2018 issue 117 www.thaiprint.org
Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC Directory_Final_Outline.pdf
08
1
2/20/2560 BE
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
11:18
ผลิ ต ภั ณฑ์
เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน Moving Forward to Green Print
ปลอดภัยตอผูใช
ลูกกลิ้งเสื่อมเร็ว สารกอมะเร็ง
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สารไวไฟ
ผสมน้ำได
การใชน้ำมันกาด กอใหเกิดผลอยางไร มีกลิ่นฉุน
น้ำยาลางแบบใหม ดีอยางไร ถนอมลูกกลิ้ง
เปนอันตรายตอผูใช
$ $ $
ใชในปริมาณมาก
ลดตนทุนระยะยาว
จำหนายน้ำยาลางหมึกแทนน้ำมันกาด และน้ำยาลางหมึกพิมพ UV คุณภาพสูง บริษัท แอลฟา โปร เคมีคอล จำกัด
300 ซ.เพชรเกษม 42 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 Tel: 0-2457-4886, 0-2457-4889 Fax: 0-2869-5515 www.alphaprochemical.com
ไมมีกลิ่นฉุน
ใชปริมาณนอย
Best Performance, Fastest Output. l
Best performance with fast-dry oil-base
l
Super high-speed Printing 160 ppm.
l
Stability for High-volume Production Print jobs.
l
Eco-proven Performance Worldwide.
l
Small Foot print, Big Output
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/
Digital & Offset Printing, Quick!
We can print even one piece with highest quality. Leaflet, Brochure, Photo Book, Personalized Mailing, Postcard, Hand Book Business Card, Report, Seminar Document, Menu, Label & Packetging etc. บริการพิมพงานระบบดิจิตอลคุณภาพสูง งานพิมพเรงดวน พิมพมาก พิมพนอย ไดตามความตองการ รวดเร็ว ไมตองทำฟลม ไมตองทำเพลท ประหยัดเวลาและคาใชจาย สีสันสดใส คมชัด คุณภาพสูง
บริการพิมพงานระบบอิงคเจ็ท บริการพิมพงานระบบดิจิตอล
ปายไวนิล ปายโฆษณา Roll up, X-Stand, J-Flag, Canvas พิมพสติกเกอร ฉลากสินคา ฟวเจอรบอรด พรอมไดคัทครบวงจร ฯลฯ
นามบัตร บัตรสมาชิก แผนพับ ใบปลิว โบรชัวร โปสการด วุฒิบัตร เมนูอาหาร แค็ตตาล็อกสินคา หนังสือ นิตยสาร พ็อกเก็ตบุค ปฎิทิน โฟโตบุค สติกเกอร ฉลากสินคา ฯลฯ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
055
ครัง้ ที่ 2 งานแสดงสินคานานาชาติ เพือ่ อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑกระดาษลูกฟูก ในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
5 – 7 ¡Ñ¹ÂÒ¹ 2561 äºà·¤ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã ÁÒ¡¢Ö¹é ´ŒÇ¨ӹǹ¢Í§¼ÙàŒ ¢ŒÒËÇÁáÊ´§§Ò¹ ÁÒ¡¡Ç‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÊÒ¸Ôµà¤Ã×Íè §¨Ñ¡Ã¨ÃÔ§ º¹¾×¹é ·Õ¡è ÒèѴ§Ò¹·Õâè µ¢Ö¹é ¡Ç‹Ò 40%
พบกับการสาธิตเครือ่ งจักร จากผูผ ลิตชัน้ นำกวา 120 บริษทั จาก 30 ประเทศทัว่ โลก WWW.CCE-SOUTHEASTASIA.COM INFO@CCE-SOUTHEASTASIA.COM CCE South East Asia Supported by:
@ccesouth
CCE South East Asia Media Partners:
ลงทะเบย ี นลว งหน CCE-SO า ฟรที ่ี UTHEAS TASIA.C พรอ มรบ ั CCE BUYE OM หนา งาน RS GUIDE
Editor ISSUE 117
ข อ แ จ้ ง ข่ า ว ดี กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น อุตสาหกรรมการพิมพ์ทกุ ท่าน ข่าวแรกกับความส�าเร็จ อย่ า งงดงามและความภาคภู มิ ใ จที ยิ่ ง ใหญ่ กั บ การประกวดสิง่ พิมพ์ระดับเอเซียน อันดับที่ 1 กับ 42 เหรียญเกียรติยศ ข่าวล�าดับที่ 2 เมื่อกระทรวงอุตสาหกรรม อนุมตั ิงบประมาณผ่านส�านักงานส่งเสริ มวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมสนับสนุน ส่งเสริ ม SMEs เพือ่ ยกระดับพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์ ติดตามอ่าน รายละเอียดได้ ในเล่มค่ะ Thai Print ฉบับนี ้เก็บตกภาพบรรยากาศของ งานประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี ที่ 72 และแนะน�าคณะ กรรมการบริหารวาระปี 2561-2563 ภายใต้ การน�าของ คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย และภาพการจัดงานแถลงข่าว การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติครัง้ ที่ 13 นอกจากนี ้สมาคมฯ ได้ ร่วมเซ็นต์ สัญญา MOU ร่วมกับสถาบันการศึกษา เพื่อพัฒนา ฝี มือในสาขาอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และยังคงมีเกร็ ด ความรู้ เกี่ยวกับการพิมพ์น�ามาฝากสมาชิกทุกท่าน เหมือนเช่นเคย อ่านรายละเอียดจากด้ านในเล่มค่ะ ขอขอบคุณทุกก�าลังใจที่มีให้ กับการจัดท�า Thaiprint Magazine ยังคงพร้ อมที่จะรับฟั งค�าติชม จากทุกท่าน เพือ่ ปรับปรุงวารสารของเราต่อไป
นายกสมาคม คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม, คุณณรงค์ศกั ดิ์ มีวาสนาสุข, คุณวิทยา อุปริพทุ ธิพงศ์, คุณธีระ กิตติธีรพรชัย, คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณพชร จงกมานนท์, คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิ ก าร คุณสุวิทย์ มหาทรั พย์ เจริ ญ, คุณปรเมศวร์ ปรี ยานนท์ , คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์, คุณอภิเชษฐ์ เอื ้อกิจธโรปกรณ์, คุณปิ ยะวัฒน์ ปิ ยไพชยนต์, คุณธนเดช เตชะทวีกจิ เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒโิ รจน์ รองปฏิคม คุณวิสทุ ธิ์ จงพิพฒ ั น์ยง่ิ ประชาสัมพันธ์ คุณรัชฐกฤต เหตระกูล รองประชาสัมพันธ์ คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ , คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์, คุณวิชยั สกลวรารุ่งเรือง, คุณเกษม แย้ มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณอุทยั ธนสารอักษร, คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ,์ คุณสมชัย ศรีวฒ ุ ชิ าญ, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชยั กูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกลุ , คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุพนั ธุ์ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกลุ , คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, ผศ. ดร.ชวาล คูร์พพิ ฒ ั น์, ผศ.บุญเลี ้ยง แก้ วนาพันธ์, อาจารย์พชั ราภา ศักดิโ์ สภิณ, คุณวิวฒ ั น์, อุตสาหจิต, อาจารย์มยุรี ภาคล�าเจียก, ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ, ผศ.ชนัสสา นันทิวชั รินทร์ , คุณชัยวัฒน์ ศิริอา� พันธ์กลุ , ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ ว, ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ ที่ปรึกษากฎหมายพิเศษ คุณธนา เบญจาธิกลุ
บรรณาธิการ
Special Thanks
บริษทั สีทอง 555 จ�ากัด ผู้ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษทั ผลิตภัณฑ์ กระดาษไทย จ�ากัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 เอื ้อเฟื อ้ กระดาษทีใ่ ช้ พมิ พ์ Thaiprint magazine บริษทั สุนทรฟิ ล์ ม จ�ากัด โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�าเพลท โทรศัพท์ 0 2216 2760-8 บริษทั เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จ�ากัด 7008-17 2613 0 ช่วยเคลือบปกวารสาร เพิม่ คุณค่าให้ งานพิมพ์สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษทั บางกอกบายน์ ดงิ ้ จ�ากัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้ าเล่ม โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
Content
117
issue
วารสารการพิมพ์ ไทย ปี ที่ 17 ฉบับที่ 116 สมาคมการพิมพ์ ไทย เลขที่ 311,311/1 ซอยศูนย์วิจยั 4 แขวงบางกะปิ เขตห้ วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com www.thaiprint.org Thaiprint magazine ผ่ายประชาสัมพันธ์สมาคม การพิมพ์ไทยจัดท�าขึ ้น เพื่อบริ การข่าวสารและ สาระความรู้ แก่สมาชิกและบุคคลทัว่ ไปที่สนใจ ข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ ข้ อคิดเห็น และบทความต่ า งๆ ที่ ป รากฏและตี พิ ม พ์ ใ น วารสาร เป็ นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ ไทย ไม่จ�าเป็ นต้ องเห็นด้ วย เสมอไป ,ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์ รัตนคีรี วาสนา เสนาะพิณ ออกแบบกราฟฟิ ค Design Studio โทรศัพท์ 0 2880 0260 พิมพ์ ท่ ี บริ ษัท ก.การพิมพ์เทียนกวง จ�ากัด ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม 43 เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
35 Print Activity คณะกรรมการบริหารสมาคมการพิมพ์ไทย วาระ 2561-2563 Thai Print Academy หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ตเบื้องต้น รุ่นที่ 12 สถาบันการพิมพ์ไทยจัดพิธีมอบเกียรติบัตรโครงการฝึกอบรม “หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น” รุ่นที่ 11 และรุ่นที่ 12 งานแถลงข่าว Thai Print Awards 13th Quality in Print ส่งผลงานอย่างไรให้ได้รางวัล พิธีลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เป็นสถานที่ทดสอบ สมรรถนะบุคคล สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์
28 Print News สมาคมการพิมพ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปีที่ 72 และเลือกตั้งคณะกรรมการบริหาร วาระ 2561-2563 สมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2561 สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2561 SME Transform พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล “Create More Profit with Digital Label VIA Line@” By Fuji Xerox
40 Print Technoligy Smart Packaging กับการเติบโตของ Online market การเคลือบ (Coating Method) HP Indigo 6900 Flexo or Digital? ตอนที่ 3 การค�านวณต้นทุน Flexo or Digital? ตอนที่ 4 Digital Inkjet กับการใช้งานจริง
60 18 35 37 60 68 69
64 28 30 31 64 71
48 22 40 48 52 54
PRINT ACTIVITY
รายชื่อคณะกรรมการสมาคมและที่ปรึกษา 2561-2563 และรายชื่อคณะกรรมการ YPG 2561-2563
คณะกรรมการบริหาร สมาคมการพิมพ์ไทย วาระ 2561-2563 นายกสมาคมการพิมพ์ไทย
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช วิสคอมเซ็นเตอร์ บจก.
018
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
รายชื่อคณะกรรมการสมาคมและที่ปรึกษา 2561-2563 และรายชื่อคณะกรรมการ YPG 2561-2563
อุปนายกฝ่ายวิชาการ
อุปนายกฝ่ายสื่อสารองค์กร
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม
คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข
ไทยโฟโต้ แอนด์ พริ้นท์ หจก.
สนุทรฟิล์ม บจก.
PRINT ACTIVITY
อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ
อุปนายกฝ่ายพัฒนาองค์กร
อุปนายกฝ่ายสารสนเทศ
คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์
คุณธีระ กิตติธีรพรชัย
คุณนิธิ เนาวประทีป
โรงท�ำสมุดเม้งฮั้ว หจก.
จี.พี ไซเบอร์พริ้นท์ บจก.
ส�ำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ หจก.
อุปนายกฝ่ายสื่อบูรณาการ
อุปนายกฝ่ายกิจกรรมพิเศษ
คุณพชร จงกมานนท์
คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์
อุดมศึกษำ หจก.
สยำม เอ็ม แอนด์ บี พับลิชชิ่ง บจก. THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
019
PRINT ACTIVITY
รายชื่อคณะกรรมการสมาคมและที่ปรึกษา 2561-2563 และรายชื่อคณะกรรมการ YPG 2561-2563
เลขาธิการ
รองเลขาธิการสื่อสารองค์กร
รองเลขาธิการวิชาการ
คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ
คุณสุวิทย์ มหาทรัพย์เจริญ
คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์
คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) บจก.
พี รุ่งโรจน์การพิมพ์ บจก.
บี.บี การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ บจก.
รองเลขาธิการสารสนเทศ
รองเลขาธิการสื่อบูรณาการ
รองเลขาธิการต่างประเทศ
คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์
คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์
คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์
ธนางกูรการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ บจก.
เอส โอ ฟูล พริ้นติ้ง เซอร์วิส บจก.
บจ.ปิยะวัฒน์การพิมพ์
รองเลขาธิการกิจกรรมพิเศษ
เหรัญญิก
นายทะเบียน
คุณธนเดช เตชะทวีกิจ
คุณประเสริฐ หล่อยืนยง
คุณณภัทร วิวรรธนไกร
จอยปริ้นท์ บจก.
ราชาการพิมพ์ บจก.
ไซเบอร์พริ้นท์ บจก.
020
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
รายชื่อคณะกรรมการสมาคมและที่ปรึกษา 2561-2563 และรายชื่อคณะกรรมการ YPG 2561-2563
ปฏิคม
รองปฏิคม
คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์
คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง
สุพรชัย ไดคัท บจก.
ส�ำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพื่อพุทธศำสน์ บจก.
ประชาสัมพันธ์
รองประชาสัมพันธ์
คุณรัชฐกฤต เหตระกูล
คุณวริษฐา สิมะชัย
ประชุมช่ำง บจก.
ก กำรพิมพ์เทียนกวง บจก.
