THAIPRINT
MAGAZINE 1 2 1
ISSUE
¥m ñ p ×} q p j × ¢p ¡} Ô j p ¨ m ®p¥}
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
การันตีดวยรางวัล “2019 European Digital Press Association Awards” ประเภท : สุดยอดนวัตกรรมเคร องพิมพดิจิตอลแบบ cut sheet ในงาน EFSPA Global Print EXPO 2019
SEE YOU AT BOOTH: H01 www.fujixerox.co.th
FujiXeroxThailand
www.thaiprint.org 2019_121_Cover_ThaiPrintMGZ.indd
1
@ BITEC BANGNA 6/12/2562 BE 15:55
YouTube
WEBSITE
ผลิ ต ภั ณ ฑ์
เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน Moving Forward to Green Print
ปลอดภัยตอผูใช
ลูกกลิ้งเสื่อมเร็ว สารกอมะเร็ง
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สารไวไฟ
ผสมน้ำได
การใชน้ำมันกาด กอใหเกิดผลอยางไร มีกลิ่นฉุน
น้ำยาลางแบบใหม ดีอยางไร ถนอมลูกกลิ้ง
เปนอันตรายตอผูใช
$ $ $
ใชในปริมาณมาก
ลดตนทุนระยะยาว
ไมมีกลิ่นฉุน
ใชปริมาณนอย
จำหนายน้ำยาลางหมึกแทนน้ำมันกาด และน้ำยาลางหมึกพิมพ UV คุณภาพสูง บริษัท แอลฟา โปร เคมีคอล จำกัด
300 ซ.เพชรเกษม 42 แยก 1 ถ.เพชรเกษม แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ 10160 Tel: 0-2457-4886, 0-2457-4889 Fax: 0-2869-5515 www.alphaprochemical.com
06 Ad Alphaprochemical #109_pc3.indd 6
23/9/2558 14:21:28
Best Performance, Fastest Output. l
Best performance with fast-dry oil-base
l
Super high-speed Printing 160 ppm.
l
Stability for High-volume Production Print jobs.
l
Eco-proven Performance Worldwide.
l
Small Foot print, Big Output
พบกับ
RISO
ได้ที่งาน
18th-21th Sep, 2019 Booth no. G01, Hall 100-101 Bitec, Bangkok
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/
Ad KURZ_pc4.pdf 1 26/6/2562 11:13:40
Ad T Paiboon_Pc4.indd 1
16/5/2561 15:56:26
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 4
12/9/2560 14:01:20
11 MD magazine_pc4.pdf 1 23/11/2561 1:52:34
The besT of LeD UV prinTing in The worLD. พิมพ์ได้ทั้งงาน Packaging, สลาก, งานหนังสือ และ commercial printing พิมพ์ลงบนวัสดุได้หลากหลายเช่น กระดาษ พลาสติก กระดาษฟอลย์
ข้อดีของระบบการพิมพ์ LeD UV Power consumption การใช้พลังงาน Life span of lamp อายุของหลอด Heat/ ozone Space การใช้เนื้อที่ในการติดตั้ง
A3-Size Portrait
Conventional UV 71.1 KWh. (2 lamps type)
approx. 1,000 hrs. YES (need duct works) Peripheral equipment needs almost the same size of machine
A3-Plus
No heat/ No ozone saving 75%
A2-Size
520GX-4
340PCX-2
Max. Sheet Size 13.39 x 17.72 นิ้ว
LED-UV 6.4 KWh. (standard type) saving over 90% approx. 15,000 hrs.
690ST-4
(with coating unit)
Max. Sheet Size 14.76 x 20.47 นิ้ว
A1-Size
B2-Size
Max. Sheet Size 20 x 27 นิ้ว 1,020/1,050mm Format
920PF-8
Max. Sheet Size 25.2 x 36.22 นิ้ว
790ST-5
(with coating unit)
Max. Sheet Size 23.62 x 31.02 นิ้ว 1,130mm Format
1130TP-10
1050LX-6
(with coating unit)
Max. Sheet Size 29.53 x 41.34 นิ้ว
สอบถามข้อมู ลเพิ่มเติมได้ท่ี บริษทั ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด
Max. Sheet Size 32.28 x 44.49 นิ้ว
576/68 ถนนสาธุ ประดิษฐ์ แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กทม. 10120 โทรศัพท์ 02-682-3411-4 THAIPRINT MAGAZINE 114
โทรสาร 02-682-3415 email: cybersm751@csloxinfo.com 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 79
079
www.cybersm.co.th
8/9/2560 3:10:55
TRANSFORM YOUR CORRUGATED PACKAGING BUSINESS Create new business opportunities and gain new competitive advantages - while reducing turnaround time and waste. HP digital corrugated packaging solutions complement your analog capabilities, giving you With HP, you can turn dynamic market requirements into new growth opportunities for your business.
HP PAGEWIDE T400 PRESS
HP PAGEWIDE T1100 SERIES PRESSES
Open new opportunities with a combined solution of pre-print and digital in one inkjet web press.
Optimize time savings with high-volume production and job versatility, thanks to variable data and HP Multi-lane Print Architecture.
HP SCITEX 15500 CORRUGATED PRESS
HP SCITEX 17000 CORRUGATED PRESS
Drive down costs - and improve your break-even point - with a
Achieve cost-effective, short- and medium-run production. Meet demanding turnarounds with the quality you need.
DIGITAL FLEXIBILITY
OFFSET-LIKE PRINT QUALITY
FOOD-SAFE WATER-BASED INK
HP PAGEWIDE C500 PRESS Grow your business with HP’s digital post-print solution delivering offset quality for mainstream production.
INVEST WITH CONFIDENCE
HIGH PERFORMANCE
: www.hp.com/go/corrugatedpackaging ©2018 HP Development Company, LP.
นายกสมาคม
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก
121 THAIPRINT
MAGAZINE 1 2 1
ISSUE
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
¥m ñ p ×} q p j × ¢p ¡} Ô j p ¨ m ®p¥} การันตีดวยรางวัล “2019 European Digital Press Association Awards” ประเภท : สุดยอดนวัตกรรมเคร องพิมพดิจิตอลแบบ cut sheet ในงาน EFSPA Global Print EXPO 2019
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
• วารสารการพิ มพ์ ไทย ฉบับที่ 121
SEE YOU AT BOOTH: H01 www.fujixerox.co.th
FujiXeroxThailand
www.thaiprint.org 2019_121_Cover_ThaiPrintMGZ.indd
1
W209.55 x H292.1 mm. สัน 4 mm.
@ BITEC BANGNA 6/12/2562 BE 15:55
่ ชมในความส�ำเร็จและ สมาคมการพิ มพ์ ไทยขอชืน ขอแสดงความยินดีกบ ั 11 บริษท ั ฯ จากประเทศไทย ทีไ่ ด้รบ ั เหรียญรางวัลในงานประกวดสิง ่ พิ มพ์ ฉลาก และบรรจุภัณฑ์แห่งชาติระดับเอเซียครั้งที่ 17 ประจ� ำ ปี 2019 17 th Asian Labels and Packaging Excellence Awards 2019 นับเป็นความภาคภูมใิ จของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ่ ม้จะถูก Disrupt แต่ยง ในประเทศไทย ทีแ ั สามารถ ปรับตัวให้คงอยู่ได้ด้วยการเพิ่ มนวัตกรรมและ การเพิ่ ม Value Added ให้กบ ั งานพิ มพ์ จนแม้แต่ เอเซียยังต้องยอมรับการันตีดว ้ ยเหรียญรางวัล 5 เหรียญทอง 5 เหรียญเงิน และ 3 เหรียญ บรอนซ์ รวมเหรียญทั้งหมด 13 เหรียญ
COVER TPM ISSUE.121 21/06/2019
วารสาร Thai Print ฉบับที่ 121 นี้ คุณพงศ์ธีระ พั ฒนพี ระเดช นายกสมาคม การพิ มพ์ ไทยได้ให้สัมภาษณ์และกล่าวถึงยุทธศาสตร์ของสมาคมฯ ในวาระที่ท่าน ด�ำรงต�ำแหน่ง คือ การผลักดันผูป ้ ระกอบการสิง ่ พิ มพ์ SME (Small and Medium Enterprise) ให้ Transform เป็น SMART Management Enterprise ให้ได้ และ High light ส�ำคัญของวารสารฉบับนี้ เป็นการรวบรวมผลการด�ำเนินงานของ สมาคมการพิ มพ์ ไทยในตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ซึ่งล้วนเกิดจากความร่วมแรง ร่วมใจของคณะกรรมการ เจ้าหน้าที่ และผู้สนับสนุนทุกท่าน ความส�ำเร็จที่เกิดขึ้น เพื่ อความเข้มแข็งและการเติบโตอย่างยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ่ วข้องทุกท่านทีใ่ ห้การสนับสนุนทัง สมาคมการพิ มพ์ ไทยขอขอบคุณผูม ้ ส ี ว ่ นเกีย ้ ด้าน ้ ะได้รบ ข้อมูลและรูปภาพ หวังเป็นอย่างยิง ั ความสนใจ ่ ว่าวารสาร Thai Print ฉบับนีจ จากสมาชิกทุกท่านเช่นเดิม หากผูอ ้ า่ นจะมีขอ ้ เสนอแนะใดในการปรับปรุงวารสารนีใ้ ห้ สมบูรณ์ยิ่งขึ้นกองบรรณาธิการขอน้อมรับค�ำติชมด้วยความยินดี กองบรรณาธิการ
SPECIAL THANKS
เอื้อเฟื้ อกระดาษที่ใช้พิมพ์ Thaiprint magazine บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2586 0777 โทรสาร 0 2586 2070 ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ
คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ
คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก
คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน
คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม
คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม
คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์
คุณรัชฐกฤต เหตระกูล
รองประชาสัมพั นธ์
คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์
ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ
คุณธนา เบญจาธิกุล
15 Ad Vahva Board_pc4.indd 1
23/11/2561 1:19:13
CONTENTS
INDUSTRIAL
NEWS
17th Asian Labels and Packaging Excellence Awards 2019
46
การตัดสิน ThaiStar Packaging Awards
48
โคนิก้า จัดกิจกรรม "KM-1 High Level Conference"
49
YPG เยี่ยมชมธนาคารแห่ง ประเทศไทย และบางเลนเปเปอร์มล ิ ล์
72
31
เข้าเส้น - ชัย The Finisher Thesis Exhibition
74
RICOH ร่วมอัพเดตนวัตกรรม การพิ มพ์ ในงานสถาปนิก'62
32
ผลการด�ำเนินงาน สมาคมการพิ มพ์ ไทย พฤษภาคม 2561 - เมษายน 2562
76
จับตา อุตฯ พริน ้ ติง ้ - แพ็ กเกจจิง ้ กับแนวโน้มทิศทางภาคการผลิตไทย
35
สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญ ประจ�ำปี 2561/2562
28
สมาคมการพิ มพ์ สกรีนไทย ประชุมใหญ่สามัญและ การเลือกตั้ง ปี 2562
29
สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การ พิ มพ์ ไทย ประชุมใหญ่สามัญและ เลือกตั้งคณะกรรมการปี 2562
30
ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีที่ 73 สมาคมการพิ มพ์ ไทย
วันการพิ มพ์ ไทย 2562 42 3 มิถุนายน 2562 ณ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม งานเลี้ยงวันการพิ มพ์ ไทย 2562
43
Ricoh Asia Pacific ร่วมมือกับ Babbobox
44
สมาคมการพิ มพ์ ไทยจัดอบรม เรื่องสิ่งแวดล้อมในโรงพิ มพ์
45
KNOWLEDGE สาระน่ารู้ เกี่ยวกับทางการพิ มพ์ ออฟเซต ปัญหาและวิธีแก้ไข (3)
22
มารูจ ้ ก ั ประเภทปั๊มลม และวิธเี ลือกใช้ ปั๊มลมให้เหมาะกับงาน ตอนที่ 2
36
การบริหารจัดการในโรงพิ มพ์ ตอนที่ 2 การวางแผน และการควบคุมการผลิต
52
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
ฟู จิ ซีร็อกซ์ Iridesse™ Production Press กับระบบการดูแลเครื่องฯ แบบอัตโนมัติ ผ่านระบบออนไลน์
50
ส่อง 3 เมกะเทรนด์โลก กับความเคลื่อนไหวอุตฯ การพิ มพ์ ทย ี่ ง ั ไม่ตาย แต่ปรับตัว รับดีมานด์ตลาด “แพคเกจจิ้ง”
68
INTERVIEW พงศ์ธีระ พั ฒนพี ระเดช กับบทบาทนายกสมาคม การพิ มพ์ ไทย
17
“ท�ำไมไม่กินข้าวหลามในตู้เย็น” ทีมชนะเลิศจากกระกวด “คนรุ่นใหม่ ไร้ Food Waste”
60
ศิรสิทธิ์ หอวิจิตร 64 บริษท ั ไซเบอร์ เอ็สเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด
ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ท่ี บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
The Thai Printing Association www.thaiprint.org
INTERVIEW
17
พงศ์ธีระ พั ฒนพี ระเดช กับบทบาทนายกสมาคมการพิ มพ์ ไทย
่ี าวนาน ในปีนส ี้ มาคมการพิ มพ์ ไทยมีอายุครบ 72 ปี ถือว่าเป็นสมาคมทีเ่ ก่าแก่ และมีประวัตท ิ ย ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั้น นายกสมาคมฯ ทุกท่าน ต่างมีโยบายการบริหารที่ส่งผลให้ สมาคมฯ พั ฒนาอย่างต่อเนื่อง
ภารกิจหลักของสมาคมการพิ มพ์ ไทย • ส่งเสริมศักยภาพทางการพิ มพ์ • ช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับข้อร้องเรียน • สร้างความสมัครสมานสามัคคีให้สมาชิก • แลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่องของเทคโนโลยี การค้า และข้อมูลด้านสถิติ • การสร้างมาตรฐานการพิ มพ์ ผ่าน โครงการประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติ Thai Print Awards • การส่งเสริมอุตสาหกรรมการพิ มพ์ กับ ภาครัฐ พงศ์ธีระ พั ฒนพี ระเดช
www.thaiprint.org
18
INTERVIEW
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมฯ คนปัจจุบันได้ กล่าวถึง ภารกิจหลักของสมาคมการพิมพ์ไทยว่า สมาคมฯ มี บ ทบาทหน้ า ที่ ใ นการส่ ง เสริ ม ศั ก ยภาพทางการพิ ม พ์ ข อง ประเทศไทย รวมไปถึ ง การช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาเกี่ ย วกั บ ข้ อ ร้ อ ง เรียนต่างๆ การสร้างความสมัครสมานสามัคคีให้หมู่สมาชิก การจัดสัมมนาให้ความรู้ในเรื่องของเทคโนโลยี การค้า หรือ ข้ อ มู ล ด้ า นสถิ ติ เช่ น ข้ อ มู ล การน� ำ เข้ า -ส่ ง ออก สิ่ ง พิ ม พ์ บรรจุ ภั ณ ฑ์ การยกระดั บ มาตรฐานคุ ณ ภาพการพิ ม พ์ ผ ่ า น โครงการประกวดสิ่ ง พิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ Thai Print Awards การส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ กั บ ภาครั ฐ เนื่ อ งจาก อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ เ ป็ น อุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น หรื อ Supporting Industry อยู่ในทุกๆ อุตสาหกรรม ดังนั้นสิ่งพิมพ์ จึงมีความส�ำคัญและเป็นส่วนหนึ่งของสินค้าต่างๆ อยู่เสมอ ยกตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมอาหารก็ตอ้ งมีบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ บรรจุ ภัณฑ์ตอ้ งอาศัยการพิมพ์ ไม่วา่ จะเป็นบรรจุภณ ั ฑ์โลหะ กระดาษ แก้ว หรือพลาสติกก็ตอ้ งมีการพิมพ์เพือ่ ให้ขอ้ มูลผลิตภัณฑ์และ สร้างความโดดเด่น สวยงามดึงดูดสายตาเมือ่ อยูบ่ นชัน้ วางสินค้า สมาคมการพิมพ์ไทยนับถึงปัจจุบนั มีอายุกว่า 72 ปีแล้ว ทีท่ ำ� การ แรกอยู่ที่ซอยจินดาถวิล ต่อมาย้ายมาอยู่ที่ซอยนวลจันทร์ จน ปัจจุบันย้ายมาอยู่ที่ พระราม 9 ซอย 15 ในสมัยคุณเกรียงไกร เธียรนุกุลเป็นนายกสมาคม ที่ท�ำการปัจจุบนั มีสงิ่ อ�ำนวยความ สะดวกครบครัน ทัง้ ห้องประชุมขนาดใหญ่ ห้องจัดกิจกรรมสัมมนา ต่างๆ และห้องประชุมย่อยส�ำหรับการประชุมคณะกรรมการ Young Printer นอกจากนี้ยังมีห้องสมุดที่เก็บตัวอย่างหนังสือ ทีเ่ น้นการออกแบบดีไซน์ หรือการใช้เทคนิคการพิมพ์แบบพิเศษ ห้องทดสอบวัสดุการพิมพ์ (Thai Print Lab) และศูนย์ทดสอบ มาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพ นอกจากนีส้ มาคมการพิมพ์ยงั มีสถาบัน การพิมพ์ไทย (Thai Print Academy) ตัง้ อยูท่ นี่ คิ มอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์สินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผลงานที่สร้างชื่อให้สมาคมฯเป็นที่รู้จักในวงกว้าง คือ การ สร้ า งบ้ า นกระดาษทรงไทยที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลก ซึ่ ง อยู ่ ใ น งาน APEC Investment Mart โดยสมาคมฯ ได้รับมอบ หมายให้ ส ร้ า งสถานที่ จั ด แสดงผลงานและนวั ต กรรมของ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ในงานดังกล่าว คุณ เกรียงไกร เธียรนุกุล ซึ่งขณะนั้นด�ำรงต�ำแหน่งนายกสมาคม ได้ เ สนอว่ า น่ า จะสร้ า งบ้ า นกระดาษทรงไทยจากกระดาษ เพื่ อ ให้ เ ป็ น เอกลั กษณ์ และสร้างทั้ง ทีควรท�ำสถิติโลกผ่าน Guinness World of Record จึงได้มกี ารออกแบบบ้านทรงไทย ทั้งหลังด้วยกระดาษ โครงสร้างของบ้านทั้งหมดท�ำด้วยวัสดุที่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
เป็นกระดาษอย่างเดียวไม่มวี สั ดุชนิดอืน่ ปนเลย สามารถรองรับน�ำ้ หนัก โดยน�ำคนขึน้ ไปยืนท�ำสถิตโิ ลกถึง 680 คน โดยที่บ้านยังคง ความแข็งแรงไว้ได้อย่างมัน่ คง บนบ้านกระดาษจะมีซมุ้ เรือนไทย ขนาดย่อมแสดงผลงาน 4 มุม โดยแต่ละหลังจะมีการน�ำสิง่ พิมพ์ ไปตัง้ แสดงไว้ภายใน นายกรัฐมนตรีของประเทศต่างๆ ทีม่ าร่วม งานในเวลานัน้ พลาดไม่ได้ทจี่ ะมาพิสจู น์ความแข็งแรงของบ้าน กระดาษทรงไทย จึงถือเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่สร้างชื่อเสียงให้ กับสมาคมการพิมพ์ไทยเป็นอย่างมาก ส่งผลให้ภาครัฐได้รู้จัก อุตสาหกรรมการพิมพ์มากขึ้น ส�ำหรับเรื่องการจัดงานแสดงการพิมพ์ในประเทศ เพื่อให้ผู้ ประกอบการไทยสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีการพิมพ์ได้ง่าย และสะดวกขึ้ น นั้ น เดิ ม การจั ด งานแสดงการพิ ม พ์ จ ะอยู ่ ที่ ประเทศสิงคโปร์ เนื่องจากเมื่อก่อนสิงคโปร์ และฮ่องกงจะ เป็นศูนย์กลางทางการพิมพ์ เพราะทั้งสองประเทศนี้ติดต่อ ธุรกิจเก่ง และมีความสามารถทางด้านภาษา แต่สมาคมฯ มี ความคิ ด ว่ า คนไทยเองก็ มี ศั ก ยภาพเช่ น กั น ท� ำ ไมจึ ง ไม่ ดึ ง งานแสดงงานพิ ม พ์ เ หล่ า นี้ ม าจั ด ที่ เ มื อ งไทย สมาคมฯ จึ ง ได้ประชุมกับ Messe Dusseldorf Asia Pte Ltd. ซึ่งเป็น ผู ้ จั ด งาน DRUPA งานแสดงสิ่ ง พิ ม พ์ ร ะดั บ โลกที่ เ ยอรมั น โดยจั ด ขึ้ น ทุ ก ๆ 4 ปี จนในที่ สุ ด จึ ง เกิ ด งานแสดงการพิ ม พ์ ที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียนขึ้นในประเทศไทย นั่นคืองาน PACK PRINT INTERNATIONAL โดยสมาคมการพิมพ์ไทยร่วมกับ สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย และ Messe Dusseldorf Asia Pte Ltd. ร่วมกันจัดขึ้น ซึ่งในปีนี้ถือเป็นการจัดงานครั้งที่ 7 แล้ว โดยงานจะมีขึ้นระหว่างวันที่ 18-20 กันยายน 2562 นี้ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา แนวคิดของ งานในครั้งนี้คือ SHAPING THE FUTURE OF PACKAING & PRINTING IN ASIA
INTERVIEW
19
ปีนี้หนึ่งในภารกิจส�ำคัญคือสมาคม การพิ มพ์ ไทยจะเป็นเจ้าภาพจัด งาน ASEAN Printing Forum โดยในงานนี้จะมีนายกสมาคมการ พิ มพ์ และคณะกรรมการสมาคม ของประเทศในชาติอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ มาร่วมประชุมกันเพื่ อแลก เปลี่ยนข้อมูล Country Report ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ การ แสวงหาความร่วมมือต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นเรื่องการส่งออก-การน�ำเข้า และแนวทางการลงทุนใน เทคโนโลยีการพิ มพ์ ของแต่ละ ประเทศว่าก�ำลังเดินไปในทิศทางใด
จุ ด เด่ น ของธุ ร กิ จ การพิ มพ์ ของประเทศไทยที่ สร้างความโดดเด่นในตลาดโลก
ต้องบอกว่าประเทศไทยมี Supply Chain ในอุตสาหกรรมการ พิมพ์ครบวงจรตั้งแต่ต้นน�ำ้ กลางน�ำ้ และปลายน�้ำ ในส่วนของ ต้นน�ำ้ เรามีการปลูกป่าเพือ่ น�ำมาผลิตเป็นเยือ่ กระดาษ มีโรงงาน ผลิตกระดาษ กลางน�้ำเรามีโรงพิมพ์ท่ีมีคุณภาพทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก กระจายตัวอยู่ทั้งในกรุงเทพ ปริมณฑล และต่างจังหวัด เรามีนคิ มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ สินสาคร ซึ่งเป็นนิคมการพิมพ์แห่งเดียวในโลก เรามีความได้ เปรียบในเชิงต�ำแหน่งที่ตั้งภูมปิ ระเทศ เพือ่ การขนส่ง Logistic ตลอดจนเรามีบคุ ลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถในเรือ่ งการพิมพ์ ช่างพิมพ์ของประเทศไทยเป็นช่างพิมพ์ที่มีทักษะ โดยเฉพาะ ลักษณะนิสัยของคนไทยที่เป็นคนใส่ใจ มีความละเอียด ซึ่งเห็น ได้จากการที่ประเทศไทยได้รับรางวัลชนะเลิศหลายๆ ครั้งจาก การประกวดสิง่ พิมพ์ระดับอาเซียน เพราะฉะนัน้ จุดนีจ้ งึ เป็นส่วน หนึ่ ง ที่ ท� ำ ประเทศไทยมี จุ ด เด่ น ในเรื่ อ งของการพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภัณฑ์ในภูมิภาคนี้ และในปีนี้ประเทศไทย โดยสมาคม การพิมพ์ไทยจะเป็นเจ้าภาพจัดงาน ASEAN Printing Forum ใน ช่วงเวลาเดียวกับงาน PACK PRINT INTERNATIONAL อีกด้วย โดยในงานนี้จะมีนายกสมาคมการพิมพ์และคณะกรรมการ สมาคมของประเทศในอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ มาร่วมประชุม
