Thaiprint Magazine Vol.113

Page 1


113

EDITOR กิจกรรมของสมาคมการพิมพ์ไทยในยุคปั จจุบนั ไม่เพียง แต่จะมุง่ มัน่ เน้ นนโยบายการด�ำเนินงานเพือ่ ส่งเสริมผู้ประกอบการ และเรี ยกความเชื่อมัน่ ให้ กลับคืนมาสูอ่ ตุ สาหกรรมการพิมพ์ไทย เท่านัน้ แต่ยงั เห็นความงดงามที่ซอ่ นอยูใ่ นจิตใจของคณะท�ำงาน แสดงออกมาให้ เห็นผ่านโครงการร่วมจิตอาสาพิมพ์สติ๊กเกอร์ ติด ถุงข้ าวช่วยชาวนาไทยอีกด้ วย ผลติดตามมาจากโครงการพิมพ์สติก๊ เกอร์ ในคราวนี อาจ ้ ไม่ใช่เพียงแค่การได้ งานและผลตอบแทนในวันข้ างหน้ าเท่านัน้ แต่ ยังได้ ความเข้ าใจจากชาวนาและผู้ใช้ สติก๊ เกอร์ วา่ ยังมีผ้ ปู ระกอบ ธุรกิจการพิมพ์พร้ อมให้ การสนับสนุนสร้ างแบรนด์สร้ างอนาคตไป ด้ วยกัน และเหนืออื่นใดคือการได้ ภาพพจน์ที่ดีจากสังคมในวง กว้ างเมื่อมีสื่อทังวิ ้ ทยุและทีวีชว่ ยประชาสัมพันธ์ ส่วนการจัดกิจกรรมในปี 2560 ก็มีแผนการชัดเจนแล้ วา่ มี โ ครงการสัม มนาให้ ความรู้ และชี ช้ ่ อ งทางการสร้ างความ แข็งแกร่ง เพือ่ การพัฒนายกระดับให้ ธรุ กิจเพิม่ เติมมากมายหลาย เรื่ องด้ วยกัน นอกเหนือจากกิจกรรมหลักที่ด�ำเนินงานอยู่แล้ ว ขณะที่ วารสาร Thaiprint magazine ก็ เป็ นอี กช่องทางหนึ่ง ที่จะให้ ข้อมูลและกรณีศกึ ษาเพื่อการตัดสินใจอย่างมีครรลอง

นายกสมาคม คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ อุปนายก คุณณรงค์ศกั ดิ ์ มีวาสนาสุข, คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช, คุณนิธ ิ เนาวประทีป, คุณวิทยา อุปริพทุ ธิพงศ์, คุณพชร จงกมานนท์ เลขาธิการ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ รองเลขาธิการ คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณสุวทิ ย์ เพียรรุ่งโรจน์, คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์, เหรัญญิก คุณวลัยพร ศันสนียสุนทร ปฏิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒโิ รจน์ ประชาสัมพันธ์ คุณรัชฐกฤต เหตระกูล กรรมการฝ่ ายพัฒนาองค์ กร คุณธีระ กิตติธรี พรชัย กรรมการฝ่ ายการพิมพ์ดจิ ติ อล คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ ที่ปรึกษา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์,คุณวิชยั สกลวรารุ่งเรือง, คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้ มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชยั กุล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกลุ , คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวฒ ั น์, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณมารชัย กองบุญมา,คุณสมชัย ศรีวฒ ุ ชิ าญ, คุณสุพนั ธุ์ มงคลสุธ,ี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกลุ , คุณธวัชชัย ยติถริ ธ�ำรง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทยั ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงีย่ ม, คุณหิรญ ั เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี ้ยง แก้ วนาพันธ์, ์ อ.พัชราภา ศักดิโสภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิริอำ� พันธุ์กลุ , คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ,์ คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, คุณมยุรี ภาคล�ำเจียก, ผศ.ดร.ชวาล คูร์พพิ ฒ ั น์, คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัย, ์ คุณบุญชู ลิม่ อติบลู ย์, คุณสมศักดิ ดารารัตนโรจน์, อ.ชนัสสา นันทีวชั รินทร์, ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฎหมาย คุณธนา เบญจาธิกลุ

ขันติ ลาภณัฐขันติ บรรณาธิการ

Special Thanks บริษทั ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ำกัด เอื ้อเฟื อ้ กระดาษทีใ่ ช้ พมิ พ์ Thaiprint magazine โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 บริษทั เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จ�ำกัด ช่วยเคลือบปกวารสาร เพิม่ คุณค่าให้ งานพิมพ์สวย รวดเร็ว ทันใจ โทรศัพท์ 0 2425 9736-41

บริษทั สีทอง 555 จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 บริษทั สุนทรฟิ ล์ ม จ�ำกัด ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 บริษทั บางกอกบายน์ ดงิ ้ จ�ำกัด ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้ าเล่ม โทรศัพท์ 0 2682 2177-9

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

015


CONTENT วารสารการพิมพ์ ไทย ปี ที่ 17 ฉบับที่ 113

113

Print News

22

106

สมาคมการพิมพ์ ไทย เลขที่ 311,311/1 ซอยศูนย์วิจยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com, www.thaiprint.org Thaiprint magazine ผ่ายประชาสัมพันธ์สมาคมการ พิมพ์ไทยจัดท�ำขึ ้น เพื่อบริ การข่าวสารและสาระความรู้ แก่ ส มาชิ ก และบุคคลทั่วไปที่ ส นใจข่าวสารเกี่ ย วกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ ข้ อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ ปรากฏและตี พิ ม พ์ ใ นวารสาร เป็ นอิ ส รทรรศน์ ข อง ผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จ�ำเป็ นต้ อง เห็นด้ วยเสมอไป บรรณาธิการ ขันติ ลาภณัฐขันติ khanti3@hotmail.com ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์ รัตนคีรี, วาสนา เสนาะพิณ ออกแบบกราฟฟิ ค Design Studio โทรศัพท์ 0 2880 0260 พิมพ์ ท่ ี บริ ษัท ก.การพิมพ์เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

18 34 38 46 50 66 78 148

ธนบัตรเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิติ์ การพิมพ์ไทยสัญจร 59 ภาคใต้ สหพันธ์จดั สัมมนาสู่ Thailand 4.0 2 โรงพิมพ์คว้ า PM Export Award 2016 นิสติ จุฬาฯ เรี ยนรู้ Thai Printing Laboratory ‘แคนนอน’ เปิ ดศูนย์ EXPLORATORIUM ‘โคนิก้า มินอลต้ า-บราเดอร์ ’ รับ Pick Award ‘เอสซีจี’ ประกวดออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์รุ่นใหม่

70

Special Report 22 62 74 98 106

ผลการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 ‘ฟอยล์มาสเตอร์ ’ รุกตลาดอาเซียน เปิ ดใจ ‘คุณพรลักษณ์’ พิมพ์ฟอยล์ ‘อมริ นทร์ ’ จับมือ ‘สิริวฒ ั นภักดี’ พิมพ์สติกเกอร์ ตดิ ถุงข้ าวช่วยชาวนา

Print Technology 102

3 ขันตอนน� ้ ำออฟฟิ ศสูย่ คุ ดิจิตอล

Print Knowledge 40 80

ไฮเดลเบิร์ก Push to Stop เอปสันเปิ ดตัวอิงค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่

62

Young Printer 112

บนถนนนักสร้ าง คุณหงษ์ -ธนเดช เตชะทวีกิจ

Art Gallery 146 เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้ องใหม่

112 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

017


PRINT NEWS

PRINT NEWS

ส�ำหรั บภาพด้ านหลังธนบัตร เชิญพระ ฉายาสาทิส ลั ก ษณ์ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในฉลองพระองค์ ชุดไทย บรมพิมาน เป็ นภาพประธาน

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชิ นีนาถ

เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ

คุ ณ วิ ร ไ ท สั น ติ ป ร ะ ภ พ ผู้ ว่ า การธนาคารแห่ ง ประเทศไทย (ธปท.) แถลงว่ า ธปท. ได้ จัด พิ ม พ์ ธนบัตรที่ระลึก เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติ เนื่ อ งในโอกาสที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชิ นี น าถ ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา 7 รอบ วันที่ 12 สิงหาคม 2559 ธนบัต รที่ ร ะลึ ก ฯ นี ้ มี ข นาด สี และลักษณะด้ านหน้ า เช่นเดียวกับ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 16 ที่ ออกใช้ หมุนเวียนในปั จจุบนั

018

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 23

โดยมี ภ าพประกอบคื อ พระบรมฉายา สาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั สมเด็จ พระนางเจ้ า สิริ กิ ต์ิพ ระบรมราชิ นี น าถ พร้ อมพระ ราชโอรสและพระราชธิดา เมือ่ ครังยั ้ งทรงพระเยาว์ พระ ฉายาสาทิสลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิตพ์ิ ระบรม ราชิ นี น าถ ขณะทอดพระเนตรผลงานศิ ล ปาชี พ ตราสัญ ลัก ษณ์ ง านเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ ภาพโขน พระราชทาน ชุดจองถนน ภาพกระเป๋ าย่านลิเภา ซึง่ เป็ นผลิตภัณฑ์ของมูลนิธิสง่ เสริ มศิลปาชีพ และภาพ พรรณไม้ ในพระนามาภิไธย คัทลียาควีนสิริกิต์ิและ กุหลาบควีนสิริกิติ์

ธนบัตรที่ ระลึกฯ นี ม้ ี ลักษณะต่อต้ านการ ปลอมแปลงเช่นเดียวกับธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 16 โดยเพิ่มลักษณะต่อต้ านการปลอมแปลง ที่จดั ท�ำขึ ้นพิเศษ คือ ลายรั ศมีสีส้มเบือ้ งหลังพระ ฉายาสาทิสลักษณ์ และภาพกุหลาบควีนสิริกิต์ ิ ในส่ วนที่พมิ พ์ ด้วยหมึกพิเศษสีส้ม ซึง่ จะเปลี่ยน เป็ นสีเหลืองเรื องแสง เมื่อส่องภายใต้ รังสีเหนือม่วง

ธปท. จัดพิมพ์ ธนบัตรที่ระลึกฯ นี ้ จ�ำนวน 20 ล้ านฉบับ โดยจ่ ายแลกไปแล้ วตัง้ แต่ วันที่ 11 สิ ง หาคม 2559 ผ่ า นธนาคารของรั ฐ และ ธนาคารพาณิชย์ ทกุ แห่ ง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 32

019


PRINT NEWS

PRINT NEWS

ส�ำหรั บภาพด้ านหลังธนบัตร เชิญพระ ฉายาสาทิส ลั ก ษณ์ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในฉลองพระองค์ ชุดไทย บรมพิมาน เป็ นภาพประธาน

สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชิ นีนาถ

เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ

คุ ณ วิ ร ไ ท สั น ติ ป ร ะ ภ พ ผู้ ว่ า การธนาคารแห่ ง ประเทศไทย (ธปท.) แถลงว่ า ธปท. ได้ จัด พิ ม พ์ ธนบัตรที่ระลึก เพื่อร่วมเฉลิมพระเกียรติ เนื่ อ งในโอกาสที่ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ิ พระบรมราชิ นี น าถ ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา 7 รอบ วันที่ 12 สิงหาคม 2559 ธนบัต รที่ ร ะลึ ก ฯ นี ้ มี ข นาด สี และลักษณะด้ านหน้ า เช่นเดียวกับ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 16 ที่ ออกใช้ หมุนเวียนในปั จจุบนั

018

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 23

โดยมี ภ าพประกอบคื อ พระบรมฉายา สาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวั สมเด็จ พระนางเจ้ า สิริ กิ ต์ิพ ระบรมราชิ นี น าถ พร้ อมพระ ราชโอรสและพระราชธิดา เมือ่ ครังยั ้ งทรงพระเยาว์ พระ ฉายาสาทิสลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้ าสิริกิตพ์ิ ระบรม ราชิ นี น าถ ขณะทอดพระเนตรผลงานศิ ล ปาชี พ ตราสัญ ลัก ษณ์ ง านเฉลิ ม พระเกี ย รติ ฯ ภาพโขน พระราชทาน ชุดจองถนน ภาพกระเป๋ าย่านลิเภา ซึง่ เป็ นผลิตภัณฑ์ของมูลนิธิสง่ เสริ มศิลปาชีพ และภาพ พรรณไม้ ในพระนามาภิไธย คัทลียาควีนสิริกิต์ิและ กุหลาบควีนสิริกิติ์

ธนบัตรที่ ระลึกฯ นี ม้ ี ลักษณะต่อต้ านการ ปลอมแปลงเช่นเดียวกับธนบัตรชนิดราคา 500 บาท แบบ 16 โดยเพิ่มลักษณะต่อต้ านการปลอมแปลง ที่จดั ท�ำขึ ้นพิเศษ คือ ลายรั ศมีสีส้มเบือ้ งหลังพระ ฉายาสาทิสลักษณ์ และภาพกุหลาบควีนสิริกิต์ ิ ในส่ วนที่พมิ พ์ ด้วยหมึกพิเศษสีส้ม ซึง่ จะเปลี่ยน เป็ นสีเหลืองเรื องแสง เมื่อส่องภายใต้ รังสีเหนือม่วง

ธปท. จัดพิมพ์ ธนบัตรที่ระลึกฯ นี ้ จ�ำนวน 20 ล้ านฉบับ โดยจ่ ายแลกไปแล้ วตัง้ แต่ วันที่ 11 สิ ง หาคม 2559 ผ่ า นธนาคารของรั ฐ และ ธนาคารพาณิชย์ ทกุ แห่ ง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 32

019


ธ สถิตในใจไทยนิรันดร์ น้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สิ้นสุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ คณะที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่สมาคมการพิมพ์ไทย

020

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 2

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

รัชกาลที่ 10

ทรงพระเจริญ

ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ คณะที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่สมาคมการพิมพ์ไทย


ธ สถิตในใจไทยนิรันดร์ น้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอันหาที่สิ้นสุดมิได้ ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ คณะที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่สมาคมการพิมพ์ไทย

020

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 2

สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

รัชกาลที่ 10

ทรงพระเจริญ

ข้าพระพุทธเจ้า คณะกรรมการ คณะที่ปรึกษาและเจ้าหน้าที่สมาคมการพิมพ์ไทย


PRINT REPORT

Thai Print Awards 2016 INSPIRE THE FUTURE แรงบัลดาลใจแห่งอนาคต อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย

สมาคมการพิ ม พ์ ไทย จั ด งานประกาศ ผลการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่ งชาติ ครั ้งที่ 11 หรื อ 11th THAI PRINT AWARD 2016 ภายใต้ สโลแกน Inspire the Future ประสบความส� ำ เร็ จ ด้ ว ยดี อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมี ผ้ ู ป ระกอบการโรงพิ ม พ์ ท่ ั ว ประเทศตอบรั บ และส่ งผลงานเข้ าประกวดกั น อย่ างคึ ก คั ก และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากภาค รั ฐและเอกชนอย่ างพร้ อมเพรี ยงอี ก เช่ นเคย

022

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

Thai Print Awards 2016 INSPIRE THE FUTURE แรงบัลดาลใจแห่งอนาคต อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย

โดยงานประกาศผลจั ด ขึ น้ ณ ห้ อ ง ค อ น เ ว น ชั่ น ฮ อ ล ล์ บี ชั ้ น 2 2 โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท า ร า แ ก ร น ด์ แ อ ท เ ซ็ น ท รั ล เ วิ ล ด์ เ มื่ อ ค�่ ำ คื น วั น ที่ 6 กันยายน 2559 บรรยากาศงานประกาศผล การประกวดสิ่ง พิ ม พ์ แ ห่ง ชาติ ครั ง้ ที่ 11 งดงามสมค่ากับที่เป็ นงานใหญ่แห่งปี ของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ขณะเดียวกัน ผู้ ประกอบการโรงพิ ม พ์ แขกเหรื่ อ และ ผู้ เกี่ ย วข้ องอื่ น ๆ ทั ง้ ภาครั ฐ และเอกชน ก็ ถื อ โอกาสมาเปิ ดตั ว พบปะแนะน� ำ ท� ำ ค ว า ม รู้ จั ก กั น ใ น ง า น นี ้ แ ล ะ ที่ ส� ำ คั ญ มี ก ารทุ่ ม ทุ น แบบทุ่ ม เทจั ด งาน ประกาศผลขึ น้ อย่ า งโอฬารไม่ แ พ้ ปี ใดๆ คุ ณ พิม พ์ น ารา จิร านิ ธิ ศ นนท์

PRINT REPORT

นายกสมาคมการพิ ม พ์ ไทย น� ำที ม แ บ่ ง ส ร ร ค ณ ะ ท� ำ ง า น ดู แ ล แ ล ะ ต้ อ น รั บ ขั บ สู้ แ ข ก เ ห รื่ อ ผู้ ไ ป ร่ ว ม ง า น ด้ ว ย ค ว า ม ร า บ รื่ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้หลักผู้ใหญ่ทงภาครั ั้ ฐและเอกชน น�ำโดย คุ ณ สุ วิ ท ย์ เมษิ น ทรี ย์ รมช.กระทรวง พาณิ ช ย์ (ในขณะนัน้ ) ให้ เ กี ย รติ ไ ปเป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด รวมทั ง้ มี ผ้ ู บริ ห าร หน่วยงานสังกัดกระทรวงพาณิชย์เข้ าร่ วม สังเกตการณ์ การจัดงานมากมาย ขณะที่ น�ำภาคเอกชน น�ำโดยคุณเจน น�ำชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก็ ให้ เกี ยรติมาร่ วมกล่าวแสดงความยินดี และอวยพรให้ ผ้ ปู ระกอบการโรงพิมพ์ไทยมี “แรงบัน ดาลใจและก้ าวสู่อ นาคตอย่ า ง ยัง่ ยืน”

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

023


PRINT REPORT

Thai Print Awards 2016 INSPIRE THE FUTURE แรงบัลดาลใจแห่งอนาคต อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย

สมาคมการพิ ม พ์ ไทย จั ด งานประกาศ ผลการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่ งชาติ ครั ้งที่ 11 หรื อ 11th THAI PRINT AWARD 2016 ภายใต้ สโลแกน Inspire the Future ประสบความส� ำ เร็ จ ด้ ว ยดี อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยมี ผ้ ู ป ระกอบการโรงพิ ม พ์ ท่ ั ว ประเทศตอบรั บ และส่ งผลงานเข้ าประกวดกั น อย่ างคึ ก คั ก และได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากภาค รั ฐและเอกชนอย่ างพร้ อมเพรี ยงอี ก เช่ นเคย

022

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

Thai Print Awards 2016 INSPIRE THE FUTURE แรงบัลดาลใจแห่งอนาคต อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย

โดยงานประกาศผลจั ด ขึ น้ ณ ห้ อ ง ค อ น เ ว น ชั่ น ฮ อ ล ล์ บี ชั ้ น 2 2 โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท า ร า แ ก ร น ด์ แ อ ท เ ซ็ น ท รั ล เ วิ ล ด์ เ มื่ อ ค�่ ำ คื น วั น ที่ 6 กันยายน 2559 บรรยากาศงานประกาศผล การประกวดสิ่ง พิ ม พ์ แ ห่ง ชาติ ครั ง้ ที่ 11 งดงามสมค่ากับที่เป็ นงานใหญ่แห่งปี ของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ขณะเดียวกัน ผู้ ประกอบการโรงพิ ม พ์ แขกเหรื่ อ และ ผู้ เกี่ ย วข้ องอื่ น ๆ ทั ง้ ภาครั ฐ และเอกชน ก็ ถื อ โอกาสมาเปิ ดตั ว พบปะแนะน� ำ ท� ำ ค ว า ม รู้ จั ก กั น ใ น ง า น นี ้ แ ล ะ ที่ ส� ำ คั ญ มี ก ารทุ่ ม ทุ น แบบทุ่ ม เทจั ด งาน ประกาศผลขึ น้ อย่ า งโอฬารไม่ แ พ้ ปี ใดๆ คุ ณ พิม พ์ น ารา จิร านิ ธิ ศ นนท์

PRINT REPORT

นายกสมาคมการพิ ม พ์ ไทย น� ำที ม แ บ่ ง ส ร ร ค ณ ะ ท� ำ ง า น ดู แ ล แ ล ะ ต้ อ น รั บ ขั บ สู้ แ ข ก เ ห รื่ อ ผู้ ไ ป ร่ ว ม ง า น ด้ ว ย ค ว า ม ร า บ รื่ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ผู้หลักผู้ใหญ่ทงภาครั ั้ ฐและเอกชน น�ำโดย คุ ณ สุ วิ ท ย์ เมษิ น ทรี ย์ รมช.กระทรวง พาณิ ช ย์ (ในขณะนัน้ ) ให้ เ กี ย รติ ไ ปเป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด รวมทั ง้ มี ผ้ ู บริ ห าร หน่วยงานสังกัดกระทรวงพาณิชย์เข้ าร่ วม สังเกตการณ์ การจัดงานมากมาย ขณะที่ น�ำภาคเอกชน น�ำโดยคุณเจน น�ำชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ก็ ให้ เกี ยรติมาร่ วมกล่าวแสดงความยินดี และอวยพรให้ ผ้ ปู ระกอบการโรงพิมพ์ไทยมี “แรงบัน ดาลใจและก้ าวสู่อ นาคตอย่ า ง ยัง่ ยืน”

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

023


ทุกผู้คน..ทุกถนนหนทาง

PRINT ทุกผู้คน..ทุกถนนหนทาง REPORT ต่างมุ่งสู่อนาคตด้วยแรงบันดาลใจ

ต่างมุ่งสู่อนาคตด้วยแรงบันดาลใจ

ทุกผู้คน..ทุกถนนหนทาง

ต่างมุ่งสู่อนาคต ด้วยแรงบันดาลใจ

คุณสุวิทย์ เมษิ นทรี ย์

คุณเจน น�ำชัยศิ ริ

- ป ร ะ เ ภ ท ค ว า ม คิ ด สร้ างสรรค์ (Creativeness) นอกจากนี ้ สมาคมการ พิมพ์ไทย ยังได้ รับเกียรติจาก กรม ส่ งเสริ มการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ ให้ เ ป็ นผู้คัด เลือกและจัดส่งบริ ษัทที่ได้ รับรางวัล ไปเข้ ารับการคัดเลือกเพื่อรับรางวัล PM Award หรื อ Prime Minister’s Export Award 2017 ซึง่ เป็ นเวทีทยี่ งิ่ ใหญ่ที่สดุ เวทีหนึ่งของประเทศไทย และเป็ นการประกวดที่ ไ ด้ รั บ การ

PRINT REPORT

หรื อ Prime Minister’s Export Award 2016 ซึ่งกรมส่งเสริ มการ ค้ า ระหว่ า งประเทศ ประเดิ ม เริ่ ม ต้ นร่ วมมือกับสมาคมการพิมพ์ไทย เป็ นปี แรก ในการก�ำหนดให้ มรี างวัล “ผู้ ประกอบธุ รกิจส่ งออกดีเด่ น ประเภทรางวัลธุรกิจบริการยอด เยี่ยม สาขาธุ รกิจสิ่งพิมพ์ และ บรรจุภัณฑ์ ” และมี 2 โรงพิมพ์ คุณ ภาพได้ รั บ รางวัล คื อ บริ ษั ท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทย แลนด์ ) จ�ำกัด และ บริษทั ทีพเี อ็น

ส่งผลงานเข้ าร่วมประกวดอย่างต่อ เนื่อง และมีจ�ำนวนเพิม่ มากขึ ้นทุกปี ซึ่ ง ไ ม่ เ พี ย ง แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม กระตื อ รื อ ร้ น ที่ ต้ องการพั ฒ นา ศักยภาพทางด้ านการพิมพ์ ของผู้ ประกอบการวิสาหกิจการพิมพ์ใน ประเทศไทยเท่านัน้ แต่ยงั หมายถึง งานพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพเทียบเท่าหรื อ ดีกว่าประเทศชันน� ้ ำอื่นๆ “ผลรางวัล การประกวด สิ่ งพิ มพ์แห่งชาติ ครัง้ ที ่ 11 มี จ�ำนวน ทัง้ หมด 90 รางวัล ล้ว นเป็ นชิ้ น

เฟล็กซ์ แพค จ�ำกัด ดังนัน้ คุ ณ พิมพ์ นารา จิรานิธิศนนท์ นายก สมาคมการพิมพ์ไทย จึงถือโอกาส มอบช่อดอกไม้ แสดงความยินดี บน เวที การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 ประหนึง่ เป็ นการประกาศ เกียรติคณ ุ ให้ ทราบไปในตัวอีกด้ วย คุณวิรุฬห์ ส่ งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัด งานการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 กล่าว ว่า การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ ของสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยในปี ที่ 11 นี ้ ยังคงได้ รับการตอบรับจากผู้ ประกอบการสิง่ พิมพ์ในประเทศไทย

งานที ่มีความโดดเด่ นทัง้ ทางด้าน คุณ ภาพการพิ ม พ์ และความคิ ด สร้ างสรรค์ ซึ่ งในปี นี ้ ทางสมาคม การพิ มพ์ ไทย ใช้แนวความคิ ดว่า Inspire the Future แรงบันดาล ใจแห่ ง อนาคตของอุต สาหกรรม การพิ มพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย ซึ่ ง มี จุดประสงค์ ที่จะเน้นย�้ ำทางด้าน คุณภาพงานพิมพ์ผสมผสานกับการ ใช้เทคโนโลยียคุ ใหม่ และการสร้าง มู ล ค่ า เพิ่ ม ของสิ่ ง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภัณฑ์ ซึ่ งผลการตัดสิ นได้แสดงให้ เห็ น ถึ ง ศัก ยภาพของโรงพิ ม พ์ ใ น ประเทศไทย ทีมีความพร้อมในการ เดิ นหน้าไปสู่อนาคตอย่างแน่นอน”

คุณวิ รุฬห์ ส่งเสริ มสวัสดิ์

คุณพิ มพ์นารา จิ รานิ ธิศนนท์ มอบช่อ ดอกไม้แสดงความยิ นดีต่อ 2 โรงพิ มพ์ ไทยที ่ประเดิ มรับรางวัล PM Award 2016

024

ด้ วยเหตุทกี่ ารจัดการครัง้ นี ้มีเป้าหมายสร้ างแรงบันดาลใจสูอ่ นาคต ที่แท้ จริ ง และเป็ นอนาคตของนวัตกรรมและดิจิตอล ดังนั ้ นการประกวดสิ ้ ง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 คณะกรรมการจัดงานจึงได้ แบ่งประเภทของการ ประกวดเป็ น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. Offset Printing ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ต 2. Digital Printing ระบบการพิมพ์แบบดิจิตอล 3. งานพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์อ่อนตัว พิมพ์ด้วยระบบ Flexography gravure ฉลาก สติก๊ เกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ 4. Special Categories งานพิมพ์ประเภทที่เป็ นลักษณ์เฉพาะ และเพื่อให้ สอดคล้ องกับการที่อุตสาหกรรมการพิมพ์ และ บรรจุภณ ั ฑ์ ได้ รับการสนับสนุนสิทธิประโยชน์ จาก BOI (Board Of Investment Promotion) สมาคมการพิมพ์ ไทยจึงได้ เพิ่มประเภทการ ประกวดขึน้ มาอีก 3 รางวัลจากครั ง้ ที่แล้ ว คือ -ประเภทสิง่ พิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) -ประเภทการออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) และ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ยอมรับมากที่สดุ ทังจากองค์ ้ กรภาค รั ฐและเอกชน จึงนับเป็ นแรงผลัก ดัน จากภาครั ฐ และนับ เป็ นความ ส� ำ เร็ จ อี ก ก้ าวหนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ของ ”การประกวดสิ่ ง พิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ ” ในการที่ จะแผ่ขยายความเชื่ อมั่น ให้ ได้ ค รอบคลุม กว้ างไกลยิ่ ง ขึ น้ ทังนี ้ ้ รางวัล PM Award

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

025


ทุกผู้คน..ทุกถนนหนทาง

PRINT ทุกผู้คน..ทุกถนนหนทาง REPORT ต่างมุ่งสู่อนาคตด้วยแรงบันดาลใจ

ต่างมุ่งสู่อนาคตด้วยแรงบันดาลใจ

ทุกผู้คน..ทุกถนนหนทาง

ต่างมุ่งสู่อนาคต ด้วยแรงบันดาลใจ

คุณสุวิทย์ เมษิ นทรี ย์

คุณเจน น�ำชัยศิ ริ

- ป ร ะ เ ภ ท ค ว า ม คิ ด สร้ างสรรค์ (Creativeness) นอกจากนี ้ สมาคมการ พิมพ์ไทย ยังได้ รับเกียรติจาก กรม ส่ งเสริ มการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ ให้ เ ป็ นผู้คัด เลือกและจัดส่งบริ ษัทที่ได้ รับรางวัล ไปเข้ ารับการคัดเลือกเพื่อรับรางวัล PM Award หรื อ Prime Minister’s Export Award 2017 ซึง่ เป็ นเวทีทยี่ งิ่ ใหญ่ที่สดุ เวทีหนึ่งของประเทศไทย และเป็ นการประกวดที่ ไ ด้ รั บ การ

PRINT REPORT

หรื อ Prime Minister’s Export Award 2016 ซึ่งกรมส่งเสริ มการ ค้ า ระหว่ า งประเทศ ประเดิ ม เริ่ ม ต้ นร่ วมมือกับสมาคมการพิมพ์ไทย เป็ นปี แรก ในการก�ำหนดให้ มรี างวัล “ผู้ ประกอบธุ รกิจส่ งออกดีเด่ น ประเภทรางวัลธุรกิจบริการยอด เยี่ยม สาขาธุ รกิจสิ่งพิมพ์ และ บรรจุภัณฑ์ ” และมี 2 โรงพิมพ์ คุณ ภาพได้ รั บ รางวัล คื อ บริ ษั ท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทย แลนด์ ) จ�ำกัด และ บริษทั ทีพเี อ็น

ส่งผลงานเข้ าร่วมประกวดอย่างต่อ เนื่อง และมีจ�ำนวนเพิม่ มากขึ ้นทุกปี ซึ่ ง ไ ม่ เ พี ย ง แ ส ด ง ถึ ง ค ว า ม กระตื อ รื อ ร้ น ที่ ต้ องการพั ฒ นา ศักยภาพทางด้ านการพิมพ์ ของผู้ ประกอบการวิสาหกิจการพิมพ์ใน ประเทศไทยเท่านัน้ แต่ยงั หมายถึง งานพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพเทียบเท่าหรื อ ดีกว่าประเทศชันน� ้ ำอื่นๆ “ผลรางวัล การประกวด สิ่ งพิ มพ์แห่งชาติ ครัง้ ที ่ 11 มี จ�ำนวน ทัง้ หมด 90 รางวัล ล้ว นเป็ นชิ้ น

เฟล็กซ์ แพค จ�ำกัด ดังนัน้ คุ ณ พิมพ์ นารา จิรานิธิศนนท์ นายก สมาคมการพิมพ์ไทย จึงถือโอกาส มอบช่อดอกไม้ แสดงความยินดี บน เวที การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 ประหนึง่ เป็ นการประกาศ เกียรติคณ ุ ให้ ทราบไปในตัวอีกด้ วย คุณวิรุฬห์ ส่ งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัด งานการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 กล่าว ว่า การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ ของสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยในปี ที่ 11 นี ้ ยังคงได้ รับการตอบรับจากผู้ ประกอบการสิง่ พิมพ์ในประเทศไทย

งานที ่มีความโดดเด่ นทัง้ ทางด้าน คุณ ภาพการพิ ม พ์ และความคิ ด สร้ างสรรค์ ซึ่ งในปี นี ้ ทางสมาคม การพิ มพ์ ไทย ใช้แนวความคิ ดว่า Inspire the Future แรงบันดาล ใจแห่ ง อนาคตของอุต สาหกรรม การพิ มพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย ซึ่ ง มี จุดประสงค์ ที่จะเน้นย�้ ำทางด้าน คุณภาพงานพิมพ์ผสมผสานกับการ ใช้เทคโนโลยียคุ ใหม่ และการสร้าง มู ล ค่ า เพิ่ ม ของสิ่ ง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภัณฑ์ ซึ่ งผลการตัดสิ นได้แสดงให้ เห็ น ถึ ง ศัก ยภาพของโรงพิ ม พ์ ใ น ประเทศไทย ทีมีความพร้อมในการ เดิ นหน้าไปสู่อนาคตอย่างแน่นอน”

คุณวิ รุฬห์ ส่งเสริ มสวัสดิ์

คุณพิ มพ์นารา จิ รานิ ธิศนนท์ มอบช่อ ดอกไม้แสดงความยิ นดีต่อ 2 โรงพิ มพ์ ไทยที ่ประเดิ มรับรางวัล PM Award 2016

024

ด้ วยเหตุทกี่ ารจัดการครัง้ นี ้มีเป้าหมายสร้ างแรงบันดาลใจสูอ่ นาคต ที่แท้ จริ ง และเป็ นอนาคตของนวัตกรรมและดิจิตอล ดังนั ้ นการประกวดสิ ้ ง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 คณะกรรมการจัดงานจึงได้ แบ่งประเภทของการ ประกวดเป็ น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. Offset Printing ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ต 2. Digital Printing ระบบการพิมพ์แบบดิจิตอล 3. งานพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์อ่อนตัว พิมพ์ด้วยระบบ Flexography gravure ฉลาก สติก๊ เกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ 4. Special Categories งานพิมพ์ประเภทที่เป็ นลักษณ์เฉพาะ และเพื่อให้ สอดคล้ องกับการที่อุตสาหกรรมการพิมพ์ และ บรรจุภณ ั ฑ์ ได้ รับการสนับสนุนสิทธิประโยชน์ จาก BOI (Board Of Investment Promotion) สมาคมการพิมพ์ ไทยจึงได้ เพิ่มประเภทการ ประกวดขึน้ มาอีก 3 รางวัลจากครั ง้ ที่แล้ ว คือ -ประเภทสิง่ พิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) -ประเภทการออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) และ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ยอมรับมากที่สดุ ทังจากองค์ ้ กรภาค รั ฐและเอกชน จึงนับเป็ นแรงผลัก ดัน จากภาครั ฐ และนับ เป็ นความ ส� ำ เร็ จ อี ก ก้ าวหนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ของ ”การประกวดสิ่ ง พิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ ” ในการที่ จะแผ่ขยายความเชื่ อมั่น ให้ ได้ ค รอบคลุม กว้ างไกลยิ่ ง ขึ น้ ทังนี ้ ้ รางวัล PM Award

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

025


PRINT การตัดสินยังคงยึดเกณฑ์ REPORT อิสระและโปร่งใส

การตัดสินยังคงยึดเกณฑ์

อิสระและโปร่งใส การ

ประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติในแต่ละปี สิง่ ที่จะ ละเลยการกล่าวถึงไม่ได้ คือ การตัดสิน ซึง่ ปี นี ้ยังคงยึดเกณฑ์เดิมคือ อิสระและโปร่ งใส โดยที่ คณะกรรมการตัดสินไม่ทราบเลยว่า ผลงานที่ก�ำลัง ให้ คะแนนอยูน่ นเป็ ั ้ นของบริ ษัทใด แต่ปีนี ้ มีประธาน คณะกรรมการตัดสินคนใหม่คือ คุณโรเบิร์ต เจมส์ ซึง่ เป็ นผู้เชีย่ วชาญการตัดสินจากประเทศออสเตรเลีย ส่วนกรรมการท่านอืน่ ๆ ก็ได้ รับเกียรติจากผู้เชีย่ วชาญ ที่เป็ นคนไทยหมุนเวียนกันมาตัดสินในแต่ละปี

BEST THE OF

เป็ น คุณโรเบิ ร์ต เจมส์

026

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

BEST

PRINT REPORT OF THE BEST

BEST

ประเพณีส�ำหรับเวทีการประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติในทุกปี ๆ ที่จะต้ องมีการคัดเลือก และมอบรางวัล BEST of THE BEST โดยผู้สนับสนุน หลักในแต่ละปี ซึ่งปี นีม้ ี 5 รางวัล ประกอบด้ วย 1.บริษัท พิมพ์ ดี จ�ำกัด มอบรางวัลโดย คุณมาร์ ช ดารารั ตนโรจน์ รองกรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ซีเอเอส กรุ๊ป จ�ำกัด 2.บริษัท พริน้ ท์ ตงิ ้ โซลูช่ ัน จ�ำกัด มอบ รางวัลโดย คุณสิทธิพฒ ั น์ บุญ-หลง ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ ายขาย บริ ษัท แฟโรสตัล (ประเทศไทย) จ�ำกัด 3.บริ ษั ท ศิ ริ วั ฒ นา อิ น เตอร์ พริ น้ ท์

จ� ำ กั ด (มหาชน) มอบรางวัล โดย คุ ณ วิ รุ ฬ ห์ ส่ งเสริ ม สวั ส ดิ์ ประธานจัด งานการประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 4.บริษทั โมเดอร์ นฟิ ล์ ม เซ็นเตอร์ จ�ำกัด มอบรางวัลโดย มร.โรเบิร์ต เจมส์ ประธานคณะ กรรมการตัดสินรางวัล การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 5.บริษัท สุนทรฟิ ล์ ม จ�ำกัด มอบรางวัล โดย คุ ณ อุ ก ฤษฏ์ ตั ง้ อุ ทั ย สุ ข ผู้ จัด การส่ ว น ผลิตภัณฑ์การพิมพ์ บริษทั โคนิก้า มินอลต้ า บิสสิเนส โซลูชนั่ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

027


PRINT การตัดสินยังคงยึดเกณฑ์ REPORT อิสระและโปร่งใส

การตัดสินยังคงยึดเกณฑ์

อิสระและโปร่งใส การ

ประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติในแต่ละปี สิง่ ที่จะ ละเลยการกล่าวถึงไม่ได้ คือ การตัดสิน ซึง่ ปี นี ้ยังคงยึดเกณฑ์เดิมคือ อิสระและโปร่ งใส โดยที่ คณะกรรมการตัดสินไม่ทราบเลยว่า ผลงานที่ก�ำลัง ให้ คะแนนอยูน่ นเป็ ั ้ นของบริ ษัทใด แต่ปีนี ้ มีประธาน คณะกรรมการตัดสินคนใหม่คือ คุณโรเบิร์ต เจมส์ ซึง่ เป็ นผู้เชีย่ วชาญการตัดสินจากประเทศออสเตรเลีย ส่วนกรรมการท่านอืน่ ๆ ก็ได้ รับเกียรติจากผู้เชีย่ วชาญ ที่เป็ นคนไทยหมุนเวียนกันมาตัดสินในแต่ละปี

BEST THE OF

เป็ น คุณโรเบิ ร์ต เจมส์

026

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

BEST

PRINT REPORT OF THE BEST

BEST

ประเพณีส�ำหรับเวทีการประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติในทุกปี ๆ ที่จะต้ องมีการคัดเลือก และมอบรางวัล BEST of THE BEST โดยผู้สนับสนุน หลักในแต่ละปี ซึ่งปี นีม้ ี 5 รางวัล ประกอบด้ วย 1.บริษัท พิมพ์ ดี จ�ำกัด มอบรางวัลโดย คุณมาร์ ช ดารารั ตนโรจน์ รองกรรมการผู้จดั การ บริ ษัท ซีเอเอส กรุ๊ป จ�ำกัด 2.บริษัท พริน้ ท์ ตงิ ้ โซลูช่ ัน จ�ำกัด มอบ รางวัลโดย คุณสิทธิพฒ ั น์ บุญ-หลง ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ ายขาย บริ ษัท แฟโรสตัล (ประเทศไทย) จ�ำกัด 3.บริ ษั ท ศิ ริ วั ฒ นา อิ น เตอร์ พริ น้ ท์

จ� ำ กั ด (มหาชน) มอบรางวัล โดย คุ ณ วิ รุ ฬ ห์ ส่ งเสริ ม สวั ส ดิ์ ประธานจัด งานการประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 4.บริษทั โมเดอร์ นฟิ ล์ ม เซ็นเตอร์ จ�ำกัด มอบรางวัลโดย มร.โรเบิร์ต เจมส์ ประธานคณะ กรรมการตัดสินรางวัล การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 11 5.บริษัท สุนทรฟิ ล์ ม จ�ำกัด มอบรางวัล โดย คุ ณ อุ ก ฤษฏ์ ตั ง้ อุ ทั ย สุ ข ผู้ จัด การส่ ว น ผลิตภัณฑ์การพิมพ์ บริษทั โคนิก้า มินอลต้ า บิสสิเนส โซลูชนั่ ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

027


PRINT REPORT

ประชันมาตรฐานงานพิมพ์เข้มข้น ตัดสินกันบนผลงานคุณภาพล้วนๆ

ประชันมาตรฐานงานพิมพ์เข้มข้น ตัดสินกันบนผลงานคุณภาพล้วนๆ

PRINT REPORT

ประชันมาตรฐานงานพิมพ์เข้มข้น ตัดสินกันบนผลงานคุณภาพล้วนๆ ในปี นี ม้ ี ผ ลงานส่ง เข้ า ประกวดจ� ำ นวนมาก มาจากหลายโรงพิมพ์ทงขนาดเล็ ั้ ก กลางและขนาดใหญ่ และเกิ ดปรากฏการณ์ ขึน้ มาใหม่หลายด้ านด้ วยกัน อาทิ มีชื่อโรงพิมพ์ใหม่ ๆ ส่งผลงานเข้ ามาประกวด จ�ำนวนมากและได้ รับเหรี ยญรางวัลมากมาย เป็ นสิ่ง ยืนยันว่า ไม่จ�ำเป็ นต้ องเป็ นโรงพิมพ์ใหญ่เท่านัน้ ที่มี สิทธิ์ได้ รับรางวัล และแสดงให้ เห็นว่า อุตสาหกรรม การพิมพ์ของประเทศมีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน มากขึ ้นเรื่อยๆ ตรงตามเป้าหมายทีส่ มาคมการพิมพ์ไทย ได้ จดั ให้ มีการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติขึ ้นมา อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับโรงพิมพ์ที่ได้ รับเหรี ยญ รางวัลรวมมากที่สดุ ในปี นี ้จ�ำนวน 8 เหรี ยญ คือ บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอร์ พริน้ ท์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยได้ 1 เหรียญ Best of The Best 3 เหรียญทอง และ 4 เหรียญ ทองแดง สว่ นแชมป์ในปี นี ้คือ บริษทั สุนทรฟิ ล์ ม จ�ำกัด โดยได้ 1 Best of The Best 3 เหรียญทอง และ 1 เหรียญเงิน รวม 5 รางวัล (ตารางสรุ ปเหรี ยญรางวัล หน้ า 33)

028

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

029


PRINT REPORT

ประชันมาตรฐานงานพิมพ์เข้มข้น ตัดสินกันบนผลงานคุณภาพล้วนๆ

ประชันมาตรฐานงานพิมพ์เข้มข้น ตัดสินกันบนผลงานคุณภาพล้วนๆ

PRINT REPORT

ประชันมาตรฐานงานพิมพ์เข้มข้น ตัดสินกันบนผลงานคุณภาพล้วนๆ ในปี นี ม้ ี ผ ลงานส่ง เข้ า ประกวดจ� ำ นวนมาก มาจากหลายโรงพิมพ์ทงขนาดเล็ ั้ ก กลางและขนาดใหญ่ และเกิ ดปรากฏการณ์ ขึน้ มาใหม่หลายด้ านด้ วยกัน อาทิ มีชื่อโรงพิมพ์ใหม่ ๆ ส่งผลงานเข้ ามาประกวด จ�ำนวนมากและได้ รับเหรี ยญรางวัลมากมาย เป็ นสิ่ง ยืนยันว่า ไม่จ�ำเป็ นต้ องเป็ นโรงพิมพ์ใหญ่เท่านัน้ ที่มี สิทธิ์ได้ รับรางวัล และแสดงให้ เห็นว่า อุตสาหกรรม การพิมพ์ของประเทศมีการพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน มากขึ ้นเรื่อยๆ ตรงตามเป้าหมายทีส่ มาคมการพิมพ์ไทย ได้ จดั ให้ มีการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติขึ ้นมา อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับโรงพิมพ์ที่ได้ รับเหรี ยญ รางวัลรวมมากที่สดุ ในปี นี ้จ�ำนวน 8 เหรี ยญ คือ บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอร์ พริน้ ท์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยได้ 1 เหรียญ Best of The Best 3 เหรียญทอง และ 4 เหรียญ ทองแดง สว่ นแชมป์ในปี นี ้คือ บริษทั สุนทรฟิ ล์ ม จ�ำกัด โดยได้ 1 Best of The Best 3 เหรียญทอง และ 1 เหรียญเงิน รวม 5 รางวัล (ตารางสรุ ปเหรี ยญรางวัล หน้ า 33)

028

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

029


PRINT REPORT

030

PRINT REPORT

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

031


PRINT REPORT

030

PRINT REPORT

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

031


PRINT REPORT

บทส่งท้าย

สรุปเหรียญรางวัล

งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 11

PRINT REPORT

สรุปเหรียญรางวัล

บทส่งท้าย

งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 11

คุณพิ มพ์นารา จิ รานิ ธิศนนท์

032

“ปั จ จัย ส� ำ คัญ อัน หนึ่ ง ที ่น� ำ พาสู่ ค วามส� ำ เร็ จ อัน ยิ่ ง ใหญ่ ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ไทยที เ่ ห็นได้ชดั คื อ การที ผ่ ูป้ ระกอบการ โรงพิ ม พ์ ไ ด้ใ ห้ ค วามส� ำ คัญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การพัฒ นาคุณ ภาพของ งานพิ มพ์ และให้ความร่ วมมื อส่งผลงานเข้าแข่ งขันในทุกๆ ครั้ง ของงานประกวดสิ่ งพิ มพ์แห่งชาติ ทีผ่ ่านมา โดยจ� ำนวนตัวเลขของ ชิ้ นงานทีถ่ ูกส่งเข้ามาประกวดนัน้ มี จ�ำนวนเพิ่ มมากขึ้นทุกๆ ปี และ ชิ้ น งานที ่ ไ ด้ รั บ รางวัล ชนะเลิ ศ นั้น ก็ มี ก ารพัฒ นาคุ ณ ภาพอย่ า ง ต่อเนื ่อง และจุดที ่มีความน่าสนใจเป็ นอย่างยิ่ งคื อ คุณภาพของ สิ่ งพิมพ์ไทยนัน้ ไม่ได้กระจุกตัวอยู่เฉพาะโรงพิมพ์ทีม่ ีขนาดใหญ่ หาก แต่ช่วงหลังๆ มีรายชือ่ โรงพิมพ์หน้าใหม่ๆ ก้าวขึ้นมารับเหรี ยญรางวัล มากขึ้นเรื ่อยๆ ทางสมาคมการพิ มพ์ไทยใคร่ ขอแสดงความยิ นดีแก่ผู้ ทีไ่ ด้รบั รางวัล ในการประกวดสิ่ งพิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที ่ 11 ในปี นี ้ พร้อม ทัง้ จัดงานประกาศผลรางวัลเพือ่ ประกาศเกี ยรติ คณ ุ ให้กบั ผูป้ ระกอบ การวิ สาหกิ จสิ่ งพิ มพ์ทีส่ ร้างสรรค์ งานคุณภาพในตัวของผลิ ตภัณฑ์ เพือ่ เป็ นการต่อยอดไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั สิ นค้าสิ่ งพิมพ์ของ คนไทย” คุณพิมพ์ นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย กล่าวเป็ นบทสรุปของงานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 11

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

033


PRINT REPORT

บทส่งท้าย

สรุปเหรียญรางวัล

งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 11

PRINT REPORT

สรุปเหรียญรางวัล

บทส่งท้าย

งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 11

คุณพิ มพ์นารา จิ รานิ ธิศนนท์

032

“ปั จ จัย ส� ำ คัญ อัน หนึ่ ง ที ่น� ำ พาสู่ ค วามส� ำ เร็ จ อัน ยิ่ ง ใหญ่ ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ไทยที เ่ ห็นได้ชดั คื อ การที ผ่ ูป้ ระกอบการ โรงพิ ม พ์ ไ ด้ใ ห้ ค วามส� ำ คัญ อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การพัฒ นาคุณ ภาพของ งานพิ มพ์ และให้ความร่ วมมื อส่งผลงานเข้าแข่ งขันในทุกๆ ครั้ง ของงานประกวดสิ่ งพิ มพ์แห่งชาติ ทีผ่ ่านมา โดยจ� ำนวนตัวเลขของ ชิ้ นงานทีถ่ ูกส่งเข้ามาประกวดนัน้ มี จ�ำนวนเพิ่ มมากขึ้นทุกๆ ปี และ ชิ้ น งานที ่ ไ ด้ รั บ รางวัล ชนะเลิ ศ นั้น ก็ มี ก ารพัฒ นาคุ ณ ภาพอย่ า ง ต่อเนื ่อง และจุดที ่มีความน่าสนใจเป็ นอย่างยิ่ งคื อ คุณภาพของ สิ่ งพิมพ์ไทยนัน้ ไม่ได้กระจุกตัวอยู่เฉพาะโรงพิมพ์ทีม่ ีขนาดใหญ่ หาก แต่ช่วงหลังๆ มีรายชือ่ โรงพิมพ์หน้าใหม่ๆ ก้าวขึ้นมารับเหรี ยญรางวัล มากขึ้นเรื ่อยๆ ทางสมาคมการพิ มพ์ไทยใคร่ ขอแสดงความยิ นดีแก่ผู้ ทีไ่ ด้รบั รางวัล ในการประกวดสิ่ งพิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที ่ 11 ในปี นี ้ พร้อม ทัง้ จัดงานประกาศผลรางวัลเพือ่ ประกาศเกี ยรติ คณ ุ ให้กบั ผูป้ ระกอบ การวิ สาหกิ จสิ่ งพิ มพ์ทีส่ ร้างสรรค์ งานคุณภาพในตัวของผลิ ตภัณฑ์ เพือ่ เป็ นการต่อยอดไปสู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั สิ นค้าสิ่ งพิมพ์ของ คนไทย” คุณพิมพ์ นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย กล่าวเป็ นบทสรุปของงานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 11

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

033


PRINT การพิมพ์ไทยสัญจร 59 REPORT

การพิมพ์ไทยสัญจร 59

ภาคใต้

ภาคใต้

PRINT REPORT

การพิมพ์ไทยสัญจร 59

ภาคใต้

มาคมการพิมพ์ไทย จัดงาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร 59 ภาคใต้ ” เพื่อเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยีและฝึ ก ปฏิบตั กิ ารให้ แก่ผ้ ปู ระกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ์และ เกี่ยวเนื่องในพื ้นที่ภาคใต้ ณ ห้ องจุติ โรงแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ทัง้ นี ้ การบรรยายและการเสวนา มีทิศทางไปใน แนวทางที่ม่งุ หวังการสร้ างแรงบันดาลใจให้ ผ้ ูประกอบการ ปรับตัวเพือ่ เข้ าสูค่ วามเป็ น “อุตสาหกรรมใหม่ 4.0” และการ บริหารธุรกิจโรงพิมพ์เพือ่ ก้ าวไปสูอ่ นาคตทีย่ งั่ ยืน รวมทังมี ้ การ จัดเวิร์คช็อป เพื่อให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมสัมมนาตระหนักถึง Creative Design ซึง่ เป็ นทางรอดทางหนึง่ โดยที่มีการเล็งเป้าหมายได้ คือ “ธุรกิ จการพิมพ์ไม่มีวนั ตาย เพียงแต่อนาคตจะปรับตัวไป อยู่ในสถานะใดเท่านัน้ ”

034

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เริ่มจากการบรรยายทีโ่ ดนใจคนยุคใหม่ภายใต้ บริ บท “ท�ำ มาหากิน ด้ ว ยการพิม พ์ ยุ ค ใหม่ ” โดย คุณฐานิพรรณ เอือ้ จงประสิทธิ์ บริ ษัท สามเจริ ญ พาณิชย์(กรุงเทพ) จ�ำกัด น�ำเสนอให้ หวั ข้ อ “การพิมพ์ มูลค่าสิง่ พิมพ์ด้วย Creartive Design” ซึง่ ว่ากันว่า นี่ คือทางรอดและเป็ นอนาคตที่ยงั่ ยืนโดยแท้ จริ ง จากนันคุ ้ ณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ บริ ษัท สุพรชัย จ�ำกัด น�ำเสนอแนวทางที่ถนัดและสอดคล้ อง กับธุรกิจที่ด�ำเนินการ นัน่ คือ การบรรยายเรื่ อง "การ เพิ่มมูลค่าสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคหลังการพิมพ์” ซึ่งงาน หลังการพิมพ์นี่เองที่จะเป็ นตัวชีว้ ดั ว่า สิ่งพิมพ์ต่างๆ นอกเหนื อจะมีการพิมพ์ ที่ได้ คุณภาพมาตรฐานแล้ ว

สิ่งที่ท�ำให้ เกิดคุณค่าและเกิดความ “เหนือกว่า” ก็คือ นวัตกรรมงานหลังพิมพ์นี่เอง ไม่วา่ จะเป็ นสารพัดงาน เคลือบ งานไดคัท การพับและการขึ ้นรูป ฯลฯ บรรยากาศการจัดกิจกรรมช่ วงบ่ าย ซึ่งจัด ให้ มีการเวิร์คช็อปและสลับกับการเสวนา ถือว่ า เป็ นไฮไลต์ ของการสั ญจรภาคใต้ คราวนี ก้ ็ว่าได้ โดยเป็ นผลงานการรั ง สรรค์ กิ จ กรรมของกลุ่ ม ยังปริ๊ นเตอร์ และคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ ไทยในเจนเนอเรชั่นใหม่ แน่ นอนว่ า มีบรรยากาศ เป็ นไปด้ วยความสนุกสนาน เรียกความสนใจและ ได้ สาระอย่ างคาดไม่ ถงึ นับตังแต่ ้ การต้ อนรับแขกเหรื่ อผู้ประกอบการ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

035


PRINT การพิมพ์ไทยสัญจร 59 REPORT

การพิมพ์ไทยสัญจร 59

ภาคใต้

ภาคใต้

PRINT REPORT

การพิมพ์ไทยสัญจร 59

ภาคใต้

มาคมการพิมพ์ไทย จัดงาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร 59 ภาคใต้ ” เพื่อเผยแพร่ความรู้ เทคโนโลยีและฝึ ก ปฏิบตั กิ ารให้ แก่ผ้ ปู ระกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ์และ เกี่ยวเนื่องในพื ้นที่ภาคใต้ ณ ห้ องจุติ โรงแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ทัง้ นี ้ การบรรยายและการเสวนา มีทิศทางไปใน แนวทางที่ม่งุ หวังการสร้ างแรงบันดาลใจให้ ผ้ ูประกอบการ ปรับตัวเพือ่ เข้ าสูค่ วามเป็ น “อุตสาหกรรมใหม่ 4.0” และการ บริหารธุรกิจโรงพิมพ์เพือ่ ก้ าวไปสูอ่ นาคตทีย่ งั่ ยืน รวมทังมี ้ การ จัดเวิร์คช็อป เพื่อให้ ผ้ เู ข้ าร่ วมสัมมนาตระหนักถึง Creative Design ซึง่ เป็ นทางรอดทางหนึง่ โดยที่มีการเล็งเป้าหมายได้ คือ “ธุรกิ จการพิมพ์ไม่มีวนั ตาย เพียงแต่อนาคตจะปรับตัวไป อยู่ในสถานะใดเท่านัน้ ”

034

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เริ่มจากการบรรยายทีโ่ ดนใจคนยุคใหม่ภายใต้ บริ บท “ท�ำ มาหากิน ด้ ว ยการพิม พ์ ยุ ค ใหม่ ” โดย คุณฐานิพรรณ เอือ้ จงประสิทธิ์ บริ ษัท สามเจริ ญ พาณิชย์(กรุงเทพ) จ�ำกัด น�ำเสนอให้ หวั ข้ อ “การพิมพ์ มูลค่าสิง่ พิมพ์ด้วย Creartive Design” ซึง่ ว่ากันว่า นี่ คือทางรอดและเป็ นอนาคตที่ยงั่ ยืนโดยแท้ จริ ง จากนันคุ ้ ณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ บริ ษัท สุพรชัย จ�ำกัด น�ำเสนอแนวทางที่ถนัดและสอดคล้ อง กับธุรกิจที่ด�ำเนินการ นัน่ คือ การบรรยายเรื่ อง "การ เพิ่มมูลค่าสิ่งพิมพ์ด้วยเทคนิคหลังการพิมพ์” ซึ่งงาน หลังการพิมพ์นี่เองที่จะเป็ นตัวชีว้ ดั ว่า สิ่งพิมพ์ต่างๆ นอกเหนื อจะมีการพิมพ์ ที่ได้ คุณภาพมาตรฐานแล้ ว

สิ่งที่ท�ำให้ เกิดคุณค่าและเกิดความ “เหนือกว่า” ก็คือ นวัตกรรมงานหลังพิมพ์นี่เอง ไม่วา่ จะเป็ นสารพัดงาน เคลือบ งานไดคัท การพับและการขึ ้นรูป ฯลฯ บรรยากาศการจัดกิจกรรมช่ วงบ่ าย ซึ่งจัด ให้ มีการเวิร์คช็อปและสลับกับการเสวนา ถือว่ า เป็ นไฮไลต์ ของการสั ญจรภาคใต้ คราวนี ก้ ็ว่าได้ โดยเป็ นผลงานการรั ง สรรค์ กิ จ กรรมของกลุ่ ม ยังปริ๊ นเตอร์ และคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ ไทยในเจนเนอเรชั่นใหม่ แน่ นอนว่ า มีบรรยากาศ เป็ นไปด้ วยความสนุกสนาน เรียกความสนใจและ ได้ สาระอย่ างคาดไม่ ถงึ นับตังแต่ ้ การต้ อนรับแขกเหรื่ อผู้ประกอบการ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

035


PRINT การพิมพ์ไทยสัญจร 59 REPORT

การพิมพ์ไทยสัญจร 59

ภาคใต้

ที่เดินทางไปร่ วมกิจกรรม ซึ่งมีการถ่ายภาพในแง่มมุ ต่างๆ ที่เป็ นการดีไซน์ทว่ งท่าเพื่อเรี ยกความสนใจ และ ลงเอยด้ วยการโชว์การพิมพ์ดจิ ติ อลเป็ นภาพปกวารสาร Thaiprint Magazine ฉบับพิเศษให้ ทกุ คนพกกลับบ้ าน ไปเป็ นที่ระลึก ไฮไลต์ชว่ งบ่ายที่วา่ คือ การแบ่งกลุม่ เวิร์คช็อป ท�ำการผลิตหนังสือนิตยสารขึ ้นมา 1 ฉบับ โดยให้ แต่ละ กลุ่มท�ำคิดคอนเซ็ปต์เนือ้ หา ถ่ายแบบและดีไซน์ ปก พร้ อมทังบรรยายแนวคิ ้ ดและน�ำเสนอว่า งานที่ด�ำเนิน การครัง้ นี ้ จะตอบโจทย์การท�ำธุรกิจสิง่ พิมพ์และถูกใจ ตลาดได้ อย่างไร

036

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ภาคใต้

ไม่ เ ชื่ อ ก็ต้ อ งเชื่ อ ว่ า การท�ำ กิจ กรรมเวิ ร์ ค ช็ อ ปได้ ส ร้ างแรงบั น ดาลใจและมี ผ ลงานเกิ ด ขึ น้ อย่ างน่ าสนใจ โดยผลงานจ� ำ นวน 8 ชิ น้ ที่ น� ำ เสนอ มีแง่ มุมที่มีแนวคิดแตกต่ างกันไป ซึ่งแสดง ให้ เ ห็น ว่ า ความเป็ นจริ ง ในท้ อ งตลาด นิ ต ยสาร หรื อ สื่ อที่ น� ำ เสนอในตลาดมั ก มี ค วามแตกต่ าง หลากหลายเสมอ และขึ น้ อยู่ กั บ ผู้ บริ โ ภคที่ จ ะ เลื อ กเสพให้ ตรงกั บ ความต้ องการของตั ว เอง นัน่ หมายถึงว่า ผูป้ ระกอบธุรกิ จสิ่ งพิ มพ์จะต้องตี โจทย์ความต้องการของตลาดให้ได้ และดีไซน์รูปแบบออก มาให้มีความลุ่มลึกน่าสนใจ และทีล่ ะเลยไม่ได้คือแนวคิ ด

การเสนอประเด็นเนือ้ หาทีต่ อ้ งโดนใจคนกลุ่มเป้ าหมาย จึงจะเป็ นทางเลือกและทางรอดของคนท�ำอาชี พนี ้ บทสรุปสุดท้ ายของงานสัญจรการพิมพ์ภาคใต้ 2559 คือ การเสวนา “อนาคตการพิมพ์ ท่ คี ุณต้ องรู้ ” น�ำโดย คุณเกรี ยงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) คุณพงศ์ ธีระ พั ฒ นพี ร ะเดช อุ ป นายกสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย, คุณปรเมศวร์ ปรี ยานนท์ อดีตประธานกลุม่ ยังปริ๊ น เตอร์ และ คุณปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ ประธานกลุม่ ยังปริ๊ นเตอร์ คนปั จจุบนั โดยมีการน�ำเสนอมุมมองทีแ่ ตกต่างและหลาก หลายตามสไตล์คนรุ่นใหม่ และอ้ างอิงเทคโนโลยีที่จะ

PRINT REPORT

เข้ ามาช่วยในการด�ำเนินกิจการ โดยมีหยิบยกตัวอย่าง เทคโนโลที่น�ำเสนอในงานดรู ป้า 2016 มาเป็ นกรณี ศึกษา รวมทัง้ สอดแทรกประเด็นแนวคิดและวิธีการ ด�ำเนินธุรกิจการพิมพ์ให้ ประสบความส�ำเร็จและอยูร่ อด อย่างยัง่ ยืนในอนาคต การพิมพ์ ไทยสั ญจร 59 ภาคใต้ หลาย ประเด็นหลากสาระให้ ความคุ้มค่ าแก่ ผ้ ูประกอบ การโรงพิ ม พ์ ใ นพื น้ ที่ ภ าคใต้ ท่ ี เ ดิ น ทางไปร่ วม กิจกรรม และมีการส่ งสัญญาณว่ า อยากให้ ไปจัด รู ปแบบนีท้ ุกปี !!

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

037


PRINT การพิมพ์ไทยสัญจร 59 REPORT

การพิมพ์ไทยสัญจร 59

ภาคใต้

ที่เดินทางไปร่ วมกิจกรรม ซึ่งมีการถ่ายภาพในแง่มมุ ต่างๆ ที่เป็ นการดีไซน์ทว่ งท่าเพื่อเรี ยกความสนใจ และ ลงเอยด้ วยการโชว์การพิมพ์ดจิ ติ อลเป็ นภาพปกวารสาร Thaiprint Magazine ฉบับพิเศษให้ ทกุ คนพกกลับบ้ าน ไปเป็ นที่ระลึก ไฮไลต์ชว่ งบ่ายที่วา่ คือ การแบ่งกลุม่ เวิร์คช็อป ท�ำการผลิตหนังสือนิตยสารขึ ้นมา 1 ฉบับ โดยให้ แต่ละ กลุ่มท�ำคิดคอนเซ็ปต์เนือ้ หา ถ่ายแบบและดีไซน์ ปก พร้ อมทังบรรยายแนวคิ ้ ดและน�ำเสนอว่า งานที่ด�ำเนิน การครัง้ นี ้ จะตอบโจทย์การท�ำธุรกิจสิง่ พิมพ์และถูกใจ ตลาดได้ อย่างไร

036

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ภาคใต้

ไม่ เ ชื่ อ ก็ต้ อ งเชื่ อ ว่ า การท�ำ กิจ กรรมเวิ ร์ ค ช็ อ ปได้ ส ร้ างแรงบั น ดาลใจและมี ผ ลงานเกิ ด ขึ น้ อย่ างน่ าสนใจ โดยผลงานจ� ำ นวน 8 ชิ น้ ที่ น� ำ เสนอ มีแง่ มุมที่มีแนวคิดแตกต่ างกันไป ซึ่งแสดง ให้ เ ห็น ว่ า ความเป็ นจริ ง ในท้ อ งตลาด นิ ต ยสาร หรื อ สื่ อที่ น� ำ เสนอในตลาดมั ก มี ค วามแตกต่ าง หลากหลายเสมอ และขึ น้ อยู่ กั บ ผู้ บริ โ ภคที่ จ ะ เลื อ กเสพให้ ตรงกั บ ความต้ องการของตั ว เอง นัน่ หมายถึงว่า ผูป้ ระกอบธุรกิ จสิ่ งพิ มพ์จะต้องตี โจทย์ความต้องการของตลาดให้ได้ และดีไซน์รูปแบบออก มาให้มีความลุ่มลึกน่าสนใจ และทีล่ ะเลยไม่ได้คือแนวคิ ด

การเสนอประเด็นเนือ้ หาทีต่ อ้ งโดนใจคนกลุ่มเป้ าหมาย จึงจะเป็ นทางเลือกและทางรอดของคนท�ำอาชี พนี ้ บทสรุปสุดท้ ายของงานสัญจรการพิมพ์ภาคใต้ 2559 คือ การเสวนา “อนาคตการพิมพ์ ท่ คี ุณต้ องรู้ ” น�ำโดย คุณเกรี ยงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) คุณพงศ์ ธีระ พั ฒ นพี ร ะเดช อุ ป นายกสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย, คุณปรเมศวร์ ปรี ยานนท์ อดีตประธานกลุม่ ยังปริ๊ น เตอร์ และ คุณปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์ ประธานกลุม่ ยังปริ๊ นเตอร์ คนปั จจุบนั โดยมีการน�ำเสนอมุมมองทีแ่ ตกต่างและหลาก หลายตามสไตล์คนรุ่นใหม่ และอ้ างอิงเทคโนโลยีที่จะ

PRINT REPORT

เข้ ามาช่วยในการด�ำเนินกิจการ โดยมีหยิบยกตัวอย่าง เทคโนโลที่น�ำเสนอในงานดรู ป้า 2016 มาเป็ นกรณี ศึกษา รวมทัง้ สอดแทรกประเด็นแนวคิดและวิธีการ ด�ำเนินธุรกิจการพิมพ์ให้ ประสบความส�ำเร็จและอยูร่ อด อย่างยัง่ ยืนในอนาคต การพิมพ์ ไทยสั ญจร 59 ภาคใต้ หลาย ประเด็นหลากสาระให้ ความคุ้มค่ าแก่ ผ้ ูประกอบ การโรงพิ ม พ์ ใ นพื น้ ที่ ภ าคใต้ ท่ ี เ ดิ น ทางไปร่ วม กิจกรรม และมีการส่ งสัญญาณว่ า อยากให้ ไปจัด รู ปแบบนีท้ ุกปี !!

