THAIPRINT
MAGAZINE 120
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
ISSUE
www.thaiprint.org
02 Ad Idea Pc4.pdf 1 12/2/2562 20:56:15
Ad Superior Dilli #119_pc4.pdf 1 10/1/2562 15:59:17
ผลิ ต ภั ณ ฑ์
เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน Moving Forward to Green Print
ปลอดภัยตอผูใช
ลูกกลิ้งเสื่อมเร็ว สารกอมะเร็ง
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สารไวไฟ
ผสมน้ำได
การใชน้ำมันกาด กอใหเกิดผลอยางไร มีกลิ่นฉุน
น้ำยาลางแบบใหม ดีอยางไร ถนอมลูกกลิ้ง
เปนอันตรายตอผูใช
$ $ $
ใชในปริมาณมาก
ลดตนทุนระยะยาว
ไมมีกลิ่นฉุน
ใชปริมาณนอย
จำหนายน้ำยาลางหมึกแทนน้ำมันกาด และน้ำยาลางหมึกพิมพ UV คุณภาพสูง บริษัท แอลฟา โปร เคมีคอล จำกัด
300 ซ.เพชรเกษม 42 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 Tel: 0-2457-4886, 0-2457-4889 Fax: 0-2869-5515 www.alphaprochemical.com
06 Ad Alphaprochemical #109_pc3.indd 6
23/9/2558 14:21:28
Best Performance, Fastest Output. l
Best performance with fast-dry oil-base
l
Super high-speed Printing 160 ppm.
l
Stability for High-volume Production Print jobs.
l
Eco-proven Performance Worldwide.
l
Small Foot print, Big Output
พบกับ
RISO
ได้ที่งาน
18th-21th Sep, 2019 Booth no. G01, Hall 100-101 Bitec, Bangkok
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/
06 Ad Ricoh 119_N Pc4.indd 6
11/2/2562 20:16:56
07 Ad KURZ_pc4.pdf 1 26/11/2561 10:57:03
Ad T Paiboon_Pc4.indd 1
16/5/2561 15:56:26
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 4
12/9/2560 14:01:20
11 MD magazine_pc4.pdf 1 23/11/2561 1:52:34
The besT of LeD UV prinTing in The worLD. พิมพ์ได้ทั้งงาน Packaging, สลาก, งานหนังสือ และ commercial printing พิมพ์ลงบนวัสดุได้หลากหลายเช่น กระดาษ พลาสติก กระดาษฟอลย์
ข้อดีของระบบการพิมพ์ LeD UV Power consumption การใช้พลังงาน Life span of lamp อายุของหลอด Heat/ ozone Space การใช้เนื้อที่ในการติดตั้ง
A3-Size Portrait
Conventional UV 71.1 KWh. (2 lamps type)
approx. 1,000 hrs. YES (need duct works) Peripheral equipment needs almost the same size of machine
A3-Plus
No heat/ No ozone saving 75%
A2-Size
520GX-4
340PCX-2
Max. Sheet Size 13.39 x 17.72 นิ้ว
LED-UV 6.4 KWh. (standard type) saving over 90% approx. 15,000 hrs.
690ST-4
(with coating unit)
Max. Sheet Size 14.76 x 20.47 นิ้ว
A1-Size
B2-Size
Max. Sheet Size 20 x 27 นิ้ว 1,020/1,050mm Format
920PF-8
Max. Sheet Size 25.2 x 36.22 นิ้ว
790ST-5
(with coating unit)
Max. Sheet Size 23.62 x 31.02 นิ้ว 1,130mm Format
1130TP-10
1050LX-6
(with coating unit)
Max. Sheet Size 29.53 x 41.34 นิ้ว
สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี บริษทั ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด
Max. Sheet Size 32.28 x 44.49 นิ้ว
576/68 ถนนสาธุ ประดิษฐ์ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม. 10120 โทรศัพท์ 02-682-3411-4 THAIPRINT MAGAZINE 114
โทรสาร 02-682-3415 email: cybersm751@csloxinfo.com 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 79
079
www.cybersm.co.th
8/9/2560 3:10:55
นายกสมาคม
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก
ในช่วงที่โลกก�ำลังเปลี่ยนแปลง การเข้ามาของ เทคโนโลยี โซเชียลมีเดีย โลกออนไลน์ และตลาด E-Commerce เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจ สิ่งพิ มพ์ ไม่อาจปฏิเสธได้เลยว่ามีอิทธิพลต่อ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ คอ ่ นข้างมาก เพราะฉะนัน ้ ถึ ง เวลาที่ จ ะต้ อ ง"การปรั บ ตั ว เพื่ อก้ า วไปต่ อ อย่างยั่งยืน" วารสาร Thai Print ฉบับที่ 120 ในมือท่านฉบับนี้ ้ หาสาระทีเ่ กีย ่ วกับ บทความภายในเล่ม ยังคงเนือ นวัตกรรมด้านการพิ มพ์ รป ู แบบบทความวิชาการ ่ บทสัมภาษณ์ฉบับนี้ ได้รบ บทสัมภาษณ์ ซึง ั เกียรติ จากคุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ และคุณวิศรุต ส่งเสริมสวัสดิ์ บุตรชาย มาถ่ายทอดประสบการณ์ ในการท�ำนิตยสาร “กุลสตรี” มาตลอดร่วม 50 ปี และบอกเล่าเรื่องราวในสิ่งที่คนท�ำหนังสือหรือผูป ้ ระกอบธุรกิจการพิ มพ์ อาจจะต้อง ่ ่ มีการปรับเปลียนเพื อให้ทันโลกยุคดิจิทัล ้ ง นอกจากนีย ั ได้รบ ั เกียรติจากคุณท็อป จิรายุทธ์ นิยมมาลัย แห่งบริษท ั ซันเปเปอร์ จ�ำกัด ่ าเล่าประสบการณ์การท�ำงานรวมไปถึง ลูกไม้ใต้ตน ้ ของคุณพ่ อสิทธิพร นิยมมาลัย ทีม การได้เข้ามาร่วมเป็น Young Printer Group ซึ่งสมาชิกอาจจะน�ำข้อมูลที่ได้รับนี้ ไปต่อยอดกับธุรกิจได้บ้างไม่มากก็น้อย ้ ะได้รบ สมาคมการพิ มพ์ ไทยหวังเป็นอย่างยิง ั ความสนใจ ่ ว่าวารสาร Thai Print ฉบับนีจ จากสมาชิกทุกท่านเช่นเดิม หากผูอ ้ า่ นจะมีขอ ้ เสนอแนะใดในการปรับปรุงวารสารนีใ้ ห้ ้ กองบรรณาธิการขอน้อมรับไว้ดว สมบูรณ์ยง ิ่ ขึน ้ ยความยินดียง ิ่ พบกันใหม่ฉบับหน้า กองบรรณาธิการ
SPECIAL THANKS
เอื้อเฟื้ อกระดาษที่ใช้พิมพ์ Thaiprint magazine บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 ช่วยเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ
คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ
คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก
คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน
คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม
คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม
คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์
คุณรัชฐกฤต เหตระกูล
รองประชาสัมพั นธ์
คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์
ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ
คุณธนา เบญจาธิกุล
15 Ad Vahva Board_pc4.indd 1
23/11/2561 1:19:13
CONTENTS
INDUSTRIAL
NEWS
ประกาศผลผู้ชนะโครงการ คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste
28
พิ ธเี ปิด Asian Print Expo 2019
66
HIGH CHROMA LAB โดย โคนิก้า มินอลต้า
30
สัมมนา สร้างเครือข่าย นักออกแบบผลิตภัณฑ์
67
โบว์ล่ง ิ สหพั นธ์อุตสาหกรรม การพิ มพ์ ครั้งที่ 3
31
่ มชมโรงงานบางกอกโรลเลอร์ เยีย
81
โคนิก้า มินอลต้า เส้นทางแห่งความส�ำเร็จ
32
KNOWLEDGE
สัมมนา Smart Packaging Forum
35
สาระน่ารู้ เกี่ยวกับทางการพิ มพ์ ออฟเซต ปัญหาและวิธีแก้ไข (2)
22
ฟู จิ ซีร็อกซ์ จัดงาน “ขับเคลื่อน ธุรกิจด้วยเทคโนโลยีอัจฉริยะ”
44
36
งานแรลลี่ RICOH Rock Star Party 2019
46
มารู้จักประเภทปั๊มลม และวิธี เลือกใช้ป๊ ัมลมให้เหมาะกับงาน ตอนที่ 1
47
42
งานประชุมใหญ่ สภาอุตสาหกรรมฯ
การรักษาความปลอดภัย ข้อมูลในระบบ
พิ ธีมอบเกียรติบัตร นักเรียนการพิ มพ์ ฯ รุ่นที่ 13
48
การบริหารจัดการในโรงพิ มพ์ ตอนที่ 1
54
สัมมนา Gravure Printing & Trend Technology Cost Saving
49
หลอดเลือดสมอง (Stroke)
72
FTI Chairman Club ครั้งที่ 1 โดย สอท.
53
การสื่อสารเพื่ อการทีมงาน ทางธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ตอนที่ 3 (ตอบจบ)
74
ฟู จิ ซีร็อกซ์ เปิดตัวเครื่องพิ มพ์ รุ่นใหม่ PrimeLink™ C9070/C9065
INTERVIEW
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
วิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ / วิศรุต ส่งเสริมสวัสดิ์ การปรับตัวของหนังสือ ในยุคโลกดิจิทัล
18
โครงการคุณวุฒิวิชาชีพ
62
จิรายุทธ์ นิยมมาลัย บริษัท ซันเปเปอร์ จ�ำกัด
68
“พรเทพ สามัตถิยดีกุล” กับแนวคิดการบริหาร
76
ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ที่ บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
The Thai Printing Association www.thaiprint.org
50
AD_soontorn new _pc3.pdf 1 23/8/2560 9:29:08
Digital & Offset Printing, Quick!
We can print even one piece with highest quality. Leaflet, Brochure, Photo Book, Personalized Mailing, Postcard, Hand Book Business Card, Report, Seminar Document, Menu, Label & Packetging etc. บริการพิมพงานระบบดิจิตอลคุณภาพสูง งานพิมพเรงดวน พิมพมาก พิมพนอย ไดตามความตองการ รวดเร็ว ไมตองทำฟลม ไมตองทำเพลท ประหยัดเวลาและคาใชจาย สีสันสดใส คมชัด คุณภาพสูง
บริการพิมพงานระบบอิงคเจ็ท บริการพิมพงานระบบดิจิตอล
ปายไวนิล ปายโฆษณา Roll up, X-Stand, J-Flag, Canvas พิมพสติกเกอร ฉลากสินคา ฟวเจอรบอรด พรอมไดคัทครบวงจร ฯลฯ
นามบัตร บัตรสมาชิก แผนพับ ใบปลิว โบรชัวร โปสการด วุฒิบัตร เมนูอาหาร แค็ตตาล็อกสินคา หนังสือ นิตยสาร พ็อกเก็ตบุค ปฎิทิน โฟโตบุค สติกเกอร ฉลากสินคา ฯลฯ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 55
055 8/9/2560 3:26:09
18
INTERVIEW
วิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ และ วิศรุต ส่งเสริมสวัสดิ์ การปรับตัวของหนังสือในยุคโลกดิจิทัล
"ปัจจุบันนี้ธุรกิจหลักของ บริษัทยังคงเป็นกุลสตรี แต่ได้มีการปรับเปลี่ยน Contents และช่องทาง การจ�ำหน่ายที่ทันสมัยมากขึ้น ผ่านทั้งช่องทางออนไลน์และ ออฟไลน์ โดยได้สร้างเพจ และเว็บไซต์เพื่ อเปิดกว้าง ไม่เฉพาะเพี ยงแค่ใน ประเทศไทยเท่านั้น โดยให้ ลูกชายเป็นคนดูแลในส่วนนี้" วิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
INTERVIEW
19
ต้องยอมรับว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล ที่สื่อเทคโนโลยีต่างๆ จะมีอิทธิพลต่อการใช้ชีวิตของผู้คน การใช้ ่ นพฤติกรรมของคน อินเตอร์เน็ตจะอยูค ่ วบคูก ่ บ ั ชีวต ิ ประจ�ำวันของคนทัว ่ ไป ท�ำให้เกิดการปรับตัวครัง ้ ใหญ่ ปรับเปลีย อ่านหนังสือ โดยต้องหันไปอ่านหนังสือในรูปแบบใหม่ ถือว่าเป็นปรากฏการณ์ใหม่ท่เี กิดขึ้นในสังคมบ้านเรา วารสาร Thai Print ฉบับนี้ ได้รับเกียรติจากคุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ และ คุณวิศรุต ส่งเสริมสวัสดิ์ บุตรชายซึ่งเป็นทายาท รุ่นที่ 3 ของ นิตยสาร “กุลสตรี” ที่ยังสามารถยืนหยัดในยุคที่สื่อดิจิทัล หรือสื่อออนไลน์เป็นที่นิยมมากกว่าสิ่งพิ มพ์ บนกระดาษ มาเล่าถึงวิธีปรับตัวของคนท�ำสื่อและหนังสือในโลกยุคดิจิทัล
ประวัติความเป็นมาของบริษัท
คุ ณ วิ รุ ฬ ห์ เ ล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า บริ ษั ท บวรสารการพิ ม พ์ จ� ำ กั ด มี ป ระวั ติ อันยาวนานนับตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบันร่วม 50 ปี เริ่มต้นจากการ ตั้งบริษัทครั้งแรกอยู่บริเวณเสาชิงช้า โดยคุณพ่อได้ริเริ่มมีความคิดตั้ง โรงพิมพ์ร่วมกับพี่ ๆ น้อง ๆ เพื่อรับงานพิมพ์ทั่วไป และได้ออกนิตยสาร เป็นของตนเอง “สกุลไทย” เป็นหนังสือฉบับแรกของบริษัทที่ท�ำมาร่วม 10 ปี จนกระทั่งคุณพ่อได้แยกออกมาท�ำนิยตสาร “กุลสตรี” ในช่วง เริ่มแรกของกุลสตรีได้สั่งซื้อเครื่องพิมพ์ออฟเซ็ตมาทั้งหมด 6 เครื่อง เพือ่ รองรับงานพิมพ์ทงั้ ของตนเองและงานพิมพ์อนื่ ๆ ทัว่ ไป แต่ในช่วงแรก นั้นเป็นเครื่องพิมพ์สีเดียว ก่อนจะเปลี่ยนมาเป็นเครื่องพิมพ์ 4 สี งานที่ รับพิมพ์จะมีทั้งแบบเรียนของคุรุสภา และ Yellow Pages ซึ่งมีปริมาณ การพิมพ์ค่อนข้างมาก ส่งผลให้ต้องพิมพ์งานตลอด 24 ชั่วโมง เป็นระยะ เวลาหลายเดือน แต่ในปัจจุบนั ไม่ได้รบั พิมพ์งานตัวนีแ้ ล้ว เนือ่ งจากเกรงใจ เพื่อนบ้านรอบข้าง เพราะมีทั้งเสียงและกลิ่นที่อาจจะก่อให้เกิดการ รบกวน อีกทั้งถนนบริเวณที่ตั้งบริษัท ไม่อนุญาตให้รถบรรทุกวิ่ง ท�ำให้ ยากล�ำบากในเรื่องของการขนส่ง จะย้ายที่ตั้งออกไปก็ยังไม่ถึงเวลาที่ เหมาะสม ปัจจุบันนี้ธุรกิจหลักของบริษัทยังคงเป็นกุลสตรี แต่ได้มีการปรับเปลี่ยน Contents และช่องทางการจ�ำหน่ายที่ทันสมัยมากขึ้น ผ่านทั้งช่องทาง ออนไลน์และออฟไลน์ โดยได้สร้างเพจและเว็บไซต์เพื่อเปิดกว้างไม่ เฉพาะเพียงแค่ในประเทศไทยเท่านัน้ โดยให้ลกู ชายเป็นคนดูแลในส่วนนี้ โดยเนื้อหาหลักๆ ของหนังสือจะเป็นเทรนที่ก�ำลังเป็นที่นิยม แต่ก็ยังคง รูปแบบเดิมไว้เช่นกัน นอกจากนีย้ งั มีการขยายไลน์ธรุ กิจไปนอกเหนือจาก สิง่ พิมพ์ คือ การผลิตและจ�ำหน่ายน�ำ้ ปลาหวาน และเมีย่ งค�ำ “แม่ตอ้ ย” ซึ่งบริษัทออกแบบและจัดพิมพ์บรรจุภัณฑ์ด้วยตนเอง
เครดิตภาพปกนิตยสารกุลสตรีจาก
http://www.ookbee.com/shop/magazine/KULLASTREE/
เครดิตภาพน�้ำปลาหวานแม่ต้อยจาก
https://www.facebook.com/maetoynamplawan/
www.thaiprint.org
20
INTERVIEW
“ผมเชื่อว่าคอนเทนต์ ไม่มีวันตาย แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะ ออกมาในรูปแบบไหน เท่านั้น ไม่ว่าจะเป็น เล่มออฟไลน์หรือ ออนไลน์ งานอีเวนต์ ทุกอย่างสามารถท�ำ ออกมาได้หมด” วิศรุต ส่งเสริมสวัสดิ์
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
INTERVIEW
การปรับตัว และการตอบโจทย์ ตลาดสื่อสิ่งพิ มพ์ ปัจจุบัน
คุณวิศรุตตอบค�ำถามในส่วนนีว้ า่ “เราเป็นโรงพิมพ์ และมีนติ ยสารกุลสตรี ที่เป็นคอนเทนต์ด้วย เราต้องปรับตัวเองเป็นผู้ผลิตคอนเทนต์ ไม่ใช่แค่ว่า ผลิตแค่สื่อ เราต้องมองให้กว้างเพื่อเพิ่มช่องทางเนื่องจากโลกออนไลน์ ก�ำลังเข้ามา เราต้องคิดให้เยอะขึ้นพยายามแตกแขนงช่องทางการน�ำ เสนอเนือ้ หา เพราะเราเป็นสือ่ ฉะนัน้ คงท�ำเพียงแค่นติ ยสารเล่มเดียวไม่ได้ แต่ต้องท�ำอย่างไรให้มีรายได้เข้ามาเพื่อความอยู่รอด แม้นิตยสารจะ ปิดตัวไป แต่คนท�ำหนังสือยังผลิตคอนเทนต์ลงสื่อต่างๆ อยู่ แต่มีการ รับพิมพ์และรับออกแบบควบคูก่ นั ไป ไม่ได้แบ่งว่าพิมพ์งานอย่างเดียวแล้ว จบอยู่เท่านั้น ผมเชื่อว่าคอนเทนต์ไม่มีวันตาย แต่ขึ้นอยู่กับว่าจะออกมา ในรูปแบบไหนเท่านัน้ ไม่วา่ จะเป็นเล่มออฟไลน์หรือออนไลน์ งานอีเวนต์ ทุกอย่างสามารถท�ำออกมาได้หมด” มุมมองเกี่ยวกับภาพรวม ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ในอนาคต
คุณวิศรุตกล่าวว่า “ในความคิดของผมคิดว่า การพิมพ์อาจจะเป็นแนวทาง ที่เฉพาะกลุ่มมากขึ้น ยกตัวอย่างเช่น เทป ซีดีที่ปัจจุบันนี้หายไปแล้ว คือ มันเป็นสิ่งที่จับต้องได้ คนที่รักและชอบตรงนี้ มักจะต้องมีการจับถือ ไม่ใช่แค่การมองผ่านจอแล้วจบ ความหมายก็คือ รูปเล่มมีมูลค่ามากกว่า ออนไลน์ แต่อาจจะเป็นพรีเมียมมากขึ้นหรือเป็นของสะสม ส่วนในเรื่อง ของนิตยสารอาจจะต้องปรับตัวมากขึ้น” คุณวิรุฬห์เสริมว่า “การพิมพ์โดยทั่วไปจะมีความคล้ายคลึงกัน ขั้นตอน หลังการพิมพ์จะสามารถช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งพิมพ์ได้มาก ไม่ว่าจะ เป็นปั๊มฟอยล์ สปอตยูวี เคลือบเงา ปั๊มนูน อะไรเหล่านี้ แต่ก็เป็นส่วนที่ มีคา่ ใช้จา่ ย ซึง่ ไม่เหมาะกับงานนิตยสารเท่าใดนักเนือ่ งจากจัดพิมพ์อยูใ่ น ปริมาณที่มาก แต่เหมาะกับงานพิมพ์น้อยๆ ที่ดูแล้วมีค่า ยกตัวอย่างเช่น การ์ดแต่งงาน” หลายคนมองว่าอุตสาหกรรมการพิ มพ์ อยู่ในช่วงขาลง
คุณวิรุฬห์กล่าวทิ้งท้ายในส่วนนี้ว่า “สื่อด้าน Commercial ค่อนข้าง ทรงตัว แต่ในด้านของบรรจุภัณฑ์ก�ำลังเฟื่องฟู เราต้องปรับตัว ทุกคน ต้องปรับตัวแทนที่จะรับงานมาแล้วพิมพ์ตามออร์เดอร์ อาจจะเพิ่มงาน ออกแบบร่วมด้วยเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับงาน ถ้าไม่มีการออกแบบเพิ่มขึ้น มาจะค่อนข้างล�ำบากอยู่พอสมควร และควรหาความรู้เรื่องเทคโนโลยี ใหม่ๆ ของเครื่องพิมพ์หลังการพิมพ์ว่าพัฒนาไปอย่างไรบ้าง แล้วน�ำมา ปรับใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจ ไม่ใช่ว่าออกแบบมาแล้วเครื่องรับไม่ได้ ก็ไม่เกิดประโยชน์เช่นกัน”
www.thaiprint.org
21
22 KNOWLEDGE
สาระน่ารู้ เกี่ยวกับทางการพิ มพ์ ออฟเซต ปัญหาและวิธีแก้ไข (2) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com
ปัญหาในการพิมพ์ออฟเซต มาจากวัสดุที่น�ำมาใช้ในกระบวนการพิมพ์ อาทิเช่น กระดาษ น�ำ้ ยาฟาว์นเทน รวมถึงแม่พมิ พ์หรือเพลท ปัญหาต่างๆ สามารถท�ำให้เกิดการสูญเสียของงานพิมพ์ รวมถึงเวลาในการผลิตงาน ช่างพิมพ์และผู้ที่เกี่ยวข้องในการท�ำงาน จึงควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับ ความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งท�ำกระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพมากขึ้นนั้นเอง ทีโ่ รงพิ มพ์ พิมพ์ งานฉลาก พบปัญหาตอนตัดงาน เนื่องจากภาพพิ มพ์ มีการหดสั้ นลงกว่าต้นฉบับ มีวิธีแก้ไขปัญหาอย่างไร
ภาพพิมพ์มีการยืดหด เกิดจากเส้นรอบวงของโมเพลทหรือโมกดพิมพ์ (โมเหล็ก) ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไป โดยปกติโครงสร้างเครือ่ งพิมพ์ออฟเซต ป้อนแผ่น จะมีการออกแบบช่วงลึกบ่าโม (อันเดอร์คัท) ของโมเพลท มาแตกต่างกัน บางบริษัทผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ออกแบบโครงสร้างโมให้มี การรองหนุนที่โมเพลท บางบริษัทผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ออกแบบให้ไม่ต้อง
ท�ำการรองหนุนที่โมเพลท หากท�ำการรองหนุน ท�ำให้เส้นผ่านศูนย์กลาง ของโมเพลทมีการเปลีย่ นแปลงไป ท�ำให้เกิดปัญหาภาพพิมพ์มกี ารหดตัวได้ การแก้ไขเบือ้ งต้นให้ทำ� การตรวจสอบการรองหนุนโมเพลทและโมผ้ายาง ให้ถกู ต้องตามคูม่ อื เครือ่ งพิมพ์ โดยปกติการรองหนุนโมเพลท จะท�ำการ รองหนุนให้เพลทสูงกว่าบ่าโมประมาณ 0.10 – 0.15 มิลลิเมตร เพื่อให้ เกิดแรงกดระหว่างโมเพลทกับโมยาง สามารถวัดความสูงของเพลทที่ สูงกว่าบ่าโมได้โดยใช้เครื่องแพคกิ้งเกจในการวัด ส�ำหรับโมยาง การรอง หนุนโมยางจะให้ผ้ายางนั้นมีความสูงเท่ากับบ่าโมพอดี แรงกดระหว่าง โมเพลทและโมยาง จะมีแรงกดประมาณ 0.10 – 0.15 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นแรงกดมาตรฐานในการพิมพ์ออฟเซต บางโรงพิมพ์มีการรองหนุน โมยางที่สูงกว่าที่ก�ำหนด อาจจะท�ำให้เกิดปัญหาภาพพิมพ์มีการยืดตัว และท�ำให้สีมีการเปลี่ยนแปลงไปได้เนื่องจากแรงกดระหว่างโมเพลท และโมยางมีการกดกันมากไป ท�ำให้สง่ ผลต่อสีของภาพพิมพ์ และยังส่งผล ต่อเฟืองของเครื่องพิมพ์ ที่ท�ำให้มีการอัดกันระหว่างเฟืองมากเกินไป อีกด้วย
เพลท หนา 0.10 - 0.15 มม. อันเดอร์คัท 0.03 มม.
180 มม. Ø
20 มม.
