Thaiprint Magazine Vol.93

Page 1

67376 Cover #93 pc1.indd 1

4/9/2555 17:51:28


Ad Green Serie_m19.pdf

1

4/18/11

4:14 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

02 Ad Green series#91_pc3.indd 2

19/4/2555 15:33:25


03 Ad Interink pc1.indd 1

19/4/2555 14:26:55


04-05 Ad Canon pc1.indd 1

19/4/2555 17:48:04


04-05 Ad Canon pc1.indd 2

19/4/2555 17:48:15


06 Ad hp indigo #93_pc3.indd 6

7/9/2555 17:27:13


006-007 Ad BJC pc1.indd 2

7/9/2555 3:52:24


150 Ἃ¹μ‹Í¹Ò·Õ ¤ÇÒÁàÃçÇÊÙ§ÊØ´

A3 μÑ´μ¡ μŒ¹·Ø¹ËÁÖ¡ÊÕ ¶Ù¡·ÕèÊØ´ ÃѺ§Ò¹ ·Ñ¹·Õ 4 Êշѹã¨

¾ÔÁ¾ ä´ŒãËÞ‹ÊØ´

008 Ad Riso pc1.indd 1

7/9/2555 3:39:04


09 Ad thaisakol #92_pc3.indd 1

6/7/2555 2:51:04


ิโก้ฯ �-�� ร บ ั ก พบ ��, G F�ทบ�ี ธู

»¯ÔÇѵÔà·¤â¹âÅÂÕà¤Ã×èͧ¾ÔÁ¾ ÊմԨԵ͚Ѻ Ricoh Pro C751 Series ãËŒ¸ØáԨ¢Í§¤Ø³¾Ø‹§·ÐÂÒ¹ä¡ÅÍ‹ҧà˹×ͪÑé¹

57 Ad GASMA by Richo Tahiland #92_pc3.indd 1

7/7/2555 1:47:04


Ad Soy ink cervo pc1.indd 1

19/4/2555 15:48:38


Ad Thai sanguan#87-mac19.pdf

4/23/11

11:01:13 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

E-mail : s_stsi@hotmail.com


13 Ad neo digital pc1.indd 1

7/9/2555 3:44:15


Thai Print Magazine ฉบับที่ 93

เข า สู ว าระการบริ ห ารงานของคณะกรรมการบริ ห าร สมาคมการพิ ม พ ไ ทยชุ ด ใหม ที่ เข า มาสานงานต อ จากคณะ กรรมการที่หมดวาระไปรวมถึงกลุม Young Printer Group ที่ เพิ่งผานพนการเลือกตั้งคณะกรรมการในวาระใหมเขามาเชนกัน ในปนี้นับวาทั้งคณะผูจัดงานและคณะกรรมการของสมาคมฯ ตาง ยินดีที่เห็นกลุม YPG สมัครเขารวมงานเปนจํานวนมาก โดยการ เลือกตั้ง วาระป 2555-2557 นี้ ใชชื่องานวา CMYK Color key Next Gen Pattaya Connection สรางความสนุกสนานใหกับผูรว ม งานไดอยางประทับใจ หลังจากไดรายชือ่ คณะกรรมการของกลุม YPG ทางสมาคมและคณะกรรมการเองก็ตองมีการเตรียมงานการ ประกวดสิ่งพิมพแหงชาติครั้งที่ 7 ซึ่งสมาคมการพิมพไทยจะมี การจัดขึ้นทุกๆ ปมาอยางตอเนื่อง ซึ่งจะตองระดมความคิดจาก คณะกรรมการที่รับผิดชอบในการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ แหงชาติครั้งนี้ และให YPG รุนใหมเขามารวมแสดงความคิด เห็นและวางแผนการจัดงานกันอยางแข็งขัน ซึ่งตองรอติดตามกัน ไดในเดือนกันยายนนี้กับงานการประกาศผลรางวัล Thai Print Awards 2012 พรอมทั้งรวมแสดงความยินดีกับผูที่ไดรับรางวัล สํ า หรั บ วารสารการพิ ม พ ไ ทยฉบั บ นี้ ข อเน น ในเรื่ อ งของ การพิมพดวยระบบดิจิตอล ซึ่งคายตางๆ ที่เปนตัวแทนในการ ขายเครื่องพิมพในระบบดิจิตอล ก็จะแนะนําเทคโนโลยีใหมๆ ที่ทันสมัยมาใหอานกันอยางครบถวนลองติดตามไดในเลมครับ นอกจากนี้ ยังไดกลาวถึงพระบิดาแหงการพิมพไทย พระบาท สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รวมถึงประวัติของผูบุกเบิกเรื่อง การพิมพในเมืองไทยเราคนแรก ที่คนในอุตสาหกรรมการพิมพ ตางระลึกถึงอยูเสมอ นั่นคือหมอบลัดเรย ลองมารําลึกถึงทาน โดยอานประวัติความเปนมาของทานดูครับวา ทานมีคุณูปการให กับกลุมอุตสาหกรรมการพิมพไทยอยางไรบาง สุดทายขอรวมแสดงความยินดีกับนักเรียนการพิมพ ที่ได รับประกาศนียบัตรจากการจบหลักสูตรการพิมพดว ยระบบออฟเซ็ต เบื้องตนของสถาบันการพิมพไทยผูอานทานใดสนใจที่จะสมัคร เข า เรี ย นหลั ก สู ต รนี้ ก็ ส ามารถติ ด ต อ สอบถามได ที่ ส มาคมการ พิมพไทย และขอตอนรับกลุม Young Printer Group ในวาระ ใหมที่เพิ่งเขามารวมกิจกรรมดีๆ ของสมาคมการพิมพไทย และ ขอใหเปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนสมาคมใหเจริญกาวหนา ยิ่งๆ ขึ้นไปครับ ขออภัยในขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากวารสารการพิมพไทย ฉบับที่ 92 หนา 28 ทางสมาคมการพิมพไทยจึงขอแกไข ขอความเพื่อความถูกตองและขออภัยในความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นมา ณ โอกาสนี้ แกไขหนา 85

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท อุปนายก คุณพงศธรี ะ พัฒนพีระเดช, คุณนิธิ เนาวประทีป, คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณถิร รัตนนลิน, คุณคุณา เทวอักษร เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ ผูชวยเลขาฯ คุณสุวทิ ย เพียรรุง โรจน, คุณคมสันต ชุนเจริญ, คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณวริษฐา สิมะชัย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หลอยืนยง นายทะเบียน คุณวิวัฒน อุตสาหจิต ปฏิคม คุณชินวัชร เฉลยวุฒิโรจน ประชาสัมพันธ คุณพชร จงกมานนท กรรมการผูทรงคุณวุฒิ คุณณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย กมลสุวรรณ, คุณเกษม แยมวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ, คุณสุรเดช เหลาแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุพันธุ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธํารง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทัย ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงี่ยม, คุณหิรัญ เนตรสวาง, ผศ.บุญเลี้ยง แกวนาพันธ, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณ, คุณชัยวัฒน ศิริอําพันธกุล, คุณวิชัย สกลวรารุงเรือง, คุณวิรุฬห สงเสริมสวัสดิ์, คุณภาสกร วงษชนะชัย, คุณพิเชษฐ จิตรภาวนากุล, คุณพิมพนารา จิรานิธิศนนท, คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณธนวัฒน อุตสาหจิต, ที่ปรึกษาพิเศษดานกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล

Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด เอื้อเฟอกระดาษที่ใชพิมพ thaiprint magazine โทรศัพท 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก ยูวี จํากัด ชวยเคลือบปกวารสารการพิมพไทยดวยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก. เพิ่มคุณคาใหงานพิมพ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ บริษัท สีทอง 555 จํากัด บริษัท สุนทรฟลม จํากัด บริษัท บางกอกบายนดิ้ง จํากัด

โทรศัพท 0-2425-9736-41 ผูผลิตและจําหนายผลิตภัณฑซองทุกชนิด โทรศัพท 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผูสนับสนุนการแยกสี ทําเพลท โทรศัพท 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผูสนับสนุนการไสกาว โทรศัพท 02-682-217779

หนังสือเลมนี้พิมพดวยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER

14 pc1.indd 10

6/9/2555 20:43:52


Ad President-mac19.indd 1

1/9/10 5:17:04 PM


Content 49

Print News 18 24 36 49 50

84 137

24

กิจกรรมสงเสริมนักออกแบบฟอนตหนาใหม (TFace) พิธีมอบประกาศนียบัตรนักเรียนการพิมพแหงสถาบันการพิมพไทย CMYK Color key Next Gen Pattaya Connection งานเลี้ยงแสดงความยินดีผูบริหารระดับสูง SCG C.G.S. เปดตัวรีบอรด (Re-board®) นวัตกรรมแหงอนาคต ปลดปลอยอิสระใน การออกแบบผสานเทคโนโลยีเพื่ออนาคตและสิ่งแวดลอม บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศแตงตั้งประธานคนใหม เอชพีประกาศผลผูชนะรางวัลดานการพิมพระบบดิจิตอลในอุตสาหกรรมปาย สื่อโฆษณา HP Digital Print Awards - HP Sign & Display, Asia Pacific and Japan

Print Business 46

134

W2P SaaS on Cloud โดย คุณกิตติ พรพิพัฒนวงศ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด วางแผนการทํางานของคุณทามกลาง “โอกาสที่เคยเกิดขึ้น” และ “เรียนรูอุปสรรคอยางลึกซึ้ง”โดย Fuji Xerox

Thaiprint Cover Story 52

36

ความสําเร็จของ Thai Print Awards ความสําเร็จของลูกคาผูทรงเกียรติ ของ Fuji Xerox (Thailand)

Print Technology 64 120

“รีบอรด” คืออะไร “ไอโซโพรพิลไธโอแซนโทน” หมึกพิมพบนภาชนะบรรจุอาหาร

128

จิรรัตน ดารารัตนโรจน / บริษัท สตาร อารเอฟไอดี จํากัด

80

อนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

94

พิพิธภัณฑกระดาษ (Paper Museum) m)

100 105

พระบิดาแหงการพิมพไทย “พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูยูหัหวั ” 139 ป รําลึกถึงหมอบรัดเลย ผูบ กุ เบิกกา การพิ ารพิมพสยาม

112

เที่ยวชมพิพิธภัณฑหนังสือพิมพไทย

72

เกาหลีศึกษาขอมูล สงเสริมบริการการพิ ารรพิมพ Publishing และการพิมพ Print On De Demand emand การวัดคุณภาพของการพิมพดิจิทัล เครื่องพิมพระบบดิจิตอล รุน imagePRESS C7010VP

Young Printer

Save The World

Thai Print Laboratory Thai Printing

50

Print Travel

Digital Printing 124 142

Print Layout 147

Health

18

150

โรงงาน+ออฟฟศ พันธุใหม มี designn สรางงาย ถูก เร็ว ดี ตอน “วางผังโรงงาน” น น” โรคหัวใจ

Thai Print Magazine ปีที่ 13 ฉบับที่ 93

128

สมาคมการพิมพไทย

เลขที่ 311/1 ซอยศูนยวิจัย 4 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝายประชาสัมพันธ สมาคมการพิมพไทยจัดทําขึ้น เพื่อบริการขาวสาร และสาระความรูแกสมาชิกสมาคมการพิมพไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจขาวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพในประเทศไทย ขอคิดเห็นและบทความตางๆ ในวารสารนี้เปนอิสรทรรศ ของผูเขียนแตละทาน สมาคมการพิมพไทยไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอ

บรรณาธิการบริหาร อนันต ขันธวิเชียร กราฟฟค ศุภนิชา พวงเนตร ฝายบัญชี มยุรี จันทรรัตนคีรี

พิมพท่ี บริษทั ก.การพิมพเทียนกวง จํากัด 43 ซอยปราโมทย 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064

16 ThaiPrint Magazine

16 Content pc1.indd 16

11/9/2555 9:49:15


17 Ad MGI pc1.indd 1

7/9/2555 3:41:23


Print News

กิจกรรมสงเสริมนักออกแบบฟอนตหนาใหม (TFace) ปราสาท วีรกุล ประธานคณะอนุกรรมการฟอนต และรองประธานชมรมการจัดพิมพอิเล็กทรอนิกไทย เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววาแบบตัวพิมพ หรือฟอนต มีความสําคัญอยางยิ่งตออุตสาหกรรมการ พิ ม พ ไ ม น อ ยไปกว า ความสวยงามของภาพหรื อ คุณภาพในการพิมพ เราจึงตองมีการสงเสริมใหเกิดการ ออกแบบ พัฒนาแบบตัวพิมพ ใหมๆ ออกมาอยางตอเนือ่ ง และสงเสริมใหเกิดนักออกแบบตัวพิมพหนาใหมๆ ขึ้น ดวยเชนกัน เพื่อใหเรามีแบบตัวอักษรไทยไวเลือกใชกัน อยางหลากหลาย อานไดงาย สวยงามและเหมาะสม กับเนื้อหาของงาน ทางชมรมการจัดพิมพอิเล็กทรอนิก ไทยจึงริเริ่มโครงการ “แขงขัน-ประชัน-นักออกแบบ ตัวพิมพรุนใหม” (TFace) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

1) สงเสริมการอนุรักษ และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมดาน อักขระภาษาไทย 2) สงเสริมใหเกิดนักออกแบบฟอนตรุนใหม 3) สงเสริมใหเกิดการตอยอดเชิงพาณิชยสาํ หรับนักออก แบบฟอนตรุนใหม 4) เสริ ม สร า งความเข ม แข็ ง และความยั่ ง ยื น ให กั บ เครือขายฟอนตในประเทศไทย โครงการ “แขงขัน-ประชัน-นักออกแบบตัวพิมพ รุนใหม” ครั้งแรก (TFace1) จัดขึ้นโดยชมรมการจัดพิมพ อิเล็กทรอนิกไทยในป พ.ศ. 2554 โดยความสนับสนุน อยางกวางขวางจากมูลนิธิ สถาบันการศึกษา สมาคม

18 ThaiPrint Magazine

18-20 pc1.indd 18

6/9/2555 21:46:52


TFace 2

และบริษัทตางๆ ในอุตสาหกรรมการพิมพ ไดรับการ ตอบรับจากนักออกแบบตัวพิมพหนาใหม ทั้งในระดับ นักศึกษาและระดับนักออกแบบอิสระ สงผลงานเขารวม การแขงขัน-ประชัน จํานวน 52 คน จํานวนผลงาน ออกแบบ 65 ชิ้น และผูที่มีผลงานดีเดนและดีมาก จํานวน 20 คน ไดมีโอกาสเขาคายพัฒนานักออกแบบ ตัวพิมพรุนใหม เปนเวลา 3 วัน ณ สาขาวิชามีเดียอารต มจธ. บางขุนเทียน โดยมีเครือขายนักออกแบบตัวพิมพ ระดับมืออาชีพเปนวิทยากรในคายฯ สําหรับป พ.ศ. 2555 ชมรมการจัดพิมพอิเล็ก ทรอนิกไทย ไดรวมกับมูลนิธิเงินทุนงานแสดงการพิมพ แหงประเทศไทย ดําเนินโครงการ “แขงขัน-ประชันนักออกแบบตัวพิมพรุนใหม” ครั้งที่ 2 (TFace2) โดย ปรั บ เปลี่ ย นกิ จ กรรมจากค า ยพั ฒ นานั ก ออกแบบตั ว พิมพ ของโครงการครั้งที่ 1 มาเปนกิจกรรมสัมมนา เพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพแทน ซึ่งทําใหสามารถ รองรับนักออกแบบไดถึง 50 คน TFace2 ไดเปดรับผลงานออกแบบตัวพิมพจน ถึงวันที่ 7 กรกฎาคม 2555 ที่ผานมา มีผูสงผลงานเขา รวมการแขงขัน-ประชันจํานวน 138 คน จํานวนผลงาน ออกแบบ 167 ชิ้น เปนนักศึกษาจาก 11 สถาบัน จํานวน 113 คน และนักออกแบบอิสระ จํานวน 25 คน กรรมการผูทรงคุณวุฒิไดคัดเลือกผูท่มี ีผลงานผานเกณฑ

จํานวน 57 คน ซึ่งเปนระดับนักศึกษาจํานวน 35 คน และ นักออกแบบอิสระจํานวน 22 คน ใหเขารวมงานสัมมนา เพื่อพัฒนานักออกแบบตัวพิมพรุนใหม ณ โรงแรมเดอะ ทวินทาวเวอร ในวันที่ 4 สิงหาคม 2555 ผูเขารวม งานสั ม มนาได เรี ย นรู เ กี่ ย วกั บ โปรแกรมสร า งฟอนต และการนําฟอนตไปใชบนเว็บไซตและ ePub ไดรับ ถายทอดประสบการณจากนักออกแบบฟอนตมืออาชีพ ไดพบปะกับนักออกแบบจากโครงการ TFace1 และ ป ด ท า ยงานสั ม มนาด ว ยพิ ธี ม อบโล แ ละใบประกาศ เกียรติคุณแกนักออกแบบ ผูมีผลงานระดับดีเดนและดี มาก จํานวน 20 คนเชนเดียวกันกับโครงการครั้งแรก

ThaiPrint Magazine 19

18-20 pc1.indd 19

7/9/2555 10:06:51


Print News

คณะกรรมการคั ด เลื อ กผลงานและวิ ท ยากรในทั้ ง สองโครงการ ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิในวงการออกแบบฟอนต คือ คุณโอภาส บุญ ครองสุข นักออกแบบฟอนต TEPC Himmaparnt, คุณปริญญา โรจนอารยา นนท จาก DB Designs, คุณไพโรจน ธีระประภา (โรจน สยามรวย), คุณ โอภาส ลิมปอังคนันต นายกสมาคมนักออกแบบเรขศิลปไทย, คุณอนุทิน วงศสรรคกร จาก คัดสรรคดีมาก, คุณเอกลักษณ เพียรพนาเวช และ คุณ ศุภกิจ เฉลิมลาภ นักออกแบบฟอนต TEPC, TH, TF ฯลฯ และคุณปรัชญา สิงหโต เว็บมาสเตอร f0nt.com ผลงานออกแบบตัวพิมพที่ผานการ “แขงขัน-ประชัน” จากทั้งสอง โครงการ บางแบบไดถูกพัฒนาขึ้นจนเปนฟอนตที่ใชงานไดและอนุญาตให ใชไดฟรี บางแบบไดพัฒนาเปนฟอนตสําหรับขายในเชิงพาณิชย และบาง แบบก็เปนเพียงแบบรางเพื่อรอการตอยอดใหเปนฟอนตที่สมบูรณตอไป โครงการ TFace ที่ดําเนินมาแลวทั้งสองครั้ง และที่จะจัดตอไปในอนาคต ไดเปดโอกาสใหกับนักออกแบบหนาใหมที่รักในการออกแบบตัวพิมพ ได มีเวทีสําหรับแสดงผลงาน ไดเรียนรูจากประสบการณของมืออาชีพ ไดเห็น ชองทางในการประกอบเปนอาชีพ และชวยเชื่อมโยงเครือขายฟอนตใน ประเทศใหสนับสนุนเกื้อกูลกันอยางเขมแข็งยิ่งขึ้น อันจะนําไปสูการพัฒนา แบบตัวพิมพไทยอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต ผูสนใจสามารถเขาดูผลงานของนักออกแบบที่ไดรับรางวัลดีเดน และดีมากจาก TFaceทั้งสองรุน รวม 40 ผลงาน ไดที่ http://www.facebook.com/groups/tface/

20 ThaiPrint Magazine

18-20 pc1.indd 20

6/9/2555 21:53:32


88 A.B.C Printing#91_pc3.indd1 88 143Ad A.B.C printing_87-m19.indd

19/4/2555 6/15/11 15:53:25 3:18 AM


AD_Yilee n8-10 Mac14.pdf

1

9/10/2554

1:37

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

17 Ad Yii lee Thailand #91_pc3.indd 17

19/4/2555 15:49:12


AD_K-MORE+KPJ_m14.pdf

1

3/10/2554

14:39

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

16 Ad K-More+KPJ #91_pc3.indd 16

19/4/2555 15:47:34


Print News

พิธีมอบประกาศนียบัตร นักเรียนการพิมพ แหงสถาบันการพิมพไทย

นักเรียนการพิมพ รุนที่ 2, รุนที่ 3 และรุนที่ 4 ขึ้นถายภาพกับแขกผูมีเกียรติไวเปนที่ระลึกแหงความสําเร็จ

จากการที่ไดมีการเรียนการสอนของนักเรียนการพิมพไทยไปทั้งหมด 4 รุน ซึ่งในรุนที่ 1

จะเป น รุ นที่ เรี ย นภาคภาษาอั ง กฤษรุ น แรกและรุ น เดี ย วทั้ ง ยั ง ได จั ด พิ ธี ม อบประกาศนี ย บั ต รไป เรียบรอยแลวสําหรับนักเรียนในรุนที่ 1 ที่ถือเปนรุนแรกของสถาบันการพิมพไทย หลังจากนั้น นักเรียนการพิมพรุนที่ 2 จนถึงรุนปจจุบัน จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรการพิมพออฟเซ็ทเบื้องตน ในภาคภาษาไทยทั้งหมด ซึ่งในแตละรุนทางวารสารการพิมพไทยก็ไดมีโอกาสเขาไปรวมเรียนและได เห็นถึงหลักสูตรการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ พรอมทั้งยังไดมีโอกาสสอบถามความรูสึกของ นักเรียนการพิมพในแตละรุน วามีความพึงพอใจในหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันการพิมพ อยางไรบาง ซึ่ง 90% มีความเห็นเหมือนกันวาเปนสถาบันที่มีความพรอมทั้งอุปกรณและหลักสูตร ที่มีคุณภาพ ซึ่งทางสถาบันไดนํามาใชในการเรียนการสอนใหกับนักเรียนการพิมพของแตละรุน เพื่อที่จะสามารถพัฒนาชางพิมพ และผูที่สนใจโดยเฉพาะทายาทโรงพิมพเองก็สมัครเขามาเรียนใน หลักสูตรนี้ใหมีความรูความสามารถใชเครื่องพิมพไดในหลักสูตรการพิมพออฟเซ็ทเบื้องตน อยางมีประสิทธิภาพ 24 ThaiPrint Magazine

24-30 pc1.indd 24

6/9/2555 0:27:14


พิธีมอบประกาศนียบัตร

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย ใหเกียรติขน้ึ กลาวเปดงานอยางเปนทางการพรอมทัง้ แสดงความยินดีกบั นักเรียนฯ

คุณวิรฬุ ห สงเสริมสวัสดิ์ ผูอ าํ นวยการสถาบันการพิมพไทย ขึน้ กลาวรายงานถึงวัตถุประสงคของการจัดงานในค่าํ คืนนี้

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ถายภาพรวมกับแขกผูมีเกียรติกอนเขารวมงาน

ทางสถาบั น การพิ ม พ ไ ทย และสมาคมการพิ ม พ ไ ทยได จั ด พิ ธี มอบประกาศนียบัตรใหนักเรียนรุนที่ 2 รุนที่ 3 และรุนที่ 4 ซึ่งทั้งนักเรียน ทั้ง 3 รุน ไดสําเร็จหลักสูตรในเดือน เมษายน 2554 เดือนตุลาคม 2554 และเดือนพฤษภาคม 2555 ตาม ลําดับ เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่ผานมา ณ หองดุสิตฮอลล โรงแรมดุสติ ธานี โดยมีจาํ นวนผูส าํ เร็จ การอบรมจํานวนทั้งสิ้น 56 คน ตาม รายชื่อดังนี้

คุณภาสกร วงษชนะชัย ที่ปรึกษาสมาคมการพิมพไทย ทักทายนักเรียนการพิมพในรุนตางๆ ที่สําเร็จหลักสูตรจากสถาบันการพิมพไทย

คุณธัญญวัฒน เตวชิระ ผูดําเนินรายการภายในงานฯ ThaiPrint Magazine 25

24-30 pc1.indd 25

6/9/2555 0:27:26


Print News

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท และคุณวิรุฬห สงเสริมสวัสดิ์ ใหเกียรติรวมถายภาพกับนักเรียนการพิมพรุนที่ 2

นักเรียนหลักสูตรการพิมพออฟเซ็ทเบื้องตน รุนที่ 2 คุณเกรียงศักดิ์ เธียรนุกุล คุณจักรพันธ เชาวเพชรนอย คุณจิระเมศร มัญชุศรีวรินทรา คุณจิราภา ปญญารุงเรือง คุณจุฑารัตน ทนุถนอมราษฎร คุณชนนิสา ธนชัยประเสริฐ คุณปรัชญา เสนางคนารถ คุณปยฉัตร สุนทรสวัสดิ์ คุณพรพิมล ศักดามิ่งมงคล คุณพิสิฐ ฐิติมนตรี คุณพุทธินันท ธนาพัฒนโชคชัย คุณภาสิทธิ์ สายาลักษณ คุณรวี แยมวาทีทอง คุณวรรณวิสา สุทธาธิกุลชัย คุณศิรินภา วรรณศิริ คุณสมพงษ รัตนชัยกานนท คุณสมโภช สงวนปยะพันธ คุณสุพิชญา วรรณศิริกุล คุณสุวิทัศน กวีขําคม คุณอรรถวัต เตโชตานนท คุณอาภากร ชุนเจริญ คุณเอกสิทธิ์ โรจนสุวิชัย

นิวไวเต็ก บจก. แอล.เอส.ซัคเซ็ส.การพิมพ บจก. แอดวานซ อิมเมจการด บจก. กรีน ควิก ปริ้นท บจก. พีเอ็มซีการดส (ไทยแลนด) บจก. แฟโรสตัล (ไทยแลนด) บจก. โตโยอิ๊งค (ประเทศไทย) บจก. แฟนซีเปเปอร บจก. สมไทยเปเปอร บจก. หจก.ยงชัย อีเล็คทริค ปริ๊น-คัพ บจก. ลิ้มพาณิชย เปเปอร บจก. โรงพิมพหยี่เฮง บจก. ดานสุทธาการพิมพ บจก. โตโยอิ๊งค (ประเทศไทย) บจก. สาฮะแอนดซันพริ้นติ้ง บจก. บางกอก เปเปอร บิสสิเนส บจก. เมยฟลาวเวอร (ประเทศไทย) บจก. ที.เค.เอส.สยามเพรส แมเนจเมนท บจก. หจก.เอส.ออฟเซ็ทกราฟฟคดีไซน พงศพัฒนการพิมพ บจก. หจก.เอ.เอ็ม.ไดคัท

26 ThaiPrint Magazine

24-30 pc1.indd 26

6/9/2555 0:27:40


พิธีมอบประกาศนียบัตร

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท, คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ , และคุณวิชยั สกลวรารุง เรือง ใหเกียรติขน้ึ มอบประกาศนียบัตรกับนักเรียนการพิมพรนุ ที่ 2

นักเรียนหลักสูตรการพิมพออฟเซ็ทเบื้องตน รุนที่ 3

คุณขนาน เทวอักษร คุณชูสิทธิ์ ไกรวรวุฒิ คุณณภัทร วิวรรธนไกร คุณณรุจ วิวรรธนไกร คุณนัตพงศ สมเพาะ คุณดามภ สุวรรณหงศ คุณธนงค พรพนารมย คุณประภัสสร ตันทรรศนีย คุณปราวินีย กิจบัญญัติอนันต คุณรัฐพล ขจรเดชวงศษา คุณรัฐวิชญ เอกพงษไพศาล คุณวรกานต เพชรสุทธิ คุณวริษฐ ตั้งสิทธิโรจน คุณอธิพิทักษ เกษมวีระโสภณ คุณอภิชัย คงไทยเสรีกุล คุณอรยุพร อุนสุวรรณ

ไทยรมเกลา บจก. บูลยสิทธิ์ บจก. ไซเบอรพริ้นท บจก. ไซเบอรพริ้น บจก. มินทรลดา พริ้นติ้ง บจก. โตโยอิ๊งค (ประเทศไทย) บจก. บูลยสิทธิ์ บจก. ส.พิจิตรการพิมพ บจก. ปากน้ําออฟเซ็ท (1992) บจก. เพาเวอรพริ้นท บจก. คุณกระดาษ (ประเทศไทย) บจก. ฮั่วน้ํา พริ้นติ้ง บจก. สมบูรณการพิมพ บจก. UNITED Art Printing เนชั่นไวด บจก. โตโยอิ๊งค (ประเทศไทย) บจก.

คุณปฐม สุทธาธิกลุ ชัย ใหเกียรติขน้ึ มอบประกาศนียบัตรกับ นักเรียนการพิมพรนุ ที่ 3 ThaiPrint Magazine 27

24-30 pc1.indd 27

6/9/2555 0:27:51


Print News

คุณเกษม แยมวาทีทอง ใหเกียรติขน้ึ มอบ ประกาศนียบัตรกับนักเรียนการพิมพรนุ ที่ 3

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท และคุณวิรุฬห สงเสริมสวัสดิ์ ใหเกียรติรวมถายภาพกับนักเรียนการพิมพรุนที่ 3

นักเรียนหลักสูตรการพิมพออฟเซ็ทเบื้องตน รุนที่ 4

คุณจตุรงค ผาติบัณฑิต คุณชัยธัส เทียนบุญสง คุณฐิติภัทร จันทรแจมจรัส คุณณภัทร จันทรแจมจรัส คุณธวัชชัย จอมคําสิงห คุณปริญญา คมขํา คุณปลันธา เกิดแกว คุณพลกฤต เหลืองเจริญนุกูล คุณพิชาญ สุนทรกําพลรัตน คุณพิมพสิริ เหลืองเจริญนุกูล คุณภคิน ภวิกาวีราทร คุณภาวัช ชินนภาศิริลาภ คุณภูมิ ยุวพันธุ คุณรัตติมา กลอมเรียงวงศ คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒนยิ่ง คุณศลัญยรัชย อินทรรักษา คุณอมรรัตน คงสุขสวัสดิ์ คุณอาทิตย กาญจนพัฒนา

Nikken Chemical Thailand Co.,LTD. ยูโร-กราฟคส (88) บจก. หจก.โรงพิมพเลิศศิลป หจก.โรงพิมพเลิศศิลป โตกิวา เอ.พี. (ประเทศไทย) บจก. เพรสซิเดนทซัพพลาย บจก. Nikken Chemical Thailand Co.,LTD. ก.พล (1996) บจก. T.C.P.Industry Co.,LTD ก.พล (1996) บจก. จันวาณิชยซีเคียวริตี้พริ้นติ้ง บจก. ดีกรี วิชั่น บจก. โพรเจคท ไฟฟ-โฟว บจก. เพรสซิเดนทซัพพลาย บจก. โรงพิมพเลี่ยงเชียง บจก. แฟโรสตัล (ไทยแลนด) บจก. วี.ดี.พริ้นติ้ง บจก. วี.พริ้นท (1991) บจก.

28 ThaiPrint Magazine

24-30 pc1.indd 28

6/9/2555 0:28:27


พิธีมอบประกาศนียบัตร

คุณมานิตย กมลสุวรรณ, คุณวิรฬุ ห สงเสริมสวัสดิ์ และคุณภาสกร วงษชนะชัย ใหเกียรติขน้ึ มอบประกาศนียบัตรกับนักเรียนการพิมพรนุ ที่ 4

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท และคุณวิรุฬห สงเสริมสวัสดิ์ ใหเกียรติรวมถายภาพกับนักเรียนการพิมพรุนที่ 4 ThaiPrint Magazine 29

24-30 pc1.indd 29

6/9/2555 0:29:10


Print News

ภาพแหงความประทับใจของนักเรียนการพิมพทุกๆทานที่ไดเขารวมงานในครั้งนี้

ภาพบรรยากาศความสนุกสนานของแขกผูมีเกียรติ ที่กําลังเพลิดเพลินกับจังหวะเสียงเพลง

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคม การพิมพไทยถายภาพรวมกับคณะ กรรมการบริหารสมาคมฯอยางมีความสุข

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคม การพิมพไทย ใหเกียรติถา ยภาพรวมกับ นักเรียนการพิมพ

ตามธรรมเนียมทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรมของสมาคมฯ เมื่อหลังจากเสร็จสิ้นพิธีการ แขกผูมีเกียตริพรอมทั้งนักเรียนการพิมพทั้ง 3 รุน ไดขึ้นรองคาราโอเกะอยางสนุกสนานและเปนกันเอง 30 ThaiPrint Magazine

24-30 pc1.indd 30

6/9/2555 0:29:45


85 Ad CMC #92_pc3.indd 1

6/7/2555 23:09:20


113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 AD PMCL-m19.indd 1

19/4/2555 16:00:45 5/31/10 11:26:05 AM


DIGIFLOW—THE NEW DUPONT ™ CYREL® WORKFLOW. IMPRESS...DOT BY DOT. Introducing DuPont Cyrel® DigiFlow, the latest flexographic platemaking innovation from DuPont Packaging Graphics. Cyrel® DigiFlow allows you to achieve true one-to-one reproduction in a standard digital workflow, and it is fully compatible with both digital Cyrel® and digital Cyrel® FAST. TM

Cyrel® DigiFlow allows you to optimize the effectiveness of the latest high-resolution and solid-screening applications in a highly productive workflow. Print results are outstanding, showing expanded tonal range and improved solid-ink density. DuPont Cyrel® For higher quality at high speed TM

www.cyrel.com/digiflow

© 2012 DuPont. All rights reserved. The DuPont Oval Logo, DuPont™ and Cyrel® are registered trademarks or trademarks of E. I. du Pont de Nemours and Company or its affiliates.

