Content 18
Print News
18 40 44 73 144 145
56
การพิมพ์ไทยเทน้�ำ ใจเพื่อผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม เอชพีเผยแผนธุรกิจ ปี 2555 สวัสดีปีใหม่ 2555 สมาคมการพิมพ์ไทย การช่่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย ปี 2554 บริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด เข้าร่วมงานประชุมผู้แทนจำ�หน่ายทั่วโลก ฉลองครบรอบ 5 ปี Xingraphics ที่จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ณ กรุงปักกิ่ง ปิดฉาก บาสเกตบอล “เจริญอักษร คัพ 2011” อย่างสวยงาม
Thaiprint Cover Story
28 ข้อมูลจำ�เพาะของผลิตภัณฑ์
Print Business
50 Web to Print (W2P) / คุณกิตติ พรพิพัฒน์วงศ์
Print Interview
56 สัมภาษณ์ คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล 68 สัมภาษณ์ คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ 113 รับมือกับสถานการณ์น�้ำ ท่วม / คุณภาสกร วงษ์ธนะชัย
Global Printing Update
81 ทำ�การตลาดอย่างไรให้อยู่ในใจลูกค้าอย่างยั่งยืน ตอนที่ 2 / คุณอรชุดา ประภาพงศ์พันธุ์
Print Data
68 การชวยเหลือเยียวยา ผูประสบอุทกภัย ป 2554
73
91 อุตสาหกรรมการพิมพ์ในญี่ปุ่น
Print Society
105 In Memory / Steve Jobs
Knowledge
122 รักรถ...ดูแลรถ...ด้วยการล้างรถอย่างถูกวิธี
Young Printer
128 คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์
Print Laboratory
134 CHIBA-CHULA Student Workshop / พิวสั สุขณียุทธ
Health
134
146 ปัญหาสุขภาพและโรคผิวหนัง หลังน้ำ�ท่วม
Thai Print Magazine ปีที่ 14 ฉบับที่ 90
128
สมาคมการพิมพ์ไทย
เลขที่ 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดทำ�ขึ้น เพื่อบริการข่าวสาร และสาระความรู้แก่สมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ในวารสารนี้เป็นอิสรทรรศ์ ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จ�ำ เป็นต้องเห็นด้วยเสมอ
บรรณาธิการ อนันต์ ขันธวิเชียร ฝ่ายบัญชี มยุรี จันทร์รัตนคีรี 12 ThaiPrint Magazine
พิมพ์ท ่ี
บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จำ�กัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
Print News
การพิมพไทย เทน้ำ�ใจเพื่อผูประสบภัยน้ำ�ทวม
การพิมพ์ไทยเทน้ำ�ใจเพื่อผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วมพร้อมด้วยคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย และผู้มีจิตอาสาถ่ายภาพร่วมกันก่อนออกเดินทาง ณ กองดุริยางค์ทหารบก
“การพิมพไทยเทน้ำ�ใจเพื่อผูประสบภัยน้ำ�ทวม” ซับคราบน้ำ�ตาของพี่นองชาวไทยที่ไดรับผล กระทบจากมหาอุทกภัยครั้งใหญในประวัติศาสตรไทยที่ไมเคยปรากฏมากอน เราจึงไดรวมพลังคลัง น้�ำ ใจจากคนในอุตสาหกรรมการพิมพ คณะกรรมการสมาคมการพิมพไทย และกลุม Young Printer รวมแรงรวมใจปนน้ำ�ใจบริจาคทั้งกำ�ลังทรัพย และสิ่งของอุปโภคบริโภคใหกับผูประสบภัยน้ำ�ทวม เพื่อเปนการชวยเหลือเยียวยาขวัญและกำ�ลังใจของพี่นองชาวไทยของเรา 18 ThaiPrint Magazine
การพิมพไทยเทน้ำ�ใจเพื่อผูประสบภัยน้ำ�ทวม
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ไทย ดีใจทีเ่ ห็นธารน้�ำ ใจทีผ่ มู้ จี ติ ศรัทธา ร่วมบริจาคส่งถึงมือผู้ประสบภัยอย่างทั่วถึง
มั่นใจได้ครับว่าถุงยังชีพทุกถุงถึงมือพี่น้องที่ได้รับผลกระทบอย่างแน่นอน จะทุ่มเทสุดแรงกายและใจ
คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง อุปนายกสมาคมการพิมพ์ไทยพร้อมผู้ร่วมเดินทาง และเจ้าหน้าที่ทหารคอยดูแลความปลอดภัยในการเดินทาง
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ที่ปรึกษานายก สมาคมการพิมพ์ไทยและรองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
จากมหาอุ ท กภั ย ครั้ ง ร้ า ยแรง ที่สุดในประวัติศาสตร์ประเทศไทย ได้ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายทาง ด้ า นเศรษฐกิ จ และทรั พ ย์ สิ น ของ ประชาชนอย่ า งประเมิ น ค่ า ไม่ ไ ด้ อี ก ทั้ ง ยั ง สร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ ชาวบ้านในหลายสิบจังหวัดทีป่ ระสบ ภัยกว่า 800,000 ครัวเรือน ส่งผล กระทบต่ อ ชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ข อง ประชาชนกว่า 3,000,000 คน ประชาชนจำ � นวนมากต้ อ งอพยพ และไร้ที่อยู่อาศัย ขาดแคลนอาหาร น้ำ�ดื่มเพื่อการบริโภค ยารักษาโรค
ภาพบรรยากาศการลำ�เลียงถุงยังชีพให้กับพี่น้องประชาชนอย่างเร่งรีบ เพื่อเยียวยาความเดือดร้อนของผู้ประสบภัย ThaiPrint Magazine 19
Print News
พี่น้องประชาชนแสดงความขอบคุณ อย่างสุดใจที่ได้รับความช่วยเหลือ จากสมาคมการพิมพ์ไทยในครั้งนี้
อีกทั้งยังสุ่มเสี่ยงต่อโรคภัยไข้เจ็บ นานาชนิด ผู้ประสบภัยจำ�นวนมาก ได้อาศัยอยู่กับน้ำ�ท่วมมาเป็นเวลา กว่าเดือนและบางพื้นที่อาจจะต้อง อยู่ในสภาพนี้อีกไม่ต�่ำ กว่า 1 เดือน ทางสมาคมการพิมพ์ไทย จึง ได้ ทำ � หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แทนของพวก เราชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ในการให้ความช่วยเหลือแก่คนไทย ผูป้ ระสบภัยบางส่วน โดยจัดโครงการ “การพิมพ์ไทยเทน้�ำ ใจเพือ่ ผูป้ ระสบ ภัยน้�ำ ท่วม” โดยเป็นศูนย์กลางใน
รอยยิ้มบอกถึงความตื้นตันที่เห็นน้�ำ ใจคนไทยด้วยกัน ยื่นมือช่วยเหลืออย่างไม่หยุดหย่อน 20 ThaiPrint Magazine
การรับบริจาคเงิน เพื่อนำ�ไปจัดซื้อ สิง่ ของอุปโภคบริโภคและยารักษาโรค รวมทั้งของใช้จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีพ ของพีน่ อ้ งทีไ่ ด้รบั ผลกระทบหลังจาก แจ้งข่าวสารกิจกรรมของสมาคมที่ จัดขึ้นในครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือ จากหลายภาคส่วนทยอยส่งเงินและ ของใช้จำ�เป็นจำ�นวนมาก โดยได้ ใช้ พื้ น ที่ ข องสมาคมเป็ น ศู น ย์ ก ลาง ในการรับสิ่งของบริจาคจากผู้มีจิต ศรัทธา ในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2554 เป็นวันนัดหมายร่วมแรงร่วม
คณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ช่วยกันลำ�เลียงถุงยังชีพลงจากรถ เพื่อแจกให้กับผู้ประสบภัย
การพิมพไทยเทน้ำ�ใจเพื่อผูประสบภัยน้ำ�ทวม
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย นำ�ทีมเหล่าจิตอาสาจากอุตสาหกรรมการพิมพ์ เพื่อช่วยเหลือพี่น้องผู้ประสบภัย
ใจกั บ การแพ็ ค ถุ ง ยั ง ชี พ จากคนใน อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย คณะ กรรมการพร้อมทั้งลูกหลาน และ เจ้าหน้าที่ของสมาคมการพิมพ์ไทย ที่ มี จิ ต อาสาทุ่ ม เทกั น อย่ า งไม่ รู้ จั ก เหน็ดเหนื่อยตั้งแต่เช้ายันค่ำ�ของคืน วันนั้นเพื่อให้ได้ถุงยังชีพตามจำ�นวน ที่ก�ำ หนดไว้ เพื่อจะขนไปบริจาคให้ ผู้ประสบภัยครั้งแรก ในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2554 ในวันถัดมา ตามเวลานัดหมายเวลา 9.00 น. ณ กองดุริยางค์ทหารบก (ถนน
วิภาวดีรังสิต) คณะกรรมการของ สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยมากั น อย่ า ง พร้อมเพรียง และได้ร่วมถ่ายภาพ ไว้เป็นที่ระลึกที่ครั้งหนึ่งเคยได้ร่วม เสียสละแรงกาย และเวลาอันมีค่า เพื่อมาช่วยเหลือพี่น้องชาวไทยที่ ได้รบั ความเดือนร้อนอย่างแสนเข็ญ รถทหาร GMC บรรจุถุงยังชีพและ ข้าวของเครื่องใช้ที่จำ�เป็นพร้อมแล้ว จำ�นวนสองคัน 9 โมงตรงได้เวลา ล้อหมุนมุ่งสู่ย่านเพชรเกษม ซึ่งเมื่อ เข้าเขตพืน้ ทีก่ จ็ ะเห็นน้�ำ ท่วมบนถนน
ซึ่งจะมีเพียงรถขนาดใหญ่เท่านั้นที่ วิ่งได้ และได้กลิ่นของน้ำ�เสียโชย มาแต่ไกล หลังจากถึงจุดนัดพบ ก็มีเจ้าหน้าที่ทหารจากศูนย์บรรเทา สาธารณภัยกองทัพ ภาคที่ 2 ส่วน หน้า ลำ�เลียงถุงยังชีพขึน้ เรือไปพร้อม กับคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ ไทยและผู้ร่วมเดินทาง หรือขอใช้ คำ�ว่า จิตอาสาในครั้งนี้ ฝ่าธารน้�ำ ที่ ยังท่วมสูงส่งกลิ่นไปทั่วลำ�เรือ แม้ว่า แสงแดดในวันนั้นจะทำ�ให้ผู้ร่วมเดิน ทางร้อนเพราะแดดค่อนข้างแรง แต่
ThaiPrint Magazine 21
Print News
ด้วยจิตอาสาทุกคนจึงกัดฟันสู้ ไม่มี เสียงบ่นจากใครเลย เพราะทุกคน เห็นความยากลำ�บากของผู้ประสบ ภัยที่เดือดร้อน และลำ�บากมากกว่า เรานัก อีกทั้งเวลาที่เราเห็นรอยยิ้ม และแววตาของผู้ ไ ด้ รั บ ความช่ ว ย เหลือ ความเหน็ดเหนื่อยก็หายไป เป็ น ปลิ ด ท้ิ ง กลั บ กลายเป็ น ความ ภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการ เยียวยาพี่น้องคนไทยด้วยกันที่ตก ทุ ก ข์ ไ ด้ ย ากบางท่ า นไร้ แ ม้ ก ระทั่ ง ที่พักพิง ตั้งแต่เริ่มเดินทางคณะ
กรรมการทุกท่านยอมเสียสละมาก แม้กระทั่งอาหารเที่ยงของวันที่ไป บริจาคนั้นก็ไม่มีเวลา และไม่มีท่าน ใดได้รับประทาน แม้แต่ท่านเดียว เพราะแจกจ่ายให้กับพี่น้องประชาชน จนหมดเกลี้ยงต้องขอยอมรับน้ำ�ใจ ของทุกๆ ท่านที่เสียสละได้ถึงขนาด นี้ หลังจากแจกถุงยังชีพเสร็จสิ้น ก็เดินทางกลับมาลงเรือ ณ จุดขึ้นรถ GMC เพื่อส่งคณะกรรมการสมาคม การพิมพ์ไทย และจิตอาสาทุกท่าน กลับมายังกองดุรยิ างค์ทหารบกก่อน
สภาพความยากลำ�บากในการเดินทางเข้าถึงผู้ประสบภัย ที่อยู่ด้านในอย่างที่เห็นในภาพ 22 ThaiPrint Magazine
ที่ทุกท่านจะแยกย้ายกันกลับสู่บ้าน เพื่อเตรียมพร้อมชาร์จพลังไว้ ร่วม เดินทางในกำ�หนดการณ์อีกครั้ง กำ�หนดการ ครั้งที่ 2 เป็นวันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 ตามเวลาที่ ได้นัดหมายเช่นเดิม 9.00 น. มีทั้ง คณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย ท่ านที่ เ คยมาครั้ งที่ แ ล้ ว และท่ า นที่ ยังไม่เคยมาก็ได้ร่วมกันถ่ายภาพไว้ ก่ อ นจะออกเดิ น ทางในวั น นี้ จ ะไป ช่วยบริจาคกันที่ย่านนนทบุรี โดยมี เป้าหมาย เพื่อเข้าไปมอบถุงยังชีพ
การพิมพไทยเทน้ำ�ใจเพื่อผูประสบภัยน้ำ�ทวม
ให้แก่ผู้ประสบภัยซึ่งอยู่ในโซนที่ลึก และความช่วยเหลือยังเข้าไปไม่ถึง พื้นที่มากนัก ซึ่งในวันนี้มีจ�ำ นวนผู้ ร่วมเดินทางมากกว่าครั้งแรกเพราะ เป็นวันเสาร์ บางท่านเป็นผู้ประสบ ภัยเองแต่ก็ยังอดที่จะมาร่วมแสดง น้ำ�ใจไม่ได้เพราะเห็นคนอื่นเขาแย่ กว่าลำ�บากกว่าจึงอยากจะเป็นจิต อาสาในโครงการ “การพิมพ์ไทย เทน้ำ�ใจเพื่อผู้ประสบภัยน้ำ�ท่วม” ในครั้งนี้ รถถึงจุดขึ้นเรือเจ้าหน้าที่ ทหารและผู้ร่วมเดินทางช่วยกันลำ�
เลียงสิ่งของที่ตระเตรียมมาบริจาค มีทั้งถุงยังชีพ ยารักษาโรค เรือพาย ส้ ว มกระดาษและหนั ง สื อ สำ � หรั บ อ่านในยามว่างช่วยคลายเครียดได้ นอกจากนั้นยังมีข้าวกล่องเหมือน กับครัง้ แรก แต่มจี �ำ นวนมากกว่าเดิม เพราะครั้งนี้มีผู้ร่วมเดินทางเยอะขึ้น แม้ความยากลำ�บากในการเดินทาง เข้ า ไปช่ ว ยพี่ น้ อ งประชาชนจะยั ง เหมือนเดิมสายลมปนแสงแดดแผด เผาจนหน้าเกรียม แต่พวกเหล่า จิ ต อาสาทุกท่านก็ไม่ย่อท้อต่อสิ่งที่
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ที่ปรึกษานายกสมาคมการพิมพ์ไทยและรองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ร่วมแรงร่วมใจอย่างสุดกำ�ลัง (ขวา)
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการ พิมพ์ไทยร่วมออกช่วยเหลือพี่น้องที่ประสบภัย ทุกพื้นที่ทุกวันที่จัดขึ้นอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย
ผ่านเข้ามาร่วมถึง กลิ่นอันไม่พึง ประสงค์ แต่ก็ยังมุ่งหน้าไปสู่บ้าน พีน่ อ้ งทีไ่ ด้รบั ความเดือดร้อนเร่งแจก ถุ งยั งชี พให้ ทั่ ว ถึ งเท่ าที่ จะสามารถ ทำ�ได้ก่อนพลบค่ำ�จนสุดกำ�ลังกาย และใจ เมื่อถุงยังชีพใบสุดท้ายส่ง ถึงมือผูป้ ระสบภัย หัวเรือก็เบนกลับ เพื่ อ ส่ ง เจ้ า หน้ า ที่ ค ณะกรรมการ สมาคมการพิมพ์ไทยกลับยังจุดขึ้น เรือ เสร็จสิ้นภารกิจอันหนักหน่วง ที่ทุกท่านต่างเสียสละเวลา และ ThaiPrint Magazine 23
Print News
แรงกายสุดกำ�ลัง เพื่อทำ�หน้าที่จิต อาสาสู่สาธารณะชน ต่อมาอีกหนึ่ง สัปดาห์ ทางสมาคมก็ได้จัดถุงยังชีพ ที่ยังเหลืออีกประมาณ 500 ถุง ออกไปแจกให้กบั ประชาชนแถวซอย กันตนา อ.บางใหญ่ นนทบุรี ใช้เวลา แจกเพียงไม่กี่ชั่วโมงก็จบสิ้นภารกิจ โดยสรุปทั้ง 3 วัน ภารกิจนี้ พวกเราได้แจกจ่ายถุงยังชีพไปกว่า 3,000 ถุง และข้าวกล่องพร้อม รับประทานอีกไม่น้อยกว่า 3,000 กล่อง ถึงแม้ภาระกิจนี้จะสิ้นสุด แต่ สมาคมการพิมพ์ไทยก็ยงั ไม่ได้หยุดที่ จะช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับความ
เดือดร้อนต่อไป อาจจะเป็นการส่ง ฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ เหล่านี้ไปด้วย สิ่งของที่ยังมีส่งเข้ามาและส่งต่อไป ดีพร้อมทีก่ ลับมายืนหยัดอย่างมัน่ คง ยังหน่วยงานต่างๆ ทีร่ บั ผิดชอบ ขอ ต่อไปครับ เป็นกำ�ลังใจให้พน่ี อ้ งชาวไทยทุกท่าน
ส่งมอบเรือจากผู้มีจิตศรัทธาร่วมบริจาคให้กับผู้ประสบภัยไว้ใช้ดำ�รงชีพ
หยาดเหงื่อแรงกายของผูมีจิตอาสาแบ่งปันน�้ำใจ ให ้ ผู ้ รั บ ด ้ ว ยความป ติ ยิ น ดี กั บ ธารน�้ ำ ใจของพี่ น อ ง ชาวไทยด ว ยกั น ต า งหยิ บ ยื่ น ความช ว ยเหลื อกั น โดย ไมรูจักเหน็ดเหนื่อย ขอใหผูประสบภัยทุกทานจงขาม ผานพนอุทกภัยรายนี้ โดยรอดปลอดภัยกันทุกคน (จากซ้าย) คุณบีทริก เธียรนุกุล คุณพิมพ์นารา จิรานิธศิ นนท์ คุณประเสริฐ หล่อยืนยง ร่วมช่วย เหลือพี่น้องผู้ประสบภัยอย่างเต็มที่ 24 ThaiPrint Magazine
Print News
เอชพีเผยแผนธุรกิจ ปี 2555 สู่ผู้นำ�ตลาด ePrint เพื่อยกระดับงานพิมพ์ผา่ นคลาวด์ พริ้นติ้ง ตอบโจทย์ครอบคลุมทุกเซ็กเม้นต์การใช้งานของลูกค้าเติมเต็มด้วยการพิมพ์ในรูปแบบพอร์ทโฟลิโอครบครัน และนำ�เสนอโซลูชั่นงานพิมพ์เข้าสู่ภาคการศึกษาโดยเฉพาะ เอชพี เผยผลการดำ�เนินงาน ปี 2554 ธุรกิจภาพและการพิมพ์ เติบโต 12% ตามเป้าหมายที่วาง ไว้และประกาศเดินหน้าขยายฐาน งานพิมพ์ผ่านคลาวด์แบบครบวงจร พร้อมผลิตภัณฑ์ และโซลูชั่นใหม่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทุกเซ็กเม้นท์ รวมถึงเสนอความคุ้ม ค่าของหมึกพิมพ์แท้ของเอชพีไปยัง กลุ่มการศึกษาด้วย HP Deskjet Ink Advantage นายวัตสัน ถิรภัทรพงศ์ ผูจ้ ดั การ ทั่วไปกลุ่มธุรกิจภาพและการพิมพ์ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศ ไทย) จำ�กัด กล่าวถึงผลการดำ�เนิน 40 ThaiPrint Magazine
งานกลุ่มธุรกิจภาพ และการพิมพ์ ในปี 2554 ถือว่าเป็นไปตามเป้า หมายที่วางไว้โดยเติบโต ร้อยละ 12 จากปีที่ผ่านมาจากการนำ�เสนอ ผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นใหม่ๆ ไปยัง ผู้บริโภคและยังได้รับการร่วมมือกับ พันธมิตร ในการจัดแคมเปญการ ตลาดในรูปแบบต่างๆ และได้รบั การ ตอบรั บ เป็ น อย่ า งดี จ ากลู ก ค้ า ของ เอชพี และตลาดมองในภาพรวม สำ�หรับนโยบายในการดำ�เนินธุรกิจ ในปี 2555 นั้นในฐานะผู้น�ำ ด้าน ตลาดงานพิมพ์ระดับโลก เอชพียัง คงเดินหน้าต่อยอดนำ�นวัตกรรม “HP ePrint” ขยายฐานงาน
พิมพ์ผ่านคลาวด์อย่างครบวงจรไป ยังกลุ่มลูกค้าในทุกเซ็กเมนต์ หลัง จากได้ เ ปิ ด ตั ว การพิ ม พ์ ใ นรู ป แบบ ใหม่นี้ไปยังผู้บริโภคทั้งปีที่ผ่านมา และถื อ เป็ น เจ้ า แรกในธุ ร กิ จ ที่ นำ � เสนอนวัตกรรมด้านคลาวด์พริ้นติ้ง ทั้ ง นี้ แ นวโน้ ม การเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่องของโมบายล์ ดีไวซ์ต่างๆ อาทิ เช่น สมาร์ทโฟน โน๊ตบุ๊ค แท็บเล็ต จะส่งเสริมให้เกิดการขยายประสบ การณ์การใช้งาน HP ePrint เพิ่ม มากขึ้นด้วย ดังที่ไอดีซี ระบุว่า ยอดการจัดจำ�หน่ายสมาร์ทโฟนใน ประเทศไทยในปี 2554 มีไม่น้อย กว่า 3.5 ล้านเครื่อง
เอชพี
นอกจากนี้ ในปัจจุบันมีการใช้ งานเทคโนโลยีการพิมพ์บนคลาวด์ และเทคโนโลยี ที่ เชื่ อ มต่ อ กั บ เว็ บ อย่างแพร่หลาย โดยมีเครื่องพิมพ์ เอชพีที่รองรับเทคโนโลยีดังกล่าว จำ�หน่ายทัว่ โลกมากกว่า 10 ล้านเครือ่ ง และในขณะที่ ก ารพิ ม พ์ ไ ด้ ก้ า วไปสู่ คำ�จำ�กัดความที่มากกว่าจำ�นวนหน้า กระดาษ เอชพีจึงได้วางแนวทาง นวัตกรรมและกลยุทธ์หลักๆ เพื่อให้ ส่งผลที่เกิดประโยชน์ และมีความ หมายยิ่งต่อกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่มโดย แบ่งตามแต่ละเซ็กเมนต์ดังนี้ กลุ่มธุรกิจคอนซูเมอร์ จาก การเติบโตของโมบายล์ ดีไวซ์ต่างๆ เอชพีได้เดินหน้าเสริมประสบการณ์ การใช้เครื่องพิมพ์ของลูกค้าที่บ้าน ด้วยเครื่องพิมพ์สำ�หรับใช้งานภาย ในบ้านที่สามารถเชื่อมต่อเว็บที่มา พร้อมกับโซลูชั่นแบบโมบายล์ และ บริการคอนเท้นต์ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้ งานสามารถควบคุมการทำ�งานได้ดี ยิ่งขึ้นสามารถเชื่อมต่อได้ตลอดเวลา แม้ในขณะเดินทางและสามารถสั่ง พิมพ์งานได้ทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการ ใช้ ง านพิ ม พ์ มี ก ารขยายชุ ด โซลู ชั่ น แบบโมบายล์เพื่อการเชื่อมต่ออย่าง
ไม่ขาดตอน ด้วยโมบายล์พริ้นติ้ง ใหม่ที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถควบคุม การทำ�งาน และมีสมรรถนะการ ทำ�งานที่ครอบคลุมยิ่งขึ้น กลุ่มธุรกิจคอมเมอร์เชียลและ เอ็นเตอร์ไพรซ์ เอชพีได้น�ำ เสนอ HP ePrint Enterprise ซึ่งเป็นคลาวด์ พริ้นติ้งในองค์กรทำ�ให้ผ้ใู ช้ในองค์กร สามารถทำ�งานแบบ Collaboration อย่างสะดวก และมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมทั้งการพิมพ์ ภายใน องค์กร การพิมพ์ระหว่างเดินทาง หรือการพิมพ์จากที่บ้านโดยใช้ Web
Os ไอโฟน แอนด์ดรอยด์ และ แบล็คเบอรี่ สามารถดาวโหลด แอพพลิเคชั่น HP ePrint Enterprise Solution เพื่อใช้พิมพ์งานภายใน ระบบเครือข่ายขององค์กรผ่านข้อ ตกลงบริการ HP Managed Print Services พร้อมกันนีผ้ ใู้ ช้งานสามารถ ดาวน์โหลดแอพพลิเคชั่น เพื่อที่ สามารถสั่งพิมพ์งานได้จาก HP ePrint Mobile Print Location ทีต่ ั้ง อยู่บริเวณต่างๆ นับพันแห่งทั่วโลก ซึ่งเอชพีถือเป็นเจ้าเดียวที่สามารถ ช่วยลูกค้า องค์กร จัดระบบนิเวศน์ ด้านการพิมพ์ได้อย่างครบครัน และมุ่งเน้นขยายความร่วมมือ กับคู่ค้าที่จะขยายช่องทางไปสู่กลุ่ม ลูกค้า Mid - market โดยการใช้ Customer Relationship Management - CRM ในรูปแบบต่างๆ รวมถึง นำ�เสนอโซลูชั่น หรือผลิตภัณฑ์ที่ เหมาะสมกับรูปแบบการทำ�งานของ ลูกค้าได้อย่างเหมาะสม เพื่อช่วย ลดค่าใช่จ่าย และความยุ่งยากของ ลูกค้าด้านงานพิมพ์ อีกทัง้ ยังให้ความ สำ � คั ญ กั บ แนวคิ ด ในการนำ � เสนอ ผลิตภัณฑ์ โซลูชั่น รวมถึงการ
ThaiPrint Magazine 41
Print News
บริหารจัดการด้านงานพิมพ์ที่เป็น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่อช่วยในการประหยัดพลังงาน และลดค่าใช้จ่าย โดยครอบคลุมทั้ง ฮาร์ดแวร์และซัพพลาย อย่างเช่น เครื่องพิมพ์ HP color Laser jet Pro 100 M175 ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ePrint Direct ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถสั่ง พิมพ์งานได้โดยตรงจากสมาร์ทโฟน โดยไม่จำ�เป็นต้องดาวโหลดแอพพลิ เคชั่นให้ยุ่งยาก กลุ่มธุรกิจกราฟฟิก โซลูชั่น ได้ นำ�เสนอ HP ePrint & Share เพื่อ สนับสนุนการทำ�งานสำ�หรับวงการ สถาปัตยกรรม วิศวกรรม และ ก่อสร้าง AEC รวมทั้งองค์กรระดับ เอ็นเตอร์ไพรซ์ เพื่อสามารถเข้าใช้ งานผ่านระบบออนไลน์ได้ทุกที่ทุก เวลา รองรับการทำ�งานร่วมกันได้ มากที่สุด และช่วยลดขั้นตอนด้าน การพิ ม พ์ ทั้ งหมดในการเขียนแบบ เทคนิคไปกับแพล็ตฟอร์มทำ�ให้ผู้ใช้ สามารถกำ�หนดตำ�แหน่งและเข้าใช้ งานแผนงานต่างๆ ในการคลิกเพียง 42 ThaiPrint Magazine
ครั้งเดียวขณะที่กำ�ลังพิมพ์ งานอยู่ เพื่อสามารถแบ่งปันงานออกแบบ กับเพื่อนร่วมทีมโครงการเดียวกันที่ อยู่ไกลออกไปได้อย่างรวดเร็วและ ง่ายดาย พร้ อ มกั น นี้ ไ ด้ มี ก ารนำ � เสนอ ธุรกิจใหม่แก่คู่ค้าที่เรียกว่า Smart Click Model และผลิตภัณฑ์ใหม่ สู่ตลาด อาทิ เครื่องพิมพ์ HP Designjet T790 Designjet T1300 Designjet T2300 โดยจะมุ่งไปที่ ตลาด Reproduction เพือ่ ไปทดแทน
เครื่องพิมพ์หน้ากว้างแบบ LED นวัตกรรมใหม่ที่ทันสมัย และ สามารถรองรับเทคโนโลยีแห่งการ พิมพ์สู่โลกอนาคตของอุตสาหกรรม การพิมพ์จะช่วยลดขั้นตอนด้านการ พิ ม พ์ ใ ห้ ส ะดวกรวดเร็ ว มากยิ่ ง ขึ้ น พร้อมทั้งการพัฒนาด้านการพิมพ์ที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาสู่ผ้บู ริโภค สิ่งพิมพ์อย่างต่อเนื่องลดการใช้พลัง งาน เพิ่มคุณภาพการพิมพ์อย่างมี ประสิทธิภาพ
อาคาร 60 ป สมาคมการพิ พไทย Print มNews
อาคาร 60 ปี สมาคมการพิมพ์ไทย จากหองแถวเล็กๆ 2 คูหา ณ ซอยจินดาถวิล ถ.สี่พระยา สูบานหลังที่ 2 โฮมออฟฟศ 5 ชั้น บนถนน นวลจันทร สูอาคาร 60 ป สมาคมการพิมพไทยบนถนนพระราม 9 ที่จะเปนศูนยขอมูลอุตสาหกรรมการพิมพ เปน สถานที่ประชุมสัมมนา เปนศูนยทดสอบมาตราฐานวัสดุและอุปกรณการพิมพ ตลอดจนเปนสถานที่ทําการฝกพิมพ อบรมและสรางบุคคลากรทางการพิมพ อาคารไดดําเนินการกอสรางไปบางแลว แตยังขาดทุนทรัพยเปนบางสวน ทานผูมีจิตศรัทธาสามารถชวย สนับสนุนบริจาคทุนทรัพย หรือชวยสนับสนุนซื้อที่ดินบริเวณ ถนนบางนา เพื่อนําเงินมาสมทบทุนสรางอาคาร สมาคมใหม
ขาวดวน
สำ�หรับโรงพิมพ์ที่ประสบปัญหามหาอุทกภัยปี 54 นี้ ทาง บริษัท หงอี้เครื่องจักรสิ่งพิมพ์และ สนับสนุนจะถูจำ�กกัจารึ ไวนณ อาคาร นการรวมประกาศเกี อุรายนามผู ปกรณ์ (ประเทศไทย) ด ซึก่งเป็ ตัวแทนจำ �หน่ฯายสิเพืน่อค้เป าจากประเทศจี นและไต้หวัย น รติ ยินคดีุณ ให้ ที ท ่ า นได ร ว มสร า งฝ น ให เ ป น จริ ง บริการช่วยเหลือโรงพิมพ์ที่ประสบปัญหาอุทกภัยครั้งนี้ โดยบริการตรวจเช็คสภาพเครื่องจักรให้ท่านฟรี ไม่คิดมูลค่า พร้อมทั้งลดค่าแรงและอะไหล่ให้ท่านในราคาพิเศษ โดยแจ้งเข้ามาที่สายด่วนของบริษัทฯ หมายเลข 08-2345-8877, 08-4678-5551, 02-6893-5269 1,500,000 บาท 1. บริษัท นิวไวเต็ก จํากัด
รับสมัครพนักงาน
500,000 บาท 2. บริษัท สาฮะแอนดซันสพริ้นติ้ง จํากัด ตำ�แหน่ง 1. พนักงานขาย มีรถยนต์ ส่วษนตั 400,000 บาท 3. บริ ัท วส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส จํากัด 2. ช่างซ่อมบำ�รุง 4. บริษัท คอนติเนนตัลบรรจุภัณฑ (ไทยแลนด) จํากัด 300,000 บาท สนใจติดต่อ : บริษัท หงอี้เครื่องจักรสิ5.่งพิบริ มพ์ษแัทละอุ ปกรณ์ 300,000 บาท ไซเบอร พริ(ประเทศไทย) ้นท จํากัด จำ�กัด 223 ถนนพระราม 3 แขวง/เขต บางคอแหลม กทม. 10120 โทร. 02-689-3526-9 E-mail : hongeithailand@hotmail.com 200,000 บาท 6. บริษัท วงตะวัน จํากัด 200,000 บาท 7. บริษัท วิสคอมเซ็นเตอร จํากัด 200,000 บาท 8. บริษัท เฮาสการพิมพและบรรจุภัณฑ จํากัด 200,000 บาท 9. บริษัท ก.การพิมพเทียนกวง จํากัด 200,000 บาท 10. บริษัท โรงพิมพหยี่เฮง จํากัด 200,000 บาท 11. บริษัท บวรสารการพิมพ จํากัด วันที่ 14 ธันวาคม 2554 บาท 12. คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ คุณฟริตซ์ คิสท์เล่อ200,000 ร์ กรรมการ ัดการ บริษัท 200,000 แฟโรสตับาท ล 13. บริษัท ที.เค.เอส. เทคโนโลยี จํากัดผู้จ(มหาชน) พร้อมด้วบาท ย 14. คุณพิมพนารา จิรานิธิศนนท (ไทยแลนด์) จำ�กัด 200,000 คุณธนิ ผู้จัดการฝ่าบาท ย 15. บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟริก เซ็นเตอร จํากัตดา แม้นศิริ 150,000 การตลาด บริษัท 100,000 แฟโรสตับาท ล 16. บริษัท เพาเวอรพริ้น จํากัด (ไทยแลนด์) จำ�กัด ร่วมบริจาคเงิน 17. บริษัท ดานสุทธาการพิมพ จํากัดจำ�นวน 500,000 บาท100,000 ช่วยเหลือบาท ผู้ 18. บริษัท สํานักพิมพสุภา จํากัด ประสบอุทกภัยโดยมีศ100,000 บาท าสตราจารย์ 19. บริษัท โรงพิมพรุงเรืองรัตน จํากัดกิตติคุณ นพ.ศักดิ์ชัย100,000 ลิ้มทองกุบาท ล 20. บริษัท โรงพิมพอักษรสัมพันธ (1978) จํ า กั ด 100,000 บาท ผู้ช่วยเลขาธิการสภากาชาดไทย รับมอบและคุณปานใจ50,000 ผ่องสว่าบาท ง 21. บริษัท พิมพดี จํากัด นักบริหาร 22. บริษัท ฐานการพิมพ จํากัด ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�20,000 บาท สภากาชาดไทย ร่วมด้20,000 วย ณ ห้อบาท ง 23. บริษัท อินเตอรอิงค จํากัด ยรติบาท ฯ 24. บริษัท โรงพิมพเดือนตุลา จํากัด รับรอง อาคารเทิดพระเกี 20,000
บริษัท แฟโรสตัล รวมบริจาคเงินชวยผูประสบภัยน้�ำ ทวม ผานสภากาชาดไทย
สภากาชาดไทย
ThaiPrint Magazine 43
Print News
เวียนบรรจบ ครบวาระผ่านปีเก่า ความโศกเศร้า หมองหมางให้จางหาย ที่ประสบทุกข์ภัย ให้คลาดคลาย สุขสบาย กายจิต คิดสมปอง ในวาระดิถี ขึ้นปีใหม่ สิ่งใดๆ ปรารถนาให้สนอง ชีวิตงามตามวิถี มีครรลอง ขอความดีปกป้อง รักษาเอย
สวัสดีปีใหม่ 2555 สมาคมการพิมพ์ ไทย
44 ThaiPrint Magazine
Print News
ขาวดวน
สำ�หรับโรงพิมพ์ที่ประสบปัญหามหาอุทกภัยปี 54 นี้ ทาง บริษัท หงอี้เครื่องจักรสิ่งพิมพ์และ อุปกรณ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ซึ่งเป็นตัวแทนจำ�หน่ายสินค้าจากประเทศจีนและไต้หวัน ยินดีให้ บริการช่วยเหลือโรงพิมพ์ที่ประสบปัญหาอุทกภัยครั้งนี้ โดยบริการตรวจเช็คสภาพเครื่องจักรให้ท่านฟรี ไม่คิดมูลค่า พร้อมทั้งลดค่าแรงและอะไหล่ให้ท่านในราคาพิเศษ โดยแจ้งเข้ามาที่สายด่วนของบริษัทฯ หมายเลข 08-2345-8877, 08-4678-5551, 02-6893-5269
รับสมัครพนักงาน ตำ�แหน่ง
1. พนักงานขาย มีรถยนต์ส่วนตัว 2. ช่างซ่อมบำ�รุง
223 ถนนพระราม 3 แขวง/เขต บางคอแหลม กทม. 10120 โทร. 02-689-3526-9 E-mail : hongeithailand@hotmail.com
สนใจติดต่อ : บริษัท หงอี้เครื่องจักรสิ่งพิมพ์และอุปกรณ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
