115919 Cover# 115_ Pc4.pdf 1 27/2/2561 0:15:39
Ad GBB #115_pc4.indd 1
26/2/2561 20:31:55
Ad_iiK Interink_Pc3.pdf 1 30/1/2561 14:32:20
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 4
12/9/2560 14:01:20
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 5
12/9/2560 13:50:32
06 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 6
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
12/9/2560 13:54:29
Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC Directory_Final_Outline.pdf
1
2/20/2560 BE
11:18
Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC Directory_Final_Outline.pdf
1
2/20/2560 BE
11:18
08 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 8
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
7/9/2560 22:59:41
Ad Label Expo Edit 8-2 _pc4.pdf 1 8/2/2561 15:34:07
09 Ad T.Phaiboon #113_pc3.indd 1
22/1/2560 1:51:36
ผลิ ต ภั ณ ฑ์
เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน Moving Forward to Green Print
ปลอดภัยตอผูใช
ลูกกลิ้งเสื่อมเร็ว สารกอมะเร็ง
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สารไวไฟ
ผสมน้ำได
การใชน้ำมันกาด กอใหเกิดผลอยางไร มีกลิ่นฉุน
น้ำยาลางแบบใหม ดีอยางไร ถนอมลูกกลิ้ง
เปนอันตรายตอผูใช
$ $ $
ใชในปริมาณมาก
ลดตนทุนระยะยาว
ไมมีกลิ่นฉุน
ใชปริมาณนอย
จำหนายน้ำยาลางหมึกแทนน้ำมันกาด และน้ำยาลางหมึกพิมพ UV คุณภาพสูง บริษัท แอลฟา โปร เคมีคอล จำกัด
300 ซ.เพชรเกษม 42 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 Tel: 0-2457-4886, 0-2457-4889 Fax: 0-2869-5515 www.alphaprochemical.com
06 Ad Alphaprochemical #109_pc3.indd 6
23/9/2558 14:21:28
Best Performance, Fastest Output. l
Best performance with fast-dry oil-base
l
Super high-speed Printing 160 ppm.
l
Stability for High-volume Production Print jobs.
l
Eco-proven Performance Worldwide.
l
Small Foot print, Big Output
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/ Ad Riso_pc4.indd 1
30/1/2561 14:34:36
AD_soontorn new _pc3.pdf 1 23/8/2560 9:29:08
Digital & Offset Printing, Quick!
We can print even one piece with highest quality. Leaflet, Brochure, Photo Book, Personalized Mailing, Postcard, Hand Book Business Card, Report, Seminar Document, Menu, Label & Packetging etc. บริการพิมพงานระบบดิจิตอลคุณภาพสูง งานพิมพเรงดวน พิมพมาก พิมพนอย ไดตามความตองการ รวดเร็ว ไมตองทำฟลม ไมตองทำเพลท ประหยัดเวลาและคาใชจาย สีสันสดใส คมชัด คุณภาพสูง
บริการพิมพงานระบบอิงคเจ็ท บริการพิมพงานระบบดิจิตอล
ปายไวนิล ปายโฆษณา Roll up, X-Stand, J-Flag, Canvas พิมพสติกเกอร ฉลากสินคา ฟวเจอรบอรด พรอมไดคัทครบวงจร ฯลฯ
นามบัตร บัตรสมาชิก แผนพับ ใบปลิว โบรชัวร โปสการด วุฒิบัตร เมนูอาหาร แค็ตตาล็อกสินคา หนังสือ นิตยสาร พ็อกเก็ตบุค ปฎิทิน โฟโตบุค สติกเกอร ฉลากสินคา ฯลฯ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 55
055 8/9/2560 3:26:09
Ad Carbonless_Pc3.indd 1
23/1/2561 16:53:23
Editor ISSUE 115
Thaiprint magazine ฉบับต้ อนรับปี ใหม่ 2561 ขออวยพรให้ ผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นสมปรารถนา ขออ�ำนาจคุณพระศรีรัตนตรัยและสิง่ ศักดิท์ งหลายใน ั้ โลกนี ้จงดลบันดาลให้ ทา่ น และครอบครัว พบแต่ความ สุข ความเจริญตลอดไปด้ วยเทอญ วารสารฉบับ นี ม้ ี เ หลายเรื่ อ งมาน� ำ เสนอ อาทิเช่น เรื่อง business ecosystems หรือระบบนิเวศ ธุรกิจการวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการ พิมพ์, เรื่อง E-commerce หรือพฤติกรรมของผู้บริโภค ทีเ่ ปลีย่ นไปกับการเติบโตของธุรกิจ, ความรู้หรือเทคนิค เกีย่ วกับงานพิมพ์, ภาพบรรยากาศงาน PPI2017 และ ภาพบรรยากาศงานพิ ธี ป ระกาศผลงานประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 12 ปี 2561 เตรียมพบกิจกรรมดี ๆ ทีใ่ ห้ ความรู้ กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุ ภัณฑ์รวมถึงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกันได้ ในฉบับ ต่อ ๆ ไปนะคะ บรรณาธิการ
Special Thanks บริษทั ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ำกัด เอื ้อเฟื อ้ กระดาษทีใ่ ช้ พมิ พ์ Thaiprint magazine โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 บริษทั เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จ�ำกัด ช่วยเคลือบปกวารสาร เพิม่ คุณค่าให้ งานพิมพ์สวย รวดเร็ว ทันใจ โทรศัพท์ 0 2425 9736-41
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 14
นายกสมาคม คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ อุปนายก คุณณรงค์ศกั ดิ ์ มีวาสนาสุข, คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช, คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณวิทยา อุปริพทุ ธิพงศ์, คุณพชร จงกมานนท์ เลขาธิการ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ รองเลขาธิการ คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณสุวทิ ย์ เพียรรุ่งโรจน์, คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์, เหรัญญิก คุณวลัยพร ศันสนียสุนทร ปฏิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒโิ รจน์ ประชาสัมพันธ์ คุณรัชฐกฤต เหตระกูล กรรมการฝ่ ายพัฒนาองค์ กร คุณธีระ กิตติธีรพรชัย กรรมการฝ่ ายการพิมพ์ ดจิ ติ อล คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ ที่ปรึกษา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์,คุณวิชยั สกลวรารุ่งเรือง, คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้ มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชยั กุล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกลุ , คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวฒ ั น์, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณมารชัย กองบุญมา,คุณสมชัย ศรีวฒ ุ ชิ าญ, คุณสุพนั ธุ์ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกลุ , คุณธวัชชัย ยติถริ ธ�ำรง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทยั ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงีย่ ม, คุณหิรัญ เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี ้ยง แก้ วนาพันธ์, อ.พัชราภา ศักดิโ์ สภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิริอำ� พันธุ์กลุ , คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ,์ คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, คุณมยุรี ภาคล�ำเจียก, ผศ.ดร.ชวาล คูร์พพิ ฒ ั น์, คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัย, คุณบุญชู ลิม่ อติบลู ย์, คุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน์, อ.ชนัสสา นันทีวชั รินทร์ , ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ที่ปรึกษาพิเศษด้ านกฎหมาย คุณธนา เบญจาธิกลุ
บริษทั สีทอง 555 จ�ำกัด ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 บริษทั สุนทรฟิ ล์ ม จ�ำกัด ,ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท โทรศัพท์ 0 2216 2760-8 7008-17 2613 0 บริษทั บางกอกบายน์ ดงิ ้ จ�ำกัด ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้ าเล่ม โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
26/2/2561 22:45:15
Supply #113_pc3.indd 115 President Supply #105_pc3.indd 1 15 1515 Ad President#104_pc3.indd #103_pc3.indd 15 AdAd President supply #102_pc3.indd 015 Ad President #101_pc3.indd 15 015 Ad President #99_pc3.indd #98_pc3.indd 115 #97_pc3.indd Ad President-mac19.indd President Supply #94_pc3.indd 115 15
22/1/2560 2:17:37 4/2/2558 17:13:54 9/12/2557 3:47:30 11/10/2557 3:29:42 1/9/2557 11:07:22 19/4/2557 17:22:28 28/10/2556 18:06:35 14/8/2556 16:43:31 4/5/2556 0:16:30 10/11/2555 1/9/10 5:17:04 0:02:41 PM
Content issue115 18 Print Activity งานสัญจรการพิมพ์ไทยภาคเหนือ สัมมนาการออกแบบ และการเตรียมไฟล์ส�ำหรับงานพิมพ์คุณภาพ งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 12 Print News มอบเงินมูลนิธิชัยพัฒนา PPI
Print Technology เทรน อีโค่ซิสเต็ม นวัตกรรมงานพิมพ์ Smithers Pira Flexo or Digital? ตอนที่1ภาวะตลาดปัจจุบัน “Embellish” อย่างไร ให้แตกต่างอย่างสร้างสรรค์
28
18 21 34
20 28 34 22 40 50 52 60
Print Report ข้อมูลตลาดส่งออก หนังสือและสิ่งพิมพ์ 46 ข้อมูลตลาดส่งออก กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 48 Young Printer คุณปิง วรพล ภัคสุขชัย
20
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 16
62
62
21
28/2/2561 14:40:25
Ad Lllies_Pc3.indd 1
23/1/2561 17:01:11
PRINT ACTIVITY
การพิมพ์ไทยสัญจร 60 ภาคเหนือ “ทิศทางการพิมพ์ไทย ในยุค 4.0”
การพิมพ์ไทยสัญจร 60 ภาคเหนือ “ทิศทางการพิมพ์ไทย ในยุค 4.0”
เมือ่ วันที่ 22 กรกฎาคม 2560 ทีผ่ า่ นมา สมาคมการพิมพ์ไทยได้ จดั งาน “การพิมพ์ไทยสัญจรภาคเหนือ” ณ ห้ องปารี ส โรงแรมเมอร์ เคียว จังหวัดเชียงใหม่ วัตถุประสงค์ของการจัดงานครัง้ นี ้เพื่อเผยแพร่ ความรู้ ข้ อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีใหม่ ๆ ให้ กบั ผู้ประกอบการพิมพ์ ผู้ประกอบการ ทัว่ ไป และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง มีการจัดแสดงนิทรรศการเทคโนโลยีทางการ พิมพ์ พร้ อมพบปะกับผู้จำ� หน่ายเครื่องจักรและอุปกรณ์การพิมพ์ จากหลาก หลายบริษทั พร้ อมโปรโมชัน่ พิเศษในงานอย่างมากมายในบรรยากาศอย่าง เป็ นกันเอง ห ลั ง จ า ก พิ ธี เ ปิ ด ก า ร อุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทย และ สัมมนาเสร็จอย่างเป็ นทางการก็เริ่ม พวกเราชาวโรงพิ ม พ์ ต้ อ งเตรี ย ม สัม มนาในหัว ข้ อ ทางรอดของ พร้ อมรับมือกันอย่างไรโดยเนื ้อหา ธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ อันเข้ มข้ นนี ้ ได้ รับเกี ยรติบรรยาย ไทย ในยุค 4.0 ซึง่ ผู้เข้ าร่วมสัมมนา และให้ ความรู้ โดยคุณเกรี ยงไกร ใ น ค รั ้ ง นี ้ จ ะ ไ ด้ รั บ ฟั ง ข้ อ มู ล เ ธี ย ร นุ กุ ล ร อ ง ป ร ะ ธ า น ส ภ า มุ ม มอง ผลกระทบที่ จะมี ต่ อ อุตสาหกรรม
018 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 18
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:15:42
การพิมพ์ไทยสัญจร 60 ภาคเหนือ “ทิศทางการพิมพ์ไทย ในยุค 4.0”
Digital Marketing ส�ำหรับ โ ร ง พิ ม พ์ ใ น ยุ ค 4 . 0 โ ด ย คุ ณ ประสิ ท ธิ์ คล่ อ งงู เ หลื อ ม ผู้ เชีย่ วชาญด้ าน Prepress และระบบ การพิ ม พ์ ดิ จิ ต อล มาร่ ว มแบ่ง ปั น ความรู้ และประสบการณ์ ที่หลาก หลายในการต่อยอดธุรกิจของโรง พิ ม พ์ เ พื่ อ พั ฒ น า ง า น พิ ม พ์ เพิ่ ม มูล ค่า ของสิน ค้ า และในช่ ว ง สุด ท้ า ยของงาน มี ก ารแบ่ ง กลุ่ม ท�ำงานออกแบบและการเตรียมไฟล์ งานส�ำหรับการพิมพ์ Work Shop
Label Design and Contest หลัง จบการบรรยายมีการตัดสินผลงาน มอบรางวัลให้ กบั ผู้ชนะการประกวด และถามตอบปั ญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึ ้น ในงานพิมพ์ หลังจากนัน้ ได้ มีการ กล่ า วปิ ดงานสั ม มนาอย่ า งเป็ น ทางการ ซึง่ งานนี ้สร้ างความประทับ ใจให้ กบั กลุม่ ผู้ประกอบการโรงพิมพ์ และผู้เข้ าร่ วมสัมมนาได้ รับข้ อมูล ความรู้ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การน�ำไป พั ฒ นาธุ ร กิ จ การพิ ม พ์ ใ ห้ เจริ ญ ก้ าวหน้ าได้ อย่างยัง่ ยืนต่อไป
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 19
PRINT ACTIVITY
019 26/2/2561 23:15:51
๙
PRINT NEWS
“
มอบเงินสมทบมูลนิธิชัยพัฒนา จากโครงการ “๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพื่อพ่อ”
มอบเงินสมทบมูลนิธิชัยพัฒนา จากโครงการ
แบบตัวพิมพ์ไทย
เพื่อพ่อ”
สหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ มอบเงิ น รายได้ จ ากโครงการ “๙ แบบ ตัว พิ ม พ์ ไ ทยเพื่ อ พ่ อ ” บริ จ าคสมทบทุ น ให้ แ ก่ มูล นิ ธิ ชัย พัฒ นา เพื่ อ ร่ ว มสานต่ อ โครงการในพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จ พระปรมิ น ทรมหาภูมิ พ ลอดุล ยเดชและ ถวายเป็ นพระราชกุศล โดยได้ รับเกียรติจาก หม่อมหลวงจิรพันธุ์ ทวีวงศ์ รองเลขาธิการ มูลนิธิชยั พัฒนา เป็ นผู้รับมอบ ณ ส�ำนักงาน มูลนิธิชยั พัฒนา
020 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 20
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:16:55
สมาคมการพิมพ์ไทย จัดงานสัมมนา การออกแบบและการเตรียมไฟล์ ส�ำหรับงานพิมพ์คุณภาพ
PRINT ACTIVITY
สมาคมการพิมพ์ไทย จัดงานสัมมนา “การออกแบบและการเตรียมไฟล์ ส�ำหรับงานพิมพ์คุณภาพ”
สมาคมการพิ ม พ์ ไทย ร่ วมกั บ บริ ษั ท ริ โก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดสัมมนาในหัวข้ อ “การออกแบบ และการเตรียมไฟล์ ส�ำหรับงานพิมพ์คณ ุ ภาพ” เมือ่ วันเสาร์ ที่ 26 สิงหาคม 2560 ณ ห้ องสัมมนาชัน้ 4 อาคารสมาคม การพิมพ์ไทย พระราม9 งานสัมมนาในช่วงเช้ าผู้ประกอบการจะได้ รับฟั ง การบรรยายเรื่ องเทคโนโลยี ระบบการพิมพ์-การออกแบบ เพื่อความเหมาะสมส�ำหรับการพิมพ์ และการเตรี ยมไฟล์ ส�ำหรับการพิมพ์ดจิ ทิ ลั จากผู้ทรงคุณวุฒิ โดยคุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ผู้เชี่ยวชาญด้ านดิจิทลั มีเดีย หลังจากการบรรยายทางวิชาการจบได้ มีการแบ่ง กลุม่ ท�ำเวิร์กช้ อป โดยเริ่มขันตอนตั ้ งแต่ ้ การออกแบบฉลาก การพิมพ์ฉลากติดลงบนผลิตภัณฑ์จริ ง และการน�ำเสนอ ผลงาน พร้ อมถาม-ตอบ เทคนิคต่าง ๆ ปั ญหาและวิธีการ แก้ ไขเกี่ยวกับงานพิมพ์ วัต ถุป ระสงค์ ใ นการจัด สัม มนาครั ง้ นี เ้ พื่ อ ให้ ผ้ ู ประกอบการได้ รับความรู้เกี่ยวกับออกแบบและการเตรียม ไฟล์เพือ่ ผลิตผลงาน ให้ ได้ งานออกมาอย่างมีคณ ุ ภาพ และ ตอบสนองความต้ องการของลูกค้ า
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 21
021 26/2/2561 23:18:23
PRINT TECHNOLOGY
ระบบนิเวศธุรกิจ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบนิ เ วศธุ ร กิ จ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
“
ธุร กิ จ ที ่ป ระสบความล้ม เหลว มักค�ำนึงถึงแต่การเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการผลิ ต และการให้บริ การ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าให้ดีที่สดุ แต่ละเลยการมองภาพ รวมของธุรกิ จ ขาดการปรับตัวให้เข้ากับความ เปลี ่ย นแปลงทางสัง คม สภาวะเศรษฐกิ จ เทคโนโลยีทีเ่ ปลีย่ นแปลง พฤติ กรรมผูบ้ ริ โภค และการมองภาพกว้างหรื อภาพรวมทีผ่ ิดพลาด ไม่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ระบบนิ เวศทางธุร กิ จ ท� ำ ให้ต งั้ เป้ าหมายในการพัฒนาธุรกิ จผิ ดพลาด ไม่ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิ ดขึ้น Professor James Moore, Harvard University
จากการรายงานของศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย พบว่า ธุรกิจบรรจุ ภัณฑ์ และการพิมพ์ซึ่งมีมลู ค่าตลาดกว่า 3 แสนล้ านบาทต่อปี (เฉพาะบรรจุภัณ ฑ์ ก ระดาษ) โดยแยกเป็ นธุ ร กิ จ บรรจุภัณ ฑ์ ประมาณ 1.8 แสนล้ านบาท มีการเติบโตประมาณ ร้ อยละ 5 และ ธุรกิจส�ำนักพิมพ์และโรงพิมพ์มลู ค่า 1.2 แสนล้ านบาท มีการเติบโต ร้ อยละ 0 ถึงหดตัวร้ อยละ 3 เนื่องจากปริ มาณงานพิมพ์และสือ่ สิง่ พิมพ์ที่มีแนวโน้ มลดลง จากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และพฤติกรรมการบริ โภคสื่อของ ประชาชน โดยดูได้ จากจ�ำนวนเงินที่ใช้ ในสือ่ โฆษณาสิง่ พิมพ์และนิตยสารที่มีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยใน ปี 2560 พบว่าการลงโฆษณาในหนังสือพิมพ์ลดลง 21.82 % และในนิตยสารลดลงถึง 33.60 % เมื่อเทียบกับปี 2559 ดังแสดงในรูปที่ 1
”
รู ปที่ 1 แสดงจ�ำนวนเงินที่ใช้ ในการโฆษณาในสื่อประเภทต่ าง ๆ ที่มา : บริ ษัท เอจีบี นีลเส็น มีเดีย รี เสริ ตช์ (Nielsen) : https://brandinside.asia/adspend-dec-2017-nielsen/
022 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 22
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:19:13
ระบบนิเวศธุรกิจ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
จากการลดลงของเม็ดเงิน ที่ ใช้ ใ นการโฆษณาในสื่อสิ่งพิ ม พ์ ส่งผลให้ สอื่ สิง่ พิมพ์ประเภทนิตยสาร ต้ องปิ ดตัวลงเป็ นจ�ำนวนมากอย่าง มี นั ย ส� ำ คัญ เริ่ ม ตัง้ แต่ ปี 2558 นิตยสาร เปรียว ได้ ประกาศปิ ดตัวลง หลังจากนัน้ ปี 2559 นิตยสารและ สื่อหนังสือพิมพ์ ต่าง ๆ ได้ ทยอย ปิ ดตัวเพิม่ เติม ไม่วา่ จะเป็ น Candy, Volume, Image, Cosmopolitan, บางกอกรายสัปดาห์, Seventeen, สกุลไทย , WHO, I Like ,พลอยแกม เพชร, C-Kids, Oops! ,Lemonade รวมถึ ง หนั ง สื อ พิ ม พ์ บ้ านเมื อ ง โดยในปี 2560 ยังมี สื่อสิ่งพิมพ์ ที่ ทยอยปิ ดตัว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น นิ ต ยสาร แมรี แคลร์ , Men’s Health, ครั ว , เนชั่น สุด สัป ดาห์ , Filmax, ขวัญเรื อน, ดิฉนั , มาดาม ฟิ กาโร่ , คู่สร้ าง คู่สม เป็ นต้ น จาก การวิเคราะห์ พบว่า เมื่ อผู้บริ โภค ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการเข้ าถึงสือ่
สิ่ ง พิ ม พ์ ผลกระทบที่ เ กิ ด ขึ น้ คื อ มี ก ารอ่ า นสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ป ระเภท นิตยสารที่ลดน้ อยลง ท�ำให้ บริ ษัท เอเจนซี่โฆษณาปรั บลดเม็ดเงิ นที่ ใช้ โ ฆษณาในนิ ต ยสาร ส่ ง ผลให้ นิตยสารต่าง ๆ ประสบปั ญหาและ บางส่วนต้ องปิ ดตัวลง เมื่อปริ มาณ นิตยสารที่ปิดตัวลงมีจ�ำนวนมากได้ ส่งผลกระทบต่อโรงพิมพ์โดยเฉพาะ โรงพิมพ์ที่ผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ประเภท หนั ง สื อ บางแห่ ง ประสบปั ญ หา ต้ องยุติการด�ำเนินกิจการ ในขณะ เดี ย วกั บ โรงพิ ม พ์ บ างส่ ว นถื อ ว่ า เป็ นโอกาสในการปรับปรุ งโรงงาน รูปแบบ ระบบการผลิต ปรับเปลี่ยน กลยุทธ์ ช่องทางการแข่งขัน จาก การผลิตสื่อสิงพิมพ์อย่างเดียว เป็ น บริ ษัทที่ครบวงจรมากขึน้ เช่น รับ จั ด งานแสดงสิ น ค้ า งานเปิ ดตัว สินค้ า งานผลิตสิ่งพิมพ์ และ/หรื อ ผลิตบรรจุภัณฑ์ ตามความถนัด เงิ น ทุน ตลอดจนองค์ ค วามรู้ ของ
PRINT TECHNOLOGY
แต่ละโรงพิมพ์ นอกจากนันปั ้ ญหา เรื่ องเม็ดเงินโฆษณาที่ลดลงยังส่ง ผลกระทบต่อธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กี่ยวข้ อง ทังๆ ้ ที่ไม่ได้ เป็ นต้ นเหตุของปั ญหา ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็ น ส�ำนักพิมพ์ สตูดิโอถ่ายภาพ นักเขียน ร้ านขาย หนังสือ การวิเคราะห์ ระบบนิ เวศ ทางธุร กิ จจะช่วยให้ มองเห็น ภาพ รวมของอุ ต สาหกรรม ระบบโซ่ อุป ทาน การเชื่ อ มโยงกลุ่ม ธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งถึ ง ปั ญหา แ ล ะ ค ว า ม เ สี่ ย ง ร ว ม ถึ ง เ ห็ น ช่ อ งทางในการปรั บ ตัว ให้ ทัน ต่ อ การเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ น พฤติกรรมผู้บริโภค หรื อการตลาดที่ เปลี่ยนแปลงไป ระบบนิเวศทางธุรกิจ ( business ecosystem ) Ecosystem มีความหมาย ว่าระบบนิเวศที่สงิ่ ต่างๆ ในระบบมี ความเกี่ยวข้ อง เชือ่ มโยงและเกื ้อกูล
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 23
023 26/2/2561 23:19:38
PRINT TECHNOLOGY
ระบบนิเวศธุรกิจ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ซึง่ กันและกัน แต่ในทางธุรกิจ ค�ำว่า Business Ecosystem มาจากการ รวมกันของ Business คือธุรกิ จ กับ Ecosystem คื อ ระบบนิ เ วศ ระบบนิเวศทางธุรกิ จ (Business Ecosystem ) เป็ นการรวมกลุม่ ของ ธุรกิจ หน่วยงาน องค์กร บุคคล และ สถาบันต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้ อง มารวมตัว กันเพื่อด�ำเนินกิจกรรม การพึ่งพา อาศั ย กั น ในกลุ่ ม ธุ ร กิ จ เดี ย วกั น อยูใ่ นพื ้นที่ใกล้ เคียงกัน มีการเชื่อม โยงกันของห่วงโซ่อปุ ทานของแต่ละ กลุ่มธุรกิจ (Supply Chain) เพื่อ ร่ วมมื อ ช่ว ยเหลือ เกื อ้ หนุน การ เสนอและออกกฎเกณฑ์ ส่งเสริ ม สนับ สนุน ซึ่ง กัน และกัน ท� ำ งาน ร่ วมกันมากขึ ้น การสร้ างเครื อข่าย ของ ผู้ซื ้อ ผู้จดั ส่งวัตถุดบิ และผู้ผลิต และผู้ ให้ บริ ก ารต่ า งๆ การสร้ าง สิ่ ง แวดล้ อมเชิ ง สัง คมเศรษฐกิ จ รวมทัง้ กรอบการท� ำ งานในด้ าน สถาบัน องค์ ก รและกฎระเบี ย บ ต่างๆ ให้ เกื อ้ หนุนและสอดคล้ อง
กับบริ บทในการด�ำเนินธุรกิจ professor James Moore จากมหาวิทยาลัยฮาร์ วาร์ ด ได้ ให้ คำ� จ� ำกัดความของค� ำว่าระบบนิ เวศ ทางธุรกิจ (Business Ecosystem) ว่าเป็ นเรื่องของการเชือ่ มโยงกันของ ห่วงโซ่ทางคุณค่า (Value Chain) แต่ ล ะหน่ ว ยในระบบธุ ร กิ จ นัน้ ๆ ทีม่ รี ูปแบบจ�ำลองทีค่ ล้ ายคลึงระบบ นิเวศทางธรรมชาติ องค์ประกอบ ของระบบนิ เ วศทางธุ ร กิ จที่ ดี มักประกอบด้วย 1. ความหลากหลาย ที่ เกื อ้ หนุนกัน 2. ความซับซ้ อนที่ ช่วยให้ การขาดองค์ ประกอบหนึ่ง ไม่ ท� ำให้ ส่ ว นที่ เหลื อ มี ปั ญหา 3 . ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ท า ง ทรั พ ยากรที่ เ กื อ้ หนุน ระบบนิ เ วศ นัน้ ๆ และ 4. การแข่ ง ขัน ที่ ช่ ว ย พัฒนาวิวฒ ั นาการของธุรกิจ ทังนี ้ ้ ระบบธุรกิจทีอ่ ยูร่ อดไม่ใช่บริษทั หรือ องค์ ก รขนาดใหญ่ แต่เ ป็ นบริ ษั ท หรื องค์กรที่มีความสามารถในการ ปรั บ ตัว ให้ เ ข้ า กับ สภาพแวดล้ อ ม
ทางธุ ร กิ จ สัง คม ได้ ทัน ต่อ เวลา และความเปลีย่ นแปลงต่างๆ บริษัท หรื อ องค์ ก รที่ ล้ มเหลวส่ ว นมาก มักพยายามเพียงเพิม่ ประสิทธิภาพ ให้ สิ น ค้ า และบริ ก ารให้ สามารถ ตอบสนองลูกค้ าได้ ดีย่ิงขึ ้น แต่นนั ้ อาจจะไม่เพียงพอ ในอดี ต การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ส่วนใหญ่ จะอยู่ใ นรู ป แบบ onesided business เป็ นการด�ำเนิน ธุรกิจแบบทิศทางเดียว เริ่ มตัง้ แต่ กระบวนการผลิต ตัง้ แต่ วัตถุดิบ ผู้จดั ส่งวัตถุดิบ ผู้ผลิต ร้ านขายส่ง ร้ านค้ าปลีก และลูกค้ า การผลิตจะ มีเป้าหมายเพือ่ ตอบสนองและสร้ าง ความพอใจให้ แก่ ลูกค้ า ค� ำนึงถึง ความรวดเร็ ว สวยงาม และมุง่ เน้ น ประสิทธิภาพในการผลิต การเพิ่ม ผลผลิ ต การลดต้ นทุ น การน� ำ เ ท ค โ น โ ล ยี ใ ห ม่ ๆ เ ข้ า ม า สู่ กระบวนการผลิต การแข่งขันและ กีดกันทางการค้ า
รู ปที่ 2 การด�ำเนินธุรกิจในรู ปแบบ one-sided business ที่มา : Choudary, S.P. (2015) Platform Scale: How a new breed of start-ups is building large empires with minimum investment. Boston: Platform Thinking Labs.
024 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 24
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
27/2/2561 1:29:47
ระบบนิเวศธุรกิจ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
แต่แนวคิดของระบบนิเวศ ทางธุรกิจ (Business Ecosystem ) เป็ นการน�ำเสนอรูปแบบ การด�ำเนิน ธุ ร กิ จ ที่ มี สิ น ค้ า และบริ ก ารที่ ค รบ ถ้ วน ครบวงจร ผู้ผลิตจะต้ องมอง ภาพรวมทังระบบการผลิ ้ ต การให้ บริ ก าร ต้ องวิ เ คราะห์ แ ละมอง ครอบคลุมทังอุ ้ ตสาหกรรม ไม่วา่ จะ เป็ นทางด้ าน 1. core business : แก่น และ ธุรกิจหลักขององค์กรคืออะไร ผลผลิตของเราคืออะไร อะไร ที่ ถ นั ด และสามารถท� ำ ได้ อะไรที่ ส ร้ างรายได้ ให้ กั บ องค์ ก ร ส่ว นไหนบ้ า งที่ ค วร มอบหมายให้ ซพั พลายเออร์ หรื อหุ้นส่วนรับไปด�ำเนินการ 2. extended enterprise: เครื อข่ายคูค่ ้ า ซัพพลายเออร์ หุ้นส่วน พันธมิตร กลุม่ บริ ษัท
PRINT TECHNOLOGY
รู ปที่ 3 ภาพรวมของ business ecosystem ที่มา : Moore (1996).
OEM (Original Equipment Manufacturer) 3. business ecosystem : ระบบนิ เ วศทางธุ ร กิ จ เป็ น ภาพรวมของกลุ่ ม ธุ ร กิ จ , อุตสาหกรรม ประกอบไปด้ วย ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ต่ า งๆ
รู ปที่ 4 ภาพรวมของกลุ่มธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์ บริษัท SCG ที่มา : https://scc.listedcompany.com/misc/PRESN/20180126scc-jp-morgan-thailand-conference.pdf
สหภาพแรงงาน ผู้ ลงทุ น องค์ ก รภาครั ฐ นโยบาย กฎเกณฑ์ ต่างๆ อาจรวมถึง พ ฤ ติ ก ร ร ม ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค การวิ เ คราะห์ คู่แ ข่ ง โอกาส ทางธุรกิจ บริ ษั ท SCG หรื อ เครื อ ซิเมนต์ไทย เป็ นตัวอย่างของบริ ษัท ที่ น� ำ เอาระบบนิ เ วศทางธุ ร กิ จ มาปรั บ ใช้ กั บ บริ ษั ท เนื่ อ งจาก ปั ญ ห า วิ ก ฤ ติ ต้ ม ย� ำ กุ้ ง ใ น ปี พ.ศ. 2540 ท�ำให้ ทางบริ ษัท ท�ำการ แบ่ ง ประเภทของธุ ร กิ จ ที่ มี อ ยู่ ออกเป็ น 2 ประเภทคื อ Core Business กับ Non-Core Business โดยธุรกิจหลัก (Core Business) ของทาง SCG เป็ นกลุ่ม ที่ บ ริ ษั ท มี ค วามสามารถสูง ท� ำ ได้ ดี และ ถนัด สามารถเจริ ญเติบโตได้ ได้ แก่ ธุรกิจซิเมนต์ ปิ โตรเคมีและกระดาษ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 25
025 27/2/2561 1:29:56
PRINT TECHNOLOGY
ระบบนิเวศธุรกิจ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ส่วนทีเ่ หลือจะถูกตังเป็ ้ น Non-Core Business และถูกขายหุ้นส่วนใหญ่ ให้ กั บ ต่ า งประเทศ หรื อ คนอื่ น ๆ ที่ ส นใจลงทุน ท� ำ ให้ บ ริ ษั ท SCG สามารถสร้ างความแข็ ง แกร่ ง ให้ กับ การด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ และช่ ว ยให้ รอดพ้ นจากปั ญหา สามารถพัฒนา อุตสาหกรรมได้ อย่างต่อเนื่อง ณ ปั จจุบนั ได้ มีการเปลี่ยน กลุ่มธุรกิจกระดาษเป็ น กลุ่มธุรกิจ packaging เนื่องจากปั ญหาความ ต้ องการของอุตสาหกรรมกระดาษ พิ ม พ์ เ ขี ย นในประเทศมี ป ริ ม าณ ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และเปลี่ ย น ตามกลยุ ท ธ์ ข องบริ ษั ท ที่ มุ่ ง เน้ น ด้ านบรรจุ ภั ณ ฑ์ ป ระเภทต่ า ง ๆ (เช่น บรรจุภัณ ฑ์ ก ระดาษ, food
packaging, flexible packaging เป็ นต้ น ) ที่ มี ค วามต้ องการใช้ ขยายตั ว อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และยั ง มุ่ ง เน้ นการน� ำ เสนอสิ น ค้ าและ บริ การด้ านบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ แก่ลกู ค้ า อย่างครบวงจรและยั่งยื น (Total Packaging Solutions Provider) มี ก ารพัฒ นาและขยายก� ำ ลัง การ ผลิ ต ด้ า นบรรจุ ภัณ ฑ์ ขยายฐาน การผลิต กระดาษในต่า งประเทศ สร้ างและพั ฒ นาบุ ค ลากร การ พั ฒ นานวั ต กรรมให้ ครอบคลุ ม บรรจุภณ ั ฑ์ทกุ ๆ มิติ ไม่ว่าจะเป็ น ด้ านศู น ย์ อ อกแบบและพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์แบบครบวงจร การลงทุน ด้ าน MERCHANDISING DISPLAY ด้ านบรรจุภัณฑ์ อาหาร การสร้ าง
เครื อข่ า ยด้ าน PACKAGING SUPPLIES (การปลูกต้ นยูคาลิปตัส เยื่ อ ไม้ การน� ำ เศษเยื่ อ ไปท� ำ ปุ๋ย) และการมี พัน ธมิ ต รทางด้ า นวัส ดุ (กลุ่มเอสซีจี เคมีคอลส์ที่ผลิตเม็ด พลาสติ ก สามารถน� ำมาผลิ ต เป็ นวัต ถุดิ บ ส� ำ หรั บ งาน flexible packaging ) ด้ านการพิมพ์บรรจุ ภัณฑ์ประเภทต่าง ๆ โดยได้ คำ� นึง ถึ ง ความปลอดภัย ในการใช้ งาน และการใช้ พลังงานอย่างคุ้มค่า เน้ น การพัฒนาหน่วยงานต่าง ๆ ของ บริษทั ในทุกมิติ มีการสร้ างเครือข่าย และพันธมิตรทังในและต่ ้ างประเทศ ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า ห น่ ว ย ง า น ให้ ค รอบคลุม ทัง้ ระบบนิ เ วศทาง ธุรกิจ
รู ปที่ 5 กลุ่มของบรรจุภณ ั ฑ์ ที่มา : https://scc.listedcompany.com/misc/PRESN/20180126-scc-jp-morgan-thailand-conference.pdf
026 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 26
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:20:54
ระบบนิเวศธุรกิจ (business ecosystems) การวิเคราะห์และปรับตัวของอุตสาหกรรมการพิมพ์ พิชิต ขจรเดชะ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สรุป การศึกษาระบบนิเวศทาง ธุ ร กิ จ จ� ำ เป็ นต้ องศึ ก ษาและ วิ เ คราะห์ core business ของ องค์กรนัน้ ๆ เพราะถือว่าเป็ นหัวใจ หลัก ของการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ถ้ ามี ความชั ด เจนในเรื่ อ งของ core business การวิ เ คราะห์ จุ ด แข็ ง จุดอ่อน เป้าหมายขององค์กร ก็จะ ทราบว่าเรามีความช�ำนาญด้ านไหน อะไรคือสินค้ าหรือบริการทีเ่ ราท�ำได้ ดีและซัพพลายเออร์ ของเราคือใคร สามารถสร้ างเครือข่ายคูค่ ้ า หุ้นส่วน พันธมิตร ของกลุ่มธุรกิจ เมื่อกลุ่ม ธุ ร กิ จ มี ค วามเข้ ม แข็ ง ก็ ส ามารถ รวมกลุ่ ม จั ด ตั ง้ องค์ ก รเพื่ อ ขอ ความช่ ว ยเหลื อ จากภาครั ฐ และ ภาคเอกชน การก� ำหนดนโยบาย และกฎเกณฑ์ ต่ า งๆ เพื่ อ ให้ การ ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ มี ค วามคล่ อ งตั ว ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข อง ประเทศไทยนัน้ ได้ มีการสร้ างและ พัฒนาระบบนิเวศทางธุรกิจขึ ้นมา ในหลายรู ป แบบไม่ว่าจะเป็ นการ สร้ างระบบคลัสเตอร์ การรวมกลุม่ จั ด ตั ง้ สมาคม การจั ด ตั ง้ นิ ค ม อุต สาหกรรม สถาบัน การศึก ษา และหลักสูตรต่าง ๆ ขึ ้น เพื่อส่งเสริม ระบบนิเวศธุรกิจของอุตสาหกรรม การพิมพ์ เช่น นิ คมอุตสาหกรรม
PRINT TECHNOLOGY
สินสาคร สหพันธ์อตุ สาหกรรมการ พิ มพ์ ไทย ชมรม Young Printer Group เครือข่ายสถาบันการศึกษา ด้ านการพิ ม พ์ แ ละสื่ อ สารแห่ ง ประเทศไทย สถาบันการพิมพ์ไทย (Thai Print Academy) ศู น ย์ ทดสอบมาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์ การพิมพ์ ศูนย์ วิจัยพัฒนา “Thai Print Laboratory” เป็ นต้ น ถือได้ วา่ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข องไทย ได้ มี ก ารปรั บ ตั ว และพั ฒ นาขี ด ความสามารถอย่างยาวนานและ ต่อเนื่อง และยังเป็ นระบบนิเวศทาง ธุรกิจที่สามารถพัฒนาเพื่อให้ เกิด ความสมบูรณ์ได้ มากยิง่ ขึ ้น เช่น การ จัดตังเครื ้ อข่ายออกแบบ ศูนย์วิจยั และพัฒ นานวัต กรรม หน่ ว ยงาน ศึกษาพฤติกรรมผู้บริ โภค ศูนย์แจ้ ง เตื อ นทางเศรษฐกิ จ -เทคโนโลยี การพัฒ นาระบบมาตรฐานต่า งๆ (ทางการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ซอฟแวร์ การเชื่ อ มต่อ เครื่ อ งจัก ร การน� ำ เข้ าส่ ง ออก) ศู น ย์ ซ่ อ ม เครื่ องจักรทางการพิมพ์ หน่วยงาน เพื่อจับคู่กับระบบคลัสเตอร์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ อง เช่นอุตสาหกรรมอาหาร ยานยนต์ ยา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอ นิสต์ เป็ นต้ น ถ้ าสามารถท�ำได้ ก็จะ ท�ำให้ ระบบนิเวศทางอุตสาหกรรม การพิมพ์มีความเข้ มแข็งยิ่งขึ ้น.