38 Ad DPG Lime pc1.indd 1

20/4/2555 20:14:20


34_Ad Paper One #93_pc3.indd 34

7/9/2555 11:28:35


35 AD Verities pc1.indd 1

7/9/2555 3:47:35


Print News

CMYK Color key Next Gen Pattaya Connection ตามแนวคิดของนายกสมาคมการพิมพไทยทีเ่ ล็งเห็นความสําคัญของการสืบทอดประสบการณจากรุน สูร นุ ของคณะเจาหนาทีบ่ ริหารสมาคมการพิมพไทย ทีจ่ ะตองถายทอดความรูแ ละประสบการณทม่ี ใี หกบั Young Printer รุนใหมๆ ที่ยอมเสียสละเวลาอันมีคาของตน เพื่อมารวมมือรวมใจสรางความสามัคคีกันในกลุมอุตสาหกรรม การพิมพไทยและการพัฒนาสมาคมการพิมพไทย ใหมคี วามพรอมในการผลักดันใหกลุม อุตสาหกรรมการพิมพไทย ของไทยขับเคลื่อนไปขางหนาอยางไมหยุดนิ่ง จึงไดจัดใหมีการตั้งกลุมเจาหนาที่บริหารรุนใหมเกิดขึ้นโดยใชชื่อกลุม วา Young Printer Group เพื่อทางสมาคมจะไดสราง คณะบริหาร รุนใหมไฟแรงขึ้นมาอยางตอเนื่อง โดยมีคณะกรรมการบริหาร สมาคมฯ ชุดเกาและชุดปจจุบันคอยใหคําปรึกษาและ แนะนําขัน้ ตอนตางๆ ในการดูแลกิจกรรมของสมาคมฯ ที่ มีอยูหลายกิจกรรมโดยทางสมาคมฯ จัดขึ้นเปนประจํา ทุกป ซึ่งก็นับไดวากลุม YPG ก็จะมีบทบาทและหนาที่ ในการชวยเหลือใหแตละกิจกรรมลุลวงไปโดยสมบูรณ และจะมีวาระในการบริหารงานใหกับสมาคมฯ 2 ป เชนเดียวกันกับคณะกรรมการบริหารสมาคมการพิมพ ไทยเชนกันซึ่ง YPG รุนเดิมก็จะหมดวาระไป และมีการ เลือกตั้งคณะกรรมการ กลุม YPG ขึ้นมาใหม โดยปน้ี จัดขึน้ ที่ ณ โรงแรมราวินทรา บีช รีสอรท แอนด สปา จอมเทียน พัทยา ระหวางวันที่ 25-26 สิงหาคม 2555 ที่ผานมา 36 ThaiPrint Magazine

36-45 pc1.indd 36

8/9/2555 21:32:51


การเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group

วันแรกของการนัดหมาย YPG ทุกคนจะมาพรอมกันที่ บริษัท อินเตอร ฟารอีสท วิศวการ จํากัด (มหาชน) (ซอยรามคําแหง 22)เพื่อ ทําการลงทะเบียน กอนออกเดินทางสู พัทยา จ.ชลบุรี โดยรถบัสปรับ อากาศวีไอพี ระหวางทางสนุกสนานกับ Entertainer สุดฮา แบ็งคกับโอ เพิ่มบรรยากาศที่สนุกสนานเพื่อเปนการสรางความคุนเคยใหกับผูรวมเดิน ทาง กอนจะถึงสถานที่นัดหมายนั่นคือโรงแรมราวินทรา บีช รีสอรท แอนด สปา จอมเทียน พัทยา เวลา 11.00 น.โดยประมาณ พอกลุม YPG ไดลง ทะเบียนพรอมเพียงแลวก็เขาหองประชุม Giving Shape to Ideas with Konica Minolta by Ifec ผูจัดงานและคณะผูบริหาร บริษัท อินเตอรฟารอีสท วิศวการ จํากัด (มหาชน) ไดขึ้นกลาวตอนรับและแนะนําตัวอยางเปนกันเอง กับกลุม YPG และแขกผูมีเกียรติที่เขารวมงานโดยผูกลาวเปดงานคือ คุณ ดําหริ เอมมาโนชญ รองประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร-ปฏิบตั กิ าร บริษทั อินเตอร ฟารอีสทวิศวการ จํากัด (มหาชน) ตามดวย Mr. Yuji Nakata - Chief Representative Konica Minolta Business Solution (Asia) PTE Limited / Thailand จากนั้น คุณธรรมนูญ กรเพ็ชรพงศ ผูจัดการฝายขายของบริษัท อินเตอรฟารอีสทวิศวการ จํากัด (มหาชน) ไดขึ้นมาเปนวิทยากรพูดแนะนํา สินคาและบริการตางๆ ของ IFEC

คุณดําหริ เอมมาโนชญ

Mr. Yuji Nakata

คุณธรรมนูญ กรเพ็ชรพงศ กิจกรรม “Giving Shape to Ideas with Konica Minolta by Ifec” ThaiPrint Magazine 37

36-45 pc1.indd 37

8/9/2555 21:52:35


Print News

เมือ่ ออกจากหองประชุมแลว ทุกคนก็เดินลงมาทีห่ อ งอาหาร all day เพือ่ รับประทานบุฟเฟตอ าหารกลาง วันทีท่ างโรงแรมไดจดั การเตรียมไวให จากนั้นทุกคนก็อิ่มอรอยกับอาหาร มือ้ กลางวันเรียบรอยแลว ทางผูจ ดั ได เตรียมกิจกรรมกระชับความสัมพันธ CMYK ผสมสีสนั ผสานพลัง ทีห่ อ ง ราวินทรา บี สรางความสนุกสนานให YPG ชุดนีม้ ากโดยมีเกมตางๆ เชน เกมปลารากับไห เกมโยนกลอง กลอง ตกอยูท ี่ใคร คนนัน้ โดนทําโทษ เกม ตอลูกโปงใหสงู ทีส่ ดุ และเกมลูกปงปอง โดยใหลูกปงปองไหลผานอวัยวะบน รางกาย ใครไปไดไกลสุดก็จะเปนผู ชนะ ซึง่ ทัง้ สองเกมนีจ้ ะตองใชทงั้ ความ คิดและความสามัคคีของคนในทีม เปนอยางมาก ซึง่ ถือวา กิจกรรมและ เกมทีน่ าํ มาเลนนัน้ ชวยละลายพฤติกรรม ทําใหกลุม YPG ทีต่ อนแรกตาง คนตางแปลกหนา ไดสนิทสนมและ ทําความรูจ กั กันมากขึน้

ที่ดูแลวทุกคนจะใหความรวมมือเปนอยางดีกับการแขงขันในแต เกมที่เจาหนาที่กําหนดให หลังจากที่สนุกกับเกมสในรมกันพอแลวทางผูจัด ก็ยังเตรียมกิจกรรมชายหาดไวรอใหกลุม YPG สนุกสนาน ทาทายกับเกม CMYK on the beach ดูเหมือนทุกคนจะยังไมเหน็ดเหนือ่ ยสักเทาไหร เพราะ กําลังสนุกกับกิจกรรม ที่ทางผูจัดไดเตรียมเอาไวซึ่งแตละกลุมจะตองแขงขัน กันเพื่อสะสมคะแนนกันดวยนะครับ หลังจากเลนเกมในรมเสร็จแลว ก็พักเบรก ตางคนตางก็แยกยาย กันขึ้นหองพักเพื่อเปลี่ยนเสื้อผาสําหรับเตรียมตัวทํากิจกรรมชายหาดใน ชวงเวลา 16.00 น. เมื่อเปลี่ยนองคทรงเครื่องกันเรียบรอยแลว YPG แตละ คนก็เดินลงกันมาพรอมดวยเสื้อและหมวกที่ทาง IFEC จัดให โดยแบงออก เปน 4 สี คือ สีชมพู สีเหลือง สีฟา และสีดํา โดยตอนแรกก็แบงใหแตละทีม คิดชื่อทีมพรอมทาประจําตัวมาทีมละหนึ่งทา โดยไดชื่อกลุมมาดังนี้ - สีชมพู “ทีมนมเย็น” นําทีมโดย คุณเอ ธัญญวัฒน เตวชิระ (บริษัท เอ็ม.พี.ลักก ยูวี จํากัด) - สีเหลือง “ทีมกลวยกลวย” นําทีมโดย คุณเบนซ ปรเมศวร ปรียานนท (หจก. บีบกี ารพิมพและบรรจุภณ ั ฑ) - สีฟา “ทีม C.H.A.O.S.” (Cool Hot and overall sexy just be in blue) นําทีมโดย คุณกิฟ๊ วริษฐา สิมะชัย จากบริษทั ก.การพิมพ เทียนกวง จํากัด - สีดํา ชื่อทีมวา “ดําดีสีไมตก” นําทีมโดย คุณไว วิสุทธิ์ จงพิพัฒนยิ่ง (สํานักพิมพเลี่ยงเชียง)

38 ThaiPrint Magazine

36-45 pc1.indd 38

8/9/2555 21:33:05


การเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group

หลังจากถายภาพรวมกันเรียบรอยแลว เกมแรก ที่เลนในวันนั้น คือ ลวงไห ตามดวยเกมลอดหวงฮูลาฮูป เกมวอลเลย บ อลชายหาดยั ก ษ แ ละเกมสุ ด ท า ยซึ่ ง ถื อ เปนเกมโหดสุดเลยก็คือ เกมโหนไมไผ ซึ่งเกมนี้ตองใช ความสามัคคีและความรวดเร็ว ในการที่จะนําพาเพื่อน ที่ยืนอยูบนไมไผสามเหลี่ยมไปยังจุดที่กําหนดไวเพื่อ ตอบคําถาม ในเกมทุกเกมทีเ่ ลนแตละทีมก็สะสมคะแนน เพื่อนําไปสูการตัดสินของคณะกรรมการเมื่อเลนเกม เรียบรอยแลว ก็ใหแตละทีมแยกกันออกไป คิดการแสดง สําหรับในค่ําคืนนั้น โดยหัวหนาทีมของแตละสีออกมา จับลูกปงปองเพื่อทายวา สีไหน จะไดเปนผูแสดงกอน โดยจับไดเรียงลําดับดังนี้ คือ สีเหลือง สีดํา สีฟา และ สีชมพู ถึงเวลานัดรวมพลปารตย้ี ามค่าํ คืน เวลา 19.00 น. ณ หอง Ravindra 1 โดย theme งานของปารตี้คืนนี้ คือ Party Color Key Next Gen แตละคนก็แตงตัวมาตาม คอนเซ็ปท สีสันสดใสกันมาก บางคนแทบจะมาเปน สายรุงเดินไดเลยก็วาได เพราะมีแทบทุกสีบนรางกาย โดยมีคุณณรงค เตชะไชยวงศ จากบริษัท IFEC ขึ้นมา กลาวเปดงานปารตี้ยามค่ําคืน จากนั้น คุณสุวิทย เพียร รุงโรจน ประธาน YPG วาระ 2553-2555 ก็ไดกลาว เรียนเชิญคุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการ พิมพไทย เพื่อขึ้นมามอบของที่ระลึกใหกับคุณณรงค ThaiPrint Magazine 39

36-45 pc1.indd 39

8/9/2555 21:53:14


Print News

คณะกรรมการบริหารสมาคมการพิมพไทย รวมถายภาพเปนที่ระลึกกับตัวแทนจาก IFEC

สีเหลือง “ทีมกลวยกลวย”

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย มอบของเปนที่ระลึกใหกับคุณณรงค เตชะไชยวงศ

เตชะไชยวงศ แลวก็ถา ยภาพรวมกันระหวางคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ พรอมกับคุณณรงค เตชะไชยวงศ และคุณดําหริ เอมมาโนชญ เมื่อถายภาพ ที่ระลึกเสร็จ ก็เรียนเชิญทุกทานรวมรับประทานอาหารพรอมรับฟงดนตรี สนุกๆ จากวง “เดอะเกรียนแบรนด” เมื่ออิ่มหนําสําราญกันเรียบรอย แลว ก็มีการเซอรไพรซวันเกิดใหกับคุณดําหริ เอมมาโนชญ สปอนเซอรผู ใจดีของทริปนี้ จากนั้นไดเขาสูชวงประกาศผลรางวัลสีที่ชนะเลิศ โดยสีที่ ชนะเลิศ ไดแก สีดํา รองลงมาคือ สีชมพู สีเหลือง และสีฟาตามลําดับ โดย มีสายสะพายยาหมองมองใหผูชนะเลิศ สวนผูที่ไดคะแนนนอยสุดก็ไดรับ มงกุฎบวยไปครอง ผลคะแนน มีดังตอไปนี้

¢oµ สีดาํ “ทีมดําดีสไี มตก”

สีฟา “ทีม C.H.A.O.S.”

Á®¨º°

ε

ºÉ° ¸¤ + ­Ã¨Â

80

60

40

100

¨o ª Å® ° ε

80

60

40

100

­· Ã ¨° ®nª

40

100

60

80

ª°¨Á¨¥r¢·¨ °¨

40

60

80

100

A Flam

80

80

80

100

320

400

340

480

¦ª¤ สีชมพู “ทีมนมเย็น”

¤¡¼

เมื่อประกาศผลรางวัลเรียบรอยแลว ก็เขาสูชวงการแสดง ก็มีทั้งการ เตน cover dance เพลงเกาหลี gangnam style ซึ่งกําลังฮิตออยูในชวง นี้ หรือจะเปนเลียนแบบโฆษณา nature gift หรือโฆษณาดัชมิลลตัวลาสุด ซึ่งการแสดงแตละชุดก็เรียกเสียงฮาเสียงหัวเราะใหกับผูชมไดไมนอย เมื่อ เสร็จสิ้นกิจกรรมทุกอยางแลว วงเดอะเกรียนแบนดก็มาสรางความมันส และสนุกสนานใหกับเหลาคณะกรรมการและ YPG อีกครั้งหนึ่ง เรียกไดวา งานนี้มีแดนซกระจาย ถาหองไมปดก็แดนซไมเลิกก็วาได เสร็จสิ้นงานเลิก แลวทุกคนก็แยกยายกันกลับหองพัก

40 ThaiPrint Magazine

36-45 pc1.indd 40

8/9/2555 21:33:23


การเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group

คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทย

คณะกรรมการ Young Printer วาระ 2555-2557

เชาวันที่ 26 นัดกันรับประทาน บุฟเฟตอ าหารเชาทีห่ อ งอาหาร all day เวลาประมาณ 07.30 น. เมื่อรับ ประทานกันเสร็จแลวก็ไปเจอกันที่ หอง Ravindra Ballroom B เพื่อเขาสู งานหลักของทริปนี้นัน่ ก็คอื “การเลือก ตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group วาระ 2555-2557” โดยมีคุณ สุวิทย เพียรรุงโรจน ขึ้นมากลาว เชิญเขาสูง าน โดยลําดับแรกมีการเปด powerpoint แนะนํากิจกรรมของ สมาคมฯ มีกจิ กรรมหลักทีแ่ นะนํา คือ สถาบันการพิมพไทย ที่ทางสมาคมฯ มีความภาคภูมิใจเปนอยางยิ่งที่เรา มีสถาบันการพิมพไทยที่มีคุณภาพ ทั้ ง หลั ก สู ต รการสอนและอุ ป กรณ ในการเรี ย นที่ ค รบสมบู ร ณ พ ร อ ม ไวใหกับผูที่สนใจสมัครเขามาเรียน รูใ นหลักสูตรของสถาบันฯ รวมถึงหอง แล็ปส ที่ทางสมาคมคมไดใหความ สําคัญในดานเทคโนโลยีการพิมพที่ จะต อ งทั น สมั ย และสามารถตรวจ สอบคุ ณ ภาพงานพิ ม พ ไ ด ถู ก ต อ ง แมนยําดวยเครื่องมือการตรวจสอบ ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ หลัง จากนั้นก็ไดประกาศเรียนเชิญ คุณ วิทยา อุปริพุทธิพงศ ประธาน YPG รุนแรกๆ ขึ้นมาพูดเกี่ยวกับประสบ การณ ขอดีและขอเสียจากการที่ได

คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

คณะกรรมการบริหาร สมาคมการพิมพไทยวาระ 2555-2557

มาเขารวมทํากิจกรรมตางๆที่ทางสมาคมฯ จัดขึ้นและก็มีการสอบถามความ รูสึกของ YPG บางทานที่ไดมาเขารวมกิจกรรมนี้ สวนใหญจะตอบไปทาง เดียวกันวา “ไดเพื่อนใหม ไดมิตรภาพ” “ไดประสบการณดีๆ จากที่นี่” “ตอนแรกไมไดอยากจะมา เพื่อนชวนมาบาง โดนบังคับมาบาง แตถา มาถึงตอนนี้แลว สามารถพูดไดเลยวา คงเสียใจที่ไมไดมางานนี้ี” ลําดับตอมา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท นายกสมาคมการพิมพไทยได ใหเกียรติ ขึน้ มากลาวทักทายกับกลุม YPG พรอมกับใหคณะกรรมการบริหาร สมาคมฯแตละทาน ออกมาโชวตวั พรอมแนะนําตัวใหทกุ คนไดรจู กั นอกจากนี้ และก็ยังมีท่ีปรึกษาสมาคมการพิมพไทยที่ใหเกียรติมาเขารวมงานในครั้งนี้ ดวยไดแก คุณพิเชษฐ จิตรภาวนากุล คุณเกษม แยมวาทีทอง และคุณ เกรียงไกร เธียรนุกลุ ซึง่ คุณเกรียงไกร ก็เปนอดีตนายกสมาคมการพิมพไทย เชนกัน และปจจุบนั ทานไดดาํ รงตําแหนงรองประธานสภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย ซึง่ ทานใหเกียรติไดมาพูดถึงประสบการณดๆ ี ทีเ่ กิดขึน้ ในสมาคมฯ อยากใหทกุ คนรวมตัวกัน ใหสามัคคีกนั ถึงตางคนตางเปนคูแ ขงกัน แตก็ สามารถเปนเพือ่ นกันได ยิง่ เรารวมตัวกันไดเหนียวแนนมากเทาไหร ความชวย เหลือตางๆ อํานาจการตอรองตางๆ ก็ยอ มมีมากขึน้ ThaiPrint Magazine 41

36-45 pc1.indd 41

8/9/2555 21:58:38


Print News

คณะ YPG รวมถายภาพเปนที่ระลึก ณ บานเด็กพระมหาไถ มูลนิธิคุณพอเรย

เมื่อคุณเกรียงไกรกลาวจบแลว “คุณสุวิทย” ก็ไดเรียนเชิญ “คุณเอ ธัญญวัฒน” และ “คุณกิฟท วริษฐา” มาเปนพิธีกรชวยสําหรับในชวงที่ให ทุกคนชวยกันเสนอรายชื่อตัวแทนมาเปน 1 ในคณะกรรมการ YPG วาระ 2555-2557 นี้ ซึ่งรายชื่อที่ไดมาทั้งหมดมี 26 รายชื่อ และมีรายชื่อ เพิ่มเติมอีก 2 ทาน รวมเปน 28 รายชื่อจากเดิมตองการเพียง 15 รายชื่อ แตเนื่องดวยความตั้งใจของ YPG กลุมนี้ที่อยากจะชวยเหลืองานสมาคมฯ เปนอยางมาก ประธานจึงตัดสินใจรับไวทั้งหมด 28 ทาน หลังจากที่ไดราย ชื่อคณะกรรมการชุดใหมเรียบรอยแลวก็ไดถายรูปรวมกัน เปนอันวาเสร็จ สิ้นพิธีการเลือกตั้ง จากนั้นทุกทานก็เตรียมตัวเดินทางกลับสู กทม. โดยไป รับประทานอาหารกลางวันที่รานตนหาด ซึ่งอยูไมไกลจากโรงแรมมากนัก เมื่ออิ่มทองกันแลวก็เดินทางไปที่มูลนิธิบานคุณพอเรย เพื่อเปน การแบงปนน้ําใจมอบเงินสดและหนังสือรวมทั้งสิ่งของจําเปนพรอมตัก ไอศครีมใหกับนองเด็กกําพรา ทุกคนดูมีความสุขที่ไดรับน้ําใจจากกลุม YPG และคณะเมื่ อ เสร็ จ ภารกิ จ ทุ ก อย า งเรี ย บร อ ยแล ว ก็ เริ่ ม เดิ น ทางกลั บ สู มหานคร...

42 ThaiPrint Magazine

36-45 pc1.indd 42

8/9/2555 21:33:52


การเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group รายนามคณะกรรมการ Young Printer Group วาระ 2555 - 2557

1. คุณปรเมศวร ปรียานนท (เบนซ) 2. คุณธัญญวัฒน เตวชิระ (เอ) 3. คุณจิรานุช ชุนเจริญ (บี) 4. คุณทิพยนารี วงศทวีเกียรติ (เวป) 5. คุณฐานิพรรณ เอือ้ จงประสิทธิ์ (แปง) 6. คุณวลัยพร ศันสนียสุนทร (เบิรด) 7. คุณแววพรรณ ตาดอุไร (อิ๋ว) 8. คุณพิมพสริ ิ เหลืองเจริญนุกุล (มิ้ง) 9. คุณปยะวัฒน ปยไพชยนต (กอลฟ) 10. คุณนริสสรา เฉลิมชัยชาญ (แอม) 11. คุณธีระ กิตติธีรพรชัย (โบลิ่ง) 12. คุณนิรวิทย ลิมวรเกียรติ์ (แบงค) 13. คุณวัชรสิทธิ์ อัครวัฒนวงศ (บูม) 14. คุณณภัทร วิวรรธนไกร (อารท) 15. คุณสุพิชญา วรรณศิริกุล (สม) 16. คุณณริศร สิทธิภูประเสริฐ (เต) 17. คุณกองฟา พันธพิกุล (กอง) 18. คุณธนเดช เตชะทวีกิจ (หงส) 19. คุณประพันธ หลอยืนยง (นัท) 20. คุณปฐพี วัฒนเวชวิจิตร (นอต) 21. คุณนฤทัย พิริยะเกียรติสกุล (อิ๋ม) 22. คุณภานุพงศ เหรียญกนกกุล (ตน) 23. คุณวรรัตน ศีลเภสัชกุล (หุย) 24. คุณไชยสิทธิ์ สุนทรวาที (ตี๋) 25. คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒนยิ่ง (ไว) 26. คุณอภิเชษฐ เอื้อกิจธโรปกรณ (เอ) 27. คุณธวัชชัย เฉลยวุฒิโรจน (ฟู) 28. คุณเชาวฤทธิ์ เหตระกูล (เชา)

ตําแหนง ประธาน ตําแหนง รองประธาน ตําแหนง รองประธาน ตําแหนง เลขา ตําแหนง เลขา ตําแหนง เลขา ตําแหนง เลขา ตําแหนง เหรัญญิก ตําแหนง ประชาสัมพันธ ตําแหนง ประชาสัมพันธ ตําแหนง ประชาสัมพันธ ตําแหนง ประชาสัมพันธ ตําแหนง ประชาสัมพันธ ตําแหนง กิจกรรมพิเศษ ตําแหนง กิจกรรมพิเศษ ตําแหนง กิจกรรมพิเศษ ตําแหนง กิจกรรมพิเศษ ตําแหนง กิจกรรมพิเศษ ตําแหนง กิจกรรมพิเศษ ตําแหนง วิชาการ ตําแหนง วิชาการ ตําแหนง วิชาการ ตําแหนง นายทะเบียน ตําแหนง นายทะเบียน ตําแหนง ปฏิคม ตําแหนง ปฏิคม ตําแหนง ปฏิคม ตําแหนง ปฏิคม

บี.บี.การพิมพ และบรรจุภัณฑ หจก. เอ็ม.พี.ลักก ยูวี บจก. พงศพัฒนการพิมพ ราน วี เจ พริ้นติ้ง หจก. สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) บจก. การพิมพไทยกรุพ บจก. เอ.พี.กราฟคดีไซนและการพิมพ บจก. ก.พล (1996) บจก ปยวัฒนการพิมพ เจนเนอรัล คอมพิวเตอร บจก. จี.พี.ไซเบอรพรินท บจก. โตกาแมช บจก. เพาเวอร พริ้นท ไซเบอรพริ้นท บจก. เมยฟลาวเวอร(ประเทศไทย)บจก. โรงพิมพเลิศศิลป 1994 สันติภาพแพ็คพริ้นท บจก. จอยปริ้นท บจก. ราชาการพิมพ (2002) บจก. พิมพพิจิตร หจก สแควร ปริ๊นซ 93 บจก. เพรสทีจ พริ้นติ้ง บจก. กิตติชัย พริ้นติ้ง บางกอกโรลเลอร บจก. สํานักพิมพเลีย่ งเชียง เพียรเพือ่ พุทธศาสน บจก. เอส โอ ฟูล พริ้นติ้ง เซอรวิส จํากัด สุพรชัย ไดคัท หจก. ประชุมชาง บจก.

ThaiPrint Magazine 43

36-45 pc1.indd 43

8/9/2555 21:55:44


Print News

à¡çºμ¡ºÃÃÂÒ¡ÒÈ

!! ÃÐËÇ‹Ò§ÃÍ àÍŒÒ 1..2..3.. áªÐ

¡‹Í¹¡Ô¹..¢ÍáªÐ˹‹ÍÂ

ÊŒÁææ áͻ໠Ŝ ÁÐÅÐ¡Í ¡ÅŒÇ ʌÁ

·ÕÁ¹Õé .. »ÅÒÌҹ‹ÒÃÑ¡¨Ñ§ ^^

ໂ¡¡·Õ

âÍ Ðææ Í‹ÒËÒÂã¨áç¹Ð à´ÕëÂÇÅŒÁ

Oppa G

ໆÒææ áŌǡç.. à»†Ò !!

·íÒ¢¹Ò´¹Õé àÍÒÃÒ§ÇÑÅä»àÅÂÁ ÑéÂ

44 ThaiPrint Magazine

36-45 pc1.indd 44

8/9/2555 21:49:28


การเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer Group

¢Í§ã¤Ã !!?

ÍÐäÃÍÂÙ‹ ã¹äË .. ÅØŒ¹ææ

áªÐÊÒÇÊÇ¡ѹ˹‹Í .. ¹‹ÒÃÑ¡Í‹Ð

ÍÔÍÔ »‚¡¡·ÕÁ ŧ·Ø¹¨ÃÔ§æ

Oppa Gangnam St yle .. !!!

Ê‹ÒÂ..¹Á àÂÍÐæ «ÒÃÒ§àÎ..â ¨Ø ºØ ¨Ø ºØ .. ^0^

í ÃÔ Ø³´ÒË Happy Birthday to ¤

´ÇÅà¾Å§¡Ñ¹Ë¹‹ÍÂ

ThaiPrint Magazine 45

36-45 pc1.indd 45

8/9/2555 22:00:34


Print Business

W2P SAAS ON CLOUD โดย กิตติ พรพิพัฒนวงศ

บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) จํากัด DigitalPrint Expert

| 25489-13

vpc

สวัสดีครับ ทานผูอานทุกทาน ฉบับที่แลวผมไดอธิบายถึง Cloud Computing กับ SaaS Models วา เปนอยางไร แบบงาย ๆ ไปแลว ในฉบับนี้ผมจะใหรายละเอียด และประโยชนเกี่ยวกับระบบ W2P (Web to Print) ที่เปน Cloud ผนวกรวมกับ SaaS (Software as a Service) Model ครับ จากบทความตอนที่ 2 ที่อธิบายเกี่ยวกับเรื่อง ของ W2P ทั้ง 4 ระบบนั้น ผมใชความเห็นสวนตัวในการ เลือกเอา W2P แบบ SaaS (Software as a Service) on Cloud เปนตัวเลือกที่ดีที่สุด สําหรับการใชงานใน ประเทศไทย เพราะจากแนวโนมของตลาดในอเมริกาและ ยุโรป ก็มีการผลักดันเรื่องนี้กันอยางเต็มที่ ไมวาจะเปนใน แงของการประหยัดพลังงาน, เรื่องของสิ่งแวดลอมที่ชวย ลด Carbon Footprint ที่เกิดจากกรณีมี Server หลายตัว เปดทํางานพรอมกัน , เรื่องของระบบที่ Scalable ได ซึ่ง สามารถลด หรือ เพิ่ม Hardware เชน Ram, HDD, CPU ไดตามความตองการในเวลาหนึ่ง ๆ หรือ แมแตการใช ระบบ Cloud เพื่อทํางานเฉพาะดานตางๆ เชน การทํา Server Farm (Server Computer ที่ตอเขากันหลายๆ ตัว เพื่อใหมี Performance ที่เพิ่มขึ้นหลายพันเทาตัว) เพื่อ สรางหนัง 3 มิติ เปนตน สวนในบานเราก็เชนเดียวกัน ตอนนี้หลายหนวยงานในภาครัฐ อยางเชนกระทรวง ICT ก็บรรจุเรื่อง Cloud ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่จะตองดําเนินการ อยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนเรื่องของ Private หรือ Public Cloud (Public Cloud เปนการประมวลผลผานบริการ ทางเว็บใหกับผูใชบริการ โดยจะจัดใหมีการแบงปนการใช

ทรัพยากรคอมพิวเตอรตาง ๆ ไมวาจะเปน HDD, RAM หรือ CPU ในการประมวลผล โดยที่ผูใชบริการจายคาใช บริการตามปริมาณการใชงานจริง สวน Private Cloud หมายถึง การใหบริการที่จะนําระบบคอมพิวเตอรหลายๆ เครื่องของบริษัทที่ตองการทํามาตอเชื่อมกัน ใชเฉพาะ ภายในองคกรเพื่อใหไดการทํางานมีประสิทธิภาพ และ ปลอดภัยมากกวาระบบ Public) รวมถึงการนําไปใชให เกิดประโยชนสูงสุด นอกจากนั้น Trend ของ W2P ที่เปน ระบบ Cloud ก็เจริญเติบโตขึ้นอยางมาก ในอเมริกา RSA

46 ThaiPrint Magazine

46-48 pc1.indd 46

7/9/2555 16:45:49


W2P SaaS(W2P) on Cloud Web to Print ตอ

Web CRD เปน W2P ที่ไดรับความนิยมอยางมาก เชนเดียวกับ OPS (Online Print Solution) ที่ใชระบบ W2P แบบเดียวกัน ในยุโรปเองก็มี W2P หลาย ๆ คายที่ใช W2P SaaS on Cloud เชน 9Plus, 4allsolution และอื่นๆ ทานผูอาน จะสังเกตไดวาประเทศตาง ๆ ที่ผมกลาวถึงนั้น มีระบบเครือขายความเร็วสูง มาก เมื่อเทียบกับบานเรา มี User หรือ ผูใชงานที่มีความรู ความสามารถที่ จะพัฒนา หรือ ติดตั้งระบบ W2P ไดทุกระบบ แตเหตุใดประเทศที่พัฒนาแลว เหลานี้ถึงใช W2P แบบ Cloud ผมจะขยายความตอไปใหทราบดังนี้ครับ :-

จุดเดนของระบบ W2P SaaS on Cloud 1. Scalability & Flexibility คือ การปรับความสามารถของระบบ และความยื ด หยุ น ในการทํ า งานได ต ามความต อ งการผมขออธิ บ าย เพิม่ เติมดังนี้ ถาเราเลือกใช Software แบบ Best Practice (มีอธิบายไวในฉบับ ที่แลว) สิ่งที่ตองซื้อแนนอน คือ Server เพื่อรองรับการทํางานที่จะเกิดขึ้น ซึ่ง ในความเปนจริงแลว ไมสามารถประเมินไดครับวา ชวงไหนงานจะเขาเยอะ และชวงไหนงานจะนอย ดังนั้น เพื่อเปนการปองกันปญหาเรื่องประสิทธิภาพ ของ Hardware และ Software ยกตัวอยาง เชน หลายๆ ครั้ง ทานอาจไดรับคําแนะนําวา “ซื้อ Server ทั้งที เอาให ประสิทธิภาพสูงสุดไปเลย เผื่อเอาไว” ซึ่งตองยอมรับวา เกินกวา 70% ใชไมคุมคา เพราะ Software ที่ใช ไมไดตองการหรือมีความจําเปนที่จะตองใชประสิทธิ ภาพของ Hardware เยอะขนาดนั้น เหมือน สุภาษิตไทยที่วา “ขี่ชางจับตั๊กแตน” ดังนั้น สิ่งที่กูรูทางระบบคอมพิวเตอรกลาวเอาไวนน้ั เปนความจริง คือ “Software เปนตัว กําหนดประสิทธิภาพของ “Hardware”

เพราะถามีการ Upgrade Software เมื่อไหรนั่นแหละ จึงนาจะเปนเหตุผล ที่จะตองใช Hardware ที่มีประสิทธิ ภาพมากขึน้ จึงเปนการตอบโจทยความ ตองการกลายๆวาทําไมระบบ Cloud จึงเหมาะสมมากในปจจุบัน เพราะ สามารถที่จะปรับเปลี่ยน Hardware ไดตามความตองการทันที ไมวา จะ เปน CPU, RAM หรือ Hard Disk ไดตามความตองการมาลองคิดดูเลนๆ ครับวา ถาในชวงเวลาหนึ่ง เชน เทศกาลคริสตมาสไปจนถึงปใหม มี ความตองการทีจ่ ะพิมพปฏิทิ นิ และการด เปนจํานวนมากทาง Print Provider ก็เปดชองทางใหกับลูกคาสามารถสั่ง สินคาทั้ง 2 อยางนี้ ผานระบบ W2P ซึ่งถาเปนระบบ W2P แบบ Best Practice ก็จะตองมีคนเขามาใชงาน กันเปนจํานวนมาก ทําใหเจอปญหา ที่วาเมื่อระบบมีผูเขามาใชงานมากๆ ระบบก็จะทํางานชาลง ทําใหผูใช งานไมประทับใจ ซึ่งเปนสิ่งที่ Print Provider ที่ซื้อ Server เองตองเจอ กับปญหานี้อยางแนนอน หากจะแก ปญหาโดยการซื้อ Server ใหมเพื่อ จะรองรับงานเฉพาะแคชว งเทศกาลของ ป ก็ดูจะเปนการลงทุนที่สูง เมื่อเทียบ กับผลลัพธที่จะไดกลับมา เพราะเมือ่ ผานชวงเวลานี้ไป จํานวนลูกคาที่ใช ก็จะกลับเขาสูระดับการใชงานแบบ เดิมๆ ซึง่ ไมมากเทาไหร จากตัวอยาง

ThhaiPr ThaiPrint Prinnt Magazine Magazine 47 47

46-48 pc1.indd 47

6/9/2555 1:17:09


Print Printing Business Business

ที่กลาวมา ทานผูอานคงจะเล็งเห็นประโยชนของระบบ Cloud กันแลววาดีกับธุรกิจของทานอยางไร 2. Pay as You Go (ใชเทาไหร จายเทานั้น) – ลอง คิดถึงระบบ Best Practice ที่มีในตลาดครับ สิ่งที่ Print Provider ตองลงทุนก็คือซื้อ Software ซึ่งตองบอกวามี ราคาคอนขางแพง บางคายก็มีราคาเปนลาน ซึ่งถาพูดถึง ประสิทธิภาพในการทํางาน ก็ครอบคลุมการทํางานแทบจะ ทุกสวนของโรงพิมพ รองรับทัง้ งาน Digital และ Offset หรือ อาจะเรียกไดวาเปนระบบ ERP (Enterprise Resource Planning) ยอยๆ เลยก็วาได เมื่อระบบทํางานไดอยาง หลากหลาย ความซับซอนก็ตามมา เมื่อมีความซับซอน ความยากในการทําใหระบบพรอมใชงานก็ตามมา (Long Time Implementation) ซึ่งแนนอนวา คนที่จะพัฒนาให ระบบเหลานี้สามารถใชงานไดนอกจากการไดรับความ ชวยเหลือจากเจาของ Software แลว ทาง Print Provider เองก็ตองจาง IT Support ที่เกงๆ มาดูแลระบบอีกดวย เพราะสิง่ ทีจ่ ะตองทําเพิม่ ขึน้ อยางแนนอน คือ การดูแลระบบ ใหทาํ งานไดตลอดเวลาและสามารถแกไขไดทนั ทวงที เมือ่ ระบบมีปญ  หา นอกจากนีย้ งั ตองมีหนาที่ Upgrade ระบบ ใหสามารถรองรับการทํางานใหมๆ ไดทั้งในสวนของ Hardware และ Software รวมทั้งการ Back up ระบบทั้ง สวนของขอมูล และอื่นๆ ก็เปนเรื่องสําคัญเชนเดียวกัน ทั้งหมดนี้ตองใช IT Support ขอย้ําวาตองเกงจริงๆ เขามา

ชวยเหลือ ซึ่งราคาคาตัว ก็ไมใชถูกๆ อีกทั้งความ สามารถในการทํางานของ Software บางครั้ง Print Provider จะรูสึกวาถูกใจ Feature บางอยางของระบบ Best Practice นี้ แตวาจะ ขอซือ้ เฉพาะ Feature นัน้ ๆ ก็ไมได เพราะระบบไมได แยกขาย ดังนั้น ถาจะใช ก็ตองซื้อทั้งระบบและไป เพิม่ เติม Feature ทีต่ อ ง การไดในกรณีที่ Software Package หลักไมมี แตทา น ผูอ า นลองเปลีย่ นมุมมองดู วาถาทานสามารถเปนเจา ของ Software ไดโดยจาย ในราคาทีจ่ บั ตองได เชน จากหลักลานเปนหลักแสน ซื้อ บาง Feature ที่ตองการใชงานไดเสียแคคาติดตั้งระบบ ครัง้ แรกและจายเปนรายเดือนไมตองมี IT Support เกงๆ เพราะทางเจาของ Software จะจัดการทุกอยางใหหมด อยูแลวหนาที่ของ Print Provider ก็คือ แคเรียนรูการ ใชงานของ Software และ นําเสนอลูกคาใหถูกตอง ก็เพียงพอแลว เมื่อ Print Provider ลงทุนนอยลง ความ เสี่ยงก็นอยลงตามไปดวย ทั้งในดานของ Hardware และ Software ดังนั้น ในเรื่องของ Return on Investment จึงสูงมาก (ลงทุนนอย คืนทุนเร็ว) ทําใหทานสามารถนํา กําไรที่ไดไปตอยอดธุรกิจไดอีก ทั้งหมดที่กลาวมานี้เปนจุดเดน และประโยชนที่ สําคัญของระบบ W2P SaaS on Cloud ที่ผมไดหยิบยก มาใหกับทานผูอาน สุดทายนี้ ผมหวังวารายละเอียดของ บทความทั้ง 4 ตอนเกี่ยวกับเรื่อง W2P คงทําใหทาน เขาใจเกี่ยวกับระบบมากขึ้น เห็นถึงภาพตางๆ มากขึ้น การที่ผูประกอบการโรงพิมพนําระบบ W2P เขามาใชนั้น เปนการเพิ่มจุดขายของ (Point of Sale) ใหกับโรงพิมพ ของทานได รวมทั้งการที่โรงพิมพสามารถเปดหนาราน ได 7 วัน 24 ชั่วโมง ก็เพิ่มความสะดวกสบายใหกับลูกคา ไดเปนอยางดี แตเหนือสิ่งอื่นใด ผมหวังวาทานผูอานจะ สามารถตัดสินใจเลือกระบบที่ถูกตองใหกับหนวยงาน หรือโรงพิมพของทานไดครับ