บริษัท แฟโรสตัล รวมบริจาคเงินชวยผูประสบภัยน้�ำ ทวม ผานสภากาชาดไทย วันที่ 14 ธันวาคม 2554 คุณฟริตซ์ คิสท์เล่อร์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) จำ�กัด พร้อมด้วย คุณธนิตา แม้นศิริ ผู้จัดการฝ่าย การตลาด บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) จำ�กัด ร่วมบริจาคเงิน จำ�นวน 500,000 บาท ช่วยเหลือผู้ ประสบอุทกภัยโดยมีศาสตราจารย์ กิตติคุณ นพ.ศักดิ์ชัย ลิ้มทองกุล ผู้ช่วยเลขาธิการสภากาชาดไทย รับมอบและคุณปานใจ ผ่องสว่าง ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักบริหาร สภากาชาดไทย ร่วมด้วย ณ ห้อง รับรอง อาคารเทิดพระเกียรติฯ สภากาชาดไทย ThaiPrint Magazine 45
Print News
46 ThaiPrint Magazine
Print Business
Web to Print
(W2P)
โดย กิตติ พรพิพัฒน์วงศ์
บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
DigitalPrint Expert
| 25489-13
vpc
สวัสดีครับ ทานผูอานทุกทาน ผมขอเปนสวนหนึ่งของกำ�ลังใจสำ�หรับที่ผานมาและผมเชื่อวาทุกอยาง กำ�ลังเขาสูภาวะปกติในไมชานี้ขอรวมแรงรวมใจตอสูกันตอไปครับ ในสวนของบทความฉบับนี้เปนการขยาย ความเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบ Web to Print (ซึ่งตอไปผมขอเรียกวา W2P ครับ) วาเปนอยางไร? ทำ�งานแบบไหน? มีกี่ระบบ? ความแตกตางเปนอยางไร? และตองเตรียมตัวอยางไร? เรามาวากันตอเลย นะครับ
อย่างที่ได้กล่าวไปแล้ว ระบบ W2P เป็นการเปิดหน้าร้าน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Web Store Front วัตถุประสงค์ก็เพื่อสามารถสนับสนุนการทำ�งานของโรงพิมพ์ สำ�นักพิมพ์ หรืออื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับงานพิมพ์ ให้ได้รับความสะดวก รวดเร็วในการทำ�งาน W2P เป็นการเปิดโรงพิมพ์ Online เหมือน 7-11 คือเปิด 7 วัน 24 ชั่วโมง ไม่มีวันหยุด ทำ�ให้ลูกค้าสามารถ เลือกซื้อ สั่งซื้อ งานพิมพ์ หรือ สิ่งพิมพ์ต่างๆ ได้ตลอดเวลา จากทุกมุมโลก ไม่ได้จ�ำ กัดอยู่เพียงพื้นที่แคบๆ อีก ต่อไป ท่านผู้อ่านหลายท่าน อาจมีข้อสงสัยว่า W2P มีประโยชน์อย่างอื่นนอกจากการรับงานผ่าน Web หรือไม่? ถ้าไม่มี มันก็ไม่ต่างจากทุกวันนี้ที่ลูกค้าสามารถส่งงานผ่านทาง E-mail (มีข้อจำ�กัด คือไม่เกิน 10 MB ต่อไฟล์) หรือการส่งงานผ่าน FTP Server (File Transfer Protocol) ที่สามารถส่งงานมาให้โรงพิมพ์ได้โดยตรงเช่นกัน
ดังนั้นผมขออธิบายประโยชนที่มากกวาของ W2P คราวๆ ดังนี้ครับ:-
1. มีระบบ User Name/Password หรือ Account Management: การใช้ระบบ W2P ต้องมีการจัดการ ทางด้าน User Name และ Password ซึ่งก็คือ การเก็บข้อมูลที่จ�ำ เป็นของลูกค้าที่เข้ามาใช้ระบบ ไม่ว่าจะเป็น
ชื่อ-นามสกุล, ที่อยู่, เพศ, เบอร์โทรศัพท์, วันเกิด, งานอดิเรก และสิ่งที่สนใจต่างๆ ทำ�ให้ผู้สร้างระบบ W2P สามารถนำ�ข้อมูลเหล่านี้มาสร้างเป็นฐานข้อมูล และนำ�ไปใช้งานต่อในด้านของ Campaign ทางการตลาด เช่น ส่วนลดเมื่อถึงวันเกิด, การจัดงานกิจกรรมให้กับลูกค้าคนสำ�คัญ นอกจากนั้นแล้วยังสามารถที่จะ Tracking ข้อมูล ถึงยอดการสั่งซื้อ, จำ�นวนครั้งของการสั่งซื้อ หรืออื่นๆ แล้วนำ�มาวิเคราะห์หากิจกรรมทางการตลาดที่เหมาะสม 50 ThaiPrint Magazine
Web to Print (W2P) กับกลุ่มลูกค้าที่ทำ�การแบ่งเอาไว้ (Segmentation) เพื่อเป็นการเร่ง หรือ กระตุ้นยอดขายในช่วงเวลาที่ต้องการ นอกจากนี้ การมีฐานข้อมูลของ ลูกค้ามากๆ อาจนำ�มาซึ่งธุรกิจใหม่ เช่น Database Management เป็นต้น ด้วยระบบ Account Management นี้จะช่วยให้การสั่งงานพิมพ์เป็นไปได้ อย่างราบรืน่ และเป็นระบบ ยกตัวอย่างเช่น มีระบบการ Approval ทีโ่ ดดเด่น เช่น กำ�หนดสิทธิ์ให้คนสั่งงานในบริษัทฯ เป็น Simple User แล้วงานจะถูก ส่งต่อไปยังแผนกจัดซื้อ หรือ หัวหน้างาน หรือ ผู้มีสิทธิ์ในการอนุมัติงาน ทำ�ให้การสั่งงานมีการควบคุมที่เป็นระบบ และมีความถูกต้อง แม่นยำ�
2. มีระบบ Ordering ตามรูปแบบงานทีต่ ง้ั เอาไว (Template Ordering): ระบบ W2P สามารถช่วยให้การสั่งงานพิมพ์ท�ำ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
มากกว่าการส่งงานผ่านทาง E-mail หรือ FTP Server ต่างๆ เพราะว่า ลูกค้า (End User) สามารถสั่งงานผ่านระบบ Template ที่ต้องการได้ เช่น การสั่งหนังสือรูปแบบต่างๆ, นามบัตร, แผ่นพับ, ใบปลิว เป็นต้น โดย จะเป็นระบบ Shopping Cart หรือรถเข็นใส่สินค้า ซึ่งเป็นพื้นฐานในการ ทำ�ธุรกรรม Online ที่ทุก Website ต้องมี นอกจากนั้นแล้วยังสามารถทำ� เป็น HTML Catalog หรือเมนูงานพิมพ์ แล้วส่งผ่านไปให้ลูกค้าเลือกทาง E-mail เมื่อลูกค้าเลือกแล้วจะสามารถเข้ามาสั่งงานในระบบได้เลย ยิ่งไป กว่านั้น ยังรองรับการสั่งงานแบบ Non-Printing ซึ่งหมายถึงระบบ W2P สามารถนำ� Product อื่นๆ ที่นอกเหนือจากงานพิมพ์มาขายได้อีกด้วย เหมือนระบบ E-Commerce (การทำ�ธุรกรรมทาง Internet) เช่น แก้วน้ำ�, เสื้อ, แผ่น CD เป็นต้น
3. มีระบบ Preflight หรือระบบตรวจเช็คไฟลงานกอนพิมพ: การสั่งงานพิมพ์ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้บริการงานพิมพ์, โรงพิมพ์
Preflight Preflight
(ต่อไป จะเรียกว่า Print Provider หรือ PP) หรือ ผู้สั่งงานพิมพ์, ลูกค้า (ต่อไป จะเรียกว่า Print Buyer หรือ PB) สิ่งที่ทั้ง PP และ PB ต้องการคือ งานพิมพ์ ที่มีคุณภาพ ซึ่งคำ�ว่าคุณภาพประกอบไปด้วยการใช้ Font ถูกต้อง, การ ใช้ Color Profile ที่ถูกต้อง, การป้องกันปัญหาเรื่อง Transparency, ขนาด ของงานถูกต้องตามความต้องการ และอื่นๆ ดังนั้นระบบที่มีความสำ�คัญ กับงานพิมพ์เป็นอย่างมากในปัจจุบันก็คือ ระบบการ Preflight หรือระบบ การตรวจเช็คไฟล์งานก่อนพิมพ์ ซึ่งผมเคยอธิบายไปแล้วเกี่ยวกับ Preflight (หาอ่านได้ในบทความที่เกี่ยวกับการ Preflight ของผมก่อนหน้านี้) ระบบ Preflight เป็นเครื่องมือที่ส�ำ คัญที่ทำ�ให้ PP และ PB ทราบว่า งานที่ส่งไป พิมพ์นั้นมีความถูกต้องในองค์ประกอบต่างๆ ครบถ้วนหรือไม่? เช่น Font ถูกต้อง, มีสีพิเศษ (Spot Color) ถูกต้อง และอื่นๆ ซึ่งระบบการ Preflight ด้วย W2P จะทำ�การวิเคราะห์ไฟล์งาน แล้วแจ้งออกมาเป็น Report แบบ Real Time ผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ท�ำ ให้ PB ทราบถึงไฟล์ที่ส่งพิมพ์ว่า มีความพร้อมขนาดไหน? มีปัญหาอยู่ที่ใด? จะแก้ปัญหาด้วยตัวเอง หรือ ส่งให้ทาง PP ช่วยแก้ (ทาง PP อาจจะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้เป็น Case by Case) ในส่วนของ PP ก็จะทราบว่างานที่ได้ถูกต้อง หรือไม่? มีปัญหา อยู่ที่ใด? ลดของเสียที่เกิดขึ้นในการทำ�งานได้เท่าไหร่? ลดการเสียเวลา ในการไปวิเคราะห์ปัญหาได้กี่นาที หรือกี่ชั่วโมง? เนื่องจากระบบจะทำ�การ เช็คให้แบบอัตโนมัติอยู่แล้ว ซึ่งตรงนี้เป็นจุดเด่นที่สำ�คัญอย่างหนึ่งของ ระบบ W2P เลยทีเดียว ThaiPrint Magazine 51
Print Business
4. มีระบบการคิดราคาที่ครอบคลุมทุกกระบวนการทำ�งาน: การคำ�นวณราคาถือเป็นส่วนสำ�คัญอย่างหนึ่งของระบบ W2P
Pricing Pricing
โดย PB สามารถเห็นราคาของสิ่งพิมพ์ที่สั่งได้ครบทุกอย่างก่อนการสั่งงานจริง ทำ�ให้สามารถตัดสินใจได้ง่ายขึ้น ส่วนของ PP ก็สามารถที่จะตั้งราคาได้ หลากหลาย เช่น การตั้งราคาตามรูปแบบงานต่างๆ (Template Pricing), การตั้งราคาแบบงานต่องาน, การใช้ตาราง Excel ทำ�งานควบคู่กันกับ W2P เพื่อคำ�นวณราคาที่ซับซ้อน, การตั้งราคาตาม User ที่ Log-in โดยให้ส่วนลด ที่แตกต่างกัน (Difference % Discount) นอกจากนั้นแล้วยังสามารถนำ�วัสดุ สิ้นเปลือง เช่น กระดาษ, หมึก, ค่าตั้งเครื่องพิมพ์, การคำ�นวณเผื่อเสียใน แต่ละงาน, ค่าแรงพนักงาน, ค่าใช้จ่ายในการทำ�งานหลังพิมพ์ อาทิเช่น ค่าเคลือบ UV และ ค่าเข้าเล่มแบบไสสันทากาว, การคำ�นวณราคาสิ่งพิมพ์ แบบขั้นบันได ยิ่งไปกว่านั้น ยังสามารถคำ�นวณการ Charge เงินกับลูกค้า ในรูปแบบต่างๆ ได้อีก เช่น ค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บงานพิมพ์ให้กับลูกค้า, ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น เมื่อสั่งพิมพ์งานด่วน เป็นต้น
5. มีระบบการจัดการกระบวนการทำ�งาน (Workflow) ภายในโรงพิมพ ไดเต็มรูปแบบ:
ระบบ W2P นี้ มีการสนับสนุนการทำ�งานพิมพ์ที่ไม่เฉพาะแค่การ ทำ�งานพิมพ์ด้วยระบบ Digital เท่านั้น แต่ยังรวมถึงระบบ Offset ที่เป็นผู้นำ� ในการผลิตสิ่งพิมพ์ในโลกปัจจุบันด้วย เช่น การนำ� W2P มาบริหารจัดการ Workflow ภายในโรงพิมพ์ (Business Flow Control) เช่น การบริหาร จัดการสินค้าคงคลัง, การบริหารเรื่องวัสดุสิ้นเปลือง อาทิเช่น หมึก และ กระดาษ, การทำ�หน้าที่เป็นตัวควบคุมคิวงานพิมพ์, การตรวจเช็คไฟล์งานก่อนพิมพ์ (Preflight), การแปลงไฟล์งาน เป็น PDF (PDF Conversion) การจัดหน้าพิมพ์และกระดาษ ที่ใช้พิมพ์มีความเหมาะสมกับงานพิมพ์ (Best Fit Imposition) การขยายงานพิมพ์เพือ่ เผือ่ ตัดตก (Automatic Bleed Setting) การทำ�ใบสั่งงาน (Job Ticketing) การ Tracking Status งานพิมพ์ว่าอยู่ในส่วนใด การทำ� ใบเสนอราคาทั้งแบบ Paper Quotation และ E-Quotation ซึ่งทำ�ให้ ลูกค้าได้ประโยชน์อย่างมากจากระบบ W2P ไม่เพียงแต่สร้างรายได้ในแง่ ของการเปิดโรงพิมพ์ 24 ชั่วโมงเท่านั้น ยังสามารถนำ�มาลดค่าใช้จ่าย ในการบริหารจัดการต่างๆ ที่กล่าวไปแล้วข้างต้น อาจจะเรียกได้ว่าเป็น Backend Software หรือ ERP (Enterprise Resource Planning) Software ขนาดย่อมๆ ได้เลย
6. มีระบบบริหารการจัดสง: ระบบ W2P ยังครอบคลุมไปถึงระบบการจัดส่ง ซึ่งสามารถเลือกระบบ
Courier ระดับโลก ไม่ว่าจะเป็น DHL, UPS หรือ FEDEX ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว รวมทั้งยังรองรับ Courier ยักษ์ใหญ่ในประเทศไทย เช่น ไปรษณีย์ ไทย เป็นต้น เพียงลูกค้ากรอกรายละเอียดที่อยู่ให้เรียบร้อย และบันทึกไว้ ในระบบ เมื่อมีการสั่งงานซ้� ำ ก็สามารถดึงข้อมูลมาใช้งานได้ทันที ลดเวลา ในการสั่งงานของลูกค้า 52 ThaiPrint Magazine
Web to Print (W2P)
7. มีระบบการจายเงินที่ครบถวน: การทำ�งานผ่านระบบ W2P ที่สมบูรณ์แบบนั้น การชำ�ระเงินก็เป็น
หัวใจอีกอย่างหนึ่งที่มองข้ามไม่ได้ ซึ่งระบบ W2P ที่ดี ต้องสามารถ รองรับลูกค้าได้ทั้งแบบ B2B (Business to Business) หรือ การทำ�ธุรกิจ แบบบริษัทกับบริษัท และการรองรับลูกค้าแบบ B2C (Business to Customer) โดยการจ่ายเงินก็ต้องสามารถทำ�ได้ทั้งแบบทั่วๆ ไป เช่น การ โอนเงินผ่านทางธนาคาร, การจ่ายเงินผ่าน Mobile Banking, การจ่าย เงินผ่าน Credit Card อาทิเช่น VISA และ Master Card, ผ่านทางระบบ การจ่ายเงิน Online ระดับโลก (E-Payment Gateway) อาทิเช่น PayPal (ปัจจุบันสนับสนุนสกุลเงินบาทแล้ว), Authorize.net รวมทั้งการจ่ายเงิน ผ่านบัตร Credit ผ่านทางธนาคารหลักของประเทศไทย อาทิเช่น ธนาคาร กสิกรไทย, ธนาคารไทยพาณิชย์ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Local Payment Gateway โดยจะต้องสามารถเขียนโปรแกรม (โดยการซื้อการเขียนโปรแกรม เพิ่มเติม) ที่เป็น Interface หรือ API ที่ใช้ในการเชื่อมต่อระหว่าง W2P Software และ Payment Connector ของธนาคารนั้นๆ ด้วย ถ้ามีครบ ถ้วนตามที่กล่าวมานี้ ทาง PP ก็ไม่ต้องกังวลเรื่องการจ่ายเงิน หรือ กังวล กับปัญหาต่างๆ เช่น สั่งพิมพ์งานแล้วไม่จ่ายเงิน จนมีของเสียเกิดขึ้น ซึ่ง ตัวลูกค้าเองก็สามารถมั่นใจได้เกี่ยวกับวิธีการจ่ายเงิน Online แบบ Verified by Visa กับ Master Secure Code ด้วยเช่นกัน รวมทั้งปัจจุบันมี พ.ร.บ เกี่ยวกับการทำ�ธุรกรรม Online ยิ่งทำ�ให้ผู้ซื้อมั่นใจเกี่ยวกับระบบความ ปลอดภัย และได้รับของที่มีคุณภาพด้วย
8. มีระบบการเชื่อมตอกับ MIS Systems เพื่อใหเปนระบบ CIP4 ที่ สมบูรณแบบ:
ด้วยระบบ W2P ในปัจจุบัน มี Software ที่สามารถบริหารจัดการ Workflow ภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงสามารถสนับสนุน การทำ�งานของ CIP4 ได้อย่างเต็มรูปแบบเช่นเดียวกัน โดย CIP4 มา จาก CIP3 ที่ผนวกรวมการทำ�งานก่อนพิมพ์, งานพิมพ์ และงานหลัง พิมพ์ผ่าน Format ที่เรียกว่า PPF แต่ในปัจจุบัน เรามีระบบที่เรียกว่า CIP4 ซึ่งผนวกรวมการทำ�งานก่อนพิมพ์, งานพิมพ์, งานหลังพิมพ์ และ Process เพื่อควบคุมกระบวนการทำ�งานต่างๆ ผ่านทาง MIS Systems โดย Format ในการทำ�งานคือ มี JDF (Jobs Definition Format) หรือ ใบสั่งงาน Electronic ทำ�งานร่วมกับ PDF ไฟล์ ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมานี้ W2P ที่ดี ก็ควรจะครอบคลุมการทำ�งานทั้งหมดนี้ด้วย
ผมคิดวาทั้ง 8 ขอที่กลาวมา คงพอทำ�ใหทานผูอานทุกทานเห็นภาพ ความแตกตางระหวางระบบ W2P กับการรับสงไฟลงานผาน Internet เชน E-mail กันบางแลว และเชื่อวาคงกระตุนความสนใจใหกับทุกทานไดมากพอ สมควร ดังนั้นเมื่อมีความตองการที่จะลงทุนในการสรางระบบ W2P จะตอง ทราบถึงความแตกตางของ W2P แตละระบบกอน แลวนำ�ขอมูลทั้งหมดมา ประกอบการตัดสินใจวา แบบไหนที่จะเหมาะสมกับการทำ�งาน และความตอง การ รวมทั้งการเตรียมตัวของ Print Provider ดวยวาถาจะเปนผูใหบริการ ลูกคาผานระบบ W2P ตองทำ�อยางไรบาง? เตรียมตัวอยางไรบาง? ดังนั้น ในเลมหนา เราจะมาคุยกันตอในเรื่องนี้ครับ ขอบคุณครับ ThaiPrint Magazine 53
Print Interview
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล
ที่ปรึกษานายกสมาคมการพิมพ์ไทย และรองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เปรียบดังเมฆฝนกอตัวพัดผานประเทศไทยไปแลว ดุจดังฟาหลังฝนจากมหาอุทกภัยครั้งยิ่งใหญ ที่สรางความเสียหายใหกับอุตสาหกรรมตางๆ ตองหยุดการผลิตไปและมีอีกหลายอุตสาหกรรมตอง ปดตัวไปอยางนาเสียดายสงผลกระทบกับประชาชนชาวไทยเปนอยางมากตองตกงานกันเปนจำ�นวน ไมนอย เราลองมาติดตามกันดูวาอุตสาหกรรมสิ่งพิมพและบรรจุภัณฑเกิดความเสียหายมากนอย ขนาดไหน โดยการไดรับโอกาสสัมภาษณจาก คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ที่ปรึกษานายกสมาคมการ พิมพไทย และรองเลขาธิการสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยกับเหตุการณมหาอุทกภัยในครั้งนี้ครับ จากวิ ก ฤตการณ น้ำ � ท ว มครั้ ง ใหญน้มี ีผลกระทบกับอุตสาหกรรม การพิมพและบรรจุภัณฑอยางไร บางครับ?
จากมหาอุ ท กภั ย ครั้ ง ยิ่ ง ใหญ่ และร้ายแรงที่สุดที่เกิดขึ้นกับประวัติ ศาสตร์ชาติไทยในครัง้ นีส้ ง่ ผลกระทบ กับอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุ ภัณฑ์อย่างแน่นอนครับ อันดับแรก เนื่องจากอุทกภัยครั้งนี้ได้เกิดขึ้นใน หลายจังหวัดของประเทศไทยตอน บนมวลน้ำ�ไหลผ่านยันมาถึงจังหวัด อยุธยาและผ่านปทุมธานี ซึง่ ทำ�ให้ นิ ค มอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ ข อง ไทยเราได้รับความเสียอย่างมากถึง 7 แห่งด้วยกัน ซึ่งนิคมฯ ทั้ง 7 แห่ง 56 ThaiPrint Magazine
นี้ถือว่า เป็นผู้ส่งออกสินค้าหลาย ประเภท ไม่ว่าเป็นเรื่องทางด้าน ประเภท Hard Disk หรือว่าเครื่องใช้ ไฟฟ้ารวมถึงอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุตสาหกรรมอาหารก็ได้รับผล กระทบอย่างรุนแรงทำ�ให้ประชาชน จำ�นวน 3 ล้านกว่าคน ได้รับผล กระทบซึ่งมวลน้ำ�ได้ท่วมขังอยู่เป็น เวลานานบางแห่ง 2-3 เดือน แต่ยัง โชคดีท่ีมวลน้ำ�ทั้งหลายยังไม่ได้เข้า มาในใจกลางตัวเมืองของกรุงเทพฯ แต่มีน�้ำ ล้อมรอบเราทั้งกรุงเทพฯ ฝั่ง ตอนเหนือ กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันตก และฝั่งตะวันออกก็มีผลกระทบบ้าง ซึ่งบริเวณต่างๆ เหล่านี้เราได้มีการ สำ�รวจก็ได้พบว่า โรงพิมพ์เรานั้นยัง
โชคดี เพราะเนื่องจากว่า โรงพิมพ์ ของเรานัน้ มีอยูป่ ระมาณ 3000 กว่า แห่ง ซึ่งกระจายอยู่หลายจังหวัด ทั่วประเทศ เพราะฉะนั้น ในจังหวัด ที่ มี น้ำ � ท่ ว มในภาคเหนื อ มาตั้ ง แต่ นครสวรรค์ อ่างทอง ลงมาจนถึง อยุธยา และปทุมธานี โรงพิมพ์ขนาด เล็กและขนาดกลางในจังหวัดนั้นๆ ก็ ได้ รั บ ผลกระทบน้ำ� ท่ ว มหมดเลย เครื่องจักรเสียหาย ส่วนโรงพิมพ์ที่ อยู่ในนิคมฯ ทั้ง 7 แห่งนั้นเสียหาย ทั้งหมด แต่เมื่อเทียบกับจำ�นวน โรงพิมพ์ทั้งหมดก็ถือว่า เสียหายไม่ มาก ส่วนโรงพิมพ์ขนาดใหญ่และ ขนาดกลางของประเทศไทย ส่วน ใหญ่จะตั้งอยู่บริเวณชานเมืองและ
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล เป็นบริเวณที่มีน้ำ�ท่วม แต่ถือว่าโชค ดี เพราะว่าหลายๆ โรงพิมพ์จะมี น้�ำ ล้อมอยู่ แต่เนื่องจากว่าในการ ก่อสร้างโรงพิมพ์นั้นมีการวางแผน และมีการลงทุนโดยการถมที่ยกพื้น ให้ มี ร ะดั บ สู ง กว่ า ถนนเป็ น เมตรๆ เพราะฉะนั้น ตัวโรงพิมพ์จะไม่ได้รับ ผลกระทบคือน้ำ�ไม่เข้าในตัวโรงพิมพ์ เครื่องจักรไม่ได้รับความเสียหายโดย ตรง แต่โดยบริเวณรอบๆ โรงพิมพ์ นั้นมีน้ำ�ล้อมอยู่ก็ส่งผลทำ�ให้หลาย โรงพิมพ์จะต้องหยุดการผลิต เนื่อง จากวัสถุดิบไม่สามารถส่งเข้ามาได้ โดยเฉพาะพวกกระดาษและพวก สินค้าที่ผลิตเสร็จแล้วก็ไม่สามารถ ส่ ง ออกไปข้ า งนอกได้ แ ละหลายๆ โรงพิมพ์จะต้องให้พนักงานทัง้ หลาย มาสู้กับน้ำ� โดยการตั้งเครื่องสูบน้ำ� 20 กว่าเครื่อง สำ�หรับโรงพิมพ์ ขนาดใหญ่ โดยใช้พนักงานทั้งหมด 3 กะ สับเปลี่ยนกันเพื่อเฝ้าเครื่อง สูบน้ำ� บางที่ก็สู้กันตลอดทั้งเดือน แต่ยังถือว่าผลกระทบโดยตรงที่ทำ� ให้โรงพิมพ์เสียหาย เครื่องจักรเสีย หายมี จำ � นวนไม่ ม ากเมื่ อ เที ย บกั บ ภาพรวม แต่ผลกระทบในทางอ้อม ก็ถือว่ามีผลกระทบมากใน 7 นิคม อุตสาหกรรมมีโรงงานอยูเ่ ป็นจำ�นวน ร้อยๆ โรงงาน ซึ่งโรงงานเหล่านี้เป็น ผู้ใช้ส่งิ พิมพ์และบรรจุภัณฑ์รายใหญ่ ทั้งสิ้น เพื่อใช้ในการส่งออกขณะนี้ โรงงานต้องหยุดการผลิต เนือ่ งจาก น้�ำ ท่วมนีป้ ระมาณ 2 เดือนแล้ว ซึ่ง ขณะนี้น้ำ�ได้เริ่มลดลงหรือแห้งหมด แล้ว แต่จะต้องทำ�การเข้าไปฟื้นฟู คาดว่า จะต้องใช้เวลาในการฟื้นฟู ระยะเวลาประมาณ 3-6 เดือน ถึงจะเริ่ ม กลั บ มาเดิ น เครื่ อ งได้ อี ก เพราะฉะนั้น ช่วงนี้โรงพิมพ์ที่ผลิต บรรจุภัณฑ์หรือว่ารับออเดอร์ใน การผลิ ต หนั ง สื อ คู่ มื อ ฉลากต่ า งๆ ให้กับโรงงานเหล่านั้น จะต้องหยุด การส่ ง สิ น ค้ า เป็ น เวลาประมาณ 6-8 เดือน ซึ่งจะส่งผลให้ได้รับผล
กระทบค่อนข้างมาก เพราะฉะนั้น โดยภาพรวมแล้ว โดยทางตรงจะ ส่งผลกระทบไม่มาก แต่โดยทางอ้อม จะส่งผลกระทบมากและยังส่งผลไป อีกกับผู้ผลิตหนังสือ และแมกกาซีน ในช่วงน้ำ�ท่วมนั้น การอ่านก็ยังถือ เป็นเรื่องรอง เรื่องแรกจะต้องเอา ชีวิตให้รอดก่อนเป็นอันดับแรกนั้น คือ ปัจจัย 4 อาหาร เครื่องนุ่มห่ม ยารักษาโรค ทีอ่ ยูอ่ าศัย เพราะฉะนัน้ ผู้ผลิตหนังสือและนิตยสาร ก็ไม่ได้ ผลิตออกมาหลายแห่งจะข้ามไปเลย 1 เดือน หรือ 2 เดือน และร้าน หนั ง สื อ เองก็ ไ ด้ รั บ ความเสี ย หาย เป็นจำ�นวนมาก หลังจากน้�ำ ลดแล้ว ร้านหนังสือเหล่านี้ก็จะต้องกลับไป ฟื้นฟูร้านหนังสือก่อนเป็นลำ�ดับแรก เงินทีค่ า้ งจ่ายหนังสือเล่มก่อนๆ หน้า นี้ ก็จะขอนำ�เงินไปฟื้นฟูร้านก่อน ชะลอการชำ � ระหนี้ ก่ อ นของร้ า น หนังสือต่างๆ ในต่างจังหวัดทีป่ ระสบ ภัยก็จะทำ�ให้สำ�นักพิมพ์ขาดสภาพ คล่องทางการเงินจะได้รับผลกระทบ ทันที เพราะฉะนัน้ ตรงนีม้ ผี ลกระทบ แน่นอนทำ�ให้กำ�ลังซื้อของผู้บริโภค มีปริมาณลดลง เนือ่ งจากว่าบางคน ก็ตกงาน บางคนก็ต้องนำ�เงินไป ซ่อมแซมบ้านก่อน ซึง่ จะทำ�ให้เงินไม่ เหลือในการบริโภคของที่ไม่จำ�เป็น เพราะฉะนั้น คาดว่าเศรษฐกิจโดย ภาพรวมกำ�ลังการซื้อของประชาชน มีจ�ำ นวนลดลง ซึ่งหนังสือหรือของ ต่างๆ ที่ไม่จำ�เป็นก็อาจจะต้องลด การซื้อไปก่อนและในปี 2555 ปี หน้าก็เป็นปีที่ต้องระมัดระวัง โดย คาดว่า อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และ บรรจุภัณฑ์อาจจะชะลอตัวลง
ภาพรวมของตัวเลขการสงออก ของอุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ แ ละ บรรจุ ภั ณ ฑ ส ง ผลกระทบมาก นอยขนาดไหนจากเหตการณน้ำ� ทวมในครั้งนี้บางครับ?
สำ�หรับเรื่องของการส่งออกใน
2554 ในปีทผ่ี า่ นมาระบบการส่งออก เวลาที่ลูกค้าต่างประเทศมาซื้อของ กับเราจะมีการให้ออเดอร์ก่อนล่วง หน้า เป็นเวลา 6 เดือน ถึง 1 ปี เพราะฉะนั้น ในช่วงที่เราประสบ ปัญหาน้ำ�ท่วมอยู่นั้น เราได้รับ ออเดอร์เก่าอยู่แล้ว ที่จะต้องส่ง สินค้า แต่ว่าเราประสบปัญหาใน เรือ่ งของการจัดส่ง เพราะว่าหลายๆ โรงงานจะต้องหยุดตัว เนื่องจาก พนักงานก็มาทำ�งานไม่ได้การจัดส่ง กระดาษวัสถุดิบต่างๆ ก็เข้ามาส่ง ไม่ได้ เพราะฉะนั้น เราจะต้องไป แจ้ ง กั บ ต่ า งประเทศโดยการเลื่ อ น กำ�หนดการส่งสินค้าออกไป แต่ช่วง ที่เราประสบภัยน้ำ�ท่วมนั้น เราถือ ว่าเป็นช่วง Peak Season หรือ ว่าเป็นช่วงที่บูมที่สุด เพราะว่าเป็น ไตรมาสสุดท้ายของปี ทั่วโลกใช้ สิง่ พิมพ์กนั เป็นจำ�นวนมาก ถึงแม้เรา จะอ้างความจำ�เป็นในเรือ่ งว่าประสบ อุทกภัย ทั่วโลกก็รู้ว่าประเทศไทย เราประสบอุทกภัยครั้งนี้อย่างใหญ่ หลวง แต่ก็ท�ำ ให้ลูกค้าของเราเสีย โอกาสในการขาย และในลูกค้าบาง รายที่เขาไม่ยอม เขาก็ทำ�การปรับ ค่าเสียหายจากผู้ผลิต แต่สิ่งที่เรา ห่วงก็คือว่า เราจะต้องดูผลกระทบ ต่อไปในปีหน้าว่า ปี 2555 นี้เขาจะ ยั ง มี ค วามเชื่ อ มั่ น ที่ จ ะกลั บ มาซื้ อ สิ่งพิมพ์ในประเทศไทย หรือเขาจะ ThaiPrint Magazine 57
Print Interview
ไปหาแหล่งอืน่ เพือ่ เป็นแหล่งสำ�รอง ในแถบเอเชียเพื่อนบ้านเรา เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย หรือจากประเทศ จีน อินโดนีเชีย หรือเวียดนาม ซึ่งก็ ยังบอกไม่ได้ แต่ถ้าเกิดเราสามารถ สร้างความเชื่อมั่นจากผู้สั่งพิมพ์ทั่ว โลกได้ว่าประเทศไทยจะไม่มีปัญหา เรื่องน้ำ�ท่วมกลับมาใหม่ในปีหน้า และเรามีมาตรการต่างๆ ในการ ป้องกันน้ำ�ท่วมได้ดีกว่านี้จะไม่มีผล กระทบต่อกำ�ลังการผลิต และการ ขนส่งสินค้า เราก็ยังเชื่อว่า เขายังให้ โอกาสเราอยู่ ตรงนี้ต้องมาดูกันใน ช่วงไตรมาสแรกของปีหน้าช่วง 3 เดือนผ่านไปแล้วออเดอร์ยังไหลมา หรือเปล่า เขาเชื่อมั่นเราขนาดไหน เขายังสั่งเราอยู่หรือเปล่า ต้องดูตรง นั้นครับ
หลังจากที่สถานการณกลับมาสู ภาวะปรกติแลว ทานคิดวาอุตฯ สิ่งพิมพและบรรจุภัณฑจะตองใช เวลานานเทาใดถึงจะสามารถฟนฟู ใหกลับมาเปนปรกติไดครับ?
ผมคิดว่าเราจะใช้เวลาประมาณ เฉลี่ยแล้ว 6 เดือน ถึง 1 ปีอย่าง น้อยในปี 2555 ทั้งปีนะครับ ผม คิดว่าสิ่งพิมพ์ก็ขึ้นอยู่ที่ GDP ของ ประเทศ ถ้า GDP ทั้งประเทศไม่ เติบโต กำ�ลังซื้อไม่มีมาตรการการ กระตุ้นจากภาครัฐ ก็จะต้องเป็น ปัจจัยสำ�คัญว่า รัฐจะมีเงินออกมา 58 ThaiPrint Magazine
ช่วยเหลือสู่ตลาด และนำ�มากระตุ้น เศรษฐกิจได้ตรงเป้าไหม มาได้ถูก จังหวะหรือไม่ ถ้าทางภาครัฐทำ�ได้ดี ก็อาจจะฟื้นได้ไวหน่อย และก็ความ เชื่อมั่นทางเรื่องการเมืองด้วยว่า ถ้า ปีหน้าการเมืองนิ่งหน่อยไม่มีปัญหา เรื่องม็อบของเสื้อแดง เสื้อเหลือง ไม่มีเรื่องการออกมาประท้วงหรือมี การปฏิวตั กิ ส็ ามารถสร้างความเชือ่ มัน่ ให้กลับมาได้เร็วขึ้นครับ
ทันเวลา และก็ตอ้ งตัดข้อจำ�กัดเดิมๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการกู้เงินเหล่านั้น ให้มากขึ้น และที่สำ�คัญที่สุดคือ จะ ต้องลดดอกเบี้ยให้ต้นทุนไม่สูงมาก เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถอยู่ได้ เพราะฉะนั้นคือ มาตรการที่พูดไป แต่มาตรการทั่วไปก็คือว่า รัฐบาล จะต้องใช้เงินอย่างมีประสิทธิภาพ สำ�หรับเงิน 8 แสนล้านที่เตรียมไว้ สำ�หรับฟื้นฟูในปี 2555 จะต้องใช้ ให้ตรงเป้า ไม่มีการคอรัปชั่นจะต้อง เร่งฟื้นฟูบรรดาสาธารณูปโภคอย่าง มีประสิทธิภาพรวดเร็ว และยังรวม ไปถึงระบบการป้องกันภัยน้�ำ ท่วม ไม่ ว่าจะเป็นโครงการระยะยาวในการ บริหารน้�ำ ทำ�อย่างไร จังหวัดทีเ่ คยเกิด น้ำ�ท่วมแล้วไม่ต้องกลับมาท่วมอีก และนิคมฯ ต่างๆ ก็ไม่ให้เกิดความ เสี่ยงเกิดขึ้นอีก ซึ่งระบบน้ำ�ตรงนั้น รัฐบาลจะต้องรีบทำ�ให้เป็นรูปธรรม เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับนักลงทุน ทั้งไทย และต่างชาติ รวมทั้งผู้ซื้อ สิ น ค้ า จากประเทศไทยให้ มี ค วาม มั่นใจว่าจะไม่มีปัญหาอย่างนี้เกิดขึ้น อีกในอนาคต
ท า นอยากให ท างภาครั ฐ เข า มา ชวยฟนฟูเยียวยาอุตสาหกรรม สิ่ ง พิ ม พ แ ละบรรจุ ภั ณฑ ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากน้�ำ ทวมในสวนใดบาง ทานมีการเตรียมกิจกรรมอะไร หลั ง จากที่นำ้� ลดเป น ปรกติ แ ล ว ? บางที่จะชวยสรางขวัญและกำ�ลัง ผมถือว่าเป็นมาตรการทั่วๆ ไป ใจใหกบั ชาวอุตสาหกรรมการพิมพ นะครับ อย่างเช่น โรงพิมพ์ที่ได้รับ และบรรจุภณ ั ฑของไทยใหกลับมาดี ผลกระทบโดยตรง เช่น เครื่องจักร เชนเดิมบางครับ? หรือโรงงานได้รับความเสียหายทาง ภาครัฐก็จะต้องใช้มาตรการในเรื่อง ของการให้เงินกู้ แล้วก็ช่วยเหลือ เพื่อให้เขาสามารถนำ�เงินนี้ไปซื้อ เครื่องจักรหรือนำ�ไปซ่อมเครื่องจักร ไปซ่ อ มโรงงานให้ ก ลั บ สามารถมา ทำ�งานได้ รวมไปถึงเรื่องของเงินสด หมุนเวียนทางภาครัฐจะต้องออก มาตรการในการทีจ่ ะผ่อนปรนเหมือน กั บ การช่ ว ยเหลื อ ผู้ ป ระกอบการ หรือ SMEs ในตามมาตรการที่รัฐได้ ประกาศออกมาให้กับอุตสาหกรรม อื่นๆ จะต้องออกมาอย่างรวดเร็วให้
ผมคิดว่า เรือ่ งนีเ้ ป็นหน้าทีข่ อง สมาคมการพิมพ์ไทยทีเ่ ป็นศูนย์กลาง ของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ทั่วประเทศ อยู่แล้ว สิ่งที่เราจะทำ�ได้ก็คือ การ ที่เราได้มีโอกาสเข้าไปคุยกับภาครัฐ ในการที่จะช่วยผลักดันในเรื่องต่างๆ ให้กับสมาชิก หรือผู้ประกอบการ รายย่อยที่ประสบปัญหา และไม่ได้ รับการช่วยเหลือใดๆ จากภาครัฐ เรายินดีเป็นศูนย์รับเรื่องเหล่านี้แล้ว ก็จะเป็นผู้ที่จะไปเร่งรัดให้ได้รับการ ช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ส่วนเรื่อง
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล อื่นๆ มาได้ที่จะทำ�ให้เราสามารถ ขยายตลาดได้กว้างขึ้นใหญ่ขึ้นกว่า เดิมครับ
ในอนาคตทานคิดวาอุตสาหกรรม การพิมพและบรรจุภัณฑจะมีการ เตรียมตัวรับมือกับวิกฤตการณ น้ำ�ทวมหนักอยางนี้ไวอยางไรบาง ครับ เพื่อใหเกิดความเสียหายนอย ที่สุดหรือไมเกิดความเสียหายเลย?
