Thaiprint Magazine Vol.125

Page 1




THAILAND 三信控股(泰国)有限公司 SINSAKHON PRINTING CITY 30/25 Moo1,Chetsadawithi Road, Khokkham, Muang,Samutsakhon 74000 thailand Tel: +(66) 3444-6911 Fax: +(66) 3444-6922 E-mail: thai@sansinasia.cc

C106/C80

C106Y/C80Y

Automatic Die-cutting Machine

Automatic Die-cutting And Foil Stamping Machine

เครื่องปมไดคัทอัตโนมัติ

เครื่องปมไดคัทและทองเคอัตโนมัติ

JB-800B UV Photofixation Machine

https://sansin.group

JB-750II

/960II/1270II

Horizontal-lift Half-tone Printing Machine

JB-1050AG Full Automatic Cylinder Screen Press

เครื่องสปอตยูวี ระบบซิลสกรีน ออโตเมติก

GW-S Paper Cutting Machine

เครื่องตัดกระดาษ

FS-Offline Offset Printing Offline Inspection Machine

SF-720C/920/1100C

FS-500C-Shask

Semi-auto Laminator

เครื่องลามิเนตกึ่งอัตโนมัติ

Cigarette Carton High-speed Inspection Machine

SW-1050G Fully Automatic High-speed Laminator

เครื่องลามิเนตความเร็วสูง

ZB50B Handbag Bottom Gluing Machine

เครื่องติดกนถุงกระดาษ

ZB1200CT-430 Sheet-feeding Paper Bag Making Machine

เครื่องปะกาวถุงกระดาษอัตโนมัติ

XL SERIES

GS Series The Art Box Automatic High Speed

High Speed Intelligent Speedwave Folding Gluing Machine

เครื่องปะกลองอัตโนมัติความเร็วสูง

เครื่องปะกลองอัตโนมัติแบบความเร็วสูง

S-600 Automatic Rigid Box Making Machine

QFM-600B HR-P1200-FS Fully Automatic Calender Machine(Electric Type)

JLDMH-1010-F

Automatic Case Making Machine

SD-1040

เครื่องขึ้นรูปและหุมกลองกระดาษแข็ง ระบบออโต (กลองจั่วปง)

เครื่องหุมปกกระดาษแข็ง

High Speed UV Spot And Overall Coating Machine

เครื่องเคลือบยูวีอัตโนมัติแบบเวนลิ้น

JLDN1812-400W-F

ABD-IX-KH-F

Laser Dieboard Cutting Machine

Multi-function Computerize Auto Bending Machine

เครื่องตัดไมแบบดวยเลเซอร

เครื่องดัดมีดอัตโนมัติ

Pertinax Counter (single head)

เครื่องทำแผนเพอธิแนท

RFM-106MCX

Fully automatic vertical type hot knife film laminating machine

เครื่องเคลือบลามิเนตอัตโนมัติแบบมีดรอน

Dampening solution unit system for offset printing

icuejet 370 series

KH-GL1100

Foundation solution circulation And fil tering system

digital 2D/3D uv varnish & foil system

ตูกรองน้ำแบบละเอียด

JC-200PS

The second-generation of press dust collector

เครื่องดูดแปง

LABELROLL-F Series Offline Quality Inspection

เครื่องตรวจสอบคุณภาพงาน

LABELROLL-P Series Inline Quality Inspection

เครื่องตรวจสอบคุณภาพงานแบบอินไลน

I5S-330/430 Flexo printing machine series

เครื่องพิมพระบบเฟล็กโซ ปอนมวน


CORRUGATED MACHINES T-FSG

意高发

T-FSG High Speed Flexo Printer Slotter Rotary Die-Cutter Inline with Folder Gluer (Top-Printing, Vacuum Transfer and Fixed Structure) เครื่องพิมพเฟลกโซความเร็วสูงพรอมหนวยสล็อต โรตารี่ไดคัต และหนวยทากาวปะกลอง

T-GCF T-GCF High Speed Flexo Printer Slotter Rotary Die-Cutter Inline with Folder Gluer เครื่องพิมพเฟลกโซความเร็วสูงพรอมหนวยสล็อต โรตารี่ไดคัต และหนวยทากาวปะกลอง

EKOFA TF 1800 Seven-colors Flexographic Printing Machine

เครื่องพิมพลูกฟูก 7 สี

R

CF-1300/1450/1650 Fully Automatic High-speed Flute Laminating Machine

เครื่องประกบกระดาษอัตโนมัติความเร็วสูง

CF-1307A/1450B

SPQZD-260

BDJ-2000B

Double-piece Automatic High-speed Stitching Machine เครื่องเย็บกลองอัตโนมัติดวยความเร็วสูงแบบสองชิ้นตอกัน

Double Servo Control Semi-auto Stitcher เครื่องเย็บกลองกึ่งอัตโนมัติ แบบเซอรโวคู

Fully Automatic High-speed Flute Laminating Machine

เครื่องประกบกระดาษอัตโนมัติความเร็วสูง

AWNP

QYHX-2400A

Non-plate Digital Printing Machine for Corrugate Board

AWNP-G

เครื่องพิมพดิจิตอลสำหรับกระดาษลูกฟูก

QYHX-2400B

High-Speed AB Gluer Machine

High-Speed AB Gluer Machine

เครื่องปะกลองกึ่งอัตโนมัติแบบสองชิ้นตอกัน

เครื่องปะกลองกึ่งอัตโนมัติแบบสองชิ้นตอกัน

Non-plate Digital Printing Machine for Corrugate Board

เครื่องพิมพดิจิตอลสำหรับกระดาษลูกฟูก

MATERIAL ACCESSORIES SUPPLIER THERMAL FILM

Metalized/PET Thermal Film

BOPP FILM

Water Base Laminating Glue Series

Eco/Digital/Anti Scratch /Embossed Thermal Film

WIRE-O-RING

Jelly Glue

Hot Melt For Bookbinding

High-Speed Printing & Slotting Die-Cutter Series

SPINE GLUE

CREASING MATRIX A. Thickness of Creasing Matrix B. Brute Mighty Bottom Film C.Channel width of Creasing Matrix D. Locating Plastic Strip E.Protection Gum Paste

CPT PLATE

SIDE GLUE

CXK-K1

CXK-G4

CXK-B8

Thermal CTP Plate (Single Layer)

Thermal CTP Plate (Single Layer)

UV-CTCP plate (UV Conventional Plate)


เครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ตสี ความเร็วสูง ส�ำหรับ งานด่วน, ใบปลิว, ซองจดหมาย, ตีเบอร์ บนกระดาษ NCR, เข้าเล่ม, ไสกาวอัตโนมัติ ฯลฯ

l

Super high-speed Printing 160 ppm.

l

High-speed Printing 120 ppm.

l

Best performance with fast-dry oil-base

l

Best performance with fast-dry oil-base

l

Stability for High-volume Production Print jobs.

l

Eco-proven Performance Worldwide.

บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/


Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC_2020_Final-01.pdf

Join us on

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

18/3/2563 BE

19:41


บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จำกัด 341 ถนนออนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร: 02 088 1524 www.ricoh.co.th


SOONTORN FILM

Expert in Digital and Inkjet Printing, using World-Class Technologies

g in t in r P l a it ig D y it l High Qua Digital Offset Printing

g in t in r P t a m r o F e g r a L Inkjet One Stop Service s Digital Offset Printing

Business card, Postcard, Certificate, Brochure, Leaflet, Catalogue, Menu, Pocket book, Magazine, Photo book, Calendar, Packaging, Sticker, Label etc.

Photo books

Photo Books Printing : Baby born photo book, Family photo book, Graduation (School) photo book, Wedding photo book, Travelling photo book, etc.

We are serving for the highest quality of digital printing and services, Including digital offset and inkjet (large format) One stop services, Expertise teamwork, Latest world class technologies, Environmental friendly, Fast services and reasonable prices. Graphic design Digital Photography

Prepress Offset Plate Making

Digital Offset Printing

Inkjet (Large Format) Printing

Soontorn film Co., Ltd.

3/11-15 พระรามที่ 6 ซอย 17 ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2216 2760-8 แฟกซ 0 2216 2769 เวลาทำการ จันทร-เสาร 09.00-18.00 น. www.soontornfilm.co.th, email : stfilm@soontornfilm.com

Tablet Publishing (Digital Magazine)



110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 4

12/9/2560 14:01:20




40 Ad Seethong Pc4.indd 1

24/11/2561 20:44:48


Ad T Paiboon_Pc4.indd 1

16/5/2561 15:56:26


นายกสมาคม

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก

125 สถานการณ์ ท่ี ท่ั ว โลกก� ำ ลั ง ประสบปั ญ หาอยู่ ในขณะนี้ คื อ ไวรั สโควิ ด  - 19 ที่ ก� ำ ลั ง ระบาด อย่างหนัก ในหลายประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในแถบยุโรปกลับมีผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตเพิ่ มขึ้น จนน่าตกใจ รัฐบาลไทยออกมาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อเพื่ อชาติ” ลดการแพร่กระจายของเชื้อ ้ โควิด - 19 ส่งผลให้ประเทศไทยมีแนวโน้มผูต ้ ด ิ เชือ ลดลงอย่ า งต่ อ เนื่อ ง ในขณะเดี ย วกั น รั ฐ บาล มี ม าตรการดู แ ลเยี ย วยาผลกระทบโควิ ด ทั้ ง ส�ำหรับผู้ประกอบการและประชาชนเป็นอย่างดี ยกตั ว อย่ า งเช่ น การลดอั ต ราเงิ น สมทบและ ขยายก� ำ หนดการยื่ น แบบส่ ง เงิ น สมทบของ ประกันสังคม หรือการยืดเวลาเสียภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดาของกรมสรรพากร เป็นต้น ถึงแม้วิกฤตการไวรัสโควิด - 19 จะส่งผลกระทบกับหลายๆ อุตสาหกรรม ไม่เว้น แม้แต่อุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์เองก็ได้รับผลกระทบดังกล่าวไปด้วย หากแต่ว่าในวิกฤตนั้นก็ยังมีโอกาสดีๆ เกิดขึ้น เนื่องจากอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ เติ บ โตขึ้ น ถึ ง 200 - 300% ซึ่ ง คุ ณ เกรี ย งไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธาน สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย ได้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ กั บ ส� ำ นั ก ข่ า วไทยดั ง ที่ ท่ า น จะได้อ่านจากเนื้อหาภายในวารสารฉบับนี้ ท้ายนี้ ในนามของสมาคมการพิ มพ์ ไทย และกองบรรณาธิการวารสาร ขอขอบคุณ ้ ำ� เร็จตามเป้าหมาย หากผูอ ทุกฝ่ายทีไ่ ด้สนับสนุนให้วารสารฉบับนีส ้ า่ นจะมีขอ ้ เสนอแนะใด ในการปรั บ ปรุ ง วารสารนี้ ใ ห้ ส มบู ร ณ์ ย่ิ ง ขึ้ น กองบรรณาธิ ก ารขอน้ อ มรั บ ค� ำ ติ ช ม ด้วยความยินดี รวิกาญจน์ ทาพั นธ์ บรรณาธิการ

SPECIAL THANKS

ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ

คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ

คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก

คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน

คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม

คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม

คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์

คุณรัชฐกฤต เหตระกูล

รองประชาสัมพั นธ์

คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์

ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ

คุณธนา เบญจาธิกุล


15 Ad Vahva Board_pc4.indd 1

23/11/2561 1:19:13


CONTENTS NEWS

KNOWLEDGE

แถลงข่าวรางวัล PM Award ผูป ้ ระกอบธุรกิจส่งออกดีเด่นฯ 2563

30

่ ะอยู่เคียงข้าง ฟู จิ ซีร็อกซ์ มุ่งมั่นทีจ ลูกค้าในทุกช่วงเวลา

69

สัมมนา "Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry" ครัง ้ ที่ 2

32

โควิด-19 หนุนอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์โต 200-300%

70

ประชุมสามัญประจ�ำปี 2563 และการ เลือกตัง ้ คณะกรรมการฯ ปี 2563-2565

33

DITP สร้างทัพผูป ้ ระกอบการภาคเหนือ ก้าวไกลสู่เวทีส่งออกระดับสากล

72

่ งการบริหาร สัมมนา "หลักสูตรอบรมเรือ และการจัดการเชิงวิศวกรรม เพื่ อการลดต้นทุนผลิตในโรงพิ มพ์ "

34

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย บริจาค อุปกรณ์การแพทย์ให้ รพ.วชิระภูเก็ต

การประชุมหารือเพื่ อคัดเลือกเป็น ่ ำ� หรับประเมินคุณวุฒว สถานทีส ิ ช ิ าชีพ ร่วมกับวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

35

สัมมนา "ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ ทางรอด ทางเลือก ของบรรจุภณ ั ฑ์งานพิ มพ์ "

45

สัมมนา CEO Exclusive Forum 2020 โดย SCG Packaging

46

สอบประเมินสมรรถนะความรู้ คุณวุฒิวิชาชีพ (อีเทค)

47

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ่ งดูดเสมหะให้รพ.เด็กราชวิถี มอบเครือ

48

พิธเี ปิด 3 งานแสดงสินค้าการพิมพ์แห่งปี

49

RICOH ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำ นวัตกรรมการพิ มพ์ ระดับโปรดักชัน งาน Print Tech & Signage 2020

68

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการพิ มพ์ ออฟเซตการควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต (2)

24

การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 1

38

74

เทคนิคการสร้าง Story Branding เพื่ อเพิ่ มยอดขายให้กับสินค้า

50

มาตรการดูแลและเยียวยาผูป ้ ระกอบการ ที่ได้รับผลกระทบจากไวรัสโควิด-19

75

การบริหารความสิ้นเปลือง และจุดรั่วไหลในองค์กร ตอนที่ 1

56

Face Shield เพื่ อบุคลากรทาง การแพทย์รับมือไวรัส COVID-19

80

งานเลี้ยงสังสรรค์คณะผู้ร่วมงาน โครงการพั ฒนาศักยภาพผูป ้ ระกอบการ ด้านสิง พิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภ ณ ั ฑ์ไทย ่ ในส่วนภูมิภาคสู่ตลาดโลก

83

ท่ามกลางวิกฤต Coronavirus ทั่วโลก การเชื่อมต่อทางดิจิทัล ระหว่างไฮเดลเบิร์กและลูกค้านั้น

INDUSTRIAL ฟู จิ ซีร็อกซ์ เปิดตัวหมึกพิ มพ์ พิเศษสีชมพู

54 84

86

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยฯ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560-2563 (ม.ค. - ก.พ.)

่ ยูร่ อดในวิกฤตโควิด-19 ? ธุรกิจใดบ้างทีอ

88

INTERVIEW

เบอร์เทลส์แมนน์พริ้นติ้งกรุ๊ป เลือกใช้โมเดล Subscription ทีโ่ รงพิ มพ์ ทง ั้ สองแห่งของบริษท ั

92

ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ ทางรอด ทางเลือก ของบรรจุภณ ั ฑ์งานพิ มพ์ โดย คุณจิตร์งาม พราหมณีนิล

19

รวมน�้ำใจสู้ภัยโควิด-19

94

ภคภรณ์ ภัคสุขชัย (เกรซ) บริษท ั ฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

64

เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ที่ บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

The Thai Printing Association thaiprint.org @thethaiprinting


INTERVIEW

19

ออนไลน์และออฟไลน์ คือเรื่องเดียวกัน ไม่อยากให้มองว่า การน�ำเทคโนโลยีมาใช้ เป็นทางรอดหรือทางเลือก แต่เป็นอาวุธในการแข่งขัน เพราะฉะนั้น เราหลีกไม่ได้ ที่จะต้องออนไลน์และ ออฟไลน์ไปด้วยกัน

ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ ทางรอด ทางเลือก ของบรรจุภัณฑ์งานพิ มพ์ ในการน�ำมาปรับให้เข้ากับการประกอบธุรกิจ เพื่ อรับมือกับ ผู้บริโภคและเทคโนโลยีท่ม ี ีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดย คุณจิตร์งาม พราหมณีนิล ผู้บริหาร K-Print www.thaiprint.org


20

INTERVIEW

การเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ของตลาด E-Commerce ท� ำ ให้ ผู้บริโภคมีทางเลือกในการซื้อขายสินค้าได้มากขึ้น จากเคย ต้องเดินทางไปถึงร้านเพื่อจะได้เลือกซื้อหาสินค้า แต่ทุกวันนี้ การเลือกซือ้ ได้งา่ ยมากขึน้ ลูกค้าสามารถตัดสินใจเลือกซือ้ สินค้า และบริการผ่านการเลือกชมและรีวิวสินค้าผ่านทางช่องทาง ออนไลน์ต่างๆ ในขณะเดียวกันการซื้อขายออนไลน์ก็ส่งผล กับหลายๆ ธุรกิจ หรือที่เรียกว่า Disruptive Tecnology

ดั ง นั้ น เราต้ อ งน� ำ เรื่ อ งดั ง กล่ า วมาเป็ น แรงกระตุ ้ น เพื่ อ ให้ ธุรกิจสามารถด�ำเนินต่อไปได้ วารสาร Thai Print ฉบับนี้ คุณจิตร์งาม พราหมณีนิล ผู้บริหาร K-Print จะมาแบ่งปัน ประสบการณ์ ทัง้ ทางออนไลน์ และออฟไลน์ เพือ่ เป็นทางเลือก ในการน�ำมาปรับให้เข้ากับการประกอบธุรกิจเพื่อรับมือกับ ผู้บริโภคและเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

Designed by macrovector / Freepik

่ นแปลงไปมากหรือไม่ และการเปลีย ่ นแปลงนัน ในสถานการณ์ปจ ั จุบน ั ธุรกิจการพิ มพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์มก ี ารเปลีย ้ เกิดขึ้นอย่างไร

ธุรกิจสิง่ พิมพ์เรียกได้วา่ เป็นธุรกิจแรกๆ ทีไ่ ด้รบั แรงกระแทกจาก Disruptive Technology เราอาจจะเคยได้ยินประโยคที่ว่า “สิ่ ง พิ ม พ์ ก� ำ ลั ง จะตาย” ท� ำ ให้ เข้ า ใจว่ า อาจจะถู ก ท� ำ ให้ หายไปหรือตายไป แต่อยากให้เข้าใจว่า มันคือการที่ธุรกิจต้อง ปรับตัวไปตามเทคโนโลยีและปรับตัวไปตามพฤติกรรมของ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ผู้ซื้อหรือผู้บริโภค หลายๆ เทคโนโลยีท�ำให้เกิดพฤติกรรมใหม่ หากเราปรับตัวให้เข้ากับพฤติกรรมใหม่นั้นได้ ค�ำว่า Disrupt จะเป็นแรงขับเคลื่อนให้ตื่นตัวมากกว่าที่จะมองว่าจะต้องหนี หรือจะต้องตายไป ออนไลน์ อาจจะไม่ใช่ทางเลือก หรือ ทางรอด แต่สามารถน�ำมาเป็นจุดแข็งในธุรกิจการพิมพ์ได้


INTERVIEW

21

ทุกวันนี้การท�ำการตลาด ไม่ใช่แค่การใช้เซลล์หรือ พนักงานขายเท่านั้น เพราะเซลล์คือ การขาย 1 บุคคลไปยังอีก 1 บุคคล แต่มาร์เก็ตติง ้ คือ การขาย 1 หน่วยมุ่งเน้นไปยัง หลายคน เพื่ อสร้างการรับรู้

Digital Marketing จะต้องล�ำ้ หน้า ใช้ Robot หรือ AI ขั้นสูงไหม? “อย่าเริ่มต้นจากเทคโนโลยี แต่ให้เริ่มต้นจากกลยุทธ์”

บทบาทของ Digital Marketing

หากจะพูดถึงค�ำว่า Digital Marketing อาจจะต้องขออธิบาย ค�ำว่า Marketing ก่อน หลายครั้งเราอาจจะเข้าใจว่าการที่เรา มีพนักงานขาย คือการท�ำมาร์เก็ตติ้งหรือการท�ำการตลาดแล้ว แต่ทุกวันนี้การท�ำการตลาดไม่ใช่แค่การใช้เซลล์หรือพนักงาน ขายเท่านั้น เพราะเซลล์คือการขาย 1 บุคคลไปยังอีก 1 บุคคล แต่มาร์เก็ตติ้งคือ การขาย 1 หน่วยมุ่งเน้นไปยังหลายคน เพื่อสร้างการรับรู้ “การสร้างการรับรู้” นั้นเริ่มจาก ท�ำไม ลูกค้าต้องซื้อสินค้าของเรา? บวกกับการที่มาร์เก็ตติ้งต้องสร้าง

ประสบการณ์ ธุรกิจสิ่งพิมพ์สามารถท�ำสองสิ่งนี้ได้ เมื่อเพิ่ม ค�ำว่า Digital เข้ามา เราจะเห็นสิ่งรอบข้างใกล้ตัว เช่น Line Facebook หรือโซเชียลมีเดียต่างๆ น�ำเทคโนโลยีเหล่านั้นมา ครอบการตลาด เพื่อสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า อาจจะมีคำ� ถามว่า Digital Marketing จะต้องล�ำ้ หน้า ใช้ Robot หรือ AI ขัน้ สูงไหม? จุดนัน้ อาจจะเป็นแค่เครือ่ งมือหรือส่วนเสริม แต่ควรเริ่มจากกลยุทธ์และความเข้าใจในตัวลูกค้าเสียก่อน “อย่าเริ่มต้นจากเทคโนโลยีแต่ให้เริ่มต้นจากกลยุทธ์” www.thaiprint.org


22

INTERVIEW

Tools หรือเครื่องมือส� ำหรับการตลาดออนไลน์ ตั ว ใด ที่ ต อบโจทย์ ใ ห้ กั บ ธุ ร กิ จ สิ่ งพิ มพ์ และ บรรจุภัณฑ์มากที่สุด

การเลือกใช้เครือ่ งมือส�ำหรับการตลาดไม่ได้มเี พียงแค่ชอ่ งทางเดียว แต่สามารถเลือกใช้ได้หลายอย่าง ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะการท�ำการค้า การเข้าหาลูกค้าที่มีแบบ B to B หรือ B to C ดังนั้นเราจึงให้ ความส�ำคัญกับต้นทาง ที่หมายถึงเว็บไซต์ หรือ Facebook ควรมีการอัพเดท มีการดาวน์โหลดหน้าเว็บได้อย่างรวดเร็ว เพือ่ ดึงดูดลูกค้าให้ตดั สินใจซือ้ รวมไปถึงสามารถรองรับ Google Business สิ่งส�ำคัญในการท�ำเว็บไซต์คือ ข้อมูลส�ำหรับติดต่อ ซึง่ อาจจะหมายถึงเบอร์โทรศัพท์ หรือ Line ID เพือ่ เพิม่ ช่องทาง หรือเครื่องมือในการติดต่อธุรกิจให้ได้หลายทางมากยิ่งขึ้น แต่สงิ่ ทีส่ ำ� คัญยิง่ กว่านัน้ คือ เราต้องทิง้ รอยเท้าหรือ Foot Print ของธุรกิจของเราในโลกออนไลน์ให้มากทีส่ ดุ อาจจะไม่เพียง แค่การขายสินค้าแต่หมายถึงบทความดีๆ มีคณ ุ ภาพ เพือ่ สร้าง การรับรู้ให้กับลูกค้าในอนาคต

Designed by Freepik

สิ่งที่ส�ำคัญที่สุด คือ เราต้องทิ้งรอยเท้าหรือ Foot Print ของธุรกิจ ของเราในโลกออนไลน์ ให้มากที่สุด อาจจะ ไม่เพี ยงแค่การขายสินค้า แต่หมายถึงบทความดีๆ มีคุณภาพ เพื่ อสร้างการ รับรู้ให้กับลูกค้าในอนาคต คุณจิตร์งาม พราหมณีนิล ผู้บริหาร K-Print

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


INTERVIEW

23

การปรับตัวให้ทน ั เทคโนโลยีและผูบ ้ ริโภคของธุรกิจ Start up

Designed by Pressfoto / Freepik

อย่ า งที่ เราทราบกั น เป็ น อย่ า งดี อ ยู ่ แ ล้ ว ว่ า พฤติ ก รรมของ ผู ้ บ ริ โ ภคทั่ ว โลกมี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งรวดเร็ ว ไปตาม เทคโนโลยี ดั ง นั้ น แค่ ใช้ เ ทคโนโลยี ห รื อ โชเซี ย ลมี เ ดี ย เป็ น ยังไม่เพียงพอ แต่ต้องสังเกตพฤติกรรมของลูกค้า อาจจะเก็บ โดยวิธีพื้นฐานทั่วไปหรือการใช้ซอร์ฟแวร์ส�ำหรับการจัดเก็บ ข้อมูลโดยเฉพาะ

การติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ที่หลากหลายช่องทาง การเชื่อมโยงช่องทางต่างๆ รวมให้เป็นหนึ่งเดียว โดยผสมผสานช่องทางการ สื่อสารเหล่านั้นทั้งออนไลน์ (Online) และการขาย หน้าร้าน (Offline) เพื่ อสร้าง ประสบการณ์ท่ด ี ีให้กับลูกค้า อย่างชาญฉลาดและไร้รอยต่อ

Designed by Creativeart / Freepik

ความแตกต่าง จุดอ่อน และจุดแข็งของการตลาดออนไลน์และออฟไลน์

ทัง้ ออนไลน์และออฟไลน์ไม่มเี ส้นแบ่ง แต่เป็น Omni-Channel ซึ่งหมายถึง การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าที่หลากหลายช่องทาง การเชื่อมโยงช่องทางต่างๆ รวมให้เป็นหนึ่งเดียว โดยผสม ผสานช่องทางการสือ่ สารเหล่านัน้ ทัง้ ออนไลน์ (Online) และ การขายหน้าร้าน (Offline) เพือ่ สร้างประสบการณ์ทดี่ ใี ห้กบั ลูกค้าอย่างชาญฉลาดและไร้รอยต่อ ทั้งสองสิ่งนี้เป็นสิ่งเดียวกัน เพราะเราไม่สามารถหลีกเลี่ยง การสร้างการรับรู้ในออนไลน์ได้ และในขณะเดียวกันเราต้อง สร้างประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์ในออฟไลน์หรือการขาย หน้าร้านไปด้วยเช่นกัน เพราะฉะนั้น ทุกวันนี้การท�ำออนไลน์ ไม่เพียงแค่เชิงการตลาดเพียงอย่างเดียว แต่ต้องน�ำออนไลน์ น�ำดิจิทัล เปิดรับธุรกิจหรือน�ำซอร์ฟแวร์ประเภทนี้เข้ามาใน

ธุรกิจ สร้างวัฒนธรรมในองค์กรให้พนักงานเปิดรับเทคโนโลยี ทางด้ า นดิ จิ ทั ล ให้ ม ากขึ้ น ในวั น หนึ่ ง เราอาจจะต้ อ งพิ ม พ์ โบร์ชัวร์ในรูปแบบของ “Personalized Marketing” หรือ “การตลาดเฉพาะบุคคล” 1,000 ราย 1,000 ชิ้น 1,000 คอนเทนต์ ก็ ไ ด้ โดยที่ เราเป็ น ผู ้ จั ด การให้ กั บ ลู ก ค้ า ทั้ ง หมด แต่หากถามว่าเป็นตัวแปรที่ท�ำให้เกิดการแข่งขันที่ดีข้ึนส�ำหรับ ธุรกิจสิง่ พิมพ์หรือไม่นนั้ ก็ตอบได้วา่ ใช่ เพราะท�ำให้ธรุ กิจสิง่ พิมพ์ เกิดความน่าสนใจมากขึ้น สิ่งนี้ท�ำให้เห็นได้ว่าทั้งออนไลน์ และออฟไลน์ คื อ เรื่ อ งเดี ย วกั น ไม่ อ ยากให้ ม องว่ า การน� ำ เทคโนโลยีมาใช้เป็นทางรอดหรือทางเลือก แต่เป็นอาวุธ ในการแข่งขัน เพราะฉะนั้น เราหลีกไม่ได้ที่จะต้องออนไลน์ และออฟไลน์ไปด้วยกัน www.thaiprint.org


24 KNOWLEDGE

่ วกับการพิ มพ์ ออฟเซต สาระน่ารูเ้ กีย การควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต (2) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com

Photo by Jealous Weekends on Unsplash

ในการควบคุ ม คุ ณ ภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต เครื่อ งมื อ วั ด เป็ น สิ่ง ที่ ส� ำ คั ญ ที่ ใ ช้ ใ นการบอกค่ า ต่ า งๆ อาทิ เ ช่ น ค่ า ความเข้ ม สี ค่ า เม็ ด สกรี น บวม ค่ า การทั บ ซ้ อ น ค่ า สี เป็ น ต้ น ค่ า ที่ไ ด้ จ ากการวั ด จะเป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ช่ า งพิ มพ์ สามารถตัดสินใจในการท�ำงานได้สะดวกมากขึ้น และท�ำให้สามารถควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ได้ตามมาตรฐาน

