Thaiprint Magazine Vol.126

Page 1




THAILAND 三信控股(泰国)有限公司 SINSAKHON PRINTING CITY 30/25 Moo1,Chetsadawithi Road, Khokkham, Muang,Samutsakhon 74000 thailand Tel: +(66) 3444-6911 Fax: +(66) 3444-6922 E-mail: thai@sansinasia.cc

C106/C80

C106Y/C80Y

Automatic Die-cutting Machine

Automatic Die-cutting And Foil Stamping Machine

เครื่องปมไดคัทอัตโนมัติ

เครื่องปมไดคัทและทองเคอัตโนมัติ

JB-800B UV Photofixation Machine

https://sansin.group

JB-750II

/960II/1270II

Horizontal-lift Half-tone Printing Machine

JB-1050AG Full Automatic Cylinder Screen Press

เครื่องสปอตยูวี ระบบซิลสกรีน ออโตเมติก

GW-S Paper Cutting Machine

เครื่องตัดกระดาษ

FS-Offline Offset Printing Offline Inspection Machine

SF-720C/920/1100C

FS-500C-Shask

Semi-auto Laminator

เครื่องลามิเนตกึ่งอัตโนมัติ

Cigarette Carton High-speed Inspection Machine

SW-1050G Fully Automatic High-speed Laminator

เครื่องลามิเนตความเร็วสูง

ZB50B Handbag Bottom Gluing Machine

เครื่องติดกนถุงกระดาษ

ZB1200CT-430 Sheet-feeding Paper Bag Making Machine

เครื่องปะกาวถุงกระดาษอัตโนมัติ

XL SERIES

GS Series The Art Box Automatic High Speed

High Speed Intelligent Speedwave Folding Gluing Machine

เครื่องปะกลองอัตโนมัติความเร็วสูง

เครื่องปะกลองอัตโนมัติแบบความเร็วสูง

S-600 Automatic Rigid Box Making Machine

QFM-600B HR-P1200-FS Fully Automatic Calender Machine(Electric Type)

JLDMH-1010-F

Automatic Case Making Machine

SD-1040

เครื่องขึ้นรูปและหุมกลองกระดาษแข็ง ระบบออโต (กลองจั่วปง)

เครื่องหุมปกกระดาษแข็ง

High Speed UV Spot And Overall Coating Machine

เครื่องเคลือบยูวีอัตโนมัติแบบเวนลิ้น

JLDN1812-400W-F

ABD-IX-KH-F

Laser Dieboard Cutting Machine

Multi-function Computerize Auto Bending Machine

เครื่องตัดไมแบบดวยเลเซอร

เครื่องดัดมีดอัตโนมัติ

Pertinax Counter (single head)

เครื่องทำแผนเพอธิแนท

RFM-106MCX

Fully automatic vertical type hot knife film laminating machine

เครื่องเคลือบลามิเนตอัตโนมัติแบบมีดรอน

Dampening solution unit system for offset printing

icuejet 370 series

KH-GL1100

Foundation solution circulation And fil tering system

digital 2D/3D uv varnish & foil system

ตูกรองน้ำแบบละเอียด

JC-200PS

The second-generation of press dust collector

เครื่องดูดแปง

LABELROLL-F Series Offline Quality Inspection

เครื่องตรวจสอบคุณภาพงาน

LABELROLL-P Series Inline Quality Inspection

เครื่องตรวจสอบคุณภาพงานแบบอินไลน

I5S-330/430 Flexo printing machine series

เครื่องพิมพระบบเฟล็กโซ ปอนมวน


CORRUGATED MACHINES T-FSG

意高发

T-FSG High Speed Flexo Printer Slotter Rotary Die-Cutter Inline with Folder Gluer (Top-Printing, Vacuum Transfer and Fixed Structure) เครื่องพิมพเฟลกโซความเร็วสูงพรอมหนวยสล็อต โรตารี่ไดคัต และหนวยทากาวปะกลอง

T-GCF T-GCF High Speed Flexo Printer Slotter Rotary Die-Cutter Inline with Folder Gluer เครื่องพิมพเฟลกโซความเร็วสูงพรอมหนวยสล็อต โรตารี่ไดคัต และหนวยทากาวปะกลอง

EKOFA TF 1800 Seven-colors Flexographic Printing Machine

เครื่องพิมพลูกฟูก 7 สี

R

CF-1300/1450/1650 Fully Automatic High-speed Flute Laminating Machine

เครื่องประกบกระดาษอัตโนมัติความเร็วสูง

CF-1307A/1450B

SPQZD-260

BDJ-2000B

Double-piece Automatic High-speed Stitching Machine เครื่องเย็บกลองอัตโนมัติดวยความเร็วสูงแบบสองชิ้นตอกัน

Double Servo Control Semi-auto Stitcher เครื่องเย็บกลองกึ่งอัตโนมัติ แบบเซอรโวคู

Fully Automatic High-speed Flute Laminating Machine

เครื่องประกบกระดาษอัตโนมัติความเร็วสูง

AWNP

QYHX-2400A

Non-plate Digital Printing Machine for Corrugate Board

AWNP-G

เครื่องพิมพดิจิตอลสำหรับกระดาษลูกฟูก

QYHX-2400B

High-Speed AB Gluer Machine

High-Speed AB Gluer Machine

เครื่องปะกลองกึ่งอัตโนมัติแบบสองชิ้นตอกัน

เครื่องปะกลองกึ่งอัตโนมัติแบบสองชิ้นตอกัน

Non-plate Digital Printing Machine for Corrugate Board

เครื่องพิมพดิจิตอลสำหรับกระดาษลูกฟูก

MATERIAL ACCESSORIES SUPPLIER THERMAL FILM

Metalized/PET Thermal Film

BOPP FILM

Water Base Laminating Glue Series

Eco/Digital/Anti Scratch /Embossed Thermal Film

WIRE-O-RING

Jelly Glue

Hot Melt For Bookbinding

High-Speed Printing & Slotting Die-Cutter Series

SPINE GLUE

CREASING MATRIX A. Thickness of Creasing Matrix B. Brute Mighty Bottom Film C.Channel width of Creasing Matrix D. Locating Plastic Strip E.Protection Gum Paste

CPT PLATE

SIDE GLUE

CXK-K1

CXK-G4

CXK-B8

Thermal CTP Plate (Single Layer)

Thermal CTP Plate (Single Layer)

UV-CTCP plate (UV Conventional Plate)


บริษัท ริโก (ประเทศไทย) จำกัด 341 ถนนออนนุช แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร: 02 088 1524 www.ricoh.co.th


SOONTORN FILM

Expert in Digital and Inkjet Printing, using World-Class Technologies

g in t in r P l a it ig D y it l High Qua Digital Offset Printing

g in t in r P t a m r o F e g r a L Inkjet One Stop Service s Digital Offset Printing

Business card, Postcard, Certificate, Brochure, Leaflet, Catalogue, Menu, Pocket book, Magazine, Photo book, Calendar, Packaging, Sticker, Label etc.

Photo books

Photo Books Printing : Baby born photo book, Family photo book, Graduation (School) photo book, Wedding photo book, Travelling photo book, etc.

We are serving for the highest quality of digital printing and services, Including digital offset and inkjet (large format) One stop services, Expertise teamwork, Latest world class technologies, Environmental friendly, Fast services and reasonable prices. Graphic design Digital Photography

Prepress Offset Plate Making

Digital Offset Printing

Inkjet (Large Format) Printing

Soontorn film Co., Ltd.

3/11-15 พระรามที่ 6 ซอย 17 ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2216 2760-8 แฟกซ 0 2216 2769 เวลาทำการ จันทร-เสาร 09.00-18.00 น. www.soontornfilm.co.th, email : stfilm@soontornfilm.com

Tablet Publishing (Digital Magazine)


110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 4

12/9/2560 14:01:20



สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................

ใบสมัครสมาชิก

วันที่......................................................

ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................

ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ

(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)

74_Pc4.indd 1

23/5/2561 9:04:18



40 Ad Seethong Pc4.indd 1

24/11/2561 20:44:48


THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020” เล่มใหม่ล่าสุดที่รวมรายชื่อข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ทั้งก่อนการพิ มพ์ หลังการพิ มพ์ รวมทั้งผู้จ�ำหน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิ มพ์ และการซ่ อ มบ� ำ รุ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ การซื้ อ และ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน

พิ เศษเพี ยง

500 บาท/เล่ม ใบสั่งซื้อหนังสือ

*

จ�ำนวน ................... เล่ม

ชื่อ - นามสกุล...................................................................................... บริษัท.................................................................................................. เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษี......................................................................... ที่อยู่.................................................................................................... โทรศัพท์..................................โทรสาร.................................................

รายละเอียดการช�ำระเงิน

วิธีการชำ�ระเงิน

THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020

• ราคา 500 บาท/เล่ม • ค่าจัดส่ง 100 บาท/เล่ม

*ราคานีย้ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่

โอนเงินผ่านธนาคาร ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” บัญชี ออมทรัพย์035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท ซอย 71

้ ได้ทส สั่งซือ ี่ มาคมการพิ มพ์ ไทย

311, 311/1 ซ.ศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688

หมายเหตุ: กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ

20191025_TP-Directory_final.indd 1

10/25/19 10:52


นายกสมาคม

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก

126 ่ ปี สถานการณ์ COVID-19 ยังคง ผ่านปี 2563 มาครึง ่ ง ในหลาย ๆ ประเทศทัว ระบาดอย่างต่อเนือ ่ โลกยังคง น่าห่วง เกิดภาวะการกลับมาระบาดระลอกใหม่ จนต้อง ประกาศสภาวะฉุกเฉินกันอีกครั้ง นับเป็นโชคดีของ ่ จ ้ ประเทศไทย ทีป ั จุบน ั มีแนวโน้มลดลง และไม่มผ ี ต ู้ ด ิ เชือ เพิ่ มขึ้น แม้จะเกิดภาวะวิกฤติ แต่อุตสาหกรรมการพิ มพ์ และ ่ ะพั ฒนา สังเกตได้จากผลงาน บรรจุภณ ั ฑ์ยง ั ไม่หยุดยัง ้ ทีจ ่ ง ทีส ่ เข้าร่วมประกวดงานสิง ้ ที่ 14 ่ พิ มพ์ แห่งชาติ ครัง ภายใต้แนวคิด “THE UNITY FOR SUSTAINBILITY” เอกภาพเพื่ อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ทย ที่ มี ผู้ ส่ ง ผลงานประกวดร่ ว ม 600 ชิ้ น ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า อุ ต สาหกรรมการพิ มพ์ และ บรรจุภัณฑ์ยังคงพั ฒนาต่อไปอย่างต่อเนื่อง เปิ ด นิ ย ามค� ำ ว่ า “New Normal” ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในยุ ค “COVID-19” ที่ผลักให้ผู้คนทั่วโลกเข้าสู่ “ความปกติ รูปแบบใหม่” ในทุก ๆ ด้าน ทั้งไลฟ์สไตล์ ธุรกิจ สาธารณสุข การศึกษา โดยเฉพาะมาตรการ ผ่อนคลายระยะที่ 2 ของไทยท�ำให้เห็นรูปแบบ “New Normal” ชัดเจนขึ้น New Normal แปลว่า ความปกติใหม่, ฐานวิถีชีวิตใหม่ หมายถึง รูปแบบการด�ำเนินชีวิต ่ี ตกต่างจากอดีต อันเนือ ่ งจากมีบางสิง อย่างใหม่ทแ ั ิ ่ มากระทบ จนแบบแผนและแนวทางปฏิบต ที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคยคาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่ วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคย "New Normal" ในบริ บ ทสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของ “โควิ ด -19” อธิ บ ายได้ ว่ า ้ อย่างรวดเร็วและรุนแรงจนแพร่กระจายไปในประเทศต่าง ๆ ทัว เป็นสถานการณ์ทีเ่ กิดขึน ่ โลก ่ ผูค ้ นเจ็บป่วยและล้มตายจ�ำนวนมาก จนกลายเป็นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงอีกครัง ้ หนึง ของมนุษยชาติ มนุษย์จึงจ�ำเป็นต้องป้องกันตนเองเพื่ อให้มีชีวิตรอดด้วยการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการด�ำรงชีวิตที่ผิดไปจากวิถีเดิม ๆ ่ ทางเลือกของ ช่องทาง "ออนไลน์" คืออีกหนึ่งวิถีชีวิตแบบ New Normal และเป็นอีกหนึง รับมือกับสถานการณ์ COVID-19 นี้ อุตสาหกรรมสิ่งพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์เล็งเห็นปัญหา ตรงจุดนี้ "คุยคนพิ มพ์ " จึงเกิดขึ้น โดยอาจารย์บุญเลี้ยง แก้วนาพั นธ์ และคุณประสิทธิ์ คล่ อ งงู เ หลื อ ม มี จุ ด ประสงค์ ใ นการพู ดคุ ย ถึ ง ปั ญ หา วิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาที่เ กิ ด ขึ้ น ในช่ ว ง ่ สามารถติดตามเนือ ้ี า่ นการถ่ายทอดสดทางเฟซบุก ้ หาได้จาก สถานการณ์นผ ๊ ไลฟ์ และยูทป ู ซึง วารสาร Thai Print ฉบับนี้ ท้ายนี้ ในนามของสมาคมการพิ มพ์ ไทย ขอขอบคุณผู้สนับสนุนวารสารฉบับนี้ หากผู้อ่าน จะมีข้อเสนอแนะใดในการปรับปรุงวารสารนี้ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นกองบรรณาธิการขอน้อมรับ ค�ำติชมด้วยความยินดี รวิกาญจน์ ทาพั นธ์ บรรณาธิการ

SPECIAL THANKS

ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ

คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ

คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก

คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน

คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม

คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม

คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์

คุณรัชฐกฤต เหตระกูล

รองประชาสัมพั นธ์

คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์

ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ

คุณธนา เบญจาธิกุล


ºÃÉ Ô · Ñ à¾ÃÊ«àÔ´¹· à»à»Íà ¤Í¹àÇÃÔ· µ§้Ô ¨Ó¡´ Ñ

“Trust in quality believe in service เชอ่ืมน่ัในคณุภาพ เชอ่ืมอืในบรกิาร ” ¹Óà¢ÒŒ¡ÃдÒɨҡÂâØû áÅÐËÅÒÂáËŧ‹·ÇèÑâÅ¡ á»ÃûÙÁÇŒ¹áÅÐá¼¹‹ ä«Ê» ¡µÔ/ä«Ê¾ àÔÈÉ

For Quality Services

&

Delivery Service

¡ÃдÒɻ͹´ (Woodfree Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠÁ¹Ñ (Art Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠ¡ÒôŠ (C1S / C2S Artcard) ¡ÃдÒÉ¡ÅÍ‹§á»§‡ËŧÑà·Ò (Duplex Board)

72-76 «ÍÂ⪤ªÂ Ñ ¨§¨ÓàÃÞ Ô ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 3 á¢Ç§ºÒ§â¾§¾Ò§ ࢵÂÒ¹¹ÒÇÒ ¡Ã§Øà·¾ÁËÒ¹¤Ã 10120 Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÂ Õ ´à¾Á ่Ô àµÁ Ô ËÃÍ×ʧ่Ñ «Í้×

Cer. No. TH14/7594

à» ´·Ó¡Òà ¨.-Ê. àÇÅÒ 08.30-17.30 ¹.

support@presidentsupply.co.th

PS.SUPPORT

094-4195993, 061-7101331 , 061-9793388


CONTENTS NEWS

KNOWLEDGE

INDUSTRIAL

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการพิ มพ์ ออฟเซตการควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต (3)

24

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยฯ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560-2563 (ม.ค. - พ.ค.)

88

การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 2

38

Thumnakslip Advertising เคล็ดลับกว่า 40 ปี ก้าวสูก ่ ารเป็น ผู้น�ำโรงพิ มพ์ รักษ์สิ่งแวดล้อม

92

5 ข้อผิดพลาดของ การท�ำการตลาดที่เน้นแต่ Online จนลืม Offline

50

72

แนวทางเพื่ อการลดต้นทุน ตอนที่ 2

56

วันการพิ มพ์ ไทย 2563

74

68

ข่าวฝาก ฟู จิ

86

Omni Channel นิยามการตลาด ในยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0

Special Talk เทรนด์การออกแบบผลิตภัณฑ์ และสร้างแบรนด์

90

Personalized Marketing เทรนด์การตลาดเจาะใจผู้บริโภค

76

การบรรจุภัณฑ์ไทย โควิด-19 โดย อ.มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

80

ตัดสิน Thai Print Awards ครั้งที่ 14

30

บจก. ด่านสุทธาการพิ มพ์ บริจาค สิ่งของ ณ วัดพระบาทน�้ำพุ

34

EXIM BANK ส่งมอบ Face Shield สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขสู้ภัยโควิด-19

35

บริษัท KURZ รวมน�ำ้ ใจสู้ภัย Covid-19 กับชุมชน

45

กลุ่มบริษัท ซี.เอ.เอส. ช่วยหมอ ต่อชีวิต ผู้ป่วย COVID-19

เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

INTERVIEW คุยคนพิ มพ์ ... วิถี New Normal ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ โดย คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม

19

ทิศทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย หลังโควิด-19 โดย คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล

46

กฤตบุญ ชินประสิทธิผล บริษัท สยามกมลเอก จ�ำกัด

64

Digital Disruption และ New Normal เราจะปรับตัวอย่างไร ให้รอด... เมื่อโลกก�ำลังปั่นป่วน โดย คุณพณชิต กิตติปญ ั ญางาม

94

ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ที่ บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

The Thai Printing Association thaiprint.org @thethaiprinting


INTERVIEW

คุยคนพิ มพ์ ″วิถี New Normal ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และ บรรจุภัณฑ์″ คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ประธานสหพั นธ์อุตสาหกรรมการพิ มพ์ www.thaiprint.org

19


20

INTERVIEW

คุยคนพิ มพ์ #1 สัมภาษณ์สดเจาะลึกทุกแง่มุม

ก้าวสู่อนาคตอุสาหกรรมการพิ มพ์ ของไทย พบกับ

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม

ประธานสหพั นธ์อุตสาหกรรมการพิ มพ์ ประธานชมรมการจัดพิ มพ์ อิเล็กทรอนิกไทย ดําเนินรายการโดย

อ.บุญเลี้ยง แก้วนาพั นธ์

ประธานหลักสูตรมีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ชมคลิปสัมภาษณ์ย้อนหลังได้ท่ี

จากสถานการณ์โควิด-19 การพบปะพูดคุยกันเป็นเรื่องที่เป็น ไปได้ยาก ดังนั้นช่องทางออนไลน์ จึงเป็นช่องทางที่ช่วยติดต่อ สื่อสารกันได้ง่ายแบบ Real Time อ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ ประธานหลั ก สู ต รมี เ ดี ย อาตส์ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า ธนบุ รี และคุ ณ ประสิ ท ธ์ คล่ อ งงู เ หลื อ ม ประธานอุตสาหกรรมการพิมพ์ วาระ 2562-2563 จึงได้ริเริ่ม

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

การพูดคุยสนทนาผ่านช่องทางเฟซบุ๊ก และยูทูป โดยการ เรียนเชิญคณะมนตรีสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ มาเสวนา เพื่อหาทางรอด พูดคุยถึงปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นในช่วง โควิด-19 รวมไปถึงเรื่องทั่วไปที่เป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์


INTERVIEW

ในฐานะประธานสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ คุณประสิทธิ์ ได้เล่าถึงประวัติของสหพันธ์โดยสังเขป รวมไปถึงแผนกลยุทธ์ ที่ตั้งไว้ก่อน และหลังสถานการณ์โควิด-19 สหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ เกิ ด ขึ้ น จากความต้ อ งการ ของกลุ่มสมาคมต่าง ๆ ที่ประกอบการเกี่ยวข้องกับการพิมพ์ เพือ่ ต้องการเข้าไปช่วยเหลือและแก้ปญ ั หาต่าง ๆ ระหว่างภาครัฐ และเอกชน ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะซ�้ำซ้อนเหลื่อมล�้ำกัน มาตลอดระหว่างสมาชิกของผู้ประกอบการ และในช่วงเวลา ที่ผ่านมา บทบาทของการแก้ปัญหาระหว่างภาครัฐกับเอกชน ส่วนใหญ่รัฐบาลจะยอมรับฟังผ่านทางสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยเป็นหลัก กลุ่มสมาคมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจึงเห็นว่า ควรจะมีการท�ำงานร่วมกันเป็นแนวทางเดียวกัน และควร น�ำปัญหาต่าง ๆ น�ำเสนอผ่านทางกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ ซึง่ เป็นสาขาหนึง่ ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยอยูแ่ ล้ว ให้เป็นผู้ด�ำเนินการ ประกอบกับระหว่างนั้นได้มีการรวมตัวกัน จัดตั้งภาคของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย / เอเชีย

21

อาคเนย์ การพิมพ์และสิ่งพิมพ์หนังสือก็รวมอยู่ในข่ายที่จะ ต้องจัดตั้งเป็นภาคีของภูมิภาคด้วย โดยสาขาของอุตสาหกรรม การพิมพ์ได้ถกู จัดให้เป็นแกนน�ำของการพิมพ์ของประเทศทีจ่ ะ เข้าไปร่วมจัดตั้งเป็นภาคี (Printing and Publishing Club) จากสาเหตุดังกล่าว ประกอบกับความต้องการของผู้ประกอบ ทางด้านการพิมพ์ที่จะร่วมกันแก้ปัญหาของบรรดาสมาชิก จึ ง ได้ น� ำ รู ป แบบการท� ำ งานของกลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ (ของสภาอุตสาหกรรมฯ) มาศึกษาและปรับโครงสร้างให้เข้า กับการท�ำงานของกลุ่มการพิมพ์ ดังนั้นในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2536 จึงมีมติจัดตั้งเป็นสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ เป็นแกนกลางประกอบด้วยสมาคมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด รวม 7 กลุ่ม โดยให้นายกทุกสมาคมท�ำหน้าที่เป็นมนตรีและ ท�ำการเลือกประธานมนตรีและจัดแบ่งการท�ำงานเป็นรูปแบบ องค์กรชัดเจน โดยประธานมนตรีจะมีวาระการท�ำงานครั้งละ 1 ปี และจะสลับเปลี่ยนหมุนเวียนให้นายกของแต่ละกลุ่ม เข้าท�ำหน้าที่ประธาน

สมาชิกของสหพั นธ์อุตสาหกรรมการพิ มพ์

สมาคมผู้จัดพิ มพ์ และผู้จ�ำหน่าย หนังสือแห่งประเทศไทย

สมาคมการค้านวัตกรรมการพิ มพ์ ไทย

สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย

สมาคมบรรจุภัณฑ์ กระดาษลูกฟู กไทย

กลุ่มอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สมาคมแยกสีแม่พิมพ์ เพื่ ออุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย

ชมรมการจัดพิ มพ์ อิเล็กทรอนิกไทย

สมาคมการพิ มพ์ ไทย

สมาคมส่งเสริมวิชาการพิ มพ์

www.thaiprint.org


22

INTERVIEW

สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ไม่จัดกิจกรรมใด ๆ ที่ซ�้ำซ้อนกับ สมาชิก แต่สหพันธ์ฯ เองก็ต้องมีงบประมาณที่ใช้ในการบริหาร ดังนัน้ สิง่ ทีต่ งั้ ใจไว้ตงั้ แต่แรก คือ การจัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับกีฬา แต่สุดท้ายกิจกรรมดังกล่าวก็ต้องล้มเลิกไป และเปลี่ยนแผน มาจัดกิจกรรมที่มีความเชี่ยวชาญมากกว่า คือ การจัดสัมมนา ซึง่ ก�ำหนดไว้ 3 ครัง้ และจัดไปแล้ว 2 ครัง้ แต่เนือ่ งจากสถานการณ์ โควิด-19 ส่งผลให้สมั มนาครัง้ ที่ 3 ต้องพักไว้จนกว่าสถานการณ์ จะคลี่คลาย เมื่อเป็นดังนั้น จึงได้มีการหารือกับผู้ประกอบการ ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ว ่ า สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ณ เวลานี้ หรื อ หลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 จะด�ำเนินการอย่างไรต่อไป และ

มีการลงความเห็นว่าใช้ชอ่ งทางออนไลน์ในการติดต่อสือ่ สารกัน จึงเกิดเป็นการถ่ายทอดสด “คุยคนพิมพ์” ผ่านช่องเฟซบุ๊ก และยูทูป ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 19.00 น. เป็นต้นไป ขึ้นมา

ภาพบรรยากาศการสัมมนา "Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry" ครัง ้ ที่ 1 วันที่ 21 มกราคม 2563 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

ภาพบรรยากาศการสัมมนา "Move On 2020 : Driving the Next Printing Industry" ครัง ้ ที่ 2 วันที่ 19 กุมภาพั นธ์ 2563 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 4 สมาคมการพิ มพ์ ไทย

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

หลังหมดสถานการณ์โควิด-19 เราต้องหารือกันใหม่อีกครั้งว่า จะด�ำเนินการอย่างไรต่อไป เนื่องจากยังค้างในเรื่องของการจัด สัมมนาครั้งที่ 3 เนื่องจากรับเงินจากผู้สนับสนุนและผู้เข้าร่วม สัมมนามาแล้ว และมีเรื่องหนึ่งที่ได้มีการพูดคุยเพื่อหารือกัน ในคณะมนตรีสหพันธ์ฯ คือการรวบรวมปัญหา ผลกระทบของ ทุกสมาคมในสหพันธ์ฯ และน�ำปัญหาเหล่านัน้ เข้าเพือ่ ขอรับการ สนับสนุนพบกับภาครัฐ


