Thaiprint Magazine Vol.116

Page 1

2018 issue 116 www.thaiprint.org






06

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4


Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC Directory_Final_Outline.pdf

08

1

2/20/2560 BE

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4

11:18




ผลิ ต ภั ณฑ์

เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน Moving Forward to Green Print

ปลอดภัยตอผูใช

ลูกกลิ้งเสื่อมเร็ว สารกอมะเร็ง

เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สารไวไฟ

ผสมน้ำได

การใชน้ำมันกาด กอใหเกิดผลอยางไร มีกลิ่นฉุน

น้ำยาลางแบบใหม ดีอยางไร ถนอมลูกกลิ้ง

เปนอันตรายตอผูใช

$ $ $

ใชในปริมาณมาก

ลดตนทุนระยะยาว

จำหนายน้ำยาลางหมึกแทนน้ำมันกาด และน้ำยาลางหมึกพิมพ UV คุณภาพสูง บริษัท แอลฟา โปร เคมีคอล จำกัด

300 ซ.เพชรเกษม 42 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 Tel: 0-2457-4886, 0-2457-4889 Fax: 0-2869-5515 www.alphaprochemical.com

ไมมีกลิ่นฉุน

ใชปริมาณนอย


Best Performance, Fastest Output. l

Best performance with fast-dry oil-base

l

Super high-speed Printing 160 ppm.

l

Stability for High-volume Production Print jobs.

l

Eco-proven Performance Worldwide.

l

Small Foot print, Big Output

บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/


Digital & Offset Printing, Quick!

We can print even one piece with highest quality. Leaflet, Brochure, Photo Book, Personalized Mailing, Postcard, Hand Book Business Card, Report, Seminar Document, Menu, Label & Packetging etc. บริการพิมพงานระบบดิจิตอลคุณภาพสูง งานพิมพเรงดวน พิมพมาก พิมพนอย ไดตามความตองการ รวดเร็ว ไมตองทำฟลม ไมตองทำเพลท ประหยัดเวลาและคาใชจาย สีสันสดใส คมชัด คุณภาพสูง

บริการพิมพงานระบบอิงคเจ็ท บริการพิมพงานระบบดิจิตอล

ปายไวนิล ปายโฆษณา Roll up, X-Stand, J-Flag, Canvas พิมพสติกเกอร ฉลากสินคา ฟวเจอรบอรด พรอมไดคัทครบวงจร ฯลฯ

นามบัตร บัตรสมาชิก แผนพับ ใบปลิว โบรชัวร โปสการด วุฒิบัตร เมนูอาหาร แค็ตตาล็อกสินคา หนังสือ นิตยสาร พ็อกเก็ตบุค ปฎิทิน โฟโตบุค สติกเกอร ฉลากสินคา ฯลฯ

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4

055



พรี ะเดช, ธิ ศิ นนท์ ธ์ รี ะ พฒ น น ั ำ ิ ร จ ำ ร ุ พงศ ร จงกมำนนท์ ุ พมิ พน์ ำ วี ำสนำสขุ , คณ คณ ม ค า ุ พช ม ม ์ ิ ส ด งศ,์ คณ ศ์ กั ิ พ ค นายก ง ธ ร ุ ท ิ พ ณ ร ุ ณ ุ ป ค น,์ ุ วทิ ยำ อ ฎ์ อปุ นายก วประทปี , คณ เพยี รรงุ่ โรจ ์ ษ ย ฤ ำ ิ ท ส ุ ว ั ง เน ร ส ิ ะ ิ ธ ุ ณ ิ ย ุ น คณ ุ ธนติ วริ ำส กมลสวุ รรณ, ค ร คณ า ิ ก ธ า ข ล เ ุ ภำวมิ าร คณ ิ ก ธ า ข ล เ รอง รยี ำนนท,์ สนยี สนุ ทร ป ์ ร ว ศ เม ศนั ุ ปร คณ ุ วลยั พร ยวฒ คณ ิ ก ุ โิ รจน์ ญ ญ ล ั ร เฉ ์ เห ร ั ช ว ุ ชนิ เหตระกลู ตธิ รี พรชยั คณ ปฏคิ ม พนั ธ์ คณ ุ รชั ฐกฤต คณ ุ ธรี ะ กติ ทิ ธิ์ คลอ่ งงเู หลอื ม ั ม ร ส ก ์ า ค ช ง ะ อ ร ป ั นา ุ ประส ลุ คณ ยพฒ า ่ ล ฝ อ ร ิ ต า ิ จ กุ ก ด ์ ม กรร ารพมิ พ ณ ไกร เธยี รน กลวรำรงุ่ เรอื ง, ก ง ี ย ย ร า ่ ฝ เก ยั , ร ุ า กรรมก ายกสมาคม ค นนท,์ คณ ทุ ธำธกิ ลุ ช ลุ , ุ วชิ ยั ส ณ ส ม ฐ ป ง ุ ำ ำ น รตั นชยั ก ม แยม้ วำทที อง, ค รเทพ สำมตั ถยิ ดกี น,์ ป็นสื่อกล ท่ปี รึกษา คณ ั ย เ ช อ ่ ื ร พ พ เ น ุ ้ ึ ข ั ุ พ ท�ำ ม ธวิ ฒ ุ เกษ นั ตชิ ยั กลุ , คณ ท่ปี รึกษา ์ กมลสวุ รรณ, คณ ยั มหำสทิ , azine จัด น ์ เ พื่ อ อุ ต ส ำ ห ก ร ร ช g ส ม a ั ส ย M ช ุ ณ t ะ ค ย น in , ุ ธ ำม โยช อง ุ ชิ ำญ ุ มำนติ อื งวำรนิ กลุ , คณ Thai Pr คณ ชยั ศรวี ฒ เหลำ่ แสงง ำ,คณ ม ส ำ ร ะ ป ร ะ วเนื่อง เพื่อตอบสน ช ส ะ เด ล ล ุ ุ ร แ ส เห ี ร รง, ุ ณ ำ ษ ม ุ ุ รงั ่ำวส ี่เกี่ย คณ นวงศ,์ ค มำรชยั กองบญ ยั ยตถิ ริ ธำ� ั ฒ ช ว ั ช ร ว ั ค ธ อ น� ำ เ ส น อ ข และอุตสำหกรรมท ำหกรรมกำรพมิ พ์ ุ ณ ม ค ุ , ,์ คณ ุ อำค คณ ิ นกุ ลุ , พฒ ทย อตุ ส รรม น์ ณ ถลำง ,์ ำรตั นโรจน รกจิ เหลอื งเจรญ ร ั ำ ด ี ว ช ล กำรพิมพ์ไ ของทกุ คนในแวดวง 116 นี้ นำ� เสนอกจิ ก พ ุ ณ ุ ร ค ธ ุ ว ุ ส พนั ษร, คณ คณ 63, กำร บั ที่ ยี้ ง แกว้ นำ เสรมิ สวสั ด,ิ์ ธนสำรอกั ศ.บญ ์ุ มงคลสธุ ,ี , คณ เล ั ย ธ ุ ท ั น ุ อ ุ พ ควำมตอ้ ง rint Magazine ฉบ oup วำระ 2561-25 ส ุ ุ ณ ผ ค วริ ฬุ ห์ สง่ ตุ สำหจติ , รสวำ่ ง, ธก์ุ ลุ , คณ วอกั ษร หริ ญ Gr ำม ต r ว ุ เท ์ ิ ค เน te ธ Thai P ท in ิ ท r ั บ ส P อ ร น ว ุ ุ พนั ung คณ ำ� เส คณ ั น์ อ ุ ธนวฒ ั น์ ศริ อิ ำ� วนำกลุ , คณ ะกรรม Yo รมกำรพมิ พ์ พรอ้ มน ิ จ ก ำ ร พิ ม พ ์ วฒ ำมเสงยี่ ม, , คณ ง ั ย ณ ช ร ค ั ้ ั ช ง ุ ลู ยทุ ธชยั , ต พ ก ก ะ ุ ณ ำ ื อ ร ค ร ิ ณ ก ภ ต เล ก ร ร ุ ภ ั ย ห ิ ต ธ ส ช ์ ิ โ ำ จ ำ ์ ศกั ด ุ ชำญ กลมุ่ อตุ ส ำ ร พั ฒ น ุ พเิ ชษฐ รู พ์ พิ ฒ ั น,์ คณ อ.พชั รำภำ วงษช์ นะชยั , คณ กจิ กรรมใน ป ็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ น ก ค ล ำ ม รู ้ เ ุ ภำสกร ลำ� เจยี ก, ผศ.ดร.ชว ิ์ ดำรำรตั นโรจน,์ คณ ญ ่ ส ำ มั ญ ห ใ ที่ ใ ห ้ ค ว ำ ม ุ ค ช ะ ร ุ สมศกั ด ตกิ ำ ตนั ประเสรฐิ ุ มยรุ ี ภำ อตบิ ลู ย,์ คณ 563 คณ ัดงำนป 2 จ 1 ย 6 ท 5 ไ ์ 2 ี พ ่ ิ ม ป ในปจั จบุ นั ุ ชู ล ชั รนิ ทร,์ ผศ.ดร.กฤ ำ ร พิ ม รวำระ ุ บญ คณ ส ม ำ ค ม ก อื กตงั้ คณะกรรมกำ ยำกำศงำน และ วี สั สำ นนั ท ด้านกฎหมาย ร เล น ร ม บ .ช ้ อ อ พ ร ำ พ ภ 2 � ำ ี่ 7 เิ ศษ จะน ประจำ� ปที ่ปี รึกษาพ จำธกิ ลุ Thaiprint ป ท ไ ้ ั น ่ อ น ต ้ ว ั บ ล น บ แ ำ ่ ย ับผู้อ กั ในฉ ไปเรยี บรอ้ ุ ธนำ เบญ คณ ท้ กุ ทำ่ นรจู้ ยชน์ส�ำหร Thai โ ห ใ ะ ร ร ำ ป ก น ็ ม ร ป แนะนำ� กร วำรสำรฉบับนี้จะเ มี่ ใี หก้ บั กำรจดั ทำ� ื่อ จท หวังว่ำ ทควำมเพ ทกุ กำ� ลงั ใ บ ง ่ ุ ณ ส ์ ค ค บ ง อ ส ข ะ จปร ละขอ กำร ทกุ ทำ่ น แ ine ถ้ำท่ำนใดสนใ ีพิมพ์ โดยต้องผ่ำน รใด ับต gaz Print Ma บรรณำธิกำรยินดีร ้อเสนอแนะประกำ มีข ปรงุ กอง เผยแพร่ ะหำกท่ำน ำ� เพอื่ จะไดน้ ำ� ไปปรบั ล ดั แ น ใ น ำย ษไทย จา� ก gazine า ด ะ ร ก ์ ฑ ิพจำรณำภ ยนิ ดนี อ้ มรบั คำ� แนะ ำนยงิ่ ขนึ้ ตอ่ ไป ั t ma ติ ภณ ำตรฐ บริษทั ผล าษทใี่ ช้พมิ พ์ Thaiprin 86 2070 ำธกิ ำร ี ม ณ ้ ม ร ร ห ใ บ ร ง ำ อ ส 5 ด ก เอื ้อเฟือ้ กระ 586 0777 โทรสาร 0 2 ุ ภำพวำร กิ ำร ำคณ ธ น ำ ั ฒ ณ พ ร ร ะ 2 ล บ 0 แ ดเร็ว ทนั ใจ ั ด ว ก ร � า ย จ ี ว โทรศพั ท์ ว ู ์ ส ย พ ์ ิ ม พ .พ.ี ลกั ก ุ คา่ ให้งาน บริษทั เอม็ กวารสาร เพมิ่ คณ ป ชว่ ยเคลอื บ 425 9736-41 2 โทรศพั ท์ 0 ง 555 จา� กดั ดิ อ ี ท ส ฑซ์ องทกุ ชน 599 ั ณ ภ บริษทั ิ ต ล ผ ย 441 7 า� หนา่ ผ้ ผู ลติ และจ 441 7555 โทรสาร 0 3 3 โทรศพั ท์ 0 รฟิล์ม จา� กดั 216 2760-8 2 0 ์ ท ั พ ศ ท ร บริษทั สนุ ารแยกสี ทา� เพลท โท ก ผ้ สู นบั สนนุ 13 0 6 2 7008-17 อกบายน์ดงิ ้ จา� กดั พั ท์ 0 2682 2177-9 งก บริษทั บา ารไสกาว เข้าเลม่ โทรศ ก ผ้ สู นบั สนนุ

r o t Edi 16

ISSUE 1

s k n a h T l a Speci



Content

116

issue

วารสารการพิมพ์ ไทย ปี ที่ 17 ฉบับที่ 116 สมาคมการพิมพ์ ไทย เลขที่ 311,311/1 ซอยศูนย์วิจยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com www.thaiprint.org Thaiprint magazine ผ่ายประชาสัมพันธ์สมาคม การพิมพ์ไทยจัดท�าขึ ้น เพื่อบริ การข่าวสารและ สาระความรู้ แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจ ข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ ข้ อคิดเห็น และบทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏและตี พิ ม พ์ ใ น วารสาร เป็ นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ ไทย ไม่จ�าเป็ นต้ องเห็นด้ วย เสมอไป ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์ รัตนคีรี วาสนา เสนาะพิณ ออกแบบกราฟฟิ ค Design Studio โทรศัพท์ 0 2880 0260 พิมพ์ ท่ ี บริ ษัท ก.การพิมพ์เทียนกวง จ�ากัด ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม 43 เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

Print Activity Young Printer Group Exclusive Trip........................18 Digital Marketing for Print Business........................34 ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย.......................60 Print News กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ประชุมสามัญประจ�าปี 2561 และการเลือกตั้ง คณะกรรมการกลุ่มฯ วาระปี 2561-2563..................28 25th Anniversary Celebration AGE of Transformation..............................................29 สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญ ประจ�าปี 2560/2561 และการเลือกตั้ง คณะกรรมการ บริหารสมาคม วาระปี 2561-2563.......................................................30 โบว์ลิ่งสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ 60...................31 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดงานประชุมสามัญ ประจ�าปี 2561 พร้อมเลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหม่ วาระปี 2561 – 2563..................................................36 Print Technology การเปลี่ยนแนวคิดสู่การ เพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์.............22 ระบบบ�ารุงรักษาอย่างชาญฉลาดส�าหรับอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์................................................40 ออกแบบรถด้วยตัวท่านเอง...........................................46 การลงทุนที่ชาญฉลาดจะเพิ่มโอกาสความส�าเร็จ ของธุรกิจคุณ................................................................52 Flexo or Digital? ตอนที่ 2 ภาวะตลาดปัจจุบัน.........54 Young Printer คุณกร เธียรนุกุล...........................................................66

30

18

22

46

66

28



PRINT ACTIVITY

Young Printer Group Exclusive Trip Bay Beach Resort Pattaya

YoungExclusive PrinterTrip Group Bay Beach Resort Pattaya

ภายใต้แนวคิดของกลุ่มผู้ประกอบวิสาหกิจการพิมพ์ วิสาหกิจเกีย่ วเนือ่ งทีก่ า� ลังจะเข้ามาสืบทอดดูแลธุรกิจการพิมพ์ใน อนาคต ได้ริเริ่มโครงการ “ทายาททางการพิมพ์ หรือ Young Printer Group” จัดตั้งขึ้นเพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้พบปะกัน แลก เปลีย่ นความคิดเห็น ท�ากิจกรรมร่วมกัน เสริมสร้างความเข้มแข็ง น�าไปสู่ความร่วมมือในการพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์ของ ประเทศในอนาคต กลุม่ ทายาททางการพิมพ์ Young Printer Group ของ สมาคมการพิมพ์ไทย ได้ร่วมกับ บริษัทริโก้(ประเทศไทย)จ�ากัด จัดกิจกรรมทีใ่ ห้ความรู ้ กับทายาทฯ รุน่ ใหม่ เพือ่ ให้เกิดการพัฒนา มาตรฐานด้านคุณภาพงานพิมพ์ ท�าความรู้จักกับเทคโนโลยีสมัย ใหม่ น�ามาพัฒนาเพิม่ มูลค่าให้กบั ธุรกิจการพิมพ์รวมถึงการได้พบ กับเพื่อนใหม่ที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน ธุรกิจเกี่ยวเนื่อง สร้าง สัมพันธภาพที่ดี เป็นพันธมิตรทางการค้าที่ช่วยเหลือกันให้เกิด ความก้าวหน้าในธุรกิจงานพิมพ์ กิจกรรมในครั้งนี้ใช้เวลา 2 วันคือวันเสาร์ที่ 3 และ 4 มีนาคม 2561 ในวันแรกเป็นการเข้าเยี่ยมชมโรงงาน Ricoh

