Thaiprint Magazine Vol.89

Page 1

Cover Thaiprint 89_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

11/18/11

9:25 AM


Ad Green Serie_m19.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/18/11

4:14 PM


ad Interink_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/10/2554

16:56


Ad canon#85-m19.indd 1

3/19/11 4:50:57 PM


ad Cannon#89 pr2_m14.pdf

1

29/9/2554

22:22

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ประสิทธิภาพเหนือคูแขง ที่ไรขีดจำกัดในการพิมพและผลกำไร

คุณภาพงานพิมพที่เหนือกวา / การจัดเรียงชุดเอกสารแบบมืออาชีพ / การบริการที่เปนหนึ่ง คนพบโอกาสทางธุรกิจใหมกับ แคนนอนดวยโซลูชั่นการพิมพดิจิตอล ตอบสนองอยางรวดเร็วและสามารถปรับเปลี่ยนได ประหยัดคาใชจาย และสามารถพิมพงานไดอยางสะดวกสบายเพือ่ ความมัน่ ใจในคุณภาพ งานพิมพที่ใหกับลูกคาของคุณไดอยางแนนอน แคนนอนไดพัฒนา ความสามารถในการจัดการคาสี และการสรางความหลากหลายใน การพิมพ เพื่อเพิ่มมูลคาใหธุรกิจของคุณ ชวยใหคุณตอบสนอง ความตองการและใหบริการลูกคาไดอยางเต็มประสิทธิภาพ

ขอมูลเพิ่มเติมที่ www.canon.co.th สนใจติดตอ โทร. 0-2344-9999 ตอ 771, 785

บริษัท แคนนอน มารเก็ตติ้ง (ไทยแลนด) จำกัด 179/34-45 อาคารบางกอกซิตี้ทาวเวอร ชั้น 9-10 ถนนสาทรใต แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120 โทร. 0-2344-9999 ตอ 771, 785


ad Hp p1#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/10/2554

21:41


Ad hp P2 #89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/10/2554

21:40


∂Ÿ° µâπ∑ÿπÀ¡÷° ’µË” ÿ¥ ‡¡◊ËÕ‡∑’¬∫°—∫‡§√◊ËÕßæ‘¡æå„π√–∫∫ ¥‘®‘µÕ≈ ’™π‘¥Õ◊ËπÊ ‡√Á« 9,000 ·ºàπ/™—Ë«‚¡ß æ‘¡æåµàÕ‡π◊ËÕ߉¥â ‰¡àµ‘¥¢—¥ ¥’ „™âß“πßà“¬ „Àâ ”‡π“§¡™—¥ ·≈–‡ªìπÀ¡÷°™π‘¥°—ππÈ”

Print on demand ●

∫√‘…—∑

400 Õ“§“√‰æ√‘‚´à (ª√–‡∑»‰ °¡.4 ·¢«ß∫“ ‚√®πå°‘®®“ ™—Èπ 10 À¡Ÿ ∑¬) ®”°—¥ à 11 ßπ“ ‡¢µ∫“ß π“ °√ÿ߇∑æ¡À“∂.∫“ßπ“-µ√“¥ π§√ 10260

● ∫√‘…—∑ √‘‚´à (ª√–‡∑»‰∑¬)

®”°—¥ 400 Õ“§“√‰æ‚√®πå°‘®®“ ™—Èπ 10 À¡Ÿà 11 ∂.∫“ßπ“-µ√“¥ °¡.4 ·¢«ß∫“ßπ“ ‡¢µ∫“ßπ“ °√ÿ߇∑æ¡À“π§√ 10260

● ●

æ◊Èπ∑’Ëæ‘¡æå A3 µ—¥µ° æ‘¡æå ‰¥â‡√Á« Ÿß ÿ¥ 150 ·ºàπ/π“∑’ æ‘¡æåß“π ÕßÀπâ“Õ—µ‚π¡—µ‘ ‡ªìπ Network Printer ‰¥â

æ‘¡æå ’Ë ’®”π«π¡“°À√◊ÕπâÕ¬ ∫√‘…—∑ √‘‚´à (ª√–‡∑»‰∑¬) ®”°—¥

‡≈¢∑’Ë 825 Õ“§“√‰æ‚√®πå°‘®®“ ™—Èπ 10 ∂.∫“ßπ“-µ√“¥ ·¢«ß∫“ßπ“ ‡¢µ∫“ßπ“ °√ÿ߇∑æœ 10260 ‚∑√. 0-2361-4643 www.riso.co.th À√◊Õ www.riso.co.jp ad riso#89-m14.indd 1

11/18/11 4:31 AM


Ad T-Phaibul#86-m19.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

10/19/10

3:45 PM


Thai Print Magazine ฉบับที่ 89

สวัสดีครับ ทานผูอานทุกทานกอนอื่นผมตองขอแสดง ความเสียใจกับพี่นองชาวไทยทุกทานที่ไดรับความเสียหายจาก อุทกภัยน้ําทวมหนักกวาทุกป ในครั้งนี้ที่ไมเคยปรากฏมากอน หลายสิบป ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนตางก็พยายามที่จะชวย พี่นองชาวไทยใหเกิดความสูญเสียนอยที่สุด และขอใหทุกทาน ชวยกันรวมมือรวมใจชวยกันบริจาคสิ่งของ และเงินสดกับหนวย งานหรือมูลนิธิที่ตั้งขึ้นมาเพื่อรอรับความชวยเหลือจากพี่นอง ชาวไทยดวยกัน เพื่อสงไปชวยพี่นองที่รับความเสียหายกับ เหตุการณในครั้งนี้ดวยครับ ตอจากนี้ขอกลาวถึงงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 ซึ่งถือวาเปนงานแสดงสินคาที่ยิ่งใหญที่สุดในอาเซียน โดย การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยของเครื่องจักรกล ใน อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ ณ ศูนยนทิ รรศการ ไบเทค บางนา ซึง่ มีผเู ขารวมชมงานกันอยางคับคัง่ และไดจบลงไปอยาง สมเกียรติและขอแสดงความยินดีกับคณะผูจัดงานทุกทานที่งาน นี้ไดรับความสนใจจากผูเขาชมนานาประเทศ สมาคมที่รวมการ สนับสนุน และคณะผูแทนการคาอีกมากมายเราไดเก็บภาพ บรรยากาศของงานมาฝากคุณผูอานไดติดตามกันในเลม และตองขอแสดงความยินดีกบั ผูท ไ่ี ดรบั รางวัลจากเวทีการ ประกวดสิ่งพิมพแหงชาติครั้งที่ 6 โดยปนี้ทางสมาคมการพิมพ ไทยไดมุงเนนถึงคุณภาพของการพิมพ และยังใหความสําคัญ กับเรื่องของความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับการพิมพโดยใชสโลแกน ของงานนี้คือ “Where Printing Excellency and Creativity Converges” ซึ่งจะรวมเอาความยอดเยี่ยมของคุณภาพการพิมพ และความคิดสรางสรรคมาไวดวยกันครับ และขอใหผลงานทุก ชิ้นแตละประเภทผลงานของไทยเราไดไปควารางวัล Asian Print Awards กลับมาใหคนไทยเราไดชื่นชมกันอีกปนะครับ และขอ อวยพรใหประสบความสําเร็จทุกๆ รางวัลที่สงเขาประกวดใน ครั้งนี้ สวนผลรางวัลการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 นี้ ใครไดรับรางวัลประเภทอะไรบางใหติดตามกันในเลมนี้นะครับ นอกจากจะมีกิจกรรมที่ยิ่งใหญของอุตสาหกรรมการพิมพ และบรรจุภัณฑที่เกิดขึ้นไปแลวนั้น แตอยากขอแนะนํา Young Printer ทานหนึ่งที่มีความสามารถที่โดดเดนมากในเรื่องของ ความกลาคิดกลาทําโดยฉีกกฏการทําธุรกิจสิ่งพิมพยุคเกา และ นํากลยุทธสมัยใหมเขามาเริ่มทําธุรกิจสิ่งพิมพจนประสบความ สําเร็จแบบกาวกระโดดเขาเปนใคร เขามีวธิ คี ดิ และทําอยางไรลอง ติดตามไดครับ รวมถึงแนวคิดสูตรความสําเร็จของนักธุรกิจชัน้ นํา ของประเทศ ไดหยิบยกนํามาใหอานเพื่อใชเปนแนวทางในการ พัฒนาธุรกิจสิ่งพิมพของทาน และที่ขาดไมไดอีกเรื่องคือ เรื่อง ของสุขภาพของพีน่ อ งชาวอุตสาหกรรมการพิมพ เราจะตองใสใจ กันเปนพิเศษ โดยเราจะไดมาเรียนรูก นั ในเรือ่ งเกีย่ วกับโรคมะเร็ง กันครับ ทั้งหมดนี้ขอใหทานผูอานลองเขาไปเปดอานไดเลยครับ

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท อุปนายก คุณวิชยั สกลวรารุง เรือง, คุณวิรฬุ ห สงเสริมสวัสดิ์ คุณภาสกร วงษชนะชัย, คุณพิเชษฐ จิตรภาวนากุล คุณธนากร พุกกะเวส, คุณชัยวัฒน ศิริอําพันธกุล คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ คุณพงศธีระ พัฒนพีระเดช เลขาธิการ คุณพิมพนารา จิรานิธิศนนท ผูชวยเลขาฯ คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณนภาพร โรจนวงศจรัส เหรัญญิก คุณผองเพ็ญ อาชาเทวัญ นายทะเบียน คุณคุณา เทวอักษร ปฎิคม คุณชินธันย ธีรณัฐพันธ ประชาสัมพันธ คุณประเสริฐ หลอยืนยง ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย กมลสุวรรณ, คุณเกษม แยมวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณชาญชัย ตระกูลยุทธชัย, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน, คุณสุรเดช เหลาแสงงาม, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุจินตรา จรรยาทิพยสกุล, คุณวิธิต อุตสาหจิต, คุณสุพันธ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธํารง, คุณณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข, คุณชีวพัฒน ณ ถลาง, คุณดนัย ต. สุวรรณ, คุณจงอางศึก บุญยศิริกุล, คุณบุญชู ลิ่มอติบูลย, คุณชัยรัตน อัศวางกูร, คุณวรพจน อมรเธียร, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณม, คุณพัชร งามเสงี่ยม, ร.ศ.ดร.ศักดิ์ กองสุวรรณ, อ.บุญเลี้ยง แกวนาพันธ, ผศ.ประทุมทอง ไตรรัตน, รศ.ผกามาศ ผจญแกลว, อ.ไพบูลย กลมกลอม, ศ.ดร.วรรณา สนั่นพานิชกุล, ศ.วีระ โชติธรรมาภรณ, ดร.สุดา เกียรติกําจรวงศ, อ.สันติ ชื่นเจริญ, อ.สายพิณ ชูพงศ, ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ, รศ.สุณี ภูสีมวง, อ.สุริยันต เหลืองอราม ที่ปรึกษาพิเศษดานกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล

Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด เอื้อเฟอกระดาษที่ใชพิมพ thaiprint magazine โทรศัพท 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก ยูวี จํากัด ชวยเคลือบปกวารสารการพิมพไทยดวยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก. เพิ่มคุณคาใหงานพิมพ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ บริษัท สีทอง 555 จํากัด บริษัท สุนทรฟลม จํากัด บริษัท บางกอกบายนดิ้ง จํากัด

โทรศัพท 0-2425-9736-41 ผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑซองทุกชนิด โทรศัพท 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผูสนับสนุนการแยกสี ทําเพลท โทรศัพท 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผูสนับสนุนการไสกาว โทรศัพท 02-682-217779

หนังสือเลมนี้พิมพดวยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER

10 TPM_Editor89_New pc3.indd 10

17/11/2554 21:41:09


Ad President-mac19.indd 1

1/9/10 5:17:04 PM


Content 18

46

56 72

132

Print News Update 18 งานประกาศผลงานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 Cover Story 28 สุดยอดเทคโนโลยีแหงอนาคตสูความเปนมืออาชีพในธุรกิจงานพิมพ Print Interview 32 กาวสู...ทิศทางตลาดการพิมพดิจิตอล / คุณณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข 56 สัมภาษณ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ Print Technology 40 หลักการเลือกใชหมึก UV ใหถูกประเภท Print News 44 40th CAS CUP 2011 46 วางพานพุม 115 ฟูจิฟลม เปดตัวนวัตกรรมลาสุด เครื่อง FLEXOGRAPHY CTP 116 มหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 16 (Book Expo Thailand 2011) 117 ล้ําหนาวิวัฒนาการและเทคโนโลยีเครื่องพิมพจากแมนโรแลนด 118 โคนิกา มินอลตา เปดตัว Bizhub PRESS C8000 / บริษัท เกรทเทอร จํากัด 130 บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด) จํากัด 145 บริษัท คอนติเนนตัลฯ บริจาคชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวม Print Business 50 3 Words to Success in Printing Business? Global Printing Update 68 ทําตลาดอยางไรใหอยูในใจลูกคาอยางยั่งยืน Print Exhibition 72 เปดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 Print Data 96 อุตสาหกรรมการพิมพไทย / อุตสาหกรรมการพิมพญี่ปุน Print Business Perception 110 ไขเคล็ดลับความสําเร็จดวย 9 วิธีคิดเพื่อประยุกตใชในธุรกิจสิ่งพิมพ Young Printer 124 คุณภานุพงศ เหรียญกนกกุล (ตน) Thaiprint Awards 132 สรุปผลการประกาศรางวัลการประกวดสิ่งพิมพ แหงชาติ ครั้งที่ 6 Print Education & Development 140 บรรยากาศการเรียนการสอนของ นักเรียนการพิมพ รุนที่ 3 Print Societies’ Health 146 สุขภาพดีมีชัย...สุขภาพใจมีสุข... เรียนรูเรื่องโรคมะเร็ง

Thai Print Magazine ปีที่ 13 ฉบับที่ 89

124

สมาคมการพิมพไทย

เลขที่ 311/1 ซอยศูนยวิจัย 4 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝายประชาสัมพันธ สมาคมการพิมพไทยจัดทําขึ้น เพื่อบริการขาวสาร และสาระความรูแกสมาชิกสมาคมการพิมพไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจขาวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพในประเทศไทย ขอคิดเห็นและบทความตางๆ ในวาสารนี้เปนอิสรทรรศ ของผูเขียนแตละทาน สมาคมการพิมพไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอ

บรรณาธิการ อนันต ขันธวิเชียร ฝายบัญชี มยุรี จันทรรัตนคีรี

พิมพท่ี บริษทั ก.การพิมพเทียนกวง จํากัด 43 ซอยปราโมทย 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

12 ThaiPrint Magazine

12 CONTENT_rev89_New pc3.indd 12

17/11/2554 21:48:52


AD HP M14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

28/9/2554

13:30


Ad ferrostaal EKC_3328_GCG#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/10/2554

15:28


Ad Greater #89-m14.indd 1

11/18/11 4:33 AM


AD_K-MORE+KPJ_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

3/10/2554

14:39


AD_Yilee n8-10 Mac14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

9/10/2554

1:37


Printing News Update

สมาคมการพิมพไทย ประกาศผลรางวัลประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 เสริมแรงบันดาลใจจากความคิดสรางสรรค มุงสูคุณภาพอันยอดเยี่ยมจากงานพิมพฝมือคนไทย พรอมกาวสูศูนยกลางการพิมพแหงภูมิภาคอาเซียน

สมาคมการพิมพ์ไทย ประกาศความสําเร็จของผูประกอบการสิ่งพิมพ์ทั่วประเทศ รับรางวัล 29 ประเภทสิ่งพิมพ์ยอดเยี่ยม ภายใตแนวความคิดการผสานความคิดสรางสรรค์กับคุณภาพ สิง่ พิมพ์อนั ยอดเยีย่ ม พรอมนําชิน้ งานส่งประกวดเวทีอาเซียนเพือ่ แสดงศักยภาพของอุตสาหกรรม สิ่งพิมพ์ของประเทศไทยต่อไป 18 ThaiPrint Magazine

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 18

17/11/2554 22:18:12


6th Thaiprint Awards

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย (ที่ 2 จากขวา) และผู้สนับสนุนจาก Heidelberg

ปัจจุบันอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ของประเทศไทยเป็นทีน่ า่ จับตามอง อย่างมากในกลุ่มประเทศอาเซียน เพราะมีการพัฒนาด้านคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง ทั้งยังมีต้นทุนที่ต่ำ� กว่าเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศ ผู้นำ�ตลาดอย่างสิงคโปร์ โดยใน ปี พ.ศ. 2553 ที่ผ่านมา ถึงแม้ จะมีปัจจัยเชิงลบมากมายต่อภาค อุตสาหกรรมแต่มูลค่าการส่งออก ของสิ่งพิมพ์ไทยยังสร้างมูลค่าได้ ถึง 2,098.11 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ 65,000 ล้านบาท

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ลงทะเบียนก่อนเข้าร่วมงานในครั้งนี้

ขยายตัวเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 35 และสำ�หรับใน ปี พ.ศ. 2554 ใน ช่วง 4 เดือนแรก (ม.ค. - เม.ย.) มี มูลค่าทั้งสิ้น 1,817.85 ล้านเหรียญ สหรัฐฯ ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วง เดียวกันของปี 2553 ถึงร้อยละ 181.63 ส่งผลให้ประเทศไทยก้าว เป็นผูน้ �ำ ของประเทศส่งออกสิง่ พิมพ์ สูงสุดในอาเซียน จากแนวโน้มเหล่า นี้สามารถแสดงให้เห็นถึงความแข็ง แกร่งของอุตสาหกรรมการพิมพ์ และสร้างความเชื่อมั่นว่า ในระยะ ยาวนั้น การส่งออกสิ่งพิมพ์ของคน

คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กลาง) มี คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ให้การต้อนรับ

ไทยยังคงเติบโตและสามารถรักษา ความเป็นผู้นำ�ทางด้านการส่งออก อย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่งมีจำ�นวนประชากรที่มีกำ�ลังซื้อ มหาศาลมากกว่า 600 ล้านคน ทำ�ให้อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ต้องเตรียมความพร้อมทุกๆ ด้าน เพื่อ เพิ่ม ขี ด ความสามารถในการ แข่งขัน และเมื่อถึงวันนั้นเป้าหมาย ยอดการส่งออก 100,000 ล้าน

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ ให้สัมภาษณ์กับสื่อมวลชน ถึงความเป็นมาของการจัดงานและให้สัมภาษณ์ถึง ตัวเลขการส่งออกของสื่อสิ่งพิมพ์ไทยเป็นที่น่าพอใจ ThaiPrint Magazine 19

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 19

17/11/2554 22:18:23


Printing News Update

พริตตี้แสนสวยบรรจงติดช่อดอกไม้ ให้กับ Mr.AIf Carrigan Chairman of the Independent Judging Panel

คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ กำ�ลังสนทนากับคุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ภายในห้องรับรอง กล่าวถึงรายละเอียดของ การจัดงานในครั้งนี้ พร้อมทั้งคณะกรรมการผู้จัดงานให้การต้อนรับอย่างพร้อมเพรียง

ต่อปี ย่อมมีความเป็นไปได้อย่าง แน่นอน “การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ” หรือ “Thaiprint Awards” ถือ ได้ ว่ า เป็ น กลไกหนึ่ ง ที่ ส มาคมการ พิมพ์ไทยจัดให้เป็นเวทีสำ�หรับการ แสดงผลงานและศักยภาพทางการ พิ มพ์ ข องผู้ ป ระกอบการวิ ส าหกิ จ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์มีวัตถุ ประสงค์ เพื่อกระตุ้นอุตสาหกรรม การพิมพ์ของไทยให้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคม นายพรชัย รัตนชัยกานนท์ การพิมพ์ไทย ขึ้นกล่าวรายละเอียด การจัดงาน นายกสมาคมการพิมพ์ไทย เผยว่า

งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติของ ประเทศไทยได้จัดขึ้นมาตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบันเป็นจำ�นวน 5 ครั้ง ในการจัดครั้งแรกๆ นั้น สมาคม การพิมพ์ไทยจัดขึ้นเพียงเพื่อต้อง การจะปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ สิ่งพิมพ์ของคนไทยเพื่อเพิ่มโอกาส ที่จะได้รับความไว้วางใจจากผู้ซื้อ สิ่งพิมพ์จากต่างประเทศให้หันเข้า มาซื้อสิ่งพิมพ์บ้านเรามากขึ้นเท่า นั้น แต่หลังจากนั้นมาอีก 5 ปี ไม่ เพียงแต่คณ ุ ภาพ และความสามารถ ในการพิมพ์ของโรงพิมพ์คนไทย จะได้ก้าวสู่ความเป็นระดับ สากล

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ที่ปรึกษานายก สมาคมการพิมพ์ไทยและรองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 20 ThaiPrint Magazine

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 20

17/11/2554 22:18:34


6th Thaiprint Awards

รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพานิชย์ ร่วมถ่ายภาพไว้เป็น ที่ระลึกเพื่อเป็นเกียรติกับผู้ร่วมจัดงาน (จากซ้าย) คุณทวีชัย เตชะวิเชียร คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์, คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง, คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล, Mr.Alf Carrigan, คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์

แต่ผลจากการที่ประเทศไทยได้รับ รางวัลชนะเลิศเป็นที่ 1 ติดต่อกัน 3 ครั้งในระดับเอเชียและการพัฒนา ที่เป็นระบบของอุตสาหกรรมการ พิมพ์ได้ส่งผลให้ตัวเลขการส่งออก สิ่งพิมพ์ของคนไทยนั้นก้าวกระโดด โดยมีอัตราการเติบโตของตัวเลข ส่งออกสูงขึ้นในทุกๆ ปี จนกระทั่ง ปัจจุบนั นับเป็นสิง่ ทีย่ นื ยันว่าขณะ นี้คุณภาพการพิมพ์ของโรงพิมพ์ ในประเทศไทยมีความก้าวหน้า ทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนาแล้ว ปั จ จั ย สำ � คั ญ อั น หนึ่ ง ที่ นำ � พาไปสู่ความสำ�เร็จอันยิ่งใหญ่ของ

อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยที่เห็นได้ ชัดคือ การที่ผู้ประกอบการโรงพิมพ์ ได้ให้ความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการ พัฒนาคุณภาพของงานพิมพ์และ ให้ความร่วมมือในการส่งผลงานเข้า แข่งขันในทุกครั้งของงานประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติที่ผ่านมา โดย จำ�นวนตัวเลขของชิ้นงานที่ถูกส่ง เข้ามาประกวดนั้นมี จำ�นวนมาก เกือบพันชิน้ และมีจ�ำ นวนเพิม่ มาก ขึ้นทุกๆ ปี และชิ้นงานที่ได้รับ รางวั ล ชนะเลิ ศ นั้ น ก็ มี ก ารพั ฒ นา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง และจุดที่มี ความน่าสนใจอย่างยิ่งคือ คุณภาพ

คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้เกียรติร่วมถ่ายภายกับคณะกรรมการผู้จัดงานและแขกผู้มีเกียรติ

(จากซ้าย) คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์, คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง, คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ อุปนายกของสมาคม การพิมพ์ไทย ร่วมถ่ายภาพเป็นทีร่ ะลึก

ของสิ่งพิมพ์ไทยนั้นไม่ได้กระจุกตัว อยู่เฉพาะโรงพิมพ์ที่มีขนาดใหญ่ หากแต่ช่วงหลังมีรายชื่อโรงพิมพ์ หน้าใหม่ๆ ก้าวขึ้นมารับเหรียญ รางวัลมากขึ้นเรื่อยๆ สำ�หรับผล งานที่ได้รับรางวัลในการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6 ทาง สมาคมการพิมพ์ไทยใคร่ขอแสดง ความยินดีพร้อมทัง้ จัดงานประกาศ ผลรางวัลเพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ ให้ กับผู้ประกอบการวิสาหกิจสิ่งพิมพ์ ที่สร้างความแตกต่างในตัวของ ผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นการต่อยอดไป สู่การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้า

(จากซ้าย) คุณสุวิทย์ เพียรรุ่งโรจน์ คุณประเสริฐ หล่อยืนยง คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ แสดงความพร้อมชูมือด้วย ความมั่นใจในการจัดงานในครั้งนี้ ThaiPrint Magazine 21

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 21

17/11/2554 22:18:42


6th Thaiprint Awards

คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพาณิชย์

พิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6 เวลา ประมาณ 19.30 น. ณ ห้อง คอนเวนชั่นฮอลบี ชั้น 22 โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์แอด เซ็นทรัล เวิล์ด กรุงเทพฯ ได้รับเกียรติจาก คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รอง นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพาณิชย์ ให้เกียรติมาร่วม เป็ น ประธานและกล่ า วปาฐกถา นับว่าเป็นเกียรติอย่างสูงกับคณะ ผู้ จั ด งานหลั ง การกล่ า วจบลงทาง พิธีกรทั้งสองท่านเริ่มที่จะประกาศ

ผลรางวัล ช่วงที่ 1 รอยยิ้มแห่ง ความภาคภู มิ ใจกั บ เสี ย งปรบมื อ ของแขกผู้เข้าร่วมในงานนี้ดังสนั่น ช่วงคั่นเวลาคณะผู้จัดงานได้เตรียม การแสดงของ Exotic Band จาก เวที Thailand Got Talent เพิ่ม สีสันภายในงานบอกถึงพลังแห่ง ความสามัคคีในกลุ่มอุตสาหกรรม การพิมพ์ให้ก้าวไกลสู่คุณภาพการ พิมพ์ในระดับเวทีโลกและหลังจาก การประกาศรางวัล ในช่วงต่อมาก็ ยังมีการแสดงจากนักร้องที่การันตี

ในคุณภาพเสียง คุณพัดชา เอนก อายุวัฒน์ AF2 ช่วยสร้างความ เพลิดเพลินกับแขกผู้เข้าร่วมงานถึง 3 เพลงติดต่อกัน เติมเต็มความ สนุกสนานให้กับบรรยากาศในค่ำ� คืนอันทรงคุณค่า หลังจากจบเพลง สุดท้าย พิธีกรทั้งสองท่านก็ยังได้ มีโอกาสพูดคุยกับคุณพัดชา ก่อน ที่เริ่มประกาศรางวัลในช่วงต่อไป จนจบครบทุกรางวัล สร้างความ ปิติยินดีให้กับผู้ที่ได้รับรางวัลทุกๆ ผลงานการประกวดในปีนี้ ต้องขอ

คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข แห่งสุนทรฟิล์ม เข้ามากล่าวทักทาย คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ หลังจากกวาดไปหลายรางวัลในปีนี้ ThaiPrint Magazine 23

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 23

17/11/2554 22:19:03


Printing News Update

คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ ประธานการจัดงานการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6

สิ่งพิมพ์ของคนไทย ซึ่งสอดคล้อง กับนโยบายรัฐบาลที่สนับสนุนการ สร้างเศรษฐกิจแบบสร้างสรรค์” นายวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ ประธานการจัดงานและอุปนายก ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ กล่าวว่า “ผล รางวัลการประกวดสิ่งสิ่งพิมพ์แห่ง ชาติ ครั้งที่ 6 มีจำ�นวนทั้งหมด 89 รางวัล นั้นล้วนเป็นชิ้นงานที่มี แนวคิดและให้ความสำ�คัญต่อการ พิมพ์ที่มีคุณภาพยอดเยี่ยม และ ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างงาน

คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก สมาคมการพิมพ์ไทย ควบคุม ขั้นตอนการประสานงานของทีมงาน อย่างมุ่งมั่นเพื่อเป็นไปตามลำ�ดับ ขั้นตอนที่วางไว้

คุณกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ (ขวา) ให้เกียรติถ่ายภาพร่วมแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติ

พิมพ์ภายใต้สโลแกนที่ว่า “Where Printing Excellency and Creativity Converges” และในปี นี้ คณะกรรมการจัดงานได้ทำ�การ ปรับปรุงประเภทของการแข่งขัน เพื่อให้เกิดความกระชับและสอด คล้องกับเกณฑ์การแข่งขันในระดับ นานาชาติ โดยแบ่งประเภทของ การประกวดเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ งานพิมพ์ในระบบออฟเซ็ท (Offset Printing) งานพิมพ์ในระบบ ดิจิตอล (Digital Printing) และ งานพิมพ์ที่เป็นลักษณะพิเศษ รวม ทั้งสิ้น 29 ประเภท ซึ่งผลการ แข่งขันที่ออกมาได้แสดงให้เห็นถึง ศักยภาพของบริษัทที่ได้รับเหรียญ รางวัล ทั้งชนะเลิศและรองชนะ เลิศว่า เป็นบริษัทที่สามารถผลิต ชิ้นงานออกมาได้อย่างมีคุณภาพดี เยี่ยมอย่างแท้จริง โดยการแข่งขัน ในหลายประเภทของการประกวด ครั้งที่ 6 นี้ ทางคณะกรรมการ ตัดสิน ซึ่งประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญ ทั้งในประเทศและต่างประเทศต่าง พูดกันเป็นเสียงเดียวกันว่า เป็นการ ตัดสิน เพื่อเลือกผู้ชนะเลิศได้ยาก

มากจริงๆ เนื่องจากผลงานแต่ละ ชิ้นมีความยอดเยี่ยมและมีคุณภาพ ก้ำ�กึ่งกันในทุกแง่มุมเลยทีเดียว อีก ทัง้ ผลงานทีช่ นะเลิศในบางประเภท นั้น สามารถส่งเข้าประกวดไปลุ้น เหรียญชนะเลิศได้ทุกที่ในโลกและ เวทีต่อไปที่ทางสมาคมการพิมพ์ ไทยจะนำ�ผลงานส่งเข้าประกวดก็ คือ เวที Asian Print Awards ภายในค่ำ�คืนของงาน ในวัน ประกาศผลรางวัลการประกวดสิ่ง

22 ThaiPrint Magazine

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 22

19/11/2554 20:47:51


Printing News Update

บรรยากาศการฉลองชัยชนะแห่งความยิ่งใหญ่กับรางวัลอันทรงเกียรติในงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 6

ชมเชยเจ้าหน้าทีแ่ ละทีมงานคุณภาพ ทีป่ ระสานงานได้อย่างดีเยีย่ มพร้อม เพรียงกันจนสามารถขับเคลือ่ นงาน นี้ จบลงได้อย่างสมบูรณ์ครบถ้วน โดยเฉพาะบรรยากาศการปิดงาน อย่างเป็นทางการคณะผู้จัดงาน และผู้ที่ได้รับรางวัลขึ้นไปบนเวที แสดงความสำ�เร็จแห่งการเป็นผู้นำ� ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ภายใต้ สโลแกนของงานในปีนี้คือ “Where Printing Excellency and Creativity

Converges” ความหมายคือ การ รวมความยอดเยี่ยมของคุณภาพ การพิมพ์ และความคิดสร้างสรรค์ มาไว้ด้วยกัน ต้องมารอดูกันว่าใน ปีหน้าทางสมาคมการพิมพ์ไทยจะ จัดงานอันยิ่งใหญ่แบบนี้อีก ในปี หน้าจะออกมาสร้างความประทับ ใจให้ กั บ คนในอุ ต สาหกรรมการ พิมพ์ขนาดไหน ต้องรอพบใหม่ใน ปีต่อๆ ไป

คุณเกษม แย้มวาทีทอง นายกสมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย ถ่ายภาพร่วมกับ คณะกรรมการและแขกผู้มีเกียรติ

คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง ถ่ายภาพ ร่วมกับน้องๆ กลุ่ม Young Printer อย่างมีความสุข

รอยยิ้มที่แสดงความพร้อมของทีมงานคุณภาพ จากสมาคมการพิมพ์ไทย

24 ThaiPrint Magazine

18-24 TPM 6thThaiPrintAwards_New pc3.indd 24

19/11/2554 20:49:53


25 Ad CMC All OutPut-01_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

11/18/11

4:35 AM


ad Toyoink _m14.indd 1

3/8/2554 2:43


Ad bottcher#85-m19.indd 1

6/15/10 9:59:28 AM


รวมสัมผัสประสบการณจริงกอนใครไดที่ โชวรูม 28-29 ad 8000_m14.indd 2

28/7/2554 3:57


28-29 ad 8000_m14.indd 3

28/7/2554 3:57


ad manroland ROLAND700#88-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

7/7/2554

2:03


ad FMT_m19.indd 1

11/23/10 3:47 PM


Printing Interview

กาวสู... ทิศทางตลาด การพิมพ ดิจิตอล โดย : คุณณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข บริษัท สุนทรฟลม จํากัด สุนทรฟล์ม มีความเชี่ยวชาญด้านงานแยกสี และมีประสบการณ์มากกว่า 30 ปครับ เนื่องด้วย เมื่อสมัยก่อนงานแยกสีมีความจำาเป็นอย่างยิ่ง ใน กระบวนการก่อนพิมพ์ของระบบออฟเซ็ต แต่ใน ปัจจุบันนี้ ด้วยเทคโนโลยีใหม่ๆ เริ่มเข้ามาทำาให้ ระบบการทำาเพลท หรือการแยกสีได้รับความนิยม น้อยลงไป บริษัท สุนทรฟล์ม จึงเล็งเห็นว่า การพิมพ์ใน ระบบดิจิตอลจะต้องนำาเข้ามาเปลี่ยนโฉมธุรกิจของ สุนทรฟิล์มเอง แต่ธุรกิจเดิมก็ยังคงดำาเนินงานอยู่ เหมือนเดิม เพราะเรายังมีฐานลูกค้าเดิมที่ยังใช้บริการ อยู่ โดยเฉพาะกลุ่มของสำานักพิมพ์ที่ถือว่าเป็นกลุ่ม ลูกค้ากลุ่มใหญ่ของสุนทรฟิล์ม นิตยสารที่มีชื่อเสียง หัวดังๆ ก็ยังใช้บริการที่สุนทรฟิล์มอยู่ครับ แต่เราก็ ยังนำาเครื่องพิมพ์ในระบบดิจิตอลเข้ามาสู่สุนทรฟิล์ม ตั้งแต่เมื่อ 5 ปีที่แล้ว เพื่อเพิ่มระบบการบริการที่ หลากหลายมากขึ้น และยังสามารถรับงานพิมพ์ที่มี จำานวนน้อยได้ โดยใช้เครื่องพิมพ์ในระบบดิจิตอล ควบคู่ไปด้วย เริ่มจากการทำาตลาดจากฐานลูกค้าเดิม ก่อน ซึ่งก็ได้รับการตอบรับที่ดี เพราะโรงพิมพ์ระบบ

ออฟเซ็ต เขาก็จะรับทั้งงานใหญ่และงานเล็กๆ งาน ใหญ่เขาพิมพ์เองในระบบออฟเซ็ต ส่วนงานเล็กๆ เขาก็ส่งมาที่สุนทรฟิล์ม และยังมีกลุ่มสำานักพิมพ์ที่ ต้องการพิมพ์ ในจำานวนที่ไม่มากก็ยังมาใช้บริการกับ สุนทรฟิล์ม เมื่อเริ่มการพิมพ์ในระบบดิจิตอลคุณภาพ ยังพอคาดหวังได้ แต่พอทำาไปเรื่อยๆ ก็เริ่มพบปัญหา คือ กลุ่มลูกค้าของสุนทรฟิล์มมีอยู่หลายกลุ่ม ซึ่งแต่ ละกลุ่มมีความคาดหวังในคุณภาพงานพิมพ์ที่ไม่เท่า กันอย่างกลุ่มลูกค้าทั่วไป ก็จะต้องการสีสันสวยงาม พิมพ์ได้งานรวดเร็ว ราคาถูกตรงนี้ก็ไม่ได้คาดหวัง คุณภาพงานพิมพ์ที่สูงมากนัก แต่กลุ่มที่เป็นสำานัก พิมพ์ เขาจะต้องการคุณภาพของงานพิมพ์อีกแบบ หนึ่งที่เน้นคุณภาพที่สูงขึ้น สุนทรฟิล์ม เลยจำาเป็น จะต้ อ งหาเครื่ อ งพิ ม พ์ ใ นระบบดิ จิ ต อลที่ ดี ก ว่ า เดิ ม เพราะเดิมทีสุนทรฟิลม์ ใช้เครื่องพิมพ์ดิจิตอลพริ้นท์ ขนาดเล็ก ราคา 3 - 4 ล้านบาท จะพบปัญหากับกลุ่ม ผู้ซื้อที่มีความคาดหวังเรื่องคุณภาพงานพิมพ์ที่สูงมาก ประเภทรอยขีดข่วนบ้างเป็นเส้นบ้าง ตรงนั้นเขารับ ไม่ได้นั้นคือ ปัญหาที่เราพบต่อมาตลอด เราเลยตัด สินใจสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดิจิตอลตัวใหญ่ขึ้น ราคาร่วม 20 ล้านบาท ซื้อเป็นตัวแรกของประเทศไทยเลย

