AD SCG#2012_19_M2.indd 19
19/9/2555 11:09
03 Ad Interink pc1.indd 1
19/4/2555 14:26:55
04-05 Ad Canon pc1.indd 2
19/4/2555 17:48:15
ad Toyoink _m14.indd 1
1/26/12 9:57 PM
Ad Soy ink cervo pc1.indd 1
19/4/2555 15:48:38
13 Ad neo digital pc1.indd 1
7/9/2555 3:44:15
¾¹Œ×·¾‹ÕÁÔ¾ A3 µ´Ñµ¡ ¾ÁÔ¾ä ´àŒÃÇçʧÙÊ´Ø 150 á¼¹‹/¹Ò·Õ ¾ÁÔ¾§ Ò¹ Êͧ˹Ҍ͵Ñâ¹ÁµÑÔ à»¹š Network Printer ä´Œ ËÁ¡Ö ª¹´Ô¡¹Ñ¹ÓŒ ÃÒ¤ÒÊ´Ø»ÃÐË嫄 ¾ÁÔ¾ä ´ŒËÅÒ¡ËÅÒ ÍÒ·àÔª¹‹ ¹ÒÁºµÑà 㺻ÅÇÔ á¼¹‹¾ºÑ â»ÊàµÍà ÇÒÃÊÒà à¡ÂÕõºÔµÑà ¡ÃдÒÉËÇѨ´ËÁÒ ÏÅÏ â´Â äÁÁ‹¨Õӹǹ¾ÁÔ¾¢ ¹ŒÑµÓ‹
Thai Print Magazine Thai Print Magazine ่ 94 ฉบัฉบั บทีบ่ ที93
เข า สู ว าระการบริ ห ารงานของคณะกรรมการบริ ห าร สมาคมการพิ ก้าวสู่ความยิ ่งใหญ่ดแใหม ห่งอุทตี่ เสาหกรรมการพิ มพ์อไจากคณะ ทย ที่ได้ ม พ ไ ทยชุ ข า มาสานงานต จักรรมการที ดเวทีการประกวดสิ ่ ง พิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ เ ป็ น ครั ้ ง ที ่ 7 ติ ดต่อกันที่ ่หมดวาระไปรวมถึงกลุม Young Printer Group และในปี น ้ ี ถ ื อ ว่ า อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทยเราได้ ก ้ า วข้ า มความ เพิ่งผานพนการเลือกตั้งคณะกรรมการในวาระใหมเขามาเช นกัน สำในป �เร็นจี้นอย่ับวาางเหนื อความคาดหมาย เพราะการจัดการประกวด ทั้งคณะผู จัดงานและคณะกรรมการของสมาคมฯ ตาง ม YPG วมงานเปนจํานวนมาก สิยิน่งพิดีทมี่เพ์ห็แนห่กลุงชาติ ครั้งทีสมั่ ค7รเขนีา้ รนอกจากจะแสดงถึ งศักโดยการ ยภาพ เลือกตั้ง วาระป นี้ ใชมชพ์ื่อแงานว CMYK Color keyว ความเหนื อชัน้ ด้า2555-2557 นคุณภาพงานพิ ละบริาการที ย่ อดเยี ย่ มแล้ กับผูนรว ี้ใมช้ นัNext ้น Gen ยังได้Pattaya คำ�นึงถึงConnection เรื่องการอนุสรรักาษ์งความสนุ สิ่งแวดล้กอสนานให ม โดยในปี งานไดอยางประทั บใจ หลัางจากได อ่ คณะกรรมการของกลุ ม YPG่ม CONCEPT ของงานว่ GEENรายชื PRINT CONCEPT โดยเพิ ทางสมาคมและคณะกรรมการเองก็ ต อ งมี ก ารเตรี ย มงานการ รางวั ลพิเศษขึ รางวัคลรั้งนัทีน่ ่ คื7อ THAI PRINT ASSOCIATION ประกวดสิ ่งพิมน้ พมาแห1งชาติ ซึ่งสมาคมการพิ มพไทยจะมี AWARD ซึ ่ ง ผู ้ ท ี ่ จ ะได้ ค ั ด เลื อ กสำ � หรั บ รางวั นี้ จะเน้นในเรื ่อง การจัดขึ้นทุกๆ ปมาอยางตอเนื่อง ซึ่งจะตอลงระดมความคิ ดจาก อุคณะกรรมการที ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ส ี เ ขี ย วและเป็ น ที ่ น ่ า ดี ใ จกั บ ผู ้ ท ี ่ ไ ด้ ร ่รับผิดชอบในการจัดงานการประกวดสิ่งพิมั บพ รางวั ลนีค้เป็รั้งนนีอย่ างสูง เพราะเป็ โรงพิเขมาพ์มาร ที่อวยูมแสดงความคิ ่ในต่างจังหวัดด แหงชาติ ้ และให YPG รุนนใหม ซึเห็่งนเราได้ มีการสัมภาษณ์ ผู้ที่ไนด้อย รับารางวั า เขามี แรงน และวางแผนการจั ดงานกั งแข็งลขันนี้ไซึว้่งดต้วอยว่ งรอติ ดตามกั อนกันยายนนี ้กับงานการประกาศผลรางวั Print บัไดนในเดื ดาลใจอย่ างไรในการคิ ดถึงสิ่งแวดล้อมเป็นลอันThai ดับแรกใน Awards� เนิ2012 มทั้งรวามแสดงความยิ ดีกับผูที่ไดรับรางวัล การดำ น ธุ รพร กิ จอและท่ นสามารถติ ดนตามผลการประกาศ สํ า หรั บ วารสารการพิ ม พ ไ ทยฉบั บ นี้ ข อเน นในเรื่ องของ รางวัลได้ในเล่มครับ การพิ ม พ ด ว ยระบบดิ จ ต ิ อล ซึ ง ่ ค า ยต า งๆ นตัวแทนในการ ขอแสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัที่เลปในการประกวด ขายเครื อ ่ งพิ ม พ ใ นระบบดิ จ ต ิ อล ก็ จ ะแนะนํ า เทคโนโลยี ใหมๆน สิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 ในปีนี้ด้วยนะครับ และต้องขอเป็ ทีกำ�่ทลัันงสมั ย มาให อ า นกั น อย า งครบถ ว นลองติ ด ตามได ใ นเล ม ใจให้้กับยัชิง้นไดผลงานที ด้ถูกคัดดาแห เลืองกให้ ได้มรพับไรางวั อันครั ทรงบ นอกจากนี กลาวถึง่ไพระบิ การพิ ทย ลพระบาท เกี ยรติจนพระจอมเกล ้ี พร้อมทัง้ ขออวยพรให้ กุ ๆ รางวั ลทีตถ่ ิขกู องผู จัดส่บงุกไปแข่ สมเด็ าเจาอยูหัว ทรวมถึ งประวั เบิกเรืงขั่อนง ในเวที ร ะดั บ เอเชี ย ในงาน Asian Print Awards ครั ง ้ ที ่ 10 มซึพ่ง การพิมพในเมืองไทยเราคนแรก ที่คนในอุตสาหกรรมการพิ หวั ง ว่ า ไทยเราจะคว้ า เหรี ย ญรางวั ล กลั บ มามากกว่ า ทุ ก ๆ ตางระลึกถึงอยูเสมอ นั่นคือหมอบลัดเรย ลองมารําลึกถึงปีทาทีน่ ผ่โดยอ านมาานประวั ขอให้ตพิความเป วกเราคนในอุ ตสาหกรรมการพิ พ์ไคทยช่ วยกัน นมาของท านดูครับวา ทามนมี ุณูปการให กลุมอุตสาหกรรมการพิ พไทยอย าง ส่กับงแรงใจไปช่ วยเชียร์กันด้วมยนะครั บ าเพืงไรบ ่อประกาศความยิ ่งใหญ่ ดทายขอรวมแสดงความยิ ของอุตสุสาหกรรมการพิ มพ์ไทยเรานดีกับนักเรียนการพิมพ ที่ได ตรจากการจบหลั ยระบบออฟเซ็ รับประกาศนี สถาบัยนบัการพิ มพ์ไทยเปิกดสูขึต้นรการพิ มาเพืม่อพจุดดว ประสงค์ ในการต เบื ้ อ งต น ของสถาบั น การพิ ม พ ไ ทยผู อ า นท า นใดสนใจที ่ จ ะสมั คร พัฒนาอุตสาหกรรมการพิมพ์พัฒนาช่างพิมพ์ให้มีคุณภาพมาก เข า เรี ย นหลั ก สู ต รนี ้ ก ็ ส ามารถติ ด ต อ สอบถามได ท ่ ี ส มาคมการ ยิ่งๆ ขึ้น และสืบทอดเจตนารมณ์ของธุรกิจโรงพิมพ์ให้กับรุ่น พิมพไทย และขอตอนรับกลุม Young Printer Group ในวาระ ต่ใหม อๆที่เไป ข้ามาเรี นรู้ถึงการพิ มพ์รู้จักการท�ำงานของเครื ่อง พิ่งเขได้าเมาร วมกิยจกรรมดี ๆ ของสมาคมการพิ มพไทย และ พิขอให มพ์รเู้ขปั้นนตอนการท�ำงานพิ ม พ์ เป็ น ต้ น และเมื อ ่ เร็ ว ๆ นี ้ ทาง กําลังสําคัญในการขับเคลื่อนสมาคมใหเจริญกาวหนา สถาบั เปิดบคอร์ดใหม่ส�ำหรับนักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 5 เรา ยิ่งๆ ขึน้นได้ ไปครั ลองไปติดตามกันว่า ส�ำหรับวันแรกในการเรียนทางสถาบันได้ สอนเรื าง ส�ำหรั นใจสามารถติดต่อสอบถาม ขออภัอ่ ยงอะไรกั ในขอผินดบ้พลาดที ่เกิบดผูขึท้ ้นสี่ จากวารสารการพิ มพไทย บที่ 92 หน 28 โทางสมาคมการพิ มพไทยจึ งขอแก ทีฉบั่สมาคมการพิ มพ์าไทยได้ ดยตรงครับ ลองไปติ ดตามกั นได้ใไนข ขอมความเพื เล่ ได้เลยครั่อบความถู ... กตองและขออภัยในความผิดพลาดที่ เกิดขึ้นมา ณ โอกาสนี้ แกไขหนา 85
THE THAI THAI PRINTING PRINTING ASSOCIATION ASSOCIATION THE
Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ กานนท อุปนายก คุณพงศ์ เนาวประทีปป,, พงศธรี ะ พัฒนพีระเดช ะเดช,, คุคุณณนินิธธิ ิ เนาวประที คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณถิร รัตนนลิน, คุณคุณา เทวอักษร เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ งศ์ ผู้ช ่ว ยเลขาฯ คุณสุวทิ ย์ย เพียรรุง่ โรจน์ โรจน, คุณคมสันต์ต ชุนเจริญ, คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณวริษฐา สิมะชัย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่ หลอยืนยง นายทะเบียน คุณวิวัฒน์น อุตสาหจิต ปฎิ ปฏิคม คุณชินวัชร์ร เฉลยวุฒิโรจน์ รจน ประชาสัมพันธ์ธ คุณพชร จงกมานนท์ จงกมานนท กรรมการผู้ท รงคุณวุฒิ คุณณรงค์ ณรงคศักดิ์ มีวาสนาสุข ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย์ย กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้ แยมวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ นวงศ, คุณสุรเดช เหล่ เหลาแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน์น, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ นโรจน, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุพันธ์ธุ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธำธํ�ารง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทัย ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์น ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงี่ยม, คุณหิรัญ เนตรสว่ เนตรสวาง, ผศ.บุญเลี้ยง แก้ แกวนาพันธ์ธ, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณ, คุณชัยวัฒน์น ศิริอ�ำ ําพันธ์ธกุล, คุณวิชัย สกลวรารุ่ง เรือง, คุณวิรุฬห์ห ส่สงเสริมสวัสดิ์, คุณภาสกร วงษ์ วงษชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ ชษฐ จิตรภาวนากุล, คุณพิมพ์พนารา จิรานิธิศนนท์ นนท, คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณธนวัฒน์น อุตสาหจิต, ที่ปรึกษาพิเศษด้ ศษดานกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล
Special Thanks
บริษัท ผลิตภัณฑ์ฑกระดาษไทย จำจํ�ากัด เอื้อเฟืเฟ้อ กระดาษที่ใช้ชพิมพ์พ thaiprint thaiprint magazine magazine โทรศั โทรศัพพท์ท 0-2586-0777 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก์ก ยูวี จำจํ�ากัด ช่ชวยเคลือบปกวารสารการพิมพ์พไทยด้ ทยดวยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก์ก. เพิ่มคุณค่คาให้ ใหงานพิมพพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ
บริษัท สีทอง 555 555 จำจํ�ากักัดด บริษัท สุนทรฟิ ทรฟล์ม จำจํ�ากัด บริษัท บางกอกบายน์ บางกอกบายนดิ้ง จำจํ�ากัด
PAPER PAPER
14 pc1.indd 10
โทรศัพท์ท 0-2425-9736-41 0-2425-9736-41 ผู้ผ ลิตและจำ และจํ�าหน่ หนายผลิตภัณฑ์ฑซองทุกชนิด โทรศัพท์ท 0-3441-7555 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 0-3441-7599 ผู้ส นับสนุนการแยกสี ทำทํ�าเพลท โทรศัพท์ท 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผู้ส นับสนุนการไสกาว โทรศัพท์ท 02-682-217779 02-682-217779
หนั หนังงสืสืออเล่เลมมนีนี้พ้พิมิมพ์พดด้ววยกระดาษคุ ยกระดาษคุณณภาพ ภาพ เพืเพื่อ่องานคุ งานคุณณภาพ ภาพ 6/9/2555 20:43:52
Ad President-mac19.indd 1
1/9/10 5:17:04 PM
Content 26 52
Print News
18 26 44 52 68 72 96 126 136 139
บจก. ไทยเคเค อุตสาหกรรม และ บจก. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนากระดาษเคลือบ พลาสติกชีวภาพ (PBS ย่อยสลายได้ 100%) 7th Thai Print Awards 2012 งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 ifec ผนึก “โคนิก้า มินอลต้า” เปิดแผนทำ�ตลาดเครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่น อัดแคมเปญ Speed Up Your Business HP Post DRUPA นวัตกรรมการพิมพ์หลังงานดรูป้า 2012 Control P ผู้ผลิตงานพิมพ์ดิจิตอลออฟเซ็ต ผสมผสานกับการเย็บแบบคลาสสิก แคนนอน โชว์นวัตกรรมการพิมพ์แห่งอนาคต ครบครันด้วยโซลูชั่น ซอฟต์แวร์ ปิดฉาก 2nd CAS CUP 2012 ฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ปี 2 งานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 17 Maximize Your Advantage with HP เพิ่มแต้มต่อความได้เปรียบกับเอชพี ไฮเดลเบิร์กประกาศลุยแผนโรดโชว์ต่างจังหวัด
Thaiprint Cover Story
22 หน้ากว้าง ประสิทธิภาพชัด กับ MP CW2200
Print Business
48 Cloud Computing กับอุตสาหกรรมการพิมพ์ โดย คุณกิตติ พรพิพัฒน์วงศ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
68
Print Data
56 ตลาดส่งออกกระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ, หนังสือและสิ่งพิมพ์ของไทย
Print Interview 33 80 88 98
บทสัมภาษณ์ คุณภาสกร วงษ์์ชนะชัย ประธานการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 สู่ความสำ�เร็จที่ยั่งยืน ... กับการบริการอย่างเหนือชั้นของ บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) บทสัมภาษณ์ คุณอานนท์ วาทยานนท์ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สมุยอักษร Mitsubishi ย้�ำ ชัด !!! ยังเติบโตอย่างต่อเนือ่ งในธุรกิจ
Printing Education & Development
102 เปิดคอร์สใหม่ นักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 5 ของสถาบันการพิมพ์ไทย
Thaiprint Awards
108 สรุปผลการประกาศรางวัล การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 7
102
Young Printer
130 จิรานุช ชุนเจริญ / พงษ์พัฒน์การพิมพ์ บจก.
Print Technology
122 UV LED INK
Print Travel
142 เมืองลิลล์ (ที่คิดว่าเล็กๆ)
Print Factory
146 โรงงาน+ออฟฟิศ พันธุ์ใหม่ มี design สร้างง่าย ถูก เร็ว ดี
126
Health
150 โรคเส้นเลือดสมองตีบ
Thai Print Magazine ปีที่ 13 ฉบับที่ 94
130
สมาคมการพิมพ์ไทย
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดทำ�ขึ้น เพื่อบริการข่าวสาร และสาระความรู้แก่สมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ในวารสารนี้เป็นอิสรทรรศ์ ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จ�ำ เป็นต้องเห็นด้วยเสมอ
บรรณาธิการบริหาร อนันต์ ขันธวิเชียร กราฟฟิค ศุภนิชา พวงเนตร ฝ่ายบัญชี มยุรี จันทร์รัตนคีรี 16 ThaiPrint Magazine
พิมพ์ท ่ี
บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จำ�กัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
Print News
บจก. ไทยเคเค อุตสาหกรรม และ บจก. พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนา กระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ (PBS ย่อยสลายได้ 100%)
คุณเชวง อยู่วิมลชัย กรรมการผู้จัดการใหญ่ บจก.ไทยเคเค อุตสาหกรรม และคุณศุภโชค เลี่ยมแก้ว กรรมการผู้จัดการใหญ่ บจก.พีทีที โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการ พัฒนากระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ PBS ย่อยสลายได้ 100% ในเชิงพาณิชย์ ณ ห้องวิมานทอง โรงแรมมณเฑียร ริเวอร์ไซด์ เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2555 ซึ่งนับเป็นก้าวแรกที่ส�ำ คัญในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พลาสติกชีวภาพของกลุ่ม ปตท. และ ไทยเคเค ให้เป็นรูปธรรม เพื่อการนำ�ร่องสู่สิ่งแวดล้อมที่ดีต่ออนาคตให้ กับประเทศไทยต่อไป โดยไทย เคเค และ กลุม่ ปตท. ได้พฒ ั นากระดาษเคลือบ Polybutylene Succinate (PBS) ร่วมกันจนสามารถผลิตกระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ สำ�หรับบรรจุภณ ั ฑ์ชนิดต่างๆ เช่น แก้วกระดาษ ถ้วยกระดาษ กล่องอาหาร เป็นต้น ทีผ่ า่ นมาผลิตภัณฑ์เหล่านีใ้ ช้กระดาษเคลือบ โพลีเอทธิลนี (LDPE) ซึง่ ใช้เวลาในการย่อยสลายประมาณ 5 ปี มาสูก่ ระดาษเคลือบพลาสติก ชีวภาพ จะสามารถย่อยสลายได้ภายในระยะเวลาสั้นๆ ในธรรมชาติ เช่น 4-6 เดือน โดย Polybutylene Succinate (PBS) เหมาะกับสภาวะอากาศ บ้านเราเป็นอย่างยิง่ เนือ่ งจากบ้านเราเป็นประเทศร้อนชืน้ ส่งผลให้กระดาษ เคลือบ PBS ดังกล่าว สามารถย่อยสลายได้ในสภาวะปกติของบ้านเรา โดยไม่จำ�เป็นต้องฝังกลบ หรือ กำ�จัดผ่านโรงหมัก หรือโรงกำ�จัดขยะ เช่น ด้วยการทิ้งไว้ตามสภาวะปกติของบ้านเราที่มักจะมีความร้อนประมาณ 40 – 50 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ ประมาณ 50 % พร้อมด้วย จุลนิ ทรียท์ ม่ี อี ยูต่ ามธรรมชาติของบ้านเรา Polybutylene Succinate (PBS) จะสามารถย่อยสลาย เป็นน้� ำ พลังงาน ก๊าซสำ�หรับการสังเคราะห์แสง ของพืช และมวลชีวภาพที่มีประโยชน์ต่อดินได้ภายในเวลาประมาณ 4 เดือน 18 ThaiPrint Magazine
บจก. ไทยเคเค อุตสาหกรรม
คุณเชวง อยูว่ มิ ลชัย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม จำ�กัด กล่าวถึงแรง บั น ดาลใจในการริ เริ่ ม แนวคิ ด การผลิ ต กระดาษ เคลือบพลาสติกชนิดย่อยสลายได้ว่า “จากภั ย พิ บั ติ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ในประเทศต่ า งๆ รวมทัง้ ประเทศไทยเรา หลายสถานการณ์เกีย่ วข้อง กับภาวะโลกร้อน เช่น สภาวะอากาศแปรปรวน ฝนไม่ตกตามฤดูกาล น้ำ�ท่วมฉับพลัน บริษทั ไทย เคเค อุตสาหกรรม จำ�กัด ผลิต เทปกาว ฉลากเคลือบกาว และเมลามีน ยูเรีย โมลดิง้ คอมปาวด์ บริษัทฯ ตระหนักถึงควาามสำ�คัญของ การร่วมรณรงค์ดา้ นสิง่ แวดล้อมจึงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนา และผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เช่น การเลือก ใช้กระดาษจากโรงงานทีม่ รี ะบบการบริหารการจัดการ ปลูกป่าทดแทน (FSC, PEFC) และการเลือกผลิต กระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ (Bio plastic) เช่น Polybutylene succinate (PBS)