ต่อไป เราจะเร่งสร้างความเชื่อมั่น ให้ต่างประเทศเชื่อมั่นว่า ประเทศ ไทยเราที่ผ่านมา โรงงานส่วนใหญ่ที่ เป็นผู้ส่งออกไม่ได้รับผลกระทบจาก ภัยน้ำ�ท่วมโดยตรง เพราะฉะนั้น เครื่องมือ เครื่องจักร ยังพร้อม ให้บริการได้ ซึ่งเราจะต้องทำ�การ ประชาสัมพันธ์ไปในสือ่ ต่างๆ รวมทัง้ เหตุการณ์ต่างๆ หรือในงานแสดง สินค้าต่างทั่วโลกไป เพื่อให้ต่างชาติ เกิดความมั่นใจ โดยท้ายสุดนี้ ก็คงจะ ต้องทำ�นโยบายเชิงรุกในการที่ร่วม กั บ กรมส่ ง เสริ ม การส่ ง ออกในการ ที่จะไป Road Show หรือการที่จะ ออกไปหากลุ่มลูกค้าในต่างประเทศ ตัวลูกค้ารายใหญ่ 10 ประเทศแรก ที่อยู่ในรายชื่อของผู้นำ�เข้าสิ่งพิมพ์ จากประเทศไทยมากที่สุด เพื่อไป สร้างความเข้าใจ และสร้างความ มั่นใจให้เขาเห็นว่า เรายังพร้อมที่จะ ทำ�งานได้อย่างไม่มปี ญ ั หา อันนีก้ ค็ ง เป็นมาตรการในช่วงนี้ ส่วนในระยะ ยาวก็คงเป็นเรื่องของการทำ�ให้เกิด ความแข็งแกร่ง และก็พัฒนา Value Chain Supply Chain ของอุตสาหกรรม การพิมพ์ของไทยให้สามารถผลิต งานที่มีคุณภาพสูงขึ้น และมีการ ออกแบบที่ ดี เ ป็ น ผู้ นำ � ในเรื่ อ งของ การออกแบบในนวัตกรรมทางด้าน สิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ โดยเฉพาะ บรรจุภัณฑ์ทางด้านอาหาร ซึ่งถือ ว่าเป็นจุดแข็งของประเทศไทยเรา
จะทำ � อย่ า งไรที่ จ ะให้ เรามี แ บบที่ ดี เหมาะสม และสามารถช่วยขาย สินค้าได้ตรงนีอ้ ตุ สาหกรรมสิง่ พิมพ์เรา จะต้องเข้ามามีบทบาทเป็นผู้นำ�และ ร่วมกับทางภาครัฐโดยของบประมาณ จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมหรือ สำ � นั ก งานส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ขนาด กลางและขนาดย่อมหรือ สสว. หรือ กระทรวงวิทยาศาสตร์ สิ่งเหล่านี้ก็ จะเป็นนโยบายในระยะยาวที่เราจะ ต้องเตรียมตัว เพราะว่าลำ�พังเรื่อง น้�ำ อาจจะมาอันดับแรก แต่สิ่งที่เห็น แน่ๆ เลยใน ปี 2015 นี้คือเหลือ อีก 4 ปี ในภูมิภาคนี้ประเทศไทย จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกของประชาคม เศรษฐกิจของอาเซียน (AEC) ซึ่งจะมี 10 ประเทศ ในภูมิภาคนี้จะเข้าร่วม กัน ซึ่งในขณะนั้นก็จะเป็นการเปิด ประเทศให้ มี ก ารค้ า แบบเสรี มี ก าร เคลื่อนย้ายการลงทุน เคลื่อนย้าย เงินทุน เคลื่อนย้ายคนงาน และก็ เคลื่อนย้ายเทคโนโลยีอย่างเสรี ถ้า ประเทศไทยโดยเฉพาะอุตสาหกรรม การพิมพ์ของเราไม่แข็งแกร่ง โดย ไม่มีคุณภาพการพิมพ์ที่ดี และไม่มี นวัตกรรมเป็นของเราเอง ก็เป็นไป ได้ที่ถูกประเทศอื่นใน 10 ประเทศ ที่เป็นสมาชิกจะบุกเข้ามาตั้งฐานใน ประเทศไทย หรือแย่งงานของเรา และในทางกลับกัน ถ้าเรามีความ แข็งแกร่งสามารถเป็นผู้น� ำ เราก็จะ สามารถที่จะไปเอางานในประเทศ
ผมคิดว่า จากประสบการณ์ที่ ผ่านมาในครั้งนี้ ก็ช่วยสอนให้คนใน อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ จะต้องมีความระมัดระวัง และเตรียม พร้อมว่า อุทกภัยจะมีโอกาสเกิดขึ้น ได้เสมอ เนื่องจากปัญหาภาวะโลก ร้อนขึ้นไปทั่วทุกแห่งของโลก ซึ่ง ประเทศไทยเราก็ เป็นส่วนหนึ่งกับ การที่ เ กิ ด ได้ อี ก และอุ ท กภั ย ครั้ ง นี้ นอกจากปัญหาของการบริหารจัด การ และเรื่องของการเตือนภัยแล้ว แต่ที่สำ�คัญต้องยอมรับว่า ต้นเหตุ มาจากปั ญ หาเรื่ อ งของภาวะโลก ร้อน ซึ่งทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมไิ ปทัว่ โลก แม้กระทัง่ ประเทศ มหาอำ�นาจอย่างอเมริกาเองก็ยงั เจอ พายุ Tornado ถล่มไม่รู้กี่ 10 ลูก ต่อปี ซึ่งทำ�ให้ผู้คนเสียชีวิตจำ�นวน มากรวมทั้งทรัพย์สินเสียหายอย่าง มากหรือในประเทศแถบยุโรป และ หลายประเทศที่มีหิมะตกก่อนเวลา หรือหนาวที่สุดในรอบ 50 ปี หรือว่า บางแห่งที่ไม่เคยมีหิมะตก ก็มีหิมะ ตกเป็นครั้งแรก สิ่งเหล่านี้มันเป็น เครื่องเตือนใจเราแล้วว่าสภาวะโลก ร้อนสามารถทำ�ให้เกิดอุทกภัยหรือ ภัยธรรมชาติ สามารถจะมีโอกาส เกิดขึ้นได้เสมอ เพราะฉะนั้น จาก ประสบการณ์ ค รั้ ง นี้ ที่ ผ่ า นมาไม่ ใช่ เฉพาะอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์เท่านั้น นะครับทีจ่ ะได้เรียนรู้ แต่หมายความ ว่าทุกอุตสาหกรรมทีเ่ ป็นผูป้ ระสบภัย รวมทั้งประชาชนก็จะเริ่มเรียนรู้ว่า จะต้องป้องกันอย่างไร ยกตัวอย่าง ThaiPrint Magazine 59
Print Interview
เช่นครั้งนี้เห็นเลยว่า เราพยายามจะ กั้นน้ำ�กั้นมวลน้ำ�กั้นทางผ่านของน้ำ� แต่เนื่องจากน้�ำ มีปริมาณที่มาก เมื่อ เราไปกักเขาเป็นเวลานาน เขาก็จะ เกิดการสะสมพลังงานจนถึงจุดหนึ่ง ด้วยมวลน้ำ�มหาศาล เขื่อนที่เรา สร้างขึ้นไม่ว่าจะเป็นกระสอบทราย ก็เอาไม่อยู่ แม้แต่กำ�แพงปูนก็ถล่ม หมดนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ อย่าง นวนครเป็นต้น มีการเตรียมตัว มี การใช้กองกำ�ลังทหารถึง 4-5 พันนาย มีอปุ กรณ์เครือ่ งมือพร้อม แม้กระทัง่ มีแม่ทพั ไปบัญชาการด้วยตัวเอง แต่ ท้ายที่สุด ก็ไม่สามารถต้านกระแส น้ำ�นั้นอยู่ได้ ในขณะเดียวกันเรา สามารถเรี ย นรู้ ป ระสบการณ์ ไ ด้ ว่ า เราควรจะปล่อยให้น้ำ�ไปตามความ เหมาะสมที่สามารถทำ�ได้ แล้วเรา ก็ มี ก ารป้ อ งกั น ในส่ ว นของเราให้ ดี และต้องหลีกเลียงการอย่าไปขวาง ทางน้ำ�เส้นทางน้ำ� ซึ่งจะทำ�ให้เรา รู้ว่า การที่ตั้งโรงงานอยู่ในบริเวณ น้ำ�ท่วมหรือมีความเสี่ยง เราจะต้อง มีเครือ่ งสูบน้� ำ ต้องมีการกัน้ กระสอบ ทราย หรือมีการทำ�เขื่อนที่มีความ ถาวร และมีระดับความสูงทีเ่ พียงพอ เพราะว่าบางทีเราคิดว่าสูง 1 เมตร พอแล้ว แต่ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นจริง 3-4 เมตร เราจะต้องไปดูสถิติที่ผ่าน ว่า ความสูงของน้ำ�นั้นสูงเท่าไหร่ 60 ThaiPrint Magazine
และจะต้องสร้างเขื่อนที่มีความสูง มากก็ถือว่าเป็นโชคดี ถึงแม้ว่าเรา เพียงพอหรือให้ไม่มีความเสี่ยงเกิด จะต้องขาดรายได้ไป ในช่วงที่หยุด กิจการไปบ้างก็ถือว่า เป็นการหยุด ขึ้นได้เลย พักก็แล้วกัน เพราะฉะนั้น เราก็ อยากใหทานชวยฝากถึง ชาว ต้องคิดว่าน้ำ�ก็คงไม่ได้ท่วมตลอดไป อุตสาหกรรมการพิมพและบรรจุภณ ั ฑ เราต้องมีโอกาสของเรา และความ ที่ไดรับผลกระทบในครั้งนี้เพื่อเปน แข็งแกร่งของประเทศไทยเราก็ยังมี การสรางขวัญและกำ�ลังใจใหกับ อยู่ เพียงแต่ว่าเราจะต้องร่วมกันใน การที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้กลับ ผูประกอบการดวยครับ? ผมอยากจะบอกให้เพื่อนๆ ใน มาดังเดิม และที่สำ�คัญคือ ในฐานะ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ทีเ่ ราเป็นภาคเอกชน เราต้องพัฒนา นะครับว่า ชีวติ เราจะต้องดำ�เนินกัน งานของเราให้มีคุณภาพแข่งขันกับ ต่อไปนะครับ เพราะถือว่า เราโชคดี ต่างชาติให้ได้ และสร้างจุดแข็งของ กว่าหลายๆ อุตสาหกรรมอื่นๆ มาก เราต่อไป และขอบอกให้เราจะต้อง มาย เพราะหลายอุตสาหกรรมอื่น สู้ต่อไป เพราะว่าทั่วโลกตอนนี้มี ล่มไปทั้งขบวนการเลย อย่างเช่น การแข่งขันที่สูงขึ้น ซึ่งคนที่อ่อนแอ อุ ต สาหกรรมรถยนต์ จ ะเห็ น ได้ ว่ า ก็จะถูกทำ�ลายไป คนที่จะอยู่ได้ต้อง ครั้งนี้เสียหายอย่างมาก ทำ�ให้รถ เป็นคนที่แข็งแกร่ง และเป็นคนที่ ต่างๆ จะต้องหยุดการผลิตไปหลาย จะมีพัฒนาการอย่างไม่หยุดนิ่ง ใน รุ่น แล้วก็ต้องนำ�เข้าอะไหล่ หรือ โอกาสที่ผ่านพ้นปีเก่า ในปี 2554 ว่ารถยนต์สำ�เร็จรูปจากต่างประเทศ เป็ น ปี ที่ เราได้ ป ระสบพบเจอในสิ่ ง เข้ามาทดแทนหรืออุตสาหกรรม IT ที่ไม่ดี ก็ขอให้ถูกพัดไปกับสายน้ำ� เครื่องใช้ไฟฟ้าร่วมไปถึง Hard Disk แล้วขอให้ผ่านพ้นไป สำ�หรับปีใหม่ ทำ�ให้ทว่ั โลกขาดแคลนไปหมด แต่ใน นี้ ปี 2555 ก็ขอให้พบแต่สิ่งที่ดีๆ อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ และเป็นการเริ่มต้นใหม่ของคนไทย อย่างที่เรียนให้ทราบว่า โรงพิมพ์ ทั้งประเทศรวมถึงอุตสาหกรรมการ โรงงานกระดาษได้รบั ผลกระทบน้อย พิมพ์และบรรจุภัณฑ์ เราก็จะต้องสู้ มาก บางที่แทบไม่เสียหายอะไรเลย กันต่อไป ขอเป็นกำ�ลังใจให้ทุกท่าน เพราะฉะนั้น Supply Chain ของ ยืนหยัดอย่าท้อ ร่วมใจกันสู้ต่อไป เรานั้นค่อนข้างได้รับผลกระทบน้อย ครับ
Print Interview
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ให้สัมภาษณ์ถึงมาตรการในการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
มหาอุทกภัยครั้งยิ่งใหญสงผลกระทบอะไรกับอุตสาหกรรมการพิมพไทยและมีมาตรการใดในการ รับมือกับอุทกภัยทัง้ ทีเ่ กิดขึน้ หากแตอนาคตขางหนาอุตสาหกรรมการพิมพจะเดินหนา และเตรียมการ รับมือกันอยางไรลองมาติดตามกันดู จากวิกฤตการณน้ำ�ทวมไทยครั้ง นี้ผูประกอบการ โรงพิมพไดรับผล กระทบมากนอยขนาดไหนทั้งทาง ตรงและทางออม?
จากการที่เกิดภัยจากน้ำ�ทวม ในครั้งนี้ ตามจริงแลวผลกระทบที่ เกิดขึ้นทางตรงนั้นมีไมมาก สำ�หรับ ผูประกอบการโรงพิมพทั่วไปสวน ใหญจะสงผลกระทบทางออมเปน สวนมาก เพราะผูประกอบการ สวนหนึ่งจะอยูในกรุงเทพฯ ชั้นใน เปนสวนใหญ นอกจากนั้นก็จะ มี โรงพิมพท่ีต้ังอยูในนิคมสินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 43 ราย ซึ่งไม่ 68 ThaiPrint Magazine
บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด นำ�โดยประธานและกรรมการผู้จัดการใหญ่ คุณมาซาชิ ฮอนดะ ได้บริจาคเงินสด จำ�นวน 100,000 บาท ร่วมกับโครงการการ พิมพ์ไทยเทน้ำ�ใจเพื่อผู้ประสบภัยน้�ำ ท่วม โดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายก สมาคมการพิมพ์ไทย พร้อมด้วยคณะกรรมการของสมาคมฯ เป็นผู้รับมอบ
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์
กองถุงยังชีพกว่า 3,000 ชุด ก่อน ถูกลำ�เลียงขึ้นรถเพื่อนำ�ไปช่วยเหลือ ผู้ประสบอุทกภัยหลังจากเจ้าหน้าที่ และคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ ไทย ช่วยกันแพ็คมากันทั้งวัน
ได้รับผลกระทบจากน้ำ�ทวมครั้งนี้ โดยส่วนมากโรงพิมพที่โดนน้ำ�ลอม อยูก ไ็ มสามารถทีจ่ ะเปดเครือ่ งพิมพ ทำ�งานได เนือ่ งจากจะตองระวังหรือ ตองถอดแผงสวิทซ์ไฟฟาควบคุม เครื่องพิมพปองกันไวกอนหรือบาง โรงพิมพอาจจะเปดเครื่องพิมพทำ� งานไดตามปรกติ แตก็ไมสามารถ สงสินคาได เนื่องจากลูกคาอาจจะ ถูกน้ำ�ทวมเชนกัน ไมสามารถเขาไป
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย และ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ พักเหนื่อยหลังจากบรรจุถุงยังชีพ สำ�หรับวันรุ่งขึ้นที่จะออกพื้นที่ไปช่วยเหลือ ผู้ประสบภัย ครั้งที่ 1
สงสินคาไดทำ�ใหขาดรายไดสงผล กระทบในทางออม หรือจะมองให เห็ นภาพลึ ก ลงไปก็ จ ะเป น รายได อาจจะลดลงไป เพราะกิจกรรม ตางๆ ที่จะตองใชการพิมพอาจจะ ถูกระงับไวกอนก็ทำ�ใหโรงพิมพขาด รายไดในชวงที่น้ำ �ยังทวมอยูก็จะ สงผลกระทบโดยทางออมอีกเชน กัน สวนผูประกอบการโรงพิมพที่ ไดรับผลกระทบทางตรงนั้นก็มีไม
มาก ซึ่งตัวเลขที่ชัดเจนนั้นเรายัง ไมทราบตัวเลขที่แนนอนอาจจะมี โรงพิมพบางรายที่ไปอยูใน 7 นิคม อุตสาหกรรมที่ถูกน้ำ�ทวม ทาง สมาคมฯ เองก็ยังไมทราบตัวเลขที่ แนนอน แตที่ทราบสวนใหญแลว ไมไดรับผลกระทบ เพราะบางโรง พิมพก็สามารถรับมือกับน้ำ�ทวมใน ครั้งนี้ได โดยการที่น้ำ�เขาไปแลวก็ ใช้เครื่องสูบน้�ำ ออกมา ก็สามารถ รับกับสภาวะอยางนั้นไดโดยไมเกิด ความเสียหายในสวนใด อาจจะมี บางนิดหนอยแตก็ไมมาก
สมาคมการพิ ม พ ไ ทยได เ ข า ไป ช ว ยเหลื อ ด า นไหนบ า งสำ � หรั บ ผู ป ระกอบการโรงพิ ม พ ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบจากอุทกภัย?
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ร่วมกับชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์ ขนถุงยังชีพขึ้นรถเพื่อนำ�ไปช่วยเหลือผู้ประสบภัย
เบือ้ งตนจากการทีท่ างสมาคม ทราบถึงขาวเตือนภัยเรื่องอุทกภัย ในครั้งนี้ ทางสมาคมฯ ก็ไดติดตอ ขอความรวมมือจากซัพพลายเออร ตางๆ ใหชว ยสนับสนุนชางผูช �ำ นาญ การเฉพาะทางและกระจายขาวไป ยังผูประกอบการโรงพิมพตางๆ ให ThaiPrint Magazine 69
Print Interview
คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ และเพื่อนๆ กลุ่ม Young Printer ช่วยกันขนสิ่งของจำ�เป็น ขึ้นรถไปช่วยผู้ประสบภัยเป็น ครั้งที่ 2 ที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยจัดขึ้น
ชวยกันสงชางออกไปชวยสอนการ ถอดเครื่องจักรในกรณีเกิดน้ำ�เขา อยางเชน แผงควบคุมวงจรไฟฟา ตางๆ ของเครื่องพิมพจะตองถอด เก็บอยางไรใหถูกวิธีและปลอดภัย จากน้ำ�ทวมในครั้งนี้ รวมถึงชวย กันถอดสำ�หรับโรงพิมพที่มีชางไม เพียงพอ พรอมทั้งใหความรูในสวน ตางๆ เพือ่ ใหผปู ระกอบการโรงพิมพ ทุกรายมีการตรียมความพรอมตอ ทุกสถานการณเสมอ
70 ThaiPrint Magazine
สมาคมการพิมพไทยไดเขาไปชวย เหลือผูประสบอุทกภัยทั่วไปหรือ ไมและไดรวมบริจาคในสวนใดบาง?
สมาคมการพิมพไทยเราไม ไดมุงเนนที่จะชวยเหลือเฉพาะ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ แ ต อ ย า ง เดียว หากยังเล็งเห็นความสำ�คัญ ของประชาชนทั่วไปดวยวา หาก ทางสมาคมสามารถที่จะสนับสนุน หรือชวยเหลือดานใดไดทางสมาคม ก็ ยิ น ดี ที่ จ ะสนั บ สนุ น อย า งเต็ ม ที่
หลังจากปญหาอุทกภัยครั้งนี้ ทาง สมาคมก็ไดตั้งโครงการ “การพิมพ ไทยเทน้�ำ ใจเพือ่ ผูป ระสบภัยน้�ำ ทวม” สมาคมฯ ไดเปดบัญชีรับเงินบริจาค จากผูท ใ่ี หความรวมมือหลายหนวย งานที่พรอมจะสนับสนุนทั้งเงินสด และของใชทจ่ี �ำ เปนในชีวติ ประจำ�วัน เพื่อนำ�มาบรรจุลงถุงยังชีพ และ นำ�ไปชวยเหลือพี่นองประชาชน โดยไดรับความรวมมือจากศูนย บรรเทาสาธารณภัยกองทัพภาคที่ 2 สวนหนา ไดใหการสนับสนุนดาน การเดินทาง โดยรถ GMC เรือยาง และเจาหนาที่ทหาร ที่คอยชวย ลำ�เลียง เสบียงอาหาร ถุงยังชีพ พรอมทั้ง เรือพาย และสุขากระดาษ ที่ทางสมาคมการพิมพไทยไดนำ�ไป แจกใหกับผูประสบภัยน้ำ�ทวมใน ครั้งนี้ โดยทางสมาคมฯ ไดจัดเปน 3 ทริป ครั้งแรกจะเปนวันที่ 24 พฤศจิกายน 2554 ไปแจกถุงยังชีพ และของใชจำ�เปนตางๆ แถวคลอง บางแวก ฯลฯ และครั้งที่ 2 วันที่ 26 พฤศจิกายน 2554 ไปแถว บางใหญ่ โดยมีทั้งคณะกรรมการ สมาคมการพิมพไทยและผูป ระกอบ
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์
พี่น้องประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนออกมารอรับถุงยังชีพจากคณะกรรมการ สมาคมการพิมพ์ไทยและอาสาสมัครด้วยความดีอกดีใจ
การในอุตสาหกรรมการพิมพรวม ถึงตัวผมเองดวยก็ไดไปรวมบริจาค ในครัง้ นีด้ ว ยประมาณ 30 กวาทาน ซึ่งกิจกรรมนี้ก็ผานไปดวยดีไดรับ ความรวมมือเปนอยางดี และสวน จำ�นวนเงินที่ยังคงเหลืออยูในบัญชี ชวยเหลือผูประสบภัยน้�ำ ทวม เรา จึงได้นำ�เงินส่วนนี้มาจัดถุงยังชีพ และบริจาคเปนทริปที่ 3 ณ บริเวณ บางใหญ่ สำ�หรับผูประสบภัยที่ได รับความเดือดรอน อีกทั้งจะนำ�ไป ช ว ยผู้ ป ระสบภั ย ในอุ ต สาหกรรม การพิ ม พ ข องเราเองที่ ไ ด รั บ ผล กระทบ สมาคมการพิมพไทยก็จะ ยื่นมือเขาไปชวยเหลือเยียวยาให เขาสามารถดำ�เนินธุรกิจตอไปได ดังเดิม
กิ จ กรรมช ว ยเหลื อ ผู ป ระสบ อุ ท กภั ย ที่ ท างสมาคมการพิ ม พ ไทยจั ด ขึ้ น นี้ ไ ด รั บ ความร ว มมื อ รวมใจจากภาคสวนใดบาง และ ประสบผลสำ�เร็จมากนอยเพียงใด?
จากการที่ ท างสมาคมการ พิมพไทยไดจัดกิจกรรมนี้ขึ้นไดถือ
วาประสบผลสำ�เร็จเปนอยางมาก โดยมีผูที่ตองการเขารวมในครั้งนี้ มีจำ�นวนมาก แตก็ไมสามารถนำ�ไป ดวยไดทั้งหมด เนื่องดวยจำ�นวนรถ และเรือของทหารมีจำ�นวนจำ�กัด ซึ่งไมสามารถนำ�พาผูตองการเขา รวมในทริปนี้ไดทั้งหมด เราจึงไป ไดแคบางสวนเทานั้น เพราะมีทั้ง ของที่จะเอาไปบริจาคและจำ�นวน เจาหนาที่ทหาร คณะกรรมการ สมาคมการพิมพไทยและจิตอาสา ตางๆ ก็เต็มรถ ซึ่งจะตองไปตอเรือ กันอีก เพื่อลำ�เลียงของไปใหถึงมือ ผูประสบภัยอยางทั่วถึง สำ�หรับ ผูที่ไมไดไปทางสมาคมการพิมพ์ ไทยก็ขอเป็นตัวแทนที่จะไปบริจาค สิ่งของแทนท่าน เพราะเรามองวา ในอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ไ ทยเรา ทุกคน ก็มีน้ำ�ใจถึงกันหมด และ ก็อยากที่จะไปใหความชวยเหลือ พี่นองประชาชนที่ไดรับความเดือด ร อ นให เขาได รั บ น้ำ � ใจไมตรี จ าก กลุมอุตสาหกรรมการพิมพของเรา อยางทั่วถึง
หลังจากประเทศไทยไดเขาสูภาวะ ปรกติแลว ทางสมาคมการพิมพ ไทยไดเตรียมมาตรการซอมแซม เครื่องพิมพหลังน้ำ�ลดไวอยางไร บาง เพื่อชวยเหลือผูประกอบการ โรงพิมพ?
ทางสมาคมการพิมพไทยเอง ก็ไดประสานงานกับภาครัฐ เพื่อ นำ�เสนอเรือ่ งงบประมาณตางๆ ทีจ่ ะ นำ�มาชวยในสวนที่ผูประกอบการ โรงพิ ม พ ไ ด รั บ ความเดื อ ดร อ น โดยทางสมาคมฯ เขาไปตรวจสอบ
ขอขอบคุณทุกแรงสนับสนุนทัง้ กำ�ลังกาย กำ�ลังใจ กำ�ลังทรัพย์ทช่ี ว่ ยเหลือผูป้ ระสบ ภัยด้วยความเต็มใจในครั้งนี้ ThaiPrint Magazine 71
Print Interview ผลกระทบในปนี้ ก็จะสามารถ ประมาณไดวาจะตองทำ�ใหเครื่อง พิมพอยูในตำ�แหนงทีส่ ูงขนาดไหน จึ ง จะปลอดภั ย จากน้ำ � ที่ ท ว มเมื่ อ เขามาในตัวโรงพิมพเอง หรือทำ� แนวปองกันโรงพิมพที่ม่ันคงและ ไดมาตรฐานก็สามารถรับมือกับ สถานการณอนั เลวรายอยางนีไ้ ด
อยากใหทานชวยกลาวใหกำ�ลังใจ กับผูประกอบการโรงพิมพที่ไดรับ ผลกระทบในครั้งนี้ดวยครับ
ตามโรงพิมพตางๆ ที่ไดรับผล กระทบวาเสียหายอะไรบาง และ ทางสมาคมก็ จ ะนำ � ข อ มู ล ต า งๆ เหลานี้เขาไปเสนอกับภาครัฐ เพื่อ จะไดนำ�มาดำ�เนินการฟนฟู ซึ่งจะ เปนแผนแรกที่ทางสมาคมกำ�หนด เอาไว และหากไมไดงบสนับสนุน ในสวนนี้ทางสมาคมก็ยังมีแผนที่ 2 คือไดประสานงานกับผูประกอบ การที่ขายพวกเครื่องพิมพใหชวย สนับสนุนในการสงชางไปชวยซอม บำ�รุงเครื่องพิมพและทางสมาคมก็ จะสนันสนุนเรื่องของคาเบี้ยเลี้ยง หรือคาเดินทางตางๆ ทีท่ างสมาคม สามารถที่ จ ะช ว ยเหลื อ ได ก็ ยิ น ดี ชวยเหลืออยางเต็มที่
เตรี ย มตั ว ที่ ดี พ อสมควรจึ ง ไม มี ผูไดรับผลกระทบในจำ � นวนมาก ถือวาเปนสวนนอยที่ไดรับ และ ก็ไมมาก หากถามวาในอนาคต อาจจะเกิดเหตุการณอยางนี้อีก เราจะตองเตรียมตัวโดยการถอด แผงวงจรไฟฟาทีค่ วบคุมเครือ่ งพิมพ ออกทันทีที่ไดรับขาวสารและตอง ติดตามสถานการณใหเ ป น อย า ง ดี หรือไมก็จะตองยกพื้นใหสูงขึ้น ใหเครื่องพิมพอยูในตำ�แหนงที่สูง กวาเดิม เพราะโรงพิมพที่ไดรับ
ผมก็ขอฝากไปยังผูประกอบ การโรงพิมพที่ไดรับผลกระทบดวย นะครับก็ขอใหทุกทานมีกำ�ลังใจที่ จะตอสูและฟนฝากันตอไป เมื่อเรา ลมเราก็ยังสามารถลุกกลับขึ้นมา อีกไดดวยกำ�ลังใจของเราเองเพื่อ จะตอสูก นั ตอไปไดในอนาคตเพราะ วาเหตุการณครั้งนี้ก็ถือวาเปนภัย ที่ เ กิ ด จากภั ย ธรรมชาติ ที่ ย ากจะ สามารถคาดการณไดลวงหนา ผม และสมาคมการพิมพไทยขอเปน กำ�ลังใจใหกบั โรงพิมพทกุ ๆ โรงพิมพ ที่ไดรับผลกระทบในครั้งนี้ครับ
ในความคิดสวนตัวของทานหาก เกิ ด เหตุ ก ารณ แ บบนี้ ขึ้ น มาอี ก ผู ป ระกอบการโรงพิ ม พ ค วรจะ ตองทำ�อยางไรในการเตรียมตัว รับมือกับเหตุการณที่ไมคาดฝน เชนนี้? ในสวนตัวแลวผมคิดวา อุทก ภัยในครั้งนี้เนื่องจากน้ำ�ถูกกักไวอยู ดานบนของกรุงเทพมหานครทาง ผูประกอบการโรงพิมพ ก็มีการ 72 ThaiPrint Magazine
สภาพการเดินทางที่ยากลำ�บาก เพราะน้ำ�ท่วมสูงเกือบถึงคอสะพาน กว่าจะนำ�ถุงยังชีพไปส่งให้ถึงมือพี่น้องประชาชนที่ประสบภัยในครั้งนี้
การช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย ปี 2554
การช่วยเหลือเยียวยา ผู้ประสบอุทกภัย ปี 2554 อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชนในวงกว้างรัฐบาลจึงได้กำ�หนด แผนการช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัยครอบคลุมกลุ่มต่างๆ ทั้งประชาชนทั่วไป เกษตรกร ผู้ใ่ช้แรงงาน ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมและผูป้ ระกอบการรายย่อย เราจึงขอรวบรวมความช่วยเหลือจากหน่วยงานต่างๆ โดยผู้ประสบอุทกภัยสามารถขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานรับผิดชอบได้ดังต่อไปนี้
ThaiPrint Magazine 73
Print News
74 ThaiPrint Magazine
การช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย ปี 2554
ThaiPrint Magazine 75
Print News
76 ThaiPrint Magazine
การช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย ปี 2554
ThaiPrint Magazine 77
Print News
78 ThaiPrint Magazine
การช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบอุทกภัย ปี 2554
ThaiPrint Magazine 79
Print News
80 ThaiPrint Magazine
Global Printing Update
ทำ�การตลาดอย่างไรให้อยู่ในใจลูกค้าอย่างยั่งยืน ตอนที่ 2 แนวคิดของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) CRM
Customer
โดย คุณอรชุดา ประภาพงศ์พันธุ์ ผู้จัดการส่วนงานวางแผนและพัฒนาตลาด Thai Paper ใน SCG Paper
“แนวคิดของการบริหารลูกคาสัมพันธ หรือการทำ� CRM นั้นมีอะไรบางเปนองคประกอบหลัก และมีประโยชนอยางไรกับธุรกิจของเรา” คำ�ถามเหลานี้คงอยูในความคิด ของนักการตลาดหลายๆ คน กอนอื่นนั้น ดิฉันขอใหนักการตลาดทำ�ความเขาใจ แนวคิดพื้นฐานของการบริหารลูกคาสัมพันธ (Customer Relationship Management: CRM) เพื่อสรางความเขาใจและการประยุกตใชไดอยางมีประสิทธิภาพ ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management: CRM) เป็นกลยุทธ์ทางธุรกิจ เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว โดยเรียนรู้ ความต้องการที่แตกต่าง และตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้วยสินค้า หรือบริการที่มีลักษณะเป็นปัจเจกบุคคล ฉะนั้น ระบบการจัดการลูกค้า สัมพันธ์จึงเป็นเรื่องของการบันทึกข้อมูลทุกอย่างของลูกค้า ซึ่งอาจทำ�ใน ลักษณะการบันทึกด้วยมือหรือการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ (การใช้คอมพิวเตอร์ นั้นมักจะให้ข้อมูลที่แม่นยำ�และมีประสิทธิภาพกว่า) ก็ได้ ตัวอย่างเช่น ในอดีต SCG paper ใช้วิธีเก็บข้อมูลจากรายงานการขาย (Sale Visit Report) โดยข้อมูลที่เราให้ความสำ�คัญนั้น จะเป็นข้อมูลที่สามารถบอกเราได้ว่า ลูกค้าของเราคือใคร และมีความรู้สึกอย่างไรกับผลิตภัณฑ์ของเรา ซึ่งหาก เรานำ�ข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์ด้วยวิธีที่มีประสิทธิภาพ ความรู้ที่ได้นั้นก็ สามารถทำ�ประโยชน์ให้แก่บริษัทได้มากเท่านั้น
องคประกอบหลักทั่วไปของระบบการจัดการลูกคาสัมพันธ
1. การสร้างระบบการตลาดอัตโนมัติ (Market Automation) การสร้างการตลาดอัตโนมัตินั้นต้องอาศัยฐานข้อมูลที่มีลักษณะ ที่เป็น Dynamic และมีการปรับเปลี่ยนตลอดเวลาเพื่อประโยชน์ในเรื่อง การกำ�หนดกลุ่มลูกค้า (Ranking) การจัดการในเรื่องกลุ่มเป้าหมายและการ สร้างและบริการด้านการโฆษณาสินค้า 2. ระบบการขาย Sales Automation ในระบบการขายนัน้ ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ รายการขายที่ จะมีการบันทึกข้อมูลเบื้องต้นของลูกค้า ทั้งที่เป็นลูกค้า เกิดขึ้นแล้ว เป้าหมายและไม่ใช่เป้าหมาย ทั้งก่อนและหลังการขาย วิเคราะห์ โดยเทียบกับ เป้าหมายทางธุรกิจที่ และเมื่อนำ�ข้อมูลเหล่านี้มาวิเคราะห์จะทำ�ให้เราสามารถ วางไว้ หรือเปรียบเทียบ สร้างกลุ่มเป้าหมายของเราได้ ซึ่งระบบการจัดการลูกค้า กับยอดขายในแต่ละ ช่วงเวลา สัมพันธ์มักเน้นการใช้ประโยชน์จากข้อมูลก่อนการขาย
ขั้นตอนก่อน การขาย - การสร้างกลุ่มเป้าหมายการ ติดตาม (Tracking) - การจัดการในด้านคำ�สั่งซื้อ และการตอบสนองต่อ ค่าสั่งซื้อ (Order Fulfillment)
ThaiPrint Magazine 81
Global Printing Update 3. การบริการลูกค้า (Customer Service) เป็นการติดตามในเรื่องต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายหลังการขาย อาทิเช่น รายการด้านบริการหลังขาย และการร้องเรียนต่างๆ เป็นต้น แต่ปัจจุบัน นั้นส่วนการบริการลูกค้าในระบบ ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ ยังขาด ในเรื่องของระบบการติดตาม (Tracking) การวิเคราะห์และสรุปผล เพื่อนำ� ข้อมูลเหล่านี้ไปเป็นประโยชน์ในการสร้างการขายครั้งต่อๆ ไป นอกเหนือจากองค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนนี้แล้ว ในการทำ�ระบบการจัด การลูกค้าสัมพันธ์นั้นองค์กรจะต้องให้ความสนใจในเรื่องของการจัดสรร งบประมาณการลงทุน การกำ�หนดนโยบายในด้านต่างๆ ที่ชัดเจนและการ เชื่อมต่อระบบทั้ง 3 ข้างต้นเข้าด้วยกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและผล ประโยชน์ที่สูงสุด
หลักการของระบบการจัดการลูกคาสัมพันธ การบันทึกข้อมูลลูกค้า - ก่อนการซื้อขาย - ช่วงการซื้อขาย - หลังการซื้อขาย
ประมวลผลวิเคราะห์
เทคโนโลยีที่จำ�เปนตองใชในการบริหารลูกคาสัมพันธ
เพื่อให้เห็นถึงสาเหตุบางอย่าง เพื่อสร้างความพึงพอใจกับลูกค้า เพื่อเพิ่มรายได้และการขายได้ เพื่อทราบว่าลูกค้าของเราอยู่ที่ไหนในตลาด สามารถหาลูกค้ารายใหม่ได้และรักษาฐานลูกค้า เดิมได้
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) เป็นการทำ�ธุรกรรมผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ตตั้งแต่การให้ข้อมูลสินค้า การทำ�รายการซื้อขาย ระบบ การชำ�ระเงินและระบบความปลอดภัย คลังข้อมูล (Data Warehousing) เป็นการรวมฐานข้อมูลหลายฐาน จากระบบปฏิบัติการ เช่น ระบบขาย ผลิต บัญชี มาจัดทำ�สรุปใหม่หรือ เรียบเรียงใหม่ตามหัวข้อต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย ข้อมูล จะเก็บในลักษณะสรุป ประวัตกิ ารทำ�ธุรกรรมและแนวโน้มต่างๆ เช่น รูปแบบ ทางธุรกิจ ยอดขาย การเติบโตทางเศรษฐกิจ การขุดค้นข้อมูล (Data Mining and OLAP) เป็นเครือ่ งมือหรือ ซอฟต์แวร์ทด่ี งึ ข้อมูลและวิเคราะห์จากข้อมูลปฏิบตั กิ าร จากระบบฐานข้อมูล ต่างๆ เพื่อนำ�มาวิเคราะห์ทางสถิติ การหาพฤติกรรมของลูกค้า เพื่อให้ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น รวมทั้งการแบ่งแยก ตลาด เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ การใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต (Internet Technology) เป็นการนำ� เทคโนโลยีมาใช้ปรับปรุงปฏิสัมพันธ์กับลูกค้า เช่น การใช้เว็บเทคโนโลยี การใช้อีเมล์ การใช้ระบบส่งข้อความ (Instant messaging) เช่น MSN messenger หรือ ICQ ระบบศูนย์บริการลูกค้า (Call – center) การใช้ระบบ PC telephony รวมถึง Internet telephony ซึ่งเป็นการรวมระบบโทรศัพท์เข้ากับระบบงาน ต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลของลูกค้า การขาย การเงิน และผลิตภัณฑ์ เพื่อตอบ สนองความต้องการของลูกค้าอย่างรวดเร็ว ระบบโทรศัพท์มือถือ ความสามารถที่เพิ่มขึ้นของโทรศัพท์มือถือ ทำ�ให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ทั้งในรูปแบบของภาพ เสียง ข้อมูล ภาพ 82 ThaiPrint Magazine
