THAIPRINT
MAGAZINE 128
ISSUE
SIMPLIFY HIGH QUALITY เครื่องจักรคุณภาพ สร้างงานคุณภาพ
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
W.O.A. Advertising
www.bestinground.co.th บริษัท เบสท์ อิน กราวด์ จํากัด ตัวแทนจําหน่ายอย่างเป็นทางการ www.thaiprint.org
Facebook: BestInGroundThailand
Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC_JUL20_Final-Outline.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
12/6/2563 BE
18:44
เครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ทสี ความเร็วสูง
FW5230 พร้อมชุด เจาะรู, จัดชุด, พั บ, เย็บข้าง, เย็บมุงหลังคา
GD7330 พร้อมชุดเข้าเล่ม ไสกาวอัตโนมัติ l l
พิ มพ์ เร็ว 130 แผ่น/นาที l หมึกพิ มพ์ 5 สี กันน�้ำ
l
ส�ำหรับงาน Print on Demand สะดวก และรวดเร็ว
FW1230 พร้อมอุปกรณ์จัดชุด, เย็บลวด, Scan, Email, Copy l
พิ มพ์ เร็ว 120 แผ่น/นาที l หมึกพิ มพ์ สีด�ำ กันน�้ำ
l
งานพิ มพ์ B/W ปริมาณมาก พิ มพ์ ต่อเนื่องได้ ไม่มีความร้อน
พิ มพ์ เร็ว 120 แผ่น/นาที l หมึกพิ มพ์ 4 สี กันน�้ำ l
ตีเบอร์ อัตโนมัติ บนกระดาษ NCR
GD9630 พร้อมชุดป้อน และชุดรับกระดาษ 4,000 แผ่น l l
พิ มพ์ เร็ว 160 แผ่น/นาที l หมึกพิ มพ์ 5 สี กันน�้ำ
ส�ำหรับงาน Production Print ประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต�่ำ
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/
SOONTORN FILM
Expert in Digital and Inkjet Printing, using World-Class Technologies
g in t in r P l a it ig D y it l High Qua Digital Offset Printing
g in t in r P t a m r o F e g r a L Inkjet One Stop Service s Digital Offset Printing
Business card, Postcard, Certificate, Brochure, Leaflet, Catalogue, Menu, Pocket book, Magazine, Photo book, Calendar, Packaging, Sticker, Label etc.
Photo books
Photo Books Printing : Baby born photo book, Family photo book, Graduation (School) photo book, Wedding photo book, Travelling photo book, etc.
We are serving for the highest quality of digital printing and services, Including digital offset and inkjet (large format) One stop services, Expertise teamwork, Latest world class technologies, Environmental friendly, Fast services and reasonable prices. Graphic design Digital Photography
Prepress Offset Plate Making
Digital Offset Printing
Inkjet (Large Format) Printing
Soontorn film Co., Ltd.
3/11-15 พระรามที่ 6 ซอย 17 ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2216 2760-8 แฟกซ 0 2216 2769 เวลาทำการ จันทร-เสาร 09.00-18.00 น. www.soontornfilm.co.th, email : stfilm@soontornfilm.com
Tablet Publishing (Digital Magazine)
นายกสมาคม
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก
128 THAIPRINT
MAGAZINE 128
ISSUE
SIMPLIFY HIGH QUALITY เครื่องจักรคุณภาพ สร้างงานคุณภาพ
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
W.O.A. Advertising
• วารสารการพิ มพ์ ไทย ฉบับที่ 128
่ เร็ว ๆ นี้ ข่าวทีเ่ ป็นกระแสมากทีส ่ ด เมือ ุ คงไม่พ้น การระบาดของโควิ ด -19 จากกลุ่ ม ผู้ ลั ก ลอบ กลับเข้าประเทศไทย แม้สถานการณ์จะค่อนข้าง น่ า เป็ น ห่ ว งเนื่ อ งจากพบผู้ ติ ด เชื้ อ ในประเทศ หลายราย แต่ทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุขได้ออก ประกาศว่าตามสถานการณ์ท่ีเกิดขึ้น ยังอยู่ใน จุดที่ควบคุมได้ ยังไม่ถือว่าเป็นระบาดระลอก 2 แต่ขอให้ประชาชนสวมหน้ากากหน้ากากอนามัย และหมัน ่ ล้างมืออย่างสม�ำ่ เสมอ เพื่ อเป็นการป้องกัน ตนเอง
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
วารสาร Thai Print ฉบับที่ 128 ฉบับนี้ เป็นฉบับ ้ หาทีห ่ ลากหลาย ส่งท้ายปี 2563 ยังคงน�ำเสนอเนือ ้ หาความรู้ และความเคลือ ่ นไหว อัดแน่นไปด้วยเนือ ่ าพร้อมกับ ในแวดวงการพิ มพ์ เทรนด์ใหม่ ๆ ทีม การเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกในปัจจุบัน รวมไปถึงการเตรียมปรับตัวเพื่ อรอ เศรษฐกิจฟื้ นหลังการระบาดของ Covid-19 www.bestinground.co.th
บริษัท เบสท์ อิน กราวด์ จํากัด ตัวแทนจําหน่ายอย่างเป็นทางการ
Facebook: BestInGroundThailand
www.thaiprint.org
W209.55 x H292.1 mm. สัน 4 mm.
COVER TPM ISSUE 128 Edit 4 09/12/2020
สุดท้ายนี้ ในนามของกองบรรณาธิการ ขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ หากท่านผู้อ่านมีข้อสงสัยในประเด็นใดๆ ท่านผู้อ่านทุกท่านสามารถสอบถามข้อมูล ่ ะรับค�ำติชมจากทุกท่าน เพิ่ มเติม หรือแนะน�ำติชม Thai Print Magazine ยังพร้อมทีจ เพื่ อปรับปรุงวารสารของเราต่อไป
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ
คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ
คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก
คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน
คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม
คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม
คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์
คุณรัชฐกฤต เหตระกูล
รองประชาสัมพั นธ์
คุณวริษฐา สิมะชัย รวิกาญจน์ ทาพั นธ์ บรรณาธิการ
SPECIAL THANKS
ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
ที่ปรึกษา
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์
ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ
คุณธนา เบญจาธิกุล
ºÃÉ Ô · Ñ à¾ÃÊ«àÔ´¹· à»à»Íà ¤Í¹àÇÃÔ· µ§้Ô ¨Ó¡´ Ñ
“Trust in quality believe in service เชอ่ืมน่ัในคณุภาพ เชอ่ืมอืในบรกิาร ” ¹Óà¢ÒŒ¡ÃдÒɨҡÂâØû áÅÐËÅÒÂáËŧ‹·ÇèÑâÅ¡ á»ÃûÙÁÇŒ¹áÅÐá¼¹‹ ä«Ê» ¡µÔ/ä«Ê¾ àÔÈÉ
For Quality Services
&
Delivery Service
¡ÃдÒɻ͹´ (Woodfree Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠÁ¹Ñ (Art Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠ¡ÒôŠ (C1S / C2S Artcard) ¡ÃдÒÉ¡ÅÍ‹§á»§‡ËŧÑà·Ò (Duplex Board)
72-76 «ÍÂ⪤ªÂ Ñ ¨§¨ÓàÃÞ Ô ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 3 á¢Ç§ºÒ§â¾§¾Ò§ ࢵÂÒ¹¹ÒÇÒ ¡Ã§Øà·¾ÁËÒ¹¤Ã 10120 Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÂ Õ ´à¾Á ่Ô àµÁ Ô ËÃÍ×ʧ่Ñ «Í้×
Cer. No. TH14/7594
à» ´·Ó¡Òà ¨.-Ê. àÇÅÒ 08.30-17.30 ¹.
support@presidentsupply.co.th
PS.SUPPORT
094-4195993, 061-7101331 , 061-9793388
CONTENTS NEWS ฟู จิ ซีร็อกซ์มอบรางวัล PIXI AWARDS 2019
INDUSTRIAL 15
พิ ธีเปิด "PROPAK ASIA 2020" 16 พิ ธีมอบรางวัล ThaiStar Award 2020
18
HP PageWide Web Press สร้างสถิติพิมพ์ งานสูงสุด 500 พั นล้านแผ่น
24
สัมมนา "การลดต้นทุนการผลิต 25 และการคิดราคาค่าพิ มพ์ บรรจุภณ ั ฑ์" สมาคมการพิ มพ์ ไทยจัดฝึกอบรม 39 "กลยุทธ์การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์" เอปสันเปิดตัวเครื่องพิ มพ์ หมึก สะท้อนแสงรุ่นแรกของโลก
48
สัมมนา "Packaging Next"
49
คิดนอกกรอบ พิ ชิตใจลูกค้าด้วย 50 Service Design ผนึกพลังสู้ PM 2.5
52
สหชัยกิจการพิ มพ์ ขยายการ ผลิตกล่องบรรจุภัณฑ์กระดาษ ด้วย HP Indigo 12000
56
ประกาศผลรางวัล “การประกวด สิ่งพิ มพ์ บรรจุภัณฑ์”
58
PUBAT เผยยอดผู้ร่วมงาน มหกรรมหนังสือฯ แบบไฮบริด กว่า 8 แสนราย
60
ธุรกิจเตรียมปรับ 4 ด้าน 88 หวังให้อยูร่ อดรอเศรษฐกิจฟื้ นปี 65 โดย นายเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) In-house Training โลหะกิจรุ่ง เจริญทรัพย์
94
นวัตกรรมยืดอายุอาหาร อาวุธเด็ด 32 SME ยุค New Normal W.O.A. Advertising 46 JHF R3700 เครื่องจักรคุณภาพ สร้างงานพิ มพ์ คุณภาพ สื่อสิ่งพิ มพ์ เร่งปรับตัว ระลอกใหม่สู่ยุคดิจิทัล
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก 86 ของไทยฯ หนังสือและสิง ่ พิ มพ์ พ.ศ. 2560-2563 (ม.ค. - ก.ย.) ก้าวทันโลกดิจิทัล ติดอาวุธให้ สินค้า ด้วยเทรนด์สี 2021
KNOWLEDGE
90
สาระน่ารู้เกี่ยวกับการพิ มพ์ ออฟเซตการควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต (4)
26
การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิ้ง ตอนที่ 4
40
บริษัท ทั้งฮั่วซิน จ�ำกัด 19 Prime Minister’s Export Award การันตีมาตรฐานในระดับสากล
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ สมัยใหม่
64
ธนพจน์ ศักดิ์นวสกุล (เอ) บริษัท สมศักดิ์ พริ้นติ้ง จ�ำกัด
Skill Standards
72
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
INTERVIEW
ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ท่ี บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
The Thai Printing Association thaiprint.org @thethaiprinting
80
76
ฟู จิ ซีร็อกซ์มอบรางวัล PIXI AWARDS 2019
NEWS
15
ทัง ิ าค ประเทศไทยได้รบ ั ทัง ้ หมด 12 ประเทศทัว ่ ภูมภ ้ สิน ้ 7 รางวัล
ฟูจิ ซีร็อกซ์จัดงานมอบรางวัล จากงานประกวดสื่อสิ่งพิมพ์ PIXI AWARDS 2019 เป็นรางวัลจากการประกวดที่จัดขึ้นเป็น ประจ�ำทุกปี ซึ่งการประกวด PIXI Awards ได้แสดงให้เห็นถึง นวั ต กรรมใหม่ ๆ และความเป็ น เลิ ศ ทางด้ า นงานพิ ม พ์ ดิ จิ ต อล จากผู้ใช้เครื่องพิมพ์ของ Fuji Xerox จากทั้งหมด 12 ประเทศ ทั่วภูมิภาค ซึ่งในปี 2019 ประเทศไทยได้รับรางวัล PIXI AWARD ทั้งสิ้น 7 รางวัล โดยงานนีค้ ณ ุ Hiroaki Abe ประธาน บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ ประเทศไทย จ�ำกัด ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีและมอบรางวัล PIXI AWARDS 2019 ได้แก่
รางวัล ประเภท Poster รางวัลรองชนะเลิศ
• Image Quality Lab จากผลงานที่ชื่อว่า Duo Art Exhibition by Iridesse Production Press
รางวัลประเภท Innovation Awards รางวัลรองชนะเลิศ
• O.S Printing House จากผลงานที่มีชื่อว่า The Furniture Catalogues By Color 800 Press
• TVG Thai จากผลงานที่ชื่อว่า Roll of sheet clothes Label by Versant 180 Press และนัน้ คือ รางวัล PIXI Awards 2019 ทัง้ 7 รางวัล ทีป่ ระเทศไทยได้รบั ในงานประกาศรางวัล PIXI Awards 2019 มีผลงานทีส่ ง่ เข้าประกวด ทัง้ หมด 200 ผลงาน ซึง่ รางวัลทัง้ หมดนีแ้ สดงให้เห็นถึงความสามารถ ในการพิมพ์ทคี่ รอบคลุมของเครือ่ งพิมพ์ Iridesse Production Press ทัง้ ในเรือ่ งของการใช้สพี เิ ศษและเทคโนโลยีการพิมพ์อนื่ ๆ โดยเกณฑ์ การตัดสินประกอบไปด้วย คุณภาพในการพิมพ์ การใช้เทคโนโลยี การพิมพ์ดิจิทัลที่เหมาะสม ระดับของนวัตกรรม ประสิทธิผลใน เชิงธุรกิจ และความสวยงามทีโ่ ดดเด่น ผลงานทีเ่ ข้าร่วมชิงรางวัล PIXI Awards 2019 ทุกชิ้นล้วนมีคุณค่า ในเรื่องของคุณภาพการพิมพ์ ที่ยอดเยี่ยม การใช้สีเงิน สีทอง และสีพิเศษรวมเข้าด้วยกัน ซึ่งเข้า มามีบทบาทส�ำคัญในอุตสาหกรรมการพิมพ์อย่างมากในปัจจุบัน ส�ำหรับผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลจะถูกน�ำไปจัดแสดงในงาน Fuji Xerox Graphic Communication Service ที่ประเทศญี่ปุ่น และงาน Graphic Communication industry ในระดับภูมิภาคอีกด้วย ในช่วงสุดท้ายของงานในวันนี้ เป็นการร่วมรับประทานอาหาร เพื่อแสดงความยินดีกับทุกท่านที่ได้รับรางวัล PIXI Awards 2019
• บริษัท สุเมฆา จ�ำกัด กับผลงานที่ช่ือว่า K Maison Lanna Welcome Booklet by Iridesse Production Press
บริษท ั ฟู จิ ซีรอ ็ กซ์(ประเทศไทย) จ�ำกัด ขอขอบคุณและหวังเป็น อย่างยิ่งว่าทุกท่านจะสร้างสรรค์ผลงานดี ๆ และร่วมส่งผลงาน เข้าประกวดงาน PIXI AWARDS ในปี 2020 และในปีต่อ ๆ ไป ฝากติดตามกันด้วยนะคะ
รางวัลประเภท Book รางวัลชนะเลิศ
• Image Quality Lab จากผลงานที่มีชื่อว่า Switch Bones By Iridesse Production Press รางวัลประเภท Calendars รางวัลชนะเลิศ
• Image Quality Lab จากผลงานที่ชื่อว่า Tattoo by Iridesse Production Press รางวัลประเภท Innovation Awards รางวัลชนะเลิศ
• Image Quality Lab จากผลงานที่ชื่อว่า The Camouflage by Iridesse Production Press รางวัลประเภท Catalogues รางวัลชนะเลิศ
รางวัลประเภท Environmental Awards รางวัลรองชนะเลิศ
www.thaiprint.org
16
NEWS
พิ ธีเปิด "PROPAK ASIA 2020" วันที่ 20 ตุลาคม 2563 ณ ห้อง GH 203 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
คุณพงศ์ธีระ พั ฒนพี ระเดช - นายกสมาคมฯ เข้าร่วม พิ ธเี ปิดงาน “โพรแพ็ ค เอเชีย 2020” และพิ ธม ี อบรางวัล ThaiStar Awards โดยมี ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดี กรมส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม กระทรวงอุ ต สาหกรรม เป็นประธานในพิ ธี วันที่ 20 ตุลาคม 2563 เวลา 08.30 12.00 น. ณ ห้ อ ง GH 203 ศู น ย์ นิ ท รรศการและ การประชุมไบเทค บางนา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
งานโพรแพ็ค เอเชีย 2020 นัน้ เป็นงานแสดงสินค้าด้านการผลิต แปรรูป และบรรจุภณ ั ฑ์ทคี่ รบวงจรตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ ยันปลายน�ำ้ ทีใ่ หญ่ ทีส่ ดุ ของประเทศไทย และเป็นงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมส�ำคัญ ที่สุดงานหนึ่งของภูมิภาคเอเชีย ครอบคลุมกลุ่มอุตสาหกรรม ส�ำคัญ อาทิ กลุม่ อาหาร เครือ่ งดืม่ ยา-เวชภัณฑ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ โดยงานจัดขึ้นระหว่างวันที่ 20 – 23 ตุลาคม 2563 ณ ศูนย์ นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
NEWS
งานโพรแพ็ ค เอเชีย 2020 งานแสดงสินค้าด้านการผลิต แปรรูป และบรรจุภณ ั ฑ์ทค ี่ รบวงจร ตัง ้ น�ำ้ ยันปลายน�ำ้ ทีใ่ หญ่ ้ แต่ตน ่ ด ทีส ุ ของประเทศไทย และเป็นงาน แสดงสินค้าอุตสาหกรรมส�ำคัญ ที่สุดงานหนึ่งของภูมิภาคเอเชีย ครอบคลุมกลุม ่ อุตสาหกรรมส�ำคัญ อาทิ กลุ่มอาหาร เครื่องดื่ม ยา-เวชภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ โดยงานในครั้งนี้ได้เรียนเชิญ ดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรม ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุ ต สาหกรรม เป็นประธานกล่าวเปิดงาน โดยได้กล่าวถึงการปรับตัวของภาค อุตสาหกรรมยุคดิจิทัลและโควิด-19 ว่า สถานการณ์โควิด-19 ท�ำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงหลายด้านเป็นชีวิตวิถีใหม่ที่ทุกคน ต้องปรับตัว เช่นเดียวกับภาคอุคสาหกรรมการผลิตที่มีการ พัฒนาและปรับตัวครั้งใหญ่เพื่อเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างเต็มตัว วันนี้เทคโนโลยีและระบบดิจิทัลเข้ามามีบทบาทต่อพฤติกรรม มนุษย์ในทุกๆ ด้าน ทั้งการท�ำงานและการใช้ชีวิต เห็นได้ จากพฤติกรรมการซื้อสินค้าของผู้บริโภคที่นิยมซื้อสินค้าผ่าน ช่องทางออนไลน์มากขึ้น ผู้ผลิตและผู้ประกอบการในทุกขนาด โดยเฉพาะขนาดกลาง ขนาดเล็ก (เอสเอ็มอี) และสตาร์ทอัพ ต้องยกระดับ ปรับปรุง เปลีย่ นแปลงการผลิต (Transformation) โดยใช้ น วั ต กรรมและเทคโนโลยี ใ ห้ ม ากขึ้ น พร้ อ มศึ ก ษา พฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์ให้เป็นไปตามความ ต้องการและเป็นที่ยอมรับของตลาด ด้าน นายมนู เลียวไพโรจน์ ประธาน อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ประเทศไทย กล่ า วถึ ง ความน่ า สนใจและความส� ำ คั ญ ของ งานโพรแพ็ค เอเชีย 2020 ต่ออุตสาหกรรมการผลิตไทยว่า งานโพรแพ็ค เอเชีย เป็นงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมทีน่ ำ� เสนอ โซลูชั่นที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการแปรรูปและบรรจุภัณฑ์ ที่ครบวงจรตั้งแต่ต้นน�้ำจนถึงปลายน�้ำ โดยกลุ่มอุตสาหกรรม อาหาร เครื่องดื่ม ยาและเวชภัณฑ์ เครื่องส�ำอาง และสินค้า อุปโภคบริโภคถือเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมหลักของไทย ซึ่งวันนี้ ได้รับผลจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 มากบ้างน้อยบ้าง แต่สิ่งที่เกิดขึ้นท�ำให้เห็นว่าโลกก�ำลังเปลี่ยนเข้าสู่ยุคดิจิทัล เร็วขึ้น โดยมีโควิด-19 เป็นตัวเร่งส�ำคัญ
17
ซึง่ การจัดงานโพรแพ็ค เอเชีย 2020 ต้องการมีสว่ นช่วยให้ธรุ กิจมี การเจรจาและมีมลู ค่าการค้ามากขึน้ พร้อมทัง้ เน้นในการอัปเดต เทรนด์ทเี่ กิดขึน้ ทามกลางสถานการณ์โควิด-19 แนวโน้มสถานการณ์ ในภูมิภาคอาเซียน การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ การประชุมเชิง ปฏิบตั กิ าร (Workshop) ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ ธุรกิจ เปิดโอกาสให้ ผูผ้ ลิตและนักธุรกิจได้ตดิ ต่อพูดคุยกันโดยตรง การจับคูท่ างธุรกิจ (Business Matching) รวมถึงการสัมมนาทีน่ า่ สนใจจากผูเ้ ชีย่ วชาญ เพือ่ ให้ มองเห็นแนวทางของอุตสาหกรรมด้านกระบวนการผลิต การแปรรูป และบรรจุภัณฑ์ในอนาคต รูปแบบการจัดงานจะ เป็นแบบผสมผสาน (Hybrid Exhibition) โดยรวมการจัดงาน แสดงสินค้าเจรจาธุรกิจแบบทั่วไป (Physical Exhibition) และการจัดงานแสดงสินค้าแบบออนไลน์ (Virtual Exhibition) สามารถนัดหมายเจรจาธุรกิจล่วงหน้า รวมถึงชมกิจกรรมสัมมนา ที่จะเกิดขึ้นภายในงานฯ ได้ตลอดระยะเวลาของการจัดงานฯ ส�ำหรับธุรกิจในกลุ่ม เอสเอ็มอี มีการเปิดพื้นที่โซน เอสเอ็มอี ขึ้นโดยเฉพาะ โดยมีไฮไลท์ คือ กิจกรรมให้ความรู้ ค�ำปรึกษา น�ำเสนอไอเดียใหม่ๆ ในการท�ำธุรกิจ อาทิ ศูนย์ทปี่ รึกษาธุรกิจ เอสเอ็มอี (SME Consultation Center) ซึง่ มีหน่วยงานราชการ ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้คำ� ปรึกษาส�ำหรับผูเ้ ริม่ ต้นธุรกิจ รวมถึงธนาคาร และสถาบันการเงินที่สนับสนุนการเติบโตของธุรกิจ เอสเอ็มอี พร้อมโครงการส่งเสริมต่างๆ ทัง้ การประกวด ThaiStar Packaging Awards การบ่มเพาะ Brand DNA เพื่อสร้างคุณค่าให้กับ สินค้า IDEA Theatre เพิม่ ไอเดียและสร้างแรงบันดาลใจส�ำหรับ การสร้างแบรนด์ และเวทีถ่ายทอดความส�ำเร็จจากสตาร์ทอัพ และผู้ประกอบการชั้นน�ำ นอกจากนัน้ ยังมีพนื้ ทีส่ ำ� หรับจัดแสดงสินค้าทีร่ ณรงค์ทางด้านสังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ความยัง่ ยืนทางสังคม Sustainability Square เป็นพืน้ ทีจ่ ดั แสดงการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพือ่ สร้างการเรียนรูใ้ น กระบวนการผลิตและบรรจุภณ ั ฑ์วา่ จะสามารถสร้างความยัง่ ยืน ได้อย่างไร ภายใต้พนั ธสัญญาทีท่ กุ คนจะต้องสร้างความยัง่ ยืนให้กบั อนาคตร่วมกัน และได้นำ� เสนอให้ผู้ร่วมงานเห็นการมีส่วนร่วม ของผู้จัดงานแสดงสินค้าในการเป็นผู้จัดงานที่สร้างความยั่งยืน ส่วนมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 นั้น ได้มี การด�ำเนินการด้านสุขอนามัยและความปลอดภัยตามมาตรฐาน ของ อินฟอร์มา ออลซีเคียว (Informa AllSecure) และตาม มาตรฐานที่ ศบค. ก�ำหนด อาทิ การควบคุมความหนาแน่นของ ผู้ร่วมจัดแสดงงานและผู้เข้าเยี่ยมชมงาน การจัดวางพื้นที่และ การเว้นระยะห่างของทางเดิน การลดการสัมผัสด้วยระบบการ ลงทะเบียนและบัตรเข้างานอิเล็กทรอนิกส์ (e-badge) www.thaiprint.org
18
NEWS
พิ ธีมอบรางวัล ThaiStar Award 2020
โดย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม ได้จดั ประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ประจ�ำปี 2563 (ThaiStar Packaging Award 2020) ภายใต้หัวข้อ“บรรจุภัณฑ์เพื่อความยั่งยืน” (Sustainable Packaging) และได้จัดพิธีมอบรางวัลแก่ ผู ้ ไ ด้ รั บ รางวั ล ดั ง กล่ า วภายในงาน PROPAK ASIA 2020 โดยมีดร.ณัฐพล รังสิตพล อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธมี อบรางวัล ในปีนมี้ ผี ไู้ ด้รบั รางวัลบรรจุภณ ั ฑ์ ยอดเยี่ยมทั้งสิ้น 79 บรรจุภัณฑ์ ส�ำหรับการประกวดบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ประจ�ำปี 2563 เปิดโอกาส ให้ผู้ประกอบการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) นักออกแบบอิสระ และนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึง่ แบ่งออกเป็น 9 ประเภท และรางวัลพิเศษจากสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย (TPA) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (SME D Bank) สถาบันรหัสสากล สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (GS1 Thailand) และสถาบันการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์และรีไซเคิล เพื่อสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (TIPMSE) นอกจากนี้ ยังมีรางวัลพิเศษคะแนนรวมสูงสุด President Awards ซึ่งมีผู้รับรางวัลคือ บรรจุภัณฑ์ขนมไหว้พระจันทร์ บริษัท เอสซีจี แพคเกจจิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ออกแบบโดย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
นางสาวธารทิ พ ย์ บ่ อ เพ็ ช ร์ โดยบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ ร างวั ล ในทุกประเภทจะเป็นตัวแทนประเทศไทย ในการประกวด บรรจุ ภั ณ ฑ์ ร ะดั บ เอเชี ย (AsiaStar Awards 2020) และ ระดับโลก (WorldStar Awards) โดยแนวโน้มความต้องการของผู้บริโภค หรือ เทรนด์การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ในปี 2021 ที่คาดว่าจะได้รับความนิยม ประกอบด้วยบรรจุภณ ั ฑ์กนิ ได้ เนือ่ งจากผูบ้ ริโภคให้ความส�ำคัญ กับการดูแลสิง่ แวดล้อม หากบรรจุภณ ั ฑ์สามารถรับประทานได้ ก็จะเป็นส่วนช่วยให้ปริมาณขยะในประเทศลดลง บรรจุภัณฑ์ สร้างสรรค์ ผ่านพัฒนาให้บรรจุภัณฑ์สามารถน�ำไปใช้ในชีวิต ประจ� ำ วั น หรื อ เป็ น ตั ว แทนที่ ส ามารถสื่ อ สารแบรนด์ ข อง ผลิตภัณฑ์ได้อย่างชัดเจน บรรจุภัณฑ์ไบโอ เป็นบรรจุภัณฑ์ ที่ ผ ลิ ต จากเส้ น ใยธรรมชาติ และสามารถย่ อ ยสลายได้ เ อง ซึ่งถือเป็นการลดการท�ำลายสิ่งแวดล้อม และปริมาณขยะ จากการใช้พลาสติกอีกด้วย บรรจุภณ ั ฑ์รไี ซเคิล เป็นบรรจุภณ ั ฑ์ ที่ เ กิ ด จากการน� ำ ขยะมารี ไซเคิ ล ทั้ ง ขยะพลาสติ ก โลหะ ขยะอีคอมเมิร์ซ เป็นจ�ำนวนมาก อาทิ กระดาษจากกล่องบรรจุ สินค้าออนไลน์ และ กล่องไปรษณีย์ ที่มีแนวโน้มเพิ่มปริมาณ ขยะประเภทกระดาษมากยิ่งขึ้น
INTERVIEW
19