เครื่องมือวัดค่าความด�ำและค่าสีทางการพิ มพ์ (Spectrodensitometer)

ในการควบคุ ม คุ ณ ภาพทางการพิ ม พ์ ใ นยุ ค เริ่ ม ต้ น จะใช้ เครื่องมือวัดค่าความด�ำเพียงอย่างเดียว โดยรู้จักกันในชื่อของ เครื่องเดนซิโตมิเตอร์ (Densitometer) เครื่องวัคค่าความด�ำ จะใช้วัดค่าความด�ำหรือความเข้มของหมึกพิมพ์ (Density) เป็นหลัก เพือ่ ท�ำให้ชา่ งพิมพ์สามารถควบคุมการปล่อยหมึกพิมพ์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ให้มคี วามหนาของชัน้ ฟิลม์ ของหมึกพิมพ์ทเี่ ท่ากันหรือใกล้เคียงกัน เครื่องวัดค่าความด�ำในช่วงเวลานั้นจะมี 2 ประเภทด้วยกัน คือ เครือ่ งวัดค่าความด�ำแบบแสงส่องผ่าน ใช้สำ� หรับการวัดค่าความด�ำ ของฟิล์มแยกสีทางการพิมพ์ และเครื่องวัดค่าความด�ำแบบ สะท้อนแสง ใช้ส�ำหรับการวัดค่าความด�ำของหมึกพิมพ์


KNOWLEDGE 25

ภาพที่ 1 เครื่องวัดค่าความด�ำแบบแสงส่องผ่าน ที่มา: www.xrite.com

ภาพที่ 2 เครื่องวัดค่าความด�ำแบบสะท้อนแสง ที่มา: www.xrite.com

หลักการท�ำงานของเครื่องวัดค่าความด�ำนั้น จะใช้หลักการวัด ค่าแสงที่ได้จากการส่องผ่านหรือสะท้อนของแสง ในภาพที่ 3 แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่าการสะท้อนแสงและ ค่าความด�ำ จะสามารถสังเกตได้ว่า จากทางซ้ายมือของภาพ เมื่อแสงจากเครื่องมือวัด (100%) ตกกระทบลงบนกระดาษ ที่ไม่ได้ท�ำการพิมพ์ จะท�ำให้สามารถสะท้อนแสงได้ 100%* จากตรงกลางและด้านขวาของรูปจะแสดงให้เห็นว่า แสงจาก เครื่องมือวัด (100%) ตกกระทบลงบนกระดาษที่มีหมึกพิมพ์ ที่ มี ค วามหนาของชั้ น หมึ ก พิ ม พ์ แ ตกต่ า งกั น ท� ำ ให้ ป ริ ม าณ

การสะท้ อ นแสงได้ จ ะมี ค วามแตกต่ า งกั น หมึ ก พิ ม พ์ ท่ี มี ความหนาของชัน้ หมึกพิมพ์ทหี่ นาจะท�ำให้แสงสะท้อนได้นอ้ ยลง และท�ำให้ค่าความด�ำหรือค่าเดนซิตี้สูงขึ้นนั้นเอง เพราะฉะนั้น หลักการวัดค่าแสงที่ส่องผ่านหรือสะท้อนจากวัตถุ จึงได้ถูกน�ำ มาใช้เป็นหลักการท�ำงานของเครื่องวัดค่าความด�ำ * ในการวัดค่าความด�ำในการปฏิบตั งิ านจริง กระดาษจะมีรพู รุน ที่เกิดจากกระบวนการผลิตกระดาษ ท�ำให้เมื่อวัดค่าความด�ำ ของกระดาษจะมีค่าประมาณ 0.02 – 0.05 www.thaiprint.org


26 KNOWLEDGE

Density value

Density value

Density value

0.00

0.60

1.40

100%

100% 100%

100% 80%

50%

ภาพที่ 3 ความสัมพั นธ์ระหว่างการสะท้อนแสงและค่าความด�ำ ที่มา: Handbook of Print Media

จากหลักการดังกล่าว ท�ำให้เครื่องวัดค่าความด�ำในยุคแรกเริ่ม ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ไม่สามารถใช้วัดค่าสีได้ เนื่องจากสามารถบอกได้เพียงค่าความด�ำที่เกิดจากความหนา ของชั้นหมึกพิมพ์ที่พิมพ์บนกระดาษ แต่สาเหตุที่เครื่องวัดค่า

ความด�ำสามารถแสดงผลเป็นค่าความด�ำของสี C M Y และ K ได้ จะมาจากหลักการของสีคตู่ รงกันข้าม ทีน่ ำ� มาผลิตเป็นฟิลเตอร์ R G B และใช้ในการแสดงผลนั้นเอง

1.55

Color filter Color filter Color filter Polarisation filter Polarisation filter Lens system

Paper ภาพที่ 4 การท�ำงานของเครื่องวัดค่าความด�ำ ที่มา: Handbook of Print Media

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


KNOWLEDGE 27

จากภาพที่ 4 แสดงให้เห็นว่า หมึกพิมพ์สีฟ้าจะเป็นสีคู่ตรงข้าม กับสีแดง ท�ำให้เครื่องมือวัดที่ใช้ฟิลเตอร์สีแดงในการรับแสง จะสามารถประเมินผลได้ว่าเป็นสีใดในการวัด เพราะฉะนั้น เครื่องวัดค่าความด�ำจะไม่สามารถน�ำมาใช้วัดสีได้ จะวัดได้ เพียงความหนาของชั้นหมึกพิมพ์ในการพิมพ์เท่านั้น ดังนั้น ในช่วงแรกของการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์จึงท�ำได้เพียง ตรวจสอบความหนาของชั้นหมึกพิมพ์ การเกิดเม็ดสกรีนบวม การทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ เป็นต้น

ส�ำหรับการวัดสี ในอดีตจ�ำเป็นต้องใช้เครื่องวัดสีโดยเฉพาะ ที่ รู ้ จั ก กั น ในชื่ อ ของ เครื่ อ งสเปกโตรโฟโตมิ เ ตอร์ (Spectrophotometer) ซึ่งได้ถูกออกแบบมาในการวัดสี ของวัตถุทแี่ ตกต่างกัน มีทงั้ วัดสีงานพิมพ์และวัดของเหลวต่างๆ ท�ำให้การวัดค่าความด�ำและค่าสี จ�ำเป็นต้องใช้เครื่องมือวัดถึง 2 ตัว ปัจจุบันเครื่องมือวัดในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ ได้ถูกออกแบบและพัฒนา ท�ำให้สามารถใช้งานในการวัดและ ควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ได้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น โดยจะรู้จัก กันในชื่อ เครื่องวัดค่าความด�ำและค่าสี หรือเครื่องสเปกโตร เดนซิโตมิเตอร์ (Spectrodensitometer) ดังแสดงในภาพที่ 5

ภาพที่ 5 ตัวอย่างเครื่องวัดค่าความด�ำและค่าสี (Spectrodensitometer) ยี่ห้อต่างๆ

www.thaiprint.org


28 KNOWLEDGE

เครื่องวัดค่าความด�ำและค่าสีในปัจจุบัน จะสามารถวัดค่า ความด�ำ ค่าการเกิดเม็ดสกรีนบวม ค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ ค่าการทับซ้อนของหมึกพิมพ์ ค่าสีในโหมดต่างๆ เช่น CIE L*a*b*, L*c*h เป็นต้น ท�ำให้การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ สามารถท�ำได้สะดวกมากยิ่งขึ้น โดยจะมีเมนูต่างๆ เพิ่มเข้ามา เช่น การเปรียบเทียบค่าสีของตัวอย่างงานพิมพ์กับงานพิมพ์ ที่พิมพ์ได้ โดยจะค�ำนวณค่าความแตกต่างสีหรือ เดลต้า อี (Delta E) ท�ำให้ชา่ งพิมพ์และเจ้าของงาน สามารถเปรียบเทียบ ค่าสีงานพิมพ์ ท�ำให้เกิดการสื่อสารในเรื่องสีของงานพิมพ์ได้ อย่างถูกต้อง Yellow +b* +80 +60

C*

+40 +20

-a* Green

—80

—60

—40

h* +20

—20

+40

+60

+80

+a* Red

—20 —40 —60 —80

-b* Blue ภาพที่ 6 ค่าสีในโหมดซีแล็บ (CIE L*a*b*) ที่มา: Handbook of Print Media

ส�ำหรับการตรวจสอบและควบคุมค่าสีในการพิมพ์ ค่าสีที่นิยม ใช้กัน คือ ค่าสีในโหมดซีแล็บ (CIE L*a*b*) ซึ่งเป็นการแสดง สี ใ นรู ป แบบ 3 มิ ติ โดยค่ า L* จะเป็ น แกนตั้ ง แสดงถึ ง ค่าความสว่างของสี โดยถูกก�ำหนดในตัวเลขที่ 0 – 100 ซึง่ ค่า 0 คือ ไม่มีความสว่างของสี และค่า 100 คือ สีขาว ในค่า a* และ b* จะแสดงถึ ง สี สั น ต่ า งๆ และความอิ่ ม ตั ว ของสี โดยถูกก�ำหนดในตัวเลขที่ -100 จนถึง 100 ซึ่งจะแสดงค่าสี ที่แตกต่างกันไป

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

สิง่ ทีส่ ำ� คัญในการวัดค่าสี คือ การปรับตัง้ เครือ่ งมือวัดให้ถกู ต้อง จากภาพที่ 7 จะแสดงให้เห็นว่า จะต้องมีการก�ำหนดค่าใน การวัดต่างๆ ให้ถูกต้อง เช่น โหมดในการวัดสี (M0, M1, M2) แสงที่ใช้ในการวัด (D50, D65) เป็นต้น ซึ่งจะอธิบายเพิ่มเติม ในตอนต่อไป ค่าต่าง ๆ ที่ต้องก�ำหนดในการวัด จะส่งผลต่อ ค่าสีที่วัดนั้นเอง หากปรับตั้งค่าต่างๆ ไม่ถูกต้อง อาจจะท�ำให้ ค่าสีที่ได้ไม่ถูกต้อง ท�ำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารระหว่าง ช่างพิมพ์และเจ้าของงานได้


KNOWLEDGE 29

ภาพที่ 7 การตั้งค่าของเครื่องมือวัดก่อนท�ำการวัด เพื่ อควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์

www.thaiprint.org


30

NEWS

แถลงข่าวโครงการรางวัล PM Award ผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น ประจ�ำปี 2563 Prime Minister's Export Award 2020 ภายใต้แนวคิด "Leading the way" รับสมัครตั้งแต่วันนี้ - 10 เมษายน 2563

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ จัดงานแถลงข่าวโครงการ รางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกดีเด่น ประจ�ำปี 2563 Prime Minister's Export Award 2020 ภายใต้แนวคิด “Leading the way” โดยมี นายสมเด็จ สุสมบูรณ์ อธิบดีกรมส่งเสริม การค้าระหว่างประเทศ เป็นประธานในพิธี วันที่ 5 มีนาคม 2563 เวลา 08.30-12.30 น. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมฮิลตัน สุขุมวิท 25 THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

โครงการ PM Award ปีนจี้ ดั ขึน้ เป็นปีที่ 29 และทีผ่ า่ นมามีผไู้ ด้รบั รางวัล 604 บริษัท 708 รางวัล โครงการนี้เป็นการคัดเลือก ผู้ประกอบการไทยในกลุ่มธุรกิจส่งออกที่มีการผลิตสินค้าหรือ บริการ ที่มีความโดดเด่นในด้านนวัตกรรมความคิดสร้างสรรค์ มีกระบวนการผลิตที่ได้มาตรฐาน ตลอดจนมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมให้เป็นผูท้ มี่ สี ทิ ธิเ์ ข้ารับการพิจารณาเพือ่ รับรางวัลจาก คณะกรรมการผูท้ รงคุณวุฒหิ ลากหลายสาขาวิชาชีพ แบ่งออกเป็น 7 ประเภท ดังนี้


NEWS

31

1) รางวัลผู้ประกอบธุรกิจส่งออกยอดเยี่ยม (Best Exporter) 2) รางวัลสินค้นวัตกรรมยอดเยี่ยม (Best Innovation) 3) รางวัลแบรนด์ไทยยอดเยี่ยม (Best Thai Brand) 4) รางวัลสินค้าไทยที่มีการออกแบบยอดเยี่ยม (Best Design) 5) รางวั ล สิ น ค้ า ธุ ร กิ จ บริ ก ารยอดเยี่ ย ม (Best Service Enterprise Award) เป็นรางวัลที่มอบให้แก่ธุรกิจบริการ ยอดเยี่ยม แบ่งออกเป็น 4 สาขา - สาขาโรงพยาบาล / คลินิกเฉพาะทางในโรงพยาบาล - สาขาดิจิทัลคอนเทนท์และซอฟต์แวร์ - สาขาธุรกิจสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ - สาขาโลจิสติกส์สินค้า (ELMA) 6) รางวัลสินค้าหนึง่ ต�ำบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ยอดเยีย่ ม (Best OTOP) 7) รางวัลสินค้าฮาลาลยอดเยี่ยม (Best Halal)

• คุณสุรนาม พานิชการ ผูก้ อ่ ตัง้ และกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โทฟุซัง จ�ำกัด • คุณรัฐ เปลีย่ นสุข สถาปนิกและนักออกแบบ “สัมผัส แกลลอรี”่

ภายในงานมีการเสวนาในหัวข้อ “Success Case เคล็ดไม่ลบั สู่ความส�ำเร็จ” โดยมีวิทยากร 4 ท่าน ได้แก่

โทรศัพท์ : 081-987-8973, 084-000-4565 และ 080-040-0012 Email : pmaward2020@gmail.com

• คุณอภิศกั ดิ์ เทพผดุงพร กรรมการผูจ้ ดั การและผูอ้ ำ� นวยการ ขายต่างประเทศ บริษัท เทพดุงพรมะพร้าว จ�ำกัด • คุณฉัตรชัย วงศ์มานะโรจน์ศรี กรรมการผู้จัดการ บริษัท ภูตะวัน เฮิร์บ แอนด์ คอสเมติค จ�ำกัด

ซึ่งทั้ง 4 ท่านเป็นผู้ประกอบการที่ได้รับรางวัล PM Award 2018 - 2019 มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์การท�ำธุรกิจและ ประโยชน์ของการเข้าร่วมโครงการ พร้อมทั้งแนะน�ำเคล็ดลับ การเข้าเป็นหนึ่งในท�ำเนียบรางวัลผู้ส่งออกสินค้าและบริการ ดีเด่น เพื่อยกระดับภาพลักษณ์ที่ดีของแบรนด์สินค้า

เปิดรับสมัครตั้งแต่ วันนี้ - 10 เมษายน 2563 ส�ำหรับผูส ้ นใจเข้าร่วมโครงการสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่ มเติมได้ที่

ดูรายละเอียดโครงการเพิ่ มเติมได้ท่ี

เว็บไซต์: www.pm-award.com

www.thaiprint.org


32

NEWS

สัมมนา "Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry" ครั้งที่ 2 วันที่ 19 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ จัดกิจกรรมสัมมนาในหัวข้อ “Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry” ร่วมก้าวเดินเพื่อธุรกิจการพิมพ์ก้าวหน้า ครั้งที่ 2 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 สมาคมการพิมพ์ไทย การสัมมนาในวันนีแ้ บ่งเป็น 3 หัวข้อได้แก่ 1. การสัมมนาหัวข้อ “การใช้ข้อมูลในการขับเคลื่อนธุรกิจ : Digital Transform for Printing” โดย คุณณัช เมธีนิธิกร นักวิจัยอิสระ ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้ค�ำปรึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2. การสัมมนาหัวข้อ “การตลาดแบบอัตโนมัติ (Marketing Automation) กลยุทธส�ำหรับสิ่งพิมพ์ปี 2020” โดย คุณจิตร์งาม พราหมณีนิล เจ้าของกิจการ, K-Print 3. สัมมนาหัวข้อ “เทคนิคการเล่าเรือ่ งแบรนด์ (Story Branding)” โดย อาจารย์โชน พีระวัฒน์ อดีตนักวางกลยุทธโฆษณารางวัลระดับโลก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


NEWS

33

ประชุมสามัญประจ�ำปี 2563 และการเลือกตั้งคณะกรรมการ กลุ่มฯ การพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ วาระปี 2563-2565

วันที่ 26 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 13.30-17.00 น. ณ ห้องประชุม 1010 สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ เรี ย นเชิ ญ สมาชิ ก เข้ า ร่ ว มการประชุ ม สามัญประจ�ำปี 2562 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อสร้างโอกาสในการพบปะสังสรรค์ และส่งเสริมมิตรภาพอันดีงามร่วมกัน พร้อมทั้งมีการฟังบรรยายพิเศษหัวข้อ “อู่ฮั่น เจียอิ๋ว... สู้สู้ จากอู่ฮั่นสะเทือน ถึงไทย” โดยคุณ ณ กาฬ เลาหะวิไลย (บรรณาธิ ก าร Business Today) เพื่ อเป็ น แนวทางในการรู้เ ท่ากันและ ป้องกันไวรัสอูฮ่ นั่ หรือ ไวรัสโคโรน่า 2019 รวมถึงการวิเคราะห์เศรษฐกิจประเทศไทย เตรียมรับมือหลังเจอวิกฤตไวรัสอู่ฮั่น

หลังจบการบรรยายพิเศษ เป็นการประชุมสามัญประจ�ำปี 2563 โดยมีคณ ุ พิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ เป็นประธานเปิดการประชุมฯ • แถลงผลการด�ำเนินงานในรอบปี 2562 • แถลงงบดุลรายรับ-รายจ่าย ประจ�ำปี 2562 • และรับรองข้อบังคับกลุ่มฯ ในช่วงท้ายของงาน ที่ประชุมได้แต่งตั้งคุณเกรียงไกร เธียรนุกุล - รองประธาน สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย เป็ น ประธานการเลื อ กตั้ ง และสรรหา คณะกรรมการฯ ก่อนปิดท้ายด้วยการคัดเลือกประธานกลุ่ม ซึ่งในครั้งนี้คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช ได้รับต�ำแหน่งประธานกลุ่ม วาระปี 2563 - 2565 กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 13.30-17.00 น. ณ ห้องประชุม 1010 (ชั้น 10) สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย www.thaiprint.org


34

NEWS

สัมมนา "หลักสูตรอบรมเรื่อง การบริหารและการจัดการ เชิงวิศวกรรม เพื่ อการลด ต้นทุนผลิตในโรงพิ มพ์ "

วันที่ 21-22 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 9.00-16.00น. ณ ห้องสัมมนาชัน ้ 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย พระราม 9 สมาคมการพิมพ์ไทยจัดการสัมมนาหัวข้อ “หลักสูตรอบรม เรื่องการบริหารและการจัดการเชิงวิศวกรรม เพื่อการลด ต้นทุนผลิตในโรงพิมพ์” โดยมีเนื้อหาดังนี้ • หลักการบริหารการผลิต • การลดต้นทุนด้วยคุณภาพและ การบริหารสินค้าคงคลัง • โครงสร้างด้านวิศวกรรมโรงงานและเครื่องจักร • วิธีลดต้นทุนการผลิตเชิงวิศวกรรม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

สัมมนาดังกล่าว ถ่ายทอดความรูโ้ ดยวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒิ อาจารย์ ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ คณะเทคโนโลยีสอื่ สารมวลชน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และอาจารย์วริ ชั เดชาสิรสิ งิ ห์ ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านวิศวกรรมโรงงานอุตสาหกรรม โลหะ อะไหล่ และเครือ่ งจักร หลังจบการสัมมนา เป็นการมอบประกาศนียบัตรให้กบั ผูเ้ ข้าร่วม กิจกรรมจ�ำนวนทัง้ สิน้ 18 คน กิจกรรม ครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ ระหว่างวันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 9.00-16.00 น ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 สมาคมการพิมพ์ไทย พระราม 9


NEWS

35

การประชุมหารือเพื่ อคัดเลือกเป็น ่ ำ� หรับประเมินคุณวุฒว สถานทีส ิ ช ิ าชีพ ร่วมกับวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี วันที่ 28 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 09.30-14.00 น. ณ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

สมาคมการพิมพ์ไทย และสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การ มหาชน) จัดการประชุมเพื่อหารือในการคัดเลือกเป็นสถานที่ ส�ำหรับประเมินคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาออกแบบสิ่งพิมพ์ ชั้น 3 ร่วมกับคณาจารย์จากวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี โดยมีนางสาว มุ ก กริ น ทร์ สุ ม าริ ธ รรม - รองผู ้ อ� ำ นวยการ ฝ่ า ยวิ ช าการ ให้การต้อนรับ

ทัง้ นีไ้ ด้มกี ารตรวจประเมินความพร้อมของสถานที่ ทัง้ ห้องสอบ ภาคปฏิ บั ติ และภาคทฤษฎี รวมถึ ง การประชุ ม เพื่ อ ชี้ แจง รายละเอียดเบือ้ งต้นของโครงการ, งบประมาณโครงการ รวมถึง ข้อเสนอแนะและค�ำแนะน�ำต่างๆ ในบางส่วนทีต่ อ้ งแก้ไขปรับปรุง ให้มคี วามพร้อมในการเป็นสถานทีส่ ำ� หรับประเมิน เมือ่ วันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 ระหว่างเวลา 09.30-14.00 น. ณ วิทยาลัย เทคนิคมีนบุรี www.thaiprint.org



110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44

8/9/2560 2:47:57


38 KNOWLEDGE

การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 1

(Engineering cost reduction For the printing and packaging industry, part 1) วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com

Photo by Hubble on Unsplash

ในสถานการณ์ ณ ปัจจุบันนี้ ผู้ท่ีอยู่ในอุตสาหกรรม การพิ มพ์ และแพคเกจจิ้ ง และรวมถึ ง อุ ต สาหกรรม ประเภทอื่นๆ ทุกประเภท ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั่วโลก ต่างเผชิญการแข่งขันที่รุนแรง เกือบทุกบริษัท มีต้นทุนการผลิตและค่าใช้จ่ายต่างๆที่สูงขึ้น แต่มีราคา ขายสินค้าและบริการทีเ่ ท่าเดิม หรือต�ำ่ กว่าความเป็นจริง รวมถึงจ�ำนวนยอดขายที่ไม่เพิ่ มขึ้นหรือลดต�่ำลงด้วย แถมยังมีโรคไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) เข้ามาอีก ก็ยิ่ง ท�ำให้ทุกบริษัท ทุกโรงงานได้รับผลกระทบกันทั่วหน้า (ยกเว้นบริษท ั ส่วนน้อยทีไ่ ด้รบ ั ประโยชน์จากสถานการณ์น)้ี

การที่จะเพิ่มยอดขาย เพิ่มก�ำไรต่อหน่วยให้มากขึ้น เป็นเรื่องที่ ท�ำได้ยากมาก ฉะนัน้ เมือ่ เราเพิม่ ยอดขายและท�ำก�ำไรต่อหน่วย ไม่ได้หรือได้น้อย เราต้องมองหาวิธี ที่จะเพิ่มก�ำไรในด้านอื่นๆ ซึง่ วิธกี ารลดต้นทุนในทุกมิตขิ องโรงงานและกิจการ เป็นแนวทางและ ทางออกทีด่ ที สี่ ดุ ในสถานการณ์เช่นนี้ ซึง่ สุดท้ายแล้ว เมือ่ เราได้ทำ� และได้เห็นบทสรุปของผลลัพธ์ทอี่ อกมา เราก็จะทราบในทีส่ ดุ ว่า การลดต้นทุนก็เป็นวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ และเห็นผลได้เร็วทีส่ ดุ เมือ่ ได้ ลงมือท�ำ และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ก็คอื การลดต้นทุน เป็นวิธกี ารทีท่ ำ� ก�ำไร ได้อย่างยัง่ ยืนและต่อเนือ่ งทีส่ ดุ ให้กบั โรงงานและทุกกิจการทีไ่ ด้ลงมือท�ำ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ทีนี้เรามาดูว่าวิธีที่ท�ำแล้วจะได้ผลก�ำไรเพิ่ มขึ้นจาก การลดต้นทุนมีอะไรบ้าง ดังนี้

1. ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของค่าไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงาน โรงพิมพ์ ในแต่ล ะเดือน ในแต่ล ะปี ซื่งวิธีการนี้จะท�ำได้ง่า ยและ เห็นผลทันที 2. ลดต้นทุนด้านอะไหล่ของเครื่องจักรทุกประเภทในโรงงาน ซึ่งวิธีการนี้ก็จะเห็นผลเร็วเช่นเดียวกัน 3. ลดการช�ำรุดของเครือ่ งจักร เครือ่ งพิมพ์และอุปกรณ์ตอ่ เนือ่ ง ทีใ่ ช้ในโรงงาน วิธกี ารนีจ้ ะเห็นผลช้าหน่อย แต่ได้รบั ผลประโยชน์ มากเช่นเดียวกัน และจะได้ผลทัง้ ทางตรงและทางอ้อม และ ได้รับผลประโยชน์อย่างยั่งยืน 4. ลดต้นทุนด้านแรงงาน โดยใช้หลักการทางวิศวกรรมเข้ามา ช่วยในการท�ำงาน เช่น เพิม่ เครือ่ งจักรอัตโนมัตหิ รือปรับปรุง เครือ่ งจักรทีม่ อี ยูเ่ ดิมให้ทำ� งานเร็วขึน้ สะดวกขีน้ หรือจัดการ วางผังเครือ่ งจักรใหม่ เพือ่ ให้ระบบการส่งต่อของขบวนการผลิต เคลื่อนย้ายได้สะดวกแบบไม่ติดขัด


KNOWLEDGE 39

5. ลดต้นทุนในเรื่องของการน�ำระบบอัตโนมัติมาใช้ให้เต็ม รูปแบบตั้งแต่ ระบบการจัดเก็บ (ทั้งรับเข้าและส่งออก), ขบวนการผลิต, ระบบเคลือ่ นย้ายและส่งต่อภายใน, การบรรจุ หีบห่อและการจัดเรียง และระบบไอที/มอนิเตอร์ ส�ำหรับ ควบคุม รายงาน และแจ้งเตือนทุกขบวนที่เกิดขึ้น เพื่อให้ ผูท้ มี่ หี น้าทีร่ บั ผิดชอบทราบถึงข้อมูลทีเ่ กิดขึน้ แบบเรียลไทม์ (Real Time Monitoring) ส� ำหรับในหัวข้อที่ 1. ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายค่าไฟฟ้า ในโรงพิ มพ์ ซึ่งมีวิธีการลดได้หลายวิธี ดังนี้ 1.1 ลดค่าไฟฟ้าของระบบไฟส่องสว่าง

* ไฟส่องสว่างในโรงงานส่วนมาก จะมี 2 แบบคือ แบบที่ 1. หลอดไฟแบบหลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ มีชุดบัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์ และ แบบ หลอด LED ขนาด 18 วัตต์ ไม่ต้องใช้บัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์

โรงพิมพ์ มีหลอดแบบเดียวกันนี้ 150 หลอด เปิดนาน 14 ชัว่ โมง จะได้ปริมาณการใช้ไฟฟ้า 16.016 x 150 = 2,402.40 หน่วย • ดั ง นั้ น ค่ า ไฟฟ้ า ส� ำ หรั บ การเปิ ด หลอดฟลู อ อเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ จ�ำนวน 150 หลอด นาน 14 ชั่วโมงต่อวัน เป็นเวลา 1 เดือน จะเท่ากับ 2,402.40 หน่วย x 4 บาทต่อหน่วย = 9,609.60 บาท • ฉะนั้นในเวลา 1 ปี เราต้องเสียค่าไฟฟ้าส�ำหรับไฟส่องสว่าง แบบหลอดฟลูออเรสเซนต์ เท่ากับ 9,609.60 x 12 = 115,315.20 บาท • ถ้าเราเปลี่ยนมาใช้หลอดไฟแบบ LED ขนาด 18 วัตต์ ทุกหลอด คือจ�ำนวน 150 หลอด เราจะเสียค่าไฟฟ้าต่อปี เท่าไร และจะประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้เท่าไร หลอดไฟแบบ LED ขนาด 18 วัตต์ x 14 ชั่วโมง x 150 หลอด x 26 วัน x12 เดือน/1,000 วัตต์ = 11,793.60 หน่วย คิดเป็นค่าไฟฟ้า ต่อปี 11,793.60 หน่วย x 4 บาทต่อหน่วย = 47,174.40 บาท

หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์

หลอดไฟแบบ LED ขนาด 18 วัตต์

มาดู ก ารค� ำ นวณค่ า ไฟฟ้ า ที่ ใช้ ใ นแต่ ล ะเดื อ น โดยสมมุ ติ ว ่ า โรงพิมพ์แห่งหนึ่ง มีใช้หลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ จ�ำนวน 150 หลอด เปิดนานเฉลี่ย 14 ชั่วโมงต่อวัน ภายในเวลา 1 ปี จะเสียค่าไฟฟ้าเท่าไร โดยคิดค่าไฟฟ้า 4 บาท ต่อหน่วย • ปกติหลอดไฟแบบนี้จะต้องใช้ร่วมกับ บัลลาสต์และสตาร์ท เตอร์ เมื่อรวมทั้งหมดแล้ว จะกินไฟรวมเท่ากับ 44 วัตต์ • ถ้าหลอดฟลูออเรสเซนต์ กินไฟสุทธิ 44 วัตต์ เปิดวันละ 14 ชั่วโมง จะกินค่าไฟฟ้าทั้งหมดเท่าไร ? 44 วัตต์ x 14 ชั่วโมง = 616 วัตต์-ชั่วโมง ดังนั้น เวลา 1 เดือน หลอดไฟ 1 หลอด จะกินไฟ 616 x 26 = 16,016 วัตต์-ชั่วโมง • ค่าไฟต่อหน่วย เมื่อเราอยากรู้ว่า เราใช้ไฟฟ้าไปเท่าไร เราจะได้ยินค�ำว่า “หน่วย” ก็คือ 1,000 วัตต์/ชั่วโมง ดังนัน้ จากตอนต้น เราได้ตวั เลข 16,016 วัตต์-ชัว่ โมง/1,000 จะได้ = 16.016 หน่วย

เพราะฉะนั้นในเวลา 1 ปี จะประหยัดเงินไปได้เท่ากับ 115,315.20 - 47,174.40 = 68,140.80 บาท *ข้อมูลควรทราบ - เมือ่ เราจะเปลีย่ นหลอดไฟฟ้าจากหลอดแบบฟลูออเรสเซนต์ เป็นหลอดแบบ LED เราไม่ต้องเปลี่ยนขายึดหรือโคมใหม่ ให้ใช้ขายึดและโคมเดิมได้เลย โดยถอดสายออกจากบัลลาสต์ และสตาร์ทเตอร์ และต่อสายไฟใหม่ (ช่างไฟฟ้าจะทราบ อยู่แล้ว ว่าต่ออย่างไร) ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ก็ถือว่าไม่มี ใช้ช่าง ของโรงงานท�ำเองได้ - ราคาหลอดไฟแบบ ฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ ราคา หลอดละประมาณ 30-35 บาท ส่วนราคาหลอดแบบ LED ขนาด 18 วัตต์ ราคาหลอดละประมาณ 90-100 บาท ถ้าเรา เปลี่ยนหลอดไฟทั้งหมด 150 หลอดจะมีค่าใช้จ่ายประมาณ 13,000-15,000 บาท ค่าใช้จ่ายในส่วนนี้เราจะได้คืนมา จากค่าไฟฟ้าที่จ่ายน้อยลงในแต่ละเดือน ภายในระยะเวลา ประมาณ 3 เดือนก็ได้คืนทุนแล้ว - อายุการใช้งานของหลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนต์ ประมาณ 15,000-18,000 ชั่วโมง (ประมาณ 3-4 ปี) ส่วนอายุการ ใช้งานของหลอด LED ประมาณ 50,000-60,000 ชั่วโมง (ประมาณ 9-10 ปี) www.thaiprint.org


40 KNOWLEDGE

แบบที่ 2. หลอดไฟแบบ ไฮเบย์ ชนิดหลอดแสงจันทร์ ขนาด 250 วัตต์ แบบมีบลั ลาสต์ และแบบ ไฮเบย์ แบบ LED ขนาด 120 วัตต์ ไม่ต้องใช้บัลลาสต์

หลอดไฟแบบ ไฮเบย์แสงจันทร์ ขนาด 250 วัตต์

หลอดไฟแบบ ไฮเบย์ LED ขนาด 120 วัตต์

สมมุตวิ า่ โรงพิมพ์แห่งหนึง่ มีการติดตัง้ และใช้งาน หลอดไฟแบบ ไฮเบย์ แ สงจั น ทร์ ขนาด 250 วั ต ต์ ในบริ เวณโกดั ง สิ น ค้ า ด้านนอกอาคาร และบริเวณอืน่ ๆในบริเวณโรงงาน รวมประมาณ 40 ชุด เปิดใช้งานเฉลี่ย 12 ชั่วโมงต่อวัน ภายในระยะเวลา 1 ปี จะจ่ายค่าไฟฟ้าเท่าไร คิดราคาค่าไฟฟ้าต่อหน่วยที่ 4 บาท • การค�ำนวณค่าไฟฟ้า ส�ำหรับหลอดไฟแบบไฮเบย์แสงจันทร์ ขนาด 250 วัตต์ หลอดไฟแบบไฮเบย์แสงจันทร์ ขนาด 250 วัตต์ x 12 ชัว่ โมง x 40 หลอด x 26 วัน x 12 เดือน / 1,000 วัตต์ = 37,440 หน่วย คิดเป็นค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายใน 1 ปี จ�ำนวนหน่วย 37,440 x 4 บาท = 149,760 บาท • การค�ำนวณค่าไฟฟ้า ส�ำหรับหลอดไฟแบบไฮเบย์ LED ขนาด 120 วัตต์ หลอดไฟแบบไฮเบย์ LED ขนาด 120 วัตต์ x 12 ชั่วโมง x 40 หลอด x 26 วัน x 12 เดือน / 1,000 วัตต์ = 17,972 หน่วย

ประมาณ 2,200 บาท เมื่อรวมอุปกรณ์ติดตั้ง พร้อมค่าแรง ติดตั้ง จะตกประมาณ 3,000 บาทต่อชุด ถ้าจะเปลีย่ นทัง้ หมด 40 ชุด จะมีคา่ ใช้จา่ ยประมาณ 120,000 บาท และเมื่อเราได้เปลี่ยนโคมไฟหมดแล้ว เราจะได้ส่วนลด ค่าไฟฟ้าลงประมาณ 77,872 บาท ต่อปี เพราะฉะนั้น จะใช้ เวลาประมาณ 1 ปีครึ่ง จะคืนทุนทั้งหมด - อายุการใช้งานของหลอดไฟไฮเบย์ แบบ LED ประมาณ 50,000-60,000 ชั่วโมง ( ประมาณ 8-10 ปี) ซึ่งจะมากกว่า หลอดไฮเบย์แบบ แสงจันทร์ ประมาณ 2-3 เท่า - ความสว่างของหลอดไฟทั้งสองเมื่อเทียบกันต่อวัตต์ หลอด ไฟแสงจันทร์ ให้ความสว่าง 65 lm/watt ส่วนหลอดไฮเบย์ LED ให้ความสว่าง 140-150 lm/watt 1.2 ลดค่าไฟฟ้าของปั๊ มลมทีใ่ ช้ในโรงพิ มพ์ โรงงาน

ระบบเครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งพิ ม พ์ และอุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งใน ขบวนการผลิ ต ที่ ใช้ ง านอยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ต้ อ งมี อุ ป กรณ์ ล ม (Pneumatic Systems) ถูกติดตัง้ มาด้วยแทบทุกเครือ่ ง ฉะนัน้ เครื่องจักรและอุปกรณ์ลมก็ต้องการใช้ลมอัด ลมอัดก็ถูกผลิต มาจากปั ๊ ม ลม (Air Compressor) ซึ่ ง ปั ๊ ม ลมที่ ถู ก ใช้ ง าน ในปั จ จุ บั น มี ทั้ ง หมด ประมาณ 6 ชนิ ด แต่ ที่ นิ ย มใช้ ม าก ในปัจจุบันมีอยู่ 4 ชนิด ดังนี้ 1. เครือ่ งอัดอากาศ ชนิดลูกสูบ (Reciprocating air compressor) 2. เครื่องอัดอากาศแบบสกรู (Screw air compressor) 3. เครื่องอัดอากาศแบบใบพัดหมุน(Roots air compressor) 4. เครื่องอัดอากาศแบบใบพัดเลื่อน (Sliding vane rotary compressor)

คิดเป็นค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายใน 1 ปี จ�ำนวนหน่วย 17,972 x 4 บาท = 71,888 บาท เพราะฉะนั้นภายในระยะเวลา 1 ปี ถ้าเราเปลี่ยนหลอดไฟ จากแบบหลอดแสงจั น ทร์ มาเป็ น แบบ LED ทั้ ง หมด จะประหยัดเงินไปได้เท่ากับ 149,760 – 71,888 = 77,872 บาท * ข้อมูลควรทราบ - เมื่อเราจะเปลี่ยนโคมไฟฟ้าจากโคมแบบ ไฮเบย์ แสงจันทร์ เป็น แบบ โคมไฮเบย์ LED เราต้องซื้อเปลี่ยนใหม่ทั้งชุด ราคาของ โคมไฮเบย์ แบบ LED ขนาด 120 วัตต์ ราคาต่อชุด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

1. เครื่องอัดอากาศ ชนิดลูกสูบ (Reciprocating air compressor)

2. เครื่องอัดอากาศ ชนิดสกรู (Screw air compressor)


KNOWLEDGE

41

หาวิธีลดค่าไฟฟ้า

วิธีที่ 1. ถ้าเครื่องอัดลมแบบสกรูเก่ามากแล้ว ต้องซ่อมอยู่เป็น ประจ�ำให้เปลี่ยนเครื่องอัดลมแบบสกรู ตัวใหม่เป็นรุ่น VSD (Variable Speed Drive Air Compressor) คือ ปั๊มลม ที่สามารถปรับรอบความเร็วมอเตอร์ได้ 3. เครื่องอัดอากาศแบบใบพั ดหมุน (Roots air compressor)

4. เครื่องอัดอากาศแบบใบพั ดเลื่อน (Sliding vane rotary compressor)

ตัวอย่าง: โรงพิมพ์เดิม เปลี่ยนมาใช้เครื่องอัดลม แบบ VSD ขนาด 75kw. เท่าเดิม ชั่วโมงท�ำงานเท่าเดิม 6,500 ชั่วโมง/ปี ตรวจวัดค่าพลังงานเฉลี่ยได้ 60.5 kw. จะได้ความประหยัด พลังงานไฟฟ้าและประหยัดเงินได้เท่าไร ในเวลา 1 ปี ? ก่อน 80 x 6,500 = 520,000 kwh/ปี หลัง 60.50 x 6,500 = 393,250 kwh/ปี ผลประหยัด 520,000-393,25 = 126,750 kwh/ปี เพราะฉะนั้นจะประหยัดเงินได้ภายในระยะเวลา 1 ปีเท่ากับ 126,750 x 44 = 507,000 บาท

• เครื่องอัดอากาศแบบที่ 1 และ 2 จะใช้มากและทุกโรงงาน ต้องใช้ เพือ่ ส�ำหรับผลิตลมอัดทีม่ แี รงดัน 5-15 บาร์ หรือมากกว่า

ส�ำหรับเครื่องปั๊มลม ยังมีข้อมูลที่จะแนะน�ำเพื่อจะช่วยให้ ประหยัดค่าไฟฟ้าได้อีก ดังนี้

• เครื่องอัดอากาศ แบบที่ 3 และ 4 จะใช้ในบางโรงงาน และ ส่วนมากใช้ในโรงพิมพ์ โดยใช้เป็นท�ำเป็นระบบสูญญากาศ ส� ำ หรั บ ระบบดู ด กระดาษจะไม่ ใช้ ส ร้ า งลมอั ด แรงดั น สู ง เหมือนแบบที่ 1 และ 2

1.2.1 การลดอุณหภูมขิ องอากาศก่อนเข้าปัม๊ ลม จะช่วยให้อากาศ รอบๆ ปัม๊ ลมมีความหนาแน่นเพิม่ มากขึน้ เพราะถ้าอุณหภูมสิ งู ความหนาแน่นของอากาศจะลดลง ปัม๊ ลมก็ตอ้ งท�ำงานนานขึน้ เพือ่ ให้ได้ปริมาณลมตามต้องการ ถ้าสามารถลดอุณหภูมริ อบๆ ปัม๊ ลมลงได้ 3 องศา จะท�ำให้ปม๊ั ลมประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 1% ถ้าลดลงได้ 6 องศา จะประหยัดพลังงานไฟฟ้าลงได้ 2%

• ในที่นี้จะพูดถึง เครื่องอัดอากาศ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 และ 2 เพราะว่าในโรงพิมพ์และโรงงาน จะใช้ผลิตลมอัด มอเตอร์ ขับมีแรงม้าสูง กินไฟมาก ส่วนแบบที่ 3 และ 4 มอเตอร์ขับ มีแรงม้าต�่ำ กินไฟไม่มาก • ถ้ า เรารู ้ วิ ธี ล ดความสู ญ เสี ย ในเครื่ อ งอั ด ลม บริ ษั ท ก็ จ ะ ประหยัดค่าไฟฟ้าได้มาก ตัวอย่าง: โรงพิมพ์แห่งหนึ่ง ใช้เครื่องอัดอากาศแบบ สกรู (Screw Air Compressor Type) ขนาด 75 kw. ตรวจวัด พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยได้ 80 kw. มีชั่วโมงการท�ำงาน 6,500 ชั่วโมง/ปี เครื่องอัดลมเครื่องนี้จะกินไฟฟ้ารวมเท่ากับกี่หน่วย และคิดเป็นค่าไฟฟ้าเท่าไร? 80 x 6,500 = 520,000 kwh/ปี ถ้าค่าไฟหน่วยละ 4 บาท จะเสียค่าไฟต่อปีเท่าไร? 520,000 x 4 = 2,080,000 บาท * ตามตัวเลขทีค่ ำ� นวณออกมา จะเห็นว่าค่าไฟฟ้าทีเ่ ราต้องจ่าย เฉพาะปัม๊ ลม ภายในระยะเวลา 1 ปี สูงมากพอสมควร ซึง่ ใน ความเป็นจริงทุกโรงพิมพ์หรือโรงงาน จะมีเครือ่ งปัม๊ ลม 2-3 ชุด เปิดสลับใช้งานกันกันอยู่ แต่ถา้ จะค�ำนวณ ก็คำ� นวณตัวเดียว ก็พอ และใช้เวลารวมในการเปิดเครื่องจริง

ตามข้อมูลตัวอย่างทีค่ ำ� นวณไว้กอ่ นหน้านี้ ปัม๊ ลมขนาด 75 kw. ค�ำนวณปริมาณการใช้ไฟฟ้าภายในเวลา 1 ปีจะต้องจ่ายค่าไฟฟ้า = 2,080,000 บาท ถ้าประหยัดค่าไฟฟ้าลง 2% จะประหยัดเงินได้เท่าไร 2,080,000 x 0.02 = 41,600 บาท * รายละเอียดของข้อมูลในหัวข้อ 1.2.1 นี้ ได้ลงไว้ในวารสาร สมาคมฯ เล่มที่ 122 หน้าที่ 42 - 44 อ่านต่อฉบับหน้า ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน เครดิตภาพประกอบ • https://www.dhresource.com/f2/albu/g9/M01/75/19/rBVaVV0yyB2AKdPXAAj5rKSxBak333.jpg • https://street-light-lighting-street.business.site/posts/4785323621182839710? • http://thai.ledlight-outdoor.com/supplier-136771-ufo-led-high-bay • http://lachongshop.com.vn/danh-muc-bai-viet/-0_8.html • https://nextews.com/images/36/0c/360c77fa7df60ed0.jpg • https://sc01.alicdn.com/kf/HTB1QCczo7CWBuNjy0Faq6xUlXXaY/BLOWTAC-rootsblower-used-for-water-treatment.jpg_640x640.jpg • https://www.exodraft-systems.de/losungen/kompressoren/ • https://dgadekom.en.made-in-china.com/product-group/ObkxeLSurrhN/Oil-FreeScrew-Air-Compressor-1.html

www.thaiprint.org





NEWS

45

สัมมนา "ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ ทางรอด ทางเลือก ของ บรรจุภัณฑ์งานพิ มพ์ "

วันที่ 29 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 10.00-12.00 น. ณ ห้องสัมมนา ภายในงาน Printing & Packaging Expo ฮอลล์ 8 อิมแพ็ ค เมืองทองธานี

คุณกร เธียรนุกุล - ประธาน Young Printer และผู้บริหาร Wawa Pack, คุณจิตร์งาม พราหมณีนลิ ผูบ้ ริหาร K-Print และ คุณกิตติชัย ปรีน้อย เจ้าของเพจนินจาการตลาด เป็นวิทยากร ในการสัมมนา “ออฟไลน์ หรือ ออนไลน์ ทางรอด ทางเลือก ของบรรจุภัณฑ์งานพิมพ์” วิทยากรทั้งสามท่าน ร่วมกันแชร์ความรู้และประสบการณ์ใน การบริหารจัดการธุรกิจสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ ทั้งทางออนไลน์ และออฟไลน์

• การปรับตัวของธุรกิจบรรจุภณ ั ฑ์ในสังคม Digital Disruptive ที่ไม่ควรเริ่มที่เทคโนโลยี แต่ควรเริ่มที่กุลยุทธ • การวิเคราะห์ทิศทางของอุตสาหกรรมการพิมพ์ในปัจจุบัน และสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต • จุดอ่อน และจุดแข็งของการตลาด ออนไลน์ และ ออฟไลน์ โซเชียลมีเดียกับการด�ำเนินธุรกิจ โดยกิจกรรมครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 10.00-12.00 น. ณ ห้องสัมมนา ภายในงาน Printing & Packaging Expo ฮอลล์ 8 อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.thaiprint.org


46

NEWS

สัมมนา CEO Exclusive Forum 2020 โดย SCG Packaging วันที่ 17 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 13.00-18.30 น. ณ TRUE ICON HALL ชั้น 7 ICONSIAM คุณเกรียงไกร เธียรนุกูล - รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และคุณกร เธียรนุกุล - ประธาน Young Printer Group ได้รับเชิญจาก SCG Packaging เข้าร่วมงาน สัมมนา “CEO Exclusive Forum 2020” ซึ่งกิจกรรมครั้งนี้ จัดขึน้ เมือ่ วันจันทร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 13.00-18.30 น. ณ TRUE ICON HALL ชั้น 7 ICONSIAM การสัมมนาดังกล่าว ได้เชิญวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน ร่วมแลกเปลีย่ นความคิดเห็น เช่น คุณ Fumi Sasada ประธาน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

บริษัท BRAVIS International ที่ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทาง การออกแบบบรรจุภัณฑ์ของญี่ปุ่น ที่ผสานการสร้างแบรนด์ เข้าไปด้วยกัน โดยมีคุ ณ วิ ช าญ จิ ต ร์ ภั ก ดี กรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ SCG Packaging กล่าวเปิดงาน และมี คุณกลินท์ สารสิน ประธานสภา หอการค้าแห่งประเทศไทย, ดร.ยรรยง ไทยเจริญ รองผูจ้ ดั การใหญ่ ผู้บริหารสูงสุด Economic Intelligence Center (EIC) SCB, คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี CEO ไทยเบฟ เข้าร่วมงาน


NEWS

47

สอบประเมินสมรรถนะความรู้ คุณวุฒิวิชาชีพ วิทยาลัย เทคโนโลยีภาคตะวันออก

เมื่อวันที่ 29 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 09.00-17.00 น. ณ วิทยาลัยเทคนีโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)

สมาคมการพิมพ์ไทย และสถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) จัดการสอบประเมินสมรรถนะความรู้ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรม การพิมพ์ สาขางานก่อนพิมพ์ อาชีพช่างออกแบบสิง่ พิมพ์ ชัน้ 3 โดยมีนกั เรียนชัน้ ปวส.ปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) เข้าร่วมสอบเพื่อวัดผลจ�ำนวนทั้งสิ้น 80 คน การสอบประเมินผลในครัง้ นีแ้ บ่งการสอบเป็นภาคทฤษฎีในช่วงเช้า ซึง่ ในช่วงแรกเป็นการแนะน�ำวัตถุประสงค์ของการจัดจากอาจารย์ ผู้คุมสอบ และการแนะน�ำเนื้อหาต่างๆ ที่จะออกในข้อสอบให้ ผู้เข้าสอบได้รับฟังและเตรียมความพร้อมก่อนการเข้าสอบ

การสอบภาคปฏิบตั ใิ นช่วงบ่าย เป็นการทดสอบความรูค้ วามเข้าใจ จากการใช้โปรแกรม Illustrator ส�ำหรับออกแบบสิ่งพิมพ์ โดยได้ให้ผู้เข้าสอบได้ใช้ความสามารถในการออกแบบใบปลิว ประชาสัมพันธ์ ในระหว่างการสอบจะได้รบั การแนะน�ำรวมไปถึง การซักถามจากผู้คุมสอบเพื่อเป็นการสัมภาษณ์และประเมิน ผู้เข้าสอบในระหว่างสอบภาคปฏิบัติ กิจกรรมในครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 ระหว่างเวลา 09.00-17.00 น. ณ วิทยาลัยเทคนีโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) สนับสนุนกิจกรรมโดยสถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) www.thaiprint.org


48

NEWS

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย มอบเครื่องดูดเสมหะ ให้โรงพยาบาลเด็กราชวิถี วันที่ 5 มีนาคม 2563 ณ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี โรงพยาบาลเด็กราชวิถี

อาจารย์มานิตย์ กมลสุวรรณ - นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย และคณะกรรมการบริหารฯ เข้ามอบชุดซักชั่นไปป์ไลน์ชนิด ดูดเสมหะแบบต่อเนื่องและดูดเป็นจังหวะ จ�ำนวน 5 ชุด รวมมูลค่า 97,500 บาท ให้กับสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี โรงพยาบาลเด็กราชวิถี เพื่อใช้ในการดูแลรักษา ผู้ป่วยระบบทางเดินหายใจ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2563 ทั้งนี้ ได้รับความกรุณาจากคณะผู้บริหารโรงพยาบาลให้เข้าชม ด้านใน ให้ได้เห็นถึงจ�ำนวนของผู้ที่มาใช้บริการโงพยาบาลที่มี THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ทัง้ เด็กและผูป้ กครอง ทีม่ าใช้บริการกันเป็นจ�ำนวนมาก อาจารย์ มานิตย์กล่าวว่า เนื่องจากโรงพยาบาลแห่งนี้ให้บริการฟรี จึงขาดงบประมาณในการบ�ำรุงรักษา หรือปรับเปลีย่ นเครือ่ งมือ ทางการแพทย์ให้เพียงพอต่อความต้องการของผู้มาใช้บริการ ในแต่ละวัน หรือแม้กระทั่งรถพยาบาลที่มีการใช้งานมาเป็น เวลานาน ดังนั้น สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย จึงมีความคิดว่า จะช่วยเหลือในส่วนนี้ ในโอกาสต่อไป


NEWS

49

พิ ธีเปิด ″3 งานแสดงสินค้า การพิ มพ์ แห่งปี″

วันที่ 27 กุมภาพั นธ์ - 1 มีนาคม 2563 เวลา 10.00-20.00 น. ณ Hall 8-10 อิมแพ็ ค เมืองทองธานี คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล - รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน “3 งานแสดงสินค้าใหญ่ แห่งปี พิมพ์ สกรีน แพ็คเกจจิ้ง” ได้แก่ 1. งานแสดงสินค้าเทคโนโลยีการพิมพ์ แอลอีดี และอุปกรณ์ งานป้าย ครัง้ ที่ 8 หรือ The 8th PrintTech & Signage 2020 2. งานแสดงสินค้าเทคโนโลยี จักรปัก พิมพ์สกรีน และสิง่ ทอไทย ครัง้ ที่ 5 หรือ The 5th Garment Screen & Embroidery Expo 2020 3. งานแสดงสินค้าเทคโนโลยี งานพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ครัง้ ที่ 3 หรือ The 3rd Printing& Packaging Expo 2020 คุณมินท์ธติ า นิธกิ รกุลนันทน์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั วันทูวนั ครีเอชัน่ จ�ำกัด ผูจ้ ดั งาน กล่าวถึงภาพรวมของงานในปีนวี้ า่ ครัง้ นี้ นับเป็นอีกหนึง่ ครัง้ ทีม่ กี ารจัดงานทีย่ งิ่ ใหญ่และครบวงจร ถือเป็นการ รวมตัวของผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ์ทหี่ ลากหลาย และครบครันทีส่ ดุ ในประเทศไทย ทัง้ 3 งาน ได้รบั การยอมรับ และเติบโต เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกปี แม้สภาวะเศรษฐกิจโดยรวมในต้นปีนี้ จะมีปจั จัยลบหลายอย่างทีส่ ง่ ผลต่อความรูส้ กึ ของผูป้ ระกอบการ และผูบ้ ริโภค แต่ยอดผูเ้ ข้าร่วมการออกบูธก็ไม่ได้ลดลง สะท้อน ถึงความเชื่อมั่นในอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยในระยะยาว

“วัตถุประสงค์หลักในการจัดงานครั้งนี้ เพื่อเป็นการรวบรวม ผู้ประกอบการที่อยู่ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ให้มากที่สุดมา อยู่รวมกัน เพื่อให้ผู้สนใจได้เข้ามาชมงานที่เดียว โดยเฉพาะ การอัพเดทเทคโนโลยีใหม่ๆ ด้านการพิมพ์ ซึ่งปัจจุบันได้มี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก รวมถึงเทคโนโลยีที่จะมาช่วย ลดต้นทุนการผลิต โดยมีกลุ่มธุรกิจหลักที่มาออกบูธ ได้แก่ กลุ่มเครื่องพิมพ์ดิจิตอล กลุ่มเครื่องพิมพ์อิงค์เจ็ท กลุ่มงาน บริการต่างๆ เช่น ป้ายโฆษณา ศูนย์ถ่ายเอกสาร เครื่องเขียน และกลุ่มงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ ส่วนผู้เข้าชมงานคือ บริษัท ห้างร้าน ผูป้ ระกอบการด้านการพิมพ์ หน่วยงานราชการ บริษทั เอกชน และประชาชนทั่วไป โดยในปีนี้มีผู้เข้าร่วมออกบูธ จ�ำนวนกว่า 200 บริษัท คาดว่าจะมีผู้เข้าชมงานทั้งในและ ต่างประเทศกว่า 20,000 คน และมีเม็ดเงินสะพัดภายในงาน กว่า 200 ล้านบาท” การเปิดงานครัง้ นีจ้ ดั ขึน้ เมือ่ วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 10.00 น. ณ บริเวณหน้า Hall 9 อิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยทัง้ 3 งานนีจ้ ดั ขึน้ ระหว่างวันที่ 27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2563 เวลา 10.00-20.00 น. ณ Hall 8-10 อิมแพ็ค เมืองทองธานี www.thaiprint.org


50 KNOWLEDGE

Story Branding คือ การน�ำการเล่าเรื่อง (Storytelling) และการสร้างแบรนด์ (Branding) น�ำมาผสมเข้าด้วยกัน จนเกิดเป็น Story Branding หรือเข้าใจง่ายๆ คือ “การสร้างเรื่องราว ให้เล่าเรื่องแบรนด์”

เทคนิคการสร้าง Story Branding เพื่ อเพิ่ มยอดขายให้กับสินค้า โดย อาจารย์โชน พี ระวัฒน์

Story Branding คืออะไร? หลายท่านคงสงสัยว่า Story Branding มันคืออะไรกันแน่เคยได้ยนิ แต่ Storytelling ส�ำหรับ Story Branding คือ การน�ำการเล่าเรื่อง (Storytelling) และ การสร้างแบรนด์ (Branding) น�ำมาผสมเข้าด้วยกัน จนเกิดเป็น Story Branding หรือเข้าใจง่ายๆ คือ “การสร้างเรื่องราว THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ให้เล่าเรื่องแบรนด์” สะท้อนถึงสินค้าและบริการของธุรกิจ วารสาร Thai Print ฉบับนี้ อาจารย์โชน พีระวัฒน์ อดีตนักวาง กลยุทธโฆษณารางวัลระดับโลก จะมาถ่ายทอดเทคนิคการสร้าง Story Branding เพื่อเพิ่มยอดขายให้กับสินค้าให้สมาชิกและ ผู้อ่านวารสารได้น�ำไปปรับใช้ให้เข้ากับธุรกิจยุคปัจจุบัน


KNOWLEDGE กลยุทธ์การสร้าง Brand

กลยุทธ์การสร้าง Brand

อย่างที่บอกว่าการสร้างแบรนด์มันไม่ใช่ แค่การสร้างโลโก้ แต่ต้องหาให้เจอว่า จริงๆ แล้ว พันธกิจของสินค้าและบริการ ของคุณคืออะไร แล้วสื่อสารมันออกมา ให้ลูกค้ารับรู้ Brand สร้าง Product คือ การที่เรา ประชาสัมพันธ์ออกไปเยอะๆ เพือ่ ให้คน กลับมาซื้อสินค้า