INTERVIEW

23

Photo by Annie Spratt on Unsplash

การท�ำงานแบบ Work from Home

การท�ำงานของคนในอุตสาหกรรมการพิมพ์มีการเปลี่ยนแปลง มาตั้งแต่ก่อนช่วงสถานการณ์โควิด-19 เนื่องจากถูก Disrupt จากเทคโนโลยี ส่งผลให้ต้องมีการปรับตัวกันพอสมควร มีการ ปรับรูปแบบการท�ำงาน พยายามลดขนาดของธุรกิจลง ท�ำงาน ในลักษณะการท�ำงานร่วมกัน บริษทั เล็กท�ำงานร่วมกับบริษทั ใหญ่ แต่ค�ำว่า Work from Home อาจจะมีบ้างในบางธุรกิจที่เป็น โรงพิมพ์ขนาดกลางหรือใหญ่ ที่แยกบางแผนกท�ำงานที่บ้าน หลังจากเจอวิกฤติโควิด-19 ท�ำให้เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้นว่า การท�ำงานในรูปแบบ Work from Home ช่วยได้ในบางแผนก เช่น กราฟิก บัญชี หรือแม้กระทั่งผู้บริหารเอง สามารถใช้ เทคโนโลยีที่มีอยู่ทุกวันนี้ ไม่ว่าจะเป็นโซเชียลมีเดีย หรือระบบ ดิจิทัลต่าง ๆ น�ำมาใช้ได้

New Normal กับคนในวงการอุตสาหกรรม การพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์

ด้วยความเปลี่ยนแปลงจากการถูก Disrupt จนตอนนี้เจอ สถานการณ์โควิด-19 ท�ำให้เกิดค�ำถามว่า จะต้องท�ำตัวอย่างไร หรือปรับตัวตามวิถี New Normal อย่างไร ค�ำว่า “New Normal” หากแปลตามตรงจะได้ความหมายว่า ความปกติ ใหม่ หรือ แต่หากแปลตามความหมาย คือ ฐานการด�ำเนินชีวิต รูปแบบใหม่ให้แตกต่างจากอดีต ดังนั้น ผู้ประกอบการในธุรกิจ การพิมพ์ จะต้องท�ำการ Support ลูกค้าให้ต่างจากการด�ำเนิน ชีวติ ในอดีต การหาอาชีพทีส่ อง ซึง่ ต้องยอมรับว่า อุตสาหกรรม บรรจุภณ ั ฑ์กำ� ลังเติบโต หากมีโอกาสจับธุรกิจก็ไม่ควรทิง้ โอกาส รวมไปถึงการท�ำงานผ่านช่องทางออนไลน์มากขึ้นแต่ก็ไม่ลืม กระแสออฟไลน์

สามารถรับชม ″คุยคนพิ มพ์ ″ ย้อนหลังได้ท่ี

Boonliang Keawnapan www.thaiprint.org


24 KNOWLEDGE

่ วกับการพิ มพ์ ออฟเซต สาระน่ารูเ้ กีย การควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต (3) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com

Photo by Clark Van Der Beken on Unsplash

ในการควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต ค่าที่ได้ จากการวัด เช่น ค่าสี ค่าความด�ำหรือความเข้มสี ค่าการ ทับซ้อนกันของสี จะสามารถบอกปัญหาหรือการประเมิน สาเหตุของปัญหาทางการพิ มพ์ ได้ ดังนั้นความเข้าใจ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

ทางด้านพื้ นฐานต่างๆ ของค่าที่วัดจึงเป็นสิ่งที่ส�ำคัญ และท� ำ ให้ ผู้ ค วบคุ ม คุ ณ ภาพทางการพิ มพ์ สามารถ ประเมินสาเหตุของปัญหาและวิธีการแก้ไขได้น้น ั เอง


KNOWLEDGE 25

Photo by Daniel Schludi on Unsplash

ค่าความด�ำ (Density)

ค่าความด�ำในการพิมพ์ได้มีการเรียกกันในหลายรูปแบบด้วย กัน เช่น ค่าความเข้ม หรือค่าเดนซิตี้ เป็นค่าที่ได้จากการวัด ในโหมด Density ในเครื่องมือวัด ค่าความด�ำในการพิมพ์งาน

จะเกิดจากการวัดในช่องพื้นทึบในแถบควบคุมคุณภาพทาง การพิมพ์ ดังแสดงในภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ช่องพื้ นทึบในแถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ที่มา: Handbook of Print Media

www.thaiprint.org


26 KNOWLEDGE

โดยปกติในการพิมพ์งานจะท�ำการวัดค่าความด�ำของสี CMYK เพือ่ ใช้ในการควบคุมคุณภาพในการพิมพ์งาน หากมีการพิมพ์งาน ที่มีสีพิเศษ ส่วนใหญ่จะมีแถบสีพิเศษนั้นๆ อยู่ในแถบควบคุม คุณภาพทางการพิมพ์เช่นเดียวกัน ค่าความด�ำในการพิมพ์

ที่แตกต่างกันในการพิมพ์งานจะมีผลมาจากความหนาของ ชั้ น หมึ ก พิ ม พ์ นั้ น เอง ความสั ม พั น ธ์ ข องความหนาของชั้ น หมึกพิมพ์ จะสามารถแสดงได้ดังภาพที่ 2

90%

ᵝ = 0.9

D = 0.05

ᵝ = 0.5

D = 0.30

ᵝ = 0.1

D = 1.00

ᵝ = 0.01

D = 2.00

ᵝ = 0.001

D = 3.00

ᵝ = 0.001

D = 3.00

50%

10%

1%

0.1%

0.1%

ภาพที่ 2 ความสัมพั นธ์ระหว่างความหนาของชั้นหมึกพิ มพ์ และค่าความด�ำ ที่มา: Heidelberg Print Academy

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


KNOWLEDGE 27

จากภาพที่ 2 จะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างค่าความด�ำ และความหนาของชัน้ หมึกพิมพ์ โดยความหนาของชัน้ หมึกพิมพ์ ทีม่ ากขึน้ ท�ำให้คา่ ความด�ำสูงขึน้ ด้วยนัน้ เอง จากรูปที่ 1 ในภาพ แสดงให้เห็นว่า เมื่อเรามีการน�ำเครื่องมือวัดค่าความด�ำไปวัดที่ กระดาษขาว จะสังเกตได้ว่า ค่าความด�ำ จะมีค่า D 0.05 ซึ่งค่า ความด�ำนีจ้ ะเกิดจากการทีแ่ สงจากเครือ่ งมือวัดส่องลงไปยังกระดาษ และแสงบางส่วนไม่สามารถสะท้อนกลับมาได้ ท�ำให้เกิดค่าความด�ำ ของกระดาษ ดังนั้นในการวัดค่าความด�ำทุกครั้งจึงต้องมีการ วัดค่าความด�ำของกระดาษก่อนทุกครั้ง และเครื่องมือวัดจะท�ำ การจ�ำค่าความด�ำของกระดาษและชดเชยในการวัดค่าความด�ำ ของสีต่างๆ จึงจะได้ค่าความด�ำของหมึกพิมพ์ที่ถูกต้อง

ค่าความด�ำที่สูงมากขึ้นนั้นเอง แต่ในรูปที่ 5 และ 6 จะแสดง ให้เห็นว่า ความหนาของชั้นหมึกพิมพ์ที่มากขึ้น ไม่ได้ส่งผล ต่อค่าความด�ำอีกต่อไป เนือ่ งจากการสะท้อนแสงจากหมึกพิมพ์ มีค่าเท่าเดิม ท�ำให้สามารถสรุปได้ว่า ค่าความด�ำของหมึกพิมพ์ ทีไ่ ด้จากการวัดของเครือ่ งมือวัด จะมีคา่ ความด�ำสูงสุด ณ จุดหนึง่ และไม่สามารถแสดงค่าความด�ำได้มากกว่านี้ ถึงแม้วา่ จะพิมพ์งาน ด้วยชั้นหมึกพิมพ์ที่หนามากขึ้น ดังนั้นในการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ออฟเซต จึงได้มีการ ก�ำหนดค่าความด�ำมาตรฐานในการพิมพ์งาน เพื่อให้เหมาะสม กับการพิมพ์ลงบนกระดาษแต่ละชนิด และได้ความหนาของ ชั้นหมึกพิมพ์ที่ถูกต้อง ไม่ท�ำให้เกิดปัญหาของการแห้งตัวใน ระหว่างการพิมพ์งาน ค่าความด�ำตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะ แสดงในภาพที่ 3

จากรูปที่ 2-5 จะสังเกตได้ว่าความหนาของชั้นหมึกพิมพ์ที่ มากขึ้น จะท�ำให้การสะท้อนแสงจากการวัดลดน้องลง และให้ Density

offset printing

Black

2.5

Cyan Magenta Yellow

2.0

1.5

1.0

0.5 Ink film thickness

0.0 0

0.5

1.0

1.5

2.0

2.5

μm

ภาพที่ 3 ค่าความด�ำมาตรฐานในการพิ มพ์ งานด้วยการพิ มพ์ ออฟเซต ที่มา: Handbook of Print Media

จากภาพที่ 3 แสดงให้เห็นว่า ความหนาของชั้นหมึกพิมพ์ที่ เหมาะสมในการพิมพ์งานด้วยระบบการพิมพ์ออฟเซต จะอยู่ที่ ความหนาประมาณ 1 ไมครอน จากความหนาของชัน้ หมึกพิมพ์ ดังกล่าว ค่าความด�ำของหมึกพิมพ์แต่ละสี (C M Y และ K) จะมีคา่ ความด�ำมาตรฐานทีแ่ ตกต่างกัน จากภาพเป็นการพิมพ์งาน ด้ ว ยหมึ ก พิ ม พ์ C M Y และ K ลงบนกระดาษเคลื อ บผิ ว

ท�ำให้ได้ค่าความด�ำมาตรฐานดังนี้

C = 1.5 M = 1.4 Y = 1.3 K = 1.8 www.thaiprint.org


28 KNOWLEDGE

ค่าความด�ำที่เหมาะสมที่ได้จากการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ ออฟเซต จะมีค่าความด�ำที่แตกต่างกัน เนื่องจากปัจจัยหลาย ประการด้วยกัน เช่น วัสดุใช้พมิ พ์ (กระดาษ, พลาสติก), ลักษณะ ของเครือ่ งพิมพ์ (ระบบการท�ำแห้ง, ส่วนรองรับกระดาษ) หมึกพิมพ์ ที่ใช้ (หมึกพิมพ์ UV, หมึกพิมพ์ธรรมดา) ยกตัวอย่างเช่น กระดาษแต่ละชนิดมีการซึมตัวของหมึกพิมพ์ที่แตกต่างกันไป เช่น หมึกพิมพ์บนกระดาษเคลือบผิว (กระดาษอาร์ต) จะซึมตัว ลงในกระดาษได้นอ้ ยกว่ากระดาษไม่เคลือบผิว (กระดาษปอนด์) ท� ำ ให้ ค ่ า ความด� ำ ของหมึ ก พิ ม พ์ ที่ พิ ม พ์ ด ้ ว ยความหนาของ ชั้นหมึกพิมพ์ที่เท่ากัน มีค่าความด�ำที่แตกต่างกัน ดั ง นั้ น การตั้ ง ค่ า ความด� ำ มาตรฐานส� ำ หรั บ แต่ ล ะโรงพิ ม พ์ จึงไม่จ�ำเป็นต้องมีค่าความด�ำมาตรฐานที่เหมือนกัน เนื่องจาก แต่ ละโรงพิ ม พ์ มี การใช้วัสดุ เครื่องพิมพ์ รวมถึง หมึกพิมพ์ ทีใ่ ช้ ทีแ่ ตกต่างกัน แต่โรงพิมพ์ควรจะมีการทดลองและทดสอบ หาค่าความด�ำทีเ่ หมาะสมในการพิมพ์งานบนวัสดุแต่ละประเภท ด้วยหมึกพิมพ์แต่ละยี่ห้อ เพื่อให้ได้ค่าความด�ำมาตรฐานใน

ปล่อยหมึกน้อย

การพิมพ์งาน และสามารถตัง้ ค่าความด�ำดังกล่าวให้เป็นค่าความด�ำ มาตรฐานของโรงพิมพ์ (In-house Standard) เพือ่ เป็นแนวทาง ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ของโรงพิมพ์ต่อไป ค่าความด�ำในการพิมพ์งานด้วยระบบการพิมพ์ออฟเซตเป็น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ มาก เพราะเป็ น ค่ า ที่ ส ่ ง ผลต่ อ ค่ า สี ค่ า การเกิ ด เม็ดสกรีนบวม ค่าการทับซ้อนกันของสี เป็นต้น และยังเป็น พื้นฐานที่ส�ำคัญในการท�ำระบบการจัดการสี (CMS) ท�ำให้ การหาค่าความด�ำมาตรฐานที่เหมาะสมส�ำหรับโรงพิมพ์เป็น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ การเปลี่ ย นแปลงกระดาษ หมึ ก พิ ม พ์ น�้ ำ ยา ฟาวน์เทน จะส่งผลต่อค่าความด�ำในการพิมพ์งาน จึงต้องมี การทดสอบและก�ำหนดค่าความด�ำมาตรฐานขึน้ มาใหม่ทกุ ครัง้ หากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงวั ส ดุ ใ นการพิ ม พ์ ดั ง กล่ า ว เพื่ อ ให้ การควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์เป็นไปได้อย่างถูกต้อง ส�ำหรับ ค่าความด�ำในการพิมพ์งานนั้นจะส่งผลต่อขอบเขตสีในการ พิมพ์งานเช่นเดียวกัน ดังแสดงในรูปที่ 4

ปล่อยหมึกเหมาะสม

ภาพที่ 4 ค่าความด�ำกับขอบเขตสี ที่มา: Heidelberg Print Academy

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

ปล่อยหมึกมาก


KNOWLEDGE 29

จากภาพที่ 4 แสดงให้เห็นว่า ค่าความด�ำที่เหมาะสมจะให้ได้ ขอบเขตสีในการพิมพ์งานทีถ่ กู ต้อง การพิมพ์งานทีไ่ ด้คา่ ความด�ำ ทีน่ อ้ ย จะท�ำให้ภาพพิมพ์มสี ซี ดี จาง และท�ำให้ขอบเขตสีแคบลง การพิมพ์งานด้วยค่าความด�ำที่สูง ท�ำให้ภาพพิมพ์มีสีที่เข้ม แต่ไม่ท�ำให้ขอบเขตสีกว้างมากขึ้น ขอบเขตสีที่ถูกต้องจะเกิด จากวัสดุที่ใช้พิมพ์และค่าความด�ำที่เหมาะสม

หมึกพิ มพ์ ต่างกัน ค่าความด�ำต่างกัน?

หลายโรงพิมพ์ประสบปัญหาเวลาทีม่ กี ารเปลีย่ นหมึกพิมพ์ ท�ำให้ พิมพ์งานได้สไี ม่เหมือนเดิม หรือเกิดปัญหาทางการพิมพ์หลายๆ อย่างเกิดขึ้น ปัญหาดังกล่าวจะมาจากหมึกพิมพ์ท่ีแตกต่างกัน จะมีสมบัติในด้านต่างๆ ที่แตกต่างกันไปด้วย เช่น ปริมาณหมึก ที่ใช้ในการพิมพ์เพื่อให้ได้ค่าความด�ำที่ต้องการ การรวมตัว ของน�้ำยาฟาวน์เทน การแห้งตัว เป็นต้น

D.V

D.V

1.40

1.40

100%

100% 50%

50% 1 micron

1.5 micron

ภาพที่ 5 หมึกพิ มพ์ กับค่าความด�ำ

จากภาพที่ 5 เป็นตัวอย่างของหมึกพิมพ์ที่แตกต่างกันและ แสดงให้เห็นว่า หมึกพิมพ์ที่แตกต่างกันจะส่งผลโดยตรงกับ ค่าความด�ำ หมึกพิมพ์ A ที่มีสารให้สีมากกว่า จะใช้ปริมาณ หมึกพิมพ์ในการพิมพ์ประมาณ 1 ไมครอน จะสามารถให้ ค่ า ความด� ำ ที่ 1.40 แต่หมึก พิมพ์ B ที่มีสารให้สีน้อยกว่า จะต้องใช้ปริมาณหมึกพิมพ์ในการพิมพ์ประมาณ 1.5 ไมครอน เพื่อให้ได้ค่าความด�ำที่เท่ากัน ซึ่งการใช้ปริมาณหมึกพิมพ์ที่ มากขึน้ ในการพิมพ์งาน อาจจะส่งผลให้เกิดปัญหาอืน่ ๆ ตามมา เช่น หมึกพิมพ์แห้งตัวช้า ใช้น�้ำยาฟาวน์เทนเพิ่มมากขึ้น ใช้แป้ง

มากขึน้ เพือ่ ช่วยการแห้งตัว และลดปัญหาการซับหลังทีเ่ กิดจาก หมึกพิมพ์แห้งช้า ส�ำหรับค่าสีที่มีความแตกต่างจากหมึกพิมพ์ ถึ ง แม้ จ ะพิ ม พ์ ด ้ ว ยค่ า ความด� ำ ที่ เ ท่ า กั น จะเกิ ด จากการที่ หมึกพิมพ์แต่ละยี่ห้อ มีการใช้สารให้สีที่แตกต่างกันไป ท�ำให้ ในการพิ ม พ์ ง านที่ ไ ด้ ค ่ า ความด� ำ ที่ เ ท่ า กั น จะท� ำ ให้ ไ ด้ ค ่ า สี ที่ แ ตกต่ า งกั น ดั ง นั้ น การเลื อ กใช้ ห มึ ก พิ ม พ์ ที่ เ หมาะสมกั บ เครื่ อ งพิ ม พ์ น�้ ำ ยาฟาวน์ เ ทน จึ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ มากต่ อ การควบคุ ม คุ ณ ภาพทางการพิ ม พ์ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ง านพิ ม พ์ ที่ มี คุณภาพ และตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้า

www.thaiprint.org


30

NEWS

การตัดสิน Thai Print Awards ครัง ้ ที่ 14

ภายใต้แนวคิด “THE UNITY FOR SUSTAINABILITY” เอกภาพเพื่ อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ไทย สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย น� ำ โดย คุ ณ วิ รุ ฬ ห์ ส่ ง เสริ ม สวั ส ดิ์ ประธานจั ด งาน ได้ ด� ำ เนิ น การจั ด กิ จ กรรมตั ด สิ น ผลงาน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 ภายใต้แนวคิด “THE UNITY FOR SUSTAINABILITY” เอกภาพเพือ่ ความยัง่ ยืน ของอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ส�ำหรับการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพือ่ กระตุน้ ให้เกิดการตืน่ ตัวและพัฒนาความใฝ่รดู้ า้ นเทคโนโลยี และนวัตกรรมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

2. เพือ่ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา มาตรฐานงานพิมพ์ นวัตกรรม การพิมพ์ ซึง่ รวมถึงผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตอย่างต่อเนือ่ ง 3. เพื่อให้เกิดการตระหนักและให้ความส�ำคัญในด้านคุณภาพ ชิน้ งาน เพือ่ เสริมสร้างความมัน่ ใจในการแข่งขันและเตรียมพร้อม พัฒนาฝีมอื สูก่ ารแข่งขันในประชาคมอาเซียนและการแข่งขัน ในระดับโลก 4. เพื่ อ เป็ น ขวั ญ และก� ำ ลั ง ใจ และยกย่ อ งผู ้ ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล เกียรติยศนี้


NEWS

การประกวดสิ่ ง พิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ ใ นครั้ ง นี้ มี ก ารเพิ่ ม ประเภท การประกวดจากเดิม 30 ประเภทขึ้น 3 ประเภทรางวัล คือ 1. ประเภทสิ่งพิมพ์ 3 มิติ (3D Printing) 2. ประเภทการออกแบบ (Graphic/Functional Appeal) 3. ประเภทความคิดสร้างสรรค์ (Creativeness) เพื่อตอบสนองความต้องการและ Life Style ของผู้บริโภค ยุคใหม่ ทีไ่ ม่ได้มงุ่ เน้นในเรือ่ งความสวยงามและคุณภาพเท่านัน้ แต่จ�ำเป็นต้องปรับตัวมุ่งเน้นไปในเรื่องการออกแบบ การใส่

ความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างมูลค่าเพิ่ม ตลอดจนการใช้ นวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ที่ท้าทายของลูกค้า และเป็นที่น่าเสียดายที่กิจกรรมการตัดสินครั้งนี้ Mr. Robert R James ไม่สามารถเดินทางมาร่วมการตัดสินได้ เนื่องจาก สถานการณ์โควิด-19 ที่ระบาดอยู่ทั่วโลก แต่สมาคมฯ ยังคงได้ รับเกียรติจากผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านการพิมพ์ จากหลายสาขาเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการตัดสิน

งานประกวดสิง ่ พิ มพ์ แห่งชาติ ครั้งที่ 14 ภายใต้แนวคิด “THE UNITY FOR SUSTAINABILITY” เอกภาพเพื่ อความยั่งยืน ของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ไทย

สงผลงาน ภายในวันที่ 12 มีนาคม 2563

31

www.thaiprint.org


32

NEWS

รายชื่อคณะกรรมการตัดสินผลการประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติ ครั้งที่ 14

คุณถิร รัตนนลิน กรรมการตัดสิน

คุณมยุรี ภาคล�ำเจียก กรรมการตัดสิน

้ ง แก้วนาพั นธ์ ผศ.บุญเลีย กรรมการตัดสิน

คุณประเสริฐ หล่อยืนยง กรรมการตัดสิน

คุณพชร จงกมานนท์ กรรมการตัดสิน

คุณสุวท ิ ย์ มหทรัพย์เจริญ กรรมการตัดสิน

ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ กรรมการตัดสิน

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม กรรมการตัดสิน

คุณวีระยุทธ อมรเธียร กรรมการตัดสิน

ผศ.นิมิต เหม่งเวหา กรรมการตัดสิน

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


NEWS

คุณวรวิทย์ เตชะอ�ำนวยสุข กรรมการตัดสิน

้ จงประสิทธิ์ คุณฐานิพรรณ เอือ กรรมการตัดสิน

คุณชัยวัฒน์ พฤฒิพงศ์พิบล ู ย์ กรรมการตัดสิน

การพิ จารณาผลงานทั้งหมดร่วม 600 ชิ้น ที่ ส่ ง เข้ า มาประกวดนั้ น ใช้ เ วลาทั้ ง สิ้ น 2 วั น ระหว่างวันศุกร์ที่ 5 - วันเสาร์ท่ี 6 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ณ ห้องสมุด (ชัน ้ 2) อาคารสมาคม การพิ มพ์ ไทย ซอยศูนย์วิจัย 4 (พระราม 9 ซอย 15) ซึ่งคณะกรรมการตัดสินแต่ละท่าน ได้ระดมความคิด และพิ จารณาคุณภาพด้าน การพิ มพ์ ของแต่ ล ะชิ้ น อย่ า งละเอี ย ดถี่ ถ้ ว น เพื่ อคัดเลือกชิ้นงานที่ดีที่สุด ให้ได้รับรางวัล อั น ทรงเกี ย รติ จ ากการจั ด กิ จ กรรมในครั้ ง นี้ ส� ำ หรั บ ผลงานที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล จะถู ก ส่ ง ไป ประกวด “ASIAN PRINT AWARDS” ในช่วง ปลายปีนี้ต่อไป www.thaiprint.org

33


34

NEWS

บจก. ด่านสุทธาการพิ มพ์ บริจาคสิ่งของ ณ วัดพระบาทน�ำ้ พุ โครงการของหลวงพ่ ออลงกต วัดพระบาทน�้ำพุ วันที่ 28 พฤษภาคม 2563 บริษทั ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด น�ำโดย คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย, ครอบครัว และพนักงาน ร่วมท�ำบุญมอบข้าวสาร อาหารแห้ง ให้แก่ “โครงการของหลวงพ่ออลงกต วัดพระบาทน�ำ้ พุ” ซึง่ มีทงั้ คนป่วย คนชรา และเด็กจ�ำนวนมากทีร่ อรับความช่วยเหลือจากผูม้ จี ติ ศรัทธา และใจบุญ เนือ่ งจากสถานการณ์ COVID-19 แพร่ระบาด ท�ำให้ ผูม้ าท�ำบุญทีว่ ดั น้อยลง บริษทั ฯ เลยคิดว่าอยากเชิญชวนเพือ่ นๆ ช่วยกันบริจาคสิ่งของท�ำบุญ วันที่ 28 พฤษภาคม 2563 ซึ่งมี เพื่อนๆ ในแวดวงได้ร่วมมอบสิ่งของ ดังนี้ 1. ปลากระป๋อง 1,200 กระป๋อง (คุณชาญชัย บ.เพอร์เฟค แพคเกจจิ้ง) 2. ไข่ไก่ + ไข่เป็ด 6,000 ฟอง (คุณภณ บ.อินเตอร์อิ้งค์) 3. หน้ากากอนามัยแบบผ้า 500 ชิน้ (คุณเกษม โรงพิมพ์หยีเ่ ฮง) 4. Face Shield 200 ชิ้น (สมาคมการพิมพ์ไทย) 5. แอลกอฮอล์ 5 ลิตร 8 แกลลอน (คุณพงศ์ธีระ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

6. แอลกอฮอล์ 5 ลิตร 6 แกลลอน (คุณพิมพ์นารา จินดาสาส์นการพิมพ์) 7. น�้ำยาล้างจาน, น�้ำยาฆ่าเชื้อ, น�้ำยาถูพื้น, น�้ำยาล้างห้องน�้ำ (คุณดุ่ย 87 ไสกาว) 8. น�ำ้ ยาซักผ้าขาว, ผงซักฟอก, แอลกอฮอล์ชนิดน�ำ้ , กระดาษทิชชู่ 9. ข้าวสาร (กระสอบละ 48 กก.) 20 กระสอบ 10. แลคตาซอย 180 กล่อง 11. ขนมคุกกี้ 15 ถัง 12. น�้ำมันพืชทับทิม 6 ลิตร 5 แกลลอน 13. น�้ำปลาตราปลาหมึก 24 ขวด 14. ถุงด�ำ (ใส่ขยะ) 10 แพ็ค 15. ผ้าดิบ (พับละ 40 หลา) 5 พับ 16. กระดาษทิชชู่ 20 ห่อ 17. น�้ำดื่มสยาม ขนาด 599 มล. 1,560 ขวด 18. หนังสือสวดมนต์ 300 เล่ม 19. สมุดฉีกแบบต่าง ๆ 1,600 เล่ม


NEWS

35

EXIM BANK ส่งมอบ Face Shield สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขสู้ภัยโควิด-19

วันที่ 28 พฤษภาคม 2563 ณ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ (ที่ 2 จากซ้าย) ประธานกรรมการ ก�ำกับดูแล กิจการที่ดีและความรับผิดชอบต่อสังคม ธนาคาร เพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM BANK) นายพิศิษฐ์ เสรีวิวัฒนา (ที่ 2 จากขวา) กรรมการผู้จัดการ EXIM BANK และนายพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช (ซ้าย) ประธาน กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) และนายกสมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมส่งมอบหน้ากาก Face Shield 2,000 ชิ้น จัดท�ำโดย

กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ส.อ.ท. เพื่อสมทบ รายได้ซอื้ อุปกรณ์ทางการแพทย์ให้แก่โรงพยาบาลของรัฐต่อไป ให้ แ ก่ นพ. สุ ขุ ม กาญจนพิ ม าย (กลาง) ปลั ด กระทรวง สาธารณสุข โดย Face Shield ดังกล่าวจะส่งมอบต่อไปยัง บุคลากรทางการแพทย์ที่ปฏิบัติหน้าที่ในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19 ในสถานพยาบาลท้องถิ่นในต่างจังหวัด ณ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2563 www.thaiprint.org



110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44

8/9/2560 2:47:57


38 KNOWLEDGE Photo by Packhelp on Unsplash

การลดต้นทุน เชิงวิศวกรรม ส�ำหรับ อุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 2

(Engineering cost reduction For the printing and packaging industry, part 2) วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com ในเนื้ อ หาของฉบั บ ที่ แ ล้ ว ได้ ก ล่ า วถึ ง การลดต้ น ทุ น ในด้านต่าง ๆ ในโรงงาน โรงพิ มพ์ ซึ่งมีหัวข้อหลัก ๆ ดังนี้

1. ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของค่าไฟฟ้าที่ใช้ในโรงงาน โรงพิมพ์ ในแต่ละเดือน แต่ละปี ซื่งวิธีการนี้จะท�ำได้ง่ายและเห็นผลทันที 2. ลดต้นทุนด้านอะไหล่ของเครื่องจักรทุกประเภทในโรงงาน ซึ่งวิธีการนี้ก็จะเห็นผลเร็วเช่นเดียวกัน 3. ลดการช�ำรุดของเครื่องจักร เครื่องพิมพ์และอุปกรณ์ต่อเนื่อง ที่ใช้ในโรงงาน วิธีการนี้จะเห็นผลช้าหน่อย แต่ได้รับผลประโยชน์ มากเช่นเดียวกัน และจะได้ผลทั้งทางตรงและทางอ้อม และได้รับ ผลประโยชน์อย่างยั่งยืน 4. ลดต้นทุนด้านแรงงาน โดยใช้หลักการทางวิศวกรรมเข้ามาช่วย ในการท�ำงาน เช่น เพิ่มเครื่องจักรอัตโนมัติหรือปรับปรุงเครื่องจักร ที่มีอยู่เดิมให้ท�ำงานเร็วขึ้น สะดวกขึ้น หรือจัดการวางผังเครื่องจักร ใหม่ เพือ่ ให้ระบบการส่งต่อของขบวนการผลิต เคลือ่ นย้ายได้สะดวก แบบไม่ติดขัด 5. ลดต้นทุนในเรือ่ งของการน�ำระบบอัตโนมัตมิ าใช้ให้เต็มรูปแบบ ตั้งแต่ ระบบการจัดเก็บ (ทั้งรับเข้าและส่งออก) ขบวนการผลิต ระบบเคลือ่ นย้ายและส่งต่อภายใน การบรรจุหบี ห่อและการจัดเรียง และระบบไอที/มอนิเตอร์ ส�ำหรับควบคุม รายงาน และแจ้งเตือน ทุกขบวนที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบทราบถึงข้อมูล ที่เกิดขึ้นแบบเรียลไทม์ ( Real Time Monitoring) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

ตามหัวข้อที่ 1. ได้อธิบายถึงวิธีการลดต้นทุนในเรื่องของค่าไฟฟ้า ทีใ่ ช้ในระบบส่องสว่าง และลดค่าไฟฟ้าทีใ่ ช้กบั ปัม๊ ลมไปแล้วในฉบับนี้ จะอธิบายถึงการลดค่าใช้จา่ ยด้านอะไหล่ของเครือ่ งจักร เครือ่ งพิมพ์ ทุกประเภท ซึ่งอยู่ในหัวข้อที่ 2. และในหัวข้อที่ 2. ประเภทแรกที่จะมาอธิบายคือ ลูกกลิ้งหุ้มยาง ที่ใช้ในเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ ทุกประเภท (ลูกกลิ้งที่ไม่หุ้มยาง จะไม่ขออธิบาย เพราะว่ามีค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุงไม่มากนัก) ก่อนทีจ่ ะอธิบายถึงการลดค่าใช้จา่ ยของลูกกลิง้ หุม้ ยาง จะขออธิบาย เกี่ยวกับลูกกลิ้งหุ้มยางก่อนว่าท�ำไมถึงมีความส�ำคัญในเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ ซึ่งข้อมูลต่าง ๆ ที่ควรทราบมีดังนี้ 1. ลูกกลิ้งหุ้มยางคือลักษณะอย่างไร 2. ท�ำไมจึงต้องใช้ยางหุ้มลูกกลิ้ง 3. การก�ำหนดสูตรยางส�ำหรับลูกกลิ้งชนิดต่าง ๆ 4. วัสดุที่ใช้หุ้มลูกกลิ้ง 5. คุณสมบัติต่าง ๆของยางที่ใช้หุ้มลูกกลิ้ง 1. ลูกกลิ้งหุ้มยางคือลักษณะอย่างไร

ค�ำจ�ำกัดความของลูกกลิง้ หุม้ ยางก็คอื ลูกกลิง้ ทีม่ แี กนเป็นโลหะหรือ ไม่เป็นโลหะ เช่น เหล็ก สแตนเลส อลูมิเนียม พลาสติก หรืออื่น ๆ ทีถ่ กู ห่อหุม้ ด้วยยางหรือถูกเคลือบด้วยวัสดุทยี่ ดื หยุน่ ได้ ซึง่ การถูกหุม้ หรือถูกเคลือบจะเริ่มจากความหนาตั้งแต่ 1 มม. หรือน้อยกว่า ไปจนถึง 10, 15, 20 หรือ 30 มม.หรือมากกว่า ขึน้ อยูก่ บั ลักษณะงาน ซึ่งตัวแกนลูกกลิ้งเอง จะเริ่มจากความโตขนาดเล็ก ๆ ไปจนถึง 1500 มม. หรือมากกว่า และมีความยาวไปจนถึง 10000 มม. หรือมากกว่า


KNOWLEDGE 39 2. ท�ำไมจึงต้องใช้ยางหุ้มลูกกลิ้ง

รูปแบบการใช้งานลูกกลิ้งหุ้มยางแบบต่าง ๆ 2.1 Squeeze Rolls

6. ไม่ท�ำให้เกิดรอยขูดขีด เมื่อเปรียบเทียบกับลูกกลิ้งไม่มียางหุ้ม เช่น ลูกกลิ้งเหล็ก สแตนเลส ถ้ามีวัสดุหรือของแข็งมากระท�ำ ก็จะท�ำให้ผิวเป็นรอยได้ 7. เป็นคุณลักษณะทางธรรมชาติของยาง คือช่วยปรับแนวต่าง ๆ ของเครื่องจักรได้ (Machine Alignment) 3. การก�ำหนดสูตรยางของลูกกลิ้งชนิดต่าง ๆ

2.2 Laminating Rolls

2.3 Conveying Rolls

2.4 Feed Rolls

คุณประโยชน์ของลูกกลิ้งหุ้มยาง

1. เพิ่มสัมประสิทธิ์ ค่าความฝืด ความหนืดของผิวสัมผัส ซึ่งจะเป็น ประโยชน์ในการท�ำงานของเครื่องจักร เช่นการดึง การล�ำเลียง การส่งผ่านวัสดุ เช่นกระดาษ ฟิล์มพลาสติก ผ้า และอื่น ๆ 2. ผิวของยางทีย่ ดื หยุน่ ได้ เมือ่ มีแรงกดอัดมากระท�ำจนผิวยุบตัวลง ก็สามารถปรับคืนสู่สภาพเดิมได้ 3. ยางทีห่ ม้ ุ ลงบนผิวลูกกลิง้ สามารถทนต่อสารเคมีและสารละลายต่าง ๆ ได้ 4. ยางที่หุ้มบนผิวหน้าของลูกกลิ้ง สามารถเลือกให้ได้คุณสมบัติ เฉพาะอย่างได้ เช่น 4.1 ให้ผิวหน้าเป็นฉนวนได้หรือป้องกันไฟฟ้ารั่วได้ 4.2 ให้ผิวเป็นสื่อไฟฟ้าหรือกึ่งตัวน�ำ พร้อมคุณสมบัติควบคุม กระแสไฟฟ้าได้ 4.3 ให้มีผิวลื่นมัน หรือฝืดได้ 4.4 ตกแต่งเป็นร่อง ลวดลาย หรือ คุณลักษณะพิเศษต่าง ๆ ได้ 5. ทนต่ อ อุ ณ หภู มิ เริ่ ม ตั้ ง แต่ ติ ด ลบ -50 oC ไปจนถึ ง มากกว่ า 300 oC ได้

ในการก�ำหนดสูตรของยางทีจ่ ะใช้หมุ้ ลูกกลิง้ ทางผูใ้ ช้งานคือ โรงพิมพ์ และโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ ใี ช้งานลูกกลิง้ หุม้ ยางอยู่ และโรงงานทีผ่ ลิต หรือรับซ่อมลูกกลิ้งหุ้มยางจะต้องทราบข้อมูลเบื้องต้นก่อนว่า จะต้องใช้ยางชนิดไหนมาหุ้มลูกกลิ้งทั้งสร้างใหม่และใช้ในการซ่อม เพือ่ ลูกกลิง้ ทีท่ ำ� ใหม่ หรือซ่อมเสร็จแล้ว สามารถน�ำไปใช้งานได้อย่างดี ผลิตงานออกมามีคุณภาพ อายุการใช้งานยาวนาน และอยู่ในราคา ที่เหมาะสม ซึ่งรายละเอียดที่ควรทราบมีดังนี้ 3.1 ต้องทราบว่าลูกกลิง้ ทีใ่ ช้งาน ใช้กบั เครือ่ งจักรอะไร ในอุตสาหกรรมอะไร 3.2 ต�ำแหน่งที่ถูกใช้งานในเครื่องจักรมีหน้าที่ท�ำอะไร มีสารเคมี สารท�ำละลาย ที่ถูกสัมผัสมีอะไรบ้าง 3.3 ความร้อน แรงกดอัด แรงเสียดสี วัสดุที่วิ่งผ่านลูกกลิ้ง 3.4 ความแข็งของเนือ้ ยาง ลักษณะของผิวขึน้ ลายหรือไม่ ผิวมันไหม 3.5 และอื่น ๆตามคู่มือที่บริษัทผู้ผลิตเครื่องจักรก�ำหนดมา หรือถ้า เป็นเครือ่ งจักรมือสองทีไ่ ม่มคี มู่ อื เราต้องก�ำหนดเองโดยเปรียบเทียบ กับเครื่องจักรที่มีคู่มือที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันได้ เมือ่ เราทราบข้อมูลลูกกลิง้ แล้ว ทางเราเองในฐานะเจ้าของและผูร้ บั ผิดชอบ ดูแลเครือ่ งจักร เครือ่ งพิมพ์ และรวมถึงผูผ้ ลิต ผูร้ บั ซ่อมลูกกลิง้ หุม้ ยาง ก็ตอ้ งปรึกษาและแลกเปลีย่ นข้อมูลทีแ่ ต่ละฝ่ายมีอยู่ เพือ่ น�ำข้อมูลนี้ ไปออกสูตรยางส�ำหรับที่จะน�ำไปหุ้มลูกกลิ้งต่อไป ขัน ้ ยาง เริม ้ ตอนการผลิตลูกกลิง ้ หุม ่ จากการผสมยาง ้ รูปยางบนแกน การอบยางให้สก การขึน ุ และการเจียรยาง รูปแสดงการผสมยาง บนเครื่องผสมยาง ซึ่งการผสมยางท�ำ ตามสูตรที่ได้ออกมาจากห้องแล็ป หรือฝ่ายผลิต

้ รูปยาง การพั นยาง การหล่อยาง ซึง ่ ยางทีผ ่ า่ น รูปแสดงการขึน ่ งรีดออกมาเป็นเส้นแบน ๆ แล้วไปพั น การผสมมาแล้ว จะเข้าเครือ บนแกนลูกกลิ้ง หมุนและเคลื่อนที่ไป-กลับ ให้ได้ความหนาของ ยางตามความต้องการ (ความหนายางต้องเผื่อขนาดส�ำหรับ เจียรออกในขั้นตอนสุดท้ายด้วย)

www.thaiprint.org


40 KNOWLEDGE รูปแสดงลูกกลิ้งที่ผ่านการขึ้นรูปยาง พั นยางมาแล้ว จะถูกห่อ ด้วยผ้าเนื้อหนาหรือฟิล์มพิ เศษ เพื่ อป้องกันไม่ให้ไอสตีมสัมผัส ้ รถเข็นเข้าไปอบในหม้ออบด้วย ้ ยางโดยตรง จากนัน กับเนือ ้ น�ำขึน ไอน�้ำ เพื่ อให้เนื้อยางสุก

การเจียรผิวยางให้เรียบและให้ได้ขนาดความโตตามความต้องการ เป็นขั้นตอนที่ลูกกลิ้งถูกน�ำออกมาจากหม้ออบไอน�้ำและปล่อย ทิ้งไว้ให้เย็นตัวแล้ว แกะผ้าหรือฟิล์มที่หุ้มออก จากนั้นน�ำขึ้นบน เครื่องเจียรยางให้ได้ผิวและขนาดตามความต้องการ

ลูกกลิง้ ทีผ่ ลิตเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องผ่านขัน้ ตอนการตรวจเช็คขนาด ความแข็ง ลักษณะของผิวหน้ายาง ว่าอยู่ในสเปคที่ได้ก�ำหนดหรือ ที่ตกลงไว้กับลูกค้าหรือไม่ ถ้าไม่ได้ต้องรื้อยางออกและผลิตใหม่ แต่ถา้ ตกลงกับลูกค้าได้ โดยไม่มผี ลเสียต่อการใช้งาน ก็สง่ มอบงานได้ 4. วัสดุท่ใี ช้หุ้มลูกกลิ้ง

ในปั จ จุ บั น นี้ ท างผู ้ ผ ลิ ต เนื้ อ ยางที่ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ และเคมี ที่ ผ สมใน เนื้อยาง ได้ตั้งชื่อทางการค้าเนื้อยาง เพื่อให้เป็นที่จดจ�ำเฉพาะ โปรดักส์ของตนเอง และไปเสนอขายให้กบั ผูใ้ ช้งานและโรงงานทีผ่ ลิต และรับซ่อมลูกกลิง้ หุม้ ยาง ซึง่ บางครัง้ ทางผูใ้ ช้งาน ผูผ้ ลิตและรับซ่อม ลูกกลิง้ หุม้ ยางก็ไม่ทราบว่าชือ่ สามัญของยางชนิดนัน้ คืออะไร ในทีน่ ี้ จะได้อธิบายเกี่ยวกับยางชนิดต่าง ๆ ว่ามีชื่ออะไรบ้าง และจะน�ำไป ใช้หุ้มลูกกลิ้งยาง ใช้ในต�ำแหน่งไหนในเครื่องจักร เพี่อให้เหมาะสม กับคุณสมบัติของยางแต่ละชนิด 4.1 ยางนีโอพรีน (Neoprene) หรือ คลอโรพรีน (Chloroprene) หรือ เราเรียกกันง่าย ๆว่า ยางCR เป็นยางสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติทนต่อ น�ำ้ มันได้ทกุ ประเภท ทนต่อกรดได้ดเี กือบทุกชนิด โดยเฉพาะกรดเกลือ และมีความเหนียวและยืดหยุน่ ตัวสูง ใช้งานในช่วงอุณหภูมิ -20 - 90oC เหมาะกับลูกกลิ้งใช้งานที่เป็นลักษณะ Feed หรือ Push-Pull ส�ำหรับยางชนิดนี้ไม่ค่อยได้น�ำมาใช้งานมากก็เพราะว่ามีราคาสูง จ�ำเป็นต้องใช้งานในบาง Process และบางอุตสาหกรรมเท่านั้น 4.2 ยางไนไตรท์ (Nitrile) หรือ Buna N ชื่อเต็ม ๆ คือ Nitrile Butadiene Rubber หรือเรียกจนติดปาก คือ ยาง NBR นั่นเอง ยาง NBR เป็นยางที่นิยมใช้กันมากที่สุดในเกือบทุกอุตสาหกรรมที่ มีเครื่องจักรประเภทมีลูกกลิ้งหุ้มยางประกอบอยู่ในเครื่อง เป็นยาง สังเคราะห์ทรี่ าคาไม่สงู มาก ทนต่อน�ำ้ มันได้ดี และทนต่อสารเคมีได้ดี เช่นเดียวกัน งานทีน่ ำ� ไปใช้คอื พวกลูกกลิง้ Ink Roll, Squeeze Roll ใน Wet Processing เครื่องพิมพ์ดิจิตอล และ Copy Machine THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

4.3 ยาง อี พี ดี เอ็ม (EPDM) เป็นยางสังเคราะห์ตวั หนึง่ ชือ่ เต็มคือ Ethylene-Propylene Diene Rubber (EPDM) เป็นยางที่มี คุณสมบัตทิ ที่ นสารเคมีได้ดมี าก ทนความร้อนได้ตงั้ แต่ -40 - 150oC และทนต่อโอโซนได้ดอี กี ด้วย มีความยืดหยุน่ ตัวสูงรองจากยางธรรมชาติ แต่ไม่ทนกับน�ำ้ มัน ส่วนมากจะใช้ทำ� อะไหล่ในเครือ่ งจักร เช่น ประเก็น ซีล ส�ำหรับวาล์ว ปัม๊ ท�ำเป็นไดอะแฟรมของวาล์วและปัม๊ และถ้าน�ำ ไปหุ้มลูกกลิ้ง บริเวณใช้งานของลูกกลิ้งในเครื่องจักร ต้องมีสารเคมี และอุณหภูมิสูง และยางชนิดนี้มีราคาแพงกว่ายาง NBR มาก 4.4 ยางซิลโิ คน (Silicone) เป็นพลาสติกชนิดหนึง่ ทีถ่ กู สังเคราะห์ ขึ้ น มา เพื่ อ เลี ย นแบบยางธรรมชาติ มี คุ ณ สมบั ติ ที่ โ ดดเด่ น คื อ ทนอุ ณ หภู มิ สู ง ถึ ง 300 oC ทนต่ อ สารเคมี ไ ด้ ดี และมี ผิ ว ลื่ น มั น ส่วนมากใช้ท�ำซีล ประเก็น ท่อยาง และชิ้นส่วนเครื่องจักรต่าง ๆ ส�ำหรับที่น�ำไปหุ้มลูกกลิ้ง จะใช้ในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง 4.5 ยางโพลียูรีเทน (Polyurethane) หรือเรียกสั้น ๆ ว่ายาง PU เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่ง ที่ใช้แทนยางธรรมชาติ มีคุณสมบัติ ทีด่ หี ลายอย่างคือ เคลือบบนไม้ โลหะ พลาสติกได้ และยังทนน�ำ้ มัน ความร้อน แรงกดอัด แรงเสียดสี แรงกระแทก และรับน�้ำหนักได้ดี เมื่อเทียบกับวัสดุตัวอื่น ๆ และทนต่อสารเคมีบางชนิดได้ เป็น ฉนวนไฟฟ้าได้ ส่วนมากท�ำลูกกลิ้งล�ำเลียง ลูกล้อ อะไหล่เครื่องจักร อุณหภูมิใช้งาน -20 - 120oC 4.6 ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) หรือเรียกสั้น ๆ ว่ายาง NR เป็นยางทีต่ อ้ งเลือกน�ำไปใช้งานในต�ำแหน่งทีไ่ ม่มสี ารเคมี โอโซน หรือ น�้ำมันและความร้อนที่ไม่สูง ซึ่งส่วนมากเอาไว้หุ้มลูกกลิ้งล�ำเลียง สายพานล�ำเลียง อะไหล่ ขารองงาน และอืน่  ๆ ข้อดีคอื ราคาถูกและหาง่าย 4.7 ยาง เอส บี อาร์ (SBR) เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึง่ คิดค้นโดย ประเทศเยอรมัน ในสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีคณ ุ สมบัตใิ กล้เคียงกับ ยางธรรมชาติ และราคาไม่แพง ใช้งานทีอ่ ณ ุ หภูมติ งั้ แต่ -20 - 100oC แปรรูปได้ง่าย ใช้ท�ำอะไหล่รถยนต์ อะไหล่เครื่องจักร ปูพื้นอาคาร คอสะพาน ชิ้นส่วนในเครื่องพิมพ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ เป็นต้น 4.8 ยางไฮพาลอน (Hypalon Rubber) เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึง่ ทนต่ อ เคมี แ ละแสงยู วี ไ ด้ ดี ส่ ว นทนต่ อ น�้ ำ มั น ท� ำ ได้ ดี ป านกลาง อุณหภูมิใช้งานอยู่ในช่วง -30 - 180oC เหมาะใช้ท�ำอะไหล่รถยนต์ อะไหล่เครื่องจักร และชิ้นงานที่อยู่กลางแจ้ง 4.9 ยางไวตัน (Viton Rubber) เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่ง ที่นิยมใช้งานกันอย่างแพร่หลายใช้ท�ำชิ้นส่วนอะไหล่ต่าง ๆ ของ เครื่องจักร เช่น โอริง ซีล เพราะทนต่อสารเคมีได้ดีเกือบทุกชนิด ทนต่ออุณหภูมิได้ตั้งแต่ -20 - 220oC นอกจากนี้ยังมียางในชนิดอื่น ๆ อีกเช่น Acrylic, Thiokol, Butyl Polymer ชนิดพิเศษ ซึ่งยางเหล่านี้อาจใช้ไม่แพร่หลายมากนัก 5. คุณสมบัติต่าง ๆ ของยาง

ในการเลือกยางมาใช้หุ้มลูกกลิ้ง มาท�ำอะไหล่ต่าง ๆ ต้องทราบ คุณสมบัตขิ องยางทีเ่ กีย่ วข้องกับกายภาพต่าง ๆ ของยางแต่ละชนิด นั้นว่าถูกต้อง เหมาะสม หรือใกล้เคียงกับงานหรือไม่ ซึ่งค่าหรือ สเปคของยาง เราก็จะทราบได้จากคู่มือ จากผู้ขายยาง จากต�ำรา ต่าง ๆ เกี่ยวกับชนิดของยางนั้น ๆ


KNOWLEDGE

ซึ่งคุณสมบัติต่าง ๆที่ต้องน�ำมาเลือกใช้ยางมีคร่าว ๆ ดังนี้ • การยืด การหดตัวของยาง • การยึดเกาะตัวของยางเข้ากับแกนลูกกลิง้ ดุม หรือ โครงของงาน • ความยืดหยุ่นตัว การคืนตัวของเนื้อยาง • การต้านทานต่อแรงกดอัด และ แรงดึง • ความอ่อน ความแข็ง ของเนื้อยาง • ทนต่อสารละลาย เคมีต่าง ๆ • การน�ำ หรือ การเป็นฉนวนไฟฟ้า • ความฝืด ความลื่นของผิวยาง • ทนต่ออุณหภูมิต�่ำ อุณหภูมิสูง เมือ่ เราทราบว่าชิน้ งาน อะไหล่ ลูกกลิง้ หุม้ ยาง ต้องการยางแบบไหน เราก็เลือกยางให้ตรงกับความต้องการหรือสเปคที่ก�ำหนดมา เพือ่ ออกเป็นสูตรในการผสมยางและผ่านเข้าขัน้ ตอนในขบวนการผลิต ต่อไป และในบางครัง้ คูม่ อื เครือ่ งจักรก็มสี เปคยางให้มาด้วย ก็จะ ง่ายขึน้ ในการเลือกยางมาใช้ในการผลิต และในปัจจุบนั ถ้าเราบอก ว่าลูกกลิง้ หุม้ ยางของเราใช้งานกับเครือ่ งอะไร บริเวณส่วนไหนของ เครื่อง มีสารเคมี ตัวท�ำละลาย ความร้อน และความแข็งเนื้อยาง เท่าไร ขนาดลูกกลิง้ เพียงแค่นที้ างโรงงานทีร่ บั หล่อลูกกลิง้ หุม้ ยาง ก็สามารถให้ราคาและออกสูตรผสมยางได้ทันที ทีนี้เรามาดูกันว่า เราจะมีวิธีในการลดต้นทุนเกี่ยวกับลูกกลิ้ง หุ้มยางที่ใช้อยู่อย่างไรบ้าง ดังนี้ :

41

รูปแสดงการวัดขนาดเพลาหรือความโตนอกของลูกกลิง ้ โดยใช้ เวอร์เนียคาลิปเปอร์

3. เขาควาย (Outside Caliper) ใช้วดั ขนาดความโตนอกลูกกลิง้ หรือเพลา

วิธกี ารวัดความโตนอกลูกกลิง้ โดยใช้เขาควาย (Outside Caliper)

4.เครื่องมือวัดความแข็งยาง (Rubber Hardness Tester)

ลูกกลิง ้ หุ้มยาง (Rubber Rollers)

อ่านต่อฉบับหน้า

ถ้าเรามีหน้าที่ดูแลในการใช้งาน การซ่อม การจัดเก็บลูกกลิ้งหุ้ม ยาง เราต้องมีเครือ่ งมือทีจ่ ะใช้วดั ขนาด ความแข็งของเนือ้ ยาง ดังนี้ 1. ตลับเมตร ฟุตเหล็ก ใช้วัดขนาดความยาวของลูกกลิ้ง

ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน • Q.C.ROLL CO.,LTD. เครดิตภาพประกอบ • http://voith.com/br-pt/papermaking/roll-covers.html • https://www.foroffice.ru/products/description/139816.html • https://kingtoner.co.uk/ • https://www.exportersindia.com/pooja-sales-rajkot/rubber-covered-conveyor-rollerrajkot-india-648506.htm • http://www.vilferelectric.com/en/2018/02/02/hadera-chp-plant-israel/ • https://www.indiamart.com/proddetail/ink-form-rollers-11450741473.html • https://i.ytimg.com/vi/dic7hCkZTOQ/maxresdefault.jpg • https://www.indiamart.com/hindustanrubber/