บริษัท ทัง ้ ฮัว ่ ซิน จ�ำกัด Prime Minister’s Export Award การันตีมาตรฐานในระดับสากล
Prime Minister’s Export Award หรือ PM Export Award เป็ น รางวั ล สู ง สุ ด ของรั ฐ บาลที่ ม อบให้ แ ก่ ผู้ ประกอบธุ ร กิ จ ดี เ ด่ น เพื่ อแสดงถึ ง ภาพลั ก ษณ์ ข อง คุ ณ ภาพและมาตรฐานของสิ น ค้ า ไทยในตลาดโลก ปัจจุบันมีผู้ได้รับรางวัลรวม 638 บริษัท 745 รางวัล โดยในปี 2563 มีบริษัทที่ผ่านการพิ จารณา และตัดสิน
ให้เข้ารับรางวัล ใน 7 สาขารางวัล รวม 34 บริษัท 37 รางวัล ซึ่ง Thai Print Magazine จะน�ำท่านไปรู้จัก กับ บริษัท ทั้งฮั่วซิน จ�ำกัด ที่สามารถคว้ารางวัล Best Service Enterprise Awards ซึ่งเป็นรางวัลที่มอบ ให้แก่ธุรกิจบริการยอดเยี่ยม สาขาธุรกิจสิ่งพิ มพ์ และ บรรจุภัณฑ์ www.thaiprint.org
20
INTERVIEW
คุณธีรตุ ทังเกษมวัฒนา ผูบ้ ริหารรุน่ ที่ 3 ของ บริษทั ทัง้ ฮัว่ ซิน จ�ำกัด เล่าความเป็นมาของบริษัทให้ฟังว่า เรื่องราวของเรา เริ่ ม ต้ น ในปี 1963 ในห้ อ งแถวสี่ คู ห าบริ เวณวงเวี ย น 22 วิ ธี ก ารผลิ ต ส่ ว นใหญ่ ท� ำ ด้ ว ยมื อ หลั ง จากนั้ น ทั้ ง ฮั่ ว ซิ น ได้ ขยายธุรกิจ โดยเริ่มพิมพ์ฉลากส�ำหรับสินค้ากระป๋อง ก่อนที่ จะออกสู่บรรจุภัณฑ์ประเภทอื่น ๆ จากจุดเริ่มต้นเราเข้าใจว่า บรรจุภณ ั ฑ์สำ� หรับการบริโภคยุคใหม่ตอ้ งท�ำมากกว่าการบรรจุ และปกป้องผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยซึ่งแตกต่างจาก ภาชนะแบบดั้ ง เดิ ม จ� ำ เป็ น ต้ อ งสื่ อ สารถึ ง สาระส� ำ คั ญ ของ ผลิตภัณฑ์และสร้างความแตกต่างของแบรนด์ให้กับผู้บริโภค นอกเหนือจากความน่าสนใจแล้วยังต้องรักษาคุณภาพของ สินค้าไว้เป็นระยะเวลานานใช้งานง่าย ปัจจุบันทั้งฮั่วซินกรุ๊ป ผลิ ต ฉลากกล่ อ งพั บ กล่ อ งกระดาษลู ก ฟู ก และบรรจุ ภั ณ ฑ์ แบบยืดหยุ่นส�ำหรับ FMCG หรือ Fast-Moving Consumer Goods ทุกประเภทรวมถึงอาหารเสือ้ ผ้าเครือ่ งใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์ ทางการแพทย์และชิ้นส่วนยานยนต์ คุณธีรุต ทังเกษมวัฒนา
ผู้บริหารรุ่นที่ 3 ของ บริษัท ทั้งฮั่วซิน จ�ำกัด
บริษทั ทัง้ ฮัว่ ซิน จ�ำกัด ได้รบั การรับรองมาตรฐานสากลด้านการผลิต ทีม่ คี ณ ุ ภาพและความปลอดภัยของอาหาร เช่น ISO 9001, ISO 14001, GMP, HACCP, BRC / IOP, SEDEX และ OHSAS 18001 ตรวจสอบให้แน่ใจว่าทุกขั้นตอนการผลิตเป็นไปตาม หลักเกณฑ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล
World Class Packaging for food and Consumer Pakaged Goods
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INTERVIEW
21
Prime Minister’s Export Award พิ สูจน์ความมีมาตรฐานในระดับสากล
ในด้านการบริหาร คุณธีรตุ กล่าวว่า เนือ่ งจากเป็นผูบ้ ริหารรุน่ ที่ 3 จึงถือว่าเป็นข้อได้เปรียบเนื่องจากมีพื้นฐานที่ค่อนข้างมั่นคง อยู่แล้วจากรุ่นแรก และรุ่นที่ 2 สิ่งที่ได้รับคือ ประสบการณ์ ที่จะช่วยให้บริษัทให้พัฒนาไปในทางที่ยั่งยืน ไม่ว่าจะเป็นลด การ IMPACT ต่อสิง่ แวดล้อมในกระบวนการการผลิต รวมไปถึง การดู แ ลพนั ก งาน ปฏิ บั ติ ต ่ อ พนั ก งานด้ ว ยความเสมอภาค ความมีคณ ุ ธรรม ซึง่ ทัง้ หมดนีไ้ ม่ได้มคี วามแตกต่างจากรุน่ ก่อน ๆ
แต่จะเน้นในด้านการน�ำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาช่วยในการ พัฒนารวมไปถึงการขยายไลน์การผลิตให้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ทั้ ง ฮั่ ว ซิ น มี ค วามพยายามที่ จ ะพั ฒ นาองค์ ก รอยู ่ ต ลอดเวลา โดยโฟกัสให้อยู่ในมาตรฐานระดับสากล รางวัล PM Export Award ซึ่งเป็นรางวัลส�ำหรับบริษัทส่งออกตอบโจทย์ในข้อนี้ เป็นการพิสจู น์ให้เห็นว่าบริษทั มีมาตรฐานสากล ส่งผลให้ลกู ค้า มีความเชื่อมั่นในภาพลักษณ์ต่าง ๆ ของบริษัทมากขึ้น www.thaiprint.org
22
INTERVIEW
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมีส่วนช่วยพั ฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน
ทั้งฮั่วซินมีการปรับปรุงวัตถุดิบ พัฒนาคุณภาพ ให้มีมาตรฐาน เพื่อปรับตัวรับ Disruptive Technology และรองรับลูกค้า ในระดับโกลบอล การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมีส่วนช่วย พัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน หากไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง จะไม่ สามารถตามกระแสโลกปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็วได้ทัน
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ยงั มีอนาคต เนือ่ งจากท�ำหน้าทีส่ ง่ เสริม การตลาด บรรจุภณ ั ฑ์หรือหีบห่อนอกจากจะช่วยป้องกันสินค้าแล้ว ยังมีส่วนเป็นอย่างมากในการช่วยตัดสินใจให้ซื้อสินค้านั้น ๆ ในอนาคตหลายประเทศจะปรับเปลีย่ นจากประเทศก�ำลังพัฒนา สู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว การจับจ่ายสินค้าจะพัฒนาไปสู่โมเดิร์น เทรดมากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ อุตสาหรรมบรรจุภณ ั ฑ์ยงั สามารถเติบโต ไปได้ในระยะกลางและระยะยาว
INTERVIEW
กระจายความเสี่ยงเพื่ อรับมือกับ COVID-19 และสถานการณ์ที่กระทบเป็นวงกว้าง
ธุรกิจในหลายอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบไม่ทางตรงก็ทางอ้อม ท�ำให้ต้องคิดกลยุทธ์และแผนการท�ำงานใหม่เพื่อรับมือและ ตอบสนองพฤติกรรมของลูกค้าในสถานการณ์เช่นนี้ ลูกค้าของ บริษทั ได้รบั ผลกระทบบ้างแต่กม็ เี พียงเล็กน้อยเท่านัน้ เนือ่ งจาก ทัง้ ฮัว่ ซินมีกลุม่ ลูกค้าทีค่ รอบคลุมอยูใ่ นทุกอุตสาหกรรม บางกลุม่ อาจจะลดลงไป แต่บางกลุ่มมีเพิ่มขึ้นมา จึงไม่ได้มีการปรับ อะไรมากนัก สิ่งที่ COVID-19 สอนเราคือ อย่าโฟกัสแค่อุตสาหกรรมเดียว หากเกิดสถานการณ์ที่มีผลกระทบเป็นวงกว้างทั่วโลกเช่นนี้ อีกครั้ง จะเกิดผลกระทบอย่างหนัก ควรกระจายความเสี่ยง ด้วยการหาลูกค้าที่ครอบคลุมอยู่ในหลาย ๆ อุตสาหกรรม ในส่วนบุคคลเองก็ควรฝึกฝนให้มคี วามรูใ้ นรอบด้าน การถนัดหรือ มีความเชี่ยวชาญเพียงเรื่องเดียวอาจจะไม่ตอบโจทย์อีกต่อไป
23
อย่าโฟกัสแค่อุตสาหกรรมเดียว หากเกิดสถานการณ์ทม ี่ ผ ี ลกระทบ เป็นวงกว้างทั่วโลกเช่นนี้อีกครั้ง จะเกิดผลกระทบอย่างหนัก ควรกระจายความเสี่ยง ด้วยการหาลูกค้าที่ครอบคลุม อยู่ในหลาย ๆ อุตสาหกรรม ในส่วนบุคคลเองก็ควรฝึกฝน ให้มีความรู้ในรอบด้าน การถนัดหรือมีความเชี่ยวชาญ เพี ยงเรื่องเดียวอาจจะ ไม่ตอบโจทย์อีกต่อไป www.thaiprint.org
24
NEWS
HP PageWide Web Press
สร้างสถิตพ ิ ิ มพ์ งานสูงสุด 500 พั นล้านแผ่น ลูกค้ากลุม ่ งานกราฟิกผลักดันปริมาณการเติบโตตลาดการพิ มพ์ ดจ ิ ท ิ ล ั อิงค์เจ็ท กรุงเทพฯ, 21 ตุลาคม 2563 – เอชพี อิงค์ ประกาศ HP PageWide Web Press เครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ท สร้างสถิติงานพิ มพ์ งานได้สูงถึง 500 พั นล้านแผ่น ผลจาก ปริ ม าณผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารด้ า นการพิ มพ์ (Print Service Providers) ทั่วโลกมีการขยาย ตัวเติบโตอย่างต่อเนื่อง
“ผู้ให้บริการด้านการพิมพ์ (PSPs) กลุ่มเครื่องพิมพ์ HP PageWide Web Press ต้องการขยายช่องทางสร้างความ ส�ำเร็จและโอกาสใหม่ๆ เพิ่มความสามารถใน แอปพลิเคชันการพิมพ์ดิจิทัลในงานที่มีความซับซ้อนและสร้างผลก�ำไรมากกว่าเดิม ขณะเดียวกันสามารถผลิตงานได้มากขึน้ จากการพิมพ์ระบบออฟเซ็ทมาเป็นเทคโนโลยี ดิจิทัลอิงค์เจ็ท” มร.คาร์ล ฟาเร่ รองประธานและผู้จัดการทั่วไป HP PageWide Press กล่าว “คู่ค้าของเอชพี สามารถเพิ่มปริมาณงานพิมพ์จากการใช้เครื่อง HP PageWide Press ได้มากขึ้นสองเท่านับตั้งแต่การเข้าตลาดที่งาน drupa 2016 หรือ เป็นอัตราการเติบโตสูงเกือบสองเท่าของตลาดโดยรวม และโรงพิมพ์มากกว่าครึ่งใน กลุ่มนี้สามารถผลิตงานได้เกิน 1 พันล้านแผ่นจากเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานอยู่อีกด้วย” HP PageWide Web Press เป็นผูน้ ำ� ด้านอิงค์เจ็ททีส่ ามารถท�ำส่วนแบ่งได้มากกว่า 30% จากจ�ำนวน 8.8 พันล้านแผ่นของงานพิมพ์สีอิงค์เจ็ทคุณภาพสูง ในไตรมาสแรกของ ปี 25631 (สามารถรับชมการใช้งาน HP PageWide Web Press T250 HD ใหม่ ได้ที่ https://www.youtube.com/watch?v=L0HpZ8-08U4) จ�ำนวนการพิ มพ์ มากขึ้น
ผูใ้ ห้บริการด้านการพิมพ์ ใช้เทคโนโลยีในเครือ่ งพิมพ์ PageWide Web Press เพือ่ รองรับ งานการพิมพ์ดิจิทัล อิงค์เจ็ทจ�ำนวนมากในเชิงพาณิชย์, สื่อสิงพิมพ์, ธุรกิจการค้า และ ไดเร็กเมล์ ซึ่งมีการขยายตัวทั่วโลก อย่างเช่น โรงพิมพ์ Hatteras Inc.ในรัฐมิชิแกน สหรัฐอเมริกา มีการขยายธุรกิจโดยการเพิม่ ก�ำลังผลิต ด้วยเครือ่ ง HP PageWide Web Press T240 HD มาใช้พมิ พ์พนื้ ผิววัสดุทเี่ บาไปจนถึงกระดาษหนา ในปริมาณจ�ำนวนมาก และมีคุณภาพสูง โดยจอห์น ออร์แลนโด รองประธานฝ่ายขายและการตลาดของ Hatteras Printing Inc. ได้ยำ�้ ว่า “ประสิทธิภาพการใช้งานทีห่ ลากหลายของเครือ่ งพิมพ์ เป็นส่วนส�ำคัญในการเติบโตทางธุรกิจอย่างมาก” ในปัจจุบันโรงพิมพ์ Hatteras ให้บริการงานผลิตเพื่อส่งทางไปรษณีย์และทางอิเล็กทรอนิกส์ ส�ำหรับงานสิ่งพิมพ์ เฉพาะด้านรวมถึงงานดิจทิ ลั ส�ำหรับภาคการเงิน สุขภาพ การตลาดและภาคสาธารณชน GGP Media GmbH ในเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของ Bertelsmann Printing Group ผูน้ ำ� ด้านงานพิมพ์ของยุโรป โรงพิมพ์ GPP ได้ตดิ ตัง้ HP PageWide Web Press T490 HD เป็นเครื่องที่สอง โดยในแต่ละปี สามารถผลิตสิ่งพิมพ์มากกว่า 250 ล้านรายการ รวมถึงนวนิยายยอดขายดี การ์ตูนและนิตยสารแฟชั่น คริสตอฟ ลุควิก กรรมการผูจ้ ดั การของ GGP Media GmbH กล่าวถึงความส�ำเร็จว่า บริษัทไม่เพียงแต่จะได้รับประโยชน์จากเทคโนโลยีการพิมพ์ยุคใหม่นี้เท่านั้น ลูกค้ายัง ได้รบั ประโยชน์ดว้ ยเช่นกัน ท�ำให้เกิดความยืดหยุน่ สูง สามารถผลิตงานพิมพ์ทม่ี จี ำ� นวน น้อยและยังย่นเวลาการผลิต การเพิ่มจ�ำนวนเครื่องพิมพ์ครั้งนี้ เพื่อเป็นการรองรับ การเติบโตของตลาดการพิมพ์ระบบดิจิทัล ตอบสนองความต้องการปริมาณงานพิมพ์ ต่อครั้งที่เล็กลง และการพิมพ์สต็อกหนังสือพิมพ์ซ�้ำ เครื่องพิมพ์รุ่นใหม่มีเทคโนโลยี หัวพิมพ์ HP A55 Thermal Inkjet ที่ให้คุณภาพงานพิมพ์ข้อความคมชัดที่ 305 เมตร ต่อนาที หรือ 1,000 ฟุตต่อนาที ProCo ในสหราชอาณาจักร ได้ตดิ ตัง้ HP PageWide Web Press T240HD เครือ่ งแรก เมือ่ ปีทแี่ ล้ว เพือ่ ผลิตงานพิมพ์ไดเร็กเมล์คณ ุ ภาพสูงจ�ำนวนมาก “ส�ำหรับ Proco ธุรกิจ คือการมอบสิง่ ใหม่ๆ เปิดพลังของความเป็นตัวตนเฉพาะของลูกค้า ด้วยความหลากหลาย ที่ยืดหยุ่นและคุณภาพสีของเอชพี เราสามารถเสนอตัวเลือกใหม่ๆ ให้กับลูกค้าที่ไม่ สามารถท�ำได้ก่อนหน้านี้ นี่คือการเพิ่มมูลค่ามหาศาลให้กับธุรกิจของลูกค้า และเป็น ปัจจัยส�ำคัญส�ำหรับธุรกิจของเราเช่นกัน ต่อไปนี้ ธุรกิจการพิมพ์ ไม่ต้องกังวลที่จะต้อง เลือกระหว่างปริมาณการสัง่ พิมพ์กบั คุณภาพของงานพิมพ์อกี ต่อไป เฉกเดียวกับไม่ตอ้ ง เป็นห่วงว่าอะไรคือสิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็นไปไม่ได้” 1
อ้างอิงจากการวิเคราะห์ของเอชพี เกี่ยวกับอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์ท่ต ี ิดตั้งอยู่ทั่วโลกและความจุของกระดาษ
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
สมรรถนะใหม่ของ HP PageWide Web Press
สามารถเพิม่ จ�ำนวนการพิมพ์ให้มากขึน้ โดยก�ำหนดค่าจากแอปพลิเคชันของเครือ่ งพิมพ์ HP PageWide Web Press T250 HD รุ่นใหม่ที่มาพร้อม HP Brilliant Ink ที่พิมพ์ บนกระดาษออฟเซ็ตแบบเคลือบและไม่เคลือบผิวหลากหลายมากขึ้น เพื่อการใช้งาน เชิงพาณิชย์ที่ต้องการงานพิมพ์จ�ำนวนมาก นอกจากนี้ เอชพี ได้ร่วมมือกับ Solimar Systems ส�ำหรับการบริหารจัดการระบบ เอกสารที่มีจ�ำนวนมาก ภายใต้ Solimar Chemistry™ Platform ประกอบด้วย ReadyPDF® Prepress Server™, Rubika® และ SOLitrack™ จะช่วยรองรับในขณะ ปฏิบตั งิ าน การเพิม่ ประสิทธิภาพ และระบบการจัดการงานพิมพ์ พร้อมทัง้ ควบคุมการ ส่งสื่อสิ่งพิมพ์และดิจิทัล และการส่งเอกสารในแบบหลายช่องทาง ฟาเร่ อธิบายเพิม่ เติมว่า “การร่วมมือทีส่ ำ� คัญนี้ ลูกค้าของเอชพีจะได้รบั ประโยชน์จาก ความเชีย่ วชาญทางเทคนิคทีม่ มี ายาวนานของ Solimar และระบบการจัดการงานชัน้ น�ำ ของตลาด การผสมผสานโซลูชนั่ ของ Solimar เข้ามา จะท�ำให้ผใู้ ห้บริการสามารถเพิม่ ศักยภาพของกระบวนการท�ำงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตสูงสุด ตลอดจนใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีของเอชพีอย่างเต็มที่ สามารถสร้างผลก�ำไรให้ธรุ กิจได้มากขึน้ ในท้ายที่สุด” ด้วยเครื่องพิมพ์ขนาด 20 นิ้วถึง 42 นิ้ว และโซลูชั่นการผลิตที่หลากหลายของ เครือ่ งพิมพ์องิ ค์เจ็ท HP PageWide ช่วยผูใ้ ห้บริการ สามารถตอบสนองลูกค้าทีต่ อ้ งการ งานพิมพ์คุณภาพสูง และในปริมาณงานมากได้ ตลอดจนการสร้างซัพพลายเชนใหม่ เพือ่ ลดต้นทุนการจัดจ�ำหน่ายและสินค้าคงคลัง นอกจากนี้ ความสามารถในการก�ำหนด จ�ำนวนการสั่งพิมพ์ จะท�ำให้ลูกค้ามั่นใจว่า มีจ�ำนวนหนังสือ นิตยสารและวารสาร เพียงพอ อีกทั้งยังสะท้อนว่าเป็นการพิมพ์โดยค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก ในการพิมพ์ไดเร็กเมล์และสื่อสิ่งพิมพ์เชิงพาณิชย์ ลูกค้าของเอชพีได้รับประโยชน์จาก ระบบอัตโนมัตแิ ละเครือ่ งมือการจัดการข้อมูลขัน้ สูงเพือ่ สร้างสรรค์แคมเปญ ให้ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายและเพิ่มมูลค่า ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญในช่วงเวลานี้ที่มีการจ�ำกัดงบประมาณ การตลาด ในขณะที่ต้นทุนกระดาษและค่าใช้จ่ายการจัดส่งเพิ่มสูงขึ้น HP Site Flow จะบริหารการด�ำเนินงานโดยอัตโนมัติและสร้างประสิทธิภาพสูงสุด เช่นเดียวกับโซลูชนั่ ซอฟต์แวร์ Designer และ Composer จะช่วยให้ลกู ค้าสร้างสรรค์ งานต่างๆ จากข้อมูล โดยลูกค้าสามารถปรับเปลี่ยนข้อความ รูปภาพ QR Codes ให้สมบูรณ์สุดท้ายก่อนการพิมพ์ ่ วกับเครือ ่ งพิ มพ์ ข้อมูลเพิ่ มเติมเกีย HP PageWide Web Press นวัตกรรมการพิ มพ์ อิงค์เจ็ท www.hp.com/go/pagewidewebpress
ข้อมูลเกี่ยวกับ HP Inc. เอชพี อิงค์ มุ่งมั่นสร้างสรรค์เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่ อประโยชน์ต่อ ผูบ ้ ริโภค ภาคธุรกิจ ภาครัฐและสังคมอย่างแท้จริง ด้วยพอร์ทโฟลิโอ ด้านเทคโนโลยี ได้แก่ เครื่องคอมพิ วเตอร์ เครื่องพิ มพ์ โซลูช่น ั การพิ มพ์ 3 มิติ และส่งมอบประสบการณ์ท่ีดีที่สุดให้กับลูกค้า ่ วกับเอชพี สามารถเข้าชมได้ท่ี www.hp.com ข้อมูลเพิ่ มเติมเกีย สื่อมวลชนสอบถามข้อมูลเพิ่ มเติมได้ท่ี • มณสิชา สุขสว่าง +668 2 423 5146 monsicha@prassociates.net • เชิญมาจุติ ศิริภัทรวรินทร์ +662 651 9363 chernma@prassociates.net www.hp.com/go/newsroom
NEWS
25
สัมมนา "การลดต้นทุนการผลิตและ การคิดราคาค่าพิ มพ์ บรรจุภัณฑ์" วันที่ 16 - 17 ตุลาคม 2563 ณ อาคารสมาคมการพิ มพ์ ไทย พระราม 9 สมาคมการพิมพ์ไทยจัดสัมมนาในหัวข้อ “การลดต้นทุนการผลิต และการคิดราคาค่าพิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์” วันที่ 16-17 ตุลาคม 2563 ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย พระราม 9 โดยมี อาจารย์ ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ รองคณะบดีฝา่ ยวิชาการและ วิจยั คณะเทคโนโลยีสอื่ สารมวลชน ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นวิทยากรบรรยาย ซึง่ ได้ให้ความรูใ้ นเรือ่ งหลักการบริหารการผลิต ประกอบด้วย การบริหารจัดการโรงงาน และการวางแผนการผลิต รวมไปถึงการลดต้นทุนด้วยคุณภาพและการบริหารสินค้าคงคลัง วิ ท ยากรท่ า นที่ ส อง คื อ คุ ณ วรรณารี ย ์ กั น ตะสิ ริ พิ ทั ก ษ์ ทีป่ รึกษาด้านการพัฒนาองค์กร และอาจารย์วริ ชั เดชาสิรสิ งิ ห์
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมโรงงานอุตสาหกรรม โลหะ อะไหล่ และเครื่องจักร และอาจารย์นิวัฒน์ ศิริโรจน์วงศ์ ผู้เชี่ยวชาญ ด้านการตลาดสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ บรรยายในหัวข้อโครงสร้าง วิศกรรมโรงงานและเครือ่ งจักร แบ่งเป็น ระบบวิศวกรรมภายใน โรงงาน ต้นทุนแฝงในโรงงาน การค�ำนวณหาวิธีลดค่าใช้จ่าย และการคิดราคาค่าพิมพ์บรรจุภัณฑ์ในระบบออฟเซ็ต หลังจบการสัมมนาเป็นการมอบประกาศนียบัตรให้ผู้เข้ารับ ร่วมสัมมนา โดยการสัมมนาในครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 - 17 ตุลาคม 2563 เวลา 09.30 - 16.30 น. ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย พระราม 9 www.thaiprint.org
26 KNOWLEDGE
่ วกับการพิ มพ์ ออฟเซต สาระน่ารูเ้ กีย การควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต (5) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิ มพ์ และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com
ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ นอกจากการควบคุม ค่าความเข้มสี ค่าการเกิดเม็ดสกรีนบวม ค่าการทับซ้อนกัน ของหมึกพิมพ์ เป็นอีกค่าหนึง่ ทีจ่ ำ� เป็นต้องศึกษา เพือ่ การท�ำให้ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
การพิมพ์งานได้คุณภาพตามมาตรฐานที่ก�ำหนด และสามารถ ลดปัญหาทางการพิมพ์งานได้
KNOWLEDGE 27
ค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิ มพ์ (Trapping)
ค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ หรือ แทรปปิ้ง เป็นค่าที่ใช้ ในการตรวจสอบการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ หมายถึง การ ตรวจสอบการทีห่ มึกพิมพ์ทพี่ มิ พ์ซอ้ นทับกันในงานพิมพ์ ในการ พิมพ์งาน 4 สี (CMYK) ด้วยการพิมพ์ออฟเซตนั้น หมึกพิมพ์ที่
พิมพ์จะมีการทับซ้อนกัน เพื่อเป็นการผลิตสีต่างๆ ให้กับงาน พิมพ์ ซึ่งถ้ามีการทับซ้อนกันไม่ดี จะท�ำให้เกิดปัญหาของการ ผิดเพี้ยนของสีได้
First-down ink
Second-down ink
รูปที่ 1 การทับซ้อนของหมึกพิ มพ์ ในการพิ มพ์ งาน 4 สี
ในการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น เครื่องพิมพ์ ออฟเซตป้อนแผ่นสามารถแบ่งประเภทได้ตามจ�ำนวนสีท่ีพิมพ์ ได้ของเครื่องพิมพ์ เช่น เครื่องพิมพ์ 1 สี เครื่องพิมพ์ 4 สี เครื่องพิมพ์ 6 สี เป็นต้น จากประเภทของเครื่องพิมพ์ออฟเซต
Wet
Dry
ป้อนแผ่นดังกล่าว ท�ำให้ในการผลิตงานพิมพ์จะมีการจัดล�ำดับ สีทางการพิมพ์ที่แตกต่างกัน ดังแสดงในรูปที่ 2
Wet
Dry
Wet
Wet on Wet
Dry
Wet on Wet
Dry
Wet
Wet on Wet
รูปที่ 2 ประเภทของเครื่องพิ มพ์ ออฟเซตป้อนแผ่นและการจัดล�ำดับสีทางการพิ มพ์ ที่มา: Handbook of Print Media
www.thaiprint.org
28 KNOWLEDGE
จากรู ป ที่ 2 จะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ประเภทของเครื่ อ งพิ ม พ์ ที่ แตกต่างกัน และการจัดล�ำดับสีทางการพิมพ์ที่เปลี่ยนไปตาม ประเภทของเครื่องพิมพ์ เครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่นสีเดียว ลักษณะการผลิตงาน คือ สามารถพิมพ์งานได้ครั้งละ 1 สี ใน 1 เที่ยวพิมพ์ และต้องรอให้หมึกพิมพ์แห้งตัวบนกระดาษ จึงจะท�ำการพิมพ์สีที่ 2 เราจึงเรียกว่าเป็นการพิมพ์แบบเปียก ทับแห้ง (Wet on Dry Printing) ในขณะที่เครื่องพิมพ์ 4 สี จะท�ำการพิมพ์งานได้ครั้งละ 4 สี ใน 1 เที่ยวพิมพ์ เราจะ เรียกการพิมพ์ในลักษณะนี้ว่า การพิมพ์แบบเปียกทับเปียก (Wet on Wet Printing) แต่ในการผลิตงานด้วยเครื่องพิมพ์ 2 สี ลั ก ษณะการผลิ ต งานจะมี ทั้ ง สองแบบอยู ่ ด ้ ว ยกั น คื อ พิมพ์ 2 สี ใน 1 เที่ยวพิมพ์ จะเป็นแบบ Wet on Wet Printing และต้องรอให้แห้งถึงพิมพ์ 2 สีต่อไป ก็จะเรียกว่า Wet on Dry Printing ส�ำหรับการพิมพ์แบบ Wet on Dry Printing จะให้คุณภาพ ทางการพิมพ์ท่ีดี เนื่องจากการพิมพ์สีที่สองทับลงไปในสีที่ 1 ขณะที่ ห มึ ก พิ ม พ์ แ ห้ ง แล้ ว จะเกิ ด การทั บ ซ้ อ นกั น ที่ ดี ก ว่ า เกิดเม็ดสกรีนบวมน้อยกว่า หากเปรียบเทียบกับการพิมพ์แบบ Wet on Wet Printing เนื่องจากการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ 4 สี จะมีการกดทับหมึกที่ยังไม่แห้งตัวหลายครั้ง ท�ำให้เกิด เม็ ดสกรี น บวมที่ ม ากกว่านั้นเอง ดัง นั้นเทคโนโลยีท างการ พิมพ์ออฟเซต จึงได้มีการพัฒนาหมึกพิมพ์ และอุปกรณ์ติดตั้ง ในเครื่องพิมพ์ เพื่อท�ำให้หมึกพิมพ์นั้น สามารถแห้งตัวได้เร็ว ยิ่งขึ้นในระหว่างการพิมพ์งาน อาทิเช่น การพัฒนาหมึกพิมพ์ที่ แห้งตัวด้วยแสงยูวี ซึง่ ต้องมีการติดตัง้ โคมยูวี ในแต่ละป้อมพิมพ์ โดยมีวัตถุประสงค์ให้หมึกพิมพ์นั้นสามารถแห้งตัวได้ก่อนจะ พิมพ์สีต่อไป ใน 1 เที่ยวพิมพ์นั้นเอง หลั ก การที่ ใช้ ใ นการจั ด ล� ำ ดั บ สี ท างการพิ ม พ์ โดยทั่ ว ไปจะ พิ จ ารณาจากค่ า ความเหนี ย วหนื ด (tack) ของหมึ ก พิ ม พ์ ออฟเซตเป็นหลัก ค่าความเหนียวหนืด หรือค่า tack คือ ค่าที่ บอกความเหนียวของหมึกพิมพ์ออฟเซตนั้นเอง โดยแต่ละ ผู้ขายหมึกพิมพ์ จะมีสูตรในการผลิตหมึกพิมพ์ที่แตกต่างกันไป อาทิเช่น มีการใช้ผงสี เรซิน และชนิดสารเติมแต่ง ทีแ่ ตกต่างกัน ด้วยเหตุนจี้ งึ ท�ำให้หมึกพิมพ์ออฟเซต 4 สี ในแต่ละยีห่ อ้ จะมีคา่ tack และคุณสมบัตอิ นื่ ๆ ทีแ่ ตกต่างกันไปด้วย ล�ำดับสีมาตรฐาน ที่ใช้ในการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ 4 สี คือ สีด�ำ สีฟ้า สีแดง และสีเหลือง (K C M และ Y) ซึ่งหมึกพิมพ์ออฟเซต 4 สี 1 ชุด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
