Thaiprint Magazine Vol.87

Page 1


thaiprint magazine

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

www.thaiprint.org

วารสารการพิมพ์ไทย ปีที่ 13 ฉบับที่ 87

Thaiprint Magazine

Thai print Magazine ฉบับที่ 87

ปีที่ 13 ฉบับที่ 87

เมื่อเมฆฝนเคลื่อนตัวผ่านไปท้องฟ้าก็ย่อมสดใส เป็นธรรมดา สมาคมการพิมพ์ไทยขอแสดงความเสียใจให้ กับพีน่ อ้ งชาวไทยภาคใต้ทป่ี ระสพอุทกภัยได้รบั ความสูญเสีย ครั้งใหญ่ ซึ่งทุกคนไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น แม้แต่สักครั้ง เดียว แต่ภยั ธรรมชาติทกุ วันนีอ้ ยูใ่ กล้ตวั เรามากเสียเหลือเกิน ทุกสิง่ เกิดขึน้ จากปัจจัยหลายๆ อย่างเช่น การตัดไม้ท�ำ ลาย ป่า และการทำ�ลายสิ่งแวดล้อม โดยทางตรงและทางอ้อม อย่างต่อเนือ่ งการรณรงค์เพือ่ ให้คนทัว่ โลกรักษาสิง่ แวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติด้วยจิตสำ�นึกที่ดีพร้อมทั้งหน่วย งานต่างๆ ก็ได้รบั การความร่วมมือเป็นอย่างดีจากประชากร ทั่ ว โลกโดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ ก็ มี ส่ ว นช่ ว ยใน การรักษาสิ่งแวดล้อม โดยมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และคิดค้นหมึกพิมพ์ที่ผลิตจากวัตถุดิบที่ทำ�จากธรรมชาติ ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมย่อมส่งผลดีต่อโลก และ สิ่งแวดล้อมในอนาคตข้างหน้า แต่เทคโนโลยีด้านการพิมพ์ ก็ยังพัฒนาก้าวต่อไป และพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งเพื่อทัน สู่โลกแห่งอนาคตนำ�สมัย และไม่ท�ำ ลายสิ่งแวดล้อมที่นับ วันจะสูญสิ้นลงไปทุกที ขณะนี้ทางสมาคมการพิมพ์ไทย ได้มีการตั้งกองบรรณาธิการของ Thaiprint magazine ประจำ�อยู่ที่สมาคมการพิมพ์ไทยเพื่อเพิ่มศักยภาพในการ ผลิต Thaiprint magazine ให้พัฒนามากยิ่งขึ้นกว่าเดิม และพร้อมที่จะเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ข่าวสารสาระ ความรูด้ า้ นการพิมพ์ และข่าวความเคลือ่ นไหวของกิจกรรม ต่างๆ ที่ทางสมาคมได้จัดขึ้นเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่ม อุตสาหกรรมการพิมพ์ได้เรียนรู้ และพัฒนาในด้านเทคโนโลยี ให้ทนั ต่อการแข่งขันแห่งโลกด้านสิง่ พิมพ์ในอนาคตต่อไป... Thaiprint magazine ฉบับที่ 87 สมาคมการพิมพ์ ไทยได้มีการเลือกตั้งกรรมการ Young Printer Group สร้างตัวแทนรุน่ เล็กสานงานสมาคม รวมถึงกิจกรรมต่างๆ ทีท่ างสมาคมฯได้จดั ขึน้ มีอกี มากมายแต่ละคอลัมน์ในเล่ม ได้บรรจุเนื้อหาสาระความรู้ไว้ให้ผู้อ่านได้ติดตามความ เคลื่อนไหวต่างๆ อ่านกันต่อในเล่มได้เลยครับ

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ อุปนายก คุณวิชยั สกลวรารุง่ เรือง, คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณธนากร พุกกะเวส, คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำ พันธ์กุล คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณวิทยา อุปริพทธิพงศ์ คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช เลขาธิการ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ ผู้ช่วยเลขาฯ คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณนภาพร โรจน์วงศ์จรัส เหรัญญิก คุณผ่องเพ็ญ อาชาเทวัญ นายทะเบียน คุณคุณา เทวอักษร ปฎิคม คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ ประชาสัมพันธ์ คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกูล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัย คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณมารชัย กองมา, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุจินตรา จรรยาทิพยืสกุล, คุณวิธิต อุตสาหจิต, คุณสุพันธ์ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธำ�รง, คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณดนัย ต. สุวรรณ, คุณจงอางศึก บุญยศิริกุล, คุณบุญชู ลิ่มอติบูลย์, คุณชัยรัตน์ อัศวางกูร, คุณวรพจน์ อมรเธียร, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณม, คุณพัชร งามเสงี่ยม, ร.ศ.ดร.ศักดิ์ กองสุวรรณ, อ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์, ผศ.ประทุมทอง ไตรรัตน์, รศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว, อ.ไพบูลย์ กลมกล่อม, ศ.ดร.วรรณา สนั่นพานิชกุล, ศ.วีระ โชติธรรมาภรณ์, ดร.สุดา เกียรติก�ำ จรวงศ์, อ.สันติ ชื่นเจริญ, อ.สายพิณ ชูพงศ์, ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์, รศ.สุณี ภู่สีม่วง, อ.สุริยันต์ เหลืองอร่าม ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล

Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด เอื้อเฟื้อกระดาษที่ใช้พิมพ์ thaiprint magazine โทรศัพท์ 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จำ�กัด ช่วยเคลือบปกวารสารการพิมพ์ไทยด้วยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก์. เพิ่มคุณค่าให้งานพิมพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ

บริษัท สีทอง 555 จำ�กัด บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จำ�กัด

โทรศัพท์ 0-2425-9736-41 ผู้ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ทำ�เพลท โทรศัพท์ 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว โทรศัพท์ 02-682-217779

หนังสือเล่มนี้พิมพ์ด้วยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER


Content

Content Printing Green zone

หมึกพิมพ์เพื่อสิ่งแวดล้อม 17

thaiprint news update

24

วว. เยี่ยมศูนย์ทดสอบมาตราฐานวัสดุฯ 24

Print News

MPPA เยือนอุตสาหกรรมการพิมพ์ 28

Print News

สมาคมการพิมพ์ไทยมอบการันตี 33

33

Print Data

อุตสาหกรรมการพิมพ์ 40

Print Exclusive

ทิศทางเศรษฐกิจไทย 50

Print Data

82

มาตราฐานการพิมพ์ที่ได้รับการยอมรับจากทั่วโลก 64

Print News ฟูจิซีร็อกซ์ 72

Print Exclusive

การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ุภัณฑ์ 86

Young Printer

96

สัมภาษณ์คุณ คุณ ธัญญวัฒน์ เตวชิระ 96

Printing Education & Development สถาบันการพิมพ์ไทย 130

thaiprint Exsibition ผลการดำ�เนินงาน 135

130

Thai Print Magazine ปีที่ 13 ฉบับที่ 87 สมาคมการพิมพ์ไทย

เลขที่ 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E- Mail : thaiprint.org www. thaiprint.org Thai Print Magazine ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดทำ�ขึ้น เพื่อบริการข่าวสาร และสาระความรู้แก่สมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ในวาสารนี้เป็นอิสรทรรศ์ ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอ

บรรณาธิการ อนันต์ ขันธวิเชียร กราฟฟิคดีไซน์ พรศิริ สมอาษา Thai printing Laboratory ฝ่ายบัญชี มยุรี จันทร์รัตนคีรี

พิมพ์ท ่ี บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จำ�กัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

ThaiPrint Magazine 1


หมึกพิมพ์เพื่อสิ่งแวดล้อม

หมึกพิมพ์เพื่อสิ่งแวดล้อม (ECO-Friendly Printing Ink) การรณรงค์ในเรือ่ งการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมเป็นทีใ่ ห้ความสนใจ ของประชาชนในปัจจุบัน อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์เป็นอุตสาหกรรม ที่สำ�คัญในการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจของโลกดังนั้นการให้ความ สนใจต่อการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมของผูป้ ระกอบการสือ่ สิง่ พิมพ์กส็ ามารถ มีสว่ นช่วยในการรักษาสิง่ แวดล้อมได้อย่างมากเช่นกัน การเลือกใช้ หมึกพิมพ์ซึ่งใช้ตัวทำ�ละลายที่ไร้สารประกอบอะโรมาติกหรือหมึก พิมพ์ที่นำ�วัตถุดิบจากธรรมชาติมาเป็นส่วนประกอบก็เป็นสิ่งที่ทำ� ได้ง่ายและสะดวก บทความนี้จึงขอแนะนำ�ประเภทของหมึกพิมพ์ เพื่อสิ่งแวดล้อมสำ�หรับเป็นข้อมูลในการเลือกใช้หมึกพิมพ์ให้ตรง ความต้องการของผู้ประกอบการสื่อสิ่งพิมพ์โดยประเภทของหมึก พิมพ์อ๊อฟเซ็ทเพื่อสิ่งแวดล้อมสามารถจำ�แนกได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. หมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันถั่วเหลือง (Soy ink) 2. หมึกพิมพ์ที่ใช้ตัวทำ�ละลายที่ไร้สารอะโรมาติก (Aromatic-free ink) 3. หมึกพิมพ์ที่ไร้สารประกอบอินทรีย์ไอระเหย (Non-VOC ink)

หมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันถั่วเหลือง

น้ำ�มันถั่วเหลือง เป็นน้ำ�มันพืชที่มนุษย์นิยมนำ�มาใช้ในการ ประกอบอาหารเป็นหลัก โดยในปัจจุบันน้ำ�มันถั่วเหลืองสามารถ นำ�มาเป็นวัตถุดิบหนึ่งในการผลิตหมึกพิมพ์โดยนำ�น้ำ�มันถั่วเหลือง มาผสมกับเรซินและตัวทำ�ละลาย จากนัน้ ให้ความร้อนจนเรซินละลาย หมด ส่วนผสมที่ได้จะถูกนำ�มาผสมกับผงสีแล้วบดจนได้ขนาดของ ผงสีที่ต้องการแล้วจึงเติมสารเติมแต่งต่างๆ เพื่อทำ�เป็นหมึกโดย ปริมาณของน้ำ�มันถั่วเหลืองในหมึกพิมพ์นั้นจะขึ้นกับหมึกพิมพ์ ชนิดต่างๆ โดยหมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันถั่วเหลืองไม่สามารถนำ�มารับ ประทานได้เพราะมีผงสีและสารเคมีต่างๆ ที่ใช้เช่นเดียวกับหมึก พิมพ์ฐานน้�ำ มันปิโตรเลียม

ThaiPrint Magazine 17


Printing Green Zone

ประวัติของหมึกพิมพ์ฐาน น้ำ�มันถั่วเหลือง ในปี ค.ศ. 1970 สมาคมหนังสือพิมพ์ของสหรัฐอเมริกาได้ทดลอง หาวัตถุดิบ เพื่อนำ�มาใช้แทนน้ำ�มันปิโตรเลียมในการผลิตหมึกพิมพ์ โดย สาเหตุมาจากราคาน้ำ�มันปิโตรเลียมที่สูงขึ้นหลังจากนั้นได้มีการนำ�น้ำ�มัน พืชหลายชนิดมาทดลองทำ�หมึกทีใ่ ช้พมิ พ์หนังสือพิมพ์ ซึง่ นักวิจยั ได้ตดั สินใจ เลือกน้�ำ มันถัว่ เหลืองมาผลิตหมึกทีใ่ ช้พมิ พ์หนังสือพิมพ์แทนน้�ำ มันปิโตรเลียม สำ�หรับปัจจุบนั หนังสือพิมพ์รายวันในอเมริกาใช้หมึกพิมพ์ฐานน้�ำ มันถัว่ เหลือง เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากให้เฉดสีที่สดใสและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า หมึกพิมพ์ฐานน้�ำ มันปิโตรเลียม

ข้อดีของหมึกพิมพ์ฐานน้�ำ มันถั่วเหลือง 1. สีสันสดใส – น้ำ�มันถั่วเหลืองมีความใสมากกว่าน้�ำ มันปิโตรเลียม จึงทำ�ให้ผงสีมีความสามารถในการให้สีได้มากขึ้น 2. ย่อยสลายง่าย – ในกระบวนการรีไซเคิลกระดาษที่พิมพ์ด้วยหมึก พิมพ์ฐานน้�ำ มันถั่วเหลืองสามารถแยกหมึกออกจากกระดาษ (De-inking) ได้ดีกว่าหมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันปิโตรเลียม 3. เป็นมิตรต่อผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม – หมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันถั่วเหลือง มีการปล่อยสารประกอบอินทรีย์ไอระเหย (Volatile Organic Compound) ในระดับที่ต่ำ�มาก จึงลดการการปนเปื้อนและสะสมของสารก่อมะเร็งใน สิ่งแวดล้อมและในร่างกายของผู้ใช้

18 ThaiPrint Magazine


หมึกพิมพ์เพื่อสิ่งแวดล้อม

American Soybean Association (ASA) กำ � หนดมาตรฐานของปริ ม าณน้ำ � มั น ถั่ ว เหลื อ งในหมึ ก พิ ม พ์ ฐ าน น้ำ�มันถั่วเหลืองตามประเภทของหมึกพิมพ์ ซึ่งกำ�หนดปริมาณของน้ำ�มันถั่ว เหลืองไว้ ดังนี้

ประเภทของหมึกพิมพ์ ปริมาณน้ำ�มันถั่วเหลือง (%)

Black news ink Color news ink Cold-set ink Carbon ink Screen Printing ink Sheet-fed ink Business forms ink Metallic ink Desensitizing ink Heat-set ink UV/EB ink Stencil duplicator ink

40 30 30 25 20 20 20 10 10 7 7 6

จากตารางจะพบว่า สามารถนำ�น้ำ�มันถั่วเหลืองมาใช้ในหมึกพิมพ์ แต่ละประเภทได้ในปริมาณที่แตกต่างกัน และยังคงคุณสมบัติของหมึกพิมพ์ เช่น การแห้งตัว, ระยะเวลาในการซึมสู่กระดาษ (Setting time) และการ รวมตัวกับน้�ำ ที่ดีไว้อีกด้วย นอกจากนี้หมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันถั่วเหลือง (Soy ink) ก็ยงั ได้รบั ความนิยมในประเทศแถบอเมริกา ยุโรป และเอเชีย โดยเฉพาะ ญี่ปุ่น, เกาหลี, จีน และไต้หวัน เป็นต้น

ThaiPrint Magazine 19


Printing Green Zone

หมึกพิมพ์ที่ใช้ตัวทำ�ละลายที่ไร้สาร อะโรมาติก (Aromatic-free ink) แนวโน้มในการรณรงค์เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในหมึกพิมพ์นอกจากการ เปลี่ยนจากหมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันปิโตรเลียมไปเป็น หมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันพืช แล้วส่วนประกอบอื่น เช่น ตัวทำ�ละลายก็มีการเปลี่ยนตัวทำ�ละลายที่มีสาร อะโรมาติก (Aromatic Hydro-carbon Solvent) มาเป็นตัวทำ�ละลายที่ ไม่มีสารอะโรมาติก (Aromatic-free Hydrocarbon Solvent) โดยคุณสมบัติ ของตัวทำ�ละลายชนิดนี้จะมีสารอะโรมาติกไม่เกิน 1% และเมื่อนำ�มาใช้ใน สูตรหมึกจะต้องมีสารประกอบอินทรีย์ไอระเหย น้อยกว่า 3% Ref 3 ดังนั้น หมึกที่ใช้ตัวทำ�ละลายที่ไม่มีสารอะโรมาติก จะเรียกว่า “หมึกพิมพ์ที่ใช้ตัว ทำ�ละลายที่ไร้สารอะโรมาติก (Aromatic-free ink)”

ภาพแสดงตัวอย่างตัวทำ�ละลายที่มีสารอะโรมาติกจากน้อย-มาก (ซ้าย-ขวา)

หมึกพิมพ์ที่ไร้สารประกอบอินทรีย์ไอระเหย (Non-VOC ink) นอกจากนี้ยังมีทางเลือกที่จะนำ�ตัวทำ�ละลาย ซึ่งเป็นวัตถุดิบที่ได้จาก ธรรมชาติมาแทนตัวทำ�ละลายที่ได้จากน้ำ�มันปิโตรเลียมโดยตัวทำ�ละลาย เหล่านีไ้ ด้มาจากการนำ�น้�ำ มันพืชมาปรับปรุงโครงสร้างทางเคมี โดยหมึกพิมพ์ ที่ใช้ตัวทำ�ละลายชนิดนี้ จะเรียกว่า “หมึกพิมพ์ที่ไร้สารประกอบอินทรีย์ ไอระเหย (Non-VOC ink)” 20 ThaiPrint Magazine


หมึกพิมพ์เพื่อสิ่งแวดล้อม

ภาพแสดงการเปรียบเทียบส่วนประกอบหลักของหมึกพิมพ์แต่ละประเภท

สารประกอบอินทรีย์ไอระเหยจากตัวทำ�ละลายที่มีสารอะโรมาติก สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง และมีผลกระทบต่อร่างกาย ดังนี้ 1. การดูดซึมผ่านทางผิวหนัง เมื่อสัมผัสผิวหนังจะทำ�ให้ผิวหนังแห้ง ระคายเคือง และอาจทำ�ให้เป็นโรคผิวหนังอักเสบเมื่อสัมผัสตาจะทำ�ให้เยื่อ บุตาอักเสบ น้ำ�ตาไหลหากสัมผัสกับดวงตาในปริมาณมากอาจทำ�ให้เกิดการ ไหม้พองของเยื่อบุตาได้ 2. ทางการหายใจ ทำ�ให้ระคายเคืองระบบทางเดินหายใจ เลือดซึม ในปอด น้�ำ คั่งในปอด และกดระบบประสาทส่วนกลางทำ�ให้หายใจลำ�บาก และความจำ�เสื่อม 3. การกิน (ปนเปือ้ นกับอาหารทีร่ บั ประทานเข้าไป) ทำ�ให้ระคายเคือง ระบบทางเดินอาหารมีพิษต่อตับ และไตได้จากบทความข้างต้นจะพบว่า การพัฒนาของหมึกพิมพ์ ในปัจจุบันมีทิศทางที่ลดส่วนประกอบสารเคมีที่ มีอันตรายต่อผู้ใช้และเป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การเปลี่ยนมาใช้หมึก พิมพ์เพื่อสิ่งแวดล้อมก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถลดอันตรายต่อผู้ใช้ และลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมโดยตรง นอกจากนี้ ยังมีหมึกเพื่อสิ่งแวดล้อม ชนิดอื่นที่ใช้น้ำ�มันปาล์มเป็นส่วนประกอบของน้ำ�มันพืช (Vegetable oil) ในหมึกพิมพ์ซึ่งหมึกพิมพ์ชนิดนี้ จะเรียกว่า “หมึกพิมพ์ฐานน้ำ�มันปาล์ม (Palm ink)” ในปัจจุบันได้มีการรณรงค์เกี่ยวกับภาวะโลกร้อน (Global warming) มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการนำ�กระดาษที่มีส่วนผสมของ กระดาษรีไซเคิลมาใช้ในการพิมพ์หรือการใช้วัตถุดิบในการพิมพ์ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อมเป็นต้นโดยหลายองค์กรได้มีการทดแทนการใช้หมึกพิมพ์ฐาน น้�ำ มันปิโตรเลียมไปเป็นหมึกพิมพ์เพือ่ สิง่ แวดล้อม (ECO-friendly printing ink) เพื่อลดปริมาณการปล่อยสารอินทรีย์ไอระเหย (Volatile Organic Compound) สู่สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน

ThaiPrint Magazine 21


Print News

วว. เยี่ยมศูนย์ทดสอบมาตราฐานวัสดุฯ และ ศูนย์วิจัยการ พัฒนาสมาคมการพิมพ์ไทย

เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2554 เวลา 09.30-11.00 น. คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล อุปนายก ฝ่ายกิจกรรมพิเศษเข้าต้อนรับหน้าที่จากศูนย์การบรรจุหีบห่อไทยสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มาเยี่ยมชมศูนย์ทดสอบ มาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์การพิมพ์ และศูนย์วิจัยการพัฒนาของสมาคมการพิมพ์ไทยจำ�นวน ทั้งสิ้น 20 ท่าน

24 ThaiPrint Magazine


วว.เยี่ยมศูนย์ทดสอบมาตราฐานวัสดุฯ

เยื่ยมชมห้องปฏิบัติการและสาธิตการทดสอบทางด้านการพิมพ์

ฝ่ายงานทดสอบการบรรจุภัณฑ์ คุณบุษกร ประดิษฐนิยกุล ดร.พัชทรา มณีสินธุ ์ ดร.สุพจน์ ประทีปถิ่นทอง ดร.ศิริวรรณ ตั้งแสงประทีป คุณวิสะนี ดีสกุล คุณกัลย์สุดา วังชนะชัย คุณอมรรัตน์ จันทร์หอม

นักวิชาการ 10 นักวิชาการ 10 นักวิชาการ 9 นักวิชาการ 9 เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

คุณไพศักดิ์ อนันต์นุกูล คุณวิจิตร รัตนถาวรกิต ิ คุณฉวี สีบุบผา คุณจิราภรณ์ ดำ�จันทร์ คุณธันยาภรณ์ นาวินวรรณ คุณเกริกเกียรติ ทองทิพย์ คุณสหทรรศน์ พานิชสุขสมบัติ

นักวิชาการ 9 นักวิชาการ 8 นักวิชาการ 6 นักวิชาการ 6 นักวิชาการ 6 เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

ThaiPrint Magazine 25


Print News

เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการตอบคำ�ถามเกี่ยวกับปัญหาต่างๆ ทางด้านการพิมพ์

ทดสอบพิมพ์สีพิเศษด้วยเครื่อง IGT Printability Tester Cx3

ฝ่ายงานส่งเสริมการบรรจุภัณฑ์ 1. 2. 3. 4. 5.

คุณกาญจนา ทุมมานนท์ คุณจิระวรรณ สุทธิลักษณ์ ดร.เพ็ญโฉม พจนธารี คุณลลิลตา บุตรกินรี คุณดรัยภพ สุขสาคร

26 ThaiPrint Magazine

นักกวิชาการ 9 นักวิชาการ 6 นักวิชาการ 6 เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่

>>


Print News

MPPA เยือนอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์สินสาคร หวังสานสัมพันธ์เชิงธุรกิจ

คุณประวิตร วิมลศิลปิน

คุณ ชัยวัฒน์ ศิริอำ�พันธ์กุล

คุณชัยวัฒน ศิริอําพัน

เมือ่ วันศุกร์ท่ี 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 ทีผ่ า่ นมาสมาคมกลุ่มการพิมพ์จากสาธารณรัฐสหภาพพม่า (MPPA) ได้เดินทางมายังนิคมอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์สินสาครจังหวัดสมุทรสาครในช่วงเช้าได้เข้ารับฟัง การบรรยายจาก คุณประวิตร วิมลศิลปิน ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาดและการขายประจำ�นิคมอุตสาหกรรมฯ โดยมี คุณชัยวัฒน์ ศิริอำ�พันธ์กุล รองกรรมการผู้จัดการบริษัทไทยบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์จำ�กัด และอุปนายก ฝ่ายพัฒนาองค์กรและไอที สมาคมการพิมพ์ไทยเป็นผูต้ อบคำ�ถามให้กบั สมาคมกลุม่ การพิมพ์จากสาธารณรัฐสหภาพ พม่า (MPPA) นอกจากนี้ยังเข้าเยี่ยมชมโรงงานภายในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมฯ อาทิ เช่น บริษัท นิคโก้ลามิเนต จำ�กัด บริษัท ซีเอเอส แมชชีนเนอรี จำ�กัด ก่อนรับประทานอาหารกลางวันร่วมกันในช่วงบ่ายสมาคมกลุ่มการพิมพ์ จากสาธารณรัฐสหภาพพม่า (MPPA) ได้เยี่ยมชม บริษัท แปลนพริ้นติ้ง จำ�กัด และ บริษัท พรเจริญอินดัสตรี จำ�กัด และรับประทานอาหารเย็นร่วมกันที่ร้าน Café de Laos ในซอยสีลม 19 โดยมีสมาคมการพิมพ์ไทยเป็นเจ้าภาพ

28 ThaiPrint Magazine


MPPA เยือนอุตสาหกรรมการพิมพ์

ในวันเสาร์ที่ 12 มีนาคม 2554 ทางสมาคมกลุม่ การพิมพ์จาก สาธารณรัฐสหภาพพม่า (MPPA) ยังได้ เดินทางมาดูงานที่ บริษทั ด่านสุทธา การพิมพ์ จำ�กัด ซึ่งทางบริษัทและ เจ้าหน้าที่ได้มีการต้อนรับกันอย่าง เต็มที่

เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2554 สมาคมการพิมพ์ไทย นำ�โดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายก สมาคมฯ และคณะกรรมการสมาคมฯ ร่วมงานเลีย้ งต้อนรับคณะ Hong Kong Trade Development Council เพื่อสานสัมพันธ์มิตรภาพ ณ The Emporia Restaurant Emporium Suites EL Floor ถนนสุขุมวิท ซอย 24 เวลา 18.30 น. สานสัมพันธ์แห่งมิตรภาพ สมาคมการพิม์ไทยและ Hong Kong Trade Development Council ThaiPrint Magazine 29


สมาคมการพิมพ์ไทยมอบการันตี

วันการพิมพ์แห่งชาติ วันบิดาแห่งการพิมพ์ไทย สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพร่วมสดุดีพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 นำ�โดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ คุณวิรฬุ ห์ ส่งเสริมสวัสดิอ์ ปุ นายกฝ่ายภายในประเทศ และคุณผ่องเพ็ญ อาชาเทวัญ เหรัญญิก เข้าร่วมพิธีวางพานพุ่มเพื่อรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และคุณูปการอันใหญ่หลวงของ พระองค์ท่าน ในฐานะที่ทรงเป็น “พระบิดาแห่งการพิมพ์ไทย” เนื่องในโอกาส “วันการพิมพ์แห่งชาติ” ณ ลาน พระบรมราชานุสาวรีย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนโยธี กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2554 เวลา 08.30 น. - 09.30 น.

วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2554

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการ สมาคมฯ เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญ ประจำ�ปี 2554 กลุ่มอุตสาหกรรม การพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ก ระดาษ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เมื่อเวลา 10.00 - 13.00 น. ณ ห้อง Boardroom 3 โซน C ศูนย์ประชุม แห่งชาติสิริกิติ์

ThaiPrint Magazine 33


Print News

ร่วมยินดีรับตำ�แหน่งใหม่สองบิ๊กบอสเอสซีจี เปเปอร์

เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2554 ที่ผ่านมา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการ สมาคมฯ จึงร่วมแสดงความยินดีรว่ ม รับประทานอาหารเย็น เนือ่ งในโอกาส รับตำ�แหน่งใหม่ของ คุณเชาวลิต เอกบุตร ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ การ เงินและการลงทุนเอสซีจี กรรมการ ผู้จัดการใหญ เอสซีจี การลงทุน) และ

คุณรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส (กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จำ�กัด (มหาชน) ณ ห้องอาหาร จีนแชงพาเลซ โรงแรมแชงกรี - ลา ถนนเจริญกรุง เวลา 18.30 น. เนื่องจากช่วงเวลาหลายปีที่ผ่านมา สมาคมการพิมพ์ไทย และบริษัท เอสซีจีเปเปอร์ จำ�กัด ได้มีความ ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในการพัฒนา

อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข องไทยจน สามารถสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ อุตสาหกรรมการพิมพ์มาโดยตลอด อี ก ทั้ ง ยั ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ด้ ว ยดี จาก บริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จำ�กัด ในการจัดกิจกรรมต่างๆ มาอย่าง สม่ำ�เสมอ

สมาคมการพิมพ์ไทยมอบการันตี หลักสูตรการพิมพ์ภาคภาษาอังกฤษและการพิมพ์ออฟเซ็ท เบื้องต้น เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2554 สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยจั ด พิ ธี ม อบ ประกาศนียบัตรหลักสูตรการพิมพ์ เบือ้ งต้นภาคภาษาอังกฤษรุน่ ที่ 2 และ หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น รุ่นที่ 1 ที่ส�ำ เร็จตั้งแต่ปีกลายรวม ทั้งสิ้น 50 คน ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ซี โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์แอด เซ็นทรัลเวิล์ด กรุงเทพ

34 ThaiPrint Magazine


Print Data

อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์

ในอดีตอุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์ของไทยเน้นการผลิต เพือ่ การบริโภคภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ผปู้ ระกอบการ สิ่งพิมพ์ไทยเริ่มมีความสนใจในการส่งออกมาก่อนหน้านี้ไม่นานนัก เนื่องจากตลาดในประเทศเริ่มอิ่มตัว และมีการ แข่งขันสูง ในช่วงทีผ่ า่ นมาการส่งออกสิง่ พิมพ์ไทยมีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนือ่ งไม่โดดเด่นมากนัก มูลค่าการส่งออก สิ่งพิมพ์ของไทยก่อนปี 2549 อยู่ในระดับต่�ำ กว่า 5,000 ล้านบาท จนกระทั่งในช่วงปี 2549 – 2550 มูลค่าการ ส่งออกสิ่งพิมพ์ของไทยเพิ่มสูงถึงร้อยละ 628.5 ภายในปีเดีย วขึ้นมาอยู่ที่มูลค่า 28,562 ล้านบาท ซึ่งนับว่าเป็น ปีทองของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ไทย และทำ�ให้การกำ�หนดเป้าการส่งออกที่มูลค่า 30,000 ล้านบาท เพื่อเป็น ศูนย์กลางการพิมพ์ในอาเซียนแทนสิงคโปร์ที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้ประกาศไว้ เริ่มเข้าใกล้ความเป็นจริงมาก ยิ่งขึ้น อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ของไทยได้รับการพิจารณาว่า มีศักยภาพในการแข่งขันและได้รับการสนับสนุนจาก ภาครัฐในด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรม ทั้งนี้เนื่องจากประเทศไทยมีความได้เปรียบในด้านอุตสาหกรรมต้นน้�ำ คือ อตุสาหกรรมเยื่อกระดาษและกระดาษ ซึ่งไทยสามารถผลิตได้เองเป็นส่วนใหญ่และถือเป็นการสนับสนุนให้เกิดการ ใช้วัตถุดิษในประเทศในส่วนของภาคเอกชนโดยสมาคมการพิมพ์ไทยนั้น มีนโยบายที่จะผลักดันให้ไทยเป็น Printing Hub ของอาเซียน เพื่อให้สามารถขยายศักยภาพการส่งออกสิ่งพิมพ์ของไทยไปต่างประเทศให้มากขึ้น

3.2.1 อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ของโลก

ในปี 2548 ผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งพิมพ์ทั่วโลก มีจ�ำ นวนประมาณ 226,000 ราย มีมลู ค่าการผลิต 702 พันล้านเหรียญสหรัฐ 7 นับตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา แนวความคิดด้านการควบรวมกิจการเป็นแนวคิดที่ได้รับ ความนิยมมากในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ทั่วโลก กลุ่มบริษัทการพิมพ์ใหญ่ๆ เช่น News Cooperation (ออสเตรเลีย) Bertelsmann (เยอรมณี) Elsevier (เนเธอร์แลนด์) Ringier (สวิสเซอร์แลนด์) Donnelly (สหรัฐอเมริกา) Quebecor (แคนนาดา) 40 ThaiPrint Magazine

Hachette (ฝรั่งเศส) Egmont (เดนมาร์ก) และ Polestar (สหราชอาณาจักร) ต่างดำ�เนินกลยุทธ์ด้านการ ขยายธุรกิจออกไปในทุกทวีป นอกจากนี้ยังมีธุรกิจกลุ่ม เล็กๆ ทีก่ �ำ ลังก่อตัง้ เพิม่ มากขึน้ ทุกวัน ในสถานะปัจจุบนั โรงพิมพ์ให้บริการเฉพาะด้านการพิมพ์เพียงอย่างเดียวจะ รักษาธุรกิจไว้ได้อย่างยากลำ�บาก หากไม่มกี ารนำ�เทคโนโลยี ดิจติ อลมาใช้ในการผลิตและในการดำ�เนิตนธุรกิจ ในช่วง 20 ปีทผ่ี า่ นมา อุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์ของโลกมีการแข่งขัน ด้วยราคาอย่างมาก ก่อนที่จะเกิดวิกฤตทางการเงินในปี 2540 (ASEAN Crisis) กลุม่ ประเทศอาเซียน รวมทัง้ ไทย


อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ มีความได้เปรียบเทียบทางด้านต้นทุน และมีการส่งออก ทีแ่ ข็งแกร่งมาก ทำ�ให้ประเทศในยุโรปและอเมริกาต่างเร่ง เพิ่ม ผลิตภาพขึ้นอย่างรวดเร็ว เพื่อที่จะทำ�ให้สามารถ แข่งขันกับกลุ่มประเทศแถบเอเชีย ซึ่งมีความได้เปรียบ ด้านต้นทุนที่ต�่ำ กว่าได้ จนกระทั่งในปัจจุบัน ประเทศ ในแถบยุโรปและอเมริกามีผลิตภาพทางด้านการผลิต ของสูงกว่าไทยถึงประมาณ 5–6 เท่า ความได้เปรียบ ดังกล่าวเป็น ผลมาจากการลงทุนในเทคโนโลยีที่ล้ำ�สมัย พร้อมๆ ไปกับการลงทุนในการศึกษาและการฝึกอบรม ซึ่งยังคงเป็นประเด็นที่ประเทศในอาเซียนมักจะมองข้าม ความสำ�คัญไป Pira International ซึง่ เป็นสถาบันวิจยั ทีม่ ชี อ่ื เสียง ทางด้านการพิมพ์ในระดับนานาชาติได้คาดการณ์เกีย่ วกับ อนาคตของตลาดสิง่ พิมพ์ในปัจจุบนั ไปจนถึงปี 2555 ว่า ประเทศสหรัฐอเมริกาจะยังคงเป็นตลาดสิ่งพิมพ์ที่ใหญ่ ทีส่ ดุ ในโลก ตามมาด้วยประเทสญีป่ นุ่ ส่วนตลาดสิง่ พิมพ์ ของเอเชีย โดยรวมก็จะมีการเติบโตอย่างรวดเร็วอันเป็น ผลมาจากการขยายตัวของตลาดจีนและอินเดีย สำ�หรับ ตลาดสิ่งพิมพ์ในสหภาพยุโรปในปี 2553 ประเทศ เยอรมณีจะมีส่วนแบ่งตลาดมากที่สุดในแถบยุโรปตะวัน ตก โดยจะเป็นตลาดสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ร้อยละ 308

สหรัฐอเมริกา 14.6%

3.2.1.1 สภาวะการค้าสิ่งพิมพ์ของโลก จากข้อมูลการส่งออกของ UN Comtrade Database ในปี 2549 สินค้าสิง่ พิมพ์มมี ลู ค่าการส่งออก ของโลกรวมทั้งสิ้น 37,504 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว เพิ่มขึ้นจากปี 2548 ร้อยละ 4.6 โดยมีประเทศในกลุ่ม ยุโรปเป็นเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ ได้แก่ เยอรมณี สหราช อาณาจักร ฝรั่งเศส อิตาลีเบลเยี่ยม และสเปน มีมูลค่า ส่งออกสิ่งพิมพ์รวมกันทั้งสิ้นคิดเป็นร้อยละ 43.7 โดย มีเยอรมณีเป็นผู้ส่งออกอันดับ 1 ด้วยส่วนแบ่งร้อยละ 15.0 ของมูลค่าส่งออกทั้งหมดในตลาดโลก และถือว่า เป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุด รองลงมา คือ สหรัฐอเมริกา และสหราชอาณาจักร ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกคิดเป็นร้อย ละ 14.6 และร้อยละ 11.7 ของมูลค่าส่งออกทัง้ หมดของ โลกตามลำ�ดับ ส่วนฮ่องกงและจีนมีมูลค่าการส่งออก รวมกันแล้วคิดป็นร้อยละ 8.5 โดยเป็นการส่งออกของ ฮ่องกงร้อยละ 4.7 และจีน ร้อยละ 3.8 สำ�หรับไทยมี มูลค่าการส่งออกในตลาดโลกอยู่ที่ร้อยละ 0.3 โดยอยู่ ในอันดับที่ 23 ของโลก (รูปที่ 3 – 24 และ ตารางที่ 3 - 39)

สหราชอาณาจักร 11.7%

แคนนาดา 4.3%

จีน 3.8%

ฮ่องกง 4.7%

เยอรมนี 15.0%

เบลเยี่ยม 3.7%

30.1% อิตาลี 4.8%

สเปน 3.2%

ฝรั่งเศส 5.3%

ประเทศอื่นๆ 28.6%

ไทย 0.3% รูปที่ 3 – 24 ผู้ส่งออกสิ่งพิมพ์รายสำ�คัญของโลก ปี 2549

ThaiPrint Magazine 41


Print Data ตารางที่ 3 - 39 ผู้ส่งออกสิ่งพิมพ์รายสำ�คัญของโลก ปี 2549

ประเทศ เยอรมณี สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส อิตาลี ฮ่องกง แคนาดา จีน เบลเยี่ยม สเปน ไทย ประเทศอื่นๆ รวมทั้งหมด

มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐฯ) 5,614.8 5,494.0 4,376.8 1,997.0 1,816.1 1,750.7 1,597,8 1,439.6 1,370.3 1,207.1 104.1 10,735.3 37,503.6

ที่มา : UN Comtrade Database

สินค้าสิง่ พิมพ์ถกู จัดให้อยูใ่ นพิกดั HS 49 (หนังสือ ที่พิมพ์เป็นเล่ม หนังสือพิมพ์รูปภาพและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของอุตสาหกรรมการพิมพ์ ต้นฉบับที่เขียนหรือดีดพิมพ์ และแปลน) โดยแบ่งประเภทสิ่งพิมพ์ตามพิกัดระดับ 4 หลักได้ 11 รายการคือ HS 4901 – 4911 พิกัดสินค้า ที่มีการส่งออกสูงที่สุดในปี 2549 ได้แก่ HS 4901 – หนังสือที่พิมพ์เป็นเล่ม โบรชัว แผ่นปลิว และสิ่งพิมพ์ ที่คล้ายกัน ซึ่งมีมูลค่าการส่งออกสูงที่สุด คือ 15,401

ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 41.6 รองลงมาคือ HS 4911 – สิ่งพิมพ์โฆษณา ซึ่งมีมูลค่าการส่งออก 10,120 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 27.3 และ อันดับ 3 คือ HS 4902 – หนังสือพิมพ์ วารสาร และ นิตยสาร โดยมรมูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น 6,145 ล้าน เหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ 16.6 (รูปที่ 3 25 และ ตารางที่ 3 - 40)

4901 41.6% 4909 3.1% 4907 4.5% 14.5% 4908 2.3%

4911 27.3%

ที่มา : UN Comtrade Database

4911 16.6%

4904 0.3%

4903 1.7%

4910 1.2%

4905 0.7%

รูปที่ 3 – 25 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกสิ่งพิมพ์ในตลาดโลก ตามพิกัด 4 หลัก ปี 2549 42 ThaiPrint Magazine

4906 0.7%


อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ตารางที่ 3 – 40 มูลค่าและสัดส่วนการส่งออกสิ่งพิมพ์ในตลาดโลก ตามพิกัด 4 หลัก ปี 2549

พิกัด HS 4901 4911 4902 4907 4909 4908 4903 4910 4905 4906 4904 รวมทั้งหมด

มูลค่า (ล้านเหรียญสหรัฐ) 15,401.7 10,119.7 6,145.3 1669.4 1,130.8 896.3 614.6 447.0 269.3 261.6 113.4 37,041.9

สัดส่วน (%) 41.6 27.3 16.6 4.5 3.1 2.3 1.7 1.2 0.7 0.7 0.3 100.0

ที่มา : UN Comtrade Database

3.2.1.2 แนวโน้มของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ในปัจจุบัน เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและการพัฒนา ทางด้านเทคนิคดิจิตอลได้ถูกต้องนำ�มาใช้กับขั้นตอน การผลิตสิ่งพิมพ์มากขึ้นเรื่อยๆ ความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีดิจิตอลทำ�ให้กระบวนการสื่อสารในขั้นตอน การผลิตสิ่งพิมพ์ระหว่างสำ�นักพิมพ์ โรงพิมพ์ บริษัท โฆษณา และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เป็นไปได้โดยง่ายและ สะดวกขึ้นอย่างมาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงพิมพ์ไม่สามารถ

ที่จะแยกตัวออกจากขั้นตอนอื่นๆ ของอุตสาหกรรมการ พิมพ์ได้ ธุรกิจการพิมพ์ในอนาคตจะไม่หยุดเพียงแค่การ เป็น “หมึกบนกระดาษ” แต่จะกลายเป็นองค์ประกอบ หนึง่ ใน “ธรุกจิ สิง่ พิมพ์และการสือ่ สารทางอิเล็กทรอนิกส์” ที่จะมีการนำ�ระบบอัตโนมัติเข้ามาแทนการทำ�งานแบบ ดั้งเดิม เช่น การพิมพ์แบบดิจิตอลที่สามารถตอบสนอง ความต้องการเร่งด่วน อันจะนำ�มาซึ่งการเกิดโอกาสทาง ธุรกิจใหม่ๆ อีกมากมาย

ThaiPrint Magazine 43


Print Data

สินค้าสิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ การส่งออกสินค้าสิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ในช่วง 2 เดือนแรก (ม.ค. - ก.พ.) ของปี 2554 มีมูลค่า ทั้งสิ้น 1,342.33 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2553 ร้อยละ 117.67 เป้าหมาย การส่งออกสิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ในปี 2554 มีมูลค่า 4,120 ล้านเหรียญสหรัฐฯ อัตราขยายตัว ร้อยละ 20 คิดเป็น ร้อยละ 1.8 ของเป้าหมายการส่งออกรวมทั้งประเทศคาดการณ์การส่งออกปี 2554 : คาดว่าจะ มีมูลค่า 4,120 ล้านเหรียญสหรัฐฯ +20% คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 1.8 ของมูลค่าส่งออกรวมทั้งประเทศการส่งออก ในปี 2554 สินค้า

มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ ฯ 2553 2553 2554 (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.)

หนังสือและสิ่งพิมพ์ กระดาษและ บรรจุภัณฑ์กระดาษ 3,433 616.67 1. หนังสือ และสิ่งพิมพ์ 2,098.11 412.80 2. กระดาษ และผลิตภัณฑ์กระดาษ 1,335.13 203.87

อัตราขยายตัว (ร้อยละ) 2553 2553 2554 (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.)

1,342.33 - 0.36 1,117.08 8.10 225.25 - 9.59

24.07 33.92 11.22

117.67 170.61 10.48

ตลาดส่งออก หนังสือและสิ่งพิมพ์ กระดาษ และบรรจุภัณฑ์กระดาษ 10 ประเทศแรกของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ ฯ อัตราขยายตัว (ร้อยละ) สัดส่วน(ร้อยละ) ประเทศ

2553

2553

1. ฮ่องกง 1,372.90 1,935.21 2. ญี่ปุ่น 196.99 164.24 3. มาเลเซีย 118.26 143.18 4. เวียดนาม 151.58 149.52 5. อินโดนีเซีย 95.81 106.32 6. ออสเตรเลีย 74.01 87.93 7. เกาหลีใต้ 99.50 106.54 8. ไต้หวัน 69.60 58.78 9. สหรัฐอเมริกา 52.41 60.09 10. สิงคโปร์ 70.27 71.88 รวม 10 ประเทศ 2,301.33 2,883.70 อื่นๆ 465.75 549.54 มูลค่ารวม 2,767.08 3,433.24 44 ThaiPrint Magazine

2554 2553 2553 2554 (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.) 1,062.80 19.12 40.96 178.29 56.37 79.18 45.22 -23.81 -16.63 32.31 4.78 3.37 23.56 -14.46 21.08 8.74 4.17 1.76 22.82 2.35 -1.36 7.06 4.35 1.70 18.30 5.58 10.97 2.41 3.10 1.36 17.03 4.40 18.80 15.50 2.56 1.27 14.01 -0.49 7.08 -20.23 3.10 1.36 13.68 -14.51 -15.56 41.75 1.71 1.02 11.52 2.45 14.66 90.42 1.75 0.86 10.40 -21.53 2.30 14.02 2.09 0.77 1,239.34 5.51 25.31 132.06 83.99 92.33 102.99 -21.84 17.99 24.67 16.01 7.67 1,342.33 -0.36 24.07 117.67 100.00 100.00


ตัวเลขการส่งออก

สิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ โครงสร้างสินค้าส่งออก (ร้อยละ) หนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษแข็ง กระดาษชำ�ระ กระดาษเช็ดหน้าและกระดาษอนามัย กระดาษอื่นๆ บรรจุภัณฑ์กระดาษ กระดาษคราฟท์ โครงสร้างราคา (ร้อยละ) การใช้ปัจจัยการผลิต - ในประเทศ - นอกประเทศ - Approx. Maargin ผู้ผลิต - เยื่อกระดาษ ขนาดใหญ่ (คนงาน 200 คนขึ้นไป) - กระดาษรวม ขนาดกลาง (คนงาน 51 - 200 คน) ขนาดใหญ่ (คนงาน 200 คนขึ้นไป) จำ�นวนคนงานทั้งสิ้น : จำ�นวนผู้ประกอบการที่เป็นสมาชิกกรม ฯ สัดส่วนการจำ�หน่ายสินค้า (ร้อยละ) - ส่งออก - ในประเทศ

54.20 16.02 10.75 8.35 4.21 4.21 2.26 66.70 33.30 16.70 6 52 30 22 25,000 459

35 65

ราย ราย ราย ราย คน ราย

การส่งออกสินค้าสิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ในช่วง 2 เดือนแรก (ม.ค. - ก.พ.) ปี 2554 มีมูลค่า 1,342.33 ล้านเหรียญสหรัฐฯ (+117.67% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2553) โดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 32.58 ของมูลค่าเป้าหมายการส่งออกสินค้า และเป็นสัดส่วนร้อยละ 3.8 ของมูลค่าส่งออกรวมทั้งประเทศ การส่งออกกระดาษปี 2554 คาดการณ์ว่าจะขยายตัวอย่างน้อยร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับปี 2553 ซึ่งมีมูลค่าตลาดในประเทศอยู่ที่ประมาณ 3 แสนล้านบาท และส่งออกราว 60,000 ล้านบาท โดยมีผลบวก เรื่องของการส่งออกที่เริ่มฟื้นตัวประกอบกับเศรษฐกิจคู่ค้าที่สำ�คัญของไทย ได้แก่ มาเลเซีย เวียดนาม อินโดนีเซีย และเกาหลีใต้ และตลาดใหม่มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ในส่วนผู้ผลิตและผู้จำ�หน่ายคาดว่าจะเริ่มมีการทยอย ผลิตสินค้าเพื่อเตรียมรองรับเทศกาลต่างๆอย่างไรก็ตามยังต้องจับตาการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า สำ�คัญอย่างสหรัฐอเมริกาและประเทศในแถบยุโรปว่าจะฟื้นตัวได้รวดเร็วหรือไม่

ThaiPrint Magazine 45


Print Data คูแ่ ข่งขันสำ�คัญ ได้แก่ ประเทศจีน เนือ่ งจากประเทศจีนได้มโี รงงานกระดาษทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลกและมีเทคโนโลยี ในการผลิตที่สูงกว่า ทำ�ให้ประเทศจีนมีการเพิ่มกำ�ลังการผลิตเพื่อการส่งออกมากขึ้นตลาดหลัก : ฮ่องกง ร้อยละ 79.81 ตลาดที่อัตราการขยายตัวสูง : สวิตเซอร์แลนด์ร้อยละ 2,641.84 ซาอุดิอาระเบียร้อยละ 70.67 สหรัฐ อาหรับเอมิเรตส์ ร้อยละ 61.59 อินเดีย 61.17 และพม่า ร้อยละ 50.41 มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ ฯ ประเทศ

2553

1. ฮ่องกง 1,372.90 2. ญี่ปุ่น 196.99 3. มาเลเซีย 118.26 4. เวียดนาม 151.58 5. อินโดนีเซีย 95.81 6. ออสเตรเลีย 74.01 7. เกาหลีใต้ 99.50 8. ไต้หวัน 69.60 9. สหรัฐอเมริกา 52.41 10. สิงคโปร์ 70.27 รวม 10 ประเทศ 2,301.33 465.75

อื่นๆ มูลค่ารวม

2,767.08

2553

อัตราขยายตัว (ร้อยละ) สัดส่วน(ร้อยละ) 2554 2552 2553 2554 2552 2553 2554 (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.) (ม.ค.-ก.พ.)