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
PRINT ACTIVITY
021
PRINT TECHNOLOGY
Smart packaging กับการเติบโตของ online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล
Smart Packaging กับการเติบโตของ Online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ภาพจาก https://www.pexels.com/photo/ business-close-up-commerce-computer-266176/
022
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
Smart packaging กับการเติบโตของ online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล
PRINT TECHNOLOGY
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
023
PRINT TECHNOLOGY
Smart packaging กับการเติบโตของ online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล
จากกระแสของบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ หรือ SMART PACKAGING ที่ตอนนี้ได้รับกสรพัฒนาอย่าง ต่อเนื่อง และ เป็นสิ่งที่น่าจับตามอง ไม่ใช่แค่ในผู้ประการธุรกิจขนาดใหญ่ แต่ ใ นธุ ร กิ จ ขนาดกลาง และย่ อ ย ยั ง คงมองเห็ น ประโยชน์ ความน่าสนใจ และการเข้าถึง ตัวผลิตภัณฑ์ได้ง่ายของผู้บริโภค
ซึ่งเทคโนโลยีที่น�ามาใช้นั้นมีทั้งระดับที่ง่ายไม่ต้องลงทุนสูงอย่าง QR code, RFID จนไปถึง ระดับที่มี การน�าเทคโนโลยีขั้นสูง มาใช้ร่วมกับการตรวจจับสิ่งแปลกปลอม หรือการเปลี่ยนแปลง ของตัวผลิตภัณฑ์อย่าง เซนเซอร์ตา่ งๆ แจ้งให้ผบู้ ริโภค ได้รบั ทราบ
ภาพจาก www.packagingdigest.com
024
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
Smart packaging กับการเติบโตของ online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล
PRINT TECHNOLOGY
ภาพจาก https://www.packradar.hu/tag/smart-packaging/ ดังจะเห็นอย่างในงาน Tetra Pak Index 2018 ที่มอง เห็นว่าเทคโนโลยี SMART Packaging ไม่ได้ถูกจ�ากัดอยู่ในกลุ่ม เฉพาะธุรกิจขนาดใหญ่อีกต่อไป เพราะในกลุ่มธุรกิจขนาดเล็ก อย่างร้านค้า ออนไลน์ที่กา� ลังเติบโตอย่างรวดเร็วนั้นถือว่าเป็นโอ กาสใหม่ๆ เทคโนโลยีการบรรจุภัณฑ์แบบสมาร์ท โดยใช้รหัส ดิจิทัลที่ไม่เหมือนใครจะน�าเสนอร้านขายของทั้งแบบออนไลน์ และแบบออฟไลน์ในทิศทาง ใหม่ที่น่าตื่นเต้นในช่วง 2-3 ปีถัดไป
การเลือกซื้อของจากร้านขายของออนไลน์มีการเติบโต มาก ขณะที่ร้านค้าแบบดั้งเดิมก�าลังคิดค้น ทางใหม่ ในการรวม เข้าด้วยกันเป็นช่องทางจ�าหน่ายซึง่ ผูบ้ ริโภคคาดหวังว่าจะสามารถ ซื้อได้ทุกเมื่อ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนก็ตาม ตราบใดที่ในมือพวกเขามี สมาร์ทโฟนอยู่ และบรรจุภัณฑ์จะมีบทบาทส�าคัญ ในการตอบ สนองต่ อ แนวโน้ ม ที่ ก� า ลั ง ขยายการเติ บ โตของร้ า นขายของ ออนไลน์
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
025
PRINT TECHNOLOGY
Smart packaging กับการเติบโตของ online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล
4 รูปแบบการสร้างการเติบโตของร้านขายของออนไลน์ 1. ความสะดวก เป็นตัวขับเคลื่อนหลักส�ำหรับกำรบริโภคของผู้บริโภคในรูปแบบออนไลน์เนื่องจำก ผู้บริโภคที่ใช้เวลำเริ่ม มองหำวิธีใหม่ในกำรท�ำให้ชีวิตของพวกเขำง่ำยขึ้น โอกำสที่ส�ำคัญใน ควำมสะดวกครั้งนี้ ได้แก่ กำรเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ได้ง่ำย กำรเข้ำถึงสินค้ำ และบรรจุภัณฑ์ที่สะดวกต่อ กำรใช้ง่ำยและกำรก�ำจัด 2. การสร้างความยั่งยืน กำรที่ทุกที่ทั่วโลกหันมำตะหนักถึงผลกระทบของพลำสติก และควำม ตระหนักในเศรษฐกิจแบบ วงกลมจะยังคงเติบโตต่อไป กำรรีไซเคิลจะมีควำมส�ำคัญยิ่งขึ้น ผู้บริโภค ต้องกำรทรำบว่ำเจ้ำของสินค้ำนั้นได้ “ท�ำในสิ่ง ที่ถูกต้อง” หรือไม่ ในกำรเลือกใช้วัสดุกับบรรจุภัณฑ์ 3. การปรับแต่งผลิตภัณฑ์ และกำรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค กำรด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของผู้บริโภคจะเป็นสิ่ง ส�ำคัญทีจ่ ะก�ำหนดแนวโน้นในอนำคต จะมีกำรเข้ำถึงผูบ้ ริโภคโดยตรง และบรรจุภณ ั ฑ์เองก็จะมีผลถึง 80% ในกำรเลือก ซื้อ 4. เทคโนโลยีและประสิทธิภาพการจัดส่งที่รวดเร็ว สำมำรถจัดส่งสินค้ำให้ถือมือผู้บริโภคได้ ด้วยเวลำเพียง 10 นำทีคำด ว่ำภำยในปี ค.ศ. 2025 โดยพฤติกรรมของผู้บริโภคจะเปลี่ยนไปมำกขึ้น จะเป็นกำรซื้อปริมำณที่น้อยลง แต่มีควำมถี่ใน กำรซื้อมำกยิ่งขึ้น ท�ำให้ธุรกิจด้ำนโลจิสติกส์มี ควำมส�ำคัญมำกขึ้น ห่วงโซ่อุปทำนจะยังคงได้รับกำรเปลี่ยนแปลง โดยใช้ เทคโนโลยีมำกมำย ได้แก่ กำรระบุควำมถี่วิทยุ (RFID) และหุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภำพ และกำรตรวจสอบถึงสถำนะกำร จัดส่ง ของสินค้ำได้
ภาพจาก https://www.pexels.com/photo/ working-macbook-computer-keyboard-34577/
026
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
Smart packaging กับการเติบโตของ online market อ.วรรณรัตน์ วิรัชกุล
PRINT TECHNOLOGY
บทบาทของบรรจุภัณฑ์อัจฉริยะ เทคโนโลยีการบรรจุภณ ั ฑ์ทชี่ าญฉลาดขึน้ อยูก่ บั รหัสดิจทิ ลั ทีไ่ ม่ซา�้ กันท�าให้แต่ละผลิตภัณฑ์สามารถรับตัวระบุทไี่ ม่ซา�้ ได้ รหัส เหล่านีส้ ามารถอ่านได้ โดยอุปกรณ์การสแกนข้อมูลหรือสมาร์ทโฟนธรรมดา ซึง่ เชือ่ มโยงกับข้อมูลจ�านวนมากและเปิดโอกาสให้ได้ทกุ แบบ สร้างช่องทางโต้ตอบกับผูบ้ ริโภค แต่ละรายเพือ่ ให้แบรนด์ตา่ งๆ ได้มกี ารพูดคุยกับผูบ้ ริโภคในแบบทันถ่วงที แจกแจงรายละเอียด เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ ข้อเท็จจริงทางโภชนาการ ตลอดจนเกมโปรโมชั่น และข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม ในเวลาเดียวกันด้วยข้อมูลเชิงลึกที่ บันทึกผ่านรหัสดิจทิ ลั เหล่านีแ้ บรนด์ตา่ งๆ สามารถปรับปรุง ประสบการณ์การเลือกซือ้ ได้อย่างต่อเนือ่ งและท�าให้ผบู้ ริโภคได้รบั ความ พึงพอใจมากขึ้น e-Retailers ยังสามารถจัดสินค้าในกลุ่มประเภทเดียวกันด้วยเทคโนโลยีหุ่นยนต์ที่ใช้ในคลังสินค้า และการจัดจ�าหน่ายของ พวกเขา ซึ่งเป็นกุญแจสู่ความส�าเร็จในธุรกิจอีคอมเมิร์ซ หากข้อมูลสามารถ ตรวจสอบย้อนกลับได้อย่างสมบูรณ์ จะช่วยให้พวกเขา สามารถน�าทางการขนส่งที่ซับซ้อนโดยใช้เวลา ที่น้อยลงได้
ภาพจาก www.openpr.com Alexandre Carvalho ผู้อ�านวยการฝ่ายการตลาดทั่วโลกของ Tetra Pak ได้กล่าวว่าการเพิ่มขึ้น ของร้านค้าออนไลน์เป็น โอกาสที่ดีส�าหรับแบรนด์อาหารและเครื่องดื่ม และบรรจุภัณฑ์มีบทบาท ส�าคัญในการสนับสนุนความส�าเร็จของสินค้าเหล่านี้ โดย เฉพาะอย่างยิง่ บรรจุภณ ั ฑ์อจั ฉริยะช่วย เพิม่ ความความมัน่ ใจในสินให้กบั ผูบ้ ริโภคทีส่ ามารถตรวจสอบโดยตรงและโต้ตอบกับเจ้าของ แบรนด์ หากแต่บรรจุภณ ั ฑ์ในธุรกิจขนาดเล็กนัน้ มีเงือ่ นไขในการทีผ่ ลิตจ�านวนมากเพือ่ ลดต้นทุนทางด้านราคา ซึง่ ในปัจจุบนั นัน้ ใน กลุ่มธุรกิจสิ่งพิมพ์เองก็มีการมองเห็นทิศทางที่เปลี่ยนไปของตลาดตอนนี้ ดังนั้น งานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่ดีและมีคุณภาพจะไม่ได้ถูก จ�ากัดอยู่บนแท่นพิมพ์ขนาดใหญ่อีกต่อไป ด้วยคุณภาพงานที่อยู่ในการยอมรับได้ของกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้นเครื่องพิมพ์ Ondemand จึงเป็นตัวเลือกที่ดีของกลุ่มธุรกิจขนาดเล็ก
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
027
PRINT NEWS
ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปีที่ 72 และเลือกตั้งคณะกรรมการสมาคมชุมใหม่ วาระ2561-2563
72 ปีสมาคมการพิมพ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปีที่ 72 และเลือกตั้งคณะกรรมการสมาคมชุดใหม่ วาระ2561-2563
กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ของปีในเดือนเมษายนของสมาคมการพิมพ์ไทย คืองานประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี เพือ่ แถลงผลการด�าเนิน งาน, แถลงงบดุล รายรับ-รายจ่าย และให้สมาชิกได้มีโอกาสมาพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนทัศนะ รวมถึงได้เสนอแนะกิจกรรมหรือ โครงการต่าง ๆ เมื่อค�่าคืนของวันจันทร์ที่ 30 เมษายน 2561 ณ ห้อง น�าเสนอผลการด�าเนินงานปี2560 รับรองรายงานการประชุมปีที่ เดอะวินนิ่งโพสท์ ราชกรีฑาสโมสร สมาชิกสมาคมฯ แขกผู้ใหญ่ 71 รับรองงบการเงิน แต่งตั้งผู้ตรวจสอบบัญชี และด้วยการสิ้น ในวงการพิมพ์ และผู้ให้การสนับสนุนสมาคมฯ ร่วมลงทะเบียน สุดของคณะกรรมการวาระปี2559-2561 สมาคมฯ ในปีนี้ จึงจัด รับของทีร่ ะลึก และร่วมพูดคุยทักทายสนทนากันอย่างเป็นกันเอง ให้มกี ารเลือกตัง้ คณะกรรมการบริหารวาระ 2561-2563 จ�านวน ในช่วงแรกของการประชุมวันนี้ พิธกี รผูม้ ากความสามารถ(คุณธีระ 15 ท่าน ตามกฎข้อบังคับสมาคมฯ กิตติธีรพรชัย) น�าเข้าช่วงบรรยายพิเศษ “ปรับฮวงจุ้ยให้เข้ากับ ต้องขอขอบคุณสมาชิกสมาคมฯ และผูใ้ ห้การสนับสนุน ธุรกิจ 4.0” โดยคุณสุรเมธ สัจจอิสริยวุฒิ ผู้ช�านาญการด้านวิชา สมาคมฯ ทุกท่าน หากเพียงล�าพังที่คณะกรรมการบริหารสมา โหราศาสตร์ไทย และวิชาฮวงจุย้ หยาง(อาคารบ้านเรือน) หลังจบ คมฯ คิดท�าโครงการต่าง ๆ ขึ้นมาแล้วไม่มีแรงสนับสนุนจากจาก การบรรยายพิเศษ ร่วมรับประทานอาหารเย็น ทุกฝ่าย สมาคมการพิมพ์ไทย คงไม่ยืนหยัดได้อย่างแข็งแรง และ ได้เวลาอันสมควร คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ นายก สร้างสิ่งดีงามเพื่อวงการพิมพ์ไทยมาจนถึง 64 ปีในวันนี้ สมาคมฯ กล่าวเปิดการประชุมและน�าเข้าสู่พิธีการประชุมใหญ่
028
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปีที่ 72 และเลือกตั้งคณะกรรมการสมาคมชุมใหม่ วาระ2561-2563
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
PRINT NEWS
029
PRINT NEWS
สมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ประชุมใหญ่สามัญ ประจ�าปี 2561
สมาคมการพิมพ์สกรีนไทย
ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2561 สมาคมการพิมพ์สกรีนไทยจัดการประชุมใหญ่สามัญประจ�า ปี 2561 เมื่อวันพุธที่ 25 เมษายน 2561 ณ ห้องวิมานทิพย์ โรงแรม มณเฑียร ริเวอร์ไซด์ โดยมีคุณประภาพร ณรงค์ฤทธิ์ นายกสมาคมการ พิมพ์สกรีนไทย เป็นประธานในการประชุมสามัญประจ�าปี พร้อมด้วย คณะกรรมการบริหาร ร่วมประชุมสรุปผลการด�าเนินงานในระยะเวลา 1 ปี ช่วงหลังของการประชุมมีการแสดงชุดพิเศษ Copy Show “เจน นิเฟอร์ คิ้ม” สร้างความสนุกสนานเรียกเสียงหัวเราะจากผู้เข้าร่วม ประชุม และในงานดังกล่าวคุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคม การพิมพ์ไทย คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย ทีป่ รึกษาสมาคมการพิมพ์ไทย คุณ ภาวิมาส กมลสุวรรณ เลขาธิการ เข้าร่วมประชุมใหญ่ฯ ในครั้งนี้