โดยส่วนใหญ่จะมีการเรียงตัวของค่า Tack จากมากไปหาน้อย จากล�ำดับสีดังกล่าวนั้นเอง เพราะฉะนั้นหมึกพิมพ์สีด�ำ จะมี ค่า Tack ที่สูงที่สุด หากเปรียบเทียบกันระหว่างหมึกพิมพ์สี C M และ Y การจัดล�ำดับสีทางการพิมพ์แบบ KCMY บน เครือ่ งพิมพ์ 4 สี จะท�ำให้ลดปัญหาการถอนหมึกบนผิวกระดาษได้ เนือ่ งจากการพิมพ์สที ี่ 2 3 และ 4 ค่าความเหนียวของหมึกพิมพ์ จะน้อยกว่า จะท�ำให้หมึกพิมพ์ไม่สามารถถอนหมึกพิมพ์ทพี่ มิ พ์ สีก่อนหน้านี้ได้นั้นเอง ส�ำหรับการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น 1 สี หรือ 2 สี จะมีการจัดล�ำดับสีทางการพิมพ์ที่แ ตกต่า งจาก เครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น 4 สี จากรูปที่ 2 เครื่องพิมพ์ ออฟเซตป้อนแผ่น 1 สี จะมีการเรียงล�ำดับสีในการพิมพ์ คือ C M Y และ K สาเหตุที่สามารถจัดล�ำดับสีแบบนี้ได้ เนื่องจาก เป็นการพิมพ์แบบ Wet on Dry Printing สีที่ถูกพิมพ์ต่อมา จะถูกพิมพ์ทับลงไปในขณะที่สีแรกนั้นมีการแห้งตัวแล้ว ดังนั้น ค่าความเหนียวของหมึกพิมพ์จึงไม่มีผลต่อการทับซ้อนกันของ สีในการพิมพ์งาน นอกจากนี้ลำ� ดับสีของการพิมพ์งานอาจจะมี การเปลี่ยนไปใน 2 สีสุดท้าย ขึ้นอยู่กับความต้องการของลูกค้า อาทิเช่น ถ้าลูกค้าต้องการโทนสีของภาพเป็นโทนสว่าง อาจจะ สลับสีให้พิมพ์สีเหลืองเป็นสีสุดท้าย เพื่อเพิ่มความสว่างให้กับ ชิ้นงานพิมพ์ ส�ำหรับการพิมพ์งานด้วยเครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น 2 สี จะมีการเรียงล�ำดับสีทางการพิมพ์แบบเที่ยวที่ 1 คือ C M และ เที่ยวที่ 2 คือ K Y ตามรูปที่ 2 จากการจัดล�ำดับสีแบบนี้ จะท�ำให้การเรียงความเหนียวของหมึกพิมพ์ที่ถูกต้อง และไม่ ก่อให้เกิดปัญหาทางการพิมพ์ เช่น หมึกพิมพ์ถอนกระดาษ หรือปัญหาการทับซ้อนที่ไม่ถูกต้อง
การจัดล�ำดับสีทางการพิ มพ์ แบบ KCMY บนเครื่องพิ มพ์ 4 สี จะท�ำให้ลดปัญหาการถอนหมึกบน ่ งจากการพิ มพ์ ผิวกระดาษได้ เนือ สีที่ 2 3 และ 4 ค่าความเหนียว ของหมึกพิ มพ์ จะน้อยกว่า จะท�ำให้หมึกพิ มพ์ ไม่สามารถถอน หมึกพิ มพ์ ที่พิมพ์ สีก่อนหน้านี้ได้
KNOWLEDGE 29
1 - Under colour
2 - Over colour
2 colour acceptance
Trapping Result
100%
M
+
C
=
M
+
C
=
C
+
M
=
C
M
C 50% M
M 50% C
รูปที่ 3 การจัดล�ำดับสีและการพิ มพ์ ท่ม ี ีความหนาของชั้นหมึกพิ มพ์ ท่แ ี ตกต่างกัน ส่งผลต่อค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิ มพ์
จากรูปที่ 3 จะแสดงให้เห็นว่าการจัดล�ำดับสีทางการพิมพ์ที่ แตกต่ า งกั น และการพิ ม พ์ ง านด้ ว ยค่ า ความด� ำ หรื อ ความ หนาของชั้นหมึกพิมพ์ที่แตกต่างกัน จะ ท�ำให้การผลิตสีทาง การพิมพ์มีความแตกต่างกัน ถ้ามีการพิมพ์งานตามล�ำดับสี ทางการพิมพ์ทถี่ กู ต้อง และมีการควบคุมการปล่อยหมึกทีถ่ กู ต้อง ตามมาตรฐาน จะท�ำให้ได้ค่าสีที่ไม่มีการผิดเพี้ยน แต่หากมี การจั ด ล� ำ ดั บ สี ที่ เ ปลี่ ย นไป อาจจะท� ำ ให้ สี มี ก ารผิ ด เพี้ ย น โดยแสดงจากในรูปที่ 3 ที่มีการพิมพ์สี M ก่อนและมีการพิมพ์ สี C ทั บ ลงไปในความหนาของชั้ น หมึ ก พิ ม พ์ ที่ ไ ม่ เ ท่ า กั น จะท�ำให้การผลิตสีมีการผิดเพี้ยนไปทางสี M ส่งผลต่อการ ควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์
ส�ำหรับการวัดค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ หรือค่าแทรปปิง้ หลังจากเลือกเมนูคำ� สัง่ วัด Trapping ในการวัด จะท�ำการวัดดังนี้ 1. วัดค่าความด�ำของหมึกพิมพ์สีแรก 2. ท�ำการวัดค่าความด�ำของหมึกพิมพ์สีที่สองที่พิมพ์ทับ 3. ท�ำการวัดค่าของสีที่พิมพ์ทับกัน ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราต้องการวัดค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ โดยก�ำหนดเป็นสีน�้ำเงิน ซึ่งเกิดจากการพิมพ์ทับซ้อนกันของ หมึกพิมพ์สี C และสี M โดยหมึกพิมพ์สี C พิมพ์ลงบนกระดาษ เป็นสีแรกและพิมพ์สี M ทับลงไป ในการวัดค่าแทรปปิ้ง เราจะ วั ด ค่ า ความด� ำ ของหมึ ก พิ ม พ์ สี C และวั ด ค่ า ความด� ำ ของ หมึกพิมพ์สี M และหลังจากนั้นวัดค่าความด�ำของสีน�้ำเงิน เครื่องมือวัดจะค�ำนวณค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์มาให้ www.thaiprint.org
30 KNOWLEDGE
รูปที่ 4 แถบควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ บริเวณที่ใช้วัดค่า Trapping ที่มา: Handbook of Print Media
จากรูปที่ 4 แสดงให้เห็นถึงแถบควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ บริเวณที่ใช้วัดค่า Trapping จะสังเกตว่าจะมีการเรียงตัวของ สีมาให้ เพื่อท�ำให้สะดวกในการวัดค่านั้นเอง เช่น ในการวัดค่า trapping ของสีน�้ำเงิน จะมีแถบสีน�้ำเงินที่เกิดจากการพิมพ์ ทับซ้อนกันของสี C และ M อยู่ตรงกลาง และมีแถบที่ใช้วัดค่า ความด�ำของสี C และ M อยูท่ างด้านซ้ายและขวา ท�ำให้สามารถ ตรวจสอบการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ได้โดยง่าย สิ่งที่ส�ำคัญอีกอย่างในการวัดค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ คือ การเลือกใช้สมการในการวัดค่า เครือ่ งมือวัดทุกยีห่ อ้ ส่วนใหญ่ จะมีการติดตัง้ สมการในการวัดค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ อยู่ทั้งหมด 2 สมการ คือ สมการของ Preucil (พรูซิล) และ สมการของ Ritz (ไรซ์) ซึ่งจะมีการค�ำนวณการทับซ้อนกันของ หมึกพิมพ์ที่แตกต่างกัน ในการใช้งานโดยทั่วไปที่ตั้งค่ามาจาก เครื่องมือวัด จะตั้งค่าเป็นสมการของพรูซิลเป็นหลัก ส�ำหรับค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ จะไม่มีค่ามาตรฐาน แต่จะก�ำหนดในการตรวจสอบดังต่อไปนี้ C + M มากกว่า 60 % M + Y มากกว่า 72 % C + Y มากกว่า 85 %
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทับซ้อนกันของหมึกพิ มพ์
1. ค่าความด�ำหรือค่าความเข้มของหมึกพิมพ์ ในการพิมพ์งาน ค่าความด�ำเป็นสิ่งที่ช่างพิมพ์จะต้องท�ำการควบคุม เพื่อให้เกิด ความสม�่ำเสมอของสีในระหว่างการพิมพ์งาน โดยค่าความด�ำ มาตรฐานที่ก�ำหนดจะท�ำให้ได้ความหนาของชั้นหมึกพิมพ์ของ แต่ละสีที่เท่ากัน ค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์ จะท�ำการวัด มาจากค่าความด�ำของแต่ละสีทพี่ มิ พ์ทบั กัน เพือ่ ค�ำนวณค่าการ ทับซ้อนกัน ท�ำให้ค่าความด�ำที่ใช้ในการพิมพ์งานเป็นปัจจัยที่ ส่งผลโดยตรงต่อการทับซ้อนกันของสี 2. ล�ำดับสีทางการพิมพ์ การจัดล�ำดับสีทางการพิมพ์มคี วามส�ำคัญ เป็นอย่างมากในการผลิตงานพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ออฟเซต ป้อนแผ่น 4 สี เครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น 1 สี 2 สี และ 4 สี จะมีการจัดล�ำดับสีทางการพิมพ์ที่ไม่เหมือนกัน โดยส่วน ใหญ่ล�ำดับสีทางการพิมพ์จะมาจากค่าความเหนียวของหมึก พิมพ์แต่ละสีนั้นเอง 3. ค่ า ความเหนี ย วของหมึ ก พิ ม พ์ ค่ า การทั บ ซ้ อ นกั น ที่ ดี จะหมายถึงการที่สีที่สองพิมพ์ทับลงไปยังสีแรกที่พิมพ์ และมี การทับซ้อนกันอย่างสมบูรณ์ ไม่เกิดการถอนตัวของหมึกพิมพ์ โดยส่วนใหญ่ค่าความเหนียวของหมึกพิมพ์ 4 สี ของแต่ละยี่ห้อ หมึกพิมพ์จะมีการล�ำดับค่าความเหนียวของหมึกพิมพ์มาให้ โดยมีความสัมพันธ์กบั ล�ำดับสีทางการพิมพ์ ปัญหาทีพ่ บส่วนใหญ่ จะมาจาก การปฏิบัติงานของช่างพิมพ์ที่บางครั้งน�ำหมึกพิมพ์ 4 สี สลับชุดมาท�ำการผลิตงานพิมพ์ เช่น น�ำหมึกพิมพ์ยี่ห้อ A สี C และสี K มาพิมพ์งานผสมกันหมึกพิมพ์ยี่ห้อ B สี M และสี Y เป็นต้น ท�ำให้ค่าการทับซ้อนกันของหมึกพิมพ์มีค่า ที่เปลี่ยนไป และอาจท�ำให้เกิดปัญหาการถอนของหมึกพิมพ์ได้ ดังแสดงในรูปที่ 5
KNOWLEDGE
31
รูปที่ 5 หมึกพิ มพ์ ที่มีความเหนียวมากจะท�ำให้เกิดการถอนผิวกระดาษหรือการถอนหมึกพิ มพ์ ได้
Trapping ทางด้านการเตรียมพิ มพ์
ค�ำว่า trapping หรือ แทรปปิง้ จะมีการใช้ในทางด้านการเตรียม พิมพ์ หรือพรีเพรส โดยจะหมายถึง ค�ำสั่งแทรปปิ้ง (Trapping) โดยเป็นค�ำสัง่ ทีท่ ำ� ให้พนื้ ทีต่ วั อักษรมีขนาดใหญ่ขนึ้ และพืน้ ทึบที่ เจาะขาวมีขนาดเล็กลง ประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ท�ำให้เกิดการ
A
ทับซ้อนกันได้ดีมากยิ่งขึ้นระหว่างตัวอักษรที่พิมพ์ทับลงบนพื้น ทึบทีม่ กี ารเจาะขาว และเมือ่ ท�ำการผลิตงานพิมพ์ หากมีปญ ั หา ฉากเหลื่อม จะท�ำให้ช่วยให้งานพิมพ์ไม่มีปัญหาขอบขาวขึ้นมา นั้นเอง ดังแสดงในรูปที่ 6
B
รูปที่ 6 การปรับขนาดของภาพพิ มพ์ เพื่ อให้มีการทับซ้อนกันระหว่างขอบ ที่มา: http://konitadigital.sell.everychina.com/p-107623631.html
www.thaiprint.org
32 INDUSTRIAL
นวัตกรรมยืดอายุอาหาร อาวุธเด็ด SME ยุค New Normal โดย ความร่วมมือระหว่าง EKA GLOBAL และ SME Thailand THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INDUSTRIAL 33
Photo by NeONBRAND on Unsplash
“เอกา โกลบอล” (EKA GLOBAL) ผู้น�ำตลาดนวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ ยื ด อ า ยุ อ า ห า ร ( Lo n g ev i ty Packaging) รายใหญ่ ข องโลก เบอร์ 1 ในเอเชีย ได้ริเริม ่ โครงการ New Normal Food Packaging ความร่วมมือระหว่าง EKA GLOBAL และ SME Thailand ที่เปิดโอกาส ให้ผู้ประกอบการธุรกิจอาหารจาก ทั่วประเทศ จ�ำนวน 10 ราย ได้เข้า ร่วมทดสอบการจัดเก็บอาหารกับ บรรจุภัณฑ์อาหารวิถีใหม่
ปลดล็อกอุปสรรค SME ด้วยนวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ์
มันเทศทอดและกล้วยทอดสุญญากาศ น�ำ้ พริกปลาร้าทรงเครือ่ ง กระหรีฟ่ ฟั หมูหยองอบกรอบ ฝอยทอง เค้กเพือ่ สุขภาพ หมีก่ รอบ รากบัว ทองหยิบ ทองหยอด บราวนี่เต้าหู้ (เจ) และเห็ดอบแห้ง คื อ ตั ว อย่ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารจาก SME ไทยที่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว ม โครงการในครัง้ นี้ ตัวแทนของ SME ทัว่ ประเทศทีส่ ว่ นใหญ่จะมี “อายุสินค้า” (Shelf Life) เป็นอุปสรรคและข้อจ�ำกัดในการ ท�ำธุรกิจ แม้สินค้าจะดีมีคุณภาพ มีรสชาติที่โดดเด่นและเป็น เอกลักษณ์ แต่ส่วนใหญ่มักจะตกม้าตายที่เก็บได้ไม่นาน ถ้าคน ซื้อไม่รีบทานก็จะเสีย กลายเป็นข้อจ�ำกัดในการขยายตลาด และเสียโอกาสในการขาย ไอเดียนีเ้ ริม่ มาจากเห็นลูกค้าในอินเดีย มีขนมหวานหลายประเภทคล้าย ในประเทศไทย มีสว่ นผสมของแป้ง น�ำ้ ตาล และไข่ คล้ายคลึงกัน จากปกติอยู่ได้ 3 วัน พอน�ำมาใส่แพ็กเกจจิ้งสูญญากาศท�ำให้ สามารถอยู่ได้ 2 อาทิตย์ ซึ่งส�ำหรับผู้ประกอบการที่ผลิตของ หวานสามารถท�ำได้ง่ายมาก เพราะไม่ต้องมีเครื่องไม้เครื่องมือ อย่างพวกเครือ่ งฆ่าเชือ้ (Retort) เหมือนทีโ่ รงงานอุตสาหกรรมท�ำ มองว่าถ้าเป็นแบบนี้ก็น่าจะช่วยเหลือผู้ผลิตอาหารบ้านเราได้ ลองคิดดูว่าถ้าสามารถยืดอายุการจัดเก็บได้ก็จะดีกับ SME แค่ไหน เพราะ 1. มันจะช่วยลดของเสีย ลดการสูญเสียใน กระบวนการผลิต 2. ช่วยยืดอายุการจัดเก็บได้นานขึ้นท�ำให้ สามารถขยายตลาดไปได้ทั่วประเทศหรือแม้แต่ต่างประเทศ โดยที่ไม่ต้องมีปัญหาเรื่องการจัดเก็บและการขนส่ง www.thaiprint.org
34 INDUSTRIAL
Photo by S'well on Unsplash
นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ยืดอายุ อาหารแนวใหม่ ที่เรียกว่า นวัตกรรมบรรจุแบบดัดแปร บรรยากาศ Modified Atmosphere Packaging Process หรือ MAP ซึ่งเป็น การน�ำเทคโนโลยีการถนอมอาหาร (Food preservation) เพื่ อยืดอายุการเก็บรักษาอาหารสด หรืออาหารที่แปรรูปขั้นต�่ำ หนึ่งในเทคโนโลยีการผลิตอาหาร เพื่ อชะลอการเน่าเสีย ท�ำให้อาหารยังคงความสด และคุณค่าทางโภชนาการ ไว้ได้ตลอดเส้นทางการขนส่ง
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
MAP เทคนิคยืดอายุอาหารสด ตัวช่วยเพิ่ มโอกาส SME
ในบรรดาเทคนิคการถนอมอาหารหรือยืดอายุสินค้ามีหลาก หลายรูปแบบ ที่ SME คุ้นเคยดีก็คือการเอาเข้าเครื่องฆ่าเชื้อ (Retort) ซึ่งโรงงานส่วนใหญ่มักไม่ค่อยอยากรับลูกค้า SME เพราะสัง่ ในปริมาณทีน่ อ้ ย และหากรับก็มกั จะมีราคาแพง SME บางรายยังคงเลือกใช้ทางออกทีง่ า่ ยทีส่ ดุ อย่างการใส่สารกันบูด แต่ในยุคที่ผู้บริโภคตระหนักถึงเรื่องสุขภาพมากขึ้น สินค้าใน กลุ่มนี้ก็จะถูกบีบออกจากตลาดได้ง่ายๆ แต่สิ่งที่เอกา โกลบอล น�ำมาเสนอกับ SME คือ นวัตกรรม บรรจุ ภั ณ ฑ์ ยื ด อายุ อ าหารแนวใหม่ ที่ เรี ย กว่ า นวั ต กรรม บรรจุแบบดัดแปรบรรยากาศ Modified Atmosphere Packaging Process หรือ MAP ซึ่งเป็นการน�ำเทคโนโลยี การถนอมอาหาร (Food preservation) เพื่ อ ยื ด อายุ การเก็บรักษาอาหารสด หรืออาหารที่แปรรูปขั้นต�่ำ เป็นหนึ่ง ในเทคโนโลยีการผลิตอาหาร เพือ่ ชะลอการเน่าเสีย ด้วยการลด ปริมาณออกซิเจนลง และเติม CO2, N2 เข้าไปแทนที่อากาศ มาใช้ กั บ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ยื ด อายุ อ าหาร ท� ำ ให้ ส ามารถควบคุ ม และคงสภาวะแวดล้อมภายในห่อ ท�ำให้อาหารยังคงความสด และคุณค่าทางโภชนาการไว้ได้ตลอดเส้นทางการขนส่ง และมี อายุอยู่บนเชลฟ์ได้นานที่สุด นั่นเองที่ท�ำให้ SME มีโอกาส ทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้น และยังสามารถลดต้นทุน รวมถึงโอกาส ในการขยายตลาดออกสู่ต่างจังหวัดและต่างประเทศได้อีกด้วย
INDUSTRIAL 35
เพิ่ มแต้มต่อในยุค New Normal ด้วยแพ็ กเกจจิ้งนวัตกรรม
หลังโลกเผชิญกับวิกฤตโควิด-19 พฤติกรรมของคนและธุรกิจ เปลี่ยนสู่ยุค New Normal น�ำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงใน หลาย ๆ ด้าน ตลอดจนการแข่งขันและความท้าทาย ส่งผลกระทบ ต่อการท�ำธุรกิจในวันนี้ ซึ่งผู้บริหารเอกา โกลบอลบอกเราว่า เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์นี้จะช่วยปิดช่องโหว่ทางธุรกิจไม่ว่าจะ เป็นปัญหาการขายสินค้าไม่ทนั สินค้าเน่าเสียต้องทิง้ สินค้าอายุ จัดเก็บรักษาสัน้ ท�ำให้กระจายสินค้าได้เฉพาะพืน้ ทีใ่ กล้เคียง ฯลฯ แต่นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์แบบ MAP จะช่วยให้กลุ่มอาหาร พร้อมรับประทานอย่าง เบเกอรี่ เค้ก คุกกี้ ขนมหวาน ผลไม้แห้ง อาหารแปรรูป และปรุงส�ำเร็จ ฯลฯ ของ SME ก้าวข้ามข้อจ�ำกัด และไปคว้าโอกาสที่มากขึ้นยุค New Normal
“Puffy Curry Puff” คือแบรนด์กระหรีฟ่ ฟั ออนไลน์ ทีท่ ำ� ธุรกิจ มาได้ประมาณ 1 ปี สินค้าของพวกเขาถูกส่งขายในรูปแบบง่าย ๆ ที่หลายคนคุ้นเคยดี คือ ห่อกระดาษ จัดวางใส่กล่องกระดาษ สินค้าอยู่ตามธรรมชาติไม่ได้มีระบบยืดอายุใด ๆ โดยอยู่ใน อุณหภูมปิ กติทปี่ ระมาณ 3 วัน ในตูเ้ ย็นอยูไ่ ด้ประมาณ 1 อาทิตย์ และบางไส้อย่างถัว่ หากเก็บนานก็จะมีความนิม่ ไม่กรอบเหมือน แรกท�ำ นั่นคือเหตุผลที่พวกเขาเชื่อว่า นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ จะสามารถตอบโจทย์ธรุ กิจได้ โดยหากสามารถยืดอายุได้นานขึน้ เช่น ประมาณ 1-2 สัปดาห์ นั่นหมายความว่าโอกาสในการขาย ก็จะมากขึน้ โดยมีความฝันทีอ่ ยากจะเห็นสินค้า Puffy Curry Puff ไปวางจ�ำหน่ายอยู่ในร้านสะดวกซื้อทั่วประเทศได้ในอนาคต
เครดิภาพประกอบจาก https://www.facebook.com/puffycurrypuff/
www.thaiprint.org
36 INDUSTRIAL
เครดิภาพประกอบจาก https://www.instagram.com/mr.potatong/
เช่นเดียวกับ มันเทศทอดและกล้วยทอดสุญญากาศ “แบรนด์ มิสเตอร์โปเตตง (Mr.Potatong)” ของบริษทั Asia Business Enterprise ที่ จ� ำ หน่ า ยอยู ่ ใ นร้ า นเพื่ อ สุ ข ภาพชื่ อ ดั ง อย่ า ง เลมอนด์ฟาร์ม ปัญหาที่พวกเขาเจอคืออายุสินค้าที่อยู่ได้แค่ ประมาณ 5-7 วัน สินค้าเน้นขายความกรอบ แต่แพ็กเกจจิ้ง เดิมอยู่ในถุงพลาสติกท�ำให้เมื่อถูกแสงและอากาศท�ำให้สินค้า กรอบน้อยลง คุณภาพลดลง ทีผ่ า่ นมาจึงมีสนิ ค้าถูกตีคนื หลายครัง้ ในขณะทีก่ ารทอดแบบสุญญากาศมีตน้ ทุนทีส่ งู กว่าการทอดทัว่ ไป นัน่ หมายความว่าถ้าอายุในการขายสัน้ ลง ปัญหามีมาก โอกาสใน การสร้างรายได้กจ็ ะน้อยลงไปด้วย ไม่คมุ้ กับต้นทุนทีต่ อ้ งแบกรับ พวกเขาจึงคาดหวังว่าการมีนวัตกรรมด้านแพ็กเกจจิง้ เข้ามาช่วย จะแก้ปัญหาที่มีได้ และช่วยให้มิสเตอร์โปเตตงสามารถส่งขาย ได้ทั่วประเทศในอนาคตอันใกล้ SME หลายรายมีอาหารที่เป็นสูตรเด็ดเคล็ดลับอยู่กับตัวเอง อยากผลิ ต ออกมาเป็ น สิ น ค้ า และอยากให้ สิ น ค้ า มี อ ายุ การเก็บรักษานาน ๆ เพื่อจะท�ำตลาดได้กว้างขึ้น เช่นเดียวกับ “น�้ำพริกปลาร้าทรงเครื่อง ของ ปลาส้มแม่ละอองแปดริ้ว” THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
เมนูใหม่ล่าสุดของปลาส้มแม่ละอองที่สองทายาทอยากเอามา บุกเบิกตลาด แต่เป้าหมายของพวกเขาไม่ได้ตอ้ งการแค่วางขาย ในร้านหน้าโรงงาน หรือออนไลน์เท่านัน้ แต่อยากกระจายสินค้า ให้ไกลขึ้น ซึ่งเดิมผลิตภัณฑ์บรรจุลงกระปุกอยู่ได้ประมาณ 5-7 วัน ก็หวังที่จะใช้บรรจุภัณฑ์นวัตกรรมเพื่อยืดอายุสินค้า ได้ประมาณ 2 เท่า เพื่อน�ำความอร่อยที่แม่ท�ำ ไปสร้างโอกาส ธุรกิจได้มากกว่านี้ในอนาคต
นวัตกรรมบรรจุภัณฑ์ จะสามารถตอบโจทย์ธุรกิจได้ ้ โดยหากสามารถยืดอายุได้นานขึน เช่น ประมาณ 1-2 สัปดาห์ นั่นหมายความว่า โอกาส ในการขายก็จะมากขึ้น ที่มา: www.smethailandclub.com ศูนย์รวมข้อมูลธุรกิจเอสเอ็มอี
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44
8/9/2560 2:47:57
NEWS
39
สมาคมการพิ มพ์ ไทยจัดฝึกอบรม "กลยุทธ์การออกแบบบรรจุภัณฑ์"
เมื่อวันที่ 13 - 14 พฤศจิกายน 2563 ณ ห้องสัมมนา ชัน ้ 4 อาคารสมาคมการพิ มพ์ ไทย พระราม 9 สมาคมการพิมพ์ไทยจัดฝึกอบรม “กลยุทธ์การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์” โดยมีอาจารย์สุชาดา คันธารส สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ ดิจิทัลและบรรจุภัณฑ์ ม.ราชมงคลธัญบุรี เป็นวิทยากรที่ให้ ความรู้ในหัวข้อเทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และแนวโน้ม การออกแบบในอนาคต และอาจารย์วรรณรัตน์ วิรชั กุล ภาควิชา เทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า ธนบุรีเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ เทรนด์ในการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์และปัญหาการออกแบบบรรจุภัณฑ์
หลังจบการสัมมนาวิทยากรได้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์กล่องใส่ Power Bank และกล่องใส่นำ�้ ผึง้ ด้วยตัวเอง จากนั้นเป็นการมอบประกาศนียบัตร โดยการฝึกอบรมใน ครั้งนี้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 13 - 14 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.30 16.30 น. ณ ห้องสัมมนา ชั้น 4 อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย พระราม 9 www.thaiprint.org
40 KNOWLEDGE
การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 4
(Engineering cost reduction For the printing and packaging industry, part 4) วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com
ในเนื้อหาของเล่มที่ 125, 126 และ 127 ได้กล่าวถึงการลดต้นทุน ในด้านต่าง ๆ ในโรงงาน ซึง่ มีทงั้ หมด 5 ข้อใหญ่ ๆ ในเนือ้ หาบรรยาย เล่มนี้ จะอธิบายในหัวข้อที่ 2 เพิ่ม ในเรื่องที่เกี่ยวกับการลดต้นทุน ด้านอะไหล่ของเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ ในเนือ้ หาเล่มนี้ จะได้อธิบายการลดต้นทุนเกีย่ วกับอะไหล่และอุปกรณ์ ทีใ่ ช้ในเครือ่ งจักร เครือ่ งพิมพ์ ทีม่ คี วามส�ำคัญ ซึง่ มีรายการดังต่อไปนี้ 1. ชุดลูกปืนรองรับ เพลา ลูกกลิง้ อุปกรณ์หมุน โยก ส่าย และอืน่ ๆ ทุกชนิด 2. ชุดมอเตอร์ไฟฟ้า ทุกชนิด 3. ชุดเกียร์ ชุดเฟือง ชุดเฟืองโซ่ ระบบส่งก�ำลัง ทุกชนิด 4. อุปกรณ์นิวเมติก (Pneumatic systems) อุปกรณ์ไฮโดรลิค (Hydraulic systems) 5. อุปกรณ์คอนโทรลและควบคุม ในเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ ทุก ชนิด เช่น PLC, Power supply, HMI Touch Screen Panel, Inverter,AC/DC Drive controller, Servo controller, All sensor, Machine Controller Board และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. ชุดลูกปืนที่อยู่ในเครื่องจักร เครื่องพิ มพ์
หัวข้อแรกทีจ่ ะได้อธิบายคือ ชุดลูกปืนทีอ่ ยูใ่ นเครือ่ งจักร เครือ่ งพิมพ์ ซึ่งชุดลูกปืนในเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ 1.1 ลูกปืนที่ไม่ต้องใส่หรือเติมหล่อลื่นตลอดอายุการใช้งาน (เป็น ลูกปืนที่ใส่สารหล่อลื่นหรือจารบีมาแล้วจากผู้ผลิตและใส่ชุดซีลปิด ป้องกันไม่ให้สารหล่อลืน่ หรือจารบีไหลออกและชุดซีลยังป้องกันไม่ให้ มีนำ�้ ฝุน่ ผง จากภายนอกเข้าไปในบริเวณเสือ้ ในและเม็ดลูกปืนด้วย)
รูปแสดงตลับลูกปืนที่ใส่ชุดซีลป้องกันสารหล่อลื่นและ จารบีไหลออกและป้องกันฝุ่น น�้ำ ไม่ให้ไหลเข้าไปด้านใน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
รูปแสดงลักษณะงานที่ใส่ชุดลูกปืนที่ไม่ต้องการใส่สารหล่อลื่น หรือจารบีเพิ่ มเติมตลอดอายุการใช้งาน
ส�ำหรับอุปกรณ์ชน้ิ ส่วนของเครือ่ งจักร เครือ่ งพิมพ์ ทีใ่ ส่ลกู ปืนประเภทนี้ หรือลักษณะงานแบบนี้ ทางช่างที่มีหน้าที่ดูแลรักษา จะต้องคอย ตรวจสอบดูเป็นระยะว่าการหมุนของลูกกลิ้งและอุปกรณ์ ยังหมุน ได้ดคี ล่องตัวหรือไม่ในขณะหยุดเครือ่ ง โดยใช้มอื หมุนดู หรือในขณะ ที่เครื่องจักรและอุปกรณ์ท�ำงานอยู่ต้องสังเกตุจากการฟังเสียง ว่ามี เสียงดังไปจากปกติหรือไม่ หรือสังเกตุรอบ ๆ บริเวณทีม่ ตี ลับลูกปีน ติดตั้งอยู่ว่ามีเศษผงเหล็กหรือผงไหม้ของสารหล่อลื่นหรือจารบีติด อยู่หรือไม่ ถ้าพบเห็น แสดงว่าตลับลูกปืนชุดนั้นช�ำรุดแล้ว ต้องรีบ เปลี่ยนตลับลูกปืนใหม่ทันที เพราะถ้าทิ้งไว้และเดินเครื่องต่อไป จะท�ำให้เพลาหรือเบ้าของอุปกรณ์หรือลูกกลิง้ ทีม่ ชี ดุ ลูกปืนใส่ประกอบอยู่ ช�ำรุดเสียหายไปด้วย ซึ่งจะท�ำให้เสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมสูง และในการสั ง เกตว่ า ชุ ด ตลั บ ลู ก ปื น มี เ สี ย งดั ง หรื อ ช� ำ รุ ด หรื อ ไม่ นอกจากช่างซ่อมบ�ำรุงแล้ว ต้องอาศัยช่างคุมหรือช่างเดินเครือ่ งหมัน่ คอยสังเกตุแล้วถ้าพบสิง่ ผิดปกติให้ตดิ ต่อช่างซ่อมบ�ำรุงมาตรวจสอบ ซ�้ำและท�ำการเปลี่ยนซ่อมต่อไป ส�ำหรับการตรวจเช็คหรือฟังเสียงว่าชุดลูกปืนหรือตลับลูกปืน มีเสียงดัง ผิดปกตินนั้ สามารถท�ำได้ 2 วิธคี อื ฟังด้วยหูของช่างผูม้ ปี ระสบการณ์ และใช้ชดุ ตรวจฟังเสียงซึง่ ท�ำหน้าทีค่ ล้ายกับชุดฟังเสียงแบบทีห่ มอใช้ ซึ่งแสดงตามรูปด้านล่าง
รูปแสดงการตรวจเช็คการช�ำรุดของตลับลูกปืนด้วยการฟังเสียง
KNOWLEDGE
41
และในการตรวจเช็คด้วยการฟังเสียงนี้ เครื่องมือตรวจเช็ครุ่นใหม่ ไม่จำ� เป็นต้องใส่แบบหูฟงั การแสดงผลของเสียงดังหรือเสียงผิดปกติ จะแสดงออกมาเป็นตัวเลขหรือกราฟเลยตามรูปด้านล่าง
่ งจักร หรือเสียง รูปแสดงชุดวัดเสียงดังของลูกปืน ชิน ้ ส่วนเครือ ่ ๆ ในเครือ ่ งจักรและอุปกรณ์ทเ่ี กิดเสียง เพื่ อตรวจเช็คหาเสียง อืน ้ แบบปกติ โดยชุดวัด ่ ด ่ เปรียบเทียบกับเสียงทีเ่ กิดขึน ทีผ ิ ปกติเมือ ่ สดงออกมาเป็นตัวเลขหรือกราฟ รุน ่ ใหม่ไม่ตอ ้ งใช้ใส่ทห ี่ ฟ ู ง ั ค่าทีแ