51

แบรนด์สร้าง PRODUCT

PRODUCT สร้างแบรนด์

PRODUCTS

PRODUCTS

Product สร้าง Brand คือ การที่เรา มีสินค้าและบริการประชาสัมพันธ์ออก ไปก่อน ให้คนรู้จักสินค้านั้น แล้วค่อย มารู้จักกับแบรนด์

BRAND

PRODUCTS

PRODUCTS

PRODUCTS

PRODUCTS

BRAND

PRODUCTS

3 มิติของการสร้างแบรนด์

1. คุณค่าภายนอก สิ่งที่ทุกคนสามารถรับรู้ได้ สามารถเห็นได้สินค้าคือ “อะไร” WHAT รูปลักษณ์ภายนอกเป็นอย่างไร สินค้าท�ำจากอะไร 2. คุณค่าภายใน ไม่ใช่สิ่งที่ทุกคนรู้ แต่เป็นสิ่งที่คนบางคนรู้ว่าต้องท�ำ “อย่างไร” HOW ถึงจะประสบความส�ำเร็จ เป็นวิธีการ สูตรลับหรือขั้นตอนเฉพาะที่จะท�ำให้ สินค้า บริการแข็งขันได้ เป็นคุณค่าที่ท�ำให้สินค้าหรือองค์กรเราแตกต่างจากคู่ แข่งขันรายอื่น 3. คุณค่าระดับจิตวิญญาณ มีคนจ�ำนวนน้อยมากรู้ถึงสิ่งนี้และตอบค�ำถามได้ว่า “ท�ำไม” WHY ถึงท�ำสินค้า สินค้านี้ถูกสร้างขึ้นมา เพื่อจุดประสงค์อะไร อะไรคือ พันธกิจของสินค้า

มีแบรนด์แล้ว แล้วจะเล่าเรื่องแบรนด์อย่างไร

ในยุคนี้เป็นยุคที่การท�ำธุรกิจง่ายที่สุด และยากที่สุด ง่ายที่สุด เพราะทุกคนมีเครื่องมือในการขายที่ดีที่สุดอยู่ในมือคุณแล้ว ณ วันนี้ทุกคนมีสื่ออยู่ในมือ ถ้าเป็นเมื่อก่อนเรามีสื่ออย่างเดียว คือ Paid Media ซึง่ มันท�ำให้เกิดการผูกขาด ต้องจ่ายเงินสูงมาก เพื่อเป็นเจ้าของมัน แต่ทุกวันนี้มีสื่อที่หลากหลายมากขึ้น ไม่ว่า จะเป็น Own Media , Earned Media สื่อได้เปล่า ซึ่งเรา สามารถเป็นเจ้าของสื่อเหล่านั้นได้เองง่ายๆ และยากที่สุด เพราะตัวเลือกในการซือ้ ก็เพิม่ มากขึน้ ลูกค้ามีสทิ ธิเลือกมากขึน้

การเล่าเรื่องราว มันคือการที่คุณต้องน�ำข้อมูลต่างๆ มาจัด ท่วงท�ำนอง จัดรูปทรงให้เรื่องราวเหล่านั้นออกมางดงามและ น่าสนใจ ถ้าหากชุดข้อมูลเปรียบเสมือนแผ่นปิดทอง มันก็ เหมือนการที่คุณน�ำแผ่นทองแต่ละแผ่น มาแปะรวมกันที่ระฆัง จนระฆังกลายเป็นระฆังทอง เป็นเรื่องราวที่น่าจดจ�ำ และ น่าสนใจ

www.thaiprint.org


52 KNOWLEDGE

ซึง่ สิง่ ทีน่ กั เล่าเรือ่ งต้องท�ำ คือการสร้างพาหนะบางอย่าง ทีท่ ำ� ให้ ผู้ฟัง โดยสารไปกับพาหนะนั้น ตั้งแต่ต้นทางจนถึงปลายทาง โดยที่ผู้ฟังไม่กระโดดหนี และส่งมอบความหมายใส่ในภาชนะ จากนั้นบรรจุลงในหีบห่อแล้วส่งมอบให้กับผู้ฟัง

นําเรื่องราว บางสิ่ง บางอย่าง

เข้าไป เปลี่ยนแปลง ความจริง ในหัวผู้รับสาร

โครงสร้าง 8 แบบของเรื่องเล่า

1. Monomyth (Hero’s Journey) คือการเล่าถึงการเดิน ทางของตัวละคร ที่ออกเดินทางแล้วพบกับประสบการณ์ ทีไ่ ม่คนุ้ เคย จนเกิดการเรียนรูแ้ ละหวนกลับคืนมาบอกเล่าถึง ประสบการณ์ทางปัญญา 2. The Mountain เริ่มดราม่า…จบไม่ดราม่า คือ การเล่า ที่ค่อยๆ สร้างอารมณ์ร่วม แล้วหักมุมแบบผิดคาดก่อนจบ ตอนไป ดึงดูดใจให้ผู้ฟังคอยติดตามในตอนต่อไป ก่อนจะ เฉลยบทสรปุที่น่าพึงพอใจในภายหลัง 3. Nested Loops คือ เล่าแบบเปิดประเด็นแรกไว้ แล้วน�ำ เสนอเรื่องอื่นๆ จนตอนหนึ่ง จึงพบค�ำตอบบางอย่างที่ช่วย ไขค�ำตอบต่างๆ ในประเด็นก่อนหน้า ส่วนมากจะเป็นการ เล่าในรูปแบบของงานเสวนา ที่น�ำคนมาถกปัญหากัน เป็น ลีลาการเล่าที่มีชั้นเชิง มีอุปมาอุปไมย 4. Sparklines คือ การพูดเพือ่ ให้ผฟู้ งั เกิดความหวัง ความตืน่ เต้น แล้วให้ท�ำตามในสิ่งที่ตนเองต้องการส่วนมากวิธีการเล่าใน ลักษณะนี้มักจะใช้ในการแสดงวิสัยทัศน์ของนักการเมือง 5. In Medias Res คือ การเล่าที่น�ำเอาไฮไลท์ที่น่าสนใจ มาเล่าก่อน แล้วค่อยก่อนกลับไป ย้อนอดีตในภายหลัง 6. Converging Ideas คือ การสะสมของเรื่องราวหลายๆ เรือ่ งทีส่ อดคล้องกันมา สร้างเป็นเรือ่ งราวเพียงเรือ่ งราวเดียว เพื่อสนับสนุนแก่นของเนื้อหาให้แข็งแรงมากยิ่งขึ้น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

เมือ่ ผูฟ้ งั ฟังเรือ่ งราวบางสิง่ บางอย่างแล้ว มันจะเข้าไปเปลีย่ นแปลง ความจริงในหัวผูร้ บั สาร เกิดเป็นความจริงใหม่ในหัวผูร้ บั สาร หรือ เรียกว่า “ทราบแล้วเปลีย่ น” ง่ายๆ มันคือการเปลีย่ นจากคนทีจ่ า่ ยเงิน ทีอ่ นื่ มาจ่ายเงินให้กบั สินค้าและบริการของคุณ และเปลีย่ นจากคน ทีจ่ า่ ยเงินให้กบั สินค้าและบริการของคุณ หันมาอยูก่ บั เราตลอดไป

เพื่ อเกิดเป็น ความจริงใหม่ ในหัวผู้รับสาร

7. False Start เริ่มผิดพลาด แต่จบอย่างสวยงาม จะเป็นการ เอาจุดล้มเหลว ความผิดพลาดขึ้นมาก่อน แล้วค่อยเล่า ถึงประเด็นอื่นตามมา จนได้เจอกับค�ำตอบในท้ายที่สุด 8. Petal Structure คือ วิธีจัดการหลายเรื่องราวที่อยู่รอบๆ ซึง่ เรือ่ งทีจ่ ะเล่าไม่ จ�ำเป็นต้องเชือ่ มต่อกันทัง้ หมด แต่ตอ้ งสือ่ ออกไปในความหมายเดียวกัน ทฤษฎี 3 C ที่ท�ำให้ Brand คุณมีเสน่ห์

การเล่าเรื่อง เริ่มต้นจากการ “เชื่อมโยง” สิ่งที่คุณก�ำลังจะเล่าต้องเชื่อมโยงกับลูกค้าได้หลายครั้งสิ่งที่ เล่าก�ำลังพูดออกไปด้วยความตั้งใจ กลับไม่มีลูกค้าคนไหนฟัง มันอาจเป็นเพราะคุณก�ำลังพูดแต่สงิ่ ทีค่ ณ ุ อยากพูด แต่ไม่ได้พดู “สิ่งที่ลูกค้าอยากฟัง” เพราะฉะนั้นถ้าคุณต้องการให้ลูกค้า ฟังคุณ คุณต้องหาให้เจอว่าอะไรคือสิ่งที่ลูกค้าต้องการ

1. Connect

ข้อมูลที่ท่าน อยากจะบอก

ข้อมูลที่ลูกค้า อยากจะรู้

(คุณสมบัติ, สรรพคุณ)

(คุณประโยชน์)

จุดซื้อ


KNOWLEDGE 53 2. Character

BRAND ARCHYTYPE 12 หลักฉบับของแบรนด์ 2.1 THE HERO บทบาทหน้าที่ ช่วยให้คนเอาชนะอุปสรรค ทีเ่ หนีย่ วรัง้ ตนเองไว้ เหมาะกับสินค้าทีต่ อ้ งออกนวัตกรรม ใหม่เสมอ สินค้าที่เอาชนะด้วยค�ำว่า “กว่า” 2.2 THE RULER บทบาทหน้าที่ ช่วยให้คนมีภาพลักษณ์ ที่เหนือระดับ เหมาะกับสินค้าที่บ่งชี้สถานะ ราคาสูงมาก จนไม่สมเหตุสมผล (Super premium) 2.3 THE CREATOR บทบาทหน้าที่ ช่วยให้คนกล้าก้าวออก มาจากกรอบความเชื่อเดิมๆ เหมาะกับสินค้าที่เจาะกลุ่ม คนที่ต้องการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ 2.4 THE AUTHENTIC บทบาทหน้าที่ ท�ำให้ค นวางใจ และไว้ใจในสินค้าหรือบริการ เหมาะกับสินค้าของแท้ ที่มีชาติก�ำเนิดที่ชัดเจน 2.5 THE SAGE บทบาทหน้าที่ ท�ำให้คนมีปัญญา รู้รอบด้าน ก่ อ นตั ด สิ น ใจ เหมาะกั บ สิ น ค้ า ที่ ต ้ อ งใช้ ผู ้ เชี่ ย วชาญ เฉพาะทาง 2.6 THE MAGICIAN บทบาทหน้าที่ สร้างความตื่นตาตื่นใจ ปรากฏการณ์ใหม่ เหมาะกับสินค้าทีค่ าดไม่ถงึ เหนือสามัญ ส�ำนึก เช่น รถยนต์ไฟฟ้า 2.7 THE REBEL บทบาทหน้าที่ ที่น้ันท่านเป็นคนแตกแยก แต่ทนี่ เี่ ราเป็นพวกเดียวกัน เหมาะกับสินค้าทีม่ คี วามเป็น เฉพาะกลุ่ม (Niche) เช่น มอเตอร์ไซค์บิ้กไบค์ 2.8 THE LOVER บทบาทหน้าที่ ท�ำให้ลูกค้ารู้สึกว่าเป็น คนพิเศษ รูส้ กึ ประทับใจ เหมาะกับสินค้าทีเ่ น้นความสัมพันธ์ ดึงดูดเพศตรงข้าม 2.9 THE EXPLORER บทบาทหน้าที่ ท�ำให้ลูกค้ารู้สึกว่า ยังมีอะไรอีกมากมายทีย่ งั ไม่รู้ เหมาะกับสินค้าทีเ่ จาะกลุม่ คนที่ต้องการประสบการณ์ใหม่ 2.10 THE ENTAITAINER บทบาทหน้าที่ ท�ำให้ลูกค้ารู้สึก สนุกสนานกับชีวิต เหมาะกับสินค้าที่สร้างความบันเทิง ส่วนตัวให้ผู้ใช้ 2.11 THE EVERYMAN บทบาทหน้าที่ ท�ำให้ลกู ค้ารูส้ กึ สบายใจ ที่มีเขาอยู่ข้างๆ เหมาะกับสินค้าที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน ซื้อง่าย ขายคล่อง 2.12 THE CAREGIVER บทบาทหน้าที่ ท�ำให้ลูกค้ารู้สึก สบายใจทีอ่ ยูใ่ ต้การดูแลของเขา เหมาะกับลูกค้าทีต่ อ้ งการ ที่พึ่งและที่ปรึกษา เช่น โรงเรียนกวดวิชา

THE HERO วีรบุรุษ

THE RULER นักปกครอง

THE CREATOR นักสร้างสรรค์

THE AUTHENTIC เป็นแก่นแท้

THE SAGE ผู้เฉลี่ยวฉลาด

THE MAGICIAN ผู้ร่ายมนต์

THE REBEL กบฎ

THE LOVER นักรัก

THE EXPLORER THE ENTERTAINER THE EVERYMAN นักสํารวจ ผู้สร้างความบันเทิง คนธรรมดา

THE CAREGIVER ผู้ชุบเลี้ยง

3. Consistency การน�ำข้อมูลทีค ่ณ ุ อยากจะบอก ไปเชือ่ มกับ

สิ่งที่ลูกค้าอยากจะรู้ คุณต้องหาจุดทับซ้อนนี้ให้เจอ คุณถึง จะสามารถเชื่ อ มโยงสิ น ค้ า และบริ ก ารของคุ ณ กั บ ลู ก ค้ า ได้ ยกตัวอย่างเช่น การโทรเสนอการกู้เงินจากธนาคาร ถ้าคุณพูด แต่เรือ่ งของวงเงินทีก่ ไู้ ด้ การผ่อนช�ำระ กูต้ อนนีด้ อกเบีย้ ต�ำ่ ฯลฯ แต่สดุ ท้ายลูกค้าปฏิเสธ เพราะอะไร เพราะคุณก�ำลังบอกแต่สงิ่ ที่ อยากบอก แต่ไม่ได้บอกถึงสิ่งที่ลูกค้าต้องการ แต่ถ้าเราลอง เปลี่ยนเป็นคุณลูกค้า ก�ำลังท�ำธุรกิจอยู่ใช่ไหมค่ะ ตอนนี้เรา มี ข ้ อ เสนอที่ จ ะช่ ว ยท� ำ ให้ ธุ ร กิ จ ของคุ ณ ต่ อ ยอดและก้ า วไป ข้างหน้าได้นะคะ สุดท้ายลูกค้าหยุดฟังและเริ่มสนใจในสินค้า และบริการของคุณ ฉะนั้นแล้ว สิ่งที่เราควรบอกลูกค้าคือ “คุณประโยชน์ของสินค้า” ไม่ใช่ “คุณสมบัติของสินค้า”

่ ก ดังนัน ั ธุรกิจต้องหาให้เจอ ้ สิง ่ ทีน ว่าแท้จริงแล้วตัวตนของแบรนด์ คุณคืออะไร อะไรคือพั นธกิจของ สินค้าและบริการของคุณ จากนั้น หาความต้ อ งการสิ น ค้ า ที่ แ ท้ จ ริ ง ของลูกค้าให้เจอ หาจุดเชื่อมโยง ระหว่างสินค้าและบริการกับลูกค้า แล้ ว ลู ก ค้ า จะตั ด สิ น ใจซื้ อ สิ น ค้ า และบริการ Resources: https://www.ryounoi100lan.com/ysmc-story-branding-for-content/

www.thaiprint.org


54 INDUSTRIAL

ฟู จิ ซีร็อกซ์ เปิดตัว หมึกพิ มพ์ พิเศษสีชมพู

มุ่งยกระดับศักยภาพงานพิ มพ์ ดิจิทัล เพื่ อการแสดงผลที่ดีข้น ึ กว่าเดิม เพิ่ มสีพิเศษ ส�ำหรับแท่นพิ มพ์ Iridesse™ Production Press

เมือ่ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2563 - บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด เปิ ด ตั ว ผงหมึ ก พิ ม พ์ พิ เ ศษใหม่ สี ช มพู ส� ำ หรั บ ใช้ กั บ เครื่องพิมพ์ Iridesse™ Production Press เพื่อยกระดับ ศักยภาพแท่นพิมพ์ดจิ ทิ ลั ให้รองรับความต้องการงานพิมพ์ภาพ สีพิเศษได้ดียิ่งขึ้น แท่นพิมพ์รุ่น Iridesse™ Production Press มาพร้อม ความสามารถในการพิมพ์ 6 สีในขัน้ ตอนเดียว ซึง่ มีความสามารถ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ในการพิมพ์สพี เิ ศษนอกจากแม่สมี าตรฐาน CMYK ทีป่ ระกอบด้วย สีฟ้า, สีแดง, สีเหลือง และสีด�ำ จึงท�ำให้เครื่องรุ่นนี้สามารถ แสดงผลสีได้หลากหลายมากกว่าแท่นพิมพ์ดิจิทัลรุ่นก่อนๆ โดยผงหมึกพิมพ์สชี มพูจะถูกน�ำมารวมไว้ในชุดหมึกสีพเิ ศษทีม่ อี ยู่ อย่างสีทอง, สีเงิน, สีขาว และสีใส ซึ่งใช้เทคโนโลยี Emulsion Aggregation (EA) ซึ่งเป็นเอกสิทธิ์เฉพาะของฟูจิ ซีร็อกซ์ ซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ ป็นผงหมึกรูปทรงรีทมี่ เี ม็ดสีสะท้อนแสงผสมอยู่


INDUSTRIAL 55

ความสามารถในการผสมรวมเฉดสีชมพูสดและสีชมพูสว่าง ส�ำหรับงานออกแบบวัสดุสง่ิ พิมพ์ ช่วยให้ผใู้ ช้งานสามารถขยาย ขอบเขตการแสดงผลสีของสิง่ พิมพ์ในสไตล์ทแี่ ตกต่างกันได้มาก ยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความสดใสน่ารัก, สงบเยือกเย็น หรือแม้แต่ วามหรูหราแบบไร้ขดี จ�ำกัด นอกจากนี้ ผงหมึกสีชมพูยงั สามารถ น�ำไปผสมเข้ากับแม่สี CMYK เพือ่ ให้ภาพพิมพ์สามารถแสดงผล ออกมาเป็นสีสม้ , สีแดง, สีมว่ ง และสีอนื่ ๆ ได้ตามต้องการ อันเป็น คุณสมบัตทิ มี่ เี ฉพาะแค่แม่สี CMYK เพียงอย่างเดียว จะไม่สามารถ ท�ำได้ ส่งผลให้แท่นพิมพ์รุ่นนี้สามารถตอบสนองความต้องการ ในการพิมพ์โดยเฉพาะภาพพิมพ์ทตี่ อ้ งการแสดงผลสีอย่างชัดเจน

ภาพซ้าย: งานพิ มพ์ สีส้มที่พิมพ์ ด้วยแม่สี CMYK ภาพขวา: งานพิ มพ์ สีส้มที่พิมพ์ ด้วยแม่สี CMYK ผสมกับผงหมึกสีชมพู

ที่สุด เช่น สีเฉพาะของแบรนด์องค์กร โดยผงหมึกสีชมพูที่ เพิม่ เข้ามาใหม่จะให้สชี มพูทมี่ ลี กั ษณะสะท้อนแสง และสามารถ ผสมให้เกิดเป็นสีอนื่ ๆ ทีใ่ ช้ทวั่ ไปส�ำหรับงานพิมพ์หน้าปกนิตยสาร และหนังสือการ์ตูนได้อีกด้วย ผงหมึกสีชมพูใหม่ยังสามารถน�ำมาผสมเข้ากับผงหมึกสีพิเศษ ที่มีอยู่เดิม เช่น สีทองและสีเงิน เพื่อเพิ่มลูกเล่นของสิ่งพิมพ์ให้ หลากหลายตามต้องการ ไม่วา่ จะเป็นงานด้านการตลาด รวมถึง การโฆษณา ณ จุดขาย (Point of Purchase) แค็ตตาล็อก ใบปลิว และแผ่นใส หรือแม้กระทั่งกล่องบรรจุภัณฑ์ก็สามารถ ท�ำออกมาได้อย่างสวยงาม

ส�ำหรับเครื่องพิ มพ์ Iridesse™ Production Press ใช้ Software ในการจัดการชื่อ GX Print Server เพื่ อควบคุม ประมวลผลงานพิ มพ์ และสามารถ ท�ำงานได้เป็นอย่างดีรว ่ มกับสีชมพู ซึ่งเป็นสีพิเศษส�ำหรับเครื่อง Iridesse™ Production Press เท่านั้น เพื่ อให้งานพิ มพ์ ที่ได้มีขอบเขตสีที่กว้าง และเฉดสีท่ช ี ัดเจนมากยิง ่ ขึ้น www.thaiprint.org


56 KNOWLEDGE

การบริหาร ความสิ้นเปลืองและ จุดรั่วไหลในองค์กร ตอนที่ 1 สิ่งที่ไม่ควรจะเสียแต่ต้องเสีย โดยทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัว โดย ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล

ความสิ้ น เปลื อ ง หมายถึ ง สิ่ ง ที่ ไ ม่ ค วรจะเสี ย แต่ ต ้ อ งเสี ย โดยทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัว จุดรั่วไหลที่มักจะเกิดขึ้นในองค์กรนั้น ประกอบไปด้วยหลายด้าน เช่น วัสดุอปุ กรณ์ เจ้าหน้าทีบ่ คุ ลากร สินค้า สต๊อก การขนส่ง หรือแม้แต่การสื่อสาร สิ่งเหล่านี้ล้วน แต่เป็นสิ่งส�ำคัญที่ท�ำให้เราไม่สามารถควบคุมต้นทุนให้อยู่ใน ความมุง่ หมายได้ ข้อพึงระวังเป็นเหตุให้การควบคุมจุดรัว่ ไหลนี้ ท�ำได้ยากมีเช่นดังนี้ 1. มีสินค้าคงคลังมากเกินไป (Over Stock) 2. ผลิตมากเกินความต้องการตลาด (Over Production) 3. การท�ำงานไม่มีประสิทธิภาพ (Process) 4. การขนส่งที่ซับซ้อน (Transportation) 5. การรอคอย (Idle Time) 6. การสูญเสียจากการผลิต (Defect and Rework) 7. การเคลื่อนไหว (Motion) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

นี้เป็นเพียงบางส่วนที่ผมได้รวบรวมมาเพื่อเป็นแนวทางและ ให้สมาชิกได้พจิ ารณาว่าในองค์กรของท่านมีสงิ่ เหล่านี้ หรืออาจจะ มีมากกว่านี้ก็เป็นได้

ความสิ้นเปลือง หมายถึง สิ่งที่ไม่ควรจะเสียแต่ต้องเสีย โดยทั้งรู้ตัวและไม่รู้ตัว ้ ในองค์กร ่ ก จุดรัว ั จะเกิดขึน ่ ไหลทีม นั้นประกอบไปด้วยหลายด้าน เช่น วัสดุอุปกรณ์ เจ้าหน้าที่บุคลากร สินค้า สต๊อก การขนส่ง หรือ แม้แต่การสื่อสาร


KNOWLEDGE 57

สินค้าคงคลังมากเกินไป

สินค้าคงคลังเราจะแบ่งออกได้เป็นประเภทๆ ดังนี้ 1. วัตถุดิบ ในที่นี้จะรวมทุกสิ่งไม่ว่าจะเป็นวัสดุที่ได้ซื้อมา เพื่อการผลิต หรือ วัสดุอุปกรณ์อะไหล่ที่ใช้ในการซ่อมบ�ำรุง วัตถุดิบเหล่านี้จะถูกแปรสภาพเป็นสินค้าส่งให้ลูกค้า หรือ สินค้าทีแ่ ปลรูปขึน้ มาเพือ่ รอการส่งมอบ กลุม่ นีเ้ ป็นกลุม่ วัสดุ ที่ ร อการผลิ ต แต่ ยั ง ไม่ ผ ลิ ต หลายองค์ ก รก็ เ ก็ บ ส่ ว นนี้ ไว้ มากเกินความจ�ำเป็น วัสดุก่อนผลิตก็อาจจะเสียหายได้ จากอายุการใช้งาน หรือแม้แต่ผลเสียทางอ้อมที่เราต้อง ส�ำรองด้วยเงิน หรือ โอกาสทางดอกเบี้ยที่เราเสียไป 2. วัตถุดิบหรือสินค้าที่อยู่ระหว่างการผลิต เมื่อเราจะต้อง ส่งสินค้า แน่นอนโรงงานผลิตที่มีกระบวนการก็จ�ำเป็นจะ ต้องแปรรูปวัสดุที่น�ำไปผลิตในเวลานั้น เราเรียกว่าวัสดุ ที่อยู่ระหว่างผลิตช่วงเวลานี้ เราไม่ได้สูญเสียแค่วัสดุ แต่เรา สูญเสียทั้งแรงงาน และพลังงาน หากเราต้องผลิตแต่สินค้า

ยังน�ำส่งไม่ได้ นั้นคือเราจะต้องเก็บทุกสิ่งไว้ต้นทุนส่วนนี้จะ สูงขึ้น เพราะมีเรื่องแรงงานและพลังงานเข้ามาแผงอยู่ด้วย 3. สินค้าส�ำเร็จรูป เมือ่ ผลิตเสร็จ หากยังท�ำการขายไม่ได้ ต้นทุน แผงทีต่ ามมาก็คอื เรือ่ งสถานทีเ่ ก็บสินค้า ทางบัญชีเรานับว่า สถานทีเก็บสินค้าเป็นต้นทุนอย่างหนึง่ เราจึงต้องผลิตสินค้า ที่แน่ใจว่าสินค้าที่ผลิตจะน�ำส่งลูกค้าเร็วที่สุด ทั้ง 3 ข้อที่ได้แจ้งไปนั้นแน่นอนที่สุดทุกสิ่งมาพร้อมกับต้นทุน ทั้งสิ้นทั้งก่อนการผลิต ระหว่างผลิต และหลังการผลิต ดังนี้ โรงงานผลิต ต้องมีความมั่นใจว่าสินค้าที่ผลิตออกไปนั้นระยะ เวลา หรือความต้องการของลูกค้ายังสามารถสร้างรายได้ให้กบั องค์กรของเราได้ รวมถึงฝ่ายขายที่จะต้องแน่ใจและเชื่อมั่นว่า การเปิดใบสัง่ ผลิต จะสามารถน�ำส่งสินค้าได้โดยเร็ว และสามารถ ต่อรองหรือตกลงกับลูกค้าผูส้ งั่ ได้รวมถึงระยะเวลาช�ำระทีถ่ กู ต้อง ตามตกลง www.thaiprint.org


58 KNOWLEDGE ปริมาณการสั่งซื้อที่มีต้นทุนต�่ำที่สุด (Economic Order Quantity : EOQ) ในแต่ละครัง้ ซึง่ ถ้าผูป ้ ระกอบการ

สามารถค�ำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ท�ำให้ทั้งต้นทุนในการ สั่งซื้อ และต้นทุนในการเก็บรักษานี้ได้ ก็จะท�ำให้ทราบว่า เมื่อสินค้าในคลังสินค้าถูกขายออกไปจนหมด จะต้องสั่งซื้อ สินค้าคงคลังเข้ามาใหม่ในจ�ำนวนเท่าใดจึงจะประหยัดที่สุด โดยใช้สูตรค�ำนวณ ดังนี้