48 ThaiPrint Magazine

46-48 pc1.indd 48

6/9/2555 1:17:31


Print News

งานเลี้ยงรวมแสดงความยินดี กับผูบริหารระดับสูง SCG จากการที่ บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด ไดเปนพันธมิตรที่ดีตอกันมาอยางตอเนื่องกับ สมาคมการพิมพไทยและสหพันธอุตสาหกรรมการพิมพ ที่ชวยกันผลักดันและพัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ ของไทยใหเจริญกาวหนามาอยางไมหยุดนิ่ง และยังสงเสริมใหการสนับสนุนกิจกรรมทุกๆ กิจกรรมที่ทาง สมาคมฯไดจัดขึ้นมาอยางสมํ่าเสมอ และในการที่บริษัท ผลิตภัณฑกระดาษไทย จํากัด ไดมีการปรับเปลี่ยนผูบริหารระดับสูงในตําแหนง กรรมการผูจัดการโดยเปลี่ยนจาก “คุณภาสกร บูรณะวิทย” เปน “คุณพันเทพ สุภาไชยกิจ” ซึ่งคณะกรรมการ สมาคมการพิมพไทยจึงถือโอกาสรวมรับประทานอาหารเพือ่ รวมแสดงความยินดี กับ “คุณพันเทพ สุภาไชยกิจ” และเลี้ยงอําลา “คุณภาสกร บูรณะวิทย” พรอมทั้งพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ณ ภัตตาคารเชียงการีลา สาขา ธนิยะ ในวันพุธที่ 29 สิงหาคม 2555 ที่ผานมา

ThaiPrint Magazine 49

49 pc1.indd 49

7/9/2555 17:03:09


Print News

C.G.S. เปดตัวรีบอรด (Re-board®)

นวัตกรรมแหงอนาคต ปลดปลอยอิสระในการออกแบบ ผสานเทคโนโลยีเพื่ออนาคตและสิ่งแวดลอม บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จํากัด ไดจัดงานแถลงขาวเปดตัวรีบอรด (Re-board®) วัสดุแหงอนาคต ที่จะมาแทนที่การทํางานในแบบเดิมๆ พรอมดวยการประยุกตการใชงานที่หลากหลายไรขีดจํากัดเพื่อตอบ โจทยทางธุรกิจและเพื่อนักออกแบบโดยเฉพาะ โดยจัดงานแถลงขาวภายในงานวิศวกรรมแหงชาติ 2555 ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี เมื่อวันศุกรที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 ที่ผานมา วัสดุที่เรียกวารีบอรด (Re-board®) คือ กระดาษ แข็งชนิดพิเศษ (rigid paperboard) คิดคนโดย Stora Enso จากประเทศสวีเดน รีบอรดถูกนํามาประยุกตใชงาน กันอยางแพรหลายทั่วโลก ทั้งใชเปนชั้นจัดแสดงสินคา (Point-of-purchase, POP) เปนเฟอรนิเจอร เชนโตะ เกาอี้ เปนบูธหรือซุมสําหรับงานนิทรรศการ เปนวัสดุ สําหรับการจัดแสดงสินคาหรือตกแตงและปายโฆษณาดวย คุ ณ ลั ก ษณะพิ เ ศษของรี บ อร ด ที่ มี ค วามแข็ ง แรง ทนทาน น้ําหนักเบา ยืดหยุนได มีความหนาหลายขนาด ใหเลือกใช รับน้ําหนักไดสูงมากโดยไมเสียรูปทรง (แม แตรถยนตยังขึ้นไปได) ผิวหนาสีขาวพื้นผิวเรียบสามารถ พิมพดวยระบบการพิมพแบบอิงคเจ็ททั้งแบบโซลเวนท

และยูวีลงบนผิวหนาไดโดยตรง ไดคัทได หักทํามุมโคง และเหลี่ยมได ถอดประกอบเขารูปไดอยางรวดเร็ว นํา มาใชงานซ้ําได ขนยายสะดวก สามารถใชไดในสภาพ แวดลอมที่หลากหลายและทนทั้งอุณหภูมิสูง-ต่ําและ ความชื้นไดโดยไมเสียรูป รีไซเคิลได 100% เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม จึงทําใหรีบอรดสามารถนํามาประยุกตใช งานไดอยางหลากหลายตามจินตนาการและความคิด สรางสรรคของนักออกแบบ ดังนั้นรีบอรดจึงไมใชเพียง แควัสดุชนิดใหมเทานั้น แตยังเปนวัสดุที่เปลี่ยนการ ทํางานแบบเดิมๆ ใหทุกอยางงายขึ้นและนาตื่นตาตื่น ใจมากยิ่งขึ้น

50 ThaiPrint Magazine

50-51 pc1.indd 50

6/9/2555 1:25:27


CGS

ดวยคุณสมบัตทิ แ่ี ข็งแรงทนทาน น้าํ หนักเบา และ รับน้ําหนักไดดี ทําใหรีบอรดเขามาตอบโจทยในงาน ดานการจัดแสดงสินคาตางๆ ไดอยางที่ไมเคยมีมากอน ซึ่งเมื่อกอนในการจัดซุมหรือสวนจัดแสดงตางๆ ในงาน นิทรรศการจําเปนตองใชวัสดุจําพวกไม พลาสติก หรือ โครงเหล็ก ซึ่งมีน้ําหนักมาก ขนยายลําบาก กําจัดซาก หลังเสร็จงานลําบาก ใชเวลาประกอบนาน คาใชจาย โดยรวมสูง แตดวยคุณสมบัติที่โดดเดนของรีบอรดทําให สามารถแกปญหาดังกลาวไดเปนอยางดี และยังชวยลด ตนทุนในทุกดานของภาพรวมทั้งการผลิต แรงงาน การ ขนสง และการกําจัด อีกทั้งยังชวยรักษาสิ่งแวดลอม เพราะสามารถนําไปรีไซเคิลได 100% เมื่อผสานกับ ไอเดียของนักออกแบบ ระบบการพิมพอิงคเจ็ท และ การไดคัท จึงสามารถเนรมิตรีบอรดใหเปนอะไรก็ไดตาม ใจชอบไมจํากัดรูปทรง เพียบพรอมดวยอุปกรณเสริม หลากชนิดที่จะชวยใหสามารถปดขอบและประกอบเขา รูปไดทุกแบบตามตองการ รีบอรดไดถูกจัดจําหนายไปแลว 80 ประเทศทั่ว โลก โดยในประเทศไทยมีบริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จํากัด เปนผูจัดจําหนายแตผูเดียว ดวยแนวคิดทาง ธุรกิจตอรีบอรดนั้นไมใชการขายแตวัสดุเพียงอยางเดียว แต เ ป น การขายความคิ ด สร า งสรรค แ ละการสร า ง เครือขายนักออกแบบทั่วโลก ที่สามารถแลกเปลี่ยน ไอเดีย ความคิดสร้างสรรค์ และการซื้อขายงาน ออกแบบ (Template) ตางๆ ไดดวยเชนกัน ดังนั้นใน

โลกธุรกิจของรีบอรดจึงเกิดขึ้นจากความเขาใจในความ ต อ งการของนั ก ออกแบบที่ ผ สานกั บ เทคโนโลยี เ พื่ อ ตอบโจทย ทุ ก ความต อ งการในงานโฆษณาและการ จัดแสดง ดังนั้นรีบอรดจึงสามารถเติบโตไดอยางไรขีด จํากัดดวยพลังแหงจินตนาการและจิตวิญญาณของนัก ออกแบบอยางแทจริง ThaiPrint Magazine 51

50-51 pc1.indd 51

6/9/2555 1:25:39


Thaiprint Cover Story

ความสําเร็จของ Thai Print Awards ความสําเร็จของลูกค้าผู้ทรงเกียรติ ของ Fuji Xerox (Thailand) บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด ผูสนับสนุนหลัก (Major Sponsor)) งาน Thai Print Awards ตั้งแตครั้งที่ 3 จนถึงในปนี้ซึ่งเปนครั้งที่ 7 แลว รางวัลของ ฟู ฟจิจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) The Best Digital Print ไดถูกมอบใหกับบริษัทผูที่ชนะเลิศรางวัลปแลวปเลา ถามองยอนกลับไป ณ จุดเริ่มตนของการเปน สปอนเซอรหลักเมื่อป 2551 ในตอนนั้นหลายๆ ทาน ยังไมรบั รูถ งึ ระบบการพิมพดจิ ติ อลพริน้ ท (Xerographic) ว า มี ค วามสํ า คั ญ และมี ป ระโยชน ต  อ ท า นอย า งไร? ในตอนนั้นถือวาเปนจุดเริ่มตนที่ดีของบริษัทฯ ที่ไดเขา มาเป น ส ว นหนึ่ ง ในการขั บ เคลื่ อ นธุ ร กิ จ สิ่ ง พิ ม พ ใ น ประเทศไทย ใหมีการเจริญเติบโตพัฒนาคุณภาพใน การทํางาน ใหสามารถแขงขันและทัดเทียมประเทศที่ พัฒนาแลวได การเขาสูอุตสาหกรรมธุรกิจสิ่งพิมพของ ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) มีระยะเวลายาวนานมาก กวา 10 ป เปนเรื่องที่ไมงายกวาจะไดรับการยอมรับ จากเจาของธุรกิจสิง่ พิมพทงั้ หลายวา ระบบดิจติ อลพริน้ ท มีความสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงไปของตลาด การยืน หยัดในความเชื่อและตอกยํ้าความเชื่อดวยการศึกษา จากประเทศพี่ ใ หญ ท างด า นตะวั น ตกไม ว  า จะเป น อเมริกา, แคนนาดา, ยุโรป, ญี่ปุน ความสําเร็จของ ธุรกิจสิ่งพิมพดวยเครื่องพิมพดิจิตอลพริ้นทตอบโจทย นักการตลาดทั้งหลายมาแลวหลากหลายธุรกิจ จึงเปน เรื่องยืนยันความสําเร็จที่ ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) เชื่อ วาประเทศไทยก็เชนเดียวกัน หากเราเริ่มกอน ลงมือ กอน เขาใจและพัฒนากอน ยอมมีความไดเปรียบอยาง แนนอน และนี่คือที่มาของการตัดสินใจของผูบริหารของ บริษทั ฯ ในวันนัน้ การขับเคลือ่ นธุรกิจใหมกี ารเติบโตใน ระยะแรกของการเขาสูตลาด หรืออาจจะเปรียบไดกับ วงจรชีวติ ผลิตภัณฑ Product Life Cycle (รูป PLC)

ถือวาดิจติ อลพริน้ ทเปนอะไรทีอ่ ยูใ นชวง Introduction คือ อยูในชวงการเขาสูตลาด ที่ตองทุมกําลังเงินลงทุน พัฒนาบุคลากร สรางกิจกรรมทางการตลาดใหมีการ เคลือ่ นไหวตลอดเวลา บริษทั ฯ และพนักงานทุกคนในสวน ของ Production Service Business ทุกๆ คนตางเริ่ม ตนแบบถูกบาง ผิดบาง คําแนะนําและคําติชมของลูกคา ผูทรงเกียรติที่ไดใหความไววางใจในสินคาและบริการ ของฟูจิ ซีรอ็ กซ (ประเทศไทย) ทุกทานทุกบริษัทไดเปน กําลังใจในการขับเคลือ่ นธุรกิจดิจติ อลพริน้ ท (Xerographic) ในเมืองไทยใหเติบโตเทียบเทาประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลวใหได และนี่คือที่มาวา ทําไมเรื่องเลาจากปกในฉบับนี้ บริษัทฯ จึงอยากจะขอขอบพระคุณลูกคาผูท รงเกียรติ ของ ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย)

52 ThaiPrint Magazine

52-53 pc1.indd 52

6/9/2555 2:48:36


... ทุกทาน ทุกบริษัท ที่วันนั้นทุก

ทานไดใหความไวใจ ใหความรวมมือ ในการส ง งานเข า ประกวดในงาน “ประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ” ทุกๆ ป โดยเฉพาะสิ่งพิมพที่พิมพดวยระบบ ดิจติ อลพริน้ ท (Xerographic) ทีบ่ ริษทั ฯ เปนสปอนเซอรหลักมากวา 5 ปแลว ไมวาจะเปนหมวดหมูใดก็ตาม ไม วาทานจะเขารอบหรือไม จะชนะ หรือจะแพ หากแตทานไดตัดสินใจ เข า ร ว มการแข ง ขั น ในแต ล ะครั้ ง บริษัทฯ ก็รูสึกขอบพระคุณในสปริต ของทุกทานดวยความปลาบปลื้มใจ เปนอยางยิ่ง หากขาดการสนับ สนุนจากลูกคาผูทรงเกียรติเหลานี้ บริษัทฯ คงไมมีแรงขับเคลื่อนธุรกิจ ไดมาจนถึงวันนี้ ในปหนาและปตอ ๆ ไปในการแข ง ขั น ประกวดสิ่ ง พิ ม พ แหงชาติ โดยเฉพาะระบบดิจิตอล พริ้ น ท จ ะเพิ่ ม หมวดหมู  ไ ปเรื่ อ ยๆ ตามลั ก ษณะของตลาดการสั่ ง ซื้ อ สิ่งพิมพที่ขยับตัวเปลี่ยนไป อางถึง คําขวัญของงานที่วา Going Green For A Better Planet ดิจิตอลพริ้นท ในระบบ Xerographic เปนตัวตอบ โจทยลกู คาของแตละทานไดดี เพราะ หมึกทีพ่ มิ พจากระบบนีส้ ามารถแยก ออกจากกระดาษไดกอนการยอย สลายกระดาษ เพื่อใหไดกระดาษ รีไซเคิลที่มีคุณภาพสามารถนํากลับ ไปใชใหมในประโยชนตา งๆ ไดมากขึน้ ภาพรอยยิ้ ม แห ง ความสํ า เร็ จ ในการดําเนินธุรกิจดิจติ อลพริน้ ทของ ทาน บริษทั ฯ รูส กึ ซาบซึง้ ใจอยางหา ที่สุดไมได พนักงานของฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) ทุกคนพรอมจะปรับ ปรุ ง แก ไ ขในสิ่ ง ที่ ผิ ด พลาดทั น ที เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑและบริการให ทุกทานมีความพึงพอใจสูงสุด

สิ่งที่บริษัทคาดหวังในการทําธุรกิจไมใชผลกําไรของธุรกิจเพียงอยาง เดียว แตมันคือความสุข ความพึงพอใจสูงสุดของทาน การรักษาความไว เนื้อเชื่อใจที่ทานไดมอบใหการปรับปรุงคุณภาพของการบริการ การทําธุรกิจ ดวยหลักธรรมาธิบาล เพื่อใหทานรูสึกภาคภูมิใจที่ทานไดเลือกคูคาในการ ทําธุรกิจดิจิตอลพริ้นท (Xerographic) อยางไมผิดหวัง บริษัทฯ คาดหวังจะ รักษาสิ่งเหลานี้ดวยใจของพนักงานทุกคน ไมใชเพียงแควันนี้ การขับเคลื่อนของ ฟูจิ ซีร็อกซ ยังพัฒนาและ ดําเนินไปอยางไมหยุดยั้ง เมื่อเราลงมาในตลาดกอนแบรนดอื่นๆ เรายอมรู ในความตองการของลูกคาเปนอยางดี ยอมรูจักขอผิดพลาดของตัวเองที่ จะปรับปรุงและพัฒนาใหดียิ่งๆ ขึ้นไป เรารูวาเราไมใชคนขายของ แตเรา คือคูค า ทีจ่ ะเดินไปกับลูกคาทุกทาน ไมวา หนทางจะยาวไกล หนทางจะไมไ่ ด โรยดวยกลีบกุหลาบ แตเราเลือกจะเดินในถนนหนทางที่ไมมีใครเลือกดังคํา สุภาษิตของฝรั่งที่วา Road is not taken เพราะถาเราทําสําเร็จ ความสุข ความสมหวังจะเปนความสุขที่ตราตรึงในชีวิตของพวกเราแนนอน ขอขอบคุณสมาคมการพิมพไทยที่วันนั้นในป 2551 ไดให ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) ไดเปนสวนหนึ่งของผูสนับสนุนหลักในการแขงขันประกวด สิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 3 บริษัทฯ รูสึกภาคภูมิใจที่ไดเปนสวนหนึ่งในการ ขับเคลือ่ นธุรกิจสิง่ พิมพในประเทศไทยใหมคี วามกาวหนา เจริญเติบโต ถายโอน ธุรกิจสิ่งพิมพจากมือรุนที่ 1 สูมือรุนที่ 2 และสงตอธุรกิจไปยังรุนที่ 3 และ รุนตอๆ ไปอยางมีโอกาสเหมือน Sunrised Business นั่นเอง

หากทานมีขอเสนอแนะและติชมบทความนี้ ติดตอไดท่อี ีเมลล jinsipa.t@tha.fujixerox.com ThaiPrint Magazine 53

52-53 pc1.indd 53

6/9/2555 1:32:22


Ad VT Graphic 2page #92_pc3.indd 2

22/6/2555 13:47:46


Ad VT Graphic 2page #92_pc3.indd 1

22/6/2555 13:47:37


99 FMT_m19.indd Ad FMT Thailand#91_pc3.indd 99 ad 1

19/4/2555 11/23/10 15:52:17 3:47 PM


K CMY CY MY CM Y M C

93 Ad SIEGWERK #92_pc3.indd 1

5/7/2555 22:38:51


63-68 Ad Sriaksorn#91_pc3.indd 63 Sriaksorn_m19.indd 99

19/4/2555 16:05:50 1/9/10 4:17:06 PM


63-68 Ad Sriaksorn#91_pc3.indd 66 Sriaksorn_m19.indd 104

19/4/2555 16:07:28 1/9/10 4:19:36 PM


63-68 Ad Sriaksorn#91_pc3.indd 62 Sriaksorn_m19.indd 101

19/4/2555 16:04:39 1/9/10 4:18:47 PM


63-68 Ad Sriaksorn#91_pc3.indd 65 Sriaksorn_m19.indd 102

19/4/2555 16:06:24 1/9/10 4:19:01 PM


63-68 Ad Sriaksorn#91_pc3.indd 64 Sriaksorn_m19.indd 100

19/4/2555 15:15:35 1/9/10 4:18:04 PM


63-68 Ad Sriaksorn#91_pc3.indd 67 Sriaksorn_m19.indd 103

19/4/2555 16:07:56 1/9/10 4:19:20 PM


Green Technology

รีบอรดคืออะไร Unique Characteristicss ลักษณะเฉพาะตัว

Manufactured in Sweden, Re-board is a patented rigid paperboard with a unique engineered fluted core. It is incredibly lightweight yet exceptionally strong. In fact the strongest board of it’s kind available today. Re-board has good planar flatness and provides thermal insulation and protection from different environmental conditions. An embedded moisture barrier protects the core and the physical properties remain unchanged in humid conditions. It is durable, contains no harmful components and is form stable. And because it utilizing waterbased adhesives, Re-board can be recycled as paper in normal waste paper streams. The unique engineered fluted core enables a Re-board sheet to be rapidly cut into any conceivable shape. Re-board can be digitally printed or finished with decorative laminates to achieve stunning results. A flame retardant version is available upon request. Tested in accordance with Euro Standard EN 13501-1:2007, this version of Re-board® is rated Euroclass C-s1,d0, comparable with German Standard DIN 4102-1 “B1”. Re-board is the most versatile board material available today and uniquely responds to the market need for function and form, coupled with sustainability.

รีบอรดผลิตขึน้ ในสวีเดน เปนกระดาษแข็งเนือ้ แกรง ที่มีแกนกลางมีลักษณะเปนรองเรียงตัวในแนวตั้งที่ผาน การออกแบบทางวิศวกรรมมาเปนพิเศษ ใหมีนํ้าหนัก เบาอยางไมนาเชื่อ แตในขณะเดียวกันก็แข็งแรงมาก กลาวไดวาเปนวัสดุที่แข็งแรงที่สุดในกลุมวัสดุประเภท บอรดในปจจุบัน แกนแบบรองที่ไดรับการออกแบบมาเปนพิเศษนี้ ทําใหตัดรีบอรดเปนรูปทรงตางๆ ไดงาย สามารถนํา ไปพิมพดวยระบบดิจิทัลหรือนําไปลามิเนทตกแตงให สวยงามสะดุดตาไดถาตองการ ทั้งยังมีรีบอรดรุนทน ไฟใหเลือกใช ซึ่งผานการรับรองตามมาตรฐานยูโร EN 13501-1 : 2007 รีบอรดทนไฟนี้ อยูในกลุม Euroclass C-s1, d 0 ซึ่งเทียบเทามาตรฐานเยอรมัน DIN 4102-1 “B1” รีบอรดจัดเปนวัสดุประเภทบอรดที่สามารถนําไป ใชงานไดหลากหลายที่สุดในปจจุบัน และรองรับตลาด ที่ตองการหนาที่การใชงาน และรูปแบบที่หลากหลาย ไมเหมือนใคร ควบคูไปกับการเปนวัสดุเพื่อสิ่งแวดลอม

64 ThaiPrint Magazine

64-70 pc1.indd 64

6/9/2555 21:11:49


Re-board Re-board, small footprint : รีบอรดมีคา รอยเทาคารบอนต่ํา

Re-board® Applications รีบอรด ลักษณะการใชงาน

Here are a few examples of Re-board used in different applications around the world. Our library contains well over 7000 completed projects. Big impact, small CO2 footภาพเหลานี้เปนตัวอยางบางสวนของการนํารีบอรดไปใชในรูปแบบ print structures are feasible using ตางๆ จากทั่วโลก ซึ่งมีแบบที่เสร็จสมบูรณใหเลือกใชกวา 7,000 รายการ Re-board as a substrate. Re-board Complete shop-in-shop by Reproteam Austria is the most eco-friendly material of รานเล็กในรานใหญ โดย Reproteam ออสเตรีย its kind and is the first board in the world to independently measure it’s CO2 emissions. 16mm Reboard CO2 emission/SQM = 2kg, based on CEPI and ISO 14040 Canon & OCE booth guidelines. รีบอรดมีคารอยเทาคารบอน Signage By ASG UK ต่ํา ถือไดวาเปนวัสดุที่เปนมิตรตอ ปาย โดย ASG อังกฤษ สิ่งแวดลอมมากที่สุดเมื่อเทียบกับ วั ส ดุ ที่ ใช ทํ า งานประเภทเดี ย วกั น และเป น บอร ด ชนิ ด แรกที่ มี ก ารวั ด ค า การปล อ ยคาร บ อนไดออกไซด แบบเดีย่ วๆ รีบอรดขนาดความหนา 16 มม. มีการปลอยคารบอน 2 กก./ ตร.ม. ตามแนวทางของ CEP1 และ POP/POS Displays ISO 14040 ชั้นวางสินคา POP/POS

Expositions and trade shows by Electroprint, Morocco & Digiforma Belgium งานแสดงสินคา โดย Electropoint โมรอคโค และ Digiforma เบลเยี่ยม

ThaiPrint Magazine 65

64-70 pc1.indd 65

6/9/2555 21:12:03


Green Technology Events by Artwork Digital, Brazil; Kong Displays Belgium. งานอีเวนท โดย Artwork Digital บราซิล Kong Displays เบลเยี่ยม

Touring expositions งานแสดงเกี่ยวกับการทองเที่ยว

Accessories developedd for Re-board® : อุปกรณ เสริมทีพ ่ ฒ ั นาเพือ่ ใชกบั รีบอรดโดยเฉพาะ

We have developed a wide range of accessories for Re-board which we only share with users of Re-board material. Download our brochure and see for yourself the enormous range of Re-board applications. มี อุ ป กรณ เ สริ ม มากมายที่ ออกแบบมาเพื่อ ใช กับ รี บ อร ด โดย เฉพาะ เพือ่ การใชงานรีบอรดทีห่ ลาก หลาย

Exposition walls and furniture by Grupo Rafael, Spain ผนังและเฟอรนเิ จอรในงานแสดงสินคา โดย Grupo Rafael สเปน

Window displays หนาตางแสดงสินคาในรานคา

66 ThaiPrint Magazine

64-70 pc1.indd 66

ThaiPrint Magazine 66

6/9/2555 1:50:22


Re-board

Case studies กรณีศึกษา Re-board® the best POS ever : รีบอรด ชัน้ วาง ณ จุดขาย (POS) ทีด่ ที ส่ี ดุ เทาทีเ่ คยมีมา Philips Shop-in-shops are filling up with Re-board POS displays thanks to the hard work and effort of the Eco-Rock team in Dublin, Ireland. “Thank you for delivering the stands into the Philips Shop,” said the buyer. “By all accounts, the users were very impressed. This is the best POS I have ever seen, and I genuinely mean that.” Dan Shiel Sales and Product Manager Accessories Ireland. ฟลลิปสไดใชชั้นจัดแสดงสินคาในลักษณะรานเล็ก ในรานใหญดวยฝมือของ Eco-Rock ที่ดับลิน ไอรแลนด Dan Shiel ผูจัดการฝายขายและผลิตภัณฑ อุปกรณเสริม ไอรแลนด กลาวขอบคุณสําหรับการที่ชั้นวางสินคาที่ ส ง เข า มาในร า นของฟ ล ลิ ป ส ทํ า ให ลู ก ค า เกิ ด ความ ประทับใจเปนอยางยิ่ง ถือไดวาเปนชั้นวางสินคาที่ดี ที่สุดที่เคยเห็นมา

rtss Re-board® helps Austrian fashion sports shop attract young people : รีบอรดชวย สินคาแฟชัน่ กีฬาทีอ่ อสเตรียดึงดูดกลุม ลูกคาหนุม สาว

Recently Gigasport’s (www.gigasport.at) flagship store in Graz, Austria, had one of its 6 floors completely refitted in Re-board. The project was made by Austrian Re-board licensee Reproteam (www.reproteam.at), from design through production to installation. Michael Han sbauer, Managing Director and owner of the company comments: - We work very closely with Gigaprint’s depart ment for shop design and decoration. When they approached us looking for a material for a shop design that would appeal to the “snowboard crowd” we showed them Re-board® board® aand nd tthey hey immediately lovedd iits ts look, feel, green image, mage, stability and light weight. eight. After completion they on the ey gave a press conference/opening party inaugurating the Board Depart ment. Articles appeared in all major regional newspapers and a regional onal television station ran an a feature item. Reproteam’s eam m’s designer Mario AnderAnderrThaiPrint Magazine 67

64-70 pc1.indd 67

6/9/2555 1:51:00


Green Technology huber spent a mere 20 hours in total to complete the project. The production time was approximately two weeks with four employees, including installation in the shop. Around 200 sheets of 3200x1600x16 mm. brown Re-board® was used. Depending on the feedback from the customers – and it looks promising so far – most of Gigasport’s 30 outlets may undergo a similar make-over. The expected life time for the shop is up to three years, according to the customer. เมือ่ เร็วๆ นี้ รานใหญของ Gigasport’s (www. gigasport.at) ที่เมืองกราซ ออสเตรีย ไดตดั สินใจตกแตง รานใหมโดยใชวสั ดุรบี อรดยกชัน้ จากทีม่ ที ง้ั หมด 6 ชัน้ โครงการนีด้ าํ เนินการโดยทีมงานของ Reproteam (www. reproteam.at) ผูแ ทนขายรีบอรดของออสเตรียตัง้ แตการ ออกแบบผลิตไปจนถึงการติดตั้ง Michael Hansbauer กรรมการผูจัดการและเจาของกลาววา “เราทํางานกับ Gigaprint’s อยางใกลชดิ ในเรือ่ งการออกแบบและตกแตง เมื่อพวกเขาติดตอเราเพื่อหาวัสดุท่จี ะใชตกแตงรานเพื่อ ดึงดูดกลุม วัยรุน หนุม สาว เราจึงแนะนําใหใชรบี อรดและ พวกเขาก็ ถู ก ใจรู ป ลั ก ษณ อารมณ ความเปนมิตรตอ สิ่ ง แวดล อ มความคงตั ว และความเบาที่รีบอรดมีให ทันที” เมื่อทุก อย างสมบู รณ พ ว ก เ ข า ก็ จั ด ใ ห มี ก า ร แถลงข า วเป ด ตั ว แผนก บอรดมีการลงบทความใน หนั ง สื อ พิ ม พ มี ช่ื อ ระดั บ ภูมภิ าคทุกราย รวมทัง้ ออก สื่อในสถานีโทรทัศน ร ะดั บ ภูมภิ าคดวย Mario Anderhuber นัก ออกแบบของ Reproteam ใชเวลาเพียง 20 ชัว่ โมง ใน การทําโครงการนีใ้ หสมบูรณ ใชเวลาผลิตอีกประมาณ 2 สัปดาห โดยใชคนทํา 4 คน

รวมการติดตัง้ ในราน และใชรบี อรดสีนาํ้ ตาลขนาด 3200* 1600*16 มม. ไปราว 200 แผน ถาลูกคาใหการตอบรับทีด่ ี ซึง่ ดูแลวนาจะเปนเชนนัน้ ราน เอาทเล็ตสวนใหญจากทัง้ หมด 30 รานของ Gigasport’s ก็จะเปลีย่ นมาทําแบบเดียวกัน คาดวาอายุการใชงานของ การตกแต ง ใหม นี้ จ ะอยู  ไ ด ถึ ง 3 ป ขึ้ น อยู  กั บ ความ ตองการของลูกคา

Re-board ® Display Boosts Sales : ชัน้ วางรีบอรด ชวยกระตุน ยอดขาย Toontrack Music is the world’s premier developer of virtual percussive instruments, with an unrivaled line of drum and percussion tools for playing, composing, and producing in Digital Audio Workstations. Company CEO Andreas Sundgren says that the decision to use Re-board displays was based on the: “Unrivalled craftsmanship of the Design Force team,” and the uniqueness of the Re-board material itself. Toontrack Music ผูพ ฒ ั นา ระบบใหจังหวะเสมือนชั้นนํา ระดับโลกซึ่งรวมถึงชุดกลอง ที่ไมมีใครเทียบได อุปกรณให จังหวะอืน่ ๆ สําหรับการเลน แต ง และผลิ ต เพลงในโลก ดิจิทัล Andreas Sungren ประธานบริ ห ารสู ง สุ ด ของบริ ษั ท กล า วว า ได ตั ด สิ น ใจเลื อ กใช ชั้นแสดงสินคาที่เปนรีบอรด เนื่ อ งจากฝ มื อ ในการผลิ ต ที่ เหนือกวาของทีม Design Force และความเฉพาะตัว ของรีบอรดเอง

68 ThaiPrint Magazine

64-70 pc1.indd 68

6/9/2555 21:23:36


Re-board Re-board® - A key ingredient for Brennans ns รีบอรด สวนผสมหลักของ Brennans

forward to working with them.” Calill Odguist ประธานบริหารสูงสุดของ Light My Fire กลาววา “สินคาของเราเนนเรื่องการใชชีวิต กลางแจง จึงตองการชั้นวางสินคา POP ที่เสริมกัน เราขายไฟจริงและไฟในตัว บริษัท Design Force เอง ก็มีไฟสําหรับรีบอรดแบบเดียวกับที่เรามีใหสินคาของ เรา เราพอใจในคุณภาพการบริการที่ Design Force มอบ ใหและตัง้ ตารอทีจ่ ะรวมงานกัน

Brennans wanted a POP display that is easy to ship, simple to assemble in-store, attracts attention, gives an up-lift in sales and Re-board® Roof Box : Mont Blanc is ecologically sound. A tall กลองบนหลังคารถทําดวยรีบอรด order for most material but not for Re-board. Brenans ตองการชั้นวาง สินคา ณ จุดขาย (POP) ที่ขนสงงาย ประกอบในราน Mont Blanc’s product manager Sofia ไดงาย ดึงดูดความสนใจ ชวยเพิ่มยอดขาย และเป็น and the Design Force team came up with the idea มิตรตอสิ่งแวดลอม โจทยยากสําหรับวัสดุอื่นที่ไมใช to produce a lightweight Re-board roof box that รีบอรด could easily be placed and moved from car to car. The result Hot Display, Cool Products : is a beautiful ชัน้ วางทีร่ อ นแรงสําหรับสินคาสุดเท display, located where it should be to encourage sales. Light My Fire CEO Calill Odqvist says: “The Sofia ผูจัดการ tone of our brand shouts ‘healthy outdoor living’ ผลิตภัณฑบริษทั so it was essential to select Mont Blanc และ a POP display material ทีมงาน Design Force ไดขอสรุปวาจะทํากลองเก็บของ that reinforces this. We บนหลังคารถดวยรีบอรด ซึ่งสามารถวางแสดงบนรถคัน sell fire - Real fire as ใดๆ ที่ตองการไดเพราะยายไปมาไดงาย ผลลัพธที่ได much as inner fire. As a คือ ความสวยงามในการจัดแสดงและยายไปไวตรงไหน company, Design Force ก็ไดเพื่อกระตุนยอดขาย possess that same inner fire for Re-board as we do for our products. We are very happy with the quality of service Design Force provides and always look

ThaiPrint Magazine 69

64-70 pc1.indd 69

6/9/2555 21:26:32


Green Technology Re-board® selected for new VW Polo launch : โฟลคสวาเกน เลือกใชรบี อรดเปดตัว Polo โฉมใหม

The successful launch of the new VW Polo & VW’s new maintenance agreement offerings demanded high quality, high impact marketing communication. An ideal job for Re-board! การทําใหการ เปดตัวรถ Polo โฉม ใหมและขอตกลงใน การดูแลรักษาแบบ ใหม ข องโฟล ค สวา เกนประสบความ สําเร็จอยางทวมทน จําเปนอยางยิ่งที่จะ ตองมีการสงสารที่มี คุณภาพและสงผลกระทบตอตลาดอยางเต็มที่ ถือเปน งานในอุดมคติสําหรับการใชรีบอรด

Eco display enhances Svegro Eco products : ชั้นวางที่เนนเรื่องระบบนิเวศน ชวยเนนสินคาของ Svegro Eco

standard shop-fittings uniquely for this range of food. We are confident that it will boost sales in the category. Peter Henriksson นักพัฒนาแบรนดอาวุโสบริษัท Identx AB กลาววา เป า หมายคื อ การเพิ่ ม ยอดขายสลั ด และมั น ฝรั่งในราน และเนนคุณ คาของกลุมสินคาโดย ใช บ รรจุ ภั ณ ฑ ห รู ที่ มี ขนาดเล็กลง สัญญานี้ เริม่ จากการสรางชัน้ วาง ของและทดสอบผลที่ ราน PriXtra ในสตอก โฮลม ลูกคาตองการ ยกระดั บ การสื่ อ สาร ถึงผูบริโภค ณ จุดขาย เราจึงไดจัดพื้นที่ขนาด ใหญในรานเพื่อการนี้ โ ด ย ก า ร จั ด ว า ง ชั้ น แสดงสินคา ปาย และ ชั้นวางของที่ทําจากรีบอรด Design Force ชวยเรา พัฒนาพื้นที่มาตรฐานในรานใหกลายเปนพื้นที่ที่เปน เอกลักษณสําหรับอาหารประเภทนี้ ซึ่งเรามั่นใจวาจะ ชวยกระตุนยอดขายใหสินคากลุมนี้ได

Senior Brand Developer for Identx AB, Peter Henriksson says: “The goal was to develop sales of salad & potatoes in-store and highlight the value of the category by focusing on smaller premium packages. The contract was to initially build displays and test the range in the PrisXtra stores in Stockholm. The client wanted to increase communication with the consumer at the point of purchase. We were allocated large areas within the store to communicate via Re-board® POP displays, signage and panels. Design Force helped us develop ways to customise 70 ThaiPrint Magazine

64-70 pc1.indd 70

6/9/2555 2:51:44


55 ad smg#87 cs5-m19.pdf

1

14/6/2554

17:12

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

61 Ad SM Graphic#91_pc3.indd 61

19/4/2555 15:42:00


Digital Printing

เกาหลีศึกษาข้อมูล ส่งเสริมบริการการพิมพ์ Publishing และการพิมพ์ Print On Demand

AT A GLANCE Industry: Publishing Business name: Korea Studies Information Co., Ltd. (KSI) Headquarters: Paju Book City, Gyeonggi-do Website: www.kstudy.com

ความทาทาย

ทางออกของวิธีการแกปญหา

- ความรวดเร็วของระบบดิจิตอลและการ ลดความตองการสําหรับกระดาษหนังสือ, บริษัท เกาหลีศึกษาขอมูล จํากัด (KSI) ระบุจําเปนที่จะ ตองเปลี่ยนผานจากการพิมพระบบออฟเซ็ทไปสู ระบบดิจิตอลโดยคงรักษาคุณภาพการพิมพแบบ ออฟเซ็ท - KSI ยังตองการลดคาใชจายโดยที่จะลด จํานวนสินคาคงคลังที่มากเกินไป และตอบรับการ พิมพที่มีปริมาณนอยที่กําลังเติบโต - เพื่อปรับปรุงผลผลิตและกําไร KSI มุงมั่น เสมอ ที่จะปรับเปลี่ยนวิธีทํางานใหมีประสิทธิภาพ มากขึ้น เพื่อใหสามารถแขงขันไดอยางมีประสิทธิ ภาพในตลาดการแขงขัน

- บริษัทเพิ่มเครื่องพิมพดิจิตอล HP Indigo w7200 Digital Press และ HP Indigo 7500 พรอมกับ HP SmartStream Production Pro เพื่อ ตอบสนองกับความตองการงานพิมพอยางรวดเร็ว และเพื่อสงเสริมความสามารถในการใหบริการ การพิมพ Print on Demand อยางแข็งแกรง

72 ThaiPrint Magazine

72-75 pc1.indd 72

6/9/2555 1:58:26


BJC ผลลัพธ - KSI ขอบคุณเครื่องพิมพเครื่องใหมที่เปนสวนหนึ่งในการ เพิ่มผลผลิตและสงผลใหมีผลกําไรเพิ่มขึ้น - ความสามารถในการพิมพที่มีความยืดหยุนมากขึ้นในเรื่อง ปริมาณงานพิมพ ชวยให KSI ขยายชวงของการบริการใหกวางขึ้น ในขณะที่เพลิดเพลินกับคุณภาพการพิมพที่ดีที่สุด - เครื่องพิมพดิจิตอล HP Indigo w7200 สามารถพิมพได เร็วกวารุนกอนหนา 4 เทา - สามารถพิมพสีไดสูงถึง 14,400 หนา และพิมพสีดําและสี ขาวได 57,600 หนาตอทุกๆชั่วโมง - ทําให KSI ผลิตหนังสือมากขึ้นอยางรวดเร็ว - การทําใหความแมนยําของสีที่ดีขึ้น 30 เปอรเซ็นต เพือ่ ให แนใจวาผลิตผลทีไ่ ดแยกไมออกจากการพิมพออฟเซตแบบดั้งเดิม - KSI มีความสุขกับคาใชจา ยทีล่ ดลง เนือ่ งจากเทคโนโลยี การพิมพแบบ Feed อยางตอเนือ่ งทีร่ วดเร็ว (แบบมวน) ทําใหลดจํานวน ผูค วบคุมเครือ่ งพิมพลงไดมาก - KSI มีจาํ นวนขยะกระดาษนอยลงเพราะเครือ่ งพิมพดจิ ติ อล HP Indigo w7200 ใชเทคโนโลยีแบบหมุนเพือ่ ใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด “กําลังหลักของการพิมพ Print On Demand ของธุรกิจ เรา ทําใหไมมีสินคาคงคลังที่มากเกินจํานวน ขอบคุณ HP Indigo เราไดดาํ เนินธุรกิจการพิมพของเรา โดยไมมภี าระคาใชจา ยทีม่ าก เกินเปนเวลา 5 ป แมเราไดจัดพิมพนิตยสารใหมประมาณ 600 หัวเรื่องในแตละป.”