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 27
027 26/2/2561 23:21:01
PRINT NEWS
แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2017 ตอกย�้ำการเป็นผู้น�ำการจัดงานแสดงสินค้าด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล ้ำการเป็นผู้น�ำการจัดงานแสดงสินค้า 2017 ตอกย� ด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์การแสดงสินค้าและนิทรรศการไบเทค บางนาวันที่ 20-23 กันยายน 2560 • บันทึกสถิตผิ ้ ูเข้ าชมงานสูงทีส่ ุดกว่ า 17,452 คนจาก 59 ประเทศทั่วโลก • มีผ้ ูเข้ าร่ วมจัดแสดงสินค้ าจาก 300 บริษัทชั้นน�ำ จาก 25 ประเทศ • งานสัมมนา งานประชุม และฟอรั่ มทีจ่ ัดในงาน ได้ รับความสนใจเป็ นอย่ างมาก โดยมีผ้ ูเข้ าร่ วมฟั งมากกว่ า 800 คน แพ็ ค พริ น้ ท์ อิ น เตอร์ เนชัน่ แนล 2017 งานจัดแสดงสินค้ า เพื่ อ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละ การบรรจุ ภั ณ ฑ์ ชั น้ น� ำ ครั ง้ ที่ 6 บันทึกสถิติผ้ ูเข้ าชมงานจากหลาก หลายอุ ต สาหกรรมสู ง สุ ด เป็ น
028 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 28
ประวัติการณ์กว่า 17,452 คนจาก 59 ประเทศทัว่ โลก และมีบริ ษัทชัน้ น� ำเข้ าร่ วมจัดแสดงสินค้ าอี กกว่า 300 แห่งจาก 25 ประเทศ พร้ อม ด้ วยกลุม่ บริษทั จาก เยอรมัน ไต้ หวัน จีน ไทย และสิงคโปร์ ที่เข้ าร่วมงาน
ในปี นี เ้ ป็ นครั ง้ แรก ท� ำ ให้ งาน จัด แสดงสิ น ค้ า มี ผ้ ูเ ล่น จากระดับ นานาชาติและในประเทศเข้ าร่ วม จั ด แสดงเทคโนโลยี แ ละโซลู ชั่ น ส� ำ หรั บ อนาคตเพื่ อ การพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภณ ั ฑ์ 4.0
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:21:30
แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2017 ตอกย�้ำการเป็นผู้น�ำการจัดงานแสดงสินค้าด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในปี นี ง้ านประสบความ ส�ำเร็ จจากการมีผ้ เู ข้ าเยี่ยมชมงาน เพิ่มขึ ้น 20% เมื่อเทียบกับงานในปี 2558 โดยได้ รั บ ความสนใจเป็ น อย่างมากจากผู้เยี่ยมชมงานที่มา จากต่างประเทศอย่าง ประเทศจีน อิ น เดี ย อิ น โดนี เ ซี ย เมี ย นมาร์ ไต้ หวัน และเวี ยดนาม รวมไปถึง กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภณ ั ฑ์ภายในประเทศ กว่า 48 กลุ่ม ที่ร่วมพิสูจน์ ว่า แพ็ค พริ น้ ท์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล เป็ นงานจัดแสดง ที่สามารถตอบโจทย์ผ้ จู ดั จ�ำหน่าย เครื่องจักร ผู้ให้ บริการด้ านการพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ผู้ผลิตที่ได้ รับการ รับรอง บริ ษัทตัวแทน ผู้ให้ บริ การ ด้ านการพิมพ์ฉลากและบรรจุภณ ั ฑ์ ลูกฟูก ไปจนถึงภาคส่วนอื่นๆ เช่น เครื่ องส�ำอาง การผลิตอาหารและ เครื่ อ งดื่ ม ยา และเครื่ อ งอุป โภค บริ โภค รวมถึงบริ ษัทข้ ามชาติ เช่น
C.P. Intertrade, Merck, Siam Winery, Oishi, Dole, Reckitt Benckiser, Dutchmill, Friesland Campina, Ichitan, Malee, Taokaenoi, Osotspa, Monde Nissin, Nestle, Kao, Boncafé, และอื่นๆ อีกมากมาย งานจัดแสดงสินค้ าได้ จบ ลงอย่างงดงามเมื่อเดือนที่ผ่านมา
ในกรุงเทพมหานคร ด้วยความร่วมมือ ระหว่าง สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย และเมสเซ่ ดุ ส เซลดอร์ ฟ เอเชี ย ซึ่ ง ทั ง้ สาม หน่วยงานได้ ร่วมลงนามบันทึกการ เป็ นพัน ธมิ ต รร่ ว มในการจัด งาน ต่อเนื่องเพือ่ ให้ แพ็ค พริน้ ท์ อินเตอร์ เนชั่ น แนล ประสบความส� ำ เร็ จ สืบต่อไป งาน แพ็ค พริ น้ ท์ อินเตอร์ เนชั่ น แนล เป็ นงานที่ จั ด ขึ น้ เพื่ อ อุตสาหกรรมโดยเฉพาะ ซึง่ การร่วม ลงนามพันธมิตรเป็ นการันตีถึงการ จัดงานในอีกสามครัง้ ข้ างหน้ าที่จะ เกิดขึ ้นอย่างแน่นอน โดย มร.แกรน๊ อต ริงลิง่ กรรมการ ผู้จดั การ บริษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ ฟ เอเชี ย กล่าวว่า “ในปี นี ้ เราได้ รับ ความสนใจจากผู้เข้ าเยี่ยมชมงานที่ มี คุ ณ ภาพ และได้ เห็ น ถึ ง ความ ต้ องการในการเลือกซื ้อเครื่ องจักร และอุปกรณ์ต่างๆที่น�ำมาจัดแสดง
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 29
PRINT NEWS
029 26/2/2561 23:21:50
PRINT NEWS
แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2017 ตอกย�้ำการเป็นผู้น�ำการจัดงานแสดงสินค้าด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภายในงานเป็ นอย่างสูง จากโซน ฉลาก โซนระบบอั ต โนมั ติ แ ละ หุน่ ยนต์ ไปจนถึง พาวิเลีย่ นครบวงจร ส� ำ หรั บ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ และบรรจุภัณฑ์ เราได้ เห็นถึงการ เปลี่ ย นแปลงที่ น่ า สนใจ และจะ ยังคงพัฒนาต่อไปเพือ่ หาสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ในการตอบสนองเทรนด์และความ ต้ องการของอุตสาหกรรม” “เราตังใจที ้ ่จะสร้ างงานจัด แสดงที่ เ ป็ นแพลตฟอร์ ม รวบรวม
030 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 30
ตัวเลือกด้ านการให้ บริ การ พร้ อม เสริมความแข็งแกร่งด้ วยการร่วมมือ กั บ ภาคส่ ว นของรั ฐ และองค์ ก ร ในอุตสาหกรรม และสนับสนุนให้ ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางด้ านการ ปฏิรูปเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์” มร.แกรน๊อต กล่าวเสริ ม มี เ ครื่ อ งจัก รและอุป กรณ์ จ�ำนวนมากจากหลากหลายบริ ษัท เช่น Fujifilm, HP, BPS United,
Cyber SM, Wanjin Trading, Guangzhou Yue An Import & Export, Sansin ที่ได้ รับการสัง่ ซื ้อ ภายในงาน แพ็ค พริ น้ ท์ อินเตอร์ เนชั่น แนล 2017 โดย HP Inc. ประกาศถึงการปิ ดการขายกว่าหก รายการใหม่ในหมวด Indigo และ Latex ในประเทศไทย ซึ่งเป็ นการ ติดตัง้ Indigo 20000 สองยูนิต และ Latex 3600 หนึ่งยูนิต ครัง้ แรกใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริ ษั ท ซั น ซิ ง พริ ้น ติ ง้ แมชชีน แมททีเรี ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็ นบริ ษัทที่เข้ าร่วมจัดแสดง สินค้ าทุกครัง้ ตังแต่ ้ ปีแรกเมื่อ 2550 ด้ ว ยเป็ นงานจัด แสดงระดับ โลก คุณฉี เสี่ยว หยิน ประธานบริ ษัท กล่าวถึงการเข้ าร่วมจัดแสดงสินค้ า “ส�ำหรั บการจัดแสดงสินค้ าในปี นี ้ เราได้ ปิดการขายเครื่ องจักรกว่า 30 ชิ ้น และเรารู้ สกึ ยินดีเป็ นอย่างมาก ที่ได้ พบปะกับลูกค้ าเก่าของเราไป พร้ อมกั บ ต้ อ นรั บ ลูก ค้ า ใหม่ จ าก บังกลาเทศ เวียดนาม อินโดนีเซีย และสิงคโปร์ ” ในขณะเดียวกัน ผู้เข้ าร่ วม จัดแสดงสิน ค้ าเป็ นครั ง้ แรกอย่า ง บริ ษั ท เพรสสิ โ อ เอเชี ย ซึ่ ง คุ ณ เคนตะ คานาโมริ ผู้ จัด การฝ่ าย พัฒนาธุรกิจ ยกให้ งานจัดแสดงนี ้ เป็ นงานจัดแสดงชัน้ เยี่ ยมส�ำหรั บ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัท “เราได้ พบกับ ผู้ ซื อ้ ที่ มี คุ ณ ภาพ และได้ รั บ รู้ ถึ ง ความต้ องการผ่านการพูดคุยแบบ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:26:05
แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2017 ตอกย�้ำการเป็นผู้น�ำการจัดงานแสดงสินค้าด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ตัว ต่ อ ตัว ซึ่ ง การเข้ า ร่ ว มงานจัด แสดงในครั ้ง นี ไ้ ด้ มอบโอกาส ในการสร้ างความสัม พั น ธ์ และ ความร่ วมมือใหม่ๆ กับลูกค้ าและ ผู้ จัด จ� ำ หน่ า ยจากทั่ว ทัง้ ภู มิ ภ าค ผมหวังว่าจะได้ ตอ่ ยอดความสัมพันธ์ ใหม่อีกในงานจัดแสดงครัง้ หน้ า” ส�ำหรับผู้เข้ าร่ วมงานอย่าง คุณสุเฮนดรา มาร์ ซ ผู้บริ หารของ บริษัท พริน้ ท์ แพ็ค อินโดนีเซีย ทีเ่ ข้ า ร่ ว มงานเพื่ อ ชมเทคโนโลยี แ ละ โซลูชั่น ใหม่ ๆ กล่ า วว่ า “ผมรู้ สึ ก ประทับใจกับการสาธิ ตผลิตภัณฑ์ ซึง่ เราได้ สงั่ ซื ้อเครื่องพิมพ์ฉลากใหม่ ล่าสุดภายในงานด้ วย การเยี่ยมชม งานของบริษทั ในครัง้ นี ้ไม่ใช่ครัง้ แรก ของเรา และจะไม่เป็ นครัง้ สุดท้ าย อย่างแน่นอน” นอกจากนี ้ งานจัด แสดง ยั ง ได้ รั บ เสี ย งตอบรั บ อั น ดี จ าก คุณ จาว ไท่ หลวน ผู้อ�ำ นวยการ บริ ษัท เฟล็กซิเบิ ้ล แพคเกจจิ ้ง เอ็น เตอร์ ไพรส์ ลิกสิน คอร์ ปอเรชัน่ ผู้ซงึ่
มองหาเครื่ องจักรส�ำหรับการพิมพ์ พื น้ นู น (Flexo) รุ่ นใหม่ และ เครื่ องจักรที่เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้ อม กล่าวว่า “เราจะเป็ นกระบอกเสียง บอกต่อ เจ้ า ของธุ ร กิ จ คนอื่ น ๆ ใน เวียดนามอย่างแน่นอน และงานจัด แสดงนี ้เป็ นงานที่ดีเยี่ยมทังส� ้ ำหรับ ผู้เยี่ยมชม และผู้จดั แสดงสินค้ า” การจัด แสดงสิน ค้ า ตลอด สี่ วั น ได้ น� ำ เสนอข้ อมู ล ด้ านการ ตลาดที่เจาะลึก และแนวโน้ มการ พัฒ นาในอุต สาหกรรมการพิ ม พ์ และบรรจุภัณ ฑ์ ผ่า นงานประชุม วิ ช าการ งานสัม มนา และฟอรั่ ม ต่างๆ โดยมีผ้ ูเข้ าร่ วมฟั งกว่า 800 คน ซึ่ ง จั ด ขึ น้ โดยองค์ ก รระดั บ นานาชาติ และท้ อ งถิ่ น รวมไปถึง งานสัมมนา SAVE FOOD จัดโดย
องค์ ก ารอาหารและเกษตรแห่ ง สหประชาชาติ (FAO) ซึง่ เปิ ดโอกาส ในการเรี ยนรู้ สร้ างเครื อข่ า ย รั บ ทราบข้ อ มูล ของอุต สาหกรรม และมีส่วนร่ วมในการหารื อ ให้ แก่ ผู้เข้ าร่วม งานจัด แสดงสิ น ค้ า แพ็ ค พริน้ ท์ อินเตอร์ เนชัน่ แนล จะกลับมา อีกครัง้ ในวันที่ 18 – 21 กันยายน 2562 ณ ไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 31
PRINT NEWS
031 26/2/2561 23:26:19
Ad Green Read #115_p4.indd 1
27/2/2561 1:04:14
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44
8/9/2560 2:47:57
PRINT ACTIVITY
THAI PRINT AWARDS 2017 Towards the New Frontier มุ่งสู่มิติใหม่แห่งอนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
THAI PRINT AWARDS 2017 TOWARDS THE NEW FRONTIER
มุ่งสู่มิติใหม่แห่งอนาคต ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
สมาคมการพิมพ์ไทยได้ จดั การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 12 โดยใช้ แนวความคิด Towards the New Frontier หรื อ มุง่ สูม่ ิติใหม่แห่ง อนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ไทย มีจดุ ประสงค์ที่จะ กระตุ้นให้ ผ้ ปู ระกอบการสิง่ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ของประเทศไทย ลุกขึ ้นมา เตรี ย มความพร้ อมที่ จ ะเดิ น หน้ า สู่อ นาคตแห่ ง เทคโนโลยี ยุค ใหม่ ไ ป พร้ อมๆกัน ร่วมกันสร้ างแนวทางในการใช้ จดุ แข็งของการพิมพ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ ระดับโลกผสมผสานกับเทคโนโลยีที่เป็ น Future Trend เพื่อเป็ นการ ตอบสนองต่อความต้ องการของผู้บริ โภคและสามารถแข็งขันในตลาด สากลอย่างครบมิติ โดยงานประกาศผลครัง้ นี ้จัดขึ ้น ณ ห้ องคอนเวนชัน่ ฮอล์บี ชัน้ 22 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ เมื่อวันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน 2560 การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 12 ประสบความส�ำเร็ จเป็ น อย่างดี เนื่องจากได้ รับการตอบรับจากกลุม่ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การพิมพ์ทวั่ ประเทศ ร่ วมกันส่งผลงานสิ่งพิมพ์เข้ าร่ วมการประกวดอย่าง มากมายดังเช่นทุกๆปี ส�ำหรับการประกวดในปี นี ้ คณะกรรมการการจัด งานได้ แบ่งประเภทของการประกวดเป็ น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. Offset Printing ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ท 2. Digital Printing ระบบการพิมพ์แบบดิจิตอล 3. งานพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์อ่อนตัว พิมพ์ด้วยระบบ Flexography gravure ฉลาก สติก๊ เกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ 4. Special Categories งานพิมพ์ประเภทที่เป็ นลักษณ์เฉพาะ
034 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 34
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:30:42
THAI PRINT AWARDS 2017 Towards the New Frontier มุ่งสู่มิติใหม่แห่งอนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
PRINT ACTIVITY
และเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกับ การที่ อุต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภณ ั ฑ์ได้ รับการสนับสนุนสิทธิ ประโยชน์จาก BOI (BOI Investment Promotion) สมาคมการพิมพ์ ไทยได้ เพิ่มประเภทการประกวดขึ ้น มาอีก 3 รางวัล คือ •• ประเภทสิ ประเภทสิ่ ง พิ ม พ์ 3 มิ ติ (3D Printing) •• ประเภทการออกแบบ ประเภทการออกแบบ (Graphic/ Functional Appeal) และ •• ประเภทความคิ ประเภทความคิ ด สร้ างสรรค์ (Creativeness) และเพื่อเป็ นการเสริ มสร้ างภาพลักษณ์ของการประกวดให้ แข็งแกร่ง ยิ่งขึ ้น นอกจากการที่ ผลงานที่ได้ รับรางวัลชนะเลิศในค�่าำคืนนี ้ จะถูกส่งเข้ า ประกวดใน การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งเอเซีย หรื อ Asian Print Awards แล้ ว นัน้ สมาคมการพิมพ์ไทยได้ รับเกียรติจาก กรมส่งเสริมการค้ าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ในการส่งชิ ้นงานที่ได้ รับการคัดเลือก ไปร่วมการประกวด PM Awards หรื อ Prime Minister Awards ซึง่ เป็ นเวทีที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ เวทีหนึง่ ของประเทศไทย และเป็ นการประกวดที่ได้ รับการยอมรับมากที่สดุ ทังจาก ้ องค์กรภาครัฐและเอกชน จึงนับเป็ นความส�าำเร็ จอีกก้ าวหนึ่งที่ส�าำคัญของ ”การประกวดสิ่ง พิ ม พ์ แ ห่ง ชาติ ” ในการที่ จ ะแผ่ข ยายความเชื่ อ มั่น ให้ ไ ด้ ครอบคลุมกว้ างไกลยิ่งขึ ้น นายพงศ์ นายพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช ประธานการจัดงานการประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติ ครัง้ ที่ 12 กล่าวว่า “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติของสมาคมการ พิมพ์ไทยในปี ที่ 12 นี ้ยังคงได้ รับการตอบรับจากผู้ประกอบการสิ่งพิมพ์ใน ประเทศไทยส่งผลงานเข้ าร่วมประกวดอย่างดีเยี่ยม มีจ�าำนวนผลงานที่สง่ เข้ า มากว่า 700 ชิน้ ซึ่งไม่เพียงแสดงถึงความกระตือรื อร้ นที่ต้องการพัฒนา ศั ก ยภาพทางด้ านการพิ ม พ์ ข องผู้ ประกอบการวิ ส าหกิ จ การพิ ม พ์ ใ น ประเทศไทยเท่านัน้ แต่ยงั หมายถึงงานพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพเทียบเท่าหรื อดีกว่า ประเทศชันน� ้ าำอื่นๆ ในภูมิภาคอาเซียน ซึง่ จะเห็นได้ จาก การที่ประเทศไทยได้ รั บเหรี ยญทองมากเป็ นอันดับหนึ่งในการจัดการประกวด Asian Print Awards หลายปี ติดต่อกัน เป็ นสิง่ ที่ยืนยันได้ วา่ ขณะนี ้คุณภาพการพิมพ์ของ โรงพิมพ์ในประเทศไทยมีความก้ าวหน้ าทัดเทียมกับประเทศที่พฒ ั นาแล้ ว” THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 35
035 28/2/2561 14:05:59
PRINT ACTIVITY
THAI PRINT AWARDS 2017 Towards the New Frontier มุ่งสู่มิติใหม่แห่งอนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
“ผลรางวัลการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 12 มี จ�ำนวนทังหมด ้ 90 รางวัล ล้ วนเป็ นชิ ้นงานที่มีความโดดเด่น ทังทางด้ ้ านคุณภาพการพิมพ์ และความคิดสร้ างสรรค์ ซึง่ ใน ปี นี ้ ทางสมาคมการพิมพ์ไทย ใช้ แนวความคิดว่า Towards the New Frontier มุง่ สูม่ ิตใิ หม่แห่งอนาคตของอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ มีจดุ ประสงค์ทจี่ ะเน้ นย� ้ำทางด้ าน คุณภาพงานพิมพ์ ผสมผสานกับการใช้ เทคโนโลยียุคใหม่ และการสร้ างมูลค่าเพิ่มของสิ่งพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ ผล การตัด สิ น ได้ แสดงให้ เห็ น ถึ ง ศัก ยภาพของโรงพิ ม พ์ ใ น ประเทศไทย ทีมคี วามพร้ อมในการเดินหน้ าไปสูอ่ นาคตอย่าง แน่นอน นางสาวพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคมการ พิมพ์ไทย กล่าวว่า “การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ หรื อ Thai Print Awards เป็ นเวทีส�ำหรับแสดงผลงานและศักยภาพ ทางการพิมพ์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจการพิมพ์ ให้ เป็ นที่ ประจักษ์ แก่สายตาของผู้ที่เกี่ยวข้ องทังในและต่ ้ างประเทศ มี วัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยให้ พัฒนาต่อเนือ่ ง และตระหนักถึงความส�ำคัญของคุณภาพงาน
036 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 36
พิมพ์ เป็ นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้ ทดั เทียม กับประเทศอื่นๆ ทัว่ โลก โดยได้ รับความสนับสนุนจากกลุ่ม บริ ษัทชัน้ น�ำที่มีชื่อเสียงในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ให้ ความ สนใจส่งผลงานเข้ าร่วมประกวดอย่างต่อเนื่องทุกปี ” “ปั จจัยส�ำคัญอันหนึง่ ทีน่ ำ� พาสูค่ วามส�ำเร็จอันยิง่ ใหญ่ ของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยทีเ่ ห็นได้ ชดั คือ การทีผ่ ้ ปู ระกอบ การโรงพิมพ์ได้ ให้ ความส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาคุณภาพ ของงานพิมพ์และให้ ความร่วมมือส่งผลงานเข้ าแข่งขันในทุกๆ ครัง้ ของงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติที่ผ่านมา โดยจ�ำนวน ตัวเลขของชิ ้นงานทีถ่ กู ส่งเข้ ามาประกวดนันมี ้ จ�ำนวนเพิม่ มาก ขึ ้นทุกๆ ปี และชิ ้นงานที่ได้ รับรางวัลชนะเลิศนันก็ ้ มีการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง และจุดที่มีความน่าสนใจเป็ นอย่างยิ่ง คือ คุณภาพของสิ่งพิมพ์ไทยนันไม่ ้ ได้ กระจุกตัวอยูเ่ ฉพาะโรง พิมพ์ที่มีขนาดใหญ่ หากแต่ช่วงหลังๆ มีรายชื่อโรงพิมพ์หน้ า ใหม่ๆ ก้ าวขึ ้นมารับเหรี ยญรางวัลมากขึ ้นเรื่ อยๆ ทางสมาคม การพิมพ์ไทยใคร่ขอแสดงความยินดีแก่ผ้ ทู ไี่ ด้ รับรางวัลใน การ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 11 ในปี นี ้ พร้ อมทังจั ้ ดงาน ประกาศผลรางวัลเพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ ให้ กบั ผู้ประกอบการ วิสาหกิจสิง่ พิมพ์ทสี่ ร้ างสรรค์งานคุณภาพในตัวของผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็ นการต่อยอดไปสู่การสร้ างมูลค่าเพิ่มให้ กับสินค้ าสิ่ง พิมพ์ของคนไทย”
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:32:09
PRINT ACTIVITY
THAI PRINT AWARDS 2017 Towards the New Frontier มุ่งสู่มิติใหม่แห่งอนาคตของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
th สรุCompany ปจ�ำนวนเหรี ญ รางวั ล 12 THAI PRINT AWARDS 2017 Name Best of the Best Gold Silver 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49
บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท โปรดีเคล จ�ำกัด บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้น จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จ�ำกัด บริษัท คอมฟอร์ม จ�ำกัด บริษัท แพน แปซิฟิก ปริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท สยามพริ้นท์ จ�ำกัด บริษัท นีโอ ดิจิตอล จ�ำกัด บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท วงตะวัน จ�ำกัด บริษัท เกรย์ แมทเทอร์ จ�ำกัด บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บริษัท บีทีเอส เพรส จ�ำกัด บริษัท เมย์ฟลาวเวอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท บี แอนด์ เอ ดีไซน์เวิร์ค จ�ำกัด บริษัท เนติกุลการพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด บริษัท มติชน จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท โกลเบิล พริ้นติ้ง แอนด์ แพคเกจจิ้ง (2013) จ�ำกัด บริษัท เทียนวัฒนาพริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท ไฟว์ แอนด์ โฟร์ พริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท เหรียญทองการพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท ไทยปริ้นท์ติ้ง เซ็นเตอร์ จ�ำกัด บริษัท เปเปอร์เมท (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เปเปอร์ริสต้า จ�ำกัด บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ไทยสแกน (ธรรมดี) จ�ำกัด บริษัท หลักพิมพ์ จ�ำกัด ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด พลอยการพิมพ์ บริษัท ลัคก์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จ�ำกัด บริษัท ทีพีเอ็น ฟู้ดแพค จ�ำกัด บริษัท ไพร์ม แพ็คเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท ซีซีแอล ลาเบิล (ไทย) จ�ำกัด บริษัท ซีสคอน ฉลากและแพคเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท แมแม อินดัสเตรียล จ�ำกัด บริษัท พริ้นติ้ง โซลูชั่น จ�ำกัด บริษัท กิตติชัยพริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท วัชรพล จ�ำกัด บริษัท สยามทบพัน แพคเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท พริ้นมาสเตอร์ จ�ำกัด บริษัท มิตรสัมพันธ์การพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท เอ๊กซ์วายแซดพริ้นติ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ไอดี ออล ดิจิตอลพริ้นท์ จ�ำกัด บริษัท สแควร์ปริ๊นซ์ 93 จ�ำกัด รวมเหรียญรางวัลทั้งหมด
1 1 1 1 1
1 1 1 2 2 2 2 2
2
Bronze 1
1 4 1
2 1
2 2 2
1 1 1 4 2 2 2
1 1 1 1 1
1
1 1 1 1 1 1 1
1 1 1
1
1 1
21
1 1 29
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 37
1 1 1 1 1 1 1
1 1
1
1
5
1
1 1 1 1 1 1 33
Total 5 2 2 6 8 3 2 2 3 3 3 4 2 2 2 1 1 1 1 1 1 1 2 1 2 2 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 2 1 1 1 1 1 88
037 26/2/2561 23:32:28
44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1
11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM
3:46:08 4:04:37 1:45:14 2:36:23 11:47:07 17:59:23 16:00:45 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 26:05 AM
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 39
039 8/9/2560 0:28:49
PRINT TECHNOLOGY
E-c
E-commerce : The brand Driving Printing and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
mmerce :
The brand Driving Printing
and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป กับการเติบโตของธุรกิจ E-Commerce จากการวิ จัย ข้ อ มูล ของศูน ย์ วิ จัย กสิ ก รไทยในปี 2560 พบว่า ภายใต้ ก ระแสการเติ บ โตของธุร กิ จ E-Commerce ที่ ก�ำ ลัง เติ บ โตสูง โดยเฉพาะตลาดจ�ำหน่ายสินค้ าจากผู้ผลิตสูผ่ ้ บู ริ โภคโดยตรง (Business to Consumer: B2C) ที่เติบโตร้ อยละ 15-20 ต่อปี หรื อมีมลู ค่าประมาณ 2.1 แสนล้ า นบาท (เฉพาะภาคค้ า ปลี ก สิ น ค้ า ) ช่ ว ยให้ บ รรจุ ภัณ ฑ์ เพื่ อ การขนส่ง (จากผู้ผลิตถึง ผู้บริ โ ภค) จากเดิ มที่ มี ก ารใช้ น้ อ ยมี ก าร ขยายตัวต่อเนื่อง โดย ศูนย์วจิ ยั กสิกรไทย คาดว่าบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ การขนส่ง ส�ำหรับ E-Commerce ในส่วนของ B2C ในปี 2560 จะมีมลู ค่าตลาด ประมาณ 5,600 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 24.4 (YoY) ทั ง้ นี ้ คาดว่ า ในอี ก 3 ปี ข้ างหน้ า ตลาดบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การขนส่ง จะมี มูล ค่า ถึง ประมาณ 8,000-9,000 ล้ านบาท ตามการ เติ บ โตของตลาด E-Commerce ในรูปแบบ B2C (ภาคการค้ าปลีก) ที่คาดว่าจะมีมูลค่าประมาณ 3.5 แสนล้ านบาท (ภายใต้ สมมติฐาน นโยบายการจั ด เก็ บ ภาษี ธุ ร กิ จ E-Commerce ที่ จ ะน� ำ มาใช้ ในระยะข้ า งหน้ า ส่ง ผลต่ อ ภาระ ผู้ประกอบการไม่มาก) โดยคาดว่า บรรจุภณ ั ฑ์กระดาษและพลาสติก จะได้ รับอานิสงส์จากปั จจัยดังกล่าว
040 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 40
สูง เนื่องจากสอดคล้ องกับลักษณะ ของสิน ค้ าที่ นิ ย มซื อ้ ขายออนไลน์ รวมถึ ง ความเหมาะสมในการ ปกป้องสินค้ าระหว่างขนส่ง และมี ต้ นทุนที่ไม่สงู มากนัก การออกแบบบรรจุภัณ ฑ์ ส�ำหรับสินค้ า E-Commerce จะเป็ น โจทย์ ที่ท้าทายส�ำหรั บธุรกิ จบรรจุ ภัณฑ์ในระยะต่อไป ซึง่ นอกจากเพือ่ เพิ่ ม ความแข็ ง แรง และช่ ว ยลด ต้ น ทุน การขนส่ ง ยัง ต้ อ งมี ค วาม สวยงาม ดึ ง ดู ด และสร้ างความ ประทับใจให้ กบั ผู้บริ โภค
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:33:21
E-commerce : The brand Driving Printing and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ซึ่งนักออกแบบจึงได้ พฒ ั นาบรรจุภณ ั ฑ์ เน้ นการสร้ างนวัตกรรม ทางบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ ให้ มคี วามโดดเด่นไม่ใช่แค่ในเฉพาะของรูปร่างลักษณะ ที่เป็ นประโยชน์ตอ่ การใช้ สอย และตอบสนองการใช้ งานของผู้บริ โภคแล้ ว ยังต้ องใส่ใจไปถึงการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์ภายหลังจากการใช้ งานแล้ วด้ วย แต่ ก็ ยัง คงไม่ ทิ ง้ ความเป็ นเอกลัก ษณ์ ข องแบรนด์ ไ ป จึ ง มี ก ารน� ำ เอา วัสดุตา่ งๆ ที่ถกู พัฒนามาปรับใช้ ให้ เข้ ากับผลิตภัณฑ์ของผู้ผลิต แต่ในการขายปลีกแบบ E-commerce นัน้ มีข้อจ�ำกัดในเรื่ องของ การสัมผัสกับตัวสินค้ า จุดขายของสินค้ าได้ เปลีย่ นไปจากการทีร่ ูปแบบการ บรรจุหบี ห่อทีด่ มู คี วามพิเศษจะเป็ นส่วนหนึง่ ในการตัดสินใจซื ้อ แต่เมือ่ ย้ าย ไปขายในโลกออนไลน์ สินค้ าจะต้ องเป็ นตัวดึงดูดุ ความสนใจจากผู้บริโภค เพียงอย่างเดียว จากการส�ำรวจแนวโน้ นการขายปลีกแบบ E-commerce ในสหรัฐฯ พบว่า 27 % ของผู้ตอบแบบสอบถามรับได้ กบั การทีข่ ายออนไลน์ เท่านัน้ แต่ 54% อยากให้ มีการขายแบบสองช่องทางคือ ช่องทางออนไลน์ และช่อ งทางปกติร่ ว มกัน โดย 91 % ของผู้ที่ ใ ช้ E-commerce เป็ น
PRINT TECHNOLOGY