Global Printing Update เคลื่อนไหว เนื่องจากจำ�นวนผู้ใช้โทรศัพท์มือถือทั้งที่มีอยู่ และอัตราการ เติบโตที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วทำ�ให้โทรศัพท์มือถือ มีบทบาทสำ�คัญในการ บริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า การเลือกเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม จะทำ�ให้ธรุ กิจสามารถให้บริการดีขน้ึ โดยใช้ต้นทุนที่ลดลงสามารถใช้ช่องทางการติดต่อสื่อสารที่เหมาะสมกับ การทำ�ธุรกิจ ดังนัน้ ธุรกิจขนาดใหญ่ในปัจจุบนั เริม่ ให้ความสนใจการปรับปรุง ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์แบบเก่าเป็นระบบที่มีการนำ�เทคโนโลยีมาใช้ มากขึ้นเรียกว่า ระบบการจัดการลูกค้าสัมพันธ์ออนไลน์ (Electronic Customer Relationship Management หรือ e-CRM)
ประโยชนของการบริหารลูกคาสัมพันธ
1. การเพิ่มรายได้จากการขาย (Sale Revenue Increase) การมุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า เพื่อทำ�ให้ลูกค้าเกิด ความภักดีการใช้สินค้าหรือบริการ (Customer Loyalty) ทำ�ให้มีรายได้ที่เพิ่ม ขึ้น ปรับปรุงกระบวนการทำ�งานในบริษัทลดรายจ่ายในการดำ�เนินงาน และ ต้นทุนการหาลูกค้าใหม่ๆ หรือดึงลูกค้ากลับมาใช้สินค้าหรือบริการอีกครั้ง 2. การบริหารวงจรการทำ�ธุรกิจของลูกค้า (Customer Life Cycle Management) 2.1 การหาลูกค้าคนใหม่ขององค์กร (Customer Acquisition) โดย การสร้างความเด่น (Differentiation) ของสินค้าหรือบริการทีใ่ หม่ (Innovation) และเสนอความสะดวกสบาย (Convenience) ให้กับลูกค้า 2.2 การเพิ่มความพึงพอใจให้กับลูกค้า เพื่อทำ�การซื้อสินค้า และ บริการ โดยผ่านขั้นตอนการทำ�งานที่กระชับ เพื่อการสนองตอบความต้อง การของลูกค้าได้รวดเร็วและถูกต้อง และการทำ�งานที่ตอบสนองสิ่งที่ลูกค้า ต้องการหรือเสนอสิ่งที่ลูกค้าต้องการ โดยผ่านหน่วยงาน ลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Service) 2.3 การรักษาลูกค้า (Customer Retention) ให้อยู่กับองค์กรนาน ที่สุด และการดึงลูกค้าให้กลับมาใช้สินค้าหรือบริการ โดยฟังความคิดเห็น จากลูกค้าและพนักงานในองค์กร รวมถึงการเสนอสินค้าและบริการใหม่ 3. การเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการตัดสินใจ (Improving Integration of Decision Making Process) เพิ่มการประสานงานในฝ่าย ต่างๆ ของบริษัท โดยเฉพาะการใช้ระบบฐานข้อมูลของลูกค้าร่วมกัน และ ผู้บริหารสามารถดึงข้อมูลจากระบบต่างๆมาประกอบการ ตัดสินใจ เช่น - รายละเอี ย ดของลู ก ค้ า ที่ ติ ด ต่ อ เข้ า มาในฝ่ า ย ลูกค้าสัมพันธ์ (Call Center) - รายละเอียดของการจ่ายเงินของลูกค้าจากฝ่าย ขาย (Sales) - กิจ กรรมทางการตลาดที่ เ สนอให้ ลูกค้าแต่ละ กลุ่มแต่ละบุคคลจากฝ่ายการตลาด - การควบคุมปริมาณของสินค้าในแต่ละช่วงจาก ฝ่ายสินค้าคงคลัง (Inventory Control) 4. การเพิม่ ประสิทธิภาพในการดำ�เนินงาน (Enhanced Operational Efficiency) การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ�งานของฝ่ายต่างๆ ของบริษัท โดยข้อมูลต่างๆ นั้นได้มาจากช่องทางการ ThaiPrint Magazine 83
Global Printing Update สื่อสาร เช่น Fax, โทรศัพท์ และอีเมล์ - ฝ่ายขาย : Telesales, Cross-selling และ Up-selling ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายขาย เช่น ในการขายสินค้า แบบ Cross – selling และ Up-selling เพิ่มความสามารถในการคาดเดา แนวโน้มการซื้อสินค้าหรือบริการ รวมถึงการใช้ข้อมูลของลูกค้า เช่น ข้อ สัญญา (Contract) ระหว่างองค์กรกับลูกค้า ระบบยังช่วยระบุรายละเอียด ของสินค้าหรือบริการให้เหมาะสมกับลูกค้าแต่ละราย การเก็บข้อมูลทาง ด้านการขาย และการตรวจสอบสถานภาพของการส่งสินค้าให้กับลูกค้า - ฝ่ายการตลาด (Marketing) ระบบการบริการลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) มีส่วนช่วยให้บริษัท สามารถวิเคราะห์ว่าวิธีใดที่ควรจัดจำ�หน่าย สินค้าผ่านช่องทางการขายต่างๆ เช่น ตัวแทนการขาย และผ่านทางเว็บไซต์ ระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ยังมีบทบาทสำ�คัญกับช่องทางการสื่อสาร เช่น ระบุช่องทางการสื่อสาร ที่เหมาะสมที่สุดสำ�หรับการขายสินค้าชนิด นั้นหรือลูกค้าแต่ละราย หรือการระบุพนักงานที่เหมาะสมที่สุดในการให้ บริการหรือติดต่อกับลูกค้ารายนนั้นๆ - ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Service) และฝ่ายสนับสนุน ระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ในฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Service) และฝ่ายสนับสนุนที่สำ�คัญคือ ด้านการดูแลลูกค้า (Customer Care Service) เช่น ระบบการจัดการเกี่ยวกับข้อมูล รายละเอียดของลูกค้าในองค์กร (Account management) และระบบแสดงรายละเอียดของ ข้อสัญญาระหว่าง องค์กรกับลูกค้า นอกจากนี้แล้ว ระบบจัดการด้านอีเมล์ถือว่าเป็นส่วนสำ�คัญ ในการสร้างกลยุทธ์ในการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ เช่น สามารถย้อนหลังอีเมล์ ของลูกค้าในอดีตได้ และระบุผแู้ ทนฝ่ายขายทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ กับลูกค้ารายนัน้ ได้ โดยข้อมูลที่ใช้อาจจะมาจากข้อมูลต่างๆ ที่ลูกค้าเคยติดต่อด้วย - รายละเอียดของการชำ�ระค่าสินค้าหรือบริการให้กับลูกค้า (Customer Billing) ธุรกิจสามารถใช้ระบบการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) ออกรายละเอียดการจ่ายเงินของลูกค้า (Bill payment) และที่ผ่านการจ่าย เงินระบบอินเตอร์เน็ต และการให้บริการการตอบข้อสงสัยต่างๆ ผ่านช่อง ทางการสื่อสารต่างๆ เช่น ในระบบออนไลน์ - การขายและให้บริการในสถานทีท่ ล่ี กู ค้าต้องการ (Field Sales and Service) การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับการขายและให้บริการ ในสถานที่ที่ลูกค้าต้องการ ทำ�ให้พนักงานสามารถสามารถช่วยในการดึง ข้อมูลมาใช้ในขณะที่ทำ�การขายหรือการให้บริการกับลูกค้า โดยสามารถใช้ ข้อมูลดังกล่าวร่วมกับข้อมูลขององค์การร่วมกันได้ การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ ยังมีส่วนการจัดการเกี่ยวกับ • การทำ�รายงานทางการขาย • การสร้างใบเสนอ ราคาให้กบั ลูกค้าและเงือ่ นไขพิเศษให้กบั ลูกค้า แต่ละรายแบบอัตโนมัติ • การเสนอสินค้าที่มีความพิเศษเฉพาะตามความต้องการของ ลูกค้าแต่ละรายแบบอัตโนมัติ • การเสนอสินค้าที่มีความพิเศษเฉพาะตามความต้องการของ ลูกค้าแต่ละราย (Customized Products) • ระบบที่ทำ�งานประสานกับสินค้าคงคลัง (Inventory System) • ระบบการสั่งซื้อ (Ordering System) • การส่งและรับสินค้าหรือบริการ 84 ThaiPrint Magazine
Cross selling
Global Printing Update • การออกใบแจ้งหนี้และการจัดการระบบโควต้าในการขาย - กิจกรรมที่สร้างความภักดีและการรักษาลูกค้า (loyalty และ Retain Program) การบริการลูกค้าสัมพันธ์ ที่มีประสิทธิภาพขึ้นอยู่กับการ แยกความแตกต่างเหล่านี้ตามกลุ่มลูกค้า (Customer Segmentation) เช่น - การจำ�แนกประเภทของลูกค้าออกตามความต้องการของลูกค้า, ประวัติส่วนตัวของลูกค้าและประวัติการซื้อ - นอกจากนีย้ งั มีสามารถดูกจิ กรรมย้อนหลัง เพื่อบริษัทจะได้น�ำ ข้อมูลเหล่านี้ไปวิเคราะห์หาข้อมูลเชิงลึก เช่น • ช่องทางการสือ่ สารเหมาะสมทีส่ ดุ ของลูกค้าแต่ละราย (Effective Communication Channel) • พฤติกรรมการซื้อของลูกค้า (Customer Behavior) และสินค้า ที่มีความพิเศษเฉพาะตัวสำ�หรับลูกค้าในแต่ละราย 5. การเพิ่มความรวดเร็วในการให้บริการ (Speed of Service) การใช้หลักการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) สามารถปรับปรุง กระบวนการทำ�งาน โดยมุ่งเน้นที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้าจะต้อง รวดเร็วและถูกต้อง โดยเฉพาะการตอบสนองแบบให้บริการหรือตอบสนอง กับลูกค้าทันที เช่น ระบบการสั่งสินค้าที่มีการเชื่อมโยงระบบต่างๆ ทั้งใน ฝ่ายรับการสั่งซื้อ (Order Fulfillment) ฝ่ายขาย (Sales Department) ฝ่าย บัญชี (Accounting Department) ฝ่ายสินค้าคงคลัง (Inventory) และฝ่าย ที่เกี่ยวข้องกับการให้เครดิตกับลูกค้า 6. การรวบรวมรายละเอียดต่างๆ ของลูกค้า (Gathering More Comprehensive Customer Profiles) การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) ได้ช่วยให้เพิ่มประสิทธิภาพการ ทำ�งานของฝ่ายต่างๆ ในบริษัทได้มากขึ้น เพราะว่าการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (CRM) ช่วยการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลของลูกค้าที่มีอยู่ได้มากขึ้นทำ�ให้ข้อมูล เก็บอย่างเป็นระบบอย่างเชื่อมโยงขึ้น บริษัทสามารถนำ�ฐานข้อมูลนี้มาใช้ ในระบบต่างๆ ได้ 7. การลดต้นทุนในด้านการขายและการจัดการ (Decrease General Sales and Marketing Administration Costs) การลดลงของต้นทุนการดำ�เนินงานนั้น มาจากใช้หลักการบริหาร ลูกค้าสัมพันธ์ เนื่องจากบริษัทมีระบบการจัดการที่เน้นในเรื่องการสร้าง ความสัมพันธ์อันดีกับลูกค้า เข้าใจความต้องการของลูกค้า และสามารถ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากขึ้น ทำ�ให้บริษัทไม่สูญเสียต้นทุน ในการดึงลูกค้ากลับเป็นลูกค้าขององค์กรนั้นอีก และตัดกระบวนการที่ไม่ จำ�เป็นและกิจกรรมที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้แก่บริษัท 8. การสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Added) ให้กับลูกค้า ในปัจจุบันลูกค้า นั้นพยายามแสวงหาความพึงพอใจสูงสุดจากสินค้าและบริการ สิ่งที่ลูกค้า ต้องการจึงไม่ใช่แค่คุณค่า (Value) อีกต่อไป แต่ต้องการคุณค่าเพิ่มที่ท�ำ ให้ ลูกค้ามีความรู้สึกมากกว่าความพอใจ ซึ่งผู้ประกอบการควรสร้างคุณค่าเพิ่ม ให้กับสินค้าและบริการ โดยผ่าน Value Chain ทั้งในส่วนของคู่ค้า (Supply Chain) และในส่วนของความต้องการของลูกค้า (Demand Chain) เพื่อทำ�ให้ เกิดการบูรณาการที่ทำ�ให้เกิดมูลค่าเพิ่มให้กับลูกค้าอย่างครบวงจรทั้งระบบ จากหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้องทั้งภายในองค์กร และภายนอกองค์กร (Internal and External Organization) นับตั้งแต่ ThaiPrint Magazine 85
Global Printing Update - ผู้จำ�หน่ายวัตถุดิบ (Raw Materials Suppliers) - กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับวัตถุดิบ (Material Procurement) - การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Designers) - การจัดหาอุปกรณ์ชิ้นส่วน (Spare Parts Suppliers) - การขาย (Sales) และการตลาด (Marketing) - ผู้ที่ท�ำ การจัดจำ�หน่าย (Distributors) และ - หน่วยงานลูกค้าสัมพันธ์ (Contact Center) เป็นต้น Customer Relationship Management หรือ CRM คือ กลยุทธ์ การบริหารจัดการอย่างหนึ่ง ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อช่วยองค์การให้สามารถ จัดการกระบวนการต่างๆ ภายใน ให้ดำ�เนินการได้อย่างสอดคล้อง และ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด นำ�มาซึ่งความภักดีของลูกค้า รายได้ที่เพิ่มขึ้น และการทำ�กำ�ไรในระยะยาว
แนวทางประยุกตใชที่นาสนใจ ดังนี้
- การทำ�ให้ลูกค้าซื้อซ้ำ� เป็นกลยุทธ์ที่มุ่งให้ลูกค้ากลุ่มเดิมของเราซื้อ สินค้าหรือบริการซ้� ำ โดยการตรวจสอบจากข้อมูลเดิมที่เรามีอยู่ว่า จาก ณ วันที่เราขายสินค้าหรือบริการไปแล้วนั้น ถึงเวลาที่ลูกค้าจะต้องซื้อสินค้าใหม่ หรือยัง ถ้าใช่ก็ถือเป็นโอกาสทองของเราในการเสนอขายอีกครั้ง - การทำ�ให้ลูกค้ามีความจงรักภักดี ถือเป็นส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้ลูกค้า มีแนวโน้มที่จะซื้อสินค้าหรือบริการของเราตลอดไป แม้ว่าจะเป็นเรื่องยาก แต่หากเราจับจุดได้ว่าอะไรคือ สิ่งที่ทำ�ให้ลูกค้าประทับใจแล้ว ก็มิใช่เรื่อง ยากที่จะทำ�ให้เกิดขึ้น อาทิ การให้ความสำ�คัญลูกค้าเป็นพิเศษ - ทำ�ความรู้จักกับลูกค้าให้ดีก่อนการออกกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า ป้องกันการมีต้นทุนที่ไม่ก่อ ให้เกิดประโยชน์ในเชิงการตลาด อาทิ การให้รางวัลจูงใจ จะต้องเป็นสิ่งที่ เสริมแรงกระตุ้นให้เกิดการใช้บริการเพิ่มขึ้น - การทำ�ให้ลูกค้าซื้อสินค้าอื่นเพิ่มเติม หรือที่มักเรียกกันว่า Cross Sales หรือในบางครั้งอาจสร้างแรงเสริมให้ลูกค้าซื้อสินค้าในเกรด หรือ คุณภาพที่สูงขึ้น - การสร้างศรัทธาต่อลูกค้าในเรือ่ งของตรายีห่ อ้ ซึง่ หากทำ�ได้ลกู ค้า จะกลายเป็นพนักงานขายที่ทรงพลัง มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากลูกค้า จะพูดถึงสินค้า และบริการของเราต่อเพื่อนและคนรู้จักของเรา ซึ่งถือเป็น กลยุทธ์แบบปากต่อปากที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดกลยุทธ์หนึ่ง - การติดต่อลูกค้าอยู่เสมอ ถือเป็นส่วนสำ�คัญที่ช่วยให้เราเข้าใจ ความต้องการของลูกค้า และลูกค้าจะรู้สึกได้ว่าสัมพันธภาพระหว่างเราและ ลูกค้ามิได้เกิดขึ้นเฉพาะเวลาที่เราต้องการทำ�ธุรกิจด้วยเท่านั้น ซึ่งถือเป็น ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดความจงรักภักดีต่อสินค้าและบริการของเรา
กลาวโดยสรุปแลว ระบบการจัดการลูกคาสัมพันธ (Customer Relationship Management: CRM) เปนกลยุทธการบริหารจัดการ อยางหนึง่ ซึง่ ถูกออกแบบมาเพอ่ื ชว ยองคกรใหสามารถจัดการกระบวนการ ตางๆ ภายในใหดำ�เนินการไดอยางสอดคลองและตอบสนองตอความ ตองการของลูกคา เพื่อใหลูกคาเกิดความพอใจสูงสุดนำ�มา ซึ่งความ ภักดีของลูกคา รายไดที่เพิ่มขึ้น และการทำ�กำ�ไรในระยะยาว...ติดตาม อานตอ ตอนที่ 3 ในฉบับหนา >>> 86 ThaiPrint Magazine
อุตสาหกรรมการพิมพ์ในญี่ปุ่น
อุตสาหกรรมการพิมพ์ในญี่ปุ่น (ต่อ)
จากฉบับทีผ่ า่ นมาเราพอจะเห็นภาพตัวเลขการส่งออกในอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยไปแล้ว และฉบับนี้ มาดูตัวเลขการส่งออกของอุตสาหกรรมการพิมพ์ของประเทศญี่ปุ่นกันต่อไปเลยครับ รวมถึงตัวเลขการ ส่งออกของบรรจุภัณฑ์ไทยและของประเทศญี่ปุ่น เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างกันดูนะครับว่าหากได้รับ การร่วมมือจากทางประเทศญี่ปุ่นทั้งด้านการส่งออกสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ของไทย เราจะช่วยให้ประเทศ ไทยของเราจะมีตัวเลขการส่งออกสูงขึ้นมากขนาดไหนลองติดตามเปรียบเทียบกันได้เลยนะครับ
2. อุตสาหกรรมการจัดจำ�หน่ายหนังสือในญี่ปุ่นข้อมูลปี 2553
- จำ�นวนสื่อสิ่งพิมพ์ 74,714 ฉบับ - จำ�นวนนิตยสารใหม่ 110 ฉบับ ต่อปี - จำ�นวนนิตยสารที่ปิดกิจการ 212 ฉบับ มีผลมาจากการอ่านหนังสือ นิตยสารมีน้อยลง การโฆษณาในนิตยสารลดลง เนื่องจากอิทธิพลของสื่อ อินเตอร์เน็ต อุปกรณ์แบบพกพา และ E-book มีมากขึ้น จากมูลค่าตลาดหนังสือและนิตยสาร 1,875,000 ล้านเยน ตลาด E-book มีมูลค่า 57,400 ล้านเยน หรือประมาณ 3% ของตลาดหนังสือและนิตยสาร มูลค่าตลาดสำ�หรับอุปกรณ์ที่ใช้กับ E-book มีดังนี้
สื่อเพื่อความบันเทิงที่ไม่ใช่สิ่งพิมพ์ เช่น สื่อบนโทรศัพท์มือถือ อินเตอร์เน็ต มีบทบาทมากขึ้นส่งผลต่อการ ขยายตัวของร้านจำ�หน่ายหนังสือใหม่และร้านให้เช่าหนังสือลดราคาสินค้าแข่งขันกัน ส่งผลให้ธุรกิจจัดจำ�หน่าย หนังสือต้องทบทวนกลยุทธ์การตลาดใหม่เนื่องจากตลาดเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก ThaiPrint Magazine 91
Print Data 2.1 การใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีมากขึ้น การขายปลีกหนังสือมีรปู แบบหลากหลายมากขึน้ เนือ่ งจากการล่มสลายของราคาขายสินค้าในโครงสร้าง จัดจำ�หน่ายระบบดั้งเดิม คือ การจำ�หน่ายหนังสือจาก ผู้พิมพ์ ผู้จัดจำ�หน่าย ร้านหนังสือ เปลีย่ นเป็นการขายทางอินเตอร์เน็ตมากขึน้ และระบบการตลาดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ท�ำ ให้ผพู้ มิ พ์จ�ำ หน่าย หนังสือทางอินเตอร์เน็ตโดยตรงมากขึ้นด้วย ตลาดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ในญี่ปุ่นมีมูลค่า 57,400 ล้านเยน ในปี 2553 เป็นมูลค่าการจำ�หน่ายทั้งจาก โรงพิมพ์ ผู้พิมพ์ ผู้โฆษณา และบริษัทผลิตสื่อดิจิตัล ผู้พิมพ์จะจัดตั้งระบบการจำ�หน่ายหนังสือทางอิเล็กทรอนิกส์ ในขณะที่บริษัทจากภาคธุรกิจอื่นๆ ก็เข้าสู่ตลาดการจำ�หน่ายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น รวมทั้งผู้ประพันธ์ ก็เริ่มกระจายผลงานของตนเองบนระบบออนไลน์ ซึ่งเป็นบริการที่ดำ�เนินการได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูง การจัดจำ�หน่ายหนังสือผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือก็มีมากขึ้น และเป็นธุรกิจรูปแบบใหม่ เช่น Apple iPod สำ�หรับหนังสือมีเสียง และ Nintendo DS สำ�หรับหนังสือที่มีแอนิเมชั่น รูปแบบการจัดจำ�หน่ายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์มีทั้ง การดาวน์โหลดออนไลน์ CD-Rom, DVDs และหัวข้อ งานพิมพ์เป็นตอนๆ ที่ไม่ต่อเนื่อง เฉพาะเรื่อง ซึ่งความต้องการงานเป็นตอนๆ เฉพาะเรื่องนี้มีมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาเรื่องการเก็บสำ�รองสินค้าได้เป็นอย่างดี 2.1.1 สื่อผสมผสานสำ�หรับตลาดกลุ่มเป้าหมายหลัก การใช้สอ่ื ผสมผสานเป็นเทคนิคการตลาดทีพ่ บเห็นได้บอ่ ยทีส่ ดุ ในปัจจุบนั การส่งเสริมการจำ�หน่ายสินค้า ไม่ใช่เพียงการจัดทำ�เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ แต่มีการจัดทำ�รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ลงโฆษณาในหน้าหนังสือพิมพ์ และ Tie-ins กับการตลาดวีดีโอเกม และการส่งเสริมการขายสินค้าอื่นๆ 2.1.2 สื่อสิ่งพิมพ์จัดทำ�ในรูปแบบออนไลน์มากขึ้น 2.1.3 บริษัทจัดจำ�หน่ายสิ่งพิมพ์ขนาดใหญ่ อยู่ระหว่างปรับตัวสร้างเครื่องมือ (Platform) เพือ่ จำ�หน่าย E-book ทัง้ นี้ ยังไม่มคี วามแตกต่างระหว่างหนังสือทีพ่ มิ พ์จากกระดาษแบบเดิมกับ E-book 2.2 ลักษณะอุตสาหกรรมการจัดจำ�หน่ายหนังสือในญี่ปุ่น หนังสือ นิตยสาร จัดจำ�หน่ายในลักษณะเดียวกับ เพลง CDs, DVDs และอื่นๆ ลูกค้าจะเลือกสินค้าที่ร้าน จำ�หน่ายสินค้าของผู้ค้าปลีกก่อนที่จะตัดสินใจซื้อ ซึ่งอุตสาหกรรมจัดจำ�หน่ายหนังสือมีเนื้อหาใหม่ๆ ออกสู่ตลาด ปีละประมาณ 70,000 รายการทุกปี รวมทุกเนื้อหาประมาณ 500,000 รายการ เป็นนิตยสาร 4,000 รายการ ที่วางจำ�หน่ายอยู่ในตลาดขายปลีกหนังสือ ซึ่งบางรายการมียอดขายหลายล้านฉบับ เมื่อเทียบกับตำ�ราเรียนมี จำ�หน่ายเพียงไม่กี่ร้อยรายการ ปัจจัยที่มีผลต่อยอดขาย คือ ราคา การรักษาภาพลักษณ์และช่องทางการจำ�หน่าย และค่าตอบแทนการขาย 2.2.1 โครงสร้างอุตสาหกรรมการจัดจำ�หน่ายหนังสือในญี่ปุ่น ในญี่ปุ่นมีผู้พิมพ์ 4,000 ราย ซึ่งทำ�หน้าที่พิมพ์และเข้าเล่ม จัดส่งให้แก่ผู้จัดจำ�หน่าย 70 ราย และจัดส่ง ต่อให้แก่ร้านหนังสือซึ่งมีมากกว่า 20,000 รายทั่วประเทศ
92 ThaiPrint Magazine
อุตสาหกรรมการพิมพ์ในญี่ปุ่น
- ผู้พิมพ์ ในปี 2547 มีผู้พิมพ์ ทั้งสำ�นักงานใหญ่และสาขา รวม 5,405 สำ�นักงาน จากคนงานรวม 97,188 คน จำ�นวนผู้ประกอบการลดลงจากปี 2544 แต่จำ�นวนคนทำ�งานเพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็น ขนาดเล็กและขนาดกลาง หรือผู้แทนจำ�หน่าย ซึ่งร้อยละ 50 มีคนงานไม่เกิน 5 คน ต่อกิจการ - ผู้จัดจำ�หน่าย หนังสือที่เข้าเล่มแล้ว และนิตยสาร ถูกจัดส่งไปร้านหนังสือและผู้คา้ ปลีกอื่นๆ โดยผ่าน ผู้จัดจำ�หน่าย (Distributors หรือ Toritsugi) ซึ่งมีจำ�นวน 70 รายทั่วประเทศญี่ปุ่น โดยมี Tohan และ Nippan เป็น ผู้มีบทบาทหลัก ส่วนแบ่งตลาดรวมกันสูงถึง 90% ระบบการจัดจำ�หน่ายมี 2 รูปแบบธุรกิจที่แตกต่างกันชัดเจน คือ - ระบบกำ�หนดราคาขายปลีก (Resale-price maintenance system) ผู้พิมพ์กำ�หนดราคาขายปลีกและ ข้อตกลงกับผู้จัดจำ�หน่าย และร้านหนังสือ ให้จำ�หน่ายสินค้าตามราคาที่กำ�หนด ซึ่งวิธีการนี้เป็นไปตามกฎหมาย ป้องกันการผูกขาด (Anti-Monopoly Law) ที่กำ�หนดขึ้นด้วยเหตุผลทางวัฒนธรรมและนโยบายสาธารณะ - ระบบจ่ายค่าตอบแทนการขาย (Commission-sales system) วิธกี ารนี้ ร้านหนังสือได้รบั ค่าตอบแทน ตามจำ�นวนสิ่งพิมพ์ที่จำ�หน่ายและส่งมอบสินค้าที่เหลือในสต็อกคืนให้กับผู้พิมพ์ภายในเวลาที่กำ�หนด ซึ่งสิ่งพิมพ์ ทั้งหมดในตลาดญี่ปุ่นจำ�หน่ายด้วยวิธีนี้ เป็นการป้องกันลดการเก็บสำ�รองสินค้าสำ�หรับร้านหนังสือ เพื่อป้องกัน ความเสี่ยงจากการมีสินค้าเหลือในสต็อกมากเกินไป และลดปัญหาสินค้าเหลือส่งคืนผู้พิมพ์มากเกินไปด้วย - ร้านค้าปลีก สิ่งพิมพ์ส่วนใหญ่จ�ำ หน่ายในร้านค้าปลีก เช่น ร้านหนังสือ ร้านสหกรณ์ เป็นต้น จาก การสำ�รวจของกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมของญี่ปุ่น มีผู้คา้ ปลีกหนังสือและนิตยสาร รวมกระดาษ และเครื่องเขียน 34,233 แห่ง ในปี 2547 (ลดลงจากปี 2545 ถึง 4,417 แห่ง จ้างคนงานรวม 208,356 คน ร้อย ละ 80 จ้างคนงานน้อยกว่า 10 คน ร้อยละ 40 จ้างคนงานเพียง 1-2 คน ร้านหนังสือที่ปิดกิจการส่วนใหญ่เป็น ร้านขนาดกลางและเล็ก แต่ร้านค้าเปิดใหม่ส่วนใหญ่เป็นร้านค้าขนาดใหญ่ เช่น บางแห่งมีพื้นที่ 1,650 ตารางเมตร แสดงให้เห็นแนวโน้มตลาดหนังสือและเครื่องเขียนที่มีขนาดร้านใหญ่ขึ้น เพื่อให้ลูกค้าสินค้าหลากหลายมากขึ้นทั้ง หนังสือและสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง ThaiPrint Magazine 93
Print Data การขายหนังสือออนไลน์มีแนวโน้มขยายตัวขึ้น ในช่วงที่ผ่านมา Website ที่ซื้อหนังสือ เช่น Amazon และ Rakuten รวมทั้งซื้อหนังสือจากร้านค้าสะดวกซื้อที่มีสาขาหลายแห่ง สะท้อนให้เห็นความต้องการสิ่งพิมพ์ที่ หลากหลายขึ้นของผู้บริโภค 2.3 มูลค่าตลาดการจัดจำ�หน่ายหนังสือในญี่ปุ่น ตลาดสิ่งพิมพ์ในญี่ปุ่นมีแนวโน้มลดลงระหว่างช่วงปี 2538-2548 ทั้งมูลค่าและจำ�นวน แนวโน้มตลาด สิ่งพิมพ์มีความหลากหลายมากขึ้น แต่จำ�นวนและมูลค่าการขยายต่อรายการลดลงตามความแตกต่างของความ สนใจของผู้อา่ นที่มีความหลากหลายมากขึ้น
มูลค่าตลาดหนังสือและนิตยสารในญี่ปุ่น ระหว่างปี 2549-2553
อัตรากำ�ไรจากการจำ�หน่ายนิตยสารและหนังสือก็มีแนวโน้มลดลง อัตรากำ�ไรของนิตยสาร 32.9% อัตรากำ�ไร ของหนังสือ 38.7% ลดลงประมาณ 1-2% 94 ThaiPrint Magazine
อุตสาหกรรมการพิมพ์ในญี่ปุ่น 2.4 แนวโน้มตลาดการจัดจำ�หน่ายหนังสือในญี่ปุ่น 2.4.1 การขายนิตยสารและหนังสือโดยรวมมีแนวโน้มลดลงทั้งจำ�นวนและมูลค่า ยกเว้นหนังสือที่ได้รับ ความนิยมตามกระแสตลาด เช่น การ์ตูนจากนักเขียนชื่อดังของญี่ปุ่น หรือนิยายนานาชาติ เช่น แฮร์รี่ พอตเตอร์ เป็นต้น 2.4.2 นิตยสารรายสัปดาห์ ยอดขายในร้านสะดวกซื้อลดลงมาก แต่หนังสือจะขายดีในร้านขายหนังสือ ขนาดใหญ่ เนื่องจากมีให้ลูกค้าเลือกซื้อได้มากกว่า เนื่องจากลูกค้าของนิตยสารรายสัปดาห์ คือ ผู้อ่านประจำ� ลูกค้านิตยสารที่เป็นวัยรุ่นมีไม่มาก และมีการแข่งขันจากอินเตอร์เน็ตสูงขึ้น นิตยสารออกใหม่ก็มีแนวโน้มลดลง ทุกปีและมีความหลากหลายมากขึ้น นิตยสารออกใหม่ที่มีแนวโน้มขายดี คือ นิตยสารสำ�หรับความสนใจของลูกค้า เฉพาะกลุ่ม งานอดิเรก ไลฟ์สไตล์ และนิตยสารรายสัปดาห์ ในขณะเดียวกันนิตยสารประเภทเดียวกันก็ปิดตัว และหยุดวางแผงเช่นเดียวกัน 2.4.3 นิตยสารและหนังสือชวนหัว มูลค่าตลาดประมาณ 500,000 ล้านเยนต่อปี เป็นนิตยสารและ หนังสือประมาณอย่างละครึ่ง จำ�นวนที่จำ�หน่ายปีละ 1,348.74 ล้านฉบับ ยอดขายมีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก มีรา้ นจำ�หน่ายหนังสือลดราคาและร้านให้เช่าหนังสือขยายตัวขึ้นมาก ราคานิตยสารและหนังสือที่จำ�หน่ายถูกกว่า หนังสือที่ออกใหม่มาก และยังมีร้านกาแฟ หรือ Comic Cafes ที่ลูกค้าสามารถอ่านหนังสือตลกฟรี ทำ�ให้ลูกค้า ซื้อหนังสือตลกลดลงมาก แต่แนวโน้มตลาดหนังสือตลกโดยรวมมีแนวโน้มดีมาก เนื่องจากมีการทำ�การตลาดแบบ ใช้สื่อผสมผสาน เช่น ทำ�เป็น CD และภาพยนตร์ การแทรก แอนิเมชั่นในรายการโทรทัศน์ และละคร เป็นต้น
3. ตลาดสื่อโฆษณาในญี่ปุ่น
ในปี 2553 ตลาดสื่อโฆษณาในญี่ปุ่นมีมูลค่า 5,842,700 ล้านล้านเยน สื่อมวลชนที่มีบทบาทมาก ที่สุด คือ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ นิตยสารและวิทยุ มูลค่าตลาดรวม 2,774,900 ล้านล้านเยน สื่อส่งเสริมการ ขาย (Promotional media) เช่น ป้ายโฆษณาริมถนน ป้ายโฆษณาข้างรถ ใบปลิว สมุดโทรศัพท์ ฯลฯ มีมูลค่าตลาด รวม 2,214,700 ล้านล้านเยน และสื่ออื่นที่มีส่วนแบ่งตลาดน้อยแต่มีการขยายตัวสูง คือ โทรทัศน์ดาวเทียม และ อินเตอร์เน็ต รายละเอียดดังนี้
ThaiPrint Magazine 95
Print Data 4. การนำ�เข้าและส่งออกสิ่งพิมพ์ในตลาดญี่ปุ่น
4.1 สถิติการนำ�เข้าและส่งออกสิ่งพิมพ์