่ มควรปฏิบต สิ่งทีส ั ข ิ องการควบคุมสินค้าคงคลัง

หน้าทีห่ ลักของการควบคุมสินค้าคงคลังก็คอื การจัดการจ�ำนวน สินค้าคงคลังให้มีความเหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง การตัดสินใจ จัดหาสินค้า เวลา ปริมาณ ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องเพือ่ ไม่ให้สนิ ค้าคงคลังขาดสต๊อกหรือมากเกินความจ�ำเป็น อาจจะใช้ เครื่องมือหรือโปรแกรมการตัดสินใจช่วย เพื่อลดการลงทุน การสูญเสียที่ไม่จ�ำเป็น รวมถึงพื้นที่ในการเก็บสินค้ารอการผลิต หรือ หลังการผลิต ทีม่ ากเกินไป ดังนัน้ เราจึงสมควรจะปฏิบตั ดิ งั นี้ 1. ท�ำรายการบันทึกให้ชัดเจน สม�่ำเสมอ เพื่อสะดวกต่อการ พิจารณา การค�ำนวณ การสัง่ การใช้อย่างสิน้ เปลือง หรือแม้แต่ สูญหายหรือถูกขโมย 2. จัดแบ่งสินค้าและอายุของสินค้าให้ชัดเจนเพื่อป้องกันสินค้า หมดสภาพเนื่องจากอายุการใช้งาน และจะสามารถบริหาร การเบิกจ่ายก่อนหลัง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ก�ำหนดจ�ำนวนสินค้าคงกลังต�่ำสุด สูงสุด เพื่อการบริหาร จัดการสั่งซื้อ และลดการสั่งซื้อซับซับซ้อน 4. ท�ำรายการสินค้า วันที่ชื้อสินค้า ภาพถ่าย ปริมาณ ชื่อผู้ขาย รายละเอียดสินค้า ในรายการ และให้ทะเบียนสินค้าอัพเดท อยู่เสมอ 5. จัดท�ำแผนระยะสัน้ ระยะยาวส�ำหรับคลังสินค้าทีต่ อ้ งวางแผน เช่น สินค้าทีม่ รี าคาสูง ระยะเวลายาวนานทีส่ นิ ค้าจะเดินทางมาถึง หรือเป็นสินค้าหายาก รวมไปถึงการวางแผนการช�ำระเงิน ค่าสินค้าดังกล่าว 6. เจ้าหน้าทีค่ วรแบ่งสินค้าออกเป็นประเภท ชนิด ตามการใช้งาน หรือสินค้าทีม่ อี นั ตรายเช่นติดไฟงาน หรือเป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนี้ยังมีสูตรวิธีค�ำนวณเพื่อชวนในการตัดสินใจเรื่อง การก�ำหนดหรือสั่งซื้อสินค้าคงคลังเช่น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด : EOQ = SQRT (2DO / UC) D = ความต้องการสินค้าในเวลา 1 ปี O = ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อต่อครั้ง U = ต้นทุนของสินค้าต่อหน่วย C = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าคิดเป็น % ของมูลค่าสินค้าทั้งปี ตัวอย่าง ร้านสหกรณ์โรงเรียนแห่งหนึ่งขายเครื่องเขียน ขาย สมุดได้ปีละ 15,000 เล่ม ต้นทุนเฉลี่ยทุกแบบเล่มละ 8 บาท จะเสียค่าโทรศัพท์สั่งซื้อครั้งละ 3 บาท ร้านควรสั่งซื้อครั้งละ เท่าไรจึงจะเสียค่าใช้จ่ายต�่ำสุด ในขณะที่มีค่าใช้จ่ายในการเก็บ รักษาประมาณ 5% ของมูลค่าสินค้าทั้งหมด EOQ = SQRT (2DO / UC) = SQRT ([2 x 15,000 x 3]/[8x0.05]) = SQRT (90,000/0.4) = 474 ดังนั้นปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด = 474 เล่ม

หน้าที่หลักของการควบคุมสินค้า คงคลังก็คือ การจัดการจ�ำนวน สินค้าคงคลังให้มีความเหมาะสม อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึง การตัดสินใจ จัดหาสินค้า เวลา ปริมาณ ต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่ อไม่ให้สน ิ ค้าคงคลังขาดสต๊อก หรือมากเกินความจ�ำเป็น อาจจะใช้เครื่องมือหรือโปรแกรม การตัดสินใจช่วย เพื่ อลดการ ลงทุน การสูญเสียที่ไม่จ�ำเป็น


KNOWLEDGE 59

บริหารสินค้าส�ำรอง

กราฟแสดงสินค้าส�ำรอง จํานวนสินค้าคงคลัง (ชิ้น) 300

200

100

จุดสั่งซื้อซํ้าใหม่ 170 ชิ้น จํานวนสินค้าสํารองเพื่ อความปลอดภัย = 50 ชิ้น เวลา

0

ระยะเวลานําส่งสินค้าจากผู้ขายถึงที่ (วัน)

จ�ำนวนสินค้าส�ำรองเพื่ อความปลอดภัย (Safety Stock) เพื่ อแก้ไขสภาวะสินค้าขาดแคลน พิ จารณาจาก ระดับสินค้าส�ำรองที่ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายจากการขาดสินค้า + ต้นทุนในการจัดให้มีสินค้าส�ำรองต�่ำที่สุด

จุดสั่งซื้อ (Reorder point)

จุ ด สั่ ง ซื้ อ ใหม่ ใ นอั ต ราความต้ อ งการสิ น ค้ า คงคลั ง คงที่ แ ละ รอบเวลาคงที่ เป็นสภาวะที่ไม่เสี่ยงที่จะเกิดสินค้าขาดมือเลย เพราะทุกสิ่งทุกอย่างแน่นอน จุดสั่งซื้อใหม่ R = d x L โดยที่ d = อัตราความต้องการสินค้าคงคลัง L = เวลารอคอย ตัวอย่าง ถ้าโรงงานท�ำซาลาเปาฮ่องเต้ใช้แป้งสาลี วันละ 10 ถุง และการสั่งแป้งจากร้านค้าส่งจะใช้เวลา 2 วันกว่าของจะมาถึง จุดสั่งซื้อใหม่จะเป็นเท่าใด จุดสั่งซื้อใหม่ = d x L = 10 x 2 = 20 ถุง เมื่อแป้งสาลีเหลือ 20 ถุง ต้องท�ำการสั่งซื้อใหม่มาเพิ่มเติม

นอกจากนีก้ ราฟทีแ่ สดงความเคลือ่ นไหวของสินค้าคงคลัง ภาพนี้ น่าจะอธิบายได้ดกี ว่าค�ำพูดมากมาย เพียงขอให้ได้พจิ ารณาและ ท�ำความเข้าใจ ผมเชื่อว่าจะมีประโยชน์อย่างมาก และอธิบาย ให้ผู้ปฏิบัติสามารถเข้าใจได้ไม่ยากนัก และจะระลึกถึงอยู่เสมอ การบริหารจัดการเรื่องความสิ้นเปลืองและจุดรั่วไหลที่ผู้เขียน ได้เขียนและรวบรวมมานัน้ เป็นเพียงการเริม่ ต้นในหัวข้อแรก ยังมี อีกหลายหัวข้อทีอ่ งค์กรของท่านจะสามารถจะลดหรือปิดจุดรัว่ เหล่านีไ้ ด้ ผูเ้ ขียนจะพยายามรวบรวมและน�ำเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วกับ การจัดการลดต้นทุน จุดสิน้ เปลืองและรัว่ ไหล มาเขียนให้ทกุ ท่าน ได้อ่านในโอกาสต่อไป ขอขอบคุณรูปภาพ และบทความบางส่วนจาก • www.myaccount-cloud.com/Article/Detail/89139 • www.logisticsmgmt.com/article/top_20_warehouses_2019 • https://slideplayer.in.th/slide/14400173/ • หนังสือ Cost Down Save Cost No.1 ส�ำนักพิ มพ์ Image Group

www.thaiprint.org




44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1

11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM



64

INTERVIEW

ภคภรณ์ ภัคสุขชัย (เกรซ) บริษัท ฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด บทบาทหน้าที่ นอกเหนือจากการช่วยเหลือธุรกิจของครอบครัวแล้ว อีกบทบาทหน้าทีห่ นึง่ ของเธอคือ การเป็นนายกสมาคม Edinburgh University Thai Society ซึ่งท�ำให้ได้เรียนรู้ที่จะเผชิญหน้ากับ ปัญหาและหาแนวทางการแก้ไข ถือว่าเป็นประสบการณ์ทดี่ ที สี่ ามารถ น�ำมาปรับใช้กบั การบริหารธุรกิจของคุณภคภรณ์ ภัคสุขชัย หรือเกรซ หนึ่งในสมาชิก Young Printer Group ของสมาคมการพิมพ์ไทย ทีว่ ารสาร Thai Print ได้รบั เกียรติจากคุณเกรซมาถ่ายทอดเรือ่ งราว และประสบการณ์ต่าง ๆ ของตัวเธอเอง ให้ท่านสมาชิกและผู้อ่าน ได้น�ำแนวทางไปปรับเพื่อประยุกต์ใช้ได้ไม่มากก็น้อย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

เกรซ เป็นลูกคนสุดท้องของ คุณชิณโชติ และ คุณอรวรรณ ภัคสุขชัย เรี ย นจบมั ธ ยมศึ ก ษาจากโรงเรี ย นนานาชาติ ฮ าร์ โรว์ (Harrow International School) และได้ต่อการศึกษาที่มหาวิทยาลัย เอดินบะระ (University of Edinburgh) ในประเทศสก็อตแลนด์ ทางด้าน MA (Hons) Business with Innovation and Enterprise โดยปั จ จุ บั น ร่ ว มงานกั น กั บ พี่ ช าย (คุ ณ ชุ ณ หพั ช ร ภั ค สุ ข ชั ย ) ศึกษาจาก University of Edinburgh ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นผู้ช่วย กรรมการผูจ้ ดั การในบริษทั ฟอยล์มาสเตอร์ และพีส่ าว (คุณอริศรา ภัคสุขชัย) ศึกษาด้านสัตวแพทย์ จาก University of Bristol


INTERVIEW

65

ในช่วงทีเ่ รียนอยูม่ โี อกาสเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย เช่น Junior Achievement ซึง่ เป็นโปรแกรมสร้างความพร้อมทางด้านความคิด เชิงธุรกิจ โดยผู้เข้าร่วมจะต้องตอบโจทย์ต่างๆที่ได้รับมา อย่างเช่น การเขียน business plan และการคิด prototype ไปจนถึงการ launch และ sales execution ของสินค้า และในช่วงมหาลัยฯ ได้เข้าร่วม ในทีมมาร์เก็ตติ้งของ AIESEC Edinburgh โดยองค์กร AIESEC เป็นองค์กรที่ถูกน�ำและปฏิบัติการโดยนักเรียนล้วน เพื่อเสริมสร้าง โอกาสให้นกั เรียนทีม่ าสมัครได้รบั ประสบการณ์ทำ� งาน ทัง้ ยังได้เดินทาง ไปยังประเทศต่าง ๆ รอบโลกอีกด้วย ทัง้ หมดนีจ้ งึ ท�ำให้เกิดความสนใจ ในการท�ำธุรกิจเป็นต้นมา

ในช่วงมัธยมเกรซได้ใช้โอกาสท�ำกิจกรรมช่วยเหลือสังคมต่างๆ มากมาย ได้เรียนรู้ว่าชอบและไม่ ชอบอะไรในกิจกรรมต่าง ๆ เกรซ ช่วยเพื่อนท�ำขนมขายภายในโรงเรีย นเพื่อน�ำเงินไปบริจาค โดยที่ เกรซเองจะเน้นไปทางออกแบบท�ำแพคเกจจิ้งกับโปรโมทผ่านสื่อ มากกว่าการท�ำขนม เพราะคิดว่าเพือ่ นน่าจะท�ำออกมาได้นา่ ทานกว่า จากนั้นก็ได้เข้าร่วม Sixth Form Charity Committee เพื่อหาเงิน ไปบริจาคให้แก่มูลนิธิ Operation Smile เพื่อสมทบทุนการผ่าตัด ให้แก่น้องๆที่ปากแหว่งเพดานโหว่ และได้ไปช่วยสร้างโรงเรียนกับ โครงการ Habitat for Humanity ที่ภูเก็ตและเชียงราย โดยลงมือ ดัดลวด ผสมปูน ก่ออิฐ จนเสร็จออกมาเป็นโครงอาคาร

ช่วงเรียนต่อเป็นช่วงที่ท�ำให้ฉุกคิดได้ว่าการท�ำธุรกิจนั้นต้องท�ำงาน ร่วมกันกับคนหลากหลายประเภท ซึง่ จริง ๆ แล้วก็เป็นความไม่ถนัด อย่างหนึง่ โชคดีทกี่ ารได้มสี ว่ นร่วมใน Edinburgh University Thai Society เป็นระยะเวลา 4 ปีนั้นได้ช่วยสอนการเป็นผู้น�ำและผู้ตาม อย่างมาก โดยเกรซได้เข้าร่วมสมาคมนี้ตั้งแต่ปี 1 และรับหน้าที่ให้ ช่วยงานเตรียมการเล็ก ๆ และฝึกร�ำไทยเพือ่ ไปแสดงในงานประจ�ำปี พอจบปี 2 ก็ได้เข้าใจกลไกการท�ำงานของสมาคมนี้มากขึ้น จึงเป็น เหตุท�ำให้เพื่อน ๆ ผลักดันให้สมัครเป็นนายกสมาคม จริง ๆ แล้ว เกรซไม่ได้ตอ้ งการต�ำแหน่งแนวนีเ้ พราะเป็นคนทีไ่ ม่ถนัดในการเป็น ผูน้ ำ� ให้กบั กลุม่ คนหรือองค์กร จึงได้ลงสมัครเลือกตัง้ แบบกล้า ๆ กลัว ๆ เพราะอยู่นอก comfort zone ของเกรซมาก ๆ

เกรซพร้อมเปิดรับและยอมรับในสิ่งใหม่ ๆ ถึงแม้จะเป็นคนที่ไม่ได้ ชอบการออกก�ำลังกาย แต่ในเวลาว่างก็จะออกไปหาประสบการณ์ และกิจกรรมท�ำกับเพื่อน ๆ อย่างเช่น ไปยิงธนู ปาเป้า ปีนเขา หรือ ปั้นเครื่องดินเผาเป็นต้น ชอบการวาดรูป ร้องเพลง และแต่งกลอน ส่วนตัวแล้วคิดว่าการทีไ่ ด้เขียนอะไรออกมาให้เป็นรูปธรรมสามารถ ท�ำให้เข้าใจความคิดและอารมณ์ของตนเองในขณะนัน้ ๆ ได้มากขึน้ และเป็นการเคลียร์ความคิดให้ว่าง พร้อมรับมือกับสิ่งใหม่ ๆ ที่ต้อง เจอในวันถัดไป

การได้เป็นนายกสมาคม Edinburgh University Thai Society นัน้ ท�ำให้ได้บทเรียนนอกห้องเรียน​มากมาย เช่นการท�ำงานกับผู้คน ที่เข้ามาติดต่อ รวมไปถึงการเจรจาชักชวนองค์กรภายนอกเข้ามา ร่วมสนับสนุนทุน มีหลายครัง้ ทีท่ อ้ และเหนือ่ ยกับงานทีเ่ ข้ามาเพราะ ไม่สามารถแจกจ่ายงานอย่างมีประสิทธิภาพ บวกกับการทีต่ อ้ งรับมือ กับการเมืองทัง้ ภายในและภายนอก ท�ำให้เกรซรูต้ วั ว่าเรายังไม่พร้อม รับมือกับการเอาเปรียบต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในองค์กร ถือว่าเป็นบทเรียน ที่ดีมาก ๆ เพราะเป็นการสร้างความพร้อมได้ดี

บทบาทของการเป็นนายกสมาคม Edinburgh University Thai Society ท�ำให้ได้เรียนรู้ ที่จะเผชิญหน้ากับปัญหาและ ต้องหาทางแก้ไขให้ผ่านไปให้ได้ ซึ่งทั้งหมดนั้นถือว่า เป็นประสบการณ์ที่ดีทส ี่ ามารถ น�ำมาปรับใช้กบ ั การบริหารธุรกิจ www.thaiprint.org


66

INTERVIEW ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน / แนวทางในการแก้ไข

ทีเ่ ห็นชัดสุดก็คงจะเป็นปัญหาช่องว่างระหว่างวัยและมุมมองความคิด ทีต่ า่ ง โดยคนทีเ่ กิดในยุค Baby Boomers มักให้ความส�ำคัญกับความขยัน และความอดทนในการท�ำงานเพราะตนได้สมั ผัสความยากล�ำบากในยุค ทีผ่ า่ นมาโดยตรง ส่วนคนรุน่ ใหม่นนั้ อาจมองว่าเราต้อง “work smart, not work hard” และด้วยความทีแ่ ต่ละฝ่ายใช้เกณฑ์ในการวัดและ มีเป้าหมายการท�ำงานทีไ่ ม่เหมือนกันโดยคนรุน่ เก่าอาจให้ความส�ำคัญ กับงานเป็นหนึง่ แต่คนรุน่ ใหม่ตอ้ งการรักษาความสมดุลในชีวติ การงาน และชีวติ ส่วนตัว จึงท�ำให้เกิดความขัดแย้งหลาย ๆ เรือ่ งในการท�ำงาน ความเป็นมาของบริษัท

ในด้านของบริษัทนั้น บริษัท ฟอยล์มาสเตอร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด ก่ อ ตั้ ง โดยคุ ณ พ่ อ และคุ ณ แม่ ใ นปี 1987 ด้ ว ยความที่ คุ ณ พ่ อ มี ประสบการณ์ขายหมึกพิมพ์ และครอบครัวฝั่งคุณแม่ท�ำโรงพิมพ์ การน�ำฟอยล์เข้ามาขายจึงเป็นเรื่องที่ไม่ไกลตัวส�ำหรับทั้งสองเลย ในยุคสมัยนั้นการปั๊มฟอยล์ยังไม่ได้แพร่หลายในวงการพิมพ์และ ยังใช้ชื่อเรียกว่าการเคทอง ซึ่งหมายถึง การน�ำทองแท้มาใช้ (gold leaf) ไม่ใช่อลูมิเนียมเหมือนในปัจจุบัน ฟอยล์สามารถสร้างความโดดเด่นและเพิม่ มูลค่าให้กบั สิง่ พิมพ์ได้ ทางบริษัทจึงได้คัดสรรฟอยล์และสินค้าต่าง ๆ จากหลายประเทศ เพื่อตอบสนองความต้องการในตลาดไทยที่อยากได้ผลิตภัณฑ์ พรีเมีย่ มมากขึน้ เรามีการควบคุมคุณภาพด้วยระบบ ISO 9000:2015 รวมไปถึงการบริการทีด่ เี ยีย่ ม จัดส่งรวดเร็วทันใจ สามารถให้คำ� แนะน�ำ ลูกค้าเกี่ยวกับการเลือกใช้ฟอยล์ให้ตรงกับงานพิมพ์ได้ จึงท�ำให้ ชื่อเสียงของฟอยล์มาสเตอร์เป็นที่ยอมรับในตลาดอาเซียน จุดเริ่มต้นของการท�ำงาน และหน้าที่รับผิดชอบ

เพราะได้เติบโตมากับธุระกิจฟอยล์และโรงพิมพ์ของทางฝัง่ แม่ตงั้ แต่ สมัยประถม จึงท�ำให้รู้สึกคุ้นเคยกับธุรกิจนี้พอสมควร แต่กว่าจะ เข้าใจอะไรจริง ๆ น่าจะเป็นตอนที่อยู่ม.สี่ ที่เริ่มติดตามคุณพ่อไป เข้าร่วมประชุมและชมงานแสดงสินค้าที่ต่างประเทศ หลังจากนั้น ในช่วงปิดเทอมก็มเี ข้ามาช่วยงานเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่นการท�ำโปรเจคสัน้ ๆ และเตรียมงานเพื่อออกบูธในงาน Pack Print International ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ตอนเรียนอยู่ปีสี่ที่เอดินบะระได้มีโอกาสเข้าร่วมทีมที่ปรึกษาด้าน มาร์เก็ตติ้งให้แก่บริษัท Retromixer ซึ่งเป็นสตาร์ทอัพจ�ำหน่ายชิ้น อะไหล่เพือ่ แก้ pain point ของก๊อกน�ำ้ ร้อนและน�ำ้ เย็นทีอ่ ยูแ่ ยกกัน สองฝัง่ โดยได้นำ� เนือ้ หาทีเ่ รียนมาประยุกต์ใช้และฝึกทักษะการท�ำงาน เป็นทีมเป็นระยะเวลาหนึง่ หลังจากทีเ่ รียนจบก็ได้กลับเข้ามาสานต่อธุรกิจ ทีบ่ า้ นทันที ได้เข้ามาเรียนรูง้ านในแต่ละแผนก และท�ำความรูจ้ กั กับพี่ ๆ ทีท่ ำ� งานให้สนิทกันมากขึน้ ปัจจุบนั มีหน้าทีด่ แู ลภาพรวมงานภายใน บริษทั ร่วมกับพีช่ ายในส่วนฝ่ายขายและจัดซือ้ ต่างประเทศเป็นหลัก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ซึง่ การทีจ่ ะพลิกความขัดแย้งนีใ้ ห้มาเป็นโอกาสได้ ถึงแม้จะไม่เห็นด้วย กับอีกฝ่ายก็ตาม ต่างฝ่ายจะต้องพยายามท�ำความเข้าใจซึง่ กันและกัน ในส่วนของมุมมองที่แตกต่าง หาจุดยืนตรงกลางที่สองฝ่ายสามารถ ร่วมยอมรับได้ อย่างตัวเกรซเองก็ตอ้ งยอมรับว่าธุรกิจทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั ตัง้ อยูไ่ ด้กเ็ พราะแนวทางและการปฏิบตั งิ านทีส่ ร้างมาโดยคนรุน่ ก่อน เพราะฉะนัน้ จึงพยายามเรียนรูว้ ธิ คี ดิ ของคนรุน่ ก่อน และหาค�ำตอบ ว่าเหตุใดเขาถึงมีความคิดแตกต่างจากเรา เพื่อให้ได้เข้าใจในข้อดี ที่อาจมองข้ามไปและค่อย ๆ ปรับความคิดและพัฒนาเข้าหากัน เป้าหมายการท�ำงานในปัจจุบัน

คงเป็นการเน้นพัฒนา Corporate Culture และวิธีการท�ำงาน ภายในบริษัทให้พนักงานได้สนุกกับการท�ำงานและให้งานที่ท�ำมี ความหมายมากยิ่งขึ้น การตั้งเป้าเป็นเพียงส่วนหนึ่งในมูลภาพที่ ใหญ่กว่านั้นเพราะว่าเป้ามักถูกเคลื่อนออกไปเรื่อย ๆ ตามเวลา และหลาย ๆ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ แต่การเน้นสร้าง Internal Environment ให้น่าอยู่และเป็นที่พึงพอใจเพื่อให้เป็นฐานรองรับ เป้าที่ตามมาน่าจะตอบโจทย์มากกว่า เช่นเดียวกันกับธุรกิจโรงพิมพ์หลาย ๆ โรงที่เติบโตมาจากธุรกิจ ครอบครัว Core Culture ของบริษัท ฟอยล์มาสเตอร์ ก็คือ ความที่ ทุกคนในองค์กรเปรียบเสมือนเป็นหนึ่งครอบครัวเดียวกัน และจะ มีความแตกต่างจาก non-family businesses ตรงที่โครงสร้าง องค์กรนั้นค่อนข้างเรียบ ลูกน้องสามารถเข้าถึงผู้บริหารระดับสูงได้ อย่างสะดวกสบาย ส่งผลให้เกิดความเข้าใจ ยอมรับซึ่งกันและกัน อีกทั้งยังเพิ่มแรงบันดาลใจในการท�ำงานมากยิ่งขึ้นเพราะทุกคน มีเป้าหมายไปในทางเดียวกัน มองว่าธุรกิจครอบครัวมีจุดเด่น ทีม่ คี วามได้เปรียบและน่าสนใจ และอยากน�ำจุดเด่นตรงนีไ้ ปพัฒนา ให้ดียิ่งขึ้น เชือ่ ว่าคนในยุคสมัยนีต้ อ้ งการให้งานตอบโจทย์ในหลายๆแง่ของชีวติ และไม่ได้มองการท�ำงานเป็นเพียงหน้าทีใ่ นวันจันทร์ถงึ ศุกร์ แต่งาน เป็นสนามฝึกที่เปิดโอกาสให้พวกเขาได้เรียนรู้ ได้พัฒนาศักยภาพ ตนเองเพือ่ น�ำไปใช้ในการผลักดันสังคมให้เปลีย่ นไปในทางทีด่ ยี งิ่ ขึน้ เกรซจึงมีความมุ่งมั่นที่จะปรับ culture ในบริษัทฯ เพื่อให้บุคคล ที่มาร่วมงานได้สัมผัสถึงสิ่งเหล่านี้


INTERVIEW

แนวคิด หรือคติในการท�ำงาน

การท�ำงานควรเป็นการสร้างผลประโยชน์แทนทีจ่ ะเป็นการแสวงหา ผลประกอบการหรือการเติบโตในตลาด เพราะสิ่งดังกล่าวไม่ควร เป็นแก่นของการใช้ชีวิต การกอบโกยในรูปแบบต่าง ๆ นอกจาก จะปลูกฝังให้ผู้คนและสังคมสร้างความยึดติดที่มีแต่จะบั่นทอนแล้ว เราไม่ ส ามารถน� ำ อะไรเหล่ า นี้ ไ ปได้ เ ลยเวลาตายจากโลกนี้ ไ ป สิ่งเดียวที่จริงแท้และยั่งยืนคือการส่งต่อซึ่งผลแห่งการกระท�ำของ เราไว้ ความสัมพันธ์ ความปรองดอง รวมไปถึงการที่เราได้ท�ำใน สิ่งที่เชื่อมั่นว่าดีและเป็นประโยชน์ต่อสังคมและคนรอบข้างส�ำคัญ ทีส่ ดุ การทีไ่ ด้เห็นพนักงานท�ำงานด้วยกันอย่างมีความสุขจึงถือเป็น ความสุขสูงสุดในการท�ำงานของเกรซ มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย

เมือ่ พูดถึงอนาคตทีก่ ำ� ลังก้าวเข้ามา ก็อดทีจ่ ะพูดถึง Digital Disruption ไม่ได้เลย หลายๆอย่างทีเ่ คยท�ำมาในอดีต กลายเป็นว่าตอนนีถ้ กู มอง ว่าไม่ทนั สมัยไปแล้ว ทุกๆอย่างถูกเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วจนบางที เราอาจปรับเปลี่ยนไม่ทัน เราจึงต้องมุ่งที่จะก้าวให้ไกลกว่าปัจจุบัน อย่างน้อยสักสามสี่ก้าวเพื่อเผื่อเวลาไม่ให้ถูก disrupt เกรซสังเกตว่าคนเราพอยิง่ มีอายุมากขึน้ ได้ผา่ นอะไรมามาก ๆ ก็จะ สะสมความหวาดระแวงเยอะขึน้ เรือ่ ย ๆ และความกล้าทีจ่ ะเสีย่ งกับ อะไรสักอย่างมักจะลดลงเมือ่ เทียบกับช่วงสมัยวัยเด็ก ก็พอเข้าใจได้ เพราะเราคงมีอะไรที่จะเสียมากขึ้นเช่นกัน แต่มองว่าในความที่ ไม่กล้าเสีย่ งนัน้ แอบแฝงความสูญเสียโอกาสทีจ่ ะน�ำพาไปสูจ่ ดุ เปลีย่ น ที่ยิ่งใหญ่ได้ ซึง่ ถ้าโยงกลับมาทีอ่ ตุ สาหกรรมการพิมพ์ไทย เปรียบเสมือนการแข่ง ที่เริ่มแรกเป็นการวิ่งระยะยาว แต่สักพักก็มีด่านอุปสรรคเหนือ ความคาดหมาย เช่น ด่านกระโดด บังคับให้มีการปรับเปลี่ยนวิธี การรับมือและทักษะของผู้เข้าแข่ง หากผู้แข่งจะมองว่าตัวเองมาวิ่ง อย่างเดียว แก้ปัญหาภายในขอบเขตเดิม ตอบโจทย์เดิม ๆ ที่เคย ส�ำเร็จมา ผู้แข่งนั้นจะไม่มีทางข้ามอุปสรรคไปสู่เส้นชัยได้เลย

67

เกรซมองว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยยังคงไปได้อีกไกล เพียงแต่ เราจะต้องหาจุดแข็งและจุดเด่นของเราให้เจอ น�ำมันมาพัฒนาและ สรรหาสิ่งใหม่ๆเข้ามาเสริมมาต่อยอด แล้วเราก็จะกลับมาสนุกกับ การแข่งขันอีกครั้ง เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร

แรกสุดเลยเป็นตั่วกู๋ (คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์) ที่พาไปลงทะเบียน ที่บูธสมาคมในงาน Pack Print International 2011 แต่ก็ไม่ได้ เข้าร่วมกิจกรรมใดๆเท่าไหร่เพราะตอนนั้นก็ยังยุ่งอยู่กับการเรียน และบินกลับมาที่ไทยเป็นระยะเวลาสั้นๆเท่านั้น ต่อมาพอเรียนจบ ตอนกลางปี 2018 เฮียปิง (คุณวรพล ภัคสุขชัย) ก็ได้ชักชวน เข้ากลุม่ YPG และได้ไปเข้าร่วมเยีย่ มชมโรงงานและท�ำกิจกรรม CSR ต่าง ๆ กับทางสมาคม หน้าที่และบทบาทในกลุ่ม Young Printer

ตอนนี้เกรซยังไม่มีบทบาทในกลุ่ม Young Printer มากเท่าไหร่ เพียงแต่ได้เข้าไปร่วมกิจกรรมที่พี่ ๆ ในสมาคมได้จัดมา อย่างเช่น ทริปไปเยีย่ มชมธนาคารแห่งประเทศไทย บริษทั บางเลนเปเปอร์มลิ ล์ บริษัท ไทยนิปปอนรับเบอร์อินดัสตรี้ และร่วมบริจาคสิ่งของที่ มูลนิธบิ า้ นครูบญ ุ ชูเพือ่ เด็กพิเศษ มีความคิดว่าในอนาคตอยากเข้าไป มีส่วนร่วมในการจัดเตรียมงาน CSR เพราะชอบในงานด้านนี้และ สนุกกับการที่ได้ไปช่วยสังคมร่วมกันกับเพื่อน ๆ สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม Young Printer