1.2 ชุดลูกปืนหรือตลับลูกปืนที่ต้องการการหล่อลื่นหรือเติมสาร หล่อลืน่ อยูต่ ลอดเวลา ซึง่ ชุดลูกปืนแบบนีป้ กติจะเป็นลูกปืนขนาดใหญ่ ที่มีราคาแพง เปลี่ยนซ่อมยาก ท�ำงานหนัก หรือมีจ�ำนวนมากและ อยู่หรือถูกติดตั้งในต�ำแหน่งที่ถ้าจารบีหรือสารหล่อลื่นล้นออกมาก็ จะไม่เลอะหรือส่งผลเสียต่อการผลิตงาน (รูปด้านล่างแสดงลูกปืน หรือตลับลูกปืนทีม่ ซี ลี ข้างเดียวหรือไม่มเี ลย เพือ่ ให้สารหล่อลืน่ หรือ จารบีไหลหรือแทรกตัวเข้าในรังในและเม็ดลูกปืนได้)
รูปแสดงตลับลูกปืนที่ใส่ชุดซีลป้องกันสารหล่อลื่นและ จารบีไหลออกและป้องกันฝุ่น น�้ำ ไม่ให้ไหลเข้าไปด้านใน
รูปด้านบนแสดงรูปเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ ที่มีจุดอัดหรือเติมสาร หล่อลื่นอยู่เป็นจ�ำนวนมาก อาจมากเป็นร้อย ๆ จุดหรือมากกว่า ถ้า จะใช้ถงั อัดหรือปืนอัดแบบเดิมจากจะใช้บคุ ลากรและเวลามาก และ อาจมีการหลงลืมต�ำแหน่งหรืออัดไม่ครบได้ ในปัจจุบันเครื่องจักรมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ถูกติดตั้งระบบหล่อ ลื่นแบบอัตโนมัติ อาจเป็นแบบจุดต่อจุด หรือแบบศูนย์รวมก็ได้ ดัง แสดงตามรูปด้านล่าง
่ ซ รูปแสดงลูกปืนหรือตลับลูกปืนทีม ี ล ี ข้างเดียวหรือไม่มเี ลย เพื่ อให้ ่ หรือจารบีไหลหรือแทรกตัวเข้าในรังในและเม็ดลูกปืนได้ สารหล่อลืน
ตามคู่มือเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ จะมีบอกชนิดและเบอร์ของสาร หล่อลื่นหรือจารบีเอาไว้ และบอกระยะเวลาในการอัดหรือเติมสาร หล่อลืน่ เข้าไปในชุดลูกปืนด้วย บางเครือ่ งอาจบอกเป็นวัน เป็นเดือน เป็นปี และบางเครื่องอาจบอกเป็นชั่วโมงการเดินเครื่อง ซึ่งผู้ที่ มีหน้าที่รับผิดชอบก็ต้องด�ำเนินการตามคู่มือที่แจ้งใว้ให้ถูกต้องและ ครบถ้วน และถ้าในกรณีที่เครื่องจักรหรือเครื่องพิมพ์เป็นเครื่องจักรมือสอง หรือเก่ามาก ไม่มีคู่มือการบ�ำรุงรักษาประจ�ำเครื่อง ให้ผู้ที่มีหน้าที่ ดูแลรับผิดชอบ จัดท�ำตารางการอัดหรือเติมสารหล่อลื่นขึ้นมาใหม่ โดยอาศัยข้อมูลจากเครื่องจักรที่มีลักษณะหรือต�ำแหน่งที่ใกล้เคียง กันเป็นไกด์ไลน์ ส�ำหรับเครือ่ งจักรหรือเครือ่ งพิมพ์ทเี่ ป็นเครือ่ งรุน่ เก่าและมีจดุ หล่อลืน่ ทีต่ อ้ งเติมสารหล่อลืน่ หรืออัดจารบีอยูเ่ ป็นจ�ำนวนมาก ถ้าใช้กระบอกอัด หรือปืนอัดจารบี ต้องใช้เวลานานกว่าจะแล้วเสร็จและต้องใช้บุคคล ากรมาก ซึ่งในปัจจุบันเราสามารถติดตั้งชุด อัดหรือเติมสารหล่อลื่น แบบอัตโนมัติได้ โดยราคาในปัจจุบันก็ไม่แพงมากแล้วและหาซื้อ ได้ง่าย การติดตั้งก็ไม่ยุ่งยากและทางซัพพลายเออร์ก็สามารถเสนอ ราคาพร้อมติดตั้งให้กับทางโรงงานได้
รูปแสดงระบบหล่อลื่นแบบอัตโนมัติ แบบจุดต่อจุด
การหล่อลื่นแบบอัตโนมัติแบบจุดต่อจุด แบบนี้เป็นที่นิยมใช้กัน มากในปัจจุบัน เหมาะส�ำหรับชุดลูกปืนที่มีขนาดใหญ่ และต้องการ ความแน่ใจได้ว่าระบบหล่อลื่นจะเติมสารหรืออัดสารหล่อลื่นเข้าไป ภายในเสื้อในและเม็ดลูกปืนอย่างต่อเนื่องอย่างตลอดเวลา ระบบนี้ มีแบตเตอรี่ส่งก�ำลังไฟไปขับปั๊มให้ท�ำงาน ชุดปั๊มจะปั๊มจารบีจาก กระปุกเก็บเข้าไปหล่อลื่นเม็ดและเสื้อในชุดลูกปืน เราสามารถตั้ง โปรแกรมได้ว่าจะให้ระบบท�ำงานอย่างไร เช่นปั๊มทุก ๆ วัน ๆ ละ 3 จังหวะ หรือ (3 Stroke) หรือ ปั๊มทุก ๆ สัปดาห์ ๆ ละ 5 จังหวะ (5 Stroke) เป็นต้น ส�ำหรับปริมาณจารบีต่อจังหวะหรือ Stroke ทางคู่มือของชุดปั๊มจารบีก็จะมีบอกไว้ เราสามารถค�ำนวณได้ด้วย ตนเองว่าจุดที่ต้องการจารบี ต้องการในปริมาณเท่าไรในแต่ละ ช่วงเวลา และเมื่อตั้งไว้แล้วถ้าไม่ถูกต้องก็สามารถปรับใหม่ได้ www.thaiprint.org
42 KNOWLEDGE
ส� ำ หรั บ เครื่ อ งจั ก รที่ มี จุ ด อั ด จารบี อ ยู ่ ม าก เราสามารถติ ด ตั้ ง ชุด Central Lubrication System ได้ ระบบนี้ระบบเดียวอาจ ครอบคลุมจุดอัดจารบีตั้งแต้ 2 จุดขึ้นไปจนถึงหลายสิบจุด ขึ้นอยู่ กับระยะส่ง จ�ำนวนจุดหล่อลื่น และปริมาณจารบีที่ใช้ในแต่ละจุด
ฟรีบนเพลาและบดอัดท�ำให้เพลาช�ำรุดไปด้วย ต้องหยุดเครื่องเพื่อ ถอดลูกกลิ้งออกไปซ่อม จะท�ำให้เดินงานไม่ได้ เสียโอกาสในการรับ งานหรือท�ำงาน เสียค่าซ่อมเพลาลูกกลิง้ หลักหลายพันหรือเป็นหมืน่ ต้องซื้อลูกปืนมาเปลี่ยนใหม่ ฉะนั้นระบบหล่อลื่นจึงมีความส�ำคัญ ต่อชุดลูกปืนมาก ผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและรักษาจะละเลยไม่ได้ ่ งจักร เครือ ่ งพิมพ์ ทุกชนิด 2. ชุดมอเตอร์ไฟฟ้าในเครือ
ในส่วนของมอเตอร์ที่เป็นชุดต้นก�ำลังเพื่อส่งก�ำลังไปขับชุดเกียร์ เพลา พูลเลย์ เฟือง เฟืองโซ่ ปั๊ม พัดลม และอื่น ๆ ต้องการการดูแล รักษาอย่างถูกต้องและตามระยะเวลาที่ก�ำหนดเหมือนกับอุปกรณ์ ชุดอื่น ๆ เช่นเดียวกัน และลูกปืนบริเวณหัวท้ายมอเตอร์ ก็ต้องมี การดูแลรักษาด้วย
รูปแสดงระบบหล่อลื่นแบบอัตโนมัติ แบบจุดต่อจุด
การหล่อลื่นแบบศูนย์กลางหรือศูนย์รวมแบบนี้ จะช่วยให้ระบบ การหล่ อ ลื่ น ของเครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งพิ ม พ์ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมาก เพราะผู้ที่มีหน้าที่ดูแลรักษาเครื่องจักร จะปฏิบัติงานได้สะดวกขึ้น ง่ายขึน้ เพียงท�ำตามคูม่ อื ให้ถกู ต้อง เช่น เลือกใช้จารบีให้ถกู ต้องตาม คู่มือ ระบบจ่ายจารบี พร้อมท�ำงานตลอดเวลา (ระบบไฟเพื่อขับปั๊ม ใช้ไฟ 24 VDC. หรือ 220 VAC.) ตั้งค่าระบบจ่ายจารบีให้ถูกต้อง ทั้งระยะเวลาและปริมาณ และตรวจสอบปริมาณจารบีในถังบรรจุ อย่าให้ต�่ำกว่าระดับที่กำ� หนด และ ตรวจสอบเป็นระยะ ๆ ว่าปลาย ท่อส่งจารบีมจี ารบีออกไปถึงและเข้าไปหล่อลืน่ เม็ดและเสือ้ ในลูกปืน ทุกชุดตลอดเวลา ถ้าโรงงานหรือโรงพิมพ์ไหนต้องการติดตั้งระบบหล่อลื่นแบบศูนย์ รวมหรือศูนย์กลาง (Central Lubrication System) ในปัจจุบัน สามารถท�ำได้ง่าย ๆเพราะราคาของอุปกรณ์ของระบบนี้ถูกลงมาก และมีให้เลือกหลากหลาย และที่ส�ำคัญทางโรงงานจะให้ช่างของ โรงงานติดตั้งเองก็ได้ สรุปได้วา่ การลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยของลูกปืน เพือ่ ให้ลกู ปืนท�ำงานได้ อย่างยาวนาน ไม่ชำ� รุดก่อนเวลา ก็คอื ท�ำระบบหล่อลืน่ ให้ทวั่ ถึงและ มีประสิทธิภาพ ชนิดและเบอร์ของจารบีถูกต้อง ระยะเวลาการจ่าย จารบีหรือสารหล่อลืน่ ถูกต้อง ปริมาณการจ่ายจารบีหรือสารหล่อลืน่ ต้องพอดีหรือเกินได้นิดหน่อย เพราะถ้ามากไปก็จะเปลืองจารบี ถ้าน้อยไปชุดลูกปืนก็จะรับสารหล่อลื่นไม่พอ และที่ส�ำคัญอีกส่วนหนึ่งก็คืออุปกรณ์ที่มีลูกปืนสวมใส่อยู่ เช่น หัวเพลาลูกกลิ้ง เพลาส่งก�ำลัง เสื้อแขนโยก ส่าย หมุน และอื่น ๆ ที่ มี ชุ ด ลู ก ปื น ประกอบร่ ว มกั น ถ้ า ลู ก ปื น ไม่ เ สี ย หาย ไม่ แ ตก หรือหลวมคลอน อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่กล่าวมาก็จะไม่เสียหายไปด้วย ยกตั ว อย่ า งเช่ น ถ้ า หั ว เพลาลู ก กลิ้ ง บริ เวณที่ มี ลู ก ปื น สวมอยู ่ มีขนาดโตประมาณ 70 มม. ลูกปืนขาดการหล่อลื่นที่ดี ลูกปืนหมุน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
แสดงต�ำแหน่งชุดลูกปืนหัวท้ายของมอเตอร์
ส�ำหรับชุดมอเตอร์ไฟฟ้า บริเวณเพลาหัวท้ายชุดแกนโรเตอร์ (Rotor) จะมีชุดลูกปืนประกอบติดตั้งอยู่ (ตามรูปที่แสดงด้านบน) และ การหล่อลื่นชุดลูกปืนของมอเตอร์ มีอยู่ 3 แบบคือ 1. แบบแรก เป็นมอเตอร์ขนาดที่ไม่ใหญ่มากลูกปืนที่ประกอบใน ชุดมอเตอร์แบบนี้เป็นลูกปืนที่ถูกอัดจารบีมาเรียบร้อยแล้วและชุด ลูกปืนก็ไม่ต้องการการการหล่อลื่นอีก ปกติถ้าเป็นเครื่องจักรใหม่ ที่มีมอตอร์ประเภทและขนาดนี้ติดตั้งมา เมื่อเดินเครื่องครบ 1 ปี เราควรตรวจเช็คใน 2 เรื่องหลัก ๆคือ วัดกระแสร์ไฟฟ้าในขณะเดิน เครือ่ งแล้วจดบันทึกค่าไว้ แล้วน�ำไปเปรียบเทียบกับค่าของกระแสร์ ไฟฟ้าบนเนมเพลทของมอเตอร์ตัวนั้น เพื่อดูว่ากระแสร์ที่วัดได้สูง กว่ากระแสร์บนเนมเพลทมากไหม ปกติถ้าเป็นมอเตอร์ใหม่ ค่าที่ วัดได้ควรจะใกล้เคียงกัน อาจจะมากหรือน้อยกว่าค่าบนเนมเพลท ก็ได้ ขึ้นอยู่กับโหลดของมอเตอร์ในขณะที่วัดกระแสร์ไฟ เราต้อง จดบันทึกข้อมูลของมอเตอร์ที่วัดได้ไว้ เอาไว้เปรียบเทียบกันเมื่ออีก 1 ปีกลับมาวัดใหม่ และหลังจากวัดกระแสร์ไฟแล้ว ต้องวัดการสั่นสะเทือนและเสียง บริเวณชุดลูกปืนของมอเตอร์ด้วย แล้วจดบันทึกไว้ ถ้าเป็นลูกปืน มอเตอร์ใหม่ที่ใช้งานมา 1 ปีก็จะยังไม่มีอะไรมาก และในปีต่อไป ก็วัดใหม่และเอาค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกัน ถ้ายังปกติดีก็ยังไม่ต้อง ท�ำอะไร
KNOWLEDGE 43
ถ้าเป็นการวัดกระแสร์ไฟ การสัน่ สะเทือนและเสียงของมอเตอร์เก่า ทีต่ ดิ ตัง้ และถูกใช้งานมานาน ให้วดั กระแสร์ไฟ การสัน่ สะเทือนและ เสียงลูกปืน ถ้าผลที่ได้ออกมามีกระแสร์สูง สั่นสะเทือนมากและมี เสียงดัง ให้ด�ำเนินการเปลี่ยนลูกปืนใหม่ และเช็คความเรียบร้อย โดยรวม เมื่อประกอบและเดินเครื่องที่มีโหลด วัดกระแสร์ การสั่น สะเทือนและเสียงใหม่ ถ้าการสั่นสะเทือนและเสียงลดลงมากแสดง ว่าปัญหาที่เกิดขึ้นคือลูกปืนช�ำรุด และถ้าวัดกระแสร์แล้วลดลงเช่น เดียวกัน แสดงว่ามีสาเหตุมาจากลูกปืน แต่ถ้ากระแสร์ลดลงน้อย อาจเป็นไปได้วา่ ขดลวดของมอเตอร์อาจเสือ่ มสภาพ ต้องน�ำมอเตอร์ ไปพันขดลวดใหม่ หรือเดินเครือ่ งไปก่อนจนกว่าจะมีเวลาหยุดเครือ่ ง (โดยไม่ให้มีผลเสียต่อการผลิตงาน)
3. แบบที่สาม เป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่เหมือนแบบที่สอง แต่เราติด ตั้งชุดจ่ายสารหล่อลื่นหรือจารบีแบบอัตโนมัติที่ชุดมอเตอร์ท้ังด้าน หน้าและหลัง หรือติดตัง้ ชุดเดียวแต่ตอ่ ท่อหรือสายแยกเป็นสองทาง เพื่อเข้าจุดที่ต้องการหล่อลื่นก็ได้
รูปด้านบน แสดงรูปมอเตอร์ไฟฟ้า ที่ไม่มีจุดอัดจารบีและสารหล่อลื่น
รูปด้านบน แสดงรูปมอเตอร์ไฟฟ้า ที่ไม่มีจุดอัดจารบีและสารหล่อลื่น
2. แบบที่สอง มอเตอร์ขนาดใหญ่ที่ติดตั้งชุดอัดจารบี ส�ำหรับอัด จารบีเข้าชุดลูกปืนทั้งสองชุดทั้งด้านหน้าและหลังของชุดมอเตอร์
วิธีการหล่อลื่นแบบใช้ชุดจ่ายสารหล่อลื่นหรือจารบีแบบนี้ ปัจจุบัน นีน้ ยิ มใช้กนั อย่างแพร่หลายมาก เพราะมีราคาถูกลงมาก และติดตัง้ รวมถึงใช้งานง่าย และป้องกันการลืมหล่อลื่นได้เป็นอย่างดี รวมถึง ประหยัดแรงงานที่นับวันแพงขึ้นด้วย ส�ำหรับการวัดกระแสร์ไฟ การสั่นสะเทือนและเสียงดังของลูกปืน ก็ท�ำเหมือนกับวิธีแรก วัดและจดค่าไว้และเปรียบเทียบกับค่าที่วัด ไว้ก่อนหน้าและไว้เทียบกับค่าที่จะวัดได้ในครั้งต่อไป เมื่อท�ำจน ช�ำนาญแล้วก็จะทราบโดยทันทีว่า ค่าที่วัดได้บอกอะไรได้บ้าง และ จะแก้ปญ ั หาได้อย่างไรเกีย่ วกับชุดลูกปืน และชุดขดลวดของมอเตอร์ ไฟฟ้า ถ้าชุดลูกปืนช�ำรุด ก็ต้องเปลี่ยนใหม่ ปกติจะเปลี่ยนพร้อมกัน ทั้งสองชุด ถ้าขดลวดของมอเตอร์ไฟฟ้ามีปัญหาหรือเสื่อมสภาพ ก็ต้องพันเปลี่ยนขดลวดใหม่เช่นเดียวกัน อ่านต่อฉบับหน้า ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน
รูปบน แสดงมอเตอร์ที่ถูกติดตั้งหัวอัดจารบี ส�ำหรับชุดลูกปืนทั้งด้านหน้าและหลัง
มอเตอร์ แ บบนี้ ท างช่ า งซ่ อ มบ� ำ รุ ง ที่ มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบต้ อ งอั ด จารบีตามระยะเวลาที่ก�ำหนด และปริมาณที่ใช้อัดในแต่ละครั้งต้อง พอดีตามคู่มือที่ก�ำหนดด้วยเช่นเดียวกัน เพราะถ้ามีปริมาณน้อยไป การหล่อลื่นก็อาจไม่เพียงพอ ถ้ามากไปก็สิ้นเปลืองและท�ำให้จารบี ส่วนเกินที่ไหลออกมาเลอะเทอะได้ ส�ำหรับการวัดกระแสไฟ การสั่นสะเทือนและเสียง ก็ทำ� เช่นเดียว กับวิธีแรก และจดบันทึกไว้เปรียบเทียบค่าต่าง ๆ เช่นเดียวกัน และ ในปีต่อไปก็เปรียบเทียบค่าเหมือนเดิม ซึ่งถ้าใช้งานไปนานมาก ๆ ขดลวดของมอเตอร์ก็จะเสื่อมสภาพลง ไม่ว่าเราจะดูแลดีอย่างไร เมื่อถึงเวลานั้น ก็ต้องถอดมอเตอร์เอาไปพันขดลวดใหม่
เครดิตภาพประกอบ • https://www.xikebearing.com/ • https://www.soltecstore.com/articoli-tecnici/209075-RUOTE-BLICKLE-CON-CUSCINETTOA-RULLINI-p-401-25-90r.html • http://www.nitco.co.th/index.php?mo=3&art=42318779 • https://www.ferroelectronic.cl/estetoscopio-mercanico-profesional-herramientaautomotriz • https://www.rulmentisuedia.ro/ • https://img3.exportersindia.com/product_images/bc-small/2019/12/3698769/bearingtester-1576149751-5204564.jpeg • https://www.kugellager-express.de/ • https://id.pinterest.com/pin/833517843525221414/ • https://www.ebay.com/p/1983324059 • https://miwservices.com/printing-popular-2020/ • https://g-lube.com/wp-content/uploads/2020/04/Lub5_120_cut_2020-1.jpg • http://www.unitrade.co.th/ • https://qualityway.files.wordpress.com/2018/07/sistemas-automc3a1ticos-delubrificac3a7c3a3o.jpg?w=723 • https://www.igetweb.com/www/lubeandequipment/private_folder/teknosys/022.jpg • https://www.instructables.com/Complete-Motor-Guide-for-Robotics/ • https://taklatrading.com/collections/general-purpose-electric-motors/products/ in007341 • https://edgereliability.com/asset-integrity-management-aim/ • http://www.testmotors.com/en/predictive-maintenance-course-of-electric-motors/ • https://www.hascooil.com/product-category/lubricants/grease-metalworking/ • https://g-lube.com/wp-content/uploads/2019/03/Schunk_2_2.jpg
www.thaiprint.org
46 INDUSTRIAL
R3700
W.O.A. Advertising
เครื่องจักรคุณภาพ สร้างงานพิ มพ์ คุณภาพ
“คุณภาพ” ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญของ ธุรกิจ เครื่องพิมพ์คุณภาพ สามารถช่วย สร้างงานพิมพ์ที่มีคุณภาพ สร้างมูลค่า เพิม่ ให้กบั งานพิมพ์ JHF R3700 Series เครื่องพิมพ์ยูวีอิงค์เจ็ท หน้ากว้าง 3.20 เมตร เครื่องพิมพ์นวัตกรรมแห่งอนาคต ใช้งานง่าย สะดวก พร้อมโรลยางขนาด ใหญ่เกรดอุตสาหกรรม เพื่อลดปัญหา วั ส ดุ ไ ม่ ตึ ง โดยเฉพาะปลอดภั ย และ ประหยัดด้วยระบบ UV Curing จาก เยอรมัน พร้อมอะไหล่หลัก จากยุโรป และญี่ ปุ ่ น เพื่ อ คุ ณ ภาพที่ ดี ที่ สุ ด ของ เครื่องพิมพ์ JHF ยูวีอิงค์เจ็ท, คุ้มค่า เงินลงทุน (Fast ROI) ตอบสนองความ ต้องการใช้งานที่หลากหลาย THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INDUSTRIAL 47
W.O.A. Advertising เป็นบริษท ั ผูผ ้ ลิต ติดตัง ้ งานสื่อโฆษณา ประเภทสื่อสิ่งพิ มพ์ ขนาดใหญ่ ่ นอกบ้าน สือ ่ in store media ไวนิล สติก ๊ เกอร์ สือ งานป้าย signage, pylon sign รวมไปถึง งานประเภท road show และงานผลิตติดตั้ง งาน exhibition ขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ่ รวมไปถึ ง มี ที ม งานที่ ไ ด้ รั บ การอบรมตาม มาตรฐานและอุ ป กรณ์ ที่ พ ร้ อ มในการติ ด ตั้ ง งานหลากหลายประเภท
ปัจจุบัน คุณเบญจพล ติวานนท์ รับต�ำแหน่งผู้บริหารซึ่งรับช่วง ต่อจากคุณพ่อหรือคุณบุญเติม ติวานนท์ โดยคุณเบญจพล ได้กล่าวว่า “ทางบริษัทค�ำนึงถึงคุณภาพของงานที่ออกมาเป็น อันดับหนึ่ง จึงเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ รวมไปถึงเครื่องจักรที่มี คุณภาพในการผลิตเป็นหลัก เพือ่ ท�ำให้งานผลิต มีคณ ุ ภาพออก มาเท่ากันทุกชิ้นงาน นอกเหนือจากตัวช่วยที่ดีในการผลิตแล้ว หัวใจหลักของการท�ำงาน คือ พนักงานทุกคน เราให้ความส�ำคัญ กับบุคลากรทุกภาคส่วน เพราะเชื่อว่า การขับเคลื่อนของงาน ต้องใส่ใจทุกขัน้ ตอน ถึงจะสามารถผลิตผลลัพธ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพออก มาได้อย่างสมบูรณ์ การสามารถท�ำให้ลูกค้ามั่นใจในคุณภาพ ของงานและการบริการที่ดี คือ แนวทางในการบริหารธุรกิจให้ ประสบความส�ำเร็จของเรา
W.O.A. ให้ความส�ำคัญกับนวัตกรรมใหม่ ๆ เพือ่ เพิม่ ความน่าสนใจ ในการน�ำเสนอผลงานต่าง ๆ มากขึ้น ให้ความส�ำคัญกับแผนก R&D ส่งเสริมให้มีการพัฒนาทักษะความรู้ การส่งพนักงานไป อบรมเพิ่มเติม เพื่อน�ำความรู้ที่ได้กลับมาพัฒนาชิ้นงานต่อไป สถานการณ์ Covid-19 เราต้องปรับตัวให้สอดคล้องกับ ความต้องการของลูกค้า ต้องเข้าใจในปัญหาและผลกระทบ ทีเ่ กิดขึน้ มีการปรับวิธกี ารท�ำงานและแผนงานภายใน แต่ยงั คง คุณภาพของงานให้ดีที่สุด”
ประทับใจในแบรนด์ JHF และมั่นใจในทีมงานเบสท์ อิน กราวน์
W.O.A. รูจ้ กั เครือ่ งพิมพ์ JHF R3700 จากการไปดูงานทีป่ ระเทศจีน เกิดความประทับใจจนต้องขอชิน้ งานทีพ่ มิ พ์ดว้ ยเครือ่ ง JHF R3700 หัวพิมพ์ Kyocera RH ความละเอียดหัวพิมพ์ 3 dpi กลับมาที่ เมืองไทยเพือ่ น�ำไปเสนอลูกค้า ต้องรับว่าทาง W.O.A. ไม่เคยใช้ เครือ่ งพิมพ์ของประเทศจีนมาก่อน แต่เมือ่ เจอกับเครือ่ ง JHF R3700 จึงได้ลองเปิดใจดู ในครัง้ แรก มองว่าราคาค่อนข้างสูงด้วยความที่ เป็นเครือ่ งซึง่ ผลิตในประเทศจีน แต่หลังจากตัดสินใจลงทุนซือ้ ใน ปี 2560 จึงเห็นถึงประสิทธิภาพของเครือ่ งพิมพ์ทคี่ ณ ุ ภาพเกินราคา ด้วยความคุณสมบัติอันโดดเด่นของเครื่องพิมพ์ JHF R3700 จาก บริษัท เบสท์ อิน กราวด์ จ�ำกัด คุณกรภพ ปานประสงค์ (คุณกาน) และทีมงาน ท�ำให้ W.O.A. สามารถผลิตงานพิมพ์ คุณภาพส่งตรงถึงลูกค้า การบริการหลังการขาย มีทมี ช่างติดตาม ดูแลการใช้งานอย่างต่อเนือ่ งเป็นอย่างดีโดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ยเพิม่ เติม บริษัท เบสท์ อิน กราวด์ จ�ำกัด เป็นตัวแทนจ�ำหน่ายเครื่องพิ มพ์ ยูวีอิงค์เจ็ท JHF Series แต่เพี ยงผู้เดียวในประเทศไทย www.bestinground.co.th Facebook: BestInGroundThailand
www.thaiprint.org
48
NEWS
เอปสันเปิดตัวเครื่องพิ มพ์ หมึก สะท้อนแสงรุ่นแรกของโลก
พร้อมปั้นแพคเกจสตาร์ทอัพธุรกิจได้ไม่ถึง 1 แสนบาท วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 ณ โรงแรมอีสติน แกรนด์ สาทร
เอปสัน จัดกิจกรรมเปิดตัวเครื่องพิมพ์เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอ ประเภท Dye Sublimation เพือ่ รองรับการขยายตัวการพิมพ์ แบบออนดีมานด์ เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.3012.00 น. ณ ห้องสุรศักดิ์ 2-3 ชัน้ 11 โรงแรมอีสติน แกรนด์ สาทร โดยมีไฮไลต์ที่รุ่น SC-F531 ที่สามารถพิมพ์หมึกสะท้อนแสง เครื่องแรงของโลก พร้อมแพคเกจเอาใจสตาร์ทอัพ เริ่มธุรกิจได้ ด้วยเงินทุนไม่ถึง 1 แสนบาท “สภาพเศรษฐกิจในปีนี้บวกกับสถานการณ์โควิด-19 ท�ำให้มี คนเลือกทีจ่ ะท�ำงานเป็นฟรีแลนซ์หรือเปิดธุรกิจของตัวเองมากขึน้ ในธุรกิจให้บริการการพิมพ์ก็มีผู้ประกอบการที่เน้นงานประเภท ออนดีมานด์เกิดใหม่เพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว และหันมาลงทุนเครือ่ งพิมพ์ ขนาดเล็กและกลางมากขึน้ โอกาสทางการตลาดส�ำหรับเครือ่ งพิมพ์ ของเอปสันโดยเฉพาะในกลุม่ สิง่ ทอจึงเปิดกว้างมาก SureColor SC-F530 และ SC-F531 ที่เปิดตัวในวันนี้ เป็นเครื่องพิมพ์ เพื่ออุตสาหกรรมสิ่งทอรุ่นล่าสุดของเอปสัน ส�ำหรับรองรับตลาด ทีก่ ำ� ลังขยายตัว โดยมีลกู ค้าเป้าหมายเป็นสตาร์ทอัพ นักออกแบบ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
มินิแล็บ โรงงานพิมพ์ผ้า ร้านรับท�ำของพรีเมี่ยม ร้านเสื้อผ้ากีฬา แบรนด์แฟชั่น รวมถึงสถาบันศึกษา” SureColor SC-F530 และ SC-F531 เป็นเครือ่ งพิมพ์หน้ากว้าง 24 นิ้ว มีขนาดกะทัดรัด สามารถพิมพ์งานที่มีสีสันสดใส คมชัด ด้วยเทคโนโลยีหวั พิมพ์ PrecisionCore และชิป Micro Thin-Film Piezo ที่ควบคุมการหยดหมึกได้อย่างแม่นย�ำ ทั้งยังใช้หมึก UltraChrome ประเภท Dye Sublimation ของเอปสันที่ท�ำให้ งานพิมพ์ทนได้ทั้งแสง น�้ำ และกรดด่างได้ดี และเป็นหมึกที่ ผ่านการรับรองตามมาตรฐาน OEKO-TEX ว่าไม่มีอันตรายจาก สารตกค้างที่เป็นพิษ ไม่ระคายเคืองต่อผิวเด็ก และไม่ท�ำลาย ธรรมชาติ ส�ำหรับรุน่ SureColor SC-F531 ทีเ่ ป็นเครือ่ งพิมพ์หมึก สะท้อนแสงเครื่องแรกของโลก ใช้ชุดหมึก 4 สี ได้แก่ สีฟ้า สีชมพู สะท้อนแสง สีเหลืองสะท้อนแสง และสีด�ำ นอกจากนี้ ทั้งสองรุ่น ยังมาพร้อมกับซอฟต์แวร์ Edge Print RIP ลิขสิทธิ์ของเอปสัน ที่ช่วยเพิ่มความคมชัดและความสะดวกในจัดการไฟล์ภาพ และ โปรแกรม LFP Accounting Tool ที่ช่วยเรื่องการค�ำนวณต้นทุน การพิมพ์ได้อย่างแม่นย�ำ
NEWS
49
คุณพงศ์ธีระ พั ฒนพี ระเดช นายกสมาคมการพิ มพ์ ไทย
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม
ประธานชมรมผูจ ้ ด ั พิ มพ์ อเิ ล็กทรอนิกส์ไทย
คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย
สัมมนา "Packaging Next"
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องซาลอน เอ (ชั้น 2) โรงแรมสวิสโซเทล รัชดา คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วมงาน สัมมนา "Packaging Next" พร้อมทัง้ ขึน้ กล่าวถึงความเปลีย่ นแปลง ของโลกทีม่ ผี ลต่ออุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ เป็นทีม่ า ของหัวข้อการสัมมนา วันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 เวลา 08.0016.00 น. ณ ห้องซาลอน เอ (ชั้น 2) โรงแรมสวิสโซเทล รัชดา จัดโดยสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย โดยวัตถุประสงค์ของการจัด งานในครั้งนี้ เพื่อแนะน�ำแนวทางให้ผู้ประกอบอุตสาหกรรมด้าน บรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ ได้ปรับเปลี่ยน และพัฒนาธุรกิจในยุค Covid 19 โดยเน้นในเรือ่ งของการจัดการบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ ง่ ตรงจาก ผู้ผลิต ไปสู่ผู้บริโภคโดยตรง การปรับเปลี่ยนมุมมอง และทิศทาง ในอนาคตของการบริหารธุรกิจด�ำเนินรายการโดย คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ประธานชมรมผู้จัดพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ไทย คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย ได้กล่าว ในการเปิดงานว่า สถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ไม่เพียง
ท�ำให้การใช้ชีวิตของผู้คนเปลี่ยนแปลง แต่ยังมีผลกับภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เกิดผลกระทบกับธุรกิจทั่วโลกอย่างที่ ไม่เคยมีมาก่อน แน่นอนว่าบรรจุภัณฑ์เป็นหนึ่งในไอเท็มส�ำคัญที่ แทรกซึมอยูใ่ นทุก ๆ อุตสาหกรรมทัง้ ธุรกิจอีคอมเมิรซ์ ธุรกิจรับส่ง อาหารและธุรกิจเกีย่ วกับการดูแลสุขอนามัยเรียกได้วา่ บรรจุภณ ั ฑ์ อยู่เคียงข้างและเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ตั้งแต่ใน ขั้นตอนของห่วงโซ่อุปทานไปจนถึงการใช้งานในชีวิตประจ�ำวัน ของผู้บริโภคเพราะแม้แต่ช่วง Lock Down ที่ผู้ประกอบการ ขนส่งสินค้าจ�ำเป็นก็ยงั ต้องใช้บรรจุภณ ั ฑ์เป็นตัวช่วยในการป้องกัน สินค้าให้ไปถึงมือผู้บริโภคอย่างปลอดภัย การสัมมนาในวันนีเ้ ป็นจุดเริม่ ต้นของการเตรียมความพร้อมในเรือ่ ง ดังกล่าวเพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ตลอดจนผูท้ อี่ ยูใ่ นสายห่วงโซ่อปุ ทานได้ตระหนักถึง ทิศทางการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้ www.thaiprint.org