ทีม่ าและจุดเริม่ ต้นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้วยความมุ่งมั่นและสนใจในผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม เราจึงได้มีโอกาสพบกับทีมพัฒนา จากกลุม่ บริษทั ปตท. ได้ศกึ ษาและพัฒนาร่วมกัน ใน การผลิตกระดาษเคลือบ PBS ร่วมกัน จนนำ�มา ซึ่งความสำ�เร็จร่วมกัน อีกทั้งด้วยความได้เปรียบ ด้ า นทรั พ ยากรทางธรรมชาติ ข องบ้ า นเราที่ เ ป็ น ประเทศที่มีการผลิตน้ำ�ตาลจากอ้อย เป็นอันดับ สองของโลก โดยเราเชื่อว่าจะช่วยทำ�ให้ต้นทุนของ PBS สามารถที่จะแข่งขันได้ (Competitive) ซึ่งจะ แตกต่างจากการลงทุนในผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น Solar Energy ที่จะต้องพึ่งพา การสนับสนุนจากภาครัฐ ในขณะที่ปัจจุบันหลาย ประเทศทัว่ โลกกำ�ลังประสบกับปัญหาภาวะเศรษกิจ ของประเทศซบเซา จึงทำ�ให้ประเทศต่างๆ ไม่สามารถ ที่จะผลักดันหรือเกื้อหนุนธุรกิจด้านนี้ได้ ค ว า ม มุ่ ง มั่ น แ ล ะ ส น ใจ ใ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ Polybutylene succinate (PBS) ย่อยสลายได้ 100 %
ThaiPrint Magazine 19
Print News
นัน้ ด้วยการผลิตทีเ่ ป็น Mass scale นี้จะช่วยทำ�ให้ต้นทุนของ PBS สามารถที่จะแข่งขันในตลาดและ พัฒนาในเชิงพาณิชย์ตอ่ ไป สำ�หรับ การพัฒนา กระดาษเคลือบ (PBS) กับกลุ่ม ปตท. นั้น ไม่เพียงแต่ ความร่วมมือที่ดีด้านการพัฒนา สินค้า แต่เรายังมีขบวนการในการ พัฒนาด้านการตลาดไปด้วยกัน เพือ่ ผลักดันสูก่ ารผลิตสินค้าในเชิง พาณิ ช ย์ ต่ อ ไปสู่ ต ลาดโลกและ ส่งผลให้ประเทศไทยพัฒนาเป็น ศูนย์กลางของ Bio Hub ของโลก ต่อไป วันนี้เราคาดหวังว่าหาก เราทุกคนร่วมกันเปลี่ยนการใช้ กระดาษเคลือบพลาสติกธรรมดา มาเป็นกระดาษเคลือบพลาสติก ชนิดย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ Polybutylene succinate (PBS) จะนำ�มาซึ่ง ผลดี ต่อ สิ่ง แวดล้อม และธรรมชาติ เพื่อนำ�ร่องสู่สิ่ง แวดล้อมทีด่ ใี ห้แก่ลกู หลานของเรา ในอนาคตต่อไป
20 ThaiPrint Magazine
สำ�หรับกลุม่ ปตท. ได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์ถว้ ยกระดาษเคลือบพลาสติก ชีวภาพ PBS ในร้าน Café’ Amazon เพือ่ ใช้ทดแทนถ้วยพลาสติกธรรมดา ที่ย่อยสลายไม่ได้ และยังเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม เพราะ PBS สามารถย่อยสลายได้ 100% ในสภาวะปกติพร้อมกับการ ย่อยสลายของขยะอินทรียต์ า่ งๆ ซึง่ เหมาะกับการจัดการขยะแบบฝังกลบ และการหมักขยะอินทรีย์ เป็นปุย๋ ชีวภาพ เป็นการช่วยยกระดับความ สามารถในการผลิตผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตจากพลาสติกชีวภาพ PBS (Polybutylene succinate) ในประเทศไทย และเป็นการส่งเสริมความเป็นผูน้ �ำ ใน อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพของ ไทยเคเค และ กลุม่ ปตท. ทัง้ นี้ ปตท. ได้ลงทุนร่วมกับบริษทั มิตซูบชิ ิ เคมิคลั ประเทศญีป่ี นุ่ ตั้งโรงงานผลิต PBS ขึ้นในประเทศไทย ซึ่งโรงงานดังกล่าวจะพร้อม ผลิต PBS ในต้นปี พ.ศ. 2557 โดยมีก�ำ ลังการผลิตอยูท่ ป่ี ระมาณ 30,000 ตันต่อปี โดยวัตถุดิบตั้งต้นจะมาจากน้ำ�ตาลดิบ ซึ่งประเทศไทยเรามี กำ�ลังการผลิตน้�ำ ตาลจากอ้อยเป็นอันดับสองของโลก คุณศุภโชค เลีย่ มแก้ว กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บจก. พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ตติ้ง กล่าวว่า ความร่วมมือในครั้งนี้ นอกจากจะนำ�มาซึ่งผล สัมฤทธิท์ างด้านผลิตภัณฑ์อนั เป็นเลิศแล้ว ยังเป็นจุดเริม่ ต้นทีด่ ี สำ�หรับ บุคลากรของทัง้ สองบริษทั ทีจ่ ะแลกเปลีย่ นความรู้ และสร้างความสัมพันธ์ อันดี ซึง่ จะก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อการพัฒนาธุรกิจพลาสติกชีวภาพ ของกลุม่ ปตท. ไปสูเ่ วทีระดับโลกได้อย่างยัง่ ยืน
Thaiprint Cover Story
หน้ากว้าง ประสิทธิภาพชัด กับ ...
MP CW2200 SP
ริโก้เพิ่มสีสันให้กับธุรกิจ CAD ของคุณด้วยเครื่องมัลติฟังก์ชั่น 4 สี (CMYK) Wide Format กับ MP CW2200 SP ด้วยการท�ำงานระบบหมึกพิมพ์ Liquid GelTM โดยเน้นการตอบสนองกลุ่มคนท�ำงาน สถาปัตยกรรม, วิศวกรรม, งานก่อสร้าง, แบบแปลนและกลุ่มออกแบบผลิตภัณฑ์ มุ่งเน้นเป้าหมายเฉพาะ ตลาด CAD ให้สามารถตอบสนองความต้องการงาน โดยเฉพาะงานพิมพ์ด่วน ด้วยคุณสมบัติหมึกพิมพ์ แห้งเร็วเป็นพิเศษ ระบบปฏิบัติการที่ทรงประสิทธิภาพ ลดปัญหางานออกมาไม่ชัด ให้ลายเส้นคม พร้อม เปิดตัววางจ�ำหน่ายในเดือนมกราคม พ.ศ. 2556 นี้ ส�ำหรับตลาดพิมพ์ CAD ระบบเดิมนั้น เครื่อง พิมพ์ขาวด�ำอาจตอบโจทย์ได้ระดับหนึ่ง แต่ ณ วันนี้ ด้วยนวัตกรรมใหม่ล่าสุดจากริโก้จะเป็นก้าวส�ำคัญที่ ช่วยเปลี่ยนแปลงให้งานพิมพ์มีสีสัน พร้อมคุณภาพได้ ดังใจ อาทิเช่น สถาปนิกที่ต้องการสร้างสรรค์งานโครง ร่างให้ดูโดดเด่นสามารถเพิ่มสีสัน เพื่อการน�ำเสนอ ผลงานให้ดเู หนือกว่าได้อย่างง่ายๆ ด้วยการท�ำไฮไลท์ พื้นที่ต่าง ๆ เช่น บริเวณวางผังระบบไฟฟ้าด้วยสีแดง หรือระบบเดินท่อประปาด้วยสีน�้ำเงิน นอกจากนี้ด้วย การออกแบบที่ตอบโจทย์ความต้องการใช้งานอย่าง ตรงจุด ด้วยคุณสมบัติความรวดเร็ว ที่ไม่ว่าเมื่อไร
ต้องการพิมพ์งานก็สามารถท�ำออกมาได้ทันที เพราะ ท�ำงานได้ในสภาพแวดล้อมจริง ด้วยการอุ่นเครื่อง เพียง 40 วินาที ใช้พลังงานไฟฟ้าเพียงแค่ 10% น้อย กว่าเครื่องพิมพ์ทั่วไปในท้องตลาด และยิ่งไปกว่านั้น เพื่อตอบสนองการใช้งานกลุ่มลูกค้า CAD จึงรองรับ วัสดุพิมพ์หลายประเภท ทั้งกระดาษไข ฟิล์มด้าน และ อื่นๆ ด้วยคุณสมบัติครบเครื่องแล้วยังมาพร้อมกับ หน้าจอสีระบบ Touch Screen แสดงฟังก์ชั่นการใช้ งานด้วยรูปภาพแอนนิเมชัน่ และเหนือกว่าด้วยประสิทธิ ภาพความเร็วในการพิมพ์งานสูงถึง 1.8 A0/นาที ส�ำหรับงานขาวด�ำ และ 0.6 A0/นาที ส�ำหรับงานสี
หน้าจอปรับระดับให้เหมาะสมกับการผูใ้ ช้งาน พร้อมปุม่ เข้าการทำ�งานลัด 5 ปุม่ มาพร้อมกับพอร์ทเสียบ USB และ SD Card 22 ThaiPrint Magazine
ตัวเครือ่ งรองรับงานหน้ากว้างถึง 914 มิลลิเมตรที่ใหญ่กว่ากระดาษ A0 โดย MP CW2200SP ยังสามารถ สแกนสีเป็น TIFF, PDF, JPEG ที่ ความละเอียดสูงถึง 600 dpi และมี ความเร็วในการสแกนถึง 80 มิลลิเมตร /วินาทีส�ำหรับงานขาวด�ำ และ 26.7 มิลลิเมตร/วินาทีส�ำหรับงานสี และ ท้ายสุดด้วยเทคโนโลยีที่เพิ่มความ สะดวกสบายมากขึ้ น ด้ ว ยพอร์ ท USB ท�ำให้สามารถใช้งานเครื่อง พิ ม พ์ ไ ด้ ทั น ที ไ ม่ ต ้ อ งรอเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ ทั้งงานสั่งพิมพ์และ งานสแกน สนใจสอบถามรายละเอียด เพิ่มเติมที่ บริษัท ริโก้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด Tel: 0-2762-1524 Fax: 0-2762-1348 Website : www.ricoh.co.th
คงคอนเซ็ปต์มัลติฟังก์ชั่น ด้วยฮาร์ดดิสก์ 250GB และ RAM 3 GB ประสิทธิภาพการพิมพ์ด้วยความละเอียดในการพิมพ์ 600 x 600 dpi และความละเอียดในการสแกนทั้งสีและขาวดำ� 600 dpi
ThaiPrint Magazine 23
YLW 780 เครื่องซิลคสกรีน
YLU เครื่องเคลือบยูวี
YLEM เครื่องอัดลาย
YLL-3AWF เครื่องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ
YLM-350 เครื่องถายโอนเลเซอรระบบยูวี
ผูจัดจำหนายเครื่องจักรหลังการพิมพ บริษัท ยีลี่ (ประเทศไทย) จำกัด 969/1 ซ.พัฒนาการ 15 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2369-4011-2 แฟกซ. 0-2369-4013 E-mail : Yiilee_Thailand@hotmail.com
YIILEE (THAILAND) CO.,LTD. 969/1 PATTANAKARN SOI 15, PATTANAKARN RD., SUANLUANG, BANGKOK 10250 TEL. 0-2369-4011-2 FAX. 0-2369-4013
S-188 U.V Varnish แบบหนา S-189 Low Viscosity U.V Varnish แบบบาง น้ำยายูวี สำหรับการเคลือบในอุตสาหกรรม กระดาษแบบหนา และ แบบบาง C-190 Screen-Printing U.V Vanish สำหรับงานที่มีความนูนต่ำ C-190H High Viscosity สำหรับงานที่มีความนูนสูง
S-168 Opp Glue เปนกาว OPP ใชสำหรับ BOPP, PET, PVC ฟลม ใหติดกับกระดาษทำใหกระดาษเงาและเรียบ น้ำยาสปอตยูวีแบบซิลคสกรีน เคลือบเฉพาะจุดเพื่อใหเกิดความเงาสูง มีประสิทธิภาพในการเคลือบกระดาษสูง มีความสวยงาม โดดเดน สามารถเก็บรักษาไวไดนาน
กาวน้ำ OPP สำหรับฟลม BOPP, PET, PVC กับกระดาษและสิ่งพิมพกระดาษ สามารถทำใหกระดาษที่เคลือบฟลมแลวมีผิวเรียบเนียน มีความเงาสูง ยึดเกาะไดดี สามารถปมนูนกระดาษหรือรีดลายกระดาษได และสามารถใชกับเครื่อง Manual และ Auto ได