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

037


PRINT NEWS

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดสัมมนา FTPI Conference 2016 เดินหน้าร่วมขบวน Thailand 4.0

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดสัมมนา FTPI Conference 2016 เดินหน้าร่วมขบวน Thailand 4.0

PRINT NEWS

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดสัมมนา

FTPI Conference 2016 เดินหน้าร่วมขบวน

Thailand 4.0

สหพันธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ เดินหน้ า ผลั ก ดั น อุ ต สาหกรรมการพิม พ์ แ ละบรรจุ ภัณ ฑ์ ไทยก้ าวสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 และประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล มุ่งเป้าหมายเพื่อให้ มีการ ปรับตัวและพัฒนาเพื่อความอยู่รอดอย่ างยั่งยืนใน อนาคต ด้ วยการจัดสัมมนา FTPI Conference 2016 ขึน้ ณ ห้ องแกรนด์ บอลรู ม โรงแรมดิเอมเมอรั ลด์ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 คุ ณ นภดล ไกรฤกษ์ ประธานสหพั น ธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ กล่าวว่า การจัดงานกิจกรรมใน นามสหพันธ์ฯ ครัง้ นี ้ เพื่อให้ สมาชิกทัง้ 9 องค์กรได้ แก่ สมาคมแยกสีแม่พิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย, สมาคมการพิมพ์ไทย, กลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ ส.อ.ท., สมาคมบรรจุภณ ั ฑ์และกระดาษ ลูกฟูกไทย, สมาคมการพิมพ์ สกรี นไทย, สมาคมส่ง เสริ มวิชาการพิมพ์, สมาคมผู้จดั พิมพ์และผู้จ�ำหน่าย หนังสือแห่งประเทศไทย, สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย

038

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

และชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย ได้ ท�ำความ เข้ าใจกับนโยบายของรัฐบาล และเชื่อมโยงทิศทางก้ าว ใหม่ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ไทยไทย ไปสูย่ คุ ประเทศไทย 4.0 แบบพร้ อมๆ กัน การสัมมนาเริ่มต้ นช่วงเช้ าด้ วยการฉายภาพให้ เห็นโครงสร้ าง “Industry 4.0” โดย ดร.ขัตยิ า ไกรกาญจน์ ประธานบริ หารสถาบันวิจยั พัฒนาและนวัตกรรมเพื่อ อุตสาหกรรม จากนันได้ ้ ชี ้ให้ เห็นถึงสุขภาวะ “Happiness 4.0” โดยนายแพทย์ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ ผู้อำ� นวยการส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) จากนันช่ ้ วงบ่ายได้ เข้ าสูโ่ หมดของอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์โดยตรง เริ่ มด้ วยการบรรยาย เรื่ อง Printing & Packaging 4.0 โดยคุณสมหวัง บุญ รักษ์ เจริ ญ ผู้อ�ำนวยการสถาบันไทย-เยอรมัน (สถาบัน เครื อข่ายกระทรวงอุตสาหกรรม) และสุดท้ ายคือการ ตี ค วามด้ ว ยผู้เ ชี่ ย วชาญในแต่ล ะแขนง ภายใต้ ก าร เสวนาในหัวข้ อ “สิ่งพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์กบั โอกาสที่ ท้ าทายในยุค 4.0” โ ด ย มี ผู้ ร่ ว ม เ ส ว น า ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย

1.คุ ณ เกรี ยงไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธานสภา อุต สาหกรรมแห่ง ประเทศไทย 2.คุณ มานิ ต ย์ กมล สุวรรณ รองกรรมการผู้จดั การ บริ ษัท คอนติเนนตัล บรรจุ ภัณ ฑ์ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด 3.คุณ มยุ รี ภาค ล�ำเจียก ที่ปรึ กษาสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย 4.คุณ ประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม กรรมการผู้จดั การ บริษทั ฟิ วชัน่ เทคโนโลยี จ�ำกัด 5. คุณวรรณา สุทศั น์ ณ อยุธยา หัวหน้ าหน่วยบรรจุภณ ั ฑ์พิเศษ บริ ษัท เอสซีจี แพคเกจ จิ ้ง จ�ำกัด และด�ำเนินการเสวนาโดยคุณวรพงศ์ แจ้ งจิตร กรรมการ สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย การเสวนาในหัวข้อนี ้ วิ ทยากรแต่ละท่านได้มี การพูดถึงแนวทางการพัฒนาและวิ ธีที่จะก้าวไปสู่ยคุ อุตสาหกรรม 4.0 ในส่วนทีต่ นเองเกี ย่ วข้องและก� ำลัง ด� ำเนิ นการอยู่ ซึ่ งนับเป็ นมุมมองและแนวปฏิ บตั ิ ทีน่ ่า สนใจ (รายละเอียดโปรดติ ดตามในฉบับหน้า) แต่ ใ ครจะเป็ นผู้ เ ดิ น หน้ า สู่ เ ป้ าหมายได้ ส� ำ เร็ จ ก็ ค งหนี ไ ม่ พ้ น ดั ง บทสรุ ป ที่ ทุ ก คนเห็ น พร้ องและชีแ้ นะในวันนัน้ คือการปรั บตัวเข้ ายุค เทคโนโลยีดจิ ติ อลให้ จงได้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

039


PRINT NEWS

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดสัมมนา FTPI Conference 2016 เดินหน้าร่วมขบวน Thailand 4.0

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดสัมมนา FTPI Conference 2016 เดินหน้าร่วมขบวน Thailand 4.0

PRINT NEWS

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์จัดสัมมนา

FTPI Conference 2016 เดินหน้าร่วมขบวน

Thailand 4.0

สหพันธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ เดินหน้ า ผลั ก ดั น อุ ต สาหกรรมการพิม พ์ แ ละบรรจุ ภัณ ฑ์ ไทยก้ าวสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 และประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายรัฐบาล มุ่งเป้าหมายเพื่อให้ มีการ ปรับตัวและพัฒนาเพื่อความอยู่รอดอย่ างยั่งยืนใน อนาคต ด้ วยการจัดสัมมนา FTPI Conference 2016 ขึน้ ณ ห้ องแกรนด์ บอลรู ม โรงแรมดิเอมเมอรั ลด์ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 คุ ณ นภดล ไกรฤกษ์ ประธานสหพั น ธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ กล่าวว่า การจัดงานกิจกรรมใน นามสหพันธ์ฯ ครัง้ นี ้ เพื่อให้ สมาชิกทัง้ 9 องค์กรได้ แก่ สมาคมแยกสีแม่พิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย, สมาคมการพิมพ์ไทย, กลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ ส.อ.ท., สมาคมบรรจุภณ ั ฑ์และกระดาษ ลูกฟูกไทย, สมาคมการพิมพ์ สกรี นไทย, สมาคมส่ง เสริ มวิชาการพิมพ์, สมาคมผู้จดั พิมพ์และผู้จ�ำหน่าย หนังสือแห่งประเทศไทย, สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย

038

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

และชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย ได้ ท�ำความ เข้ าใจกับนโยบายของรัฐบาล และเชื่อมโยงทิศทางก้ าว ใหม่ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ไทยไทย ไปสูย่ คุ ประเทศไทย 4.0 แบบพร้ อมๆ กัน การสัมมนาเริ่มต้ นช่วงเช้ าด้ วยการฉายภาพให้ เห็นโครงสร้ าง “Industry 4.0” โดย ดร.ขัตยิ า ไกรกาญจน์ ประธานบริ หารสถาบันวิจยั พัฒนาและนวัตกรรมเพื่อ อุตสาหกรรม จากนันได้ ้ ชี ้ให้ เห็นถึงสุขภาวะ “Happiness 4.0” โดยนายแพทย์ชาญวิทย์ วสันต์ธนารัตน์ ผู้อำ� นวยการส�ำนักสนับสนุนสุขภาวะองค์กร ส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้ างเสริ มสุขภาพ (สสส.) จากนันช่ ้ วงบ่ายได้ เข้ าสูโ่ หมดของอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์โดยตรง เริ่ มด้ วยการบรรยาย เรื่ อง Printing & Packaging 4.0 โดยคุณสมหวัง บุญ รักษ์ เจริ ญ ผู้อ�ำนวยการสถาบันไทย-เยอรมัน (สถาบัน เครื อข่ายกระทรวงอุตสาหกรรม) และสุดท้ ายคือการ ตี ค วามด้ ว ยผู้เ ชี่ ย วชาญในแต่ล ะแขนง ภายใต้ ก าร เสวนาในหัวข้ อ “สิ่งพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์กบั โอกาสที่ ท้ าทายในยุค 4.0” โ ด ย มี ผู้ ร่ ว ม เ ส ว น า ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด้ ว ย

1.คุ ณ เกรี ยงไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธานสภา อุต สาหกรรมแห่ง ประเทศไทย 2.คุณ มานิ ต ย์ กมล สุวรรณ รองกรรมการผู้จดั การ บริ ษัท คอนติเนนตัล บรรจุ ภัณ ฑ์ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด 3.คุณ มยุ รี ภาค ล�ำเจียก ที่ปรึ กษาสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย 4.คุณ ประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม กรรมการผู้จดั การ บริษทั ฟิ วชัน่ เทคโนโลยี จ�ำกัด 5. คุณวรรณา สุทศั น์ ณ อยุธยา หัวหน้ าหน่วยบรรจุภณ ั ฑ์พิเศษ บริ ษัท เอสซีจี แพคเกจ จิ ้ง จ�ำกัด และด�ำเนินการเสวนาโดยคุณวรพงศ์ แจ้ งจิตร กรรมการ สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย การเสวนาในหัวข้อนี ้ วิ ทยากรแต่ละท่านได้มี การพูดถึงแนวทางการพัฒนาและวิ ธีที่จะก้าวไปสู่ยคุ อุตสาหกรรม 4.0 ในส่วนทีต่ นเองเกี ย่ วข้องและก� ำลัง ด� ำเนิ นการอยู่ ซึ่ งนับเป็ นมุมมองและแนวปฏิ บตั ิ ทีน่ ่า สนใจ (รายละเอียดโปรดติ ดตามในฉบับหน้า) แต่ ใ ครจะเป็ นผู้ เ ดิ น หน้ า สู่ เ ป้ าหมายได้ ส� ำ เร็ จ ก็ ค งหนี ไ ม่ พ้ น ดั ง บทสรุ ป ที่ ทุ ก คนเห็ น พร้ องและชีแ้ นะในวันนัน้ คือการปรั บตัวเข้ ายุค เทคโนโลยีดจิ ติ อลให้ จงได้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

039


PRINT

TECHNOLOGY

Push to Stop

Push to Stop

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง

Push to Stop ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง •รู ปแบบของการเปลี่ ยนแปลง กระบวนการผลิ ต งานพิ ม พ์ ท่ ี ส ามารถเพิ่ ม ผลผลิตขึน้ เป็ น 2 เท่ าได้ ภายใน 1 ปี •ความสะดวกง่ ายดายอย่ างที่สุดใน การควบคุมเครื่ องพิมพ์ ด้วยระบบ Intelliststart 2 และระบบ Intelliguide ที่คอยช่ วยเหลืออย่ าง ชาญฉลาด •กลุ่มผู้ผลิตงานบรรจุภณ ั ฑ์ ท่ ตี ้ องพบ กับงานที่ซบั ซ้ อนจะได้ รับผลประโยชน์ อย่ างยิ่ง ด้ วยตัวช่ วยน�ำทางในการพิมพ์ ซึ่งจะสามารถ ช่ วยลดเวลาในการบรรลุเป้าหมายได้ รวดเร็ ว ยิ่งขึน้ • การพิมพ์ อตั โนมัตไิ ด้ กลายเป็ นความ จริงมากขึน้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ผลิตงานคอมเม อร์ เชี่ยลที่จะสามารถเปลี่ยนงานได้ มากยิ่งขึน้

040

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง TECHNOLOGY

ธุรกิจการพิมพ์ทกุ วันนี มี้ กระบวนการการท�ำงาน ที่เป็ นรูปแบบของดิจิตอลมากขึ ้น ซึง่ สามารถผลิตงาน ได้ มากขึ ้นและมีประสิทธิภาพดีขึ ้น และเพือ่ ให้ ได้ เปรียบ ในเชิงเทคนิคมากทีส่ ดุ ด้ วยความสมบูรณ์แบบทีไ่ ม่เคย เกิดขึ ้นมาก่อน สิ่งที่ช่างพิมพ์ต้องการนันก� ้ ำลังจะเป็ น จริง ด้ วยเครื่ องนี ้จะท�ำให้ ชา่ งพิมพ์ไม่ต้องยุง่ ยากกับสิง่ ทีต่ ้ องท�ำทุกวันเหมือนอย่างแต่กอ่ น ด้ วยตัวช่วยทีม่ คี วาม อัจฉริยะช่างพิมพ์สามารถเรียนรู้เทคนิคการใช้ เครื่องนี ้ได้ อย่างเต็มศักยภาพ เพือ่ ให้ ได้ ผลผลิตทีด่ เี ยีย่ ม ด้ วยความคิดริ เริ่ มเหล่านี ้ ทางไฮเดลเบิร์กจึง น�ำเสนอเครื่ องพิมพ์ Speedmaster รุ่ นใหม่ที่งานดรู ป้า 2016 และก�ำลังจะน�ำไปสูร่ ูปแบบการเปลีย่ นแปลง ของอุตสาหกรรมการผลิตสิง่ พิมพ์ในนิยามใหม่ ที่เรี ยก ว่า Push to Stop เนือ่ งด้ วยในทุกวันนี ้กระบวนการการ สัง่ งาน ท�ำโดยช่างพิมพ์เป็ นหลัก แต่ในอนาคตอันใกล้ เครื่ องพิมพ์จะสัง่ งานโดยอัตโนมัติด้วยตัวเอง โดยช่าง พิมพ์จะท�ำงานในระบบอัตโนมัตเิ ท่าทีจ่ ำ� เป็ นเท่านัน้ สิง่ นี ้จะช่วยยกระดับความสามารถในการพิมพ์ ซึง่ ก่อนนี ้ ไม่สามารถท�ำให้ เป็ นไปได้ จึงท�ำให้ สามารถวางแผนการ ผลิตได้ ดยี งิ่ ขึ ้น และสามารถควบคุมจังหวะการท�ำงานได้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยทีจ่ ะเกิดความผิดพลาดน้ อยลง เมื่อ 15 ปี ที่ผ่านมา การพิมพ์ ระบบออฟเซ็ต สามารถผลิตงานพิมพ์ ท่รี ะดับ 20-30 ล้ านแผ่ นต่ อปี แต่ในปั จจุบนั นีส้ ามารถเพิ่มยอดพิมพ์ขนึ ้ เป็ น 2 เท่า คือ 40-60 ล้ านแผ่ นต่ อปี ไฮเดลเบิร์กได้ เป็ นส่ วน หนึ่งของความก้ าวหน้ านี ้ ด้ วยการท�ำให้ การผลิต

งานเสร็จในรอบพิมพ์เดียว โดยระบบบริหารจัดการ พริน้ เน็คต์ (Prinect) การพัฒนาเครื่องพิมพ์ ระดับ สูงในรุ่น Speedmaster XL และระบบการวัดค่ าและ ระบบควบคุมการท�ำงาน ปั จจุบนั แนวโน้ มของงานพิมพ์มีจ�ำนวนยอด พิมพ์ที่สนั ้ และจะมีการเปลี่ยนงานพิมพ์มากขึ ้นอย่าง เลี่ยงไม่ได้ โดยตอนนี ้มาตรฐานงานพิมพ์จะอยู่ที่ 10 งานต่อวัน และก�ำลังจะเป็ น 10 งานต่อกะ หรื อในขณะ เดียวกันโรงพิมพ์คอมเมอร์ เชีย่ ลบางแห่งต้ องท�ำ 10 งาน หรื อมากกว่าภายใน 1 ชัว่ โมงการท�ำงาน ด้ วยปริ มาณ งานที่มากขนาดนี ้จะส่งผลต่อการท�ำงานของผู้ปฏิบตั ิ งาน ทังในด้ ้ านร่างกายและจิตใจ “แค่ มรี ะบบอัตโนมัตยิ งั ไม่ เพียงพอส�ำหรับ การเพิ่มก�ำลังการผลิตให้ มากยิ่งขึน้ แต่ การใช้ งาน ที่ง่ายและมีความเสถียรของระบบคือสิ่งที่จะช่ วย ได้ อย่ างดี” คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ (Stephan Plenz) หนึ่งในกรรมการบริ หารซึ่งรับผิดชอบดูแลเครื่ องจักร และอุปกรณ์การพิมพ์ของไฮเดลเบิร์กอธิบาย “เราต้ องคิดถึงแนวทางใหม่เกีย่ วกับเครื่องพิมพ์ และการจัดการข้ อมูลดิจิตอลในระบบการท�ำงาน ที่ ชัดเจน เราจะมีการปรับเปลีย่ นแนวความคิด โดยคิดต่อ จากแนวความคิด Push to Start ให้ กลายเป็ นแนวคิด Push to Stop ปั จจุบนั ผู้ใช้ งานจะต้ องกดเพื่อสัง่ เริ่มต้ น

โต๊ะควบคุมการท�ำงาน Prinect Press Center XL2 รุ่นใหม่ ระบบผูช้ ่วยเหลื ออัจฉริ ยะจะช่วยให้การท�ำงานพิ มพ์สะดวกมากขึ้น นับ เป็ นสิ่ งทีน่ า่ สนใจส�ำหรับผูผ้ ลิ ตงานพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ทีม่ ีการผลิ ตทีซ่ บั ซ้อน พร้อมด้วยการพิ มพ์สีพิเศษต่างๆ ที ท่ � ำให้งานพิ มพ์โดดเด่นงดงาม และ ด้วย Intellistart 2 ท�ำให้โรงพิ มพ์คอมเมอร์ เชี ย่ ลสามารถท�ำงานอย่างมี มาตรฐานโดยระบบอัตโนมัติ ทัง้ ทีม่ ี การเปลีย่ นงานมากขึ้น

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

041


PRINT

TECHNOLOGY

Push to Stop

Push to Stop

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง

Push to Stop ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง •รู ปแบบของการเปลี่ ยนแปลง กระบวนการผลิ ต งานพิ ม พ์ ท่ ี ส ามารถเพิ่ ม ผลผลิตขึน้ เป็ น 2 เท่ าได้ ภายใน 1 ปี •ความสะดวกง่ ายดายอย่ างที่สุดใน การควบคุมเครื่ องพิมพ์ ด้วยระบบ Intelliststart 2 และระบบ Intelliguide ที่คอยช่ วยเหลืออย่ าง ชาญฉลาด •กลุ่มผู้ผลิตงานบรรจุภณ ั ฑ์ ท่ ตี ้ องพบ กับงานที่ซบั ซ้ อนจะได้ รับผลประโยชน์ อย่ างยิ่ง ด้ วยตัวช่ วยน�ำทางในการพิมพ์ ซึ่งจะสามารถ ช่ วยลดเวลาในการบรรลุเป้าหมายได้ รวดเร็ ว ยิ่งขึน้ • การพิมพ์ อตั โนมัตไิ ด้ กลายเป็ นความ จริงมากขึน้ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ผลิตงานคอมเม อร์ เชี่ยลที่จะสามารถเปลี่ยนงานได้ มากยิ่งขึน้

040

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง TECHNOLOGY

ธุรกิจการพิมพ์ทกุ วันนี มี้ กระบวนการการท�ำงาน ที่เป็ นรูปแบบของดิจิตอลมากขึ ้น ซึง่ สามารถผลิตงาน ได้ มากขึ ้นและมีประสิทธิภาพดีขึ ้น และเพือ่ ให้ ได้ เปรียบ ในเชิงเทคนิคมากทีส่ ดุ ด้ วยความสมบูรณ์แบบทีไ่ ม่เคย เกิดขึ ้นมาก่อน สิ่งที่ช่างพิมพ์ต้องการนันก� ้ ำลังจะเป็ น จริง ด้ วยเครื่ องนี ้จะท�ำให้ ชา่ งพิมพ์ไม่ต้องยุง่ ยากกับสิง่ ทีต่ ้ องท�ำทุกวันเหมือนอย่างแต่กอ่ น ด้ วยตัวช่วยทีม่ คี วาม อัจฉริยะช่างพิมพ์สามารถเรียนรู้เทคนิคการใช้ เครื่องนี ้ได้ อย่างเต็มศักยภาพ เพือ่ ให้ ได้ ผลผลิตทีด่ เี ยีย่ ม ด้ วยความคิดริ เริ่ มเหล่านี ้ ทางไฮเดลเบิร์กจึง น�ำเสนอเครื่ องพิมพ์ Speedmaster รุ่ นใหม่ที่งานดรู ป้า 2016 และก�ำลังจะน�ำไปสูร่ ูปแบบการเปลีย่ นแปลง ของอุตสาหกรรมการผลิตสิง่ พิมพ์ในนิยามใหม่ ที่เรี ยก ว่า Push to Stop เนือ่ งด้ วยในทุกวันนี ้กระบวนการการ สัง่ งาน ท�ำโดยช่างพิมพ์เป็ นหลัก แต่ในอนาคตอันใกล้ เครื่ องพิมพ์จะสัง่ งานโดยอัตโนมัติด้วยตัวเอง โดยช่าง พิมพ์จะท�ำงานในระบบอัตโนมัตเิ ท่าทีจ่ ำ� เป็ นเท่านัน้ สิง่ นี ้จะช่วยยกระดับความสามารถในการพิมพ์ ซึง่ ก่อนนี ้ ไม่สามารถท�ำให้ เป็ นไปได้ จึงท�ำให้ สามารถวางแผนการ ผลิตได้ ดยี งิ่ ขึ ้น และสามารถควบคุมจังหวะการท�ำงานได้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยทีจ่ ะเกิดความผิดพลาดน้ อยลง เมื่อ 15 ปี ที่ผ่านมา การพิมพ์ ระบบออฟเซ็ต สามารถผลิตงานพิมพ์ ท่รี ะดับ 20-30 ล้ านแผ่ นต่ อปี แต่ในปั จจุบนั นีส้ ามารถเพิ่มยอดพิมพ์ขนึ ้ เป็ น 2 เท่า คือ 40-60 ล้ านแผ่ นต่ อปี ไฮเดลเบิร์กได้ เป็ นส่ วน หนึ่งของความก้ าวหน้ านี ้ ด้ วยการท�ำให้ การผลิต

งานเสร็จในรอบพิมพ์เดียว โดยระบบบริหารจัดการ พริน้ เน็คต์ (Prinect) การพัฒนาเครื่องพิมพ์ ระดับ สูงในรุ่น Speedmaster XL และระบบการวัดค่ าและ ระบบควบคุมการท�ำงาน ปั จจุบนั แนวโน้ มของงานพิมพ์มีจ�ำนวนยอด พิมพ์ที่สนั ้ และจะมีการเปลี่ยนงานพิมพ์มากขึ ้นอย่าง เลี่ยงไม่ได้ โดยตอนนี ้มาตรฐานงานพิมพ์จะอยู่ที่ 10 งานต่อวัน และก�ำลังจะเป็ น 10 งานต่อกะ หรื อในขณะ เดียวกันโรงพิมพ์คอมเมอร์ เชีย่ ลบางแห่งต้ องท�ำ 10 งาน หรื อมากกว่าภายใน 1 ชัว่ โมงการท�ำงาน ด้ วยปริ มาณ งานที่มากขนาดนี ้จะส่งผลต่อการท�ำงานของผู้ปฏิบตั ิ งาน ทังในด้ ้ านร่างกายและจิตใจ “แค่ มรี ะบบอัตโนมัตยิ งั ไม่ เพียงพอส�ำหรับ การเพิ่มก�ำลังการผลิตให้ มากยิ่งขึน้ แต่ การใช้ งาน ที่ง่ายและมีความเสถียรของระบบคือสิ่งที่จะช่ วย ได้ อย่ างดี” คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ (Stephan Plenz) หนึ่งในกรรมการบริ หารซึ่งรับผิดชอบดูแลเครื่ องจักร และอุปกรณ์การพิมพ์ของไฮเดลเบิร์กอธิบาย “เราต้ องคิดถึงแนวทางใหม่เกีย่ วกับเครื่องพิมพ์ และการจัดการข้ อมูลดิจิตอลในระบบการท�ำงาน ที่ ชัดเจน เราจะมีการปรับเปลีย่ นแนวความคิด โดยคิดต่อ จากแนวความคิด Push to Start ให้ กลายเป็ นแนวคิด Push to Stop ปั จจุบนั ผู้ใช้ งานจะต้ องกดเพื่อสัง่ เริ่มต้ น

โต๊ะควบคุมการท�ำงาน Prinect Press Center XL2 รุ่นใหม่ ระบบผูช้ ่วยเหลื ออัจฉริ ยะจะช่วยให้การท�ำงานพิ มพ์สะดวกมากขึ้น นับ เป็ นสิ่ งทีน่ า่ สนใจส�ำหรับผูผ้ ลิ ตงานพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์ทีม่ ีการผลิ ตทีซ่ บั ซ้อน พร้อมด้วยการพิ มพ์สีพิเศษต่างๆ ที ท่ � ำให้งานพิ มพ์โดดเด่นงดงาม และ ด้วย Intellistart 2 ท�ำให้โรงพิ มพ์คอมเมอร์ เชี ย่ ลสามารถท�ำงานอย่างมี มาตรฐานโดยระบบอัตโนมัติ ทัง้ ทีม่ ี การเปลีย่ นงานมากขึ้น

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

041


PRINT

TECHNOLOGY

Push to Stop

Push to Stop

PRINT

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง TECHNOLOGY

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง

โปร่ งใสในขณะที่ระบบอัตโนมัติท�ำงานอย่างต่อเนื่อง ในทางกลับกันก็ไม่ส่งผลกระทบหากเราต้ องสัง่ งาน ด้ วยตนเอง ระบบสร้ างความมัน่ ใจได้ อย่างสูงเมื่อต้ อง เปลีย่ นแปลงงานจากรูปแบบหนึง่ ไปยังงานต่อไป ระบบ รองรับการท�ำงานที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น ในเรื่ องของการใช้ หมึกหรื อการเคลือบที่บอ่ ยขึ ้น ซึง่ เป็ นเรื่ องปกติสำ� หรับ การพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์อยู่แล้ ว และระบบ intelliguide นี ้ยังมีเอกลักษณ์พิเศษคือช่วยป้องกันความผิดพลาด และช่วยเพิ่มผลผลิตได้ มากขึ ้น การยึดในแนวคิด Push to Stop นี ้ พร้ อมค�ำแนะน�ำ คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ จากผู้ช�ำนาญการและเชี่ยวชาญในการผลิตงานของ เรา การเติบโตของกลุม่ สินค้ าวัสดุและอุปกรณ์ทางการ ุ ภาพของเรา และวิวฒ ั นาการแนวคิดในการให้ งานให้ กบั เครื่ องพิมพ์ แต่ในอนาคตเครื่ องจักรจะเริ่ ม พิมพ์คณ ต้ นการท�ำงานเองในส่วนที่สามารถท�ำได้ เริ่ มต้ นการ บริ การของเรา งานดรูป้านับเป็ นการเริ่ มต้ นของ Smart ท�ำงานแบบอัตโนมัติด้วยตัวเองตามคิวงานพิมพ์ โดย Print Shop และจะด�ำเนินต่อเนื่องต่อไป” เครื่ องจะท�ำในแนวทางตามที่ควรท�ำ เริ่ มต้ นงานพิมพ์ ด้ วยขันตอนที ้ น่ ้ อยทีส่ ดุ ซึง่ จะท�ำให้ ได้ ผลผลิตในจ�ำนวน กุญแจส�ำคัญการท�ำงานทีง่ ่ ายและมีประสิทธิภาพ มากเป็ นผลลัพธ์ ผู้ใช้ งานจะท�ำแค่บางขันตอนการผลิ ้ ต แนวความคิดการท�ำงานแบบ “Push to Stop” หากมีบางสิง่ ที่ต้องแก้ ไข” ส�ำเร็ จได้ ด้วยเครื่ องพิมพ์ในรุ่ น Speedmaster พร้ อม จากผลการวิเคราะห์ ป ระสิทธิ ภ าพโดยรวม โต๊ ะควบคุมการท�ำงานรุ่นใหม่ที่ชื่อว่า Prinect Press ของเครื่ องจักร หรื อ OEE ส�ำหรับเครื่ องพิมพ์นนพบ ั้ Center XL2 พร้ อมซอฟต์แวร์ ทชี่ าญฉลาด Intellistart 2 ว่า ปั จจุบนั ผู้ใช้ งานสามารถใช้ งานเครื่ องจักรได้ เพียง และระบบที่คอยช่วยเหลืออย่าง Intelliguide ผู้ใช้ งาน 20-30 % ของประสิทธิภาพจริ งเท่านัน้ นัน่ หมายถึง ยัง จะเห็นขัน้ ตอนการท�ำงานอย่างชัดเจนและสามารถ มีโอกาสอีกมากในการดึงประสิทธิภาพออกมาใช้ ให้ เต็ม ท� ำ ตามขัน้ ตอนที่ แ สดงนัน้ บนหน้ าจอขนาดใหญ่ ที่ การศึกษาพบว่าหาก OEE สูงขึ ้นถึง 50% นัน่ หมาย ของ Wallscreen XL ด้ วยการใช้ งานเชื่อมต่อระหว่าง ถึง ความสามารถเพิ่มก�ำลังการผลิตขึ ้นได้ ถงึ เท่าตัว “แนวความคิ ด Push to Stop ของเรา เครื่ องจักรและผู้ใช้ งานนี ้ผู้ใช้ งานสามารถตรวจเช็คขัน้ ้ มีงานที่ต้อง ครอบคลุมในมุมที่กว้ างมาก” คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ ตอนการท�ำงานและดูภาพรวมทังหมดแม้ ยืนยัน “ในการจะท�ำให้ ได้ OEE ที่ 50% หรื อมากกว่า ท�ำการเปลีย่ นแปลงจ�ำนวนมาก นี่คอื การขยายไปสูก่ าร นี ้ ทุกๆส่วนในกระบวนการจะต้ องท�ำงานสอดคล้ อง พิมพ์งานแบบอัตโนมัติ วิธีการอัจฉริ ยะนี ้ได้ เริ่ มต้ นขึ ้น ต่อเนื่องกันอย่างสมบูรณ์แบบ หมายรวมถึงการสร้ าง โดยอัตโนมัติตามล�ำดับงานที่วางไว้ ผู้ใช้ งานเพียงแค่ มาตรฐานในการท� ำ งาน การใช้ วัส ดุแ ละอุป กรณ์ คอยขัดจังหวะการท�ำงานหากจ�ำเป็ นเท่านัน้ “Push to stop” ยังคงแนวคิดเดิมและปั จจุบนั ทางการพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพ การสอบเทียบกระบวนการ และระบบการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง นอกจากนี ้ ยังต้ องให้ ได้ ตดิ ตัง้ แล้ วในเครื่องพิมพ์ ร่ ุนใหม่ ๆ อาทิ XL 75, ความส�ำคัญกับการบ�ำรุ งรักษาอย่างชาญฉลาด จาก CX/SX 102, XL 106 and XL 145/162 ซึ่งมีอปุ กรณ์

042

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ครบครัน อาทิ Prinect Center XL 2, the Wallscreen XL and Autoplate Pro, Autoplate XL2 and Inpress control 2 พร้ อมอุปกรณ์ เสริมอื่นๆ ด้ วยระบบ “Push to stop” อุตสาหกรรมการพิมพ์ ด้วยระบบ ออฟเซ็ต ซึ่งให้ ผลผลิตสูงสุดกลายมาเป็ นสิ่งที่เป็ น ไปได้ คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ กล่ าวว่ า “เป็ นครัง้ แรก ที่แนวคิดนี ้ สามารถใช้ ได้ กับเครื่ องพิมพ์ ดิจิตอล รุ่ น Premefire 106 ซึ่งจะช่ วยผลิตงานคุณภาพใน ปริมาณมากระดับอุตสาหกรรมได้ เช่ นกัน”

ระบบน�ำทางของแท่ นพิมพ์

โต๊ ะควบคุมการท�ำงาน Prinect press center XL2 รุ่นใหม่ ได้ ตดิ ตังซอฟต์ ้ แวร์ Intellistart 2 และระบบ Intelliguide assistance system ซึง่ ได้ รับการจดสิทธิ บัตรแล้ ว หากย้ อนกลับไปในปี พ.ศ. 2551 ไฮเดลเบิร์ก ประสบความส�ำเร็ จในการริ เริ่ มการท�ำงานด้ วยระบบ intellistart ซงึ่ เป็ นรุ่นแรกและยังคงเอกลักษณ์ในเรื่องของ ระบบความอัจฉริยะในการท�ำงาน ระบบ intellistart 2 ปั จจุบนั ได้ มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนื่องและได้ เข้ าสูต่ ลาด แล้ ว เช่นเดียวกับระบบน�ำทางของรถยนตร์ intellistart 2 จะท�ำการค�ำนวณผลลัพธ์การตังเครื ้ ่องทีใ่ ห้ ระยะเวลา ที่เร็ วและด้ วยขันตอนที ้ ่สนที ั ้ ่สดุ ระบบใหม่ที่เรี ยกว่า intelliguide นี ้ จะช่วย แสดงให้ เห็นในเรื่ องกรอบระยะเวลาการตังเครื ้ ่ องตาม เวลาจริง และเครื่ องนี ้จะช่วยให้ ผ้ ใุ ช้ งานท�ำงานได้ อย่าง

การเพิ่มผลผลิตอย่ างต่ อเนื่อง

โรงพิ ม พ์ ค อมเมอร์ เ ชี่ ย ลยัง คงด� ำ เนิ น งาน ภายใต้ มาตรฐานการท�ำงาน โดยมี การเปลี่ยนงาน มากขึ ้น ระบบ intellistart 2 ช่วยให้ การพิมพ์ระบบ อัตโนมัติเกิดขึ ้นได้ จริ ง และท�ำงานได้ อย่างอิสระเป็ น ครัง้ แรกที่สามารถเตรี ยมงานหลายๆ งานและจัดคิว การพิมพ์ ในขณะที่เครื่ องยังคงพิมพ์ งานอยู่ อีกทัง้ ผู้ ใช้ งานยังสามารถสัง่ งานได้ โดยลากแล้ วปล่อยได้ ใน ขณะที่ระบบ intellistart 2 ก�ำลังค�ำนวณการจัดคิว งานที่เราเตรี ยมการไว้ โดยระบบจะเริ่ มท� ำงานโดย อัตโนมัตเิ มือ่ มีการเปลีย่ นงานและท�ำงานด้ วยตัวมันเอง ณ จุ ด นี ้ การท� ำ งานร่ ว มกัน กับ Prinect Inpress Control 2, ระบบซอฟต์แวร์ ใหม่นี้ หรื อทีเ่ รี ยกว่า “Quality Assist” มีความสามารถพิเศษเฉพาะในการ จดจ� ำหรื อบันทึกการสัง่ งานไว้ล่วงหน้า ในขณะที ก่ าร พิมพ์งานนัน้ ยังคงด�ำเนินไปอย่างต่อเนือ่ งโดยอัตโนมัติ “ด้ วยแนวความคิด “Push to Start” เราก�ำลัง วางอนาคตของการผลิตงานในอุตสาหกรรมการ พิมพ์ ซึ่งจะท�ำให้ ลูกค้ าของเราสามารถเพิ่มความ สามารถในการแข่ งขันได้ อย่ างชัดเจน และยังช่ วย ให้ ได้ ผลผลิตที่มากขึน้ พร้ อมด้ วยผลก�ำไร เราหวัง ให้การเพิ่มผลผลิตท�ำได้ มากขึน้ เป็ นเท่าตัวในอีกไม่ กี่ปีข้ างหน้ า ด้ วยก�ำลังคนที่เท่าเดิมหรืออาจจะน้ อย กว่ าตอนนี”้ คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ กล่าวสรุปในท้ าย ทีส่ ดุ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

043


PRINT

TECHNOLOGY

Push to Stop

Push to Stop

PRINT

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง TECHNOLOGY

ไฮเดลเบิร์กท�ำให้เกิดระบบการพิมพ์อัตโนมัติขึ้นจริง

โปร่ งใสในขณะที่ระบบอัตโนมัติท�ำงานอย่างต่อเนื่อง ในทางกลับกันก็ไม่ส่งผลกระทบหากเราต้ องสัง่ งาน ด้ วยตนเอง ระบบสร้ างความมัน่ ใจได้ อย่างสูงเมื่อต้ อง เปลีย่ นแปลงงานจากรูปแบบหนึง่ ไปยังงานต่อไป ระบบ รองรับการท�ำงานที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้น ในเรื่ องของการใช้ หมึกหรื อการเคลือบที่บอ่ ยขึ ้น ซึง่ เป็ นเรื่ องปกติสำ� หรับ การพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์อยู่แล้ ว และระบบ intelliguide นี ้ยังมีเอกลักษณ์พิเศษคือช่วยป้องกันความผิดพลาด และช่วยเพิ่มผลผลิตได้ มากขึ ้น การยึดในแนวคิด Push to Stop นี ้ พร้ อมค�ำแนะน�ำ คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ จากผู้ช�ำนาญการและเชี่ยวชาญในการผลิตงานของ เรา การเติบโตของกลุม่ สินค้ าวัสดุและอุปกรณ์ทางการ ุ ภาพของเรา และวิวฒ ั นาการแนวคิดในการให้ งานให้ กบั เครื่ องพิมพ์ แต่ในอนาคตเครื่ องจักรจะเริ่ ม พิมพ์คณ ต้ นการท�ำงานเองในส่วนที่สามารถท�ำได้ เริ่ มต้ นการ บริ การของเรา งานดรูป้านับเป็ นการเริ่ มต้ นของ Smart ท�ำงานแบบอัตโนมัติด้วยตัวเองตามคิวงานพิมพ์ โดย Print Shop และจะด�ำเนินต่อเนื่องต่อไป” เครื่ องจะท�ำในแนวทางตามที่ควรท�ำ เริ่ มต้ นงานพิมพ์ ด้ วยขันตอนที ้ น่ ้ อยทีส่ ดุ ซึง่ จะท�ำให้ ได้ ผลผลิตในจ�ำนวน กุญแจส�ำคัญการท�ำงานทีง่ ่ ายและมีประสิทธิภาพ มากเป็ นผลลัพธ์ ผู้ใช้ งานจะท�ำแค่บางขันตอนการผลิ ้ ต แนวความคิดการท�ำงานแบบ “Push to Stop” หากมีบางสิง่ ที่ต้องแก้ ไข” ส�ำเร็ จได้ ด้วยเครื่ องพิมพ์ในรุ่ น Speedmaster พร้ อม จากผลการวิเคราะห์ ป ระสิทธิ ภ าพโดยรวม โต๊ ะควบคุมการท�ำงานรุ่นใหม่ที่ชื่อว่า Prinect Press ของเครื่ องจักร หรื อ OEE ส�ำหรับเครื่ องพิมพ์นนพบ ั้ Center XL2 พร้ อมซอฟต์แวร์ ทชี่ าญฉลาด Intellistart 2 ว่า ปั จจุบนั ผู้ใช้ งานสามารถใช้ งานเครื่ องจักรได้ เพียง และระบบที่คอยช่วยเหลืออย่าง Intelliguide ผู้ใช้ งาน 20-30 % ของประสิทธิภาพจริ งเท่านัน้ นัน่ หมายถึง ยัง จะเห็นขัน้ ตอนการท�ำงานอย่างชัดเจนและสามารถ มีโอกาสอีกมากในการดึงประสิทธิภาพออกมาใช้ ให้ เต็ม ท� ำ ตามขัน้ ตอนที่ แ สดงนัน้ บนหน้ าจอขนาดใหญ่ ที่ การศึกษาพบว่าหาก OEE สูงขึ ้นถึง 50% นัน่ หมาย ของ Wallscreen XL ด้ วยการใช้ งานเชื่อมต่อระหว่าง ถึง ความสามารถเพิ่มก�ำลังการผลิตขึ ้นได้ ถงึ เท่าตัว “แนวความคิ ด Push to Stop ของเรา เครื่ องจักรและผู้ใช้ งานนี ้ผู้ใช้ งานสามารถตรวจเช็คขัน้ ้ มีงานที่ต้อง ครอบคลุมในมุมที่กว้ างมาก” คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ ตอนการท�ำงานและดูภาพรวมทังหมดแม้ ยืนยัน “ในการจะท�ำให้ ได้ OEE ที่ 50% หรื อมากกว่า ท�ำการเปลีย่ นแปลงจ�ำนวนมาก นี่คอื การขยายไปสูก่ าร นี ้ ทุกๆส่วนในกระบวนการจะต้ องท�ำงานสอดคล้ อง พิมพ์งานแบบอัตโนมัติ วิธีการอัจฉริ ยะนี ้ได้ เริ่ มต้ นขึ ้น ต่อเนื่องกันอย่างสมบูรณ์แบบ หมายรวมถึงการสร้ าง โดยอัตโนมัติตามล�ำดับงานที่วางไว้ ผู้ใช้ งานเพียงแค่ มาตรฐานในการท� ำ งาน การใช้ วัส ดุแ ละอุป กรณ์ คอยขัดจังหวะการท�ำงานหากจ�ำเป็ นเท่านัน้ “Push to stop” ยังคงแนวคิดเดิมและปั จจุบนั ทางการพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพ การสอบเทียบกระบวนการ และระบบการเรี ยนรู้ด้วยตนเอง นอกจากนี ้ ยังต้ องให้ ได้ ตดิ ตัง้ แล้ วในเครื่องพิมพ์ ร่ ุนใหม่ ๆ อาทิ XL 75, ความส�ำคัญกับการบ�ำรุ งรักษาอย่างชาญฉลาด จาก CX/SX 102, XL 106 and XL 145/162 ซึ่งมีอปุ กรณ์

042

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ครบครัน อาทิ Prinect Center XL 2, the Wallscreen XL and Autoplate Pro, Autoplate XL2 and Inpress control 2 พร้ อมอุปกรณ์ เสริมอื่นๆ ด้ วยระบบ “Push to stop” อุตสาหกรรมการพิมพ์ ด้วยระบบ ออฟเซ็ต ซึ่งให้ ผลผลิตสูงสุดกลายมาเป็ นสิ่งที่เป็ น ไปได้ คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ กล่ าวว่ า “เป็ นครัง้ แรก ที่แนวคิดนี ้ สามารถใช้ ได้ กับเครื่ องพิมพ์ ดิจิตอล รุ่ น Premefire 106 ซึ่งจะช่ วยผลิตงานคุณภาพใน ปริมาณมากระดับอุตสาหกรรมได้ เช่ นกัน”

ระบบน�ำทางของแท่ นพิมพ์

โต๊ ะควบคุมการท�ำงาน Prinect press center XL2 รุ่นใหม่ ได้ ตดิ ตังซอฟต์ ้ แวร์ Intellistart 2 และระบบ Intelliguide assistance system ซึง่ ได้ รับการจดสิทธิ บัตรแล้ ว หากย้ อนกลับไปในปี พ.ศ. 2551 ไฮเดลเบิร์ก ประสบความส�ำเร็ จในการริ เริ่ มการท�ำงานด้ วยระบบ intellistart ซงึ่ เป็ นรุ่นแรกและยังคงเอกลักษณ์ในเรื่องของ ระบบความอัจฉริยะในการท�ำงาน ระบบ intellistart 2 ปั จจุบนั ได้ มกี ารพัฒนาอย่างต่อเนื่องและได้ เข้ าสูต่ ลาด แล้ ว เช่นเดียวกับระบบน�ำทางของรถยนตร์ intellistart 2 จะท�ำการค�ำนวณผลลัพธ์การตังเครื ้ ่องทีใ่ ห้ ระยะเวลา ที่เร็ วและด้ วยขันตอนที ้ ่สนที ั ้ ่สดุ ระบบใหม่ที่เรี ยกว่า intelliguide นี ้ จะช่วย แสดงให้ เห็นในเรื่ องกรอบระยะเวลาการตังเครื ้ ่ องตาม เวลาจริง และเครื่ องนี ้จะช่วยให้ ผ้ ใุ ช้ งานท�ำงานได้ อย่าง

การเพิ่มผลผลิตอย่ างต่ อเนื่อง

โรงพิ ม พ์ ค อมเมอร์ เ ชี่ ย ลยัง คงด� ำ เนิ น งาน ภายใต้ มาตรฐานการท�ำงาน โดยมี การเปลี่ยนงาน มากขึ ้น ระบบ intellistart 2 ช่วยให้ การพิมพ์ระบบ อัตโนมัติเกิดขึ ้นได้ จริ ง และท�ำงานได้ อย่างอิสระเป็ น ครัง้ แรกที่สามารถเตรี ยมงานหลายๆ งานและจัดคิว การพิมพ์ ในขณะที่เครื่ องยังคงพิมพ์ งานอยู่ อีกทัง้ ผู้ ใช้ งานยังสามารถสัง่ งานได้ โดยลากแล้ วปล่อยได้ ใน ขณะที่ระบบ intellistart 2 ก�ำลังค�ำนวณการจัดคิว งานที่เราเตรี ยมการไว้ โดยระบบจะเริ่ มท� ำงานโดย อัตโนมัตเิ มือ่ มีการเปลีย่ นงานและท�ำงานด้ วยตัวมันเอง ณ จุ ด นี ้ การท� ำ งานร่ ว มกัน กับ Prinect Inpress Control 2, ระบบซอฟต์แวร์ ใหม่นี้ หรื อทีเ่ รี ยกว่า “Quality Assist” มีความสามารถพิเศษเฉพาะในการ จดจ� ำหรื อบันทึกการสัง่ งานไว้ล่วงหน้า ในขณะที ก่ าร พิมพ์งานนัน้ ยังคงด�ำเนินไปอย่างต่อเนือ่ งโดยอัตโนมัติ “ด้ วยแนวความคิด “Push to Start” เราก�ำลัง วางอนาคตของการผลิตงานในอุตสาหกรรมการ พิมพ์ ซึ่งจะท�ำให้ ลูกค้ าของเราสามารถเพิ่มความ สามารถในการแข่ งขันได้ อย่ างชัดเจน และยังช่ วย ให้ ได้ ผลผลิตที่มากขึน้ พร้ อมด้ วยผลก�ำไร เราหวัง ให้การเพิ่มผลผลิตท�ำได้ มากขึน้ เป็ นเท่าตัวในอีกไม่ กี่ปีข้ างหน้ า ด้ วยก�ำลังคนที่เท่าเดิมหรืออาจจะน้ อย กว่ าตอนนี”้ คุณสเตฟาน เพล้ นซ์ กล่าวสรุปในท้ าย ทีส่ ดุ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

043


PRINT REPORT

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

2 โรงพิ มพ์คณ ุ ภาพถ่ายภาพร่ วมกันเป็ นทีป่ ระลึก น�ำโดยอาจารย์มานิ ตย์ กมลสุวรรณ บริ ษัท คอนติ เนนตัล บรรจุภณ ั ฑ์(ไทยแลนด์)จ� ำกัด (ซ้าย) และคุณสืบศักดิ์ คูชยั ยานนท์ บริ ษัท บริ ษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์ แพค จ� ำกัด (ด้านขวา)

2 โรงพิมพ์คุณภาพ

คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค

ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016 กรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ ได้ จั ด ให้ มี พิ ธี ป ระกาศ เกี ย รติ คุ ณ และมอบโล่ รางวั ล “ผู้ ประกอบ ธุรกิจส่ งออกดีเด่ น ประจ�ำปี 2559 หรื อ PM AWARD 2016 : Prime Minister’s Export Award 2016 โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายก รั ฐมนตรี มอบหมายให้ มอบให้ คุณอภิรดี ตัน ตราภรณ์ รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ ไป เป็ นประธานในพิธีเปิ ดและมอบโล่ รางวัลแทน เนื่องจากติดภารกิจการแถลงนโยบายครบรอบ 2 ปี ของรัฐบาล เมื่อบ่ ายวันที่ 15 กันยายน 2559 ณ ศูนย์ การประชุมแห่ งชาติสิริกติ ์ ิ

046

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

คุณภาวิ มาส กมลสุวรรณ

คุณสืบศักดิ์ คูชยั ยานนท์

ปี นีม้ ีคดั เลือกผู้ประกอบการธุรกิจส่งออกดี เด่นเข้ ารับรางวัลสูงสุดของรัฐบาล จ�ำนวน 43 บริ ษัท รวม 50 รางวัล โดยในส่วนสาขาธุรกิจสิ่งพิมพ์ และ บรรจุภณ ั ฑ์ ในประเภทรางวัลธุรกิจบริ การยอดเยี่ยม ซึ่งท�ำการคัดเลือกและมอบรางวัลเป็ นปี แรก ปรากฏ ว่า มีโรงพิมพ์ได้ รับ 2 รางวัลคือ บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุ ภั ณ ฑ์ (ไทยแลนด์ ) และบริ ษั ท ที พี เ อ็ น เฟล็กซ์ แพค จ�ำกัด ปี นี ้นับเป็ นปี ที่ 25 ปี ที่จดั ให้ มีการมอบรางวัล PM AWARD 2016 เพื่อเชิดชูเกียรติผ้ ปู ระกอบธุรกิจ ส่งออกดีเด่น และถือเป็ นการขานรับนโยบายรัฐบาล

PRINT REPORT

ในการขับเคลื่อนภาคการส่งออกไทยให้ เข้ าไปสู่ยุค ประเทศไทย 4.0 เดินหน้ ายุทธศาสตร์ นวัตกรรมน�ำการ ผลิต และผลักดันให้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางแหล่ง ผลิตสินค้ าและบริ การคุณภาพสูงในอาเซียน พร้ อมเร่ง สร้ างและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบธุรกิจส่งออกไทย คุ ณ อภิร ดี ตั น ตราภรณ์ รั ฐมนตรี ว่าการ กระทรวงพาณิ ช ย์ กล่ า วว่ า การส่ ง ออกมี ค วาม ส�ำคัญในการสร้ างรายได้ เข้ าสูป่ ระเทศและเป็ นหนึง่ ใน กลไกพัฒนาเศรษฐกิจไทยในภาคการผลิต ปั จจุบนั ประเทศไทยก�ำลังปรับเปลีย่ นโครงสร้ างเศรษฐกิจที่ขบั เคลือ่ นด้ วยนวัตกรรม หรือ Value-Based Economy ด้ วย โมเดล “ประเทศไทย 4.0” ตามนโยบายของรัฐบาล ซึง่ มี หัวใจส�ำคัญอยูท่ กี่ ารสร้ างความได้ เปรียบด้ านการแข่งขัน ให้ แก่ผ้ ปู ระกอบธุรกิจส่งออกไทยในเวทีการค้ าโลก นั่นหมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกจะต้ อง ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ให้ มากขึ ้น เพื่อสร้ างความแตก ต่า งและน� ำ ไปสู่ก ารพัฒ นานวัต กรรมในสิ น ค้ า และ บริ การของตนเอง พร้ อมกันนันยั ้ งต้ องให้ ความส�ำคัญ เรื่ องคุณภาพมาตรฐานของสินค้ าและบริ การเป็ นหัวใจ ส�ำคัญ “ประเทศไทยจะเป็ นเพียงผูผ้ ลิ ตสินค้าคุณภาพ เหมื อนในอดีตไม่ได้แล้ว ผูป้ ระกอบธุรกิ จส่งออกไทย ต้องปรับเปลี ่ยนตัวเองไปสู่การเป็ นผู้ผลิ ตสิ นค้าและ บริ การที ่มีมูลค่าเพิ่ มด้วยนวัตกรรม ทัง้ ด้านความคิ ด การออกแบบ การพัฒนาสิ่งใหม่ ซึ่งทัง้ หมดจะต้องอาศัย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

047


PRINT REPORT

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

2 โรงพิ มพ์คณ ุ ภาพถ่ายภาพร่ วมกันเป็ นทีป่ ระลึก น�ำโดยอาจารย์มานิ ตย์ กมลสุวรรณ บริ ษัท คอนติ เนนตัล บรรจุภณ ั ฑ์(ไทยแลนด์)จ� ำกัด (ซ้าย) และคุณสืบศักดิ์ คูชยั ยานนท์ บริ ษัท บริ ษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์ แพค จ� ำกัด (ด้านขวา)

2 โรงพิมพ์คุณภาพ

คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค

ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016 กรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศ กระทรวงพาณิ ช ย์ ได้ จั ด ให้ มี พิ ธี ป ระกาศ เกี ย รติ คุ ณ และมอบโล่ รางวั ล “ผู้ ประกอบ ธุรกิจส่ งออกดีเด่ น ประจ�ำปี 2559 หรื อ PM AWARD 2016 : Prime Minister’s Export Award 2016 โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายก รั ฐมนตรี มอบหมายให้ มอบให้ คุณอภิรดี ตัน ตราภรณ์ รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์ ไป เป็ นประธานในพิธีเปิ ดและมอบโล่ รางวัลแทน เนื่องจากติดภารกิจการแถลงนโยบายครบรอบ 2 ปี ของรัฐบาล เมื่อบ่ ายวันที่ 15 กันยายน 2559 ณ ศูนย์ การประชุมแห่ งชาติสิริกติ ์ ิ

046

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

คุณภาวิ มาส กมลสุวรรณ

คุณสืบศักดิ์ คูชยั ยานนท์

ปี นีม้ ีคดั เลือกผู้ประกอบการธุรกิจส่งออกดี เด่นเข้ ารับรางวัลสูงสุดของรัฐบาล จ�ำนวน 43 บริ ษัท รวม 50 รางวัล โดยในส่วนสาขาธุรกิจสิ่งพิมพ์ และ บรรจุภณ ั ฑ์ ในประเภทรางวัลธุรกิจบริ การยอดเยี่ยม ซึ่งท�ำการคัดเลือกและมอบรางวัลเป็ นปี แรก ปรากฏ ว่า มีโรงพิมพ์ได้ รับ 2 รางวัลคือ บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุ ภั ณ ฑ์ (ไทยแลนด์ ) และบริ ษั ท ที พี เ อ็ น เฟล็กซ์ แพค จ�ำกัด ปี นี ้นับเป็ นปี ที่ 25 ปี ที่จดั ให้ มีการมอบรางวัล PM AWARD 2016 เพื่อเชิดชูเกียรติผ้ ปู ระกอบธุรกิจ ส่งออกดีเด่น และถือเป็ นการขานรับนโยบายรัฐบาล

PRINT REPORT

ในการขับเคลื่อนภาคการส่งออกไทยให้ เข้ าไปสู่ยุค ประเทศไทย 4.0 เดินหน้ ายุทธศาสตร์ นวัตกรรมน�ำการ ผลิต และผลักดันให้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางแหล่ง ผลิตสินค้ าและบริ การคุณภาพสูงในอาเซียน พร้ อมเร่ง สร้ างและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบธุรกิจส่งออกไทย คุ ณ อภิร ดี ตั น ตราภรณ์ รั ฐมนตรี ว่าการ กระทรวงพาณิ ช ย์ กล่ า วว่ า การส่ ง ออกมี ค วาม ส�ำคัญในการสร้ างรายได้ เข้ าสูป่ ระเทศและเป็ นหนึง่ ใน กลไกพัฒนาเศรษฐกิจไทยในภาคการผลิต ปั จจุบนั ประเทศไทยก�ำลังปรับเปลีย่ นโครงสร้ างเศรษฐกิจที่ขบั เคลือ่ นด้ วยนวัตกรรม หรือ Value-Based Economy ด้ วย โมเดล “ประเทศไทย 4.0” ตามนโยบายของรัฐบาล ซึง่ มี หัวใจส�ำคัญอยูท่ กี่ ารสร้ างความได้ เปรียบด้ านการแข่งขัน ให้ แก่ผ้ ปู ระกอบธุรกิจส่งออกไทยในเวทีการค้ าโลก นั่นหมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกจะต้ อง ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ให้ มากขึ ้น เพื่อสร้ างความแตก ต่า งและน� ำ ไปสู่ก ารพัฒ นานวัต กรรมในสิ น ค้ า และ บริ การของตนเอง พร้ อมกันนันยั ้ งต้ องให้ ความส�ำคัญ เรื่ องคุณภาพมาตรฐานของสินค้ าและบริ การเป็ นหัวใจ ส�ำคัญ “ประเทศไทยจะเป็ นเพียงผูผ้ ลิ ตสินค้าคุณภาพ เหมื อนในอดีตไม่ได้แล้ว ผูป้ ระกอบธุรกิ จส่งออกไทย ต้องปรับเปลี ่ยนตัวเองไปสู่การเป็ นผู้ผลิ ตสิ นค้าและ บริ การที ่มีมูลค่าเพิ่ มด้วยนวัตกรรม ทัง้ ด้านความคิ ด การออกแบบ การพัฒนาสิ่งใหม่ ซึ่งทัง้ หมดจะต้องอาศัย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

047


PRINT REPORT

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

ความคิ ดสร้างสรรค์ ความรู้ และโนฮาว มาบูรณาการ เข้ า ด้ ว ยกั น เป็ นการเดิ น หน้ า พัฒ นาให้ ไ ทยเป็ น ศูนย์ กลางแหล่งผลิ ตสิ นค้าและบริ การที ม่ ี ทงั้ คุณภาพ และความโดดเด่นเฉพาะตัวในอาเซี ยน” และเพื่อตอบสนองแนวทางดังกล่าว กระทรวง พาณิชย์ จึงมอบหมายให้ กรมส่งเสริ มการค้ าระหว่าง ประเทศ ซึง่ มีหน้ าที่ส�ำคัญในการส่งเสริ มและพัฒนา ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกไทย เดินหน้ าจัดโครงการรางวัล ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น ประจ�ำปี 2559 (Prime Minister’s Export Award 2016 : PM AWARD 2016) ซึง่ โครงการดังกล่าวนับเป็ นหนึ่งยุทธศาสตร์ ส�ำคัญใน การสร้ างภาพลักษณ์ แก่ประเทศไทยในฐานะผู้ผลิต และส่งออกสินค้ าและบริ การที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน และมีความน่าเชื่อถือ ทังยั ้ งส่งผลส�ำเร็จในการกระตุ้น และสร้ างความเข้ มแข็งแก่ภาคการส่งออกของไทยมา ตลอด 25 ปี นอกจากนี ้ ยังเป็ นการสนับสนุนและให้ ความ ส�ำคัญแก่ผ้ ปู ระกอบธุรกิจส่งออกสินค้ าและบริ การไทย ที่มีผลงานดีเด่น มีการริ เริ่ มและพยายามบุกเบิกตลาด ต่างประเทศภายใต้ ชื่อทางการค้ าของตนเอง และมี การออกแบบผลิตภัณฑ์ของตนเองจนเป็ นที่ยอมรับใน ตลาดโลก รวมทังสนั ้ บสนุนการสร้ างภาพลักษณ์องค์กร ที่ดีแก่ผ้ ปู ระกอบการที่มีสว่ นผลักดันการส่งออกสินค้ า และบริ การของประเทศ โดยกรมส่งเสริมการค้ าระหว่างประเทศ ได้ เดิน หน้ าพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบธุรกิจส่งออกให้ มี ความแข็งแกร่ง เติมเต็มความรู้ใหม่ สร้ างความเข้ าใจ ในพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจการค้ า และ สิ่งส�ำคัญที่สุดในการพัฒนาผู้ประกอบธุรกิจส่งออก นับจากนี ้คือ การผสมผสานความคิดสร้ างสรรค์และ พัฒนานวัตกรรมแก่สินค้ าและบริ การไทยไปพร้ อมๆ กับการสร้ างความมัน่ ใจและความน่าเชื่อถือของสินค้ า และบริ การไทยแก่ผ้ บู ริ โภคทัว่ โลก เพื่อก่อให้ เกิดการ ขยายตัวและความยัง่ ยืนในภาคการส่งออกของไทยใน อนาคต

048

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

ส�ำหรับโครงการรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออก ดีเด่นประจ�ำปี 2559 (Prime Minister’s Export Award 2016 : PM AWARD 2016) ในปี นี ้นับเป็ นการครบรอบ ปี ที่ 25 ของการด�ำเนินโครงการฯ กรมฯ จึงได้ มีการปรับ เพิม่ ประเภทรางวัลเพือ่ ให้ สอดรับกับกระแสและทิศทาง การค้ าของโลก โดยได้ แบ่งรางวัลออกเป็ น 7 ประเภท ได้ แก่ 1) รางวัลผู้ประกอบธุรกิ จส่งออกยอดเยี ่ยม (Best Exporter) 2) รางวัลสินค้านวัตกรรมทีอ่ นุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม ยอดเยีย่ ม (Best Green Innovation) 3) รางวัลแบรนด์ ไทยยอดเยี ย่ ม (Best Thai Brand) 4) รางวัลสิ นค้าที ่มีการออกแบบยอดเยี ่ยม (Best Design) 5) รางวัลธุรกิ จบริ การยอดเยีย่ ม (Best Service Enterprise Award)\ 6) รางวัลสิ นค้าหนึ่ งต� ำบล หนึ่ งผลิ ตภัณฑ์ ที ม่ ี การส่งออกและคุณภาพยอดเยี ่ยม (Best OTOP Export Recognition) 7) รางวัลสินค้าฮาลาล ยอดเยีย่ ม (Best Halal) ซึ่ ง ในปี นี ม้ ี ผ้ ู ประกอบการส่ ง ออกให้ ความ สนใจสมัค รเข้ า ร่ ว มโครงการกว่า 100 บริ ษั ท โดย คณะกรรมการและอนุกรรมการคัดเลือก ได้ พิจารณา

PRINT REPORT

คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบการแต่ละรายตามหลักเกณฑ์ อย่างเข้ มงวด รวมทัง้ มีการตัง้ มาตรฐานไว้ ในระดับ เทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยกรมฯ หวังเป็ นอย่าง ยิ่งว่าผู้ประกอบธุรกิจส่งออกที่ได้ รับรางวัลในปี นี ้ จะ สามารถช่วยยกระดับภาพลักษณ์ และสร้ างชื่อเสียงแก่ สินค้ าและบริ การของประเทศให้ เป็ นที่ร้ ู จกั ในวงกว้ าง ทังในและต่ ้ างประเทศ รวมทังสร้ ้ างกระแสบริ โภคนิยม สินค้ าและบริ การไทย เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้ า และบริ การไทยได้ อย่างต่อเนื่องและมัน่ คง อีกทังจะ ้ น�ำความคิดสร้ างสรรค์ และองค์ความรู้ที่มีอยู่ มาช่วย พัฒนาต่อยอดสินค้ าและบริ การไทย เพื่อสร้ างความ ได้ เปรี ยบในเวทีการค้ าโลก สอดรับกับแนวคิดการก้ าว สูย่ คุ ประเทศไทย 4.0 นัน่ เอง ทัง้ นี ้ ภายในพิธมี อบประกาศเกียรติคณ ุ และ มอบรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่ งออกดีเด่ น ประจ�ำ ปี 2559 ส�ำนักส่ งเสริ มนวัตกรรมและสร้ างมูลค่ า เพิ่มเพื่อการค้ า กรมส่ งเสริมการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้ จดั ท�ำหนังสือ ‘PM Award’s Directory 2016’ ซึ่งเป็ นหนังสือที่รวบรวมรายชื่อ และรายละเอียดของผู้ประกอบธุรกิจส่ งออกดีเด่ น ที่ได้รับรางวัลประจ�ำปี 2559 เพื่อใช้ ในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์สร้ างภาพลักษณ์ ท่ดี แี ก่ผ้ปู ระกอบการ ธุรกิจส่ งออกไทยทัง้ ในและต่างประเทศต่อไป

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

049


PRINT REPORT

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

ความคิ ดสร้างสรรค์ ความรู้ และโนฮาว มาบูรณาการ เข้ า ด้ ว ยกั น เป็ นการเดิ น หน้ า พัฒ นาให้ ไ ทยเป็ น ศูนย์ กลางแหล่งผลิ ตสิ นค้าและบริ การที ม่ ี ทงั้ คุณภาพ และความโดดเด่นเฉพาะตัวในอาเซี ยน” และเพื่อตอบสนองแนวทางดังกล่าว กระทรวง พาณิชย์ จึงมอบหมายให้ กรมส่งเสริ มการค้ าระหว่าง ประเทศ ซึง่ มีหน้ าที่ส�ำคัญในการส่งเสริ มและพัฒนา ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกไทย เดินหน้ าจัดโครงการรางวัล ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น ประจ�ำปี 2559 (Prime Minister’s Export Award 2016 : PM AWARD 2016) ซึง่ โครงการดังกล่าวนับเป็ นหนึ่งยุทธศาสตร์ ส�ำคัญใน การสร้ างภาพลักษณ์ แก่ประเทศไทยในฐานะผู้ผลิต และส่งออกสินค้ าและบริ การที่มีคณ ุ ภาพ มาตรฐาน และมีความน่าเชื่อถือ ทังยั ้ งส่งผลส�ำเร็จในการกระตุ้น และสร้ างความเข้ มแข็งแก่ภาคการส่งออกของไทยมา ตลอด 25 ปี นอกจากนี ้ ยังเป็ นการสนับสนุนและให้ ความ ส�ำคัญแก่ผ้ ปู ระกอบธุรกิจส่งออกสินค้ าและบริ การไทย ที่มีผลงานดีเด่น มีการริ เริ่ มและพยายามบุกเบิกตลาด ต่างประเทศภายใต้ ชื่อทางการค้ าของตนเอง และมี การออกแบบผลิตภัณฑ์ของตนเองจนเป็ นที่ยอมรับใน ตลาดโลก รวมทังสนั ้ บสนุนการสร้ างภาพลักษณ์องค์กร ที่ดีแก่ผ้ ปู ระกอบการที่มีสว่ นผลักดันการส่งออกสินค้ า และบริ การของประเทศ โดยกรมส่งเสริมการค้ าระหว่างประเทศ ได้ เดิน หน้ าพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบธุรกิจส่งออกให้ มี ความแข็งแกร่ง เติมเต็มความรู้ใหม่ สร้ างความเข้ าใจ ในพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจการค้ า และ สิ่งส�ำคัญที่สุดในการพัฒนาผู้ประกอบธุรกิจส่งออก นับจากนี ้คือ การผสมผสานความคิดสร้ างสรรค์และ พัฒนานวัตกรรมแก่สินค้ าและบริ การไทยไปพร้ อมๆ กับการสร้ างความมัน่ ใจและความน่าเชื่อถือของสินค้ า และบริ การไทยแก่ผ้ บู ริ โภคทัว่ โลก เพื่อก่อให้ เกิดการ ขยายตัวและความยัง่ ยืนในภาคการส่งออกของไทยใน อนาคต

048

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

2 โรงพิมพ์คุณภาพ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ – ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค ประเดิมรับรางวัล PM AWARD 2016

ส�ำหรับโครงการรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออก ดีเด่นประจ�ำปี 2559 (Prime Minister’s Export Award 2016 : PM AWARD 2016) ในปี นี ้นับเป็ นการครบรอบ ปี ที่ 25 ของการด�ำเนินโครงการฯ กรมฯ จึงได้ มีการปรับ เพิม่ ประเภทรางวัลเพือ่ ให้ สอดรับกับกระแสและทิศทาง การค้ าของโลก โดยได้ แบ่งรางวัลออกเป็ น 7 ประเภท ได้ แก่ 1) รางวัลผู้ประกอบธุรกิ จส่งออกยอดเยี ่ยม (Best Exporter) 2) รางวัลสินค้านวัตกรรมทีอ่ นุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม ยอดเยีย่ ม (Best Green Innovation) 3) รางวัลแบรนด์ ไทยยอดเยี ย่ ม (Best Thai Brand) 4) รางวัลสิ นค้าที ่มีการออกแบบยอดเยี ่ยม (Best Design) 5) รางวัลธุรกิ จบริ การยอดเยีย่ ม (Best Service Enterprise Award)\ 6) รางวัลสิ นค้าหนึ่ งต� ำบล หนึ่ งผลิ ตภัณฑ์ ที ม่ ี การส่งออกและคุณภาพยอดเยี ่ยม (Best OTOP Export Recognition) 7) รางวัลสินค้าฮาลาล ยอดเยีย่ ม (Best Halal) ซึ่ ง ในปี นี ม้ ี ผ้ ู ประกอบการส่ ง ออกให้ ความ สนใจสมัค รเข้ า ร่ ว มโครงการกว่า 100 บริ ษั ท โดย คณะกรรมการและอนุกรรมการคัดเลือก ได้ พิจารณา

PRINT REPORT

คุณสมบัตขิ องผู้ประกอบการแต่ละรายตามหลักเกณฑ์ อย่างเข้ มงวด รวมทัง้ มีการตัง้ มาตรฐานไว้ ในระดับ เทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยกรมฯ หวังเป็ นอย่าง ยิ่งว่าผู้ประกอบธุรกิจส่งออกที่ได้ รับรางวัลในปี นี ้ จะ สามารถช่วยยกระดับภาพลักษณ์ และสร้ างชื่อเสียงแก่ สินค้ าและบริ การของประเทศให้ เป็ นที่ร้ ู จกั ในวงกว้ าง ทังในและต่ ้ างประเทศ รวมทังสร้ ้ างกระแสบริ โภคนิยม สินค้ าและบริ การไทย เพื่อเพิ่มมูลค่าการส่งออกสินค้ า และบริ การไทยได้ อย่างต่อเนื่องและมัน่ คง อีกทังจะ ้ น�ำความคิดสร้ างสรรค์ และองค์ความรู้ที่มีอยู่ มาช่วย พัฒนาต่อยอดสินค้ าและบริ การไทย เพื่อสร้ างความ ได้ เปรี ยบในเวทีการค้ าโลก สอดรับกับแนวคิดการก้ าว สูย่ คุ ประเทศไทย 4.0 นัน่ เอง ทัง้ นี ้ ภายในพิธมี อบประกาศเกียรติคณ ุ และ มอบรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่ งออกดีเด่ น ประจ�ำ ปี 2559 ส�ำนักส่ งเสริ มนวัตกรรมและสร้ างมูลค่ า เพิ่มเพื่อการค้ า กรมส่ งเสริมการค้ าระหว่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้ จดั ท�ำหนังสือ ‘PM Award’s Directory 2016’ ซึ่งเป็ นหนังสือที่รวบรวมรายชื่อ และรายละเอียดของผู้ประกอบธุรกิจส่ งออกดีเด่ น ที่ได้รับรางวัลประจ�ำปี 2559 เพื่อใช้ ในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์สร้ างภาพลักษณ์ ท่ดี แี ก่ผ้ปู ระกอบการ ธุรกิจส่ งออกไทยทัง้ ในและต่างประเทศต่อไป

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

049


PRINT ศูนย์ทดสอบหมึกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้รับเกียรติจากนิสิตจุฬาฯ NEWS ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีภาคปฏิบัติ

ศูนย์ทดสอบหมึกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้รับเกียรติจากนิสิตจุฬาฯ PRINT ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีภาคปฏิบัติ NEWS

ศูนย์ทดสอบหมึกสมาคมการพิมพ์ไทย

ได้รับเกียรติจากนิสิตจุฬาฯ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีภาคปฏิบัติ

รศ.ดร.พิ ช ญดา เกตุ เมฆ หัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยี ทางภาพและการพิ ม พ์ คณะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลัย น�ำคณะนิสิตชัน้ ปี ที่ 4 ขอเข้ าใช้ ศูนย์ ทดสอบหมึก ของสมาคมการพิมพ์ ไทย (Thai Printing Laboratory) เพราะเห็นว่ า เป็ นห้ องทดลองและมีเทคโนโลยี ที่เป็ นเครื่องมือทดสอบหมึกที่ทนั สมั ย เหมาะแก่ การเรี ยนรู้ และ ลงมือปฏิบตั กิ ารด้ านนีโ้ ดยเฉพาะ ทังนี ้ ้ ภาควิชาฯ ได้ เปิ ดสอน วิชา 2313437 Ink Test Lab ส�ำหรับ นิสติ ระดับปริ ญญาตรี ชนปี ั ้ ที่ 4 โดย

050

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มี รศ.ดร.พิชญดา เป็ นอาจารย์ผ้ สู อน ได้ น�ำผู้ช่วยสอนและกลุ่มนิสิตที่มีการ แบ่งออกเป็ นกลุม่ ๆ ละ 8 คน เข้ าใช้ ห้อง ทดสอบหมึกพิ มพ์ และใช้ เครื่ อง IGT Laray viscometer, เครื่ อง IGT AIC25T2000+IGT High speed inking unit และเครื่ องมือที่เป็ นเทคโนโลยีต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการเรียนการสอน ในวันพุธ

ที่ 5,12,19,26 ตุลาคม 2559 และวันพุธ ที่ 2,9 พฤศจิกายน 2559 รวม 6 ครัง้ ระหว่างเวลา 13.00-16.00 น. โดยใน แต่ละครัง้ ทีม่ นี สิ ติ เข้ าใช้ ห้องทดสอบ จะ มีคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย ที่ มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้ านหมึก ผลัดเปลี่ยนไปให้ ความรู้ แก่นิสิตและ แนะน�ำถึงวิธีการใช้ เครื่ องมือด้ วย

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

051


PRINT ศูนย์ทดสอบหมึกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้รับเกียรติจากนิสิตจุฬาฯ NEWS ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีภาคปฏิบัติ

ศูนย์ทดสอบหมึกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้รับเกียรติจากนิสิตจุฬาฯ PRINT ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีภาคปฏิบัติ NEWS

ศูนย์ทดสอบหมึกสมาคมการพิมพ์ไทย

ได้รับเกียรติจากนิสิตจุฬาฯ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เทคโนโลยีภาคปฏิบัติ