การทีเ่ ข้ากลุม่ Young Printer ท�ำให้ได้เพือ่ นและรูจ้ กั คนเพิม่ ขึน้ เยอะ เลยค่ะ ได้มโี อกาสแลกเปลีย่ นความคิดและประสบการณ์หลายอย่าง ท�ำให้รู้สึกมีก�ำลังใจเวลาพบเจอปัญหา เพราะรู้ว่าปัญหาที่เราก�ำลัง เจออยูไ่ ม่ใช่อะไรทีพ่ เิ ศษหรือใหญ่โตเกินแก้ มีพี่ ๆ คอยให้คำ� ปรึกษา อยูเ่ สมอ อย่างเวลาไปงานแสดงสินค้าก็จะมีพี่ ๆ จากบริษทั ฯ อืน่ ไปด้วย ท�ำให้สนุกและไม่เหงาเพราะมีกลุ่มวัยรุ่นไปด้วยกัน www.thaiprint.org


68

NEWS

RICOH ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำ นวัตกรรมการพิ มพ์ ระดับโปรดักชัน งาน Print Tech & Signage 2020 วันที่ 27 กุมภาพั นธ์ - 1 มีนาคม 2563 ณ อิมแพ็ ค เมืองทองธานี บริษทั ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เข้าร่วมงาน Print Tech & Signage 2020 ระหว่าง วันที่ 27 กุมภาพันธ์ - 1 มีนาคม 2563 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยภายในงาน ทุกท่านจะได้พบกับการแสดงนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และการบริการจากผูป้ ระกอบการ ด้านธุรกิจงานพิมพ์ อาทิ กลุม่ เครือ่ งพิมพ์ อิงค์เจ็ท, กลุม่ เครือ่ งพิมพ์ดจิ ทิ ลั , กลุม่ งาน พิมพ์แพ็กเกจจิง้ , กลุม่ เครือ่ งพิมพ์บนผ้า, ธุรกิจบริการ เช่น งานป้ายโฆษณา, ธุรกิจ อุ ป กรณ์ ก ่ อ น-หลั ง การพิ ม พ์ เป็ น ต้ น โดยการจัดงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพือ่ เพิม่ โอกาสทางธุรกิจ และเข้าถึงกลุม่ เป้าหมายได้โดยตรงภายใต้คอนเซ็ปต์ “Technology for Better” อีกทั้งยัง เป็นการประชาสัมพันธ์สนิ ค้าเพือ่ ตอกย�ำ้ แบรนด์ให้เป็นทีร่ จู้ กั มากยิง่ ขึน้ ซึง่ ไฮไลท์ ของนวัตกรรมงานพิมพ์ที่ RICOH ได้น�ำ ไปจัดแสดงในงานครั้งนี้ ได้แก่

• RICOH Pro C7200X: เครื่องพิ มพ์ ระดับโปรดักชันสี

เครื่องพิมพ์ระดับโปรดักชันสีที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นอย่างมาก และขายดีมากทั้งใน ยุโรป และอเมริกา โดยนอกจากจะมีสี CMYK แล้ว ยังมีสพี เิ ศษสีที่ 5 ได้แก่ สีขาว สีเคลียร์ สีชมพูนอี อน สีเหลืองนีออน สีแดงล่องหน ช่วยเพิม่ ความโดดเด่น และมูลค่าให้กบั งานพิมพ์ ปลดล็อกขีดจ�ำกัดงานพิมพ์ทตี่ อ้ งพิมพ์บนกระดาษสีขาวเรียบๆ สร้างโอกาส และคืนทุนเร็ว ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้อกี มากมาย ทัง้ งานพิมพ์ spot งานพิมพ์รองหลังขาว บนกระดาษเท็กเจอร์ กระดาษสีด�ำ สีทอง แผ่นใส หรือแม้กระทั่งงานแพ็คเกจจิ้ง • Pro L5160: เครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ทที่ใช้หมึกลาเท็กซ์

ไม่มกี ลิน่ เหม็น เป็นมิตรต่อผูใ้ ช้งานและสิง่ แวดล้อม เหมาะส�ำหรับพิมพ์ภาพขนาดใหญ่ ทัง้ แบบ indoor และ outdoor เพราะสามารถพิมพ์ได้ทงั้ บนวัสดุทเี่ ป็น PVC, แคนวาส, สติ๊กเกอร์ PP, PET, แผ่นใส, สติ๊กเกอร์เคลือบรถยนต์ และวอลเปเปอร์หลากหลาย ประเภท ตัวเครื่องนอกจากจะมีหมึกสี CMYK แล้ว ยังมีหมึกพิเศษสีขาว ส�ำหรับพิมพ์ งานประเภทฉลากหรือวัสดุแบบใส ท�ำให้งานพิมพ์ออกมาคมชัดสมจริง • GCC RX II: เครื่องตัด และท�ำเส้นพั บกระดาษคุณภาพดี

ราคาย่อมเยา ด้วยความเร็วสูงสุด 1,530 มม. ต่อวินาที สามารถรองรับกระดาษตั้งแต่ ขนาด A4 ถึง B2 ทีส่ ำ� คัญคือมีฟเี จอร์ Auto Feed ท�ำให้งา่ ยในการใช้งาน โดยสามารถทีจ่ ะ ใส่กระดาษในถาดป้อนกระดาษครัง้ ละหลายๆ แผ่น โดยมีความหนารวมกันสูงสุดได้ถงึ 50 มม. หรือประมาณ 250 แผ่น บนกระดาษ 150 แกรม จากนัน้ ตัวเครือ่ งจะท�ำการดึงกระดาษ ในถาดไปตัดเองทีละแผ่นอัตโนมัติ โดยทีเ่ ราไม่ตอ้ งคอยมานัง่ ใส่กระดาษทีละแผ่นให้เสียเวลา

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


NEWS

69

่ ะอยู่ บริษัท ฟู จิ ซีร็อกซ์ มุ่งมั่นทีจ เคียงข้างลูกค้าในทุกช่วงเวลา โดยมีเป้าหมายที่จะช่วยท�ำให้ธุรกิจลูกค้า เติบโตอย่างมั่นคง และยั่งยืน

โดยล่าสุดได้ประชาสัมพันธ์บริษัท ควอลิตี้ แล็บ จ�ำกัด หรือ IQ LAB ผ่านช่องทางต่างๆ ทัง้ สือ่ ออนไลน์และออนไลน์ ซึง่ ทางเรา ได้รับเกียรติสัมภาษณ์พิเศษจาก คุณสมเพ็ชร เจียรมณีทวีสิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ควอลิตี้ แล็บ จ�ำกัด พร้อมบุตรสาว คุณนันทนัช เจียรมณีทวีสิน มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์ ในการท�ำงานด้านการพิมพ์ที่มีมากกว่า 30 ปี รวมทั้งแนวทาง ในการผ่ า วิ ก ฤติ ก ารณ์ ต ่ า งๆ และการปรั บ ตั ว ทางธุ ร กิ จ ที่ เน้นเรียนรู้เพื่อพัฒนา และการประยุกต์น�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ในการท�ำงานของ IQ LAB อย่างต่อเนื่อง

รวมทัง้ การมีพนั ธมิตรทางธุรกิจอย่างฟูจิ ซีรอ็ กซ์ ทีเ่ ข้ามาแนะน�ำ การเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ด้วยเครื่องพิมพ์ระดับโปรดักชั่น Iridesse™ Production Press ที่มาพร้อมความสามารถ ในการพิมพ์ 6 สีในขั้นตอนเดียว ได้แก่ สีมาตรฐาน CMYK ที่ประกอบด้วย สีฟ้า, สีแดง, สีเหลือง และสีด�ำ และสีพิเศษ อย่างสีทอง, สีเงิน, สีขาว, สีใส ที่ช่วยสนับสนุนธุรกิจสิ่งพิมพ์ ประหยัดเวลา ประหยัดค่าใช้จา่ ย และสามารถสร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ได้อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ เท่าทันการปรับตัวในยุค Digital Disruption พร้อมเดินหน้าสู่การเติบโตในธุรกิจสิ่งพิมพ์อย่างยั่งยืน www.thaiprint.org


70

NEWS

โควิด-19 หนุนอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์ โต 200-300%

้ อาหาร นโยบาย Social Distancing และการนิยมสั่งซือ ไปรับประทานที่พัก ช่วยหนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์

งานสัปดาห์หนังสือออนไลน์ 24 ชั่วโมง www.thaibookfair.com

นโยบาย Social Distancing และการนิยมสั่งซื้ออาหาร ไปรับประทานที่พัก ช่วยหนุน อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ เพี ยง 1 เดือน โต 200-300% ส่วนสิ่งพิ มพ์ ส่งถึงบ้านอย่าง หนังสือพิ มพ์ หวั่นจะพาโควิด-19 เข้าบ้านบางส่วนยกเลิกชั่วคราว ขณะที่สัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ่ นเป็นงานแบบออนไลน์ ปรับตัวเปลีย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.)

คุ ณ เกรี ย งไกร เธี ย รนุ กุ ล รองประธานสภาอุ ต สาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และในฐานะประธานคลัสเตอร์ กลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ กล่าวว่า ในช่วงการ แพร่ระบาดโควิด-19 ประมาณ 1 เดือนที่ผ่านมา ส่งผลกระทบ ต่อสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ มาก ความต้องการน้อยลง มีงานพิมพ์ ของโรงพิ ม พ์ ล ดลง เช่ น ผู ้ รั บ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ห รื อ หนั ง สื อ อื่ น แบบส่งถึงบ้านเกรงว่าจะมีเชือ้ โควิด-19 ติดมาถึงบ้าน จึงยกเลิก สัง่ ชัว่ คราว การอ่านหนังสือในรูปแบบของอีบคุ๊ (E-Books) หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จึงเพิ่มมากขึ้นในหลากหลายหมวดหมู่ นอกจากนี้ งานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติก็ต้องปรับเป็นแบบ ออนไลน์แทน เป็นต้น


NEWS

คุณเกรียงไกร กล่าวเพิม่ เติมว่า ในทางตรงกันข้ามกลุม่ บรรจุภณ ั ฑ์ ทัง้ ทีเ่ ป็นกระดาษและบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกยืดหยุน่ สูง ขวดพลาสติก หัวกด หรือหัวฉีดสเปรย์ ส�ำหรับใช้ใส่เจลใส่แอลกอฮอล์ 70% ล้างมือป้องกันเชือ้ โรคโควิด-19 รวมทัง้ ถ้วย ชาม จาน กระดาษ และวัสดุทสี่ ามารถย่อยสลายได้ในธรรมชาติ มีความต้องการใช้ เติบโตอย่างมาก โดยในช่วง 1 เดือนทีผ่ า่ นมาเติบโต 200 - 300% จนผู ้ ผ ลิ ต ไม่ ส ามารถรั บ งานได้ ทั น เนื่ อ งจากวิ ถี ชี วิ ต ของ ประชาชนเปลีย่ นไปจากมาตรการภาครัฐทีเ่ น้นนโยบาย Social Distancing หรือการเว้นระยะห่างระหว่างกัน เพื่อป้องกัน การแพร่เชื้อโควิด-19 ส่งผลให้มีการใช้บรรจุภัณฑ์ประเภท ใช้แล้วทิ้งในกลุ่มสินค้าอาหารแบบส่งถึงบ้านเพิ่มมากขึ้น และภาคอุ ต สาหกรรมอาหารก็ เช่ น กั น มี ก ารใช้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ ประเภทพลาสติกยืดหยุน่ สูงเพิม่ มากขึน้ เช่น บะหมีก่ งึ่ ส�ำเร็จรูป อย่างยีห่ อ้ มาม่า และอืน่ ๆ รวมถึงอาหารบรรจุซองต่างๆ ก็มสี ดั ส่วน การใช้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ยื ด หยุ ่ น สู ง เพิ่ ม มากขึ้ น เช่ น กั น ขณะทีข่ วดพลาสติกหัวกดหรือหัวฉีดสเปรย์กข็ าดตลาด การน�ำ เข้าจากจีนท�ำได้น้อย ทัง้ นี้ จากสถานการณ์ดงั กล่าว ส่งผลให้อตุ สาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ มีงานล้นมือ ท�ำให้สดั ส่วนอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ตอ่ อุตสาหกรรม สิ่งพิมพ์เริ่มเปลี่ยนแปลงมากขึ้น โดยอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์

71

เติบโตขึน้ อย่างมาก คาดว่า ในอีก 9 เดือนข้างหน้าหากสถานการณ์ ไม่เปลี่ยนแปลง การใช้บรรจุภัณฑ์ก็จะยังคงเพิ่มขึ้น ท�ำให้ มูลค่าอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ปนี เี้ พิม่ ขึน้ ประมาณ 40,000 -  50,000 ล้านบาท สัดส่วนอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ตอ่ การพิมพ์ จะเปลีย่ นแปลงจากประมาณร้อยละ 60 ต่อ 40 ไปเป็น 65 ต่อ 35 ได้ในสิ้นปีนี้ โดยมูลค่าอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ประเมินว่า จะมีมูลค่าประมาณ 240,000-250,000 ล้านบาท ขณะที่ กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ จ ะมี มู ล ค่ า ลดลงเหลื อ ประมาณ 50,000 ล้ า นบาท รวมมู ล ค่ า กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ และบรรจุภัณฑ์ปีนี้ คาดว่า จะยังคงอยู่ที่ประมาณ 300,000 ล้านบาท เท่ากับปีที่ผ่านมา

คาดว่าในอีก 9 เดือนข้างหน้า ่ นแปลง หากสถานการณ์ไม่เปลีย การใช้บรรจุภัณฑ์ ยังคงเพิ่ มขึ้น ท�ำให้อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ปีนี้เพิ่ มขึ้นประมาณ 40,000 - 50,000 ล้านบาท Resources: ส�ำนักข่าวไทย เครดิตภาพประกอบ: www.wawapack.com

www.thaiprint.org


72

NEWS

DITP สร้างทัพผู้ประกอบการ ภาคเหนือ ก้าวไกลสู่เวทีส่งออก ระดับสากล

โดย กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ จับมือ สมาคมการพิ มพ์ ไทย และส�ำนักงานพาณิชย์จังหวัด

กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์จบั มือ สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย และส� ำ นั ก งานพาณิ ช ย์ จั ง หวั ด และสมาคมธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ์ ภ าคเหนื อ ผนึ ก ก� ำ ลั ง เสริ ม ทั พ ผู้ประกอบการ ด้านสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ผู้ประกอบการ OTOP/SMEs ในเขตภาคเหนือ จัดโครงการให้ความรู้แก่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ผู้ประกอบการ ด้านสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ พร้อมจัดกิจกรรม ส่ ง เสริ ม เครื อ ข่ า ย จั บ คู ่ ธุ ร กิ จ มู ล ค่ า กว่ า 5,000,000 บาท เชื่ อ มั่ น สามารถเพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า ผลั ก ดั น ส่ ง ออก น� ำ ไปสู ่ การกระตุ้นเศรษฐกิจในภูมิภาคได้ภายใน 1 ปี


NEWS

โดยภายในงานประกอบไปด้ ว ย 4 กิ จ กรรมหลั ก ได้ แ ก่ นิทรรศการ แนวโน้มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ โซนให้ค�ำปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ด้านสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ และ เครื่องหมายการค้า รวมถึงกิจกรรมการบรรยายในหัวข้อต่างๆ ได้แก่ บรรจุภัณฑ์สร้างยอดขายอย่างไร โดย คุณนนท์ปกรณ์ เธียไพรัตน์ (กรรมการผูจ้ ดั การ Prompt partners), การตลาด ออนไลน์เพื่อผู้ประกอบการ OTOP/SMEs โดยคุณจิตร์งาม พราหมณีนิล (เจ้าของกิจการ K PRINT) และการออกแบบ บรรจุภัณฑ์สร้างอัตลักษณ์ โดย อาจารย์สุรเชษฐ์ ไชยอุปละ (ภาควิชาศิลปะอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง) นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ กรรมเจรจาธุ ร กิ จ และแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ระหว่ า ง ผู้ประกอบการ OTOP/SMEs กับผู้ประกอบการสิ่งพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ในพื้นที่ภาคเหนือ โครงการครั้งนี้มีผู้ประกอบการ OTOP/SMEs เข้าร่วมจ�ำนวน 43 ราย และมีผู้ประกอบการด้านสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ จ�ำนวน 26 ราย เกิดการเจรจาธุรกิจภายในงาน ทั้งสิ้น 74 คู่

73

โดยผู้ประกอบการ OTOP/SMEs ที่เข้าร่วมโครงการ จะได้รับ บรรจุภัณฑ์ต้นแบบที่ออกแบบ โดยผู้เชี่ยวชาญให้เหมาะสม กั บ สิ น ค้ า แต่ ล ะประเภท และสามารถน� ำ ไปใช้ ง านได้ จ ริ ง โดยกรมส่ ง เสริ ม การค้ า ระหว่ า งประเทศตั้ ง เป้ า หมายให้ ผูป้ ระกอบการ สามารถยกมาตรฐานด้านสิง่ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ แนะน�ำความรู้ที่ได้รับไปใช้ต่อยอดด�ำเนินธุรกิจ จนสามารถ ขยายตลาดไปสู่ต่างประเทศ สร้างรายได้แก่ประชาชนในพื้นที่ กระตุ้นเศรษฐกิจภูมิภาคให้เติบโตและเข้มแข็ง การจัดงานกิจกรรมในครั้งนี้ผู้ประกอบการสามารถน�ำความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ จากโครงการสั ม มนา ไปประยุ ก ต์ ใช้ ไ ด้ ใ นทั น ที จัดกิจกรรมจับคูธ่ รุ กิจภายในงาน ซึง่ มีผปู้ ระกอบการด้านสิง่ พิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ และผู้ประกอบการ OTOP/SMEs ในพื้นที่ ได้พบปะสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างกัน จนเกิดมูลค่า ทางธุรกิจขึน้ ทันที 450,000 บาท และคาดว่าจะเกิดมูลค่าเพิม่ ขึน้ จากการผลักดันการส่งออก และต่อยอดของผู้ประกอบการ ที่เข้าร่วมกิจกรรม กว่า 5,000,000 ล้านบาท ภายใน 1 ปี

www.thaiprint.org


74

NEWS

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย บริจาคอุปกรณ์การแพทย์ให้ รพ.วชิระภูเก็ต สู้ภัย COVID-19 วันที่ 17 เมษายน 2563 เวลา 11.00 น. ณ โรงพยาบาลวชิระ ภูเก็ต อาจารย์มานิตย์ กมลสุวรรณ – นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ คุณวิวฒ ั น์ อุตสาหจิต และคุณภัทรา คุณวัฒน์ ผูช้ ว่ ยเลขาธิการ เป็นผูแ้ ทนสะพานบุญ ส่งมอบ เครื่องช่วยหายใจความดันบวกสองระดับ (BPAP) รุ่น Philips Respironics BPAP A40 ส�ำหรับผู้ป่วยติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 มูลค่า 1,000,00 บาท จ�ำนวน 4 เครื่อง มาจากคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ และสมาชิกสมาคม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

การบรรจุภัณฑ์ไทย ให้แก่โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต เพื่อบรรเทา ปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์ทางการแพทย์ และเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการดูแลรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ COVD-19 โดยมี คุ ณ พรมพร เหลื อ งหิ รั ญ ผู ้ จั ด การฝ่ า ยการตลาด บริษทั ออมนิแคร์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นบริษทั จ�ำหน่ายเครือ่ งมือแพทย์ ดังกล่าว รับมอบแทน เพื่อเตรียมน�ำเครื่องส่งไปที่โรงพยาบาล วชิระภูเก็ตในล�ำดับต่อไป


NEWS

75

มาตรการดูแลและเยียวยา ผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบ จากไวรัสโควิด-19

รัฐบาลประกาศ มาตรการดูแลผู้ประกอบการ เพื่ อเยียวยาผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม ระยะที่ 2

7

มาตรการ ระยะที่ 2 มาตรการดูแลและเยียวยา “ผู้ประกอบการซึ่งได้รับผลกระทบจาก ไวรัส COVID-19”

เพิ่ มสภาพคล่อง

1

สินเชื่อรายย่อย ไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อราย

วงเงินสินเชื่อรวม 10,000 ล้านบาท โดย ธพว.

ให้สินเชื่อต่อราย ไม่เกิน 3 ล้านบาท ดอกเบี้ย 3% 2 ปีแรก

ยึดการเสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล

ภ.ง.ด. 50 จากเดิม พ.ค. 63 ออกไปเป็นภายใน 31 ส.ค. 63

ภ.ง.ด. 51 จากเดิม ส.ค. 63 ออกไปเป็นภายใน 30 ก.ย. 63

ยึดการเสียภาษีสรรพากร เช่น VAT ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอื่นๆ ให้ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ

เลื่อนกําหนดเวลายื่นแบบและชําระภาษี ทุกประเภท 1 เดือน

ยึดการเสียภาษีสรรพสามิต ให้กิจการสถานบริการ

เลื่อนการยื่นแบบและชําระภาษีสถานบริการออกไป 3 เดือน ตั้งแต่ 1 มี.ค. - 31 พ.ค. 63 ให้เสียภาษี 15 ก.ค. 63

ยึดการเสียภาษีสรรพสามิต ให้ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมนํ้ามัน และผลิตภัณฑ์นํ้ามัน

เลื่อนการยื่นแบบและชําระภาษีภายใน 10 วัน เป็นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ระยะเวลา 3 เดือน

ยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่เกี่ยวข้อง กับการป้องกันและรักษา COVID-19

ยกเว้นอาการขาเข้าสินค้าที่ใช้รักษาและป้องกันโรคโควิด-19 เป็นเวลา 6 เดือนถึงวันที่ 30 กันยายน 2563

ยกเว้นภาษีและลดค่าธรรมเนียมจากการ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (Non-Bank)

ให้เจ้าหนี้ไม่ใช่สถาบันการเงิน เช่น สินเชื่อส่วนบุคคล เช่าซื้อ Leasing ตั้งแต่ 1 ม.ค. 63 - 31 ธ.ค. 64

ลดภาระ

2 3 4 5 6 7

รัฐบาลประกาศ มาตรการดูแลผู้ประกอบการ เพื่อเยียวยา ผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 (COVID-19) ต่อเศรษฐกิจไทย ทั้งทางตรงและทางอ้อม ระยะที่ 2 (กระทรวงการคลัง) โดยเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ

เรื่อง มาตรการดูแลและเยียวยาผลกระทบจากไวรัสโคโรนา (COVID-19) ต่ อ เศรษฐกิ จ ไทยทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม ระยะที่ 2 ตามที่กระทรวงการคลังเสนอมาตรการดูแลและ เยียวยา “ผู้ประกอบการ” ประกอบด้วย 7 มาตรการ ดังนี้ www.thaiprint.org


76

NEWS

Designed by articular / Freepik

1. โครงการสิ นเชื่อเพื่ อช่วยเหลือผู้ประกอบการ รายย่อยทีไ่ ด้รบ ั ผลกระทบจากการระบาดของไวรัส COVID-19 สินเชื่อรายย่อย ไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อราย

  วงเงินสินเชื่อรวม 10,000 ล้านบาท โดย ธพว.   ให้สินเชื่อต่อราย ไม่เกิน 3 ล้านบาท ดอกเบี้ย 3% 2 ปีแรก

เพื่อเสริมสภาพคล่องในการด�ำเนินธุรกิจและแบ่งเบาภาระ ค่าใช้จ่ายในการประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการรายย่อย ที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของไวรัส COVID-19 ได้แก่ ธุรกิจทัวร์ ธุรกิจสปา ธุรกิจขนส่งที่เกี่ยวเนื่อง (รถทัวร์ รถบัส รถตู้ รถแท็กซี่ เรือน�ำเที่ยว รถเช่า) บริษัทน�ำเที่ยว โรงแรม ห้องพัก และร้านอาหาร โดยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลาง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

และขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) สนับสนุนสินเชือ่ วงเงิน รวม 10,000 ล้านบาท วงเงินต่อรายไม่เกิน 3 ล้านบาท คิดอัตรา ดอกเบี้ยร้อยละ 3 ส�ำหรับ 2 ปีแรก ระยะเวลาการกู้ยืมสูงสุด ไม่เกิน 5 ปี รับค�ำขอสินเชื่อถึงวันที่ 30 ธันวาคม 2563 ส�ำหรับมาตรการสินเชือ่ ดอกเบีย้ ต�ำ่ เพือ่ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ ที่ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการระบาด ของเชื้อไวรัส COVID-19 ภายใต้มาตรการดูแลและเยียวยา ผลกระทบจากไวรัส COVID -19 ต่อเศรษฐกิจไทยทั้งทางตรง ทางอ้อม ระยะที่ 1 นั้น เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการ ด�ำเนินโครงการ คณะรัฐมนตรีจึงได้มอบหมายให้ธนาคาร ออมสินเป็นผู้น�ำหลักในการปล่อยสินเชื่อให้กับผู้ประกอบการ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบโดยเร็ว เพือ่ ประคองให้ธรุ กิจสามารถอยูร่ อด ในภาวะเช่นนี้


NEWS

่ นเวลาการช�ำระภาษีเงินได้นต 2. มาตรการเลือ ิ บ ิ ค ุ คล ยึดการเสียภาษีเงินได้ นิติบุคคล   ภ.ง.ด. 50 จากเดิม พ.ค. 63 ออกไปเป็นภายใน 31 ส.ค. 63   ภ.ง.ด. 51 จากเดิม ส.ค. 63 ออกไปเป็นภายใน 30 ก.ย. 63

โดยเลื่อนเวลาการช�ำระภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย ดังนี้ 2.1 รอบระยะเวลาบัญชีปี 2562 (ภ.ง.ด. 50) ส�ำหรับกรณี ที่จะต้องยื่นรายการช�ำระภาษีตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2563 ถึ ง วั น ที่ 30 สิ ง หาคม 2563 ออกไปเป็ น ภายในวั น ที่ 31 สิงหาคม 2563 2.2 รอบระยะเวลาบัญชีปี 2563 (ภ.ง.ด. 51) ส�ำหรับกรณี ที่จะต้องยื่นรายการช�ำระภาษีตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึ ง วั น ที่ 29 กั น ยายน 2563 ออกไปเป็ น ภายในวั น ที่ 30 กันยายน 2563 เพื่อให้ผู้ประกอบการมีสภาพคล่องเพิ่มขึ้น จากการเลื่อนช�ำระภาษีตาม ภ.ง.ด. 50 ประมาณ 120,000 ล้านบาท และจากการเลือ่ นช�ำระภาษีตาม ภ.ง.ด. 51 ประมาณ 30,000 ล้านบาท 3. มาตรการเลื่อนเวลาการยื่นแบบแสดงรายการ น�ำส่ง และช�ำระภาษี ยึดการเสียภาษีสรรพากร เ ช่น VAT ภาษี ธุรกิจเฉพาะ และอื่นๆ ให้ผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบ

การคลังจะพิจารณาเป็นรายกรณี เพื่อเป็นการลดภาระในการ จัดท�ำเอกสารและการเพิ่มสภาพคล่องให้กับผู้ประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว 4. มาตรการขยายเวลาการยื่ น แบบรายการภาษี พร้อมกับช�ำระภาษีของการประกอบกิจการสถาน บริการที่จัดเป็นบริการตามบัญชีพิกัดอัตราภาษี สรรพสามิต ยึดการเสียภาษีสรรพสามิต ให้กิจการสถานบริการ

  เลื่อนการยื่นแบบและช�ำระภาษีสถานบริการ ออกไป 3 เดือน ตั้งแต่ 1 มี.ค. - 31 พ.ค. 63 ให้เสียภาษี 15 ก.ค. 63

เพื่อบรรเทาภาระภาษีแก่ผู้ประกอบกิจการสถานบันเทิงที่ได้ รับผลกระทบจากการให้ปิดสถานที่ที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาด ที่มีคนแออัด เบียดเสียด ง่ายต่อการแพร่เชื้อไวรัส COVID-19 เป็นการชัว่ คราว กรมสรรพสามิตขยายเวลาการยืน่ แบบรายการ ภาษีพร้อมกับช�ำระภาษีของการประกอบกิจการสถานบริการ ได้แก่ ไนต์คลับ ดิสโกเธค ผับ บาร์ ค็อกเทลเลาจน์ โดยรวมถึง สถานที่ที่จ�ำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยจัดให้ มีการแสดงดนตรีหรือการแสดงอื่นใดเพื่อการบันเทิง ซึ่งปิด ท�ำการหลังเวลา 24.00 นาฬิกา และสถานอาบน�้ำ หรืออบตัว และนวด ตลอดจนกิ จ การเสี่ ย งโชคประเภทสนามแข่ ง ม้ า และสนามกอล์ฟ ให้ยื่นแบบรายการและช�ำระภาษีภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2563