OPP FILM LAMINATION ใส 15 mic ความยาว 4000 เมตร ดาน 15 mic ความยาว 4000 เมตร มี Size 400, 450, 460, 500, 540, 550, 580, 600, 630, 640, 725, 750, 780, 800, 880, 900, 915, 920, 1020
969 ซ.พัฒนาการ 15 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท 0-2729-8847-8 แฟกซ 0-2729-8849 E-mail : Kmorethailand@hotmail.com
Print News
7th Thai Print Awards 2012 งานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 7 World Class Printing : Going Green For A Better Planet
26 ThaiPrint Magazine
7th Thai Print Award
แขกผูม้ เี กียรติเริม่ เดินทางมาถึงบริเวณงานและลงทะเบียนเข้าร่วมงานในครัง้ นี้
ก้าวเข้าสู่ปีที่ 7 แห่งความยิ่งใหญ่ของอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทยกับงานประกาศผลรางวัลการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติ ครั้งที่ 7 เสริมแนวคิดที่ก้าวสู่อุตสาหกรรมการพิมพ์ สีเขียวเพื่อโลกที่สวยงาม สมาคมการพิมพ์ไทยประกาศความ ส� ำ เร็ จ ของผู ้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมด้ า นการพิ ม พ์ ข อง ไทยเราทั่วประเทศ ต่างได้ส่งผลงานเข้าประกวดกันอย่าง เป็นจ�ำนวนมากยากต่อการตัดสิน โดยปีนี้มีรางวัลทั้งหมด 30 ประเภท ซึง่ ปีนมี้ รี างวัลพิเศษเพิม่ เติมอีกหนึง่ รางวัล นัน่ คือ รางวัล THAI PRINT ASSOCIATION AWARD:GREEN PRINT CONCEPT ซึง่ รางวัลประเภทนีจ้ ะเป็นรางวัลทีค่ ดั สรรโรงพิมพ์ ที่มุ่งเน้นเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็นพิเศษถือว่าสมาคม การพิมพ์ไทยได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการรักษาสิง่ แวดล้อม ให้โลกของเราน่าอยูข่ นึ้ นอกจากการทีเ่ ราจะยกระดับมาตรฐาน
เจ้าหน้าทีต่ ดิ ช่อดอกไม้ให้กบั คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทยก่อนเข้าร่วมงาน
กลุม่ Young Printer Group ถ่ายภาพร่วมกันแสดงถึงความสามัคคีและพร้อมทีจ่ ะช่วยกันอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมให้สดใสสวยงามยิง่ ขึน้ ThaiPrint Magazine 27
Print News
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ ให้เกียรติถ่ายร่วมกับแขกผู้มีเกียรติที่เข้าร่วมในงานนี้
คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์ ที่ปรึกษาสมาคมการพิมพ์ไทย
คุณบีทริก เธียรนุกุล พร้อมทั้งบุตรชาย คนเล็กให้เกียรตินำ�ต้นไม้มาประดับไว้ที่ ลูกโลกที่ทางผู้จัดได้เตรียมการเอาไว้ 28 ThaiPrint Magazine
คุณวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรี ประจำ�สำ�นักนายกรัฐมนตรี
การผลิต บุคลากรและคุณภาพงานพิมพ์แล้ว เรายังต้องค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปด้วย โดยการเน้นทั้งการพัฒนาและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ให้มี ความสมดุลกัน ซึง่ ในปีนคี้ ณ ุ พรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย กล่าวว่า ทางสมาคมฯมีจุดประสงค์ที่จะกระตุ้นเตือนให้ผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ร่วมมือกันก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมสีเขียว รักษ์โลก และ แก้ไขสภาวะโลกร้อนเพื่อเตรียมตัวให้พร้อมในการที่จะก้าวเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ในปี พ.ศ.2558 ซึ่งประเทศในอาเซียน 10 ประเทศ จะรวมเป็นตลาดเดียวกันหรือ single market โดยมีประชากรรวม ทั้งสิ้นกว่า 600 ล้านคนยอดการส่งออกของไทยจะยังคงเติบโตและสามารถ รักษาความเป็นผู้น�ำทางด้านการส่งออกสิ่งพิมพ์ในภูมิภาคนี้ได้ซึ่งจะส่งผล ให้ยอดส่งออกของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยเพิ่มเป็น 100,000 ล้านบาท ได้ในที่สุด ซึ่งนับว่าสมาคมการพิมพ์ไทยได้มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดัน ให้อุตสาหกรรมการพิมพ์เติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการบริหารสมาคมการพิมพ์ไทย แสดงความพร้อมในการที่จะเข้าสู่อุตสาหกรรมการพิมพ์สีเขียว
7th Thai Print Award
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย
พร้อมร่วมเดินทางไปกับเส้นทางแห่งการพิมพ์สีเขียวเพื่อโลกที่ งดงาม โดยคุณภาสกร วงษ์ชนะชัย ประธานการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติครั้งที่ 7 กล่าวว่า ในปัจจุบันทุกคนต่างห่วงใยต่อสภาวะแวดล้อม ของโลกที่เปลี่ยนไป อันเนื่องมาจากการกระทำ�ของมนุษย์และจากการ เปลี่ยนแปลงสภาวะของธรรมชาติเอง ซึ่งมีผลต่อการทำ�ลายวงจรธรรมชาติ และความเป็นอยู่ของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทุกอย่างบนโลก จึงเน้นเรื่องการ รักษาสิ่งแวดล้อมเป็นหลักในงานประกวดสิ่งพิมพ์ครั้งที่ 7 นี้ โดยปีนี้คณะ กรรมการการจัดงานได้แบ่งการประกวดเป็น 3 หมวดใหญ่ คือ งานพิมพ์ ในระบบออฟเซต งานพิมพ์ในระบบดิจิตอล และงานพิมพ์ที่เป็นลักษณะ พิเศษ รวมทั้งสิ้น 30 ประเภทด้วยกัน โดยมีคณะกรรมการการตัดสิน ซึ่งประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญทั้งในและต่างประเทศ มากถึง 11 ท่าน ทำ�งานกันอย่างหนักเพื่อคัดเลือกผลงานที่เต็มไปด้วยคุณภาพและความ พิเศษ อันแสดงถึงศักยภาพที่เยี่ยมยอดของผู้ประกอบการที่ได้รับรางวัล ซึ่งสามารถเป็นตัวแทนของประเทศไปแข่งขันในเวทีระดับนานาชาติได้
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยได้อธิบายถึง รายละเอียดการจัดงานและการเติบโตของอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยให้กับ คุณวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีประจำ�สำ�นักนายกรัฐมนตรี ในห้องรับรอง
ประดับช่อดอกไม้ให้กับ คุณวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล รัฐมนตรีประจำ�สำ�นักนายกรัฐมนตรี ThaiPrint Magazine 29
Print News
(จากซ้าย) ผูด้ ำ�เนินรายการงานประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติครัง้ ที่ 7 คุณจิรรัตน์ ดารารัตนโรจน์ และ คุณธัญญวัฒน์ เตวชิระ
30 ThaiPrint Magazine
อย่ า งภาคภู มิ ใจเพราะผลงานทุ ก ชิ้ น ที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล ทางสมาคมการ พิมพ์ไทยและคณะกรรมการจัดงาน จะส่ งผลงานคุ ณ ภาพพวกนี้ เข้ าไป แข่งขันในงาน 10th Asian Print Awards ซึ่งที่ผ่านๆ มาผลงานของ คนไทยเราก็สามารถกวาดเหรียญ รางวัลมาได้มากทีส่ ดุ กับนานาประเทศ ที่เข้าแข่งขันในทุกๆ ปี สำ�หรับปีนี้ ก็ต้องส่งกำ�ลังใจไปให้และรอลุ้นกัน ว่าไทยเราจะแสดงความเป็นผู้นำ�ใน การเป็นศูนย์กลางแห่งการพิมพ์ใน ภูมิภาคนี้ได้อย่างยอดเยี่ยมขนาด ไหน ภายในค่ำ�คืนแห่งความสุข ของงานการประกาศผลรางวั ล ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 เวลาประมาณ 19.30 น. ณ ห้อง คอนเวนชั่นฮอลบีชั้น 22 โรงแรม เซ็นทาราแกรนด์แอด เซ็นทรัลเวิล์ด กรุงเทพฯ ได้รบั เกียรติจาก คุณ วรวัจน์ เอือ้ อภิญญกุล รัฐมนตรีประจำ�สำ�นัก นายกรัฐมนตรี ให้เกียรติมาร่วมเป็น ประธานและกล่าวปาฐกถา ซึ่งสรุป ได้ว่าอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ไทยนั้น
คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย ประธานการจัดงาน การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 7
สร้างผลงานได้อย่างน่าชื่นชมและ เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี กั บ อุ ต สาหกรรม อื่นๆ ที่ควรจะนำ�ไปเป็นแนวทาง ในการพัฒนาอุตสาหกรรมของตน ซึ่ ง รั ฐ บาลพร้ อ มที่ จ ะสนั บ สนุ น ส่ ง เสริมให้ประเทศไทยเราเป็นผู้นำ�ใน หลายๆอุตสาหกรรมและเป็นศูนย์ การพิมพ์ในภูมิภาคอาเซียน นับว่า เป็ น เกี ย รติ อ ย่ า งสู ง กั บ คณะผู้ จั ด งาน หลังจากนั้นพิธีการประกาศผล รางวัลก็ได้เริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการ
7th Thai Print Award
ก็เป็นเรื่องปกติที่เสียงปรบมือจะดัง ขึ้ น เมื่ อ มี ผู้ ท่ี ไ ด้ ป ระกาศเป็ น ผู้ ช นะ ในแต่ละประเภทรางวัลที่ทางคณะ กรรมการได้คัดสรรในด้านคุณภาพ และความพิ เ ศษจริ ง ๆของชิ้ น งาน จากนั้นผู้ดำ�เนินรายการได้ประกาศ ผลรางวัลจบลงก็ในช่วงที่ 2 และ พักการประกาศผลรางวัลสลับด้วย การแสดงจากคุณตันหยง รายการ ตี สิ บ ช่ ว งดั น ดาราขึ้ น มาร้ อ งเพลง ขั บ กล่ อ มแขกผู้ มี เ กี ย รติ ด้ ว ยเสี ย ง ที่มีคุณภาพพร้อมทั้ง music for the