030
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปีที่ 72 และเลือกตั้งคณะกรรมการสมาคมชุมใหม่ วาระ2561-2563
PRINT NEWS
สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2561 สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทยจัดการประชุมใหญ่สามัญประจ�าปี 2561 เมื่อวัน ศุกร์ที่ 27 เมษายน 2561 ณ ห้องวิมานทิพย์ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ โดยมีคุณสุปรีย์ ทองเพชร นายกสมาคมการค้าวัสดุอปุ กรณ์การพิมพ์ไทย เป็นประธานในการประชุมสามัญประจ�าปี พร้อมด้วย คณะกรรมการบริหาร ร่วมประชุมสรุปผลการด�าเนินงานในระยะเวลา 1 ปี หลังจบการประชุม มี บรรยายพิเศษหัวข้อ “โลจิสติกกับการปรับตัวของผูป้ ระกอบการในยุคอุตสาหกรรม 40” โดยคุณโย จิ ฮามานิชิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสซีจี ยามาโตะ เอ็กซ์เพรส มาให้ความรู้ความเข้าใจธุรกิจ การขนส่ง ช่วงสุดท้ายของงาน ผู้จัดงานมีมอบของที่ระลึกให้กับตัวแทนสมาคมต่าง ๆ งานในครั้งนี้ คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วมประชุมใหญ่ฯ ด้วย
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
031
หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ตเบื้องต้น รุ่นที่ 12 Thai Print Academy
PRINT ACTIVITY
หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ตเบื้องต้น รุ่นที่ 12 หลั ก สู ต รการพิ ม พ์ อ อฟเซ็ ต เบื้ อ งต้ น เป็ น โครงการ หลักสูตรเกียรติบัตร มีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนาความรู้ด้าน เทคนิค และการผลิต ตลอดจนกระบวนการฝึกทักษะในองค์กร เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบถึงหลักทฤษฎี และขั้นตอนการปฏิบัติงาน ทีเ่ กีย่ วข้องกับกระบวนการพิมพ์อนั หลากหลาย รวมถึงหมึก และ น�้ายาเคมีต่าง ๆ เป็นต้น เตรียมรับมือกับปัญหาทางด้านเทคนิค ต่าง ๆ รวมถึงได้เรียนรู้วิธีการผลิตตลอดจนปัจจัยส�าคัญที่ส่งผล ต่อคุณภาพของงานพิมพ์และได้ฝกึ ฝนจากกระบวนการท�างานจริง ที่เกี่ยวกับการใช้เครื่องมืออีกด้วย
สถาบันการพิมพ์ไทยได้เปิดอบรมหลักสูตรการพิมพ์ ออฟเซ็ตเบื้องต้น ในปี 2561 ในปีนี้เป็นการเปิดอบรมรุ่นที่ 12 โดยโครงการนีเ้ ปิดเรียนไปแล้วเมือ่ วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 และ สิน้ สุดในวันที่ 21 เมษายน 2561 ใช้เวลาเรียนวันเสาร์ เวลา 9.3016.30 น. ณ Thai Print Academy ซึง่ ตัง้ อยูท่ นี่ คิ มอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจัณฑ์สินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ช่วงเวลาการเรียน จะแบ่งเป็นช่วงเช้าภาคทฤษฎี ช่วง บ่ายภาคปฏิบตั ิ การสอนทฤษฎีชว่ งเช้านีอ้ าจารย์ผสู้ อนเปิดโอกาส ให้นกั เรียนสอบถามข้อสงสัยได้ตลอดเวลา และเนือ่ งด้วยนักเรียน ที่มาเรียนนั้น ต่างก็มีความเชียวชาญในด้านต่าง ๆ อย่างเช่น บริษัทขายหมึกก็จะมีความรู้เรื่องหมึกและสามารถแลกเปลี่ยน ความรู้กันกับนักเรียนที่อยู่สายโรงพิมพ์ รวมถึงนักเรียนที่มาจาก สายธุรกิจกระดาษ นักเรียนที่มาเรียนจะได้รับความรู้ที่หลาก หลายสามารถน�าไปใช้งานในได้จริง หลังจากจบการบรรยายแล้ว อาจารย์ผู้สอนจะท�าการทดสอบ โดยมีข้อสอบให้นักเรียนท�าทุก ครัง้ หลังจากท�าการสอนจบ เพือ่ ประเมินนักเรียนว่ามีความรูค้ วาม เข้าใจมากหรือน้อย หลังจากเฉลยข้อสอบแล้ว อาจารย์จะพา นักเรียนลงไปทีเ่ ครือ่ งพิมพ์เพือ่ เตรียมความพร้อมของอุปกรณ์ตา่ ง ๆ หลังจากเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว จะให้พัก รับประทานอาหารกลางวันซึ่งทางสถาบันจัดเตรียมไว้ให้กับ นักเรียนทุกท่าน ในการเรียนภาคปฏิบัติช่วงบ่าย อาจารย์ผู้ ช�านาญการคอยดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อสอนขั้นตอนตั้งแต่การตั้ง เครื่องพิมพ์ ท�าเพลท ฯลฯ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
035
PRINT ACTIVITY
หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ตเบื้องต้น รุ่นที่ 12 Thai Print Academy
หัวข้อการฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซ็ตเบื้องต้นมีดังนี้ เครือ่ งพิมพ์ทใี่ ช้สอนภายในสถาบันการพิมพ์ไทย ประกอบด้วย 1. เครือ่ งพิมพ์ออฟเซ็ต และความปลอดภัยในการท�างาน 1. เครือ่ ง CPT หรือคอมพิวเตอร์ทเู พลท รุน่ Magnus 800 กับเครื่องพิมพ์ Platesetter 2. ความรู้เกี่ยวกับระบบการพิมพ์ออฟเซ็ต 2. เครื่องพิมพ์ MOS ไฮเดลเบิร์กสีเดียว จ�านวน 4 เครื่อง 3. กระดาษ 3. เครื่องพิมพ์ GTO ไฮเดลเบิร์กสีเดียว จ�านวน 4 เครื่อง 4. หมึกพิมพ์ออฟเซ็ต 4. เครื่องพิมพิมติ ซูบิชิ 4 สี รุ่น Dimond 300 L 5. น�้ายาฟาวน์เทน 5. เครื่องไสกาว Muller Martini รุ่น Amigo-Plus 4 หัว 6. แม่พิมพ์ระบบออฟเซ็ต และผ้ายางออฟเซ็ต 6. เครื่องเย็บมุงหลังคา พร้อมเครื่องตัด 3 ด้าน Muller 7. ระบบท�าความชื้น Martini รุ่น Valore 8. ระบบหมึก 7. เครื่องตัด Polar จ�านวน 1 เครื่อง 9. การรองหนุน 10. การบ�ารุงรักษาเครื่องพิมพ์ออฟเซ็ต ในรุ ่ น นี้ ผู ้ ป ระกอบการโรงพิ ม พ์ เจ้ า ของกิ จ การที่ เกีย่ วข้อง ต่างยังเชือ่ มัน่ ถึงประโยชน์ทไี่ ด้รบั จึงมีการส่งบุตรหลาน และพนักงานเข้าฝึกอบรม ครบจ�านวนตามเป้าหมายของการเปิด เรียน -www.thaiprint.org-
036
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
สถาบันการพิมพ์ไทยจัดพิธีมอบเกียรติบัตร โครงการฝึกอบรม “หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น” รุ่นที่ 11 และรุ่นที่ 12
PRINT ACTIVITY
สถาบั น การพิ ม พ์ ไ ทย จัดพิธีมอบเกียรติบัตรโครงการฝึกอบรม “หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น” รุ่นที่ 11 และรุ่นที่ 12
เมือ่ วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม 2561 เวลา 17.00 น. ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 สถาบันการพิมพ์ไทยจัดพิธีมอบเกียรติบัตร โครงการฝึกอบรม “หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น” รุ่นที่ 11 และรุ่นที่ 12 โดยมีนักเรียนจบหลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ตทั้ง 2 รุ่น จ�านวน ทั้งหมด 28 ท่าน รายชื่อดังนี้
หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น รุ่นที่ 11 ล�ำดับ
ชื่อ - นำมสกุล
1
คุณเอกสันต์ สุวรรณบุรี
2
บริษัท คอมฟอร์ม บจก.
หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น รุ่นที่ 12 ล�ำดับ
ชื่อ - นำมสกุล
บริษัท
1
คุณอริสา มุสิเกิด
คุณกรภัทธิญา ธรวงศ์ธวัช ไฟว์ แอนด์ โฟร์ พริ้นติ้ง บจก.
2
คุณณัฐนนท์ นาคประดิษฐ์ ซี. อิลเลียส (ไทยแลนด์) บจก.
3
คุณขจรพงษ์ ปัญญาพริ้ง
ฝาจีบ บจก.
3
คุณดวงใจ ร�าพรรณ
ซี. อิลเลียส (ไทยแลนด์) บจก.
4
คุณธีรพล พรหมพิทักษ์
บางกอกโรลเลอร์ บจก.
4
คุณวงศกร วงวรเทพกุล
ซี. อิลเลียส (ไทยแลนด์) บจก.
5
คุณปัญญ์ปภพ งามสิมะ
5
คุณนเรศ ลาภธนไพบูลย์
ไทยประสานการพิมพ์ หจก.
6
คุณมณีรัตน์ สุรศักดิ์ก�าจร
เอ็ม.ดี.แมชชีนเนอรี่ แอนด์ ซัพพลาย บจก.
6
คุณธนะชัย คงไทยเสรีกุล
เนชั่นไวด์ บจก.
7
คุณวสุ ต้นติสุนทร
บางเลน เปเปอร์ มิลล์ บจก.
7
คุณกานต์ ฉายสุริยะกุล
บี.เอส.พี.เอ บจก.
8
คุณวีรภัทร ศิริกูลธร
พูนทรัพย์แคน บจก.
8
คุณจิดาภา วงศ์สินธุ์เชาว์
บี.เอส.พี.เอ บจก.
9
คุณศิรสิทธิ์ หอวิจิตร
ไซเบอร์ เอสเอ็ม ไทย บจก.
9
คุณธนภัทร อู่สินทรัพย์
พรทรัพย์การพิมพ์ บจก.
10
คุณสมิทธิ์ ปานะภาค
เอส.พี.เอส.อิง๊ (ไทยแลนด์) บจก.
10
คุณเกษม ว่องพิชิตกุล
รอยัลเพรส แอนด์ แพค บจก.
11
คุณอรรถกฤษณ์ ศรีทองกูร พูนทรัพย์แคน บจก.
11
คุณปุณยนุช มณีกาศ
หลักพิมพ์ บจก.
12
คุณอาภรณ์ อภินพไพบูลย์ ท.ไพบูลย์ บจก.
12
คุณสุภกิจ ศิริพรพิริยะ
หลักพิมพ์ บจก.
13
คุณอิศรารัตน์ ชาติรัมย์
13
คุณอธิรัชต์ วิบูลย์ศิริวงศ์
เอส.พี.เอส อิ๊ง บจก.
14
คุณบ่วงมโน มโนมัยพิบูลย์
15
คุณรุ่งโรจน์ ตระการวิจิตร
พูนทรัพย์แคน บจก.
กระบี่การพิมพ์ บจก.
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
037
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
039
PRINT TECHNOLOGY
การเคลือบ (Coating Method)
การเคลื อ บ (Coating Method) 040
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
การเคลือบ (Coating Method)
ปัจจุบันการพิมพ์งานด้วยระบบการพิมพ์ต่างๆ อาทิ ออฟเซ็ต กราเวียร์ เฟล็กโซกราฟี สกรีน หรือ ฯลฯซึ่งหลังจาก พิ ม พ์ แ ล้ ว นอกจากจะถู ก ส่ ง ไปพั บ ตั ด เจี ย นแล้ ว ยั ง มี อี ก กระบวนการหนึ่งที่ได้รับความนิยมคือการเคลือบ การเคลือบคือ การท�าให้ผวิ หน้าของชิน้ งานมีความแตกต่างไปจากเดิม เช่น จาก เดิมทีไ่ ม่เงาก็ดเู งา จากทีด่ ธู รรมดาทุกส่วนก็ทา� ให้เกิดความเด่นใน บางส่วน หรือการเคลือบเพื่อต้องการคุณสมบัติพิเศษๆ ซึ่งการ เคลือบบนงานพิมพ์ถ้าแบ่งออกตามคุณลักษณะของสิ่งที่น�ามา เคลือบสามารถแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ สิ่งที่น�ามาเคลือบเป็นสาร เคมีหรือของเหลว (aqueous coating) ก็จะเรียกว่าเป็นการ ปรับปรุงผิวหน้าแบบการเคลือบ (coating) แต่ถ้าสิ่งที่น�ามา เคลือบเป็นฟิล์มหรือแผ่นของแข็ง ใช้การยึดติดแบบกาวในตัว (sticker) หรือใช้กาวภายนอกแบบร้อนหรือเย็น (hot/cold laminate) ก็จะเรียกว่าเป็นการปรับปรุงผิวหน้าแบบการเคลือบ
PRINT TECHNOLOGY
แบบประกบติด (laminating) ซึ่งจะเป็นกระบวนการไหนก็แล้ว แต่สิ่งที่เราน�าเมื่อใช้เมื่อแห้งตัวแล้วจะเป็นแผ่นฟิล์มติดอยู่บนผิว หน้าของขิ้นงาน แต่ในวงการมักจะเรียกตามความเคยชินว่า เป็นการเคลือบ ซึ่งการเคลือบชิ้นงานด้วยสารเคลือบชนิดเหลวเมื่อ เคลือบสารแล้วได้คุณสมบัติต่างๆ มักจะเรียกการเคลือบตาม ลักษณะของผิวหน้างานเคลือบ เช่น เคลือบนวล (soft touch) เป็นการเคลือบที่เน้นให้ผิวหน้าชิ้นงานสร้างความนุ่มเนื้อบนชั้น สารเคลือบ เพื่อส่งผลให้ช้ินงานดูนุ่มนวลกว่าที่การเคลือบที่ให้ ความมันวาวสูง หรือ เคลือบแบบซาติน (satin) เป็นการเคลือบ เพือ่ ให้ชนั้ สารเคลือบเมือ่ แห้งตัวแล้วหลอกสายตาเคลือบว่ามีแสง หักเหและสะท้อนสูต่ าผูม้ อง ให้คา่ ความเงาอยูร่ ะหว่างการเคลือบ ด้านและเคลือบเงา