  เลื่อนก�ำหนดเวลายื่นแบบและช�ำระภาษี ทุกประเภท 1 เดือน

โดยเลื่อนเวลาการยื่นแบบแสดงรายการ น�ำส่ง และช�ำระภาษี ทุกประเภทที่กรมสรรพากรจัดเก็บ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี ธุรกิจเฉพาะ เป็นต้น ให้แก่ผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ได้แก่ (1) ผู้ประกอบการที่ต้องปิดสถานประกอบการตามค�ำสั่งของทาง ราชการ เช่น กระทรวงมหาดไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น (2) ผู้ประกอบการอื่น ๆ ที่ได้รับ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 เฉพาะที่มีเหตุอันสมควรให้เลื่อนเวลาออกไป โดยกระทรวง

77

Photo by Q.U.I on Unsplash

www.thaiprint.org


78

NEWS

6. มาตรการยกเว้ น อากรขาเข้ า ของที่ ใ ช้ รั ก ษา วิ นิ จ ฉั ย หรื อ ป้ อ งกั น โรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนา (COVID-19) ยกเว้นอากรขาเข้าสินค้าที่เกี่ยวข้อง กับการ ป้องกันและรักษา COVID-19   ยกเว้นอาการขาเข้าสินค้าที่ใช้รักษาและ ป้องกันโรคโควิด-19 เป็นเวลา 6 เดือน ถึงวันที่ 30 กันยายน 2563

โดยยกเว้นอากรขาเข้าของที่ใช้รักษา วินิจฉัย หรือป้องกันโรค ติดเชื้อไวรัส COVID-19 ตามรายการที่กระทรวงสาธารณสุข ประกาศก�ำหนด ตั้งแต่วันที่ประกาศกระทรวงการคลังมีผล บังคับใช้ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2563 เพื่อให้ทุกภาคส่วน สามารถเข้าถึงการรักษา วินิจฉัย หรือป้องกันโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 ได้มากขึ้น 7. มาตรการทางภาษีอากรและค่าธรรมเนียม ยกเว้นภาษีและลดค่าธรรมเนียมจาก การ ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (Non-Bank)   ให้เจ้าหนี้ไม่ใช่สถาบันการเงิน เช่น สินเชื่อส่วนบุคคล เช่าซื้อ Leasing ตั้งแต่ 1 ม.ค. 63 - 31 ธ.ค. 64

5. มาตรการขยายเวลาการช�ำระภาษีให้แก่ผป ู้ ระกอบ อุตสาหกรรมสินค้าน�้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำ� มัน ยึดการเสียภาษีสรรพสามิตใ ห้ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมน�้ำมัน และผลิตภัณฑ์น้ำ� มัน   เลื่อนการยื่นแบบและช�ำระภาษีภายใน 10 วัน เป็นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ระยะเวลา 3 เดือน

เพื่อบรรเทาภาระภาษีแก่ผู้เสียภาษีที่ได้รับผลกระทบจาก ภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวจากการแพร่ระบาดไวรัส COVID กรมสรรพสามิตให้ผปู้ ระกอบอุตสาหกรรมน�ำ้ มันและผลิตภัณฑ์ น�้ำมันจากเดิมยื่นขอช�ำระภาษีภายใน 10 วันเป็นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดจากเดือนที่น�ำสินค้าออกจากโรงอุตสาหกรรม หรื อ คลั ง สิ น ค้ า ทั ณ ฑ์ บ น โดยให้ ด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วเป็ น ระยะเวลา 3 เดือน (เมษายน – มิถุนายน 2563) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

7.1 เพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ของเจ้าหนี้ ที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน (บัตรเครดิต สินเชื่อส่วนบุคคล สินเชื่อ รายย่อยเพื่อการประกอบอาชีพ สินเชื่อรายย่อยระดับจังหวัด เช่าซื้อ ลีสซิ่ง และเจ้าหนี้อื่นที่ท�ำสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ร่วมกับสถาบันการเงิน) ได้แก่ 1. ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่ลูกหนี้ส�ำหรับเงินได้ที่ได้จากการปลดหนี้ของเจ้าหนี้ 2. ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดา ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ให้แก่ ลูกหนี้และเจ้าหนี้ส�ำหรับเงินได้ที่ได้จากการโอนทรัพย์สิน การขายสินค้าหรือการให้บริการ และการกระท�ำตราสาร อันเนื่องมาจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ 3. ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษี ธุรกิจเฉพาะ และอากรแสตมป์ให้แก่ลูกหนี้ส�ำหรับเงินได้ที่ ได้จากการโอนอสังหาริมทรัพย์ที่จำ� นองเป็นประกันหนี้ของ เจ้าหนี้ให้แก่ผู้อื่นซึ่งมิใช่เจ้าหนี้และการกระท�ำตราสาร


NEWS

อันเนือ่ งมาจากการโอนอสังหาริมทรัพย์ ดังกล่าว โดยลูกหนี้ ต้องน�ำเงินนัน้ ไปช�ำระหนีแ้ ก่เจ้าหนี้ เฉพาะส่วนทีไ่ ม่เกินกว่า หนี้ ที่ ค ้ า งช� ำ ระหรื อ มี ภ าระผู ก พั น ตามสั ญ ญาประกั น หนี้ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีก�ำหนด 4. ผ่อนปรนหลักเกณฑ์การจ�ำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ ส� ำ หรั บ หนี้ ที่ เ จ้ า หนี้ ป ลดหนี้ ใ ห้ แ ก่ ลู ก หนี้ โดยไม่ ต ้ อ ง ด�ำเนินการตามหลักเกณฑ์ปกติ ทั้งนี้ ส�ำหรับการปรับปรุง โครงสร้ า งหนี้ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม 2563 ถึ ง วั น ที่ 31 ธันวาคม 2564 7.2 ลดค่าธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมการโอน และการจ� ำ นองอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ตามประมวลกฎหมาย ที่ดิน และห้องชุดตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ส�ำหรับกรณี การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ตามกรณีที่ก�ำหนด ซึ่งกรมที่ดินจะ ด�ำเนินการออกประกาศกระทรวงมหาดไทยให้เรียกเก็บค่า จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมดังกล่าว ร้อยละ 0.01 โดยมีผล ตัง้ แต่วนั ทีป่ ระกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2564 ทั้งนี้ การด�ำเนินการข้างต้นเป็นการขยายหลักเกณฑ์ จากมาตรการภาษีอากรและค่าธรรมเนียมภายใต้มาตรการ

79

ต่อเติม เสริมทุน SMEs สร้างไทย ตามมติคณะรัฐมนตรีเมือ่ วันที่ 7 มกราคม 2563 เพื่อให้ครอบคลุมการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ ส�ำหรับลูกหนี้ของเจ้าหนี้อ่ืน ซึ่งจะช่วยให้ลูกหนี้มีสภาพคล่อง เพิ่มขึ้นและสามารถฟื้นฟูฐานะและกิจการแล้วประกอบอาชีพ และธุ ร กิ จ ต่ อ ไปได้ และเจ้ า หนี้ แ ละระบบสถาบั น การเงิ น ในภาพรวมมีต้นทุนลดลงและสามารถให้สินเชื่อแก่ประชาชน และธุรกิจต่างๆ เพิ่มเติมได้ กระทรวงการคลังขอให้คำ� มัน ่ ว่าจะดูแลประชาชนทุกคน โดยไม่ทง ้ิ ใครไว้ขา้ งหลังโดยมาตรการดูแลและเยียวยา ผลกระทบจากไวรัสโคโรนาต่อเศรษฐกิจไทยทัง ้ ทางตรง และทางอ้อม ระยะที่ 2 จะช่วยบรรเทาความยากล�ำบาก ของประชาชนและผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบจาก มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 โดยกระทรวงการคลั ง จะติ ด ตามสถานการณ์ อ ย่ า ง ใกล้ ชิ ด และพร้ อ มที่ จ ะออกมาตรการที่ เ หมาะสมเพื่ อ ดู แ ลเศรษฐกิ จ ไทยอย่ า งทั น ท่ ว งที เ มื่ อ สถานการณ์ เปลี่ยนแปลงไป

Resources: www.moneyguru.co.th/lifestyle/articles/มาตรการดูแลผู้ประกอบการ

www.thaiprint.org


80

NEWS

Face Shield เพื่ อบุคลากรทาง การแพทย์รับมือไวรัส COVID-19

ศูนย์บริการสาธารณสุข 5 จุฬาลงกรณ์

เนื่องในภาวะไวรัส COVID-19 ที่ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ ท� ำ ให้ ต ้ อ งมี ก ารบั ง คั บ ใช้ มาตรการ “เว้นระยะห่าง” หรือ “Social Distancing” เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดหรือลดการแพร่กระจายของ เชื้ อ ไวรั ส ที่ ป ั จ จุ บั น พบผู ้ ติ ด เชื้ อ สะสมทั้ ง หมด 3 ล้ า นคน และมีผู้เสียชีวิตแล้วร่วม 2 แสนคน สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมกับกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จึงขอเป็น ส่ ว นหนึ่ ง เพื่ อ สั ง คม และเป็ น แรงสนั บ สนุ น ให้ แ ก่ บุ ค ลากร ทางการแพทย์ทุกท่าน โดยได้ร่วมมืออออกแบบและจัดท�ำ หน้ากากพลาสติก Face Shield เพือ่ สวมใส่สำ� หรับการป้องกัน ละอองสารคัดหลัง่ จากการไอและจาม ในขณะอยูใ่ กล้กบั ผูป้ ว่ ย หรือผู้ติดเชื้อ เป็นการป้องกันตัวให้ปลอดภัยขึ้นอีกชั้นหนึ่ง นอกเหนือการใส่หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า เพือ่ น�ำไปบริจาค ให้แก่ แพทย์ พยาบาล บุคคลากรทางการแพทย์ และโรงพยาบาล ที่ขาดแคลนและจ�ำเป็นต้องใช้ช่วงไวรัสโควิด – 19 ระบาด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

โดยเบื้องต้น ได้มีการส่งมอบให้ทางโรงพยาบาลแล้ว จ�ำนวน หลายพันชิ้น ตัวอย่างเช่น 1. โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 2. โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ 3. โรงพยาบาลบางกรวย 2 4. โรงพยาบาลพุทธโสธร 5. โรงพยาบาลยะลา 6. ศูนย์บริการสาธารณสุข 5 จุฬาลงกรณ์ 7. โรงพยาบาลวชิระ นอกจากนี้ ยังอยูร่ ะหว่างการเร่งด�ำเนินการผลิตและทยอยส่งมอบ ให้กบั โรงพยาบาลเพิม่ เติม ส�ำหรับองค์กร ห้างร้าน บริษทั รวมถึง บุคคลทัว่ ไปทีม่ คี วามสนใจจะสัง่ ซือ้ หน้ากากพลาสติก Face Shield เพือ่ น�ำไปบริจาคให้แก่ แพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ และเจ้าหน้าที่ที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติหน้าที่ รวมไปถึง โรงพยาบาลใดทีต่ อ้ งการ Face Shield สามารถแจ้งความประสงค์ และติดต่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สมาคมการพิมพ์ไทย


NEWS

โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

81

โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์

โรงพยาบาลบางกรวย 2

โรงพยาบาลพุ ทธโสธร

โรงพยาบาลยะลา

แพ็ คละ 100 บาท (4 ชิน ้ /แพ็ ค) สั่งซื้อจํานวน

100 แพ็ คขึ้นไป สามารถจัดพิ มพ์ ชื่อองค์กรท่านลงบน Face Shield

ขั้นตอนการสั่งซื้อ Face Shield, การโอนเงิน และการส่งหลักฐานการโอนเงิน

1

สั่งซื้อได้ที่ แอดไลน์ไอดี @thethaiprinting

2

เลขบัญชีการชําระเงิน

่ บัญชี สมาคมการพิ มพ์ ไทย ชือ

เลขบัญชี

LINE QR Code

035-246148-1

3

ส่งหลักฐานการโอนเงิน

่ -ทีอ ่ ยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ • เขียนชือ • ส่งรายละเอียดมาที่ Email: mayuree.tpa@gmail.com หรือ แฟกซ์ 02719-6688 (Auto) หรือ LINE ID: @thethaiprinting

้ หรือรับบริจาค สอบถามรายละเอียด ต้องการสัง ่ ซือ

โทร. 02-719-6685-7 มือถือ 082-745-9999, 087-670-2223 www.thaiprint.org


82

NEWS

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


NEWS

83

้ งสังสรรค์คณะผู้ร่วมงาน งานเลีย โครงการพัฒนาศักยภาพผูป ้ ระกอบการ ด้านสิ่งพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ไทย ในส่วนภูมิภาคสู่ตลาดโลก วันที่ 13 - 14 มีนาคม 2563

สมาคมธุ ร กิ จ สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ภ าคเหนื อ จั ด งานเลี้ ย งต้ อ นรั บ คณะกรรมการบริหารสมาคมการพิมพ์ไทย โดยมีคณ ุ ธนพันธ์ ศิริโยธิพันธ์ – นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการบริหาร ให้การต้อนรับ และพูดคุยเพื่อหารือในกิจกรรมต่างๆ รวมทั้ง เตรียมความพร้อมด�ำเนินโครงการพัฒนาศักยภาพผูป้ ระกอบการ ด้านสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทยในส่วนภูมิภาคสู่ตลาดโลก เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2563 ณ ร้านอาหารครัวเจ๊พัชร หลังจากนัน้ วันที่ 14 มีนาคม 2563 คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช – นายกสมาคมฯ, คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ – ที่ปรึกษาฯ,

คุณภาสกร วงศ์ชนะชัย – ที่ปรึกษาฯ และคณะกรรมการฯ สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย จั ด งานเลี้ ย งขอบคุ ณ สมาคมธุ ร กิ จ สือ่ สิง่ พิมพ์ภาคเหนือ และคณะผูร้ ว่ มงาน หลังเสร็จสิน้ โครงการฯ เพื่อขอบคุณทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือและให้การสนับสนุน กิจกรรมของสมาคมการพิมพ์ไทยด้วยดีเสมอมา บรรยากาศภายในงานเลี้ยงทั้งสองวันเป็นไปอย่างสนุกสนาน และเป็ น กั น เอง เคล้ า คลอด้ ว ยเสี ย งเพลงจากเครื่ อ งเล่ น คาราโอเกะ ที่เปิดโอกาสให้ผู้ร่ว มงานได้ร่ว มร้อ งเพลงกั น อย่างสนุกสนาน ณ ร้านอาหารบ้านริมน�้ำ จ.เชียงใหม่ www.thaiprint.org


84 INDUSTRIAL

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ ประเภทหนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560- 2563 (ม.ค. - ก.พ.)

Photo by Olia Gozha on Unsplash

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


INDUSTRIAL 85

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560 - 2563 (ม.ค. - ก.พ.)

อันดับ ที่

ประเทศ

มูลค่า : ล้านบาท 2561 2562 2562

2560

อัตราขยายตัว (%) 2563 2560 2561 2562 2562 2563 2560 (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.) 72.91 25.40 9.44 34.28 58.39 -18.30 16.03 39.12 -2.88 64.87 -0.39 -5.37 9.39 4.96 23.92 29.36 -16.83 -0.63 23.31 -23.63 10.82 20.51 -13.39 376.05 -67.63 -93.48 -14.62 4.75 19.95 -21.35 -1.04 32.49 202.91 -32.09 6.17 14.47 3.38 -33.68 -52.94 -50.13 -45.15 15.07 11.32 -12.51 42.83 -52.34 -47.84 29.24 4.43 10.88 -12.66 34.14 -30.00 -38.72 78.62 3.85 9.04 -27.71 40.91 -23.53 -40.37 -14.04 3.01 8.16 -14.91 15.55 41.68 86.97 147.58 0.47 7.41 25.33 -27.03 8.12 -37.36 -19.10 2.69 7.22 -7.29 5.54 82.92 46.18 79.05 0.62 7.19 -5.39 67.22 24.98 92.79 -89.41 2.47 5.45 -20.40 -66.91 32.18 -18.15 19.26 6.58 4.58 -51.53 39.87 34.75 2,542.52 -26.23 0.61 3.21 7.83 -10.22 -9.40 -33.42 -11.26 1.77 3.19 -43.20 3.22 66.43 -13.52 -49.46 1.70 2.93 22.88 -53.86 -18.09 12.03 -33.41 3.37 2.89 -5.56 -10.05 27.66 -21.63 -30.85 1.39 1.88 -39.08 91.02 -17.56 3.35 23.06 0.23 276.2 -1.66 16.57 -13.73 -44.46 -26.68 91.02 15.5 -11.04 -.58 4.75 17.90 -53.06 8.98 291.73 -2.58 15.03 -12.30 -41.99 -28.80 100.00

(ม.ค.-ก.พ.)

1 ฮ่องกง 368.71 403.53 2 กัมพูชา 114.00 187.96 3 ญี่ปุ่น 248.71 206.86 4 ฟิลิปปินส์ 109.21 519.87 5 สหรัฐอเมริกา 141.94 140.46 6 อินโดนีเซีย 346.62 229.88 7 เวียดนาม 101.90 145.55 8 มาเลเซีย 88.64 118.90 9 สิงคโปร์ 69.31 97.67 10 ฝรั่งเศส 10.70 12.37 11 อินเดีย 61.94 45.20 12 ศรีลังกา 14.31 15.10 13 เมียนมา 56.83 95.04 14 สหราชอาณาจักร 151.41 50.10 15 เบลเยียม 14.01 19.60 16 ออสเตรเลีย 40.73 36.57 17 ลาว 39.18 40.44 18 เยอรมนี 77.53 35.77 19 จีน 32.05 28.83 20 อียิปต์ 5.27 10.06 รวม 20 รายการ 2,093.0 2,439.8 รวมอื่นๆ 206.4 205.2 2,299.41 2,644.97 รวมทุกประเทศ

541.89 89.24 187.23 35.76 205.57 31.32 168.27 24.02 186.09 29.38 108.18 26.38 69.37 8.76 83.23 6.09 74.68 10.52 17.52 3.30 48.87 9.16 27.62 4.03 118.78 67.94 66.22 4.57 26.41 6.22 33.13 3.62 67.30 6.31 29.30 4.40 36.80 4.18 8.29 1.53 2,104.7 376.7 215.0 33.0 2,319.71 409.76

สัดส่วน (%) 2561 2562 2562 2563

(ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.)

15.26 23.36 21.78 24.99 7.11 8.07 8.73 13.41 7.82 8.86 7.64 8.20 19.66 7.25 5.86 7.03 5.31 8.02 7.17 6.84 8.69 4.66 6.44 4.96 5.50 2.99 2.14 3.88 4.50 3.59 1.49 3.73 3.69 3.22 2.57 3.10 0.47 0.76 0.80 2.80 1.71 2.11 2.24 2.54 0.57 1.19 0.98 2.47 3.59 5.12 16.58 2.47 1.89 2.85 1.12 1.87 0.74 1.14 1.52 1.57 1.38 1.43 0.88 1.10 1.53 2.90 1.54 1.09 1.35 1.26 1.07 1.00 1.09 1.59 1.02 0.99 0.38 0.36 0.37 0.65 92.24 90.73 91.94 94.69 7.76 9.27 8.06 5.31 100.00 100.00 100.00 100.00

่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ทีม

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิง ่ พิ มพ์ พ.ศ. 2563 (ม.ค. - ก.พ.)

ฮ่องกง

72.91

ญี่ปุ่น

สหรัฐอเมริกา

เวียดนาม

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

23.92

ล้านบาท

กัมพูชา

39.12

19.95

ฟิลิปปินส์

20.51

ล้านบาท

1

2 11

3 12

อินเดีย

7.41

ล้านบาท

อินโดนีเซีย

13

5

เมียนมา

เบลเยียม

ล้านบาท

ล้านบาท

7.19

ศรีลังกา

7.22

ล้านบาท

15

7 16

8.16

ล้านบาท

8 17

9 18

ลาว

4.58

ออสเตรเลีย

ล้านบาท

ล้านบาท

3.21

ล้านบาท

10 18

20

จีน

3.19

สหราชอาณาจักร

5.45

ฝรั่งเศส

ล้านบาท

6

14

ล้านบาท

10.88

ล้านบาท

4

9.04

มาเลเซีย

14.47

ล้านบาท

สิงคโปร์

11.32

2.89 เยอรมนี

2.93 ล้านบาท

ล้านบาท

อียิปต์

1.88

ล้านบาท

www.thaiprint.org


86

NEWS

ท่ามกลางวิกฤต Coronavirus ทั่วโลก การเชื่อมต่อทางดิจิทัล (Digital Interface) ระหว่างไฮเดลเบิร์กและลูกค้านั้น มีบทบาทส�ำคัญในการให้บริการเป็นอย่างยิง ่ • แลกเปลี่ยนข้อมูลและการให้บริการอย่างใกล้ชิดกับ โรงพิ มพ์ ผ่ า นการเชื่ อ มต่ อ ทางดิ จิ ทั ล (Digital Interface) - จาก Heidelberg Assistant ไปยัง บริการควบคุมระยะไกลผ่านระบบ Remote Service และการอบรมทางออนไลน์ (Online Training) • เครือข่ายการขายและบริการทัว ่ โลก และศูนย์โลจิสติกส์ หลั ก ยั ง คงมุ่ ง มั่ น ที่ จ ะสร้ า งความมั่ น ใจในการให้ ่ บ บริการอย่างเต็มทีก ั โรงพิ มพ์ ในช่วงการระบาดของ Coronavirus • การผลิตในประเทศจีนเพิ่ มขึ้นอีกครั้ง • สุ ข ภาพของลู ก ค้ า และพนั ก งานไฮเดลเบิ ร์ ก เป็ น สิ่งส�ำคัญสูงสุด - MK Masterwork ผลิตหน้ากาก อนามัย

Heidelberger Druckmaschinen AG (Heidelberg) ได้ด�ำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ลูกค้าได้รับการบริการใน ทุกภาคส่วนครอบคลุมการพิมพ์ทั้งคอมเมอร์เชียล บรรจุภัณฑ์ และฉลาก ภายใต้สถานการณ์ที่ยากล�ำบากอันเนื่องจากวิกฤต Coronavirus ทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลก “โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงเวลา ทีท่ า้ ทายนี้ ช่องทางการเชือ่ มต่อทางดิจทิ ลั (Digital Interface) ระหว่างไฮเดลเบิร์กและกลุ่มลูกค้าโรงพิมพ์ทั่วโลกนั้นก�ำลัง เป็นทีพ่ สิ จู น์ให้เห็นว่ามีบทบาทส�ำคัญมากส�ำหรับการช่วยเหลือ ลูกค้าในการท�ำงานแต่ละวันได้” มร.ไรเนอร์ ฮุนดอร์ฟเฟอร์ (Mr. Rainer Hundsdörfer) ประธานกรรมการบริหาร ไฮเดลเบิร์ก กล่าว บริษัทฯ สร้างยอดขายประมาณ 85% จากการขายที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ โดยลูกค้าทั้งหมดได้รับ

มร.ไรเนอร์ ฮุนดอร์ฟเฟอร์ ประธานกรรมการบริหาร ไฮเดลเบิรก ์ ให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิง ่ ในการดูแล และให้บริการลูกค้าในช่วงการระบาดของ Coronavirus

การบริ ก ารที่ ดี ที่ สุ ด ด้ ว ยคุ ณ ภาพและมาตรฐานระดั บ โลก ผ่านบริษัทที่มีเครือข่ายทั่วโลก “ในช่วงสถานการณ์ระบาด ของ Coronavirus นี้ เราให้ความส�ำคัญสูงสุดกับความปลอดภัย และสุขอนามัยลูกค้าและพนักงานของเรา โดยยังคงมาตรฐาน การให้บริการอย่างเต็มที่แก่ลูกค้าด้วยการน�ำเสนอการบริการ ควบคุมระยะไกล (Remote Service) และ Heidelberg Assistant ที่ผ่านการทดสอบและเป็นที่ยอมรับมานานว่า สามารถดูแลและตอบสนองความต้องการของลูกค้าต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การดูแลลูกค้าผ่านระบบโทรศัพท์ดิจิทัลหรือ การประชุมทางวิดโี อ และการให้ขอ้ มูลด้านต่างๆ ผ่านฐานข้อมูล ลูกค้าของเรา” มร.ไรเนอร์ กล่าวเพิ่มเติม

Chairman of the Supervisory Board / Vorsitzender des Aufsichtsrats: Dr. Martin Sonnenschein Management Board / Vorstand: Rainer Hundsdörfer, Chairman / Vorsitzender · Marcus A. Wassenberg Sitz der Gesellschaft / Registered Office: Heidelberg · Mannheim Registry Court / Amtsgericht Mannheim – Registergericht – HRB 330004 · USt.-IdNr. DE 143455661 Commerzbank AG Heidelberg IBAN: DE32 6724 0039 0192 2640 01 BIC: COBADEFF672 Deutsche Bank AG Heidelberg IBAN: DE22 6727 0003 0029 8000 01 BIC: DEUTDESM672

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125


NEWS

87

Press Information www.heidelberg.com

ยกตั ว อย่ า งเช่ น เมื่ อ ไม่ น านมานี้ มี ก ารขายเครื่ อ งพิ ม พ์ Speedmaster ตัวแรกในประเทศเยอรมนีผา่ นทางการประชุม ทางวิดีโอ ลูกค้ามั่นใจได้ว่าอะไหล่และวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ ต่างๆ จะถูกเตรียมพร้อมส�ำหรับความต้องการในระหว่าง สถานการณ์ แ พร่ ร ะบาดอยู ่ ข ณะนี้ ในส่ ว นของการบริ ก าร ติดตั้งหรือบริการทางเทคนิคในสถานที่ต่างๆ จะถูกด�ำเนินการ โดยค� ำ นึ ง ถึ ง ข้ อ ควรระวั ง ด้ า นสุ ข ภาพและข้ อ ปฏิ บั ติ ต าม สถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงข้อก�ำหนดร่วมกันของลูกค้าและ เงื่อนไขของแต่ละสถานที่ ส�ำหรับศูนย์โลจิสติกส์หลักที่เมือง Wiesloch-Walldorf มีอะไหล่ในคลังกว่า 100,000 รายการ ซึ่งหมายความว่ามีอะไหล่มากกว่า 96% ที่พร้อมให้บริการ เมื่อได้รับค�ำสั่งซื้อ นอกจากนี้ลูกค้าจะได้ประโยชน์ในส่วนของ โมเดลธุ ร กิ จ Subscription เช่ น Prinect Production Manager ที่คิดค่าใช้จ่ายตามการใช้งานจริง ในบางกรณีไฮเดล เบิรก์ น�ำเสนอเงือ่ นไขพิเศษส�ำหรับสัญญาการบริการต่างๆ ด้วย “เราตระหนักถึงคุณค่าการเป็นพันธมิตรทางธุรกิจทีด่ กี บั ท่าน และเรามัน่ ใจว่าจะผ่านพ้นวิกฤตการณ์ครัง้ นีไ้ ปด้วยดีรว่ มกัน” มร.ไรเนอร์ กล่าวเน้น

การผลิตในประเทศจีนเพิ่ มขึ้นอีกครั้ง

ปัจจุบนั นี้ ประเทศจีนนับว่าเป็นตลาดทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ของไฮเดลเบิรก์ จึงได้มกี ารตัง้ ศูนย์การผลิตในเมืองเซีย่ งไฮ้ อีกทัง้ เป็นตลาดแรก ที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตโรคระบาด Coronavirus แต่ใน ปัจจุบันเหมือนว่าสถานการณ์จะค่อยๆ ดีขึ้น การผลิตต่างๆ เริม่ กลับเข้าสูส่ ภาวะปกติ ตัง้ แต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์ทผี่ า่ นมา พนักงานทุกคนได้เริม่ กลับเข้ามาท�ำงานและให้บริการแก่ลกู ค้าอีกครัง้ สุขภาพและความปลอดภัยเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่ง

สิ่งส�ำคัญที่สุดส�ำหรับไฮเดลเบิร์กคือ สุขภาพของพนักงาน ไฮเดลเบิร์กมีการก�ำหนดกฎระเบียบและแนวทางปฏิบัติที่ เหมาะสมเกีย่ วกับความปลอดภัยและสุขอนามัยอย่างเคร่งครัด ในส่วนของ Masterwork MK ซึ่งเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจและ เป็นผูถ้ อื หุน้ ของไฮเดลเบิรก์ ได้กอ่ ตัง้ บริษทั MK Healthy Co., Ltd เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา เพื่อผลิตหน้ากากอนามัย ทางการแพทย์ ซึง่ ในเวลานีท้ าง MK Group ได้สง่ มอบหน้ากากอนามัย จ�ำนวน 35,000 ชิน้ ให้ไฮเดลเบิรก์ และจะตามมาอีก 40,000 ชิน้ ในไม่ช้านี้ เพื่อแจกจ่ายให้ทีมเจ้าหน้าที่เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน Image material as well as further information about the company can be found in the Heidelberger Druckmaschinen AG press portal at www.heidelberg.com or in the Media Library.

www.heidelberg.com

่ เป็นหุน Masterwork MK ซึง ้ ส่วนทางธุรกิจและเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ของไฮเดลเบิรก ์ ่ ปลายเดือนกุมภาพั นธ์ทผ ได้กอ ่ ตัง ั MK Healthy Co., Ltd. เมือ ี่ า่ นมา ้ บริษท เพื่ อผลิตหน้ากากอนามัยทางการแพทย์

For more information: Heidelberger Druckmaschinen AG Hilde Weisser Phone: +49 6222 82-67971 Fax: +49 6222 82-99 67971 E-mail: Hilde.Weisser@heidelberg.com

Important note: This press release contains forward-looking statements based on assumptions and estimations by the Management Board of Heidelberger Druckmaschinen Aktiengesellschaft. Even though the Management Board is of the opinion that those assumptions and estimations are realistic, the actual future development and results may deviate substantially from these forward-looking statements due to various factors, such as changes in the macro-economic situation, in the exchange rates, in the interest rates and in the print media industry. Heidelberger Druckmaschinen Aktiengesellschaft gives no warranty and does not assume liability for any damages in case the future development and the projected results do not correspond with the forward-looking statements contained in this press release.

www.thaiprint.org


88

NEWS

ธุรกิจใดบ้างที่อยู่รอด ในวิกฤตโควิด-19 ?