2. เวอร์เนียคาลิปเปอร์ชนิดปากยาว (Long Jaw Vernier Caliper) ใช้วัดขนาดความโตลูกกลิ้ง

• https://eks64.ru/wp-content/uploads/2017/03/obrezinennyie-valyi.jpg • http://www.stanley-thailand.com/ • https://toolineo.de/tesa-werkst.messsch.o.sp.1-20-500x250mm-p!100000000048398. html • https://www.teachifyme.com/physical-quantities-and-units/ • https://www.wikihow.com/Use-Calipers • https://www.electronicpro.co.za/products/2pcs-250mm-length-firm-joint-metalmeasurement-inside-outside-caliper-silver • https://www.gettoolsdirect.com.au/toledo-outside-caliper-solid-nut-100mm-52100.html • https://www.bukalapak.com/p/industrial/industrial-lainnya/hhhm1j-jual-teclockdurometer

www.thaiprint.org





NEWS

45

บริษัท KURZ รวมน�ำ้ ใจสู้ภัย Covid-19 กับชุมชน

วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 ณ ชุมชนบ้านกล้วย ถนนริมทางรถไฟสายปากน�้ำ

เป็นที่ทราบกันดีว่าวิกฤต “Covid-19” ที่คนทั้งโลกต้องเผชิญ ในครั้งนี้ กินเวลายาวนานหลายเดือน จากวิกฤตดังกล่าวเราได้ เห็นน�้ำใจจากคนไทยที่ช่วยเหลือกันในยามยาก เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 20 พฤษภาคม ที่ ผ ่ า นมา ทางบริ ษั ท เคิ ร ์ ซ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้ถือโอกาสร่วมกันท�ำกิจกรรมแบ่งปัน จ�ำใจ มอบอาหารกลางวันและหน้ากากอนามัยให้แก่ชาวบ้าน

ที่ชุมชนบ้านกล้วย ถนนริมทางรถไฟสายปากน�้ำ ซึ่งเป็นชุมชม ที่ติดกันกับบริษัท KURZ และนี่คือประมวลภาพที่ดูแล้วชื่นใจกับการแบ่งปันในยามยาก ของคนไทย เราสัมผัสได้ถึงรอยยิ้มภายใต้หน้ากากอนามัยของ ชาวบ้านผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ และหวังว่า KURZ จะเป็นส่วนหนึง่ ในการต่อสู้กับวิกฤตการครั้งนี้ร่วมกันกับชุมชนต่อไป www.thaiprint.org


46

INTERVIEW

ทิศทางเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย หลังโควิด-19 โดย คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานคณะอนุกรรมการฟื้ นฟู หลังโควิด-19 หลังจากที่สถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทยดีขึ้น ตามล�ำดับ น�ำมาสู่การปลดล็อกต่อเนื่องมาจนขณะนี้ อยู่ในระยะที่ 4 เป็นที่เรียบร้อย ค�ำถามคือหลังจากนี้ เศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมจะเป็นอย่างไร? THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

คุณเกรียงไกร เธียรนุกล ุ – รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย หรือ ส.อ.ท. และประธานคณะอนุกรรมการ ฟื้ นฟู หลังโควิด-19 ได้ให้เกียรติสัมภาษณ์เพื่ อคลาย ข้อสงสัยในเรื่องดังกล่าว


INTERVIEW

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย น�ำโดย คุณสุพนั ธุ์ มงคลสุธี ได้ เข้ า พบพลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายกรั ฐ มนตรี เพื่อยื่นข้อเสนอให้ภาครัฐช่วยพิจารณา เกี่ยวกับการรีบเร่ง ด�ำเนินการฟืน้ ฟู และเยียวผูป้ ระกอบการภายหลังวิกฤติโควิด-19 โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการ SME ไม่ว่าจะเป็นปัญหา สภาพคล่อง การเข้าถึงแหล่งเงินกู้ แม้ว่าภาครัฐจะมีโปรแกรม เงินกู้ออกมาช่วยเหลือโดยการให้ธนาคารปล่อยเงินกู้ห้าแสน ล้านบาทแล้วก็ตาม แต่การเข้าถึงจริงของ SME สามารถขอยื่น กู้ได้ไม่ถึงหนึ่งแสนล้านบาท เนื่องจากติดเงื่อนไขหลาย ๆ อย่าง ดังนั้นจึงได้ขอให้ทางภาครัฐช่วยหากลไกและวิธีการให้เข้าถึง จุดนี้ได้มากยิ่งขึ้น เรามองว่าในวิกฤติยอ่ มมีโอกาส ต้องชมเชยแพทย์และพยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ท�ำให้ประเทศไทยมีชื่อเสียงทางด้าน การควบคุมโรคระบาด จุดนี้ส่งผลให้ในอนาคตหากมีวัคซีน รักษาโรคแล้ว หลาย ๆ อุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับนักท่องเทีย่ ว

47

หรือเรือ่ งของสุขภาพจะเติบโต เพราะฉะนัน้ จะมีการสนับสนุนใน โครงการต่าง ๆ อุตสาหกรรมต่าง ๆ ทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ ต่อเนือ่ งได้ หนึ่งในเรื่องที่น�ำเสนอกับภาครัฐคือ ด้วยการที่ประเทศไทยมี ความถนั ด และเชี่ ย วชาญด้ า น Bio Economy หรื อ ความ หลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งหมายถึงอุตสาหกรรมด้านอาหาร แปรรูป การเกษตรเที่ยงตรง รวมไปกับถึงการพัฒนาต่อยอด ท�ำให้เกิดมูลค่าเพิ่มของสินค้าเหล่านี้ ไม่ว่าจะเป็นยารักษาโรค สมุนไพร ไบโอพลาสติก รวมทัง้ สิง่ ทอ ฯลฯ ซึง่ ส.อ.ท. ได้เล็งเห็น และน�ำเสนอต่อท่านนายกรัฐมนตรี ซึง่ ขณะนีไ้ ด้ทำ� การรวบรวม เกษตรแปลงใหญ่ รวมสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศ ซึ่งมีรวมกันประมาณ 2 ล้านไร่ เพื่อท�ำการเกษตรที่เรียกว่า “เกษตรเที่ ย งตรง” คื อ การออกแบบว่ า แต่ ล ะพื้ น ที่ จ ะ ปลู ก อะไร การบริ ห ารจั ด การเรื่ อ งน�้ ำ อย่ า งไร การแปรรู ป ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรทุกอย่าง รวมไปถึงใช้ปุ๋ยอย่างไร จึงจะปลอดภัยและดีที่สุด

่ งตรง” คือ “เกษตรเทีย การออกแบบว่าแต่ละพื้ นที่ จะปลูกอะไร การบริหารจัดการ เรื่องน�้ำอย่างไร การแปรรูป ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ทุกอย่าง รวมไปถึงใช้ปุ๋ยอย่างไร จึงจะปลอดภัยและดีท่ส ี ุด www.thaiprint.org


48

INTERVIEW

ดรรชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม

นับตัง้ แต่เกิดภาวะโควิด-19 ระบาด พบว่า ดรรชนีความเชือ่ มัน่ ภาคอุตสาหกรรมถูกล็อกดาวน์ แต่สถานการณ์ล่าสุดที่ ส.อ.ท. เพิง่ ท�ำการแถลงไป ปรากฏว่าในเดือนพฤษภาคม อุตสาหกรรม ขยับดีขึ้นมาจากช่วงเดือนเมษายนที่เป็นช่วงต�่ำสุด ชี้ให้เห็น ไปในทางเดียวกันว่า หลังจากที่ประเทศไทยท�ำการคลายล็อก กิจการต่าง ๆ ได้กลับมาท�ำงานกันอย่างเต็มที่ เศรษฐกิจก็เริ่ม กลับมาดีขึ้น แต่ตราบใดที่ยังไม่มีวัคซีนรักษาโรค ทุกคนก็ยัง คงกังวล แต่ภายใต้วิกฤติก็ยังมองเห็นโอกาส และประเทศไทย จะเป็น HUB ของหลาย ๆ อุตสาหกรรม หรือกระทั่งการเป็น Alcohol Hub ของภูมิภาค ประเทศไทยเป็นประเทศที่มี ความพร้อมที่จะผลิตแอลกอฮอล์เพื่อน�ำไปใช้ในเรื่องการรักษา ความสะอาด หรือส่วนผสมในการผลิตเครื่องส�ำอาง ซึ่งสิ่งที่ กล่าวมานั้นคือหนึ่งในเรื่องที่น�ำเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุน จากภาครัฐ สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือ Made in Thailand ให้ภาครัฐ และเอกชนใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศไทยให้มากขึ้น

China

ประเทศไทยจะเป็น HUB ของหลายๆ อุตสาหกรรม หรือ กระทั่งการเป็น Alcohol Hub ของภูมิภาค ประเทศไทย เป็นประเทศที่มีความพร้อม ที่จะผลิตแอลกอฮอล์เพื่ อน�ำไปใช้ ในเรื่องการรักษาความสะอาด หรือส่วนผสมในการผลิต เครื่องส�ำอาง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

VS

United States

ผลกระทบจากสงครามทางการค้า ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา

เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งจับตาดูอย่างใกล้ชดิ สิง่ ทีท่ กุ คนคาดการณ์ หลังโควิด-19 คือ เรื่องปัญหาสงครามการค้ารอบใหม่ที่จะมี ความรุนแรงมากขึ้น ตั้งแต่ปี 2561 เริ่มมีวิกฤตสงครามการค้า และมีผลรุนแรงในปี 2562 ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยได้รับ ผลกระทบในเรื่องการส่งออก บรรยากาศด้านการค้าของโลก ค่อนข้างซบเซา จนกระทั่งมีข้อยุติของสงครามระหว่างจีนและ อเมริกาในช่วงปลายปี 2562 ท�ำให้ทุกคนมองว่าในปีนี้ GDP ของโลกจะเติบโตขึ้นประมาณ 3.3 เปอร์เซ็นต์


INTERVIEW

แต่พอเกิดวิกฤติโควิด-19 ท�ำให้การคาดการณ์เปลีย่ นไป ในช่วงของ Trade War มีการย้ายฐานผลิตออกจากประเทศจีนไปยังประเทศ อืน่  ๆ รวมทัง้ ในอาเซียน และหลังโควิด-19 มีการคาดการณ์วา่ จะ มีการย้ายฐานผลิตมากขึ้น เนื่องจากอเมริกามีการเชิญชวนให้ ผูป้ ระกอบการย้ายฐานการผลิตออกจากจีนกลับไปยังภูมลิ ำ� เนา หรือประเทศเป้าหมายอื่น ๆ และประเทศไทยเองก็เป็นหนึ่งใน เป้าหมายนัน้ ส่งผลให้ประเทศไทยได้รบั อานิสงค์ในด้านของการ ลงทุน นอกจากนีป้ ระเทศญีป่ นุ่ หรือประเทศต่าง ๆ ในยุโรปเอง ก็เชิญชวนให้ผู้ประกอบการย้ายฐานการผลิตออกจากจีนด้วย การยื่นข้อเสนอมอบเงินช่วยเหลือสนับสนุนการย้ายฐานผลิต ถึงแม้ประเทศไทยจะได้รับอานิสงค์ในเรื่องดังกล่าว แต่ต้องมี การเตรียมตัวเพราะช่วงวิกฤติโควิด-19 ถือเป็นบทเรียนให้กับ ทั่ ว โลกรวมทั้ ง ประเทศไทยเอง นั่ น คื อ Supply chain disruption หรือการขาดช่วงของห่วงโซ่การผลิต ชิน้ ส่วนต่าง ๆ ที่เราต้องน�ำเข้าจากประเทศจีนมากมายหลายอุตสาหกรรม ได้ รั บ ผลกระทบไปด้ ว ย เหล่ า นี้ ล ้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น เรื่ อ งที่ ผู้ประกอบการและกลุ่มอุตสาหกรรมในกลุ่มฟื้นฟูก�ำลังถก ประเด็น หาวิธีแก้ไขเพื่อให้เกิดแผนที่เรียกว่า Supply Chain Security เพือ่ ให้แต่ละอุตสาหกรรมสามารถยืนอยูบ่ นขาตัวเอง ให้ได้มากที่สุด ผลิตทดแทนการน�ำเข้าให้มากที่สุด โดยการให้ แต่ละกลุ่มอุตสาหกรรมท�ำการศึกษาว่าชิ้นส่วนไหนควรผลิต ในประเทศได้ แม้ว่าต้นทุนการผลิตอาจจะแพงกว่าการน�ำเข้า แต่ทาง ส.อ.ท. จะยื่นเรื่องต่อภาครัฐให้การสนับสนุนในเรื่อง ภาษีเพื่อท�ำให้สามารถแข่งขันได้ต่อไปในอนาคต ระยะเวลาการกลับมาฟื้ นตัวของอุตสาหกรรม

ในภาวะโควิด-19 หลายอุตสาหกรรมได้ผลในเชิงบวก ส่งออกได้ มากขึน้ แต่สว่ นใหญ่ยงั ได้รบั ผลกระทบจากยอดขาย Demand ที่ลดลงของตลาดโลก โดยเฉพาะประเทศไทยเป็นประเทศที่ พึ่งพาการส่งออกเกือบ 70 เปอร์เซ็นต์ของ GDP หากตลาดโลก ยังมีปญ ั หาในเรือ่ งโควิด-19 ทีย่ งั ไม่สามารถหาวัคซีนมารักษาได้ และยังคงระบาดหนักในประเทศที่มีส่วนแบ่งทางการตลาดสูง อย่างสหรัฐอเมริกา หรือประเทศอื่นในยุโรป สิ่งที่ประเทศไทย จะต้องท�ำในช่วงสั้น ๆ นี้คือ การมีสภาพคล่องทางการเงินมา ช่วยเหลือ SME และการท�ำ Local Economy หรือการกระตุน้ เศรษฐกิ จ ภายในประเทศและภู มิ ภ าคนี้ เพิ่ ม ก� ำ ลั ง ซื้ อ หรื อ ผลิ ต สิ น ค้ า ด้ ว ยตั ว เอง เพราะฉะนั้ น ส.อ.ท. จึ ง เล็ ง เห็ น ว่ า

49

ควรสนับสนุนและผลักดันในเรือ่ งการเกษตร รวมถึงมองว่าระบบ โลกาภิวัฒน์จะหดตัวลงเหลือแค่ในระดับภูมิภาค ในทวีปนั้น ๆ หรือแค่ในประเทศเพือ่ นบ้าน ซึง่ ประเทศไทยจะผนวกกับตลาด CLMB หรือเพื่อนบ้านของไทย ให้ความส�ำคัญจุดนี้ให้มากขึ้น จนกว่าจะมีวัคซีน และจนกว่าเศรษฐกิจของโลกจะค่อย ๆ คลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น

Photo by Blake Wisz on Unsplash

การปรับตัวของผู้ประกอบการ

ขณะนี้ผู้ประกอบการทั้งหลายก�ำลังผจญกับสิ่งที่ไม่เคยเจอ และไม่ คิ ด ว่ า จะได้ เ ห็ น มาก่ อ น ในช่ ว งโควิ ด -19 ที่ ผ ่ า นมา ทุกอย่างเป็นไปได้ เหมือนกับว่าโลกก�ำลังหยุดหมุน ดังนั้น ใน New Normal ที่จะเกิดใหม่ท่ามกลางวิกฤติเหล่านี้ ทุกคน จะต้องเร่งในการปรับตัว สิ่งที่ท�ำง่ายที่สุดในตอนนี้คือ การลด ค่าใช้จา่ ยให้มากทีส่ ดุ เพือ่ รักษาสภาพคล่อง มองหาธุรกิจใหม่ ๆ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาเสริม เช่น หลายคนเคยพึ่งพาแต่ การค้าขายออฟไลน์ หรือการค้าขายทั่ว ๆ ไป แต่ทุกวันนี้ดิจิทัล มีประโยชน์และมีความส�ำคัญเป็นอย่างมาก เราจะท�ำอย่างไร ให้อุตสาหกรรมของเราปรับไปขายทางออนไลน์มากขึ้น ต้อง ปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป และขอเน้นย�้ำว่า “ภายใต้วิกฤติ มีโอกาส” แต่ต้องปรับตัวให้เร็ว ล้มแล้วต้อง รีบลุก รีบซ่อมแซมในส่วนที่บาดเจ็บ และพยุงตัวเองให้ผ่านพ้น ช่วงวิกฤติโควิด-19 ไปให้ได้

“ภายใต้วิกฤติ มีโอกาส” แต่ต้อง ปรับตัวให้เร็ว ล้มแล้วต้องรีบลุก รีบซ่อมแซมในส่วนที่บาดเจ็บ และ พยุงตัวเองให้ผ่านพ้ นช่วงวิกฤติ โควิด-19 ไปให้ได้ www.thaiprint.org


50 KNOWLEDGE

5 ข้อผิดพลาดของการท�ำการตลาด ที่เน้นแต่ Online จนลืม Offline

+

การท�ำการตลาดที่ดี ควรมีให้ครบทุกมิติ นั่นคือ ต้องท�ำควบคู่ไปทั้งออนไลน์และออฟไลน์

ONLINE ออนไลน์

การท�ำตลาดบนสื่อออนไลน์ มองเผินๆ เหมือนง่าย จนท�ำให้ กลายเป็นสื่อที่มาแรงถึงขนาดดับสื่อดั้งเดิมไปจนแทบหมดสิ้น สือ่ ออนไลน์นมี่ นั มีไม้เด็ดอย่างไร จึงท�ำให้ผปู้ ระกอบการทัง้ โลก หันมากระโจนเข้าใส่ แล้วน�ำไปคลุกเคล้าเร้าหรือกับธุรกิจอย่าง เมามัน ทว่า ในความง่าย จนใครต่อใครก็โดดมาเล่นท�ำให้หลาย คนลืมไปว่า การท�ำการตลาดที่ดี ควรมีให้ครบทุกมิติ นั่นคือ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

OFFLINE ออฟไลน์

ต้องท�ำควบคู่ไปทั้งออนไลน์และออฟไลน์ ยุคนี้จึงมีไม่น้อย ที่ผู้ประกอบการเมามันอยู่กับการท�ำตลาดบนสื่อออนไลน์ เพียงอย่างเดียว จริงๆ ค�ำว่า “ออนไลน์” นีก้ ไ็ ม่ได้สง่ ให้ทกุ ธุรกิจ ไปได้ ถึ ง ฝั ่ ง ฝั น อ่ า นมาถึ ง ตรงนี้ ท ่ า นอาจจะเกิ ด ค� ำ ถามว่ า แล้วทีนี้ต้องเชื่อมสื่อออนไลน์ผสานกับออฟไลน์อย่างไรล่ะ ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากที่สุด


KNOWLEDGE

51

5 ข้อผิดพลาด การท�ำการตลาด Online จนลืม Offline 1. สื่อสารทางเดียว จนไม่ได้ใส่ใจว่า ลูกค้าเป้าหมายคือใคร?

การสือ่ สารบนโลกออนไลน์มขี อ้ ดีตรงทีส่ อื่ ได้ถงึ กลุม่ คนในวงกว้าง แต่จะมีประโยชน์อะไรหากการท�ำตลาดของท่านกว้างแบบไร้ทศิ ไร้ทาง ป่าวประกาศไปคนได้รบั รูก้ จ็ ริง แต่มนั ไม่เข้าเป้า เหมือนคน หลับตาชกมวย รัวๆ หมัดไป ยิ่งเร็ว ยิ่งแรง ยิ่งเหนื่อยเปล่า เพราะมองไม่เห็นคู่ชก สุดท้ายก็เหนื่อยลิ้นห้อย ท�ำคะแนน ไม่ได้สักแต้มเดียว ไม่ต่างจากคนท�ำการตลาดออนไลน์ที่สัก แต่สื่อสารออกไป แต่ไม่ได้เรียนรู้เลยว่า จะสื่อให้ใครฟัง จะใช้ ภาษาแบบไหน จะท�ำแคมเปญอย่างไร จะตัง้ ราคาเท่าไหร่ ฯลฯ ซึ่งถ้าเทียบกับการตลาดแบบออฟไลน์ อย่างการลงโฆษณาใน นิตยสาร อย่างน้อยท่านก็ยังรู้ว่า นิตยสารนี้ใครอ่าน เขามีไลฟ์ สไตล์อย่างไร เหมาะกับสินค้าท่านหรือไม่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินค้าหรือบริการบางอย่าง เช่น ธุรกิจแบบ B2B ทีจ่ ะต้องใช้ทมี เซลส์ในการเข้าถึงลูกค้าเป้าหมาย หรือธุรกิจที่เน้นตลาดระดับ ล่าง ที่ชีวิตไม่อิงกับโลกออนไลน์จนกลายเป็นอวัยวะชิ้นที่ 33

ท่านอาจจะสร้างBrand awareness และเข้าไปท�ำความรู้จัก กับลูกค้าเป้าหมายด้วยวิธีการออฟไลน์ให้มากพอ แล้วค่อยๆ สานสัมพันธ์กับเขาต่อด้วยสื่อออนไลน์ด้วยซ�้ำ 2. อะไรๆ ก็อ้างต้นทุนต�่ำ

แน่นอนการท�ำตลาดออนไลน์ เมื่อเทียบกับออฟไลน์แล้วถือว่า ใช้งบประมาณในระดับทีเ่ บาหวิวมากๆ แต่ขออ้างอิงจากข้อผิดพลาด ที่ 1 หากรัวหมัดออกไปเป็นร้อยเป็นพันครั้งแล้วยังพลาดเป้า ไอ้เจ้างบที่ดูว่าถูกแสนถูก อาจกลายเป็นแพงมโหฬารกว่าการ จ่ายหนักแต่ก็ยังได้ยอดขายกลับมาเชยชม อันที่จริงแล้วการ วางโครงสร้างงบประมาณเพือ่ ท�ำการตลาดเป็นเรือ่ งส�ำคัญมาก ทุกธุรกิจจ�ำเป็นต้องมีแพลนว่าจะเทงบทีไ่ ปออฟไลน์และออนไลน์ ให้เป็นสัดส่วนมากน้อยเพียงใด เพือ่ เป้าประสงค์อะไร หลังจาก เทงบไปแล้ว ได้ลองวัดผลถึงความคุม้ ค่าหรือไม่ เมือ่ สรุปผลและ วิเคราะห์ออกมาแล้ว ท่านอาจจะถึงบางอ้อว่า การตลาดแบบใด กันแน่ที่เป็นสูตรส�ำเร็จอันแสนจะลงตัวในธุรกิจของท่าน www.thaiprint.org


52 KNOWLEDGE 3. ลุยตลาดกระจาย แต่ไร้ความน่าเชื่อถือ

4. น�ำเสนอแต่คอนเทนท์จนกลายเป็นหุ่นยนต์

การตลาดบนโลกออนไลน์ อาจท�ำได้ง่ายก็จริง แต่สิ่งที่ถือ เป็นจุดอ่อนอย่างมากคือ การขาดความน่าเชือ่ ถือของแบรนด์ และแม้จะรู้ว่านี่คือช่องโหว่ แต่น่าเสียดายที่ผู้ประกอบการ หลายๆ ท่าน ไม่เคยมองหาวิธีที่จะอุดรอยรั่วนี้เลย นี่จึงเป็น เหตุผลทีท่ กุ ธุรกิจจ�ำเป็นจะต้องใส่ความน่าเชือ่ ถือลงไปให้ลกู ค้า ได้รับรู้ ให้เขาได้เห็นว่าท่านมีตัวตนและเข้าถึงได้ ซึ่งแน่นอน ว่าบางครั้งการท�ำการตลาดออนไลน์เพียงอย่างเดียว ไม่อาจ ตอกย�ำ้ ความรูส้ กึ เหล่านัน้ ให้เกิดขึน้ ได้ในความคิดของผูบ้ ริโภค จึงเป็นเรื่องจ�ำเป็นที่ธุรกิจจะต้องแสดงความน่าเชื่อถือผ่านการ ท�ำตลาดบนโลกออฟไลน์บา้ ง เช่น ออกงานอีเวนท์ หรือมีการจัด กิจกรรมส่งเสริมการขายเป็นครัง้ คราว รวมไปถึงผูป้ ระกอบการ รายเล็กๆ ทั้งหลาย ที่มักจะท�ำให้สื่อออนไลน์เป็นพื้นที่ส�ำหรับ การขายของเพียงอย่างเดียว บางแบรนด์ลูกค้าไม่เคยเห็น หน้าเจ้าของธุรกิจเลยด้วยซ�้ำ ซึ่งต้องยอมรับว่า การซื้อขาย บนโลกออนไลน์ ยังคงเป็นช่องทางการค้าที่ฉาบไปด้วย ความเคลือบแคลงระแวงสงสัย ดังนั้นหากท่านยังไม่สามารถ เพิ่มน�้ำหนักในเรื่องของความน่าเชื่อถือได้ล่ะก็ ถือว่าท่านยัง ไม่ผ่านกับการท�ำตลาดออนไลน์ด้วยประการทั้งปวง

การตลาดในรูปแบบเก่า อย่างน้อยผูซ้ อื้ กับผูข้ ายก็ยงั ได้มโี อกาส สนทนาแลกเปลีย่ นความคิดกัน ซึง่ ความสัมพันธ์จากการได้พดู และฟังกันทั้ง 2 ฝ่าย บางทีก็หยั่งรากลึกจนกลายเป็น Brand royalty อันถือเป็นยอดปรารถนาของคนท�ำธุรกิจทุกประเภท แล้วท่านล่ะ…เป็นผูป้ ระกอบการทีท่ ำ� ตลาดออนไลน์ โดยเน้นแต่ การท�ำคอนเทนท์มากไป จนลืมโมเมนท์การสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างธุรกิจกับลูกค้า จนท�ำให้ Brand royalty กลายเป็น เรื่องที่ท�ำได้ยากไปรึเปล่า การท�ำคอนเทนท์ดีๆ แน่นอนว่าเป็น เรื่องที่คนบนโลกออนไลน์จะละเลยไปไม่ได้ แต่ถ้าคอนเทนท์ ถู ก สื่ อ ออกไปราวกั บ ป้ อ นโปรแกรม ความแห้ ง แล้ ง โรยรา ในสายสัมพันธ์ระหว่างธุรกิจกับลูกค้า ย่อมเกิดตามมาอย่าง ช่วยไม่ได้ ดังนั้น จะเป็นการดีแค่ไหน หากท่านมีการบริการ หลังการขายอย่างเช่น การสอบถามความพึงพอใจทางโทรศัพท์ หรือการโทรแจ้งนัดล่วงหน้า หรือบางธุรกิจอาจต้องมีตารางนัด ไปเยี่ยมเยียนลูกค้าบ้างสิ่งเหล่านี้ถ้าท�ำควบคู่กันกับคอนเทนท์ ดีๆ บนโลกออนไลน์ ยิ่งจะสร้างสายสัมพันธ์อันแน่น แฟ้ น และเกิด Brand royalty ได้ไม่ยาก