บ่าโมเพลท
โมเพลท ช่วงลึกบ่าโม (อันเดอร์คัท) บ่าโม และการรองหนุนโมเพลท ่ า: เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ ออฟเซต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ทีม
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
KNOWLEDGE 23
การที่โรงพิ มพ์ ประสบปัญหางานปรู๊ฟดิจิตอลกับ งานพิ มพ์ ที่ พิ มพ์ ได้ มี สี ที่ แ ตกต่ า งกั น เกิ ด จาก สาเหตุใด
การปรู ๊ ฟ สี ง านพิ ม พ์ ด ้ ว ยเครื่ อ งพิ ม พ์ ดิ จิ ต อลในปั จ จุ บั น มี ก ารใช้ ง าน โดยทั่วไป อยู่ 2 ระบบ คือ ระบบเลเซอร์และระบบอิงค์เจ็ท แต่ที่นิยมใช้ กันอย่างแพร่หลายจะเป็นการปรูฟ๊ ด้วยระบบอิงค์เจ็ท การทีส่ ขี องงานพิมพ์ มีความแตกต่างกัน สามารถวิเคราะห์ได้จากวัสดุ และระบบการพิมพ์ ที่ ใช้ นั้ น เอง ในส่ ว นของวั ส ดุ หมึ ก พิ ม พ์ แ ละกระดาษมี ค วามส�ำ คั ญ อย่างมากต่อการผลิตสีงานพิมพ์ โดยระบบอิงค์เจ็ทเอง มีการใช้หมึกพิมพ์ ฐานน�้ำในการผลิตสีในงานปรู๊ฟ ส่วนระบบการพิมพ์ออฟเซต จะใช้หมึก พิมพ์ฐานน�้ำมันในการผลิตสี ท�ำให้หมึกพิมพ์ที่ใช้มีความแตกต่างกัน กระดาษทีใ่ ช้ในการพิมพ์และการปรูฟ๊ งาน ก็มคี วามแตกต่างกัน โดยกระดาษ ที่ใช้ในการปรู๊ฟส่วนใหญ่เป็นกระดาษที่มีความมันวาวสูง (High Gloss)
จากวัสดุทงั้ สองทีม่ คี วามแตกต่างกัน ส่งผลให้การผลิตสีบนแผ่นปรูฟ๊ และ งานพิมพ์จะมีความแตกต่างกันไปด้วย ในส่วนของระบบการพิมพ์กเ็ ช่นกัน ระบบการพิมพ์โดยทั่วไปมีการใช้แรงกดในการพิมพ์ ท�ำให้มีการเกิดการ บวมตัวของเม็ดสกรีนเกิดขึน้ สีทไี่ ด้บนแผ่นพิมพ์กจ็ ะมีการเปลีย่ นแปลงไป แต่การปรู๊ฟด้วยระบบอิงค์เจ็ท หมึกพิมพ์จะถูกพ่นออกมาจากหัวพิมพ์ เป็นเทคโนโลยีการพิมพ์แบบไร้แรงกด เป็นสาเหตุของการเกิดความ แตกต่างสีของแผ่นปรู๊ฟและแผ่นพิมพ์ ปัจจุบันด้วยเทคโนโลยีของระบบ การจัดการสี (Colour Management System, CMS) ที่มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ท�ำให้การปรู๊ฟดิจิตอล สามารถผลิตสีที่มีความใกล้เคียง หรือเหมือนกันแผ่นพิมพ์จริงได้ ซึ่งสถานประกอบการควรมีการศึกษา ข้อมูลเพื่อประกอบการเลือกใช้อุปกรณ์และซอฟท์แวร์ที่เหมาะสมกับ การใช้งานของแต่ละแห่ง ท�ำให้ปัญหาความแตกต่างสีระหว่างแผ่นพิมพ์ และแผ่นปรู๊ฟได้ลดน้อยลงไป
Color Management System
Camera, Scanner (CMYK, RGB)
Printing (CMYK)
ICC Profile
ICC Profile
Color space of Sharing
ICC Profile
Monitor (RGB)
Device Independent Color CIE L*a*b*, CIE XYZ, etc.
ICC Profile
Printer (RGB, CMYK, six colors, etc.)
ระบบการจัดการสี (CMS) ที่สามารถช่วยให้อุปกรณ์ในกระบวนการผลิตสิง ่ พิ มพ์ สามารถผลิตสีได้ใกล้เคียงกัน ่ า: https://www.nec-display.com/global/technology/tec_mnt_clb.html ทีม
www.thaiprint.org
24 KNOWLEDGE
่ บ ทีโ่ รงพิ มพ์ พิมพ์ งานสีส ี นกระดาษปอนด์ พบปัญหา เม็ ด สกรี น บวมมาก จนท� ำ ให้ ร ายละเอี ย ดของ ภาพหายไป สี ที่ได้มีความแตกต่างจากต้นฉบับ ค่อนข้างมาก แรงกดทีใ่ ช้ในการพิ มพ์ ได้มก ี ารปรับ ตั้งตามความหนาของกระดาษ เกิดจากสาเหตุใด และมีวิธีการแก้ไขอย่างไร
การเกิ ด เม็ ด สกรี น บวม เป็ น ลั ก ษณะปกติ ข องการพิ ม พ์ ที่ ใช้ แรงกด แต่การเกิดเม็ดสกรีนบวมที่มากเกินไป จะเป็นปัญหาทางการพิมพ์ โดยปกติการปรับตั้งแรงกดที่ถูกต้อง จะเป็นปัจจัยหลักในการควบคุม การการเกิ ด เม็ ด สกรี น บวม หากมี ก ารปรั บ ตั้ ง แรงกดที่ ถู ก ต้ อ งแล้ ว ให้พิจารณาปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น หมึกพิมพ์มีความเหนียวหนืด
40 LPI
60 LPI
เหมาะสมหรือไม่ หากหมึกพิมพ์ที่มีความเหลว จะท�ำให้เกิดเม็ดสกรีน บวมมากขึ้น อีกปัจจัยที่ส�ำคัญ คือการเลือกความละเอียดสกรีนให้ เหมาะสมกับกระดาษที่พิมพ์ กระดาษเคลือบผิวส่วนใหญ่ เช่น กระดาษ อาร์ตมัน กระดาษอาร์ตด้าน สามารถใช้ความละเอียดสกรีนตั้งแต่ 175 เส้นต่อนิว้ (line per inch, lpi) ขึน้ ไปได้ แต่การพิมพ์ลงบนกระดาษ ไม่เคลือบผิว อาทิเช่น กระดาษปอนด์ กระดาษปรูฟ๊ ควรใช้ความละเอียด สกรีนประมาณ 133, 150 เส้นต่อนิ้ว จะท�ำให้สามารถควบคุมการเกิด เม็ดสกรีนบวมได้ การปล่อยหมึกพิมพ์ก็เป็นอีกปัจจัยที่ส�ำคัญ การปล่อย หมึกพิมพ์มากเกินไป จะท�ำให้การเกิดเม็ดสกรีนบวมเกิดมากไปด้วย หากมีการควบคุมดังกล่าว จะท�ำให้การเกิดเม็ดสกรีนบวมมีการเกิด ที่เหมาะสม และไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสีงานพิมพ์
80 LPI
100 LPI
ความแตกต่างของความละเอียดสกรีนที่ส่งผลต่อความละเอียดของภาพพิ มพ์ และต้องมีการเลือกใช้ให้เหมาะสมกับกระดาษที่น�ำมาใช้พิมพ์ ่ า: https://graficasochoa.wordpress.com/2016/07/07/como-definir-la-resolucion-de-una-imagen/ ทีม
ในการพิ มพ์ งานพลาสติก พบปัญหาสภาพการเดิน ่ ำ� มาใช้พิมพ์ มก กระดาษไม่ดี พลาสติกทีน ี ารติดกัน ไม่สามารถป้อนเข้าพิ มพ์ ได้ เพราะเหตุใด
การพิมพ์พลาสติกด้วยการพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น ปัญหาสภาพการเดิน กระดาษไม่ดี เกิดจากพลาสติกที่น�ำมาพิมพ์ไม่สามารถแยกตัวกันได้ใน ระหว่างป้อนเข้าสู่เครื่องพิมพ์ โดยปกติไม่ว่าการพิมพ์กระดาษที่มีผิวลื่น มากๆ ประเภทกระดาษที่เคลือบฟอยล์หรือพลาสติก ปัญหาการเดิน กระดาษเข้าเครื่องพิมพ์จะเกิดขึ้น เนื่องจากในกองกระดาษเองจะเกิด ไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้น ท�ำให้กระดาษหรือแผ่นพลาสติกไม่สามารถแยกตัว ออกจากกันได้ การแก้ไขปัญหาในลักษณะนี้ ควรติดตั้งเครื่องลดการ เกิดไฟฟ้าสถิตที่หน่วยป้อนของเครื่องพิมพ์ เพื่อช่วยให้ไฟฟ้าสถิตใน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
กองกระดาษลดลง และท�ำให้หวั ลมดูดและหัวลมเป่าในหน่วยป้อนกระดาษ สามารถท�ำงานได้ และจะสามารถเดินกระดาษได้ดีขึ้น สภาพแวดล้อมในโรงพิมพ์เป็นปัจจัยอีกอย่างหนึ่งที่ส�ำคัญ การควบคุม อุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ในห้องพิมพ์เป็นสิ่งที่ส�ำคัญมาก เนื่องจาก จะส่งผลต่อวัสดุที่น�ำมาใช้พิมพ์ และต่อการแห้งตัวของหมึกพิมพ์อีกด้วย นอกจากนีห้ ากมีอณ ุ หภูมแิ ละความชืน้ สัมพัทธ์ไม่เหมาะสม จะท�ำให้มกี าร เกิดไฟฟ้าสถิตเกิดขึน้ อีกด้วย อุณหภูมทิ เี่ หมาะสมในห้องพิมพ์ คือ 22 - 24 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ทเี่ หมาะสมจะประมาณ 50 - 55 % ดังนัน้ นอกจากตัววัสดุทนี่ ำ� มาพิมพ์เองมีไฟฟ้าสถิต สภาพแวดล้อมก็เป็นปัจจัยที่ ส่งผลท�ำให้เกิดไฟฟ้าสถิตด้วย ซึง่ ทางโรงพิมพ์ควรจะต้องมีการตรวจสอบ และควบคุมต่อไป
KNOWLEDGE 25
ต�ำแหน่งการติดตั้งระบบป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ส�ำหรับการพิ มพ์ พลาสติก ่ า: https://www.simco-ion.co.uk/solutions-for-your-industry/printing/offset-printing/ ทีม
ต�ำแหน่งการติดตัง ้ ระบบป้องกันไฟฟ้าสถิตย์ส�ำหรับส่วนป้อนกระดาษ ่ า: https://www.simco-ion.co.uk/solutions-for-your-industry/printing/offset-printing/ ทีม
www.thaiprint.org
26 KNOWLEDGE
ในการพิ มพ์ งานแล้ว สี ออกมาไม่สม�่ำเสมอกันใน แต่ละแผ่นพิ มพ์ ไม่ทราบว่าเกิดจากสาเหตุใด และ จะแก้ไขได้อย่างไร
การพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ออฟเซตนั้น ปัจจัยที่ส�ำคัญ คือ การตั้ง ลูกหมึกและลูกน�้ำที่ถูกต้อง ปัญหางานพิมพ์ที่สีออกมาไม่สม�่ำเสมอกัน อาจจะเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ แต่เบื้องต้นควรตรวจสอบจากการ ปรับตั้งลูกหมึกหรือลูกน�้ำแตะเพลท ดังนั้นวิธีการแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ควรท�ำการตรวจสอบการปรับตั้งลูกหมึกและลูกน�้ำแตะเพลทให้ถูกต้อง ตามคู่มือของเครื่องพิมพ์แต่ละรุ่น จะเป็นการแก้ไขปัญหาสีออกมา ไม่ ส ม�่ ำ เสมอในแต่ ล ะแผ่ น พิ ม พ์ ไ ด้ และอี ก สาเหตุ ห นึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ คื อ
9%
3
44% % 44
%
ลักษณะผิวยางของลูกน�้ำหรือลูกหมึก โดยปกติผิวยางของลูกน�้ำและ ลูกหมึกจะมีรูพรุน เพื่อช่วยในการถ่ายทอดน�้ำหรือหมึกพิมพ์ให้กับเพลท หากผิวยางของลูกน�้ำหรือลูกหมึกมีสภาพเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก อายุการใช้งาน การท�ำความสะอาดไม่ถูกต้องซึ่งท�ำให้มีผงสีหรือแป้งไป สะสมบริเวณผิวของลูกยาง จะส่งผลให้การถ่ายทอดน�้ำหรือหมึกพิมพ์ ไม่สมบูรณ์ และท�ำให้เกิดปัญหาดังกล่าวได้ ดังนั้นควรมีการตรวจสอบ สภาพผิวของลูกน�้ำและลูกหมึกพิมพ์ด้วย อีกสาเหตุหนึ่งที่ส�ำคัญ คือ การปรับตัง้ ลูกเชือ่ ม (ลูกอินเตอร์มเี ดีย) ทีท่ ำ� หน้าทีเ่ ชือ่ มระหว่างลูกน�ำ้ และ ลูกหมึกแตะเพลท ซึง่ โดยปกติมหี น้าทีท่ ำ� ให้สมดุลระหว่างน�ำ้ กับหมึกพิมพ์ ในการพิมพ์ออฟเซตมีความเหมาะสมมากขึ้น หากมีการปรับตั้งลูกเชื่อม ดังกล่าวไม่ดี อาจจะท�ำให้เกิดปัญหาได้เช่นเดียวกัน
ลูกหมึกและการจ่ายหมึกพิ มพ์ ลงสู่เพลท ่ า: เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ ออฟเซต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ทีม
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
KNOWLEDGE 27
ปัญหากระดาษติดผ้ายาง เกิดจากสาเหตุใด
กระดาษติดผ้ายาง เป็นปัญหาที่ท�ำให้เกิดความเสียหายต่อผ้ายางและ โมกดพิมพ์เป็นอย่างมาก ปัญหากระดาษติดผ้ายางสามารถเกิดได้จาก หลายสาเหตุ สาเหตุเบือ้ งต้นทีค่ วรพิจารณา คือ ความเหนียวของหมึกพิมพ์ หากหมึกพิมพ์ที่ใช้มีความเหนียวมากเกินไป จะท�ำให้กระดาษสามารถ ติดผ้ายางได้งา่ ย เนือ่ งจากหมึกพิมพ์ทเี่ หนียวมากจะดึงกระดาษไว้ วิธกี าร แก้ไข คือ ควรมีการตรวจสอบความเหนียวของหมึกพิมพ์ให้มีความ เหมาะสม นอกจากนี้การพิมพ์งานที่มีการปล่อยหมึกพิมพ์มากเกินไป จะเป็นเหตุให้กระดาษนั้นติดผ้ายางได้เช่นเดียวกัน ถ้าหากต้องการพิมพ์
ภาพพืน้ ทึบมากๆ ควรมีการผสมคอมปาวน์ เพือ่ ลดความเหนียวของหมึก พิมพ์ลง และสามารถปล่อยหมึกพิมพ์ได้บางลง ก็สามารถช่วยแก้ไขปัญหา นี้ได้ อีกสาเหตุหนึ่งคือ แรงจับยึดของกริปเปอร์จับกระดาษโมกดพิมพ์ ที่ไม่เหมาะสม ท�ำให้กริปเปอร์ไม่สามารถพากระดาษแยกออกมาจาก โมผ้ายางได้ ซึ่งกริปเปอร์จับกระดาษโมกดพิมพ์จะมีการเสื่อมตามอายุ การใช้งาน นอกจากนี้ยังมีสาเหตุมาจากความสกปรกของตัวกริปเปอร์ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อการจับกระดาษ การตรวจสอบกริปเปอร์และ การบ�ำรุงรักษากริปเปอร์ที่ดี จะสามารถช่วยลดปัญหาได้
หมึกพิ มพ์ ที่เหนียวมากเกินไป ท�ำให้กระดาษติดที่โมผ้ายาง ่ า: เอกสารประกอบการสอน วิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ ออฟเซต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ทีม
www.thaiprint.org
28
NEWS
ประกาศผลผู้ชนะโครงการ คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste
โดย บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมกับ สาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมกับ สาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมด�ำเนินโครงการ การประกวดคลิปวิดโี อภายใต้หวั ข้อ “คนรุน่ ใหม่ไร้ Food Waste” เพือ่ สร้าง ความตระหนักในเรือ่ งลดความสูญเปล่าของอาหารในกลุม่ คนรุน่ ใหม่ทมี่ สี ว่ นส�ำคัญในการร่วมสร้าง การเปลีย่ นแปลงในการลดความสูญเปล่าของอาหาร รวมถึงการเปลีย่ นแปลงเชิงพฤติกรรม โดยการ แชร์ไอเดีย สร้างพลังผ่านวีดีโอคลิปความยาว 3 นาที ซึ่งได้รับความสนใจจากนักเรียน นักศึกษา เป็นอย่างมาก ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการกว่า 259 ผลงาน อีกทั้งยังได้มีการด�ำเนินกิจกรรมสร้าง ความตระหนักในเรื่องลดความสูญเปล่าของอาหาร หรือ FOOD WASTE ในสถาบันการศึกษา ทั่วประเทศกว่า 20 แห่ง รวมถึงได้จดั งานประกาศรางวัลการประกวดคลิปวิดโี อภายใต้หวั ข้อ “คนรุน่ ใหม่ไร้ Food Waste” ขึน้ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ณ โรงละครอักษรา คิงเพาเวอร์ กรุงเทพฯ โดยภายในงานดังกล่าว ได้ รั บ เกี ย รติ จ ากคุ ณ วิ เ ศษ วิ ศิ ษ ฏ์ วิ ญ ญู กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ซี พี แรม จ� ำ กั ด และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ ประธานสาขาวิชามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ประธานในการมอบรางวัล THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
NEWS
29
ภายในงานยังได้รับเกียรติจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์, คงเดช จาตุรันต์รัศมี ผู้ก�ำกับภาพยนตร์, คมกฤษ ตรีวิมล ผู้ก�ำกับภาพยนตร์ และสุปราณี ชนะชัย ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมเสวนาในหัวข้อ “สถานการณ์ Food Waste กับการเปลี่ยนแปลง” โดยมี วีรยุทธ ล้อทองพานิชย์ Executive Producer ร่วมสร้างแรงบันดาลใจในหัวข้อ “เทคนิคการท�ำ หนังสั้นสร้างสรรค์สังคมในยุคดิจิทัล” อีกด้วย ทั้งนี้ “ซีพีแรม” ด�ำเนินธุรกิจเคียงข้างสังคมอย่างเกื้อกูล ยังคงเดินหน้าสร้างความตระหนักในการ ลดความสูญเปล่าของอาหาร ในกลุ่มคนรุ่นใหม่ ลุยปลูกฝังสังคมลดการกินทิ้งขว้าง เพื่อยกระดับสู่ ความยั่งยืนทางอาหาร โดย “ซีพีแรม” ยังคงใช้รายได้ 1% ของยอดขายหรือปีละ 150-200 ล้าน บาท เดินหน้าวิจยั เพือ่ ให้เกิดนวัตกรรมอาหารรากฐานแห่งความยัง่ ยืนของอุตสาหกรรมอาหารและ ร่วมส่งมอบความเป็นอยู่ที่ดีให้ผู้บริโภคทุกคน ส�ำหรับผลการประกาศรางวัลคลิปวิดีโอภายใต้หัวข้อ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” ระดับ มั ธ ยมศึ ก ษา รางวั ล ชนะเลิ ศ ได้ แ ก่ ที ม ABSTRACT จากโรงเรี ย นสาธิ ต แห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน ชื่อเรื่อง “Eat Time Trash” (รับประทาน กาลเวลา อนาคต) รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ทีม HOT MONEY จากโรงเรียนสตรีวทิ ยา ชือ่ เรือ่ ง “PLEDGE” และรางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 2 ทีม Inspiration จากโรงเรียนสภาราชินี จ.ตรัง ชือ่ เรือ่ ง “พ้นภัยต่อ Food Waste” พร้อมด้วยรางวัลชมเชย 2 รางวัล ได้แก่ ทีม Work จากโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ เรื่อง “FoodWar” กับทีม Hazel Digital จาก โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม เรื่อง “Vision” ส่วนผลการประกาศรางวัล ระดับอุดมศึกษา รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ ทีม ท�ำไมไม่กนิ ข้าวหลามในตูเ้ ย็น จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ชือ่ เรือ่ ง “ทิง้ กันไป ใครเจ็บสุด” รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ทีม G-Noon Film จาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชื่อเรื่อง “อ้าวเดือน” รางวัลรองชนะ เลิศอันดับ 2 ทีม 3511 จาก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชื่อเรื่อง “ME” พร้อมด้วยรางวัลชมเชย 2 รางวัล ได้แก่ ทีม Satuboon Production (สาธุบุญ โปรดักชั่น) จาก มหาวิทยาลัยรังสิต เรื่อง “ขาหมู ไม่ใช่เพลงแต่เป็นข้าว” กับทีม ตาปรือ โปรดักชั่น จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เรื่อง “The Value” www.thaiprint.org
30
NEWS
HIGH CHROMA LAB โดย โคนิก้า มินอลต้า
โคนิก้า มินอลต้า จัดกิจกรรมเปิดมิติสีพิเศษในงาน HIGH CHROMA LAB พร้อมรับฟังสัมมนาเพื่อเปิดโลกทัศน์ด้านการออกแบบและเทรนด์ สียุคดิจิตอลไปกับบริษัทชื่อดัง “ยินดีดีไซน์” เจ้าของหลายรางวัลจาก ทั่วโลก คุณฝน นภนีรา รักษาสุข ซึ่งได้กล่าวถึงเทรนด์สีในปี 2019 รวมไปถึง Brand Design Direction ซึ่งเปรียบเสมือนเข็มทิศที่จะต้อง ตั้งตรงให้สู่จุดมุ่งหมาย และการสร้างจุดเด่นให้กับบรรจุภัณฑ์ เพราะ บรรจุภัณฑ์ที่ดี ไม่ได้เป็นเพียงแค่การขายของแต่สร้างความตระหนักให้ กับสังคมไปพร้อมกัน รวมถึงสัมผัสจุดก�ำเนิด เรื่องราว และเอกลักษณ์บนภาพพิมพ์ HIGH CHROMA จากศิ ล ปิ น ไทยผู ้ โ ด่ ง ดั ง คุ ณ ภู มิ นั น ท์ ปิ ย ะทั ศ น์ นั น ท์ (AtomicZen) เจ้าของผลงาน Landscape ระดับโลกมาร่วมแชร์เรื่อง ราวความประทับใจในสีสัน ผ่านผลงานภาพพิมพ์ Landscape และ คุ ณ วิ ศ รุ ต อั ง คทะวานิ ช ผู ้ ถ ่ า ยภาพปลากั ด ใน iPhone ที่ ม าเล่ า ประสบการณ์ และบอกเล่าเรื่องราวแห่งสีสันผ่านผลงานภาพพิมพ์ ปลากัดไทย ที่สร้างชื่อเสียงโด่งดังไปทั่วโลก ต่ อ ด้ ว ยการสาธิ ต การท� ำ งานของแท่ น พิ ม พ์ ดิ จิ ต อล ตระกู ล HIGH CHROMA รุน่ ใหม่ AccurioPress C83hc โลกใหม่แห่งการรังสรรค์สไี ด้ ดั่งความต้องการ ขอบเขตการสร้างสีที่กว้างขึ้นจากผงหมึกชนิดพิเศษ (High Chroma Toner) “สีสนั ตระการตาด้วยสมรรถนะทีย่ ากจะเทียบเคียง” โดยคุณธนานนท์ ทองประเสริฐ ซึ่งเป็นเบื้องหลังความส�ำเร็จในครั้งนี้ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
กิจกรรมอื่นๆ ภายในงานนอกเหนือจากการสัมมนา คือ การแสดง ภาพถ่าย Landscape และภาพปลากัดจากวิทยากร 2 ท่านข้างต้น ซึ่งมี ผู้สนใจเข้าร่วมรับฟังการบรรยายในครั้งนี้เป็นจ�ำนวนมาก โดยจัดขึ้นเมื่อ วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ระหว่างเวลา 13.00-17.00 น. ณ ห้องแกรนด์ บอลรูม โรงแรมโซฟิเทล สุขุมวิท
NEWS
31
โบว์ลิ่งสหพั นธ์ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ครั้งที่ 3