ช่องทางการขาย มองว่ายอดขาย ทางออนไลน์ มี ค วามส� ำ คั ญ ต่ อ รูปแบบรายได้ ของพวกเขา และอีก 88 % คาดว่าจะสามารถเติบโตได้ ในอีกสองปี ข้ างหน้ า ทังนี ้ ้ลักษณะ ของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ม าถึ ง มื อ ของ ผู้บริ โภคมีผลถึง 95% ของผู้สงั่ ซื ้อ สิน ค้ า บนโลกออนไลน์ เนื่ อ งจาก การสัง่ ซื ้อนัน้ ผู้ซื ้อจะพิจารณาการ สั่ ง ซื อ้ จากตั ว สิ น ค้ าเท่ า นั น้ แต่ รู ป ลัก ษณ์ ห รื อ การออกแบบของ บรรจุภัณ ฑ์ จ ะเป็ นจุด เริ่ ม ต้ น ของ การน�ำเสนอ ซึง่ เป็ นสิง่ ทีท่ ำ� ให้ ลกู ค้ า รู้สกึ พิเศษเพิ่มขึ ้น
ทีม่ า : https://wccftech.com/pachter-nintendo-labo-2012/ Nintendo Labo เป็ นการออกแบบกล่องบรรจุภณ ั ฑ์หลังจากการท�ำหน้ าห่อหุ้มสินค้ าแล้ ว ให้ สามารถกลายเป็ นอุปกรณ์ประกอบการเล่นเกมส์ตอ่ ได้ อกี THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 41
041 26/2/2561 23:33:44
PRINT TECHNOLOGY
E-commerce : The brand Driving Printing and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ตั ว อย่ า งของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ชัน้ นอกของสินค้ าไทยที่ได้ รับการ กล่า วถึง ในโลกออนไลน์ ช่ ว งหนึ่ง คือ การออกแบบกล่องของอาหาร สุข ภาพในรู ป แบบธัญ พื ช อบแห้ ง แบรนด์ Diamond Grains ที่ นอกจากลักษณะบรรจุภณ ั ฑ์ชนใน ั้ ที่มีความสะดวกต่อการรับประทาน แบบทันทีแล้ ว บรรจุภณ ั ฑ์ชนนอก ั้ ที่ใช้ ในการจัดส่งยังสามารถสร้ าง ความประทับใจให้ กบั ผู้บริโภคได้ อกี และในเทศกาลพิเศษยังได้ เปลี่ยน ลัก ษณะกราฟฟิ กบนกล่ อ งบรรจุ ภัณฑ์ชนนอกอี ั้ กด้ วย ตามการคาดการณ์ ข อง เจ้ าของสินค้ า เชื่อว่ากลุ่มผู้บริ โภค บนโลกออนไลน์จะมีอายุที่น้อยลง และมี ค วามเชี่ ย วชาญในด้ าน เทคโนโลยีมากขึ ้น ซึง่ เป็ นกลุม่ คนที่ เป็ นแรงผลัก ดัน ให้ เกิ ด ธุ ร กิ จ บน โลกออนไลน์ เพราะให้ ความส�ำคัญ กับความสะดวกสบาย โดยงานวิจยั
ที่มา : https://www.jabil.com/insights/blog-main/ecommerce-the-trenddriving-packaging-industry-disruption.html
ที่มา : https://www.bangkokbanksme.com/article/4863
042 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 42
แสดงให้ เห็นว่า “60% ของผู้ใหญ่ ชาวอเมริ กันยินดีที่พวกเขาไม่ต้อง ออกไปซื ้อสินค้ าที่ห้างสรรพสินค้ า หรื อในร้ านที่มีผ้ คู นแออัด” เมื่อพวก เขาซื ้อสินค้ าทางออนไลน์ เมือ่ ข้ อมูล จ� ำ น ว น ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค เ ป ลี่ ย น พฤติ ก รรมในการซื อ้ ไปเป็ นเช่ น นี ้ ทางด้ านเทคโนโลยีที่จะต้ องพัฒนา เพื่ อ รองรั บ การติ ด ต่ อ สอบถาม ระหว่างลูกค้ าและบริ ษัทผู้ผลิตด้ วย และยังพบว่า ผู้บริ โภคที่ซือ้ สินค้ า
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:34:18
E-commerce : The brand Driving Printing and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
PRINT TECHNOLOGY
ทางออนไลน์ ได้ มีการส่งต่อข้ อมูล ฟังค์ชั่นดีไซน์ (function design) + บรรจุภัณฑ์ ของสินค้ าจากการถ่ายรูปและแสดง + On demand printing = โอกาสในอนาคต เมือ่ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ทมี่ คี วามโดดเด่น ควบคูก่ บั หน้ าทีห่ ลักคือ ความคิดเห็นเกี่ ยวกับบรรจุภัณฑ์ เมื่อได้ รับสินค้ าจากการขนส่งผ่าน สามารถปกป้องผลิตภัณฑ์ได้ อย่างเหมาะสมแล้ ว สิง่ ทีท่ ำ� ให้ ผ้ ปู ระกอบการ E-commerce ส่วนใหญ่กงั วล คือราคาในการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ ปั จจุบนั ทางสื่อสังคมออนไลน์อีกด้ วย ธุรกิจการพิมพ์ได้ มีการปรับตัวที่จะรับค�ำสัง่ ผลิตในปริ มาณที่น้อย ตาม ความต้ องการของผู้ประกอบการ (On demard) มีมากยิง่ ขึ ้น โดยการพิมพ์ แบบ Digital Printing นัน้ จะเป็ นการตอบรับค�ำสัง่ ผลิตในปริ มาณที่น้อย แต่คณ ุ ภาพของสี และรู ปภาพยังคงอยู่ในระดับที่ลกู ค้ ายอมรับ และไม่มี ขีดจ�ำกัดเรื่ องของขันต� ้ ่ำในการสัง่ ผลิต หรื อขึ ้นตัวอย่างชิ ้นงาน อีกทังยั ้ ง มีความรวดเร็ วในการผลิตอีกด้ วย ผู้ประกอบการสามารถเห็นบรรจุภณ ั ฑ์ ที่ ท�ำการออกแบบได้ เลยทันที ดังนัน้ ข้ อจ� ำกัดเดิมๆ ในการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์กบั ราคาของบรรจุภณ ั ฑ์ในการสัง่ ผลิต ที่จะต้ องสัง่ ในปริ มาณ ที่มาก จะต้ องเสียพื ้นที่ในการจัดเก็บบรรจุภณ ั ฑ์ก่อนการจัดส่งก็จะเป็ น เรื่ องที่ไม่นา่ กังวลอีกต่อไป และอีกโอกาสของการน�ำความก้ าวหน้ าของนวัตกรรมเข้ ามาช่วย ในการพัฒนาการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อสร้ างจุดเด่นและตอบสนอง ที่มา : https://www.sephora.co.th/ ต่อไลฟ์สไตล์ของผู้บริ โภค คือ บรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะ หรื อ smart packaging products/sephoraั ฑ์ที่สามารถสื่อสารและให้ ข้อมูลต่าง ๆ กับผู้บริ โภค online-exclusives-sephora-gift-box ไม่วา่ จะเป็ นบรรจุภณ กล่องบรรจุภณ ั ฑ์ในการจัดส่งเมื่อสัง่ ซื ้อ ผ่า นเทคโนโลยี ที่ ทัน สมัย เช่ น Bluetooth Low-Energy (BLE) และ ทางออนไลน์ของร้ านขายเครื่ องส�ำอาง Near-Field Communication (NFC) ที่เชื่อมโยงเข้ ากับแอปพลิเคชั่น SEPHORA ในโทรศัพท์มือถือ
ที่มา : http://www.packagingdigest.com/smart-packaging/nfc-challenge THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 43
043 26/2/2561 23:34:26
PRINT TECHNOLOGY
E-commerce : The brand Driving Printing and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
หนึ่งในตัวอย่างที่น่าสนใจ คือ การน�ำเอา NFC chip บรรจุไว้ ที่ ฝาขวดสุรา และทันทีที่มีการเปิ ดฝา ขวด chip ดังกล่าว จะท�ำการเชื่อม ต่อสัญญาณเข้ ากับโทรศัพท์มือถือ เพื่อให้ ข้อมูลว่าสุราในขวดดังกล่าว นัน้ เป็ นของแท้ จากแหล่งผลิตหรื อ ไม่ หรื อขวดดังกล่าวเคยถูกเปิ ดมา ก่อนหน้ านีห้ รื อไม่ ซึ่งนอกจากจะ เป็ นการตรวจสอบและป้ องกั น ปั ญหาการปลอมปนสุราทีเ่ กิดขึ ้นใน หลายประเทศทัว่ โลกแล้ ว ยังท�ำให้ ผู้บริโภครู้สกึ พึงพอใจและเชื่อมัน่ ใน คุณภาพของสุรานันมากขึ ้ ้นอีกด้ วย
044 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 44
ความก้าวหน้าของ On demand print กับการเติบโตของเศรษฐกิจ หากติดภาพกับข้ อจ�ำกัดแบบเดิมๆ ของ Digital Printing ทังในแง่ ้ ของชนิดวัสดุรองพิมพ์ คุณภาพงานและราคาแล้ ว อาจจะท�ำให้ หนั ไป ใช้ ทางเลือกอื่นๆ แทน แต่ในปั จจุบนั นี ้ การพิมพ์แบบ On demand ได้ มี การพัฒนาทางด้ านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง มีความสามารถในการผลิต สิง่ พิมพ์บนวัสดุอนื่ ๆ นอกเหนือจากกระดาษ เช่น ฟิ ลม์ พลาสติกหรือฟอยด์ อี ก ทัง้ ยัง ให้ คุณ ภาพของงานพิ ม พ์ ที่ ดี ม ากยิ่ ง ขึ น้ ไร้ ข้ อ จ� ำ กัด ของสี ที่
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:34:39
E-commerce : The brand Driving Printing and Packaging Industry Disruption อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ไม่จ�ำเป็ นต้ องมีแค่ CMYK อีกต่อไป หรื อมองไปถึงเทคนิคหลังการพิมพ์ ก็สามารถที่จะผลิตในกระบวนการ ได้ เลย ซึ่ ง คุ้ มค่ า มากเมื่ อ เที ย บ คุณภาพของงาน และความรวดเร็ว ที่ ใ ช้ เ วลาในการจัด การเพี ย งเล็ ก น้ อยเท่านัน้ กับราคา ดังนัน้ เพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของผู้ บริ โภค และสอดคล้ อง เทคโนโลยี ที่ ก้ า วหน้ า ผู้ป ระกอบ ธุรกิจทางการพิมพ์จ�ำเป็ นต้ องมีการ ปรั บ ธุ ร กิ จ เพื่ อ ให้ รองรั บ กั บ การ เติบโตของเศรษฐกิจ ซึง่ ผู้ประกอบ
ธุรกิจจะเจอกับงานทีม่ ปี ริมาณน้ อย และอาจจะมีความยากต่อครัง้ การ สั่งผลิต แต่จะส่งผลให้ มูลค่าของ ชิ น้ งานสู ง มากยิ่ ง ขึ น้ ด้ วยจาก พฤติกรรมของผู้บริ โภคที่เปลี่ยนไป การเข้ าถึงสินค้ าได้ อย่างรวดเร็วจาก ทัว่ ทุกมุมโลก ความสะดวกสบาย ในการเลื อ กซื อ้ สิ น ค้ า ได้ โ ดยการ กดหน้ าจอ นอกจากผลิตภัณฑ์ที่จะ ต้ อ งมี ค วามโดดเด่ น และมี ค วาม น่าสนใจ อีกทังนวั ้ ตกรรมที่น�ำมาใช้ กั บ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ส ามารถสร้ าง ความเชื่ อ มั่น ให้ กั บ คุณ ภาพของ
PRINT TECHNOLOGY
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล้ ว การออกแบบ บรรจุ ภั ณ ฑ์ เมื่ อรวมกั บ ความ สามารถของการผลิตทางการพิมพ์ จึงเป็ นเหมือนบริ การหลังการขาย ที่ ส ามารถสร้ างความประทับ ใจ ให้ กบั ผู้บริโภค น�ำมาซึง่ การกลับมา ใช้ ซ� ำ้ แล้ ว ยัง เป็ นการเพิ่ ม โอกาส ในการขยายฐานผู้ บริ โ ภคผ่ า น การบอกต่อผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ได้ อีกด้ วย
ที่มา : http://www.maplepress.com/digital-printing-print-on-demand-short-run.html ตัวอย่างเครื่ องพิมพ์ Digital printing
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 45
045 26/2/2561 23:34:47
PRINT REPORT
ข้อมูลส่งออกหนังสือและสิ่งพิมพ์ 10 อันดับ มกราคม-พฤศจิกายน 2560
ข้อ มู ลส่ ง ออกหนั ง สื อ และสิ่ ง พิ ม พ์ ตลาดส่งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ “หนังสือและสิ่งพิมพ์”
มูลค่า : ล้านบาท ประเทศ 1 ฮ่องกง 2 อินโดนีเซีย 3 ญี่ปุ่น 4 สหราชอาณาจักร 5 สหรัฐอเมริกา 6 กัมพูชา 7 ฟิลิปปินส์ 8 มาเลเซีย 9 เยอรมนี 10 เวียดนาม รวม 10 รายการ รวมอื่นๆ รวมทุกประเทศ
046 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 46
2557
2558
108.51 324.89 322.57 168.83 228.23 33.60 159.22 82.72 54.77 92.53 1,575.9 987.1 2,563.03
216.95 241.94 357.72 159.19 164.88 62.64 163.58 91.79 56.42 97.19 1,612.3 713.4 2,325.74
อัตราขยายตัว (%)
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) 294.02 335.28 192.27 190.20 180.48 117.39 126.09 101.49 63.09 116.47 1,716.8 643.6 2,360.42
268.18 314.80 176.95 172.18 174.93 94.96 119.89 95.17 56.24 112.37 1,585.7 580.9 2,166.54
341.21 -46.31 309.47 10.00 231.46 38.62 140.28 1.29 130.26 0.10 100.05 158.93 96.07 29.42 84.18 0.94 73.89 -6.76 73.15 -41.64 1,580.0 1.01 492.1 -21.26 2,072.12 -8.91
สัดส่วน (%)
2558
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
99.94 -25.53 10.90 -5.71 -27.76 86.42 2.74 10.95 3.02 5.04 2.31 -27.73 -9.26
35.53 38.58 -46.25 19.48 9.46 87.41 -22.92 10.57 11.82 19.83 6.48 -9.78 1.49
34.48 45.92 -47.90 13.13 9.82 66.49 -18.14 10.59 5.51 26.77 5.87 -8.87 1.47
2558
2559 2560 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
27.23 4.23 9.33 12.46 12.38 16.47 -1.69 12.68 10.40 14.20 14.53 14.93 30.81 12.59 15.38 8.15 8.17 11.17 -18.53 6.59 6.84 8.06 7.95 6.77 -25.54 8.90 7.09 7.65 8.07 6.29 5.37 1.31 2.69 4.97 4.38 4.83 -19.87 6.21 7.03 5.34 5.53 4.64 -11.55 3.23 3.95 4.30 4.39 4.06 31.37 2.14 2.43 2.67 2.60 3.57 -34.90 3.61 4.18 4.93 5.19 3.53 -.36 61.49 69.32 72.73 73.19 76.25 -15.28 38.51 30.68 27.27 26.81 23.75 -4.36 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:35:08
PRINT REPORT
ข้อมูลส่งออกหนังสือและสิ่งพิมพ์ 10 อันดับ มกราคม-พฤศจิกายน 2560
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ “หนังสือและสิ่งพิมพ์”
มูลค่า : ล้านบาท 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
อัตราขยายตัว (%)
สัดส่วน (%)
ประเทศ
2557
2558
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
2558
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
ฮ่องกง อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา กัมพูชา ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย เยอรมนี เวียดนาม สิงคโปร์ อินเดีย เมียนม่า ออสเตรเลีย ลาว จีน เม็กซิโก เกาหลีใต้
108.51 324.89 322.57 168.83 228.23 33.60 159.22 82.72 54.77 92.53 212.63 54.59 145.98 51.31 69.93 27.38 59.32 15.72
216.95 241.94 357.72 159.19 164.88 62.64 163.58 91.79 56.42 97.19 114.55 52.76 61.83 53.05 38.19 39.44 43.71 14.18
294.02 335.28 192.27 190.20 180.48 117.39 126.09 101.49 63.09 116.47 95.88 49.42 60.07 37.78 68.97 33.94 15.29 5.24
99.94 -25.53 10.90 -5.71 -27.76 86.42 2.74 10.95 3.02 5.04 -46.13 -3.35 -57.65 3.40 -45.39 44.07 -26.32 -9.80
35.53 34.48 27.23 38.58 45.92 -1.69 -46.25 -47.90 30.81 19.48 13.13 -18.53 9.46 9.82 -25.54 87.41 66.49 5.37 -22.92 -18.14 -19.87 10.57 10.59 -11.55 11.82 5.51 31.37 19.83 26.77 -34.90 -16.30 -16.30 -26.86 -6.32 -23.85 42.70 -2.84 -6.67 -1.84 -28.80 -28.09 8.97 80.61 106.79 -49.14 -13.95 -1.49 -5.00 -65.01 -64.00 17.78 -63.03 -66.39 276.37