เพื่ อ แลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ที่ เรี ย กว่ า Country Report การแสวงหาความร่วมมือต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เรือ่ งการส่งออก-การน�ำเข้า และแนวทางการลงทุนในเทคโนโลยี การพิมพ์ของแต่ละประเทศว่าก�ำลังเดินไปในทิศทางใด อย่างไรก็ตามสมาคมการพิมพ์ไทยไม่ได้มุ่งเน้นในเรื่องของ เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งของการ พัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยมุ่งเน้นใน 3 กลุ่มหลักๆ คือ • Printer หรื อ ระดั บ ช่ า งพิ ม พ์ ให้ ค วามส� ำ คั ญ โดยการ ส่ ง เสริ ม และร่ ว มมื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษา เช่ น ภาควิ ช า เทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ - มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ วิทยาลัยเทคนิค มีนบุรี ฯลฯ สร้างโครงการสหกิจศึกษา หรือการเชิญคณาจารย์ จากสถาบันต่างๆ มาร่วมสอนให้กับนักเรียนของ Thai Print Academy หรือสถาบันการพิมพ์ไทยซึ่งเป็นสถาบันที่เปิดสอน ให้ช่างพิมพ์มีความช�ำนาญในเรื่องการพิมพ์ • ระดับกลาง หรือระดับผู้จัดการ โดยการเปิดการฝึกอบรม สัมมนาทัง้ ในเรือ่ งของเทคโนโลยีการพิมพ์และในด้านการตลาด เพราะผู้บริหารในอุตสาหกรรมการพิมพ์ต้องเก่งทั้งในเรื่อง การพิมพ์ การบริหารโรงพิมพ์ การขาย การท�ำ Marketing อีกด้วย www.thaiprint.org
20
INTERVIEW
• Young Printer หรือกลุ่มลูกหลานทายาทของผู้ประกอบ การโรงพิมพ์ในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นให้กลุ่มทายาทธุรกิจ โรงพิมพ์หันมาสนใจและสืบทอดกิจการด้านการพิมพ์ต่อไป โดยผู้สมัครต้องมีอายุไม่เกิน 35 ปี จึงจะสามารถสมัครเข้าร่วม กลุ่ม Young Printer ได้ ซึ่งกลุ่ม Young Printer นี้มีรูปแบบ การจัดตั้งคณะกรรมการเช่นเดียวกับคณะกรรมการสมาคมชุด ใหญ่ของสมาคม มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่นการดูงาน หรือการ จัดกิจกรรม CSR ตามที่กลุ่ม Young Printer สนใจ เพื่อจะได้ ตอบโจทย์และโดนใจกับคนรุ่นใหม่ นอกจากนี้ Young Printer ยังเป็นบุคลากรส�ำคัญทีท่ ำ� งานสนับสนุนควบคูก่ บั กรรมการชุด ใหญ่ ท�ำให้เมื่อถึงวันที่เติบโตขึ้นและได้รับการเลือกตั้งเข้ามา เป็นคณะกรรมการสมาคมฯ แล้วจะสามารถสานต่อกิจกรรม ของสมาคมฯ ในอนาคตได้อย่างไร้รอยต่อและมีประสิทธิภาพ ในช่วงระยะเวลาที่ผ่า นมา ธุ รกิ จการพิ มพ์ มี ก าร เปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง
ปั จ จุ บั น หลายๆ ธุ ร กิ จ ถู ก Disrupt จากการเปลี่ ย นแปลง เทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ในอดีตเราเคยใช้กล้องฟิลม์ ส�ำหรับถ่าย รูป ต่อมาเราใช้กล้อง Digital แทน แต่ทกุ วันนีเ้ ราก็แทบจะไม่พก กล้องกันแล้ว เพราะเราใช้มือถือถ่ายรูป แถมสามารถอัพโหลด ขึ้นไปอยู่บน Social Media ได้อย่างรวดเร็วอีกด้วย ดังนั้นถึง แม้จะเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ระดับโลกที่มีทรัพย์สินมูลค่าหลาย แสนล้าน ผลิตทั้งกล้องและฟิล์มก็ไม่สามารถต้านทานกระแส แห่งการเปลีย่ นแปลงได้ ถ้าไม่ปรับตัว ต้องล้มหายตายจากไปใน ทีส่ ดุ หรือว่าในกรณีของ Nokia เป็นเจ้าแห่งโทรศัพท์มอื ถือยักษ์ ใหญ่ แต่วันนึงเมื่อเกิดสมาร์ทโฟนแบบ iphone ขึ้นมา ในเวลา ไม่นานยอดขาย Nokia ก็ลดลง เพราะฉะนัน้ ต่อให้วนั นีเ้ ราเป็น ธุรกิจทีไ่ ฮเทคและเป็นอะไรทีป่ จั จุบนั ก็จริง แต่เมือ่ กาลเวลาผ่าน ไป ก็จะถูกเปลีย่ นแปลงด้วยการ Disrupt อยูเ่ สมอ อุตสาหกรรม การพิมพ์ก็เช่นกันที่วันนี้ถูกท้าทายด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลมีเดีย ปัจจุบนั คนอ่านหนังสือพิมพ์ อ่านนิตยสาร ผ่านสือ่ ออนไลน์มากขึน้ เพราะกว่าจะพิมพ์ออกมาเป็นเล่มแต่ละฉบับนั้นมีกระบวนการ หลายขั้นตอน การอ่านข่าวจากเว็บไซต์หรือสื่อดิจิทัลจึงเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารที่รวดเร็วกว่า ส่งผลให้เม็ดเงินค่าโฆษณาผ่านสื่อ หนังสือพิมพ์ถกู ลดบทบาทลง โดยหันไปโฆษณาผ่านสือ่ ออนไลน์ มากขึ้น ท�ำให้ยอดพิมพ์ลดลง และหลายๆ ฉบับที่ต้องปิดตัวไป นิตยสารเองก็เช่นกัน ต้นทุนในการจัดท�ำนิตยสารแต่ละเล่ม นั้นค่อนข้างสูง บางครั้งราคาจ�ำหน่ายยังต�่ำกว่าต้นทุนค่าผลิต ทีส่ ามารถจ�ำหน่ายราคาต�ำ่ กว่าต้นทุนได้เพราะได้คา่ โฆษณาเข้ามา ช่วย แต่ในยุคดิจทิ ลั พฤติกรรมการใช้สอื่ ของผูบ้ ริโภคเปลีย่ นแปลง ไป ท�ำให้เจ้าของสินค้าหันไปใช้โฆษณาในสื่ออื่นๆมากขึ้น เช่น Website Facebook YouTube Instagram หรือการโฆษณา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ผ่าน Blogger ต่างๆ ดังนัน้ เมือ่ เม็ดเงินค่าโฆษณาไหลเข้าสูต่ ลาด นิตยสารลดลง ท�ำให้หลายหัวนิตยสารอยูไ่ ม่ได้ ต้องปิดตัวลงไป เหมือนเช่นกับหนังสือพิมพ์ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการ พิมพ์จึงต้องปรับตัวและต้องหาว่า Segment ไหนของสิ่งพิมพ์ ที่ยังคงเติบโตอยู่ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ต้องปรับตัวอย่างไร
ปัจจุบันในส่วนประเภทของงานพิมพ์ที่ยังคงเติบโตอย่างต่อ เนื่องคือการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ การพิมพ์ Label การพิมพ์บน กล่องกระดาษลูกฟูก การพิมพ์ระบบ Digital Printing - Digital Packaging เพราะทุกวันนี้ผู้บริโภคนิยมสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ มากขึ้น มีผู้ประกอบการ SMEs หน้าใหม่เกิดขึ้นเป็นจ�ำนวน มาก สินค้าต่างๆ ต้องใส่กล่องส�ำหรับจัดส่ง ดังนัน้ จึงมีผปู้ ระกอบ การสิ่งพิมพ์ผันตัวเองไปพิมพ์บรรจุภัณฑ์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม ผูป้ ระกอบการสิง่ พิมพ์ตอ้ งพยายามพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนือ่ ง ทั้งในเรื่องของนวัตกรรมทางด้านการพิมพ์ การสร้างมูลค่า เพิ่มให้สิ่งพิมพ์ การออกแบบดีไซน์ การสร้างแบรนด์ โดยต้อง ศึกษาในเรื่องของเทคโนโลยีและความคุ้มค่าของการลงทุนให้ ดี อีกทัง้ ต้องศึกษาแนวทางการท�ำตลาดใหม่ๆ ทัง้ Online และ Offline เพื่อตอบโจทย์ของลูกค้าในปัจจุบันให้ได้ ส�ำหรับนัก ออกแบบกราฟิกก็ต้องสังเกตว่าขณะนี้ตลาดบรรจุภัณฑ์ก�ำลัง เติบโต ฉะนั้นจึงควรฝึกด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพิ่มเติม เพื่อรองรับตลาด และไม่ใช่เพียงแค่ความรู้ด้านออกแบบให้ สวยงามเท่านัน้ แต่ ต้องรูไ้ ปถึงโครงสร้างบรรจุภณ ั ฑ์ดว้ ยว่าต้อง ออกแบบอย่างไรให้มีความแข็งแรงปกป้องสินค้า บรรจุสินค้า ด้วยเครื่องจักรอย่างไร ประหยัดพื้นที่ในการจัดส่ง ตลอดจน การใช้วัสดุเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ฯลฯ
INTERVIEW
และจากการที่อุตสาหกรรมการพิมพ์ก�ำลังเผชิญความท้าทาย กับกระแส Disruptive Technology นี้ สมาคมการพิมพ์ไทย จึงได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์แนวทางแห่งการพัฒนาอุตสาหกรรม การพิมพ์ ด้วยการ SMART Transform โดยส่วนมากแล้วธุรกิจ การพิมพ์จะเติบโตมาจากธุรกิจครอบครัว รุ่นพ่อแม่สร้างและรุ่น ลูกมาสานต่อ ซึ่งมักถูกเรียกว่าเป็นผู้ประกอบการ SMEs หรือ Small and Medium Enterprise แต่ปัจจุบันการบริหารแบบ SMEs แบบเดิมๆ อาจไม่เพียงพอ ผู้ประกอบการต้องปรับตัว ต้องเปลีย่ นตัวเองให้เป็น SMEs ทีเ่ ป็น SMART Management Enterprise ให้ได้อย่าง S M A R T • S = Strategy การปรับกระบวนทัศน์และวางแผนกลยุทธ์ แนวทางการท�ำงานในรูปแบบใหม่ มุ่งเน้นการเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ • M = Marketing Plan การวางแผนการตลาดอย่างสร้างสรรค์ การสร้างความแตกต่างทัง้ ในเรือ่ ง Business Model และการ ใช้สื่อการตลาดแบบใหม่ เช่น สื่อดิจิทัลเพื่อเปิดช่องทางการ ขายให้กลุม่ ลูกค้าใหม่ๆ จะเป็นการเพิม่ ยอดขายและต่อยอด ธุรกิจให้เติบโตต่อไปได้ • A = Alliance การเปลี่ยนคู่แข่งให้เป็นคู่ค้า การรวมกลุ่ม การท�ำงานร่วมกันแบบเป็นพันธมิตร (Cluster) ระหว่างผู้ ประกอบการด้วยกัน ช่วยลดการแข่งขันในเรื่องการตัดราคา การแชร์ทรัพยากรท�ำให้เกิดการใช้เครื่องจักรอย่างคุ้มค่า
21
• R = Responsibility for Environment การ ให้ความส�ำคัญในเรือ่ งของการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม การก�ำจัด ของเสียอย่างถูกต้อง ท�ำให้อุตสาหกรรมเติบโตควบคู่ไปกับ สังคมที่น่าอยู่ • T = Technology คือการน�ำเครื่องจักรหรือระบบการ ท�ำงานสมัยใหม่ที่มีความเป็น Automation มากขึ้นมา ใช้ในการผลิตเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สามารถลดต้นทุนและ เพิ่มโอกาสในการแข่งขันให้สูงขึ้นได้ นวัตกรรมส�ำคัญต่ออุตสาหกรรมการพิ มพ์ อย่างไร
ธุรกิจการพิมพ์หากไม่ปรับตัวรับมือกับการเปลี่ยนแปลง ยัง คงรับจ้างพิมพ์ในรูปแบบเดิมๆ คงหนีไม่พ้นการแข่งขันกัน ในเรื่ อ งราคา เพราะฉะนั้ น สิ่ ง ที่ จ ะสร้ า งความโดดเด่ น และ ท�ำให้เกิดความแตกต่างและตอบโจทย์ลูกค้าได้ จึงต้องคิดค้น ในเรื่องของนวัตกรรม และเรื่อง High Value Added การ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ผ่านเทคโนโลยี การพิ ม พ์ - หลั ง พิ ม พ์ ด้ ว ยเครื่ อ งจั ก รที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ลด ต้นทุน เพิ่มโอกาสในการต่อยอดธุรกิจ รวมถึงการให้ความ ส�ำคัญกับการออกแบบกราฟิกดีไซน์ โรงพิมพ์ต่างๆ ที่ไม่ได้ ออกแบบด้วยตัวเอง แต่รับงานผ่านเอเยนซี่หรือลูกค้าเป็นผู้ ออกแบบส่งมา ต้องสร้างทีมออกแบบกราฟิกขึ้นมาเพื่อที่จะได้ ออกแบบงานได้เองเพือ่ ช่วยเพิม่ มูลค่าให้กบั งานพิมพ์ และจุดนี้ ท�ำให้ไม่ตอ้ งแข่งขันในเรือ่ งของราคาเพียงอย่างเดียว แต่ยงั ช่วย สร้างจุดแข็งให้การหางานและตอบโจทย์ให้กบั ลูกค้าได้มากยิง่ ขึน้ www.thaiprint.org
22 KNOWLEDGE
สาระน่ารู้ เกี่ยวกับทางการพิ มพ์ ออฟเซต ปัญหาและวิธีแก้ไข (3) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com
ในการพิมพ์ออฟเซต นอกจากการปรับตั้งเครื่องพิมพ์ วัสดุที่ น�ำมาใช้พิมพ์ เป็นสิ่งที่คนท�ำงานควรที่จะมีความรู้ความเข้าใจ นอกจากนีค้ วรมีการศึกษาถึงการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ รวมถึงเทคโนโลยีการท�ำแม่พมิ พ์ เพือ่ ท�ำให้การปฏิบตั งิ านพิมพ์ สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง และท�ำให้ได้คุณภาพงานที่ดีนั้นเอง ในการลดการใช้แอลกอฮอล์ในน�ำ้ ยาฟาว์นเทน โดยจะ ่ สมสารลดแรงตึงผิว ทดลองใช้นำ้� ยาฟาว์นเทนทีผ และไม่ใช้แอลกอฮอล์อก ี ต่อไป ไม่ทราบว่าจะส่งผลต่อ การพิ มพ์ งานหรือไม่ อย่างไร
ในการพิมพ์ออฟเซต ส่วนประกอบของน�้ำยาฟาว์นเทนที่ใช้ จะมีการผสมแอลกอฮอล์ เพื่อลดแรงตึงผิวของน�้ำยาฟาว์เทน เมื่อแรงตึงผิวของน�้ำยาฟาว์นเทนลดลง จะส่งผลต่อการลด การใช้น�้ำลดลงในการพิมพ์ด้วย ในปัจจุบันผู้ผลิตและจ�ำหน่าย น�้ำยาฟาว์นเทนหลายราย ได้มีการผลิตน�้ำยาฟาว์นเทนที่ใส่ Θ
สารลดแรงตึงผิวของน�ำ้ และเริม่ มีทดลองใช้กนั ในหลายโรงพิมพ์ ซึ่งการลดใช้แอลกฮอล์ในการพิมพ์เป็นสิ่งที่ดี เนื่องจากเป็น การลดการใช้สารระเหยในโรงพิมพ์ แต่อย่างไรก็ตาม การเปลีย่ น น�ำ้ ยาฟาว์นเทนในการพิมพ์งาน ต้องมีการทดลองการใช้งานก่อน เนือ่ งจากการน�ำ้ ยาฟาว์นเทนนัน้ ในการใช้ในการพิมพ์งานด้วย การพิมพ์ออฟเซต จะมีการรวมตัวกับหมึกพิมพ์ได้ในระดับหนึง่ หากน�ำ้ ยาฟาว์นเทนทีน่ ำ� มาทดลองใช้นนั้ ไม่สามารถรวมตัวกับ หมึกพิมพ์ได้ หรือมีการรวมตัวกันมากเกินไป จะท�ำให้เกิดปัญหา ต่อการพิมพ์งาน และที่ส�ำคัญ หากน�้ำยาฟาว์นเทนมีสมบัติ ทีไ่ ม่ดี จะส่งผลให้เกิดคราบบนผ้ายางและส่งผลต่อคุณภาพของ งานพิมพ์ ดังนั้นในการเลือกใช้น�้ำยาฟาว์นเทนแบบมีส่วนผสม ของสารลดแรงตึงผิว ต้องมีการทดลองพิมพ์กับหมึกพิมพ์ที่ ทางสถานประกอบการใช้ เพื่อหาข้อสรุปก่อนน�ำมาใช้งานจริง ต่อไป Θ
Air
Fluid Surface
Printing plate Θ > 90° σSol < σFl No wetting
90° > Θ > 0° σSol < σFl Wetting
Θ = 0° σSol » σFl Spreading
Θ Wetting angle σSol Surface tension of the solid (carrier) σFl Surface tension of the fluid (water) ลักษณะของของเหลวที่มีแรงตึงผิวที่แตกต่างกัน ่ า: Handbook of Print Media ทีม
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
KNOWLEDGE 23
Surface tension
% alcohol content 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
Reduction of surface tension of the water
แรงตึงผิวที่เปลี่ยนแปลงไปจากการผสมแอลกอฮอล์ในน�้ำยาฟาวน์เทน ่ า: Handbook of Print Media ทีม
จะบอกถึงสีสันและความอิ่มตัวของสี แต่ค่าความเข้มของสี หรือค่าความด�ำ, เดนซิตี้ (density) จะบอกถึงค่าความเข้มของสี โดยวัดจากการสะท้อนของแสง ทีส่ ามารถสะท้อนมาจากหมึกพิมพ์ ทีพ่ มิ พ์ลงบนวัสดุพมิ พ์ โดยจะสามารถบอกได้ถงึ ความหนาของ ชัน้ ฟิลม์ ของหมึกพิมพ์ ดังนัน้ ทัง้ สองค่า จึงเป็นการบอกลักษณะ ของคุณภาพงานพิมพ์ที่แตกต่างกัน
ค่ า สี แ ละค่ า ความเข้ ม ของสี มี ค วามเหมื อ นหรื อ ต่างกันอย่างไร
ค่าสี คือ ค่าที่บอกลักษณะของสีทางด้านความสว่าง สีสันและ ความอิ่มตัวของสี โดยปัจจุบันมีการใช้เครื่องมือวัดสีที่อ่านค่า ในโหมด CIE L*a*b* ซึ่งจะบอกลักษณะของสีที่วัดนั้นเอง โดยค่า L* จะบอกถึงความสว่างของสี ส่วนค่า a* และ b* Density value
Density value
Density value
0.00
0.60
1.40
100%
100% 100%
100% 80%
50%
หลักการท�ำงานของเครื่องวัดค่าความด�ำ (Densitometer) ่ า: Handbook of Print Media ทีม
www.thaiprint.org
24 KNOWLEDGE Describing Color in Printing CIELAB color space L*, a*, b*
White L* = 100
The 3 dimensions of color • Lightness = L* (0 to 100) • Hue = a*&b* axis (color spectrum 100) • Saturation = a*&b* axis (shade 0 to 99)
Yellow +100
Green -100
Red +100
Blue -100 Black L* = 0 แผนภูมิการแสดงสีของ CIE L*a*b* ่ า: Handbook of Print Media ทีม
ในการพิมพ์ เราสามารถพิมพ์ให้หมึกพิมพ์มคี า่ ความด�ำทีเ่ ท่ากัน แต่ ค่ า สี ที่ แ ตกต่ า งกั น เนื่องจากหมึก พิมพ์ที่ใช้ใ นการพิมพ์ มีหลากหลายผู้ผลิต ซึ่งแต่ละผู้ผลิต จะมีการใช้ผงสีหรือองค์ ประกอบอื่นๆ ที่แตกต่างกัน ท�ำให้ได้ค่าสีที่แตกต่างกันไป ปัจจุบันในการผลิตสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือ การวัดค่าความด�ำ เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ อาจจะเพียงพอ ในการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ แต่ในงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ การวัดค่าสีเป็นสิ่งที่จำ� เป็นอย่างมาก เนื่องจากมีการใช้สีพิเศษ ในการพิมพ์ ท�ำให้การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ต้องมีการ ตรวจสอบค่าสี เพือ่ ควบคุมการผลิตสีในงานพิมพ์ ส�ำหรับการท�ำ มาตรฐานทางการพิมพ์ในปัจจุบัน ค่าความด�ำและค่าสี ได้ถูก ก�ำหนดตามลักษณะของกระดาษที่น�ำมาพิมพ์ เพื่อให้โรงพิมพ์ ที่ต้องการท�ำมาตรฐาน สามารถก�ำหนดค่าความด�ำและค่าสี ได้อย่างถูกต้องในการผลิตงานพิมพ์ เพื่อให้ได้ตามมาตรฐาน ที่ก�ำหนดนั้นเอง ล�ำดับสี ทางการพิ มพ์ มีความส� ำคัญอย่างไรต่อ การพิ มพ์ งานออฟเซตสี่ สี หากมีการล�ำดับสี ผิด จะเกิดปัญหาอะไรได้บ้าง
โดยทัว่ ไปการพิมพ์ออฟเซตสีส่ ี ประกอบด้วยสี Cyan, Magenta, Yellow และ Black โดยจะมีการเรียงล�ำดับสีดังนี้ Black, THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
Cyan, Magenta และ Yellow โดยการเรียงล�ำดับสีดังกล่าว มีการก�ำหนดมาจากการค่าความเหนียวหนืดของหมึกพิมพ์ (tack) โดยค่าความเหนียวหนืดของหมึกพิมพ์สีด�ำ จะมีค่า ความเหนียวหนืดที่มากที่สุด จึงต้องพิมพ์สีดำ� เป็นสีแรก หากมี การเรียงล�ำดับสีที่ผิดไป จะท�ำให้เกิดปัญหาหลายอย่างใน การพิมพ์งาน อาทิเช่น สีภาพพิมพ์มีการผิดเพี้ยน หรือปัญหา หมึกถอนกระดาษ โดยปัญหาหมึกถอนกระดาษ จะเกิดจากการ ที่น�ำหมึกพิมพ์ที่มีค่าความเหนียวหนืดสูงกว่า มาท�ำการพิมพ์ ทับหมึกพิมพ์ที่มีค่าความเหนียวหนืดต�่ำกว่า จะท�ำให้หมึก พิมพ์ที่มีค่าความเหนียวหนืดมากกว่า ถอนสีของหมึกพิมพ์ที่มี ความเหนียวหนืดน้อยกว่า นอกจากนี้ปัญหาที่เจอในหลาย โรงพิมพ์ทมี่ กี ารใช้หมึกพิมพ์หลายยีห่ อ้ บางครัง้ ช่างพิมพ์ทำ� การ ผลิตงานพิมพ์ดว้ ยหมึกพิมพ์ยหี่ อ้ A และหมึกพิมพ์หมด จึงไปน�ำ หมึกพิมพ์ยี่ห้อ B มาใช้ในการผลิตงานแทน ซึ่งท�ำให้ภาพพิมพ์ มีสีท่ีผิดเพี้ยนไป เนื่องจากแต่ละผู้ผลิต มีการเลือกใช้ผงสีและ สูตรในการผลิตหมึกพิมพ์ที่แตกต่างกัน และอาจท�ำให้เกิด ปัญหาหมึกพิมพ์ถอนกระดาษได้ เนื่องจากหมึกพิมพ์แต่ละ ยี่ห้อ มีการก�ำหนดค่าความเหนียวหนืดที่ต่างกันไปตามสูตร หมึกพิมพ์ของผูผ้ ลิต ดังนัน้ ในการพิมพ์งานสีส่ ี ควรใช้หมึกพิมพ์ ยี่ห้อเดียวกัน เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว
KNOWLEDGE 25
Wet
Dry
Wet
Dry
Wet on Wet
Dry
Wet
Dry
Wet
Wet on Wet
Wet on Wet
แผนภูมิการแสดงสีของ CIE L*a*b* ่ า: Handbook of Print Media ทีม
ผ้ายางมีลักษณะเป็นเงา และไม่สามารถถ่ายทอด ภาพพิ มพ์ ได้ดี เกิดจากอะไรและแก้ไขอย่างไร
ผ้ายางเป็นเงา เกิดจากการสะสมของหมึกพิมพ์และฝุน่ กระดาษ บนผ้ายาง ท�ำให้การถ่ายทอดภาพพิมพ์มีปัญหา โดยมากจะ เกิดจากการปัญหาจากการเลือกใช้นำ�้ ยาล้างผ้ายางทีไ่ ม่ถกู ต้อง น�้ำยาล้างผ้ายางที่ดี ควรจะสามารถล้างคราบหมึกพิมพ์ได้ดี และไม่ทำ� ลายผิวหน้าของผ้ายาง หากเกิดจากน�้ำยาล้างผ้ายาง ไม่ดี ให้ลองปรึกษาผูจ้ ำ� หน่าย ในกรณีทเี่ กิดจากการสะสมทีเ่ กิด
จากฝุ่นกระดาษ ให้แก้ไขโดยล้างผ้ายางด้วยน�้ำเปล่า หลังจาก การล้างผ้ายางด้วยน�้ำยาล้าง เนื่องจากน�้ำยาล้างผ้ายางจะท�ำ หน้าที่ล้างหมึกพิมพ์ที่ติดค้างให้หลุดออกไป แต่ฝุ่นกระดาษจะ ไม่สามารถถูกล้างออกไปด้วย ดังนัน้ การล้างผ้ายางด้วยน�ำ้ เปล่า อีกครัง้ จะสามารถช่วยลดปัญหาจากการสะสมของฝุน่ กระดาษได้ นอกจากนี้ปัญหาดังกล่าว ยังสามารถเกิดจากหมึกพิมพ์ที่มี การบดผงสีที่ไม่ละเอียด ท�ำให้เกิดการสะสมของหมึกพิมพ์บน ผ้ายางได้เร็ว ควรปรึกษาผู้ผลิตหมึกพิมพ์ในการแก้ไขปัญหา
ลักษณะผ้ายางที่มีลักษณะเป็นเงา
www.thaiprint.org
26 KNOWLEDGE
่ งคอมพิ วเตอร์ทเู พลท (Computer to Plate, เครือ CtP) สามารถแบ่งได้ก่ป ี ระเภท แบบใดที่ดีที่สุด
เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเู พลท หรือ CtP ทีร่ จู้ กั กัน สามารถแบ่งตาม การสร้างภาพบนแม่พิมพ์ได้ 2 ประเภท คือ แบบใช้ความร้อน หรือเทอร์มอล (Thermal) และแบบใช้แสงยูวี (UV Light) ในการสร้างภาพ คงไม่สามารถบอกได้วา่ แบบใดดีทสี่ ดุ แต่ควร จะเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับงานทีโ่ รงพิมพ์ผลิต โดยส่วนใหญ่ แม่พมิ พ์ทสี่ ร้างภาพด้วยความร้อน จะมีอายุการใช้งานทนทานกว่า เหมาะกับการพิมพ์งานทีม่ จี ำ� นวนพิมพ์คอ่ นข้างมาก แต่แม่พมิ พ์ ทีส่ ร้างภาพด้วยแสงยูวจี ะมีอายุการใช้งานทีน่ อ้ ยกว่า แต่เหมาะกับ
งานที่พิมพ์จ�ำนวนน้อย เพราะต้นทุนของแม่พิมพ์จะถูกกว่า แต่ส�ำหรับคุณภาพของแม่พิมพ์ การสร้างภาพด้วยความร้อน ยังมีคุณภาพที่สูงกว่า เพราะการสร้างภาพด้วยแสงยูวี ยังมี ข้ อ จ� ำ กั ด ทางด้ า นเวลาในการฉายแสง เวลาการล้ า ง ที่ ยั ง ส่งผลต่อคุณภาพของเม็ดสกรีน นอกจากนี้ยังคงต้องพิจารณา ทางด้ า นค่ า ใช้ จ ่ า ยของหลอดไฟเลเซอร์ ที่ ทั้ ง สองประเภท มี ร าคาที่ แ ตกต่ า งกั น มี อ ายุ ก ารใช้ ง านที่ แ ตกต่ า งกั น ด้ ว ย ดั ง นั้ น การเลื อ กเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ทู เ พลทให้ เ หมาะสม กับโรงพิมพ์ คงต้องพิจารณาปัจจัยดังกล่าว ก่อนการตัดสินใจ ในการเลือกซื้อ
ลักษณะของเพลทออฟเซต ่ า: http://konitadigital.sell.everychina.com/p-107623631.html ทีม
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
KNOWLEDGE 27
ที่ โ รงพิ มพ์ พิ มพ์ งานตั ว อั ก ษรสี แ ดงทั บ บนพื้ น ่ เี จาะขาวเป็นรูปตัวอักษรอยู่ พบปัญหา สีนำ้� เงินทีม ว่ามีเส้ นขอบขาวรอบตั วอั กษร เนื่อ งจากมี ก าร พิ มพ์ เหลื่อมอยู่ จะแก้ไขปัญหาอย่างไร