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วมกิจกรรม “โบว์ลิ่งสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ครั้งที่ 3” ซึ่งจัดโดยสหพันธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์ เพือ่ น�ำรายได้สว่ นหนึง่ ขึน้ ทูลเกล้าฯ ถวายโดยเสด็จ พระราชกุศล และเป็นทุนด�ำเนินการของสหพันธ์ฯ ส�ำหรับพิธีเปิดการ แข่งขันด้วยการโยนลูกโบว์ลิ่งปฐมฤกษ์ซึ่งได้รับเกียรติจากคุณคุณธนพล บันลือรัตน์ เป็นประธานในพิธีเปิดฯ เป็นไปอย่างสนุกสนานท่ามกลาง เสียงเชียร์ของผู้เข้าร่วมงาน ผลการแข่งขัน ทีมรางวัลชนะเลิศ ได้แก่ ทีม Host Cyber, ทีมรองชนะ เลิศได้แก่ทมี SAP, ทีมรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ได้แก่ ทีมวิษณุกรุป๊ , รางวัล ชนะเลิศประเภทบุคคล (ชาย) ได้แก่ คุณโอรส จากทีมบางกอก ฮอปเปอร์, รางวัลผู้ชนะเลิศประเภทบุคคล (หญิง) ได้แก่ คุณ Au จากทีมการยาสูบ แห่งประประเทศไทย, รางวัลเกมส์เดียวสูงสุด (ชาย) ได้แก่ คุณชาตรี จากทีมแยกสี 2 และ รางวัลเกมส์เดียวสูงสุด (หญิง) ได้แก่ คุณ T จาก ทีม 3 เซียน สุดท้ายกับรางวัลทีท่ กุ คนอยากได้ไปครอบครองมากทีส่ ดุ คือ ถ้วยรางวัลบู้บี้ ได้แก่ ทีมพรินท์เทคมาแล้ว ทุ ก คนที่ ไ ปร่ ว มการแข่ ง ขั น ต่ า งได้ รั บ ของแจกของขวั ญ กั น ถ้ ว นหน้ า นอกจากนี้ ใครท�ำสไตรค์ได้ติดต่อกัน มารับรางวัลไปเลย ไม่ว่าจะเป็น กระเป๋าผ้า หรือเสือ้ สกรีนลาย และแจกทัง้ บัตรชมภาพยนตร์ฟรี บัตรเล่น โบว์ลงิ่ ฟรี และร้องคาราโอเกะฟรี ให้ได้ขนกลับบ้านกันหน้าตาชืน่ มืน่ โดย กิจกรรมของความสนุกสนานในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2562 ณ Blu-O Rhythm & Bowl ชั้น 5 สยามพารากอน www.thaiprint.org
32
NEWS
* ที่มา: International Data Corporation Asia/Pacific Pte Ltd (IDC) โดยนับเฉพาะเคร�่องที่ออกแบบมาในระดับแท นพ�มพ ความเร็วสูงเท านั้น และไม นับรวมเคร�่อง MFP ความเร็วสูง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
NEWS
www.thaiprint.org
33
NEWS
35
สัมมนา Smart Packaging Forum โดย บริษัท ฟู จิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดงานสัมมนา Smart Packaging Forum โดยมีคุณพิชัย ธัญญวัชรกุล Sales Director กล่าวเปิดงาน พร้อมได้รับเกียรติจากคุณพงศ์ธีระ พัฒนะพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เป็นวิทยากรพิเศษบรรยายในหัวข้อ “Smart Printing Transformation” โดยได้กล่าวถึงในอดีตอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทยเติบโตจากธุรกิจครอบครัวมาเป็น Small and medium Enterprise แต่ด้วยเทรนด์ “Smart Printing Transformation” ในปัจจุบันส่งผลให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเพื่อก้าวไปสู่ Smart and Medium Enterprise จากการดิสรัปชั่น (Disruption) ท�ำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี อันส่งผลให้ผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์แทบจะตัง้ รับไม่ทนั จากเดิมสือ่ สิง่ พิมพ์ กระดาษ ที่เคยจับต้องได้เปลี่ยนมาอยู่ในรูปของแอปพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน และสามารถท�ำธุรกรรมต่างๆ ได้ทุกอย่าง จึงส่งผลต่อไลฟ์สไตล์ผู้บริโภค เปลีย่ นไปท�ำให้มองว่าการท�ำธุรกิจในปัจจุบนั ไม่ใช่ยคุ “ปลาใหญ่กนิ ปลา เล็ก” แต่เป็น “ปลาเร็ว กินปลาช้า” ดังนั้นการที่ธุรกิจในอุตสาหกรรม การพิมพ์จะเดินต่อไปได้ ต้อง Transforms ให้ไปในทิศทางเดียวกัน คือ ธุรกิจต้องมียทุ ธศาสตร์ มีความ Smart มีแผนธุรกิจและการตลาดชัดเจน นอกจากนี้ยังได้รับเกียรติจากคุณสมชนะ กังวารจิตต์ กราฟิกดีไซเนอร์ รางวัลการันตีระดับโลก ผู้ก่อตั้งและครีเอทีฟไดเรกเตอร์แห่ง Prompt Design เป็นวิทยากรบรรยาย ในหัวข้อ "ติดปีกความคิดพิชิตเทรนด์ แพคเกจจิ้ ง จากเทรนไทยสู ่ เ ทรนด์ โ ลก" ซึ่ ง ได้ รั บ ความสนใจจาก ผู้เข้าร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก โดยกิจกรรมดีๆ ในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562 ระหว่างเวลา 13.00-16.30 น. ณ iDSC ชั้น 25 อาคาร Sun Tower B วิภาวดี www.thaiprint.org
36 KNOWLEDGE
มารู้จักประเภทปั๊มลม และวิธี เลือกใช้ป๊ ัมลมให้เหมาะกับงาน ตอนที่ 1 วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com
ในโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท ต้องมีเครือ่ งจักร เครือ่ งมือ หรืออุปกรณ์ อย่างใดอย่างหนึง่ จ�ำเป็นต้องใช้ลมอัด (Compressed Air) เมือ่ เราทราบว่า ต้องมีหรือต้องใช้ลมอัด เราต้องทราบต่อไปว่า เครือ่ งจักรทีผ่ ลิตลมอัดนัน้ เราเรียกว่าปั๊มลม (Air Compressor ) ฉะนั้นก่อนที่เราจะเลือกใช้ เลือกซือ้ ปัม๊ ลม ให้ถกู ต้อง ทัง้ ชนิด ขนาด ประเภทปัม๊ ลมต่างๆ เราต้องทราบ ประเภทของปั๊มลมก่อนว่ามีกี่ประเภท แต่ละประเภทมีข้อดี ข้อเสีย หรือ เหมาะสมกับงานหรือเครีอ่ งจักรทีต่ อ้ งการใช้ลมอัดอย่างไร บางครัง้ เราเลือก อย่างถูกต้องแล้ว แต่โรงงานหรือสถานประกอบการของเราอยูต่ ดิ กับบ้าน หมู่บ้าน ที่อยู่อาศัยหรือชุมชนต่างๆ บางครั้งเสียงดังที่เกิดจากปั๊มลม ขณะท�ำงาน ไปรบกวนชาวบ้าน หรือสถานทีต่ า่ งๆตามทีก่ ล่าวมา เราก็ตอ้ ง ดูความเหมาะสม ความถูกต้อง ที่จะอยู่ร่วมกับชุมชนในกรณีนี้ด้วย ปั๊ มลม (Air Compressor) แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆได้ 6 ประเภท ดังนี้
1. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบลูกสูบ (Piston Air Compressor) 2. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบสกรู (Screw Air Compressor) 3. เครือ่ งอัดลม หรือ ปัม๊ ลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor) 4. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบใบพัดเลื่อน (Sliding Vane Rotary Air Compressor) 5. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบใบพัดหมุน (Roots Air Compressor) 6. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบกังหัน (Radial and Axial Flow Air Compressor) อธิบายรายละเอียดของเครื่องอัดลมหรือปั๊ มลม (Air Compressor) แต่ละประเภทดังนี้ 1. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบลูกสูบ (Piston Air Compressor)
เป็นเครือ่ งอัดลมหรือปัม๊ ลมทีน่ ยิ มใช้กนั มากทีส่ ดุ เนือ่ งจากความสามารถ ในการอัดลม คือสามารถสร้างความดันหรือแรงดันของลมอัด ได้ตั้งแต่ 1 บาร์ (Bar) จนถึงเป็น 1000 บาร์ (Bar) ท�ำให้ปั๊มลมแบบลูกสูบท�ำได้ ตัง้ แต่ความดันต�ำ่ ความดันปานกลาง ไปถึงความดันสูง มีแบบใช้สายพาน จะท�ำให้เสียงเงียบ หรือแบบมอเตอร์ในตัว ที่เรียกว่าลูกสูบโรตารี่ แบบนี้ จะผลิตลมได้เร็วกว่าแบบใช้สายพาน การท�ำงานของปั๊มลมแบบลูกสูบ ลูกสูบจะมีการเคลื่อนตัวในแนวดิ่ง ท�ำให้เกิดการดูดและการอัดภายใน กระบอกสูบ โดยที่ช่วงการดูดอากาศ ลิ้นช่องดูดเข้า จะท�ำการเปิดออก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
เพื่อดึงอากาศเข้าภายในกระบอกสูบ แต่ลิ้นทางด้านอัดอากาศออก จะปิดสนิท จากนั้นเมื่อถึงช่วงการอัดอากาศ ตัวลูกสูบจะดันอากาศให้ ออกทางลมออก ท�ำให้ลิ้นทางด้านทางออกเปิด ส่วนทางลิ้นดูดอากาศ จะปิดลง เมือ่ ลูกสูบของปัม๊ ลมขยับขึน้ -ลง จึงเกิดการดูดและอัดอากาศขึน้ ข้อแนะน�ำในการเลือกซื้อปั๊มลมแบบลูกสูบ - ในส่วนของมอเตอร์ขบั ปัม๊ ลม ให้ดขู นาดของมอเตอร์บริเวณชุดขดลวด อยู่กับที่ (Stator Coil) ให้มีขนาดใหญ่ ไม่เล็กเกินไป - ท่อส่งลมเข้าสู่ถังเก็บ หากมีครีบระบายความร้อน ก็จะช่วยระบาย ความร้อนของลมก่อนเข้าถังเก็บได้
KNOWLEDGE 37 ทางลม ทางลม เข้า ออก
ทางลม ทางลม ออก เข้า
การดูดอากาศ
การอัดอากาศ
ภาพ เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบลูกสูบ (Piston Air Compressor) ่ า: https://www.sant-tech.pl/en/product/piston-air-compressor-7-5-kw-1210l-min-81-02-075121/#galeria ทีม
2. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบสกรู (Screw Air Compressor)
เป็นปั๊มลมที่นิยมใช้ในโรงงาน โรงพิมพ์มาก ปั๊มลมแบบนี้จะมีตัวสกรู โรเตอร์ในการผลิตลม ไม่มีลิ้นในการเปิดปิด ปั๊มลมชนิดนี้ต้องการระบบ ระบายความร้อนที่ดี มีทั้งระบบระบายความร้อนด้วยอากาศ และระบบ ระบายความร้อนด้วยน�้ำถ้าเป็นเครื่องขนาดใหญ่ ปั๊มลมสามารถจ่ายลม ได้ถึง 170 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที (m3/min) และสร้างแรงดันได้มากกว่า 10 บาร์ (Bar) ทางลม เข้า
ทางลม ออก
การท�ำงานของปั๊มลมแบบสกรู ภายในปั๊มลมอัดอากาศ จะมีโรเตอร์เกลียวสกรูคู่กัน โดยที่สกรูทั้งสอง เพลาทีข่ บกัน จะเรียกว่า เพลาตัวผูแ้ ละเพลาตัวเมีย ทัง้ สองตัวเป็นสกรูทมี่ ี ทิศทางการหมุนเข้าหากัน ท�ำให้อากาศจากภายนอกถูกดูดและอัดส่งไป รอบๆ เสื้อปั๊ม และส่งผ่านไปทางออกเข้าสู่ชุดแยกน�้ำมันออกจากอากาศ จากนัน้ จะไปสูถ่ งั เก็บลม โดยความเร็วรอบของเพลาตัวผูแ้ ละเพลาตัวเมีย เกือบเท่ากัน โดยเพลาตัวผู้จะหมุนเร็วกว่าเพลาตัวเมียเล็กน้อย ปั๊มลม ประเภทนี้ การไหลของแรงลมจะราบเรียบกว่าแบบลูกสูบ
สกรูจะหมุน เข้าหากัน
ภาพ เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบสกรู (Screw Air Compressor) ่ า: https://www.neolube.co.th/air-compressor-oil ทีม
3. เครื่องอัดลม หรือปั๊มลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor)
เป็นปั๊มลมที่ใช้ตัวไดอะแฟรม ท�ำงานเหมือนลูกสูบและส่งผลให้ลิ้น ด้านดูดอากาศเข้าเละลิ้นด้านส่งอากาศออกท�ำงานโดยไม่ได้สัมผัสกับ ชิ้นส่วนที่เป็นโลหะ และลมอัดที่ได้จะไม่มีการผสมของน�้ำมันหล่อลื่น จึงเป็นลมที่สะอาด แต่ไม่สามารถสร้างแรงดันได้สูง ข้อดีก็คือ ลมที่ ได้จากปั๊มลมประเภทนี้มีความปลอดภัยสูงและมักใช้ในอุตสาหกรรม อาหาร อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมเคมี และนิยมใช้ในอุตสาหกรรม การเลี้ยงสัตว์น�้ำ เนื่องจากเสียงที่เงียบและลมสะอาดนั่นเอง
การท�ำงานของปั๊มลมแบบไดอะแฟรม ระบบอัดลมลักษณะนี้ จะใช้แผ่นไดอะแฟรมเป็นตัวดูดอากาศ ในขณะ ที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลง แผ่นไดอะแฟรมจะดูดอากาศจากภายนอกผ่านลิ้น วาล์วด้านดูด มาเก็บไว้ในห้องเก็บลม และเมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นสุด แผ่นไดอะแฟรมจะอัดอากาศภายในห้องสูบทั้งหมดผ่านวาล์วด้านออก เพื่อไปเก็บไว้ในถังพักหรือไปใช้งานโดยตรง
www.thaiprint.org
38 KNOWLEDGE ทางลมเข้า ทางลมออก
ทางลมเข้า ทางลมออก
ภาพเครื่องอัดลม หรือปั๊มลมแบบไดอะแฟรม (Diaphragm Air Compressor) ่ า: https://metrocouncil.us/vujk3a/3lv4srwp79nd/ ทีม
4. เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบใบพั ดเลื่อน (Sliding Vane Rotary Air Compressor)
ปั๊มลมชนิดนี้ข้อดีคือเสียงเงียบ การหมุนจะราบเรียบมีความสม�่ำเสมอ การอัดอากาศคงที่ ไม่มีลิ้นหรือวาล์วในการปิดเปิด มีพื้นที่ท�ำงานจ�ำกัด จึงเกิดความร้อนได้ง่าย หากต้องการประสิทธิภาพที่ดีจะต้องผลิตปั๊มลม ชนิดนี้ด้วยความประณีตสูง สามารถผลิตลมได้ตั้งแต่ 4-100 ลูกบาศก์ เมตรต่อนาที (m3/min) และความดันท�ำได้ 1-10 บาร์ (Bar) ทางลมเข้า
การท�ำงานของปั๊มลมแบบใบพัดเลื่อน ตัวเครื่องจะมีใบพัดติดอยู่กับชุดขับเคลื่อนการหมุน หรือเรียกว่าโรเตอร์ และวางให้เยือ้ งศูนย์ภายในของเรือนสูบ เมือ่ มีการหมุนของโรเตอร์ใบพัด อากาศจะถูกดูดทางช่องลมเข้าและอัดอากาศจากพืน้ ทีก่ ว้างไปสูท่ แี่ คบกว่า และส่งอากาศทีถ่ กู อัดออกไปทางช่องลมออกเพือ่ ไปใช้งานหรือเข้าถังเก็บต่อไป
ทางลมออก
เครื่องอัดลม หรือ ปั๊มลมแบบสกรู (Screw Air Compressor) ่ า: http://www.unimaclp.com/sliding-vane/ ทีม
5. ปั๊มลมแบบใบพั ดหมุน (Roots Air Compressor)
ปัม๊ ลมแบบนีจ้ ะมีใบพัดหมุน 2 ตัว เมือ่ โรเตอร์สองตัวท�ำการหมุน อากาศจะ ถูกดูดจากฟากหนึ่งไปยังอีกฟากหนึ่ง โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาตร ท�ำให้อากาศไม่ถูกบีบหรืออัดตัว อากาศจะถูกอัดตัวก็ต่อเมื่ออากาศ ได้ถูกส่งเข้าไปยังถังเก็บลม ปั๊มลมแบบนี้ต้นทุนการผลิตจะแพง ไม่มีลิ้น ไม่ต้องการหล่อลื่นมากขณะท�ำงาน แต่ต้องมีการระบายความร้อนที่ดี
ทางลมเข้า
การท�ำงานของปั๊มลมแบบใบพัดหมุน ใบพัดหมุน 2 ตัว จะหมุนในทิศทางตรงข้ามกัน เมื่อโรเตอร์หมุน ท�ำให้ อากาศถูกดูดจากทางลมเข้า และไปออกช่องทางลมออก โดยไม่ท�ำให้ อากาศถูกบีบหรืออัดตัว
ทางลมออก
ภาพปั๊มลมแบบใบพั ดหมุน (Roots Air Compressor) ่ า: http://pishtazpump.ir/ ทีม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
KNOWLEDGE 39
6. ปั๊มลมแบบกังหัน (Radial and Axial Flow Air Compressor)
ปั๊มลมแบบนี้ จะได้อัตราการจ่ายลมที่มาก ลักษณะเป็นใบพัดกังหัน ดูดอากาศมาจากอีกด้านหนึง่ ด้วยความเร็วสูง และส่งออกไปอีกด้านหนึง่ ลักษณะการออกแบบใบพัดจึงส�ำคัญมาก ในเรื่องของอัตราของการผลิต และจ่ายลม
การท�ำงานของปั๊มลมแบบกังหัน เครื่องอัดลมแบบกังหันนี้ ใช้หลักการของกังหันใบพัด โรเตอร์หมุนด้วย ความเร็วสูง อากาศจะถูกดูดผ่านเข้าในช่องทางลมเข้า และอากาศจะ ถูกอัดและถูกส่งต่อไปยังอีกด้านหนึ่ง ในช่องทางลมออก โดยไหลไป ตามใบพัดและแกนเพลา ปั๊มลมแบบนี้สามารถผลิตลมได้ถึง 170-2,000 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที (m3/min)
ทางลมออก
ทางลมเข้า
ปั๊มลมแบบกังหัน (Radial and Axial Flow Air Compressor) ่ า: http://www.directindustry.com/prod/ingersoll-rand/product-5703-1878281.html ทีม
มารู้จักวิธีการเลือกใช้ปั๊มลมให้เหมาะสมกับงาน
1. ต้องทราบก่อนว่าในโรงงาน หรือสถานประกอบการต้องการใช้ลม ประเภทไหน ลมสะอาดมากหรือน้อย มีนำ�้ มันปนไปกับลมได้ไหม ถ้าทราบ แน่ชัด ก็ย้อนกลับไปดูข้อมูลเกี่ยวกับปั๊มลมว่า ควรจะใช้ปั๊มลมประเภท ไหนในโรงงานหรือสถานประกอบการ หมายเหตุ: ปัจจุบันมีปั๊มลมที่เรียกว่าปั๊มลมแบบออยฟรี (Oil free Screw Air Compressor) ปั๊มลมแบบนี้นิยมใช้มากในอุตสาหกรรมยา เคมี อาหาร อิเลคโทรนิคส์ และอื่นๆ ที่ต้องการลมสะอาดปราศจาก น�้ ำ มั น ที่ ติ ด ไปกั บ ลม ซึ่ ง ปั ๊ ม ลมประเภทนี้ จะหล่ อ ลื่ น โดยการใช้ น�้ ำ ไม่ใช้น�้ำมัน และมีเสียงเงียบมาก 2. ปริมาณลมที่ใช้ มากกว่า 90% ที่โรงงานอุตสาหกรรม หรือ สถาน ประกอบการต่าง ถูกผลิตออกมาใช้โดยปัม๊ ลม 3 ประเภท คือ ปัม๊ ลมแบบ ลูกสูบ ปั๊มลมแบบสกรู และปั๊มลมแบบกังหัน ทีนี้เรามาดูว่าปั๊มลมแบบ ไหนจะเหมาะสมกับโรงงานหรือสถานประกอบการของเรา โดยพิจารณา ได้ดังนี้ 2.1 ถ้าปริมาณการใช้ลมมีไม่มากและใช้ไม่ตอ่ เนือ่ ง ควรเลือกใช้ปม๊ั ลม แบบลูกสูบ เพราะว่าราคาไม่แพง ดูแลและซ่อมบ�ำรุงง่าย ราคาอะไหล่ถกู ท�ำความดันลมได้สูง ส่วนข้อเสียก็มีเหมือนกันคือ มีเสียงดังขณะท�ำงาน ถ้าเปิดต่อเนื่องนานๆ โดยไม่หยุดพักเครี่อง อาจช�ำรุดได้ และปริมาณลม ที่ผลิตได้เทียบกับระยะเวลา จะได้ช้ากว่าแบบสกรูและแบบกังหัน
2.2 ถ้าต้องการปริมาณลมน้อย ปานกลาง และมาก โดยใช้เวลาผลิต ลมอัดสั้น ควรเลือกใช้ปั๊มลมแบบสกรู ปั๊มลมแบบนี้นิยมใช้กันมากใน ปัจจุบนั นี้ มีทงั้ แบบหล่อลืน่ ด้วยน�ำ้ มัน (Oil - Flooded ) และแบบหล่อลืน่ ด้วยน�้ำ (Oil Free) ข้อดีที่เห็นได้ก็คือ ผลิตลมอัดออกมาได้เร็วและ ต่อเนื่องเป็นเวลานานได้โดยไม่ต้องหยุดเครื่อง มีเสียงเงียบ ลมออกได้ สม�่ำเสมอ ประหยัดค่าไฟฟ้าได้ดีเมื่อเทียบกับปั๊มลมแบบลูกสูบที่มีก�ำลัง เท่าๆ กัน ข้อเสียก็มีบ้างคือ ตัวเครื่องของใหม่ และอะไหล่มีราคาสูง ท�ำแรงดันลมอัดได้ไม่สูงมากประมาณ 14 บาร์ (Bar) ซึ่งตามปกติโรงงาน โรงพิมพ์ทั่วไป จะใช้แรงดันลมอยู่ที่ 6-7 บาร์ (Bar) 2.3 โรงงานหรือสถานประกอบการทีต่ อ้ งการใช้ลมอัดในปริมาณมาก ในระยะเวลาสั้นอย่างต่อเนื่อง มักจะเลือกใช้ปั๊มลมแบบกังหัน เพราะลม ทีอ่ อกมามีความสะอาด มีปริมาณเพียงพอ ส่วนมากจะใช้ในอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ เช่น โรงงานปัน่ ด้าย ทอผ้า เป่าและฉีดพลาสติก อุตสาหกรรม เหล็ก ปิโตรเคมีต่างๆ เป็นต้น ส่วนข้อเสียก็มีคือ มีราคาแพงมาก อะไหล่ มีราคาสูง ถ้าขนาดปัม๊ ลมมีขนาดใหญ่มากต้องติดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้า และ ตู้คอนโทรลแยกต่างหากออกมาจากระบบต่างๆ ของเครื่องจักรทั่วไป . . . อ่านต่อฉบับหน้า . . . ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน • https://www.108hardware.com/
www.thaiprint.org
Ad Fest Pc4.pdf 1 1/2/2562 10:46:56
3:46:08 4:04:37 1:45:14 2:36:23 11:47:07 17:59:23 16:00:45 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 26:05 AM
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 39
039 8/9/2560 0:28:49
42 KNOWLEDGE
การรักษา ความปลอดภัย ข้อมูลในระบบ วันนี้ทุกคนกล่าวถึงระบบ ดิจิทัล แต่อะไรล่ะที่เป็น ความปลอดภัย
ให้ความส�ำคัญกับ Firewall
(TEAR DOWN THE FIREWALL IN THE MIND)
โรงพิมพ์ขนาดเล็ก มีความเสีย่ งโดยเฉพาะทีม่ กั มีความคิดผิดพลาดในเรือ่ ง ความปลอดภัยข้อมูลว่าพวกเขาไม่ได้มีอะไรที่คุ้มค่าจะต้องลงทุน ข้อมูล ส่วนบุคคล เช่น บัญชีธนาคาร และที่อยู่ เป็นข้อมูลที่น�ำไปใช้ประโยชน์ ส�ำหรับแฮกเกอร์ ซึง่ ข้อมูลส่วนนีม้ กั มีอยูใ่ นโรงพิมพ์เกือบทุกแห่ง การจูโ่ จม ข้อมูลส่วนใหญ่มกั เกิดขึน้ โดยอัตโนมัติ และค้นหาจุดอ่อนทีส่ ดุ ของระบบ การสร้างความตระหนักของพนักงานเป็นสิ่งส�ำคัญอันดับแรก และเป็น ก้าวแรกของการรักษาความปลอดภัยข้อมูล
โดย บริษัท ไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทย จ�ำกัด
้ ซึง ่ มีทง ลูกค้าเริม ั้ ่ จะรายงานถึงภัยจากไซเบอร์เพิ่ มมากขึน ่ า่ ข้อมูลสูญหายหรือแม้แต่ตอ ้ งหยุดการผลิต ข้ออ้างทีว ่ ะถูกจูโ่ จม” ไม่ได้ชว “เราไม่ได้ให้ความสนใจมากพอทีจ ่ ยอะไร ่ ถ้าพวกเขาเหล่านัน ทุกคนมีโอกาสเป็นเหยือ ้ ไม่ได้ทำ� ตาม กฎเกณฑ์ง่ายๆ เหล่านี้
ข้อเท็จจริงและข้อมูลเชิงตัวเลข (FACTS AND FIGURES)