รศ.ดร.พิ ช ญดา เกตุ เมฆ หัวหน้ าภาควิชาเทคโนโลยี ทางภาพและการพิ ม พ์ คณะ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลัย น�ำคณะนิสิตชัน้ ปี ที่ 4 ขอเข้ าใช้ ศูนย์ ทดสอบหมึก ของสมาคมการพิมพ์ ไทย (Thai Printing Laboratory) เพราะเห็นว่ า เป็ นห้ องทดลองและมีเทคโนโลยี ที่เป็ นเครื่องมือทดสอบหมึกที่ทนั สมั ย เหมาะแก่ การเรี ยนรู้ และ ลงมือปฏิบตั กิ ารด้ านนีโ้ ดยเฉพาะ ทังนี ้ ้ ภาควิชาฯ ได้ เปิ ดสอน วิชา 2313437 Ink Test Lab ส�ำหรับ นิสติ ระดับปริ ญญาตรี ชนปี ั ้ ที่ 4 โดย

050

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มี รศ.ดร.พิชญดา เป็ นอาจารย์ผ้ สู อน ได้ น�ำผู้ช่วยสอนและกลุ่มนิสิตที่มีการ แบ่งออกเป็ นกลุม่ ๆ ละ 8 คน เข้ าใช้ ห้อง ทดสอบหมึกพิ มพ์ และใช้ เครื่ อง IGT Laray viscometer, เครื่ อง IGT AIC25T2000+IGT High speed inking unit และเครื่ องมือที่เป็ นเทคโนโลยีต่างๆ ที่ เกี่ยวข้ องกับการเรียนการสอน ในวันพุธ

ที่ 5,12,19,26 ตุลาคม 2559 และวันพุธ ที่ 2,9 พฤศจิกายน 2559 รวม 6 ครัง้ ระหว่างเวลา 13.00-16.00 น. โดยใน แต่ละครัง้ ทีม่ นี สิ ติ เข้ าใช้ ห้องทดสอบ จะ มีคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย ที่ มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้ านหมึก ผลัดเปลี่ยนไปให้ ความรู้ แก่นิสิตและ แนะน�ำถึงวิธีการใช้ เครื่ องมือด้ วย

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

051




PRINT แม็ค บรูคส์ จัดงานแสดงเทคโนโลยี CCE South East Asia-Thailand 2016 NEWS หนุนน�ำธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก

PRINT หนุนน�ำธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก NEWS

แม็ค บรูคส์ จัดงานแสดงเทคโนโลยี CCE South East Asia-Thailand 2016

แม็ค บรูคส์ จัดงานแสดงเทคโนโลยี

CCE South East Asia-Thailand 2016 หนุนน�ำธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก

ง า น แ ส ด ง สิ น ค้ า เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ กระดาษ ลูกฟูกอาเซียน หรื อ CCE South East Asia-Thailand 2016 จัดขึน้ ที่ศูน ย์ นิท รรศการและการประ ชุ มไบเทค ระหว่ างวันที่ 21-23 กั น ยายน 2559 ประสบความ ส�ำเร็ จตามคาดหมาย โดยมีผ้ ู ผลิตและจัดจ�ำหน่ ายเทคโนโลยี น� ำ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ป จั ด แ ส ด ง ครอบคลุ มทุกกลุ่ มขัน้ ตอนการ ผลิต รวมทัง้ มีผ้ ูเข้ าร่ วมชมงาน ค่ อนข้ างหนาตา

คุณพิ มพ์นารา นิ ธิศนนท์ นายกสมาคมการพิ มพ์ไทย (ที ่ 2 จากซ้าย) คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ที ่ 3 จากซ้าย) คุณนิ สากร จึงเจริ ญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (ที ่ 5 จากซ้าย) คุณมนตรี มหาพฤกษ์ พงศ์ นายกสมาคมอุตสาหกรรมเยือ่ และกระดาษไทย (ที ่ 5 จากขวา)

คุณนิ สากร จึงเจริ ญธรรม

056

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

งานแสดงครั ง้ นี ้ จั ด ขึ น้ เป็ นครั ง้ แรกในอาเซี ย นและใช้ ประเทศไทยเป็ นเวที ป ฐมฤกษ์ ด�ำเนินการโดยบริ ษัท แม็ค บรู๊ คส์ เอ็ ก ซิ บิ ชั่ น ส์ จ� ำ กั ด ภายใต้ การ สนับสนุนของ 4 องค์กรคือ สมาคม บรรจุ ภั ณ ฑ์ ก ระดาษลู ก ฟู ก ไทย, สมาคมการพิมพ์สกรี นไทย, สมาคม อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย และส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุม

และนิทรรศการ(สสปน.) ทังนี ้ ้ ในพิธีเปิ ดได้ รับเกียรติ จาก คุณนิ สากร จึงเจริ ญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เดิน ทางไปเป็ นประธานในพิธีเปิ ด โดย มีผ้ นู �ำขององค์กรที่ให้ การสนับสนุน เดินทางไปร่วมงานอย่างพร้ อมเพรียง รวมทังได้ ้ รับเกียรติจาก คุณเกรี ยง ไกร เธียรนุ กุล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ คุ ณ พิ ม พ์ น ารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เดินทาง ไปร่วมในพิธีเปิ ดและร่วมชมงานด้ วย คุณเดวิท เทเลท กรรมการ ผู้จดั การ บริ ษัท แม็ค บรู๊คส์ เอ็กซิบิ ชัน่ ส์ จ�ำกัด กล่าวว่า งานแสดงครัง้ นี ้ ได้ รวบรวมนวัตกรรมและเทคโนโลยี

ั ฑ์กระดาษลูกฟูกไทย (ที ่ 4 จากขวา) คุณระวิ เกษมศานติ์ นายกสมาคมบรรจุภณ คุณเดวิ ท เทเลท กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษัท แม็ค บรู คส์ เอ็กซิ บิชนั่ ส์ จ� ำกัด (ที ่ 2 จากขวา) คุณพงษ์ เดช สัจจะรัตนะโชติ นายกสมาคมการพิ มพ์สกรี นไทย (ขวาสุด)

ตังแต่ ้ ต้นของหน่วยการผลิตไปจนถึง ปลายทางของอุต สาหกรรมไปจัด แสดง ถือเป็ นการตอบโจทย์ความ ต้ องการของในการพัฒนาขีดความ สามารถธุรกิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ กระดาษลูกฟูกได้ อย่างมีดี และการ สนับสนุนของสมาคมต่างๆ จะเป็ น พลังขับเคลือ่ นทีด่ ตี อ่ อุตสาหกรรมใน อนาคต รวมทังแสดงให้ ้ เห็นถึงความ พร้ อมของประเทศไทย ในการผลัก ดันให้ เป็ นศูนย์ กลางของภูมิภาคที่ มีกระบวนการผลิตอย่างครบวงจร อย่างเต็มรูปแบบ ตังแต่ ้ ต้นสายของ การผลิตไปจนถึงปลายทางของการ ขึ ้นรูปบรรจุภณ ั ฑ์ คุณนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม

กล่าวในการเป็ นประธานในพิธีเปิ ด ว่า กระทรวงอุตสาหกรรมต้ องการ ที่จะเร่งการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศไทยให้ มคี วามเข้ มแข็งในทุก ภาคส่วน ซึง่ ผลิตภัณฑ์ประเภทบรรจุ ภัณฑ์กระดาษลูกฟูก มีความส�ำคัญ มากในวงการอุตสาหกรรมของโลก เพราะทุกธุรกิจต่างให้ ความส�ำคัญ กับบรรจุภณ ั ฑ์ มีการน�ำเทคโนโลยี งานวิจยั ต่างๆ มาเพิ่มประสิทธิภาพ คุณ ภาพของการผลิ ต รู ป ลัก ษณ์ ของบรรจุภณ ั ฑ์ให้ มสี สี นั และรูปแบบ สวยงาม มีจุดเด่น ท�ำให้ สามารถ พัฒ นาและสร้ างมูล ค่า เพิ่ ม ให้ กับ สินค้ าได้ มาก ดังนัน้ อุตสาหกรรม กระดาษลูกฟูก จึงมีการเติบโตเพิ่ม ขึ ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

057


PRINT แม็ค บรูคส์ จัดงานแสดงเทคโนโลยี CCE South East Asia-Thailand 2016 NEWS หนุนน�ำธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก

PRINT หนุนน�ำธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก NEWS

แม็ค บรูคส์ จัดงานแสดงเทคโนโลยี CCE South East Asia-Thailand 2016

แม็ค บรูคส์ จัดงานแสดงเทคโนโลยี

CCE South East Asia-Thailand 2016 หนุนน�ำธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก

ง า น แ ส ด ง สิ น ค้ า เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ กระดาษ ลูกฟูกอาเซียน หรื อ CCE South East Asia-Thailand 2016 จัดขึน้ ที่ศูน ย์ นิท รรศการและการประ ชุ มไบเทค ระหว่ างวันที่ 21-23 กั น ยายน 2559 ประสบความ ส�ำเร็ จตามคาดหมาย โดยมีผ้ ู ผลิตและจัดจ�ำหน่ ายเทคโนโลยี น� ำ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ป จั ด แ ส ด ง ครอบคลุ มทุกกลุ่ มขัน้ ตอนการ ผลิต รวมทัง้ มีผ้ ูเข้ าร่ วมชมงาน ค่ อนข้ างหนาตา

คุณพิ มพ์นารา นิ ธิศนนท์ นายกสมาคมการพิ มพ์ไทย (ที ่ 2 จากซ้าย) คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ที ่ 3 จากซ้าย) คุณนิ สากร จึงเจริ ญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (ที ่ 5 จากซ้าย) คุณมนตรี มหาพฤกษ์ พงศ์ นายกสมาคมอุตสาหกรรมเยือ่ และกระดาษไทย (ที ่ 5 จากขวา)

คุณนิ สากร จึงเจริ ญธรรม

056

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

งานแสดงครั ง้ นี ้ จั ด ขึ น้ เป็ นครั ง้ แรกในอาเซี ย นและใช้ ประเทศไทยเป็ นเวที ป ฐมฤกษ์ ด�ำเนินการโดยบริ ษัท แม็ค บรู๊ คส์ เอ็ ก ซิ บิ ชั่ น ส์ จ� ำ กั ด ภายใต้ การ สนับสนุนของ 4 องค์กรคือ สมาคม บรรจุ ภั ณ ฑ์ ก ระดาษลู ก ฟู ก ไทย, สมาคมการพิมพ์สกรี นไทย, สมาคม อุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษไทย และส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุม

และนิทรรศการ(สสปน.) ทังนี ้ ้ ในพิธีเปิ ดได้ รับเกียรติ จาก คุณนิ สากร จึงเจริ ญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เดิน ทางไปเป็ นประธานในพิธีเปิ ด โดย มีผ้ นู �ำขององค์กรที่ให้ การสนับสนุน เดินทางไปร่วมงานอย่างพร้ อมเพรียง รวมทังได้ ้ รับเกียรติจาก คุณเกรี ยง ไกร เธียรนุ กุล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ คุ ณ พิ ม พ์ น ารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เดินทาง ไปร่วมในพิธีเปิ ดและร่วมชมงานด้ วย คุณเดวิท เทเลท กรรมการ ผู้จดั การ บริ ษัท แม็ค บรู๊คส์ เอ็กซิบิ ชัน่ ส์ จ�ำกัด กล่าวว่า งานแสดงครัง้ นี ้ ได้ รวบรวมนวัตกรรมและเทคโนโลยี

ั ฑ์กระดาษลูกฟูกไทย (ที ่ 4 จากขวา) คุณระวิ เกษมศานติ์ นายกสมาคมบรรจุภณ คุณเดวิ ท เทเลท กรรมการผูจ้ ดั การ บริ ษัท แม็ค บรู คส์ เอ็กซิ บิชนั่ ส์ จ� ำกัด (ที ่ 2 จากขวา) คุณพงษ์ เดช สัจจะรัตนะโชติ นายกสมาคมการพิ มพ์สกรี นไทย (ขวาสุด)

ตังแต่ ้ ต้นของหน่วยการผลิตไปจนถึง ปลายทางของอุต สาหกรรมไปจัด แสดง ถือเป็ นการตอบโจทย์ความ ต้ องการของในการพัฒนาขีดความ สามารถธุรกิจการผลิตบรรจุภัณฑ์ กระดาษลูกฟูกได้ อย่างมีดี และการ สนับสนุนของสมาคมต่างๆ จะเป็ น พลังขับเคลือ่ นทีด่ ตี อ่ อุตสาหกรรมใน อนาคต รวมทังแสดงให้ ้ เห็นถึงความ พร้ อมของประเทศไทย ในการผลัก ดันให้ เป็ นศูนย์ กลางของภูมิภาคที่ มีกระบวนการผลิตอย่างครบวงจร อย่างเต็มรูปแบบ ตังแต่ ้ ต้นสายของ การผลิตไปจนถึงปลายทางของการ ขึ ้นรูปบรรจุภณ ั ฑ์ คุณนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลั ด กระทรวงอุ ต สาหกรรม

กล่าวในการเป็ นประธานในพิธีเปิ ด ว่า กระทรวงอุตสาหกรรมต้ องการ ที่จะเร่งการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศไทยให้ มคี วามเข้ มแข็งในทุก ภาคส่วน ซึง่ ผลิตภัณฑ์ประเภทบรรจุ ภัณฑ์กระดาษลูกฟูก มีความส�ำคัญ มากในวงการอุตสาหกรรมของโลก เพราะทุกธุรกิจต่างให้ ความส�ำคัญ กับบรรจุภณ ั ฑ์ มีการน�ำเทคโนโลยี งานวิจยั ต่างๆ มาเพิ่มประสิทธิภาพ คุณ ภาพของการผลิ ต รู ป ลัก ษณ์ ของบรรจุภณ ั ฑ์ให้ มสี สี นั และรูปแบบ สวยงาม มีจุดเด่น ท�ำให้ สามารถ พัฒ นาและสร้ างมูล ค่า เพิ่ ม ให้ กับ สินค้ าได้ มาก ดังนัน้ อุตสาหกรรม กระดาษลูกฟูก จึงมีการเติบโตเพิ่ม ขึ ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

057


คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย ปั้นแบรนด์ PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย

ปั้นแบรนด์

PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย ปั้นแบรนด์

ฟอยล์ ม าสเตอร์ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน แนวโน้ ม เทคโนโลยี แ ละ การพิมพ์ ฟอยล์ ในเมืองไทย นับ วันยิ่งได้ รับความนิยมในวงกว้ าง มากขึน้ เรื่อยๆ ทัง้ ใช้ ในการตบแต่ ง บรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่ า บ้ างก็ใช้ เป็ นส่ วนส�ำคัญในการสร้ างความ แตกต่ างจากคู่แข่ งในท้ องตลาด รวมทัง้ มีเหตุผลอื่นๆ อีกมากมาย จึงหนุ นส่ งให้ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” ยั่งยืนมาถึง 3 ทศวรรษ และก�ำลัง จะก้ าวสู่ ตลาดอาเซี ย นด้ ว ยชื่ อ แบรนด์ สนิ ค้ าของคนไทย

062

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

คุ ณชิณโชติ ภัคสุ ขชั ย กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท ฟอยล์ มาสเตอร์ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด ให้ สมั ภาษณ์ วารสาร Thaiprint magazine ว่า ในช่วง 3-5 ปี ที่ ผ่ า นมา ตลาดการพิ ม พ์ ฟ อยล์ ใ นภาพรวม เติบโตขึ ้นอย่างมาก โดยเฉพาะการใช้ พมิ พ์ฉลากสินค้ า เนื่องจากเจ้ าของผลิตภัณฑ์กลุ่มสินค้ าอุปโภคบริ โภค จ�ำนวนไม่น้อย นิยมใช้ เทคโนโลยีการพิมพ์ฟอยล์มา ช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้ า ตัวอย่างเช่น นมผงเด็กแข่งขันท�ำ ตลาดแทบจะครบทุกมิติ จนไม่ร้ ูจะแข่งขันเรื่ องอะไรอีก ในที่สดุ ได้ มียี่ห้อหนึ่งมีการพิมพ์ฟอยล์บนฉลากสินค้ า ด้ วย ปรากฏว่าสินค้ าขายดีมาก ท�ำให้ ยี่ห้ออื่นๆ ต้ อง ท�ำตามโดยปริ ยาย เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ ด�ำเนินกิจการมาตังแต่ ้ พ.ศ. 2530 โดยเป็ นผู้น� ำ เข้ า และจัด จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ ฟอยล์จากหลากหลายแบรนด์ทวั่ โลกให้ กับลูกค้ าใน ประเทศไทย จนถึงวันนีไ้ ด้ สะสมประสบการณ์ อยู่ใน แวดวงตลาดฟอยล์มา 3 ทศวรรษ ท�ำให้ แบรนด์ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” เป็ นที่ร้ ู จกั และยอมรับเป็ นอย่างดีในฐานะ

ผู้น�ำตลาดอันดับต้ นๆ ของตลาดฟอยล์เมืองไทย “ปั จจุบนั มี ผูผ้ ลิ ตฟอยล์ อยู่ทวั่ โลก เราเองต้อง คิ ดว่า เราจะเอาจุดไหนเป็ นจุดขาย เลยต้องท�ำระบบ ของเราเอง เช่น ควอลิ ตีค้ อนโทรล เป็ นห้องแล็บทดสอบ คุณภาพ ไม่ใช่แค่ซื้อมาขายไป พวกฟอยล์ มีคณ ุ ภาพ หลากหลาย ครั้งนี ้พิมพ์ ไดแต่ครั้งหน้าพิ มพ์ ไม่ได้ก็มี สิ นค้าญี ่ปนุ่ อเมริ กาและยุโรป บางครั้งก็ดีเกิ นความ จ� ำเป็ น อาจไม่ ต้องทนแรงขี ดข่ วนสูงมาก เอาแค่ มี คุณสมบัติตามทีล่ ูกค้าต้องการก็พอ หลักการเดียวกับ การเลื อกรถไว้ขบั บางที ก็ไม่ จ�ำเป็ นต้องเป็ นรถเบ๊ นซ์ เสมอไป” โดยที่ฟอยล์ มาสเตอร์ มีคาถามัดใจลูกค้ า 3 ข้ อหลักๆ ด้ วยกัน ข้ อแรกคือคัดสรรสินค้ าที่ เหมาะสมตอบโจทย์ ตรงตามลักษณะงานที่ลูกค้ า ข้ อสองคือควบคุ มคุ ณภาพสินค้ าก่ อนส่ งตรงถึง มือลูกค้ าทุกขัน้ ตอน และข้ อสุดท้ ายส�ำคัญมากคือ การรั บประกันสินค้ าพร้ อมรั บเคลมภายในระยะ เวลาที่กำ� หนด THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

063


คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย ปั้นแบรนด์ PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย

ปั้นแบรนด์

PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย ปั้นแบรนด์

ฟอยล์ ม าสเตอร์ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน แนวโน้ ม เทคโนโลยี แ ละ การพิมพ์ ฟอยล์ ในเมืองไทย นับ วันยิ่งได้ รับความนิยมในวงกว้ าง มากขึน้ เรื่อยๆ ทัง้ ใช้ ในการตบแต่ ง บรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อเพิ่มมูลค่ า บ้ างก็ใช้ เป็ นส่ วนส�ำคัญในการสร้ างความ แตกต่ างจากคู่แข่ งในท้ องตลาด รวมทัง้ มีเหตุผลอื่นๆ อีกมากมาย จึงหนุ นส่ งให้ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” ยั่งยืนมาถึง 3 ทศวรรษ และก�ำลัง จะก้ าวสู่ ตลาดอาเซี ย นด้ ว ยชื่ อ แบรนด์ สนิ ค้ าของคนไทย

062

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

คุ ณชิณโชติ ภัคสุ ขชั ย กรรมการผู้จัดการ บริ ษั ท ฟอยล์ มาสเตอร์ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด ให้ สมั ภาษณ์ วารสาร Thaiprint magazine ว่า ในช่วง 3-5 ปี ที่ ผ่ า นมา ตลาดการพิ ม พ์ ฟ อยล์ ใ นภาพรวม เติบโตขึ ้นอย่างมาก โดยเฉพาะการใช้ พมิ พ์ฉลากสินค้ า เนื่องจากเจ้ าของผลิตภัณฑ์กลุ่มสินค้ าอุปโภคบริ โภค จ�ำนวนไม่น้อย นิยมใช้ เทคโนโลยีการพิมพ์ฟอยล์มา ช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้ า ตัวอย่างเช่น นมผงเด็กแข่งขันท�ำ ตลาดแทบจะครบทุกมิติ จนไม่ร้ ูจะแข่งขันเรื่ องอะไรอีก ในที่สดุ ได้ มียี่ห้อหนึ่งมีการพิมพ์ฟอยล์บนฉลากสินค้ า ด้ วย ปรากฏว่าสินค้ าขายดีมาก ท�ำให้ ยี่ห้ออื่นๆ ต้ อง ท�ำตามโดยปริ ยาย เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ บริ ษัทฯ ได้ ด�ำเนินกิจการมาตังแต่ ้ พ.ศ. 2530 โดยเป็ นผู้น� ำ เข้ า และจัด จ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภัณ ฑ์ ฟอยล์จากหลากหลายแบรนด์ทวั่ โลกให้ กับลูกค้ าใน ประเทศไทย จนถึงวันนีไ้ ด้ สะสมประสบการณ์ อยู่ใน แวดวงตลาดฟอยล์มา 3 ทศวรรษ ท�ำให้ แบรนด์ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” เป็ นที่ร้ ู จกั และยอมรับเป็ นอย่างดีในฐานะ

ผู้น�ำตลาดอันดับต้ นๆ ของตลาดฟอยล์เมืองไทย “ปั จจุบนั มี ผูผ้ ลิ ตฟอยล์ อยู่ทวั่ โลก เราเองต้อง คิ ดว่า เราจะเอาจุดไหนเป็ นจุดขาย เลยต้องท�ำระบบ ของเราเอง เช่น ควอลิ ตีค้ อนโทรล เป็ นห้องแล็บทดสอบ คุณภาพ ไม่ใช่แค่ซื้อมาขายไป พวกฟอยล์ มีคณ ุ ภาพ หลากหลาย ครั้งนี ้พิมพ์ ไดแต่ครั้งหน้าพิ มพ์ ไม่ได้ก็มี สิ นค้าญี ่ปนุ่ อเมริ กาและยุโรป บางครั้งก็ดีเกิ นความ จ� ำเป็ น อาจไม่ ต้องทนแรงขี ดข่ วนสูงมาก เอาแค่ มี คุณสมบัติตามทีล่ ูกค้าต้องการก็พอ หลักการเดียวกับ การเลื อกรถไว้ขบั บางที ก็ไม่ จ�ำเป็ นต้องเป็ นรถเบ๊ นซ์ เสมอไป” โดยที่ฟอยล์ มาสเตอร์ มีคาถามัดใจลูกค้ า 3 ข้ อหลักๆ ด้ วยกัน ข้ อแรกคือคัดสรรสินค้ าที่ เหมาะสมตอบโจทย์ ตรงตามลักษณะงานที่ลูกค้ า ข้ อสองคือควบคุ มคุ ณภาพสินค้ าก่ อนส่ งตรงถึง มือลูกค้ าทุกขัน้ ตอน และข้ อสุดท้ ายส�ำคัญมากคือ การรั บประกันสินค้ าพร้ อมรั บเคลมภายในระยะ เวลาที่กำ� หนด THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

063


คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย ปั้นแบรนด์ PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

“ข้ อดีถ้าตัดสินใจซื ้อกับเรา คือ เราเลือก สินค้ าที่เหมาะสม ควบคุมสินค้ าคุณภาพ คัดแยก คุณภาพก่อนส่ง ก่อนน�ำเข้ าเรามีการเอามาเทสต์ ให้ ได้ คณ ุ สมบัติตามที่ต้องการเรี ยบร้ อยแล้ ว บวก กับเราเห็นงานลูกค้ าก่อน จึงรับประกันได้ วา่ จะได้ ใช้ ฟอยล์ที่ดีอย่างแน่นอน ตรงข้ ามกับการซื ้อฟอยล์ ตรงจากจีนในราคาถูก แต่เคลมด้ านคุณภาพและ การใช้ ไม่ได้ และราคาก็ตา่ งเพียงเล็กน้ อยประมาณ 5-10%เท่านัน” ้ ปั จจุบนั บริ ษัทฯ คัดสรรฟอยล์ที่มีคณ ุ ภาพ สูง และมีคณ ุ สมบัตทิ หี่ ลากหลายจากทัว่ ทุกมุมโลก มาจ�ำหน่าย อาทิ กลุม่ ประเทศยุโรป, สหรัฐอเมริกา, ญี่ปน, ุ่ เกาหลี ฯลฯ ส�ำหรับการใช้ งานทีแ่ ตกต่างกัน ของบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทต่างๆ มาไว้ ทนี่ แี่ ล้ ว เพือ่ การ ให้ บริการทีต่ รงกับความต้ องการของลูกค้ ามากทีส่ ดุ ไม่ว่าจะเป็ น เมทัลลิกฟอยล์ และโฮโลแกรม ฟอยล์ ซึง่ ให้ ความเงาสะท้ อนแสงเสมือนโลหะ หรือ พิก เม้ น ท์ ฟ อยล์ ส�ำหรั บทดแทนการพิมพ์ หมึก

064

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ธรรมดาทัว่ ไป หรื อการพิมพ์สกรี น ซึ่งเหมาะกับการ ตบแต่งเฉพาะจุด รวมทังยั ้ งมี โค้ ดดิง้ ฟอยล์ (Coding Foils) ฟอยล์ ส� ำ หรั บ พิ ม พ์ วัน ที่ ผ ลิ ต ,วัน หมดอายุ คุณภาพสูง ฯลฯ คุณชิ ณโชติ กล่าวว่า บริ ษัทฯ มี สินค้ าเพื่ อ ใช้ ในการป้องกันการปลอมแปลงและช่วยเพิ่มภาพ ลักษณ์และความแตกต่างให้ กบั สินค้ า โดยมีให้ เลือกทัง้ แบบ Security Hologram Foil และ Tamper Evident Void ด้ วยเทคนิคเฉพาะในการป้องกันการปลอมแปลง มากมาย ทัง้ แบบตรวจสอบได้ ด้วยตาเปล่า (Overt Technology) และแบบตรวจสอบได้ ด้วยเครื่ องมือ (Covert Technology) รวมทังเทคโนโลยี ้ เฉพาะในการ ผลิต Hologram ท�ำให้ มีความสว่าง, ความคมชัด และ ความชัดเจนสูง และมีให้ เลือกทังแบบ ้ Hot Stamping Foil, Cold Stamping Foil, PET Label ตามความ ต้ องการใช้ งานของลูกค้ า “เรามีสินค้ าฟอยล์ไว้ รองรับการน�ำไปใช้ เป็ น ส่วนประกอบของบัตรพลาสติก เช่น ฟอยล์แถบแม่เหล็ก

คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย

ปั้นแบรนด์

PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

(Magnetic Foil) คุณภาพสูงผลิตในประเทศญี่ปนุ่ มีให้ เลือกใช้ ทงแบบความต้ ั้ านทานต�่ำ และความต้ านทาน สูง มีสีตา่ งๆ ให้ เลือกมากมายเช่น สีด�ำ, สีน� ้ำตาล, สี เงิน, สีทอง, สีแดง, สีเขียว, สีน� ้ำเงิน, สีชมพู และสีอื่นๆ อีกมากมายที่เป็ นเทคนิคพิเศษเฉพาะจากเราเท่านัน, ้ ฟอยล์ แถบลายเซ็น (Signature Foil) มี ลายต่างๆ ให้ เลือกมากมายและมีความทึบแสงสูง (Opaque) รองรับหมึกที่ใช้ เซ็นลงบนฟอยล์ได้ เป็ นอย่างดี, ฟอยล์ ขูด (Scratch Off Foil) มีลายต่างๆ ให้ เลือกมากมาย และรองรับการน�ำไปใช้ งานทังบั ้ ตรพลาสติก และบัตร กระดาษ, ฟอยล์ตอกตัวนูน (Tipping Foil) คุณภาพสูง ทนต่อแรงขีดข่วนทีเ่ กิดขึ ้นทังหน้ ้ าบัตรและหลังบัตร, ริบ บอนส�ำหรับพิมพ์ลงบนบัตพลาสติก (TTR for Plastic Card) คุณภาพสูง ทนต่อแรงขีดข่วนที่เกิดขึ ้นทังหน้ ้ า บัตรและหลังบัตร” ส�ำหรับการสร้ างแบรนด์ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” ในตลาดอาเซียน คุณชิณโชติ ยกตัวอย่างและยอมรับ ว่าประเทศเมียนมาร์ ก�ำลังเนื ้อหอม มีผ้ ปู ระกอบการไทย

หลายรายสนใจเข้ าไปลงทุนทัง้ กิ จการโรงพิมพ์ และ เกี่ ย วเนื่ อ ง โดยสนใจและก� ำ ลัง ศึก ษาตลาดอยู่เ ช่น กัน เนื่ อ งจากมองว่า เป็ นตลาดที่ ยัง มี ช่อ งว่า งทาง ธุรกิจสูง และเชื่อว่า จะสามารถสร้ างแบรนด์“ฟอยล์ มาสเตอร์ ”และท�ำตลาดนี ้ได้ โดยอาจใช้ จดุ แข็งที่เป็ น คาถามัดใจลูกค้ า 3 ข้ อที่กล่าวมาแล้ ว มาเป็ นกลยุทธ์ ในการเจาะตลาด “เท่าที่ท�ำการบ้ านพบว่า ตลาดเมียนมาร์ เน้ น ของถูก แต่ต้องการคุณภาพมาตรฐาน ปั จจุบนั ฟอยล์ ทีเ่ ขาใช้ ยงั ไม่ได้ มาตรฐาน เราศึกษาตลาดมาแล้ วหลาย ปี ก็เห็นว่าธุรกิจการพิมพ์เขาโตขึ ้นเรื่ อยๆ วันหนึง่ ถ้ าเขา พร้ อมเราพร้ อมก็ไป นบั เป็ นอีกตลาดทีน่ า่ สนใจทีเดียว” ตลอด 3 ทศวรรษ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” ไม่ เคยหยุดนิ่งที่จะพัฒนาการบริ การ ควบคู่กับการ มุ่งเน้ นสร้ างแบรนด์ คนไทยอย่ างต่ อเนื่อง ตอกย�ำ้ ความเป็ นมืออาชีพ ที่ทำ� ให้ ลูกค้ านึกถึงเป็ นอันดับ แรกในใจเสมอ ก้ าวใหม่ วันนีก้ ำ� ลังจะโกอาเซียน!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

065


คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย ปั้นแบรนด์ PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

“ข้ อดีถ้าตัดสินใจซื ้อกับเรา คือ เราเลือก สินค้ าที่เหมาะสม ควบคุมสินค้ าคุณภาพ คัดแยก คุณภาพก่อนส่ง ก่อนน�ำเข้ าเรามีการเอามาเทสต์ ให้ ได้ คณ ุ สมบัติตามที่ต้องการเรี ยบร้ อยแล้ ว บวก กับเราเห็นงานลูกค้ าก่อน จึงรับประกันได้ วา่ จะได้ ใช้ ฟอยล์ที่ดีอย่างแน่นอน ตรงข้ ามกับการซื ้อฟอยล์ ตรงจากจีนในราคาถูก แต่เคลมด้ านคุณภาพและ การใช้ ไม่ได้ และราคาก็ตา่ งเพียงเล็กน้ อยประมาณ 5-10%เท่านัน” ้ ปั จจุบนั บริ ษัทฯ คัดสรรฟอยล์ที่มีคณ ุ ภาพ สูง และมีคณ ุ สมบัตทิ หี่ ลากหลายจากทัว่ ทุกมุมโลก มาจ�ำหน่าย อาทิ กลุม่ ประเทศยุโรป, สหรัฐอเมริกา, ญี่ปน, ุ่ เกาหลี ฯลฯ ส�ำหรับการใช้ งานทีแ่ ตกต่างกัน ของบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทต่างๆ มาไว้ ทนี่ แี่ ล้ ว เพือ่ การ ให้ บริการทีต่ รงกับความต้ องการของลูกค้ ามากทีส่ ดุ ไม่ว่าจะเป็ น เมทัลลิกฟอยล์ และโฮโลแกรม ฟอยล์ ซึง่ ให้ ความเงาสะท้ อนแสงเสมือนโลหะ หรือ พิก เม้ น ท์ ฟ อยล์ ส�ำหรั บทดแทนการพิมพ์ หมึก

064

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ธรรมดาทัว่ ไป หรื อการพิมพ์สกรี น ซึ่งเหมาะกับการ ตบแต่งเฉพาะจุด รวมทังยั ้ งมี โค้ ดดิง้ ฟอยล์ (Coding Foils) ฟอยล์ ส� ำ หรั บ พิ ม พ์ วัน ที่ ผ ลิ ต ,วัน หมดอายุ คุณภาพสูง ฯลฯ คุณชิ ณโชติ กล่าวว่า บริ ษัทฯ มี สินค้ าเพื่ อ ใช้ ในการป้องกันการปลอมแปลงและช่วยเพิ่มภาพ ลักษณ์และความแตกต่างให้ กบั สินค้ า โดยมีให้ เลือกทัง้ แบบ Security Hologram Foil และ Tamper Evident Void ด้ วยเทคนิคเฉพาะในการป้องกันการปลอมแปลง มากมาย ทัง้ แบบตรวจสอบได้ ด้วยตาเปล่า (Overt Technology) และแบบตรวจสอบได้ ด้วยเครื่ องมือ (Covert Technology) รวมทังเทคโนโลยี ้ เฉพาะในการ ผลิต Hologram ท�ำให้ มีความสว่าง, ความคมชัด และ ความชัดเจนสูง และมีให้ เลือกทังแบบ ้ Hot Stamping Foil, Cold Stamping Foil, PET Label ตามความ ต้ องการใช้ งานของลูกค้ า “เรามีสินค้ าฟอยล์ไว้ รองรับการน�ำไปใช้ เป็ น ส่วนประกอบของบัตรพลาสติก เช่น ฟอยล์แถบแม่เหล็ก

คุณชิณโชติ ภัคสุขชัย

ปั้นแบรนด์

PRINT INTERVIEW ‘ฟอยล์มาสเตอร์’ ประเดิมรุกตลาดอาเซียน

(Magnetic Foil) คุณภาพสูงผลิตในประเทศญี่ปนุ่ มีให้ เลือกใช้ ทงแบบความต้ ั้ านทานต�่ำ และความต้ านทาน สูง มีสีตา่ งๆ ให้ เลือกมากมายเช่น สีด�ำ, สีน� ้ำตาล, สี เงิน, สีทอง, สีแดง, สีเขียว, สีน� ้ำเงิน, สีชมพู และสีอื่นๆ อีกมากมายที่เป็ นเทคนิคพิเศษเฉพาะจากเราเท่านัน, ้ ฟอยล์ แถบลายเซ็น (Signature Foil) มี ลายต่างๆ ให้ เลือกมากมายและมีความทึบแสงสูง (Opaque) รองรับหมึกที่ใช้ เซ็นลงบนฟอยล์ได้ เป็ นอย่างดี, ฟอยล์ ขูด (Scratch Off Foil) มีลายต่างๆ ให้ เลือกมากมาย และรองรับการน�ำไปใช้ งานทังบั ้ ตรพลาสติก และบัตร กระดาษ, ฟอยล์ตอกตัวนูน (Tipping Foil) คุณภาพสูง ทนต่อแรงขีดข่วนทีเ่ กิดขึ ้นทังหน้ ้ าบัตรและหลังบัตร, ริบ บอนส�ำหรับพิมพ์ลงบนบัตพลาสติก (TTR for Plastic Card) คุณภาพสูง ทนต่อแรงขีดข่วนที่เกิดขึ ้นทังหน้ ้ า บัตรและหลังบัตร” ส�ำหรับการสร้ างแบรนด์ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” ในตลาดอาเซียน คุณชิณโชติ ยกตัวอย่างและยอมรับ ว่าประเทศเมียนมาร์ ก�ำลังเนื ้อหอม มีผ้ ปู ระกอบการไทย

หลายรายสนใจเข้ าไปลงทุนทัง้ กิ จการโรงพิมพ์ และ เกี่ ย วเนื่ อ ง โดยสนใจและก� ำ ลัง ศึก ษาตลาดอยู่เ ช่น กัน เนื่ อ งจากมองว่า เป็ นตลาดที่ ยัง มี ช่อ งว่า งทาง ธุรกิจสูง และเชื่อว่า จะสามารถสร้ างแบรนด์“ฟอยล์ มาสเตอร์ ”และท�ำตลาดนี ้ได้ โดยอาจใช้ จดุ แข็งที่เป็ น คาถามัดใจลูกค้ า 3 ข้ อที่กล่าวมาแล้ ว มาเป็ นกลยุทธ์ ในการเจาะตลาด “เท่าที่ท�ำการบ้ านพบว่า ตลาดเมียนมาร์ เน้ น ของถูก แต่ต้องการคุณภาพมาตรฐาน ปั จจุบนั ฟอยล์ ทีเ่ ขาใช้ ยงั ไม่ได้ มาตรฐาน เราศึกษาตลาดมาแล้ วหลาย ปี ก็เห็นว่าธุรกิจการพิมพ์เขาโตขึ ้นเรื่ อยๆ วันหนึง่ ถ้ าเขา พร้ อมเราพร้ อมก็ไป นบั เป็ นอีกตลาดทีน่ า่ สนใจทีเดียว” ตลอด 3 ทศวรรษ “ฟอยล์ มาสเตอร์ ” ไม่ เคยหยุดนิ่งที่จะพัฒนาการบริ การ ควบคู่กับการ มุ่งเน้ นสร้ างแบรนด์ คนไทยอย่ างต่ อเนื่อง ตอกย�ำ้ ความเป็ นมืออาชีพ ที่ทำ� ให้ ลูกค้ านึกถึงเป็ นอันดับ แรกในใจเสมอ ก้ าวใหม่ วันนีก้ ำ� ลังจะโกอาเซียน!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

065


PRINT NEWS

EXPLORATORIUM

EXPLORATORIUM PRINT ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่ NEWS

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่

EXPLORATORIUM ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การถ่ายภาพและการพิมพ์ แห่งใหม่

“แคนนอน” ผู้น�ำเทคโนโลยีด้านกล้ องดิจิตอล และการพิ ม พ์ ภ าพดิ จิ ต อล ร่ ว มกั บ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลั ย เปิ ดตัว "แคนนอน เอ็กซ์ พลอรา ทอเรี ยม" (CANON EXPLORATORIUM) ศูนย์การ เรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่ ณ อาคารพิพธิ ภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรม หลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ ชัน้ 3 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพือ่ ให้ เยาวชน นิสติ นักศึกษา

066

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มร.ฮารุกิ เทราฮิ ระ(ซ้าย) ศ.ดร. บัณฑิ ต เอือ้ อาภรณ์ (ขวา) ที่สนใจเรื่ องวิทยาศาสตร์ การถ่ายภาพและการพิมพ์ ภาพดิจติ อล ได้ เข้ ามาเรียนรู้ด้วยตนเองแบบ Interactive มร.ฮารุ กิ เทราฮิ ร ะ ประธานบริ ษั ท และ ประธานกรรมการบริ หาร บริษัท แคนนอน มาร์ เก็ต ติง้ (ไทยแลนด์ ) จ�ำกัด กล่าวว่า แคนนอนให้ ความ ส� ำ คัญ กับ การค้ น คว้ า ทดลองด้ า นเทคโนโลยี และ สนับ สนุ น การศึ ก ษาด้ า นวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ม าโดย ตลอด จากความมุ่งมั่นอย่างไม่หยุดยัง้ นีท้ �ำให้ แคน นอนประสบความส�ำเร็ จ และเป็ นผู้น�ำด้ านอิมเมจจิ ้ง

ตนเอง ท�ำให้ วทิ ยาศาสตร์ กลายเป็ นเรื่องง่าย ไม่ซบั ซ้ อน และเรี ยนรู้ได้ อย่างรวดเร็ ว โดยแคนนอนใช้ งบประมาณทังสิ ้ ้น 3 ล้ านบาท ในการพลิ ก โฉมศู น ย์ เ รี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ก ารถ่ า ย ภาพและการพิ ม พ์ ภ าพดิ จิ ต อล "แคนนอน เอ็ ก ซ์ พลอราทอเรี ย ม" (CANON EXPLORATORIUM) ใ ห้ เ ป็ น ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ I n t e r a c t i v e ผู้ เข้ าชมจะได้ เรี ย นรู้ ระบบกล้ องและเทคโนโลยี ต่ า งๆ ผ่ า นการทดลองด้ ว ยตัว เองและโต้ ต อบกั บ ส่ ว นจั ด แสดงที่ เ ป็ นระบบ Interactive ทั ง้ หมด จากอดีตจนถึงปั จจุบนั ทัง้ นี ้ บริ ษั ท แคนนอน อิ ง ค์ ประเทศ โดยจุดแรกเป็ นการเรี ยนรู้เกี่ยวกับพื ้นฐานการถ่ายภาพ ญี่ปุ่น ได้ ร่วมมือกับคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มีหน้ าจอระบบสัมผัสเปรี ยบเทียบภาพให้ เห็นความ มหาวิทยาลัย ด� ำเนิ นการ "แคนนอน เอ็กซ์ พลอรา ทอเรียม" (CANON EXPLORATORIUM) พร้ อมกับการ สร้ างพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพฯ ครัง้ แรกตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2531 หรื อเมื่อ 28 ปี ก่อน และสนับสนุนอุปกรณ์ แคนนอนครบวงจรเพื่อใช้ เป็ นสื่อการสอนเรื่ อยมา จนกระทัง่ ปี นี ้ (พ.ศ. 2559) เมื่อจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีแผนฟื น้ ฟูพิพิธภัณฑ์และห้ องการเรี ยน รู้นี ้ให้ ทนั สมัยขึ ้น บริษัท แคนนอน มาร์ เก็ตติง้ (ไทย แลนด์ ) จ�ำกัด จึงสานต่อเจตนารมย์เดิมของ บริ ษัท แคนนอน อิงค์ ด้ วยการปรับปรุ งห้ อง CANON EXPLORATORIUM ให้ กลายเป็ นศูนย์รวมเทคโนโลยีการ ้ าการท�ำงานต่างๆ ถ่ายภาพและการพิมพ์ระบบดิจติ อลยุคใหม่ และเปลีย่ น เปลี่ยนแปลงเมื่อผู้เข้ าชมปรับตังค่ วิธีการน�ำเสนอเป็ นรู ปแบบ Interactive ให้ ผ้ ูเข้ าชม ของกล้ อง เช่น ขนาดเซ็นเซอร์ ขนาดรูรับแสง ความเร็ ว ได้ สมั ผัส และทดลองใช้ เครื่องมือต่างๆ ในศูนย์ฯ ได้ ด้วย ชัตเตอร์ ค่า ISO การใช้ เลนส์ ระยะโฟกัส ระบบป้องกัน ภาพสัน่ ไหว ค่าสมดุลแสงสีขาว และ HDR เป็ นต้ น ถัดมาเป็ นเรื่ องเทคโนโลยีการพิมพ์ ระบบ สี ท่ ีใช้ กระดาษ โดยมี การเปรี ยบเทียบให้ เห็น ความแตกต่ างในคุณภาพของภาพพิมพ์ ท่ ไี ด้ เน้ น เรื่ องเทคโนโลยีและอุปกรณ์ ในการบริหารจัดการ เอกสารครบวงจร มีสมุดบันทึกภาพผู้มาเยี่ยมชม ในระบบดิจติ อล (Digital Portrait Photo Guestbook) โดยเปลี่ยนรูปแบบสมุดเข้ าเยี่ยมชมแบบเดิมๆ ให้ เป็ นสมุดเยี่ยมชมในรู ปแบบดิจิตอล ที่รวบรวม THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

067


PRINT NEWS

EXPLORATORIUM

EXPLORATORIUM PRINT ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่ NEWS

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่

EXPLORATORIUM ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ การถ่ายภาพและการพิมพ์ แห่งใหม่

“แคนนอน” ผู้น�ำเทคโนโลยีด้านกล้ องดิจิตอล และการพิ ม พ์ ภ าพดิ จิ ต อล ร่ ว มกั บ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลั ย เปิ ดตัว "แคนนอน เอ็กซ์ พลอรา ทอเรี ยม" (CANON EXPLORATORIUM) ศูนย์การ เรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่ ณ อาคารพิพธิ ภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรม หลวงนราธิวาสราชนคริ นทร์ ชัน้ 3 คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพือ่ ให้ เยาวชน นิสติ นักศึกษา

066

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มร.ฮารุกิ เทราฮิ ระ(ซ้าย) ศ.ดร. บัณฑิ ต เอือ้ อาภรณ์ (ขวา) ที่สนใจเรื่ องวิทยาศาสตร์ การถ่ายภาพและการพิมพ์ ภาพดิจติ อล ได้ เข้ ามาเรียนรู้ด้วยตนเองแบบ Interactive มร.ฮารุ กิ เทราฮิ ร ะ ประธานบริ ษั ท และ ประธานกรรมการบริ หาร บริษัท แคนนอน มาร์ เก็ต ติง้ (ไทยแลนด์ ) จ�ำกัด กล่าวว่า แคนนอนให้ ความ ส� ำ คัญ กับ การค้ น คว้ า ทดลองด้ า นเทคโนโลยี และ สนับ สนุ น การศึ ก ษาด้ า นวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ม าโดย ตลอด จากความมุ่งมั่นอย่างไม่หยุดยัง้ นีท้ �ำให้ แคน นอนประสบความส�ำเร็ จ และเป็ นผู้น�ำด้ านอิมเมจจิ ้ง

ตนเอง ท�ำให้ วทิ ยาศาสตร์ กลายเป็ นเรื่องง่าย ไม่ซบั ซ้ อน และเรี ยนรู้ได้ อย่างรวดเร็ ว โดยแคนนอนใช้ งบประมาณทังสิ ้ ้น 3 ล้ านบาท ในการพลิ ก โฉมศู น ย์ เ รี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ก ารถ่ า ย ภาพและการพิ ม พ์ ภ าพดิ จิ ต อล "แคนนอน เอ็ ก ซ์ พลอราทอเรี ย ม" (CANON EXPLORATORIUM) ใ ห้ เ ป็ น ศู น ย์ ก า ร เ รี ย น รู้ แ บ บ I n t e r a c t i v e ผู้ เข้ าชมจะได้ เรี ย นรู้ ระบบกล้ องและเทคโนโลยี ต่ า งๆ ผ่ า นการทดลองด้ ว ยตัว เองและโต้ ต อบกั บ ส่ ว นจั ด แสดงที่ เ ป็ นระบบ Interactive ทั ง้ หมด จากอดีตจนถึงปั จจุบนั ทัง้ นี ้ บริ ษั ท แคนนอน อิ ง ค์ ประเทศ โดยจุดแรกเป็ นการเรี ยนรู้เกี่ยวกับพื ้นฐานการถ่ายภาพ ญี่ปุ่น ได้ ร่วมมือกับคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มีหน้ าจอระบบสัมผัสเปรี ยบเทียบภาพให้ เห็นความ มหาวิทยาลัย ด� ำเนิ นการ "แคนนอน เอ็กซ์ พลอรา ทอเรียม" (CANON EXPLORATORIUM) พร้ อมกับการ สร้ างพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพฯ ครัง้ แรกตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2531 หรื อเมื่อ 28 ปี ก่อน และสนับสนุนอุปกรณ์ แคนนอนครบวงจรเพื่อใช้ เป็ นสื่อการสอนเรื่ อยมา จนกระทัง่ ปี นี ้ (พ.ศ. 2559) เมื่อจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีแผนฟื น้ ฟูพิพิธภัณฑ์และห้ องการเรี ยน รู้นี ้ให้ ทนั สมัยขึ ้น บริษัท แคนนอน มาร์ เก็ตติง้ (ไทย แลนด์ ) จ�ำกัด จึงสานต่อเจตนารมย์เดิมของ บริ ษัท แคนนอน อิงค์ ด้ วยการปรับปรุ งห้ อง CANON EXPLORATORIUM ให้ กลายเป็ นศูนย์รวมเทคโนโลยีการ ้ าการท�ำงานต่างๆ ถ่ายภาพและการพิมพ์ระบบดิจติ อลยุคใหม่ และเปลีย่ น เปลี่ยนแปลงเมื่อผู้เข้ าชมปรับตังค่ วิธีการน�ำเสนอเป็ นรู ปแบบ Interactive ให้ ผ้ ูเข้ าชม ของกล้ อง เช่น ขนาดเซ็นเซอร์ ขนาดรูรับแสง ความเร็ ว ได้ สมั ผัส และทดลองใช้ เครื่องมือต่างๆ ในศูนย์ฯ ได้ ด้วย ชัตเตอร์ ค่า ISO การใช้ เลนส์ ระยะโฟกัส ระบบป้องกัน ภาพสัน่ ไหว ค่าสมดุลแสงสีขาว และ HDR เป็ นต้ น ถัดมาเป็ นเรื่ องเทคโนโลยีการพิมพ์ ระบบ สี ท่ ีใช้ กระดาษ โดยมี การเปรี ยบเทียบให้ เห็น ความแตกต่ างในคุณภาพของภาพพิมพ์ ท่ ไี ด้ เน้ น เรื่ องเทคโนโลยีและอุปกรณ์ ในการบริหารจัดการ เอกสารครบวงจร มีสมุดบันทึกภาพผู้มาเยี่ยมชม ในระบบดิจติ อล (Digital Portrait Photo Guestbook) โดยเปลี่ยนรูปแบบสมุดเข้ าเยี่ยมชมแบบเดิมๆ ให้ เป็ นสมุดเยี่ยมชมในรู ปแบบดิจิตอล ที่รวบรวม THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

067


PRINT NEWS

EXPLORATORIUM

ปลูกป่าชายเลนต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่

กล้ องถ่ายภาพ และอุปกรณ์ กระบวนการถ่ายภาพ ตัง้ แต่ยุคเริ่ มต้ น พ.ศ. 2382 เช่น Daguerrotype, Wet and Dry Plate กล้ องถ่ ายภาพส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5, กล้ อ งถ่ า ยภาพยนตร์ ส่ว นพระองค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7, กล้ องถ่ายภาพส่วน พระองค์สมเด็จพระเจ้ าพีน่ างเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา ฯ และกล้ องหายากในอดีต เช่น กล้ องถ่ายรูปที่ใช้ ฟิล์มตัว รู ปภาพของผู้ท่ มี าเยี่ยมชมเป็ นไฟล์ ภาพ และแขก แรกของโลก กล้ องรัสเซียที่เป็ นต้ นแบบของกล้ องโลโม่ ที่มาชมสามารถปริ๊นต์ ภาพ กลับไปเป็ นที่ระลึกได้ กล้ องสายลับที่ใช้ กันในช่วงสงครามเย็น, การก๊ อปปี ้ อีกด้ วย ศ.ดร.บั ณ ฑิ ต เอื อ้ อาภรณ์ อธิ ก ารบดี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลั ย กล่าวว่า การเปิ ดศูนย์ เรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ การถ่ายภาพ "แคนนอน เอ็กซ์พลอ ราทอเรี ยม" เป็ นการเพิ่มเติมความหลากหลายให้ กบั พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพฯ โดยนอกจากผู้เข้ าชม จะได้ เรี ยนรู้ เรื่ องราวในอดีต ปั จจุบนั และแนวโน้ มใน อนาคตของเทคโนโลยีด้านภาพจากสิ่งที่จดั แสดงใน พิพธิ ภัณฑ์แล้ ว ยังได้ สนุกกับการเรียนรู้แบบ Interactive ในห้ องนี ้อีกด้ วย จึงเป็ นแหล่งเรี ยนรู้แห่งใหม่ที่นา่ สนใจ ซึง่ เยาวชนและผู้ที่รักการถ่ายภาพไม่ควรพลาด นอกจากศูนย์เรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ การถ่ายภาพ ภาพถ่ายภาพแรกของโลกที่ถ่ายโดยชาวฝรั่งเศส เมื่อปี Canon Exploratorium แล้ ว ในบริ เวณเดียวกันนันยั ้ ง ค.ศ. 1826 รวมถึงพระบรมฉายาลักษณ์ของรัชกาลที่ 4 มี พิพธิ ภัณฑ์ เทคโนโลยีทางภาพ ในพระอุปถัมภ์ ที่ ส่งไปยังประเทศฝรั่ งเศสเพื่ อท� ำเป็ นภาพขนาดจิ๋ ว สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรม ส�ำหรับกล้ องส่องที่เรี ยกว่า Stanhope เป็ นต้ น หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่จดั แสดงวิวฒ ั นาการ แคนนอน เอ็กซ์ พลอราทอเรี ยม" (CANON EXPLORATORIUM) และพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทาง ภาพ ฯ ตังอยู ้ ท่ ี่ชนั ้ 3 อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทาง ภาพฯ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เปิ ดให้ เข้ าชมทุกวันจันทร์ -ศุกร์ เวลา 9.00-16.00 น. โดยไม่เก็บค่าเข้ าชม ทังนี ้ หากสนใจเข้ ้ าชมเป็ นหมูค่ ณะ สามารถท�ำจดหมายเพื่อขอวิทยากรบรรยายได้ ด้วย สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ ที่ โทร. 0-2218-5581-2

068

ฟูจิ ซีร็อกซ์ เดินหน้าโครงการ CSR PRINT

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

NEWS

ฟูจิ ซีร็อกซ์

เดินหน้าโครงการ CSR

ปลูกป่าชายเลนต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

มร.โคจิ เทสึกะ ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำทีมผู้บริ หาร และพนักงานกว่า 250 ชีวิต ร่วมกันท�ำกิจกรรม ส่ง เสริ ม สิ่ ง แวดล้ อ มต่อ เนื่ อ งเป็ นปี ที่ 4 โดย ศึ ก ษ า ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น กั บ ธรรมชาติ และพร้ อมใจกัน ปลูก ป่ าชายเลน จ�ำนวน 500 กล้ า เพื่อเพิ่มพื ้นที่ป่าชายเลน ขยายแหล่ ง อนุ บ าลพั น ธุ์ สั ต ว์ น� ำ ้ ภายใต้ โครงการ “อ นุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู ป่ า ช า ย เ ล น เฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ” เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 12 สิงหาคม 2559 ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ กองทัพบก(บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ นับ เป็ นการตอกย� ้ำปณิธานและนโยบายของบริษทั ในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้ อม และมุง่ มัน่ อย่างเต็มก�ำลังที่จะปกป้องสิง่ แวดล้ อมโลก และลดปั ญหามลพิษให้ น้อยลง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

069


PRINT NEWS

EXPLORATORIUM

ปลูกป่าชายเลนต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์การถ่ายภาพและการพิมพ์แห่งใหม่

กล้ องถ่ายภาพ และอุปกรณ์ กระบวนการถ่ายภาพ ตัง้ แต่ยุคเริ่ มต้ น พ.ศ. 2382 เช่น Daguerrotype, Wet and Dry Plate กล้ องถ่ ายภาพส่วนพระองค์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5, กล้ อ งถ่ า ยภาพยนตร์ ส่ว นพระองค์ พ ระบาทสมเด็ จ พระปกเกล้ าเจ้ าอยูห่ วั รัชกาลที่ 7, กล้ องถ่ายภาพส่วน พระองค์สมเด็จพระเจ้ าพีน่ างเธอเจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา ฯ และกล้ องหายากในอดีต เช่น กล้ องถ่ายรูปที่ใช้ ฟิล์มตัว รู ปภาพของผู้ท่ มี าเยี่ยมชมเป็ นไฟล์ ภาพ และแขก แรกของโลก กล้ องรัสเซียที่เป็ นต้ นแบบของกล้ องโลโม่ ที่มาชมสามารถปริ๊นต์ ภาพ กลับไปเป็ นที่ระลึกได้ กล้ องสายลับที่ใช้ กันในช่วงสงครามเย็น, การก๊ อปปี ้ อีกด้ วย ศ.ดร.บั ณ ฑิ ต เอื อ้ อาภรณ์ อธิ ก ารบดี จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลั ย กล่าวว่า การเปิ ดศูนย์ เรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ การถ่ายภาพ "แคนนอน เอ็กซ์พลอ ราทอเรี ยม" เป็ นการเพิ่มเติมความหลากหลายให้ กบั พิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทางภาพฯ โดยนอกจากผู้เข้ าชม จะได้ เรี ยนรู้ เรื่ องราวในอดีต ปั จจุบนั และแนวโน้ มใน อนาคตของเทคโนโลยีด้านภาพจากสิ่งที่จดั แสดงใน พิพธิ ภัณฑ์แล้ ว ยังได้ สนุกกับการเรียนรู้แบบ Interactive ในห้ องนี ้อีกด้ วย จึงเป็ นแหล่งเรี ยนรู้แห่งใหม่ที่นา่ สนใจ ซึง่ เยาวชนและผู้ที่รักการถ่ายภาพไม่ควรพลาด นอกจากศูนย์เรี ยนรู้วทิ ยาศาสตร์ การถ่ายภาพ ภาพถ่ายภาพแรกของโลกที่ถ่ายโดยชาวฝรั่งเศส เมื่อปี Canon Exploratorium แล้ ว ในบริ เวณเดียวกันนันยั ้ ง ค.ศ. 1826 รวมถึงพระบรมฉายาลักษณ์ของรัชกาลที่ 4 มี พิพธิ ภัณฑ์ เทคโนโลยีทางภาพ ในพระอุปถัมภ์ ที่ ส่งไปยังประเทศฝรั่ งเศสเพื่ อท� ำเป็ นภาพขนาดจิ๋ ว สมเด็จพระเจ้ าพี่นางเธอ เจ้ าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรม ส�ำหรับกล้ องส่องที่เรี ยกว่า Stanhope เป็ นต้ น หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่จดั แสดงวิวฒ ั นาการ แคนนอน เอ็กซ์ พลอราทอเรี ยม" (CANON EXPLORATORIUM) และพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทาง ภาพ ฯ ตังอยู ้ ท่ ี่ชนั ้ 3 อาคารพิพิธภัณฑ์เทคโนโลยีทาง ภาพฯ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เปิ ดให้ เข้ าชมทุกวันจันทร์ -ศุกร์ เวลา 9.00-16.00 น. โดยไม่เก็บค่าเข้ าชม ทังนี ้ หากสนใจเข้ ้ าชมเป็ นหมูค่ ณะ สามารถท�ำจดหมายเพื่อขอวิทยากรบรรยายได้ ด้วย สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ ที่ โทร. 0-2218-5581-2

068

ฟูจิ ซีร็อกซ์ เดินหน้าโครงการ CSR PRINT

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

NEWS

ฟูจิ ซีร็อกซ์

เดินหน้าโครงการ CSR

ปลูกป่าชายเลนต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

มร.โคจิ เทสึกะ ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำทีมผู้บริ หาร และพนักงานกว่า 250 ชีวิต ร่วมกันท�ำกิจกรรม ส่ง เสริ ม สิ่ ง แวดล้ อ มต่อ เนื่ อ งเป็ นปี ที่ 4 โดย ศึ ก ษ า ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ก า ร อ ยู่ ร่ ว ม กั น กั บ ธรรมชาติ และพร้ อมใจกัน ปลูก ป่ าชายเลน จ�ำนวน 500 กล้ า เพื่อเพิ่มพื ้นที่ป่าชายเลน ขยายแหล่ ง อนุ บ าลพั น ธุ์ สั ต ว์ น� ำ ้ ภายใต้ โครงการ “อ นุ รั ก ษ์ ฟื ้ น ฟู ป่ า ช า ย เ ล น เฉลิ ม พระเกี ย รติ สมเด็ จ พระนางเจ้ า สิริกิต์ ิ พระบรมราชินีนาถ” เนื่องในโอกาส มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 12 สิงหาคม 2559 ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ กองทัพบก(บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ นับ เป็ นการตอกย� ้ำปณิธานและนโยบายของบริษทั ในเรื่ องความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้ อม และมุง่ มัน่ อย่างเต็มก�ำลังที่จะปกป้องสิง่ แวดล้ อมโลก และลดปั ญหามลพิษให้ น้อยลง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

069


PRINT “โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา TALK ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

“โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ภายใต้มุมมอง

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

ารเลือกตัง้ ประธานาธิ บดี ประเทศสหรั ฐ อ ม ริ ก า ที่ เ พิ่ ง ผ่ า น พ้ น ไ ป เ มื่ อ วั น ที่ 9 พฤศจิ ก ายน 2559 และปรากฏผลว่ า “ คุ ณ โ ด นั ล ด์ ท รั ม ป์ ” ไ ด้ รั บ เ ลื อ ก เ ป็ น ประธานาธิ บ ดี ค นใหม่ ล� ำ ดับ ที่ 45 และจะเข้ า รั บ ต� ำ แหน่ ง ต่ อ จาก “คุณ บารั ค โอบาม่ า ” นัน้ ก็ มี นัย ส� ำ คัญ ต่ อ อุต สาหกรรมทั่ว โลกอย่ า งมาก มี ทั ง้ นั ก ข่ า วและผู้ ประกอบการธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ โ ทรศัพ ท์ เ ข้ า มาถามว่า จะมี ผ ลกระทบ

070

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ต่ อ ประเทศไทยอย่ า งไร และมี ผ ลกระทบต่ อ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์หรื อไม่ สิง่ ที่ ท่านเห็นคือ โลกนี ้เป็ นเนื ้อเดียวกัน แต่ละประเทศอยู่ ไม่ไกลกัน สิง่ ที่เกิดขึ ้นในประเทศหนึง่ ย่อมส่งผลต่อ ประเทศหนึง่ ผมเรี ยนนะครั บว่า ประเด็นแรก ภายใต้ นโยบายคุณทรัมป์ ทางด้ านเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้ อง กับเอเชียนัน้ จะให้ มีการยกเลิกข้ อตกลงทีพีพี หรื อ ข้ อ ตกลงหุ้น ส่ ว นยุท ธศาสตร์ เ ศรษฐกิ จ ภูมิ ภ าค เอเชีย-แปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement : TPP) ซึ่งใน ภูมิ ภ าคนี ้ ประเทศที่ เ ซ็ น ลงนามเป็ นหุ้น ส่ว นไป แล้ วคือสิงคโปร์ และเวียดนาม คุณโดนัลด์ ทรัมป์

“โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา PRINT ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

ประกาศเลยว่ า จะไม่ ใ ห้ มี แ ล้ ว ประเทศเราเป็ น คู่ แ ข่ ง ส� ำ คัญ ในเออี ซี ดัง นั น้ การยกเลิ ก ตรงนี ้ อาจไม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ เ ราเสี ย เปรี ย บมาก หรื อ อาจจะ เสี ย เปรี ย บไปเลย เดี๋ ย วเราลองมาวิ เ คราะห์ กัน ประเด็นที่ 2 คุณโดนัลด์ ทรัมป์ บอกเลย นะครับว่า สหรัฐอเมริ กาในช่วง 30-40 ปี ที่ผา่ นมา ด�ำเนินนโยบายต่างประเทศผิดพลาด เศรษฐกิจ พลิกผัน จึงท�ำให้ ทกุ วันนี ้เกิดคูแ่ ข่งที่คดิ ไม่ถงึ เลยคือ ประเทศจีน เมื่อประมาณ 30 ปี ที่ผา่ นมา ประเทศ จีนเปิ ดประเทศใหม่ๆ จีนเป็ นประเทศคอมมิวนิสต์ มานาน มีประชากรพันกว่าล้ านคน ต้ องการเปิ ด ประเทศแล้ วค่อยๆ เปิ ด โดยได้ ตงเป ั ้ ้ าหมายตัวเองให้ เป็ นโรงงานของโลก ด้ วยเหตุทมี่ แี รงงานจ�ำนวนมาก ด้ วยเหตุที่ดินมีจ�ำนวนมาก ก็เริ่ มเปิ ดเขตเศรษฐกิจ พิเศษ แรกๆ ก็มีเซินเจิ่น ติดกับฮ่องกง มีการลงทุน จากต่างประเทศเข้ ามามาก สหรั ฐฯ เองด�ำเนิ น นโยบายผิดพลาด เพราะคิดว่าตัวเองมีเทคโนโลยี แล้ ว จะสามารถควบคุมทุกอย่างได้ โดยใช้ รูปแบบ การบริ หารที่มีและคิดว่าดีแล้ ว การย้ ายโรงงานเข้ าไปลงทุนในประเทศจีน ท�ำให้ ได้ แรงงานถูก ในช่วงแรกที่เข้ าไปลงทุนท�ำให้ ได้ ก�ำไร 2 ต่อ ก�ำไรที่หนึง่ คือผลประกอบการดีเยี่ยม เพราะต้ นทุนถูกกว่าเยอะมาก ก�ำไรจึงมากขึ ้น นัก ธุรกิจสหรัฐฯ เขาเก่งเวลาท�ำก�ำไรได้ 2 เด้ ง บริ ษัทที่ อยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ฯ พอผลประกอบการก�ำไรดี ก็ได้ สะท้ อนไปที่ราคาหุ้น ฉะนันในช่ ้ วง 20-30 ปี มา นี ้ มีความสุขมากกับผลประกอบการที่ได้ มา แต่ใน ขณะเดียวกัน สิง่ ที่สหรัฐฯ ป่ วนมากๆ ก็คือ ประสบ ปั ญหาภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ อัตราการว่าง งานถือว่ามากขึ ้นๆ ลดดอกเบี ้ยเท่าไรก็แก้ ปัญหาไม่ ได้ แต่ในวันนี ้ประเทศจีนกลับมีความแข็งแกร่งจาก การเป็ นประเทศที่รับจ้ างผลิต ในวันนี ้มีสถานะทาง เศรษฐกิจเป็ นรองแค่สหรัฐอเมริ กาเท่านัน้ แล้ วก็มี การคาดกันว่า ในอัตราการเติบโตแบบนี ้ ประเทศ จีนคงเป็ นอันดับหนึง่ ในไม่ช้า

TALK

นโยบายของคุ ณ โดนั ล ทรั ม ป์ คื อ จะเอางานต่ า งๆ ที่ ไ ปผลิ ต อยู่ ท่ ั ว โลก โดย เฉพาะที่ประเทศจีนกลั บมาผลิตในประเทศ ผมเล่าให้ ฟังแบบฟั งมาอีกทีนะครับว่า ตอนก่อนที่ คุณสตีพ จ๊ อบ จะเสียชีวิต ประธานาธิบดีบารั ค โอบามา ไปเยีย่ มถึง 2-3 ครัง้ ไปปรึกษากันว่า จะท�ำ อย่างไรที่จะให้ สหรัฐอเมริ กาหยุดการเสียประโยชน์ จากการไปจ้ า งจี น ผลิต แม้ ว่า การผลิต โทรศัพ ท์ ไอโฟน จีนจะได้ คา่ แรงแค่ 10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเครื่อง จากที่ขายราคา 599-699 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อเครื่ อง แต่ ลองคิดดูว่า วันนีจ้ นี กลับกลายเป็ น ผลิตโทรศัพท์แบรนด์ ช่อื จีนอย่ างน้ อย 2 แบรนด์ โดยมีรูปลักษณ์ และเทคโนโลยีเหมือนกับไอ โฟน และตอนนีก้ ลายเป็ นคู่แข่ งส�ำคัญทั่วโลก แล้ วตอนนีส้ หรั ฐอเมริ กาก็มีปัญหาทางสังคม มาก เพราะตกงานมาก นโยบายของทรั มป์ ประกาศแล้ วว่ า จะดึงงานกลับมา ตรงนีเ้ ป็ น อีกอันที่จะท�ำให้ โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอีก แล้ วก็เรื่ องประเทศไทย 4.0 หรื อ Industry 4.0 ประเทศที่เป็ นต้ นคิด ก็ไม่ใช่คนไทย แต่เป็ น ประเทศเยอรมัน ซึง่ คิดขึ ้นในปี 2003 หรือไม่กป็ ี 2007 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

071


PRINT “โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา TALK ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

“โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ภายใต้มุมมอง

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

ารเลือกตัง้ ประธานาธิ บดี ประเทศสหรั ฐ อ ม ริ ก า ที่ เ พิ่ ง ผ่ า น พ้ น ไ ป เ มื่ อ วั น ที่ 9 พฤศจิ ก ายน 2559 และปรากฏผลว่ า “ คุ ณ โ ด นั ล ด์ ท รั ม ป์ ” ไ ด้ รั บ เ ลื อ ก เ ป็ น ประธานาธิ บ ดี ค นใหม่ ล� ำ ดับ ที่ 45 และจะเข้ า รั บ ต� ำ แหน่ ง ต่ อ จาก “คุณ บารั ค โอบาม่ า ” นัน้ ก็ มี นัย ส� ำ คัญ ต่ อ อุต สาหกรรมทั่ว โลกอย่ า งมาก มี ทั ง้ นั ก ข่ า วและผู้ ประกอบการธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ โ ทรศัพ ท์ เ ข้ า มาถามว่า จะมี ผ ลกระทบ

070

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ต่ อ ประเทศไทยอย่ า งไร และมี ผ ลกระทบต่ อ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์หรื อไม่ สิง่ ที่ ท่านเห็นคือ โลกนี ้เป็ นเนื ้อเดียวกัน แต่ละประเทศอยู่ ไม่ไกลกัน สิง่ ที่เกิดขึ ้นในประเทศหนึง่ ย่อมส่งผลต่อ ประเทศหนึง่ ผมเรี ยนนะครั บว่า ประเด็นแรก ภายใต้ นโยบายคุณทรัมป์ ทางด้ านเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้ อง กับเอเชียนัน้ จะให้ มีการยกเลิกข้ อตกลงทีพีพี หรื อ ข้ อ ตกลงหุ้น ส่ ว นยุท ธศาสตร์ เ ศรษฐกิ จ ภูมิ ภ าค เอเชีย-แปซิฟิก (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement : TPP) ซึ่งใน ภูมิ ภ าคนี ้ ประเทศที่ เ ซ็ น ลงนามเป็ นหุ้น ส่ว นไป แล้ วคือสิงคโปร์ และเวียดนาม คุณโดนัลด์ ทรัมป์

“โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา PRINT ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