Chae Jong Jun, ประธาน KSI

บริษทั เกาหลีศกึ ษาขอมูล จํากัด (KSI), ทีม่ พี นักงานมากกวา 300 คน ในประเทศเกาหลีและ ประเทศจีน ไดรับการใหบริการ ทางวิชาการกับองคกรบริการใน รู ป แบบดิ จิ ต อลตั้ ง แต ช ว งต น ทศวรรษ 1990 ไดสรางฐานขอมูล ขึน้ ประมาณ 14 ลานหนาของ วารสารวิชาการตั้งแตป 2004 บริษทั ไดปรับเปลีย่ นมาเกีย่ วของ ในธุ ใน รกิจสํานักพิมพ การผลิต มากกว า 500 หัวเรื่องทุกป KSI ม ได ไดดําเนินการผลิตกับคําสั่งผลิต งานพิ งา มพจํานวนนอยและคําสั่ง ผลิ ผ ตงานพิมพปริมาณมาก โดย ใช ใช ก ารผสานของเทคโนโลยี ดิจิตอลของ HP Indigo และการ พิมพออฟเซ็ต

ThaiPrint Magazine 73

72-75 pc1.indd 73

6/9/2555 1:58:34


Digital Printing การพัฒนาอุตสาหกรรม การพิมพ ดวยการเรงของระบบดิจิตอลและความ นิยมเพิ่มขึ้นของหนังสืออิเลคทรอนิกส, KSI คาด วาสวนใหญของหนังสือจะกลายเปนดิจิตอลอยาง รวดเร็วและความตองการสําหรับหนังสือกระดาษ จะคอยๆลดลงตามธรรมชาติ จากผลสรุปดังกลาว มั น ทํ า ให ไ ม มี เ หตุ จู ง ใจสํ า หรั บ บริ ษั ท ที่ จ ะรั ก ษา การพิ ม พ อ อฟเซตในป จ จุ บั น และระบบการจั ด จําหนายไว ในความคาดหมายของแนวโนมนี้ KSI ตัดสินใจลงทุนในความสามารถใหมของการพิมพ ดิจิตอล เพื่อที่จะเปดโอกาสใหมสําหรับการพิมพที่ กําหนดเองไดและงานพิมพสวนบุคคลในปริมาณ ที่นอยกวา “แลวไมเพียงแตในเกาหลี แตในยุโรป อเมริกาและประเทศอืน่ ๆ จํานวนมากเชนกันปริมาณ สิง่ พิมพไดลดลง” Chae Jong Jun, ประธาน KSI อธิบาย “ปริมาณสิ่งพิมพจะยังคงลดลงอยางตอ เนือ่ ง และในกรณีดงั กลาวอุตสาหกรรมการพิมพ ที่ถูก ผู ก ไว ก็จ ะเปลี่ย นจากตลาดออฟเซทที่มี อยูก อ นไปยังแพลตฟอรมการพิมพดจิ ติ อลมีการ คาดการณในอนาคต เราไดมกี ารเตรียมความ พรอมสําหรับมันมาเปนเวลา 12 ป และตอนนี้ เรายืนอยูท แ่ี ถวหนาของมัน.” ในปกอ นหนา KSI มีการลงทุนในรุน ทีแ่ ตกตาง กันของเครือ่ งพิมพดจิ ติ อล HP Indigo จํานวน 9 เครือ่ ง ดังนั้น จึงสามารถเสนอราคาที่เหมาะสม สําหรับการผลิตงานยอดพิมพนอ ยๆ และเปดชอง ให มีก ารปรั บ งานพิ ม พ เ ฉพาะกลุม และสามารถ

สงงานพิมพไดในระยะเวลาสั้นๆมันเปนทางเลือก ธรรมชาติสาํ หรับบริษทั ทีจ่ ะทํางานรวมกับ HP เมื่อ เวลามาถึง สามารถขยายความสามารถในการพิมพ ดิจิตอล HP Indigo Press w7200 ดิจิตอล ผลผลิต 4 เทา ในป 2011 KSI เพิ่มเครื่องพิมพดิจิตอล HP Indigo w7200 และ HP Indigo 7500 ไดสงเสริม การพิมพที่แข็งแกรงของ KSI ที่ตองการการพิมพ แบบ Print on demand (POD) ความสามารถใน การใหบริการและการเตรียมความพรอมของบริษัท สําหรับการเจริญเติบโต “ประโยชนทใ่ี หญทส่ี ดุ ของ HP Indigo คือ วาตอนนีเ้ ครือ่ งพิมพดจิ ติ อลอยูท ท่ี างแยก” Chae Jong Jun, ประธาน KSI กลาวเพิม่ “ในมือขางหนึง่ มีระบบทีใ่ ชตลับหมึกพิมพ และอีกมือหนึง่ มีระบบ ทีใ่ ชหมึกพิมพเหลวเชน HP Indigo การใชหมึกของ HP Indigo ชวยใหเราสามารถทําซ้าํ วิธกี ารพิมพ แบบดัง้ เดิมมากขึน้ อยางถูกตอง และมีคณ ุ ภาพดี และเพื่อใหมีความเหมาะสมกับความตองการ ของเรา.” เครื่องพิมพดิจิตอลใหมของ HP Indigo ได สงมอบคุณภาพงานพิมพที่ดีขึ้นและผลผลิตที่เพิ่ม ขึ้น พลอยทําใหตนทุนคาใชจายที่ตองจางแรงงาน ที่เกี่ยวของกับผูควบคุมเครื่องพิมพที่ไดรับการจาง งานลดลงอยางมาก “กําลังการผลิตของ HP Indigo w7200 Digital Press เทากับเครือ่ งพิมพ HP Indigo 5500 จํานวน 4 เครือ่ ง เครือ่ งพิมพ w7200 สามารถพิมพ สีตอชั่วโมง, 14,400 หนา และพิมพสีดําและสีขาว 57,600 หนา ดวยผลผลิตทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยใชระบบ การพิมพแบบปอนมวนกระดาษอยางตอเนื่อง มากกวาตอแผน ได มากกวาตอแผน ไดทาใหคาใชจายนอยลง ทาํ ใหคา ใชจา ยนอยลง ดัดงนน งนั้น

Magazine zine 74 ThaiPrint Magaz 72-75 pc1.indd 74

6/9/2555 1:58:42


BJC ตนทุนการพิมพซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดใน การพิมพไดลดลง” Chae Jong Jun, ประธาน KSI อธิบาย ด ว ยผลผลิ ต ที่ ดี ขึ้ น และค า ใช จ า ยที่ ใช ใ น การจางผูควบคุมเครื่องที่ลดลงอยางมีนัยสําคัญ” โซลูชั่นใหมที่ยั่งยืนกวา คือ การเพิ่มขึ้นของผลผลิต และการใชกระดาษที่ฉลาดยังชวย KSI กลายเปนผู มีความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม – เปนธรรมชาติ ของโมเดลธุรกิจ Print On Demand (POD) “ในความสัมพันธระหวางอุตสาหกรรม การพิมพและสิง่ แวดลอม กระดาษเปนสินทรัพย ทีใ่ ชมากทีส่ ดุ อยางหนาแนน HP Indigo w7200 มี ความยัง่ ยืนอยางมากในแงของการใชกระดาษตัด การฟดตอหนาทัว่ ไปมีแนวโนมทีจ่ ะมีการสูญเสีย กระดาษทีม่ มี ลู คาสูง แตตง้ั แต HP Indigo w7200 ใชเทคโนโลยีการหมุน มันลดการสูญเสียกระดาษ” Chae Jong Jun, ประธาน KSI กลาวเพิ่ม “PODยังทําใหผลงานในเชิงบวกตอสภาพ แวดลอม ผลลัพธของธุรกิจการพิมพโดยทัว่ ไป ใน การพิมพงานปริมาณมากก็จะมีของเสียทีเ่ กิดจาก สินคาคงคลัง แต POD ชวยใหเราสามารถพิมพ เฉพาะสิง่ ทีเ่ ราตองการ ดังนัน้ จึงเปนความรับผิด ชอบตอสิง่ แวดลอม.” คุ ณ ภาพการพิ ม พ ที่ ดี ที่ สุ ด และมี ค วาม ยืดหยุนที่เพิ่มขึ้น HP Indigo w7200 Digital Press ยังให คุ ณ ภาพการพิ ม พ ที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ เครื่ อ ง กอนหนานี้ ชวยให KSI สงมอบบริการที่ดีที่สุด - แม ในปริมาณที่เพิ่มขึ้น “ในแงของคุณภาพของภาพ มันมีการเปลีย่ นแปลงจากเทคโนโลยีการพิมพแบบ ดัง้ เดิม ในการใชหมึกพิมพ CMYK แยกตางหาก เพื่อนํามาใชในแบบ One Shot เพื่อใหสามารถ มีคุณภาพการพิมพที่ชัดเจน” Park Young Won, ผูอํานวยการแผนกการพิมพดิจิตอล KSI อธิบาย “ตัวอยางเชน ถาคุณเปรียบเทียบหนังสือ เลมเล็กที่พิมพกอนหนานี้กับอีกหนึ่งเลมที่พิมพ โดยใช w7200 คุณจะเห็นวามีการปรับปรุงของสี ทําใหชดั เจนดีขน้ึ ประมาณ 30 เปอรเซ็นต.”

คุณภาพสีเปนสิ่งสําคัญโดยเฉพาะอยางยิ่ง สําหรับความมัน่ ใจในชือ่ อยาง KSI ตีพมิ พหนังสือ ของผูบ ริโภคทีม่ งุ เนนมากขึน้ นอกเหนือไปจาก เนือ้ หาวิชาการ “ดวยเหตุนเ้ี รามีการตีพมิ พประมาณ 6,000 เรือ่ ง และมีการกระจายหนังสือผานหองสมุดและ รานหนังสือในประเทศเกาหลี เมือ่ เร็วๆ นี้ เราเผย แพรตาํ ราอาหารเกาหลีโดยใช HP Indigo w7200 เผยแพรวัฒนธรรมสําหรับแมบานที่อาศัยอยูใน ประเทศเกาหลี หนังสือเลมนีน้ าํ เสนอการเลือกจาน อาหารเกาหลีสาํ หรับทุกวัน และอธิบายสูตรในหา ภาษาทีแ่ ตกตางกัน” Park Young Won กลาวเพิม่ “ในขณะที่ ห นั ง สื อ เล ม ที่ โ ปรโมทจาน อาหารหลายแบบ คุณภาพสีเปนสิ่งที่สําคัญที่สุด ตารางการผลิตอยูภายใตกําหนดเวลาเสนตาย ที่สั้นมาก ดังนั้น การพิมพอยางรวดเร็วเปนสิ่ง สําคัญ.” เครือ่ งพิมพดจิ ติ อลใหม HP Indigo ไดชว ยให KSI สามารถกําหนดตารางการพิมพงานมากกวา 500 ซึ่งกอนหนานี้ทําไมได ทําใหบริษัทมีโอกาสใน การนํามาซึ่งธุรกิจรายใหมๆ “ดวยการติดตัง้ HP Indigo w7200 และ HP Indigo 7500 ทําใหเรามีความสามารถพิมพงาน ไมเพียงแต 500 สําเนา แมมากกวา 1,000 สําเนา การกาวตอไปขางหนาผมทํานายวาจะเปนไปไดทจ่ ี ะ พิมพมากกวา 2,000 สําเนา โดยใชรปู แบบเหลานี”้ Park Young Won กลาวสรุป “เป น ผลให ป ริ ม าณการพิ ม พ ที่ บ ริ ษั ท เกาหลีศกึ ษาขอมูล จํากัด เพิม่ เปน 2 เทาในป 2011 เทียบกับปทแ่ี ลว และดวยการปรับปรุงการผลิต ใหดขี น้ึ ทําใหการทํากําไรไดเพิม่ ขึน้ ดวย.”

Get connected.www.hp.com/go/graphicarts Share with colleagues. ThaiPrint Magazine 75

72-75 pc1.indd 75

6/9/2555 1:58:53


76-77 Ad Sansin #93_pc3.indd 1

11/9/2555 9:18:31


76-77 Ad Sansin #93_pc3.indd 2

11/9/2555 9:18:48


78 Ad GIT pc1.indd 1

7/9/2555 3:40:39


ad Toyoink _m14.indd 1

1/26/12 9:57 PM


Save The World

อนุรักษสิ่งแวดลอมและ ทรัพยากรธรรมชาติ สัญญาณจากธรรมชาติที่สงถึงมนุษยที่อาศัยอยูบนพื้นโลกตางทราบกันดีวา สภาพความเปนอยู ทุกวันนี้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปมากมายขนาดไหน ฤดูกาลที่เคยเปนมากอนนี้กลับกลายเปนความไมแนนอน เกิดภาวะวิกฤตการณตางๆ กับโลกของเรา อยางตัวอยางที่ใกลตัวมากที่สุดก็เห็นจะเปนมหาอุทกภัยนําทวม ใหญในประเทศไทยเมื่อปลายป 2554 ซึ่งเปนเรื่องที่ใครตอใครตางไมคาดคิด ถึงเวลากันแลวครับพี่นองชาว อุตสาหกรรมการพิมพ รวมถึงอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ควรจะมาคํานึงถึงพิษภัยที่มนุษยเราทํารายโลกมาเปน ระยะเวลาอันแสนยาวนาน ปญหาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติเปนปรากฏการณที่กอใหเกิดความเสีย หายตางๆ ตามมาอยางมากมาย มีผลตอความเปนอยูของมนุษยและสิ่งมีชีวิตบนโลก ทั้งยังเกี่ยวโยงถึง สภาพเศรษฐกิจและสังคม นอกจากนี้ยังสงผลใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอมที่เปนผลเสียโดยตรงตอสิ่งมี ชีวิต ซึ่งอาจทําใหเกิดการสูญเสียของสิ่งมีชีวิต หรือนําไปสูสภาวะที่พืชและสัตวบางชนิดสูญพันธุไปได ดังนั้น เราจึงจําเปนตองมีการจัดทําแนวทางและวิธีดําเนินการใน การปองกัน ยับยั้ง ชะลอ และขัดขวาง การเกิดปญหาสิ่งแวดลอมและ ทรัพยากรธรรมชาติ โดยแนวทางการปองกันแกไขปญหาสิ่งแวดลอมและ ทรัพยากรธรรมชาติ สามารถแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การปองกัน หมายถึง การปองกันคุม ครองทรัพยากรทีส่ ามารถเกิด ขึ้นใหมไดเอง เพื่อใหมีอัตราในการนําทรัพยากรมาใชอยูในระดับที่สามารถ เกิดขึ้นมาทดแทนไดทัน ซึ่งจะชวยใหมีทรัพยากรนั้นไวใชอยางยั่งยืน ทั้งยัง รวมถึงการปองกันทรัพยากรทีม่ แี นวโนมจะเพิม่ ขึน้ อยางรวดเร็วใหอยูใ นระดับ ทีเ่ หมาะสม ไมเกิดการลุกลามจนทําใหสภาวะสิง่ แวดลอมเสียสมดุลไป การปองกันนีอ้ าจทําไดโดยการใชมาตรการตางๆ ตัง้ แตการใชกฎหมาย การประชาสัมพันธใหความรูแ ละความเขาใจแกประชาชนในการใชทรัพยากร อยางเหมาะสม เพื่อมีทรัพยากรเกิดขึ้นหมุนเวียนสําหรับใชงานไดอยาง ยั่งยืนสืบไป โดยเฉพาะวัตถุดิบในอุตสาหกรรมการพิมพ อยางเชน กระดาษ ปจจุบนั นีท้ ว่ั โลก เขาจะใชไมทป่ี ลูกเองเทานัน้ ทีน่ าํ มาผลิตกระดาษและขบวน การผลิตกระดาษเขาก็จะใชน้ําแทนสารเคมีเพื่อเปนการอนุรักษสิ่งแวดลอม ไปในตัวอีกดวย

2. การแกไขและฟนฟู การแกไข หมายถึง การ ดํ า เนิ น การแก ไ ขหรื อ ซ อ มแซม ทรั พ ยากรที่ล ดลงหรื อ เสื่อ มสลาย ของสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากร ธรรมชาติ การฟนฟู หมายถึง การ ดํ า เนิ น การกั บ ทรั พ ยากรที่ ล ดลง หรื อ เสื่ อ มโทรมให ส ามารถฟ น คื น กลั บ สู ส ภาพเดิ ม ได โ ดยการป ด กั้ น ไมใหมีการรบกวนระบบสิ่งแวดลอม เพื่อใหระบบสิ่งแวดลอมมีเวลาใน การฟนตัวกลับสูสภาพเดิมสามารถ นํากลับมาใชใหมไดอีก เชน การ ฟนฟูไรเลื่อนลอย การฟนฟูพื้นที่ปา ชายเลน เปนตน

ThaiPrint haiaiPrrintt M Magazine agazine 80 TTh 80

80-82 pc1.indd 80

6/9/2555 20:34:25


อนุรักษสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ

ดังนัน้ หากกลาวโดยรวมแลว การแกไขและฟนฟูฟู จะเป น ขั้ น ตอนดํ า เนิ น การภายหลั ง จากที่ เ กิ ด การร เสื่อมหรือเสียสภาพของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพือ่ เปนการแกไขปรับปรุง ตลอดจนการบําบัดฟนฟูสภาพ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ใหกลับมาอยู ในสภาพที่ดีขึ้นและเหมาะสมสําหรับการใชประโยชน ตอไป 3. การอนุรักษ หมายถึง การใชทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดวยความฉลาดและใชอยาง เหมาะสม เพื่อใหเกิดประโยชนตอมนุษยมากที่สุด โดย หลีกเลี่ยงใหเกิดผลเสียตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด กระบวนการดําเนินการอนุรักษอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ ตองครอบคลุมทั้งปญหาดานการ ทํ า ลายสิ่ ง แวดล อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ จ นเกิ ด ความเสื่ อ มโทรมรวมถึ ง ป ญ หาการก อ มลพิ ษ แก สิ่ ง แวดลอมที่จะสงผลกระทบกลับมาสูตัวมนุษยเองดวย โดยแนวทางในการอนุรักษประกอบดวยวิธีการตางๆ ดังนี้ 1. การใชอยางยั่งยืน หมายถึง การใชทรัพยากร ตางๆ ในธรรมชาติและสิง่ แวดลอมในปริมาณทีเ่ หมาะสม ไมมากเกินไป โดยใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม และมีของ เสียที่เกิดจากการใชงานนอยที่สุดหรือไมมีของเสียเกิด ขึ้นเลย การใชอยางยั่งยืนนี้จะกอใหเกิดผลกระทบตอ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ทําใหทรัพยากร และสิ่งแวดลอมสามารถฟนตัวหรือเกิดขึ้นมาใหมไดทัน กับความตองการใชงานมนุษย

2. การเก็บกักทรัพยากร หมายถึง การรวบ รวมและการเก็บกักทรัพยากรที่มีแนวโนมจะเกิดการ ขาดแคลนในบางชวงเวลาไว เพื่อใหสามารถนํามาใชใน กิจกรรมที่เหมาะสมไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด เชน การเก็บกักทรัพยากรน้ําที่มีมากในฤดูน้ําหลากไว เพื่อ นํามาใชในฤดูแลงที่ขาดแคลนน้ํา ซึ่งการเก็บกักน้ํามา ใชในฤดูแลงจะทําใหสามารถนําน้ํามาใชประโยชนได มากกวา เมื่อเทียบกับการใชน้ําในฤดูน้ําหลากหรือใน ชวงที่มีน้ํามาก หรือการเก็บผลผลิตทางการเกษตร เชน ขาว ไวเปนเสบียงอาหารในชวงเวลาอื่นๆ ที่ไมใชฤดู เก็บเกี่ยว เปนตน 3. การรักษา หมายถึง การดําเนินการกับ ทรัพยากรที่ลดลงหรือเสื่อมโทรมใหสามารถฟนคืนกลับ สูสภาพเดิมไดโดยอาศัยวิธีการทางเทคโนโลยีที่มนุษย ThaiPrint Magazine 81

80-82 pc1.indd 81

6/9/2555 20:34:36


Save The World

ทรัพยากรจะตองมีการนําเทคโนโลยีที่กาวหนามาใชควบคูกับกระบวนการ พัฒนาทุกขั้นตอน ทั้งยังรวมถึงการพัฒนาเทคนิควิธีที่ทําใหใชทรัพยากรใน ปริมาณนอยแตไดผลผลิตที่เพิ่มมากขึ้น และมีประสิทธิภาพสูงขึ้นดวย 5. การสงวน หมายถึง การเก็บสงวนทรัพยากรไวไมใหมีการนํา มาใชงาน เนื่องจากทรัพยากรนั้นกําลังจะหมดหรือสูญสิ้นไป ทรัพยากร บางชนิดเมื่อสงวนไปในระยะเวลาหนึ่งแลวอาจจะทําใหเกิดการเพิ่มขึ้นจน สามารถนํามากใชใหมได ซึ่งเมื่อถึงเวลาดังกลาวอาจมีการอนุญาตใหนํา ทรัพยากรมาใชได โดยมีกฎเกณฑหรือมาตรการตางๆ ควบคุม เชน การ สงวนพันธุสัตวปา เปนตน 6. การแบงเขต หมายถึง การจัดแบงกลุม หรือประเภทของทรัพยากร เพือ่ ใหสามารถดําเนินการอนุรกั ษไดผลดีขน้ึ การดําเนินการนีอ้ าจมีการแบง พื้ น ที่ ค วบคุ ม เพื่ อ ให มี ส ภาวะที่ เ หมาะสมสํ า หรั บ การเปลี่ ย นแปลงของ ทรัพยากร เชน การจัดพื้นที่เปนปาอนุรักษหรืออุทยานซึ่งจะทําใหสภาพ ดิน พืช สัตว และปาไมมีสภาพที่เหมาะสมในการขยายพันธุ ดํารงพันธุ และ เจริญเติบโต นอกจากนี้ การแบงเขตยังชวยใหสามารถกําหนดมาตรการ ดําเนินการตางๆ ไดเหมาะสมกับแตละพื้นที่ดวย พื้นที่ที่มีการจัดการแบง เขตควบคุม ไดแก พื้นที่เขตตนน้ํา เขตวนอุทยาน อุทยานแหงชาติ เขตปา สงวน เขตหามลาและเขตรักษาพันธุสัตวปา เปนตน สร า งขึ้ น เข า มาช ว ยดํ า เนิ น การ ซอมแซมสวนที่เสียหาย จนทําให สิ่งแวดลอมสามารถกับสูสภาพเดิม ไดอีก เชน การใชเทคโนโนยีในการ บําบัดน้ําเสียจากโรงงานใหกลับเปน น้ําสะอาด เปนตน 4. การพัฒนา หมายถึง การพัฒนาปรับปรุงสิ่งที่เปนอยูให ดี ขึ้ น เป น การเร ง หรื อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพใหไดผลผลิตทีดขี น้ึ การพัฒนา

ที่มาและไดรับอนุญาตจาก : ดร.ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ. ชีวิตกับสิ่งแวดลอมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน.

82 ThaiPrint Magazine

80-82 pc1.indd 82

6/9/2555 20:34:43


47 Ad Pro series_m19.pdf

1

6/14/11

5:03 PM

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

47 77 Ad Ad Pro Pro Series Series by by SCG SCG #91_pc3.indd #92_pc3.indd 47 1

19/4/2555 6/7/2555 15:58:18 4:53:04


Print News

มร. โคจิ เทสึกะ

บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศแตงตั้งประธานคนใหม วันที่ 25 กรกฎาคม 2555 - บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด แตงตั้ง “มร. โคจิ เทสึกะ” ดํารงตําแหนงประธานบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อทําหนาที่ดูแลและกําหนดทิศทาง นโยบายตางๆ ขององคกร พรอมทั้งชวยขับเคลื่อนการเติบโตทางธุรกิจใหกับบริษัท เพื่อใหกาวไป สูความเปนที่หนึ่งในธุรกิจดานงานพิมพของประเทศไทย มร. โคจิ เทสึกะ เริ่มตนการทํางานที่ ฟูจิ ซีร็อกซ ประเทศญี่ปุน ตั้งแตป พ.ศ. 2524 จนถึงปจจุบันมี ประสบการณการทํางานที่ยาวนานถึง 31 ป โดยทําหนา ที่ ใ นการดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบด า นการขายและดํ า รง ตําแหนงในระดับผูบ ริหารของ ฟูจิ ซีรอ็ กซ มาโดยตลอด โดยดูแลรับผิดชอบในระดับภูมิภาคครอบคลุมหลาย ประเทศ อาทิ ญี่ปุนและสิงคโปร เปนตน นอกจากนี้ ยั ง เป น ส ว นหนึ่ ง ในการผลั ก ดั น ให ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ประสบความสําเร็จดวยดีเสมอมาจนถึงปจจุบันไดเขา ดํารงตําแหนงประธานบริษัทฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด

มร.มาซาชิ ฮอนดะ ประธานเจาหนาที่บริหาร ประจําภูมิภาคเอเชียของ ฟูจิ ซีร็อกซ กลาววา “บริษัท ได เ ล็ ง เห็ น ว า จากประสบการณ ทํ า งานและความรู ของ มร. โคจิ เทสึกะ เปนบุคคลที่มากดวยความ สามารถและเขาใจถึงธุรกิจดานงานพิมพเปนอยางดี และยังมีประสบการณการทํางานที่ ฟูจิ ซีร็อกซ ใน ภูมิภาคเอเชียหลายประเทศ ซึ่งความสามารถนี้จะเปน แรงในการขับเคลื่อนและผลักดันใหบริษัทประสบความ สําเร็จอยางแนนอน” ดานการศึกษา มร. โคจิ เทสึกะ สําเร็จการศึกษา ในระดับปริญญาตรี สาขาพาณิชยศาสตร มหาวิทยาลัย วาเซดะ ในป 2524

84 ThaiPrint Magazine

84-85 pc1.indd 84

11/9/2555 5:07:54


Fuji Xerox เกี่ยวกับฟูจิ ซีร็อกซ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ จํากัด เปนบริษัทรวมทุน แบบ 75-25 ระหวางบริษัท FUJIFILM Holdings Corporation และ Xerox Corporation (ประเทศ สหรัฐอเมริกา) ซึ่งพัฒนาผลิตและจําหนายอุปกรณหรือ เครื่องพิมพในสํานักงาน เครื่องดิจิตอลสีและขาวดํา แบบมัลติฟงกชั่น รวมไปถึงซอฟตแวรดานการจัดการ เอกสารโซลูชั่นและการใหบริการทั้งในประเทศญี่ปุน และภูมิภาคเอเชียแปซิฟค นอกจากนี้ ยังผลิตเครื่องถาย เอกสารระบบดิจิตอล เครื่องมัลติฟงกชั่นและพริ้นเตอร สําหรับจําหนายทั่วโลกอีกดวย ฟูจิ ซีร็อกซ มุงเนนการวิจัยและพัฒนาจึงนํา ไปสูนวัตกรรมใหมที่กาวล้ําสุดยอดของเครื่องอุปกรณ

ตางๆ เปนจํานวนมาก ทําใหฟูจิซีร็อกซกลายเปนผูนํา ด า นเทคโนโลยี ร ะดั บ โลกซึ่ ง ช ว ยให ลู ก ค า สามารถ เพิ่มมูลคาในดานตางๆ เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน และเพิ่มประสิทธิผลของการผลิตไดมากยิ่งขึ้น ฟูจิ ซีรอ็ กซ กอตัง้ ขึน้ เมือ่ ป 1962 โดยมี สํานักงานใหญอยูใ นกรุงโตเกียว ประเทศญีป่ นุ มีพนักงาน จํานวนมากกวา 40,000 คนทั่วโลก และมีกลุมบริษัท ในเครือรวมทั้งตัวแทนจําหนายมากกวา 70 แหง ทั้ง ภายในประเทศและตางประเทศ สําหรับขอมูลเพิ่มเติม กรุณาดูไดจาก www.fujixerox.com

ประกาศ

ขออภัยในความผิดพลาดจากวารสารฉบับที่ 92 เนื่องจากในวารสารฉบับที่ 92 หนา 28 ไดมี การลงรายชื่อที่ปรึกษา สมาคมการพิมพไทย วาระ 2555-2557 และเกิดความผิดพลาดในการลิงครูป จากรูปของคุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ บริษัท ฐานการ พิมพ จํากัด เปนรูปของคุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน บริษัท ซันไชนเพรส จํากัด ทางสมาคมการพิมพไทย จึงขอแกไขขอความ เพื่อความถูกตองและขออภัยในความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นมา ณ โอกาสนี้ดวย ดวยความเคารพ

คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ

(นายอนันต ขันธวิเชียร) บรรณาธิการบริหาร

บริษัท ฐานการพิมพ จํากัด ThaiPrint Magazine 85

84-85 pc1.indd 85

11/9/2555 5:16:41


86-87 Ad Sri Aksorn pc1.indd 1

7/9/2555 3:43:25


86-87 Ad Sri Aksorn pc1.indd 2

7/9/2555 3:43:31


ad BK Conroll_m19.indd 1

4/10/10 1:47 AM


Ad MD 1-2 #93_pc3.indd 89

7/9/2555 16:55:32


90 Ad Bottcher� #93_pc3.indd 90

7/9/2555 11:31:15


91 Ad seethong pc1.indd 1

7/9/2555 3:46:48


Automatic Die-Cutting Machine

Fully Automatic Laminator

High Speed U.V Spot Coating Machine High-Speed Water-Based FilmLaminating Machine

High speed fully automatic folder gluer Automatic Case Making Machine

67376 Ad Hongei pc1.indd 92

11/9/2555 4:52:35


67376 Ad Hongei pc1.indd 93

11/9/2555 4:52:53


Thai Print Laboratory

พิพิธภัณฑ์กระดาษ

(Paper Museum) โดย พิวัส สุขณียุทธ

สวัสดีครับทานผูอานทุกทาน สําหรับคอลัมนของ Thai Print Laboratory ฉบับนี้ ขออนุญาตนําพา

ทุกทานมาพบกับพิพิธภัณฑกระดาษ (Paper Museum) ของประเทศญี่ปุน ซึ่งคาดวาหลายๆ ทานที่เคยไป ประเทศญี่ปุนอาจจะยังไมทราบวามีพิพิธภัณฑกระดาษอยูดวย ดังนั้น เมื่อผมมีโอกาสมาที่แหงนี้จึงอยากนํา มาเลาสูกันฟง เผื่อวาทานใดอาจมีโอกาสจะไดแวะไปเยี่ยมชมดวยตนเองครับ สําหรับพิพิธภัณฑกระดาษแหงนี้ตั้งอยูที่โอจิ เขตคิตะ ในจังหวัดโตเกียว โดยพิพธิ ภัณฑแหงนีต้ ง้ั อยูภ ายในสวนสาธารณะอะสึกะยามะ (Asukayama Park, ) โดยเปดทําการทุกวัน เวนวันจันทร วันหยุดประจําชาติ และชวงวัน หยุดขึ้นปใหม เปดทําการตั้งแตเวลา 10.00 – 17.00 น. เสียคาเขาชมสําหรับ ผูใหญ 300 เยน เด็ก 100 เยน ซึ่งการเดินทางไปเยี่ยมชมนั้นสะดวกมาก โดย สามารถเดินทางมาไดทั้งรถไฟหรือรถเมล โดยถามาโดยรถไฟ JR ใหขึ้นสายอารา คาวะ แลวลงที่สถานีโอจิ ออกทางประตูทิศใตแลวเดินตออีกประมาณ 5 นาที หรือ อาจนั่งรถไฟใตดินสายนัมโบคุ ลงที่สถานี นิชิกาฮาระ แลวเดินตออีก ประมาณ 7 นาที ก็ถึงเชนกัน แตสําหรับคนที่ไปครั้งแรกโดยที่ไมมีใครพาไปนั้น อาจจะหายากหนอยวาตองเดินเขาทางไหน เพราะเดินหาครั้งแรกผมก็ไมคอย มั่นใจ แตถาเดินจากสถานีไปเรื่อยๆ จนเจอปอมตํารวจแลวละก็มั่นใจไดวาใกล ถึงแลว จากนั้นใหเดินตอไปอีกหนอยก็จะพบกับบันไดขึ้นไปเปนทางเขาสวนสา ธารณะอะสึกะยามะแลวก็จะพบพิพิธภัณฑกระดาษ ซึ่งจะมีจุดเดนที่ตรงทาง กอนทางเขาจะมีหัวรถจักรไอน้ําขางๆ สนามเด็กเลน แปลกตาไปอีกแบบนึกวา มาสวนรถไฟ