การพิมพ์เหลื่อม สามารถเกิดขึ้นได้ หากมีการปรับตั้งฉากหน้า ฉากข้างที่ไม่ถูกต้อง รวมทั้งการปรับตั้งการเดินกระดาษที่ไม่ ถูกต้อง แต่ปัญหาดังกล่าว มีวิธีที่สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้
ตัง้ แต่การท�ำแม่พมิ พ์ โดยในการท�ำแม่พมิ พ์ โปรแกรมในปัจจุบนั จะสามารถสั่งในค�ำสั่งแทรปปิ้ง (Trapping) ได้ โดยเป็นค�ำสั่ง ที่ท�ำให้พื้นที่ตัวอักษรมีขนาดใหญ่ขึ้น และพื้นทึบที่เจาะขาวมี ขนาดเล็กลง ประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ท�ำให้เกิดการทับซ้อน กันได้ดีมากยิ่งขึ้นระหว่างตัวอักษรที่พิมพ์ทับลงบนพื้นทึบที่มี การเจาะขาว และเมือ่ แผ่นพิมพ์มกี ารพิมพ์เหลือ่ มไม่มาก ปัญหา ขอบขาวระหว่างตัวอักษรและพื้นทึบก็จะไม่เกิดขึ้น
A
B
การปรับขนาดของภาพพิ มพ์ เพื่ อให้มีการทับซ้อนกันระหว่างขอบ ่ า: http://konitadigital.sell.everychina.com/p-107623631.html ทีม
www.thaiprint.org
28
NEWS
สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2561/2562 สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยได้เรียนเชิญสมาชิกสมาคมฯ และ ผูใ้ ห้การสนับสนุนสมาคมฯ เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2561/2562 พร้อมทั้งมีการฟังบรรยายพิเศษหัวข้อ “ระบบ บ�ำบัดน�ำ้ เสียในโรงงานอุตสาหกรรม” โดย คุณสัมฤทธิ์ ชราดี กรรมการผูจ้ ดั การ ห้างหุน้ ส่วนจ�ำกัด เวิลด์กรีน ดีเวลลอปเม้นท์ ซึ่งได้กล่าวถึงการบ�ำบัดน�้ำเสียทั้งผู้ผลิตและผู้ประกอบการ ในโรงงานอุตสาหกรรมครัวเรือน อุตสาหกรรมขนาดย่อม และ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ท่ัวไป เช่น น�้ำเสียจากอุตสาหกรรม ยานยนต์ หรืออิเล็กทรอนิกส์, น�้ำเสียจากอุตสาหกรรมสิ่งทอ และน�้ำเสียจากโรงแรม หรือโรงอาหาร ฯลฯ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
หลั ง จากจบการบรรยายพิ เ ศษและรั บ ประทานอาหารค�่ ำ ได้น�ำเข้าสู่ช่วงพิธีการประชุมสามัญประจ�ำปี 2561/2562 โดยมีคุณมานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมฯ เป็นประธาน กล่าวเปิดการประชุมฯ และขอให้สมาชิกรับรองรายงานการ ประชุมประจ�ำปี 2561 แถลงผลการด�ำเนินงานในรอบปี 2561 แถลงงบดุ ล รายรั บ -รายจ่ า ย ประจ� ำ ปี 2561 และแต่ ง ตั้ ง ที่ ป รึ ก ษากฎหมายและผู ้ ต รวจสอบบั ญ ชี เมื่ อ วั น อั ง คารที่ 2 เมษายน พ.ศ.2562 ณ ห้องวิมานทิพย์ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ ถนนพระราม 3
NEWS
29
สมาคมการพิ มพ์ สกรีนไทย ประชุมใหญ่สามัญและการเลือกตัง ้ คณะกรรมการ ปี 2562
สมาคมการพิมพ์สกรีนไทยจัดการประชุมใหญ่สามัญและ การเลือกตั้ง ปี 2562 โดยมีคุณจ�ำเริญ เมธาเกียรติกุล ประธาน การจัดงานประชุมกล่าวเปิดประชุมและเรียนเชิญคุณประภาพร ณรงค์ฤทธิ์ นายกสมาคม, คุณทัศนีย์ ภานุอนันต์พงษ์ เลขาธิการ และคุณอุดม ด่านร่มเย็น เหรัญญิก ร่วมด�ำเนินการประชุมใหญ่ หลังจบการประชุมใหญ่เป็นการมอบเกียรติบัตรให้กับบริษัท ที่ผ่านมาตรฐานการพิมพ์สกรีนไทย หรือ TSS (Thai Screen Printing Standard) โดยมีคุณสุวิทย์ ลิมป์ศิริพันธ์ ประธาน โครงการมาตรฐานการพิมพ์สกรีน ขึ้นกล่าวถึงวัตถุประสงค์ ของโครงการ ซึง่ บริษทั ทีผ่ า่ นมาตรฐานการพิมพ์สกรีนไทยในปี 2561-2562 มีจ�ำนวน 10 บริษัท
การเปลี่ยนแปลง ท�ำอย่างไรให้ส�ำเร็จ” โดยอาจารย์ธวัชพงศ์ ธนิตลิมปะพงศ์ – ประธานมูลนิธเิ พือ่ การศึกษาและสังคมมาแชร์ เคล็ดลับการเสริมดวงต้อนรับปีกุนให้กับผู้เข้าร่วมประชุ ม เมื่อวันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องวิมานทิพย์ (ชั้น 5) โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ พระราม 3
หลั ง จากนั้ น ได้ เชิ ญ ดร.วิ ชั ย พยั ค ฆโส และคุ ณ มานิ ต ย์ กมลสุวรรณ – ที่ปรึกษากิตติสมศักดิ์สมาคมฯ ขึ้นเป็นประธาน เลื อ กตั้ ง โดยคุ ณ ประภาพร ณรงค์ ฤ ทธิ์ ได้ รั บ เลื อ กด� ำ รง ต� ำ แหน่ ง นายกสมาการพิ ม พ์ ส กรี น ไทยวาระ 2556-2564 อีกหนึ่งสมัย และรับฟังการบรรยายพิเศษเรื่อง “2019 ปีแห่ง www.thaiprint.org
30
NEWS
สมาคมการค้าวัสดุอป ุ กรณ์ การพิ มพ์ ไทย ประชุมใหญ่สามัญ และเลือกตัง ้ คณะกรรมการปี 2562 สมาคมการค้าวัสดุอปุ กรณ์การพิมพ์ไทย (Thai Gasma) จัดการประชุมใหญ่ สามัญและการเลือกตั้งคณะกรรมการ ปี 2562 โดยมี คุ ณ สุ ป รี ย ์ ทองเพชร นายกสมาคมฯ เปิดการประชุมใหญ่ฯ คุณชาลี ศรีโรจน์จริยา เลขาธิการฯ และ คุ ณ แววลดา เตชะสกุ ล เหรั ญ ญิ ก ฯ เป็ น ผู ้ ร ่ ว มรายงานผลการด� ำ เนิ น งาน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากนั้น รับฟังการบรรยายพิเศษโดยประธาน สภาธุ ร กิ จ ไทย-เมี ย นมา คุ ณ กริ ช อึ้งวิฑูรย์สถิตย์ ในห้วข้อ “การค้าไทยเมียนมา เรื่องต้องรู้สู่ความสําเร็จ” หลังจบการสัมมนา ได้รับเกียรติจาก ดร.วิชัย พยัคฆโส นายกสมาคมส่งเสริม วิชาการพิมพ์, คุณเกษม เเย้มวาทีทอง ที่ ป รึ ก ษามู ล นิ ธิ ส หพั น ธ์ อุ ต สาหกรรม การพิมพ์ และคุณสว่าง เอื้อจงประสิทธิ์ เป็นประธานในการเลือกตั้ง โดยในปีนี้
คุณสุปรีย์ ทองเพชร ได้รบั เลือกให้ดำ� รงต�ำแหน่งนายกสมาคมอีกหนึง่ วาระ โดยคุณสุปรีย์ ได้กล่าวพันธกิจที่ตั้งใจไว้จะมีการสานต่อในวาระปี 2562 - 2564 คือ จะมีการจัดงาน สัมมนา Asian Symposium on Printing Technology ร่วมกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, งาน Gasma Business Matching 2019 ณ เมืองย่างกุ้ง ประเทศ เมียนมา และ งาน GFT 2019 เมือ่ วันอังคารที่ 24 เมษายน 2562 เวลา 17.30-20.30 น. ณ ห้องชมัยมรุเชฐ สโมสรทหารบก
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS
31
ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีที่ 73 สมาคมการพิ มพ์ ไทย
และกิจกรรมเสวนา “แนวโน้มอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และ บรรจุภัณฑ์ จากงาน Print China 2019”
สมาคมการพิมพ์ไทย จัดงานประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปีที่ 73 โดยคุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้กล่าวเปิดประชุมใหญ่ จากนัน้ ได้เชิญคุณภาวิมาศ กมลสุวรรณ เลขาธิการ และคุณประเสริฐ หล่อยืนยง เหรัญญิก เป็นผู้ร่วม รายงานผลการด�ำเนินงานฯ เริ่มจากการรับรองรายงานการ ประชุม แถลงผลการด�ำเนินการตลอดระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ทาง Video Presentation และการแถลงงบดุล เมือ่ วันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 17.00-20.00น. ณ ห้องเดอะวินนิง่ โพสต์ สมาคมราชกรีฑาสโมสร
หลั ง จบการประชุ ม ใหญ่ เป็ น กิ จ กรรมเสวนา “แนวโน้ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ จากงาน Print China 2019” โดยมีคณ ุ วิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ทีป่ รึกษาสมาคมฯ รั บ หน้ า ที่ ผู ้ ด� ำ เนิ น รายการ นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ไซเบอร์พรินท์, HP, RICOH และ Heidelberg ร่ ว มแชร์ ประสบการณ์ที่ได้รับจากการออกบูธและเดินทางไปดูงาน Print China 2019 นิทรรศการเทคโนโลยีการพิมพ์นานาชาติ ของจีน ณ ศูนย์แสดงนิทรรศการนานาชาติโมเดิร์น กวางตุ้ง (GDE) www.thaiprint.org
32
NEWS
RICOH ร่วมอัพเดตนวัตกรรม การพิ มพ์ ในงานสถาปนิก'62
“กรีน อยู่ ดี : Living Green” ณ อิมแพ็ ค ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 1-3 เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 30 เมษายน - 5 พฤษภาคม ที่ผ่านมา บริษัท ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้เข้าร่วมงานสถาปนิก’62 “กรีน อยู่ ดี : Living Green” ณ อิมแพ็ค ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 1-3 เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 30 เมษายน – 5 พฤษภาคม ที่ผ่านมา โดยได้นำ� เสนอโซลูชนั่ ทีเ่ ป็นนวัตกรรมด้านการพิมพ์ ทีอ่ อกแบบมา เพือ่ การใช้งานส�ำหรับกลุม่ นักออกแบบ และสถาปนิกตลอดจน ผู้ใช้งานด้านการพิมพ์ทั่วไป น�ำเสนอแนวคิดการสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมและงานออกแบบทีย่ งั่ ยืน นวัตกรรมวัสดุกอ่ สร้างที่ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และการน�ำภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ มาผนวกกับ เทคโนโลยี เพือ่ สร้างโซลูชนั่ ทีเ่ หมาะสมกับบริบทในปัจจุบนั ผ่านการ จัดแสดงในรูปแบบนิทรรศการและกิจกรรมให้ความรู้มากมาย ส�ำหรับกลุ่มผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นที่ทาง RICOH ได้จัดแสดง ในงานดังกล่าวนัน้ ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ Pro L5160 เครือ่ งพิมพ์ อิงค์เจ็ทที่ใช้หมึกลาเท็กซ์ ไม่มีกลิ่นเหม็น เป็นมิตรต่อผู้ใช้งาน และสิง่ แวดล้อม เหมาะส�ำหรับพิมพ์ปา้ ยโฆษณาทัง้ แบบ indoor และ outdoor ผลิตภัณฑ์ Pro TF6250 เครื่องพิมพ์หน้ากว้าง Flatbed ใช้หมึกยูวีท่ีมีความหนืดสูง สามารถพิมพ์ลงบนวัสดุ ได้หลากหลาย เช่น กระจก ไม้อัด อะคริลิค เหล็ก อลูมิเนียม
ผลิตภัณฑ์ MP CW2201SP เครือ่ งพิมพ์หน้ากว้างมัลติฟงั ก์ชนั สี มาพร้อมนวัตกรรมการพิมพ์ดว้ ยหมึกพิมพ์ GEL-Jet แบบกันน�ำ้ ช่วยปกป้องงานพิมพ์ให้ไม่เลือนหาย ถัดมาเป็นผลิตภัณฑ์ MP W7100SP เครื่องพิมพ์หน้ากว้าง มัลติฟังก์ชันขาวด�ำระบบเลเซอร์ มีความเร็วสูงในการพิมพ์งาน ทั้งขนาดกระดาษ A1 และ A0 เหมาะส�ำหรับธุรกิจรับเหมา ก่อสร้าง อุตสาหกรรมการผลิต เป็นต้น และสุดท้ายผลิตภัณฑ์ Ri 100 เครื่องพิมพ์ผ้าหรือ Direct to Garment (DTG) เหมาะส�ำหรับธุรกิจการพิมพ์เสื้อขนาดเริ่มต้น สามารถพิมพ์ ลวดลายทีม่ คี วามละเอียดสูงลงบนเนือ้ ผ้าได้โดยตรงและรวดเร็ว ด้วยการสั่งพิมพ์ผ่านคอมพิวเตอร์หรือไอแพด ด้วยนวัตกรรมด้านการพิมพ์ทหี่ ลากหลายและเต็มเปีย่ มไปด้วย ความคิดริเริม่ นี้ จึงเชือ่ มัน่ ได้วา่ ทุกชิน้ งานทีไ่ ด้รบั การสร้างสรรค์ มาจากเครื่องพิมพ์ของ RICOH จะสามารถตอบโจทย์ความ ต้องการของตลาดได้ ด้วยคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการ อันเป็นเลิศ
เกี่ยวกับริโก้ ริโก้ เป็นผู้น�ำแห่งพลังการปรับเปลี่ยนนวัตกรรมเทคโนโลยีองค์กรไปสู่ระบบดิจิทัลอย่างเต็มตัว ด้วยความครบครันทั้งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของริโก้ ท�ำให้ หน่วยงานธุรกิจต่างๆ สามารถบริหารและจัดการงานเอกสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อตอบสนองต่อชีวิตการท�ำงานเป็นไปอย่างชาญฉลาดและมีความเป็นมืออาชีพ มากยิ่งขึ้น ด้วยประสบการณ์มากกว่า 80 ปี ริโก้ยังคงเดินหน้าพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีและก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�ำในการจัดหาด้านโซลูชั่นการจัดการเอกสาร บริการไอที การพิมพ์เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรม และระบบอุตสาหกรรมต่างๆ โดยบริษัท ริโก้กรุ๊ป มีส�ำนักงานใหญ่ ตั้งอยู่ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และมีการด�ำเนินงานธุรกิจมากกว่า 200 ประเทศ ในแต่ละภูมิภาคทั่วโลก โดยปีการค้า เมื่อเดือนมีนาคม 2018 ที่ผ่านมา บริษัท ริโก้ กรุ๊ป มียอดขายรวมจากทั่วโลกโดยประมาณ 2,063 พันล้านเยน หรือประมาณ 19.4 พันล้านดอลลาร์
สอบถามรายละเอียดหรือข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดผลิตภัณฑ์ บริการ และโซลูชั่น โปรดติดต่อ คุณอิสราภรณ์ กิจชลวิวัฒน์ เบอร์ติดต่อ 02 088 8888 #1281 THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44
8/9/2560 2:47:57
NEWS
35
จับตา อุตฯ พริน ้ ติง ้ - แพ็ กเกจจิง ้ กับแนวโน้มทิศทางภาคการผลิตไทย เตรียมจัด “แพ็ ค พริน ้ ท์อินเตอร์เนชั่นแนล” งานแสดง เทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการบรรจุภัณฑ์และการพิ มพ์
สมาคมการพิมพ์ไทย และสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ร่วมกับ เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย จัดงานแถลงข่าว “แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล” พร้อมการเสวนาเจาะลึกข้อมูล ภาพรวม อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ทั้งในและนอกประเทศ ในหัวข้อ “จับตา อุตฯ พริ้นติ้ง – แพ็กเกจจิ้ง กับแนวโน้ม ทิศทางภาคการผลิตไทย” ร่วมเสวนาให้ขอ้ มูลโดย คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย, คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย และ คุณเบียทริซ เจ โฮ ผูอ้ ำ� นวยการโครงการ “แพ็ค พริน้ ท์อนิ เตอร์เนชัน่ แนล 2019” เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย พร้อมทัง้ ชีแ้ จงเรือ่ งความพร้อมเตรียม จัด “แพ็ค พริน้ ท์อนิ เตอร์เนชัน่ แนล 2019” งานแสดงเทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการบรรจุภณ ั ฑ์และการพิมพ์ จากกว่า 300 บริษทั 25 ประเทศชัน้ น�ำทัว่ โลก ครัง้ ที่ 7 ระหว่างวันที่ 18 – 21 กันยายน 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา คุณเบียทริซ เจ โฮ เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย กล่าวว่า การพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ได้รบั การประยุกต์ใช้ในหลากหลาย อุตสาหกรรม และยังคงเป็นตลาดทีส่ ร้างมูลค่าทางอุตสาหกรรม ได้อย่างมหาศาล ในขณะทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงและความเคลือ่ นไหว ด้านเทคโนโลยี ดังกล่าว ทั่วโลก 3 ปัจจัยระดับมหภาคที่สำ� คัญ ซึ่งช่วยสนับสนุนสถานการณ์อุตสาหกรรม คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย กล่าวว่า อุตสาหกรรมการบรรจุภณ ั ฑ์มกี ำ� ลังการผลิตในประเทศ
สูงถึง 5.83 ล้านตันในปีที่ผ่านมา โดยแบ่งสัดส่วนวัสดุการผลิต จากกระดาษ 37.74% แก้ว 30.05% พลาสติก 24.34% และ โลหะ 7.87% และคาดว่าสิ้นปี 2562 จะยังคงมีแนวโน้มการ เติบโตที่ดี จากนโยบายกระตุ้นการลงทุนจากทางภาครัฐ และ คาดว่าสิ้นปี 2562 จะมีมูลค่าอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 10 – 20% คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เผยว่า ตัวเลขมูลค่าอุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ไทยในปี 2561 มีมลู ค่าร่วม 3 แสนกว่าล้านบาท โดยคิดเป็นอุตสาหกรรม การพิมพ์ราว 40% และการบรรจุภัณฑ์ 60% และในปี 2562 ตลาดการพิมพ์ในประเทศมีแนวโน้มขยายตัว 2% เนือ่ งจากนักลงทุน ยังให้ความสนใจประเทศไทยในฐานะศูนย์กลางการผลิตที่ รายล้อมด้วยประชาคมอาเซียน ทีม่ จี ำ� นวนผูบ้ ริโภคสูงกว่า 600 ล้านคน โดยกิจกรรมในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2562 เวลา 09.00-10.30 น. ณ บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด
สแกนเพื่ อดูวด ิ โี อ
www.thaiprint.org
36 KNOWLEDGE
มารูจ ้ ก ั ประเภทปั๊มลม และวิธเี ลือกใช้ ปั๊มลมให้เหมาะกับงาน ตอนที่ 2 การค�ำนวณปริมาณลมอัดที่ใช้ในโรงงาน เพื่ อเลือกซื้อเครื่องปั๊มลม เครื่องท�ำลมแห้ง ชุดกรองลม และถังพั กลมให้ถูกต้องตามขนาดที่ต้องใช้งานจริง วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com
Air Dryer
Air Compressor
Air Storage Tank
Main line Air Filter
ในโรงงานอุตสาหกรรมทุกประเภท หรือ โรงพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ โดยทัว่ ไป ถ้าเราจะ เลือกซือ้ เครือ่ งปัม๊ ลม (Air Compressor) เครือ่ งท�ำลมแห้ง (Air Dryer) ชุดกรองลม (Main Line Air Filter) และถังพักลม (Air Storage Tank) เราต้องรู้ปริมาณ ลมที่ต้องใช้จริงส�ำหรับเครื่องจักรและ อุปกรณ์กอ่ น เราถึงเลือกขนาดได้ถกู ต้อง เพราะถ้าเราเลือกซือ้ มาผิดขนาด อาจจะ เลือกซือ้ มาเล็กไปหรือใหญ่ไป ก็มผี ลเสีย ทั้งสิ้น
วิธีการเลือกซื้อเครื่องปั๊ มลมให้เหมาะสมกับความต้องการที่ใช้จริง
เรียกว่าลมตก) ก็จะท�ำให้สตาร์ทหรือเดินเครือ่ งไม่ได้เลย ถ้าเป็น เครื่องรุ่นเก่าที่ไม่มีชุดเซ็นเซอร์ ทางช่างคุมเครื่องจะทราบ ทันทีว่าลมตกหรือลมไม่พอ โดยดูจากเกจวัดแรงดันลม (Air Pressure Gauge) บริเวณเมนลมเข้าเครื่องจักร ถ้าเป็นกรณีนี้ ต้องซื้อปั๊มลมมาเพิ่ม เพื่อที่จะได้ลมเพียงพอส�ำหรับการใช้งาน
ถ้าเราเลือกซื้อขนาดของเครื่องปั๊มลมมาเล็กไป ก็จะท�ำให้ปั๊ม ลมผลิตลมอัดออกมาไม่พอใช้ส�ำหรับอุปกรณ์ต่างๆที่ต้องใช้ลม อัดในเครือ่ งจักร การท�ำงานของเครือ่ งจักรอาจท�ำงานผิดพลาด หรือท�ำงานไม่ได้เลย ซึ่งในปัจจุบันนี้เครื่องจักรรุ่นใหม่ๆ จะมี ชุดเซ็นเซอร์ทำ� หน้าที่วัดแรงดันและปริมาณลมที่เข้าเครื่องจักร ว่าพอเพียงหรือไม่ ถ้ามีมาไม่พอ (ภาษาพูดทีเ่ ข้าใจกันโดยทัว่ ไป THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ถ้าเราเลือกซื้อขนาดเครื่องปั๊มลมมาใหญ่เกินไปมาก ในกรณี นี้การท�ำงานของเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ต้องใช้ลมอัดจะ ไม่มีปัญหาในการท�ำงานหรือการเดินเครื่อง แต่จะมีปัญหาใน การต้องจ่ายเงินเป็นค่าซื้อเครื่องปั๊มลม ค่าไฟฟ้าแต่ละเดือน และค่าอะไหล่ รวมถึงการบ�ำรุงรักษามากขึ้นนั่นเอง วิธีการเลือกขนาดเครื่องปั๊มลมให้ถูกต้องและเหมาะสมกับ ความต้องการทีใ่ ช้จริง ก่อนอืน่ เราต้องรูป้ ริมาณลมทีต่ อ้ งใช้จริง ของเครื่องจักรและอุปกรณ์ก่อนว่ามีปริมาณรวมทั้งหมดเท่าไร แรงดันสูงสุดกี่บาร์ (Bar) ก่อน
KNOWLEDGE 37
ตัวอย่าง: โรงพิมพ์แห่งหนึ่ง มีเครื่องจักรหลายประเภท และหลายขนาด แต่ละเครื่องมีความต้องการลมอัดดังนี้ : 5. เครือ่ งเก็บเล่ม เย็บเล่ม มีความต้องการใช้ลมอัด 0.9 ลูกบาศก์ 1. เครือ่ งพิมพ์ออฟเซ็ท 4 สี มีความต้องการใช้ลมอัด 0.9 ลูกบาศก์ เมตรต่อนาที ที่แรงดัน 5 บาร์ เมตรต่อนาที ที่แรงดันลม 5 บาร์ 6. เครื่องเก็บยกไสกาว มีความต้องการใช้ลมอัด 0.7 ลูกบาศก์ 2. เครื่องตัดกระดาษ มีความต้องการใช้ลมอัด 0.3 ลูกบาศก์ เมตรต่อนาที ที่แรงดัน 4 บาร์ เมตรต่อนาที ที่แรงดัน 4 บาร์ 7. เครือ่ งปัม๊ ไดคัทแบบออโต มีความต้องการใช้ลมอัด 0.5 ลูกบาศก์ 3. แท่นปั๊มทองเค มีความต้องการใช้ลมอัด 0.4 ลูกบาศก์เมตร เมตรต่อนาที ที่แรงดัน 5 บาร์ ต่อนาที ที่แรงดัน 5 บาร์ 8. เครื่องตัดสามด้าน มีความต้องการใช้ลมอัด 0.3 ลูกบาศก์ 4. เครื่องพับกระดาษ มีความต้องการใช้ลมอัด 0.8 ลูกบาศก์ เมตรต่อนาที ที่แรงดัน 4 บาร์ เมตรต่อนาที ที่แรงดัน 4 บาร์ รวมปริมาณลมทีใ่ ช้ทงั้ หมดของทุกเครือ่ งจักร = 4.8 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที แรงดันสูงสุด 5 บาร์ ในการเลือกซือ้ จริงเราต้องเผือ่ ขนาด ของเครื่องอัดลมให้มีอัตราการผลิตลมมากกว่าปริมาณที่ใช้งานจริง 30% 4.8 x 130 เพราะฉะนั้น ขนาดของเครื่องอัดลมที่จะเลือกใช้ = 6.24 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที 100 ตัวอย่าง : แคตตาล็อกเครื่องปั๊มลม
F.A.D. of Working Pressure 7 bar 10 bar 13 bar Model Number 3 3 3 m /min cfm m /min cfm m /min cfm DS120-22 4.2 148 3.6 127 3.0 106 B120 DS120-30 5.4 180 4.2 148 4.9 127
Motor Air Outlet Compressor Net Power Pipe Dia Dimensions Weight kW/HP inch L x W x H (mm) kgs 22/30 1 1/4 1290x1030x1535 667 30/40 1 1/4 1290x1030x1535 687
F.A.D. of Working Pressure Model Number 7 bar 10 bar 13 bar 3 3 3 m /min cfm m /min cfm m /min cfm DS150-30 5.3 187 4.4 155 3.8 134 B150 DS150-38 6.4 219 5.1 180 4.2 148 DS150-45 7.3 258 6.1 215 5.1 180
Motor Air Outlet Compressor Net Power Pipe Dia Dimensions Weight kW/HP inch L x W x H (mm) kgs 30/40 1 1/2 1360x1030x1795 786 37/50 1 1/2 1360x1030x1795 900 45/60 1 1/2 1360x1030x1795 900
ตามแคตตาล็อกของเครื่องปั๊มลม เราจะเลือกใช้ รุ่น B150DS150-37 มีอัตราการผลิตลม 6.4 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที (เป็นขนาดทีใ่ กล้เคียงกับค่าทีค่ ำ� นวณได้) ทีแ่ รงดัน 7 บาร์ ก�ำลัง มอเตอร์ 37 kw.