ประกาศเลยว่ า จะไม่ ใ ห้ มี แ ล้ ว ประเทศเราเป็ น คู่ แ ข่ ง ส� ำ คัญ ในเออี ซี ดัง นั น้ การยกเลิ ก ตรงนี ้ อาจไม่ ไ ด้ ท� ำ ให้ เ ราเสี ย เปรี ย บมาก หรื อ อาจจะ เสี ย เปรี ย บไปเลย เดี๋ ย วเราลองมาวิ เ คราะห์ กัน ประเด็นที่ 2 คุณโดนัลด์ ทรัมป์ บอกเลย นะครับว่า สหรัฐอเมริ กาในช่วง 30-40 ปี ที่ผา่ นมา ด�ำเนินนโยบายต่างประเทศผิดพลาด เศรษฐกิจ พลิกผัน จึงท�ำให้ ทกุ วันนี ้เกิดคูแ่ ข่งที่คดิ ไม่ถงึ เลยคือ ประเทศจีน เมื่อประมาณ 30 ปี ที่ผา่ นมา ประเทศ จีนเปิ ดประเทศใหม่ๆ จีนเป็ นประเทศคอมมิวนิสต์ มานาน มีประชากรพันกว่าล้ านคน ต้ องการเปิ ด ประเทศแล้ วค่อยๆ เปิ ด โดยได้ ตงเป ั ้ ้ าหมายตัวเองให้ เป็ นโรงงานของโลก ด้ วยเหตุทมี่ แี รงงานจ�ำนวนมาก ด้ วยเหตุที่ดินมีจ�ำนวนมาก ก็เริ่ มเปิ ดเขตเศรษฐกิจ พิเศษ แรกๆ ก็มีเซินเจิ่น ติดกับฮ่องกง มีการลงทุน จากต่างประเทศเข้ ามามาก สหรั ฐฯ เองด�ำเนิ น นโยบายผิดพลาด เพราะคิดว่าตัวเองมีเทคโนโลยี แล้ ว จะสามารถควบคุมทุกอย่างได้ โดยใช้ รูปแบบ การบริ หารที่มีและคิดว่าดีแล้ ว การย้ ายโรงงานเข้ าไปลงทุนในประเทศจีน ท�ำให้ ได้ แรงงานถูก ในช่วงแรกที่เข้ าไปลงทุนท�ำให้ ได้ ก�ำไร 2 ต่อ ก�ำไรที่หนึง่ คือผลประกอบการดีเยี่ยม เพราะต้ นทุนถูกกว่าเยอะมาก ก�ำไรจึงมากขึ ้น นัก ธุรกิจสหรัฐฯ เขาเก่งเวลาท�ำก�ำไรได้ 2 เด้ ง บริ ษัทที่ อยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ฯ พอผลประกอบการก�ำไรดี ก็ได้ สะท้ อนไปที่ราคาหุ้น ฉะนันในช่ ้ วง 20-30 ปี มา นี ้ มีความสุขมากกับผลประกอบการที่ได้ มา แต่ใน ขณะเดียวกัน สิง่ ที่สหรัฐฯ ป่ วนมากๆ ก็คือ ประสบ ปั ญหาภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศ อัตราการว่าง งานถือว่ามากขึ ้นๆ ลดดอกเบี ้ยเท่าไรก็แก้ ปัญหาไม่ ได้ แต่ในวันนี ้ประเทศจีนกลับมีความแข็งแกร่งจาก การเป็ นประเทศที่รับจ้ างผลิต ในวันนี ้มีสถานะทาง เศรษฐกิจเป็ นรองแค่สหรัฐอเมริ กาเท่านัน้ แล้ วก็มี การคาดกันว่า ในอัตราการเติบโตแบบนี ้ ประเทศ จีนคงเป็ นอันดับหนึง่ ในไม่ช้า

TALK

นโยบายของคุ ณ โดนั ล ทรั ม ป์ คื อ จะเอางานต่ า งๆ ที่ ไ ปผลิ ต อยู่ ท่ ั ว โลก โดย เฉพาะที่ประเทศจีนกลั บมาผลิตในประเทศ ผมเล่าให้ ฟังแบบฟั งมาอีกทีนะครับว่า ตอนก่อนที่ คุณสตีพ จ๊ อบ จะเสียชีวิต ประธานาธิบดีบารั ค โอบามา ไปเยีย่ มถึง 2-3 ครัง้ ไปปรึกษากันว่า จะท�ำ อย่างไรที่จะให้ สหรัฐอเมริ กาหยุดการเสียประโยชน์ จากการไปจ้ า งจี น ผลิต แม้ ว่า การผลิต โทรศัพ ท์ ไอโฟน จีนจะได้ คา่ แรงแค่ 10 เหรียญสหรัฐฯ ต่อเครื่อง จากที่ขายราคา 599-699 เหรี ยญสหรัฐฯ ต่อเครื่ อง แต่ ลองคิดดูว่า วันนีจ้ นี กลับกลายเป็ น ผลิตโทรศัพท์แบรนด์ ช่อื จีนอย่ างน้ อย 2 แบรนด์ โดยมีรูปลักษณ์ และเทคโนโลยีเหมือนกับไอ โฟน และตอนนีก้ ลายเป็ นคู่แข่ งส�ำคัญทั่วโลก แล้ วตอนนีส้ หรั ฐอเมริ กาก็มีปัญหาทางสังคม มาก เพราะตกงานมาก นโยบายของทรั มป์ ประกาศแล้ วว่ า จะดึงงานกลับมา ตรงนีเ้ ป็ น อีกอันที่จะท�ำให้ โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอีก แล้ วก็เรื่ องประเทศไทย 4.0 หรื อ Industry 4.0 ประเทศที่เป็ นต้ นคิด ก็ไม่ใช่คนไทย แต่เป็ น ประเทศเยอรมัน ซึง่ คิดขึ ้นในปี 2003 หรือไม่กป็ ี 2007 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

071


PRINT “โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา TALK ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

เขามีไอเดียนี ้ขึ ้นมา เพราะต้ องการเปลีย่ นกติกาใหม่ ในยุโรปทุกวันนีท้ ี่อ่อนแอ มีเยอรมันเท่านัน้ ที่เข้ ม แข็ง สามารถอุ้มทุกคนได้ แต่ตอนนี ้อังกฤษก็ brexit ออกไปล่ะ ตัวใครตัวมัน เพราะปี หนึง่ ๆ อังกฤษต้ อง ใช้ เงินลงขันปี ละ 900,000 ล้ านบาท วันนี ้อังกฤษ ไม่เอาแล้ ว ดัง นัน้ เยอรมัน เขามองว่า ความเจริ ญ ต่อ ไปจะอยู่ใ นเอเชี ย หมด เพราะอะไร? เพราะ แถบนี ้ยังมีแรงงานเยอะ ค่าแรงงานถูก ประชาชน ก� ำลังเริ่ มร�่ ำรวย มีก�ำลังซือ้ มากขึน้ ขณะที่ยุโรป และอเมริ ก าไม่ มี ท างแข่ ง ได้ ในเชิ ง ค่ า แรงครั บ ดัง นัน้ ทางเดี ย วที่ ต้ อ งแก้ เ กมนี ใ้ ห้ ไ ด้ ก็ คื อ การ สร้ างกติกาใหม่ขึน้ มา โดยใช้ หลักการ ที่เรี ยกว่า Industry 4.0 ผมเรี ยนนะครับ ในที่นี ้รวมทังสภา ้ อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็ นห่วงเรื่องนี เหมื ้ อน กันว่า ต่อไปทุกประเทศจะผลิตสินค้ าด้ วยเทรนด์ ของโลกที่ ต้องผลิตจ� ำนวนมาก ท� ำตามออเดอร์ ลู ก ค้ ามากขึ น้ ระบบขนส่ ง ต้ องควบคุ ม ได้ เอง สิ่งที่จะเกิ ดขึน้ ในอนาคต จะต้ องเป็ นไปแบบนัน้ กลับมาดู GDP ประเทศที่ประสบความ ส�ำเร็ จ มีรายได้ ต่อหัวของประชาชนต่อปี สูง ไม่ว่า

072

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

จะเป็ น ฮ่องกง ไต้ หวัน เกาหลี ญี่ปนุ่ สิงคโปร์ ประเทศ เหล่านัน้ ล้ วนเป็ นประเทศที่เติบโตด้ วยนวัตกรรม ทังสิ ้ ้น ดังนัน้ เรื่ องกับดักรายได้ ปานกลาง ประเทศ เราไม่ได้ เพิ่งติด แต่ติดเป็ นสิบกว่าปี มาแล้ ว เรายัง ก้ าวข้ ามผ่านไม่ได้ หนึ่งเลยนะครั บ ประเทศเรา ไม่มีนวัตกรรม ไม่มีเรื่ อง R&D มาก ขณะนี ้รัฐบาล เฝ้าผลักดันให้ R&D มีให้ ได้ ภายในอีก 10 ปี ต้ องให้ ได้ สกั 2 % ของจีดีพี แต่วนั นี ้มีแค่ 0.4 % เทียบกับ สิงคโปร์ ที่มี 1.8 % ของเราถือว่าน้ อยมาก ค�ำถามต่อมาว่า ท�ำไมเราต้ องปรับเปลี่ยน ประเทศ เพราะประเทศของเราจี ดีพีกว่า 70 % ขึ น้ อยู่กับ การส่ ง ออก แล้ ว วัน นี ท้ ี่ ป ระเทศไทยมี ปั ญ หา เพราะเราเป็ นฐานการส่ ง ออก ขณะที่ ทังโลกเศรษฐกิ ้ จก�ำลังลดลงและถดถอยอยู่ ตลาด หลักๆ ของเราลดลงไปเยอะ ไม่ว่าจะเป็ นอเมริ กา ยุโรป หรื อญี่ปนุ่ และแม้ แต่ประเทศจีนเอง ซึง่ ขณะ นี ้ประเทศจีนเอง ก็อยูใ่ นระหว่างปฏิรูปตัวเอง โดย เฉพาะเรื่ องคอร์ รัปชัน่ ในหลายปี นี ้มาเขาไม่มงุ่ ด้ าน เศรษฐกิจเท่าไร ประเทศเหล่านี ้พึง่ พาส่งออก เค้ า ซื ้อน้ อยลงมา แล้ วมีแนวโน้ มในอนาคตว่าเขาจะไป ผลิตเอง แล้ วค่าแรงของเราก็ไม่ตำ�่ แล้ ว อุตสาหกรรม

“โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา PRINT ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

ที่ เคยอยู่ในประเทศไทย เช่น สิ่งพิมพ์ และบรรจุ ภัณฑ์ หรื อสิง่ ที่เราเคยสนุกสนานเพราะว่าเป็ นฐาน การผลิตสินค้ าอยูใ่ นประเทศเรา ไม่วา่ จะเป็ นเสื ้อผ้ า กระเป๋ า รองเท้ า แต่วนั นี พวกนี ้ ้ก�ำลังย้ ายฐานเข้ าไป อยูใ่ นประเทศเพื่อนบ้ านเรา อย่ างตอนนีท้ ่กี มั พูชาเป็ นแชมป์ในเรื่อง ของการ์ เม้ นท์ เสือ้ ผ้ าส่ งออก ค่ าแรงถูก แม้ แต่ คนไทยก็ย้ายไปผลิตที่น่ ั น ขณะที่ในไทยเรา ค่ าแรงก็ไม่ ถูก เทคโนโลยีกไ็ ม่ มี ทรั พยากรก็ใช้ ไปเกือบหมด แล้ วก็เสื่อมถอยไปล่ ะ ที่สำ� คัญ บุคลากรของเราไม่ มีการพัฒนา เพราะฉะนัน้ รัฐบาลต้ องปฎิรูปใหม่ เพื่อยกระดับการแข่ งขัน ของประเทศ เพื่อให้ เราหลุ ดบ่ วงจากรายได้ ปานกลางสู่ระดับสูง ตัวเลขการลงทุนในต่างประเทศที่ลงทุนใน อาเซียนปี 2014 มีข้อมูลการลงทุนใน 10 ประเทศ ประมาณ 60,000 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ ประเทศที่ได้ รับอานิสงส์การลงทุนโดยตรงมากที่สดุ ในอาเซียน คือ สิงคโปร์ ที่มีคนแค่ 5 ล้ านคน แต่ได้ เงินลงทุน มากถึง 53% อีก 9 ประเทศที่เหลือได้ ไม่ถงึ ครึ่งหนึง่ ที่สงิ คโปร์ ได้ เวียดนามเป็ นอันดับ 2 ประเทศไทยอยู่ อันดับ 3 ได้ 8% และอินโดนีเซียอันดับ 4 สิง่ เหล่านี ้ สะท้ อนให้ เห็นว่า ถ้ าเราไม่ปฏิรูปประเทศเราใหม่ ผล เสียหายก็จะตามมาเรื่ อยๆ ขณะนี ้รั ฐ บาลก� ำ ลัง ปฏิ รู ป อุต สาหกรรม 4.0 มาถึ ง จุ ด ที ่จ ะเป็ นอุต สาหกรรมใหม่ ซึ่ ง จะ มาต่ อ เติ มและสร้ า งจี ดี พี ใ หม่ ใ ห้ กั บ ประเทศ

TALK

ใน 10 อุตสาหกรรมใหม่ทีจ่ ะให้การส่งเสริ ม จากเดิม ทีม่ ีแค่ 5 อุตสาหกรรม สิ่ งทีไ่ ทยมีแล้วเก่งแล้ว แต่จะ รักษายังไง ในเมื อ่ เทคโนโลยีโลกก�ำลังจะเปลีย่ นไป ยกตัวอย่างเช่น เราเป็ นแชมป์ติด 1 ใน 10 ผู้สง่ ออกรถยนต์ รถกระบะ เทรนด์การใช้ พลังงาน ไฟฟ้าจะมากขึ ้น ถ้ าดูในโซเชี่ยลมีเดียจะเห็นว่าที่ เราแข็งแกร่งเพราะเรามีซพั พลายเชน อุตสาหกรรม นี ้เข้ มแข็งมาก แล้ วก็ซพั พลายเชนในอุตสาหกรรม นี ้มีเป็ นร้ อยๆ บริ ษัท แต่ปรากฏว่า ปั จจุบนั รถไฟฟ้า เหลืออยูแ่ ค่ 10 บริ ษัท เขาคงไม่อยากลงทุนในไทย คงไปหาเวียดนาม ประเทศที่มีศกั ยภาพการลงทุน ใหญ่ๆ ต้ นทุนถูกกว่า ถ้ า เราไม่ เ ตรี ย มตัว ความเป็ นดี ท รอยส์ (เมืองอุตสาหกรรมยานยนต์)มันจะหายไปในพริ บ ตา หรื อเราเป็ นครัวของโลก เป็ น 1 ใน 5 แหล่ง ผลิตอาหารส�ำคัญของโลก แต่วนั นี ้ อาหารที่เราท�ำ กลั บ กลายเป็ นว่ า ท� ำ เยอะแต่ ไ ด้ ก� ำ ไรน้ อย วั น นี เ้ ราต้ องการนวั ต กรรม ที่ ท� ำ น้ อยแต่ ไ ด้ ก� ำ ไรมาก หรื อ ว่ า วัน นี เ้ ทรนด์ สุข ภาพก� ำ ลัง มา ท� ำ ยัง ไงกั บ คนไม่ กิ น ข้ าว คนกรุ ง เทพฯ ไม่ กิ น ข้ าวเลย หรื อกินแต่ไม่หมด อาจต้ องหาข้ าวพันธุ์ ใหม่ ๆ ที่ กิ น แล้ ว ไม่ อ้ ว น หรื อ คนที่ เ ป็ นโรคหัว ใจ โรคความดั น กิ น ได้ สิ่ ง เหล่ า นี เ้ ราต้ องต่ อ เติ ม นโยบายของคุณโดนัลด์ ทรัมป์ ในส่ วน ที่เกี่ยวข้ องกับการพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย ถ้ า จะคุยเรื่ องนีใ้ ห้ ละเอียดนับว่ า ยาวมาก แต่ จะ หาโอกาสพูดถึงให้ ฟังเรื่ อยๆ ครั บ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

073


PRINT “โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา TALK ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

เขามีไอเดียนี ้ขึ ้นมา เพราะต้ องการเปลีย่ นกติกาใหม่ ในยุโรปทุกวันนีท้ ี่อ่อนแอ มีเยอรมันเท่านัน้ ที่เข้ ม แข็ง สามารถอุ้มทุกคนได้ แต่ตอนนี ้อังกฤษก็ brexit ออกไปล่ะ ตัวใครตัวมัน เพราะปี หนึง่ ๆ อังกฤษต้ อง ใช้ เงินลงขันปี ละ 900,000 ล้ านบาท วันนี ้อังกฤษ ไม่เอาแล้ ว ดัง นัน้ เยอรมัน เขามองว่า ความเจริ ญ ต่อ ไปจะอยู่ใ นเอเชี ย หมด เพราะอะไร? เพราะ แถบนี ้ยังมีแรงงานเยอะ ค่าแรงงานถูก ประชาชน ก� ำลังเริ่ มร�่ ำรวย มีก�ำลังซือ้ มากขึน้ ขณะที่ยุโรป และอเมริ ก าไม่ มี ท างแข่ ง ได้ ในเชิ ง ค่ า แรงครั บ ดัง นัน้ ทางเดี ย วที่ ต้ อ งแก้ เ กมนี ใ้ ห้ ไ ด้ ก็ คื อ การ สร้ างกติกาใหม่ขึน้ มา โดยใช้ หลักการ ที่เรี ยกว่า Industry 4.0 ผมเรี ยนนะครับ ในที่นี ้รวมทังสภา ้ อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็ นห่วงเรื่องนี เหมื ้ อน กันว่า ต่อไปทุกประเทศจะผลิตสินค้ าด้ วยเทรนด์ ของโลกที่ ต้องผลิตจ� ำนวนมาก ท� ำตามออเดอร์ ลู ก ค้ ามากขึ น้ ระบบขนส่ ง ต้ องควบคุ ม ได้ เอง สิ่งที่จะเกิ ดขึน้ ในอนาคต จะต้ องเป็ นไปแบบนัน้ กลับมาดู GDP ประเทศที่ประสบความ ส�ำเร็ จ มีรายได้ ต่อหัวของประชาชนต่อปี สูง ไม่ว่า

072

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

จะเป็ น ฮ่องกง ไต้ หวัน เกาหลี ญี่ปนุ่ สิงคโปร์ ประเทศ เหล่านัน้ ล้ วนเป็ นประเทศที่เติบโตด้ วยนวัตกรรม ทังสิ ้ ้น ดังนัน้ เรื่ องกับดักรายได้ ปานกลาง ประเทศ เราไม่ได้ เพิ่งติด แต่ติดเป็ นสิบกว่าปี มาแล้ ว เรายัง ก้ าวข้ ามผ่านไม่ได้ หนึ่งเลยนะครั บ ประเทศเรา ไม่มีนวัตกรรม ไม่มีเรื่ อง R&D มาก ขณะนี ้รัฐบาล เฝ้าผลักดันให้ R&D มีให้ ได้ ภายในอีก 10 ปี ต้ องให้ ได้ สกั 2 % ของจีดีพี แต่วนั นี ้มีแค่ 0.4 % เทียบกับ สิงคโปร์ ที่มี 1.8 % ของเราถือว่าน้ อยมาก ค�ำถามต่อมาว่า ท�ำไมเราต้ องปรับเปลี่ยน ประเทศ เพราะประเทศของเราจี ดีพีกว่า 70 % ขึ น้ อยู่กับ การส่ ง ออก แล้ ว วัน นี ท้ ี่ ป ระเทศไทยมี ปั ญ หา เพราะเราเป็ นฐานการส่ ง ออก ขณะที่ ทังโลกเศรษฐกิ ้ จก�ำลังลดลงและถดถอยอยู่ ตลาด หลักๆ ของเราลดลงไปเยอะ ไม่ว่าจะเป็ นอเมริ กา ยุโรป หรื อญี่ปนุ่ และแม้ แต่ประเทศจีนเอง ซึง่ ขณะ นี ้ประเทศจีนเอง ก็อยูใ่ นระหว่างปฏิรูปตัวเอง โดย เฉพาะเรื่ องคอร์ รัปชัน่ ในหลายปี นี ้มาเขาไม่มงุ่ ด้ าน เศรษฐกิจเท่าไร ประเทศเหล่านี ้พึง่ พาส่งออก เค้ า ซื ้อน้ อยลงมา แล้ วมีแนวโน้ มในอนาคตว่าเขาจะไป ผลิตเอง แล้ วค่าแรงของเราก็ไม่ตำ�่ แล้ ว อุตสาหกรรม

“โดนัลด์ ทรัมป์” นั่งเก้าอี้ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา PRINT ภายใต้มุมมอง คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

ที่ เคยอยู่ในประเทศไทย เช่น สิ่งพิมพ์ และบรรจุ ภัณฑ์ หรื อสิง่ ที่เราเคยสนุกสนานเพราะว่าเป็ นฐาน การผลิตสินค้ าอยูใ่ นประเทศเรา ไม่วา่ จะเป็ นเสื ้อผ้ า กระเป๋ า รองเท้ า แต่วนั นี พวกนี ้ ้ก�ำลังย้ ายฐานเข้ าไป อยูใ่ นประเทศเพื่อนบ้ านเรา อย่ างตอนนีท้ ่กี มั พูชาเป็ นแชมป์ในเรื่อง ของการ์ เม้ นท์ เสือ้ ผ้ าส่ งออก ค่ าแรงถูก แม้ แต่ คนไทยก็ย้ายไปผลิตที่น่ ั น ขณะที่ในไทยเรา ค่ าแรงก็ไม่ ถูก เทคโนโลยีกไ็ ม่ มี ทรั พยากรก็ใช้ ไปเกือบหมด แล้ วก็เสื่อมถอยไปล่ ะ ที่สำ� คัญ บุคลากรของเราไม่ มีการพัฒนา เพราะฉะนัน้ รัฐบาลต้ องปฎิรูปใหม่ เพื่อยกระดับการแข่ งขัน ของประเทศ เพื่อให้ เราหลุ ดบ่ วงจากรายได้ ปานกลางสู่ระดับสูง ตัวเลขการลงทุนในต่างประเทศที่ลงทุนใน อาเซียนปี 2014 มีข้อมูลการลงทุนใน 10 ประเทศ ประมาณ 60,000 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ ประเทศที่ได้ รับอานิสงส์การลงทุนโดยตรงมากที่สดุ ในอาเซียน คือ สิงคโปร์ ที่มีคนแค่ 5 ล้ านคน แต่ได้ เงินลงทุน มากถึง 53% อีก 9 ประเทศที่เหลือได้ ไม่ถงึ ครึ่งหนึง่ ที่สงิ คโปร์ ได้ เวียดนามเป็ นอันดับ 2 ประเทศไทยอยู่ อันดับ 3 ได้ 8% และอินโดนีเซียอันดับ 4 สิง่ เหล่านี ้ สะท้ อนให้ เห็นว่า ถ้ าเราไม่ปฏิรูปประเทศเราใหม่ ผล เสียหายก็จะตามมาเรื่ อยๆ ขณะนี ้รั ฐ บาลก� ำ ลัง ปฏิ รู ป อุต สาหกรรม 4.0 มาถึ ง จุ ด ที ่จ ะเป็ นอุต สาหกรรมใหม่ ซึ่ ง จะ มาต่ อ เติ มและสร้ า งจี ดี พี ใ หม่ ใ ห้ กั บ ประเทศ

TALK

ใน 10 อุตสาหกรรมใหม่ทีจ่ ะให้การส่งเสริ ม จากเดิม ทีม่ ีแค่ 5 อุตสาหกรรม สิ่ งทีไ่ ทยมีแล้วเก่งแล้ว แต่จะ รักษายังไง ในเมื อ่ เทคโนโลยีโลกก�ำลังจะเปลีย่ นไป ยกตัวอย่างเช่น เราเป็ นแชมป์ติด 1 ใน 10 ผู้สง่ ออกรถยนต์ รถกระบะ เทรนด์การใช้ พลังงาน ไฟฟ้าจะมากขึ ้น ถ้ าดูในโซเชี่ยลมีเดียจะเห็นว่าที่ เราแข็งแกร่งเพราะเรามีซพั พลายเชน อุตสาหกรรม นี ้เข้ มแข็งมาก แล้ วก็ซพั พลายเชนในอุตสาหกรรม นี ้มีเป็ นร้ อยๆ บริ ษัท แต่ปรากฏว่า ปั จจุบนั รถไฟฟ้า เหลืออยูแ่ ค่ 10 บริ ษัท เขาคงไม่อยากลงทุนในไทย คงไปหาเวียดนาม ประเทศที่มีศกั ยภาพการลงทุน ใหญ่ๆ ต้ นทุนถูกกว่า ถ้ า เราไม่ เ ตรี ย มตัว ความเป็ นดี ท รอยส์ (เมืองอุตสาหกรรมยานยนต์)มันจะหายไปในพริ บ ตา หรื อเราเป็ นครัวของโลก เป็ น 1 ใน 5 แหล่ง ผลิตอาหารส�ำคัญของโลก แต่วนั นี ้ อาหารที่เราท�ำ กลั บ กลายเป็ นว่ า ท� ำ เยอะแต่ ไ ด้ ก� ำ ไรน้ อย วั น นี เ้ ราต้ องการนวั ต กรรม ที่ ท� ำ น้ อยแต่ ไ ด้ ก� ำ ไรมาก หรื อ ว่ า วัน นี เ้ ทรนด์ สุข ภาพก� ำ ลัง มา ท� ำ ยัง ไงกั บ คนไม่ กิ น ข้ าว คนกรุ ง เทพฯ ไม่ กิ น ข้ าวเลย หรื อกินแต่ไม่หมด อาจต้ องหาข้ าวพันธุ์ ใหม่ ๆ ที่ กิ น แล้ ว ไม่ อ้ ว น หรื อ คนที่ เ ป็ นโรคหัว ใจ โรคความดั น กิ น ได้ สิ่ ง เหล่ า นี เ้ ราต้ องต่ อ เติ ม นโยบายของคุณโดนัลด์ ทรัมป์ ในส่ วน ที่เกี่ยวข้ องกับการพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย ถ้ า จะคุยเรื่ องนีใ้ ห้ ละเอียดนับว่ า ยาวมาก แต่ จะ หาโอกาสพูดถึงให้ ฟังเรื่ อยๆ ครั บ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

073


PRINT นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน INTERVIEW พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

PRINT INTERVIEW พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา” นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน

นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน

พิมพ์ฟอยล์

ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

คุณพรลักษณ์ สิทธิรวีพงศ์

นับ

ตั ้ง แต่ ตลาดเออี ซี เ ปิ ดอย่ างเป็ น ทางการ ไม่ ว่าธุ รกิจใดก็ดูจะสนใจ ขยับขยายไปช่ วงชิงส่ วนแบ่ งตลาดต่ างประเทศ เพิ่มขึน้ ทัง้ นัน้ รวมไปถึงอุตสาหกรรมการพิมพ์ และ เกี่ยวเนื่อง ที่มีผ้ ูประกอบการหลายรายได้ ออกไป เปิ ดตลาดบ้ างแล้ ว ขณะที่อกี หลายรายก�ำลังสนใจ และศึกษาดูเชิง หนึ่งในนัน้ ก็คือ บริษัท นิว เอส. อาร์ .(2002) จ�ำกัด ผู้ให้ บริการงานหลังพิมพ์ ท่ โี ลด แล่ นบนถนนการพิมพ์ ฟอยล์ และปั๊ มนูนมานาน คุ ณพรลั กษณ์ สิทธิ รวี พงศ์ รองประธาน บริ ษัท นิว เอส.อาร์ .(2002) จ�ำกัด ย้ อนวันวานให้ วารสาร Thaiprint magazine ฟั งว่า บริ ษัทก่อตังครั ้ ง้ แรกในปี พ.ศ. 2531 เริ่ มต้ นธุรกิจด้ วยการให้ บริ การ ผลิตแม่พิมพ์ บล็อกโลหะ ส�ำหรั บงานพิมพ์ เล็ตเตอร์ เพรส และท�ำแม่พิมพ์(เพลท)ระบบออฟเซ็ต 4 สี โดย มีวตั ถุประสงค์หลักในสมัยนันคื ้ อ การสนับสนุนธุรกิจ โรงพิมพ์ให้ เกิดความราบรื่น และมีผลงานการพิมพ์ออก

074

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มาได้ คณ ุ ภาพ เนื่องจากได้ ใช้ แม่พิมพ์ที่ดีมีคณ ุ ภาพไป พิมพ์งาน ต่ อ มาในช่ ว งปี พ.ศ. 2540 ตรงกับ ภาวะ เศรษฐกิจฟองสบูแ่ ตก ส่งผลกระทบโดยตรงต่อแผนก ท�ำเพลทแม่พิมพ์ระบบออฟเซ็ต ประสบปั ญหายอดสัง่ งานลดลง เนื่องด้ วยโรงพิมพ์ต่างๆ ที่เป็ นลูกค้ าหลัก ทยอยปิ ดตัวจ�ำนวนมาก ธุรกิจเจ็บตัวแบบเต็มๆ เพราะ รายได้ สว่ นใหญ่มากกว่าครึ่งหนึง่ มาจากลูกค้ ากลุม่ โรง พิมพ์ ดังนัน้ จึงได้ ปิดแผนกท�ำเพลทแม่พมิ พ์ระบบออฟ เซ็ตไปในที่สดุ

ขณะเดียวกันก็พยายามประคองตัวเอง จน กระทัง่ ถึงปี พ.ศ. 2546 ได้ เล็งเห็นโอกาสและช่องว่าง ทางการตลาดใหม่ๆ อันเนื่องจากมีเวลาการท�ำงานและ เวลาคิดที่มากขึ ้น จึงมีแผนเพิ่มประเภทการท�ำงานเพื่อ สร้ างยอดขายมาชดเชยส่วนที่หายไป นัน่ คือการเปิ ด แผนกพิมพ์ฟอยล์ขึ ้นมา (Hot Stamp) เริ่ มต้ นด้ วยการ สัง่ ซื ้อเครื่ องพิมพ์ฟอลย์มาด�ำเนินงาน 1 เครื่ อง ส�ำหรั บสาเหตุที่หันมามองและจับงานพิมพ์ ประเภทฮอตแสตมป์ เนื่องจากกลุ่มลูกค้ าโรงพิมพ์มี ความต้ องการใช้ งาน แต่ไม่ค่อยรู้ จักแหล่งผลิตงาน โดยตรง งานประเภทนี ้ถ้ าเป็ นภาษาชาวบ้ านจะเรี ยกว่า “โรงปั ม้ ” จึงแนะบริ ษัทฯ เป็ นผู้ด�ำเนินงานและท�ำแบบ เบ็ดเสร็ จ จากจุดนี ้ท�ำให้ สบช่องมองเป็ นโอกาสสร้ าง รายได้ ก้อนใหม่ จากที่เริ่ มด้ วยเครื่ องพิมพ์ฟอยล์เครื่ อง เดียว เวลาผ่านไปก็มกี ารสัง่ ซื ้อเครื่องพิมพ์เพิม่ ขึ ้นเรื่อยๆ จนถึงวันนี ้เป็ นระยะเวลาประมาณ 15 ปี มีเครื่ องพิมพ์ ฟอยล์รองรับการท�ำงานทังสิ ้ ้น 15 เครื่ อง ด้ า น จุ ด เ ด่ น โ ร ง ปั๊ ม ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ มี เอกลักษณ์ เฉพาะตัวแตกต่ างจากรายอื่นๆ คือ มี การใส่ ใจทุกรายละเอียดของการท�ำงาน เพื่อผลิต ชิน้ งานให้ ออกมาดีมีคุณภาพ อีกทัง้ มีฟอยล์ ท่ ีมี สีสันหลากหลายทุกสีให้ ลูกค้ าเลือกใช้ อย่ างครบ ครั น ต่ างกับบางโรงปั๊ มจะไม่ มีสีให้ เลื อกหลาก หลายเช่ นของเรา “ฟอยล์ สีธรรมดาที พ่ ิ มพ์ในการ์ ดงานแต่งโดย ทัว่ ไปจะมีราคาถูกสุด บางโรงปั๊มจะมีแต่สีทองและสีเงิน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

075


PRINT นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน INTERVIEW พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

PRINT INTERVIEW พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา” นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน

นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน

พิมพ์ฟอยล์

ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

คุณพรลักษณ์ สิทธิรวีพงศ์

นับ

ตั ้ง แต่ ตลาดเออี ซี เ ปิ ดอย่ างเป็ น ทางการ ไม่ ว่าธุ รกิจใดก็ดูจะสนใจ ขยับขยายไปช่ วงชิงส่ วนแบ่ งตลาดต่ างประเทศ เพิ่มขึน้ ทัง้ นัน้ รวมไปถึงอุตสาหกรรมการพิมพ์ และ เกี่ยวเนื่อง ที่มีผ้ ูประกอบการหลายรายได้ ออกไป เปิ ดตลาดบ้ างแล้ ว ขณะที่อกี หลายรายก�ำลังสนใจ และศึกษาดูเชิง หนึ่งในนัน้ ก็คือ บริษัท นิว เอส. อาร์ .(2002) จ�ำกัด ผู้ให้ บริการงานหลังพิมพ์ ท่ โี ลด แล่ นบนถนนการพิมพ์ ฟอยล์ และปั๊ มนูนมานาน คุ ณพรลั กษณ์ สิทธิ รวี พงศ์ รองประธาน บริ ษัท นิว เอส.อาร์ .(2002) จ�ำกัด ย้ อนวันวานให้ วารสาร Thaiprint magazine ฟั งว่า บริ ษัทก่อตังครั ้ ง้ แรกในปี พ.ศ. 2531 เริ่ มต้ นธุรกิจด้ วยการให้ บริ การ ผลิตแม่พิมพ์ บล็อกโลหะ ส�ำหรั บงานพิมพ์ เล็ตเตอร์ เพรส และท�ำแม่พิมพ์(เพลท)ระบบออฟเซ็ต 4 สี โดย มีวตั ถุประสงค์หลักในสมัยนันคื ้ อ การสนับสนุนธุรกิจ โรงพิมพ์ให้ เกิดความราบรื่น และมีผลงานการพิมพ์ออก

074

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มาได้ คณ ุ ภาพ เนื่องจากได้ ใช้ แม่พิมพ์ที่ดีมีคณ ุ ภาพไป พิมพ์งาน ต่ อ มาในช่ ว งปี พ.ศ. 2540 ตรงกับ ภาวะ เศรษฐกิจฟองสบูแ่ ตก ส่งผลกระทบโดยตรงต่อแผนก ท�ำเพลทแม่พิมพ์ระบบออฟเซ็ต ประสบปั ญหายอดสัง่ งานลดลง เนื่องด้ วยโรงพิมพ์ต่างๆ ที่เป็ นลูกค้ าหลัก ทยอยปิ ดตัวจ�ำนวนมาก ธุรกิจเจ็บตัวแบบเต็มๆ เพราะ รายได้ สว่ นใหญ่มากกว่าครึ่งหนึง่ มาจากลูกค้ ากลุม่ โรง พิมพ์ ดังนัน้ จึงได้ ปิดแผนกท�ำเพลทแม่พมิ พ์ระบบออฟ เซ็ตไปในที่สดุ

ขณะเดียวกันก็พยายามประคองตัวเอง จน กระทัง่ ถึงปี พ.ศ. 2546 ได้ เล็งเห็นโอกาสและช่องว่าง ทางการตลาดใหม่ๆ อันเนื่องจากมีเวลาการท�ำงานและ เวลาคิดที่มากขึ ้น จึงมีแผนเพิ่มประเภทการท�ำงานเพื่อ สร้ างยอดขายมาชดเชยส่วนที่หายไป นัน่ คือการเปิ ด แผนกพิมพ์ฟอยล์ขึ ้นมา (Hot Stamp) เริ่ มต้ นด้ วยการ สัง่ ซื ้อเครื่ องพิมพ์ฟอลย์มาด�ำเนินงาน 1 เครื่ อง ส�ำหรั บสาเหตุที่หันมามองและจับงานพิมพ์ ประเภทฮอตแสตมป์ เนื่องจากกลุ่มลูกค้ าโรงพิมพ์มี ความต้ องการใช้ งาน แต่ไม่ค่อยรู้ จักแหล่งผลิตงาน โดยตรง งานประเภทนี ้ถ้ าเป็ นภาษาชาวบ้ านจะเรี ยกว่า “โรงปั ม้ ” จึงแนะบริ ษัทฯ เป็ นผู้ด�ำเนินงานและท�ำแบบ เบ็ดเสร็ จ จากจุดนี ้ท�ำให้ สบช่องมองเป็ นโอกาสสร้ าง รายได้ ก้อนใหม่ จากที่เริ่ มด้ วยเครื่ องพิมพ์ฟอยล์เครื่ อง เดียว เวลาผ่านไปก็มกี ารสัง่ ซื ้อเครื่องพิมพ์เพิม่ ขึ ้นเรื่อยๆ จนถึงวันนี ้เป็ นระยะเวลาประมาณ 15 ปี มีเครื่ องพิมพ์ ฟอยล์รองรับการท�ำงานทังสิ ้ ้น 15 เครื่ อง ด้ า น จุ ด เ ด่ น โ ร ง ปั๊ ม ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ มี เอกลักษณ์ เฉพาะตัวแตกต่ างจากรายอื่นๆ คือ มี การใส่ ใจทุกรายละเอียดของการท�ำงาน เพื่อผลิต ชิน้ งานให้ ออกมาดีมีคุณภาพ อีกทัง้ มีฟอยล์ ท่ ีมี สีสันหลากหลายทุกสีให้ ลูกค้ าเลือกใช้ อย่ างครบ ครั น ต่ างกับบางโรงปั๊ มจะไม่ มีสีให้ เลื อกหลาก หลายเช่ นของเรา “ฟอยล์ สีธรรมดาที พ่ ิ มพ์ในการ์ ดงานแต่งโดย ทัว่ ไปจะมีราคาถูกสุด บางโรงปั๊มจะมีแต่สีทองและสีเงิน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

075


PRINT นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน INTERVIEW พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

ให้ลูกค้า แต่ของเรามี ทกุ สี ให้ลูกค้าเลื อก นอกจากนี ้ เรายังสามารถท�ำงานปั๊ มนูนได้สวยงาม โดยเฉพาะการ ปั๊ มนูนแบบหลังเต่า จริ งๆ งานปั้ มนูนจะมี ทงั้ นูนแบบ หน้าเรี ยบกับนูนหลังเต่าที ่มีความโค้งเป็ นมิ ติ ถ้ามอง วงกลมนูนหลังเต่าจะมี ความโค้งสวยงาม แต่การปั๊ ม นูนธรรมดาจะเห็นเป็ นแบบแบนๆ” “ขันตอนการท� ้ ำงาน จะท�ำการพิมพ์ฟอยล์กอ่ น แล้ วค่อยปั๊ มนูนตามหลัง แต่จะไม่ทำ� ให้ ฟอลย์หลุด การ ให้ บริ การ เราท�ำทุกอย่าง อาทิ นามบัตร นิตยสาร การ์ ด เชิญ การ์ ดแต่งงาน การ์ ดท�ำบุญบ้ าน การ์ ดงานศพ ประกาศนียบัตร หัวจดหมาย ซองจดหมาย และท�ำงาน ตามออเดอร์ ได้ หมด นอกจากนี ้ยังให้ บริการไดคัทด้ วย” “บริษัทฯ ตระหนักเสมอว่ า เราคือผู้ทำ� งาน เบือ้ งหลังโรงพิมพ์ ลูกค้ าของเราคือโรงพิมพ์ ดัง นัน้ ทุกวันนีข้ อบข่ ายการท�ำงานป้อนให้ โรงพิมพ์ ประกอบด้ วย 4 งานหลักๆ ด้ วยกัน ได้ แก่ งาน พิมพ์ ประเภทพิมพ์ ฟอยล์ , งานปั๊ มนูน, งานไดคัท และงานท�ำบล็อก อันเป็ นงานเริ่ มต้ นหรื อดัง้ เดิม ของเรานั่นเอง” นอกจากงานให้ บริ การภายในประเทศที่ก�ำลัง ด�ำเนินกิจการไปด้ วยดีแล้ ว คุณพรลักษณ์ ยังได้ บอก กล่าวด้ วยว่า สนใจที่จะขยายตลาดใหม่ไปยังประเทศ เพื่อนบ้ านด้ วย อาทิ ประเทศเมียนมาร์ ก็เคยไปโรดโชว์

076

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT INTERVIEW “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน

พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน

มาแล้ ว เนื่องด้ วยได้ ยินว่า ที่นนั่ การงานพิมพ์ฟอยล์ยงั ไม่แพร่ หลาย ขณะที่มีการผลิตงานพิมพ์ประเภทอื่นๆ อยูแ่ ล้ ว จึงก�ำลังศึกษาตลาดและวิเคราะห์ความเป็ นไป ได้ ในการเข้ าไปท�ำตลาดอย่างจริ งจัง “เรามองว่าถ้ าไปพม่าแล้ วท�ำถูกงานถูกจังหวะก็ น่าท�ำ เพราะเท่าที่ทราบที่นนั่ งานแบบนี ้น้ อยมาก ตอน นี ้เล็งวิธีการไว้ 2 อย่าง คือรับงานไปท�ำที่เมืองไทย แล้ ว ก็อีกอย่างคือ เอาเครื่ องจักรมาขายให้ เขา สัง่ เครื่ องสัง่ ฟอยล์กบั เราได้ เราเป็ นเอเย่นต์ขายเฉพาะเครื่ องแบบ แมนนวล เราร่วมมือกับญาติที่ขายเครื่ องลักษณะนี ้ใน เมืองไทย แม้ เครื่ องจักรจะไม่ได้ มียี่ห้ออะไร แต่คนใน วงการเดียวกัน จะรู้จกั กันดีและเชื่อมัน่ และเหตุผล ที่ เลือกท�ำตลาดนี ้เพราะเชื่อว่า เป็ นอีกช่องทางใหม่ทาง หนึง่ ให้ คนพม่าได้ เลือกเพิ่มเติม เพราะบางชิ ้นงานต้ อง ใช้ เครื่ องจักรแบบแมนนวล มือต้ องแม่น ไม่สามารถท�ำ พร้ อมกันหลายใบได้ แต่ท�ำทีละใบ” ด้ วยประสบการณ์ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพที่ คลุกคลีในแวดวงมายาวนาน ประกอบกับมีบคุ ลากรที่ เติบโตโดยตรงในสายงานนี ้ ที่สำ� คัญบริ ษัทฯ มีจดุ ขาย

บริ การด้ วยใจภายใต้ สโลแกน “งานเร่ งด่วนนึกถึงเรา” ท�ำให้ สามารถเร่งงานด่วนได้ เนื่องจากเป็ นโรงปั๊ มระดับ กลางไม่เล็กไม่ใหญ่ ท�ำให้ ได้ เปรี ยบคูแ่ ข่ง ประกอบกับ การรักษามาตรฐานชิ ้นงานคุณภาพให้ เป็ นที่น่าพอใจ แก่ลกู ค้ า จึ ง มั่ นใจว่ า ทั ง้ หมดทั ง้ ปวงที่ ก ล่ า วมานี ้ จะส่ งเสริมและเกือ้ หนุนให้ บริษัท นิว เอส.อาร์ . (2002) จ�ำกัด รุ กตลาดและขยายอาณาจักรได้ ต่อ เนื่องและก้ าวไกล!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

077


PRINT นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน INTERVIEW พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

ให้ลูกค้า แต่ของเรามี ทกุ สี ให้ลูกค้าเลื อก นอกจากนี ้ เรายังสามารถท�ำงานปั๊ มนูนได้สวยงาม โดยเฉพาะการ ปั๊ มนูนแบบหลังเต่า จริ งๆ งานปั้ มนูนจะมี ทงั้ นูนแบบ หน้าเรี ยบกับนูนหลังเต่าที ่มีความโค้งเป็ นมิ ติ ถ้ามอง วงกลมนูนหลังเต่าจะมี ความโค้งสวยงาม แต่การปั๊ ม นูนธรรมดาจะเห็นเป็ นแบบแบนๆ” “ขันตอนการท� ้ ำงาน จะท�ำการพิมพ์ฟอยล์กอ่ น แล้ วค่อยปั๊ มนูนตามหลัง แต่จะไม่ทำ� ให้ ฟอลย์หลุด การ ให้ บริ การ เราท�ำทุกอย่าง อาทิ นามบัตร นิตยสาร การ์ ด เชิญ การ์ ดแต่งงาน การ์ ดท�ำบุญบ้ าน การ์ ดงานศพ ประกาศนียบัตร หัวจดหมาย ซองจดหมาย และท�ำงาน ตามออเดอร์ ได้ หมด นอกจากนี ้ยังให้ บริการไดคัทด้ วย” “บริษัทฯ ตระหนักเสมอว่ า เราคือผู้ทำ� งาน เบือ้ งหลังโรงพิมพ์ ลูกค้ าของเราคือโรงพิมพ์ ดัง นัน้ ทุกวันนีข้ อบข่ ายการท�ำงานป้อนให้ โรงพิมพ์ ประกอบด้ วย 4 งานหลักๆ ด้ วยกัน ได้ แก่ งาน พิมพ์ ประเภทพิมพ์ ฟอยล์ , งานปั๊ มนูน, งานไดคัท และงานท�ำบล็อก อันเป็ นงานเริ่ มต้ นหรื อดัง้ เดิม ของเรานั่นเอง” นอกจากงานให้ บริ การภายในประเทศที่ก�ำลัง ด�ำเนินกิจการไปด้ วยดีแล้ ว คุณพรลักษณ์ ยังได้ บอก กล่าวด้ วยว่า สนใจที่จะขยายตลาดใหม่ไปยังประเทศ เพื่อนบ้ านด้ วย อาทิ ประเทศเมียนมาร์ ก็เคยไปโรดโชว์

076

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT INTERVIEW “งานเร่งด่วนนึกถึงเรา”

นิว เอส.อาร์ มัดใจลูกค้า ภายใต้สโลแกน

พิมพ์ฟอยล์ ปั๊มนูน

มาแล้ ว เนื่องด้ วยได้ ยินว่า ที่นนั่ การงานพิมพ์ฟอยล์ยงั ไม่แพร่ หลาย ขณะที่มีการผลิตงานพิมพ์ประเภทอื่นๆ อยูแ่ ล้ ว จึงก�ำลังศึกษาตลาดและวิเคราะห์ความเป็ นไป ได้ ในการเข้ าไปท�ำตลาดอย่างจริ งจัง “เรามองว่าถ้ าไปพม่าแล้ วท�ำถูกงานถูกจังหวะก็ น่าท�ำ เพราะเท่าที่ทราบที่นนั่ งานแบบนี ้น้ อยมาก ตอน นี ้เล็งวิธีการไว้ 2 อย่าง คือรับงานไปท�ำที่เมืองไทย แล้ ว ก็อีกอย่างคือ เอาเครื่ องจักรมาขายให้ เขา สัง่ เครื่ องสัง่ ฟอยล์กบั เราได้ เราเป็ นเอเย่นต์ขายเฉพาะเครื่ องแบบ แมนนวล เราร่วมมือกับญาติที่ขายเครื่ องลักษณะนี ้ใน เมืองไทย แม้ เครื่ องจักรจะไม่ได้ มียี่ห้ออะไร แต่คนใน วงการเดียวกัน จะรู้จกั กันดีและเชื่อมัน่ และเหตุผล ที่ เลือกท�ำตลาดนี ้เพราะเชื่อว่า เป็ นอีกช่องทางใหม่ทาง หนึง่ ให้ คนพม่าได้ เลือกเพิ่มเติม เพราะบางชิ ้นงานต้ อง ใช้ เครื่ องจักรแบบแมนนวล มือต้ องแม่น ไม่สามารถท�ำ พร้ อมกันหลายใบได้ แต่ท�ำทีละใบ” ด้ วยประสบการณ์ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพที่ คลุกคลีในแวดวงมายาวนาน ประกอบกับมีบคุ ลากรที่ เติบโตโดยตรงในสายงานนี ้ ที่สำ� คัญบริ ษัทฯ มีจดุ ขาย

บริ การด้ วยใจภายใต้ สโลแกน “งานเร่ งด่วนนึกถึงเรา” ท�ำให้ สามารถเร่งงานด่วนได้ เนื่องจากเป็ นโรงปั๊ มระดับ กลางไม่เล็กไม่ใหญ่ ท�ำให้ ได้ เปรี ยบคูแ่ ข่ง ประกอบกับ การรักษามาตรฐานชิ ้นงานคุณภาพให้ เป็ นที่น่าพอใจ แก่ลกู ค้ า จึ ง มั่ นใจว่ า ทั ง้ หมดทั ง้ ปวงที่ ก ล่ า วมานี ้ จะส่ งเสริมและเกือ้ หนุนให้ บริษัท นิว เอส.อาร์ . (2002) จ�ำกัด รุ กตลาดและขยายอาณาจักรได้ ต่อ เนื่องและก้ าวไกล!! THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

077


PRINT การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค REPORT ประเทศไทย 4.0

การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค

PRINT REPORT ประเทศไทย 4.0

เรื่ องโดย คุณจารุวฒ ั น์ เศวตพัชราภรณ์ และคุณวรภพ ตันติ วาณิ ชชากร

การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค

ประเทศไทย 4.0 กระแสการเปลี่ ยนแปลงส�ำคัญของโลก ก�ำลังเกิดขึน้ อีกครัง้ เมื่อก�ำลังก้ าวเข้ าสู่ยคุ “Industry 4.0” รั ฐบาลไทยก็ประกาศนโยบาย “ประเทศไทย 4.0” เพื่อขานรั บการเปลี่ ยนแปลงนี ต้ ามบริ บท ของประเทศไทยทั น ที ภาคอุ ต สาหกรรมใน ประเทศไทย ถือเป็ นหนึ่งในเครื่ องยนต์ ขับเคลื่อน เศรษฐกิจที่สำ� คัญของประเทศ และต้ องท�ำความ เข้ าใจกับสิ่งที่กำ� ลังจะเกิดขึน้ และปรั บตัว แน่นอนว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์ ก็เป็ นหนึ่ง ในฟั นเฟื องส�ำคัญดังกล่าว ดังนัน้ เพื่อให้ ผ้ ูประกอบ การในอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ ก้าวไปสูย่ คุ ‘Industry 4.0” พร้ อมๆ กัน บริ ษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิ คส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด จึ ง ได้ จัด การสัม มนาเรื่ อ ง “เตรี ยมความพร้ อม ก้ าวสู่ยุค Industry 4.0” ขึ ้นมา เมื่อวันเสาร์ ที่ 10 กันยายน 2559 ที่ห้องประชุมส�ำนัก พิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีผ้ เู ข้ าร่ วมงาน สัมมนากว่า 100 คน

078

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เริ่ ม การสัม มนาโดย รศ.ผกามาศ ผจญ แกล้ ว ผู้ อ� ำ นวยการส� ำ นัก พิ ม พ์ และรั ก ษาการผู้ อ�ำนวยการศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีการพิมพ์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช(มสธ.) กล่าวต้ อนรับผู้ ร่วมสัมมนา พร้ อมเน้ นย� ้ำความพร้ อมของมสธ. ในการ ร่วมผลิตบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ และพร้ อมในการก้ าวเข้ า สูย่ คุ Industry 4.0 จากนัน้ คุ ณ จารุ วั ฒ น์ เศวตพั ช ราภรณ์ กรรมการ บริษทั แอพพลายด์ คอนเซาแตนท์ แอนด์ เทรนนิ่ง จ�ำกัด บริ ษัทที่ปรึกษาด้ านการบริ หารธุรกิจ ประเดิ ม เข้ าสู่เ นื อ้ หาการสัม มนา ด้ ว ยการเล่ า ถึ ง วิวฒ ั นาการของยุค Industry 1.0 – 3.0 ก่อนจะน�ำเข้ า สูย่ คุ Industry 4.0 ที่เกิดจากนโยบาย “The Hi-Tech Strategy of the Germans” ที่ต้องการยกระดับความ สามารถในการแข่ง ขัน ของประเทศ ซึ่ง เป็ นผลจาก บทบาทของดิจิตอลที่เพิ่มขึน้ ในด้ านสังคมเศรษฐกิจ และด้ านเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงสูย่ คุ 4.0 นี เป็ ้ นการผสมผสาน เทคโนโลยีการผลิตที่ล� ้ำหน้ า และเทคโนโลยีการสือ่ สาร เข้ าด้ วยกัน ได้ แก่ Big Data and Analytics, Clouds, Internet of Things (IoT), Cyber Security, Simulation, Augmented Reality, Additive Manufacturing, Autonomous Robot, Horizontal and Vertical

System Integration โดยแนวคิดของ industry 4.0 เป็ นการสร้ างระบบห่วงโซ่คณ ุ ค่าที่มีประสิทธิภาพและ ความยืดหยุ่นสูง ด้ วยการเชื่อมต่อการสื่อสารของคน เครื่ องจักร ชิน้ งาน ระบบโลจิสติกส์ และระบบการ ท�ำงานก่อให้ เกิดเครื อข่ายการท�ำงานที่มีความชาญ ฉลาดที่ควบคุมซึ่งกันและกันอย่างอัตโนมัติตลอดทัง้ ห่วงโซ่คณ ุ ค่า หรื อที่เรี ยกว่า “Cyber-Physical System (CPS)” ระบบดังกล่าวจึงช่วยลดต้ นทุนด้ านการท�ำตัว อย่าง การผลิต การจัดเก็บสินค้ า การบ�ำรุงรักษา และ การจัดการคุณภาพ ทัง้ ยังท�ำให้ สามารถตอบสนอง ความต้ อ งการของลูก ค้ า ที่ มี ค วามหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ และความต้ องการผลิตภัณฑ์แบบเฉพาะ รายอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น ในส่ วนของอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ นั ้น หัวใจส�ำคัญของการก้ าวเข้ าสู่ยุค Industry 4.0 คือ 1) เตรียมกลยุทธ์องค์กร : สร้ าง value creation ให้ ลกู ค้ าและ smart operation เข้ าใจเส้ นทางธุรกิจ (value chain) เข้ าถึงความต้ องการ และสร้ างความ ร่วมมือกับลูกค้ าและผู้เกี่ยวข้ องกับทุกหน่วยใน value chains และก�ำหนดวิสยั ทัศน์ม่งุ สู่การสร้ าง digital business model และกระบวนการภายในทีเ่ ป็ นดิจติ อล 2) เตรี ยมปรับเปลี่ยนโครงสร้ างองค์กร : สร้ าง

องค์กรนวัตกรรมและความยืดหยุน่ • Centers of Excellence ทีมที่รวมตัวจาก หลายหน่วยงาน (inter-disciplinary team) แบบเฉพาะ กิจเพื่อแก้ ปัญหาหรื อท�ำงานพัฒนาปรับปรุง • Center of Innovation ทีมที่เป็ นอิสระจาก องค์ ก รปกติ ที่ คิ ด สร้ างสรรค์ น วัต กรรม ผลิ ต ภัณ ฑ์ บริ การ กระบวนการ รูปแบบธุรกิจ ฯลฯ 3) เตรี ย มความพร้ อมเทคโนโลยี : “เลื อ ก เทคโนโลยี ที่ ใ ช่ ในเวลาที่ เ หมาะสม” เทคโนโลยี สารสนเทศที่ ต อบสนองความยื ด หยุ่ น ของธุ ร กิ จ ซอฟต์แวร์ ทใี่ ช้ ในการจัดเก็บ รวบรวม และจัดการข้ อมูล และเชื่อมโยงกับหน่วยต่างๆ ความมัน่ คงปลอดภัยของ สารสนเทศ, ระบบเครือข่ายอินเตอร์ เน็ต, เครื่องจักรและ เทคโนโลยีระบบอัตโนมัต ิ 4) เตรี ยมคน: “สร้ าง Smart Employee” • พัฒ นากลยุ ท ธ์ ใ นการดึ ง ดูด ให้ อ งค์ ก รมี บุคลากรที่ความรู้ และทักษะใหม่ๆ • ปรับปรุง job profiles ให้ ทนั สมัยและมี digital skills เป็ นหนึง่ ในทักษะพื ้นฐาน • พัฒนาทักษะที่ส�ำคัญให้ กบั บุคลากร • สร้ างบทบาทหน้ าทีใ่ หม่ๆ ทีส่ นับสนุนกลยุทธ์ องค์กร เช่น data scientists, user interface designers, digital innovation managers 5) เตรี ยมปรับกระบวนการ สร้ างกระบวนการ ที่เป็ นพื ้นฐานของอุตสาหกรรม 4.0 • ปรับกระบวนการเข้ าสูด่ จิ ิตอล THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

079


PRINT การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค REPORT ประเทศไทย 4.0

การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค

PRINT REPORT ประเทศไทย 4.0

เรื่ องโดย คุณจารุวฒ ั น์ เศวตพัชราภรณ์ และคุณวรภพ ตันติ วาณิ ชชากร

การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค

ประเทศไทย 4.0 กระแสการเปลี่ ยนแปลงส�ำคัญของโลก ก�ำลังเกิดขึน้ อีกครัง้ เมื่อก�ำลังก้ าวเข้ าสู่ยคุ “Industry 4.0” รั ฐบาลไทยก็ประกาศนโยบาย “ประเทศไทย 4.0” เพื่อขานรั บการเปลี่ ยนแปลงนี ต้ ามบริ บท ของประเทศไทยทั น ที ภาคอุ ต สาหกรรมใน ประเทศไทย ถือเป็ นหนึ่งในเครื่ องยนต์ ขับเคลื่อน เศรษฐกิจที่สำ� คัญของประเทศ และต้ องท�ำความ เข้ าใจกับสิ่งที่กำ� ลังจะเกิดขึน้ และปรั บตัว แน่นอนว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์ ก็เป็ นหนึ่ง ในฟั นเฟื องส�ำคัญดังกล่าว ดังนัน้ เพื่อให้ ผ้ ูประกอบ การในอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ ก้าวไปสูย่ คุ ‘Industry 4.0” พร้ อมๆ กัน บริ ษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิ คส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด จึ ง ได้ จัด การสัม มนาเรื่ อ ง “เตรี ยมความพร้ อม ก้ าวสู่ยุค Industry 4.0” ขึ ้นมา เมื่อวันเสาร์ ที่ 10 กันยายน 2559 ที่ห้องประชุมส�ำนัก พิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มีผ้ เู ข้ าร่ วมงาน สัมมนากว่า 100 คน

078

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เริ่ ม การสัม มนาโดย รศ.ผกามาศ ผจญ แกล้ ว ผู้ อ� ำ นวยการส� ำ นัก พิ ม พ์ และรั ก ษาการผู้ อ�ำนวยการศูนย์ฝึกอบรมเทคโนโลยีการพิมพ์แห่งชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช(มสธ.) กล่าวต้ อนรับผู้ ร่วมสัมมนา พร้ อมเน้ นย� ้ำความพร้ อมของมสธ. ในการ ร่วมผลิตบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ และพร้ อมในการก้ าวเข้ า สูย่ คุ Industry 4.0 จากนัน้ คุ ณ จารุ วั ฒ น์ เศวตพั ช ราภรณ์ กรรมการ บริษทั แอพพลายด์ คอนเซาแตนท์ แอนด์ เทรนนิ่ง จ�ำกัด บริ ษัทที่ปรึกษาด้ านการบริ หารธุรกิจ ประเดิ ม เข้ าสู่เ นื อ้ หาการสัม มนา ด้ ว ยการเล่ า ถึ ง วิวฒ ั นาการของยุค Industry 1.0 – 3.0 ก่อนจะน�ำเข้ า สูย่ คุ Industry 4.0 ที่เกิดจากนโยบาย “The Hi-Tech Strategy of the Germans” ที่ต้องการยกระดับความ สามารถในการแข่ง ขัน ของประเทศ ซึ่ง เป็ นผลจาก บทบาทของดิจิตอลที่เพิ่มขึน้ ในด้ านสังคมเศรษฐกิจ และด้ านเทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงสูย่ คุ 4.0 นี เป็ ้ นการผสมผสาน เทคโนโลยีการผลิตที่ล� ้ำหน้ า และเทคโนโลยีการสือ่ สาร เข้ าด้ วยกัน ได้ แก่ Big Data and Analytics, Clouds, Internet of Things (IoT), Cyber Security, Simulation, Augmented Reality, Additive Manufacturing, Autonomous Robot, Horizontal and Vertical

System Integration โดยแนวคิดของ industry 4.0 เป็ นการสร้ างระบบห่วงโซ่คณ ุ ค่าที่มีประสิทธิภาพและ ความยืดหยุ่นสูง ด้ วยการเชื่อมต่อการสื่อสารของคน เครื่ องจักร ชิน้ งาน ระบบโลจิสติกส์ และระบบการ ท�ำงานก่อให้ เกิดเครื อข่ายการท�ำงานที่มีความชาญ ฉลาดที่ควบคุมซึ่งกันและกันอย่างอัตโนมัติตลอดทัง้ ห่วงโซ่คณ ุ ค่า หรื อที่เรี ยกว่า “Cyber-Physical System (CPS)” ระบบดังกล่าวจึงช่วยลดต้ นทุนด้ านการท�ำตัว อย่าง การผลิต การจัดเก็บสินค้ า การบ�ำรุงรักษา และ การจัดการคุณภาพ ทัง้ ยังท�ำให้ สามารถตอบสนอง ความต้ อ งการของลูก ค้ า ที่ มี ค วามหลากหลายของ ผลิตภัณฑ์ และความต้ องการผลิตภัณฑ์แบบเฉพาะ รายอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ ้น ในส่ วนของอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ นั ้น หัวใจส�ำคัญของการก้ าวเข้ าสู่ยุค Industry 4.0 คือ 1) เตรียมกลยุทธ์องค์กร : สร้ าง value creation ให้ ลกู ค้ าและ smart operation เข้ าใจเส้ นทางธุรกิจ (value chain) เข้ าถึงความต้ องการ และสร้ างความ ร่วมมือกับลูกค้ าและผู้เกี่ยวข้ องกับทุกหน่วยใน value chains และก�ำหนดวิสยั ทัศน์ม่งุ สู่การสร้ าง digital business model และกระบวนการภายในทีเ่ ป็ นดิจติ อล 2) เตรี ยมปรับเปลี่ยนโครงสร้ างองค์กร : สร้ าง

องค์กรนวัตกรรมและความยืดหยุน่ • Centers of Excellence ทีมที่รวมตัวจาก หลายหน่วยงาน (inter-disciplinary team) แบบเฉพาะ กิจเพื่อแก้ ปัญหาหรื อท�ำงานพัฒนาปรับปรุง • Center of Innovation ทีมที่เป็ นอิสระจาก องค์ ก รปกติ ที่ คิ ด สร้ างสรรค์ น วัต กรรม ผลิ ต ภัณ ฑ์ บริ การ กระบวนการ รูปแบบธุรกิจ ฯลฯ 3) เตรี ย มความพร้ อมเทคโนโลยี : “เลื อ ก เทคโนโลยี ที่ ใ ช่ ในเวลาที่ เ หมาะสม” เทคโนโลยี สารสนเทศที่ ต อบสนองความยื ด หยุ่ น ของธุ ร กิ จ ซอฟต์แวร์ ทใี่ ช้ ในการจัดเก็บ รวบรวม และจัดการข้ อมูล และเชื่อมโยงกับหน่วยต่างๆ ความมัน่ คงปลอดภัยของ สารสนเทศ, ระบบเครือข่ายอินเตอร์ เน็ต, เครื่องจักรและ เทคโนโลยีระบบอัตโนมัต ิ 4) เตรี ยมคน: “สร้ าง Smart Employee” • พัฒ นากลยุ ท ธ์ ใ นการดึ ง ดูด ให้ อ งค์ ก รมี บุคลากรที่ความรู้ และทักษะใหม่ๆ • ปรับปรุง job profiles ให้ ทนั สมัยและมี digital skills เป็ นหนึง่ ในทักษะพื ้นฐาน • พัฒนาทักษะที่ส�ำคัญให้ กบั บุคลากร • สร้ างบทบาทหน้ าทีใ่ หม่ๆ ทีส่ นับสนุนกลยุทธ์ องค์กร เช่น data scientists, user interface designers, digital innovation managers 5) เตรี ยมปรับกระบวนการ สร้ างกระบวนการ ที่เป็ นพื ้นฐานของอุตสาหกรรม 4.0 • ปรับกระบวนการเข้ าสูด่ จิ ิตอล THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

079


PRINT การเตรียมความพร้อม ก้าวสู่ยุค REPORT ประเทศไทย 4.0 • ความสามารถในการเชื่อมต่อ • ปรับกระบวนการให้ นา่ เชื่อถือ - มาตรฐาน (standardization) - การผลิตแบบลีน (lean manufacturing) • ปรับกระบวนการให้ มคี วามยืดหยุน่ (flexible) และปรับเปลี่ยนได้ งา่ ย (adaptable) ด้ าน คุณวรภพ ตันติวาณิชากร ผู้จดั การ ผลิตภัณฑ์พริ น้ เน็คท์ (Prinect) บริ ษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิ คส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ น�ำเสนอแนวคิด การท�ำงานรูปแบบใหม่สำ� หรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ใน ยุคดิจิตอล โดยซอฟต์แวร์ พริ น้ เน็คท์และเวิร์คโฟลการ พิมพ์ ของไฮเดลเบิร์กซึ่งมี รูปแบบพื น้ ฐานที่ เชื่ อมต่อ ข้ อมูลระบบการท�ำงานในโรงพิมพ์และเครื่ องจักรด้ วย ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ จึงตอบโจทย์ในการเชื่อมต่อข้ อมูลใน ทุกขันตอนการท� ้ ำงาน สร้ างเสริ มประสิทธิภาพในการ ผลิต ตามแนวทาง CPS (Cyber-Physical System) เพื่อให้ โรงพิมพ์ เป็ นโรงพิมพ์ ที่สมาร์ ท (Smart Print Shop) มีรูปแบบการท�ำงานที่งา่ ยขึ ้น รวดเร็ วยิ่งขึ ้น สามารถแสดงกระบวนการผลิ ต ที่ เ ชื่ อ มต่อ การท�ำงานร่ วมกันอย่างครบวงจรได้ ในทันที ไม่ว่าจะ เป็ นการเชื่อมต่อระหว่างขันตอนต่ ้ างๆ ในการผลิตชิ ้น งาน การเชื่อมต่อกับลูกค้ า การเชื่อมต่อกับผู้ขายหรื อ ซัพพลายเออร์ การบริ การต่างๆ เช่นการขนส่ง รวม ทัง้ การเชื่อมต่อกับเจ้ าของโรงพิมพ์ เพื่อให้ สามารถ ติดตามการท�ำงาน รวมทังสั ้ ง่ การและตัดสินใจได้ ทนั ท่วงที รองรับการวิเคราะห์ข้อมูลจ�ำนวนมาก (Big Data Analysis) โรงพิมพ์จะมีข้อมูลเชิงลึกมากขึ ้น เป็ นระบบ ซัพพลายเชนแบบดิจิตอลให้ กับลูกค้ า ช่วยให้ ลกู ค้ า สามารถพิมพ์งานโดยระบบออฟเซตคูข่ นานไปพร้ อมๆ กับเทคโนโลยีดจิ ิตอล จากนันวิ ้ ทยากรรับเชิญ คุณกฤต บุญน�ำมา กรรมการผู้จดั การ บริษัท รุ่ งศิริ พลับลิชชิ่ง จ�ำกัด โรงพิมพ์มาแรงแห่งยุค ได้ ออกมาแบ่งปั นประสบการณ์ การใช้ งานระบบพริ น้ เน็ ค ท์ ข องไฮเดลเบิ ร์ ก ว่ า ใช้ ประโยชน์ได้ จริง เกิดประโยชน์สงู สุดแค่ไหน และได้ เปิ ด แอพพลิเคชัน่ บนมือถือให้ ได้ เห็น ว่าสามารถเปิ ดเข้ าไป

080

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เช็คงานทีก่ ำ� ลังพิมพ์อยูใ่ นโรงพิมพ์ตอนนี ้ได้ ทนั ทีวา่ งาน ไหนอยู่ขนตอนไหน ั้ จะเสร็ จเมื่อไหร่ รวมทังสามารถ ้ ลดต้ นทุนได้ ด้วยการใช้ ระบบเข้ ามาควบคุมคุณภาพ การผลิตในแต่ละขันตอน ้ ลดปั ญหาต่างๆ ลงไปได้ มาก แถมด้ วย คุณอุฬาร อุฬารตินนท์ กรรมการ ผู้จดั การ บริษัท ยู แอล พริน้ ติง้ แอนด์ แพ็กเก็จจิง้ จ�ำกัด โรงพิมพ์ที่ใช้ ระบบเข้ ามาบริ หารงานได้ อย่างมี ประสิทธิภาพ ได้ ออกมาเล่าประสบการณ์ให้ ฟังอีกว่า การใช้ ระบบเข้ ามาควบคุมการบริ หารงานในโรงพิมพ์ นัน้ ช่วยลดปั ญหาต่างๆ ลงได้ มาก รวมทังโชว์ ้ หน้ าจอ ระบบพริ น้ เน็คท์ ให้ ดกู นั ด้ วยว่า สามารถดูข้อมูลอะไร ได้ บ้าง และใช้ ประโยชน์ได้ อย่างไร คุ ณ ประชา อิ น ทร์ ผลเล็ ก ผู้ จั ด การ ทั่วไปฝ่ ายขาย บริ ษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิ กส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ ปิดท้ ายตอกย�ำ้ ความพร้ อม ของไฮเดลเบิร์ก ที่จะร่ วมสนับสนุนผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ให้ ก้าวไปสู่ยุค Industry 4.0 ไปด้ วยกัน


PRINT “เอปสัน” จัดแคมเปญ NEWS #TrustInYou เปิดตัวอิ๊งค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่

“เอปสัน” จัดแคมเปญ PRINT เปิดตัวอิ๊งค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่ NEWS

#TrustInYou

“เอปสัน” จัดแคมเปญ

#TrustInYou เปิดตัวอิ๊งค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่

คุณยรรยง มุนีมงคลทร

คุณยรรยง มุนีมงคลทร ผู้จดั การทัว่ ไป บริ ษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ด้ วยความมุง่ มัน่ พร้ อมด้ วยความคิดสร้ างสรรค์และ นวัตกรรม “เอปสัน”จึงสามารถก้ าวสูค่ วามส�ำเร็ จ สูงสุดในการท�ำธุรกิจ และได้ รับความไว้ วางใจจาก ลูกค้ า พันธมิตร และสังคมได้ เป็ นอย่างดี ล่ า สุ ด ไ ด้ ห ยิ บ ย ก ป รั ญ ช า อ ง ค์ ก ร