การตลาดบนโลกออนไลน์ อาจท�ำได้ง่ายก็จริง แต่สิ่งที่ ถือเป็นจุดอ่อนอย่างมากคือ การขาดความน่าเชื่อถือ ของแบรนด์ ธุรกิจจะต้อง แสดงความน่าเชื่อถือ ผ่านการท�ำตลาดบน โลกออฟไลน์บ้าง เช่น ออกงานอีเวนท์ หรือ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริม การขายเป็นครั้งคราว

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


KNOWLEDGE 53

Photo by Campaign Creators on Unsplash

5. เทคนิคแพรวพราว แต่เข้าไม่ถึงใจลูกค้า

นั ก ธุ ร กิ จ บนโลกออนไลน์ มั ก มี ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ เครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ บนโลกโซเชี ย ลเป็ น อย่ า งดี ดี จ นเชื่ อ ในเครื่ อ งมื อ เหล่านั้น มากกว่าจะหันมาสนใจตีโจทย์การท�ำตลาดในธุรกิจ อย่างแท้จริง ทั้งที่ความเป็นจริงแล้ว เครื่องมือต่างๆ เหล่านั้น เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่ง ที่ช่วยให้การท�ำการตลาดสมบูรณ์ แบบขึ้นก็เท่านั้นเอง จ�ำไว้ว่า ท่านอาจจะใช้เครื่องมือวิเคราะห์ สถานการณ์ได้ แต่ทา่ นไม่สามารถใช้เครือ่ งมือเหล่านัน้ ส่งตัวเอง เข้าไปนั่งในใจลูกค้าได้ หากขาดความรู้ความเข้าใจในการท�ำ ตลาดอย่างแท้จริง ไม่ว่าคุณจะศึกษาเครื่องมือบนโลกออนไลน์ จนมีความเก่งกาจเพียงใด คุณก็ยังคงต้องยึดถือไว้เสมอว่า “การท�ำการตลาด คือ การค้นหาความต้องการชองลูกค้า และตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ด้วยสินค้าและบริการ ของคุณ” ดังนั้นต่อให้เทคนิคบนโลกออนไลน์ของท่านจะ แพรวพราวเพียงใด แต่แค่เพียงท่านค้นหาความต้องการของ ลูกค้าไม่เจอ หรือเจอแล้วแต่สินค้าและบริการไม่ตอบโจทย์ พวกเขาได้ดีไปกว่าธุรกิจของคู่แข่ง โอกาสที่ท่านจะเติบโต ในโลกธุรกิจก็ยังคงตีบตันอยู่ดี

ทั้งหมดที่กล่าวมา ถือว่าเป็น การบ้านที่ผู้ประกอบการจะเอาไป ขบคิดต่อเพื่ อมัดรวมกลยุทธ์ ทั้งแบบออฟไลน์และออนไลน์ ให้กลมกล่อมเข้ากัน และตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าได้ครบถ้วนในทุกมิติ อย่าลืมว่าบนโลกใบนี้ไม่มีอะไร ที่สมบูรณ์แบบ 100% แนวคิด ทางการตลาดก็เช่นเดียวกัน ต่อให้โลกหมุนเปลี่ยนไปเร็ว แค่ไหน ก็ไม่ได้หมายความว่า เรื่องดั้งเดิมที่เคยท�ำเคยใช้ จะไม่สร้างประโยชน์อะไรเลย ที่มา: https://taokaemai.com/5-mistake-online-without-offline/

www.thaiprint.org


Exclusive Distributor

M3200 UV RTR Roll to Roll 3.20, 5.00 meter

■ Use LED curing technology with temperature cooling system, extend UV lights’ working life and leads to lower energy consumption. ■ Standard CMYK + LcLm configuration performs wider color gamut and better color transition from light to dark color. ■ Stable media feeding system and strong feeding compensation ensures high quality printing without banding. ■ Firm structure with up to 16mm thick beam, strong and high quality rubber rollers provide more stable media feeding than printers with pinch rollers.

Flatbed

SQ 2513/3216/3220

■ Dual Y servo motors, magnetic encoder strip. ■ Supreme high precision plat-form. ■ Recycle printing function, no need repeating position. ■ High level quality firewall, intrusion prevention design. ■ High print quality with 3D performance and excellent touching. ■ International ICC standard with profile curve adjustment function.

G4080

Roll to Roll 1.80 Meter

G4080

LED-UV inkjet printer

บริษัท เบสท์ อิน กราวด์ จำกัด

เลขที่ 200/23 หมู ่บ้านลภาวัน 17 หมู ่ 5 ถนนราชพฤกษ์ ตําบลบางรักน้อย อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุ รี 11000

bestinground@gmail.com www.bestinground.co.th สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

085 496 1456


INDUSTRIAL 55

www.thaiprint.org


56 KNOWLEDGE

แนวทางเพื่ อการลดต้นทุน ตอนที่ 2

พื้ นฐานส�ำหรับผู้ประกอบการได้ตระหนักถึงสิง ่ ที่เรา จะต้องอุดจุดที่รั่วไหล แต่งและเรียบเรียง โดย ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล

่ ล้วผูเ้ ขียนได้เขียนถึงการลดต้นทุนจากการ จากฉบับทีแ สั่งซื้อสินค้า และให้ท่านสมาชิกผู้อ่านได้พิจารณาถึง ปัจจัยอื่น ๆ ที่จะสามารถลดต้นทุนได้ ในฉบับนี้ผมจะขอ เขี ย นเรื่ อ งการค้ น หาหั ว ข้ อ ส� ำ หรั บ การลดต้ น ทุ น ใน สถานประกอบการของสมาชิ ก เพื่ อเป็ น พื้ นฐานให้ ผู้ ป ระกอบการได้ ต ระหนั ก ถึ ง สิ่ ง ที่ เ ราจะต้ อ งอุ ด จุ ด ที่ร่ัวไหล เพื่ อให้สถานประกอบการของเราอยู่ได้ต่อไป ในภาวะเช่นนี้

แน่นอนที่สุดการลดต้นทุนเป็นนโยบายที่ผู้บริหารจะต้องคิด และหาแนวร่วมกับสถานประกอบการของตนเอง จิตส�ำนึก ของพนักงานในสถานประกอบการของท่านเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญมาก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

จะท�ำอย่างไรให้พนักงานจ�ำนวนมากได้ตระหนักถึงความส�ำนึก ในหน้าที่ ที่ไม่เพียงแต่ผลิตงานให้เสร็จตามมาตรฐาน ทันเวลา แต่ต้องมีจิตส�ำนึกถึงการลดต้นทุนจากสิ่งที่พนักงานคนนั้น ท�ำงานอยู่ โดยทั่วไปสถานประกอบการจะได้แบ่งโครงสร้าง การท� ำ งานออกเป็ น กลุ ่ ม  ๆ ตามหน้ า ที่ แ ละลั ก ษณะงาน อยู่เป็นปกติอยู่แล้ว เช่นฝ่ายบริหาร ฝ่ายธุรการ ฝ่ายการตลาด ฝ่ า ยออกแบบ ฝ่ า ยจั ด ซื้ อ ฝ่ า ยผลิ ต ฝ่ า ยจั ด ส่ ง เป็ น ต้ น เรามาพิจาณากันครับว่าแต่ละฝ่ายนั้นพอจะช่วยอะไรได้บ้าง เพื่อให้ต้นทุนในสถานประกอบการของท่านสามารถลดต้นทุน ได้บ้าง


KNOWLEDGE 57 ่ ามารถน�ำมาพิ จารณาลดต้นทุนได้ งานแต่ละฝ่ายทีส 1. ฝ่ายบริหาร

• ฝ่ายบริหารได้เห็นความส�ำคัญของการลดต้นทุนเป็นหลัก และให้ถือว่าเป็นเรื่องส�ำคัญระดับต้น ๆ • ได้ มี ก ารออกนโยบายการลดต้ น ทุ น เป็ น เรื่ อ งจริ ง จั ง ให้ พนักงานทราบและปฏิบัติ • แต่งตั้งผู้ที่เกี่ยวข้องระดับหัวหน้า เพื่อควบคุมดูแลนโยบาย การลดต้นทุน • ติดตาม ประชุม ประมวลผลเสมอ ๆ กับทีมงาน ควรตัง้ ระยะ เวลาการประชุมเรื่องการลดต้นทุนเสมอ ๆ • ก�ำหนดรางวัลส�ำหรับผูท้ ลี่ ดต้นทุนได้ ชืน่ ชม และให้สงั คมใน สถานประกอบการได้รบั รูเ้ พือ่ ให้สงิ่ นีเ้ ป็นทีภ่ มู ใิ จเป็นตัวอย่าง ผู้บริหารต้องให้ก�ำลังใจและท�ำให้เห็นถึงความส�ำคัญนี้ 2. ฝ่ายธุรการ

• เป็นฝ่ายที่ต้องตอบสนอง ใกล้ชิดกับผู้บริหารได้ทันท่วงที เหมือนเช่นเป็นมือเป็นไม้ของผู้บริหาร เมื่อได้รับการสั่งการ ตรงจากผู้บริหารแล้ว ให้ด�ำเนินการจัดการทันที และคอย รายงานผลให้ผู้บริหารทราบ • จัดท�ำเอกสารเพื่อสนับสนุนโครงการการลดต้นทุนนี้ • รวบรวมสถิติต่าง ๆ เพื่อเตรียมวิเคราะห์ให้ผู้บริหารทราบ เป็นกราฟ รูปภาพ อย่างถูกต้องตรงไปตรงมา • จัดสรรบุคลากรให้เหมาะสม เสนอต่อผูบ้ ริหารเพือ่ พิจารณา เพราะว่าถ้างานได้ถกู แจกออกไปอย่างถูกต้องตามความสามารถ และจังหวะเวลาแก่คนใดคนหนึง่ นัน้ ย่อมท�ำให้เกิดประสิทธิภาพ และสามารถลดต้นทุนได้อย่างเห็นได้ชัด • แผนกบัญชีการเงิน ต้องมีการเสนอแผนการรับ-จ่าย รายงาน แผนการเงินเข้าออก อย่างตรงไปตรงมาและแม่นย�ำ เพือ่ การ บริหารการเงิน ลดการกูเ้ งินจากสถาบันการเงินหรือจากทีอ่ นื่ อันจะท�ำให้เกิดการเสียดอกเบี้ยเกินความจ�ำเป็น • หน้าที่ของธุรการโดยตรงเกี่ยวกับการลดต้นทุนเช่น การใช้ ของในส�ำนักงานที่ต้องซื้อหาหรือจัดจ้าง การกลับน�ำของ เสียหรือของใช้แล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ แม้แต่เรื่องการจ้าง แม่บ้าน การจ้างเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ก็มีมีผลต่อ การลดต้นทุนได้ทั้งสิ้น

• ฝ่ายจัดซื้อผู้เขียนได้กล่าวไปแล้วในฉบับที่แล้ว ก็ยังคงเน้น เรื่องของการจัดซื้อแบบมีคู่เทียบชัดเจน การไม่ซื้อของเก็บ ในสต๊อกมากเกินไป การน�ำของเก่าในสโตร์ออกมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ การต่อรองที่มีประสิทธิภาพเป็นต้น 3. ฝ่ายการตลาด / ขาย

• มีการค�ำนวณราคาอย่างถูกต้องแม่นย�ำ ถูกต้อง • การคิดค�ำนวณให้มีของเสียเป็นเศษให้น้อยที่สุด • มี ก ารตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของการค� ำ นวณราคา จากหัว หน้าแผนก หรือ ทีมงาน ที่ไม่ใช่ค นเดี ย วกั น กั บ คนคิ ด ราคาโดยเด็ ด ขาด เพราะคนที่ คิ ด ราคาจะคิ ด ว่ า ตนเองคิดถูกอยู่แล้วท�ำให้การตรวจสอบล้มเหลว • คนคิดราคามีความช�ำนาญกระบวนการผลิต และมีความเข้าใจ ในจิตวิทยาการตลาดอย่างดี • การตลาดสามารถประสานงานกับสโตร์ เพื่อน�ำวัตถุดิบที่ คงค้างสต๊อก น�ำออกมาใช้ได้ เพือ่ ลดปริมาณสินค้าคงคลังได้ ไม่ว่าจะเป็นกระดาษเก่า หมึกเก่า หรือเคมีเก่า • การตลาดสามารถหางานได้นอกจากขายปกติแล้ว ยังสามารถ หาลูกค้าทางออนไลด์ได้ เพราะมีช่องทาง และลดต้นทุน การเดินทางได้เป็นอย่างดี • การตลาดต้องเก่งเรือ่ งการเจรจาและแก้ปญ ั หาด้วยวาจาทาง โทรศัพท์ สิ่งส�ำคัญคือลูกค้าได้รับความพึงพอใจเป็นที่ตั้ง www.thaiprint.org


58 KNOWLEDGE 4. ฝ่ายผลิต

• สามารถลดต้นทุนได้ดว้ ยการไม่ทำ� งานผิดพลาด จัดหาระบบ ป้องกันความผิดพลาด ไม่ว่าจะเป็นด้วยระบบเอกสาร หรือ ระบบ Software ต่าง ๆเข้ามาช่วย • มี ก ารประชุ ม หารื อ วางแผนกั บ แผนกที่ เ กี่ ย วข้ อ งอย่ า ง สม�่ำเสมอ เช่น แผนกจัดซื้อ แผนกการตลาดเป็นต้น • แจ้งให้พนักงานทราบถึงผลเสียที่เกิดจากความผิดพลาด มูลค่าของเสีย ที่อาจจะเปลี่ยนทัศนคติที่คิดว่าตนเองไม่ได้ มีส่วนร่วมกับความเสียหาย

หลักการลดและควบคุมต้นทุนการผลิต มีหลักการ ดังนี้

1. จัดตัง้ คณะท�ำงาน เพือ่ ท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ต้องมีคณะกรรมการ ในการท�ำงานทุกอย่าง 2. รณรงค์ เ พื่ อ สร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และให้ ก ารศึ ก ษาอบรมแก่ พนักงานทุกระดับ หลังการท�ำงานต้องปิดไฟ และต้องท�ำอย่าง ต่อเนื่องเป็นต้น 3. จัดท�ำโครงการ/แผนการลดและควบคุมต้นทุนการผลิต พร้อมทั้งก�ำหนดเป้าหมายและระยะเวลาด�ำเนินการอย่าง ชัดเจน เช่น แผนงานลดต้นทุนการใช้พลังงานและมีการก�ำหนด เป้าหมายด้วย ว่าจะลงจ�ำนวนเท่าไร 4. มี ก ระบวนการควบคุ ม ที่ ส มบู ร ณ์ เพื่ อ ตรวจสอบและ ประเมินผลการด�ำเนินงานทุกขั้นตอน วงจรการควบคุม PDCA (DemingCycle) ต้องมีการด�ำเนินการไปอย่างต่อเเนื่อง

P (Plan) คือ การคิดวางแผน D (Do) คือ การปฏิบัติวัดผล 5. ฝ่ายจัดส่ง

• สื บ หาระบบขนส่ ง ภายนอกที่ เ ป็ น มื อ อาชี พ ที่ อ าจจะมี การบริการที่ดีกว่า และอาจจะควบคุมค่าใช้จ่ายได้ดี และ ลดความยุง่ ยากต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งอุบตั เิ หตุ ตัวพนักงาน ที่ขาดงาน หรือรถเสียไม่สามารถส่งของตามก�ำหนดเวลา • ใช้เทคโนโลยี GPS ช่วยในการวางแผนการเดินทาง เพื่อลด ระยะทาง ตรวจสอบต�ำแหน่งรถ และลดเรื่องการจราจร ติดขัด สามารถประหยัดน�้ำมันได้ดีกว่า

C (Check) คือ การตรวจสอบ A (Action) คือ การปรับปรุงแก้ไขและตั้งมาตรฐานในการ ท�ำงานวงจรการควบคุม PDCA (Deming Cycle) ต้องมีการ ด�ำเนินการไปอย่างต่อเนื่อง เมื่อเสร็จสิ้นแล้วต้องเริ่มท�ำใหม่ เพือ่ ให้เกิดการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง โดยไม่หยุดนิง่ แนวคิดในการลดและควบคุมต้นทุนการผลิต ส�ำหรับแนวคิดในการลดและควบคุมต้นทุน การผลิตนั้น จะต้องยึดหลักการคือ

• หมั่นเช็ครถตามระยะเสมอ ๆ เพื่อลดความสูญเสียที่ตามมา และลดอุบัติเหตุ

1. ศึกษาวิเคราะห์และส�ำรวจสถานภาพปัจจุบันของต้นทุน การผลิต ต้นทุนหลัก ๆ คือ แรงงาน วัตถุดบิ โสหุย้ เมือ่ รูต้ น้ ทุน แล้วท�ำให้เราสามารถหาข้อบกพร่องแล้วหาวิธีลดต้นทุน

• จัดท�ำตารางตรวจเช็คสภาพรถ โดยให้เป็นหน้าทีข่ องผูข้ บั รถ เช่นการตรวจสอบลมยาง น�้ำมันเครื่อง น�้ำในหม้อพัก น�้ำมัน เบรก น�ำ้ มันเกียร์ หรือแม้แต่นำ�้ ฉีดท�ำความสะอาดกระจกรถ

2. วิเคราะห์และชี้ชัดหาสาเหตุของต้นทุนสูญเปล่าที่เกิดขึ้น จากการผลิตสินค้านั้น ๆ ไฟฟ้าใช้มากที่สุดในกระบวนการผลิต ในส่วนไหนที่ใช้ไฟฟ้าแล้วสูญเปล่าเป็นจ�ำนวนเท่าไหร่

จะเห็นได้วา่ มีทกุ  ๆ ฝ่ายทีผ่ เู้ ขียนได้แจ้งมานีส้ ามารถลดต้นทุนได้ แทบจะทุกจุดของหน่วยงานในสถานประกอบการ สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ก็คอื ผูบ้ ริหารไม่ได้ละเลยสิง่ เหล่านี้ และต้องถือว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นสิง่ จ�ำเป็น กับการบริหารจัดการให้สถานประกอบการอยูไ่ ด้อย่างปลอดภัย

3. เน้นการลดและควบคุมต้นทุนการผลิตในส่วนของค่าใช้จ่าย ทีไ่ ร้ประสิทธิภาพ มีความสูญเปล่าสูง ๆ และด�ำเนินการให้บรรลุ ผลส�ำเร็จ

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

4. ประยุกต์ใช้เทคนิควิศวกรรมอุตสาหกรรม (IE Techniques)


KNOWLEDGE 59 เทคนิควิศวกรรมอุตสาหการในการลดและควบคุม ต้นทุนการผลิตเทคนิควิศวกรรมอุตสาหการในการ ลดและควบคุมต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย

1. เทคนิควิศวกรรมคุณค่า (Value Engineering) V E ต้องดู ความสัมพันธ์ของ 3 ตัวแปร คุณค่า หน้าที่การท�ำงาน ต้นทุน 2. เทคนิคการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 3. ขั้นตอนการเลือกโครงการหรือเป้าหมายให้เหมาะสมกับ เวลาและโอกาส เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติได้จริง 4. การรวบรวมข้อมูลเพื่อน�ำมาวิเคราะห์ 5. การวิ เ คราะห์ ห น้ า ที่ ก ารท� ำ งาน โดยเลือกวิธีวิเคราะห์ ได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง 6. สร้างสรรค์ความคิดเพื่อปรับปรุง การระดมสมองและ หาแนวร่วม 7. ประเมินผลความคิด ประเมินถึงความเป็นไปได้ 8. ขั้นตอนการพิสูจน์หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านคุณภาพ ซึ่งสามารถลดต้นทุนได้ ประกอบด้วยทุกฝ่าย เช่น ฝ่ายการ ตลาดหากลยุทธ์ในการครองตลาด / ฝ่ายออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด / ฝ่ายจัดซื้อต้องจัดหาวัตถุดิบให้มีมาตรฐานของวัตถุดิบ / ฝ่าย ผลิตแรงงานมีการพัฒนาอบรมอยูห่ รือไม่ / ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของสินค้าเป็นอย่างดีก่อนที่จะถึง มือลูกค้า / ฝ่ายจัดเก็บและส่งสินค้าเมื่อมีการจัดเก็บคุณภาพ ของสินค้ายังคงมีคุณภาพดีเช่นเดิม 9. เทคนิคการวางแผนและควบคุมการผลิต (Production Planning & Control)

แนวคิดในการลดและควบคุม ต้นทุนการผลิต คือ ศึกษาวิเคราะห์และส�ำรวจ สถานภาพปัจจุบันของต้นทุน การผลิต ต้นทุนหลักๆ คือ แรงงาน วัตถุดิบ โสหุ้ย เมื่อรู้ต้นทุนแล้ว ท�ำให้เรา สามารถหาข้อบกพร่องแล้ว หาวิธีลดต้นทุน

10. เทคนิคการบริหารวัสดุคงคลัง (Inventory Management) มี ก ารด� ำ เนิ น การบริ ห ารวั ส ดุ ค งคลั ง การผลิ ต ดี มี คุ ณ ภาพ การขายต้องดีด้วย ไม่ใช่เพียงแค่เน้นลูกค้าอย่างเดียว 11. เทคนิคการศึกษางาน (Work Study) หลักการทีจ่ ะท�ำงาน อย่างมีประสิทธิภาพ Work Smart ไม่ต้องเสียก�ำลังมากด้วย วิธีการง่าย ๆ การศึกษางานจะช่วยได้ โดยจะพิจารณาจาก วิธีการท�ำงานของพนักงานแต่ละคน ว่าท�ำงานดีขึ้นโดยใช้เวลา น้อยลง แต่ผลงานมากขึ้น เทคนิคศึกษางานนี้ช่วยให้น�ำไปสู่ ผลลัพธ์ที่ดี เกิดความส�ำเร็จขึ้นมา มีทัศนคติที่ดี แก้ไขได้ 12. เทคนิคการบริหารงานบ�ำรุงรักษา (Maintainance Management) โรงงานหลายแห่งมีปญ ั หาเครือ่ งจักรเสียบ่อย เรามีวิธีการบ�ำรุงรักษาแบบไหน มีการวางแผนล่วงหน้าหรือไม่ มีวธิ กี ารป้องกันหรือไม่ มีการซ่อมเปลีย่ นอะไหล่เครือ่ งจักรเป็น ไปตามคูม่ อื หรือไม่ คูม่ อื ส�ำคัญให้เป็นไปตามการซ่อมบ�ำรุง คนที่ รับผิดชอบต้องดูแล Fix Time Maintainance เป็นเรื่องส�ำคัญ Condition Base Maintainance ส�ำคัญเช่นกัน ซึ่งจะไม่ท�ำให้ แผนการผลิตเสียหาย 13. เทคนิคการประหยัดพลังงาน (Energy Saving) เป็นเทคนิค ที่ส�ำคัญยิ่ง ในการลดต้นทุน เช่น อาจจะมีการว่าจ้างที่ปรึกษา การประหยัดพลังงาน มาเขียนแผนและมีการด�ำเนินการอย่างเป็น ระบบ บางครัง้ อาจจะไม่ตอ้ งลงทุน แต่ใช้จติ ส�ำนึกแทน มีโครงการ เพื่อการลดต้นทุนด้วยการประหยัดพลังงานของ SMEs ที่มี งบประมาณอุดหนุนอยู่ ซึ่งควรจะต้องให้ความสนใจเพราะการ ประหยัดพลังงานเป็นหัวใจหนึง่ ทีจ่ ะช่วยลดต้นทุนได้เป็นอย่างดี ที่มา • SMEs 005 กลยุทธ์สู่ความส�ำเร็จในการลดและควบคุมต้นทุนการผลิต วิทยากร คุณธีรชัย โรจนพิ สุทธิ์ นักวิชาการอุตสาหกรรมระดับ 7 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม • หนังสือ Cost Down (Save Cost #1 ) ส�ำนักพิ มพ์ อิมเมจ คอนซัลแทนท์ แอนด์ เซอร์วิส จ�ำกัด

www.thaiprint.org




44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1

11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM



64

INTERVIEW

″ท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด เมื่อวานคือ สิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ทุกอย่างที่เกิดขึ้น ล้วนมีข้อดีเสมอ″

กฤตบุญ ชินประสิทธิผล บริษัท สยามกมลเอก จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


INTERVIEW

กฤตบุญ ชินประสิทธิผล หรือ ตี๋ แต่เพื่อนตั้งแต่สมัยมัธยม ชอบเรียก คิม มาจากชือ่ จริงเก่า เลยติดปากมาโดยตลอด มีพนี่ อ้ ง 3 คน เป็นบุตรชายคนกลางของ นายสามารถ ชินประสิทธิผล และนางอัญชลี เสริมพรวิวฒ ั น์ จบการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษา – โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ปริญญาตรี – มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ (Assumption University) สาขาบริหารธุรกิจ การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ (International Business Management) และ ปริญญาโท – MBA, International University of Japan ความเป็นมาของบริษัท

ในปี พ.ศ. 2527 ก่อตั้ง ห้า งหุ้นส่วนจ�ำกัด สยามวัฒนา เปเปอร์ โดยเริม่ ธุรกิจรับจ้างตัดกระดาษ และได้รบั ความเมตตา