50
NEWS
คิดนอกกรอบ พิ ชิตใจลูกค้าด้วย Service Design
โดย Young Printer Group สมาคมการพิ มพ์ ไทย และ SCG วันที่ 6 และ 16 พฤศจิกายน 2563 ณ อาคาร 100 ปี ฮอลล์ 4 SCG บางซื่อ Young Printer Group สมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมกับ SCG จัดกิจกรรม Work Shop “คิดนอกกรอบ พิชิตใจลูกค้า ด้วย Service Design” โดยมี คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย และคุณกร เธียรนุกุล ประธาน กลุ่ม Young Printer Group กล่าวเปิดงาน และตัวแทน SCG THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
กล่าวต้อนรับ หลังจากนั้น เป็นช่วงของการ Work Shop โดย คุณอมรเทพ ทวีพาณิชย์ ผูช้ ว่ ยประธานกรรมการหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้จัดการ Government Liaison and Public Affair Manager SCG Business Model Innovator
NEWS
51
กิจกรรม Work Shop แบ่งเป็นสองวัน เริ่มต้นด้วยค�ำถาม เพื่อการคิดวิเคราะห์ โดยได้ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้คิดแล้ว น�ำไปขยายผล ยกตัวอย่างเช่น การ Brain Storm ในหัวข้อ “อีก 5 ปีข้างหน้าธุรกิจสิ่งพิมพ์จะเป็นอย่างไร” ซึ่งผู้เข้าร่วม กิจกรรมได้ ร่วมกันระดมความคิด อาทิ เช่น ออนไลน์มากขึ้น มีการใช้ Smart Label ผลิตภัณฑ์รักษ์โลก Customize,
เน้นดิจิทัล, One Stop Service และมีจุดยืนเฉพาะ เป็นต้น หัวข้ออื่น ๆ ที่น่าสนใจ ได้แก่ • อะไรคือ Disruption จาก Digital Platform และ Covid-19 ที่กระทบกับธุรกิจ • อะไรคือ Innovation ของเราในขณะนี้ • 5 Why Analysis “ท�ำไม สั่ง หรือ ไม่สั่ง App Food”
กิจกรรมวันที่สองเป็นการ Fallow up จากวันแรก การระดม ความคิด แสดงความคิดเห็น และการแก้ปัญหา ในช่วงท้าย ของกิจกรรม Work Shop เป็นการลงคะแนนให้กับกลุ่มที่มี ความคิดสร้างสรรค์มากที่สุด รวมไปถึงการเปิดโอกาสให้ผู้เข้า
ร่วมกิจกรรม กล่าวถึงความประทับใจและสิง่ ทีไ่ ด้รบั จากการเข้า ร่วมกิจกรรมทัง้ สองวันและถ่ายภาพหมูร่ ว่ มกัน โดยกิจกรรมดี ๆ ในครั้งนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 6 และ 16 พฤศจิกายน 2563 เวลา 09.00-16.00 น. ณ อาคาร 100 ปี ฮอลล์ 4 SCG บางซื่อ www.thaiprint.org
52
NEWS
ผนึกพลังสู้ PM 2.5
โดย วิศวฯ จุฬาฯ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเอกชน ชัน ้ น�ำของไทย พั ฒนา Sensor for All ระบบตรวจวัดสภาพ อากาศและมลภาวะ แอพพลิเคชันที่คิดค้นโดยคนไทย
คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย เดินหน้าพั ฒนาโครงการ Sensor for All ปีที่ 3 ภายใต้ ความร่วมมือกับ GISTDA พร้อมด้วยองค์กรชั้นน�ำ ของไทย การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การเคหะแห่ ง ชาติ ไมโครซอฟท์ ทรู และเอไอเอส หวั ง กระจายระบบตรวจวั ด สภาพอากาศและมลภาวะ ที่ คิ ด ค้ น โดยคนไทยให้ ค รอบคลุ ม พื้ นที่ ท่ั ว ประเทศ น�ำข้อมูลเพื่ อวิเคราะห์หาสาเหตุฝุ่นพิ ษ สู่การแก้ปัญหา อย่างยั่งยืน เพื่ อคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
5 พฤศจิกายน 2563 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พร้อมด้วยเครือข่ายพันธมิตร จัดงานแถลงข่าว และประกาศความร่วมมือภายใต้โครงการ Sensor for All ปีที่ 3 โดยได้รบั เกียรติจาก ศ.ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล ประธานกรรมการ จัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วย ดร.พัชราวดี สุวรรณธาดา ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะด้านการจัดการคุณภาพอากาศ และเสียง กรมควบคุมมลพิษ ร่วมเป็นสักขีพยาน ณ อาคารวิศวฯ 100 ปี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
NEWS
ศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล
คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศ.ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า โครงการ Sensor for All ปีที่ 3 นี้ เป็นหนึ่งในโครงการที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นตามวิสัยทัศน์ และพันธกิจของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ที่ว่า Innovation toward Sustainability หรือการอุทศิ องค์ความรูด้ า้ นนวัตกรรมมาก่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สังคมเพื่อความยั่งยืน ด้วยความร่วมมือ กับหลายภาคส่วนผ่านโครงการความร่วมมือระหว่างคณะวิศวฯ กับภาคอุตสาหกรรม (Industrial Liaison Program) หรือ ILP เพื่อขับเคลื่อนประเทศสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งที่ผ่านมา ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหา PM2.5 และมลภาวะทางอากาศ ตลอดจนภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติตา่ ง ๆ ทีน่ บั วันจะทวีความรุนแรง ยิง่ ขึน้ วิศวฯ จุฬาฯ จึงได้เป็นแกนหลักในการผนึกพลังทุกภาคส่วน ทีเ่ ห็นถึงปัญหาเดียวกันน�ำศาสตร์ดา้ นวิศวกรรมมาช่วยหาสาเหตุ เก็บข้อมูลอันเป็นประโยชน์น�ำมาวิเคราะห์เพื่อเสนอแนวทาง แก้ไขแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป “ประเทศไทยเป็นหนึง่ ในประเทศทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากปัญหา คุณภาพอากาศและฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 อย่างรุนแรง โดยเฉพาะในช่วงระหว่างเดือนธันวาคมถึงพฤษภาคมของทุกปี ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบมากมายโดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบ ต่อสุขภาพ ซึ่งการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัย ความร่วมมือของทุกภาคส่วน ประกอบกับข้อมูลปริมาณฝุ่นที่ มีความถูกต้องแม่นย�ำและครอบคลุมพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ ทั้งนี้โครงการ Sensor for All ได้ดำ� เนินการมาอย่างต่อเนื่อง
53
ศ.ดร.พิ สุทธิ์ เพี ยรมนกุล
หัวหน้าโครงการและรองคณบดีด้านยุทธศาสตร์ นวัตกรรมและความยั่งยืน
โดยในปีแรกได้พฒ ั นาเซ็นเซอร์ตรวจวัดฝุน่ PM2.5 และทดลอง ติดตั้งในพื้นที่โดยรอบจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สู่ปีที่ 2 พัฒนา ระบบการส่งและแสดงผลข้อมูล ตลอดจนขยายการตรวจวัด ปริมาณฝุน่ ให้ครอบคลุมพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร ภายใต้ความร่วมมือ กับหลายหน่วยงาน และในปีที่ 3 นี้ คณะวิศวฯ จุฬาฯ และภาคี เครือข่ายทั้งภาครัฐและองค์กรเอกชนชั้นน�ำของไทย ได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การเคหะแห่งชาติ ส�ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องค์การ มหาชน) และบริษทั ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จาํ กัด ได้รว่ มมือ ขยายเครือข่ายเซนเซอร์ตรวจวัดฝุ่น PM2.5 โดยตั้งเป้าขยาย ให้ได้มากกว่า 500 จุด ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ พร้อมกับ พัฒนาระบบวิเคราะห์และพยากรณ์สถานการณ์ฝุ่นล่วงหน้า ด้วยการสนับสนุนการเชือ่ มโยงข้อมูลจาก บริษทั ทรู คอร์ปอเรชัน จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จ�ำกัด (มหาชน) อีกทั้งได้พัฒนาระบบแสดงผลผ่านทางเว็บไซต์และ แอพพลิเคชันส�ำหรับขยายผลไปสู่การสร้างการรับรู้ร่วมกับ การพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรูท้ งั้ ในรูปแบบหนังสือ บอร์ดเกม และอีกหลากหลายช่องทาง เพื่อมุ่งสู่การสร้างความรู้ที่ถูกต้อง ของสังคมเกี่ยวกับสถานการณ์ฝุ่น อันน�ำไปสู่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเพือ่ รับมือกับสถานการณ์วกิ ฤตฝุน่ ขนาดเล็กในระดับ ปัจเจก จนเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันให้เกิดการปรับเปลี่ยน โครงสร้างเชิงนโยบายของประเทศ โดยมีข้อมูลสนับสนุนและ ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง” www.thaiprint.org
54
NEWS
โครงการ Sensor for All เครื่องมือในการรับรู้และตรวจวัด คุณภาพอากาศ เพื่ อเพิ่ มศักยภาพ ในการบริหารจัดการและแก้ปญ ั หา มลภาวะฝุ่นในระยะยาวตามสภาพ ปัญหาของแต่ละชุมชน นายวิบูลย์ ฤกษ์ศิระทัย ผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า โครงการ Sensor for all สอดคล้องกับนโยบายการดูแลสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต ประชาชนของ กฟผ. โดยความร่วมมือครั้งนี้ กฟผ. จะน�ำ ระบบตรวจวัดคุณภาพอากาศในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าของ กฟผ. มาบูรณาการร่วมกับโครงการ Sensor for all ในการขยาย ขอบเขตให้ครอบคลุมพืน้ ทีช่ มุ ชนเมือง พร้อมสนับสนุนการติดตัง้ เซ็ น เซอร์ เ พิ่ ม เติ ม และร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รพั ฒ นาแพลตฟอร์ ม ระดับประเทศในการป้องกันแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 ซึ่ง กฟผ. สามารถน�ำข้อมูลที่ได้รับมาใช้ประโยชน์ประกอบการวางแผน
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
การเดินเครื่องและบ�ำรุงรักษาโรงไฟฟ้าของ กฟผ. ได้ด้วย นอกจากนี้ กฟผ. จะสนับสนุนทุนผ่านกิจกรรมระดมทุนใน โครงการนี้ เพือ่ ร่วมติดตัง้ เซนเซอร์ตรวจวัดคุณภาพอากาศรวม 200 จุดในบริเวณพืน้ ที่ กฟผ. และเครือข่ายโรงเรียนในโครงการ “ห้องเรียนสีเขียว” ทั่วประเทศ นายทวีพงษ์ วิชัยดิษฐ ผู้ว่าการการเคหะแห่งชาติ กล่าวว่า การเคหะแห่ ง ชาติ ยิ น ดี เ ป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะสนั บ สนุ น การน� ำ เทคโนโลยี ท่ี เ หมาะสมภายใต้ โ ครงการ Sensor for All มาใช้เป็นเครื่องมือในการรับรู้และตรวจวัดคุณภาพอากาศ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการและแก้ปัญหามลภาวะ ฝุ่นในระยะยาวตามสภาพปัญหาของแต่ละชุมชน โดยปัจจุบัน ได้ติดตั้งเครื่องเซนเซอร์ตรวจวัดฝุ่นและคุณภาพอากาศแล้ว จ�ำนวน 12 เครื่อง ที่บริเวณส�ำนักงานใหญ่การเคหะแห่งชาติ และส�ำนักงานเคหะชุมชนในพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานครและปริมณฑล ทั้งนี้คาดว่าจะติดตั้งเครื่องเซนเซอร์ตรวจวัดฝุ่นและคุณภาพ อากาศดั ง กล่ า วให้ ค รอบคลุ ม พื้ น ที่ ที่ อ ยู ่ ใ นความดู แ ลของ การเคหะแห่งชาติทั่วประเทศต่อไป
NEWS
นายตติยะ ชื่นตระกูล รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนา เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์กรมหาชน) หรือ GISTDA กล่าวว่า GISTDA ให้ความสนใจและด�ำเนินงานที่ เกีย่ วข้องกับ PM2.5 ตามภารกิจซึง่ มุง่ เน้นให้เกิดคุณค่าแก่สงั คม โดยการใช้ขอ้ มูลจากดาวเทียมเพือ่ ติดตามและวิเคราะห์คา่ มลพิษ ทางอากาศ ซึง่ จะสามารถท�ำให้ประชาชนรับรูส้ ถานการณ์ เตรียมตัว และพร้อมรับมือกับสถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ทั้งนี้ GISDTA จะร่วมมือกับพันธมิตรเครือข่ายที่รับผิดชอบ เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ และสุขภาพของประชาชนให้ดยี งิ่ ขึน้ ด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เหมาะสมและสามารถเข้าถึง ได้โดยง่าย นายธนวัฒน์ สุธรรมพันธุ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไมโคร ซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ไมโครซอฟท์ตั้งใจที่ จะช่วยเสริมศักยภาพให้กับทุกคนและทุกองค์กรบนใบโลกนี้ เพือ่ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ ของทุกคนไปพร้อมกัน โดยทีผ่ า่ นมา ตลอดระยะเวลาเกือบ 2 ปี ได้สนับสนุนโครงการ Sensor for All ในรูปของทรัพยากรคลาวด์เพื่อทั้งจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล โดยการสนับสนุนในครั้งนี้ ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ ระดับโลกภายใต้ชื่อ AI for Earth ที่สนับสนุนงานวิจัยด้าน สิ่งแวดล้อมทั่วโลก นอกจากนี้ไมโครซอฟท์ยังตั้งเป้าหมาย
55
ที่จะก้าวสู่สถานะ Carbon Negative ภายในปี 2573 ด้วยการ ลบล้างมลภาวะคาร์บอนในปริมาณเทียบเท่ากับที่ปล่อยออกสู่ สภาพแวดล้อมทั้งหมดนับตั้งแต่ที่ก่อตั้งบริษัทเป็นต้นมา “ทั้งนี้ องค์กรภาครัฐ เอกชน หรือผู้ที่สนใจสามารถสนับสนุน โครงการระดมทุน Sensor for All ปีที่ 3 เพือ่ สนับสนุนการผลิต และติดตั้งเซนเซอร์ตรวจวัดฝุ่นในทุกพื้นที่ทั่วประเทศ รวมถึง พัฒนา Online Platform ควบคู่ไปกับการสร้างสื่อการเรียนรู้ ผ่านหนังสือ “ยุทธการดับฝุ่น” และบอร์ดเกม Just Dust เพื่อขยายผลสู่การจัดการปัญหาฝุ่น PM2.5 ของประเทศต่อไป โดยบริจาคสมทบทุนได้ทบี่ ญ ั ชี “กองทุนนวัตกรรมวิศวฯ จุฬาฯ” ธนาคารไทยพาณิชย์ สาขาจามจุรี สแควร์ เลขที่ 405-4-13788-7 ซึ่งสามารถน�ำยอดบริจาคนี้ ไปหักภาษีได้ 2 เท่าอีกด้วย” ศ.ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล หัวหน้าโครงการและรองคณบดี ด้านยุทธศาสตร์นวัตกรรมและความยัง่ ยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวในที่สุด บริจาคสมทบทุนได้ท่บ ี ัญชี
“กองทุนนวัตกรรมวิศวฯ จุฬาฯ”
ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ สาขาจามจุ รี สแควร์ เลขที่ 405-4-13788-7
www.thaiprint.org
56
NEWS
สหชัยกิจการพิ มพ์ ขยายการผลิต กล่องบรรจุภัณฑ์กระดาษ ด้วยนวัตกรรม HP Indigo 12000 เครื่องพิ มพ์ ดิจิทัล สร้างความเติบโตธุรกิจประเทศไทย
กรุงเทพฯ, 29 ตุลาคม 2563 – เอชพี อิงค์ ประกาศ เครื่องพิ มพ์ ระบบดิจิทัล HP Indiogo 12000 ส�ำหรับ ผลิตสิ่งพิ มพ์ บรรจุภัณฑ์กล่องกระดาษ เครื่องแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้ติดตั้งในประเทศไทย ณ โรงพิ มพ์ สหชัยกิจการพิ มพ์
บริษัท สหชัยกิจการพิมพ์ จ�ำกัด ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2502 มีความเชีย่ วชาญงานการผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ประเภทกล่องพับป้อน ตลาดสินค้าอุปโภคบริโภค รวมทั้งกล่องเครื่องดื่มและของใช้ ที่มีการเติบโตและความต้องการเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่ม งานพิมพ์จำ� นวนน้อย ซึง่ เทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจทิ ลั เข้ามา ตอบโจทย์ได้อย่างดี เพราะช่วยลดขั้นตอนการผลิต ไม่ต้อง แยกเพลทต่อการพิมพ์แต่ละครัง้ เหมือนระบบการพิมพ์ออฟเซ็ท บริษัทฯ จึงได้ติดตั้ง HP Indigo 12000 เพื่อช่วยขยายก�ำลัง การผลิตบรรจุภัณฑ์กล่องกระดาษด้วยการพิมพ์ระบบดิจิทัล ที่สำ� นักงานใหญ่ กรุงเทพฯ ตั้งแต่เดือนมกราคม ที่ผ่านมา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
“เครือ่ งพิมพ์ระบบดิจทิ ลั HP Indigo 12000 ส�ำหรับงานผลิต กล่องบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษ ท�ำให้โรงพิมพ์ประหยัดเวลาการติดตัง้ ลดความสิน้ เปลืองไม่ตอ้ งเปลีย่ นเพลทตลอดเวลา ส�ำหรับการพิมพ์ จ�ำนวนน้อย นั่นหมายถึงลูกค้ารับประโยชน์โดยได้งานที่สั่ง รวดเร็วขึ้น” นายณัฐพงษ์ สหชัยวัฒนา กรรมการผู้จัดการ บริษัท สหชัยกิจการพิมพ์ จ�ำกัด กล่าว “ตั้งแต่ที่โรงพิมพ์ ติดตั้งเครื่องพิมพ์เอชพีดิจิทัลนี้ สามารถรับงานที่มีจ�ำนวน การผลิตน้อยได้เพิม่ ขึน้ 20 ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ และสร้างผลก�ำไร เพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าตัว”
NEWS
57
รวบรวมคุณสมบัติ เหนือความคุ้มค่า
โอกาสใหม่สู่เส้นทางการเติบโต
เทคโนโลยีอันยอดเยี่ยมของ HP Indigo ช่วยให้สหชัยกิจการ พิ ม พ์ ส ามารถเพิ่ ม ศั ก ยภาพในการรองรั บ ลู ก ค้ า ที่ ต ้ อ งการ ความเร่งด่วนส�ำหรับการผลิตบรรจุภัณฑ์ที่ตอบโจทย์รูปแบบ เฉพาะของสินค้า
ปัจจุบัน บริษัทก�ำลังใช้เครื่องพิมพ์ดิจิทัล HP Indigo เพื่อเสริม ก�ำลังผลิตการพิมพ์ออฟเซ็ต “เมื่อการผลิตงานด้วยเครื่องพิมพ์ ดิจิทัลท�ำได้เต็มรูปแบบ ก็จะช่วยให้งานพิมพ์บนเครื่องพิมพ์ ออฟเซ็ท B2 ไม่มตี กค้างอีกต่อไป ซึง่ หมายความว่าโรงพิมพ์ของ เราสามารถใช้ศักยภาพจากการพิมพ์ออฟเซ็ทให้เกิดประโยชน์ สูงสุดและสร้างผลก�ำไรมากขึน้ ด้วย” นายณัฐพงษ์ ให้ความเห็น เพิ่มเติม
นายณัฐพงษ์ อธิบายเพิ่มเติมว่า “ลูกค้ามองหาความช่วยเหลือ จากเราส�ำหรับบรรจุภัณฑ์สินค้าที่มีแบบหลากหลาย เพื่อให้ เขาสามารถมีบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับเก็บสต็อคใหม่ ๆ ในแต่ละ ประเภทสินค้า ซึ่งในอดีตจะเป็นกระบวนการที่ใช้เวลานาน แต่ตอนนี้ เราสามารถพิมพ์ได้หลายรายการ เพื่อประเมินว่า แบบไหนเหมาะกับลูกค้ามากที่สุด แล้วปรับแต่งแบบเรียล ไทม์ก่อนการพิมพ์จริง ช่วยสร้างความผูกพันที่มีค่าให้กับลูกค้า ในการบริการ” HP Indigo 12000 ส�ำหรับผลิตบรรจุภัณฑ์ประเภทกล่องพับ ยั ง มี ร ะบบจั ด การและควบคุ ม คุ ณ ภาพสี ข องสี ง านได้ อ ย่ า ง สม�่ำเสมอตลอดกระบวนการผลิต ซึ่งเป็นงานที่ท้าทายของ งานพิ ม พ์ อ อฟเซ็ ท ในอดี ต เราสามารถส่ ง มอบงานให้ ลู ก ค้ า ตามมาตรฐานที่ตั้งไว้สูงและคุณภาพการพิมพ์ที่ยอดเยี่ยม คุณสมบัติอื่น ๆ ของเครื่องพิมพ์ ได้แก่ คุณภาพการพิมพ์ระดับ พรีเมียม ความสามารถในการจับคูส่ ี Pantone ตามทีก่ ำ� หนดไว้ อย่างแม่นย�ำ รวมทัง้ งานพิมพ์หมึกออกสีขาวขุน่ ส�ำหรับวัสดุพมิ พ์ แนวโลหะและวัสดุสอี นื่ ๆ “นอกจากนีย้ งั สามารถพิมพ์บนวัสดุพมิ พ์ ทีห่ ลากหลาย โดยเฉพาะความยืดหยุน่ ในการพิมพ์บนพืน้ ผิวทีห่ นา รวมถึงวัสดุแนวโลหะ ซึง่ เป็นหนึง่ ในคุณสมบัตทิ นี่ า่ ตืน่ เต้นทีส่ ดุ ของเครื่องพิมพ์” นายณัฐพงษ์ กล่าว
"บริษัทมองเห็นโอกาสใหม่ๆ ในการเติบโตของตลาดการพิ มพ์ ดิจิทัล การแข่งขันทุกวันนี้ มุมมอง ลูกค้าให้ความส�ำคัญกับการพิ มพ์ เทคนิคพิ เศษและสีสันพิ เศษต่างๆ เพื่ อดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค เป้าหมายของเราก็เช่นกัน ต้องเป็น โรงพิ มพ์ ที่ช่วยลูกค้าสร้างความ แตกต่างด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ พร้อมส่งมอบงานที่ตอบโจทย์ ความต้องการเฉพาะของเขา ด้วย ่ งพิ มพ์ ดจ เครือ ิ ท ิ ล ั HP Indigo 12000 เสริมศักยภาพการผลิตบรรจุภัณฑ์ กล่องกระดาษอันที่ช่วยให้เราบรรลุ เป้าหมายและเป็นผู้น�ำตลาด" นายณัฐพงษ์ กล่าว www.thaiprint.org
58
NEWS
ประกาศผลรางวัล “การประกวดสิ่งพิ มพ์ บรรจุภณ ั ฑ์”
โดย บริษัท ฟู จิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด วันที่ 26-27 ตุลาคม 2563 ณ สมาคมการพิ มพ์ ไทย ถนนพระราม 9
ฟูจิ ซีร็อกซ์ จัดกิจกรรมงานประกาศรางวัล “การประกวด สิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์” Specialty Design Contest 2020 ระหว่างวันที่ 26 - 27 ตุลาคม 2563 ณ สมาคมการพิมพ์ไทย ถนนพระราม 9 โดยมี ผลงานเข้าร่วมประกวด จาก 4 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิ ท ยาลั ย สแตมฟอร์ ด และมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี รวมทั้งสิ้น 25 ผลงาน THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
โดยการจัดการประกวดในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1. ให้ ค วามรู ้ เ กี่ ย วกั บ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ในระบบการพิ ม พ์ Digital แก่กลุ่มนักศึกษาที่ศึกษาอยู่ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งพิมพ์และการออกแบบสิ่งพิมพ์ 2. ให้นกั ศึกษาสามารถความรูท้ ไี่ ด้รบั ไปปรับใช้ในการออกแบบ เพือ่ สร้างมูลค่าให้แก่สงิ่ พิมพ์ โดยใช้หมึกพิมพ์ชนิดพิเศษของ เครือ่ งพิมพ์ Inidesse Production Press เป็นส่วนประกอบ
NEWS
คณะกรรมการตั ด สิ น ประกอบด้ ว ยผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ และผู ้ มี ประสบการณ์ด้านบรรจุภัณฑ์ ทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้แก่ 1. อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ที่ปรึกษาสมาคมการพิมพ์ไทย และสถาบันพลาสติก (ประธานการตัดสิน) 2. คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย (รองประธานการตัดสิน) 3. อาจารย์วรรณา สุทศั น์ ณ อยุธยา นายกสมาคมการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ไทย (คณะกรรมการตัดสิน) 4. อาจารย์นุชจรินทร์ เหลืองสะอาด อาจารย์ และผู้ดูแลและ ก�ำกับงานบริหารงานทั่วไป งานวิชาการภาควิชาเทคโนโลยี การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ (คณะกรรมการตัดสิน) 5. อาจารย์อุฬารพัชร นิธิอุทัย อาจารย์ประจ�ำภาควิชาการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ (คณะกรรมการตัดสิน) 6. คุณกิตติ พรพิพัฒน์วงศ์ Marketing Manager, GCS Marketing & Business Planning (คณะกรรมการตัดสิน) 7. คุ ณ ธนวิ ต ทองจั น ทร์ มู ล GCS Customer Success Manager (คณะกรรมการตัดสิน) 8. คุ ณ อรรถกร มารยาท GCS Solution Architect (คณะกรรมการตัดสิน) 9. คุณอินทพร อรุณวิศวกุล GCS Application Analyst (คณะกรรมการตัดสิน)
59
กิ จ กรรมทั้ ง สองวั น เริ่ ม จากการคั ด เลื อ กชิ้ น งานโดย คณะกรรมการตั ด สิ น จากจ� ำ นวนชิ้ น งานทั้ ง หมด คั ด เหลื อ 10 ชิ้น ก่อนคัดเลือกผู้ชนะ 3 รางวัล ส่วนกิจกรรมในวันที่ 2 เป็ น พิ ธี ก ารมอบรางวั ล ซึ่ ง ได้ เชิ ญ ผู ้ ส ่ ง ผลงานทุ ก ท่ า นเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม โดยมี คุ ณ พงศ์ ธี ร ะ พั ฒ นพี ร ะเดช นายก สมาคมการพิมพ์ไทย กล่าวต้อนรับและเปิดงาน ผลการประกวด รางวัลชนะเลิศ
นางสาวปาลิตา สมิตานันท์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผลงาน Moo Almonds
รองชนะเลิศอันดับ 1 นายอัครพล รัตนตยาธิคุณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ผลงาน Venefit รางวับรองอันดับ 2 นายจิรัฎฐ์ บุญยพั ชระศักดิ์ มหาวิทยาลัยสแตมฟอร์ด ผลงาน Scotch
รางวัลชมเชย
พร้อมใบประกาศเกียรติคุณ จ�ำนวนทั้งสิ้น 24 รางวัล www.thaiprint.org
60
NEWS
PUBAT เผยยอดผู้ร่วมงาน มหกรรมหนังสือฯ แบบไฮบริด กว่า 8 แสนราย
นิยาย/วรรณกรรมครองแชมป์หมวดหนังสือขายดี โดย สมาคมผู้จัดพิ มพ์ และผู้จ�ำหน่ายหนังสือ แห่งประเทศไทย (PUBAT)