1,935.21 1,062.80 19.12 40.96 178.29 49.62 164.24 45.22 -23.81 -16.63 32.31 7.12 143.18 23.56 -14.46 21.08 8.74 4.27 149.52 22.82 2.35 -1.36 7.06 5.48 106.32 18.30 5.58 10.97 2.41 3.46 87.93 17.03 4.40 18.80 15.50 2.67 106.54 14.01 -0.49 7.08 -20.23 3.60 58.78 13.68 -14.51 -15.56 41.75 2.52 60.09 11.52 2.45 14.66 90.42 1.89 71.88 10.40 -21.53 2.30 14.02 2.54 2,883.70 1,239.34 5.51 25.31 132.06 83.17 549.54

56.37 4.78 4.17 4.35 3.10 2.56 3.10 1.71 1.75 22.09 83.99

79.18 3.37 1.76 1.70 1.36 1.27 1.36 1.02 0.86 0.77 92.33

102.99 -21.84 17.99 24.67 16.83 16.01

7.67

3,433.24 1,342.33

-0.36

24.07 117.67 100.00 100.00 100.00

ปัญหาอุปสรรค 1. การวิจัยและพัฒนายังไม่เพียงพอที่จะนำ�พัฒนาเพื่อการแข่งขัน ในตลาดโลก 2. บุคลาการในอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ยังขาดความชำ�นาญ เฉพาะด้าน 3. การส่งสินค้าต้องใช้เวลามากและ ค่าส่งทางไปรษณีย์ยังคงมีราคา สูงกว่าประเทศคู่แข่ง

4500 4000 3500 3000 2500 2000 1500 2550 2551 2552 2553 2554 กราฟข้อมูลการส่งออกสิ่งพิมพ์กระดาษและบรรจุภัณฑ์ มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ

กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง 2. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น อินเตอร์เน็ต และ software ที่ใช้ในการออกแบบเพื่อการสื่อสารและ ส่งรายละเอียดการพิมพ์/ต้นฉบับได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผลักดันให้ประเทศไทศไทยเป็น Printing Hub และ Mailing Hub ของเอเชีย โดยเน้นจุดแข็งที่คุณภาพความ โดดเด่นด้านการพิมพ์ และกำ�หดปริมาณตามความต้องการของลูกค้าได้ 4. นำ�คณะผูแ้ ทนการค้า/ผูน้ �ำ เข้าจากประเทสเป้าหมาย เช่น สหรัฐอเมริกาเยีย่ มชมการผลิตสิง่ พิมพ์ทน่ี คิ มอุตสาหกรรม สินสาคร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการสั่งจ้างพิมพ์ในประเทศไทย 46 ThaiPrint Magazine


Print News

ทิศทางเศรษฐกิจไทยก่อนที่จะเกิด วิกฤตินิวเคลียร์ที่ญี่ปุ่น

เมื่อวันที่ 4 เม.ย. ที่โรงแรม พลาซ่าแอทธินี กรุงเทพฯ ได้มีการ จัดเสวนา SCG PaperBusiness Partnership Seminar 2011” หัวข้อ “ทิศทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ในบริบทเศรษฐกิจโลก” โดยมีวิทยากรร่วมเสวนา ได้แก่ ดร.พิมลวรรณ มหัจฉริยวงศ์ ศูนย์วิจัยกสิกรไทยจำ�กัด ดร.สมภพ มานะรังสรรค์ อธิการบดีสถาบันการจัดการปัญญาภิวฒ ั น์ และนายเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย รองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

50 ThaiPrint Magazine


สภาวะเศรษฐกิจไทย

สภาวะเศรษฐกิจไทย

ดร.พิมลวรรณ กล่าวระหว่างการ เสวนาว่าเห็นได้ว่า ช่วงต้นปีนี้มีเหตุ การณ์ไม่คาดคิดเกิดขึ้นมาเป็นลำ�ดับ ทั้งความไม่สงบ และภัยธรรมชาติ ซึ่งสร้างความไม่แน่นอนมีความเสี่ยง ต่อเศรษฐกิจโลกและไทยปัจจัยที่จะ มีผลต่อเศรษฐกิจไทยในปีนี้กล่าวได้ ว่ามีทั้งเรื่องเงินเฟ้อและราคาน้ำ�มัน ซึง่ คงชลอลงอย่างเลีย่ งไม่ได้มาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจก็เริ่มน้อยลงปัจจัย กระตุ้นก็น้อยลงปัจจัยลบมีมากขึ้น ทิศทางราคาน้ำ�มันที่สูงขึ้นเป็นปัจจัย ที่ น่ า จะส่ ง ผลรุ น แรงกว่ า เรื่ อ งอื่ น ๆ สำ�หรับเรื่องเงินเฟ้อเป็นความเสี่ยง หลัก เมื่อมองไปที่ภาพรวมแล้วใน เอเชียเผชิญความเสี่ยงเรื่องเงินเฟ้อ ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย เวียดนาม ทำ�ให้เห็นการทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ย อย่างต่อเนื่องเรื่องอาหารแพงส่วน อีกด้านคือ ราคาน้�ำ มันที่ราคาน้�ำ มัน ใกล้แตะ 120 ดอลลาร์สหรัฐฯ ทำ�ให้ หลายประเทศกังวลมากขึ้นเรื่องเงิน

เฟ้อทำ�ให้ธนาคารกลางปรับขึ้นอัตรา ดอกเบี้ยมาเป็นลำ�ดับมีแนวโน้มที่จะ ปรับขึ้นต่อทิศทางเศรษฐกิจไทยก่อน ที่ จ ะเกิ ด วิ ก ฤติ นิ ว เคลี ย ร์ ที่ ญี่ ปุ่ น ใน ภาพรวมยังคงดูดีอยู่แต่เมื่อเกิดเหตุ แล้วการส่งออกไทยที่พึ่งพาชิ้นส่วน การผลิตจากญี่ปุ่นทำ�ให้การส่งออก ไทยไตรมาสสองอาจชลอตั ว อย่ า ง

ต่ อ เนื่ อ งแม้ ว่ าเงินเฟ้อของไทยค่อน ข้างต่ำ�ที่ 3 เปอร์เซ็นต์ แต่ในไตรมาส 2 อาจมีสัญญาณว่าเพิ่มขึ้น เพราะ ผู้ประกอบการส่งสัญญาณปรับราคา ซึง่ ตอนนีอ้ ยูไ่ ด้เพราะ ตรึงราคาน้�ำ มัน ดีเซล ต่อหลังเดือนเมษาอาจเห็นการ ปรับราคาดีเซล จนมีผลต่อราคาส่ง ผลให้ผู้บริโภคเริ่มลดความเชื่อมั่นลง

ThaiPrint Magazine 51


Print News แก้ไข สามคือ เรื่องของราคาที่มัก ถูกกำ�หนดด้วยปัจจัยทางการเมือง สุดท้ายคือ การขึ้นชั้นทางเศรษฐกิจ ที่ต้องขึ้นเป็นให้เป็นเศรษฐกิจการ บริการ”

ไตรมาสสองเผชิญปัจจัยลบ หลายอย่าง ซึง่ เศรษฐกิจไตรมาสสอง มี แ นวโน้ ม เติ บ โตน้ อ ยลงเมื่ อ เที ย บ กันปีต่อจากเมื่อปีที่ผ่านมา สำ�หรับ ภาพรวมการประมาณการเศรษฐกิจ คำ�นวณในเบื้องต้นอาจกระทบ จีดีพี ไทย 0.1 - 0.2 เปอร์เซ็นต์ ส่วน เรื่องอัตราดอกเบี้ยนั้น ทิศทางของ ดอกเบีย้ ขาขึน้ จะดำ�เนินต่อไปสำ�หรับ สิ่งที่เกิดกับญี่ปุ่นเริ่มเห็น ผลกระทบ ทางเศรษฐกิ จ แล้ ว การผลิ ต ภาค อุตสาหกรรมของญี่ ปุ่ น ลดลงต่ำ � สุ ด ในรอบสองปีพื้นที่ประสบความเสีย หายของญี่ปุ่นเป็นแหล่งผลิตอาหาร และกระจุกตัวทางอุตฯ ทีส่ �ำ คัญความ เสียหายโดยรวมแล้วอาจคิดเป็น 8% ของ จีดีพี และน่าจะติดลบต่อในอีก สองไตรมาสข้ า งหน้ า ก่ อ นที่ จ ะเริ่ ม ฟื้นตัว นอกจากเรื่องความเสียหาย แล้วยังมีเรือ่ งกระแสไฟฟ้าทีไ่ ม่เพียงพอ อุตสาหกรรมอาหารได้รับผลกระทบ จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากภูมิภาค 7 จังหวัด ที่เสียหายมีสัดส่วนถึง 24% ของผลผลิตในญี่ปุ่น และไทย จะได้อานิสงค์ความต้องการอาหาร จากญี่ปุ่น ประเทศเกิดใหม่ต้องการ “กระดาษ” แน่นอน 52 ThaiPrint Magazine

ดร.สมภพ กล่าวว่า ขีดความ สามารถของธุรกิจไทยดูได้จาก หก เรือ่ ง ตัง้ แต่ชว่ งต้นน้�ำ ไปถึงปลายทาง หนึง่ คือ การวางแผนการผลิตเกีย่ วกับ การบริหารต้นทุน ซึ่งมีอยู่สองกลุ่ม คือทุนคงที่ เช่น เรือ่ งน้�ำ ดิน และต้นทุน แปรผันที่เกี่ยวข้อง เช่น ทรัพยากร มนุษย์ สองคือ วัตถุดิบในการผลิต และ การบริหารการขนส่ง สามคือ การบริหารการตลาด สี่คือ การวาง แผนการเงิน คือ เรื่องแหล่งที่มาเงิน ทุน ห้าคือ การบริหารข้อมูลข่าวสาร และ สุดท้ายคือ การวางแผนด้าน นวัตกรรม ซึ่งการลงทุนของไทยใน เรื่องนี้มีน้อยมาก “ผมเชื่อว่ากระดาษไม่ตาย เพราะ เป็นยุคของการเติบโตของ ประเทศโตใหม่ตา่ งจากประเทศทีโ่ ต แล้วทีห่ นั ไปใช้อเิ ล็คทรอนิกส์ ซึง่ หมาย ความว่า ความต้องการกระดาษใน ประเทศพัฒนาใหม่จะโตขึ้นเพราะ อำ�นาจการซื้อการศึกษายังไม่ถึงที่ จะใช้อีบุ๊คส์ประเทศไทยถ้าต้องการ พัฒนามีสง่ิ ทีต่ อ้ งพัฒนาคือ ทรัพยากร มนุษย์ทั้งระดับแรงงานฝีมือ และ ไม่ใช่ฝีมือ สองคือ การขนส่งที่ต้อง

ที่สำ�คัญคือการทำ�ธุรกิจให้ดี ต้องมีแผน 6 ประการ ได้แก่ แผนคน ที่ชัดเจน เงินที่เป็นระบบ แผนงาน ที่ถูกต้อง เครือข่าย เป้าหมายทาง ธุรกิจมีการยอมรับและที่ต้องเตรียม พร้อมเป็นอย่างยิ่ง เชื่อว่าอาเชียนจะ เป็นสมรภูมใิ นการต่อสูท้ างเศรษฐกิจ ซึ่งคู่ที่สู้กันอย่างรุนแรงคือ ญี่ปุ่นและ จี น สำ � หรั บจี น แล้ ว เป็ น ประเทศที่ มี พลวัตสูงจากการประกาศแผนฉบับ ที่ 12 แปรเปลีย่ นประเทศจากโรงงาน โลกให้เป็นตลาดของโลก และเชื่อว่า จีนน่าจะเริ่มทุ่มเทเรื่องปากท้องการ บริหารปัจจัย 4 เกลี่ยผลพวงของ การพัฒนา หลังจากที่เห็นตัวอย่าง จากตะวันออกกลางเมื่อเกลี่ยความ เจริญมุง่ พิชติ ภาคตะวันออกทีย่ งั ด้อย พัฒนาเชื่อว่าการเติบตัวของประเทศ เกิดใหม่จะทำ�ให้ความต้องการกระดาษ มากขึน้ อุตสาหกรรมกระดาษสิง่ พิมพ์ ช่องทางธุรกิจบรรจุภัณฑ์ มีแววรุ่ง นายเกรียงไกร กล่าวว่า อุตสาหกรรม กระดาษในประเทศเราแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เพือ่ การเติบโตในประเทศ และเพื่อการส่งออกต้นทุนกระดาษ เพิ่มขึ้น ในช่วงที่มีปัญหาก็ยิ่งเพิ่มขึ้น สิ่งพิมพ์ของไทยเราโชคดีมีความเข้ม แข็งเพราะมีตน้ น้�ำ ทีแ่ ข็งแรงการเติบโต ของอุตสาหกรรมภายในประเทศมี ความชัดเจน ในแง่เป็นแหล่งผลิต อาหาร แต่เราเองก็เป็นฐานการผลิต ให้ประเทศอืน่ มากมายพบว่าการพิมพ์ เราเติบโตไปพร้อมกับการเติบโตของ


สภาวะเศรษฐกิจไทย จีดีพี การศึกษาของคนในประเทศ ทำ�ให้กระดาษยังเติบโตอยู่ซ่งึ ปีท่แี ล้ว เติบโตที่ 7 - 8% เรามีปัจจัยบวกที่ ชัดเจนคือ การส่งออกปีทแี่ ล้วมีมลู ค่า ถึง หกหมื่ นกว่ า ล้า นบาทประเทศที่ ส่งออกสิ่งพิมพ์ให้เป็นอันดับสองคือ ญี่ป่นุ สิ่งพิมพ์ท่สี ่งออกไปอยู่ในเอเชีย ด้วยกันมี 8-9% สำ�หรับปีนี้ ในต้นปี ช่วงเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ มูลค่า ประมาณ 45 ล้านเหรียญสหรัฐ ถ้า เทียบกับเมื่อปีที่แล้วเติบโตประมาณ 32% แต่ส�ำ หรับช่วงหลังสึนามินั้นยัง ตอบยาก เนื่องจากการสั่งเข้าสินค้า สำ�เร็จรูปยังชลอช่วงนี้เป็นช่วงที่น่า สนใจเพราะมีข่าวว่าญี่ปุ่นกำ�ลังผลิต ไม่ พ อต้ อ งนำ � กระดาษเข้ า ทั น ที ที่ สถานการณ์ดขี น้ึ คาดว่าเราน่านำ�ทัพ เชิ ญ ชวนให้ มี ก ารลงทุ น สิ่ ง พิ ม พ์ ใ น ช่วงที่ไปโรดโชว์ที่ญี่ปุ่น ซึ่งยอดการ ส่งออกในช่วงไม่ถึงครึ่งปีนั้น เกือบ แตะยอดการส่งออกรวมของเมื่อปีที่ แล้วด้านสื่ออิเล็คทรอนิกส์เป็นเรื่อง ที่ ก ระทบกั บ บางหมวดการบริ โ ภค กระดาษของทั้งโลกยังเติบโตยกเว้น ประเทศที่มีความอิ่มตัวมากๆ อย่าง สหรัฐ และในทวีปยุโรปซึ่ง นสพ.

กระทบมากเขาขาดทุ น เพราะยอด รายได้จากโฆษณาลดลงมีสื่อที่เป็น ทางเลือกในการโฆษณามีทางเลือก มากขึ้น ในขณะเดียวกันในเอเชีย ยังมีโอกาสเติบโตอยู่ ยกเว้นแต่ว่า ผูป้ ระกอบการต้องปรับตัวขณะนี้ นสพ. ต้องมีภาคออนไลน์กันทั้งนั้นเพราะ สือ่ นสพ. นัน้ คนอายุ 40 ขึน้ ยังอ่านอยู่ แต่เด็กรุ่นใหม่ก้าวข้าม นสพ. ไปแล้ว ในส่วนเรื่องบรรจุภัณฑ์ยังคงเติบโต กล่าวได้ว่า เป็นอาวุธสำ�คัญในการ ตลาด ซึ่งการบรรจุภัณฑ์ที่เรียกว่า

สินค้าประเภทฟุม่ เฟือยมีอยู่ 3% ของ บรรจุภัณฑ์ทั่วโลกแต่แค่ 3% นี้มี มูลค่าสองหมืน่ ล้านเหรียญสหรัฐ โดย ที่มี 35% อยู่ในเอเชีย และในหมวด หมู่นี้จะเติบโตขึ้นไปเรื่อยๆ เพราะ สร้างมูลค่าเพิ่มได้มาก อย่างเช่น สุขภาพ อาหารเสริม และเครื่อง สำ�อาง นอกจากนั้นก็เป็นอาหาร เครื่องดื่ม ตรงนี้เป็นสิ่งที่โตมาก โดย เฉพาะด้านอาหารที่ในประเทศไทย โตค่อนข้างมาก สรุปแล้วยุทธศาสตร์ การพิมพ์แห่งชาติ มุ่งเน้นพัฒนา

ThaiPrint Magazine 53


ภาวะเศรษฐกิ Print News จไทย

การเสวนามีการบรรยายหัวข้อ “แข่งขันอย่างไรเมื่อโลกกำ�ลังพลิกโฉม” โดย รศ.ดร. เสรี วงษ์มณฑา

สิง่ พิมพ์ทง้ั ในประเทศคูก่ บั การส่งออก มองว่าในประเทศยังมีความต้องการ ใช้บรรจุภณ ั ฑ์อกี จำ�นวนมากอย่างสินค้า โอท็อปทีม่ สี นิ ค้าชุมชนจากทีญ ่ ป่ี นุ่ เคย ทำ�มาซึ่งเป็นเรื่องสำ�คัญสำ�หรับการ แต่งตัวให้ผลิตภัณฑ์อีกทั้งวันนี้ได้ยิน ว่ารัฐบาลกำ�ลังผลักดันเศรษฐกิจสร้าง สรรค์ส่งิ พิมพ์เป็นหนึ่งในนั้นและเป็น อุตฯ ต้นแบบให้กับอุตฯ อื่นๆ ในการ รวมตัว ช่วงที่ 2 ของการเสวนามีการ บรรยายหัวข้อ “แข่งขันอย่างไรเมื่อ โลกกำ�ลังพลิกโฉม” โดย รศ.ดรเสรี วงษ์มณฑา กล่าวว่า การแข่งขันใน ยุคนี้ เป็นยุคของโลกแบนในเชิงความ รู้ สึ ก เป็ น โลกที่ เ หมื อ นเป็ น เส้ น ตรง เดินหากันได้อย่างง่ายดายเทคโนโลยี ก้าวไปไกลโลกเชื่ อ มต่อ กันได้ห มด เมือ่ กำ�แพงถล่ม ประเทศเล็กๆ กลาย เป็ น ประเทศเสรี นิ ย มความเจริ ญที่ ทำ�ให้การแข่งขันรุนแรงนั้น เกิดจาก คอมพิวเตอร์ระบบปฎิบตั กิ ารเครือข่าย โทรศัพท์ เพราะฉะนั้นการแข่งขันใน ธุรกิจต้องคิดในเชิงโลกาภิวัฒน์มอง ว่า ทำ�ธุรกิจในระดับโลกไม่ได้หมาย ความว่าขายต่างประเทศจะเป็นระดับ 54 ThaiPrint Magazine

โลก แต่ไม่ควรต่�ำ กว่ามาตรฐานโลก จึงจำ�เป็นต้องปลูกฝังให้คนมีสำ�นึก ความเป็นเลิศมากกว่าสำ�นึกความ อยู่รอด “เด็กสมัยนี้ถามแต่ว่าทำ� อย่างไรจะสอบผ่าน แต่ไม่ถามว่าทำ� อย่างไรจึงจะได้เอ มีสามต่�ำ ความรู้ ต่�ำ ลงเพราะไม่ขวนขวายความทะเยอ ทะยานต่ำ � ลงสุ ด ท้ า ยคื อ ศี ล ธรรม ต่ำ�ลง บางอย่างไม่ผิดกฎหมาย แต่ไม่ควรทำ�” ความเป็นไปในทาง เศรษฐกิจและทางการเมืองเป็นความ จำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง ยวดที่ ต้ อ งติ ด ตาม ธุรกิจต้องเริ่มดูแล้วว่าธุรกิจแบ่งเป็น ภาคส่วน และความรวดเร็วในทาง ธุรกิจ การเปลีย่ นแปลงในยุคนีม้ คี วาม รวดเร็วมาก การเปลี่ยนแปลงแบบ ค่อยเป็นค่อยไปอาจใช้ไม่ได้ในยุคนี้ บางเรือ่ งต้องเปลีย่ นแบบถอนรากถอน โคนธุรกิจยุคนี้เป็นธุรกิจยุคออนไลน์ ข้อมูลอยู่ในเว็บไซต์ถ้าไม่มีรายชื่ออยู่ ใน “กูเกิล” ก็ยากทีจ่ ะทำ�ธุรกิจ โฆษณา ผ่านเว็บไซต์สามารถประชาสัมพันธ์ ได้ แนะนำ�บริษัท สั่งซื้อสินค้าผ่าน เว็บไซต์ได้ ธุรกิจต้องข้ามผ่านเส้น ดิจิตอล แต่สิ่งที่เก็บในเครื่องนั้น

บางครั้งก็ยังมีหลายอย่างที่กระดาษ มีความหมายอิเล็คทรอนิกส์ยังแทน ที่ไม่ได้อยู่ “ยุคนี้ไม่ว่าจะเป็นสินค้า อะไรก็ตามต้องแสวงหาความเป็น เลิศสินค้าต้องปรับเพือ่ ให้สอดคล้อง กับกลุ่มเป้าหมายสินค้ามีความเป็น กลุม่ ย่อยมากขึน้ เรือ่ ยๆ เพราะลูกค้า ต้องการได้รับการตอบสนอง”

สรุปแล้ว ยุคนี้เป็นยุคแห่งเสตรียรอยด์ ที่ระบบดิจิตอลทำ�ให้สามารถส่งได้ทุก อย่ า งระบบเสมื อ นและการเคลื่ อ นที่ สามารถทำ�ให้การติดต่อสื่อสารทำ�ได้ ทุกที่และทุกคนจำ�เป็นต้องเปลี่ยนแปลง ตัวเองศึกษาสิง่ ใหม่ทส่ี �ำ คัญ คือ นักธุรกิจ ต้องเข้าสู่โลกดิจิตอลแล้ว แสวงหา ประโยชน์จากภาวะไร้สภาพพืน้ ทีไ่ ม่จ�ำ เป็น ต้องเข้าออฟฟิศเพื่อสั่งงาน ไม่จ�ำ เป็น ต้องพบลูกค้าเมื่อต้องการติดต่อ แต่ ก็ไม่ควรใช้คอมพิวเตอร์ จนละเลยการ พบปะกับผู้ร่วมงานอย่างสิ้นเชิง


Print Technology

Variable Data Printing 2 Variable Data Printing คืออะไรหลายๆ ท่านคงทราบ Concept ไปแล้วจากฉบับที่ผ่านมา ในฉบับนี้เรามาลอง ดูว่า ถ้าเรามีเครื่องพิมพ์ Digital ดีๆ ที่สามารถตอบสนองงานพิมพ์ที่รวดเร็วและมีคุณภาพ ผนวกกับความสามารถ ทีย่ อดเยีย่ มของ Software ทีช่ ว่ ยบริหารจัดการด้าน VDP จะทำ�ให้เราสามารถสร้างสรรค์สง่ิ ทีแ่ ตกต่างในตลาดได้อย่างไร ก่อนอื่นขอกล่าวถึงรูปแบบของงาน VDP ใน ปัจจุบันกันก่อนครับ VDP ถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. Passive Media: เช่นงานพิมพ์ Direct Mail, News Letter ต่างๆ บ่อยครั้งจะรวมถึงสื่อโฆษณาทาง วิทยุและโทรทัศน์ด้วย 2. Interactive Media: เช่น การสื่อสารผ่านทาง Web site, SMSหรือ Email เป็นต้น ทั้ง 2 รูปแบบเป็นสื่อที่ใช้ในการนำ�เสนอ และ สร้างสรรค์งานแบบ VDP ผู้อ่านหลายท่านอาจจะเข้าใจ ถึงการใช้สื่อทั้ง 2 รูปแบบนี้แล้ว แต่หลายๆ ท่านอาจจะ ยังนึกไม่ออกว่าสิ่งเหล่านี้ได้เข้ามาอยู่ในชีวิตประจำ�วัน ของเราแล้วผมขอยกตัวอย่างง่ายๆ ให้เห็นภาพกันสัก 2 ตัวอย่างนะครับ 60 ThaiPrint Magazine

- Passive Media : ที่ใกล้ตัวและเห็นภาพ ง่ายที่สุดคือ งาน Spot Reward ของ Tops Super Market ครับ ซึ่งคุณแม่บ้าน หรือพ่อบ้านทั้งหลายคง เคยได้ไปซื้อของที่ Super Market แห่งนี้ (ผมไม่ได้ ค่าโฆษณานะครับ) คนที่ซื้อของบ่อยๆ ก็มักจะทำ�บัตร สมาชิกของ Tops เอาไว้เผื่อได้ลดราคาหรือสะสมแต้ม เพื่อแลกของสมนาคุณอะไรบางอย่าง ถามว่า Tops ได้ อะไร คำ�ตอบคือได้ฐานข้อมูลของลูกค้าเพือ่ นำ�มาวิเคราะห์ ถึงแนวโน้มของผู้บริโภคโดยแบ่งแยกเป็นรายคนตามชื่อ และรูปแบบการจับจ่ายใช้สอยของลูกค้า เมือ่ ถึงระยะเวลา หนึ่งที่ต้องการ Campaign เพื่อกระตุ้นยอดขาย โดย สามารถทำ�ได้ตั้งแต่ช่วง Low Season ต่อไปยังช่วง High Season หรือแม้แต่การสร้าง Campaign เพื่อ กระตุ้นยอดขายตลอดทั้งปี