018

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

Manufacturing (Thailand) ณ นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง วันที่สองจัดงานเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group วาระ 2561-2563 ณ โรงแรมเบย์บีชฯ พัทยา วันแรกของการจัดกิจกรรมทีมงานและคณะ Young Printer Group นัดพบกันที่ บจก ริโก้ (ประเทศไทย) อ่อนนุช เพื่อลงทะเบียน และแบ่งกลุ่มท�ากิจกรรม เมื่อถึงเวลาออกเดิน ทาง ทีมงานและคณะขึน้ รถบัสตามกลุม่ สี และมีการท�ากิจกรรรม ร่วมกันบนรถ ผู้น�ากิจกรรมบนรถบัสเป็นประธานและคณะ กรรมการ Young Printer Group ชุดเดิม มาร่วมให้ความ สนุกสนาน ความเป็นกันเองเพือ่ ให้ทกุ ท่านได้ทา� ความรูจ้ กั กันมาก ขึน้ ระหว่างการเดินทาง บจก ริโก้ ฯ ได้เลีย้ งรับรองอาหารกลาง วันที่ร้าน The Green ในอ�าเภอศรีราชา หลังจากรับประทาน อาหารกลางวั น เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ออกเดิ น ทางต่ อ ไปยั ง นิ ค ม อุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดระยอง ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชั่วโมง ทีมงานและคณะเดินทางถึง Ricoh Manufacturing (Thailand) ตัวแทนผู้บริหาร Ricoh ได้ออกมาให้การต้อนรับ อย่างเป็นกันเอง และเชิญเข้าห้องประชุมเพือ่ รับฟังข้อมูลทัง้ หมด


Young Printer Group Exclusive Trip Bay Beach Resort Pattaya

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

PRINT ACTIVITY

019


PRINT ACTIVITY

020

Young Printer Group Exclusive Trip Bay Beach Resort Pattaya

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


Young Printer Group Exclusive Trip Bay Beach Resort Pattaya ของ Ricoh หลังจากได้รับฟังข้อมูลอย่างครบถ้วนแล้ว ทาง สมาคม ฯ น�าโดยคุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายกสมาคม ฯ ได้มอบของที่ระลึกให้กับตัวแทนผู้บริหาร Ricoh ทั้ง 2 ท่าน เป็นการขอบคุณที่ให้การสนับสนุนการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ในการเข้าเยีย่ มชมโรงงาน Ricoh ได้แบ่งคณะออกเป็น 2 กลุ่ม และมีทีมงาน Ricoh พาเดินชมผลิตภัณฑ์ ให้ข้อมูลความ รู้เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างทั่วถึง เสร็จจากการเข้า เยี่ยมชมแล้ว ตัวแทนผู้บริหาร Ricoh และคณะถ่ายภาพร่วมกัน เวลา 18.00 น. เดินทางถึงทีพ่ กั โรงแรมเบย์บชี ฯ พัทยา และนัดพบกัน ห้อง Sea Lion เวลา 18.30 น. เพื่อร่วมรับ ประทานอาหารมื้อค�่า สมาคมฯ มีแนวคิดการจัดงานในค�่าคืนนี้ เป็น Theme Color Block ทุกท่านทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมสานสัมพันธ์ ในคืนนี้ จะได้รับความรู้ใหม่ ๆ ความสนุกสนาน ความบันเทิง กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในงาน คือการเล่นเกมสะสมคะแนนของทีม เพือ่ สร้างความสามัคคี ความร่วมมือกัน กิจกรรมการจัดประกวดท่า เต้นทีม โดยให้แต่ละทีมคิดลีลา ท่าเต้น ที่เด็ดสุด ตามความคาด หมายจากกิจกรรมนี้ เรียกเสียงหัวเราะจากผู้ที่อยู่ในงานอย่าง สนุกสนาน กิจกรรมสุดท้ายการประกวดการแต่งกายก็สร้างความ สนุกสนานไม่แพ้กัน การให้คะแนนผู้ชนะการประกวด ฯ ในครั้ง นี้มาจากผู้สนับสนุน Ricoh, กลุ่มทายาททางการพิมพ์, คณะ กรรมการสมาคมฯ, ทีป่ รึกษา และคณะกรรมการYoung Printer Group ชุดเดิม ที่เข้าร่วมชมและร่วมเล่นกิจกรรมในค�่าคืนนี้ วันสุดท้ายของการจัดกิจกรรม หลังจากรับประทาน อาหารเช้าแล้ว นัดพบกันที่ห้องSeahorse เวลา 9.00 น. เพื่อ เลือกตัง้ คณะกรรมการ Young Printer Group วาระ 2561-2563 ในวันนี้ได้รับเกียรติจากนายกสมาคม ฯ, คณะกรรมการสมาคม ฯ, คณะที่ปรึกษา เข้าร่วมงาน แนะน�าตัว และร่วมกันเล่าประวัติ ความเป็นมา ประสบการณ์ในการท�างาน และกิจกรรมต่าง ๆ ของ

PRINT ACTIVITY

สมาคมฯ ให้กับกลุ่มทายาทวงการพิมพ์รุ่นใหม่ได้รู้จักสมาคมฯ มากขึ้น ช่วงการเลือกตัง้ คุณปิยะวัฒน์(กอล์ฟ) ประธานYoung Printer Group ร่วมเป็นพิธีกร เพื่อแจ้งกฎกติกาการเลือกตั้ง และวิธีลงคะแนนในบัตรเลือกตั้ง มีผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อเข้าเป็น กรรมการ ฯ จ�านวนทั้งหมด 27 ท่าน มีผู้ได้รับคะแนนผ่านเกณฑ์ 20 ท่าน วิธีนับคะแนนในรอบแรกเรียงล�าดับคะแนนจากมากไป น้อย 20 อันดับ โดย 1 ใน 20 ท่านนี้จะคัดเลือก 5 ท่านให้ขึ้นมา แสดงวิสัยทัศน์ในการท�างาน และลงคะแนนในบัตรเลือกตั้งเป็น ครั้งสุดท้ายผู้ที่ได้รับคะแนนมากที่สุด จะได้รับเลือกเป็นประธาน Young Printer Group และในปีนี้ผู้ที่ได้รับคะแนนสูงสุดให้เป็น ประธาน Young Printer Group วาระ 2561-2563 คือ คุณกร เธียรนุกลุ จาก บริษทั นิวไวเต็กจ�ากัด ก่อนจบงานในวันนีค้ ณ ุ ปิยะ วัฒน์(กอล์ฟ) ประธานYoung Printer Group วาระ2559-2561 กล่าวแสดงความยินดี และส่งมอบต�าแหน่งประธานฯ คุณกรได้กล่าวขอบคุณทุกท่านทีใ่ ห้ความไว้วางใจ และ จะตัง้ ใจท�าหน้าทีใ่ ห้ดที สี่ ดุ ช่วงสุดท้ายของงานมีการถ่ายภาพรวม ของคณะกรรมการ Young Printer Group วาระ 2561-2563 เวลา 11.30 น. ทีมงานและคณะเดินทางออกจากทีพ่ กั แวะรับประทานอาหารกลางวันที่ร้านปู พัทยา เสร็จจากการรับ ประทานอาหารแล้ว เดินทางกลับกรุงเทพฯ โดยสวัสดิภาพ สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยขอแสดงความยิ น ดี กั บ ท่ า น ประธาน และคณะกรรมการ Young Printer Group วาระ 25612563 ด้วยคะ การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ประสบความส�าเร็จได้ด้วย ผูส้ นับสนุนใจดี บริษทั ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ากัด ขอขอบคุณคณะ กรรมการ, ที่ปรึกษา และทีมท�างานทุกท่านที่สละเวลามาร่วม ส่งเสริม สร้างสรรค์กิจกรรมดีๆ ให้กับทายาทธุรกิจการพิมพ์ ในครั้งนี้

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

021


PRINT TECHNOLOGY

Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

WINE PACKAGING Designed by Awesome TLV ภาพจาก www.heydesign.com

022

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์เปรียบเสมือนหน้าตาทีจ่ ะเชิญ ชวนให้ผบู้ ริโภคสนใจ โดยหน้าทีห่ ลักคือการปกป้อง และสือ่ ความ ของผลิตภัณฑ์ภายในเพื่อพูดกับผู้บริโภค ซึ่งการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ จะสามารถ ส่งผลต่อการเลือกซือ้ และ เป็นที่จดจ�าได้ดี นักออกแบบบรรจุภัณฑ์จึงพยายามที่จะหา

PRINT TECHNOLOGY

รูปแบบใหม่ๆ ของบรรจุภัณฑ์ เพื่อความง่ายและสะดวก ทั้งใน แง่ของการผลิตเพื่อผู้ผลิตและยังค�านึกถึงผู้บริโภค พร้อมทั้งการ เลือกใช้วัสดุที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมหลังจากที่ เมื่อหมดหน้าที่ ในการบรรจุไปแล้ว

Squishable Wine Box Lets You Squeeze Wine Until The Last Drop Designer: Veronica Kjellberg and Mila Rodriguez ภาพจาก www.packagingoftheworld.com

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

023


PRINT TECHNOLOGY

Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปแล้ ว ผู ้ บ ริ โ ภคไม่ ไ ด้ ส นใจเพี ย งสนใจแค่ รูปลักษณ์ของบรรจุภณ ั ฑ์ทหี่ อ่ หุม้ อยูเ่ ท่านัน้ แต่การตัดสินใจเลือก ซือ้ ยังมีปจั จัยในแง่ของความสะดวกสบาย ง่ายต่อการใช้งาน และ ความสอดคล้องต่อการจัดเก็บและการก�าจัดทิ้งด้วย บรรจุภัณฑ์ บางตัวถูกออกแบบเพือ่ ให้มกี ารใช้งานทีม่ ากกว่าใช้แล้วทิง้ ไป เช่น บรรจุภัณฑ์ที่มีการค�านึงถึงการใช้ซ�้า สามารถปิดได้เสมือนใหม่ เพือ่ คงความสดและสะอาดของผลิตภัณฑ์ดา้ นใน และในด้านของ วัสดุที่ใช้ในการผลิต บรรจุภัณฑ์เองก็มีการพัฒนาน�าเทคโนโลยี ใหม่ๆ เพื่อมาใช้การยืดอายุของผลิตภัณฑ์หรือการแจ้งเตือนให้ ผู้บริโภค รับทราบถึงข้อมูลของผลิตภัณฑ์ และแจ้งเตือนถึง วันหมดอายุที่ก�าลังจะถึง ซึ่งเราเรียกบรรจุภัณฑ์ชนิดนี้ว่า Smart packaging Smart Packaging หรือบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ คือ บรรจุ ภัณฑ์ปัจจุบันที่ถูกน�าไปพัฒนาและต่อยอดทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งก�าลังเป็นที่เริ่มมีการใช้งานในบางประเภทผลิตภัณฑ์ เช่น อาหาร และยา ก็มีค�าเรียกแตกต่างกันออกไป เช่น Intelligent packaging, Interactive packaging, Active packaging หรือ เป็นการน�ามาผสมผสานกัน เพือ่ ประโยชน์การใช้งานทีค่ รอบคลุม ซึ่งจริงๆ แล้วเราสามารถแบ่งประเภทของบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะนี้

ออกได้ 2 กลุ่มหลักๆ คือ หนึ่งบรรจุภัณฑ์ที่มีปฏิสัมพันธ์กับ ผลิตภัณฑ์ (active packaging) เช่น บรรจุภัณฑ์ที่ควบคุม การ เจริญเติบโตของแบคทีเรีย หรือเชือ้ รา เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีการ พัฒนาให้ควบคุมการกัดกร่อน (corrosion control) และการ ก�าจัดก๊าซ (gas scavengers) ที่เกิดจะเกิดขึ้นในระหว่างขนส่ง หรือระหว่างการจัดจ�าหน่าย และสองคือ Intelligent packaging เป็นการเพิ่มความน่าเชื่อถือที่มากกว่าการบอกวันหมดอายุบน บรรจุภณ ั ฑ์ แต่สามารถตรวจสอบอายุการเก็บรักษา และรายงาน ผลไปยังผู้บริโภคได้ด้วย ซึ่งวัตถุประสงค์ของ smart packaging คือการปรับปรุงคุณภาพ และเพิม่ มูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์ หรือเพิม่ ความสะดวกสบายมากขึ้น ซึ่งสามารถแยกกลุ่มของ intelligent packaging ได้ออกเป็น 3 กลุ่มหลักๆ คือ เซ็นเซอร์ (sensors), ตัวบ่งชี้ (indicators) และ ข้อมูล (data carriers) มีตวั บ่งชีห้ ลาก หลายที่ใช้ในแต่ละประเภทซึ่งแสดงถึงโอกาสที่ดีส�าหรับการ พัฒนา ตัวอย่างเช่น ตัวบ่งชี้อุณหภูมิ-เวลา (TTIs) ซึ่งเป็นตัวชี้วัด ที่ใช้กันทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น เชิงชีวภาพ, ทางเคมีกายภาพ, สารเคมี, เอนไซม์, การแพร่กระจาย, พอลิเมอร์

ตัวอย่างจากงานวิจัยของ Kiryukhin, M. และคณะ เรื่อง “A membrane film sensor with encapsulated fluorescent dyes towards express freshness monitoring of packaged food” Atlanta (2018)

024

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

PRINT TECHNOLOGY

แล้วถ้าอยากออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เป็น smart packaging ควรท�าอย่างไร จากภาพจะสามารถบอกหน้าที่หลักของ บรรจุภัณฑ์ที่ท�างานร่วมกัน คือการปกป้อง การสื่อสาร การบรรจุ และความสะดวกในการใช้งาน ซึ่ง active packaging จะเข้าไป ช่วยในการปกป้องและยืดอายุผลิตภัณฑ์ และ intelligent packaging จะเข้าไปเสริมในส่วนของการสื่อสาร กับผู้บริโภค เพื่อให้ เห็นภาพจะยกตัวอย่างการน�าไปใช้งาน

ภาพจาก AWA Alexander Watson Associates ในตัวอย่างของ active packaging ทีส่ ามารถเห็นได้ชดั คือ การปรับปรุงฟังค์ชนั่ การท�างานของบรรจุภณ ั ฑ์อย่าง การยืดอายุ ผลิตภัณฑ์นม โดยการใช้เพิ่มชั้นพิเศษลงในวัสดุของกล่องนม

ภาพจาก CARTON COUNCIL

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

025


PRINT TECHNOLOGY

Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

และในตัวอย่างของ intelligent packaging ทีอ่ าจจะเคยเห็นผ่านตามาบ้างคงจะเป็นการน�าไปใช้กบั บรรจุภณ ั ฑ์ ทีใ่ ส่อาหาร สดอย่าง เนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อไก่ ที่จะมีฉลากติดอยู่ด้านบนของบรรจุภัณฑ์พร้อมทั้งบอกวันที่ บรรจุและวันที่หมดอายุ ฉลากตัวนี้จะมี ความพิเศษที่เมื่อวันผ่านไปจนกว่าจะถึงวันที่หมดอายุจะมันจะเปลี่ยนสี เพื่อบอกความสดใหม่ของผลิตภัณฑ์ให้กับผู้บริโภครับทราบ อีกทั้งยังง่ายต่อพนักงานที่จะการจัดการเอาไปลดราคา ก่อนที่จะหมดอายุ หรือน�าออกจากชั้นวางสินค้าต่อไป

Fresh Label Designer: to-genkyo ภาพจาก www.boredpanda.com

026

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


Smart Packaging การเปลี่ยนแนวคิดสู่การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ Smart packaging ไม่ใช่แค่เป็นเพียงสัญญาณทีบ่ ง่ บอก ถึงการยืดอายุ ความสดใหม่ หรือการหมดอายุของผลิตภัณฑ์ เท่านั้นมันยังส่งผลต่อตัวผู้ผลิตและผู้บริโภคอีกด้วย ทั้งในด้าน ของความปลอดภัยที่มีในอาหารและยา ซึ่งเป็นธุรกิจมูลค่าสูง การน�าเทคโนโลยีนี้มาใช้จะเป็นเหมือนหลักประกันความน่าเชื่อ ถือในประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ ท�าให้แบรนด์มคี วามน่าเชือ่ ถือ และเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค หรือในด้านการยืดอายุอาหารมี งานวิจัยที่ว่า หากสามารถยืดอายุของอาหารได้เพิ่มหนึ่งวันก็จะ สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้อย่างมาก หรือในแง่ของกฎหมาย ที่ออกมาเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคมากยิ่งขึ้นท�าให้เป็นแรงจูงใจให้ อุตสาหกรรมอาหารและยาหาแนวทางเพิม่ ประสิทธิภาพเพือ่ ช่วย ให้บรรจุภัณฑ์สามารถเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้คงเดิมอยู่เสมอ จนกว่าจะถึงวันหมดอายุ ในเมื่อ smart packaging จะเอื้ออ�านวยต่อทั้งผู้ผลิต และผู ้ บ ริ โ ภคแล้ ว ท� า ไมในไทยถึ ง ยั ง ไม่ ถู ก น� า พั ฒ นาเพราะ “บรรจุภัณฑ์ส�าหรับอาหารเป็นเรื่องซับซ้อนจ�าเป็นต้องได้รับ ความใส่ใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SME ซึ่งหลายครั้งพบ ว่าขาดความเข้าใจ ค�านึงถึงเฉพาะรายได้ เน้นของถูก แต่ขาด คุณภาพท�าให้เกิดการใช้งานที่ไม่ถูกต้อง ขาดความปลอดภัย” นี่คือการวิเคราะห์สถานการณ์ของบรรจุภัณฑ์ไทยบางช่วงที่