268.18 314.80 176.95 172.18 174.93 94.96 119.89 95.17 56.24 112.37 88.51 39.30 54.74 35.33 62.51 31.54 13.40 4.11
341.21 -46.31 309.47 10.00 231.46 38.62 140.28 1.29 130.26 0.10 100.05 158.93 96.07 29.42 84.18 0.94 73.89 -6.76 73.15 -41.64 64.73 -44.90 56.08 -2.62 53.73 -26.73 38.50 -18.21 31.79 67.01 29.96 -32.86 15.79 42.11 15.47 -18.17
4.23 12.68 12.59 6.59 8.90 1.31 6.21 3.23 2.14 3.61 8.30 2.13 5.70 2.00 2.73 1.07 2.31 0.61
2558 9.33 10.40 15.38 6.84 7.09 2.69 7.03 3.95 2.43 4.18 4.93 2.27 2.66 2.28 1.64 1.70 1.88 0.61
2559 2560 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) 12.46 14.20 8.15 8.06 7.65 4.97 5.34 4.30 2.67 4.93 4.06 2.09 2.54 1.60 2.92 1.44 0.65 0.22
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 47
12.38 14.53 8.17 7.95 8.07 4.38 5.53 4.39 2.60 5.19 4.09 1.81 2.53 1.63 2.89 1.46 0.62 0.19
16.47 14.93 11.17 6.77 6.29 4.83 4.64 4.06 3.57 3.53 3.12 2.71 2.59 1.86 1.53 1.45 0.76 0.75
047 26/2/2561 23:35:15
PRINT REPORT
ข้อมูลส่งออกกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 10 อันดับ มกราคม-พฤศจิกายน 2560
ข้อมูลส่งออกกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ ตลาดส่งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ “กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ”
มูลค่า : ล้านบาท ประเทศ 1 เวียดนาม 2 เกาหลีใต้ 3 มาเลเซีย 4 อินโดนีเซีย 5 จีน 6 ออสเตรเลีย 7 สหรัฐอเมริกา 8 ไต้หวัน 9 เมียนม่า 10 กัมพูชา รวม 10 รายการ รวมอื่นๆ รวมทุกประเทศ
048 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 48
2557
2558
อัตราขยายตัว (%)
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
8,133.24 8,142.56 9,591.13 8,650.44 8,510.44 3,258.64 3,809.76 4,381.77 4,007.37 4,175.61 4,317.75 4,198.85 4,434.05 4,090.08 4,118.11 4,661.60 4,869.91 4,622.80 4,244.35 3,978.37 2,569.87 2,310.01 2,393.13 2,113.80 3,433.29 3,801.11 3,647.39 3,712.05 3,504.26 2,690.53 1,374.21 1,756.03 2,744.47 2,502.48 2,342.09 2,110.56 2,293.69 2,380.94 2,102.29 2,179.33 1,235.78 1,684.90 2,015.37 1,816.12 2,162.42 1,959.65 1,944.27 2,191.08 1,989.32 2,156.85 33,422.4 34,657.4 38,466.8 35,020.5 35,747.1 19,881.8 19,683.8 19,919.4 18,359.7 18,407.0 53,304.21 54,341.14 58,386.20 53,380.27 54,154.08
19.38 -22.74 7.75 18.83 48.28 -3.27 14.80 27.35 98.99 5.10 11.54 8.12 10.24
2558 0.11 16.91 -2.75 4.47 -10.11 -4.04 27.78 8.68 36.34 -0.78 3.69 -1.00 1.95
สัดส่วน (%)
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) 17.79 15.01 5.60 -5.07 3.60 1.77 56.29 3.80 19.61 12.69 10.99 1.20 7.44
16.26 14.95 4.67 -3.21 -0.28 5.58 62.83 -0.20 18.46 14.56 10.93 1.44 7.47
2558
2559 2560 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
-1.62 15.26 14.98 16.43 16.21 15.72 4.20 6.11 7.01 7.50 7.51 7.71 0.69 8.10 7.73 7.59 7.66 7.60 -6.27 8.75 8.96 7.92 7.95 7.35 62.42 4.82 4.25 4.10 3.96 6.34 -23.22 7.13 6.71 6.36 6.56 4.97 -6.41 2.58 3.23 4.70 4.69 4.32 3.66 3.96 4.22 4.08 3.94 4.02 19.07 2.32 3.10 3.45 3.40 3.99 8.42 3.68 3.58 3.75 3.73 3.98 2.07 62.70 63.78 65.88 65.61 66.01 .26 37.30 36.22 34.12 34.39 33.99 1.45 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:35:55
ข้อมูลส่งออกกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 10 อันดับ มกราคม-พฤศจิกายน 2560
PRINT REPORT
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ “กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ”
มูลค่า : ล้านบาท ประเทศ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
เวียดนาม เกาหลีใต้ มาเลเซีย อินโดนีเซีย จีน ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ไต้หวัน เมียนม่า กัมพูชา อินเดีย ลาว ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง ญี่ปุ่น สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สิงคโปร์ บังกลาเทศ
2557
2558
8,133.24 3,258.64 4,317.75 4,661.60 2,569.87 3,801.11 1,374.21 2,110.56 1,235.78 1,959.65 765.66 1,681.76 1,683.43 1,626.60 1,921.89 1,120.80 1,378.48 533.98
8,142.56 3,809.76 4,198.85 4,869.91 2,310.01 3,647.39 1,756.03 2,293.69 1,684.90 1,944.27 1,013.92 1,376.22 1,618.50 1,329.51 2,198.24 1,559.49 1,429.12 629.15
อัตราขยายตัว (%)
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) 9,591.13 4,381.77 4,434.05 4,622.80 2,393.13 3,712.05 2,744.47 2,380.94 2,015.37 2,191.08 1,533.81 1,527.97 1,758.83 1,259.19 2,058.54 1,070.72 1,569.92 748.95
8,650.44 4,007.37 4,090.08 4,244.35 2,113.80 3,504.26 2,502.48 2,102.29 1,816.12 1,989.32 1,411.35 1,378.81 1,647.98 1,101.41 1,922.70 977.77 1,459.78 667.62
8,510.44 4,175.61 4,118.11 3,978.37 3,433.29 2,690.53 2,342.09 2,179.33 2,162.42 2,156.85 1,791.37 1,762.39 1,626.82 1,510.40 1,486.32 1,110.59 1,040.18 559.31
19.38 -22.74 7.75 18.83 48.28 -3.27 14.80 27.35 98.99 5.10 84.29 39.11 7.01 3.04 8.40 -19.50 -18.78 7.95
สัดส่วน (%)
2558
2559 2560 2557 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
0.11 16.91 -2.75 4.47 -10.11 -4.04 27.78 8.68 36.34 -0.78 32.43 -18.17 -3.86 -18.26 14.38 39.14 3.67 17.82
17.79 15.01 5.60 -5.07 3.60 1.77 56.29 3.80 19.61 12.69 51.28 11.03 8.67 -5.29 -6.36 -31.34 9.85 19.04
16.26 14.95 4.67 -3.21 -0.28 5.58 62.83 -0.20 18.46 14.56 54.47 10.25 11.71 -12.20 -4.24 -31.34 10.30 16.40
-1.62 4.20 0.69 -6.27 62.42 -23.22 -6.41 3.66 19.07 8.42 26.93 27.82 -1.28 37.13 -22.70 13.58 -28.74 -16.22
15.26 6.11 8.10 8.75 4.82 7.13 2.58 3.96 2.32 3.68 1.44 3.16 3.16 3.05 3.61 2.10 2.59 1.00
2558 14.98 7.01 7.73 8.96 4.25 6.71 3.23 4.22 3.10 3.58 1.87 2.53 2.98 2.45 4.05 2.87 2.63 1.16
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 49
2559 2560 2559 (ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.) 16.43 7.50 7.59 7.92 4.10 6.36 4.70 4.08 3.45 3.75 2.63 2.62 3.01 2.16 3.53 1.83 2.69 1.28
16.21 7.51 7.66 7.95 3.96 6.56 4.69 3.94 3.40 3.73 2.64 2.58 3.09 2.06 3.60 1.83 2.73 1.25
15.72 7.71 7.60 7.35 6.34 4.97 4.32 4.02 3.99 3.98 3.31 3.25 3.00 2.79 2.74 2.05 1.92 1.03
049 26/2/2561 23:36:02
PRINT TECHNOLOGY
องค์กรวิจัย Smithers Pira เปิดเผยว่า เครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์กมีประสิทธิภาพสูงสุดในอุตสาหกรรมและมีต้นทุนการพิมพ์ต่อแผ่นต�่ำที่สุด
Smithers Pira
องค์กรวิจัย เปิดเผยว่า เครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์กมีประสิทธิภาพสูงสุดในอุตสาหกรรม และมีต้นทุนการพิมพ์ต่อแผ่นต�่ำที่สุด • เครือ่ งพิมพ์ไฮเดลเบิรก์ ให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ โดยเฉลีย่ 26 – 52% สูงกว่า ก�ำลังการผลิตจากเครื่องพิมพ์ค่ายอื่นๆ ทั้ง 3 ขนาดแพลตฟอร์ม • ต้นทุนการผลิตต่อแผ่นต�ำ่ กว่ามาก เมือ่ เทียบเครือ่ งพิมพ์ไฮเดลเบิรก์ กับ เครื่องพิมพ์จากค่ายอื่นๆ • โอกาสการสร้างผลก�ำไรเมื่อผลิตงานโดยเครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์กจึง สูงกว่าเครื่องพิมพ์รุ่นต่างๆ ของค่ายอื่นๆ รายงานล่าสุดขององค์กรวิจยั ชันน� ้ ำของโลก Smithers Pira (สมิธเธอร์ ส ไพร่า) ระบุวา่ “ความสามารถ ในการผลิตที่แท้ จริ งของเครื่ องพิมพ์ระบบออตเซตป้อนแผ่นมือสอง“ เมื่อวิเคราะห์จากจ�ำนวนแผ่นพิมพ์ท่ีพิมพ์ ได้ จากเครื่ องพิมพ์มือสองเกือบ 450 เครื่ องที่มีอายุต�่ำกว่า 10 ปี จากค่ายผู้ผลิตที่แตกต่างกัน 5 บริ ษัท โดย ค่าเฉลีย่ จากทุกขนาดแพลตฟอร์ มพบว่าเครื่ องพิมพ์ไฮเดลเบิร์ก มีความสามารถในการผลิตเหนือกว่าเครื่ องพิมพ์ จากค่ายอื่นๆ เมื่อเปรี ยบเทียบจ�ำนวนแผ่นพิมพ์ทงั ้ หมดที่พิมพ์ได้ จากเครื่ องพิมพ์ทุกรุ่ นทัง้ หมดในทุกขนาด เมื่อเปรี ยบเทียบจ� ำนวนแผ่นพิมพ์ ทัง้ หมดที่พิมพ์ ได้ จากเครื่ องพิมพ์ ทุกรุ่ นทัง้ หมดในทุกขนาด ในกรณี ของ เครื่ องพิมพ์รุ่ น Speedmaster XL 105/106 มีประสิทธิภาพมากกว่าเครื่ องพิมพ์ของค่ายอื่นๆ นอกจากนี ้แบบ จ�ำลองต้ นทุนขององค์กร Smithers Pira ยังระบุอกี ว่าต้ นทุนการผลิตลดลงต่อการพิมพ์ 1,000 แผ่น “เมือ่ เราศึกษา ข้ อมูลออนไลน์ ของตลาดเครื่ องพิมพ์ มือสอง เราเริ่ มตระหนักถึงความเป็ นจริ งที่ว่าก� ำลังการผลิตที่ได้ จาก เครื่ องพิมพ์ไฮเดลเบิร์กนันมี ้ ประสิทธิผลสูงกว่าเครื่ องพิมพ์ยี่ห้ออื่นๆ มากเท่าไร” มร. แอนดี ้ เร ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ ายการตลาด ไฮเดลเบิร์กส�ำนักงานใหญ่กล่าว “การได้ รับข้ อมูลจากองค์กรที่ได้ รับความเชื่อถืออาทิ องค์กร Smithers Pira เป็ นการตอกย�ำ้ ความเชื่อมั่นให้ กับอุตสาหกรรมโดยรวมทัง้ หมดและเป็ นหลักฐานที่พิสูจน์ ถึงสมรรถนะก�ำลังการผลิตของเครื่ องพิมพ์ไฮเดลเบิร์กได้ เป็ นอย่างดี”
หลักฐานอยู่ในประสิทธิภาพในการผลิตงาน
การศึกษาวิเคราะห์ ผ ลลัพ ธ์ ของเครื่ อ งพิ มพ์ ขนาด B1, B2 และ B3 โดยเน้ นไปที่เครื่ องพิมพ์ขนาด ใหญ่ 2 ขนาด ได้ แก่เครื่ องพิมพ์ ขนาด B2 (29 นิว้ ) จ� ำ นวนแผ่น พิ ม พ์ โ ดยผลเฉลี่ ย ต่อ ปี ของเครื่ อ งพิ ม พ์ ไฮเดลเบิ ร์ ก สูง กว่ า เครื่ อ งพิ ม พ์ จ ากผู้ผ ลิ ต รายอื่ น ๆ ถึ ง 68.5% และในส่ว นของเครื่ อ งพิ ม พ์ ข นาด B1
050 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 50
(40-41 นิ ้ว) จ�ำนวนแผ่นพิมพ์จากเครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์ก (รุ่น Speedmaster CD 102 และ Speedmaster XL 105/106) มีค่าเฉลี่ย 36% ซึง่ สูงกว่าเครื่ องพิมพ์จาก ค่ายอื่นในขนาดเดียวกัน เมื่อเปรี ยบเทียบต้ นทุนการ ผลิตเฉลี่ยของเครื่ องพิมพ์ ไฮเดลเบิร์กขนาด B1 กับ เครื่ องพิมพ์จากค่ายอื่นในตลาด พบว่าทังเครื ้ ่ องพิมพ์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:36:19
องค์กรวิจัย Smithers Pira เปิดเผยว่า เครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์กมีประสิทธิภาพสูงสุดในอุตสาหกรรมและมีต้นทุนการพิมพ์ต่อแผ่นต�่ำที่สุด
รุ่น XL 105/106 และรุ่น CD 102 มีต้นทุนในการผลิต ต่อ 1,000 แผ่นทีด่ กี ว่า โดยเครื่องพิมพ์ขนาด B1 รุ่นเริ่มต้น ของไฮเดลเบิร์กซึง่ ได้ แก่เครื่ องพิมพ์รุ่น Speedmaster CD 102 มีผลลัพธ์ที่โดดเด่นในแง่ของต้ นทุนการผลิต ทีต่ ำ�่ และ“สเปคเครื่องทีส่ งู สุด” เมือ่ เทียบกับเครื่องพิมพ์ ค่ายอื่นๆ
PRINT TECHNOLOGY
ข้ อสรุ ปผลข้ อมูลขององค์กร Smithers Pira กล่าวว่า “ประสิทธิ ภาพในการผลิตที่เพิ่มเติมนี เ้ ป็ น ข้ อได้ เปรี ยบทางการแข่งขันที่ส�ำคัญของเครื่ องพิมพ์ ไฮเดลเบิร์ก การวิเคราะห์แสดงให้ เห็นว่าโอกาสในการ ท�ำก�ำไรของไฮเดลเบิร์กสูงกว่าเครื่ องพิมพ์จากค่ายอื่น ในการแข่งขันเป็ นอย่างมาก”
ก ษานี้ พิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า การซื้ อ “เครืสิ่อ่งงพิที่ไมด้พ์จใากการศึ หม่ จากผู้ผลิตเครื่ องพิมพ์ ค่ายอื่นๆ
หมายเหตุ : ไฮเดลเบิร์กได้ ตดิ ต่อองค์กร Smithers Pira เพื่อจัดท�ำรายงานนี ้ โดยที่มีราคาซื้อที่ถูกกว่ า หมายความว่ าท่ านจะ ท่านสามารถอ่านรายงานขององค์กร Smithers ต้ อ งเสี ย ค่ า ใช้ จ่ า ยของต้ น ทุ น การผลิ ต ที่สู ง กว่ า Pira ได้ ที่ https://www.smitherspira.com/resources/ ในการผลิตงานต่ อแผ่ น” มร. แอนดี้ เร กล่ าว แม้ ว่า 2017/october/white-paper-sheetfed-litho-presses เครื่ องพิมพ์ ไฮเดลเบิร์กอาจมีราคาที่สูงกว่ า 25% แต่ เครื่ องไฮเดลเบิร์กจะแค่ ผลิตงานพิมพ์ เพิ่มขึ้น อีกเพียง 8.7% เพื่อปรั บความแตกต่ างของราคา ให้ เทียบกับเครื่องยีห่ ้ ออืน่ ตามทีร่ ะบุใน PIA White Papers โดยในรายงานนี้ได้ พสิ ูจน์ ให้ เห็นว่ าเครื่ อง ไฮเดลเบิร์กเหนือชั้นและล�ำ้ ไปไกลเกินกว่ านั้น!
”
เปร�ยบเทียบตนทุนการผลิตงานพ�มพจำนวน 1,000 แผน ซ�่งผลิตดวยเคร�่องพ�มพขนาด B1
ตนทุนการผลิตงานจำนวน 1,000 แผน
ตนทุน การผลิต สูง
ตนทุน การผลิต ต่ำ
Heidelberg XL 105/106
เคร�่องยี่หออื่น
Heidelberg CD 102
แหลงขอมูล: Smithers Pira
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 51
051 26/2/2561 23:36:26
PRINT TECHNOLOGY
Flexo or Digital? ตอนที่ 1 ภาวะตลาดปัจจุบัน / บจก.หาญเอ็นฯ
Flexo or Digital?