เมื่อเขามาภายในพิพิธภัณฑ กระดาษ ก็จะพบกับบรรยากาศอีก แบบที่ ไ ม ค อ ยจะได สั ม ผั ส นั ก กั บ พิพิธภัณฑขนาดเล็กๆ แตอัดแนนไป ดวยเนื้อหาสาระที่ถูกนํามายอย และ ถายทอดเรื่องราวตางๆ ใหเขาใจงายๆ อีกทั้งยังสามารถถายรูปได เวนแต เฉพาะบางบริ เวณที่ ห า มถ า ยเท า นั้ น หลายๆ ทานอาจจะนึกวา การมาเยีย่ ม ชมพิพิธภัณฑกระดาษที่ญี่ปุนแลว จะ ต อ งมาเจอกั บ กระดาษญี่ ปุ น หรื อ ที่ เรียกวา วาชิ นั้น ก็คงไมใชสักทีเดียว หากแตเปนพิพิธภัณฑที่นําเสนอการ ผลิตกระดาษในทุกรูปแบบ ตั้งแตสมัย โบราณขึ้นแผนดวยมือ จนกระทั่งเปน เครื่องจักรขนาดใหญในปจจุบัน ซึ่ง ทั้งหมดถูกรอยเรียงเรื่องราวไดอยาง ลงตัว แตการมาเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ กระดาษแหงนี้ ขอแนะนําใหพาลาม หรือคนที่รูภาษาญี่ปุนมาชวยอธิบาย จะดีมาก เพราะเนื้อหาตางๆ นั้น เกือบทั้งหมดเปนภาษาญี่ปุน ซึ่งถาไม รู ภ าษาญี่ ปุ น แล ว ละก็ อ าจจะเกิ ด อาการเซ็งเอาไดงายๆ

หัวรถจักรไอน้ํา จุดเดนตรงทางเขา 94 ThaiPrint Magazine

94-99 pc1.indd 94

6/9/2555 3:01:29


Paper Museum

ภายในอาคารของพิพิธภัณฑ กระดาษนั้นจะแบงเปน 4 ชั้น โดยชั้น ที่ 1 เปนหองสมุดแตเนื่องจากผมมี เวลาจํากัดก็เลยไมไดเขาไปเยื่ยมชมที่ ชั้น 1 จึงขอเก็บภาพมาฝากทานผูอาน ตั้งแตชั้นที่ 2 – 4 เลยนะครับ โดยทาง เขาที่เดินเขามานั้นจะนํามาสูชั้นที่ 2 ซึ่ ง ใครที่ เข า มาแล ว มี สั ม ภาระเยอะก็ ฝากไวที่ลอกเกอรก็ได (ใชเหรียญ 100 เยน หยอดเปนคามัดจํา ไดคืนเมื่อ ตอนกลับมาเปดเอาของออก) จาก นั้นก็ไปซื้อตั๋วที่เครื่องขายตั๋วแลวเดิน เขาภายในพิพิธภัณฑไดเลย หรือใคร ที่อยากจะเล็งเลือกดูของที่ระลึกกอน เขาก็ไดเพราะรานตั้งอยูตรงทางกอน เขาดานใน ภายในชั้นที่ 2 นี้จะเปน สวนการจัดแสดงสวนแรกที่เกี่ยวของ กับอุตสาหกรรมการผลิตกระดาษใน แบบสมัยใหม (Modern Paper Industry) โดยจะมีตั้งแตแบบจําลองของ โรงงานกระดาษ เครื่องจักรตางๆ ที่ ใชในการผลิต วัตถุดิบ สารเคมีตางๆ ที่ใชในการผลิต ตัวอยางผลิตภัณฑ กระดาษและการใชงาน ซึ่งในชั้นนี้จะ มีวิทยากรคอยบรรยายใหความรูอยู ตลอด (ภาษาญี่ปุนเทานั้น) ขอบอกวา เห็นชั้นที่ 2 แคบๆ แบบนี้แตเนื้อหา นี่เยอะมาก ใหความรูสึกเหมือนเอา ความรูในตําราเรียนเกี่ยวกับกระดาษ มาอธิบายใหเขาใจไดงายๆ เปนอยาง ดี

บรรยากาศภายในชั้นที่ 2 เริ่มดวยแบบจําลองของโรงงานกระดาษสมัยใหม (เครื่องผลิตกระดาษแบบโฟรดิเนียร)

วิดีโอความรูเกี่ยวกับการผลิตกระดาษ

ThaiPrint Magazine 95

94-99 pc1.indd 95

6/9/2555 3:02:13


Thai Print Laboratory

ตัวอยางชิ้นไม (wood chip) ดานบนเปนไมยูคาลิปตัส ดานลางอาคาเชียร วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช ใ นการผลิ ต กระดาษ อธิบายถึงการตัดไม เอาเปลือกออกแลว ผ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต ต า ง เ พื่ อ แยกเสนใยออกเปนเสนใยเดี่ยวสําหรับ การผลิตกระดาษ

ตัวอยางเยือ่ ชนิดตางๆทีผ่ ลิตแยกเปนขวดบนพืน้ สีฟา เปนเยือ่ เคมี พืน้ สีชมพูเยือ่ เชิงกล พืน้ สีเขียวเยือ่ รีไซเคิล และตัวอยางเยือ่ อัดแผน ซึง่ เปนเยือ่ ทีถ่ กู อัดใหเปนแผนกอนที่ จะขนสงไปยังโรงผลิตกระดาษ เพือ่ นําไปตีกระจายเยือ่ แลวผลิตเปนกระดาษตอไป

เครือ่ งบดเยือ่ เชิงกล (pocket grinder) โดยจะบดทอนไมทถ่ี กู ใสดา นขางทัง้ สองดานแลวกาน สูบทั้งสองดานจะบีบอัดชิ้นไมใหสัมผัสกับหินบดที่สวนหนึ่งแชอยูในน้ําและหมุนอยูตรง กลางของเครือ่ งเพือ่ แยกเสนใยจากชิน้ ไมออกเปนเสนใยเดีย่ วๆ ซึง่ จะไดออกมาเปนน้าํ เยือ่

สารเคมีท่ีใชในการตมเยื่อขวดซายคือ ไวทลคิ เคอร (white liquor) ทีเ่ ปนสาร ละลายของโซเดียมไฮดรอกไซด (NaOH) กับโซเดียมซัลไฟด (Na2S) ทีใ่ ชในการผลิต เยือ่ แบบคราฟท (Kraft process) เมือ่ ตม ชิน้ ไมไดเยือ่ แลวจะได แบล็ค ลิคเคอร (black liquor) ทางขวดซาย ซึง่ สามารถ นํ า มารี ไซเคิ ล ให ไ ด ไวท ลิ ค เคอร เ พื่ อ นําไปใชใหมอกี ได

เมื่อรูสึกเต็มที่กับความรูที่อัด แนนอยูในชั้น 2 เรียบรอยแลวก็มาตอ กันที่ชั้น 3 ซึ่งเปนสวนจัดแสดงสวนที่ 2 เป น ห อ งสํ า หรั บ การเรี ย นรู เ กี่ ย วกั บ กระดาษ (Learning Room for Paper) ซึ่ ง จะมี กิ จ กรรมให เ ล น สนุ ก มากมาย เหมาะสําหรับคุณหนูๆ เปนอยางยิ่ง (ผูใหญก็เลนไดนะครับ)

96 ThaiPrint Magazine

94-99 pc1.indd 96

6/9/2555 3:02:31


Paper Museum

มุมมาผลิตกระดาษกันเถอะ

วัตถุดิบที่ใชผลิตกระดาษ ขนาดขี้ชางก็ยังมี

โครงสรางชิน้ ไมทส่ี ามารถถูกแยกออกมา เปนเสนใยเดีย่ วๆ เพือ่ ผลิตกระดาษ

มุมรีไซเคิล อันนี้มีขอมูลที่ละเอียดและมีตัวอยางใหดูดวย

มุมความรูใ นการปลูกตนไมเพือ่ ผลิต กระดาษ ปลูกกีป่  แลวอีกกีป่ จ งึ ตัดมาผลิต กระดาษได ซึง่ ก็ไมไดใหขอ มูลในเชิงวาใช กระดาษแลวทําลายปาทุกกรณี แตใหขอ เท็จจริงเกีย่ วกับเรือ่ งการปลูกทดแทนและ การปลูกปาเพือ่ นําไปใชในอุตสาหกรรม

มุมตัวอยางกระดาษที่มีใชกันโดยทั่วไปในญี่ปุน เยอะมากๆ ThaiPrint Magazine 97

94-99 pc1.indd 97

6/9/2555 3:02:54


Thai Print Laboratory

กระดาษปาปรสั ของอียปิ ตผลิตจากตนกกปาปรสั (Papyrus) ซึง่ ยังไมใชกระดาษแบบปจจุบนั เพราะใชการขัดสานกันของเยือ่ ไม ไมไดแยกเสนใยออกโดยการตมเหมือนในปจจุบนั

ตย.กระดาษจากทัว่ โลก ใหเดาวากระดาษ สีขาวๆ ดานบนนัน้ มาจากประเทศอะไร?

กรรมวิธีการผลิตกระดาษจากที่ตางๆ ทั่วโลก

หลังจากทีง่ งงวยกับชัน้ ที่ 2 ก็ พอเขาใจไดวา ทําไมเด็กๆ ญีป่ นุ สามารถ แยกขยะกระดาษรวมถึงขยะประเภท ตางๆ ได ก็เพราะมีการผลิตสื่อออก มาเพื่ออธิบายใหเขาใจงายรวมถึงยังมี เอกสารแจกใหอา นฟรีๆ อีกเยอะ ถัดมา ก็ขอพาขึน้ ไปดูชน้ั ที่ 4 ดีกวา ภายในชัน้ ที่ 4 นี้ แบงออกเปน 2 บริเวณ โดยใน บริเวณแรกจะกลาวถึงประวัติศาสตร ของกระดาษทั่ ว โลกตั้ ง แต ก ระดาษ ปาปรสั ของอียปิ ต จนมาเปนหลักการ ผลิตกระดาษในปจจุบันที่มีตนกําเนิด จากประเทศจีน และจากนั้นก็มีการ กระจายกรรมวิธีการผลิตไปยังที่ตางๆ ทัว่ โลก รวมถึงญีป่ นุ ทีไ่ ดมกี ารพัฒนาวิธี การผลิตและเครื่องจักรตางๆ ตามยุค สมัย และอีกสวนหนึ่งจะเปนสวนจัด แสดงนิทรรศการตางๆ อันที่จริงยังมีสวนนิทรรศการ ซึ่ ง มี ก ารจั ด แสดงกระดาษที่ พั บ เป น รูปตางๆ หรือที่เรียกวาโอริกามิ แต เนื่องจากบริเวณนั้นหามถายรูปจึงไม สามารถเก็บภาพมาฝากทานผูอานได หากทานใดมีโอกาสเดินทางไปประเทศ ญี่ปุน ก็อยาลืมลองแวะมาเยี่ยมชม พิพิธภัณฑแหงนี้ดูนะครับ

เสนทางการเผยแพรกระดาษที่มีจุดกําเนิดจากจีน 98 ThaiPrint Magazine

94-99 pc1.indd 98

7/9/2555 15:15:18


Paper Museum

ไดโอรามา บอกเรือ่ งราว การผลิตกระดาษของญีป่ นุ ในอดีต

ตัวอยางกระดาษโบราณ

เครือ่ งจักรผลิตกระดาษเครือ่ งแรกของโลก

ตัวอยางสิ่งพิมพสมัยโบราณ

สุดทายนี้ ถาเปนไปไดอยากใหโรงงานกระดาษในประเทศไทย ทํา พิพิธภัณฑกระดาษในลักษณะนี้บางเหมือนกัน เพราะนอกจากจะใหความรูใน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการผลิตกระดาษ และประวัตศิ าสตรของกระดาษ แลว ยังมีสวนทําใหเด็กๆ เกิดการเรียนรูในการเปนสวนรวมของสังคมเพื่อชวย กันแยกขยะกระดาษนําไปรีไซเคิลตอไดดวย เพราะโดยสวนตัวอยากเห็นประเทศ ไทยแยกขยะกันอยางเปนระบบ เพื่อทําใหการนําขยะกลับไปรีไซเคิลไดอยางมี ประสิทธิภาพมายิ่งขึ้นและยังสามารถชวยกันรักษาสิ่งแวดลอมไดดวยครับ สําหรับทานใดที่สนใจตองการศึกษาขอมูลเพิ่มเติมหรือวางแผนเดิน ทางไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑกระดาษแหงนี้ สามารถคนหาขอมูลไดที่ http://www.papermuseum.jp/en/

ตัวอยางไมสาํ หรับผลิตกระดาษญีป่ นุ ThaiPrint Magazine 99

94-99 pc1.indd 99

7/9/2555 15:16:04


Thai Printing

พระบิดาแห่งการพิมพ์ไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ป พ.ศ.2394 หมอบรัดเลยไดเชาที่หลวงปลูก

ป พ.ศ.2401 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา

บานที่ปากคลองบางหลวง (คลองบางกอกใหญ) หลัง ปอมวิชัยประสิทธิ์ ปจจุบันเปนกรมเสนาธิการทหารเรือ ชวงนี้ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยูห วั รัชกาลที่ 4 หมอบรัดเลยไดซอื้ กิจการของโรงพิมพ คณะ A.B.C.F.M. ตัง้ ชือ่ โรงพิมพใหมวา American Missionary Association Press หมอบรัดเลยไดวาง รากฐานการพิมพใหกับประเทศไทยเปนอยางมาก ไม วาจะเปนการหลอตัวพิมพ การเรียงพิมพ รวมทั้งยังเปน ครูการพิมพคนแรกก็วาได ดังนั้นเราจึงยกยองใหหมอ บรัดเลย เปนครูการพิมพคนแรกของไทย

เจาอยูหัวทรงโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้งโรงพิมพหลวงขึ้นใน พระบรมมหาราชวัง ณ บริเวณสวนศิวาลัย ปจจุบนั คือ พระทีน่ ง่ั ภาณุมาศจํารูญ ใชชอ่ื วา โรงพิมพอกั ษรพิมพการ และไดออกหนังสือทีย่ งั มีจนถึงปจจุบนั คือ ราชกิจจานุเบกษา ฉบับแรกออกวันที่15มีนาคมพ.ศ.2401หนังสือนีอ้ อกเพือ่ แจงขาวราชการและกฎหมายตางๆ แกประชาชนใหทราบโดย ทัว่ ถึ ง กั น และถู ก ต อ งราชกิ จ จานุ เ บกษานี้ จ ะแจกจ า ย แกสมาชิกและปดประกาศใหทราบโดยทั่วไป

โรงพิมพของหมอบรัดเลย

ราชกิจจานุเบกษาฉบับแรก

100 ThaiPrint Magazine

100-104 pc1.indd 100

6/9/2555 3:11:15


พระบิดาแหงการพิมพไทย ป พ.ศ.2402 หมอบรัดเลยออกหนังสือ บางกอกคาเลนเดอร

(Bangkok Calendar) เปนนิตยสารรายป ออกติดตอกันเปนเวลานานถึง 14 ป ป พ.ศ.2404 หมอบรัดเลยไดซื้อลิขสิทธิ์หนังสือนิราศลอนดอน ของหมอมราโชทัย นับเปนการซื้อขายลิขสิทธิ์ทางการพิมพเปนครั้งแรกใน ประวัติศาสตรของไทย นอกจากนี้หมอ บรัดเลยยังไดแตงและแปลหนังสือ เอง เชน หนังสือเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญอเมริกา

15 มิถุนายน พ.ศ. 2404 การซื้อขายลิขสิทธิ์ครั้งแรกในเมืองไทย

ป พ.ศ.2412 แซมมวล จอหน สมิธ (Samuel John Smith) ไดตั้ง

โรงพิมพที่ตําบลบางคอแหลม หมอสมิธเรียกตัวเองวาครูสมิธ เพราะสอน หนังสือดวย จึงเรียกวาโรงพิมพครูสมิธ จัดพิมพหนังสือประเภทรอยกรอง ประเภทหนังสือประโลมโลกพวกจักรๆ วงศๆ เชน คาวี อุณรุท จันทโครพ อิเหนา รามเกียรติ์ สังขทอง พระอภัยมณี ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีหนังสือ สยามรีโปสิโตรี (Siam Repository) ราย 3 เดือน หนังสือสยามวีคลีแอดเวอร ไทเซอร (Siam Weekly Advertiser) รายสัปดาห หนังสือจดหมายเหตุสยาม รายเดือนเปลี่ยนเปนรายปกษและรายสัปดาห เปนตน

หนังสือที่พิมพที่โรงพิมพครูสมิธ

ป พ.ศ.2440 โรงพิมพ

อักษรพิมพการ ไดยายไปยังกอง มหันตโทษจึงเปลีย่ นชือ่ เปนโรงพิมพ กองมหันตโทษ ภายหลังยายไปที่บางขวางจึง เปลี่ยนชื่อเปนโรงพิมพลหุโทษ และ ในป พ.ศ.2482 จึงเปลี่ยนเปนชื่อโรง พิมพมหาดไทย เมื่อกาวเขาสูสมัยพระบาท สมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล า เจ า อยู หั ว รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร การ พิมพก็ไดกาวหนาไปเปนอยางมาก เพราะอารยธรรมตะวันตกหลั่งไหล เขาสูส ยามประเทศ มีการเปดโรงพิมพ ไปในสวนตางๆ ของประเทศ โดย เฉพาะในกรุงเทพฯ มีโรงพิมพเกิดขึ้น ใหมเปนจํานวนมาก พรอมกับนํา ระบบการพิมพและเครื่องพิมพและ เทคโนโลยีทางการพิมพใหมๆ เขามา การพิมพเริ่มมาซบเซาเอา เมื่อสมัยรัชกาลที่ 7 และรัชกาลที่ 8 เนื่องจากประเทศไทยประสบภาวะ เศรษฐกิจตกต่าํ และเผชิญกับสงคราม โลกครั้งที่ 2 วัสดุและอุปกรณการ พิมพขาดแคลนเปนอยางมาก ที่มี อยู ก็ มี คุ ณ ภาพต่ํ า และราคาแพง เมื่ อ ผ า นพ น ภาวะดั ง กล า วไปแล ว การพิ ม พ ก็ เริ่ ม ฟ น ตั ว และเริ่ ม กลั บ เข า สู ภ าวะปกติ แ ละพั ฒ นาขึ้ น เป น อยางมาก ใ น ป จ จุ บั น ก า ร พิ ม พ ใ น ประเทศไทย นอกจะจัดพิมพเพื่อคน ไทยแล ว ยั ง สามารถส ง ออกด า น การพิมพ ไมวา จะเปนการทําตนฉบับ พิมพ การแยกสี การทําสิ่งพิมพ สําเร็จหรืออื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการ พิ ม พ เ ป น สิ น ค า ส ง ออกป ห นึ่ ง นั บ หลายหมื่นลานบาท ThaiPrint Magazine 101

100-104 pc1.indd 101

6/9/2555 3:11:25


Thai Printing

วิวัฒนาการการศึกษาวิชาการพิมพของประเทศไทย วิ ช าการพิ ม พ ไ ด เริ่ ม การ เรี ย นการสอนตั้ ง แต ห มอบรั ด เลย มาชวยตั้งโรงพิมพของคณะอเมริกัน บอรดที่บานเชาของเจาพระยาพระ คลัง (สมเด็จเจาพระยาพระบรมมหา ประยูรวงศ) ทีห่ นาวัดประยูรวงศาวาส ราวปลายป พ.ศ. 2380 เปนการ ศึ ก ษาแบบนอกระบบโดยไม ไ ด ตั้ ง เปนโรงเรียน แตเปนการสอนและฝึก ปฏิบัติงาน เพื่อให้มีความรูและเกิด ทักษะพรอมที่จะทํางานในโรงพิมพ ได โดยสอนตั้งแตการเรียงพิมพ การ เปนชางพิมพ เปนตน หมอบรัดเลย เป น ผู ส อนจึ ง สมควรได รั บ เกี ย รติ หมอบรัดเลย ในฐานะเปนครูการพิมพคนแรกใน วงการพิมพไทย ป พ.ศ.2404 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดสงขาราชการไปศึ ก ษาดู ง านด า นการพิ ม พ ที่ ป ระเทศอั ง กฤษโดยส ง ขุ น มหาสิทธิโวหารเดินทางรวมไปกับคณะทูตไทย ทรงมอบหมายใหศกึ ษาและ ดูงานดานการพิมพ เพื่อจะไดนาํ วิทยาการความรูใ หมๆ มาปรับปรุงโรงพิมพ หลวงที่ไดทรงตั้งขึ้น ป พ.ศ.2476 ไดเปดการเรียนการสอนอยางในระบบ คือ โรงเรียน ชางพิมพวัดสังเวช ตั้งอยูที่ถนนพระสุเมรุ ริมคลองบางลําพู ตรงขามวัด สังเวชวิศยาราม สังกัดกระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการในปจจุบัน) รับนักเรียนที่จบการศึกษาชั้นมัธยมปที่ 3 เรียนตอหลักสูตร 4 ป ภาย หลังลดระดับลงมารับนักเรียนจบชั้นประถมปที่ 4 เรียนตอหลักสูตร 3 ป โรงเรียนนีผ้ ลิตชางเรียง ชางพิมพ หรือแมแตชางพับ ซึ่งสอนทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ เปดสอนได 11 ป เลิกไปในป พ.ศ.2487

ป พ.ศ.2489 บาทหลวงดอน

บอสโก (Don Bosco) สังกัดนิกาย โรมันคาทอริก ได้ก่อตั้งโรงเรียน ดอนบอสโก ที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม

บาทหลวงดอนบอสโก

กรุงเทพมหานคร เปดสอนวิชาชาง ตางๆ ซึ่งมีวิชาชางพิมพรวมอยูดวย รั บ เด็ ก กํ า พร า และเด็ ก ยากจนเข า เรียนโดยไมจํากัดความรูและไมเก็บ คาเลาเรียน ตอมาในป พ.ศ.2518 ได เ ปลี่ ย นมาใช ห ลั ก สู ต รประโยค วิชาชีพของกระทรวงศึกษาธิการ รับ ผูจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เรียน 3 ป ไดรับประกาศนียบัตร ประโยควิชาชีพ (ปวช.)

โรงเรียนชางพิมพแหงแรกของประเทศไทย กอสรางในป พ.ศ.๒๔๗๕ 102 ThaiPrint Magazine

100-104 pc1.indd 102

6/9/2555 3:11:31


พระบิดาแหงการพิมพไทย

ป พ.ศ.2496 กรมอาชีวศึกษา ไดเปดการ ชางพิมพออฟเซตสีเดียว ชางพิมพออฟเซตสอดสี ชาง

เรี ย นการสอนในระดั บ อาชี ว ศึ ก ษาโดยตั้ ง วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ ตั้งอยูที่ซอยสวนพลู ถนนนางลิ้นจี่ แขวงทุงมหาเมฆ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ ปจจุบันเปลี่ยนสถานภาพเปน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเทคนิคกรุงเทพ ไดเปดการเรียนการสอนวิชาการพิมพ โดยรับผูสําเร็จ การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปที่ 3 ศึกษาตออีก 3 ป จะไดรับประกาศนียบัตรประโยควิชาชีพ (ปวช.) และ สามารถศึกษาตออีก 2 ป จะไดรับประกาศนียบัตร ประโยควิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ตอมาในป พ.ศ.2534 ได เปดการเรียนการสอนถึงระดับปริญญาตรี ป พ.ศ.2504 กรมอาชีวศึกษา ไดเปดสอน วิ ช าช า งเรี ย งและช า งพิ ม พ ใ นโรงพิ ม พ ส ง เสริ ม อาชี พ สังกัดกองสงเสริมอาชีพ ตอมาในป พ.ศ. 2510 ไดตง้ั โรงเรียนสารพัดชางพระนคร ทีถ่ นนบํารุงเมือง แขวงบาน บาตร เขตปอมปราบศัตรูพา ย กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ ส ง เสริ ม อาชี พ จึ ง ถู ก เปลี่ ย นสถานภาพเป น แผนกวิชา ชางพิมพ โดยเปดสอนชางพิมพระบบเลตเตอรเพรส

แทนพิมพเบือ้ งตน ชางแทนพิมพอตั โนมัติ และชางเรียง พิมพ มีทั้งหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งมีทั้ง 150 ชั่วโมง และ 300 ชัว่ โมง เมือ่ เรียนครบหลักสูตรจะไดใบรับรอง สวนหลักสูตรระยะยาว 3 ป (ทวิภาคี คือเรียนควบคู กับการทํางาน) หลักสูตรนี้เมื่อสําเร็จการศึกษาจะไดรับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ป พ.ศ.2522 วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีว ศึกษา วิทยาเขตภาคพายัพ ตั้งอยูที่ตําบลหวยแกว อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ปจจุบนั คือ สถาบันเทคโน โลยีราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ ไดเปดการเรียน การสอนวิชาการพิมพ โดยรับผูส าํ เร็จการศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาปที่ 3 ศึกษาตออีก 3 ป จะไดรับประกาศ นียบัตรประโยควิชาชีพ (ปวช.) และสามารถศึกษาตอ อีก 2 ป จะไดรับประกาศนียบัตรประโยควิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ซึ่งเปดรับผูศึกษาเชนเดียวกับวิทยาเขตเทคนิค กรุงเทพ ป พ.ศ.2527 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดย ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร ท างภาพถ า ยและเทคโนโลยี

การเรียงพิมพดวยตัวตะกั่วหรือที่เรียกกันวา letterpress ซึ่งเปนระบบการพิมพที่เกาแกที่สุดในโลกระบบหนึ่ง ThaiPrint Magazine 103

100-104 pc1.indd 103

6/9/2555 3:11:43


Thai Printing

ทางการพิมพ คณะวิทยาศาสตร ไดเปดการเรียนการ สอนวิชาการพิมพในระดับปริญญาตรี โดยรับผูสําเร็จ การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 (ม.6) ใชเวลาศึกษา 4 ป เมื่ อ จบการศึ ก ษาจะได รั บ วุ ฒิ วิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต (วท.บ.ภาพถายและการพิมพ) นับเปนสถาบันการศึกษา แหงแรกในประเทศที่เปดการเรียนการสอนถึงปริญญา ตรี และในป พ.ศ.2539 ไดเปดสอนถึงระดับปริญญาโท ในหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโน โลยีทางภาพ ป พ.ศ.2528 วิทยาลัยครูสวนสุนันทา ตั้งอยู เลขที่ 1 ถนนอูทองนอก แขวงดุสิต เขตดุสิต กรุงเทพฯ เปนวิทยาลัยครูแหงเดียวใน 41 แหงทั่วประเทศ ที่ไดเปด การเรียนการสอนวิชาการพิมพ โดยโปรแกรมวิชาเทคโน โลยีการพิมพ รับผูจบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาป ที่ 6 เขาศึกษาเปนเวลา 2 ป เมื่อสําเร็จการศึกษาจะได รับวุฒิอนุปริญญาวิทยาศาสตร (อ.วท.การพิมพ) ในป พ.ศ. 2538 วิทยาลัยครูสวนสุนันทา เปลี่ยนสถานภาพ เปนมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในป พ.ศ. 2547 ไดรับอนุมัติหลักสูตรปริญญาตรี เทคโนโลยีการพิมพ (วท.บ. เทคโนโลยีการพิมพ) และหลักสูตร ปริญญาตรี 2 ป (หลังอนุปริญญา) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ. เทคโนโลยีการพิมพ) เปดสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป เปนปแรกในป พ.ศ.2543 และในป พ.ศ. 2548 กําลังดําเนินการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรี วท.บ. 2 ป (หลังอนุปริญญา) ในสาขาการจัดการการ พิมพ (Printing Management) ป พ.ศ. 2538 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเปดการเรียนการสอนวิชาการพิมพในระดับปริญญา ตรี รั บ ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาในระดั บ อนุ ป ริ ญ ญาหรื อ

เทียบเทาในสาขาวิชาการพิมพ ผูส มัครจะใชเวลาในการ ศึกษา 2 ป เมื่อสําเร็จการศึกษาจะไดวุฒิวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.เทคโนโลยีการพิมพ) นอกจากนี้ยังเปดศูนยฝก อบรมเทคโนโลยีการพิมพแหงชาติ ขึ้นในมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช โดยจัดฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น ตางๆ เชน หลักสูตรการพิมพออฟเซตเล็ก 3 วัน หลักสูตรการผลิตสิ่งพิมพบรรจุภัณฑ 3 วัน หลักสูตร ระบบมาตรฐานการพิมพ 2 วัน เปนตน ป พ.ศ.2538 สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี ไดเปดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี เทคโนโลยีการพิมพ โดยภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ คณะครุศาสตร อุตสาหกรรม โดยรับผูสําเร็จการศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 (ม.6) ใชเวลาศึกษา 4 ป เมื่อ จบการศึกษา จะไดรับวุฒิวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ. เทคโนโลยีการพิมพ) ปจจุบันเปลี่ยนสถานภาพเปน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ป พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ได เปดสอนระดับปริญญาโทในสาขาการพิมพ โดยคณะ ครุศาสตรอุตสาหกรรม ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี ผูสําเร็จการศึกษาจะไดคุณวุฒิ ค.อ.ม.ครุศาสตรเทคโน โลยี (การพิมพ) และป พ.ศ. 2548 กําลังเปดระดับ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.เทคโนโลยีการพิมพ)

สรุปทายบท

เทคโนโลยีการพิมพ ไดพัฒนาขึ้นอยางเปนลําดับนับ ตั้งแตมนุษยเริ่มรูจักการพิมพในป พ.ศ. 288 โดยชาว จีนเปนชาติแรกทีค่ ดิ คนการพิมพไดเปนผลสําเร็จ จากนัน้ ก็ไดทดลองปรับปรุงเทคนิคการพิมพตา งๆ ใหมศี กั ยภาพ เพิ่มขึ้น การเรียนรูประวัติศาสตรและวิวัฒนาการทาง การพิมพ ชวยใหเราทราบวามีความเปนมาอยางไรมี การพัฒนาอยางไร จากอดีตสูปจจุบันและเปนแนวคิด พื้นฐานสําหรับอนาคต เรายังคงตองพัฒนาการพิมพ ตอไปเรื่อยๆ เพราะไมมีศาสตรแขนงใดในโลกนี้ที่จะ หยุดยัง้ ในการพัฒนาตนเอง จวบจนปจจุบนั นีอ้ ตุ สาหกรรม สิ่งพิมพไทย เราสามารถผลักดันยอดสงออกสิ่งพิมพได สูงถึงหกหมื่นกวาลานบาทและมีแนวโนมที่จะทะลุแสน ลานบาทในอนาคตอันใกลนี้... ที่มา : www.whitemedia.org ชมรมผูบริโภคสื่อสีขาว

104 ThaiPrint Magazine

100-104 pc1.indd 104

6/9/2555 3:11:53


ผูบุกเเบิบิกกา การพิ าThai รพิมPrinting พ พสยา ยาม าม

139 ป รําลึกถึงหมอบรัดเลย.... ผูบ กุ เบิกการพิมพสยาม การที่ประเทศไทยเรามีการพิมพเกิดขึ้นมานั้นตองถือไดวาบุคคลทานนี้มีความสําคัญกับวงการพิมพของ ไทยเรามากซึ่งคนในกลุมอุตสาหกรรมการพิมพตางรูกันดีวาทานเปนผูที่ริเริ่มทําการพิมพครั้งแรกในเมืองไทยนับ แตอดีตกาลจนถึงปจจุบัน ในสมัยนั้นคนไทยรูจักทานวาเปนหมอสารพัดโรค เปนทั้งหมอผาตัด หมอฟน หมอตา หมอรักษาไขตางๆ ตลอดจนเปนหมอผดุงครรภ สวนคนรุนหลังมารูจักทานในฐานะนักหนังสือพิมพ เปนเอดิเตอร หนังสือพิมพภาษาไทยคนแรก เปนเจาของโรงพิมพที่พิมพหนังสือพงศาวดารจีนไวมากที่สุด ฉบับนี้ thaiprint จึง ขอรําลึกถึงทานอีกครั้งโดยขอนําเสนอชีวประวัติของหมดบรัดเลยเพื่อใหคนรุนหลังไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ ทานและความเปนมาของการพิมพไทยเรา นับตั้งแตวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๗๘ หนาประวัตศิ าสตรไทยก็เริม่ เปลีย่ นแปลงไปหลายๆ ดาน โดยบุคคลชาวตางชาติและตางศาสนาคนหนึ่งนามวา หมอบรัดเลย ไดเดินทางมาเหยียบแผนดินสยามครั้ง แรกและได ใช ชี วิ ต กว า ครึ่ ง ชี วิ ต ของท า นในการสร า ง คุณูปการแกสยามประเทศ ทั้งในดานการพิมพ การ แพทย ภาษา ศาสนา หนังสือพิมพและวิทยาศาสตร ซึ่งสมัยนั้นคนไทยและคนอเมริกาไดพบเห็นหนาทาน อยางเปนทางการครั้งแรกเมื่อสมัยในรัชกาลที่ ๓ และ ในครั้งนั้นประธานาธิบดีแยกสัน (Aandrew Jackson) ได แตงตั้งใหเอมินราบัดหรือเอดมันด รอเบิรตส (Edmond Roberts) เปนทูตขีเ่ รือกําปน เขามาทําหนังสือสัญญาทาง พระราชไมตรีและการคาขายเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๕ (ภาย หลังประเทศอังกฤษ) และตอจากนั้น ๓ ป หมอบรัดเลย ก็นั่งเรือใบเขามาในประเทศไทย ห ม อ บ รั ด เ ล ย เ ป น ค น เ มื อ ง ม า ร เซ ล ลั ส (Marcellus) ในมลรัฐนิวยอรกเปนเมืองที่บิดามารดามา ตั้ ง ครอบครั ว อยู ห ลั ง จากที่ อ พยพมาจากนิ ว ฮาเวน (New Haven) บิดาชื่อ แดนบรัดเลย มีอาชีพเปนศาสนา จารย, เกษตรกร, ผูพิพากษาและบรรณาธิการวารสาร ทางการเกษตรกรรม มารดาชื่อ ยูนิซ บีช บรัดเลย (Eunice Beach Bradley) เมื่อนางใหกําเนิดหมอบรัดเลย

เมือ่ วันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ แล ว นางก็ สิ้ น ชี วิ ต ในวั น รุ ง ขึ้ น หมอบรั ด เลย์ เ ป็ น บุ ต รคนที ่ ๕ ชื่ อ แรกมาจากชื่อของมารดา คือ แดน และชือ่ กลางมาจาก ชื่อสกุลมารดา คือ บีช รวม กันเปน แดน บีช บรัดเลย ต อ ม า บิ ด า ข อ ง ท า น ไ ด แ ต ง ง า น ใ ห ม กั บ แ น น ซี (Nancy) เมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ ท า น จึ ง ไ ด รั บ ก า ร เ ลี้ ย ง ดู จากมารดาเลี้ยง และมีนอง ที่ เ กิ ด จากแม ค นใหม อี ก ๕ คน แมกระนั้นก็ไดให ความรั ก ความเมตตาแก ทานเปนอยางดี ทําใหไม รูสึกวาเหวแตอยางใด ทาน เป น คนชอบอ า นหนั ง สื อ มาตั้งแต่เป็นเด็ก จึงอาจ เปนเหตุหนึ่งที่ทําใหทาน ส น ใ จ ใ น ก า ร พิ ม พ หนั ง สื อ ในสมั ย ต่ อ มา TThaiPrint Th aiPr P in Pr intt M Magazine agazine 105

105-110 pc1.indd 105

6/9/2555 3:16:54


Thai Printing

และอยากให้คนไทยอ่านหนังสือกันมากๆ เผอิญสิ่งแวดล้อมในอเมริกา ครัง้ นัน้ เปนผลดีแกเมืองไทยทีจ่ ะไดคนดีอยางหมอบรัดเลยเขามา คือ ในสมัย นั้นทางฝายเผยแผศาสนาคริสต มีความตองการมิชชันนารีที่เปนแพทย จํานวนมาก หมอบรัดเลย์จึงได้ตัดสินใจเข้าศึกษาวิชาแพทย์แทนที่จะ ทํางานทางศาสนา และเนื่องจากขณะนั้นสุขภาพไม่ค่อยดี ในระยะแรก ทานจึงศึกษากับนายแพทยโอลิเวอร (Dr. A.F. Oliver) ที่เมือง Penn Yan แบบตามสบายเพื่อรอใหสุขภาพดีขึ้นเมื่ออยูในวัยรุน ทานมีขอบกพรองอยู อยางหนึ่งคือพูดติดอาง ซึ่งเปนอุปสรรคอยางยิ่งในการเผยแผศาสนาที่จะ ตองพูดหรือบรรยายธรรม ฉะนั้น ทานจึงตองรีบแกไขโดยการเขากลุมฝก พูด ซึ่งก็เปนผลดี ในหนังสือ ๕๐ ป โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน นาย แพทยคทาวุธ โลกาพัฒนา ไดกลาวถึงการเรียนวิชาแพทยของหมอบรัดเลย ไวตอนหนึ่งวา