65

จากผู้มีพระคุณซึ่งคุณพ่อคุณแม่เคยได้ร่วมงานก่อนหน้าให้ การสนั บ สนุ น ในการสั่ ง ซื้ อ สิ น ค้ า กระดาษ ต่ อ มาได้ เริ่ ม ท� ำ การค้าปลีก – ส่งทั้งที่เป็นสินค้าในประเทศและต่างประเทศ ให้ กั บ โรงพิ ม พ์ แ ละร้ า นเครื่ อ งเขี ย นทั้ ง ในกรุ ง เทพฯ และ ปริมณฑล จากนั้น ในปี พ.ศ. 2534 จนถึงปัจจุบัน ได้ก่อตั้ง บริ ษั ท สยามกมลเอก จ�ำกัด เพื่อจ�ำหน่ายสินค้าปลีก-ส่งกระดาษ เพื่องานพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ เช่น กระดาษปอนด์ กระดาษ อาร์ตการ์ด กระดาษกล่องแป้ง และอื่น ๆ เป็นต้น รวมทั้ง การเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายกระดาษในประเทศ และน�ำเข้าสินค้า จากต่างประเทศ โดยเรามุง่ เน้นถึงการตอบสนองความต้องการ และความพึงพอใจของลูกค้า ทัง้ ในคุณภาพสินค้าและการบริการ ที่รวดเร็ว www.thaiprint.org


66

INTERVIEW

จุดเริ่มต้นการท�ำงาน และหน้าที่รับผิดชอบ

ตั้งแต่สมัยเรียนมัธยมได้มีโอกาสติดตามคุณแม่เข้าประชุม เอเย่นต์ของบริษัท ดั๊บเบิ้ล เอ จ�ำกัด (มหาชน) และได้ไป พบลู ก ค้ า เนื่ อ งในวาระและเทศกาลต่ า ง ๆ ท� ำ ให้ มี โ อกาส ได้พบปะผู้ใหญ่หลาย ๆ ท่าน หลังจากนั้นก็ได้เข้ามาช่วยงาน เล็ก ๆ น้อย ๆ บ้าง เช่น การออกไปพบลูกค้า หรือการออกงานสังคม เพื่อพบปะลูกค้า เป็นต้น ซึ่งในช่วงระหว่างเรียนปริญญาตรี และปริญญาโท ผมยังได้มีโอกาสช่วยงานด้านบัญชีภายใน บริ ษั ท หลั ง จากจบการศึก ษาปริญ ญาโท ผมไปเริ่มท�ำงาน กับบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด (ชื่อเดิม Ernst & Young) ในต�ำแหน่ง ทีป่ รึกษาด้านปรับปรุงประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ าน (Performance Improvement) จึ ง ได้ มี โ อกาสศึ ก ษา มุมมองธุรกิจของผู้บริหาร และกระบวนการท�ำงานต่าง ๆ จากหลากหลายอุตสาหกรรม พร้อมทั้งน�ำค�ำชี้แนะที่ได้รับ จากการท�ำงานของเพื่อน ๆ พี่ ๆ ที่ร่วมงานกันน�ำมาประยุกต์ ใช้กับธุรกิจของที่บ้าน ในปี 2557 ได้เข้ามาท�ำงานของธุรกิจที่บ้านโดยเริ่มจากการ เป็นผู้ช่วย โดยต้องเรียนรู้ทุกๆ ด้าน และได้สนิทกับพี่ ๆ น้อง ๆ ทีท่ ำ� งานด้วยกัน โดยปัจจุบนั มีหน้าทีด่ แู ลการจัดการคลังสินค้า และการขนส่งเป็นหลัก ปัญหาที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน และแนวทางแก้ไข

คิดว่าหลัก ๆ คือ การสือ่ สาร ประกอบด้วย การสือ่ สารทัง้ ภายใน และภายนอกองค์กร การสื่อสารภายในองค์กร ปัญหาที่พบส่วนใหญ่จะเป็นระหว่าง เรากับคุณพ่อคุณแม่โดยส่วนใหญ่ เนื่องจากเป็นความต่างของ อายุและประสบการณ์ ทุกคนล้วนมีจุดยืนและความคิดตัวเอง อย่างแรกที่ผมท�ำคือการท�ำงานตามในสิ่งที่พวกท่านท�ำอยู่ และคอยหาจุดโอกาสที่สามารถน�ำมาปรับปรุงมาเสนอแก้ไข โดยค�ำนึงถึงจุดเล็ก ๆ และภาพรวมทั้งหมด แม้เราจะมีการ ถกเถียงกันบ้าง แต่สุดท้ายเราก็เปิดใจยอมรับบนเหตุและผล และหาทางออกของปัญหานั้น ๆ ให้ได้ผลที่ดีที่สุด การสื่อสารภายนอกองค์กร ส่วนใหญ่จะเป็นการติดต่อสื่อสาร กั บ ลู ก ค้ า บางครั้ ง มี ค วามเข้ า ใจผิ ด ท� ำ ให้ เ กิ ด ข้ อ ผิ ด พลาด หรือข้อท้วงติงจากทางลูกค้าบ้าง เราได้น�ำข้อเสนอต่าง ๆ มาปรับปรุงแก้ไข และท�ำความเข้าใจกับพนักงานที่ให้บริการ กับลูกค้าให้มีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เพื่อให้ลูกค้าพึงพอใจ ในการบริการของเรา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

ทุกอุตสาหกรรมล้วนมีการ เปลี่ยนแปลง แต่เราจะหยุดเดิน ไม่ได้ เราต้องหมั่นสร้างองค์กร ให้มั่งคง และหานวัตกรรมต่าง ๆ เพื่ อตอบสนองกับความต้องการ ในตลาดในปัจจุบันให้ก้าวทันโลก ที่เปลี่ยนแปลงไป แนวคิดหรือคติในการท�ำงาน

ท�ำวันนี้ให้ดีที่สุด เมื่อวานคือสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว ทุกอย่างที่เกิดขึ้น แล้วล้วนมีข้อดีเสมอ เราน�ำข้อผิดพลาดและข้อเสนอแนะมา แก้ไขปรับปรุงให้เราปฏิบัติงานให้ดียงิ่ ขึ้น ปัจจุบันคือที่คำ� นึงถึง มากที่สุด ปัจจุบันทุกก้าวที่เราเดินที่เราท�ำงานและทุ่มเทไป ทั้งกับคนในครอบครัว คนในองค์กร รวมถึงลูกค้าและคู่ค้า ล้วนส�ำคัญกับการเติบโตของบริษัท และความมั่นคงและยั่งยืน ของทุกคนในบริษัท วันพรุ่งนี้ หรืออนาคต คือสิ่งที่เราคาดเดา ได้ยากแต่เราประมาณการได้บางส่วน หากวันนี้เราท�ำได้ดี ผลลัพธ์ที่ดีก็จะตามมา มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย

คงอดพูดถึง digital disruption ไม่ได้ เพราะมีผลถึงอุตสาหกรรม การพิมพ์ของพวกเรา ในด้านสื่อสิ่งพิมพ์ digital disruption ท�ำให้สื่อสิ่งพิมพ์บางอย่างลดลงไปมาก เช่น นิตยสาร วารสาร เป็นต้น คนเริ่มปรับการอ่านจากแบบหนังสือ เป็นอ่านบนสื่อ ดิจิตอล แต่ผมเชื่อว่าผู้บริโภคหลาย ๆ คน ก็ยังคงชอบอ่าน หนังสือที่เป็นรูปเล่ม เนื่องจากกลิ่นอายของการสัมผัส การได้ อ่านหนังสือที่เป็นหนังสือ รวมทั้งรักษาสุขภาพสายตาของเรา ในส่วนของด้านบรรจุภัณฑ์ digital disruption ก็ท�ำให้การ ขนส่งดีขึ้น ผู้คนใช้กล่องมากขึ้น ท�ำให้การเติมโตในส่วนนี้ยัง คงเติบโตเนือ่ ง และเนือ่ งจากการส่งเสริมด้านสิง่ แวดล้อม ท�ำให้ ร้านค้าหรือผู้ซื้อเองตระหนักถึงความส�ำคัญ ทางอุตสาหกรรม การพิมพ์เองก็ต้องน�ำนวัตกรรมต่าง ๆ เช่น กระดาษรักษา สิง่ แวดล้อม หรือกระดาษส�ำหรับการบรรจุอาหาร รวมถึงกระดาษ ที่สามารถทนความร้อนได้ มาสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ต่างๆ ทุกอุตสาหกรรมล้วนมีการเปลีย่ นแปลง แต่เราจะหยุดเดินไม่ได้ เราต้องหมั่นสร้างองค์กรให้มั่งคง และหานวัตกรรมต่าง ๆ เพือ่ ตอบสนองกับความต้องการในตลาดในปัจจุบนั ให้กา้ วทันโลก ที่เปลี่ยนแปลงไป


INTERVIEW

เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer ได้อย่างไร

ได้รับการชักชวนจากเพื่อนสมัยเรียนเอแบค คุณชวนินทร์ จากบริษัท ศิริชัยการพิมพ์ จ�ำกัด ให้ลองสมัครสมาชิกสมาคม การพิมพ์ เพื่อเข้าไปเรียนรู้มุมมองอุตสาหกรรมด้านการพิมพ์ มากยิ่งขึ้น หน้าที่และบทบาทใน YPG

ได้รับหน้าที่เป็นปฏิคม ช่วยในการกระจายข้อมูลข่าวสาร และกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้น ให้กับสมาชิกปัจจุบันของสมาคม การพิมพ์ และผู้สนใจในอุตสาหกรรมการพิมพ์ สิ่งที่ได้รับจากการมาเป็นสมาชิก YPG

ความรู้ ท�ำให้เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับการพิมพ์มากยิ่งขึ้น เช่น กระบวนการการพิ ม พ์ ลั ก ษณะของกระบวนการนั้ น  ๆ ความหลากหลายเทคนิ ค ในการพิ ม พ์ รวมถึ ง วั ส ดุ ที่ ใช้ ใ น

67

กระบวนการ เป็นต้น พร้อมทั้งได้เรียนรู้มุมมองของสมาชิก ผูเ้ ป็นทายาทโรงพิมพ์ในทิศทางการพิมพ์ในอนาคต และรวมไปถึง การได้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การเยี่ยมชมโรงงานและ กิจกรรม CSR เพื่อตอบแทนสังคม

มิตรภาพ ท�ำให้เราได้พบเจอเพื่ อน ๆ มากขึ้น หลังจากกลับเข้ามา ท�ำงานที่บ้าน ท�ำให้เรามีโอกาส พบเพื่ อนใหม่น้อยลง การได้มา เป็นสมาชิกท�ำให้ผมได้พบเจอ คนใหม่ ๆ และได้แลกเปลี่ยน ความคิดทั้งทางด้านธุรกิจ และ ประสบการณ์ เพื่ อน�ำมาประยุกต์ ใช้ในการแก้ปัญหาที่เราพบเจอ www.thaiprint.org


68 KNOWLEDGE

Omni Channel นิยามการตลาด ในยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0 การติดต่อสื่อสารกับลูกค้าที่หลากหลายช่องทาง การเชื่อมโยงช่องทางต่างๆ รวมให้เป็นหนึ่งเดียว Omni Channel คืออะไร Omni Channel หมายถึง การติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ที่ ห ลากหลายช่ อ งทาง การเชื่ อ มโยงช่ อ งทางต่ า งๆ ่ เดียว โดยผสมผสานช่องทางการสือ ่ สาร รวมให้เป็นหนึง เหล่ า นั้ น ทั้ ง ออนไลน์ (Online) และการขายหน้ า ร้ า น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

(Offline) เพื่ อสร้ า งประสบการณ์ ท่ี ดี ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า อย่ า งชาญฉลาดและไร้ ร อยต่ อ ซึ่ ง เป็ น ระบบ CRM ยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0


KNOWLEDGE 69

Omni Channel หมายถึง การติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ที่หลากหลายช่องทาง การเชื่อมโยงช่องทางต่างๆ รวมให้เป็นหนึ่งเดียว โดยผสมผสานช่องทาง การสื่อสารเหล่านั้น ทั้งออนไลน์ (Online) และการขายหน้าร้าน (Offline) เพื่ อสร้างประสบการณ์ที่ดี ให้กับลูกค้าอย่างชาญฉลาดและ ไร้รอยต่อ ซึ่งเป็นระบบ CRM ยุคเศรษฐกิจและสังคม 4.0 และต้องมีการบริหารจัดการ ข้อมูลลูกค้าในระบบ Marketing System ที่ท�ำเป็นแบบอัตโนมัติ เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา อย่างแท้จริงและไร้รอยต่อ

Call Center, Contact Center เป็นเพียงส่วนหนึ่งของ ช่ อ งทางการติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ลู ก ค้ า สามารถช่ ว ยเหลื อ และสนับสนุน Omni Channel ได้เป็นอย่างดี เนื่องจาก ทั้ง Call Center และ Omni Channel เป็นส่วนหนึ่งของ การสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้า อย่างไรก็ตาม การเชือ่ มโยง การขายหน้าร้านกับออนไลน์เป็น Omni Channel ต้องมี การบริหารจัดการข้อมูลลูกค้าในระบบ Marketing System ที่ ท� ำ เป็ น แบบอั ต โนมั ติ เข้ า ถึ ง ได้ ทุ ก ที่ ทุ ก เวลาอย่ า งแท้ จ ริ ง และไร้รอยต่อ อ�ำนวยความสะดวกให้กับลูกค้าในทุกรูปแบบ ของการบริโภคและช่วงอายุ เข้าถึงทุกกลุ่มลูกค้าด้วยกิจกรรม การตลาดที่เป็น Soft Sales

ตั ว อย่ า งของการท� ำ Omni Channel สิ น ค้ า Consumer เริ่มมีให้เห็นในประเทศไทย

ตัวอย่างของการท�ำ Omni Channel สินค้า Consumer เริ่มมีให้เห็นในประเทศไทย เช่น ถ้าลูกค้าเข้ามา กรอกรายชื่อ ในเว็บไซต์ Website, Facebook, LINE ลูกค้าจะได้รับคูปอง เจ้าของ Brand มีการสื่อสารตอบกลับโดยส่ง SMS, email, LINE หาลูกค้าให้น�ำคูปองไปใช้ที่หน้าร้านจริง และหลังจาก การใช้ คู ป องแล้ ว ตามหลั ก การตลาดก็ ค วรมี ก ารขอบคุ ณ ลูกค้าและการติดตามผล เพื่อการปรับปรุงระบบปฏิบัติงาน ปรับปรุงผลิตภัณฑ์และการกลับมาซื้อซ�้ำเป็น Replete Order รวมทั้งการแนะน�ำต่อบอกต่อ เป็นกลุ่มลูกค้าที่เรียกได้ว่าภักดี ต่อผลิตภัณฑ์หรือตราสินค้า (Loyalty Customers) www.thaiprint.org


70 KNOWLEDGE

ข้อมูลการซื้อของลูกค้า เช่น ซื้อจากร้านไหน ซื้อสินค้าใด ราคาเท่าไหร่ แต่เดิมส่วนใหญ่ได้มาจากส่วนทีข่ ายหน้าร้าน หรือ เรียกว่า Point of Sales แต่ขาดส่วนที่ระบุตัวตนของลูกค้า เช่น ชือ่ เบอร์โทร email เพือ่ น�ำมาท�ำระบบ CRM เพือ่ รวมข้อมูล ลู ก ค้ า ให้ ไ ด้ ใ นระดั บ ลึ ก สร้ า งการซื้ อ ซ�้ ำ บอกต่ อ และสร้ า ง ความยั่งยืนในการที่จะอยู่ในตลาดผลิตภัณฑ์ การเชื่อมโยง ระบบของการขายหน้าร้านกับออนไลน์เป็น Omni Channel จึงเกิดขึ้นอย่างปฏิเสธไม่ได้ ทั้งนี้ Related Items ข้อมูลที่ เก็บไว้ในฐานข้อมูลการตลาดภายในจึงต้องน�ำไป รวมกับฐาน ข้อมูลภายนอก เพื่อให้มีข้อมูลลูกค้าทุกมิติ เรียก Big Data เพื่อสร้างระบบบริหารจัดการข้อมูลลูกค้า ระบบ CRM หรือ Relationship Marketing และการให้บริการลูกค้า โดยที่ Brand ต้องทราบตัวตนลูกค้านั่นเอง

ข้อมูลที่เก็บไว้ในฐานข้อมูล การตลาดภายในจึงต้องน�ำไป รวมกับฐานข้อมูลภายนอก เพื่ อให้มีข้อมูลลูกค้าทุกมิติ เรียก Big Data เพื่ อสร้าง ระบบบริหารจัดการข้อมูลลูกค้า ระบบ CRM หรือ Relationship Marketing และการให้บริการ ลูกค้า โดยที่ Brand ต้องทราบตัวตนลูกค้านั่นเอง

WAREHOUSE

FEEDBACK

EMAIL

OMNI CHANNEL

SOCIAL MEDIA

MOBILE

CALL CENTER

WEBSITE THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

PRINT


KNOWLEDGE

71

แนวทางในการใช้ Omni Channel กับ Contact Center

ปัจจุบันแนวโน้มการผสมผสานของช่องทางการติดต่อมายัง Contact Center กับ Non-Voice ซึ่งรวมถึงการติดต่อผ่าน Mobile Application, Web Site, Instant Message, email หรือใน Social Media มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากความ ต้องการของลูกค้ามีมากขึน้ และลูกค้า 1 คนมีการติดต่อทีห่ ลาก หลายช่องทาง ซึง่ คงเป็นโจทย์ในการบริหารจัดการและควบคุม คุณภาพ Contact Center ทีจ่ ะต้องท�ำการ Customize บริการ ให้ตรงกับลูกค้าแต่ละราย ซึ่งมีผลต่อการเพิ่มความพึงพอใจใน การใช้บริการในที่สุด

ทิศทางเดียวกัน ใน Contact Center ที่ดีการสร้างมาตรฐาน การบริ ก ารในแต่ ล ะช่ อ งทางต้ อ งเป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น พร้อมกันนั้นยังต้องมีการ Integrate การติดต่อเข้าด้วยกัน ผ่านเทคโนโลยีที่ในปัจจุบันรองรับการ Integrate ระหว่าง Voice และ Non-Voice ซึ่งรวมถึง Social Media เข้าด้วยกัน

องค์ประกอบของ Omni Channel Integrating กลยุทธ์ การเชื่อมโยงการสื่อสารในแต่ละช่องทางให้สอดคล้องไปใน

Delivering การจัดการข้อมูลที่ดี รวมถึงการบริหาร Contact Center ที่ดีจะท�ำให้เราให้บริการที่ประทับใจในที่สุด

Data Analysis การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ดี แ ละการวิ เ คราะห์ ข้อมูลอย่างเป็นระบบจะท�ำให้เราเข้าถึงรูปแบบการสื่อสาร และการน�ำเสนอสินค้าบริการได้ตรงตามความต้องการและ ให้บริการที่เหนือความคาดหมายได้

ที่มา: https://www.affinity.co.th/omni-channel/?lang=th

www.thaiprint.org


72

NEWS

กลุ่มบริษัท ซี.เอ.เอส. ช่วยหมอ ต่อชีวิต ผู้ป่วย COVID-19 ขอเป็นก�ำลังใจให้กับคนไทยทุกคน … เราผ่านวิกฤตนี้ไปได้ด้วยกันอย่างปลอดภัย

คุณโกมล ดารารัตนโรจน์ กรรมการบริหาร “กลุ่มบริษัท ซี.เอ.เอส.” พร้อมคณะผูบ้ ริหาร มอบเงินจ�ำนวน 1.5 ล้านบาท ให้กบั โรงพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลศิรริ าช, โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลิ ม พระเกี ย รติ เพื่ อ สมทบทุ น ซื้ อ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ทางการแพทย์ ใ นการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ ป ่ ว ยโควิ ด -19 โดยเป็ น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

ความมุ ่ ง มั่ น ของ “กลุ ่ ม บริ ษั ท ซี . เอ.เอส.” ที่ ต ้ อ งการเป็ น ส่วนหนึ่งในการสนับสนุนและเป็นก�ำลังใจในการปฏิบัติงาน ของบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งถือเป็นหน้าด่านส�ำคัญในการ ต่อสู้กับโรคโควิด-19 ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างราบรื่น อั น จะเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยลดผลกระทบต่ อ ความสู ญ เสี ย โดยรวมของประเทศ


NEWS

73

“บริษัท เอเชีย แค็บ จ�ำกัด” ได้มอบบริการรถแท็กซี่ “แค็บบ์” ต้นแบบมาจากลอนดอนแท็กซี่ พร้อมพนักงานขับรถ ให้กับ โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่งข้างต้น เพื่ อสนับสนุนการเดินทางของ แพทย์ พยาบาล และบุคลากร ทางการแพทย์

นอกจากนี้ บริษทั ในเครือ “กลุม่ บริษทั ซี.เอ.เอส.” อย่าง “บริษทั เอเชีย แค็บ จ�ำกัด” ได้มอบบริการรถแท็กซี่ “แค็บบ์” รถแท็กซี่ ที่มีต้นแบบมาจากลอนดอนแท็กซี่ พร้อมพนักงานขับรถ ให้กับ โรงพยาบาล 3 แห่งข้างต้น เพือ่ สนับสนุนการเดินทางของแพทย์ พยาบาล บุคลากรทางการแพทย์ รวมทั้งสนับสนุนการท�ำงาน ในด้านต่างๆ ของโรงพยาบาลให้เป็นไปอย่างสะดวกสบาย ปลอดภัย ลดความเสีย่ งในการติดเชือ้ และลดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

“กลุ่ ม บริ ษั ท ซี . เอ.เอส.” ขอเป็ น ก� ำ ลั ง ใจ ให้ กั บ คนไทยทุ ก คน … ในทุ ก วิ ก ฤติ เ ราจะ เห็นถึงน�ำ้ ใจคนไทยทีไ่ ม่เคยเลือนหาย ครัง ้ นี้ ก็เช่นกัน ความร่วมมือร่วมใจของคนไทย ทุกคน จะท�ำให้เราผ่านวิกฤตนี้ไปได้ด้วยกัน อย่างปลอดภัย www.thaiprint.org


74

NEWS

วันการพิ มพ์ ไทย 2563 วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2563 วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2563 ซึ่งเป็นวันการพิมพ์ไทย ที่ ท ่ า นหมอบรั ด เลย์ ไ ด้ น� ำ เครื่ อ งพิ ม พ์ แ ละตั ว หล่ อ อั ก ษร ภาษาสยามมาพิมพ์คัมภีร์ไบเบิล 10 ประการ ภาษาสยาม เป็นหนังสือพิมพ์ภาษาสยามในประเทศสยามเป็นครั้งแรก เมื่อปี พ.ศ. 2379 ซึ่งในทุกๆ ปี มูลนิธิเงินทุนแสดงงานพิมพ์ แห่งประเทศไทยได้จัดกิจกรรมเพื่อร�ำลึกถึงคุโณปการของ ดร.แดน บิช บรัดเลย์ ทีช่ าวสยามหรือชาวไทยรูจ้ กั ท่านในนาม "หมอบรั ด เลย์ " แต่ เ นื่ อ งจากโควิ ด -19 ยั ง คงระบาดหนั ก ดร.วันชัย ศิริชนะ - ประธานมูลนิธิฯ จึงมีด�ำริให้งดกิจกรรม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

วันการพิมพ์ไทยทั้งการวางพวงมาลาที่ิสุสานโปรเตสแตนท และการถวายเพลที่ วั ด ราชประดิ ษ ฐ์ โดยได้ ม อบหมายให้ คุณยงยุทธ ตั้งจิตปิยะนนท์ - กรรมการมูลนิธิเงินทุนงาน แสดงการพิมพ์แห่งประเทศไทย น�ำเงินบ�ำรุงสุสานจ�ำนวน 5,000บาท มอบให้คุณธาดา เศวตศิลา ประธานมูลนิธิสุสาน โปรเตสแตนท์ ในวันเดียวกันนั้น คุณประภาพร ณรงค์ฤทธิ์ เป็ น ผู ้ แ ทนมู ล นิ ธิ ฯ ท� ำ บุ ญ ถวายสั ง ฆทานเพื่ อ อุ ทิ ศ เป็ น พระราชกุศลแด่รัชกาลที่ 4 และผู้ที่ล่วงลับ ด้วยงบประมาณ 30,000 บาท ณ วัดสวนแก้ว จ.นนทบุรี​


NEWS

75

้ ากท่านมีจต ทัง ิ ศรัทธาในคุณงามความดี ้ นีห ของหมอบรัดเลย์ สามารถร่วมบริจาคเงิน เข้ามูลนิธิสุสานโปรเตสแตนท์

บัญชีเลขที่ 101-928740-5 ชื่อบัญชี มูลนิธิสุสานโปรเตสแตนท์ ธนาคารกรุงเทพ ส�ำนักงานใหญ่สีลม เพื่ อเป็นค่าน�้ำและค่าแรงดูแลต้นไม้ใบหญ้า บริเวณสุสานหมอบรัดเลย์ปีละ 1,500 บาท หรือตามศรัทธา

www.thaiprint.org


76 KNOWLEDGE

Personalized Marketing เทรนด์การตลาดเจาะใจผู้บริโภค

การตลาดเฉพาะบุคคล เพื่ อให้ตอบโจทย์กับผู้บริโภค ่ ผูบ ้ อบความรูส ซึง ้ ริโภคสมัยนีช ้ ก ึ เป็นคนพิ เศษอยูต ่ ลอดเวลา

Designed by Freepik

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


KNOWLEDGE 77

Photo by Headway on Unsplash

Personalized Marketing คือ การที่เราน�ำเสนอสินค้า บริการ คอนเทนต์ ช่องทาง การสื่อสาร และราคา ให้ตรงกับใจของผู้บริโภค ให้ได้มากที่สุด โดยที่จะไม่เสนอ แบบเดียวกันให้กับทุกคน แต่จะเจาะจงไปที่ความต้องการ ของผู้บริโภคแต่ละคนแทน โดยดูจากพฤติกรรมของ ผู้บริโภค