PRINT TECHNOLOGY

อาจารย์มยุรี ภาคล�าเจียก ได้ให้ สัมภาษณ์เอาไว้ในงานเสวนา ‘สิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์กับโอกาสที่ท้าทายในยุค 4.0’ พร้อมทั้ง ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ เหล่านี้มีมูลค่าสูง และต้องใช้ผู้มีความ ช�านาญเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีอาหาร เและเทคโนโลยีบรรจุ ภัณฑ์ร่วมกัน ซึ่งในไทยมีสถาบันที่ให้ค�าแนะน�าด้านนี้คอยช่วย เหลือผู้ผลิตอยู่ อย่างภาควิชาเทคโนโลยีการพิม์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี และภาควิ ช า เทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หรือ สมาคมบรรจุภัณฑ์ไทย สมาคมการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไทย เป็นต้น หากองค์กรของผูผ้ ลิตต้องการทีจ่ ะพัฒนาศักยภาพจาก บรรจุภัณฑ์ท่ีมีการออกแบบที่ดีแล้วไปเป็น smart packaging องค์ความรู้ความเข้าใจที่จะต้องพึงมีนอกจากด้านบรรจุภัณฑ์ อาหารแล้ว จ�าเป็นจะต้องรู้คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ ว่าสิ่งใด เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้ผลิตภัณฑ์มีอายุการเก็บรักษาที่สั้นลง จาก นั้นจึงมาเลือกใช้ เปลี่ยน หรือเพิ่มเทคโนโลยี จากงานวิจัยที่มี การศึกษาและพัฒนาเกีย่ วกับวัสดุทชี่ ว่ ยให้บรรจุภณ ั ฑ์มกี ารตอบ สนองต่อความต้องการของผู้ผลิตก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ควรจะศึกษา เพิ่มเติมในองค์กร

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

027


PRINT NEWS

กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ประชุมสามัญประจ�าปี 2561 และการเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่มฯ วาระปี 2561-2563

กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

ประชุมสามัญประจ�าปี 2561 และการเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่มฯ

วาระปี 2561-2563

เมือ่ วันอังคารที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 ทีผ่ า่ นมา ณ ห้อง Boardroom 3 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ ทางกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ได้เรียนเชิญสมาชิกเข้าร่วมการประชุมสามัญประจ�าปี 2561 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อสร้างโอกาสในการพบปะสังสรรค์และส่งเสริมมิตรภาพอันดีงามร่วมกัน พร้อมทัง้ มีการฟังบรรยายพิเศษหัวข้อ “Bitcoin : Digital Currency กับโอกาส ทางธุรกิจของผู้ประกอบการไทย” โดย คุณอิสระสรรค์ กันทะอุโมงค์ และ คุณภูริพัฒน์ โสภณคีรีรัตน์ นักวิเคราะห์ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จ�ากัด (มหาชน) ซึ่งมาสร้างความรู้และความเข้าใจในการลงทุน Bitcoin ใช้เวลาบรรยาย 1 ชั่วโมงโดยประมาณ ก็เข้าสู่พิธีการประชุมสามัญ ประจ�าปี 2561 โดยมีคณ ุ พิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ เป็นประธานเปิดการประชุมฯ ล�าดับต่อมาประธานฯ เชิญเลขาธิการ และเหรัญญิก ขึ้นประจ�าที่นั่งด้านบน เพือ่ ขอการรับรองรายงานการประชุมประจ�าปี 2560 จากสมาชิกกลุม่ ฯ ทัง้ หมด ที่เข้าร่วมประชุมยกมือลงมติในวาระต่าง ๆ แถลงผลการด�าเนินงานในรอบปี 2560 แถลงงบดุลรายรับ-รายจ่าย ประจ�าปี 2560 และรับรองข้อบังคับกลุ่มฯ ในช่วงประชุมเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่มฯ วาระปี 2561-2563 ในที่ประชุม ลงมติให้คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ ได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานกลุ่มฯ วาระปี 2561-2563 เป็นวาระที่ 2 หลังจบการเลือกตั้งท่านประธานกลุ่มฯ กล่าวขอบคุณทุกท่านทีใ่ ห้ความไว้วางใจในการท�าหน้าที่ 2 ปีทผ่ี า่ นและจะตัง้ ใจ ท�าหน้าที่นี้ให้ดีที่สุด พร้อมถ่ายภาพเป็นที่ระลึก

028

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


25th Anniversary Celebration : AGE of Transformation

PRINT NEWS

Anniversary Celebration : AGE of Transformation สมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทยจัดงานเลี้ยง ฉลองครบรอบ 20 ปี เมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ชั้น 2 Crystal Design Center (CDC) โดยมีนายระวิ เกษมศานติ์ นายกสมาคมฯเป็นผูก้ ล่าวเปิดงาน พร้อมทัง้ กล่าวขอบคุณสมาชิก สมาคมฯ และหน่วยงานที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและผลักดัน อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย ให้มีการพัฒนามา อย่างต่อเนื่อง จนท�าให้สมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย ด�าเนินกิจกรรมจนครบรอบ 25 ปี

โดยเริ่มด้วยงาน Inspiration talk by อ.ธันยวัชร์ ไชยตระกูลชัย (SME ตีแตก) ซึ่งให้ความรู้และความสนุกสนาน เป็นอย่างมาก และในช่วงสุดท้ายมีการแสดง Mini Concert “ปุยฝ้าย AF” ทีส่ ร้างความเพลิดเพลินพร้อมกับเพลงไพเราะๆ ให้กบั ผูเ้ ข้าร่วมงานจนจบพิธกี ารโดยงานนี ้ คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทยให้เกียรติร่วมงานในครั้งนี้ด้วย

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

029


PRINT NEWS

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2560/2561 และการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารสมาคม วาระปี 2561-2563

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2560/2561 และการเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารสมาคม วาระปี 2561-2563 เมื่อวันพุธที่ 21 มีนาคม 2561 ที่ผ่านมา ณ ห้องกมลทิพย์ 3 ชั้น 2 โรงแรม เดอะ สุโกศล พญาไท กรุงเทพฯ ทางสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทยได้เรียนเชิญสมาชิกสมาคมฯ และผูใ้ ห้การสนับสนุน สมาคมฯ เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2560/2561 และการเลือกตัง้ คณะกรรมการบริหาร สมาคม วาระปี 2561-2563 พร้อมทั้งมีการฟังบรรยายพิเศษหัวข้อ “Tokyo Pack 2018 ผู้น�า นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ในเอเซีย” โดย อาจารย์มยุรี ภาคล�าเจียก ที่ปรึกษาสมาคมการบรรจุภัณฑ์ ไทย หลังจากจบการบรรยายพิเศษแล้ว ก็ได้เวลารับประทานอาหารค�่า และน�าเข้าสู่ช่วงพิธีการ ประชุมสามัญประจ�าปี 2560/2561 โดยมีคุณนภดล ไกรฤกษ์ นายกสมาคมฯ เป็นประธานกล่าว เปิดการประชุมฯ และในล�าดับต่อมาคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ขึน้ ประจ�าทีน่ งั่ ด้านบน เพือ่ ขอ การรับรองรายงานการประชุมประจ�าปี 2560 แถลงผลการด�าเนินงานในรอบปี 2560 แถลงงบดุล รายรับ-รายจ่าย ประจ�าปี 2560 และแต่งตั้งที่ปรึกษากฎหมายและผู้ตรวจสอบบัญชี หลังจบการ ประชุมใหญ่แล้วเข้าสู่ช่วงประชุมเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารฯ วาระปี 2561-2563 ในที่ประชุม ลงมติให้คณ ุ มานิตย์ กมลสุวรรณ ได้รบั การเลือกตัง้ เป็นนายกสมาคมฯ วาระปี 2561-2563 หลังจบ การเลือกตัง้ คณะกรรมการบริหารฯ คุณมานิตย์ กมลสุวรรณกล่าวขอบคุณทุกท่านทีใ่ ห้ความไว้วางใจ และจะตั้งใจท�าหน้าที่นี้ให้ดีที่สุด พร้อมถ่ายภาพเป็นที่ระลึก

030

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


โบว์ลิ่งสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ 60

โบว์ ล ่ ิ ง สหพันธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์

60

PRINT NEWS

สหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ จั ด กิจกรรมแข่งขันโบว์ลิ่ง โดยมีผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมการพิมพ์ และอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ ว เนือ่ งสมัครเข้าร่วมแข่งขัน เป็นจ�านวนมากกว่า 50 ทีม ซึง่ ทางคณะมนตรีสหพันธ์ฯ ได้รว่ มเป็น ส่ ว นหนึ่ ง ในการแข่ ง ขั น น� า โดยคุ ณ ธนพล บันลือรัตน์ คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม พร้อมด้วย คณะมนตรีสหพันธ์ฯ ท่านอืน่ ๆ เข้าร่วมแข่งขัน โบว์ลิ่งในงาน แต่ละท่านได้โชว์ลีลาในการโยน โบว์ลงิ่ กันอย่างสนุกสนาน พร้อมรับของรางวัล มากมายในงาน ณ Blu-O Rhythm & Bowl ชั้น 5 @ สยามพารากอน เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2561 เวลา 10.00-14.00 น. โดยรายได้จาก การจัดกิจกรรมในครัง้ นีน้ า� เป็นค่าใช้จา่ ยในการ ด� า เนิ น งานและจั ด กิ จ กรรมของสหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ อั น เป็ น สาธารณะ ประโยชน์ ร่วมส่งเสริมการออกก�าลังกายและ สร้างความสัมพันธ์อันดีในอุตสาหกรรมการ พิมพ์

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

031




PRINT ACTIVITY

DIGITAL MARKETING FOR PRINT BUSINESS

DIGITAL MARKETING FOR PRINT BUSINESS สมาคมการพิมพ์ไทยร่วมกับชมรม การจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย จัดงานสัมมนา หัวข้อ “DIGITAL MARKETING FOR PRINT BUSINESS” เมื่อวันเสาร์ที่ 24 มีนาคม 2561 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องสัมมนาชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย พระราม9 โดยมี การบรรยาย และการเสวนาแลกเปลี่ ย น ข้อมูลความคิดเห็น ดังนี้ การบรรยายหัวข้อ “พฤติกรรมลูกค้ายุคดิจิทัล” โดยคุณจิตร์งาม รักษาแก้ว Co-founder KPRINT Co.,Ltd. ในภาคบ่ า ยมี ก ารเสวนาเรื่ อ ง “กลยุ ท ธ์ ก ารตลาดดิ จิ ทั ล ” โดยวิ ท ยากร คุ ณ ชิ ต ติ พ ล ว่ อ งส่ ง สาร Art Director, Freelance Sir, คุณพรรณกร จันทรุกขา CEO, บจก.เอ็นพีพี บ็อกซ์ และคุณจิตรงาม รั ก ษาแก้ ว Co-founder, Kprint ด�า เนิน รายการโดย คุ ณ ประสิ ท ธิ์ คล่ อ งงู เ หลื อ ม ประธานชมรมการจัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกไทย

034

โดยวิทยากรทั้ง 3 ท่านนี้มีประสบการณ์ตรง ในการใช้ โซเชี ย ลมี เ ดี ย เป็ น เครื่ อ งมื อ ท� า การตลาด สร้างแบรนด์ เพิ่มยอดขายให้กับ ธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ นอกจากนี้ ยั ง ได้ ใ ห้ ค วามรู ้ เกี่ยวกับการออกแบบในการท�างานจริง เพื่อ น�าไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการ ท�างาน และได้ผลงานตรงตามความต้องการ ของลูกค้า หั ว ข้ อ สั ม มนาในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น เพื่ อ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจให้กับผู้ประกอบ การสิง่ พิมพ์ และอุตสาหกรรมเกีย่ วเนือ่ ง ให้ใช้ เครื่ อ งมื อ โซเชี ย ลมี เ ดี ย และสื่ อ ออนไลน์ ในการท�ากลยุทธ์สื่อสารการตลาดน�าเสนอ ข้อมูล สินค้าหรือบริการให้เข้าถึงกลุ่มเป้า หมายได้อย่างถูกต้อง

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6



PRINT NEWS

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดงานประชุมสามัญประจ�าปี 2561 พร้อมเลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหม่ วาระปี 2561 – 2563

สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย จัดงานประชุมสามัญประจ�าปี 2561 พร้อมเลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหม่ วาระปี 2561 – 2563 เมื่อวันที่19 มีนาคม 2561 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ก�าหนดจัดการประชุมสามัญประจ�าปี 2561 และ การเลือกตั้งคณะกรรมการ ส.อ.ท. วาระปี 2561 - 2563 ณ ห้อง Plenary Hall 1–2 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ โดยมีสมาชิก ส.อ.ท. จากทั่วประเทศเข้าร่วมการประชุม การประชุมเริ่มตั้งแต่เวลา 09.00 น. โดยมีนายเจน ส� า หรั บ วาระการประชุ ม ซึ่ ง ได้ แ ก่ ก ารเลื อ กตั้ ง น�าชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ-ไทย วาระปี คณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมฯ วาระปี 2561 – 2563 นั้น 2559 – 2561 รับหน้าที่เป็นประธานการประชุมตามวาระ จะเป็นการเปิดโอกาสให้สมาชิกสภาอุตสาหกรรมฯ ประเภท การประชุม ดังนี้ ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้ง (1.1) สามั ญ ที่ มี สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง ได้ ล งคะแนนเลื อ กตั้ ง กรรมการสภา ขอบคุ ณ ที่ ป รึ ก ษากรรมการ สมาชิ ก และผู ้ ส อบบั ญ ชี (1.2) อุ ต สาหกรรมฯ โดยผลการเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการนั้ น สภา การประชุมต่อเนื่อง (1.3) งานกาชาด ส.อ.ท.ประจ�าปี 2561 อุ ต สาหกรรมฯ จะปิ ด ประกาศรายชื่ อ คณะกรรมการสภา (1.4) นโยบาย F.T.I. Green Procurement Policy และโครงการ อุตสาหกรรมฯ ทีไ่ ด้รบั การเลือกตัง้ ภายในวันที่ 19 มีนาคม 2561 Eco F.T.I. ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุม ณ ส�านักงานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรือ www.fti.or.th สามัญประจ�าปี 2560 ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ (3.1) ทั้งนี้ ในวันที่ 9 เมษายน 2561 สภาอุตสาหกรรมฯ สรุปผลการด�าเนินงานของสภาอุตสาหกรรมฯ ในรอบปี 2560 จะมีการประชุมคณะกรรมการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (3.2) สรุ ป ผลการด� า เนิ น งานของคณะกรรมการตรวจสอบ วาระปี 2561- 2563 ครั้งแรก พร้อมกับการเลือกตั้งประธาน (3.3) พิ ธี ม อบรางวั ล ใบประกาศนี ย บั ต รเกี ย รติ คุ ณ ให้ แ ก่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ-ไทย คนที่ 16 สภาอุตสาหกรรมจังหวัด ที่มีโรงงานที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน โรงงานอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จ�านวน 32 แห่ง ระเบียบวาระที่ 4 เรือ่ งเพือ่ พิจารณา (4.1) งบการเงินประจ�าปี 2560 (4.2) เลือกตัง้ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ ผู้สอบบัญชี และก�าหนดประโยชน์ตอบแทน ระเบียบวาระที่ 5 ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เรื่องอื่นๆ ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องการเลือกตั้งคณะกรรมการ โทร. 0-2345-1013 โทรสาร 0-2345-1296-9 ประเภทเลือกตั้งวาระปี 2561-2563

036

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดงานประชุมสามัญประจ�าปี 2561 พร้อมเลือกตั้งคณะกรรมการชุดใหม่ วาระปี 2561 – 2563

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

PRINT NEWS

037



THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4

039


PRINT TECHNOLOGY

ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำด ส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

040

แนวโน้มการพัฒนาอุตสาหกรรมในปัจจุบันและ อนาคต จะเป็นการผสมผสานกันระหว่างระบบออโตเมชัน่ ในสายการผลิตกับเทคโนโลยีดิจิทัลและอินเทอร์เน็ต เพื่อ พัฒนาเป็นระบบการผลิตอัจฉริยะ หรือโรงงานอัจฉริยะ (Smart factory) หรือทีเ่ รียกว่าเป็นการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม ครัง้ ที่ 4 หรือ Industry 4.0 โดยมีจดุ เด่นทีส่ า� คัญอย่างหนึง่ คือ สามารถเชื่อมความต้องการของผู้บริโภคแต่ละราย เข้ากับกระบวนการผลิตสินค้าได้โดยตรง เครือ่ งจักรในสาย การผลิตสามารถสื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อการจัดการ และควบคุมได้แบบ Real-time ผ่านระบบเน็ทเวิรค์ ส่งผล ให้การผลิตมีประสิทธิภาพสูงขึน้ และต้นทุนต�า่ ลงอย่างชัดเจน โรงงานอุตสาหกรรมในอนาคต จะสามารถผลิตของหลาก หลายรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั ความต้องการเฉพาะ ด้านของผูบ้ ริโภคในแต่ละราย สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลของ กลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมายเฉพาะ เพื่อน�าเสนอสินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์ทตี่ อบโจทย์ความต้องการได้ตรงตามกลุม่ เป้าหมาย และสามารถผลิตสินค้าที่ต้องการในปริมาณที่มากในเวลา อันสัน้ และใช้กระบวนการผลิตทีป่ ระหยัดและมีประสิทธิภาพ ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลครบวงจรแบบ “Smart Factory” โรงงานอัจฉริยะ THE SMART FACTORY ถือว่าเป็นอนาคต THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