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
NEWS
สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย (PUBAT) เผยผลการจัด งานมหกรรมหนังสือ ระดับชาติ ครั้ ง ที่ 25 (Book Expo Thailand 2020) ในรูปแบบ ไฮบริดอีเว้นท์ โดยเป็นการกลับมาจัดในรูปแบบออนกราวด์ อีกครั้ง หลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 สรุ ป สถิ ติ ผู ้ เข้ า ชมงานที่ อิ ม แพ็ ค ตลอด 12 วั น มี จ� ำ นวน 556,053 ราย ขณะที่ ThaiBookFair.com มี 250,000 ราย รวมยอดจ�ำหน่าย 197 ล้านบาท โดยหมวดนิยาย/วรรณกรรม ยังคงครองแชมป์หนังสือขายดี คุ ณ โชนรั ง สี เฉลิ ม ชั ย กิ จ นายกสมาคมผู ้ จั ด พิ ม พ์ แ ละผู ้ จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย (PUBAT) กล่าว สรุปผล การจัดงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 25 (Book Expo Thailand 2020) ภายใต้แนวคิด “Noกองดอง” ระหว่างวันที่ 30 กันยายน – 11 ตุลาคมที่ผ่านมา ณ ชาเลนเจอร์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ว่า ปีนี้มีสมาชิกเข้าร่วมงานทั้งหมด 262 ราย
61
และมีจ�ำนวนบูธทั้งหมด 746 บูธ โดยมีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วม งานจ�ำนวน 556,053 ราย สร้างยอดจ�ำหน่ายประมาณ 192 ล้านบาท ขณะเดียวกันด้านการจัดแบบออนไลน์ (Online) ใน ThaiBookFair.com นั้น เมื่อนับในช่วงระยะเวลาจัดงาน เดียวกันมีผู้ใช้บริการช้อปออนไลน์จ�ำนวน 250,000 ราย สร้าง ยอดจ�ำหน่ายที่ 5 ล้านบาท รวมยอดจ�ำหน่ายจากทัง้ สองรูปแบบ กิจกรรม คือ 197 ล้านบาท ซึง่ ถือว่าไม่ตรงตามเป้าหมายทีค่ าด การณ์เอาไว้ที่ 200 ล้านบาท เนือ่ งจากหลายปัจจัยประกอบ ไม่ ว่าจะเป็นการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 (COVID-19) และ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อการจับจ่ายท�ำให้ก�ำลังซื้อของ นักอ่านลดลง รวมถึงส�ำนักพิมพ์มีการผลิตหนังสือปกใหม่ออก มาในจ�ำนวนทีน่ อ้ ยลง แต่โดยรวมถือว่าน่าพอใจส�ำหรับการกลับ มาจัดในรูปแบบออน กราวด์ (On Ground) อีกครั้งเพราะ ยังคงมีนักอ่านที่ให้ความสนใจและยังคงชื่นชอบกับการได้มา เดินเลือกซื้อหนังสือหนังสือในงาน www.thaiprint.org
62
NEWS
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
NEWS
“ส�ำหรับหมวดหนังสือที่ได้รับความสนใจจากนักอ่านที่มาช้อป ในรูปแบบออน กราวด์ มากเป็นอันดับหนึง่ ได้แก่ หนังสือนิยาย/ วรรณกรรม เนื่องจากได้รับความสนใจจากผู้อ่านหลากหลาย ช่วงวัย ตั้งแต่วัยเรียนไปจนถึงวัยท�ำงาน สถานการณ์ช่วงนี้อาจ ส่งผลให้ผู้อ่านหันมาอ่านวรรณกรรมเพิ่มขึ้น เพื่อช่วยให้จิตใจ ผ่อนคลายจากความกังวล อันดับทีส่ องคือ หนังสือการ์ตนู และ ไลท์โนเวล (นิยายที่เจาะกลุ่มคนที่ชอบอ่านการ์ตูน ใช้ภาษา อ่านง่าย ไม่เน้นค�ำที่เข้าใจยาก อ่านแล้วสามารถจินตนาการ ได้ทันที) ผู้อ่านส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงวัยเรียน ซึ่งรูปแบบการ จัดงานที่เป็นออนไลน์สามารถเจาะกลุ่มนักอ่านรุ่นใหม่ได้ มากกว่า เพราะมีความถนัดในการใช้เทคโนโลยี อันดับทีส่ ามคือ หนังสือการศึกษา มีผู้อ่านเป็นวัยเรียนตั้งแต่ระดับปฐมวัย ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา แต่ผซู้ อื้ ส่วนใหญ่มกั จะเป็นผูป้ กครอง ที่ต้องการน�ำไปพัฒนาศักยภาพทางการศึกษาของบุตรหลาน อันดับที่สี่คือ หนังสือจิตวิทยาพัฒนาตนเอง โดยผู้อ่านยังให้ ความส�ำคัญในการพัฒนาตัวเอง หรือพัฒนาธุรกิจ เพื่อน�ำมา ใช้ต่อยอดสู่ความส�ำเร็จในอนาคต และสุดท้ายอันดับที่ห้าคือ หนังสือประวัติศาสตร์ โดยผู้อ่านกลุ่มนี้จะชื่นชอบความเป็น มาในอดีต วิวัฒนาการ ที่จะน�ำไปพัฒนาองค์ความรู้ต่อไป แต่ในขณะทีท่ างออนไลน์นนั้ หมวดหนังสือขายดีได้แก่ หนังสือ นิยาย/วรรณกรรม หนังสือประวัติศาสตร์ หนังสือจิตวิทยา พัฒนาตนเอง หนังสือการ์ตูนและไลท์โนเวล และการศึกษา ตามล�ำดับ” นางสาวโชนรังสี กล่าว
63
ด้านเสียงสะท้อนจากนักอ่านที่ เข้าร่วมงานพบว่า มีจ�ำนวนมาก ที่ประทับใจในบริการรถตู้รับ-ส่ง ้ ่ งจากช่วยให้เดินทางสะดวกขึน เนือ และไม่เสียค่าใช้จ่าย รวมถึงการ จัดพื้ นที่บูธต่างๆ ที่เป็นสัดส่วน ท�ำให้นักอ่านเดินหาบูธได้ง่าย โดยหลังจบงานมหกรรมหนังสือ ระดับชาติ ครั้งที่ 25 ทางสมาคม ผู้จัดพิ มพ์ ฯ มีแผนรวบรวม ความคิดเห็นจากการจัดงาน ในครั้งนี้ เพื่ อน�ำมาปรับปรุง และพั ฒนาความน่าสนใจของ กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่ มเติมส�ำหรับ การจัดงานในครั้งถัดไป ติดตามรายละเอียดเพิ่ มเติมได้ทาง Facebook Fanpage: Thai Book Fair
เครดิภาพประกอบจาก https://www.facebook.com/pg/thailandbookfair
www.thaiprint.org
64 KNOWLEDGE
ทฤษฎีองค์การและการจัดการ สมัยใหม่
ทุกองค์การไม่ว่าจะมีขนาด ประเภท หรือสถานที่ตั้งอย่างไร จ�ำเป็นต้องมีการจัดการที่ดี ซึ่งการจัดการที่ดี เรียบเรียงโดย ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล
Photo by LYCS Architecture on Unsplash
ทุกองค์การไม่ว่าจะมีขนาด ประเภท หรือสถานที่ตั้งอย่างไร จ�ำเป็นต้องมีการจัดการทีด่ ี ซึง่ การจัดการทีด่ ี เป็นจุดเริม่ ต้นของ การด�ำเนินงานขององค์การ การเติบโตและการด�ำรงอยู่ต่อไป ขององค์การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์การในยุคศตวรรษที่ 21 ซึง่ ต้องเผชิญกับปัจจัยแวดล้อมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ โลกาภิวตั น์ และเทคโนโลยี ท�ำให้ องค์การต้องมีแนวทางในการจัดการทีท่ นั สมัยเพือ่ รับมือกับการ เปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็วนี้ เพือ่ ให้เข้าใจ แนวคิดเกีย่ วกับการจัดการ สมัยใหม่ ในบทนี้จะได้น�ำเสนอหัวข้อเกี่ยวกับเรื่ององค์การ สมัยใหม่ ความหมายของการจัดการ ขบวนการจัดการ บทบาท ของการจัดการ คุณสมบัติของนักบริหารที่ประสบความส�ำเร็จ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization)
การจัดการเกิดขึ้นในองค์การ และในมุมมองด้านการจัดการ องค์การหมายถึง การที่มีคนมาท�ำงานร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพือ่ ให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึง่ ซึง่ องค์การมีลกั ษณะ ร่วมกันอยู่ 3 ประการ ได้แก่ 1) ทุกองค์การต้องมีวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของตนเอง 2) ทุกองค์การต้องมีคนร่วมกันท�ำงาน 3) องค์การต้องมีการจัดโครงสร้างงานแบ่งงานหน้าทีร่ บั ผิดชอบ ของคนในองค์การ
KNOWLEDGE 65
ตามที่กล่าวข้างต้น จะเห็นว่าองค์การปัจจุบันต้องเผชิญกับ สภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังนั้น องค์การ ต้องมีการปรับเปลีย่ นอยูเ่ สมอ แนวคิดเกีย่ วกับองค์การในแบบเดิม กับองค์การสมัยใหม่ก็มีความแตกต่างกัน เช่น การจัดการ แบบคงเดิมกับแบบพลวัตร รูปแบบไม่ยืดหยุ่นกับแบบยืดหยุ่น การเน้นที่ตัวงานกับเน้นทักษะ การมีสถานที่ท�ำงานและเวลา ท�ำงานทีเ่ ฉพาะคงทีก่ บั การท�ำงานได้ทกุ ทีท่ กุ เวลา องค์การแบบ เดิมจะมีลักษณะการจัดการที่คงเดิมไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง ถ้าจะมีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ บ้างก็เป็นในช่วงสัน้ ๆ แต่องค์การ ปัจจุบนั การเปลีย่ นแปลงจะเกิดขึน้ อยูต่ ลอดเวลา จะมีความคงที่ บ้างเป็นช่วงสัน้ ๆ จึงมีการจัดการแบบพลวัตรสามารถปรับเปลีย่ น ให้สอดรับกับการเปลีย่ นแปลงของสิง่ แวดล้อม ตลอดเวลาองค์การ แบบเดิมมักมีการจัดการแบบไม่ยดื หยุน่ ส่วนในองค์การสมัยใหม่ จะมีการจัดการทีย่ ดื หยุน่ กล่าวคือใน องค์การสมัยใหม่จะไม่ยดึ ติด กับแนวทางปฏิบตั อิ ย่างใดอย่างหนึง่ เท่านัน้ ต้องให้มคี วามยืดหยุน่ ในการปฏิบตั ิ สามารถปรับเปลีย่ นได้ถา้ สถานการณ์แตกต่างไป องค์การแบบเดิมลักษณะของงานจะคงที่ พนักงานแต่ละคน จะได้รบั มอบหมายงานเฉพาะ และท�ำงานในกลุม่ เดิมไม่คอ่ ยเปลีย่ น แต่ในองค์การสมัยใหม่พนักงานต้องเพิ่มศักยภาพของตนที่ จะเรียนรู้และสามารถท�ำงานที่เกี่ยวข้องได้รอบด้าน และมี การสับเปลี่ยนหน้าที่และกลุ่มงานอยู่เป็นประจ�ำ ตัวอย่างเช่น ในบริษัทผลิตรถยนต์ พนักงานในแผนกผลิต ต้องสามารถ ใช้งานเครือ่ งจักรทีค่ วบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ได้ดว้ ย ซึง่ ใน ค�ำบรรยายลักษณะงาน (job description) เดียวกันนี้เมื่อ 20 ปีก่อนไม่มีการระบุไว้ ดังนั้นในองค์การสมัยใหม่จะพัฒนา บุคลากรให้เพิ่มทักษะการท�ำงานได้หลากหลายมากขึ้น และ ในการพิจารณาค่าตอบแทนการท�ำงาน (compensation) ในองค์การสมัยใหม่มีแนวโน้มที่จะตอบแทนตามทักษะ (skill based) ยิ่งมีความสามารถในการท�ำงานหลายอย่างมากขึ้น
องค์การสมัยใหม่จะพั ฒนา บุคลากรให้เพิ่ มทักษะการท�ำงาน ได้หลากหลายมากขึ้น ยิ่งมีความ สามารถในการท�ำงานหลายอย่าง ้ มากขึ้น ก็ได้คา่ ตอบแทนมากขึน แทนการให้คา่ ตอบแทนตาม ลักษณะงานและหน้าที่รับผิดชอบ (job based)
ก็ได้คา่ ตอบแทนมากขึน้ แทนการให้คา่ ตอบแทนตามลักษณะงาน และหน้าที่รับผิดชอบ (job based) องค์การแบบเดิม พนักงานจะท�ำงานในสถานที่ท�ำงานและ เป็นเวลาที่แน่นอน แต่ในองค์สมัยใหม่มีแนวโน้มที่จะให้อิสระ กับพนักงานในการท�ำงานที่ใดก็ได้เมื่อไรก็ได้ แต่ต้องได้ผลงาน ตามที่ก�ำหนด เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีเอื้อให้สามารถ สือ่ สารถึงกันได้แม้ทำ� งานคนละแห่ง รวมทัง้ ความเปลีย่ นแปลง ที่รวดเร็ว และโลกาภิวัตน์ท�ำให้คนต้องท�ำงานแข่งกับเวลา มาก ขึ้นจนเบียดบังเวลาส่วนตัวและครอบครัว ดังนั้นองค์การ สมัยใหม่จะให้เกิดความยืดหยุ่นในการท�ำงาน ทั้งเรื่องเวลา และสถานที่ เพื่อให้ส อดรับกับแนวโน้มวิถีการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของพนักงานยุคใหม่ ความหมายของการจัดการ (Defining management)
การจัดการ (Management) หมายถึง ขบวนการที่ท�ำให้ งานกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ส� ำ เร็ จ ลงได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ มีประสิทธิผลด้วยคนและทรัพยากรขององค์การ (Robbins and DeCenzo, 2004; Certo, 2003) ซึ่งตามความหมายนี้ องค์ ป ระกอบที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด การ ได้ แ ก่ ขบวนการ (process) ประสิ ท ธิ ภ าพ (efficiency) และประสิ ท ธิ ผ ล (effectiveness) ขบวนการ (process)
ในความหมายของการจัดการนี้หมายถึงหน้าที่ต่าง ๆ ด้านการ จัดการ ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์การ การโน้มน�ำองค์การ และการควบคุม ซึ่งจะได้อธิบายละเอียดต่อไปในหัวข้อต่อไป เกี่ยวกับหน้าที่และขบวนการจัดการ ประสิทธิภาพ (efficiency) และประสิทธิผล (effectiveness)
เป็นเรื่องเกี่ยวกับลักษณะของการจัดการ โดยประสิทธิภาพ หมายถึง การท�ำงานอย่างถูกวิธี เป็นการเปรียบเทียบ ระหว่าง ปัจจัยน�ำเข้า (inputs) กับผลผลิต (outputs) หากเราสามารถ ท�ำงานได้ผลผลิตมากกว่าในขณะที่ใช้ปัจจัยน�ำเข้าน้อยกว่า หรือ เท่ากัน ก็หมายความว่า เราท�ำงานได้มปี ระสิทธิภาพมากกว่า ซึง่ ปัจจัยน�ำเข้าในการจัดการก็คอื ทรัพยากรขององค์การ ได้แก่ คน เงิน วัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องจักร และทุน ทรัพยากรเหล่านี้ มีจ�ำกัด และเป็นต้นทุนในการด�ำเนินงานขององค์การ ดังนั้น การจัดการทีด่ จี งึ ต้องพยายามท�ำให้มกี ารใช้ทรัพยากรน้อยทีส่ ดุ และให้เกิดผลผลิตมากที่สุด www.thaiprint.org
66 KNOWLEDGE
ประสิทธิผล (effectiveness) ส�ำหรับประสิทธิผลในการจัดการ หมายถึง การท�ำได้ตามเป้าหมายหรือ วัตถุประสงค์ทกี่ ำ� หนดไว้ การจัดการทีม่ เี พียงประสิทธิภาพนัน้ ยังไม่เพียงพอ ต้องค�ำนึงว่า ผลผลิตนัน้ เป็นไปตามเป้าหมายทีก่ ำ� หนดไว้หรือไม่ ตัวอย่างเช่น สถาบันศึกษาที่ผลิตผู้ส�ำเร็จการศึกษาพร้อมกันที่ละมาก ๆ หากไม่คำ� นึงถึงคุณภาพการศึกษาก็ อาจจะได้แต่ประสิทธิภาพ คือใช้ทรัพยากรในการผลิตหรือต้นทุนต่อผู้เรียน แต่อาจจะไม่ ได้ประสิทธิผลในการศึกษา เป็นต้น และ ในทางกลับกันหาก ท�ำงานที่ได้ประสิทธิผลอย่างเดียวก็ไม่ได้ ต้องค�ำนึงถึงต้นทุน และความมีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น บริษัท Hewlett-Packard อาจจะท�ำตลับหมึกสี ส�ำหรับเครื่อง Laser printer ที่มีสีเหมือนจริงและทนนานมาก กว่าเดิมได้ แต่ต้องใช้เวลา แรงงาน และวัตถุดิบที่สูงขึ้นมาก ทางด้ า นประสิ ท ธิ ผ ลออกมาดี แต่นับ ว่าไม่มีป ระสิท ธิภาพ เพราะต้นทุนรวมสูงขึ้นมาก เป็นต้น
Photo by Charles Deluvio on Unsplash
ในการบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น ต้องอาศัยความเข้าใจในสาขาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ด้านมนุษย์ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ ปรัชญา การเมือง จิตวิทยา และสังคมศาสตร์ เพื่อให้เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรมของ มนุษย์ ความได้เปรียบในการแข่งขัน การค้าเสรี ความขัดแย้ง การใช้อำ� นาจ และความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม
การวางแผน (planning) เป็นกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการก�ำหนด เป้าหมายขององค์การ สร้างกลยุทธ์ เพือ่ แนวทางในการด�ำเนิน ไปสูเ่ ป้าหมาย และกระจายจากกลยุทธ์ไปสูแ่ ผนระดับปฏิบตั กิ าร โดยกลยุทธ์และแผนในแต่ละระดับและแต่ละส่วนงานต้อง สอดคล้องประสานกัน เพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายในส่วนงานของตน และเป้าหมายรวมขององค์การด้วย
กระบวนการจัดการ (Management process)
การจัดองค์การ (Organizing)
ในช่วงต้นของศตวรรษที่ 20 Henri Fayol ได้เสนอไว้ว่า ผูจ้ ดั การหรือผูบ้ ริหารทุกคนต้องท�ำกิจกรรม เกีย่ วกับการจัดการ หรือที่เรียกว่า ขบวนการจัดการ 5 อย่าง ได้แก่ การวางแผน (planning) การจั ด องค์ ก าร (organizing) การสั่ ง การ (commanding) การประสานงาน (coordinating) และ การควบคุม (controlling) (เขียนย่อว่า POCCC) และต่อมา ในช่วงกลางปีทศวรรษ 1950 นักวิชาการจาก UCLA ได้ปรับ มาเป็นการวางแผน (planning) การจัดองค์การ (organizing) การจั ด การพนั ก งาน (staffing) การสั่ ง การ (directing) และการควบคุ ม (controlling) (เขี ย นย่ อ ว่ า POSDC) ซึง่ ขบวนการจัดการ 5 ประการ (POSDC) อันหลังนีเ้ ป็นทีน่ ยิ มใช้ เป็นกรอบในการเขียนต�ำรามากว่า 20 ปี และต่อมาในช่วงหลังนี้ ได้ยอ่ ขบวนการจัดการ 5 ประการนี้ เป็นหน้าทีพ่ นื้ ฐาน 4 ประการ ได้แก่ การวางแผน (planning) การจัดองค์การ (organizing) การโน้มน�ำ (leading/influencing) และการควบคุม (controlling) อย่างไรก็ตามงานในแต่ละส่วนของขบวนการจัดการทีก่ ล่าวข้างต้นนี้ มีความสัมพันธ์และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน ประกอบด้วย
เป็ น กิ จ กรรมที่ ท� ำ เกี่ ย วกั บ การจั ด โครงสร้ า งขององค์ ก าร โดยพิจารณาว่า การที่จะท�ำให้ได้บรรลุตามเป้าหมายที่กำ� หนด ไว้นั้น ต้องมีงานอะไรบ้าง และงานแต่ละอย่างจะสามารถ จัดแบ่งกลุ่มงานได้อย่างไร มีใครบ้างเป็นผู้รับผิดชอบในแต่ละ ส่วนงานนัน้ และมีการรายงานบังคับบัญชาตามล�ำดับขัน้ อย่างไร ใครเป็นผู้มีอ�ำนาจในการตัดสินใจ
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
การโน้มน�ำพนักงาน (leading/influencing) เป็นเรือ่ งเกีย่ วกับ การจั ด การให้ พ นกั ง านท� ำ งาน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล ซึ่งต้องใช้การประสานงานการติดต่อสื่อสารที่ดี การจูงใจในการท�ำงานผู้บริหารต้องมีภาวะผู้น�ำที่เหมาะสม ลดความขัดแย้งและความตรึงเครียดในองค์การ เมื่อองค์การมีเป้าหมายและได้มีการวางแผนแล้วก็ท�ำการจัด โครงสร้างองค์การว่าจ้างพนักงานฝึกอบรม และสร้างแรงจูงใจ ให้ท�ำงาน และเพื่อให้แน่ใจว่าสิ่งต่าง ๆ จะด�ำเนินไปตามที่ควร จะเป็นผู้บริหารก็ต้องมีการควบคุมติดตามผลการปฏิบัติการ
KNOWLEDGE 67
และเปรี ย บเที ย บผลงานจริ ง กั บ เป้ า หมายหรื อ มาตรฐานที่ ก�ำหนดไว้ หากผลงานจริงเบี่ยงเบนไปจากเป้าหมายก็ต้อง ท� ำ การปรั บ ให้ เ ป็ น ไปตามเป้ า หมาย ซึ่ ง ขบวนการติ ด ตาม ประเมินผลเปรียบเทียบและแก้ไขนี้ก็คือ ขบวนการควบคุม บทบาทของการจัดการ (Managerial roles)
เมื่อกล่าวถึงหน้าที่ที่เกี่ยวกับการจัดการในองค์การมักมุ่งไป ที่หน้าที่ต่าง ๆ ในขบวนการจัดการ 4 ประการ (การวางแผน การจั ด องค์ ก าร การโน้ ม น� ำ และการควบคุ ม ) ดั ง ที่ ก ล่ า ว ข้างต้น ซึ่งผู้บริหารแต่ละคนให้ความส�ำคัญและเวลาในการ ท� ำ หน้ า ที่ ก ารจั ด การเหล่ า นี้ แ ตกต่ า งกั น นอกจากนี้ ยั ง ขึ้ น กั บ ลั ก ษณะการด� ำ เนิ น งานขององค์ ก ารที่ แ ตกต่ า งกั น ด้ ว ย (เช่น มีลักษณะการด�ำเนินงานเป็นองค์การที่แสวงหาก�ำไร หรือองค์การที่ไม่แสวงหาก�ำไร) ระดับของผู้บริหารที่ต่างกัน (ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง) และขนาดขององค์การที่ ต่างกัน ตัวอย่างเช่น ผูบ้ ริหารทีอ่ ยูใ่ นระดับบริหารทีแ่ ตกต่างกัน จะให้ เวลาในการท� ำ กิ จ กรรมของแต่ ล ะหน้ า ที่ แ ตกต่ า งกั น และเมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง กิ จ กรรมของผู ้ บ ริ ห ารในองค์ ก ารแล้ ว Mintzberg เห็นว่าบทบาทของการจัดการสามารถจัดแบ่ง ได้เป็น 3 กลุ่ม หรือที่เรียกว่า บทบาทด้านการจัดการของ Mintzberg (Mintzberg’s managerial roles) ได้แก่ บทบาท ด้านระหว่างบุคคล (interpersonal roles) บทบาทด้านข้อมูล (informational roles) และบทบาทด้ า นการตั ด สิ น ใจ (decisional roles) โดยแต่ละกลุ่มของบทบาทมีบทบาทย่อย ดังต่อไปนี้ บทบาทระหว่างบุคคล (interpersonal roles) เป็นบทบาท ด้ า นการสร้ า งความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คล ประกอบด้ ว ย บทบาทย่อย ได้แก่ 1) บทบาทตามต�ำแหน่ง (figurehead): ท�ำหน้าที่ประจ�ำวัน ต่าง ๆ ตามระเบียบที่เกี่ยวกับกฎหมาย หรือตามที่สังคม ก�ำหนด เช่น การต้อนรับแขกขององค์กรลงนามในเอกสาร ตามกฎหมาย เป็นต้น 2) บทบาทผู้น�ำ (leader): ต้องรับผิดชอบสร้างแรงจูงใจและ กระตุน้ การทพงานของพนักงาน รับผิดชอบในการจัดหาคน ฝึกอบรม และงานที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ 3) บทบาทการสร้างสัมพันธภาพ (liaison): โดยสร้างเครือข่าย ภายในและภายนอกเพื่อการ กระจายข้อมูลให้ทั่วถึง
บทบาทด้านข้อมูล (informational roles) เป็นบทบาทด้าน การกระจายและส่งผ่านข้อมูล ประกอบด้วย บทบาทย่อย ดังนี้ 4) เป็นผู้ติดตามประเมินผล (monitor): เป็นการติดตาม เลือกรับข้อมูล (ซึ่งมักจะเป็นเหตุการณ์ปัจจุบัน) เพื่อเข้าใจ ความเคลื่อนไหวขององค์การและสิ่งแวดล้อม เป็นเสมือน ศูนย์กลางของระบบ 5) เป็นผู้กระจายข้อมูล (disseminator): รับบทบาทส่งผ่าน ข้ อ มู ล ไปยั ง พนั ก งานในองค์ ก าร บางข้ อ มู ล ก็ เ กี่ ย วกั บ ข้อเท็จจริง บางข้อมูลเกี่ยวกับการแปลผลและรวบรวม ความแตกต่างกันที่เกิดขึ้นในองค์การ 6) เป็นโฆษก (spokesperson): ท�ำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ส่งต่อข้อมูลไปยังหน่วยงานภายนอก เกี่ยวกับแผนงาน นโยบาย กิ จ กรรม และผลงานขององค์ ก าร เช่ น เป็ น ผู ้ เชี่ ย วชาญในอุ ต สาหกรรม บทบาทด้ า นการตั ด สิ น ใจ (decisional roles) ท�ำหน้าที่ตัดสินใจในการด�ำเนินงาน ขององค์การ ประกอบด้วยบทบาทย่อย ดังนี้ 7) เป็ น ผู ้ ป ระกอบการ (entrepreneur): หาโอกาสและ เริ่มสิ่งใหม่ๆ เช่น การปรับปรุงโครงการ เพื่อน�ำไปสู่การ เปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ให้ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการออกแบบ โครงการ โดยการจัดให้มีการทบทวนและก�ำหนดกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาโปรแกรมใหม่ ๆ 8) เป็นผู้จัดการความสงบเรียบร้อย (disturbance hander): รั บ ผิ ด ชอบแก้ ไขการด� ำ เนิ น งานเมื่ อ องค์ ก ารเผชิ ญ กั บ ความไม่สงบเรียบร้อย โดยการทบทวนและก�ำหนดกลยุทธ์ ที่เกี่ยวข้องกับความไม่สงบและวิกฤติการณ์ในองค์การ 9) เป็นผู้จัดสรรทรัพยากร (resource allocator): เป็นผู้ รับผิดชอบฝวในการจัดสรรทรัพยากรต่างๆในองค์การ เช่น ท�ำการตัดสินใจและอนุมัติในประเด็นที่ส�ำคัญต่าง ๆ ของ องค์การ โดยจัดล�ำดับ และกระจายอ�ำนาจ ดูแลกิจกรรมที่ เกี่ยวกับเรื่องงบประมาณ และจัดการเกี่ยวกับการท�ำงาน ของพนักงาน 10) เป็นผู้ต่อรอง (negotiator): รับผิดชอบในการเป็นตัวแทน ต่อรองในเรือ่ งส�ำคัญขององค์การ เช่น มีสว่ นร่วมใน การท�ำ สัญญากับสหภาพแรงงานขององค์การ หรือการต่อรองกับ ผู้จัดหา (suppliers) บทความจากหนังสือ ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ Modern Organization Theory,รศ.ดร. ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์
www.thaiprint.org
44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1
11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM
72 KNOWLEDGE
Photo by Élise Morin on Unsplash
Skill Standards โดย เพจโรงพิ มพ์ ไทย 5G
หากถามสมบัติช่างพิมพ์มือ 1 แท่น 6 C ว่าลงรถไฟที่หัวล�ำโพง แล้วอามารับเป็นเด็กฝึกงานโรงพิมพ์กปี่ ถี งึ เข้าแท่นพิมพ์เป็นมือ 3 ท�ำอยู่อีกกี่ปีถึงขยับเป็นมือ 2 อดทนนานเท่าไหร่ถึงก้าวเป็น มือ 1 ตอนนี้เป็นมาแล้วกี่ปี ? สมการประสบการณ์ของช่างสมบัติคือ 1/2 ปี + 2 ปี + 4 ปี + 9 ปี = 15 ปีครึ่ง ถอด Square Root ของเขาคือฝึกงานจริง 1 เดือน x ท�ำซ�ำ้ 6 ครัง้ จนหัวหน้าเห็นแวว ดึงมาเรียนความรู้เนื้อ ๆ เป็นมือ 3 เพียง 3 เดือน x ท�ำซ�้ำ 8 ครั้ง เรียนความรู้เนื้อ ๆ เป็นมือ 2 = 1 ปี x ท�ำซ�้ำ 4 ครั้ง และท้ายสุดสุดท้าย เรียนความรู้เนื้อ ๆ ของมือ 1 เต็มที่ 3 ปี x ท�ำซ�ำ้ 3 ครัง้ ประโยชน์การท�ำซ�ำ้ คือได้ความช�ำนาญ ท�ำสิ่งนั้นได้ไวขึ้น ผิดพลาดน้อย แต่ใช้เวลา THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