หนังสือที่ญี่ปุ่นส่งออก ประกอบด้วย หนังสือที่ส่งไปจำ�หน่ายในร้านหนังสือญี่ปุ่นในต่างประเทศ เช่น ในประเทศสหรัฐอเมริกา หรือเอเชียตะวันออก สิ่งพิมพ์จากประเทศในยุโรปที่นำ�มาเรียบเรียงและพิมพ์ในญี่ปุ่น เช่น ตำ�ราเรียน หนังสือพิมพ์และนิตยสารที่พิมพ์ในญี่ปุ่น ซึ่งการส่งออกมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากบริษัทต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายการส่งหนังสือให้สำ�นักงานในต่างประเทศ หนังสือที่นำ�เข้าประเทศญี่ปุ่น ประกอบด้วย ตำ�ราเรียน หนังสือวิชาการ หนังสือวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม แพทย์ศาสตร์ เภสัชศาสตร์ เคมี หนังสือภาษาต่างประเทศ พจนานุกรม สารานุกรม หนังสือเฉพาะด้าน ส่วนใหญ่ นำ�เข้าผ่านผูจ้ ดั จำ�หน่ายหรือผูค้ า้ ส่งหนังสือต่างประเทศในญีป่ นุ่ การนำ�เข้าหนังสือเหล่านีม้ แี นวโน้มลดลง เนือ่ งจาก ลูกค้าถูกตัดงบประมาณลงสำ�หรับการซื้อหนังสือและตำ�ราเรียนลูกค้า เช่น ห้องสมุด ห้องทดลอง และวิจัย มหาวิทยาลัย เป็นต้น เนื่องจากข้อมูลต่างๆ หาได้งา่ ยขึ้นทางอินเตอร์เน็ต การส่งออกและนำ�เข้าลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ์ไม่มีสถิติทั้งตลาดในประเทศและต่างประเทศ สหรัฐอเมริกาเป็นคู่ค้าสิ่งพิมพ์รายใหญ่ที่สุดของญี่ปุ่น มีส่วนแบ่ง 40% ของมูลค่าการนำ�เข้าและส่งออก สิ่งพิมพ์ในตลาดญี่ปุ่น ตลาดส่งออกสิ่งพิมพ์ของญี่ปุ่น ได้แก่ สหรัฐอเมริกา เอเชียตะวันออก เช่น ไต้หวัน เกาหลีใต้ แหล่งนำ�เข้าสิ่งพิมพ์ที่สำ�คัญ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และเอเชียตะวันออก ซึ่งความ ต้องการนำ�เข้าสิ่งพิมพ์จากเอเชียตะวันออกเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะตำ�ราเรียนภาษาต่างประเทศจากจีน เกาหลีใต้ และไต้หวัน และจากการที่ยุโรปตั้งฐานศูนย์กระจายสินค้าสิ่งพิมพ์ที่ประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง และที่อื่น ทำ�ให้ญี่ปุ่น เสาะหาสิ่งพิมพ์จากยุโรปจากประเทศเหล่านี้
96 ThaiPrint Magazine
อุตสาหกรรมการพิมพ์ในญี่ปุ่น
4.2 สิ่งพิมพ์ญี่ปุ่นในตลาดต่างประเทศ
- สิง่ พิมพ์ของญีป่ นุ่ ทีว่ างตลาดในต่างประเทศ เดิมเป็นเรือ่ งราวคลาสสิกทีแ่ ปลเป็นภาษาต่างประเทศ เช่น The Tale of Genji หรือแต่งโดยคนญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงในต่างประเทศ เช่น Yasunari Kawabata และ Yukio Mishima ในระยะหลังมีเรื่องเนื้อหาทันสมัย เช่น Haruki Murakami และ Banana Yoshimoto แต่งโดยนักเขียนร่วม สมัยเพื่อความบันเทิงและแปลเป็นภาษาต่างประเทศเพื่อพิมพ์ - มูลนิธิญี่ปุ่น (Japan Foundation) องค์กรของภาครัฐที่มีหน้าที่ส่งเสริมและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ระหว่างประเทศ ได้แปลหนังสือจากผู้ประพันธ์ เช่น Jiro Asaka, Miyuki Miyabe และ Ryotaro Shiba สู่ตลาด ต่างประเทศและเป็นที่ยอมรับในตลาดต่างประเทศ - Cultural Affairs Agency จัดทำ�โครงการส่งเสริมการแปลวรรณกรรมร่วมสมัยตั้งแต่ปี 2545 วรรณกรรม 34 เรื่อง ถูกแปลเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย หรือเยอรมนี ส่งให้ผู้พิมพ์ทั่วโลกในปี 2548 มีทั้งเรื่องที่มีเนื้อหาเพื่อความบันเทิง เช่น Go Osaka, Shoji Shimada, Eimi Yamada และ Kyusaku Yumeno นอกจากนี้ยังมี Suntory Foundation สนับสนุนการพิมพ์วรรณกรรมจำ�หน่ายต่างประเทศ ปีละ 10 เรื่อง ในเนื้อหา ด้านสังคม มนุษยศาสตร์ เพื่อส่งเสริมการค้นพบทางวิชาการของวัฒนธรรมญี่ปุ่นสู่ตลาดโลก - ผู้พิมพ์ในญี่ปุ่น ได้ร่วมมือกับผู้พิมพ์ในต่างประเทศ แปลนวนิยาย และเรื่องราวตลกขบขันและ ทำ�ตลาดผ่านเครือข่ายของบริษัทในต่างประเทศ เพื่อจำ�หน่ายในตลาดต่างๆ เช่น ในออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร เยอรมนี สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ รวมทั้งจีน บริษัทสิ่งพิมพ์ญี่ปุ่นตั้งบริษัทในจีนถือหุ้นเองทั้งหมด โดย ร่วมมือกับบริษัทในจีน เพื่อผลิตนิตยสารแฟชั่นจำ�หน่าย โดยเน้นเนื้อหาที่มีลิขสิทธิ์ ทั้งหนังสือและรูปภาพต่างๆ 4.2.1 ความต้องการหนังสือตลกจากญี่ปุ่นในตลาดต่างประเทศมีมากขึ้น หนังสือตลกญี่ปุ่นประสบความสำ�เร็จในการทำ�ตลาดแบบเฉพาะเจาะจงทั่วโลก เช่น Shogakukan และ Shueisha มีลิขสิทธ์การพิมพ์จำ�หน่ายใน 20-30 ประเทศทั่วโลก และในสหรัฐฯ พิมพ์หนังสือตลกรายเดือน Shonen Jump เป็นภาษาอังกฤษจำ�หน่ายในสหรัฐฯ เมื่อสตรีมีบทบาทในการเป็นผู้นำ�มากขึ้น บริษัทก็ออก หนังสือตลกรายเดือนสำ�หรับลูกค้าสตรี เช่น Shojo Beat รวมทั้งร่วมทุนกับบริษัทสหรัฐฯทำ�ตลาดหนังสือตลกและ แอนิเมชั่นจากญี่ปุ่นในอเมริกาเหนือ ตลาดหนังสือตลกในยุโรปก็ยอมรับเรื่องตลกของญี่ปุ่น และตลาดเติบโตอย่างต่อเนื่อง แม้ขนาดตลาด ยังเล็ก และมีร้านจำ�หน่ายหนังสือตลกญี่ปุ่นน้อยราย ในฝรั่งเศสบริษัทขนาดกลางและเล็กนำ�เข้าหนังสือตลก ญี่ปุ่นตั้งแต่ทศวรรษ 1990 มีเรื่องแปลกว่า 700 เรื่อง ในปี 2544 ในเยอรมนี ก็เลือกหนังสือตลกญี่ปุ่น เช่น Shonen Jump ลงพิมพ์ในนิตยสารรายเดือน Banzai เรื่องราวของเด็กผู้หญิง เช่น Daisuki มีออกพิมพ์วางขาย ในปี 2546 Tokyopop เปิดสาขาในแฮมเบอร์ก ในปี 2548 เพื่อทำ�ตลาดหนังสือญี่ปุ่นที่แปลเป็นภาษาเยอรมัน VIZ Media บริษัทญี่ปุ่นที่ร่วมทุนกับสหรัฐฯ เปิดสาขาในเยอรมนี ในปี 2548 เพื่อหาช่องทางเข้าตลาดอังกฤษและ เปิด VIZ Media Europe ในเนเธอร์แลนด์ เพื่อเป็นศูนย์รวมการ จัดการด้านการตลาดและให้สิทธิ์อนุญาตการพิมพ์หนังสือ ตลก Shogakukan และ Shueisha ตลาดอื่น Shonen Jump ลงพิมพ์ในนิตยสารรายเดือนในสวีเดน ในปี 2547 และในนอร์เวย์ ในปี 2548
ThaiPrint Magazine 97
Print Data 4.2.2 สิ่งพิมพ์ญี่ปุ่นต้องปรับทิศทางจากการกระจายสินค้าในต่างประเทศเป็นปรับปรุงการผลิต ตลาดสิ่งพิมพ์ของญี่ปุ่นในจีน เฉพาะในเขตเซี่ยงไฮ้และชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของจีนก็มีขนาดใหญ่ กว่าตลาดญี่ปุ่นถึง 3 เท่า หนังสือแฟชั่น เช่น Cosmopolitan, Harpers Bazaar, Elle มีจำ�หน่ายในจีน แต่สตรีจีน นิยมแฟชัน่ จากญีป่ นุ่ มากกว่า ผูพ้ มิ พ์ในจีนหลายแห่งพิมพ์หนังสือจากหลายประเทศเพือ่ เจาะกลุม่ ให้ตรงเป้าหมาย ลูกค้า เช่น ตามกลุ่มอายุลูกค้า โดยผู้พิมพ์ให้ญี่ปุ่นได้คา่ ตอบแทนจาก Licensing fee 7-8% ของยอดขาย และ จากลิขสิทธิ์ค่าโฆษณา ผู้พิมพ์ที่ทำ�ตลาดต่างประเทศส่วนใหญ่ดำ�เนินการในลักษณะการจ้างพิมพ์ผา่ น Subcontractors มาก กว่าที่จะเป็นหุ้นส่วนกับบริษัทในท้องถิ่น บางบริษัทแต่งตั้งตัวแทน เช่น Kodansha International บางบริษัทร่วมมือ กับบริษัทการค้าระหว่างประเทศ (Trading companies) เพื่อจำ�หน่ายสิ่งพิมพ์ญี่ปุ่นฉบับภาษาต่างประเทศ ในกรณี ของ Shufunotomo เจ้าของลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ์ Ray และ ef ให้ลิขสิทธิ์การพิมพ์ในจีนแก่บริษัทร่วมทุนระหว่าง SOCO (Shanghai) Co., Ltd. กับ Mitsubishi Corporation ในปี 2547 เพื่อพิมพ์และจัดจำ�หน่ายสิ่งพิมพ์และสินค้าดิจิตัล ที่เกี่ยวข้อง บริษัทสิ่งพิมพ์ญี่ปุ่นทำ�ตลาดต่างประเทศด้วยการเข้าร่วมงานแสดงสินค้าหนังสือในประเทศต่างๆ เช่น Frankfurt Book Fair มีผู้เข้าชมงาน 250,000 ราย ในปี 2549 จัดแนวคิดการเข้าร่วมงานแบบ Comic Center ในญี่ปุ่นเองมีงานแสดงสินค้า Tokyo International Book Fair มีผู้เข้าร่วมงานจากต่างประเทศ 30 ประเทศเข้าร่วม ผู้เข้าชมงาน 60,000 ราย
5. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
5.1 The Federation of Printing Industries มีสมาชิกจากสมาคมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ ได้แก่ - Printers Association of Japan - All Japan Federation of Printing Industry Associations - Japan Business Forms Association - The Japan Graphic Services Industry Association - Graphic Communications Japan Industry Association - All Japan Book Binding Industry Association - The Japan Federation of Label Printing Industries - The Gravure Cooperative Association of Japan - Japanese Screen Printers Association - The Japan Glossy Paper Processing Association 5.2 Japan Association of Graphic Arts Technology 5.3 Japan Book Publisher Association 5.4 Japan Paper Association 5.5 Japan Package Design Association 5.6 Japan Printing Machinery Manufacturers Association
98 ThaiPrint Magazine
อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไทย
อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไทย บทสรุป
- อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไทยเติบโตในอัตราที่ชะลอตัว ในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจระหว่างปี 2551-2552 และ มีผลมาจากการชะลอตัวของการกลัวบริโภคอาหารที่ปนเปื้อนสารเมลามีน และการชะลอการบริโภคสินค้าอุปโภค บริโภคของประชาชนทั่วไป ทำ�ให้ความต้องการบรรจุภัณฑ์ชะลอตัวตามไปด้วย - บรรจุภัณฑ์อาหารสำ�หรับการบริโภค 1 คน มีความต้องการมากขึ้นในตลาด เนื่องจากความต้องการบริโภค อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพและอาหารสดให้เพียงพอใน 1 มื้อโดยไม่ต้องเก็บค้างสำ�หรับมื้อต่อไป ซึ่งมีอิทธิพล ไปถึงอาหารสัตว์เลี้ยงด้วย และสินค้าขนาดเล็กมีราคาจำ�หน่ายปลีกต่ำ� - ความใส่ใจสุขภาพและการที่คนไทยมีความรู้มากขึ้น ทำ�ให้ต้องการใช้ขวดพลาสติกที่มีคุณภาพหรือขวดแก้ว สำ�หรับอาหารเพื่อสุขภาพ เช่น น้ำ�ผลไม้ ต้องการขวดแก้วเพื่อบรรจุมากขึ้น หรือโยเกิร์ต ต้องการบรรจุภัณฑ์ ประเภท Rigid plastic หรือขวด HPDE ที่มีความคงทนมากขึ้น - Flexible packaging ยังคงมีความสำ�คัญต่อไปทั้งอาหารและสินค้าอื่นที่ไม่ใช่อาหาร - พลาสติกย่อยสลายได้เป็นที่ต้องการมากขึ้น - สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ์และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดล้อม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นหน่วย งานที่ไม่แสวงหากำ�ไร มีเป้าหมายลดปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ 12% และร่วมมือกับผู้ผลิตสินค้าอุปโภคบริโภคราย ใหญ่ เช่น Procter & Gamble, Unilever, SIG, Coca-Cola, Nestlé, Singha, Pepsi, Osotspa, Greenspot, Tipco, TAPB และผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์รายใหญ่ เช่น Tetra Pak, Bangkok Can Manufacturing, Crown, TBC, Bangkok Glass Industry ลดปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ นำ�ลัง 21 ล้านใบ แปรรูปเพื่อผลิตสมุดบริจาคให้โรงเรียนต่างๆ และ รับบริจาคกระป๋องและห่วงอลูมิเนียมส่งให้แก่มูลนิธิขาเทียมฯ - การลดขยะวิธีการหนึ่ง เช่น Unilever ให้ลูกค้านำ�ขวดแชมพูเปล่า 3 ใบ ไปแลกแชมพูใหม่ เป้าหมายเพื่อลด ปริมาณขยะขวดแชมพู ในขณะเดียวกัน Unilever ก็ออกแบบขวดแชมพูใหม่ให้จับถนัดมือและใช้พลาสติกน้อยลง - Coca-Cola ใช้ Ultra Glass เพื่อลดน้ำ�หนัก และค่าขนส่ง - Crown Holding Inc. ปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อผลที่ดีต่อสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ - SIG ใช้ลังที่ทำ�จากเยื่อกระดาษที่ได้จากป่าปลูก น้ำ�หนักเบา เก็บและขนส่งง่าย และแปรรูปได้ - Olay ออกแบบบหัวกด Total Effects ใหม่ลดปริมาณพลาสติกที่ใช้ได้ถึง 362,900 กิโลกรัมต่อปี ThaiPrint Magazine 99
Print Data ธุรกิจบรรจุภัณฑ์ไทย
ผู้ประกอบการในธุรกิจบรรจุภัณฑ์ไทย ประกอบด้วย
1. ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์กระดาษ
- ประเภทบรรจุภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ กระดาษลูกฟูก กระดาษแข็งลูกฟูก ภาชนะที่ทำ�จากกระดาษ และกระดาษแข็ง เช่น กระสอบกระดาษ ถุงกระดาษ หีบและกล่อง กล่องใส่เอกสาร ซองใส่แผ่นเสียง ซึ่งผู้ผลิต บรรจุภัณฑ์กระดาษหลายรายจะมีธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสิ่งพิมพ์กระดาษอื่นๆ ด้วย เช่น วารสาร นิตยสาร บันเทิงคดีและสิ่งพิมพ์อื่นๆ - จำ�นวนผู้ประกอบการในปี 2553 มีจำ�นวน 1,187 ราย เป็นบริษัทขนาดใหญ่ (บริษัทมหาชนจำ�กัด) 6 ราย (0.52%) บริษัทขนาดกลาง (บริษัทจำ�กัด) 847 ราย (70.00%) ธุรกิจขนาดเล็ก (ห้างหุ้นส่วนจำ�กัดและห้างหุ้น ส่วนสามัญนิติบุคคล) 334 ราย (29.48%) - ผู้มีบทบาทในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษ เรียงลำ�ดับตามรายได้จากการดำ�เนินการ (จากงบการ เงินปี 2550) มีดังนี้
2. ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติก
- ประเภทบรรจุภัณฑ์ที่ผลิต ได้แก่ เครื่องใช้พลาสติกที่ใช้บรรจุของ ภาชนะต่างๆ เช่น ถุง ซองพลาสติก กล่อง หีบ ขวด ถ้วย ลัง ฝาจุกพลาสติก กระสอบพลาสติก ถุงนิรภัย และถังน้ำ�ดื่มพลาสติก - จำ�นวนผู้ประกอบการในปี 2552 มีจำ�นวน 1,018 ราย เป็นบริษัทขนาดใหญ่ (บริษัทมหาชนจำ�กัด) 0.79% บริษัทขนาดกลาง (บริษัทจำ�กัด) 68.66% ธุรกิจขนาดเล็ก (ห้างหุ้นส่วนจำ�กัดและห้างหุ้นส่วนสามัญ นิติบุคคล) 30.55% - จำ�นวนแรงงานรวม 82,709 คน - กำ�ลังการผลิต 670,774 ตันต่อปี ปริมาณการผลิต 604,466 ตันต่อปี - ปริมาณเม็ดพลาสติกที่ใช้ทั้งหมด 51,059 ตันต่อเดือน - ผู้มีบทบาทในอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษ เรียงลำ�ดับตามรายได้จากการดำ�เนินการ (จากงบการ เงินปี 2550) มีดังนี้
100 ThaiPrint Magazine
อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไทย แนวโน้มความต้องการบรรจุภัณฑ์
- บรรจุภัณฑ์ที่หยิบถือได้ง่าย นำ�ติดตัวไปด้วยได้ตามกิจกรรมในชีวิตประจำ�วันที่มากขึ้น น้ำ�หนักเบา ขนาด เล็ก เห็นได้ชัดจากสินค้าประเภทขนมขบเคี้ยว ของหวาน ของว่าง อาหารแห้ง อาหารแห้งสำ�หรับสังสรรค์นอก สถานที่ ถ้วยแกแฟที่ดื่มได้ขณะเดินทาง ภาชนะที่ปิดสนิทแต่เปิดฝาได้งา่ ย - บรรจุภัณฑ์ทำ�จากแก้ว ความต้องการลดลงเนื่องจากน้ำ�หนักมาก Rigid plastic, ขวด PET และ Flexible plastic เป็นที่ต้องการมากกว่า - มีความต้องการบรรจุภัณฑ์หลากหลายสำ�หรับผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในกิจกรรมนอกสถานที่ เช่น เครื่องสำ�อางที่ ใช้ระหว่างเดินทางท่องเที่ยว หรือหลังการใช้บริการในยิมหรือฟิตเนส - บรรจุภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เช่น พลาสติกย่อยสลายได้มีความต้องการมากขึ้น และรัฐบาลโดย สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติได้จัดทำ�แผนพัฒนาส่งเสริมการผลิตวัตถุดิบ สินค้าและบริการที่เกี่ยวข้อง รวมถึง การส่งเสริมการร่วมลงทุนจากต่างประเทศ - บรรจุภัณฑ์แบบเติมได้ความต้องการมากขึ้น เนื่องจากผู้บริโภคอ่อนไหวต่อราคามากขึ้น - ความต้องการบรรจุภัณฑ์สำ�หรับผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพมีมากขึ้น ทั้งสินค้าประเภท อาหาร เครื่องดื่มเพื่อ สุขภาพ และผลิตภัณฑ์อื่นๆ
กฎหมายควบคุมการติดฉลากบรรจุภัณฑ์
- ฉลากอาหาร ควบคุมโดยสำ�นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ตาม พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 กำ�หนดให้ผู้จำ�หน่ายอาหารต้องปิดฉลากที่มีข้อความอธิบาย คุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ คำ�อธิบายพิเศษอื่นๆ และวันหมดอายุ ในภาษาไทย - หากเป็นสินค้าที่นำ�เข้า ต้องระบุชื่อและที่อยู่ของผู้นำ�เข้า ประเทศที่เป็นแหล่งกำ�เนิดสินค้า ตามประกาศ กระทรวงสาธารณสุข ที่ 194 พ.ศ. 2544 ว่าด้วยการปิดฉลาก - คุณค่าทางโภชนาการ ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ที่ 182 พ.ศ. 2541 ว่าด้วยการปิดฉลากทางโภชนาการ อาหาร ต้องดำ�เนินการตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำ�หนด คือ ปริมาณที่เหมาะสมต่อการบริโภคใน 1 มื้อ หรือต่อวันสำ�หรับผู้บริโภคที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไป ระบุข้อความในภาษาไทย หรือเพิ่มเติมในภาษาต่างประเทศ
ขนาดตลาดบรรจุภัณฑ์ในประเทศไทย
ขนาดตลาดบรรจุภัณฑ์ในประเทศไทยวัดจากปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ที่จัดเก็บเพื่อส่งแปรรูป ในปี 2552 มีดังนี้ - ประเภทบรรจุภัณฑ์แยกตามชนิดวัตถุดิบบรรจุภัณฑ์
- ประเภทบรรจุภัณฑ์แยกตามชนิดบรรจุภัณฑ์
ThaiPrint Magazine 101
Print Data
- ประเภทบรรจุภัณฑ์แยกตามชนิดสินค้าที่ใช้บรรจุภัณฑ์
- ประเภทบรรจุภัณฑ์แยกตามชนิดฝาปิดบรรจุภัณฑ์
การส่งออกบรรจุภัณฑ์พลาสติก
- การส่งออกถุงและกระสอบพลาสติกในปี 2553 มีมูลค่า 18,372.73 ล้านบาทขยายตัวเพิ่มขึ้น 7.76% จาก ปี 2552 ตลาดส่งออกหลักสำ�คัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา 27.16% ญี่ปุ่น 24.65% ออสเตรเลีย 13.73% สหราชอาณาจักร 6.75% กัมพูชา 2.69% - การส่งออกกล่องและหีบที่ทำ�ด้วยพลาสติกในปี 2553 มีมูลค่า 3,631 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้น 33.96% จากปี 2552 ตลาดส่งออกหลัก สำ�คัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ ญี่ปุ่น 59.99% มาเลเซีย 4.52% จีน 7.05% สหรัฐ อเมริกา 2.68% กัมพูชา 2.94%
ที่มา : กรมพัฒนาธุรกิจการค้า Euromonitor International, April 2011 102 ThaiPrint Magazine
อ่านต่อฉบับหน้า >>>
In Memory
Steve Jobs
1955-2011
จากไปแล้วสำ�หรับบุคคลทีม่ บี ทบาทต่อโลก IT ในยุคปัจจุบนั Steve Jobs ผูซ้ ง่ึ จากนีไ้ ปจะเป็นตำ�นาน แห่งวงการคอมพิวเตอร์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ บุคคลซึ่งเป็นแรงบันดาลใจให้กับใครหลายๆ คน และนี่เป็นคำ�กล่าวสุนทรพจน์ที่ถือว่าเป็นที่กล่าวขวัญของคนทั่วโลก อยากให้ทุกคนได้อ่านเพื่อเป็น การจุดประกาย และให้กำ�ลังใจกับคนในอุตสาหกรรมการพิมพ์ให้สร้างสรรค์สิ่งพิมพ์ดีๆ ต่อไป ThaiPrint Magazine 105
Print Society
วันนี้ผมอยากจะขอเล่าเรื่องสามเรื่องในชีวิตผม สามเรื่องแค่นั้น เรื่อง สุนทรพจน์ ในพิธีมอบ ปริญญาบัตร มหาวิทยาลัย แรกคือ การลากเส้นต่อจุด ผมลาออกจากมหาวิทยาลัย Reed หลังจากที่ สแตนฟอร์ด 12 มิถุนายน 2005 เรียนไปได้แค่ 6 เดือน แต่ก็ยังแอบเนียนเรียนต่ออยู่อีกราว 18 เดือนก่อน
“
จะออกจริงๆ
แล้วเพราะอะไรผมถึงลาออก สาเหตุนั้นเกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนผมเกิด แม่ ผมรู้ สึ กเป็ นเกีย รติที่วันนี้ได้ ที่ให้กำ�เนิดผมเป็นนักศึกษาสาวท้องก่อนแต่ง เธอตัดสินใจยกผมให้คนอื่น มาร่ ว มในพิ ธีม อบปริ ญ ญาบั ต ร รับไปเลี้ยงดูแทน โดยตั้งใจไว้ว่าคนที่รับผมไปเลี้ยง จะสามารถเลี้ยงดูผมได้ จนจบปริญญา
ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ ถื อ ว่ า มี ชื่ อ เสียงมากแห่งหนึ่งในโลก ความ จริงที่ทุกคนรู้กัน ผมไม่เคยจบ มหาวิทยาลัย และครั้งนี้เป็นครั้งที่ ผมได้เข้าใกล้พิธีรับปริญญาบัตร มากที่สุดในชีวิต
”
ทุกอย่างจึงจัดเตรียมไว้เรียบร้อยว่า ผมจะได้พ่อบุญธรรมที่เป็น ทนายความกับภรรยารับไปเลี้ยง ทุกอย่างดูลงตัวจนกระทั่งผมเกิดออกมา พ่อแม่บุญธรรมที่เลือกผมไว้กลับเปลี่ยนใจอยากได้ลูกผู้หญิง ดังนั้น พ่อแม่ปัจจุบันของผม ซึ่งมีชื่อยู่ในรายชื่อที่รอคอยอุปการะ จึงได้รับโทรศัพท์กลางดึกคืนนั้น ปลายสายถามว่า “เราบังเอิญได้เด็ก ทารกผู้ชายพวกคุณอยากรับไปเลี้ยงไหม?” พ่อแม่ผมก็ตอบไปว่า “รับ” แต่แม่ที่ให้กำ�เนิดผมมารู้ที่หลังว่า แม่บุญธรรมของผมไม่ได้จบปริญญา ส่วนพ่อบุญธรรมก็ไม่ได้เรียนจบมัธยมปลาย เลยเปลี่ยนใจไม่ยอมเซ็น เอกสารยกผมให้พ่อแม่บุญธรรมไปอุปการะ เธอลังเลใจอยู่นาน แต่ในที่สุด ก็ยอมยกผมให้ เพราะพ่อแม่บุญธรรมผมสัญญาไว้ว่าจะเลี้ยงดูผมจนจบ ปริญญาให้ได้ นี่คือจุดเริ่มต้นของชีวิตผม
106 ThaiPrint Magazine
In Memory 17 ปีต่อมา ผมก็ได้เข้ามหาวิทยาลัย แต่ด้วยความไร้เดียงสา ผมดัน เลือกไปเรียนมหาวิทยาลัยที่ค่าเทอมแพงเกือบเท่าสแตนฟอร์ด แล้วผมก็ใช้ เงินเก็บของพ่อแม่ตัวเอง ที่เป็นคนทำ�งานกินเงินเดือนมาเป็นค่าเทอม หลังจากเรียนไปได้ 6 เดือน ผมก็รู้สึกไม่เห็นจะได้อะไรจากสิ่งที่เรียน ไป แล้วก็ไม่เห็นว่าการเรียนในมหาวิทยาลัยจะช่วยให้ผมรู้จักตัวเองมากขึ้น แล้วผมจะผลาญเงินเก็บที่พ่อแม่ผมหามาชั่วชีวิตไปทำ�ไม ผมเลยตัดสินใจลาออก ได้แต่ภาวนาขอให้เรื่องทุกอย่างลงเอยด้วยดี ที่จริงผมก็รู้สึกกลัวเหมือนกัน แต่เมื่อมองย้อนกลับไป มันเป็นการตัดสิน ใจที่ดีที่สุดครั้งหนึ่งในชีวิตของผมเลยทีเดียว ทันทีที่ผมลาออก ทำ�ให้ผมไม่ ต้องเรียนวิชาที่ไม่อยากเรียน และเลือกเรียนแต่วิชาที่อยากมากกว่า แต่ชีวิตไม่ง่ายเหมือนในนิยาย ผมไม่มีหออยู่เลยต้องอาศัยพื้นห้อง เพื่อนเป็นที่นอน ต้องเก็บขวดโค้กไปแลกเงินขวดละ 5 เซนต์ เพื่อนำ�เงิน ไปซื้อข้าว แล้วก็ต้องเดินทางไปโบสถ์ทุกคืนวันอาทิตย์ระยะทาง 5 ไมล์ เพื่อหาอาหารดีๆ ทานสักมื้อ แต่ผมก็ชอบนะ แล้วการที่ผมทำ�ตามสัญชาตญาณอยากรู้อยากเห็นของตัวเอง ภาย หลังกลับกลายเป็นสิ่งที่มีคุณค่ามหาศาล ยกตัวอย่างเช่น มหาวิทยาลัย Reed ในตอนนั้นมีวิชาการประดิษฐ์ตัวอักษร ที่อาจจะเรียกได้ว่าดีที่สุด ในประเทศ ทั่วทั้งมหาวิทยาลัย โปสเตอร์ หรือป้ายที่ติดตามบอร์ดต่างๆ ล้วนมีแต่ตัวหนังสือที่เขียนด้วยมือ เพราะผมลาออกเลยไม่ต้องไปเรียนวิชาบังคับ ผมจึงได้เรียนวิชา ประดิษฐ์ตัวอักษร และเรียนรู้วิธีประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมา เรียนรู้ว่าแบบ ตัวพิมพ์ Serif หรือ Sen Serif คืออะไร เรียนวิธีการวางช่องไฟระหว่าง ตัวอักษร การออกแบบตัวอักษรให้สวยทำ�อย่างไร มันกลายเป็นศิลปะแขนงหนึ่งที่สวยงามและใช้การออกแบบที่ละเอียด อ่อน ขนาดที่วิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้เหมือน และที่สำ�คัญผมหลงใหล กับวิชานี้มากทีเดียว แต่ผมไม่เคยคิดว่าผมจะเอาสิ่งเหล่านี้มาใช้ประโยชน์ อะไรในชีวิต จนกระทั่ง 10 ปีต่อมา เมื่อผมกับเพื่อนออกแบบเครื่องแมคอินทอช เครื่องแรก จึงได้รื้อฟื้นวิชาพวกนี้ขึ้นมาอีกครั้ง และดีไซน์ตัวอักษรทั้งหมด ลงไปในเครื่องแมค จึงกลายเป็นคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่มีการออกแบบ ตัวหนังสืออย่างสวยงาม ถ้าไม่ใช่เพราะผมเลือกเรียนวิชานั้น เครื่องแมคคงไม่มีแบบตัวอักษร ที่หลากหลาย และการจัดช่องไฟที่สวยงามแบบนี้ และถ้า “วินโดวส์” ไม่ได้ มาลอกเลียนแบบจากแมคไป คงไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องไหนในปัจจุบันที่มี ฟอนต์สวยงามแบบนี้ ThaiPrint Magazine 107
Print Society ถ้าผมไม่ได้ลาออกจากมหาวิทยาลัยตอนนั้น ผมคงไม่ได้เรียนวิชา ออกแบบตัวอักษร และคอมพิวเตอร์ทุกวันนี้คงไม่มีฟอนต์สวยๆ แบบที่ใช้ กันอยู่ในปัจจุบัน แน่นอนว่าคงเป็นไปไม่ได้ ถ้าผมจะพยายามลากเส้นต่อ จุดอนาคตของตัวเองตอนที่ผมเรียนอยู่ แต่เมื่อมองย้อนกลับไป 10 ปีให้ หลังจุดแต่ละจุดนั้นมันชัดเจนมากๆ ดังนั้น ผมขอบอกว่าเราไม่สามารถลากเส้นต่อจุดเมื่อมองไปใน อนาคต เราจะเห็นมันก็ต่อเมื่อ เรามองย้อนกลับไปในอดีตเท่านั้น จึงต้องเชื่อว่าจุดทั้งหลายที่ผ่านมาในชีวิตคุณ มันจะหาทางลากเส้นต่อ เข้าหากันเองในอนาคต ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในบางสิ่งบางอย่างอย่างแน่วแน่ เพราะ ความเชื่อที่เรามีต่อจุดแต่ละจุดนั้น ในที่สุดมันจะเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน เอง และมันจะให้ความมั่นใจทำ�ตามสิ่งที่หัวใจคุณต้องการ ถึงแม้บาง ครั้งมันอาจจะพาคุณออกนอกเส้นทางบ้าง และสิ่งนั้นจะสร้างความ เปลี่ยนแปลงได้อย่างชัดเจน เรื่องที่สอง ของผมเกี่ยวกับความรักและการสูญเสีย ผมโชคดี ที่ผมค้นพบสิ่งที่ผมรักตั้งแต่อายุยังน้อย ผมกับวอซเริ่มทำ�บริษัท แอปเปิล ด้วยกันในโรงรถของพ่อตอนอายุ 20 ปี เราทำ�งานกันอย่าง หนัก 10 ปีต่อมา แอปเปิลเติบโตจากเรา 2 คนที่ทำ�งานกันในโรงรถ กลายเป็นบริษัทที่มีมูลค่า 2,000 ล้านเหรียญ พนักงานมากกว่า 4,000 คน เราเปิดตัวนวัตกรรมที่ยอดเยี่ยมที่สุดของเราอย่าง “แมคอินทอช” ปี เดียวก่อนที่ผมจะอายุครบ 30 หลังจากนั้นผมก็ถูกไล่ออก คนเราจะถูกไล่ ออกจากบริษัทที่ตัวเองสร้างขึ้นมาได้อย่างไร? ก็คือว่าในขณะที่ แอปเปิล เติบโตขึน้ เราก็จ้างคนที่ผมคิดว่ามีความสามารถมากมาบริหารบริษัทกับผม ช่วงปีแรกผ่านไปด้วยดี แต่หลังจากนั้นวิสัยทัศน์ก็เริ่มไปคนละทิศละ ทาง จนในที่สุดก็ถึงขั้นแตกหักและกรรมการบริษัทคนอื่นก็เข้าข้างผู้บริหาร คนนั้นด้วย ผมจึงถูกไล่ออกตอนอายุ 30 แล้วก็เป็นการออกที่ครึกโครม ด้วย ผมสูญเสียสิ่งที่ทุ่มเทมาตลอด ในช่วงวัยทำ�งานของผม หลังจาก เหตุการณ์นั้นผมเสียศูนย์ไปหลายเดือน เพราะผมรู้สึกเหมือนตัวเองทำ�ให้ นักธุรกิจในยุคก่อนหน้าผมต้องเสื่อมเสีย เหมือนกับเป็นวาทยากรที่ท�ำ ให้ ไม้บาตองที่รับสืบทอดมาตกลงไป ผมได้พบกับ เดวิด แพกการ์ด และ บ็อบ นอยซ์ เพื่อขอโทษที่ผมทำ�ให้ วงการเสื่อมเสีย ความล้มเหลวของผมเป็นข่าวดังครึกโครม จนผมอยาก จะหนีไปจากวงการคอมพิวเตอร์ แต่ก็มีบางอย่างเริ่มชี้ทางสว่างแก่ผมว่า ยังไงผมก็รักสิ่งที่ผมทำ� 108 ThaiPrint Magazine
In Memory
เหตุการณ์พลิกผันใน แอปเปิล ไม่ได้เปลี่ยนความรักนั้นแม้แต่น้อย ผมถูกปฏิเสธ แต่ผมก็ยังรักมัน จึงตัดสินใจเริ่มต้นใหม่ ผมได้เรียนรู้ทีหลังว่าการที่ถูกไล่ออกจากแอปเปิล เป็นสิ่งที่ดีที่สุดอีกอย่างหนึ่ง ในชีวิต จากเมื่อก่อนที่ต้องแบกความสำ�เร็จไว้บนบ่ามาตลอด ถูกแทนที่ด้วยความโล่งสบาย ที่ได้กลับมา เป็นมือใหม่อีกครั้ง มั่นใจน้อยลง แล้วสิ่งนี้ก็ช่วยปลดปล่อยให้ผมกลับสู่ช่วงเวลาที่สร้างสรรค์ที่สุดในชีวิตของผม 5 ปีต่อมา ผมตั้งบริษัท ใหม่ชื่อ NeXT แล้วก็ Pixar และต่อมาก็ได้พบรักกับลอว์เรนซ์ซึ่งต่อมาเป็นภรรยาของผม Pixar ได้สร้างภาพยนตร์การ์ตูนจากคอมพิวเตอร์เป็นเรื่องแรกของโลกนั่นคือ Toy Story และขณะนี้ เป็นสตูดิโอผลิตการ์ตูนที่ประสบความสำ�เร็จมากที่สุดในโลก และต่อมาเหตุการณ์กลับตาลปัตรแอปเปิล กลับมาซื้อ NeXT ซึ่งทำ�ให้ ผมได้กลับคืนสู่แอปเปิลอีกครั้ง และเทคโนโลยีที่ได้คิดค้นขึ้นที่ NeXT ได้กลาย มาเป็นหัวใจของยุคฟื้นฟูของแอปเปิลในท้ายที่สุด ส่วนผมกับลอว์เรนซ์ก็มีครอบครัวที่มีความสุขด้วยกัน ผมคิดว่าทุกเรื่องคงไม่ลงเอยแบบวันนี้ ถ้าวัน นั้นผมไม่ได้ถูกไล่ออกจาก แอปเปิล มันเป็นยาขม แต่ยังไงคนป่วยก็ต้องการยา ถึงแม้บางครั้งชีวิตจะเล่นตลกกับคุณบ้าง แต่จงอย่าสูญเสียความเชื่อมั่นในสิ่งที่คุณเชื่อ ผมเองก็เชื่อ ว่า สิ่งเดียวที่ท�ำ ให้ผมลุกขึ้นเดินต่อไปได้ คือ ผมรักในสิ่งที่ผมทำ� ดังนั้น คุณจะต้องหาสิ่งที่คุณรักให้เจอ ทั้งเรื่องงาน และเรื่องความรัก ThaiPrint Magazine 109
Print Society “Be a yardstick of quality. Some people aren’t used to an environment where excellence is expected.”