ของระบบการผลิต เนือ่ งจากเป็นการรวมกันของอุตสาหกรรม การผลิตกับโลกดิจิทัลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Cyber Physical System และเป็นการรวมตัวกันของภาค ธุรกิจกับภาคการผลิต เพือ่ บริหารทรัพยากรอย่างมีคณ ุ ภาพ ค�านึงถึงเวลา ค่าใช้จ่ายและการใช้ทรัพยากร และเน้นการ พัฒนาที่ยั่งยืน ค�านึงถึงการผลิตแบบสะอาดและเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม สามารถยืดหยุ่นและปรับตัวและเรียนรู้ ให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น สามารถเชือ่ มต่อระบบการผลิตกับเครือข่ายทัว่ โลกเพือ่ ให้ สามารถรวมตัวกันเป็นเครือข่ายวิสาหกิจ หรือคลัสเตอร์ การผลิตข้ามชาติเพือ่ เพิม่ มูลค่าห่วงโซ่การผลิต และข้อดีของ THE SMART FACTORY คื อ อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งจั ก ร ในระบบการผลิตสามารถส่งข้อมูลการซ่อมแซม ข้อมูลการ ใช้งาน การบ�ารุงรักษาและความผิดปกติของเครื่องจักร ไปยั ง บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งจั ก รผ่ า นระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต โดยอัตโนมัติ หรือที่เรียกกันว่าเป็นระบบบ�ารุงรักษาอย่าง ชาญฉลาด: Smart Maintenance ท�าให้ลดค่าใช้จ่ายใน การจ้างพนักงานมาดูแลเครื่องจักรในระบบการผลิตแบบ อัตโนมัติ


ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

PRINT TECHNOLOGY

รูปที่ 1 การปรับเปลี่ยนและเชื่อมต่อระหว่างเครื่องจักรกับระบบเครือข่ายดิจิตอล ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำด ( Smart Maintenance ) ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดหรือ Smart Maintenance คือแนวควำมคิดในด้ำนกำรบูรณำกำรวิศวกรรมกำรซ่อมบ�ำรุง รักษำ,ระบบกำรบริหำรจัดกำรกำรผลิต,ระบบสำรสนเทศ ,กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล ,กำรเชือ่ มต่อระบบ Internet of Thing (IoT), Cloud Computing และ Big Data เพื่อน�ำข้อมูลสำรสนเทศจำกฝ่ำยต่ำง ๆ มำวิเครำะห์เพื่อใช้ในกำรวิเครำะห์และท�ำนำยล่วงหน้ำว่ำ เครือ่ งจักรหรือสำยกำรผลิตใดมีแนวโน้มทีจ่ ะมีปญ ั หำ (เป็นกำรบ�ำรุงรักษำแบบคำดคะเน : Predictive Maintenance) เพือ่ ให้ทรำบ ถึงข้อมูลสภำพกำรท�ำงำนของเครื่องจักรและเหตุกำรณ์ผิดปกติที่เกิดขึ้น ท�ำให้ด�ำเนินกำรแก้ไขป้องกันปัญหำได้อย่ำงรวดเร็ว และมี ประสิทธิภำพ องค์ประกอบของระบบบ�ำรุงรักษำส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยหลำยภำคส่วนที่เกี่ยวข้องไม่ว่ำจะเป็นด้ำน เทคโนโลยี บุคลำกร เครื่องมือ อุปกรณ์ ระบบพัสดุคงคลัง ระบบเอกสำรต่ำง ๆ

รูปที่ 2 แสดงองค์ประกอบหลักของระบบระบบบ�ารุงรักษา ที่มา Predictive maintenance and the smart factory : Deloitte

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

041


PRINT TECHNOLOGY

ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

จากบทความเรื่อง 3 Steps to Make Smart Maintenance a Reality ของ Software AdviceTM ได้กล่าวถึง องค์ประกอบ 3 ส่วนเพื่อการก้าวไปสู่ระบบบ�ารุงรักษาอย่างชาญฉลาด ได้แก่ 1.ระบบเซนเซอร์ คืออุปกรณ์ส�าหรับตรวจจับสัญญาณ หรือค่าทางฟิสิกต์ต่าง ๆ เช่น เสียง แสง แรงดัน อุณหภูมิ ความชื้น เป็นต้น จากนัน้ อาจน�าค่าสัญญานทีไ่ ด้ มาประมวลผลเพือ่ ใช้ในขัน้ ตอนต่อไป ในระบบบ�ารุงรักษาอย่างชาญฉลาด ข้อมูลจากอุปกรณ์ ตรวจจับสัญญาณต่างจะมีความส�าคัญ เพราะต้องน�าข้อมูลที่ได้ ไปประมวลผลเพื่อการตัดสินใจ การวางแผนการผลิตและการบ�ารุง รักษาเครื่องจักร ตัวอย่างประเภทและคุณลักษณะของเซนเซอร์แสดงดังรูป

รูปที่ 3 ประเภทของเซนเซอร์ที่ใช้ในระบบบ�ำรุงรักษำ ที่มำ 3 Steps to Make Smart Maintenance a Reality ของ Software AdviceTM 2. ระบบ Big data ในการจัดเก็บข้อมูลจากระบบเซนเซอร์ต่าง ๆ ของเครื่องจักร: ระบบ Big data จะต้องท�าการตรวจ สอบข้อมูลทีไ่ ด้ภายใต้ขอ้ ก�าหนดหรือ KPI ทีไ่ ด้กา� หนดขึน้ ของหน่วยงานในด้านต่าง ๆ เช่น ตรวจสอบด้านการใช้พลังงานของเครือ่ งจักร ความร้อนของอุปกรณ์ การจัดการน�้าเสีย การจัดการเรื่องต้นทุนหรือเวลาการผลิต ข้อมูลของเครื่องจักรที่ได้จากระบบเซนเซอร์ จะถูกส่งมาแบบเรียลไทม์ เพือ่ ให้ระบบ Big data จัดเก็บ ประมวลผล คาดการณ์แนวโน้ม ตรวจสอบและรายงานในกรณีทเี่ ครือ่ งจักร มีปัญหาหรือถึงเวลาต้องท�าการซ่อมบ�ารุงรักษา

042

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

PRINT TECHNOLOGY

รูปที่ 4 ระบบ Big data ในการจัดเก็บข้อมูลการวิเคราะห์และออกรายงาน ที่มา Big Data Analytics for Smart Manufacturing: Case Studies in Semiconductor Manufacturing : www.mdpi.com 3. ระบบวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงท�านาย คือระบบทีว่ เิ คราะห์ขอ้ มูลต่าง ๆ เพือ่ ท�านายพฤติกรรม แนวโน้ม ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ใช้เพื่อช่วยในการตัดสินใจ การวิเคราะห์จะใช้หลักทางสถิติ แบบจ�าลองทางคณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และวิทยาการคอมพิวเตอร์ การเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine learning ) และการท�าเหมืองข้อมูล ( Big data ) เพื่อท�านายปรากฏการณ์ที่เราต้องการ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจะต้องมีคณ ุ ค่า และทันเวลา (just-in-time) เพือ่ ใช้ในการวางแผนการบ�ารุงรักษา การจัดการการผลิตได้อย่าง เหมาะสมและทันเวลา

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

043


PRINT TECHNOLOGY

ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

รูปที่ 5 ข้อมูลจากระบบเซนเซอร์เพื่อน�ามาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงท�านาย ที่มา 3 Steps to Make Smart Maintenance a Reality ของ Software AdviceTM แนวคิดเรื่อง smart factory และ Smart Maintenance ในอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ การปรับตัวเพื่อเป็น smart printing factory เป็นสิ่งส�าคัญที่ผู้ประกอบการมอง ข้ามไม่ได้ เนื่องจากแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม จากการศึกษาของ NGU and UNI- Europa Graphical ได้ท�าการ ศึกษาถึงแนวโน้มการด�าเนินธุรกิจของกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ แบ่งออกเป็น 2 ยุคที่ส�าคัญได้แก่ • ยุคเริ่มต้น เป็นยุคการพิมพ์แบบดั้งเดิม ใช้ระบบการพิมพ์เลเตอร์เพลส ออฟเซต กราวัวร์ เฟล็กโซกราฟี เป็นต้น มีระบบ การท�างานที่ผสมผสานการใช้เทคโนโลยีกับระบบดิจิตอล การท�าการตลาดและการพัฒนาทักษะการท�างานจะให้ ความส�าคัญน้อย เน้นการใช้แรงงานเข้มข้นในกระบวนการผลิต • ยุคแห่งการปรับตัว เป็นยุคที่เทคโนโลยีการพิมพ์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว และเป็นยุคที่มีความท้าทายในการด�าเนิน ธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงไม่ได้ขนึ้ อยูก่ ับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่กบั workflow การท�างาน และเป้าหมายในการด�าเนินธุรกิจด้วย โดยมีปัจจัยส�าคัญ ๆ ในการขับเคลื่อนความเปลี่ยนแปลงได้แก่ ด้านเทคโนโลยี o ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการพิมพ์ต่าง ๆ เช่น inkjet UV-leds ที่ช่วยให้กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ออกมาได้อย่างมีคุณภาพ รวดเร็ว และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม o ด้านซอฟแวร์ต่าง ๆ ที่ทันสมัย JDF , Print 4.0 สามารถช่วยในการบริหารการผลิต ในด้านการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ร่วมไปถึงการท�าต้นแบบจาก 3D printing o ด้าน robotics จะช่วยลดคนท�างานให้น้อยลง และช่วยในด้านการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องจักรกับเครื่องจักร เพื่อเป็น workflow การท�างานแบบอัตโนมัติมากยิ่งขึ้น การเชื่อมต่อระบบอินเตอร์เน็ต IOT เพื่อพัฒนาสู่การ เป็น smart factory ด้านธุรกิจ o สิ่งพิมพ์เฉพาะกลุ่ม จ�านวนการผลิตในแต่ละครั้งน้อยลง เน้นงานตามสั่ง ( on-demand ) o ต้องใช้เวลาในการผลิตที่สั้นลง o จ�านวนการผลิตสิ่งพิมพ์ลดน้อยลง เนื่องจากสื่อดิจิตอล

044

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


ระบบบ�ำรุงรักษำอย่ำงชำญฉลำดส�ำหรับอุตสำหกรรมกำรพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Smart Maintenance for smart printing & packaging factory

PRINT TECHNOLOGY

จากข้อมูลดังกล่าว สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มของอุตสาหกรรม ทัง้ ทางด้านเทคโนโลยีทแี่ ละด้านธุรกิจ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการ ได้ตระหนัก และคิดกลยุทธ์ในการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง พัฒนา องค์กรให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น รายงานเรือ่ ง Roadmap to smart printing in a digitized world ของบริษทั Heidelberg ได้กล่าวว่าการเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิตและก�าไร จ�าเป็นต้องท�าให้โรงพิมพ์สามารถเชื่อมต่อกับเครีอข่ายและสร้างคุณค่า (Value Chain) ให้กับลูกค้า ภายใต้นิยาม ของค�าว่า Smart โดยแบ่งเป็น “Smart Print Shop”, “Smart Services” และ “Smart Collaboration”. ระบบ Smart Maintenance จึงเป็นส่วนหนึ่งที่มีความส�าคัญในโรงพิมพ์

รูปที่ 6 แนวคิด smart printing factory ของบริษัท Heidelberg ที่มา Roadmap to smart printing in a digitized world จากข้อมูลการศึกษาจากต่างประเทศ พบว่าแนวโน้มการพัฒนาโรงพิมพ์ในอนาคต คือการก้าวสู่การเป็น smart printing factory ทีม่ กี ารใช้เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัย มีระบบ กลไกและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทีซ่ บั ซ้อน จึงเป็นการยากทีจ่ ะท�าการถอดเปลีย่ น หรือท�าการ ตรวจเช็คตามจุดที่ส�าคัญตามแผนงานบ�ารุงรักษา (PM) ได้ ระบบบ�ารุงรักษาอย่างชาญฉลาด เป็นอีกแนวคิดหนึ่งที่ทางโรงพิมพ์ ควรพิจารณา เนื่องจากใช้การรับข้อมูลจากเซนเซอร์ เครื่องมือวัดชนิดต่าง ๆ ที่ติดอยู่ในเครื่องจักร เช่น กล้องอินฟาเรด กล้องตรวจ สอบรีจิสเตอร์ เครื่องวัดอุณหภูมิ การสั่นสะเทือน ความร้อน ความชื้น เป็นต้น และน�าข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้มาวิเคราะห์ วางแผน การบ�ารุงรักษา จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบ�ารุงรักษา ลดการช�ารุดของเครื่องจักร ลดปริมาณอะไหล่คงคลัง ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต และช่วยวางแผนการบ�ารุงรักษาได้มีประสิทธิภาพ.

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

045


PRINT TECHNOLOGY

“ออกแบบรถด้วยตัวท่านเอง” – งาน IAA 2017 ไฮเดลเบิร์กและคู่ค้าทางธุรกิจต่อยอดโมเดลธุรกิจใหม่ๆ ส่งมอบเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่ออุตสาหกรรยานยนต์และอุตสาหกรรมอื่นๆ

” ง อ เ น า ่ ท ว ั ต ย ว ้ “ออกแ7 บไฮเดบลเบริร์กถและคดู่ค้าทางธุรกิจต่อยอดโมเดลธุรกอิจื่นใหๆม่ๆ งาน IAA 201 ่ๆ เพื่ออุตสาหกรรยานยนต์และอุตสาหกรรม ส่งมอบเทคโนโลยีใหม

ายแห่งสีสัน” ะก ร “ป z: n e B se d e ูธจัดแสดงของ Merc บ ่ ี ท ด ส ์ ฟ ไล บ บ แ อ น เส า � • การน ต์สมาร์ทคาร์ น ย ถ ร บ ั ก ้ ให น ่ เด น โด หนดได้ด้วยตัวท่านเอง า � ก ่ ี ท ง ่ ต แ บ สร้างความ ต าร ก บ บ แ �าเสนอ รูป ารถตบแต่งเองได้ น าม ) ส ่ ี T ท ์ E B ต น R ย O ถ (B ร น ท ็ ว ่ บ ส เ ์ น ้ ิ ร ช อ • บริษัท บ ackiertechnik) ผลิต L zi it (R ค ิ น ค เท ย ี เค ค ็ แบบการตบแต่งได้เอง ก อ อ ถ าร าม ส น า ่ • บริษัท ริทซี่ แล ท ่ ี ท ก ์ ิร บบดิจิทัลของไฮเดลเบ แ ์ พ ม ิ พ าร บล้อวัดความเร็วรอบ ก ี อ ย ข โล าศ โน ค าก เท อ • าย ะบ ร ด ี ฉ านยนต์ อาทิ: หัว ส�าหรับอุตสาหกรรมย แบบที่ต้องการ าม ต ใจ ง ั ด ้ ๆ ได น ่ ื าน ง ะอ บ ล แ ์ บ แ ด ป ู ขอบล้ออัลลอย นาคตที่ท่านสามารถร อ ง ่ ห แ ล ั ท ิ จ ิ ด ง อ ข ง ่ ึ น ห • ไฮเดลเบิร์ก: คือส่วน

“ประกายแห่งสีสัน”: ผู้เยี่ยมชมบูธของ Mercedes-Benz ในงาน IAA สามารถออกแบบการตบแต่งภายในรถยนต์สมาร์ทคาร์เองได้