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
041
PRINT TECHNOLOGY
การเคลือบ (Coating Method)
การเคลือบแบบ soft touch ที่มา http://www.monarchcolor.com/print-coatings/
การเคลือบแบบ satin ที่มา https://www.primoprint.com/gallery/tag/satin-aq-coating การเคลือบวอเตอร์เบส (water based coating) เป็นการเคลือบผิวงานให้เกิดความเงาด้วยวานิชที่มีน�้าเป็นตัวท�า ละลาย เป็นการเคลือบที่จ�ากัดเฉพาะงานที่ผิวหน้าเป็นกระดาษ เพราะตัวท�าละลายจะแห้งตัวและระเหยออกไปเหลือแต่ตวั เรซิน ที่ยึดเกาะกับผิวหน้าโครงสร้างของกระดาษ และบางส่วนจมลง ไปในเนื้อกระดาษดูลักษณะการสะท้อนแสงบนผิวหน้างานไม่ สม�่าเสมอกันแต่จะให้ความเงาดูเป็นธรรมชาติ รวมทั้งเป็นการ เคลือบผิวกระดาษเพื่อปัองกันการขัดถูและเสียดสีได้อีกด้วย การเคลือบส่วนใหญ่วัตถุประสงค์คือต้องการความ สามารถในการปกป้องและการเปลี่ยนแปลงค่าความเงา โดยค่า ความเงาจะมากหรือน้อยขึน้ กับความสามารถในการสะท้อนแสง ที่มาตกกระทบ ถ้าเป็นชิ้นงานที่ไม่ผ่านการเคลือบส่งผลให้การ
042
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
สะท้อนแสงต�า่ ทิศทางเดินของแสงไม่เป็นระเบียบและแน่นอนส่ง ผลให้ค่าความเงาต�่า ส่วนการเคลือบด้าน (matt-coated) คือ การเคลือบแล้วท�าให้ผิวหน้ามีค่าความเรียบเพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบ เทียบกับชิ้นงานที่ไม่เคลือบ แต่ก็ยังมีบางส่วนของผิวหน้าชั้น เคลือบที่ไม่เรียบมีค่าความขรุขระก็ส่งผลให้แสงเกิดการกระเจิง และสะท้อนบางส่วนมาใส่ตาในรูปแบบที่ไม่มีทิศทาง เราจึงมอง เห็นชิ้นงานด้านๆ คล้ายกระจกฝ้าค่าความเงาต�่า แต่ถ้าผ่าน เคลือบเงา (matt-coated) จะส่งผลท�าให้ผวิ หน้ามีความเรียบสูง มุมตกกระทบของแสงสะท้อนเป็นมุมเดียวกันหรือสะท้อนทิศทาง แสงไปในแนวทิศทางเดียวกันกันเข้าสู่ตาคล้ายกับกระจกเงา เรา ก็จะเห็นว่าชิ้นงานมีค่าความเงาสูง
การเคลือบ (Coating Method)
PRINT TECHNOLOGY
การเคลือบวานิชยูวี (glossy UV coating) เป็นการ เคลือบชิ้นงานด้วยสารเคลือบที่แห้งตัวด้วยแสงอุลตร้าไวโอเล็ต ให้ความเงางาม และคุณสมบัตพิ เิ ศษกับงานพิมพ์ นิยมเคลือบบน ปกนิตยสาร ฉลาก โบว์ชัวร์ คู่มืออาหาร ข้อดีของการเคลือบสาร ประเภทนี้คือสามารถเคลือบลงบนวัสดุได้หลากหลาย เคลือบลง บนวัสดุที่ไม่มีรูพรุนหรือมีการดูดซึมได้ เพราะใช้หลักการแห้งตัว ของสารเคลือบให้ตัวโครงสร้างโมเลกุลเป็นตัวยึดกับผิวหน้าของ ชิน้ งาน แต่ขอ้ จ�ากัดของการเคลือบยูวคี อื ถ้ามีการน�าไปใช้งานทาง ด้านบรรจุภณ ั ฑ์แล้วมีการเคลือบเต็มแผ่นแล้วจะไม่สามารถพิมพ์ หรือติดกาวได้ ต้องมีการเผือ่ เว้นพืน้ ทีด่ งั กล่าวไว้ตดิ การหรือพิมพ์ วันหมดอายุ เคลือบเงาเฉพาะจุด (Spot UV coating) เป็นการ เคลือบชิ้นงานด้วยสารเคลือบที่แห้งตัวด้วยแสงอุลตร้าไวโอเล็ต เมือ่ แห้งตัวแล้วจะสะท้อนแสงได้มากขึน้ แต่เป็นการเคลือบเฉพาะ
ชนิดของกระดาษและงานหลังพิมพ์ ที่มา https://www.csun.edu/ Printing/PaperFinishes.html การเคลือบวานิชเงา (glossy coating) เป็นการเคลือบ ผิวกระดาษเพือ่ ปัองกันการขัดถูและเสียดสีรวมทัง้ ให้เกิดความเงา เพราะตัววานิชทีใช้ไปเพิ่มค่าการสะท้อนแสงที่มาตกกระทบบน ชิ้นงาน เกิดการสะท้อนแสงใส่ตาเวลามองมากขึ้น ค่าความเงาก็ มากขึน้ กว่าเดิม แต่กย็ งั จัดเป็นการเคลือบทีใ่ ห้ความเงาไม่สงู มาก การเคลือบวานิชด้าน (matt coating) เป็นการเคลือบ ผิ ว กระดาษเพื่ อ ปั อ งกั น การขั ด ถู แ ละเสี ย ดสี ด ้ ว ยวานิ ช ที่ มี คุณสมบัตแิ ห้งตัวแล้วลดการสะท้อนแสงทีต่ กกระทบบนงานพิมพ์ ท� า ให้ เ กิ ด ความเงาลดลง แต่ ใ นปั จ จุ บั น งานบรรจุ ภั ณ ฑ์ บ าง ประเภทใช้การเคลือบรูปแบบนี้เพื่อให้ดูชิ้นงานดูราคาแพงขึ้น การเคลือบวานิชพร้อมกับการขัดเงา (glossy and calendaring coating) เป็นการเคลือบงานด้วยวานิชพร้อมกับ การน�าไปขัดเงาด้วยลูกกลิ้งทั้งแบบที่มีความร้อนและไม่มีความ ร้อน เพื่อให้ตัววานิชที่เคลือบเกิดการประสานตัวกันและผิวหน้า มีความเรียบตัวเพิม่ มากขึน้ ส่งผลให้คณ ุ สมบัตใิ นการสะท้อนแสง เพิม่ มากขึน้ เกิดความเงาสูง งานประเภทกล่องบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร ยาและเครื่ อ งส� า อางค์ นิ ย มเคลื อ บแบบขั ด เงาแบบนี้ เ พราะ ต้องการให้ตัวบรรจุภัณฑ์ดูเด่น มองเห็นแล้วสะดุดตา
ชิ้นงานกระดาษที่ผ่านการเคลือบสาร ที่มา https://www.mgxcopy.com/blog/ san-diego-printing/2012/04/12/ paper-finishing-the-difference-betweenuncoated-gloss-and-matte/ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
043
PRINT TECHNOLOGY
การเคลือบ (Coating Method)
จุดทีต่ อ้ งการ ไม่ได้เคลือบเต็มแผ่น วิธกี ารเคลือบจะถ่ายทอดสาร เคลือบผ่านแม่พิมพ์ เช่น ระบบสกรีน ระบบออฟเซ็ต หรือระบบ อืน่ ๆ ซึง่ นิยมใช้กบั งานทีต่ อ้ งการเน้นความเงาให้บางบริเวณของ ชิน้ งาน เช่นโลโก้ ตัวอักษร ในบางครัง้ จะใช้ควบคูก่ บั ชิน้ งานทีผ่ า่ น การลามิเนตกับแผ่นฟิลม์ ด้านเพราะจะดูเด่นมากยิง่ ขึน้ อีกทัง้ สาร เคลือบทีแ่ ห้งตัวด้วยแสงอุลตร้าไวโอเล็ต สามารถยึดเกาะบนวัสดุ
พีวซี ไี ด้ นอกจากการเคลือบเฉพาะจุดแบบเพิม่ ความเงา ยังมีการ เคลือบเฉพาะจุดทีส่ ารเคลือบทีใ่ ช้มกี ารปรับปรุงหรือเติมวัสดุอนื่ ๆ เข้าไป เช่น เคลือบด้านเฉพาะจุด ผสมผงทรายเพื่อเคลือบทราย เฉพาะจุด ผสมผงการเพชรเพื่อเคลือบกากเพชรเฉพาะจุด ผสม ผงเหลือบมุกเพื่อเคลือบมุกเฉพาะจุด หรือการเคลือบเฉพาะจุด พร้อมกับใช้เทคนิคการดุนนูนเข้าไปผสม
งานหลังพิมพ์ที่เคลือบยูวีเฉพาะจุดบวกเทคนิคการดุนนูน (embossing) ที่มา Printing and Packaging Terms to Know, Part 2: Coatings and Varnishes เคลือบพีวีซีด้าน (matt PVC film laminating) เป็นการเคลือบที่เหมือนการเคลือบพีวีซีเงาแต่จะใช้ฟิล์มพีวีซีที่มี ความเงาต�า่ ผิวด้านหน้าของผิวฟิลม์ มีความขรุขระหรือในตัวเนือ้ ฟิลม์ พีวซี ขี ดั ขวางทางเดินแสง แสงส่องผ่านได้ไม่ดเี ป็นฝ้า แต่เมือ่ น�าไปประกบติดกับชิ้นงานแล้วยังสามารถมองผ่านทะลุถึงภาพ พิมพ์ได้ ให้ผลลัพธ์ชิ้นงานมีค่าความเงาลดลงนิยมใช้ในปัจจุบัน
เพื่อให้ชิ้นงานดูดี ดูแพง และในบางครั้งยังน�าไปเคลือบเงาแบบ เฉพาะจุด (Spot UV coating) เพื่อให้งานดูมีมิติเพิ่มมากขึ้น เพราะจะโชว์ส่วนใหนก็จะเน้นท�าให้เงาดูเด่น ส่วนใหนอยากให้ เป็นองค์ประกอบก็ท�าให้ด้านๆ ดูแสงดรอปลงช่วยให้สิ่งที่เน้นดู ชัดมากขึ้น
การเปรียบเทียบการเคลือบพีวีซีเงาและพีวีซีด้าน ที่มา China Good Quality Pouch Laminating Film Supplier
044
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
การเคลือบ (Coating Method) การเคลือบพีวีซีเงา (gloss PVC film laminating) เป็นการเคลือบที่ไม่ใช่สารเคลือบเหลวแต่เป็นการเคลือบผิวชิ้น งานด้วยแผ่นฟิลม์ พีวซี ที มี่ คี วามหนาและคุณสมบัตทิ ตี่ า่ งกันๆ แต่ ส่วยใหญ่เลือกใช้แผ่นฟิลม์ ทีม่ คี วามมันวาว เป็นการยึดติดชิน้ งาน พิมพ์ในรูปแบบการลามิเนตซึ่งจะท�าให้งานที่ผ่านการประกบติด ฟิลม์ มีคณ ุ สมบัตเิ ด่นในเรือ่ งความคงทน ความเรียบและความเงา มากกว่าการเคลือบแบบสารเคลือบเหลวประเภทอื่นแต่มีข้อเสีย ในเรื่องต้นทุนจะสูงกว่า เคลือบโอพีพี (OPP film laminating) เป็นการเคลือบ ชิ้นงานด้วยแผ่นฟิล์มโอพีพี มีการประยุกต์ใช้แทนฟิล์มพีวีซี เนือ่ งจาก วัสดุพวี ซี มี กี ารยืดหดตัวได้งา่ ย และมีขอ้ ห้ามกับการน�า ไปใช้กับผลิตภัณฑ์ที่สัมผัสกับอาหาร จึงเปลี่ยนมาใช้ ฟิล์มโอพีพี มาผ่านการทาการที่แห้งด้วยความร้อนแล้วน�าไปประกบติดกับ ชิ้นงาน เช่น ถ้าน�าไปประกบติดกับกระดาษก็ท�าให้กระดาษมี ความเหนียว แข็งแรงเพิ่มมากขึ้น และยังสามารถป้องกันน�้าได้ โดยฟิล์มโอพีพีจะมีทั้งแบบผิวมันวาว (glossy) และผิวด้าน (matt) โดยจุดเด่นของฟิล์มโอพีพีคือจะเรียบและให้ค่าความเงา สูงกว่าการเคลือบวานิชยูวี จึงเหมาะกับงานที่ต้องการความ ทนทานมากขึ้นแต่จะมีต้นทุนในการผลิตที่สูงกว่า เคลือบเพือ่ คุณสมบัตดิ า้ นกันลืน่ เป็นการเคลือบผิวหน้า ด้วยสารเคลือบเหลวทีผ่ สมผงเพิม่ ความเสียดทาน นิยมใช้กบั งาน พิมพ์ที่เวลาพิมพ์แล้ววางตั้งซ้อนกันสูงๆ หรือน�าไปบรรจุสินค้า
PRINT TECHNOLOGY
แล้วป้องกันการลื่นไถล โดยคุณสมบัติของสารเคลือบชนิดนี้เมื่อ แห้งตัวแล้วจะท�าให้พนื้ ทีผ่ วิ สัมผัสเพิม่ มากขึน้ จะส่งผลให้ผวิ หน้า ของชิน้ งานมีคา่ สัมประสิทธิแ์ รงเสียดทานหรือค่า coefficient of friction (COF) เพิ่มมากขึ้น ซึ่งผงหรือสารที่เติมลงไปในสาร เคลือบมักเป็นผงแร่ทมี่ อี นุภาคขนาดเล็ก เช่น ผงหินปูน (CaCo3) ผงแก้วซิลิการ (Si) และในปัจจุบันตัวเรซินที่น�ามาผลิตเป็นสาร เคลือบทีต่ อ้ งการคุณสมบัตกิ นั ลืน่ ก็มกี ารพัฒนาสูตรทีเ่ มือ่ แห้งตัว ผิวแล้วผิวหน้าจะฟอร์มตัวเป็นแผ่นฟิลม์ ทีม่ คี วามขรุขระช่วยเพิม่ แรงเสียดทานได้เพิ่มขึ้น จากวิธีการเคลือบแบบต่างๆ ที่นิยมใช้ยังมีวิวัฒนาการ เคลือบที่สร้างความแตกต่างให้กับชิ้นงานหรือต้องการใช้งาน พิเศษ เช่นมีการใช้ผงมีการผสมหัวเชื้อน�้าหอมเพื่อเคลือบกลิ่น น�้าหอม หรือผสมหมึกพิมพ์หรือสารเรืองแสงเพื่อให้เกิดการเรือง แสงในบริเวณที่ต้องการ หรือการใช้สารที่ท�าปฏิกริริยากับก๊าซที่ ปลดปล่อยออกมาจากสิง่ ทีบ่ รรจุเพือ่ ท�าหน้าทีเ่ ป็นตัววัดความสด ความสุก หรือวัดเพื่อแสดงผลการเสื่อมสลาย การหมดอายุของ ผลิตภัณฑ์ เช่นฉลากวัดความสดของเนื้อสัตว์ เป็นเทคนิคการ ตรวจจับก๊าซที่เนื้อสัตว์ปลดปล่อยออกมาท�าปฏิกิริยากับหมึก พิมพ์หรือสารเคลือบบนฉลากแล้วเปลี่ยนสีจนไปบดบังรหัสแท่ง (barcode) จนท�าให้เครือ่ งไม่สามารถอ่านสัญลักษณ์รหัสแท่งบน ฉลากได้
ฉลากวัดความสดของผลิตภัณฑ์เนื้อ โดยใช้การตรวจจับก๊าซแอมโมเนียที่ปลดปล่อยออกมาจากเนื้อสัตว์ ที่มา http://www.yankodesign.com/2008/12/11/the-freshness-of-labels/ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
045
PRINT NEWS
บริษัท KURZ (Thailand) Ltd. ได้รับการรับรอง มาตรฐานการบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015 จากบริษัท TÜV NORD (Thailand) Ltd.