ปัจจุบนั การแข่งขันทางธุรกิจสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ หากเราไม่สร้างความ แตกต่างจากคู่แข่ง ก็จะท�ำให้เราต้องไปแข่งขันเรื่องราคาแทน เราจึงต้องหากลยุทธ์ใหม่ ๆ มาใช้อยู่เสมอ เพื่อให้ตอบโจทย์ กับผู้บริโภค ซึ่งผู้บริโภคสมัยนี้ชอบความรู้สึกเป็นคนพิเศษ อยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ “Personalized Marketing” หรือ “การตลาดเฉพาะบุคคล” จึงเกิดขึ้น โดยแนวคิดและวิธีการของ Personalized Marketing คือ การที่เราน�ำเสนอสินค้า บริการ คอนเทนต์ ช่องทางการสื่อสาร และราคา ให้ตรงกับใจของผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด โดยที่จะไม่ เสนอแบบเดียวกันให้กบั ทุกคน แต่จะเจาะจงไปทีค่ วามต้องการ ของผู้บริโภคแต่ละคนแทน โดยดูจากพฤติกรรมของผู้บริโภค ซึ่ ง จากสถิ ติ ที่ ผ ่ า นมาพบว่ า กลยุ ท ธ์ แ บบ Personalized Marketing สามารถเพิ่มก�ำไรให้กับแบรนด์ได้ เพราะผู้บริโภค มักจะชอบแบรนด์ที่รู้ถึงความต้องการของผู้บริโภค และท�ำให้ ผูบ้ ริโภครูส้ กึ พิเศษ ผูบ้ ริโภคหลายคนมักจะไม่ชอบเวลาทีข่ อ้ มูล สินค้า และบริการในเว็บไซต์ไม่ตอบโจทย์ เพราะเหตุนี้เว็บไซต์ ส่วนใหญ่ถงึ ต้องมีระบบ AI และ Machine Learning ทีส่ ามารถ เก็บข้อมูลและประมวลผลได้ถูกต้อง เพื่อที่จะแสดงผลข้อมูล ให้ตรงกับผู้บริโภคแต่ละคนมากที่สุด www.thaiprint.org


78 KNOWLEDGE

Photo by Bethany Legg on Unsplash

Customization คือ การที่ลูกค้าสามารถปรับแต่ง สินค้าและบริการได้เอง แต่ Personalization คือ การที่แบรนด์เสนอสินค้าและ บริการที่ตรงใจลูกค้าเลย โดยดูจากข้อมูลที่ผ่านมา เช่น การกดถูกใจสินค้า การกด Add to Cart และประวัติการซื้อ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

มาถึงจุดนี้ หลายคนอาจจะสับสนระหว่าง Personalization กับ Customization เพราะคิดว่าคือสิ่งเดียวกัน แต่สองอย่าง นีต้ า่ งกัน เพราะ Customization คือ การทีล่ กู ค้าสามารถปรับ แต่งสินค้าและบริการได้เอง แต่ Personalization คือ การที่ แบรนด์เสนอสินค้าและบริการที่ตรงใจลูกค้าเลย โดยดูจาก ข้อมูลที่ผ่านมา เช่น การกดถูกใจสินค้า การกด Add to Cart และประวัติการซื้อ ตัวอย่างของการท�ำ Personalized Marketing เช่น เวลา ที่ผู้บริโภคเข้าไปในเว็บไซต์ E-Commerce ทั้งหลาย แต่ละ เว็บไซต์จะมี Technology และเครื่องมือที่จะแบ่งกลุ่มลูกค้า ตามความสนใจ และการดูรายการสินค้าต่าง ๆ แล้วก็จะจดจ�ำ


KNOWLEDGE 79

เราควรมีการวัดผล เช่น มีผบ ู้ ริโภคเข้ามามีปฏิสม ั พั นธ์ และใช้เวลากับเว็บไซต์เรา นานขึ้นหรือไม่ และยอดขาย ของเราเพิ่ มขึ้นหรือไม่ โดยใช้ เครื่องมืออย่าง Analytics เพื่ อดูผลตอบรับ และแนวทาง ในการปรับปรุงพั ฒนาต่อไป

Photo by Stephen Dawson on Unsplash

พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคแต่ละกลุม่ ไว้ จากนัน้ เมือ่ ผูบ้ ริโภคเข้าไป ยังเว็บไซต์อีกครั้งก็จะเจอรายการสินค้าแนะน�ำที่เกี่ยวข้อง กับสินค้าที่เคยดูไว้หรือเคยซื้อไปแล้ว ซึ่งผู้บริโภคแต่ละคนจะ เห็นสินค้าต่างกัน โดยที่การแสดงรายการสินค้านั้นจะคล้าย ๆ การท�ำโฆษณา Remarketing ที่ติดตามลูกค้าที่เข้าไปชมเว็บไซต์ และรายการ สินค้าของเราแต่ยังไม่ได้ท�ำการสั่งซื้อ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการ ตัดสินใจซื้อ โดยการตลาดแบบ Personalized Marketing จะช่วยปิดการขายได้เร็วขึ้น เพราะแสดงสินค้าที่เกี่ยวข้องกับ ความสนใจของผู้บริโภคแต่คน จึงเป็นการขายของบนพื้นฐาน ความต้องการของผู้บริโภค

เพราะฉะนั้ น ก่ อ นที่ เราจะท� ำ Personalized Marketing เราต้องมัน่ ใจว่าเว็บไซต์เรามีระบบ Algorithms ทีแ่ ม่นย�ำ เพือ่ ที่ จะน�ำเสนอสินค้า และบริการได้ตรงกับความต้องการของผูบ้ ริโภค หรือการส่งอีเมลล์และ Notification ไปบอกผู้บริโภคว่าสินค้า ทีผ่ บู้ ริโภคต้องการก�ำลังลดราคาอยู่ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ประสบการณ์ การซื้อสินค้าที่ดีให้และความประทับใจให้กับผู้บริโภค เมื่อเราท�ำ Personalized Marketing เรียบร้อยแล้ว สิ่งส�ำคัญ อีกอย่างคือ เราควรมีการวัดผล เช่น มีผบู้ ริโภคเข้ามามีปฏิสมั พันธ์ และใช้เวลากับเว็บไซต์เรานานขึ้นหรือไม่ และยอดขายของเรา เพิม่ ขึน้ หรือไม่ โดยใช้เครือ่ งมืออย่าง Analytics เพือ่ ดูผลตอบรับ และแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป

ที่มา: businesslinx

www.thaiprint.org


80 KNOWLEDGE

บรรจุภัณฑ์ในยุคโควิด-19 โดย อ.มานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


KNOWLEDGE

81

ในช่วงเวลาวิกฤติของโควิด-19 คอนติเนนตัล ไทยแลนด์ (CPT) โดนผลกระทบแบบที่ไม่เคยเจอมาก่อน ทุกคน ใช้ชีวิตยากล�ำบากขึ้น ต้องปรับตัวในเรื่องการท�ำงาน การรับรู้เรื่องใหม่ ๆ ควรต้องท�ำและพร้อมเดินหน้าต่อ

้ าเรียน รู้จักเรือ ่ งถาด, ภาชนะ เมื่อเวลามันมาถึง วันนีม (กระดาษ) บรรจุสินค้าของกินหลายหน่วยไม่ให้เสียหาย ให้คงรูปเดิมตลอด จนถึงมือผู้บริโภคคนสุดท้าย

งานบรรจุภัณฑ์กระดาษมีความหลากหลายซับซ้อน โดยคน ส่วนมากจะแยกงาน ถาดและภาชนะ ที่ถูกต้องกับการใช้งาน ได้ไม่ชัดเจนหรือไม่ได้สนใจ เลยมองไม่เห็นเงินก้อนโต คงไม่ แจงในรายละเอียด ลองมาดูภาพประกอบและการเล่าอธิบาย จะได้มองเห็นภาพ ส่วนคนที่อยากท�ำงานบรรจุภัณฑ์ให้โต

ต้องดูให้เข้าใจว่าท�ำไมถึงต้องเรียนรู้ลึกไปทั้งขบวนการ ทั้งนี้ เพือ่ ทีจ่ ะได้ออกแบบตัวแพ็คเกจให้โดนใจทุกฝ่ายได้อย่างรวดเร็ว วิ ธี ก ารท� ำ งานเหล่ า นี้ ยิ่ ง รู ้ ม าก ยิ่ ง ท� ำ งานได้ เ สร็ จ เร็ ว ขึ้ น เป็นความสามารถเฉพาะตัว และไม่มีสอนบอกในต�ำรา www.thaiprint.org


82 KNOWLEDGE

Leroy (เลอรอย)

Leroy (เลอรอย) เป็นธุรกิจครอบครัวเก่าแก่ของคนนอร์เวย์ เป็นเจ้าของธุรกิจสัตว์น�้ำทะเล ท�ำฟาร์มเลี้ยงปลาแซลมอน ที่ใหญ่ที่สุดของโลก ในทะเลเหนือและแปซิฟิกตอนใต้ที่ชิลี รวมทั้งท�ำธุรกิจปลาคอต ปลาเทราส์ กุ้งน�้ำเย็น สกิปปี้ อาหาร ทะเลตัดแต่ง ซีฟู๊ดพร้อมกิน ส่งออกครอบคลุมขายทั่วยุโรป และทั่วโลก Leroy จ�ำหน่ายเนื้อปลาทะเลตัดแต่ง ปลาปรุงรส พร้อมรับประทาน บรรจุถาดกระดาษเคลือบพิเศษ PET พิมพ์ดำ� และบรรจุใส่ชองลามิเนทจ�ำหน่าย ก่อนรับประทานจะน�ำเข้า ตู้อบไฟฟ้า หรือตู้อบไมโครเวฟ พร้อมถาดกระดาษ เพื่อปรุงสุก หรืออุน่ ร้อน รับประทานได้ทนั ที CPT เป็นผูอ้ อกแบบท�ำภาชนะ บรรจุ เป็นถาดกระดาษเคลือบพิเศษส�ำเร็จรูปพร้อมใช้งานเมื่อ 3 ปีทแี่ ล้ว ใช้กระดาษคุณภาพอาหารปลอดภัย ทนความร้อนสูง ใช้งานทดแทนถาดพลาสติก ถาดอะลูมิเนียม และถาด C-PET ของเดิม การใช้งานด้วยถาดกระดาษเป็นที่โดนใจและชื่นชอบ ของแม่บา้ นทัว่ ทัง้ ยุโรป ทีร่ งั เกียจพลาสติกและไม่ชอบสารปนเปือ้ น ทีเ่ กิดจากถาดอะลูมเิ นียมเปลือย เมือ่ เจอความร้อนและผิวสัมผัส ความเค็มและความเปรีย้ วของอาหารบรรจุ Leroy จึงมีการสัง่ ใช้ ถาดกระดาษเคลือบต่อเนื่องเพิ่มมากขึ้นทุกปี Nissui (นิสสุย)

Nissui (นิสสุย) เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์อาหารของญีป่ นุ่ มีโรงงาน แปรรูปอาหาร ในเครือหลายประเทศ ในไทยก็มีโรงงานใหญ่ ท�ำยากิโตริ ไก่ย่างหมักซอสพร้อมกิน แช่แข็ง และอาหารอื่น ๆ ส่ ง กลั บ ประเทศญี่ ปุ ่ น และส่ ง ออกต่ า งประเทศ นิ ส สุ ย จะ บรรจุสินค้าอาหารแช่แข็งในถาดกระดาษขนาดใหญ่แข็งแรง ที่ออกแบบพับทบขึ้นรูป ท�ำด้วย food board กระดาษอาหาร ปลอดภัย ได้มาตรฐานตรงตามสไตล์ญปี่ นุ่ CPT ท�ำถาดกระดาษ พิเศษ ทนความร้อนสูงดังกล่าวส่งให้ ใช้ทดแทนการน�ำเข้า จากญี่ปุ่น และมีคุณภาพดีกว่า บริษัทฯ จะห่อบรรจุไก่ย่าง ปรุงรสพร้อมกินและอาหารอื่น ๆ แช่แข็งส่งออกจากไทย ส่งให้ ร้านอาหารและร้านค้าย่อยทั่วทั้งประเทศญี่ปุ่น โดยก่อนกิน จะน�ำเข้าตู้อบร้อนพร้อมถาด ไม่กี่นาทีสุกกินได้เลย เป็นถาด/ ภาชนะกระดาษอาหารปลอดภัยสูงสุด ยิ่งในช่วงปิดประเทศ ทั่วโลก ท�ำให้นิสสุยมีการสั่งซื้อถาดใช้เพิ่มมากขึ้นเป็นเท่าตัว เพื่อใช้แพ็คสินค้าอาหารคุณภาพส่งออกจากไทย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


KNOWLEDGE 83

MERIDIAN CHOCOLAT

MERIDIAN CHOCOLAT เมื่อปีที่แล้ว CPT ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้ออกแบบ โครงสร้างกล่องกระดาษพับขึ้นรูป ใช้บรรจุชิ้นขนมช็อกโกแลตนมสอดไส้ เหล้าบรัน่ ดี จัดท�ำขึน้ เป็นพิเศษออกแบบ พิมพ์สขี นึ้ รูปสวยหรู ดูดมี รี าคา ส�ำหรับ ใช้แจกให้แขกรับเชิญ เนื่องในโอกาสจัดงานเปิดตัวแนะน�ำเหล้าบรั่นดีตัวใหม่ ตรา MERIDIAN ของกลุ่มบิ๊กเบียร์ช้างและบิ๊กเหล้าของไทย ตามกฎหมายไทย สินค้าเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ห้ามไม่ให้มีการโฆษณา เผยแพร่ แสดงออกใดๆ การแนะน�ำสินค้าใหม่ดงั กล่าวจึงต้องหลีกเลีย่ ง โดยใช้เป็นขนมช็อกโกแลต สอดไส้ ใส่เหล้าบรั่นดีนั้นไว้ในตัว บรรจุกล่องพิมพ์ชื่อยี่ห้อ MERIDIAN CHOCOLAT แทนของจริง เป็นการเลี่ยงความผิดทางกฎหมาย เป็นอีกหนึ่งความรู้ใหม่ของ การใช้บรรจุภัณฑ์ มาช่วยเสริมทางการตลาด Packaging for marketing www.thaiprint.org


84 KNOWLEDGE บิ๊กไก่

บิ๊กไก่เบอร์ 1 ของไทยและเบอร์ 3 ของโลก มีเครือข่ายโรงงาน แปรรูปผลิตอาหารพร้อมกิน เกี๊ยวซ่า ขนมจีบ ซาลาเปา และ อื่น ๆ จ�ำหน่ายในประเทศและส่งออก ด้วยแบรนด์ตราสินค้า CP ที่ทุกคนรู้จัก มีชื่อเสียงและคุณภาพดี 1 ระดับอินเตอร์ สินค้าขายในราคาสูงกว่าทั่วไป การห่อบรรจุสินค้าอาหาร แช่ แข็ ง ในถาดกระดาษเคลื อ บ food grade เป็ น อาหาร ปลอดภัย เพื่อรักษาคุณภาพและมาตรฐานสินค้าสูงสุด CPT เป็นผู้ออกแบบถาดกระดาษด้วยโครงสร้างแข็งแรงกว่าปรกติ พร้อมน�ำไปใช้งานได้ทันที ด้วยมาตรฐาน GMP ใช้งานสะดวก และปลอดภัย 100% CPT มีสว่ นช่วยในการห่อบรรจุและน�ำพา สินค้าอาหารของไทยคุณภาพดีจ�ำหน่ายในไทยและส่งออก ด้วยมาตรฐานระดับโลก

ถาดตะแกรงกระดาษ ใช้ แ ทนถาดเหล็ ก โลหะปลอดสนิ ม ในการอุน่ อาหารร้อนบริการผูโ้ ดยสารบนเครือ่ งบิน ใช้งานสะดวก มีนำ�้ หนักเบา โดยรวมจะหนักเพียงแค่ 2-3 % ของถาดตะแกรง เหล็กสเตนเลส ท�ำให้ประหยัดน�้ำหนักระวางขนขึ้นไปใช้งาน บนเครือ่ ง และขนลงส่งกลับไปล้างในครัวภาคพืน้ ดิน เพือ่ เอามา ใช้ใหม่ คิดแล้วจะสามารถลดน�ำ้ หนักระวางได้ในแต่ละเทีย่ วบิน เป็นร้อย ๆ กิโลกรัม ตะแกรงถาดกระดาษใช้งานสะดวก ใช้แล้ว ทิ้งไม่ต้องล้าง สะอาด อนามัย ด้วยมาตรฐาน GMP มีการสั่งไป ใช้งานเพิม่ มากขึน้ ตลอด และจะใช้เพิม่ มากขึน้ เป็นหลายเท่าตัว หลังการบินทั่วไปกลับมาบินเป็นปกติ ถาดตะแกรงกระดาษ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

ดังกล่าว ถือเป็นสิ่งประดิษฐ์และทรัพย์สินทางปัญญาของ CPT ครอบคลุมและคุ้มครองด้วย สิทธิบัตรทั่วโลก ในทางตรงกันข้าม สินค้าอาหารที่เป็นการว่าจ้างผลิตจ�ำหน่าย ในชื่อยี่ห้อของตัวเอง (private brands) และสินค้าส่งออก เกรดสอง ซึ่งเน้นผลิตสินค้าเน้นราคาต�่ำอย่างเดียว ไม่สนใจ คุณภาพและมาตรฐานอาหารปลอดภัย จะเลือกใช้ถาดบรรจุ ท�ำด้วยกระดาษฟอกขาวธรรมดา (Bleaching & Brightening agents) ที่เปื่อยยุ่ยง่ายเมื่อโดนความชื้น ไม่ใส่ใจเรื่อง Food board / Food grade / Food safety ท�ำต้นทุนสินค้า ให้ต�่ำอย่างเดียว


KNOWLEDGE 85

ที่จริงยังมีถาด, ภาชนะกระดาษประเภทอื่น ๆ อีกมาก ที่รอ การประดิษฐ์คิดท�ำเพื่อสร้างตลาดใหม่ๆหรือน�ำเสนอเพิ่มเป็น ทางเลือกที่ดีกว่าให้ผู้ซื้อ สร้างโอกาสใหม่ ๆ ทางธุรกิจ การเล่า อธิบายนี้ไม่ได้เป็นเรื่องเกินเลยจริง และไม่ได้เกี่ยวกับเรื่อง การพิมพ์งานได้สวย มันเป็นเรื่องของการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ที่คนท�ำงานทางด้านนี้จะต้องคิดเป็น ศึกษาและหาทางท�ำ ต่อยอดให้ได้ เพราะมันคืออนาคต

เป็นปกติ การบริการอาหารบนเครื่องบินจะมีการปรับเปลี่ยน ไปจากเดิม เชื่อว่าภาชนะกระดาษจะเป็นตัวแปรหลักที่จะ เข้ามาเติมเต็มให้แน่นอน

CPT เป็นผู้ผลิตถาดกระดาษก่อนใคร รู้และเข้าใจเรื่องงาน บรรจุภัณฑ์กระดาษและได้ผ่านงานการผลิตมาแล้วแทบทั้งสิ้น หลังหยุดการระบาดของโควิด-19 พร้อมน�ำบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษ แปลก ๆ ใหม่ ๆ แนะน�ำให้รู้จักกัน โลหะอะลูมเิ นียมเปลือย (ไม่เคลือบผิว) เมือ่ โดนความร้อน น�ำไป ห่ออาหาร ปิ้ง ย่าง อบ ด้วยความร้อน มันจะคลายสารพิษ ปนเปื้อนติดเข้าไปกับอาหารเข้าสู่ร่างกาย สะสมท�ำให้เกิด โรคทางสมอง ความจ�ำเสือ่ ม และโรคทางกระดูก องค์กรสุขภาพ ระดับโลก Who ได้ออกมาเตือน เราทราบดีว่าโลหะแต่ละชนิดจะแปรเปลี่ยนสภาพหรือผุกร่อน เมื่อสัมผัส ความร้อน ความเปียกชื้น ความเค็ม ความเปรี้ยว โลหะทุ ก ชนิ ด ให้ คุ ณ สมบั ติ ใ นการป้ อ งกั น การซึ ม ผ่ า นได้ ดี แต่ ล ะชนิ ด ให้ ค วามเหมาะสมในการใช้ ง านที่ ไ ม่ เ หมื อ นกั น โลหะอะลูมิเนียมใช้งานได้ดีในอุตสาหกรรมอาหาร แต่ก็มีโทษ เช่นเดียวกัน ถ้าน�ำมาใช้งานทีไ่ ม่ถกู ต้อง ในบ้านเรามีการน�ำแผ่น อะลูมิเนียมบางเปลือยมาห่อปลา หมู เนื้อ ไก่ หัวมัน ย่างอบไฟ ให้สุกร้อน เป็นการใช้ผิด ๆ มาตลอด แต่ไม่ได้มีการกล่าวเตือน ใด ๆ จากผู้เกี่ยวข้อง ในขณะที่ผู้ใช้งานระดับบิ๊ก ๆ ได้ทยอย ปรับเปลี่ยนไปเป็นกระดาษ หวังว่าต่อไปหน่วยงานของรัฐฯ คงจะต้องให้ความรู้แก่ผู้ใช้งานได้อย่างถูกต้อง แต่ก็ต้องระวัง อย่าให้เกิดความสับสน เพราะโลหะอะลูมเิ นียมให้คณ ุ ประโยชน์ มหาศาลในทุกอุตสาหกรรม วันนีเ้ หลือการใช้ถาดอะลูมเิ นียมเสิรฟ์ อาหารร้อนบริการในบาง สายการบิน เพราะมีราคาถูกสุด เชื่อว่าต่อไปคงจะถูกห้ามใช้ เพราะแพทย์พิสูจน์แล้วว่ามีสารพิษปนเปื้อน ต่อไปจะเหลือแต่ ถาดพลาสติก C-Pet และถาดกระดาษเคลือบ CPT มองเห็น แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงก่อนหน้าและด้วยประสบการณ์ ที่ มีการผลิ ตงานกระดาษมาหลายสิบปี จนสามารถพัฒนา เครื่องจักรผลิตงานถาดกระดาษเองได้ทุกรูปแบบ และได้ผลิต ถาดกระดาษก่อนใคร และได้ผลิตให้กับหลายสายการบินใช้ ด้วยรูปแบบใหม่ ๆ ให้เป็นทางเลือกใหม่ เชือ่ ว่าหลังเปิดให้มกี ารบิน

รู้เรื่องภาชนะ / ถ้วยพลาสติก​Multilayer ใช้บรรจุสินค้าอาหารปิดสนิท เข้าสตรีมฆ่าเชื้อ​ Retort แทนกระป๋องโลหะ

ไทยเราส่งออกสินค้าปลาปรุงรสพร้อมกินส�ำหรับแมว, สุนขั และ ผลไม้ตดั แต่งในน�ำ้ เชือ่ ม เป็นรายใหญ่สดุ ของโลก ทีว่ นั นีไ้ ด้ปรับ เปลี่ยนการบรรจุในกระป๋องโลหะเคลือบ ไปเป็นถ้วย, กระปุก พลาสติก Multilayer แทน เพราะมีนำ�้ หนักเบา ซ้อนได้ไม่กนิ ที่ ราคาถูกกว่า ใช้งานได้ดีกว่ากระป๋องโลหะ เป็นงานส่งออกเป็น อันดับหนึง่ ปีหนึง่  ๆ มีเป็นพัน ๆ ล้านหน่วย EKAPACK ได้สว่ นแบ่ง การตลาดไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 75 เพราะท�ำมานานก่อนหน้า VISIPACK หลายปี ผูม้ าทีหลังสัญชาติออสเตรียมาลงทุนในไทย คาดการณ์ ตลาดผิดพลาดขาดทุนบานตะไทและฟื้นตัวได้ยาก สู้ทาง EKA ไม่ได้เลย งานภาชนะพลาสติกนี้ ถ้าจะมีเจ้าที่ 3 ในไทย คงเกิด ได้ยาก เพราะจะต้องมีความรู้ในเรื่องท�ำโมลด์แม่พิมพ์ และ ใช้เงินลงทุนในเครื่องจักรสูงมาก และอีกส่วนส�ำคัญ จะต้อง รั บ ผิ ด ชอบจั ด หาให้ ค รบเสร็ จ ในเรื่ อ งฝารี ด ปิ ด ถ้ ว ยให้ กั บ ผูใ้ ช้ดว้ ย เพราะมันมีความพิเศษไม่เหมือนทัว่ ไป อาจจ�ำเป็นต้อง มีโรงพิมพ์ท�ำฝาซีลปิดของตนเอง และต้องมีกรรมวิธีการผลิต ลับเฉพาะ พวกที่จะลงทุนท�ำถ้าไม่ครบวงจร และต้องใช้เงินกู้ อย่าได้คิดท�ำ เพราะมีคนเจ็บตัวมาแล้ว www.thaiprint.org


86

NEWS

Fuji Xerox Webinar The Series “Business Continuity in The New Normal”

เพราะธุรกิจรอไม่ได้ ไม่ว่าสถานการณ์จะเป็นอย่างไร ท่ามกลางความไม่แน่นอนของปัญหาต่าง ๆ ที่ถาโถม เข้ า มา การเตรี ย มพร้ อ มจึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ อย่ า งยิ่ ง ่ นแปลงนี้ แล้วธุรกิจของคุณหล่ะพร้อมรึยง ั กับการเปลีย ่ นแปลงทีจ ่ ะกลายเป็นความปกติรป ความเปลีย ู แบบใหม่ หรือ The New Normal ด้วยเหตุผลทั้งหมดที่กล่าว ไปในข้างต้น ฟู จิ ซีร็อกซ์ ประเทศไทย จึงมีแนวคิด ในการจัดสัมมนาออนไลน์ หรือ Webinar ในหัวข้อต่าง ๆ เป็นประจ�ำทุกวัน ให้ทก ุ ท่านได้มโี อกาสได้เข้าฟังในทุก ๆ เรื่ อ งที่น่ า สนใจและเป็ น ประโยชน์ ต่ อ องค์ ก รของท่ า น ในด้านต่าง ๆ ได้แก่

• Print Tech Talk หัวข้อสัมนาทีเ่ หมาะกับผูป้ ระกอบการธุรกิจ สิ่งพิมพ์ และผู้ให้บริการงานพิมพ์ โดยมีหัวข้อที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้ 1. วิธีปกติแบบใหม่ของนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ ตอนที่ 1 (New Normal of Packaging Innovation Ep. 1) วันที่ 4 สิงหาคม 2563 2. วิธีปกติแบบใหม่ของนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ ตอนที่ 2 (New Normal of Packaging Innovation Ep. 2) วันที่ 11 สิงหาคม 2563 3. ถึงเวลาของ Web to Print (“W2P” The Time is Now) วันที่ 18 สิงหาคม 2563 4. ประโยชน์ ข อง Omnichannel Marketing (Benefits of Omnichannel Marketing) วันที่ 25 สิงหาคม 2563 นอกจากนี้ Fuji Xerox ยังมีงาน Webinar อืน่ ๆ ทีท่ า่ นสามารถน�ำไป ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานให้เป็นดิจทิ ลั อาทิ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

• การปรับปรุงกระบวนการท�ำงานในองค์กรด้วย Kintone ซอฟต์แวร์ส�ำหรับการจัดการข้อมูลที่สามารถสร้างรายงาน อัปเดต และแบ่งปันให้กับทีมงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว รวมถึงการสร้าง Workflow การท�ำงานส�ำหรับโครงการพิเศษ หรือ ประจ�ำ ที่สามารถสรุปผลหรือรายงานให้อยู่ในรูปแบบที่ คุณต้องการอย่างแท้จริง เช่น กราฟ หรือ ชาร์ต ในแบบต่าง ๆ • กระบวนการท�ำงานอัตโนมัติ หรือ Robotic Process Automation (RPA) น�ำมาประยุกต์ใช้ในองค์กรได้อย่างไร เพือ่ ช่วยลดการผิดพลาดและเพิม่ ชัว่ โมงการท�ำงานให้ยาวนานขึน้ ไม่ว่าจะในแผนกการเงินและบัญชี ธุรกิจโลจิสติก หรือธุรกิจ ยานยนต์ เป็นต้น • การเปลี่ยนผ่านการท�ำงานในองค์กรให้เป็นดิจิทัล ด้วย Light Communication Tool (LCT) โดยเรียนรู้จากการ ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานดิจิทัลในธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจให้ ค�ำปรึกษา และธุรกิจโลจิสติก เป็นต้น • ปรับปรุงกระบวนการการฝึกอบรมให้อยู่รูปแบบใหม่ด้วย Techme Biz ช่วยให้ผู้อบรมสามารถเรียนรู้ได้จากทุกที่ ทุกเวลาตามความต้องการ • Newline อินเตอร์แอคทีฟ ดีสเพลย์ ทีเ่ ข้ามาเปลีย่ นการประชุม ในองค์กร การเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบใหม่ที่ทันสมัย รวดเร็ว และไร้รอยต่อ สามารถติดตามและลงทะเบียน เข้าร่วมงาน Fuji Xerox Webinar The Series ได้ทุกหัวข้อ โดยสแกน QR Code นี้ค่ะ


เครื่องพิมพดิจิทัลที่รองรับการพิมพ สูงสุดพรอมกันถึง 6 สีในครั้งเดียว

พรอมนวัตกรรมใหม

สีชมพูชนิดพิเศษ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการพิมพสีในงานพิมพดิจิทัล

Iridesse

TM

Production Press Beyond Imagination FujiXeroxThailand

www.fujixerox.co.th

Say Hello to a New

Pink Ink A Sweeter way to Stand out.