วิธีการเลือกซื้อเครื่องท�ำลมแห้งให้เหมาะสมกับ ความต้องการใช้งานจริง
ส� ำ หรั บ เหตุ ผ ลที่ ต ้ อ งเผื่ อ ขนาดเครื่ อ งปั ๊ ม ลมให้ มี ก� ำ ลั ง การ ผลิตลมมากกว่าการใช้งานจริง 30% มีดังนี้ 1.10 % แรกที่ เ ผื่ อ คื อ ไว้ ส�ำ หรั บ ชดเชยการใช้ ง านฉุ ก เฉิ น การใช้ลมเป่าในการท�ำความสะอาดเครื่องจักรและอุปกรณ์ งานซ่อมบ�ำรุง และชดเชยการรั่วของระบบลม 2.20% ไว้ส�ำหรับส�ำรองไว้ในกรณีมีการเพิ่มเครื่องจักรเข้ามา ในขบวนการผลิตในอนาคต และในโรงงาน โรงพิมพ์ต่างๆ โดยทั่วไป จะมีเครื่องปั๊มลม 2 ชุดเสมอ ไว้ใช้งานสลับกัน ถ้ามี เครื่องหนึ่งเครื่องใดต้องมีการบ�ำรุงรักษาหรือซ่อม โรงงานหรือ โรงพิมพ์ก็จะมีลมอัดใช้อยู่ตลอดเวลา
ส�ำหรับเครื่องท�ำลมแห้ง (Air Dryer) หน้าที่คือ เครื่องลด ปริมาณน�ำ้ และความชืน้ ทีป่ นมากับลมอัด เพือ่ ให้ได้ลมทีส่ ะอาด ปราศจากความชื้น เพื่อส่งลมที่ดีไปใช้งานที่เครื่องจักรและ อุปกรณ์ต่างๆ ต่อไป www.thaiprint.org
38 KNOWLEDGE
หลักการท�ำงานและประโยชน์ของเครือ่ งท�ำลมแห้ง ซึง่ โดยปกติ ลมที่ถูกผลิตโดยเครื่องปั๊มลมจะมีน�้ำและความชื้นปนมาด้วย เมื่อต้องการน�ำลมอัดไปใช้งาน เครื่องจักรและอุปกรณ์ไม่ ต้ อ งการน�้ ำ ละอองน�้ ำ และความชื้ น ที่ ป นมากั บ ลมอั ด เลย เครื่องท�ำลมแห้งจึงเป็นอุปกรณ์หลักในการน�ำน�้ำและความชื้น ออกมาจากลมอัด ซึง่ เครือ่ งท�ำลมแห้งนีอ้ าศัยหลักการควบแน่น ด้วยน�ำ้ ยาท�ำความเย็นแล้วระบายน�ำ้ ออกมา ท�ำให้ลมอัดทีไ่ ด้มี ความแห้งและบริสุทธิ์ ในการเลือกซื้อเครื่องท�ำลมแห้ง ต้องให้มีขนาดที่เหมาะสมกับ อัตราการผลิตและใช้ลมของแต่ละโรงงาน ซึง่ ต้องมีการค�ำนวณ เช่นดียวกับเครื่องปั๊มลม เพราะถ้าเลือกซื้อมาผิดขนาด จะเกิด ผลเสียต่อการใช้ลมและค่าใช้จ่ายเช่นเดียวกัน สมมติว่าเราซื้อเครื่องท�ำลมแห้งมีขนาดเล็กไป การท�ำงานของ เครือ่ งจะท�ำงาน 100 เปอร์เซ็นต์ โดยแทบจะไม่มเี วลาพักเครือ่ ง เลยในขณะท�ำงาน เพราะต้องลดอุณหภูมลิ มลง เพือ่ แยกน�ำ้ ออก จากลม และจะท�ำงานเกินขีดความสามารถของเครือ่ งเอง ลมที่ ได้ออกมาจะมีนำ�้ และความชืน้ ปนออกมาด้วย จะเกิดผลเสียต่อ เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทใี่ ช้ลมอัด และอายุการใช้งานของเครือ่ ง ท�ำลมแห้งจะสั้น เพราะท�ำงานตลอดเวลาไม่มีเวลาหยุดพัก การแก้ไขก็โดยการซื้อเครื่องท�ำลมแห้งเพิ่มที่มีขนาดเท่าเดิม เวลาใช้งานก็เปิดเดินเครือ่ ง 2 เครือ่ งพร้อมกัน (ต้องค�ำนวณดูวา่ วิธนี ขี้ นาดของเครือ่ งจะพอเพียงไหม และมีคา่ ใช้จา่ ยเป็นอย่างไร) หรือมีอกี วิธกี ค็ อื ซือ้ เครือ่ งท�ำลมแห้งใหม่ให้มขี นาดใหญ่กว่าเดิม สามารถเปิดท�ำงานเครือ่ งเดียวได้ เครือ่ งเดิมก็เก็บส�ำรองไว้เปิด ตอนฉุกเฉิน หรือในอนาคตถ้าโรงงานมีการซื้อเครื่องจักรมา เพิม่ เติม ก็ซอ้ื เครือ่ งเล็กมาเพิม่ ให้ทำ� งานคูก่ นั ไป โดยทางโรงงาน จะมีชุดส�ำรอง (Stand by unit) ไว้ 1 ชุดตลอดเวลา ในกรณีทเี่ ราเลือกซือ้ เครือ่ งท�ำลมแห้งมีขนาดใหญ่เกินไปนิดหน่อย ก็ไม่คอ่ ยทีจ่ ะมีผลเสียมาก จะมีตรงทีต่ อ้ งจ่ายค่าเครือ่ งเพิม่ มากขึน้ และจ่ายค่าใช้ไฟฟ้ามากขึน้ ในทุกๆ เดือน แต่ถา้ เครือ่ งมีขนาดใหญ่ มากเกินไป ราคาเครื่องก็จะสูงและต้องจ่ายค่าไฟฟ้ามากใน แต่ละเดือน ซึ่งในกรณีนี้ลมอัดที่ได้จะมีคุณภาพดีมาก วิธีการเลือกซื้อเครื่องท�ำลมแห้ง เราต้องดูขนาดของเครื่องปั๊ม ลมก่อน เราได้ขนาดของเครือ่ งปัม๊ ลมแล้วคือ 6.4 ลูกบาศก์เมตร ต่อนาที เราใช้วิธีง่ายๆคือให้ขนาดเครื่องท�ำลมแห้งใหญ่กว่า เครื่องปั๊มลม 20% ซึ่งหาขนาดเครื่องท�ำลมแห้งได้ดังนี้ 6.4 x 120 ขนาดเครื่องท�ำลมแห้ง = 7.68 ลบ.ม./นาที 100
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ในที่นี้ เราอย่าตกใจว่าขนาดเครื่องท�ำลมแห้งใหญ่ขนาดนี้ จะกินไฟมากไหม บอกได้เลยว่าเครื่องขนาดนี้จะใช้ก�ำลังขับ ประมาณ 1 kw.เท่านั้น ซึ่งเมื่อเทียบกับขนาดของเครื่องปั๊มลม 6.4 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที จะใช้ก�ำลังขับประมาณ 37 kw. ส�ำหรับเหตุผลทีต่ อ้ งเผือ่ ขนาดเครือ่ งท�ำลมแห้งให้มขี นาดทีใ่ หญ่ กว่าเครื่องปั๊มลม 20% มีเหตุผลตามนี้ : 1. การท�ำงานของเครื่องท�ำลมแห้งจะท�ำงานคล้ายๆ เครื่อง ปรับอากาศ ลมที่ผ่านออกมาจากเครื่องปั๊มลม อาจมีอุณหภูมิ สูงถึง 65 องศาเซลเซียส ซึ่งลมจะผ่านเข้าเครื่องท�ำลมแห้ง จะผ่านเข้ามาตลอดเวลา ถ้าขนาดของเครื่องเท่ากัน อาจท�ำให้ เครื่องท�ำงานโดยไม่มีช่วงพักเพื่อลดอุณหภูมิลมลง อาจท�ำให้ เครื่องท�ำลมแห้งช�ำรุดเร็วกว่าปกติ 2. ลมที่ออกจากเครื่องท�ำลมแห้ง ควรจะมีอุณหภูมิที่ 2-10 องศาเซลเซียส ถ้าเครือ่ งท�ำลมแห้งท�ำงานเต็มก�ำลังแล้วอุณหภูมิ ลมยังสูงกว่าค่าที่รับได้น้ี จะท�ำให้ลมอัดที่ถูกส่งไปใช้งานใน เครือ่ งจักร จะมีความชืน้ สูง อาจท�ำให้อปุ กรณ์ทใี่ ช้ลมอัดช�ำรุดเร็ว หรือท�ำงานไม่เต็มประสิทธิภาพเป็นต้น วิธีการเลือกซื้อชุดกรองลม
ส�ำหรับชุดกรองลม (Main Line Air Filter) จะมีหน้าที่คือ ดักจับฝุ่นละอองและความชื้นที่มากับลมอัดที่ผ่านเข้ามาใน ชุดกรองลม เมื่อลมไหลผ่านไส้กรองออกมาแล้ว ก็จะเป็นลม ที่สะอาดแต่ยังมีความชื้นอยู่ เพราะหน้าที่หลักของชุดกรอง ลมคือดักจับฝุน่ ละออง อาจจะช่วยดักจับน�้ำและความชื้นบ้าง แต่ไม่มาก ซึ่งชุดไส้กรองของชุดกรองลม จะมีความละเอียดที่ หลากหลายให้เลือกใช้ ตั้งแต่ 0.01 -5 ไมครอน ซึ่งตัวไส้กรองนี้ มาจากท�ำจากโลหะซินเตอร์ กระดาษไวร์โคลท (Wire Cloth) ไหมเทียม หรือฝ้ายคล้ายรวงผึง้ ซึง่ ความละเอียดของไส้กรองนี้ จะแตกต่างกันออกไปขึน้ อยูก่ บั ฝุน่ ละอองและความชืน้ ทีป่ นมา กับลมอัด
KNOWLEDGE 39
วิ ธี เ ลื อ กขนาดของชุ ด กรองลม จะดู ที่ ค ่ า สองชนิ ด คื อ ค่ า ความละเอียดของไส้กรองและค่าอัตราของลมอัดที่ไหลผ่าน ไส้กรอง ซึ่งโดยปกติในห้องเครื่องปั๊มลมจะติดตั้งชุดกรองลม อย่างน้อย 2 ชุด ชุดไส้กรองหยาบ 3-5 ไมครอน จะติดตั้ง ที่ท่อลม ที่ออกมาจากเครื่องปั๊มลม ส่วนชุดไส้กรองลมละเอียด 0.01-0.2 ไมครอน จะติดตั้งที่ท่อลมก่อนที่จะจ่ายลมอัดเข้าไป ที่เครื่องจักรและอุปกรณ์ใช้ลมอัด ส�ำหรับการเลือกขนาดของชุดกรองลมที่ดูค่าอัตราของลมอัดที่ ไหลผ่าน ให้เลือกขนาดที่มีอัตราลมอัดไหลผ่านมากกว่าอัตรา การผลิตลมอัดของเครื่องปั๊มลม 50-80% ซึ่งจะหาขนาดของ ชุดกรองลมได้ดังนี้ (ในที่นี้จะคิดที่ 80% และขนาดของเครื่อง ปั๊มลม 6.4 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที) 6.4 x 180 ขนาดของชุดกรองลม = 11.52 ลบ.ม./นาที 100 เราจะเอาค่าทีไ่ ด้นคี้ อื 11.52 ลูกบาศก์เมตรต่อนาที ไปเลือกขนาด ของชุดกรองลมโดยเทียบจากแคตตาล็อกของชุดกรองลมต่อไป เหตุผลที่ต้องเลือกขนาดชุดกรองลม ให้มีขนาดที่อัตราของลม อัดทีไ่ หลผ่านมากกว่าอัตราของเครือ่ งปัม๊ ลมผลิตได้ ก็เพราะว่า ลมที่ออกมาจากเครื่องปั๊มลมและในระบบเป็นลมที่ไม่สะอาด เมือ่ ลมผ่านชุดกรองลมอยูต่ ลอดเวลาชุดไส้กรองจะจับสิง่ แปลกปลอม ฝุ่นละอองและอื่นๆไว้ จะท�ำให้ประสิทธิภาพของไส้กรองลดลง ตลอดเวลา เมื่อถึงจุดหนึ่งไส้กรองจะสกปรกถูกอุดตัน ลมจะ ไหลผ่านไม่ได้เต็มที่ อาจมีการท�ำความสะอาดหรือต้องเปลี่ยน ไส้กรองใหม่ทนั ที ถ้าเราไม่เผือ่ ขนาดไว้ เราก็ตอ้ งท�ำความสะอาด หรือต้องเปลี่ยนชุดไส้กรองบ่อยๆ และขนาดของข้อต่อท่อลม ด้านเข้าและออกของชุดกรองลมก็เป็นตัวบอกขนาดการไหลผ่าน ของลมอัดด้วย วิธีการเลือกซื้อชุดถังพั กลมอัด
ชุดถังพักลม (Air Storage Tank) มีหน้าที่กักเก็บลมที่ถูก ผลิตออกมาจากเครื่องปั๊มลม และถูกปล่อยออกไปใช้งานอย่าง ต่อเนื่องตลอดเวลา อาจจะอยู่ในแนวตั้งหรือแนวนอนก็ได้ ซึ่งจุดประสงค์หลักที่ระบบลมอัดจ�ำเป็นต้องมีชุดถังพักลมคือ 1. กักเก็บลมอัดทีเ่ ครือ่ งปัม๊ ลมผลิตออกมา ช่วยให้เครือ่ งปัม๊ ลม มีเวลาหยุดพักเครื่องในเวลาสั้นๆ ได้ 2. รักษาปริมาณลมอัดให้เพียงพอต่อการใช้งานอย่างต่อเนื่อง 3. จ่ายลมอัดออกไปใช้งานด้วยความดันคงทีส่ ม�ำ่ เสมอตลอดเวลา 4. ช่วยระบายความร้อนของลมอัด เพราะถังมีพนื้ ทีร่ ะบายความร้อน อยู่รอบตัว 5. สามารถแยกไอน�ำ้ ที่ติดปนมากับลมอัดได้บางส่วน วิธีเลือกขนาดของถังพักลมอัด มีวิธีเลือกอย่างง่ายๆ ตามนี้ คือ ขนาดของถังพักลมอัดจะมีขนาดความจุประมาณ 8 เท่าของ อัตราลมอัดที่เครื่องปั๊มลมผลิตได้ใน 1 วินาที และเผื่อขนาดไว้ อีก 30% ไว้ส�ำหรับขยายการผลิตในอนาคต อธิบาย : ตามที่ได้ขนาดเครื่องปั๊มลมมาคือ 6.4 ลูกบาศก์เมตร ต่อนาที ถ้าเราคิดเป็นลิตรต่อวินาทีที่ 8 เท่า จะได้ดังนี้ 6.4 x 1000 x 8 = 853 ลิตร 60 ขนาดถังพักลมอัดทีไ่ ด้คอื ขนาด 853 ลิตร และต้องเผือ่ ขนาดอีก 30% เราจะได้ขนาดถังพักลมอัดตามนี้ 853 x 130 = 1108.9 ลิตร 100 ถ้าเราจะสัง่ ซือ้ หรือสัง่ ท�ำถังพักลมอัด เราจะสัง่ เป็นขนาดความจุที่ 1200 ลิตร หรือ 1500 ลิตรก็ได้ เพราะราคาของถังพักลมเมื่อ ขนาดต่างกันไม่มาก ราคาก็จะไม่แตกต่างกันมากเช่นเดียวกัน . . . อ่านต่อฉบับหน้า . . . ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน • U.P.E.Engineering Co.,Ltd. เครดิตภาพประกอบ • https://www.aircompressorsindia.net/air-dryers.html • https://www.indiamart.com/proddetail/air-receiver-forcement-industry-7381250333.html • http://itp1.itopfile.com/ImageServer/34370f9344c48d8d/0/0/iTopPlus363228532217.png • https://www.nanasupplier.com/picture/product/200/162733.jpg • https://www.gardnerdenver.com/-/media/images/compair/ products/air-treatment-and-accessories/compressedair-drying-main.ashx?h=360&la=zh-CN&w=360
www.thaiprint.org
3:46:08 4:04:37 1:45:14 2:36:23 11:47:07 17:59:23 16:00:45 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 26:05 AM
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 39
039 8/9/2560 0:28:49
42
NEWS
วันการพิ มพ์ ไทย 2562
3 มิถุนายน 2562 ณ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม
มูลนิธเิ งินทุนงานแสดงการพิมพ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิ สหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์, สหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์, สถาบันการศึกษา และองค์กรที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ จัดกิจกรรมเนื่องในโอกาส “วันการพิมพ์ไทย 2562” โดยมี 2 กิ จ กรรมที่ ป ฏิ บั ติ ต ่ อ เนื่ อ งมาเป็ น เวลานาน คื อ พิ ธี ว าง พวงมาลาเพื่อร�ำลึกถึงคุณูปการของหมอบรัดเลย์ ณ สุสาน โปรแตสแตนท์ (ถ.เจริ ญ กรุ ง ) โดยในปี นี้ ไ ด้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.วันชัย ศิริชนะ ประธานมูลนิธิเงินทุนแแสดงการพิมพ์แห่ง ประเทศไทยเปิดงานอย่างเป็นทางการ นอกจากนี้ยังได้รับฟัง ข้อมูลและคุณูปการของหมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
รวมทัง้ ประวัตขิ องสุสานโปรแตสแตนท์ ซึง่ ก่อตัง้ เมือ่ ปีพ.ศ. 2396 จาก ศาสนาจารย์ ดร.ช�ำนาญ แสงฉาย บาทหลวงของสุสาน โปรแตสแตนท์ หลั ง จากนั้ น ในช่ ว งสาย เป็ น พิ ธี ท� ำ บุ ญ ทั ก ษิ ณ านุ ป ทานแด่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ผูเ้ ป็นเสมือน “บิดาแห่งการพิมพ์ไทย” และบ�ำเพ็ญกุศลแด่ผู้มีคุณูปการ ต่อวงการพิมพ์ซึ่งได้ล่วงลับไปแล้ว ณ วัดราชประดิษฐ์สถิต มหาสีมาราม เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ.2562 ตั้งแต่เวลา 08.00-12.00 น.
NEWS
43
งานเลี้ยงวันการพิ มพ์ ไทย 2562
และพิ ธส ี ง ่ มอบตาํ แหน่งประธานสหพั นธ์อต ุ สาหกรรมการพิ มพ์
สหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์จดั กิจกรรมงานเลีย้ งเพือ่ พบปะ สังสรรค์ เนื่องในวันการพิมพ์ไทย ปี 2562 และการบรรยาย พิเศษ เรือ่ ง “เส้นทางสูค่ วามยัง่ ยืนของอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุ ภัณฑ์ ” โดย คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ได้กล่าวถึง วิธีการปรับตัว ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ อ ย่ า งยั่ ง ยื น เช่ น การ Transform ธุรกิจสู่ Digital & Solution Businesses, เน้นการลงทุนใน Digital Printing, Infrastructure and Workflow Software, ปรับองค์กรสู่การเป็น Marketing and Communication Service Providers, ปรับเปลีย่ น Business Model สู่การผลิตในรูปแบบ Customization, เน้นการท�ำ บรรจุภัณฑ์เพื่อ Value Added และรักษาสิ่งแวดล้อม และ การศึกษาความเป็นไปได้ในการน�ำ 3D Printing มาใช้ในธุรกิจ
โดยได้ทิ้งท้ายไว้ว่า “เทคโนโลยีก�ำลังเปลี่ยนโลก เราพยายาม จะสร้างมนุษย์ให้เหมือนหุ่นยนต์ และจะสร้างหุ่นยนต์ให้ เหมือนมนุษย์ เราจะอยู่รอดได้เมื่อพร้อมที่จะเปลี่ยนแปลง” นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมพิเศษ พิธมี อบโล่ห์ แด่บริษทั ทีส่ นับสนุน การพัฒนาและประเมินสมรรถนะคุณวุฒวิ ชิ าชีพ สาขาอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ กิจกรรมส�ำคัญของงานนี้คือ พิธี ส่ง มอบตําแหน่ง ประธานสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิ ม พ์ จาก คุณธนพล บันลือรัตน์ (นายกสมาคมแยกสีแม่พิมพ์ เพื่ อ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทย) ให้ กั บ คุ ณ ประสิ ท ธิ์ คล่องงูเหลือม (ประธานชมรมการจัดพิมพ์อเิ ล็กทรอนิกส์ไทย) โดยกิจกรรมในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2562 เวลา 17.30-21.00 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม (ชั้น 3) โรงแรม ดิเอมเมอรัล ถนนรัชดา www.thaiprint.org
44
NEWS
Ricoh Asia Pacific ร่วมมือกับ Babbobox
เพื่ อยุทธศาสตร์การผลักดันการปฏิวต ั ท ิ างดิจท ิ ล ั ด้วยเทคโนโลยี AI ในภูมภ ิ าคเอเชีย
“สตอเรจแบบ AI ส�ำหรับองค์กรทุกรูปแบบ”
RICOH ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกได้ประกาศความร่วมมือทางยุทธศาสตร์กับ Babbobox ในการเปิดตัว AIspace (www.aispace.co อ่านว่า “ไอ” สเปซ) อย่างเป็นทางการในภูมภิ าค เอเชีย ซึง่ ความร่วมมือนีม้ เี ป้าหมายในการบริการนวัตกรรมระดับองค์กรด้านโซลูชนั่ สตอเรจ ที่ใช้เทคโนโลยี Artificial Intelligence (AI) เพื่อสนับสนุนการปฏิวัติทางดิจิทัลในสถานที่ ปฏิบัติงานในภูมิภาคอาเซียน องค์กรทัง้ หลายต่างทราบดีถงึ ความจ�ำเป็นในการปฏิวตั ทิ างดิจทิ ลั รวมทัง้ ยังตระหนักถึงความ ส�ำคัญของเทคโนโลยี AI เพื่อให้สามารถแข่งขันในตลาด และเตรียมพร้อมรับมือกับอนาคต อย่างไรก็ดี มีหลายองค์กรทีค่ ดิ ว่า AI เป็นเรือ่ งไกลตัว ทัง้ นีเ้ พราะพวกเขาต่างคิดว่ามีราคาแพง มากเกินไป หรือมีความรูไ้ ม่เพียงพอเกีย่ วกับสิง่ ทีจ่ ะเป็นประโยชน์กบั องค์กร ดังนัน้ AIspace จึงเข้ามาเปลีย่ นภาพลักษณ์ดงั กล่าวด้วยภารกิจในการ “ท�ำให้ทกุ องค์กรสามารถเข้าถึง AI ได้” ความร่วมมือระหว่าง Ricoh Asia Pacific และ Babbobox นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อท�ำให้ AI ง่ายต่อการเข้าถึง และมีราคาย่อมเยาส�ำหรับองค์กรในภูมิภาคอาเซียนด้วยการน�ำ AI มาอยู่ ในสิ่งที่ทุกองค์กรจ�ำเป็นต้องใช้อันได้แก่ ระบบสตอเรจ โดย AIspace จะน�ำเทคนิคด้าน AI มากมายไม่ว่าจะเป็น Computer Vision และ Natural Language Processing มาใช้กับ ทรัพยากรทีอ่ ยูใ่ นรูปดิจทิ ลั (เช่น เอกสาร ภาพ มีเดีย) ทีใ่ ช้งานอยูแ่ ล้วภายในองค์กร ให้สามารถ ค้นหาผ่านเอนจิ้นการค้นหาแบบยูนิฟายด์ตัวแรกของโลก ความสามารถด้าน AI ในการจัดเอกสารของ AIspace นี้จะเปิดให้ผู้ใช้ระบุประเด็นส�ำคัญ ของเอกสารได้แบบอัตโนมัตโิ ดยไม่ตอ้ งเสียเวลาอ่านเอกสาร ด้วยเทคนิคชัน้ น�ำของเครือ่ งมือ ประมวลผลภาษาธรรมชาติหรือ NLP ท�ำให้ AIspace ดึงข้อมูลส�ำคัญออกมาได้โดยอัตโนมัติ (เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล, สถานที่, เหตุการณ์สำ� คัญ เป็นต้น) จากเอกสารที่เป็นข้อความ ช่วยองค์กรต่างๆ ประหยัดเวลาในการจัดการเอกสารจ�ำนวนมากในแต่ละวันได้เป็นอย่างดี THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ส�ำหรับข้อมูลภาพนั้น ปัญหาที่ใหญ่ที่สุด คืออุปสรรคในการค้นหาข้อมูล แม้แพลตฟอร์ม ส่วนใหญ่ในปัจจุบนั จะเปิดให้แท็กข้อมูลบน ภาพได้ด้วยตัวเองเพื่ออ�ำนวยความสะดวก ในการค้นหา แต่ AIspace ก็ปฏิวัติใหม่ ด้วยการน�ำ AI มาช่วยให้กระบวนการดัง กล่าวเป็นแบบอัตโนมัติ ด้วยการวิเคราะห์ ภาพต่างๆ เพื่อระบุตัวตนของวัตถุในภาพ หลายพันชนิดด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็นการ จดจ� ำ วั ต ถุ ที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ , สิ่ ง มี ชี วิ ต , วิวทิวทัศน์และสถานที่, รวมทั้งกิจกรรม และการกระท�ำทัง้ หลาย เมือ่ ท�ำงานร่วมกับ ตัวเสิร์ชเอนจิ้นแล้ว ท�ำให้สามารถจัดท�ำ ดัชนีภาพด้วยแท๊กทีถ่ กู สร้างขึน้ และค้นหา ได้อย่างสะดวกโดยอัตโนมัติ “พวกเราตืน่ เต้นกับความร่วมมือของ Ricoh Asia Pacific มาก” Alex Chan ซีอีโอของ Babbobox กล่าว “เราต่างเชื่อว่าความ ร่วมมือครั้งนี้จะท�ำให้ลูกค้าของ RICOH สามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากเครื่ อ งพิ ม พ์ มัลติฟังก์ชันหรือ MFP ของ RICOH ได้ มากกว่าเดิม สร้างคุณค่าได้มากยิ่งขึ้น เรา ยั ง เชื่ อ มั่ น ว่ า AIspace จะเป็ น ผู ้ ป ฏิ วั ติ ตลาดที่ เ กี่ ย วกั บ พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านของ องค์กร ทั้งนี้เพราะเราได้ท�ำให้ AI เข้าถึง ได้ ง ่ า ย และจั บ ต้ อ งเป็ น เจ้ า ของได้ เ ป็ น รูปธรรมมากกว่าเดิมส�ำหรับแต่ละองค์กร เปิดให้ลูกค้าของ RICOH ได้ประโยชน์ ส�ำคัญเหล่านี้อย่างเต็มที่” จากความร่วมมือครัง้ นี้ AIspaceจะพร้อมใ ห้บริการครัง้ แรกใน 9 ประเทศของภูมภิ าค อาเซียนก่อนผ่านทางเครือข่ายช่องทางการ จ�ำหน่ายของ Ricoh Asia Pacific ซึ่งทั้ง 9 ประเทศนี้ได้แก่ ออสเตรเลีย, ฮ่องกง, มาเลเซีย, นิวซีแลนด์, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไต้หวัน, ไทย, และเวียดนาม
NEWS
45
สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดอบรมความรู้
เรื่องสิ่งแวดล้อมในโรงพิ มพ์ กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง และการจัดการความปลอดภัยในโรงพิ มพ์
สมาคมการพิมพ์ไทยจัดโครงการอบรม ความรู ้ เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มในโรงพิ ม พ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และการจัดการ ความปลอดภั ย ในโรงพิ ม พ์ โดยจั ด การอบรม 2 วัน ตั้งแต่วันที่ 24 - 25 พฤษภาคม 2562 เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชัน้ 4 สมาคมการพิมพ์ไทย ถ.พระราม 9 โดยมีการบรรยายเรื่อง
การติดตั้ง Solar Cell ทุน และความคุ้มค่าของ Solar Cell Rooftop จากคุณทรัพย์ สัมพันธ์ชัยวสุ จาก Sitron Power Co., Ltd. และ รศ.ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมเป็นวิทยากรให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม หลังจากจบการฝึกอบรม คุณธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล ผู้อ�ำนวยการฝึกอบรม ได้กล่าว ขอบคุณ พร้อมทั้งได้มอบเกียรติบัตรให้กับผู้ที่ร่วมเข้าการฝึกอบรมในครั้งนี้
www.thaiprint.org
46
NEWS
17th Asian Labels and Packaging Excellence Awards 2019 งานประกวดสิ่งพิ มพ์ ฉลาก และบรรจุภัณฑ์แห่งชาติ ระดับเอเซียครั้งที่ 17 ประจ�ำปี 2019 13 เหรียญ 11 บริษัทฯ จากประเทศไทย สรุปเหรียญรางวัล
ประเทศ อินเดีย ไทย มาเลเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน
สมาคมการพิมพ์ไทยขอชื่นชมในความส�ำเร็จและขอแสดง ความยินดีกับ 11 บริษัทฯ จากประเทศไทย ที่ได้รับเหรียญ รางวัลในงานประกวดสิ่งพิมพ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์แห่งชาติ ระดับเอเซียครั้งที่ 17 ประจ�ำปี 2019 (17th Asian Labels and Packaging Excellence Awards 2019) การประกวด ผลงานได้ประกาศผลเป็นที่เรียบร้อย ณ กรุงนิวเดลี ประเทศ
รวม 6 5 2 2 2 1
7 5 1 -
1 3 3 2 -
14 13 6 4 2 1
อินเดีย เมื่อวันที่ 8-9 พฤษภาคม 2562 ที่ผ่านมา โดยในปีนี้มี ผลงานส่ ง เข้ า ประกวดจากผู ้ ป ระกอบการในอุ ต สาหกรรม สิ่งพิมพ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์จากทั่วภูมิภาคเอเซียมากกว่า 400 ผลงาน ปีนปี้ ระเทศไทยได้รบั เหรียญรางวัล 5 เหรียญทอง 5 เหรียญเงิน และ 3 เหรียญบรอนซ์ รวมเหรียญทั้งหมด 13 เหรียญ
หมายเหตุ เดิมการประกวด Asian Labels and Packaging Excellence Awards จะจัดพร้อมกับงานประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติระดับเอเซีย Asian Print Awards แต่ในครั้งนี้งานประเภทฉลากและบรรจุภัณฑ์มีมากขึ้นจึงได้จัดแยกออกมาประกวดก่อน โดยงานงานประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติระดับเอเซีย Asian Print ้ ะประกาศผลรางวัลในงาน Pack Print International วันที่ 20 กันยายน 2562 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ Awards ปีนีจ