082

ของเอปสั น อั น ได้ แก่ ความมุ่ ง มั่ น ความคิ ด สร้ าง สร ร ค์ และน วั ต ก ร ร ม ใ ช้ ใ น ก าร สื่ อ ส า ร แบรนด์ ผ่ า นแคมเปญการตลาด #TrustInYou ซึง่ ใช้ กลยุทธ์ Expert Endorsement ได้ แก่ การใช้ ผ้ ู เชี่ยวชาญหรื อผู้ที่ประสบความส�ำเร็จในสายงาน ต่างๆ มาตอกย�ำ้ ความเชื่อมั่นในแบรนด์ โดยเอปสันจะใช้ งบประมาณกว่า 30 ล้ านบาท ส�ำหรั บการโฆษณา

ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมพิเศษ และการเป็ นผู้ สนับสนุนในกิจกรรมต่างๆ ซึ่งผู้บริ โภคจะได้ มีโอกาส สัมผัสกับแบรนด์ และมีประสบการณ์ที่ดีกบั ผลิตภัณฑ์ ในโซลูชนั่ ต่างๆ ของเอปสันได้ มากขึ ้น ผลิ ต ภัณ ฑ์ ก ลุ่ม แรกที่ เ ปิ ดตัว คู่กับ แคมเปญ #TrustInYou ในครัง้ นี ้ ได้ แก่ พริ น้ เตอร์ ระดับมืออาชีพ รุ่น Epson SureColor SC-P10070 และ SC-P20070 ซึง่ เป็ นพริ น้ เตอร์ ความเร็ วสูงส�ำหรับการพิมพ์ภาพถ่าย และงานไฟน์อาร์ ตรุ่นแรกของโลก ที่ใช้ หมึก 9 สี โดยมี หมึกสีเทาถึง 4 ระดับ ท�ำให้ ภาพมีมิติมากขึ ้น มีความ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ละเอียสมจริ งมากยิ่งขึ ้น เหมาะกับธุรกิจบริ การด้ าน งานพิมพ์ทตี่ ้ องใช้ พริน้ เตอร์ ทสี่ ามารถพิมพ์งานคุณภาพ ขนาดใหญ่ ด้ วยความเร็ วสูง ทังยั ้ งสามารถรองรับการ พิมพ์ในปริ มาณมากได้ เป็ นอย่างดี Epson SureColor SC-P10070 สามารถ รองรับงานพิมพ์ขนาด 44 นิว้ ส่วนรุ่ น SC-P20070 รองรับงานพิมพ์ขนาด 64 นิ ้ว ซึง่ ทัง้ 2 รุ่ นใช้ หวั พิมพ์ ไมโครปิ เอโซของเอปสันที่มีขนาดใหญ่ 2.64 นิ ้ว ท�ำให้ สามารถพิมพ์ภาพได้ เร็ว มีระบบป้อนกระดาษอัตโนมัติ และรองรับเทคโนโลยีหมึก Epson UltraChrome Pro Ink ที่ให้ สีสดใส เงางาม และมีความทนทานของภาพที่ พิมพ์ดีเยี่ยม คุ ณ ยรรยงกล่ าวว่ า เครื่ องพิ ม พ์ รุ่ น SC-P20070 เพิ่งจะคว้ ารางวัล “พริน้ เตอร์ สำ� หรั บ พิมพ์ ภาพและงานกราฟฟิ คยอดเยี่ยม” (Best photo graphic printer) จาก EDP หรื อ European Digital Press Association ในงาน Drupa ที่เมืองดุสเซลดอร์ ฟ ประเทศเยอรมัน เมื่อกลางปี ที่ผ่านมา ซึ่งนับเป็ น รางวัลอันทรงเกียรติ นอกจากนี ้ แคมเปญ #TrustInYou ยั ง ครอบคลุมถึงงานด้ านบริ การ โดยบริ ษัทฯ ได้ ยกระดับ มาตรฐานการให้ บริ การหลังการขาย เพื่อเพิ่มความไว้ วางใจของลูกค้ า ไม่วา่ ลูกค้ าจะเลือกใช้ บริ การผ่านช่อง ทางใดก็จะได้ รับการบริ การที่ประทับใจในมาตรฐาน เดียวกันจากทุกศูนย์บริ การของเอปสัน และยังก�ำหนด แนวทางพัฒนาการให้ บริ การลูกค้ าแต่ละกลุ่มอย่าง ชัดเจน ทังกลุ ้ ม่ B2B และ B2C เพื่อตอบโจทย์ความ ต้ องการที่แตกต่างกัน “เรามัน่ ใจว่า แคมเปญ #TrustInYou จะช่วย สานต่อความส�ำเร็จทัง้ ในด้านการเป็ นแบรนด์ทีผ่ บู้ ริ โภค ให้ความไว้วางใจ ด้วยผลิ ตภัณฑ์ และเทคโนโลยี ที่มี คุณภาพส�ำหรับลูกค้าทุกกลุ่มและทุกตลาด รวมถึงการ สนับสนุนคูค่ า้ ให้มีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทีค่ รอบคลุม และการให้บริ การหลังการขายที ่ยอดเยี ่ยมและครบ วงจร” คุณยรรยง กล่าวทิ้ งท้าย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

083


PRINT “เอปสัน” จัดแคมเปญ NEWS #TrustInYou เปิดตัวอิ๊งค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่

“เอปสัน” จัดแคมเปญ PRINT เปิดตัวอิ๊งค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่ NEWS

#TrustInYou

“เอปสัน” จัดแคมเปญ

#TrustInYou เปิดตัวอิ๊งค์เจ็ต 2 รุ่นใหม่

คุณยรรยง มุนีมงคลทร

คุณยรรยง มุนีมงคลทร ผู้จดั การทัว่ ไป บริ ษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ด้ วยความมุง่ มัน่ พร้ อมด้ วยความคิดสร้ างสรรค์และ นวัตกรรม “เอปสัน”จึงสามารถก้ าวสูค่ วามส�ำเร็ จ สูงสุดในการท�ำธุรกิจ และได้ รับความไว้ วางใจจาก ลูกค้ า พันธมิตร และสังคมได้ เป็ นอย่างดี ล่ า สุ ด ไ ด้ ห ยิ บ ย ก ป รั ญ ช า อ ง ค์ ก ร

082

ของเอปสั น อั น ได้ แก่ ความมุ่ ง มั่ น ความคิ ด สร้ าง สร ร ค์ และน วั ต ก ร ร ม ใ ช้ ใ น ก าร สื่ อ ส า ร แบรนด์ ผ่ า นแคมเปญการตลาด #TrustInYou ซึง่ ใช้ กลยุทธ์ Expert Endorsement ได้ แก่ การใช้ ผ้ ู เชี่ยวชาญหรื อผู้ที่ประสบความส�ำเร็จในสายงาน ต่างๆ มาตอกย�ำ้ ความเชื่อมั่นในแบรนด์ โดยเอปสันจะใช้ งบประมาณกว่า 30 ล้ านบาท ส�ำหรั บการโฆษณา

ประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมพิเศษ และการเป็ นผู้ สนับสนุนในกิจกรรมต่างๆ ซึ่งผู้บริ โภคจะได้ มีโอกาส สัมผัสกับแบรนด์ และมีประสบการณ์ที่ดีกบั ผลิตภัณฑ์ ในโซลูชนั่ ต่างๆ ของเอปสันได้ มากขึ ้น ผลิ ต ภัณ ฑ์ ก ลุ่ม แรกที่ เ ปิ ดตัว คู่กับ แคมเปญ #TrustInYou ในครัง้ นี ้ ได้ แก่ พริ น้ เตอร์ ระดับมืออาชีพ รุ่น Epson SureColor SC-P10070 และ SC-P20070 ซึง่ เป็ นพริ น้ เตอร์ ความเร็ วสูงส�ำหรับการพิมพ์ภาพถ่าย และงานไฟน์อาร์ ตรุ่นแรกของโลก ที่ใช้ หมึก 9 สี โดยมี หมึกสีเทาถึง 4 ระดับ ท�ำให้ ภาพมีมิติมากขึ ้น มีความ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ละเอียสมจริ งมากยิ่งขึ ้น เหมาะกับธุรกิจบริ การด้ าน งานพิมพ์ทตี่ ้ องใช้ พริน้ เตอร์ ทสี่ ามารถพิมพ์งานคุณภาพ ขนาดใหญ่ ด้ วยความเร็ วสูง ทังยั ้ งสามารถรองรับการ พิมพ์ในปริ มาณมากได้ เป็ นอย่างดี Epson SureColor SC-P10070 สามารถ รองรับงานพิมพ์ขนาด 44 นิว้ ส่วนรุ่ น SC-P20070 รองรับงานพิมพ์ขนาด 64 นิ ้ว ซึง่ ทัง้ 2 รุ่ นใช้ หวั พิมพ์ ไมโครปิ เอโซของเอปสันที่มีขนาดใหญ่ 2.64 นิ ้ว ท�ำให้ สามารถพิมพ์ภาพได้ เร็ว มีระบบป้อนกระดาษอัตโนมัติ และรองรับเทคโนโลยีหมึก Epson UltraChrome Pro Ink ที่ให้ สีสดใส เงางาม และมีความทนทานของภาพที่ พิมพ์ดีเยี่ยม คุ ณ ยรรยงกล่ าวว่ า เครื่ องพิ ม พ์ รุ่ น SC-P20070 เพิ่งจะคว้ ารางวัล “พริน้ เตอร์ สำ� หรั บ พิมพ์ ภาพและงานกราฟฟิ คยอดเยี่ยม” (Best photo graphic printer) จาก EDP หรื อ European Digital Press Association ในงาน Drupa ที่เมืองดุสเซลดอร์ ฟ ประเทศเยอรมัน เมื่อกลางปี ที่ผ่านมา ซึ่งนับเป็ น รางวัลอันทรงเกียรติ นอกจากนี ้ แคมเปญ #TrustInYou ยั ง ครอบคลุมถึงงานด้ านบริ การ โดยบริ ษัทฯ ได้ ยกระดับ มาตรฐานการให้ บริ การหลังการขาย เพื่อเพิ่มความไว้ วางใจของลูกค้ า ไม่วา่ ลูกค้ าจะเลือกใช้ บริ การผ่านช่อง ทางใดก็จะได้ รับการบริ การที่ประทับใจในมาตรฐาน เดียวกันจากทุกศูนย์บริ การของเอปสัน และยังก�ำหนด แนวทางพัฒนาการให้ บริ การลูกค้ าแต่ละกลุ่มอย่าง ชัดเจน ทังกลุ ้ ม่ B2B และ B2C เพื่อตอบโจทย์ความ ต้ องการที่แตกต่างกัน “เรามัน่ ใจว่า แคมเปญ #TrustInYou จะช่วย สานต่อความส�ำเร็จทัง้ ในด้านการเป็ นแบรนด์ทีผ่ บู้ ริ โภค ให้ความไว้วางใจ ด้วยผลิ ตภัณฑ์ และเทคโนโลยี ที่มี คุณภาพส�ำหรับลูกค้าทุกกลุ่มและทุกตลาด รวมถึงการ สนับสนุนคูค่ า้ ให้มีช่องทางการจัดจ�ำหน่ายทีค่ รอบคลุม และการให้บริ การหลังการขายที ่ยอดเยี ่ยมและครบ วงจร” คุณยรรยง กล่าวทิ้ งท้าย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

083


PRINT CSR

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ หนุนคนรุ่นใหม่ จัด SCG Packaging X Wallpaper* The Challenge 2016 ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสังคม

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ หนุนคนรุ่นใหม่ จัด

SCG Packaging X Wallpaper*

The Challenge 2016

ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสังคม

เป็ นที่รับรู้กนั ว่า การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์มีผลอย่างมากต่อการเพิ่มมูลค่าให้ กบั สินค้ า และสร้ างโอกาส ทางธุรกิจให้ กบั ผู้ประกอบการ “เอสซีจี แพคเกจจิง้ ” มองเห็นคุณค่าของการส่งเสริ มวงการอุตสาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์ไทย จึงได้ ร่วมกับนิตยสาร Wallpaper ประเทศไทย จัดการประกวด “SCG Packaging X Wallpaper* The Challenge 2016” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ของประเทศไทย ตลอดจน กระตุ้นให้ เยาวชนรุ่นใหม่มีเวทีในการแสดงความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อพัฒนาต่อยอดวงการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ นา่ สนใจและมีศกั ยภาพมากยิ่งขึ ้น

84

การประกวดก�ำหนดให้ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ภายใต้ แนวคิด “สร้ างคุณค่ าสู่สังคม” ซึง่ มีโจทย์เป็ น ผลิตภัณฑ์จากชุมชนรอบโรงงานของเอสซีจี แพคเกจ จิ ้ง และจากกิจการเพือ่ สังคมทุกภูมภิ าคในประเทศไทย จ�ำนวน 10 ผลิตภัณฑ์ ที่มีความต้ องการบรรจุภณ ั ฑ์ที่ จะช่วยมาเพิ่มมูลค่าให้ กบั สินค้ า และน�ำไปใช้ งานได้ จริ ง โดยโครงการดังกล่าวได้ มีการประกาศผลวันที่ 24 กันยายน 2559 ณ SCG Grand Hall ส�ำนักงานใหญ่ บางซื่อ การประกวดครัง้ นี ้ มีผลงานของนักศึกษาจาก สถาบันการศึกษาทัว่ ประเทศ ส่งเข้ าร่ วมประกวดกว่า 350 ชิ ้น โดยผลงานที่ได้ รับรางวัล The Best of the Challenge และยังพ่วงรางวัล The Popular Challenge ได้ แก่ ผลงานชื่อ “สด ส่ งตรงจากมือ” ของ นายณัฐ พงศ์ ชิ นวงษ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ รับรางวัลเงินรางวัลมูลค่า 100,000 บาท ผลงาน นี ใ้ ช้ จุดแข็งด้ านการออกแบบมาช่วยรั กษาคุณภาพ สินค้ าอาหารทะเลแช่แข็ง เพิ่มความสะดวกและทาง เลื อ กให้ กั บ ผู้ บริ โ ภค โดยออกแบบบรรจุ ภัณ ฑ์ ใ ห้ สามารถแบ่งบริโภคทีละส่วน นอกจากนี ้ได้ นำ� นวัตกรรม Easy Steam ของเอสซีจี แพคเกจจิ ้ง มาประยุกต์เป็ น THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ หนุนคนรุ่นใหม่ จัด SCG Packaging X Wallpaper* The Challenge 2016 ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสังคม

PRINT CSR

รางวัล The Functional Challenge ได้ แก่ ผล งาน FISHERPACK โดย นางสาวไอริ ณ อินทราวุธ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบอุตสาหกรรม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย ได้ รั บ เงิ น รางวัล มูล ค่ า 50,000 บาท โดยมีจุดเด่นที่การพิมพ์ ลายแหบนถุง พลาสติกใส สื่อให้ ผ้ บู ริ โภคเห็นถึงความสดใหม่ และ เลื อ กใช้ ถุง ซิ ป ล็ อ คเพื่ อ ไม่ ใ ห้ มี ก ลิ่ น ในตู้เ ย็ น และยัง สามารถเก็บอาหารที่รับประทานไม่หมดได้ สะดวก ผู้ชนะการประกวดทัง้ 3 คน ได้ รับสิทธิ์เดินทาง ไปดูงาน TOKYO PACK ณ ประเทศญี่ปนุ่ นอกจาก นี ้ เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง ยังได้ มอบเงินสนับสนุนให้ กับ สถาบันการศึกษาของนักศึกษาที่ได้ รับรางวัลอีกด้ วย คุณธนวงษ์ อารีรัชชกุล กรรมการผู้จดั การใหญ่ คุณ ธนวงษ์ อารี รัช ชกุล กรรมการผู้จัด การใหญ่ เอสซี จี เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง กล่าวว่า การจัดกิจกรรมครัง้ นี ้เป็ น แพคเกจจิ้ ง และคุณเรวัฒน์ ช�ำนาญ บรรณาธิ การนิ ตยสาร ส่วนหนึง่ ของพันธกิจเอสซีจี แพคเกจจิ ้ง ที่ม่งุ เน้ นการ Wallpaper สร้ างนวัตกรรมและคุณค่า เพือ่ ตอบสนองความต้ องการ ผลิตภัณฑ์เนื ้อปลาพร้ อมปรุ งสร้ างมูลค่าเพิ่ม และยัง แก่ลกู ค้ า ผู้บริ โภค และผู้เกี่ยวข้ องอย่างยัง่ ยืน เน้ นการสือ่ สารถึงแบรนด์จากการออกแบบกราฟิ คภาพ เราเห็ น ความส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นายก โชว์ความสดใหม่ ระดับสร้ างมูลค่ าเพิ่มสินค้ าไทย เพราะประเทศไทย รางวัล The Design Challenge ได้ แก่ ผลงาน มีผลิตภัณฑ์ มาก แต่ จุดอ่ อนเป็ นเรื่ องการออกแบบ “โยเกิร์ตในเซ็ต 6 ถ้ วย” ของ นางสาววิลติ า แซ่พวั คณะ จึ ง พยายามเน้ นการพั ฒ นาในเรื่ อ งการออกแบบ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ รับเงิน บรรจุภัณฑ์ ให้ น่าสนใจมากขึ้น จึงมองว่ ากลุ่มคนรุ่ น ใหม่ เป็ นทรั พยากรทีม่ ีศักยภาพ จึงอยากจะส่ งเสริ ม รางวัลมูลค่า 50,000 บาท ผลงานโดดเด่นด้ วยดีไซน์รูป กิจกรรมเช่ นนี้อย่ างต่ อเนื่อง ซึ่งจะมีการสร้ างเครื อ วัว ท�ำจากกระดาษสีน� ้ำตาลรีไซเคิล สามารพับขึ ้นรูปได้ ข่ ายนักออกแบบรุ่ นใหม่ และเป็ นจุดตั้งต้ นทีด่ ใี นการ ภายในชิ ้นเดียว สามารถพับเก็บเป็ นแผ่นบางๆ ได้ เมื่อ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ไทยได้ ไม่ใช้ งาน และมีหหู ิ ้วท�ำให้ พกพาได้ สะดวก

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

85


PRINT CSR

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ หนุนคนรุ่นใหม่ จัด SCG Packaging X Wallpaper* The Challenge 2016 ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสังคม

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ หนุนคนรุ่นใหม่ จัด

SCG Packaging X Wallpaper*

The Challenge 2016

ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสังคม

เป็ นที่รับรู้กนั ว่า การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์มีผลอย่างมากต่อการเพิ่มมูลค่าให้ กบั สินค้ า และสร้ างโอกาส ทางธุรกิจให้ กบั ผู้ประกอบการ “เอสซีจี แพคเกจจิง้ ” มองเห็นคุณค่าของการส่งเสริ มวงการอุตสาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์ไทย จึงได้ ร่วมกับนิตยสาร Wallpaper ประเทศไทย จัดการประกวด “SCG Packaging X Wallpaper* The Challenge 2016” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ของประเทศไทย ตลอดจน กระตุ้นให้ เยาวชนรุ่นใหม่มีเวทีในการแสดงความคิดสร้ างสรรค์ เพื่อพัฒนาต่อยอดวงการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ นา่ สนใจและมีศกั ยภาพมากยิ่งขึ ้น

84

การประกวดก�ำหนดให้ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ ภายใต้ แนวคิด “สร้ างคุณค่ าสู่สังคม” ซึง่ มีโจทย์เป็ น ผลิตภัณฑ์จากชุมชนรอบโรงงานของเอสซีจี แพคเกจ จิ ้ง และจากกิจการเพือ่ สังคมทุกภูมภิ าคในประเทศไทย จ�ำนวน 10 ผลิตภัณฑ์ ที่มีความต้ องการบรรจุภณ ั ฑ์ที่ จะช่วยมาเพิ่มมูลค่าให้ กบั สินค้ า และน�ำไปใช้ งานได้ จริ ง โดยโครงการดังกล่าวได้ มีการประกาศผลวันที่ 24 กันยายน 2559 ณ SCG Grand Hall ส�ำนักงานใหญ่ บางซื่อ การประกวดครัง้ นี ้ มีผลงานของนักศึกษาจาก สถาบันการศึกษาทัว่ ประเทศ ส่งเข้ าร่ วมประกวดกว่า 350 ชิ ้น โดยผลงานที่ได้ รับรางวัล The Best of the Challenge และยังพ่วงรางวัล The Popular Challenge ได้ แก่ ผลงานชื่อ “สด ส่ งตรงจากมือ” ของ นายณัฐ พงศ์ ชิ นวงษ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ รับรางวัลเงินรางวัลมูลค่า 100,000 บาท ผลงาน นี ใ้ ช้ จุดแข็งด้ านการออกแบบมาช่วยรั กษาคุณภาพ สินค้ าอาหารทะเลแช่แข็ง เพิ่มความสะดวกและทาง เลื อ กให้ กั บ ผู้ บริ โ ภค โดยออกแบบบรรจุ ภัณ ฑ์ ใ ห้ สามารถแบ่งบริโภคทีละส่วน นอกจากนี ้ได้ นำ� นวัตกรรม Easy Steam ของเอสซีจี แพคเกจจิ ้ง มาประยุกต์เป็ น THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

‘เอสซีจี แพคเกจจิ้ง’ หนุนคนรุ่นใหม่ จัด SCG Packaging X Wallpaper* The Challenge 2016 ออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสังคม

PRINT CSR

รางวัล The Functional Challenge ได้ แก่ ผล งาน FISHERPACK โดย นางสาวไอริ ณ อินทราวุธ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สาขาออกแบบอุตสาหกรรม จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลัย ได้ รั บ เงิ น รางวัล มูล ค่ า 50,000 บาท โดยมีจุดเด่นที่การพิมพ์ ลายแหบนถุง พลาสติกใส สื่อให้ ผ้ บู ริ โภคเห็นถึงความสดใหม่ และ เลื อ กใช้ ถุง ซิ ป ล็ อ คเพื่ อ ไม่ ใ ห้ มี ก ลิ่ น ในตู้เ ย็ น และยัง สามารถเก็บอาหารที่รับประทานไม่หมดได้ สะดวก ผู้ชนะการประกวดทัง้ 3 คน ได้ รับสิทธิ์เดินทาง ไปดูงาน TOKYO PACK ณ ประเทศญี่ปนุ่ นอกจาก นี ้ เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง ยังได้ มอบเงินสนับสนุนให้ กับ สถาบันการศึกษาของนักศึกษาที่ได้ รับรางวัลอีกด้ วย คุณธนวงษ์ อารีรัชชกุล กรรมการผู้จดั การใหญ่ คุณ ธนวงษ์ อารี รัช ชกุล กรรมการผู้จัด การใหญ่ เอสซี จี เอสซีจี แพคเกจจิ ้ง กล่าวว่า การจัดกิจกรรมครัง้ นี ้เป็ น แพคเกจจิ้ ง และคุณเรวัฒน์ ช�ำนาญ บรรณาธิ การนิ ตยสาร ส่วนหนึง่ ของพันธกิจเอสซีจี แพคเกจจิ ้ง ที่ม่งุ เน้ นการ Wallpaper สร้ างนวัตกรรมและคุณค่า เพือ่ ตอบสนองความต้ องการ ผลิตภัณฑ์เนื ้อปลาพร้ อมปรุ งสร้ างมูลค่าเพิ่ม และยัง แก่ลกู ค้ า ผู้บริ โภค และผู้เกี่ยวข้ องอย่างยัง่ ยืน เน้ นการสือ่ สารถึงแบรนด์จากการออกแบบกราฟิ คภาพ เราเห็ น ความส� ำ คั ญ ของการพั ฒ นายก โชว์ความสดใหม่ ระดับสร้ างมูลค่ าเพิ่มสินค้ าไทย เพราะประเทศไทย รางวัล The Design Challenge ได้ แก่ ผลงาน มีผลิตภัณฑ์ มาก แต่ จุดอ่ อนเป็ นเรื่ องการออกแบบ “โยเกิร์ตในเซ็ต 6 ถ้ วย” ของ นางสาววิลติ า แซ่พวั คณะ จึ ง พยายามเน้ นการพั ฒ นาในเรื่ อ งการออกแบบ ศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ รับเงิน บรรจุภัณฑ์ ให้ น่าสนใจมากขึ้น จึงมองว่ ากลุ่มคนรุ่ น ใหม่ เป็ นทรั พยากรทีม่ ีศักยภาพ จึงอยากจะส่ งเสริ ม รางวัลมูลค่า 50,000 บาท ผลงานโดดเด่นด้ วยดีไซน์รูป กิจกรรมเช่ นนี้อย่ างต่ อเนื่อง ซึ่งจะมีการสร้ างเครื อ วัว ท�ำจากกระดาษสีน� ้ำตาลรีไซเคิล สามารพับขึ ้นรูปได้ ข่ ายนักออกแบบรุ่ นใหม่ และเป็ นจุดตั้งต้ นทีด่ ใี นการ ภายในชิ ้นเดียว สามารถพับเก็บเป็ นแผ่นบางๆ ได้ เมื่อ ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ไทยได้ ไม่ใช้ งาน และมีหหู ิ ้วท�ำให้ พกพาได้ สะดวก

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

85


PRINT ‘บราเดอร์ เปิด”ตัวเปิเครื 6 รุ่นพร้ ใหม่อมเปิดตัวเครื่องพิมพ์มัลติฟังก์ชั่น 28 โมเดล “ฟูจิ ซีร็อ’กซ์ ดตั่อวงพิ ศูนมย์พ์IDSC NEWS ตอบโจทย์ งเหนืศอสมั ชั้นยใหม่ ตอบโจทย์อไงค์ ลฟ์กสรได้ ไตล์ออย่าอฟฟิ

‘บราเดอร์’เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 6 รุ่นใหม่ PRINT ตอบโจทย์องค์กรได้อย่างเหนือชั้น NEWS

บราเดอร์

เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 6 รุ่นใหม่ ตอบโจทย์องค์กรได้อย่างเหนือชั้น “บราเดอร์ ” ผู้น�ำด้ านนวัตกรรมสินค้ าชัน้ แนวหน้ าระดับโลก เผยโฉมเครื่ องพิมพ์ 6 รุ่ นใหม่ ในประเทศไทย ซึ่งเป็ นนวัตกรรมเทคโนโลยีด้าน การพิมพ์ เลเซอร์ และมัลติฟังก์ ช่ ันที่อัดแน่ นด้ วย ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่ า และเป็ นที่ยอมรั บของ กลุ่มลูกค้ าองค์ กรทั่วทุกมุมโลก มร. โทโมยูกิ ฟูจโิ มโต กรรมการผู้จดั การ บริษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด คุณธี รวุธ ศุภพันธุ์ภิญโญ (ซ้าย) เปิ ดเผยว่า ได้ เปิ ดตัวกลุม่ ผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์ 6 รุ่น และ มร. โทโมยูกิ ฟูจิโมโต (ขวา) ใหม่ของบราเดอร์ ซึ่งได้ รับการพัฒนาขึ ้นโดยการน� ำ นวัตกรรมและเทคโนโลยี อันเป็ นเอกสิทธิ์เฉพาะของบ ทางการพิมพ์ให้ แก่กลุม่ ลูกค้ าองค์กรยุคใหม่ ประกอบ ราเดอร์ มารวมไว้ อย่างลงตัว เพื่อให้ ประสิทธิผลสูงสุด ด้ วย เครื่องพิมพ์โมโนเลเซอร์ 3 รุ่น ได้ แก่ HL-L5100DN, HL-L6200DW และ HL-L6400DW และเครื่ องพิมพ์ มัลติฟังก์ชนั่ เซ็นเตอร์ 3 รุ่ น ได้ แก่ DCP-L5600DN, MFC-L5900DW และ MFC-L6900DW ปั จจุ บัน องค์ ก รธุ ร กิ จ ต่ า งมี ค วามต้ องการ เครื่ องพิมพ์ที่สะดวกต่อการใช้ งาน รวมทังยั ้ งมีโซลูชนั่ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยลดต้ นทุนการพิมพ์ได้ อย่าง

86

THAIPRINT MM AA GG AA ZZ II NN EE 11 11 23 THAIPRINT

ดี ในขณะที่สามารถสร้ างสรรค์งานพิมพ์ได้ ในปริ มาณ ที่มากตามต้ องการ และพร้ อมรองรับการพิมพ์ได้ มาก ขึ ้น ปั จจัยเหล่านี ้เป็ นสิง่ ที่เครื่ องพิมพ์โมโนเลเซอร์ และ เครื่องพิมพ์มลั ติฟังก์ชนั่ เซ็นเตอร์ ของบราเดอร์ พร้ อมจะ มอบให้ แก่ลกู ค้ าธุรกิจองค์กร ทังประสิ ้ ทธิภาพความน่า เชือ่ ถือ ความยืดหยุน่ ในการท�ำงาน และความปลอดภัย ในการพิมพ์ ทัง้ นีบ้ ราเดอร์ พฒ ั นาเครื ่องพิ มพ์เลเซอร์ รุ่นใหม่ ขึ้นจากการส�ำรวจความต้องการของกลุ่มลูกค้าองค์กร ในยุคปั จจุบนั ท�ำให้ผลิ ตภัณฑ์ กลุ่มนี เ้ ป็ นเครื ่องพิ มพ์ เลเซอร์ กลุ่มแรกของบราเดอร์ ที่สามารถพิ มพ์ ได้มาก ถึง 50 แผ่นต่อนาที และมี ระบบป้ อนเอกสารอัตโนมัติ (Automatic Document Feeder) เพื ่อรองรับการ พิ มพ์ในปริ มาณที ม่ าก ทัง้ ยังมี ประสิ ทธิ ภาพการป้ อน กระดาษมากสุดถึง 2,650 หน้า หรื อมี การพัฒนาขึ้น 150% นอกจากนัน้ ยังมี ระบบ dual CIS ทีส่ ามารถ สแกนภาพได้มากถึง 100 ภาพต่อนาที ในเครื ่องพิ มพ์ รุ่นใหม่นีด้ ว้ ยเช่นกัน คุณธีรวุธ ศุภพันธุ์ภญ ิ โญ ผู้อ�ำนวยการฝ่ าย ขายและการตลาด บริ ษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า กลุม่ เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ รุ่ น ใหม่ ที่ บ ราเดอร์ จ ะน� ำ เสนอสู่ลูก ค้ า ธุ ร กิ จ องค์ ก ร ในครัง้ นี ้ ถือเป็ นเครื่ องพิมพ์ที่เหนือชันด้ ้ านศักยภาพ โดยได้ รั บ การรั บ ประกั น คุ ณ ภาพจาก “บายเออร์

ลาบอราทอรี่ แอลแอลซี (BLI)” ผู้น�ำด้ านห้ องปฏิบตั ิ การทดสอบผลิตภัณฑ์การพิมพ์ระดับโลก โดยยกย่อง ให้ เป็ นเครื่ องพิมพ์ ที่มีค่าเฉลี่ยต้ นทุนโดยรวมของทัง้ เครื่ องพิมพ์ และวัสดุการพิมพ์ ว่า มีความคุ้มค่าที่สุด กว่ากลุม่ ผลิตภัณฑ์เดียวกันอย่างเห็นได้ ชดั แม้ ในช่วง ที่เครื่ องท�ำงานหนักที่สดุ เครื่ องรุ่นใหม่ของบราเดอร์ ก็ ยังคงความรวดเร็ วในการพิมพ์ไว้ ได้ อย่างดีเยี่ยม นอกจากนี ้ ยังใช้ งานได้ ง่ายด้ วยระบบ อินเตอร์ เฟสการสั่งงานในลักษณะเดียวกับสมา ร์ ทโฟนบนหน้ าจอสั่ งงานแบบสั ม ผั ส (Touch Screen) ช่ วยให้ ผ้ ูใช้ สามารถใช้ งานได้ ง่ายยิ่งขึน้ และระบบการเชื่อมต่ อ แบบ NFC ช่ วยขจัดความ ยุ่งยากส�ำหรั บการใช้ งานแบบ Mobile Print และ ยังท�ำหน้ าที่ตรวจสอบผู้ใช้ งาน เพื่อยกระดับความ ปลอดภัย รวมทัง้ สามารถเชื่อมต่ อไปยังเว็บไซต์ บราเดอร์ เมื่อเครื่ องพิมพ์ มีปัญหา เพื่อช่ วยแก้ ไข ปั ญหาการท�ำงาน

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

87


PRINT ‘บราเดอร์ เปิด”ตัวเปิเครื 6 รุ่นพร้ ใหม่อมเปิดตัวเครื่องพิมพ์มัลติฟังก์ชั่น 28 โมเดล “ฟูจิ ซีร็อ’กซ์ ดตั่อวงพิ ศูนมย์พ์IDSC NEWS ตอบโจทย์ งเหนืศอสมั ชั้นยใหม่ ตอบโจทย์อไงค์ ลฟ์กสรได้ ไตล์ออย่าอฟฟิ

‘บราเดอร์’เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 6 รุ่นใหม่ PRINT ตอบโจทย์องค์กรได้อย่างเหนือชั้น NEWS

บราเดอร์

เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 6 รุ่นใหม่ ตอบโจทย์องค์กรได้อย่างเหนือชั้น “บราเดอร์ ” ผู้น�ำด้ านนวัตกรรมสินค้ าชัน้ แนวหน้ าระดับโลก เผยโฉมเครื่ องพิมพ์ 6 รุ่ นใหม่ ในประเทศไทย ซึ่งเป็ นนวัตกรรมเทคโนโลยีด้าน การพิมพ์ เลเซอร์ และมัลติฟังก์ ช่ ันที่อัดแน่ นด้ วย ประสิทธิภาพ ความคุ้มค่ า และเป็ นที่ยอมรั บของ กลุ่มลูกค้ าองค์ กรทั่วทุกมุมโลก มร. โทโมยูกิ ฟูจโิ มโต กรรมการผู้จดั การ บริษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด คุณธี รวุธ ศุภพันธุ์ภิญโญ (ซ้าย) เปิ ดเผยว่า ได้ เปิ ดตัวกลุม่ ผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์ 6 รุ่น และ มร. โทโมยูกิ ฟูจิโมโต (ขวา) ใหม่ของบราเดอร์ ซึ่งได้ รับการพัฒนาขึ ้นโดยการน� ำ นวัตกรรมและเทคโนโลยี อันเป็ นเอกสิทธิ์เฉพาะของบ ทางการพิมพ์ให้ แก่กลุม่ ลูกค้ าองค์กรยุคใหม่ ประกอบ ราเดอร์ มารวมไว้ อย่างลงตัว เพื่อให้ ประสิทธิผลสูงสุด ด้ วย เครื่องพิมพ์โมโนเลเซอร์ 3 รุ่น ได้ แก่ HL-L5100DN, HL-L6200DW และ HL-L6400DW และเครื่ องพิมพ์ มัลติฟังก์ชนั่ เซ็นเตอร์ 3 รุ่ น ได้ แก่ DCP-L5600DN, MFC-L5900DW และ MFC-L6900DW ปั จจุ บัน องค์ ก รธุ ร กิ จ ต่ า งมี ค วามต้ องการ เครื่ องพิมพ์ที่สะดวกต่อการใช้ งาน รวมทังยั ้ งมีโซลูชนั่ ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยลดต้ นทุนการพิมพ์ได้ อย่าง

86

THAIPRINT MM AA GG AA ZZ II NN EE 11 11 23 THAIPRINT

ดี ในขณะที่สามารถสร้ างสรรค์งานพิมพ์ได้ ในปริ มาณ ที่มากตามต้ องการ และพร้ อมรองรับการพิมพ์ได้ มาก ขึ ้น ปั จจัยเหล่านี ้เป็ นสิง่ ที่เครื่ องพิมพ์โมโนเลเซอร์ และ เครื่องพิมพ์มลั ติฟังก์ชนั่ เซ็นเตอร์ ของบราเดอร์ พร้ อมจะ มอบให้ แก่ลกู ค้ าธุรกิจองค์กร ทังประสิ ้ ทธิภาพความน่า เชือ่ ถือ ความยืดหยุน่ ในการท�ำงาน และความปลอดภัย ในการพิมพ์ ทัง้ นีบ้ ราเดอร์ พฒ ั นาเครื ่องพิ มพ์เลเซอร์ รุ่นใหม่ ขึ้นจากการส�ำรวจความต้องการของกลุ่มลูกค้าองค์กร ในยุคปั จจุบนั ท�ำให้ผลิ ตภัณฑ์ กลุ่มนี เ้ ป็ นเครื ่องพิ มพ์ เลเซอร์ กลุ่มแรกของบราเดอร์ ที่สามารถพิ มพ์ ได้มาก ถึง 50 แผ่นต่อนาที และมี ระบบป้ อนเอกสารอัตโนมัติ (Automatic Document Feeder) เพื ่อรองรับการ พิ มพ์ในปริ มาณที ม่ าก ทัง้ ยังมี ประสิ ทธิ ภาพการป้ อน กระดาษมากสุดถึง 2,650 หน้า หรื อมี การพัฒนาขึ้น 150% นอกจากนัน้ ยังมี ระบบ dual CIS ทีส่ ามารถ สแกนภาพได้มากถึง 100 ภาพต่อนาที ในเครื ่องพิ มพ์ รุ่นใหม่นีด้ ว้ ยเช่นกัน คุณธีรวุธ ศุภพันธุ์ภญ ิ โญ ผู้อ�ำนวยการฝ่ าย ขายและการตลาด บริ ษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า กลุม่ เครื่ องพิมพ์เลเซอร์ รุ่ น ใหม่ ที่ บ ราเดอร์ จ ะน� ำ เสนอสู่ลูก ค้ า ธุ ร กิ จ องค์ ก ร ในครัง้ นี ้ ถือเป็ นเครื่ องพิมพ์ที่เหนือชันด้ ้ านศักยภาพ โดยได้ รั บ การรั บ ประกั น คุ ณ ภาพจาก “บายเออร์

ลาบอราทอรี่ แอลแอลซี (BLI)” ผู้น�ำด้ านห้ องปฏิบตั ิ การทดสอบผลิตภัณฑ์การพิมพ์ระดับโลก โดยยกย่อง ให้ เป็ นเครื่ องพิมพ์ ที่มีค่าเฉลี่ยต้ นทุนโดยรวมของทัง้ เครื่ องพิมพ์ และวัสดุการพิมพ์ ว่า มีความคุ้มค่าที่สุด กว่ากลุม่ ผลิตภัณฑ์เดียวกันอย่างเห็นได้ ชดั แม้ ในช่วง ที่เครื่ องท�ำงานหนักที่สดุ เครื่ องรุ่นใหม่ของบราเดอร์ ก็ ยังคงความรวดเร็ วในการพิมพ์ไว้ ได้ อย่างดีเยี่ยม นอกจากนี ้ ยังใช้ งานได้ ง่ายด้ วยระบบ อินเตอร์ เฟสการสั่งงานในลักษณะเดียวกับสมา ร์ ทโฟนบนหน้ าจอสั่ งงานแบบสั ม ผั ส (Touch Screen) ช่ วยให้ ผ้ ูใช้ สามารถใช้ งานได้ ง่ายยิ่งขึน้ และระบบการเชื่อมต่ อ แบบ NFC ช่ วยขจัดความ ยุ่งยากส�ำหรั บการใช้ งานแบบ Mobile Print และ ยังท�ำหน้ าที่ตรวจสอบผู้ใช้ งาน เพื่อยกระดับความ ปลอดภัย รวมทัง้ สามารถเชื่อมต่ อไปยังเว็บไซต์ บราเดอร์ เมื่อเครื่ องพิมพ์ มีปัญหา เพื่อช่ วยแก้ ไข ปั ญหาการท�ำงาน

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

87


PRINT NEWS

Pick Award BLI Summer 2016

โคนิก้า มินอลต้า &

บราเดอร์ คว้า

Pick Award BLI Summer 2016 Buyers Laboratory LLC (BLI) ประกาศ ให้ ผลิตภัณฑ์ “โคนิก้า มินอลต้ า” และ “บราเดอร์ ” ได้ รับรางวัล Pick Award ประจ�ำฤดูร้อน 2016 ทัง้ นี ้ BLI เป็ นสถาบันวิจัยอิสระที่ได้ รับการ ยอมรั บ ทั่ว โลก ก่ อ ตัง้ มานานกว่า 50 ปี ท� ำ หน้ า ที่ วิ เ คราะห์ ทดสอบผลิ ต ภัณ ฑ์ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ อุตสาหกรรมทางด้ าน Document Imaging โดยมีการ มอบรางวัล Pick Award ปี ละ 2 ครัง้ ให้ กบั ผลิตภัณฑ์ที่ มีความโดดเด่นในการท�ำงานและตอบโจทย์การใช้ งาน ของผู้บริ โภคได้ อย่างแท้ จริ ง

โคนิก้า มินอลต้า รับรางวัล 2 รุ่น ผลิตภัณฑ์ “โคนิก้า มินอลต้ า” ได้ รับรางวัล Pick Award จาก Buyers Laboratory LLC (BLI) ประจ�ำปี 2016 ภาคฤดูร้อน จากเครื่ องพิมพ์ดิจิตอล มัลติฟังก์ชนั่ 2 รุ่นคือ bizhub C308 และ bizhub 227 ซึง่ มีความโดดเด่นทางด้ านเทคโนโลยีการพิมพ์, โซลูชนั่ จัดการเอกสารทีใ่ ช้ งานง่าย คุ้มค่า และตอบสนองความ ต้ องการของผู้ใช้ ได้ เป็ นอย่างดี

088

โคนิก้า มินอลต้า & บราเดอร์ คว้า

โคนิก้า มินอลต้า & บราเดอร์ คว้า

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

โดยเครื่ องดิจติ อลมัลติฟังก์ ช่ ันสี bizhub C308 ได้ รั บ รางวั ล ยอดเยี่ ย มในกลุ่ ม เครื่ องสี ขนาด A3 ความเร็ว 21 – 30 หน้ าต่ อนาที และ เครื่ องดิจิตอลมัลติฟังก์ ช่ ันขาว-ด�ำ bizhub 227 ได้ รั บ รางวั ล ยอดเยี่ ย มในกลุ่ ม เครื่ องขาว-ด� ำ ความเร็ว 21-30 หน้ าต่ อนาที เครื่องพิมพ์ รุ่น bizhub C308 และ รุ่น bizhub 227 ได้ รับการออกแบบมาเพื่อรองรับกลุม่ งานธุรกิจ ขนาดเล็ก-กลาง พร้ อมประสิทธิภาพการท�ำงานทีย่ อด เยีย่ ม อ�ำนวยความสะดวกแก่ผ้ ใู ช้ งาน ไม่วา่ จะเป็ น ชุด ดรัมแบบใหม่ท่ีผ้ ใู ช้ งานสามารถเปลี่ยนได้ ด้วยตนเอง ถาดบรรจุกระดาษขนาดใหญ่ รองรับการท�ำงานอย่าง ต่อเนื่อง และไอคอนลัดบนหน้ าจอควบคุมที่สามารถ สร้ างได้ มากถึง 25 ไอคอนด้ วยกัน นอกจากนี ้ เครื่ อง ทัง้ 2 รุ่น ยังรองรับการเชื่อมต่อแบบไร้ สายผ่านสมาร์ ท โฟนและแท็บเล็ตได้ อีกด้ วย

Pick Award BLI Summer 2016

PRINT NEWS

บราเดอร์’ โชว์ความเป็นเลิศ ผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์มลั ติฟังก์ชนั่ และสแกนเนอร์ ของบราเดอร์ สามารถโชว์ สมรรถนะแห่งความสุดยอด คว้ า 5 รางวัล จากการประกวด BLI Summer Award 2016 ภายหลังผ่านการทดสอบอย่างหนัก จาก BLI โดย 5 ผลิตภัณฑ์ที่ได้ รับรางวัล ประกอบด้ วย กลุ่มเครื่ องพิมพ์มลั ติฟังก์ ชั่ นรวม 4 รุ่น ได้ แก่ HL-L6400DW, MFCL5900DW, DCP-L5600DN และ MFCL6900DW และสแกนเนอร์ 1 รุ่ น ได้ แก่ ADS-3600D ซึ่งทุกรุ่ น บริ ษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ น�ำ เข้ ามาเสนอเป็ นทางเลือกใหม่ให้ แก่กลุ่ม ลูกค้ าองค์กรในประเทศไทยแล้ ว มร.โทโมยูกิ ฟูจโิ มโต กรรมการ ผู้จดั การ บริ ษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า รางวัล BLI Summer Award 2016 ที่ ไ ด้ รั บ ในครั ง้ นี ้ เปรี ย บเสมื อ นเครื่ อ งยื น ยัน ให้ เ ห็ น ถึ ง ศัก ยภาพผลิ ต ภัณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ฯ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ว่ า เครื่ อ งพิ ม พ์ มัล ติ ฟั ง ก์ ชั่น และ สแกนเนอร์ สามารถรองรับการใช้ งานของ กลุ่มลูกค้ าองค์กรได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ และมี ศัก ยภาพที่ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจนตาม มาตรฐานของ BLI จนสามารถคว้ ารางวัล Pick Awards ทีม่ อบให้ เฉพาะผลิตภัณฑ์ทมี่ ี ผลการท�ำงานที่มีพฒ ั นาการด้ านนวัตกรรม ที่โดดเด่น รวมถึงความสามารถด้ านการ ประหยัดพลังงาน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

089


PRINT NEWS

Pick Award BLI Summer 2016

โคนิก้า มินอลต้า &

บราเดอร์ คว้า

Pick Award BLI Summer 2016 Buyers Laboratory LLC (BLI) ประกาศ ให้ ผลิตภัณฑ์ “โคนิก้า มินอลต้ า” และ “บราเดอร์ ” ได้ รับรางวัล Pick Award ประจ�ำฤดูร้อน 2016 ทัง้ นี ้ BLI เป็ นสถาบันวิจัยอิสระที่ได้ รับการ ยอมรั บ ทั่ว โลก ก่ อ ตัง้ มานานกว่า 50 ปี ท� ำ หน้ า ที่ วิ เ คราะห์ ทดสอบผลิ ต ภัณ ฑ์ ต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ อุตสาหกรรมทางด้ าน Document Imaging โดยมีการ มอบรางวัล Pick Award ปี ละ 2 ครัง้ ให้ กบั ผลิตภัณฑ์ที่ มีความโดดเด่นในการท�ำงานและตอบโจทย์การใช้ งาน ของผู้บริ โภคได้ อย่างแท้ จริ ง

โคนิก้า มินอลต้า รับรางวัล 2 รุ่น ผลิตภัณฑ์ “โคนิก้า มินอลต้ า” ได้ รับรางวัล Pick Award จาก Buyers Laboratory LLC (BLI) ประจ�ำปี 2016 ภาคฤดูร้อน จากเครื่ องพิมพ์ดิจิตอล มัลติฟังก์ชนั่ 2 รุ่นคือ bizhub C308 และ bizhub 227 ซึง่ มีความโดดเด่นทางด้ านเทคโนโลยีการพิมพ์, โซลูชนั่ จัดการเอกสารทีใ่ ช้ งานง่าย คุ้มค่า และตอบสนองความ ต้ องการของผู้ใช้ ได้ เป็ นอย่างดี

088

โคนิก้า มินอลต้า & บราเดอร์ คว้า

โคนิก้า มินอลต้า & บราเดอร์ คว้า

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

โดยเครื่ องดิจติ อลมัลติฟังก์ ช่ ันสี bizhub C308 ได้ รั บ รางวั ล ยอดเยี่ ย มในกลุ่ ม เครื่ องสี ขนาด A3 ความเร็ว 21 – 30 หน้ าต่ อนาที และ เครื่ องดิจิตอลมัลติฟังก์ ช่ ันขาว-ด�ำ bizhub 227 ได้ รั บ รางวั ล ยอดเยี่ ย มในกลุ่ ม เครื่ องขาว-ด� ำ ความเร็ว 21-30 หน้ าต่ อนาที เครื่องพิมพ์ รุ่น bizhub C308 และ รุ่น bizhub 227 ได้ รับการออกแบบมาเพื่อรองรับกลุม่ งานธุรกิจ ขนาดเล็ก-กลาง พร้ อมประสิทธิภาพการท�ำงานทีย่ อด เยีย่ ม อ�ำนวยความสะดวกแก่ผ้ ใู ช้ งาน ไม่วา่ จะเป็ น ชุด ดรัมแบบใหม่ท่ีผ้ ใู ช้ งานสามารถเปลี่ยนได้ ด้วยตนเอง ถาดบรรจุกระดาษขนาดใหญ่ รองรับการท�ำงานอย่าง ต่อเนื่อง และไอคอนลัดบนหน้ าจอควบคุมที่สามารถ สร้ างได้ มากถึง 25 ไอคอนด้ วยกัน นอกจากนี ้ เครื่ อง ทัง้ 2 รุ่น ยังรองรับการเชื่อมต่อแบบไร้ สายผ่านสมาร์ ท โฟนและแท็บเล็ตได้ อีกด้ วย

Pick Award BLI Summer 2016

PRINT NEWS

บราเดอร์’ โชว์ความเป็นเลิศ ผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์มลั ติฟังก์ชนั่ และสแกนเนอร์ ของบราเดอร์ สามารถโชว์ สมรรถนะแห่งความสุดยอด คว้ า 5 รางวัล จากการประกวด BLI Summer Award 2016 ภายหลังผ่านการทดสอบอย่างหนัก จาก BLI โดย 5 ผลิตภัณฑ์ที่ได้ รับรางวัล ประกอบด้ วย กลุ่มเครื่ องพิมพ์มลั ติฟังก์ ชั่ นรวม 4 รุ่น ได้ แก่ HL-L6400DW, MFCL5900DW, DCP-L5600DN และ MFCL6900DW และสแกนเนอร์ 1 รุ่ น ได้ แก่ ADS-3600D ซึ่งทุกรุ่ น บริ ษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ น�ำ เข้ ามาเสนอเป็ นทางเลือกใหม่ให้ แก่กลุ่ม ลูกค้ าองค์กรในประเทศไทยแล้ ว มร.โทโมยูกิ ฟูจโิ มโต กรรมการ ผู้จดั การ บริ ษัท บราเดอร์ คอมเมอร์ เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า รางวัล BLI Summer Award 2016 ที่ ไ ด้ รั บ ในครั ง้ นี ้ เปรี ย บเสมื อ นเครื่ อ งยื น ยัน ให้ เ ห็ น ถึ ง ศัก ยภาพผลิ ต ภัณ ฑ์ ข องบริ ษั ท ฯ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ว่ า เครื่ อ งพิ ม พ์ มัล ติ ฟั ง ก์ ชั่น และ สแกนเนอร์ สามารถรองรับการใช้ งานของ กลุ่มลูกค้ าองค์กรได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ และมี ศัก ยภาพที่ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจนตาม มาตรฐานของ BLI จนสามารถคว้ ารางวัล Pick Awards ทีม่ อบให้ เฉพาะผลิตภัณฑ์ทมี่ ี ผลการท�ำงานที่มีพฒ ั นาการด้ านนวัตกรรม ที่โดดเด่น รวมถึงความสามารถด้ านการ ประหยัดพลังงาน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

089


PRINT พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์ REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

PRINT REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์

พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์

พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช

รัชกาลที่ 9

พสกนิ กรไทยร�่ ำไห้ ทัง้ แผ่ นดินเมื่ อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพล อดุลยเดช รั ชกาลที่ 9 เสด็จสวรรคต เมื่อ วันที่ 13 ตุลาคม 2559 และสิ่งที่แสดงออก ถึ ง การส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ด้ วยการแต่ งกายไว้ ทุ ก ข์ และงดงานรื่ นเริ ง ในระยะเวลาที่ เ หมาะ สมแล้ ว ยั ง ได้ พ บเห็ น การใช้ ส่ ื อ สิ่ ง พิ ม พ์ เป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ แสดงความอาลั ย และ ร่ วมส่ งเสด็ จ สู่ สวรรคาลั ย โดยถ้ วนหน้ า วารสาร Thaiprint magazine ท�ำการ เฝ้ าส� ำ รวจและเก็ บ ข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ ภาพรวม

092

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

สิ่ง พิ ม พ์ คล้ อ ยหลัง วัน เสด็จ สวรรคตเรื่ อ ยมา พบเห็นประวัติศาสตร์ ด้านสื่อสิ่งพิมพ์และการ พิมพ์ในช่วงรอยต่อการเปลี่ยนผ่านแผ่นดินจาก ยุคสมัยของรัชกาลที่ 9 สูร่ ัชสมัยของรัฐกาลที่ 10 เกิดขึ ้นมากมาย ซึง่ พอจะประมวลน�ำมาเสนอใน พื ้นที่แห่งได้ พอสังเขป คล้ อยหลังวันเสด็จสวรรคต 1 วันคือ วันที่ 14 ตุลาคม 2559 สื่อหนังสือพิมพ์ทกุ ฉบับ น�ำเสนอข่าว ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จสวรรคต พร้ อมกันทุกฉบับทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ โดยจัด เน้ น การลงพระบรมฉายาลัก ษณ์ เ ต็ ม พื ้นที่ปกหน้ า 1 ส่วนเนื ้อในเน้ นเรื่ องราวพระราช

กรณียกิจของพระองค์ในโครงการตามพระราชด�ำริ ต่างๆ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ นัน้ ถื อว่า มีความโดดเด่นเป็ นพิเศษ เพราะมีการตีพิมพ์เรื่ อง ราวของพระองค์ตลอดทังเล่ ้ ม กลายเป็ นฉบับพิเศษ ในทัน ที และได้ รั บ การตอบรั บ จากสัง คมด้ ว ยดี นับ ตัง้ แต่ก ารจ� ำ หน่ า ยตามแผงหมดในทัน ที ซึ่ง คาดว่าเป็ นการซื ้อเพื่ออ่านและสะสม เนื่องจากมี การเน้ นภาพและเนื ้อหาหลากหลายเรื่ องราว และ บางโครงการถ้ าไม่บอกคนรุ่นใหม่ก็อาจไม่ทราบว่า นัน่ คือ โครงการที่เป็ นพระราชด�ำริ ของรัชกาลที่ 9 อย่ างไรก็ตาม แม้ จะหาซือ้ หนังสือพิมพ์ เดลิ นิ ว ส์ วั น นั ้น ไม่ ได้ แต่ ก็ มี ผ้ ู ปรารถนาดี

สแกนเป็ นไฟล์ พี ดี เ อฟ แล้ ว แชร์ ไปทั่ ว โลก โซเชี่ ยลเกิ ด เป็ นกระแสในเชิ ง บวก เพื่ อ ให้ ป ระชาชนสะสมเป็ นที่ ร ะลึ ก ในการร่ วม ไว้ อาลัย และถัดจากนี ้ ก็มีทงั ้ ผู้อ่านและองค์ กร หนังสือพิมพ์ เองต่ างเผยแพร่ ไฟล์ งานพีดีเอฟ ของในหลวงรั ชกาลที่ 9 ออกมาให้ ประชาชน สะสมอีกจ�ำนวนมาก คล้ อยหลังมาอีกระหว่าง 3-7 วัน มีการ ตีพิมพ์ภาพโปสการ์ ด โปสเตอร์ และหนังสือฉบับ พิเศษ ฯลฯ จ� ำหน่ายจ่ายแจกอย่างหลากหลาย และพบเห็นได้ ทวั่ ไป ทังจากองค์ ้ กรบริ ษัท ร้ านค้ า และแผงหนังสือ โดยจากการส�ำรวจพบว่า ตามร้ าน

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

093


PRINT พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์ REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

PRINT REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์

พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์

พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช

รัชกาลที่ 9

พสกนิ กรไทยร�่ ำไห้ ทัง้ แผ่ นดินเมื่ อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพล อดุลยเดช รั ชกาลที่ 9 เสด็จสวรรคต เมื่อ วันที่ 13 ตุลาคม 2559 และสิ่งที่แสดงออก ถึ ง การส� ำ นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ อั น หาที่ สุ ด มิ ไ ด้ ด้ วยการแต่ งกายไว้ ทุ ก ข์ และงดงานรื่ นเริ ง ในระยะเวลาที่ เ หมาะ สมแล้ ว ยั ง ได้ พ บเห็ น การใช้ ส่ ื อ สิ่ ง พิ ม พ์ เป็ นสั ญ ลั ก ษณ์ แสดงความอาลั ย และ ร่ วมส่ งเสด็ จ สู่ สวรรคาลั ย โดยถ้ วนหน้ า วารสาร Thaiprint magazine ท�ำการ เฝ้ าส� ำ รวจและเก็ บ ข้ อมู ล เกี่ ย วกั บ ภาพรวม

092

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

สิ่ง พิ ม พ์ คล้ อ ยหลัง วัน เสด็จ สวรรคตเรื่ อ ยมา พบเห็นประวัติศาสตร์ ด้านสื่อสิ่งพิมพ์และการ พิมพ์ในช่วงรอยต่อการเปลี่ยนผ่านแผ่นดินจาก ยุคสมัยของรัชกาลที่ 9 สูร่ ัชสมัยของรัฐกาลที่ 10 เกิดขึ ้นมากมาย ซึง่ พอจะประมวลน�ำมาเสนอใน พื ้นที่แห่งได้ พอสังเขป คล้ อยหลังวันเสด็จสวรรคต 1 วันคือ วันที่ 14 ตุลาคม 2559 สื่อหนังสือพิมพ์ทกุ ฉบับ น�ำเสนอข่าว ในหลวงรัชกาลที่ 9 เสด็จสวรรคต พร้ อมกันทุกฉบับทังภาษาไทยและภาษาอั ้ งกฤษ โดยจัด เน้ น การลงพระบรมฉายาลัก ษณ์ เ ต็ ม พื ้นที่ปกหน้ า 1 ส่วนเนื ้อในเน้ นเรื่ องราวพระราช

กรณียกิจของพระองค์ในโครงการตามพระราชด�ำริ ต่างๆ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ เดลินิวส์ นัน้ ถื อว่า มีความโดดเด่นเป็ นพิเศษ เพราะมีการตีพิมพ์เรื่ อง ราวของพระองค์ตลอดทังเล่ ้ ม กลายเป็ นฉบับพิเศษ ในทัน ที และได้ รั บ การตอบรั บ จากสัง คมด้ ว ยดี นับ ตัง้ แต่ก ารจ� ำ หน่ า ยตามแผงหมดในทัน ที ซึ่ง คาดว่าเป็ นการซื ้อเพื่ออ่านและสะสม เนื่องจากมี การเน้ นภาพและเนื ้อหาหลากหลายเรื่ องราว และ บางโครงการถ้ าไม่บอกคนรุ่นใหม่ก็อาจไม่ทราบว่า นัน่ คือ โครงการที่เป็ นพระราชด�ำริ ของรัชกาลที่ 9 อย่ างไรก็ตาม แม้ จะหาซือ้ หนังสือพิมพ์ เดลิ นิ ว ส์ วั น นั ้น ไม่ ได้ แต่ ก็ มี ผ้ ู ปรารถนาดี

สแกนเป็ นไฟล์ พี ดี เ อฟ แล้ ว แชร์ ไปทั่ ว โลก โซเชี่ ยลเกิ ด เป็ นกระแสในเชิ ง บวก เพื่ อ ให้ ป ระชาชนสะสมเป็ นที่ ร ะลึ ก ในการร่ วม ไว้ อาลัย และถัดจากนี ้ ก็มีทงั ้ ผู้อ่านและองค์ กร หนังสือพิมพ์ เองต่ างเผยแพร่ ไฟล์ งานพีดีเอฟ ของในหลวงรั ชกาลที่ 9 ออกมาให้ ประชาชน สะสมอีกจ�ำนวนมาก คล้ อยหลังมาอีกระหว่าง 3-7 วัน มีการ ตีพิมพ์ภาพโปสการ์ ด โปสเตอร์ และหนังสือฉบับ พิเศษ ฯลฯ จ� ำหน่ายจ่ายแจกอย่างหลากหลาย และพบเห็นได้ ทวั่ ไป ทังจากองค์ ้ กรบริ ษัท ร้ านค้ า และแผงหนังสือ โดยจากการส�ำรวจพบว่า ตามร้ าน

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

093


PRINT REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

PRINT พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์ REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ

คุณวิ ชยั สกลวรารุ่งเรื อง

หนังสือทัว่ ไปและร้ านหนังสือชันน� ้ ำในห้ างสรรพ สินค้ า หนังสือเฉพาะกิจทีน่ ำ� เสนอประราชประวัติ และพระราชกรณี ยกิจของในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ รับความสนใจจากพสกนิกรของพระองค์เลือก ซื ้อหาเพื่อสะสมเป็ นที่ระลึก ในการร่วมไว้ อาลัย กันอย่างถ้ วนทัว่ ไม่ว่าเป็ นร้ านนายอินทร์ ร้ าน ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์ และร้ านบีทเู อส ฯลฯ และนับ เป็ นหนังสือขายดีระดับท็อปเท็นในแต่ละวันเลย ทีเดียว ขณะเดียวกัน ปรากฏการณ์ การพิมพ์ สิง่ พิมพ์ที่เกี่ยวข้ องกับในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ รับ ความสนใจจากสือ่ กระแสหลักอย่างหนังสือพิมพ์ รายวันด้ วย โดยมี อย่างน้ อย 3 ฉบับ ได้ แก่ เดลินิวส์ โพสต์ทูเดย์และผู้จดั การรายวัน 360 (องศา) เลื อ กสัม ภาษณ์ ผ้ ูน� ำ ในอุต สาหกรรม การพิมพ์ไทยที่ทกุ ท่านรู้ จกั และคุ้นเคยกันดีคือ คุ ณเกรี ยงไกร เธี ยรนุ กุล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ คุ ณ วิชั ย สกลวรารุ่ งเรื อง ที่ปรึ กษากลุ่มอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ส.อ.ท. โดยมีเนื ้อหา

094

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์

อันดับหนังสือขายดี ของร้านหนังสือชัน้ น�ำ

ประเด็นประมาณว่า “ ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า ย อ ด สั่ ง พิ ม พ์ โปสเตอร์ โปสการ์ ด ปฏิ ทิน และหนั ง สื อ เกี่ยวข้องกับพระราชประวัต ิ พระราชกรณียกิจ ในรั ชกาลที่ 9 มีกระแสแรงมาก คาดว่ า เป็ นเพราะประชาชนต้ อ งการเก็ บ สะสม ไว้ เป็ นที่ระลึกถึงพระองค์ และน้ อมร� ำลึก ถึงพระมหากรุ ณาธิคุณอย่ างหาที่สุดมิได้ ” โดยในส่วน คุณเกรี ยงไกร เธียรนุกูล ประธานคลัสเตอร์ การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ และ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ให้ สมั ภาษณ์สื่อหนังสือพิมพ์ทงั ้ 3 ฉบับ คล้ ายคลึงกันว่า ค�ำสั่งพิมพ์ ปฏิทิน หนังสือที่ เกี่ยวข้ องกับพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพล อดุลยเดช มีเข้ ามาจ�ำนวนมากจากความต้ องการ ของประชาชนที่เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อน�ำเก็บ สะสมไว้ เป็ นที่ระลึก "ค�ำสัง่ จัดท�ำปฏิ ทินจากห้าง ร้าน ธุรกิ จ ขนาดใหญ่ ทงั้ สถาบันการเงิ นและรัฐวิ สาหกิ จ

เริ่ มทยอยเข้ า มาต่ อ เนื ่อ งและส่ ว นใหญ่ เ น้น ที ่ เกี ย่ วข้องกับรัชกาลที ่ 9 ซึ่งทิ ศทางอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ปี 2559 เติบโตได้ 5-6% แต่ จ ะเป็ นการเติ บ โตมาจากบรรจุ ภ ัณ ฑ์ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่ และหากแยกเฉพาะการพิ ม พ์ น ั้น ยอมรับว่าติ ดลบ โดยเฉพาะจากนิ ตยสารและ วารสารต่างๆ ทีท่ ยอยปิ ดตัวต่อเนือ่ งเพราะได้รบั ผลกระทบจากเม็ดเงิ นโฆษณาทีล่ ดลง เนือ่ งจาก มีสือ่ ดิ จิตอลเข้ามาทดแทน ส่วนบรรจุภณ ั ฑ์นนั้ มี การเติบโต 10% เนือ่ งจากปัจจุบนั การผลิ ตสินค้า ต่างๆ ต้องให้ความส�ำคัญกับบรรจุภณ ั ฑ์มากขึ้น โดยเฉพาะเพือ่ การส่งออก ทัง้ นี ้ ผลกระทบทีย่ อด พิมพ์ลดลงไปท�ำให้โรงพิมพ์ขนาดกลางและใหญ่ ปิ ดกิ จการไป 4-5 ราย" เป็ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกับ คุ ณ วิ ชั ย สกุ ลวรารุ่ งเรื อง ที่ปรึ กษากลุ่มอุตสาหกรรม การพิ ม พ์ แ ละบรรจุภัณ ฑ์ สภาอุต สาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ที่ให้ สมั ภาษณ์ สื่อ หนังสือพิมพ์ ทัง้ 3 ฉบับและมีการน�ำมาเขียน

ต่อเป็ นข่าวเดียวกัน ระบุวา่ ปริ มาณความต้ องการ สิ่ ง พิ ม พ์ ป ฏิ ทิ น หนัง สื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พระราช ประวัติ พระราชกรณี ย กิ จ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รั ชกาลที่ 9 มีเข้ ามาเป็ นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะสิ่งพิมพ์ที่เป็ น ฉบับพิเศษ จากค่ายหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ ส่งผลให้ ภาพรวมอุตสาหกรรมการพิมพ์ปรับตัวดีขึ ้นบ้ างใน ช่วงปลายปี แม้ ภาพรวมจะติดลบ เนือ่ งจากนิตยสาร และวารสารต่างทยอยปิ ดตัวต่อเนื่องเพราะได้ รับ ผลกระทบจากเงินโฆษณาที่ลดลง เนื่องจากมีสื่อ ดิจิตอลเข้ ามาทดแทน และสุดท้ ายสรุปว่า หนั ง สื อ พิ ม พ์ ท่ ี พิ ม พ์ เ นื อ้ หาเกี่ ย วกั บ รั ชกาลที่ 9 ทัง้ หมดได้ รับความนิยมมาก ยอด พิมพ์ สูงขึน้ ช่ วงนี ้ ส่ วนยอดพิมพ์ ปฏิทนิ แม้ ว่า โดยรวมยังคงทรงตัว แต่ รูปแบบการน�ำเสนอ ยังคงเน้ นรั ชกาลที่ 9 เป็ นส่ วนใหญ่ ทัง้ นี ้ เชื่อ ว่ าอย่ างไรเสียหนังสือก็ไม่ มีวันตาย แม้ ว่าคน รุ่ นใหม่ จะหันมาใช้ ดจิ ติ อลมากขึน้ !!