world orchester ดุริยางค์ศิลป์ทหาร เรือสร้างความเพลิดเพลินให้ผู้ได้รับ ฟังและเป็นการพักการประกาศผล รางวัลก่อนเข้าช่วงประกาศผลรางวัล ในช่วงต่อไปจนจบครบทุกรางวัล รวม ถึ ง รางวั ล ที่ ผู้ ป ระกอบการหลายๆ ท่านอยากจะคว้ามาเป็นเจ้าของคือ รางวัล BEST OF THE BEST ซึ่งปีนี้ มีทั้งหมด 6 รางวัล ด้วยกัน ต้อง แสดงความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัล ทั้ง6รางวัลสุดยอดผลงานการพิมพ์ รวมถึงทุกๆ รางวัล ที่มีการมอบ
คุณตันหยง จากรายการตีสิบ ขึ้นขับร้องเพลงแสดงพลังเสียง คุณภาพให้กับแขกผู้ร่วมฟังสร้างความเพลิดเพลิน
การแสดง music for the world orchester จากกองดุรยิ างค์ศลิ ป์ทหารเรือ ThaiPrint Magazine 31
Print News
บรรยากาศการฉลองชัยชนะแห่งความยิ่งใหญ่กับรางวัลอันทรงเกียรติในงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 7
ในค่ำ� คื น นี้ ที่ ไ ด้ รั บ ความปรี ติ ยิ น ดี กั น ถ้ ว นหน้ า และที่ ชุดใหม่จะมีอ ะไรมาสร้ า งความประทั บ ใจต้ อ งรอพบ ขาดไม่ ไ ด้ ต้ อ งขอขอบคุ ณ สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยและ กันในปี 2013 อย่าลืมส่งผลงานมาร่วมแข่งกันมากๆ คณะผู้ จั ด งานในคื น อั น ทรงคุ ณ ค่ า กั บ งานดี ๆ สำ�หรั บ เพื่อประกาศความยิ่งใหญ่ของการพิมพ์ไทยเราต่อไป... กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยเราที่มีเวทีการันตี คุ ณ ภาพทางการพิ ม พ์ ข องไทยหลั ง จากการประกาศ จบสิ้นทางผู้ดำ�เนินรายการก็เรียนเชิญผู้ที่ได้รับรางวัล ทุกๆ ท่านให้เกียรติขึ้นบนเวทีพร้อมเพรียงกันอีกครั้ง เพื่อร่วมถ่ายภาพไว้เป็นที่ระลึกก่อนจะออกไปถ่ายภาพ กับลูกโลกสีเขียวที่กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยเรา จะร่วมมือร่วมใจในการใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมให้มากยิ่งๆ ขึ้นไปและสำ�หรับการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งต่อไปทางสมาคมการพิมพ์ไทยและคณะผู้จัดงาน 32 ThaiPrint Magazine
Printวงษ์ Interview คุณภาสกร ชนะชัย
ประธานการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 อยากทราบที่มาของการจัดงาน Thai Print Awards มีความเกี่ยว เนื่องกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ ไทยอย่างไร ...? การจัดงานประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติหรือ Thai print Awards นัน้ เกิดขึ้นมาเมื่อประมาณ 8 ปีที่แล้ว โดยในเวลานัน้ ทางสมาคมการพิมพ์ ไทยได้มกี ารวางยุทธ์ศาสตร์ ในการ ผลักดันให้อตุ สาหกรรมการพิมพ์ไทย เป็นศูนย์กลางการพิมพ์ของอาเซียน และสามารถสร้างยอดส่งออกสิ่ง พิมพ์ให้ได้ถึง 50,000 ล้านบาท ภายในระยะเวลา 5 ปี ซึ่งการที่จะ นำ�พาอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ให้ไปถึงเป้าหมายนั้น สมาคมการ พิมพ์ไทยได้เล็งเห็นว่าคุณภาพของ งานพิมพ์เป็นปัจจัยหลักอันหนึ่งที่ จำ�เป็นจะต้องได้รับการพัฒนาขึ้น
อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สิ่งพิมพ์ของไทยเป็นที่ยอมรับจากผู้ซื้อสิ่งพิมพ์ใน ระดับนานาชาติ ในทวีปเอเชียของเราก็ได้มีการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติในระดับทวีปมาก่อนแล้วที่เรียกว่า Asian Print Awards และใน ช่วงนั้นไม่มีองค์กรใดในประเทศของเราได้เข้ามาดูแลเรื่องของผลงาน ทีส่ ง่ เข้าไปแข่งขัน ดังนัน้ ในช่วงแรกๆ ประเทศไทยจึงแทบไม่ได้รางวัลเลย เหตุผลต่างๆ ที่กล่าวมาข้างต้น จึงเป็นที่มาของความมุ่งมั่นของสมาคม การพิมพ์ไทยที่จะจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติของประเทศไทย ขึน้ มา เพือ่ เป็นการเปิดโอกาสให้โรงพิมพ์ของไทยมีเวทีส�ำ หรับการพัฒนา คุณภาพสิ่งพิมพ์และมีการแข่ ง ขั น เพื่ อ วั ด ระดั บ ศั ก ยภาพของสิ่ ง พิ ม พ์ ขึ้นมาอย่างเป็นทางการ โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานเดียวกับการแข่งขันใน
ThaiPrint Magazine 33
Print Interview
ระดับทวีปหรือระดับโลก และผลงานของผูท้ ไ่ี ด้รบั เหรียญรางวัลในประเทศ ไทยจะได้รับการส่งต่อไปแข่งขันใน Asian Print Awards เพื่อเป็นการ พิสูจน์ให้เห็นถึงศักยภาพการพิมพ์ของคนไทย เมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ซึ่ ง จะเป็ น การต่ อ ยอดให้ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทยมี ค วามตื่ น ตั ว ต่อการพัฒนาคุณภาพของงานพิมพ์ให้ได้มาตรฐาน และได้รบั การยอมรับ อย่างกว้างขวางจากผู้ซื้อสิ่งพิมพ์ในระดับโลก และจะทำ�ให้การผลักดัน ตัวเลขการส่งออกสิ่งพิมพ์ของประเทศไทยให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้ง ไว้จริงๆ และผลงานของเราก็ได้รบั เหรียญรางวัลชนะเลิศมากที่สุดในงาน ประกวดระดับเอเชียติดต่อกันมาไม่น้อยกว่า 3 ปีแล้ว และการส่งออก สิง่ พิมพ์ของประเทศไทยก็ได้ทะยานขึน้ จนเกินกว่าเป้าหมาย 50,000 ล้าน บาทแล้วครับ แนวคิดหรือสโลแกนของงาน Thai Print Awards ครั้งที่ 7 คืออะไร ครับ ช่วยอธิบายความหมายด้วยครับ...? สโลแกนของการจัดงานประกวด Thai Print Awards ครั้งที่ 7 คือ World Class Printing:Going Green For A Better Planet มีความเป็น มาอย่างนี้ครับ 34 ThaiPrint Magazine
การประกวดครัง้ ที่ 1 เรา ตั้งเป้าหมายให้ผลงานที่ชนะเลิศ ในประเทศไทยไปคว้ารางวัลชนะ เลิศในระดับ Asian Print Awards “Go For Gold” คือ ประเทศไทย ไปชิงเหรียญทองให้ได้ ซึง่ ประเทศ ไทยเราก็ ส ามารถทำ � ได้ สำ � เร็ จ คว้ า เหรี ย ญทองกลั บ มาจำ � นวน หนึ่ง การประกวดครัง้ ที่ 2 เรา จึงตัง้ ไอเดียว่า Challenging For the Great Success ซึ่งเราตั้งใจว่าเรา จะไปชนะเลิศเป็นที่ 1 ในระดับ เอเชียให้ได้และก็ชนะเป็นที่ 1 กลับ มาจริงๆ การประกวดครัง้ ที ่ 3 “Join the World Class Quality Club” เพือ่ เป็นการประกาศว่าอุตสาหกรรม การพิมพ์ของไทยมีคุณภาพระดับ โลกมีบริการดีเยี่ยม ในการประกวดครัง้ ที่ 4 ซึง่ กล่าวย้�ำ ในคุณภาพและบริการของ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข องไทย ด้วยคำ�ว่า Printed In Thailand:
คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย Excellent Quality and Services You Can Trust” ทำ�ให้ คำ�ว่า “Printed In Thailand” เป็นโลโก้ทท่ี ว่ั โลกเชือ่ ถือ ได้ในคุณภาพและบริการของอุตสาหกรรมการพิมพ์ ของไทยเรา การประกวดครั้งที่ 5 ซึ่งเป็นการบอกถึงการ อยู่เหนือชั้นของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ”Beyond the Border of Printing Excellence” ในครั้งที่แล้ว คือ ครั้งที่ 6 Where Printing Excellency and Creativity Converges ซึ่งเน้นไปที่ ไอเดียและนวัตกรรมซึ่ ง จะเป็ น ความก้ า วหน้ า และ ยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิมพ์อย่างต่อเนื่อง มาถึงการประกวดในครั้งที่ 7 World Class Printing:Going Green For A Better Planet นี้ ซึ่ง เป็ น การเริ่ ม ต้ น ที่ จ ะให้ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ข อง ไทยจุดประกายการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อโลกของ เราให้น่าอยู่และอนาคตของลูกหลานจะได้อยู่ในสิ่ง แวดล้อมที่ดีตลอดไปครับ ขัน้ ตอนและอุปสรรคในการจัดงานในครัง้ นี้ มีอะไร ที่ติดขัดหรือเกิดปัญหาอะไรขึ้นบ้างหรือเปล่าครับ และใช้หลักการใดในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ทีเ่ กิด ขึ้น..? ในการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ใน แต่ละครั้งย่อมต้องมีปัญหาและอุปสรรคแตกต่างกัน ไป โดยเรามีคณะกรรมการจัดการประกวดอันประกอบ ด้วยคณะกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย Young Printer และทีมงาน Organizer ซึ่งต้องมาร่วมประชุมออก ความเห็น วางแผนทั้งวันเวลา สถานที่จัดงานและ ขัน้ ตอนการประกวดต่างๆ มีการประชุมกันอย่างมาก มีข้อเสนอไอเดียดีๆ เกิดขึน้ ตลอดเวลา มีการปรับปรุง และพัฒนารูปแบบทุกๆ ปี มีการคิด Theme ของ งานประกวด Theme ของงานวันประกาศผล การ คัดเลือกคณะกรรมการตัดสิน โลโก้ของงานและขัน้ ตอน ต่างๆ นี่เป็นเหตุผลหลักที่แต่ละปีการจัดการประกวด และการประกาศผลถึง ยิ่ง ใหญ่แ ละพั ฒ นารู ป แบบ ดีขึ้นตลอดเวลาจนเป็นงานระดับประเทศที่น่าภาค ภูมิใจของชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ซึ่งผมขอ ขอบคุณผู้ร่วมงานทุกๆ ท่านเป็นอย่างสูง ที่ได้สละ
คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย ประธานการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7
เวลาและความคิดช่วยกันจนประสบความสำ�เร็จเป็น อย่างดี ภาพรวมของการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 7 มีความพิเศษอะไรมากขึ้นกว่า 6 ครั้งที่ผ่านมาและ ในปีนี้เน้นเรื่องใดเป็นพิเศษครับ...? ปัจจุบนั ความรูส้ กึ ร่วมกันของคนไทยอย่างหนึง่ คือ ความเป็นห่วงต่อสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อเรา และโลก เช่น การเกิดโลกร้อน Tsunami การเกิดมหา อุทกภัย Super strom และเหตุการณ์รา้ ยแรงอีกมากมาย ด้วยความกังวลต่อโลกและประเทศของเราในอนาคต Theme ของการประกวดจึงได้จัดให้มี Association Award: Green Print concept เพื่อเป็นการเริ่มต้นให้ คนในอุตสาหกรรมการพิมพ์คำ�นึงถึงการเกิดมลพิษ และการลดมลพิษในอุตสาหกรรมทั้งในขั้นตอนการ เลือกใช้วัสดุ ขั้นตอนการผลิต และกระบวนการอื่นๆ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ในการประกาศผลได้มีการ เชิญชวนปลูกต้นไม้เพือ่ สร้างโลกของเรา (ต้นไม้ทกุ ต้น ในงานนั้ น จะนำ � ไปปลู ก ที่ สำ � นั ก งานป่ า ไม้ จั ง หวั ด ราชบุรี) การประกาศผลแต่ละประเภทก็เป็นหยดน้ำ� บนใบไม้ท่แี สดงถึงความรู้สึกเย็นตาเย็นใจที่ธรรมชาติ ThaiPrint Magazine 35
Print Interview
คณะกรรมการการตัดสินผลงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7
มีต่อเรา ประกอบกับการแสดง Music for the world orchestra จากวงดุรยิ างค์ศลิ ป์กองทัพเรือ โดยนำ�เพลง ที่เกี่ยวกับโลกและสิ่งแวดล้อมต่างๆ มาบรรเลง ซึ่งจะ มีผลในการเข้าถึงจิตใจของผู้ร่วมงานให้มีความอ่อน โยนต่อธรรมชาติและคิดจะอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อ ที่จะทำ�สิ่งดีๆ ต่อโลกเพื่ออนาคตที่สดใสของโลกเรา ครับ
บุคลากร พัฒนาธุรกิจให้สามารถก้าวขึ้นไปเป็นผู้น�ำ ในการส่งออกเป็นทีห่ นึง่ ให้ได้ในเอเชีย และนัน่ คือความ เป็นที่หนึ่งอย่างแท้จริง ซึ่งทุกๆ ท่านในอุตสาหกรรม การพิมพ์ของไทยเราจะต้องร่วมมือร่วมใจกันต่อสู้ เพื่อความยั่งยืนของธุรกิจของเรานั่นเอง โดยยังต้อง ป้องกันคูแ่ ข่งในอนาคตหลังจากการรวมกลุม่ ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC อีกด้วย
การที่ส่ิงพิมพ์ของประเทศไทยเราได้ก้าวสู่ความ เป็นที่ 1 ของเอเชียได้แล้วนัน้ ยังตัง้ เป้าหมายสูงสุด ไว้ขนาดไหนสำ�หรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย...? การที่สิ่งพิมพ์ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ของ ไทยได้รับรางวัลจนเป็นที่ 1 ในเอเชียได้แล้ว คือ ใน ด้านของคุณภาพงานพิมพ์เป็นการบอกว่าก้าวต่อไป ของเรายิ่งต้องพัฒนาตัวเองทั้งในด้านของเทคโนโลยี
โรงพิมพ์ท่ขี นาดเล็กสามารถส่งผลงานเข้าร่วมใน การจัดการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติได้หรือไม่และ อยากให้เชิญชวนโรงพิมพ์ต่างๆทุกขนาดให้ส่งผล งานมาเข้าร่วมและมีขอ้ แนะนำ�อย่างไรบ้างครับ...? ในทุกๆ ครั้งที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้มี การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการประกวดสิ่งพิมพ์แห่ง ชาติ ทั้งในกรุงเทพและต่างจังหวัด ผมจะเชิญชวน ทุ ก ๆท่ า นเข้ า ร่ ว มการประกวดในหลั ก การว่ า การ ประกวด คือ การที่เราได้พิสูจน์ตัวของเราเองว่าเรา มีความสามารถแค่ไหน เพราะผูอ้ น่ื เป็นผูต้ ดั สินเราไม่ใช่ ตัวเราเอง (ซึง่ อาจลำ�เอียงเข้าข้างตัวเองได้) โรงพิมพ์ ขนาดเล็กมักจะคิดว่าไม่สามารถสู้กับโรงพิมพ์ขนาด ใหญ่ได้ในหลายๆด้าน แต่ผลการประกวดทุกครั้งก็ มีโรงพิมพ์ขนาดเล็กได้รับรางวัลชนะเลิศมีโรงพิมพ์ จากต่างจังหวัดได้รับรางวัลทุกๆ ปี และที่น่าดีใจที่สุด ทีไ่ ด้เห็นโรงพิมพ์ทไ่ี ม่เคยได้รบั รางวัล เริม่ ได้รบั รางวัล นั่นแสดงว่าพวกเขาเหล่านั้นได้เอาข้อผิดพลาดไป แก้ไขปรับปรุงพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น และความเข้าใจ
36 ThaiPrint Magazine
คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย
ในหลั ก เกณฑ์ ใ นการประกวด ซึ่ ง ที่ แ ท้ จ ริ ง แล้ ว คื อ หลั ก เกณฑ์ เดียวกับที่ผู้ซื้องานจะมาจ้างเรา ทำ�งานเบื้องต้น ได้แก่ ความเที่ยง ตรง ความสะอาด ความละเอียด การดู แ ลใส่ ใจในแต่ ล ะขั้ น ตอน การทำ�งาน ซึ่งจะได้งานคุณภาพ ดี สวย ราคามีเหตุผล ถ้าทำ�งาน ได้อย่างนี้สม่ำ�เสมอเวลาไปเสนอ งานกับลูกค้าคนไหนก็ตาม เรามัก จะได้ มี โ อกาสเป็ น คู่ ค้ า อั น ดั บ แรกๆ ของลูกค้านั้น แล้วในที่สุด รางวัลจากการประกวดและลูกค้า ก็จะเป็นของท่าน อยากฝากอะไรถึงผู้ส่งผลงาน ตลอดจนผู้สนับสนุนทั้งภาครัฐ และเอกชนอย่างไรบ้างครับ....? ผมขอแสดงความยินดีกบั ทุกท่านที่ได้รับรางวัล Thai print Awards และขอแสดงความยินดี ล่วงหน้ากับหลายๆ ท่านที่จะได้ รับรางวัลจาก Asian Print Awards ครัง้ ที่ 10 ซึง่ ปีนเ้ี ราได้รางวัลจำ�นวน มาก พวกเราชาวอุตสาหกรรมการ พิ ม พ์ ไ ทยได้ พิ สู จ น์ แ ล้ ว ว่ า เรามี
ความยอดเยี่ยมในเวทีระดับโลก หลายๆ ท่านที่ได้รับรางวัลทุกๆ ปีได้ แสดงถึงคุณภาพอันยอดเยี่ยม และที่สำ�คัญความสม่�ำ เสมอในคุณภาพ อันยิ่งใหญ่ด้วยซึ่งเป็นสิ่งที่ยากที่สุด ขอให้สิ่งนี้เป็นตัวอย่างอันยอดเยี่ยม แก่เพื่อนร่วมอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยด้วยกันที่จะต้องคงความสามารถ อย่างสม่�ำ เสมอไว้ให้ได้ครับ ผมดีใจมากๆ ทีต่ ลอดการจัดงานได้มโี อกาส ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกับผู้สนับสนุนหลักและผู้สนับสนุนรอง และหน่วยงานในภาครัฐบาลหลายๆ ท่าน ซึ่งสิ่งที่ชัดเจนมากที่สุด คือ พวกเราทุกๆ คน พยายามสนับสนุนอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยเราให้ ก้าวหน้าพัฒนาขึ้นไปในระดับโลกอย่างจริงใจ ทุกๆ ท่านยอดเยี่ยมมากๆ ครับ ขอขอบพระคุณทุกท่านมากๆ ครับ ขอให้รว่ มกันส่งเสริมอุตสาหกรรม การพิมพ์ของไทยเราให้ยิ่งใหญ่ตลอดไปครับ ท้ายสุดขอขอบคุณเพือ่ นผองน้องพีแ่ ละทีมงานทุกๆ ท่าน ทีไ่ ด้ เสียสละเวลาหน้าทีก่ ารงานโดยไม่มสี ง่ิ ตอบแทนใดๆ นอกจากความชืน่ ใจ ในความสำ�เร็จร่วมกันของอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ทุกคนได้รว่ มฟันฝ่า อุปสรรคต่างๆ ในการจัดงาน ขอแสดงความนับถือทุกๆ ท่านเป็นอย่างสูง ครับ
ThaiPrint Magazine 37
113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 AD PMCL-m19.indd 1
19/4/2555 16:00:45 5/31/10 11:26:05 AM
DIGIFLOW—THE NEW DUPONT ™ CYREL® WORKFLOW. IMPRESS...DOT BY DOT. Introducing DuPont Cyrel® DigiFlow, the latest flexographic platemaking innovation from DuPont Packaging Graphics. Cyrel® DigiFlow allows you to achieve true one-to-one reproduction in a standard digital workflow, and it is fully compatible with both digital Cyrel® and digital Cyrel® FAST. TM
Cyrel® DigiFlow allows you to optimize the effectiveness of the latest high-resolution and solid-screening applications in a highly productive workflow. Print results are outstanding, showing expanded tonal range and improved solid-ink density. DuPont Cyrel® For higher quality at high speed TM
www.cyrel.com/digiflow
© 2012 DuPont. All rights reserved. The DuPont Oval Logo, DuPont™ and Cyrel® are registered trademarks or trademarks of E. I. du Pont de Nemours and Company or its affiliates.