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS
สรุปเหรียญรางวัลจากประเทศไทย
1. CCL LABEL (THAI)
LABELS COMBINATION PRINTINGT
3 รางวัล
TITLE OF ENTRY - PANTENE HAIR FALL CONTROL
6. NPP BOX CO.,LTD.
47
1 รางวัล
POST PRINT CORRUGATED
TITLE OF ENTRY - MANGOSTEEN BOX
7. SYSCON LABELS & PACKAGING CO.,LTD. 1 รางวัล
LABELS NON PRESSURE SENSITIVE MATERIAL TITLE OF ENTRY - PANTENE MICELLAR PURE & MOIST
LABELS DIGITAL
TITLE OF ENTRY - TRIBE ORGANICS SWEET CHILLI
LABELS FLEXO
TITLE OF ENTRY - PANTENE JP POP UP STICKER
8. THUNG HUA SINN CO.,LTD.
LABELS OFFSET
1 รางวัล
TITLE OF ENTRY - ASIA WORLD COCONUT MILK PREPRESS HOUSE - LABELS OFFSET (ASIA WORLD)
2. PRIME PACKAGING CO., LTD.
FILM REVERSE PRINT
1 รางวัล
TESCO COMPLETE DRY FOOD - BEEF LAMB VEGETABLE
9. FLEX-IBLE PLAS CO.,LTD.
FILM REVERSE PRINT
1 รางวัล
TITLE OF ENTRY - BBQ CHICKEN STRIPS
3. THAI CONTAINERS GROUP CO.,LTD. 1 รางวัล
DIGITAL PACKAGING
TITLE OF ENTRY - TROPICAL FIELDS DRIED MANGO
10. PLOY PRINTING PART., LTD.
MOCK UP
1 รางวัล
TITLE OF ENTRY - SAWANBONDIN
4. TPN FLEXPAK CO.,LTD.
MID WEB FLEXIBLES FILM
1 รางวัล
TITLE OF ENTRY - SALT & PEPPER CRISPY SHREDDED CHICKEN BREAST
11. PRINT MASTER CO.,LTD.
FILM REVERSE PRINT
1 รางวัล
TITLE OF ENTRY - BAG FROZEN STRAWBERRY
5. CYBERPRINT GROUP CO.,LTD.
FILM REVERSE PRINT
1 รางวัล
TITLE OF ENTRY - SNAPPY TOM PREPRESS HOUSE - YUNCHENG PLATE-MAKING (THAILAND) CO.,LTD. ผลการตัดสินทั้งหมด http://www.thaiprint.org/2019/05/ news-event/17th-apa/ www.thaiprint.org
48
NEWS
การตัดสินการประกวด บรรจุภัณฑ์ไทย ประจ�ำปี 2562
ThaiStar Packaging Awards ภายใต้หัวข้อ “บรรจุภัณฑ์เพื่ อความยั่งยืน” (Sustainable Packaging)
คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ตัวแทนสมาคม การพิมพ์ไทย เข้าร่วมเป็นกรรมการ ตั ด สิ น การประกวดบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทย ประจ�ำปี 2562 ThaiStar Packaging Awards ภายใต้หัวข้อ “บรรจุภัณฑ์ เพื่ อ ความยั่ ง ยื น ” (Sustainable Packaging) ส่งเสริมและพัฒนาสินค้า ให้มีความโดดเด่นและสามารถดึงดูด ความสนใจจากลูกค้า ทั้งในด้านของ รู ป แบบสิ น ค้ า ที่ ต ้ อ งตอบสนองความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ ซึ่ ง การจั ด การ ประกวดในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ ได้บรรจุภัณฑ์ที่มีคุณภาพยิ่งขึ้น และ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม นั ก ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ให้ได้แสดงความรู้ความสามารถและ มี ศั ก ยภาพเพิ่ ม ขึ้ น โดยแบ่ ง ประเภท การประกวดเป็ น 3 ประเภท ได้ แ ก่ 1. นักเรียน-นักศึกษา 2. บริษัท หรือ หน่วยงาน 3. นักออกแบบอิสระ
ผลงานบรรจุภัณฑ์และต้นแบบบรรจุภัณฑ์ในแต่ละประเภทได้รับรางวัล Thaistar Packaging Awards 2019 จ�ำนวน 65 รางวัล รางวัลออกแบบบาร์โค้ดบนบรรจุภณ ั ฑ์ จ�ำนวน 3 รางวัลพิเศษ รางวัลการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน 3 รางวัล และรางวัลพิเศษ TPA Packaging Award จ�ำนวน 1 รางวัล รวมจ�ำนวนรางวัลทั้งสิ้น 72 รางวัล ซึ่งการตัดสินได้จัดขึ้น เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2562 ณ ศูนย์การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (Thai-IDC)
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS
49
โคนิก้า จัดกิจกรรม ˝KM-1 High Level Conference˝ เปิดตัวเครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ทยูวี รุ่นใหม่ Accuriojet KM-1
บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสซิเนส โซลูชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด จัดกิจกรรม “KM-1 High Level Conference” เพือ่ เป็นการเปิดตัวเครือ่ งพิมพ์องิ ค์เจ็ทยูวี รุน่ ใหม่ Accuriojet KM-1 พร้อมการบรรยายพิเศษหัวข้อเรื่อง “Expanding opportunities in B2-format Digital in Thai Printing Market” ขยายโอกาสในรูปแบบ B2 ในตลาดการพิมพ์ของไทย โดย Dr.Sean Smyth – Consultant of Smithers Pira และในช่วงท้ายของกิจกรรมบนเวทีเป็นการแนะน�ำ Accuriojet KM-1 แท่นพิมพ์คุณภาพระดับโลก ที่จะน�ำเข้ามาจ�ำหน่ายใน เมืองไทยเร็วๆ นี้ โดยกิจกรรมสุดพิเศษนี้ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องสุขุมวิท 2 โรงแรม เจดับบลิว แมริ อ อต สุ ขุ ม วิ ท ซึ่ ง มี ค ณะกรรมการบริ ห ารจากสมาคม การพิมพ์ไทย และบุคคลในวงการพิมพ์เข้าร่วมกิจกรรมกัน อย่างมากมาย เช่น คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล - รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย และคณะกรรมการสมาคม www.thaiprint.org
50 INDUSTRIAL
การันตีด้วยรางวัล “2019 European Digital Press Association Awards”
ได้รับรางวัล สุดยอดนวัตกรรมเครื่องพิมพ์ดิจิทัลแบบ Cut Sheet หรือ EDP Cut Sheet Printer Awards เป็นรางวัลที่มอบโดย EDP: European Digital Press Association ประจ�าปี 2019 ในงาน FESPA Global Print Expo จัดขึ้นที่เมืองมิวนิค ประเทศเยอรมนี ถื อ เป็ น งานแสดงอุ ป กรณ์ แ ละนวั ต กรรม ทางด้านงานพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป
Iridesse Production Press
Iridesse Production Press เปิดตัวครัง ้ แรก
ในปี 2017 ซึง่ นับเป็นการยกระดับเครือ่ งพิมพ์ โปรดักส์ชันที่เหนือความคาดหมายในวงการ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ด้ ว ยนวัตกรรม ของเครือ่ ง Iridesse Production Press ท�าให้ สามารถพิมพ์ 6 สี พร้อมกันในครั้งเดียว (มี ป ้ อ มสี CMYK และสามารถเลื อ กใส่ สีพิเศษ 2 สี คือ สีเงิน, สีทอง, สีขาว หรือ สีใส ในป้อมสีที่ 1 และ 6 ได้)
และด้วยคุณลักษณะการพิมพ์สีพิเศษของ เครือ่ ง ท�าให้สามารถผลิตงานพิมพ์ทเี่ ปลีย่ น สีไปตามองศาการมอง ซึง่ เกิดขึน้ ด้วยการใช้
เทคนิ ค การลงสี พิ เ ศษสี เ งิ น หรื อ สี ท อง ลงไปก่อน ตามด้วยสี CMYK เกิดเป็นชิน้ งาน สีเมทัลลิกสะท้อนความแวววาวสวยงามใน ขั้นตอนเดียว นอกจากการพิ ม พ์ สี เ มทั ล ลิ ก ที่ โ ดดเด่ น ใน ขั้นตอนเดียวของ Iridesse Production Press แล้ ว เครื่ อ งยั ง สามารถผลิ ต งาน ที่ ห ลากหลายเพื่ อ ตอบสนองจิ ต นาการ ของงานออกแบบ เพิ่มคุณค่าของงานพิมพ์ ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์สี CMYK ปรกติแล้ว เททับด้วยสีใส (Clear Ink) ในบางจุดของ งานพิมพ์ ท�าให้เกิดลักษณะคล้ายการเคลือบ Varnish หรือการลงสีขาวทีม่ คี วามทึบแสงสูง (Opacity) บนกระดาษสี เ ข้ ม หรื อ วั ส ดุ ใ ส เช่น พลาสติก PET ก่อนการลงสี CMYK ตามปรกติ หรือแม้แต่การพิมพ์บนกระดาษ กล่ อ งแป้ ง , กระดาษ Metallize Board หรือ กระดาษที่มีพื้นผิวไม่เรียบ (Texture Paper) โดยทีล่ กู ค้าสามารถเลือกปรับเปลีย่ น สีพเิ ศษได้ดว้ ยตนเองระหว่างป้อมสีที่ 1 หรือ ป้อมสีที่ 6
และด้วยอนุภาคของผงหมึกขนาดเล็ก HD EA Dry Ink ซึ่งมีความยืดหยุ่นสูงที่ได้รับ การควบคุมในระดับโมเลกุล มีศกั ยภาพในการ
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ละลายของหมึกที่อุณหภูมิต�่า ท�าให้สามารถ สร้างสรรค์ภาพที่มีความละเอียดสูงได้อย่าง ราบรืน่ และมีสสี นั สม�า่ เสมอทุกชิน้ งาน สามารถ พิมพ์บนกระดาษหนา 400 แกรม ทีค่ วามเร็วสูง ถึง 120 หน้า ต่อนาที และยังพิมพ์กระดาษยาว ได้ถึง 1,200 มิลลิเมตร นอกจากนี้ ยังสามารถต่อเชื่อมกับอุปกรณ์ เสริมชุดหลังการพิมพ์ (Finisher) เพื่อผลิต ชิ้นงานส�าเร็จรูปออกมาได้อย่างง่ายดายและ เสร็จในเวลาอันสัน้ เช่น ชุดแทรกปก (Inserter), ชุดตัดขอบบนและล่าง (เจียนขอบ) และท�าแนว ส�าหรับพับ (Crease/Two-sided Trimmer) หรือ ชุดเข้าเล่มหนังสือ (D6 Booklet Finisher) ผลิตงานแผ่นพับ, โบรชัวร์, หนังสือแบบ เย็บลวดและตบสันหนังสือเพื่อให้ได้รูปเล่ม ที่สวยงามได้ ในขณะทีก่ ารพิมพ์ออฟเซตใช้เวลามาก มีหลาย ขั้นตอน และมีค่าใช้จ่ายสูงในการท�าเพลท การปรั บ สี แ ละการพิ สู จ น์ อั ก ษรการพิ ม พ์ เมื่อเปรียบเทียบกับ Iridesse Production ่ สามารถสร้างสรรค์ผลงานทีส่ วยงาม Press ซึง โดดเด่ น ด้ ว ยเวลาและค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ น ้ อ ยลง ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุสิ่งพิมพ์ของคุณ ด้วยการพิมพ์ 6 สีพร้อมกันในครั้งเดียว และยังท�างานพิมพ์แบบ one to one หรือ งานพิมพ์เฉพาะบุคคลได้อีกด้วย ตอบโจทย์ ทุ ก งานพิ ม พ์ ข องคุ ณ ด้ ว ย Iridesse Production Press
INDUSTRIAL
www.thaiprint.org
51
52 KNOWLEDGE
การบริหารจัดการในโรงพิ มพ์ ตอนที่ 2 การวางแผนและการควบคุมการผลิต โดย อาจารย์ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล
การบริหารการผลิต ท่านอาจารย์ชุมพล ศฤงคารศิริ ได้กล่าว ค�ำนิยามของการวางแผนและผลิตไว้วา่ “การผลิตคือกระบวนการ ทีท่ ำ� ให้เกิดการสร้างสิง่ หนึง่ สิง่ ใดขึน้ มาจากการใช้ทรัพยากร หรือปัจจัยการผลิตที่มีอยู่” การด�ำเนินการผลิตจะเป็นไปตาม ล�ำดับขั้นตอนของการกระท�ำก่อนหลัง กล่าวคือ จากวัตถุดิบที่ มีอยู่ ถูกแปลสภาพให้เป็นผลผลิตที่อยู่ในรูปแบบตามต้องการ เพือ่ ให้การผลิตบรรลุวตั ถุประสงค์ จึงจ�ำเป็นต้องมีการจัดการให้ อยูใ่ นรูปของระบบการผลิต ส�ำหรับบางท่านทีท่ ำ� หน้าทีบ่ ริหาร จัดการการด้านการผลิตนี้ที่ไม่ได้มาจากการการศึกษาด้านการ พิมพ์โดยตรง และท่านที่มาจากสายการพิมพ์โดยตรงแต่ไม่ได้ ศึกษาการบริหารดังนั้นเป็นการดีที่สุดหากผู้ที่บริหารหรือท่าน ทีม่ หี น้าทีบ่ ริหารการผลิตในโรงพิมพ์นนั้ จะมีความรูท้ งั้ ด้านการ พิมพ์และบริหารไปด้วยกันและถ้ามีความรู้เรื่องการปกครอง ด้วยแล้วจะมีประสิทธิภาพการบริหารมากยิ่งขึ้น ในฉบับที่แล้วผมได้กล่าวถึงเรื่องการบริหารจัดการโรงพิมพ์ที่ เกีย่ วกับงานบริหารทรัพย์ยากรมนุษย์ และในฉบับนีผ้ มจะขอกล่าว ในเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การโรงพิ ม พ์ ด ้ า นการผลิ ต เรื่ อ งการ วางแผนและการควบคุมการผลิต เพื่อให้ท่านผู้อ่านได้น�ำไป ปรับใช้ตามสถานการณ์ของโรงพิมพ์ของท่าน ผู้เขียนหวังว่า สิ่งที่ได้นำ� เสนอไปจะเป็นประโยชน์สำ� หรับผู้อ่านได้ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
การผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ จะต้องคํานึงถึงปัจจัยด้านปริมาณ คุณภาพ เวลา และราคา ซึ่งทั้งหมดนี้จะต้องนํามารวมไว้ใน ระบบการผลิต โดยมีการวางแผนและควบคุมการผลิตเป็นแกน กลาง กิจกรรมต่าง ๆ ทีอ่ ยูใ่ นระบบการผลิตนัน้ สามารถจําแนก ได้เป็น 3 ขั้นตอน คือ การวางแผน (planning) การดําเนินงาน (operation)และการควบคุม (control) 1. การวางแผน เป็นขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่ และวางแผนการใช้ทรัพยากรให้ตรงตามเป้าหมายที่ต้องการ และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในแผนการผลิตจะกําหนด เป้าหมายย่อยไว้ในแผนกต่างๆในช่วงเวลาที่กําหนดไว้ก่อน ล่วงหน้า และจากเป้าหมายย่อย ๆ ที่ถูกกําหนดขึ้นเหล่านี้ ถ้าประสบผลสําเร็จก็จะส่งผลไปยังเป้าหมายการผลิตทีต่ อ้ งการ 2. การดําเนินงานผลิต เป็นขั้นตอนของการดําเนินการผลิต จะเริม่ ต้นได้กต็ อ่ เมือ่ รายละเอียดต่าง ๆ ในขัน้ ตอนการวางแผน ได้ถูกกําหนดไว้ในแผนการผลิตเรียบร้อยแล้ว และเราต้ อ ง พยายามด�ำเนินการให้เป็นไปตามแผนด้วย 3. การควบคุม เป็นขัน้ ตอนของการตรวจตราให้คาํ แนะนําและ ติดตามผลเกีย่ วกับการดําเนินงานโดยใช้การย้อนกลับของข้อมูล (feedback information) ในทุก ๆ ขณะที่งานก้าวหน้าไป
KNOWLEDGE 53
ผ่านกลไกการควบคุม(control mechanism) โดยที่กลไกนี้ จะทําหน้าที่ปรับปรุงแผนงานการผลิตสิ่งพิมพ์ และเป้าหมาย เพื่อให้เป็นที่เชื่อแน่ได้ว่าจะบรรลุเป้าหมายหลักในการผลิต โดยทั่วไปจะประกอบไปด้วย 3 ส่วนด้วยกัน คือ • ปัจจัยการผลิต (Input) ได้แก่ คน ( Man) วัตถุดบิ ( Materials) เครื่องจักร ( Machines)พลังงาน (Energy) เงิน (Money) ข่าวสารข้อมูล (Information) • ส่วนกระบวนการผลิต (Process) ได้แก่ การเตรียมวัตถุดบิ ต่างๆ การพิมพ์ การขึน้ รูป ตลอดทัง้ การบรรจุผลิตภัณฑ์เพือ่ การ จ�ำหน่ายเพื่อส่งมอบให้ลูกค้า • ส่วนที่เป็นผลผลิต (Output) ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สิ่งพิมพ์ สําเร็จรูป ( Products) ซึ่งผลผลิตจะออกมาในรูปทั้งเป็นสินค้า หรือแม้แต่บริการก็ถือว่าเป็นส่วนของผลผลิตด้วย เป้าหมายของการวางแผนและการควบคุมการผลิต
1. เพื่อเปลี่ยนการคาดหมายของการขาย ให้อยู่ในรูปแบบของ แผนงานผลิต ฝ่ายขายเมื่อได้รับค�ำสั่งผลิตจากลูกค้าแล้ว สิ่งที่ ฝ่ายขายต้องการมากที่สุดคือ ก�ำหนดวันส่งสินค้า เพื่อรองรับ ความต้องการของลูกค้าที่ได้ติดต่อ และส่วนมากลูกค้าก็มักจะ มีเวลาที่จำ� กัดเสมอ 2. เพือ่ ให้การด�ำเนินงานในส่วนของงานต่างๆ มีการประสานงาน การวางแผนเป็นส่วนทีท่ ำ� ให้ผทู้ ตี่ อ้ งด�ำเนินการผลิตได้รบั รูเ้ วลา ที่เขาต้องเริ่มปฏิบัติ เพราะในสายการผลิตส่วนมากจะมีสินค้า สิ่ ง พิ ม พ์ จ� ำ นวนมากหลายรายการอยู ่ ใ นส่ ว นของการผลิ ต พร้อมๆกัน ดังนั้นการวางแผนจะช่วยให้เกินการประสานงาน และท�ำให้งานราบรื่นได้ 3. เพื่อลดเวลาการผลิตให้กระชับและสั้นลง การวางแผนก็ เป็นการลดเวลาการท�ำงาน หรือเป็นส่วนเร่งงาน และกระชับงาน ให้พอเหมาะกับเวลา และทันเวลา 4. เพื่อลดต้นทุนการผลิตและใช้ของที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า การเสีย เวลาหรือรอเวลาถือว่าเป็นต้นทุนอย่างหนึ่งที่ท�ำให้สินค้ามี ต้นทุนเพิ่มได้ หากมีการวางแผนที่ดี เชื่อได้เลยว่าต้นทุนของ โรงพิมพ์เราจะมีประสิทธิภาพและลดต้นทุนได้อย่างแน่นอน 5. เพือ่ เป็นการบริหารวัสดุ และเครือ่ งมือทีใ่ ช้อยูใ่ ห้เกิดประโยชน์ สูงสุด วัดสุที่เราเตรียมพร้อม หรือแม้แต่เครื่องจักร หรือการ จัดจ้างภายนอกต้องมีการบริหารอย่างดี มีหลายโรงพิมพ์ทไี่ ม่มี การบริหารเวลาผลิต ไม่ได้มกี ารวางแผนการผลิต มีการถอดงาน เข้าออกโดยไม่มีแผนจะท�ำให้เกิดปัญหามากมายไม่ว่าจะเป็น กับความรู้สึกคนท�ำงานหรือแม้แต่ความสิ้นเปลืองวัสดุอีกด้วย
6. เพือ่ ให้การติดตามงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โรงพิมพ์จะ สามารถตรวจสอบงานในสายการผลิตได้งา่ ย เพราะจะทราบว่า ก�ำลังผลิตอะไรอยู่ ทีมวางแผนต้องติดตามงานเพือ่ น�ำไปปรับปรุง แผนสม�่ำเสมอ การวางแผนและควบคุมการผลิต มีความเกี่ยวข้องกับการ บริหารงานในโรงพิมพ์เป็นอย่างมาก เนื่องจากการผลิตเป็น หัวใจส�ำคัญในองค์กร การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร และวัสดุ ในการควบคุมการผลิตมีความซับซ้อน โดยสามารแบ่งเป็นหน้า ที่หลักๆ ในการวางแผนและควบคุมการผลิตได้ดังนี้ • การพยากรณ์ความต้องการ (Forecasting) • การวางแผนก�ำลังการผลิตระยะยาว (Long-term Planning) • การวางแผนความต้องการระยะสัน้ (Short-term Planning) • การควบคุมของคงคลัง (Inventory Control) • การก�ำหนดตารางการผลิต, การติดตาม, และการควบคุม (Shop scheduling, Monitoring, and Control) ในการผลิตของโรงพิมพ์สมัยใหม่ทไี่ ด้เปลีย่ นการบริการและการขาย กับลูกค้าของตนนั้นได้เปลี่ยนไปจากเดิมนอกจากที่เราจะต้อง ให้ความพึงพอใจด้านราคา คุณภาพ และเวลาแล้ว ปัจจุบันเรา ยังต้องค�ำนึงถึงการเพิ่มมูลค่าการบริการให้กับลูกค้าของเรา การพยากรณ์การเบิกใช้หรือการเรียกใช้ที่ลูกค้ามักจะคาดหวัง ให้เรานั้นเป็นผู้สต๊อกสินค้าก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ฝ่ายขายและลูกค้า ของเราคาดหวังให้ฝา่ ยการผลิตนัน้ พยากรณ์ คาดเดา เตรียมวัสดุ ส�ำหรับผลิตไว้ดว้ ย เพราะงานพิมพ์ทเี่ ป็นงานบรรจุภณ ั ฑ์กถ็ อื ว่า เป็ น ความต้ อ งการของตลาดที่ ดี ก ว่ า การพิ ม พ์ ห นั ง สื อ หรื อ นิตยสารซึ่งมีสิ่งทดแทนได้ง่ายกว่า โรงพิมพ์ที่มีเครื่องจักรการ ผลิตที่เป็นระบบอัตโนมัติ และลงทุนมหาศาลก็จะต้องค�ำนึงถึง เรื่องการวางแผนระยะยาวด้วย มีสิ่งพิมพ์ที่ผู้บริโภคต้องการใช้ เป็นจ�ำนวนมากทั้งการใช้ภายในประเทศและส่งออกต้องการ สินค้าจากเราจึงต้องมีการวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ควบคู่กันไปด้วยกัน การเตรียมวัสดุ การหาที่จัดเก็บก็เป็นสิ่งที่ ละเลยไม่ได้ ดังนัน้ ผูผ้ ลิตจึงต้องจัดท�ำและบริหารตารางการผลิต มีระบบติดตามและควบคุมดูแลด้านคุณภาพด้วย หลักการวางแผนการผลิต
1. ต้องระบุเป้าหมายของผลส�ำเร็จให้ชดั เจน การวางแผนการผลิต ของสิง่ พิมพ์นนั้ ถือว่าไม่งา่ ยเนือ่ งจากมีองค์ประกอบหลายอย่าง ที่อาจจะท�ำให้ไม่เป็นไปตามแผนที่คาดการไว้ได้ เช่น กระดาษ หมึกพิเศษ น�้ำมันอาบเงา คือวัสดุอาจจะไม่มีใช้ตามที่เราคาด การไว้ เช่นเดียวกันกับการจัดจ้างผลิตจากภายนอกเนื่องจาก ไม่มเี ครือ่ งจักรเอง ระยะเวลาเหล่านีอ้ าจจะคาดเคลือ่ นได้ตลอด เวลาจึงต้องมีการก�ำหนดให้ชดั เจน และควรจะมีแผนส�ำรองหาก สิ่งที่คาดหมายนั้นไม่ตรงตามความคาดหมาย www.thaiprint.org
54 KNOWLEDGE
2. ระบุและก�ำหนดหน่วยงานทีร่ บั ชิดชอบการจัดการตามทีม่ อบหมาย มีหลายโรงพิมพ์ทมี่ กั จะเจอกับความไม่เอาใจใส่และไม่รบั ผิดชอบ ของพนักงานบางฝ่าย เช่น โรงพิมพ์เร่งการผลิตทุกขัน้ ตอน จนงาน ส�ำเร็จ แต่มาพลาดกับบางแผนกเช่นแผนกจัดส่งสินค้ามีปัญหา ไม่สามารถส่งได้ตามก�ำหนดเวลา ท�ำให้สนิ ค้าไม่สามารถถึงตรง ตามเวลาทีต่ กลงไว้กบั ลูกค้า จะเห็นได้วา่ ทีมงานตัง้ แต่ตน้ จนถึง การจัดส่ง ต้องประสานงาน ประชุมหารือ และท�ำตามสิง่ ทีต่ วั เอง ได้รับมอบหมายอย่างเคร่งครัด
มาในวันที่ได้ตกลงกันไว้ สถานที่ท�ำงาน และเครื่องจักร ได้รับ การดูแลให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ป้องกันแนวโน้มที่จะเกิด การเสี ย เนื่ อ งจากระบบนี้ ไ ม่ ส ามารถที่ จ ะยอมให้ เ กิ ด การ ขัดจังหวะในการผลิตขึ้นได้ นอกจากนี้ระยะเวลาในการเตรียม การผลิต (Setup time) จะลดลง มีการอบรมพนักงานให้สามารถ ท�ำงานได้หลายๆอย่าง สนับสนุนการท�ำงานเป็นทีม เป็นต้น ต้นทุนการผลิต
3. มีนโยบายผลิตที่ชัดเจน บางโรงพิมพ์จะมีระบบการบริหาร จัดการที่เป็นรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการคิดระบบขึ้นเอง หรือ แม้แต่ระบบการจัดการที่มีใช้กันทั่วไป ในวิธีการเหล่านี่ส�ำคัญ มากคือผูบ้ ริหารต้องมีนโยบายระดับบริษทั และ นโยบายระดับ แผนกชัดเจน ก�ำหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ การท�ำงาน ขัน้ ตอน การปฏิบัติการ การทวนสอบ การตรวจสอบมาตรฐานและ คุณภาพ เหล่านี้เป็นเรื่องที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง
ต้นทุนการผลิต (cost of production) หมายถึงค่าใช้จ่ายหรือ รายจ่ายในปัจจัยการผลิตที่ใช้ในกระบวนการผลิต เนื่องจาก ปัจจัยการผลิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ปัจจัยคงที่ 2. ปัจจัยผันแปร
4. ผูม้ หี น้าทีจ่ ะต้องมีทกั ษะการแก้ปญั หาเฉพาะหน้า การคาดคะเน ปัญหาที่อาจจะเกิดขั้นล่วงหน้า และดีที่สุดคือคิดระบบการ ป้องกันก่อนที่จะมีเหตุ เรื่องนี้เป็นอีกเรื่องที่ไม่ง่ายส�ำหรับ ผู้บริหารเนื่องจากการสังเกตุ การวิเคราะห์มิใช่ว่าจะสามารถ เรียนกันได้ในชัน้ เรียน แต่ตอ้ งเกิดจากตัวบุคคลนัน้ ถึงแม้ระบบ จะช่วยป้องกันแล้ว แต่ทกุ สิง่ อาจจะเกิดขึน้ ได้เสมอโดยไม่เลือก เวลา ปัญหาไม่ว่าเรื่องวัสดุมีเพียงพอหรือไม่ คุณภาพสินค้า ไม่ตรงตามความต้องการ กระดาษมีปัญหา เครื่องจักรเสีย ขณะปฏิบัติงาน พนักงานไม่มาท�ำงาน เรื่องเช่นนี้เป็นหน้าที่ และทักษะการท�ำงานของผู้บริหารที่ต้องจัดการทั้งสิ้น
1. ต้นทุนคงที่ (fixed cost) หมายถึงค่าใช้จา่ ยหรือรายจ่ายใน การผลิตที่เกิดจากการใช้ปัจจัยคงที่ หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งได้ ว่าต้นทุนคงที่เป็นค่าใช้จ่ายหรือรายจ่ายที่ไม่ขึ้นอยู่กับปริมาณ ของผลผลิต กล่าวคือ ไม่ว่าจะผลิตปริมาณมาก ปริมาณน้อย หรือไม่ผลิตเลย ก็จะเสียค่าใช้จ่ายในจํานวนที่คงที่ ตัวอย่าง ของต้นทุนคงที่ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการลงทุนซื้อที่ดินค่าใช้จ่าย ในการก่อสร้างอาคารสํานักงานโรงงาน ฯลฯ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่าย ที่ตายตัวไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต
การวางแผนการผลิตแบบพอดีกบ ั เวลาและการใช้ (JIT : Just in Time)
หลักการและข้อดีทกี่ ารบริหารจัดการโดยการวางแผนและการ ควบคุมการผลิตแบบ Just in Time มีดังนี้ 1. แนวความคิดของระบบ JIT ไม่ได้มงุ่ เน้นแต่การส่งมองสินค้า แบบทันเวลาพอดีเท่านัน้ แต่ยงั มุง่ เน้นถึงการก�ำจัดความสูญเปล่า ต่ า งๆ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ของเสี ย เวลาสู ญ เปล่ า สิ น ค้ า คงคลั ง เครื่องจักรเสีย ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบถึงการลดระดับของ สินค้าคงคลังซึ่งท�ำให้การบริหารการด�ำเนินการ และช่วยให้ สามารถมองเห็นปัญหาของการด�ำเนินการ เพื่อที่จะท�ำการ แก้ไขได้ทันท่วงที 2. ระบบ JIT ท�ำให้ของคงคลังทีใ่ ช้ระหว่างการผลิตลดลงอย่างมาก ระบบการผลิตแบบนี้จะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อกระบวนการผลิตมี เสถียรภาพ วัสดุทุกๆรายการมีคุณภาพได้มาตรฐาน และถูกส่ง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ดังนัน้ ต้นทุนการผลิตซึง่ เป็นค่าใช้จา่ ยหรือรายจ่ายในปัจจัยการผลิต จึงแบ่งตามประเภทของปัจจัยการผลิต ออกเป็น 2ประเภทคือ
2. ต้นทุนผันแปร (variable cost) หมายถึงค่าใช้จ่ายหรือ รายจ่ายในการผลิตที่เกิดจากการใช้ปัจจัยผันแปร หรือกล่าว อีกอย่างหนึ่งได้ว่าต้นทุนผันแปรเป็นค่าใช้จ่ายหรือรายจ่ายที่ ขึน้ อยูก่ บั ปริมาณของผลผลิตกล่าวคือ ถ้าผลิตปริมาณมากก็จะ เสียต้นทุนมาก ถ้าผลิตปริมาณน้อยก็จะเสียต้นทุน น้อย และ จะไม่ต้องจ่ายเลยถ้าไม่มีการผลิต ตัวอย่างของต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยทีเ่ ป็นค่าแรงงาน ค่าวัตถุดบิ ค่าขนส่ง นาํ้ ประปา ค่าไฟฟ้า ฯลฯ งานบริหารการผลิต
การบริ ห ารการผลิ ต มี ห ลายด้ า นด้ ว ยกั น เช่ น ด้ า นคุ ณ ภาพ ด้านผลิตภาพ ด้านการควบคุมเวลาเวลา การผลิตตามปริมาณ และความยื ด หยุ ่ น ด้ า นปริ ม าณและด้ า นรู ป แบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ผู้บริหารการผลิตต้องดําเนินการตามหน้าที่ดังต่อไปนี้ 1. การวางแผนกําหนดกลยุทธ์การผลิต จะเป็นการกําหนด แผนงานกลยุทธ์ของแต่ละฝ่าย เพือ่ ใช้เป็นแนวทางสร้างวิธกี าร ปฏิบัติงานของกิจกรรมต่างๆ ในแต่ละฝ่าย
KNOWLEDGE 55
2. การบริหารและควบคุมคุณภาพ เป็นการจัดการให้ทุกส่วน ของระบบการผลิตมีมาตรฐาน โดยพยายามลดความผิดพลาด ต่างๆ ทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับปัจจัยนําเข้า (input) กระบวนการผลิต (transformation) และผลผลิต (output)
12. การจัดตารางการผลิต เป็นการจัดสรรในเรือ่ งของต้นทุนและ เวลาในการผลิต เพือ่ ใช้ได้อย่างคุม้ ค่าทีส่ ดุ ให้ทนั กับการส่งมอบงาน
3. การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละกระบวนการผลิ ต ให้ ทั น กั บ การเปลีย่ นแปลงของตลาด โดยอาจนาํ เอาเทคโนโลยีและวิธกี าร ที่ทันสมัย มาประยุกต์ใช้ในการดําเนินการผลิต
14. การบํารุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ ต้องมีการดูแลบํารุง รักษาเครื่องจักรตลอดระยะเวลาการใช้งานโดยต้องคํานึงถึง ต้นทุนการซ่อมและการบํารุงรักษาด้วย
4. การพยากรณ์การผลิต เป็นการคาดหมายความต้องการ (Demand) ในอนาคต เพื่ อ วางแผนเชิ ง ปริ ม าณ อาทิ เช่ น การวางแผนกําลังการผลิต การวางแผนกําลังคน เป็นต้น 5. การวางแผนกําลังการผลิต เป็นการกําหนดระดับของการ ลงทุนในเครื่องจักรอุปกรณ์ และการจัดการกําลังคน เพื่อให้ ปริมาณการผลิตเพียงพอกับความต้องการ 6. การวางแผนการผลิตรวม คือการจัดการน�ำสิ่งที่มีอยู่ไม่ว่า วัตถุดบิ เครือ่ งจักร บุคลากร การลงทุน มาวางแผนจัดการร่วมกัน เพื่อให้สิ่งที่มีอยู่สามารถใช้ได้อย่างพอดีมีประสิทธิภาพ 7. การบริหารสินค้าคงคลัง เป็นต้นทุนส่วนใหญ่ของการผลิต จึงต้องมีการจัดการให้ปริมาณของสินค้าคงคลังอยู่ในระดับ ที่เหมาะสม และเพียงพอที่จะบริการให้กับลูกค้า 8. การเลื อ กทํ า เลที่ ตั้ ง เป็ น การลงทุ น ระยะยาวที่ ต ้ อ งการ วางแผนอย่างดี เพราะอาจส่งผลไปยังต้นทุนของธุรกิจ ท�ำเลเป็น การตัดสินใจทีต่ อ้ งอาศัยวิสยั ทัศน์อย่างมากทีส่ ดุ เพราะถือว่าเป็น การลงทุนลงเงินจ�ำนวนมากและมีระยะการคืนทุนยาวนานทีส่ ดุ 9. การวางผังกระบวนการผลิต การวางลําดับของเครื่องจักร ตามประเภทของการผลิต มีผลต่อการไหลผ่านของงาน 10. การบริหารโครงการ เป็นการควบคุมโครงการให้เสร็จทันเวลา และเป็นการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ โรงพิมพ์ ใหญ่ๆ ที่มีงานปริมาณมากต่อเนื่อง การวางแผนงานที่มีระดับ และปริมาณมากทัง้ การลงทุน การจัดการเวลา ถือได้วา่ เป็นการ บริหารโครงการก็ว่าได้ ปัจจุบันมีหลักการบริหารและวิธีการ ที่นักคิดนักนักวิชาการได้คิดไว้และสามารถที่จะน�ำมาใช้ได้ 11. การบริหารแรงงานการผลิต เป็นการกาํ หนดวิธกี ารทํางาน แก่คนงานโดยคาํ นึงถึงปัจจัยทีม่ อี ยู่ และใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
13. การบริหารห่วงโซ่ของสินค้า เป็นการบริหารงานตัง้ แต่กระบวน การคัดสรรวัตถุดิบ จนถึงมือผู้รับโดยคํานึงถึงปัจจัยที่มีอยู่
รายงานของระบบการผลิต
โรงพิมพ์มีความจ�ำเป็นที่จะต้องมีระบบการรายงาน ดังนั้นผู้ เขียนจึงขอยกตัวอย่างประเภทรายงานการผลิต เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและเป็นการสนับสนุนการปฏิบัติงานและการ บริหารจัดการการผลิตดังนี้ • รายงานการผลิต เกีย่ วกับงานทีอ่ ยูใ่ นมือ และงานทีไ่ ด้ผลิตแล้ว • รายงานแผนการเบิกใช้วตั ถุดบิ ทีใ่ ช้ในแต่ละงาน รวมถึง อัตรา การสิ้นเปลืองและการสูญเสีย • รายงานแผนการผลิตรายสัปดาห์ สรุปเพือ่ ทราบความเคลือ่ นไหว • รายงานรายละเอียดการผลิต เพื่อประโยชน์ด้านการน�ำมา วิเคราะห์วิจัยปรับปรุง • รายงานเปรียบเทียบยอดเวลาที่ใช้จริงกับมาตรฐาน เพื่อหา ความเหมาะสมขอเวลาผลิต และเป็นแนวทางการท�ำงาน • รายงานการผลิตแยกตามแผนก ในฝ่ายผลิตของโรงพิมพ์จะมี หลายแผนก แต่ละแผนกต้องมีรายงานปฏิบตั งิ านเพือ่ ประโยชน์ การทวนสอบ • รายงานสรุปการใช้วัตถุดิบจริงเปรียบเทียบกับสูตรการผลิต เพื่อน�ำไปวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไข • รายงานสรุปต้นทุนการผลิตแยกตามเอกสารสั่งผลิต • รายงานเปรียบเทียบต้นทุนมาตรฐานและต้นทุนจริง ตามหลัก บัญชี เพื่อหาความสิ้นเปลืองที่ไม่ควรเกิด สรุปได้ว่าการผลิตนั้นเป็นหัวใจหลักของโรงพิมพ์ การวางแผน เป็นการส่งเสริมให้การผลิตนั้นมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้ประกอบการต้องเอาใจใส่ทุกขั้นตอนเพื่อให้การผลิ ต นั้ น สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ ผูเ้ ขียนหวังอย่าง ยิ่งว่าบทความที่น�ำมาเสนอนี้จะมีประโยชน์กับผู้อ่าน ... แล้วพบกันใหม่ในฉบับหน้าครับ...
ขอขอบคุณข้อมูลบางตอนจาก • การวางแผนการผลิตรวมแบบหลายวัตถุประสงค์ภายใต้ความต้องการเป็นช่วงและก�ำลังการผลิตทีไ่ ม่แน่นอน - นางสาวรติรส ยิ้มมี วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • การวางแผนการผลิต - อาจารย์จักรภพ ใหม่เสน ราชมงคลภาคพายัพ • การวางแผนและควบคุมการผลิต - รองศาสตราจารย์ ดร.วิมลิน สุขถมยา เครดิตภาพประกอบ https://photo-ac.com/
www.thaiprint.org
58-59 Ad Sriaksorn_pc4.indd 58
23/11/2561 1:31:38
58-59 Ad Sriaksorn_pc4.indd 59
23/11/2561 1:31:53
44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1
11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM
60
INTERVIEW
“ท�ำไมไม่กินข้าวหลามในตู้เย็น” ทีมชนะเลิศจากประกวด “คนรุ่นใหม่ ไร้ Food Waste”
บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด ร่วมกับ สาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมด�ำเนินโครงการการประกวดคลิปวิดีโอภายใต้หัวข้อ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” รวมถึงได้จัดงานประกาศ รางวัล เมื่อวันที่ 22 กุมภาพั นธ์ 2562 ที่ผ่านมา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
INTERVIEW
วารสาร Thai Print ฉบับนี้ จะน�ำท่านผู้อ่านมารู้จักทีมชนะเลิศ ที่ได้รับรางวัลมูลค่า 100,000 บาท จากการประกวดครั้งนี้ ทีม “ท�ำไมไม่กินข้าวหลามในตู้เย็น” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน จาก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชามีเดียอาตส์ เอกการออกแบบภาพยนตร์ โครงการ ร่ ว มบริ ห ารหลั ก สู ต รฯ (มี เ ดี ย ) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ รี เจนสิ นี จั น ทร (ไอซ์ ) , พลอยชนก บุญเติม (พลอย), ปณัสญา อธิคบัณฑิตกุล (เพลง), ธนัชพร อนุภาพประเสริฐ (ฮวกใช้), ปริญ อาภาศิลป์ (เชลล์)
แฟนของเพื่ อนโทรมาเหมือนจะ เถียงกัน บรรยากาศตอนเก็บ ของเลยตึงๆ จนเพื่ อนพู ดกับ แฟนว่า “แล้วท�ำไมเธอไม่กิน ข้าวหลามในตู้เย็นล่ะ” อยู่ๆ ทุกคนก็หันมามองหน้ากัน แล้วก็หัวเราะโดยพร้อมเพรียง แล้วเพื่ อนก็กลับห้องไปกิน ข้าวหลามในตู้เย็นค่ะ
61
ที่มาของชื่อทีม “ท�ำไมไม่กินข้าวหลามในตู้เย็น”
มาจาก ตอนที่ออกกองงานประกวดครั้งที่แล้ว ตอนเลิกกอง ก�ำลังเก็บของจะกลับบ้านแล้วแฟนของเพื่อนโทรมาเหมือนจะ เถียงกัน บรรยากาศตอนเก็บของเลยตึงๆ จนเพือ่ นพูดกับแฟนว่า “แล้วท�ำไมเธอไม่กนิ ข้าวหลามในตูเ้ ย็นล่ะ” อยูๆ่ ทุกคนก็หนั มา มองหน้ากันแล้วก็หวั เราะโดยพร้อมเพรียง แล้วเพือ่ นก็กลับห้อง ไปกินข้าวหลามในตูเ้ ย็นค่ะ หลังจากนัน้ ก็เปลีย่ นชือ่ กรุป๊ แชทเป็น ท�ำไมไม่กินข้าวหลามในตู้เย็น เป็นโมเม้นต์ที่ตราตรึงใจมากๆ เหตุผลที่เรียนสาขาวิชามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ธนัชพร: ตอนเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 คิดว่าโตไปอยากท�ำหนัง กับงานเบื้องหลัง แบบไปเป็นช่างภาพเบื้องหลัง Behind the scene เพราะรู้สึกว่ามันอิสระดี ปณัสญา: ช่วงมัธยมปลายได้ท�ำละครเวทีที่โรงเรียนแล้วติดใจ การท�ำงานเบื้องหลังมากๆ ตอนท�ำงานรู้สึกสนุก เลยคิดว่ามา ทางนี้อาจจะเหมาะกับเราค่ะ พลอยชนก: เลือกเรียนคณะนี้เพราะว่า ได้เรียนทั้งเรื่องของ การวาดรูป การดีไซน์ และการท�ำภาพยนตร์ เป็นสิง่ ทีเ่ ราชืน่ ชอบ ทั้ง 2 อย่าง พอเห็นว่าคณะนี้รวมสิ่งที่เราชอบไว้ด้วยกัน ก็เลย ตัดสินใจได้ทันทีว่าอยากจะเข้าคณะนี้ เอกภาพยนตร์ค่ะ เจนสินี: เหตุผลที่เลือกเรียนคณะนี้เพราะสนใจการท�ำหนัง จึงอยากศึกษาเรือ่ งการท�ำหนังโดยตรง แต่พอเข้ามาแล้วได้เรียนรู้ เรือ่ งการออกแบบเพิม่ เยอะมาก เข้าใจการท�ำหนังมากขึน้ และ ที่ส�ำคัญคือเรียนรู้แค่ในห้องไม่พอต้องออกไปหาประสบการณ์ จริงจากข้างนอกมหาลัยเพือ่ เพิม่ ความรูแ้ ละเทคนิคทีเ่ รายังไม่รู้ ปริญ: ชอบบรรยากาศที่บางขุนเทียน แล้วก็อยากเรียนด้าน ภาพยนตร์ก็เลยเรียนที่นี่ แรงจูงใจในการส่งงานประกวด
ธนัชพร: ให้เหตุผลว่า อยากลองท�ำงานส่งประกวดทิ้งท้าย ในปีสี่ดู อยากรู้ว่าตัวเองจะท�ำได้ขนาดไหน
"เรียนรู้แค่ในห้องไม่พอ ต้องออกไปหาประสบการณ์จริง จากข้างนอกมหาลัย เพื่ อเพิ่ ม ความรู้และเทคนิคที่เรายังไม่รู้" www.thaiprint.org
62
INTERVIEW
่ ามารถ เรามองเรื่องใกล้ๆ ตัวทีส เข้าถึงได้ง่ายอย่างเรื่องของ ความรักมาใช้ในการเล่าเรื่อง มองตามขอบเขตที่เรามีว่า สเกลนี้เราจะถ่ายได้จริงนะ มองงานนี้เป็นโฆษณาชิน ้ หนึ่ง ที่ต้องการข้อมูลที่ครบถ้วน และเข้าถึงง่ายค่ะ
หน้าที่ในการท�ำงาน
ส่วนมากจะแบ่งตามความถนัด คือโชคดีที่กลุ่มเรามีคนท�ำงาน ตามหน้าที่ได้พอดีๆ เวลาแบ่งงานจะไม่ยาก ธนัชพร: เขียนสคริปต์ + ก�ำกับ ปณัสญา: โปรดิวเซอร์ + กล้อง + ตัดต่อ + ท�ำสี ปริญ: ผู้ช่วยผู้ก�ำกับ เจนสินี: ฝ่ายศิลป์ + จัดการกอง พลอยชนก: ฝ่ายศิลป์ + จัดการกอง + SOUND อุปสรรค ปัญหา แนวทางในการแก้ไข
ธนัชพร: เวลาในการเล่าทีจ่ ำ� กัดกับข้อมูลทีต่ อ้ งใส่เข้าไปเยอะมาก เลยต้องท�ำข้อมูลให้กระชับกับเวลาสามนาทีแล้วก็ต้องท�ำให้ สนุกไปด้วยในเวลาเดียวกัน กับอุปกรณ์ในการท�ำงาน วันออกกอง คือแทบไม่มีอะไรเลยนอกจากอุปกรณ์ของทีมงานใช้กล้อง หนึ่งตัวกับ iPhone ไว้อัดเสียง แล้วก็ไฟดวงเท่าไฟฉาย ก็ใช้ เท่าที่มี มันก็ล�ำบากหน่อยแต่ผลก็ไม่ได้แย่นะเพราะทีมงาน ทุกคนช่วยกันมันก็เลยดี ปณัสญา: อุปกรณ์ทจี่ ะใช้ไม่เพียงพอค่ะ มีแค่ไฟดวงเล็กๆ จริงๆ เราคิดมาแล้วตั้งแต่ตอนคิดงานว่า จะใช้แค่โลเดียวนะ เพราะ ไม่มีงบ จะได้ประหยัด ไฟดวงเล็กที่ซ้ือเผื่อๆ ไว้ก็ได้ใช้งานจริง วิธีแก้ไข คือใช้ของที่มีอย่างจ�ำกัดให้เกิดประโยชน์ค่ะ ได้รับการแนะน�ำจากผู้เชี่ยวชาญอย่างไร
ธนัชพร: ได้รับค�ำแนะน�ำว่ามีโครงการนี้นะให้ไปลองท�ำส่งดู แต่ชนิ้ งานไม่ได้ปรึกษาใครเลยอาจารย์เห็นอีกทีคอื ท�ำเสร็จแล้ว ปณัสญา: ไม่ได้ค�ำแนะน�ำอะไรเป็นพิเศษค่ะ เห็นอะไรจากการได้ชมผลงานของทีมอื่น
ธนัชพร: ทุกทีมเก่งมาก ทุกคนมีไอเดียที่ดีมากในการน�ำเสนอ เรื่อง food waste ให้ออกมาในมุมอื่นๆที่แตกต่าง แนวคิดของผลงาน “ทิ้งกันไป ใครเจ็บสุด”
ปณัสญา: เรามองเรื่องใกล้ๆ ตัวที่สามารถเข้าถึงได้ง่ายอย่าง เรื่องของความรักมาใช้ในการเล่าเรื่อง มองตามขอบเขตที่เรามี ว่า สเกลนี้เราจะถ่ายได้จริงนะ มองงานนี้เป็นโฆษณาชิ้นหนึ่ง ที่ต้องการข้อมูลที่ครบถ้วนและเข้าถึงง่ายค่ะ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ปณัสญา: ตอนเห็นผลงานยอมรับว่าทุกคนเก่งมากๆ น้องทีม มัธยมก็เก่งมากๆ เหมือนกัน หลายๆ ทีมมีความโดดเด่นแตกต่างกัน บางทีมไอเดียเด่น บางทีมเอฟเฟคเด่น บางทีมโปรดักชั่นเด่น เราก็รสู้ กึ ว่า ถ้าบางทีเรามีอปุ กรณ์พร้อมๆ น่าจะดีเหมือนกันนะ บางทีไอเดียดีมันอาจจะเพียงพอ ถ้าวิชวลดูดีไปด้วยงานจะ ยิ่งดีขึ้นๆ ไปอีก
INTERVIEW
พลอยชนก: ทีมอืน่ ก็ทำ� ได้ดี มีดที งั้ โปรดักชัน่ ทัง้ บท หรือเทคนิค การเล่าต่างๆ ท�ำให้เกิดการแลกเปลีย่ นทางความคิดและเทคนิค บางอย่างจากการดูงานทีมอื่น เจนสินี: จากการที่ได้ชมผลงานของทีมอื่นในช่วงตอนประกาศ รางวัล คืองานของแต่ละทีมมีฝมี อื มาก ถึงได้ดแู ค่ทเี ซอร์ของหนัง เห็นภาพแล้วแบบกล้องเค้าดีมากค่ะ ภาพสวยมากจริง คุณภาพ ของภาพในหนังคือดีมากทั้งสองระดับเลยค่ะ พอดูผลงานของ ระดับมัธยมคืองานน้องดีเลยนะคะ บางทีมดีกว่าเราด้วยซ�ำ้ ตอนหนู อยู่มัธยมยังไม่ได้ขนาดนี้เลย น้องๆ เก่งจริง ส่วนของระดับ มหาวิทยาลัย หลายๆ ทีมดีเลยนะคะ การถ่ายก็ดีอีกเหมือนกัน เรื่องก็มีการเล่าที่ดีนะคะ ทุกทีมอาจจะมีพลาดบ้างจุดบ้างแต่ โดยรวมคือดีเลยค่ะ เพราะพวกหนูเองก็มจี ดุ ผิดพลาดเหมือนกัน ช่วงประกาศยังตืน่ เต้นเลยค่ะไม่คดิ ว่าทีมเราจะได้รางวัลนีเ้ พราะ ดูแล้วมีแต่งานดีๆ ทั้งนั้น ไอเดียกับอุปกรณ์ของเขาดีจริงๆ ค่ะ เชิญชวนรุ่นน้องที่สนใจเรียน หรือส่งผลงานเข้าร่วมประกวด
ธนัชพร: ถ้าน้องมัน่ ใจแล้วว่าชอบด้านนี้ ก็ลยุ ให้เต็มทีเ่ ลย สูๆ้ นะ
63
ปณัสญา: ท�ำในสิง่ ทีน่ อ้ งชอบให้เต็มที่ พยายามให้เต็มที่ แล้วจะ ท�ำได้นะ เจนสิน:ี ส�ำหรับน้องๆทีส่ นใจในการเรียนด้านนี้ งานด้านนีต้ อ้ ง ศึกษา ดูภาพยนตร์ให้มากๆ วิเคราะห์ในสิง่ ทีอ่ าจารย์สอน ลงมือ ท�ำจริง เจอปัญหาและแก้ไขต่างๆ ให้ไว โดยเฉพาะการแก้ปญ ั หา เฉพาะหน้าส�ำคัญมาก เพราะการท�ำงานจะมีการเปลี่ยนแปลง อยูบ่ อ่ ยครัง้ และอีกอย่างต้องเป็นคนช่างสังเกต เพราะการสังเกต สิง่ ต่างๆ ล้อมข้างจะท�ำให้เราเจอเรือ่ งทีอ่ ยากเล่า ความเป็นจริง ของคาแรคเตอร์แต่ละตัวละคร ที่เราจะเอามาใช้ในหนัง และ สุดท้ายจงออกไปหาประสบการณ์นอกห้องเรียนมันจะท�ำให้ เราเจอเทคนิคแนวคิด และการท�ำงานที่ยิ่งกว่าในห้องเรียน พลอยชนก: ในการเรียนด้านนี้ งานเยอะค่ะ ภาคปฏิบัติจะ ค่อนข้างเยอะกว่าทฤษฎี ฝากน้องๆ ว่า หากบริหารเวลา จัดสรรเวลา ได้เป็นอย่างดี งานก็จะออกมาดีเองค่ะ เราท�ำอะไรก็จะได้อย่างนัน้ ตัง้ ใจท�ำงาน ให้เวลากับมัน หรือแม้แต่ถา้ เผางาน ตัวเนือ้ งานมันจะ บอกเองค่ะ สุดท้ายอยากบอกน้องๆ ว่าศึกษางานข้างนอกเยอะๆ แต่ก็ไม่ควรทิ้งความรู้จากในต�ำรา ศึกษาควบคู่กันไป
ทีม ท�ำไมไม่กินข้าวหลามในตู้เย็น ชื่อผลงาน ทิง ้ กันไป ใครเจ็บสุด จาก มหาวิทยาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผลงานรางวัลชนะเลิศ ระดับอุดมศึกษา จาก โครงการการประกวดคลิปวิดีโอ ภายใต้หัวข้อ "คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste"
สแกนเพื่ อดูวด ิ โี อ
www.thaiprint.org
64
INTERVIEW
ศิรสิทธิ์ หอวิจิตร
บริษัท ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด
“การท�ำงานไม่จ�ำเป็น ต้องอยู่แต่ในออฟฟิศ การได้ออกไปเจอลูกค้า หรือแม้แต่การได้เจอกับ กลุ่ม Young Printer ถือว่าเป็นการเพิ่ มมูลค่า ให้กับตัวเรา”
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
INTERVIEW
ศิรสิทธิ์ หอวิจิตร หรือ เบนซ์ เป็นบุตรชายคนโตจากพี่น้อง ทั้งหมด 2 คน ของคุณทรงสิทธิ์ หอวิจิตร แห่งบริษัท ไซเบอร์ เอสเอ็ม (ไทย) จ�ำกัด ซึ่งก่อตั้งขึ้นในปี 2014 จากการรวมกัน ของ บริ ษั ท CYBER GRAPHIC (2000) และ บริ ษั ท SM GRAPHICS CENTER ซึง่ ทัง้ 2 บริษทั ต่างก็เป็นผูแ้ ทนจ�ำหน่ายทีม่ ี ประสบการณ์ในวงการพิมพ์มากกว่า 41 ปีและ 25 ปีตามล�ำดับ โดยในขณะนีเ้ ครือบริษทั CYBER เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเครือ่ งจักร และอุปกรณ์ทางการพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชีย โดยมีสาขา ครอบคลุมทั้งไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย เวียดนาม และประเทศอื่นๆ ทั่วเอเชีย นอกจากนี้ เครือบริษัท CYBER ยังมีโชว์รูมเป็นของตัวเองถึง 4 แห่งใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คือที่ สิงคโปร์ กัวลาลัมเปอร์ (มาเลเซีย) ซีนาย (มาเลเซีย) และกรุงเทพมหานคร เพื่อสนับสนุนลูกค้า ทั้งการทดลองงานพิมพ์ การฝึกสอนพนักงาน และการบริการ หลังการขาย ธุรกิจอีกด้านของครอบครัวคือ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่คุณแม่และน้องชายช่วยกันดูแล ในช่วงประถมจบการศึกษาจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน และ ศึกษาต่อชัน้ มัธยมภาคภาษาอังกฤษของกรุงเทพคริสเตียน ก่อน จะย้ายไปอยู่กับคุณป้าที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 ปี และกลับ มาเรียนต่อที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาจนจบชั้นมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา จากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบได้เข้าท�ำงานที่ KPMG Thailand ต�ำแหน่ง Auditor หรือตรวจสอบบัญชี อยู่เกือบ 2 ปี จึงได้เดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศอังกฤษ ในระดับปริญญาโทสาขา International Business เนื่องจาก ธุรกิจของที่บ้านมีการติดต่อกับต่างประเทศเป็นจ�ำนวนมาก
65
จุดเริ่มต้นของการท�ำงาน และหน้าที่รับผิดชอบ
เริ่มต้นด้วยการฝึกงานตั้งแต่สมัยเรียนบัญชีจุฬา ในหน้าที่ของ การท�ำบัญชีเนื่องจากเราเรียนด้านนี้มา แต่หลังจากที่ออกจาก KPMG ก่อนไปเรียนต่างประเทศรับหน้าที่แผนกขาย พบปะ ลูกค้า ส่วนปัจจุบันนี้ด�ำรงต�ำแหน่ง Assistant ให้กับ MD แนวคิด หรือคติในการท�ำงาน
ไม่ท�ำงานแบบดะไปเรื่อย ใช้คนท�ำงานให้น้อยที่สุด เน้นการ วางแผนให้มาก การท�ำงานไม่จ�ำเป็นต้องอยู่แต่ในออฟฟิศ การได้ออกไปเจอลูกค้าหรือแม้แต่การได้เจอกับกลุ่ม Young Printer ถือว่าเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับตัวเรา มีคนรู้จัก มีเพื่อน มี Connection และมีสงิ่ หนึง่ ทีไ่ ด้รบั ค�ำแนะน�ำและแบบอย่างทีด่ ี มาจากคุณพ่อทรงสิทธิ์ หอวิจติ ร คือ ความเชือ่ ถือได้ บริษทั ของ เราเป็น Distributor เป็นตัวแทนให้กบั ต่างประเทศ ความเชือ่ ถือ ของลูกค้าเป็นสิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ หากไม่รกั ษาไว้ ไม่วา่ จะเป็นแบรนด์ หรือสิง่ ทีเ่ ราสร้างมาก็สามารถพังลงไปได้งา่ ยๆ และหากพังลงไป แล้วก็ยากทีจ่ ะกูค้ นื กลับมา เช่น ความตรงต่อเวลาทีจ่ ำ� เป็นต้อง เน้นเป็นอย่างมาก การไปตรงเวลาเป๊ะก็เรียกได้ว่าสายแล้ว ควรที่จะไปก่อนเวลา 5 หรือ 10 นาที ไม่ควรให้ลูกค้ามารอ ส่วนในด้านบริการหลังการขาย พยายามที่จะไม่เป็นเพียงแค่ คนขายของ แต่จะเป็น Partnership กับลูกค้าในระยะยาว เป็น Long term relationship กัน สิ่งนี้คือสิ่งที่คุณพ่อปลูกฝัง ไม่ใช่เพียงแค่กับลูกๆ เท่านั้นแต่รวมถึงทุกคนในบริษัท สิง่ ทีย่ ดึ ถือเป็นคติในการท�ำงานอยูใ่ นตอนนี้ หลังจากทีไ่ ด้คยุ กับ ลูกค้ามาคือ “ทีพ่ ดู กันว่าไม่มเี วลา มันไม่มหี รอก มันขึน้ อยูก่ บั ว่าจะบริหารเวลายังไงมากกว่า” www.thaiprint.org