มากกว่า 53 % ของบริษัทในเยอรมันตกเป็นเหยื่อการก่อ วินาศกรรมหรือการโจรกรรมข้อมูล แหล่งที่มา: การส�ำรวจโดยส�ำนักงานข่าวกรองแห่งชาติ เยอรมนี (German Federal Intelligence Agency) เดือนพฤษภาคม มัลแวร์ที่เรียกค่าไถ่ Wannacry ท�ำให้ระบบ คอมพิวเตอร์หลายร้อยหลายพันระบบในกว่า 150 ประเทศ ท�ำงานไม่ได้ ในเวลาเพียงไม่กี่ชั่วโมง แฮกเกอร์ได้ใช้ช่องโหว่ ด้านความปลอดภัยในระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows ซึ่งมีเฉพาะอุปกรณ์ที่ไม่ได้อัพเดตเท่านั้นที่ถูกโจมตี แหล่งที่มา: Süddeutsche Zeitung Newspaper ในปีท่ีผ่านมา มัลแวร์เรียกค่าไถ่ได้ก่ออาชญากรรมทางไซเบอร์ มากกว่า 1 พันล้านเหรียญสหรัฐ (848 ล้านยูโร) และซอฟต์แวร์ ประเภทที่เข้าโจมตีนี้สามารถหาได้ทางออนไลน์ในราคาเพียง 28 เหรียญสหรัฐ แหล่งที่มา: Frankfurter Allgemeine Zeitung Newspaper THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
มีผู้รับผิดชอบ
(TAKE RESPONSIBILITY)
ถ้าไม่มผี รู้ บั ผิดชอบ ขัน้ ตอนใดๆ ก็จะไม่เกิดขึน้ ดังนัน้ ควรแต่งตัง้ เจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัยทีด่ แู ลการใช้อปุ กรณ์และซอฟต์แวร์ วัตถุประสงค์ทใี่ ช้ และมีพนักงานในส่วนใดบ้างทีใ่ ช้ เจ้าหน้าทีใ่ นต�ำแหน่งนีจ้ ะใช้ขอ้ มูลเหล่านี้ เพื่อจัดท�ำแนวทางด้านความปลอดภัยและหาวิธีการก�ำจัดความเสี่ยง โดยแนวทางหรือหลักเกณฑ์ทที่ ำ� ขึน้ จะอธิบายถึงวิธกี ารปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนด หากการจัดการดังกล่าวเกิดขึ้น ได้จะแสดงให้เห็น ถึงความมุ่ งมั่นใน การรักษาความปลอดภัยข้อมูล ซึง่ จะเป็นการปิดช่องว่างให้กบั แฮกเกอร์
KNOWLEDGE 43
ให้ส�ำรองข้อมูล
(DUAL APPROACH)
ข้อมูลทีส่ ำ� คัญต้องได้รบั การเข้ารหัส หลักการง่ายๆ นีใ้ ช้กบั ทัง้ การจัดเก็บ และส่งข้อมูล และถ้าหากข้อมูลสูญหายและไม่มีการส�ำรองข้อมูล คุณก็ ต้องโทษตัวเองเท่านั้น ส�ำเนาข้อมูลที่ได้จากการส�ำรองข้อมูลประจ�ำวัน บนสื่อเก็บข้อมูลภายนอกช่วยป้องกันข้อมูลสูญหายในกรณีที่เน็ตเวิร์ก ของบริษัทติดมัลแวร์ เช่น มัลแวร์เรียกค่าไถ่ ransomware ใช้วัสดุท่ถ ี ูกต้อง
(USE THE RIGHT MATERIAL)
ซอฟต์แวร์ทลี่ า้ สมัยเปิดโอกาสให้แฮกเกอร์ให้เข้ามาได้งา่ ยอย่างมาก และ นีเ่ ป็นความจริงทีว่ า่ มีบางโปรแกรมไม่ได้ใช้เลย เช่นโปรแกรมทีต่ ดิ ตัง้ โดย ผูผ้ ลิต ดังนัน้ โปรแกรมทีไ่ ม่จำ� เป็นควรลบออก และโปรแกรมทีต่ อ้ งการใช้ งานควรจะต้องอัพเดทเป็นปัจจุบนั บ่อยๆ เสมอ และควรใช้รหัสผ่านทีแ่ ตก ต่างกันส�ำหรับแต่ละโปรแกรม และแต่ละอุปกรณ์ และควรเป็นอักขระที่ มีความยาวแปดตัว อันประกอบด้วยตัวเลข ตัวอักษร และอักขระพิเศษ และควรเปลี่ยนรหัสผ่านตามช่วงเวลา นอกจากนี้ ห้ามใช้ชื่อ วันเดือนปี เกิดและล�ำดับตัวเลขเช่น 123456 การป้องกันไวรัสควรเป็นมาตรฐาน ส�ำหรับอุปกรณ์ทั้งหมด รวมถึงคอมพิวเตอร์พกพาซึ่งพนักงานอาจน�ำไป ใช้ท�ำงานที่บ้าน
ให้ระวังเทคโนโลยีใหม่ท่ล ี ่อใจ (RESIST TEMPTATION)
ให้เล่นตามบทบาทของแต่ละคน (PLAY YOUR PART)
ในหลายกรณี หากพนักงานท�ำงานไม่ระมัดระวังตัวอย่างเช่นเปิดไฟล์ แนบในอีเมลโดยไม่รจู้ กั ผูส้ ง่ จะเป็นการเปิดโอกาสน�ำไวรัส Trojans หรือ ransomware หรือ WannaCry อย่างที่มีข่าวเร็ว ๆ นี้เข้าไปในเน็ตเวิร์ค ของบริษัท ดังนั้น เพื่อลดความเสี่ยงเพียงให้พนักงานได้รับสิทธิ์ในการ เข้าถึงข้อมูล เน็ตเวิร์คและซอฟต์แวร์ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงานเท่านั้น สิทธิผดู้ แู ลระบบก็ตอ้ งก�ำหนดอย่างมีเหตุผล และสงวนไว้สำ� หรับผูบ้ ริหาร วิธีนี้จะป้องกันไม่ให้มีการเข้าถึงของมัลแวร์ไปยังระบบทั้งหมด
การให้บริการออนไลน์ เช่น Dropbox อาจสร้างปัญหาด้านการปฏิบตั งิ าน ตามมาได้ เช่นเดียวกับความเสี่ยงด้านความปลอดภัย ซึ่งไม่ค่อยชัดเจน ว่าไฟล์จากศูนย์ข้อมูล หรือไฟล์ส�ำหรับควบคุม ท�ำให้ระบบคอมพิวเตอร์ หลายร้อยหลายพันเครื่องใช้งานไม่ได้ แฮกเกอร์ใช้ช่องโหว่ด้านความ ปลอดภัยในระบบปฏิบัติการ นอกจากนี้โรงพิมพ์จ�ำนวนมากยังคงใช้ โปรโตคอล FTP ส่งงาน แม้ว่าจะเรียบง่ายให้ผลลัพธ์พอควร ขณะที่ FTP จะส่งข้อมูลโดยไม่มีการเข้ารหัส แฮ็กเกอร์อาจสามารถเจาะเข้ารหัสผ่าน และเข้าไปท�ำลายข้อมูลได้ เวอร์ชั่นอื่นๆ เช่น SFTP, FTPS จะช่วยให้มี ความปลอดภัยมากขึ้นในการส่งข้อมูล อย่างน้อยก็น�ำมาใช้งานได้ The Heidelberg white paper on IT security at print shops: www.heidelberg.com/IT-Security-whitepaper www.thaiprint.org
44
NEWS
่ น ฟู จิ ซีร็อกซ์ จัดงาน “ขับเคลือ ธุรกิจด้วยเทคโนโลยีอัจฉริยะ” Empowering Business with Digital Intelligence
เมื่อวันที่ 7 มีนาคม บริษัท ฟู จิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) ่ นธุรกิจด้วยเทคโนโลยีอจ จ�ำกัด จัดงาน “ขับเคลือ ั ฉริยะ” Empowering Business with Digital Intelligence ณ โรงแรม Park Hyatt Bangkok
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
ซึ่งในช่วงแรกจะเป็นการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “ทิศทางแนวโน้ม เศรษฐกิจโลกในปี 2562” โดย ดร.กิริฎา เภาพิจิตร ผู้อ�ำนวยการวิจัย ด้านการวิจัยและค�ำปรึกษาระหว่างประเทศ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย (TDRI) ซึง่ มีคณ ุ ฮิโรอากิ อาเบะ ประธานบริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวต้อนรับและกล่าวเปิดงาน
NEWS
ช่วงที่ 2 เป็นช่วงเสนา “การประยุกต์ Digital Intelligence” มาใช้ ในองค์กร โดยได้รับเกียรติจากผู้บริหาร ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ�ำกัด (มหาชน) โดย ดร.ลิสา พันธ์วฒ ั น์ศริ ิ Senior Vice President Business Transformation ในหัวข้อ RPA : Robotic Process Automation และ คุณจามร เพียรพร้อม Head of Tax and Disbursement Department ขึน้ มาร่วมสัมมนาในหัวข้อ E-Tax Invoice & e-Receipt นอกจากนีย้ งั มี การจัดบูธแสดงพร้อม Demo สาธิตการใช้งานซอฟแวร์ในการจัดเอกสาร ได้แก่ RPA : Robotic Process Automation, e-Tax Invoice และ Esker ซอฟแวร์ในการจัดการเอกสารด้านบัญชี ซึ่งรับความสนใจจากผู้บริหาร ที่ร่วมงานเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ผู้เข้าสัมมนาได้รับประทานอาหาร กลางวันร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยนทัศนวิสัยน์ทางธุรกิจอีกด้วย
www.thaiprint.org
45
46
NEWS
RICOH จัดงานแรลลี่ RICOH Rock Star Party 2019 สร้างจิตส�ำนึกรักษ์โลก เมื่อวันที่ 2-3 มีนาคม 2562 บริษัท ริโก้ ประเทศไทย จ�ำกัด ได้จัดงาน แรลลี่ RICOH Rock Star Party 2019 เส้นทางกรุงเทพ-พัทยา เข้าร่วม กิจกรรมปลูกปะการัง และปล่อยสัตว์ทะเล ณ หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน หาดเตยงาม อ่าวนาวิกโยธิน หวังที่จะปลูกฝังจิตส�ำนึกรักและหวงแหน สิ่งแวดล้อม พร้อมเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการอนุรักษ์ธรรมชาติและ แหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย จากนั้นเหล่าขบวนผู้เข้าร่วมงานได้พักรับประทานอาหารกลางวันกัน ณ ร้านอาหารมุมอร่อย โคโม่ เขาชีจรรย์ ในสไตล์บรรยากาศแบบยุโรป ฐานกิจกรรมต่อไปที่ได้มาร่วมสนุกกันคือ สวนไทย ซึ่งได้พาทุกท่าน ไปเปลี่ยนบรรยากาศรับความเป็นไทยในเกมงานวัดแบบเป็นกันเอง และร่วมอนุรักษ์ความเป็นไทยผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น สานปลาตะเพียน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
จากนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมงานจึงได้ไปตะลุยแดนไดโนเสาร์กนั ทีส่ วนนงนุช ซึง่ สร้าง ความตื่นตาตื่นใจให้กับทุกท่านเป็นอย่างมาก กิจกรรมความสนุกยังไม่หมดเพียงเท่านี้ เพราะ RICOH ยังจัดดินเนอร์ ปาร์ตี้ให้ทุกท่านได้มาสนุกกัน โดยกิจกรรมหน้างานมีการจัด Rock Makeover ให้ทุกท่านได้แปลงโฉมเป็นร็อกสตาร์ของค�่ำคืนนี้กันอย่าง เต็มที่ และอีกหนึ่งไฮไลท์ประจ�ำงานที่ผู้เข้าร่วมงานทุกท่านต่างตั้งตารอ ก็คือ คอนเสิร์ตสุดมันส์จาก 3 ศิลปินดังที่มาท�ำให้งาน RICOH Rock Star Party 2019 สนุกสุดเหวี่ยง ได้แก่ บอย พีซเมคเกอร์, Getsunova และป้าง นครินทร์ ที่ผู้เข้าร่วมงานทุกท่านต่างอดใจไม่ไหวที่จะโชว์ สเต็ปแดนซ์ และร้องเพลงตามกันอย่างกึกก้อง จบค�ำ่ คืนแห่งความสนุก ไปอย่างสุดประทับใจ
NEWS
47
งานประชุมใหญ่ กลุม ่ อุตสาหกรรม การพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดการประชุม สามั ญ ประจ� ำ ปี 2562 กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 13.00-16.00 น. ณ ห้องบอร์ดรูม 3 โซน C ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์
พร้อมทั้งการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Save ค่าโรงพิมพ์ด้วย โซล่า ซิสเต็ม” โดย คุณกัณรฎา ก�ำลังมาก ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กันกุล เอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (มหาชน)
www.thaiprint.org
48
NEWS
พิ ธีมอบเกียรติบัตร นักเรียนการพิ มพ์ แห่งสถาบันการพิ มพ์ ไทย รุน ่ ที่ 13 สถาบันการพิมพ์ไทยและสมาคมการพิมพ์ไทย จัดพิธีมอบเกียรติบัตรนักเรียนการพิมพ์ แห่งสถาบันการพิมพ์ไทย รุ่นที่ 13 โดยโครงการนี้เริ่มเปิดเรียน เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562 และสิ้นสุดในวันที่ 30 มีนาคม 2562 ใช้เวลาเรียนวันเสาร์ เวลา 9.30-16.30 น. ณ Thai Print Academy ซึ่งตั้งอยู่ที่ นิคมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์สินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยพิธีมอบเกียรติบัตรในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2562 ที่ผ่านมา ณ ร้านอาหารสมน�้ำสมเนื้อ มีจ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการอบรมจ�ำนวนทั้งสิ้น 20 คน ตามรายชื่อดังนี้ 1. คุณธิตนิ นั ท์ นิตยารัมภ์พงศ์ บริษทั โกโด อินเตอร์กรุป๊ จ�ำกัด 11. คุณชัยณรงค์ ชวลิตด�ำรง บริษทั ซีทู แอดเวอร์ไทซิง่ จ�ำกัด 2. คุณทนงศักดิ์ พุมมา บริษทั ฟูจิ ฟิลม์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด 12. คุณพงษ์นที ทิมดี บริษทั ซีทู แอดเวอร์ไทซิง่ จ�ำกัด 3. คุณสิรพิ ร สินส่งสุข บริษทั 98 เพรส แอนด์ แพคกิง้ จ�ำกัด 13. คุณกัญจรี ปิยไพชยนต์ บริษทั ปิยะวัฒน์การพิมพ์ จ�ำกัด 4. คุณพลัฐ ลาภเจริญรักษ์ บริษทั จันวานิช ซีเคียวริตี้ พรินท์ตงิ้ จ�ำกัด 14. คุณฐณัฐฐภร โอภาสวรรัตน์ บริษทั พัฒนศิลป์พริน้ ท์แพค จ�ำกัด 5. คุณมณีนชุ ทรงไพบูลย์ บริษทั ซี.อิลเลียส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 15. คุณเอือ้ จิต พูนพนิช บริษทั พิมพ์ดี จ�ำกัด 6. คุณภานุวฒ ั น์ บัวงาม บริษทั ซี.อิลเลียส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 16. คุณจิราวัฒน์ เหลาสุภาพ บริษทั พิมพ์ดี จ�ำกัด 7. คุณวิเตชา วรภัทรากุล บริษทั ซี.อิลเลียส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 17. คุณอนุชา ช่างเนียม บริษทั พิมพ์ดี จ�ำกัด 8. คุณไพฑูรย์ มาลัยทอง บริษทั ซี.อิลเลียส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 18. คุณศราวุธ ข�ำสวัสดิ ์ บริษทั วินด์เซิฟเลเบล จ�ำกัด 9. คุณเจนจิรา กาฬนาวงษ์ บริษทั ซี.อิลเลียส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 19. คุณพัชรีรตั น์ จันทร์อมิ่ บริษทั โรงพิมพ์เอ็มดีพรินติง้ บรรจุภณ ั ฑ์ จ�ำกัด 10. คุณชลธร วัฒนชีวโนปกรณ์ บริษทั ซี.อิลเลียส (ไทยแลนด์) จ�ำกัด 20. คุณวีรภัทร ลู่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
NEWS
49
สัมมนา Gravure Printing & Trend Technology Cost Saving
สมาคมการพิมพ์ไทย จัดสัมมนา Gravure Printing & Trend Technology Cost Saving เมื่อวันที่ 15-16 มีนาคม 2562 ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 สมาคมการพิมพ์ไทย พระราม 9 กรุงเทพฯ วัตถุประสงค์ของการจัดสัมมนานี้ เพือ่ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ การบริหารจัดการ วัสดุ เคมีสำ� หรับระบบการพิมพ์การเวียร์ ตลอด จนพัฒนาศักยภาพ ทักษะ ในการท�ำงานให้กับบุคลากร เข้าใจ เทคโนโลยีการพิมพ์กราเวียร์ ให้พร้อมต่อการปรับตัวของภาค อุตสาหกรรมในอนาคต งานสัมมนาในครั้งนี้ได้เชิญทีมวิทยากรผู้มีความรู้ ความเข้าใจใน เทคโนโลยีการพิมพ์การเวียร์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ดิจิทัลและสื่อสารมวลชน มาบรรยายให้ความรู้กันอย่างเต็มที่ พร้อมเปิดโอกาสให้พูดคุย แลกเปลี่ยนความรู้ ถาม-ตอบได้ตลอดการฟังสัมมนาฯ ด้วย www.thaiprint.org
50 INDUSTRIAL
ฟูจิ ซีร็อกซ์ เปิดตัวเครื่องพิมพ์ All-In-One ที่สามารถตอบโจทย์ ครอบคลุมสำาหรับการทำางานทั่วไปในออฟฟิศไปจนถึงงานระดับมืออาชีพ
ในเครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ PrimeLink™ C9070/C9065 Printer ประเทศไทย, 28 มีนาคม 2562 – ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) เปิดตัวเครื่องพิมพ์โปรดักชั่นขนาดเล็กรุ่นใหม่ PrimeLink C9070/C9065 เพื่อตอบสนองความต้องการที่เพิ่มมากขึ้น สำาหรับงานพิมพ์สีที่หลากหลาย แบบ on-demand ภายในสำานักงาน และส่วนงานกราฟิกระดับมืออาชีพ TM
เครื่องพิมพ์ PrimeLink C9070/C9065 ตอบโจทย์ ความต้องการทั้งงานพิมพ์ทั่วไปในสำานักงานไปจนถึงงาน ด้านการพิมพ์ระดับมืออาชีพ เช่น ร้านถ่ายเอกสาร หรือผู้ให้ บริการด้านงานพิมพ์ทั่วไป เอเจนซี่ด้านการออกแบบ ธุรกิจขนาดเล็ก สถานศึกษา ร้านค้าปลีก และโรงงานผลิต โดยสามารถเลือกใช้งานแบบเครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก หรือเน้นให้เป็น เครื่องพิมพ์แบบโปรดักชั่นขั้นต้นที่สามารถเลือกต่อชุดอุปกรณ์ หลังการพิมพ์หรือถาดป้อนกระดาษความจุสูงเสริมได้ TM
เวิร์กโฟลว์แบบผสมผสาน เครื่องพิมพ์ PrimeLink C9070/C9065 รองรับงานที่ หลากหลาย ตั้งแต่การใช้งานที่เรียบง่ายภายในสำานักงาน ไปจนถึง การผลิตจำานวนมาก โดยยังคงรักษาคุณภาพสีในระดับที่ดีเยี่ยม ผู้ใช้ในสำานักงานจะสามารถส่งงานพิมพ์ไปยังเครื่องพิมพ์จาก คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์พกพาได้อย่างง่ายดาย ขณะทีบ่ คุ ลากร มืออาชีพจะสามารถจัดการงานพิมพ์โปรดักชั่นจำานวนมาก และปรับเปลี่ยนการตั้งค่าที่หลากหลายผ่านเซิร์ฟเวอร์การพิมพ์ TM
มั่นใจในคุณภาพและสีสันของงานพิมพ์ เครื่องพิมพ์ PrimeLink C9070/C9065 มอบคุณภาพของ งานพิมพ์ที่คมชัด สม่ำาเสมอ และแม่นยำา ด้วยความละเอียด 2,400 x 2,400 จุดต่อตารางนิ้ว (dpi) นอกจากนี้ ฟูจิ ซีร็อกซ์ ยังได้พัฒนา GX-i พริ้นเซิฟเวอร์ ซึ่งรองรับการจัดการค่าสี อย่างมืออาชีพ ช่วยให้ได้งานที่มีคุณภาพสูงโดยสามารถปรับแต่ง คุณภาพของงานด้วยฟีเจอร์ที่หลากหลาย เช่น การปรับเทียบ ค่าสี 3D, ลายสกรีน, การปรับโทนสีด้วยเทคโนโลยี SIQA (Simple Image Quality Adjustment) ช่วยให้งานพิมพ์ มีคุณภาพสูงสุดเทียบเท่าต้นฉบับ TM
งานพิมพ์หลากหลายรูปแบบ เครื่องพิมพ์ PrimeLink C9070/C9065 ช่วยให้ลูกค้าสามารถ ผลิตงานพิมพ์ได้หลากหลาย ทั้งแบบกระดาษหนา 350 แกรม และงานพิมพ์ที่ขนาดแบนเนอร์ นอกจากนี้ยังสามารถต่ออุปกรณ์ เสริมหลังการพิมพ์ รองรับการทำางานเอกสาร หรือหนังสือ ในแบบต่างๆ สามารถตัดเจียนขอบหนังสือได้ถึง 120 หน้า, ทำาแผ่นพับ 5 ส่วน และรายงานเข้าเล่มแบบเจาะรู TM
ด้วยโซลูชน่ั ทีพ่ ร้อมสรรพ การจัดการตัง้ ค่าทีอ่ ตั โนมัติ สแกนเนอร์ ความเร็วสูง และอุปกรณ์เสริมหลังการพิมพ์ที่สามารถเลือกได้ เครื่องพิมพ์ PrimeLink C9070/C9065 จะช่วยลดภาระงานให้ กับบุคลากร และขจัดขั้นตอนที่ยุ่งยาก เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ การทำางานอย่างเหนือชั้นตั้งแต่ต้นจนจบ TM
เกี่ยวกับฟูจิ ซีร็อกซ์: บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ จำากัด ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2505 เป็นผู้นำา ด้านการจัดการเอกสารและการสื่อสาร นำาเสนอโซลูชั่นและบริการ ที่หลากหลาย เพื่อช่วยให้ลูกค้าแก้ไขปัญหาท้าทายทางด้านธุรกิจ โซลูชน่ั และบริการของเราประกอบสร้างขึน้ จากอุปกรณ์มลั ติฟงั ก์ชน่ั เครื่องพิมพ์ และเครื่องพิมพ์สำาหรับธุรกิจสิ่งพิมพ์ระดับโลก ซึ่ง เราได้พัฒนาและผลิตเพื่อจัดจำาหน่ายในประเทศต่างๆ ทั่วโลก นอกจากนี้ ฟูจิ ซีร็อกซ์ ยังมีบริการคลาวด์ และโมบายล์โซลูชั่น พร้อมทั้งสร้างสภาพแวดล้อมการสื่อสารที่ช่วยให้ลูกค้าของเรา เข้าถึงข้อมูลที่ถูกต้องในเวลาและรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อเสริมสร้าง การติดต่อสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ฟูจิ ซีร็อกซ์ เป็นธุรกิจร่วมทุน 75-25 ระหว่างบริษัท ฟูจิฟิล์ม โฮลดิ้ง และบริษัท ซีร็อกซ์ คอเปอร์เรชั่น มีทีมงานขายตรง ครอบคลุมการดำาเนินงานในญี่ปุ่น และภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก รวมถึงจีน บริษัทฯ มีรายได้ 1 หมื่นล้านดอลลาร์ มีพนักงาน ราว 45,000 คนทั่วโลก และมีบริษัทในเครือ รวมทั้งบริษัท ตัวแทนจำาหน่ายกว่า 80 แห่ง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ http://www.fujixerox.com/
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120 p50-51_20190404_ADS Prime_ThaiPrintMGZ.indd 2
4/4/19 17:22
PrimeLink
™️
C9070 / C9065 Printer
Simply professional. Amazingly flexible.
เครื่องพิมพ์แบบ All-in-One
ที่เพียบพร้อมไปด้วยฟังก์ชัน การทำางานที่ครอบคลุมทั้งงานทั่วไป ในออฟฟิศจนถึงงานระดับมืออาชีพ
ความเร็ว พิมพ์ได้สูงสุด 70/65 หน้า/นาที สแกนด้านหน้า-หลังพร้อมกัน สูงสุด 270 ภาพ/นาที (ipm) ความละเอียดในการพิมพ์ 2400 x 2400 dpi ผงหมึก ผงหมึก EA ผงหมึกของฟูจิ ซีร็อกซ์ ที่หลอมละลายในอุณหภูมิต่ำา น้ำาหนักวัสดุพิมพ์ สูงสุด 350 แกรม และ 256 แกรม สำาหรับการพิมพ์สองด้าน *สำาหรับความหนาที่ 221 ถึง 256 แกรม ไม่รับประกันคุณภาพงานพิมพ์
ขนาดวัสดุพิมพ์ สูงสุด 330 x 660 มม.
บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำากัด
สำาหรับการใช้งานในออฟฟิศ เพียงเปิดอุปกรณ์มือถือของคุณเพื่อเปิดการใช้งาน NFC (Near Field Communication) ให้เชื่อมต่อกับ เครื่องพิมพ์ และเปิดใช้ Print Utility เท่านี้ก็สามารถใช้งาน การพิมพ์หรือสแกนได้จากอุปกรณ์มือถือทั้ง iOS และ Android นอกจากนี้คุณยังสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์มือถือ กับเครื่องพิมพ์ผ่านชุดอุปกรณ์ไร้สาย (Wi-Fi Direct) เพื่อพิมพ์งานและการสแกนโดยการใช้ Print Utility, AirPrint, Google Cloud Print และ Mopria ได้เช่นกัน สำาหรับการพิมพ์ ในระดับมืออาชีพ ล้ำาหน้าด้วยความเร็วและคุณภาพงานพิมพ์ที่มาพร้อม กับพริ้นเซิร์ฟเวอร์ GX- i ที่ทันสมัย สามารถใช้สื่อ วัสดุได้หลากหลายและผลิตสี RGB ได้อย่างถูกต้อง โดยอัตโนมัติ ให้คุณภาพสีที่สวย พร้อมเก็บรายละเอียด อันน่าทึ่งของภาพ
123 อาคารซันทาวเวอร์ส เอ ชั้น 23-26 ถ.วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Website : www.fujixerox.co.th Email : amphorn.r@tha.fujixerox.com
ติดต่อได้ที่ 02 660 8000 ต่อ 8802 มือถือ : 090 197 2980
52
NEWS
Chemistry-free dual function CTP and CTF System
No chemicals, No toner, No ink-ribbon and No wash-off required
Perfectly processless CTP&CTF System
มิตซูบิชิเปเปอร์มิลล์
บริษัทผลิตกระดาษที่มีชื่อเสียงในวงการ ด้านการประมวลผลภาพดิจิตอล ่ ีชือ ่ เสียงในวงการด้านการ มิตซูบิชิเปเปอร์มิลล์ เป็น บริษัท ผลิตกระดาษทีม ่ บ ประมวลผลภาพดิจต ิ อล เรามีกลุม ่ ผลิตภัณฑ์หลากหลายทีม ี ทบาทส�ำคัญใน ด้านการถ่ายภาพเช่น กระดาษภาพถ่าย กระดาษเคลือบเรซิน ่ กระดาษอิงค์เจ็ท, อุปกรณ์ CTP และ automatic imposition software
เราเป็นผู้ผลิตรายเดียวในโลกที่จัดการกระบวนการผลิตกระดาษทั้งหมดโดยเริ่มจากการเลือกไม้ ตามด้วยการผลิตเยื่อกระดาษ การผลิตกระดาษตามด้วยการเคลือบเรซิ่นของกระดาษฐานและ the application of photosensitive materials. เราจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงเหล่านี้ ทั้งภายในและนอกประเทศญี่ปุ่น มิตซูบิชิเปเปอร์มิลส์เริ่มต้นการวิจัยและพัฒนากระดาษอิงค์เจ็ท ในปี 1970 และได้ถูกจัดตั้งเป็นผู้น�ำระดับโลก นอกจากนี้มิตซูบิชิเปเปอร์มิลส์ยังมีผลิตภัณฑ์เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมพิมพ์ซึ่งได้รับ การพัฒนาบนพื้นฐานของความเชี่ยวชาญที่ยอดเยี่ยมในด้านการพิมพ์ของญี่ปุ่นและตอบสนอง ความต้องการของผู้ด�ำเนินการพิมพ์ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงจากผู้ใช้ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
สนใจติดต่อสอบถามได้ท่ี Ms. Sirithorn Suphanit Thai Meiwa Trading Co.,Ltd. No.287, Liberty Square Bldg. 18Fl, Unit 1805, Silom Road, Silom, Bangrak, Bangkok 10500 Thailand Tel: +66(0)-2234-9761-5 Fax: +66(0)-2234-9766 Mobile : +66(0)-81-889-6084 E-mail : sirithorn.s@thai-meiwa.co.th
NEWS
53
FTI Chairman Club ครั้งที่ 1
จัดโดยสายงานส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม สอท.
คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วมงาน "F.T.I. Chairman Club ครัง้ ที่ 1" ซึง่ กิจกรรมครัง้ นีจ้ ดั โดยสายงานส่งเสริมและ สนับสนุนอุตสาหกรรม สอท. โดยได้เชิญคุณสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยให้เกียรติกล่าวเปิดงาน พร้อมกันนี้ ร่วมรับฟังการเสวนาในหัวข้อ "เศรษฐกิจและการเมืองไทยหลังการเลือกตัง้ " โดยคุณไพบูลย์ นลินทรางกูร ประธานกรรมการสภาธุรกิจ ตลาดทุนไทย และประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการบริษทั หลักทรัพย์ ทิสโก้ จ�ำกัด และ ผศ.ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล รองอธิการบดีฝ่ายความมั่นคง และบริหารศูนย์รงั สิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมเสวนา ด�ำเนินรายการ
โดยคุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เวทีเสวนาในครัง้ นีไ้ ด้กล่าวถึงความตืน่ ตัวในเรือ่ งการเลือกตัง้ ของคนรุน่ ใหม่ สูตรต่างๆ ในการจัดตัง้ รัฐบาลใหม่ รวมถึงการคาดการณ์ของเศรษฐกิจโลก และของไทยในปี 2562 นี้ ซึ่งยังถือว่าอยู่ในช่วงขาลงเป็นโจทย์ท้าทาย ที่รัฐบาลชุดใหม่ต้องเร่งแก้ไข เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2562 เวลา 17.30-20.30 น. ณ ห้อง Pinnacle 4-6 ชัน้ 4 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล ราชประสงค์ กิจกรรม FTI Chairman Club ครั้งต่อไปมีก�ำหนดจะจัดขึ้น ประมาณต้นเดือนมิถุนายน ศกนี้
www.thaiprint.org
54 KNOWLEDGE
การบริหารจัดการในโรงพิ มพ์ ตอนที่ 1 โดย อาจารย์ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล
หากจะกล่าวถึงการบริหารจัดการองค์กรแล้ว ก็จะนึกถึงเรื่องการจัดการ ภายในและภายนอกองค์กร มีทา่ นอาจารย์ธงชัย สันติวงษ์ ได้กล่าวไว้วา่ “การบริหารจัดการคือ งานที่ผู้น�ำที่จะต้องท�ำเพื่อให้กลุ่มต่างๆ ที่มี คนหมู่มากอยู่รวมกัน และร่วมกันท�ำงานเพื่อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ให้ส�ำเร็จผลโดยได้ประสิทธิภาพ กล่าวอย่างง่ายๆ การบริหารคือ การท�ำให้งานเสร็จลงได้โดยอาศัยคนอื่นเป็นผู้ท�ำให้เสร็จนั้นเอง” แต่ค�ำนิยามที่ได้เรียนให้ทราบไปนี้ จะไม่สามารถส�ำเร็จผลได้หากเรา ไม่ด�ำเนินการจัดการให้ส�ำเร็จผู้เขียนจะขอแบ่งปันเล่าถึงหน้าที่ของการ บริหารซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ 1. การวางแผนองค์กร หมายถึง การที่ผู้บริหารจะต้องเตรียมวางแผน การท�ำงานขององค์กรไว้ล่วงหน้า เรื่องภารกิจที่องค์กรต้องท�ำ แนวทาง การบริหาร วิสัยทัศน์ เพื่อให้องค์กรถึงจุดมุ่งหมาย 2. การจัดการองค์กร หมายถึงการที่ผู้น�ำหรือผู้บริหารองค์กร จะวางผัง โครงสร้างการท�ำงานขององค์กรให้สอดรับหน้าที่ โดยกระจายหน้าทีข่ อง ผูป้ ฏิบตั ิ ตัง้ แต่ ผูบ้ ริหารระดับสูง ระดับกลาง หัวหน้างาน พนักงาน จนถึง แรงงาน โดยก�ำหนดโครงสร้างขององค์กร ให้สอดรับกับงานและภารกิจ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
ดังนัน้ ควรเป็นการจัดร่วมกันของระดับบริหาร เพือ่ ให้ผงั โครงสร้างองค์กร ชัดเจนและผู้ปฏิบัติสามารถท�ำงานได้อย่างดี 3. การสั่งการ หมายถึง การมอบหมายสั่งการให้พนักงานได้ท�ำงาน กระจายงานที่เหมาะสมกับผังโครงสร้างตามหน้าที่ และสอดคล้องกับ แผนองค์กรที่ได้ตั้งไว้ การสั่งการถือว่าเป็นการบริหารที่ต้องอาศัยศิลปะ จิตวิทยาอย่างมาก เพราะการสัง่ การนีเ้ ปรียบได้เหมือนดาบสองคมทีเ่ กิด ทั้งคุณและโทษทั้งผู้ที่สั่งและผู้ที่ถูกสั่ง 4. การประสานงาน หมายถึง ประสานงานเชือ่ มโยงงานให้สอดคล้องกัน ในหน้าที่การงาน ในทุกๆ แผนกของสายงานโดยให้ผู้ปฏิบัติทุกระดับ สามารถท�ำงานได้ ผูบ้ ริหารจะต้องคอยสัง่ การสังเกตเสมอๆ ว่าการท�ำงาน สอดคล้องกันดีหรือไม่ หากพบว่ามีปญ ั หาต้องทบทวนเรือ่ งการจัดองค์กร และสั่งการใหม่ 5. การควบคุม หมายถึง ผูน้ ำ� ต้องบริหารให้ทมี งานปฏิบตั กิ จิ กรรมภายใน องค์กรให้ด�ำเนินไปตามแผนงานขององค์กรที่วางไว้ และก�ำหนดเป็น แนวทางปฏิบัติต่อไป
KNOWLEDGE 55
่ ู้น�ำทีจ ่ ะต้องท�ำ “การบริหารจัดการคือ งานทีผ เพื่ อให้กลุ่มต่างๆ ที่มีคนหมู่มากอยู่รวมกัน และร่วมกันท�ำงานเพื่ อวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ให้ ส�ำเร็จผลโดยได้ประสิทธิภาพ กล่าวอย่างง่ายๆ การบริหารคือ การท�ำให้งานเสร็จลงได้ โดยอาศัยคนอื่นเป็นผู้ท�ำให้เสร็จนั้นเอง” อาจารย์ธงชัย สันติวงษ์ การน�ำการบริหารทั้ง 11 ข้อนี้เป็นตัวอย่างของตัวชี้วัดเพื่อการบริหารและตรวจสอบความส�ำเร็จ ในการบริหารถือว่าเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับผู้บริหารอย่างมาก ผู้บริหารไม่ควรละเลยเรื่องเหล่านี้ หมั่นทบทวนและส�ำรวจอยู่เสมอว่าขาดข้อใดข้อหนึ่งหรือไม่ แน่นอนที่สุดไม่มีผู้บริหารท่านใด จะสมบูรณ์แบบแต่อย่างน้อยถ้าได้มีการส�ำรวจตนเองก็จะสามารถทราบว่าจะจัดการอย่างไรต่อไป ในล�ำดับต่อไปผู้เขียนจะขอยกรายละเอียด ให้ท่านผู้อ่านได้เป็นข้อมูลทั้ง 11 เรื่อง ดังนี้ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management: HRM )
ปัจจัยและหัวข้อการชี้วัดการบริหารจัดการ ที่ผู้บริหารควรค�ำนึงถึง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารจัดการงบประมาณ การบริหารจัดการทั่วไป การบริหารจัดการวัสดุอุปกรณ์ การบริหารการตลาดและขาย การบริหารด้านคุณธรรม การบริหารข่าวสาร ข้อมูลข่าวสาร การบริหาร ระเบียบแบบแผน และด้านเทคนิค 9. การบริหารเวลา กรอบเวลา ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน 10. การบริหารการประสานงาน การประนีประนอม การเจรจาต่อรอง 11. การบริหารการวัดผลและประเมินผล การปฏิบัติงาน
สิ่งส�ำคัญขององค์กรคือ ผู้ท�ำงาน หลายองค์กรที่มีแนวคิดว่าหากจะเกิดปัญหาอะไรเกี่ยวกับด้าน เศรษฐกิจ ภายในองค์กรก็จะลดค่าใช้จ่ายในทุกด้าน แต่สิ่งหนึ่งที่รู้กันก็คือถ้าเกี่ยวกับผู้ท�ำงานหรือ พนักงานองค์กรจะพยายามให้มผี ลกระทบน้อยทีส่ ดุ หลายประเทศทีเ่ จริญแล้วถึงมีคา่ แรงทีส่ งู ถึงสูง มาก และผู้ประกอบการก็พยายามจะเปลี่ยนจากการท�ำงานด้วยมนุษย์มาเป็นระบบอัตโนมัติ เช่น เดียวกันประเทศไทยขณะนี้ก็ก�ำลังจะเดินหน้าเข้าสู้การท�ำธุรกิจ 4.0 นั้นหมายถึงการน�ำนวัตกรรม เข้ามาเพือ่ ลดปัญหาทีม่ าจากแรงงาน และต้องการเพิม่ ผลผลิต แต่ความจริงเรายังคงต้องใช้ทรัพยากร มนุษย์จ�ำนวนมาก ในโรงพิมพ์ก็เช่นเดียวกันยังคงต้องใช้บุคลากรไม่น้อย และต้องการพนักงานที่ มีทักษะและมีฝีมือมากกว่าแรงงานถ้าเราสามารถเลือกได้ หลายโรงพิมพ์มักจะพบปัญหาขาดช่าง เนื่องจากช่างที่ลาออกโดยกระทันหันและสร้างแรงกดดันไม่น้อยกับผู้บริหาร วัตถุประสงค์ของการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีวัตถุประสงค์ส�ำคัญที่จะช่วยขยายบทบาทหน้าที่งานจัดการด้าน บุคลากรและแรงงาน ส�ำหรับงานด้านทรัพยากรมนุษย์ให้มขี อบข่ายของการปฏิบตั ทิ ชี่ ดั เจนขึน้ ดังนี้ 1. เพื่อช่วยให้บุคลากรได้ใช้ทักษะ ความรู้ ความสามารถปฏิบัติงานของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล 2. เพื่อช่วยองค์การด�ำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 3. เพื่อช่วยคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพ และมีแรงจูงใจใฝ่หาผู้ที่มีความสามารถทั้งด้านการท�ำงาน และการศึกษาที่เหมาะสม 4. เพื่อยกระดับความสามารถ และสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงพิมพ์ 5. เพื่อพัฒนา และรักษาบุคลากรที่มีคุณค่า แนวคิดการบริหารงานบุคคล
จากวัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ข้างต้น ผู้เขียนจึงขอน�ำเสนอการปฏิบัติพื้นฐาน ที่เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ หรือการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อให้เกิดขึ้นได้จริงดังนี้ www.thaiprint.org
56 KNOWLEDGE
1. การบริหารงานบุคลต้องมีความรู้ในเรื่องกฎหมาย เช่นกฎหมาย แรงงาน กฎหมายสิ่งแวดล้อมความปลอดภัย กฎหมายโรงงาน และ ระเบียบข้อบังคับภายในองค์กรที่สอดรับกับกฎหมายแรงงาน หรือ แม้แต่ตวั พนักงานเองก็ตอ้ งศึกษาเรียนรูเ้ รือ่ งกฎหมายแรงงานด้วยเช่นกัน หลายองค์กรเจ้าของกิจการก็ไม่ทราบและไม่ได้เรียนรู้ บริษัทใหญ่ๆ ถึงต้องมีฝ่ายกฎหมายหรือที่ปรึกษาด้านกฎหมายแรงงานที่ต้องคอยดู ความถูกต้องทั้งภายนอกภายในโรงพิมพ์
6. จัดการด้านสวัสดิการ การจัดการสวัสดิการให้กับพนักงานทั้งที่ตาม กฎหมายและตามข้ อ ตกลงของบริ ษั ท ที่ มี ต ่ อ พนั ก งานในสั ญ ญาจ้ า ง การด�ำเนินการเรือ่ งสวัสดิการประกันสังคม กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ เงินสงเคราะห์ แรงงานสัมพันธ์ สวัสดิการด้านความปลอดภัยส่งเสริมที่ความปลอดภัย จัดการประชุมกรรมการความปลอดภัยในองค์กร และอืน่ ๆ ประสานงานกับ หน่วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข้อง นอกจากนีอ้ าจจะต้องค�ำนึงถึงความสัมพันธ์ บริเวณรอบโรงพิมพ์ทเี่ ป็นชุมชน จัดท�ำชุมชนสัมพันธ์ดว้ ยอย่างสม�ำ่ เสมอ
2. ต้องรู้จักวิธีสรรหาบุคลากร มีความสนใจในการหาช่องทางการเลือก ผู้ท�ำงานที่มีคุณภาพ สามารถเปรียบได้เหมือนการไปบ่อปลาที่มีปลา จ�ำนวนมาก และมีทชี่ อ้ นปลา เราจะสามารถช้อนปลาตัวทีด่ ที สี่ ดุ ได้หรือไม่ งานบริหารบุคลต้องมีสายตาที่เฉียบแหลมมากที่จะเลือก เพราะแค่เวลา ไม่ถงึ 1 ชม. จะสามารถพิจารณาออกได้อย่างไรว่าคนทีเ่ ราคัดเลือกมานัน้ ดีพอกับความต้องการขององค์กร หน่วยงานใหญ่ๆ ถึงขัน้ ว่าต้องมีการดูถงึ บุคลิกด้านลึกของผู้ที่ถูกคัดเลือก ถึงแม้ว่าจะมีช่วงทดลองงาน 120 วัน แต่ไม่มีองค์กรไหนที่ต้องการเสียเวลาเสียเงินไปเปล่าหากผู้ที่ถูกเลือก ไม่ได้เป็นไปตามที่ต้องการ ดังนั้นผู้บริหารบุคคลต้องมีจิตวิทยา การพูด และสามารถล้วงลึกถึงความคิดความอ่านของคนที่เราสัมภาษณ์นั้นได้ และที่ส�ำคัญเรื่องหนึ่งที่ผู้เขียนแนะน�ำให้ต้องทดสอบทุกต�ำแหน่งใน โรงพิมพ์คือการทดสอบการมองเห็นสี หรือที่เราเรียกกันว่าการทดสอบ ตาบอดสีมีจ�ำนวนไม่น้อยที่พนักงานพิมพ์และต�ำแหน่งอื่นมีตาบอดสี ที่อยู่ในโรงพิมพ์โดยเราไม่ทราบจนทุกวันนี้ นอกจากการสรรหาแล้วการ บริหารงานบุคคลต้องด�ำเนินการติดตามพนักงานจนถึงวันที่พนักงาน ผู้นั้นลาออกและท�ำหนังสือเลิกจ้าง เอกสารที่เกี่ยวข้องและค่าตอบแทน ทั้งจ่ายและหักคืนตามแต่ละเหตุการณ์
7. จัดท�ำเอกสารประชาสัมพันธ์ภายใน ป้ายประกาศต่างๆ เพือ่ แจ้งข่าว ที่ส�ำคัญทั้งประกาศจากผู้บริหารผู้น�ำ หรือแม้แต่ข่าวของภาครัฐ
3. ความรู้พื้นฐานด้านสิ่งพิมพ์ หรืองานที่เกี่ยวข้องของบริษัทเรา เมือ่ จะบริหารหรือท�ำงานด้านใดก็ตามต้องมีความรูก้ บั งานทีเ่ กีย่ วข้องด้วย ผูบ้ ริหารด้านบุคคลต้องท�ำความเข้าใจในงานขององค์กรอย่างดี เพือ่ ทีจ่ ะ ตัง้ ค�ำถามเพือ่ จะรับใครสักคนเข้ามาท�ำงาน ถึงแม้วา่ เราจะมีการสัมภาษณ์ โดยให้หัวหน้างานนั้นๆมาสัมภาษณ์ด้วยก็ตาม แต่หากเราไม่ทราบถึง หน้าที่แล้วจะสามารถตั้งค�ำถามได้อย่างไร หรือแม้แต่จะติดต่อประกาศ กับช่องทางการสรรหา ก็ไม่อาจจะหาได้ตรงกับความต้องการ 4. ผู้บริหารงานบุคลากรต้องมีจิตวิทยาสูงที่สามารถชักจูง สามารถ หว่านล้อมชักจูงพนักงานที่เราจะสนทนาด้วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการเจรจาต่อรองที่ดี รู้จักจักหวะของการฟัง คิด และพูดให้ถูกเวลา เหมาะสมและเกิดประโยชน์ไม่เกิดผลเสีย เป็นผู้ที่เข้าใจถึงสภาพของผู้ที่ คุยอยูต่ รงหน้า และสามารถสรุปประเด็นทีส่ นทนาและปิดการสนทนาได้ดี 5. ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาบุคลากร มีความสนใจเอาใจใส่เรือ่ งการให้ ทักษะความรูก้ บั พนักงานทุกระดับ โดยจัดสรร วางแผน ก�ำหนดเป้าหมาย การพัฒนา รวมถึงรายงานให้องค์กรและภาครัฐทราบถึงการให้การอบรม สามารถจัดสรรหัวข้อ เนือ้ หา วิทยากร ให้เหมาะสม ก�ำหนดการการอบรม จัดสัมมนาให้ความรู้และขวัญก�ำลังใจกับพนักงาน รวมถึงการจัดงาน ตามเทศกาลต่างๆ ตามเหมาะสมเช่น วันสถาปนาองค์กร เทศกาลปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ เป็นต้น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
8. จัดท�ำรายละเอียดการปฏิบตั งิ านของแต่ละต�ำแหน่ง เพือ่ ให้มรี ะเบียบ ในการท�ำงานก�ำหนดหน้าที่ชัดเจนและเป็นไปตามระเบียบข้อตกลง ว่าจ้างว่าด้วยต�ำแหน่งนั้นๆ 9. ประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าที่ การประเมินผลทีพ่ บเจอกันได้บอ่ ยๆ คือ การประเมินผลเพือ่ พิจารณาการการท�ำงานในช่วงทดลองงาน 120 วัน และ การประเมินผลประจ�ำปี บางโรงพิมพ์กป็ ระเมินผลปีละ 2 ครัง้ คือกลางปี และปลายปี แล้วน�ำคะแนนมาหาค่าเฉลี่ย การประเมินทั้งสองแบบนี้ จ�ำเป็นที่จะต้องแจ้งให้พนักงานทราบตั้งแต่เริ่มท�ำงาน และดีที่สุดคือ ให้พนักงานหรือผูป้ ฏิบตั นิ นั้ ๆ ได้ทราบถึงหัวข้อทีต่ นเองต้องถูกประเมินถือว่า เป็นเรื่องเหมาสม หากมีตัวชี้วัดเป็นตัวเลขที่วัดได้ก็ต้องแจ้งให้พนักงาน ทราบด้วย โดยเฉพาะการผ่านเกณฑ์ด้วยคะแนนและหลักการอย่างไร ่ ด ท้ายทีส ุ ผูบ ้ ริหารงานทรัพยากรมนุษย์ควรค�ำนึงถึง ่ งพื้ นฐานความต้องการของมนุษย์ ผูเ้ ขียนจะขอ เรือ แจกแจงความต้องการของมนุษย์ตามทฤษฎี ดังนี้
1. ความต้องการด้านร่างกาย (Physiological Needs) มนุษย์ตอ้ งการ ความต้องการพื้นฐานเรื่องสุขภาพเป็นอันดับแรก เหมือนที่เคยได้ยินว่า ไม่ตอ้ งร�ำ่ รวยแต่ขอให้สขุ ภาพแข็งแรงก็พอ แต่ถา้ มากไปกว่านัน้ มนุษย์กย็ งั ต้องการความสุขทางกาย เช่น การท่องเทีย่ ว อาหารอร่อยๆ ได้ผอ่ นคลาย เช่นการนวดแผนไทย แต่ส�ำคัญที่สุดคือ เรื่องสุขภาพ ทั้งด้านการป้องกัน ดูแลสุขภาพ การออกก�ำลังกาย การเพิ่มก�ำลังทางกายทางใจ รวมถึง การได้รับการรักษาขั้นพื้นฐาน เช่น สวัสดิการของรัฐที่ท�ำร่วมกับองค์กร คือการประกันสังคม แม้แต่บัตรทอง หรือการประกันตนเองกับประกัน สุขภาพกับบริษัทเอกชน ก็นับว่าเป็นสิ่งพื้นฐานแรกที่มนุษย์ต้องการ ผู้บริหารต้องตระหนักถึงเรื่องนี้เป็นอันดับแรก 2. ความต้องการด้านความปลอดภัย (Safety Needs) ความต้องการ ต่อมาคือ เรือ่ งความปลอดภัยทัง้ ร่างกาย ทรัพย์สนิ และคนในครอบครัวและ คนรอบข้าง หลายหน่วยงานก็จะให้ความส�ำคัญกับเรือ่ งความปลอดภัยของ พนักงาน ยิง่ ความปลอดภัยในขณะท�ำงาน ไม่มผี บู้ ริหารหรือผูป้ ระกอบการ รายได้อยากจะได้รับข่าวร้ายๆ เรื่องเกิดความสูญเสียหรืออุบัติเหตุของ พนักงานในทีท่ ำ� งาน แม้แต่จะมีเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ นอกทีท่ ำ� งานกับพนักงาน ของตน องค์กรและผูบ้ ริหารควรมอบความต้องการด้านนีใ้ ห้กบั พนักงาน คือ การส่งเสริมให้สทิ ธิของภาครัฐคุม้ ครองพนักงาน หรือจะมีการประกันภัย อื่นเสริมด้านอื่นประกอบด้วยก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ดีและควรท�ำทั้งสองฝ่าย
KNOWLEDGE 57
3. ความต้องการด้านสังคม (Social Needs) ความต้องการของ พนักงานที่จะมีสังคมนอกเหนือจากที่บ้านแล้ว สังคมในที่ท�ำงานก็เป็น ปัจจัยหนึ่งที่พนักงานต้องการ โดยเป็นที่ยอมรับในสังคมเพื่อน สังคม เพื่อนร่วมงาน การจัดกิจกรรมสัมพันธ์ในองค์กรให้พนักงานได้เกิดและ การสร้างความสามัคคีก็เป็นสิ่งที่ดี บางโอกาสบริษัทอาจจะจัดกิจกรรม กีฬา กิจกรรมตามเทศกาล กิจกรรมอบรมประจ�ำปี ก็จะเสริมสร้าง ความต้ อ งการด้ า นสังคมนี้แก่พนักงาน บางโรงพิม พ์จัด กิจกรรมให้ ผู้บริหารและพนักงานได้ท�ำร่วมกัน เกิดความรัก ความเข้าใจระหว่างกัน เป็นภาพที่พนักงานจะไม่ลืมเลือน 4. ความต้องการด้านเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) การที่ คนใดคนหนึ่งได้รับการยอมรับนอกจากในสังคมพื้นฐานแล้ว ส�ำหรับ พนักงานบางคน โดยเฉพาะตัง้ แต่ระดับหัวหน้างานจนถึงผูบ้ ริหาร มีความ ต้องการเกียรติยศชือ่ เสียงด้วยกันทัง้ สิน้ เหมือนดังบางองค์กรจะให้รางวัล เป็นทีเ่ ชิดชูเกียรติยศ หรือ แม้แต่เงินทอง โบนัส และการประกาศเกียรติคณ ุ ต่อหน้าผูอ้ นื่ ก็เป็นความต้องการ ไม่ได้หมายความว่าเขาเหล่านัน้ ต้องการ ความยิ่งใหญ่ แต่เพียงต้องการการยอมรับสูงกว่ามาตรฐานคนทั่วไป เท่านั้น เราจะเห็นได้จากห้างสรรพสินค้า ร้านค้าใหญ่ๆ บางที่จะน�ำรูป พนักงานที่ได้คัดเลือกให้เป็นพนักงานดีเด่น และน�ำภาพของพวกเขาติด เพื่อให้เพื่อนผู้ได้รับทราบและเป็นตัวอย่าง อย่างที่เคยได้ยินมาแล้วว่า คนท�ำดีก็สมควรได้รับค�ำชมและรางวัล 5. ความต้องการมีความส�ำเร็จในความหวังของชีวติ (Self-Realization Needs) มนุษย์ทุกคนก็มีความหวังของชีวิต และข้อนี้เป็นที่รวมของ ทั้ง 4 ข้อก่อนหน้านี้ พนักงานส่วนมากก็ไม่ได้คิดว่าตนเองจะอยู่ที่นี่ จะถึงวันสุดท้ายของชีวิต ที่สุดบางคนก็จะท�ำงานจนถึงวันที่เกษียณอายุ แต่ความคิดของพนักงานที่มีอายุไม่มากในปัจจุบันก็มีความต้องการที่จะ
มีกิจการเล็กๆ หรือ ตามขนาดที่เขาคิดฝันไว้ แต่ความสมหวังในชีวิตนี้ ก็ยงั ไม่หนีไปจากความต้องการด้านร่างกายสุขภาพแข็งแรง ความปลอดภัย สังคมยอมรับ มีชอื่ เสียงทีด่ กี ว่ามาตรฐาน รวมถึงทรัพย์สนิ เงินทอง ทุกสิง่ ที่ได้เขียนมาก็เป็นความสมหวังในชีวิต รวมกันแล้วก็คือความมั่นคงใน ชีวิตนั้นเอง สุ ด ท้ า ยผู ้ เขี ย นก็ จ ะเรี ย นให้ ท ราบว่ า ความมั่ น คงในชี วิ ต คื อ สิ่งปรารถนา ที่เป็นความหวังสูงสุดที่พนักงานทั่วไปพึงมีที่ได้แบ่งปัน มาทัง้ หมดในฉบับนีก้ เ็ ป็นการเริม่ ต้นของบทความเรือ่ งการบริหารจัดการ โรงพิมพ์ตอนที่ 1 และผู้เขียนได้ยกเรื่องแรกที่ส�ำคัญที่สุดเรื่อ งหนึ่ง ที่ผู้บริหารควรตระหนักถึงก็คือ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ปัจจุบัน หลายองค์กรอยากหนีจากความยุ่งยากโดยการใช้เครื่องจักรกลทันสมัย มาแทนที่ พ นั ก งานในโรงพิ ม พ์ โ ดยทั น ที ค งยั ง ไม่ ไ ด้ เนื่ อ งจากราคา เทคโนโลยี ผู้แทนขายและปัจจัยอื่นๆ อีกมากมายท�ำให้เรายังคงต้อง จ้างแรงงาน และพนักงานระดับช่างอย่างต่อเนื่อง เพราะโรงพิมพ์ใน เมืองไทยพื้นฐานมาจากธุรกิจครอบครัว ความผูกพันระหว่างคนท�ำงาน และเจ้าของกิจการ เงินลงทุน ท�ำให้การจ้างงานยังคงอยู่ แต่ในทางขนาน ธุรกิจสิ่งพิมพ์ที่เป็นหนังสือก็ลดน้อยลงไป คงมีเหลือแต่หนังสือบางชนิด ที่มีความจ�ำเป็นเฉพาะ และธุรกิจสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่ยังคงอยู่ได้ จะมี เปลีย่ นไปบ้างก็อาจจะเป็นวัสดุและวิธกี ารพิมพ์ ก็ยงั หนีเรือ่ งแรงงานไม่พน้ อยู่ดี ดังนี้นผมเองในฐานะผู้เขียนบทความบริหารจัดการในโรงพิมพ์ จึงหยิบยกเรื่องนี้มาแบ่งปันกัน ในฉบับหน้าผู้เขียนจะน�ำเรื่องที่น่าสนใจ เกี่ยวกับการบริหารในด้านต่างๆ มาน�ำเสนอกับท่านผู้อ่านต่อไปครับ . . . อ่านต่อฉบับหน้า . . .