32 ThaiPrint Magazine

32-34 TPM St_Film_New pc3.indd 32

17/11/2554 22:22:16


กาวสู...ทิศทางตลาดการพิมพดิจิตอล

สามารถพิมพ์งานได้ 7 สี เอามาตอบสนองกับความ ต้องการของตลาด แต่เครือ่ งดิจติ อลพริน้ ท์ทเ่ี ป็นระบบ เดิม งานพิมพ์ก็ยังมีเป็นเส้นที่เป็นริ้วรอยบ้าง ปัญหา สิ่งต่างๆ เหล่านั้นยังไม่ได้หมดไป จนเราได้มาเจอ เครื่องพิมพ์ดิจิตอลออฟเซ็ต รุ่น HP Indigo 5500 เมื่อครั้งที่ผมได้มีโอกาสไปร่วมงาน HP-DSCOOP Asia ที่ประเทศเกาหลีใต้ ในช่วงนั้นผมได้เป็นตัวแทน วิทยากรไปบรรยายเรื่องนี้ด้วยแล้ว ได้ไปเห็นงาน แสดงสิ่งพิมพ์ที่พิมพ์จากเครื่องพิมพ์ดิจิตอลออฟเซ็ต ของ HP Indigo 5500 เครื่องรุ่นนี้สามารถทำ�งานได้ หลากหลายแล้วคุณภาพงานพิมพ์ก็ใกล้เคียงกับระบบ ออฟเซ็ตมาก เพราะว่าหมึกของเขาเป็นระบบน้�ำ หมึก พิเศษ เป็นเทคโนโลยีของ Electro INK ดังนั้น เวลา พิมพ์ออกมาเม็ดสีจะใกล้เคียงกับระบบออฟเซ็ตที่เป็น ระบบหมึกเหลวเช่นกัน ทำ�ให้ผมเองค่อนข้างมั่นใจ ในคุณภาพ จากสิง่ ทีเ่ ราได้เห็นจากทัง้ สิง่ พิมพ์ และเครือ่ งพิมพ์ ที่เขาโชว์ในงาน ผมจึงตัดสินใจสั่งซื้อมาตอบสนอง การทำ�ตลาดของกลุ่มที่ต้องการคุณภาพงานพิมพ์ที่ สูงขึ้น และได้คุณภาพเทียบเท่าระบบออฟเซ็ตเครื่อง ดิจิตอลออฟเซ็ตที่เราสั่งซื้อเมื่อปีที่แล้วคือ รุ่น HP Indigo 5500 ซึ่งเครื่องนี้สามารถพิมพ์งานได้ทั้งหมด 7 สี มีสีฟ้า ม่วงแดง เหลือง ดำ� สีฟ้าอ่อน และสี

ม่วงแดงอ่อน และยังมีสีขาวอีก เป็นสีที่ใช้รองพื้น งานที่ใช้กระดาษที่มีสีเข้ม ทำ�ให้เห็นสีอื่นๆ ขึ้นมามี สีสันสดใสได้อีกครั้งสามารถเป็นจุดขายได้อีก เพราะ ฉะนั้น เครื่องนี้จึงถือว่าเป็นเครื่องที่มีคุณภาพสูง มาก ทำ�งานได้หลากหลายได้มากกว่าเครื่องอื่นๆ ที่ เรามีอยู่ ซึ่งเครื่องนี้ทำ�ให้เราสามารถขยายตลาดออก ไปได้อีกมาก คิดค้นรูปแบบสินค้าได้หลากหลายและ เป็นทางเลือกให้ลูกค้าได้มากขึ้น เช่น พวกโฟโต้บคุ๊ ที่ ต้องการคุณภาพงานพิมพ์ที่สูงขึ้น ซึ่งเน้นไปที่งานที่ เป็นภาพถ่ายที่ต้องการสีผิวภาพบุคคลที่เนียนสวยให้ ความต่อเนื่องของสี ไม่เป็นบั้งสี และยังให้โทนสีสด ใสเหมือนกับโฟโต้เปเปอร์ หรือพวกกระดาษซิลเวอร์ แฮร์ไลท์กระดาษที่ใช้อัดรูปสี ในปัจจุบนั ความคุม้ ค่าทีไ่ ด้รบั จากเครือ่ งดิจติ อล ออฟเซ็ต HP Indigo 5500 ตัวนี้ เรากล้าบอกได้เลยว่า คุณสมบัติและคุณภาพสมราคาจริงๆ ถึงแม้ว่าเครื่อง จะแพงเกือบ 20 ล้าน เพราะว่าเครื่องนี้เป็นเครื่อง Heavy Duty ตัวจริงจากสิ่งที่เราเจอคือ เรื่องการจับ ฉากกระดาษของเครื่องตัวนี้จะมีกริ๊บเปอร์จับกระดาษ เหมือนระบบออฟเซ็ต เพราะฉะนั้นการพิมพ์งานที่มี หน้าหลังในแผ่นเดียวกัน ยังไม่มีเครื่องตัวไหนเทียบ เท่าเครื่องตัวนี้แน่นอน ตรงนี้คือจุดเด่นของเครื่องมี ความแม่นยำ�สูงมาก โดยเฉพาะงานพวกนามบัตรที่ พิมพ์สองหน้า คุณสามารถเอาเข็มเจาะฉากให้ทะลุ และส่องดูทั้งสองด้าน รับรองได้เลยว่าใกล้เคียงกับ ออฟเซ็ตมาก ยิ่งพิมพ์จำ�นวนมากยิ่งมั่นใจถึงความ แม่นยำ� และเรื่องริ้วรอยบนงานพิมพ์นี้แทบไม่มีเลย เรียกว่าคุณภาพงานสูงมาก และอีกสิ่งหนึ่งที่เครื่องตัว นี้มีคือ Life Time คือความคงทนแข็งแรงทำ�ให้อายุขัย ของเครื่องนี้ยาวมาก เพราะฉะนั้น เราสามารถตัดค่า เสื่อมราคาได้ถึง 7-8 ปี หากเป็นเครื่องอื่น เราอาจจะ ตัดค่าเสื่อมราคาอาจจะได้เพียง 3-4 ปีเท่านั้นเอง สิ่ง ที่เด่นอีกอย่างของ Heavy Duty คือ การพิมพ์งานต่อ เนื่องจำ�นวนมากๆ สังเกตว่าในระบบเครื่องพิมพ์อื่นๆ ThaiPrint Magazine 33

32-34 TPM St_Film_New pc3.indd 33

17/11/2554 22:22:20


Printing Interview อย่างเดียวสิ่งที่จะทำ�ให้ธุรกิจประสบความสำ�เร็จได้ นอกเหนือจากนั้น ยังต้องมีเรื่องระบบหลังพิมพ์อีกที่ สำ�คัญมากกระบวนการผลิตหลังพิมพ์สุนทรฟิล์มเอง ลงทุนกับเครื่องจักรหลังพิมพ์เป็นจำ�นวนมาก ในการ ที่จะสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับงานหลังพิมพ์ สร้างมูลค่า จากความคิดสร้างสรรค์ สร้างความแตกต่างให้เกิด กับสินค้าให้กับลูกค้าทราบถึงความแตกต่าง เพราะ ตรงนี้ส�ำ คัญมาก คนที่อยู่ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ควรมองอย่างนี้ว่า การที่มีเครื่องพิมพ์ดีมีชัยไปกว่า ครึ่งแน่นอน ส่วนอีกครึ่งมาจาก กระบวนการหลัง พิมพ์การบริหารจัดการ การบริหารการตลาด และ เทคโนโลยีใหม่ๆ ที่สอดคล้องกับธุรกิจที่เราทำ�อยู่เรา ก่อนหน้านี้ที่เคยใช้ การพิมพ์งานต่อเนื่องเป็นหมื่นๆ กล้าลงทุนเพราะทุกขั้นตอนมีความสำ�คัญประกอบกัน ใบ เครื่องจะมีปัญหา เนื่องจากระบบการถ่ายทอด ไปทั้งหมดต้องพัฒนาและปรับปรุงขึ้นมาให้ได้ และ หมึกไปที่กระดาษจะต้องใช้ความร้อน เพื่อทำ�ให้หมึก ต้องตอบสนองกับความต้องการของตลาดให้ดี ละลายเพื่อเกาะติดกระดาษ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมี อุณหภูมิ 100 กว่าถึง 200 องศาขึ้นไป เพราะฉะนั้น ผมพูดได้เลยว่า ตลาดการพิมพ์งานดิจิตอล ถ้าคุณพิมพ์เครื่องเล็กธรรมดา โดยทั่วไปอย่างต่อ ไม่แพ้ระบบการพิมพ์ออฟเซ็ตแน่นอน แข่งขันกัน เนือ่ งเครือ่ งจะแฮ้งค์เลย แต่ HP Indigo ไม่มปี ญ ั หาเลย รุนแรงมากขึน้ แต่เราจะต้องพิสจู น์กนั ด้วยกาลเวลา เพราะใช้อุณหภูมิน้อยกว่า ด้วยเทคโนโลยี Electro อย่างทีบ่ อกว่าหนทางพิสจู น์มา้ กาลเวลาพิสจู น์คน INK ใช้ระบบไฟฟ้าในการถ่ายทอดหมึกสู่แม่พิมพ์ท�ำ และเวลาก็จะเป็นข้อพิสจู น์วา่ คุณภาพงานพิมพ์ ให้พมิ พ์งานได้อย่างต่อเนือ่ งและยาวนานนัน่ คือ จุดได้ ของเครื่องพิมพ์ในยุคดิจิตอลนี้จะสำ�เร็จหรือไม่ แต่ไม่ได้วัดกันที่จ�ำ นวนขายนะครับ แต่จะวัดกันที่ เปรียบ สามารถพิมพ์ได้ทั้งวันทั้งคืนเครื่องไม่มีน็อค เราคิดว่า การที่เราเลือกใช้เครื่องพิมพ์ดิจิตอล ว่า ถ้าคุณภาพไม่ดีจะต้องออกจากตลาดแน่นอน ออฟเซ็ตของ HP Indigo เข้ามาต่อยอดในธุรกิจการ เพราะผู้ซื้อสิ่งพิมพ์ในอนาคต เรียนรู้ข่าวสารและ พิมพ์ของสุนทรฟิล์มนั้นก็น่าจะไปได้ดี และจะทำ�ให้ ทันเทคโนโลยีมากขึน้ ฉลาดขึน้ ทำ�ให้เรียกร้องหรือ ธุรกิจของเรา เดินไปข้างหน้าได้อย่างมีเสถียรภาพที่ เลือกมากขึน้ เฟ้นหาสิง่ ดีๆ มาตอบสนองตัวเองหรือ มั่นคง และยั่งยืนในระยะยาว เนื่องจากบริษัท HP องค์กร คือต้องการงานพิมพ์ที่มีคุณภาพ ให้บริการ เป็นบริษัทชั้นนำ�และเป็นผู้นำ�เรื่องเทคโนโลยีการพิมพ์ ที่รวดเร็ว และต้องการราคาที่สมเหตุสมผล นั่นคือ ระบบดิจิตอลออฟเซ็ต เป็นเทคโนโลยีที่เราเลือกสรร ปัญหาของอนาคตทีเ่ ราจึงจะต้องสรรหาสิง่ ต่างๆ มา แล้ว โดยทีไ่ ด้ไปดูงานในต่างประเทศเรามัน่ ใจจากการ ตอบสนองให้กบั ผูซ้ อ้ื สิง่ พิมพ์กลุ่มเหล่านี้ครับ ทีเ่ ราไปเก็บข้อมูลและดูงานเครือ่ งพิมพ์ของ HP Indigo มีส่วนแบ่งทางการตลาดการพิมพ์ดิจิตอลทั่วโลกสูง สุด นั่นเป็นตัวเลขที่ท�ำ ให้เราเชื่อมั่นเลยว่า เครื่องและ เทคโนโลยีรวมทั้ง Solution ต่างๆ จาก Partner ที่ HP มีสามารถสนับสนุนธุรกิจของสุนทรฟิล์ม รวมทั้ง Partner ในเมืองไทยอย่าง บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ที่ช่วยสนับสนุนด้านธุรกิจ จะผลักดันให้เราประสบ ความสำ�เร็จในอนาคต และสามารถดำ�รงอยู่ได้อย่าง ยั่งยืนเพราะเรื่องคุณภาพนั้น เราเน้นมากเป็นพิเศษ คุณภาพต้องมาก่อน จริงๆ แล้วสิ่งที่ทำ�ให้เราอยู่ใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ เราไม่ได้อยูด้วยเครื่องพิมพ์ 34 ThaiPrint Magazine

32-34 TPM St_Film_New pc3.indd 34

17/11/2554 22:22:24


35 Ad CGS AD02_M14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

11/18/11

4:39 AM


ad CAS _Nevia#88-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

28/7/2554

14:27


AD JAROEN AKSORN Verities#88-M14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

CAS GROUP

1

18/6/2554

0:15


ad x-cote#88-m14.pdf

1

28/7/2554

15:47

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

Outstanding be bright with white

Printed on XCOTE 300 gsm Production information: 4-colour process + Spot UV + Emboss


ad innopaper#88-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

13/7/2554

22:08


Print Technology

หลักการเลือกใชหมึก UV ใหถูกประเภท ส วั ส ดี ค รั บ กระผมนายไอไอเค มาพบกั บ ทุ ก ท า น อีกครั้งมาคราวนี้ ผมมีเรื่องเกี่ยวกับหมึก UV มา นําเสนอครับ หลายทานคงรูจัก เทคโนโลยีการพิมพดวยระบบ UV โดยพระเอกตัวละครสําคัญ ตัวหนึง่ ในการพิมพระบบ UV คงหนีไมพนหมึก UV แตหลาย ทานคงไมทราบวา หมึก UV เดี๋ยวนี้เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากขึ้น ดังนั้น ในบทความนี้ ขอแนะนํ า ท า นผู อ า นรู จั ก กั บ หมึก UV ใหมากขึ้นนะครับ

UV Printing Inks Trouble Shooting หลักการเลือกใชหมึก UV ใหถูกประเภท 1. ลักษณะของงานพิมพ (Kinds of job) โดยงานพิมพสําเร็จรูป เกี่ยวของกับวัสดุใชพิมพหลากหลายชนิด จึงมีเรื่องของการยึดเกาะได ในหลายๆ วัสดุใชพิมพมาเกี่ยวของ เชน PP PVC 2. เครื่องจักร (Machines) เครื่องพิมพ ยี่หอและสภาวะการ พิมพแตกตางกัน ที่ดีที่สุดควรใช เพลท, ผายาง, น้ํายาฟาวนเทน และ น้ํายาลาง ที่จําเพาะสําหรับระบบการพิมพ UV เทานั้น แตบางครั้ง อาจปรับใชเครื่องพิมพออฟเซทดั้งเดิมมาใชไดในระยะสั้น โดย Plate นั้นตองผานการอบ เพื่อใหความคงทนมากขึ้น สวนน้ํายาฟาวนเทนควร เลือกใชชนิดที่มีสารประกอบกัมอะราบิคนอยๆ 3. หลอดไฟ (Lamp) หลอดรังสี UV มีความสําคัญเนื่องจาก กระบวนการแหงตัวของหมึก UV อาศัยปฎิกิริยาระหวางสสาร และ รังสี ซึ่งมีหนวยวัดเปน วัตตตอเซนติเมตร และคาพลังงานการฉายรังสี มีหนวยเปน มิลลิจูลตอตารางเซนติเมตร

หมึกพิมพฐานน้ํามันออฟเซท กับ หมึกพิมพ UV

รูปที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบโครงสราง หมึกระหวาง Oil based และ หมึก UV 40 ThaiPrint Magazine

40-42 TPM_New pc3.indd 40

17/11/2554 22:27:22


หลักการเลือกใชหมึก UV ใหถูกประเภท

รูปที่ 2 แสดงการเปรียบเทียบการแหงตัวระหวางหมึก UV และหมึก Oil based

UV ใชวิธีการฉายรังสีทําให Photointiator เกิดการกระตุน แลวเรง ให Monomer และ Oligomer จับตัวเปนของแข็ง Conventional ใชหลักการ เกิด Oxidation ของน้ํามันและการระเหย การซึมผานของ Solvent

รูปที่ 3 แสดงผลของความหนาและการแหงตัว • รูปขวา ความหนาของชั้นหมึกบาง ทําใหการฉายรังสีสองทั่วถึง ทําใหการแหงตัวสมบูรณทันที หลังการฉายรังสีสามารถทดสอบไดดวยวิธีการใชเล็บขูดทันทีหลังการฉาย และหลังการฉายจะไมเลอะ • รูปกลาง ความหนาของชั้นหมึกหนาขึ้น ทําใหเฉพาะสวนบนของชั้นหมึกแหงสมบูรณหลังการพิมพ แตสวนลางจะคอยๆ แหงตัวสมบูรณหลังจากการฉาย 1 วัน สามารถทดสอบไดดวยวิธีการใชเล็บขูด ทันที หลังการฉายจะมีเลอะและหลังการฉาย 1 วัน จะไมเลอะ • รูปซาย ความหนาของชั้นหมึกหนามาก ทําใหเฉพาะสวนบนของชั้นหมึกแหงสมบูรณหลังการพิมพ แตสวนลางจะคอยๆ แหงตัวสมบูรณหลังจากการฉาย 1 วัน สวนลางจะไมแหงตัวแมตั้งทิ้งไวนาน ซึ่ง สวนนี้จะตางกับหมึกฐานน้ํามัน ซึ่งสามารถแหงตัวได ถาทิ้งไวนาน ThaiPrint Magazine 41

40-42 TPM_New pc3.indd 41

17/11/2554 22:27:23


Print Technology

รูปที่ 4 แสดงความสัมพันธของสีและการแหงตัว ดวยการฉายรังสี • Magenta เม็ดสีมีความโปรงใส ทําใหรังสีสามารถ ฉายสองผานไดทั่วถึงดี • White เม็ดสีสะทอนรังสีมาก ทําใหรังสีบางสวน ไมสามารถฉายลงลึกถึงสวนลาง • Green, Black เม็ดสีดูดกลืนรังสี ทําใหสองไมถึง ขางลางของหมึกพิมพ

รูปที่ 5 แสดงความหนาแนนกับความสามารถ ของการสองผานรังสี • ไมมีเม็ดสกรีนสี รังสี UV สองผานไดงาย ทําให การแหงตัวไดงาย • มีเม็ดสกรีนสีนอย รังสี UV สองผานไดงายพอควร ทําใหการแหงตัวไดงาย • มีเม็ดสกรีนสีมาก รังสี UV สองผานไดยาก ทําให การแหงตัวยาก

ตัวอยาง

ใหวารนิชเบสมีความเร็วของการฉายรังสี แลวแหงไดคือ 100% จะเห็นไดวาสีดําจะ มีความเร็วของการฉายรังสีแลวแหงคิดเปน 30% ของเบส รูปที่ 6 แสดงความสัมพัทธระหวางสีความเร็วของการฉายรังสี โดยใหเบสเปนรอย

สรุปปจจัยที่มีผลตอการแหงตัวของหมึก UV (Curing) • • • • • •

ปริมาณและชนิด Photointiator ในหมึก สีและความหนาแนนของ Pigments อุณหภูมิรังสี ความหนาของชั้นหมึก ความเร็วของการฉายรังสี UV (ความเร็วตอชั่วโมงขณะพิมพ) ระดับพลังงานของการฉายรังสีมากหรือนอย

ทายนี้กระผมนายไอไอเค หวังวาเนื้อหาเกี่ยวกับ UV Printing Inks Trouble Shooting จะเปนประโยชนแกผูอานทุกทาน กระผม จะนําเสนอเนื้อหาสาระดีๆ ภาคตอจากฉบับนี้ ในประเด็นอื่น ที่นาสนใจมาใหทานผูอานไดอานกันอีกครั้งในฉบับหนานะครับ

นายไอไอเค prd.mgr@inter-ink.com, mkt@inter-ink.com

42 ThaiPrint Magazine

40-42 TPM_New pc3.indd 42

17/11/2554 22:27:25


ad M K M_m14.indd 1

28/6/2554 1:11


Print News

40th CAS CUP 2011 ปดฉากไดอยางสวยงาม กับความประทับใจกับการแขงขันฟุตบอลสานสัมพันธ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพของกลุม บริษัท เจริญอักษร กรุพ

พิธีปดการแขงขัน “40th CAS CUP 2011” กลุมบริษัท เจริญอักษร กรุพ จัดพิธีปดการแขงขันกีฬาฟุตบอล สานสัมพันธอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ “40th CAS CUP 2011” อยางเปน ทางการ ในอาทิตยที่ 4 กันยายน 2554 เวลา 15.00 - 19.30 น. ณ สนามฟุตซอล สินสาคร เอฟซี ปารค นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร โดยมีคุณสมศักดิ์ ดารารัตนโรจน ประธานกรรมการบริหารกลุม บริษทั เจริญอักษร กรุพเปนประธานใน

พิธี และผูบ ริหารกลุม บริษทั เจริญ อักษร กรุพ รวมทั้งผูบริหาร และ พนักงานของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ เขารวมงานเปนจํานวนมาก ภายในงานมีกิจกรรมเลนเกม แจกของรางวัลสําหรับผูรวมงาน โดยกิจกรรมที่ไดรับเสียงกรี้ดจาก สาวๆ ภายในงานคงจะหนีไมพน กับ ฟุตบอลทีมดารา นําทีมโดย คุณศรราม เทพพิทกั ษ คุณปยพงษ ผิวออน และคุณแตงโม พงษพสิ ทุ ธิ์ ผิวออน ที่มาดวลแขงกันอีกรอบ กับทีมผูบริหาร นําทีม โดยคุณ สรุพล และคุณอมร ดารารัตนโรจน

สรางบรรยากาศภายในงานเต็มไป ดวยความคึกคัก โดยผลการจั ด การแข ง ขั น ผูชนะเลิศและครองถวยรางวัลการ แขงขันฟุตบอล 40th CAS CUP 2011 คือ ทีมบริษัท อมรินทร พริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน) รับถวย พรอมรับเงิน รางวัลมูลคา 400,000.- บาท, รองชนะเลิศอันดับ 1 คือ บริษัท สยามกีฬา จํากัด รับเงินรางวัล มูลคา 100,000 บาท รองชนะเลิศ อันดับ 2 คือ บริษัท แอสโทร โพรแพค จํากัด รับเงินรางวัล

44 ThaiPrint Magazine

44-45 TPM CAS_New pc3.indd 44

17/11/2554 22:32:00


40th CAS CUP 2011

มูลค่า 40,000.- บาท รองอันดับ 3 คือ บริษัท ทีเคเอส สยามเพลส แมเนจเม้นท์ จำ�กัด รับเงินรางวัล มูลค่า 10,000.- นอกจากรางวัล ในการแข่งขันฟุตบอลแล้ว ฝ่ายจัด กิจกรรม ยังมีเงินรางวัลสำ�หรับ ผู้ร่วมเชียร์และติดตามการแข่งขัน มาตั้งแต่เริ่มเปิดการแข่งขัน โดย มีรางวัล ทายผลฟุตบอล ผู้ได้รับ รางวัล คือ คุณนิรุต กล้าหาญ รับเงินรางวัลมูลค่า 40,000 บาท รางวัลกองเชียร์ยอดเยี่ยม คือ บริษัท วี พริ้นท์ (1991) จำ�กัด รับเงินรางวัลมูลค่า 10,000 บาท และ ช่วงเช้าของงานทั้ง 36 ทีม ที่ไม่ได้เข้ารอบชิง มีการแข่งขัน ฟุตบอลสานสัมพันธ์สิ่งพิมพ์รอบ ท้ายสุดเพื่อชิงเงินประกันคืนเป็น เงินรางวัลมูลค่า 72,000 บาท

ซึ่งภายในงานมีการมอบ รางวัล ดาวซัลโว คือ คุณปิยะ พิมพ์จนั ทร์ จาก บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์ พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) รับ รางวัลเป็น IPad จำ�นวน 1 เครื่อง และรางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยม (MVP) คือ คุณ กิตติพงษ์ โปร่งจิต จาก บริษัท สยามกีฬา จำ�กัด รับ รางวัลเป็น โทรศัพท์มือถือ Black Berry จำ�นวน 1 เครื่อง โดยฝ่าย จัดการแข่งขันจัดให้มีการแข่งขัน ชิงเงินค่าสมัครคืน สำ�หรับทีมที่ ไม่ได้เข้ารอบสุดท้าย มูลค่ากว่า 72,000 บาท รวมเงินรางวัลที่ แจกในวันงานมูลค่ากว่า 700,000 บาท ซึ่งเป็นรางวัลใหญ่ที่สุดของ ภาคอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ในการ จัดการแข่งขันฟุตบอลสานสัมพันธ์ ดังกล่าว

นอกจากกิจกรรมทีไ่ ด้กล่าวมา ยังมีมินิคอนเสิร์ตของ ไมเคิลตัง และ พัชชา จาก AF 3 มาสร้าง ความเพลิดเพลินภายในงานอีกด้วย ฝ่ายจัดการแข่งขัน มั่นใจว่า การจัดการแข่งขัน ฟุตบอลสาน สัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ 40th CAS CUP 2011 ในครั้งนี้ได้รับ ความสนใจจากภาคอุตสาหกรรม สิ่งพิมพ์เป็นจำ�นวนมาก สามารถ แสดงถึงพลัง และความร่วมมือ ของโรงพิมพ์กับกิจกรรมกีฬา ที่ เชื่อมสัมพันธ์ร่วมกันของธุรกิจได้ เป็นอย่างดี โดยกลุ่มบริษัทเจริญ อักษร กรุ๊พ ขอขอบพระคุณลูกค้า ทุกท่านที่ให้การสนับสนุน และ ร่วมกิจกรรมในครั้งนี้เป็นจำ�นวน มากเราจะสรรหากิจกรรมดีๆ มา สร้างสีสันและสร้างความคึกคักกับ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ในโอกาส ต่อไป

ThaiPrint Magazine 45

44-45 TPM CAS_New pc3.indd 45

17/11/2554 22:32:17


Print News

พิธีวางพานพุมสักการะ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4

เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2554 เวลา 7.00 น. ที่ผานมาเปน วันวิทยาศาสตรแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดจัด พิธีถวายราชสักการะ และจัดกิจกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูห วั รัชกาลที่ 4 เพือ่ นอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคณ ุ ในฐานะทรงเปน พระบิดาแหงวิทยาศาสตรไทย โดยมีคณะมนตรีและ ผูแ ทนรวมพิธวี างพานพุม สักการะพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั ณ บริเวณลานอนุสาวรีย ร.4 กระทรวงวิทยาศาสตร โดยมีสหพันธ อุตสาหกรรมการพิมพ กลุมอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑ กระดาษ สมาคมการพิมพไทย เขารวมในพิธนี าํ โดย นายทวีชยั เตชะวิเชียร ประธานสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ

นายทวีชยั เตชะวิเชียร ประธานสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ วางพานพุมสักการะ 46 ThaiPrint Magazine

46 TPM Panpum_New pc3.indd 46

18/11/2554 0:59:12


47 Ad Pro series_m19.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/14/11

5:03 PM


Ad SANSIN#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

2

4/10/2554

23:01


Ad SANSIN#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/10/2554

23:01


1

Printing Business

3 Words

to Success in Printing Business? สวัสดีครับทานผูอานทุกทาน หางหายไปนานกับการเขียน บทความใหกับทางสมาคมฯ เนื่องจากภาระงานประจํามากมาย เหลือเกินประกอบกับตองการใชเวลาในการสรรหาเรื่องราวและ เทคโนโลยีใหมๆ มาใหกับทานผูอานทุกทานครับ ตอไปก็หวังวา จะเขียนบทความรับใชทานผูอานไปทุกๆ เลม ในฉบับนี้ผมจะพูดถึงคํา 3 คําที่ผมใชจนติดปากเวลาที่พูดคุย กับลูกคาในแงของการทําธุรกิจการพิมพในปจจุบัน และคํา 3 คํานี้ จะเปนพลังในการผลักดันใหธุรกิจประสบความสําเร็จ ซึ่งในสวนตัว ผมคิดวาการจะประสบความสําเร็จในการทําธุรกิจการพิมพระบบ Digital นอกจากรากฐานความแข็งแกรงของบริษัทฯ, วิธีการดําเนิน การ, การมี Connection กับผูอื่น, การบริหารจัดการ, คุณภาพ ของงานพิมพ, ราคา และอื่นๆ อีกมากมายแลว ผูประกอบการ โรงพิมพ (ตอไปจะเรียกวา Print Provider) ยังตองมีความเขาใจ ถึงหัวใจในการทําธุรกิจการพิมพ และสามารถเอาไปประยุกตใชได ทันที แตทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยูกับทานผูอานทุกทานนะครับวา จะเห็น ดวยในสิ่งที่ผมเขียนหรือไม ซึ่งทั้ง 3 คํา มีดังนี้ครับ 50 ThaiPrint Magazine

50-53 TPM BussinesFuji pc3.indd 50

18/11/2554 1:02:38


3 Words to success in printing business? Key success in printing busines 1.

-> Connect with customer

2.

-> Reduce waste, cost & time, error

3.

-> Enable new application

หลายคนอาจจะตั้งคําถามตอวา 3 คําที่วานี้คืออะไร ผมขอขยายความตอไปดังนี้ครับ:-

1.

Connect หมายถึง ชองทางในการติดตอ หรือเชื่อมตอกับ ลูกคาตลอดเวลา มันเหมือนกับวาจะทําอยางไรที่จะทําใหธุรกิจของ เราเหมือนการเปดรานสะดวกซื้อที่ทําการ 7 วัน 24 ชั่วโมง ตลอด เวลา ทําอยางไรที่จะเปนรานคาที่รองรับลูกคาอยูเสมอ ทําใหลูกคา สามารถจับจายใชสอยอะไรก็ได ในเวลาไหนก็ได ตามความตองการ ถาเปรียบกับธุรกิจการพิมพ พูดงายๆ ก็คือ การเปดหนารานไว ตลอดเวลา เพื่อใหลูกคาสามารถสงงานพิมพตอนไหนก็ไดที่อยากสง ดูสถานะงานพิมพวาอยูในขั้นตอนไหน รูราคาของสิ่งพิมพกอนการ สงพิมพ สามารถดู Soft Proof ของงานพิมพคราวๆ ผานหนาจอ คอมพิวเตอร หรือผานทาง IPAD เปนตน ทั้งหมดนี้ก็คือ การหา Solution Web Enable หรือ Web to Print มาสนับสนุนการทํางาน สิ่งพิมพใหกับลูกคานั่นเอง เมื่อเปนระบบ Web to Print (ตอไป จะเรียกวา W2P) นั่นหมายถึง เรากําลัง Connect กับ Customer ThaiPrint Magazine 51

50-53 TPM BussinesFuji pc3.indd 51

18/11/2554 1:02:42


Printing Business ทั่วโลก เราสามารถรับลูกคาไดจากทุกมุมโลกผานการ Online เปด ชองทางที่สะดวกรวดเร็วใหกับลูกคาในการติดตอสื่อสาร ดังนั้น การ ใช W2P ก็เหมือนกับโรงพิมพที่เปดรับงานตลอด 7 วัน 24 ชั่วโมง นั่นเอง นอกจากนั้นแลวสิ่งที่สงผลโดยตรงตอ Print Provider ก็คือ จํานวนงานพิมพ หรือ Print Volume ที่จะเขามาจากทุกทิศทุกทาง ซึ่งไมจําเปนวาจะตองเปนงาน Digital Printing เทานั้น แตยังสามารถ ประยุกตไปใชกับระบบ Conventional Printing แบบเดิม เชน Offset Printing ไดทันที

2. Reduce

ก็เปนความหมายที่งาย และตรงตัว ในการทําธุรกิจ สิ่งที่ผูประกอบการตองการมากที่สุดก็คือ กําไร กําไรจะเกิดขึ้นก็มา จากปจจัยภายใน และปจจัยภายนอก โดยในสวนของผมจะมุงไปที่ ปจจัยภายในกอน ซึ่งแยกเปนหัวขอยอยๆ ไดดังนี้:2.1 ลดเวลาการผลิต 2.2 ลดคาใชจาย 2.3 ลดของเสีย 2.4 ลดกําลังคน 2.5 ลดขอผิดพลาด ซึ่งถาเราสามารถที่จะลดรายละเอียดทั้งหมดนี้ได มันจะสงผล ทันทีตอกําไรที่เพิ่มพูนขึ้นมากมายเลยทีเดียว เมื่อมีกําไรเพิ่มขึ้นก็ สงผลโดยตรงตอผูประกอบการที่สามารถใชเงินตอเงิน เพื่อไปทํา ธุรกิจตอไปไดอยางไมมีที่สิ้นสุดเชนเดียวกัน อาจมีคนตั้งคําถามวา “พูดงาย ทํายาก” ดังนั้น การจะไปใหถึงเปาหมายที่ตองการจึง จําเปนตองมีวิธีการในการ “ลด” อะไรบางอยางเพื่อทําใหผลกําไร เพิ่มขึ้น เชน โรงพิมพบางรายก็จะใชระบบ Automation Workflow Management มาชวย ซึ่งผูอานหลายๆ ทานก็คุนเคยกันดีอยูแลว เชน Prinergy ของ Creo Kodak, Prinect ของ Hidelberg และ FreeFlow Process Manager ของ Fuji Xerox ที่จะชวยใน การทํางานแบบอัตโนมัติ ยกตัวอยางเชน การแปลงไฟลเปน PDF, การ Preflight (การตรวจเช็คไฟลงานกอนพิมพ), สราง Workflow ในการทํางานที่เปน Repetition Task หรืองานที่ทําบอยๆ ทําให การทํางานสะดวก รวดเร็วมากขึ้น ไมตองมานั่งทํางานแบบ Job By Job ซึ่งทําใหเสียเวลามากแตผลผลิตนอย

52 ThaiPrint Magazine

50-53 TPM BussinesFuji pc3.indd 52

18/11/2554 1:02:43


3 Words to success in printing business?

3. Enable หมายถึง สรางสรรคสิ่งใหมๆ ใหกับงานพิมพ ถามวา

ทําไมตองทํา ถาไมทําแลวจะเกิดอะไรขึ้น ผมอยากจะบอกวา หาก ไมมีอะไรใหมๆ ก็จะสงผลใหโรงพิมพแขงขันกันแตในเรื่องของราคา อยางเดียว เพราะ Print Provider ก็พิมพงานรูปแบบเดิมๆ เชน โปสเตอร หรือ นามบัตร สุดทายคนที่มีสายปานยาวๆ มีกระแส เงินสด หรือ Cash Flow ที่มากกวา ก็จะทุมเงินลงไปเพื่อไปลดราคา สิ่งพิมพ จุดประสงคเพื่อตองการดึงจํานวนงานพิมพจากตลาดมา ใหมากที่สุด สุดทายคนที่เสียเปรียบก็คือโรงพิมพเล็กๆ ที่มีอยู มากมาย ที่ตองเวียนวายอยูในทะเลเลือด (Red Ocean) ดังนั้น สิ่งสําคัญคือ การสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อเพิ่มมูลคาใหกับสิ่งพิมพ ซึ่งสิ่งเหลานี้จะนํา Print Provider ไปสูนานน้ําสีคราม (Blue Ocean) ที่ทุกคนฝนถึง ใชครับมันหายาก แตไมใชวาไมมี ขึ้นอยูกับกลยุทธ, วิธีการ, เครื่องมือ, ความคิดสรางสรรคและสิ่งที่สําคัญที่สุดคือ ความ ตั้งใจ เชน การใช Software Variable Data Printing (ยกตัวอยาง เชน XMPie Suite) เพื่อสรางสรรคงานพิมพเฉพาะบุคคล ที่เรียกวา Variable Data Printing (VDP) หรือการใช VIPP Pro Publisher Software ในการสรางสรรค Counterfeit Document หรืองานพิมพ ปองกันการการปลอมแปลง (Security Printing) ที่สรางสรรคและไม เหมือนใคร ดวยเครื่องมือและวิธีคิดเหลานี้ ทําให Print Provider มีผลกําไรมากขึ้น ทําใหงานพิมพมีมูลคามากขึ้น ไมตองแขงขันกับคน อื่นในแงของราคาอีกตอไป