66
INTERVIEW
“ที่พูดกันว่าไม่มีเวลา มันไม่มีหรอก มันขึ้น อยู่กับว่าจะบริหาร เวลายังไงมากกว่า”
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน
ปัญหาใหญ่สุดที่เจอคือ ทะเลาะกับคุณพ่อ ทะเลาะกันทุกวัน น่าจะเป็นกันเกือบทุกบริษทั ในกลุม่ Young Printer หลายๆ คน ก็เจอกับปัญหานี้เช่นกัน การเปลี่ยนถ่าย อีกคนคิดแผน อีกคน ท�ำงานซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ แต่คนตัดสินใจและมีอ�ำนาจสูงสุด เป็นผู้ใหญ่ บางครั้งท�ำให้รู้สึกว่าเกิดความล่าช้า และเกิดเป็น ความเห็นไม่ตรงกัน ส่งผลให้ทะเลาะกันบ่อยๆ แต่หลังจากจบ งานก็ยังไปทานข้าวหรือพูดคุยกันได้ตามปกติ จะมีปัญหากัน เพียงแค่ในเรื่องของการท�ำงานเท่านั้น เป้าหมายการท�ำงานในปัจจุบัน
เป้าหมายในชีวติ ตอนนี้ ให้ความส�ำคัญกับบริษทั ทัง้ บริษทั และ ตัวผมเองมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ต้องการเป็นมากกว่า Distributor เราอยากเป็นพาร์ทเนอร์ เป็น Business Consultant ให้กับ ลูกค้า ขณะนี้มีการพัฒนาในกลุ่มประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และเวียดนาม) ขยายฐานไปยังประเทศเพื่อนบ้าน มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย
ถ้ามองจากมุมของคนนอกอุตสาหกรรมการพิมพ์ เช่น ธนาคาร หรือเครดิต อาจจะมองว่าตอนนี้อยู่ในระดับที่เรียกว่าแย่มาก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
แต่ในความเป็นจริงแล้วอุตสาหกรรมการพิมพ์มีหลายแขนง ถ้าแยกตามประเภทสินค้าก็จะเป็น Packaging, Commercial หรือ Digital Print ที่จะมีความแตกต่างกันในแต่ละธุรกิจ หรือแม้แต่หนังสือพิมพ์ ในส่วนของ Packaging ยังคงเติบโต อย่ า งต่ อ เนื่ อ งและมี คุ ณ ภาพดี ซึ่ ง ดู ไ ด้ จ ากการที่ ส มาคม การพิมพ์ไทยได้น�ำผลการด้าน Packaging ส่งเข้าประกวดงาน Asian Packaging Awards ซึ่ ง แน่ น อนว่ า ประเทศไทย แข่งกับเจ้าภาพประเทศอินเดียได้ ได้รับรางวัล Best of the Best ซึ่งเป็นหลักฐานชี้ชัดว่า อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ของ ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งมาก ไม่เพียงแค่ในระดับ AEC เท่านั้น แต่สามารถเทียบในระดับเอเชียได้เลย แข่งกับจีน หรือ แม้แต่ญี่ปุ่นก็มีคุณภาพในระดับเทียบเท่า ปัญหาที่โรงพิมพ์ ประสบอยู่ในขณะนี้คือเรื่อง Sustainability แต่ถ้าสามารถ ข้ามจุดนีไ้ ปได้ มาตรฐานโรงงานดีพอก็จะสามารถแข่งกับระดับ โลกได้ ในด้านของ Commercial อยู่ในระดับลดลง ผมมองว่า โรงพิมพ์ที่มีขนาดกลางจะต้องถีบตัวเองขึ้นไปให้มีขนาดใหญ่ เพื่อที่จะอยู่รอด ส่วนโรงพิมพ์ขนาดเล็กก็จะค่อยๆ ลดจนเรียก ได้วา่ สูญหายไปเลย ในบ้านเราอาจจะไม่นยิ มนัก แต่ในเรือ่ งของ Web to print หรือ Internet Print ได้รบั ความนิยมเป็นอย่างมาก ในต่างประเทศ
INTERVIEW เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร
ได้รบั การแนะน�ำจากกร (ประธาน YPG) และพีเ่ บนซ์ บีบกี ารพิมพ์ ให้เข้าร่วมกลุม่ Young Printer เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ อยูพ่ กั ใหญ่ จนกระทั่งมีความสนใจจริงจัง ได้เจอเพื่อนอีกรุ่นหนึ่ง และรุ่น ใกล้ๆ กัน ท�ำให้มีความรู้สึกว่า ดีเหมือนกันและอุตสาหกรรม นี้ค่อนข้างแน่นแฟ้น ตั้งแต่รุ่นผู้ใหญ่ Generation แรกที่มี ความสนิทสนมกันค่อนข้างมาก เป็นทั้งคู่แข่งและคู่ค้ากัน และพยายามที่จะสร้างสังคมให้กับรุ่นใหม่ พอเห็นตรงนี้แล้ว รู้สึกอยากจะเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งกลุ่ม
67
ปัญหาที่โรงพิ มพ์ ประสบอยู่ใน ขณะนี้คือเรื่อง Sustainability แต่ถ้าสามารถข้ามจุดนี้ไปได้ มาตรฐานโรงงานดีพอก็จะ สามารถแข่งกับระดับโลกได้
หน้าที่และบทบาทในกลุ่ม Young Printer
ต�ำแหน่งที่ได้รับ คือ ต�ำแหน่งประชาสัมพันธ์ แต่การท�ำงาน จริงๆ ของ Young Printer ในสมัยนี้ไม่ได้มีการแบ่งต�ำแหน่ง แต่ละคนก็จะท�ำหลายอย่าง ถ้าจะแบ่งอาจจะเป็นโครงการ มากกว่า สมมติว่าปีนี้มี 3-4 โครงการ เราก็จะหยิบขึ้นมาว่า โครงการนีใ้ ห้คนนีด้ ำ� เนินการเนือ่ งจากทุกคนมีศกั ยภาพเพียงพอ ที่จะด�ำเนินโครงการต่างๆ ให้ส�ำเร็จลุล่วงไปได้ ไม่จ�ำเป็นที่จะ ต้องเน้นแค่ว่าคนนี้ท�ำหน้าที่ประชาสัมพันธ์เพียงอย่างเดียว หรือสวัสดิการเพียงอย่างเดียว ในแต่ละโครงการเราขาดอะไร ใครรู้จัก ใครเคยติดต่อก็สามารถมาแชร์ข้อมูลกัน สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม Young Printer
สิ่งที่ดีที่สุดก็คือ “เพื่อน” ส�ำหรับตัวผมยังมีได้ออกไปพบลูกค้า บ้าง แต่ส�ำหรับคนที่ท�ำธุรกิจ Printing House โดยตรง โอกาส ที่จะได้เจอคนก็ค่อนข้างน้อย เพราะอยู่ในโรงงานอย่างเดียว แต่การได้เข้าร่วมกลุม่ Young Printer ท�ำให้ได้พบปะกับเพือ่ นๆ ที่ท�ำธุรกิจเดียวกัน ได้แชร์ความรู้ ได้ความคิดใหม่ๆ อย่างที่ เคยได้บอกไปว่า คนหนึ่งคิด คนหนึ่งท�ำ อีกคนหนึ่งเป็นคน อนุมัติซึ่งเป็นคนรุ่นเก่า แต่การได้เจอกับคนรุ่นใหม่ รุ่นเดียวกัน ช่วยสร้างความมั่นใจ เป็น Success case ให้ผู้ใหญ่ได้ดูด้วย ได้คุยภาษาเดียวกันที่บางทีในบริษัทมักจะมีความเห็นต่างกัน และทีเ่ ห็นชัดเจนจากการได้คยุ กับเพือ่ นๆ กลุม่ Young Printer คือ เรื่องการใช้ Software บริหารจัดการภายในโรงงานหรือ ภายในออฟฟิศ ซึง่ ไปถามทางผูใ้ หญ่หลายๆ คนอาจจะไม่เข้าใจ แต่มาคุยกับคนในรุน่ เดียวกันมีความเห็นตรงกันว่า สามารถลด ค่าใช้จา่ ยในหลายๆ ด้านลงได้ และจะน�ำเสนออย่างไรให้ผใู้ หญ่ เห็นชอบด้วย เพราะทางผู้ใหญ่มักจะมองค่า ROI หรือ Return on Investment ก็คือ ผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นหลัก ไม่ ไ ด้ ม องถึ ง ความรวดเร็ ว ที่ ม ากขึ้ น สรุ ป ประโยชน์ ไ ด้ จ าก การเข้าร่วมกลุ่มนี้คือ การได้เจอเพื่อนที่พูดภาษาเดียวกัน และมีความรู้มาแบ่งปันกัน www.thaiprint.org
68 INDUSTRIAL
ส่อง 3 เมกะเทรนด์โลก ่ นไหวอุตฯ การพิ มพ์ กับความเคลือ ที่ยังไม่ตาย แต่ปรับตัวรับดีมานด์ ตลาด “แพคเกจจิ้ง”
สมาคมการพิ มพ์ ไทย - สมาคมการบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทย ร่ ว มกั บ เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย เตรียมจัด “แพ็ ค พริ้นท์อินเตอร์เนชั่นแนล 2019” มหกรรมรวมเทคโนโลยีจากทัว ่ โลก หวังช่วยยกระดับสินค้าอุตสาหกรรม “พริน ้ ติง ้ - แพคเกจจิง ้ ” ไทย แข่งขันได้ในตลาดโลก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
INDUSTRIAL 69
จริงหรือ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ก�ำลังจะตาย...? ขณะทีย่ คุ สมัยเปลีย่ นผ่าน พร้อมกับเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ก้าวเข้ามา มีบทบาทต่อไลฟ์สไตล์การด�ำเนินชีวิต สิ่งหนึ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ นั่นคือ การชะลอตัวของสิ่งพิมพ์ แม้สถานการณ์ดังกล่าวจะ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการพิมพ์ทั่วโลก แต่ภาพรวม อุตสาหกรรมการพิมพ์ ยังมีแนวโน้มเติบโตแข็งแกร่งต่อเนื่อง โดยมีปจั จัยมาจากการเปลีย่ นแปลงการใช้งานเทคโนโลยีการพิมพ์ จากการผลิตหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร ไปสูอ่ ตุ สาหกรรมการผลิต รูปแบบใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ ผลิตภัณฑ์บรรจุภณ ั ฑ์ และยังมองเห็นการปรับตัวเชิงบวกส�ำหรับผู้ที่อยู่ในห่วงโซ่ วงการอุตสาหกรรมจากทั่วโลก
นางสาวเบียทริซ เจ โฮ ผู้อำ� นวยการโครงการ “แพ็ ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2019”
นางสาวเบียทริซ เจ โฮ ผู้อ�ำนวยการโครงการ “แพ็ค พริ้นท์ อินเตอร์เนชั่นแนล 2019” โดย เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย (เอ็มดีเอ) กล่าวว่า อุตสาหกรรมการพิมพ์ยังไม่ตาย และยังคง สร้างมูลค่าได้อย่างมหาศาล แม้จะได้รบั ผลกระทบจากการชะลอ ตัวของธุรกิจสิ่งพิมพ์อย่างหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร แต่เมื่อ พิจารณาห่วงโซ่การผลิตของอุตสาหกรรมแล้ว กลับเปลีย่ นผ่าน การใช้งานไปสู่อุตสาหกรรมอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะ อุตสาหกรรมหลักอย่าง บรรจุภัณฑ์ ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยี การพิมพ์เข้ามาเกีย่ วข้องตลอดวงจรการผลิต ซึง่ ในระดับมหภาค ทัว่ โลกแล้ว ยังพบ 3 ปัจจัยสนับสนุน ทีจ่ ะส่งผลให้อตุ สาหกรรม การพิมพ์เองยังคงสดใส และสนับสนุนให้มกี ารเติบโตในระยะยาว ได้แก่
" อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ยังไม่ตาย และยังคงสร้างมูลค่าได้อย่าง มหาศาล แม้จะได้รับผลกระทบ จากการชะลอตัวของธุรกิจ สิ่งพิ มพ์ อย่างหนังสือพิ มพ์ และ นิตยสาร แต่เมื่อพิ จารณาห่วงโซ่ การผลิตของอุตสาหกรรมแล้ว กลับเปลี่ยนผ่านการใช้งานไปสู่ ่ ๆ อย่างต่อเนือ ่ ง อุตสาหกรรมอืน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมหลัก อย่าง บรรจุภัณฑ์ " www.thaiprint.org
70 INDUSTRIAL 1. ดิจิทัลแพคเกจจิง ้ กับโอกาสเติบโต ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์
ดิ จิ ทั ล ดิ ส รั ป ชั่ น มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ ทุ ก อุ ต สาหกรรม ซึ่ ง รวมถึ ง อุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ ปัจจุบนั กระแสดิจทิ ลั แพคเกจจิง้ เป็นทีต่ อ้ งการใช้งานในตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ทวั่ โลก การจะ ได้มาซึง่ การผลิตดังกล่าว เทคโนโลยีการพิมพ์ทมี่ ศี กั ยภาพจึงเป็น หัวใจส�ำคัญ โดยจากรายงานบทวิเคราะห์แนวโน้มการพิมพ์ดจิ ทิ ลั ส�ำหรับบรรจุภณ ั ฑ์ ของสมิธเธอร์ส ไพร่า (Smithers Pira) พบว่า ตลาดบรรจุภณ ั ฑ์ดจิ ทิ ลั ก�ำลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยคาดการณ์ อัตราการเติบโตเพิ่มขึ้น 13% ต่อปี หรือจะมีมูลค่าสูงราว 7.01 แสนล้านบาทไทย (2.2 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ) ภายในปี 2565 โดยกลุ ่ ม วั ส ดุ ที่ มี แ นวโน้ ม เติ บ โตสู ง ได้ แ ก่ กระดาษลู ก ฟู ก บรรจุภณ ั ฑ์อ่อนตัว บรรจุภัณฑ์แบบไดเรค ทู เชป (Direct-toshape) และบรรจุภัณฑ์โลหะ สะท้อนโอกาสการเติบโตของ อุตสาหกรรมต้นน�้ำอย่างอุตฯ การพิมพ์ ผ่านการใช้เทคโนโลยี สมัยใหม่
2. การลงทุนเทคโนโลยีการพิ มพ์ เพื่ อการผลิต
รายงานสถานการณ์การลงทุนเทคโนโลยีการพิมพ์ จากงาน ดรู ป ้ า (Drupa) มหกรรมเทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ ร ะดั บ โลก เมื่ อ เดื อ นเมษายนที่ ผ ่ า นมา พบว่ า โรงงานผู ้ ผ ลิ ต ทั่ ว โลก ให้ความส�ำคัญกับการลงทุนเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงดีมานด์ของตลาดการใช้งาน และเพื่อสร้าง ศักยภาพในการผลิตรูปแบบใหม่ๆ ทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ในปี 2562 อาทิ การพิมพ์บรรจุภัณฑ์ (เครื่องพิมพ์ออฟเซ็ทชนิดป้อนแผ่น 27% THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
และเครื่ อ งพิ ม พ์ เ ฟล็ ก โซ 25%) การพิ ม พ์ เ พื่ อ การโฆษณา (เครื่องพิมพ์พร้อมตัดดิจิทัลโทนเนอร์ 29% และเครื่องพิมพ์ อิงค์เจ็ทหน้ากว้างชนิดพร้อมตัวตัดและม้วน 19%) และการพิมพ์ เฉพาะทาง (เครื่องพิมพ์พร้อมตัดดิจิทัลโทนเนอร์ 27% และ เครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ทหน้ากว้างชนิดพร้อมตัวตัดและม้วน 23%) ซึ่ ง นั บ ว่ า เป็ น สั ญ ญาณการลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ที่ยังคงสดใส และไม่หยุดนิ่ง
INDUSTRIAL
71
3. เทรนด์สร้างมูลค่าเพิ่ มด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม
ความต้องการใช้งานบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับกลุ่มผู้บริโภคมีความ หลากหลายมากขึ้ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ หรื อ ฉลากที่ สวยงาม แปลกใหม่ ใช้งานง่าย ทนทาน ฯลฯ นวัตกรรม และ โซลูชันในการพิมพ์และการบรรจุภัณฑ์จึงเป็นอีกหนึ่งปัจจัย ทีโ่ รงงานผูป้ ระกอบการยังคงให้ความส�ำคัญ เพือ่ ตอบโจทย์ตลาด มากยิง่ ขึน้ ทัง้ ระยะเวลาการผลิตไวขึน้ มีคณ ุ ภาพมากขึน้ รวมถึง กระบวนการผลิตแบบใหม่ๆ ทีส่ ามารถเข้าถึงได้ โดยช่วงทีผ่ า่ นมา พบว่า การพิมพ์แบบดิจิทัล ได้รับการประยุกต์ใช้ในการพิมพ์ ตราฉลากมากขึน้ ถึงร้อยละ 11.9 ในปี 2560 ตลอดจนการพิมพ์ รูปแบบอื่นๆ ที่ได้รับการน�ำเข้ามาใช้เพื่อการผลิตยุคใหม่ พฤติกรรมการใช้จ่ายออนไลน์ ยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ท�ำให้ อุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ยงั คงเติบโต โดยไม่วา่ จะเป็นสินค้าประเภทอาหาร และเครื่องดื่ม ไปจนถึงผลิตภัณฑ์ ใช้งานในชีวติ ประจ�ำวัน ทีผ่ บู้ ริโภคต้องได้รบั การส่งถึงหน้าประตู บ้านนั้น ล้วนต้องการใช้แพคเกจจิ้งทั้งสิ้น ทั้งนี้ ภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิกในปัจจุบัน นับว่าเป็นตลาดการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่ใหญ่ ที่สุด โดยมีสัดส่วนรายได้สูงถึง 42% และคาดว่าจะมีความ ต้องการใช้บรรจุภณ ั ฑ์สงู ถึง 40% ในปี 2565 ขณะทีข่ อ้ มูลล่าสุด จากสมาคมการพิมพ์ไทย และสมาคมการบรรจุภัณฑ์ พบว่า มูลค่าอุตสาหกรรมการพิมพ์และการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ปี 2561 มีมลู ค่าร่วม 3 แสนล้านบาท โดยคิดเป็นอุตสาหกรรมการพิมพ์ 1.2 แสนล้านบาท การบรรจุภัณฑ์ 1.8 แสนล้านบาท และ มีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 ในตลาดการพิมพ์ และ ร้อยละ 10 – 20 ในตลาดบรรจุภัณฑ์ อย่างไรก็ดี นวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่ จะเป็นสิง่ ท้าทาย หนึ่ ง ที่ ส ร้ า งการแข่ ง ขั น ให้ กั บ อุ ต สาหกรรมในประเทศไทย เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย จึงร่วมกันกับสมาคมการพิมพ์ไทย และสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย เตรียมจัดงาน “แพ็ค พริ้นท์ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล 2019” มหกรรมจั ด แสดงเทคโนโลยี ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ที่รวบรวมสินค้า จากกว่ า 300 องค์ ก ร 25 ประเทศชั้ น น� ำ ทั่ ว โลก เพื่ อ เร่ ง การเข้าถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีข้ันสูงที่ประเทศไทยก�ำลัง มองหา พร้อมจุดเด่นของงานอย่างบริการให้ค�ำปรึกษา และ จั บ คู ่ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง จะช่ ว ยสร้ า งข้ อ ได้ เ ปรี ย บให้ กั บ ผู้ประกอบการรายย่อย และอุตสาหกรรมไทยให้เท่าทันโลก สร้างผลลัพธ์การผลิตที่น่าดึงดูด ประหยัดต้นทุน สร้างความ ยัง่ ยืนในตลาดโลก ทีม่ กี ารแข่งขันในระดับสูงยิง่ ขึน้ คุณเบียทริซ กล่าวสรุป
พฤติกรรมการใช้จ่ายออนไลน์ ยังเป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ท�ำให้ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ และ การบรรจุภัณฑ์ยังคงเติบโต โดยไม่ว่าจะเป็นสินค้าประเภท อาหาร และเครื่องดื่ม ไปจนถึง ผลิตภัณฑ์ใช้งานในชีวิตประจ�ำวัน ที่ผู้บริโภคต้องได้รับการส่งถึง หน้าประตูบ้านนั้น ล้วนต้องการ ใช้แพคเกจจิ้งทั้งสิ้น ้ “แพ็ ค พริ้นท์อินเตอร์เนชั่นแนล 2019” มีกำ� หนดจัดขึน ระหว่าง 18 - 21 กันยายน 2562 ณ ศูนย์นท ิ รรศการและ การประชุมไบเทค บางนา ติดตามรายละเอียดเพิ่ มเติมได้ท่ี
www.pack-print.de
PackPrintInternational www.thaiprint.org
72
NEWS
YPG เยี่ยมชมธนาคารแห่ง ประเทศไทย และบางเลนเปเปอร์มล ิ ล์
วันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2562 สมาคมการ พิมพ์ไทย ร่วมกับ Young Printer Group (YPG) จัดกิจกรรมเยีย่ มชมสายออกบัตร ธนาคาร ธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมี คุณสุรพันธ์ ศรีเมฆ บรรยายให้ความรู้ เรือ่ งธนบัตรและประวัตคิ วามเป็นมาของ ธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งก่อตั้งครบ รอบ 50 ปี ในวันที่ 24 มิถุนายน 2562 รวมไปถึงหน้าทีข่ องสายออกบัตรธนาคาร ซึ่งท�ำหน้าทีค่ วบคุมดูแล รวมทัง้ ก�ำหนด ระเบียบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารงาน นอกจากนี้ยังได้เยี่ยมชม “นิทรรศการ กิ จ การธนบั ต ร” รั บ ชมขั้ น ตอนการ ผลิตธนบัตร เริ่มจากการออกแบบลาย แกะลาย โดยช่างผูช้ ำ� นาญงาน, โทษของ การปลอมแปลงธนบัตร, การแลกเปลีย่ น ธนบัตรทีช่ ำ� รุด และทราบระบบการกระจาย ธนบัตรไปยังสายออกธนบัตร 10 แห่ง ทั่วประเทศ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS
หลังจากนั้นในช่วงบ่ายเดินทางเข้าเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท บางเลนเปเปอร์ มิ ล ล์ จ� ำ กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ที่ เ ป็ น ผู ้ ผ ลิ ต “กระดาษแข็งเพื่องานพิมพ์” และ“ผลิตภัณฑ์เยื่อกระดาษ ขึ้นรูป” ได้รับการรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO9001 และระบบจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001 รับฟังพรีเซนเตชั่น แนะน�ำบริษทั ความรูแ้ ละขัน้ ตอนต่างๆ เกีย่ วกับการผลิตกระดาษ การควบคุมคุณภาพ รวมไปถึงการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม ระบบ การบ�ำบัดน�้ำเสีย การน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่เพื่อลดค่าใช้จ่าย อย่างยัง่ ยืน ทัง้ ยังยินดีตอบทุกข้อซักถามให้สมาชิก YPG ก่อนน�ำ สมาชิกทุกท่านเข้าชมไลน์การผลิตที่มีก�ำลังการผลิตมากกว่า 50,000 ตันต่อเดือน
www.thaiprint.org
73
74
NEWS
เข้าเส้น - ชัย The Finisher Thesis Exhibition
พิ ธีเปิดงานนิทรรศการแสดงผลงานปริญญานิพนธ์ นักศึกษาหลักสูตรมีเดียอาตส์ และหลักสูตรมีเดียทางการแพทย์ และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
สาขาวิชามีเดียอาตส์ โครงการร่วมบริหารหลักสูตรฯ (มีเดีย) จัดพิธเี ปิดงานนิทรรศการแสดงผลงานปริญญานิพนธ์ นักศึกษา หลั ก สู ต รมี เ ดี ย อาตส์ และหลั ก สู ต รมี เ ดี ย ทางการแพทย์ และวิทยาศาสตร์ “เข้าเส้น - ชัย The Finisher Thesis Exhibition” อ.ชูเกียรติ อ่อนชื่น ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ งานนิทรรศการฯ กล่าวรายงาน ผศ.บุญเลี้ยง แก้วน�ำพันธ์ ประธานหลักสูตรมีเดียอาตส์ กล่าวต้อนรับ และ ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร ที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กล่าวเปิดนิทรรศการ ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 21 – 23 มิถุนายน 2562 ณ ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ร่วมงานได้เยี่ยมชมผลงาน แลกเปลีย่ น เรี ย นรู ้ ถึ ง การน� ำ เสนอผลงานทางด้ า นศิ ล ปะ การแพทย์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่เป็นประโยชน์ในเชิงธุรกิจและ การพัฒนาประเทศ
เปิดตัวกองทัพด้วย ผูแ้ ข่งขันหมายเลขที่ 1: กองทัพ “GRAPHIC DESIGN” เหล่ากองทัพกราฟิกดีไซน์เนอร์ ที่สามารถออกแบบ เส้นชัยสุดครีเอทีฟ และพร้อมที่จะวิ่ง “เข้าเส้น” ทุกเมื่อ! ต่อด้วย ผู้เข้าแข่งขันหมายเลขที่ 2 : กองทัพ “ANIMATION” เหล่านักอนิเมเตอร์ ทีพ่ ร้อมจะสร้างสรรค์เหล่าการ์ตนู ให้พร้อม เคลื่อนไหว เพื่อ “เข้าเส้น” ไปพร้อมๆกัน! ตามมาติดๆกับ ผู้เข้าแข่งขันหมายเลขที่ 3 : กองทัพ “MOVIE DESIGN” เหล่ากองทัพคนท�ำหนัง ไม่วา่ จะหนังสัน้ หนังยาว หนังแมส หรืออินดี้ ก็กวาดได้ทุกหนังเพื่อ วิ่ง “เข้าเส้น” ไปสู่คานส์! และปิดท้ายกองทัพด้วย ผู้เข้าแข่งขันหมายเลขที่ 4 : กองทัพ “MEDICAL & SCIENCE MEDIA” เหล่ากองทัพนักมีเดียแพทย์ ทีศ่ กึ ษาและออกแบบสือ่ ทุกโครงสร้าง สรีระของร่างกาย เตรียม ฟิตปั๋งเต็มก�ำลังเพื่อ “เข้าเส้น” ชัย!