046

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


“ออกแบบรถด้วยตัวท่านเอง” – งาน IAA 2017 ไฮเดลเบิร์กและคู่ค้าทางธุรกิจต่อยอดโมเดลธุรกิจใหม่ๆ ส่งมอบเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่ออุตสาหกรรยานยนต์และอุตสาหกรรมอื่นๆ แว่นตาเสมือนจริง (VR glasses) แสดงภาพงานที่เหมือนจริง ช่วยให้ง่ายใน ก�าหนดรูปแบบงานง่ายขึ้น บอร์เบ็ท (Borbet) น�าเสนอการ ตบแต่ ง ขอบงานด้ ว ยอั ล ลอยด์ โ ดยใช้ เทคโนโลยีจากเครื่องพิมพ์ Omnifire ซึ่ง แตกต่ า งจากวิ ธี ก ารอื่ น ๆ นอกจากนี้ ยั ง ช่ ว ยให้ ก ารไล่ โ ทนสี ที่ ซั บ ซ้ อ นได้ เป็นอย่างดี “รถยนต์แห่งอนาคตในรุ่นต่างๆ สามารถถูกสามารถปรับตบแต่งได้ตาม ทุกความต้องการของลูกค้า นั่นคือเหตุผล ที่เราแสวงหาคู่ค้าที่สามารถน�าเทคโนโลยี เข้ามาผสานรวมด้วยกันในกระบวนการ ผลิตแบบดิจิทัลของเรา ซึ่งจะช่วยให้เรา สามารถตอบสนองความต้ อ งการของ ลูกค้าแต่ละรายได้” มร.กุนเทอร์ ริทซี่ (Günter Ritzi) กรรมการผู้จัดการของ บริ ษั ท ริ ท ซี่ แลคเคี ย เทคนิ ค (Ritzi Lackiertechnik GmbH (www. ritzi-lackiertechnik.de) กล่าว ในฐานะคู ่ ค ้ า ด้ า นเทคโนโลยี ไฮเดลเบิร์กได้น�าเสนอนวัตกรรมที่เป็น ส่วนหนึง่ ของการผลิตส�าหรับอุตสาหกรรม ยานยนต์ในงาน IAA 2017 ซึ่งได้จัดขึ้น ในวันที่ 24 กันยายน ที่ผ่านมา ที่เมือง แฟรงค์เฟิรต์ โซลูชนั ดิจทิ ลั ของไฮเดลเบิรก์

PRINT TECHNOLOGY

“ประกายแห่งสีสัน”: ผู้เยี่ยมชมบูธของ Mercedes-Benz ในงาน IAA สามารถออกแบบการตบแต่งรถยนค์สมาร์ทคาร์เองได้

ที่จัดแสดงในงานนี้ จะช่วยในการปรับ ตบแต่ ง หรื อ แต่ ง เติ ม สี สั น ให้ กั บ ลู ก ค้ า ยานยนต์ ด้วยการสร้างสรรค์ผลงานที่ โดดเด่น เช่น หน้าปัดมาตรวัดความเร็ว หัว ฉีด ระบายอากาศที่ แต่ ง ขอบล้ อ ด้ ว ย อัลลอยด์ และชิ้นส่วนอื่นๆ การน� า เสนอแบบไลฟ์ ส ดที่ บู ธ จัดแสดงของ Mercedes-Benz: “ประกาย แห่งสีสัน” – การตบแต่งสีสันให้รถยนต์ สมาร์ทคาร์ โดยใช้ระบบการพิมพ์จาก เครื่องพิมพ์ Omnifire 4D ในวันนี้ รถสมาร์ทคาร์สองคัน

ชมการน�าเสนอแบบไลฟ์สดการแสดงการพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์ดิจิทัลรุ่น Omnifire

ทีเ่ หมือนกันจะไม่เหมือนกันอีกต่อไป ด้วย “ประกายแห่ ง สี สั น ” รถสมาร์ ท คาร์ จะมี มุ ม มองใหม่ โ ดยมี รู ป แบบงานที่ มี เอกลักษณ์เฉพาะส่วนบุคคลมากขึ้น โดย ผู้ที่เข้าชมงาน IAA จะได้สัมผัสกับความ เป็นดิจิทัลและเทคโนโลยีการพิมพ์ใหม่ๆ ทีเ่ ป็นวิธที งี่ า่ ยและรวดเร็วในการดีไซน์งาน ที่มีรูปแบบเฉพาะส่วนบุคคล ในบริเวณ เฉพาะจุดของชิน้ งาน หรือเป็นดีไซน์เฉพาะ บนส่วนของพืน้ ทีท่ กี่ า� หนด โดยใช้ตวั อย่าง เสมือนการตกแต่งภายใน กระบวนการนี้ เ ป็ น ท� า งานใน รูปแบบดิจิทัลตลอดกระบวนการ – โดย เริ่มจากดร๊าฟแรกของการออกแบบงานที่ มีรูปแบบเฉพาะส่วนบุคคล ไปจนถึงส่วน ของการตบแต่งในขัน้ ตอนสุดท้าย ประการ แรกลู ก ค้ า สามารถออกแบบชิ้ น ส่ ว น ตบแต่งทีเ่ ลือกไว้สา� หรับการตบแต่งภายใน (หัวฉีดระบายอากาศ, หน้าปัดเครื่องมือ และส่ ว นติ ด ต่ อ ตั ด ต่ อ มั ล ติ มี เ ดี ย ) ด้ ว ย ลวดลายของตัวเองในแอปพลิเคชันการ ตั้ ง ค่ า ตบแต่ ง แล้ ว ภาพรวมของการ ออกแบบนี้สามารถดูได้ทันทีบนแท็บเล็ต และเทคโนโลยี ใ นเสมื อ นจริ ง (Virtual Reality - VR) จากนั้นการออกแบบจะถูก เตรี ย มให้ พ ร้ อ มส� า หรั บ การพิ ม พ์ แ ละ ถูกพิมพ์เป็นสี รวมทั้งเอฟเฟคที่ลงบนพื้น ผิ ว ของชิ้ น ส่ ว นจริ ง สิ่ ง นี้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ จ าก

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

047


PRINT TECHNOLOGY

“ออกแบบรถด้วยตัวท่านเอง” – งาน IAA 2017 ไฮเดลเบิร์กและคู่ค้าทางธุรกิจต่อยอดโมเดลธุรกิจใหม่ๆ ส่งมอบเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่ออุตสาหกรรยานยนต์และอุตสาหกรรมอื่นๆ

โซลูชนั ดิจทิ ลั ใหม่จากไฮเดลเบิรก์ ซึง่ ได้ถกู รวมอยู่ในกระบวนการผลิตแบบดิจิทัล ระบบการพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์ ดิจิทัลของไฮเดลเบิร์กรุ่น Omnifire 250 4D เครือ่ งนีไ้ ด้จดั แสดงทีบ่ ธู ของ Mercedes FabLab (ชัน้ 1) ทีบ่ ริเวณ Festhalle โดย ผู ้ เข้ าชมสามารถดูชิ้น ผลงานที่ก�า ลังถูก พิมพ์ตบแต่งอยูไ่ ด้อย่างไลฟ์สดและได้เรียน รู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการพิมพ์ 4D ของ ไฮเดลเบิร์กไปพร้อมกัน การตบแต่ ง ขอบชิ้ น งานด้ ว ย โลหะอั ล ลอยด์ ที่ มี รู ป แบบเฉพาะส่ ว น บุคคล บริ ษั ท บอร์ เ บ็ ท - BORBET (www.borbet.de, ฮอลล์ 4, บู๊ต CO8) คือผู้ผลิตล้ออัลลอยด์ซึ่งได้ร่วมงาน IAA ครั้งนี้ ได้จัดแสดงวิธีการผลิตโครงสร้างที่ เบาและการตบแต่งพื้นผิวด้วยการพิมพ์สี และการเคลือบผิวเพื่อแสดงวิธีการสร้าง ผลงานล้ อ รถยนต์ แ ห่ ง อนาคตว่ า ท� า ได้ อย่างไร โดยบริษัทได้น�าเสนอล้ออัลลอยด์ ทีถ่ กู รังสรรค์ลวดลายด้วยการใช้เทคโนโลยี ของเครือ่ งพิมพ์ Omnifire ซึง่ แตกต่างจาก การตบแต่งด้วยวิธีการอื่นๆ นอกจากนี้ยัง ช่วยในการไล่โทนสีที่ความซับซ้อนได้เป็น

อย่างดี ด้วยเทคโนโลยีนี้ บริษัท บอร์เบ็ท จะช่วยตอบสนองความต้องการของตลาด ที่ มี ย อดจ� า นวนน้ อ ยแต่ ต ้ อ งการการ ออกแบบที่ มี รู ป แบบเฉพาะส่ ว นบุ ค คล ได้มากยิ่งขึ้น บริ ษั ท ริ ท ซี่ แล็ ค เคี ย เทคนิ ค ผู ้ ผ ลิ ต และจั ด จ� า หน่ า ยชิ้ น ส่ ว นตบแต่ ง รถยนต์ที่ลูกค้าเลือกที่จะออกแบบเองได้ ไฮเดลเบิรก์ ได้มอบความไว้วางใจ บริษัท ริทซี่ แล็คเคียเทคนิค บริษัทผู้ผลิต ผู้จัดจ�าหน่ายยานยนต์ ในฐานะพันธมิตร โดยการใช้เครื่องพิมพ์ Omnifire 1000 ด้วยบริษัท ริทซี่ แล็คเคียเทคนิค เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านการตบแต่งพื้นผิวที่เป็น นวัตกรรมส�าหรับชิ้นส่วนที่มีคุณภาพสูง เช่นหน้าปัด มาตรวัดความเร็ว แถบสวิทช์ แดชบอร์ด และส่วนประกอบส�าเร็จรูปอื่น ๆ ส�าหรับบรรดาผูผ้ ลิตรถยนต์หลายบริษทั โดยทางบริษัทได้ใช้วิธีการและเทคโนโลยี ที่แตกต่างกัน โดยบริษัท ริทซี่ แล็คเคีย เทคนิคจะผสานการท�างานของ Omnifire 1000 เข้ากับกระบวนการผลิตในระดับ อุตสาหกรรม เพื่องานตบแต่งรูปแบบงาน ทีม่ รี ปู แบบเฉพาะส่วนบุคคล ตัวอย่างเช่น

การก�าหนดรูปแบบงาน โดยการใช้แว่นตาเสมือนจริง (VR glasses) ตรวจเช็ค เพื่อให้ได้ภาพงานที่เหมือนจริง

048

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

“ประกายแห่งสีสัน” และชิ้นส่วนอะไหล่ ต่างๆในภายหลังที่มีลวดลายหลากหลาย รูปแบบ “เราใช้เวลานานในการค้นหาวิธี การทีจ่ ะช่วยให้เราสามารถตอบโจทย์ทเี่ ข้ม งวดของลูกค้าในการตบแต่งอุปกรณ์เสริม ภายในรถได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ ในแง่ ของคุณภาพ ความยืดหยุ่น และค่าใช้จ่าย และไฮเดลเบิร์กเป็นคู่ค้าที่สามารถจัดหา นวั ต กรรม ที่ น ่ า สนใจต่ า งๆ ดั ง เช่ น เทคโนโลยี ข องเครื่ อ งพิ ม พ์ Omnifire 1000 ทีผ่ สานรวมเข้ากับเทคโนโลยีของเรา ได้อย่างดี” มร. กุนเทอร์ ริทซี่ กล่าว ที่งาน IAA 2017 ไฮเดลเบิร์ก ร่วมงานแสดงสินค้าครั้งนี้ ในฐานะผู้ส่ง มอบบริ ก ารด้ า นเทคโนโลยี ส� า หรั บ อุตสาหกรรมยานยนต์ และได้แสองผลงาน แห่งอนาคตที่มีรูปแบบเฉพาะส่วนบุคคล การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการพิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล ส�าหรับงานอุตสาหกรรมเป็นการเปิดตลาด ใหม่ๆ ให้กับเรา เรามีความช�านาญและ มีเทคโนโลยีในการออกแบบโลกในแบบ ของท่าน และสามารถสนับสนุนลูกค้าจาก


“ออกแบบรถด้วยตัวท่านเอง” – งาน IAA 2017 ไฮเดลเบิร์กและคู่ค้าทางธุรกิจต่อยอดโมเดลธุรกิจใหม่ๆ ส่งมอบเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่ออุตสาหกรรยานยนต์และอุตสาหกรรมอื่นๆ หลากหลายอุ ต สาหกรรมในการสร้ า ง โมเดลธุรกิจดิจทิ ลั ของพวกเขา” ดร. อุลริช เฮอร์ แ มน (Dr. Ulrich Hermann) สมาชิกกรรมการบริหารบริษัทรับผิดชอบ บริหารธุรกิจดิจิทัลและการบริการของ ไฮเดลเบิร์กกล่าว เครื่ อ งพิ ม พ์ ไ ฮเดลเบิ ร ์ ก รุ ่ น Omnifire 1000 และรุ่น 250 สามารถ พิ ม พ์ บ นสิ่ ง ของเกื อ บทุ ก รู ป ทรงและ พิมพ์ลงบนวัสดุหลากหลายชนิดได้ ความเป็ น ไปได้ ใ นการตบแต่ ง สิ น ค ้ า ที่ ผ ลิ ต จ� า น ว น ม า ก ใ น ร ะ ดั บ อุตสาหกรรมทีเ่ น้นคุณภาพสูงอีกทัง้ ยังเพิม่ ไลน์ธุรกิจส�าหรับตลาดที่ผู้บริโภคมีความ ต้องการรูปแบบงานที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นรูปแบบธุรกิจดิจิทัล ใหม่ๆ ทีส่ ร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าใน อุตสาหกรรมต่างๆ ได้ดียิ่ง อาทิ ด้านยาน ยนต์และในอุตสาหกรรมอืน่ ๆ อีกมากมาย สิ่งนี้สามารถเกิดขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยีการ พิมพ์ 4D จากไฮเดลเบิรก์ : ระบบ Omnifire 1000 และ 250 สามารถใช้ส�าหรับการ พิมพ์งานทีม่ รี ปู แบบงานเฉพาะบุคคลตาม

แบบที่ก�าหนดได้เอง และตบแต่งสีและ ลวดลาย บนวัตถุสามมิติเกือบทุกรูปทรง ได้ และบนวัสดุหลากหลายชนิด ได้ตาม ความต้ อ งการ เช่ น บนลู ก บอล ขวด ไม้ฮ็อกกี้ รถยนต์และชิ้นส่วนเครื่องบิน หรือแม้กระทั่งจะเป็นเครื่องบินทั้งล�า โดย ระบบการพิมพ์ของไฮเดลเบิร์กสามารถ ผสานรวมเข้ากับกระบวนการผลิตดิจิทัล ในอุตสาหกรรมต่างๆ ในทางปฏิบตั ไิ ด้ ทาง ไฮเดลเบิร์กได้น�าเสนอเทคโนโลยีนี้เป็น ครั้งแรกในงาน InPrint 2015 ที่เมือง มิวนิค และนับตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมาได้มกี าร พั ฒ นาระบบอิ ง ค์ เ จ็ ท เพื่ อ ใช้ ใ นภาค อุตสาหกรรมอย่างต่อเนื่อง ไฮเดลเบิรก์ พยายามผลักดันการ ท�างานด้วยระบบดิจทิ ลั และขยายขอบข่าย โครงสร้างการพิมพ์ดิจิทัลให้เพิ่มเติมกว้าง มากขึ้น ด้ ว ยการน� า เสนอเทคโนโลยี การพิมพ์แบบ 4D ที่งาน IAA ในเมือง แฟรงก์ เ ฟิ ร ์ ต ไฮเดลเบิ ร ์ ก ได้ ต อกย�้ า ถึ ง ความส� า เร็ จ ของบริ ษั ท ในการก้ า วสู ่

PRINT TECHNOLOGY

ระบบดิ จิ ทั ล ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ กลยุ ท ธ์ “Heidelberg goes Digital” ไฮเดลเบิรก์ ยังค่อยๆ ขยายขอบข่ายโครงสร้างของ ระบบให้กว้างมากขึ้น โดยไฮเดลเบิร์กได้ เริ่มจัดท�าระบบดิจิทัลระดับอุตสาหกรรม และการพิมพ์ดจิ ทิ ลั โดยเริม่ ให้ความส�าคัญ ตัง้ แต่งานดรูปา้ 2016 โดยในงานนี้ บริษทั ได้น�าเสนอ Smart Print Shop อีกทั้งยัง ได้น�าเสนอเครื่องพิมพ์ระบบดิจิทัลของ ไฮเดลเบิร์กรุ่น Primefire 106 ในงาน และไฮเดลเบิรก์ ได้นา� เสนอระบบการพิมพ์ ดิจทิ ลั เครือ่ งแรกส�าหรับการพิมพ์งานพิมพ์ ที่มีรูปแบบเฉพาะส่วนบุคคลในขนาดงาน พิมพ์ 70 x 100 โดยความร่วมมือกับบริษทั ฟูจิฟิล์ม ซึ่งเป็นพันธมิตรด้านการพัฒนา เทคโนโลยี

บริษัท ริทซี่ แล็คเคียเทคนิค (Ritzi Lackiertechnik) ได้ผสานเทคโนโลยี Omnifire เข้ากับ อุตสาหกรรมการผลิตเพื่อการตบแต่งชิ้นส่วนต่างๆ เช่นการตกแต่งภายในรถด้วยลวดลายสีสัน มร. โธมัส วิทแมน (Thomas Wittmann)หัวหน้าฝ่ายขายของบริษัท ริทซี่ แลคเคียเทคนิค กล่าวว่า “เทคโนโลยีของไฮเดลเบิร์กท�าให้เราได้พบพันธมิตรทางธุรกิจที่ช่วยให้เราสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าที่ชาญฉลาดของเราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านคุณภาพ ความยืดหยุ่นและต้นทุน” THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

049


PRINT TECHNOLOGY

การลงทุนที่ชาญฉลาดจะเพิ่มโอกาสความส�าเร็จของธุรกิจคุณ บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด

ธุรกิจสิ่งพิมพ์ในปัจจุบันต้องเจอกับยอดสั่งการผลิตสิ่งพิมพ์ฉลากสินค้าในจ�านวนน้อย – ปานกลางมากขึ้น มีข้อมูลที่ น่าสนใจจาก InfoTrends “ปัจจุบัน ผู้บริโภคจะให้ความสําคัญในการจัดส่งที่รวดเร็ว และเน้นจํานวนยอดการสั่งผลิตที่ค่อนข้าง จํากัดและลดจํานวนลง ซึ่ง 60% ของการผลิตสิ่งพิมพ์ฉลากจะสั่งผลิตในจํานวน 10,000 ชิ้น หรือน้อยกว่านั้น” * เนือ่ งจากกลุม่ ลูกค้าของธุรกิจสิง่ พิมพ์ มาจากกลุม่ ธุรกิจ SME (Small Medium Enterprises) มากขึ้น ธุรกิจ SME ถือเป็นแรงขับเคลื่อนที่สําคัญต่อเศรษฐกิจไทย ข้อมูลล่าสุด ไตรมาส 3 ปี 2560 GDP SME ขยับมามาอยู่ที่ 42.6% ของ GDP ประเทศ คิดเป็นมูลค่ากว่า 1.62 ล้านล้านบาท ** และ ยังคงมีแนวโน้มการเติบโตเพิม่ มากขึน้ จากปัจจุบนั จากกลุม่ ธุรกิจ SME นีเ้ องท�าให้เราได้เห็นผลิตภัณฑ์สนิ ค้าใหม่ๆ เกิดขึน้ มากมาย ในแต่ละวัน ซึง่ ฉลากสินค้าและบรรจุภณ ั ฑ์มคี วามส�าคัญอย่างมาก กับตลาดของธุรกิจนี้ จากตั ว อย่ า งที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น จะเห็ น ได้ ชั ด ว่ า เครือ่ งพิมพ์แบบอนาล็อกอาจไม่ตอบโจทย์กบั ลูกค้ากลุม่ นี ้ เพราะ ปริมาณการผลิตในแต่ละครั้งจะมีจ�านวนน้อยท�าให้ไม่คุ้มทุน ที่จะเสียไป อีกทั้งต้องใช้ระยะเวลาในการผลิตหลายขั้นตอน แล้วธุรกิจสิ่งพิมพ์จะแก้ไขอย่างไรให้สอดคล้องกับความต้องการ ของลูกค้าที่มีศักยภาพเหล่านี้ที่ก�าลังเติบโตและมีจ�านวนมากขึ้น เรื่อยๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในปัจจุบนั ทาง บริษทั โคนิกา้ มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชนั ส์ (ประเทศไทย) จํากัด จึงขอน�าเสนอแท่นพิมพ์ฉลากดิจิตอลแบบป้อนม้วน Accurio

050

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

Label 190 ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้กับขั้นตอนการ ท�างานแบบเดิมๆ เพิม่ เติมคือโอกาสทางธุรกิจของคุณด้วยคุณสมบัติ การพิมพ์ฉลากแบบเฉพาะบุคคล (Personalization) สามารถ พิ ม พ์ รู ป ภาพและข้ อ ความที่ ต ่ า งกั น ด้ ว ยขั้ น ตอนการพิ ม พ์ แบบดิ จิ ต อล ตอบโจทย์ กั บ กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ท� า ธุ ร กิ จ ไม่ ว ่ า จะ ขนาดเล็ก – กลาง - ใหญ่ ซึ่งในปัจจุบันเน้นการท�าตลาดแบบ One to One Marketing มากขึ้น คือมุ่งเน้นการตอบสนอง ต่อความต้องการของลูกค้าเฉพาะบุคคลหรือเฉพาะกลุม่ เช่น การ มอบคูปองลดราคาพิเศษหรือ Premium gift ให้กับผู้บริโภคโดย การใช้ฐานข้อมูลการช�าระสินค้าของลูกค้าคนนั้นโดยเฉพาะ เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าและเป็นการโปรโมทแบรนด์ ไปในตัว หรือจะเป็นสินค้าโปรดักส์ออฟไลน์ ตัวอย่างเช่น สินค้า อุปโภคบริโภคที่ขายตามซุปเปอร์มาร์เก็ต ซึ่งในปัจจุบันต้อง สร้างแรงดึงดูดจากบรรจุภัณฑ์ อาจจะผลิตออกมาในรูปแบบ Seasonal Design คือวางขายตามช่วงเวลาพิเศษ เช่น ขายเฉพาะ วันวาเลนไทน์เท่านั้นเป็นต้น หรือในรูปแบบสินค้า Limited edition ที่วางขายเฉพาะที่ใดที่หนึ่งและท�าออกมาในจ�านวน จ�ากัดเท่านั้น


การลงทุนที่ชาญฉลาดจะเพิ่มโอกาสความส�าเร็จของธุรกิจคุณ บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชันส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด

PRINT TECHNOLOGY

เพิ่มคุณภาพลดระยะเวลาการผลิต เพียงแค่เตรียมวัสดุและตั้งค่าการพิมพ์ ที่มาพร้อมกับความเร็วในการพิมพ์สูงสุด 18.9 เมตร/นาที (ขึน้ กับประเภทของวัสดุ) ท�าให้จดั ส่งลูกค้าได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ อีกทัง้ โทนเนอร์ของเรายังเป็น Food Grade Toner ทีส่ ามารถ พิมพ์ลงบรรจุภณ ั ฑ์อาหารได้อย่างปลอดภัย สอดคล้องกับมาตรฐานอาหารและยา FDA ประหยัดต้นทุนและพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน ลดงาน พิมพ์เสีย ไม่ต้องใช้เพลท ประหยัดแรงงาน ใช้พื้นที่รวมในการติดตั้งเครื่องเพียงแค่ 5 x 3 เมตร เป็นทางเลือกการลงทุนที่ชาญฉลาด ที่จะสามารถฉกฉวยโอกาสทางธุรกิจที่ก�าลังมีการเติบโตและมีจ�านวนมากขึ้นเรื่อยๆ อย่ามองข้ามโอกาสในการรับผลิตฉลากสินค้าครั้งละจ�านวนน้อยไป เพราะนั่นอาจหมายความว่าคุณก�าลังพลาดโอกาสท�า รายได้มหาศาลจากธุรกิจการตลาดแบบ one to one ที่ก�าลังเติบโตอย่างมาก หากคุณก�าลังมองหาแท่นพิมพ์ที่จุดคุ้มทุนของเครื่อง เหมาะกับความต้องการพิมพ์ฉลากในระดับน้อยถึงกลางและไม่ยุ่งยากในการจัดการหรือดูแลรักษา ให้แท่นพิมพ์ฉลากดิจิตอลแบบ ป้อนม้วน “AccurioLabel 190” เป็นค�าตอบของคุณ InfoTrends

GDP SME

* Scott Phinney. 2558. What Do Converters Want? Emerging Opportunities for Color Digital Printing of Labels and Packaging. เข้าถึงเมื่อ 26/03/2061, จาก http://www.infotrends.com/public/Content/Multiclients/whatdoconverterswant.html ** เจริญไชย จารุกะกุล. 2560. แถลงวิสัยทัศน์. เข้าถึงเมื่อ 26/03/2061, จาก http://www.sme.go.th/th/cms-detail.php?modulekey=121&id=1030 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

051


PRINT TECHNOLOGY

Flexo or Digital ? ตอนที่ 2 เปรียบเทียบต้นทุน บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์

Flexo or Digital?

ตอนที่ 2 เปรียบเทียบต้นทุน บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์

052

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

การทีจ่ ะเข้าใจชัดเจนว่าเทคโนโลยีใดเหมาะกับงานพิมพ์ ต้องก�าหนดค�าจ�ากัดความของ งานพิมพ์ปริมาณน้อย ๆ เป็น อันดับแรก และแน่นอนว่าจะมีความเห็นที่แตกต่างกัน แต่เพื่อใช้ ท�าเปรียบเทียบเราก�าหนดที่จะพิมพ์ลาเบลสติคเกอร์ งานพิมพ์ Bully 3 แบบ จ�านวน 120,000 ลาเบล ซึ่งจะใช้วัสดุลาเบลยาว 6,000 กว่าเมตร (Fig. 3 และ 4) ในมุมของ Inkjet และ Toner พบว่าทัง้ สองเทคโนโลยีใช้เวลาเตรียมเครือ่ งประจ�าวันสัน้ กว่า ไม่ สูญเสียเวลาเมื่อเปลี่ยน Versioning การพิมพ์ และใช้เวลาน้อย มากเพื่อเตรียมเครื่องส�าหรับการพิมพ์งานถัดไป แต่ว่า Flexo มี เพียงประเด็นเดียวที่ได้เปรียบ คือความเร็ว และยังพบว่า Inkjet เป็นผู้ชนะอย่างชัดเจน และ Toner ก็รั้งมาอันดับท้ายชัดเจนเช่น กัน หากน�าการใช้งานแต่ละวันมาค�านวณเป็นก�าลังการผลิตต่อปี จะยิ่งพบว่า Inkjet ก็ยังเป็นผู้ชนะที่แท้จริง ด้วยก�าลังการผลิต ที่มากกว่าถึง 30% เมื่อเทียบกับ Flexo ที่ซึ่งมีก�าลังการผลิตรอง ลงมา และหากพิจารณารวมวัสดุเหลือใช้ หรือของเสีย ก็ยิ่งท�าให้ Flexo เสียเปรียบทั้งในด้านของต้นทุน และประเด็นมลภาวะต่อ สิ่งแวดล้อม พิมพ์น้อย (Low Coverage) พิมพ์กลาง (Medium Coverage) พิมพ์มาก (High Coverage) หากเจาะลงในราย ละเอียดต้นทุนต่าง ๆ ของงานพิมพ์ทั้ง 3 งาน จะพบว่า Flexo มี


Flexo or Digital ? ตอนที่ 2 เปรียบเทียบต้นทุน บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์

PRINT TECHNOLOGY

ค่าใช้จ่ายจากวัสดุเหลือใช้ หรือของเสียมากถึง 8% และมากกว่า ขบวนการผลิตด้วยดิจิทัลเทคโนโลยี แต่หากน�าค่าหมึก และค่า Click Charge มาค�านวณ ปรากฎว่า Toner จะแพงที่สุด ถึงแม้ Flexo จะประหยัดจากค่าหมึก แต่จะเสียค่าใช้จา่ ยไปกับค่าเพลท พิมพ์ เครื่อง Flexo มักจะมีขบวนการ Finishing เบ็ดเสร็จในตัว ดังนั้นต้นทุนการท�าไดคัท และการขจัดวัสดุเหลือใช้จึงรวมอยู่ใน ขบวนการพิมพ์แล้ว เพื่อให้เท่าเทียมกัน เวลาและต้นทุนที่ใช้ท�า Finishing งานทีพ่ มิ พ์จากดิจทิ ลั เทคโนโลยีจะต้องน�าต้นทุนเหล่า นี้มาค�านวณด้วย (Fig. 3) เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบต้นทุนต่อ 1,000 ลาเบลระหว่าง 3 เทคโนโลยีได้อย่างครบถ้วน จากงานที่ใช้ท�าเปรียบเทียบ หากน�าค่าแรงงาน, ค่า เสือ่ มราคาเครือ่ ง, ค่าบริการ แต่ไม่นา� ค่าท�างานพิมพ์ Versioning มาคิดด้วย ส่งผลให้ Digital Inkjet มีต้นทุนที่ดีกว่า Flexo 4% และยังดีกว่า Digital Toner ถึง 43% อย่างไรก็ตามงานพิมพ์ทุกวันนี้มักจะเป็นงานลักษณะ สั่งครั้งเดียวหลาย SKU ซึ่งจะต้องมีค่าเพลทพิมพ์ การเสียเวลา หยุดเครื่อง และค่าใช้จ่ายวัสดุเหลือใช้ หรือของเสีย ส่งผลให้การ พิมพ์ดว้ ย Inkjet ยิง่ มีขอ้ ดีมาก ๆ ขึน้ ไปอีกเมือ่ เทียบกับเทคโนโลยี อื่น

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

053


PRINT TECHNOLOGY

Flexo or Digital ? ตอนที่ 2 เปรียบเทียบต้นทุน บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์

จากงานพิมพ์ Bully ที่มี 3 Version และใช้วัสดุลาเบล 6,000 เมตร จะเป็นจุดสมดุลที่ต้นทุนการพิมพ์ด้วย Digital Inkjet และ Flexo เท่า ๆ กัน เมื่อปริมาณงานพิมพ์มากกว่า 6,000 เมตร Flexo จะพิมพ์งานที่ต้นทุนดีกว่า แต่หากงานพิมพ์ น้อยกว่า 6,000 เมตร หรือมีงานพิมพ์ Versioning จะท�าให้ Digital Inkjet เป็นเทคโนโลยีที่ดีที่สุด นอกจากนี้หากพิจารณา

054

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

ในประเด็นก�าลังการผลิตของทั้ง 3 เทคโนโลยีพบว่า Digital Inkjet ผลิตได้มากกว่าถึง 30% เมื่อเทียบกับ Flexo และ 132% เมื่อเทียบกับ Liquid Toner (Fig. 5) ยิ่งถ้าพิจารณาในประเด็น งานพิมพ์ปริมาณน้อย ๆ แล้ว ยิ่งท�าให้ Digital Ink Jet เป็นที่ น่าสนใจมากยิ่งขึ้นไปอีก


Flexo or Digital ? ตอนที่ 2 เปรียบเทียบต้นทุน บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์

PRINT TECHNOLOGY

“ข้อมูลราคาทีร่ ะบุใช้เพือ่ ท�ารายงานฉบับภาษาอังกฤษ และไม่เป็นราคาสินค้าทีจ่ า� หน่ายในประเทศไทย หากประสงค์ได้รบั ข้อมูลการค�านวณการวิเคราะห์ความคุ้มค่า ส�าหรับธุรกิจของท่าน บริษัทฯ พร้อมให้ค�าปรึกษาหารือเพื่อท�าแบบค�านวณวิเคราะห์ สามารถติดต่อได้ที่ sawarat.t@harn.co.th, thammanoon.t@harn.co.th ”

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

055




060

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4



PRINT ACTIVITY

ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย

ผ ลการดำ�เนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย

พฤษภาคม 2560 • จัดงาน สัมมนาการพิมพ์ 4.0 ส�าหรับคน รุน่ ใหม่ ภายใต้หวั ข้อ “Digital Marketing ส�าหรับโรงพิมพ์” ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย มิถุนายน 2560 • ร่วมงาน “วันการพิมพ์ไทย” โดยร่วมพิธี วางพวงมาลา ณ สุสานโปรแตสแตนท์ ถนนเจริญกรุง และท�าบุญทักษิณานุปทาน ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั และบังสุกลุ อุทศิ ส่วนกุศล ให้แก่ บุ ค คลในวงการพิ ม พ์ ที่ ล ่ ว งลั บ ไปแล้ ว ณ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม

• เข้าร่วมงานสังสรรค์วันการพิมพ์ไทย 2560 ณ ห้องบอลรูม โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ ถนนรัชดาภิเษก

060

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย

PRINT ACTIVITY

• ร่ ว มงานในโอกาสแสดงความยิ น ดี กั บ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายก สมาคมการพิมพ์ไทย ขึ้นรับต�าแหน่ง ประธานสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ไทยคนใหม่

• จัดอบรม หลักสูตรพื้นฐานเรื่องสีและ การวั ด สี (2 วั น ) ร่ ว มกั บ ภาควิ ช า เทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการ พิมพ์ไทย

• เป็นเจ้าภาพบ�าเพ็ญกุศลถวายพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดช รัชกาลที่ 9

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

061


PRINT ACTIVITY

ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย • จั ด สั ม มนาการพิ ม พ์ 4.0 ส� า หรั บ คน รุ่นใหม่ ภายใต้หัวข้อ “เทคโนโลยีการ พิมพ์ ระบบ Digital และ Inkjet” ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการ พิมพ์ไทย

• เข้าร่วมงานประชุมคณะกรรมการการพิจารณาคัดเลือกและตัดสินรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น สาขาธุรกิจสิ่งพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ (PM Award) ปี 2560 ณ ห้องประชุม 50601 ชั้น 6 อาคารส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ • จัดงานแถลงข่าว การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ ครั้งที่ 12 ณ ห้องโลตัสสวีท 5-7 โรงแรมเซ็ น ทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพ

• ร่วมงาน พิธีลงนามเซ็นต์ MOU ระหว่าง สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย และ Seoul Printing Association ณ Fuji Xerox ICEC

กรกฎาคม 2560 • จัดงานการพิมพ์ไทยสัญจร 60’ ภาคเหนือ ณ โรงแรมเมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่

สิงหาคม 2560 • จัดงานแถลงข่าว Pack Print International 2017 ร่วมกับสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย และ Messe Dusseldorf Asia ณ โรงแรมเชอราตันแกรนด์ สุขุมวิท

062

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย

PRINT ACTIVITY

• จัดสัมมนา หลักสูตร “การออกแบบและ การเตรี ย มไฟล์ ส� า หรั บ งานพิ ม พ์ คุณภาพ” ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคาร สมาคมการพิมพ์ไทย