Stand out from the crowd with Gamut-Extending Specialty Colour for the Iridesse Production Press. Get noticed with many more vibrant new colour Combinations using Pink Ink, including pastels, neons and Iridescent glows. It’s delicious time to rethink what’s possible.

บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จำกัด

123 อาคารซันทาวเวอรส เอ ชั้น 23-26 ถ.วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Website : www.fujixerox.co.th Email : css@tha.fujixerox.com ติดตอไดที่ 02-660-8400


88 INDUSTRIAL

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ ประเภทหนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560 - 2563 (ม.ค. - พ.ค.)

Photo by Ajda Berzin on Unsplash

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


INDUSTRIAL 89

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560 - 2563 (ม.ค. - พ.ค.)

อันดับ ที่

ประเทศ

มูลค่า : ล้านบาท 2561 2562 2562

2560

1 ฮ่องกง 368.71 403.53 2 กัมพูชา 114.00 187.96 3 สหรัฐอเมริกา 141.94 140.46 4 ฟิลิปปินส์ 109.21 519.87 5 ญี่ปุ่น 248.71 206.86 6 อินโดนีเซีย 346.62 229.88 7 เวียดนาม 101.90 145.55 8 จีน 32.05 28.83 9 เมียนมา 56.83 95.04 10 ลาว 39.18 40.44 11 สิงคโปร์ 69.31 97.67 12 มาเลเซีย 88.64 118.90 13 ศรีลังกา 14.31 15.10 14 อินเดีย 61.94 45.20 15 ฝรั่งเศส 10.70 12.37 16 สหราชอาณาจักร 151.41 50.10 17 เบลเยี่ยม 14.01 19.60 18 ออสเตรเลีย 40.73 36.57 19 เยอรมนี 77.53 35.77 20 เกาหลีใต้ 19.00 19.92 รวม 20 รายการ 2,106.7 2,449.6 รวมอื่นๆ 192.7 195.3 2,299.41 2,644.97 รวมทุกประเทศ

อัตราขยายตัว (%) 2563 2560 2561 2562 2562 2563 2560 (ม.ค.-เม.ย.) (ม.ค.-เม.ย.) (ม.ค.- เม.ย.) (ม.ค.- เม.ย.) 541.89 184.76 139.56 25.40 9.44 34.28 47.15 -24.46 16.03 187.23 87.57 75.53 -2.88 64.87 -0.39 4.49 -13.76 4.96 186.09 63.31 72.57 -21.35 -1.04 32.49 124.05 14.61 6.17 168.27 70.00 58.63 -13.39 376.05 -67.63 -82.64 -16.24 4.75 205.57 76.49 56.86 29.36 -16.83 -0.63 16.11 -25.66 10.82 108.18 48.04 44.02 3.38 -33.68 -52.94 -56.57 -8.38 15.07 69.37 31.81 26.80 -12.51 42.83 -52.34 -3.12 -15.74 4.43 36.80 12.32 24.33 -5.56 -10.05 27.66 -1.62 97.51 1.39 118.78 79.84 19.45 -5.39 67.22 24.98 57.52 -75.64 2.47 67.30 28.03 18.42 -43.20 3.22 66.43 117.87 -34.29 1.70 74.69 30.12 17.53 -27.71 40.91 -23.53 -26.75 -41.81 3.01 83.23 13.87 13.02 -12.66 34.14 -30.00 -36.93 -6.09 3.85 27.62 13.12 11.21 -7.29 5.54 82.92 62.69 -14.56 0.62 48.87 23.22 11.06 25.33 -27.03 8.12 -12.39 -52.39 2.69 17.52 6.97 10.62 -14.91 15.55 41.68 69.82 52.33 0.47 66.22 27.63 10.30 -20.40 -66.91 32.18 104.22 -62.70 6.58 26.41 11.81 8.86 -51.53 39.87 34.75 192.70 -24.98 0.61 33.13 11.26 7.16 7.83 -10.22 -9.40 -12.79 -36.39 1.77 29.30 11.33 6.70 22.88 -53.86 -18.09 6.11 -40.89 3.37 22.33 14.79 4.83 262.40 4.84 12.11 92.43 -67.31 0.83 2,118.8 846.3 637.5 -0.86 16.28 -13.51 -21.41 -24.68 91.62 200.9 82.8 44.6 -18.16 1.39 2.86 17.48 -46.16 8.38 2,319.71 929.05 682.01 -2.58 15.03 -12.30 -19.02 -26.59 100.00

สัดส่วน (%) 2561 2562 2562 2563

(ม.ค.- เม.ย.) (ม.ค.- เม.ย.)

15.26 23.36 19.89 20.46 7.11 8.07 9.43 11.07 5.31 8.02 6.81 10.64 19.66 7.25 7.53 8.60 7.82 8.86 8.23 8.34 8.69 4.66 5.17 6.45 5.50 2.99 3.42 3.93 1.09 1.59 1.33 3.57 3.59 5.12 8.59 2.85 1.53 2.90 3.02 2.70 3.69 3.22 3.24 2.57 4.50 3.59 1.49 1.91 0.57 1.19 1.41 1.64 1.71 2.11 2.50 1.62 0.47 0.76 0.75 1.56 1.89 2.85 2.97 1.51 0.74 1.14 1.27 1.30 1.38 1.43 1.21 1.05 1.35 1.26 1.22 0.98 0.75 0.96 1.59 0.71 92.61 91.34 91.09 93.47 7.39 8.66 8.91 6.53 100.00 100.00 100.00 100.00

่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ทีม

ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิง ่ พิ มพ์ พ.ศ. 2563 (ม.ค. - พ.ค.)

ฮ่องกง

สหรัฐอเมริกา

ล้านบาท

ล้านบาท

139.56

72.57

กัมพูชา

75.53

ล้านบาท

ล้านบาท

58.63

3

อินโดนีเซีย

44.02

12

13

5 14

7 16

17

ฝรั่งเศส

เบลเยี่ยม

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

ล้านบาท

มาเลเซีย

13.02 ล้านบาท

10.62

อินเดีย

11.06 ล้านบาท

18.42 ล้านบาท

8

ศรีลังกา

11.21

ลาว

24.33

สิงคโปร์

17.53

ล้านบาท

ล้านบาท

6 15

19.45

จีน

ล้านบาท

4

เมียนมา

26.80

ล้านบาท

2 11

เวียดนาม

56.86

ฟิลิปปินส์

ล้านบาท

1

ญี่ปุ่น

9 18

18

20

เยอรมนี

8.86

6.70

สหราชอาณาจักร

ออสเตรเลีย

ล้านบาท

ล้านบาท

10.30

10

7.16

ล้านบาท

เกาหลีใต้

4.83 ล้านบาท

www.thaiprint.org


90

NEWS

Special Talk เทรนด์การออกแบบ ผลิตภัณฑ์และสร้างแบรนด์ โดย กลุ่มอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ วันที่ 2 กรกฎาคม 2560 กลุ ่ ม อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ จั ด กิ จ กรรม Special Talk ในหัวข้อ “เทรนด์การออกแบบผลิตภัณฑ์และ สร้ า งแบรนด์ ” วั น พฤหั ส บดี ที่ 2 กรกฎาคม 2563 เวลา 13.00-14.00 น. ซึ่งเป็นการจัดสัมมนา ในรูปแบบการประชุม ทางไกลผ่านโปรแกรม Zoom และเฟซบุ๊กไลฟ์ เพื่อเปิดโอกาส ให้ผู้สนใจเข้าร่วมงานได้อย่างกว้างขวาง ได้รับการตอบรับ เป็นอย่างดีจากผู้ที่สนใจ โดยมีคุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

นายกสมาคมการพิมพ์ไทย – ประธานกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์, คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม – ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการพิมพ์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และ คุณกร เธียรนุกุล – CEO & Founder ของ Wawa Pack และประธานกลุ่ม Young Printer ร่วมเป็นวิทยากรร่วมแชร์ไอเดียเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และการสร้างแบรนด์ว่าเทรนด์ไหนที่สามารถซื้อใจผู้บริโภค ในปัจจุบันได้


NEWS

91

่ อ ่ ง บรรจุภณ ั ฑ์มค ี วามส�ำคัญต่อสินค้า จึงมีความจ�ำเป็นทีต ้ งเน้นในเรือ 1. การดีไซน์ การใช้งาน มีความแข็งแรงและสามารถปกป้องสินค้าได้ 2. เทคนิคในด้านพิ มพ์ พิ มพ์ อย่างไรให้สวยงามและสร้างมูลค่าเพิ่ ม 3. ต้นทุนในการผลิตบรรจุภัณฑ์ คุ ณ พงศ์ ธี ร ะ พั ฒ นพี ร ะเดช ได้ ก ล่ า วถึ ง ความส� ำ คั ญ และ ภาพรวมของกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ที่เป็น Supporting Industry บรรจุภัณฑ์มีความส�ำคัญต่อสินค้า จึงมีความจ�ำเป็นที่ต้องเน้นในเรื่อง 1. การดีไซน์ การใช้งาน มีความแข็งแรงและสามารถปกป้องสินค้าได้ 2. เทคนิคในด้านพิมพ์ พิมพ์อย่างไรให้สวยงามและสร้างมูลค่าเพิ่ม และ 3. ต้นทุน ในการผลิตบรรจุภัณฑ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์เติบโตไปตาม GDP ของ ประเทศ ได้รับผลกระทบจากวิกฤตการณ์โควิด-19 ไม่ต่างจาก อุตสาหกรรมอื่น ๆ แต่ในด้านบรรจุภัณฑ์กลับเติบโต เนื่องจาก การล็อคดาวน์ประเทศที่ต้องอาศัยโซเชียลเข้ามาช่วยในการ ประกอบธุรกิจ

เพราะวิกฤตการณ์ โควิด-19 ท�ำให้เกิด Social Distancing การเดินทางออกไปซื้อสินค้าของ ผูบ ้ ริโภคมีนอ ้ ยลง หรือไม่สามารถ ออกไปซื้อได้เลยในบางสินค้า ส่งผลให้ E-Commerce ตอบโจทย์ในข้อนี้ได้มากขึ้น

คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ได้กล่าวถึงเทรนด์การดีไซน์ บรรจุภัณฑ์ที่น่าสนใจในปัจจุบัน โดยแยกเป็นสองช่วง คือ ช่วงก่อนวิกฤติการณ์โควิด-19 ซึ่งบรรจุภัณฑ์ทั่วโลกจะเน้น ในเรื่ อ งของสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ Eco Packaging และ Innovation Packaging นวัตกรรมในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ และสิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ ไม่ น ้ อ ยไปกว่ า กั น คื อ ประสบการณ์ ข อง ผู้บริโภค ประสบการณ์ของผู้บริโภคจะมีส่วนช่วยในการสร้าง บรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูดมากยิ่งขึ้น ส่วนเทรนด์ของบรรจุภัณฑ์ หลังช่วงวิกฤติการณ์โควิด-19 จะเป็นทางด้านของ Food Packaging และบรรจุภัณฑ์ประเภท Universal Design หรือบรรจุภัณฑ์ที่สามารถใช้ได้กับทุกกลุ่มคน ซึ่งเป็นกระแส ที่มาแรงมากในปัจจุบัน คุณกร เธียรนุกุล ได้แชร์ข้อมูลด้านการเลือกซื้อหรือผลิต บรรจุภัณฑ์ผ่านทางออนไลน์ เพราะวิกฤติการณ์โควิด-19 ท�ำให้เกิด Social Distancing การเดินทางออกไปซือ้ สินค้าของ ผูบ้ ริโภคมีนอ้ ยลง หรือไม่สามารถออกไปซือ้ ได้เลยในบางสินค้า ส่งผลให้ E-Commerce ตอบโจทย์ในข้อนี้ได้มากขึ้น www.thaiprint.org


92 INDUSTRIAL

THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


INDUSTRIAL 93

www.thaiprint.org


94

INTERVIEW

Digital Disruption และ New Normal เราจะปรับตัวอย่างไร ให้รอด... เมื่อโลกก�ำลังปั่นป่วน โดย คุณพณชิต กิตติปัญญางาม นายกสมาคม Thailand Tech Startup Association สมาคมการค้าเพื่ อส่งเสริมผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126


INTERVIEW

ความเปลี่ยนแปลงเป็นวิถีชีวิตใหม่ในสังคม New Normal ที่เราพบเห็นตั้งแต่ก้าวออกจากบ้าน ไม่ว่าจะเป็นการสวม หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยก่อนออกจากบ้าน การท�ำงาน ออนไลน์ Work from Home การเรียนออนไลน์ อาคาร สถานที่ตั้งจุดคัดกรอง จุดบริการเจลแอลกอฮอล์ก่อนเข้าร้าน ร้ า นอาหารนั่ ง แยกโต๊ ะ และซื้ อ กลั บ มารั บ ประทานที่ บ ้ า น การใช้ธุรกรรมออนไลน์ รวมไปถึงการใช้บริการ Delivery มากขึ้น สิ่งนี้คือปรับตัวของบุคคลทั่วไป แต่ในส่วนของการ

95

ปรับตัวของผู้ประกอบธุรกิจนั้น คุณพณชิต กิตติปัญญางาม นายกสมาคม Thailand Tech Startup Association สมาคมการค้าเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่ ได้ ใ ห้ เ ล่ า ไว้ ใ น Young Printer Talk ครั้ ง ที่ 1 ในหั ว ข้ อ “Digital Disruption และ New Normal เราจะปรับตัว อย่างไรให้รอด... เมือ่ โลกก�ำลังปัน่ ป่วน” ซึง่ มีคณ ุ กร เธียรนุกลุ ประธาน Young Printer เป็นผู้ด�ำเนินรายการ ไว้ได้อย่าง น่าสนใจ

สมาคมการค้าเพื่ อส่งเสริม ผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่

(Thailand Tech Startup Association)

เพื่ อช่วยพั ฒนาผู้ประกอบการ หน้าใหม่ในวงการเทคโนโลยี และสร้างคอมมิวนิตใ้ี ห้เป็นปึกแผ่น

ท�ำความรู้จักสมาคมการค้าเพื่ อส่งเสริมผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่

“สมาคมการค้ า เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ผู ้ ป ระกอบการเทคโนโลยี รายใหม่” หรือ Thailand Tech Startup Association เพื่อช่วยพัฒนาผู้ประกอบการหน้าใหม่ในวงการเทคโนโลยี และสร้างคอมมิวนิตี้ให้เป็นปึกแผ่น ธุรกิจเทคโนโลยีรายใหม่ หรือ Tech Startup ก�ำลังมีบทบาท ส� ำ คั ญ ในยุ ค Creative Economy ซึ่ ง นอกจากความคิ ด สร้างสรรค์แล้ว เทคโนโลยียงั เป็นแรงขับเคลือ่ นให้ธรุ กิจยุคใหม่ มีรปู แบบการด�ำเนินธุรกิจ หรือ Business Model ทีแ่ ตกต่างไป มี ต ลาดที่ ใ หญ่ ขึ้ น และสร้ า งการเปลี่ ย นแปลงให้ กั บ สั ง คม

ได้มากขึ้น วันนี้ Tech Startup ไทยก�ำลังเติบโต และเป็น ทีจ่ บั ตามองในระดับภูมภิ าค ดังนัน้ การรวมกลุม่ ผูป้ ระกอบการ ธุรกิจเทคโนโลยีรายใหม่ แลกเปลีย่ นความรู้ และสร้างการเชือ่ มโยง กั บ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ จะท� ำ ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม อย่างก้าวกระโดด ไม่จำ� เป็นต้องเป็น Silicon Valley เหมือนใคร เราจะรวมตัวกันสร้างค�ำว่า Startup Thailand ด้วยจุดแข็ง ของผู้ประกอบการ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ และโอกาสมากมาย ทั้งในประเทศไทยและอาเซียน

www.thaiprint.org


96

INTERVIEW

New Normal สามารถเกิดขึ้นได้ในทุก ๆ วัน แม้จะไม่มีวิกฤติโควิด-19 แต่เมื่อเกิดวิกฤตินี้ส่งผลให้ เกิดข้อก�ำจัดบางอย่าง ซึ่งอาจจะไม่ถึงขั้นเปลี่ยน จากหน้ามือเป็นหลังมือ ดังนั้น จึงต้องหา New Normal จากวิสัยทัศน์ของเราเอง จะส่งผลให้เกิด Vision ในรูปแบบของเราเอง

ความคิดเห็นเกี่ยวกับค�ำว่า New Normal

เรื่องนี้แบ่งได้เป็นสองส่วน คือ ในเรื่องของเทคโนโลยี และเรื่อง ของ Motive หรือแรงจูงใจของเงื่อนไขของเทคโนโลยีที่จะมา อยู่ในยุค New Normal คือ ดิจิทัล เนื่องจากต้องใช้ช่องทาง ออนไลน์มากขึ้น ส่วนในเรื่องของแรงจูงใจนั้น จะต้องมองว่า มนุษย์เรามีแรงจูงใจอะไรบ้าง เมือ่ มองทัง้ สองส่วนนีแ้ ล้วจะเห็น โอกาส มองเห็นปัญหา และใช้ความรู้ความสามารถที่มีแก้ไขให้ ดีกว่าเดิม มอง New Normal ในมุมมองของตัวเองที่คนอื่น อาจจะไม่เห็น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 126

New Normal สามารถเกิดขึ้นได้ในทุก ๆ วัน แม้จะไม่มีวิกฤติ โควิด-19 แต่เมื่อเกิดวิกฤตินี้ส่งผลให้เกิดข้อก�ำจัดบางอย่าง ซึ่ ง อาจจะไม่ ถึ ง ขั้ น เปลี่ ย นจากหน้ า มื อ เป็ น หลั ง มื อ ดั ง นั้ น จึงต้องหา New Normal จากวิสัยทัศน์ของเราเอง จะส่งผล ให้เกิด Vision ในรูปแบบของเราเอง


INTERVIEW

97

การปรับตัวของธุรกิจ Start up และการอยู่ให้รอดหลังวิกฤติโควิด-19

น�ำเทคโนโลยีที่มีอยู่ในมือมาประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์ ปัจจุบนั ยกตัวอย่างเช่น Event Pop ทีป่ กติรบั จองตัว๋ คอนเสิรต์ แต่เมื่อไม่มีการจัดคอนเสิร์ต ก็ปรับรูปแบบเป็นการจองคิวจอง อาหารแทน ทุกธุรกิจได้รับผลกระทบ แต่ขึ้นอยู่กับว่าใครจะ สามารถน�ำเทคโนโลยีที่มีอยู่มาปรับใช้ได้มากกว่ากัน

Designed by rawpixel.com / Freepik

วิกฤติโควิด-19... สิ่งนี้ท�ำให้ต้องมองตัวเอง และกลับมาพั ฒนาให้ ความสามารถเพิ่ มมากขึ้น ยิ่งไปกว่าเดิม เพราะถ้าไม่เรียนรู้ จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เลย ภัยที่เกิดขึ้นมีสาระ มีข้อมูล มีไอเดียหลาย ๆ อย่าง ที่ซ่อนอยู่ในนั้น ดังค�ำที่ว่า “ในวิกฤติ มีโอกาส” อาจจะ ท�ำให้มองเห็น New S-Curve ของ Family Business ของเราก็ได้ ไม่ใช่ตลาดเดิม เป็นตลาดใหม่ที่ใช้ของที่มีอยู่เดิม ในการพลิกออกมา

ปัจจุบันนี้มี Tools หรือเครื่องมืออยู่มากมาย ต้องดึงมาใช้ และเข้าใจให้ลกึ ซึง้ ในสิง่ ทีต่ วั เองมี พยายามใช้และควบคุมให้ได้ วิกฤติโควิด-19 ตัดความไม่จ�ำเป็น ตัดความไร้สาระออกไป และมองว่าอะไรคือสิ่งที่จ�ำเป็นจริง ๆ และอะไรที่จ�ำเป็นต้อง ท� ำ จริ ง  ๆ สิ่ ง นี้ ท� ำ ให้ ต ้ อ งมองตั ว เองและกลั บ มาพั ฒ นาให้ ความสามารถเพิ่มมากขึ้นยิ่งไปกว่าเดิม เพราะถ้าไม่เรียนรู้ จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เลย ภัยที่เกิดขึ้นมีสาระ มีข้อมูล มีไอเดียหลาย ๆ อย่างที่ซ่อนอยู่ในนั้น ดังค�ำที่ว่า “ในวิกฤติ มีโอกาส” อาจจะท�ำให้มองเห็น New S-Curve ของ Family Business ของเราก็ได้ ไม่ใช่ตลาดเดิม เป็นตลาดใหม่ที่ใช้ ของที่มีอยู่เดิมในการพลิกออกมา ไม่ยึดติดว่าต้องเป็นแบบนี้ พยายามของหา Value ใหม่ ๆ ตั้งค�ำถามกับสิ่งนั้นให้มาก จะท�ำให้เห็นโอกาสที่จะหมุนตัวเองไปได้ สามารถติดตาม Young Printer Talk ย้อนหลังได้ที่ Facebook fanpage: The Thai Printing Association

www.thaiprint.org


EFOLD 650 / 900 / 1100 / 1350 / 1450 Automatic Folder Gluer (C3, C6)

ETERNA

A Bobst Group Company

THE PREMIUMLINE CONCEPT

SGZ-UV 500X-A / 740X-A

BK3 1713 / 2513 / 2517

Small Automatic UV Coating Machine

High Speed Digital Cutting Systme

* Spot Micro Coater Machine * Powder Removing Machine * Automatic Digital Inkjet Printing Machine * Automatic High-precise Film Laminating Machine * Semi-automatic Thermal film Laminating Machine

PK Plus 0604 / 0705 Automatic Intelligent Cutting System

ZJR-330 / 450

DX-1400

Flexo Printing Machine

Auto High Speed Flute Laminator

ZX-320 / 450

Intermittent Label Offset Printing Machine

SJ 600

Automatic Rigid Box Making Machine

Fully Automatic Exercise book Machine * Automatic Exercise Book Binding Machine * Automatic Reel to Sheet Machine * Automatic Counting and Folding Machine

PC-500 S / 500 D

Super Pureness Clean

Cut size Sheeter Machine

Consumable Parts

Top-One ECO Series

Fountain solution Refrigerating Circulator

Ultra ACE

Ultra Sonic System

Anti-Marking Paper

Ink Duct Foil

Wash-up Blades

Eliminator

Polaris Series

Roller Temperature Controller

Rubber Sucker

Super Blue


บจก.สุพรชัย จ�ำกัด

SUPORNCHAI Co.,Ltd

เครื่องปะหน้าต่าง เข้ามุม มีเส้นพับ ปะ 2 ช่อง

MODEL

เครื่องปะกบออโต้

Max.Paper size Min.Paper size Upper paper thickness Bottom paper thickness

mm mm g/m2 g/m2

1200x720 450x490 80-1200 160-3000

Hot stamping ปั๊มฟอยล์ Laminating เคลือบลาสติกเงา/ด้าน Spot UV งานเคลือบ Spot UV Die Cutting & Patching ปั๊มขาด+ปั๊มนูน Blister pack varnish

UV Vanishing งานเคลือบยูวี Calendering ขัดเงา Embossing งานปั๊มนูนปั๊มจม Gluning &Mounting ปะข้าง + ปะก้น / ปะประกบ

บริษทั สุพรชัย จ�ำกัด 30 หมู่ 4 ถ.ศรีวารีนอ้ ย-ลาดกระบัง ต.ศีรษะจรเข้นอ้ ย อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10540 โทร. +662-402-6623 โทรสาร +662-337-1866 มือถือ. +669-6146-3398 E-mail: marketing@spc-postpress.com http://www.spc-postpress.com TpmMag_117 Pc4.indd 47

22/8/2561 0:20:26



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.