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

095


PRINT REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

PRINT พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์ REPORT พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9

คุณเกรี ยงไกร เธี ยรนุกลุ

คุณวิ ชยั สกลวรารุ่งเรื อง

หนังสือทัว่ ไปและร้ านหนังสือชันน� ้ ำในห้ างสรรพ สินค้ า หนังสือเฉพาะกิจทีน่ ำ� เสนอประราชประวัติ และพระราชกรณี ยกิจของในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ รับความสนใจจากพสกนิกรของพระองค์เลือก ซื ้อหาเพื่อสะสมเป็ นที่ระลึก ในการร่วมไว้ อาลัย กันอย่างถ้ วนทัว่ ไม่ว่าเป็ นร้ านนายอินทร์ ร้ าน ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์ และร้ านบีทเู อส ฯลฯ และนับ เป็ นหนังสือขายดีระดับท็อปเท็นในแต่ละวันเลย ทีเดียว ขณะเดียวกัน ปรากฏการณ์ การพิมพ์ สิง่ พิมพ์ที่เกี่ยวข้ องกับในหลวงรัชกาลที่ 9 ได้ รับ ความสนใจจากสือ่ กระแสหลักอย่างหนังสือพิมพ์ รายวันด้ วย โดยมี อย่างน้ อย 3 ฉบับ ได้ แก่ เดลินิวส์ โพสต์ทูเดย์และผู้จดั การรายวัน 360 (องศา) เลื อ กสัม ภาษณ์ ผ้ ูน� ำ ในอุต สาหกรรม การพิมพ์ไทยที่ทกุ ท่านรู้ จกั และคุ้นเคยกันดีคือ คุ ณเกรี ยงไกร เธี ยรนุ กุล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ คุ ณ วิชั ย สกลวรารุ่ งเรื อง ที่ปรึ กษากลุ่มอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ส.อ.ท. โดยมีเนื ้อหา

094

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

พสกนิกรสะสม หนังสือ-สิ่งพิมพ์

อันดับหนังสือขายดี ของร้านหนังสือชัน้ น�ำ

ประเด็นประมาณว่า “ ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า ย อ ด สั่ ง พิ ม พ์ โปสเตอร์ โปสการ์ ด ปฏิ ทิน และหนั ง สื อ เกี่ยวข้องกับพระราชประวัต ิ พระราชกรณียกิจ ในรั ชกาลที่ 9 มีกระแสแรงมาก คาดว่ า เป็ นเพราะประชาชนต้ อ งการเก็ บ สะสม ไว้ เป็ นที่ระลึกถึงพระองค์ และน้ อมร� ำลึก ถึงพระมหากรุ ณาธิคุณอย่ างหาที่สุดมิได้ ” โดยในส่วน คุณเกรี ยงไกร เธียรนุกูล ประธานคลัสเตอร์ การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ และ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ให้ สมั ภาษณ์สื่อหนังสือพิมพ์ทงั ้ 3 ฉบับ คล้ ายคลึงกันว่า ค�ำสั่งพิมพ์ ปฏิทิน หนังสือที่ เกี่ยวข้ องกับพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพล อดุลยเดช มีเข้ ามาจ�ำนวนมากจากความต้ องการ ของประชาชนที่เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่องเพื่อน�ำเก็บ สะสมไว้ เป็ นที่ระลึก "ค�ำสัง่ จัดท�ำปฏิ ทินจากห้าง ร้าน ธุรกิ จ ขนาดใหญ่ ทงั้ สถาบันการเงิ นและรัฐวิ สาหกิ จ

เริ่ มทยอยเข้ า มาต่ อ เนื ่อ งและส่ ว นใหญ่ เ น้น ที ่ เกี ย่ วข้องกับรัชกาลที ่ 9 ซึ่งทิ ศทางอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ปี 2559 เติบโตได้ 5-6% แต่ จ ะเป็ นการเติ บ โตมาจากบรรจุ ภ ัณ ฑ์ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่ และหากแยกเฉพาะการพิ ม พ์ น ั้น ยอมรับว่าติ ดลบ โดยเฉพาะจากนิ ตยสารและ วารสารต่างๆ ทีท่ ยอยปิ ดตัวต่อเนือ่ งเพราะได้รบั ผลกระทบจากเม็ดเงิ นโฆษณาทีล่ ดลง เนือ่ งจาก มีสือ่ ดิ จิตอลเข้ามาทดแทน ส่วนบรรจุภณ ั ฑ์นนั้ มี การเติบโต 10% เนือ่ งจากปัจจุบนั การผลิ ตสินค้า ต่างๆ ต้องให้ความส�ำคัญกับบรรจุภณ ั ฑ์มากขึ้น โดยเฉพาะเพือ่ การส่งออก ทัง้ นี ้ ผลกระทบทีย่ อด พิมพ์ลดลงไปท�ำให้โรงพิมพ์ขนาดกลางและใหญ่ ปิ ดกิ จการไป 4-5 ราย" เป็ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกับ คุ ณ วิ ชั ย สกุ ลวรารุ่ งเรื อง ที่ปรึ กษากลุ่มอุตสาหกรรม การพิ ม พ์ แ ละบรรจุภัณ ฑ์ สภาอุต สาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ที่ให้ สมั ภาษณ์ สื่อ หนังสือพิมพ์ ทัง้ 3 ฉบับและมีการน�ำมาเขียน

ต่อเป็ นข่าวเดียวกัน ระบุวา่ ปริ มาณความต้ องการ สิ่ ง พิ ม พ์ ป ฏิ ทิ น หนัง สื อ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ พระราช ประวัติ พระราชกรณี ย กิ จ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช รั ชกาลที่ 9 มีเข้ ามาเป็ นจ�ำนวนมาก โดยเฉพาะสิ่งพิมพ์ที่เป็ น ฉบับพิเศษ จากค่ายหนังสือพิมพ์ต่าง ๆ ส่งผลให้ ภาพรวมอุตสาหกรรมการพิมพ์ปรับตัวดีขึ ้นบ้ างใน ช่วงปลายปี แม้ ภาพรวมจะติดลบ เนือ่ งจากนิตยสาร และวารสารต่างทยอยปิ ดตัวต่อเนื่องเพราะได้ รับ ผลกระทบจากเงินโฆษณาที่ลดลง เนื่องจากมีสื่อ ดิจิตอลเข้ ามาทดแทน และสุดท้ ายสรุปว่า หนั ง สื อ พิ ม พ์ ท่ ี พิ ม พ์ เ นื อ้ หาเกี่ ย วกั บ รั ชกาลที่ 9 ทัง้ หมดได้ รับความนิยมมาก ยอด พิมพ์ สูงขึน้ ช่ วงนี ้ ส่ วนยอดพิมพ์ ปฏิทนิ แม้ ว่า โดยรวมยังคงทรงตัว แต่ รูปแบบการน�ำเสนอ ยังคงเน้ นรั ชกาลที่ 9 เป็ นส่ วนใหญ่ ทัง้ นี ้ เชื่อ ว่ าอย่ างไรเสียหนังสือก็ไม่ มีวันตาย แม้ ว่าคน รุ่ นใหม่ จะหันมาใช้ ดจิ ติ อลมากขึน้ !!

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

095


096 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

097

ฮ่องกง ญี่ปนุ่ สหรัฐอเมริ กา สหราชอาณาจักร ฟิ ลปิ ปิ นส์ เวียดนาม สิงคโปร์ กัมพูชา มาเลเซีย ลาว เยอรมนี อินเดีย พม่า สวิตเซอร์ แลนด์ ออสเตรเลีย จีน เบลเยียม

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

2,813.8 1,299.6 232.7 228.0 377.0

2556

6,812.71 4,007.35 3,922.96 4,217.77 3,929.43 1,197.06 1,657.23 1,733.10 1,864.58 1,772.89 31,115.1 17,236.3 48,351.34

2556

35.85

40.77

62.73

13.61

199.22

56.05

58.74

41.87

81.96

12.98

385.88

158.54

123.02

166.68

228.00

232.70

202.08

295.36

2556

2,563.0 1,122.1 322.6 228.2 344.0

2557

14.09

39.44

53.05

19.81

61.83

52.76

56.42

38.19

91.79

62.64

114.55

97.19

163.58

159.19

164.88

357.72

216.95

241.94

2558

8.25

16.98

22.88

13.42

43.53

26.51

31.79

17.29

55.54

33.77

70.08

46.82

90.84

113.76

80.19

113.34

109.59

152.39

2,325.7 872.2 357.7 164.9 312.1

2558

-49.57

35.49

-39.11

11.60

-5.66

95.16

-14.08

26.50

-30.95

-29.37

43.68

-26.37

57.12

14.06

-39.05

35.30

54.09

13.03

2556

-13.42

-32.86

-18.21

-14.13

-26.73

-2.62

-6.76

67.01

0.94

158.93

-44.90

-41.64

29.42

1.29

0.10

38.62

-46.31

10.00

2557

-54.59

44.07

3.40

69.53

-57.64

-3.35

3.02

-45.39

10.95

86.42

-46.13

5.04

2.74

-5.71

-27.76

10.90

99.94

-25.53

2558

-48.90

-7.65

4.28

72.51

-45.46

-32.51

-13.34

-66.40

24.53

93.35

-54.63

24.74

-3.59

18.88

-22.45

-25.31

105.53

-33.14

(ม.ค.ก.ค.)

2558

4,718.01 2,478.01 2,843.05 2,339.18 2,208.43 766.26 1,254.42 1,405.49 1,005.51 1,163.90 20,182.3 11,332.9 31,515.19

1,252.3 510.6 113.3 80.2 206.8

1,403.2 601.4 126.4 115.1 223.1

2557

2558

0.14 -8.91 -9.26 7.79 -13.66 -22.27 35.30 38.62 10.90 -39.05 0.10 -27.76 -6.54 -8.76 -9.28

2558 2559 2556 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.)

5.35 -2.86 11.36 12.53 -5.93 -6.94 8.30 0.02 -11.76 11.75 3.09 -1.31 1.46

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

-16.21 -27.86 -25.31 -22.45 2.25

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

อัตราขยายตัว (%)

หนังสือและสิ่งพิมพ์

ตลาดส่ งออกสินค้ าส�ำคัญ

5,118.14 22.36 19.38 0.11 2,684.94 -3.89 7.75 -2.75 2,633.48 -0.38 18.83 4.47 2,578.52 11.48 -22.74 16.91 2,086.63 2.28 -3.27 -4.04 1,642.67 -30.92 14.80 27.78 1,356.43 -16.66 27.35 8.68 1,349.98 2.08 48.28 -10.11 1,253.06 9.12 5.10 -0.78 1,166.71 3.75 8.40 14.38 21,870.6 3.24 9.62 3.11 11,527.8 -2.40 11.37 -0.13 33,398.33 1.16 10.24 1.95

2557 2558

อัตราขยายตัว (%)

กระดาษและผลิตภัณฑ์ กระดาษ

2558 2559 2556 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.)

มูลค่ า : ล้ านบาท

8,142.56 4,198.85 4,869.91 3,809.76 3,647.39 1,756.03 2,293.69 2,310.01 1,944.27 2,198.24 35,170.7 19,170.4 54,341.14

2558

18.77

19.36

21.53

23.18

29.11

32.99

38.41

41.30

54.35

57.33

58.79

64.38

79.65

111.33

115.12

126.41

145.24

216.39

(ม.ค.-ก.ค.)

2559

อัตราขยายตัว (%)

ตลาดส่ งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ

(ม.ค.-ก.ค.)

2558

มูลค่ า : ล้ านบาท

8,133.24 4,317.75 4,661.60 3,258.64 3,801.11 1,374.21 2,110.56 2,569.87 1,959.65 1,921.89 34,108.5 19,195.7 53,304.21

2557

31.04

27.38

51.31

11.69

145.98

54.59

54.77

69.93

82.72

33.60

212.63

92.53

159.22

168.83

228.23

322.57

108.51

324.89

2557

ทีม่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

รวมทุกประเทศ อาเซียน(9) ญี่ปนุ่ สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป(27)

ประเทศ

1 เวียดนาม 2 มาเลเซีย 3 อินโดนีเซีย 4 เกาหลีใต้ 5 ออสเตรเลีย 6 สหรัฐอเมริ กา 7 ไต้ หวัน 8 จีน 9 กัมพูชา 10 ญี่ปนุ่ รวม 10 รายการ รวมอื่นๆ รวมทุกประเทศ

ประเทศ

อินโดนีเซีย

1

ประเทศ

มูลค่ า : ล้ านบาท

หนังสือและสิ่งพิมพ์

ตลาดส่ งออก 18 อันดับแรกของไทยรายประเทศ

1.27

1.45

2.23

0.48

7.08

1.99

2.09

1.49

2.91

0.46

13.71

5.63

4.37

5.92

8.10

8.27

7.18

10.50

2556

12.05 17.78 11.53 43.56 7.86

2559 (ม.ค.-ก.ค.)

8.48 8.35 -7.37 10.23 -5.52 114.37 8.13 -3.95 24.62 0.24 8.37 1.72 5.98

100.00 46.19 8.27 8.10 13.40

100.00 43.78 12.59 8.90 13.42

2557

0.66

1.36

1.83

1.07

3.48

2.12

2.54

1.38

4.43

2.70

5.60

3.74

7.25

9.08

6.40

9.05

8.75

12.17

100.00 37.50 15.38 7.09 13.42

2558

15.32 8.04 7.89 7.72 6.25 4.92 4.06 4.04 3.75 3.49 65.48 34.52 100.00

100.00 40.77 9.05 6.40 16.52

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

สัดส่ วน (%)

14.97 7.86 9.02 7.42 7.01 2.43 3.98 4.46 3.19 3.69 64.04 35.96 100.00

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

1.34

1.38

1.53

1.65

2.07

2.35

2.74

2.94

3.87

4.09

4.19

4.59

5.68

7.93

8.20

9.01

10.35

15.42

2558

(ม.ค.-ก.ค.)

สัดส่ วน (%) 2558

0.61

1.70

2.28

0.85

2.66

2.27

2.43

1.64

3.95

2.69

4.93

4.18

7.03

6.84

7.09

15.38

9.33

10.40

2558

15.26 14.98 8.10 7.73 8.75 8.96 6.11 7.01 7.13 6.71 2.58 3.23 3.96 4.22 4.82 4.25 3.68 3.58 3.61 4.05 63.99 64.72 36.01 35.28 100.00 100.00

2557

1.21

1.07

2.00

0.46

5.70

2.13

2.14

2.73

3.23

1.31

8.30

3.61

6.21

6.59

8.90

12.59

4.23

12.68

2557

2556

14.09 8.29 8.11 8.72 8.13 2.48 3.43 3.58 3.86 3.67 64.35 35.65 100.00

2559 2556 (ม.ค.-ก.ค.)

127.55

14.01

-5.89

72.66

-33.13

24.45

20.82

138.83

-2.14

69.80

-16.11

37.50

-12.32

-2.14

43.56

11.53

32.53

41.99

(ม.ค.ก.ค.)

2559

สัดส่ วน (%)

100.00 42.86 9.01 8.20 15.90

2559 (ม.ค.-ก.ค.)

2559 (ม.ค.-ก.ค.)

2559

(ม.ค.-ก.ค.)


096 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

097

ฮ่องกง ญี่ปนุ่ สหรัฐอเมริ กา สหราชอาณาจักร ฟิ ลปิ ปิ นส์ เวียดนาม สิงคโปร์ กัมพูชา มาเลเซีย ลาว เยอรมนี อินเดีย พม่า สวิตเซอร์ แลนด์ ออสเตรเลีย จีน เบลเยียม

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

2,813.8 1,299.6 232.7 228.0 377.0

2556

6,812.71 4,007.35 3,922.96 4,217.77 3,929.43 1,197.06 1,657.23 1,733.10 1,864.58 1,772.89 31,115.1 17,236.3 48,351.34

2556

35.85

40.77

62.73

13.61

199.22

56.05

58.74

41.87

81.96

12.98

385.88

158.54

123.02

166.68

228.00

232.70

202.08

295.36

2556

2,563.0 1,122.1 322.6 228.2 344.0

2557

14.09

39.44

53.05

19.81

61.83

52.76

56.42

38.19

91.79

62.64

114.55

97.19

163.58

159.19

164.88

357.72

216.95

241.94

2558

8.25

16.98

22.88

13.42

43.53

26.51

31.79

17.29

55.54

33.77

70.08

46.82

90.84

113.76

80.19

113.34

109.59

152.39

2,325.7 872.2 357.7 164.9 312.1

2558

-49.57

35.49

-39.11

11.60

-5.66

95.16

-14.08

26.50

-30.95

-29.37

43.68

-26.37

57.12

14.06

-39.05

35.30

54.09

13.03

2556

-13.42

-32.86

-18.21

-14.13

-26.73

-2.62

-6.76

67.01

0.94

158.93

-44.90

-41.64

29.42

1.29

0.10

38.62

-46.31

10.00

2557

-54.59

44.07

3.40

69.53

-57.64

-3.35

3.02

-45.39

10.95

86.42

-46.13

5.04

2.74

-5.71

-27.76

10.90

99.94

-25.53

2558

-48.90

-7.65

4.28

72.51

-45.46

-32.51

-13.34

-66.40

24.53

93.35

-54.63

24.74

-3.59

18.88

-22.45

-25.31

105.53

-33.14

(ม.ค.ก.ค.)

2558

4,718.01 2,478.01 2,843.05 2,339.18 2,208.43 766.26 1,254.42 1,405.49 1,005.51 1,163.90 20,182.3 11,332.9 31,515.19

1,252.3 510.6 113.3 80.2 206.8

1,403.2 601.4 126.4 115.1 223.1

2557

2558

0.14 -8.91 -9.26 7.79 -13.66 -22.27 35.30 38.62 10.90 -39.05 0.10 -27.76 -6.54 -8.76 -9.28

2558 2559 2556 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.)

5.35 -2.86 11.36 12.53 -5.93 -6.94 8.30 0.02 -11.76 11.75 3.09 -1.31 1.46

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

-16.21 -27.86 -25.31 -22.45 2.25

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

อัตราขยายตัว (%)

หนังสือและสิ่งพิมพ์

ตลาดส่ งออกสินค้ าส�ำคัญ

5,118.14 22.36 19.38 0.11 2,684.94 -3.89 7.75 -2.75 2,633.48 -0.38 18.83 4.47 2,578.52 11.48 -22.74 16.91 2,086.63 2.28 -3.27 -4.04 1,642.67 -30.92 14.80 27.78 1,356.43 -16.66 27.35 8.68 1,349.98 2.08 48.28 -10.11 1,253.06 9.12 5.10 -0.78 1,166.71 3.75 8.40 14.38 21,870.6 3.24 9.62 3.11 11,527.8 -2.40 11.37 -0.13 33,398.33 1.16 10.24 1.95

2557 2558

อัตราขยายตัว (%)

กระดาษและผลิตภัณฑ์ กระดาษ

2558 2559 2556 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.)

มูลค่ า : ล้ านบาท

8,142.56 4,198.85 4,869.91 3,809.76 3,647.39 1,756.03 2,293.69 2,310.01 1,944.27 2,198.24 35,170.7 19,170.4 54,341.14

2558

18.77

19.36

21.53

23.18

29.11

32.99

38.41

41.30

54.35

57.33

58.79

64.38

79.65

111.33

115.12

126.41

145.24

216.39

(ม.ค.-ก.ค.)

2559

อัตราขยายตัว (%)

ตลาดส่ งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ

(ม.ค.-ก.ค.)

2558

มูลค่ า : ล้ านบาท

8,133.24 4,317.75 4,661.60 3,258.64 3,801.11 1,374.21 2,110.56 2,569.87 1,959.65 1,921.89 34,108.5 19,195.7 53,304.21

2557

31.04

27.38

51.31

11.69

145.98

54.59

54.77

69.93

82.72

33.60

212.63

92.53

159.22

168.83

228.23

322.57

108.51

324.89

2557

ทีม่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

รวมทุกประเทศ อาเซียน(9) ญี่ปนุ่ สหรัฐอเมริ กา สหภาพยุโรป(27)

ประเทศ

1 เวียดนาม 2 มาเลเซีย 3 อินโดนีเซีย 4 เกาหลีใต้ 5 ออสเตรเลีย 6 สหรัฐอเมริ กา 7 ไต้ หวัน 8 จีน 9 กัมพูชา 10 ญี่ปนุ่ รวม 10 รายการ รวมอื่นๆ รวมทุกประเทศ

ประเทศ

อินโดนีเซีย

1

ประเทศ

มูลค่ า : ล้ านบาท

หนังสือและสิ่งพิมพ์

ตลาดส่ งออก 18 อันดับแรกของไทยรายประเทศ

1.27

1.45

2.23

0.48

7.08

1.99

2.09

1.49

2.91

0.46

13.71

5.63

4.37

5.92

8.10

8.27

7.18

10.50

2556

12.05 17.78 11.53 43.56 7.86

2559 (ม.ค.-ก.ค.)

8.48 8.35 -7.37 10.23 -5.52 114.37 8.13 -3.95 24.62 0.24 8.37 1.72 5.98

100.00 46.19 8.27 8.10 13.40

100.00 43.78 12.59 8.90 13.42

2557

0.66

1.36

1.83

1.07

3.48

2.12

2.54

1.38

4.43

2.70

5.60

3.74

7.25

9.08

6.40

9.05

8.75

12.17

100.00 37.50 15.38 7.09 13.42

2558

15.32 8.04 7.89 7.72 6.25 4.92 4.06 4.04 3.75 3.49 65.48 34.52 100.00

100.00 40.77 9.05 6.40 16.52

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

สัดส่ วน (%)

14.97 7.86 9.02 7.42 7.01 2.43 3.98 4.46 3.19 3.69 64.04 35.96 100.00

2558 (ม.ค.-ก.ค.)

1.34

1.38

1.53

1.65

2.07

2.35

2.74

2.94

3.87

4.09

4.19

4.59

5.68

7.93

8.20

9.01

10.35

15.42

2558

(ม.ค.-ก.ค.)

สัดส่ วน (%) 2558

0.61

1.70

2.28

0.85

2.66

2.27

2.43

1.64

3.95

2.69

4.93

4.18

7.03

6.84

7.09

15.38

9.33

10.40

2558

15.26 14.98 8.10 7.73 8.75 8.96 6.11 7.01 7.13 6.71 2.58 3.23 3.96 4.22 4.82 4.25 3.68 3.58 3.61 4.05 63.99 64.72 36.01 35.28 100.00 100.00

2557

1.21

1.07

2.00

0.46

5.70

2.13

2.14

2.73

3.23

1.31

8.30

3.61

6.21

6.59

8.90

12.59

4.23

12.68

2557

2556

14.09 8.29 8.11 8.72 8.13 2.48 3.43 3.58 3.86 3.67 64.35 35.65 100.00

2559 2556 (ม.ค.-ก.ค.)

127.55

14.01

-5.89

72.66

-33.13

24.45

20.82

138.83

-2.14

69.80

-16.11

37.50

-12.32

-2.14

43.56

11.53

32.53

41.99

(ม.ค.ก.ค.)

2559

สัดส่ วน (%)

100.00 42.86 9.01 8.20 15.90

2559 (ม.ค.-ก.ค.)

2559 (ม.ค.-ก.ค.)

2559

(ม.ค.-ก.ค.)


PRINT บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล

บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

อมรินทร์ จับมือ

‘สิเพิ่มรทุนิวต่อสายป่ ัฒนภั ก ดี ’ านทีวีดิจิตอล

ดั ง พลุ แ ตก!! กับ บิ๊ ก ดี ล แห่ง วงการธุ ร กิ จ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ข อง ไทย หลังจาก บริษัท อมรินทร์ พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) (AMARIN) แจ้ งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ที่ ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทฯ มีมติจดั สรรหุ้นเพิ่มทุนขายให้ แก่ กลุ่ม สิริวัฒนภักดี ตระกูลที่เข้ าไปเทกโอเวอร์ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ มาแล้ วหลากหลายวงการด้ วยกัน ย้ อนกลับไปในห้ วง 2 –3 ปี ที่ผา่ นมา ก่อนเกิดบิก๊ ดีลในครัง้ นี ้ จะพบว่า นิตยสารทังหั ้ วไทยและเทศหลายฉบับค่อยๆ ปิ ดตัวไปเกิน กว่ากึง่ หนึง่ ของวงการ ท�ำให้ เกิดค�ำถามในวงกว้ างว่า ธุรกิจสือ่ สิง่ พิมพ์

098

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

ก�ำลังจะตายแล้ วจริงหรือ? หากดูเฉพาะเม็ดเงินโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ์อนั เป็ นรายได้ หลักของคนท�ำธุรกิจนี ้จะได้ ค�ำตอบว่า จริ ง.. เพราะมีการส่งสัญญาณถดถอยเป็ น ระยะๆ ผ่านตัวเลขเม็ดเงินโฆษณาที่มีแต่ “ทรง” กับ “ทรุด” เหมือนเลือดไหลไม่หยุด โดยผู้ประกอบการที่ ยังพอมี สายป่ านยาวก็ ดิ ้นรนปรับตัวไม่อยูเ่ ฉย ทังเปลี ้ ่ยนรูปแบบการน�ำเสนอ บ้ าง ลดความถี่การตีพิมพ์ บ้าง หรื อแม้ กระทัง่ ระงับ การพิมพ์ชวั่ คราวบ้ างก็มี แต่ในที่สดุ หลายรายก็ไม่อาจ ต้ านทานความทันสมัยของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ ามา ช่วยพัฒนาให้ การเสพข่าวเป็ นเรื่ องง่าย สะดวก และ รวดเร็ วทันใจ จนไม่จ�ำเป็ นต้ องอดใจรออ่านนิตยสาร อีกต่อไป ยั ก ษ์ ใ หญ่ ธุ ร กิ จ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ อ ย่ า ง บริ ษั ท อมรินทร์ พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) เป็ นหนึง่ ในผู้ประกอบการทีม่ กี ารปรับตัวเรื่อยมาเช่นกัน

เมือ่ 3 ปี ทแี่ ล้ วรุกขยายอาณาจักรเข้ าสูส่ อ่ื ทีวหี วังช่วยต่อ ลมหายใจให้ ธุรกิจเดินต่อไปได้ ดูผิวเผินเหมือนสื่อทีวี ที่กระโดดเข้ ามาจะเห็นเค้ กก้ อนโตที่หอมหวนกว่าเค้ ก ก้ อนเดิม เพราะเม็ดเงินที่สะพัดในสื่อนี ้แตะหลักหมื่น ล้ านบาท ถือเป็ นมูลค่าสูงที่สดุ ในบรรดาทุกสือ่ โฆษณา ทังหมด ้ แต่ทา่ มกลางเค้ กชิ ้นใหญ่ยอ่ มเป็ นที่หมายปอง ของคนหมู่มาก จึงเป็ นธรรมดาที่จะเห็นการแข่งขันดุ เดือดตามไปด้ วย การปรับตัวก้ าวสูธ่ รุ กิจสื่อทีวีของ “อมริ นทร์ ฯ” เริ่ มขึ ้นในนาม บริษัท อมรินทร์ เทเลวิช่ ัน จ�ำกัด เพื่อ ด�ำเนินธุรกิจทีวีดาวเทียมภายใต้ ชื่อ “อมริ นทร์ แอค ทีฟ ทีวี” (Amarin Activ TV) ออกอากาศครัง้ แรกใน ปี พ.ศ. 2556 จากนันในช่ ้ วงปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ได้ หยุดการออกอากาศชัว่ คราว เพื่อปรับรูปแบบ การออกอากาศและเปลี่ยนชื่อช่องใหม่เป็ น “อมรินทร์ ทีว”ี หลังจากเป็ นหนึง่ ในผู้ชนะการประมูลช่องโทรทัศน์ ระบบดิจติ อลภาพความคมชัดสูง ช่อง 34 (HD TV) และ ได้ รับใบอนุญาตการออกอากาศ จาก กสทช. เป็ นระยะ เวลา 15 ปี ความพยายามปรับตัวเปลีย่ นทิศทางธุรกิจเพือ่ พุง่ ไปสูเ่ ป้าหมายที่วางไว้ ด้ วยการดึง “คอนเท้ นต์” เป็ น ฐานเดิมที่แข็งแกร่งมารองรับการขยายตัว ดูจะเป็ นข้ อ ได้ เปรี ยบของยักษ์ ใหญ่รายนี ้แต่ข้อเท็จจริงกลับไม่งา่ ย อย่างทีค่ ดิ นอกจากมีปัจจัยการแข่งขันสูงแล้ ว ฟากการ ลงทุนยอดก็สงู เช่นกัน ทังจากต้ ้ นทุนการประมูลใบอนุญาต ค่าเช่า

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

099


PRINT บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล

บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

อมรินทร์ จับมือ

‘สิเพิ่มรทุนิวต่อสายป่ ัฒนภั ก ดี ’ านทีวีดิจิตอล

ดั ง พลุ แ ตก!! กับ บิ๊ ก ดี ล แห่ง วงการธุ ร กิ จ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ข อง ไทย หลังจาก บริษัท อมรินทร์ พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) (AMARIN) แจ้ งตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ที่ ประชุมคณะกรรมการบริ ษัทฯ มีมติจดั สรรหุ้นเพิ่มทุนขายให้ แก่ กลุ่ม สิริวัฒนภักดี ตระกูลที่เข้ าไปเทกโอเวอร์ บริ ษัทจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ มาแล้ วหลากหลายวงการด้ วยกัน ย้ อนกลับไปในห้ วง 2 –3 ปี ที่ผา่ นมา ก่อนเกิดบิก๊ ดีลในครัง้ นี ้ จะพบว่า นิตยสารทังหั ้ วไทยและเทศหลายฉบับค่อยๆ ปิ ดตัวไปเกิน กว่ากึง่ หนึง่ ของวงการ ท�ำให้ เกิดค�ำถามในวงกว้ างว่า ธุรกิจสือ่ สิง่ พิมพ์

098

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

ก�ำลังจะตายแล้ วจริงหรือ? หากดูเฉพาะเม็ดเงินโฆษณา สื่อสิ่งพิมพ์อนั เป็ นรายได้ หลักของคนท�ำธุรกิจนี ้จะได้ ค�ำตอบว่า จริ ง.. เพราะมีการส่งสัญญาณถดถอยเป็ น ระยะๆ ผ่านตัวเลขเม็ดเงินโฆษณาที่มีแต่ “ทรง” กับ “ทรุด” เหมือนเลือดไหลไม่หยุด โดยผู้ประกอบการที่ ยังพอมี สายป่ านยาวก็ ดิ ้นรนปรับตัวไม่อยูเ่ ฉย ทังเปลี ้ ่ยนรูปแบบการน�ำเสนอ บ้ าง ลดความถี่การตีพิมพ์ บ้าง หรื อแม้ กระทัง่ ระงับ การพิมพ์ชวั่ คราวบ้ างก็มี แต่ในที่สดุ หลายรายก็ไม่อาจ ต้ านทานความทันสมัยของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เข้ ามา ช่วยพัฒนาให้ การเสพข่าวเป็ นเรื่ องง่าย สะดวก และ รวดเร็ วทันใจ จนไม่จ�ำเป็ นต้ องอดใจรออ่านนิตยสาร อีกต่อไป ยั ก ษ์ ใ หญ่ ธุ ร กิ จ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ อ ย่ า ง บริ ษั ท อมรินทร์ พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) เป็ นหนึง่ ในผู้ประกอบการทีม่ กี ารปรับตัวเรื่อยมาเช่นกัน

เมือ่ 3 ปี ทแี่ ล้ วรุกขยายอาณาจักรเข้ าสูส่ อ่ื ทีวหี วังช่วยต่อ ลมหายใจให้ ธุรกิจเดินต่อไปได้ ดูผิวเผินเหมือนสื่อทีวี ที่กระโดดเข้ ามาจะเห็นเค้ กก้ อนโตที่หอมหวนกว่าเค้ ก ก้ อนเดิม เพราะเม็ดเงินที่สะพัดในสื่อนี ้แตะหลักหมื่น ล้ านบาท ถือเป็ นมูลค่าสูงที่สดุ ในบรรดาทุกสือ่ โฆษณา ทังหมด ้ แต่ทา่ มกลางเค้ กชิ ้นใหญ่ยอ่ มเป็ นที่หมายปอง ของคนหมู่มาก จึงเป็ นธรรมดาที่จะเห็นการแข่งขันดุ เดือดตามไปด้ วย การปรับตัวก้ าวสูธ่ รุ กิจสื่อทีวีของ “อมริ นทร์ ฯ” เริ่ มขึ ้นในนาม บริษัท อมรินทร์ เทเลวิช่ ัน จ�ำกัด เพื่อ ด�ำเนินธุรกิจทีวีดาวเทียมภายใต้ ชื่อ “อมริ นทร์ แอค ทีฟ ทีวี” (Amarin Activ TV) ออกอากาศครัง้ แรกใน ปี พ.ศ. 2556 จากนันในช่ ้ วงปลายเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ได้ หยุดการออกอากาศชัว่ คราว เพื่อปรับรูปแบบ การออกอากาศและเปลี่ยนชื่อช่องใหม่เป็ น “อมรินทร์ ทีว”ี หลังจากเป็ นหนึง่ ในผู้ชนะการประมูลช่องโทรทัศน์ ระบบดิจติ อลภาพความคมชัดสูง ช่อง 34 (HD TV) และ ได้ รับใบอนุญาตการออกอากาศ จาก กสทช. เป็ นระยะ เวลา 15 ปี ความพยายามปรับตัวเปลีย่ นทิศทางธุรกิจเพือ่ พุง่ ไปสูเ่ ป้าหมายที่วางไว้ ด้ วยการดึง “คอนเท้ นต์” เป็ น ฐานเดิมที่แข็งแกร่งมารองรับการขยายตัว ดูจะเป็ นข้ อ ได้ เปรี ยบของยักษ์ ใหญ่รายนี ้แต่ข้อเท็จจริงกลับไม่งา่ ย อย่างทีค่ ดิ นอกจากมีปัจจัยการแข่งขันสูงแล้ ว ฟากการ ลงทุนยอดก็สงู เช่นกัน ทังจากต้ ้ นทุนการประมูลใบอนุญาต ค่าเช่า

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

099


PRINT REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล

PRINT บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล

นายฐาปน สิ ริวฒ ั นภักดี

บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

นายปณต สิ ริวฒ ั นภักดี

คุณระริ น อุทกะพันธุ์ ปั ญจรุ่งโรจน์

โครงข่าย และการผลิตรายการ ขณะที่การสร้ างราย ได้ สว่ นใหญ่ขึ ้นอยูก่ ารก�ำหนดอัตราค่าโฆษณาที่จะสูง หรื อต�่ำต้ องสอดรับกับเรตติ ้งผู้ชม ท�ำให้ “อมริ นทร์ ฯ” ประสบภาวะผลประกอบการขาดทุนจากการด�ำเนิน งาน ส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินที่ใช้ เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการด�ำเนินธุรกิจ มีอตั ราส่วนหนี ้สิน ต่อทุน (Debt to Equity) ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 อัตราสูงถึง 4.32 เท่า นี่จงึ เป็ นที่มาของการปรั บตัวอย่ างไม่ อาจ หลีกเลี่ยงได้ อีกครั ง้ โดยเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 บริ ษัท อมริ นทร์ พริ น้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) แจ้ งว่ า มติท่ ีประชุมคณะกรรม การบริ ษัทฯ ครั ง้ ที่ 6/2559 ประชุมเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 18.00 น. มีมติอนุมัตเิ รื่ อง ส�ำคัญ ดังนี ้ 1. มี มติอนุมัติให้ เสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมตั ิการลดทุนจดทะเบียนของบริ ษัทฯ จ� ำ นวน 135 บาท จากทุน จดทะเบี ย นเดิ ม จ� ำ นวน

100

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

220,000,000 บาท เป็ นจ�ำนวน 219,999,865 บาท โดย การตัดหุ้นสามัญทีไ่ ด้ จดทะเบียนไว้ แล้ วแต่ยงั ไม่ได้ ออก จ�ำหน่ายของบริ ษัทจ�ำนวน 135 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท และแก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือบริ คณห์สนธิของ บริ ษั ท ฯ ข้ อ 4.เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกับ การลดทุน จด ทะเบียนของบริ ษัทฯ 2. มี ม ติ อ นุ มั ติ ใ ห้ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของ บริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 200,000,000 บาท จากทุน จด ทะเบียนเดิมจ�ำนวน 219,999,865 บาท เป็ นจ�ำนวน 419,999,865 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน จ�ำนวน 200,000,000 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้ ห้ นุ ละ1 บาท เพือ่ จัดสรรและเสนอขายให้ แก่ บริษัท วัฒนภักดี จ�ำกัด โดย นายฐาปน สิริวฒ ั นภักดี และนายปณต สิริวฒ ั นภักดี (“ผู้ซื ้อ”) ในราคาหุ้นละ 4.25 บาท รวมเป็ นมูลค่าทังสิ ้ ้น 850,000,000 บาท โดยภายหลังจากการซื ้อหุ้นสามัญ เพิ่ ม ทุน ดัง กล่า ว ผู้ซื อ้ จะเข้ า มาเป็ นผู้ถื อ หุ้น ร้ อยละ

47.62 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้ แล้ วทัง้ หมดของ บริ ษัทฯ (ภายหลังการจดทะเบียนเพิ่มทุนช� ำระแล้ ว ของบริ ษัทฯ) (“การจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนของบริ ษัทฯ ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ”) และแก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือ บริ คณห์สนธิของบริ ษัทฯ ข้ อ 4. เพื่อให้ สอดคล้ องกับ การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษัทฯ คุ ณ ระริ น อุ ท กะพั น ธุ์ ปั ญจรุ่ งโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริ ษั ท อมริ น ทร์ พริ น้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า บริ ษัทฯ มีความจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องใช้ เงินทุนทีจ่ ะได้ รับจากการเพิม่ ทุนในครัง้ นี ้ เพื่อการลงทุนเพิ่มเติมในธุรกิจทีวีดิจิตอล ที่อยู่ในช่วงของการเริ่ มต้ นธุรกิจซึง่ มีต้นทุนการด�ำเนิน การที่สงู โดยใช้ ส�ำหรับการช�ำระค่าใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่ น ความถี่ ส�ำหรั บ การให้ บ ริ ก ารโทรทัศ น์ ใ นระบบ ดิจิตอล (“ใบอนุญาตดิจิตอลทีวี”) การช�ำระค่าบริ การ โครงข่ายทีวีดิจิตอลรายเดือน การช�ำระคืนเงินกู้ยืม จากสถาบันการเงิน และใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนทีใ่ ช้ ใน ด�ำเนินธุรกิจ เช่น การผลิตรายการโทรทัศน์ เป็ นต้ น โดย บริ ษัทฯ มีแผนการใช้ เงินที่ได้ จากการเพิ่มทุนนี ้ภายใน ต้ นปี 2561 ดังนัน้ บริ ษัทฯ จึงมีความจ�ำเป็ นที่จะต้ องมี เงินทุนเพิม่ เติมเพือ่ ให้ บริษัทฯ สามารถด�ำเนินการต่างๆ ได้ ตามที่กล่าวข้ างต้ น นอกจากนี ้ จากการที ่ ใ นปั จ จุ บั น ภาวะ อุตสาหกรรมธุรกิ จทีวีดิจิตอลมีการแข่งขันสูง บริ ษทั ฯ จึง เห็นว่าการทีบ่ ริ ษทั ฯ จะมีพนั ธมิ ตรทางธุรกิ จ (Strategic

Partner) ที ่มีความพร้ อมในด้านเงิ นทุนและมี ความ เชี ย่ วชาญในการด�ำเนิ นธุรกิ จ รวมถึงมี สถานะทางการ เงิ นและสายสัมพันธ์ ที่ดีกับกลุ่มธุรกิ จที ่หลากหลาย จะท�ำให้บริ ษัทฯ ได้รบั เงิ นตามจ� ำนวนทีต่ อ้ งการ และ ยังช่วยเพิ่ มความเชื อ่ มัน่ ในการด�ำเนิ นธุรกิ จได้บริ ษัทฯ จึ งพิ จารณาเห็นว่า การเพิ่ มทุนโดยการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนให้แก่บคุ คลในวงจ�ำกัดมีความเหมาะสม กับสถานการณ์ ปัจจุบนั ของบริ ษัทฯ อย่างไรก็ตาม ผู้ซื ้อไม่ประสงค์ที่จะท�ำค�ำเสนอ ซื ้อหลักทรัพย์ทงหมดของบริ ั้ ษัทฯ และมีความประสงค์ ที่จะขอผ่อนผันการท�ำค�ำเสนอซื ้อหลักทรัพย์ทงหมด ั้ ของบริ ษัทฯ โดยอาศัยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ (Whitewash) ทังนี ้ ้ จะเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ พิ จารณาอนุมัติการผ่อนผันการท� ำค� ำเสนอซือ้ หลัก ทรัพย์ทงหมดของกิ ั้ จการ โดยก�ำหนดวันประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2560 ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 ก�ำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้ าร่ วมประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ในวันที่ 9 ธันวาคม 2559 และให้ รวบรวมราย ชื่อผู้ถือหุ้นตามมาตรา 225 โดยวิธีปิดสมุดทะเบียน และพักการโอนหุ้นใน วันที่ 13 ธันวาคม 2559 ความท้ าทายกับการปรั บตัวครั ง้ ใหม่ ภาย ใต้ หวั เรือใหญ่ “กลุ่มสิริวฒ ั นภักดี” ราชาเทกโอเว่ อร์ เมืองไทย ได้ เริ่ มขึน้ แล้ วกับธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ และ ทีวีดจิ ติ อลของเมืองไทย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

101


PRINT REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล

PRINT บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย REPORT ‘อมรินทร์’จับมือ‘สิริวัฒนภักดี’ เพิ่มทุนต่อสายป่านทีวีดิจิตอล

นายฐาปน สิ ริวฒ ั นภักดี

บิ๊กดีลธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ไทย

นายปณต สิ ริวฒ ั นภักดี

คุณระริ น อุทกะพันธุ์ ปั ญจรุ่งโรจน์

โครงข่าย และการผลิตรายการ ขณะที่การสร้ างราย ได้ สว่ นใหญ่ขึ ้นอยูก่ ารก�ำหนดอัตราค่าโฆษณาที่จะสูง หรื อต�่ำต้ องสอดรับกับเรตติ ้งผู้ชม ท�ำให้ “อมริ นทร์ ฯ” ประสบภาวะผลประกอบการขาดทุนจากการด�ำเนิน งาน ส่งผลกระทบต่อสภาพคล่องทางการเงินที่ใช้ เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการด�ำเนินธุรกิจ มีอตั ราส่วนหนี ้สิน ต่อทุน (Debt to Equity) ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 อัตราสูงถึง 4.32 เท่า นี่จงึ เป็ นที่มาของการปรั บตัวอย่ างไม่ อาจ หลีกเลี่ยงได้ อีกครั ง้ โดยเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2559 บริ ษัท อมริ นทร์ พริ น้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) แจ้ งว่ า มติท่ ีประชุมคณะกรรม การบริ ษัทฯ ครั ง้ ที่ 6/2559 ประชุมเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2559 เวลา 18.00 น. มีมติอนุมัตเิ รื่ อง ส�ำคัญ ดังนี ้ 1. มี มติอนุมัติให้ เสนอต่อที่ ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อพิจารณาอนุมตั ิการลดทุนจดทะเบียนของบริ ษัทฯ จ� ำ นวน 135 บาท จากทุน จดทะเบี ย นเดิ ม จ� ำ นวน

100

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

220,000,000 บาท เป็ นจ�ำนวน 219,999,865 บาท โดย การตัดหุ้นสามัญทีไ่ ด้ จดทะเบียนไว้ แล้ วแต่ยงั ไม่ได้ ออก จ�ำหน่ายของบริ ษัทจ�ำนวน 135 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้ ห้ นุ ละ 1 บาท และแก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือบริ คณห์สนธิของ บริ ษั ท ฯ ข้ อ 4.เพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกับ การลดทุน จด ทะเบียนของบริ ษัทฯ 2. มี ม ติ อ นุ มั ติ ใ ห้ เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ ถื อ หุ้น เพื่อพิจารณาอนุมัติการเพิ่มทุนจดทะเบียนของ บริ ษั ท ฯ จ� ำ นวน 200,000,000 บาท จากทุน จด ทะเบียนเดิมจ�ำนวน 219,999,865 บาท เป็ นจ�ำนวน 419,999,865 บาท โดยการออกหุ้นสามัญเพิ่มทุน จ�ำนวน 200,000,000 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้ ห้ นุ ละ1 บาท เพือ่ จัดสรรและเสนอขายให้ แก่ บริษัท วัฒนภักดี จ�ำกัด โดย นายฐาปน สิริวฒ ั นภักดี และนายปณต สิริวฒ ั นภักดี (“ผู้ซื ้อ”) ในราคาหุ้นละ 4.25 บาท รวมเป็ นมูลค่าทังสิ ้ ้น 850,000,000 บาท โดยภายหลังจากการซื ้อหุ้นสามัญ เพิ่ ม ทุน ดัง กล่า ว ผู้ซื อ้ จะเข้ า มาเป็ นผู้ถื อ หุ้น ร้ อยละ

47.62 ของจ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้ แล้ วทัง้ หมดของ บริ ษัทฯ (ภายหลังการจดทะเบียนเพิ่มทุนช� ำระแล้ ว ของบริ ษัทฯ) (“การจัดสรรและเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่ม ทุนของบริ ษัทฯ ให้ แก่ผ้ ซู ื ้อ”) และแก้ ไขเพิ่มเติมหนังสือ บริ คณห์สนธิของบริ ษัทฯ ข้ อ 4. เพื่อให้ สอดคล้ องกับ การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริ ษัทฯ คุ ณ ระริ น อุ ท กะพั น ธุ์ ปั ญจรุ่ งโรจน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริ ษั ท อมริ น ทร์ พริ น้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า บริ ษัทฯ มีความจ�ำเป็ นทีจ่ ะต้ องใช้ เงินทุนทีจ่ ะได้ รับจากการเพิม่ ทุนในครัง้ นี ้ เพื่อการลงทุนเพิ่มเติมในธุรกิจทีวีดิจิตอล ที่อยู่ในช่วงของการเริ่ มต้ นธุรกิจซึง่ มีต้นทุนการด�ำเนิน การที่สงู โดยใช้ ส�ำหรับการช�ำระค่าใบอนุญาตให้ ใช้ คลื่ น ความถี่ ส�ำหรั บ การให้ บ ริ ก ารโทรทัศ น์ ใ นระบบ ดิจิตอล (“ใบอนุญาตดิจิตอลทีวี”) การช�ำระค่าบริ การ โครงข่ายทีวีดิจิตอลรายเดือน การช�ำระคืนเงินกู้ยืม จากสถาบันการเงิน และใช้ เป็ นเงินทุนหมุนเวียนทีใ่ ช้ ใน ด�ำเนินธุรกิจ เช่น การผลิตรายการโทรทัศน์ เป็ นต้ น โดย บริ ษัทฯ มีแผนการใช้ เงินที่ได้ จากการเพิ่มทุนนี ้ภายใน ต้ นปี 2561 ดังนัน้ บริ ษัทฯ จึงมีความจ�ำเป็ นที่จะต้ องมี เงินทุนเพิม่ เติมเพือ่ ให้ บริษัทฯ สามารถด�ำเนินการต่างๆ ได้ ตามที่กล่าวข้ างต้ น นอกจากนี ้ จากการที ่ ใ นปั จ จุ บั น ภาวะ อุตสาหกรรมธุรกิ จทีวีดิจิตอลมีการแข่งขันสูง บริ ษทั ฯ จึง เห็นว่าการทีบ่ ริ ษทั ฯ จะมีพนั ธมิ ตรทางธุรกิ จ (Strategic

Partner) ที ่มีความพร้ อมในด้านเงิ นทุนและมี ความ เชี ย่ วชาญในการด�ำเนิ นธุรกิ จ รวมถึงมี สถานะทางการ เงิ นและสายสัมพันธ์ ที่ดีกับกลุ่มธุรกิ จที ่หลากหลาย จะท�ำให้บริ ษัทฯ ได้รบั เงิ นตามจ� ำนวนทีต่ อ้ งการ และ ยังช่วยเพิ่ มความเชื อ่ มัน่ ในการด�ำเนิ นธุรกิ จได้บริ ษัทฯ จึ งพิ จารณาเห็นว่า การเพิ่ มทุนโดยการเสนอขายหุ้น สามัญเพิ่มทุนให้แก่บคุ คลในวงจ�ำกัดมีความเหมาะสม กับสถานการณ์ ปัจจุบนั ของบริ ษัทฯ อย่างไรก็ตาม ผู้ซื ้อไม่ประสงค์ที่จะท�ำค�ำเสนอ ซื ้อหลักทรัพย์ทงหมดของบริ ั้ ษัทฯ และมีความประสงค์ ที่จะขอผ่อนผันการท�ำค�ำเสนอซื ้อหลักทรัพย์ทงหมด ั้ ของบริ ษัทฯ โดยอาศัยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริ ษัทฯ (Whitewash) ทังนี ้ ้ จะเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อ พิ จารณาอนุมัติการผ่อนผันการท� ำค� ำเสนอซือ้ หลัก ทรัพย์ทงหมดของกิ ั้ จการ โดยก�ำหนดวันประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ครัง้ ที่ 1/2560 ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2560 ก�ำหนดรายชื่อผู้ถือหุ้นที่มีสิทธิเข้ าร่ วมประชุมวิสามัญ ผู้ถือหุ้น ในวันที่ 9 ธันวาคม 2559 และให้ รวบรวมราย ชื่อผู้ถือหุ้นตามมาตรา 225 โดยวิธีปิดสมุดทะเบียน และพักการโอนหุ้นใน วันที่ 13 ธันวาคม 2559 ความท้ าทายกับการปรั บตัวครั ง้ ใหม่ ภาย ใต้ หวั เรือใหญ่ “กลุ่มสิริวฒ ั นภักดี” ราชาเทกโอเว่ อร์ เมืองไทย ได้ เริ่ มขึน้ แล้ วกับธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ และ ทีวีดจิ ติ อลของเมืองไทย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

101


PRINT TECHNOLOGY

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

PRINT TECHNOLOGY

3น�ำออฟฟิขั้นศสู่ยตอน ุคดิจิตอล โดย..คุณกิติกร นงค์สวัสดิ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เสร็ จแล้ วก็โยนทิ ้ง ซึง่ ค่าเฉลี่ยของพนักงานในองค์กร 1 คน จะผลิตเอกสารประมาณ 10,000 แผ่น หรื อประมาณ 20 รี ม ต่อปี และ 45% ของกระดาษทัว่ โลกทีถ่ กู พิมพ์ออกมา สุดท้ าย แล้ วจะอยูใ่ นถังขยะ

>

ปั จ จุ บัน นี ม้ ี ห ลายองค์ ก รที่ก�ำ ลั ง เผชิ ญ ความ ท้ าทาย จากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยียคุ ดิจติ อล ไม่ ว่าจะเป็ นเรื่ องของคลาวด์ โมบิลิตี ้ ดิจิตอลทรานส์ ฟอร์ เมชั่นบิก๊ ดาต้ า ซึ่งสอดคล้ องกับนโยบายของรัฐบาล ที่เข้ ามาผลักดันในเรื่องของดิจติ อลไทยแลนด์ ท�ำให้ ไม่ ช้ าก็เร็วสิ่งเหล่ านีเ้ ป็ นเรื่องที่จะเข้ ามาใกล้ ตวั มากยิ่งขึน้ หรือบางครัง้ เข้ ามาแล้ วแต่ไม่ ทนั รู้ตวั จนท�ำให้เสียโอกาส ในการได้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีสมัยใหม่

102

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ดังนัน้ น่าจะเป็ นเรื่องทีด่ หี ากว่าองค์กร ต่า งๆ เตรี ย มพร้ อมรั บ มื อ ความท้ า ทายของ เทคโนโลยีไว้ ล่วงหน้ า เพื่อที่จะเป็ นการสร้ าง ศักยภาพผลักดันให้ องค์กรก้ าวขึ ้นมาเป็ นผู้น�ำ ในตลาด พร้ อมแข่งขันกันในโลกธุรกิจ ในยุคที่หลาย ๆ องค์กรต้ องการเป็ น ออฟฟิ ศดิจิตอล หรื อ Digital Workplaces สิ่ ง แรกที่ อ ยากให้ เป็ นจุ ด เริ่ มต้ นของการ เปลีย่ นแปลง คือ การท�ำงานกับกระดาษ หลาย องค์กรมีต้นทุนทางธุรกิจที่เกิดจากกระดาษที่ ค่อนข้ างสูง มีปัญหาในเรื่ องการจัดเก็บ การ รักษาความปลอดภัยของข้ อมูล ซึ่งที่จริ งแล้ ว

เอกสารไม่ได้ ถูกสร้ างขึน้ มาให้ อยู่ในรู ปแบบ ของกระดาษ เพราะมันเป็ นดิจิตอลตังแต่ ้ ต้น เราจัดเก็บเอกสารในรู ปแบบไฟล์ไว้ ในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แล้ วจึงสัง่ พิมพ์ออกมา ทังนี ้ ้ การ พิมพ์เอกสารไม่ใช่เรื่ องผิด แต่ท�ำอย่างไรจึงจะ เชื่อมโยงการพิมพ์ เอกสารที่เป็ นกระดาษกับ เอกสารในรูปแบบดิจิตอลเข้ าด้ วยกันได้ จากตัวเลขส�ำรวจข้ อมูลในอเมริกา ระบุ ว่า ในแต่ละปี มีจำ� นวนเอกสารทีถ่ กู ผลิตออกมา จากการพิมพ์ประมาณ 72,000 หน้ าต่อเดือนใน องค์กรขนาดใหญ่ ซึง่ 80% ของตัวเลขนี ถู้ กผลิต ออกมาเพื่อใช้ ในการฝึ กอบรม การประชุม เมื่อ

“ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ ” จึ ง คิ ด วิ ธี ว่ า จะท� ำ อย่ า งไรให้ ผลิตเอกสารออกมาแล้ วไม่ เป็ น Bad Paper โดยน� ำ เทคโนโลยีมาช่ วย คือ พิมพ์ ให้ น้อยแต่ เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด และการท�ำงานยังลื่นไหลไปได้ ด้วยดี หรื อดีกว่ า เดิม ด้ วย 3 ขั้นตอน ดังต่ อไปนี้ 1. Optimize Print Assets คือการเลือกใช้ เทคโนโลยี ของเครื่องดิจติ อลมัลติฟังก์ชนั่ ซึง่ แปรสภาพมาจากเครื่องถ่าย เอกสาร ทีส่ ามารถเชือ่ มต่อกับระบบเน็ตเวิร์คและรับข้ อมูลผ่าน กระบวนการต่างๆ แล้ วพิมพ์ออกมา สามารถส่งแฟกซ์ได้ ถ่าย เอกสารได้ จากในอดีตที่หนึง่ องค์กรจะต้ องมีทงเครื ั ้ ่ องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องแสกน เครื่องแฟกซ์ หรืออืน่ ๆ ซึง่ เป็ นการสิ ้นเปลือง ทังในเรื ้ ่องของค่าใช้ จา่ ยในการบ�ำรุงรักษา พื ้นทีใ่ ช้ สอย พลังงาน ฉะนัน้ การทีเ่ ราต้ องการลดค่าใช้ จา่ ยจาก การพิมพ์ อันดับแรกจึงต้ อง Optimize หรือเพิม่ ประสิทธิภาพ อุปกรณ์เหล่านี ้เสียก่อน นัน่ คือท�ำให้ เหลืออุปกรณ์น้อยชิ ้นทีส่ ดุ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

103


PRINT TECHNOLOGY

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

PRINT TECHNOLOGY

3น�ำออฟฟิขั้นศสู่ยตอน ุคดิจิตอล โดย..คุณกิติกร นงค์สวัสดิ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เสร็ จแล้ วก็โยนทิ ้ง ซึง่ ค่าเฉลี่ยของพนักงานในองค์กร 1 คน จะผลิตเอกสารประมาณ 10,000 แผ่น หรื อประมาณ 20 รี ม ต่อปี และ 45% ของกระดาษทัว่ โลกทีถ่ กู พิมพ์ออกมา สุดท้ าย แล้ วจะอยูใ่ นถังขยะ

>

ปั จ จุ บัน นี ม้ ี ห ลายองค์ ก รที่ก�ำ ลั ง เผชิ ญ ความ ท้ าทาย จากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยียคุ ดิจติ อล ไม่ ว่าจะเป็ นเรื่ องของคลาวด์ โมบิลิตี ้ ดิจิตอลทรานส์ ฟอร์ เมชั่นบิก๊ ดาต้ า ซึ่งสอดคล้ องกับนโยบายของรัฐบาล ที่เข้ ามาผลักดันในเรื่องของดิจติ อลไทยแลนด์ ท�ำให้ ไม่ ช้ าก็เร็วสิ่งเหล่ านีเ้ ป็ นเรื่องที่จะเข้ ามาใกล้ ตวั มากยิ่งขึน้ หรือบางครัง้ เข้ ามาแล้ วแต่ไม่ ทนั รู้ตวั จนท�ำให้เสียโอกาส ในการได้ ประโยชน์ จากเทคโนโลยีสมัยใหม่

102

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ดังนัน้ น่าจะเป็ นเรื่องทีด่ หี ากว่าองค์กร ต่า งๆ เตรี ย มพร้ อมรั บ มื อ ความท้ า ทายของ เทคโนโลยีไว้ ล่วงหน้ า เพื่อที่จะเป็ นการสร้ าง ศักยภาพผลักดันให้ องค์กรก้ าวขึ ้นมาเป็ นผู้น�ำ ในตลาด พร้ อมแข่งขันกันในโลกธุรกิจ ในยุคที่หลาย ๆ องค์กรต้ องการเป็ น ออฟฟิ ศดิจิตอล หรื อ Digital Workplaces สิ่ ง แรกที่ อ ยากให้ เป็ นจุ ด เริ่ มต้ นของการ เปลีย่ นแปลง คือ การท�ำงานกับกระดาษ หลาย องค์กรมีต้นทุนทางธุรกิจที่เกิดจากกระดาษที่ ค่อนข้ างสูง มีปัญหาในเรื่ องการจัดเก็บ การ รักษาความปลอดภัยของข้ อมูล ซึ่งที่จริ งแล้ ว

เอกสารไม่ได้ ถูกสร้ างขึน้ มาให้ อยู่ในรู ปแบบ ของกระดาษ เพราะมันเป็ นดิจิตอลตังแต่ ้ ต้น เราจัดเก็บเอกสารในรู ปแบบไฟล์ไว้ ในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ แล้ วจึงสัง่ พิมพ์ออกมา ทังนี ้ ้ การ พิมพ์เอกสารไม่ใช่เรื่ องผิด แต่ท�ำอย่างไรจึงจะ เชื่อมโยงการพิมพ์ เอกสารที่เป็ นกระดาษกับ เอกสารในรูปแบบดิจิตอลเข้ าด้ วยกันได้ จากตัวเลขส�ำรวจข้ อมูลในอเมริกา ระบุ ว่า ในแต่ละปี มีจำ� นวนเอกสารทีถ่ กู ผลิตออกมา จากการพิมพ์ประมาณ 72,000 หน้ าต่อเดือนใน องค์กรขนาดใหญ่ ซึง่ 80% ของตัวเลขนี ถู้ กผลิต ออกมาเพื่อใช้ ในการฝึ กอบรม การประชุม เมื่อ

“ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ ” จึ ง คิ ด วิ ธี ว่ า จะท� ำ อย่ า งไรให้ ผลิตเอกสารออกมาแล้ วไม่ เป็ น Bad Paper โดยน� ำ เทคโนโลยีมาช่ วย คือ พิมพ์ ให้ น้อยแต่ เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด และการท�ำงานยังลื่นไหลไปได้ ด้วยดี หรื อดีกว่ า เดิม ด้ วย 3 ขั้นตอน ดังต่ อไปนี้ 1. Optimize Print Assets คือการเลือกใช้ เทคโนโลยี ของเครื่องดิจติ อลมัลติฟังก์ชนั่ ซึง่ แปรสภาพมาจากเครื่องถ่าย เอกสาร ทีส่ ามารถเชือ่ มต่อกับระบบเน็ตเวิร์คและรับข้ อมูลผ่าน กระบวนการต่างๆ แล้ วพิมพ์ออกมา สามารถส่งแฟกซ์ได้ ถ่าย เอกสารได้ จากในอดีตที่หนึง่ องค์กรจะต้ องมีทงเครื ั ้ ่ องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องแสกน เครื่องแฟกซ์ หรืออืน่ ๆ ซึง่ เป็ นการสิ ้นเปลือง ทังในเรื ้ ่องของค่าใช้ จา่ ยในการบ�ำรุงรักษา พื ้นทีใ่ ช้ สอย พลังงาน ฉะนัน้ การทีเ่ ราต้ องการลดค่าใช้ จา่ ยจาก การพิมพ์ อันดับแรกจึงต้ อง Optimize หรือเพิม่ ประสิทธิภาพ อุปกรณ์เหล่านี ้เสียก่อน นัน่ คือท�ำให้ เหลืออุปกรณ์น้อยชิ ้นทีส่ ดุ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

103


PRINT TECHNOLOGY

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

คุณกิ ติกร นงค์สวัสดิ์

2. Optimize Print Usage เมื่อมีเครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ และเทคโนโลยีที่พร้ อมแล้ ว ต่อมาคือการท�ำความเข้ าใจ กับพฤติกรรมของผู้ใช้ ในองค์กรด้ วยว่า บุคลากรในองค์กร สามารถใช้ เครื่ องมัลติฟังก์ ชนั่ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพหรื อ ไม่ เพื่อให้ ท�ำงานได้ เร็วขึ ้น ประหยัดกระดาษ ประหยัดค่าใช้ จ่ายมากขึ ้น เช่น การสัง่ พิมพ์กระดาษ 2 หน้ า หรื อ พิมพ์แบ่ง 4 หน้ า ในกระดาษ 1 แผ่น หรื อ การใช้ เครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ ส่ง แฟกซ์ แทนการส่งแฟกซ์แบบเดิมที่เสียค่าใช้ จ่ายครัง้ ละ 3 บาท ซึง่ หากยังไม่ได้ ใช้ โซลูชนั่ เหล่านี ้ แปลว่ายังใช้ เครื่ องได้ ไม่เต็มประสิทธิภาพ 3. Optimize Workflow Processes หลายครัง้ ที่ การสัง่ พิมพ์เอกสารเป็ นเรื่องหลีกเลีย่ งไม่ได้ อาทิ เอกสารทาง กฎหมาย เอกสารทางบัญชี ที่จ�ำเป็ นต้ องเพิ่มเติมข้ อความ ลงลายมือชื่อ และประทับตราบริ ษัท เพื่อการด�ำเนินงาน ตามขันตอนต่ ้ อไป แต่ปัจจุบนั มีเครื่ องมืออย่าง E-Signature หรื อลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ สแกนขึ ้นไปเก็บไว้ บนระบบ เมื่อ ต้ องการใช้ งานสามารถเรี ยกข้ อมูลนันมาวางบนเอกสารได้ ้ ทันที ซึง่ E–Signature โดยทัว่ ไปสามารถใช้ งานได้ เฉพาะ ภายในองค์กร แต่หากต้ องการใช้ งานกับองค์กรภายนอก จะ ใช้ เครื่องมือทีเ่ รียกว่า Digital Signature ทีจ่ ะต้ องน�ำลายเซ็น

104

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ให้ บคุ คลที่ 3 หรื อองค์กรกลาง (Certification Authority - CA) เป็ นผู้รับรองความถูกต้ องของ ลายเซ็น และหลังจากทีล่ ายเซ็นได้ รับการรับรอง จากบุคคลที่ 3 แล้ ว ลายเซ็นนันจะสามารถตรวจ ้ สอบกลับไปยังตัวตนของเจ้ าของลายเซ็นได้ ลายเซ็ น ดัง กล่ า วจึ ง สามารถน� ำ ไป ใช้ บนเอกสารดิจติ อล และได้ รับการยอมรับเช่น เดียวกับลายเซ็นบนเอกสารที่เป็ นกระดาษ ดัง นัน้ จึงไม่มีความจ�ำเป็ นต้ องสัง่ พิมพ์เอกสาร ก็ สามารถส่งต่อเอกสารเพื่อการพิจารณาอนุมตั ิ หรือด�ำเนินงานตามขันตอนการท� ้ ำงานต่อไปได้ อย่างราบรื่ น ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั แต่ละองค์กรว่า จะ น�ำมาประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประสิทธิภาพได้ อย่างไร การท�ำให้ องค์กรเป็ นออฟฟิ ศดิจติ อลใน ระยะแรกอาจเป็ นเรื่องยาก และต้ องใช้ เวลาเพือ่ ให้ เกิดการยอมรับ เนือ่ งจากความไม่เคยชินของ บุคลากร หรื อความไม่มนั่ ใจในความปลอดภัย ของเอกสารดิจิตอล ทางฟูจิ ซีร็อกซ์ จึงมีเครื่ อง มืออย่าง Workflow Assessment Services เพื่ อ มาช่ ว ยส� ำ รวจความต้ อ งการในการใช้ อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่การลดปริ มาณการ ใช้ เครื่องพิมพ์ลงได้ หรือแม้ แต่การช่วยออกแบบ เพื่ อน� ำเครื่ องพริ น้ เตอร์ ออก แล้ วแทนที่ ด้วย เครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ เพื่อเพิ่มพื ้นที่การใช้ งานใน องค์กร ตลอดจนน�ำเทคโนโลยีมาใช้ กับบัตร พนักงานเพือ่ เข้ าสูร่ ะบบและสัง่ งานพิมพ์งาน ไม่ ว่าพนักงานจะอยู่ที่ใดในส�ำนักงาน ก็สามารถ สัง่ พิมพ์งานได้ ตลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น พนักงานสัง่ พิมพ์งาน จากออฟฟิ ศของตนเองที่ชนั ้ 5 แล้ วขึน้ ไปรับ งานพิมพ์จากเครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ บนชัน้ 13 เพื่อ ใช้ ในการประชุม ก็สามารถน�ำบัตรพนักงานไป แตะที่เครื่ องเพื่อเข้ าสูร่ ะบบ และรับงานพิมพ์ได้ ทันที จากนันระบบจะเก็ ้ บบันทึกข้ อมูลการใช้

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

PRINT TECHNOLOGY

“ฟูจิ ซีร็อกซ์ ” จัดอบรม Graphic Communication Technology งาน หรื อ Printing Profile ไว้ ในฐานข้ อมูลส่วน กลาง ท�ำให้ ทราบได้ วา่ พนักงานแต่ละคน พิมพ์ งานในปริมาณมากน้ อยแค่ไหน มีประสิทธิภาพ หรือไม่ ซึง่ วิธีเข้ าระบบด้ วยบัตรพนักงานนับเป็ น อีกวิธีที่ช่วยรักษาความปลอดภัยของข้ อมูลได้ ในระดับหนึง่ เช่นกัน เมื่อองค์ กรธุรกิจต่ างๆ ทำ� ได้ ครบ 3 ชัน้ ตอนข้ างต้ นแล้ ว ฟูจิ ซีร็อกซ์ เชื่อว่ าขัน้ ตอนในการท�ำงานจะลดลง และถึงแม้ ไม่ ได้ พมิ พ์ เอกสาร งานในองค์ กรก็ยังด�ำเนิน ไปได้ อย่ างราบรื่ นด้ วยการน� ำเทคโนโลยี มาช่ วย เพื่อความรวดเร็ ว และการเพิ่ม ผลผลิต หรือประสิทธิภาพในการท�ำงานได้ ไม่ น้อยกว่ า 20 % ตลอดจนช่ วยให้ ต้นทุน ทางเอกสารขององค์ กรลดได้ มากกว่ า 10 % แน่ นอน คุ ณ โคจิ เทสึ ก ะ ประธาน บริ ษั ท

ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำ กั ด (นั่งแถวหน้ าที่ 3 จากซ้ า ย) น� ำ ที ม ผู้บ ริ ห ารจัด อบรมหลัก สูต ร Graphic Communication Technology ให้ ความรู้ ด้านเทคโนโลยี การพิมพ์เป็ นปี ที่ 5 ติดต่อกัน เพื่อสร้ างความรู้ในภาคทฤษฎี และปฏิบตั กิ ารด้ านเทคโนโลยีการพิมพ์ให้ กบั นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 จาก 4 สถาบัน จ�ำนวน 57 คน ประกอบด้ วย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ซึง่ หวังว่าที่จะเป็ นส่วนหนึง่ ใน การสร้ างบุคลากรให้ มีความรู้ความสามารถ เพื่อตอบสนอง ความต้ องการของตลาดอุตสาหกรรมการพิมพ์ ดิจิตอลที่ ก�ำลังเติบโตได้ เป็ นอย่างดี ณ อาคารซันทาวเวอร์ เอ ถนน วิภาวดีรังสิต เมื่อเร็ ว ๆ นี ้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

105


PRINT TECHNOLOGY

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

คุณกิ ติกร นงค์สวัสดิ์

2. Optimize Print Usage เมื่อมีเครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ และเทคโนโลยีที่พร้ อมแล้ ว ต่อมาคือการท�ำความเข้ าใจ กับพฤติกรรมของผู้ใช้ ในองค์กรด้ วยว่า บุคลากรในองค์กร สามารถใช้ เครื่ องมัลติฟังก์ ชนั่ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพหรื อ ไม่ เพื่อให้ ท�ำงานได้ เร็วขึ ้น ประหยัดกระดาษ ประหยัดค่าใช้ จ่ายมากขึ ้น เช่น การสัง่ พิมพ์กระดาษ 2 หน้ า หรื อ พิมพ์แบ่ง 4 หน้ า ในกระดาษ 1 แผ่น หรื อ การใช้ เครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ ส่ง แฟกซ์ แทนการส่งแฟกซ์แบบเดิมที่เสียค่าใช้ จ่ายครัง้ ละ 3 บาท ซึง่ หากยังไม่ได้ ใช้ โซลูชนั่ เหล่านี ้ แปลว่ายังใช้ เครื่ องได้ ไม่เต็มประสิทธิภาพ 3. Optimize Workflow Processes หลายครัง้ ที่ การสัง่ พิมพ์เอกสารเป็ นเรื่องหลีกเลีย่ งไม่ได้ อาทิ เอกสารทาง กฎหมาย เอกสารทางบัญชี ที่จ�ำเป็ นต้ องเพิ่มเติมข้ อความ ลงลายมือชื่อ และประทับตราบริ ษัท เพื่อการด�ำเนินงาน ตามขันตอนต่ ้ อไป แต่ปัจจุบนั มีเครื่ องมืออย่าง E-Signature หรื อลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ สแกนขึ ้นไปเก็บไว้ บนระบบ เมื่อ ต้ องการใช้ งานสามารถเรี ยกข้ อมูลนันมาวางบนเอกสารได้ ้ ทันที ซึง่ E–Signature โดยทัว่ ไปสามารถใช้ งานได้ เฉพาะ ภายในองค์กร แต่หากต้ องการใช้ งานกับองค์กรภายนอก จะ ใช้ เครื่องมือทีเ่ รียกว่า Digital Signature ทีจ่ ะต้ องน�ำลายเซ็น

104

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ให้ บคุ คลที่ 3 หรื อองค์กรกลาง (Certification Authority - CA) เป็ นผู้รับรองความถูกต้ องของ ลายเซ็น และหลังจากทีล่ ายเซ็นได้ รับการรับรอง จากบุคคลที่ 3 แล้ ว ลายเซ็นนันจะสามารถตรวจ ้ สอบกลับไปยังตัวตนของเจ้ าของลายเซ็นได้ ลายเซ็ น ดัง กล่ า วจึ ง สามารถน� ำ ไป ใช้ บนเอกสารดิจติ อล และได้ รับการยอมรับเช่น เดียวกับลายเซ็นบนเอกสารที่เป็ นกระดาษ ดัง นัน้ จึงไม่มีความจ�ำเป็ นต้ องสัง่ พิมพ์เอกสาร ก็ สามารถส่งต่อเอกสารเพื่อการพิจารณาอนุมตั ิ หรือด�ำเนินงานตามขันตอนการท� ้ ำงานต่อไปได้ อย่างราบรื่ น ทังนี ้ ้ ขึ ้นอยูก่ บั แต่ละองค์กรว่า จะ น�ำมาประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประสิทธิภาพได้ อย่างไร การท�ำให้ องค์กรเป็ นออฟฟิ ศดิจติ อลใน ระยะแรกอาจเป็ นเรื่องยาก และต้ องใช้ เวลาเพือ่ ให้ เกิดการยอมรับ เนือ่ งจากความไม่เคยชินของ บุคลากร หรื อความไม่มนั่ ใจในความปลอดภัย ของเอกสารดิจิตอล ทางฟูจิ ซีร็อกซ์ จึงมีเครื่ อง มืออย่าง Workflow Assessment Services เพื่ อ มาช่ ว ยส� ำ รวจความต้ อ งการในการใช้ อุปกรณ์ต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่การลดปริ มาณการ ใช้ เครื่องพิมพ์ลงได้ หรือแม้ แต่การช่วยออกแบบ เพื่ อน� ำเครื่ องพริ น้ เตอร์ ออก แล้ วแทนที่ ด้วย เครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ เพื่อเพิ่มพื ้นที่การใช้ งานใน องค์กร ตลอดจนน�ำเทคโนโลยีมาใช้ กับบัตร พนักงานเพือ่ เข้ าสูร่ ะบบและสัง่ งานพิมพ์งาน ไม่ ว่าพนักงานจะอยู่ที่ใดในส�ำนักงาน ก็สามารถ สัง่ พิมพ์งานได้ ตลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น พนักงานสัง่ พิมพ์งาน จากออฟฟิ ศของตนเองที่ชนั ้ 5 แล้ วขึน้ ไปรับ งานพิมพ์จากเครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ บนชัน้ 13 เพื่อ ใช้ ในการประชุม ก็สามารถน�ำบัตรพนักงานไป แตะที่เครื่ องเพื่อเข้ าสูร่ ะบบ และรับงานพิมพ์ได้ ทันที จากนันระบบจะเก็ ้ บบันทึกข้ อมูลการใช้