Variable Data Printing 2 วิธีการบริหารจัดการข้อมูลก็แค่นำ�ฐานข้อมูลจาก กลุ่มลูกค้าที่เราต้องการมาตรวจสอบ และจัดกลุ่มว่า ตลอดช่วง 3 เดือนที่ผ่านมาลูกค้ารายนั้นๆ ซื้อสินค้า อะไรบ้าง และซื้ออะไรบ่อยที่สุด ทำ�การจัดเรียงลำ�ดับ ออกมา ดูวา่ ลูกค้าให้น�้ำ หนักหรือให้ความสำ�คัญกับสินค้า อะไรบ้างไล่เรียงลำ�ดับลงมาสัก 10 ลำ�ดับ จากนั้นก็นำ� สินค้าเหล่านีม้ าจัดการสร้าง Spot Reward - Direct Mail ให้กับลูกค้า เมื่อลูกค้าได้รับเอกสารจะเกิดความรู้สึกใน แง่บวกให้กับ Tops ที่รับรู้และใส่ใจในรูปแบบการจับจ่าย ใช้สอย เพราะส่วนลดทุกอย่างที่อยู่ด้านใน เป็นสิ่งที่ ลูกค้าซื้อและใช้อยู่เป็นประจำ� จึงไม่ใช่เรื่องแปลกเลย ถ้าลูกค้าจะกลับไปที่ Tops และเลือกซื้อสินค้าเหล่านี้ อีกครั้งหนึ่ง นับว่าเป็นการสร้างการตลาดแบบ Win-Win เพราะทั้งผู้ส่งและผู้รับได้ผลลัพธ์ในแง่บวกทั้งสิ้น - Interactive Media : อาจจะยากนิดนึงสำ�หรับ คนทีไม่คนุ้ เคยนะครับ แต่เชือ่ ว่าคนไทยสมัยนีโ้ ดดเด่นใน เรื่อง Gadget กันมากทีเดียว ดังนั้นเรื่อง Web Site, Email ต่างๆ จึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป วิธีการส่ง VDP Campaign แบบ Interactive เริ่มต้นก็คล้ายๆ กับแบบ Passive Media คือ ต้องมีฐานข้อมูลซึ่งถือ เป็นพระเอกของงานประเภทนี ้ จากนัน้ นำ�ฐานข้อมูลทีผ่ า่ น การจัดกลุ่ม (Segmentation) มาทำ�เป็น Campaign และส่งผ่านทาง Email ให้กับลูกค้า เมื่อลูกค้าได้รับ Email ที่จ่าหน้าถึงตัวเองพร้อมทั้งสิ่งที่ตัวเองสนใจ จึง ไม่ใช่เรื่องยากที่จะเรียกลูกค้าให้กลับมาใช้บริการของ เราอีก ไม่ว่าจะเป็นการซื้อสินค้าหรืออื่นๆ ได้อย่าง่ายๆ และในปัจจุบันไม่เพียงแต่ Email เท่านั้น แต่ยังเพิ่มเติม ด้วย URL ของ Web site ที่สร้างมาเพื่อลูกค้าแต่ละ รายอีกด้วย ซึ่งอาจจะเริ่มต้น Workflow ง่ายๆ โดย การส่ง Personalized Email ให้กับลูกค้าที่เป็นกลุ่ม เป้าหมาย เมื่อลูกค้าเปิด Email และอ่านข้อความต่างๆ แล้ว ก็จะมี Link ที่เป็น URL ที่สร้างมาให้ลูกค้าราย นั้นๆ เพื่อ Click เข้าไปดูรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติม ได้ตรงตามความต้องการ ซึ่งเราเรียกว่า URL แบบนี้ว่า PURL หรือ Personalized URL รายละเอียดคร่าวๆ ด้านบนนีถ้ อื เป็นข้อมูลเบือ้ งต้น ให้กับท่านผู้อ่านทุกท่านได้ทราบถึงกรอบความคิดของ การทำ�งานแบบ VDP ครับ คราวนี้เรามาดูว่าการจะ ทำ�ให้ Campaign ต่างๆ ประสบความสำ�เร็จได้นั้น ต้อง มีส่วนประกอบอะไรมาเกี่ยวข้องบ้าง อย่างแรกคือ

1. Setup Goal : คือ การตั้งเป้าหมายของ Campaign ที่เราจะนำ�เสนอว่าต้องการให้อะไรกับลูกค้า ก่อน ซึ่ง Campaign ต้องมีความโดดเด่นในตัวเองและที่ สำ�คัญต้องพยายามอย่าซ้ำ�กับสิ่งที่เคยมีการนำ�เสนอไป แล้ว ผมเชื่อว่าทำ�ยากแต่ไม่เชื่อว่าเกินความสามารถครับ

Figure1. VDP Cycle

จากภาพด้านบนแสดงให้เห็นถึงวิธีการสร้าง VDP ที่เป็นรูปแบบมาตรฐานในการทำ�งาน งาน VDP จะไม่มี ค่าเลย ถ้าไม่มีกระบวนการเหล่านี้มาช่วยควบคุม เพราะ รูปแบบของงานเหล่านี้ไม่สามารถที่จะวัดผลทางความ รู้สึกได้ ต้องวัดผลออกมาเป็นตัวเลขเพื่อให้ทราบว่า Campaign หรือ Goal ที่ตั้งเป้าหมายเอาไว้มีผลลัพธ์ เป็นอย่างไร ถ้าตรงตามเป้าหมายแล้วก็ลองคิดต่อดูว่า จะทำ�อย่างไรให้เกินเป้าหมายขึ้นไปอีก แต่ถ้าไม่ตรงตาม เป้าหมายก็ต้องวิเคราะห์หาจุดอ่อนของ Campaign ว่า ทำ�ไมมันถึงไม่ Attack ตลาด ทำ�ไมมันถึงไม่สร้างแรง จูงใจบางอย่างให้กับผู้รับ ถ้าเราไม่มีกระบวนการเหล่า นี้มาควบคุม ผมว่าไม่ต้องทำ� VDP ก็ได้ครับ พิมพ์งาน แบบ Offset ไปเลยดีกว่า 2. Workflow : คือ การกำ�หนดรูปแบบในการ นำ�เสนอว่าต้องการใช้สื่อ (Media) ในรูปแบบใด วิธีการ ส่งเป็นแบบใด ซึ่งในกระบวนการนี้คือเป็นการตัดสินใจ ว่าจะเลือกใช้ Passive Media หรือ Interactive Media บางคนบอกว่าไม่อยากเลือก ไม่อยากรักพี่เสียดายน้อง ซึ่งก็เป็นเหมือนนักการตลาดหลายๆ ท่านที่มองว่าการ กำ�หนดรูปแบบของสือ่ ทีต่ ายตัวเกินไป เป็นการสร้างกรอบ ในการนำ�เสนอข้อมูลทางการตลาดให้กับลูกค้า ดังนั้น จึงเกิดการสือ่ สารอีกรูปแบบหนึง่ ทีเ่ รียกว่า Cross Media Marketing ซึ่งได้ผนวกรวมสิ่งที่ต้องการนำ�เสนอในรูป ThaiPrint Magazine 61


Print Technology ของสือ่ ไม่วา่ จะเป็นแบบเอกสาร (Print), Email, Website หรือแม้แต่ SMS ซึ่งช่องทางที่เรียกว่า Cross Media ก็คือการทำ�การตลาดแบบ VDP ที่สมบูรณ์แบบที่สุดใน ปัจจุบันนี้

Figure 2. VDP Workflow

Server ร่วมกับการใช้งาน Database ผ่าน SQL ทัง้ หมดนีเ้ ป็นเครือ่ งมือทีส่ �ำ คัญและขาดไม่ได้ในการทำ�งาน ลักษณะนี้ 3. Tracking : การทำ� VDP เป็น Database Driven Marketing ดังนั้น ความสำ�คัญของมันคือฐาน ข้อมูล การได้มาซึ่งข้อมูลที่ถูกต้องจึงเป็นสิ่งที่สำ�คัญมาก ในส่วนของงาน VDP การ Tracking หรือติดตาม ผลถือว่ามีความสำ�คัญมาก เพราะทำ�ให้เราสามารถรู้ว่า Campaign ทางการตลาดที่เรานำ�เสนอไป มีผลตอบ รับเป็นอย่างไร ลูกค้าสนใจอะไร ทั้งหมดนี้ทำ�ให้เรา นำ�ไปสร้าง Campaign ที่ตรงใจลูกค้ามากขึ้น การใช้ Software ก็เป็นส่วนที่ส�ำ คัญมากอีกส่วนหนึ่ง โปรแกรม XMPie Server มีส่วนประกอบสำ�คัญอีกส่วนหนึ่งที่เรียก ว่า Marketing Console ทีช่ ว่ ยให้นกั การตลาดทราบถึง ข้อมูลทั้งหมด เพื่อให้สร้าง Campaign ที่เข้าถึงลูกค้าใน ทุกกลุ่มได้อย่างมั่นใจ

จากภาพด้านบนจะเห็นว่า ต้องมี Resource เข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งกั บ การทำ � งานซึ่ ง แบ่ ง ออกเป็ น บุ ค คล ประกอบด้วยนักการตลาด, นักออกแบบ, นักวิเคราะห์ และวางระบบ และสุดท้ายคือฝ่าย IT ที่จะเข้ามา ช่ ว ยบริ ห ารจั ด การงานเหล่ า นี้ ใ ห้ ป ระสบความสำ � เร็ จ นอกจากบุคคลที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ ยังต้องประกอบ ด้วย Software ที่จะช่วยให้เราพัฒนาสิ่งต่างๆ เหล่านี้ให้ เป็นรูปธรรมมากขึ้น ผมขอนำ�เสนอ XMPie Software ซึ่งเป็นผู้นำ�หมายเลข 1 ของวงการ VDP ผู้ผนวกรวม รูปแบบทางความคิดด้าน VDP ที่ประกอบไปด้วย ฐาน ข้อมูล (Database), การออกแบบ (Design), การเขียน เงื่อนไขต่าง (Logic) เข้าไว้ด้วยกัน XMPie ประกอบไปด้วย 2 รูปแบบคือ - Desktop Version ที่ทำ�ให้ผู้ใช้สามารถที่จะ สร้าง Campaign ทางการตลาดแบบ Passive Media ซึง่ สามารถผนวกรวมความสามารถทีโ่ ดดเด่นของ Adobe Software Suite (Adobe Photoshop, Adobe Illustrator และ Adobe InDesign) เข้าไว้ด้วยกันอย่าง ลงตัว - Server Version ที่ผู้ใช้สามารถสร้าง Cross Media Marketing ได้อย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งในส่วนของ Server Version จะทำ�งานอยู่บน Adobe InDesign 62 ThaiPrint Magazine

Figure 3. Marketing Console จากภาพด้านบนจะเป็นการ Tracking Marketing Campaign ที่เรานำ�เสนอไปในตลาด ด้วย Software ที่ชื่อว่า Marketing Console ซึ่งจะแสดงออกในรูปแบบ ของ Chart ทำ�ให้ง่ายต่อการตรวจสอบและง่ายต่อการ อ่านข้อมูลต่างๆ ได้เป็นอย่างดี ทั้งหมดนี้คือความยอดเยี่ยมของ VDP ซึ่งผม คาดหวั ง ว่ า ท่ า นผู้ อ่ า นทุ ก ท่ า นจะสามารถทำ � ความ เข้าใจกับมันได้มากขึ้นครับ ส่วนในฉบับหน้าจะเป็น เรื่องอะไรนั้น ก็ติดตามกันต่อไปนะครับ


Print Data

ประเทศฮ่องกง เป็นศูนย์กลางการพิมพ์ของเอเชียที่ได้มาตรฐาน การยอมรับจากทั่วโลก ทั้งสหรัฐอเมริกา EU และออสเตรเลีย 9.1 Hong Kong Cluster Mapping (ดังตารางแสดงที่ 9.1) Cluster Mapping : Hong Kong ต้นน้ำ� (80.8 bn฿) เยื่อกระดาษ (0.8 bn฿) - Phoeinx, Fiber (1) กระดาษ (80.0 bn฿) - White Paper (6) - Kraft (2) - Corrugated (1) - Paper Board (1) - Paper Recycle (1) พลาสติก (0) วัสดุการพิมพ์ ลิขสิทธิ์ วรรณกรรม บรรณาธิการ

Core Business

ปลายน้ำ�

ก่อนพิมพ์ (Pre Press) ธุรกิจการพิมพ์ (Press) หลังพิมพ์(Post Press) (15 bn฿) (55.5 bn฿) (3.7 bn฿) (6 Company) (4,265 / 9 Company) (7 Company) Graphic Design (2) Offset (2) Binding (4) Digital Pre – Press (1)Gravure (0) Pop-up (1) Color Separation Screen Print (3) Die – cut (0) Plate Development (1)Digital Print (3) Coating (1) Photography (1) Flexo (1) Hot Stamp (1) (Total internet available) Paper Recycle (/0) Commercial Print (4,262/3) (23.6 bn฿) Publishing (750 / 275) (33.9 bn฿) Screen Print (NA / 293 ) NA Packaging (500 / 571) (16.2 bn฿) (Total key Account)

คลังสินค้า การขนส่ง ส่งออก ร้านหนังสือ สถาบันการ ศึกษา Export = 90%

กลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุน หมึกพิมพ์ (14) เครื่องจักร (2) เคมีภัณฑ์ ( ) supplies ( )

มีการผลิตอันทันสมัยจากต้นน้�ำ ผูผ้ ลิตเยือ่ กระดาษ ซึ่งมีมูลค่า 73,800 ล้านบาท แบ่งเป็น Commercial Printing 32% Publishing 46% Packaging 22% กระดาษมีมูลค่า 80.00 bn฿ รวมทั้งสิ้น 80.8 bn฿ มีผู้ประกอบการรายใหญ่ของเยื่อกระดาษ 1 ราย White paper 6 ราย Kraft 2 ราย Corrugated 1 ราย Paper Board 1 ราย Paper Recycle 1 ราย

Photography 1 ราย • ธุรกิจการพิมพ์ (Press) มีมูลค่ารวม 55.5 bn฿ เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ 9 บริษัท 9 บริษัท แบ่งเป็นระบบ offset 2 ราย Screenprinting 3 ราย Digital printing 3 Flexo 1 ราย • ธุรกิจหลังพิมพ์ (Post press) มีมูลค่า 3.7 bn฿ มีผู้ประกอบการรายใหญ่ 9 บริษัท แบ่งเป็น Binding 4 ราย Pop – Up 1 ราย Coating 1 ราย 9.2. ธุรกิจหลัก Core Business Hot stamp 1 ราย ทั้งหมดได้รับการเชื่อมโยงต่อยอด ธุรกิจการพิมพ์ของฮ่องกงมีมูลค่ารวม 15 bn฿ จากกลุ่มอุตสาหกรรมสนับสนุน จากอุตสาหกรรมหมึก ประกอบด้วยผู้ประกอบการรายใหญ่ 6 ราย แบ่ง เป็น พิมพ์รายใหญ่ 14 ราย จากผู้ผลิตเครื่องจักรเพื่อการ ก่อนพิมพ์ Graphic Design 2 ราย Digital พิมพ์ 2 ราย Pre Press 1 ราย Plate development 1 ราย 64 ThaiPrint Magazine


ประเทศฮ่ฮงกง เมื่อแยกตามกลุ่มธรุกิจสามารถพิจารณาจากตารางนี้ ผู้ประกอบการทั้งสิ้น (ราย)

จำ�นวนผู้ประกอบการ

มูลค่า

Commercial Print

4,262

23.6 bn฿

Publishing

750

33.9 bn฿

Packaging

500

16.2 bn฿

Diamond Model 9.2.1. Hong Kong (Commercial Printing) 9.2.1 a Demand Conditions 9.2.1. b Rivalry • Domestic - Optimal run # 5,000 100,000 โดยเฉพาะที่ 5,000 - Financial Center lead to Security Printing

9.2.1. c Factor Input

# ผู้ผลิต 4,262 Company • Pulp Removed from Market Size 73,000 MB prohibited Category of 13 Growth processing trade Key Player Printing • Paper - Negotiation Power on Paper Cost - นำ�เข้ากระดาษราคาถูก จากต่างประเทศ • Internationalization Scale สัดส่วน % Value • HR – Education - Export = 90 % Large Hong Kong Printing Value Export ฿ = Medium Industry worker Union 69,440 MB Small Hong Kong Printing US 36 %, EU 22.4% Resources Center Ltd. UK 11.6%, China 13% Printing & Printing - Import Value import = Equipment Industries 8,610 MB Association of China US = 12 % Printing Industry 70% Direct order from Training Center Oversea branch • Investment

9.2.1. d Supporting Related Industry • Ink • Machine Automatic Printing Machine Computerized Printing Production Management Systems • IT E – based Printing • Industrial Estate/Zone • Association Hong Kong Printing Industry Worker Union Hong Kong Printer Association Graphic Art Association of Hong Kong Institute of Print – Media Professional • Logistics

ThaiPrint Magazine 65


Print Data 9.2.1 Diamond Model Commercial Printing of Hong Kong (ดังตารางแสดงที่ 9.2.1) 9.2.1a Demand Condition - Domestic • ตลาดในประเทศ มีขนาด 73,800 ล้านบาท เติบโตปีละ 13% เป็น Commercial Print 23,600 ล้านบาท เมือ่ พิจารณาในรายละเอียด ฮ่องกงมีผปู้ ระกอบ การพิมพิ์ 4,262 ส่วนใหญ่จะเน้นการส่งออกกว่า 90% • จำ�นวนการพิมพ์ที่เหมาะสมของฮ่องกงอยู่ที่ จำ�นวน 5,000 - 100,000 ฉบับ โดยเฉพาะที่จ�ำ นวน 5,000 ฉบับ • การเป็นศูนย์กลางการพิมพ์ทส่ี �ำ คัญ ทำ�ให้ฮอ่ งกง มีมาตรฐานการรักษาความปลอดภัยที่ดี • ฮ่องกงมีกฏหมายปกป้องลิขสิทธิ์ทางปัญญาที่ เข้มงวดเอื้อต่อการรับงานพิมพ์ - International • ตลาดต่างประเทศตลาดส่งออกใหญ่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (36%) EU (22.4%) จีน (13%) อังกฤษ (11.6%) อย่างไรก็ดี ฮ่องกงก็น�ำ เข้าสิง่ พิมพ์จ�ำ นวนมูลค่า 8.61 Bn฿ แหล่งนำ�เข้าใหญ่คือ สหรัฐ (12%) 9.2.1b Rivalry & Competition นวัตกรรมการพิมพ์ของฮ่องกง ฮ่องกงได้ นำ�นวัตกรรมการใช้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการพิมพ์สู่ระดับ World – Class ได้แก่การพิมพ์ 5 ถึง 7 สี ลงบนปฏิทิน 3 มิติ การใช้หมึกพิมพ์กลิ่นต่างๆ ที่หอม การพิมพ์ Holography เพื่อการพิมพ์ภาพ 3 มิติ การใช้ระบบทำ� เพลทที่ปราศจากสารเคมี ผู้พิมพ์รายใหญ่ได้แก่ Oxford University Press, Longman and Macmillan. 9.2.1c FactorsInput • รั ฐ บาลได้ ย กเลิ ก ข้ อ ห้ า มการนำ � เข้ า กระดาษ ของฮ่องกง • การพิมพ์จำ�นวนมากทำ�ให้ฮ่องกงสามารถต่อ รองราคาได้ • การมีบุคลากรที่ได้รับการฝึกสอนจากสถาบัน ชั้นนำ� เช่น Hong Kong Printing Industry worker Union, Hong Kong Printing Resources Center Ltd., Printing & Printing Equipment Industries Association of China, Printing Industry Training Center 66 ThaiPrint Magazine

• การเป็นแหล่งสำ�คัญทางการเงินของเอเชีย • นวัตกรรมการพิมพ์สมัยใหม่ ทั้ง 3 มิติ หมึก กลิ่นหอมแบบต่างๆ • อุตสาหกรรมการพิมพ์ใหญ่เป็นอันดับสามของ ประเทศคือมีผลผลิตถึง 115.5 Bn฿ มีอัตราการเติบโต ประมาณ 6% และใหญ่เป็นอันดับสองถึงพิจารณาด้าน การจ้างแรงงาน (44,000 คน) • สิ่งที่เอื้อต่ออุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ฮ่องกง ได้แก่ ระบบโครงสร้างพื้นฐานทางโทรคมนาคมมีการลงทุน ทางอุปกรณ์เครือ่ งจักรการพิมพ์อตั โนมัติ โดยใช้การควบคุม บริหารการผลิตโดยคอมพิวเตอร์ 9.2.1d Supporting & Related Industry • เครือ่ งจักรอุปกรณ์การพิมพ์ระบบคอมพิวเตอร์ ทันสมัย • ระบบ IT ที่ก้าวหน้า เอื้อต่อการพิมพ์ • การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลการพิมพ์ • ภาครัฐได้มอบหมายให้ Hong Kong Printer Association, Institute of Printing – Media Professional, Hong Kong Printing & Printing Equipment Industries Association of China, Graphic Art Association of Hong Kong เพื่อ จัดตัง้ เวิรค์ ชอปด้านทดสอบ และวิเคราะห์พร้อมทัง้ ให้บริการ อบรมเป็นที่ปรึกษาทางเทคนิค เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี การพิมพ์ชั้นสูงสู่ผู้ประกอบการท้องถิ่น 9.2.1e Government Policies Gout & Graphic Art Association set testing & analytical workshop for tools, Materials, equipment of printing • การพิมพ์โปสเตอร์โพลีเอสเตอร์และไหม การ พัฒนาการบุคคลากรของฮ่องกง เพื่อสนับสนุนคุณภาพ การพิมพ์ได้รับความช่วยเหลือจากฮ่องกง เพื่อสนับสนุน คุณภาพการพิมพ์ได้รบั ความช่วยเหลือจาก สมาคม/สถาบัน Hong Kong Printing & Printing Equipment Industries Association of China, Printing Industry Training Center และมีการตั้งสหภาพแรงงาน Hong Kong Printing Industry Worker Union, Hong Kong Printer Association, Graphic Art Association of Hong Kong และ Institute of Print – Media Professional


ประเทศฮ่ฮงกง

Diamond Model 9.2.1. Hong Kong (Commercial Printing) 9.2.2. a Demand • Domestic

• Internationalization

9.2.2. b Rivalry

9.2.2. c Factor Input

9.2.2. d Supporting Conditions

# ผู้ผลิต 50 Newspaper, 700 Magazines Export 214,032,000 HKD Key Player Publishing

• Pulp

• Ink

• Paper

• Machine

• HR – Education

• IT

• Investment

• Industrial Estate / Zone

Structure Scale สัดส่วน % Value Large Medium Small

• Association • Logistics

Government Policies

9.2.2. Diamond Model Publishing of Hong Kong (ดังตารางแสดงที่ 9.2.2.) 9.2.2.a Demand Conditions ขนาดตลาด รวม 33,000 ล้านบาท มีเสรีภาพทางการพิมพ์ • ฮ่องกงถือเป็น คลัสเตอร์ด้านการพิมพ์และสื่อ สิ่งพิมพ์ที่โดดเด่นใหญ่เป็นอันดับที่สี่ของโลก ในฮ่องกง มีหนังสือพิมพ์ ชั้นนำ� 44 หัว นิตยสารชั้นนำ� 108 หัว องค์กรสื่อนานาชาติ 140 องค์กร และมีส�ำ นักพิมพ์ ขนาดใหญ่กว่า 200 แห่ง • ฮ่องกงมีความเหมาะสมทางโลจิสติคส์จากทำ�เล ทางยุทธศาสตร์มเี ครือข่ายการขนส่งโทรคมนาคม รัฐบาล ให้เสรีภาพแค่สื่อสิ่งพิมพ์ Internationalization ส่วนธุรกิจ สื่อสิ่งพิมพ์นั้น การได้รับมอบหมายจากสำ�นักพิมพ์ระดับ โลก เช่น Oxford University Press, Longman and Macmillan’s, Walt Disney, Penguin, Reader’s Digest, Hallmark Cards