38 Ad DPG Lime pc1.indd 1
20/4/2555 20:14:20
35 AD Verities pc1.indd 1
7/9/2555 3:47:35
7th Thai Print Awards 2012
Entrant Title Client Design PrePress Printer
BEST IN SHEETFED OFFSET SCG Paper Award 003 บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) นิตยสาร Lips ปักษ์แรก ก.ค.54 บริษัท เอมมารุต พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท เอมมารุต พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
42 ThaiPrint Magazine
7th Thai Print Awards 2012
Entrant Title Client Design PrePress Printer
นิตยสาร วารสาร ที่พิมพ์ด้วยระบบป้อนแผ่น (Sheetfed Magazines and Journals) Gold Award 003 บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) นิตยสาร Lips ปักษ์แรก ก.ค.54 บริษัท เอมมารุต พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท เอมมารุต พับลิชชิ่ง จำ�กัด บริษัท กนกศิลป์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
ประกาศแก้ไขข้อความในสูจิบัตร งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7
เนื่องจากในสูจิบัตร รางวัล BEST IN SHEETFED OFFSET SCG Paper Award รหัส 003 หน้า 19, รางวัล นิตยสาร วารสาร ทีพ ่ มิ พ์ดว้ ยระบบป้อนแผ่น (Sheetfed Magazines and journals) Gold Award รหัส 003 หน้า 38 มีข้อผิดพลาดทางเทคนิคที่เกิดขึ้นจากการบันทึกไฟล์งานซ�้ำซ้อนของเจ้าหน้าที่ จึงเกิด ข้อผิดพลาดในด้านข้อมูลและรายละเอียดของรางวัล จึงขอแก้ไขข้อความเพื่อความถูกต้องในวารสารฉบับที่ 94 ตามรายละเอียดดังนี้ และขออภัยในความ ผิดพลาดมา ณ โอกาสนี้
ThaiPrint Magazine 43
Print News
ifec ผนึก “โคนิกา้ มินอลต้า” เปิดแผนทำ�ตลาดเครือ่ งดิจทิ ลั มัลติฟงั ก์ชน่ั อัดแคมเปญ Speed Up Your Business ปลุกธุรกิจลดต้นทุนจัดการเอกสาร ชูแนวคิด OPS เป็นหัวหอก ดันยอดขาย 4 พันเครือ่ ง ifec ควง “โคนิก้า มินอลต้า ญี่ปุ่น” เปิดแผนทำ�ตลาดในไทย เน้นกลยุทธ์ GIVING SHAPE TO IDEA ผลักดันความสำ�เร็จของผลิตภัณฑ์ เน้นพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการด้านเอกสาร ขณะที่ ifec เดินหน้าแคมเปญ Speed Up Your Business with Konica by ifec บุก ตลาดเครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่น “โคนิก้า มินอลต้า” หวังเพิ่มประสิทธิภาพบริหารการจัดการเอกสารภายใน องค์กร เร่งสร้างความเข้าใจระบบ OPS ปลุกภาคธุรกิจหันใช้เครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่นช่วยลดต้นทุนด้าน งานเอกสาร 20-40% พร้อมยกระดับขีดความสามารถด้านการแข่งขันของธุรกิจให้ดีขึ้น เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) หรือ ifec ผู้นำ�เข้าและทำ�ตลาดเครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่น “โคนิก้า มินอลต้า” รายเดียวในประเทศไทย ได้จัดงานแถลงข่าวเกี่ยวกับทิศทาง การทำ�ตลาดและการดำ�เนินธุรกิจในประเทศไทย โดย นายโยจิ นากาตะ Chief Representative Konica Minolta Business Solutions (ASIA) PTE.LTD. ผู้บริหาร โคนิก้า มินอลต้า จากประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเดินทางมาร่วมงานแถลง ข่าวในครัง้ นีด้ ว้ ย ได้กล่าวถึงทิศทางและนโยบายการทำ�ตลาดกลุม่ ผลิตภัณฑ์ ภายใต้แบรนด์ “โคนิก้า มินอลต้า” ว่า ในปีนี้ “โคนิก้า มินอลต้า” ได้ใช้กลยุทธ์ GIVING SHAPE TO IDEA ในการผลักดันความสำ�เร็จด้านยอดขายในทุกกลุ่ม ผลิตภัณฑ์ ผ่านนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ถูกสร้างสรรค์ขึ้นจากฝ่าย วิจัยและพัฒนาสินค้า เพื่อนำ�ไปช่วยแก้ปัญหาและอำ�นวยความสะดวกใน การทำ�งานได้ดียิ่งขึ้น โดยสินค้ากลุ่มธุรกิจเครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่น ได้น�ำ เสนอนวัตกรรมเครือ่ งพิมพ์ทม่ี คี วามเร็วสูง ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในด้านการ ทำ�งานด้านเอกสารให้กบั ภายในองค์กรธุรกิจต่างๆ ได้มากขึน้ 44 ThaiPrint Magazine
ifec
ทั้งนี้ นอกจากการนำ�เสนอนวัตกรรมเทคโนโลยี เครือ่ งดิจทิ ลั มัลติฟงั ก์ชนั่ แล้ว บริษทั ฯ ยังนำ�เสนอแนวคิด Optimized Print Service (OPs) ซึ่งเป็นการบริหารจัดการ งานด้านเอกสารด้วยเครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่น เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการทำ�งานได้สูงสุด โดยลดความซ้�ำ ซ้อน จากการใช้อปุ กรณ์ทห่ี ลากหลาย ซึง่ มีผลต่อต้นทุนดำ�เนิน งานที่สูงขึ้น โดยอาศัยฟังก์ชั่นการทำ�งานเครื่องดิจิทัล มัลติฟงั ก์ชน่ั จาก “โคนิกา้ มินอลต้า” ทีส่ ามารถตอบสนอง ทุ ก ความต้ อ งการใช้ ง านด้ า นงานเอกสารได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ ด้าน คุณดำ�ริห์ เอมมาโนชญ์ รองประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร-ปฎิบัติการ บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) หรือ ifec กล่าวว่า บริษทั ฯ มีความ พร้อมในตัวสินค้ารองรับทุกความต้องการด้านงานพิมพ์ และซอฟท์แวร์ที่เข้ามาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพงานพิมพ์ ให้ดียิ่งขึ้น รองรับความต้องการที่หลากหลายของลูกค้า ทุกกลุม่ ธุรกิจ ทัง้ เครือ่ งดิจทิ ลั มัลติฟงั ก์ชนั ทัง้ แบบขาว-ดำ� และสี หรือใช้กระดาษขนาดต่างกันนั้น เริ่มตั้งแต่กลุ่ม
เครื่องดิจิทัลมัลติฟังก์ชั่นสำ�หรับสำ�นักงานทั่วไป (Office MFP) ประกอบด้วย เครื่องพิมพ์ประเภทขาว-ดำ� มีความ เร็วตั้งแต่ 16-75 แผ่นต่อนาที และเครื่องพิมพ์สีความเร็ว ตัง้ แต่ 22-65 แผ่นต่อนาที หรือกลุม่ เครือ่ งดิจทิ ลั โปรดักชัน่ พริ้นท์เตอร์สำ�หรับกลุ่มธุรกิจโรงพิมพ์ โดยมีเครื่องพิมพ์ ประเภทขาว-ดำ� มีความเร็วตั้งแต่ 95-120 แผ่นต่อนาที และเครื่องพิมพ์สี ความเร็วตั้งแต่ 60-80 แผ่นต่อนาที นอกจากนี้ ยังมีชุดอุปกรณ์เข้าเล่มสำ�เร็จรูป ซึ่งช่วยให้ องค์กรลดต้นทุนด้านแรงงานในยุคค่าแรงแพงได้ ส่วนแนวทางทำ�ตลาดนัน้ บริษทั ฯต้องการกระตุน้ ให้องค์กรภาคธุรกิจได้เร่งเพิ่มขีดความสามารถทางการ แข่งขันรองรับกับการเปลีย่ นแปลงในโลกธุรกิจ โดยอาศัย เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการทำ�ธุรกิจ ให้ดียิ่งขึ้นด้วยภาวะต้นทุนที่ต่ำ�ที่สุด เนื่องจากที่ผ่านมา หลายธุรกิจได้มองข้ามต้นทุนด้านการจัดการเอกสาร ภายในองค์กร เนือ่ งจากการใช้อปุ กรณ์ส�ำ นักงานประเภท เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องพริ้นท์ เครื่องแฟกซ์ รวมถึง เครื่องสแกนมีจ�ำ นวนมากเกินความจำ�เป็น ส่งผลให้ค่า ThaiPrint Magazine 45
Print News
ใช้ จ่ า ยด้ า นการซ่ อ มบำ � รุ ง อุ ป กรณ์ และค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมาก ซึง่ การลดต้นทุนดังกล่าว บริษทั ฯ มอง ว่าสามารถใช้แนวคิด Optimizes Print Service (OPS) เข้าไปช่วยจัดการงาน ด้านเอกสารภายในองค์กรได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จดั แคมเปญ Speed Up Your Business with Konica Minolta by ifec เพื่อกระตุ้นให้ธุรกิจ ให้ ค วามสำ � คั ญ กั บ การลดต้ น ทุ น ด้านงานเอกสารภายในองค์กร โดย ใช้ เ ครื่ อ งดิ จิ ทั ล มั ล ติ ฟั ง ก์ ชั่ น เข้ า มา ทดแทนอุ ป กรณ์ สำ � นั ก งานที่ ไ ม่ จำ�เป็นและสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ ด้านการทำ�งานภายในองค์กรได้ดยี ง่ิ ขึน้ บริษัทฯ จึงได้จัดงาน “Speed Up Your Business เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการธุรกิจบนเทคโนโลยีแห่งโลก อนาคต” โดยเชิญภาคธุรกิจกลุม่ เป้าหมายเข้ามาร่วมรับฟังแนวคิด Optimized Print Service หรือ OPS ซึ่งเป็นการบริหารและจัดการเครื่องดิจิทัลมัลติ ฟังก์ชน่ั ไปช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลการทำ�งานได้สงู สุด โดยมี ต้นทุนค่าใช้จา่ ยทีถ่ กู ลง 20-40% พร้อมยังช่วยรักษาสิง่ แวดล้อมและปลอดภัย กับผู้ใช้งาน โดยบริษัทฯ จะร่วมทำ�งานกับลูกค้าในการให้ค�ำ ปรึกษา วิเคราะห์ ประเมินระบบและความต้องการของผูใ้ ช้งาน วางแผนการติดตัง้ รวมถึงการ จั ด การเครื่อ งดิ จิทัล มั ล ติ ฟัง ก์ ช่ัน อย่ า งเป็ น ระบบทั้ ง ในด้ า นอุ ป กรณ์ ที่ มี ประสิทธิภาพดี เหมาะสม ใช้พลังงานน้อย และไม่ก่อมลภาวะต่อสุขภาพผู้ใช้ 46 ThaiPrint Magazine
ตลอดจนด้ า นซอฟท์ แวร์ ที่ จ ะช่ ว ย ให้การบริหารจัดการจากส่วนกลาง ที่ทำ�ให้ได้ง่ายยิ่งขึ้น รวมทั้งการปรับ ปรุงขั้นตอนและกระบวนการทำ�งาน ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น “เราต้องการกระตุ้นให้ภาค ธุ ร กิ จ เห็ น ถึ ง ความสำ � คั ญ ทางด้ า น ต้ น ทุ น งานเอกสารภายในองค์ ก ร โดยเร่งสร้างความเข้าใจถึงแนวคิด OPS จากโคนิก้า มินอลต้า ในการที่ จะเข้าไปช่วยบริหารจัดการได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และสามารถช่วยลด ต้นทุนการบริการจัดการด้านเอกสาร ภายในองค์กรธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดใหญ่ลงได้” คุณดำ�ริห์ กล่าว รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารปฎิบตั กิ าร ifec กล่าวว่า บริษทั ฯ มัน่ ใจ ว่า จากแคมเปญดังกล่าว จะช่วย ผลักดันยอดขายเครื่องดิจิทัลมัลติ ฟังก์ชั่น “โคนิก้า มินอลต้า” เพิ่มเป็น 4,000 เครื่อง โดยมาจากฐานลูกค้า ใหม่ 60-70% ส่วนที่เหลือเป็นฐาน ลู ก ค้ า เดิ ม ของโคนิ ก้ า มิ น อลต้ า ที่ เปลี่ยนเครื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ งานพิมพ์เอกสารได้ดียิ่งขึ้น