www.thaiprint.org
58-59 Ad Sriaksorn_pc4.indd 58
23/11/2561 1:31:38
58-59 Ad Sriaksorn_pc4.indd 59
23/11/2561 1:31:53
44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1
11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM
62
INTERVIEW
โครงการคุณวุฒิวิชาชีพ การจัดท�ำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒว ิ ช ิ าชีพในประเทศ ่ ั ฒนาแล้วเพื่ อพั ฒนาก�ำลังคนเป็นเรือ ่ งทีท ่ ำ� มานานแล้ว ทีพ ่ ไม่นานมานี้ ก�ำลังคน แต่ในประเทศไทยเพิ่ งจะเริม ่ ต้นเมือ ที่อยู่ในวัยท�ำงานของประเทศไทยมีอยู่ราว 40 ล้านคน แต่เป็นคนที่ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีประมาณ 10 ล้านคน ส่วนที่เหลืออีกประมาณ 30 ล้านคนที่ไม่มี คุณวุฒิทางการศึก ษาสู งมากนั ก นั้น ก็ เป็ น ก� ำ ลั งคนที่ ช่วยสร้างผลผลิตให้กับประเทศจนเข้มแข้งและสามารถ แข่งขันได้ในระดับโลก
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
ประเทศไทยเคยอยู่ในอันดับ 20 ต้นๆ ของกว่า 140 ประเทศ แต่ต่อมา ในช่วงพ.ศ. 2556 อันดับนัน้ ได้ตกต�ำ่ ลงเป็น อันดับ 30 กว่าๆ บรรดากลุม่ ก�ำลังคนทีด่ อ้ ยการศึกษาประมาณ 30 ล้านคนนัน้ เป็นแรงงานในอุตสาหกรรม จ�ำนวนมาก ซึ่งมีความรู้ความสามารถ ทักษะ และประสบการณ์อยู่แล้ว จากการประกอบอาชีพของตนเอง จึงสามารถน�ำมาตรฐานอาชีพและ คุณวุฒิวิชาชีพที่ได้รับมาใช้เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมความก้าวหน้า ในอาชีพ ทดแทนคุณวุฒิทางการศึกษาที่ไม่มี แต่ต้องผ่านกระบวนการ ฝึกอบรม ทดสอบ และประเมินโดยหน่วยงานที่เป็นศูนย์ทดสอบที่ระบบ มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒวิ ชิ าชีพยอมรับ ซึง่ จะส่งผลให้แรงงานกลุม่ นีม้ ี ศักยภาพเป็นที่ยอมรับในแวดวงวิชาชีพนั้นๆ
INTERVIEW
63
ผู้ที่ได้รับประโยคสูงสุด คือ นักศึกษา เนื่องจากได้ท�ำงานจริง เห็นความต้องการของ ตลาดแรงงาน และสามารถน�ำใช้ เป็นใบเบิกทางเพื่ อสานต่อ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนมา
ด้วยหลักการและเหตุผลข้างต้นประกอบกับการที่คนในอาชีพการพิมพ์ ต่างเห็นพ้องกันว่าประเทศไทยควรจะมีมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพสาขาอาชีพการพิมพ์เสียที สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพจึงเข้ามาช่วย สนับสนุนเพื่อผลักดันให้เกิดขึ้นรวมทั้งสนับสนุนในด้านงบประมาณ รวบรวมคนในอาชีพการพิมพ์เข้ามาร่วมกันสร้างมาตรฐานอาชีพและ คุณวุฒิวิชาชีพสาขาอาชีพการพิมพ์ของประเทศไทย (1) สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยร่ ว มกั บ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ส ยามบริ ห ารธุ ร กิ จ นนทบุรี (SBAC) ได้ด�ำเนินจัดการสอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ วิชาชีพ อุตสาหกรรมการพิมพ์ อาชีพช่างออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์จัดโดย สถาบัน คุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์กรมหาชน) ซึง่ ได้มกี ารมอบใบประกาศนียบัตรคุณวุฒิ วิชาชีพไปเมื่อ วันที่ 29 มกราคม 2562 ที่ผ่านมา Thai Print Magazine ฉบับนี้ จะน�ำท่านผูอ้ า่ นมาท�ำความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับโครงการดังกล่าว
ผ่านบทสัมภาษณ์ตัวแทนของผู้ที่มีส่วนร่วมในโครงการนี้ อ.ธนารักษ์ ตันธนกุล หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์กราฟิก วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม บริหารธุรกิจ (SBAC) ซึง่ ได้กล่าวถึงทีม่ าทีไ่ ปของการเป็นศูนย์ประเมิน โครงการฯ ในครั้งนี้ว่า ได้มีการเซ็นสัญญาความร่วมมือหรือที่เรียกว่า MOU ร่วมกับสมาคม การพิมพ์ไทยโดยเริม่ ต้นความร่วมมือในปี 2561 โดยเริม่ แรก ทางสมาคมฯ ได้เรียนเชิญมหาวิทยาลัยทั้งรัฐบาลและเอกชนเข้าร่วมโครงการ ซึ่งทาง วิทยาลัยมีความเห็นว่าทางเรามีความพร้อมในเรื่องของการเป็นศูนย์ การประเมินเรื่องการออกแบบสิ่งพิมพ์ เนื่องจากวิทยาลัยมีหลักสูตร การท�ำกราฟิกอยู่แล้ว จึงได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการฯ และเป็นที่มาของ การเปิดเป็นศูนย์ประเมินสื่อสิ่งพิมพ์ในครั้งนี้
ข้อมูลจาก รายงานผลการสัมมนา เรื่อง การจัดท�ำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพสาขาอาชีพการพิมพ์ โดย รองศาสตราจารย์ศุภณี เรียบเลิศหิรัญ และ อาจารย์ ดร. บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์
(1)
www.thaiprint.org
64
INTERVIEW
การคัดเลือกนักศึกษาเข้าร่วมในโครงการฯ เนื่องจากสมาคมฯ ไม่ได้มี ข้อก�ำหนดหรือกฎเกณฑ์ที่ตายตัวอะไรมาก เพียงแค่มีความพร้อมและ ต้องการทีจ่ ะทดสอบความสามารถในด้านการออกแบบสิง่ พิมพ์ของตนเอง ซึ่งในการประเมินครั้งแรกนั้นมีบุคคลภายนอกมาร่วมเป็นผู้ประเมินด้วย ทาง SBAC ได้คัดเลือกนักศึกษาที่ใกล้จบการศึกษา เนื่องจากเป็นผู้มี ความรูใ้ นระดับหนึ่งอยู่แล้ว แต่มีนกั ศึกษาเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้เพียง 28 คนเท่านัน้ รวมบุคคลภายนอกทีส่ นใจเข้าร่วมโครงการ แม้จะมีจำ� นวน ค่อนข้างน้อย แต่ส�ำหรับครั้งแรกที่มีการจัดโครงการนี้ขึ้นมาถือว่าอยู่ใน เกณฑ์ทนี่ า่ พอใจ และผลทีอ่ อกมาก็คอื ทุกคนสามารถผ่านการประเมินได้ อ.ธนารักษ์ เล่าถึงระยะเวลาในการด�ำเนินโครงการตั้งแต่เริ่มแรกจนถึง วันมอบประกาศนียบัตรว่า เริ่มประเมินเมื่อเดือนกันยายน 2561 และ ทราบผลในเดือนธันวาคม จนถึงตอนนี้ใช้เวลาประมาณ 4-5 เดือน
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
อุปสรรคและปัญหาที่พบระหว่างการด�ำเนินโครงการ คือ เราต้องมอง ความพร้อมของตัวนักศึกษาว่าสามารถท�ำได้ไหม เราคิดว่าเป็นสิง่ ทีท่ า้ ทาย ว่าสิ่งที่เราสอนไปแล้ว นักศึกษาสามารถน�ำไปใช้ได้มากน้อยแค่ไหน ในการแก้ปัญหาก็คือ มีการเรียกประชุมเพื่อท�ำความเข้าใจและซักซ้อม เพื่อทดสอบดูก่อน เนื่องจากต้องการให้เด็กมีความพร้อมมากที่สุด และ ส่งผลไปยังลูกศิษย์ชั้นปีอื่นๆ ที่ปรากฏว่าสมาคมฯ จะท�ำการประเมิน นักศึกษา ปสว. ชั้นปีที่ 2 ทั้งหมดที่เหลือทั้งของสะพานใหม่และนนทบุรี ตรงนี้ถือเป็นความท้าทายเพราะนักศึกษาทุกคนจะต้องมีทักษะและ ซักซ้อมตนเองมาให้พร้อมมากที่สุดส�ำหรับการประเมิน ในด้านการประชาสัมพันธ์เชิญชวนนักศึกษาให้สนใจเข้าร่วมโครงการนัน้ จะโดยวิธีการบอกผ่านทางอาจารย์ที่ปรึกษา และประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ออนไลน์ เพื่อจูงใจและให้ทราบถึงความส�ำคัญของการประเมินคุณวุฒิ
INTERVIEW
65
"ประโยชน์ของการเข้าร่วม ้ ำ� ให้ได้รบ โครงการในครัง ั ทักษะ ้ นีท ประสบการณ์และความรู้ใหม่ๆ ที่ไม่เคยได้ลองรับการประเมิน ก็ได้มาประเมินว่าการท�ำงานจริง เป็นอย่างไร หากผ่านตรงนี้ไปนี้ ก็สามารถน�ำไปท�ำงานจริงได้เลย" นางสาวธนัตชนก วงษ์แดง นักศึกษาปวส. ชั้นปีที่ 3 แผนกออกแบบกราฟิก วิชาชีพว่ามีความส�ำคัญอย่างไร การเตรียมความพร้อมในเรื่องของการ จัดประเมินนั้น SBAC จัดเตรียมในเรื่องของสถานที่ ส่วนทางสมาคมฯ จะให้ความสนับสนุนในเรื่องของผู้ท�ำการประเมิน และเบี้ยเลี้ยงของ เจ้าหน้าที่ประเมิน, ค่าอุปกรณ์ต่างๆ ความส�ำเร็จของโครงการนีอ้ ยูใ่ นระดับทีน่ า่ พึงพอใจ เพราะนักศึกษาทุกคน สามารถผ่านการประเมินได้ และหลังจากนีค้ าดหวังว่าทีมนีจ้ ะช่วยดูและ แนะน�ำน้องๆ ในการที่จะเข้าร่วมโครงการฯ นี้ในครั้งต่อๆ ไป และเป็น แรงจูงใจให้นกั ศึกษาในระดับ ปวช.สนใจทีจ่ ะเรียนต่อในระดับ ปวส. มากขึน้ ที่เขาจะได้มีโอกาสได้ท�ำงานจริง ลงมือจริง จากการด�ำเนินโครงการนี้ร่วมกับสมาคมฯ ผู้ที่ได้รับประโยคสูงสุด คือ นักศึกษาทีเ่ ข้ารับการประเมิน เนือ่ งจากได้ทำ� งานจริง เห็นความต้องการ ของตลาดแรงงาน และสามารถน�ำไปใช้เป็นใบเบิกทางเพือ่ สานต่อในสาขา วิชาชีพที่เรียนมา ด้านตัวแทนของผูท้ ผี่ า่ นการประเมินวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ อาชีพ ช่างออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ นางสาวธนัตชนก วงษ์แดง นักศึกษาปวส. ชั้นปีที่ 3 แผนกออกแบบกราฟิก ได้พูดถึงการเข้าร่วมโครงการนี้ว่า
ในระหว่างเข้าร่วมโครงการนี้ จะพบปัญหาในด้านความไม่เข้าใจในบาง โปรแกรม อาจจะเป็นเพราะเราเองเป็นคนทีเ่ ข้าใจอะไรยาก แต่กพ็ ยายาม ทีจ่ ะถามอาจารย์ และอาจารย์กจ็ ะคอยสอนคอยดูให้ เทคนิคของอาจารย์ แต่ละคนมีความแตกต่างกัน เราก็นำ� มารวบรวมและปรับใช้ให้เข้ากับตัวเอง อาจารย์สนับสนุนในทุกด้านๆ หลังจากทีเ่ ข้าร่วมโครงการฯ นี้ ทางอาจารย์ และวิทยาลัยจะคอยแจ้งข่าวเรือ่ งการแข่งขันเกีย่ วกับการออกแบบให้ทราบ และร่วมลงแข่งขันเรื่อยๆ จนได้รับคัดเลือกเพื่อรับรางวัลพระราชทาน จากสมเด็จพระเทพฯ ประโยชน์ของการเข้าร่วมโครงการในครัง้ นีท้ ำ� ให้ได้รบั ทักษะ ประสบการณ์ และความรู้ใหม่ๆ ที่ไม่เคยได้ลองรับการประเมิน ก็ได้มาประเมินว่า การท�ำงานจริงเป็นอย่างไร หากผ่านตรงนี้ไปนี้ ก็สามารถน�ำไปท�ำงาน จริงได้เลย อยากจะเชิญชวนน้องๆ หรือเพื่อนๆ ที่ยังมีความกลัวว่าจะ ท�ำไม่ได้ กลัวว่ามันจะยากเกินไปความสามารถของเรา อย่าไปกลัวในสิง่ ที่ ยังไม่ได้ลอง เราต้องลองท�ำแล้วเราจะสามารถข้ามความกลัวไปได้ เมือ่ ได้ เริ่มขั้นที่ 1 แล้ว ขั้นต่อๆ ไปก็จะตามมาเอง เป็นการเก็บเกี่ยวทักษะและ ประสบการณ์ให้กับชีวิต
ทางวิทยาลัยให้แจ้งให้ทราบว่ามีการจัดการทดสอบเพื่อประเมินคุณวุฒิ วิชาชีพ และหากสามารถผ่านการประเมินสามารถน�ำประกาศนียบัตร ไปยืน่ ในการสมัครงานได้ หลังจากทีผ่ า่ นการประเมินสามารถน�ำไปต่อยอด ได้ด้วยการน�ำไปเป็น Portfolio เพื่อน�ำไปในใช้ส�ำหรับการสมัครงาน www.thaiprint.org
66
NEWS
พิ ธีเปิดงาน Asian Print Expo 2019 คุ ณ พงศ์ ธี ร ะ พั ฒ นพี ร ะเดช นายกสมาคม การพิมพ์ไทย เข้าร่วมพิธเี ปิดงาน ASIA PRINT EXPO 2019 อย่างเป็นทางการ เมื่อเวลา 10.00 - 12.00 น. ณ ฮอลล์ 98 ไบเทค บางนา งานดังกล่าวได้รับเกียรติจากคุณบุญเกียรติ โชควัฒนา ประธานทีป่ รึกษากิตติมศักดิส์ มาคม การพิมพ์สกรีนไทย และกรรมการผูอ้ ำ� นวยการ บริ ษั ท ไอ.ซี . ซี . อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล จ� ำ กั ด (มหาชน) เป็นประธานในพิธีเปิด นางรอซ กั ว โนรี ผู ้ อ� ำ นวยการสมาพั น ธ์ การพิ ม พ์ แ ห่ ง ยุ โรป หรื อ เฟสป้ า กล่ า วว่ า การจัดงาน ASIA PRINT EXPO 2019 เป็นงาน ระดับนานาชาติทชี่ ว่ ยขับเคลือ่ นเศรษฐกิจและ ภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทย สร้างรายได้ จากการเข้ า ร่ ว มชมงานจากนั ก ธุ ร กิ จ ทั้ ง ใน ประเทศและต่ า งประเทศ คิ ด เป็ น มู ล ค่ า มากกว่า 60 ล้านบาท ผ่านการเดินทาง ที่พัก อาหารและท่องเที่ยว ขณะเดียวกันเป็นเวที ส�ำคัญในการจัดแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยี การพิมพ์ลา่ สุด น�ำไปสูก่ ารพัฒนาผูป้ ระกอบการ อุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยให้มีศักยภาพ เพิ่มมากขึ้น ตลอดระยะเวลา 3 วัน มีผู้สนใจลงทะเบียน เข้าชมงานล่วงหน้าจาก 70 ประเทศทั่วโลก
และคาดมีผู้เข้าร่วมชมงานมากถึง 5,000 ราย และมีผู้ประกอบการชั้นน�ำ 80 บริษัทจากทั่วโลก ทัง้ ในระดับนานาชาติและระดับชาติ มาเปิดตัวนวัตกรรมและสาธิตเทคโนโลยีลา่ สุด โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ กลุม่ ผูป้ ระกอบการระดับนานาชาติหลายราย น�ำสุดยอดเทคโนโลยีมาเปิดตัวครัง้ แรกในประเทศไทย ภายในงานยังมีการจัดแสดง Print Make Wear Asia ได้รับการสนับสนุนจาก Easiway Systems, Vastex และ PSI Marketing นอกจากนี้ ผู้ชมงานสามารถลุ้น ไปกับการแข่งขัน ระดับโลก World Wrap Master Asia ให้กำ� ลังใจ 30 ผูเ้ ข้าแข่งขันทีจ่ ะช่วงชิงต�ำแหน่งผูช้ นะเลิศประจ�ำภูมภิ าค เอเชียไปแข่งขันในรอบสุดท้ายในเดือนพฤษภาคม ณ กรุงมิวนิก ประเทศเยอรมนี และห้ามพลาด กับหัวข้อการประชุมและสัมมนาหลากหลายรายการ ผู้ประกอบการและนักธุรกิจที่สนใจ สามารถ ลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ทบี่ ริเวณฮอลล์ 98 ตัง้ แต่เวลา 10.00 - 18.00 น. ตลอดระยะเวลาการจัดงาน ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
NEWS
67
สัมมนา สร้างเครือข่าย นักออกแบบผลิตภัณฑ์
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับศูนย์ออกแบบ และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Thai-IDC) และ บริษทั กันตนา กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) จัดกิจกรรม สัมมนา “สร้างเครือข่ายนักออกแบบผลิตภัณฑ์ เพือ่ สร้างความเข้มแข็งและเชือ่ มความสัมพันธ์ กลุม่ เครือข่ายนักออกแบบผลิตภัณฑ์” โดยมี นายจารุพนั ธุ์ จารโยภาส รองอธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธีเปิด กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อมุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายนักออกแบบ ผลิตภัณฑ์ โดยการรวมตัวกันของบุคลากร แลกเปลีย่ นประสบการณ์ องค์ความรู้ เครือ่ งมือ ที่เป็นประโยชน์ระหว่างกัน ที่เกี่ยวข้องกับ อุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดเครือ ข่ายที่จะเกื้อหนุนซึ่งกันและกันในด้านต่างๆ เกิดความร่วมมือในการแสวงหาโอกาสร่วมกัน เป็นการผลักดันให้อตุ สาหกรรมเติบโตเข้มแข็ง ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น และก้ า วเข้ า สู ่ ต ลาดสากล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนักออกแบบและ ผูป้ ระกอบการเข้าร่วมกิจกรรมทัง้ สิน้ 100 คน โดยกองพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้มอบหมายให้
บริษัท กันตนา (กรุ๊ป) จ�ำกัด มหาชน ที่ปรึกษาเป็นผู้จัดกิจกรรมให้ความรู้และเชื่อมโยงเครือข่าย สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ใ ห้ แ ก่ นั ก ออกแบบและผู ้ ป ระกอบการ ที่ เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม เมื่ อ วั น ที่ 15 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชุมชั้น 2 ศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Thai-IDC) ซอยตรีมิตร ถนนพระราม 4 รวมไปถึงการแนะน�ำกิจกรรม “Creative Land” ภายใต้คอนเซ็ปต์ “Young Thai.... อย่างไทย” ซึ่งจะจัดขึ้นเป็นเวลา 3 วัน ระหว่างวันที่ 4-6 เมษายน ณ ศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Thai-IDC) และบริเวณรอบๆ โดยจะได้พบกับ “ชม..ชิม..ช้อป..โชว์” ผลงานการสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์ของไทย โดยนักออกแบบชาวไทยในสไตล์โมเดิรน์ ทัง้ อาหารไทยฟิวชัน่ , workshop, DIY, Packaging, Product, สินค้าแฟชั่น และ Mini Concert จากศิลปินชื่อดัง www.thaiprint.org
68
INTERVIEW
จิรายุทธ์ นิยมมาลัย บริษัท ซันเปเปอร์ จ�ำกัด
“เอาใจเขามาใส่ใจเรา ต้องแสดงให้เขารู้ ว่าเราเข้าใจ ถึงจะท�ำงานร่วมกัน ได้อย่างราบรื่น”
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
INTERVIEW
69
คุณท็อป หรือ จิรายุทธ์ นิยมมาลัย เป็นบุตรชายคนโตจากบรรดาพี่น้อง ทั้ ง หมดสองคน ส� ำ เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี Management จาก Warwick Business School ปริญญาโท MBA, สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร์ หลังจากจบการศึกษาได้เริม่ ท�ำงานในต�ำแหน่ง Project Marketing ของ Allianz Ayudhya ซึง่ เป็นบริษทั ประกันเป็นระยะเวลา 3 ปี จากนัน้ ได้หนั มาท�ำงานในต�ำแหน่ง Brand Strategist, The Brand Union อีก 2 ปี จนกระทั่งในปี 2560 เริ่มท�ำงาน ณ บริษัท ซันเปเปอร์ จ�ำกัด โดยรับต�ำแหน่ง Business Development จนถึงปัจจุบัน ความเป็นมาของบริษัท ซันเปเปอร์ จ�ำกัด