บริษัท KURZ (Thailand) Ltd. ได้รับการรับรอง มาตรฐานการบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015
บริษัท KURZ (Thailand) Ltd. ได้รับการรับรอง มาตรฐานการบริหารงานคุณภาพ ISO 9001:2015 จากบริษัท TÜV NORD (Thailand) Ltd. เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 หลังจากที่ได้เปิดด�าเนินกิจการมาเพียงแค่ 3 ปี 5 เดือน เท่านั้น โดยเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมา ได้มีพิธีรับมอบใบรับรองฯอย่างเป็นทางการกันที่ บริษัท TÜV NORD (Thailand) Ltd. โดยคุณพิทักษ์ สุภนันทการ กรรมผู้จัดการของ TÜV NORD ได้ให้เกียรติเป็นผู้มอบใบรับรองฯนี้ด้วยตัวท่านเอง ส�าหรับนโนบายคุณภาพของ KURZ (Thailand) Ltd. นั้นคือ บริษัท เคิร์ซ (ประเทศไทย) จ�ากัด มุ่งมั่นในการจัดจ�าหน่ายและส่งมอบ Hot Stamping Foil และผลิตภัณฑ์ เกี่ยวกับ Coating Technology ให้กับลูกค้า โดยน�าเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อการส่งมอบสินค้าด้วยความรวดเร็ว ตรง ต่อเวลา และมุ่งมั่นสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าในทุกระดับ อีกทั้งมีการพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งมีระบบตรวจสอบ ความโปร่งใสในการท�างานของบริษัทฯ ที่มีประสิทธิภาพและแม่นย�า KURZ (Thailand) Ltd. เป็น สาขาที่ 24 ของบริษัท LEONHARD KURZ Stiftung & Co. KG หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ KURZ ผู้ผลิตฟอยล์ฮอตแสตมป์ฟอยล์คุณภาพระดับโลก จากประเทศเยอรมนี ด้วยแนวทางการด�าเนินธุรกิจที่มุ่งเน้นมาตรฐานด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการบริการ และได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2015 ดังที่กล่าวมาข้างต้น บริษัท KURZ (Thailand) Ltd. มีความพร้อมอย่างที่สุดแล้วที่จะส่งมอบสินค้าและบริการให้ กับลูกค้าทั่วประเทศ และก้าวเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทยอย่างมั่นคงต่อไป…
046
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
PRINT TECHNOLOGY
เอชพี เปิดพอร์ทเครื่องพิมพ์ฉลาก และบรรจุภัณฑ์ ระบบดิจิทัล รุ่นใหม่ ทันสมัยที่สุดในโลก เร่งเพิ่มฐานตลาดลูกค้าดิจิทัลพรินติ้ง
เอชพี เปิดพอร์ทเครื่องพิมพ์ฉลาก และบรรจุภัณฑ์ ระบบดิจิทัล รุ่นใหม่ ทันสมัยที่สุดในโลก เร่งเพิ่มฐานตลาดลูกค้าดิจิทัลพรินติ้ง • เปิดตัว HP Indigo 6900 ที่แรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เครื่องพิมพ์ฉลากระบบดิจิทัล ทันสมัย ที่สุดในโลก มาพร้อมโซลูชันการพิมพ์ขั้นสูง เทคนิคการพิมพ์ชนิดพิเศษ ElectroInk Silver และ Digital Front End เทคโนโลยีล่าสุดจากเอชพีที่ท�าให้คุณเป็นผู้น�าในวงการพิมพ์ • เผยโฉมนวัตกรรมล่าสุด HP Indigo Pack Ready Lamination ส�าหรับงานบรรจุภัณฑ์แบบซอง เพื่อการผลิตที่รวดเร็วสูงสุดในตลาด สามารถติดฉลากสินค้าลงบนบรรจุภัณฑ์ได้ทันทีพร้อม ขั้นตอนการบรรจุ ที่ส�าคัญปลอดภัยกับผู้บริโภค เอชพี อิงค์ ประเทศไทย, พฤษภาคม 2018 เอชพี ขยายพอร์ท ผลิตภัณฑ์กลุม่ เครือ่ งพิมพ์ฉลากและบรรจุภณ ั ฑ์ ด้วยโซลูชนั ทีช่ ว่ ยขับเคลือ่ น และปฏิรูประบบการพิมพ์ดิจิทัลในทุกแอพพลิเคชั่นส์ ที่เพิ่มความยืดหยุ่น เพิ่มสมรรถภาพ และสร้างผลก�าไร โซลูช่ันส์ใหม่ๆ รวมอยู่ในเครื่องพิมพ์ HP Indigo 6900 Digital Press ส�าหรับการพิมพ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์ “ลูกค้าของเราในเมืองไทยเติบโตอย่างรวดเร็วในทุกกลุ่มและ ประสบความส� า เร็ จ อย่ า งมาก พวกเขาใช้ เ ทคโนโลยี ข องเอชพี ในการ สร้างสรรค์นวัตกรรมและตอบสนองต่อความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของ แบรนด์” ปวิณ วรพฤกษ์ กรรมการผู้จัดการ เอชพี ประเทศไทย กล่าว “เทคโนโลยีใหม่จากเครื่องพิมพ์ HP Indigo 6900 ที่เราเปิดตัวในวันนี้ จ� า เป็ น มากขึ้ น กว่ า เดิ ม และจะช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า ของเราผลิ ต งานได้ อ ย่ า ง มีประสิทธิภาพมากขึ้นในขณะที่ผู้ให้บริการสิ่งพิมพ์สามารถช่วยสร้าง ความแตกต่างดึงดูดความสนใจ และสร้างความพอใจให้กบั ลูกค้าได้สงู สุด” นวัตกรรมสร้างผลก�าไรเพิ่มขึ้นจากการผลิตด้วยระบบดิจิทัล HP Indigo 6900 Digital Press รุน่ ใหม่ชว่ ยขยายตลาดการพิมพ์ ฉลากพร้อมเพิม่ ก�าไรต่อการพิมพ์ ด้วยคุณสมบัตลิ า่ สุดดังนี้ • โซลูชนั่ Pack Ready ช่วยเพิม่ คุณลักษณะความคงทนของงาน พิมพ์ในสภาวะต่างกัน 4 แบบ ทนความร้อนและความเย็น, ทนน�้ามันรูปแบบต่างๆ, ทนสารละลายหรือสารหอมละเหย และทนทานต่อการขัดถู ใช้สา� หรับผลิตภัณฑ์อาหาร, ผลิตภัณฑ์ ในครัวเรือน, เคมีภณ ั ฑ์และฉลากยา ปัจจุบนั ได้ใช้กบั ผลิตภัณฑ์ จริงในตลาด จากกลุ่มทดสอบทั้ง 4 กลุ่ม • HP Indigo ElectroInk Silver สีเงินรุน่ ใหม่มวี างจ�าหน่ายแล้ว ให้สเี มทัลลิกทีใ่ กล้เคียงกับความกว้างของช่วงสีบนจอแสดงผล
048
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
เอชพี เปิดพอร์ทเครื่องพิมพ์ฉลาก และบรรจุภัณฑ์ ระบบดิจิทัล รุ่นใหม่ ทันสมัยที่สุดในโลก เร่งเพิ่มฐานตลาดลูกค้าดิจิทัลพรินติ้ง
PRINT TECHNOLOGY
และมีความใกล้เคียงกับ Pantone 877 หมึกพิมพ์พิเศษให้ความ สวยงามหรูหรา สูงสุด • HP Indigo ElectroInk สีฟ้าและสีเหลืองที่มองเห็นได้ภายใต้แสง UV เทคนิคป้องกันการปลอมแปลงฉลากสินค้า และสินค้าที่ใช้ส�าหรับการ ส่งเสริมการขาย • ระบบ PrintOS ตอบสนองบริการด้านการพิมพ์ที่ทันสมัย คือ ระบบ ควบคุ ม การผลิ ต ที่ ท� า งานบน Cloud Base สามารถสั่ ง งานผ่ า น แอพลิ เ คชั น ที่ ติ ด ตั้ ง ในสมาร์ ท โฟน ให้ คุ ณ จั ด การการท� า งานของ เครื่องพิมพ์ได้อย่างสะดวก คล่องตัว และปลอดภัยไร้กังวลในการ จัดเก็บข้อมูล ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ไม่ต้องนั่งเฝ้าหน้าเครื่อง นอกจากนี้ ระบบประมวณผลล่าสุดของ HP Indigo Labels และ Packaging ในเครื่องพิมพ์ HP Indigo 6900 เร็วขึ้นกว่าเดิม 5 เท่า สามารถเพิ่ม สมรรถภาพและผลผลิตงานพิมพ์ดจิ ทิ ลั อย่างต่อเนือ่ ง ช่วยให้ผผู้ ลิตสามารถปรับและ บริหารจัดการงานผลิตดิจิทัลในรูปแบบที่หลากหลาย เพิ่มจ�านวนงานต่อวันและ ย่นระยะเวลาการผลิต “HP Indigo ใช้ระบบการพิมพ์ดิจิทัล ท�าให้เราสามารถผลิตงานให้ลูกค้า ได้ ม ากขึ้ น ในเวลาเท่ า เดิ ม จากระบบเดิ ม ที่ รั บ งานพิ ม พ์ ไ ด้ เ พี ย งสองสามงาน ในแต่ละวัน ระบบดิจิทัลลดขั้นตอนการผลิตงานได้โดยไม่ต้องสร้างบล็อกเหมือน งานพิมพ์ในระบบเดิม ลูกค้ายังได้งานที่แตกต่างหลากหลาย ตอบสนองความ ต้องการของตลาดได้เป็นอย่างดี” ธนะชัย สันติชัยกูล ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท สาลี่ พริ้นท์ติ้ง จ�ากัด (มหาชน) กล่าว ให้ธรุ กิจเติบโตอย่างยัง่ ยืน เครือ่ งพิมพ์ดจิ ทิ ลั HP Indigo ได้รบั การออกแบบโดยค�านึงถึงสิง่ แวดล้อมทุกขัน้ ตอน การผลิต จึงเป็นทางเลือกที่ตอบโจทย์การพิมพ์ ดิจทิ ลั เพือ่ สิง่ แวดล้อม ลดการสูญเสีย และการใช้พลังงาน ในการพิมพ์ ต่อหน้า ทั้งนี้สามารถสัมผัสประสบการณ์อันแปลกใหม่ และชมผลงานการผลิตสุดสร้างสรรค์จากเครือ่ งพิมพ์ฉลาก และบรรจุภัณฑ์ของ เอชพี อย่างใกล้ชิดได้ในงาน SEA LabelExpo 2018 งานแสดงความก้าวหน้าด้านการพิมพ์ ฉลากสินค้า บรรจุภณ ั ฑ์ และสกรีนการพิมพ์ระดับโลก ครัง้ แรกในประเทศไทย งานใหญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ งานแสดงมี ที่ ไ บเทค บางนา ตั้ ง แต่ วั น ที่ 10 -12 พฤษภาคม นี้ ข้อมูลเกี่ยวกับ HP Inc. HP Inc. สร้างสรรค์เทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งเกิด ประโยชน์ต่อผู้บริโภค ธุรกิจ ภาครัฐ และสังคมอย่าง แท้จริง ด้วยพอร์ทโฟลิโอด้านเทคโนโลยี ได้แก่ เครือ่ งพิมพ์ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่ โซลูชั่นและบริการ ต่างๆ ท�าให้ HP สามารถมอบประสบการณ์ทดี่ ที สี่ ดุ ให้กบั ลูกค้า ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ HP (NYSE: HPQ) สามารถ เข้าชมได้ที่ http://www.hp.com THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
049
B9 Series Uniquely Mono มิติใหม่ กับแท่นพิมพ์ขาว-ดำาดิจิทัล คุณภาพการพิมพ์เหนือชั้น ตอบโจทย์การพิมพ์ทั้ง
ระดับโปรดักชั่นและสำานักงาน พร้อมอุปกรณ์การจัดชุดและเข้าเล่มเอกสารที่รองรับการพิมพ์ แบบออนดีมานด์ (POD)* ให้คุณสะดวกมากยิ่งขึ้น
*Print on Demand: พิมพ์ ได้ตาม ปริมาณที่ต้องการตามเวลาที่กำาหนด
a ตอกย้ำ�คว�มเป็นผู้นำ�ตล�ด 5 ปีซ้อน กับแท่นพิมพ์ข�ว – ดำ� จ�กฟูจิ ซีร็อกซ์ a โดดเด่นด้วยประสิทธิภ�พก�รพิมพ์ คว�มเร็วสูงสุด136 หน้�/น�ที a รองรับกระด�ษได้หล�กหล�ยชนิด ด้วยคว�มย�วกระด�ษสูงสุด 660 มม. และหน�สุด 350 แกรม a เหนือกว่�ด้วยง�นพิมพ์ที่มี คว�มละเอียดสูง 2,400 x 2,400 dpi
a ง่�ยกว่�ด้วยอุปกรณ์แทรกปก, ตัดขอบ 3 ด้�นและเข้�เล่มแบบเย็บมุงหลัง พร้อมตบสันครบจบในขั้นตอนเดียว a มั่นใจม�กขึ้นกับง�นพิมพ์ที่มีคุณภ�พ ด้วย Simple Image Quality Adjustment (SIQA) a ตอบโจทย์วิธีก�รทำ�ง�นให้กับ องค์กรยุคใหม่ กับฟังก์ชั่นก�รทำ�สำ�เน� และง�นสแกนเอกส�ร
ทดสอบตัวเครื่องจริงได้ที่ ศูนย์ Integrated Customer Experience Center (ICEC)
ติดต่อ (02) 136-5777
MORE PRODUCTIVE
ROBUST PRODUCTIVITY
High QUALITY
EXPANDED APPLICATION CAPABILITY
VERSATILITY
Better VERSATILITY
IMAGE QUALITY
RELIABILITY
PRINT TECHNOLOGY
Flexo or Digital ? ตอนที่ 3 การค�านวณต้นทุน
Flexo or Digital?
ตอนที่ 3 การค�านวณต้นทุน บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์
052
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
เพื่อให้การค�านวณสะท้อนสถานการณ์ และปัจจัย การผลิตจริงเพือ่ ให้การวิเคราะห์นอี้ ยูบ่ นพืน้ ฐานของข้อมูลจริง จ�าเป็นอย่างยิ่งที่ลูกค้าจะต้องประเมินและรวบรวมข้อมูลการ ผลิตของตนเอง ไม่แนะน�าให้ใช้ข้อมูลคร่าว ๆ หรือข้อมูล เบื้องต้น เราจึงพัฒนาโปรแกรมส�าหรับป้อนค่าต่าง ๆ และ ใช้คา� นวณต้นทุนค่าใช้จา่ ยของงานพิมพ์แต่ละงานโดยละเอียด จากผลที่ว่า Liquid Toner มักจะมีต้นทุนสูงที่สุด ดังนั้น โปรแกรมนี้จะค�านวณเปรียบเทียบระหว่างคู่แข่งขันที่สูสีกัน คือ UV-Flexo Press และ Digital UV-Inkjet Press ในโปรแกรมจะมีช่องส�าหรับใส่ค่าต่าง ๆ ของงานที่ ต้องการค�านวณ ประกอบด้วยเวลาการเตรียมเครื่องและเวลา ทีใ่ ช้พมิ พ์ หน่วยเป็นนาที ค�านวณค่าเสือ่ มราคาเครือ่ งต่อชัว่ โมง ค่าวัสดุลาเบล (ทั้งของดี และของเสีย) ค่าเพลทพิมพ์ (Flexo) ค่าหมึก (ทัง้ หมึกทีพ่ มิ พ์ และหมึกทีล่ า้ งทิง้ ) และค่าแรงงาน จาก ตัวอย่างได้แสดงให้เห็นว่าที่ปริมาณผลิต 2,500 เมตร (Fig. 7) ต้นทุนการพิมพ์ของ Flexo และ Digital Inkjet จะเท่ากัน หรือ เรียกว่าจุดสมดุล และจุดสมดุลนี้ไม่ใช่ค่าที่น่ิงคงที่เสมอไป แต่ก็สามารถใช้เป็นแนวทางได้ว่าเทคโนโลยีใดมีประสิทธิภาพ ดีกว่าหรือแย่กว่าส�าหรับการพิมพ์งานที่มีปริมาณน้อย ๆ
Flexo or Digital ? ตอนที่ 3 การค�านวณต้นทุน
PRINT TECHNOLOGY
กราฟนี้ใช้ข้อมูลจากตาราง (Fig. 8) มาค�านวณ เพื่อออกรายงาน อย่างเช่น ราคาเครื่อง Flexo จะถูกกว่า และมี ร ะยะเวลาตั ด ค่ า เสื่ อ มนานกว่ า เครื่ อ ง Inkjet ถึ ง สองเท่าแต่ก็มีเพียงความเร็วพิมพ์เท่านั้นที่เร็วกว่าเครื่อง Inkjet ขณะทีด่ า้ นอืน่ ๆ เครือ่ ง Inkjet ท�าได้ดกี ว่าทุก ๆ ด้าน ข้อมูลเหล่านี้ใช้กับงานพิมพ์ลาเบลสี่สี จ�านวน 75,000 ลาเบล พิมพ์ 2 Version เลย์เอ้าท์ 3 แถว บนวัสดุลาเบล หน้ากว้าง 330 มม. ค่าวัสดุลาเบล 0.39 ยูโร/ตรม. เครื่อง ท�างาน 8 ชั่วโมง/วัน 5 วัน/สัปดาห์ 48 สัปดาห์/ปี และ ใช้พนักงานคุมเครื่อง 1 คน ค่าแรงคน 40 ยูโร/ชั่วโมง จากการค�านวณง่าย ๆ และใช้ข้อมูลจากขบวนการผลิตจริง จะบ่งบอกได้ชัดเจนถึงศักยภาพที่แท้จริงของเทคโนโลยี
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
053
PRINT TECHNOLOGY
Flexo or Digital ? ตอนที่ 4 Digital Inkjet กับการใช้งานจริง
Flexo or Digital? ตอนที่ 4 Digital Inkjet กับการใช้งานจริง บมจ.หาญ เอ็นจิเนียริ่ง โซลูชั่นส์
ส�ำหรับผูท้ อี่ ยูใ่ นธุรกิจรับพิมพ์ลำเบลสติกเกอร์ ผลลัพธ์ ที่ได้จำกกำรใช้เทคโนโลยี Inkjet ถือว่ำเป็นที่น่ำพอใจเป็นอย่ำง มำก หำกลองนึกภำพว่ำกำรพิมพ์งำน 30,000 ลำเบล มี 15 Version หรือ จะพิมพ์งำน 64 Version จำกลำเบล 6 แบบ ล็อตละ 1,000 ลำเบล ด้วยเครื่อง Flexo จะต้องสิ้นเปลือง ค่ำเพลทพิมพ์ และค่ำใช้จำ่ ยกำรเตรียมเครือ่ งเมือ่ เปลีย่ นงำนพิมพ์ มำกเท่ำไร อีกทั้งใช้เวลำผลิตหลำยวัน เมื่อเทียบกับกำรผลิตด้วย เครื่อง Digital Inkjet ที่ซึ่งสำมำรถผลิตงำนเสร็จภำยในเวลำ ไม่กี่ชั่วโมง ด้ ว ยควำมสำมำรถในกำรพิ ม พ์ ที่ มี ค วำมคมชั ด สู ง พิมพ์ได้ดีกับวัสดุลำเบลมำตรฐำนจำกโรงงำนหลำย ๆ ชนิด โดยไม่ต้องเคลือบ ไม่ต้องลงแลคเกอร์ หรือไม่ต้องเตรียมผิว วัสดุลำเบลก่อนพิมพ์ และพิมพ์ได้เร็ว 50 เมตรต่อนำทีหรือ