“การศึกษาวิชาแพทยในสมัย นั้ น เป น การศึ ก ษาแบบปฏิ บั ติ กั บ แพทยที่ปฏิบัติงานอยู จนกระทั่งมี ประสบการณเพียงพอจึงจะสอบเพือ่ รับปริญญา ท่ า นเคยไปฟั ง บรรยาย ทางการแพทย์ที่ Harvard ในปี ค.ศ. ๑๘๓๐ และกลับไปฝกปฏิบัติ งานการแพทย สลับกับการเปนครูใน หมูบาน เมื่อสะสมเงินไดเพียงพอ จึงไปทีโ่ รงเรียนแพทยในกรุงนิวยอรก เพื่อเรียนและสอบไดปริญญาแพทย ในเดือนเมษายน ค.ศ. ๑๘๓๓

106 ThaiPrint Magazine

105-110 pc1.indd 106

6/9/2555 3:17:09


ผูบุกเบิกการพิมพสยาม

ระหวางอยูในนิวยอรกยัง ไดปฏิบัติงานหาความชํานาญ และ ระหวาง ๒ ปนั้นอหิวาตกโรคกําลัง ระบาดอยูในนิวยอรก โดยระบาดมา จากเมื อ งควิเบก ขณะศึก ษาอยู ในนิ ว ยอร ก ได ส มั ค รเป น แพทย มิชชันนารีกับ ABCFM (American Board of Commissioners of Foreign Missions) เพื่อทํางานในอาเชีย ที่นิวยอรก หมอบรัดเลยได รูจักกับบุคคลสองคนซึ่งมีผลตอการ ดําเนินชีวิตในระยะตอมา คนแรก คือ Charles Grandison Finney ซึ่ ง เป น นั ก เทศน แ ละอาจารย จ าก Oberlin College มีความเชื่อว่า มนุษยควรจะดํารงชีวิตโดยไมมีบาป คื อ ดํ า รงชี วิ ต ของตนเช น เดี ย วกั บ พระคริสตเจา ความเชื่อนี้มีผลตอ การปฏิบัติงานของหมอบรัดเลยใน เมืองไทย คนที่สองคือ Reverend Charles Eddy แหงคณะ ABCFM ซึ่ ง แนะนํ า ว า การทํ า งานมิ ช ชั น นารี ใ นต า งแดนควรจะมี ผู ช ว ย”

ในที่สุดหมอบรัดเลยไดเขา ศึกษาที่ College of Physicians ที่ เมืองนิวยอรก และไดรับปริญญา Doctor of Medicine เมื่อเดือน เมษายน ค.ศ. ๑๘๓๓ (พ.ศ. ๒๓๗๖) พรอมที่จะเปนมิชชันนารี ตอไป ในชวงเวลาที่หมอบรัดเลย เกิดจนถึงรุนหนุม สังคมอเมริกัน ได เ กิ ด ความเคลื่ อ นไหวที่ สํ า คั ญ ซึ่ ง มี อิ ท ธิ พ ลต อ แนวความคิ ด และ วัฒนธรรมอเมริกัน คือ การฟน สํานึกทางศาสนาครัง้ ใหญ เปาหมาย สําคัญ คือ การฟนฟูหลักธรรมของ ศาสนาคริสตโปรเตสแตนต โดยมี การเคลื่อนไหวเพื่อตอตานอบายมุข การเคลื่ อ นไหวเพื่ อ การเลิ ก ทาส และการรณรงค เ พื่ อ เดิ น ทางออก ไปเผยแพรศาสนายังประเทศตางๆ ทั่วโลก การฟนสํานึกทางศาสนาที่ มีอิทธิพลตอหมอบรัดเลยโดยตรง หมอบรั ด เลย ใ นวั ย หนุ ม ตั้ ง ใจจะ ศึกษาทางดานอักษรศาสตร แตตอง ประสบปญหาทางดานการพูดออก

เสียงและมีอายุมากเกิน จึงตองเบน เข็มเขาเรียนทางดานการแพทยแทน โดยเริ่ ม เข า ศึ ก ษาชั้ น ต น กั บ คลิ นิ ก แพทยคนหนึ่งที่ออเบิรน แตตองพัก การเรียนระยะหนึ่งเนื่องจากปญหา ดานสุขภาพ ตอมาเมื่อสุขภาพแข็ง แรงแล ว ก็ คิ ด จะเรี ย นต อ ทางด า น ศาสนา เพื่อเปนผูสอนศาสนา แตก็ ตองประสบปญหาทางดานการเงิน และอายุอีก จึงหันกลับมาเรียนตอ ทางดานการแพทยอกี ครัง้ โดยมุง หวัง วาจะทําใหสามารถทํางานเผยแพร ศาสนาได ในที่สุดหมอบรัดเลยก็ เรียนสําเร็จ ไดรับปริญญาทางการ แพทยจากมหาวิทยาลัยนิวยอรก ใน ป 2376 ThaiPrint Magazine 107

105-110 pc1.indd 107

6/9/2555 3:17:14


Thai Printing ยานวัดเกาะซึ่งในปจจุบันนี้ คือ วัดสัมพันธวงศาราม โดยมีเปาหมายเพื่อเผยแผศาสนากับชุมชนชาวจีนกอน เปนลําดับแรก ที่บานพักยานวัดเกาะนี้ หมอบรัดเลยได เปดโอสถสถานขึ้น เพื่อทําการรักษา จายยา และแจก หนังสือเกี่ยวกับศาสนาใหกับคนไข แตไมนานกิจการนี้ก็ถูกเพงเล็ง วาอาจทําใหชาว จีนกระดางกระเดื่องตอรัฐบาลสยามได จึงมีการกดดัน เจาของที่ดิน คือ นายกลิ่น ไมใหมิชชันนารีเชาที่ตอไปอีก หมอบรัดเลยจึงตองยายมาเชาที่ของสมเด็จเจาพระยา บรมมหาประยูรวงศที่บริเวณหนาวัดประยูรวงศาวาส เปนที่ทําการแหงใหม ที่ อ ยู แ ห ง ใหม นี้ เ องที่ ห มอบรั ด เลย ไ ด ทํ า การ ผ า ตั ด ครั้ ง สํ า คั ญ ในประวั ติ ศ าสตร ก ารแพทย ข อง ไทย คือ การตัดแขนพระภิกษุรูปหนึ่งที่ไดรบั อุบัติเหตุ จากกระบอกบรรจุดินดําทําพลุแตกในงานฉลองที่วัด ประยู ร วงศาวาสหมอบรั ด เลย ต อ งตั ด แขนพระภิ ก ษุ รูปนี้เพื่อรักษาชีวิตไว้ ทางการแพทย์ถือว่าเป็นการ เมื่อไดปริญญาทางการแพทยแลวหมอบรัดเลย ผาตัดแผนปจจุบันครั้งแรกของไทย เหตุการณนี้เกิดขึ้น จึงสมัครเปนมิชชันนารี กับคณะ ABCFM (American เมื่อวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๓๘๐ Board of Commissioner Foreign Mission) คือคณะ มิชชันนารีเพื่อพันธกิจตางชาติ หรือที่เรียกกันสั้นๆ วา “คณะอเมริกันบอรด” คณะอเมริกันบอรดอนุมัติให หมอบรัดเลยเดินทางมาเผยแผศาสนาในเอเชียได จุด หมายปลายทาง คือ ประเทศสยาม ซึ่งกําลังเปนที่รูจัก ตามธรรมเนียมของการเดินทางมายังประเทศหางไกล เชนนี้ มิชชั่นนารีจําเปนตองมีคูแตงงานเดินทางมาดวย หมอบรัดเลยจําเปนตองหาผูหญิงที่พรอมจะเปนคูชีวิต และยอมเดินทางไปทํางานในที่ไกลบานเกือบครึ่งโลก วัดสัมพันธวงศาราม ดวยความเต็มใจ ไมนานหมอบรัดเลยก็ไดพบผูหญิงคน นั้น เธอคือ เอมิลี่ รอยซ ๑ กรกฎาคม ๒๓๗๗ หมอบรัดเลยออกเดินทาง จากบอสตันมุงหนาสูสยาม โดยเรือ “แคชเมียร” ใชเวลา เดินทางรอนแรมในทะเลเปนเวลานานถึง ๖ เดือน หมอ บรัดเลยก็มาถึงสิงคโปรในวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๓๗๘ และแวะพักอยูที่สิงคโปรเปนเวลา ๖ เดือน กอนจะเดิน ทางเขาสูสยามประเทศ ในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๓๗๘ เปนวันเกิดปที่ ๓๑ ปของหมอบรัดเลยพอดี เมื่อมาถึงสยามหมอบรัดเลยไดอาศัยพักรวม วัดประยูรวงศาวาส อยูกับครอบครัวของศาสนาจารยสตีเฟน จอหนสัน ที่ 108 ThaiPrint Magazine

105-110 pc1.indd 108

6/9/2555 3:17:22


ผูบุกเบิกการพิมพสยาม

ผลงานชิ้นสําคัญทางการแพทยอีกเรื่องหนึ่งคือ การริเริ่มปลูกฝปองกันไขทรพิษ เปนผลสําเร็จครั้งแรก ในเมืองไทยทําใหพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว พระราชทานเงินจํานวนหนึ่งเพื่อชวยเหลือในการหา ซื้อเชื้อหนองฝโค ซึ่งตองสั่งนําเขาจากสหรัฐอเมริกามา ใชเพื่อปลูกฝใหชาวสยาม และยังทรงใหแพทยหลวง มาศึกษาวิธีการปลูกฝจากหมอบรัดเลยเพื่อขยายการ ปลูกฝใหกวางขวางมากยิ่งขึ้นในประเทศไทย หลังจากที่หมอบรัดเลยประสบความสําเร็จอยาง มากในทางการแพทยก็เปนที่รูจักกันอยางกวางขวางใน บางกอก แตนั่นกลับไมชวยใหกิจกรรมทางดานศาสนา ประสบความสําเร็จไปดวย ตลอดชีวิตของหมอบรัดเลย ที่อาศัยอยูในสยามซึ่งกินเวลานานเกือบ ๔๐ ปนั้น ทํ า ให ช าวสยามที่ นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธกลั บ ใจเปลี่ ย น ศาสนาไปนับถือศาสนาคริสตไดไมกี่คน หรือเรียกวา ลมเหลวอยางสิ้นเชิง แมวาทุกสิ่งที่หมอบรัดเลยทํานั้น ลวนแตเพื่อสนับสนุนกิจกรรมทางศาสนาทั้งสิ้น ไมวา จะเปนทางดานการแพทยหรือการพิมพก็ตาม ส ว นงานที่ ห มอบรั ด เลย ทํ า และพั ฒ นาขึ้ น มา ตลอดเวลานั้นคือ การพิมพ สิ่งที่นาสนใจในงานพิมพ ของหมอบรัดเลยก็เปนเครื่องมือสําคัญในการเผยแผ ศาสนา เปนสิ่งสนับสนุนทางการแพทย และยังเปนราย ไดเพื่อจุนเจือครอบครัวอีกดวย การพิมพของหมอบรัดเลยในสยามเริ่มตนขึ้น เมื่อหมอบรัดเลยเดินทางจากสิงคโปรมาสยามและได ซื้ อ ตั ว พิ ม พ อั ก ษรไทยและแท น พิ ม พ ไ ม ติ ด ตั ว มาด ว ย ตั ว พิ ม พ แ ละแท น พิ ม พ ไ ม ชุ ด แรกที่ เข า สู ส ยามพร อ ม กั บ หมอบรั ด เลย ถู ก นํ า มาตั้ ง เป น โรงพิ ม พ ขึ้ น ที่ ต รอก

กัปตันบุชหรือปจจุบนั คือ (ซอยเจริญกรุง ๓๐) อันเปนทีต่ ง้ั ของคณะ ABCFM (American Board of Commissioner Foreign Mission) และไดดําเนินการพิมพใบปลิว หนังสือ ตางๆ ในระยะแรก ตัวพิมพและแทนพิมพไมนี้หมอ บรัดเลยกลาวถึงไววา เปนสิ่งที่อัปลักษณมาก จนกระทั่งในวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๓๗๙ โรง พิมพหมอบรัดเลยจึงไดรับแทนพิมพใหมที่ทันสมัยที่สุด ในขณะนั้น ยี่หอโอติส และ สแตนดิ้ง ถือเปนจุดเปลี่ยน ที่สําคัญตอประวัติศาสตรการพิมพสยาม เพราะทําให ประสิทธิภาพในการพิมพสูงขึ้นและสวยงามขึ้นอยาง มากจากที่เคยมีมากอน หมอบรัดเลยไดใหกําเนิดสิ่งพิมพฉบับแรกที่พิมพ ขึ้นในประเทศไทยคือ หนังสือบัญญัติสิบประการ เมื่อ วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๓๗๙ หลังจากนั้นกิจการโรงพิมพ ภายใตการดูแลของหมอบรัดเลยก็เริ่มตนพิมพเกี่ยวกับ ศาสนาออกมาอีกมากมาย ตอมาในป ๒๓๘๒ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยูหัวโปรดใหโรงพิมพหมอบรัดเลยพิมพประกาศ หามสูบฝน จํานวน ๙,๐๐๐ ฉบับ นับเปนสิ่งตีพิมพ เอกสารทางราชการฉบับแรกในประวัติศาสตรสยาม และถือเปนหมายสําคัญวายุคแหงการคัดดวยลายมือ กําลังจะหมดไป เปนการเริ่มตนยุคสมัยแหงการพิมพ สยาม ThaiPrint Magazine 109

105-110 pc1.indd 109

6/9/2555 3:17:29


Thai Printing

ในที่สุดพัฒนาการของการ พิมพในสยามก็มาถึงจุดสําคัญที่สุด คือ หมอบรัดเลยและคณะสามารถ หล อ ตั ว พิ ม พ ภ าษาไทยขึ้ น สํ า เร็ จ เปนครั้งแรกในป ๒๓๘๔ ตัวพิมพ ชุ ด นี้ ห มอบรั ด เลย ยั ง ได ทํ า ขึ้ น อี ก เพื่ อ ทู ล เกล า ฯถวายเจ า ฟ า มงกุ ฎ สํ า หรั บ ใช ที่ โรงพิ ม พ วั ด บวรนิ เวศ วิหาร ตอมาในวันที่ ๔ กรกฎาคม ๒๓๘๗ หมอบรัดเลยกไ็ ดออกหนังสือ

พิมพฉบับแรกของสยามขึ้นในชื่อวา หนังสือจดหมายเหตุบางกอกรีคอเดอร กิจการโรงพิมพของหมอบรัดเลยได พิ ม พ ห นั ง สื อ ออกมาจํ า นวนมาก โดยเฉพาะในระยะหลั ง เมื่ อ หมอ บรัดเลยไดรับพระราชทานที่ดินให เชาบริเวณปากคลองบางกอกใหญ งานพิ ม พ ส ว นใหญ ไ ม จํ า กั ด วง เฉพาะงานทางด า นศาสนาอี ก ต อ ไปแต ไ ด พิ ม พ ห นั ง สื อ หลากหลาย ประเภท ทั้งนิยาย ประวัติศาสตร กฎหมาย วรรณคดี เพื่อจําหนายแก บุคคลที่สนใจทั่วไป เกือบ ๔๐ ป ที่อยูในสยาม หมอบรัดเลยไดทุมเททํางานอยาง หนักตลอดเวลา มีโอกาสเดินทาง กลับบานเกิดเพียงครั้งเดียว เปนชวง เวลาที่ เอมิลี บรัดเลย เสียชีวิตลงใน สยาม การเดินทางกลับบานครั้งนั้น กินเวลานานถึง ๓ ป คือระหวาง ป ๒๓๙๐-๒๓๙๓ เมื่อหมอบรัดเลย กลับมาสยามอีกครัง้ หมอบรัดเลยกม็ า พรอมกับภรรยาคนใหม คือ ซาราห แบลชลี หลังจากนัน้ ก็ลงหลักปกฐาน อยูใ นสยามจนเสียชีวติ ทีน่ ท่ี ง้ั สองคน

หมอบรัดเลยมีบุตรกับเอมิลี ๕ คน และกับซาราห ๕ คนหมอบรัดเลย มีชีวิตอยูในสยามผานเวลามาถึง ๓ แผ่นดิน คือตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓ รัชกาลที่ ๔ และรัชกาลที่ ๕ โดยที่ ไมมีโอกาสร่ํารวยและสุขสบายเลย แมแตนอย หมอบรัดเลยเสียชีวิตลง ในป ๒๔๑๖ ขณะมีอายุได ๖๙ ป อนุสรณสถานของครอบครัวบรัดเลย อยูท ส่ี สุ านโปรเตสแตนท ริมฝง แมนาํ้ เจาพระยา ถนนเจริญกรุง แตสิ่งที่เปนอนุสรณที่ยิ่งใหญ ที่สุดของหมอบรัดเลยตอชาวไทยก็ คือ การพิมพและการแพทย แมวา หมอบรัดเลยจะไมไดรับการยกยอง ใหเปน”บิดา”ทั้งทางดานการพิมพ และการแพทย แ ผนใหม ข องไทย ก็ตาม แตสิ่งที่หมอบรัดเลยทานได ริเริ่มบุกเบิกไวเปนคนแรกนั้นคนใน อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ ไ ทยและ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของเราตางก็ไม อาจที่จะลบเลือนไปจากความทรง จําไดเชนกัน

110 ThaiPrint Magazine

105-110 pc1.indd 110

6/9/2555 3:17:39


      

    

 

                                    

 

                                            

    





            

  Ad HuaFar #92_pc3.indd 1

  

4/7/2555 13:36:49


Print Travel

เทีย่ วชมพิพธิ ภัณฑหนังสือพิมพไทย

จากอดีตนับจวบจนปจจุบนั “หนังสือพิมพ” ไดมบี ทบาทสําคัญมากในการเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ของชาวสยามเรามาแตเดิมและเปนสือ่ ทีเ่ ผยแพรขา วสารบานเมือง ทําใหประชาชนในประเทศเกิดความรูค วาม เขาใจในสิ่งที่เกิดขึ้นภายในบานเมืองเราอยางทั่วถึงกัน มีความเปนอิสระในการถายทอดสาระความรูที่เปน ประโยชนตอ ประชากรในประเทศ และนับวาหนังสือพิมพกเ็ ปนสวนหนึง่ ในอุตสาหกรรมการพิมพไทยเชนกัน เพราะถาไมมีหนังสือพิมพแลว การเจริญเติบโตในอุตสาหกรรมการพิมพคงไมมีการพัฒนาใหกาวหนามา จวบจนปจจุบนั นี้ พรอมทัง้ ยังมีการนําเขาเครือ่ งพิมพทม่ี คี วามทันสมัยกับเทคโนโลยีใหมๆ ทีม่ กี ารพัฒนา กันมาอยางตอเนือ่ งปจจุบนั ระบบการพิมพไทยเราเรียกวาพัฒนาขึน้ มาเทียบเทาระดับสากล เพราะคุณภาพ งานพิมพของไทยเราขณะนีจ้ ดั อยูอ นั ดับตนๆของเอเชียและเปนศูนยกลางการพิมพในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต ซึง่ เปนความภาคภูมใิ จของชาวการพิมพไทยเรา ณ สมาคมหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ ซึ่งเปนสถานที่ตั้งของพิพิธภัณฑ หนังสือพิมพไทย เปนสถานที่แหงหนึ่งที่จัดแสดงเปน แหล ง เรี ย นรู ด า นวิ ช าการหนั ง สื อ พิ ม พ แ ต โ บราณ บรรยากาศการทํางานของนักหนังสือพิมพในยุคกอน หรือยุคแรกๆ ซึง่ สมัยนัน้ ตองยอมรับวาเปนงานทีห่ นัก เอาการและตองมีใจรักพรอมทั้งอุดมการณท่แี รงกลาถึง จะสูอุตสาหผลิตหนังสือพิมพออกมาได 1 ฉบับ รวมถึง ชางพิมพสมัยนั้นก็เชนกัน เชื่อหรือไมวาสมัยนั้นไมได สะดวกสบายอยางเชนปจจุบันนี้ มีเครื่องมือที่ทันสมัย สมบู ร ณ แ บบแต ล ะขั้ น ตอนช า งง า ยดายต า งจากยุ ค กอนๆ อยางสิ้นเชิง เพราะในยุคนั้นเขาใชระบบการ 112 ThaiPrint Magazine

112-116 pc1.indd 112

6/9/2555 3:28:11


พิพิธภัณฑหนังสือพิมพไทย

พิพิพธิ ภัณฑหุหนุ ขี้ผงจ ึ้งจาํลอ งจํ ลองก งการ งก า ทาง ทําง ํ านขอ างาน ของส งสสาํนันกกง งสํ ั งานนหหนนังสืออพ ื พิมพพ

พิมพแบบเรียงพิมพคือตองเอาตัว แสดงถึงผลงานของนักหนังสือพิมพผูมีบทบาทสําคัญในอดีตซึ่งตรงสวน อั ก ษรภาษาไทยมาเรี ย งที ล ะตั ว ๆ นี้จะนําเสนอภาพและประวัติของนักหนังสือพิมพที่มีผลงานดานวิชาชีพ ในการพิ ม พ บ ทความจากนั ก เขี ย น หนังสือพิมพเปนที่ยอมรับของสังคมในอดีตที่มีอุดมการณนายกยอง อาทิ ตางๆ ที่ตองการจะตีพิมพบทความ ตวส.วรรณาโภ (เทียนวรรณ) ของตัวเอง ทานลองจินตนาการดู พระราชวงศเธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ (น.ม.ส.) ครับวาภาษาไทยของเรามีตัวอักษร พระเจาวรวงศเธอ กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ วรรณยุกตตั้งเทาไหร แลวตองมา ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เรียงวางทีละคํากวาจะเปนหนังสือ กุหลาบ สายประดิษฐ ( ศรีบูรพา ) พิมพใหเราไดอานกัน โชติ แพรพันธุ (ยาขอบ) ภายในพิพธิ ภัณฑจดั แสดงหุน เฉลิม วุฒิโฆษิต (เฉลิมวุฒิ) ขี้ผ้งึ จําลองการทํางานของสํานักงาน เสฐียร พันธรังสี หนั ง สื อ พิ ม พ ท่ี ทํ า ให เ ราสั ม ผั ส ถึ ง มาลัย ชูพินิจ (ม.ชูพินิจ) บรรยากาศในยุคนัน้ ๆ ภายในยังมีปา ย อิศรา อมันตกุล ThaiPrint Magazine 113

112-116 pc1.indd 113

7/9/2555 16:16:01


Print Travel

พระมหากษั ต ริ ย  กั บ กิ จ การหนั ง สื อ พิ ม พ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔

ทรงเปนองคปฐมที่เริ่มกิจการการพิมพ ของคนไทย เปนบรรณาธิการในหนังสือราชกิจจา นุเบกษา ซึ่งเปนหนังสือพิมพฉบับแรกของคนไทย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๖

ทรงเป น กษั ต ริ ย นั ก หนั ง สื อ พิ ม พ ที่ ทรงโปรดให อ อกหนั ง สื อ พิ ม พ ไ ทยเพื่ อ แสดง ความคิดเห็นอยางเสรีในสังคมที่เปนสมบูรณา ญาสิทธิราชย ทรงริเริ่มการใชนามปากกาในการ นําเสนอบทความในหนาหนังสือพิมพ และทรง โตตอบกับนักหนังสือพิมพอยางไมถอื พระองคอนั เปนรากฐานสําคัญของเสรีภาพของหนังสือพิมพ ไทยในปจจุบัน

114 ThaiPrint Magazine

112-116 pc1.indd 114

11/9/2555 9:59:41


พิพิธภัณฑหนังสือพิมพไทย

พิพิธภัณฑหนังสือพิมพ กอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 กันยายน 2531 สมัยนายชัยรัตน คํานวณ นายกสมาคมหนังสือพิมพแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (นายกคนที่ 23) เปนผูริเริ่มโครงการ กอสรางเสร็จสมบูรณเมื่อป พ.ศ.2540 และเปดอาคารอยางเปน ทางการเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ.2541รวมทุนกอสรางทั้งสิ้น 39 ลานบาท วั ต ถุ ป ระสงค ข องการจั ด สร า งพิ พิ ธ ภั ณ ฑ ห นั ง สื อ พิ ม พ ไ ทย เพือ่ เปนแหลงเรียนรูศ กึ ษาวิจยั วิชาการดานหนังสือพิมพ ใหสอดคลองกับ การปฏิรูปการศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพ ซึ่งเปนความภาคภูมิใจของคน หนังสือพิมพและคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ทั้งอดีตและปจจุบัน นับเปนแหลงเรียนรูที่สําคัญแหงหนึ่งนะครับ สําหรับคนหนังสือพิมพและ คนในอุตสาหกรรมการพิมพที่ตองหาโอกาสไปลองสัมผัสบรรยากาศเกาๆ ของแวดวงคนทําหนังสือซึ่งทุกวันนี้อาจเปรียบไดวาคนพิมพในยุคปจจุบันก็ เริ่มผันตัวมาเปนผูผลิตสิ่งพิมพเองเชนกัน เพราะฉะนั้นแยกกันไมออก ครับ ระหวางโรงพิมพกับสํานักพิมพ

สุดทายนี้ก็ขอใหสํานักพิมพ และอุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ มี ค วาม เจริญกาวหนายิ่งๆ ขึ้นไปครับ และ ขอให ผ ลิ ต หนั ง สื อ ดี ๆ ออกมาให บุ ค คลทั่ ว ไปที่ ยั ง รั ก ในการอ า นสื บ ตอไปครับ

ThaiPrint Magazine 115

112-116 pc1.indd 115

11/9/2555 4:32:07


Print Travel

สื่อมัลติมีเดียสําหรรับผูสนใจ

ขอมูลเพิ่มเติม พิพิธภัณฑหนังสือพิมพไทย เปนสถานที่ศึกษาคนควาเกี่ยวกับหนังสือพิมพไทยในอดีต ปจจุบันและแนวโนมอนาคตดวย..ซึ่งมี • ระบบมัลติมีเดีย • ระบบไมโครฟลม • ระบบออนไลนอินเตอรเน็ต • ขอมูลรายละเอียดครบถวนจาก หองสมุดประชาชน ชินโสภณพนิช บริการ • นําชมเปนหมูคณะ โดยการนัดหมาย • บริการโสตทัศนศึกษา โดยนัดหมาย • บริการหองสมุดประชาชน ชินโสภณพนิช เวลาเปด-ปด กรุณานัดหมายลวงหนา ในวันทําการของสมาคมฯ ตัง้ แตเวลา 10.00 น. – 17.00 น. หยุดเสาร-อาทิตย สถานที่ตั้ง 299 ถ.นครราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพฯ10300 โทร 0-2669-7124-6 www.thaipressasso.or.th

116 ThaiPrint Magazine

112-116 pc1.indd 116

6/9/2555 3:29:12


117-118 pc1.indd 117 ad App-member-mac19.indd 1

11/9/2555 4:47:36 1/11/10 5:03:36 PM


Print News

สมาคมการพิมพ์ไทย The Thai Printing Association

THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 แหลงรวมขอมูลลาสุดของผูประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2011-2012” เลมใหมลาสุดที่ รวมรายชื่อ ขอมูลลาสุดของผูประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพทั้งกอนการพิมพ การพิมพ หลังการพิมพ รวมทั้งผูจําหนายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณดานการพิมพและการซอมบํารุง เหมาะสําหรับใชเปนคูมือ การซื้อขาย และเปนประโยชนตอองคกรของทาน

ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อ - นามสกุล .................................................................................................................................บริษัท ................................................................................................ ที่อยู ................................................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท ............................................................................................................................................... โทรสาร ........................................................................................... ขอสั่งหนังสือ THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 จํานวน ...................... เลม วิธีการชําระเงิน

เงินสด 800 บาท / เลม (มารับดวยตนเอง) โอนเงิน 900 บาท / เลม (รวมคาจัดสงทางไปรษณีย)

สั่งซื้อไดที่สมาคมการพิมพไทย 311-311/1 ซอย.15 (ซอยศูนยวิจัย) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688 ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพไทย” ชื่อบัญชี ออมทรัพย เลขที่ 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรุณาสงแฟกซหลักฐานการโอนเงินพรอมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ 120 ThaiPrint Magazine

117-118 pc1.indd 120 pc1.indd 120 118

11/9/2555 0:49:16 9:56:36 26/1/2555


119 Ad S.G.S pc1.indd 1

7/9/2555 3:53:28


Print Technology

Print Technology

ไอโซโพรพิลไธโอแซนโทน หมึกพิมพบนภาชนะบรรจุอาหาร (Isopropylthioxanthone, ITX) สารอันตรายในหมึก UV จากการคนพบสารไอโซโพรพิลไธโอแซนโทนในนมสําหรับทารก และอาหารเหลวชนิดตางๆ ในป คศ. 2005 ไดกระตุนความสนใจในเรื่อง ความปลอดภั ความปลอดภยของกลุ ป ัยของกลุมสารเคมี สารเคมทอาจมอยู ีที่อาจมี​ีอยูในหมึ นหมกพมพ ึกพิ​ิมพ จนกระทงคณะ จนกระทั​ั่งคณะ กรรมาธิการยุโรป European Commission ไดออกมาตรการ EC 2023/2006 ในเรื่องการผลิตที่ดี Good Manufacturing Practice ในเรื่องที่เกี่ยวของกับ หมึกพิมพ ซึ่งนับไดวาเปนครั้งแรกของหมึกพิมพไดถูกกําหนดอยางเปน ลายลักษณอกั ษรใ ษรในกฏหมายบรรจุ ในกฏหมายบรรจุภณ ั ฑอาหาร EEuropean uropean FFood oodd PPackaging ackkagiing Legislation ITX เปนอนุพันธซัลเฟอรของ xanthone หรือ xanthene ketone จัดเปนสารชนิ สารชชนิด iincuring ncuring agent ซึซ่งึ มีมกี ารใช ารใชประโยชนใน photoinitiator ของ ของสี งสีชนิด UV-cured UV-ccured ink ink มีรายงานถึงการตรวจพบ การตรวจพบ ITX ในผลิตภัณฑอาหารที่ บรรจุ​ุในกล นกกลองกระดาษที งกกระดาาษที​ี่พิมพพดวยหมึกชนิด UV-curedd inkk สสวนใ นใหญ ใหญพบ ITX ตกคางใ ในผลิ​ิตภัภัณฑ ฑนม เชน นมเลี นมเลี้ยงทารก นม นนมชอคโกแล็ มชออคโกแแล็ต โโดยเมื ดยเมือ่ งในผลิ ไไมมนาานมานี นมานี้ที่ปรระเทศอิ ะเทศอิตาาลีลี ไไดดมีรายงานก การตรวจจพบ IITX TX ซซึ​ึ่งเเคลื คลื่อนนยยาย ายงานการตรวจพบ จจากบรรจุ ากบรรจุภัณฑ ปในนมเลี้ยงงทารก ทารก ซซึ​ึ่งเป เปนบรรจุ บรรจุภัณฑ ฑที่ผลลิ​ิตโโดยบริ ดยบริษัท ฑเขขาไไปในนมเลี SSweden-based wedden-bbasedd TTetra etra PPak ak และไดมีกาารเรี รเรียกกเก็ เก็บกล วนมากก กลัลับคคื​ืนเเปปนจจํ​ํานนวนมาก การต ตรวจวิเคคราะห ราะะหกาารปนเป รปนเปปอนของ นขของ IITX TX ใในอาหารเช นอาหารเชน นนมม โโยเกิ ยเกิรต การตรวจวิ แและวั ละววัสดดุ​ุที่เปปนภภาชนะบรรจุ าชนะบรรจุอาห หารทําไไดดหลา ายวิธี คคื​ือ LLC-MS C-MS ((liquid liquid าหารทํ ลายวิ chrom matogrraphy – ma ass sspectrometer), pectrometer), GC C-M MS ((gas gas chro omatograaphy chromatography mass GC-MS chromatography – m ass sspectrometer), pectrometer), HPTLC-FLD (h high pperformance erformance th hinn layer mass (high thin

chromatography-fluorescent chrom m a t o g r a p h y -fll u orescent detection), detecti ion), HPTLC-ESI/MS HPTLLC-EESI/MS (high performance performaance tthin hin layer chromatography-electronspray/mass togrr a p h y -elecc t r o n s pray// m ass spectrometer), spectrom meterr), HHPTLC-DART/MS PTLC-DDART/MS (high (hig gh pperformance erformance tthin hin layer chromatography chroma atographyy - ddirect irect analysiss iinn rreal eal ttime imee //mass mass sspectrometer). pecttrometer).