ในฉบับหนาจะเขามาเจาะถึงเรื่องราวของ W2P วาคืออะไร มีความสําคัญกับธุรกิจแคไหน อยาลืมติดตามกันนะครับ

ThaiPrint Magazine 53

50-53 TPM BussinesFuji pc3.indd 53

18/11/2554 1:02:44


AD VT -1 m19.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

28/9/2554

14:36


AD VT -2 m19.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

28/9/2554

14:39


Print Interview

คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ

ประธานจัดงานการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6

คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธานจัดงานการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 56 ThaiPrint Magazine

56-60 TPM ExhibitionK_Wittaya_New pc3.indd 56

17/11/2554 23:01:49


คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ

อยากทราบที่มาของการจัดงาน ของเราก็ไดมีการจัดงานประกวด อาเซียนเพื่อเปนการพิสูจนใหเห็น Thai Print Awards จัดขึ้นมา สิ่งพิมพแหงชาติในระดับทวีปมา ถึงศักยภาพการพิมพของคนไทย เพื่ออะไรใหกับวงการพิมพไทย ? กอนแลวที่เรียกวา Asian Print เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ซึ่งจะ จริงๆ แลว ที่มาของการจัด งานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติหรือ Thai Print Awards นั้นเกิดขึ้นมา เมื่อประมาณ 7 ปที่แลว โดยใน เวลานั้น ทางสมาคมการพิมพไทย ไดมีการวางยุทธศาสตร ในการ ผลักดันใหอุตสาหกรรมการพิมพ ไทยเป น ศู น ย ก ลางการพิ ม พ ข อง อาเซียน และสามารถสรางยอดการ สงออกสิ่งพิมพใหถึง 50,000 ลาน บาท ภายในระยะเวลา 5 ป ซึง่ การ ที่จะนําพาอุตสาหกรรมการพิมพ ไทยใหไปถึงเปาหมายนั้น สมาคม การพิมพไทยไดเล็งเห็นวาคุณภาพ ของงานพิมพเปนปจจัยหลักอันหนึง่ ที่จําเปนจะตองไดรับการพัฒนาขึ้น อยางตอเนื่อง เพื่อใหสิ่งพิมพของ ไทยเปนที่ยอมรับจากผูซื้อสิ่งพิมพ ทั่วโลกกอน และจึงคิดตอมาวาจะ ทําอยางไร ผูซื้อสิ่งพิมพในระดับ นานาชาติถึงจะรับรูวาสิ่งพิมพของ ไทยมีคุณภาพเปนอยางไร กอปร กับในชวงเวลานั้น ในทวีปเอเชีย

Awards และในชวงนั้นไมมีองคกร ใดในประเทศของเราไดเขามาดูแล เรื่องของผลงานที่สงเขาไปแขงขัน ดังนั้น ในการแขงขันแตละครั้ง โรงพิมพตางๆ ก็ไดสงผลงานกัน เขาไปเอง และผลที่ไดรับกลับมา คือ เราแทบจะไมไดเหรียญอะไร ติดไมติดมือกลับมาเลยในชวง 2-3 ปแรก เหตุผลตางๆ ที่กลาวมาขาง ตน จึงเปนที่มาของความมุงมั่น ของสมาคมการพิมพไทยที่จะจัด งานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติของ ประเทศไทยขึ้นมา เพื่อเปนการ เป ด โอกาสให โรงพิ ม พ ข องไทยมี เวทีสําหรับ การพัฒนาคุณภาพ สิ่งพิมพและมีการแขงขัน เพื่อวัด ระดับศักยภาพของสิ่งพิมพขึ้นมา อยางเปนทางการ โดยใชเกณฑ มาตรฐานเดี ย วกั บ การแข ง ขั น ใน ระดับทวีปหรือระดับโลก และผล งานของผูที่ไดรับเหรียญรางวัลจะ ไดรับการสงตอไปแขงขันในระดับ

เปนการตอยอดใหอุตสาหกรรม การพิมพไทยมีความตื่นตัวตอการ พัฒนาคุณภาพของงานพิมพใหได มาตรฐาน และไดรับการยอมรับ อยางกวางขวางจากผูซื้อสิ่งพิมพ ในระดับโลก และจะทําใหการผลัก ดันตัวเลขการสงออกสิ่งพิมพของ ไทยใหบรรลุตามเปาหมายที่ตั้งไว และเปนที่นายินดีครับที่ยอดการ ส ง ออกสิ่ ง พิ ม พ ข องประเทศไทย ไดบรรลุตามเปาหมายที่ตั้งไวจริงๆ และผลงานของเราก็ไดรับเหรียญ รางวั ล ชนะเลิ ศ มากที่ สุ ด ในงาน ประกวดระดับเอเชียติดตอกันมา ไมนอยกวา 3 ปแลวครับ

แนวคิดหรือสโลแกนของ Thai Print Awards ครั้งที่ 6 คืออะไรครับ ชวยอธิบายความหมายดวยครับ? สโลแกนของการจัดงานประกวด Thai Print Awards ครั้งที่ 6 ซึ่งเราตั้งใหคือ “Where Printing Excellency and Creativity ThaiPrint Magazine 57

56-60 TPM ExhibitionK_Wittaya_New pc3.indd 57

17/11/2554 23:01:51


Print Interview Converges” มีความเปนมาอยาง นี้ครับ ในชวงปแรกๆ ของการจัด งานประกวดสิ่ ง พิ ม พ แ ห ง ชาติ เรา ได มี ก ารตั้ ง เป า หมายให ผ ลงานที่ ชนะเลิศจากงานประกวดในประเทศ ของเราเขาไปควารางวัลชนะเลิศ ในระดับทวีปใหได และนําพา คุณภาพสิง่ พิมพของเราใหไดรบั การ ยอมรับจากทั่วโลก ดังนั้น สโลแกน ในชวงแรกๆ ของเราจึงออกมาเปน “Go For Gold” หรือ “Challenging For the Great Success” อะไร ทํานองนี้ แตตอมาพอเราไดรับ เหรียญรางวัลชนะเลิศเปนที่ 1 ใน งานประกวด Asian Print Awards หลายครั้ง เราจึงมีสโลแกนในการ จัดประกวดครั้งที่ 3 คือ “Join The World Class Quality Club”และตอมาพอทุกคนทัว่ โลกรับรู แลววาสิง่ พิมพของเรานัน้ มีคณ ุ ภาพ ในระดับโลกไปแลว เราจึงอยากที่ จะใหผูซื้อเชื่อมั่นวาเมื่อซื้อสิ่งพิมพ ที่ผลิตจากประเทศไทย เขาสามารถ เชื่อมั่นไดถึงคุณภาพและบริการที่ ดีเยี่ยม และเราก็กําลังจะกาวตอ ไปใหเหนือไปกวาคําวา ยอดเยี่ยม ดังนั้น จึงเปนที่มาของสโลแกนใน การประกวดครั้งที่ 4 และ 5 ซึ่ง ไดแก “Printed In Thailand : Excellent Quality and Services You Can Trust” และ “Beyond the Border of Printing Excellence” ดังนัน้ ในงานประกวดสิง่ พิมพ แหงชาติครั้งที่ 6 นี้ เรามีความเชื่อ วา การที่จะทําใหธุรกิจสิ่งพิมพของ เรานั้นเจริญเติบโตอยางยั่งยืนนั้น ความยอดเยี่ยมของคุณภาพงาน พิ ม พ เ พี ย งอย า งเดี ย วนั้ น อาจจะ ไมเพียงพอตอการบรรลุเปาหมาย

นี้ ทามกลางการแขงขันจากคูแขง ทั่วโลก ดังนั้น การที่จะตอยอด และเพิ่มมูลคาของสิ่งพิมพไทยให ไดเปรียบเหนือคูแขง และไดรับการ ยอมรับจากผูซื้อสิ่งพิมพนั้น เราจะ ตองเติมความคิดสรางสรรคเขาไป อีกองคประกอบหนึ่ง จึงทําใหที่มา ของสโลแกนของเราในปนี้ ซึ่งเปน การรวมเอาความยอดเยี่ยมของ คุณภาพการพิมพ และความคิด สรางสรรคมาไวดวยกัน เพื่อเปน การกระตุ น ให โรงพิ ม พ ข องไทย ตระหนักถึงและพยายามพัฒนาไป สูจุดดังกลาวใหได

ขั้ น ตอนและอุ ป สรรคในการจั ด งานในครั้ ง นี้ มี อ ะไรที่ ติ ด ขั ด หรื อ เกิดปญหาอะไรขึ้นบางหรือเปลา ครับ และใชหลักการใดในการแกไข ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น?

แนนอนครับ ในการจัดงาน ประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ในแตละ ครั้งยอมตองมีปญหาและอุปสรรค แตกตางกันไป แตสวนใหญแลว ปญหาจะเปนเรือ่ งรายละเอียดปลีก ยอยเสียมากกวา เชน วันเวลาใน การจัดงาน สถานที่ในการจัดงาน รูปแบบของการจัดงาน ซึ่งในแตละ เรื่ อ งจะมี ก ารแตกประเด็ น ย อ ยๆ ทําใหสวนของเนื้อหางานนั้นคอน ขางเยอะ และอยาลืมนะครับวา โจทยของเราแตละครั้ง ยากขึ้น เรือ่ ยๆ ทัง้ นีเ้ ปนเพราะทางสมาคม การพิมพไทยของเราไมตองการที่ จะหยุดนิง่ เราตองการจะพยายาม พัฒนาและปรับปรุงใหการจัดงาน แตละครั้งดีขึ้นเรื่อยๆ ในทุกๆ ป ซึ่งผมเชื่อวา ผูที่ไดมีโอกาสเขามา รวมงานของเรา ในแตละครั้งคง รูสึกถึงการพัฒนาการจัดงานของ

คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธาน จัดงานขึ้นกลาวรายละเอียดของการ จัดงานฯประธานจัดงานการประกวด สิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6

เรานะครับ ในการแกไขปญหาตางๆ นั้น ส ว นใหญ เราจะมี ค ณะที มทํ า งาน ของเรา และทางบริษัท Organizer ดําเนินการประชุมกันคอนขางบอย ดังนั้น เราจึงมีกลุมที่ชวยกันออก ความคิดเห็นและแกไขปญหาตางๆ ซึ่งพี่ๆ นองๆ หลายทานของ สมาคมก็รวมกันนําเสนอความคิด ดีๆ ใหมๆ โดยตัวผมเองทําหนาที่ ในการประสานงาน เพื่อใหทุกๆ ประเด็นไดรับการดําเนินการอยาง ราบรื่นและทันตอเวลา ซึ่งตองขอ ขอบพระคุณผูห ลักผูใ หญหลายทาน ที่ไดเสียสละเวลา และความคิด ในการชวยใหการจัดงานของเรา แตละครั้งเต็มไปดวยความราบรื่น

58 ThaiPrint Magazine

56-60 TPM ExhibitionK_Wittaya_New pc3.indd 58

17/11/2554 23:01:52


คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ภาพรวมของ 6th Thai Print Awards มีความพิเศษอะไรมากขึน้ จาก 5 ครั้ง ที่ผานมา ในปนี้เนน เรื่องไหนเปนสําคัญ?

การที่สิ่งพิมพ์ของประเทศไทยเรา ไดกาวสูความเปนที่ 1 ของเอเชีย ไดแลวนั้น ยังตั้งเปาหมายสูงสุด ไวขนาดไหนสําหรับอุตสาหกรรม อยางแรกเลย คือ อยากให การพิมพไทย?

ยอนกลับไปดูที่สโลแกน ซึ่งนั่นคือ ที่มาของการเปลี่ยนแปลงจากครั้ง กอนๆ ซึง่ ในครัง้ นีอ้ ยางทีก่ ลาวแลว คือ การที่เรานําเสนอใหเพิ่มความ คิดสรางสรรคเขาไปกับความยอด เยี่ยมของการพิมพ ดังนั้นประเภท ของการตัดสินที่เรียกวา Best of the Best Award รางวัลหนึ่งใน ปนี้ เราจึงตั้งรางวัลที่เกี่ยวของกับ ความคิดสรางสรรคข้นึ มาที่เราเรียก วา Best Creativity in Printing Applications and Designs นอก จากนี้ ในวันงานการประกาศผล หลายๆ ทานจะเห็นวา เทคนิค ในการลงทะเบียนผู เขารวมงาน ของเรา ก็มีการใชเทคโนโลยี RFID ซึ่งเราไดรับการสนับสนุนจากทาง บริษัท Star RFID ในกลุมเจริญ อักษร ที่ชวยวางระบบใหผูมีบัตร เขารวมงาน เมื่อผานจุด Sensor จุ ด หนึ่ ง ภายในงานก็ จ ะได รั บ การ บันทึกลงทะเบียนโดยอัตโนมัตแิ ละ สามารถแจงที่หนาจอ Monitor ที่ เราเตรียมไวบริเวณทางเดินวาทาน ชื่ออะไร มาจากองคกรใด และมี โตะหมายเลขที่นั่งเลขที่เทาไร ซึ่ง ถื อเป น ความคิ ด สร า งสรรค อี ก สิ่ ง หนึ่งที่เรานํามาใชในปนี้ นอกจาก นี้ ในการฉายวิดีโอแนะนําหรือการ นําเสนอผลรางวัลที่เขารอบพรอม ผูช นะเลิศนัน้ ในปนเ้ี ราใชเทคโนโลยี 3D Mapping ซึ่งเปนเทคโนโลยี ที่ชวยในการเพิ่มลูกเลนของการ นําเสนอใหเปนที่นาสนใจ และนา ติดตามมากขึ้นนั่นเองครับ

เราก็ตองพยายามรักษาความ เปนที่ 1 ตรงนี้ใหไดอยางยืนหยัด ยาวนานตลอดไป สําหรับการ แขงขันในเชิงคุณภาพ และขณะ เดียวกัน ในทางธุรกิจเราก็ตอง พยายามผลักดันใหตัวเลขยอดการ สงออกของเราเติบโตขึ้นอยางตอ เนื่อง และพยายามผลักดันใหมี การบริโภคสิ่งพิมพภายในประเทศ ใหมากขึ้นเชนกัน ซึ่งเมื่อดูกับสถิติ การบริโภคสิ่งพิมพในประเทศ ณ ปจจุบัน เราเชื่อมั่นวา ถามีหนังสือ ที่มี Content ที่ดี พิมพออกมาเปน รูปเลมที่สวยงาม ราคาเหมาะสม การบริโภคสิ่งพิมพสําหรับตลาดใน ประเทศก็ยังเปดกวางสําหรับการ พัฒนาไดอยางแนนอนครับ

โรงพิ ม พ ที่ มี ข นาดเล็ ก สามารถ สงผลงานเขารวมในการจัดการ ประกวดสิ่งพิมพไดหรือไม และ อยากใหเชิญชวนโรงพิมพตางๆ ทุกขนาดใหสงผลงานมาเขารวม และมีขอแนะนําอยางไรบางครับ? ไม ว า ใครก็ ต ามที่ อ ยู ใ นกฎ เกณฑของผูสามารถเขารวมสมัคร นั้น สามารถสมัครเขามาไดทั้งหมด ครับ โดยเราไมเคยคํานึงถึงขนาด ของกิจการวาเล็กหรือใหญ เพราะ ขนาดของกิจการนั้นไมไดบงบอก วา บริษัทนั้นจะไดรับรางวัลหรือ ไมจากการที่ผมไดมีโอกาสเขาไป ประชาสัมพันธการจัดงานประกวด สิ่ ง พิ ม พ แ ห ง ชาติ ที่ ต า งจั ง หวั ด ทุ ก ภาคในชวง 2-3 ปมานี้ จะเห็นได

ชัดเลยวา มีโรงพิมพตางจังหวัด เริ่มทยอยสงชิ้นผลงานเขามามาก ขึ้น และจํานวนของโรงพิมพขนาด เล็กก็เขารวมสงชิ้นผลงานมากขึ้น เชนกันและสิ่งที่นาประทับใจ ก็คือ ในชวง 2-3 ครั้งหลังนี้ มีรายชื่อ โรงพิ ม พ ข นาดเล็ ก หลายรายที่ ไ ด ก า วขึ้ น มาเป น ผู ที่ ไ ด รั บ เหรี ย ญ รางวั ล ชนะเลิ ศ ในประเภทต า งๆ โดยบางรายมาจากตางจังหวัดดวย ซ้ํา ซึ่งถือวาเปนการพัฒนาของ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ไ ทยอย า ง แทจริง และตรงกับวัตถุประสงค ของทางเราที่ ต อ งการให ค วามรู ความสามารถถู ก ถ า ยทอดไปยั ง โรงพิมพขนาดกลาง เล็ก หรือ โรงพิมพตางจังหวัดโดยทั่วถึงกัน สําหรับขอแนะนํางายๆ ก็คือ ขอใหทุกโรงพิมพไมวาจะมีเครื่อง พิมพที่เทคโนโลยีเกา ใหมเพียงใด ขอใหกลับมาคิดในสิ่งที่เปนพื้นฐาน ที่สุดคือ ความสะอาด ความตรง จากงานพิมพ 4 สี การตัดเจียน การเขาเลม และอื่นๆ ปจจัยเหลา นี้ เพียงแคเราใสใจ และมีความรู ในการจัดการใหชิ้นงานของเราตรง ตามเกณฑเหลานี้แลว เราก็จะเปน ผูห นึง่ ทีม่ โี อกาสไดรบั เหรียญรางวัล ชนะเลิศอยางแนนอน

การส ง ผลงานเข า ประกวดมี วิ ธี ปฏิบัติอยางไรบาง โดยเฉพาะครั้ง นี้มีผูสงผลงานเขาประกวดมาก นอยแคไหน?

เปนที่นายินดีครับวา การจัด งานประกวดแตละครั้งที่ผานมา ตัวเลขชิ้นผลงานที่ถูกสงเขามานั้น ทําลายสถิติเกามาโดยตลอด ซึ่ง ในป นี้ ก็ เช น กั น ครั บ ที่ มี ชิ้ น ผลงาน สงเขามาประกวดนับพันชิ้น โดย ThaiPrint Magazine 59

56-60 TPM ExhibitionK_Wittaya_New pc3.indd 59

17/11/2554 23:01:53


Print Interview

คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธานจัดงานการ และคุณพงศธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายกฝาย ประชาสัมพันธประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6

วิธีการเขารวมการประกวดนั้น ผม ขอใหผอู า นเขาไปดูศกึ ษาในโบรชัวร งานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติที่เรา แจกใหทุกโรงพิมพ สมาชิกทุกๆ ป หรือไมก็ขอผูสนใจเขาไปที่เวปไซต ของการจั ด งานประกวดสิ่ ง พิ ม พ แหงชาติ www.thaiprintawards.com ซึ่งในนั้นจะบอกวิธีรวมถึงเงื่อนไข การเขารวมทั้งหมด

นํามาปรับปรุงแกไขใหดีขึ้นในครั้ง ตอๆ ไป นอกจากนี้เราก็จะตองดู ทิศทางของกระแสในอุตสาหกรรม สิ่ ง พิ ม พ ทั่ ว โลกว า จะดําเนินไปใน ทิศทางใด มีเทคโนโลยีอะไรใหมๆ เขามาเพิ่มเติมหรือไม ทั้งนี้เพื่อ นํามากํ า หนดเป น แนวทางพร อ ม สร า งกลยุ ท ธ ใ ห กั บ อุ ต สาหกรรม สิ่งพิมพของไทยเราใหสามารถรับ มือกับกระแสนั้นได

ทิศทางในอนาคตของการจัดงาน จะพัฒนารูปแบบใด และจะมุงเนน อยากฝากอะไรถึ ง ผู  ส  ง ผลงาน ในสวนไหนเปนพิเศษ? ตลอดจนผู  ส นั บ สนุ นทั้ ง ภาครั ฐ ในเวลานี้ เรายังคงบอกไมได และเอกชนบางครับ?

ชัดเจนถึงทิศทางการจัดงาน ใน อนาคตวา จะมีรูปรางหนาตาเปน อยางไรเพราะตองขึน้ อยูก บั นโยบาย และกลยุทธของคณะทีมงานในแต ละป แตสง่ิ หนึง่ ทีเ่ ราสามารถกําหนด ไดชัดเจน คือในแตละครั้งเราจะนํา จุดบกพรองทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนิน การในครัง้ กอนๆ รวมถึง feedback ที่ไดรับจากผูเขารวมงาน และผู สนับสนุนการจัดงานที่ใหเรา เพื่อ

ในฐานะประธานการจัดงาน การประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้ง ที่ 4 จนถึง ครั้งที่ 6 นี้ ผม ตองขอขอบพระคุณทุกภาคสวนที่ เกี่ยวของกับการจัดงานประกวด สิ่งพิมพแหงชาติในทุกๆ ครั้งเปน อยางสูง ไมวาจะเปนหนวยงาน ในภาครัฐ บรรดาผูสนับสนุนหลัก หรือผูสนับสนุนรอง ผูเขารวมสง ชิ้นผลงาน คณะทีมงานจัดงาน

ประกวดและคณะกรรมการตัดสิน งานประกวด ซึ่งทุกองคกรที่กลาว มานี้ ถือเปนฟนเฟองหลักที่ชวย ทําใหการจัดงานประกวดในแตละ ครั้งผานพนไปไดดวยความราบรื่น และเห็นถึงการพัฒนาของการจัด งานแตละครั้ง ดังนั้น ในปตอๆ ไปผมจึงอยากฝากใหผูที่มีโอกาส ไดอานบทสัมภาษณฉบับนี้ ทุกๆ ทานเขารวมสนับสนุนการจัดงาน ประกวดสิ่ ง พิ ม พ แ ห ง ชาติ ข อง เราใหมากขึ้น ไมวาทานจะเขามา ชวยในบทบาทใดก็ตาม เพราะ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ข องไทย เรานั้นมีประวัติอันยาวนาน และ ในวันนี้เปนอุตสาหกรรมดาวรุงที่ ทํารายไดคอนขางสูงใหกับประเทศ การที่จะเห็นอุตสาหกรรมการพิมพ นี้เดินหนาตอไปอยางไร ทุกอยาง ขึ้นอยูกับมือของพวกเราชาวโรง พิมพ และผูที่เกี่ยวของกับอุตฯ นี้ ทุกทานวาจะชวยกันพัฒนาตอไป ไดดีมากนอยเพียงไรใชหรือไมครับ

60 ThaiPrint Magazine

56-60 TPM ExhibitionK_Wittaya_New pc3.indd 60

17/11/2554 23:01:56


55 ad smg#87 cs5-m19.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

14/6/2554

17:12


Sriaksorn_m19.indd 103

1/9/10 4:19:20 PM


Sriaksorn_m19.indd 100

1/9/10 4:18:04 PM


Sriaksorn_m19.indd 102

1/9/10 4:19:01 PM


Sriaksorn_m19.indd 101

1/9/10 4:18:47 PM


Sriaksorn_m19.indd 104

1/9/10 4:19:36 PM


Sriaksorn_m19.indd 99

1/9/10 4:17:06 PM


Global Printing Update

ทำ�ก�รตล�ดอย่�งไร ให้อยู่ในใจลูกค้�อย่�งยั่งยืน

โดย คุณอรชุดา ประภาพงศพันธุ ผู้จัดการส่วนงานวางแผนและพัฒนาตลาด Thai Paper ใน SCG Paper

อย่�งที่ทร�บกันอยู่ทั่วๆ ไปว่�ภ�วะเศรษฐกิจโลกนั้นมีก�รตื่นตัวอยู่ตลอดเวล� เพร�ะฉะนั้นภ�คธุรกิจ จะต้องมีก�รแข่งขันกันในตล�ดสูงม�ก ค่�ยธุรกิจต่�งต้องนำ�กลยุทธ กลวิธีหล�กหล�ยรูปแบบ เพื่อครอบ ครองคว�มยิ่งใหญ่ให้ได้ม�ยังส่วนแบ่งท�งก�รตล�ดของธุรกิจหรือบริษัทของตน ซึ่งเร�จะม�ดูมุมมองก�ร ทำ�ตล�ดของบริษัทชั้นนำ�ของประเทศที่ครองร�ยได้ในตล�ดระดับต้นๆ ของประเทศไทย สำาหรับเรื่องการตลาดนั้นเราคิดว่าเป็นศาสตร์ของการผสมผสาน ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่สามารถประสบ ความสำาเร็จได้โดยการนำาเอาแนวคิดใดแนวคิดหนึ่งมาใช้ การสร้างกลยุทธ์ทางการตลาดนั้นมักจะมีปัจจัย หลากหลาย และปัจจัยเหล่านั้นจะต้องเป็นแนวทางเดียวกัน สำาหรับวันนี้อยากที่จะแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นในหัวข้อ “ทำาการตลาดอย่างไรให้อยู่ในใจลูกค้าอย่างยั่งยืน” ซึ่งจะนำาเสนอปัจจัย 6 หัวข้อ ด้วยกัน ได้แก่ การตลาดแบบดั้งเดิม สูตรสำาเร็จ 9 ประการเพื่อชัยชนะในตลาดอย่างยั่งยืน แนวคิด ของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) ความภักดีในตราสินค้า (Brand Loyalty) Social Media เครื่องมือธุรกิจที่คุณต้องรู้ และกลยุทธ์ตลาดสีเขียว โดยได้พยายาม ไล่เรียงว่าจากอตีตที่ผ่านมานั้นมีอะไรเกิดขึ้นมาบ้าง และมีแนวคิดอะไรบ้างที่เกิดขึ้น เมื่อสิ่งแวดล้อม ทางการตลาดนั้นเปลี่ยนไปหรือมีสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ เข้ามา

ก�รตล�ดแบบดั้งเดิม

ก่อนอื่นเราต้องทำาความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานทางการตลาดแบบดั้งเดิมเสียก่อน การตลาดแบบ ดั้งเดิมนั้น ภาษาการตลาดเรียกว่า 4 P’s (Product Price Place และ Promotion) เป็นแนวคิดของ ฟลิป คอตเลอร (เป็นศาสตร์ตราจารย์ทางด้านการตลาด) ฟลิป คอตเลอร์ เน้นให้ความสำาคัญตลาด เปาหมาย (Target Market) โดยมีการปรับส่วนผสมทั้ง 4 ให้สอดคล้องกับตลาดเปาหมาย องค์ประกอบ ของ 4 P’s นั้นประกอบไปด้วย 68 ThaiPrint Magazine

68-71 TPM Global_New pc3.indd 68

18/11/2554 1:10:18


ทำ�ตลาดอย่างไรให้อยู่ในใจลูกค้าอย่างยั่งยืน Product (สินค้า) ในที่นี้หมายถึง กลยุทธ์ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และการบริการ เวลาที่เราผลิตสินค้ามาหนึ่งตัวนั้น ถือได้ว่าสินค้าตัวนั้น เป็นภาระหน้าที่ของเราจะคอยดูแล วางแผนให้กับสินค้านั้นๆ โดยมอง ผลิตภัณฑ์นั้นเหมือนสิ่งมีชีวิต เราจำ�เป็นต้องมีการสร้างแบรนด์ และ บริหารจัดการแบรนด์แบบเบ็ดเสร็จ ให้ทุกท่านคิดเปรียบเทียบเหมือน กับเรามีลูกคนหนึ่ง เราต้องคิดว่า อยากให้เขาเติบโตมาเป็นอย่างไรหรือ จะวางแนวทางชีวิตของลูกเราอย่างไร การเปรียบเทียบเช่นนี้จะทำ�ให้ ท่านมองภาพวัฎจักรของสินค้าได้ง่ายขึ้น Price (ราคา) คือ กลยุทธ์การกำ�หนดราคา เพื่อให้มีกำ�ไรสูงสุดและ มีความเหมาะสมกับกำ�ลังซื้อของลูกค้า Place (ช่องทางจัดจำ�หน่าย) เป็นกลยุทธ์ในการหาช่องทางจัด จำ�หน่ายสินค้านั้นๆ โดยเราต้องแสวงหาวิธีการที่สามารถให้ลูกค้าเข้าถึง สินค้าของเราได้ ตัวอย่างที่เห็นชัดเจน คือ กลุ่มสินค้าบริโภค (Consumer Product) ช่องทางจัดจำ�หน่ายใหญ่ๆ เช่น โลตัส บิ๊กซี หรือ เซเว่น อีเลฟเว่น หากเราศึกษาดูดีๆ เราจะพบว่าช่องทางการจัดจำ�หน่ายเหล่า นี้จะมีกลยุทธ์ในการกระจายสินค้าที่แตกต่างกัน และความแตกต่าง เหล่านี้สามารถทำ�ให้ทุกคนอยู่ได้ และสามารถวางแบรนด์ตัวเองได้ อย่างชัดเจน

Promotion (การสื่อสารตลาดและส่งเสริมการขาย) เป็นวิธีการ สร้างแรงจูงใจ และความต้องการให้กับผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ขายได้มากขึ้น ปัจจุบันนั้นกลยุทธ์ที่ใช้จะเป็นลักษณะของการสื่อสาร และพูดคุยกับ ลูกค้ามากขึ้น ซึ่งแตกต่างจากอดีตที่นิยม การลด แลก แจก แถม นอกจากนัน้ วิธกี ารให้การสือ่ สารในปัจจุบนั นัน้ มีความหลากหลายมาก ขึ้นและลึกซึ้งมากขึ้นเช่นกัน เช่น การเลือกพรีเซ็นเตอร์นำ�เสนอสินค้า เกรดเอ พรีเซ็นเตอร์ที่น�ำ เสนอนั้นก็ต้องมีวีถีชีวิตในระดับเอด้วยเช่นกัน ThaiPrint Magazine 69

68-71 TPM Global_New pc3.indd 69

18/11/2554 1:10:19


Global Printing Update

สูตรสำ�เร็จ 9 ประการเพื่อชัยชนะในตลาดอย่างยั่งยืน

สูตรสำ�เร็จ จาก การตลาดฉบับคอตเลอร์ กล่าวว่า “เราจะทำ� อย่างไร สำ�หรับชัยชนะและการครอบครองตลาด” (How to Create, Win, and Dominate Markets) คอตเลอร์ มองว่า เราสามารถยั่งยืนอยู่ใน ตลาดได้โดยอาศัยสูตรความสำ�เร็จ ดังต่อไปนี้ การชนะด้วยการมีคุณภาพที่เหนือกว่า เป็นเรื่องของคุณภาพสินค้าในสายตาของลูกค้า มักมีคำ�ถามเกิดขึ้น ว่าคุณภาพที่เหนือกว่านั้นสามารถสร้างชัยชนะได้จริงหรือ ซึ่งในมุมมอง ของลูกค้าบางกลุ่มบอกว่าจริง แต่ก็ยังมีอีกหลายกลุ่มเช่นเดียวกันที่มักไม่ ยอมจ่ายหากสินค้านั้นมีราคาแพงกว่ามากๆ แม้จะทราบว่าสินค้านั้นๆ มีคุณภาพจริง ชนะด้วยบริการที่เหนือกว่า ประเด็นนี้มองว่าลูกค้าแต่ละคนต้องการการบริการที่ดีในลักษณะ ที่ต่างกัน ตัวอย่างเช่น ในอดีตโรงแรมที่ดีที่สุดคือระดับ 5 ดาว แต่ ปัจจุบันก็มีโรงแรมระดับ 7 ดาวเกิดขึ้น อย่างโรงแรมเบริร์จอัลอาหรับ (Burjal - Arad) หรือโรงแรมดาราเทวีที่เชียงใหม่ ซึ่งการันตีตัวเองว่าเป็น โรงแรมระดับ 7 ดาว หากเราเป็นผู้บริโภคเราก็ต้องเกิดความคาดหวังว่า คงมีอะไรที่พิเศษกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นเราเรียกว่า ความคาดหวัง ชนะด้วยราคาที่ต�่ำ กว่า กลยุทธ์ในเรื่องของราคาเป็นเรื่องที่มีความละเอียดอ่อนมากที่สุด เรามักบอกพนักงานขายอยู่เสมอว่า การให้ราคาต่ำ�เป็นเรื่องที่ง่ายที่สุด แต่ควรเป็นเรื่องที่ทำ�หลังสุด แต่ก็มีนักธุรกิจบางรายประสบความสำ�เร็จ จากกลยุทธ์ราคาต่ำ� อย่างเช่น Wal-Mart สายการบินต้นทุนต่ำ� ชนะด้วยการมีส่วนแบ่งตลาดที่สูง หมายถึง เวลาที่เรามี ส่วนแบ่งทางการตลาดมากๆ นะ เราจะทราบว่า จุดคุ้มทุนของตัวเอง นอกเหนือจากนั้น เราจะทราบจำ�นวนการผลิตที่ส่งผลให้มีต้นทุนที่ต่ำ�ลง ขนาดของการผลิต และแบรนด์สินค้าที่ลูกค้าจำ�ได้มากกว่านั้นจะมีผล ต่อการตัดสินใจของลูกค้า ตัวอย่างเช่น AIS ซึ่งมีส่วนแบ่งพื้นที่การ ตลาดสูงของเครือข่ายมือถือทำ�ให้ค่าเฉลี่ยของต้นทุนถูกลงส่งผลให้ AIS ยังสามารถดำ�เนินธุรกิจอยู่ได้แม้จะมีเครือข่ายมือถืออื่นๆ เกิดขึ้น

1

2

3 4

70 ThaiPrint Magazine

68-71 TPM Global_New pc3.indd 70

18/11/2554 1:10:21


ทำ�ตล�ดอย่�งไรให้อยู่ในใจลูกค้�อย่�งยั่งยืน

5

ชนะด้วยการปรับตัว และปรับให้ตรงกับความต้องการของ ลูกค้า ลูกค้าต้องการสินค้า หรือบริการทีต่ รงกับความต้องการเฉพาะตัว มากขึ้ น ทำ า ให้ ทุ ก ธุ ร กิ จ ต้ อ งมี ก ารปรั บ ตั ว สร้ า งสิ น ค้ า ให้ ต รงตามความ ต้องการของลูกค้าให้มากที่สุด เพื่อโอกาสทางธุรกิจ แต่สิ่งที่ต้อง พิจารณา คือ ต้นทุนที่สูงขึ้นและการควบคุมกระบวนการผลิต (Mass customization) ชนะด้วยการปรับปรุงผลิตภัณฑอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงผลิตภัณฑ์นั้นจะต้องสอดคล้องกับความต้องการของ ลูกค้าเสมอเนื่องจากมีผลกระทบในเรื่องของการตัดสินใจซื้อของลูกค้า และการปรับปรุงนั้นจะต้องกระทำาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสินค้าตัวใดที่ไม่มี การปรับปรุงนั้นมักจะถูกแทนที่เสมอ ชนะด้วยนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ การสร้างนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ นั้น มีอัตราความล้มเหลว ในสินค้าใหม่นั้น สินค้าอุปโภคบริโภคอยู่ที่ร้อยละ 80 และสินค้า อุตสาหกรรมอยู่ที่ร้อยละ 30 ชนะด้วยการเข้าสู่ตลาดที่มีอัตราเติบโตสูง ปัจจุบัน ตลาดพวกอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคมมักมี อัตราการเติบโตสูง แต่โดยเฉลี่ยแล้วบริษัทที่เข้ามาสู่ตลาดที่มีการเติบโต สูงมักจะล้มเหลว นอกจากตลาดนั้นได้ยอมรับแบรนด์ หรือตราสินค้า นั้นๆ ว่าเป็นมาตรฐาน การยอมรับเหล่านั้นจะส่งผลให้ผลิตภัณฑ์นั้น สามารถเพิ่มยอดขายและผลตอบแทนต่างๆ เช่น ไมโครซอฟต์ออฟฟศ กลายเป็นโปรแกรมมาตรฐาน สำาหรับการอำานวยความสะดวกในการ ทำางานเอกสาร ชนะด้วยการตอบสนองเกินความคาดหวังของลูกค้า บริษัทที่ประสบชัยชนะ คือ บริษัทที่สามารถตอบสนองเกินความ คาดหวังของลูกค้า การสร้างความปติยินดีให้แก่ลูกค้านั้นมักจะส่งผล ให้ลูกค้าเหล่านั้นกลายเป็นผู้ภักดีของบริษัทสูงมากทีเดียว แต่ความคาด หวังเหล่านี้จะขยับสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีปริมาณที่มากเช่นกัน ซึ่งจะมี ความสิ้นเปลืองและความยุ่งยาก สุดท้ายแล้วสิ่งที่บริษัททำาได้คือ แค่ ตอบสนองความคาดหวังครั้งล่าสุดของลูกค้าเท่านั้นและพิจารณาว่าใน บรรดาความคาดหวังของลูกค้านั้นมีสิ่งใดบ้างที่บริษัทสามารถตอบสนอง โดยที่บริษัทก็มีผลกำาไรเช่นกัน หวังว่าบทความ ทำาการตลาดอย่างไรให้อยู่ในใจลูกค้าอย่าง ยั่งยืน คงสามารถเปนแนวคิดพื้นฐานสำาหรับท่านผู้อ่านทุกๆ ท่าน ได้ทำาการประยุกตใช้ให้เหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง และหวังเปน อย่างยิ่งว่า ครั้งหน้าการนำาเสนอแนวคิด ระบบแนวคิดของการ บริหารลูกค้าสัมพันธ (Customer Relationship Management: CRM) จะสามารถสร้างและเชื่อมโยงแนวคิด ทำาการตลาดอย่างไรให้อยู่ใน ใจลูกค้าอย่างยั่งยืน ได้อย่างเปนรูปธรรมมากขึ้นโปรดติดตามกัน ต่อไปนะคะ