054
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
มำกกว่ำนั้น และเวลำที่ใช้หรือวัสดุเหลือ(ของเสีย) เมื่อเปลี่ยน งำนพิมพ์น้อยมำก หรือแทบจะไม่มีเลย ท�ำให้ Digital Inkjet เป็นเทคโนโลยีที่ตอบโจทย์ธุรกิจได้อย่ำงเหมำะสมคุณภำพสีของ Digital Inkjet ที่สม�่ำเสมอไม่ผิดเพี้ยน และกำรพิมพ์ที่แม่นย�ำ เมื่อไฟล์งำนพิมพ์ถูก RIP และส่งไปที่เครื่อง Digital Inkjet ก็ไม่ตอ้ งปรับแต่งอะไรอีก จึงเป็นกำรลดปัจจัยทีส่ ง่ ผลต่อคุณภำพ ของกำรพิมพ์ให้น้อยลงได้อีก และเหลือเพียงขั้นตอนเดียวที่ใช้ ควำมช�ำนำญของบุคลำกรคือ ขั้นตอนก่อนกำรพิมพ์ (Pre-press Stage) และอีกหนึง่ คุณสมบัตพิ เิ ศษคือกำรพิมพ์พนื้ ขำวคุณภำพสูง เทียบเคียงได้กับคุณภำพกำรพิมพ์ screen ด้วยเครื่องอนำล็อก ควำมหนำพืน้ ขำวทีเ่ ครือ่ ง Digital Inkjet ท�ำได้จะเพิม่ โอกำสและ เปิดตลำดกับกำรพิมพ์บนวัสดุลำเบลแบบใส หรือแบบเมทัลลิค โดยแทบไม่ต้องลงทุนเพิ่ม และยังพิมพ์ได้ที่ควำมเร็วปกติ
Flexo or Digital ? ตอนที่ 4 Digital Inkjet กับการใช้งานจริง
สรุปส่งท้าย
เครื่อง UV-Digital Inkjet เป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันให้กับผู้รับพิมพ์ลาเบล สติคเกอร์ และเป็นอีกหนึ่งทางเลือกนอกเหนือจากเทคโนโลยี อนาล็อก ตามรายงานฉบับนี้บ่งบอกว่าเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะ กว่ า กั บ งานพิ ม พ์ ป ริ ม าณน้ อ ย ๆ และงานพิ ม พ์ ป ริ ม าณมาก บางงานเช่นกัน ด้วยคุณภาพงานพิมพ์ที่คมชัดและคุณภาพของ สีรวมไปถึงการใช้งานที่ง่ายกว่าเครื่อง UV-Flexo อีกทั้งไม่มี ความจ�าเป็นต้องใช้เพลทพิมพ์ และสูญเสียวัสดุระหว่างการผลิต น้อยมาก ซึง่ ตอบโจทย์ทงั้ ความประหยัดและความคุม้ ค่าเป็นอย่างดี โดยเฉพาะเมือ่ มีงานพิมพ์ Versioning หรืองานพิมพ์หลาย ๆ SKU ทีม่ แี นวโน้มเพิม่ มากขึน้ ในปัจจุบนั และยังเป็นเทคโนโลยีการพิมพ์ ที่เหมาะสมกับงานพิมพ์ Personalisation ที่สุด หากรวมไปถึงการพิมพ์ลงบนวัสดุลาเบลทีไ่ ม่ตอ้ งเคลือบ หรือไม่ต้องลงแลคเกอร์ และไม่ถลอกง่าย ทนต่อสารเคมี กันน�้า เทคโนโลยี นี้ ต อบโจทย์ ง านลาเบลสติ ก เกอร์ ส� า หรั บ ตลาด ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และผลิตภัณฑ์ใช้ในครัวเรือน และด้วย ทีส่ ามารถพิมพ์เฉดสีได้กว้างและลึกกว่าเดิม รวมถึงสามารถพิมพ์ พื้นขาวได้เหมือนการพิมพ์ Screen จึงเหมาะกับลาเบลส�าหรับ ผลิตภัณฑ์ดูแลส่วนบุคคลด้วยเช่นกัน อ้างอิงจากผูใ้ ช้งานจริงกล่าวว่า “เมือ่ แรกพิจารณาทีจ่ ะ ลงทุนกับเครือ่ งนี้ มองว่าจะเป็นธุรกิจใหม่ทสี่ ร้างรายได้เพิม่ ให้กบั
PRINT TECHNOLOGY
บริษทั เครือ่ ง Digital Inkjet ได้ชว่ ยประหยัดค่าใช้จา่ ยในระดับที่ เครื่องอนาล็อก หรือเครื่อง Toner ไม่สามารถท�าได้เลยทีเดียว ในการนี้เครื่องพิมพ์ Digital Inkjet รับช่วงงานบางส่วนจาก เครื่องพิมพ์เดิมที่พิมพ์อยู่แล้ว จึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ โดยรวมได้อย่างน่าทึ่ง ส�าหรับงานพิมพ์ปริมาณน้อย ๆ เช่นไม่กี่ ร้อยเมตรใช้เครื่องพิมพ์ Digital Inkjet พิมพ์งานจะประหยัดได้ดี กว่า และก็ยังสามารถท�าต้นทุนได้ดีส�าหรับงานพิมพ์ปริมาณมาก ถึง 3,000 เมตรเช่นกัน” เพือ่ ตัดสินใจว่า Digital Inkjet Technology เหมาะกับ ธุรกิจของท่านหรือไม่ ค�าตอบอยู่ใน 3 ค�าถามดังนี้ • ท่ า นมี ง านพิ ม พ์ ป ริ ม าณน้ อ ยกว่ า 3,000 เมตร กี่เปอร์เซนต์ของงานทั้งหมด? • ท่านจะเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจได้เท่าไร หากมีเครื่อง Digital Label Press? • ท่ า นจะสามารถใช้ เ ครื่ อ งอนาล็ อ กปั จ จุ บั น ให้ มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้หรือไม่ เมื่อมีเครื่อง Digital Label Press? ด้ ว ยประโยชน์ ข องโปรแกรม “Digital v Flexo Crossover Calculator” นั้นช่วยให้เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ต่อลักษณะการรับงานพิมพ์ และสร้างผลประโยชน์ต่อท่าน ได้ดีที่สุด หากเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานอยู่เป็นแบบอนาล็อกทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น Flexo หรือประเภทอื่นใด จะต้องมีงานส่วนหนึ่ง ส่งไปพิมพ์ข้างนอกด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างแน่นอน ดังนั้น พิจารณาได้ว่าธุรกิจจะเติบโตขึ้นได้ เมื่อลงทุนกับเครื่อง Digital Inkjet เพื่อดึงงานพิมพ์ปริมาณน้อย ๆ มาท�าเอง และมีก�าไร มากขึ้ น และปล่ อ ยให้ เ ครื่ อ งอนาล็ อ กพิ ม พ์ ง านปริ ม าณมาก เป็นหลัก! “ข้อมูลราคาทีร่ ะบุใช้เพือ่ ท�ารายงานฉบับภาษาอังกฤษ และไม่เป็นราคาสินค้าที่จ�าหน่ายในประเทศไทย หากประสงค์ ได้รับข้อมูลการค�านวณการวิเคราะห์ความคุ้มค่า ส�าหรับธุรกิจ ของท่าน บริษัทฯ พร้อมให้ค�าปรึกษาหารือเพื่อท�าแบบค�านวณ วิ เ คราะห์ สามารถติ ด ต่ อ ได้ ที่ sawarat.t@harn.co.th, thammanoon.t@harn.co.th ”
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
055
060
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
PRINT ACTIVITY
060
“การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13” ปี พ.ศ.2561 ภายใต้แนวคิดว่า “Smart Transform” เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
“การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13” ปี พ.ศ.2561 ภายใต้แนวคิดว่า “Smart Transform” เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย
PRINT ACTIVITY
“การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13” ปี พ.ศ.2561
“Smart Transform”
ภายใต้แนวคิดว่า เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทยเป็นคลัสเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีผู้ประกอบการในประเทศครบทั้ง Supply Chain จากต้นน�้าถึงปลายน�้า โดยมีมูลค่าการส่งออกทั้งทางตรงและทางอ้อมสูงถึง 50,000-70,000 ล้านบาทต่อปี แต่จากการที่ ปัจจัยแวดล้อมของโลกในปัจจุบนั ก�าลังเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว เกิดกระแส Disruptive Technology แทรกซึมเข้าไปในหลากหลาย ธุรกิจ โดยที่แต่ละธุรกิจได้รับผลกระทบมากน้อยแตกต่างกันไป อุตสาหกรรมการพิมพ์เองก็ก�าลังเผชิญความท้าทายของกระแส ความเปลีย่ นแปลงนีเ้ ช่นเดียวกัน การทีจ่ ะหลุดพ้นจากกระแส Disruptive ได้ อุตสาหกรรมการพิมพ์ตอ้ งปรับตัวเอง หรือ Transform เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงนี้ให้ทัน ทั้งในเรื่องของเทคโนโลยี นวัตกรรม และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ่งพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ SMART TRANSFORM จึงเป็นแนวทางที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการพิมพ์ในวันนี้จ�าเป็นต้องน�ามาปรับใช้อย่างเร่ง ด่วนซึ่งประกอบไปด้วย 1. S มาจาก Strategy หรือการปรับกระบวนทัศน์และ 3. A มาจาก Alliance การรวมกลุ่ม การท�างานร่วม วางแนวทางการท�างานใหม่ มุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิต กันแบบเป็นพันธมิตร (Cluster) ระหว่างผู้ประกอบ และลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ประกอบการ การด้วยกัน ช่วยลดการแข่งขันในเรื่องการตัดราคา ในอุตสาหกรรมที่เป็น SME (Small and Medium 4. R มาจาก Responsibility for Environment Enterprise) ต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้เป็น Smart การแชร์ทรัพยากรท�าให้เกิดการใช้เครื่องจักรอย่าง Management Enterprise หรือองค์กรธุรกิจขนาด คุ ้ ม ค่ า ที่ สุ ด และให้ ค วามส� า คั ญ ในเรื่ อ งของการ เล็กยุคใหม่ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 2. M มาจาก Marketing Plan คือการการสร้างสรรค์ 5. T มาจาก Technology คือการน�าเครื่องจักรหรือ ความแตกต่างทัง้ ในเรือ่ ง Business Model และการ ระบบการท�างานสมัยใหม่ที่มีความเป็น Automaใช้สอื่ การตลาดแบบใหม่ เช่น สือ่ ดิจติ อลเพือ่ เปิดช่อง tion มากขึ้นมาใช้ในการผลิตเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ ทางการขายให้กลุม่ ลูกค้าใหม่ๆ จะเป็นการเพิม่ ยอด สามารถลดต้นทุนและเพิม่ โอกาสในการแข่งขันให้สงู ขายและต่อยอดธุรกิจให้เติบโตต่อไปได้ ขึ้น เหล่านี้คือกระบวนทัศน์ทั้งหมด ซึ่งเป็นที่มาของ Theme การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติในปีนี้คือ SMART TRANSFORM
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
061
PRINT ACTIVITY
062
“การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13” ปี พ.ศ.2561 ภายใต้แนวคิดว่า “Smart Transform” เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
“การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13” ปี พ.ศ.2561 ภายใต้แนวคิดว่า “Smart Transform” เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย วัตถุประสงค์ของการจัดการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติมีดังนี้ 1. เพื่ อ กระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การตื่ น ตั ว และพั ฒ นาความใฝ่ รู ้ ด ้ า น เทคโนโลยีและนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ 2. เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา มาตรฐานงานพิมพ์ นวัตกรรม การพิมพ์ ซึ่งรวมถึงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตอย่าง ต่อเนื่อง 3. เพื่อให้เกิดการตระหนักและให้ความส�าคัญในด้านคุณภาพ ชิ้นงาน เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจในการแข่งขันและเตรียม พร้อมพัฒนาฝีมือสู่การแข่งขันในประชาคมอาเซียนและ การแข่งขันในระดับโลก 4. เพื่ อ เป็ น ขวั ญ และก� า ลั ง ใจ และยกย่ อ งผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล เกียรติยศนี้ สมาคมการพิมพ์ไทยและคณะกรรมการการจัดงาน ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13 ขอเชิญชวนผู้ประกอบการ วิสาหกิจการพิมพ์ทั่วประเทศให้ร่วมกันส่งผลงานมายังสมาคม การพิมพ์ไทย เพื่อที่เราชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์จะได้ร่วมกัน ก้าวสูอ่ นาคตความเป็นผูน้ า� ทางด้านสิง่ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์อย่าง เต็มภาคภูมิ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2560 สมาคมการพิมพ์ไทย จัดงานแถลงข่าว “การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติครั้งที่ 13” ประจ�าปี 2561 ณ ห้องพินนิคอล โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ โดยมีคณ ุ วิรฬุ ห์ ส่งเสริม สวัสดิ์ เป็นประธานการจัดงานประกวดฯ ได้กล่าวรายงานถึง การจัดงานในปีนธี้ รุ กิจการพิมพ์มกี ารเปลีย่ นแปลง ผูป้ ระกอบการ ต้องมีการปรับตัว เป็นปีที่ท้าทาย ในปีนี้คณะกรรมการตัดสินผล งาน มีกรรมการจากต่างชาติ และผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศไทย ในการประกวดสิ่งพิมพ์ในครั้งนี้ เริ่มรับผลงานตั้งแต่วันนี้ จนถึง 31 กรกฎาคม 2561 และประกาศผลผู้ได้รับรางวัลในเดือน กันยายน 2561
PRINT ACTIVITY
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมฯ กล่าว ต้อนรับและทิศทางในการจัดงานงานประกวดสิ่งพิมพ์ได้พัฒนา ขึ้ น มาถึ ง ปี ที่ 13 แล้ ว ในปี นี้ สิ่ ง พิ ม พ์ ต ้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว และเปลี่ยนแปลงเพื่อยกระดับงานพิมพ์ และพัฒนาบุคลากร คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมฯ กล่าวแสดงความยินดีในการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์ครั้งที่ 13 นี้ พร้อมกล่าวเสริมในเรือ่ ง SMART TRANSFORM ขอให้อตุ สาหกรรม การพิมพ์ร่วมกันปรับตัวเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ในอนาคตต่อไป ส่วนการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที1่ 2 ได้จดั ขึน้ ใน ปี 2560 ทีผ่านมา และน�าผลงานที่ได้รับส่งไปประกวด Asian Print Awards ปี 2018 ณ ประเทศสิงคโปร์ ซึ่งประเทศไทยก็ ประสบความส�าเร็จอย่างสูงสุด ได้รบั รางวัลมากเป็นอันดับ 1 ของ อาเซียน โดยสามารถน�ารางวัลทั้งสิน 42เหรียญรางวัล โดยแบ่ง เป็นเหรียญทอง 16 รางวัล เหรียญเงิน 14 รางวัล และเหรียญ ทองแดง 12 รางวัล ถือเป็นความภาคภูมิใจให้กับอุตสาหกรรม การพิมพ์ และเพื่อเป็นการสานต่อวัตถุประสงค์ของการยกระดับ มาตรฐานสิ่ ง พิ ม พ์ ใ นประเทศไทยและเป็ น การกระตุ ้ น ให้ ผู ้ ประกอบการสิ่ ง พิ ม พ์ ไ ด้ มี ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพงานพิ ม พ์ อ ย่ า ง ต่อเนื่อง สมาคมการพิมพ์ไทยจึงขอเชิญชวนให้ผู้ประกอบการ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการพิมพ์ของไทย เข้าร่วมการประกวดสิ่ง พิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13 เพื่อน�าผลงาน คุณภาพทีผ่ า่ นการคัดสรรจนได้รบั รางวัลชนะเลิศในปีนี้ ส่งเข้าร่วมแข่งขันในเวที การประกวดสิ่งพิมพ์ระดับอาเซียน โดยจะเริ่มเปิดรับผลงานเข้าประกวดตั้งแต่วันที่ 21 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561 และประกาศผลการ ตัดสินในวันที่ 21 กันยายน 2561นี้