ร่วมยินดีกับก้าวแห่งความส� ำเร็จ พุ ่ งเข้าเส้ นชัยไปพร้อมๆ กัน กับเหล่านักวิ่งมีเดียอาตส์ และมีเดีย ทางการแพทย์ฯ วิ่ง “เข้าเส้น” อย่างมีชัย วิ่งก้าวไปให้ส�ำเร็จ! THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS
75
สารจากคณะท�ำงาน
่ งในโอกาสการท�ำงานครบ 1 ปี ของคณะกรรมการบริหาร เนือ สมาคมการพิ มพ์ ไทย วาระปี พ.ศ. 2561-2563
เมื่ อ วั น พฤหั ส ที่ 30 เมษายน 2562 สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย ได้จัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี ครั้งที่ 73 ณ ห้อง เดอะวินนิ่งโพสต์ ราชกรีฑาสโมสร โดยมีสมาชิกของสมาคม การพิมพ์ไทยเข้าร่วมประชุมรวมทั้งสิ้น 127 คน โดยในงาน มี ก ารเสวนา เรื่ อ ง “แนวโน้ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภณ ั ฑ์” ซึง่ เป็นหัวข้อทีไ่ ด้รบั ความสนใจจากผูป้ ระกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์เป็นอย่างมาก พร้อมพบปะพูดคุย สังสรรค์กันในหมู่สมาชิกร่วมกัน และเนือ่ งในโอกาสการท�ำงานครบ 1 ปี ของคณะกรรมการบริหาร สมาคมการพิมพ์ไทยวาระปี พ.ศ. 2561-2563 ในนามนายก สมาคมการพิมพ์ไทยและคณะกรรมการบริหาร ท่านที่ปรึกษา กลุม่ ทายาททางการพิมพ์ Young Printer Group และเจ้าหน้าที่ สมาคม ขอขอบคุณสมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย ผูป้ ระกอบการ ในอุ ต สาหกรรม ตลอดจนผู ้ ส นั บ สนุ น ทั้ ง จากภาครั ฐ และ ภาคเอกชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ได้ทุ่มเท ท�ำงาน ร่วมกันอย่างเข้มแข็ง สามารถผลักดันภารกิจและกิจกรรมของ สมาคมการพิมพ์ไทยให้ประสบผลส�ำเร็จลุล่วงด้วยดีตลอด 1 ปี
ทีผ่ า่ นมา โดยเฉพาะท่าน Suppliers และผูม้ อี ปุ การคุณทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนทุนทรัพย์และความช่วยเหลือในด้านต่างๆ แก่สมาคมการพิมพ์ไทยตลอดมา ในนามของสมาคมการพิมพ์ไทย ผมขอรวบรวมผลงานและ กิจกรรมต่างๆ ของสมาคมฯ ตลอด 1 ปีที่ผ่านมา ซึ่งในหลายๆ กิจกรรมยังต้องมีการท�ำงานเพือ่ สานต่อภารกิจตามยุทธศาสตร์ ของสมาคมการพิมพ์ต่อไป เพื่อให้อุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ของประเทศไทย เติบโตอย่างมั่นคง และยั่งยืน ผมและคณะท�ำงานจะพยายามอย่างสุดความสามารถในการ ปฏิบัติภารกิจที่ทุกท่านได้มอบความไว้วางใจให้คณะกรรมการ ชุดนีเ้ ข้ามาบริหารงาน หากท่านใดมีขอ้ เสนอแนะ หรือต้องการ ให้เกิดกิจกรรมความร่วมมือใดๆ อันเป็นประโยชน์แก่อตุ สาหกรรม การพิมพ์ สามารถแจ้งความจ�ำนงมายังสมาคมการพิมพ์ไทย ได้ตลอดเวลา ขอบคุณครับ พงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย www.thaiprint.org
76
NEWS
ผลการด�ำเนินงาน สมาคมการพิ มพ์ ไทย พฤษภาคม 2561 - เมษายน 2562
ชมภาพขนาดใหญ่ได้ที่ www.thaiprint.org
พฤษภาคม 2561 2-3 พ.ค. 2561
3 พ.ค. 2561
ร่วมงาน Shift-018, Shaping the Future of Print & Packaging in Asia Conference เมื่ อ วั น ที่ 2-3 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมแมริออท มาร์คีส์ ควีนส์ปาร์ค
ร่วมงานประกาศผลการประกวดสิ่งพิมพ์นานาชาติระดับเอเซีย Asian Print Awards โดยประเทศไทยได้รับ เหรียญรางวัลมากเป็นอันดับ 1 ของเอเซีย เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมแมริออท มาร์คีส์ ควีนส์ปาร์ค Country Gold Silver Bronze Total Thai 17 14 12 43 Malaysia 9 1 3 13 India 5 8 2 15 China 3 1 4 Vietnam 2 1 3 Philipines 1 1 1 3 Singapore 1 1 2 Hongkong 1 1 2 Sri lanka 1 1 Japan 1 1 Cambodia 1 1 Indonesia Korea Taiwan Laos Sum 37 30 21 88
มิถุนายน 2561
2 มิ.ย.
2561
ร่วมงานสังสรรค์ วันการพิมพ์ไทย และร่วมแสดง ความยินดีกับ คุณธนพล บันลือรัตน์ ขึ้นรับ ต�ำแหน่งประธานสหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์ คนใหม่ ณ ห้องอังรีดนู งั ราชกรีฑาสโมสร เมือ่ วันที่ 2 มิถุนายน 2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS 18 พ.ค. 2561
24 พ.ค. 2561
77
ร่วมงาน SME Transform ประชารัฐร่วมใจ เชื่อม SME ไทยสู่สากล จัดโดยกระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมกับ หน่วยงาน ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาพร้อมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสมาคมการพิมพ์ไทยกับ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Bank) ผลักดันโครงการ SME 4.0 สู่แหล่งทุน ณ ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2561
ร่วมงาน วันคล้ายวันสถาปนาสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ จัดโดย สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม อาคารอิมแพ็คชาเลนเจอร์ ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2561
www.thaiprint.org
78
NEWS
3 มิ.ย.
ร่วมงาน “วันการพิมพ์ไทย” โดยร่วมพิธวี างพวงมาลา ณ สุสานโปรแตสแตนท์ ถนนเจริญกรุงและท�ำบุญทักษิณานุปทาน ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลให้แก่บุคคลในวงการพิมพ์ที่ล่วงลับไปแล้ว ณ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2561
8 มิ.ย.
ร่วมพิธีเปิดนิทรรศการแสดงศิลปนิพนธ์สาขาวิชามีเดียอาตส์และสาขาวิชามีเดียทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2561 ณ Atrium 1 ศูนย์การค้าสยามเซ็นเตอร์
2561
2561
9 มิ.ย.
2561
จัดพิธีมอบเกียรติบัตร หลักสูตร การพิมพ์ออฟเซ็ตเบื้องต้น รุ่น 11 และ 12 ณ ห้องสัมมนา ชัน้ 4 อาคาร สมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS 13 มิ.ย.
2561
21 มิ.ย.
2561
79
เข้าร่วมพิธมี อบรางวัล ThaiStar Packaging Awards 2018 AsiaStar Awards 2017 - WorldStar Awards 2018 และ WorldStar Student Awards 2017 โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2561 ณ ห้อง Grand Hall 202-203 ชั้น 2 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ
จัดงานแถลงข่าว “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครัง้ ที่ 13” ประจ�ำปี 2561 ภายใต้แนวคิด “SMART Transform” เตรียมพร้อมรับมือกับการเปลีย่ นแปลง ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ พร้อมเสวนา การเตรียมความพร้อมส่งผลงานอย่างไรให้ได้รางวัล ณ ห้องพินนิคอล โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2561
พิธีลงนามความร่วมมือเป็นสถานที่ทดสอบสมรรถนะของ บุคคลตามมาตรฐานอาชีพสาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ กับสถาบันการศึกษา 5 สถาบัน วิทยาลัยเทคโนโลยีดอนบอสโก วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (สะพานใหม่) และวิทยาลัย เทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจนนทบุรี ณ ห้องพินนิคอล โรงแรม อินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพฯ เมือ่ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2561
www.thaiprint.org
80
NEWS
22 มิ.ย.
เลีย้ งต้อนรับ Mr.Cheong Kok Wai, The Selangor and FT Chinese Printing Presses’ Association, Malaysia ณ ห้องอาหาร Lin-fa โรงแรมเดอะสุโกศล เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2561
23 มิ.ย.
จัดสัมมนา “โครงสร้างและการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ กระดาษในเชิงสร้างสรรค์” ณ ห้องสัมมนา ชัน้ 4 อาคาร สมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2561
2561
2561
24 มิ.ย.
2561
28 มิ.ย.
2561
กรกฎาคม 2561
19 ก.ค.
2561
เข้าร่วมการประชุมน�ำเสนอแผนยุทธศาสตร์กับ ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม (สสว.) ในประเด็นความต้องการของสมาชิก ในสมาคมการพิมพ์ไทย และสมาคมต่างๆ โดยมี ดร. สฤษดิ์ โชคชัยนิรันดร์ น�ำแนวทางการประชุม ระดมความคิดเห็น ณ ห้องสุโขทัย โรงแรมนารายณ์ สีลม เมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม 2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
ร่วมพิธีมอบรางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น ประจ�ำปี 2561 (Prime Minister’s Export Award 2018) ประเภทธุรกิจบริการยอดเยีย่ ม สาขาสิง่ พิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ ณ ตึกสันติไมตรีท�ำเนียบรัฐบาล เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2561 เข้ า ร่ ว มประชุ ม กั บ ส� ำ นั ก งานส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม (สสว.) ถึ ง แนวทาง ยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ไทย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของอุตสาหกรรมทั้งในระดับชาติ และระดับโลก เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2561
NEWS
24 ก.ค.
2561
81
ประชุมคณะอนุกรรมการฯ อุตสาหกรรมการพิมพ์ เพือ่ ปรับปรุงสมรรถนะมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์ อาชีพ ช่างพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น-ป้อนม้วน โดยสมาคม การพิมพ์ไทย สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ณ ห้อง ประชุ ม สี ข าวสถาบั น คุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ (องค์ ก าร มหาชน) วันที่ 24 กรกฎาคม 2561 26 ก.ค.
2561
ร่วมเป็นวิทยากร “การออกแบบและการเตรียมไฟล์สำ� หรับงานพิมพ์คณ ุ ภาพ” จัดโดย ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ณ TCDC จุฬา-สามย่าน วันที่ 26 กรกฎาคม 2561
สิงหาคม 2561 2 ส.ค.
2561
ร่วมระดมความคิดเห็นการจัดท�ำกรอบปฏิรปู หลักสูตรด้านการพิมพ์และสือ่ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อปฏิรูปหลักสูตรในการผลิตบุคลากรด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ให้ตรงต่อความต้องการ ของภาคอุตสาหกรรมและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ณ ห้อง 8228 อาคารบริภัณฑ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2561
15 ส.ค.
2561
เข้าร่วมโครงการยกระดับผู้ประกอบการ SMEs ยุค 4.0 พัฒนา เติมทุน เสริมแกร่งทัว่ ไทยโดยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Bank) เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการ ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ เข้ า ถึ ง แหล่ ง เงิ น ทุ น ดอกเบี้ยต�่ำเพื่อพัฒนาธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน สรุปยอดรวม งานกิจกรรมสมาคมการพิมพ์ไทยสู่แหล่งทุน ผู้ประกอบการยื่นขอ สินเชื่อ รวมวงเงินกว่า 34 ล้านบาท เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2561 ณ อาคารส� ำ นั ก งานธนาคารพั ฒ นาวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME Bank) www.thaiprint.org
82
NEWS
18 ส.ค.
2561
ร่ ว มวางพานพุ ่ ม ดอกไม้ สั ก การะพระบรมราชานุ ส าวรี ย ์ พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ ซึ่งพระองค์ทรงได้รับการยกย่องจากคน ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ว่าเป็นพระบิดาแห่งการพิมพ์ไทย ณ อนุสาวรีย์ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2561
22 ส.ค.
2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
จัดพิธที ำ� บุญครบรอบ 72 ปี อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย ณ ห้องสัมมนาชัน้ 4 อาคาร สมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2561
NEWS 29 ส.ค.
2561
83
ร่วมบรรยายหัวข้อ SMART printing transformation ในงานสัมมนา “Packaging on Demand” โดย บริษัท โคนิก้า มินอลต้า บิสสิเนส โซลูชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ณ โรงแรม พูลแมน กรุงเทพ แกรนด์ สุขุมวิท เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2561
30 ส.ค.
2561
ร่วมงานแถลงข่าว เปิดทางลัดสู่ธุรกิจ การพิมพ์แห่งเอเชีย ASIA PRINT EXPO 2019 จัดโดย สมาพันธ์การพิมพ์แห่ง ยุโรป (FESPA) ณ โรงแรมโอคุระ เพรสทีจ กรุงเทพ เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2561
กันยายน 2561
5-7 ก.ย.
2561
เข้ า ร่ ว มพิ ธี เ ปิ ด งาน “CCE South East Asia - Thailand 2018” ครั้ ง ที่ 2 จั ด ขึ้ น ใน ระหว่างวันที่ 5 - 7 กันยายน 2561 ณ ศู น ย์ นิ ท รรศการ และการประชุมไบเทค hall EH106 5 ก.ย.
2561
จัดสัมมนา “การเตรียมไฟล์มาตรฐานส�ำหรับงานพิมพ์ดิจิทัล” ณ ห้อง สัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2561
www.thaiprint.org
84
NEWS
6 ก.ย.
จัดประเมินมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพ สาขาช่างพิมพ์ดจิ ทิ ลั ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2561
8 ก.ย.
จัดการพิมพ์ไทยสัญจรภาคเหนือ พร้อมจัดสัมมนา “Thai Print+SME Development Bank Smart Transform” ร่วมกับ SME Bank ณ ห้องเจนีวา โรงแรมเมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2561
2561
2561
20 ก.ย.
2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
เข้าร่วมงานในโอกาสครบรอบ 20 ปี สมาคมการแสดงสินค้า (ไทย) จั ด โดยสมาคมการแสดงสิ น ค้ า (ไทย) ณ โรงแรมดุ สิ ต ธานี กรุ ง เทพฯ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2561
NEWS 21 ก.ย.
2561
จัดพิธีประกาศผลและมอบรางวัล “การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 13” 13th Thai Print Awards 2018 SMART TRANSFORM ณ ห้องคอนเวนชั่นฮอลล์บี โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2561
27 ก.ย.
2561
จั ด ประเมิ น มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ สาขา ช่างออกแบบสิ่งพิมพ์ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยี สยามบริหารธุรกิจ SBAC สะพานใหม่ เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2561
ตุลาคม 2561 30 ก.ย. 5 ต.ค.
2561
85
เข้าร่วมงาน งาน Tokyo Pack 2018 ภายใต้ธมี งาน “Let’s Create Packaging for All Our Tomorrows” และ ร่วมพิธมี อบรางวัล APF Golden Jubilee & AsiaStar 2018 Awards Night ณ กรุงโตเกียว ประเทศญีป่ นุ่ ระหว่างวันที่ 30 กันยายน - 5 ตุลาคม 2561
www.thaiprint.org
86
NEWS
17 ต.ค.
2561
ร่วมงานเปิดมหกรรมหนังสือระดับชาติครัง้ ที่ 23 และ เทศกาลหนังสือเด็กและเยาวชนครัง้ ที่ 12 ณ ศูนย์ การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ เมือ่ วันที่ 17 ตุลาคม 2561
พฤศจิกายน 2561 17 พ.ย.
2561
เข้าร่วมกิจกรรม Rally จัดโดย สมาคมแยกสี แ ม่ พิ ม พ์ เ พื่ อ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทย ณ เขาใหญ่ จ.นครราชสี ม า เมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
23-27 ต.ค. 2561
ร่วมงาน The 7th All in Print China 2018 Shanghai ณ เมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน เมือ่ วันที่ 23-27 ตุลาคม 2561
NEWS 21 พ.ย.
2561
23-24 พ.ย. 2561
28 พ.ย.
2561
87
เข้าร่วมการประชุม ASEAN Printing Forum 2018 ณ ประเทศสิ ง คโปร์ เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน 2561
จัดสัมมนา “เทคโนโลยีการพิมพ์ออฟเซ็ตและการควบคุมคุณภาพงานพิมพ์” ณ สถาบันการพิมพ์ไทย นิคมอุตสาหกรรม สินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อวันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2561
เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนา “อุตสาหกรรมการพิมพ์ในยุค Disruptive Technology” จัดโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561
www.thaiprint.org
88
NEWS
ธันวาคม 2561 30 w.ย. 1 ธ.ค. 2561
8 ธ.ค.
2561
จัดสัมมนา “แนวโน้มอุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ของตลาดโลก” ร่วมกับ Loxley และ EFI ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2561
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
จัดสัมมนา “เทคโนโลยีการพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์และฉลาก” ณ สถาบัน การพิ ม พ์ ไ ทย นิ ค มอุ ต สาหกรรมสิ น สาคร จั ง หวั ด สมุ ท รสาคร พร้อมเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จ�ำกัด เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน - 1 ธันวาคม 2561
20 ธ.ค.
2561
ร่วมพิธีมอบรางวัลอุตสาหกรรมประจ�ำปี 2561 (The Prime Minister's Industry Award 2018) โดยกระทรวงอุตสาหกรรม ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบ รัฐบาล เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2561
NEWS
89
มกราคม 2562 9 ม.ค.
2562
ร่วมงานแถลงข่าว โครงการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจอุตสาหกรรมอาหารอย่างยัง่ ยืน ด้วยการพัฒนาบุคลากรเฉพาะทางและ การถ่ายโอนความรู้ข้ามพรมแดน จัดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่ง ชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมือ่ วันที่ 9 มกราคม 2562
16 ม.ค.
2562
29 ม.ค.
2562
ร่วมการประชุมสัญจรและเยีย่ มชมโรงงานผลิตกระดาษ SCG PAPER ณ อ.บ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2562
ร่วมพิธีมอบประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาช่างออกแบบสิ่งพิมพ์ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจนนทบุรี เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2562
www.thaiprint.org
90
NEWS
กุมภาพั นธ์ 2562
1 ก.พ.
2562
2 ก.พ.
2562
15 ก.พ.
2562
ประชุมคณะอนุกรรมการมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิ วิชาชีพ ครั้งที่ 1/2562 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562
จัดอบรมหลักสูตร การพิมพ์ออฟเซ็ตเบือ้ งต้น รุน่ ที่ 13 ภายใต้โครงการ Thai Print Academy ณ สถาบัน การพิมพ์ไทย นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัด สมุทรสาคร เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2562
จัดประเมินมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพ สาขาช่างออกแบบ สิ่งพิมพ์ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ SBAC สะพานใหม่ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562
20 ก.พ.
2562
20 ก.พ.
2562
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
จัดประเมินมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพ สาขาช่างออกแบบ สิ่งพิมพ์ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562
ร่วมประชุม Mr.Veerendra Malik, the Past President of the All India Federation of Master Printers เพือ่ ปรึกษาแลกเปลีย่ น ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง อุตสาหกรรมการพิมพ์ ไทยและประเทศอินเดีย เมือ่ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ณ อาคาร สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย ถนนพระราม 9
NEWS 21 ก.พ.
2562
22-23 ก.พ. 2562
จัดสัมมนา “การใช้หลักการบริหารและวิศวกรรม เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตในโรงพิมพ์” ณ ห้องสัมมนา ชัน้ 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เมือ่ วันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ 2562
91
เข้าร่วมพิธเี ปิด Asia Print Expo 2019 By FESPA จัดโดยสมาพันธ์ การพิมพ์แห่งยุโรปและสมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ณ ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค บางนา เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562
23 ก.พ.
2562
เข้าร่วมกับสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ จัดการ แข่งขันโบว์ลงิ่ สหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์ ครัง้ ที่ 3 เพือ่ เป็นกิจกรรมหารายได้ไว้บริหารงานของสหพันธ์ฯ และน�ำรายได้สว่ นหนึง่ ร่วมบริจาคให้กบั โรงพยาบาล ศิริราช เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2562 ณ Blu-o Rhythm & Bowl ชั้น 5 สยามพารากอน
www.thaiprint.org
92
NEWS
26 ก.พ.
รับมอบเครือ่ งท�ำเพลทระบบ THERMAL DIGIPLATER TDP-459 จาก Mr.Kazuhiko Yoshida, Group Manager Overseas, Mr.Tomoyasu Narita, Manager Mitsubishi Paper Mills Limited เพือ่ ใช้ในการฝึกอบรมการท�ำเพลท และการยิงฟิลม์ ส�ำหรับการเรียนการสอน ณ ห้องสัมมนา ชัน้ 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2562
27 ก.พ.
ร่วมเปิดงานสัมมนา “เทคโนโลยีและการออกแบบจะช่วยเพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้าของคุณได้อย่างไร” โดย บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ณ ตึกซันทาวเวอร์ บี เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2562
2562
2562
มีนาคม 2562 8 มี.ค.
2562
13 มี.ค.
2562
จัดประเมินมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพ สาขาช่างออกแบบ สิง่ พิมพ์ ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อี.เทค จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2562
เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2561 จัดโดยสหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์ ณ ห้องประชุม ชัน้ 3 อาคารสมาคม การพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2562
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
NEWS
15 มี.ค.
2562
15-16 มี.ค. 2562
20-22 มี.ค. 2562
93
ร่วมงานสัมมนาสร้างเครือข่ายนักออกแบบผลิตภัณฑ์ ศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Thai-idc) จัดโดยกองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริม อุตสาหกรรม ณ อาคารศูนย์การออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ (Thai-idc) ซอยตรีมิตร ถ.พระราม 4 กล้วยน�้ำไทย เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2562
จัดสัมมนา “Gravure Printing & Trends in Technology Cost Saving” ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคม การพิมพ์ไทย เมื่อวันที่ 15-16 มีนาคม 2562
ร่วมงาน Vietnam International Packaging, Label, Thermal Transfer Printing Technology Equipment and Supplies Exhibition หรือ VPSE 2019 ณ Hanoi International Exhibition Center (IEC) และบรรยาย หัวข้อ Taking advantage of opportunities to integrate and develop the printing industry ส�ำหรับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา เมื่อวันที่ 20-22 มีนาคม 2562 ณ เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม
www.thaiprint.org
94
NEWS
26 มี.ค.
2562
29 มี.ค.
2562
เข้าร่วมงานเสวนา “เศรษฐกิจและการเมืองไทยหลังการเลือกตั้ง” โดย “F.T.I. Chairman Club” สายงานส่งเสริม และสนับสนุนอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ณ ห้องพินนาเคิล 4-6 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล ราชประสงค์ เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2562
ร่วมเปิดงาน The 3 Biggest Exhibitions Print tech Led Expo, Garment & Textile Embroidery Expo และ Printing & Packaging Expo 2019 โดยหน่วยงานจับคู่ธุรกิจ สายงานส่งเสริมการค้า การลงทุ น สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ณ Hall 11-12 Impact Muang Thong Thani เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2562
30 มี.ค.
2562
จัดพิธีมอบเกียรติบัตร หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ต เบื้องต้น รุ่นที่ 13 ณ สถาบันการพิมพ์ไทย นิคม อุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2562
เมษายน 2562 2 เม.ย.
2562
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 121
เข้ า ร่ ว มการประชุ ม ใหญ่ สามัญประจ�ำปี 2561/2562 สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ณ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ พระราม 3 เมือ่ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2562
NEWS 4 เม.ย.
2562
9-13 เม.ย. 2562
23 เม.ย.
2562
95
จัดโครงการพัฒนาเครือข่ายและยกระดับด้านสิง่ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ให้แก่ผปู้ ระกอบการในส่วนภูมภิ าค (ภาคใต้) ร่วม กับกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ บรรยายให้ความรู้ด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์แก่ผู้ประกอบ การ SMEs และ OTOP ในภาคใต้ พร้อมกันนี้ผู้ประกอบการยังมีโอกาสจับคุ่ธุรกิจ (Business Matching) กับโรงพิมพ์ ในพื้นที่ภาคใต้อีกด้วย เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ จ.สงขลา
คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ทีป่ รึกษาสมาคมการพิมพ์ไทยเข้าร่วมงาน Print China 2019 ณ เมือง Dongguan ประเทศจีน ระหว่างวันที่ 9-13 เมษายน 2562
เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2562 สมาคมการพิมพ์สกรีนไทย ณ โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ พระราม 3 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2562
24 เม.ย.
2562
เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2562 สมาคมการค้าวัสดุอปุ กรณ์การพิมพ์ไทย ณ สโมสร ทหารบก วิภาวดี เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2562
www.thaiprint.org
AD_soontorn new _pc3.pdf 1 23/8/2560 9:29:08
Digital & Offset Printing, Quick!
We can print even one piece with highest quality. Leaflet, Brochure, Photo Book, Personalized Mailing, Postcard, Hand Book Business Card, Report, Seminar Document, Menu, Label & Packetging etc. บริการพิมพงานระบบดิจิตอลคุณภาพสูง งานพิมพเรงดวน พิมพมาก พิมพนอย ไดตามความตองการ รวดเร็ว ไมตองทำฟลม ไมตองทำเพลท ประหยัดเวลาและคาใชจาย สีสันสดใส คมชัด คุณภาพสูง
บริการพิมพงานระบบอิงคเจ็ท บริการพิมพงานระบบดิจิตอล
ปายไวนิล ปายโฆษณา Roll up, X-Stand, J-Flag, Canvas พิมพสติกเกอร ฉลากสินคา ฟวเจอรบอรด พรอมไดคัทครบวงจร ฯลฯ
นามบัตร บัตรสมาชิก แผนพับ ใบปลิว โบรชัวร โปสการด วุฒิบัตร เมนูอาหาร แค็ตตาล็อกสินคา หนังสือ นิตยสาร พ็อกเก็ตบุค ปฎิทิน โฟโตบุค สติกเกอร ฉลากสินคา ฯลฯ
THAIPRINT M A G A Z I N E 1 1 4
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 55
055 8/9/2560 3:26:09
บจก.สุพรชัย จ�ำกัด
SUPORNCHAI Co.,Ltd
เครื่องปะหน้าต่าง เข้ามุม มีเส้นพับ ปะ 2 ช่อง
MODEL
เครื่องปะกบออโต้
Max.Paper size Min.Paper size Upper paper thickness Bottom paper thickness
mm mm g/m2 g/m2
1200x720 450x490 80-1200 160-3000
Hot stamping ปั๊มฟอยล์ Laminating เคลือบลาสติกเงา/ด้าน Spot UV งานเคลือบ Spot UV Die Cutting & Patching ปั๊มขาด+ปั๊มนูน Blister pack varnish
UV Vanishing งานเคลือบยูวี Calendering ขัดเงา Embossing งานปั๊มนูนปั๊มจม Gluning &Mounting ปะข้าง + ปะก้น / ปะประกบ
บริษทั สุพรชัย จ�ำกัด 30 หมู่ 4 ถ.ศรีวารีนอ้ ย-ลาดกระบัง ต.ศีรษะจรเข้นอ้ ย อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทร. +662-402-6623 โทรสาร +662-337-1866 มือถือ. +669-6146-3398 E-mail: marketing@spc-postpress.com http://www.spc-postpress.com TpmMag_117 Pc4.indd 47
22/8/2561 0:20:26