6 7 8

9

ThaiPrint Magazine 71

68-71 TPM Global_New pc3.indd 71

18/11/2554 1:10:22


Print Exhibition

PACK PRINT INTERNATIONAL งานแสดงการพิมพที่ใหญที่สุดในอาเซียน โชวนวัตกรรมเทคโนโลยี เครื่องจักรที่ทันสมัยทางดานบรรจุภัณฑและการพิมพ ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

ฯพณฯ นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม

เปดตัวอยางยิ่งใหญ สําหรับ งานแสดงการพิมพและบรรจุภัณฑ Pack Print International 2011 ซึ่งครั้งนี้จัดพรอมกับอุตสาหกรรม พลาสติก และยาง เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2554 ทีผ่ า นมา โดยไดรบั เกียรติจาก ฯพณฯ นพ.วรรณรัตน ชาญนุกลู รัฐมนตรีวา การกระทรวง อุตสาหกรรม เปนประธานเปดงาน ในครั้งนี้ โดยกลาวถึงอุตสาหกรรม การพิมพและบรรจุภัณฑเปนกลุม ที่ มี บ ทบาทต อ ภาคอุ ต สาหกรรม คอนขางมาก ตัวเลขสถิติทั้งภาค เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรมตาง ก็สะทอนถึงความสําคัญของภาค

อุตสาหกรรมเหลานี้ไดเปนอยางดี ซึ่ ง ตั ว เลขสถิ ติ เ กี่ ย วกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ การพิมพและบรรจุภัณฑ สะทอน ภาพของอุตสาหกรรมทั้งทางตรง และทางออม เนื่องจากสิ่งพิมพ บรรจุภณ ั ฑเปนองคประกอบสําคัญ ของชิ้นสวนอุตสาหกรรมอื่นๆ อีก เปนจํานวนมาก การที่เห็นภาพได อยางสมบูรณตองนําทั้งสองสวนนี้ มาพิจารณารวมกัน เมื่อพิจารณา ตัวเลขการสงออกของธนาคารแหง ประเทศไทยจะพบวา ในป 2553 ประเทศไทยมีการสงออกสินคารวม เปนมูลคา 5.7 พันลานบาทหรือ 193.6 พันลานเหรียญสหรัฐ ใน

72 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 72

18/11/2554 0:25:56


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011

จํานวนนี้สินคามูลคาเพิ่มบางสวน เปนผลผลิตจากอุตสาหกรรมจาก อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ พลาสติก และยาง ตัวอยางเชน ในชวง 7 เดือนแรกของป 2554 ประเทศไทยสงออกรถยนต 492,423 คัน ซึ่งแนนอนวาชิ้นสวนรถยนต บางสวนเปนผลผลิตจากพลาสติก และยาง ในชวงไตรมาสแรกของป 2554 ประเทศไทยสงออกผลิตภัณฑอาหาร รวม 8.4 ลานตัน คิดเปนมูลคากวา 222 พันลานบาท หรือ 7.4 พันลาน เหรียญสหรัฐ แนนอนวาตองมีการใช สิ่งพิมพและบรรจุภัณฑเปนจํานวน มาก ตัวอยางที่หยิบยกขึ้นมากลาว อางเปนบางสวนของผลิตภัณฑที่ มีสวนตอการขยายตัวของภาคการ สงออกของไทยเรา ซึ่งก็เพียงพอ ที่จะตอกย้ําถึงภาพความสําคัญ ของผลิตภัณฑสิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ พลาสติก และยาง โดยภาพ ของการสงออกเปนเครื่องชี้วัดแนว โนมของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพและ บรรจุภัณฑ รวมถึงพลาสติกและ ยางไดเปนอยางดี โดยเฉพาะเครือ่ ง จักรและเทคโนโลยีที่ใชในการผลิต

และแปรรูปวัตถุดิบเหลานี้ เพื่อให กลายเปนผลิตภัณฑสาํ เร็จรูป ดัชนี ชี้วัดที่ดีอีกประการหนึ่งคือปริมาณ การบริโภคในประเทศ ไมวาจะ เป น ในรู ป วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ สําเร็จรูปในทามกลางสถาณการณ เศรษฐกิจ ในปจจุบันสามารถสราง ความมั่นใจไดวา แนวโนมของการ บริโภคภายในประเทศของไทยจะ เพิ่มสูงยิ่งขึ้นอยางแนนอน ลาสุด ธนาคารโลกไดปรับตัวเลขอัตรา รายไดของกลุมผูที่มีรายไดปาน กลาง - สูง ในฐานรายไดมวล รวมประชาชาติเพิ่มขึ้นเปน 4,210

ดอลลาร หรือ 125,000 บาทตอ ประชากร นั่นนับเปนขาวดีสําหรับ ประชากรไทย 67.4 ลานคน ที่จะ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น และก็ นั บ ได วาเปนขาวดีของสําหรับภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรมกวา 457,968 ราย ของไทยรวมถึ ง อุ ต สาหกรรมการ พิมพและบรรจุภัณฑ ที่จะมีลูกคา เพิ่มขึ้นตามการขยายตัวในอนาคต การเปดงาน Pack Print International 2011 งานแสดงเทคโนโลยีนานา ชาติเพื่ออุตสาหกรรมสิ่งพิมพและ บรรจุภัณฑ ในครั้งนี้ นายแพทย วรรณรัตน ไดแสดงความมั่นใจตอ

ThaiPrint Magazine 73

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 73

18/11/2554 0:27:31


Print Exhibition

บรรยากาศภายในหองรับรอง ฯพณฯ นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม และไดรับการแนะนําตัวจากคณะผูจัดงาน งาน Pack Print International 2011

แนวโนมที่ดีของอุตสาหกรรมการ พิมพและบรรจุภัณฑรวมไปถึงภาค อุ ต สาหกรรมโดยรวมโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมยานยนต อาหาร สิ่งพิมพ และบรรจุภัณฑ การจัดงาน แสดงสินคาทั้งสองงานในครั้งนี้ถือ เปนกลยุทธที่ดี เพราะทั้งสองกลุม อุตสาหกรรมแยกเปนสวนใหญๆ คือ กลุมการพิมพ และบรรจุภัณฑ กับกลุมพลาสติก และยาง ตางก็ เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน การจัดงาน รวมกันจึงเสริมศักยภาพของไทย ใหแข็งแกรงยิ่งขึ้น ย้ําภาพไทยใน ฐานะการผลิตที่สําคัญของภูมิภาค

เอเซีย อยางไรก็ดี อุตสาหกรรม นองใหมนี้ ยังตองการการสงเสริม และสนั บ สนุ น จากทุ ก ฝ า ยที่ เ กี่ ย ว ของดวยความเชือ่ มัน่ อยางตอเนือ่ ง ของภาคอุ ต สาหกรรมที่ มี ต อ งาน Pack Print International 2011 และ TIPREX 2011 และการที่ ผูจัดแสดงสินคากวา 400 รายจาก ทั่วโลก ไดนําเทคโนโลยี นวัตกรรม เครื่องจักร และอุปกรณที่ทันสมัย เขารวมจัดแสดงในพืน้ ทีก่ วา 20,000 ตารางเมตร ทําใหงานแสดงสินคา ในครั้งนี้เปนงานที่ใหญที่สุดนับตั้ง แตเปดตัวเปนครั้งแรกเมื่อป 2550

ที่ผานมาและพิธีเปดอยางเปนทาง การ ซึ่งจัดขึ้นที่ศูนยนิทรรศการและ การประชุมไบเทค ในชวงเชาของ วันที่ 31 สิงหาคม 2554 ที่ผาน มา ซึ่งมีผูเขาชมงานกวา 500 คน ประกอบดวยผูแสดงสินคาฑูตจาก นานาประเทศ สมาคมที่รวมใหการ สนันสนุน คณะผูแทนการคา อาทิ กลุมธุรกิจจาก เมืองโฮจิมินหซิตี้ สมาคมการพิ ม พ จ ากมาเลเซี ย สมาคมอุตสาหกรรมการพิมพจาก ฟลิปปนส และสมาคมการพิมพ จากภาคเหนือของอินเดีย ตลอด จนการเขารวมงานของบริษัทดาน การพิมพ บรรจุภัณฑ พลาสติก และยาง จากประเทศไทยที่เนือง แน น พร อ มด ว ยบริ ษั ท ชั้ น นํ า จาก กวา 40 ประเทศทั่วโลก โดยมีการ จั ด แสดงในรู ป แบบศาลาประจํ า ชาติจากประเทศออสเตรีย จีน ไตหวัน และสิงคโปร และกลุมผูเขา ชมงานเป น หมู ค ณะจากประเทศ อินเดีย มาเลเซีย ฟลิปปนส ไทย เวียดนาม และคณะผูแทนการคา จากประเทศกานาโดยการเชิญของ ศูนยการบรรจุหีบหอไทยสงผลให งาน Pack Print International

74 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 74

18/11/2554 0:27:36


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011

และ TIPREX 2011 เปนงานแสดง สินคาระดับนานาชาติทย่ี ง่ิ ใหญของ ภูมิภาคอาเซียนในปนี้ งาน Pack Print International และ TIPREX 2011 เปนเวทีจัดแสดงเทคโนโลยี ของบริษัทชั้นนํา ในอุตสาหกรรม บรรุภัณฑการพิมพ พลาสติกและ ยาง โดยในอุตสาหกรรมการพิมพ บริษัทชั้นนําที่เขารวมงาน อาทิ Heidelberg Graphics (Thailand) Ltd., Koenig & Bauer Group (KBA), Canon Marketing (Thailand), Ferrostaal (Thailand) และ SCG Paper ในสวนของอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ นําโดย Clearpack (Thailand), Henkel (Thailand) และ อื่นๆ ทางดานงาน TIPREX 2011 บริษัทชั้นแนวหนาที่เขารวมงาน ประกอบดวย WittmannBattenfeld (Thailand) ซึ่งเขารวมงานเปนครั้ง แรก Krauss Maffei Technologies GmbH, Kreyenbourg GmbH, Patankit Chareon (2529), PTT Chemical Public Limited และ SCG Chemicals หลังจากที่นาย แพทยวรรณรัตน ไดกลาวเปดงาน เสร็จสิ้นแลว

คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย ขึ้นกลาวตอวารูสึก เปนเกียรติที่ไดรับเชิญใหรวมในพิธี เปดงาน Pack Print International 2011 และตองขอแสดงความยินดี กั บ คณะผู จั ด งานกั บ ความสํ า เร็ จ ของการจั ด งานอั น เกิ ด จากความ รวมมือรวมใจขององคกรพันธมิตร อันประกอบไปดวย สมาคมการ พิมพไทย สมาคมบรรจุภัณฑไทย กลุมอุตสาหกรรมพลาสติก สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สมาคมพลาสติกไทย และ เมสเซ

ดุส เซลดอรฟ เอเชีย โดยเฉพาะ งาน Pack Print International ที่ จัดเปนครั้งแรกในประเทศไทยมา ตัง้ แตป 2550 ซึง่ ถือเปนปทส่ี าํ คัญ ในชวงนั้น เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เขา มาจัดงานแสดงสินคาในประเทศ ไทยเปนครั้งแรก ซึ่งเชื่อแนวาการ ตัดสินใจดังกลาว คงเปนชวงเวลา ที่ยุงยากสําหรับ มร.เกอรนอท ริงลิง กรรมการผูจัดการ เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย ที่จะตอง พิจารณา และหาสมดุลยระหวาง ขอดีและขอเสียตางๆ ทั้งดาน ศักยภาพในการแขงขันหรือแมแต

คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ThaiPrint Magazine 75

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 75

18/11/2554 0:27:42


Print Exhibition

มร.เกอรนอท ริงลิง กรรมการผูจัดการ เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย

ดานผลกําไร กอนที่จะตัดสินใจ วา จะยายฐานการจัดงานมายัง ประเทศไทยหรือไม การเปลี่ยน แปลงเปนเรื่องยาก และเชื่อวาทุก คนคงเห็นดวยกับคํากลาวนี้ โดย เฉพาะในชวงแรกของการเปลี่ยน แปลง การเปดตัวของงาน Pack Print International ไดเกิดขึ้นใน ชวงเวลาที่ทาทายอันเนื่องมาจาก ปจจัยทั้งทางดานเศรษฐกิจ และ การเมืองเชนเดียวกับการจัดงาน ในป 2552 อยางไรก็ตาม คณะ ผูจัดงาน พันธมิตรการจัดงาน และองค ก รสนั บ สนุ น ก็ ยั ง คงยื น หยัดและเชื่อมั่นตอแนวโนม และ ศักยภาพของประเทศไทย ดังนั้น การจัดงาน Pack Print International ครั้งที่ 3 จึงถือเปนบท พิสูจนถึงการตัดสินใจที่ถูกตองของ เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย รวมไป ถึงสมาคมและหนวยงานสนับสนุน ที่เกี่ยวของ จํานวนผูแสดงสินคาที่ เพิ่มขึ้น พื้นที่การจัดงานที่ใหญขึ้น จํานวนผูชมงานที่คาดวาจะสูงขึ้น รวมทั้ง มูลคาการซื้อ-ขาย และ การเจรจาธุรกิจระหวางงานที่คาด วาจะเพิ่มขึ้น เชนกัน ตางสะทอน

แนวโนมที่สดใสทั้งของงาน Pack Print International และงาน TIPREX และกลุมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ อันไดแก การพิมพ บรรจุภัณฑ พลาสติก และยาง หลังจากนั้น ในชวงลําดับตอ มากรรมการผูจัดการ เมสเซ ดุส เซลดอรฟ เอเชีย มร.เกอรนอท ริงลิง ไดใหเกียรติขึ้นกลาวถึงการ จัดงาน Pack Print International และ TIPREX 2011 ซึ่งเปนเวที งานแสดงเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพื่ออุตสาหกรรม วา “ทั้งสองงาน

เปนเวทีเพื่อการแลกเปลี่ยนความ รูและประสบการณโดยมีประเทศ ไทยเป น ฐานการจั ด งานที่ สํ า คั ญ เนื่องจากความพรอมดานคุณภาพ และมาตรฐานการผลิต รวมไปถึง ความหลากหลายของผูแสดงสินคา และ ผูเขาชมงานแสดงสินคา” มร.ริงลิง กลาวเพิ่มเติมในสวนของ จํานวน และคุณภาพของผูเขาชม งานวา ในปนี้จํานวนผูลงทะเบียน เขาชมงานลวงหนาของทั้งสองงาน เพิ่มขึ้นกวา 40% เมื่อเปรียบเทียบ กับการจัดงานครั้งกอนในป 2552 และวาการจัดงานในครั้งนี้เกิดขึ้น ในเวลาทีเ่ หมาะสมและสะทอนภาพ ความตองการของภาคอุตสาหกรรม อยางแทจริง นอกจากการแสดง สินคาและเทคโนโลยีภายในงานยัง มีการประชุมสัมมนา ในประเด็น หัวขอตางๆ ที่กําลังเปนที่สนใจของ นักอุตสาหกรรม อาทิ บรรจุภัณฑ เพือ่ การขนสงโดยสมาคมบรรจุภณ ั ฑ ไทย การพิมพที่มีประสิทธิภาพและ อนุรักษสิ่แวดลอม โดย manroland (Thailand) นวัตกรรมดิจติ อล โดย Hewlett Packard (Thailand)

นายแพทยวรรณรัตน ชาญนุกูล รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม รับมอบของที่ระลึก

76 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 76

18/11/2554 0:27:47


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011

คุณเกษม แยมวาทีทอง นายกสมาคมการบรรจุภัณฑไทย

เทคโนโลยีพลาสติก โดย Chats worth Associates ระบบการจัดการ วัสดุจากสวนกลาง โดย WittmannBattenfeld GmbH และอื่นๆ อีก มาก มร.ริงลิง กลาวทิ้งทายเกี่ยว กับงาน Pack Print International และ TIPREX 2011 วา “ความ สําเร็จของงานในปนี้เปนบทพิสูจน วา ความรวมมือระหวาง เมสเซ ดุส เซลดอรฟ เอเชีย และสมาคมผูรวม จั ด งานของไทยประสบผลสํ า เร็ จ เพราะเปนการรวมมือเพื่ออนาคต ที่ดีกวาของภาคอุตสาหกรรม”

ในลําดับตอมา คุณเกษม แยมวาทีทอง นายกสมาคมการ บรรจุภัณฑไทย ใหเกียรติกับงาน ขึ้ น กล า วต อ นรั บ แขกผู มี เ กี ย รติ ที่ มารวมในพิธีเปดงานอยางเปนทาง การ โดยกลาวแสดงความเชื่อมั่น ในการจัดงานแสดงสินคาครัง้ สําคัญ ของไทย งานที่เจาของ ผูบริหาร และมืออาชีพในอุตสาหกรรมการ พิมพ บรรจุภัณฑ พลาสติก และ ยาง ตองไมพลาด เพราะนี่คือเวที แหงนวัตกรรมและเทคโนโลยีทก่ี ลุม อุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของสามารถ

เลือกสรร และนําไปใชในธุรกิจและ อุตสาหกรรมของตน ซึง่ รูส กึ ตืน่ เตน กับจํานวนของบริษัทผูแสดงสินคา รายใหม ทั้งจากประเทศไทยและ ตางประเทศที่เขารวมงานเปนครั้ง แรก เพราะนั่นถือเปนขอยืนยันถึง จุดเดนของงาน Pack Print International และ TIPREX 2011 วาเปน งานที่เหมาะสมที่สุดสําหรับการจัด แสดงเทคโนโลยี ประเด็นทีน่ า สนใจ ไมแพกันก็คือ จํานวนของผูแสดง สินคา เมือ่ ป 2552 ทีย่ งั คงจอง พื้นที่หรือในบางรายขยายพื้นที่ใน การจัดแสดงสินคารูปการณเชนนี้ สะท อ นถึ ง ความมั่ น ใจที่ มี ต อ งาน Pack Print International และ TIPREX 2011 และยังเชื่อวาการ ตั ด สิ น ใจเข า ร ว มงานของผู แ สดง สินคาคือ ตัวบงชี้ความพึงพอใจที่มี ต อ งานนี้ ใ นสองระดั บ ขั้ น แรกคื อ ความเชื่อมั่นในงาน Pack Print International และ งาน TIPREX 2011 ซึ่งเกิดขึ้นในการจองพื้นที่ แสดงสิ น ค า เป น ครั้ ง แรกความพึ ง พอใจขั้ น ที่ ส องเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ มี ก าร จองพื้นที่เขารวมงานอยางตอเนื่อง

บรรยากาศภายในงาน คณะกรรมการผูจัดงาน Pack Print International 2011 และแขกผูมีเกียรติที่เขารวมงาน ThaiPrint Magazine 77

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 77

18/11/2554 0:27:51


Print Exhibition

อั น เป น ผลมาจากประสบการณ เชิ ง บวกและความสํ า เร็ จ จากการ รวมงานครั้งที่ผานมานั่นหมายถึง วา ความคาดหวังตางๆ ไดรับการ ตอบสนองและชักนําสูธุรกิจใหมๆ ที่เพิ่มขึ้น ที่ผานมางาน Pack Print International และ TIPREX 2011 ไดเติบโตอยางตอเนื่อง โดยเปน ผลจากแคมเปญประชาสัมพันธเชิง รุกและอีกสวนหนึ่งเปนผลจากการ เติบโตของภาคอุตสาหกรรม สําหรับ ในปนี้ เชื่อวางาน Pack Print International และงาน TIPREX

2011 จะสรางสถิติใหมในหลายๆ ดาน รวมไปถึงมูลคาการซื้อ-ขาย ที่เกิดขึ้นจากการเจรจาธุรกิจ ใน ชวงการจัดงานในครั้งนี้ ซึ่งประเทศ ไทยไดชื่อวาเปนครัวของโลก ในแต ละปประเทศไทยสงสินคาอาหารสู ตลาดโลกเปนมูลคามหาศาล และ จัดเปนประเทศผูสงออกอาหารที่ ใหญเปนอันดับ 14 ของโลก เปน ที่ ท ราบกั น ดี ว า ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหาร คือกลุมผูใชสําคัญของบรรจุภัณฑ ที่ผานมาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ เอเชียมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย 6%

ตอป โดยคาดวามูลคารวมจะสูงถึง 174 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป 2554 ขณะที่อุตสาหกรรมอาหาร และบรรจุภัณฑของไทยเติบโตใน อัตรา 20% ปจจุบันมีผูประกอบ การในกลุมนี้กวา 10,000 บริษัท เมื่ อ พิ จ ารณาจากประสบการณ และขอมูลเชิงสถิตติ า งๆ ของไทย สมญานาม “ครัวโลก” นับวา เหมาะสมแตโดยเนื้อแทแลวสิ่งที่ หลายคนยังไมรูก็คือ ประชากรไทย เพียงครึ่งเดียวเทานั้นที่ทําอาหาร เพื่อประชากรสวนที่เหลือ ดังนั้น

78 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 78

18/11/2554 0:27:57


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 “ครัวโลก” จึงเปนเหมือนการขยาย ความในองครวม เมื่อพูดถึงเรื่อง อาหารการกิน กรุงเทพฯ ถือเปน สวรรคของนักชิม คนไทยอาจจะคุน ชินกับภาพรานอาหารที่เรียงราย อยูทั่วไป แตสําหรับชาวตางชาติ นี่คือ ภาพที่นาทึ่งและนาประทับใจ โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ยามเที่ยงวัน ที่รานคารานอาหารจะคึกคักและ มีชีวิตชีวา รวมไปถึงภาพที่ผูคน ถืออาหารที่บรรจุอยูในบรรจุภัณฑ รูปแบบตางๆ ไมวา จะเปนพลาสติก กระดาษ และอื่นๆ หลายๆ คน อาจจะคิดวา สิ่งเหลานี้เกี่ยวของ อะไรกั บ อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภัณ ฑ จริงๆ แลว ภาพชีวิตประจําวัน เหลานี้สะทอนใหเห็นวา การปรุง อาหาร และการบรรจุอาหารไดฝง รากลึกอยูในสายเลือดของคนไทย มานานแสนนาน เทคโนโลยี นวัตกรรมความรู และทรัพยากร ธรรมชาติ คือ ปจจัยประกอบของ ความสํ า เร็ จ ของไทยที่ ก า วขึ้ น มา เปนผูน าํ ในการผลิตอาหาร เพือ่ การ สงออก ดังนั้น ดีเอ็นเอ เหลานี้ ที่ทําใหประเทศไทยมีเอกภาพและ ความโดดเดน และจะผลักดันให

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย

อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑของไทย กาวทะยานตอไปในอนาคต ในวาระตอมา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการ พิมพไทยไดใหเกียรติขึ้นกลาวตอ อีกวา อุตสาหกรรมการพิมพไทย เริ่มตนขึ้นในราวศตวรรษที่ 18 นับ เป น หนึ่ ง ในผู บุ ก เบิ ก ของภู มิ ภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต และมี วิวัฒนาการมาอยางตอเนื่องยาว นานนับทศวรรษ จนทุกวันนี้ไดชื่อ วาเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมกาวล้ํา ทันสมัย สงผลใหประเทศไทยเปน

ศู น ย ก ลางอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ของภูมิภาคอาเซียน ในชวง 6 เดือนแรกของปน้ี มูลคาการสงออก ของไทยมีการเติบโตเพิ่มขึ้น 14.6% อันเปนผลมาจากการขยายตัวของ การสงออกสินคาอุตสาหกรรม โดย ในสวนของอุตสาหกรรมการพิมพ มีการเติบโตที่สูงถึง 148.8% ดวย ป จ จั ย สนั บ สนุ น ที่ อุ ต สาหกรรม การพิมพและเยื่อกระดาษของไทย มี ข นาดใหญ เ ป น อั น ดั บ สองของ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต และคาดวาแนวโนมการเติบโตที่ดี เชนนี้จะยังคงดําเนินตอไป จุดเดน ประการสําคัญทีไ่ มอาจมองขามคือ ความหลากหลายของเทคโนโลยี เพื่ออุตสาหกรรมการพิมพ ไมวา จะเปนเทคโนโลยีระบบออฟเซ็ท กราเวียร และ Flexography รวม ไปถึงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ล้ํา สมัยอื่นๆ อาทิ ระบบการแยกสี การพิ ม พ ร ะบบดิ จิ ต อลและอื่ น ๆ ขณะเดี ย วกั น ประเทศไทยนิ ย ม เลือกใชเครื่องจักร อุปกรณ และ วัสดุ คุณภาพดี อาทิ หมึก กระดาษ คัตเตอรและอื่นๆ แนนอนวาจุด ThaiPrint Magazine 79

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 79

18/11/2554 0:28:02


Print Exhibition

แข็งของไทยอาจจะไมสมบูรณ ถา ผมไมไดกลาวถึงทรัพยากรบุคคล ในอุตสาหกรรมการพิมพไทย ที่มี บทบาทอย า งสู ง ต อ ความสํ า เร็ จ ของอุตสาหกรรมการพิมพตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบันไมวาจะเปนชาง เลยเอาท ดีไซนเนอร รวมไปถึง ชางพิมพ และชางเทคนิคฝายตางๆ และนี่คือ จุดเดนที่จะทําใหประเทศ ไทยพรอมที่จะรับมือการแขงขันทั้ง ในระดับภูมิภาคและระดับโลก ที่จะ ยังคงดําเนินอยูตอไป ในนามของ สมาคมการพิมพไทย ขอขอบคุณ ผูจัดงาน เมสเซ ดุสเซลดอรฟ เอเชีย ที่เปดตัวงาน Pack Print International ในประเทศไทยเมื่อ ป 2550 และจัดงานอยางตอเนื่อง เปนประจําทุกสองป งาน Pack Print International 2011 จึงนับ เปนการจัดงานครั้งที่ 3 แลวซึ่ง

ไดเฝาดูการเติบโตของงาน Pack Print International มาโดยตลอด และรูสึกประทับใจกับสิ่งที่เกิดขึ้น เทคโนโลยี นวัตกรรม และเครื่อง จักรการพิมพตา งๆ ทีน่ าํ มาจัดแสดง ภายในงานเปนสิ่งที่เคยคิดวาคง เปนเพียงแคจินตนาการหรือความ เพอฝน แตก็มีโอกาสไดเห็นมาจัด แสดงและสาธิตอยูภายในงาน งาน Pack Print International ถือเปนสุดยอดแหงศูนยรวมของ โอกาสทางธุรกิจที่จะชวยสงเสริม และสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมการ พิมพของไทยใหเจริญรุดหนาตอไป เทคโนโลยี นวัตกรรม เครื่องจักร และอุปกรณล้ําสมัย จากทั่วทุก มุมโลกไดมารวมกันอยู ณ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยนักอุตสาหกรรมการ พิมพไมตองไปเสาะแสวงหาที่ไหน

นอกจากนี้ งาน Pack Print International ยังเปนเวทีในการ แลกเปลี่ ย นวิ สั ย ทั ศ น แ ละประสบ การณ กับ เพื่อ นร ว มอาชี พ ทั้ง ชาว ไทยและชาวตางชาติ อันจะชวยให นักอุตสาหกรรมไทยมีความเขาใจ ตอภาพกวางของอุตสาหกรรมการ พิมพโลก ยังผลใหนักอุตสาหกรรม ไทยสามารถประยุกต และปรับตัว รับมือกับการแขงขัน ทั้งในระดับ โลก และระดับทองถิ่นไดเปนอยาง ดี อีกสิ่งที่ไมควรมองขาม ก็คือ จํานวนผูเขาชมงาน Pack Print International ที่เพิ่มขึ้นไมวาวัตถุ ประสงคเพื่อศึกษาแนวโนมตลาด หรือจัดซื้อจัดหาเทคโนโลยี และ เครื่องจักร เพื่อธุรกิจของตนถือ เปนการลงทุนทางภูมปิ ญ  ญาทีม่ ีนัย สําคัญตอการเติบโตของอุตฯ การ พิมพไทยในอนาคตครับ

80 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 80

18/11/2554 0:28:06


PACK PRINT Pack Print INTERNATIONAL International 2011

หลังจากจบพิธีเปดงานอยางเปนทางการ ทั้งแขก ผูเขารวมการเปดงานในครั้งนี้และคณะผูเขาเยี่ยมชม งาน ตางก็เริ่มเดินเขาไปภายในงานเพื่อเลือกชมสินคา เครื่องจักรที่นําเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ เขามา อวดโฉมกันอยางคับคั่ง เราลองเขาไปชมกันเลยครับ ThaiPrint Magazine 81

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 81

18/11/2554 0:35:25


Print Exhibition

90 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 90

18/11/2554 0:37:43


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011

ThaiPrint Magazine 91

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 91

18/11/2554 0:38:01


Print Exhibition >>> เริ่มจากบูธของ แคนนอน มารเก็ตติ้ง (ไทยแลนด) คณะผูบริหารพรอมทั้งสาวๆ พริตตี้แสนสวยตางก็มารอตอนรับแขกผูเขา รวมชมงาน และโชวการแสดงจากนองๆ พริตติ้ที่ไดเตรียมมา แตที่ขาดไมไดคือการ นําเครื่องพิมพดิจิตอล รุน image PRESS C7010 VP และรุนอื่นๆ มาโชวใหเห็นถึง ศักยภาพ และความสามารถในนวัตกรรมที่ นําสมัย <<< เดินเขาไปอีกไมไกลก็จะเห็น บูธของ ไฮเดลเบิรก ปนี้จัดยิ่งใหญ จริงๆ นําเครื่องพิมพมาโชวใหเห็น การทํางานอยางสมจริง นาตื่นตา ตื่นใจ

>>> ถัดไปอีกนิดก็มาถึงบูธของสมาคมการ พิมพไทยบรรกาศที่เปนกันเองของเหลาคณะ กรรมการการพิมพไทย และกลุม Young Printer Group หมุนเวียนกันเขามาพบปะแลก เปลี่ยนกันในบูธของทางสมาคมการพิมพไทย พรอมทั้งมีเกาอี้นวด สําหรับแขกที่มีอาการ เมื่อยลาจากการเดิมชมงาน สามารถแวะเขา มานวดได และยังจัดเตรียมของวางเครื่องดื่ม รวมถึงยังมีอินเตอรเน็ตเตรียมไวใหแขกทุก ทานอยางเพียบพรอม <<< จากบูธสมาคมไปไมไกลก็จะ ถึงบูธของ แฟโรสตัล จัดไดอยาง สวยงามพรั่งพรอมดวยเจาหนาที่ รอใหคําปรึกษา และบอกถึงราย ละเอียดและประสิทธิภาพกับการ ใชงานของเครื่องอยางละเอียดนับ วาถือเปนโอกาสที่ดีของผูบริโภค ที่ ส ามารถเลื อ กซื้ อ เครื่ อ งจั ก รที่ ทันสมัย และไดรับการบริการอยาง เปนกันเอง 82 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 82

18/11/2554 0:35:33


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 >>> เดินตอไปอีกไมไกลก็จะเห็น บูธของวีทีกราฟค และบูธของ เอส ซีจี อยูติดกัน วีทีกราฟฟคก็จะโชว เครื่องปมกลองอัตโนมัติรุน CB1050 เลยไปอีกนิดก็จะเห็นบูธ ของ เอสซีจี นําเอากระดาษกลอง มารังสรรคตกแตงบูธดวยกระดาษ อยางมีดีไซน พรอมทั้งยังนํามา ประดิษฐเปนเกาอี้นั่งสุดเกสามารถ ใชประโยชนไดจริง <<< เดินยอนกลับไปอีกนิดขาง บูธของสมาคมการพิมพไทย บูธ ฟูจิ ซีร็อกซ นําเครื่องพิมพระบบ ดิจติ อล รุน C560 มาโชว เปนรุน ที่เหมาะสําหรับผูทีสนใจเริ่มตนจะ ทําธุรกิจการพิมพในระบบดิจิตอล ไดรับความสนใจจากผูเขารวมชม งานอยางมากเขามาสอบถามราย ละเอี ย ดจากเจ า หน า ที่ ที่ ร อให บริการอยางเปนกันเอง >>> แตที่จะพลาดไมไดตองเดิน ตอไปยังบูธของ เอสเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จัดไดอยางโดดเดนมาก ดูจากการดีไซนบธู ทีอ่ อกมาไดอยาง ลงตัวสังเกตไดวาผูเขารวมชมงาน ในครั้ ง นี้ ใ ห ค วามสนใจเป น อย า ง มากเจ า ของโรงพิ ม พ ทั้ ง หลายใน ไทยต า งแวะเข า มาเยี่ ย มชมและ เจรจาซื้อขายกันอยางไมขาดสาย <<< ถั ด มาก็ เ ดิ น ไปถึ ง บู ธ ของ ส.ศรีอักษร พริ้นติ้งโปรดักส ถาใคร ผานไปจะไดเห็นการเขาเลมสมุด ที่ เราเคยใช ส มั ย เรี ย นหนั ง สื อ ได เห็นขั้นตอนการทํางานของเครื่อง หลังการพิมพทุกขั้นตอนอยางจุใจ

ThaiPrint Magazine 83

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 83

18/11/2554 0:35:42


Print Exhibition <<< ขอปดทายดวยบูธของ ซัน ซิงปริ้นติ้งฯ ไดนําเครื่องพิมพสาย พันธจีนเขามาโชวหลากหลายรุน พร อ งทั้ ง สาธิ ต วิ ธี ก ารใช ง านของ เครื่องอยางตอเนื่อง ผูที่เขาชมงาน สามารถดู ขั้ น ตอนได ทุ ก ขั้ น ตอน พร อ มมี ผู เชี่ ย วชาญคอยให ร าย ละเอียดอยางใกลชิด

ความจริงก็อยากจะแนะนําใหทุกบูธ แตเนื่องจากมีบูธจํานวนมาก หากตกหลนไปบางตองขออภัย มา ณ ที่นี้ดวย ขอชื่นชมผูรวมแสดงสินคาในงานนี้ทุกรายที่ไดนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใหไดชมกัน อยางจุใจของนักอุตสาหกรรมการพิมพและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ ทั้งเครื่องหลังการพิมพ มีทั้ง เครื่องตัด เครื่องพับ เครื่องไสกาว เครื่องรีดรอยพับ เครื่องเขาเลมและอีกมากมาย

84 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 84

18/11/2554 0:36:00


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 ซึ่งงาน Pack Print International 2011 ครั้งที่ 3 ในปนี้ ไดจัดงาน ตั้งแตเริ่มเปดงานจนถึง วันสุดทายรวมทั้งหมด 4 วัน ตั้งแต วันที่ 31 สิงหาคม-วันที่ 3 กันยายน 2554 โดยงานวันสุดทายของทุกป ตามธรรมเนียมของคณะผูจัดงาน

นําโดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย และ คุณเกษม แยมวาทีทอง นายก สมาคมการบรรจุภัณฑไทยไดนํา คณะกรรมการจั ด งานเดิ น มอบ เกียรติบัตรและถือเปนโอกาสดีทั้ง ผูรวมแสดงสินคา และคณะผูรวม

จัดงานที่ไดมีโอกาสกลาวทักทาย ไตรถามถึงผลตอบรับที่ไดจากงาน ในครั้งนี้ พรอมทั้งกลาวขอบคุณ ซึ่งกันและกัน โดยมอบเกียรติบัตร และถายภาพไวเปนที่ระลึกสําหรับ งาน Pack Print International 2011 ในครั้งนี้

ThaiPrint Magazine 85

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 85

18/11/2554 0:36:11


Print Exhibition

86 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 86

18/11/2554 0:36:30


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011

ThaiPrint Magazine 87

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 87

18/11/2554 0:36:48


Print Exhibition

88 ThaiPrint Magazine

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 88

18/11/2554 0:37:06


PACK PRINT INTERNATIONAL 2011

ThaiPrint Magazine 89

72-91 TPM PPI2011_New pc3.indd 89

18/11/2554 0:37:25


92 Ad_SIEGWERK#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

11/21/11

11:26 AM


93 hongei p3_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

11/21/11

11:45 AM


Hongei P1_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/7/2554

2:45


Hongei P2_m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/7/2554

2:40


Print Data

อุตสาหกรรมการพิมพไทย

เมื่อวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2554 ถือเปนโอกาสดีสําหรับกลุมอุตสาหกรรมการพิมพไทยและบรรจุภัณฑ ไทย เนื่องดวยสํานักสงเสริมธุรกิจบริการกรมสงเสริมการสงออกไดรับการติดตอจากธุรกิจการพิมพ และ บรรจุภัณฑจากประเทศญี่ปุนใหความสนใจจะติดตอธุรกิจในประเทศไทย ดานสินคาที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม การพิมพและบรรจุภัณฑ โดยมีรายชื่อธุรกิจและรายละเอียดสินคาและบริการที่ตองการจะติดตอในประเทศ ไทย จึงมีโอกาสไดแจงขอมูลภาพรวมอุตสาหกรรมสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑไทยใหกับกลุมอุตสาหกรรมการพิมพ และบรรจุภัณฑในญี่ปุนที่หองประชุมไบเทค บางนา ซึ่งไดแสดงตัวเลขการสงออกในของแตละอุตสาหกรรม พรอมทั้งยังเจรจาการคากันอยางเปนทางการและยังใหความรวมมือในการสงเสริมทางการคากันอยางตอเนื่อง เราลองมาดูตัวเลข และบทสรุปเปรียบเทียบระหวางอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑไทย อุตสาหกรรมการพิมพไทย กับอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑในญี่ปุนวามีความแตกตาง และมีความนาสนใจขนาดไหนบางครับ นาสนใจมากครับ

96 ThaiPrint Magazine

096-107 pc1.indd 96

17/11/2554 22:12:45


อุตสาหกรรมการพิมพไทย อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ภาพรวมอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย อุตสาหกรรมการพิมพไทยในภาพรวม ประกอบดวย 4 กลุมธุรกิจ คือ กลุมธุรกิจสิ่งพิมพทั่วไป กลุม ธุรกิจบรรจุภัณฑ กลุมธุรกิจการพิมพสกรีน และกลุมธุรกิจสนับสนุนการพิมพ ไดแก ธุรกิจกอนการพิมพ เชน การทํา Art work และการแยกสี ธุรกิจหลังการพิมพ หรือการทํา Finishing มีผูประกอบการรวม 13,707 กิจการ ประกอบดวย สถานประกอบการสิ่งพิมพทั่วไป 3,402 กิจการ บรรจุภัณฑ 1,187 กิจการ โรงงาน กลองลูกฟูก 660 กิจการ และพิมพสกรีน 10,000 กิจการ แบงเปนสัดสวนธุรกิจขนาดเล็ก รอยละ 85 ธุรกิจ ขนาดกลาง รอยละ 10 และธุรกิจขนาดใหญ รอยละ 5 รวมมูลคาตลาดประมาณ 350,000 ลานบาท สงออกทางตรง 50,000 ลานบาท สงออกทางออมที่พวงไปกับผลิตภัณฑสงออกที่ตองใชบรรจุภัณฑงานพิมพ 300,000 ลานบาท มีแรงงานทั้งหมด 120,000 คน1

การจําแนกขนาดธุรกิจการพิมพ์ในประเทศไทย จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชไดจําแนกขนาดธุรกิจการพิมพ (โรงพิมพ) เปน 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ สรุปไดดังตารางตอไปนี้

ที่มา : จากการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2544.