คุณท็อปเล่าว่า รากฐานเดิมเริม่ ต้นจากการทีค่ ณ ุ พ่อ คุณสิทธิพร นิยมมาลัย ท�ำที่ บริษัท ส.ไทยสงวนอุปกรณ์การพิมพ์ จ�ำกัด ร่วมกับพี่นอ้ งและอากง อาม่า หนึง่ ในผูจ้ ำ� หน่าย sticker ทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ดุ ในประเทศ ซึง่ ปัจจุบนั อายุ 51 ปี และในปี 2532 เมื่อ 30 กว่าปีที่แล้ว คุณพ่อได้เริ่มขยายออกมาท�ำ Sun Paper ซึง่ เกิดพร้อมๆ ผมท�ำให้ผมโตขึน้ มากับกระดาษ จับกระดาษ ตั้งแต่เด็กๆ เคยชอบเอากระดาษมาสร้างบ้านสร้างรถ Sun Paper เป็น Paper Merchant หรือผู้น�ำเข้ากระดาษหลากชนิด จากทัว่ โลกให้ลกู ค้าในประเทศได้ใช้ทนั ทีทตี่ อ้ งการ ซึง่ กระดาษมีทงั้ แบบ แผ่นพร้อมส่งและม้วนที่ลูกค้าสามารถสั่งตัดตามขนาดความต้องการ ของแต่ละงานได้ และถือเป็นความโชคดีที่อาโกวชวนมาซื้อที่ข้างๆ กัน ที่ถนนพระราม 3 เนื่องจากบริเวณนี้เป็นจุดที่ดีต่อ Logistic หรือระบบ การขนส่งมาก มีทางเชือ่ มไปทุกทิศท�ำให้เราสามารถบริการลูกค้าได้ทวั่ ถึง รวดเร็ว อย่าง DHL, FedEx และ บริษัท E-Commerce ต่างก็อยู่ที่นี่ และทีส่ ำ� คัญอีกอย่างคือ อยูไ่ ม่ไกลจากใจกลางเมือง มีความสะดวกสบาย หากต้องการใช้ชีวิตนอกเหนือจากเวลาท�ำงาน www.thaiprint.org
70
INTERVIEW
จุดเริ่มต้นของการท�ำงาน และหน้าที่รับผิดชอบ
ถึงจะท�ำงานข้างนอกก็รู้อยู่ว่าวันหนึ่งจะกลับเข้ามา เห็นคุณพ่อคุณแม่ สร้างมา เราเองก็โตขึ้นมาพร้อมกับบริษัท จึงอยากท�ำต่อและอยาก น�ำพาบริษัทให้ดียิ่งขึ้น ปัจจุบันต�ำแหน่ง Business Development ซึง่ นอกจากการพัฒนาการขายแล้วจะดูแลการพัฒนาทุกด้านขององค์กร ทั้งภายในและภายนอก ภายนอก เช่น ในเรื่องของการขาย ส่วนภายใน เช่น เรื่องของพัฒนาระบบต่างๆ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน / แนวทางในการแก้ไข
การปรับตัวจากการท�ำงานข้างนอกมา 5 ปี โดยส่วนใหญ่แล้วจะมี หน้าที่เฉพาะ แต่พอมาท�ำงานที่ Sun Paper จะเป็นงานบริหารที่ กว้างขึ้น ที่มีหลากหลายส่วนมากขึ้นซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและเป็นโอกาส ให้พัฒนาความคิดความสามารถของตัวเองให้หลากหลายยิ่งขึ้น ระบบ งานและวัฒนธรรมการท�ำงานของตลาดนีท้ ตี่ า่ งจากทีเ่ ราเคยชิน ค่อนข้าง ต้องปรับตัวให้เข้ากับเนื้องานใหม่
″ก่อนที่จะท�ำอะไรก็ตามต้อง ท�ำให้เขารูก ้ อ ่ นว่าเราเข้าใจเขา เข้าใจในสิ่งที่เขาท�ำ สิ่งที่เขาคิด และในความรู้สึกของเขา หลังจากนั้นการท�ำงานร่วมกัน จะง่ายขึ้น ราบรื่นขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอะไรก็ตาม″
เนือ่ งจากทุกอย่างทีเ่ ราท�ำนัน้ ยังไงก็ตอ้ งติดต่อประสานงานกับคน ไม่วา่ จะ ภายในหรือภายนอกองค์กร ในกรณีทมี่ คี วามขัดแย้งหรือการเปลีย่ นแปลง วิธขี องผมคือ “ก่อนทีจ่ ะท�ำอะไรก็ตามต้องท�ำให้เขารูก้ อ่ นว่าเราเข้าใจเขา เข้าใจในสิ่งที่เขาท�ำ สิ่งที่เขาคิด และในความรู้สึกของเขา หลังจากนั้น การประสานงาน หรือการท�ำงานร่วมกันจะง่ายขึน้ ราบรืน่ ขึน้ ไม่วา่ จะ เป็นเรื่องอะไรก็ตาม” เป้าหมายการท�ำงานในปัจจุบัน
สืบทอดกิจการบริษัทจากครอบครัวได้อย่างเต็มที่และต่อยอดจากสิ่งที่ คุณพ่อคุณแม่ได้สร้างขึน้ มา และดูแลคนของเรา ไม่วา่ จะเป็นพนักงานใน บริษทั หรือคนในครอบครัวให้มชี วี ติ ทีด่ ี มีความสุข ให้สามารถอยูร่ ว่ มกัน ไปนานๆ เนื่องจากคนที่อยู่ด้วยกันมานานย่อมจะรู้ใจกันได้มากกว่า แนวคิด หรือคติในการท�ำงาน
เน้นหลัก Sustainable development คือการพัฒนาอย่างมั่นคงและ ยัง่ ยืน ไม่จำ� เป็นต้องก้าวกระโดด ไม่จำ� เป็นต้องรวดเร็ว แต่ให้มกี ารพัฒนา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
INTERVIEW
71
อย่างต่อเนื่อง ถึงวันหนึ่งเราเองก็จะรู้สึกว่างานที่เราท�ำมีคุณค่า อีกอย่าง ก็คือการ “เอาใจเขาใส่ใจเรา” การใช้ความเข้าใจที่ได้อธิบายไปข้างต้น แนวคิดนี้เป็นสิ่งที่คุณพ่อสอนมาแต่เด็กและใช้ได้ดีทั้งในการใช้ชีวิต ส่วนตัวและการท�ำงาน มุมมองอนาคต ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย
ต้องมองก่อนว่า เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศส่งออก เราต้องมอง ว่าตลาดของเราคือทั้งโลก ไม่ใช่แค่เมืองไทยเท่านั้น ความคิดสร้างสรรค์ ทางด้านออกแบบและคุณภาพของงานเราก็ดีอยู่แล้ว เมื่อเทียบกับ นานาชาติ ประชากรโลกนี้ยังไงก็โตต่อเนื่องทุกปี ยังมีคนอีกมากมาย ที่จะขึ้นมาเป็นชนชั้นกลาง ต้องมีการจับจ่ายใช้สอย ตลาดจะใหญ่ขึ้น เพราะฉะนั้นตราบใดที่ยังไม่มีวัสดุที่มาทดแทนกระดาษซึ่งเป็นวัสดุ ที่สามารถรีไซเคิลได้ โอกาสส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยนั้นมีอยู่ เยอะมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าเราจะออกไปหามันหรือไม่ เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร
เจอพี่แป้ง สามเจริญพาณิชย์ ที่งานสัมมนาและได้รับแนะน�ำเข้ามาครับ หลังจากนัน้ ก็ได้ไปร่วมทริปที่ YPG จัดไปเลือกคณะกรรมการ ก็ได้รบั เลือก เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการวาระปี 2561 – 2563 ครับ หน้าที่และบทบาทในกลุ่ม Young Printer
ต�ำแหน่งคือผู้ช่วยประชาสัมพันธ์ แต่ก็ช่วยงานในส่วนอื่นด้วย เช่น การเตรียมงานกิจกรรมต่างๆ ตรงไหนที่ช่วยงานของทีมได้ก็ช่วยครับ สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม Young Printer
ได้ รู ้ กั บ เพื่ อ นกลุ ่ ม ใหม่ รุ ่ น เดี ย วกั น และอยู ่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น ท�ำให้นอกจากได้ความรู้ในเรื่องงานแล้วยังสนุกกับการท�ำกิจกรรมด้วย มีความรู้ความสามารถที่น�ำมาแชร์กันได้ และนอกจากความรู้ในเรื่อง ของงานแล้ว เวลามาเจอกันก็ต้องมีความฮาในทุกครั้งครับ
″เอาใจเขาใส่ใจเรา″ การใช้ความเข้าใจที่ได้อธิบายไป ข้างต้น แนวคิดนี้เป็นสิง ่ ที่คุณ พ่ อสอนมาแต่เด็กและใช้ได้ดี ทั้งในการใช้ชีวิตส่วนตัว และการท�ำงาน
www.thaiprint.org
72 KNOWLEDGE
หลอดเลือดสมอง (Stroke) โรคภัยไข้เจ็บไม่ว่าวัยใดก็เป็นได้
่ มัย เชือ ิ ของคนไทยรองจาก ้ ….กระทรวงสาธารณสุขระบุวา่ โรคหลอดเลือดสมองเป็นอันดับ 2 ของอัตราการเสียชีวต โรคมะเร็ง แม้โรคหลอดเลือดสมองส่วนใหญ่จะพบในคนอายุมากเนื่องจากหลอดเลือดเสื่อมตามวัย แต่คนทุกเพศ ทุกวัยก็สามารถเป็นได้ เช่นกัน
รู้ทันโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
โรคหลอดเลือดสมอง หรือ Stroke เกิดขึ้น เมื่อหลอดเลือดในสมองมีการตีบตันหรือแตก อย่างเฉียบพลันท�ำให้การไหลเวียนของเลือด ไปเลี้ยงสมองในส่วนนั้นหยุดชะงักลงส่งผล ให้ เ นื้ อ สมองถู ก ท� ำ ลายเนื่ อ งจากการขาด ออกซิเจนและสารอาหารโดยปกติสมองของ คนเราแต่ละส่วนจะควบคุมการท�ำงานของ ร่างกายแตกต่างกันออกไปเมือ่ ส่วนใดส่วนหนึง่ ถูกท�ำลายจะส่งผลต่อการท�ำหน้าทีใ่ นส่วนนัน้ ๆ
สมองเสียหายมากกว่าที่คิด
หากเป็นโรคหลอดเลือดสมองจะส่งผลให้สมองเกิดความเสียหายดังต่อไปนี้
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
สมองซีกซ้าย
อัมพาตครึ่งตัวด้านขวา
สมองซีกขวา
อัมพาตครึ่งตัวด้านซ้าย สูญเสียความสามารถในการประเมินขนาด ปัญหาการพูด การเข้าใจ ภาษา และการกลืน และประมาณระยะทาง สูญเสียการจัดการ การระวังตัว สูญเสียการตัดสินใจท�ำสิ่งต่างๆ ปฏิกิริยาตอบสนองช้าลง โดยไม่วางแผน เสียการมองเห็นภาพซีกขวาของตาทั้งสองข้าง เสียการมองเห็นภาพซีกซ้ายของตาทั้งสองข้าง
KNOWLEDGE 73
ในกรณี ที่ เ กิ ด ความเสี ย หายต่ อ สมองน้ อ ย (Cerebellum) จะท�ำให้สูญเสียการทรงตัว เวี ย นศี ร ษะ เคลื่ อ นไหวไม่ ป ระสานงานกั น เกิดความเสียหายต่อก้านสมอง ท�ำให้การหายใจ หรือการเต้นของหัวใจผิดปกติหรือหมดสติ ซึ่งเราสามารถประเมินความรุนแรงของโรค หลอดเลื อ ดสมองได้ จ ากระดั บ การสู ญ เสี ย หน้าที่การท�ำงานของร่างกาย ต้นเหตุของ โรคหลอดเลือดสมอง
ไม่เพียงแต่ผู้สูงวัย แม้แต่วัยรุ่นก็อาจมีความ เสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมองด้วยสาเหตุที่ ต่างกัน โดยโรคหลอดเลือดสมองเกิดได้จาก 3 สาเหตุหลักๆ โดย 80% เกิดจาก 1. หลอดเลือดในสมองตีบ (Atherosclerosis)
เป็นสาเหตุที่เกิดได้ถึง 80% เกิดจากลิ่มเลือด ก่อตัวขึ้นจากผนังหลอดเลือดสมองที่มีคราบ ไขมันเกาะจนแข็ง ท�ำให้หลอดเลือดสมองตีบ แคบลงจนอุดตัน ปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำคัญ ได้แก่ อายุ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันใน เลือดสูง สูบบุหรี่ แอลกอฮอล์ โรคที่ส่งผลต่อ การเปลี่ยนแปลงภายในหลอดเลือด โรคอ้วน เพราะคนอ้วนจะสัมพันธ์กบั การนอนกรนหรือ ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ท�ำให้มีโอกาสเกิด ภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ 2. หลอดเลือดในสมองอุดตัน (Embolic)
เกิดจากลิม่ เลือดทีก่ อ่ ตัวในเส้นเลือดนอกสมอง เช่น ที่หัวใจ ลอยตามกระแสเลือดไปอุดตันที่ หลอดเลือดเล็กๆ ในสมอง ปัจจัยเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคของลิ้น หัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หรือภาวะ หัวใจโต สาเหตุอื่นๆ ที่พบในวัยรุ่น เช่น กีฬา หรืออุบัติเหตุที่มีการบิดหรือสะบัดคอแรงๆ อาจท� ำ ให้ ห ลอดเลื อ ดที่ ค อฉี ก ขาดได้ อาทิ บันจีจ้ มั๊ พ์ หรือกีฬาเอ็กซ์ตรีม ซึง่ พบได้มากขึน้ ในคนไข้กลุ่มวัยรุ่น มักมีอาการปวดคอมาก อ่อนแรงครึ่งซีก หรือช่วงน�้ำท่วมมีอาสาสมัคร ช่วยแบกกระสอบทีค่ อแล้วอ่อนแรงไปซีกหนึง่ เป็ น ต้ น นอกจากนี้ อ าการของหลอดเลื อ ด สมองยังมีหลอดเลือดด�ำอุดตันด้วย เช่น กลุ่ม ที่รับประทานยาคุมก�ำเนิดหลังคลอด ซึ่งจะ มาด้วยอาการชักคล้ายหลอดเลือดแดงอุดตัน
3. เลือดออกในสมอง (Hemorrhagic)
เป็นสาเหตุทเี่ กิดได้ 20% เกิดจากเลือดออกภายในสมอง ซึง่ เลือดทีไ่ หลออกมาท�ำให้เกิดแรงกดเบียด ต่อเนื้อสมอง และท�ำลายเนื้อสมอง ปัจจัยเสีย่ งส�ำคัญ ได้แก่ ภาวะความดันโลหิตสูง อาการของโรค
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองจะมีอาการดังต่อไปนี้ • สูญเสียการควบคุมอวัยวะบางส่วนจากอาการอ่อนแรงหรืออัมพาต โดยเฉพาะทีแ่ ขนและขาด้าน ใดด้านหนึ่ง • การพูดและการมองเห็นไม่ปกติ เช่น กลืนล�ำบาก ทรงตัวไม่ค่อยได้ • มีปัญหาในการควบคุมการท�ำงานของกระเพาะปัสสาวะและล�ำไส้ในกรณีที่เป็นรุนแรง วิธก ี ารรักษา
การรักษาโรคหลอดเลือดสมองอย่างทันท่วงทีด้วยวิธีการที่ถูกต้องจะช่วยป้องกันการเป็นซ�้ำและ ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งแพทย์จะเลือกวิธีการรักษาที่เหมาะสมกับความรุนแรง และอาการ ได้แก่ 1. การถ่างขยายหลอดเลือด
โดยแพทย์จะสอดเครือ่ งมือเข้าทางหลอดเลือดใหญ่บริเวณขาแล้วถ่างขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน ที่ท�ำหน้าที่เหมือนการขูดตระกรันในท่อน�้ำ หรือใส่อุปกรณ์ถ่างขยายที่ท�ำจากขดลวด (Stent) เหมือนตะแกรงทีช่ ว่ ยป้องกันไม่ให้หลอดเลือดตีบซ�ำ้ ในต�ำแหน่งทีห่ ลอดเลือดตีบ ช่วยลดระยะเวลา ในการพักฟื้น 2. การผ่าตัด
การผ่าตัดแบบแผลเล็ก Minimal Invasive โดยใส่สายสวนที่ขาหนีบเพื่อเปิดหลอดเลือดสมอง ที่อุดตัน ช่วยให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงสมองที่ยังไม่ตายได้ทัน โดยมี Biplane DSA (Biplane Digital Subtraction Angiography) เครื่องเอกซเรย์ตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคหลอดเลือดชนิด สองระนาบที่สามารถถ่ายภาพหลอดเลือดทั้งด้านหน้าและด้านข้างในเวลาเดียวกัน ช่วยให้แพทย์ ใส่สายสวนหลอดเลือดขนาดเล็กได้ตรงตามต�ำแหน่งที่ต้องการในเวลาอันรวดเร็ว หากลิ่มเลือด มีขนาดเล็กสามารถฉีดยาละลายลิ่มเลือดเพื่อละลายลิ่มเลือดอุดตันได้โดยตรง หรือหากลิ่มเลือด มีขนาดใหญ่ แพทย์สามารถใช้เครื่องมือเกี่ยวดึงลิ่มเลือดออกจากจุดที่อุดตัน ท�ำให้เลือดเลี้ยงสมอง ได้ทันเวลา นอกจากช่วยลดสารทึบรังสีที่ผู้ป่วยต้องได้รับยังช่วยลดระยะเวลาที่ใช้ในการผ่าตัด ได้แก่ • ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด (Anticoagulants) ลดความหนืดของเลือดและป้องกันการเกิด ลิ่มเลือด • ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelets) ป้องกันการจับตัวของเกล็ดเลือดที่ท�ำให้เกิดลิ่มเลือด • ยาปิดกั้นตัวรับแคลเซียม (Calcium Channel Blockers) อาจป้องกันการท�ำลายระบบ ประสาทที่เกิดหลังจากเลือดออกใต้กะโหลกศีรษะ (Subarachnoid Hemorrhage) • ยาละลายลิม่ เลือด (Thrombolytics) ใช้ในกรณีฉกุ เฉินเพือ่ ละลายลิม่ เลือดทีอ่ ดุ ตันหลอดเลือด สมองอย่างเฉียบ พลัน ในกรณีที่ผู้ป่วยมีโรคหรือภาวะที่เป็นอยู่ก่อนแล้ว ได้แก่ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และไขมันในเลือดสูงควรได้รับการรักษาควบคู่ไปกับโรคหลอดเลือดสมองด้วยยาที่เหมาะสม
3. การใช้ยา
โรคหลอดเลือดสมองส่งผลกระทบกับ ร่างกายและการใช้ชีวิต นอกจาก การดู แ ลสุ ข ภาพให้ แ ข็ ง แรง การใส่ ใ จตรวจเช็ ก สุ ข ภาพและหมั่ น สั ง เกต ความผิดปกติที่เกิดขึ้นคือสิ่งส�ำคัญนะคะ www.thaiprint.org
74 KNOWLEDGE
การสื่อสารเพื่ อการทีมงานทาง ธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ตอนที่ 3 (ตอบจบ)
นอกเหนื อ จากการสื่ อ สารภายในองค์ ก รที่ เราจะต้ อ งพั ฒ นาให้ มี ประสิทธิภาพและสร้างความเข้าใจและความสามัคคีแล้ว การสื่อสาร ในเชิงธุรกิจนั้นเราจะต้องพัฒนาการสื่อสารสู่ภายนอกเพื่อในเกิดความ น่าเชื่อถือ ความใส่ใจ การแสดงถึงความจริงใจ ผลลัพธ์ในเชิงคุณค่า ขององค์กรและการบริการต่อลูกค้า เพื่อน�ำไปสู่กระบวนการซื้อขาย ในความเป็นจริงสินค้าและการบริการของคุณอาจดีเลิศ แต่หากคุณไม่มี ทักษะการขายทีด่ ี ต่อให้สนิ ค้าดีอย่างไร คุณก็ไม่มวี นั ขายออก แล้วเคล็ดลับ ในการขายให้สำ� เร็จคืออะไรผูท้ โี่ น้มน้าวใจได้เก่งจะสร้างความสัมพันธ์อนั ดี อย่างจริงใจกับลูกค้าของเขา พวกเขาสร้างความเป็นมิตรและใช้ภาษากาย ที่เปิดเผยจริงใจ พวกเขาใช้การสื่อสารเป็นหัวใจส�ำคัญนั่นเอง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
ใส่ใจลูกค้า
หัวใจหลักของเคล็ดลับเรียนลัดในบทนีค้ อื เราจะต้องเริม่ ทีล่ กู ค้าเป็นหลัก หากลูกค้าไม่ชอบคุณ เขาก็จะผลักไสคุณออกไปตัง้ แต่คณ ุ เริม่ เปิดการขาย หากเข้าคิดว่าคุณเป็นพวกเดียวกับเขา ทุกอย่างก็จะง่ายขึน้ เยอะ การเป็น นักขายที่ประสบความส�ำเร็จได้นั้น คุณจะต้องถามค�ำถามเหล่านี้ ส�ำรวจว่าลูกค้าต้องการอะไรเป็นพิเศษ และอะไรเป็นสิ่งส�ำคัญ ส�ำหรับธุรกิจของเขา ท�ำไม หาเหตุผลของเขา ท�ำไมเขาจึงอยากได้ หรือ ต้องการในสิ่งนี้ • อย่างไร ค้นหาวิธก ี ารท�ำงานในองค์กรของเขาและวิธกี ารท�ำงานแบบ ที่เขาชอบถาม • อะไร
KNOWLEDGE 75
ผู้ที่โน้มน้าวใจได้เก่งจะ โน้มน้าวใจกับผู้อื่นอย่างจริงจัง เขาจะซักรายละเอียดเพื่อส�ำรวจว่า ปัญหาหลักคืออะไรและก�ำจัดอุปสรรคทีอ่ าจมีขนึ้ ในการสนทนาออกไป
• ถามค�ำถามและฟังค�ำตอบอย่างตั้งใจ
แสดงให้ลูกค้าเห็นถึงประโยชน์ท่จ ี ะได้รับ
บ่อยครั้งที่คุณต้องขายสินค้าและการบริการให้ลูกค้าภายนอกซึ่งคุณจะ ขายได้อย่างมีประสิทธิผลมากที่สุดหากคุณใช้เวลาส�ำรวจความต้องการ ของลูกค้าและสิ่งที่เขาอยากได้จริงๆ ขั้นตอนต่อไปนี้เป็นขั้นตอนในการ สือ่ สารง่ายๆ ทีค่ ณ ุ สามารถน�ำไปใช้เพือ่ ท�ำให้คณ ุ ขายได้อย่างมีประสิทธิผล ในทุกครั้ง สิ่งที่ดีที่สุดในการใช้วิธีนี้คือ ลูกค้าจะไม่รู้สึกว่าคุณยัดเยียด สินค้า แต่คุณอยากหยิบยื่นสิ่งที่ดีที่สุดให้เขาต่างหาก ถามลูกค้าแบบเจาะจงไปเลยว่าเขาต้องการ อะไร เขาอยากได้อะไร โดยมันอาจจะเป็นสิง่ ของหรือความรูส้ กึ ก็เป็นได้ • วิเคราะห์ประโยชน์ ผลลัพธ์นี้ส�ำคัญกับเขาอย่างไร หากเขาได้ไปจะ เกิดอะไรขึ้น เขาจะเกิดความรู้สึกบางอย่างหรือเปล่า หรือมีลักษณะ บางอย่าง เป็นหรือท�ำอะไรบางอย่างได้หรือเปล่า • คิดถึงสถานการณ์ปัจจุบันและอนาคต ลูกค้าต้องการของสิ่งนี้ เมือ่ ใดและทีไ่ หน หรือเขาอยาจจะมีบางส่วนอยูแ่ ล้วหรือเปล่า • สร้างความคาดหวัง ลูกค้ารู้จักคนที่มีของชิ้นนี้อยู่แล้วหรือเปล่า มันท�ำอะไรให้เขาบ้าง เขาเคยมีสิ่งของที่คล้ายกันแล้วเขาก็ชอบด้วย หรือไม่ มันให้ประโยชน์อะไร หลังจากที่มีแล้ว เขาเห็น ได้ยินหรือ รู้สึกอย่างไร • ตรวจสอบระยะเวลา ถามค� ำ ถามกั บ ตั ว เอง 2 ข้ อ ท� ำ ไมลู ก ค้ า จึ ง ยั ง ไม่ มี ในสิ่งที่เขาต้องการ และมีอุปสรรคที่ขัดขวางไม่ให้เขามี ในสิง่ นีห้ รือเปล่า • ถามถึงสิ่งที่อยากได้