ThaiPrint haia Pr Prrin innt M int Magazine agazine 120 Th

120-122 pc1.indd 120

6/9/2555 20:47:26


ไอโซโพรพิลไธโอแซนโทน

ชื่อทางเคมี (Chemical Name):

ไอโซโพรพิลไธโอแซนโทน (Isopropylthioxanthone)

ชื่อพอง (Synonyms):

2-isopropylthioxanthone, ITX, 2-(1-methylethyl)-9H-Thioxanthen-9-one

หมายเลข CAS (CAS Numbe Number): er):

5495-84-1

น้ําหนักโมเลกุล (molecular formula):

254.35

สูตรเคมี (Chemical Form Formula): mula):

C16H14 C16H14OS 4OS

สูตรโค รโครงสร ครงสรรางงทางเคมี ทางเคมี ((Chemical Chemical SStructure): tructure):

ThaiPrint Magazine 121

120-122 pc1.indd 121

6/9/2555 20:47:54


Print Technology

ประโยชน

ขอควรระวัง

เนื่องจาก ITX เปนสารที่ ใช ป ระกอบการทํ า วั ส ดุ ที่ มี ก าร สัมผัสกับอาหาร จึงสามารถตรวจ พบการตกคางของ ITX ในอาหาร ถึงแมขอสรุปความเปนพิษของ ITX ยังไมชัดเจน แตการบริโภคอาหาร ที่บรรจุในกลองกระดาษที่พิมพดวย ความเปนพิษ การทดสอบความเปนพิษ (genotoxicity) ของ ITX ยังมีการศึกษาที่ หมึกในระยะเวลานานๆ ก็พึงระวัง จํากัด และมีเพียงสองการศึกษาความเปนพิษตอยีน in vivo ซึ่งสรุปวา ITX ไมมีขอบงชี้ใดๆที่จะกอใหเกิดความเปนพิษตอยีน EFSA (the European Food Safety Authority) จึงไมมีความเห็นใดๆ เกี่ยวกับความปลอดภัยของ ITX เนื่องจากขาดขอมูลความปนพิษอื่นๆมาสนับสนุน มีรายงานสรุปของ FLEXOGRAPHY CTSA (A Cleaner Technologies Substitutes Assessment) ที่พิจารณาจัดให ITX เปนสารกลุม high aquatic toxicity ซึ่งมีผลทําอันตรายตอชีวิตสัตวน้ําในระยะยาว เนื่องจาก ITX มีโครงสรางที่ชอบไขมันสูง (high lipophyllicity) จึงสามารถจับกับองค ประกอบของผนังเซลลไดดี US Environmental Protection Agency พิจาณาให ITX เปน นายไอไอเค (potential hazard) สําหรับสุขภาพมนุษยและสิ่งแวดลอมในระดับความเขม prd.mgr@inter-ink.com ขนที่พบในนมบรรจุกลองและ เครื่องดื่มอื่นๆ mkt@inter-ink.com อนุพันธของ xanthone มีการใชประโยชนในการเปนหมึกพิมพ บนภาชนะบรรจุอาหาร, สียอมทางชีวภาพ (biological strains), light and temperature sensitizers, photoinitiator of polymerization pro cess, histotechnologies, photochromic and thermochromic agents and laser dyes

Magazine ne 122 ThaiPrint Magazin

120-122 pc1.indd 122

7/9/2555 9:50:00


123 Ad BangSung pc1.indd 1

7/9/2555 3:48:46


Digital Printing

การวัดคุณภาพของการพิมพดิจิทัล ผศ.ดร. ชวาล คูรพิพัฒน ภาควิชาวิทยาศาสตรทางภาพถายและเทคโนโลยีทางการพิมพ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การพิมพจากระบบอิเล็กโทร โฟ โตกราฟเปนที่นิยมอยางมากในปจจุบัน เนื่องจากมีความเร็วในการพิมพ ที่สูงพอประมาณ มีคุณภาพงานพิมพที่ดีใกลเคียงการพิมพออฟเซต และที่สําคัญคือสามารถพิมพจํานวน นอยไดทันที ไมตองมีขั้นตอนการพิมพที่ยุงยากซับซอน และอยางไรก็ดีในตลาดการพิมพอิเล็กโทร โ ฟ โ ตกราฟ มีเครื่องพิมพหลากหลายรุน ทั้งรุนที่เปนระดับการทํางานในสํานักงาน ไปจนถึงเครื่องพิมพสําหรับงานพิมพที่ เปนงานอุตสาหกรรม คุณภาพการพิมพจึงมีความแตกตางกัน โดยเครื่องพิมพสําหรับงานพิมพอุตสาหกรรม จะใหคุณภาพสูงกวา มีความเร็วในการพิมพที่เร็วกวา ในทองตลาดจะเรียกการพิมพกลุมนี้วาการพิมพดิจิทัล ซึ่งมีความคาดหมายวาจะมาทํางานแทนเครื่องพิมพออฟเซตในกลุมงานที่มียอดพิมพจํานวนนอยๆ บริษัทตางๆ ที่นําเขาเครื่องพิมพดิจิทัล ตางก็แขงขัน กั น ด า นคุ ณ ภาพของสิ่ ง พิ ม พ ที่ ไ ด จ ากเครื่ อ งพิ ม พ ดิ จิ ทั ล ซึ่งคุณภาพที่มองเห็นนั้น มีความแตกตางกัน แตไมสามารถ บอกไดเปนตัวเลขที่แนนอนวาแตกตางกันแคไหน อยางไร วิ ธี วั ด คุ ณ ภาพด ว ยกระบวนการทางวิทยาศาสตรจะเปน สิง่ ทีบ่ ง บอกไดชัดเจนวา ผลผลิตของเครื่องพิมพแตละเครื่อง เมือ่ เปลีย่ นกระดาษ หรือเปลีย่ นสภาวะการพิมพจะสงผลตอ คุณภาพมากนอยแคไหนอยางไร และดวยการวัดคุณภาพ นี่เอง ทําใหการเปรียบเทียบดานตางๆ ของเครือ่ งพิมพทําได อยางถูกตอง ชัดเจน ครบถวน ซึ่งเปนขอมูลสําหรับการ ตัดสินใจวาจะใชเครือ่ งพิมพดจิ ทิ ลั รุน ไหน ปจจัยดานคุณภาพ ที่วัดดวยเครื่องมือไดนั้น แบงไดเปนหลายคาดวยกันคือ 1. คาความดํา (density) เปนการวัดคาความทึบแสง ของสิ่งพิมพที่อยูในรูปลอการึธึม เทียบไดกับวัดคาความ เขมออนของแมสีหมึกพิมพที่มนุษยมองเห็น โดยทั่วไปคา ความดํายิ่งสูงยิ่งใหสีที่เขมกวาและเครื่องพิมพใดที่ใหคา ความดําสูงสุดดีกวาจะชวยทําใหงานพิมพมีมิติและความ คมชัดดี ความสมํ่าเสมอของคาความดําตลอดแผนพิมพ (uniformity) เปนการวัดคาความดําในหลายๆ จุดทั่วแผน พิมพ เพื่อหาความสมํ่าเสมอของคาความดําวา มีมากนอย เพียงใด โดยทําการวัดคาความดําจากแผน Test Chart และวัดคาทั้งแนวขวางและแนวตั้ง ทั้ง 5 จุด ที่แสดงดังภาพ ถาเครื่องพิมพใดดีควรจะไดคาเทากันหมด

ตัวอยางภาพพิมพที่ใชวัดหาคาความดําและคาสี

การเปรียบเทียบคาความดําสูงสุดของเครื่องพิมพดิจิทัล หมายเหตุ Printer 1 (Canon image PRESS C7010VP)

124 ThaiPrint Magazine

124-126 pc1.indd 124

6/9/2555 3:44:22


การวัดคุณภาพของงานพิมพดิจิทัล 2. การผลิตนํ้าหนักสี (tone reproduction) เป น การบ ง ชี้ ถึ ง คุณภาพงานพิมพดานความตอเนื่อง ของโทนวามีความตอเนื่องกัน ไมเปนขั้นและยังสงผล ไปถึงความละเอียดของภาพในสวนสวาง (high light) สวนนํ้าหนักสีกลาง (midtone) และสวนเงา (shadow) ของภาพดวย โดยการพิจารณาจะดูจากกราฟระหวาง เม็ดสกรีนของตนฉบับในไฟลดิจิทัลกับคาเม็ดสกรีนหรือ คาความดําของภาพพิมพ

3. ความสมํา่ เสมอของคาความดําระหวางแผน พิมพ (consistency) บงบอกถึงคุณภาพของเครื่องพิมพ เมื่อทําการพิมพไปสักระยะหนึ่งแลววายังสามารถให คาสีเหมือนกับตอนเริม่ ตน พิมพจริงไดแคไหน อยางไร เครื่ อ งพิ ม พ ใ ดที่ ใ ห ค วามสมํ่ า เสมอของสี ร ะหว า ง พิมพไดดี เปนตัวบงชี้ถึงคุณภาพงานพิมพวา สีจากแผน พิมพแรกๆ และทายๆ ของเลมหนังสือ เมื่อนํามาเขา เลมแลวสีไมแตกตางกันจนเปนที่สังเกตได

กราฟแสดงน้ําหนักสี

กราฟแสดงความสมํ่าเสมอของคาความดําตลอดแผนพิมพ

กราฟแสดงความคงที่ของคาความดําระหวางพิมพ

ThaiPrint Magazine 125

124-126 pc1.indd 125

6/9/2555 3:45:05


Digital Printing 4. การหาขอบเขตสี (color gamut) เป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ในการประเมินคุณภาพของภาพ ดานการผลิตสี (color reproduction) โดยเปนการวัดความสามารถ ของระบบการพิมพทใี่ หคา สีสงู สุด บนวัสดุชนิดใดชนิดหนึ่ง เครื่อง พิ ม พ ใ ดมี ข อบเขตสี ที่ ม ากกว า ย อ มแสดงถึ ง ความสามารถ ในการพิ ม พ สี ที่ มี ค วามอิ่ ม ตั ว ได ดี ก ว า ให ภ าพที่ สี ส ดใสกว า โดยทั่วไปแลว การวัด คุ ณ ภาพสี่ ข  อ ที่ ก ล า วมาก็ นั บ ว า เพียงพอในการประเมิน คุณภาพ ของเครือ่ งพิมพทเี่ กีย่ วกับคุณภาพ ของสิ่งพิมพที่ผลิตได อยางไร ก็ตาม การพิมพภาพที่เปนภาพ คนหรือสิ่งของตางๆ ก็จะชวย สนับสนุนคาตัวเลขที่ไดจากการ วัดเหลานี้ ทําใหการพิจารณามี ภาพพิมพจริงมายืนยันกับคาผล ลัพทจากการวัดภาพดานลางเปน ตัวอยางการเปรียบเทียบเครื่อง พิมพดิจิทัลในทองตลาดที่พิมพ ลงบนกระดาษชนิดเดียวกัน

ภาพแสดงการเปรียบเทียบขอบเขตสีของเครื่องพิมพดิจิทัลสองชนิด บนกระดาษชนิดเกียวกัน กรอบสีขาวเปนขอบเขตสีของ Adobe RGB

126 ThaiPrint Magazine

124-126 pc1.indd 126

6/9/2555 3:45:44


1273M Edit #93_pc3.indd 1 114 Ad m14.indd 3M Thailand 1 AD 1 #92_pc3.indd

11/9/2555 10:05:29 6/7/2555 5:40:02 6/10/2554 17:11


Young Printer

จิรรัตน์ ดารารัตนโรจน์ บริษัท สตาร์ อาร์เอฟไอดี จํากัด

“ สวัสดีครับผู้อ่านที่เคารพรักทุกท่าน สําหรับ Young Printer ฉบับนี้ ขอแนะนํา “คุณจิรรัตน ดารารัตนโรจน” หรือ “คุณจูน” ซึ่งเธอก็มีบทบาทในการรับผิดชอบ กิจกรรมพิเศษหลายๆ อย่างที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดขึ้น และงานอื่นๆ ที่จะมีเธอเข้าร่วม ทุกๆ ครั้ง ลองมาทําความรู้จักกับเธอดูครับ ” อยากจะใหแนะนําตัวเองสั้นๆ กอนจะถามคําถามตอไป?

สวัสดีคะ จิรรัตน ดารารัตนโรจน ชื่อเลนชื่อ จูน คะ ตอนเด็กๆ ที่บานสงไปเลี้ยงแกะอยูนิวซีแลนด คะ แลวก็พัฒนาไปเลี้ยงวัวอยูสวิตฯ วางๆ ก็เรียนปริญญาตรีไปดวยจนจบ BBA in Hospitality Management and International Business จาก Hotel Institute Montreux, Switzerland คะ ^^

ความชื่ น ชอบที่ มี ต อ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วข อ งกั บ การพิ ม พ ข อง ครอบครัวเปนอยางไรบาง?

กอนอื่นเลยคือ...ภูมิใจคะ!! เจริญอักษร แทบจะเรียกไดวาเริ่ม จากศูนยคะ โชคดีทที่ บี่ า นเปนครอบ ครัวใหญ ทุกคนชวยกันทํางานตัว เปนเกลียวหัวเปนน็อต จนเวลาผาน ไปกวา 40 ป เราไดเปนผูนําเขา กระดาษรายใหญของประเทศ ทั้งนี้ ทั้ ง นั้ น ก็ ไ ม ส ามารถมาถึ ง จุ ด นี้ ไ ด หากไมมลี กู คาทีด่ ี ทีใ่ หการสนับสนุน เสมอมา 128 ThaiPrint Magazine

128-132 pc1.indd 128

11/9/2555 9:51:35


จิรรัตน ดารารัตนโรจน

อีกอยางคือวงการนี้เหมือน มันเปน identity ของจูน โตมากับ ศัพท พวกปอนด, อารต, carbonless, numbering, gsm, OJI, Heidelberg, Manroland เป็นความผูกพันที่มี ตัง้ แตเด็กๆ แต...บางทีกแ็ อบเสียดาย วา ทําไมไมทํา retail จะไดมี Paragon หรือ Central เปนของตัวเอง อิอิอิ

บทบาทและหนาที่รับผิดชอบ แบงเวลาอยางไรระหวางงานกับชีวิตสวนตัวมีเวลาใหกับตัว กั บ งานธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ การ เองมากแคไหน? ถาเปนไปไดก็อยากจะแบง 50/50 ใหชีวิตมัน balance แตรูสึกวา พิ ม พ มี อ ะไรบ า งและมี ค วาม วัยนีเ้ ปนชวงสรางเนื้อสรางตัวคะ งานเลยเปน priority ของชีวิต แตถาวัน ยากหรือไม?

ตอนนี้เปน ผูชวย MD ของ Star RFID คะ. Star RFID เปน บริษัทใหมที่เพิ่งเปดมาได 3-4 ป ยัง ไมใหญมาก จูนจึงมีหนาที่ตองเรียน รูทุกอยางคะ หนาที่ที่รับผิดชอบ ก็...ทุกอยางคะ ขาย จัดซื้อ บุคคล กระบวนการผลิต ISO, BOI และอีก มากมาย ที่ ผ า นมาต อ งเรี ย นรู เ กี่ ย ว กับเทคโนโลยี RFID ดวยคะ basic ของมันไมยาก มีคลื่นอะไรบาง ใช ยังไง อันนี้สบายมาก แตวันไหนเจอ ลูกคาที่เปนด็อกเตอร ที่จบวิศวะมา นี่ มีปวดหัวเหมือนกันคะ กลับบาน กินน้ํามันปลาแทบไมทัน

หยุดก็หยุดจริงๆ คะ นอนอยางเดียว ไมอยากทําอะไรอยางอื่นเลย ยกเวน ไปนูนไปนี่เปนเพื่อนพอแม แลวหลังเลิกงานก็จะมีไปออกกําลังกายหรือ เจอเพื่อนบางตามประสาวัยรุน ฮาๆๆ

อุปสรรคที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไรบางและเรามีวิธีแกไขอยางไร ถึงผานพนไปได?

ไมเชิงอุปสรรคคะ แตเปนความทาทาย วาจะทํายังไงใหคนยอมรับ เราเพราะความสามารถไมใชเพราะนามสกุล โดยเฉพาะคนที่อายุเยอะกวา ทํายังไงเคาถึงจะ respect เราดวยใจ ตอนนี้ก็คอยๆพิสูจนตัวเองไปคะ สวนอุปสรรคอื่นๆก็ไมมีไรมากคะ เรื่องจุกจิกทั่วไป วิธีแกของจูน คือ หยุดคิด และ ไปพักกอน เพราะบางทีเราจดจอกับปญหาเกินไปจนมอง ไมเห็น ภาพทั้งหมด หรือบางที่อาจจะใชอารมณตัดสินจนทําใหเรื่องเล็กๆ กลายเปนเรื่องใหญได ทางที่ดีไปพักแลวไตรตรองดูวาการกระทําของเราจะ สงผลยังไง แตปกติจูนไมคอยเครียดกับปญหานะ เพราะมั่นใจวาทุกปญหา มันตองมีทางออก (ออกมาดีมากดีนอยแคนั้นเอง) แคเราถอยออกมากาว หนึ่ง พอเราเห็นภาพทั้งหมดเราก็รูวาจะแกยังไงที่จุดไหน ถาแกไมไดจริงๆ ก็มีคุณพอคอยเปนพี่เลี้ยง +google ชวยแกปญหาใหคะ ThaiPrint Magazine 129

128-132 pc1.indd 129

11/9/2555 9:55:02


Young Printer

อาชีพที่ทําเกี่ยวกับการพิมพคิดวาเราโชคดีกวาคนอื่นหรือไมที่ เกิดมาอยูในครอบครัวที่ทําธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ?

ธุรกิจอุตสาหกรรมอื่นๆ ก็มีขอดีตางกันคะ ธุรกิจการพิมพดีตรงที่ ไมเปนแบบมาเร็วไปเร็ว เปนแบบไปเรื่อยๆ ไมมีเรื่องใหหวาดเสียวมากและ ก็ คิ ด ว า โชคดี ใ นแง ที่ ว า เป น ธุ ร กิ จ ที่ สุ จ ริ ต และไม ต อ งไปเบี ย ดเบี ย นใคร

ตอนนี้ยังโสดอยูหรือมีครอบครัวแลวแบงเวลาอยางไรใหกับ ครอบครัวทีเ่ รารักบาง ? โสดคา ตอนนี้รีบรีดน้ําหนัก อัพความสวยอยู จะไดมีคนมาขอ ซะที ฮี่ๆๆ เพราะฉะนั้น..ตอนนี้เวลาทั้งหมดจะใหครอบครัวคะ

มีกิจกรรมอะไรบางกับครอบครัวที่ทําเปนประจํา?

กิน กิน กิน และ กิน ไดทุกแนว อีสาน เหนือ ใต อิตาเลียน ฝรั่งเศส อินเดีย ญี่ปุน เกาหลี เวียดนาม ขอแคใหอรอย อยูตรงไหนก็จะตามไปกิน แลวที่บานก็จะมีเวรพาอามาไปดินเนอรอาทิตยละครั้งคะ อามาจะไดเห็น หนาลูกหลานเหลนครบทุกคน

130 ThaiPrint Magazine

128-132 pc1.indd 130

6/9/2555 4:00:32


จิรรัตน ดารารัตนโรจน

เราไดคิดพัฒนาธุรกิจดานเกี่ยวกับการพิมพที่ตอยอดมาจาก รุนกอนๆมีอะไรบางที่คิดวาทําขึ้นใหดีกวาจากเดิม?

ที่ทําไวเดิมก็คิดวาดีมากแลว แต RFID ที่ไดรับหมอบหมายใหทํา อยูก็เปนการเพิ่มมูลคาใหสิ่งพิมพคะ แทนที่จะเปนฉลากธรรมดา เราก็ใส RFID เขาไป แลวเรียกมันวา smart label ฟงดูแพงขึ้นมาทันที ฮาๆๆ ใน ยุคนี้ยังไงเราก็คงหนีไมพนเทคโนโลยีใหมๆที่จะเขามาทําใหชีวิตเรางาย ขึ้น (รึเปลา?!) คิดวาถาธุรกิจตางๆ adapt และ adopt ไดเร็วเทาไหร ก็จะดี

รูสึกอยางไรกับกิจกรรมตางๆ ที่ทางสมาคมจัดขึ้นประทับใจ ตรงไหนบางและกิจกรรมที่ชอบเปนพิเศษ?

ครัง้ แรกทีไ่ ดรว มกิจกรรมกับสมาคมฯ ก็ตอนไปเลือกตัง้ ป 51 สนุกสนานมาก ไดเลนเกมสทํากิจกรรมสานสัมพันธ แลวก็ไดรูจักเพื่อนใหม หลายคนเลยคะ ประทับใจมาก อีกอยางที่ชอบคือเยี่ยมชมโรงงานคะ รูสึก วาเห็นของจริงแลวเขาใจกระบวนการตางๆงายกวาอานหนังสือแลวนึก ภาพตามเยอะ

ThaiPrint Magazine 131

128-132 pc1.indd 131

6/9/2555 22:12:05


Young Printer

ลงพื้นที่ชวยเหลือผูประสบภัยน้ําทวมในโครงการ “การพิมพไทยเทน้ําใจ เพื่อผูประสบภัยน้ําทวม” เมื่อปลายป 2554 ที่ผานมา

อยากจะฝากอะไรหรือแนะนํา แนวคิดดีๆ ใหกับสมาชิกรุน ตอๆ ไปไวอยางไรบาง?

อยากจะให ม าร ว มกั น ทํ า กิจกรรมกับ Young Printer เยอะๆ คะ ไมรูจักใครก็ไมเปนไร ไมตองอาย มาบอยๆ เดี๋ยวก็รูจักกันเองคะ

กิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการ Young Printer ป 2553

เขาเปนสมาชิก Young Printer ไดอยางไรและรูสึกอยางไร กับตําแหนงนี้?

เมือ่ กอนพีช่ ายเปนกรรมการอยูคะ ก็เลยชวนใหมาทํากิจกรรมกับ สมาคมฯ เรื่อยๆ เลยไดมาชวยงาน

บทบาทในการเปนสมาชิกนั้นเราไดรับผิดชอบในสวนไหนและ รูสึกอยางไร?

รับผิดชอบกิจกรรมพิเศษคะ ปกติชอบหาเรื่องเฮฮาอยูแลว คิดวา หนาที่นี้แหละ ใชเลย 555+ ดีใจที่ไดมาเปนสมาชิกคะ เพราะไดมีสวนรวม กับกิจกรรมดีๆ แบบนี้ไปเรื่อยๆ 132 ThaiPrint Magazine

128-132 pc1.indd 132

7/9/2555 15:36:10


Print News

ThaiPrint Magazine 133

133 pc1.indd 133

6/9/2555 11:39:53


Print Business

134 ThaiPrint Magazine

134-136 pc1.indd 134

6/9/2555 4:04:48


´ µ¦ ¨µ

Á°Á ¸ Á°Á ¨³ É Â¨³ ¼o°°  µ ¡·¤¡r

æ ¡·¤¡r

ª¦ ³Á ¨¸É¥ °³Å¦?

· · n ° oo ª¥ Á ¨¸É¥ µ · n ° ´ ´ º°Ê Á È · n ° ´  µ¦ ¨µ ¹É ¹ Á È È Á oo µ ° µ à ¥ ¦

µ ° ´´ªÁ° Á ¨¸É¥ µ ¼o¦´ o µ ¡·¤¡r ¨³ εŠo  n µ ¡·¤¡r Á È ¼o ¸É Á¸ oo µÄ  ¤Á ¨³Á È Ä È ¸É ¸ ¦¹ ¬µÂ ¤Á µ¦­ºÉ°­µ¦ µ µ¦ ¨µ

µ ® oo µ ¸É¸ Á ¨¸É¥ µ n µ ¸ ¤º°Ä µ¦ ¡·¤¡r Á È ¡´ ¤· ¦ ¸É ¦¹ ¬µ µ oo µ ¨¥» rr

µ µ¦Á ¨¸É¥  ¨ °³Å¦ º°­·É ¸É ª¦ ³ ¥ ´ ³ » ¥ ¨¼ ¨ o µ? µ?

• Å o ¦´ °´ ¦µ ¨ ° ¦´ ¸É ­¼ ¹ Ê • Ä o Áª¨µ ¸ÉÁ­¸¥Å Ä µ¦ εΠµ µ ® ¹É ¹ Ä®o Ä o o°¥ ¸É ­¸ » • Á¡·É¤°´ ¦µ ¨ °  µ¦ ¨ »

• Á¡·É¤ » n µ ° µ Ä®o ´ ¨¼ o µ • Á¡·É¤ µ¦Á · à ° ¦µ¥Å o • ¤¸¸ µ Ä®¤n Ä n Ç Á nn µ¦ ε µ Á ¡µ³­n ª » ¨

• Á È Â®¨n ¦µ¥Å o Ä®¤n Ç Â¨³ εŦĮ¤n Ç Ä®o ´ »¦ · ° ¨¼ o µ

¨¥» r

µ¦¡´ µ ¨µ Market Development

“แนวทางใหมของธุรกิจสิง่ พิมพ” คือ แผนที่ สู  ค วามสํ า เร็ จ ในสภาวะที่ ธุ ร กิ จ กํ า ลั ง มี ก าร เปลี่ยนแปลง “ธุ ร กิ จ ของเราไม ไ ด กํ า ลั ง เปลี่ ย นไปอย า ง ธรรมดา มันกําลังเปลี่ยนไปอยางรวดเร็วโดยมีคํา จํากัดความใหมๆ เกิดขึ้นอยางมากมาย ... การ สร า งโอกาสซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในประวั ติ ศ าสตร เ พื่ อ การ เตรี ย มตั ว และเรี ย นรู  อุ ป สรรคอย า งลึ ก ซึ้ ง เพื่ อ เตรี ย มตั้งรับ กับ อุป สรรคตา งๆ ที่ ไ ม ไ ด ค าดไว แนนอนที่สุด ไมมีใครกลายืนยัน, ไมวาคุณจะใหญ สักแคไหน, ไมวาคุณจะมีรากฐานที่มั่นคงแคไหน หรือไมวาคุณจะมีประสบการณกับความสําเร็จที่ ผานมาอยางไร สิ่งเหลานี้ไมสามารถเปนเครื่อง ยืนยันความสําเร็จในการทําธุรกิจตอไปใหเหมือน กับที่ผานมาได” คําพูดของ Andy Paparozzi, ประธานดาน เศรษฐศาสตร องคกร NAPL ในบทความของ รายงานธุรกิจสิ่งพิมพในสหรัฐอเมริกา

µ¦¡´ µ »¦ · Business Development

เห็นภาพไดอยางเดนชัดวาธุรกิจการพิมพกําลังมี การเปลีย่ นแปลง เพือ่ ใหเปนเรือ่ งงายและชวยใหคณ ุ เปน ผูนําในการเปลี่ยนแปลงและเขาสูความตองการของ ลูกคาทีแ่ ทจริง ซึง่ นับวันจะคาดหวังมากยิง่ ขึน้ Fuji Xerox มีตวั ชวยใหคณ ุ 2 อยางในกลยุทธการพัฒนาธุรกิจ นัน่ คือ Business Development ซึ่งเปนโปรแกรมและ เปนเครือ่ งมือสําหรับโรงพิมพทมี่ ากไปดวยความสามารถ ในการสรางผลิตภัณฑการบริการใหมๆ และทําใหทา น มองเห็นกําไรจากโอกาสทางธุรกิจ ซึง่ ประกอบไปดวย - Profit Accelerator วันนีก้ ารสรางความแข็งแกรง ของเครื่ อ งมื อ และโปรแกรมที่ ถู ก ออกแบบมาให ก าร ลงทุนในธุรกิจดิจิตอลพริ้นทของคุณเติบโตและขยาย ธุรกิจออกไปใหมากที่สุด - Business Development Service ช่วยเสริม ความแข็งแกรง ผลักดันใหคุณเปนผูชํานาญทางธุรกิจ ดิจติ อลพริน้ ท โดยคุณไมตอ งเสียคาใชจา ยใดๆ ทั้งสิ้น! ซึ่งจะสนับสนุนการดําเนินธุรกิจของคุณในดานการขาย, การตลาด, การจัดการขบวนการผลิตและการทํางานหรือ การสรางงานพิมพใหมๆ ที่ตลาดเห็นแลวตองบอกวา “ใชเลย ชัน้ ตองการจะพิมพงานแบบนี!้ ไมเห็นมีโรงพิมพ ที่ไหนบอกวาทําไดเลย!” ThaiPrint Magazine 135

134-136 pc1.indd 135

6/9/2555 4:05:39


Print Business

Marketing Development โดยการใหความรูกับ ของธุรกิจ การทุมเทและเอาจริงเอาจังกับธุรกิจดิจิตอล

เอเจนซี่และผูออกแบบงานพิมพวาควรจะออกแบบ อยางไรเพื่อใหสิ่งพิมพดิจิตอลพริ้นทมีประโยชนกับการ ใชงานและมีความสวยงามที่สุด มากไปกวานั้น เรายัง ไดใหความรูกับนักการตลาดในเรื่องคุณคาของงานพิมพ ดิจิตอลพริ้นทคืออะไร? อะไรคืองานพิมพเฉพาะสวน บุคคล? อะไรคืองานพิมพวงิ่ สัน้ และสีทเี่ ราสามารถทําได เพื่อธุรกิจของนักการตลาด การพัฒนาการตลาดเพือ่ ใหเห็นคุณคาของลักษณะ งานพิมพดิจิตอลพริ้นทตางๆ คือ การทํางานที่เราทํา ควบคูกันไปอยางไมหยุดยั้ง เรามีเครื่องมือในการชวย ลูกคาของเรามีขีดความสามารถในการสรางคุณคาและ ประโยชนตอลูกคาของลูกคาทุกๆ ราย เพื่อใหลูกคา ของเรามีความแข็งแกรงในธุรกิจและมีกลยุทธในการ สรางความสัมพันธตอลูกคาตัวเอง ดู เ หมื อ นทุ ก อย า งจะง า ยไปหมดในการประสบ ความสําเร็จทางธุรกิจดิจิตอลพริ้นท แตจริงๆ แลว Key To Success สิง่ ทีจ่ ะทําใหคณ ุ ประสบความสําเร็จในธุรกิจ ดิจิตอลพริ้นทอยางแทจริง คือ ความชัดเจนของทิศทาง

พริ้นท และการปรับตัวกับธุรกิจที่จะเกิดขึ้น ถาคิดจะ ทําจริงก็ตองเตรียมพรอมอยางแทจริง ลงมือทําจริงๆ คาดหวังและตองการผลลัพธแตละเดือนอยางแทจริง เหลานี้ลวนเปนกฎแหงความสําเร็จของทุกๆ ธุรกิจ อยารีรอที่จะเขามาเปนสวนหนึ่งในความสําเร็จ ของธุรกิจดิจิตอลพริ้นทกับ ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) เราพรอมเติมเต็มสิ่งที่คุณตองการ

คําแนะนําหรือติชมบทความ กรุณาอีเมลลไปที่ jinsipa.t@tha.fujixerox.com เครดิตจาก ProfitAccelerator Magazine Volume 4 โดย Xerox Corporation USA.

136 ThaiPrint Magazine

134-136 pc1.indd 136

6/9/2555 4:04:56


HP Print News

เอชพีประกาศผลผูช้ นะรางวัล ด้านการพิมพ์ระบบดิจติ อลในอุตสาหกรรมป้ายสือ่ โฆษณา HP Digital Print Awards - HP Sign & Display, Asia Pacific and Japan มุง่ เชิดชูนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมทําป้ายสือ่ โฆษณา

กรุงเทพฯ – 23 กรกฎาคม 2555 - เอชพีผูนําอันดับหนึ่งในอุ ใ ตสาหกรรมการพิมพดานกราฟฟก ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ประกาศผลผูชนะรางวัลดานการพิมพ ระบบดิจิตอลในอุตสาหกรรมปายสื่อโฆษณา ประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟก หรือที่มีชื่ออยางเปนทางการวา รางวัล “HP Digital Print Awards 2012 - HP Sign & Display (Asia Pacic and Japan)” โดยมีผูชนะทั้งสิ้น 12 รางวัล เจาของผลงานแหงความสําเร็จ โดดเดนดวยนวัตกรรมในอุตสาหกรรมปายโฆษณาจากทั่วภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก และญี่ปุน โครงการนี้จัดขึ้นตอเนื่องเปนปที่สาม และมีผู สนใจสงผลงานเขารวมประกวดกวา 82 ชิ้นงาน จาก 13 ประเทศ เพื่อเขารวมชิงชัยใน 6 ประเภทรางวัล ไดแก 1. Environmental Responsibility 2. Exhibitions and Events 3. Innovative Application/Unique Media 4. Outdoor Advertising 5. Retail Point of Purchase/Point of Sale 6. Vehicle Graphics

รางวัลดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อเชิดชูความ สํ า คั ญ ของพลั ง แห ง ความคิ ด สร า งสรรค สํ า หรั บ ผู ใ ห บริการดานการพิมพ (Print Service Providers : PSPs) ในอุตสาหกรรมปายโฆษณา ทั้งนี้ รางวัล HP Digital Print Awards for the Sign & Display ใหความสําคัญ แก ผู ใ ห บ ริ ก ารด า นการพิ ม พ ที่ นํ า เอาโซลู ชั่ น ด า นการ พิมพระบบดิจิตอลของเอชพีมาใช เพื่อตอบสนองความ ตองการดานนวัตกรรมของลูกคาที่เพิ่มสูงขึ้น

ThaiPrint Magazine 137

137-141 pc1.indd 137

7/9/2555 16:19:45


Print News

คุณมารติน คารบัลโล ผูอํานวยการฝายธุรกิจเครื่องพิมพไซเทค สําหรับกลุมกราฟฟก โซลูชั่นส กลุมธุรกิจการพิมพและคอมพิวเตอร เอชพี ประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟกและญี่ปุน กลาววา “รางวัล HP Digital Print Awards เปนรางวัลพิเศษสําหรับอุตสาหกรรมปายโฆษณา (Sign & Display industry) เพื่อเปนการยกยองเหลาผูใหบริการงานพิมพที่เดินหนาพัฒนา การพิมพดว ยนวัตกรรมอยางไมหยุดยัง้ เรารูส กึ ยินดีอยางยิง่ ทีไ่ ดเห็นผลงาน ที่โดดเดนที่สงเขามาประกวดในปนี้ และเราหวังวาผูชนะรางวัลนี้จะสามารถ นําไปตอยอดในการหาโอกาสทางธุรกิจใหม เพื่อเพิ่มรายไดไปกับชุดผลิต ภัณฑดานการพิมพของเอชพี” “ผูชนะในปนี้ยังแสดงใหเห็นถึงความสามารถในการเพิ่มมูลคาให กับกระบวนการทํางานทั้งกอนและหลัง โดยนําองคประกอบใหมๆ อาทิ การพิมพลายแกะ (engraving) มาสรางมูลคาเพิ่มเติมใหกับลูกคาไดอยาง เหนือชั้น”

เ ก ณ ฑ ก า ร พิ จ า ร ณ า ใ ห รางวัลของการประกวดในครั้งนี้รวม ไปถึงในดานนวัตกรรม ความคิด สรางสรรค ความนาดึงดูดทางการ ตลาด (Marketing appeal) การใช หมึกพิมพและสีอยางคุม คาทีส่ ดุ การ ประยุกตใชการพิมพอยางสรางสรรค และความสวยงามโดยรวม

138 ThaiPrint Magazine

137-141 pc1.indd 138

6/9/2555 4:12:52


HP

คุณทอม จาเนเรีย กรรมการผูอํานวยการ บริษัท Next Printing ผูชนะรางวัลระดับโกลดในสาขา Retail Point of Purchase/Point of Sale กลาววา “พวกเราชาว Next Printing ทุกคนตางรูสึกดีใจ และภูมิใจเปน อยางยิ่งที่สามารถชนะรางวัล Digital Print Awards ประจําป 2012 นี้ นอกจากนี้ เรายังไดรับประโยชนจากการลงทุนไปกับเทคโนโลยีของเอชพี เชนเดียวกับที่ลูกคาของเรา” คุณจาน เสี่ยว จุน ผูจัดการฝายงาน ประจํา HP Digital Printing House Hangzhou Soyang Shop ผูชนะรางวัลระดับโกลดในสาขา Exhibitions and Events กลาววา “โครงการนี้มีมูลคามากกวา 9 ลานเหรียญ สหรัฐ โดยเราไดรับมอบหมายใหสรางนิทรรศการแสดงสินคาในเวลาอัน สั้น ดวยโซลูชั่นจากเอชพีทําใหเราสามารถผลิตงานดังกลาวไดดวยคุณภาพ งานพิมพระดับสูง และใหสีสันที่มีความตอเนื่องเสมอกัน นอกจากนี้ระบบ การพิมพยูวีของเอชพี ยังชวยใหเราสามารถพิมพบนแผนอะลูมิเนียมแนว ระนาบ (flatbed aluminum plates) ซึ่งเปนวัสดุพื้นผิวแข็งที่สามารถ ปองกันการขีดขวนและมีอายุการใชงานยาวนาน เอชพีทําใหเราสามารถ เพิ่มมูลคาใหกับการทํางาน และสงมอบงานคุณภาพแกลูกคาได”

“ลู ก ค า ของเราโดยมาก มาจากแวดวงโฆษณาและอุตสาห กรรมการจัดแสดง ดิสเพลยสินคา เรามุงเนนในการมอบประสบการณ อยางเหนือระดับแกลูกคาผานงาน พิมพคุณภาพเยี่ยม พรอมดวยสุด ยอดพลังความคิดสรางสรรค ใน เบื้องตนเราตั้งเปาหมายในการขึ้น เป น บริ ษั ท พิ ม พ สื่ อ โฆษณาระดั บ พรีเมียมขนาดใหญที่สุดของมณฑล เจอเจียง”

ThaiPrint Magazine 139

137-141 pc1.indd 139

6/9/2555 4:12:59


Print News

เอชพีขอแสดงความยินดีกับความสําเร็จ ของผูใหบริการงานพิมพดังตอไปนี้ที่ไดรับรางวัลในปนี้

¦³Á£ ¦µ ª´¨ล ประเภทรางวั

³ ผู ¼ช o นะ ¦µ ª´¨¦³ ´ ¡¨ · ´¤Â¨³Ã ¨ r

Environmental Responsibility

Ͳ Golden Touch Color Laboratory and Photo Supply ¦µ ª´¨ ¤Á ¥ Ͳ 11 FTC Enterprises Inc. ¦³ ´ à ¨ r

Ͳ HP Digital Printing House Hangzhou Soyang Shop Exhibitions and Events ¦µ ª´¨´ ¤Á ¥ Ͳ HP Digital Printing House Beijing 751 ArtZone Shop ¦³ ´ à ¨ r Ͳ Group Color Digital Image Manufacture Co., Ltd. ¦³ ´ · ¨Áª°¦r I Innovation ti Application/ A li ti / ¦³ ¨Áª°¦ Unique Media Ͳ IJ. Siam Co., Ltd ¦³ ´ ¦° r Outdoor Advertising

Ͳ Union Inks and Graphics Philippines Inc. ¦³ ´ à ¨ r ¦³ à ¨ Ͳ Dot Digital Pvt Ltd ¦³ ´ à ¨ r

Retail Point of Ͳ Next Printing Purchase/Point of Sale ¦µ ª´¨ ¤Á ¥ Vehicle Graphics

Ͳ Shanghai Lijie Advertising Co.,Ltd. ¦³ ´ à ¨ r Ͳ Union Inks and Graphics Philippines Inc.