ขณะที่ ป ลายปี 2564 ผู ้ บ ริ ห ารโรงพิ ม พ์ ว างแผนซื้ อ เครื่ อ ง เทคโนโลยีใหม่เข้ามาเพิ่มอีก 2 แถวรองรับงาน เราจะได้ยิน ค�ำว่า “ดัน” ช่างสมบัติขึ้นไปท�ำแท่นใหม่ ดันมือ 2 ลูกน้อง ช่างสมบัตขิ นึ้ เป็น มือ 1 โยกมือ 3 แท่น 4 C มาเป็นมือ 2 แท่น 6C โดยยังไม่มั่นใจนักว่าความรู้พื้นฐานและทักษะที่มีจะปฎิบัติ หน้าที่ใหม่ได้มีประสิทธิภาพเพียงใด บทความนี้ต้องการให้ผู้บริหาร ผู้จัดการแผนกพิมพ์ ฝ่ายบุคคล รู้จัก Skill Standard เพื่อการฝึกอบรมช่างพิมพ์ได้เป็นระบบ โดยวิธแี บ่งออกเป็น 3 คอลัมน์ คือ ขัน้ ตอนการท�ำงาน หัวข้อฝึก อบรม และเป้าหมาย แนวทางนีส้ ามารถย่นย่อเวลาให้พนักงาน ใหม่คนหนึง่ ทีม่ ี “แวว” เป็นช่างพิมพ์มอื 1 (อ่อนประสบการณ์) เร็วกว่า 4 ปี 4 เดือน ตาม Square Root ของช่างสมบัติ
KNOWLEDGE 73 ขั้นตอนการท�ำงาน
หัวข้อฝึกอบรม
เป้าหมาย
1. เช็คอุปกรณ์ความปลอดภัย 1. จุดติดตั้งอุปกรณ์ความปลอดภัย เช่น ฝาการ์ด ลิ 1. ชี้จุดติดตั้งครบทุกจุด 2. ตรวจสอบประสิทธิภาพเป็น ก่อนเริ่มงาน มิตสวิตซ์ ปุ่มเซฟตี้ ตาไฟ ตามคู่มือเครื่อง 3. สังเกตความผิดปรกติของอุปกรณ์ความปลอดภัย 2. หลักการท�ำงาน 3. วิธีตรวจสอบประสิทธิภาพ ความแม่นย�ำของ เช่น ท�ำผิดจังหวะ, หลวม, ช�ำรุด 4. แนะน�ำปรับปรุงเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการ อุปกรณ์ ท�ำงานแก่หัวหน้า เช่น จุดอับแสง มีการรั่วซึม 4. การบ�ำรุงรักษา 5. ปฎิบตั ติ ามกฎความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ จ.ป 6. บอกกล่าวตักเตือนเพื่อนร่วมงานเรื่องสุ่มเสี่ยง อันตราย 1. เตรียมปรู๊ฟ เพลท กระดาษ ถูกต้องตรงตาม 1. ใบจ๊อบ,ใบงาน, Job Instructions 2. เตรียมการพิมพ์ แผนการพิมพ์ 2. แผนการพิมพ์ 3. ศัพท์การพิมพ์ เช่น กลับนอก กลับในตัว กลับ 2. เข้าใจสเปคงาน กระดกกริปเปอร์ ยก กรอบ 4. ศัพท์หลังการพิมพ์ เช่น ไดคัท ฟอยล์ เย็บกี่ เย็บมุงหลังคา เคลือบด้าน 1. แยกประเภทกระดาษ 3. ตรวจสอบกระดาษ 1. หน่วยมิลลิเมตรและหน่วยนิ้ว 2. ใช้มือสัมผัสแยกความหนาเบื้องต้น 2. ขนาดกระดาษจากโรงงานยี่ห้อต่างๆ 3. แยกความต่างของความเรียบกระดาษสองหน้า 3. ขนาดกระดาษที่ตัดใช้ประจ�ำ 4. ตรวจเกรนกระดาษ 4. ลักษณะผิวมัน ผิวด้าน ไม่เคลือบ 5. ใช้ไมโครมิเตอร์วัดความหนาได้ 5. แกรมและเกรนกระดาษ 6. แจ้งปัญหาสภาพกระดาษไม่พร้อมพิมพ์ 6. กระดาษ 2 หน้าเรียบต่างกันจากโรงงาน 7. ปัญหาคุณภาพกระดาษก่อนพิมพ์ เช่น คลื่น 7. ขึ้นกระดาษเรียบ ขอบตรง เจียนไม่ได้ฉาก ขุยขอบ 8. วิธีใช้ไมโครมิเตอร์ 9. วิธีขึ้นกระดาษ 1. ตรวจคุณภาพก่อนใส่โมเพลท สเปคเครื่องพิมพ์ 4. ตรวจสอบเพลท 2. ใส่เพลทถูกวิธี 1. ขนาดกว้าง x ยาว 3. มาร์คพิมพ์ใก้ลเคียงที่สุดเมื่อปรู๊ฟงาน 2. ระยะเริ่มพิมพ์ Start printing 4. รักษาเพลทพร้อมใช้ครั้งต่อไป 3. ขนาดรูเจาะ ระยะห่างระหว่างรู 4. การใช้เครื่องงอเพลท 5. มาร์คต่าง ๆ บนเพลท 6. ปัญหาคุณภาพ เช่น สกรีนหาย รอยขีดข่วน เอียง 7. วิธีการใส่เพลทตามคู่มือเครื่อง 8. การเก็บรักษาเพลทหลังพิมพ์ 1. ใช้เครื่องมือวัดวิเคราะห์ค่าเหมาะสมการใช้งาน 5. ตรวจสอบน�้ำยาฟาวเทน 1. ระบบการท�ำงานของคู้น�้ำยา 2. อุปกรณ์ประกอบในตูน้ ำ�้ ยา เช่น ลูกลอย หัวอ่าน 2. ค� ำ นวณอั ต ราส่ ว นผสมได้ ถู ก ต้ อ งในการเติ ม แมนนวล ชุดผสม ตู้พักน�ำ้ 3. วิเคราะห์จุดท�ำงานผิดปรกติ 3. สเปคค่า PH - Conductivity 4. เปลี่ยนถ่ายน�้ำ 4. แอลกอฮอล์ IPA ในการพิมพ์ 5. รักษาความสะอาดและบ�ำรุงรักษา 5. วิธีคำ� นวณอัตราส่วนผสมด้วยแมนนวล 6. การใช้เครื่องมือวัด 7. การเปลี่ยนถ่ายน�ำ้ ตามคู่มือเครื่อง 8. ความสะอาดและการบ�ำรุงรักษาตู้น�้ำยา www.thaiprint.org
74 KNOWLEDGE ขั้นตอนการท�ำงาน
6. เตรียมหมึกพิมพ์
7. เตรียมการพิมพ์
8. Set Up
9. ปรับตั้งลูกหมึกและลูกน�้ำ
หัวข้อฝึกอบรม
เป้าหมาย
1. เตรียมหมึกถูกต้องตามสเปคในใบงาน 1. หมึก 4C Process 2. ผสมหมึกสีพิเศษได้ 2. หมึกสีพิเศษ สี Metallic หมึกวานิช 3. คุณสมบัติหมึกพิมพ์ เช่น ความเหนียว การไหล 3. วิเคราะห์แก้ไขปัญหาหมึกทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างพิมพ์ 4. ค�ำนวนปริมาณหมึกที่จะใช้ตามจ๊อบงาน การเซ็ทตัว การแห้ง 4. การรวมตัวของหมึกและน�ำ้ 5. การผสมสีพิเศษ Color Matching 6. สารเติมแต่งหมึก เช่น ดรายเออร์ คอมปาวน์ วานิชOO 7. การรวมตัวของหมึกและน�ำ้ 8. ปัญหาคุณภาพที่เกิดจากหมึกพิมพ์ 1. องค์ประกอบผ้ายาง หน้ายาง ความหนา ฟอง 1. ถอดเปลี่ยนผ้ายางและแพ๊คกิ้ง 2. ใช้ไมโครมิเตอร์ใส่แพ๊คกิ้งตามสเปคบ่าโม อากาศ เกรน แคลมป์หนีบ 3. เพิ่มลดขนาดภาพด้วยแพ๊คกิ้ง 2. ประเภทของแพ๊คกิ้ง 4. ตั้งแรงขันประแจถูกสเปคเครื่อง 3. วิธีเปลี่ยนผ้ายางและแพ๊คกิ้ง 5. แก้ปัญหาที่เกิดจากผ้ายาง 4. แรงขัน หน่วยแรงขัน การตั้งประแจ 6. ป้องกันผ้ายางเสียหาย 5. การใช้ไมโครมิเตอร์ 6. ความลึกบ่าโมผ้ายางและแรงกด 7. การเพิ่มลดขนาดภาพด้วยแพ๊คกิ้ง 8. ปัญหาคุณภาพที่เกิดจากผ้ายาง 9. คุณสมบัติน�้ำมันล้างผ้ายาง 1. เซทและ Upload ข้อมูล ค่าต่าง ๆ ทีโ่ ต๊ะควบคุม 1. วิธีนำ� เข้าข้อมูลของพรีเพรส 2. เซทหน่วยป้อนกระดาษด้วยสปีดเท่าพิมพ์จริง 2. การปรับตั้งตามคู่มือเครื่อง 3. เซทหน่วยรับกระดาษด้วยสปีดเท่าพิมพ์จริง 3. การสั่งการพิมพ์ที่โต๊ะควบคุม 4. ปรับสมดุลย์ให้น้�ำน้อยและหมึกน้อยแต่ได้ค่า 4. อุปกรณ์พ่นแป้งและแป้งพ่น Density สูงสุด ค่า Delta E อยู่ในเกณฑ์ 5. ตั้งฉากตั้งสีโดยเปิดกระดาษน้อยครั้งแล้ว สีได้ ตามสเปค 6. วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาคุณภาพ เช่น เม็ดสกรีน บวม รอยเลอะ รอยยับ 7. ตรวจความถูกต้อง เช่น ตีเส้นเช็คตัดตก การเรียง หน้า ระยะกริปเปอร์ 1. สเปค เส้นผ่าศูนย์กลาง ความยาวแกน และยาง 1. ตรวจสอบสเปคลูกหมึกและลูกน�้ำ 2. ถอด ใส่ ปรับตั้งลูกหมึกและลูกน�้ำทั้งระบบ ความนิ่มแข็ง ตามคู่มือเครื่อง 2. วิธีถอด ใส่คืน และเครื่องมือที่ใช้ 3. วิธีปรับตั้งแรงเบียด และเครื่องมือที่ใช้ 4. การไหลและถ่ายโอนหมึกจากลูกเหล็ก รางหมึก ถึงลูกหมึกแตะเพลท (Ink Chain) 5. การไหลของน�ำ้ ยาฟาวเทนจากลูกในรางถึงลูกน�ำ้ แตะเพลท 6. การตั้งลูกส่ายหมึกแก้หัวหนักท้ายเบา 7. เครื่องมือวัด Durometer เวอร์เนีย 8. การตรวจสภาพลูกหมึกลูกน�ำ้ 9. การบ�ำรุงรักษา
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
KNOWLEDGE 75 ขั้นตอนการท�ำงาน
หัวข้อฝึกอบรม
เป้าหมาย
1. ใช้เมนูต่าง ๆ ของเครื่องวัดถูกต้อง 1. มาตรฐานการพิมพ์ ISO 12647 2. ควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหาระหว่างพิมพ์ เช่น 2. ค่า Density L*a*b* DeltaE Dot gain ขี้หมึก มาร์คหนี ไม่เข้าฉาก จุดสกปรก ให้เกิด 3. การจัดการสีเบื้องต้น ของเสียน้อยที่สุด 4. Color Profile ของดิจิตอลปรู๊ฟและพิมพ์ 3. ประเมิ น ค่ า Density Delta E Dot Gain 5. Screen A.M X.M F.M เพื่อปรับแต่งกลับให้ได้คุณภาพคงเส้นคงวา 6. เครื่องมือและวิธีวัด Densitometer, 4. วิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขได้ตรงจุด Spectrophotometer 7. กระดาษ วัสดุพิมพ์ที่มีผลกับสี ความตรง และ การรับหมึก 8. ปัญหาคุณภาพที่เกิดจากน�้ำยา หมึก กระดาษ เพลท ผ้ายาง ลูกหมึก ลูกน้า 9. ระดับคุณภาพของลูกค้าแต่ละราย 11. บ�ำรุงรักษาเครื่องจักรและ 1. ข้อปฏิบัติตามคู่มือเครื่อง ประจ�ำวัน ประจ�ำ 1. หยอดน�้ำมันอัดจารบีได้ถูกวิธี ตรงรอบเวลา 2. ถอด เปลี่ยน ชิ้นส่วนอะไหล่พื้นฐานเป็น สัปดาห์ เดือน สามเดือน ปี ท�ำความสะอาด 3. รู้ระบบลมท�ำงานผิดปรกติ 2. สเปคและประเภทสารหล่อลื่น 4. แก้ปัญหาเม็ดสกรีนซ้อนจากการล้างกริปเปอร์ 3. วิธีการหยอดน�้ำมัน อัดจารบี 5. แกนลูกหมึกสะอาดไม่มีคราบหมึกสะสมจาก 4. สเปคลูกปืน 5. วิธถี อด เปลีย่ น อุปกรณ์ชนิ้ ส่วนพืน้ ฐานทีช่ า่ งพิมพ์ การล้างไม่ถูกวิธี ควรรู้ เช่น ฟิลเตอร์ ลูกล้อ 6. ระบบลม ปั๊มลม 7. การล้างลูกหมึกลูกน�้ำ 8. การท�ำความสะอาดกริปเปอร์ 1. แยกประเภทการทิ้ง การทาลายตามเจ้าหน้าที่ 12. การท� ำ ความสะอาดและ 1. วัตถุมีพิษ ความปลอดภัยกาหนด ไม่ให้รั่วไหลออก แยกขยะ 2. วัตถุไวไฟ 2. บริเวณทางานและโดยรอบตรงตาม 5 ส 3. การดับเพลิง 3. ผ่านการอบรมดับเพลิง 4. กิจกรรม 5 ส 1. ใช้เครื่องมือถูกวิธี 13. การเก็ บ รั ก ษาเครื่ อ งมื อ 1. ชนิดเครื่องมือและขนาดเบอร์ 2. เก็บรักษาได้เป็นระเบียบ หาง่าย 2. วิธีใช้งานที่ถูกต้อง ประจ�ำแท่น 3. ไม่สูญหาย 3. วิธีเก็บรักษา
10. ควบคุมคุณภาพ
หวังว่าแนวทางนี้ช่วยองค์กรวางแผนการฝึกอบรมของปี 2564 ไม่มากก็น้อย ฉบับหน้าจะเป็น Skill Standard ของ Prepress ครับ
www.thaiprint.org
76
INTERVIEW
ธนพจน์ ศักดิน ์ วสกุล (เอ) บริษัท สมศักดิ์ พริ้นติ้ง จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INTERVIEW
ธนพจน์ ศั ก ดิ์ น วสกุ ล หรื อ เอ เป็ น บุ ต รชายคนเดี ย วของ คุ ณ สมศั ก ดิ์ ศั ก ดิ์ น วสกุ ล และคุ ณ สุ ภ าพร เรื อ งจรู ญ สุ ข จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียน สามเสนวิทยาลัย ระดับปริญญาตรี - คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยมหิดล และปริญญาโท - คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ความเป็นมาของบริษัท
เริ่มต้นจากคุณพ่อเคยท�ำงานเป็นช่างพิมพ์มาก่อน ต่อมาในปี 2535 จึงได้ก่อตั้งธุรกิจโรงพิมพ์ ชื่อ สมศักดิ์ การพิมพ์ รับผลิต งานพิมพ์ Commercial และ Packaging เป็นหลัก หลังจาก ที่ผมเข้ามาบริหารงานต่อจากคุณพ่อ ในปี 2560 จึงได้เปลี่ยน เป็น บริษทั สมศักดิ์ พริน้ ติง้ จ�ำกัด แต่ยงั คงยึดหลักตามสโลแกน “งานสวย สีสดใส รวดเร็วทันใจ เลือกใช้ สมศักดิ์ พริ้นติ้ง”
77
จุดเริ่มต้นของการท�ำงาน และหน้าที่รับผิดชอบ
ก่อนหน้าที่จะเข้ามาท�ำงานที่บริษัทฯ ผมได้เริ่มท�ำงานเป็น วิ ศ วกรอุ ต สาหการ ที่ บ ริ ษั ท เบนซ์ ม าร์ ค อิ เ ลคทรอนิ ค ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) หลังจากท�ำงานได้ประมาณ 1 ปี ได้ออกมาศึกษาต่อปริญญาโท และท�ำงานทางด้านวิทยากรเกีย่ วกับ ระบบการผลิต ที่สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น) ไปด้วย ซึง่ ในช่วงนัน้ ผูจ้ ดั การ โรงพิมพ์คนเก่าลาออก จึงมีโอกาส ได้เริม่ เข้ามาศึกษางานทีโ่ รงพิมพ์บา้ ง แต่ยงั ไม่ได้เข้ามาท�ำเต็มตัว หลังจากเรียนจบ จึงเริ่มเข้ามาท�ำงานโรงพิมพ์อย่างจริงจัง โดยหน้าทีร่ บั ผิดชอบในตอนนัน้ คือ การปรับระบบวิธกี ารท�ำงาน ของพนักงาน ปรับระบบวิธีการคิดราคางานพิมพ์ใหม่ทั้งหมด รวมถึงการติดต่อประสานงานกับลูกค้า จนปัจจุบัน รับผิดชอบ ดูแลภาพรวมทั้งหมดในบริษัทฯ
www.thaiprint.org
78
INTERVIEW
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน / แนวทางในการแก้ไข
ส�ำหรับเป็นปัญหาภายในองค์กร ในช่วงที่เข้ามาท�ำงานใหม่ ๆ ปัญหาและอุปสรรคแรกที่พบคือ เรื่องพนักงานที่เคยท�ำงาน ตั้งแต่สมัยคุณพ่อยังบริหารงานอยู่ บางคนก็จะเห็นผมตั้งแต่ ยังเรียนมัธยม เขาจะมองว่าเรายังเด็ก จะบริหารงานได้จริงหรือ อยูด่ ี ๆ มาปรับเปลีย่ นวิธกี ารท�ำงานทีเ่ คยชินและท�ำมานานแล้ว วิธีแก้ปัญหาตรงจุดนี้ คือ การพยายามพูดคุยกับพนักงานให้ มากขึ้น เพื่อให้สนิทกันมากขึ้น เข้าไปศึกษาวิธีการท�ำงานของ พนักงานแต่ละแผนก แสดงให้พนักงานเห็นว่า ถ้าปรับเปลี่ยน วิธกี ารท�ำงาน จะส่งผลดีกบั ตัวพนักงานยังไงบ้าง ให้ความรูเ้ รือ่ ง งานพิมพ์ และให้พนักงานแสดงความคิดเห็นในการปรับปรุง มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมขอพนักงานในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้น เป้าหมายการท�ำงานในปัจจุบัน
มุ่งเน้นในเรื่องการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว พัฒนาคุณภาพงานพิมพ์ให้ได้ตาม มาตรฐาน พัฒนาบุคลากรภายในโรงพิมพ์โดยการให้ความรู้ เกี่ยวกับเทคนิคและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เกี่ยวกับงานพิมพ์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
แนวคิด หรือคติในการท�ำงาน
ช่วงที่ได้ท�ำงานเป็นวิทยากร มีพี่ท่านหนึ่งเคยให้ค�ำแนะน�ำ ในเรื่องแนวคิดการท�ำงานไว้ว่า หากเจอปัญหา หรือ อุปสรรค ให้เราคิดว่า ท�ำได้แก้ไขได้ไว้ก่อน ท่านสอนให้ผมคิดบวก หลังจากนั้นจึงค่อยหาวิธีการ หรือ เครื่องมือ มาช่วยแก้ปัญหา จนปัจจุบนั ผมก็ยงั ใช้แนวคิดนี้ ในการท�ำงาน รวมถึงให้แนวคิดนี้ แก้พนักงานในโรงพิมพ์
การพยายามพู ดคุยกับพนักงาน ให้มากขึ้น เพื่ อให้สนิทกันมากขึ้น เข้าไปศึกษาวิธีการท�ำงานของ พนักงานแต่ละแผนก แสดงให้ พนักงานเห็นว่า ถ้าปรับเปลี่ยน วิธีการท�ำงาน จะส่งผลดีกับตัว พนักงานยังไงบ้าง ให้ความรู้เรื่อง งานพิ มพ์ และให้พนักงานแสดง ความคิดเห็นในการปรับปรุง มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมขอพนักงาน ้ ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน
INTERVIEW
79
มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ไทย
เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร
ในยุคนี้ ก็คงต้องพูดถึง Digital Disruption ที่เข้ามามีบทบาท ในหลาย ๆ อุตสาหกรรม อันที่จริงผมคิดว่า Digital เข้ามามี บทบาท ในอุตสาหกรรมการพิมพ์มาหลายปีแล้ว แต่อาจจะ ยังไม่มากเหมือนในช่วง 2-3 ปีนี้ อย่างสมัยก่อน หากลูกค้าจะ ส่งงานพิมพ์ ทางโรงพิมพ์กต็ อ้ งวิง่ เข้าไปรับไฟล์งาน พอ Internet มีการพัฒนาความเร็วมากขึ้น บางโรงพิมพ์ ก็หันมาใช้ Server ในการจัดส่งไฟล์ ลูกค้าสามารถส่งไฟล์ ผ่านทาง Internet ได้เลย หรือส่งไฟล์ให้ซัพพลายเออร์ท�ำงานต่อได้เลย ท�ำให้ ลดเวลาในการท�ำงานได้มากขึน้ ในปัจจุบนั มีการสร้าง Platform ใหม่ ๆ ในการสั่งบรรจุภัณฑ์ หรืองานพิมพ์ต่างๆ ท�ำให้ลูกค้า สะดวกมากขึ้ น ผมมองว่ า ถ้ า โรงพิ ม พ์ มี ก ารปรั บ ตั ว สนใจ หาความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ มอง Digital ให้เป็นเครื่องมือ ที่ท�ำให้เราท�ำงานได้ง่ายขึ้น รวดเร็วขึ้น ก็สามารถตอบสนอง ความต้องการลูกค้าได้ดีมากขึ้น อุตสาหกรรมการพิมพ์ก็ยังคง สามารถเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง
ได้รบั การชักชวนจากเพือ่ น ๆ ใน YPG พอได้เข้ารวมเป็นสมาชิก ก็ได้มโี อกาสร่วมท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ทีท่ าง YPG จัดขึน้ และในการ เลือกตัง้ ประธาน YPG ผมได้ถกู เสนอชือ่ ให้เป็นหนึง่ ในกรรมการ รุ่นปัจจุบัน หน้าที่และบทบาทในกลุ่ม Young Printer
ได้รับหน้าที่เป็น ปฏิคม คอยประสานงานเรื่องการจัดกิจกรรม สัมมนาต่าง ๆ ให้กบั สมาชิกของสมาคม และผูท้ สี่ นใจในอุตสาหกรรม การพิมพ์ สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม Young Printer
หลังจากทีไ่ ด้เข้าร่วมกลุม่ YPG ท�ำให้ผมมีเพือ่ นร่วมอุตสาหกรรม และพันธมิตรในเรือ่ งงานพิมพ์ มากขึน้ ได้รบั ความรูแ้ ละเทคโนโลยี ทางด้านงานพิมพ์จากเพื่อน ๆ พี่ ๆ ที่ท�ำงานในอุตสาหกรรม ขนาดใหญ่ทมี่ มี าตรฐาน เวลาเกิดปัญหาทีแ่ ก้ไขได้ยาก เพือ่ น ๆ พี่ ๆ ในสมาคมก็สามารถให้คำ� ปรึกษาได้ สิง่ ทีข่ าดไม่ได้คอื มิตรภาพ ที่ดีมาก ๆ ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม YPG
www.thaiprint.org
80 INDUSTRIAL
Photo by Charisse Kenion on Unsplash
สื่อสิ่งพิ มพ์ เร่งปรับตัวระลอกใหม่ สู่ยุคดิจิทัล โดย...อักษราภัค ลาภานันต์ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INDUSTRIAL
81
อย่างไรก็ตาม นักวิเคราะห์ด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์ ยังมองว่า วงการหนังสือพิมพ์จะยังคงเจอความท้าทายอีกมาก หลังจากนี้ ทัง้ ยอดขายโฆษณาซึง่ ถือเป็นรายได้หลักของสิง่ พิมพ์ที่ ลดลงอย่างต่อเนือ่ ง ประกอบกับการเปลีย่ นแปลงในเชิงประชากร และความท้าทายจากเทคโนโลยี ล้วนเป็นปัจจัยกดดันให้สำ� นักพิมพ์ หลายแห่งทั่วโลกต้องลดค่าใช้จ่ายเพิ่ม ขณะเดียวกันก็เร่งปรับ เปลี่ยนผลิตภัณฑ์สื่อทั้งที่เป็นสิ่งพิมพ์และในระบบดิจิทัล กรุ๊ปเอ็ม บริษัทลงทุนด้านสื่อที่ใหญ่ที่สุดในโลก คาดการณ์ว่า ยอดโฆษณาในสื่อสิ่งพิมพ์ทั่วโลกมีแนวโน้มลดลง 8.7% อยู่ที่ 5.26 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 1.84 ล้านล้านบาท) ในปีนี้ ซึง่ เป็นการลดลงมากทีส่ ดุ ตัง้ แต่ยคุ เศรษฐกิจถดถอย ทีก่ ารใช้จา่ ย ดังกล่าวลดลง 13.7% ในปี 2009 นอกจากนี้ แนวโน้ ม ยอดขายโฆษณาในสิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ล ดลงนี้ จะฉุดให้ยอดใช้จ่ายในตลาดโฆษณาโดยรวมเติบโตเพียง 4% ในปีนอี้ ยูท่ ี่ 5.29 แสนล้านเหรียญสหรัฐ (ราว 18.5 ล้านล้านบาท) แม้ยอดการโฆษณาในสื่อดิจิทัลจะเพิ่มขึ้น 14% ขณะทีใ่ นปัจจุบนั ส�ำนักพิมพ์หลักรายใหญ่เกือบทุกแห่งในสหรัฐ และอังกฤษต่างเร่งเพิ่มรายได้จากช่องทางสื่อออนไลน์ เพื่อน�ำ มาพยุงยอดขายส่วนที่ร่วงลงจากสื่อดั้งเดิม รวมทั้งมีการปรับ เปลี่ยนรูปแบบสื่อและเนื้อหา เมื่อไม่นานมานี้ ผู้ผลิตหนังสือพิมพ์หลายแห่งได้ส่งสัญญาณ ลดค่ า ใช้ จ ่ า ยเพิ่ ม เพื่ อ รั บ มื อ กั บ ยอดขายที่ ต กต�่ ำ ยิ่ ง กว่ า ที่ คาดการณ์ ไว้ อาทิ นิ ว ยอร์ ก ไทมส์ สื่ อ ยั ก ษ์ ใ หญ่ ใ นสหรั ฐ และนิวส์ คอร์ป บริษทั ผูผ้ ลิต วอลสตรีท เจอร์นลั เตรียมปรับลด พนักงานเพิ่ม ขณะที่ เดอะ การ์เดียน สื่ออังกฤษ และเดลีเมล หนังสือพิมพ์แท็บลอยด์ในอังกฤษ เพิ่งจะปรับลดพนักงานไป เมื่อไม่นานมานี้
ตลอดช่วงที่ผ่านมาธุรกิจหนังสือพิ มพ์ จะพยายามปรับ ตัวอย่างมาก โดยล่าสุดหนังสือพิ มพ์ วอลสตรีท เจอร์นล ั จะปรั บ ลดพนั ก งานในแผนกเกรทเทอร์ นิ ว ยอร์ ก และพนักงาน 19 คน จากสมาคมสื่อสิ่งพิ มพ์ ระหว่าง ประเทศ (ไอเอพี อี) เพื่ อลดต้นทุนค่าใช้จ่าย หลังรายได้ จากการโฆษณาในหนังสือพิ มพ์ ลดลง และจะเปิดตัว หนังสือพิ มพ์ รูปแบบใหม่ในวันที่ 14 พ.ย. ซึ่งมีการยุบ รวมเนื้อหาบางส่วน
ก่อนหน้านี้ นิวยอร์กไทมส์ ในเครือเดอะ ไทมส์ ระบุวา่ อาจจะ ลดขนาดธุรกิจส่วนห้องข่าวลงในต้นปีหน้าและหันไปเน้นระบบ ดิจิทัล โดยได้ตั้ง อาร์เธอร์ ซัลส์เบอเกอร์ นักข่าวชาวอเมริกัน ขึ้นเป็นผู้ดูแลการเปลี่ยนผ่านห้องข่าวไปสู่ระบบดิจิทัลเมื่อ สัปดาห์ที่แล้ว ทั้งนี้ เดอะ ไทมส์ ก�ำลังด�ำเนินตามยุทธศาสตร์เพิ่มรายได้ จากสื่อดิจิทัลในปี 2020 โดยได้เปลี่ยนทรัพยากรหลายอย่าง ไปเน้นพัฒนาระบบออนไลน์ รวมถึงปรับปรุงหลายส่วนของ หนังสือพิมพ์ เช่น หน่วยเมโทร หรือคอลัมน์เกี่ยวกับประเด็น ท้องถิ่นในแต่ละเมืองในสหรัฐ www.thaiprint.org
82 INDUSTRIAL
Photo by AbsolutVision on Unsplash
“วงการหนังสือพิ มพ์ อยู่ในช่วง ที่ลำ� บากอย่างมากในขณะนี้ โดยรายรับจากสิ่งพิ มพ์ ใน อังกฤษปรับตัวลดลงหนักขึ้น ตลอด 12 เดือนที่ผ่านมา” สตีเฟน เดนทิท ่ ารเงินของเดลีเมล หัวหน้าเจ้าหน้าทีก
ส่วน เดลี เ มล แอนด์ เจอเนอรั ล ทรั ส ต์ เจ้าของเดลีเมล ได้ลดพนักงานจ�ำนวน 400 อัตรา เมื่อเดือน ก.ย.ที่ผ่านมา ด้าน การ์เดียน มีเดีย กรุ๊ป ผู้ตีพิมพ์ เดอะ การ์เดียน และ ดิออบเซอร์เวอร์ ปรับลดพนักงานแล้ว 250 อัตราเมื่อต้นปี “วงการหนังสือพิมพ์อยู่ในช่วงที่ล�ำบากอย่างมากในขณะนี้ โดยรายรับจากสิ่งพิมพ์ในอังกฤษปรับตัวลดลงหนักขึ้นตลอด 12 เดือนที่ผ่านมา” สตีเฟน เดนทิท หัวหน้าเจ้าหน้าที่การเงิน ของเดลีเมล ระบุ นอกจากนี้ ส�ำนักพิมพ์หลายแห่งค่อยๆ ลด หรือเลิกขายโฆษณา ประเภทราคาถูก และหันไปพัฒนาการโฆษณารูปแบบใหม่ ทีส่ ามารถท�ำเงินได้มากกว่า เช่น เนทีฟแอดส์ ซึง่ เป็นการโฆษณา บนโทรศัพท์มอื ถือ การโฆษณาผ่านวิดโี อคลิป และการใช้ระบบ เทคโนโลยีเสมือนจริงมาใช้ในการโฆษณา เพื่อกระตุ้นรายได้ จากสื่อดิจิทัล อย่างไรก็ดี รายรับจากการขายโฆษณาดิจิทัลก็ยังเติบโตไม่ทัน ยอดขายร่วงลงอย่างรวดเร็วของหน่วยสิง่ พิมพ์ ส่วนหนึง่ เพราะ การโฆษณาผ่านสิ่งพิมพ์มีราคาแพง
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INDUSTRIAL 83
Photo by Charisse Kenion on Unsplash_
เดวิด เมอร์ฟี ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร (ซีอโี อ) ของ โนวัส มีเดีย บริษทั ทีป่ รึกษาด้านการตลาด ระบุวา่ เมือ่ พิจารณาผลตอบแทน จากการลงทุนด้านสื่อแล้ว สิ่งพิมพ์กลับไม่ได้มีประสิทธิภาพ มากนัก เมื่อเทียบกับสื่ออื่นๆ นอกจากนี้ รายงานของวอลสตรีท เจอร์นัล เปิดเผยว่า แม้จะ มีความก้าวหน้าในการปรับธุรกิจสิ่งพิมพ์ แต่ยังมีความท้าทาย อีกมากรออยู่ข้างหน้า เช่น อิทธิพลของเฟซบุ๊กและกูเกิลใน ตลาดดิจิทัล ขณะเดียวกันผลิตภัณฑ์สื่อออนไลน์ก็ยังสามารถ ท�ำเงินได้ยาก จอห์น ริดดิง้ ซีอโี อของไฟแนนเชียลไทมส์ สือ่ เนือ้ หาหนักของ อังกฤษ ระบุว่า การโฆษณาผ่านสิ่งพิมพ์ลดลงอย่างรุนแรง ตลอดปีนี้ เป็นการผลักให้สื่อต้องปรับโครงสร้างไปสู่โลกดิจิทัล โทรศัพท์มือถือ และแพลตฟอร์มอื่นๆ เช่น เฟซบุ๊กและกูเกิล ทั้งนี้ ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา บรรดานักการตลาดต่างหันหนีออก จากการใช้ช่องทางหนังสือพิมพ์จากหลายเหตุผล ได้แก่ วงจร ชีวิตของหนังสือพิมพ์สั้น กลุ่มผู้อ่านหนังสือพิมพ์เริ่มแก่และ คนรุน่ ใหม่ไม่อา่ นหนังสือพิมพ์ ขณะทีบ่ ริษทั การท�ำตลาดหลาย แห่งก็เริ่มหันไปทุ่มงบพัฒนาระบบดิจิทัลของตัวเอง
นอกจากนี้ การหันไปใช้ขอ้ มูลเชิงวิเคราะห์เข้ามาในกระบวนการ วางแผนสื่อมากขึ้นในกลุ่มธุรกิจค้าปลีก และธุรกิจรายใหญ่ก็ กระทบต่อยอดโฆษณาในสิ่งพิมพ์ ยิ่งไปกว่านั้นบรรดาธุรกิจ ประชาสั ม พั น ธ์ แ ละโฆษณาต่ า งหั น ไปแข่ ง ขั น พั ฒ นาวิ ดี โ อ ออนไลน์อย่างดุเดือด เช่นเดียวกับธุรกิจค้าปลีก การบริการ ทางการเงิน และสื่อสารโทรคมนาคม ต่างลดการท�ำการตลาด ผ่านสิ่งพิมพ์ อย่างไรก็ตาม ไม่เพียงแต่หนังสือพิมพ์เท่านัน้ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ เช่นนี้ กรุ๊ปเอ็ม ประเมินว่า นิตยสารที่วางจ�ำหน่ายทั่วโลก ก็มีรายรับจากการขายโฆษณาที่คาดว่าจะลดลง 2.9% ในปีนี้ เช่นกัน ด้าน จอห์น เจเนดิส นักวิเคราะห์จากเจฟเฟอรีส์ แอนด์ โค วาณิชธนกิจในสหรัฐ มองว่าในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปีนี้ วงการหนังสือพิมพ์จะเผชิญกับความยากล�ำบากมากยิ่งขึ้น โดยคาดว่ายอดขายโฆษณาสิง่ พิมพ์ของนิวยอร์กไทมส์จะลดลง 17% จากเดิมที่คาดจะลดลง 14% ขณะที่คาดว่ากานเน็ต เจ้าของยูเอสเอทูเดย์ จะมีรายรับรวมทัง้ จากสิง่ พิมพ์และดิจทิ ลั ลดลง 12.5% และลดลง 7% ในนิวส์ คอร์ป www.thaiprint.org
40 Ad Seethong Pc4.indd 1
24/11/2561 20:44:48
86 INDUSTRIAL
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ ประเภทหนังสือและสิง ่ พิ มพ์ พ.ศ. 2560 - 2563 (ม.ค. - ก.ย.)