ขอแรงสนับสนุนจากผู้อ่น ื
ไม่วา่ คุณจะเป็นผูจ้ ดั การหรือสมาชิกของทีม คุณจะต้องขายความคิดของ ตัวเองไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง คุณจะต้องกระตือรือร้น ดึงความสนใจและ หาพวกให้ได้มากที่สุด ในขณะที่คุณพูด การขายความคิดจะกลายเป็น เรื่องง่ายๆ หากคุณปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ แล้วคุณจะท�ำให้คนอื่น หลงรักความคิดของคุณไปด้วย หากคุณอยากก้าวหน้าในธุรกิจ คุณจะต้องหาพวกหนุนความคิดและ ผลักดันเป้าหมายของคุณนั้นหมายความว่าคุณต้องสวมวิญญาณนักขาย ไม่ว่าคุณจะเป็นอยู่แล้วหรือไม่ก็ตาม ขั้นตอนต่อไปนี้จะช่วยสร้างความ แตกต่างได้ ยกหัวข้อที่ท�ำให้ผู้อื่นสนใจ อย่าทึกทักไปเอง ว่าพวกเขาฟังคุณอยู่ แต่ต้องท�ำให้เขาฟังคุณให้ได้ ยิงค�ำถามไปบ้าง เพื่อส�ำรวจระดับความสนใจของพวกเขา • อธิบายความคิด ในบริบททางความคิด เช่น มีปัญหาที่ต้องแก้หรือ ความท้าทายที่ต้องฟันฝ่าไปให้ได้หรือไม่ • มุ่ ง เน้ น ที่ ผ ลลั พ ธ์ อธิ บ ายความคิ ด ของคุ ณ ในรายละเอี ย ดให้ ไ ด้ มากที่สดุ ว่ามันจะได้ผลลัพธ์อย่างไร หรืออีกนัยหนึง่ มันจะสร้างความ แตกต่างในอนาคตได้อย่างไร ยกให้เห็นข้อเปรียบเทียบกับสถานการณ์ ปัจจุบัน • ดึงดูดความสนใจ
เมื่อคุณสร้างบริบทเพื่ออธิบายรายละเอียด ความคิดแล้ว และจากการสร้างบริบทนี้เอง ท�ำให้ผู้อื่นเริ่มเปิดรับ ความคิดของคุณมากขึ้น • เน้ น ย�้ ำ ประโยชน์ ต้องมั่นใจว่าคุณผูกมิตรกับอีกฝ่ายหนึ่งได้แล้ว โดยการส�ำรวจความสนใจของเขา จากนัน้ อธิบายถึงสิง่ ทีต่ วั เององค์กร ทีม หรือทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะได้รับ • โต้ ต อบความคิ ด เห็ น เชิ ง ลบ คิ ด ถึ ง สถานการณ์ แล้ ว ถ้ า ดู แ ล้ ว เขาไม่สนใจความคิดของคุณล่ะ ลองคุยกับเขาให้เข้าใจถึงผลที่จะตาม มาจากการไม่ยอมรับความคิดของคุณ • ตรวจสอบความคื บ หน้ า ใช้ ท ่ า ท่ า งที่ เ ปิ ด เผยจริ ง ใจเพื่ อ รั ก ษา ความเป็นมิตรเอาไว้ และส�ำรวจปฏิกิริยาของพวกเขาโดยการตั้ง ค�ำถามที่ดี เพื่อเปิดประเด็นปัญหาต่างๆ • ขอความร่วมมือ ขอค�ำมัน ่ สัญญาในการลงมือกระท�ำ ขั้นตอนต่อไป คืออะไร ร่างขั้นตอนในการน�ำความคิดไปปฏิบัติหรือขอให้พวกเขา เสนอขั้นตอนแรก • น� ำ เสนอความคิ ด
สื่อสารด้วยความน่าเชื่อถือ
การขายเป็นเรือ่ งของการสร้างความน่าเชือ่ ถือล้วนๆ ไม่มใี ครยอมซือ้ ของ จากนักขายทีด่ ไู ม่มคี วามรูเ้ กีย่ วกับสินค้า ไม่เชือ่ ในตัวสินค้าหรือดูเหมือน ว่าจะไม่เสนอสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ให้คณ ุ หรือดูหมิน่ หรือต้มตุน๋ คุณอยูห่ รอก ขัน้ ตอน ต่อไปนี้จะช่วยให้คุณได้รับความเชื่อถือ 1. คุณจะต้องพูดจาให้ไปในทางทิศเดียวกัน หมายถึง ท่าทางการแสดงออก ของคุณจะต้องไปในทางทิศเดียวกัน 2. หลังจากการสร้างความสอดคล้องแล้ว คุณจะต้องเตรียมตัวอธิบาย สินค้าหรือความคิดนัน้ อย่างยุตธิ รรม เพราะหากคุณขายฝันจนฟุง้ เกินจริง ลูกค้าก็จะเริ่มเคลือบแคลงในตัวสินค้านั้น 3. เตรียมอธิบายข้อจ�ำกัดหรือจุดด้อยของสินค้า หรือการบริการ หากมี ข้อดีมากกว่าคุณก็ไม่ต้องกังวลไปว่าคุณจะเสียลูกค้าไป สิ่งที่คุณ ก�ำลังท�ำคือ การสร้างความน่าเชื่อถือล้วนๆ 4. อธิบายคุณสมบัติที่ดีของสินค้าที่คุณก�ำลังขายอย่างเฉพาะเจาะจง 5. การพิสูจน์ความน่าเชื่อถือของสินค้า เข้าใจถึงคุณค่า
คุณค่า ในที่นี้หมายถึง สิ่งที่ส�ำคัญมากกับเรา ผู้คนส่วนมากจะมีความคิด และอุดมคติบางอย่างที่เหมือนกันและอยากไก้เหมือนกันในทุกประเทศ และวัฒนธรรม หากคุณใช้ค�ำพูดที่ท�ำให้เขานึกถึงคุณค่าเหล่านี้ในช่วงที่ก�ำลังอธิบาย ประโยชน์ท่ีได้รับจากสินค้าของคุณ เขาจะตื่นเต้นกับสิ่งที่คุณพูดท�ำให้ เขาเปิดใจอยากซื้อสินค้าหรือการบริการที่คุณอธิบายออกมาด้วยค�ำพูด เหล่านี้ ใช้ “ค�ำพูดที่แสดงถึึงคุณค่า” เพื่อท�ำให้ลูกค้าของคุณนึกถึง ประโยชน์ที่จะได้รับจากการซื้อสินค้านั้นๆ ่ สารนัน ่ ำ� คัญในทุกๆ กระบวนการของ จะเห็นได้วา่ การสือ ้ มีบทบาททีส ่ สารให้มรี ะบบในทุกๆ ส่วนเป็นสิง ธุรกิจ การพั ฒนาการสือ ่ ส�ำคัญ และส่งเสริมให้ธุรกิจประสบความส�ำเร็จ www.thaiprint.org
76
INTERVIEW
“พรเทพ สามัตถิยดีกุล” กับแนวคิดการบริหาร ที่มุ่งเน้นการท�ำงานให้สนุก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
INTERVIEW
77
ในยุคที่ผู้บริโภคมีบทบาทในการขับเคลื่อนธุรกิจ การท�ำธุรกิจในรูปแบบเดิมๆ อย่างที่เคยท�ำมาใน อดีต อาจจะไม่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าในปัจจุบันมากนัก ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ธุรกิจ โรงพิมพ์แบบดั้งเดิม เริ่มจะอยู่รอดยากขึ้น ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากภาวะที่เศรษฐกิจไทยอยู่ใน ภาวะชะลอตัวตามปัจจัยเศรษฐกิจโลก รวมถึงภาคการท่องเที่ยวและภาคการส่งออกที่ยังไม่สดใส มากนัก ท�ำให้ธุรกิจโรงพิมพ์ซึ่งเป็นหนึ่งในห่วงโซ่ของธุรกิจการพิมพ์ได้รับผลกระทบตามไปด้วย บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการด้านการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ครบวงจร ทั้งในและนอกประเทศเองประสบปัญหานี้เช่นกัน หากแต่ต้องมีการปรับตัวให้เข้ากับกระแส การเปลี่ยนแปลงในตลาด เพื่อสร้างความอยู่รอดในอนาคต จุดเริ่มต้นของ บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
คุณพรเทพเล่าให้ฟังว่า “เริ่มจากที่เรียนจบมาแล้วเริ่มท�ำงานกับบริษัทเดินเรือ หลังจากท�ำได้ ประมาณ 10 ปี ก็มีความคิดอยากมีกิจการเป็นของตัวเอง จากที่ได้เห็นงานของต่างชาติที่พิมพ์งาน ได้สวยงามและมีความละเอียดเป็นอย่างมาก จึงตัดสินใจทีจ่ ะท�ำธุรกิจสิง่ พิมพ์ จึงได้เข้าปรึกษาผูใ้ หญ่ ในบริษทั เดินเรือ ช่วงเริม่ ต้นท�ำธุรกิจ ยังคงท�ำงานทีบ่ ริษทั เดินเรือและท�ำธุรกิจโรงพิมพ์ไปพร้อมกัน โดยเริ่มต้นด้วยทุน 200,000 บาท เริ่มจากเครื่องพิมพ์ขนาดเล็ก โดยใช้พื้นที่ชั้นล่างของบ้านขนาด 4 x 8 เมตร จัดตั้งเป็นโรงพิมพ์ มีพนักงานเพียง 2 คนเท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับจ้างพิมพ์ สิ่งพิมพ์ประเภทแบบพิมพ์ส�ำนักงาน (Office Stationary) และงานพิมพ์ทั่วไป หลังจากเปิดโรงพิมพ์ได้สักระยะ เพื่อนพ้องที่ท�ำงานในบริษัทเดินเรืออื่นๆ ทั้ง 18 สายเดินเรือ ได้ส่งงานมาให้จัดพิมพ์ ส่งผลให้โรงพิมพ์เติบโตอย่างรวดเร็ว จึงเริ่มขยับขยายพื้นที่โรงพิมพ์โดยเริ่ม จากการเช่าห้องแถว 3 คูหา จนกระทัง่ ปัจจุบนั บริษทั ได้ขยายก�ำลังการผลิตเพือ่ รองรับ ปริมาณงาน ของลูกค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีพนักงานที่ได้รับสวัสดิการและการดูแลอย่างดี กว่า 3,000 คน และก้าวสู่การเป็นผู้ให้บริการสื่อสิ่งพิมพ์ครบวงจรชั้นแนวหน้าของประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก www.thaiprint.org
78
INTERVIEW
แนวทางการบริหารจัดการ
ทางผู้บริหารเน้นเรื่องการตั้งเป้าหมายที่ชัดเจนและให้เป็นที่หนึ่งใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ โดยแข่งขันกับตนเองเพือ่ พัฒนาให้ดยี งิ่ ขึน้ ในทุกวัน รวมทัง้ ปรับใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนาเพือ่ บริหารจัดการองค์กร “เรามุง่ เน้นสูก่ ารเป็นโรงพิมพ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ ท�ำงานให้สนุก ไม่มอี ะไรทีเ่ ป็นไปไม่ได้ อยูท่ ค่ี วามตัง้ ใจมุง่ มัน่ ต้องเลือกเดินทางทีถ่ กู ต้องก็จะพัฒนาต่อเนือ่ ง คนที่ จัดการได้ไม่ดกี จ็ ะถดถอยลงไป หลักของพระพุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์ อยูแ่ ล้วโดยธรรมชาติ อย่างเช่นทีพ่ ระพุทธเจ้าเรียกว่า ธรรมะ ซึง่ หมายถึง ธรรมชาติ เป็นที่พึงของตนเอง อยากได้อะไรก็ขอตัวเอง โดยน�ำความรู้ ด้านนี้มาใช้กับพนักงานทุกคนให้รู้จักตัวเองและรู้ทันปัจจุบัน การพิมพ์ คือวิทยาศาสตร์ ศิลปศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ อีกหลายแขนง เราต้อง บริหารสิ่งเหล่านี้ให้ดีให้ได้คุณภาพสูงสุด” ด้านการตลาดในช่วงเริ่มต้น จะแบ่งเป็นต่างประเทศ 70% และ 30% ในประเทศ ต่อมาฐานลูกค้าใน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 120
ประเทศเริ่มโตขึ้นปรับเป็น 50:50 จนในปัจจุบันอยู่ที่ 30:70 จากการที่ มุง่ เน้นฐานลูกค้าต่างประเทศถือว่าเป็นเรือ่ งดี เนือ่ งจากท�ำให้รกั ษาระดับ การพิมพ์ให้อยูใ่ นมาตรฐาน รวมถึงมีความรูแ้ ละเพิม่ ประสบการณ์ในการ ผลิตงานพิมพ์คณ ุ ภาพ ด้านการบริหารภายในได้จดั โครงสร้างการบริหาร งานไม่ให้เกิดความซ�ำ้ ซ้อน และเพือ่ เสริมประสิทธิภาพในการท�ำงานให้ดี ยิง่ ขึน้ บริษทั ศิรวิ ฒ ั นา อินเตอร์พริน้ ท์ จ�ำกัด (มหาชน) มีการเจริญเติบโต ขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีนโยบายที่จะพัฒนาเทคโนโลยีทางการพิมพ์อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อก้าวสู่ความเป็นหนึ่ง ทางด้าน CSR ศิรวิ ฒ ั นาฯ ได้จดั ตัง้ มูลนิธเิ พือ่ จัดกิจกรรมการกุศลทุกสัปดาห์ โดยการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสในสังคมตามสถานที่ต่างๆ ทั่วประเทศ ทั้งการมอบรถเข็นและทุนตั้งต้นเพื่อประกอบอาชีพ รวมไปถึงการมอบ ทุนการศึกษา การช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบปัญหา ซึ่งทุนส่วนหนึ่ง มาจากการน�ำก�ำไรของบริษัทบริจาคเข้ามูลนิธิเพื่อน�ำไปจัดกิจกรรม
INTERVIEW
79
บริการงานพิมพ์ซีเคียวริตี้ทุกประเภท เช่น งานพิมพ์หนังสือเดินทาง (Passport) งานพิมพ์เอกสาร ป้องกันการปลอมแปลงของหน่วยงานราชการต่าง งานพิมพ์เช็คธนาคาร เป็นต้น โดยบริษัทฯ ได้มีการให้ขยายการให้บริการงานพิมพ์ Security Printing กับประเทศเพื่อนบ้านอีกด้วย ล่าสุดในปี 2561 มีการลงทุนเครื่องพิมพ์ออฟเซตที่มีเทคโนโลยีการพิมพ์ที่ทันสมัยถึง 2 เครื่อง โดยเป็นเครื่องพิมพ์ UV ขนาด 40” จ�ำนวน 6 สี แบบมีเคลือบในตัว และ เครื่องพิมพ์ขนาด 44” จ�ำนวน 8 สี แบบมีเคลือบในตัว เพื่อรองรับการผลิตงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ความประทับใจเกี่ยวกับเครื่องพิ มพ์ KOMORI
คุณพรเทพได้แชร์ความคิดเห็นที่เลือกใช้เครื่องพิมพ์ออฟเซต KOMORI “ผมเป็นคนแรกที่ตัดสินใจ เซ็นสัญญาซือ้ เครือ่ งพิมพ์ KOMORI ในงาน Drupa เมือ่ 20 กว่าปีทแี่ ล้ว เพือ่ นๆ ต่างทักท้วงและเป็น ห่วงว่าจะเลือกเครือ่ งทีผ่ ดิ แต่จากการศึกษาข้อมูล KOMORI อย่างละเอียด ผมมัน่ ใจว่าเป็นเครือ่ งทีด่ ี และ KOMORI ผลิตในประเทศญี่ปุ่นซึ่งอยู่ใกล้กับพวกเรา การเดินทางใช้เวลาไม่นาน ช่างเดินทาง มาประเทศไทยก็ง่าย คนเอเชียด้วยกันสร้างเครื่องพิมพ์ขึ้นมาให้เหมาะกับคนภาคพื้นเดียวกัน ซึง่ ต่างจากทางยุโรป หรือทางตะวันตกทีม่ รี า่ งกายใหญ่โต จะสร้างเครือ่ งพิมพ์ทมี่ คี วามหนัก ซึง่ เขาคิดว่า ความหนักคือคุณภาพ แต่ความเป็นจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนัน้ เสมอไป ขึน้ อยูก่ บั วัสดุทใ่ี ช้ เราได้พสิ จู น์ มาหลายสิบปีแล้ว KOMORI ดีมาตลอด และพัฒนาทุกด้านตลอดเวลา ทั้งด้านเทคโนโลยี และ การบริการ ถือว่าเป็นเครื่องพิมพ์อันดับหนึ่งของญี่ปุ่น” จากที่คุณพรเทพได้ใช้เวลาช่วง 4-5 ปี ที่ผ่านมาไปบุกตลาดในธุรกิจใหม่ เพื่อสังคม โดยเฉพาะในช่วงที่ประเทศไทยประสบ ปัญหาอุทกภัยครั้งใหญ่ในปี 2554 ได้มอบความ ช่ ว ยเหลื อ ให้ กั บ ทั้ ง ผู ้ ป ระสบภั ย โดยตรงและ การมอบผ่านทางภาครัฐ การเปิดตลาดด้าน Packaging และ Security Printing
เมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว ผู้บริหารได้มองเห็นว่า แนวโน้มของสิง่ พิมพ์ Commercial Printing เริม่ มี ความถดถอย เนื่องจากโซเชียลมีเดียเริ่มเข้ามามี บทบาท จึงได้จัดตั้ง “ศิริมีเดีย” เพื่อรับงานการ ผลิตสื่อดิจิตอลทุกรูปแบบให้กับลูกค้า และได้จัด ตัง้ บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาซีเคียวริตพี้ ริน้ ท์ จ�ำกัด เพือ่ ให้
ในปีนี้คุณพรเทพตั้งใจที่จะกลับมาพัฒนาธุรกิจการพิมพ์ให้พัฒนายิ่งๆ ขึ้นไป “หลายคนอาจจะพูด ว่าธุรกิจสิ่งพิมพ์อยู่ในช่วงขาลง ถ้าพูดถึง Magazine อาจจะเป็นช่วงขาลงจริง แต่ด้านบรรจุ ภัณฑ์ก�ำลังโตขึ้น” คุณพรเทพยังเชื่อว่า บริษัท ศิริวัฒนาฯ พร้อมให้บริการงานพิมพ์คุณภาพ ทั้ง ในส่วนของ Commercial Print และ Packaging สู่ตลาดงานพิมพ์ต่อไป การให้บริการจาก C. ILLIES (Thailand)
C. ILLIES (Thailand) เป็นองค์กรที่มีความเข้มแข็ง บุคลากรมีความรู้ การท�ำงานด้วยกันจึงราบรื่น แต่เราก็ต้องมาฝึกคนของเราเองด้วยเพื่อให้สามารถท�ำงานร่วมกันได้ จากที่ได้ร่วมงานกันมานาน เครื่อง KOMORI จึงเสมือนว่าท�ำงานกับเพื่อน มีความคล่องตัวและสามารถคุยกันได้ทุกเรื่อง ข้อคิดส�ำหรับการท�ำธุรกิจส�ำหรับนักธุรกิจรุ่นใหม่ คุณพรเทพฝากทิ้งท้ายว่า ท�ำให้ดีท่ส ี ุดเสมอ ท�ำงานให้สนุก เอาใจใส่อยู่กับมัน รักอะไร ก็จะเจริญอย่างนัน ้ ให้ความรักกับพนักงาน เพราะหากพนักงานมีความสุข ก็จะเป็นพลัง ให้กบ ั บริษท ั แต่จะต้องคอยสอนเขาด้วย ให้ทำ� งาน สอนให้ทำ� แล้วตอบแทน ต้องมี 3 สิง ่ นี้ เป็นพื้ นฐาน จึงจะประสบผลส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจ
www.thaiprint.org
NEWS
81
่ มชมโรงงานบางกอกโรลเลอร์ เยีย
คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ผูอ้ ำ� นวยการสถาบัน การพิมพ์ไทย และคุณภาสกร วงษ์ชนะชัย รองผูอ้ ำ� นวยการฯ น�ำนักเรียนการพิมพ์ รุน่ ที่ 13 สถาบันการพิมพ์ไทย (Thai Print Academe) เข้าเยีย่ มชมโรงงาน บริษทั บางกอกโรลเลอร์ จ�ำกัด โดยการต้อนรับของคุณไชยสิทธิ์ สุนทรพรวาที กราฟิก โรลเลอร์ เมเนจเจอร์ พร้อมรับฟัง พรีเซนต์แนะน�ำบริษัท และถึงการแนะน�ำวิธี การบ�ำรุงรักษาลูกกลิ้งยางส�ำหรับงานพิมพ์ หลังจากนั้นเข้าชมไลน์การผลิตลูกกลิ้งยาง ส� ำ หนั บ งานพิ ม พ์ โดยมี ผู ้ แ นะน� ำ ขั้ น ตอน การผลิต การซ่อมบ�ำรุง และคอยตอบข้อสงสัย โดยละเอียดตลอดการรับชม นอกจากนี้ยัง น�ำคณะเข้าชมลูกกลิ้งขนาดใหญ่ที่ต้องใช้รถ บรรทุ ก ทั้ ง คั น ส� ำ หรั บ ขนส่ ง เพี ย งแค่ 1 ชิ้ น เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2562 ตัง้ แต่เวลา 13.30 17.00 น. ณ บริษัท บางกอกโรลเลอร์ จ�ำกัด นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร สมุทรสาคร www.thaiprint.org
สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................
ใบสมัครสมาชิก
วันที่......................................................
ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................
ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ
(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)
74_Pc4.indd 1
23/5/2561 9:04:18
บจก.สุพรชัย จ�ำกัด
SUPORNCHAI Co.,Ltd
เครื่องปะหน้าต่าง เข้ามุม มีเส้นพับ ปะ 2 ช่อง
MODEL
เครื่องปะกบออโต้
Max.Paper size Min.Paper size Upper paper thickness Bottom paper thickness
mm mm g/m2 g/m2
1200x720 450x490 80-1200 160-3000
Hot stamping ปั๊มฟอยล์ Laminating เคลือบลาสติกเงา/ด้าน Spot UV งานเคลือบ Spot UV Die Cutting & Patching ปั๊มขาด+ปั๊มนูน Blister pack varnish
UV Vanishing งานเคลือบยูวี Calendering ขัดเงา Embossing งานปั๊มนูนปั๊มจม Gluning &Mounting ปะข้าง + ปะก้น / ปะประกบ
บริษทั สุพรชัย จ�ำกัด 30 หมู่ 4 ถ.ศรีวารีนอ้ ย-ลาดกระบัง ต.ศีรษะจรเข้นอ้ ย อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทร. +662-402-6623 โทรสาร +662-337-1866 มือถือ. +669-6146-3398 E-mail: marketing@spc-postpress.com http://www.spc-postpress.com TpmMag_117 Pc4.indd 47
22/8/2561 0:20:26