ผูประกอบการสําคัญในธุรกิจสิ่งพิมพไทย ผูมีบทบาทในธุรกิจสิ่งพิมพ เรียงลําดับตามรายไดจากการดําเนินการ (จากงบการเงินป 2550) มีดังนี้ 1

Presentation “Smart Printing & Packaging Hub” โดย สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ, 9 กุมภาพันธ 2549 ณ หองประชุม 2 ชั้น 7 กรมพัฒนา ธุรกิจการคา ThaiPrint Magazine 97

096-107 pc1.indd 97

17/11/2554 22:19:01


Print Data

หนวย : บาท

การสงออกสิ่งพิมพ กระดาษและบรรจุภัณฑ 1. การสงออกป 2553 มูลคารวม 3,432.72 ลานดอลลารสหรัฐ ขยายตัวเพิ่มขึ้น 24.06% จากป 2552 ตลาดสงออกสําคัญ 5 อันดับแรก ไดแก ฮองกง 56.38% ญี่ปุน 4.77% เวียดนาม 4.36% มาเลเซีย 4.17% อินโดนีเซีย 3.10% การสงออกในป 2554 การสงออกสินคาสิ่งพิมพ กระดาษและบรรจุภัณฑ ในชวง 6 เดือนแรก (ม.ค.-มิ.ย.) ป 2554 มีมูลคา 3,415 ลานเหรียญสหรัฐฯ (+127.2% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป 2553) โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 66.37 ของมูลคาเปาหมายการสงออกสินคา และเปนสัดสวนรอยละ 3.0 ของมูลคา สงออกรวมทั้งประเทศ การสงออกกระดาษป 2554 คาดการณวาจะขยายตัวอยางนอยรอยละ 20 เมื่อเทียบกับป 2553 ซึ่งมีมูลคาตลาดในประเทศอยูที่ประมาณ 3 แสนลานบาท และสงออกราว 60,000 ลานบาท โดยมีผลบวก เรื่องของการสงออกที่เริ่มฟนตัว ประกอบกับเศรษฐกิจคูคาที่สําคัญของไทย ไดแก มาเลเซีย เวียตนาม อินโดนีเซีย และเกาหลีใต และตลาดใหมมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ ในสวนผูผลิตและผูจัดจําหนาย คาดวาจะเริ่มมีการทยอยผลิตสินคา เพื่อเตรียมรองรับเทศกาลตางๆ อยางไรก็ตาม ยังตองจับตาการฟนตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศคูคาสําคัญอยางสหรัฐอเมริกา และประเทศในแถบยุโรปวาจะฟนตัวไดรวดเร็วหรือไม คูแขงขันสําคัญ ไดแก ประเทศจีน เนื่องจากประเทศจีนไดมีโรงงานกระดาษที่ใหญที่สุดในโลก และ มีเทคโนโลยีในการผลิตที่สูงกวา ทําใหประเทศจีนมีการเพิ่มกําลังการผลิตเพื่อการสงออกมากขึ้น ตลาดหลัก : ฮองกง รอยละ 75.63 ตลาดที่มีอัตราการขยายตัวสูง : สวิตเซอรแลนด รอยละ 1,031.08 อินเดีย รอยละ 105.94 จีน รอยละ 45.65 กัมพูชา รอยละ 43.39 และ สหรัฐอเมริกา รอยละ 36.88 คาดการณการสงออกป 2554 : คาดวาจะมีมูลคา 5,149 ลานเหรียญสหรัฐฯ +50% คิดเปน สัดสวนรอย ละ 2.3 ของมูลคาสงออกรวมทั้งประเทศ 2. ปญหาอุปสรรค 2.1 การวิจัยและพัฒนายังไมเพียงพอที่จะนํามาพัฒนาเพื่อการแขงขันในตลาดโลก 2.2 บุคลากรในอุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพยังขาดความชํานาญเฉพาะดาน 2.3 การสงสินคาตองใชเวลามากและ คาสงทางไปรษณียยังคงมีราคาสูงกวาประเทศคูแขงมาก 3. กลยุทธ 3.1 สงเสริมใหมีการพัฒนาคุณภาพการผลิตโดยใชเทคโนโลยีใหมๆ อยางตอเนื่อง 3.2 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน อินเตอรเน็ตและ Software ที่ใชในการออกแบบ เพื่อการ สื่อสาร และสงรายละเอียดการพิมพ/ตนฉบับไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.3 ผลักดันใหประเทศไทยเปน Printing Hub และ Mailing Hub ของเอเชีย โดยเนนจุดแข็ง ที่คุณภาพความโดดเดนดานการพิมพ และกําหนดปริมาณตามความตองการของลูกคาได 3.4 นําคณะผูแทนการคา/ผูนําเขาจากประเทศเปาหมาย เชน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน มาเยี่ยมชมการ ผลิตสิง่ พิมพทน่ี คิ มอุตสาหกรรมสินสาคร เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ในการสัง่ จางพิมพในประเทศไทยโดยตรง 98 ThaiPrint Magazine

096-107 pc1.indd 98

17/11/2554 22:20:18


อุตสาหกรรมการพิมพไทย องคประกอบอุตสาหกรรมการพิมพไทย

อุตสาหกรรมการพิมพไทยมีมูลคารวมกันทั้งสิ้นประมาณ 350,000 ลานบาท หรือ ประมาณ 3.5% ของ GDP และมีอัตราการเติบโตประมาณ 1.5 – 2.0 เทาของ GDP โดยมียอดการสงออกโดยตรง (เฉพาะ สิ่งพิมพและบรรจุภัณฑ) ประมาณ 50,000 ลานบาท และยอดการสงออกทางออม (สิ่งพิมพที่ติดไปกับ สินคาสงออก) ประมาณ 300,000 ลานบาท2

2

Presentation “Smart Printing & Packaging Hub” โดย สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ, 9 กุมภาพันธ 2549 ณ หองประชุม 2 ชั้น 7 กรมพัฒนา ธุรกิจการคา ThaiPrint Magazine 99

096-107 pc1.indd 99

17/11/2554 22:20:27


Print Data โครงสรางธุรกิจสิ่งพิมพ

 

ตนน้ํา

-

เยื่อกระดาษ (20) กระดาษ (84) พลาสติก ฟอลย วัสดุการพิมพ ลิขสิทธิ์ วรรณกรรม บรรณาธิการ

กอนพิมพ ออกแบบ แยกสี แมพิมพ เพลท

ธุรกิจพิมพ 2,047 สิ่งพิมพทั่วไป สกรีน กลองและบรรจุภัณฑ Security

หลังพิมพ ทําเลม เคลือบ ทํากลอง ทําสําเร็จ

ปลายน้ํา

-

คลังสินคา ขนสง สงออก รานหนังสือ สถาบันศึกษา

กลุมอุตสาหกรรมสนับสนุน หมึกพิมพ เคมีภัณฑ

เครื่องจักร Supplies

อุตสาหกรรมการพิมพไทย มี Supply Chain ตั้งแตตนน้ํา-กลางน้ํา-ปลายน้ํา ดังนี้ 1. อุตสาหกรรมตนน้าํ เริม่ ตัง้ แตการปลูกไมโตเร็ว ไมยคู าลิปตัส มีพน้ื ทีป่ ลูก 3 ลานไร มีผลผลิตตอไร 7-8 ตันตอไรตอ 5 ป เปนวัตถุดิบสําหรับการผลิตเยื่อกระดาษ มีปริมาณการผลิต 953,000 ตัน ในป 2545 นําเขา 1,352,172.59 ตัน สงออก 193,785.91 ตัน โดยที่ตองมีการนําเขา เนื่องจากประเทศไทย ตองพึ่งพาเยื่อใยขาวจากตางประเทศ ปอนตอไปยังอุตสาหกรรมกระดาษ มีปริมาณการผลิตในป 2545 จํานวน 3.69 ลานตัน ไดผลผลิตเปนบรรจุภัณฑและวัสดุพิมพกระดาษ3 นอกจากนี้ ยังมีอุตสาหกรรมสนับสนุน อีก ไดแก อุตสาหกรรมเครื่องจักร / อุปกรณการพิมพ หมึกพิมพและเคมีภัณฑที่ใชในการพิมพ รวมถึงซัพพลาย เออรวัสดุที่ใชในการพิมพ (Substrates) อื่น ๆ 2. อุตสาหกรรมกลางน้ํา ซึ่งก็คือ อุตสาหกรรมการพิมพ เรียกวาเปนธุรกิจหลัก (Core Business) ในสาย Supply Chain แบงเปน 3 ขั้นตอน คือ กอนการพิมพ (Pre Press) ไดแก การผลิตเนื้อหา ขอมูล รูปแบบและการออกแบบเพื่อผลิต สิ่งพิมพ รวมถึงธุรกิจสํานักพิมพตางๆ การพิมพ (Press) ซึ่งมีหลายระบบ เชน การพิมพ Offset การพิมพสกรีน การพิมพ Pad การพิมพ Digital ฯลฯ หลังการพิมพ (Post Press) คือ การ Finishing เชน การเคลือบสี ขัดเงา เขาเลม / จัดรูปเลม บรรจุ หีบหอ เปนตน ซึ่งจะไดผลผลิตเปน 3 กลุมผลิตภัณฑ คือ - ผลิตภัณฑสิ่งพิมพ (Printing Product) - ผลิตภัณฑบรรจุภัณฑ (Packaging Product) - ผลิตภัณฑพิมพสกรีน (screening Product) 3

บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ โดยคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เสนอตอสํานักงาน เศรษฐกิจอุตสวาหกรรม กันยายน 2547

100 ThaiPrint Magazine

096-107 pc1.indd 100

17/11/2554 22:20:58


อุตสาหกรรมการพิมพไทย 3. อุตสาหกรรมปลายน้ํา มีทั้งการขายปลีกไปยัง End Users (B2C – Business to Consumer) และการ ขายทางธุรกิจ (B2B – Business to Business) เพื่อนําไปผลิตตอหรือขายตอ

อุตสาหกรรมสํานักพิมพและการอาน อุตสาหกรรมสํานักพิมพเกี่ยวของกับการจําหนายหนังสือและนิตยสาร ป 2553 มีมูลคาตลาดประมาณ 20,000-21,000 ลานบาท คิดเปนสัดสวน 0.22% ของ GDP มีการเติบโตโดยเฉลี่ย 5% ตอป ยอดจําหนายหนังสือเมื่อเปรียบเทียบกับ GDP ระหวางป 2547-2553 มีดังนี้

แมยอดจําหนายหนังสือจะมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป แตก็มีปจจัยหลายประการที่คาดวาจะมีผลกระทบตอ อุตสาหกรรมสํานักพิมพและการจัดจําหนายหนังสือในอนาคต คือ ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ซึ่งมีการ สรางหนังสือหรือเอกสารอิเล็กทรอนิกส (E-Book) ที่ผูอานสามารถอานผานอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เชน คอมพิวเตอร เครื่องเลนอิเล็กทรอนิกส (E-Book Reader) หรือโทรศัพทมือถือ ซึ่งหนังสืออิเล็กทรอนิกส แตกตางจากหนังสือเลมที่พิมพดวยกระดาษ เนื่องจากสามารถเพิ่มภาพเคลื่อนไหว เสียง แกไขปรับปรุง ขอมูลไดงาย ตนทุนต่ํา ไมมีขอจํากัดในการพิมพ สามารถทําสําเนาไดไมจํากัดพกพาไดครั้งละมากๆ ในรูป ของแฟมขอมูลคอมพิวเตอร และเขาถึงไดโดยไมมีขอจํากัดดานสถานที่และเวลา ทําใหมมีความไดเปรียบ มากกวาหนังสือที่พิมพดวยกระดาษและไดรับความนิยมมากขึ้น และในป 2554 รัฐบาลไทยก็เริ่มสงเสริม การใช E-Book ผานระบบการศึกษาระดับประถม

ผลกระทบของ E-Book ที่จะมีตออุตสาหกรรมหนังสือ คือ 1. ลิขสิทธิ์ของเจาของหนังสืออิเล็กทรอนิกส และสิทธิ์ของผูใชงาน ในเรื่องของการ Download และ ทําสําเนาผลงาน ซึ่งเจาของลิขสิทธิ์จองสรางระบบการปองกันรวมกับผูใหบริการหนังสืออิเล็กทรอนิกส 2. มาตรฐานการผลิตที่เกี่ยวของกับคุณภาพของงานเขียน การจัดรูปแบบเนื้อหา การใชภาษา การ นําเสนอแนวคิดที่อาจไมเหมาะสมตอผูอานบางกลุมอายุ เนื่องจากผูผลิตมีเสรีภาพในการผลิตมากขึ้น 3. มาตรฐานการจัดจําหนายของผูผลิต ในเรื่องของราคา ซึ่งไมมีการจัดการสต็อกหนังสือเขามา เกี่ยวของ

การปรับตัวของผูประกอบการในอุตสาหกรรมสํานักพิมพไทย 1. หา Content หรือเรื่องราวที่เหมาะสมกับกลุมผูอาน เชน งานวิจัย ตําราเรียน เอกสารหองสมุด จัดจําหนายทั้งในประเทศและตางประเทศ ทั้งในรูปแบบหนังสือกระดาษหรือปรับเปน E-Book โดยออกแบบ ใหเหมาะสมกับเครื่องมือการอาน 2. จัดทําระบบปองกันเรื่องลิขสิทธิ์ 3. พัฒนารูปแบบ E-Book โดยพัฒนาการจัดรูปแบบ การเพิ่มเทคนิคภาพเคลื่อนไหว เสียง ฯลฯ 4. ปรับตัวทันสถานการณ 5. กําหนดราคา และสถานะในตลาดใหเหมาะสม ThaiPrint Magazine 101

096-107 pc1.indd 101

18/11/2554 2:08:58


Print Data Supply Chain อุตสาหกรรมการพิมพ

ศักยภาพการแขงขันและโอกาสทางการตลาด ศักยภาพการแขงขันของธุรกิจการพิมพ ในสวนของธุรกิจสิ่งพิมพ โดยใช Diamond Model สรุปไดวา ดานปจจัยการผลิตไดเปรียบดานวัตถุดิบ คือ กระดาษดานอุตสาหกรรมสนับสนุน และอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของ ทั้งในเรื่องของเครื่องจักรและวัสดุหมึกพิมพ ยังตองพึ่งพาการนําเขาจากตางประเทศ ในดาน การแขงขันภายในอุตสาหกรรม ธุรกิจโรงพิมพขนาดเล็กมีการแขงขันสูง เนื่องจากเปนธุรกิจที่เขางาย และ ออกงาย และธุรกิจโรงพิมพขนาดใหญมีความไดเปรียบในดานเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ ทั้งนี้ ในสวน ของภาครัฐยังใหการสนับสนุนไมเพียงพอ

ในดานโอกาสทางการตลาดในประเทศมีโอกาสเติบโตมาก สรุปไดคือ • • • • •

อัตราการบริโภคยังต่ํา มีแนวโนมการบริโภคที่มากขึ้น เชน นิตยสาร Pocket Book มีการผลักดันที่จะใหประเทศไทยเปนสังคมแหงการเรียนรู การเปดเสรี ทําใหตนทุนการผลิตลดลง มีการลงทุนจากตางประเทศเพิ่มขึ้น เชน การตั้งโรงงานกระดาษ Recycle รัฐมีนโยบายสนับสนุนใหไทยเปนศูนยกลางการพิมพในภูมิภาค

102 ThaiPrint Magazine

096-107 pc1.indd 102

17/11/2554 22:21:18


อุตสาหกรรมการพิมพไทย Diamond Model ธุรกิจสิ่งพิมพ

ที่มา: บทสรุปผูบริหาร โครงการจัดทําแผนแมบทอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ โดยคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เสนอตอ สํานักงานเศรษฐกิจอุตสวาหกรรม กันยายน 2547

นอกจากนี้ ธุรกิจสิ่งพิมพในประเทศไทยยังมีจุดแข็งในเรื่องของแรงงานที่คาจางยังไมสูงมาก อีกทั้งมี นิคมอุตสาหกรรมการพิมพเพื่อธุรกิจการพิมพ และบรรจุภัณฑโดยเฉพาะ อาจกลาวไดวา เปนนิคม อุตสาหกรรมการพิมพแหงแรกของโลก ชื่อ “นิคมอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑสินสาคร” ที่ จะผลักดันใหเกิดอาณาจักรอุตสาหกรรมการพิมพทั้งระบบ ตั้งอยูที่จังหวัดสมุทรสาคร หางจากกรุงเทพฯ เพียง 20 กิโลเมตร ในสวนของตลาดตางประเทศ ประเทศไทยยังมีการสงออกสิ่งพิมพนอยมากเมื่อเทียบกับความตองการ ในตลาดโลก ซึ่งมีมูลคารวมทั้งสิ้น 26,752.50 ลาน US$ โดยประเทศไทยมีมูลคาการสงออก 65,000 ลานบาท หรือ ประมาณ 2,098.11 ลาน US$ คิดเปนประมาณ 7% ของ World Demand เทานั้น แสดงให เห็นโอกาสในตลาดตางประเทศยังมีสูงมาก นอกจากนี้ การที่ประเทศไทยเปดเสรีทางการคากับประเทศ ตางๆ ทําใหไทยมีโอกาสในการขยายตลาดในตางประเทศสูงขึ้น ดังนั้น จากศักยภาพในการแขงขัน จุดแข็งและโอกาสทั้งในและตางประเทศ ธุรกิจการพิมพ สามารถ ที่จะผลักดันใหเปนธุรกิจที่มีศักยภาพสูง และขยายไปยังตางประเทศตอไปได ThaiPrint Magazine 103

096-107 pc1.indd 103

18/11/2554 2:14:44


Print Data World Demand สิ่งพิมพ์โลกปี 2541

ทั้งนี้ คูแขงที่สําคัญของไทยในภูมิภาคไดแก ประเทศจีน สิงคโปร โดยอาจมีมาเลเซียสอดแทรกอยู ซึ่งสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพถือเปน Benchmark ที่อุตสาหกรรมการพิมพของไทยจะตองแขงขันใหได โดยที่สิงคโปรมีผูประกอบการ 500 ราย นอยมากเมื่อเทียบกับประเทศไทย ซึ่งมี 3,500 ราย แตมีมูลคา การสงออกสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑ 600 ลาน US$ หรือประมาณ 24,000 ลานบาทตอป ขณะที่ประเทศ ไทย ซึ่งมีมูลคาการสงออกสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑ 65,000 ลานบาท ซึ่งแซงหนาสิงคโปรไปแลว ทั้งนี้ สิงคโปรมีจุดแข็งในเรื่องของแรงงานที่มีทักษะและการศึกษาสูง การพิมพมีคุณภาพและมาตรฐานสูง สํานัก พิมพ (Publisher) ตางชาติใชฐานการผลิตสูง และการโทรคมนาคม การขนสง มีประสิทธิภาพ ราคาต่ํา ในขณะที่ประเทศไทยมีจุดแข็งในเรื่องของความสามารถ ในการผลิตวัตถุดิบไดเอง โดยเฉพาะในเรื่องของ กระดาษ และคาจางแรงงานไทยยังต่ํามากเมื่อเทียบกับสิงคโปร และที่สําคัญประเทศไทยกําลังจะมีนิคม อุตสาหกรรมการพิมพแหงแรก และแหงเดียวในภูมิภาค

เปรียบเทียบธุรกิจการพิมพประเทศไทย – มาเลเซีย – สิงคโปร )

104 ThaiPrint Magazine

096-107 pc1.indd 104

17/11/2554 22:23:03


อุตสาหกรรมการพิมพไทย เปาหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพไทย สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ ไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพในประเทศไทย โดย จะพัฒนาใหประเทศไทยเปนศูนยกลางดานการพิมพและบรรจุภัณฑในภูมิภาค เรียกวา เปน “Smart Printing & Packaging Hub” เปน One Stop Shopping ในดานการพิมพและการบรรจุภัณฑ อยูที่ “นิคมอุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภัณฑสินสาคร”

ภาคผนวก สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ เกิดขึ้นจากความตองการของกลุมสมาคมตางๆ ที่ประกอบการ ที่เกี่ยวของกับการพิมพ ตองการเขาไปชวยเหลือและแกปญหาตางๆ ระหวางภาครัฐและเอกชน ซึ่งปญหา ตางๆ สวนใหญจะซ้ําซอนเหลื่อมล้ํากันมาตลอด ระหวางสมาชิกของผูประกอบการ และในชวงเวลา ที่ผานมาบทบาทของการแกปญหาระหวางภาครัฐกับเอกชน สวนใหญทางรัฐบาลจะยอมรับฟงผานทางสภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทยเปนหลัก กลุมสมาคมตางๆ ที่เกี่ยวของจึงเห็นวา ควรจะมีการทํางานรวมกัน เปนแนวทางเดียวกันและควรนําปญหาตางๆ นําเสนอผานทางกลุมอุตสาหกรรมการพิมพ ซึ่งเปนสาขาหนึ่ง ของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยอยูแลว เปนผูดําเนินการ ประกอบกับระหวางนั้นไดมีการรวมตัวกัน จัดตั้งภาคีของกลุมอุตสาหกรรมตางๆ ในภูมิภาคเอเชีย/เอเชียอาคเนย การพิมพและสิ่งพิมพหนังสือก็รวม อยูในขายที่จะตองจัดตั้งเปนภาคีของภูมิภาคดวย โดยสาขาของอุตสาหกรรมการพิมพไดถูกจัดใหเปนแกนนํา ของการพิมพของประเทศที่จะเขาไปรวมตั้งเปนภาคี (Printing and Publishing Club) จากสาเหตุดังกลาว ประกอบกับความตองการของผูประกอบการทางดานการพิมพที่จะรวมกันแก ปญหาของบรรดาสมาชิก จึงไดนํารูปแบบการทํางานของกลุมอุตสาหกรรมสิ่งทอ (ของสภาอุตสาหกรรม) มาศึกษาและปรับโครงสรางใหเขากับการทํางานของกลุมการพิมพ ดังนั้นในวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2536 จึงมี มติจัดตั้งเปน สหพันธอุตสาหกรรมการพิมพเปนแกนกลางประกอบดวยกลุมสมาคมตางๆ ที่เกี่ยวของทั้งหมด 8 องคกร และในภายหลังไดเพิ่มสมาคมผูผลิตกลองและแผนกระดาษลูกฟูกไทย เขามาเปนสมาชิกเพิ่มเติม รวมเปน 9 องคกร

วัตถุประสงค สหพันธกอตั้งขึ้นมาดวยเจตนารมณที่จะเปนองคกรกลางของความรวมมือ และแกไขปญหาอุปสรรค ในภาพรวม เพื่อที่จะนําเสนอตอไปยังภาครัฐ รวมถึงการเปนองคกรระหวางประเทศในการประสานติดตอ และรวมมือในระดับนานาชาติ เพื่อพัฒนายุทธศาสตรใหประเทศไทยเปน Printing and Packaging Hub of Asia โดยไดรางธรรมนูญและขอบังคับเปนแนวทางการบริหารงาน ซึ่งครั้งแรกไดจับสลากวาสมาคมใด จะเริ่มตนการเปนประธาน พรอมจัดลําดับ หมุนเวียนกันทําหนาที่ในวาระ 1 ป

สมาชิกสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพแหงประเทศไทย ประกอบดวย 9 องคกร ดังนี้ 1. สมาคมการพิมพไทย 2. สมาคมการบรรจุภัณฑไทย 3. สมาคมแยกสีและแมพิมพเพื่ออุตสาหกรรมการพิมพไทย 4. สมาคมสงเสริมวิชาการพิมพ 5. สมาคมการพิมพสกรีนไทย 6. กลุมอุตสาหกรรมการพิมพ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 7. สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือแหงประเทศไทย 8. ชมรมการจัดพิมพอิเล็กทรอนิกสไทย 9. สมาคมผูผลิตกลองและแผนกระดาษลูกฟูกไทย ThaiPrint Magazine 105

096-107 pc1.indd 105

17/11/2554 22:23:49


Print Data

อุตสาหกรรมการพิมพในญี่ปุน

1. ภาพรวมอุตสาหกรรม จากขอมูลป 2548 จํานวนผูประกอบการ 31,970 ราย คิดเปนสัดสวน 6.8% ของภาคการผลิต จํานวนคนทํางาน 370,699 คน คิดเปนสัดสวน 4.3% ของภาคการผลิต มูลคาอุตสาหกรรม 7,120,177 ลานเยน คิดเปนสัดสวน 2.4% ของภาคการผลิต มูลคาตลาดอุตสาหกรรมการพิมพในญี่ปุนมีแนวโนมลดลงในทิศทางเดี่ยวกับ GDP

สาขายอยของอุตสาหกรรมการพิมพ

106 ThaiPrint Magazine

096-107 pc1.indd 106

17/11/2554 22:24:11


อุตสาหกรรมการพิมพในญี่ปุน ประเภทของงานดานการพิมพ จากขอมูล ป 2553

งานดานการพิมพ ประเภทใชเครื่องพิมพ (Press type) จากขอมูลป 2553

งานดานการพิมพ ประเภทการพิมพดิจิตัล (Digital printing) จากขอมูลป 2551 มีมูลคาตลาด ประมาณ 214,000 ลานเยน มีสัดสวน 3% ของมูลคาตลาดอุตสาหกรรมการพิมพทั้งหมดในญี่ปุน แตตลาด มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ทั้งดานมูลคา ซึ่งมีอัตราการขยายตัวประมาณ 7% ตอป และจํานวนผูพิมพ ก็มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป โดยเปนผูพิมพระบบขาว-ดํา (Monochrome) ประมาณ 2,000 ราย จํานวนไม เปลี่ยนแปลงมากในแตละป แตจํานวนผูพิมพระบบสี (Color) เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

พอไดเห็นตัวเลขการสงออกอุตสาหกรรมการพิมพของประเทศไทย และประเทศญี่ปุนกันไปบางเล็กนอยแลว อยางที่เกริ่นไวตั้งแตตนแลววาเราจะมาดูตัวเลขเปรียบเทียบกันระหวางอุตสาหกรรมการพิมพของไทยกับอตุสาหกรรม การพิมพของประเทศญีป่ นุ แตตอ งรออานกันตอในฉบับหนานะครับวาจะมีความแตกตางกันอยางไรบาง รวมถึงตัวเลข ของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑไทยกับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑของประเทศญี่ปุนอีกดวยนะครับ

อานตอฉบับหนา ThaiPrint Magazine 107

096-107 pc1.indd 107

17/11/2554 22:24:46


Print News

ไอเดีย คัลเลอรส

ในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 ซึ่งไอเดียคัลเลอรส มั่นใจ Kodak Flexcel NX ตอยอดงาน พิมพคุณภาพ ขยายตลาดบรรจุภัณฑ และยังมั่นใจในนวัตกรรมงานพิมพของโกดัก Flexcel NX เพื่อตอบโจทย ลูกคา ดวยเทคโนโลยีดิจิตอลที่พัฒนาอยางกาวล้ํา และยังชวยประหยัดพลังงาน น้ํา สารเคมี รวมทั้งวัสดุสิ้น เปลืองตางๆ ตัดขั้นตอนที่ยุงยากในการทําแมพิมพ สามารถผลิตงานไดรวดเร็วและแมนยํา เสริมความเชื่อมั่น ในเทคโนโลยีงานพิมพใหม เพื่อผลักดันตลาดแพกเกจจิ้งใหเติบโตดวยงานพิมพคุณภาพ เปนคําตอบโลกแหง งานพิมพในอนาคต นายอํานวย วิริยกิจจา กรรมการผูจัดการ บริษัท ไอเดีย คัลเลอรส จํากัด กลาวถึงธุรกิจงานเตรียมพิมพ ของตนเองวา “บริษัท ไอเดีย คัลเลอรส จํากัด สั่งสมประสบการณในการทําธุรกิจงานพิมพออฟเซ็ทมาเปนระยะ เวลายาวนาน โดยใหบริการงานเตรียมพิมพที่หลากหลาย ไมวาจะเปนงานพิมพบรรจุภัณฑ โบรชัวร โปสเตอร ใบปลิว แผนพับ แผนโฆษณาตางๆ ดวยความชํานาญในการผลิตงานเตรียมพิมพ และเพื่อใหสอดคลอง กับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศไทย ในดานบรรจุภัณฑ ดังนั้นจึงพยายายามมองหาเทคโนโลยีงาน พิมพใหมๆ เพื่อมาตอบสนองความตองการของลูกคาที่เพิ่มขึ้น และตอยอดธุรกิจงานเตรียมพิมพของไอเดีย คัลเลอรส ใหขยายเติบโตขึ้น” จากที่ศึกษาตลาดงานพิมพมานานพอสมควร ทําใหมองเห็นวาตลาดบรรจุภัณฑเติบโตคอนอยางรวดเร็ว เนื่องจากประเทศไทยมีการขยายตัวของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ผลักดันใหธุรกิจงานพิมพบรรจุภัณฑ เติบโตเปนเงาตามตัวไปดวย โดยเราตัดสินใจเลือกเทคโนโลยีงานพิมพ Flexo ซึ่งเปนแนวทางของงานพิมพ ในอนาคต แตก็ยังติดปญหาในเรื่องคุณภาพงานพิมพ จนเมื่อมาพบเทคโนโลยีงานพิมพโกดัก “Flexcel NX” ที่ชวยยกมาตรฐานงานพิมพ Flexo และทลายขอจํากัดตาง ๆออกไป เทคโนโลยี Flexcel NX ของโกดักสามารถผลิตงานพิมพได 2 ระบบทั้งออฟเซ็ทและเฟล็กโซใน CTP เครื่องเดียว สามารถเปลี่ยนไลนผลิตแพกเกจจิ้งไดอยางรวดเร็ว สรางสรรคงานพิมพไดหลากหลาย ตั้งแต ปริมาณนอยไปจนถึงจํานวนมาก อีกทั้งยังมีตัว Digicap NX Screening ที่หนาเพลทรับหมึกพิมพไดดีกวา แมพิมพทั่วไป สีมีความแมนยําไมผิดเพี้ยน จึงลดตนทุนการผลิตไดเปนอยางดี ที่สําคัญเทคโนโลยี Flexcel NX เปนเทคโนโลยีสะอาด ชวยประหยัดพลังงาน น้ํา สารเคมี และวัสดุสิ้นเปลืองไดเปนอยางดี สอบถามขอมูลเพิ่มเติ่มไดที่ โทร. 0-2451-9059-63 108 ThaiPrint Magazine

108 pc1.indd 108

17/11/2554 22:32:52


AD 3M m14.indd 1

6/10/2554 17:11


Prinnt BBusiness Print usiness PPerception erception

กวาจะถึงวันนี้หรือกวาจะยืนตรงจุดไหนจุดหนึ่งไดผูที่กําชัยชนะอยูในมือนั้นยอมตอบไดเสมอ เพราะกวา คนทั้งหลายที่ตางแสวงหาความสําเร็จไดนั้น เขาจะตองมีกลวิธีหรือกลยุทธที่แตกตางกันออกไป และมุมมอง ที่ตางวิสัยทัศนกันออกไปอยากใหเรามองดูวาบุคคลสําคัญๆ เหลานี้ เขามีวิธีคิดกันอยางไรบางในการที่เขา ยืนอยูตรงจุดแหงความสําเร็จ เขาคิดกันอยางไร เขาเจอกับอะไรมาบาง ในไขเคล็ดลับความสําเร็จดวย 9 วิธีคิด เผื่อครอบครัวแหงวงการพิมพของเราจะไดนําไปพัฒนากิจการธุรกิจแหงการพิมพใหเจริญกาวหนา ตอไปครับ นักธุรกิจจะประสบความสําเร็จไดนั้นจะตองมีปจจัยหลายประการ แตหัวใจหลักอยูที่วิธีคิด โดย สรกล อดุลยานนท หรือ หนุมเมืองจันทร จะมาไขเคล็ดลับจากนักธุรกิจที่มาจากประสบการณ ผานการเจาะลึก 9 วิธีคิดสูชัยชนะกันครับ ลองติดตามกันดูนะครับ