3 ขั้นตอน่น�ำออฟฟิศสู่ยุคดิจิตอล

PRINT TECHNOLOGY

“ฟูจิ ซีร็อกซ์ ” จัดอบรม Graphic Communication Technology งาน หรื อ Printing Profile ไว้ ในฐานข้ อมูลส่วน กลาง ท�ำให้ ทราบได้ วา่ พนักงานแต่ละคน พิมพ์ งานในปริมาณมากน้ อยแค่ไหน มีประสิทธิภาพ หรือไม่ ซึง่ วิธีเข้ าระบบด้ วยบัตรพนักงานนับเป็ น อีกวิธีที่ช่วยรักษาความปลอดภัยของข้ อมูลได้ ในระดับหนึง่ เช่นกัน เมื่อองค์ กรธุรกิจต่ างๆ ทำ� ได้ ครบ 3 ชัน้ ตอนข้ างต้ นแล้ ว ฟูจิ ซีร็อกซ์ เชื่อว่ าขัน้ ตอนในการท�ำงานจะลดลง และถึงแม้ ไม่ ได้ พมิ พ์ เอกสาร งานในองค์ กรก็ยังด�ำเนิน ไปได้ อย่ างราบรื่ นด้ วยการน� ำเทคโนโลยี มาช่ วย เพื่อความรวดเร็ ว และการเพิ่ม ผลผลิต หรือประสิทธิภาพในการท�ำงานได้ ไม่ น้อยกว่ า 20 % ตลอดจนช่ วยให้ ต้นทุน ทางเอกสารขององค์ กรลดได้ มากกว่ า 10 % แน่ นอน คุ ณ โคจิ เทสึ ก ะ ประธาน บริ ษั ท

ฟู จิ ซี ร็ อ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำ กั ด (นั่งแถวหน้ าที่ 3 จากซ้ า ย) น� ำ ที ม ผู้บ ริ ห ารจัด อบรมหลัก สูต ร Graphic Communication Technology ให้ ความรู้ ด้านเทคโนโลยี การพิมพ์เป็ นปี ที่ 5 ติดต่อกัน เพื่อสร้ างความรู้ในภาคทฤษฎี และปฏิบตั กิ ารด้ านเทคโนโลยีการพิมพ์ให้ กบั นักศึกษาชันปี ้ ที่ 4 จาก 4 สถาบัน จ�ำนวน 57 คน ประกอบด้ วย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ซึง่ หวังว่าที่จะเป็ นส่วนหนึง่ ใน การสร้ างบุคลากรให้ มีความรู้ความสามารถ เพื่อตอบสนอง ความต้ องการของตลาดอุตสาหกรรมการพิมพ์ ดิจิตอลที่ ก�ำลังเติบโตได้ เป็ นอย่างดี ณ อาคารซันทาวเวอร์ เอ ถนน วิภาวดีรังสิต เมื่อเร็ ว ๆ นี ้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

105


PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าว ช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์ ปั ญ

ห า ร า ค า ข้ า ว ต ก ต�่ ำ จ น เ กิ ด ก ร ะ แ ส ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ช า ว น า หั น ม า ข า ย ข้ า ว ส า ร โดยตรง โดยไม่ ต้องผ่ านพ่ อค้ า คนกลาง ท� ำ ให้ เกิ ด จิ ต อาสา หลากหลายอาชี พ พร้ อมใจ กั น ยื่ น มื อ ช่ วยเหลื อ ไม่ ว่ าจะ เป็ นดาราศิ ล ปิ น นั ก ออกแบบ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ รวมไปถึ ง องค์ กร น้ อยใหญ่ ต่างๆ และหนึ่งในนัน้ ก็ คื อ “สมาคมการพิ ม พ์ ไทย” กระแสฟี เวอร์ เกิดขึ ้นแค่ 3 วันแรก มีผ้ สู นใจเข้ ามาดู Facebook โครงการ Thai Print for Thai Farmers กว่ า 3 หมื่ น ราย ซึ่ง สมาคมการ พิมพ์ ไทยจัดท� ำขึน้ ตัง้ แต่ต้นเดือน พฤศจิกายน – 22 มกราคม 2560 โ ด ย มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ พิ ม พ์ สติ๊ ก เกอร์ ส� ำ หรั บ ติ ด บนถุ ง ข้ าว พร้ อมจัดส่งถึงมือชาวนาโดยไม่คิด ค่าใช้ จา่ ยแต่อย่างใดทังสิ ้ ้น ไม่จำ� กัด จ� ำ นวนว่ า จะเป็ นกี่ ร าย เพี ย งแค่

106

ชาวนาติดต่อผ่านทางเฟสบุ๊ค www. facebook.com/ The Thai Printing Association เพื่อจัดส่งแบบพร้ อม เลือกขนาด A5 หรื อ A6 ขนาดใด ขนาดหนึง่ เท่านัน้ คุณพงศ์ ธีระ พัฒนพีระ เดช อุปนายกสมาคมการพิมพ์ไทย ในฐานะประธานโครงการ บอก ถึงทีม่ าทีไ่ ปว่า เนือ่ งด้ วยเห็นจากข่าว ว่า ชาวนาขายข้ าวไม่ได้ ราคา ราคา ตก ประกอบกับเห็นข่าวทางทีวแี ละ หนังสือพิมพ์วา่ มีหลายฝ่ ายต่างออก

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มาช่วยชาวนา เช่น ดารา-นักร้ อง ได้ โ พสต์ ใ นไอจี ใ ห้ ชาวนาเข้ าไป โพสต์ขายข้ าวในไอจีตนเองได้ ขณะ เดียวกันก็มีองค์กรอย่างเช่น ปตท. ได้ เปิ ดพื ้นที่ในปั๊ มน� ้ำมันให้ ชาวนา ไปขายข้ าวได้ ฟรี หรื อมหาวิทยาลัย รังสิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ก็เปิ ด พื ้นทีใ่ ห้ ไปขายข้ าวได้ เช่นกัน ฯลฯ “ตรงนี ้ เ ราก็ คิ ด ในฐานะ คณะท� ำงานของสมาคมการพิ มพ์ ไทยว่า จะสามารถมี ส่วนร่ วมช่วย อะไรได้ บ้ า ง ถ้ า ชาวนาบรรจุ ถุ ง ข้าวเอง เรารู้ เลยว่าหน้าตาถุงข้าว จะเป็ นถุง พลาสติ ก ใสทั่ว ไป มัด ด้ ว ยหนัง ยาง เราจึ ง มองว่ า จุ ด นัน้ เป็ นการช่ ว ยระยะสัน้ ชาวนา

เอามาขาย ผ่านแล้วผ่านเลย ถ้า ผู้บริ โภคเอาข้าวมาทานแล้วอร่ อย รู้ สึกประทับใจ อยากซื ้อซ�้ ำจะซื ้อ ที ไ่ หนดี กลับไปก็ไม่เจอชาวนาคน เดิ มแล้ว เนือ่ งจากไม่เกิ ดการสร้าง แบรนด์และการสือ่ สารกับผูบ้ ริ โภค” ฉะนัน้ จุดนี ้ถ้ าทางสมาคมฯ จะช่ ว ย ก็ ค วรช่ ว ยให้ เป็ นระบบ ประกอบกั บ เห็ น ว่ า มี ก ลุ่ ม นั ก ออกแบบผลิตภัณฑ์ หรื อกราฟฟิ ค ดีไซเนอร์ ได้ รวมตัวกันแบบจิตอาสา ท� ำ การออกแบบฉลากและบรรจุ

ภัณฑ์ให้ ชาวนาฟรีหลายกลุม่ ด้ วยกัน อาทิ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ ไทย (THAI GRAPHIC DESIGNERS ASSOCIATION) , กลุ่มออกแบบ ‘ให้ ” ฯลฯ ซึง่ โลดแล่นในโซเชีย่ ลมีเดีย ก็ได้ ให้ ชาวนาโทรหรือเข้ าไปโพสต์ใน เฟสบุ๊ค เพื่อให้ ช่วยออกแบบฉลาก

และบรรจุภณ ั ฑ์ข้าว แต่ปรากฏว่าไม่จบขันตอน ้ เพราะว่าต่างคนต่างออกแบบ บางที ก็ออกแบบเป็ นสติ๊กเกอร์ ดวงเล็กๆ บางทีกอ็ อกแบบเป็ นถุงข้ าว จากนัน้ พอส่งแบบกลับไปให้ ชาวนา ทาง ชาวนาก็ต้องไปติดต่อหาโรงพิมพ์เอง และโรงพิมพ์ทจี่ ะรับงานส่วนใหญ่นนั ้ การสัง่ พิมพ์ก็ต้องมีขนต� ั ้ ่ำหลักหมื่น ขึ ้นไป เนือ่ งจากว่า ทางโรงพิมพ์ต้อง ขึน้ โมท�ำแม่แบบก่อนท�ำการพิมพ์ เมือ่ เป็ นอย่างนันชาวนาก็ ้ ไม่สามารถ น�ำแบบไปพิมพ์ได้ ดังนั น้ ในฐานะสมาคม ก า ร พิ ม พ์ ไ ท ย ค ว ร ท� ำ ใ ห้ กระบวนการตรงนี จ้ บเสร็ จ สิน้ สมบูรณ์ คือ พิมพ์ เป็ นสติก๊ เกอร์

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

107


PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าว ช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์ ปั ญ

ห า ร า ค า ข้ า ว ต ก ต�่ ำ จ น เ กิ ด ก ร ะ แ ส ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ช า ว น า หั น ม า ข า ย ข้ า ว ส า ร โดยตรง โดยไม่ ต้องผ่ านพ่ อค้ า คนกลาง ท� ำ ให้ เกิ ด จิ ต อาสา หลากหลายอาชี พ พร้ อมใจ กั น ยื่ น มื อ ช่ วยเหลื อ ไม่ ว่ าจะ เป็ นดาราศิ ล ปิ น นั ก ออกแบบ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ รวมไปถึ ง องค์ กร น้ อยใหญ่ ต่างๆ และหนึ่งในนัน้ ก็ คื อ “สมาคมการพิ ม พ์ ไทย” กระแสฟี เวอร์ เกิดขึ ้นแค่ 3 วันแรก มีผ้ สู นใจเข้ ามาดู Facebook โครงการ Thai Print for Thai Farmers กว่ า 3 หมื่ น ราย ซึ่ง สมาคมการ พิมพ์ ไทยจัดท� ำขึน้ ตัง้ แต่ต้นเดือน พฤศจิกายน – 22 มกราคม 2560 โ ด ย มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ พิ ม พ์ สติ๊ ก เกอร์ ส� ำ หรั บ ติ ด บนถุ ง ข้ าว พร้ อมจัดส่งถึงมือชาวนาโดยไม่คิด ค่าใช้ จา่ ยแต่อย่างใดทังสิ ้ ้น ไม่จำ� กัด จ� ำ นวนว่ า จะเป็ นกี่ ร าย เพี ย งแค่

106

ชาวนาติดต่อผ่านทางเฟสบุ๊ค www. facebook.com/ The Thai Printing Association เพื่อจัดส่งแบบพร้ อม เลือกขนาด A5 หรื อ A6 ขนาดใด ขนาดหนึง่ เท่านัน้ คุณพงศ์ ธีระ พัฒนพีระ เดช อุปนายกสมาคมการพิมพ์ไทย ในฐานะประธานโครงการ บอก ถึงทีม่ าทีไ่ ปว่า เนือ่ งด้ วยเห็นจากข่าว ว่า ชาวนาขายข้ าวไม่ได้ ราคา ราคา ตก ประกอบกับเห็นข่าวทางทีวแี ละ หนังสือพิมพ์วา่ มีหลายฝ่ ายต่างออก

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

มาช่วยชาวนา เช่น ดารา-นักร้ อง ได้ โ พสต์ ใ นไอจี ใ ห้ ชาวนาเข้ าไป โพสต์ขายข้ าวในไอจีตนเองได้ ขณะ เดียวกันก็มีองค์กรอย่างเช่น ปตท. ได้ เปิ ดพื ้นที่ในปั๊ มน� ้ำมันให้ ชาวนา ไปขายข้ าวได้ ฟรี หรื อมหาวิทยาลัย รังสิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ก็เปิ ด พื ้นทีใ่ ห้ ไปขายข้ าวได้ เช่นกัน ฯลฯ “ตรงนี ้ เ ราก็ คิ ด ในฐานะ คณะท� ำงานของสมาคมการพิ มพ์ ไทยว่า จะสามารถมี ส่วนร่ วมช่วย อะไรได้ บ้ า ง ถ้ า ชาวนาบรรจุ ถุ ง ข้าวเอง เรารู้ เลยว่าหน้าตาถุงข้าว จะเป็ นถุง พลาสติ ก ใสทั่ว ไป มัด ด้ ว ยหนัง ยาง เราจึ ง มองว่ า จุ ด นัน้ เป็ นการช่ ว ยระยะสัน้ ชาวนา

เอามาขาย ผ่านแล้วผ่านเลย ถ้า ผู้บริ โภคเอาข้าวมาทานแล้วอร่ อย รู้ สึกประทับใจ อยากซื ้อซ�้ ำจะซื ้อ ที ไ่ หนดี กลับไปก็ไม่เจอชาวนาคน เดิ มแล้ว เนือ่ งจากไม่เกิ ดการสร้าง แบรนด์และการสือ่ สารกับผูบ้ ริ โภค” ฉะนัน้ จุดนี ้ถ้ าทางสมาคมฯ จะช่ ว ย ก็ ค วรช่ ว ยให้ เป็ นระบบ ประกอบกั บ เห็ น ว่ า มี ก ลุ่ ม นั ก ออกแบบผลิตภัณฑ์ หรื อกราฟฟิ ค ดีไซเนอร์ ได้ รวมตัวกันแบบจิตอาสา ท� ำ การออกแบบฉลากและบรรจุ

ภัณฑ์ให้ ชาวนาฟรีหลายกลุม่ ด้ วยกัน อาทิ สมาคมนักออกแบบเรขศิลป์ ไทย (THAI GRAPHIC DESIGNERS ASSOCIATION) , กลุ่มออกแบบ ‘ให้ ” ฯลฯ ซึง่ โลดแล่นในโซเชีย่ ลมีเดีย ก็ได้ ให้ ชาวนาโทรหรือเข้ าไปโพสต์ใน เฟสบุ๊ค เพื่อให้ ช่วยออกแบบฉลาก

และบรรจุภณ ั ฑ์ข้าว แต่ปรากฏว่าไม่จบขันตอน ้ เพราะว่าต่างคนต่างออกแบบ บางที ก็ออกแบบเป็ นสติ๊กเกอร์ ดวงเล็กๆ บางทีกอ็ อกแบบเป็ นถุงข้ าว จากนัน้ พอส่งแบบกลับไปให้ ชาวนา ทาง ชาวนาก็ต้องไปติดต่อหาโรงพิมพ์เอง และโรงพิมพ์ทจี่ ะรับงานส่วนใหญ่นนั ้ การสัง่ พิมพ์ก็ต้องมีขนต� ั ้ ่ำหลักหมื่น ขึ ้นไป เนือ่ งจากว่า ทางโรงพิมพ์ต้อง ขึน้ โมท�ำแม่แบบก่อนท�ำการพิมพ์ เมือ่ เป็ นอย่างนันชาวนาก็ ้ ไม่สามารถ น�ำแบบไปพิมพ์ได้ ดังนั น้ ในฐานะสมาคม ก า ร พิ ม พ์ ไ ท ย ค ว ร ท� ำ ใ ห้ กระบวนการตรงนี จ้ บเสร็ จ สิน้ สมบูรณ์ คือ พิมพ์ เป็ นสติก๊ เกอร์

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

107


PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

เอาไปให้ ชาวนาถึงมือสามารถใช้ งานทันทีและใช้ สร้ างแบรนด์ ได้ ขันตอนการท� ้ ำงานคือ ให้ ชาวนาติดต่อผ่านเฟส บุ๊คของสมาคมการพิมพ์ไทยคือ www.facebook.com/ The Thai Printing Association เพื่อจัดส่งแบบและ เลือกขนาดส�ำหรับพิมพ์ขนาดใดขนาดหนึง่ ระหว่าง A6 (105 x 148 มม.) พิมพ์ให้ ฟรี จ�ำนวน 200 ชิ ้น ต่อชาวนา 1 ราย เหมาะส�ำหรับติดถุงข้ าวขนาด 1- 5 กิโลกรัม หรื อ A5 (148 x 210 มม.) พิมพ์ให้ ฟรี จ�ำนวน 100 ชิ ้น ต่อ ชาวนา 1 ราย เหมาะส�ำหรับติดถุงข้ าวขนาด 5 กิโลกรัม ขึ ้นไป “ชาวนาบรรจุถงุ ข้ าวเองได้ จึงพิมพ์สติกเกอร์ ติดถุงให้ ดีกว่า โดยให้ กราฟฟิ คดีไซน์จิตอาสาทังหลาย ้ ส่งโลโก้ หรื อแบบที่ออกแบบแล้ วส่งมาที่สมาคมฯ หลัง จากนันทางสมาคมฯ ้ จะพิมพ์ให้ เสร็ จพร้ อมใช้ โดย ประสานกับพันธมิตรของเรา ซึ่งได้ รับการสนับสนุน ด้ านวัตถุดิบสติ๊กเกอร์ จาก บริ ษัท พีเอ็มซี ลาเบล แมททีเรี ยล จ�ำกัด ซึ่งให้ สติ๊กเกอร์ ฟรี ทงหมด ั้ แล้ ว ก็ได้ ความร่วมมือจาก บริษัท โคนิก้า-มินอลต้ า บิสซิ เนสโซลูช่ ัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยคุณอุกฤษฏ์

108

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ตัง้ อุทัยสุข ผู้จดั การส่วนผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์และ ทีมงาน ใช้ เครื่ องพิมพ์ที่จะท�ำศูนย์ Digital Training Center ร่วมกับสมาคมฯ พิมพ์ให้ ฟรี เช่นกัน พร้ อมตัด แต่งไดคัท จนสามารถน�ำไปติดบนถุงข้ าวได้ ทนั ที โดย จัดส่งทางไปรษณีย์ถงึ มือชาวนาเลย” ส�ำหรับสาเหตุที่ก�ำหนดจ�ำนวนจ�ำกัดในการ พิมพ์ให้ ฟรี เนื่องจากทางสมาคมฯ มีความมุ่งมัน่ และ ตังใจดี ้ ทจี่ ะช่วยเหลือชาวนาให้ ได้ มากทีส่ ดุ แต่เมือ่ หมด ระยะเวลาการด�ำเนินงานของโครงการแล้ ว ก็พยายาม มองหาและหารื อกันว่า จะมีการช่วยเหลือชาวนาใน ล�ำดับต่อไปได้ อย่างไรบ้ าง โดยในส่วนของสมาคมการ พิมพ์ไทย ก็มีสมาชิกอยูท่ วั่ ประเทศกว่าพันราย เพราะ ฉะนัน้ เราจะดูว่า ในจ�ำนวนดังกล่าวมีรายไหนบ้ างที่ มีเครื่ องพิมพ์ระบบดิจิตอล ก็จะขอความร่ วมมือพิมพ์ สติ๊กเกอร์ ขนาดมาตรฐานข้ างต้ นให้ ชาวนาในราคา พิเศษ ซึง่ เชื่อว่าชาวนาจะรู้สกึ ว่า การติดสติก๊ เกอร์ ลงไป บนถุงข้ าว เป็ นการเพิ่มโอกาสในการขาย และเป็ นการ เพิ่มมูลค่าและการสร้ างแบรนด์ให้ แก่ข้าวที่ขาย “ในอนาคตชาวนาจะเริ่ มมองฉลากหรื อบรรจุ ภัณฑ์เป็ นสิง่ ส�ำคัญของสินค้ า จากเดิมขายเป็ นกระสอบ

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

พอเริ่ มติดสติ๊กเกอร์ เข้ าไปต้ องมาคิดว่า บนสติ๊กเกอร์ ต้ องมีข้อความอะไรมาโฆษณา หรื อบรรยายคุณสมบัติ ประโยชน์ของข้ าวบ้ าง แต่ละรายจะเริ่มแข่งกันแล้ ว เช่น ข้ าวของฉันในจังหวัดเพชรบูรณ์มีคณ ุ สมบัตอิ ย่างไร ไม่ ใช้ สารเคมี ไม่มยี าฆ่าแมลง บริโภคปลอดภัย สร้ างสตอรี่ ขึ ้นมา อย่างน้ อยเริ่มสร้ างยี่ห้อตัวเองเป็ นแล้ ว จากปกติ เกี่ยวข้ าวเสร็ จขายไปกองรวมกันอยู่โรงสี ปนกับข้ าว ชาวนาคนอื่น จึงไม่เกิดความรู้สกึ รับผิดชอบ แต่เมื่อมี แบรนด์ตวั เอง จึงต้ องพัฒนาและรับผิดชอบต่อข้ าวสาร ของตนเอง โครงการ Thaiprint for Thai Farmers ได้เพิม่ การ ท�ำงานช่วยชาวนาให้เป็ นระบบ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานฉลากสติก๊ เกอร์ ให้ เกิดผลสมบูรณ์ จาก นั น้ ก็จะก่ อให้ เกิดการจ้ างงาน การสร้ างงานใน อุตสาหกรรม ตัง้ แต่ต้นน�ำ้ จนถึงปลายน�ำ้ เลย จริงๆ ต้ องบอกว่ า ครัง้ แรกในส่ วนของสมาคมฯ คาดหวัง ว่ าจะเป็ นกราฟฟิ คดีไซเนอร์ เท่ านัน้ ที่ตดิ ต่ อเข้ ามา แต่กลับปรากฏว่ า มีชาวนาติดต่อเข้ ามาเองด้วย

PRINT REPORT

จะเห็นว่า ณ วันนี ้ชาวนามีเฟสบุ๊คเป็ นของตัว เอง ใช้ สื่อสารกับสังคมออนไลน์ หรื อแม้ แต่ลกู หลาน ที่อยากท�ำสติ๊กเกอร์ ขายข้ าวช่วยคุณพ่อคุณแม่ คุณ ตาคุณยาย ก็มีติดต่อเข้ ามาจ�ำนวนมาก หรื ออยากใช้ บริ การด้ านการออกแบบ ก็แนะน�ำให้ ติดต่อกราฟฟิ ค ดีไซเนอร์ จติ อาสา ทีม่ กี ารติดต่อมากับสมาคมฯ อยูก่ อ่ น แล้ ว ยกตัวอย่างเช่น คณะมีเดียอาร์ ต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ซึง่ มี อาจารย์ บุญเลีย้ ง แก้ วนาพันธุ์ พร้ อมมีทีมนักศึกษาลูกศิษย์พร้ อมช่วย ออกแบบให้ เราด้ วย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

109


PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

เอาไปให้ ชาวนาถึงมือสามารถใช้ งานทันทีและใช้ สร้ างแบรนด์ ได้ ขันตอนการท� ้ ำงานคือ ให้ ชาวนาติดต่อผ่านเฟส บุ๊คของสมาคมการพิมพ์ไทยคือ www.facebook.com/ The Thai Printing Association เพื่อจัดส่งแบบและ เลือกขนาดส�ำหรับพิมพ์ขนาดใดขนาดหนึง่ ระหว่าง A6 (105 x 148 มม.) พิมพ์ให้ ฟรี จ�ำนวน 200 ชิ ้น ต่อชาวนา 1 ราย เหมาะส�ำหรับติดถุงข้ าวขนาด 1- 5 กิโลกรัม หรื อ A5 (148 x 210 มม.) พิมพ์ให้ ฟรี จ�ำนวน 100 ชิ ้น ต่อ ชาวนา 1 ราย เหมาะส�ำหรับติดถุงข้ าวขนาด 5 กิโลกรัม ขึ ้นไป “ชาวนาบรรจุถงุ ข้ าวเองได้ จึงพิมพ์สติกเกอร์ ติดถุงให้ ดีกว่า โดยให้ กราฟฟิ คดีไซน์จิตอาสาทังหลาย ้ ส่งโลโก้ หรื อแบบที่ออกแบบแล้ วส่งมาที่สมาคมฯ หลัง จากนันทางสมาคมฯ ้ จะพิมพ์ให้ เสร็ จพร้ อมใช้ โดย ประสานกับพันธมิตรของเรา ซึ่งได้ รับการสนับสนุน ด้ านวัตถุดิบสติ๊กเกอร์ จาก บริ ษัท พีเอ็มซี ลาเบล แมททีเรี ยล จ�ำกัด ซึ่งให้ สติ๊กเกอร์ ฟรี ทงหมด ั้ แล้ ว ก็ได้ ความร่วมมือจาก บริษัท โคนิก้า-มินอลต้ า บิสซิ เนสโซลูช่ ัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดยคุณอุกฤษฏ์

108

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ตัง้ อุทัยสุข ผู้จดั การส่วนผลิตภัณฑ์เครื่ องพิมพ์และ ทีมงาน ใช้ เครื่ องพิมพ์ที่จะท�ำศูนย์ Digital Training Center ร่วมกับสมาคมฯ พิมพ์ให้ ฟรี เช่นกัน พร้ อมตัด แต่งไดคัท จนสามารถน�ำไปติดบนถุงข้ าวได้ ทนั ที โดย จัดส่งทางไปรษณีย์ถงึ มือชาวนาเลย” ส�ำหรับสาเหตุที่ก�ำหนดจ�ำนวนจ�ำกัดในการ พิมพ์ให้ ฟรี เนื่องจากทางสมาคมฯ มีความมุ่งมัน่ และ ตังใจดี ้ ทจี่ ะช่วยเหลือชาวนาให้ ได้ มากทีส่ ดุ แต่เมือ่ หมด ระยะเวลาการด�ำเนินงานของโครงการแล้ ว ก็พยายาม มองหาและหารื อกันว่า จะมีการช่วยเหลือชาวนาใน ล�ำดับต่อไปได้ อย่างไรบ้ าง โดยในส่วนของสมาคมการ พิมพ์ไทย ก็มีสมาชิกอยูท่ วั่ ประเทศกว่าพันราย เพราะ ฉะนัน้ เราจะดูว่า ในจ�ำนวนดังกล่าวมีรายไหนบ้ างที่ มีเครื่ องพิมพ์ระบบดิจิตอล ก็จะขอความร่ วมมือพิมพ์ สติ๊กเกอร์ ขนาดมาตรฐานข้ างต้ นให้ ชาวนาในราคา พิเศษ ซึง่ เชื่อว่าชาวนาจะรู้สกึ ว่า การติดสติก๊ เกอร์ ลงไป บนถุงข้ าว เป็ นการเพิ่มโอกาสในการขาย และเป็ นการ เพิ่มมูลค่าและการสร้ างแบรนด์ให้ แก่ข้าวที่ขาย “ในอนาคตชาวนาจะเริ่ มมองฉลากหรื อบรรจุ ภัณฑ์เป็ นสิง่ ส�ำคัญของสินค้ า จากเดิมขายเป็ นกระสอบ

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

พอเริ่ มติดสติ๊กเกอร์ เข้ าไปต้ องมาคิดว่า บนสติ๊กเกอร์ ต้ องมีข้อความอะไรมาโฆษณา หรื อบรรยายคุณสมบัติ ประโยชน์ของข้ าวบ้ าง แต่ละรายจะเริ่มแข่งกันแล้ ว เช่น ข้ าวของฉันในจังหวัดเพชรบูรณ์มีคณ ุ สมบัตอิ ย่างไร ไม่ ใช้ สารเคมี ไม่มยี าฆ่าแมลง บริโภคปลอดภัย สร้ างสตอรี่ ขึ ้นมา อย่างน้ อยเริ่มสร้ างยี่ห้อตัวเองเป็ นแล้ ว จากปกติ เกี่ยวข้ าวเสร็ จขายไปกองรวมกันอยู่โรงสี ปนกับข้ าว ชาวนาคนอื่น จึงไม่เกิดความรู้สกึ รับผิดชอบ แต่เมื่อมี แบรนด์ตวั เอง จึงต้ องพัฒนาและรับผิดชอบต่อข้ าวสาร ของตนเอง โครงการ Thaiprint for Thai Farmers ได้เพิม่ การ ท�ำงานช่วยชาวนาให้เป็ นระบบ ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานฉลากสติก๊ เกอร์ ให้ เกิดผลสมบูรณ์ จาก นั น้ ก็จะก่ อให้ เกิดการจ้ างงาน การสร้ างงานใน อุตสาหกรรม ตัง้ แต่ต้นน�ำ้ จนถึงปลายน�ำ้ เลย จริงๆ ต้ องบอกว่ า ครัง้ แรกในส่ วนของสมาคมฯ คาดหวัง ว่ าจะเป็ นกราฟฟิ คดีไซเนอร์ เท่ านัน้ ที่ตดิ ต่ อเข้ ามา แต่กลับปรากฏว่ า มีชาวนาติดต่อเข้ ามาเองด้วย

PRINT REPORT

จะเห็นว่า ณ วันนี ้ชาวนามีเฟสบุ๊คเป็ นของตัว เอง ใช้ สื่อสารกับสังคมออนไลน์ หรื อแม้ แต่ลกู หลาน ที่อยากท�ำสติ๊กเกอร์ ขายข้ าวช่วยคุณพ่อคุณแม่ คุณ ตาคุณยาย ก็มีติดต่อเข้ ามาจ�ำนวนมาก หรื ออยากใช้ บริ การด้ านการออกแบบ ก็แนะน�ำให้ ติดต่อกราฟฟิ ค ดีไซเนอร์ จติ อาสา ทีม่ กี ารติดต่อมากับสมาคมฯ อยูก่ อ่ น แล้ ว ยกตัวอย่างเช่น คณะมีเดียอาร์ ต มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ซึง่ มี อาจารย์ บุญเลีย้ ง แก้ วนาพันธุ์ พร้ อมมีทีมนักศึกษาลูกศิษย์พร้ อมช่วย ออกแบบให้ เราด้ วย THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

109


PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

ทัง้ นี ้ ทางสมาคมฯ ได้ เ ก็ บ ข้ อ มูล ไฟล์ ง าน สติ๊กเกอร์ และโลโก้ เข้ าระบบเรี ยบร้ อย หากชาวนา ท่านใดต้ องการสัง่ เพิ่มหรื อต้ องการเอาไปใช้ พิมพ์งาน เอง ก็สามารถขอให้ จดั ส่งทางอีเมลได้ เพราะชาวนามี อินเตอร์ เน็ต มีเฟสบุ๊คแล้ วและน่าจะมีอีเมลกันเกือบ ทุกคน อีกทังในส่ ้ วนกราฟฟิ คดีไซน์ที่เคยติดต่อกันแล้ ว ก็นา่ จะมีเบอร์ โทรศัพท์ของกันและกันเรี ยบร้ อยแล้ ว ดัง นัน้ ในอนาคตข้ างหน้ า หากชาวนาต้ องการสร้ างหรื อ พัฒนามูลค่าเพิ่มให้ สนิ ค้ าข้ าวตัวเอง ไม่วา่ จะเป็ น การ แปรรู ปข้ าวไปเป็ นข้ าวแต๋น น� ้ำข้ าว หรื อผลิตภัณฑ์ที่

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

คนต่อยอดจากวัตถุดิบพืน้ ฐาน เราเข้าไปแนะน�ำจาก เดิ มใส่ถงุ ปิ ดฉลากขายสิ บบาทอยู่ได้สองวันหายกรอบ พอเราไปท�ำเรื ่องถุงให้มีคณ ุ สมบัติถนอมอาหารไม่ให้ อากาศเข้าไปได้ สามารถอยู่ได้ 3 สัปดาห์ ติ ดสติ๊ กเกอร์ เข้าไปเพิ่มขายได้ 35 บาท หรื อ 50 บาท จากเดิ มส่งขาย แค่จงั หวัดรอบๆ เพราะส่งไกลจะหายกรอบ ตอนนีส้ ง่ ไป ไกลถึงเชี ยงใหม่ภูเก็ตหรื อส่งออกไปขายตลาดเออีซีได้ หลายท่านเริ่ มสร้างมาตรฐานบรรจุภณ ั ฑ์ การต่อยอด ต่างๆ ท�ำให้ขายสิ นค้าได้มากขึ้น” อย่างไรก็ดี การช่วยเหลือชาวนาครัง้ นีไ้ ด้ รับ ความสนใจมาก จากช่วงปกติเฟสบุ๊คของทางสมาคมฯ ก็ มี ค นเข้ า มาอ่ า นจ� ำ นวนหนึ่ ง แต่ ห ลัง จากเปิ ดตัว โครงการ Thaiprint for Thai Farmers นี ้เพียงแค่ 3 วัน แรก มีคนเข้ ามาอ่านมากกว่า 30,000 ซึง่ โครงการนี ้

PRINT REPORT

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช

ชาวนาจังหวัดร้อยเอ็ดเข้ามารับสติ๊ กเกอร์ ทีส่ มาคม การพิ มพ์ไทยพิ มพ์ให้ ฟรี

ต่อยอดจากข้ าวต่างๆ เขาจะเริ่ มเล็งเห็นความส�ำคัญ ของฉลากและบรรจุภณ ั ฑ์โดยปริ ยาย “หลายคนคงเคยเห็นในประเทศญี ่ปนุ่ มี ขนม บางอย่ างหรื ออาหารบางอย่ าง รสชาติ อร่ อยสู้ของ เมื องไทยไม่ได้ แต่เขาให้ความส�ำคัญกับทีบ่ รรจุภณ ั ฑ์ สวยงามมี มาตรฐาน ซึ่งท�ำให้เพิ่ มราคาขายได้ บรรจุ ภัณฑ์ บางครั้งแพงกว่าขนมอี ก ขณะเดี ยวกัน บ้าน เราใส่เป็ นถุงแล้วเย็บแม็กซ์ ไปต่างจังหวัดซื ้อกลับมา กรุงเทพฯ ก็หายกรอบแล้ว เพราะขาดมาตรฐานการท�ำ บรรจุภณ ั ฑ์ทีส่ ามารถรักษาคุณภาพอาหาร ซึ่งสมาคม การพิ มพ์ไทยเอง ได้เคยท�ำโครงการไปให้ความรู้กบั ผู้ ประกอบการต่างจังหวัดซึ่งมี ชาวนาไปอบรมด้วย บาง

110

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เมื ่ อ วัน ที ่ 29 พฤศจิ ก ายนที ่ผ่ า นมา กลุ่ม ชาวนาจาก อ�ำเภอจังหาร และอ�ำเภอเชี ยงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้น�ำ ข้าวเข้ามาขายในกรุงเทพฯ ข่าวดีคือว่า. . . เมื อ่ มี ฉลากข้าว ข้าวขายหมดในเวลารวดเร็ ว ยิ นดีดว้ ยกับชาวนาในการเปิ ด ช่องทางท�ำตลาดด้วยตัวเอง

คุณอุกฤษฏ์ ตัง้ อุทยั สุข

ได้ ประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่ าย ทังชาวนา ้ กราฟฟิ คดีไซน์ โรงพิมพ์ ซึง่ สามารถช่วยกันกระตุ้นให้ อตุ สาหกรรมการ พิมพ์เดินต่อไปได้ โดยเฉพาะทุกวันนี ก้ ราฟฟิ คดีไซเนอร์ ไทยมี ความรู้ความสามารถ ความละเอียดอ่อน ฝี มอื ดี รวมทังมี ้ เทคโนโลยีและซอฟท์แวร์ ทดี่ ี จึงเชื่อมัน่ ว่า สามารถตอบ สนองได้ แน่นอน ดังนัน้ ชาวนาท่านใดทีส่ นใจและยังไม่มี โลโก้ หรื อสติ๊กเกอร์ แต่ต้องการสร้ างแบรนด์สนิ ค้ าข้ าว แม้ จะหมดช่วงเวลาพิมพ์ฟรี แล้ ว ก็สามารถติดต่อเข้ า มาได้ ที่ เ ฟสบุ๊ค ของสมาคมฯ เหมื อ นเดิม สมาคมฯ

ก็จะประสานงานหาผู้ออกแบบและโรงพิมพ์ ให้ ด้วย ความยินดี โดยที่รับประกันว่า ชาวนาจะได้ รับราคา พิเศษอย่างแน่นอน น่ าทึ่ง!! กับอีกหนึ่งโครงการดีๆ ที่มองลึก ลงไปจะเห็นมากกว่ าการเป็ นจิตอาสาช่ วยเหลือ ชาวนา แต่ จะเจอภาพการจับคู่เจรจาทางธุรกิจที่ เกิดขึน้ แล้ ว แม้ ในวันนีจ้ ะยังไม่ มีคำ� ว่ ารายได้ และ ก�ำไรเข้ ามาเกี่ยวข้ อง แต่ น่ ีคอื จุดเริ่มต้ นของโอกาส ทางธุรกิจ ที่จะสร้ างงานการพิมพ์ คึกคักในระยะ ยาวอย่ างแน่ นอน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

111


PRINT REPORT

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

ทัง้ นี ้ ทางสมาคมฯ ได้ เ ก็ บ ข้ อ มูล ไฟล์ ง าน สติ๊กเกอร์ และโลโก้ เข้ าระบบเรี ยบร้ อย หากชาวนา ท่านใดต้ องการสัง่ เพิ่มหรื อต้ องการเอาไปใช้ พิมพ์งาน เอง ก็สามารถขอให้ จดั ส่งทางอีเมลได้ เพราะชาวนามี อินเตอร์ เน็ต มีเฟสบุ๊คแล้ วและน่าจะมีอีเมลกันเกือบ ทุกคน อีกทังในส่ ้ วนกราฟฟิ คดีไซน์ที่เคยติดต่อกันแล้ ว ก็นา่ จะมีเบอร์ โทรศัพท์ของกันและกันเรี ยบร้ อยแล้ ว ดัง นัน้ ในอนาคตข้ างหน้ า หากชาวนาต้ องการสร้ างหรื อ พัฒนามูลค่าเพิ่มให้ สนิ ค้ าข้ าวตัวเอง ไม่วา่ จะเป็ น การ แปรรู ปข้ าวไปเป็ นข้ าวแต๋น น� ้ำข้ าว หรื อผลิตภัณฑ์ที่

สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมจิตอาสา

พิมพ์สติ๊กเกอร์ติดถุงข้าวช่วยชาวนาไทยสร้างแบรนด์

คนต่อยอดจากวัตถุดิบพืน้ ฐาน เราเข้าไปแนะน�ำจาก เดิ มใส่ถงุ ปิ ดฉลากขายสิ บบาทอยู่ได้สองวันหายกรอบ พอเราไปท�ำเรื ่องถุงให้มีคณ ุ สมบัติถนอมอาหารไม่ให้ อากาศเข้าไปได้ สามารถอยู่ได้ 3 สัปดาห์ ติ ดสติ๊ กเกอร์ เข้าไปเพิ่มขายได้ 35 บาท หรื อ 50 บาท จากเดิ มส่งขาย แค่จงั หวัดรอบๆ เพราะส่งไกลจะหายกรอบ ตอนนีส้ ง่ ไป ไกลถึงเชี ยงใหม่ภูเก็ตหรื อส่งออกไปขายตลาดเออีซีได้ หลายท่านเริ่ มสร้างมาตรฐานบรรจุภณ ั ฑ์ การต่อยอด ต่างๆ ท�ำให้ขายสิ นค้าได้มากขึ้น” อย่างไรก็ดี การช่วยเหลือชาวนาครัง้ นีไ้ ด้ รับ ความสนใจมาก จากช่วงปกติเฟสบุ๊คของทางสมาคมฯ ก็ มี ค นเข้ า มาอ่ า นจ� ำ นวนหนึ่ ง แต่ ห ลัง จากเปิ ดตัว โครงการ Thaiprint for Thai Farmers นี ้เพียงแค่ 3 วัน แรก มีคนเข้ ามาอ่านมากกว่า 30,000 ซึง่ โครงการนี ้

PRINT REPORT

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช

ชาวนาจังหวัดร้อยเอ็ดเข้ามารับสติ๊ กเกอร์ ทีส่ มาคม การพิ มพ์ไทยพิ มพ์ให้ ฟรี

ต่อยอดจากข้ าวต่างๆ เขาจะเริ่ มเล็งเห็นความส�ำคัญ ของฉลากและบรรจุภณ ั ฑ์โดยปริ ยาย “หลายคนคงเคยเห็นในประเทศญี ่ปนุ่ มี ขนม บางอย่ างหรื ออาหารบางอย่ าง รสชาติ อร่ อยสู้ของ เมื องไทยไม่ได้ แต่เขาให้ความส�ำคัญกับทีบ่ รรจุภณ ั ฑ์ สวยงามมี มาตรฐาน ซึ่งท�ำให้เพิ่ มราคาขายได้ บรรจุ ภัณฑ์ บางครั้งแพงกว่าขนมอี ก ขณะเดี ยวกัน บ้าน เราใส่เป็ นถุงแล้วเย็บแม็กซ์ ไปต่างจังหวัดซื ้อกลับมา กรุงเทพฯ ก็หายกรอบแล้ว เพราะขาดมาตรฐานการท�ำ บรรจุภณ ั ฑ์ทีส่ ามารถรักษาคุณภาพอาหาร ซึ่งสมาคม การพิ มพ์ไทยเอง ได้เคยท�ำโครงการไปให้ความรู้กบั ผู้ ประกอบการต่างจังหวัดซึ่งมี ชาวนาไปอบรมด้วย บาง

110

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

เมื ่ อ วัน ที ่ 29 พฤศจิ ก ายนที ่ผ่ า นมา กลุ่ม ชาวนาจาก อ�ำเภอจังหาร และอ�ำเภอเชี ยงขวัญ จังหวัดร้อยเอ็ด ได้น�ำ ข้าวเข้ามาขายในกรุงเทพฯ ข่าวดีคือว่า. . . เมื อ่ มี ฉลากข้าว ข้าวขายหมดในเวลารวดเร็ ว ยิ นดีดว้ ยกับชาวนาในการเปิ ด ช่องทางท�ำตลาดด้วยตัวเอง

คุณอุกฤษฏ์ ตัง้ อุทยั สุข

ได้ ประโยชน์ร่วมกันทุกฝ่ าย ทังชาวนา ้ กราฟฟิ คดีไซน์ โรงพิมพ์ ซึง่ สามารถช่วยกันกระตุ้นให้ อตุ สาหกรรมการ พิมพ์เดินต่อไปได้ โดยเฉพาะทุกวันนี ก้ ราฟฟิ คดีไซเนอร์ ไทยมี ความรู้ความสามารถ ความละเอียดอ่อน ฝี มอื ดี รวมทังมี ้ เทคโนโลยีและซอฟท์แวร์ ทดี่ ี จึงเชื่อมัน่ ว่า สามารถตอบ สนองได้ แน่นอน ดังนัน้ ชาวนาท่านใดทีส่ นใจและยังไม่มี โลโก้ หรื อสติ๊กเกอร์ แต่ต้องการสร้ างแบรนด์สนิ ค้ าข้ าว แม้ จะหมดช่วงเวลาพิมพ์ฟรี แล้ ว ก็สามารถติดต่อเข้ า มาได้ ที่ เ ฟสบุ๊ค ของสมาคมฯ เหมื อ นเดิม สมาคมฯ

ก็จะประสานงานหาผู้ออกแบบและโรงพิมพ์ ให้ ด้วย ความยินดี โดยที่รับประกันว่า ชาวนาจะได้ รับราคา พิเศษอย่างแน่นอน น่ าทึ่ง!! กับอีกหนึ่งโครงการดีๆ ที่มองลึก ลงไปจะเห็นมากกว่ าการเป็ นจิตอาสาช่ วยเหลือ ชาวนา แต่ จะเจอภาพการจับคู่เจรจาทางธุรกิจที่ เกิดขึน้ แล้ ว แม้ ในวันนีจ้ ะยังไม่ มีคำ� ว่ ารายได้ และ ก�ำไรเข้ ามาเกี่ยวข้ อง แต่ น่ ีคอื จุดเริ่มต้ นของโอกาส ทางธุรกิจ ที่จะสร้ างงานการพิมพ์ คึกคักในระยะ ยาวอย่ างแน่ นอน THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

111


YOUNG PRINTER

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ

คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

ใน

วัยเด็ก..จากที่เคยติดตามคุณแม่ไปโรงพิมพ์ ทุกวันเสาร์ และชอบไปนัง่ เล่นที่ห้องเรี ยงพิมพ์ ตัวอักษร แต่มาถึงวันนี “คุ ้ ณหงษ์ ”-ธนเดช เตชะทวีกจิ ลูกชายหนึง่ เดียวและเป็ นน้ องเล็กคนสุดท้ องในจ�ำนวน พีน่ ้ อง 3 คนของครอบครัว ได้ กลายมาเป็ นผู้รบั ไม้ สานต่อ กิจการครอบครัวในต�ำแหน่งกรรมการผู้จดั การ บริษัท จอยปริน้ ท์ จ�ำกัด และนับเป็ น “ทายาทไฟแรงรุ่นที่ 2” อีกคนที่มีแนวคิดและปรัชญาการท�ำงานที่นา่ สนใจ คุณหงษ์ มีดีกรี จบการศึกษาปริ ญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) และได้ รับเกียรติ

0112 112

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ทางสังคมโดยด�ำรงต�ำแหน่งนายกสโมสรโรตารี่ กาญ จนวนิช-หาดใหญ่ ปี การบริ หาร 2558-2560, คณะ กรรมการสมาคมศิษย์เก่าแสงทอง สมัยที่ 17-19, คณะ กรรมการสมาคมSMEs จังหวัดสงขลา, คณะกรรมการ YEC จังหวัดสงขลา, และคณะกรรมการ YPG หรื อ Young Printer Group สมาคมการพิมพ์ไทย

>

ก�ำเนิดโรงพิมพ์ “จอยปริน้ ท์ ” คุณหงษ์ เล่าให้ ฟังว่า เกิดที่อ�ำเภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา ครอบครั ว ไม่ ไ ด้ ท� ำ ธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ มาตังแต่ ้ แรกเหมือนใครอืน่ แต่ก้าวเข้ าสูถ่ นนสายนี ้จาก

การชักชวนของเพื่อนคุณแม่ให้ มา เป็ นหุ้นส่วนเปิ ดโรงพิมพ์เจริญอักษร โดยเพือ่ นคุณแม่มคี วามรู้และความ ช� ำนาญทางด้ านโรงพิมพ์ ขณะที่ คุณ แม่ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจทาง ด้ านบัญชี “ตอนนั้น ผมยัง เด็ ก มาก จ� ำได้ว่าตอนเด็กๆ ทุกวันเสาร์ ช่วง บ่ า ยคุ ณ แม่ จ ะพาพวกเราไปโรง พิ ม พ์ ด้ ว ย ผมชอบไปอยู่ ใ นห้ อ ง เรี ยงตัวอักษร นัง่ เล่ นกระบะที ่ใส่ ตัว อัก ษรตะกั่ ว และบางที ก็ ไ ป ช่วยเรี ยงบิ ล แต่จริ งๆ แล้วไปกวน มากกว่าช่วยเขา(ฮา) เวลาผ่านไป เกื อบ 10 กว่าปี ที ่คุณแม่ท�ำงานที ่ นัน่ ขณะเดียวกันพวกเราเริ่ มโตกัน แล้ว พีส่ าวคนโตเมื อ่ เรี ยนจบระดับ ปริ ญญาตรี คุณแม่จึงวางแผนและ เตรี ยมธุรกิ จโรงพิ มพ์ ใหม่ เพื ่อให้ เป็ นธุรกิ จส่วนตัวของพวกเรา” หลังจากเลือกทางเดินด้ วย การขอแยกหุ้นแล้ ว คุณแม่ก็ได้ มา เปิ ดโรงพิมพ์จอยปริ น้ ท์ ในปี พ.ศ. 2542 เริ่ มด้ วยเครื่ องตีธง 2 เครื่ อง,

YOUNG PRINTER

สักแห่งเหมือนกับบรรดาพีๆ่ ในขณะ นัน้ ที่จบแล้ วก็ไปท� ำงานกรุ งเทพฯ กันทังคู ้ ่ โดยพีส่ าวคนโตท�ำงานเกีย่ ว กับแม่พมิ พ์โพลิเมอร์ ระบบการพิมพ์ เฟล็กโซ ส่วนพี่สาวคนที่ 2 เป็ น โปรแกรมเมอร์ อยูท่ ธี่ นาคารกรุงเทพ “ช่ วงนัน้ คุณแม่ ก็เริ่ มถาม ว่า จบมาจะท�ำโรงพิ มพ์ต่อไหม ถ้า ท่ อ ง ยุ ท ธ จั ก ร ฝึ ก ฝ น ไม่ท�ำจะได้ไม่ตอ้ งลงทุนเครื ่องจักร เพิ่ ม ผมจึ งต้องหันกลับมาคิ ดอี ก วิชาการพิมพ์ ตอนเด็กๆ คุณหงษ์ ไม่เคย ครั้ ง ว่ า จริ งๆ แล้ ว ตัว ผมเองชอบ คิดอยากจะท�ำธุรกิจด้ านโรงพิมพ์ ธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ นี้ไ หม ส่ ว นตัว ผม เพราะรู้สกึ เหม็นสี เหม็นน� ้ำมัน และ เสียงดัง เป็ นช่างพิมพ์ มือก็ต้องเลอะ หมึกเลอะน� ้ำมัน แต่ในช่วง ม.6 ตอน สอบเอ็นทรานซ์ เข้ ามหาวิทยาลัย กลับรู้สกึ ว่า เมื่อเรี ยนจบแล้ วอยาก มีธรุ กิจเป็ นของตัวเอง จึงเลือกเรี ยน ทางด้ านบริหารจัดการ และพอเรียน ถึงปี 3 ก็เริ่ มคิดทบทวนอีกว่า เรี ยน อีก 1 ปี จะจบแล้ ว แล้ วจะท�ำอะไรดี ระหว่างท�ำโรงพิมพ์ หรื อเปิ ดธุรกิจ อืน่ หรือไปเป็ นพนักงานบริษทั ทีไ่ หน เครื่ องพิมพ์ Gestener ขนาดตัด 11 จ�ำนวน 2 เครื่ อง และมีดตัดแบรนด์ กวางหลง 1 เครื่ อง โดยมีงานหลัก เป็ นประเภทพิมพ์ใบเสร็จรับเงิน บิล เงินสด และเอกสารต่างๆ ซึง่ เป็ นจุด เริ่มต้ นของการท�ำการธุรกิจโรงพิมพ์ ของครอบครัว

>

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

113


YOUNG PRINTER

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ

คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

ใน

วัยเด็ก..จากที่เคยติดตามคุณแม่ไปโรงพิมพ์ ทุกวันเสาร์ และชอบไปนัง่ เล่นที่ห้องเรี ยงพิมพ์ ตัวอักษร แต่มาถึงวันนี “คุ ้ ณหงษ์ ”-ธนเดช เตชะทวีกจิ ลูกชายหนึง่ เดียวและเป็ นน้ องเล็กคนสุดท้ องในจ�ำนวน พีน่ ้ อง 3 คนของครอบครัว ได้ กลายมาเป็ นผู้รบั ไม้ สานต่อ กิจการครอบครัวในต�ำแหน่งกรรมการผู้จดั การ บริษัท จอยปริน้ ท์ จ�ำกัด และนับเป็ น “ทายาทไฟแรงรุ่นที่ 2” อีกคนที่มีแนวคิดและปรัชญาการท�ำงานที่นา่ สนใจ คุณหงษ์ มีดีกรี จบการศึกษาปริ ญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ คณะวิทยาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการ (ภาษาอังกฤษ) และได้ รับเกียรติ

0112 112

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ทางสังคมโดยด�ำรงต�ำแหน่งนายกสโมสรโรตารี่ กาญ จนวนิช-หาดใหญ่ ปี การบริ หาร 2558-2560, คณะ กรรมการสมาคมศิษย์เก่าแสงทอง สมัยที่ 17-19, คณะ กรรมการสมาคมSMEs จังหวัดสงขลา, คณะกรรมการ YEC จังหวัดสงขลา, และคณะกรรมการ YPG หรื อ Young Printer Group สมาคมการพิมพ์ไทย

>

ก�ำเนิดโรงพิมพ์ “จอยปริน้ ท์ ” คุณหงษ์ เล่าให้ ฟังว่า เกิดที่อ�ำเภอหาดใหญ่ จั ง หวั ด สงขลา ครอบครั ว ไม่ ไ ด้ ท� ำ ธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ มาตังแต่ ้ แรกเหมือนใครอืน่ แต่ก้าวเข้ าสูถ่ นนสายนี ้จาก

การชักชวนของเพื่อนคุณแม่ให้ มา เป็ นหุ้นส่วนเปิ ดโรงพิมพ์เจริญอักษร โดยเพือ่ นคุณแม่มคี วามรู้และความ ช� ำนาญทางด้ านโรงพิมพ์ ขณะที่ คุณ แม่ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจทาง ด้ านบัญชี “ตอนนั้น ผมยัง เด็ ก มาก จ� ำได้ว่าตอนเด็กๆ ทุกวันเสาร์ ช่วง บ่ า ยคุ ณ แม่ จ ะพาพวกเราไปโรง พิ ม พ์ ด้ ว ย ผมชอบไปอยู่ ใ นห้ อ ง เรี ยงตัวอักษร นัง่ เล่ นกระบะที ่ใส่ ตัว อัก ษรตะกั่ ว และบางที ก็ ไ ป ช่วยเรี ยงบิ ล แต่จริ งๆ แล้วไปกวน มากกว่าช่วยเขา(ฮา) เวลาผ่านไป เกื อบ 10 กว่าปี ที ่คุณแม่ท�ำงานที ่ นัน่ ขณะเดียวกันพวกเราเริ่ มโตกัน แล้ว พีส่ าวคนโตเมื อ่ เรี ยนจบระดับ ปริ ญญาตรี คุณแม่จึงวางแผนและ เตรี ยมธุรกิ จโรงพิ มพ์ ใหม่ เพื ่อให้ เป็ นธุรกิ จส่วนตัวของพวกเรา” หลังจากเลือกทางเดินด้ วย การขอแยกหุ้นแล้ ว คุณแม่ก็ได้ มา เปิ ดโรงพิมพ์จอยปริ น้ ท์ ในปี พ.ศ. 2542 เริ่ มด้ วยเครื่ องตีธง 2 เครื่ อง,

YOUNG PRINTER

สักแห่งเหมือนกับบรรดาพีๆ่ ในขณะ นัน้ ที่จบแล้ วก็ไปท� ำงานกรุ งเทพฯ กันทังคู ้ ่ โดยพีส่ าวคนโตท�ำงานเกีย่ ว กับแม่พมิ พ์โพลิเมอร์ ระบบการพิมพ์ เฟล็กโซ ส่วนพี่สาวคนที่ 2 เป็ น โปรแกรมเมอร์ อยูท่ ธี่ นาคารกรุงเทพ “ช่ วงนัน้ คุณแม่ ก็เริ่ มถาม ว่า จบมาจะท�ำโรงพิ มพ์ต่อไหม ถ้า ท่ อ ง ยุ ท ธ จั ก ร ฝึ ก ฝ น ไม่ท�ำจะได้ไม่ตอ้ งลงทุนเครื ่องจักร เพิ่ ม ผมจึ งต้องหันกลับมาคิ ดอี ก วิชาการพิมพ์ ตอนเด็กๆ คุณหงษ์ ไม่เคย ครั้ ง ว่ า จริ งๆ แล้ ว ตัว ผมเองชอบ คิดอยากจะท�ำธุรกิจด้ านโรงพิมพ์ ธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ นี้ไ หม ส่ ว นตัว ผม เพราะรู้สกึ เหม็นสี เหม็นน� ้ำมัน และ เสียงดัง เป็ นช่างพิมพ์ มือก็ต้องเลอะ หมึกเลอะน� ้ำมัน แต่ในช่วง ม.6 ตอน สอบเอ็นทรานซ์ เข้ ามหาวิทยาลัย กลับรู้สกึ ว่า เมื่อเรี ยนจบแล้ วอยาก มีธรุ กิจเป็ นของตัวเอง จึงเลือกเรี ยน ทางด้ านบริหารจัดการ และพอเรียน ถึงปี 3 ก็เริ่ มคิดทบทวนอีกว่า เรี ยน อีก 1 ปี จะจบแล้ ว แล้ วจะท�ำอะไรดี ระหว่างท�ำโรงพิมพ์ หรื อเปิ ดธุรกิจ อืน่ หรือไปเป็ นพนักงานบริษทั ทีไ่ หน เครื่ องพิมพ์ Gestener ขนาดตัด 11 จ�ำนวน 2 เครื่ อง และมีดตัดแบรนด์ กวางหลง 1 เครื่ อง โดยมีงานหลัก เป็ นประเภทพิมพ์ใบเสร็จรับเงิน บิล เงินสด และเอกสารต่างๆ ซึง่ เป็ นจุด เริ่มต้ นของการท�ำการธุรกิจโรงพิมพ์ ของครอบครัว

>

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

113


YOUNG PRINTER

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

เป็ นคนชอบเล่นคอมพิ วเตอร์ ตงั้ แต่ เด็ก และชอบอะไรทีเ่ ป็ นเทคโนโลยี เรี ยนรู้โปรแกรมออกแบบเองตัง้ แต่ CorelDraw 5 จนมาถึงตอนนีท้ ีเ่ ป็ น Adobe CS แล้ว แต่มาติ ดตรง ที ่ส่ ว นตัว ผมไม่ มี ค วามรู้ ท างด้า น เครื ่ องจักรต่างๆ ของโรงพิ มพ์ เลย ที ่ผ่านมาผมเห็นคุณแม่ต้องอาศัย ช่างพิมพ์ตลอด หวัน่ กลัวเขาลาออก ช่างพิ มพ์อยากได้อะไรก็เอาใจหมด ท�ำให้ผมมี ความคิ ดว่า ถ้าเราจะท�ำ ธุรกิ จอะไรก็ตาม เราต้องสามารถท�ำ เองได้ และรู้เรื ่องนัน้ จริ งๆ และถึงแม้ เราจะรู้เรื ่องไม่ทงั้ หมด แต่อย่างน้อย ก็ตอ้ งมี ความเข้าใจ ไม่งนั้ เราก็ตอ้ ง พึ่งคนอืน่ ตลอด” สิ่ ง นี เ้ องท� ำ ให้ คุ ณ หงษ์ รู้ สึ ก ถึง ความท้ า ทาย อยากจะ ลองบริ ห ารงานโรงพิ ม พ์ จาก นัน้ จึงเริ่ มศึกษาทุกอย่ างที่เกี่ยว กับงานด้ านโรงพิมพ์ เริ่ มตัง้ แต่ เวลาที่ช่างมาซ่ อมเครื่องก็เข้ าไป ดูว่า เขาท�ำอย่ างไร ซ่ อมอะไร อยากรู้ ก็ ถ าม ในสมั ย นั น้ หาที่

เรี ยนรู้ เรื่ องนีย้ ากมากจริ งๆ ไม่ เหมือนสมัยนี ้ อยากรู้อะไรก็เปิ ด Google, Youtube ดูได้ แล้ ว เมื่อ ก่ อนจะไปถามเอาความรู้ อะไร จากโรงพิมพ์ อ่ ืนก็ไม่ ได้ ต่อมาช่วงปิ ดเทอมระหว่าง เรี ย นปี 3 ขึน้ ปี 4 จึง ใช้ เ วลาไป อบรมเกี่ยวกับการพิมพ์ระบบออฟ เซ็ตเบื ้องต้ นทังภาคทฤษฎี ้ และภาค ปฏิบตั ปิ ระมาณ 3 เดือน ที่ศนู ย์ฝึก อบรมเทคโนโลยีการพิมพ์แห่งชาติ มสธ. โดยเรี ยนรู้ ครบทุกด้ านตังแต่ ้ การพิมพ์เบื ้องต้ น, งานก่อนพิมพ์, การพิมพ์, และการท�ำงานหลังพิมพ์

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

และยังได้ ไปฝึ กงานในโรงพิมพ์ของ มหาวิ ท ยาลัย สุโ ขทัย ธรรมาธิ ร าช ประมาณ 1 สัปดาห์ ท�ำให้ เข้ าใจใน ธุรกิจการพิมพ์มากขึ ้น “หลั ง เรี ยนจบปริ ญญา ตรี แ ล้ ว ก็ ยัง ไม่ อ ยากไปท� ำ งานที่ โรงพิ ม พ์ รู้ สึ ก ว่ า อยากไปเรี ย นรู้ อะไรเพิ่ ม เติ ม อี ก จึง เข้ า ไปศึก ษา การท�ำงานที่โรงปั ม้ เล็กๆ แห่งหนึ่ง แถวพระราม 3 ซึง่ ที่นนมี ั ้ เครื่ องปั ม้ มือและเครื่ องปั ม้ ลมนอน เจ้ าของ ชื่อ เฮียจิว้ ท�ำงานเพียงคนเดียว โดยไม่มีลูกน้ อง ผมเลยขอเข้ าไป ท�ำงานแบบไม่รับค่าแรง แค่อยากได้ ประสบการณ์ เฮียใจดีสอนผมหมด ทุกอย่าง ไม่หวงความรู้เลย ทุกวันนี ้ ยังติดต่อกับผมเป็ นประจ�ำ ถามข่าว กันตลอด ต้ องขอบคุณเฮียจิ ้วที่เป็ น อาจารย์สอนผมอีกคน ผมท�ำได้ อยู่ ประมาณ 1 เดือน คุณแม่ก็เรี ยกผม กลับหาดใหญ่ดว่ น เพราะมีปัญหา เกี่ ยวกับช่างพิมพ์ ผมเลยกลับไป ดู กิ จ การครอบครั ว นั บ ตั ง้ แต่ นั น้ เป็ นต้ นมา”

>

114

8 ปี ที่ บ ริ ห ารพอใจที ม งานมืออาชีพ การท� ำ งานธุ ร กิ จ ของ ครอบครั ว เป็ นการรั บไม้ ต่อจาก รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง จึงย่ อมมี ปั ญหากันบ้ างในเรื่องการบริหาร จัดการ แต่ กใ็ ช้ ความอดทนและ พิ สู จ น์ ตั ว เอง เน้ นการกระท�ำ มากกว่ าค� ำ พู ด ค่ อยๆ ปรั บ เปลี่ยนไปทีละอย่ าง เนื่องจากไม่ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

สามารถไปเปลี่ยนอะไรทีเดียว ได้ เพราะคนที่สร้ างมาเขาจะรับ ไม่ ได้ “สิ่งหนึ่งที่ผมให้ ใจคุณแม่ มากๆ จะว่าเต็ม 100 เลยก็ได้ คือ เรื่ องการลงทุน ไม่เคยคัดค้ านการ ตัดสินใจในการลงทุนซื ้อเครื่ องจักร เลย ให้ เซ็นเช็คเอง ตัดสินใจเองเลย ว่า จะลงทุนไหม เพียงแต่มีกรอบ แนวคิดภายใต้ ค�ำพูดว่า ถ้ าซื ้อมา แล้ วให้ เครื่ องเลี ้ยงตัวมันเองได้ ก็พอ แค่ประโยคนี ้ประโยคเดียว แต่กลับ คิดหนักเลย ดังนัน้ ก่อนลงทุนจึงมี การท�ำการบ้ านและศึกษาทุกอย่าง ท�ำให้ ทกุ เครื่ องในโรงพิมพ์ต้องเป็ น คนไปดูเอง และเรี ยนรู้ทกุ อย่างก่อน ตัดสินใจซื ้อ เรี ยกว่าไม่มีเครื่ องไหน ที่ ผ มซื อ้ มาแล้ ว ท� ำ เองไม่ เ ป็ น แต่ ถ้ าถามว่า เคยลงทุนผิดพลาดไหม ตอบได้ เลยว่าเคย แต่คณ ุ ก็ไม่ได้ วา่ อะไรนะครับ แค่พดู เตือนๆ เหมือน จะให้ ผมได้ เรี ยนรู้ ความผิ ดพลาด ด้ วยตัวเอง นับว่าเป็ นข้ อดีของคุณ แม่ผมเลย”

หากพู ด ถึ ง ปรั ช ญาการ ท� ำ งานจะยึ ด หลัก การที่ ว่ า “ขอ ให้ ถือประโยชน์ ส่วนตนเป็ นที่สอง ประโยชน์ ของเพื่อนมนุษย์ เป็ นกิจ ที่ หนึ่ง ลาภทรั พย์ และเกี ยรติยศ จะตกมาแก่ ท่า นเอง ถ้ า ท่า นทรง ธรรมะแห่ ง วิ ช าชี พ ไว้ ใ ห้ บ ริ สุท ธิ์ ” ซึ่งเป็ นปณิ ธานของ สมเด็จ พระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องจากทาง มหาลัยวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ที่

YOUNG PRINTER

เรี ยนจบมา ได้ ปลูกฝั่ งสิ่งเหล่านี ้ให้ กับนักศึกษาทุกคน โดยส่วนตัวได้ น�ำค�ำสอนดังกล่าวมาปรับใช้ ในชีวติ ประจ� ำวัน เพราะเชื่ อว่าการที่ เรา อยากจะได้ อะไรจากคนอื่นนัน้ หรื อ ให้ เขาท�ำอะไรให้ เรา เราต้ องรู้จกั ให้ ก่อนทีจ่ ะรับ แล้ วเราก็จะได้ รับสิง่ นัน้ เองโดยไม่ต้องร้ องขอ ไม่ใช่จะหวัง ผลประโยชน์อยูฝ่ ่ ายเดียว “ตลอดเวลากว่า 8 ปี ที ไ่ ด้ เข้ามาบริ หารกิ จการจอยปริ้ นท์ ผม ไม่ได้มีความคิ ดที จ่ ะแข่งขันกับใคร เลยนอกจากแข่งกับตัวเอง พยายาม พัฒนาศักยภาพให้ลู กที มเป็ นที ม งานมื ออาชี พ ซึ่ งในวันนี ร้ ู้สึกพอใจ แล้ว ส่วนอนาคตเป็ นสิ่งทีไ่ ม่แน่นอน เหมื อนกับเทคโนโลยี วันนี ้อาจใช้ เครื ่องทันสมัยทีส่ ดุ แต่พอเวลาผ่าน ไปอาจจะมี เ ครื ่ อ งรุ่ น ใหม่ อ อกมา แล้ว ดังนัน้ เราต้องขยันศึกษาและ เรี ยนรู้เพิ่ มเติ มอะไรใหม่ๆ อยู่ตลอด เวลา ทุกครัง้ ทีม่ ี งานจัดแสดงสิ นค้า เกี ่ยวกับการพิ มพ์ ผมจะไปดูงาน ด้วยตัวเองตลอด เพื ่อจะน� ำกลับ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

115


YOUNG PRINTER

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

เป็ นคนชอบเล่นคอมพิ วเตอร์ ตงั้ แต่ เด็ก และชอบอะไรทีเ่ ป็ นเทคโนโลยี เรี ยนรู้โปรแกรมออกแบบเองตัง้ แต่ CorelDraw 5 จนมาถึงตอนนีท้ ีเ่ ป็ น Adobe CS แล้ว แต่มาติ ดตรง ที ่ส่ ว นตัว ผมไม่ มี ค วามรู้ ท างด้า น เครื ่ องจักรต่างๆ ของโรงพิ มพ์ เลย ที ่ผ่านมาผมเห็นคุณแม่ต้องอาศัย ช่างพิมพ์ตลอด หวัน่ กลัวเขาลาออก ช่างพิ มพ์อยากได้อะไรก็เอาใจหมด ท�ำให้ผมมี ความคิ ดว่า ถ้าเราจะท�ำ ธุรกิ จอะไรก็ตาม เราต้องสามารถท�ำ เองได้ และรู้เรื ่องนัน้ จริ งๆ และถึงแม้ เราจะรู้เรื ่องไม่ทงั้ หมด แต่อย่างน้อย ก็ตอ้ งมี ความเข้าใจ ไม่งนั้ เราก็ตอ้ ง พึ่งคนอืน่ ตลอด” สิ่ ง นี เ้ องท� ำ ให้ คุ ณ หงษ์ รู้ สึ ก ถึง ความท้ า ทาย อยากจะ ลองบริ ห ารงานโรงพิ ม พ์ จาก นัน้ จึงเริ่ มศึกษาทุกอย่ างที่เกี่ยว กับงานด้ านโรงพิมพ์ เริ่ มตัง้ แต่ เวลาที่ช่างมาซ่ อมเครื่องก็เข้ าไป ดูว่า เขาท�ำอย่ างไร ซ่ อมอะไร อยากรู้ ก็ ถ าม ในสมั ย นั น้ หาที่

เรี ยนรู้ เรื่ องนีย้ ากมากจริ งๆ ไม่ เหมือนสมัยนี ้ อยากรู้อะไรก็เปิ ด Google, Youtube ดูได้ แล้ ว เมื่อ ก่ อนจะไปถามเอาความรู้ อะไร จากโรงพิมพ์ อ่ ืนก็ไม่ ได้ ต่อมาช่วงปิ ดเทอมระหว่าง เรี ย นปี 3 ขึน้ ปี 4 จึง ใช้ เ วลาไป อบรมเกี่ยวกับการพิมพ์ระบบออฟ เซ็ตเบื ้องต้ นทังภาคทฤษฎี ้ และภาค ปฏิบตั ปิ ระมาณ 3 เดือน ที่ศนู ย์ฝึก อบรมเทคโนโลยีการพิมพ์แห่งชาติ มสธ. โดยเรี ยนรู้ ครบทุกด้ านตังแต่ ้ การพิมพ์เบื ้องต้ น, งานก่อนพิมพ์, การพิมพ์, และการท�ำงานหลังพิมพ์