ตอนที่ 1 ภาวะตลาดปัจจุบัน บจก.หาญเอ็นฯ
052 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 52
เทคโนโลยีและสถานะการแข่งขัน ตลาดส�ำหรั บลาเบลสติกเกอร์ ชนิดกาว ในตัวยังค่อนข้ างใหม่ เทคโนโลยีการผลิตและ เนือ้ วัสดุเพิ่งพัฒนาเมื่อช่วงกลางศตวรรษที่ 20 นี เ้ อง ตัง้ แต่ เ ริ่ ม แรกจนกระทั่ง ปั จ จุ บัน ก็ ยัง ใช้ เครื่ อ งพิ ม พ์ Narrow Web ขนาดหน้ ากว้ าง 330-430 มม. ถึงว่าเทคนิคการพิมพ์ได้ เปลีย่ นจาก Rotary Letterpress ไปเป็ น Flexo หรื อ Offset ที่เพิ่มการพิมพ์ Screen และ Gravure Print Unit ส�ำหรับการพิมพ์งานพิเศษ หรืองานหลังพิมพ์แบบ พิเศษด้ วยเทคโนโลยีหมึก UV และ Computer -to-Plate (CtP) ประกอบกับคุณภาพของหมึก และ ลูกกลิ ้ง Anilox ทีพ่ ฒ ั นาดีขึ ้น ท�ำให้ การพิมพ์ Flexo ซึง่ เคยมีข้อด้ อยในเรื่องคุณภาพงานพิมพ์ สามารถ ท� ำ ได้ ดี ก ว่ า การพิ ม พ์ แ บบ Letterpress และ มีคณ ุ ภาพใกล้ เคียงกับ Offset ได้ ในวันนี ้หาก นับตามจ�ำนวนของเครื่ อง รวมถึงเครื่ องอีกจ�ำนวน
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:36:42
Flexo or Digital? ตอนที่ 1 ภาวะตลาดปัจจุบัน / บจก.หาญเอ็นฯ
หนึ่งที่ติดตังเพิ ้ ่มอุปกรณ์ การพิมพ์ Screen และ การพิมพ์ Hot Foil หรื อ Cold Foil การเคลือบผิว หรื อเคลือบเงาในตัว UV-Flexo ซึง่ เป็ นเทคโนโลยี อนาล็ อ กครองตลาด Narrow Web ส� ำ หรั บ การพิมพ์ลาเบลสติคเกอร์ ดิจิทลั เทคโนโลยีส�ำหรับการพิมพ์สีถกู น�ำ มาใช้ กว้ างขวางในศตวรรษที่ 21 นี ้เอง ถึงแม้ ว่า การพิมพ์แบบ Inkjet จะมีใช้ มาก่อนหน้ าหลายปี ก็ตาม ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ลาเบลใช้ งานอยู่ เพียง 2 ประเภทคือ Toner(Dry & Liquid) และ Inkjet ซึง่ จะมีข้อดีและข้ อด้ อยทีเ่ ปรี ยบเทียบกันได้ ซึ่งเทคโนโลยีทงั ้ 3 ประเภทนี ้มีติดตังใช้ ้ งานเป็ น จ�ำนวนมากทัว่ โลก ในขณะที่เทคโนโลยี Toner เป็ นได้ เพียง Digital Print Station (จะมีหรื อไม่มี Inline Finishing ก็ได้ ) ทางฝั่ งของ Inkjet ก็ได้ ก้าว ล� ้ำไป และได้ เริ่ มเห็น Flexo/Inkjet Hybrid เข้ าสู่
PRINT TECHNOLOGY
ตลาด ซึง่ มีขีดความสามารถที่หลากหลายคล้ าย กับ เครื่ อ งที่ ก ล่า วก่ อ นหน้ า นี ้ นอกจากนี เ้ ครื่ อ ง Inkjet Press รุ่นหลังๆ ก็ถกู น�ำไปติดตังกั ้ บเครื่ อง Offline และ Inline Finishing และจ� ำ หน่ า ย ในแบรนด์นนั ้ ๆ เพื่อผลิตงานพิมพ์แบบ Single Pass Production สิง่ หนึง่ ทีก่ ารพิมพ์ด้วยเทคโนโลยีอนาล็อก ท�ำได้ ดีกว่ามาตลอด คือความเร็ วพิมพ์ โดยทัว่ ไป เครื่ อง Narrow Web รุ่ นใหม่ ๆ สามารถพิมพ์ได้ เร็ ว ถึง 180 เมตร/นาที ถึง แม้ ว่า การใช้ ง านจริ ง อาจเร็ วเพียงแค่ครึ่งหนึง่ หรื อน้ อยกว่านันก็ ้ ตาม เมื่อเปรี ยบเทียบกับ Digital Toner Press ซึ่งจะอยู่ที่ 30 เมตร/นาที และ Digital Inkjet จะอยูท่ ี่ 50-75 เมตร/นาที ซึง่ จะใกล้ ความเร็ วของ Flexo Press มากกว่า แต่ทว่าความเร็ วพิมพ์เป็ น เพียงแค่สว่ นหนึ่งเท่านัน้ เวลารวมของขบวนการ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 53
053 26/2/2561 23:37:07
PRINT TECHNOLOGY
Flexo or Digital? ตอนที่ 1 ภาวะตลาดปัจจุบัน / บจก.หาญเอ็นฯ
ผลิตคือหัวใจที่จะส่งผลต่อการท�ำ ก� ำ ไร ดูข้ อ มูล (Fig. 1) ซึ่ง แสดง การเปรี ย บเที ย บกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ในขบวนการผลิตงานพิมพ์เดียวกัน โดยเทคโนโลยี 3 ประเภทที่ตา่ งกัน เห็นได้ ว่าระยะเวลาพิมพ์ งานเป็ น สัดส่วนเวลาหลักโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งส�ำหรับ Toner แต่ส�ำหรับดิจิทลั เทคโนโลยี แ ล้ ว กิ จ กรรมที่ ไ ม่ ใ ช่ การพิมพ์งานใช้ เวลาน้ อยกว่า และ ต้ องน�ำค่าใช้ จา่ ยต่าง ๆ มารวมและ วิเคราะห์ด้วยเช่น วัสดุลาเบล หมึก เพลทพิ ม พ์ เวลาเตรี ยมเครื่ อง ส�ำหรับพิมพ์งานใหม่และค่าวัสดุสิ ้น เปลื อ งอื่ น ๆ (Fig. 2) จากกราฟ จะพบว่าต้ นทุนเวลาที่ใช้ ผลิตงาน พิ ม พ์ ร ะหว่ า ง Inkjet & Flexo ใกล้ เคี ย งกั น แต่ ว่ า ด้ วยวิ ธี ก ารที่ แตกต่างกัน เช่น Inkjet มีค่าหมึก สูง แต่ก็ไม่มีค่าเพลทพิ มพ์ ซึ่งจะ เหมาะมากกับ งานพิ ม พ์ ป ริ ม าณ น้ อย ๆ และมี การพิ ม พ์ แบบ Versioning ซึ่งจะพบมากในกลุ่ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ดู แ ลส่ ว นบุ ค คล หรื อ สินค้ าอื่นที่มีหลาย ๆ SKU สภาวะ การผลิ ต ในปั จ จุบัน มุ่ง ประเด็ น ที่ ความสามารถที่จะลดเวลาที่เครื่ อง หยุด ได้ อ ย่ า งไรมากกว่า ที่ จ ะเน้ น ให้ พมิ พ์งานได้ เร็วขึ ้น เพราะว่าเวลา เป็ นเงินเป็ นทอง และเวลาที่เครื่ อง หยุดผลิตจะกระทบต่อการท�ำก�ำไร
054 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 54
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:37:18
Flexo or Digital? ตอนที่ 1 ภาวะตลาดปัจจุบัน / บจก.หาญเอ็นฯ
โดยตรง ความสามารถที่ จะพิมพ์ งานเสร็จภายใน 20 นาที ไม่สำ� คัญ เท่ า กับ เวลาที่ เ สี ย ไประหว่า งการ หยุดเครื่ อง และเริ่ มพิมพ์งานได้ อีก ครัง้ ซึง่ มักจะเสียเวลา 60 นาที หรื อ มากกว่านัน้ การเลื อ กใช้ เทคโนโลยี ที่ เหมาะสมกั บ ความต้ อ งการของ กลุ่ม ลูก ค้ า ก็ เ ป็ นอี ก ปั จ จัย หนึ่ ง ที่ ส�ำคัญ ด้ วยหมึก UV คุณภาพสูง ท�ำให้ ลาเบลมีภาพและสีมีชีวิตชีวา ขึ น้ อย่ า งเห็ น ได้ ชั ด ทัง้ ยัง ทนต่ อ สภาพแวดล้ อมรุ นแรงได้ เช่น ทน ต่อ ความชื น้ , ทนต่อ สารเคมี ห รื อ สภาวะเค็มได้ อย่างดีเยี่ยม และไม่ ถลอกง่ายด้ วยเหตุผลที่กล่าวมานี ้ หมึก UV-Inkjet จึงเป็ นที่ นิยมใช้ ในงานพิมพ์ลาเบลสติกเกอร์ ส� ำ หรั บผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง ใช้ ตามครัวเรือนต่าง ๆ รวมถึงสินค้ า อุตสาหกรรมด้ วยเช่นกัน และด้ วย คุณภาพหมึกขาวของ Inkjet นัน้ เทียบเคียงได้ กบั การพิมพ์ Screen ขาว หากเที ย บกั บ Flexo และ Toner หมึกขาวของ Inkjet ก็ยงั มี คุณภาพดีกว่า และเปิ ดโอกาสเข้ าสู่ตลาด ลาเบลส�ำหรับผลิตภัณฑ์ดแู ลส่วน บุคคล โดยปกติอตุ สาหกรรมอาหาร จะไม่ ค่ อ ยใช้ ห มึก UV เนื่ อ งจาก กั ง วลกั บ ปั ญ หาการซึ ม ผ่ า นของ สารเคมี แต่ปัจจุบนั การพิมพ์ด้วย
หมึ ก UV รวมไปถึ ง การเคลื อ บ แลคเกอร์ ประสบความส�ำเร็ จ เป็ นอย่ า งดี ทั ง้ ยั ง ไม่ เ กิ ด ปั ญหาแต่อย่างใด จากรายงานตาม สื่ อ แจ้ งว่ า ขบวนการการตรวจ รั บรองก่อนใช้ งาน และขบวนการ การผลิต/ บรรจุอาหารจะตัดสินได้ วา่ สามารถใช้ หมึก UV ได้ หรื อไม่ โดย สรุปหมึก UV ส�ำหรับทัง้ Inkjet หรื อ Flexo สามารถใช้ ใน งานพิ ม พ์ ไ ด้ หลากหลาย มาก หากแต่ว่าทุกวันนีเ้ ป็ นตลาด ของงานพิมพ์ปริมาณน้ อย ๆ ต่องาน จ� ำ นวน SKU ที่ ม ากขึ น้ ทุก วัน ๆ ก�ำหนดเวลาส่งสินค้ าสัน้ ๆ แบบ JIT ดัง นัน้ UV-Inkjet จึ ง เป็ นกุญ แจ ส� ำ คั ญ ในการเพิ่ ม ก� ำ ไรได้ อย่ า ง งดงาม
PRINT TECHNOLOGY
“ข้ อมูลราคาที่ระบุใช้ เพื่อ ท�ำรายงานฉบับภาษาอังกฤษ และ ไม่ เ ป็ นราคาสิ น ค้ าที่ จ� ำ หน่ า ย ในประเทศไทย หากประสงค์ได้ รับ ข้ อ มูล การค� ำ นวณการวิ เ คราะห์ ความคุ้มค่า ส�ำหรับธุรกิจของท่าน บริ ษัทฯ พร้ อมให้ ค�ำปรึ กษาหารื อ เพื่ อ ท� ำ แบบค� ำ นวณวิ เ คราะห์ สามารถติ ด ต่อ ได้ ที่ sawarat.t@ harn.co.th, thammanoon.t@harn. co.th ”
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 55
055 26/2/2561 23:37:25
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 58 S.Sriaksorn #113_pc3.indd 58-60 S.Sriaksorn #105_pc3.indd 58 Ad SAd #104_pc3.indd 5858 #103_pc3.indd 58 AdAd SSriAksorn SriAksorn #102_pc3.indd 58 1 058-060 Ad S.Sri #101_pc3.indd 58-60 sriaksorn1-3 #100_pc3.indd 58
8/9/256017:07:33 2:55:06 22/1/2560 2:28:49 4/2/2558 9/12/2557 4:30:53 11/10/2557 3:53:28 1/9/2557 13:43:46 19/4/2557 18:25:15 3/1/2557 16:45:58
2:28:49 17:07:33 4:30:53 3:53:28 13:43:46 18:25:15 16:45:58
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 58-60 Ad S.Sriaksorn #113_pc3.indd 58-60 S.Sriaksorn #105_pc3.indd 59 Ad ITOTEC #104_pc3.indd 5959 59 259 #103_pc3.indd 59 AdAd ITOTEC #102_pc3.indd
8/9/256017:07:40 2:55:46 22/1/2560 2:28:50 4/2/2558 9/12/2557 4:32:05 11/10/2557 3:54:19 1/9/2557 13:45:17
060 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 60 S.Sriaksorn #113_pc3.indd 58-60 S.Sriaksorn #105_pc3.indd 60 Ad SAd #103_pc3.indd 6060 #103_pc3.indd 60 AdAd SSriAksorn SriAksorn #102_pc3.indd 60 3 058-060 Ad S.Sri #101_pc3.indd 58-60 sriaksorn1-3 #100_pc3.indd 60
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
8/9/256017:07:46 2:56:34 22/1/2560 2:28:50 4/2/2558 9/12/2557 4:35:47 11/10/2557 3:55:09 1/9/2557 13:46:29 19/4/2557 18:25:47 3/1/2557 16:47:44
Ad IK.c.a.s_Pc3.indd 1
23/1/2561 16:55:14
PRINT TECHNOLOGY
“Embellish” อย่างไรให้แตกต่างอย่างสร้างสรรค์ บทความโดย ศศิรดา สุทธิลักษณ์ บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย)
ผ em·bel·lish /əmˈbeliSH/ verb
make (something) more attractive by the addition of decorative details or features.
ท�ำให้ งาม, ประดับ, แต่งเติม, เสริ มแต่ง, ตกแต่ง
เมื่อพูดถึงการตกแต่งหลังการพิมพ์เพื่อสร้ าง มูลค่าเพิ่มให้ กบั งานพิมพ์หรื อบรรจุภณ ั ฑ์ สิง่ หนึง่ ที่เรา จะนึกถึงอยู่เสมอคือการ “ปั๊ มฟอยล์เงิน ฟอยล์ทอง” จะว่า ไปแล้ ว การปั๊ ม ฟอยล์ ไ ม่ใ ช่เ รื่ อ งใหม่อ ะไรใน บ้ านเรานัก ท�ำกันมาหลายสิบปี ตังแต่ ้ สมัยปู่ ย่าตายาย จะพัฒนาขึน้ ก็ เรื่ องของเครื่ องไม้ เครื่ องมื อที่ มีความ ทันสมัยมากขึ ้น ท�ำได้ หลากหลายมากขึ ้น แต่เราก็ยงั มี ข้ อจ�ำกัดในหลายๆเรื่ อง ไม่ว่าจะเป็ นพื ้นที่ในการปั๊ ม ลวดลาย ชนิ ด ของฟอยล์ ความซับ ซ้ อ นของดี ไ ซน์ ข้ อจ�ำกัดในเรื่ องศักยภาพของคน เทคนิคต่างๆ ในการ ปั๊ ม สิ่งเหล่านี ้ ท�ำให้ ผลงานในประเทศเรายังมีพืน้ ที่ ในการพัฒนาได้ อีกเยอะ แล้ วเราจะเริ่มจากอะไรดี? วันนี ้เราเริ่ มจากการ ปั๊ มหรื อที่เรี ยกว่า Hot Stamping นี่แหละ ว่าการใช้ เทคโนโลยีขนสู ั ้ ง คือจุดเริ่ มต้ นของการ “แตกต่างอย่าง สร้ างสรรค์” ได้ อย่างไร
060 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 60
KURZ ในฐานะผู้ผลิตฟอยล์รายใหญ่ที่สดุ ของ โลก ไม่เคยหยุดพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อช่วยผู้ประกอบ การโรงพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ให้ มีนวัตกรรมใหม่ๆ ไป น� ำ เสนอลูก ค้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เริ่ ม ตัง้ แต่ เ ทคโนโลยี แม่พิมพ์ทองเหลืองจาก h+m ที่ผลิตแม่พิมพ์ได้ หลาก หลายชนิ ด เริ่ ม ตัง้ แต่ แม่ พิ ม พ์ แ บบเรี ย บธรรมดา ไปจนถึงแม่พิมพ์ลึก แม่พิมพ์นูน และแม่พิมพ์ความ ละเอียดระดับไมโครและนาโน
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:37:56
“Embellish” อย่างไรให้แตกต่างอย่างสร้างสรรค์ บทความโดย ศศิรดา สุทธิลักษณ์ บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย)
การปั๊ ม เรี ย บๆ ธรรมดาเราคงไม่ ต้ อ งพูด ถึ ง ให้ เสียเวลา แต่เรื่ องการปั๊ มลึก ปั๊ มนูนหรื อที่เรี ยกว่า deboss หรื อ emboss นี่ สิ ท่ี น่ า สนใจ ในปั จ จุบัน โรงพิมพ์หรื อโรงปั๊ มทัว่ ไปมักจะชินกับการปั๊ ม 2 รอบ มีแม่พมิ พ์ 2 ชุด ชุดแรกไว้ ปั๊มฟอยล์ให้ เกิดลวดลาย และ แม่พมิ พ์อกี 1 อันไว้ สำ� หรับปั๊ มให้ ชิ ้นงานมีความลึกหรื อ ความนูน ด้ วยเทคโนโลยีของเรา สามารถลดขันตอนการ ้ ปั๊ มได้ เหลือเพียงขันตอนเดี ้ ยว ทังยั ้ งสามารถท�ำให้ เกิด ความแม่นย�ำได้ อย่างไม่มที ตี่ ิ เราเรียกแม่พมิ พ์แบบนี ้ว่า Combination dies หรื อ บล๊ อคคอมโบ้ ซึ่งเป็ นการ ปั๊ ม ฟอยล์ แ ละปั๊ ม ให้ ลึก หรื อ นูน ได้ ใ นขัน้ ตอนเดี ย ว เทคนิคการปั๊ มแบบนี ้จะช่วยลดขันตอน ้ เวลา และของ เสียได้ อีกทังยั ้ งมีความแม่นย�ำที่มากกว่าอีกด้ วย ในเรื่ องการออกแบบแม่พิมพ์ เรายังสามารถ เพิ่มโครงสร้ างของแม่พิมพ์ให้ มีมมุ มีองศา สร้ างมิตใิ ห้ ชิ ้นงานดูมอี ะไรมากกว่าการปั๊ มนูนปกติ การผสมผสาน มากกว่า 1 โครงสร้ างในแม่พิมพ์อนั เดียว (multilevel and sculpture) ยิ่งเพิ่มความน่าสนใจในชิน้ งานให้ มีมากขึ ้น ดูโดดเด่นและชวนให้ สมั ผัสมากกว่าการปั๊ ม ทื่อๆ แบนๆ ธรรมดา
PRINT TECHNOLOGY
อีกหนึ่งนวัตกรรมของเคิร์ซ คือการสร้ างลวด ลายบนแมพิมพ์ได้ ในระดับไมโครและนาโน ที่สามารถ ยกระดั บ การปั๊ มฟอยล์ ธ รรมดาๆ ให้ ดู แ ปลกตา ชวนสงสัยว่าลายเหล่านี ้เกิดขึ ้นได้ อย่างไร หากมีการ ท� ำ งานกั บ ดี ไ ซเนอร์ ที่ เ ข้ าใจถึ ง หลัก การออกแบบ ยิง่ สามารถยกระดับเป็ นการป้องกันการปลอมแปลงใน ระบบ economy ได้ ไม่ยากนัก สามารถสร้ าง value ให้ กับสิ่งพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ และยังยกระดับเป็ นการ ป้องกันการปลอมแปลงได้ อีกระดับหนึง่ ด้ วย ยังมีเทคโนโลยีและนวัตกรรมอีกมากมายที่เรา สามารถน�ำมาดัดแปลงและปรับใช้ เพือ่ สร้ างความแตก ต่างบนชิน้ งานได้ โดยไม่จ�ำเป็ นต้ องมีต้นทุนที่สงู เกิน ความจ�ำเป็ น การเรี ยนรู้ เรื่ องเทคโนโลยีใหม่ๆ จึงเป็ น สิง่ ส�ำคัญทีผ่ ้ ปู ระกอบการควรหมัน่ ศึกษาหาความรู้ หรือ พูดคุยสอบถามผู้เชี่ยวชาญ เพื่อคอยอัพเดทเทคโนโลยี ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ จากทั่ว โลกมาแล้ ว เพื่ อ น� ำ มา พัฒนาองค์กรและยกระดับอุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ในบ้ านเราให้ พฒ ั นายิ่งๆ ขึ ้นไป