1

วิธีที่หนึ่ง คิดแบบละเอียด

ยกตัวอยาง “ดํา น้ําหยด” ซึ่งเปนเกษตรกรที่จันทบุรี มีความ คิดไมเหมือนกับนักธุรกิจที่เคย สัมภาษณมาทั้งหมด เขาบอกวา นักวิชาการชอบเรียนมากเกินไป เกินธรรมชาติ เมื่อแกปญหาเริ่ม ตนจากทฤษฎีที่เรียนมา เขาได เปนเกษตรกรตัวอยาง ป 2522 จากการทําระบบน้ําหยด ขายดีจน มีฐานะ สวนที่พาไปสวยมากอยู ริมเขา เขาเคยเปนลูกจางมากอน จนวันหนึ่งเจาของบอกขาย ก็เลย ซื้อทํารีสอรตที่เกาะชาง ชื่อเกาะ ชางพาราไดซ รีสอรต แอนด สปา

เขาบอกวา มีเงินเทานี้ก็ลงไป กอน ครั้งแรกลงทุน 21 ลานบาท จากนั้นพอกําไรจากนี้ลงทุนอีก 21 ลานบาท แลวนํากําไรมาลงทุน รีสอรต 45 ลานบาท แบบไมได กูเงิน ทําอะไรไมเปน ทําสวนเปน ก็เริ่มตนลงระบบสาธารณูปโภค 1 ป ลงระบบน้ํา ฯลฯ และออกแบบ สวนเสร็จก็รื้อตนไมทิ้ง เพราะรู วาไมมีใครรูเรื่องตนไมมากเทาเขา และเริ่มเลาใหฟงวา โกสนมี 3 สายพันธุ สายพันธุที่สามกินน้ํา นอยที่สุด หลักการทําสวนคือ “น้ํา เอาไวเลี้ยงแขกไมใชเลี้ยงตนไม” เพราะน้ําในเกาะชางหายากตนไม

TThaiPrint aiaiPr Prin intt Mag Magazine gazine 11100 Th 11

110-114 pc1.indd 110

17/11/2554 23:00:20


ไขเคล็ดลับความสําเร็จ ที่ปลูกตองเหมาะกับดินทรายและ กินน้ํานอยและ “สวนตองมีชีวิต” การปลูกตนเข็มไว เพราะผีเสื้อ ชอบตนเข็ม แตระบบน้ําเสียที่ทําในตอน แรกจางนักวิชาการทํา แตเรียก เทาไรก็ไมยอมมา ก็คิดแบบเกษตร กรดวยความโมโห คิดวาน้ําเสีย ที่มีอยู 15,000 ลิตร มีตนไมอะไร

2

วิธีที่สอง ใชเทาคิด

มาจาก “ขรรคชัย บุญปาน” ซึ่งตอบคําถามนักขาววาผานวิกฤต ป 2540 มาได เพราะใชเทาทํา คือ เพียงแคเดินมากหนอยเพื่อไป เยี่ยมแผนกตางๆ ในบริษัทอยาง กองบรรณาธิการ ฝายผลิต ฯลฯ ชวยกระตุนสวนตางๆ ใหทํางาน ใหดขี น้ึ “ธนา เธียอัจฉริยะ” ทีเ่ คย อยูดีแทค แตตอนนี้อยูแมคยีนส เอาคํานี้มาใช เพราะดีแทคมีเงิน ทุนไมมากเทาเอไอเอส เขาใชวิธี สงทีมวิจัยลงเดินทําใหพบวาลูกคา ที่ใชโทรศัพทแบบเติมเงิน จริงๆ ไมใชเด็กสยาม แตเปนชาวบาน ทั่วไป นั่นคือ ที่มาของการพลิก แบรนดครั้งใหญ ดวยวิธีการแบบ บานๆ ตอนนั้นมีคนถามวา บุคลิก

ที่สามารถดูดน้ําไดเยอะ รากยาวๆ ก็พบวา ปาลมน้ํามันดูดไดวันละ 150 ลิตร ปลูกรอยตนก็ได 15,000 ลิตร น้ําเสียเปนปุยที่ดี ตนปาลม สวยมากใหญมากบําบัดน้ําเสียได หมดเกลีย้ ง สุดทายนักวิชากรกลุม นั้นมาขอดูงาน เปนระบบบําบัด น้ําเสียหมัก ไมไดคิดจากทฤษฎี คิด จากรายละเอียดตางๆ ที่คนพบมา

“ดํา น้ําหยด” เปนตัวอยาง ที่ดีมาก ในการมองปญหาอยาง ละเอียด เริ่มตนจากธรรมชาติ ที่ บอกวานักวิชาการเรียนเกิน คือ เรียนเกินธรรมชาติ เหมือนกับคุณ พ อ คุ ณ แม เราที่ เริ่ ม ต น เรี ย นจาก ธรรมชาติ เรียนรูจ ากประสบการณ ตางๆ คิดอยางละเอียดเปนเคล็ด ลับความสําเร็จขอหนึ่ง

ของดีแทคคืออะไร นึกเทาไรก็ไม ออก ไปอานหนังสือแพรวเจอรูป “จิระ มะลิกุล” คนที่ทําหนังแฟน ฉัน นั่งอยูบนเกาอี้ตัดผมดวยทา ทางสบายๆ ก็เลยไดคําตอบวานี่ คือ ลักษณะของแบรนด “แฮปป” คือสบายๆ ทําใหพลิกแบรนดของ แฮปปมาเปนแบบบานๆ เพราะ ฉะนัน้ พรีเซ็นเตอรจะราคาถูกมาก อีกตัวอยางของดีแทค ครั้ง หนึ่งสงทีมวิจัยไปฝงตัวกับนักศึกษา เชียงใหมไปดูพฤติกรรม แลวก็ คนพบเรื่องหนึ่งวา ชวงครึ่งเดือน หลังที่ใชโทรศัพทนอย นักศึกษา จะเปลี่ยนเมนูใหมเปนมามา เมื่อ พนักงานดีแทคเขาไปถามวาจะให ชวยอะไร ก็ไดคําตอบวา ก็ใหยืมสิ นั่นคือ ที่มาของแคมเปญ “ใจดีให ยืม” หลายคนคิดวา คุณธนา เปน นักการตลาด แตจริงๆ เปนนักการ เงินมากอน งานอดิเรกคือ การดู ตัวเลข เมื่อไดขอมูลคํานวณแลว ก็พบวาตนทุนไมมากและตอนแรก คิดจะจับกลุมนักศึกษาแคแสนคน แตคนใชแคมเปญนี้ ลานกวาคน สําเร็จมาก เพราะลูกคาบอกวาให

ยืมก็ยืม อีกเรื่อง คือ แกวน้ําแฮปป เพราะตอนทําแบรนดแฮปปใหมๆ อยากให สั ญ ลั ก ษณ ที่ เ ป น รอยยิ้ ม กระจายไปทั่ว ไปที่ไหนก็เจอ วันหนึ่งไปซื้อน้ําเห็นแกวพิมพลาย ก็เกิดความคิด อยากพิมพโลโก แฮปป ไปขางเอเจนซี่คิดคาผลิต คากระจาย กําไร และอื่นๆ รวม 1 ลานใบ 4 ลานบาท คือใบละ 4 บาท แตวันหนึ่งไปเจอแกวน้ํา ที่พิมพลายองุนก็เกิดความคิดวา ไปคุยกับโรงงานใหพมิ พลายแฮปป ทีมงานแฮปปมีขอดีคือ “ลองดูสิ” ไมปฎิเสธอะไรใหมๆ ก็ไปคุยกับ โรงงาน เถาแกก็คํานวณออกมา 4 หมื่นบาท แตสัญชาตญาณของ เซลสคือตองตอราคาใหมากที่สุด สุดทายได 1 ลานใบ 2 หมื่นบาท เถาแกคงคิดวาอยูดีๆ มีหมูมาชน ปงตอ เพราะตองเสียคาพิมพลาย อยูแลว มีคนมาจายใหและไดกําไร อีก สวนแฮปปก็ดีใจสุดๆ เพราะ ประหยัดไปได 3 ลาน 9 แสน 8 หมื่นบาท จากการเดินและทัศนคติ แบบลองดูสิ ThaiPrint Magazine 111

110-114 pc1.indd 111

18/11/2554 2:22:47


Print Business Perception

3

วิธีที่สาม คิดจากปญหา

เมื่อเกิดปญหาทุกคนจะกลัว และคิดวาแยมากเลย สําหรับ “อนันต อัศวโภคิน” ในตอนที่ทํา คอนเซ็ปตใหมเรื่อง “บานสบาย” ของแลนดแอนดเฮาส มาจากป 2540 ซึ่งบริษัทเปนหนี้ประมาณ 4 หมืน่ ลานบาท พอมีปญ  หาบริษทั ตางๆ จะไลคนออก แตเมื่อคิด แลวก็พบวาตนทุนธุรกิจขายบาน พนักงานเปนตนทุนที่นอยมาก แค 10% ไลคนออกครึ่งหนึ่งก็ลดไดแค 5% และเมื่อวิกฤตฟนก็หาคนยาก ระหวางนั้น จึงใหลูกนองแต ละคนทํ า วิ จั ย คนซื้ อ บ า นแลนด แอนดเฮาส ไปดูวาปญหามีอะไร บาง ก็พบวาทุกคนที่ซื้อบานตอง ตอเติม ครัว หองน้ํา ถังขยะ ฯลฯ ก็นําปญหาทั้งหมดมาคิดใหมสราง ผลิตภัณฑใหมจากปญหา ออกมา เปน “บานสบาย” คนซือ้ หิว้ กระเปา เขาไปอยูไดเลย และบานสบายก็ คือ “การกําหนดราคา” คือคนที่

กําหนดราคาคือลูกคา ไมใชเจา ของ เขาสรางบานเสร็จกอนขาย เปนการสรางเกมใหมใหคนอื่นเดิน ตาม เพราะป 2540 คนเจอ ป ญ หาสร า งบ า นแล ว ไม ไ ด บ  า น และก็ รู  ว  า ถ า สู  ไ ปเป น เกมเดิ ม คื อ ขายกระดาษ ใครๆ ก็ทําได เปน ธุรกิจที่เขามาไดงาย แตการสราง เกมใหมคือ “บานเสร็จกอนขาย” ผูชนะคือ ผูกําหนดเกม ซึ่งไมใช ตองใชเงินมาก แตฐานขอมูลดาน การขายเปนสิง่ สําคัญ เพราะปญหา บานสรางเสร็จกอนขายคือปญหา สตอก แตเมื่อใชวิธีสรางบานเมื่อ คนมาดูไซตงาน คนถามราคาก็ บอกวายังไมกําหนดราคา แตราคา ประมาณ 3.5 ลาน ลูกคาไมจอง เซลสรูแลว 3.5 ลาน ขายไมไดอีก คนมา 3.8 ลานบาท ขายไมได รูแลว 3.6-3.7 ลาน เพราะคนซื้อ มากําหนดราคา

แคมเปญ “ไปแตตัวทัวรยก แกง” เปนแคมเปญของชาเขียว โออิชิท่สี ําเร็จที่สุดโดยใชเงินไมมาก สําหรับของรางวัลคือ การไปทัวร ญี่ปุน ใครๆ ก็คิดได เปนเรื่อง ธรรมดามาก แตคุณตันพบวาคน ที่ไดรางวัลไมใชคนที่เคยไป พอคา แมคาที่ไดก็ดีใจที่ได แตเมื่อบริษัท ติดตอไปตองเสียภาษี ตองทํา

พาสปอรต ทําวีซา การเที่ยวที่ แปลกๆ กับคนแปลกหนาไมสนุก คุณตันเอาปญหาทั้งหมดมาแกไข ใหคนที่ไดรางวัลชวนคนรูจักไปได อีก 3 คน และมีเงินใหไปชอปปง กลายเปนแคมเปญธรรมดาที่อุด ทุกปญหา แลวสรางสิ่งใหมขึ้นมา ฝาขวดโออิชิที่สงเพิ่มขึ้นทั้ง 3 ครั้ง ทําแคมเปญ

112 ThaiPrint Magazine

110-114 pc1.indd 112

17/11/2554 23:02:33


ไขเคล็ดลับความสําเร็จ มีใครเห็นกลายเปนนักแสดงทุกคน ตองดู เมื่อชื่อเสียงมากคนอยาก ทํางานดวยมาก ไดแรงงานฝมือดี ราคาถูกเยอะมาก นั่นคือ การเปน แมเหล็กดึงทุกอยาง ขณะที่วัวของ จริง และวัวจินตนาการไมเหมือน กันวัวจริงๆ สกปรกมาก แตตอง ใหวัวที่มาโชวสะอาด เพื่อตรงกับ จินตนาการคนเที่ยว การคิดแบบ ไรกรอบคือ ตองถามตัวเองบอยๆ วาทําไมตองคิดแบบเดิมๆ

4

วิธีที่สี่ คิดแบบไรกรอบ

เมื่อ “โชค บูลกุล” เขามารับ ธุรกิจป 2540 วิกฤตเศรษฐกิจ มี นมสดกับฟารมโชคชัย คนบอกวา นาจะขายฟารมโชคชัยทิ้ง เพราะ นมสดเปนธุรกิจทําเงิน แตในชวง วิกฤตของที่จะขายนั้น ขายไมได ของที่ขายงายคือของดี ชวงที่เปน หนี้มากๆ เวลามีราคาสูงมากดอก เบี้ยไมสนใจวันหยุด ยิ่งขายไมได ยิ่งเครียด เพราะแกปญหาไมได สําหรับโชคตัดสินใจขายธุรกิจนม สดไดเงินมากอนหนึ่งดวยวิธีคิดคือ “ธุรกิจอะไรก็ตามที่ทํางานเบาๆ ทํางานนอยกําไรมาก ธุรกิจนั้น คูแขงมาก ธุรกิจอะไรก็ตามที่ทํา งานหนัก กําไรนอยแขงขันนอย” ฟารมโชคชัยคือ อันที่สอง เพราะ ไมอยากแขงกับใครมาก เขาเริ่มตน ทําสิ่งนั้น เขาเคยใหสัมภาษณวา ธุรกิจ ที่ลูกรับมาจากพอแม ตองเขาใจ วาลูกก็เปนลูก สําหรับธุรกิจของ ครอบครัวบูลกุล แมเปนคนที่มี อํานาจในการตัดสินใจและเพราะ แมเปนนักการเงิน โชคบอกวาเวลา เริ่มตนธุรกิจใหม ขอแรกคือ เงิน

5

วิธีที่หา คิดแงบวก

ตองไมมีปญหา และตองทําใหแม ยอมรับใหไดวาทําได เพราะฉะนั้น โชคเขามาครั้งแรก โดยไมใชเงินกู เลย เมื่อคุณแมพอใจเสนออะไร ไดมากขึน้ เพราะกาวแรกไมพลาด ขณะทีโ่ มเดลธุรกิจเกษตรคืออาหาร สัตว เลี้ยงไก ไกสด ไกยาง นี่คือ โมเดลของซีพี แตโชคคิดมุมใหมคือ จากธุรกิจเกษตรไปสูธ รุ กิจทองเทีย่ ว ซึ่งการเปนซีอีโอ แบรนดิ้ง มีขอดี คือ ซีอีโอสามารถดึงดูดขาวมาก มายที่เห็นแตใชเงินประชาสัมพันธ แคปละสองสามลาน สิ่งที่เขาคิด คือ คนกรุงเทพฯ หิวธรรมชาติมาก ฟารมโชคชัยมี แบรนดิง้ อยูใ นใจคนมายาวนานมาก เปนคาวบอย เปนปา ฟารมที่ใกล กรุงเทพฯ ที่สุด และมีชื่อเสียงเขา พลิกกลยุทธมาสูการทองเที่ยวและ เอาประสบการณมาใช แตดีไซน ละเอียดมาก ดูพฤติกรรมของคน เดิน คนกรุงชอบเทีย่ วแบบสบายๆ รอนแลวตองรีบเขาหองแอรสลับกัน ไปและพลิกสูบูติกรีสอรต และที่ สําคัญทําใหพนักงานมีกําลังใจมาก เกิดความภูมิใจจากคนรีดนมวัวไม

เมื่อ “ศุภชัย เจียรวนนท” ทรูมูฟเปนหนี้ 9 หมื่นลาน ชวง ลอยตัวคาเงินบาทป 2540 มี 2 วิธีคิดคือ คนทั่วไปคิดขายบริษัท แตอีกวิธีคือ ไมมีอะไรจะเสียอีก แลวบุกไปขางหนาดีกวา “ทรูมูฟ” พลิกเกมรุกสู เปนหนี้ 9 หมื่นลาน ใชอีก 900 ลานก็แค 1% ทําให ทรูมูฟพลิกขึ้นมาได

6

วิธีที่หก คิดเพื่อปฏิเสธ

“สตีฟ จอบส” ตอนที่กลับไป แอปเปลอีกครั้งมีสินคาเยอะมาก เขาใชวิธีคิด แบบตัดทิ้งมาตลอด ดวยการใชคําแค 4 คําคือ พกพา ตั้งโตะ และดูวาสินคาอยูตรงไหน เขาเคยพรีเซนตสินคาดวยการเอา มาวางทีโ่ ตะเล็กๆ จากทีม่ อี ยู 200 ชิ้น เขาตัดทิ้งเหลือแค 20 ชิ้นเทา นั้น เพราะหัวใจสําคัญของความ สําเร็จคือ คําวา “ไม” กลาปฏิเสธ สิ่งที่เสนอมาและเลือกสิ่งที่ดีที่สุด ไอพอดเปน mp3 เครื่องแรกของ โลกดวยคิดเริ่มตนจากคําๆ เดียว คือ 1 พันเพลง คือ การโฟกัสอยู แคนี้ อยางอื่นไมเอา ThaiPrint Magazine 113

110-114 pc1.indd 113

17/11/2554 23:03:37


7

Print Business Perception วิธีที่เจ็ด คิดหาโอกาส

“โมริตะ” ผูกอตั้งโซนี่บอกวา คนเราชอบพูดวาใครๆ ก็ทําแลว เขาบอกวาธุรกิจเหมือนวงกลม แต มันมีชองวางในรูนั้น เมื่อเราทํา มันจะใหญขึ้นมาทันที “อดิศักดิ์ รักอริยะพงศ” ทําใหบิวติดริ้งเกิด ขึ้นมา เครื่องดื่มสุขภาพที่ขยาย ตลาดไมใชแคในเมืองไทยแตยังไป อยูในตางประเทศ จากการมอง เห็นโอกาสเชนเดียวกับ “สุริวิภา กุลตังวัฒนา” ทําสินคาเสื้อผา สําหรับผูห ญิงหลายๆ คนทีม่ รี ปู ราง ทวมใหสวยไดเหมือนกัน เพราะ เมื่อเห็นเสื้อผาที่ใสในหุนโชวทุก ครั้งจะรูสึกวาอยูในหุนมันสวย แต ทําไมอยูท่ตี ัวเรามันไมเปนอยางนั้น นี่คือการคิดหาโอกาส

8

วิธีที่แปด คิดแบบไมยอมแพ

มีกรณีศึกษาเรื่องหนึ่งสําหรับ สิ น ค า ที่ เ คยเป น เจ า ตลาดมี ส  ว น แบงการตลาด 80% แตภายใน เวลา 3 ป เบียรชางเอาชนะ เบียรสิงหได แตตอนนี้เบียรสิงห กลับมาชนะแลว หลังป 2540 ไมนาน “สันติ ภิรมยภักดี” เคย ใหสัมภาษณวา สาเหตุที่แพมี 4 ขอ คือ 1. กลยุทธเหลาพวงเบียร ธุ ร กิ จ เหล า ไม เ หมื อ นธุ ร กิ จ เบี ย ร ที่ คิ ด ว า เป ด ก อ กน้ํ า ที่ จ ริ ง มั น เป น เขื่อน เปนการถลมอยางยาวนาน ไมหยุด 2. กลยุทธ 3 ขวด 100 บาท ทําใหคนอยากกินเบียรราคา ถูก 3. การเยี่ยมเอเยนตนอยเกิน ไปทําใหหางเหิน และ 4. แอด คาราบาว ทําใหเบียรชา งกลายเปน เบียรคนไทยเปนสิ่งหนึ่งที่ทําใหชื่อ แบรนดติดตลาด เขาพูดคําหนึ่งวา “ผมยอมรับวาแพ แตผมไมยอม

แพ” หมายความวา เราแพได แตเราไมยอมแพคือ “ใจ” เราไม ยอมแพ การยอมรับวาแพใหเชื่อ ไวเลยวา เราไมมีทางกระโดดขึ้น จากอากาศได เหมือนเราตกเหว อยู การยอมรับการพายแพ คือ ยอมรับการอยูกนเหวใหเทาติดดิน เพื่อที่เราจะกระโดดขึ้นใหมไดแต การยอมแพ เราจะอยูในอากาศ ตลอดเวลาและกระโดดไมได

9

วิธีที่เกา คิดแลวลงมือทํา

“โธมัส เอดิสัน” พูดวา คนสวนใหญชอบคิดวา เราตื่นขึ้น มาแลวเราจะเปนคนรวยเขาคิดถูก แคครึ่งเดียวคือตื่นขึ้นมา เพราะ หัวใจสําคัญคือ ความสําเร็จตองมี สวนผสมอยู 2 อยางคือ 1. ความ คิด และ 2. การลงมือทํา ถาคิด เฉยๆ ไมลงมือทําไมมีทางสําเร็จได “โคลั ม บั ส ” หลายคนคิ ด วา การพบทวีปอเมริกาเปนเรือ่ งบังเอิญ แคลองเรือไปพบทวีปใหมเทานั้น ใครๆ ก็ทําได วันหนึ่งในงานเลี้ยง กษัตริยสเปนมีเสนาบดีพูดเรื่องนี้ อีก เขาก็หยิบไขตมขึ้นมาหนึ่งใบ แลวบอกใหตั้งไมใหลม ไมมีใครตั้ง ได เขาหยิบไขขึ้นมาทุบที่ปลายทํา ใหไขตั้งได พวกนั้นบอกวา “ใครๆ ก็ทําได” เขาบอกวา “แลวทําไม ไมทํา” หัวใจสําคัญของทุกเรื่องคือ เวลาเราทําสิ่งนั้นสําเร็จ แตหัวใจ สําคัญของความสําเร็จของโคลัมบัส คือ การตื่นขึ้นมาลองเรือออกจาก แผนดิน แลวคิดวามีแผนดินใหม อยูขางหนานั่นคือ ความยิ่งใหญ ของหัวใจของโคลัมบัส คือ ความ ยิ่งใหญอยางแทจริง การลงมือทํา เปนเรื่องสําคัญที่สุด

เปนอยางไรกันบางครับ สําหรับ กลยุทธตางๆ ที่ไดจากแนวคิด ของคนที่นับไดวาประสบความ สําเร็จในธุรกิจและการคิดที่มีทั้ง ในกรอบและนอกกรอบ ซึ่งเขา ตางสามารถทําได และประสบ ผลสําเร็จได หากเราสามารถนํา ประสบการณ และวิธีคิดตางๆ เหลานี้มาประยุกตใช ในธุรกิจ ของเราก็จะเกิดประโยชนมากเลย ครับ ที่เราจะนํามาตอยอดธุรกิจ สายแหงวงการพิมพเราใหเจริญ กาวหนา ทันสมัย และใหญโต มากขึ้นกวาที่เปนอยูในปจจุบัน นี้ครับ ผมเองก็คิดวาสาระดีๆ ตางๆ เหลานี้ คงจะทําใหเกิด ประโยชนแกผอู า นไดบา งนะครับ สวัสดีครับ พบกันฉบับตอไปครับ

ขอมูลโดย : ผูจัดการรายสัปดาห 360 องศา

114 ThaiPrint Magazine

110-114 pc1.indd 114

17/11/2554 23:03:49


Print News

ฟูจิฟลม เปดตัวนวัตกรรมลาสุด เครื่อง FLEXOGRAPHY CTP

ฟูจิฟลมรุกตลาดอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ เปดตัว นวัตกรรมเทคโนโลยีของเครือ่ ง FLEXOGRAPHY CTP ระบบเฟลกโซกราฟฟ DLE เพิ่มประสิทธิภาพในการ ทํางานสูงสุด พรอมเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2011 บริษัท ฟูจิ ฟลม (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศความเปนผูนํา เทคโนโลยีในอุตสาหกรรมสิ่งพิมพอีกครั้ง พรอมสราง มิติใหมใหแกวงการสิ่งพิมพ ดวยการเปดตัวนวัตกรรม ลาสุดเครือ่ ง FLEXOGRAPHY CTP ซึง่ เปนเทคโนโลยี ที่เปนหนึ่งทางดานแมพิมพ และการสรางภาพดวย แมพิมพ CTP ระบบเฟลกโซกราฟฟ DLE (Direct Laser Engraving Flexo CTP System) ซึ่งทําให การสรางภาพบนแมพิมพที่มีกระบวนการทํางานงาย และเพิ่มผลผลิตดวยการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ ทํางาน และสิ่งสําคัญที่สุดคือ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในงานแสดงสินคานานาชาติ อุตสาหกรรมการพิมพ และบรรจุภัณฑแหงอาเชีย ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม – 3 กันยายน 2554 ที่ผานมา ณ ศูนยการ ประชุม ไบเทค บางนา นายประเสริฐ สัตยาอภิธาน ผูจัดการฝาย ผลิตภัณฑกราฟฟคอารต บริษัท ฟูจิฟลม (ประเทศ ไทย)จํากัด เปดเผยวา ตลาดอุตสาหกรรมสิ่งพิมพมี อัตราการเติบโตอยางตอเนื่อง และมีการตื่นตัวกับ เทคโนโลยีใหมๆ สามารถเพิม่ ผลผลิตและประสิทธิภาพ ในการทํางาน ในปนี้ ฟูจิฟลม ไดเปดตัวนวัตกรรม ลาสุดเครื่อง FLEXOGRAPHY CTP ซึ่งเปนเทคโนโลยี ที่เปนหนึ่งทางดานแมพิมพ และการสรางภาพดวย แมพิมพ CTP ระบบเฟลกโซกราฟฟ DLE (Direct Laser Engraving Flexo CTP System) ทําใหกระบวน การสรางภาพบนแมพิมพงายขึ้น ลดขั้นตอนการทํา งานจากระบบเดิม โดยไมตองมีการฉายแสง UV และ

ไมตองมีการลาง หรืออบแหงที่ตองใชในการทํางาน ระบบเดิม Laser Ablation Mask (LAM) นอกจากนั้น ดวยการผสมผสานเทคโนโลยีการ เกิดปฏิกิริยาเคมีการสรางภาพบนแมพิมพกับ Multi Channel Laser ของ CTP ทําใหสามารถสรางภาพ บนแมพิมพไดเร็วยิ่งขึ้น FLEXO CTP ยังมีระบบแม พิมพที่มีความไวแสงสูง ใชโพลีเมอรที่ใหภาพที่คมชัด และเก็บรายละเอียดไดดี ทําใหแมพิมพที่ไดมีคุณภาพ สูง สําหรับในสวนของผูประกอบการธุรกิจนั้น ยัง สามารถชวยลดตนทุนการผลิต ดวยเทคโนโลยี DLE ทําใหลดคาใชจายของเครื่องฉายแสง UV และเครื่อง ลางแมพิมพ นายประเสริฐ กลาวเพิ่มเติมวา “จะเห็นได วา ฟูจิฟลม มุงมั่นพัฒนาและวิจัยผลิตภัณฑอยาง ตอเนื่องดวยเทคโนโลยีชั้นสูงของฟูจิฟลม นอกจาก นั้น ยังมีระบบ ไวโอเลท (VIOLET) รุน PRO-V และ รุน PRO-VN สําหรับสิ่งพิมพดานหนังสือพิมพ ที่ไม ตองใชน้ํายาสรางภาพ ทําใหลดคาใชจายของน้ํายา และกําจัดน้ํายาเคมีทิ้งอีกดวย ปจจุบัน ฟูจิฟลมยังคง รักษามาตรฐานการเปนผูนําดานอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ ดวยผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ และความโดดเดนมี กระบวนการทํางานที่สะดวกและรวดเร็ว พรอมเพิ่ม ผลผลิตดวยการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการทํางาน ประกอบกับบริการหลังการขายที่ดีแกกลุมลูกคา และ สิ่งสําคัญคือ ผลิตภัณฑของฟูจิฟลมยังเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมและสรางภาพลักษณของแบรนดฟูจิฟลม ใหกาวกระโดดไปอีกระดับหนึ่ง” สนใจติดตอขอรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท ฟูจิฟลม (ประเทศไทย) จํากัด แผนกกราฟฟคอารต โทร. 02-270-6000 หรือ www.fujifilm.co.th ThaiPrint Magazine 115

115 pc1.indd 115

17/11/2554 23:12:02


Print News

มหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 16 (Book Expo Thailand 2011)

ในฐานะที่สมาคมการพิมพไทยเปนสมาคมฯ ที่อยูในขั้นตอน หรือกระบวนการผลิตสิ่งพิมพที่สําคัญ อยางยิ่งที่ผลิตผลงานสิ่งพิมพตางๆ ใหออกมามีคุณภาพ โดยเฉพาะหนังสือเลมจึงเห็นเปนการดีอยางยิ่งครับ สําหรับการจัดงานสัปดาหหนังสือแหงชาติ ซึ่งภาครัฐและภาคเอกชนก็ใหการสนับสนุนเพื่อใหคนไทยรักการ อานมากยิ่งขึ้น โดยการจัดงานจากสมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนายหนังสือแหงประเทศไทย จะมีการจัดงาน สัปดาหหนังสือแหงชาติที่เรียกกันติดปากในบรรดาผูรักการอาน และสํานักพิมพตางๆ จะตั้งตาคอยเพื่องาน นี้โดยเฉพาะครับ มหกรรมหนังสือระดับชาติครั้งที่ 16 รณรงคคนไทย “อานทั่วไทย อานไดทุกที่” ชวน นักอานรวมประกวดภาพถายผาน Facebook ของงานฯ พรอมเปดตัวแอพพลิเคชั่น งานมหกรรมหนังสือฯ ผาน App Store เปนครั้งแรก เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2554 ที่ผานมา สมาคมผูจัดพิมพและ ผูจําหนายหนังสือแหงประเทศไทย (PUBAT) ประกาศความพรอมจัดงาน “มหกรรมหนังสือระดับชาติครั้งที่ 16 (Book Expo Thailand 2011)” อยางยิ่งใหญ ระหวางวันที่ 5-16 ตุลาคม 2554 ณ ศูนยการประชุมแหง ชาติสิริกิติ์ ปนี้จัดภายใตแนวคิด “อานทั่วไทย อานไดทุกที่” รณรงค คนไทยหยิบหนังสือขึ้นมาอานในทุกที่ ทั่วไทย ทุกครั้งที่มีโอกาส โดย จําลองบรรยากาศ “อานทั่วไทย อานไดทุกที่” ทั่วทั้งบริเวณงาน และ ชวนนักอานรวมประกวดภาพถาย ผาน Facebook ของงานฯ และ เปดตัวแอพพลิเคชั่นงานมหกรรม หนังสือฯ ผาน App Store เปน ครั้งแรก ในงานแถลงขาวยังไดจัดเสวนาพิเศษ “วาระการอานแหงชาติ หายไปแตได One Tablet กลับมา” ถกประเด็นรอนโดยนักวิชาการชั้น นําพรอมเผยผลสํารวจนโยบายสงเสริมการอานของรัฐบาลจากสวนดุสิต โพล เพื่อสงสารไปยังรัฐบาล และงานในปนี้ก็มีเหลาหนอนหนังสือนักอานตัวยงไดหลั่งไหล กันเขารวมงานหาซื้อหนังสือที่ตนชอบกันอยางคับคั่ง ซึ่งถือวาเปน งานที่ตอบสนองและสงเสริมการอานไดเปนอยางดี 116 ThaiPrint Magazine

116 pc1.indd 116

18/11/2554 0:11:38


Print News

ThaiPrint Magazine 117

117 pc1.indd 117

18/11/2554 0:40:01


Print News

โคนิกา มินอลตา เปดตัว Bizhub PRESS C8000 สุดยอดเทคโนโลยีการพิมพระดับมืออาชีพ นายดําริห เอมมาโนชญ กรรมการและรองประธานเจาหนา ที่บริหารฝายปฏิบัติการ บริษัท อินเตอร ฟารอีสท วิศวการ จํากัด (มหาชน) หรือ IFEC ผูนําเขาและ เปนตัวแทนจําหนายเครื่องดิจิทัล มัลติฟงกชั่น “โคนิกามินอลตา” รายเดียวในประเทศไทย เปดตัว เครื่องโปรดักทชั่น พริ้นติ้ง Bizhub PRESS รุน C8000 และรุน Bizhub PRESS รุน C70hc สุดยอด นวัตกรรมเทคโนโลยีดานการพิมพ จากโคนิกามินอลตาในงาน Pack Print International 2011 ซึ่ง สามารถตอบสนองความตองการ ลูกคากลุมโรงพิมพระดับมืออาชีพ ไดเปนอยางดี

บริษัท เกรทเทอร จํากัด ขอขอบคุณลูกคาทุกทานที่ใหความไววางใจในสินคาและบริการของเราดวยดีเสมอมา

หางหุนสวนจํากัด ดี คัลเลอร เพรส ใหเกียรติซื้อ Automatic Foil Stamping & Diecutting Machine (เครื่องปมไดคัท ระบบอัตโนมัติ พรอม ระบบปมทอง) ยี่หอ YUYIN BRAND รุน TYM1020-H ขนาด 40” x 28” 118 ThaiPrint Magazine

118 pc1.indd 118

18/11/2554 0:39:05


AD Bankroo m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

28/9/2554

14:51


ad.Com-Press#89 pr2-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

15/10/2554

0:41


ad BK Conroll_m19.indd 1

4/10/10 1:47 AM


Ad Thai sanguan#87-mac19.pdf

4/23/11

11:01:13 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

E-mail : s_stsi@hotmail.com


AD Hua Far#89 Mac14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/10/2554

23:28


Young Printer

ภานุพงศ เหรียญกนกกุล

ผมตองขอเอยถึง คุณภานุพงศ เหรียญกนกกุล หรือ คุณตน ดวยความสนใจตรงที่วา เขาคือ Young Printer ที่นาสนใจคนหนึ่ง ที่สรางธุรกิจโรงพิมพขึ้นมาดวย ตัวของเขาเองเพราะดวยหลักการ และวิ ธี ก ารคิ ด ของเขาที่ มี ค วาม แตกตางและโดดเดนมากครับกับสิ่ง ที่ ยื น ยั น แนวคิ ด ที่ แ ตกต า งแห ง ธุรกิจการพิมพกับโรงพิมพสมัย ใหมที่เติบโตแบบกาวกระโดดในเวลา อันสั้นครับ เรามาลองทําความ รูจักกับเขาดูครับ

อยากจะให้แนะนําตัวเองสัน้ ๆ กับผูอ้ า่ น? ผมชือ่ ภานุพงศ เหรียญกนกกุล ชื่อเลน ตนครับ กรรมการผูจัดการ บริษัท เพรสทีจ พริ้นติ้ง จํากัด ความเปนผมคือ ผมจะเปนคนที่ ชอบอะไรแลวทําจริง ทุมเทกับสิ่งที่ ผมอยากรู ชอบคนควา ชอบเรียนรู กลาไดกลาเสีย รสนิยมชอบสิ่งที่ดี ที่สุดเลือกสิ่งที่ดีที่สุด มันเปนตัวเรา ที่สุดครับ