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
063
PRINT NEWS
ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงอุตสาหกรรม ผนึกพลังเครือข่ายประชารัฐ เปิดมิติใหม่ พลิกโฉม SME ไทยยุค 4.0 ในงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล
เมือ่ วันที่ 18 พฤษภาคม 2561 ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ์ รองนายกรัฐมนตรี ให้เกียรติมาเป็นประธานในพิธีเปิดงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่ สากล ซึ่งจัดโดย กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ หน่วยงานภาค รัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ณ อาคารชาเลนเจอร์ฮอลล์ 2 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยมุ่ง หวังขับเคลือ่ นและยกระดับ SME สูย่ คุ 4.0 ผ่านมาตรการส่งเสริม พัฒนาและมาตรการด้านการเงิน ในการช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs ให้มีศักยภาพและ มีขีดความสามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น
064
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี กล่าว เปิดงานและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง“ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสูส่ ากล” ว่า ปัจจุบนั วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม หรือ SMEs มีจ�านวนกว่า 3 ล้านกิจการ คิดเป็นร้อยละ 99.7 ของ จ�านวนวิสาหกิจทั่วประเทศ ก่อให้เกิดการจ้างงานมากกว่า 10 ล้านคน SMEs จึงถือได้วา่ มีบทบาทส�าคัญต่อระบบเศรษฐกิจของ ประเทศ และเป็ น ห่ ว งโซ่ ก ารผลิ ต และเป็ น รากฐานในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศที่แท้จริง รัฐบาลภายใต้การน�า ของ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา มุง่ ให้ความส�าคัญในการส่งเสริม SMEs ได้กา� หนดให้การพัฒนา SMEs เป็นวาระแห่งชาติ ผ่านการ
ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงอุตสาหกรรม ผนึกพลังเครือข่ายประชารัฐ เปิดมิติใหม่ พลิกโฉม SME ไทยยุค 4.0 ในงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล
PRINT NEWS
ข่าวประชาสัมพันธ์
กระทรวงอุตสาหกรรม ผนึกพลังเครือข่ายประชารัฐ เปิดมิติใหม่ พลิ ก โฉม SME ไทยยุ ค 4.0 ในงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล
ขับเคลื่อนตามแนวคิด “ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง “ผ่านกลไก “ประชารัฐ” โดยมีกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นแกนหลักในการ ประสานและบูรณาการงานส่งเสริม SMEs ร่วมกับหน่วยงาน ภาครัฐ องค์กรเอกชน และภาคการศึกษาที่เกี่ยวข้องในรูปแบบ ประชารัฐ เพื่อให้การส่งเสริม SMEs เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ตามแนวทางการขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศไปสู่ “ความมัน่ คง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ผภาคอุตสาหกรรม SMEs จึงจ�าเป็นจะต้องเปลีย่ นแปลง และปรับตัวเพื่อความอยู่รอด และสร้างสิ่งใหม่ๆ พร้อมทั้งเข้าถึง และเข้ า ใจ Digital Technology เพื่ อ ให้ SMEs ก้ า วสู ่ ยุ ค
Industry 4.0 ได้อย่างภาคภูมิ สามารถด�าเนินธุรกิจให้เกิดความ แข็งแกร่งและเดินหน้าได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น สิ่งจ�าเป็นคือเราจะ ต้องพัฒนาตัวเองให้เติบโตและสร้างความเข้มแข็งจากภายใน ให้เกิดขึ้นในภาคอุตสาหกรรม SME ตั้งแต่ระดับชุมชน/ฐานราก วิสาหกิจชุมชน ต้องปรับเปลี่ยน ต้องปฏิรูปหรือ Transform ตัวเอง โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ร่วมกับ สสว. และ SME Development Bank และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงออกชุด มาตรการใหม่ ที่ ไ ด้ เริ่ ม น� า ร่ อ งแล้ ว 9 มาตรการหลั ก ที่ ใ ห้ ความส�าคัญกับการวางแนวทางมาตรการส่งเสริมและปฏิรปู SME อย่างเป็นรูปธรรม มีทงั้ มาตรการเพือ่ การเข้าถึงการส่งเสริม ควบคู่ THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
065
PRINT NEWS
ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงอุตสาหกรรม ผนึกพลังเครือข่ายประชารัฐ เปิดมิติใหม่ พลิกโฉม SME ไทยยุค 4.0 ในงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล
ไปกับมาตรการเพื่อการเข้าถึงแหล่งทุน รวมถึงการ สร้างการรับ รู้แนวทางและโอกาสการปรับเปลี่ยนธุรกิจพร้อมน�าเสนอกลไก การยกระดับ SMEs ทุกกลุ่ม ทุกมิติ และทั่วประเทศ โดยมี มาตรการที่ มี ค วามครอบคลุ ม ในทุ ก มิ ติ ต ลอดห่ ว งโซ่ คุ ณ ค่ า (Value-Chain) และกลุ่มเป้าหมายได้อย่างชัดเจน ในด้านมาตรการการเข้าถึงแหล่งทุนส�าหรับคนตัวเล็ก รัฐบาลได้สร้างโอกาสให้ผู้ประกอบการรายย่อยสามารถเข้าถึง แหล่งทุนได้อย่างสะดวกและรวดเร็วขึน้ โดยจัดให้มสี นิ เชือ่ 2 แบบ คือ (1) สินเชื่อเถ้าแก่ 4.0 (คนตัวเล็ก) วงเงินรวม 8,000 ล้าน บาท ผู้กู้ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้าประกัน สามารถกู้ได้ 1 ล้านบาท ดอกเบี้ย 1 % ระยะเวลา 7 ปี ปลอดเงินต้น 3 ปีแรก และ (2) สินเชือ่ เพือ่ ยกระดับเศรษฐกิจชุมชน วงเงินรวม 50,000 ล้านบาท โดยกูไ้ ม่ตอ้ งใช้หลักทรัพย์คา�้ ประกัน วงเงินกู้ 5 ล้านบาท ดอกเบีย้ 3% ระยะ 7 ปี โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้จัดให้มีการผ่าน บริการเคลื่อนที่หรือ “ม้าเร็วเติมทุน”เพื่อให้บริการแก่ SMEs/ วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่กว่า 1,000 จุดทั่วประเทศให้เข้าถึงแหล่ง เงินทุนได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ในด้ า นความร่ ว มมื อ กั บ ต่ า งประเทศ กระทรวง อุตสาหกรรมได้มีความร่วมมือกับรัฐบาลประเทศญี่ปุ่นผ่านทาง กระทรวงเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรม (METI) ร่วมกัน ด�าเนินงานโครงการเพื่อยกระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย สูอ่ ตุ สาหกรรม 4.0 ภายใต้โครงการ Connected Industry ดังนี้ โครงการ 3-Stage Rocket Approach ที่จะช่วยให้ผู้ประกอบ การเข้าในการใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติได้อย่างเหมาะสม
066
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
โครงการ Open Innovation Columbus เป็นโครงการที่ ประเทศไทยร่วมกับญี่ปุ่น เพื่อผลักดันให้ไทยเป็นศูนย์กลาง การ แลกเปลีย่ นนวัตกรรมแบบเปิด หรือ Open Innovation โครงการ Flex Campus ทีส่ ง่ เสริมการพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรมที่ เสริมจากการศึกษาในระบบปกติทอี่ าจไม่ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ของนวัตกรรม ขณะที่การเชื่อมโยงกับประชาคมโลก หรือมาตรการ ด้านการตลาด กระทรวงอุตสาหกรรมให้ความส�าคัญกับการ ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ SMEs ไทยให้สามารถด�าเนินธุรกิจ ผ่านช่องทาง E-Commerce และการพัฒนาบุคลากรเข้าสู่ เศรษฐกิ จ ยุ ค ดิ จิ ทั ล ซึ่ ง ทั้ ง กระทรวงอุ ต สาหกรรม กระทรวง พาณิชย์ การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ได้มคี วามร่วมมือกับกลุม่ บริษทั อาลีบาบา (Alibaba Group) โดยนาย แจ็ค หม่า (Mr.Jack Ma) ประธานกรรมการบริหาร ทีไ่ ด้มกี ารลงนามความร่วมมือด้าน Smart Digital Hub and Digital Transformation Strategic Partnership ไปเมือ่ วันที่ 19 เมษายน 2561 ทีผ่ า่ นมา โดยความ ร่วมมือดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ประกอบการ SMEs ของไทยสามารถ เข้าถึงตลาดผู้บริโภคจีนที่ในปัจจุบัน มีผู้ซื้อกว่า 500 ล้านคน รวมไปถึงการเข้าถึงตลาดโลกที่มีมูลค่ามหาศาล ช่วยให้เกิดการ ดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวในเมืองรองและการท่องเที่ยว ชุ ม ชนมากขึ้ น เป็ น การกระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การหมุ น เวี ย นทาง เศรษฐกิจที่กระจายตัว ในขณะที่ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมจะมี ขีดความสามารถในการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ จากเทคโนโลยี ดิจทิ ลั ต่างๆ เป็ น การขั บ เคลื่ อ นให้ ป ระเทศไทยจะสามารถก้ า วเข้ า สู ่ ก าร
ข่าวประชาสัมพันธ์ กระทรวงอุตสาหกรรม ผนึกพลังเครือข่ายประชารัฐ เปิดมิติใหม่ พลิกโฉม SME ไทยยุค 4.0 ในงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล
แข่งขันในระดับภูมิภาคและระดับโลกได้อย่างยั่งยืน “รัฐบาลมุ่งหวังที่จะผลักดัน SMEs ของไทย ให้ก้าวได้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันด้วยการบริหาร จัดการการใช้เทคโนโลยี ภูมิปัญญา และการผนึกก�าลังกัน ท�าให้ SMEs สามารถเติบโตได้ตามพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจ สามารถเพิ่มศักยภาพ และสามารถปรับตัวได้เท่าทันกับการ เปลี่ ย นแปลง ยกระดั บ สู ่ Smart Enterprise เปลี่ ย นจาก “ท�ามากได้น้อย” (More for Less) เป็น “ท�าน้อยได้มาก” และ รัฐบาลหวังทีจ่ ะเห็น SME ของไทย เป็นส่วนส�าคัญในการยกระดับ ศั ก ยภาพของระบบเศรษฐกิ จ ของประเทศ ดั ง เช่ น ประเทศ เยอรมัน ฝรั่งเศส อิตาลี ญี่ปุ่น หรือ ไต้หวัน ซึ่งรัฐบาลมีเป้าหมาย ทีท่ า� ให้ “GDP SME” เพิม่ ขึน้ จากปัจจุบนั ร้อยละ 36 เป็น ไม่นอ้ ย กว่ า ร้ อ ยละ 50 ภายในปี 2564 ส� า หรั บ การจั ด งาน SME TRANSFORM #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทย สู่สากล ในวันนี้ นับเป็นการด�าเนินการตามนโยบายของรัฐบาล ตามกรอบแนวทาง “ประเทศไทย 4.0” ซึ่งเป็นนโยบายหลัก เพือ่ ขับเคลือ่ นประเทศให้กา้ วสูย่ คุ 4.0 โดยสามารถแปลงนโยบาย มาสูก่ ารปฏิบตั แิ ละขับเคลือ่ นได้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน มีกลไก และมาตรการต่างๆ ทีจ่ บั ต้องได้ และสามารถช่วยเหลือ SMEs ได้ อย่างแท้จริง” ดร.สมคิด กล่าว ดร.อุ ต ตม สาวนายน รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวง อุตสาหกรรม กล่าวว่า กระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงาน พันธมิตร ได้ดา� เนินงานตามนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ ผ่านมาตรการขับเคลื่อน SMEs ให้เข้าสู่ยุค 4.0 เพื่อพัฒนาด้าน กลไกสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจ (Service Upgrading) ด้านการ เสริมแกร่ง SMEs (Enablers) ด้านการเพิ่มขีดความสามารถ และการปรั บ เปลี่ ย นธุ ร กิ จ (Capacity Upgrading and Transforming) และด้านการยกระดับ เศรษฐกิจฐานชุ มชน (Local economy) โดยมีการบริการในด้านต่าง ๆ อาทิ การ
PRINT NEWS
พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใหม่ ๆ ด้ ว ยนวั ต กรรมในเชิ ง สร้ า งสรรค์ (Creative Innovation) การเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และ พัฒนามาตรฐานต่าง ๆ ตลอดจนการรวมกลุ่มเป็น Cluster เป็นต้น โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ได้มีศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรม หรือ Industry Transformation Center (ITC) ที่เปรียบเสมือน ข้อต่อกลางที่จะเข้ามาช่วย SMEs ให้สามารถปฏิรูปธุรกิจของ ตนเองผ่านกระบวนการ SME Transformation ทั้งผลิตภัณฑ์ (Product Transformation) กระบวนการผลิต (Process Transformation) และบุคลากร (People Transformation) ในส่ ว นมาตรการด้ า นการเงิ น กลไกนี้ จ ะเป็ น การเสริ ม สร้ า ง ศักยภาพให้แก่ SMEs ได้เข้าถึงแหล่งเงินทุน การเพิ่มวงเงินสิน เชื่อ การขยายกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการลดข้อจ�ากัด หลักเกณฑ์ หรือเงื่อนไขบางประการ เพื่อให้ผู้ประกอบการ SMEs ทุกกลุ่ม ทุกระดับ สามารถเข้าถึงแหล่งทุนตามศักยภาพ สามารถฟื้นฟู ปรับกิจการ ขยายธุรกิจ รวมทั้งเป็นการสร้างงานสร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ SMEs อย่างครอบคลุม และทั่วถึง ส�าหรับการจัดงาน SME Transform #พร้อมเปลี่ยน ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล ได้จัดขึ้นเพื่อแสดง ให้เห็นว่ารัฐบาลได้สร้างโอกาสต่าง ๆ ไว้รองรับ SMEs และ วิสาหกิจฐานรากของประเทศในการเปลีย่ นแปลงสูอ่ นาคตทีม่ นั่ คง และยั่งยืน โดยการรวมพลังเครือข่ายประชารัฐในการขับเคลื่อน และยกระดับ SMEs สู่ยุค 4.0 รวมถึงเป็นเวทีให้ SMEs ได้สัมผัส และเรียนรู้ผลส�าเร็จนโยบายการส่งเสริม SMEs ตลอดจนการ สร้างการรับรู้แนวทางและโอกาสการปรับเปลี่ยนธุรกิจพร้อม น� า เสนอกลไก การยกระดั บ SMEs ทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก มิ ติ และ ทั่วประเทศ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