เพราะคุณจะต้องใช้เวลาส่วนใหญ่ในชีวิตไปกับการทำ�งาน และวิธี เดียวที่คุณจะทำ�ในสิ่งที่ยอดเยี่ยม คือคุณจะต้องรักในสิ่งที่คุณทำ� และถ้า หากคุณยังหามันไม่พบ อย่าหยุดหาจนกว่าจะพบ และหัวใจจะบอกคุณเอง เมื่อคุณพบมันแล้ว มันก็เหมือนกับมิตรภาพหรือความสัมพันธ์ดีๆ ก็คือ ยิ่งนานวันเข้า เราก็จะรู้สึกว่ามันยิ่งใช่ ดังนั้น จงค้นหาต่อไป อย่าหยุด จนกว่าจะเจอ เรื่องที่สาม ของผมเกี่ยวกับความตาย ตอนผมอายุ 17 ผมเคยอ่าน คำ�คมคนหนึ่งบอกว่า “ให้คุณใช้ชีวิตเหมือนกับวันนี้เป็นวันสุดท้าย มัน อาจจะเป็นจริงเข้าสักวัน” ผมประทับใจมาก และตลอด 33 ปีที่ผ่านมา ผมจะถามตัวเองในกระจกทุกเช้าว่า “ถ้าผมอยู่วันนี้เป็นวันสุดท้ายผมจะ ยังอยากทำ�ในสิ่งที่ผมกำ�ลังจะไปทำ�ในวันนี้หรือไม่” แล้วถ้าคำ�ตอบเป็น “ไม่” ติดๆ กันหลายวัน ผมก็รู้ว่า ถึงเวลาที่ต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบางอย่าง วิธีคิดว่าคนเราอาจจะตายวันตายพรุ่ง เป็นเครื่องมือที่ส�ำ คัญที่สุดเท่า ที่ผมเคยรู้จัก ช่วยให้ผมตัดสินใจครั้งใหญ่ๆ ในชีวิตได้ เพราะแทบทุกสิ่งทุก อย่าง ไม่ว่าจะเป็นความคาดหวังของคนอื่น ชื่อเสียงเกียรติยศ ความกลัวที่ จะต้องอับอายขายหน้าหรือล้มเหลว จะหมดความหมายไปโดยปริยายเมื่อ ความตายมาถึง เหลือไว้ก็แต่เพียงสิ่งที่มีคุณค่าอย่างแท้จริงเท่านั้น การเตือนตัวเองว่า เราไม่ได้อยู่ค�้ำ ฟ้าเป็นวิธีที่ดีที่สุดที่ผมรู้ เพราะเมื่อ ตายไปแล้ว เราก็เหลือแต่ร่างกายที่เปลือยเปล่า จึงไม่มีเหตุผลที่จะไม่ทำ� ตามสิ่งที่หัวใจต้องการ เมื่อประมาณปีที่แล้ว ผมถูกตรวจพบว่าเป็นมะเร็ง ผมทำ�การตรวจ ร่างกายตอนเช้า 7.30 น. ผลที่ได้ปรากฏชัดว่า ผมมีก้อนเนื้อในตับอ่อน ผมยังไม่รดู้ ว้ ยซ้�ำ ว่าตับอ่อนมันอยูต่ รงไหน ต่อมาหมอก็บอกว่ามะเร็งชนิดนี้ ไม่สามารถรักษาได้ ผมคงอยู่ได้อีกไม่เกิน 3-6 เดือน หมอแนะนำ�ว่า ผมควรกลับไปจัดการธุระที่บ้านให้เรียบร้อยซะ ความ หมายอีกนัยหนึ่งของหมอก็คือให้เตรียมพร้อมจะตายได้เลย หมายถึง ให้กลับไปสั่งเสียลูกๆ ทั้งๆ ที่ตอนแรกผมนึกว่าจะได้มีเวลาบอกเขาอีกสัก สิบปี แทนที่จะเหลือแค่ 2-3 เดือน 110 ThaiPrint Magazine
In Memory หมายถึงสะสางเรื่องทุกอย่างให้เรียบร้อยซะเพื่อคนในครอบครัวจะได้ ไม่ต้องมายุ่งยากทีหลัง และหมายถึงเตรียมตัวบอกลาได้ วันนั้นทั้งวันผมใช้ เวลาไปกับการตรวจร่างกาย พอตกเย็น ผมถูกตัดเนื้อเยื่อไปตรวจ วิธีก็คือหมอจะแหย่ท่อยาวๆ ลงไปผ่านลำ�คอ ท้อง ลำ�ไส้ แล้วก็เอา เข็มจิ้มลงไปในตับอ่อนของผม เพื่อให้ได้เซลล์ส่วนหนึ่งจากก้อนเนื้อที่อยู่ ในนั้น ตอนนั้นผมสลบอยู่ แต่ภรรยาผมเล่าให้ฟังทีหลังว่า พอหมอเห็น เซลล์ที่อยู่ใต้กล้องจุลทรรศน์แล้วหมอก็เริ่มร้องไห้
Steve Jobs
1955-2011
เพราะปรากฏว่า ก้อนเนื้อนั้นเป็นมะเร็งตับอ่อนที่ไม่ค่อยพบมากนัก และสามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด ผมเข้ารับการผ่าตัด และขอบคุณ พระเจ้าตอนนี้ผมหายดีแล้ว นั่นเป็นครั้งที่ผมเฉียดความตายมากที่สุดในชีวิต และหวังว่าขอให้ เป็นอย่างนั้นอีกสักหลายๆ ปี พอผ่านเหตุการณ์ครั้งนั้นมาได้ มันทำ�ให้ผม กล้าพูดได้เต็มปากเต็มคำ�กับพวกคุณว่า ความตายเป็นประโยชน์ และ เป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดสติปัญญาได้อย่างสมบูรณ์แบบ ไม่มีใครที่อยากตาย แม้แต่คนที่อยากขึ้นสวรรค์ก็ยังไม่อยากตาย ก่อนเพื่อจะขึ้นสวรรค์ ยังไงก็แล้วแต่ความตายเป็นจุดหมายปลายทาง ที่เราทุกคนต่างจะต้องไป ไม่มีใครหลีกเลี่ยงได้ แล้วมันก็ควรเป็นอย่าง นั้นด้วย เพราะความตายเป็นเหมือนประดิษฐกรรมสุดยอดสิ่งหนึ่งของชีวิต เป็นการเปลี่ยนผ่านจากชีวิตหนึ่งไปสู่อีกชีวิตหนึ่งเป็นการชำ�ระล้างสิ่งเก่าๆ เพื่อรอรับสิ่งใหม่ๆ ตอนนี้สิ่งใหม่นั้นคือคุณ แต่อีกไม่นานจากนี้ไป คุณก็จะเริ่มกลาย เป็นสิ่งเก่าๆ และถูกเลือนหายไป ขอโทษด้วยครับที่พูดตรงไปหน่อย แต่มันเป็นความจริง เวลาของคุณมีจำ�กัด ดังนั้นอย่าเสียเวลาใช้ชีวิตใต้ เงาของคนอื่น อย่าตีกรอบด้วยกฎเกณฑ์ ซึ่งก็คือผลของการใช้ชีวิตตามความคิด ของคนอื่นนั่นเอง อย่าให้เสียงความคิดเห็นของคนอื่น กลบเสียงที่อยู่ ภายในของคุณจนหมดสิ้น และที่ส�ำ คัญที่สุด จงกล้าหาญอยู่เสมอที่ จะทำ�ตามหัวใจ และสัญชาตญาณของตัวเอง เพราะบางทีสองสิ่งนี้ อาจรู้อยู่แล้วว่าที่จริงแล้วคุณต้องการจะเป็นอะไร นอกจากนี้แล้วทุก อย่างเป็นเรื่องสำ�คัญรองลงไปหมด ตอนที่ผมยังเด็ก มีวารสารที่ชื่อว่า The Whole Earth Catalog ซึ่ง เปรียบได้กับคัมภีร์ของคนยุคผมเลยทีเดียว เจ้าของวารสารเล่มนี้ชื่อว่า Stewart Brand ซึ่งอาศัยอยู่ใน Menlo Park ไม่ไกลจากที่นี้
ThaiPrint Magazine 111
Print Society
เขาทำ�ให้วารสารเล่มนี้ เต็มไปด้วยชีวิตชีวาด้วยสำ�นวนการเขียนที่ น่าประทับใจ ยุคนั้นเป็นปลายยุค 1960 ก่อนมีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือคอมพิวเตอร์ส�ำ หรับงานสิ่งพิมพ์เสียอีก ทุกหน้าพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ ดีด ใช้กรรไกรตัดแปะ ใช้รูปจากกล้องโพลารอยด์ วารสารนี้เปรียบเทียบได้ กับ กูเกิล ในรูปแบบกระดาษ เพียงแค่มันเกิดก่อนกูเกิล 35 ปี เป็นวารสาร ที่เปี่ยมไปด้วยอุดมคติ ท่วมท้นไปด้วยไอเดียบรรเจิด และเครื่องมือเจ๋งๆ Stewart Brand และทีมงานผลิต The Whole Earth Catalog ขึ้นมา หลายฉบับ จนกระทั่งเมื่อถึงวาระของมัน นิตยสารนี้ก็มาถึงฉบับสุดท้าย นั่นเป็นช่วงกลางยุค 1970 ซึ่งตอนนั้นผมก็อายุเท่ากับพวกคุณในที่นี้ ด้านหลังปกของวารสารฉบับสุดท้าย เป็นรูปถ่ายถนนในชนบทเส้น หนึ่งในยามเช้า เป็นภาพที่พอจะกระตุ้นต่อมอยากของนักผจญภัยได้ ใต้ รูปมีคำ�พูดประโยคหนึ่งเขียนไว้ว่า “จงหิวโหย จงโง่เขลาอยู่เสมอ” ถือเป็นข้อความอำ�ลาก่อนที่วารสารเล่มนี้จะปิดตัวลง “จงหิวโหย จงโง่เขลาอยู่เสมอ” เป็นคำ�ที่ผมขอให้ตัวผมเองเป็นอย่างนั้นอยู่ตลอด
112 ThaiPrint Magazine
รับมือกับสถานการณน้ำ�ทวม
รับมือกับสถานการณน้ำ�ทวม
โดย คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย ตอนที่สมาคมแจ้งมาว่าอยากให้เขียนเรื่องการซ่อม และบำ�รุงรักษา เครื่องที่โดนผลกระทบจากน้ำ�ท่วมนั้น ผมได้ตอบไปว่า ผมเขียนไม่ได้ เพราะการซ่อมบำ�รุงเครื่องที่โดนน้ำ�ท่วมนั้น ต้องอาศัยช่างผู้เชี่ยวชาญทั้ง ระบบไฟฟ้า และแมคคานิค เพราะในเรื่องระบบไฟฟ้านั้น ถ้าเป็นอุปกรณ์ พวกแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และพวกมอเตอร์มีทั้งซ่อมได้และซ่อมไม่ได้ อบแห้งและเอาเครื่องวัดความชื้นเช็คค่า หรือพวกคอนแทคซึ่งต้องเปลี่ยน ใหม่หมด ต้องอาศัยช่างไฟฟ้าโดยตรงเท่านั้นที่จะตรวจเช็คหรือสอนให้ทำ� ส่วนแมคคานิคในรูปจะเห็นว่า สนิมกินเครือ่ งแดงเถือกไปหมดต้องถอดออก เป็นชิ้นๆ ล้างสนิม เปลี่ยนลูกปืน หรืออะไหล่บางอย่าง ซึ่งเสียสภาพไปเลย เรียกช่างดีกว่าครับ อย่าคิดทำ�เองเลย เสี่ยงทำ�เองแล้วอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือ ตัวเครื่องอาจพังเสียหายมากกว่าเดิมด้วยความรู้เท่าไม่ถึงการณ์สมาคมเลย บอกมาใหม่ว่า ถ้างั้นให้ผมเล่าเรื่องการเตรียมตัว และวิธีคิดในการป้องกัน น้ำ�ท่วมที่ผมได้ทำ�และโชคดีรอดมาได้โดยเสียหายไม่เยอะ เผื่ออนาคตที่ เขาว่าปีนี้ปีหน้าน้องน้ำ�อาจจะมาเยี่ยมอีก ถ้าท่านเห็นว่าเข้าท่าจะเก็บ ไว้เป็นไอเดียเผื่อว่าถึงตาของท่านบ้างครับ เล่าสู่กันฟังนะครับ อาจไม่ ถูกต้องทั้งหมดก็ได้ หรือมีวิธีที่ดีกว่านี้และค่าใช้จ่ายถูกกว่านี้ ก็ยินดีแชร์ ประสบการณ์กัน ThaiPrint Magazine 113
Print Interview
ตอนแรก
ศึกษาและประเมินสถานการณ บางพลั ดเป็ น พื้นที่น้ำ�ท่วมมา จาก 2 ทาง คือ น้ำ�ล้นจากแม่น้ำ� เพราะติดแม่น�้ำ เจ้าพระยา และน้ำ� หลากจากบางกรวย นนทบุรี
ฟ
างรถไ
แนวท
อยู่ ์กั้นน้ำ�
เกอร ที่มีบัง
น้ำ�ท่วมนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ
ดานแรกคือ น้ำ�ลนจากแมน้ำ�
โรงงานและบ้านของผมอยู่บางพลัดครับ บางพลัดถูกน้�ำ ท่วมกรุงเทพ คราวทีแ่ ล้ว ในปี 2538 ประมาณ 80% ของพืน้ ที่ น้�ำ ท่วมสูงประมาณ 50 ซม. แต่ผมไม่ท่วมครับ อยู่ในจุดสูงของบางพลัด เพื่อนบ้านหลายๆ คนประมาท คิดว่าคงจะไม่ท่วม เพราะข่าวจากโทรทัศน์หรือรัฐบาลบอกว่าปริมาณน้ำ� มากกว่าเล็กน้อยหรือพอๆ กับ ปี 38 ทำ�ให้คิดว่าคงไม่เป็นไร แต่ผมก็ตั้ง ข้อสังเกตว่าตัวเมืองชั้นในของนครสวรรค์ ซึ่งไม่เคยท่วมก็ท่วม 2-3 เมตร ไล่ลงมาเรื่อยๆ จนถึงอยุธยาซึ่งตัวเมืองไม่เคยท่วม ก็โดนน้ำ�ท่วมสูงมาก 2-3 เมตร เหมือนกัน เอ๊ะมันแปลกๆ นะ จนน้�ำ ท่วมถึงนิคมอุตสาหกรรม ต่างๆ และปากเกร็ดซึ่งก็โดนหมด และน้�ำ สูง 2-3-4 เมตร เอ๊ะน้ำ�มหาศาล นะเนี่ย พอดีก็ได้ดูรายการทางช่อง Thai PBS (ขอชม) ซึ่งอาจารย์ท่านหนึ่ง พูดถึงกล้อง CCTV ในเว็บไซต์ของกรมชลประทานแสดงระดับน้�ำ ในแม่น้ำ� เจ้าพระยา ระดับน้ำ�ที่กล้องปากเกร็ดประมาณ 3 เมตร สูงกว่าระดับน้�ำ ทะเลปานกลาง และระดับน้ำ�ที่กล้องกรมชลประทานสามเสน ประมาณ 2.30 เมตร ค้นเจอในเว็ปหนึ่งว่า บางพลัดสูงกว่าระดับน้ำ�ทะเลปานกลางอยู่ ประมาณ 1.30 เมตร เอ๊ะอย่างนั้นตอนนี้น�้ำ มันต้องท่วมเราแล้ว 1 เมตร นี่หว่า แล้วทำ�ไมมันยังไม่ท่วม ก็เข้าไปดูริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา และตามเว็บ ต่างๆ เขื่อนริมน้ำ�แถวบางพลัด สูงประมาณ 2.50-2.70 เมตร กั้นน้ำ�เอาไว้ อยู่ แต่น้ำ�ปากเกร็ดสูง 3 เมตร มาถึงบางพลัดมันต้องล้นเขื่อนสูง 2.70 เมตร ท่วมแน่นอน 114 ThaiPrint Magazine
ระดับน้�ำ ริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา ต่ำ�กว่าเขื่อนประมาณ 30 ซม.
CCTV ในเว็บไซต์ของกรมชลประทาน
รับมือกับสถานการณน้ำ�ทวม
น้ำ�ท่วมบริเวณจรัญสนิทวงศ์
เริ่มแผนแรก โรงงานของผมเป็นตึกแถว 5 ห้อง ก็เริ่มก่ออิฐบล็อก ด้านหน้าโดยก่อสูง 1 เมตร และเพิ่มเป็น 1.50 เมตร ในภายหลัง ชาวบ้าน ขำ�เป็นแถว ผมตอบว่า เครื่องพิมพ์ของผมขนหนีน้ำ�ไม่ได้ครับ ต้องป้องกัน ไว้ก่อนครับ และไปซื้อปั้มน้ำ�ไดโว่ตัวแรกขนาด 2” มาเก็บไว้ หลักการว่า น้ำ�ปากเกร็ดสูง 3 เมตร โรงงานเราสูง 1.30 เมตร ถ้าท่วมสูงสุด = 1.70 เมตร
ก่ออิฐด้านหน้า
ก่ออิฐด้านใน
ดานที่ 2 น้�ำ หลากจากบางกรวย
น้�ำ ก็เริม่ หลากท่วมบางกรวยซึง่ ติดกับบางพลัด ผมมีลกู ค้าอยูใ่ นบางกรวย ก็คุยกันตลอด เขาก็บอกว่า ปี 38 เขาก็ไม่ท่วมครับ แต่ตอนนี้เขาท่วม 40 ซม. ไปแล้ว เฮ้ย คนไม่เคยโดน โดนแล้วจ้า จะเชือ่ คนบอกว่าเอาอยูค่ ง ไม่ไหว เพราะจมกันหมดแล้ว กทม. ประกาศว่า บางพลัดเป็นเขตเสี่ยง (ควร พูดตรงๆ ว่าโดนแน่ๆ จะดีกว่า) ประมาณ 3 วัน ผมก็เริ่มสงสัยว่าทำ�ไมน้ำ� ยังมาไม่ถึง มีทางรถไฟสายใต้ซึ่งกั้นระหว่างบางกรวยกับบางพลัดคงกั้นน้�ำ เอาไว้ เข้าไปดูเจอว่าตลอดทางรถไฟมีแท่งปูนซีเมนต์ (บังเกอร์) สูงประมาณ 70 ซม. กั้นเป็นแนวเขตก่อสร้างเรียงยาวตลอดจากสะพานพระราม 7 จนถึง คลองบางกอกน้อยน้�ำ เต็มและเริม่ ล้นเข้ามาในฝัง่ บางพลัดแล้ว นีค่ อื ทัพหน้า ของมวลน้ำ�ที่มาถึง ทัพหลวงมากกว่านี้ 2-3 เท่ากำ�ลังมา สรุปคือ น้ำ�หลากสูง 1.40 - 2 เมตร ทั้งสองกรณี ทั้งแม่น้ำ�และน้ำ� หลากผมคิดถึงในทางเลวร้ายสุดๆ เอาไว้ก่อนแล้วว่า สูงสุด 1.4 - 2 เมตร ถ้ามันน้อยกว่านั้นด้วยว่าเหตุอะไรก็ตามก็ถือว่าเราโชคดีละกัน
น้�ำ ซึมออกจากบังเกอร์ข้าม มาฝั่งบางพลัด ThaiPrint Magazine 115
Print Interview ตอนสองวางแผนปองกันเผื่อเหตุการณเลวรายที่สุด
แน่นอนแล้วว่า “โดนแน่” ต้องช่วยตัวเองให้รอด ห้ามหวังพึ่งผู้อื่น เด็ดขาด จึงต้องเสริมความแข็งแรงของกำ�แพงสูง 1.50 เมตร โดยการก่อ เสารับด้านหลัง ทุกๆ 3 เมตร และหาของหนักๆ เช่น กระสอบทรายหรือไม้ ต่างๆ มายันด้านหลัง เพราะน้ำ�สูง 1 เมตร กว้าง 1 เมตร เท่ากับ 1 คิวบิต เมตร หนัก 1 ตัน ด้านหน้าตึกแถว 5 ห้อง กว้าง 20 เมตร ถ้าน้ำ�สูง 1 เมตร ก็คือ มีน้ำ�หนัก 20 ตัน ดันกำ�แพงตลอดทั้งแนว อิฐบล็อกทนไม่ไหวครับ จะเห็นได้จากข่าวโทรทัศน์ทบี่ างบ้านกำ�แพงพังลง เพราะโดนน้�ำ ดันแตกครับ และซื้อปั้มน้ำ�เพิ่มอีก 3 ตัว (ซื้อเครื่องสูบน้ำ�ทั้งไฟฟ้าและน้�ำ มันเพื่อโดนตัด ไฟฟ้าซื้อเผื่อสำ�รอง ต้องเรียนรู้ถึงวิธีการใช้อย่างถูกต้อง เช่น เครื่องสูบน้�ำ ที่ใช้ระบบน้�ำ มันจะต้องใช้การล่อน้ำ� หรือทำ�ให้หัวกระโหลกถึงเครื่องสูบน้�ำ เกิดภาวะสูญญากาศเสียก่อนเครื่องถึงจะสูบน้ำ�ออกได้ ถ้าพื้นที่กว้างควร ซื้อพญานาค 6 นิ้ว) ผมซื้อทรายมา 3 ตัน ใส่ถุงคอยไว้อุดจุดฉุกเฉิน (ถุงทรายน้ำ�ซึมครับ ถ้าจะใช้ถุงทรายเป็นกำ�แพงกั้นต้องเอาแผ่นผ้าใบกันน้�ำ หรือแผ่นพลาสติกขนาดใหญ่ปูก่อนเอาถุงทรายวางทับแล้วตลบขึ้นมาคลุม แต่ก็จะมีน้ำ�ซึมด้านล่าง แต่มีข้อดีมากในเรื่องความแข็งแรงทนการเหยียบ ได้) สำ�หรับด้านหน้าอาคาร หลังจากน้ำ�ลดแล้วมีคนมาแนะนำ�วิธีที่ดีกว่าอิฐ บล๊อค คือ แผ่นซีเมนต์สำ�เร็จรูปสำ�หรับปูพื้นอาคาร กว้างประมาณ 40 ซม. ยาวประมาณ 4 เมตร หนาประมาณ 5 ซม. จับตั้งขึ้นเจาะยึดกับด้านหน้า อาคารโบกปูนปิดหัว และจุดที่รั่วซึมจะแข็งแรงทนทานกว่าอิฐบล็อก น้ำ� แห้งแล้วรื้อดีๆ ไม่แตกหักเก็บเอาไว้ใช้ใหม่ได้ ในขณะที่อิฐบล็อกต้องทุบทิ้ง อย่างเดียวเลอะเทอะและเสียเวลาก่อเยอะ
เริ่มแผนสอง ผมแบ่งพื้นที่เป็น 2 ส่วน คือ 1. ส่วนที่ยอมเสียหาย ถ้าน้ำ�เข้ามามากจนสู้ไม่ไหว ต้องยอมให้น�้ำ ท่วมพื้นที่บางส่วนที่เครื่องจักรไม่สำ�คัญมากหรือราคาซ่อมไม่แพง เสียหาย ไม่มาก เพื่อรวมกำ�ลังไปรักษาพื้นที่เล็กลงและสำ�คัญสูงสุด 2. พื้นที่สำ�คัญสูงสุด ก่อกำ�แพงด้านในอีกชั้นหนึ่ง ป้องกันพื้นที่ที่
ก่ออิฐกำ�แพงด้านใน 116 ThaiPrint Magazine
เตรียมกระสอบทราย
รับมือกับสถานการณน้ำ�ทวม เครือ่ งจักรราคาแพงทีส่ ดุ อยูไ่ ม่ให้เปียกเลย ถ้าไฟดับหรือสูไ้ ม่ไหวต้องอพยพ ออกจะทำ�การซีลปิดพื้นที่นั้น ไม่ให้น�้ำ เข้าไปได้ ก่อกำ�แพงชั้นในสูง 2 เมตร โดยรอบ เพื่อรักษาห้องเครื่องพิมพ์ มีเครื่อง 4 สี 1 ตัว 1 สี 2 ตัว เครื่องตัด 1 ตัว และกระดาษประมาณ 15 พาเลต 3. ถอดอุปกรณ์ไฟฟ้าทีส่ �ำ คัญซ่อมยากออกจากเครือ่ งจนเกือบหมด ทั้งเครื่อง ทุกๆ เครื่องไม่ว่าเมนมอเตอร์ หรือแผงต่างๆ ขออนุญาตชม กำ�แพง 2 ชัน้ บริษัท ส.ศรีอักษร คุณวิบูลย์ ที่ส่งช่างมาถอดและใส่ให้ฟรีโดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และทำ�ให้ฟรีกับทุกๆ โรงพิมพ์ที่โดนน้�ำ ท่วม เขาหมดค่าใช้จ่ายไปหลาย แสนบาทเลยทีเดียว วิ่งช่วยทุกๆ แห่งโดยขอเลื่อนส่งเครื่อง ให้ช่างไปช่วย ถอดเครื่องจากโรงพิมพ์ที่จะโดนน้ำ�ท่วมแทนครับ และขอชมทีมช่างของ บริษัทเจริญอักษร ที่โทรมาบอกเลยว่าให้ผมยกเครื่องเอาไปฝากไว้ที่เขาเลย ที่สินสาครเขารับฝากให้ และจะมาถอดใส่ให้ครับ ถ้ามีเวลาพอโปรดกรุณา อย่าถอดเครื่องเอง ถ้าท่านไม่มีความรู้พอ เพราะระบบไฟฟ้าต้องถอดสาย ถอดชุดแผงอิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า ไฟเยอะมาก เครื่องใช้งานมาแล้วหลายปี เบอร์ที่สายไฟอาจเลือนหายหรือ จากใต้เครื่องตัด เบอร์หลุดหายหรือไม่มีเบอร์ ถ้าท่านมาร์คไม่เป็นและซี้ซั้วถอดจะทำ�ให้เวลา ใส่กลับยากมาก หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าลัดวงจรได้ 4. ตัวเครื่องส่วนที่เป็นโลหะได้เตรียมจารบีไว้ 2 ถัง ถ้าน้�ำ ท่วม เข้าโรงงานแน่ๆ เอาไม่อยู่ ก็เอาจารบีชโลมทั้งเครื่อง เพื่อป้องกันสนิม ทาให้มากๆ บริเวณฐานเครื่องที่ต้องแช่น้ำ�นาน ได้ข่าวว่าบางท่านเอา ถอดมอเตอร์แท่นตัด พลาสติกสำ�หรับพันพาเลตมาพันห่อเครือ่ งไว้ทง้ั เครือ่ งหลายชัน้ แต่บริเวณที่ เครือ่ งติดพืน้ ต้องทำ�การทากาวติดให้ดอี ย่าให้น�ำ้ ซึมเข้าได้ ไม่งน้ั ทีห่ อ่ เครือ่ ง กันน้ำ�เข้าจะกลายเป็นที่ห่อน้�ำ เอาไว้ในเครื่องแทน วิธีนี้ต้องระวังให้ดีครับ อาจารย์ของผมท่านหนึ่งยกเครื่องพับทั้งเครื่องใส่เข้าในแผ่นพลาสติกหนา กันน้ำ�แบบที่เอาไปห่อรถยนต์ครับแล้วซีลปิดด้านบนเรียบร้อยครับทำ�ได้กับ เครื่องที่เบาหน่อย (ได้ข่าวว่า รถยนต์ที่หุ้มแบบนี้น้ำ�ไม่เข้าแต่ข้างในชื้นขึ้น ถอดชุดควบคุมระยะจากด้านบนเครือ่ งตัด ราเหมือนกัน 5. ทำ�การอุดรอยรั่ว ของพื้นรอยต่อต่างๆ ทั้งพื้นและกำ�แพงรอย ต่อของพื้นที่สร้างไม่พร้อมกันหรือรอยต่ออาคารหรือซึมเข้าจากกำ�แพงเข้า ภายในโรงงานเท่าที่ทำ�ได้ กาวซิลิโคน กาวตะปู กาวโพลียูลิเทน ปูนกาว ปูนฉาบ ต้องทำ�ตั้งแต่ก่อนน้ำ�ท่วม เพราะถ้าท่วมแล้วพื้นเปียกแล้ว กาว ส่วนใหญ่จะใช้ไม่ได้และกาวจะไม่แห้ง และโปรดทำ�ใจด้วยว่า ไม่มีทางอุดได้ มอเตอร์ด้วยพลาสติกพันรอบและทา หมดและไม่ควรอุดทั้งหมดด้วย มองหารอยร้าวบางจุดที่ไม่ใหญ่มากที่พื้น หุ้มกาวปิ ดด้านล่างกันซึม (อาจไม่ได้ผล) 3-4 แห่ง ก่ออิฐเป็นบ่อเล็กๆ ล้อมเอาไว้ห้ามอุดยอมให้น�้ำ เอ่อท่วมขึ้นมา ในบ่อนั้น ไม่ออกมาข้างนอก เพื่อลดแรงดันของน้�ำ ที่อยู่ใต้ดินไม่ให้ไปดัน พื้นตรงอื่นที่อ่อนแอแตกเพิ่มขึ้น 6. จัดเตรียมพื้นที่ตั้งเครื่องสูบน้�ำ และกักน้ำ�เพื่อดูดออก โดยหลัก การว่าต้องทำ�การรวมน้�ำ ที่ซึมขึ้นจากพื้นที่แตกร้าวที่อุดไม่หมด และที่แตก เพิ่มจากแรงดันของน้ำ�ใต้อาคาร และน้ำ�ไหลย้อนจากท่อน้ำ�ทิ้งภายนอก กั้นล้อมท่อระบายน้ำ�ภายในเพื่อกั้นน้ำ� และจากทุกๆ ด้านไว้ในจุดเดียวกันให้ได้ หรือถ้าไม่ได้ก็สองจุดก็ยังดีเพื่อ ไม่ให้ลามย้อนเข้าด้านใน ThaiPrint Magazine 117
Print Interview รวมน้ำ�ดูดออก เราจะวิ่งเช็ดน้ำ�กวาดน้ำ�อุดพื้นอุดรอยรั่วทั้งโรงงานอุตลุด ไม่ไหวครับ คนจะหมดแรงตายก่อน ต้องปล่อยให้มันซึมเอ่อนองขึ้นมา 5-10 ซม. แล้วน้ำ�จะไหลไปรวมกันที่จุดต่ำ�สุดในพื้นที่และที่จุดนั้นคือ จุดตั้ง เครื่องสูบน้ำ�ไดโว่หรือถ้าน้ำ�ไม่เยอะ 2-3 ซม. อาจต้องยอมสกัดพื้นตรงที่ไม่ สำ�คัญด้านหน้าให้เป็นบ่อลึกอย่างน้อย 5-10 ซม. เพื่อตั้งไดโว่ดูดได้ (ระวัง พื้นทะลุ) 7. อุดท่อระบายน้�ำ หน้าโรงงานทั้งด้านซ้ายและด้านขวา โดยเอา ถุงทรายใส่ลงไปปิดท่อระบายน้ำ�นอกโรงงานไม่ให้น้ำ�ภายนอกไหลย้อนเข้า ท่อน้ำ�ทิ้งของโรงงาน แล้วไปโผล่ขึ้นข้างหลังโรงงาน (ซึ่งในความเป็นจริงกัน น้�ำ ย้อนได้ไม่เกิน 80% เท่านั้น) แล้วเปิดฝาท่อตรงกลาง เพื่อเป็นจุดรวมน้�ำ และตั้งปั้มสูบน้� ำ อุดชักโครก ฝาท่อน้ำ�ทิ้งในห้องน้ำ�เอาออกแล้วเอาท่อพีวีซี ขนาดให้พอดีกับด้านในของท่อยัดสวมเข้าไปแทนให้น้ำ�เอ่อในท่อนั้นไม่รั่ว ออกมา ผมเตรียมตัวเสร็จตามข้างต้นทั้งหมดใช้เวลาประมาณ 1 สัปดาห์ (หยุดงานทั้งหมดเอาพนักงานมาช่วยกันเตรียมตัว) ถามคนหลายคนที่ก�ำ ลัง โดนท่วมและกำ�ลังต่อสูอ้ ยูว่ า่ เขาทำ�อย่างไรและเอามาประยุกต์ใช้ ขอขอบคุณ น้องก้อง โรงพิมพ์วงตะวัน ที่ให้คำ�แนะนำ�อย่างมากมาย (เจอน้�ำ สูงเกือบ 1.5 เมตร แต่ป้องกันได้สำ�เร็จ) และอีกหลายๆ ท่านที่โทรมาให้ค�ำ แนะนำ� และกำ�ลังใจ ระหว่างนั้นก็ไปดูน�้ำ ตามที่ต่างๆ ตลอด บางกรวยน้�ำ เพิ่มขึ้นตลอด บางซอยที่ติดบางกรวยเริ่มท่วมสูง น้�ำ ในแม่น้ำ�ก็ขึ้นสูงขึ้นทั้งกล้อง CCTV สามเสนก็ 2.60 เมตร สะพานกรุงธนก็ 2.60 เมตร เขื่อนฟันหลอริม เจ้าพระยาบางจุดก็เริ่มแตก โดยเฉพาะร้านอาหาร อู่เรือและคอนโดริมน้�ำ บางซอยติดแม่น�ำ้ ก็ทว่ มแล้วและท่วมขึน้ มาทัง้ หมดจนท่วมถนนจรัญสนิทวงศ์ ซอย 68 แยก 2 ที่โรงงานผมท่วมเป็นซอยสุดท้าย (ซอยสูง) น้ำ�มาเร็วมาก น้�ำ ท่วมสูง 50 เซนติเมตร บนถนนภายใน 1-2 ชั่วโมงเท่านั้น ซอยอื่น ที่ต�่ำ น้ำ�สูงถึง 1.4 เมตร ตามที่คาดไว้จริงๆ
118 ThaiPrint Magazine
รับมือกับสถานการณน้ำ�ทวม น้ำ�มาล้อมและซึมเข้าใต้อาคารตึกแถวทะลุขึ้นด้านหลังโรงงานซึมขึ้น ตามรอยต่อของอาคาร รอยร้าวของพื้นปูน ซึมเข้าจากข้างบ้าน ซึมเข้ามา ในบ่อลิฟต์ ต้องระดมคนงานก่ออิฐล้อมบ่อลิฟต์ไว้สูง 80 เซนติเมตร ก่อ อิฐเพิ่มล้อมทางระบายน้ำ�ด้านหลังให้น้ำ�ที่ซึมมาด้านหลังไหลไปรวมกันที่ นั่นทั้งหมด ด้านหน้าโรงงานที่เราตั้งเครื่องสูบน้ำ�กลาง 4 ตัว ในท่อระบาย น้�ำ ภายนอกที่อุดด้านข้างหมดแล้ว (ตอนนี้เป็นท่อกลางรวมน้ำ�) ทำ�การดูด น้�ำ ที่ค้างในท่อกลางออกจนต่ำ�ลง ดูดออกข้ามกำ�แพง 1.5 เมตร ของเราลง ไปที่ถนน น้ำ�ใต้ดินซึ่งทะลุพื้นตามรอยแตกพื้นท่วมด้านหลังโรงงานจะไหล ออกมาตามท่อระบายน้ำ�ทิ้งภายในออกมายังท่อกลางด้านหน้าเอง เราก็ ดูดออกต่อน้�ำ ด้านหลังก็เริ่มลดเอง มีน�้ำ ซึมกำ�แพงด้านหน้าเข้ามาบ้าง แต่ ก็มารวมกันอยู่ในท่อกลางทั้งหมด ทำ�ให้เราสามารถรวมจุดและดูดออกได้ แต่เราไม่ดูดจนแห้ง ดูดประคองระดับน้ำ�ไว้ที่ความสูงพอประมาณไม่ให้พื้น แตกเพิ่ม และให้ปั้มน้�ำ ได้พักบ้าง มีปัญหาเพิ่มเติมขึ้นมาอีกในห้องพื้นที่ สำ�คัญสูงสุด ซึ่งป้องกันอย่างดีแล้ว มีน�้ำ ซึมขึ้นมาระหว่างรอยต่อของพื้น เดิมของโรงงาน กับพื้นที่หล่อใหม่ตอนตั้งเครื่อง 4 สี ก็ต้องคอยเช็ดและ วางแผนสำ�รองไว้อกี ใช้ปนู กาวอุด ฯลฯ คืนนัน้ สูก้ นั ตลอดไม่ได้นอน วันรุง่ ขึน้ ตัดสินใจลุยน้ำ�ออกไปคลองถมไปซื้อปั้มน้ำ�เพิ่มมาอีก 2 ตัว เพราะต้องมี สำ�รอง เผื่อปั้มไหม้ และโดนตัดไฟฟ้า เปลี่ยนท่อน้ำ�ทั้งหมดจากท่ออ่อน ซึ่ง หักงอตลอดเวลาที่ใช้เป็นท่อแข็ง และ ท่อ PVC ซึ่งไม่หักงอและดูดน้�ำ ออก ได้มากกว่าท่ออ่อน ประชุมพนักงานทั้งหมดว่า จะสู้ไหม ก็มีคนอยู่ร่วม กันสู้ 14 คน เราต้องอยู่เวรผลัดกันตลอด 24 ชั่วโมง ตรงนี้สำ�คัญมาก ที่สุด หลายๆ แห่งป้องกันดี แต่มีคนอยู่แก้ปัญหาเฉพาะหน้าน้อย และ ไม่มีคนผลัดเวรในที่สุดสู้ไม่ไหว โชคดีที่น้ำ�ตรงหน้าโรงงานผมประมาณ 50 ซม. เท่านั้น ท่วมประมาณ 10 กว่าวัน และแห้งก่อนจุดอื่น ขอขอบคุณ พนักงานทุกคนที่ได้ร่วมกันฟันฝ่าจนรอด
ความเสียหายหลังน้�ำ ลด
ขยะเฟอร์นิเจอร์ขนทิ้งวันละ 700 คันรถสิบล้อ
“
หลักสำ�คัญในการตอสูก บั น้�ำ เราจะตองมีสติ คิดคำ�นวณใหทกุ อยาง เหมาะสมกับความเปนจริง ทำ�ปายระดับน้�ำ ติดตัง้ ไว เพือ่ ทีค่ ณ ุ จะไดรไู ดวา น้�ำ ขึน้ น้�ำ ลงขนาดไหน คุณจะตองใชเครือ่ งสูบน้�ำ กีต่ วั ถึงจะสูบทัน เสบียง อาหารจะทำ�อยางไร เพราะฉะนัน้ ผมขอฝากพีน่ อ งชาวอุตสาหกรรม การพิมพทง้ั หมดเลยนะครับวา หากสิง่ ทีเ่ ราไมคาดคิดจะเกิดขึน้ มาอีกสัก กีค่ รัง้ เราจะตองมีการเตรียมความพรอมอยูเ สมอครับและขอใหก�ำ ลังใจ เพื่อนๆ ที่ประสบภัยน้ำ�ทวมในครั้งนี้ จงกลับมาสูและเสริมสรางกันใหม เริม่ ตนกันในปใหมน้ี เพือ่ เปนกำ�ลังสำ�คัญในการผลิตสิง่ พิมพทส่ี รางสรรค และมีคณ ุ ภาพกันตอไปครับ
”
สติ
เสบียง
ทำ�ปายระดับน้ำ�
เครื่องสูบน้ำ�
ThaiPrint Magazine 119
Print News
สมาคมการพิมพ์ไทย The Thai Printing Association
THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2011-2012” เล่มใหม่ล่าสุดที่ รวมรายชื่อ ข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ์ทั้งก่อนการพิมพ์ การพิมพ์ หลังการพิมพ์ รวมทั้งผู้จำ�หน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิมพ์และการซ่อมบำ�รุง เหมาะสำ�หรับใช้เป็นคู่มือ การซื้อขาย และเป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน
ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อ - นามสกุล .................................................................................................................................บริษัท ................................................................................................ ที่อยู่ ................................................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท์ ............................................................................................................................................... โทรสาร ........................................................................................... ขอสั่งหนังสือ THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 จำ�นวน ...................... เล่ม วิธีการชำ�ระเงิน
เงินสด 800 บาท / เล่ม (มารับด้วยตนเอง) โอนเงิน 900 บาท / เล่ม (รวมค่าจัดส่งทางไปรษณีย์)
สั่งซื้อได้ที่สมาคมการพิมพ์ไทย 311-311/1 ซอย.15 (ซอยศูนย์วิจัย) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688 ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” ชื่อบัญชี ออมทรัพย์ เลขที่ 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ 120 ThaiPrint Magazine
Knowledge
รักรถ...ดูแลรถ...ดวยการลางรถอยางถูกวิธี
ผ่านพ้นความทุกข์ของพี่น้องชาวไทยที่ได้รับความ เดือดร้อนจากอุทกภัยน้�ำ ท่วม พัดพามวลน้�ำ มหาศาล ท่วมบ้านเรือนและรถยนต์ของพี่น้องประชาชนไปกัน หลายจังหวัด ฉบับนี้ก็อยากจะขอแนะนำ�วิธีการล้างรถ ทีถ่ กู วิธสี �ำ หรับท่านใดทีอ่ าจจะถูกน้�ำ ท่วมแช่ในระยะเวลา ไม่นานมากนะครับ รวมถึงผู้ที่ใช้รถสัญจรไปมาลุยน้ำ� กันอย่างหนัก เราลองมาดูวิธีล้างรถด้วยตัวเองกันครับ ว่าจะมีขั้นตอนที่น่าสนใจอย่างไรบ้างครับ รถใครใครก็ รัก และก็ย่อมอยากให้รถของเรามีสีที่สวยและสะอาด เป็นเงาตลอดเวลา แต่ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เราต้องเอารถ ออกมาใช้งาน ก็อาจเจอกับฝุ่นละอองและบางทีอาจ จะโดนสะเก็ดก้อนหินที่กระเด็นมาโดนเวลาขับรถ หรือ บางครั้งก็ขับไปลงน้ำ�โคลนที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ อย่างช่วงที่เกิดน้�ำ ท่วมหนัก บางท่านอาจจะจำ�เป็นต้อง เดินทางผ่านสายน้ำ�ที่ท่วมขังอยู่ในระดับที่สามารถขับ ผ่านได้แต่ก็ต้องลุยโคลนไป ดังนั้นเรามาดูวิธีการล้าง รถที่ถูกวิธีกันนะครับ และการที่รถสกปรกหรือมีผลต่อ สีรถอันแสนสวยของรถคุณเกิดขึ้นได้จากต้นเหตุหลาย ประการ ดังนั้น ควรจะหลีกเลี่ยงหรือป้องกันไว้ก่อนจะ 122 ThaiPrint Magazine
เป็นการดี ปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสีและตัวถัง ได้แก่ - ฝุ่นและสิ่งสกปรกบนท้องถนน เช่น เขม่า แมลง มูลนก สารประกอบประเภทด่าง ยางไม้ และสารเคมี ต่างๆ ซึ่งสามารถทำ�ลายสีรถได้ถ้าปล่อยทิ้งไว้ - ฝุ่นควันในย่านโรงงานอุตสาหกรรม ก็เป็น “ตัวร้าย” ทำ�ลายสีรถได้เช่นกัน ยิง่ มีสารประกอบประเภท ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ซึ่งบางทีเค้าเรียกกันว่า “ฝนกรด” นี่แหละเป็นตัวทำ�ลายสีรถได้ดีนัก - เขตชายฝั่งทะเลซึ่งมีความชื้นและไอเกลือผสม ปะปนอยู่ในบรรยากาศ รถบริเวณนั้นออกจะโชคไม่ดี สักหน่อยที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ - ภูมิอากาศแถบร้อน เช่น แสงอาทิตย์ที่ร้อนแรง มาก อากาศที่มีความชื้นสูง รถที่มีสีอ่อนสามารถเกิด ความร้อน 80 องศาเซลเซียส และรถที่มีสีทึบสามารถ เกิดความร้อนถึง 120 องศาเซลเซียส ถ้าจอดทิ้งไว้กลาง แดดนานๆ อาจทำ�ให้สีเริ่มแตกได้ โดยเฉพาะพื้นที่รับ แสงอาทิตย์เต็มๆ เช่น บริเวณหลังคาและฝากระโปรงรถ - กรวดทรายบนท้องถนนอาจทำ�ให้พื้นผิวของสี ถลอก ซึ่งจะทำ�ให้เกิดสนิมตามบริเวณบังโคลน
รักรถ...ดูแลรถ...ด้วยการล้างรถอย่างถูกวิธี สิ่งนารูของการรักษาสีรถ
- เริม่ ทำ�ความสะอาดจากด้านบนก่อน โดยเริม่ จาก หลังคาลงมายังส่วนฝากระโปรงรถ สำ�หรับส่วนล่างของ รถหรือล้อควรล้างในขั้นสุดท้าย และอย่าลืมฟองน้ำ�ที่ ใช้ส�ำ หรับส่วนล่างต่างหาก อย่าใช้ปะปนกับอันที่ใช้ล้าง ตัวรถ - ถ้าใช้พวกแชมพูในการล้างด้วย ต้องล้างน้ำ� สะอาดธรรมดาอีกครั้งหลังจากใช้แชมพูแล้ว และอย่า ใช้ผงซักฟอกล้างรถเป็นอันขาด - เช็ดรถให้แห้งด้วยผ้าชามัวร์ หรือผ้านุ่มสะอาด ตรวจดูให้ทั่ว อย่าให้มีหยดน้ำ�หลงเหลืออยู่บนตัวรถ มิฉะนั้น เวลาแห้งมันจะทิ้งรอยคราบขาวๆ เอาไว้ ยิ่งเป็นรถที่มีสีทึบจะเห็นได้อย่างชัดเจน - รอยสกปรกที่ยังตกค้างอยู่บนพื้นผิวสี ควรเช็ด ออกด้วยน้ำ�ยาทำ�ความสะอาดทันทีหลังจากล้างรถแล้ว เบรคอาจจะเปียกชื้น เพื่อให้เกิดความแน่ใจก่อนออก รถทุกครั้งภายหลังการล้างรถ ควรเหยียบห้ามล้อย้ำ�สัก ครั้งสองครั้งเพื่อไล่ความชื้นบนผ้าเบรก ซึ่งอาจเปียกน้ำ� ให้หมดไป *หลังจากล้างรถเสร็จใหม่ๆ ไม่ควรดึงเบรคมือ เพราะอาจจะยังมีน�้ำ เกาะอยู่ที่จานเบรค (ตอนล้างล้อ) ทำ�ให้เกิดอาการ “เบรคติด” ได้
การลางรถ
ลางกระจกหนาตาง
การล้างรถบ่อยๆ ทำ�ให้สีตัวรถดูสดใสตลอดเวลา และไม่ปล่อยโอกาสให้บรรดา “ตัวบ่อนทำ�ลาย” ทั้ง หลายได้มีเวลาเกาะอยู่ตามสีนานจนเกินไป แต่ทั้งนี้ การล้างรถควรจะต้องคำ�นึงถึงการปฏิบตั อิ ย่างถูกวิธดี ว้ ย ประเภทสักแต่ว่าล้างหรือ “ล้างลูกเดียว” ปล่อยให้ เป็นหน้าที่ของเด็กปั๊มหรือเวลาล้างพวกรถแท็กซี่ที่มุ่ง ปริมาณมากกว่าคุณภาพ อย่าล้างรถท่ามกลางแสงแดด ร้อนจัด ถ้ามีเหตุจ�ำ เป็นต้องจอดรถทิ้งไว้กลางแสงแดด หรือเพิง่ เสร็จสิน้ จากการเดินทาง ความร้อนทีฝ่ ากระโปรง ยังมีอยู่ ควรปล่อยทิ้งไว้สักระยะหนึ่ง จนกระทั่งผิวรถ เย็นจึงค่อยจัดการล้างทำ�ความสะอาด
- ควรล้างรถสัปดาห์ละครั้ง หรือเมื่อสีเริ่มสกปรก - ล้างน้�ำ มันเบนซิน น้�ำ มันเครือ่ ง จารบีหรือน้�ำ มัน เบรคออกทันทีเมื่อเปื้อนสีรถ แม้ว่าสีรถนั้นจะเป็นยี่ห้อ พิเศษที่ทนน้�ำ มันเบรคทนไฟก็ตาม - ควรขจัดแมลงที่ติดตามตัวถังก่อนที่จะทำ�การ ล้างรถ - ควรทำ�ความสะอาดตามขอบประตู ฝากระโปรง หน้า-หลังอย่างทั่วถึง - ในช่วงฤดูฝนควรทำ�ความสะอาดค่อนข้างบ่อย อย่าไปคิดว่าเดี๋ยวฝนตกรถก็เปรอะเปื้อนอีก เนื่องจาก โคลนที่เกาะตามตัวถังเมื่อเพิ่มจำ�นวนขึ้นจะทำ�ให้ล้าง ยากและเป็น อันตรายกับสีรถ - ควรดูดฝุ่นภายในรถด้วย - ในการล้างรถขั้นแรก ควรใช้น้ำ�ฉีดล้างสิ่งสกปรก ให้ละลายเสียก่อนหรือใช้น�ำ้ เปล่าราดโช๊คตลอดทัว่ ทัง้ คัน จากนั้นใช้ฟองน้ำ�หรือผ้านุ่มเช็ดถูเบาๆ อย่าถูแบบกด แรงๆ หรือซ้ำ�ซากในที่เดียว ถ้าใช้ฉีดล้างก็ควรฉีดเบาๆ
หน้าต่างรถด้านนอกสามารถจะใช้แอลกอฮอล์ หรือน้�ำ ยาล้างกระจกล้างทำ�ความสะอาดได้ แต่ด้านใน ของกระจกที่มีวงจรไฟฟ้าติดตั้งอยู่ (เช่น แผงไล่ฝ้าติดตั้ง กระจกหลั งที่ ป้ องกั น มิ ใ ห้ เ กิ ด ฝ้ าจากการเกาะตั ว ของ ไอ น้ำ�ในขณะฝนตกหรืออากาศเย็นจัด) ไม่ควรเช็ดล้าง แบบเปียก ควรใช้วธิ กี ารปัดทำ�ความสะอาดเท่านัน้ อย่า ใช้น้ำ�ยาล้างที่มีส่วนผสมของสารประเภทซิลิโคนเป็น อันขาดและไม่ควรใช้ยาขัดใดๆ ซึ่งอาจทำ�ให้แผงเส้น ลวดชำ�รุดได้ส�ำ หรับใบปัดน้ำ�ฝนส่วนที่เป็นยาง ควรล้าง ด้วยน้�ำ สบู่ ระวังอย่าถูกดแรงๆ จนทำ�ให้ใบปัดเสียรูป ทรง หรือขอบยางบิดเบี้ยว
การทำ�ความสะอาดตัวรถ
ตัวถังรถยนต์จะได้รับการเคลือบสีไว้เป็นอย่างดี ถ้าการทำ�ความสะอาดนั้นทำ�ผิดวิธี จะทำ�ให้สีที่เคลือบ ไว้เสียหาย เช่น เกิดการด่าง การลอกร้าวของสี ดังนั้น เราต้องทำ�ความสะอาดให้ถูกวิธีคือฝุ่น หรือโคลนติด ThaiPrint Magazine 123
Knowledge ที่ตัวถังรถ สิ่งเหล่านี้จะดูดความชื้นได้ง่าย จะทำ�ให้ผิว ของสีเสื่อม ขาดความเป็นเงามัน สีจะซีดจางเกิดความ แตกร้าวได้งา่ ย ถ้ามีฝนุ่ จับทีไ่ ม่สกปรกเกินไปก็ใช้ไม้ขนไก่ ปัดทุกวันก็พอ เมื่อไม้ขนไก่ไม่สามารถทำ�ความสะอาด ที่ตัวถังรถได้เพียงพอ ให้ใช้ผ้าอ่อนๆ ชุบน้�ำ เช็ดอย่าง ระมัดระวัง เพราะฝุ่นนั้นจะมีละอองหิน หรือสิ่งที่แข็ง ติดอยู่ ถ้าเช็ดแรงๆ สีที่เคลือบไว้จะเป็นรอยขีดข่วน ควรทำ�ความสะอาดทีป่ ดั น้�ำ ฝนด้วยถ้ามีโคลนจับ เพราะ จะทำ�ให้กระจกเป็นรอยได้
ลางแลวเช็ด
1. ควรใช้ผ้านุ่มๆ ในการเช็ดรถ เนื่องจากผ้าเหล่า นี้จะไม่ทำ�ให้รถเป็นรอย การเช็ดรถที่ถูกต้องก็เหมือน กับการล้าง คือ ควรเช็ดจากด้านบนไล่ลงมาด้านล่าง ของรถ เพื่อให้น้ำ�หยดลงด้านล่างให้หมดจะได้ไม่ต้อง ทำ�งานสองต่อ 2. ส่วนของรถที่ต้องระวัง คือ ด้านในขอบประตู ทั้งหมด ด้านในกระโปรงหลัง ด้านในฝาถังน้ำ�มัน กระจกหน้ารถ ควรเช็ดให้แห้งที่สุด อย่ามองข้ามเป็น อันขาด เคล็ดลับงายๆ ของการลางรถใหสะอาด ไมเกิดรอย 3. ล้อแม็กซ์ ก็ควรจะเช็ดให้แห้งด้วย เพราะถ้า และไมทำ�ลายสีรถ ไม่เช็ดจะเกิดเป็นคราบน้�ำ ขึ้น ถ้าปล่อยไว้นานๆ คราบ 1. เริ่มจากฉีดน้ำ�ครับ ฉีดน้ำ�ให้แรงที่สุด เพื่อให้ น้ำ�เหล่านั้นจะเช็ดออกยากจนถึงเช็ดไม่ออกเลย คราบฝุ่น ขี้ดิน และสิ่งสกปรกต่างๆ หลุดออกจากตัวรถ ให้มากที่สุด กลเม็ดเคล็ดลับ 2. ล้างด้วยน้�ำ เปล่าก็สะอาดเพียงพอแล้ว แต่อาจ 1. ไม่ควรล้างรถเองในตอนเย็น เพราะหากล้าง ต้องใช้แรงในการขัดถูมากหน่อย ถ้าอยากให้ล้างง่ายขึ้น แล้วจอดทิ้งไว้ อาจทำ�ให้เกิดสนิมในจุดที่เราเช็ดไม่แห้ง สะอาดใสปิ๊ง ก็ให้ใช้แชมพูล้างรถร่วมด้วยครับ เว้นเสียแต่ว่าคุณจะมีเครื่องเป่าน้�ำ ให้แห้ง หรือไม่ก็ต้อง 3. รถก็เหมือนบ้าน เวลาทำ�ความสะอาดต้องเริ่ม ยอมเปลืองน้ำ�มันเอารถออกไปขับไกลๆ ให้ลมช่วย จากด้านบนก่อนค่อยๆ ล้างจากส่วนบนลงล่าง ทำ�ให้ทุกซอยทุกมุมแห้งสนิท วิธีนี้คุณผู้ชายอาจใช้เป็น 4. ใช้ผ้านุ่มๆ เช่น ผ้าสำ�ลี ล้างรถ ไม่ควรใช้ฟองน้� ำ ข้ออ้างในการออกจากบ้านตอนเย็นๆ ได้นะครับ ไม่วา่ กัน เพราะเม็ดทราย หรือฝุ่นจะติดอยู่ในรูพรุนของฟองน้ำ� 2. ไม่ควรล้างรถกลางแดด เพราะนอกจากคนล้าง เมื่อถูไปกับผิวสีรถ จะทำ�ให้เกิดรอยขีดข่วน และถ้า อาจไม่สบายได้แล้ว แสงแดดจะทำ�ให้น�้ำ แห้งเร็วจนเช็ด ทำ�ได้ควรจะนำ�ผ้าไปแช่น้ำ�ไว้ก่อน ยิ่งถ้าใส่น้ำ�ยาปรับ ไม่ทัน ซึ่งอาจทำ�ให้เกิดคราบน้�ำ บนผิวสีรถได้ครับ ผ้านุ่มด้วยจะดีมาก ในขณะที่ล้างรถก็ต้องหมั่นซักและ 3. ไม่ควรใช้ผ้าชุบน้�ำ เช็ดรถแทนการล้างรถ เพราะ ขยี้ผ้าด้วย จะเป็นการทำ�ลายสภาพสี ผงฝุ่นต่างๆ ที่ติดบนผ้า 5. โดยทั่วไปส่วนบนของรถจะมีฝุ่นน้อย ในขณะ จะทำ�ให้เกิดรอยขนแมว ยิ่งเช็ดรถมากครั้งขึ้นเท่าไหร่ ที่ด้านล่างจะสกปรกและมีฝุ่นมาก จึงขอแนะนำ�ให้ การเกิดรอยก็จะมากขึ้นตามไปด้วย แยกใช้ผ้า 3 ผืน ผืนแรกใช้สำ�หรับล้างส่วนบน หลังคา 4. ไม่ควรใช้ไม้ขนไก่ หรือแปรงปัดฝุ่นทุกชนิด ปัด ฝากระโปรงหน้า ฝา ฝุ่นเพื่อทำ�ความสะอาด เพราะมันเหมือนกับการใช้ กระโปรงหลัง และกระจก กระดาษทรายเช็ดรถเลยทีเดียว ในขณะที่ปัดฝุ่น ไม้ปัด รถทั้งหมด ผืนที่สองใช้ ฝุ่นจะลากถูฝุ่นหรือเม็ดทรายไปตามผิวสีรถ ทำ�ให้เกิด ล้ า งด้ า นล่ า งของตั ว รถ ริ้วรอยได้ครับ ตั้ ง แต่ ข อบกระจกด้ า น ล่างลงมา ผืนสุดท้ายใช้ สำ�หรับทำ�ความสะอาด ล้อและส่วนอื่นที่สกปรกมาก 6. ฉีดน้�ำ ไล่แชมพูออกให้หมด และใช้ผ้าแห้งนุ่มๆ เช็ดรถให้แห้งทันที จะได้ไม่มีฝุ่นเกาะและไม่เกิดคราบ น้�ำ บนผิวสีรถ
124 ThaiPrint Magazine
Young Printer
ปรเมศวร์ ปรียานนท์ 128 ThaiPrint Magazine
ปรเมศวร์ ปรียานนท์
ปรเมศวร์ ปรียานนท์
Young Printer
อยากจะใหแนะนำ�ตัวเองสั้นๆ กอน จะถามคำ�ถามตอไป?
สวัสดีครับ พี่ๆ และเพื่อนๆ สมาคมการพิมพ์ไทย ผม ปรเมศวร์ ปรียานนท์ ชื่อเล่น เบนซ์ ครับ ส่วนใหญ่ เพื่อนๆ พี่ๆ ก็จะเรียก กันว่า เบนซ์ BB เนื่องจากมีถึง 3 เบนซ์ ในกลุ่ม Young Printer กัน เลยทีเดียว ^^ เป็นลูกคนชายคนกลาง จาก ทั้งหมดพี่น้อง 3 คน เป็นลูกชาย คนเดียวในบ้าน จบการศึกษาชั้น มัธยมจากโรงเรียนวัดสุทธิวราราม และเรียนต่อปริญญาตรีที่ Bangkok University International College คณะ Marketing หลังจากนั้น ก็ไป เรียนต่อปริญญาโทที่ Northumbria University ในเมือง Newcastle Upon Tyne ประเทศอังกฤษ คณะ MA in Marketing เนื่องจากเป็น คนที่หลงใหลในการตลาด และการ บริหารธุรกิจเป็นอย่างมาก
ในขณะนี้ ผมดำ�รงตำ�แหน่ง Managing Director / Marketing Manager B.B. Printing and Packaging Ltd., Part. ครับและดำ�รง ตำ�แหน่ง Marketing and Creative Director ในบริษัท The 4 elements ซึ่งเป็นบริษัทที่ร่วมลงทุนกับเพื่อนๆ
เปิดเป็นบริษัทออแกไนเซอร์เล็กๆ ครับนิสัยส่วนตัวเป็นคนร่าเริงเป็น มิตร และชอบความท้าทาย ชอบพบ เจอสิ่งใหม่ๆ เพื่อนใหม่ๆ อยู่ตลอด เวลา ชอบการท่องเที่ยว ถ่ายรูปและ ชอบเล่นกีฬาเกือบทุกประเภทเข้า ข่ายพวกบ้าพลัง -_-
ThaiPrint Magazine 129
Young Printer
ความชื่ น ชอบที่ มี ต อ ธุ ร กิ จ การ พิมพของครอบครัวเปนอยางไร บาง?
ความชื่ น ชอบที่ มี ต่ อ กิ จ การที่ บ้าน? จริงๆ แล้วมันเหมือนเป็น ชะตาลิ ขิ ต ให้ ต้ อ งชอบและรั ก ใน กิจการนีเ้ ลยครับ เนือ่ งด้วยเติบโตมา ในสภาพแวดล้อมของวงการพิมพ์ มาตั้งแต่เด็กๆ วิ่งเล่นอยู่ในโรงพิมพ์ คุ้นเคยกับฝุ่นกระดาษ กลิ่นของสี และกลิ่นเหล็กจากเครื่องพิมพ์มา โดยตลอด อีกทั้งตอนเด็กๆ ยัง ช่วยคุณพ่อทำ�งานติดกล่อง ปะกาว โดนจับไปฝึกเป็นมือสาม (พิเศษ) ที่ เครือ่ งพิมพ์บา้ งเวลาปิดเทอมมันเลย ซึมซับอยู่ในสายเลือดละครับ ยิ่งผม เป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว คุณพ่อ คุณแม่จึงหมายมั่นปั้นมือว่า จะต้องรับช่วงเป็นรุ่นต่อไปด้วยครับ และอีกหนึ่งสิ่งที่คุณพ่อพูดให้ฟังมา โดยตลอดก็คอื ธุรกิจทีเ่ ราทำ�จะเปรียบ ไปแล้วก็เหมือนพิมพ์เงิน ทุกๆ งาน พิมพ์ทอ่ี อกมาจากเครือ่ งพิมพ์เปรียบ ไปแล้วก็เหมือนพิมพ์แบงค์ดีๆ นี่เอง และอีกหนึ่งความชื่นชอบในธุรกิจ สิ่งพิมพ์ก็คือ ความหลากหลายของ งานและความคิดสร้างสรรค์ของงาน 130 ThaiPrint Magazine
การจัดซื้อ ต้องทำ�ความรู้จัก กับซัพพลายเออร์ ทำ�ความรู้จักกับ อุปกรณ์สิ้นเปลือง และวัตถุดิบที่ใช้ ในการผลิต เป็นต้น ทั้งหมดที่พูดมา ถือว่ายากใน ทุกๆ ส่วน แต่ถือเป็นอีกหนึ่งความ โชคดีท่ีคุณพ่อและคุณแม่เก่งมากๆ ในการจัดการเรือ่ งพวกนี้ และได้ท่าน คอยแนะนำ�สัง่ สอนในทุกๆ สิ่งอย่าง เปรียบเสมือนทางลัดให้ ผมเรียนรู้ สิ่งที่ทั้งสองท่านสะสมประสบการณ์ ตลอดกว่า 30 ปี อีกทั้งท่านสามารถ สรุป และชี้แนะให้ได้เป็นอย่างดี ไม่จำ�เจ เหมือนธุรกิจการผลิตแบบ อีกด้วย อื่นๆ ซึ่งตรงกับนิสัยของผมเลยที่ ชอบความท้าทายชอบเจองานแปลก ใหม่อยู่ตลอดเวลา สรุปแล้ว ก็คือ ผมเกิดมาเพื่อสิ่งนี้ครับ รักธุรกิจนี้ มาก
บทบาทและหน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบกั บ งานธุ ร กิ จ การพิ ม พ มี อ ะไรบ า ง และมีความยากหรือไม?
ตามตำ�แหน่งหน้าที่ท่ไี ด้รับแล้ว จริงๆ จะเกี่ยวกับการตลาดเป็นหลัก แต่ลึกๆ แล้ว ก็คือ การเรียนรู้งาน ทั้งหมดจากคุณพ่อ และคุณแม่ ต้อง เข้าไปศึกษาทุกๆ ขัน้ ตอนการทำ�งาน ไม่ ว่ า จะเป็ น การขายที่ จ ะต้ อ งรู้ วิ ธี การคิดราคางาน ต้องรูส้ เปคของงาน และควรมีการแนะนำ�สิ่งที่ดีที่สุดให้ ลูกค้าการรับงานจากลูกค้าก็ตอ้ งรูว้ า่ คิวงานในขณะนั้นเป็นอย่างไร ผลิต ได้ทันตามที่ลูกค้าต้องการหรือไม่ การผลิตต้องเข้าไปศึกษาตั้งแต่ กระบวนการก่อนพิมพ์ / พิมพ์ / และหลังพิมพ์ อีกทั้งต้องรู้จักการ ทำ�งานของเครื่องจักรทุกๆ ตัวว่า ทำ�งานอย่างไร บำ�รุงรักษาอย่างไร ตรวจเช็คสภาพคร่าวๆ อย่างไร
ปรเมศวร์ ปรียานนท์
แบงเวลาอยางไรระหวางงานกับ สิ่งที่ผมเชื่อมั่นมาโดยตลอด มากๆ ปัญหาเรื่องการผลิต ต้อง ชีวิตสวนตัว มีเวลาใหกับตัวเอง ก็คือ ทุกปัญหามีทางแก้ ทุกบาน คอยควบคุมคุณภาพงาน ในบาง ประตูที่มีล็อค ย่อมมีลูกกุญแจที่ใช้ งานที่ไม่เคยผ่านมาก่อน ก็จะเจอ มากแคไหน?
ผมทุ่มเทให้กับทุกสิ่งที่ทำ� หาก ได้ทำ�อะไรแล้วต้องทำ�ให้สุดๆ สุด ความสามารถ เข้าตำ�รา Work Hard, Play Hard(er) ^^ เวลาส่วนใหญ่ในการทำ�งาน ก็ จะเป็นเวลาทำ�งานตามปกติ จันทร์ ถึงเสาร์ ส่วนเวลาที่ให้ส่วนตัวกับ ตัวเองจะเป็น ช่วงหลังเลิกงาน 6 โมงเย็นขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นการไป ออกกำ�ลังกาย ออกไปสังสรรค์กับ เพื่อนๆ และ ออกไปดูหนัง ฟังเพลง เล่นกับลูก สอนการบ้านลูก เล่นกับ สุนัข ถ่ายรูป เป็นต้น
เปิดได้เสมอ ปัญหาหลักๆ ในการ ทำ�งานพิมพ์ก็คงไม่พ้นเรื่องการจัด การและการผลิตเป็นหลัก ซึ่งก็ถือ เป็นเรื่ องตื่ น เต้ น ท้ าทายในการแก้ ปัญหา ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องการ จัดการคน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปวดหัว
ปัญหาร้อยแปดอย่าง วิธีแก้ที่ผมใช้ ก็คือ การเข้าไปอยู่กับปัญหา ซึ่ง ถือว่าสำ�คัญเป็นอย่างมาก เพราะ ถ้าเราไม่เข้าไปอยู่กับปัญหาโดยตรง มันก็จะมองไม่เห็นได้ชัดว่า ปัญหา จริงๆ แล้วมันคืออะไร อันนี้ผม
อุปสรรคที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไร บางและเรามีวิธีแกไขอยางไรถึง ผานพนไปได? ThaiPrint Magazine 131
Young Printer มีกิจกรรมอะไรบางกับครอบครัว ที่ทำ�เปนประจำ�?
ทีท่ �ำ ด้วยกันตลอดก็จะเป็นออก ไปทานข้าวทุกๆ วันอาทิตย์ (ทั้งๆ ที่ทุกๆ วันก็ทานด้วยกันอยู่แล้ว) ครอบครัวเราจะถือว่า วันอาทิตย์ เป็นวัน Family Day ห้ามกระทำ� การใดๆ นอกเหนือจากการอยู่กับ ครอบครัวครับ ก็จะออกไปทานข้าว กันนอกบ้าน เปลี่ยนร้านไปเรื่อยๆ ครับ
เราไดคิดพัฒนาธุรกิจดานการ เรี ย นรู้ ม าจากคุ ณ พ่ อ ที่ จั บ งานเอง ที่เรารักอยางไรบาง? พิมพที่ตอยอดมาจากรุนกอนๆ ทุกชิ้น ลงมือตัดประกอบตัวอย่าง ถามอย่างนี้ เขินเลยครับ 555 มีอะไรบางที่คิดวาทำ�ขึ้นใหดีกวา งานเองทุกชิ้น หากเครื่องจักรมี สถานภาพตอนนี้ “โสด” ครับ แต่มี จากเดิม? ปัญหา คุณพ่อก็จะลงไปขลุกอยู่กับ ช่างซ่อม เพื่อที่คราวหน้าหากมี ปัญหาแบบนี้อีก ก็จะรู้วิธีแก้ไขได้ รวดเร็วขึ้น ถือได้ว่าผมยกท่านเป็น แบบอย่างเลยล่ะครับ และอีกหนึ่ง วิธีการแก้ไขปัญหาก็คือ การปรึกษา ผู้ ห ลั ก ผู้ ใ หญ่ แ ละผู้ มี ป ระสบการณ์ อาทิ เช่น คุณพ่อคุณแม่ และพวก เพื่อนๆ พี่ๆ ในวงการเป็นต้น
อาชีพที่ทำ�เกี่ยวกับการพิมพคิด ว า เราโชคดี ก ว า คนอื่ น หรื อ ไม ที่ เกิดมาอยูในครอบครัวที่ทำ�ธุรกิจ การพิมพ?
นางฟ้าตัวน้อยๆ พ่วงมาอีกคนครับ ^^ เป็น Single Dad ครับ ปกติก็ จะไปรับไปส่งลูกสาวที่โรงเรียนเป็น ประจำ� พูดคุยกัน อยู่ด้วยกันเกือบ ตลอด (ยกเว้นเวลาผมหนีเที่ยว) เป็น ทั้งเพื่อน ทั้งพ่อ ทั้งแม่ให้กับเค้า แหละครับ ส่วนครอบครัวนี่อยู่ด้วย กันตลอดอยู่แล้ว เพราะเป็นธุรกิจ ครอบครัวเจอหน้ากันตลอด 365 วัน พูดคุยกันตลอดครับ
หลักๆ เลยที่ผมเข้ามาช่วย พัฒนาต่อยอดจากคุณพ่อ ก็คือ การนำ�นวัตกรรมใหม่ๆ ระบบการ จัดการใหม่ๆ และช่วยแก้ไข ต่อเติม ในหลายๆ สิ่งที่ยังมีช่องโหว่ และ ทำ�ให้เป็นธุรกิจสิ่งพิมพ์ที่ครบวงจร ยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการ ของลูกค้าในทุกๆ ด้านครับ ยก ตัวอย่างเช่น การนำ�เครือ่ งพิมพ์ ใหม่ๆ เข้ามาเพิ่มกำ�ลังการผลิตแทนเครื่อง
ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นเลย ครับที่ว่า ผมเกิดมาเพื่อสิ่งนี้จริงๆ และผมถือว่า ผมโชคดีกว่าคนอื่น มากๆ ที่เกิดมาในครอบครัวนี้ ธุรกิจ สิ่งพิมพ์นี้ เพราะการที่เราได้ทำ�งาน ที่เรารัก เราศรัทธา ผมถือว่าเป็น ความสุขที่สุดแล้วล่ะครับ
ตอนนี้ยังโสดอยูหรือมีครอบครัว แลว และแบงเวลาใหกับครอบครัว 132 ThaiPrint Magazine
ทำ�หน้าทีเ่ ป็นพิธกี รคูก่ บั คุณสุดารัตน์ อดิเรก ในงานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ
ปรเมศวร์ ปรียานนท์
จักรเก่าที่ประสิทธิภาพด้อยกว่า ทำ� ให้ ผ ลงานที่ อ อกมามี คุ ณ ภาพมาก ยิ่งขึ้น และต่อยอดการพิมพ์แบบ Digital ด้วยการติดตั้งเครื่องพิมพ์ Digital Offset เพื่อตอบสนองความ ต้องการขนาดเล็กถึงกลาง และเพิ่ม ผลงานทีห่ ลากหลายขึน้ ไม่วา่ จะเป็น การทำ� On Demand Printing หรือ Personalize Printing เป็นต้น และยังนำ�ทั้ง 2 รูปแบบการพิมพ์ มาผสมผสานกัน เพื่อเพิ่มมูลค่าให้ กับงาน (Hybrid Printing) ในส่วน ทางด้านการตลาด ก็ได้มีการนำ� E-commerce มาใช้ในรูปแบบของ Social Network (Digital Marketing) เพือ่ ขยายตลาดในวงกว้างมากยิง่ ขึน้
รู สึ ก อย า งไรกั บ กิ จ กรรมต า งๆ ที่ทางสมาคมจัดขึ้น ประทับใจตรง ไหนบ า งและกิ จ กรรมที่ ช อบเป น พิเศษ?
และแรงเงิน เพื่อช่วยกันพัฒนา และ ผลักดันธุรกิจสิ่งพิมพ์อันเป็นที่รักยิ่ง ของพวกเราให้เป็นที่รู้จักแก่ชาวโลก มากยิ่งๆ ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการพา เยีย่ มชมโรงพิมพ์ขนาดใหญ่ทท่ี นั สมัย และเพียบพร้อมไปด้วยการจัดการ ที่ดี เพื่อเป็นแบบอย่างและแรงผลัก ดั น ให้ กั บ โรงพิ ม พ์ ข นาดกลางและ ขนาดเล็ก อีกกิจกรรมที่ดีมากๆ ก็ คือ การออกสัญจรตามภาคต่างๆ เพื่อเป็นการให้ความรู้ แลกเปลี่ยน ประสบการณ์กับเพื่อนๆ ในวงการ เดียวกัน และอีกกิจกรรมที่สำ�คัญ และยิ่งใหญ่มากๆ ก็คือ Thaiprint Awards งานดีๆ ที่จัดขึ้นเพื่อเป็น ขวัญกำ�ลังใจให้กบั ทุกๆ คนในวงการ พิมพ์ได้พัฒนาและผลิตสิ่งพิมพ์ที่ดี และมีคุณภาพยิ่งๆ ขึ้นเพื่อประกาศ ศักดางานพิมพ์ไทย ให้เป็นที่รู้จักไป ทั่วโลก
เขาเปนสมาชิก Young Printer ได อ ย า งไรและรู สึ ก อย า งไรกั บ ตำ�แหนงนี้?
จริงๆ แล้ว คุณพ่อรู้จักกับพี่ๆ บางคนในสมาคมมานานแล้ว แต่ คุณพ่อไม่มีโอกาสและเวลาเข้ามา ช่วยงานก็พยายามผลักดันผม ซึ่ง เป็นรุ่นต่อไปให้เข้ามาช่วยงานใน สมาคมแทนและเพื่ อ เป็ น การทำ � ความรู้จักกับเพื่อนๆ พี่ๆ ในวงการ ด้วย และบังเอิญว่ารู้จักเป็นเพื่อน กับ คุณเบนซ์ คมสันต์ พงศ์พัฒน์ การพิมพ์ มาตั้งแต่เด็กๆ จึงถูก ชักชวน (แกมบังคับ) ให้เข้ามาช่วย งานในสมาคมครับ ^^
ประทับใจ และชื่นชอบในทุกๆ กิจกรรมที่ทางสมาคมจัดขึ้น และ ชื่นชมในทุกๆ น้ำ�ใจของ พี่ๆ และ บทบาทในการเป น สมาชิ ก นั้ น เรา เพื่อนๆ ทุกๆ คนที่เสียสละเวลา ไดรับผิดชอบในสวนไหนและรูสึก อันมีค่ายิ่ง รวมไปถึงแรงกาย แรงใจ อยางไร?
ตำ�แหน่งทีไ่ ด้รบั ใน Young Printer ก็จะเป็นเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์ เป็นหลักครับ เลยได้รับโอกาสให้ เป็นพิธีกรจำ�เป็นในการออกสัญจร ภาคเหนือกับน้องเบนซ์ พาวเวอร์ ปริ๊น และได้รับเกียรติอีกครั้งให้เป็น พิธีกรคู่กับ น้องพิงค์ เปเปอร์แลนด์ ในงานประกาศผลรางวัล ThaiPrint Awards 2011 ครับ ก็รู้สึกซาบซึ้ง และยินดีที่พี่ๆ เชื่อมั่นและให้โอกาส ได้ท�ำ งานที่มีเกียรติชิ้นนี้ครับ ตอน อยู่บนเวทีก็ตื่นเต้นมากครับ แต่ก็ พยายามสุดความสามารถในการ เป็นพิธีกรครั้งนี้แล้วครับ ผิดพลาด ประการใด กราบขอโทษเพื่อนๆ พี่ๆ มา ณ ที่นี้เลยละกันนะครับ ^^
อยากจะฝากอะไรหรือแนะนำ�แนว คิดดีๆ ใหกบั สมาชิกรุน ตอๆ ไปไว อยางไรบาง?