ถึงมัธยมและผมก็ศึกษาปริญญาตรี ตอที่มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะ บริหารและการจัดการ สาขาบริหาร ธุรกิจระหวางประเทศ สวนปริญญา โทผมเรียนสองใบครับ ใบแรกเรียน ที่วิทยาลัยการจัดการมหาวิทยาลัย มหิดล คณะการจัดการ สาขาการ จัดการทั่วไป และใบที่สองเรียนที่ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะนิเทศน ศาสตร สาขาการสื่อสารเชิงกลยุทธ ชีวิตในมหาลัยของผมก็สนุกดีครับ ประวัตกิ ารศึกษา เรียนทีไ่ หน เลือกเรียน ไดเรียนในสิ่งที่ผมชอบ ไดความรู คณะอะไรและชีวติ มหาลัยเปนยังไงบาง? เพิ่มเติมอยูเสมอครับ ซึ่งเปนเรื่องที่ ผมเรียนที่ โรงเรียนอัสสัมชัญ เปนตัวผมอยูแลวครับ Assumption College ชั้นประถม

อยากให เ ล า ถึ ง ความเป น มาของ กิจการ? ความจริงผมไมไดตั้งใจมาทํา โรงพิมพ แตวามาทําดวยความคิด ที่วาคือ ผมเพิ่งเรียนจบมา แตจบ มาแลวก็ไมรูจะไปทําอะไร และก็คิด วาถาเราไปทํางานนอกบานหรือทํา งานกับที่อื่นเรามีความรูสึกวา ถา เราไปเปนพนักงานขายใหกับบริษัท อื่นสมมุติวาผมไดเงินเดือน 12,000 บาท แลวผมจะตองทํายอดขายให ได 3 แสน ผมก็คิดวาถาผมไดเงิน เดือน 12,000 ซึ่งก็เทากันผมทําที่ บานผมดีกวาไหม เพราะวาบานผม ก็ได 3 แสน หรือผมขายได 1 ลาน

124 ThaiPrint Magazine

124-129 pc1.indd 124

18/11/2554 0:41:27


ภานุพงศ เหรียญกนกกุล

คาคอมผม 5 หมื่น บานผมได 1 ลาน ดีกวาไหมนั่นแหละคือเหตุผลที่ผม ตองมาทําโรงพิมพ ซึ่งผมไมมีความ รูเรื่องนี้เลย โดยสวนตัวก็ไมไดชอบ ทําเลยโรงพิมพ แตคือมันมีลูทาง ที่ดีกวาจากเดิมที่บานผมก็ไมไดทํา โรงพิมพระบบออฟเซ็ต แตจะเปน ระบบ Silk Screen ซึ่งทํามาตั้งแต รุนอากง ตอนที่ผมมาเริ่มนั้นผมเริ่ม จากงานขายซึ่งผมไมรูเรื่องอะไรเลย ขั้นตอน โปรดักสคืออะไรผมก็ยัง ไมรูเลยผมก็ขายไมได แตเรารูวา เราจะตองไปขายใหใคร แตก็ขาย ไมไดนั่นคือปญหาอยางหนึ่งรุนคุณ พอเขาจะขายแบบปากตอปากบอก ตอกันไป ซึ่งผมเองออกไปขายก็ไม คอยไดงานมา สวนมากจะเปนงาน พิมพระบบออฟเซ็ต ผมก็เลยมา คิดดูวา ถาเราจะทําโรงพิมพระบบ ออฟเซ็ต แลวพอดีจังหวะชวงนั้น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เขา มีจัดสัมมนามันเปนงานสรุปผลของ งาน Drupa ซึ่งผมก็ฟงไมคอยรู เรื่องหรอกแตจําไดอยูคําคือ JDF และใหดูรูป JDF เราเห็นแลวรูสึก วา โหทําไดถึงขนาดนั้นเลยเหรอไม

ตองทํางานนั่งเฉยๆ บริหารงานใน โรงพิมพทําใหผมเกิดไอเดียในระบบ การบริหารงาน ซึ่งตางจากรุนคุณ พอและมี Chart ใหดูวาระบบ Silk Screen จาก 4% เหลือ 3% ออฟเซ็ต 65% เหลือ 40 กวาเปอรเซ็นต ดิจิตอล ตอนนี้ 7% จะขึ้นเปน 20% ที่เหลือระบบกราเวีย และเฟลกโซ กราฟฟ อีกอยางละ 10% - 20% ซึ่งก็มองดูวาระบบ Offset ใหญสุด ผมก็เลยคิดที่จะทําและจะตองเปด บริษัทใหมหรืออันเดิม แตจะตอง เปลี่ยนชื่อ แตพอกับแมบอกวาไม ไดเพราะชื่อนี้ลูกคาติดเปดมาแลว 20 ป แตเราก็ตองการที่จะสราง

BRAND จึงตองเปด บริษัท เพรส ทีจ พริ้นติ้ง ขึ้นมานี่คือความเปนมา ของกิจการ เริ่มเขามาชวยกิจการของครอบครัว ไดอยางไร? ป 2004 ผมเริ่มเขามาชวยงาน ที่บานคือ P&P Printing โดยเริ่มจาก การเปนเซลลแมนกอนเลย ซึ่งผม เองก็ไมไดรูเรื่องที่เกี่ยวกับการพิมพ เลย ซึ่งตอนนั้นที่บานผมก็ไมไดทํา โรงพิมพ Offset แตทําการพิมพแบบ Silk Screen ซึ่งเปนธุรกิจที่ทําสืบ เนื่องมาตั้งแตรุนอากง และคุณพอก็ แยกตัวออกมาทําเองโดยเปดบริษัท

ThaiPrint Magazine 125

124-129 pc1.indd 125

18/11/2554 0:44:54


Young Printer

ชื่อ P&P Printing แตชวงที่ผมทําได 1 เดือนแรก ผมออกขายงาน แตก็ ขายไมไดเลย ขายลูกคา 10 ราย อาจจะไดกลับมาแครายเดียว ผม ก็เลยมองเห็นวา ธุรกิจนี้นาจะเปน ชวงตะวันตกดิน เลยคิดที่อยากจะ เลือกทําธุรกิจการพิมพระบบ Offset แตที่เริ่มซื้อเครื่อง Ink Jet กอนเปน เครือ่ งแรก ซึง่ ผมก็เริม่ ทํางานไดเพียง 1 เดือน พอเดือนที่ 2 ผมก็เริ่มซื้อ เครื่องพิมพในระบบ Ink Jet ใน ราคา 1 ลานบาท โดยเริ่มจากที่ผม ไมมคี วามรูเ ลย เริม่ จากเปนชางพิมพ เองเลย หลังจากนัน้ มาก็เริม่ คุยเรือ่ ง ซื้อเครื่องพิมพในระบบ Offset และ ก็ซื้อตอมาเรื่อยๆ ขยายตามกําลัง การผลิต และความตองการของผู บริโภคครับ

ดีไซนที่ดีๆ แปลกใหมอยูเสมอครับ ซึ่ง ณ ตอนนี้ผมเองก็จะอยูสวน Management คือ เราจะสั่งงานกับ หัวหนาชาง แลวเขาก็ไปจัดการกับ ชางอีกที แตที่แตกตางคือเราจะ ใชระบบมาตรฐานเยอรมันคือ ทุก อยางจะตองตรวจวัดอยางละเอียด ตรวจสอบขั้นตอนทุกอยาง อยาง ละเอียด เพราะอยางที่บอกวาเรา ไมมีความรูเรื่องนี้เลยคือ ตองศึกษา ใหมเองทั้งหมด เพราะในหัวเราจะ ไมมีระบบแบบเกาๆ อยูเลยจะมีแต ระบบใหมทั้งหมดที่เราเริ่มศึกษาขึ้น มาเองโดยมีรูปแบบที่สามารถตรวจ สอบไดมีเหตุผลอางอิงไดระบบชาง พิมพแบบเกาๆ เรายกเลิกไปทัง้ หมด เพราะเราถือวาความเปนมาตรฐาน 100% มันไมมผี มจึงยกเลิกไปทัง้ หมด แลว เราเอาเด็กรุนใหมมาเทรนเรียก วา สอนขั้นตอนการพิมพกันใหม ทั้งหมดเราจะมีชางพิมพที่ยังวัยรุน เปนสวนใหญ แตเขาจะตองอยูใน ระบบที่เราวางไวเทานั้น

ปจจุบันบทบาทและหนาที่รับผิดกับงาน ธุรกิจการพิมพมีอะไรบาง? คือ บทบาททุกวันนี้เทากับวา เราทําทุกอยางเราเริ่มจากการที่เรา ไมรูอะไรเลย แตเราคนควาศึกษาหา ความรู คือเราจะตองรูใหไดเริ่มจาก การที่เรามองเห็นภาพแลว เราก็ทํา มันขึ้นมาเริ่มจากเปนชางพิมพเอง ขายเอง สรางตลาดเองเราสรางเอง ทั้งหมดเพราะมันเปนบริษัทของเรา เราเริ่มตั้งแตเริ่มกูเงินเองเรียกงายๆ วาตอนนี้ที่ไมไดทําอยางเดียว คือ เซ็นเช็ค นอกจากนั้น เราทําเองหมด สรางทีมขึ้นมาเราก็เปนคนสรางเอง ทั้งหมดหลังจากเรามีทีมแลว ผมก็ มี ค วามรู  สึ ก อย า งไรบ า งที่ เ ราได มี ยังตองคนหาสิ่งใหมๆ เขามาใหกับ โอกาสเริ่มบริหารและทําธุรกิจที่เปนข โรงพิมพหาลูกคาใหมหาวัสดุใหมๆ องเราเอง? นําเทคโนโยลีใหมๆ เขามาและหา ผมมีความรูส กึ วามีความทาทาย

126 ThaiPrint Magazine

124-129 pc1.indd 126

18/11/2554 0:45:08


ภานุพงศ เหรียญกนกกุล

มากครับ สนุกกวากันเยอะเทียบกับ ตอนที่ ยั ง เรี ย นอยู ผ มยั ง รู สึ ก เฉยๆ เพราะไมมีความทาทายเทาไหรครับ แตพอมาเริ่มทํางานเริ่มมีความรูสึก ทาทายมากครับคือ ความทาทาย ของผมคือ สิ่งที่คนอื่นเขาไมทํากัน งานยากๆ ที่คนอื่น เขาไมทํากัน ความสําเร็จของผมมันอยูกับการที่ ไดทา ทายคือ เมือ่ กอนผมไมรตู วั ดวย วาตัวเองชอบความทาทาย พอผม มาทํางานผมถึงรูว า ตัวเองชอบความ ทาทายแตจริงๆ ก็เริ่มรูตั้งแตชวง หนึง่ ผมเลนเกมสไมหลับไมนอนเลย เพราะผมตองการเปนที่หนึ่ง พอเรา มาทํางานก็เหมือนกันเวลางาน ถา ยังทําไมเสร็จเราก็นอนไมหลับเรา ยึดติดกับตัวงาน ผมชอบหาขอมูล ใหมๆ อยูเสมอถาผมไมมีขอมูล ใหมๆ ผมจะรูสึกวาตัวเองโงเลย ครับตกขาว ซึ่งคนทั่วๆ ไปจะตอง ไปเที่ยวหรือทําอะไร แตผมจะตอง เสียเวลากับการหาขอมูลใหมๆ อยู เสมอครับเราจะตองทันโลกหรือนํา โลกเสมอครับ

ความสนุกกับงานมันมีความทาทาย แตพอเราเริ่มรูเราจะมีความรูสึกวา เบื่อแลวมันไมมีอะไรใหทําแลว คือ มันหมดความทาทายผมชอบรูอะไร ใหมๆ อยูตลอดเวลาคือ วิธีการ ทํางานของผมคือ เวลาเราทําอะไร อยูตรงนี้พอเรารูแลวทําไดดีแลวเรา ก็ เ อาลู ก น อ งมาทํ า สอนงานให เขา ทําอยางที่เราบอก พอเขาทําไดเราก็ ไปหาอะไรทําตอไปอีก ผมทําอยางนี้ ไงครับผมถึงไปเร็วจนบางทีลูกนอง บอกวาไปเร็วเกินไปแลวตามไมทัน เพราะซื้ออะไรใหมๆ เขามาเยอะ เกินไปลูกนองเลยตามไมทัน ความ ยากงายของงานก็คือเมื่อกอนเราทํา ตั้งแตตั้งเสาเข็ม เพราะยังไมมีอะไร เลย เราจะทําเองคนเดียวทั้งหมด ขับรถไปรานเพลทเองพูดงายๆ วา ทํ า เองทุ ก อย า งทุ ก ขั้ น ตอนเลยเรา

ดูแลเองหมดยันขายเองสงของเอง แตนั่นก็แคเหนื่อยกาย สวนสมอง Creative อยูตลอดเวลาคือตอนแรก มันยากตรงที่เราตองใชแรง แตพอ เปนรูปเปนรางขึ้นมาแลว เริ่มมี พนักงานเขามาชวยงานเราแลวความ ยากตอนนี้มันแทบไมมีแลว แต ความยากของผมมันอยูท เ่ี ราจะสราง ธุรกิจอยางไร เพื่อสรางความแตก ตางเนี่ยครับคือ ความยากของผม ซึ่งตอนนี้ผมก็กําลังเริ่มสรางเว็ปไซต ผมคิดวานาจะเปนเว็ปไซตท่เี จงที่สุด ในไทยเพื่อผมจะนําไปทํา WEB TO PRINT ตอไปในอนาคตครับ อุปสรรคท่เี กิดขึ้นกับงานมีอะไรบางและ เรามีวธิ แี กไขอยางไรถึงผานพนไปได? อุปสรรคทเ่ี กีย่ วกับงานสวนมาก จะเปนเรื่องที่เรา Control ไมไดนั่น คือปญหาที่เกี่ยวกับคนคือพนักงาน ซึ่งจะแบงเปนสองเรื่องคือ ปญหา เรื่องคน และเรื่องความอยากไดแลว ทําไมได หรือปญหาเรื่องเงิน แตนั่น ถือวาเปนปญหาเรื่องเล็กๆ ซึ่งแกไข ได ซึ่งตองใชความอดทน แตเรื่อง ใหญคือ ปญหาเรื่องคนที่จะตองแก อยูตลอดเวลา เพราะมันจะสราง ความผิดพลาดในตัวงาน อยางยิ่ง งานเนียบๆ ซึ่งจะตองดูรายละเอียด

ระดับความยากงายของแตละงานที่เรา ตองรับผิดชอบนั้นเปนยังไงบาง? คือถาพูดถึงความยากงายของ งานมันก็มีสวนที่ยาก และงายนะ ครับอยางที่ผมเริ่มทํางาน ผมก็มี ThaiPrint Magazine 127

124-129 pc1.indd 127

18/11/2554 2:32:01


Young Printer

อยางสูง แตงานออกมาตัดขอบงาน เปนขุย เนื่องจากชางไมไดเปลี่ยน ใบมีด ชางขี้เกียจเปลี่ยนใบมีดนี่ก็ เปนปญหาที่คนอีกเหมือนกันซึ่งเรา ก็ตองเรียกมาถามหาขอเท็จจริงวา มันเกิดจากอะไร ซึ่งจะตองคอยดูแล แกไขอยูตลอดเวลาวิธีแกไขก็อยางที่ บอกวา เราจะตองเรียกหัวหนางาน มากําชับหาเหตุของปญหาวา เกิด จากตรงไหนและใหไปควบคุมแกไข ใหปญหานั้นหมดไป ซึ่งปญหาพวก นี้มันเกิดจากเด็กขี้เกียจตองการโอที ตองการเงินเยอะ ซึ่งปญหาเหลานี้ จะเกิดอยูตลอด ผมเองก็มีวิธีที่จะ แกปญหาเรื่องคนในอนาคตได แต ขอบอกอีกครั้ง หลังจากที่ผมสราง โรงงานแหงใหมเสร็จกอนเปนโรงพิมพ ที่ติดแอรโรงพิมพที่บรรยากาศแบบ หางสรรพสินคารอติดตามดูนะครับ แนวความคิดของการบริหารธุรกิจ เปนอยางไร และมีความแตกตางกับ รุนพอแมหรือเปลา? คือ การมองหรือการบริหาร ธุรกิจรุนคุณพอนิยมนะครับ คือ Initial Equipment คือ ซื้อของ หรือเครื่องจักรจะตองถูกไวกอน แต ไมมองระยะยาวนะครับวา Cost ระหวางนัน้ จะทําอยางไร แตการมอง ของผมคือ ทุกอยางจะตองดีที่สุด

ทุกอยางจะตอง Online ทุกอยาง จะต อ งสามารถพิ สู จ น ไ ด วั ด ค า ได แตของรุนพอแมจะใชวิธีแกปญหา เฉพาะหนาไปเปนงานๆ แตของผม ไม ของเราจะตองมีการวางแผนคือ คิดอยางมีตรรกะ จะตองมีการควบ คุมเอกสารทั้งหมดคือ อนาคตสิ่งนี้ จะตองไมเกิดกับงานของเรา แตของ รุนพอแมจะแกปญหาใหจบไปเปน เรื่องๆ และก็แกอีกตอไปไมมีวันจบ แตของผมไมมี เพราะผมวางแผงไว ดีหมดแลวเขาใจงายๆ คือพอแมเรา จะมองแคระยะสั้น แตเราจะมองใน ระยะที่ยาวกวาคือ ทุกอยางจะตอง ดีที่สุดเทานั้นครับ เราไดคิดพัฒนาธุรกิจดานการพิมพที่ ตอยอดมาจากรุนกอนๆ มีอะไรบางที่ คิดวาทําขึ้นใหดีกวาจากเดิม? หลังจากที่เรารูวาเปอรเซ็นต ของระบบการพิมพ Offset มันมี มากกวาระบบอื่น ผมก็เลือกที่จะ ตอยอดธุรกิจที่เรามองเห็นชองทาง เพราะธุรกิจเดิมที่คุณพอคุณแมทํา อยูจะเปนธุรกิจ ซิลคสกรีน ซึ่งเรา มองเห็ น ว า มั น เริ่ ม ที่ จ ะลดจํ า นวน จากความตองการของผูบริโภคเรา จึงจําเปนที่จะตองหาสิ่งใหมๆ เขา มาเพิ่มเติม โดยบริษัทเราจะมีตัว เลือกใหลูกคาเรามากขึ้นคือมีตั้งแต

ซิลคสกรีน ดิจิตอล ออฟเซ็ต เพลท งานเคลือบ คือ มีใหเลือกไดทุก อยางตลาดเราก็กวางขึ้นจากเดิมที่ เรามี แ ค อ ย า งเดี ย วเรามี ท างเลื อ ก ใหลูกคามากขึ้นครับ ซึ่งก็เรียกไดวา เราไมเคยหยุดนิ่ง เราจะพัฒนาอยู ตลอดเวลาถาพัฒนาธุรกิจไมไดเรา ก็ตองพัฒนาคนคือพนักงานเราก็ได เรียนรูอะไรใหมๆ อยูตลอดเวลาซึ่ง อยางที่ผมเคยบอกวาผมจะชอบหา อะไรใหมๆ เขามาใหโรงพิมพทุกวัน พอเราเรียนรูทุกวันมันก็จะมีธุรกิจ ใหมเกิดขึ้นมาอยูเรื่อยๆ ครับ การที่ไดมีโอกาสเขามาบริหารงานดาน ธุรกิจการพิมพคิดวาโชคดีกวาคนอื่น หรือไม? โดยสวนตัวผมคิดวาก็ไมไดโชค ดีเทาไหรหรอกครับคือ คนที่ทําโรง พิมพสวนมากคือ พอแมเขาทําอยู แลว แตผมเริ่มขึ้นมาโดยที่ผมไมรู แต ผ มมองเห็ น โอกาสเท า นั้ น เอง บอกตรงๆ วาทุกวันนี้ยังอยากออก จากธุรกิจโรงพิมพ แตก็ทําไมได เพราะเหมือนกับขี่หลังเสือแลวครับ ลงไม ไ ด เราเลยจะต อ งทํ า ต อ ไปที่ บอกวาไมอยากทําก็เพราะการทํา โรงพิมพกําไรนอยครับ แตก็สามารถ ทําเปนธุรกิจหลักไดครับ ซึ่งผมก็ วางแผนไวในอนาคตวาผมจะตอง

128 ThaiPrint Magazine

124-129 pc1.indd 128

18/11/2554 0:45:27


ภานุพงศ เหรียญกนกกุล ทําแบบครบวงจร ซึ่งตอนนี้เรายัง ไปไมถึงแตที่ผมอยากทําคือ ตรงนี้ ครับซึ่งผมขอเรียกวา Galaxy plan ซึ่งจะทําแบบครบวงจรทั้งหมดครับ ถาถามวาธุรกิจโรงพิมพดีไหม ผม ตอบเลยครับวาดีสมัยรุนคุณพอคุณ แมเรายุคนั้นกําไรเยอะ แตยุคเรา กําไรเหลือนอยแลวครับ เพราะ ฉะนั้นจะตองมาตอยอดดานไอเดีย เพิ่มความคิดสรางสรรคใหกับงาน พิมพลงไปถึงจะดีครับ เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร? ด ว ยความบั ง เอิ ญ อย า งหนึ่ ง คือผมหาขอมูลอะไรบางอยางเลย ได เ บอร ที่ ส มาคมการพิ ม พ ไ ทยมา เมื่อ 7 ปที่แลว ผมก็เลยโทรเขา ไป เพื่ออยากทราบขอมูลอะไรบาง อยางผมก็เลยสมัคร Young Printer Group ไปเลยครับ ผมก็เลยไดเปน Young Printer อยูทุกวันนี้ครับ รูสึกอยางไรกับบทบาทการเปนคณะ กรรมการ Young printer Group? กอนอื่น ผมตองขอบอกวา สมาคมการพิ ม พ ไ ทยทํ า ให ผ มรู อะไรไดมากมายหลายอยางมากเอา งายๆ วาถาผมไมรูจักสมาคมฯ ผม ก็ไมไดเรียนพื้นฐานการพิมพ ถาผม ไมไดเรียนพื้นฐานการพิมพ ผมก็ ไมไดมีโรงพิมพอยูทุกวันนี้ ซึ่งการ ที่ไดไปเรียนที่สถาบันการพิมพไทย นั้นเทากับวาไปเรียนเจาะลึกในดาน พื้นฐานการพิมพ ซึ่งผมไดเทคนิค ที่ดีมากมายอยางปแรกผมมีโอกาส ไปเยี่ยมชมโรงงานที่มีคุณภาพอยาง ของโรงพิมพอัมรินทร ซึ่งก็ทําใหผม เห็นวา โรงพิมพติดแอรอยางนี้ครับ คือเปนการเปดหูเปดตา หรือเรียก

ไดวาสิ่งที่สมาคมฯ ทํานั้นมันเปน ผลดีตอทุกคน แตบทบาทที่ผมเปน Young Printer ผมอาจจะยังไมได เขาไปชวยอะไรเต็มที่ แตผมอยาก ใหสมาชิก Young Printer ทุกคนได ชวยกันพัฒนาเสริมสรางใหคุณภาพ ของอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ไ ทยให แข็งแกรงมากยิ่งขึ้นครับ

อยากจะฝากอะไรหรือแนะนําแนวคิดดีๆ ใหกบั สมาชิกรุน ตอๆ ไปไวอยางไรบาง? อยากใหทุกคนที่ยังไมมีสวน ร ว มผมอยากให ล องเข า ไปมี ส ว น รวมดูครับ ผมคิดวาเปนเรื่องที่ดี อยางยิ่งครับ เพราะบอกไดเลยครับ วาสิ่งที่สมาคมการพิมพไทยทํานั้น ดีกับทุกฝายเปนประโยชนสวนรวม ของกลุม การพิมพของเราครับ เพราะ ฉะนั้น จึงอยากใหทุกคนเขามารวม แบงปนไอเดียกันแลกเปลี่ยนความรู กันไมใชแคเขามาเพื่อที่จะไดเจอกัน เทานั้นครับผมอยากเห็นการพัฒนา ที่ดีขึ้นตอไปเรื่อยๆ ครับ เพราะ ฉะนั้น ผมอยากเห็นกลุม Young Printer รุนพี่และนองรุนใหมๆ ได เขามารวมกันทํากิจกรรมทีส่ รางสรรค ใหมากขึ้นครับ รวมถึงกิจกรรมของ สมาคมฯ ทุกๆ กิจกรรมครับ อยาก ใหเขามาชวยกัน

บทบาทในการเปนสมาชิกนั้นเราไดรับ ผิดชอบในสวนไหนและรูสึกอยางไร? ตอนนี้ก็เปนกรรมการสวนวิชา การอยูครับ ซึ่งโดยสวนตัวผมเปน คนที่ชอบศึกษาคนควาขอมูลอะไร ใหมๆ อยูเ สมอครับผมถึงไดดใู นสวน งานวิชาการครับ ผมเองก็อยากที่จะ นําเสนอสาระ ความรูที่สามารถจะ ช ว ยพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ของไทยเราใหกาวหนาทันสมัยมาก ขึ้น และผมก็จะพยายามที่จะเปน กําลังสําคัญเทาที่สุดความสามารถ ของผมครับ โดยสงผานไปยังกลุม อยากใชชักชวนเพื่อนๆ ที่ยังไมไดเปน สมาชิก Young Printer Group? ของ Young Printer นี้ครับ สุดทายนี้ผมขอฝากกับทายาท กิ จ กรรมที่ ผ  า นมาของสมาคมที่ เคย กลุมโรงพิมพที่ยังไมไดมีสวนรวม เขารวมรูสึกประทับกับกิจกรรมใดบาง ผมเปรียบเทียบอยางนี้ครับ โอกาส กับอากาศมันเหมือนๆ กันคือ คุณ อยางไร? กิ จ กรรมที่ ช อบมากที่ สุ ด เลย มีโอกาสที่จะไขวความาไดหรือเปลา คือ การไดพาเราเขาไปเยี่ยมชมโรง อยางที่ผมไดเปนสมาชิก Young งานเยี่ ย มชมโรงพิ ม พ ที่ มี คุ ณ ภาพ Printer Group ผมก็มีสิทธิที่จะได ซึ่งทําใหเราไดเห็นสิ่งตางๆ ที่เปน รับโอกาส ซึ่งผมถือวาผมโชคดีมาก ความรูมากเลยครับและผมก็ยังชอบ แตถาคุณยังไมไดเปนสมาชิกคุณก็ เรื่องสถาบันการพิมพไทย ซึ่งผมได จะหมดสิ ท ธิ ที่ จ ะได รั บ โอกาสที่ ดี ความรูจากตรงนั้นมามากเลยครับ จากทางสมาคมที่จะหามามอบให คือ ทุกกิจกรรมผมคิดวาดีทั้งหมด เพราะฉะนั้น ผมอยากเชิญชวน เลยครั บ ทํ า ให เรารู เรื่ อ งระบบการ ทุกๆ ทานหากมีเวลาก็รีบสมัครเขา พิมพทําใหเราเห็นวิธีการผสมสีวา มาเปนสมาชิกของ Young Printer เขาทํากันอยางไรไดเห็นการออกแบบ Group นะครับรับรองเลยวา คุณจะ บรรจุภัณฑที่แปลกๆ นั่นถือวาเปน ไดรับโอกาสที่ดีๆ เยอะมากครับ สวนที่ดีมากครับ

ThaiPrint Magazine 129

124-129 pc1.indd 129

18/11/2554 0:46:02


การพิมพดวยระบบิจิตอลเปนการเพิ่มทาง เลือกในการผลิตสิ่งพิมพ การออกแบบงานพิมพ จึงไมหยุดนิ่งสามารถสรางสรรคงานใหมีความหลากหลาย ทั้งยังเลือกพิมพโดยตรงบนวัสดุไดมากขึ้น และชวยมูลคาเพิ่มใหกับ สิ่งพิมพดวยเทคโนโลยีการพิมพดิจิตอลอิ้งคเจ็ทที่เปนไดมากกวา เครื่องพิมพปายโฆษณา สติกเกอร เปนการเปดโอกาสในการสราง รายไดใหกับธุรกิจสิ่งพิมพของคุณ Analog to Digital Transformation ระบบการพิมพดิจิตอล เปนวิวัฒนาการการพิมพยุคใหม เพราะ อาศัยเทคนิคการพิมพที่ไมจําเปนตองใชแมพิมพอีกตอไป ชวย ประหยัดคาใชจายในการผลิตสินคา สามารถทํางานไดหลายรูปแบบ และรองรับวัสดุสิ่งพิมพไดหลากหลายประเภท เชน กระดาษ สติ๊กเกอร พีวีซี เปนตน จึงทําใหเครื่องพิมพระบบดิจิตอลกําลังไดรับความนิยม อยางแพรหลาย ตัวอยางของเครื่องพิมพระบบดิจิตอล ไดแก เครื่อง พิมพอิงคเจ็ท และเครื่องพิมพเลเซอร เปนตน ปจจุบันการเจริญเติบโต ของตลาดเครื่องพิมพดิจิตอล สําหรับธุรกิจการพิมพมีอัตราการเจริญ เติบโตอยางตอเนื่อง และยังมีแนวโนมที่ดีขึ้นเรื่อยๆ สวนใหญจะ เปนตลาดสําหรับการพิมพปรูฟ การพิมพงานปายโฆษณา การพิมพ บรรจุภัณฑ และการพิมพที่มีจํานวนออเดอรต่ํา และตองการความ รวดเร็วในการสงมอบ โดยเฉพาะสินคาที่ผลิตตามสั่ง (Customization) สินคาแฟชัน่ ปายโฆษณา ประชาสัมพันธตา งๆ และสินคาระดับพรีเมีย่ ม ที่ผลิตในจํานวนจํากัด เปนตน “เอชพี” ไดพัฒนาเครื่องพิมพในระบบดิจิตอลอิงคเจ็ทอยางตอ เนื่อง จนในปจุจบันมีเครื่องพิมพที่ครอบคลุมตลาดการพิมพทุกสวน ตั้งแตระดับเริ่มตนจนถึงระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ เปนผูนําการ พิมพดิจิตอลอิงคเจ็ทหนากวาง เชน งานปายโฆษณา งานตกแตง อาคาร ยานพาหนะ ชั้นวางสินคาและอื่นๆ มีลูกคาใหความไววางใจ กับเครื่องพิมพของเอชพีอยูทั่วโลก โซลูชั่นการพิมพระบบดิจิตอล อิงคเจ็ทที่ครบครันยิ่งขึ้นของเอชพี จะชวยใหผูใหบริการงานพิมพใน อุตสาหกรรมการพิมพสามารถสรางโอกาสทางธุรกิจใหมๆ พรอมทั้ง เสริมประสิทธิภาพการทํางาน และลดเวลาการทํางานในการสั่งพิมพ ดวยเครื่องพิมพขนาดใหญ อาทิเชน HP Scitex FB7500 เครื่องพิมพ ดิจิตอลอิงคเจ็ทระบบหมึกยูวี 6 สี ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อใชกับ การพิมพวัสดุแบบแผน (Flatbed) ที่มีประสิทธิภาพการทํางานระดับ แนวหนาของแวดวงอุตสาหกรรม มีความเร็วในการพิมพสูงสุดถึง 500 ตร.เมตรตอชั่วโมง และการปอนกระดาษแบบอัตโนมัติมาตรฐานถึง สามสวน เพื่อชวยลดเวลาสูญเปลาในการในพิมพงานแตละหนาได

130-131 pc1.indd 130

18/11/2554 0:56:17


สูงสุดถึง 85% เปนตน สามารถพิมพงานบรรจุภัณฑกระดาษกลอง กระดาษลูกฟูก บรรจุภัณฑสงเสริมการขาย เพื่อการทําตลาดระยะ สั้น บรรจุภัณฑเฉพาะบุคคล (Personalize) ลดขั้นตอนการเคลือบ (Mounting) เนื่องจากพิมพลงวัสดุไดโดยตรง จึงประหยัดเวลา และขอ ผิดพลาด ตนทุนโดยรวมจึงถูกลง สีสันสดใส พิมพเฉดสีไดกวาง นอกจากนี้ เอชพียงั มีเครือ่ งพิมพอกี หลาหหลายรุน ใหเลือกใชตาม ความเหมาะสมของธุรกิจ ไมวาจะเปนเครื่องพิมพระบบหมึกลาเท็กซ (Latex) ซึ่งเปนหมึกพิมพชนิดพิเศษที่พัฒนาโดยเอชพี สามารถใชได กับงานภายในอาคาร และภายนอกอาคาร และไมมีสวนผสมของสาร ระเหยในหมึก จึงไมสรางมลพิษในอากาศและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ปจจุบันนิยมใชกันอยางแพรหลายในวงการปายโฆษณา มีขนาดหนา กวางตั้งแต 1.5 เมตร 2.6 เมตร และ 3.2 เมตร มีความเร็วในการพิมพ สูงสุดถึง 177 ตร.เมตรตอชั่วโมง จะเห็นไดวา การทําธุรกรรมในโลกปจจุบันไดเปลี่ยนโฉมหนาไป จากเดิม การติดตอระหวางกันนิยมใชระบบออนไลนมากขึ้น ซึ่ง เทคโนโลยีการพิมพแบบดิจิตอลเองก็สามารถผสมผสานกลมกลืนเขา กับเทคโนโลยีดานการสื่อสาร และเทคโนโลยีคอมพิวเตอรไดเปนอยาง ดี การพิมพระบบดิจิตอลจึงเปนเทคโนโลยีการพิมพที่เหมาะสมที่สุด สําหรับระบบการพิมพในยุคนี้ และมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อ ชวยใหการจัดการผลิตไดอยางมีประสิทธิภาพสุงสุด สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด) จํากัด ติดตอฝายขาย 0-2401-9779 หรือ www.ferrostaal.co.th

130-131 pc1.indd 131

18/11/2554 0:56:27


Thaiprint Awards

สรุปผลการประกาศรางวัล การประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 ชวงที่ 1 ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสเตอรและสิ่งพิมพประเภทโฆษณา ณ จุดขาย (Poster and Point of Purchase Materials-offset Printing) ไดแก บริษัท รุงศิลปการพิมพ (1977) จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท โรงพิมพอักษรสัมพันธ (1987) จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท เอ็ม.ซี.ดี.การพิมพ (ประเทศไทย) จํากัด >>> คุณกิตติรัตน ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย มอบรางวัลให บริษัท รุงศิลปการพิมพ (1977) จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัล เหรียญทอง ประเภท ใบปลิว แผนพับ แคตตาล็อก จุลสาร อนุสาร จดหมายขาว 16 หนาหรือนอยกวา (Leaflets, Flyers, Folders, Brochures, Booklets, Catalogues, and Newsletter - Up to 16 pages excluding cover Offset Printing) ไดแก บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) เหรียญเงิน ไดแก บริษัท รุงศิลปการพิมพ (1977) จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พงษวริน การพิมพ จํากัด >>> คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธานการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ ครั้งที่ 6 มอบรางวัลใหบริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) ผลงานที่ไดรับรางวัล เหรียญทอง ประเภทแค็ตตาลอก จุลสาร อนุสาร จดหมาย ขาว มากกวา 16 หนา (Brochures, BooKlets, Catalogues, and Newsletter - More than to 16 pages excluding cover - Offset Printing) ไดแก บริษัท พลัสเพรส จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท โรงพิมพตะวันออก จํากัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พงษวรินการพิมพ จํากัด และบริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) >>> Mr.Jacob Van Hasselt CEO (ผูบริหาร) บริษัท แมนโรแลนด (ประเทศไทย) จํากัด มอบรางวัล บริษัท พลัสเพรส จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ไปรษณียบัตร บัตรอวยพร นามบัตร สูจิบัตร บัตรเชิญ ในโอกาสตางๆ (Postcards, Greeting Cards, Name Cards and Invitation Cards - Offset Printing) นาเสียดายที่ปนี้ไมมีใครไดรับ เหรียญเงิน ไดแก หจก. บี บี การพิมพและบรรจุภัณฑ และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท ดานสุทธา การพิมพ จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทปฏิทิน (Calendars - Offset Printing) ไดแก บริษัท เกรย แมทเทอร จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท โรงพิมพตะวันออก จํากัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พงษวรินการพิมพ จํากัด และ บริษัท เมยฟลาวเวอร (ประเทศไทย) จํากัด >>> คุณวิบูลย สื่อวีระชัย กรรมการผูจัดการ บริษัท ส. ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท เกรย แมทเทอร จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพหนังสือจํานวนจํากัดและ งานพิมพเลียนแบบภาพศิลป (Limited Edition Books and Art Reproductions - Offset Printing) ไดแก บริษัท โรงพิมพไทยวัฒนาพาณิชย จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท โรงพิมพตะวันออก จํากัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) >>> คุณมยุรี ภาคลําเจียก กรรมการตัดสินผลงานงานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 มอบรางวัลใหกับ บริษัท โรงพิมพไทยวัฒนาพาณิชย จํากัด 132 ThaiPrint Magazine