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

และยังได้ ไปฝึ กงานในโรงพิมพ์ของ มหาวิ ท ยาลัย สุโ ขทัย ธรรมาธิ ร าช ประมาณ 1 สัปดาห์ ท�ำให้ เข้ าใจใน ธุรกิจการพิมพ์มากขึ ้น “หลั ง เรี ยนจบปริ ญญา ตรี แ ล้ ว ก็ ยัง ไม่ อ ยากไปท� ำ งานที่ โรงพิ ม พ์ รู้ สึ ก ว่ า อยากไปเรี ย นรู้ อะไรเพิ่ ม เติ ม อี ก จึง เข้ า ไปศึก ษา การท�ำงานที่โรงปั ม้ เล็กๆ แห่งหนึ่ง แถวพระราม 3 ซึง่ ที่นนมี ั ้ เครื่ องปั ม้ มือและเครื่ องปั ม้ ลมนอน เจ้ าของ ชื่อ เฮียจิว้ ท�ำงานเพียงคนเดียว โดยไม่มีลูกน้ อง ผมเลยขอเข้ าไป ท�ำงานแบบไม่รับค่าแรง แค่อยากได้ ประสบการณ์ เฮียใจดีสอนผมหมด ทุกอย่าง ไม่หวงความรู้เลย ทุกวันนี ้ ยังติดต่อกับผมเป็ นประจ�ำ ถามข่าว กันตลอด ต้ องขอบคุณเฮียจิ ้วที่เป็ น อาจารย์สอนผมอีกคน ผมท�ำได้ อยู่ ประมาณ 1 เดือน คุณแม่ก็เรี ยกผม กลับหาดใหญ่ดว่ น เพราะมีปัญหา เกี่ ยวกับช่างพิมพ์ ผมเลยกลับไป ดู กิ จ การครอบครั ว นั บ ตั ง้ แต่ นั น้ เป็ นต้ นมา”

>

114

8 ปี ที่ บ ริ ห ารพอใจที ม งานมืออาชีพ การท� ำ งานธุ ร กิ จ ของ ครอบครั ว เป็ นการรั บไม้ ต่อจาก รุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง จึงย่ อมมี ปั ญหากันบ้ างในเรื่องการบริหาร จัดการ แต่ กใ็ ช้ ความอดทนและ พิ สู จ น์ ตั ว เอง เน้ นการกระท�ำ มากกว่ าค� ำ พู ด ค่ อยๆ ปรั บ เปลี่ยนไปทีละอย่ าง เนื่องจากไม่ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

สามารถไปเปลี่ยนอะไรทีเดียว ได้ เพราะคนที่สร้ างมาเขาจะรับ ไม่ ได้ “สิ่งหนึ่งที่ผมให้ ใจคุณแม่ มากๆ จะว่าเต็ม 100 เลยก็ได้ คือ เรื่ องการลงทุน ไม่เคยคัดค้ านการ ตัดสินใจในการลงทุนซื ้อเครื่ องจักร เลย ให้ เซ็นเช็คเอง ตัดสินใจเองเลย ว่า จะลงทุนไหม เพียงแต่มีกรอบ แนวคิดภายใต้ ค�ำพูดว่า ถ้ าซื ้อมา แล้ วให้ เครื่ องเลี ้ยงตัวมันเองได้ ก็พอ แค่ประโยคนี ้ประโยคเดียว แต่กลับ คิดหนักเลย ดังนัน้ ก่อนลงทุนจึงมี การท�ำการบ้ านและศึกษาทุกอย่าง ท�ำให้ ทกุ เครื่ องในโรงพิมพ์ต้องเป็ น คนไปดูเอง และเรี ยนรู้ทกุ อย่างก่อน ตัดสินใจซื ้อ เรี ยกว่าไม่มีเครื่ องไหน ที่ ผ มซื อ้ มาแล้ ว ท� ำ เองไม่ เ ป็ น แต่ ถ้ าถามว่า เคยลงทุนผิดพลาดไหม ตอบได้ เลยว่าเคย แต่คณ ุ ก็ไม่ได้ วา่ อะไรนะครับ แค่พดู เตือนๆ เหมือน จะให้ ผมได้ เรี ยนรู้ ความผิ ดพลาด ด้ วยตัวเอง นับว่าเป็ นข้ อดีของคุณ แม่ผมเลย”

หากพู ด ถึ ง ปรั ช ญาการ ท� ำ งานจะยึ ด หลัก การที่ ว่ า “ขอ ให้ ถือประโยชน์ ส่วนตนเป็ นที่สอง ประโยชน์ ของเพื่อนมนุษย์ เป็ นกิจ ที่ หนึ่ง ลาภทรั พย์ และเกี ยรติยศ จะตกมาแก่ ท่า นเอง ถ้ า ท่า นทรง ธรรมะแห่ ง วิ ช าชี พ ไว้ ใ ห้ บ ริ สุท ธิ์ ” ซึ่งเป็ นปณิ ธานของ สมเด็จ พระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เนื่องจากทาง มหาลัยวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ที่

YOUNG PRINTER

เรี ยนจบมา ได้ ปลูกฝั่ งสิ่งเหล่านี ้ให้ กับนักศึกษาทุกคน โดยส่วนตัวได้ น�ำค�ำสอนดังกล่าวมาปรับใช้ ในชีวติ ประจ� ำวัน เพราะเชื่ อว่าการที่ เรา อยากจะได้ อะไรจากคนอื่นนัน้ หรื อ ให้ เขาท�ำอะไรให้ เรา เราต้ องรู้จกั ให้ ก่อนทีจ่ ะรับ แล้ วเราก็จะได้ รับสิง่ นัน้ เองโดยไม่ต้องร้ องขอ ไม่ใช่จะหวัง ผลประโยชน์อยูฝ่ ่ ายเดียว “ตลอดเวลากว่า 8 ปี ที ไ่ ด้ เข้ามาบริ หารกิ จการจอยปริ้ นท์ ผม ไม่ได้มีความคิ ดที จ่ ะแข่งขันกับใคร เลยนอกจากแข่งกับตัวเอง พยายาม พัฒนาศักยภาพให้ลู กที มเป็ นที ม งานมื ออาชี พ ซึ่ งในวันนี ร้ ู้สึกพอใจ แล้ว ส่วนอนาคตเป็ นสิ่งทีไ่ ม่แน่นอน เหมื อนกับเทคโนโลยี วันนี ้อาจใช้ เครื ่องทันสมัยทีส่ ดุ แต่พอเวลาผ่าน ไปอาจจะมี เ ครื ่ อ งรุ่ น ใหม่ อ อกมา แล้ว ดังนัน้ เราต้องขยันศึกษาและ เรี ยนรู้เพิ่ มเติ มอะไรใหม่ๆ อยู่ตลอด เวลา ทุกครัง้ ทีม่ ี งานจัดแสดงสิ นค้า เกี ่ยวกับการพิ มพ์ ผมจะไปดูงาน ด้วยตัวเองตลอด เพื ่อจะน� ำกลับ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

115


YOUNG PRINTER

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

มาพัฒนาและศึกษาเรี ยนรู้เพิ่ มเติ ม แม้กระทัง่ ถ้ามี โอกาสได้ไปศึ กษา ดูงานที ต่ ่างประเทศก็จะไป เพราะ คิ ดว่าเราจะวิ่ งตามเทคโนโลยีคงจะ วิ่ ง ไม่ ท ัน แต่ เ ราจะต้ อ งเลื อ กใช้ เทคโนโลยีทีเ่ หมาะกับเราให้มากสุด ถึงจะดี” อย่ างไรก็ตาม แม้ คุณ หงษ์ จะมุ่ งมั่นท�ำงานหนั ก ทัง้ ด้ านการบริ ก ารและการผลิ ต ท�ำให้ มวี นั หยุดน้ อยกว่ า แต่ พอมี เวลาว่ าง ซึ่งมักจะมีแค่ วนั อาทิตย์ ก็จะมีกจิ กรรมหลักที่ทำ � คือ การ หาของกิ น อร่ อยๆ และดู ห นั ง แต่ ถ้าเป็ นวันหยุดยาวๆ ชอบไป เที่ยวทะเล ซึ่งโชคดีท่ อี ยู่ภาคใต้ ขับรถไม่ ก่ ีช่ ัวโมงก็ได้ เจอทะเล สวยๆ แล้ ว

หงษ์ เล่าย้ อนกลับไปว่า หลังจาก ทราบข่าวว่า สมาคมการพิมพ์ไทย ได้ ให้ ความส�ำคัญกับกลุ่มทายาท นักธุรกิจการพิมพ์ โดยมีการจัดตัง้ กลุม่ Young Printer ขึ ้นมา ท�ำให้ อยากสมัครเข้ าร่ วม เพราะจะได้ เปิ ดโอกาสให้ ตวั เอง ได้ เข้ าไปศึกษา เรี ยนรู้อะไรใหม่ๆ เพิ่มเติม เมื่ อ โอกาสมาถึ ง ..โดย ร่ วมกิ จ กรรม Young สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยได้ มี ก ารจัด Printer ด้ วยใจ ถามถึงทีม่ าของการเข้ าร่วม งานสั ญ จรภาคใต้ ที่ ห าดใหญ่ กิจกรรมกับกลุม่ Young Printer คุณ จังหวัดสงขลา จึงเข้ าไปสมัคร นับ

>

116

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

ตังแต่ ้ นัน้ มาจึงเป็ นหนึ่งในสมาชิก Young Printer และได้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรมแทบทุก ครั ง้ ตลอดระยะ เวลาหลายปี ที่ผา่ นมา “ครั้ ง แรกที ่ เ ข้ า ร่ ว มกลุ่ ม ก็ได้ไปท�ำกิ จกรรมกันทีพ่ ทั ยา ท�ำให้ ผมได้มีโอกาสเข้ามารู้จกั พีๆ่ เพือ่ นๆ น้องๆ ทีด่ ีๆ และช่วยเหลือกันในทุกๆ เรื ่องครับ ไม่ว่าจะปรึ กษาเรื ่องงาน เรื ่องส่วนตัว และอืน่ ๆ ทุกคนไม่เคย คิ ดเลยว่า เราเป็ นโรงพิ มพ์เล็กๆ อยู่ ต่างจังหวัด มันเป็ นอะไรทีอ่ บอุ่นกัน

มากๆ มิ ตรภาพดี ๆ แบบนี ห้ าจาก ทีไ่ หนไม่ได้อีกแล้ว” ปั จจุบนั ได้ รับต�ำแหน่งเป็ น คณะกรรมการ Young Printer สมัย ที่ 2 หน้ าทีห่ ลัก คือ การช่วยประสาน งานของสมาคมการพิมพ์กบั คนใน พื ้นที่ภาคใต้ และหาสมาชิก Young Printer ในภาคใต้ อาจจะไม่ค่อย ได้ เข้ าประชุมประจ�ำเดือนกับคณะ กรรมการเท่าไร เนื่ องจากอยู่ไกล แต่หากมีกิจกรรมเมื่อใดที่สามารถ เข้ าร่ วมได้ ก็พร้ อมจะเข้ าร่ วมเสมอ โดยที่คณ ุ หงษ์ เชื่อว่า ทุกคนที่เป็ น คณะกรรมการ ต่างเสียสละเวลาที่ จะท�ำให้ ภาพอุตสาหกรรมนี ้ดีขึ ้น

>

อนาคตการพิมพ์ “รวม กันอยู่ แยกกันตาย” ส� ำ ห รั บ อ น า ค ต ข อ ง อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย คุณหงษ์ มองว่า “รวมกันเราอยู่ แยกกัน

อยู่เราตาย” สมัยนี ้การท�ำธุรกิจไม่ เหมือนสมัยก่อนที่ซื ้อเครื่ องจักรมา ท�ำอะไร ก็ไม่ให้ คนอื่นรู้ เพราะเป็ น ความลับ ส่วนตัวมองว่า สมัยนี ้โลก เปลี่ยนแปลงไปแล้ ว อยากดูเครื่ อง อะไรท�ำงานอย่างไร ก็สามารถเปิ ด หาใน Google หรื อ Youtube ก็ เจอแล้ ว ในทางกลับกัน การที่ร้ ูวา่ แต่ละโรงพิมพ์ มีเครื่ องอะไร ถนัด งานด้ านไหน จะเป็ นข้ อดีมากกว่า ท�ำให้ สามารถส่งต่องานให้ กนั และ กันได้ จะได้ ไม่ลงเครื่ องซ� ้ำๆ กัน “ผมเข้าใจเลยว่า ช่วงทีไ่ ม่มี งาน แต่ยงั ต้องผ่อนค่าเครื ่อง ต้อง จ่ ายเงิ นเดื อนพนักงาน จึ งต้องท� ำ ยังไงก็ได้ขอให้ได้งานมากที ส่ ดุ ใน บางงานขาดทุนหรื อเสมอตัวก็ตอ้ ง ยอม จึ งเป็ นปั ญหา และอี กอย่าง ที ผ่ มเห็นแล้วเสี ยดาย คื อโรงพิ มพ์ ยุคเก่าๆ ทีม่ ี ชือ่ เสียงก�ำลังหายไป มี แต่ร้านออกแบบทีเ่ พิ่มขึ้นมา เพราะ

YOUNG PRINTER

ส่วนหนึ่งลูกหลานไม่ยอมรับช่วงต่อ และอีกส่วนหนึ่งเกิ ดจากการไม่ปรับ ตัว เข้ากับเทคโนโลยี ใหม่ๆ มันน่า เสียดายจริ งๆ ครับ” สุ ด ท้ ายนี ้ อยากเชิ ญ ชวนพี่ๆ น้ อ งๆ ที่เ ป็ นทายาท ใ น แ ว ด ว ง ก า ร พิ ม พ์ ไ ม่ ว่ า จ ะ อ ยู่ ใ น จั ง ห วั ด ไ ห น ข อ ง ประเทศไทย ก็สามารถร่ วมเป็ น สมาชิกกับกลุ่ม Young Printer ได้ ยุคนี ร้ ะยะทางใกล้ ไกลไม่ มี ปั ญหาอีกแล้ ว โดยเฉพาะทุกวัน นี เ้ ทคโนโลยี ท�ำ ให้ ก ารสื่ อ สาร ง่ ายขึน้ มีกลุ่ม Line ที่สามารถพูด คุยกันได้ เสมอ ท�ำให้ ใครมีงาน อะไรก็แชร์ กัน ใครท�ำได้ กร็ ั บท�ำ กันไป พวกเราช่ วยกันแล้ ว พวก เราจะอยู่รอดนะครั บ.. สู้ๆ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

117


YOUNG PRINTER

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

มาพัฒนาและศึกษาเรี ยนรู้เพิ่ มเติ ม แม้กระทัง่ ถ้ามี โอกาสได้ไปศึ กษา ดูงานที ต่ ่างประเทศก็จะไป เพราะ คิ ดว่าเราจะวิ่ งตามเทคโนโลยีคงจะ วิ่ ง ไม่ ท ัน แต่ เ ราจะต้ อ งเลื อ กใช้ เทคโนโลยีทีเ่ หมาะกับเราให้มากสุด ถึงจะดี” อย่ างไรก็ตาม แม้ คุณ หงษ์ จะมุ่ งมั่นท�ำงานหนั ก ทัง้ ด้ านการบริ ก ารและการผลิ ต ท�ำให้ มวี นั หยุดน้ อยกว่ า แต่ พอมี เวลาว่ าง ซึ่งมักจะมีแค่ วนั อาทิตย์ ก็จะมีกจิ กรรมหลักที่ทำ � คือ การ หาของกิ น อร่ อยๆ และดู ห นั ง แต่ ถ้าเป็ นวันหยุดยาวๆ ชอบไป เที่ยวทะเล ซึ่งโชคดีท่ อี ยู่ภาคใต้ ขับรถไม่ ก่ ีช่ ัวโมงก็ได้ เจอทะเล สวยๆ แล้ ว

หงษ์ เล่าย้ อนกลับไปว่า หลังจาก ทราบข่าวว่า สมาคมการพิมพ์ไทย ได้ ให้ ความส�ำคัญกับกลุ่มทายาท นักธุรกิจการพิมพ์ โดยมีการจัดตัง้ กลุม่ Young Printer ขึ ้นมา ท�ำให้ อยากสมัครเข้ าร่ วม เพราะจะได้ เปิ ดโอกาสให้ ตวั เอง ได้ เข้ าไปศึกษา เรี ยนรู้อะไรใหม่ๆ เพิ่มเติม เมื่ อ โอกาสมาถึ ง ..โดย ร่ วมกิ จ กรรม Young สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยได้ มี ก ารจัด Printer ด้ วยใจ ถามถึงทีม่ าของการเข้ าร่วม งานสั ญ จรภาคใต้ ที่ ห าดใหญ่ กิจกรรมกับกลุม่ Young Printer คุณ จังหวัดสงขลา จึงเข้ าไปสมัคร นับ

>

116

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

บนถนนสร้างสรรค์กิจการ คุณหงษ์’ ธนเดช เตชะทวีกิจ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

หนุ่มมั่นแห่งโรงพิมพ์จอยปริ้นท์

ตังแต่ ้ นัน้ มาจึงเป็ นหนึ่งในสมาชิก Young Printer และได้ เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ กรรมแทบทุก ครั ง้ ตลอดระยะ เวลาหลายปี ที่ผา่ นมา “ครั้ ง แรกที ่ เ ข้ า ร่ ว มกลุ่ ม ก็ได้ไปท�ำกิ จกรรมกันทีพ่ ทั ยา ท�ำให้ ผมได้มีโอกาสเข้ามารู้จกั พีๆ่ เพือ่ นๆ น้องๆ ทีด่ ีๆ และช่วยเหลือกันในทุกๆ เรื ่องครับ ไม่ว่าจะปรึ กษาเรื ่องงาน เรื ่องส่วนตัว และอืน่ ๆ ทุกคนไม่เคย คิ ดเลยว่า เราเป็ นโรงพิ มพ์เล็กๆ อยู่ ต่างจังหวัด มันเป็ นอะไรทีอ่ บอุ่นกัน

มากๆ มิ ตรภาพดี ๆ แบบนี ห้ าจาก ทีไ่ หนไม่ได้อีกแล้ว” ปั จจุบนั ได้ รับต�ำแหน่งเป็ น คณะกรรมการ Young Printer สมัย ที่ 2 หน้ าทีห่ ลัก คือ การช่วยประสาน งานของสมาคมการพิมพ์กบั คนใน พื ้นที่ภาคใต้ และหาสมาชิก Young Printer ในภาคใต้ อาจจะไม่ค่อย ได้ เข้ าประชุมประจ�ำเดือนกับคณะ กรรมการเท่าไร เนื่ องจากอยู่ไกล แต่หากมีกิจกรรมเมื่อใดที่สามารถ เข้ าร่ วมได้ ก็พร้ อมจะเข้ าร่ วมเสมอ โดยที่คณ ุ หงษ์ เชื่อว่า ทุกคนที่เป็ น คณะกรรมการ ต่างเสียสละเวลาที่ จะท�ำให้ ภาพอุตสาหกรรมนี ้ดีขึ ้น

>

อนาคตการพิมพ์ “รวม กันอยู่ แยกกันตาย” ส� ำ ห รั บ อ น า ค ต ข อ ง อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย คุณหงษ์ มองว่า “รวมกันเราอยู่ แยกกัน

อยู่เราตาย” สมัยนี ้การท�ำธุรกิจไม่ เหมือนสมัยก่อนที่ซื ้อเครื่ องจักรมา ท�ำอะไร ก็ไม่ให้ คนอื่นรู้ เพราะเป็ น ความลับ ส่วนตัวมองว่า สมัยนี ้โลก เปลี่ยนแปลงไปแล้ ว อยากดูเครื่ อง อะไรท�ำงานอย่างไร ก็สามารถเปิ ด หาใน Google หรื อ Youtube ก็ เจอแล้ ว ในทางกลับกัน การที่ร้ ูวา่ แต่ละโรงพิมพ์ มีเครื่ องอะไร ถนัด งานด้ านไหน จะเป็ นข้ อดีมากกว่า ท�ำให้ สามารถส่งต่องานให้ กนั และ กันได้ จะได้ ไม่ลงเครื่ องซ� ้ำๆ กัน “ผมเข้าใจเลยว่า ช่วงทีไ่ ม่มี งาน แต่ยงั ต้องผ่อนค่าเครื ่อง ต้อง จ่ ายเงิ นเดื อนพนักงาน จึ งต้องท� ำ ยังไงก็ได้ขอให้ได้งานมากที ส่ ดุ ใน บางงานขาดทุนหรื อเสมอตัวก็ตอ้ ง ยอม จึ งเป็ นปั ญหา และอี กอย่าง ที ผ่ มเห็นแล้วเสี ยดาย คื อโรงพิ มพ์ ยุคเก่าๆ ทีม่ ี ชือ่ เสียงก�ำลังหายไป มี แต่ร้านออกแบบทีเ่ พิ่มขึ้นมา เพราะ

YOUNG PRINTER

ส่วนหนึ่งลูกหลานไม่ยอมรับช่วงต่อ และอีกส่วนหนึ่งเกิ ดจากการไม่ปรับ ตัว เข้ากับเทคโนโลยี ใหม่ๆ มันน่า เสียดายจริ งๆ ครับ” สุ ด ท้ ายนี ้ อยากเชิ ญ ชวนพี่ๆ น้ อ งๆ ที่เ ป็ นทายาท ใ น แ ว ด ว ง ก า ร พิ ม พ์ ไ ม่ ว่ า จ ะ อ ยู่ ใ น จั ง ห วั ด ไ ห น ข อ ง ประเทศไทย ก็สามารถร่ วมเป็ น สมาชิกกับกลุ่ม Young Printer ได้ ยุคนี ร้ ะยะทางใกล้ ไกลไม่ มี ปั ญหาอีกแล้ ว โดยเฉพาะทุกวัน นี เ้ ทคโนโลยี ท�ำ ให้ ก ารสื่ อ สาร ง่ ายขึน้ มีกลุ่ม Line ที่สามารถพูด คุยกันได้ เสมอ ท�ำให้ ใครมีงาน อะไรก็แชร์ กัน ใครท�ำได้ กร็ ั บท�ำ กันไป พวกเราช่ วยกันแล้ ว พวก เราจะอยู่รอดนะครั บ.. สู้ๆ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

117


PRINT สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมยินดี Grand Opening และท�ำบุญอาคารใหม่ NEWS โรงพิมพ์จอยปริน้ ท์

PRINT NEWS โรงพิมพ์จอยปริ้นท์

สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมยินดี Grand Opening และท�ำบุญอาคารใหม่

สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมยินดี

Grand Opening และท�ำบุญอาคารใหม่

โรงพิมพ์จอยปริ้นท์

สมาคมการพิมพ์ ไทย ภายใต้ การน�ำ ของคุ ณ พิ ม พ์ น ารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ นายก สมาคมฯ ได้ น�ำคณะกรรมการ, ที่ปรึกษา และ กลุ่ มยังปริ๊ นเตอร์ เดินทางไปร่ วมงานเปิ ด ตัวอย่ างเป็ นทางการ (Grand Opening) พร้ อม ทัง้ ท�ำบุญอาคารโรงพิมพ์ บริ ษัท จอยปริ น้ ท์ จ�ำกัด อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวัน อาทิตย์ ท่ ี 17 กรกฎาคม พ.ศ.2559 โรงพิมพ์จอยพริ น้ ท์ก่อตังเมื ้ ่อ พ.ศ.2542 โดย “คุณวนิดา สินเจริญกุล” ได้ ลงทุนเครื่องจักร ระบบการพิมพ์ออฟเซ็ต เน้ นการให้ บริ การผลิตใบ เสร็ จรับเงินและเอกสารต่างๆ ต่อมา พ.ศ.2550 “คุณธนเดช เตชะทวีกิจ” ได้ เข้ ามารับช่วงต่อ การบริ หารกิจการ และเมื่อพ.ศ.2554 โรงพิมพ์ จอยปริ น้ ท์ได้ จดทะเบียนในรูปแบบบริ ษัท โดยใช้ ชื่อว่า “บริษทั จอยปริน้ ท์ จ�ำกัด” และได้ เพิม่ การ บริ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และระบบการพิมพ์ ดิจิตอลออฟเซ็ต มาให้ บริ การอีกด้ วย ปั จจุบนั บริษัท จอยปริน้ ท์ จ�ำกัด ได้ ลงทุน เครื่ องจักรและWorkflow ระบบดิจิตอลออฟเซ็ต

118

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

แบบครบวงจร ตังแต่ ้ งานก่อนพิมพ์ งานพิมพ์ และ งานหลังพิมพ์ เริ่ มตังแต่ ้ การรับส่งไฟล์งาน จนสา มารถจัดดัมมี่ได้ โดยอัตโนมัติ ไม่วา่ จะท�ำหนังสือ รูปแบบใด เสร็จได้ ภายใน 1 นาที และยังสามารถ ท�ำงาน One To One ได้ เช่น พิมพ์หมายเลข, พิมพ์ ชื่อ, พิมพ์ Barcode, พิมพ์ รูป พร้ อมทัง้ ยัง สามารถท� ำ งานสิ่ ง พิ ม พ์ กั น ปลอมได้ ด้ ว ย โดยใช้ เครื่ องพิมพ์ดิจิตอล Fuji Xerox Color 1000 และใช้ เครื่ อง Fuji Xerox D110 ผลิต งานเป็ นหลัก พร้ อมทัง้ มี ร ะบบหลัง พิ ม พ์ ที่ มีเครื่ องตัดสติ๊กเกอร์ ดิจิตอล และเครื่ องปั ม้ ทองดิจิตอล ที่ ไม่ต้องใช้ บล็อก รวมทัง้ เครื่ อง เข้ าปกแข็งกึง่ อัตโนมัติ ซึง่ ถ้ าเป็ นงานพิมพ์ระบบ ดิจิตอล ถือว่าทันสมัยมากที่สดุ แห่งหนึง่ ในภาค ใต้ สนใจร่ วมเป็ นพันธมิตร ติดต่ อ ID Line : joyprinthatyai หรื อ FanPage : joyprinthatyai

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

119


PRINT สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมยินดี Grand Opening และท�ำบุญอาคารใหม่ NEWS โรงพิมพ์จอยปริน้ ท์

PRINT NEWS โรงพิมพ์จอยปริ้นท์

สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมยินดี Grand Opening และท�ำบุญอาคารใหม่

สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมยินดี

Grand Opening และท�ำบุญอาคารใหม่

โรงพิมพ์จอยปริ้นท์

สมาคมการพิมพ์ ไทย ภายใต้ การน�ำ ของคุ ณ พิ ม พ์ น ารา จิ ร านิ ธิ ศ นนท์ นายก สมาคมฯ ได้ น�ำคณะกรรมการ, ที่ปรึกษา และ กลุ่ มยังปริ๊ นเตอร์ เดินทางไปร่ วมงานเปิ ด ตัวอย่ างเป็ นทางการ (Grand Opening) พร้ อม ทัง้ ท�ำบุญอาคารโรงพิมพ์ บริ ษัท จอยปริ น้ ท์ จ�ำกัด อ�ำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เมื่อวัน อาทิตย์ ท่ ี 17 กรกฎาคม พ.ศ.2559 โรงพิมพ์จอยพริ น้ ท์ก่อตังเมื ้ ่อ พ.ศ.2542 โดย “คุณวนิดา สินเจริญกุล” ได้ ลงทุนเครื่องจักร ระบบการพิมพ์ออฟเซ็ต เน้ นการให้ บริ การผลิตใบ เสร็ จรับเงินและเอกสารต่างๆ ต่อมา พ.ศ.2550 “คุณธนเดช เตชะทวีกิจ” ได้ เข้ ามารับช่วงต่อ การบริ หารกิจการ และเมื่อพ.ศ.2554 โรงพิมพ์ จอยปริ น้ ท์ได้ จดทะเบียนในรูปแบบบริ ษัท โดยใช้ ชื่อว่า “บริษทั จอยปริน้ ท์ จ�ำกัด” และได้ เพิม่ การ บริ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และระบบการพิมพ์ ดิจิตอลออฟเซ็ต มาให้ บริ การอีกด้ วย ปั จจุบนั บริษัท จอยปริน้ ท์ จ�ำกัด ได้ ลงทุน เครื่ องจักรและWorkflow ระบบดิจิตอลออฟเซ็ต

118

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

แบบครบวงจร ตังแต่ ้ งานก่อนพิมพ์ งานพิมพ์ และ งานหลังพิมพ์ เริ่ มตังแต่ ้ การรับส่งไฟล์งาน จนสา มารถจัดดัมมี่ได้ โดยอัตโนมัติ ไม่วา่ จะท�ำหนังสือ รูปแบบใด เสร็จได้ ภายใน 1 นาที และยังสามารถ ท�ำงาน One To One ได้ เช่น พิมพ์หมายเลข, พิมพ์ ชื่อ, พิมพ์ Barcode, พิมพ์ รูป พร้ อมทัง้ ยัง สามารถท� ำ งานสิ่ ง พิ ม พ์ กั น ปลอมได้ ด้ ว ย โดยใช้ เครื่ องพิมพ์ดิจิตอล Fuji Xerox Color 1000 และใช้ เครื่ อง Fuji Xerox D110 ผลิต งานเป็ นหลัก พร้ อมทัง้ มี ร ะบบหลัง พิ ม พ์ ที่ มีเครื่ องตัดสติ๊กเกอร์ ดิจิตอล และเครื่ องปั ม้ ทองดิจิตอล ที่ ไม่ต้องใช้ บล็อก รวมทัง้ เครื่ อง เข้ าปกแข็งกึง่ อัตโนมัติ ซึง่ ถ้ าเป็ นงานพิมพ์ระบบ ดิจิตอล ถือว่าทันสมัยมากที่สดุ แห่งหนึง่ ในภาค ใต้ สนใจร่ วมเป็ นพันธมิตร ติดต่ อ ID Line : joyprinthatyai หรื อ FanPage : joyprinthatyai

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

119


PRINT NEWS

ชาร์ปเปิดตัวเครื่องมัลติฟังชั่น ซีรี่ส์ CR

ชาร์ปเปิดตัวเครื่องมัลติฟังชั่น ซีรี่ส์ CR ตอบโจทย์ ทุ ก ความต้ อ งการยุ ค ใหม่

ตอบโจทย์ ทุ ก ความต้ อ งการยุ ค ใหม่

CR

ซีรี่ส์

ชาร์ปเปิดตัวเครื่องมัลติฟังก์ชั่น ตอบโจทย์ทุกความต้องการยุคใหม่

“ชาร์ ป” เปิ ดตัวเครื่ องมัลติฟังก์ ช่ ันสี ซีร่ ี ส์ CR 4 รุ่ นใหม่ MX-3050N, MX-3550N, MX-4070N และ MX-5070N ตอบโจทย์ ทุกความต้ องการของธุ รกิจการพิมพ์ และ ส�ำนักงานอัตโนมัตยิ ุคใหม่ บริ ษัท ชาร์ ป ไทย จ�ำกัด แนะน�ำเครื่ องมัลติ ฟั งก์ชนั่ สี ซีรี่ส์ CR 4 รุ่ นใหม่ลา่ สุด ได้ แก่รุ่ น MX3050N, MX-3550N, MX-4070N และ MX-5070N เป็ นซีรี่ส์เครื่ องสีที่ออกแบบมาเพื่อพิมพ์งานให้ ได้ คุณภาพสีสงู สุดเท่าที่ชาร์ ปเคยท�ำมา โดดเด่นด้ วย คุณสมบัติครบเครื่ องที่ตอบสนองทุกความต้ องการ ของทุกคนในองค์กร ทังการถ่ ้ ายเอกสาร ขาว-ด� ำ และพิ ม พ์ เ อกสารสี สแกนสี และมีระบบจัดเก็บเอกสารดิจิตอล จึง ช่วยให้ ทุกการจัดการเอกสารเป็ นเรื่ อง ง่าย เพราะมีระบบการใช้ งานที่สะดวก รวดเร็ ว คุ้มค่าและปลอดภัยกว่า ท�ำให้ ธุรกิจสามารถแข่งขันได้ อย่างเต็มที่ มี ร ะบบความปลอดภั ย ด้ วย Secure Access Control ที่มี Active

120

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT NEWS

Directory Service ท�ำให้ สามารถดูแล และบ�ำรุงรักษาเครื่ องสะดวกยิ่งขึ ้น และ ด้ วยระบบ Single Sign On จึงช่วยให้ เข้ าถึงระบบต่างๆ เพียงใช้ แค่รหัสผ่าน เดียว แต่สามารถเข้ าได้ ทกุ Network ที่ เกี่ยวเนื่องกันทัง้ Google Drive, Cloud และ Share Drive ในการบ�ำรุงรักษา มี การบริ หาร จัดการเป็ นเลิ ศกับระบบ SRDM (Sharp Remote Device Management) ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ สามารถควบคุ ม ดู แ ลการใช้ ง านของทุก เครื ่ อ งมื อ ได้ ง่ า ยขึ้ น พร้ อ มการแจ้ ง เตื อ นสถานะต่ า งๆ เพื ่อ ให้ ผู้ ดู แ ลการบ� ำ รุ ง รั ก ษามี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น ส�ำหรับการใช้ งานด้ วยระบบ Easy User Interface ท�ำให้ ผ้ ใู ช้ สามารถก�ำหนดหน้ าจอ และจัดวาง ICON ต่างๆ ได้ ด้วยตัวเอง สะดวกสบายในการเข้ าสูฟ่ ั งก์ชนั่ ต่างๆ ในการใช้ งานแต่ละครัง้ มีหน้ าจอขนาดใหญ่ถงึ 10.1 นิ ้ว ช่วยให้ มองเห็นเมนูได้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น พร้ อมการ ท�ำงานที่เงียบ ไม่รบกวนผู้อื่นในเวลาท�ำงาน การจัดการเอกสารท�ำได้ ที่หน้ าจอของเครื่ อง พร้ อมทังการ ้ Preview การแก้ ไข รวมถึงการปรับเอกสาร หรื อภาพต่างๆ ก่อนจะพิมพ์จริ ง ท�ำให้ ชว่ ยลดเวลาการ จัดการปั ญหาต่างๆ ได้ ในครัง้ เดียว เครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ ซีรี่ส์นี ้สามารถการท�ำงานได้ ในทุกทีท่ กุ เวลา ด้ วยการเชือ่ มต่อทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รองรับ ทุกเครื่ องมือการสื่อสารทัง้ Smart Phone, Tablet, PC, และ Notebook ผ่านระบบ Cloud รวมถึงการสัง่ พิมพ์ งานได้ โดยตรงด้ วย Flash Drive รองรั บไฟล์งานทัง้ Microsoft Word, Excel และ PowerPoint ด้ วยระบบ Microsoft Office Direct Printing นอกจากนี ้ เครื่ องมัลติฟังก์ ช่ ันสี ชาร์ ป ซีร่ ี ส์ CR4 ยังมีระบบ Sleep Mode ที่ช่วยประหยัดไฟขณะ ไม่ ได้ ใช้ งาน ท�ำงานคู่กับ Fast Wake Up ที่ช่วยให้ กลับมาใช้ งานได้ อย่ างรวดเร็วใน 1 วินาทีเท่ านัน้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

121


PRINT NEWS

ชาร์ปเปิดตัวเครื่องมัลติฟังชั่น ซีรี่ส์ CR

ชาร์ปเปิดตัวเครื่องมัลติฟังชั่น ซีรี่ส์ CR ตอบโจทย์ ทุ ก ความต้ อ งการยุ ค ใหม่

ตอบโจทย์ ทุ ก ความต้ อ งการยุ ค ใหม่

CR

ซีรี่ส์

ชาร์ปเปิดตัวเครื่องมัลติฟังก์ชั่น ตอบโจทย์ทุกความต้องการยุคใหม่

“ชาร์ ป” เปิ ดตัวเครื่ องมัลติฟังก์ ช่ ันสี ซีร่ ี ส์ CR 4 รุ่ นใหม่ MX-3050N, MX-3550N, MX-4070N และ MX-5070N ตอบโจทย์ ทุกความต้ องการของธุ รกิจการพิมพ์ และ ส�ำนักงานอัตโนมัตยิ ุคใหม่ บริ ษัท ชาร์ ป ไทย จ�ำกัด แนะน�ำเครื่ องมัลติ ฟั งก์ชนั่ สี ซีรี่ส์ CR 4 รุ่ นใหม่ลา่ สุด ได้ แก่รุ่ น MX3050N, MX-3550N, MX-4070N และ MX-5070N เป็ นซีรี่ส์เครื่ องสีที่ออกแบบมาเพื่อพิมพ์งานให้ ได้ คุณภาพสีสงู สุดเท่าที่ชาร์ ปเคยท�ำมา โดดเด่นด้ วย คุณสมบัติครบเครื่ องที่ตอบสนองทุกความต้ องการ ของทุกคนในองค์กร ทังการถ่ ้ ายเอกสาร ขาว-ด� ำ และพิ ม พ์ เ อกสารสี สแกนสี และมีระบบจัดเก็บเอกสารดิจิตอล จึง ช่วยให้ ทุกการจัดการเอกสารเป็ นเรื่ อง ง่าย เพราะมีระบบการใช้ งานที่สะดวก รวดเร็ ว คุ้มค่าและปลอดภัยกว่า ท�ำให้ ธุรกิจสามารถแข่งขันได้ อย่างเต็มที่ มี ร ะบบความปลอดภั ย ด้ วย Secure Access Control ที่มี Active

120

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

PRINT NEWS

Directory Service ท�ำให้ สามารถดูแล และบ�ำรุงรักษาเครื่ องสะดวกยิ่งขึ ้น และ ด้ วยระบบ Single Sign On จึงช่วยให้ เข้ าถึงระบบต่างๆ เพียงใช้ แค่รหัสผ่าน เดียว แต่สามารถเข้ าได้ ทกุ Network ที่ เกี่ยวเนื่องกันทัง้ Google Drive, Cloud และ Share Drive ในการบ�ำรุงรักษา มี การบริ หาร จัดการเป็ นเลิ ศกับระบบ SRDM (Sharp Remote Device Management) ซึ่ ง จะช่ ว ยให้ สามารถควบคุ ม ดู แ ลการใช้ ง านของทุก เครื ่ อ งมื อ ได้ ง่ า ยขึ้ น พร้ อ มการแจ้ ง เตื อ นสถานะต่ า งๆ เพื ่อ ให้ ผู้ ดู แ ลการบ� ำ รุ ง รั ก ษามี ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น ส�ำหรับการใช้ งานด้ วยระบบ Easy User Interface ท�ำให้ ผ้ ใู ช้ สามารถก�ำหนดหน้ าจอ และจัดวาง ICON ต่างๆ ได้ ด้วยตัวเอง สะดวกสบายในการเข้ าสูฟ่ ั งก์ชนั่ ต่างๆ ในการใช้ งานแต่ละครัง้ มีหน้ าจอขนาดใหญ่ถงึ 10.1 นิ ้ว ช่วยให้ มองเห็นเมนูได้ ชดั เจนยิ่งขึ ้น พร้ อมการ ท�ำงานที่เงียบ ไม่รบกวนผู้อื่นในเวลาท�ำงาน การจัดการเอกสารท�ำได้ ที่หน้ าจอของเครื่ อง พร้ อมทังการ ้ Preview การแก้ ไข รวมถึงการปรับเอกสาร หรื อภาพต่างๆ ก่อนจะพิมพ์จริ ง ท�ำให้ ชว่ ยลดเวลาการ จัดการปั ญหาต่างๆ ได้ ในครัง้ เดียว เครื่ องมัลติฟังก์ชนั่ ซีรี่ส์นี ้สามารถการท�ำงานได้ ในทุกทีท่ กุ เวลา ด้ วยการเชือ่ มต่อทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รองรับ ทุกเครื่ องมือการสื่อสารทัง้ Smart Phone, Tablet, PC, และ Notebook ผ่านระบบ Cloud รวมถึงการสัง่ พิมพ์ งานได้ โดยตรงด้ วย Flash Drive รองรั บไฟล์งานทัง้ Microsoft Word, Excel และ PowerPoint ด้ วยระบบ Microsoft Office Direct Printing นอกจากนี ้ เครื่ องมัลติฟังก์ ช่ ันสี ชาร์ ป ซีร่ ี ส์ CR4 ยังมีระบบ Sleep Mode ที่ช่วยประหยัดไฟขณะ ไม่ ได้ ใช้ งาน ท�ำงานคู่กับ Fast Wake Up ที่ช่วยให้ กลับมาใช้ งานได้ อย่ างรวดเร็วใน 1 วินาทีเท่ านัน้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

121


PRINT ECONOMY

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

เทรนด์

Startup ในอนาคต

>

โอกาสที่ผู้ประกอบการไม่ควรพลาด

โดยส่วนวิจัยธุรกิจ 1 EXIM BANK

ปั จจุบนั กระแส Startup ได้ รับความสนใจจากคนรุ่นใหม่มากขึน้ และมีหลายรายที่หนั มาเริ่มต้นธุรกิจ Startup ซึ่งเป็ นที่คาดหมายว่ าจะมี บทบาทส�ำคัญต่อเศรษฐกิจในไม่ช้า จากผลส� ำ รวจล่ า สุ ด ของ โครงการ Global Entrepreneurship Monitor (GEM) พบว่าคนไทยราว ร้ อยละ 71 มองว่า การก่อตังธุ ้ รกิจ Startup รวมทังธุ ้ รกิจ SMEs เป็ นทาง เลือกในการประกอบอาชีพที่นา่ สนใจ เนือ่ งจากสามารถเริ่มต้ นโดยใช้ เงินทุน และแรงงานไม่มาก เน้ นการใช้ ความคิด สร้ างสรรค์ในการสร้ างโอกาสทางธุรกิจ และสามารถสร้ างรายได้ อย่างรวดเร็ว

122

นอกจากนี ้ การส่ ง เสริ ม โครงการ Thailand 4.0 ของภาครัฐที่ จะปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจจากการ ขับเคลื่อนด้ วยอุตสาหกรรมหนักไปสู่ อุตสาหกรรมทีอ่ งิ กับเทคโนโลยี ความ คิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม ท�ำให้ ธุรกิ จ Startup ซึ่งส่วนใหญ่ ด�ำเนิน ธุรกิจบนพื ้นฐานของเทคโนโลยี และ นวัตกรรมใหม่ๆ จะเป็ นส่วนส�ำคัญที่ ก่อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงในครัง้ นี ้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ใกล้นี ้สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ Startup The Association of Independจะมีการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญ ดังนี ้ ent Professionals and the SelfEmployed (IPSE) ซึง่ เป็ นหน่วยงาน แ ร ง ง า น เ ข้ า สู่ อ า ชี พ สนับสนุนการท�ำงานอิสระ รายงานว่า Freelancer เพิ่มขึน้ ในปี 2556 แรงงานทีเ่ ป็ น Freelancer ปั จจุบนั สั ง ค ม วั ย ท� ำ ง า น ในยุโรปมีสดั ส่วนราว 1 ใน 4 ของ เริ่มเข้ าสูก่ ลุม่ Gen Y (ผู้ที่เกิดในช่วง แรงงานทังหมดในยุ ้ โรป ปี พ.ศ.2523-2540) ซึง่ ยังไม่รวมกลุม่ ส�ำหรั บประเทศไทยยังไม่มี Gen Z (ผู้ทเี่ กิดหลังปี 2540) ทีก่ ำ� ลัง รายงานจ�ำนวน Freelancer ทีแ่ น่นอน จะเข้ าสูต่ ลาดแรงงานในเร็วๆ นี โดยทั ้ ง้ แต่คาดว่าจะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ ้นใน สอง Generation นิยมประกอบอาชีพ อนาคตตามเทรนด์โลก ปั จจุบนั ธุรกิจ รับจ้ างอิสระ (Freelancer) เนื่องจาก Startup นิยมจ้ างกลุ่ม Freelancer คนกลุม่ นี ้ต้ องการความสมดุลระหว่าง มากขึ ้น เนื่องจากมีข้อดีที่ไม่ต้องรับ เวลาท�ำงานกับเวลาส่วนตัว ซึ่งการ เป็ น Freelancer ทีส่ ามารถเลือกได้ วา่ จะท�ำงานทีไ่ หน และเมือ่ ไรตามความ ต้ องการสามารถตอบโจทย์ดงั กล่าวได้ อย่างลงตัว ทั ง้ นี ้ จากการศึ ก ษาของ Freelancer’s Union พบว่าในปี 2558 แรงงานทีเ่ ป็ น Freelancer ในสหรัฐฯ มี จ�ำนวนราว 54 ล้ านคน คิดเป็ นสัดส่วน ราว 1 ใน 3 ของแรงงานทังหมดใน ้ สหรัฐฯ และคาดว่าสัดส่วนดังกล่าว จะสูงถึงร้ อยละ 40 ในปี 2563 ขณะที่

ทังนี ้ ในช่ ้ วงปี 2555-2558 ธุรกิจ Startup ในประเทศไทยสามารถระดมทุน ได้สงู ถึง 86.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และ คาดว่าจะเพิม่ ขึ ้นอย่างต่อเนือ่ ง ขณะที่ การพัฒนารูปแบบของธุรกิจ Startup มี อย่างต่อเนือ่ ง และนับวันจะยิง่ เป็ นกลไก ส�ำคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยใน อนาคต Inc.com เว็บไซด์ทรี่ วบรวม แนวคิดธุรกิจ ประเมินว่าในอนาคตอัน

PRINT ECONOMY

ภาระดูแลด้ านสวัสดิการ และยังได้ พนักงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ทาง รวมถึงเพิ่มความหลากหลายให้ กับธุรกิจ เนือ่ งจากสามารถปรับเปลีย่ น พนักงานให้ เหมาะสมกับงานแต่ละ โครงการ ในท�ำนองเดียวกัน Freelancer ก็ นิ ย มท� ำ งานกั บ ธุ ร กิ จ Startup เช่ นกัน เนื่องจากการรั บ งานเป็ นโครงการ ท�ำให้ สามารถ จั ด สรรเวลากั บ เวลาส่ วนตั ว ได้ สะดวกกว่ าการท�ำงานประจ�ำกับ องค์ กรขนาดใหญ่

>

เข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น ผ่ า น Equity Crowdfunding เป็ นที่นยิ ม Equity Crowdfunding หรือ การระดมทุนจากมวลชนโดยแลกกับ สิทธิก์ ารเป็ นเจ้าของบริษทั ในฐานะผู้ถอื หุ้น คาดว่าจะกลายเป็ นช่องทางหลักให้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

123


PRINT ECONOMY

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

เทรนด์

Startup ในอนาคต

>

โอกาสที่ผู้ประกอบการไม่ควรพลาด

โดยส่วนวิจัยธุรกิจ 1 EXIM BANK

ปั จจุบนั กระแส Startup ได้ รับความสนใจจากคนรุ่นใหม่มากขึน้ และมีหลายรายที่หนั มาเริ่มต้นธุรกิจ Startup ซึ่งเป็ นที่คาดหมายว่ าจะมี บทบาทส�ำคัญต่อเศรษฐกิจในไม่ช้า จากผลส� ำ รวจล่ า สุ ด ของ โครงการ Global Entrepreneurship Monitor (GEM) พบว่าคนไทยราว ร้ อยละ 71 มองว่า การก่อตังธุ ้ รกิจ Startup รวมทังธุ ้ รกิจ SMEs เป็ นทาง เลือกในการประกอบอาชีพที่นา่ สนใจ เนือ่ งจากสามารถเริ่มต้ นโดยใช้ เงินทุน และแรงงานไม่มาก เน้ นการใช้ ความคิด สร้ างสรรค์ในการสร้ างโอกาสทางธุรกิจ และสามารถสร้ างรายได้ อย่างรวดเร็ว

122

นอกจากนี ้ การส่ ง เสริ ม โครงการ Thailand 4.0 ของภาครัฐที่ จะปรับโครงสร้ างเศรษฐกิจจากการ ขับเคลื่อนด้ วยอุตสาหกรรมหนักไปสู่ อุตสาหกรรมทีอ่ งิ กับเทคโนโลยี ความ คิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม ท�ำให้ ธุรกิ จ Startup ซึ่งส่วนใหญ่ ด�ำเนิน ธุรกิจบนพื ้นฐานของเทคโนโลยี และ นวัตกรรมใหม่ๆ จะเป็ นส่วนส�ำคัญที่ ก่อให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงในครัง้ นี ้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ใกล้นี ้สภาวะแวดล้อมของธุรกิจ Startup The Association of Independจะมีการเปลีย่ นแปลงทีส่ ำ� คัญ ดังนี ้ ent Professionals and the SelfEmployed (IPSE) ซึง่ เป็ นหน่วยงาน แ ร ง ง า น เ ข้ า สู่ อ า ชี พ สนับสนุนการท�ำงานอิสระ รายงานว่า Freelancer เพิ่มขึน้ ในปี 2556 แรงงานทีเ่ ป็ น Freelancer ปั จจุบนั สั ง ค ม วั ย ท� ำ ง า น ในยุโรปมีสดั ส่วนราว 1 ใน 4 ของ เริ่มเข้ าสูก่ ลุม่ Gen Y (ผู้ที่เกิดในช่วง แรงงานทังหมดในยุ ้ โรป ปี พ.ศ.2523-2540) ซึง่ ยังไม่รวมกลุม่ ส�ำหรั บประเทศไทยยังไม่มี Gen Z (ผู้ทเี่ กิดหลังปี 2540) ทีก่ ำ� ลัง รายงานจ�ำนวน Freelancer ทีแ่ น่นอน จะเข้ าสูต่ ลาดแรงงานในเร็วๆ นี โดยทั ้ ง้ แต่คาดว่าจะมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ ้นใน สอง Generation นิยมประกอบอาชีพ อนาคตตามเทรนด์โลก ปั จจุบนั ธุรกิจ รับจ้ างอิสระ (Freelancer) เนื่องจาก Startup นิยมจ้ างกลุ่ม Freelancer คนกลุม่ นี ้ต้ องการความสมดุลระหว่าง มากขึ ้น เนื่องจากมีข้อดีที่ไม่ต้องรับ เวลาท�ำงานกับเวลาส่วนตัว ซึ่งการ เป็ น Freelancer ทีส่ ามารถเลือกได้ วา่ จะท�ำงานทีไ่ หน และเมือ่ ไรตามความ ต้ องการสามารถตอบโจทย์ดงั กล่าวได้ อย่างลงตัว ทั ง้ นี ้ จากการศึ ก ษาของ Freelancer’s Union พบว่าในปี 2558 แรงงานทีเ่ ป็ น Freelancer ในสหรัฐฯ มี จ�ำนวนราว 54 ล้ านคน คิดเป็ นสัดส่วน ราว 1 ใน 3 ของแรงงานทังหมดใน ้ สหรัฐฯ และคาดว่าสัดส่วนดังกล่าว จะสูงถึงร้ อยละ 40 ในปี 2563 ขณะที่

ทังนี ้ ในช่ ้ วงปี 2555-2558 ธุรกิจ Startup ในประเทศไทยสามารถระดมทุน ได้สงู ถึง 86.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และ คาดว่าจะเพิม่ ขึ ้นอย่างต่อเนือ่ ง ขณะที่ การพัฒนารูปแบบของธุรกิจ Startup มี อย่างต่อเนือ่ ง และนับวันจะยิง่ เป็ นกลไก ส�ำคัญในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยใน อนาคต Inc.com เว็บไซด์ทรี่ วบรวม แนวคิดธุรกิจ ประเมินว่าในอนาคตอัน

PRINT ECONOMY

ภาระดูแลด้ านสวัสดิการ และยังได้ พนักงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ทาง รวมถึงเพิ่มความหลากหลายให้ กับธุรกิจ เนือ่ งจากสามารถปรับเปลีย่ น พนักงานให้ เหมาะสมกับงานแต่ละ โครงการ ในท�ำนองเดียวกัน Freelancer ก็ นิ ย มท� ำ งานกั บ ธุ ร กิ จ Startup เช่ นกัน เนื่องจากการรั บ งานเป็ นโครงการ ท�ำให้ สามารถ จั ด สรรเวลากั บ เวลาส่ วนตั ว ได้ สะดวกกว่ าการท�ำงานประจ�ำกับ องค์ กรขนาดใหญ่

>

เข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น ผ่ า น Equity Crowdfunding เป็ นที่นยิ ม Equity Crowdfunding หรือ การระดมทุนจากมวลชนโดยแลกกับ สิทธิก์ ารเป็ นเจ้าของบริษทั ในฐานะผู้ถอื หุ้น คาดว่าจะกลายเป็ นช่องทางหลักให้ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

123


PRINT ECONOMY

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

กับธุรกิจ Startup ในการเข้ าถึงแหล่ง เงินทุน เนือ่ งจากมีขนตอนง่ ั้ าย ต้นทุน ต�่ำ และใช้ ระยะเวลาสันในการขอ ้ สนับสนุนเงินทุน เนือ่ งจากมีขนตอน ั้ ง่าย ต้ นทุนต�ำ่ และใช้ ระยะเวลาสัน้ ในการขอสนับสนุนเงินทุน (Venture Capital) นอกจากนี ้ การระดมทุน ด้ วยวิธีนีย้ ังท� ำให้ สินค้ าหรื อธุรกิ จ เป็ นที่ร้ ู จักของตลาดมากขึน้ ทัง้ นี ้ วิธีการระดมทุนจากมวลชนเติบโต อย่างรวดเร็ ว สะท้ อนได้ จากตลาด Crowdfunding ในสหรัฐที่มีมลู ค่า สูงถึง 16 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐใน ปี 2558 เทียบกับทีม่ มี ลู ค่าเพียง 800

ล้ านดอลลาร์ สหรัฐในปี 2553 และ คาดว่าจะเพิ่มขึ ้นเป็ น 32 ล้ านล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2559 ตัวอย่างเว็บไซต์ Crowdfunding ที ่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ อาทิ Kickstarter และ Indiegogo ส�ำหรับประเทศไทย Crowdfunding มัก อยู่ ใ นรู ป แบบของการบริ จาค

124

อาทิ เว็บไซต์ Taejai ซึ่ งส่งเสริ ม โครงการช่ วยเหลื อสังคม หรื อรู ป แบบการคืนผลตอบแทนเป็ นรางวัล เช่ น เว็ บ ไซต์ Afterword ที ่เ ปิ ด โอกาสให้นกั เขี ยนระดมทุนจากผู้ อ่าน โดยผู้อ่านจะได้รับหนังสื อที ่ เขี ยนเป็ นรางวัล เป็ นต้น ล่ า สุ ด ส� ำ นั ก งานคณะ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

กรรมการก�ำกับหลักทรั พย์ และ ตลาดหลั กทรั พย์ (ก.ล.ต.) ได้ สนับสนุนผู้ประกอบการ Startup ของไทยให้ เข้ าถึงแหล่ งเงินทุน ผ่ าน Equity Crowdfunding มาก ขึน้ ด้ วยการปรับปรุงเกณฑ์ กำ� กับ ดูแลให้ เอือ้ ต่ อการระดมทุนของ ผู้ ป ระกอบการมากขึ น้ พร้ อม ทัง้ ควบคุ ม ความเสี่ ย ง และให้ ความรู้ แก่ นักลงทุนเพื่อให้ การ ระดมทุนผ่ านช่ องทางดังกล่ าว เกิดประสิทธิผลอย่ างแท้ จริง Startup หั น มาเริ่ มท� ำ ธุรกิจในสาขา Fintech มากขึน้ ปั จ จุ บัน พฤติ ก รรมของผู้ บริ โ ภคเริ่ ม หัน มาท� ำ ธุ ร กรรมผ่ า น ระบบอินเทอร์ เนตมากขึ ้น ไม่วา่ จะ เป็ นการช�ำระเงินออนไลน์ การซื ้อ

>

หุ้นออนไลน์ หรื อแม้ แต่การระดม ทุ น ออนไลน์ ข องธุ ร กิ จ Startup เนื่องจากมีความสะดวก และต้ นทุน ต�่ำกว่ารู ปแบบเดิมที่อยู่ในลักษณะ การช�ำระค่าสินค้ าและบริ การด้ วย เงินสด การโอนเงินผ่านธนาคารหรือ ตู้ ATM ยิ่งไปกว่านัน้ หลายประเทศ ก็สนับสนุนให้ มกี ารใช้ เงินในรูปแบบ ดิจติ อลมากขึ ้น (Cashless Society) อาทิ สวี เ ดนสนับ สนุน การใช้ เ งิ น ในรู ป แบบดิ จิ ต อลโดยจะค่ อ ยๆ ลดการใช้ เงินสดภายในระยะเวลา 15 ปี เป็ นต้ น ทังนี ้ พฤติ ้ กรรมของผู้บริโภค ที่ เ ปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า วนั บ เป็ น โอกาสของธุรกิจ Startup ในสาขา Financial Technology (Fintech) มากขึน้ เป็ นที่ น่ า สัง เกตว่ า ธุ ร กิ จ Fintech ทัว่ โลกเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยมี มูลค่าสูงถึง 120,000 ล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2557 เทียบกับที่ มีมลู ค่าเพียง 930 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2551 ขณะที่ธุรกิจ Fintech ในเอเชีย มีมลู ค่าราว 4,500 ล้ าน

ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2558 เพิม่ ขึ ้นถึง 4 เท่าจากปี 2557 ส�ำหรับประเทศไทย รัฐบาล สนับสนุนโครงการ Promptpay เพือ่ ให้ มีการโอนเงินหรื อช�ำระเงินผ่าน ระบบอินเทอร์ เน็ตในวงกว้ างขึ ้น ซึง่ จะมีสว่ นช่วยขยายตลาดและสร้ าง โอกาสให้ แก่กลุ่ม Startup สาขา Fintech เพิ่มขึ ้น ตัวอย่างของกลุม่ ดังกล่าวในประเทศไทยซึง่ เป็ นทีร่ ้ ูจกั เช่น StockRadars ที่ติดตามและ วิเคราะห์ความเคลือ่ นไหวของราคา หุ้นเพื่อเลือกหุ้นที่น่าสนใจ iTax ที่

PRINT ECONOMY

ช่วยเรื่ องเตรี ยมและค�ำนวณภาษี และ Omise ทีเ่ ป็ นช่องทางการช�ำระ เงินออนไลน์ เป็ นต้ น แม้ วา่ การท�ำธุรกิจ Startup ก� ำลังเป็ นหนทางในการสร้ างราย ได้ ของคนรุ่ นใหม่ โดยเฉพาะ Gen Y และ Gen Z อย่างไรก็ตาม พบ ว่าธุรกิจ Startup ที่เปิ ดตัวไปแล้ ว กว่าร้ อยละ 90 กลับประสบความ ล้ มเหลว เนื่องจากธุรกิจไม่สามารถ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ได้ ขณะเดียวกันยังประสบปั ญหา ด้ านเงินลงทุน หรื อไม่สามารถปรับ

ตัวได้ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ ผู้ประกอบการที่ สนใจท�ำธุรกิจในลักษณะ Startup จึงควรให้ ความส�ำคัญกับความ ต้ องการของลูกค้ า รวมทัง้ การ วางแผนธุ ร กิ จ อย่ า งรอบคอบ รั ดกุ ม เพื่ อให้ ธุ ร กิ จ เติ บ โต และเดิน หน้ า ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ใน ระยะยาว THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

125


PRINT ECONOMY

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

เทรนด์ Startup ในอนาคต โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด โอกาสที่ผ้ปู ระกอบการไม่ควรพลาด

กับธุรกิจ Startup ในการเข้ าถึงแหล่ง เงินทุน เนือ่ งจากมีขนตอนง่ ั้ าย ต้นทุน ต�่ำ และใช้ ระยะเวลาสันในการขอ ้ สนับสนุนเงินทุน เนือ่ งจากมีขนตอน ั้ ง่าย ต้ นทุนต�ำ่ และใช้ ระยะเวลาสัน้ ในการขอสนับสนุนเงินทุน (Venture Capital) นอกจากนี ้ การระดมทุน ด้ วยวิธีนีย้ ังท� ำให้ สินค้ าหรื อธุรกิ จ เป็ นที่ร้ ู จักของตลาดมากขึน้ ทัง้ นี ้ วิธีการระดมทุนจากมวลชนเติบโต อย่างรวดเร็ ว สะท้ อนได้ จากตลาด Crowdfunding ในสหรัฐที่มีมลู ค่า สูงถึง 16 ล้ านล้ านดอลลาร์ สหรัฐใน ปี 2558 เทียบกับทีม่ มี ลู ค่าเพียง 800

ล้ านดอลลาร์ สหรัฐในปี 2553 และ คาดว่าจะเพิ่มขึ ้นเป็ น 32 ล้ านล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2559 ตัวอย่างเว็บไซต์ Crowdfunding ที ่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ อาทิ Kickstarter และ Indiegogo ส�ำหรับประเทศไทย Crowdfunding มัก อยู่ ใ นรู ป แบบของการบริ จาค

124

อาทิ เว็บไซต์ Taejai ซึ่ งส่งเสริ ม โครงการช่ วยเหลื อสังคม หรื อรู ป แบบการคืนผลตอบแทนเป็ นรางวัล เช่ น เว็ บ ไซต์ Afterword ที ่เ ปิ ด โอกาสให้นกั เขี ยนระดมทุนจากผู้ อ่าน โดยผู้อ่านจะได้รับหนังสื อที ่ เขี ยนเป็ นรางวัล เป็ นต้น ล่ า สุ ด ส� ำ นั ก งานคณะ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

กรรมการก�ำกับหลักทรั พย์ และ ตลาดหลั กทรั พย์ (ก.ล.ต.) ได้ สนับสนุนผู้ประกอบการ Startup ของไทยให้ เข้ าถึงแหล่ งเงินทุน ผ่ าน Equity Crowdfunding มาก ขึน้ ด้ วยการปรับปรุงเกณฑ์ กำ� กับ ดูแลให้ เอือ้ ต่ อการระดมทุนของ ผู้ ป ระกอบการมากขึ น้ พร้ อม ทัง้ ควบคุ ม ความเสี่ ย ง และให้ ความรู้ แก่ นักลงทุนเพื่อให้ การ ระดมทุนผ่ านช่ องทางดังกล่ าว เกิดประสิทธิผลอย่ างแท้ จริง Startup หั น มาเริ่ มท� ำ ธุรกิจในสาขา Fintech มากขึน้ ปั จ จุ บัน พฤติ ก รรมของผู้ บริ โ ภคเริ่ ม หัน มาท� ำ ธุ ร กรรมผ่ า น ระบบอินเทอร์ เนตมากขึ ้น ไม่วา่ จะ เป็ นการช�ำระเงินออนไลน์ การซื ้อ

>

หุ้นออนไลน์ หรื อแม้ แต่การระดม ทุ น ออนไลน์ ข องธุ ร กิ จ Startup เนื่องจากมีความสะดวก และต้ นทุน ต�่ำกว่ารู ปแบบเดิมที่อยู่ในลักษณะ การช�ำระค่าสินค้ าและบริ การด้ วย เงินสด การโอนเงินผ่านธนาคารหรือ ตู้ ATM ยิ่งไปกว่านัน้ หลายประเทศ ก็สนับสนุนให้ มกี ารใช้ เงินในรูปแบบ ดิจติ อลมากขึ ้น (Cashless Society) อาทิ สวี เ ดนสนับ สนุน การใช้ เ งิ น ในรู ป แบบดิ จิ ต อลโดยจะค่ อ ยๆ ลดการใช้ เงินสดภายในระยะเวลา 15 ปี เป็ นต้ น ทังนี ้ พฤติ ้ กรรมของผู้บริโภค ที่ เ ปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า วนั บ เป็ น โอกาสของธุรกิจ Startup ในสาขา Financial Technology (Fintech) มากขึน้ เป็ นที่ น่ า สัง เกตว่ า ธุ ร กิ จ Fintech ทัว่ โลกเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยมี มูลค่าสูงถึง 120,000 ล้ าน ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2557 เทียบกับที่ มีมลู ค่าเพียง 930 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2551 ขณะที่ธุรกิจ Fintech ในเอเชีย มีมลู ค่าราว 4,500 ล้ าน

ดอลลาร์ สหรัฐในปี 2558 เพิม่ ขึ ้นถึง 4 เท่าจากปี 2557 ส�ำหรับประเทศไทย รัฐบาล สนับสนุนโครงการ Promptpay เพือ่ ให้ มีการโอนเงินหรื อช�ำระเงินผ่าน ระบบอินเทอร์ เน็ตในวงกว้ างขึ ้น ซึง่ จะมีสว่ นช่วยขยายตลาดและสร้ าง โอกาสให้ แก่กลุ่ม Startup สาขา Fintech เพิ่มขึ ้น ตัวอย่างของกลุม่ ดังกล่าวในประเทศไทยซึง่ เป็ นทีร่ ้ ูจกั เช่น StockRadars ที่ติดตามและ วิเคราะห์ความเคลือ่ นไหวของราคา หุ้นเพื่อเลือกหุ้นที่น่าสนใจ iTax ที่

PRINT ECONOMY

ช่วยเรื่ องเตรี ยมและค�ำนวณภาษี และ Omise ทีเ่ ป็ นช่องทางการช�ำระ เงินออนไลน์ เป็ นต้ น แม้ วา่ การท�ำธุรกิจ Startup ก� ำลังเป็ นหนทางในการสร้ างราย ได้ ของคนรุ่ นใหม่ โดยเฉพาะ Gen Y และ Gen Z อย่างไรก็ตาม พบ ว่าธุรกิจ Startup ที่เปิ ดตัวไปแล้ ว กว่าร้ อยละ 90 กลับประสบความ ล้ มเหลว เนื่องจากธุรกิจไม่สามารถ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า ได้ ขณะเดียวกันยังประสบปั ญหา ด้ านเงินลงทุน หรื อไม่สามารถปรับ

ตัวได้ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ดังนัน้ ผู้ประกอบการที่ สนใจท�ำธุรกิจในลักษณะ Startup จึงควรให้ ความส�ำคัญกับความ ต้ องการของลูกค้ า รวมทัง้ การ วางแผนธุ ร กิ จ อย่ า งรอบคอบ รั ดกุ ม เพื่ อให้ ธุ ร กิ จ เติ บ โต และเดิน หน้ า ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น ใน ระยะยาว THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

125


PRINT ฟูจิ ซีร็อกซ์ พิมพ์ภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ รัชกาลที่ 9 NEWS แจกประชาชนฟรี 99,999 ใบ

ฟูจิ ซีร็อกซ์

พิมพ์ภาพพระบรมสาทิสลักษณ์ รัชกาลที่ 9 แจกประชาชนฟรี 99,999 ใบ คุณโคจิ เทสึกะ ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด พร้ อมด้ วยผู้บริ หารและพนักงาน น�ำภาพพระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่จดั พิมพ์ด้วยเทคโนโลยีการ พิมพ์ระบบดิจิตอลเฉพาะของฟูจิ ซีร็อกซ์ จ�ำนวน 99,999 ใบ แจกจ่ายฟรี ให้ กบั ประชาชนที่สนใจ เพื่อร่วมน้ อม ส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ และร่วมแสดงความอาลัยแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ณ ส�ำนักงานใหญ่ อาคารซันทาวเวอร์ ส จตุจกั ร เมื่อเร็ วๆ นี ้

126

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3


เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้องใหม่ PRINT ART GALLERY แฟชัน่ และฟิตเนส ฝีมือและความสามารถที่งดงาม

PRINT ART GALLERY แฟชั่นและฟิตเนส ฝีมือและความสามารถที่งดงาม เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้องใหม่

แฟชั่นและฟิตเนส เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้องใหม่

ฝีมือและความสามารถที่งดงาม

ภายใต้ บรรยากาศงาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร 59 ภาคใต้ ” ซึ่งได้ จดั ให้ มี Workshop เรื่ อง “การออกแบบปก นิตยสาร” โดยก�ำหนดโจทย์ไว้ วา่ บริ ษัทแห่งหนึง่ ก�ำลังจะออก หัวหนังสือนิตยสารน้ องใหม่ 2 หัวคือ แฟชัน่ และฟิ ตเนส จึงได้ แบ่งผู้เข้ าร่วมสัมมนาออกเป็ น 8 กลุม่ และให้ ออกแบบกลุม่ ละ 1 หัว เน้ นการออกแบบให้ มคี วามแตกต่างและดึงดูดความสนใจ ผลปรากฏว่า การออกแบบมีแนวคิด มุมมองและ เหตุผลหลากหลาย และได้ ผลงานออกมาทังสิ ้ ้น 8 ปก ซึง่ ทุกปก

128

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ล้ ว นมี ค วามสวยงาม มี ค วามหมายและแนวคิ ด เป็ นเลิ ศ สอดคล้ องกับโจทย์เป็ นอย่างดี จึงน�ำมาเสนอเป็ นอาร์ ต แกล เลอรี่ ให้ ได้ ชมผลงานความสามารถและฝี มื อที่ เกิ ดจากการ เวิร์กช็อปในฉบับนี ้ หมายเหตุ : นิ ตยสาร GLAMOUR ได้รบั รางวัลชนะเลิ ศ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

129


เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้องใหม่ PRINT ART GALLERY แฟชัน่ และฟิตเนส ฝีมือและความสามารถที่งดงาม

PRINT ART GALLERY แฟชั่นและฟิตเนส ฝีมือและความสามารถที่งดงาม เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้องใหม่

แฟชั่นและฟิตเนส เวิร์กช็อปปกนิตยสารน้องใหม่

ฝีมือและความสามารถที่งดงาม

ภายใต้ บรรยากาศงาน “การพิมพ์ ไทยสัญจร 59 ภาคใต้ ” ซึ่งได้ จดั ให้ มี Workshop เรื่ อง “การออกแบบปก นิตยสาร” โดยก�ำหนดโจทย์ไว้ วา่ บริ ษัทแห่งหนึง่ ก�ำลังจะออก หัวหนังสือนิตยสารน้ องใหม่ 2 หัวคือ แฟชัน่ และฟิ ตเนส จึงได้ แบ่งผู้เข้ าร่วมสัมมนาออกเป็ น 8 กลุม่ และให้ ออกแบบกลุม่ ละ 1 หัว เน้ นการออกแบบให้ มคี วามแตกต่างและดึงดูดความสนใจ ผลปรากฏว่า การออกแบบมีแนวคิด มุมมองและ เหตุผลหลากหลาย และได้ ผลงานออกมาทังสิ ้ ้น 8 ปก ซึง่ ทุกปก

128

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

ล้ ว นมี ค วามสวยงาม มี ค วามหมายและแนวคิ ด เป็ นเลิ ศ สอดคล้ องกับโจทย์เป็ นอย่างดี จึงน�ำมาเสนอเป็ นอาร์ ต แกล เลอรี่ ให้ ได้ ชมผลงานความสามารถและฝี มื อที่ เกิ ดจากการ เวิร์กช็อปในฉบับนี ้ หมายเหตุ : นิ ตยสาร GLAMOUR ได้รบั รางวัลชนะเลิ ศ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 3

129


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.