9.2.2.b Rivalry & Competition • การพิมพ์ภาษาจีนอาศัยฮ่องกงเป็นแหล่งพิมพ์ สื่อสิ่งพิมพ์ภาษาจีนที่ส่งไปยัง จีน ไต้หวัน สิงคโปร์ และชุมชนจีนที่กระจายอยู่ทั่วโลก จีนจะส่งสื่อการพิมพ์ ที่หวงห้ามผ่านฮ่องกง รองจากญี่ปุ่นสำ�นักพิมพ์ต่างชาติ ที่เข้าไปถึงฮ่องกง เช่น Oxford University Press, Longman, Reader’s Digest, Macmillan ได้ตั้งฐาน การผลิต ทำ�การตลาด และจัดจำ�หน่ายหนังสือต่างๆ ผ่านฮ่องกง และบริษัทลูกทั่วประเทศหลายปีที่ผ่านมาได้ มีการนำ�หนังสือต่างประเทศมาแปลเป็นภาษาจีน เช่น หนังสือหลักการบริหาร การเงิน การปรับปรุงตัวเองรวม ทัง้ หนังสือการ์ตนู ญีป่ นุ่ และนวนิยายยอดนิยม โดยเฉพาะ ที่ทำ�จากภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ที่ได้รับความนิยม • นอกจากการพิมพ์แล้วยังทำ� CD ROM อันเป็น ฟอร์แม็ทที่สามารถเก็บรักษาได้ง่าย ค้นหาข้อมูลต่างๆ สะดวกขึ้ น เป็ น สื่ อ การเรี ย นใหม่ สำ � หรั บ สถาบั น ศึ ก ษา และการอ้างอิง

ThaiPrint Magazine 67


Print Data

• ตลาดส่งออกของฮ่องกงนัน้ แบ่งออกเป็น Export และ Re - Export มีอัตราเติบโตประมาณปีละ 18% แต่ตวั เลขนีค้ าดว่าจะลดลง เพราะปัจจุบนั ผูป้ ระกอบการ ได้ย้ายฐานเข้าไปอยู่ในจีน ฮ่องกงได้ส่งออกไปยังสหรัฐ อังกฤษ และจีน เป็นจำ�นวนถึง 66% ของการส่งออก ทั้งหมด (ในจำ�นวนนี้ 35% เป็นของสหรัฐมีอัตราเติบโต 21% เป็นของ EU 10% และของจีนประมาณ 4%) อันดับสี่ ห้า และหก ได้แก่ ไต้หวัน ญี่ปุ่น และประเทศ ใน ASEAN ตามลำ�ดับ มองในแง่ผซู้ อ้ื สหรัฐนำ�เข้า สิ่งพิมพ์จากฮ่องกงเป็นอันดับสามของประเทศ จีนนำ�เข้า จากฮ่องกงเป็นอันดับที่สอง ในขณะที่ไต้หวันนำ�เข้าจาก ฮ่องกงเป็นอันดับสามของประเทศ • จุดเด่นของการพิมพ์ฮ่องกง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่ ลูกค้าสมัยใหญ่ต้องการ ได้แก่ คุณภาพ การส่งมอบที่ รวดเร็วราคาที่แข่งขันได้และความสามารถในการรับงาน เร่งด่วน แง่คุณภาพนั้นการพิมพ์ของฮ่องกงสามารถใน การรับงานเร่งด่วนแง่คุณภาพนั้น การพิมพ์ของฮ่องกง สามารถเทียบได้กับสหรัฐอเมริกา เยอรมัน และญี่ปุ่น ทัง้ นีเ้ พราะได้มกี ารลงทุนสัง่ อุปกรณ์ เครือ่ งจักรเทคโนโลยี นำ�สมัยเข้ามาใช้ ไม่ว่าจะเป็น Laser setter, Electronic 68 ThaiPrint Magazine

Color Scanner, Electronic Page - Composing, Digital Printer, Automatic Finishing System รวมทั้งเครื่องพิมพ์ 5 สี ภาคการผลิตกระดาษ • ตลาดกระดาษของฮ่องกงค่อนข้างจะมีขนาด เล็กลงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา อันมีสาเหตุจาก - ขบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้นเป็น การปรับตัวให้รับมือได้กับรับราคากระดาษที่พุ่งสูงขึ้นใน ปี 1995 ผู้พิมพ์ท้องถิ่นได้ลงทุนในเทคนิคการพิมพ์ใหม่ โดยใช้เครื่องพิมพ์ที่มีการสูญเสียน้อยลง - การเพิ่มของ Re - Export ไปยังจีนทำ�ให้ช่วง สิบปีที่ผ่านมาผู้ประกอบการฮ่องกงย้ายฐานการพิมพ์ เข้าไปในจีนแผ่นดินใหญ่ • ทำ � ให้ ฮ่ อ งกงต้ อ งนำ � นวั ต กรรมแปลกใหม่ ม า ใช้เพื่อสร้างจุดแตกต่าง ได้แก่ หนังสือเด็กที่สามารถฟัง และพูดได้ตอบได้ • การผลิ ต ของเล่ น เด็ ก ที่ อ่ อ นนุ่ ม ไว้ ใ นหนั ง สื อ การใช้กระดาษสังเคราะห์ (Synthetic paper) ที่เพิ่ม คุณภาพความสวยงาม • การลดสารเคมีที่ใช้ล้างขบวนการพิมพ์โดยใช้ หมึกพิมพ์ UV และหมึกจากผลผลิตของถั่ว


Print News

ฟูจิซีร๊อกซ์ เปิด Home & Hill Resort สนับสนุนเลือกตั้ง กรรมการ Young Printer Group สร้างตัวแทนรุน่ เล็กสานงานสมาคม

เมื่อวันเสาร์ที่ 15 และวันอาทิตย์ที่ 16 มกราคม 2554 บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด พร้อมสมาคม การพิมพ์ไทยจัดกิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group วาระปี 2553-2555 เพื่อเป็นตัวแทนทำ�งาน สร้างสรรค์กิจกรรมดีมีประโยชน์ในกับเพื่อนพ้องน้องกลุ่มเครือข่าย Young Printer นอกเหนือจากกิจกรรมแรลลีภายใน Home & Hill Resort จังหวัดนครนายก ฟูจิซีร๊อกซ์ ยังใจดีเปิดศูนย์ DSC ให้สมาชิกได้เยี่ยมชม ณ อาคาร Sun Tower

เสื้อ exclusive กิจกรรมจากฟูจิซีร็อกซ์ 82 ThaiPrint Magazine


ฟูจิซีร็อกซ์

กิจกรรมภายในห้อง DSC (Document solution center)

แบ่งกลุ่มกิจกรรมแรลลี

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย

กิจกรรมสานสัมพันธ์ ThaiPrint Magazine 83


Print News

ตำ�แหน่งคณะกรรมการ Young Printer ลำ�ดับ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

ชื่อ - นามสกุล คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ คุณคมสันต์ ชุนเจริญ คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ คุณวีระยุทธ อมรเธียร คุณวรรณวิสา สุทธาธิกุลชัย คุณณัฐพงศ์ อนันตบวรวุฒิ คุณธวัลรัตน์ อัครวัฒนวงศ์ คุณทิพย์นารี วงศ์ทวีเกียรติ คุณกรัณฑรัตน์ อรัณยะนาด คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณปิยะอร ธนกิจสัมพันธ์ คุณมานพ เตียวแสงสุข คุณธัญญวัฒน์ เตวชิระ คุณอรรถวัต เตโชตานนท์ คุณประพันธ์ หล่อยืนยง คุณณัฐชัย เตชะวิเชียร คุณภานุพงศ์ เหรียญกนกกุล คุณกุลเชษฐ์ ศิริมานะพงษ์ คุณปรีดี เพิ่มทวีสุข คุณวุฒิไกร สมรรถกิจวณิช คุณจุติพันธุ์ มงคลสุธ ี คุณวริษฐา สิมะชัย คุณจิรรัตน์ ดารารัตนโรจน์ คุณณรัล วิวรรธนาไกร คุณพชร จงกมานนท์

84 ThaiPrint Magazine

บริษัท พี.รุ่งโรจน์การพิมพ์ พงศ์พัฒน์การพิมพ์ สุพรชัยไดคัท แสงศิลป์การพิมพ์ ด่านสุทธาการพิมพ์ แจ็ส เพอ-พริ้น เพาเวอร์พริ้นท์ วี.เจ.พริ้นติ้ง สกรีนซัพพลาย เปเปอร์แลนด์ บี.บี.การพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ เอส.พี.เค ออฟเซ็ท แอน เซอร์วิส ดี.เค.ปริ้นติ้งเวิลด์ เอ็ม พี ลักก์ ยูวี เอส.ออฟเซ็ท กราฟฟิคดีไซน์ ราชาการพิมพ์ โอเชี่ยนฟิล์ม เพรสทีจ พริ้นติ้ง ปากน้ำ�ออฟเซ็ท อีเล็ฟแว่นคัลเลอร์ส เอส เอส ฟิล์มโปรเซส ทีเคเอส เทคโนโลยี ก.การพิมพ์เทียนกวง สตาร์เปเปอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล ไซเบอร์พริ้นท์ อุดมศึกษา

ตำ�แหน่ง ประธาน รองประธานที่ 1 รองประธานที่ 2 นายทะเบียน นายทะเบียน เหรัญญิก เลขาธิการ เลขาธิการ เลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม ปฏิคม ปฏิคม ปฏิคม วิชาการ วิชาการ วิชาการ วิชาการ วิชาการ กิจกรรมพิเศษ กิจกรรมพิเศษ กิจกรรมพิเศษ กิจกรรมพิเศษ


Print Exclusive

บรรจุภัณฑ์สร้างอนาคต SMEs ไทย

การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เป็นเรื่องของศิลป์ วิทยาศารตร์ จิตวิทยา กลยุทธทางการตลาด นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต ดังนั้น การออกแบบและ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ต้องคำ�นึงถึงปัจจัย ดังต่อไปนี้

86 ThaiPrint Magazine


บรรจุภัณฑ์สร้างอนาคต

1 ปัจจัยและอิทธิพลทางสังคม (Social and Culture Influence) ความเชื่อ ความศรัทธา ลัทธิ ศาสนา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่น ความเป็นชาตินิยม ข้อกำ�หนดกฎหมาย ฯลฯ เป็นปัจจัยสำ�คัญในการออกแบบ และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของแต่ละเขตเศรษฐกิจ เช่น ภายในตำ�บลอำ�เภอจังหวัดประเทศ กลุ่มประเทศหรือภูมิภาคต่างๆ ในโลก SMEs ไทย จึงต้องพิจารณาขอบเขตของการตลาดทีจ่ ะขายสินค้าว่าจะขายในพืน้ ทีไ่ หนขนาดกว้างใหญ่เพียงใด และจะต้องออกแบบ และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของพื้นที่นั้นๆ ในขณะเดียวกันบรรจุภัณฑ์ต้องออกแบบและพัฒนา ให้ใหม่ แปลก ไม่จำ�เจ เพื่อสามารถตอบสนองต่อความต้องการของคนรุ่นใหม่ ในยุคสื่อสารไร้พรมแดนได้ตลอดเวลา

>> ตัวอย่างประเทศญี่ปุ่น

ThaiPrint Magazine 87


Print Exclusive

2 ปัจจัยและอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในการผลิต (Innovations and Technologies Influence) ปัจจุบันนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตบรรจุภัณฑ์ได้ก้าวหน้าทันสมัยไปเป็นอันมากตั้งแต่กระบวนการ ผลิตต้นน้ำ�ถึงปลายน้ำ�บรรจุภัณฑ์คุณภาพสูงแตกต่างและแปลกใหม่ได้ถูกผลิตออกมาใช้งานอย่างกว้างขวางในทุกๆ กลุ่มสินค้า ดังนั้น หาก SMEs ไทย ไม่ปรับตัวยังคงใช้บรรจุภัณฑ์คุณภาพต่�ำ แบบเดิมๆ จะขาดความยอมรับและ เชื่อมั่นจากผู้ซื้อ และไม่สามารถแข่งขันในตลาดปัจจุบันได้ไม่ว่าจะเป็นตลาดท้องถิ่นภายในประเทศและต่างประเทศ เช่น ผู้ประกอบการข้ามชาติที่มาลงทุนในประเทศไทย และผู้ประกอบการในต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน ออสเตรเลีย สิงคโปร์ สหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศในทวีปยุโรป ฯลฯ

88 ThaiPrint Magazine


บรรจุภัณฑ์สร้างอนาคต

3 ปัจจัยและอิทธิพลทางด้านเศรษฐกิจ (Economics Influence) SMEs ไทย ต้องทราบถึงขอบเขตเศรษฐกิจที่ท่านจะค้าขายด้วยว่า จะค้าขายภายใน

ท้องถิ่นในประเทศ หรือต่างประเทศ

โดยเฉพาะตลาดต่างประเทศท่านต้องออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ให้ตรงกับความนิยม ความต้องการ ของประเทศนั้นๆ ปัจจุบัน The World Economic Forum (WEF) ได้แบ่งกลุ่มประเทศที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โลก ออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้ 3.1 กลุ่มขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยปัจจัยการผลิต (Factor Driven Economics) มุ่งเน้นการผลิตจำ�นวนมาก ราคาถูก เช่น อินเดีย จีน เวียตนาม อินโดนีเซีย ศรีลังกา ปากีสถาน ฯลฯ คุณภาพบรรจุภัณฑ์ที่จะใส่สินค้า ไปขายในกลุ่มประเทศเหล่านี้ควรมีคุณภาพปานกลาง เน้นราคาถูก 3.2 กลุ่มขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยประสิทธิภาพในการผลิต (Efficiency Driven Economics) มุ่งเน้น คุณภาพ และประสิทธิภาพในการผลิตสินค้าลดความสูญเสีย เช่น ไทย มาเลเซีย บราซิล อาร์เจนตินา เม็กซิโก ฯลฯ บรรจุภัณฑ์ที่จะใส่สินค้าไปขายในกลุ่มประเทศเหล่านี้ต้องมีคุณภาพดีราคาสูงก็ต้องสู้ 3.3 กลุ่มขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ (Innovation and Creation Driven Economics) เช่น สิงคโปร์ ญี่ปุ่น เกาหลี ใต้หวัน กลุ่มประเทศในทวีปยุโรป สหรัฐอเมริกา ฯลฯ บรรจุภัณฑ์ที่จะใส่ สินค้าไปขายในกลุม่ ประเทศเหล่านีต้ อ้ งมีคณ ุ ภาพดีถงึ ดีมาก และส่วนใหญ่ตอ้ งเป็นบรรจุภณ ั ฑ์ทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ซึ่งท่านต้องศึกษาเรื่องกฎข้อบังคับของในแต่ละประเทศด้วยมุ่งเน้นนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ในการผลิต สินค้า เน้นความเป็นสินค้าไฮเทคเทคโนโลยีทันสมัย แปลกใหม่

ThaiPrint Magazine 89


Print Exclusive

4 ปัจจัยและอิทธิพลเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อมและ ความยั่งยืนของ เศรษฐกิจ Environmental Friendly and Sustainability Influence ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนใน การทำ�ธุรกิจเป็นเรื่องตื่นตัว และตระหนักถึงของประชาชนทุก ประเทศทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วจะยิ่งให้ความสำ�คัญมากยิ่งๆ ขึ้นไปอีก เช่น ประเทศ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงค์โปร์ ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศในยุโรป ฉะนั้น SMEs ไทย ต้องออกแบบและ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ ที่สามารถตอบโจทย์ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนของเศรษฐกิจได้ เช่น - การลดมลพิษในการผลิต (Reduce Pollution) - การลดความสูญเสียในกระบวนการผลิต (Reduce Waste) - การลดการใช้วัตถุดิบและพลังงาน (Reduce Raw-materials and Energy)

- การใช้วตั ถุดบิ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และวัตถุดบิ รีไซเคิล (Use Environmental Friendly and Recycle Raw-materials)

- การใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ (Reuse and Refillable) - การใช้บรรจุภัณฑ์ใหม่ที่สามารถใช้ชิ้น ส่วนจากบรรจุภัณฑ์เก่าได้ (Remanufacture) - บรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้วกำ�จัดได้ง่ายหรือสามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ (Disposable) ฉะนั้น การอออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์จึงเป็นส่วนหนึ่งของกลยุทธทางการตลาดที่มีความสำ�คัญไม่น้อย ไปกว่าการคิดค้น และพัฒนาตัวสินค้าของ SMEs ไทย ซึ่งมีความจำ�เป็นต้องพัฒนาทั้งสองอย่างควบคู่กันไปอย่าง ต่อเนื่อง

การสร้างความศรัทธาให้กับผลิตภัณฑ์ (Brand Integrity)

1. สร้างตราหรือสัญญาลักษณ์ (Logo) 2. กำ�หนดสีสัน (Color) 3. การกำ�หนดรูปแบบ (Design) 4. กำ�หนดคำ�ขวัญ (Slogan) เพือ่ ให้สามารถแสดงออกถึงภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์และการบริการนัน้ ๆ (Image) และนำ�มาซึง่ ความไว้วางใจ ในตัวสินค้าและบริการ (Trust worthiness) ที่ฝังแนบแน่นติดตัวมากับตัวสินค้าและบริการ (Inherent) การสรางการจดจําตราสินคา

(Brand Identity)

การสื่อสารภาพลัก ษณของตราสินคา (Brand Communication)

การสรางตํานานของตราสินคา (Brand Heritage)

การวิเคราะหแนวโนมของธุรกิจ (Business Trend Analysis)

การสํารวจความตองการของผูซื้อ (Consumer Research)

การสรางบุคคลิกภาพของตราสินคา (Brand Personality)

การสรางหรือออกแบบธุรกิจ และตรา สินคาสําหรับประเทศที่เจริญแลว

การสรางตัวแทนของตราสินคา (Brand Representative)

(Business & Brand Design)

แกนแทและหัวใจของตราสินคา (Brand Essence)

การวิเคราะหความตองการของตลาด (Consumption Analysis)

การวิเคราะหตราสินคา (Brand Analysis)

การวางแผนและคาดการณลวงหนา (Business Plan and Forecasting) การขยายและแผยแพรตราสินคา (Brand Extension)

90 ThaiPrint Magazine

ความนิ่งของตราสินคา(Brand Consistency)


บรรจุภัณฑ์สร้างอนาคต

การสร้างหรือออกแบบธุรกิจ และตราสินค้าสำ�หรับ ประเทศที่เจริญแล้ว (Business & Brand Design)

1. การสร้างการจดจำ�ตราสินค้า (Brand Identity) 2. การสร้างตำ�นานของตราสินค้า (Brand Heritage) 3. การสร้างบุคคลิกภาพของตราสินค้า (Brand Personality) 4. การสร้างตัวแทนของตราสินค้า (Brand Representative) 5. แก่นแท้และหัวใจของตราสินค้า (Brand Essence) 6. การวิเคราะห์ตราสินค้า (Brand Analysis) 7. ความนิ่งของตราสินค้า (Brand Consistency) 8. การขยายและแผยแพร่ตราสินค้า (Brand Extension) 9. การวางแผนและคาดการณ์ล่วงหน้า (Business Plan and Forecasting) 10. การวิเคราะห์ความต้องการของตลาด (Consumption Analysis) 11. การสำ�รวจความต้องการของผู้ซื้อ (Consumer Research) 12. การวิเคราะห์แนวโน้มของธุรกิจ (Business Trend Analysis) 13. การสื่อสารภาพลักษณ์ของตราสินค้า (Brand Communication)

การสร้างการจดจำ�ตราหรือสัญลักษณ์สินค้า (Brand Identity)

ThaiPrint Magazine 91


Print Exclusive

ความอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในโลกนี้ไม่ใช่เกิดจากความแข็งแรงที่สุด แต่เกิดจากความสามารถในการปรับตัวเข้ากับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น (It is not the strongest of the species that survives, But the one most adaptable to Change) เช่นเดียวกันกับความอยู่รอดของธุรกิจ SMEs ไทย ไม่จำ�เป็นต้องเป็นองค์กรใหญ่สุด หรือแข็งแรงที่สุด แต่จะต้องเป็นองค์กรที่สามารถปรับตัว และผสมผสานเข้ากับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในยุคโลกาภิวัฒน์

Charles Darwin เพื่อให้เป็นที่ยอมรับของลูกค้า และยังเป็นการพัฒนาธุรกิจ SMEs ไทย ให้มีศักยภาพและขีดความสามารถ ในการแข่งขันทั้งตลาดภายในประเทศ และต่างประเทศได้อย่างยั่งยืน

92 ThaiPrint Magazine


บรรจุภัณฑ์สร้างอนาคต

>> ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ประเทศญี่ปุ่น

>> ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ประเทศอาหรับ

ThaiPrint Magazine 93


Print Exclusive

>> ตัวอย่างผลิตภัณฑ์โซนยุโรป

>> ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ประเทศอเมริกา

94 ThaiPrint Magazine


Young Printer

คุณ ธัญญวัฒน์ เตวชิระ บริษัท เอ็ม พี ลักก์ ยูวี

อยากจะให้แนะนำ�ตัวเองสั้นๆ ก่อนจะถามคำ�ถาม ต่อไป ผม “ธัญญวัฒน์ เตวชิระ” ชื่อเล่นชื่อ “เอ” เป็นลูกชายคนโตครับ ประวัติการศึกษา เรียนที่ไหน เลือกเรียนคณะ อะไร เพราะอะไร จบการศึ ก ษาชั้ น มั ธ ยมที่ โ รงเรี ย นสวน กุ ห ลาบวิ ท ยาลั ย และได้ เ ข้ า ศึ ก ษาต่ อ ระดั บ ปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ คณะ พาณิชยศาสตร์และการบัญชีเอกบริหารการ เงิน หลังจากจบการศึกษาก็ได้มีโอกาสเข้า ทำ�งานทางด้านการเงินที่บริษัทเงินทุนทิสโก้ เป็นเวลาสองปี (ตอนนี้เปลี่ยนเป็นธนาคาร ทิสโก้แล้วครับ) ก่อนที่จะไปศึกษาต่อระดับ ปริญญาโท ด้าน MBA Concentration Finance ทีม่ หาวิทยาลัย California State University, Long Beach ประเทศสหรัฐ อเมริกาทีผ่ มเลือกเรียนสาขาการเงินทัง้ ปริญญาตรี และปริญญาโทก็เพราะคิดว่าการลงทุนนั้นมี ความสำ�คัญมากเพราะปัจจุบันอัตราดอกเบี้ย เงินฝากประจำ�อยู่ที่ประมาณ 2% แต่อัตรา เงินเฟ้อสูงถึง 3-5% (จริงๆ น่าจะสูงกว่านี้ ด้วยซ้ำ�) ถ้าหากเราไม่คิดหาวิธีการลงทุนเพื่อ ให้เงินสามารถทำ�รายได้ให้เราอยู่สม่ำ�เสมอ ค่าของเงินที่เรามีอยู่ก็จะค่อยๆ ลดน้อยลงไป เรื่อยๆ ครับ ตอนนี้ยังโสดอยู่หรือมีครอบครัวแล้ว ยังไม่ได้มีครอบครัวเป็นของตัวเองครับ ตอนนี้อาศัยอยู่กับคุณพ่อและคุณแม่ ^^

96 ThaiPrint Magazine


ธัญญวัฒน์ เตวชิระ มีกิจกรรมอะไรบ้างกับครอบครัวที่ท�ำ เป็นประจำ� ผมทำ � งานวั น เสาร์ ด้ ว ยจะ มีเวลาว่างพร้อมครอบครัวก็เห็นจะ มีแต่วันอาทิตย์ครับส่วนมากก็ออก ไปกินข้าวเย็นด้วยกันนั่งคุยกันเรื่อง ธุรกิจบ้าง การลงทุนบ้าง ถ้าอาทิตย์ ไหนมีวนั หยุดหลายวันก็ไปต่างจังหวัด กันบ้างแล้วแต่โอกาสครับ

อยากให้เล่าถึงความเป็นมาของกิจการ เอ็ม พี ลักก์ ยูวี เริ่มแรกก็มาจากคุณพ่อและ คุณแม่ก่อตั้งบริษัท สยามยูวี จำ�กัด เมือ่ ปี 2529 โดยเปิดให้บริการเคลือบ เงาสิ่งพิมพ์ แต่ตอนนั้นเครื่องจักรมี จำ�นวนไม่มากจึงสามารถรับงานลูกค้า ที่เข้ามาได้อย่างจำ�กัดจึงลงทุนร่วม กับญาติซอ้ื กิจการบริษทั เอ็ม พี ลักก์ ยูวี เมื่อปี 2531 แรกเริ่มก็มีแค่การ

เคลื อบยู วีขั ด เงาปั๊ ม ลายภายหลั ง ก็ ค่อยๆ เพิม่ สายการผลิตขึน้ มาเรือ่ ยๆ เช่น เคลือบพลาสติก เคลือบวอเตอร์ เบส เคลือบยูวีเฉพาะจุด และปั๊ม ฟอยล์-ทองเค และในอนาคตคิดว่า ทางบริษัทก็จะมีการขยายกำ�ลังการ ผลิต และเพิม่ สายการผลิตเพือ่ เตรียม ความพร้อมสำ�หรับการแข่งขันทีส่ งู ขึน้ ในอนาคต