ก็อยากจะฝากสมาชิก และ น้องๆ รุ่นต่อๆ ไปนะครับ ให้สมัคร เข้ามาเป็นสมาชิก สมาคมการพิมพ์ ไทย และร่วมแรง ร่วมใจ รวมพลัง กัน ทำ�ให้สมาคมแห่งนี้แข็งแกร่ง และเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางยิ่งๆ ขึ้น เพราะผมถือว่าเป็นความโชคดี ของพวกเราอย่างมากเลยครับ ที่ใน วงการของพวกเราสามารถรวมตัว กันได้เยอะ และเหนียวแน่นขนาดนี้ อย่างที่เค้าว่ากันว่า ความสามัคคี คือพลังครับ ใครจะมาเอาเปรียบ พวกเราก็ ไ ม่ ส ามารถทำ � ได้ ค รั บ ... แรงกาย แรงใจ และเวลาที่มีค่าของ ท่านจะไม่สญ ู เปล่าอย่างแน่นอนครับ อย่ า มั ว แต่ ลั ง เลที่ จ ะเข้ า ร่ ว มเป็ น สมาชิกนะครับ โอกาสดีๆ แบบนี้ พลาดไม่ได้จริงๆ ครับ
ThaiPrint Magazine 133
Print Laboratory
CHIBA CHULA Student Workshop
โดย พิวัส สุขณียุทธ 134 ThaiPrint Magazine
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่าน สำ�หรับคอลัมน์พิเศษของ Thai Print Lab ฉบับนี้ ขอนุญาตแนะนำ�ท่านผู้อ่านมาสัมผัสกับโครงการดีๆ ที่ทาง มหาวิทยาลัย ระหว่ างสองประเทศได้ ร่ ว มมื อกั น เพื่ อแลกเปลี่ ย นความรู้ วัฒนธรรม และมุมมองใหม่ๆ ให้กับนิสิตนักศึกษา นั่นก็คือโครงการฝึก อบรมเชิงปฏิบัติการระหว่างมหาวิทยาลัยชิบะประเทศญี่ปุ่นกับจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (Chiba-Chula Student Workshop, CCU) โดยโครงการนี้เป็น ความร่วมมือกันระหว่างภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางภาพถ่ายและเทคโนโลยี การพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับภาควิชา วิทยาศาสตร์ทางภาพและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยชิบะ (Image and Material Science, Division of Information Science, Graduate School of Advanced Integration Science, Chiba University) ซึ่งการ เข้าร่วมโครงการในครั้งก่อนหน้านี้สองครั้งเป็นการเดินทางของนักศึกษา ญีป่ นุ่ มายังประเทศไทย แต่ส�ำ หรับในครัง้ นีเ้ ป็นการเข้าร่วมโครงการของนิสติ จุฬาฯ จำ�นวน 10 คนเดินทางไปยังประเทศญี่ปุ่น โดยทางมหาวิทยาลัย ชิบะทำ�หน้าที่เป็นเจ้าภาพและให้การต้อนรับเป็นอย่างดี ในช่วงระหว่างวัน ที่ 17 ตุลาคม – 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 ซึ่งผมได้มีโอกาสเป็นหนึ่งใน ผู้เข้าร่วมโครงการนี้ จึงอยากขอนำ�ภาพบรรยากาศ ข้อมูลที่น่าสนใจ และ กิจกรรมต่างของโครงการนี้มาฝากท่านผู้อ่านได้ติดตามกันครับ การเข้าร่วมโครงการ CCU ในครั้งนี้นับว่าเป็นการเปิดมุมมองใหม่ๆ ให้กับนักศึกษาไทยระดับปริญญาโทที่ศึกษาทางด้านทางวิทยาศาสตร์ทาง ภาพถ่ายและเทคโนโลยีการพิมพ์เกี่ยวกับความแตกต่างด้านแนวคิด วิธีการ เรียนและการทำ�งานระหว่างคนไทยและคนญี่ปุ่น ความแตกต่างทางด้าน
CHIBA - CHULA Student Workshop
บรรยากาศร่มรื่นภายในมหาวิทยาลัยชิบะ วัฒนธรรมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ ซึ่งประสบการณ์ตลอดเวลา 28 วัน ที่ นักศึกษาชาวไทยที่เข้าร่วมโครงการได้รับนั้นไม่เพียงแต่จะเป็นการเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์และเป็นประสบการณ์ชีวิตเท่านั้น แต่ยังเป็นการ สร้างมิตรภาพและการทำ�ความรู้จักที่จะเรียนรู้และทำ�งานร่วมกันกับคน ญี่ปุ่น ซึ่งนักศึกษาทุกคนได้รับการต้อนรับและการดูแลเอาใจใส่เป็นอย่าง ดี โดยมีรองศาสตราจารย์ทาคาฮาระ ชิเงะรุ (Takahara Shigeru) และ คณาจารย์เป็นผู้ดูแลตลอดการเข้าร่วมโครงการนี้ สำ�หรับนิสิตที่เข้าร่วม โครงการจะได้รับทุนอุดหนุนจากองค์การสนับสนุนนักศึกษาแห่งประเทศ ญี่ปุ่น (Japan Student Services Organization, JASSO) ในส่วนของค่า อาหารและค่าที่พักจำ�นวน 80,000 เยน ตลอดการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ในวันแรกที่เราเดินทางไปถึงประเทศญี่ปุ่นนั้น เพื่อนๆ ชาวญี่ปุ่นที่เคย มาเข้าร่วมโครงการ ณ ประเทศไทยได้มารอรับที่สนามบินนาริตะและพาไป ยังหอพักนักศึกษานานาชาติของมหาวิทยาลัยชิบะซึ่งตั้งอยู่ที่เขตอินาเงะ (Inage – ku, ) ของจังหวัดชิบะ (Chiba – prefecture, ) ที่อยู่ ใกล้กับสถานีรถไฟอินาเงะ ส่วนมหาวิทยาลัยชิบะนั้นจะตั้งอยู่ใกล้กับสถานี นิชิชิบะ ซึ่งห่างกันประมาณ 2 กิโลเมตร ในวันแรกที่เดินทางไปถึงเพื่อนๆ ชาวญี่ปุ่นก็ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี และพาไปลงทะเบียนยังหอพักรวมถึง แนะนำ�การใช้ชีวิตอยู่ในละแวกนี้ สำ�หรับกิจกรรมในช่วงแรกนั้นเป็นการเรียนรู้การเอาชีวิตรอดในญี่ปุ่น ในชื่อหัวข้อว่า “Survival Japanese” จัดโดยสมาคมแม่และนักเรียน (Association of Students and Mother) ซึ่งในชั้นเรียนนี้นักศึกษาชาวไทย ทุกคนจะได้เรียนรู้วิธีการใช้ชีวิตและการเอาตัวรอดในญี่ปุ่นอย่างง่ายผ่าน การทำ�กิจกรรมร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา ทั้งวิธีการทักทาย มารยาททั่วไป การขอบคุณและการขอโทษ รวมถึงวิธีการสั่งอาหาร ซึ่ง คนที่ไม่เคยมีพื้นฐานภาษาญี่ปุ่นมาก่อนก็สามารถนำ�ความรู้ที่ได้เรียนในชั้น เรียนนี้ไปใช้ได้ทันที
หอพักนานาชาติที่จะได้เข้าไปอาศัยอยู่
อาจารย์สอนวิธีการพูดทักทาย ในแต่ละช่วงเวลา ThaiPrint Magazine 135
Print Laboratory
ฝึกสั่งอาหารกันอย่างจริงจัง
มารยาทในการรับประทานอาหาร และการพักอาศัย
บรรยากาศภายในห้องเรียนกับหลักสูตร การเอาตัวรอดในญี่ปุ่น
นำ�เสนอหัวข้องานวิจัยที่กำ�ลังศึกษาโดยนิสิตจุฬาฯ
การบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ โดยอาจารย์แต่ละท่าน
การบรรยายพิเศษในหัวข้อต่างๆ โดยอาจารย์แต่ละท่าน 136 ThaiPrint Magazine
จากนั้นเมื่อจบในส่วนแรกก็จะเป็นการเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัย ซึ่งระบบการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยชิบะจะค่อน ข้างแตกต่างไปจากระบบการเรียนการสอนของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยในมหาวิทยาลัยชิบะแต่ละหลักสูตรจะมีการแยกย่อยห้องทดลองใน หลายส่วนของสาขาวิชาและมีศาสตราจารย์ประจำ�แต่ละห้องปฏิบัติการ คอยดูแลกำ�กับในสาขานั้นๆ อย่างชัดเจน ซึ่งแตกต่างจากจุฬาฯ ที่จะมี ลักษณะเป็นห้องปฏิบัติการส่วนกลางของแต่ละสาขาวิชามากกว่า และใน ส่วนของการเรียนการสอนสำ�หรับนักศึกษาคนไทยจะใช้ภาษาอังกฤษเป็น ภาษากลางตลอดการเรียนการสอนในโครงการนี้ โดยจะมีการนำ�เสนองาน วิจัยที่สนใจหรือกำ�ลังดำ�เนินการอยู่โดยนิสิตจุฬาฯ และในส่วนของหัวข้อ การฝึกอบรมที่จะต้องปฏิบัติตลอดโครงการนี้นั้นอาจารย์ประจำ�ห้องปฏิบัติ การต่างๆ ได้เข้ามาแนะนำ�เกี่ยวกับการทดลองของแต่ละห้องปฏิบัติการ โดยเราจะถูกแบ่งกลุ่มไปยังห้องปฏิบัติการต่างๆ เพื่อร่วมการฝึกปฏิบัติและ การทดลองร่วมกันระหว่างนักเรียนไทยและญี่ปุ่น และเมื่อทำ�การทดลอง เสร็จเรียบร้อยแล้วทุกคนต้องนำ�เสนอผลงานโดยมีคณาจารย์และนักศึกษา ภายในคณะมาร่วมเข้าฟังด้วย ซึ่งมีหัวข้อที่ฝึกปฏิบัติมีดังนี้
CHIBA - CHULA Student Workshop
1. Holographic Data Storage
เป็นการทำ�การทดลองเกีย่ วกับการเก็บข้อมูลในลักษณะทีเ่ ป็นโฮโลแกรม ซึ่งในงานวิจัยของห้องปฏิบัติการโคเซกิ (Koseki Laboratory) กำ�ลังพัฒนา วัสดุและมาตรฐานสำ�หรับการเก็บข้อมูลในยุคถัดไปที่กำ�ลังจะมาถึง โดย ในปัจจุบันจะเป็นยุคของการเก็บข้อมูลในแผ่นดีวีดีหรือบลูเรย์ (DVD/Bluray) ซึ่งจะเป็นการบันทึกข้อมูลในลักษณะสองมิติ (2D-recording, bit-type recording) แต่ในยุคถัดไปจะเป็นการบันทึกข้อมูลในแบบสามมิติ (3Drecording, 2D-page data recording) โดยใช้ชอ่ื ว่า เอชวีดี (HVD, Holographic Versatile Disc) ที่มีความจุในการเก็บข้อมูลระดับเทราไบต์ (Terabyte, TB) และความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลระดับกิกะไบต์ต่อวินาที (Giga byte per second, Gbps) ซึ่งในการทดลองนี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับสมบัติต่างๆ ที่สำ�คัญ ในการบันทึกโฮโลแกรมของวัสดุที่ถูกเตรียมในลักษณะที่แตกต่างกัน
2. Electrochromic Display using Nanomaterials
สำ�หรับการทดลองในหัวข้อ Electrochromic Display using Nano materials เป็นงานวิจัยความก้าวหน้าด้านวัสดุที่จะถูกนำ�มาใช้ในการผลิต วัสดุที่มีความสามารถในการแสดงสีด้วยหลักการทางไฟฟ้าเคมีในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการแสดงภาพและการผลิตสี รวมถึงลดเวลาในการตอบสนองระหว่างการใช้งานและลดการใช้พลังงาน ไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการทางไฟฟ้าเคมีและการนำ�นาโนเทคโนโลยีเข้ามา ประยุกต์ใช้เพื่อให้ได้วัสดุที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น การผลิต E-paper ใน อนาคต ซึ่งหากการวิจัยมีการพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องจนสำ�เร็จเราอาจได้ เห็น E-paper ที่มีความยืดหยุ่นให้ความรู้สึกเหมือนกับการอ่านบนกระดาษ สามารถแสดงภาพได้หลากสีสัน รวมถึงความสามารถในการแสดงภาพ เคลื่อนไหวได้ด้วยก็เป็นได้
การเปลี่ยนแปลงการเกิดสีของ Electrochromic Display (ECD) โดยปฏิกริยารีดอกซ์ เปลี่ยนจากวัตถุใสไม่มีสีจนกระทั่งได้สีม่วงเข้มและกลับเป็นวัตถุใสไม่มีสีอีกครั้ง
ชุดอุปกรณ์ส�ำ หรับการบันทึก โฮโลแกรมด้วยแสงเลเซอร์
ลักษณะของโฮโลแกรมที่บันทึกได้
เตรียมวัสดุส�ำ หรับทำ� ECD
เตรียมการทดลอง
3. BRDF measurement and its application
BRDF นั้นย่อมาจาก Bidirectional Reflectance Distribution Function ซึ่งเป็นฟังก์ชั่นอธิบายการสะท้อนแสงของพื้นผิวของวัตถุ โดยพิจารณาทั้ง มุม ทิศทางและปริมาณของแสงตกกระทบแสงสะท้อนที่ความยาวคลื่นแสง ต่างๆ สำ�หรับการทดลองนี้จะได้ทำ�การทดลองกับผ้าไหม เพื่อเก็บข้อมูล ลักษณะการสะท้อนของพื้นผิวผ้าไหมว่า มีลักษณะเป็นเช่นไร โดยใช้เครื่อง มือที่เรียกว่า Goniospectrophotometer ทำ�การวัด ข้อมูลที่ได้จะถูกนำ�ไปใช้ ในการวิเคราะห์ลักษณะพื้นผิวของผ้าไหมต่อไป
เตรียมตัวอย่าง ThaiPrint Magazine 137
Print Laboratory
วัดค่า
ผลการทดลองที่ได้
4. OpenGL programming for interactive CG animation
สำ�หรับหัวข้อการฝึกปฏิบัตินี้จะเป็นการเขียนโปรแกรมเพื่อการสร้าง ภาพกราฟิกโดยใช้โอเพนจีแอล (OpenGL) ซึ่งในการพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์ (Application Program) บนแพล็ตฟอร์ม (Platform) ของระบบ ปฏิบัติการแต่ละแบบจะมีส่วนฮาร์ดแวร์ด้านกราฟิกเข้ามามีผลต่อการ แสดงผลกราฟิกที่ได้ แต่การใช้ Open GL ซึ่งเป็นมาตรฐานการอินเตอร์ เฟสโปรแกรมประยุกต์ (Application program interface, API) สามารถให้ ผลกราฟิกเหมือนกันในระบบปฏิบัติการต่างๆ ได้ โดยการฝึกครั้งนี้จะได้ ลองเขียนชุดคำ�สั่งต่างๆ เพื่อสร้างภาพกราฟิกสามมิติ และเขียนชุดคำ�สั่ง เพื่อควบคุมวัตถุต่างๆ ที่สร้างมานั้น
5. Evaluation of color appearance on photographs taken by
various cameras under various illuminations including white LED
ทำ�การทดลองกับ Color Rendition Chart ของ x-rite
วิเคราะห์ผลการทดลอง 138 ThaiPrint Magazine
ในส่วนของการประเมินการปรากฏสีที่ได้จากการถ่ายภาพด้วยกล้อง ดิจิตอลแบบต่างๆ นั้น อาจให้คุณลักษณะในการปรากฏสีที่แตกต่างกัน ภายใต้แหล่งกำ�เนิดแสงที่แตกต่างกัน ในการทดลองนี้จะทำ�การถ่ายภาพ ด้วยกล้องดิจิตอลในสภาพที่แหล่งกำ�เนิดแสงที่ต่างกัน โดยที่จะมุ่งเน้น ความสำ�คัญไปที่แหล่งกำ�เนิดแสงจากหลอดไฟเอลอีดี (LED) เนื่องจาก หลอดแอลอีดีจะเข้ามาแทนที่แหล่งกำ �เนิดแสงแบบเดิมจากที่เคยใช้งาน กันอยู่ โดยเฉพาะการตกแต่งภายในอาคารและสถานที่ ซึ่งหลอดแอลอีดี สามารถให้แสงสีที่งดงามได้หลากสีสัน มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน และใช้ พลังงานต่ำ� ในการทดลองนี้จะได้ศึกษาและประเมินถึงผลของแหล่งกำ�เนิด แสงจากหลอดแอลอีดีต่อการปรากฏสีจากการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล แบบต่างๆ ซึ่งจะทำ�ให้ทราบถึงลักษณะเฉพาะความแตกต่างที่กล้องแต่ละ แบบสามารถถ่ายภาพได้
CHIBA - CHULA Student Workshop
6. การทดลองสร้างภาพโฮโลแกรม (Holographic experiment)
อีกการทดลองหนึ่งที่มีโอกาสได้ทำ�ในโครงการนี้คือการทดลองสร้าง ภาพโฮโลแกรม แต่ในการทดลองนี้แต่ละคนที่ถูกแยกไปฝึกปฏิบัติในห้อง ปฏิบัติการต่างๆ จะได้มีโอกาสมาการทดลองร่วมกันในการสร้างภาพโฮโล แกรม โดยความหมายของโฮโลแกรมนั้นตามรากศัพท์ภาษากรีกจะสามารถ แยกได้เป็น 2 คำ� คือ Holos ที่แปลว่า สมบูรณ์ และอีกคำ�หนึ่งคือ gram ที่แปลว่า ข้อความหรือบันทึก โดยในความหมายของด๊อกเตอร์เดนนิส การ์เบอร์ (Dr. Dennis Gabor) จะหมายถึง สิ่งที่ถูกบันทึกทั้งหมด ซึ่งเป็น ชื่อโดยทั่วไปของสิ่งที่ถูกบันทึกลงบนแผ่นฟิล์ม หรือสิ่งพิมพ์ และศัพท์อีก คำ�หนึ่ง โฮโลกราฟี (Holography) จะหมายถึงเทคนิคการสร้างภาพใหม่ของ การบันทึกโฮโลแกรม ซึ่งด๊อกเตอร์เดนนิส การ์เบอร์ เป็นผู้ค้นพบทฤษฎี โฮโลกราฟีในปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) และได้รับรางวัลโนเบลในปี (ค.ศ. 1971) แต่ในขณะนั้นยังไม่สามารถใช้ได้จริงเพราะยังไม่มีแหล่งกำ�เนิดแสง ที่ดีมาเชื่อมโยงกันได้ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2503 (ค.ศ. 1960) มีการค้น พบเลเซอร์ ทำ�ให้การวิจัยมีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็วจนได้มีการประดิษฐ์ โฮโลแกรมแบบการสะท้อนแสงขาวในปี พ.ศ. 2505 (ค.ศ. 1962) และการ ประดิษฐ์โฮโลแกรมแหล่งกำ�เนิดเลเซอร์ 2 ลำ�แสงในปี พ.ศ. 2506 (ค.ศ. 1963) และการประดิษฐ์โฮโลแกรมแบบแสงขาวผ่านทะลุในปี พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ซึ่งปัจจุบันมีการนำ�เทคนิคดังกล่าวไปประยุกต์ใช้อย่างกว้าง ขวางทั้งในด้านการบันทึกภาพ บันทึกข้อมูล ภาพถ่ายสามมิติทางการ แพทย์ การป้องกันการปลอมแปลง เป็นต้น โฮโลแกรม คือ การบันทึกข้อมูลของวัตถุ ทั้งแสง เงา และทิศทาง ของแสง โดยใช้ความกว้างและความยาวของคลื่นในการบันทึกแสงและเงา ตามลำ�ดับ ส่วนทิศทางของแสงจะใช้หลักการแทรกสอดของลำ�แสง (Inter ference) โดยจะมีการบันทึกข้อมูลความลึกและตำ�แหน่งที่ถูกบันทึกไว้ เปรียบเสมือนการสร้างภาพวัตถุขึ้นมาใหม่อีกครั้งบนแผ่นฟิล์มที่ถูกบันทึก สำ�หรับการทดลองในครั้งนี้จะใช้แหล่งกำ�เนิดแสงเลเซอร์ชนิดฮีเลียม -นีออน ที่มีความยาวคลื่น 633 นาโนเมตร สำ�หรับการบันทึกโฮโลแกรม บันทึกลง บนแผ่นกระจกที่เคลือบสารไวแสงเพื่อบันทึกโฮโลแกรม ส่วนตัวอย่างวัตถุ ที่ใช้ต้องเป็นวัตถุที่มีอัตราการสะท้อนแสงสูงและมีความแข็งเพื่อไม่ให้ชุด ตัวอย่างขยับในขณะที่มีการฉายแสงเลเซอร์ เมื่อทุกคนเตรียมชุดตัวอย่างสำ�หรับการบันทึกเรียบร้อยแล้ว ก็จะทำ� การบันทึกโฮโลแกรมโดยการฉายแสงเลเซอร์ที่สะท้อนจากแผ่นกระจก เงามายังชุดตัวอย่างที่มีแผ่นกระจกเคลือบสารไวแสงไว้ ในขั้นตอนนี้จะต้อง ทำ�ในห้องที่มืดภายใต้แสงนิรภัยสีเขียวและต้องเงียบ เพื่อไม่ให้เกิดการ รบกวนจากทั้งคลื่นแสงและคลื่นเสียงในระหว่างที่มีการบันทึกโฮโลแกรม เมื่อบันทึกเสร็จแล้วจึงนำ�มาสร้างภาพในสารเคมีที่เตรียมไว้โดยทำ�ในห้อง มืดด้วยเช่นกัน จากนั้นนำ�ไปผ่านน้ำ�เพื่อล้างแล้วเป่าให้แห้ง ก็จะได้ภาพ โฮโลแกรมปรากฏออกมา
อาจารย์ซากาอิ อธิบายหลักการ และวิธีการสร้างภาพโฮโลแกรม
เตรียมชุดตัวอย่างที่ต้องการบันทึกภาพ
อุปกรณ์ภายในห้องสำ�หรับการทดลอง
จัดวางตำ�แหน่งชุดตัวอย่าง ที่ต้องการบันทึกภาพ ThaiPrint Magazine 139
Print Laboratory
จัดเตรียมสารเคมีสำ�หรับสร้างภาพและคงภาพ
ปล่อยน้ำ�ไหลผ่านหลังจากผ่านสารเคมีแล้ว
เป่าให้แห้ง
โฮโลแกรมที่บันทึกได้
นำ�เสนอผลการทดลองที่ได้ฝึกปฏิบัติ ในแต่ละห้องปฏิบัติการ
บรรยากาศระหว่างการนำ�เสนอผลงาน
อาจารย์สอบถามเกี่ยวการทดลอง 140 ThaiPrint Magazine
ภาพโฮโลแกรมถูกจัดแสดงภายในงาน Shiba Festival
นอกจากนี้ในระหว่างที่เข้าร่วมโครงการนี้ทุกคนจะได้มีโอกาสได้ไปพัก โฮมสเตย์ (Home stay) กับครอบครัวชาวญี่ปุ่นเพื่อเรียนรู้การใช้ชีวิต และ สัมผัสกับวัฒนธรรมของคนญี่ปุ่น รวมถึงการไปทัศนศึกษา และเยี่ยมชม สถานที่ต่างๆ เพื่อเก็บเกี่ยวความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย เช่น พิพิธภัณฑ์การพิมพ์ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และชาติพันธุ์แห่งญี่ปุ่น และ สำ�นักงานใหญ่หนังสือพิมพ์อาซาฮี เป็นต้น และยังมีกิจกรรมดีๆ อีกมาก เช่น การสวมชุดกิโมโน พิธีชงชา และงานประจำ�ปีของมหาวิทยาลัยชิบะ หรือ Shiba Festival ซึ่งค่อนข้างคล้ายกับงานจุฬาฯ วิชาการในบ้านเรา จากประสบการณ์ในครั้งนี้ ทำ�ให้ได้เห็นการทำ�เรียนการสอนและการ ทำ�วิจัยของทางฝั่งประเทศญี่ปุ่นที่มีลักษณะมุ่งไปข้างหน้า และสอดคล้อง กับความต้องการในภาคอุตสาหกรรม มีการนำ�องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย มาต่อยอดธุรกิจ สร้างมูลค่าและผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา อีกทั้งเรา ยังได้เห็นความเอาจริงเอาจังของคนญี่ปุ่น และการให้ความสำ�คัญต่อหน้าที่ ความรับผิดชอบทั้งงานของตัวเองและงานกลุ่ม ซึ่งก็ท�ำ ให้เข้าใจว่าผลงาน ทุกอย่างที่เขาทำ�ออกมานั้นต้องใช้ความพยายาม และความทุ่มเทเป็นอย่าง มากเพื่อให้ได้สิ่งที่ดีที่สุดภายในเวลาที่จ�ำ กัด นอกจากนี้ความรู้ทุกอย่างนั้น ทุกคนสามารถขวนขวายหาได้รอบตัวไม่ใช่แต่เฉพาะความรู้ในโรงเรียน หรือ ในตำ�รา หากทุกคนสนใจที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ก็สามารถทำ�ได้อยู่ตลอดเวลา เพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถของตนเองต่อไป
CHIBA - CHULA Student Workshop สำ�หรับฉบับนี้คงตองขอจบลงแตเพียงเทานี้กอน และใน ฉบับหนาผมจะขอกลับมารับใชทานผูอานในสวนของสถานที่ ตางๆ ที่ไดไปทัศนศึกษาและเยี่ยมชม ซึ่งนาสนใจเปนอยางมาก ครับ ขอบคุณครับ
นำ�เสนอผลงานความร่วมมือระหว่างมหา วิทยาลัยชิบะ – จุฬาฯ ในงานนิทรรศการ
บรรยากาศภายในงาน Shiba Festival
บรรยากาศการเรียนพับกระดาษโอริกามิ
ฝึกชงชา
นักเรียนไทยในชุดกิโมโนและฮากามะ
ภาพความประทับใจระหว่างมิตรภาพของคนไทยและคนญี่ปุ่น ThaiPrint Magazine 141
Print News
บริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด เข้าร่วมงานประชุมผู้แทนจำ�หน่ายทั่วโลก ฉลองครบรอบ 5 ปี Xingraphics ที่จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ณ กรุงปักกิ่ง
ระหว่างวันที่ 19-21 ตุลาคม 2554 ที่ผ่านมา Xingraphics หนึ่งใน ผู้ผลิตเพลทเทอร์มอล CtP รายใหญ่ ของโลก ได้เชิญผู้แทนจำ�หน่ายเพลท เทอร์มอล CtP ของ Xingraphics จากทั่วทุกมุมโลกเข้าร่วมประชุมและ ฉลองเนื่องในโอกาสครบ 5 ปี แห่ง การก่อตั้งบริษัท ณ กรุงปักกิ่ง โดย ในงานนี้ บริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด ผู้แทนจำ�หน่ายเพลทเทอร์มอล CtP ของ Xingraphics ในประเทศไทย ได้เข้าร่วมการประชุมพร้อมผู้แทน จำ�หน่าย อีกกว่า 105 คน จาก 34 ประเทศทั่วโลก ซึ่งการประชุมใน ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดโอกาส 144 ThaiPrint Magazine
ให้ผู้แทนจำ�หน่ายจากทุกภูมิภาคทั่ว โลก ลูกค้าและทีมงาน Xingraphics ได้พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิด เห็น พร้อมทั้งสร้างเครือข่าย และ ความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน โดย ไฮไลท์ของงานในครั้งนี้ ก็คือ การจัด งานเลี้ยงฉลองครบรอบปีที่ 5 ของ Xingraphics ในฐานะบริษัทผู้ผลิต เพลทเทอร์มอล CtP คุณภาพสูงราย ใหญ่ทม่ี เี ครือข่ายผูแ้ ทนจำ�หน่ายทัว่ โลก Mr.Safwen Hijazi รองประธาน บริษัท Xingraphics กล่าวว่า “การ จัดงานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (work shop) ในปีที่ผ่านๆ มา เราได้มุ่งเน้น ทำ�กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวกับบริษัท เช่น การเยี่ยมชมโรงงาน การฝึก อบรมด้านสินค้า และเทคนิคที่สำ�นัก งานใหญ่ของบริษัทในเมืองเฉินตู แต่ เนื่องจากในปีนี้เป็นปีครบรอบ 5 ปี แห่งความสำ�เร็จของบริษัทในตลาด โลก บริษทั จึงถือโอกาสจัดการประชุม ครั้งพิเศษนี้ขึ้นมาที่กรุงปักกิ่ง เมือง หลวงของประเทศจีนที่มีความงดงาม และมีประวัติศาสตร์ยาวนานและเก่า แก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก นอกจาก
การนำ�เสนอทิศทาง และกลยุทธ์ใน อนาคตของบริษัทในการประชุมครั้ง นี้แล้ว บริษัทถือโอกาสนี้ขอบคุณ ผู้แทนจำ�หน่ายทุกท่าน สำ�หรับการ สนับสนุนต่างๆ ทีท่ �ำ ให้บริษทั ประสบ ความสำ�เร็จด้วยดีตลอดมา” “นอกจากการสร้างความสัมพันธ์ ที่แนบแน่นกับผู้แทนจำ�หน่ายแล้ว การประชุมในครั้งนี้ยังเอื้อโอกาสให้ ผู้แทนจำ�หน่ายจากทั่วทุกมุมโลกได้ พบปะเพื่อแบ่งปันข้อมูล และแลก เปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกัน ทั้งยัง ทำ�ให้บริษัทได้รับความคิดเห็นที่เป็น ประโยชน์และเข้าใจในความต้องการ ของลูกค้าในประเทศต่างๆ เพื่อที่ จะนำ�เสนอเทคโนโลยีของสินค้าให้ เหมาะสมกับประเทศนั้นๆ ส่งผลให้ Xingraphics สามารถสร้างความ แตกต่างจากคู่แข่งในตลาดได้ การจัด งานในครั้งนี้ยังทำ�ให้ผู้แทนจำ�หน่าย และลูกค้าสามารถพูดคุยอย่างใกล้ชิด กับทีมงานในส่วนต่างๆ ของบริษัท ซึ่งความสัมพันธ์ที่แนบแน่นและใกล้ ชิดจะช่วยให้เราประสบความสำ�เร็จ และเติบโตไปด้วยกันในปีถัดไป”
Print News
ปิดฉาก บาสเกตบอล “เจริญอักษร คัพ 2011” อย่างสวยงาม
ปิดฉากลงแล้วกับการแข่งขันบาสเกตบอล “เจริญอักษรคัพ 2011” ชิงถ้วย ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี นางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี เจริญอักษร โฮลดิ้ง กรุ๊พ ที่สนามบาสเกตบอลโรงเรียนทิวไผ่งาม เมื่อวันที่ 25 ธ.ค. ที่ผ่านมา โดยมีคุณสุรศักดิ์ ชินวงศ์วัฒนา นายกสมาคมบาสเกตบอลแห่งประเทศไทย คุณณรงค์ ทิวไผ่งาม คุณอมรและคุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ เข้าร่วมเป็นประธานในการปิดการแข่งขัน กลุ่มบริษัท เจริญอักษร โฮลดิ้ง กรุ๊พ นำ�โดย คุณอมรและคุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ ประธานกรรมการบริหาร เข้าร่วมเป็นประธานในการปิดการแข่งขันโดยบรรยากาศในการแข่งขัน ไฮไลต์คือรุ่นอาวุโส 49 ปี ซึ่งเป็นการแข่งขัน ระหว่าง ทีมกิ๊กอิ้ว กับ ทีมเจริญอักษร มีคุณอมร ดารารัตนโรจน์ เข้าร่วมแข่งขันในครั้งนี้ด้วย ผลการแข่งขัน กิ๊กอิ้ว สามารถเอาชนะทีมเจริญอักษรไปด้วยคะแนน 71:69 คว้าถ้วยรางวัลชนะเลิศ พร้อมเงินรางวัล 20,000 บาท สรุปผลการจัดการแข่งขัน ประเภทนักเรียน ทีมชนะเลิศคือ ทีมทิวไผ่งาม ประเภทประชาชน ทีมชนะเลิศคือ ทีมสาทรคลับ ประเภทอาวุโส 36-40 ปี ทีมชนะเลิศคือทีมทหารอากาศ ประเภทอาวุโส 41-44 ปี ทีมชนะเลิศคือ ทีมเตี้ยเมืองนนท์ และประเภทอาวุโส 45-48 ปี ทีมชนะเลิศคือ ทีมบ้านโป่งออโต้ลู้ป ทีมชนะเลิศคว้าถ้วยและเงิน รางวัลมูลค่า 20,000 บาท และรองชนะเลิศรับถ้วยและเงินรางวัลมูลค่า 10,000 บาท รวมทั้งเงินรางวัลผู้เล่นทรง คุณค่า (MVP) รวมเป็นรางวัลในการแข่งขันกว่า 210,000 บาท บรรยากาศในการจัดการแข่งขันเต็มไปด้วยความคึกคักของผู้ร่วมงานเป็นจำ�นวนมาก ภายในงานมีการจัดให้ เล่นเกมเพื่อให้เด็กนักเรียนและประชาชนทั่วไปได้ร่วมกิจกรรม และช่วงท้ายของพิธีปิดการแข่งขันจัดให้มีการร่วม รับประทานอาหารค่�ำ ให้กับนักกีฬา นักเรียน และผู้ร่วมงานอีกด้วย กลุ่มบริษัท เจริญอักษร กรุ๊พ ขอขอบพระคุณทุกทีมในการแข่งขันและสื่อมวลชนทุกค่าย ที่ให้การสนับสนุน และร่วมเป็นสวนหนึ่งในการแข่งขัน บาสเกตบาล “เจริญอักษรคัพ 2011” จนทำ�ให้การแข่งขันสำ�เร็จ ไปได้ด้วยดี และเรามุ่งมั่นจะเป็น ส่วนหนึ่งในการสนับสนุนด้านกีฬา บาสเกตบอลต่อไป ThaiPrint Magazine 145
Health
ปัญหาสุขภาพและโรคผิวหนัง หลังนํ้าท่วม
เหตุการณที่ใครตอใครไมคาดคิดมากอนวามวลนํ้ามหาศาลจะเขามาถลมประเทศไทยไดหนักถึง ขนาดนี้ทำ�ใหเกิดมหาอุทกภัยครั้งยิ่งใหญในประวัติศาสตรในรอบหลาย 10 ป ของไทยเราประชาชน ชาวไทยตองไดรบั ความลำ�บากยากเข็นตองเดินทางฝาสายนํา้ ไมเวนแตละวันในสถานการณอยางนี้ เรือ่ ง ของสุขภาพก็เปนสิ่งสำ�คัญที่จะตองดูแล โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อราที่เหตุมาจากตองเดินลุยนํ้าเปน เวลานานๆ หรือตองเดินแชนํ้าที่เกิดการเนาเสียและอาจติดเชื้อได ฉบับนี้จึงอยากขอแนะนำ�การดูแล สุขภาพผิวหนังที่เกิดจากนํ้ากัดเทาวาจะมีวิธีดูแลรักษากันอยางไรบาง หลังภาวะนํ้าท่วม นอกจากผู้ ป ระสบภั ย จะประสบกั บ การสู ญ เสี ย ทรัพย์สินแล้ว ยังต้องเผชิญกับปัญหาเรื่องสุขภาพอีกหลายด้าน ทั้งนี้ เพราะเมือ่ เกิดนํา้ ท่วม แหล่งนํา้ สำ�หรับการอุปโภคบริโภคเกิดการปนเปือ้ นใน กระแสนํ้าที่พาสิ่งสกปรก เชื้อโรค และของเสียที่เคยถูกเก็บในที่มิดชิด หรือ สารเคมีกระจายเป็นวงกว้าง และไปห่างไกลจากแหล่งเก็บเดิม นํ้าท่วมจึง ทำ�ให้สภาพสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปทำ�ให้สัตว์ แมลง ไม่มีที่อยู่อาศัย ออกจากถิ่นที่อยู่เพ่นพ่านทั่วไป ในขณะเดียวกันสภาพนํ้าท่วมทำ�ให้พาหะ นำ�โรคต่างๆ เจริญเติบโตได้ดี ซึ่งส่งผลทำ�ให้ปริมาณเชื้อโรคมีจำ�นวนเพิ่ม ขึ้นและแพร่ได้อย่างรวดเร็ว จึงมีโอกาสเกิดโรคระบาดได้ง่ายสภาพผิวดิน หลังนํ้าท่วมมีความเหมาะสมสำ�หรับการแพร่พันธุ์ของยุง เชื้อโรคหลาย ชนิดที่เกิดจากยุงเป็นพาหะจึงมีโอกาสระบาดสูงขึ้นหลังนํ้าท่วม โดยสรุป ปัญหาด้านสุขภาพที่จะเกิดหลังนํ้าท่วมมีทั้งอาการเจ็บป่วยในระยะแรกและ ระยะยาว หลังจากนั้น ได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินอาหาร เช่น โรคท้องร่วง จากการติดเชื้อจากอาหารเป็นพิษ โรคเล็บโตสไปโรสิส (หรือโรคฉี่หนู) โรค ผิวหนังจากการสัมผัสกับสารเคมีสิ่งสกปรก หรือ ติดเชื้อที่ผิวหนังไม่ว่าจะ เป็นเชื้อแบคทีเรีย เชื้อราหรือหนอนพยาธิ โรคผิวหนังจากแมลง สัตว์มีพิษ 146 ThaiPrint Magazine
ปัญหาสุขภาพและโรคผิวหนังหลังนํ้าท่วม กัดต่อย ซึ่งนอกจากจะทำ�ให้ไม่สบายจากการถูกกัดต่อยแล้ว ในภายหลัง หากได้รับเชื้อโรคเข้าไปด้วยอาจทำ�ให้ป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก มาลาเรีย ไข้สมองอักเสบ หรือติดเชื้อในกระแสเลือด เป็นต้น โรคผิวหนังที่ประชาชนทั่วไปมักจะคุ้นเคย และพบเสมอหลังภา วะนํ้าท่วมคือ โรคนํ้ากัดเท้า เมื่อเดินย่ำ�นํ้าบ่อยๆ หรือยืนแช่นํ้านานๆ จะทำ�ให้เท้าเปื่อย โดยเฉพาะบริเวณซอกเท้าบริเวณที่ผิวหนังเปื่อยนี้เป็น จุดอ่อนทำ�ให้เชื้อโรคที่มากับนํ้าเข้าสู่ร่างกายได้ง่าย หลังเสร็จกิจธุระนอก บ้านแล้ว ควรรีบล้างเท้าด้วยนํ้าสะอาดและสบู่ แล้วเช็ดให้แห้งโดยเฉพาะ ตามซอกนิ้วเท้า หากเท้ามีบาดแผล ควรชะล้างด้วยนํ้ายาฆ่าเชื้อ โรคนํ้า กัดเท้าในระยะแรกนี้ ยังไม่มีเชื้อรา เป็นเพียงอาการระคายเคืองจาก ความเปียกชื้นและสิ่งสกปรกในนํ้า ทำ�ให้เท้าเปื่อย ลอก แดง คันและแสบ การรักษาในระยะนี้ควรใช้ยาทาสเตียรอยด์อ่อนๆ เช่น 0.02 Triamcinolone cream หรือ 3% vioform in 0.02% Triamcinolone cream ไม่จำ�เป็นต้อง ใช้ยาฆ่าเชื้อรา เพราะยาเชื้อราบางชนิดจะทำ�ให้เกิดอาการระคายเคืองและ แสบมากขึ้น ถ้าผิวเปื่อยเป็นแผล เมื่อสัมผัสกับสิ่งสกปรกที่เจือปนอยู่ใน นํ้าจะเกิดการติดเชื้อได้ง่าย เมื่อมีการติดเชื้อ แบคทีเรีย จะทำ�ให้เกิด อาการอักเสบ บวมแดง เป็นหนองและปวด ต้องให้การรักษาโดยการรับ ประทานยาปฏิชีวนะร่วมกับการชะล้างบริเวณแผลด้วยนํ้ายาฆ่าเชื้อ เช่น นํ้าด่างทับทิม แล้วทายาฆ่าเชื้อ หรือยาปฏิชีวนะ หากปล่อยให้มีอาการ โรคนํ้ากัดเท้าอยู่นาน ผิวที่ลอกเปื่อยและชื้นจะติดเชื้อราทำ�ให้เป็นโรคเชื้อ ราที่ซอกเท้ามีอาการบวมแดง มีขุยขาวเปียก มีกลิ่นเหม็นและถ้าปล่อยทิ้ง ไว้ให้เป็นเรื้อรัง เชื้อราจะเข้าไปฝังตัวอยู่ในผิวหนังรักษาหายยาก ถึงแม้จะ ใช้ยาทาจนอาการดีขึ้นดูเหมือนหายดีแล้ว แต่มักจะมีเชื้อหลงเหลืออยู่ เมื่อเท้าอับชื้นขึ้นเมื่อใด ก็จะเกิดเชื้อราลุกลาม ขึ้นมาใหม่ ทำ�ให้เกิดอาการ เป็นๆ หายๆ เป็นประจำ�ไม่หายขาด การดูแลป้องกันโรคเชื้อราที่เท้าไม่ให้ กลับเป็นซ้ำ�อีกจึงมีความสำ�คัญ การรักษาความสะอาดให้เท้าแห้งอยู่เสมอ เป็นหลักปฏิบัติที่สำ�คัญที่สุด ในการป้องกันโรคนี้ และควรให้ความสนใจเป็นพิเศษที่บริเวณซอก นิ้วเท้า เมื่อเช็ดให้แห้งแล้วให้ทายารักษาโรคเชื้อรา แต่ถ้ามีอาการรุนแรง และเรื้อรัง ทายาไม่ได้ผลควรไปพบแพทย์ ไม่ควรซื้อยารับประทานเอง ซึ่งอาจจะมีผลข้างเคียงต่อตับไต และควรรักษาอย่างต่อเนื่อง ไม่ควรหยุด ยาเองแม้ว่าจะดีขึ้น การหยุดยาเร็วเกินไปขณะที่เชื้อยังไม่หมด มีโอกาส กลับเป็นซ้ำ�อีกได้ง่ายนอกจากนี้ผู้ประสบกับปัญหานํ้าท่วมควรระมัดระวัง เมื่อเดินลุยนํ้าเพราะอาจถูกของมีคมทิ่ม ตำ� ทำ�ให้เกิดบาดแผลและติด เชื้อโรคต่างๆ รวมทั้งเชื้อบาดทะยักตามมาได้ เมื่อประสบเหตุดังกล่าว ควร ไปทำ�แผลที่หน่วยบริการสาธารณสุขทันที และถ้าไม่เคยฉีดวัคซีนกระตุ้น ภูมิคุ้มกันเชื้อบาดทะยักมาก่อนควรปรึกษาแพทย์ ThaiPrint Magazine 147
Health
คำ�แนะนำ�การดูแลตนเองหลังประสบภัยนํ้าทวม • ใช้นา้ํ ดืม่ นํา้ ใช้ทส่ี ะอาด หากหาแหล่งนํา้ สะอาดไม่ได้ให้ตม้ นํา้ ให้เดือดก่อน ใช้อย่างน้อย 10 นาที • ถ้าอาศัยอยู่ใกล้แหล่งโรงงานอุตสาหกรรมหรือแหล่งสารเคมี พึงระลึก เสมอว่าแหล่งนํ้าในครัวเรือน อาจปนเปื้อนสารเหล่านี้และ ความร้อนไม่ สามารถทำ�ให้นํ้าเหล่านี้สะอาดพอสำ�หรับการบริโภค ควรปรึกษาหน่วย งานที่เกี่ยวข้อง เพื่อตรวจสอบความปลอดภัยของนํ้า หรือจัดหานํ้า สะอาดไว้บริการ • ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารเสมอ รับประทานอาหารที่ปรุง สุกและปรุงเสร็จใหม่ • สวมเสื้อผ้ามิดชิด ป้องกันแมลงสัตว์กัดต่อย นอนในมุ้ง พึงระลึกเสมอ ว่าแมลง และสัตว์มีพิษทั้งหลายก็หนีนํ้ามาอาศัยอยู่ในที่สูงเช่นกัน • ผู้ปกครองควรดูแลบุตรหลานที่ยังเล็ก เพราะเด็กมีจะสนุกกับการเล่นนํ้า และไม่ใส่ใจเรื่องการรักษาความสะอาดและอันตรายที่แฝงมากับนํ้าท่วม • ตรวจสอบระบบไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน ระมัดระวังเรื่อง ไฟฟ้า ลัดวงจร • หากรู้สึกไม่สบายให้รีบปรึกษาแพทย์ • หลีกเลีย่ งการแช่เท้าในนํ้านานๆ หากจำ�เป็นต้องลุยนํา้ ให้สวมรองเท้าบู๊ท กันนํ้า ป้องกันของมีคมในนํ้าทิ่ม ตำ� เท้า • รีบทำ�ความสะอาดเท้าด้วยนํ้าสะอาด ฟอกสบู่ เช็คเท้าให้แห้งเมื่อเสร็จ ธุระนอกบ้าน • หากมีบาดแผลตามผิวหนังไม่ควรสัมผัสนํ้าสกปรก • เมื่อมีแผล ผื่น ที่ผิวหนังให้พบแพทย์ • ทายาหรือรับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด
เปนอยางไรกันบางครับสำ�หรับโรคตางๆ ที่แอบแฝงตัวมากับสายนํ้าที่ เนาเสีย และพัดพาสิ่งที่เราไมปรารถนาพวงมาดวยอยางนอยก็อยากใหคน ในอุตสาหกรรมการพิมพของเราที่อยูในพื้นที่นํ้าทวม โปรดชวยกันดูแล สุขภาพกันดวย เพราะยังไงก็กันไวดีกวาแกนะครับ เรื่องสุขภาพเปนเรื่อง สำ�คัญอยางยิ่งครับตองดูแลกันอยางดีครับ และติดตามกันฉบับหนาจะมี เรื่องสุขภาพดีๆ มาฝากกันอีกรอพบกันฉบับหน้าสวัสดีครับ
ข้อมูลจาก: แพทย์หญิงวลัยอร ปรัชญพฤทธิ์ สถาบันโรคผิวหนังกรมการแพทย์ 148 ThaiPrint Magazine