• ร่ ว มมอบเงิ น มู ล นิ ธิ ชั ย พั ฒ นา จาก โครงการ “๙ แบบตัวพิมพ์ไทยเพือ่ พ่อ” จัดโดยสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์

• จัดงาน Pack Print International 2017 ร่วมกับ สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย และ Messe Dusseldorf Asia ณ ไบเทค บางนา

ตุลาคม 2560 • เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขัน งานโบว์ลิ่ง “SCREEN GO BOWLING” ครั้งที่ 10 จั ด โดยสมาคมการพิ ม พ์ ส กรี น ไทย ณ Blu-o Rhythm & Bowl ชัน้ 5 สยาม พารากอน พฤศจิกายน 2560 • เข้าร่วมงาน “Thank You Dinner 2017” จัดโดยสมาคมอุตสาหกรรมเยื่อ และกระดาษไทย ณ ห้ อ ง Skylight Suite Iชั้น 36 โรงแรมอนันตรา สาทร กรุงเทพฯ • จัดกิจกรรม Young Printer : The Next Gen ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

063


PRINT ACTIVITY

ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย • จัดพิธีประกาศผลและมอบรางวัล “การ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 12” ณ ห้ อ งคอนเวนชั่ น ฮอลล์ บี โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์

มกราคม 2561 • เข้าร่วมพิธีเปิดงาน Asia Digital Expo 2018 : Digital transformation จัดโดยส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA)หน่ ว ยงานในสั ง กั ด กระทรวง ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กุมภาพันธ์ 2561 • เข้าร่วมงานเลี้ยงครบรอบ 25 ปี Thai CPA จัดโดยสมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษ ลูกฟูกไทย ณ ชั้น 2 Crystal Design Center(CDC) • จัดงานอบรมหลักสูตร การพิมพ์ออฟเซ็ท เบื้องต้น รุ่นที่ 12 ภายใต้โครงการ Thai Print Academy สถาบันการพิมพ์ไทย ณ นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัด สมุทรสาคร • เข้าร่วมการประชุมสามัญประจ�าปี 2561 และการเลื อ กตั้ ง คณะกรรมการกลุ ่ ม อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ วาระปี 2561-2563 ณ ห้อง Boardroom 3 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ • ร่วมงานในโอกาสแสดงความยินดีกบั คุณ พิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ไทย ได้รับต�าแหน่งประธาน กลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ วาระปี 2561-2563 ณ ห้อง Boardroom 3 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

064

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


ผลการด�าเนินงาน สมาคมการพิมพ์ไทย

PRINT ACTIVITY

มีนาคม 2561 • จั ด กิ จ กรรมเลื อ กตั้ ง Young Print Group วาระ 2561-2563 ณ โรงแรม เบย์ บี ช รี ส อร์ ท จอมเที ย น พั ท ยา และพร้ อ มเยี่ ย มชม โรงงาน Ricoh Manufacturing (Thailand) นิ ค ม อมตะซิตี้ จังหวัดระยอง

• เข้าร่วมงานประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2560/2561 และการเลื อ กตั้ ง คณะ กรรมการบริ ห ารสมาคมฯ ประจ� า ปี 2561-2563 จัดโดย สมาคมการบรรจุ ภัณฑ์ไทย ณ ห้องประชุมกมลทิพย์ 3 โรงแรมเดอะสุโกศล พญาไท กรุงเทพ • จั ด งาน สั ม มนา Digital Marketing for Print Business ภายใต้ หั ว ข้ อ “คนสัญชาติดิจิทัล” ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย

เมษายน 2561 • เข้าร่วมงาน พิธีสถาปนาคณะกรรมการ บริหารสมาคมธุรกิจสือ่ สิง่ พิมพ์ภาคเหนือ ณ โรงแรมเดอะปาร์ค จังหวัดเชียงใหม่

• เข้าร่วมงาน เปิดงานนิทรรศการ เนือ่ งใน โอกาสครบรอบ 25 ปี การก่อตั้งสมาคม การพิมพ์สกรีนไทย ณ ศูนย์นิทรรศการ และการประชุมไบเทค

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

065


YOUNG PRINTER

กร เธียรนุกุล Young Printer Group

กร เธียรนุกุล เรามีโอกาสได้รจู้ กั คุณกร ในฐานะบุตรชายของ คุณเกรียงไกร เธียรนุกุลที่พวกเรารักและเคารพ มาวันนี้ คุณกรคือความภาคภูมใิ จและเป็นผลิตผลแห่งความส�าเร็จ ของ Young Printer Group รวมถึงบทบาทใหม่ในวันนี้ คือ ประธาน Young Printer Group วาระ 2561-2563

“ช่วยเล่าประวัตสิ ว่ นตัวให้ฟงั หน่อยคะ” ผมมีพี่น้อง 3 คน เป็นชายล้วนครับ ตัวผมเอง เป็นฝาแฝด มีคู่แฝดชื่อกฤตย์ ตอนเด็กๆ ผมกับกฤตย์ เหมือนกันมาก คนจ�าผิดเรียกผิดตลอด บางทีถา้ เขาเรียก ผมว่ากฤตย์ ผมก็แกล้งเนียนๆ เป็นกฤตย์ไปเลย และมี น้องชายคนเล็กอีกคนชื่อกันต์ ตอนนี้เรียนอยู่เกรด 10 ที่อเมริกาครับ ผมเรียนที่โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษาตั้งแต่ ป.1 จนถึ ง ม.3 ครั บ แล้ ว ไปต่ อ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และจบระดับปริญญาตรี ที่ คณะพาณิชย์ศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรนานาชาติ (BBA) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

“ความเป็นมาของบริษทั นิวไวเต็ก” ปั จ จุ บั น ผมเข้ า มาช่ ว ยธุ ร กิ จ โรงพิ ม พ์ ข อง ครอบครัว คือ บริษัท นิวไวเต็ก จ�ากัด ซึ่งครบรอบ 60 ปี เมื่อปีที่แล้ว คุณปู่ของผมเป็นผู้ก่อตั้ง จนมาถึงรุ่นคุณพ่อ และตอนนี้เป็นรุ่นผม ถือว่าผ่านเข้าสู่รุ่น Generation ที่ 3 แล้วครับ

066

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


กร เธียรนุกุล Young Printer Group

YOUNG PRINTER

“จุดเริม่ ต้นของการท�างาน และ หน้าทีร่ บั ผิดชอบกับงานธุรกิจ การพิมพ์มอี ะไรบ้าง” ครอบครัวผม ท�ำธุรกิจหลำยอย่ำง หนึง่ ในธุรกิจ ที่นอกเหนือจำกโรงพิมพ์คือธุรกิจทำงด้ำนร้ำนอำหำร มี ทั้ง เป็นร้ำนแบบ Fine Dining Restaurant และ Fastfood เมื่ อ ผมจบมำใหม่ ๆ คุ ณ พ่ อ ส่ ง ผมให้ ไ ป ฝึกท�ำงำนที่ร้ำน Fastfood ที่สำขำมำบุญครอง ซึ่งเป็น งำนที่ผมได้เก็บเกี่ยวประสบกำรณ์เป็นอย่ำงมำกเพรำะ ต้องเป็นเสมือนพนักงำนคนหนึ่ง ผมได้เข้ำไปลงมือท�ำ ทุกต�ำแหน่ง ไม่ว่ำจะเป็นเข้ำครัว เสิร์ฟ แคชเชียร์ เมื่อท�ำ ไปได้ประมำณ 1 ปี คุณพ่อให้ผมและกฤตย์ลองเปิดร้ำน อำหำรและสร้ำงแบรนด์ใหม่ดเู อง ผมและกฤตย์จงึ คิดท�ำ ร้ำนขำยไก่ทอดส้มต�ำ ชื่อ Kookai เรำต้องเริ่มใหม่หมด ตั้ ง แต่ เ มนู รู ป แบบร้ ำ น เทรนพนั ก งำน ตกแต่ ง ร้ ำ น ท�ำโปรโมชัน่ เดินแจกใบปลิว รับลูกค้ำทัง้ ค�ำชมและค�ำด่ำ (แต่ตอนนี้ร้ำนนี้ปิดไปแล้วนะครับ 55) กำรได้ลองเริ่ม ท�ำอะไรใหม่ตั้งแต่ต้น ถือเป็นประสบกำรณ์ที่ดีมำกๆ เนือ่ งจำกงำนร้ำนอำหำรเป็นงำนทีต่ อ้ งอำศัยควำมละเอียด กำรบริกำร และทีมเวิร์ค ผมท�ำที่ร้ำนได้ประมำณ 2-3 ปี คุ ณ พ่ อ ก็ ใ ห้ ผ มเข้ ำ มำช่ ว ยงำนที่ โรงพิ ม พ์ ช่ ว งแรกที่ เข้ ำ มำท� ำงำน เป็น ช่ว งที่ท้ำทำยมำกเพรำะถึงแม้ ผ ม จะเติบโตในโรงพิมพ์ เห็นเครื่องพิมพ์ตั้งแต่เด็กๆ เห็น บรรยำกำศกำรท�ำงำนมำตลอด แต่เมือ่ ต้องเข้ำมำท�ำงำน เต็มตัวกลับไม่ง่ำยอย่ำงที่คิด เพรำะโรงพิมพ์เป็นงำนที่ ต้ อ งอำศั ย ควำมรู ้ ที่ เ ป็ น วิ ช ำเฉพำะทำง ไม่ ว ่ ำ จะเป็ น เครื่องพิมพ์ กระดำษ หมึก เทคนิคมำกมำย สิ่งที่คุณพ่อ ได้ ม อบหมำยคื อ ให้ ผ มพั ฒ นำระบบกำรท� ำ งำนให้ รำบรื่นมำกยิ่งขึ้น และเปิดตลำดใหม่ที่นอกเหนือไปจำก ฐำนลูกค้ำเดิมที่มีอยู่แล้ว ผมจึงเริ่มจำกกำรวำงภำพรวม ให้ ทุ ก ฝ่ ำ ยเห็ น ตรงกั น ก่ อ น เพื่ อ ทุ ก คนจะได้ เ ดิ น ไป ในแนวทำงเดียวกัน ในช่วงแรกล�ำบำกมำก ทั้งในด้ำน ของกำรปรับตัวให้เข้ำกับระบบกำรท�ำงำนที่ไม่คุ้นเคย รวมถึงกำรเรียนรู้สำยกำรผลิต เมี่อทุกอย่ำงเข้ำที่แล้ว ผมจึงเริม่ ท�ำกำรปรับปรุงกำรท�ำงำนของบำงแผนกทีจ่ ำ� เป็น โดยกำรน�ำเอำระบบมำปรับใช้ และพัฒนำบุคคลำกรให้ มีศักยภำพยิ่งขึ้น รวมถึงกำรตั้งเป้ำหมำยในเรื่องของกำร ขยำยตลำดเชิงรุกโดยกำรใช้สื่อ online เข้ำมำเสริมเพื่อ เพิ่มฐำนลูกค้ำให้มำกยิ่งขึ้น THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

067


YOUNG YOUNG PRINTER PRINTER

กร กร เธียเธีรนุยกรนุ​ุล กุล Young Printer Group Young Printer Group

“ความคิ “ความคิดทีดแ่ ทีตกต่ แ่ ตกต่างกัางกันระหว่ นระหว่างาง รุน่ รุเรากั น่ เรากับคุบณคุณพ่อพ่”อ”

การท� การท� างานกั างานกั บธุรบกิธุจรของครอบครั กิจของครอบครั วจะค่ วจะค่ อนข้อนข้ าง าง แตกต่ แตกต่ างกัาบงกัการท� บการท� างานที างานที ่บริ่บษัริทษข้ัทางนอก ข้างนอก เพราะความ เพราะความ ใกล้ใกล้ ชิดชกัิดนกัจะมากเป็ นจะมากเป็ นพินเศษ เมื พิเศษ เมื ่อความใกล้ ่อความใกล้ ชิดชกัิดนกัมาก นมาก ความเกรงใจก็ ความเกรงใจก็ จะน้จะน้ อยลง จึ อยลง จึ งเป็งนเป็เรืน่อเรืงที่อ่หงทีลี่หกเลี ลีก่ยเลีงไม่ ่ยงไม่ ได้ทได้ี่ ที่ จะมีจะมี การกระทบ กระทั การกระทบ กระทั ่ง มี่งป มีากเสี ปากเสี ยงกัยนงกั อีนก อีทัก้งถ้ทัา้งธุถ้รากิธุจรกิจ ของครอบครั ของครอบครั วเป็วนเป็แบบกงสี นแบบกงสี ผู้ใ หญ่ ผู้ใหญ่ ในครอบครั ในครอบครั วก็จวก็ะ จะ เห็นเห็ ว่นา ว่เราเป็ าเราเป็ นเด็นกเด็อยูก่ อยูถึง่ แม้ ถึงแม้ เราจะโตมากแค่ เราจะโตมากแค่ ไหนก็ ไหนก็ ตาม ตาม เพราะพวกท่ เพราะพวกท่ านเห็ านเห็ นเรามาตั นเรามาตั ้งแต่้งแต่ เด็กเด็ ฉะนั ก ฉะนั ้นการยอมรั ้นการยอมรั บบ จากคนในบริ จากคนในบริ ษทั ษหลายๆฝ่ ทั หลายๆฝ่ ายจะต้ ายจะต้ องใช้องใช้ เวลา และความคิ เวลา และความคิ ดด เห็นเห็ในการสร้ นในการสร้ างสิา่งงสิใหม่ ่งใหม่ ๆ ซึๆ่ง อาจต้ ซึ่งอาจต้ องใช้ องใช้ ทั้งเวลาและ ทั้งเวลาและ ความอดทนในการพิ ความอดทนในการพิ สูจน์สูจ น์

“ปรั“ปรัชญาหรื ชญาหรือคติ อคติในการท� ในการท�างาน” างาน”

“Think “Think Big,Big, Start Start Small Small andand Move Move FastFast คิดคิใหญ่ ดใหญ่ , เริ, ่มเริเล็่มกเล็และท� ก และท� ำเร็ำวเร็” แนวคิ ว” แนวคิ ดนีด้ผนีมได้ ้ผมได้ มาจาก มาจาก นักนัธุรกกิธุจรต่กิาจงชาติ ต่างชาติ ทา่ นหนึ ทา่ นหนึ ง่ เมืง่ เมื อ่ ครัอ่ ง้ ครั ผมได้ ง้ ผมได้ มโี อกาสเดิ มโี อกาสเดิ นทาง นทาง ไปร่ไปร่ วมงาน Young วมงาน Young Asean Asean Forum ที Forum ที ่ต่า่ตงประเทศ ่างประเทศ หลัหลั งจากที งจากที ่ผมได้ ่ผมได้ ฟังสัฟมังสัภาษณ์ มภาษณ์ ของท่ ของท่ านบนเวที านบนเวที และรู และรู ้สึก้สึก ประทั ประทั บใจมาก จึ บใจมาก จึ งได้งขได้อเข้ ขอเข้ าไปพบเพื าไปพบเพื ่อพู่อดพูคุดยคุเป็ยนเป็การ นการ ส่วนตั ส่วนตั ว และแนวคิ ว และแนวคิ ดข้าดงต้ ข้านงต้ คืนอ คืหลัอหลั กการที กการที น่ กั น่ธุรกั กิธุจรท่กิจานนี ท่านนี ้ ้ ยึดถืยึอดมาโดยตลอด ซึ ถือมาโดยตลอด ซึ ง่ เป็ง่ นเป็สินง่ ทีสิผ่ งทีมเองก็ ผ่ มเองก็ ใช้เป็ใช้นเป็หลันหลั กในการ กในการ ท�างานเช่ ท�างานเช่ นเดีนยเดีวกัยนวกั น อี กอีหนึ ก หนึ ่ ง ข้่ งอข้คิอดคิในการท� ด ในการท� า งานที า งานที ่ ผ มเชื ่ ผ มเชื ่ อ คื่ ออคื อ “Freedom to Fail อิ “Freedom to Fail อิ สรภาพในการผิ สรภาพในการผิ ดพลาด” ซึ ดพลาด” ซึ ่งเป็่งนเป็น สิ่งทีสิ่ งMark Zuckerberg ได้ ที่ Mark Zuckerberg ได้ พูดพไวู้ดใไว้ นสุในสุ นทรพจน์ นทรพจน์ ที่เขาขึ ที่เขาขึ ้น ้น ไปกล่ ไปกล่ าวในงานรั าวในงานรั บปริบปริ ญญากิ ญญากิ ตติตมติศัมกศัดิก์ทดิี่ม์ทหาวิ ี่มหาวิ ทยาลั ทยาลั ย ย ฮาร์ฮาร์ วาร์วดาร์ สิด่ง สินี้ก่งนี็ส�า้กคั็สญ�าคัเช่ญนเช่เดีนยเดีวกัยนวกั ตอนที น ตอนที ่ผมเริ่ผมเริ ่มท�่มางาน ท�างาน ครัง้ ครัแรก ผมได้ ง้ แรก ผมได้ พบเจอช่ พบเจอช่ วงทีวย่ งทีากล� ย่ ากล� าบากมากในหลายๆจุ าบากมากในหลายๆจุ ด ด แต่ผแต่มก็ผมก็ ผ่านพ้ ผ่านพ้ นมาได้ นมาได้ ซึ่ง การล้ ซึ่งการล้ มในทุ มในทุ กครัก้งครั จะกลายเป็ ้ง จะกลายเป็ นน บทเรี บทเรี ยนทียนที ่จะสอนให้ ่จะสอนให้ คนเรา ลุ คนเรา ลุ กขึ้นกขึ แข็ ้น แข็ งแกร่ งแกร่ งขึ้นงขึ ผมเชื ้น ผมเชื ่อ ่อ ว่า การเรี ว่า การเรี ยนรูย้ในรู นสิ้ในสิ ่งที่ถงทีูก่ถเป็ูกนเป็สิน่งทีสิ่สงที�าคั่สญ�าคั แต่ ญ แต่ การเรี การเรี ยนรูย้นรู้ ในสิในสิ ่งที่ผงทีิด ก็ ่ผิดส ก็�าคัสญ�าคัไม่ญแไม่พ้แกพ้ันกครั​ันบครับ