ThaiPrint Magazine 97


Young Printer ปัจจุบันบทบาทและหน้าที่รับผิดชอบ กับงานธุรกิจการพิมพ์มีอะไรบ้าง ปั จ จุ บั น ผมดำ � รงตำ � แหน่ ง ผู้จัดการทั่วไปหลักๆ ที่ผมทำ�ก็คือ พยายามที่ จ ะเอาความรู้ ที่ เ รี ย นนำ � มาประยุกต์ใช้ในองค์กรเริ่มจากการ คิ ด ว่ า ถ้ า เราเป็ น ลู ก ค้ า เราต้ อ งการ ให้ เอ็ม พี ลักก์ พัฒนาด้านไหนบ้าง ปรั บ ปรุ ง ตรงไหนบ้ า งโดยใช้ ข้ อ มู ล ที่ได้โดยตรงจากลูกค้ามาประกอบ แล้วก็หาทางเติมเต็มส่วนนี้เพื่อสร้าง ความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า

อะไรเป็นสาเหตุทท่ี �ำ ให้ตดั สินใจเข้ามาช่วย ธุรกิจของครอบครัว ผมจบบริหารธุรกิจมา ตอนนัน้ ช่วงที่จบใหม่ๆ รู้สึกว่าตัวเองมีความ รู้เยอะมาก (ฮาๆๆ ไม่ขนาดนั้น หรอกครับ) เลยอยากที่จะเอาความ รู้ ต รงนั้ น มาพั ฒ นากิ จ การให้ เ ป็ น

98 ThaiPrint Magazine

ระบบและเติบโตต่อไป แต่พอเข้ามา ทำ�จริง รู้เลยว่าไม่ง่าย สิ่งสำ�คัญที่สุด คือ “Know How” รู้จริงในธุรกิจ ที่ทำ� ถ้าไม่รู้ ยังไงก็ไม่รอด ความรู้ ที่ เ รี ย นมาเป็ น แค่ ส่ ว นประกอบที่ ทำ�ให้ธุรกิจมีความแข็งแกร่งขึ้น


ธัญญวัฒน์ เตวชิระ ระดับความยากง่ายของแต่ละงานที่เรา มีความรับผิดชอบนั้นเป็นยังไงบ้าง ที่บริษัท ผมทำ�หลายอย่าง ไม่ ได้มงี านทีต่ อ้ งทำ�ประจำ�ทุกวัน บางที ก็ไปช่วยงานนั้น บางทีก็มาช่วยงาน นี้ ยากง่ายผสมกันไป แต่ผมมองว่า งานยิ่งยาก มันก็ยิ่งทำ�ให้เราเรียนรู้ ยิ่งรู้มากเท่าไร เราก็ยิ่งเก่ง

เมื่อเข้ามาช่วยธุรกิจของครอบครัว แล้วมีความรู้สึกยังไงบ้าง? ต้องบอกว่าผมประทับใจมาก นะครับ เพราะก่อนเข้ามาช่วยที่นี่ ผมแทบจะไม่เคยเข้ามาที่บริษัทเลย ทำ�ให้ไม่รู้เลยว่าบริษัทตอนนี้เติบโต ไปแค่ไหน ระบบการบริหารจัดการ เป็นอย่างไร แต่พอได้เข้ามาก็รู้ว่า บริ ษั ท ได้ รั บ มาตรฐานการรั บ รอง ISO 9001: 2009 ทุกอย่างมีระบบ การจัดการที่ดีกว่าที่เคยคิดไว้มาก

อุ ป สรรค์ ที่ เ กิ ด ขึ้ นกั บ งานมี อ ะไรบ้ า ง และเรามีวิธีแก้ไขอย่างไรถึงให้ผ่านพ้น ไปได้? ผมจะเป็นคนมองโลกในแง่ดี เสมอครับ ดังนั้นเวลามีปัญหาผ่าน เข้ามา ผมมักจะมองว่าปัญหาต่างๆ มีทางแก้ไขได้อยู่แล้ว แค่ตั้งสติให้ดี อย่าคิดแต่ว่าเราเจอปัญหา ลองมอง ถอยออกมาซักหน่อย แล้วเราก็จะ เห็นภาพกว้าง รวมถึงวิธีทางแก้

ThaiPrint Magazine 99


Young Printer แนวความคิ ด ของการบริ ห ารธุ ร กิ จ เป็นอย่างไรและมีความแตกต่างกับรุ่น คุณพ่อคุณแม่มากแค่ไหน ถ้าเป็นสมัยรุ่นคุณปู่ คุณย่า คนรุ่นนั้นมีลูกครอบครัวละ 10 คน ผมเชือ่ ว่าคนรุน่ นีถ้ า้ ขยันและประหยัด ก็จะประสพความสำ�เร็จเพราะ Demand มันเยอะ มาถึงรุ่นคุณพ่อ คุณแม่ อัตราการเกิดของประชากรลดลงมาก Demand ไม่ได้เพิม่ ขึน้ มากมายเหมือน สมั ย ก่ อ นจึ ง ต้ อ งคิ ด ว่ า ทำ � อย่ า งไร เราถึงจะคงอยู่ในธุรกิจต่อไปได้นั่น ก็คือ การนำ�เอาหลักการบริหารมา ใช้เ พื่ อลดต้ นทุ นเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต และพัฒนาระบบการ จัดการให้คล่องตัวรวดเร็วแต่สมัยนี้ แค่หลักการบริหารอย่างเดียวคงไม่พอ เพราะทุกคนก็เรียนรู้หลักการบริหาร ได้ จ ากหนั ง สื อ ที่ ว างขายนั บ ร้ อ ย นับพันเล่ม ดังนั้น หลักการบริหาร สมัยนี้ (รวมถึงของผมด้วย) ผมเชื่อ ว่าคงต้องเป็นเรื่องของแนวคิดการ สร้างสรรค์ไอเดียใหม่ๆ ที่ไม่เหมือน ใครเพื่อนำ�มาเสนอแก่ลูกค้า (ถ้าใคร มีไอเดียอะไรดีๆ ก็ชว่ ยแนะนำ�ผมด้วย ^^ ส่วนเรื่องความต่างของแนวคิด

มันต้องมีเป็นเรื่องปกติอยู่แล้วครับ ไม่ต่างซิแปลกแต่ไม่ว่าจะเป็นความ คิดรุ่นเก่าหรือความคิดรุ่นใหม่ล้วนมี ทั้งข้อดีและข้อเสียทั้งนั้นยกตัวอย่าง ง่ายๆ คนรุน่ ก่อนจะเน้นให้ตวั เองเป็น คนตัดสินใจเพราะคิดว่าตัวเองเป็น คนที่รู้ดีที่สุดและสามารถรับผิดชอบ ต่อผลที่ตามมาได้ส่วนคนรุ่น ผมเน้น “Empowerment” ซึ่งก็คือ การมอบ อำ�นาจการตัดสินใจให้กับผู้ที่ทำ�งาน นั้นๆ โดยตรงซึ่งก็จะทำ�ให้สามารถ

ตัดสินใจได้รวดเร็ว และทำ�ให้เรามีเวลา ไปพัฒนาด้านอื่นขององค์กร ซึ่งทั้ง สองแนวความคิ ด มี ทั้ ง ข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย ดั ง นั้ น สิ่ ง สำ � คั ญ ที่ สุ ด คื อ การ ผสานแนวคิ ด ทั้ ง สองให้ ล งตั ว ที่ สุ ด โดยมอบอำ�นาจแต่พอดีและอยู่บน กรอบนโยบายที่บริษัทวางไว้ เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร พอดี ผ มได้ มี โ อกาสรู้ จั ก คุ ณ สุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ประธาน Yong Printer ในคอร์สอบรมสัมมนาที่หนึ่ง เลยถูกชักชวนให้มาร่วมงานครับ บทบาทในการเป็นสมาชิกนั้นเราได้รับ ผิดชอบในส่วนไหนและรู้สึกอย่างไร ผมได้ รั บ มอบหมายให้ ดู แ ล ด้านงานปฏิคม ซึ่งก็คือคนที่คอยดูแล ในการจัดงานกิจกรรมต่างๆ ของทาง สมาคมซึง่ ผมมองว่างานตรงนีเ้ หมาะ กับนิสัยของผมที่ชอบพบปะพูดคุย กับคนอื่นครับ

100 ThaiPrint Magazine


ธัญญวัฒน์ เตวชิระ รู้สึกอย่างไรกับบทบาทการเป็นคณะ กรรมการ Young printer Group ผมมองว่ า มั น เป็ น การเปิ ด โอกาสให้ผมได้รู้จักผู้คนมากมายที่ ทำ�งานในสายงานเดียวกัน ซึง่ ก็ท�ำ ให้ เราได้มมุ มอง ไอเดียใหม่ๆ แต่ทส่ี �ำ คัญ ที่สุดก็คือเพื่อนครับ มีการจัดสรรค์เวลาอย่างไร สำ�หรับการ ดูแลธุรกิจของตัวเอง งานสมาคม และ ชีวิตส่วนตัว ไม่ยากครับ ถ้าเราแบ่งเวลา ให้ดี โดยปกติงานของสมาคมจะมี การแจ้ ง ให้ ท ราบล่ ว งหน้ า ก่ อ นอยู่ แล้ว ผมก็จะเคลียร์ช่วงเวลานั้นให้ ว่างไว้ ส่วนเวลาที่เหลือจากการทำ� ธุรกิจหลังเลิกงานและวันหยุดก็จะ เป็นเวลาส่วนตัวครับ กิ จ กรรมที่ ผ่ า นมาของสมาคมที่ เคย เข้าร่วมรู้สึกประทับใจกับกิจกรรมใด บ้างอย่างไร ที่ ป ระทั บ ใจที่ สุ ด คงจะเป็ น คอร์ ส อบรมด้ า นการพิ ม พ์ ที่ นิ ค ม

อุตสาหกรรมที่สินสาครครับเพราะ ทำ�ให้ผมรู้สึกประทับใจกับพี่ๆ ใน สมาคมอย่ า งมากที่ ย อมเสี ย สละ เวลาทำ�งานของตัวเองขับรถมาตั้ง ไกลเพื่อมาให้ความรู้แก่พวกผมโดย

ไม่ ห วงวิ ช าเลยและในคอร์ ส นี้ เ อง ทำ�ให้ผมได้เรียนรู้หลักการพิมพ์ทั้ง ด้านทฤษฏีและปฏิบัติ คอร์สมาก็พอ จะเปิดเครื่องพิมพ์งานเองได้เลยครับ (แต่สจี ะเพีย้ นรึเปล่านีอ่ กี เรือ่ งนะ ฮาๆ) อยากจะฝากอะไรหรือแนะนำ�แนวคิดดีๆ ให้กับสมาชิกรุ่นต่อๆไปไว้อย่างไรบ้าง? บางคนคิ ด ว่ า การทำ � งานใน สมาคมนัน้ เหนือ่ ย ไม่ได้ผลประโยชน์ แต่ผมกลับคิดว่ามันสนุกและท้าทาย ได้ พู ด คุ ย แลกเปลี่ ย นความคิ ด กั บ เพื่อนในวงการได้ความรู้ใหม่ๆ เยอะ บางทีมีเทคนิคการพิมพ์ใหม่ๆ หรือ คอร์ ส สั ม มนาที่ เ ป็ น ประโยชน์ ห รื อ งานจัดแสดงด้านสิง่ พิมพ์ตามทีตา่ งๆ ผมก็รู้จากคนในสมาคมนี่แหละเรียก ว่าได้โดยที่เราไม่รู้ตัว

ThaiPrint Magazine 101


Print News

รองบริษัทยักษ์ใหญ่ อินเตอร์อิงค์

และ คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) เปิดขุมทรัพย์ทางปัญญา ส่งเสริมอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ผ่าน Young Printer Group กลุ่มนักธุรกิจรุ่นใหม่

เมื่อวันเสาร์ที่ 5 มีนาคม 2554 นำ�โดย คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ ประธานกลุ่ม Young Printer พร้อมสมาคม การพิมพ์ไทยเยี่ยมชมโรงงาน ใน อุ ต ส า ห ก ร ร ม สิ่ ง พิ ม พ์ กิจกรรมในครั้งนี้

ลงทะเบียน ก่อนขึ้นรถ

รับของที่ระลึกจากอินเตอร์อิงค์

Young printer group

ได้รับการต้อนรับด้วยความ อบอุ่นจาก บริษัท อินเตอร์อิงค์และ บริษ ั ท คอนติ เ นนตัลบรรจุภัณ ฑ์ (ไทยแลนด์) โดยช่วงเช้า คุณสุวิทย์ เพีย รรุ ่ ง โรจน์ พร้อ มคณะได้เข้า 102 ThaiPrint Magazine

เยี่ยมชมสายการผลิตภัณฑ์ของบริษัท อินเตอร์ อิงค์​์ จำ�กัด เน้นศึกษาทั้ง ด้านการผลิตและงานด้านวิจัยการ พัฒนาหมึกพิมพ์พร้อมกล่าวถึงแนว ความคิดในการผลิตหมึกพิมพ์พิเศษ กำ�จัดแมลง เพื่อสนองต่อสายงาน

การผลิตบรรจุภัณฑ์ ส่วนในภาคบ่าย นั้น คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ ยังพา คณะเดินหน้าเข้าชมโรงพิมพ์ขนาด ใหญ่อย่างคอนติเนนตัลบรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) ก่อนการเดินเข้าเยีย่ มชม สายการผลิตนั้น อาจารย์มานิตย์ กมลสุวรรณ ได้บอกเล่าความเป็นมา ของธรุกิจครั้งที่ยังเป็นโรงพิมพ์ห้อง แถวจนขยายฐานการผลิตสู่การเป็น โรงพิมพ์ขนาดใหญ่ที่เป็นหนึ่งในการ ผลิตกล่องสุรา และอาหารแช่แข็ง อย่างปัจจุบัน และนอกเหนือจาก เส้นทางการต่อสู้ในการทำ�ธุรกิจแล้ว อาจารย์มานิตย์ กมลสุวรรณ ยังเผย แนวความคิดและกลวิธีสำ�หรับการ พั ฒ นากลุ่ ม อุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ ของประเทศไทย โดยเน้นย้�ำ เกี่ยวกับ คุ ณ ภาพขั้ น ตอนการผลิ ต ในทุ ก ขั้ น ตอนพร้อมความใส่ใจการออกแบบ บรรจุภัณฑ์เพื่อการพัฒนาให้ตรงต่อ ความต้องการของตลาด


บริษัท อินเตอร์อิงค์

คุณภณ ตรีสุขเกษม ประธานกรรมการบริหาร บริษัทอินเตอร์อิงค์

การบรรยายขั้นตอนการผลิตก่อนเข้าดูโรงงาน

การบรรยายขั้นตอนและแนวคิด การทำ�ธุรกิจบรรจุภัณฑ์

ที่ระลึกหน้าบริษัท อินเตอร์อิงค์

ที่ระลึกหน้าบริษัทอินเตอร์อิงค์ ThaiPrint Magazine 103


อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย

อาคาร 60 ปี

ห้องสมุด

Thaiprint Lab ThaiPrint Magazine 113


อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย

อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย จากห้องแถวเล็กๆ 2 คูหา ณ ซอยจินดาถวิล ถ.สี่พระยา สู่บ้านหลังที่ 2 โฮมออฟฟิศ 5 ชั้น บนถนนนวลจันทร์ สู่อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทยบนถนนพระราม 9 ที่จะเป็นศูนย์ข้อมูลอุตสาหกรรม การพิมพ์ เป็นสถานที่ประชุมสัมมนา เป็นศูนย์ทดสอบมาตราฐานวัสดุและอุปกรณ์การพิมพ์ ตลอดจนเป็น สถานที่ท�ำ การฝึกพิมพ์อบรมและสร้างบุคคลากรทางการพิมพ์ อาคารได้ดำ�เนินการก่อสร้างไปบ้างแล้ว แต่ยังขาดทุนทรัพย์เป็นบางส่วน ท่านผู้มีจิตศรัทธาสามารถ ช่วยสนับสนุนบริจาคทุนทรัพย์ หรือช่วยสนับสนุนซื้อที่ดินบริเวณ ถ. บางนา เพื่อนำ�เงินมาสมทบทุนสร้าง อาคารสมาคมใหม่

รายนามผู้สนับสนุนจะถูกจารึกไว้ ณ อาคาร ฯ เพื่อเป็นการร่วมประกาศเกียรติคุณ

ที่ท่านได้ร่วมสร้างฝันให้เป็นจริง 1,500,000 บาท 1. บริษัท นิวไวเต็ก จำ�กัด 2. บริษัท สาฮะแอนด์ซันส์พริ้นติ้ง จำ�กัด 500,000 บาท 3. บริษัท ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส์ จำ�กัด 400,000 บาท 4. บริษัท คอนติเนนตัลบรรจุภณ ั ฑ์ (ไทยแลนด์) จำ�กั ด 300,000 บาท 5. บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์ จำ�กัด 300,000 บาท 6. บริษัท วงตะวัน จำ�กัด 200,000 บาท 7. บริษัท วิสคอมเซ็นเซอร์ จำ�กัด 200,000 บาท 8. บริษัท เฮาส์การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด 200,000 บาท 9. บริษัท ก.การพิมพ์เทียนกวง จำ�กัด 200,000 บาท 1 0. บริษัท โรงพิมพ์หยี่เฮง จำ�กัด 200,000 บาท 11. บริษัท บวรสารการพิมพ์ จำ�กัด 200,000 บาท 12. คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ 200,000 บาท 13. บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จำ�กัด (มหาชน) 200,000 บาท 14. คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ 200,000 บาท 15. บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟริก เซ็นเตอร์ จำ�กัด 150,000 บาท 16. บริษัท เพาเวอร์พริ้น จำ�กัด 100,000 บาท 17. บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำ�กัด 100,000 บาท 18. บริษัท สำ�นักพิมพ์สุภา จำ�กัด 100,000 บาท 19. บริษัท โรงพิมพ์รุ่งเรืองรัตน์ จำ�กัด 100,000 บาท 20. บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1978) จำ�กัด 100,000 บาท 21. บริษัท พิมพ์ดี จำ�กัด 50,000 บาท 22. บริษัท ฐานการพิมพ์ จำ�กัด 20,000 บาท 23. บริษัท อินเตอร์อิงค์ จำ�กัด 20,000 บาท 24. บริษัท โรงพิมพ์เดือนตุลา จำ�กัด 20,000 บาท 114 ThaiPrint Magazine


อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย

ขอเชิญร่วมบริจาคสร้างลิฟท์ อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนเบื้องต้น 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

บริษัท ซันไขนเพรส จำ�กัด บริษัท นิวไวเต็ก จำ�กัด บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จำ�กัด บริษัท สยามออฟเซ็ท จำ�กัด บริษัท ต.กิจวิบูลย์เทรดดิ้ง จำ�กัด บริษัท สาฮะแอนด์ซันส์พริ้นติ้ง จำ�กัด บริษัท สุนทรฟิมล์ จำ�กัด บริษัท โรงพิมพ์เดือนตุลา จำ�กัด

5 00,000 บาท 100,000 บาท 100,000 บาท 100,000 บาท 50,000 บาท 50,000 บาท 50,000 บาท 30,000 บาท ThaiPrint Magazine 115


Print Technology

นวัตกรรมใหม่ของลูกกลิ้งน้ำ�แอลกอฮอล์ ในโลกปัจจุบันนี้ สุขภาพ ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่สำ�คัญต่อทุกภาคส่วน การลดการใช้แอลกอฮอล์ (IPA) ในอุตสาหกรรมการพิมพ์นั้นเป็นอีกสิ่งที่ควรพิจารณาถึง โดยเฉพาะในช่วงที่ราคาน้ำ�มันมีความผันผวนเช่นนี้ การพิมพ์ความเร็วสูง เพื่อให้ได้ยอดการผลิตที่มากด้วยระดับแอลกอฮอล์ที่ต�่ำ นั้นมีความเป็นไปได้ยากมาก ในการพิมพ์แบบป้อนแผ่น ซึ่งต้องอาศัยการพัฒนาทั้งจากเคมีในหมึกพิมพ์ น้ำ�ยาเฟาว์เท่น ลูกกลิ้งส่งและพาน้ำ�

นวัตกรรมของลูกน้�ำ แตะเพลทกับการพิมพ์รอบสูง (ในกรณีทใ่ี ช้แอลกอฮอล์ต�ำ่ , IPA 0-5%) ลูกน้ำ�แตะเพลท (Dampening Form Roller) มีหน้าที่ในการส่งน้ำ�ต่อไปบนแม่แบบงานพิมพ์ โดยต้อง สอดคล้องกับสมดุลน้�ำ และหมึกด้วย ซึง่ ในกรณีการพิมพ์งานด้วยรอบพิมพ์สงู ๆ ระบบการส่งน้�ำ ต้องทำ�งานให้รวดเร็ว ตามไปด้วยแต่ยังคงใช้ปริมาณ แอลกอฮลล์เท่าเดิม

จากรูปแสดงให้เห็นถึงช่วงของรอบน้ำ�ที่ใช้ในการพิมพ์ เพื่อให้เกิดการสมดุลกันระหว่างน้ำ�กับพมึกพิมพ์ ใน สภาวะรอบพิมพ์สูงและใช้แอลกอฮอล์ต�่ำ เปรียบเทียบกับยาง 2 ชนิด ชนิดที่ 1 เป็นยางที่ออกแบบมาเป็นพิเศษเพื่อ ใช้ลดแอลกอฮอล์ (124 25) ชนิดที่ 2 เป็นยางลูกน้�ำ แบบเดิมๆ สามารถสังเกตุได้ว่า ยางชนิดใหม่นี้สามารถให้งาน พิมพ์ที่ดีด้วยรอบน้ำ�ปกติ (35 – 70%) และใช้เปอร์เซนต์แอลกอฮอล์ที่ต�่ำ ลูกกลิ้งน้ำ�ส่งน้ำ�กับการพิมพ์รอบสูง (ในกรณีที่ใช้แอลกอฮอล์ต่ำ�, IPA 0-5%) อีกหนึ่งสิ่งสำ�คัญ เมื่อเครื่องพิมพ์ เดินรอบพิมพ์สูงขึ้น ลูกน้�ำ ส่งน้� ำ (Dampening Pan หรือ Metering Roller) จะต้องส่งน้ำ�ให้สม่ำ�เสมอและรวดเร็ว ทันต่อความเร็วรอบการพิมพ์ ซึ่งหากลูกส่งน้�ำ ไม่สามารถทำ�ได้ทัน ดังนั้นปัญหางานพิมพ์ก็จะเกิดตามมา อาทิเช่น ลายแถบคราบน้ำ� (Cording Stripes) ที่มักเกิดตรงบริเวณการกดทับของลูกกลิ้งยาง (Nip) โดยลายแถบนี้ จะถูกส่งต่อไปปรากฎบนหน้าเพลท ส่วนสาเหตุของปัญหานั้นมีตัวแปรด้วยกันหลายอย่าง ได้แก่ ความเร็วในการ หมุนของลูกน้ำ� การตั้งลูกน้� ำ อุณหภูมิ ความหนืดและความตึงผิวของน้�ำ ยาเฟาว์เท่น เป็นต้น หมึกย้อนน้ำ� (Ink Feed Back) ไปเกาะติดอยู่บนลูกส่งน้ำ� อันเนื่องจากการที่น้ำ�และหมึกไม่สมดุล โดยมี ปริมาณของหมึกมากกว่าน้ำ� 116 ThaiPrint Magazine


นวัตกรรมใหม่ของลูกกลิ้งน้ำ�แอลกอฮอล์

หมึกยอนน้ํา >> จากรูปจะเห็นแถบของหมึกที่เกาะอยู่ บนผิวลูกน้�ำ ส่งน้ำ� (โดยปริมาณของหมึกที่ เกาะนั้นขึ้นอยู่กับปริมาณการปล่อยหมึก และชนิดของหมึกทีใ่ ช้) ซึง่ ต่อมาจะเกิดการ บวมตัว (Radial Swelling) ของยางใน บริเวณนั้น