132-138 pc1.indd 132

18/11/2554 1:12:10


สรุปผลการประกาศรางวัลการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือที่พิมพนอยกวา 4 สี (Book Printing - Less than 4 colours - Offset Printing) นาเสียดายที่รางวัลนี้ยังไมมี ผูไดรับ เหรียญเงิน ไดแก บริษัท รักลูกกรุป จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จํากัด

กอนที่จะประกาศรางวัล ชวงที่ 2 ทางคณะผูจัดงานไดเตรียมการแสดง Exotic Band เพื่อกระตุนพลังแหงความสามัคคีของกลุมอุตสาหกรรมการพิมพไทย และเพื่อ เสริมเติมเต็มแนวคิดที่สรางสรรคใหกับสิ่งพิมพของไทยเราใหกาวไกลสูการเปนศูนย กลางระดับโลก

ชวงที่ 2 ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทงานพิมพระบบ (Ink Jet Digital Printing - Ink Jet) ไดแก บริษัท สเปซวัน จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พงศพัฒนการพิมพ จํากัด >>> คุณพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท สเปซวัน จํากัด

ผลงานที่ไดรับรางวัล เหรียญทอง ประเภทฉลาก สติ๊กเกอร ปายบรรจุหีบหอ (Labels and Tags -Offset Printing ไดแก บริษัท ทั้งฮั่วซิน จํากัด เหรียญเงิน ไดแก หจก.มายการพิมพ และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พริ้นติ้งโซลูชั่น จํากัด >>> คุณนันทวัลย ศกุนตนาค อธิบดีกรมสงเสริมการสงออก มอบรางวัลใหกับ บริษัท ทั้งฮั่วซิน จํากัด

ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทงานพิมพจากเครื่องปอนมวน - กระดาษ เคลือบผิว 70 gsm และมากกวา (Web Offset - Stock 70 gsm and Coated up) ไดแก บริษัท คอมฟอรม จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จํากัด >>> คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท คอมฟอรม จํากัด ThaiPrint Magazine 133

132-138 pc1.indd 133

18/11/2554 1:13:25


Thaiprint Awards ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทงานพิมพจากเครื่องปอนมวน-กระดาษ เคลือบผิว 65 gsm หรือนอยกวา (Web offset - Coated Stock 65 gsm and less) ไดแก บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) เหรียญเงิน ไดแก บริษัท พริ้นทซิตี้ จํากัด และเหรียญทองแดง ไมมีผูใดไดรับรางวัลนี้ >>> คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทงานพิมพหลากชิ้นที่ใชเปนชุด (MultiPiece Productions and Campaigns - Specialty Categories) ไดแก บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ (ไทยแลนด) จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท สํานักพิมพสุภา จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก หจก.เซ็ทสแควร >>> คุณเกษม แยมวาทีทอง นายกสมาคมบรรจุภัณฑไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ (ไทยแลนด) จํากัด ผลงานทีไ่ ดรบั รางวัลเหรียญทอง ประเภทงานการประดับหรือตกแตงหลังการพิมพ Embellishment - Specialty Categories ไดแก บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) เหรียญเงิน ไดแก บริษัท พริ้นติ้งโซลูชั่น จํากัด และเหรียญทองแดง สําหรับ รางวัลนี้ไมมีผูไดรับ >>> Mr.Alf Carrigan Chairman of the Independent Judging Panel มอบรางวัลใหกับ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทการพิมพปรุฟดวยระบบดิจิตอล (Digital Color Proofing- Specialty Categories) ไดแก บริษัท สุนทรฟลม จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัทพรินทมาสเตอร จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท รุงศิลปการพิมพ (1977) จํากัด >>> Mr.PAUL CALLAGHAN chairman of Asian Print Awards มอบรางวัลใหกับ บริษัท สุนทรฟลม จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัล เหรียญทอง ประเภทงานพิมพเพื่อประชาสัมพันธบริษัท หรือผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมการพิมพ (Self Promotion - Specialty Categories) ไดแก บริษัท สุพรชัย จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท เมยฟลาวเวอร (ประเทศไทย) จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด >>> Mr.Gernot Ringling กรรมการผูจัดการ บริษัท เมสเซดุสเซลดอรฟ เอเซีย จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท สุพรชัย จํากัด

สําหรับรางวัลจากการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติครั้งที่ 6 ในปนี้ ซึ่งถือวารางวัลนี้เปนรางวัลแหงความภาคภูมิใจที่พิสูจนถึงคุณภาพ แหงการพิมพไทยทีจ่ ะกาวไกลสูม าตรฐานโลก โดยการพัฒนาคุณภาพ และเพิ่มความคิดสรางสรรคลงไปในงานพิมพ เพื่อกาวสูความสําเร็จ และเปนศูนยกลางระดับโลกแลว หลังจากชวงการประกาศรางวัล ชวงที่ 2 ไดมีการแสดงโชวจากนักรองคุณภาพ โดย คุณพัดชา เอนกอายุวัฒน AF2 ไดคัดสรรผลงานเพลงที่มีคุณภาพมาดวยกัน 3 เพลงซอน เพื่อเพิ่มสีสันและบรรยากาศของงานในค่ําคืนอันทรง คุณคาสําหรับแขกที่มีเกียรติที่เขารวมงานทุกทาน 134 ThaiPrint Magazine

132-138 pc1.indd 134

18/11/2554 1:13:50


สรุปผลการประกาศรางวัลการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6

ชวงที่ 3 Digital Printing-Ink Jet ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทหนังสือ (Book Printing - Digital Printing) ไดแก บริษัท สุนทรฟลม จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท เปเปอรเมท (ประเทศไทย) จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จํากัด >>> คุณประชา อินทรผลเล็ก ผูจัดการทั่วไป บริษัท ไฮเดลเบิรก กราฟฟคส(ประเทศไทย) จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท สุนทรฟลม จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทใบปลิว แผนพับ โบรชัวร (Leaflets, Flyers, Folders & Brochures - Digital Printing) ไดแก มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (โครงการสวนดุสิตกราฟฟคไซท) เหรียญเงิน ไดแก บริษัท เปเปอรเมท (ประเทศไทย) จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท โมเดอรน ฟลม เซ็นเตอร จํากัด >>> คุณณัฐวัฒน จรุงศักดิ์สกุล ผูจัดการทั่วไป บริษัท เอ็สเอ็ม กราฟฟค เซ็นเตอร จํากัด มอบรางวัลใหกับ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (โครงการสวนดุสิตกราฟฟคไซท) ผลงานทีไ่ ดรบั รางวัลเหรียญทอง ประเภทแคตาล็อค จุลสาร โบรชัวร (Catalogues, Booklets & Brochures - Digital Printing) ไดแก บริษัท สุนทรฟลม จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จํากัด >>> นายชาวันย สวัสดิ์ชูโต รองผูอํานวยการ กลุมการใหความชวยเหลืออุดหนุน สนับสนุนสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) มอบรางวัลใหกับ บริษัท สุนทรฟลม จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทปฏิทินและหนังสือภาพ (Calendars & Photo Books - Digital Printing) ไดแก บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท สิบคน จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท สเปซวัน จํากัด >>> คุณประยุทธ บวรวิจิตรกุล หัวหนาฝายขายอาวุโส บริษัท เบิ้ตเชอร (ประเทศไทย) จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทโปสการด การด และบัตรเชิญ (Postcards, Greeting Cards and Invitation Cards -Digital Printing) ไดแก บริษัท สุนทรฟลม จํากัด เหรียญเงิน ไดแก หสม.188 พริ้นติ้ง กรุป และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท เปเปอรเมท (ประเทศไทย) จํากัด >>> คุณทวีชัย เตชะวิเชียร ประธานสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ มอบรางวัลใหกับ บริษัท สุนทรฟลม จํากัด ผลงานทีไ่ ดรบั รางวัลเหรียญทอง ประเภทโปสเตอรและสิง่ พิมพประเภทสือ่ โฆษณา ณ จุดขาย (Poster and Point of Purchase Materials - Digital Printing) ไดแก บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว.กรุป จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท ไทยสแกน เซ็นเตอร จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท เปเปอรเมท (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท ศิริวัฒนา อินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) >>> คุณ ฉี เสี่ยว หยิ่น กรรมการผูจัดการ บริษัท ซันซิง พริ้นติ้ง แมชชีน แมททีเรียล (ประเทศไทย) จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว.กรุป จํากัด ThaiPrint Magazine 135

132-138 pc1.indd 135

18/11/2554 1:14:11


Thaiprint Awards ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทบรรจุภัณฑ (Packaging - Digital Printing) สําหรับรางวัลประเภทนี้ไมมีผูไดรับ เหรียญเงิน นี้ยังไมมีผูไดรับ และ เหรียญทองแดง ไดแก บริษัท โมเดอรน ฟลม เซ็นเตอร จํากัด

ชวงที่ 4 ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทบรรจุภัณฑออนตัวที่พิมพดวยระบบ Flexography (Flexible Packaging – Flexography) นาเสียดายที่รางวัลนี้ยังไมมีใคร ไดรับ เหรียญเงิน ไดแก บริษัท พรีแพค (ประเทศไทย) จํากัด และเหรียญทองแดง ก็ยังไมมี ผูไดรับสําหรับการประกาศผลครั้งนี้

ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทบรรจุภัณฑออนตัวที่พิมพดวยระบบ Gravure ( Flexible Packaging – Gravure) ไดแก บริษัท พริ้นทมาสเตอร จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท ทีพีเอ็น ฟูดแพค จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท ซี.พี. สหอุตสาหกรรม จํากัด >>> คุณวิชัย สกลวรารุงเรือง อุปนายกฝายกิจกรรมพิเศษ สมาคมการพิมพไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท พริ้นทมาสเตอร จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทหนังสือปกออนที่พิมพ 4 สีหรือมากกวา (Soft-CoverdeBook Printing - 4 or more colours - Offset Printing) ไดแก บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) เหรียญเงิน ไดแก บริษัท พงษวรินการพิมพ จํากัด และเหรียญทองแดงไดแก บริษัทดานสุทธาการพิมพ จํากัด >>> คุณภาสกร วงศชนะชัย อุปนายกฝายวิชาการ สมาคมการพิมพไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทนวัตกรรมทางการพิมพ Innovation Specialty Categories ไดแก บริษัท สเปซวัน จํากัด เหรียญเงิน ไดแก เหรียญเงิน และ เหรียญทองแดง ไมมีผูไดรับรางวัลนี้ครับ >>> คุณพิเชษฐ จิตรภาวนากุล อุปนายกฝายวิชาการ สมาคมการพิมพไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท สเปซวัน จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทบรรจุภัณฑที่พิมพดวยระบบออฟเซ็ท ปอนแผน (Packaging Sheetfed Offset Printing) ไดแก บริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ จํากัด เหรียญเงินไดแก บริษัท พงศพัฒนการพิมพ จํากัด และ บริษัท พริ้นติ้งโซลูชั่น จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท โรงพิมพตะวันออก จํากัด (มหาชน) และ บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จํากัด >>> คุณชัยวัฒน ศิริอําพันธกุล อุปนายกฝายพัฒนาองคกรและไอที สมาคมการพิมพไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ จํากัด 136 ThaiPrint Magazine

132-138 pc1.indd 136

18/11/2554 1:14:32


สรุปผลการประกาศรางวัลการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทนิตยสาร วารสาร ที่พิมพดวยระบบ ปอนแผน (Sheetfed Magazines and Journals-Offset Printing) ไดแก บริษัท รุงศิลปการพิมพ (1977) จํากัด เหรียญเงิน ไดแก บริษัท โรงพิมพตะวันออก จํากัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พงษวรินการพิมพ จํากัด และ บริษัท ศิริวัฒนา อินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) >>> คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธานการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 มอบของรางวัลใหกับ บริษัท รุงศิลปการพิมพ (1977) จํากัด ผลงานที่ไดรับรางวัลเหรียญทอง ประเภทหนังสือปกแข็งที่พิมพ 4 สีหรือมากกวา (Hard-CoverdeBook Printing - 4 or more colours - Offset Printing) ไดแกบริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน) เหรียญเงิน ไดแก บริษัท ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จํากัด และเหรียญทองแดง ไดแก บริษัท พิมพดี จํากัด >>> คุณพงศธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายกฝายประชาสัมพันธสมาคมการพิมพไทย มอบรางวัลใหกับ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน)

สรุปรางวัล Best of The Best BEST IN SHEETFED OFFSET >>> คุณภาสกร บูรณะวิทย กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสซีจี เปเปอร จํากัด (มหาชน) มอบรางวัลใหกับ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน)

BEST IN MORE THAN ONE PRODUCTION PROCESS >>> คุณหมา ซี่ หมิง ประธานบริษัท C.A.S.PAPER CO., LTD., GOLD และ EAST PAPER (JIANGSU) CO., LTD. มอบรางวัลใหกับ บริษทั ศิริวัฒนาอินเตอรพริ้นท จํากัด (มหาชน)

BEST IN CREATIVE USE OF DIGITAL TECHNOLOGY >>> รอยเอก สุนทร ปณฑรมงคล ผูอํานวยการอาวุโสและผูจัดการทั่วไป บริษัท แคนนอน มารเก็ตติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท สเปซวัน จํากัด

BEST CREATIVITY IN PRINTING APPLICATIONS & DESIGNS >>> Mr.Fritz Kistler Managing Director บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด) จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ (ไทยแลนด) จํากัด

ThaiPrint Magazine 137

132-138 pc1.indd 137

18/11/2554 1:14:53


Thaiprint Awards BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING PROCESSES >>> Mr.Thammanoon Kornphetphong Sales Department Manager บริษัท อินเตอรฟารอีสท วิศวการ จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ จํากัด

BEST IN DIGITAL PRINTING >>> คุณสมมาตร บุณยะสุนานนท รองประธานและกรรมการ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด มอบรางวัลใหกับ บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จํากัด

ขอขอบคุณผูสนับสนุนทุกบริษัทฯ ที่รวมเปนสวนหนึ่งในความสําเร็จของการจัดงานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 6 นี้

138 ThaiPrint Magazine

132-138 pc1.indd 138

18/11/2554 2:43:56


AD PMCL-m19.indd 1

5/31/10 11:26:05 AM


Printing Education & Development

Thai Print Academy สวัสดีครับ...ชาวการพิมพทุกทาน ผมเองไดมีโอกาสเขาไปเรียนรวมกับนักเรียนการพิมพรุนที่ 3 ของสถาบันการพิมพไทย หลักสูตรการพิมพออฟเซ็ทเบื้องตนที่นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร ถือวาเปน หลักสูตรที่ดีครับ สําหรับการสรางผูประกอบการใหมีความเขาใจกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ โดยการลงมือ ปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่เพิ่มมากขึ้นครับ ซึ่งชวงที่ผมไดเขาไปเรียนนั้นจะเปนชวงการเรียนรู เรื่องหมึกพิมพ ออฟเซ็ต ซึ่งก็ไดความรู เรื่องหมึกพิมพออฟเซ็ตในรูปแบบตางๆ พอสังเขปดังนี้ครับ แตถาทานอยาก เรียนรูทั้งหมด ผมจะแจงใหทราบสําหรับหลักสูตรหนานะครับ ลักษณะของหมึกพิมพออฟเซ็ต หมึกพิมพออฟเซ็ตมีลักษณะเหนียว และหนืดจึงจัดเปนประเภท หมึกขน สาเหตุที่หมึกพิมพออฟเซ็ตตองเปนหมึกขนเนื่องจากสาเหตุ 2 ประการคือ 1. หมึกพิมพออฟเซ็ตมีปริมาณผงสีมาก เพราะชั้นของหมึก พิมพออฟเซ็ตบนวัสดุพิมพจะบางมากประมาณ 1 หรือ 2 ไมครอน เทานั้น ทําใหตองการผงสีในปริมาณมาก เพื่อรักษาระดับความเขมของ หมึกไวใหได 2. หมึกพิมพออฟเซ็ตมีตัวพาหมึกที่มีสวนผสมน้ํามันและเรซิน ทําใหเนื้อหมึกมีความเหนียวและความหนืดสูง สําคัญตอการถายโอน หมึก ระหวางลูกกลิ้งหมึก หรือระหวางโม หากหมึกพิมพออฟเซ็ตไม หนืดพอ หมึกจะพอกบนลูกกลิ้ง และลาง ทําใหการถายโอนหมึกไม ตอเนื่อง 140 ThaiPrint Magazine

140-144 pc1.indd 140

18/11/2554 1:31:37


Thai Print Academy

ถายภาพรวมกับอาจารยหนาสถาบันฯ

องคประกอบของหมึกพิมพออฟเซ็ต 1. สารใหสี (Colorances) มีหนาที่ใหสีในหมึกพิมพ ทําใหเมื่อ หมึกพิมพ พิมพลงวัสดุใชพิมพแลวเกิดภาพ ในหมึกพิมพออฟเซ็ต จะใชผงสี (Pigment) ผงสีอินทรีย (Organic Pigment) และ ผงอนินทรีย (Inorganic Pigment) 2. ตัวพา (Vehicle) หรือ วารนิช (Varnish) 3. สารเติมแตง (Additive)

คุณสมบัติของหมึกพิมพ์ออฟเซ็ต หมึกพิมพออฟเซ็ตมีคุณสมบัติทางฟสิกสและเคมีที่สําคัญ ซึ่งมี ผลตอการปฏิบัติงานพิมพและคุณภาพงานพิมพ คุณสมบัติเหลานี้ไดแก คุณสมบัติการแหงของตัวหมึก และคุณสมบัติทางกระแสวิทยา คุณสมบัติ ทางทัศนศาสตร และคุณสมบัติเกี่ยวกับความทนทานตางๆ ของหมึก 1. คุณสมบัติการแหงตัวของหมึกพิมพออฟเซ็ต 2. คุณสมบัติทางกระแสวิทยาของหมึกพิมพออฟเซ็ต ไดแก ความ หนืด 3. คุณสมบัติทางทัศนศาสตรของหมึกพิมพออฟเซ็ต 4. คุณสมบัติเกี่ยวกับความทนทานของหมึกพิมพออฟเซ็ต ThaiPrint Magazine 141

140-144 pc1.indd 141

18/11/2554 1:32:17


Printing Education & Development

ชนิดของหมึกพิมพออฟเซ็ต การจําแนกหมึกพิมพออฟเซ็ตทําไดหลายแบบ เชน จําแนกตาม เครื่องพิมพ จําแนกตามวัสดุพิมพ จําแนกตามการใช จําแนกตามองค ประกอบ จําแนกตามวิธีแหงตัว เปนตน แตในที่นี้จะกลาวถึงชนิดหมึก พิมพออฟเซ็ตที่จําแนกตามเครื่องพิมพเทานั้น เครื่องพิมพออฟเซ็ต แบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ เครื่องพิมพออฟเซ็ตแบบปอนแผน (Sheet Press) และแบบ ปอนมวน (Web-fed Press) หมึกที่ใชก็มีสูตรที่แตกตางกันเนื่องจาก เครื่องพิมพออฟเซ็ตแบบปอนมวน วิ่งดวยความเร็วสูงกวาแบบปอน แผนมากการปอนกระดาษจึงทําไดรวดเร็วกวาเนื่องจากปอนกันเปน มวน หมึกจึงจําเปนตองแหงเร็วกวามิฉะนั้นจะเกิดปญหาซับหลัง 1. หมึกพิมพออฟเซ็ต สําหรับเครื่องพิมพปอนแผน 2. หมึกพิมพออฟเซ็ต สําหรับเครื่องพิมพปอนมวน ซึ่งจะเห็นไดวา ความรูและขั้นตอนในการพิมพมีขอมูลหลากหลาย มากนะครับ กวาที่จะผลิตชางพิมพที่มีความชํานาญ และสามารถ สรางสรรงานพิมพออกมาไดอยางสวยงาม ผมเองหลังจากที่ไดนั่งเรียน ภาคทฤษฏี ในชวงเชานั้นบรรยากาศในการเรียนก็แบบสบายๆ ครับอาจารย ผูสอนจะใหนักเรียนสามารถสอบถามขอสงสัยไดตลอดครับ และเนื่อง ดวยนักเรียนที่มาเรียนนั้น ตางก็มีความเชี่ยวชาญในดานตางๆ อยาง เชน บริษัทขายหมึกก็จะมีความรูเรื่องหมึก และสามารถแลกเปลี่ยน ความรูกันกับนักเรียนที่อยูสายโรงพิมพ รวมถึงนักเรียนที่มาจากสาย ธุรกิจกระดาษ เพราะฉะนั้นจะมีความรูภายในหองเรียนมากเลยทีเดียว ครับ โดยสวนตัวผมเองคิดวาถาบริษัทตางๆ หรือโรงพิมพตางๆ มี 142 ThaiPrint Magazine

140-144 pc1.indd 142

18/11/2554 1:32:42


Thai Print Academy

โอกาสอาจจะสงชางพิมพมาเรียนรูเ พิม่ เติมก็จะเปนการดี หรือสงทายาท รุนใหมแหงวงการพิมพเขามาเรียน เพื่ออนาคตเขาจะสามารถสานตอ งานพิมพจากรุนคุณพอคุณแมได ตองยอมรับครับวา เปนหลักสูตรที่ นาสนใจอยางมาก เชน หัวขอการเรียนในวันนี้ ก็สามารถทําใหผม สามารถรู เรื่ อ งหมึ ก พิ ม พ อ อฟเซ็ ต ได อ ย า งชํ า นาญและที่ ผ มยกมานี้ เพียงแคหัวขอหลักๆ เทานั้นนะครับ รายละเอียดขอบอกเลยวาตอง มาลงเรียนดูครับรับรองวาไดความรูเรื่อง การพิมพครบวงจรสามารถใช เครื่องพิมพเองไดเลยครับ เรียกวา เปนชางพิมพคนหนึ่งเลยนะครับ หลังจากเรียนชวงเชาทางอาจารยผูสอนจะทําการทดสอบ โดยมี ขอสอบใหนักเรียนทําทุกครั้งหลังจากทําการสอนจบ เพื่อทดสอบวา นักเรียนที่เรียนไปแลวนั้นเขาใจ และสามารถทําขอสอบไดมากนอย แคไหน เทาที่ผมเห็นนักเรียนก็สามารถทําขอสอบไดดีกันทุกคนนะ ครับ หลังจากเฉลยขอสอบเสร็จ อาจารยก็จะพานักเรียนลงไปที่ เครื่องพิมพเพื่อที่จะทําการเตรียมความพรอม อยางเชน การใสเพลท ทําความสะอาดอุปกรณตางๆ กอนจะมาทําการพิมพกัน ในชวงบาย โดยมีอาจารยผูชํานาญการคอยดูแลอยางใกลชิด หลังจากเตรียม เครื่องเสร็จแลว ก็ปลอยใหนักเรียนไปพักทานอาหารซึ่งทางสถาบันจะ เตรียมอาหารมื้อเที่ยงไวลองรับใหกับนักเรียนทุกทานไดทานกันอยาง เต็มที่ ไมตองกลัวไมพอนะครับ เพราะเตรียมไวใหแบบเต็มๆ ทุก รายการพรอมทั้งผลไม และขนมหวานแสนอรอยหลังจากทานอาหาร เสร็จ ก็สามรถหามุมสงบนัง่ คุยแลกเปลีย่ นความรูร ะหวางนักเรียนดวย กันเอง เปนการเพิ่มสายสัมพันธระหวางธุรกิจสิ่งพิมพ และที่เกี่ยวกัน ในวงการพิมพดวยครับ ThaiPrint Magazine 143

140-144 pc1.indd 143

18/11/2554 1:33:33


Printing Education & Development

พอตกถึงชวงบาย ไดเวลาเรียนภาคปฏิบัติ โดยจะใหนักเรียนไดใชเครื่องพิมพออฟเซ็ตจริงๆ แตละกลุม จะชวยกันตั้งเครื่องหาฉากหาองศา เพื่อที่งานพิมพออกมาจะไดตรง และสามารถพิมพงานไดจริง แตจะตอง บอกไวกอนเลยนะครับวา ไมงายอยางที่คิด เพราะผมเองก็เดินชมและก็รวมฝกหัดพิมพดวยเชนกัน เห็น ปญหาตางๆ ในการตั้งเครื่องพิมพ กวาจะไดองศาไดฉากที่ตองการยอมรับเลยครับวาใชเวลาหลายชั่วโมง ครับ กวาจะไดเสียกระดาษไปไมนอยครับ ซึ่งกลุมที่ผมอยูนั้นตองบอกไดเลยครับวา ถาไมไดอาจารยมาชวย สงสัยวันนั้น คงตองไดนอนที่สถาบันอยางแนนอน เพราะพยายามกันทุกรูปแบบ แถมยังเกิดปญหาที่ไม คาดคิดครับ ปรากฏวาพิมพไปเกิดแผนเพลทหลุด เนื่องจากใสเพลทไมแนนตองมาเริ่มตนกันใหมเห็นหรือไม ครับวา ทุกขั้นตอนนาตื่นเตนและก็สนุกมาก ผมเองตองยอมรับเลยนะครับวากวาจะไดชางพิมพที่เกง และ ชํานาญทุกดานของงานพิมพนั้น ไมใชเรื่องงายเลยครับ เอาเปนวาเดี๋ยวหลังจากจบหลักสูตรการเรียนของ นักเรียนรุนนี้ ผมจะไปสัมภาษณมาฝากกันนะครับวา กอนเรียนและหลังเรียนกับสถาบันการพิมพไทยแลว ไดความรูกันอยางไรบาง และนักเรียนแตละคนมาจากสายไหนกันบางฉบับนี้ ผมขอจบไวเทานี้กอนครับ และรอนักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรนี้ ผมจะเก็บสาระดีๆ มาฝากนะครับ สวัสดีครับ

144 ThaiPrint Magazine

140-144 pc1.indd 144

18/11/2554 1:33:45


Print News

ThaiPrint Magazine 145

145 pc1.indd 145

18/11/2554 1:38:04


Print Societies’ Health

สุขภาพดีมีชัย...สุขภาพใจมีสุข

เรี ย นรู เรื่ อ งโรคมะเร็ ง

สวัสดีครับชาววงการพิมพไทยครับฉบับนี้ ผมขอเปดคอลัมนนี้เพื่อผูอานที่เคารพรักทุกทานสําหรับ เรื่องของสุขภาพของคนในอุตสาหกรรมการพิมพไทยเปนเรื่องที่สําคัญเรื่องหนึ่ง สําหรับผูที่ตองทํางานอยู ในโรงงาน หรือโรงพิมพเราควรจะตองปองกันความเสี่ยงตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นไดอยางเชน ในโรงพิมพที่จะตอง พิมพงานตางๆ อยูตลอด ซึ่งเราจะปฏิเสธไมไดเลยวาบรรยากาศภายในโรงพิมพนั้น จะตองมีสารเคมีที่ไมพึง ประสงคปะปนอยูในนั้นดวย เรื่องของสุขภาพที่เราไมควรมองขามไปนั้น อยางเชน โรคมะเร็งที่สามารถแฝงกาย เขามาอยูกับเราโดยที่เราไมรูตัว วารสารการพิมพไทยฉบับนี้ เรามาทําความรูจักกับโรคมะเร็งเนื้อรายนี้กันครับ วามีสาเหตุมาจากอะไรกันบาง ที่ทําใหเกิดโรคมะเร็งกับตัวเราได มะเร็ง เปนเนื้องอกชนิดรายที่เนื้อมะเร็งมีการแทรกซึมเขาไปในเนื้อ เยื่อปรกติที่อยูโดยรอบ เปนเซลลรางกายที่มีการแบงตัวไมเปนไปตาม แบบแผนอยูนอกเหนืออํานาจการควบคุม สามารถแพรกระจายไปยัง บริเวณอื่นของรางกายที่หางไกลออกไป และไมติดตอกับกอนมะเร็ง เดิม มะเร็งสามารถเกิดจากเซลลทุกชนิดในรางกาย ยกเวน ขน ผม เล็บ ที่งอกออกมาแลวเทานั้น การแพรกระจายของเซลลมะเร็ง มีได 4 วิธี คือ 1. โดยทางกระแสเลือด (หลุดเขากระแสเลือดแลวไปเจริญเติบโต ในอวัยวะตางๆ เชน ปอด ตับ กระดูก สมอง เปนตน) 2. กระแสน้ําเหลือง (หลุดเขาหลอดน้ําเหลืองแลวไปเจริญเติบโต ในตอมน้ําเหลืองบริเวณใกลเคียง หรืออยูหางไกลออกไป และสามารถ แพรกระจายเขาสูหลอดเลือดอีกทีหนึ่ง) 3. การฝงตัวของเซลลมะเร็ง (หลุดแลวตกไปงอกตรงสวนที่มีเซลล มะเร็งตกอยู) 4. การแพรกระจายแทรกตัวไปตามพื้นผิวภายในอวัยวะที่เปน มะเร็งและอวัยวะหรือเนื้อเยื่อที่อยูขางเคียง 146 ThaiPrint Magazine

146-148 pc1.indd 146

18/11/2554 1:48:20


สุขภาพดีมีชัย...สุขภาพใจมีสุข...เรียนรูเรื่องโรคมะเร็ง สาเหตุการเกิดมะเร็ง สาเหตุที่แทจริงของโรคมะเร็ง ในปจจุบันยังไมสามารถบอกไดแนชัด แตมีขอมูลสนับสนุนวา มาจากสาเหตุหลายๆ อยางรวมกัน เชน 1. สาเหตุภายในรางกายเอง (เชื้อชาติ, พันธุกรรม, เพศ, อายุ เปนตน) 2. สาเหตุจากภายนอกรางกาย (ทางกายภาพ - แสงอาทิตย, นิ่ว, แผลจากไฟไหม, น้ํารอนลวก ; ทางเคมี-สารหนู, สียอมผา, บุหรี่ เปนตน) 3. การอักเสบจากการติดเชื้อเรื้อรังนานๆ 4. ฮอรโมนที่มีผลตอการเปนมะเร็ง โดยจะพบคาผิดปรกติ เมื่อ เปนโรคมะเร็ง การดูแลตนเองใหพนจากมะเร็ง เราควรที่จะหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ กอนครับ ที่อาจทําให เกิดโรคมะเร็ง เชน พฤติกรรมการรับประทานอาหารจําพวกดิบๆ สุกๆ มีไขมันสูง ปง-ยาง ดองเค็ม อาหารที่ถนอมดวยเกลือไนเตรต-ไนไตรท หรืออาหารที่เก็บทิ้งไวนานจนเชื้อราขึ้น นอกจากนี้โอกาสเสี่ยงตอการ เกิดโรคมะเร็งยังมาจากการกินเหลา สูบบุหรี่ หรือการตากแดดจัดเปน เวลานานๆ ทําใหมีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็งได ดังนั้น จึงควร ใหการดูแลสุขภาพอนามัยเปนประจําสม่ําเสมอ รับประทานอาหารให ถูกหลักอนามัยครบทั้งหาหมู โดยเฉพาะผัก ผลไม ขาว ขาวโพด เมล็ด ธัญพืชอื่นๆ การออกกําลังกายเปนประจํา รวมไปกับการดูแลน้ําหนัก ไมใหมากเกินไป และเสริมสรางภูมิคุมกันโรค โดยพยายามทําจิตใจให เบิกบาน ไมมีเรื่องเศราหมอง แตเมื่อตรวจพบอาการผิดปรกติใหรีบมา ปรึกษาแพทยทันที

5 1.ประการเพื ่อการปองกัน รับประทานอาหารผักตระกูลกะหล่ําใหมาก

เชน กะหล่ําปลี กะหล่ําดอก ผักคะนา หัวผักกาด บลอกโคลี่ ฯลฯ เพื่อปองกัน มะเร็งลําไสใหญ ลําไสสวนปลายกระเพาะอาหาร และอวัยวะระบบทาง เดินหายใจ 2. รับประทานอาหารที่มีกากมาก เชน ผัก ผลไม ขาว ขาวโพด ญ และเมล็ดธัญพืขอื่นๆ เพื่อปองกันมะเร็งลําไสใหญ

ThaiPrint Magazine 147

146-148 pc1.indd 147

18/11/2554 1:48:39


Print Societies’ Health 3. รับประทานอาหารที่มีเบตา-แคโรทีน และวิตามินเอสูง เชน ผักสด ผลไมสีเขียว-เหลือง เพื่อปองกันมะเร็งหลอดอาหาร กลองเสียง และปอด 4. รับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูง เชน ผักสด ผลไมตางๆ เพื่อ ปองกันมะเร็งหลอดอาหารและกระเพาะอาหาร 5. ควบคุมน้ําหนัก โรคอวนมีความสัมพันธกับมะเร็งมดลูก ถุงน้ําดี เตานม และลําไสใหญ การออกกําลังกายและการลดการรับประทาน อาหารที่ใหพลังงานสูง ก็จะชวยปองกันมะเร็งเหลานี้ไดครับ

7 ประการเพื ่อลดความเสี่ยง 1. ไมรับประทานอาหารที่มีราขึ้น โดยเฉพาะราสีเขียว-เหลืองจะ มีสารพิษอัลฟาทอกซินปนเปอน ซึ่งอาจเปนสาเหตุของโรคมะเร็งตับ 2. ลดอาหารไขมันสูง อาหารไขมันจะทําใหเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง เตานม ลําไสใหญ และตอมลูกหมาก 3. ลดอาหารดองเค็ม อาหารปงยาง รมควัน และอาหารที่ถนอม ดวยเกลือไนเตรด ไนไตรทอาหารเหลานี้ จะทําใหเสี่ยงตอมะเร็งหลอด อาหาร กระเพาะอาหาร และลําไสใหญ 4. ไมรับประทานอาหารดิบๆ สุกๆ อาหารประเภทนี้ เชน กอยปลา ปลาจอม ฯลฯ จะทําใหเปนโรคพยาธิใบไมในตับและเสี่ยงตอการเปน มะเร็งของทอน้ําดีในตับ 5. หยุดหรือเลิกการสูบบุหรี่ การสูบบุหรี่จะทําใหเสี่ยงตอการเปน มะเร็งชองปาก และคอ 6. ลดการดื่มแอลกอฮอล การดื่มแอลกอฮอลจะเสี่ยงตอการเปน มะเร็ง ถาทั้งดื่มทั้งสูบบุหรี่จะเสี่ยงตอการเปนมะเร็งชองปาก ชองคอ กลองเสียง และหลอดอาหาร 7. อยาตากแดดจัด ตากแดดจัดมากไปจะเสี่ยงตอการเกิดมะเร็ง ผิวหนัง

ผูอานทุกทานเห็นหรือไมครับวาเรื่องเหลานี้ เราไมควรที่จะมอง ขาม และเราควรที่จะปฏิบัติตัวอยางไรถึงจะไมเสี่ยงตอการเกิดโรค มะเร็งกับตัวเราเอง ผูเ ขียนเพียงอยากใหคนในอุตสาหกรรมการพิมพ ของเรามีสุขภาพที่แข็งแรงกันทุกคนครับ จึงแสวงหาสาระดีๆ ที่เกิด ประโยชนตอสุขภาพของคนในอุตสาหกรรมการพิมพสําหรับฉบับนี้ คงจะตองจบไวเทานี้กอน และอยาลืมติดตามกันฉบับตอไปวาจะมี เรื่องดีๆ ที่นํามาเสนอในเรื่องของโรคตางๆ ที่สามารถสงผลกระทบ ไมดีกับสุขภาพของตัวเราไดครับ สวัสดีครับ

148 ThaiPrint Magazine

146-148 pc1.indd 148

18/11/2554 1:48:48


ad graphpack#89-m14.indd 1

11/21/11 1:32 PM


ad MD#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

18/10/2554

13:58


143 A.B.C printing_87-m19.indd 1

6/15/11 3:18 AM


133 Ad Soontorn film_m14.indd 133

11/21/11 11:22 AM


Ad Fuji-mac19.indd 1

1/9/10 5:22:03 PM


Ad_screen#89-m14.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

5/10/2554

20:51


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.