067
PRINT ACTIVITY
Quality In Print
QUALITY IN PRINT
จากการที่สมาคมการพิมพ์ไทยได้ริเริ่มจัดการประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 1 เมือ่ ปี พ.ศ.2549 โดยมีผสู้ นใจส่งชิน้ งาน เข้าประกวดอย่างมากมาย และสมาคมการพิมพ์ได้น�าผลงาน ที่ชนะการประกวดเหล่านั้นส่งเข้าร่วมการประกวดสิ่งพิมพ์แห่ง ภาคพื้นอาเชียน หรือ Asian Print Award ปี 2018 ณ ประเทศ สิงคโปร์ โดยผลงานจากประเทยไทยสามารถกวาดรางวัลมาได้ 42 รางวัล นั่นคือที่มาของการเห็นความส�าคัญในการยกระดับ มาตรฐานสิ่งพิมพ์ทั้งระบบ จึงจัดให้มีงานสัมมนา Quality In Print ขึน้ ในวันเดียวกันกับงานแถลงข่าวการประกวดสิง่ พิมพ์แห่ง ชาติ ครัง้ ที่ 13 เพือ่ ความสอดคล้องสมบูรณ์ เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2561 ณ.ห้องพินนิคอล โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ
068
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
โดยมีวทิ ยากรผูม้ ากประสบการณ์และความสามารถมา ร่วมให้ความรู้ในครั้งนี้ ท่านแรกคือคุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13, กรรมการตรวจ ผลงาน Asian Print Award และผู้อ�านวยการสถาบันการพิมพ์ ไทย, วิทยากรท่านที่ 2 คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย อดีตประธาน จัดงานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจผลงานประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจผลงาน Asian Print Award และผู้ช่วยผู้อ�านวยการสถาบันการพิมพ์ไทย วิทยากรท่านที่ 3 คุณถิร รัตนนลิน อดีตประธานจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจผลงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจ ผลงาน Asian Print Award
PRINT ACTIVITY
Quality In Print
QUALITY IN PRINT
จากการที่สมาคมการพิมพ์ไทยได้ริเริ่มจัดการประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 1 เมือ่ ปี พ.ศ.2549 โดยมีผสู้ นใจส่งชิน้ งาน เข้าประกวดอย่างมากมาย และสมาคมการพิมพ์ได้น�าผลงาน ที่ชนะการประกวดเหล่านั้นส่งเข้าร่วมการประกวดสิ่งพิมพ์แห่ง ภาคพื้นอาเชียน หรือ Asian Print Award ปี 2018 ณ ประเทศ สิงคโปร์ โดยผลงานจากประเทยไทยสามารถกวาดรางวัลมาได้ 42 รางวัล นั่นคือที่มาของการเห็นความส�าคัญในการยกระดับ มาตรฐานสิ่งพิมพ์ทั้งระบบ จึงจัดให้มีงานสัมมนา Quality In Print ขึน้ ในวันเดียวกันกับงานแถลงข่าวการประกวดสิง่ พิมพ์แห่ง ชาติ ครัง้ ที่ 13 เพือ่ ความสอดคล้องสมบูรณ์ เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2561 ณ.ห้องพินนิคอล โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ
068
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
โดยมีวทิ ยากรผูม้ ากประสบการณ์และความสามารถมา ร่วมให้ความรู้ในครั้งนี้ ท่านแรกคือคุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 13, กรรมการตรวจ ผลงาน Asian Print Award และผู้อ�านวยการสถาบันการพิมพ์ ไทย, วิทยากรท่านที่ 2 คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย อดีตประธาน จัดงานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจผลงานประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจผลงาน Asian Print Award และผู้ช่วยผู้อ�านวยการสถาบันการพิมพ์ไทย วิทยากรท่านที่ 3 คุณถิร รัตนนลิน อดีตประธานจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจผลงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ, กรรมการตรวจ ผลงาน Asian Print Award
PRINT ACTIVITY
พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ เป็นสถานที่ทดสอบสมรรถนะบุคคลสาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์
สมาคมการพิมพ์ไทย ลงนามความร่วมมือกับ วิทยาลัย สมาคมการพิมพ์ไทย ลงนามความร่วมมือกับ วิทยาลัย เทคโนโลยีดอนบอสโก เป็นสถานที่ทดสอบสมรรถนะของบุคคล อี.เทค เป็นสถานที่ทดสอบสมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐาน ตามมาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ของ อาชีพสาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ของสถาบันคุณวุฒิ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) วิชาชีพ (องค์การมหาชน)
สมาคมการพิมพ์ไทย ลงนามความร่วมมือกับ วิทยาลัย สมาคมการพิมพ์ไทย ลงนามความร่วมมือกับ วิทยาลัย เทคนิ ค มี น บุ รี เป็น สถานที่ทดสอบสมรรถนะของบุ ค คลตาม เทคโนโลยี ส ยามบริ ห ารธุ ร กิ จ (SBAC) เป็ น สถานที่ ท ดสอบ มาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ของสถาบัน สมรรถนะของบุคคลตามมาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพอุตสาหกรรม คุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) การพิมพ์ของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
สมาคมการพิมพ์ไทย ลงนามความร่วมมือกับ วิทยาลัย เทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจนนทบุรี (SBAC) เป็นสถานทีท่ ดสอบ สมรรถนะของบุ ค คลตามมาตรฐานอาชี พ สาขาวิ ช าชี พ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข องสถาบั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ (องค์ ก าร มหาชน)
070
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
ฟูจิ ซีร็อกซ์จัดอีเว้นท์ “Create More Profit with Digital Label VIA Line@” ช่วยเสริมทัพให้ลูกค้าโรงพิมพ์ เพิ่มช่องทางขยายธุรกิจรับยุคดิจิทัล พร้อมเปิดตัว Iridesse แท่นพิมพ์โปรดักชั่น 6 สีเครื่องแรกในตลาด
PRINT TECHNOLOGY
ฟูจิ ซีร็อกซ์จัดอีเว้นท์
“Create More Profit with Digital Label VIA Line@”
ช่วยเสริมทัพให้ลูกค้าโรงพิมพ์เพิ่มช่องทางขยายธุรกิจรับยุคดิจิทัล พร้อมเปิดตัว แท่นพิมพ์โปรดักชั่น 6 สีเครื่องแรกในตลาด
Iridesse
มร.ฮิโรอากิ อาเบะ ประธานบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงาน Create More Profit with Digital Label VIA Line@ พร้อมสัมมนาหัวข้อ “เพิ่มลูกค้า เพิ่มยอดขาย ขยายธุรกิจสิ่งพิมพ์ดิจิทัลพริ้นท์” ช่วยเจ้าของธุรกิจเพิ่ม ช่องทางการตลาดออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพรับยุคดิจิทัล โดยโค้ชเจมส์ คุณธีรนนท์ ศิริกุลพิริยะ ผู้เชี่ยวชาญด้าน Line@ ที่ได้รับการ รับรองโดย Line Certified Trainer มีผเู้ ข้าร่วมงานเป็นจ�านวนมากกว่า 150 คน จากกว่า 80 บริษทั ทีศ่ นู ย์ Integrated Customer Experience Center (ICEC) ซึง่ เป็นศูนย์แสดงนวัตกรรมส�าหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ระดับภูมภิ าคทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย รองรับ ลูกค้าฟูจิ ซีร็อกซ์ทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจการพิมพ์ได้อย่างครบวงจร โดยในงานนี้ ฟูจิ ซีร็อกซ์ ประเทศไทยยังได้น�า Iridess พิมพ์ได้ 7 สี CMYK ส้ม ม่วงและขาว เหมาะส�าหรับงานพิมพ์ Production Press แท่นพิมพ์ระดับโปรดักชั่นใหม่ล่าสุด 6 สี ในอุตสาหกรรมยานยนต์ สุขภาพ ความสวย ความงาม เครื่องใช้ เครือ่ งแรกของประเทศไทย สามารถพิมพ์ 6 สีได้ภายในครัง้ เดียว สิง่ ของภายในบ้าน วัตถุทเี่ กีย่ วกับสารเคมี เครือ่ งใช้ไฟฟ้า กระป๋อง นอกจากสี CMYK แล้ว ยังมีสีพิเศษ สีขาว สีเงิน สีทอง และสีใส ขวดสี ต ่ า งๆ และอื่ น ๆ อี ก ทั้ ง ยั ง เหมาะกั บ งานพิ ม พ์ ที่ มี ก าร สามารถใส่สีพิเศษดังกล่าวได้ 2 สีพร้อมกัน มาพร้อมด้วยเทคนิค เปลีย่ นแปลงข้อมูลและรูปภาพ การรันนัมเบอร์ ข้อความ บาร์โค้ด การพิมพ์แบบ Overlay / Underlay ที่เพิ่มลูกเล่นของงานพิมพ์ และ คิวอาร์โค้ด ได้อีกด้วย การลงสีที่แตกต่างไปจากเดิม และยังสามารถพิมพ์ลงบนวัสดุได้ ในส่วนของ Software Solution งานพิมพ์คณ ุ ภาพจาก หลายหลาก ไม่ว่าจะเป็น วัสดุแผ่นใส สติกเกอร์ PP, PET หรือ ฟูจิ ซีร็อกซ์ เครื่องมือที่ช่วยสร้างสรรค์ และเพิ่มมูลค่าให้สิ่งพิมพ์ วัสดุกระดาษสีเข้มด้วยเทคนิคการพิมพ์ Underlay เช่น พิมพ์สี ในยุคดิจิทัลได้เป็นอย่างดี ที่น�ามาสาธิตในงานอีเวนท์นี้ ได้แก่ ขาวรองพื้นบนสติกเกอร์ใส หรือพิมพ์สีเงินรองหลังเฉพาะจุด SkyDesk Media Switch, IC3D และ XMPie Store Flow บริเวณที่ต้องการเพื่อให้งานพิมพ์ออกมามีสีสันที่โดดเด่นและ การจัดงานในครั้งนี้ได้รับความสนใจจากผู้ร่วมงาน โดย สวยงามมากขึ้น รวมทั้งเครื่องพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพสูงอย่าง บรรยากาศเป็นไปอย่างอบอุน่ เป็นกันเอง มีการแลกเปลีย่ นความ Versant 180 Press ซึง่ เหมาะกับ Start up ผูท้ กี่ า� ลังจะเริม่ ธุรกิจ รู้และประสบการณ์ต่างๆ เพื่อเพิ่มความรู้ด้านการตลาดออนไลน์ และมองหาตัวช่วยที่มาพร้อมกับการท�างานแบบอัตโนมัติ ท�าให้ มาก รวมทั้งขยายช่องทางการตลาดใหม่ๆ ให้กับเจ้าของธุรกิจสิ่ง มีการท�างานที่ง่าย สะดวก ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพมากขึ้น พิมพ์ เพื่อตอบสนองการท�าธุรกิจในยุคดิจิทัล ซึ่ง ฟูจิ ซีร็อกซ์ รวมทั้งยังสามารถรองรับการพิมพ์ขนาดแบนเนอร์ บนกระดาษ ประเทศไทยจะยังคงมุ่งมั่นพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างไม่หยุดยั้งและ ขนาด 330x660 มม. รองรับการผลิตงานทีม่ คี ณ ุ ภาพมากขึน้ ด้วย เดินหน้าจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่ลูกค้าอย่างต่อเนื่องต่อไป เทคโนโลยี ข องเครื่ อ งพิ ม พ์ ที่ มี ร ะบบควบคุ ม คุ ณ ภาพสี แ ละ ประหยัดเวลาด้วยเทคโนโลยี SIQA สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเครื่องพิมพ์ระดับ พร้อมแนะน�า Durst เครื่องพิมพ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์ โปรดักชั่น ติดต่อ.... ระบบ ดิจิทัลยูวี อิงค์เจ็ท รุ่น Tau 330 จากประเทศอิตาลี ช่วย อีเมลล์ supachai.s@tha.fujixerox.com สร้างสรรค์งานพิมพ์ฉลาก และเพิ่มมูลค่าให้บรรจุภัณฑ์ สามารถ โทร 081-421-9798, 02-660-8000 ต่อ 8807 THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 7
071
The besT of LeD UV prinTing in The worLD. พิมพ์ได้ทั้งงาน Packaging, สลาก, งานหนังสือ และ commercial printing พิมพ์ลงบนวัสดุได้หลากหลายเช่น กระดาษ พลาสติก กระดาษฟอลย์
ข้อดีของระบบการพิมพ์ LeD UV Power consumption การใช้พลังงาน Life span of lamp อายุของหลอด Heat/ ozone Space การใช้เนื้อที่ในการติดตั้ง
A3-Size Portrait
Conventional UV 71.1 KWh. (2 lamps type)
approx. 1,000 hrs. YES (need duct works) Peripheral equipment needs almost the same size of machine
A3-Plus
No heat/ No ozone saving 75%
A2-Size
520GX-4
340PCX-2
Max. Sheet Size 13.39 x 17.72 นิ้ว
LED-UV 6.4 KWh. (standard type) saving over 90% approx. 15,000 hrs.
690ST-4
(with coating unit)
Max. Sheet Size 14.76 x 20.47 นิ้ว
A1-Size
B2-Size
Max. Sheet Size 20 x 27 นิ้ว 1,020/1,050mm Format
920PF-8
Max. Sheet Size 25.2 x 36.22 นิ้ว
790ST-5
(with coating unit)
Max. Sheet Size 23.62 x 31.02 นิ้ว 1,130mm Format
1130TP-10
1050LX-6
(with coating unit)
Max. Sheet Size 29.53 x 41.34 นิ้ว
สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี บริษทั ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด
Max. Sheet Size 32.28 x 44.49 นิ้ว
576/68 ถนนสาธุ ประดิษฐ์ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม. 10120 โทรศัพท์ 02-682-3411-4 THAIPRINT MAGAZINE 114
โทรสาร 02-682-3415 email: cybersm751@csloxinfo.com
079
www.cybersm.co.th
สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................
ใบสมัครสมาชิก
วันที่......................................................
ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................
ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ
(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)
บจก.สุพรชัย จ�ำกัด
SUPORNCHAI Co.,Ltd
เครื่องปะหน้าต่าง เข้ามุม มีเส้นพับ ปะ 2 ช่อง
MODEL
เครื่องปะกบออโต้
Max.Paper size Min.Paper size Upper paper thickness Bottom paper thickness
mm mm g/m2 g/m2
1200x720 450x490 80-1200 160-3000
Hot stamping ปั๊มฟอยล์ Laminating เคลือบลาสติกเงา/ด้าน Spot UV งานเคลือบ Spot UV Die Cutting & Patching ปั๊มขาด+ปั๊มนูน Blister pack varnish
UV Vanishing งานเคลือบยูวี Calendering ขัดเงา Embossing งานปั๊มนูนปั๊มจม Gluning &Mounting ปะข้าง + ปะก้น / ปะประกบ
บริษทั สุพรชัย จ�ำกัด 30 หมู่ 4 ถ.ศรีวำรีนอ้ ย-ลำดกระบัง ต.ศีรษะจรเข้นอ้ ย อ.บำงเสำธง จ.สมุทรปรำกำร 10540 โทร. +662-402-6623 โทรสำร +662-337-1866 มือถือ. +669-6146-3398 E-mail: marketing@spc-postpress.com http://www.spc-postpress.com