นวัตกรรมใหม่ของลูกน้�ำ ส่งน้�ำ กับเทคโนโลยีการเคลือบผิว ในความเป็นจริง เราไม่สามารถควบคุมการใช้ประเภทของหมึกให้เหมาะสมกับทัง้ น้�ำ ยาเฟาว์เท่นหรือประเภท งานที่พิมพ์ได้ ถ้าหากลูกน้�ำ ส่งน้�ำ สามารถทนต่อการบวมตัวกับหมึกได้สูง โดยยังคงทำ�หน้าที่การส่งน้ำ�ได้อย่างเรียบ สม่�ำ เสมอก็เป็นอีกหนึ่งวิธีแก้ไข ดังนั้น เทคโนโลยีการเคลือบผิวด้วยสารประกอบทางเคมีที่สามารถทำ�ให้ลูกน้ำ�ทน ต่อการบวมตัวกับหมึกพิมพ์และน้ำ�ยาเฟาว์เท่นที่มีอยู่ทั่วไป จึงเป็นทางออกของเราในการแก้ปัญหา กราฟแสดงผลทดสอบการบวมตัวของหมึกกับยางชนิด ตางๆ เครื่องเลเซอรที่ใชในการตรวจการบวมตัวของลูก ยาง

จากรูปจะเห็นได้ว่า ด้วยเทคโนโลยีการเคลือบผิวบนยางชนิดใหม่ที่ทาง Böttcher เรียกว่า “ProAqualis” นั้น ไม่เกิดปฏิกิริยาบวมตัวใดๆ เลยกับหมึกพิมพ์เมื่อเปรียบเทียบกับยางแบบเดิมๆ และ “ProAqualis” จะยังคง ให้คุณสมบัติของการส่งน้ำ�ที่ดีด้วยระดับการใช้แอลกอฮอล์ตั้งแต่ 0-8% คุณสมบัติการยืดหยุ่นที่ดีที่ความแข็ง 25 Shore A และเสริมคุณสมบัติการทนต่อสารเคมีโดยเฉพาะหมึกพิมพ์และน้�ำ ยาเฟาว์เท่น สามารถล้างหมึกพิมพ์ ออกได้ง่าย ใช้ได้ดีกับน้ำ�ล้างลูกกลิ้งทั้งในระบบหมึกพิมพ์ออฟเซททั่วไปและหมึกพิมพ์ยูวี (ไม่แนะนำ�ให้ใช้กับน้ำ�ยา ล้างลูกกลิ้งประเภทสารประกอบอะโรมาติกส์ไฮโดรคาร์บอน) “ProAqualis 128 25” ได้ผา่ นการทดสอบการใช้งานจริงกับเครือ่ งพิมพ์แล้วหลายบริษทั เช่น Heidelberg, MAN Roland, KBA, Goss, Mitsubishi และอื่นๆ โดยผลการตอบรับนั้นดีเยี่ยม “ProAqualis 128 25” จึงเป็นอีก หนึ่งนวัตกรรมที่เรา Böttcher ได้สร้างสรรค์ขึ้นในยุคโลกาภิวัตน์นี้ และเป็นอีกบทพิสูจน์ว่าเรา Böttcher ไม่เคยหยุด นิ่งในการพัฒนาสิ่งดีๆ สู่โลกอุตสาหกรรมการพิมพ์ ThaiPrint Magazine 117


Print Technology

หมึกพิมพ์สำ�หรับบรรจุภัณฑ์อาหาร

สวัสดีครับทุกคน กระผมนายไอไอเคกลับมาพบกับทุกท่านอีกครั้งกับสาระดีๆ ที่ให้ความรู้ เพื่อส่งเสริม ความรูแ้ ก่บคุ ลากรในวงการพิมพ์ไทยร่วมกัน ครัง้ นีน้ ายไอไอเคจะนำ�เสนอเรือ่ งราวเกีย่ วกับหมึกพิมพ์ส�ำ หรับบรรจุภณ ั ฑ์ อาหาร ในปัจจุบันผู้บริโภคเริ่มสนใจดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น ทำ�ให้ผู้ผลิตอาหารรวมถึงผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ สำ�หรับใส่อาหารต้องปรับตัวให้ทนั เทรนด์ในยุคนี้ ทำ�อย่างไรให้ผบู้ ริโภค หรือผูใ้ ช้บรรจุภณ ั ฑ์มน่ั ใจได้วา่ ในกระบวนการ ผลิตปลอดภัยไม่มีสารปนเปื้อนเข้ามาได้ เริ่มกันเลยนะครับ

หมึกพิมพ์สำ�หรับบรรจุภัณฑ์อาหาร

ด้วยคุณภาพชีวิตของผู้คนที่ดีขึ้น มาตรฐานในเรื่องของการบรรจุภัณฑ์ อาหารก็เป็นที่เป็นที่สนใจ และองค์ประกอบที่ถูกเพ่งเล็งมากสุดคงจะเป็นอื่น ใดไม่ได้ นอกจากเป็นหมึกที่ใช้พิมพ์ หมึกพิมพ์โดยหน้าที่แล้วคือเพื่อประดับ สีสรรให้กับสิ่งบรรจุภัณฑ์อาหาร นอกจากนี้แล้ว ยังรับหน้าที่รองอื่นๆ ด้วย เช่น สามารถทนความร้อน ความเย็น น้ำ�มัน การเสียดถูต่างๆ หมึกพิมพ์ รับฐานะเป็นจำ�เลยวายร้ายต่อสุขภาพมนุษย์ คงเป็นเพราะจัดเป็นสารเคมีที่ แยกต่างหากอย่างชัดเจนต่างจากวัสดุใช้พิมพ์ เช่น กระดาษ ถ้วยเมลานิน ถ้วยพลาสติก PP เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ยังไม่เคยมีสถิติระบุถึงภาวะอันตราย ถึงขั้นสูญเสียชีวิต จากการกลืนกินหมึกพิมพ์ที่เห็นกันเป็นปกติทุกวัน 118 ThaiPrint Magazine


หมึกพิมพ์สำ�หรับบรรจุภัณฑ์อาหาร หลายคนยังคงจำ�กันได้นะครับ ว่าเมื่อปี 2005 เกิดเหตุการณ์ตื่นตัว ถึงความอันตรายในหมึกพิมพ์อย่างจริงจังขึ้น เมื่อมีการพบการปนเปื้อน สาร Isopropylthioxantone หรือ itx ในผลิตภัณฑ์กล่องนมเด็ก จนเกิดการ ฟ้องร้องเป็นคดีความกัน ซึ่งเจ้าสาร itx นี้เป็นหนึ่งในสารเคมีในหมึก UV ต่อมาปี 2009 พบค่าการปนเปื้อนสาร 4-methylbenzophenone และ benzophenone ในอาหารประเภทคอนเฟรค สูงกว่ามาตรฐาน แม้ว่า จะบรรจุภายในกล่องที่เคลือบด้วยสาร polyethylene แล้วก็ตาม ดังนั้น กระบวนการศึกษาการบรรจุภัณฑ์อาหารจึงการตื่นตัว ก่อนอื่นใดมารู้จักการสัมผัสทางตรง และทางอ้อมของหมึกพิมพ์ต่อ อาหารก่อน การสัมผัสทางตรงของหมึกพิมพ์กับอาหารเป็นที่เข้าใจง่าย และ เป็นที่เข้าใจโดยปกติคือไม่ควรกลืนกินอาหารส่วนที่สัมผัสกับหมึกพิมพ์ ซึ่ง อาจเป็นอันตรายได้ แต่เมื่อพิจารณาให้ลึกลงสักนิด จะเป็นไปได้ว่า การ ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์อาหาร ก็มสี ว่ นสำ�คัญในการทีท่ �ำ ให้หมึกพิมพ์ไม่ไปสัมผัส อาหารได้โดยตรง ผูอ้ อกแบบสิง่ พิมพ์บรรจุภณ ั ฑ์อาหารจึงไม่สามารถผลักภาระ ความผิดในส่วนที่การออกแบบที่ไม่เหมาะสม จนทำ�ให้เกิดการปนเปื้อนของ หมึกพิมพ์กับอาหารนี้ได้ สำ�หรับการสัมผัสอาหารทางอ้อมของหมึกพิมพ์กับอาหารนี้ คือ ไม่มี ส่วนหนึ่งส่วนใดของหมึกพิมพ์สัมผัสกับอาหารทางกายภาพและผ่านการซึม ผ่าน หากพูดให้เข้าใจง่ายก็คือ หมึกพิมพ์อยู่ด้านหนึ่งของสิ่งพิมพ์ อาหารอยู่ อีกด้านหนึ่งของสิ่งพิมพ์ และเชื่อมั่นได้ว่า กระดาษที่ใช้พิมพ์นั้นไม่ยอมให้ องค์ประกอบส่วนหนึ่งส่วนใดของหมึกพิมพ์สามารถเคลื่อนผ่านชั้นกระดาษ จากด้านหนึ่งสู่อีกด้านหนึ่งได้ ซึ่งจะต้องเข้าข่ายงื่อนไขง่ายๆ 2 ข้อ คือ 1. การออกแบบสิง่ บรรจุภณ ั ฑ์ตอ้ งมีชน้ั กีดขวาง (functional barrier) ที่กั้นส่วนที่เป็นอาหารและชั้นหมึกพิมพ์แยกออกจากกัน 2. ในกระบวนการพิมพ์ จะต้องมั่นใจได้ว่าหมึกพิมพ์ที่ใช้สามารถ แห้งตัวอย่างสมบูรณ์หลังการพิมพ์ เพื่อขจัดปัญหาการซับหลังที่เกิดขึ้น อันนำ�ไปสู่การสัมผัสอาหารได้โดยตรงระหว่างหมึกพิมพ์กับอาหาร องค์การอาหารและยาของไทยและสมาคมการพิมพ์ไทยเอง ก็ยังไม่ ได้ระบุเงื่อนไข หรือกฎเกณฑ์ที่ใช้จ�ำ แนกแยกแยะ คำ�ว่า หมึกพิมพ์เกรดที่ใช้ กับอาหาร (Food grade) หรือแม้กระทั่งมาตรฐานที่เป็นสากลในประเทศ ต่างๆ ก็ยังไม่ได้มีการยอมรับว่า มีหมึกพิมพ์เกรดที่ใช้กับอาหารได้อย่างแท้ จริง เช่น องค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐ (F.D.A.) ไม่เคยให้มีการรับรอง ผลิตภัณฑ์ใดๆ เช่น หมึกพิมพ์ใช้ส�ำ หรับสัมผัสทางตรงหรือทางอ้อมกับอาหาร มีเพียงการระบุว่า เป็นวัสดุที่อาจเกิดจากหรือจากความตั้งใจให้เป็นสารเติม แต่งอาหาร และนำ�ข้อกำ�หนดพื้นฐานสารเติมแต่งอาหารนี้มาพิจารณาหมึก ที่ใช้พิมพ์ ThaiPrint Magazine 119


Print Technology

General FDA

The United States Food and Drug Administration (FDA) does not regulate specific printing inks as a “direct” or “indirect” food additives under Title 21 Code of Federal Regulations (CFR) 170 to 199, provided there is a “functional barrier” between the printed matter and the food. A “functional barrier” is a barrier that prevents any potential migration from the printing ink to the food under reasonable expectations. “It is our opinion that printing inks applied to the outside surface of food packaging materials are not food additives within the meaning of Section 201(s) of the Act, provided the packaging material serves as a functional barrier between the printing ink and the food.” - FDA Letter to National Association of Printing Ink Manufacturers (NAPIM) มาดูในฝั่งยุโรปกันบ้าง ก็ยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องหมึกพิมพ์ที่ใช้กับ บรรจุภณ ั ฑ์อาหาร แต่มกี ารบัญญัตมิ าตราต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับวัสดุทเ่ี กีย่ วข้อง กับอาหาร เช่น EC 1935/2004 ว่าด้วยเรื่องสารที่จะเข้าไปสัมผัสกับ อาหารนั้น จำ�ต้องมีการประกันความมั่นใจถึงการป้องกันอันตรายต่อสุขภาพ ในระดับสูงสุด Materials and articles must be manufactured in compliance with good manufacturing practice so that, under their normal or foreseeable conditions of use, they do not transfer their constituents to foodstuffs in quantities which could: • Endanger human health; • Bring about an unacceptable change in the composition of the food • Bring about a deterioration in the organoleptic characteristics thereof. มาตรฐาน GMP 2023/2006 ได้วางกฎเกณฑ์และเงือ่ นไขของปฏิบตั ิ การในการผลิตที่ดีสำ�หรับวัสดต่างๆ ที่เข้าสัมผัสกับอาหาร ซึ่งมีใจความ ที่เกี่ยวข้องกับหมึกพิมพ์ อธิบายไว้ว่า หมึกพิมพ์จะต้องอยู่อีกด้านของ บรรจุภัณฑ์อาหาร

120 ThaiPrint Magazine


หมึกพิมพ์สำ�หรับบรรจุภัณฑ์อาหาร กฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องหมึกพิมพ์กับบรรจุภัณฑ์อาหารอีกข้อคือ Directive 2002/72/EC ในส่วนที่เป็นวัสดุพลาสติกและสารอื่นใดที่ตั้งใจ สัมผัสกับอาหาร จะมีค่า overall migration limit 60mg/kg food หรือ 10 mg/dm2 ของพื้นที่ผิวสัมผัส และกำ�หนดค่า specific migration limits หรือจำ�นวนที่มากที่สุดสำ�หรับสารเฉพาะตัวที่ได้ก�ำ หนดไว้แล้ว กลไกของการเคลื่อนผ่าน (Migration mechanism) เรามาพิจารณาสาร ที่มีโอกาสเกิดการเคลื่อนผ่าน และปนเปื้อนอาหารซึ่งมิได้สัมผัสกับอาหาร แต่แรก จำ�เลยที่ 1 กลุ่มวาร์นิชในหมึก ซึ่งเป็น macromolecule ของกลุ่ม โพลีเมอร์ จึงรอดจากข้อกล่าวหา จำ�เลยที่ 2 สารประกอบอนินทรีย์ต่างๆ เช่น ผงสีขาว เนื่องจากโดย ธรรมชาติเป็นผลึก จึงไม่เกี่ยวข้องกับเคลื่อนผ่านด้วย จำ�เลยที่ 3 สารให้สีกลุ่มอินทรีย์ เช่น ผงสีต่างๆ โดยปกติแล้วก็ไม่มี ศักยภาพพอที่จะเคลื่อนผ่าน ด้วยตัวมันเองได้ ดังนัน้ จำ�เลยกลุม่ ทีเ่ ป็นสารตัวเล็กๆ มีจลุ ภาพสูงๆ เป็นกลุม่ ทีส่ ามารถ เดินซึม ผ่านชั้นวัสดุใช้พิมพ์และกลุ่มที่สามารถกระโดด เนื่องจากเกิดการ ถ่ายทอดจากลูกกาวบนเครื่องพิมพ์ และกลุ่มสุดท้ายเป็นกลุ่มที่บินไปสู่อีก ด้านของวัสดุใช้พิมพ์โดยผ่านกลไกการระเหยร่วมกับตัวทำ�ละลาย

Figure 1 ด้านซ้าย แสดงถึงแม้ว่ามี functional barrier ชั้นฟิล์ม อลูมิเนียมที่สามารถทำ�หน้าที่กีดขวางการซึมผ่านของสาร แต่สารก็ยังมีโอกาส ปนเปื้อนกับอาหารผ่านวิธีการกระโดด หรือถ่ายทอดผ่านลูกกาวของเครื่องพิมพ์ ด้านขวาแสดงนอกจากไม่มี functional barrier แล้ว ยังแสดงถึงโอกาสการ เกิดการเดินซึมผ่าน และซับหลังของสารปนเปื้อนในกรณี itx

ThaiPrint Magazine 121


Print Technology

Figure 2 ด้านซ้าย แสดงถึงแม้ว่ามีชั้นกระดาษหรือ PE เป็นสิ่งกีดขวางระหว่างหมึกพิมพ์และอาหาร แต่ยังไม่ดีพอ สำ�หรับการเป็น functional barrier ดังเช่นภาพด้านขวา ซึ่งมีฟิล์มอลูมิเนียมเป็นสิ่งกีดขวาง โดยด้านซ้ายนี้เกิดขึ้นในกรณี ของ 4-MBP

Checklist สำ�หรับประเมินเรื่องการพิมพ์บรรจุภัณฑ์อาหาร

1

การออกแบบบรรจุภัณฑ์

1.1 สมบัตกิ ารสิง่ กีดขวางระหว่างชัน้ หมึกและอาหาร สารต่างๆ จาก หมึกพิมพ์มีโอกาสเดินซึมผ่านในสิ่งกีดขวางที่มีสมบัติกีดขวางต่ำ �ได้ง่าย แบ่งได้เป็น • กลุ่มสมบัติกีดขวางต่ำ� เช่น coated paper, uncoated paper • กลุ่มสมบัติกีดขวางจำ�กัด เช่น polyamide, polyethy leneterephthalate, polyvinylidene chloride • กลุ่มสมบัติกีดขวางดี เช่น SiOx และ AlOx บน polyethy leneterephthalate และ PP ที่หนาพอ • กลุ่มสมบัติกีดขวางดีเด่น เช่น aluminum foil, tinplate, glass 1.2 ธรรมชาติของพื้นผิวที่สัมผัสกับชั้นหมึก หลังจากการพิมพ์เสร็จ สิ้น แบ่งกลุ่มการเกิดโอกาสการซับหลังตามวัสดุใช้พิมพ์ดังนี้ • กลุ่มโอกาสเสี่ยงสูง เช่น coated paper, board aluminum plastics • กลุ่มโอกาสเสี่ยง เช่น film หรือ cups PP, PE, PS • กลุ่มโอกาสเสี่ยงต่ำ� เช่น uncoated paper, uncoated board, polyamide, polyethyleneterephthalate 1.3 การออกแบบสิ่งพิมพ์ ที่ไม่เหมาะสม ทำ�ให้อัตราส่วน พื้นผิวต่อ ปริมาตรของอาหารมีค่ามาก ทำ�ให้เพิ่มโอกาสการปนเปื้อน 1.4 ชนิดและธรรมชาติของอาหาร • กลุ่มความเสี่ยงมาก เช่น กลุ่มที่เป็นไข ข้นเหนียว • กลุม่ ความเสีย่ งกลาง เช่น กลุม่ อาหารทีข่ น้ แต่มสี ว่ นทีเ่ ป็นไขมันต่�ำ • กลุ่มความเสี่ยงต่ำ� เช่น กลุ่มอาหารของแข็ง 122 ThaiPrint Magazine


หมึกพิมพ์สำ�หรับบรรจุภัณฑ์อาหาร

1.5 ระยะเวลาของการบรรจุอาหาร ยิง่ เวลานานก็เพิม่ ความเสีย่ งมาก

1.6 ลักษณะการนำ�บรรจุภณ ั ฑ์อาหารไปเปิดใช้ การเคลือ่ นผ่านแปรผัน ตามอุณหภูมิ ยิง่ หากใช้การอุน่ ด้วยเตา หรือใช้กระบวนการสเตอริไลล์ ยิง่ เพิม่ ความเสี่ยงนี้ ความเสี่ยงจากกระบวนการพิมพ์ เช่น การเติมสารเติมแต่ง บางชนิดของโรงพิมพ์เอง การใช้สารล้างลูกกาว และลูกยาง การควบคุมน้�ำ ยา ฟาวเทนที่ไม่เหมาะสม

2

การพิมพ์และหมึกพิมพ์

3 4

การบรรจุ โอกาสการเคลื่อนผ่านจะเพิ่มขึ้นที่อุณหภูมิที่สูง

ปัจจัยแวดล้อมที่อาจเพิ่มความเสี่ยงของการซึมเดิน ผ่านของสารใน หมึก ได้แก่ 2.1 กระบวนการแห้งตัว กรณีแห้งด้วยความร้อน โอกาสเสี่ยงจะเพิ่มขึ้นในรอบพิมพ์เร็ว แต่ความร้อนไม่เพียงพอและสมบูรณ์ ปริมาณหมึกที่ปล่อยมากและแห้งไม่ สมบูรณ์ กรณีแห้งด้วยรังสี UV การฉายรังสีที่มีพลังงานไม่เพียงพอ ทำ�ให้ photoiniator ไม่สามารถทำ�ปฏิกิริยากับ monomer ได้สมบูรณ์ การเกิดการซับหลัง โอกาสจะเพิ่มขึ้นเมื่อทำ�ให้สิ่งพิมพ์ค้างอยู่ ในกองเป็นเวลานาน หรือการใช้แรงกดระหว่างลูกกลิ้งที่มากเกินไป

เป็นอย่างไรบ้างครับ กับความรู้เรื่องผ้ายาง และข้อมูลการทดสอบ สมบัติผ้ายางกับหมึกพิมพ์และสารเคมีในตัวหมึกพิมพ์ กระผมนายไอไอเค หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ของเรา เพื่อให้ทุกคนเข้าใจและสามารถเลือกใช้ผ้ายางให้เหมาะสมกับสภาพ การพิมพ์ ครั้งหน้าผมจะนำ�เสนอข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับหมึกพิมพ์ ในด้านอื่นๆ นะครับ นายไอไอเค สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : E-mail : prd.mgr@inter-ink.com E-mail : mkt@inter-ink.com ThaiPrint Magazine 123


Print Thai Academy

Thai Print Academy

สถาบันการพิมพ์ไทย หลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น

124 ThaiPrint Magazine


Print Thai Academy

อาจารย์ได้อธิบายขั้นตอนการดูและรักษาเครื่องพิมพ์อย่างละเอียด โดย อ.ผู้เชี่ยวชาญ

ให้นักเรียนออกมาอธิบายความเข้าใจหลังการเรียนการสอนก่อนทำ�ข้อสอบ

อาจาร์ยทั้งสองท่านเตรียมข้อสอบไว้ให้สำ�หรับนักเรียนสอบ หลังปิดการเรียนการสอนทำ�ข้อสอบ

อาจาร์ยเดินแจกข้อสอบให้นักเรียน ด้วยอาการยิ้มแย้มแจ่มใส ThaiPrint Magazine 125


Print Thai Academy

มีห้องอาหารไว้รองรับนักเรียนอย่างเพียงพอพร้อมสิ่งอำ�นวยความสะดวกครบครัน

รอยยิม้ แห่งความสุขสำ�หรับอาหารมือ้ กลางวัน

สามารถตักรับประทานกินอย่างจุใจเต็มอิ่ม

รอยยิ้มแห่งความสุขสำ�หรับอาหารมื้อกลางวัน 126 ThaiPrint Magazine

อาหารหลายเมนูสำ�หรับมื้อกลางวัน พร้อมขนมหวานและผลไม้


Print Thai Academy

อาจาร์ยอธิบายวิธีการใช้เครื่องพิมพ์ก่อนลงมือปฎิบัติจริง

อาจาร์ยให้นักเรียนลงมือปฎิบัติจริง ThaiPrint Magazine 127


Print Thai Academy

หลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น หั วข้อฝึกอบรม

1. การบำ�รุงรักษาเครื่องพิมพ์ 2. ความปลอดภัยในการทำ�งาน 3. การพิมพ์ออฟเซ็ท 4. กระดาษ 5. หมึกพิมพ์ 6. น้ำ�ยาเคมีในห้องพิมพ์ 7. เผลท 8. ระบบน้ำ�ยา 9. ระบบหมึก 10. ผ้ายางและการรองหนุน

รูปแบบการฝึกอบรม ภาคเช้า 09.00 น. – 12.00 น. เรียนทฤษฏีการพิมพ์ ภาคบ่าย 13.00 น. – 16.00 น. ฝึกปฏิบัติการพิมพ์กับเครื่องพิมพ์ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม 1. สามารถพัฒนาหลักการที่ได้เรียนรู้ นำ�องค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง และการทำ�งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์ชีวิต และประสบการณ์การทำ�งาน ร่วมกันระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรม และวิทยากร เพื่อประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 3. จะต้องพิมพ์งานสอดสีได้ด้วยเครื่องพิมพ์สีเดียว วัน และเวลาการฝึกอบรม ทุกวันเสาร์ 10 เสาร์ เริม่ ฝึกอบรมวันเสาร์ท่ี 26 กุมภาพันธ์ 2554 เป็นต้นไป เวลา 09.00 น. – 16.00 น. สถานที่ สถาบันการพิมพ์ไทย ในนิคมอุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร

128 ThaiPrint Magazine


Printing Education & Development

สถาบันการพิมพ์ไทย

มุ่งมั่นสู่การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง กับสถาบันการพิมพ์ไทย 130 ThaiPrint Magazine


หลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้น (ภาคภาษาไทย)