¦³Á « ประเทศ ¢·¨ · · ­r ¢·¨ · · ­r ¸ ¸ Å o®ª´ Å ¥ ¢·¨ · · ­r °· Á ¸¥ °°­Á ¦Á¨¸¥ ¸ ¸ ¢·¨ · · ­r

140 ThaiPrint Magazine

137-141 pc1.indd 140

7/9/2555 14:37:02


HP

มร.ไบรอัน แทน ทรีดีดีไซนเนอร อาวุโส (ดาน Events and Exhibition) บริษัท อิมเมจิเนชั่น เอเชีย จํากัด และ ดร. ลิซา ซี แวน รองศาสตราจารยดานการตลาดและการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัย หลิงหนาน รวมเปนประธานกรรมการในการมอบรางวัล P Digital Print Awards 2012 - HP Sign & Display (Asia Pacific and Japan) ปที่สาม เอชพีมุงเชิดชูความสําเร็จของผูใหบริการดานงานพิมพอยางตอ เนื่องเปนประจําทุกป เพื่อตอยอดความคิดสรางสรรคและระบบการพิมพ โดยผูใหบริการดานงานพิมพในภูมิภาคเอเชีย แปซิฟก และญี่ปุนที่ไดรับ รางวัลในครั้งนี้ จะเปนตัวแทนไปรวมประกวดในงาน HP Print Excellence Awards ซึ่งเปนเวทีการประกวดระดับโลกสําหรับเหลาผูใหบริการดานงาน พิมพที่ใชผลิตภัณฑหมึกพิมพ HP Indigo แทนพิมพ Inkjet Web Press ระบบการพิมพ Scitex และ Designjet ขอมูลเกี่ยวกับเอชพี เอชพีสรางสรรคเทคโนโลยีใหมๆ ใหเปนจริง ซึ่งเกิดประโยชน ตอผูบริโภค ธุรกิจ ภาครัฐ และสังคมไดเปนอยางมาก เอชพีเปนบริษัท เทคโนโลยี ร ายใหญ ที่ สุ ด ของโลกที่ นํ า เสนอพอร ท โฟลิ โ อผลิ ต ภั ณ ฑ ตางๆ ไดแก เครื่องพิมพ คอมพิวเตอร ซอฟตแวร บริการตางๆ รวมถึง โครงสรางพื้นฐานทางดานไอที เพื่อขจัดปญหาของลูกคาไดอยางตรงจุด สําหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ เอชพี (NYSE: HPQ) สามารถเขาชมไดที่ http://www.hp.com

© 2012 Hewlett-Packard Development Company, L.P. The information contained herein is subject to change without notice. The only warranties for HP products and services are set forth in the express warranty statements accompanying such products and services. Nothing herein should be construed as constituting an additional warranty. HP shall not be liable for technical or editorial errors or omissions contained herein.

ThaiPrint Magazine 141

137-141 pc1.indd 141

6/9/2555 4:13:14


Digital Printing

เครื่องพิมพระบบดิจิตอล รุน

งานพิมพคุณภาพเทียบเทาระบบออฟเซ็ต เครื่องพิมพที่ถูกสรางใหทํางานตอเนื่องเพื่อการเติบโตทางธุรกิจของคุณ เครือ่ งพิมพดจิ ติ อลสี imagePRESS C7010VP รุนใหมของแคนนอนมาพรอมเทคโนโลยีที่ล้ําหนา รองรับสื่องานพิมพที่หลากหลาย สามารถเพิ่มรายได และขยายโอกาสการทํากําไรใหกับคุณ ดวยความเร็ว ที่สุดยอดและประสิทธิภาพที่โดดเดน มาพรอมกับตัว เลือกสําหรับการจัดเรียงชุดเอกสารที่เปนสวนสําคัญ ในการสงเสริมงานการพิมพ เหมาะสําหรับมืออาชีพ ทางดานงานพิมพ ไมวาจะเปนธุรกิจโรงพิมพ ศูนย ถายเอกสารและรับพิมพงานสื่อสิ่งพิมพ แผนกการ พิมพในบริษัทและ CRD เครือ่ งพิมพดจิ ติ อลสี imagePRESS C7010VP รุนใหมของแคนนอนมีการทํางานที่เชื่อถือได กาวสู ความล้ําหนาของงานพิมพและการเติบโตทางธุรกิจ พรอมสําหรับงานพิมพที่มีคุณภาพสูง และความ สามารถที่เหนือชั้นในการผลิต ที่คุณมองเห็นและ สัมผัสไดดวยความละเอียดในการพิมพ 1200 x 1200 dpi (12-bit) หนึ่งใน Gamut สีที่กวางที่สุดในบรรดา เครื่องพิมพระบบดิจิตอลแบบ 4 สี (ขอมูลจาก 2009 IPA Digital Print Forum) ความเร็ว 70 แผนตอนาที A4 ผงหมึก V-Toner ที่มีขนาดเฉลี่ยที่ 5.5 ไมครอน

ซึ่งมีขนาดเล็กที่สุดมีคุณสมบัติปลอยกระดาษออก อัตโนมัติเมื่อกระดาษซอน และเทคโนโลยีการทํา ความรอนแบบ Dual fusing เพื่อความเร็วในการ ทํางานแบบเต็มอัตรา ตัวเครื่องมีความทนทานสูง พิมพไดอยางนอยถึง 1 ลานครัง้ ตอเนือ่ ง และล้าํ หนา ด ว ยระบบการจั ด การด า นภาพซึ่ ง ให สี สั น ที่ ดู สบายตา และรองรับขนาดกระดาษ 13” x 19.2” ที่มี น้ําหนักตั้งแต 60 ถึง -325 แกรม และมีความสม่ําเสมอ ของสีบนกระดาษหลากหลายประเภท ไมวาจะเปน กระดาษมัน, กระดาษพื้นผิวดาน และกระดาษที่มีคุณ สมบัติพิเศษอื่นๆ ผลลัพธที่ไดคือคุณภาพที่เทียบเทา กับการพิมพดวยระบบออฟเซ็ต รวมไปถึงทางเลือก ในการเลือกใชอุปกรณเสริมสําหรับการจัดเรียงชุด เอกสารอยางมืออาชีพ

142 ThaiPrint Magazine

142-146 pc1.indd 142

7/9/2555 15:17:49


แคนนอน

คุณสมบัติเดน คุณภาพที่คุณมองเห็นและสัมผัสได ความละเอียดในการพิมพ 1200 x 1200 dpi (12 bit) หนึ่งใน Gamut สีที่กวางที่สุดในบรรดาเครื่องพิมพ ระบบดิจิตอลแบบ 4 สี (ขอมูลจาก 2009 IPA Digital Print Forum) ผงหมึกชนิด V-Toner และล้ําหนาดวย ระบบการจัดการดานภาพซึง่ ใหสสี นั ทีด่ สู บายตา และมีความสม่าํ เสมอของสีบนกระดาษหลากหลายประเภท ไมวาจะเปนกระดาษมัน กระดาษพื้นผิวดานและกระดาษทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษอืน่ ๆ ผลลัพธทไี่ ด คือ คุณภาพ ที่เทียบเทากับการพิมพดวยระบบออฟเซ็ต

ผงหมึกคุณภาพสูง อนุภาคของผงหมึก V-toner ของแคนนอน มีขนาดโดยเฉลี่ยที่ 5.5 ไมครอน ซึ่งมีขนาดเล็กที่สุดดวย อนุภาคที่มีขนาดเล็กนี้เอง จึงทําใหผลลัพธของงานพิมพที่มีคุณภาพโดดเดนบนทุกประเภทของกระดาษ แมเปนกระดาษที่มีลวดลายของพื้นผิว ทําใหใชงานไดกับกระดาษไดหลากหลายประเภทซึ่งแตละอนุภาค ของผงหมึกมีสวนประกอบของแวกซที่ชวยใหการทําความรอน และการ lay-flat finish มีลักษณะที่เหมือน กับงานพิมพในระบบออฟเซ็ต แมบนพื้นผิวชิ้นงานที่มีพื้นที่ครอบคลุมของผงหมึกคอนขางสูง

ThaiPrint Magazine 143

142-146 pc1.indd 143

7/9/2555 14:48:24


Digital Printing การปรับความมันวาวของงานพิมพ

ดวยการผสมผสานกันอยางโดดเดนระหวางคุณสมบัติตางๆ ของผงหมึก ศาสตรแหงการสรางสรรค ภาพและเทคโนโลยีการทําความรอนแบบปราศจากน้ํามัน ซึ่งทํางานรวมกันเพื่อชวยลดความคลาดเคลื่อนใน เรื่องการสะทอนความมันวาวที่สัมพันธกับการเคลือบกระดาษที่เกี่ยวของกับการพิมพในระบบดิจิตอล เพื่อให ภาพมีคุณภาพสูง ซึ่งโดยปกติทําไดบนระบบการทํางานที่ตองแลกมากดวยคาใชจายที่สูงกวาถึง 2 เทา

ทางเลือกที่หลากหลายในการใชกระดาษ

สายพาน Advanced Image Transfer Belt ที่มีความยืดหยุนสูงนี้ มีคุณสมบัติเทียบเคียงกับผายาง บนเครื่องพิมพระบบอ็อฟเซ็ต ชวยใหผงหมึกสามารถซึมผานพื้นผิวของกระดาษเพื่อการยึดเกาะที่ดีเยี่ยม และใหงานพิมพที่เหมือนกับงานพิมพอ็อฟเซ็ตกับกระดาษเกือบทุกประเภท

144 ThaiPrint Magazine

142-146 pc1.indd 144

7/9/2555 14:31:02


แคนนอน ความพรอมในการทํางานของระบบที่นาประทับใจ

จากความหลากหลายของตั ว เลื อ กอุ ป กรณ เ สริ ม ในกระบวน การพิมพ เริ่มจากแหลงบรรจุกระดาษที่มีหลายสวนและชั้นวางกระดาษ ที่มีความจุสูงสําหรับการจัดการงานพิมพที่มีจํานวนมากๆ ทางเลือกสําหรับการจัดเรียงชุดเอกสาร ประกอบดวย การเย็บลวด การพับ การเขาเลมแบบไสกาว การเจียรขอบหนังสือและอืน่ ๆ อีกมากมาย ซึง่ อุปกรณทก่ี ลาวมาทัง้ หมดนีล้ ว นติดตัง้ เขากับเครือ่ ง imagePRESS ไดงา ย ซึ่งจะชวยเพิ่มความคลองตัว การทํางานที่รอบดานและการเลือกปรับใน สวนตางๆ ไดหลายระดับ เพื่อสนองตอบความตองการของลูกคาที่ แตกตางกันไป และใหมลาสุด คือ ชุดชั้นเรียงเอกสารสําหรับการเขาเลม มุงหลังคา (Saddle Stitch) ซึ่งสามารถเย็บลวดบนกระดาษไดมากถึง 25 แผน (80 แกรม) ที่ขนาดใหญสุด 13” x 19.2” จึงสามารถจัดพิมพ หนังสือที่มีความหนา 100 หนา ไดอยางสบายๆ และดวยเทคโนโลยี การกดลวดเย็บกระดาษที่มาใหมลาสุด ผูใชจึงสามารถควบคุมแรงกดเพื่อ ปรับการพับตามความหนาและจํานวนแผนของหนังสือ

การ Registration ทีม่ คี วาม แมนยํา

ฉากที่ก้นั กระดาษดาน ข า งและเซ็ น เซอร ต รวจจั บ จังหวะการทํางาน เชนเดียว กับเครื่องอ็อฟเซ็ตเพื่อปองกัน ไม ใ ห ตั ว อั ก ษรหรื อ ภาพหลุ ด จากระยะการจัดวางที่ถูกตอง

รูปแบบตางๆ ของสือ่ สิง่ พิมพ ที่รองรับ

คุ ณ ภาพสี ข องานพิ ม พ ที่ สม่ําเสมอ

การให คุ ณ ภาพงาน พิมพท่มี ีความสม่ําเสมอตลอด รอบการทํ า งานเป น ความ สามารถที่ตองใหความสําคัญ เปนพิเศษ โดยเฉพาะเมือ่ มีการ สัง่ พิมพซาํ้ ซึง่ คุณสมบติทก่ี ลาว มาขางตน สามารถรับประกัน ความเที่ ย งตรงสม่ํ า เสมอได อยางทีค่ ณ ุ ตองการ

ลู ก ค า ของคุ ณ อาจมา พรอมคําสัง่ งานพิมพ เพือ่ ใชสาํ หรับ สงเสริมการตลาด ไดเร็คเมล หนังสือ โปสเตอร บรรจุภัณฑ ฉลาก และอืน่ ๆ อีกมากมาย

ThaiPrint Magazine 145

142-146 pc1.indd 145

7/9/2555 14:26:00


Digital Printing การทํางานของระบบการดึงกระดาษเขาเครื่องขั้นสูง

เครื่องพิมพดิจิตอล imagePRESS ของแคนนอน มีคุณสมบัติที่ ช ว ยในการป อ นกระดาษมี ค วามแม น ยํ า สู ง เช น เดี ย วกั บ เครื่ อ งพิ ม พ ขนาดใหญๆ

ความทาทายทีต่ อ งพบเจอเปนประจําบนเครือ่ งพิมพดจิ ติ อล

คือ การรักษาอัตราความเร็วรอบขณะพิมพบนกระดาษทีห่ นา กวาปกติ ซึ่งเครื่องพิมพดิจิตอล imagePRESS C7010VP นี้ ไดมีการใช ระบบการทําความรอน (Fusing) อัจฉริยะ ซึ่งออกแบบมาเพื่อใหได อัตราความเร็วเต็มพิกัด ไมวาจะใชกระดาษน้ําหนักเทาไหรก็ตาม กระดาษที่หนากวาและมีการเคลือบจะถูกลําเลียงผานไปยังชุดทํา ความรอน (Fusing units) ทั้งสองตัว ชวยใหเครื่องยังคงความเร็วใน การพิมพที่สูงไดอยางสม่ําเสมอโดยไมสูญเสียคุณภาพของภาพ

การพิมพไดอยางตอเนื่อง สูงสุด

ความสามารถในการ ผลิ ต เกิ ด ขึ้ น จากการรั ก ษา ความตอเนื่องในการพิมพให ไดสูงที่สุด เนื่องจากการหยุด พิมพในแตละครั้ง หมายถึง การสูญเสียทั้งเวลาและตนทุน ที่มากขึ้น อาทิเชน การเปลี่ยน กระดาษ ผงหมึกและแมแต ก ล อ ง ใ ส ผ ง ห มึ ก ที่ ใช แ ล ว ระหว า งที่ เ ครื่ อ งกํ า ลั ง พิ ม พ งานจะชวยใหเครื่องสามารถ พิ ม พ ง า น ไ ด อ ย า ง ไ ห ล ลื่ น ตลอดรอบการพิมพ

ระบบการตรวจจั บ การดึงกระดาษซอนแผนดวย คลื่นอัลตราโซนิค จะชวยนํา กระดาษที่ดึงซอนเกินมาออก ไปทางช อ งปล อ ยกระดาษ โดยที่ ตั ว เครื่ อ งยั ง คงทํ า การ พิมพอยางตอเนื่อง

สนใจขอมูลเพิ่มเติมติดตอ

บริษัท แคนนอน มารเก็ตติ้ง ไทยแลนด) จํากัด โทร. 0-2344-9999 ตอ 2300, 2301 www.canon.co.th

146 ThaiPrint Magazine

142-146 pc1.indd 146

7/9/2555 15:03:01


PrintงFactory วางผั โรงงาน

โรงงาน+ออฟฟศ พันธุใหม

มี design สรางงาย ถูก เร็ว ดี ตอน วางผังโรงงาน โดย...นายพิจารณ แจงสวาง กรรมการผูจัดการ บริษัท สเร็นกรุป จํากัด

สวัสดีครับทานผูอานทุกๆ ทาน พบกันเปนตอนที่ 2 กับ “โรงงาน+ออฟฟศ พันธุใหม มี DESIGN สรางงาย ถูก เร็ว ดี” สําหรับฉบับที่แลวผมไดชวนทานผูอานพูดถึงขั้นตอนแรกของการเตรียมตัวสรางโรงงาน นั่นคือ การ พิจารณา ตรวจสอบเลือกซื้อที่ดิน ซึ่งกลาวถึงการพิจารณาการใชประโยชนที่ดิน หรือ “ผังสี” ตลอดจนสาธารณูปโภค โดยรอบที่ดินพรอมทั้งขนาดที่ดินที่เหมาะสม หลังจากการพิจารณาเรื่องที่ดินแลว สิ่งตอมาที่ทานผูอานจะตอง เตรียมการ นั่นคือ การพิจารณา ในเรื่องการวางผัง หรือเรียกภาษาบานๆ วา การจัดแบงสวนการใชประโยชนในทีด่ นิ นัน่ เองครับ การออกแบบโรงงานนัน้ เปนกระบวนการที่ซับซอน เพราะจะเปนการวางแผนที่เกี่ยวของกับงาน หลายๆ ดาน ซึ่งตางก็มีความสัมพันธกันมากบางนอยบาง และงานแตละ ดานก็มีผลกระทบตอผลกําไรทั้งสิ้น เพราะการออกแบบโรงงานที่มีการ วางผังทีด่ จี ะทําใหตน ทุนการผลิตต่าํ ลง ทําใหมกี ารใชทรัพยากรการผลิตอยางมี

ประสิทธิผล ชวยใหธรุ กิจดําเนินตอ ไปไดดวยผลผลิตที่สูงและตนทุนต่ํา ฉะนัน้ การวางผังทีด่ จี งึ เปนสิง่ ทีจ่ าํ เปน อยางยิง่ เพราะผังการใชทด่ี นิ ทีด่ จี ะ เปนปจจัยทีส่ ง เสริมการผลิต ตลอด อายุการใชโรงงานของทานตั้งแตวัน แรกจนถึงวันสุดทายเลยครับ การออกแบบและจัดวางผัง โรงงาน คือ การออกแบบและจัดวาง ตําแหนงของเครื่องจักร อุปกรณ คน วัสดุ สิ่งของ และสิ่งอํานวยความ สะดวกอืน่ ใดทีส่ นับสนุนใหมกี ารผลิต ที่มีประสิทธิภาพใหอยูในตําแหนง ทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ เกิดการไหลของงาน ในกระบวนการผลิตอยางตอเนื่อง ThaiPrint Magazine 147

147-149 pc1.indd 147

6/9/2555 4:28:41


Print Factory

และทําใหการทํางานมีความสัมพันธกนั อยางดี เกิดการเพิ่มผลผลิตลดตนทุน การผลิต และเพิม่ ความปลอดภัยในการทํางานของคนงาน เปาหมายพืน้ ฐานของ การวางผังโรงงานทีด่ นี น้ั มีหลักใหญๆ คือ หลักการเกีย่ วกับการรวมกิจกรรม ทั้งหมด ผังโรงงานที่ดีจะตองรวม คน วัสดุ เครื่องจักร กิจกรรม สนับสนุนการผลิตและขอพิจารณาอื่นๆ ที่ทําใหการรวมตัวของกิจกรรมใน โรงงานดีขึ้น สนับสนุนความตอเนื่องของกิจกรรมตางๆ ในโรงงานและมี จุดมุงหมายเพื่อการทํางานที่สะดวกและคลองตัว หลักการเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในระยะทางสั้นที่สุด ผังโรงงานที่ดีก็คือ ผังโรงงานที่มีระยะทางการเคลื่อนที่ของการขน ถายวัสดุระหวางกิจกรรม หรือระหวางหนวยงานนอย ที่สุด เพื่อประหยัดทั้งแรงงานและ เวลาส ง ผลให ก ารผลิ ต มี กําไรสูงสุดนั่นเอง

หลักการเกี่ยวกับการไหล ของวัสดุ การไหลของวั ส ดุ ต อ งเป น ไปอย า งต อ เนื่ อ งไปยั ง หน ว ยงาน ตอๆ ไปโดยไมมีการวกกลับ, วกวน หรื อ เคลื่ อ นที่ ตั ด กั น ไปมาเพื่ อ ความต อ เนื่ อ งของการผลิ ต และ ป อ ง กั น ค ว า ม ผิ ด พ ล า ด สั บ ส น ระหวางการผลิตนั่นเอง หลั ก การเกี่ ย วกั บ การใช เนือ้ ที่ การใชเนือ้ ทีใ่ หเปนประโยชน มากที่ สุ ด ทั้ ง แนวนอนและแนวตั้ ง การออกแบบวางผังที่ดีนั้นสามารถ ชวยใหทานใชพื้นที่อาคารไดอยาง คุมคาในทุกตารางนิ้ว ทําใหการใช พื้ น ที่ นั้ น มี ค วามเหมาะสมและ เกิดประโยชนสูงสุด หลักการเกี่ยวกับการทําให คนงานมีความพอใจและมีความ ปลอดภัย ผังโรงงานทีด่ ตี อ งไมเปนเหตุ กอใหเกิดอันตรายและอุบัติเหตุตอ คนและทรัพยสินของโรงงาน อีกทั้ง เสริมสรางบรรยากาศทีด่ ใี นการทํางาน ใหแกผปู ฏิบตั งิ าน

148 ThaiPrint Magazine

147-149 pc1.indd 148

6/9/2555 4:28:51


วางผังโรงงาน

หลักการเกี่ยวกับความยืดหยุน ผังโรงงานที่ดีตองสามารถปรับปรุง หรือเปลี่ยน แปลงโดยเสียคาใชจายนอยที่สุดและทําไดสะดวก เพื่อ งายตอการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมในโรงงาน โดยปจจัยทีค่ วรศึกษาในการออกแบบผังโรงงาน ที่ดีนั้น ประกอบไปดวย การขนถายลําเลียง, หนวยรับหนวยสงของ, โกดังสินคา/วัตถุดิบ, หนวยประกอบ, การบริการงานบุคลากร, หนวยคิด, หนวยแพ็ค, สํานัก งาน, อาคารและทีด่ นิ , ทําเลทีต่ ง้ั , ความปลอดภัย, เศษ หรือของเสีย, การวางแผนการขาย, กิจกรรมอืน่ ๆ ทีม่ ี ไวชวยหนวยผลิตซึ่งตองพิจารณาองคประกอบต า งๆ เหลานี้อยางมีความเขาใจ รอบคอบ ถี่ถวน ซึ่งการวางผังที่ดีนั้น มีขอดีตางๆ มากมาย อาทิ เชน สามารถลดความเสี่ยงตอปญหาสุขภาพและสราง ความปลอดภัย, ทําใหผลผลิตสูงขึ้น, เวลารอคอยในการ ผลิตนอยกวา, ใชเนือ้ ทีอ่ ยางมีประสิทธิภาพ, ใชเครือ่ งจักร คนงานและบริการไดอยางเกิดประโยชนมากกวา, สามารถ ควบคุมดูแลไดงา ยกวาและดีกวา ทําใหการดําเนินการของ โรงงานเปนไปตามเปาหมายที่ตองการ คือ ไดโรงงานที่ สามารถผลิตสินคาอยางมีประสิทธิผลสูงสุดนั่นเองครับ การวางผังอาจจะดูเปนเรื่องที่ยุงยากซับซอนไป สักหนอยสําหรับทานเจาของกิจการ แตก็เปนขั้นตอนที่ สําคัญมากๆ ขั้นตอนหนึ่งที่จะทําใหโรงงานของทานเปน “โรงงาน+ออฟฟศ พันธุใหม มี design สรางงาย ถูก เร็ว ดี” การเสียเวลามากหนอยในขัน้ ตอนนี้ จะทําให โรงงานหรือออฟฟศของทานเปนโรงงานหรือออฟฟศทีด่ ี อยูคูกิจการของทานไปอีกนานหลายสิบปเลยครับ

สําหรับทานผูอ า นทีพ่ ลาดในตอนแรกนัน้ สามารถ ไปหาอาน “โรงงาน+ออฟฟศ พันธใุ หม มี design สรางงาย ถูก เร็ว ดี” ตอนแรกไดในฉบับที่แลวนะครับ สวนในฉบับ ตอไปนั้น ผมจะพาทานผูอานคุยกันในเรื่องของรูปแบบ โครงสรางตางๆ ของอาคาร “โรงงาน+ออฟฟศ พันธุใหม มี design สรางงาย ถูก เร็ว ดี” ซึ่งการออกแบบวางแผน เรื่องโครงสรางที่ดีนั้น จะชวยใหการกอสรางโรงงาน+ ออฟฟศของทานมีความรวดเร็ว ทันตอการใชสอย และ ลดคากอสรางไดอีกทางหนึ่งดวย หากทานผูอานทานใด มีขอเสนอแนะ แนะนํา ติชม เพื่อเปนประโยชนอยางไร ติดตอพวกเราไดทาง เวปไซต www.planban.net ได ครับ

ThaiPrint Magazine 149

147-149 pc1.indd 149

7/9/2555 14:34:38


Health

สภาวะในยุคปจจุบันการเรงรีบกับการทํางานที่มีการแขงขันสูงทางดานธุรกิจที่ตางคนตางคิดหา กลยุทธในการครองตลาดและการตอยอดทางธุรกิจใหเจริญกาวหนาสืบไป เพราะฉะนั้นเวลาสวนมากจะมุงไปใน การทํางานจนลืมที่จะดูแลสุขภาพตัวเอง...ฉบับนี้ผมขอพูดถึงเรื่อง โรคหัวใจ เราลองมาทําความรูจักกับโรค ราย ที่อาจแอบแฝงอยูในภาวะความเสี่ยงที่เราเองยังไมรูตัว มาเรียนรูวิธีปองกันโรคหัวใจกันครับ... หัวใจคนเรามี 4 หอง แบง ซาย - ขวา โดยผนังของกลามเนื้อ หัวใจ และแบงเปนหองบน – ลาง โดยลิ้นหัวใจ ในทุกๆ วัน หัวใจคน เราจะเตนประมาณ 100,000 ครั้ง และสู บ ฉี ด เลื อ ดประมาณวั น ละ 2,000 แกลลอน เปรียบเสมือนการ ทํางานปกติของ “หัวใจ” แตถาวัน หนึ่ง... หัวใจเราเกิดอาการผิดปกติ ขึ้นเราจะรูตัวไดอยางไร และเราจะ ทําอยางไร...?

ทั้งนี้ นายแพทยสุรพันธ สิทธิสุข แพทยจากหนวย โรคหัวใจ และหลอดเลือด คณะแพทยศาสตร ภาควิชาอายุรศาสตร โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ กลาววา อาการผิดปกติเบื้องตนของรางกาย ซึ่งอาจเปนขอบง ชี้วา มีอัตราเสี่ยงตอการเปน โรคหัวใจ สามารถแบงไดหลายชนิด ดังนี้

โรคหัวใจที่อาการผิดปกติและเกิดขึ้นเฉียบพลัน...?

คือ อาการผิดปกติเบื้องตนของรางกาย ที่บงชี้วาอาจเปนโรคหัวใจ พบบอยในคนทัว่ ไปทีค่ ดิ วาตัวเองมีสขุ ภาพดี ทัง้ ทีค่ วามจริงอาจเปนโรคหัวใจ ในระยะแรกเริ่ม มีดังนี้ 1. เหนื่อยเวลาออกกําลังกาย เพราะหัวใจทําหนาที่ในการสูบฉีด โลหิตไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย ขณะที่เราออกกําลังกายหัวใจจะทํา งานหนักมากขึน้ ปกติเวลาทีเ่ ราออกกําลังกายไปถึงระดับหนึง่ จะรูส กึ เหนือ่ ย แตในรายของคนที่มีอาการเริ่มตนของโรคหัวใจแมออกกําลังกายเพียง เล็กนอย จะรูสึกเหนื่อยผิดปกติอยางไมเคยเปนมากอน ดังนั้นหากออก กําลังกายแลวรูสึกเหนื่อยงายผิดปกติ อาจเปนขอบงชี้ไดวา คุณอาจเปน โรคหัวใจ 2. เจ็บหนาอกหรือแนนหนาอก มักพบบอยในคนที่เปนโรคหลอด เลือดหัวใจตีบ และไขมันอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ อาการดังกลาวจะมี ลั ก ษณะเฉพาะคื อ รู สึ ก เหมื อ นหายใจอึ ด อั ด และแน น บริ เ วณกลาง หนาอก เหมือนมีของหนักทับอยูหรือรัดไวใหขยายตัวเวลาหายใจ โดยมาก

150 ThaiPrint Magazine

150-152 pc1.indd 150

7/9/2555 14:51:15


โรคหัวใจ อาการนี้ จะแสดงออกเวลาที่หัวใจตองทํางานหนัก เชน ระหวางการออก กําลังกายหรือใชแรงมากๆ เปนตน ซึ่งเปนอีกหนึ่งสัญญาณเตือนวา อาจ เปนโรคหัวใจ 3. ภาวะหัวใจลมเหลว เกิดจากการที่หัวใจไมสามารถสูบฉีดเลือดไป เลี้ยงสวนตางๆ ของรางกายไดอยางเพียงพอ โดยผูปวยจะเริ่มมีอาการ เหนื่อย ทั้งที่ออกกําลังกายเพียงนิดหนอย หรือเหนื่อยทั้งที่นั่งอยูเฉยๆ ใน กรณีที่เปนมาก อาจทําใหไมสามารถนอนราบไดเหมือนปกติ เพราะจะรูสึก เหนื่อยเวลาหายใจ และอึดอัดตรงหนาอก นอกจากนั้น อาจมีอาการหอบ จนตองตื่นขึ้นมาหอบกลางดึกอีกดวย อาการภาวะหัวใจลมเหลวนี้ หากไม รีบไปพบแพทยโดยเร็ว และไมได รั บ การรั ก ษาอย า งทั น ท ว งที อาจมีอันตรายถึงชีวิตได 4. ใจสั่นและหัวใจเตนผิด จังหวะ ปกติหัวใจของเราจะเตน ดวยจังหวะที่สม่ําเสมอประมาณ 60-100 ครั้ง/นาที แตสําหรับคน ที่ มี อ าการหั ว ใจเต น ผิ ด จั ง หวะ อาจขยับไปถึง150-250 ครั้ง/นาที ซึ่งอัตราการเตนของหัวใจที่ไมสม่ําเสมอนี้ จะทําใหเหนื่อยงาย ใจสั่น หายใจ ไมทัน 5. เปนลมหมดสติ คือ อีกหนึ่งอาการที่เตือนวาคุณอาจเปนโรค หัวใจ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูสูงอายุ ซึ่งมีอัตราเสี่ยงตอการเปนลมหมดสติ สูง เนื่องจากจังหวะการเตนของหัวใจไมสม่าํ เสมอ เพราะเซลลซึ่งทําหนาที่ ให จั ง หวะไฟฟ า ในหั ว ใจเสื่ อ มสภาพส ง ผลให หั ว ใจเต น ช า ลงและสงเลือด ไปเลีย้ งสมองไมเพียงพอ จนทําใหเปนลมไปชั่วคราวได ทั้งนี้ การเปนลม หมดสติ มักจะเกิดในทายืนมากกวานั่ง ทําใหขณะลมลงศีรษะ มีโอกาสฟาดพื้น และเกิดการกระทบกระเทือนตอสมองไดมาก กวา ดังนั้น ใครที่เปนลมบอยๆ ควรรีบไปพบแพทย เพราะ อาจเปนโรคหัวใจ ได 6. หัวใจหยุดเตนกะทันหัน ในกรณีนี้มักเกิดจากความ ผิดปกติของเซลลหวั ใจโดยตรง และมักเกิดกับคนปกติทไ่ี มมอี าการ ของโรคหัวใจมากอนลวงหนา ซึง่ หากมีอาการหัวใจหยุดเตนกะทันหัน ถาไมไดรับการชวยเหลือที่รวดเร็ว อาจเปนอันตรายถึงชีวิตได

โรคหัวใจที่อาการผิดปกติที่ สังเกตไดจากรางกาย...? นอกจากความผิดปกติชนิด เฉียบพลันแลว อาการบงชี้ที่สังเกต ไดจากรางกายของเราเอง ก็เปนอีก หนึง่ ความผิดปกติทเ่ี ตือนใหรวู า คุณ อาจเป น โรคหั ว ใจและควรไปพบ แพทยโดยดวนไดเชนกัน เปนตนวา 1.ขาหรือเทาบวมโดยไมทราบ สาเหตุ เมื่อกดดูแลวมีรอยบุมตาม นิ้วที่กดลงไป ซึ่งหากเกิดขึ้นกับใคร ควรรี บ ไปพบแพทย เ พื่ อ ตรวจเช็ ค โดยดวน เพราะนัน่ อาจเปนสัญญาณ เตือนใหรวู า เวลานีค้ ณ ุ อาจอยูใ นภาวะ หัวใจลมเหลวโดยทีไ่ มรตู วั 2. ปลายมือ ปลายเทา และ ริมฝปากมีลักษณะเขียวคล้ํา อาการ ดังกลาวแสดงใหเห็นวา ทางเดินของ เลือดในหัวใจหองขวากับหองซาย มีการเชื่อมตอที่ผิดปกติ สงผลให เกิดการผสมของเลือดแดงกับเลือด ดํา และทําใหปริมาณของออกซิเจน ในเลือดมีปริมาณนอยลงทําใหเกิด เปนโรคหัวใจ

ThaiPrint Magazine 151

150-152 pc1.indd 151

7/9/2555 15:23:07


Health ปองกันโรคหัวใจอยางไรดี...? ขอมูลที่ไดบอกไปขางตน เปนเพียงขอสันนิษฐานเบื้องตนวา เรา มีอัตราเสี่ยงสูงตอการปวยเปนโรคหัวใจ เทานั้น ซึ่งผูที่จะวินิจฉัยวาเราเปน โรคหัวใจหรือไม คือแพทยโรคหัวใจเทานั้น ดังนั้นหากพบความผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทยโดยดวนดีที่สุด สําหรับคนที่หัวใจยังเปนปกติ เรามีขอแนะนําในการดูแลหัวใจ (กอน สายเกินไป) ดังนี้ครับ - สังเกตความผิดปกติของตัวเองอยูเสมอ โดยเฉพาะอาการผิด ปกติที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน เชน ดูวาอัตราการเตนของหัวใจปกติดีหรือไม เจ็บ หนาอก ใจสั่นบอยๆ หรือ เปลา เปนตน - ออกกําลังกาย เปนประจํา ซึ่งนอกจากจะ ทํ า ให ร า งกายแข็ ง แรง สมบูรณ สุขภาพจิตแจมใส แลว ยังชวยใหหัวใจสูบฉีด เลือดไดดีขึ้นอีกดวย - ดูแลสุขภาพใจใหผองใสอยูเสมอ พยายามไมเครียด รูจักควบคุม อารมณ และพึงระลึกไวเสมอวา ความเครียดและความโกรธ เปนตัวการ สําคัญที่ทําใหหัวใจเตนแรง และทํางานหนักขึ้น - รับประทานอาหารที่ดีตอสุขภาพ โดยงดอาหารที่มีไขมันสูง ซึ่ง ทําใหความดันโลหิตสูง เกิดภาวะเสนเลือดหัวใจตีบไดงาย และหันไปกินผัก ผลไมใหมากขึ้น - ควรไปตรวจสุขภาพเปนประจําทุกป เพื่อปองกันและรักษาโรค รายที่อาจคาดไมถึง เชน โรคหัวใจ ซึ่งแฝงอยูในตัวเราตั้งแตเนิ่นๆ

ยามใดที่ ร า งกายอ อ นล า เราหยุดพักใหหายเหนื่อยได แตยาม ใดที่หัวใจออนแรง มันก็ยังคงเดินตอ ไป ทํางานตอไป เพราะฉะนั้น เมื่อรู วา “หัวใจ” คนเราไมเคยหยุดพัก อยาลืมดูแลรักษามันไวใหดีๆ ดวย นะครับ เพื่อจะไดไมเปนโรคหัวใจ เพราะถ า หากเกิ ด ขึ้ น กั บ ใครคงไม สงผลดีใหใครแนนอนเพราะฉะนั้น ควรหลีกใหพนกับสภาวะความเสี่ยง เปนโรคหัวใจและหมั่นตรวจสุขภาพ เปนประจําดวยนะครับ ขอขอบคุณขอมูลโดย กระปุกดอทคอม

152 ThaiPrint Magazine

150-152 pc1.indd 152

7/9/2555 14:42:52


153 Ad XPose! UV pc1.indd 1

11/9/2555 13:28:38


Ad_screen#89-m14.pdf

1

5/10/2554

20:51

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

153 In back cover Ad Nationwide#92_pc3.indd 1

5/7/2555 22:14:00


152 Ad Flint Group Nationwide#92_pc3.indd 1

6/7/2555 2:26:28


154 Back cover Ad Konica #92_pc3.indd 1

5/7/2555 22:11:33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.