ตัวอย่างของธุรกิจที่ได้รับผลบวกจากการระบาดของไวรัส ในครั้งนี้ อย่างธุรกิจบรรจุภัณฑ์, ธุรกิจ VDO Streaming, ธุรกิจ Healthcare และธุรกิจ Geocery store ขณะนี้ ทั่ ว โลกก� ำ ลั ง เผชิ ญ กั บ วิ ก ฤตที่ ชื่ อ ว่ า "โควิ ด -19” ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ เ ศรษฐกิ จ ชะลอตั ว ลงอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ตลาดหุ้นทั่วโลกปรับตัวลดลงต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา ขณะ ที่ธุรกิจส่วนมากก็ถูกกระทบในวงกว้างแต่ก็ไม่ใช่ทั้ง 100% THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ของธุรกิจที่จะได้รับผลในด้านลบ เพราะในทุกวิกฤตย่อมเป็น โอกาสส� ำ หรั บ บางคน ขอยกตั ว อย่ า งของธุ ร กิ จ ที่ ดู เ หมื อ น จะได้รับผลบวกจากการระบาดของไวรัสในครั้งนี้


NEWS

89

Photo by Anton on Unsplash

ธุรกิจบรรจุภัณฑ์

กลุม่ บรรจุภณ ั ฑ์ทงั้ ทีเ่ ป็นกระดาษและภัณฑ์พลาสติกยืดหยุน่ สูง ขวดพลาสติ ก หั ว กด หรื อ หั ว ฉี ด สเปรย์ ส� ำ หรั บ ใช้ ใ ส่ เ จล ใส่แอลกอฮอล์ 70% ล้างมือป้องกันเชื้อโรคโควิด-19 รวมทั้ง ถ้วย ชาม จาน กระดาษและวัสดุที่สามารถย่อยสลายได้ใน

ธรรมชาติ มีความต้องการใช้เติบโตอย่างมาก การใช้บรรจุภณ ั ฑ์ ประเภทใช้แล้วทิง้ ในกลุม่ สินค้าอาหารแบบส่งถึงบ้านเพิม่ มากขึน้ และภาคอุ ต สาหกรรมอาหารก็ เช่ น กั น มี ก ารใช้ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ ประเภทพลาสติกยืดหยุ่นสูงเพิ่มมากขึ้น

ธุรกิจ VDO Streaming

ชื่อที่น่าจะโผล่ขึ้นมาในหัวของหลายๆ คน คงจะหนีไม่พ้น Netflix นับแต่ตันปีที่ผ่านมา ราคาหุ้นของ Netfix ยังคงยืน อยู่ได้ในระดับที่ใกล้เคียงกับก่อนหน้านี้ แม้ว่าค่าเฉลี่ยของ ดัชนี MSCI World Index จะร่วงลงมากว่า 20% ส่วนตลาด NASDAQ ที่ Netflix จดทะเบียนอยู่ ก็ร่วงลงมาถึง 24%

ธรรมชาติธุรกิจของ Netfix คือ การให้บริการบอกรับสมาชิก ส�ำหรับการรับชมภาพยนตร์ และรายการโทรทัศน์ ซึง่ ในตอนนี้ มีสมาชิกรับชมเพิม่ มากขึน้ อย่างในกรณีทคี่ นส่วนมากเลือกทีจ่ ะ ใช้เวลาอยูท่ บี่ า้ น แทนทีข่ องการออกไปยังทีต่ า่ งๆ ซึง่ มีความเสีย่ ง จาก “โควิ ด -19” ปั จ จุ บั น Netfix มี จ� ำ นวนบั ญ ชี ส มาชิ ก www.thaiprint.org


90

NEWS

ราว 167 ล้านคนทั่วโลก โดยแบ่งเป็นในสหรัฐฯ ประมาณ 61 ล้านคน แม้จะยังไม่มีการเปิดเผยข้อมูลออกมาว่า “โควิด-19” ส่งผลให้จ�ำนวนผู้ใช้บริการ Netfix เพิ่มขึ้นหรือไม่ แต่หาก พิจารณาจากในอดีตช่วงปี 2008 - 2010 ซึง่ เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ และไข้หวัดหมูระบาดทั่วโลก การเติบโตของรายได้ในเวลานั้น ยังคงเติบโตได้เฉลี่ย 25% จาก1,365 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ มาเป็น 2163 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ส่วนปี 2019 ที่ผ่านมา รายได้ของ Netfix เพิ่มขึ้น 27% มาอยู่ที่ 20,156 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ ส่วนก�ำไรในปี 2008 - 2010 เพิ่มจาก 83 ล้านดอลลาร์ สหรัฐฯ มาเป็น 161 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โตเฉลี่ย 39% และปี 2019 ก�ำไรของ Netflix เติบโต 54% มาเป็น 1,867 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

ธุรกิจ Healthcare

จากตัวอย่างของบริษัท Teladoc Health ซึ่งเป็นธุรกิจ ให้บริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ “โควิด-19” แบบนี้ หนึง่ ในบริการทีถ่ กู พูดถึงกันมากขึน้ ในขณะนี้ คือ Telehealth ซึ่งเป็นการน�ำเทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ป่วยและบุคลากรทาง การแพทย์สามารถพูดคุยตอบโต้กันได้แบบ Real-time เช่นเดียวกับการสื่อสารผ่านระบบ video conference ที่คู่สนทนาสามารถมองเห็นหน้าและสนทนากันได้ทั้ง 2 ฝ่าย โดยไร้ ข ้ อ จ� ำ กั ด ในเรื่ อ งเวลาและสถานที่ โดย Teled๐c THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ได้พฒ ั นาระบบในส่วนนีจ้ นสามารถให้คำ� ปรึกษาทางการแพทย์ ออนไลน์ทั่วโลกปัจจุบันมีจ�ำนวนลูกค้ามากกว่า 10,000 ราย โดยกว่า 40% ของบริษัทใน Fortune 500 ได้เข้ามาใช้บริการ ของ “Teladc” เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นั่นจึงนับเป็นกลุ่มลูกค้า ที่เรียกได้ว่ามีศักยภาพที่น่าสนใจอย่างมากจากการเป็นหนึ่ง ในผูน้ ำ� ของเทคโนโลยีบริการรูปแบบใหม่ทางการแพทย์ หุน้ ของ Teledoc ในช่วงที่ไวรัสก�ำลังแพร่ระบาดอยู่นี้ สามารถพุ่งขึ้น มาได้เกือบ 70%


NEWS

91

Telehealth ซึ่งเป็นการน�ำ เทคโนโลยีที่ช่วยให้ผู้ป่วย และบุคลากรทางการแพทย์ สามารถพู ดคุยตอบโต้กันได้ แบบ Real-time เช่นเดียวกับ การสื่อสารผ่านระบบ video conference ที่คู่สนทนา สามารถมองเห็นหน้าและ สนทนากันได้ท้ง ั 2 ฝ่าย โดยไร้ข้อจ�ำกัดในเรื่องของ เวลาและสถานที่

ธุรกิจ Grocery store

เชนค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุดคือ Kroger ส�ำหรับในสหรัฐอเมริกา หนึ่งในเชนค้าปลีกที่ใหญ่ที่สุดคือ Kroger ซึ่งราคาหุ้นนับตั้งแต่ ต้นปีที่ผ่านมา ปรับเพิ่มขึ้นราว 20% ด้วยลักษณะธุรกิจที่เป็น ปัจจัยพื้นฐานในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์และเมื่อคนส่วนใหญ่ จ�ำเป็นต้องใช้เวลาอยู่ที่บ้านมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการ ในสินค้าอุปโภคบริโภคเหล่านี้เพิ่มสูงขึ้นไปด้วย

ธุรกิจที่เป็นปัจจัยพื้ นฐาน ในการด�ำรงชีวิตของมนุษย์ เมื่อคนส่วนใหญ่จ�ำเป็นต้องใช้ เวลาอยู่ที่บ้านมากขึ้น ส่งผลให้ ความต้องการในสินค้าอุปโภค บริโภคเหล่านี้เพิ่ มสูงขึ้นไปด้วย

เครดิตภาพประกอบ: www.wawapack.com, www.netflix.com, www.teladochealth.com และ www.kroger.com

www.thaiprint.org


92

NEWS

เบอร์เทลส์แมนน์พริน ้ ติง ้ กรุ๊ป เลือกใช้โมเดล Subscription ที่โรงพิ มพ์ ท้ง ั สองแห่งของบริษัท ทุกท่านต่างรอคอยเครื่องพิ มพ์ ใหม่ ทั้ง 2 เครื่อง (จากซ้ายไปขวา) มร.โรแลนด์ วิทที ผูจ ้ ด ั การฝ่ายผลิต และเทคโนโลยีของมอนมีเดีย, ดร.นิคลาส ดาริจชุ๊ค ประธาน เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการของ BPG, มิสจูเลีย อิสซาเบล เชฟเฟอร์ หัวหน้าแผนกการพิ มพ์ ระบบ ออฟเซตของมอนมีเดียและ มร.จ๊อร์ก คูเชนไมสเทอร์ กรรมการผู้จัดการของโวเกลดรุ๊ค

• มอนมีเดียและโวเกลดรุก ๊ ทัง ้ สองโรงพิ มพ์ คาดการณ์ ถึงผลผลิตที่จะเพิ่ มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญจากการวัด ประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรที่ดีย่ง ิ ขึ้น • เป้าหมายของสององค์กรคือ “ความร่วมมือในการเพิ่ ม ประสิทธิภาพการผลิต” เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี • เครื่องพิ มพ์ รุ่น Speedmaster XL 106 ทีใ่ ช้ระบบ ้ ะแทนทีเ่ ครือ ่ งพิ มพ์ ของแบรนด์ อัตโนมัตร ิ ะดับสูงนีจ ่ ่ อืนทีโรงพิ มพ์ ทั้ง 2 แห่ง

เบอร์เทลส์แมนน์พริ้นติ้งกรุ๊ป (Bertelsmann Printing Group-BPG) ตัดสินใจเซ็นต์สัญญาใช้ผลิตภัณฑ์ตามรูปแบบ ของโมเดล Subscription ทีโ่ รงพิมพ์ทงั้ สองแห่งของ BPG ได้แก่ ทีโ่ รงพิมพ์มอนมีเดีย (Mohn Media) ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นเมืองเฮิชเบิรก์ (Höchberg) และโรงพิมพ์โวเกลดรุค๊ (Vogel Druck) ซึง่ ตัง้ อยูใ่ น เมืองวุสเบิรก์ (Würzburg) “เรามีเป้าหมายทีจ่ ะส่งเสริมการผลิต โดยการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรเพื่อเพิ่มผลผลิต อย่างต่อเนือ่ งเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี ความร่วมมือในการ ส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตโดยการใช้โมเดล Subscription เป็นหัวใจส�ำคัญในการด�ำเนินงานซึ่งท�ำให้เราเชื่อมั่นว่าใน ระยะเวลา 5 ปีนี้ ไฮเดลเบิร์กจะดูแลรับผิดชอบทั้งในเรื่อง ศักยภาพการผลิตและความพร้อมใช้งานของเครือ่ ง” ดร.นิคลาส THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ดาริจชุ๊ค (Dr.Niklas Darijtschuk) ประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายปฏิบัติการ (Chief Operation Officer) ของ BPG กล่าว การตกลงครัง้ นีเ้ ป็นบทสรุปหลังจากทีไ่ ด้เจรจาหารือกันหลายครัง้ และจากทุกรอบการประชุมทีเ่ ข้มข้นซึง่ ครอบคลุมในทุกรายละเอียด อาทิ ข้อมูลต่างๆ ทีไ่ ด้รบั จากระบบการท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการผลิต ของทั้งสองโรงพิมพ์ ข้อมูลตัวเลข โครงสร้างลักษณะงานเพื่อ การจัดพิมพ์โดยระบบออฟเซต เหล่านี้จะถูกน�ำมาวิเคราะห์ ประเมินผลโดยทีมผูเ้ ชีย่ วชาญ ข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้โรงพิมพ์ ทั้งสองแห่งเข้าใจเกี่ยวกับศักยภาพการผลิตที่จะเพิ่มขึ้นใน อนาคตและการวางรูปแบบพอร์ตโฟลิโอผลิตภัณฑ์ของบริษัท “นับเป็นเหตุการณ์ที่ส�ำคัญยิ่ง เรามีความยินดีที่เบอร์เทลส์ แมนน์พริ้นติ้งกรุ๊ปเลือกใช้โมเดล Subscription และเราภูมิใจ ที่ จ ะเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานร่ ว มกั บ BPG” ศาสตราจารย์ ดร.อูลริช.เฮอร์แมน ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ฝ่ายดิจทิ ลั (Chief Digital Officer) ซึง่ เป็นหนึง่ ในคณะกรรมการ บริหารของไฮเดลเบิรก์ ทีก่ ำ� กับดูแลผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ของโซลูชนั่ ส์ Lifecycles กล่าว “โรงพิมพ์มากมายต่างตระหนักว่าผลก�ำไรที่ ได้รบั จะไม่ได้เพียงขึน้ อยูก่ บั ศักยภาพในการผลิต แต่ยงั เกีย่ วข้อง กับเวลาที่ใช้ในแต่ละรอบการผลิต ปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนที่ท�ำให้ BPG ตัดสินใจเลือกใช้โมเดล Subscription นอกเหนือจาก


NEWS

เครื่องพิมพ์ประสิทธิภาพสูงของไฮเดลเบิร์กที่มีอายุการใช้งาน ยาวนาน แต่ยังได้แก่วิธีการควบคุมกระบวนการท�ำงาน ระบบ การท�ำงานแบบอัตโนมัติ การบริหารจัดการข้อมูล การบริหาร จัดการตามเกณฑ์มาตรฐาน ล�ำดับของขั้นตอนการผลิตงาน แบบอัตโนมัติ โมเดล Subscription ได้สง่ มอบสิง่ ทีท่ กุ คนก�ำลัง ต้องการด้วยเป้าหมายเดียวกัน นัน่ คือความเสถียรในการผลิตงาน ด้วยประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรที่ดียิ่งขึ้นตลอดอายุ การใช้งานเครือ่ ง ซึง่ จะส่งมอบทัง้ ผลก�ำไรในระยะยาวและได้รบั ความคุ้มทุนจากการลงทุนเครื่องพิมพ์ได้ในเวลาที่รวดเร็ว” การพิ มพ์ งานที่วางใจได้ด้วยผลงานพิ มพ์ ที่คงคุณภาพงานได้อย่างสม�่ำเสมอ

ข้อตกลงระหว่างสองบริษัทครอบคลุมว่าไฮเดลเบิร์กสามารถ ส่งมอบงานพิมพ์ตามยอดพิมพ์ดังที่คาดการณ์ไว้ในช่วงระยะ เวลาอย่างน้อย 5 ปี ด้วยประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องพิมพ์ที่ โรงพิมพ์ทงั้ สองสาขาซึง่ จะเพิม่ มากขึน้ และจะด�ำเนินไปในแนวทาง เดียวกัน และเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายดังกล่าว ฝ่ายบริการ ของไฮเดลเบิรก์ จะจัดหลักสูตรฝึกอบรมทีเ่ ข้มข้นและรับประกัน ในการส่งมอบการบริการตลอด 24 ชั่วโมงให้กับทีมงานของ BPG พร้ อ มทั้ ง จั ด หาคลั ง เก็ บ สิ น ค้ า โดยสั ญ ญาของโมเดล Subscription ระหว่างสองบริษัทยังรวมถึงการบริหารสต็อค เก็บผลิตภัณฑ์ต่างๆ อาทิ อะไหล่ วัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ที่ BPG ใช้ในการผลิต (โปรดอ่านข้อมูลเพิม่ เติมได้ทขี่ า่ วประชาสัมพันธ์ที่ เว็บไซต์ไฮเดลเบิรก์ เรือ่ ง “Heidelberg expands subscription service, taking care of all consumables-related logistics operations for customers”) และในช่วงฤดูใบไม้ผลิของเราในปี พ.ศ. 2563 นี้ โรงพิมพ์ทงั้ สอง แห่งจะติดตั้งเครื่องพิมพ์รุ่น Speedmaster XL 106 ที่ใช้ ระบบอัตโนมัติระดับสูงซึ่งจะติดตั้งแทนที่เครื่องพิมพ์รุ่นเดิม ที่เป็นแบรนด์ของยี่ห้ออื่น 2 เครื่องที่โรงพิมพ์สาขาของ BPG ทั้ง 2 แห่ง โดยเครื่องพิมพ์รุ่น Speedmaster XL 106 10 สี พร้อมหน่วยเคลือบและระบบกลับกระดาษในตัวจะติดตัง้ ทีโ่ รงพิมพ์ มอนมีเดียและที่โรงพิมพ์ โวเกลดรุ๊คจะติดตั้งเครื่องพิมพ์ 9 สี ในรุ ่ น เดี ย วกั น นี้ จุ ด มุ ่ ง หมายในการใช้ ร ะบบการผลิ ต แบบ อัตโนมัติด้วยแนวคิด “Push to Stop” นี้เพื่อให้แน่ใจว่าทาง โรงพิมพ์มีความพร้อมในทุกด้าน มีข้อมูลครบถ้วนในระบบการ ท�ำงาน และการบริการที่ได้รับจะครอบคลุมทุกส่วนโดยการใช้ แพลตฟอร์ม Heidelberg Assistant ซึง่ เป็นโปรแกรมด้านการ บริการระบบดิจิทัล ตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์อัจฉริยะ Prinect Production Manager เพื่อจะช่วยให้ระบบการผลิตงาน รวดเร็ว คล่องตัว การบริการยังรวมถึงการตรวจสอบระบบแบบ

93

คาดการณ์ล่วงหน้า (Predictive Monitoring) เพื่อตรวจสอบ ประสิทธิภาพในการท�ำงานและการเป็นที่ปรึกษาเพื่อให้ระบบ การผลิตมีความเสถียรในระดับสูง “การส่งมอบงานที่มีคุณค่าของเรามุ่งเน้นในการผลิตงานด้วย การใช้ความเร็วในการพิมพ์สงู ใช้เวลาตัง้ เครือ่ งหรือเวลาตรวจเช็ค ไม่นาน เพือ่ ช่วยให้มเี วลาการผลิตงานได้ในระยะยาวนานมากขึน้ ” ดร.เดวิด ชเม็ดดิ้ง (Dr.David Schmedding) ผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายโมเดลธุรกิจ Subscription ของไฮเดลเบิรก์ กล่าว “นีถ่ อื ว่า เป็นจุดแข็งของทางไฮเดลเบิรก์ การลดเวลาหยุดเครือ่ ง ความเสถียร ของกระบวนการผลิ ต เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ในการเพิ่ ม ผลก� ำ ไร ให้กับทางโรงพิมพ์” การวิเคราะห์ประสิทธิภาพในการผลิต เป็นเครื่องยืนยันว่าระบบการพิมพ์โดยเครื่องพิมพ์ออฟเซต ของไฮเดลเบิร์กผลิตงานพิมพ์โดยเฉลี่ยมีจ�ำนวนที่เพิ่มมากขึ้น ถึง 20 เปอร์เซ็นต์ ตลอดอายุการใช้งานที่มากกว่าการผลิต โดยเครื่องพิมพ์ของแบรนด์จากยี่ห้ออื่น เกี่ยวกับเบอร์เทลส์แมนน์พริ้นติ้งกรุ๊ป

เบอร์เทลส์แมนน์พริน้ ติง้ กรุป๊ เป็นบริษทั ทีม่ เี ครือข่ายในหลากหลาย ธุรกิจ อาทิ การพิมพ์ การบริการด้านการตลาดและมีบริษัทใน เครือมากกว่า 20 บริษัท บริษทั ต่างๆ ตั้งอยูใ่ นประเทศเยอรมนี ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษและในอเมริกา มีพนักงาน มากกว่า 8,000 คน ธุรกิจของบริษัทครอบคลุมถึงการบริการ ด้านการพิมพ์ การตลาดผ่านช่องทางที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมของระบบข้อมูล ตลอดจนมีบริการด้านบริหาร จัดการการส่งเสริมการขายที่มีประสิทธิผล

www.bertelsmann-printing-group.com

www.mohnmedia.de

www.vogel-druck.de

่ วกับโมเดล ท่านสามารถชมวีดโี ออธิบายรายละเอียดเกีย ธุรกิจใหม่น้ไี ด้ที่ Find video material and further information about Heidelberg’s subscription offering here:

www.heidelberg-subscription.com www.thaiprint.org


94

NEWS

รวมน�้ำใจสู้ภัยโควิด-19

โดย บจก. ด่านสุทธาการพิ มพ์ ร่วมกับ หจก. จ.วิวัฒน์เซอร์วิส (1990) วันที่ 30 เมษายน 2563 เวลา 10.00 น. บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด ร่วมกับ ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด จ.วิวฒ ั น์เซอร์วสิ (1990) จัดกิจกรรม “รวมน�ำ้ ใจสูภ้ ยั โควิด-19” แบ่งปันข้าวสารอาหารแห้ง ประกอบด้วย ข้าวสาร 5 กิโลกรัม 1 ถุง, ปลากระป๋อง 5 กระป๋อง, บะหมี่กึ่งส�ำเร็จรูป 10 ห่อ และอื่น ๆ จ�ำนวน 400 ชุด เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากวิกฤตการแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรัสโควิด-19 เป็นการบรรเทา ความเดือดร้อนเบื้องต้น และแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายในชีวิต THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 125

ประจ�ำวัน โดยมีคุณปฐม สุทธาธิกุลชัย – กรรมการที่ปรึกษา สมาคมการพิมพ์ไทยเป็นผู้น�ำแจกสิ่งของ ทุกคนที่เข้ารับของ แจกต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย และยืนห่าง เว้ น ระยะห่ า งกั น อย่ า งเข้ ม งวด ซึ่ ง สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย ได้สนับสนุน Face Shield จ�ำนวน 400 ชิ้นร่วมบริจาค ในกิ จ กรรมครั้ ง นี้ ด ้ ว ย เมื่ อ วั น ที่ 30 เมษายน 2563 เวลา 10.00 น. ณ บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด


BK3 & TK3S High Speed Digital Cutting System รุน BK3-1713 / 2513 / 2517 รุน TK3S-2515 / 3515 / 5515 เครื่องตัดงานตัวอยาง

PK Automatgic Intelligent Cutting System

รุน PK / PK Plus เครื่องตัดงานตัวอยาง

BK High Speed Digital Cutting System รุน BK1311 / 1713 / 2011 / 2516 เครื่องตัดงานตัวอยาง

Electrical Oscillating Tool Maximum Cutting Depth: 6mm Available for More Materials



THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020” เล่มใหม่ล่าสุดที่รวมรายชื่อข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ทั้งก่อนการพิ มพ์ หลังการพิ มพ์ รวมทั้งผู้จ�ำหน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิ มพ์ และการซ่ อ มบ� ำ รุ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ การซื้ อ และ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน

พิ เศษเพี ยง

500 บาท/เล่ม ใบสั่งซื้อหนังสือ

*

จ�ำนวน ................... เล่ม

ชื่อ - นามสกุล...................................................................................... บริษัท.................................................................................................. เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษี......................................................................... ที่อยู่.................................................................................................... โทรศัพท์..................................โทรสาร.................................................

รายละเอียดการช�ำระเงิน

วิธีการชำ�ระเงิน

THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

• ราคา 500 บาท/เล่ม • ค่าจัดส่ง 100 บาท/เล่ม

*ราคานีย้ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่

โอนเงินผ่านธนาคาร ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” บัญชี ออมทรัพย์035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท ซอย 71

้ ได้ทส สั่งซือ ี่ มาคมการพิ มพ์ ไทย

311, 311/1 ซ.ศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688

หมายเหตุ: กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ

20191025_TP-Directory_final.indd 1

10/25/19 10:52


สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................

ใบสมัครสมาชิก

วันที่......................................................

ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................

ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ

(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)

74_Pc4.indd 1

23/5/2561 9:04:18


บจก.สุพรชัย จ�ำกัด

SUPORNCHAI Co.,Ltd

เครื่องปะหน้าต่าง เข้ามุม มีเส้นพับ ปะ 2 ช่อง

MODEL

เครื่องปะกบออโต้

Max.Paper size Min.Paper size Upper paper thickness Bottom paper thickness

mm mm g/m2 g/m2

1200x720 450x490 80-1200 160-3000

Hot stamping ปั๊มฟอยล์ Laminating เคลือบลาสติกเงา/ด้าน Spot UV งานเคลือบ Spot UV Die Cutting & Patching ปั๊มขาด+ปั๊มนูน Blister pack varnish

UV Vanishing งานเคลือบยูวี Calendering ขัดเงา Embossing งานปั๊มนูนปั๊มจม Gluning &Mounting ปะข้าง + ปะก้น / ปะประกบ

บริษทั สุพรชัย จ�ำกัด 30 หมู่ 4 ถ.ศรีวารีนอ้ ย-ลาดกระบัง ต.ศีรษะจรเข้นอ้ ย อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทร. +662-402-6623 โทรสาร +662-337-1866 มือถือ. +669-6146-3398 E-mail: marketing@spc-postpress.com http://www.spc-postpress.com TpmMag_117 Pc4.indd 47

22/8/2561 0:20:26


เครื่องตัดแบบงานอัตโนมัติด้วยใบมีด

LST 0806 RM

NEW

ตัดครึ่ง ตัดขาด ตัดปรุ ทำรอย

จบครบในเครื่องเดียว

สำหรับงานบรรจุภัณฑ และฉลากสินคา ขนาด B2+ (800 x 600 mm.)

LST 0604 RM

สำหรับงานบรรจุภัณฑ และฉลากสินคา ขนาด A3+ (600 x 400 mm.)

• ระบบป้อนวัสดุอัตโนมัติ • ระบบ 3 เครื่องมือ ทำงานได้พร้อมกัน โดยไม่ต้องหยุดพักเพื่อเปลี่ยนเครื่องมือ • เครื่องมือทำรอยพับ เครื่องมือตัดขาด, ตัดปรุ เครื่องมือตัดครึ่ง ตั้งแบบ Digital จากแผงควบคุมทัชสกรีนได้ • เครื่องสามารถจดจำโปรแกรมการตัดรวมถึงแรงกดของตัวทำรอย แยกตามวัสดุได้

แสกนเพื่อรับชมวิดีโอ

CB03 II

สำหรับงานปายโฆษณา งานตกแตง งานบรรจุภัณฑ และฉลากสินคา

• ระบบลมดูดแบบแยก 6 โซน เลือกโซนลมดูดได้ ใช้ปั๊มลมขนาด 7 แรง • รองรับระบบการตัดแบบป้อนวัสดุแผ่นอัตโนมัติ Auto Feeder • เป็นเครื่องตัดระบบ Conveying Table รองรับงานตัดทั้งวัสดุแบบแผ่น และแบบม้วน โดยสามารถตัดวัสดุได้หลากหลาย • มีระบบตั้งใบมีดอัตโนมัติ ไม่ต้องตั้งค่าทุกครั้งที่เปลี่ยนวัสดุ • เครื่องสามารถจดจำโปรแกรมการตัดรวมถึงแรงกดของตัวทำรอย แยกตามวัสดุต่างๆได้ แสกนเพื่อรับชมวิดีโอ

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 5 ซอยสุขุมวิท 54 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต้ กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์ 02-332-4470 โทรสาร 02-331-4626

Nationwide

www.nationwide.co.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.