หลักสูตรฝึกอบรม

การพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้น (ภาคภาษาไทย) เรียบเรียงโดย พิวัส สุขณียุทธ สถาบันการพิมพ์ไทยจัดเปิดหลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟ เซตเบื้องต้น (ภาคภาษาไทย) เป็นรุ่นที่ 2 ซึ่งจากปีที่แล้วได้รับการตอบรับ เป็นอย่างมากถึงความโดดเด่นของหลักสูตรจากผู้เรียนในรุ่นที่ 1 ทั้งใน ด้านเนื้อหา ความเหมาะสมของระยะเวลา และการนำ�ไปใช้ได้ในการทำ�งาน จริง ทางสถาบันการพิมพ์ไทยจึงได้จัดการฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซต เบือ้ งต้นขึน้ อีกเป็นรุน่ ที่ 2 ในปีน้ี เพือ่ ให้ผทู้ ส่ี นใจเกีย่ วกับพืน้ ฐานของระบบ การพิมพ์ออฟเชต ผู้ที่ทำ�งานในด้านวิชาชีพการพิมพ์ ผู้จัดจำ�หน่าย วัสดุการพิมพ์ ผู้ประกอบการและทายาท รวมถึงผู้ที่สนใจทุกท่าน ได้มี โอกาสเข้ารับการฝึกอบรมในช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ ทีส่ ามารถนำ�ความรูท้ ไ่ี ด้ ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ระบบการพิมพ์ออฟเซตลิโธกราฟ หรือทีม่ กั เรียกกันสัน้ ๆ ว่า ระบบ การพิมพ์ออฟเซต เป็นระบบการพิมพ์หนึ่งที่มีสัดส่วนของผู้ประกอบการ ธุรกิจการพิมพ์ทม่ี มี ากทีส่ ดุ ในประเทศ และเป็นระบบการพิมพ์ทใ่ี ห้คณ ุ ภาพ การพิมพ์ที่ดีมากโดยเฉพาะงานพิมพ์สิ่งพิมพ์ทั่วไป เช่น หนังสือ นิตยสาร วารสาร และงานพิมพ์บรรจุภัณฑ์ เช่น กล่อง และฉลาก ถึงแม้ว่า เทคโนโลยีการพิมพ์จะมีการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งอยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้ได้คุณภาพการพิมพ์ที่เป็นเลิศและลดเวลาในการทำ�งาน ลง แต่สง่ิ หนึง่ ทีไ่ ม่เคยเปลีย่ นแปลงไปในส่วนของกระบวนการพิมพ์ออฟเซต คือ หลักการพื้นฐานทางด้านการพิมพ์ออฟเซต หลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้นของสถาบันการพิมพ์ ไทยนี้ เป็นหลักสูตรทีใ่ ช้ระยะเวลาในการเข้าฝึกอบรมช่วงสัน้ ๆ ประมาณ 10 วัน แต่เนื้อหาและความเข้มข้นของหลักสูตรได้ถูกบรรจุไว้อย่างเต็มที่ เพื่อให้ผู้เข้าฝึกอบรมสามารถนำ�ความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับการทำ�งาน ในชีวติ จริงให้เกิดประโยชน์สงู สุด ในการดำ�เนินกิจกรรมการเรียนการสอนนัน้ ได้รบั เกียรติจากคณาจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญทางด้านการพิมพ์ ทัง้ จากมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และโรงเรียนดอนบอสโก เป็นวิทยากรใน การฝึกอบรมทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ซึ่งผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะ ThaiPrint Magazine 131


Printing Education & Development ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงด้วยมือของตนเอง เพื่อให้ เกิดความเข้าใจทีจ่ ะสามารถคิดวิเคราะห์ และแก้ปญ ั หาได้ดว้ ยตนเอง เพราะ ในการทำ�งานจริงยอมเกิดปัญหาอยู่ตลอดเวลาที่ไม่สามารถคาดเดาได้ ดังนั้นจากการที่ได้สัมผัสและทดลองลงมือทำ�จริงจะทำ�ให้ผู้เรียนตระหนัก ถึงความสำ�คัญของพื้นฐานทางด้านการพิมพ์ที่จะนำ�ไปสู่การแก้ปัญหา อันหลากหลายในชีวิตจริงได้ ในหลักสูตรนีม้ วี ตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าฝึกอบรมสามารถนำ�หลัก การและองค์ความรูท้ เ่ี ป็นประโยชน์ไปใช้ประยุกต์ได้ในการทำ�งานจริงอย่าง มีประสิทธิภาพ ได้มโี อกาสแลกเปลีย่ นประสบการณ์ชวี ติ และประสบการณ์ ทำ�งานร่วมกันระหว่างผู้เข้าอบรมและวิทยากร และสามารถพิมพ์งานสอด สีได้ด้วยเครื่องพิมพ์สีเดียว สำ�หรับหลักสูตรที่กำ�ลังฝึกอบรมอยู่ในขณะนี้ เป็นรุ่นที่ 2 ซึ่งเปิดอบรมตั้งแต่วันเสาร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โดยอบรมทุกวันเสาร์ เวลา 9.00 – 16.00 น. เป็นเวลา 10 วัน ณ สถาบัน การพิมพ์ไทย นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยหลักสูตร การฝึกอบรมในครั้งนี้ มีค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 25,000 บาท ตลอดหลักสูตร (รวมอาหารกลางวันและอาหารว่างช่วงเช้าและช่วงบ่าย) ผู้ที่เข้าฝึกอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนและผ่านการทดสอบ จะได้รับเกียรติ บัตรจากสมาคมการพิมพ์ไทย ในการฝึกอบรมจะมีในส่วนของภาคทฤษฎีซึ่งจะเรียนในช่วงเช้า และภาคปฏิบัติจะเรียนในช่วงบ่าย โดยภาคทฤษฎีจะมีการเรียนรู้เกี่ยวกับ การบำ�รุงรักษาเครือ่ งพิมพ์ ความปลอดภัยในการทำ�งาน การพิมพ์ออฟเซต กระดาษ หมึกพิมพ์ น้�ำ ยาเคมีในห้องพิมพ์ แม่พิมพ์ ระบบน้�ำ ระบบ หมึก ผ้ายางและการรองหนุน ส่วนภาคปฏิบัติในช่วงบ่ายจะเป็นการลงมือ ปฏิบัติจริง ตั้งแต่การเรียนรู้ส่วนประกอบ และโครงสร้างของเครื่องพิมพ์ การปฏิบัติงานด้วยความปลอดภัย การเตรียมพิมพ์ การพิมพ์งาน 1 สี 2 สี และ 4 สี ทั้งแบบลายเส้นและสกรีน ด้วยเครื่องพิมพ์ Heidelberg GTO หรือ MO-S และเครื่องพิมพ์ Mitsubishi D3000LS ถึงแม้ว่าจะเป็นหลักสูตรระยะสั้นที่รวบรวมทุกเรื่องเกี่ยวกับการ พิมพ์ระบบออฟเซตไว้ในช่วงระยะเวลาเพียงแค่ 10 วัน แต่ผลที่ได้นั้น คุ้มค่าเกินกว่าค่าใช้จ่ายและเวลาที่เสียไป เพราะผู้เข้าฝึกอบรมได้รับการ เรียนรู้ทั้งในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติที่สามารถนำ�ไปใช้ได้ในชีวิตการ ทำ�งานจริง และการที่ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจะทำ�ให้สามารถจดจำ� ทำ�ความเข้าใจ คิดและวิเคราะห์ถงึ ระบบการทำ�งานพืน้ ฐานของเครือ่ งพิมพ์ ออฟเซทได้เป็นอย่างดี เมื่อเกิดปัญหาในการทำ�งานก็สามารถคิดหาวิธีแก้ ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เสียเวลา ถูกหลอก หรือแก้ปัญหา อย่างไม่ถูกวิธีอีกต่อไป สำ�หรับผู้ที่สนใจหลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้นใน คอร์สต่อไป สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ท่ี www.thaiprintacademy.com หรือสมาคมการพิมพ์ไทย โทร. 02-719-6685-7 132 ThaiPrint Magazine


หลักสูตรฝึกอบรมการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้น (ภาคภาษาไทย)

อาจารย์สรุปงานที่ต้องทำ�ในแต่ละวันให้ฟังก่อนเริ่มลงมือปฏิบัติ

เริ่มตั้งแต่พื้นฐานการจับกระดาษ ฝึกกระทุ้งกระดาษ และนำ�กระดาษเข้าสู่ส่วนป้อนของเครื่องพิมพ์

สำ�รวจโครงสร้างเครื่องพิมพ์และตรวจสอบอุปกรณ์ด้านความปลอดภัย

ปรับตัง้ ส่วนรองรับกระดาษของเครือ่ งพิมพ์ ThaiPrint Magazine 133


Printing Education & Development

ฝึกใส่แม่พิมพ์

ตรวจสอบฉากที่พิมพ์

ตรวจสอบและแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ในขณะฝึกปฏิบัติ

ทำ�ความสะอาดเครื่องพิมพ์ให้เรียบร้อย ทุกครั้งหลังเลิกงาน 134 ThaiPrint Magazine


ผลการดำ�เนินงาน

ผลการดำ�เนินงาน ของสมาคมการพิมพ์ไทย ประจำ�ปี 2553 มิถุนายน 2553 - - - - - - - -

จัดงานประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปีที่ 64 และได้เลือกตั้ง คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ ขึ้นรับตำ�แหน่งเป็น นายกสมาคมการพิมพ์ วาระปี 2553-2555 ณ ห้องอินฟินิตี้ 1-2 โรงแรมพูลแมนบางกอกคิงส์พาวเวอร์ เข้าร่วมงานแถลงข่าว งานเทศกาลหนังสือเด็กและเยาวชน ครั้งที่ 8 ของ สมาคมผู้จัดพิมพ์และจัดจำ�หน่ายแห่งประเทศไทย ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เข้าร่วมพิธีวางพวงมาลา เพื่อระลึกถึงคุณปการที่หมอบรัดเลย์มีต่อวงการการพิมพ์ไทย ณ สุสานโปรแตสแตนท์ ถนนเจริญกรุง กรุงเทพฯ เข้าร่วมทำ�บุญทักษิณานุปทานถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เนื่องในวันการพิมพ์ไทย ณ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม เข้าร่วมงาน “วันการพิมพ์ไทย” ประจำ�ปี 2553 โดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ เข้ารับตำ�แหน่ง ประธานสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ วาระปี 2553-2554 ณ สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดี-รังสิต เข้าแสดงความยินดีกับ คุณชัยวุฒิ บรรณวัฒน์ ในการรับตำ�แหน่ง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรมใหม่ กระทรวงอุตสาหกรรม ร่วมงานประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2553 ของ สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย ณ ห้อง บอลรูม โรงแรม พลูแมนคิงเพาเวอร์ กรุงเทพฯ ร่วมงานเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ เนื่องในวันการพิมพ์ไทยของ สหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ ณ กระทรวงสาธารณสุข

ประชุมใหญ่ 64

แถลงข่าวเทศกาล

คุณพรชัย รับตำ�แหน่ง ประธานสหพันธ์

งานเดิน-วิ่งเพื่อสุขภาพ ThaiPrint Magazine 135


Thaiprint Exsibition

กรกฎาคม 2553 - ลงนามความร่วมมือกับ ภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ณ ตึกอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - เข้าร่วมพิธีเปิดโรงงานแห่งที่ 2 ของ บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำ�กัด - เข้าร่วมงานกิจกรรมระดมสมอง (Focus Group ครั้งที่ 3) “โครงการจัดทำ�ยุทธศาสตร์การพัฒนาสิ่งพิมพ์และอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์อาหาร” ณ สำ�นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม - ร่วมประชุม ขับเคลื่อนการส่งออกรายสินค้าและประเมินสถานการณ์ส่งออกวัสดุก่อสร้างเม็ด และผลิตภัณฑ์พลาสติกยางพารา เครื่องจักรกลปิโตรเคมีสิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 6 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ - จัดการตัดสินการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย - จัดงานสัมมนา “โครงการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผลิตภัณฑ์ชุมชน” จำ�นวน 4 ครั้ง 4 จังหวัด ดังนี้ 1. ณ พิพิธภัณฑ์เหมืองแร่ จังหวัดภูเก็ต 2. ณ ห้องบอลรูม โรงแรมสีหราช จังหวัดอุตรดิตถ์ 3. ณ ห้องนพรัตน โรงแรมรอยัลไดมอนด์ จังหวัดเพชรบุรี 4. ณ ห้องเทียนทอง โรงแรมอรัญเมอร์เมด จังหวัดสระแก้ว

สิงหาคม 2553 - -

จัดอบรมโปรแกรมระบบปฎิบัติการพิมพ์ (Thai Print Software) ณ อาคารศูนย์ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ตึก iSMEs สี่แยกคอกวัว เข้าร่วมพิธีถวายพานพุ่มดอกไม้สักการะ สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ในฐานะ “พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย” ณ กระทรวงวิทยาศาสตาร์และเทคโนโลยี ณ ห้องคอนเวนชั่น ฮอลล์ บี โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลค์

สัมมนาอุตรดิตถ์ 136 ThaiPrint Magazine

สัมมนาภูเก็ต

สัมนาสระแก้ว

สัมมนาเพชรบุรี


ผลการดำ�เนินงาน

สิงหาคม 2553 -

จัดงาน “โครงการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผลิตภัณฑ์ชุมชน” จำ�นวน 11 ครั้ง 9 จังหวัด ดังนี้ 1. ณ ห้องพระนาง องค์การบริหารส่วน จังหวัดกระบี่ 2. ณ ห้องสวนหลวง โรงแรมคาทีน่า จังหวัดภูเก็ต 3. ณ ห้องประชุม นิคมอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์สินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 2 ครั้ง 4. ณ ห้องประชุม ศูนย์สัมมนาจัดเลี้ยงมณิภา จังหวัดลพบุรี 5. ณ ห้องสุวรรณภูมิ โรงแรมวรบุรี อโยธยาคอนเวนชั่นรีสอร์ท จังหวัดนครศรีอยุธยา 6. ณ ห้องแกรนด์บอลรูม โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ จังหวัดเชียงใหม่ 2 ครั้ง 7. ณ ห้องเชียงรุ้ง โรงแรมเวียงอินทร์ จังหวัดเชียงราย 8. ณ โรงแรมทิพย์ จังหวัดหนองคาย 9. ณ ห้องแกรนด์รอยัล บอลรูม 1 โรงแรม เซ็นทาราคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ จังหวัดอุดรธานี

กันยายน 2553 - -

เข้าร่วมงาน “Creative Economy : How people make money from creative printing & photo business” ของ บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด ณ ห้อง Meeting Room 1-4 ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ จัดงาน “โครงการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผลิตภัณฑ์ชุมชน” จำ�นวน 18 ครั้ง 16 จังหวัด ดังนี้ 1. ณ ห้องสันตรัตน์ โรงแรมตักสิลา จังหวัดมหาสารคาม 2. ณ ห้องศรีจันทร์ 1 โรงแรมเจริญธานี ปริ๊นเซส จังหวัดขอนแก่น 2 ครั้ง 3. ณ ห้องโยธิน โรงแรมหาดทอง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 4. ณ ห้องพุทธรักษา โรงแรมมรกต จังหวัดชุมพร 5. ณ ห้องแกรนด์คอนเวนชั่น โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จังหวัดนครศรีธรรมราช 2 ครั้ง 6. ณ ห้องสุคนธา โรงแรมโนโวเทลเซ็นทารา หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 7. ณ ห้องนาโพธิ์ โรงแรมเทพนคร จังหวัดบุรีรัมย์ 8. ณ ห้องนิเวศรัตน์ โรงแรมเลิศนิมิตร จังหวัดชัยภูมิ 9. ณ ห้องชัยพฤกษ์ โรงแรม วรบุรีอโยธยาคอนเวนชั่น รีสอร์ท จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 10. ณ ห้องเวียงแก้ว โรงแรมลำ�ปางเวียงทอง จังหวัดลำ�ปาง

สัมมนามหาสารคาม

สัมมนาพิษณุโลก

สัมมนานครศรีธรรมราช

สัมมนาสมุทรสาคร ThaiPrint Magazine 137


Thaiprint Exsibition

กันยายน 2553

11. ณ ห้องคอนเวนชั่น โรงแรมท๊อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก 12. ณ ห้องเพ็ชรงอก โรงแรมเบเวอร์ลี่ฮิลล์ ปาร์ค จังหวัดนครสวรรค์ 13. ณ ห้องกิ่งเพชร โรงแรมเวล จังหวัดนครปฐม 14. ณ ห้องทิพย์สุวรรณ บ้านทิพย์สวนทอง รีสอร์ท จังหวัดสมุทรสงคราม 15. ณ ห้องโชติกา โรงแรมเซ็นทรัล เพลส จังหวัดสมุทรสาคร 16. ณ ห้องเทพนิมิตร โรงแรมวังสำ�ราญ จังหวัดปราจีนบุรี

ตุลาคม 2553 -

จัดงาน “โครงการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผลิตภัณฑ์ชุมชน” จำ�นวน 6 ครั้ง 5 จังหวัด ดังนี้ 1. ณ ห้องอรพิม โรงแรมสีมาธานี จังหวัดนครราชสีมา 2. ณ ห้องชัยพฤกษ์ โรงพยาบาลอำ�นาจเจริญ จังหวัดอำ�นาจเจริญ 3. ณ ห้องราชศุภมิตร โรงแรมราชศุภมิตร จังหวัดกาญจนบุรี 4. ณ ห้องบอลรูม โรงแรมเกี่ยวอัน จังหวัดสระบุรี 5. ณ ห้องนครนนท์ โรงแรมเดอะริช จังหวัดนนทบุรี 2 ครั้ง

พฤศจิกายน 2553 - คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ กล่าวเปิดงาน “Innovating The Future of Future of Commercial Printing” ของ บริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ณ ห้องบอลรูม โรงแรมแชงกรีล่า - ร่วมประชุม ขับเคลื่อนการส่งออกรายสินค้าและประเมินสถานการณ์ส่งออก วัสดุก่อสร้างเม็ดและผลิตภัณฑ์พลาสติกยางพารา เครื่องจักรกลปิโตรเคมีสิ่งพิมพ์ กระดาษและบรรจุภัณฑ์ ณ ห้องประชุม 50913 ชั้น 9 กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ - ลงนามบันทึกข้อตกลง (MOU) โครงการความร่วมมือกับสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) “ด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์” ณ ห้องประชุม กวท. อาคาร 1 สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) บางเขน

สัมมนาอำ�นาจเจริญ 138 ThaiPrint Magazine

งานไฮเดลเบิร์ก

เซ็น MOU วว.

งาน Interpack


ผลการดำ�เนินงาน

พฤศจิกายน 2553 - เข้าร่วมงาน Interpack 2011 Presentation ของ บริษัท เมสเซ่ ดุลเซลดอร์ฟ จำ�กัด ซึ่งมีบริษัท บีแอลไอ (ไทยแลนด์) จำ�กัด เป็นตัวแทนในประเทศไทย ณ ห้องพินนาเคิล 1 และ 2 โรงแรมอินเตอร์ติเนนตัล

ธันวาคม 2553 - ร่วมประชุมหารือ แผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการส่งออกธุรกิจบริการสิ่งพิมพ์ ปีงบประมาณ 2554 และปี 2555 ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 9 สำ�นักส่งเสริมธุรกิจบริการ กรมส่งเสริมการส่งออก - ร่วมงาน พิธีเปิดงานเทศกาลให้หนังสือเป็นของขวัญ ครั้งที่ 1 (Book for Gift 2010) ณ ฮอลล์ 6 อิมแพ็ค เมืองทองธานี - จัดงานพิธีประกาศผลและมอบรางวัลการออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ภาคเหนือ “โครงการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผลิตภัณฑ์ชุมชน” จำ�นวน 4 ภาค ดังนี้ 1. ภาคเหนือ จัดงาน ณ ห้องแกรนด์บอลลรูม โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ (2000) จังหวัดเชียงใหม่ 2. ภาตใต้ จัดงาน ณ ห้องอรพินธ์ โรงแรมทวินโลตัส จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจัดงาน ณ ห้องประโคนชัย โรงแรมเทพนคร จังหวัดบุรีรัมย์ 4. ภาคกลางจัดงาน ณ ศูนย์ออกแบบบรรจุภัณฑ์จุฬาดีไซน์ สี่แยกคอกวัว กรุงเทพมหานคร

มกราคม 2554 - -

จัดงานเลือกตั้งกรรมการ Young Printer Group วาระปี 2553-2555 โดยการสนับสนุนของ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ณ Home & Hill Resort จ.นครนายก บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด เข้าพบ คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมฯ พร้อมทั้ง คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง อุปนายกสมาคมฯ และ คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ประชาสัมพันธ์สมาคมฯ เพื่อสวัสดีปีใหม่ ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย ถนนพระราม 9

ประชุมการส่งออกสิ่งพิมพ์

พิธีมอบรางวัลออกแบบ บรรจุภัณฑ์ เชียงใหม่

สวัสดีปีใหม่ cannon

เลือกตั้งกรรมการ ThaiPrint Magazine 139


Thaiprint Exsibition

กุมภาพันธ์ 2554 - เข้าร่วมพิธีรับโล่เกียรติคุณ ในฐานะผู้สนับสนุนการจัดนิทรรศการ DO DID DONE ของ สาขามีเดียอาร์ตและสาขาวิชาเทคโนโลยี ณ ห้องประชุมจำ�รัสฉายะพงศ์ ชั้น 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - จัดงานมอบประกาศนียบัตร สถาบันการพิมพ์ไทยหลักสูตรการพิมพ์เบื้องต้น ภาคภาษาอังกฤษ รุ่นที่ 2 และหลักสูตรการพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น รุ่นที่ 1 ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ซี โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์ แอด เซ็นทรัลเวิล์ด กรุงเทพ - ร่วมงานเลี้ยงรับประทานอาหารเย็น กับ Hong Kong Trade Development Council ณ The Emporia Restaurant Emporium Suites EL Floor ถนนสุขุมวิท ซอย 24 เวลา 18.30 น. - สถาบันการพิมพ์ไทยเปิดอบรมหลักสูตร “การพิมพ์ออฟเซ็ทเบื้องต้น” ครั้งที่ 2 ณ สถาบันการพิมพ์ไทย ในนิคมอุตสาหกรรมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร - เข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2554 กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์กระดาษสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ณ ห้อง Boardroom 3 โซน C ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

มีนาคม 2554 - -

จัดงานเลี้ยงขอบคุณ บริษัท เอสซีจีเปเปอร์ จำ�กัด (มหาชน) และเนื่องในโอกาสรับตำ�แหน่งใหม่ ของ คุณชวลิต เอกบุตร (ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่การเงินและการลงทุนเอสซีจี กรรมการผู้จัดการใหญ่เอสซีจีการลงทุน) และคุณรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส (กรรมการผู้จัดการใหญ่) บริษัท เอสซีจี เปเปอร์ จำ�กัด (มหาชน) ณ ห้องอาหารจีน แชงพาเลซ โรงแรม แชงกรีลา ถนนเจริญกรุง Young Printer Group ร่วมทำ�กิจกรรมเข้าเยี่ยมชม บริษัท อินเตอร์อิงค์ จำ�กัด และบริษัท คอนติเนนตัลบรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด

รับโล่ มจธ 140 ThaiPrint Magazine

พิธีรับใบประกาศ

รับประทานอาหารเย็นกับ SCG

พิธีวางพานพุ่ม ร.4


ผลการดำ�เนินงาน

มีนาคม 2554 - - - - - -

ร่วมพิธีเปิดงาน “Thailand SME Expo 2011” ณ ฮอลล์ 2 อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี จัดงานเลี้ยงต้อนรับ คณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ สาธารณรัฐสหภาพพม่า ณ ร้าน คาเฟ เดอ ลาว ถนนสีลม ซอย 19 จัดงานเลี้ยงต้อนรับ นายกสมาคมการพิมพ์ แห่งประเทศลาว ณ ร้าน คาเฟ เดอ ลาว ถนนสีลม ซอย 19 เข้าร่วมพิธีวางพานพุ่มเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 เนื่องในโอกาส “วันการพิมพ์แห่งชาติ” ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีถนนโยธี กทม. เจ้าหน้าที่จากศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าเยี่ยมชม ศูนย์ทดสอบมาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์การพิมพ์และศูนย์วิจัยการพัฒนา ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วมงานพิธีเปิดและร่วมงานเลี้ยงรับรองงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ ครั้งที่ 39 และงานสัปดาห์หนังสือนานาชาติ ครั้งที่ 9 ณ ห้องบอลรูม ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต์ิ

เมษายน 2554 - - -

คณะกรรมการบริหารสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย และเจ้าหน้าที่ เข้าเยี่ยมชม ศูนย์ทดสอบมาตรฐานวัสดุและอุปกรณ์การพิมพ์ และศูนย์วิจัยการพัฒนา ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย เข้าร่วมงานประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2554 สมาคมการค้าวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ไทย ณ ห้องชมัยมรุเชฐ สโมสรทหารบก จัดงานประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปีที่ 65 ณ ห้องบอลรูม 2 โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล

กลุ่มการพิมพ์จากพม่า เยี่ยมชม นิคมสินสาคร

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ฯ วว. งานสัปดาห์หนังสือ ครั้งที่ 39 ประชุมคณะกรรมการ ครัง้ ที่ 65 ThaiPrint Magazine 141


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.