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 61
061 26/2/2561 23:38:04
YOUNG PRINTER
คุณวรพล ภัคสุขชัย บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
คุณปิง วรพล ภัคสุขชัย
บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด “สวัสดีคะผู้อ่านที่เคารพรัก ส�ำหรับ Young Printer ฉบับนี ้ขอแนะน�ำ “คุณวรพล ภัคสุขชัย” หรือ “คุณปิ ง” ซึง่ เขาเองก็มบี ทบาท ในการรับผิดชอบกิจกรรมพิเศษหลาย ๆ อย่าง ที่ ท างสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยได้ จั ด ขึ น้ และ งานอื่น ๆ ที่จะมีเขาเข้ าร่วมทุก ๆ ครัง้ ลองมา ท�ำความรู้จกั กับเขากันดูเลยคะ”
062 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 62
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:38:39
คุณวรพล ภัคสุขชัย บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
“
YOUNG PRINTER
ก่ อนอื่ น ช่ วยแนะน� ำ ตั ว เอง ให้ เ พื่ อ นๆ รู้ จั ก ก่ อนคะ
”
ปิ งครั บ วรพล ภัค สุข ชัย ผมเป็ นพีช่ ายคนโต มีน้องชาย 1 คน และน้ องสาว 1 คน จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี คณะนิเทศศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ ปั จจุบนั ท�ำงานในต�ำแหน่ง Sales Manager รับผิดชอบดูแลการขายฮอตแสตมป์ ปิ ง้ ฟอยล์ในอุตสาหกรรมกราฟฟิ ค ทังโรงพิ ้ มพ์แผ่นและโรงพิมพ์ฉลาก ม้ วน
“
ประวั ติ ค วามเป็ นมา ของ ฟอยล์ มาสเตอร์ ฯ
”
บริ ษั ท ฟอยล์ ม าสเตอร์ (ไทยแลนด์ ) จ� ำ กั ด ก่ อ ตั ง้ โดย คุณชิณโชติ-คุณอรวรรณ ภัคสุขชัย เป็ นบริ ษัทฯน�ำเข้ าฮอตแสตมป์ปิ ้ง ฟอยล์มาจ�ำหน่ายในประเทศไทย ตั ง้ แต่ ปี 2534 รวมระยะเวลา ยาวนานกว่ า 25 ปี และเป็ น ผู้เชี่ยวชาญมีความพร้ อมอย่างสูง ในด้ านการให้ บริ การ ไม่ว่าจะเป็ น ในด้ านเครื่ องจักร ก�ำลังคน ทีมงาน ที่ เ ป็ นมื อ อาชี พ พร้ อมปฏิ บัติ ง าน และท� ำ การขายในเชิ ง ที่ ป รึ ก ษา รวมถึ ง การมี พัน ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น ผู้ ผ ลิ ต ชั น้ น� ำ ข อ ง โ ล ก มี ผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย สามารถ
ตอบสนองทุก ความต้ อ งการของ ลู ก ค้ าอย่ า งคลอบคลุ ม ทุ ก กลุ่ ม อุตสาหกรรม พันธกิจหลักของบริ ษัทคือ แ น ะ น� ำ เ ผ ย แ พ ร่ สิ น ค้ า แ ล ะ เทคโนโลยีใหม่ให้ กบั อุตสาหกรรม ก า ร พิ ม พ์ แ ล ะ บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ ใ น ประเทศไทย และกลุ่ ม ประเทศ เพื่อนบ้ าน รวมถึงการประยุกต์ใช้ การพัฒ นาสิ น ค้ า และเทคโนโลยี ในประเทศไทย สร้ างตราสิ น ค้ า ของบริ ษั ท ฯให้ เป็ นที่ ร้ ู จั ก อย่ า ง แพร่หลาย
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 63
063 26/2/2561 23:38:46
YOUNG PRINTER
“
คุณวรพล ภัคสุขชัย บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
หน้ าที่ความรั บผิดชอบ ในฟอยล์ มาสเตอร์ ฯ
”
ผมได้ เข้ ามาสูธ่ รุ กิจตัวแทน จ� ำหน่ายฮอตแสตมป์ฟอยล์ ด้ วย การเข้ าท� ำ งานในบริ ษั ท ฟอยล์ มาสเตอร์ ฯ จากการชั ก ชวนของ คุณสุวรรณี ภัคสุขชัย (อาม่า) และ คุณ ชิ ณ โชติ ภัค สุข ชัย (หยี่ แ ปะ) ซึ่ ง คุ ณ ลุ ง ท่ า นด� ำ รงค์ ต� ำ แหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การบริ ษั ท ฟอยล์ มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ในช่วงต้ นปี 2015 เริ่ มการ ท� ำ งานด้ วยการศึ ก ษางานใน ต� ำ แหน่ ง ผู้ แทนขาย รั บ ผิ ด ชอบ การขายแสตมป์ ปิ ้ ง ฟอยล์ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ าในอุ ต สาหกรรมกราฟฟิ ค โดยกลุ่ ม ลู ก ค้ าที่ รั บ ผิ ด ชอบเป็ น ลู ก ค้ ากลุ่ ม โรงพิ ม พ์ ฉ ลากม้ วน ขนาดใหญ่ ขนาดกลางและขนาด เล็ก
064 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 64
“
ปั ญหาและอุปสรรคที่ เกิดขึน้ ในการท�ำงาน ใช้ อะไรเป็ นแนวทางในการ แก้ ไข
”
ค ว า ม ย า ก ข อ ง ง า น คื อ ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละความรู้ ด้ าน เทคนิ ค ต่า งๆ เนื่ อ งจากที่ ผ่ า นมา ไม่ เ คยมี ป ระสบการณ์ ในด้ าน งานพิมพ์และฮอตแสตมป์ปิ ง้ ฟอยล์ อี ก ทัง้ ยัง เป็ นสิ น ค้ า อุต สาหกรรม
ซึ่ ง มี คุ ณ สมบัติ เ ฉพาะ ดั ง นั น้ จึ ง จ� ำ เป็ นต้ อ งเรี ย นรู้ และเพิ่ ม ทัก ษะ ในด้ านต่ า งๆ ให้ มี ค วามรู้ ความ ช�ำนาญเพื่อที่จะสามารถน�ำเสนอ สิ น ค้ าและบริ การให้ เหมาะกั บ ลั ก ษณะงานของลู ก ค้ า ท� ำ ให้ ช่วงแรกต้ องใช้ เวลาในการศึกษา เรียนรู้คอ่ นข้ างมาก หลังจากท�ำงาน ในระยะเวลาหนึ่ ง ผมมี ค วามคิ ด ว่าการท�ำงานขายและการบริ การ นันมี ้ ความยาก แต่ก็มีความท้ าทาย
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:39:22
อย่างมากเช่นกัน ในการติดต่องาน ขายหรื อ การให้ บริ ก ารกั บ ลูก ค้ า ท� ำ ให้ ผมได้ เรี ยนรู้ การปรั บ ตั ว ในการท�ำงานกับผู้คน ความอดทน รวมถึงการใส่ใจในการตอบสนอง ความต้ องการของลูกค้ าให้ ทนั เวลา เพราะลู ก ค้ าของผมส่ ว นใหญ่ เป็ นโรงพิ ม พ์ จ ะมี ค วามต้ อ งการ ใช้ งานแบบเร่ งด่วนมาก ในส่วนตัว ผมคิ ด ว่ า การบริ ก ารที่ จ ริ ง ใจและ เข้ าใจลูกค้ าจะท�ำให้ ลกู ค้ าไว้ วางใจ เราและนึก ถึ ง เราเสมอ และนอก เหนื อจากการบริ การที่ ดี แ ล้ ว สินค้ าต้ องมีคณ ุ ภาพตอบสนองทุก ความต้ องการของลู ก ค้ าอย่ า ง ครบถ้ วนด้ วย ตลอดระยะเวลาการ ท�ำงานอย่างหนักในช่วงกว่าสองปี ท� ำ ให้ ผมมี ป ระสบการณ์ ใ นการ ท� ำ งานมากขึ น้ และได้ รั บ การ สนับ สนุ น ที่ ดี จ ากลูก ค้ า เสมอมา จนถึ ง ปั จจุ บั น ได้ ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง S a l e s M a n a g e r ดู แ ล แ ล ะ รับผิดชอบภาพรวมในอุตสาหกรรม Graphic ทังหมดซึ ้ ง่ ประกอบไปด้ วย อุตสาหกรรมโรงพิมพ์แผ่น โรงพิมพ์ ม้ วน ตลอดจนถึงโรงปั ม้ ต่างๆ ซึ่ง คลอบคลุมในส่วนของกระบวนการ หลังงานพิมพ์
“
คุณวรพล ภัคสุขชัย บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
หลักการในการท�ำงาน
”
พยายามท�ำทุกสิ่งให้ เต็มที่ Work hard play hard ความวิริยะ อุตสาหะน�ำมาซึง่ ความส�ำเร็จ labor omnia vincit
“ ”
เป้าหมายในการท�ำงาน ที่กำ� หนดไว้
เนื่ อ งจากในปั จ จุบัน ผู้ค้ า ฟอยล์ มี เ พิ่ ม ขึ น้ มากมายในท้ อง ตลาด ซึง่ มีการแข่งขันกันสูงมาก ผม จึงวางเป้าหมายในการท�ำงาน สร้ าง ความไว้ วางใจให้ กบั ลูกค้ า เน้ นการ บริ การเป็ นส�ำคัญ รักษาฐานลูกค้ า เดิมไว้ นอกจากนี ้เป้าหมายของผม คื อ ต้ อ งการเพิ่ ม ส่ว นแบ่ง ทางการ ตลาดภายในประเทศ และขยาย ตลาดไปยังประเทศเพื่อนบ้ าน เพื่อ เพิ่มฐานลูกค้ าและสร้ างยอดขาย เพิ่ม
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 65
YOUNG PRINTER
065 26/2/2561 23:40:46
YOUNG PRINTER
“
คุณวรพล ภัคสุขชัย บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
มีความคิดเห็นถึงอนาคต จึง มี ค วามเป็ นไปได้ แต่อุป สรรค ของอุ ตสาหกรรมการพิมพ์ ทีต่ ้ องเจอคงเป็ นเรื่องของสภาพการ แข่ ง ขัน ค่ อ นข้ า งสูง ในท้ อ งตลาด ไทยอย่ างไร
”
ผมเองยังมี ประสบการณ์ ในด้ า นนี ไ้ ม่ ม ากนัก ส่ ว นตัว มอง อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ มี โ อกาส เติ บ โตได้ เพราะบรรจุภัณ ฑ์ แ ละ สิง่ พิมพ์ที่เป็ นแพ็คเกจจิ ้งหรื อฉลาก ต่างๆยังจ�ำเป็ นต้ องมีการใช้ งานอยู่ เจ้ า ของผลิ ต ภัณ ฑ์ ยัง คงต้ อ งการ ความสวยงาม ความแตกต่ า ง จุดเด่นและต้ องการเพิ่มมูลค่าของ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ดั ง นั ้น โ อ ก า ส ที่ อุตสาหกรรมการพิมพ์จะเติบโตขึ ้น
ในด้ า นของธุ ร กิ จ หลัง งานพิ ม พ์ ที่ ผมดูแลอยูอ่ าจได้ รับผลกระทบบ้ าง ในจากการที่ลูกค้ าเปลี่ยนรู ปแบบ ลดต้ นทุนต่างๆ แต่อย่างไรก็ ตาม โ อ ก า ส ที่ จ ะ เ ติ บ โ ต ก็ มี อ ยู่ แ ต่ เราต้ อ งหาจุด แตกต่า ง ความคิ ด สร้ างสรรค์ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ร่ วมกับลูกค้ าเพื่ อสร้ างมูลค่าเพิ่ม ให้ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ รวมไปถึ ง การหา ตลาดใหม่เพิ่มไม่ว่าจะเป็ นตลาด ในประเทศและตลาดต่างประเทศ
“
งานอดิเรกในยามว่าง
”
เป็ นคนชอบออกก�ำลังกาย ครั บ โดยกี ฬ าที่ ช อบและจะนั ด เพื่ อ น ๆ ไปเล่ น เป็ นประจ� ำ คื อ ฟุ ต บอล ส่ ว นใหญ่ ไ ปเล่ น ในช่ ว ง กลางคืนจะไม่คอ่ ยเล่นช่วงกลางวัน เพราะผมไม่ ช อบอากาศร้ อน นอกจากนี ้ก็มีตอ่ ยมวย ตีแบต และ ฟิ ตเนต ผมชอบออกก� ำ ลั ง กาย เพราะการออกก�ำลังกายจะท�ำให้ เราตืน่ ตัวและสดชืน่ หากมีเวลาหรือ วั น หยุ ด ต่ อ เนื่ อ งก็ อ อกไปชาร์ ต แบตด้ วยการท่องเที่ยวต่างจังหวัด หรือไปเทีย่ วต่างประเทศบ้ างแล้ วแต่ โอกาสจะอ�ำนวย
066 115919 Thaiprint#115_pc4.indd 66
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
26/2/2561 23:41:09
“
คุณวรพล ภัคสุขชัย บริษัทฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
YOUNG PRINTER
เข้ ามาเป็ นสมาชิ ก Young Printer Group ได้ อย่ างไร
”
ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม Young Printer มาจากกูต๋ งั ้ (คุณพร ชัย รั ตนชัยกานนท์ ) และหยี่ แป๊ ะ (คุณชิ ณโชิ ต ภัคสุขชัย) ซึ่งอยู่ใน สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย ซึ่ ง ท่ า นได้ แนะน�ำและส่งผมเข้ ามาเรี ยนรู้เกี่ยว กับวงการสิ่งพิมพ์เพราะผมยังใหม่ กั บ ธุ ร กิ จ นี ้ โดยหวั ง ว่ า การเข้ า กิ จ กรรมกลุ่ ม จะพั ฒ นาผมให้ มี ความรู้ และมีประสบการณ์มากขึ ้น สามารถน� ำ ความรู้ ประสบการณ์ จากเพื่อนๆพี่ๆในกลุม่ มาปรับใช้ ใน การท�ำงาน ได้ ร้ ูจกั คนในวัยเดียวกัน ท�ำงานในแวดวงเดียวกันสามารถ แลกเปลีย่ นความรู้กนั ได้ อีกประการ หนึ่งการเข้ าร่ วมกิ จกรรม Young Printer ท�ำให้ ผมได้ ร้ ู จักกับผู้ใหญ่ ใจดีท่ีจะคอยให้ ค�ำแนะน�ำแนวทาง การท�ำงาน และผมขอขอบคุณกู๋ตงั ้ และหยี่ แปะ ที่ ให้ โอกาสผมได้ มา ร่ ว มในกิ จ กรรมนี ท้ � ำ ให้ ผมได้ มี โอกาสพัฒนาตัวเองได้ มากขึ ้น
“
รั บ ห น้ า ที่ อ ะ ไ ร ใ น Young Printer Group แล้ ว งานที่ รั บ ผิ ด ชอบมี อ ะไร บ้ าง
”
ได้ รับการตอบรับค่อนข้ างดี เวลามี การประชุมต่างๆผมก็พยายามที่จะ เข้ าร่วมกิจกรรมเพือ่ จะได้ มสี ว่ นร่วม ให้ มากที่สดุ
“
ฝากบอกเพื่อน ๆ ที่ยัง หลังจากทีเ่ ข้ าร่วมกลุม่ งาน แรกผมได้ มี โ อกาสในการช่ ว ยใน ไม่ ได้ ส มั ค รเป็ นสมาชิ ก ส่วนของการจัดคอร์ สสัมมนาต่างๆ Young Printer Group โดยท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ นผู้ป ระสานงาน อยากจะบอกว่า ถ้ า มี สิท ธิ์ การจัดงาน ในช่วงช่วงที่ผ่านมามี ผู้สนใจเข้ ามาร่วมสัมมนาและถือว่า แล้ วไม่ใช้ มันค่อนข้ างน่าเสียดาย มันไม่ได้ เป็ นกิ จกรรมที่เราจะต้ อง เหน็ดเหนื่อยหรื อเสียเวลาส่วนตัว อะไรเลย ส�ำหรับผมมันเหมือนกับ มานั่ ง กิ น ข้ าวกั บ เพื่ อ นมากกว่ า เพื่ อ นที่ ท� ำ งานคล้ าย ๆ กั บ เรา สามารถพูดคุยปรึ กษากันได้ และ เป็ นพันธมิตรทางธุรกิจได้ ครับ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 5
115919 Thaiprint#115_pc4.indd 67
”
067 26/2/2561 23:41:25
Ad Eterna_Pc3.indd 1
23/1/2561 16:54:28
The besT of LeD UV prinTing in The worLD. พิมพ์ได้ทั้งงาน Packaging, สลาก, งานหนังสือ และ commercial printing พิมพ์ลงบนวัสดุได้หลากหลายเช่น กระดาษ พลาสติก กระดาษฟอลย์
ข้อดีของระบบการพิมพ์ LeD UV Power consumption การใช้พลังงาน Life span of lamp อายุของหลอด Heat/ ozone Space การใช้เนื้อที่ในการติดตั้ง
A3-Size Portrait
Conventional UV 71.1 KWh. (2 lamps type)
approx. 1,000 hrs. YES (need duct works) Peripheral equipment needs almost the same size of machine
A3-Plus
No heat/ No ozone saving 75%
A2-Size
520GX-4
340PCX-2
Max. Sheet Size 13.39 x 17.72 นิ้ว
LED-UV 6.4 KWh. (standard type) saving over 90% approx. 15,000 hrs.
690ST-4
(with coating unit)
Max. Sheet Size 14.76 x 20.47 นิ้ว
A1-Size
B2-Size
Max. Sheet Size 20 x 27 นิ้ว 1,020/1,050mm Format
920PF-8
Max. Sheet Size 25.2 x 36.22 นิ้ว
790ST-5
(with coating unit)
Max. Sheet Size 23.62 x 31.02 นิ้ว 1,130mm Format
1130TP-10
1050LX-6
(with coating unit)
Max. Sheet Size 29.53 x 41.34 นิ้ว
สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี บริษทั ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด
Max. Sheet Size 32.28 x 44.49 นิ้ว
576/68 ถนนสาธุ ประดิษฐ์ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม. 10120 โทรศัพท์ 02-682-3411-4 THAIPRINT MAGAZINE 114
โทรสาร 02-682-3415 email: cybersm751@csloxinfo.com 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 79
079
www.cybersm.co.th
8/9/2560 3:10:55
084 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 84 Ad Huafar #114_pc3.indd 1
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
8/9/2560 3:14:27 3:13:38
Ad Seethong_pc4.indd 1
6/2/2561 13:32:06
Ad Nation Wide_pc.pdf 1 6/2/2561 13:27:32