068 068

THAIPRINT THAIPRINTM AMGAAGZAI NZ IEN E1 1161 6


กร เธียรนุกุล Young Printer Group

YOUNG PRINTER

ธุรกิจครอบครัวจ�ำเป็นต้อง ปรับตัวให้ท�ำงำนเป็นแบบมืออำชีพ และต้อง Transform ตัวเองให้เป็น องค์กรที่มีควำมเป็นเลิศ หรือ Excellence Organization

“เป้าหมายการท�างานในปัจจุบนั ”

จากการที่ได้รบั มอบหมายจากคุณพ่อให้เข้ามา ท�าโรงพิมพ์ในช่วงที่เป็น Sunset Business ผมจึงวาง เป้าหมายทีจ่ ะพิสจู น์ให้ทกุ คนเห็นว่า ถึงแม้อตุ สาหกรรม สิ่งพิมพ์จะอยู่ในช่วงขาลง แต่ผมยังเชื่อเสมอว่า ถ้าเรามี ความมุ่งมั่นในการท�างานอย่างแน่วแน่ เราจะสามารถที่ จะน�าพาองค์กรของเราให้พฒ ั นาและปรับตัวในรูปแบบที่ เหมาะสมและอยู่รอดได้อย่างแน่นอน

“มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทย”

ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ทุกท่านคงจะได้ยนิ เรือ่ ง ของเปลี่ยนแปลงแนวความคิดและน�าเทคโนโลยีมาใช้ ในธุรกิจในยุคดิจิทัล หรือ Digital Transformation ซึ่งเข้ามาท�าลายเทคโนโลยีสมัยเก่าอย่างรุนแรงและ รวดเร็ ว ซึ่ ง อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ก็ ติ ด ทุ ก โผ ใน 10 อันดับแรกของอุตสาหกรรมที่เป็น trend ขาลง โดยเฉพาะถ้าเป็นการพิมพ์แบบ commercial หรือ หนังสือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น หนังสือพิมพ์ นิตยสาร จะมี ข่าวปิดตัวลงเกือบทุกเดือน ถึงแม้จะมีข่าวที่ตอกย�้าว่า อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์เป็น Sunset Business ผมก็ยังมี ความเชื่อว่า ถ้าเรายังหาจุดแข็งในธุรกิจของตัวเองได้ ไม่ ห ยุ ด นิ่ ง และปรั บ ตั ว ให้ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงที่ เกิดขึ้นตลอดเวลา เราก็จะยังสามารถอยู่รอดท่ามกลาง กระแสดิจิตัลนี้ได้นะครับ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

069


YOUNG PRINTER

กร เธียรนุกุล Young Printer Group

“แนวคิดทีไ่ ด้มาเข้าร่วมกิจกรรมกับ กลุม่ Young Printer”

ผมเริ่มเข้ามาร่วมกิจกรรมกับทางสมาคมการ พิมพ์ไทยตั้งแต่เด็กๆเลยครับ ตั้งแต่คุณพ่อของผมยัง ไม่ได้เป็นนายกสมาคมการพิมพ์ไทย คุณพ่อพาผมให้ เข้ามาร่วมงานที่สมาคมจัดมาโดยตลอด จนพ่อผมได้ ขึน้ เป็นนายกสมาคม รุน่ อาตัง้ - คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ จนถึงรุน่ ปัจจุบนั คือน้าแก้ว – คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ และผมได้เข้าร่วมกิจกรรมกับ YPG แบบเต็มตัว เมือ่ 2 ปี ที่แล้ว

“หน้าทีแ่ ละบทบาทในกลุม่ Young Printer”

ผมได้รับเลือกตั้งเป็นประธาน YPG ต่อจาก พี่กอล์ฟ ประธานคนเก่าซึ่งครบวาระการด�ารงต�าแหน่ง เมือ่ ตอนต้นปีนี้ ขอบคุณทุกคะแนนเสียงนะครับ ผมและ คณะกรรมการชุดนี้ ได้ประชุมเพือ่ วางเป้าหมายของ YPG ไปสู่แนวทางของคนรุ่นใหม่ ในช่วง 2 ปีของวาระนี้ เรา มีแผนงานที่จะน�าเสนอสิ่งใหม่ๆให้เห็น รอดูกันนะครับ

070

THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6


กร กรเธียเธีรนุยกรนุ​ุลกุล กร เธียรนุกุล YoungPrinter PrinterGroup Group Young Young Printer Group

YOUNG YOUNG YOUNG PRINTER PRINTER PRINTER

“วั“วั ว่ว่งกั าางกั บงานอดิ บบงานอดิ เรก” เเรก” “วันว่นนาผมเป็ งกั งานอดิ รก”ลังกายครับ ไม่บ ไม่วา่ จะเป็ ผมเป็ นคนชอบออกก� นคนชอบออกก� าลังากายครั วา่ จะเป็ น น

ผมเป็นคนชอบออกก�าลังกายครับ ไม่วา่ จะเป็น เข้ าเข้ห้าอห้งยิอ งยิ ม มฟุ ตฟุบอล ต บอล และผมชอบอ่ และผมชอบอ่ า นหนั า นหนั ง สืงอสืมาก อ มาก เข้ า ห้ อ งยิ ม ฟุ ต บอล และผมชอบอ่ า นหนั ง สื อ มาก โดยเฉพาะหนั โดยเฉพาะหนั งสืองสืทีอ่เกีที่ย่เกีวกั่ยวกั บแนวความคิ บแนวความคิ ดใหม่ ดใหม่ ๆ ๆ โดยเฉพาะหนังสือที่เกี่ยวกับแนวความคิดใหม่ๆ

“รู“รู ปปแบบในการใช้ ชวี ชชติ ววี​ี ส่ตติ​ิ วส่ส่นตั ววนตั ว”วว”” “รูปแบบในการใช้ แบบในการใช้ นตั ผมเป็ ผมเป็ นคนง่ นคนง่ ายๆ ไม่ ายๆ ไม่ เรือ่ เงมาก ยกเว้ รือ่ งมาก ยกเว้ นการท� นการท� างาน างาน

ผมเป็นคนง่ายๆ ไม่เรือ่ งมาก ยกเว้นการท�างาน อั นอันีน้ ผนีมจริ ้ ผ มจริ ง จัง จั และชอบเห็ ง และชอบเห็ น ความก้ น ความก้ า วหน้ า วหน้ า ท�า ท� า งาน า งาน อั น นี้ ผ มจริ ง จั ง และชอบเห็ น ความก้ า วหน้ า ท� า งาน เหนืเหนื ่อยเต็ ่อยเต็ มทีม่แทีละได้ ่และได้ รับรผลตอบแทนอย่ ับผลตอบแทนอย่ างคุางคุ ้มค่้มาค่ และ า และ เหนื่อยเต็มที่และได้รับผลตอบแทนอย่างคุ้มค่า และ อย่อย่ าลืามลื Life Balance อั ม Life Balance อั นนีน้สนี�า้สคั�าญคั การพั ญ การพั กผ่กอผ่นหลั อนหลั ง ง อย่าลืม Life Balance อันนี้ส�าคัญ การพักผ่อนหลัง การท� การท� างานเป็ างานเป็ นเรืน่อเรืงจ�่อางจ�เป็านเป็ คนเราไม่ น คนเราไม่ สามารถท� สามารถท� างานได้ างานได้ การท�างานเป็นเรื่องจ�าเป็น คนเราไม่สามารถท�างานได้ 24 ชั 24 ชั ่วโมง และไม่ ่วโมง และไม่ สามารถพั สามารถพั กผ่กอผ่นได้ อนได้ 24 ชั 24 ชั ่วโมงเช่ ่วโมงเช่ นกันกั น 24 ชั่วโมง และไม่สามารถพักผ่อนได้ 24 ชั่วโมงเช่นกัน ฉะนัฉะนั น้ การพั น้ การพั กผ่กอผ่นไม่ อนไม่ คดิ คเรืดิ อ่ เรืงงานเลย จะท� อ่ งงานเลย จะท� าให้ากให้ารท� การท� างาน างาน ฉะนัน้ การพักผ่อนไม่คดิ เรือ่ งงานเลย จะท�าให้การท�างาน ในวัในวั นต่นอต่ๆไปดี อๆไปดี กว่กาว่เดิามเดิ มและอาจจะได้ และอาจจะได้ ไอเดี ไอเดี ยใหม่ ยใหม่ ๆทีๆ่ ที่ ในวันต่อๆไปดีกว่าเดิม และอาจจะได้ไอเดียใหม่ๆที่ คิดคิไม่ดถไม่ึงด้ถวึงด้ยซ�วยซ� ้า ้า คิดไม่ถึงด้วยซ�้า

“ก�“ก� ลัลัใจมี งงใจมี ให้ใใกห้ห้นั กกเสมอ” นนั​ั เสมอ” “ก�าลัาางอยากบอกถึ ใจมี เสมอ” อยากบอกถึ งเพืง่อเพืนๆและผู ่อนๆและผู ้คนในอุ ้คนในอุ ตสาหกรรม ตสาหกรรม

อยากบอกถึงเพื่อนๆและผู้คนในอุตสาหกรรม การพิ การพิ มพ์มวพ์่า ทุ ว่าก ทุๆอย่ กๆอย่ างมีาทงมีางออกและทางแก้ ทางออกและทางแก้ ไข ตราบใด ไข ตราบใด การพิมพ์ว่า ทุกๆอย่างมีทางออกและทางแก้ไข ตราบใด ที่เราเปิ ที่เราเปิ ดความคิ ดความคิ ด รัดบ รัไอเดี บไอเดี ยใหม่ ยใหม่ ๆ ไม่ ๆ ไม่ ปิดปกัิด้นกัตั้นวตัเองและ วเองและ ที่เราเปิดความคิด รับไอเดียใหม่ๆ ไม่ปิดกั้นตัวเองและ อย่อย่ าโกหกตั าโกหกตั วเอง ยุ วเอง ยุ คสมัคสมั ยในตอนนี ยในตอนนี ้เดิน้เดิเร็นวเร็มาก จนเกื วมาก จนเกื อบอบ อย่าโกหกตัวเอง ยุคสมัยในตอนนี้เดินเร็วมาก จนเกือบ จะวิจะวิ ง่ แล้ง่ แล้ ว เพราะการเข้ ว เพราะการเข้ าถึงาความรู ถึงความรู ต้ า่ งๆ เข้ ต้ า่ งๆ เข้ าถึงาได้ ถึงงได้า่ ยกว่ งา่ ยกว่ าา จะวิง่ แล้ว เพราะการเข้าถึงความรูต้ า่ งๆ เข้าถึงได้งา่ ยกว่า ด้วด้ยเทคโนโลยี วยเทคโนโลยี ทเี่ ปิทดเี่ ปิกว้ดกว้ าง ร่าง ร่ วมถึวมถึ งการแสดงความคิ งการแสดงความคิ ดเห็ดนเห็น ด้วยเทคโนโลยีทเี่ ปิดกว้าง ร่วมถึงการแสดงความคิดเห็น ที่มที​ีให้่มีใเห็ห้นเห็เต็นมเต็ไปหมดใน social online ฉะนั มไปหมดใน social online ฉะนั ้นถ้​้นาถ้ยัางยัง ที่มีให้เห็นเต็มไปหมดใน social online ฉะนั้นถ้ายัง ปิดปิกัดน้ กัตัน้ วตัเอง กลั วเอง กลั วทีว่จทีะรั่จบะรัการเปลี บการเปลี ย่ นแปลง ฝี ย่ นแปลง ฝี นธรรมชาติ นธรรมชาติ ปิดกัน้ ตัวเอง กลัวที่จะรับการเปลีย่ นแปลง ฝีนธรรมชาติ และเทรนด์ และเทรนด์ ข องโลก ข องโลก ก็ จก็ะไม่ จ ะไม่ มี วมั นี วทีั น่ จทีะได้ ่ จ ะได้ ก ้ ากวหน้ ้ า วหน้ า ได้า ได้ และเทรนด์ ข องโลก ก็ จ ะไม่ มี วั น ที่ จ ะได้ ก ้ า วหน้ า ได้ การอยู การอยู ่เฉยๆ คื ่เฉยๆ คื อการก้ อการก้ าวถอยหลั าวถอยหลั ง และทุ ง และทุ กคนก้ กคนก้ าวไป าวไป การอยู่เฉยๆ คือการก้าวถอยหลัง และทุกคนก้าวไป ข้างหน้ ข้างหน้ าา ข้างหน้า

ยุคยุยุดิคคจดิดิ​ิทจจัลิทิทในปั ัลัลในปั ในปัจจุจจบจุจุันบบันัน ท�าท�ท�ให้าาให้ โโภคเปลี ่ย่ยนแปลงค่ ออนข้ าางเร็ ให้ผผผู้บริู้บู้บโริริภคเปลี ภคเปลี่ยนแปลงค่ นแปลงค่อนข้ นข้างเร็ งเร็ว วว ส่งส่ส่ผลให้ งงผลให้ อองปรั บบเปลี ่ย่ยนไปจากเดิ ผลให้ธุรธธกิุรุรจกิกิต้จจอต้ต้งปรั งปรับเปลี เปลี่ยนไปจากเดิ นไปจากเดิมมม สิ่งสิสิที่ง่ง่เทีทีราต้ ่เ่เราต้ อองท� ราต้องท� งท�าคืาาอคืคืออ มุ่งมุมุพั่ง่งพัพัฒฒ นาจุ ดดแข็ จจตนเอง ฒนาจุ นาจุดแข็ แข็งธุงงรธุธุกิรรจกิกิตนเอง ตนเอง ให้ให้ บบการเปลี ยย่​่ นแปลงที ให้ทนัททกันนั​ั บกักัการเปลี การเปลีย่ นแปลงที นแปลงทีเ่ กิเเ่​่ ดกิกิขึดดน้ ขึขึนน้​้ เพืเพื าาองค์ กกรไปสู คค่​่ วามส� เพือ่ น�ออ่​่ าน�น�องค์ องค์กรไปสู รไปสูค่ วามส� วามส�าเร็าาเร็ เร็จจจ THAIPRINT THAIPRINTM AMGA AGZAI ZN IEN E1 1161 6 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 6

071 0071 71



The besT of LeD UV prinTing in The worLD. พิมพ์ได้ทั้งงาน Packaging, สลาก, งานหนังสือ และ commercial printing พิมพ์ลงบนวัสดุได้หลากหลายเช่น กระดาษ พลาสติก กระดาษฟอลย์

ข้อดีของระบบการพิมพ์ LeD UV Power consumption การใช้พลังงาน Life span of lamp อายุของหลอด Heat/ ozone Space การใช้เนื้อที่ในการติดตั้ง

A3-Size Portrait

Conventional UV 71.1 KWh. (2 lamps type)

approx. 1,000 hrs. YES (need duct works) Peripheral equipment needs almost the same size of machine

A3-Plus

No heat/ No ozone saving 75%

A2-Size

520GX-4

340PCX-2

Max. Sheet Size 13.39 x 17.72 นิ้ว

LED-UV 6.4 KWh. (standard type) saving over 90% approx. 15,000 hrs.

690ST-4

(with coating unit)

Max. Sheet Size 14.76 x 20.47 นิ้ว

A1-Size

B2-Size

Max. Sheet Size 20 x 27 นิ้ว 1,020/1,050mm Format

920PF-8

Max. Sheet Size 25.2 x 36.22 นิ้ว

790ST-5

(with coating unit)

Max. Sheet Size 23.62 x 31.02 นิ้ว 1,130mm Format

1130TP-10

1050LX-6

(with coating unit)

Max. Sheet Size 29.53 x 41.34 นิ้ว

สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี บริษทั ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด

Max. Sheet Size 32.28 x 44.49 นิ้ว

576/68 ถนนสาธุ ประดิษฐ์ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม. 10120 โทรศัพท์ 02-682-3411-4 THAIPRINT MAGAZINE 114

โทรสาร 02-682-3415 email: cybersm751@csloxinfo.com

079

www.cybersm.co.th


สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................

ใบสมัครสมาชิก

วันที่......................................................

ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................

ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ

(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.