Photo by Alif Caesar Rizqi Pratama on Unsplash
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INDUSTRIAL 87
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2560 - 2563 (ม.ค. - ก.ย.)
อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%) 2563 2560 2561 2562 2562 2563 2560 2561 2562 2562 2563 2560 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.- ก.ย.) (ม.ค.- ก.ย) (ม.ค.- ก.ย.) (ม.ค.- ก.ย.) 1 ฮ่องกง 368.71 403.53 541.89 408.00 270.99 25.40 9.44 34.28 46.39 -33.58 16.03 15.26 23.36 22.99 20.88 2 สหรัฐอเมริกา 141.94 140.46 186.09 138.45 169.21 -21.35 -1.04 32.49 85.79 22.22 6.17 5.31 8.02 7.80 13.04 3 กัมพูชา 114.00 187.96 187.23 137.88 127.64 -2.88 64.87 -0.39 2.14 -7.42 4.96 7.11 8.07 7.77 9.83 4 ญี่ปุ่น 248.71 206.86 205.57 166.65 110.43 29.36 -16.83 -0.63 2.54 -33.73 10.82 7.82 8.86 9.39 8.51 5 ฟิลิปปินส์ 109.21 519.87 168.27 127.50 103.21 -13.39 376.05 -67.63 -73.22 -19.05 4.75 19.66 7.25 7.18 7.95 6 อินโดนีเซีย 346.62 229.88 108.18 84.41 64.18 3.38 -33.68 -52.94 -57.45 -23.96 15.07 8.69 4.66 4.76 4.95 7 สิงคโปร์ 69.31 97.67 74.69 54.13 42.64 -27.71 40.91 -23.53 -29.24 -21.23 3.01 3.69 3.22 3.05 3.29 8 เมียนมา 56.83 95.04 118.78 100.23 41.98 -5.39 67.22 24.98 34.50 -58.12 2.47 3.59 5.12 5.65 3.23 9 เวียดนาม 101.90 145.55 69.37 49.86 41.02 -12.51 42.83 -52.34 -19.77 -17.73 4.43 5.50 2.99 2.81 3.16 10 จีน 32.05 28.83 36.80 21.41 38.58 -5.56 -10.05 27.66 -3.71 80.22 1.39 1.09 1.59 1.21 2.97 11 ลาว 39.18 40.44 67.30 35.83 25.63 -43.20 3.22 66.43 67.35 -28.45 1.70 1.53 2.90 2.02 1.97 12 สหราชอาณาจักร 151.41 50.10 66.22 60.58 24.90 -20.40 -66.91 32.18 76.68 -58.91 6.58 1.89 2.85 3.41 1.92 13 มาเลเซีย 88.64 118.90 83.23 74.19 22.52 -12.66 34.14 -30.00 -29.20 -69.64 3.85 4.50 3.59 4.18 1.74 14 ศรีลังกา 14.31 15.10 27.62 21.66 22.32 -7.29 5.54 82.92 81.90 3.01 0.62 0.57 1.19 1.22 1.72 15 เบลเยียม 14.01 19.60 26.41 23.51 22.32 -51.53 39.87 34.75 104.50 -5.06 0.61 0.74 1.14 1.32 1.72 16 ปากีสถาน 8.48 4.26 8.63 2.12 17.97 34.03 -49.77 102.49 -28.73 747.44 0.37 0.16 0.37 0.12 1.38 17 อินเดีย 61.94 45.20 48.87 40.55 14.90 25.33 -27.03 8.12 11.22 -63.25 2.69 1.71 2.11 2.29 1.15 18 ออสเตรเลีย 40.73 36.57 33.13 28.34 14.36 7.83 -10.22 -9.40 1.42 -49.32 1.77 1.38 1.43 1.60 1.11 19 ฝรั่งเศส 10.70 12.37 17.52 12.86 14.33 -14.91 15.55 41.68 37.52 11.39 0.47 0.47 0.76 0.72 1.10 20 เยอรมนี 77.53 35.77 29.30 21.91 13.75 22.88 -53.86 -18.09 -4.38 -37.25 3.37 1.35 1.26 1.23 1.06 รวม 20 รายการ 2,096.2 2,434.0 2,105.1 1,610.1 1,202.9 -1.40 16.11 -13.51 -12.69 -25.29 91.16 92.02 90.75 90.72 92.68 รวมอื่นๆ 203.2 211.0 214.6 164.7 95.0 -13.29 3.85 1.72 8.47 -42.31 8.84 7.98 9.25 9.28 7.32 2,299.41 2,644.97 2,319.71 1,774.77 1,297.90 -2.58 15.03 -12.30 -11.08 -26.87 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 รวมทุกประเทศ อันดับ ที่
มูลค่า : ล้านบาท 2561 2562 2562
ประเทศ
่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ทีม
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิง ่ พิ มพ์ พ.ศ. 2563 (ม.ค. - ก.ย.)
ฮ่องกง
270.99 ล้านบาท
กัมพูชา
ฟิลิปปินส์
สิงคโปร์
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
127.64
สหรัฐอเมริกา
103.21
ญี่ปุ่น
169.21
110.43
ล้านบาท
1 11
42.64
อินโดนีเซีย
3 13
5 14
ลาว
มาเลเซีย
เบลเยียม
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
25.63
22.52
ศรีลังกา
ล้านบาท
ล้านบาท
24.90
7 16
22.32
38.58 ล้านบาท
8 17
9 18
ปากีสถาน
17.97 ล้านบาท
20
ฝรั่งเศส
14.90 ล้านบาท
10 18
อินเดีย
22.32
สหราชอาณาจักร
จีน
41.98 ล้านบาท
6 15
ล้านบาท
เมียนมา
ล้านบาท
4
12
41.02
64.18
ล้านบาท
2
เวียดนาม
14.33
ออสเตรเลีย
14.36 ล้านบาท
ล้านบาท
เยอรมนี
13.75 ล้านบาท
www.thaiprint.org
88
NEWS
ธุรกิจเตรียมปรับ 4 ด้าน หวังให้อยูร่ อดรอเศรษฐกิจฟื้นปี 65 โดย นายเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
NEWS
ส.อ.ท. เผยทิศทางภาคธุรกิจเตรียมปรับตัวรับโค้งสุดท้ายปีนี้ ยาวถึงกลางปี 2565 เพือ่ ให้ธรุ กิจอยูร่ อดก่อน เศรษฐกิจจะฟืน้ ตัว หลัง ธปท. ระบุกลางปี 2565 เล็งแผนลดต้นทุนธุรกิจโดยเฉพาะ ลดไซส์ อ งค์ ก ร หั น พึ่ ง เทคโนโลยี เข้ า มาเสริ ม การผลิ ต และ การตลาดมากขึ้น เร่งตุนเงินสดให้พร้อมโดยเฉพาะเอสเอ็มอี และเกาะติด 4 ปัจจัยเสี่ยงเพื่อให้ทันสถานการณ์ นายเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) เปิดเผยว่า จากแนวโน้มเศรษฐกิจไทย และโลกยั ง คงต้ อ งใช้ เวลาในการฟื ้ น ตั ว จนกว่ า จะมี วั ค ซี น โควิด-19 ซึ่งธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้ประเมิน เศรษฐกิจไทยจะกลับมาฟืน้ ตัวในไตรมาส 3 ของปี 2565 ท�ำให้ แนวโน้มผู้ประกอบการอุตสาหกรรมทุกส่วนรวมถึงวิสาหกิจ ขนาดกลางและย่อม (เอสเอ็มอี) ต้องปรับตัวในการวางแผน ธุรกิจไว้เพื่อรับมือให้อยู่รอด โดยมุ่งเน้น 4 แนวทาง ได้แก่ ลดค่าใช้จ่าย ดึงเทคโนโลยีเข้าบริหารจัดการ ตุนเงินสด และ ติดตามปัจจัยเสี่ยงทั้งภายในและต่างประเทศใกล้ชิด “ธุรกิจคงจะต้องวางแผนกันไว้ลว่ งหน้าว่าจะรับมืออย่างไรหาก เศรษฐกิจโลกและไทยจะค่อยๆ ฟื้นตัวอย่างช้าๆ ซึ่งคงจะต้อง มอง 3 เดือนเร่งด่วนก่อนสิ้นปีนี้ ระยะกลางคือปี 2564 และ ยาวคือช่วงต้นปี 2565 เป็นต้นไปเพื่อให้ระหว่างทางนี้ธุรกิจ จะอยูร่ อดได้จนถึงเศรษฐกิจกลับมาดีขนึ้ ” นายเกรียงไกรกล่าว ส�ำหรับการลดต้นทุนนั้น ส่วนหนึ่งคงหนีไม่พ้นการลดขนาด องค์กรให้เหมาะสมกับสภาพตลาดที่เปลี่ยนไปจากก�ำลังซื้อที่ ลดต�่ำท�ำให้สต๊อกสินค้ายังคงเหลืออยู่ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม ที่ได้รับผลกระทบด้านลบจากโควิด-19 ซึ่งจะต้องวางแผนมอง ให้ยาวไปจนถึงกลางปี 2565 หรือราว 24 เดือน ว่าระหว่างนีจ้ ะ อยูไ่ ด้อย่างไร ซึง่ การลดต้นทุนส่วนหนึง่ คงหนีไม่พน้ การลดก�ำลัง แรงงานให้สอดรับกับธุรกิจ ซึ่งผู้ประกอบการขนาดใหญ่และมี เงินทุนพอจะพยายามรักษาแรงงานไว้ให้มากสุดแทนการปรับ ลด แต่การรับแรงงานใหม่เพิม่ มีแนวโน้มต�ำ่ ยกเว้นธุรกิจทีไ่ ด้รบั ผลบวกจากโควิด-19 เช่น วัสดุทางการแพทย์ ถุงมือยาง เป็นต้น นอกจากนี้ ธุ ร กิ จ โดยเฉพาะเอสเอ็ ม อี จ� ำ เป็ น ต้ อ งเรี ย นรู ้ เทคโนโลยีในการน�ำมาเสริมการตลาดใหม่ๆ ให้เข้ากับพฤติกรรม ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปเพื่อการซื้อขายผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ มากขึ้น ขณะที่ธุรกิจขนาดกลางและใหญ่ได้มุ่งเน้นที่จะดึง เทคโนโลยีต่างๆ มาบริหารจัดการในการเพิ่มประสิทธิภาพ มากขึ้นอยู่แล้วและจะเร่งตัวมากขึ้นในระยะต่อไป นั่นหมายถึง
89
ส่วนหนึ่งจะเข้าไปทดแทนแรงงานด้วย ดังนั้น ภาคแรงงานเอง ก็ต้องเร่งเปลี่ยนแปลงไว้รับมือด้วยเช่นกัน นายเกรียงไกรกล่าวว่า ธุรกิจยังต้องหาแนวทางในการดูแล สภาพคล่องไว้รองรับมือกรณีทตี่ ลาดจะค่อย ๆ ฟืน้ ตัวโดยเฉพาะ เอสเอ็มอีที่การเข้าถึงแหล่งเงินทุนยากจึงจ�ำเป็นจะต้องหา สถาบันการเงินไว้รองรับเสริมสภาพคล่องให้มากขึ้น โดยอาจ จะมาจากสถาบันการเงินของรัฐทีม่ มี าตรการพิเศษต่าง ๆ เข้ามา ช่วยเหลือเพือ่ ทีจ่ ะตุนเงินสดไว้ให้มากสุดซึง่ ขณะนีห้ ลายบริษทั ก็มุ่งไปในทิศทางดังกล่าวมากขึ้น ประการสุดท้าย คือ การทีผ่ ปู้ ระกอบการจะต้องติดตามสถานการณ์ ต่างๆ ทีเ่ ป็นปัจจัยต่อการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจ โลกอย่างใกล้ชิด นั่นรวมถึงสถานการณ์การเมืองของไทยด้วย เพื่อที่จะได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ในการน�ำมาปรับตัวอย่าง ทันท่วงที โดยปัจจัยเสี่ยงที่ต้องมุ่งเน้นติดตาม ได้แก่ 1. การไม่ต่อมาตรการยืดการช�ำระหนี้ของ ธปท.ซึ่งอาจท�ำให้ เอสเอ็มอีบางส่วนล้มหายและจะกระทบในแง่ของการช�ำระเงิน ที่เป็นลูกโซ่มายังลูกค้า 2. การกลับมาระบาดโควิด-19 รอบสองทัว่ โลก และไทย ทีข่ ณะนี้ เพือ่ นบ้านอย่างพม่าก�ำลังเกิดการระบาดอย่างหนัก หากควบคุม ไม่ดีจะเกิดผลกระทบอย่างหนักต่อเศรษฐกิจไทย 3. การเมืองไทยหากน�ำไปสู่ความรุนแรงอาจส่งผลกระทบ 4. การเมืองต่างประเทศโดยเฉพาะหลังการเลือกตั้งสหรัฐฯ สงครามการค้า (เทรดวอร์) จะเข้มข้นหรือไม่อย่างไร เป็นต้น
แนวโน้มผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมทุกส่วนรวมถึง วิสาหกิจขนาดกลางและย่อม (SME) ต้องปรับตัวในการวางแผน ธุรกิจไว้ เพื่ อรับมือให้อยู่รอด โดยมุ่งเน้น 4 แนวทาง ได้แก่ 1. ลดค่าใช้จ่าย 2. ดึงเทคโนโลยีเข้าบริหารจัดการ 3. ตุนเงินสด 4. ติ ด ตามปั จ จั ย เสี่ ย งทั้ ง ภายใน และต่างประเทศใกล้ชิด ที่มา: ผู้จัดการออนไลน์
www.thaiprint.org
90 INDUSTRIAL
Photo by Chinh Le Duc on Unsplash
ก้าวทันโลกดิจท ิ ล ั ติดอาวุธให้สินค้า ด้วยเทรนด์สี 2021
อีกหนึ่งกลยุทธ์ที่จะสร้างเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ จนเข้าไปนั่งในใจของลูกค้าได้อย่างอยู่หมัด โดย... TCDC THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
INDUSTRIAL
91
Photo by Hello I'm Nik on Unsplash
เมื่อเทคโนโลยีเปิดโอกาสและช่องทางให้ทุกคนท�ำธุรกิจได้ ทั่วทุกมุมโลก กลับมีการแข่งขันที่เพิ่มมากขึ้นตามาด้วยกลาย เป็นค�ำถาม ว่าจะท�ำยังไงให้ผลิตภัณฑ์แตกต่าง แต่ไม่ใช่เรื่องที่ ไม่มีทางออก เพราะมีหลายกลยุทธ์ที่จะสร้างเอกลักษณ์ให้กับ ผลิตภัณฑ์ของธุรกิจให้โดดเด่น จนเข้าไปนั่งในใจของลูกค้าได้ อย่างอยู่หมัด
ความมหัศจรรย์ของ "สี" ยังมอบเอกลักษณ์ สร้างการรับรู้ ตัวตนของแบรนด์ให้เกิดขึ้นกับ ผลิตภัณฑ์ ช่วยสื่อสารความรู้สึก ให้เกิดขึ้นในใจลูกค้า หรือเรียกว่า "สี" เป็นตัวแทนที่มีบทบาทท�ำให้ ธุรกิจประสบความส�ำเร็จนั่นเอง
หนึ่งในกลยุทธ์อันดับต้น ๆ ที่ไม่เคยมีใครมองข้ามคือการใช้ สี ถือเป็นอาวุธทีท่ รงพลัง โดยเฉพาะกับงานพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ต่าง ๆ เพราะทันทีที่สมองนึกนึกผลิตภัณฑ์ สีจะปรากฏขึ้นใน สมองทันที นีค่ อื ความมหัศจรรย์ของ สี ยังมอบเอกลักษณ์ สร้าง การรับรู้ตัวตนของแบรนด์ให้เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์ ช่วยสื่อสาร ความรู้สึกให้เกิดขึ้นในใจลูกค้า หรือเรียกว่า สี เป็นตัวแทนที่มี บทบาทท�ำให้ธุรกิจประสบความส�ำเร็จนั่นเอง และถือเป็นอีกหนึง่ การรอคอยว่าเทรนด์สใี นปี 2021 จะมีอะไร กันบ้าง โดยข้อมูลล่าสุดจากทาง TCDC หรือศูนย์สร้างสรรค์ การออกแบบ ได้วิเคราะห์สรุปเทรนด์สี 2021 ซึ่งปีนี้เป็นโทนสี ในการช่วยปลอบประโลม เสริมสร้างพลังใจ ก�ำลังใจ ให้กับ หลากหลายความรู้สึกที่เกิดจากสถานการณ์ความวุ่นวายของ โควิด-19 ทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลก น�ำมาสือ่ สารถ่ายทอดสูก่ ารออกแบบ ทั้ ง อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รวมทั้ ง เชื่ อ มต่ อ ธรรมชาติและเทคโนโลยี ผ่านความเรียบง่าย www.thaiprint.org
92 INDUSTRIAL
สีส้มอมชมพู หรือสี Desert Flower ราวคริสตศตวรรษที่ 15 การแต่ ง แต้ ม เฉดนี้ เ สมือนการถ่ายทอดความรู้ที่ต้องได้รับ การเปิดเผย ซึ่งสีสันสดใสให้ความรู้สึกที่อ่อนโยนกลายเป็น ภาพลักษณ์ของชาวฮิปปี้ และเฉดส้มอมชมพูเป็นตัวเลือกที่ นักออกแบบเลือกใช้เพื่อจับคู่กับธรรมชาติ ความเรียบง่าย ที่ทำ� ให้ทุกสิ่งมีชีวิตที่อาศัยมีชีวิตชีวาขึ้นได้
Photo by Lina Verovaya on Unsplash
Photo by Hubble on Unsplash
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
สีขาว ดั่งที่ ลี เอเดลคอร์ต (Li Edelkoort) นักพยากรณ์เทรนด์ ชาวเนเธอร์แลนด์ กล่าวถึงความว่างเปล่า ส�ำหรับการเริม่ ต้นใหม่ การเปลี่ ย นทิ ศ ทาง การเรี ย กร้ อ งความข้ า ใจที่ ลึ ก ซึ้ ง พร้ อ ม ความกล้า ด้วยค่านิยมทีด่ กี ว่าเดิม ซึง่ ใช้สขี าวเป็นตัวกลางสือ่ สาร โดยยั ง คงแนวคิ ด หลั ก ไว้ รวมทั้ ง สื่ อ ถึ ง การไม่ ย อมแพ้ แ ละ เต็มไปด้วยความหวัง
Photo by Boxed Water Is Better on Unsplash
INDUSTRIAL 93
Photo by Mika Baumeister on Unsplash
สรุปเทรนด์สี 2021 ซึ่งปีนี้เป็น โทนสีในการช่วยปลอบประโลม เสริมสร้างพลังใจ ก�ำลังใจ ให้กับหลากหลายความรู้สึกที่เกิด จากสถานการณ์ความวุ่นวาย ของโควิด-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลก น�ำมาสื่อสารถ่ายทอดสู่การ ออกแบบทั้งอุตสาหกรรมแฟชั่น ่ มต่อ อสังหาริมทรัพย์ รวมทัง ้ เชือ ธรรมชาติและเทคโนโลยี ผ่านความเรียบง่าย • สีส้มอมชมพู หรือสี Desert Flower ความเรียบง่าย ที่ท�ำให้ทุกสิ่งมีชีวิตที่อาศัย มีชีวิตชีวาขึ้น • สีขาว ความว่างเปล่า ส�ำหรับการเริ่มต้นใหม่ • สีม่วง สะท้อนและสื่อสารอารมณ์ของความ ล�้ำหน้า ตัวแทนของโลกดิจิทัล • สีเขียว มอบความรู้สึกสงบ ผ่อนคลาย • สีฟา้ เฉด Cyan Blue ถ่ายทอดปัญหา ของท้องทะเลจากพลาสติกที่เกิดขึ้นทั่วโลก • สีเทา สีแห่งการเชื่อมโยงกับเทคโนโลยี • สีส้มแสด Fiesta สีของตัวแทนพลังใจ สัญลักษณ์แห่งเทศกาล การเฉลิมฉลอง และยังถือเป็นสีมงคล ใช้อวยพร
สีมว่ ง สะท้อนและสือ่ สารอารมณ์ของความล�ำ้ หน้า ตัวแทนของ โลกดิจิทัล เป็นที่นิยมทั้งสายดิจิทัล เกมอีสปอร์ต เป็นตัวแทน ความแข็งแกร่ง และสีม่วง Petunia ที่มีความอิ่มสีสูง คือความ เท่าเทียมส�ำหรับทุกเพศสภาพ ซึ่งในปี 2021 ถือเป็นปีที่ก้าวสู่ ความทันสมัยด้านอารยธรรม ผู้คนให้ความส�ำคัญกับเรื่องสิทธิ มนุษยชนและความ เท่าเทียม สีเขียว เพิ่มเฉดสีเข้มขึ้นในโทน Canton มอบความรู้สึกสงบ ผ่อนคลาย และได้ชื่อว่าเป็นสีแห่งชีวิต ทบทวนถึงธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ ม เห็ น ได้ จ ากการ ปลอบประโลมความรู ้ สึ ก ให้ จิตใจสงบ เปรียบเสมือนที่หลบภัยให้ความรู้สึกอุ่นใจ สีฟ้า เฉด Cyan Blue ถ่ายทอดปัญหาของท้องทะเลจาก พลาสติกทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลก สีฟา้ มีบทบาทสร้างการตระหนักรูใ้ ห้ เกิดขึน้ สูก่ ารขับเคลือ่ นความร่วมมือด้านบรรจุภณ ั ฑ์ และยังเป็น จุดเริ่มต้นของค่านิยมใหม่ด้านเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม สีเทา สีแห่งการเชื่อมโยงกับเทคโนโลยี เมื่อเจอสีเทานอกจาก จะได้พกั สายตาแล้ว ยังสร้างความรูส้ กึ ผ่อนคลาย สร้างความสงบ ให้เกิดขึ้นจากการลดทอนรายละเอียดที่มากให้น้อยลง ท�ำให้ เกิดการปรับสมดุล สู่ความเป็นกลาง สี ส ้ ม แสด Fiesta สี ข องตั ว แทนพลั ง ใจ เหมื อ นกั บ สี แ ดง สัญลักษณ์แห่งเทศกาล การเฉลิมฉลอง และยังถือเป็นสีมงคล ใช้อวยพร ปลดล็อคความกังวล จากวิกฤตโควิด-19 ทีอ่ าจท�ำให้ หลายคนเบือ่ หน่าย สีสม้ แสด จึงมาปลดล็อกความรูส้ กึ เหล่านัน้ สร้างความบันเทิง ที่มา www.tcdc.com
www.thaiprint.org
94
NEWS
In-house Training โลหะกิจรุ่งเจริญทรัพย์
วันที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 09.00-12.00 น. ณ บริษัท โลหะกิจรุ่งเจริญทรัพย์ จ�ำกัด
สมาคมการพิมพ์ไทยจัดกิจกรรม In-house Training การฝึก อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง “Prepress Technology & Offset Printing Technology” เมือ่ วันที่ 19 กันยายน 2563 เวลา 09.00-12.00 น. ณ บริษัท โลหะกิจรุ่งเจริญทรัพย์ จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 128
โดยมี ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยสือ่ สารมวลชน และผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการบริหาร การจัดการธุรกิจสิ่งพิมพ์ อุตสาหกรรมการผลิตสิ่งพิมพ์เป็น วิทยากรผู้ให้ความรู้
THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020
แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020” เล่มใหม่ล่าสุดที่รวมรายชื่อข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ทั้งก่อนการพิ มพ์ หลังการพิ มพ์ รวมทั้งผู้จ�ำหน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิ มพ์ และการซ่ อ มบ� ำ รุ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ การซื้ อ และ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน
พิ เศษเพี ยง
500 บาท/เล่ม ใบสั่งซื้อหนังสือ
*
จ�ำนวน ................... เล่ม
ชื่อ - นามสกุล...................................................................................... บริษัท.................................................................................................. เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษี......................................................................... ที่อยู่.................................................................................................... โทรศัพท์..................................โทรสาร.................................................
รายละเอียดการช�ำระเงิน
วิธีการชำ�ระเงิน
THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020
• ราคา 500 บาท/เล่ม • ค่าจัดส่ง 100 บาท/เล่ม
*ราคานีย้ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่
โอนเงินผ่านธนาคาร ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” บัญชี ออมทรัพย์035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท ซอย 71
้ ได้ทส สั่งซือ ี่ มาคมการพิ มพ์ ไทย
311, 311/1 ซ.ศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688
หมายเหตุ: กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ
20191025_TP-Directory_final.indd 1
10/25/19 10:52
สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................
ใบสมัครสมาชิก
วันที่......................................................
ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................
ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ
(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)
74_Pc4.indd 1
23/5/2561 9:04:18
Three-Knife Trimmer
Automatic Diecutting and Creasing Machine with Blanking and Stripping Capabilities ECUT 1060 ELITE CLASS ER
Automatic Folder Gluer (C3, C6) EFOLD 650 / 900 / 1100 / 1350 / 1450 ELITE SJ 600 Automatic Rigid Box Making Machine
Automatic Jogger
Pile Lift
Pile Turner
High Speed Cutter 80 / 92 / 115 / 132 / 168 /225
BK3 1713 / 2513 / 2517
BSJ 450A Semi Automatic Case Maker
SW 1350 Cardboard Slitting Machine SW 1000 B 460 Scroll Grooving Machine Automatic Box Wrapper
High Speed Digital Cutting System
PK Plus 0604 / 0705 Automatic Intelligent Cutting System
Cut size Sheeter Machine Fully Automatic Exercise book Machine
* Automatic Exercise Book Binding Machine * Automatic Reel to Sheet Machine * Automatic Counting and Folding Machine
TW1400 / 1700 (AC SERVO) Synchro Twin Knife High Speed Sheet Cutter
ZJR-330 / 450
Flexo Printing Machine
ZX-320 / 450
Intermittent Label Offset Printing Machine
Automatic Foil Stamping and Die Cutting Machine
Post Press Solution for Digital Print
Semi-auto Foil Stamping Die Cutting Machine
Post Press Solution for Digital Print
Wire Binder Duo
Semi automatic Binding Machine
Master Perfect Binder
Perfect Binder Roll Laminator
Paper Cutter
Electric Punchine & Electric Closing Machine Fully Automatic Punching Machine
Spiralbind
ID Line: @cmcshop
DIC-A4_20201125_final.pdf
1
7/12/2563 BE
18:19
ผูนําเขาสินคาคุณภาพ หลากหลาย
ครบวงจร สําหรับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ เครื่องพิมพฉลากดิจิตอลสี
เครื่องพิมพดิจิตอลสีและขาวดํา
เครื่องพิมพอิงคเจ็ท NEW สําหรับกระดาษลูกฟูก
เครื่องพิมพยูวี อิงคเจ็ท ROLL TO ROLL
FLATBED HIGHJET 2500A
GLORY 1604
HIGHJET 2500B
HYBRID
HIGHJET 2500B-UV
เครื่องพิมพอิงคเจ็ทสําหรับพิมพเสื้อ WINGS COMPACT
RIVAL
LST-0604-RM
ตัดวัสดุหนา ไดถึง
6 mm.
เครื่องยิงเพลท CTP ระบบ Thermal
เครื่องตัดงานดิจิตอล
เครื่องยิงเพลท CTP ระบบ UV
เครื่องตัดฉลากมวนดิจิตอล
CB03II
NEW
NEW
LST03-0806-RM LST03-0806-RM WITH EOT
วัสดุสิ้นเปลืองทางการพิมพ ซอฟตแวรออกแบบ กลองบรรจุภัณฑ
ซอฟตแวร Pre Press สําหรับบรรจุภัณฑ ผายางออฟเซ็ท
5 ซอยสุขุมวิท 54 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 02-332-4470 โทรสาร 02-331-4626
นํ้ายาทางการพิมพ
Nationwide
หมึกพิมพออฟเซ็ท
www.nationwide.co.th