Printing Business
C
loud omputing
กับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ โดย กิตติ พรพิพัฒน์วงศ์
บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด DigitalPrint Expert
| 25489-13
vpc
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่านครับ ใน 2 ฉบับที่แล้ว ผมได้ปูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบ Cloud Computing
พร้อมทั้งยกตัวอย่างของ Software W2P ให้กับท่านผู้อ่านได้ทราบแล้ว ในฉบับนี้ผมจะอธิบายเรื่อง Cloud (ต่อ) ในแง่ของการนำ�ไปใช้ ว่ายังมี Software อะไรอีกในอุตสาหกรรมการพิมพ์ของโลกที่ใช้ระบบ Cloud Computing เพื่อเป็นไอเดีย และนำ�ไปเพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งานได้ Software สำ�หรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ที่มีการ ประยุกต์เอา Cloud Computing มาใช้งานมีอยู่หลาย ประเภท โดยผมขอนำ�เสนอเป็น 5 ประเภท หลักๆ ดังนี้ 1. Web to Print Software Solution (ผมได้ เขียนไปแล้ว ดังนั้นผมขออนุญาตไม่พูดซ้ำ�นะครับ หา อ่านได้ในฉบับที่ 90 ถึง 93) 2. Photo Book Software Solution ในปัจจุบนั มีการนำ�ระบบ Cloud Computing มาใช้กับ Photo Book Solution แล้ว เพราะอะไรทราบหรือไม่ครับ ก็ เพราะความนิยมของอุปกรณ์ประเภท Mobile Device ทั้งหลายไม่ว่าจะเป็น Smart Phone, Tablet หรือ แม้แต่
48 ThaiPrint Magazine
พวก Ultra Book ซึ่งทุกท่านสามารถหาซื้อได้ในราคาที่ จับต้องได้มากขึ้น (ซึ่งในปี 2012 มีการวิจัยออกมาแล้ว ว่า อุปกรณ์เหล่านี้มียอดขายมากกว่า Computer แบบ ตั้งโต๊ะ และ Notebook) ประกอบกับการเจริญเติบโต ของ Social Networking Community เช่น Facebook, Path หรือ Instagram ทำ�ให้คนหันมาถ่ายรูปกันมากขึ้น ไม่วา่ จะเป็นการถ่ายรูปผ่านมือถือ หรือ Tablet แล้วทำ� การ Upload ผ่านระบบ Mobile Network (ไม่ว่าจะเป็น 3G ที่ประเทศไทยกำ�ลังจะมีเหมือนกับชาวบ้านเค้าซักที หรือแม้แต่ 4G LTE ที่มีในอเมริกาแล้ว) ไปที่ Web Site สังคมออนไลน์ตา่ งๆ เพือ่ จะ Share เรือ่ งราวต่างๆ ให้กบั เพือ่ นๆ ทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ ก้อนเดียวกัน ให้เข้าใจ และรับรูเ้ กีย่ วกับตัวเราว่า ไปทำ�อะไร ที่ไหน กับใคร เป็นต้น ลองนึกดูครับว่า รูปภาพต่างๆ ที่ ได้ถา่ ยไว้มากมาย หากสามารถ นำ�มาทำ�เป็น Photo Book หรือ อัลบัม้ เก็บไว้ดผู า่ นทัง้ ระบบ Online หรือนำ�มาพิมพ์เป็น Photo Book สำ�เร็จรูปด้วยเครื่องพิมพ์ระบบ ดิ จิ ต อลก็ ค งจะสร้ า งรายได้ ใ ห้
Clound Computing
กับคนที่จับธุรกิจลักษณะนี้ได้พอสมควรเลยทีเดียว แต่ โจทย์มีอยู่ว่าจะทำ�อย่างไร ที่จะสามารถทำ� Photo Book ได้แบบทันท่วงทีตามอารมณ์ที่ผู้ทำ�ต้องการสร้างสรรค์ งาน ท่านผู้อ่านลองมองย้อนกลับไปยังระบบเดิมๆ ที่ Software ประเภทนี้จะถูกติดตั้ง และทำ�งานบนเครื่อง Computer ซึ่งถ้าจะทำ�ก็ต้องทำ�การ Save ภาพออกมา แล้วนำ�ไปใส่ในโปรแกรมเพื่อเริ่มสร้าง Photo Book ซึ่ง บางครั้ ง ต้ อ งยอมรั บ ว่ า มั น ยุ่ ง ยากพอสมควรในการ ทำ�งาน เนื่องจากเครื่องมือและโปรแกรมที่จะใช้ในการ ทำ� Photo Book ก็มีให้เลือกมากมายจนเลือกไม่ถูกหรือ มีขั้นตอนการทำ�งานมากมายกว่าจะได้เป็น Product สำ�เร็จรูปที่ต้องการหรือบางทีมีเครื่องมือ ซึ่งผมขอเรียก ว่า “เครื่องมือเทพ” แล้ว แต่คนทำ�จบไม่ลง เพราะ เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาจนไม่เสร็จสักที ดังนั้น รูปแบบของ Photo Book บน Cloud computing จึงถูกสร้างขึ้นใหม่ เพื่อตอบสนอง Trend & Technology แบบใหม่ ผู้ใช้ สามารถใช้ Software Photo Book ได้ตามความต้องการ แบบทันท่วงที เรียกว่าอยากเข้าไปใช้ที่ไหน เมื่อไหร่ก็ได้ รวมทั้งต้องใช้งานง่ายด้วย เพื่อให้จบงานได้เร็ว ซึ่งใน ปัจจุบนั Software แบบนีเ้ ปิดให้ผใู้ ช้ทเ่ี ป็นสมาชิกสามารถ Upload ภาพทีต่ อ้ งการทำ� Photo Book เข้าไปทีต่ วั Software ที่อยู่บน Cloud computing จากนั้นก็เลือกรูปแบบได้ ตาม Template ที่มีการสร้างรอเอาไว้แล้วอย่างง่ายดาย แล้วนำ�ภาพที่อยู่ในระบบมาวางบนแบบที่ต้องการ แล้ว
ก็ใส่ที่อยู่ในการจัดส่งก็เป็นอันเสร็จสรรพเรียบร้อย ซึ่ง Software แบบนี้ มีให้เลือกแบบสมัครสมาชิกรายปีเพื่อ เข้าไปใช้เมื่อไหร่ก็ได้ หรือจะเป็นแบบการคิดค่าใช้จ่าย ครั้งต่อครั้งที่เข้าไปใช้ แล้วทำ�การจ่ายเงินผ่านระบบ Online Payment ที่เรียกว่า “Online Payment Gateway” ผ่านระบบบัตรเครดิตก็ได้อย่างรวดเร็ว ผู้สั่งก็รอรับ Photo Book ได้เลย 3. Variable Data Printing Software Solution ผมเคยนำ�เสนอเรื่อง Variable Data Printing (VDP) Software ไปแล้วในงานเขียนฉบับที ่ 87 และ 88 ซึง่ อย่าง ที่ผมเคยเรียนไปว่า ถ้าท่านผู้อ่านสามารถหาตลาดที่มี ความต้องการงานพิมพ์ลักษณะนี้ได้ ผมรับรองว่าท่าน จะมีรายได้เข้าบริษัทอีกมากมายเลยทีเดียว เพราะเป็น เรื่องของ Product Innovation ไม่ต้องไปแข่งขันเรื่อง ราคากันมากนัก ปัจจุบนั นีง้ าน Variable Data ไม่เพียงแต่ อยู่ในรูปแบบงานพิมพ์เท่านั้น แต่สามารถที่จะนำ�เสนอ ผ่านสื่อที่มากกว่า 1 ช่องทาง (Multi Channel หรือ Cross Media) ไม่ว่าจะผ่านทาง Web (หรือเรียกว่า Personalize URL), E-Mail (Personalize E-Mail), SMS (Personalize SMS), Video (Personalize Video) หรืออื่นๆ สาเหตุที่ มีช่องทางอื่นๆ เพิ่มเติมเข้ามา ก็เพื่อเข้ามาเติมเต็มรูป แบบของงานแบบนี้ เนื่องจากบางครั้งการนำ�เสนองาน Variable Data ผ่านทางงานพิมพ์อย่างเดียว เป็นเรื่อง ThaiPrint Magazine 49
Printing Business
ยากในการวัดผลตอบรับของ Campaign ทางการตลาด ที่นำ�เสนอไป เพราะงานพิมพ์ส่วนมากเป็นการสื่อสาร แบบทางเดียวระหว่างผูส้ ง่ สารและผูร้ บั สาร ดังนัน้ การคาด หวังให้ลูกค้าพิมพ์ URL ที่อยู่บนงานพิมพ์ที่บริษัทต่างๆ ส่งไปให้เพื่อเข้า Web Site หรือ แม้แต่การเข้า Web Site ผ่านรูปแบบของ 2D Barcode ที่นิยมในปัจจุบันจึงเป็น เรื่องที่ค่อนข้างเป็นไปได้ยาก ในปัจจุบันมีสื่ออีกหลาย อย่างที่เข้าถึงลูกค้าได้เร็วกว่า เช่น Web หรือ E-Mail ซึ่ง สามารถสร้างการตอบรับแบบ 2 ทาง (Interaction) ได้ ง่ายกว่า ทำ�ให้สามารถคาดหวังเกี่ยวกับผลตอบรับของ Campaign ต่างๆ ได้งา่ ยกว่า โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทุกวันนี้ มีการใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสำ�คัญทางการตลาด เพื่อวิจัยผลตอบรับทางการตลาดต่อ Campaign ต่าง ๆ ที่ บ ริ ษั ท ใดบริ ษั ท หนึ่ ง ต้ อ งการตรวจสอบผลลั พ ธ์ ท าง การตลาด ไม่ว่าจะเป็นก่อนการออก Campaign เพื่อทำ� Survey ถึงความต้องการของลูกค้าหรือหลังการออก Campaign เพื่อตรวจสอบผลตอบรับของ Campaign ที่ นำ�เสนอต่อลูกค้ากลุม่ เป้าหมายว่า “ผลลัพธ์เป็นอย่างไร” ด้วยเครือ่ งมือเหล่านีจ้ งึ ถือเป็นการทำ�งาน Variable Data แบบใหม่ ท่ี ไ ม่ ต้ อ งทำ � การพิ ม พ์ ซึ่ ง ผนวกรวมความ สามารถในการวิเคราะห์ขอ้ มูลของลูกค้าไปด้วยในตัว ซึง่ เครื่องมือเหล่านี้ในอดีต ต้องยอมรับว่าการจัดการงาน Variable Data ผ่านสื่อที่แตกต่างกันอย่างที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้น ต้องมีเงินไม่ต่ำ�กว่า 10 ล้านบาท ไม่รวมการติด ตั้ง สร้างสรรค์ และการทดสอบระบบ ซึ่งนอกจากจะ ใช้เงินจำ�นวนมากแล้ว ยังต้องใช้เวลานานแล้วในการ พัฒนา Software ให้เป็นตามเงื่อนไขที่ต้องการ ยิ่งไป กว่านั้น ยังต้องจ้างพนักงาน IT เก่งๆ มาจัดการงาน IT Admin ต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นการทำ� Systems Monitoring, 50 ThaiPrint Magazine
การจัดการเรือ่ งระบบ IP Address, Systems Maintenance & Back Up และการสร้าง URL ซึ่งทั้งหมดที่กล่าวมาคล้าย กับการ Implementation ระบบ W2P ขึ้นมาเลย แต่สิ่ง ที่ผมกล่าวมาทั้งหมดนี้ไม่วา่ จะเป็น Personalize URL, Personalize E-Mail, Personalize SMS ทัง้ หมดนีส้ ามารถ เปลี่ยนเป็นระบบเช่าใช้บน Cloud computing ผ่านระบบ SaaS (Software as a service) Model ได้แล้วในปัจจุบนั ไม่จำ�เป็นต้องจ่ายเงินจำ�นวนมากเพื่อเป็นเจ้าของระบบ แบบนีโ้ ดยทีย่ งั ไม่มคี วามมัน่ ใจ Software ลักษณะนีบ้ างตัว ก็มี Model ที่แยกรายละเอียดการคิดเงินที่ชัดเจน เช่น Personalize URL หรือ Personalize E-Mail คิดตามราย ชื่อของคน เป็นต้น ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้การจัดสร้าง Campaign แต่ละครั้ง ก็สามารถทำ�ได้ในราคาที่ถูกมาก จ่าย เท่าที่ใช้เช่นเดียวกัน เมื่อระบบเหล่านี้ สามารถเข้ามา ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ประกอบกับมีงาน มากขึ้น ก็ค่อยมาวางแผนต่อเรื่องการลงทุนสมควรจะ ซื้อมาพัฒนาเองดีหรือไม่ ROI (Return on investment) ของการลงทุนระบบแบบนี้คุ้มค่าหรือเปล่าในลำ�ดับต่อ ไป ตัวอย่างทั้ง 2 Solutions ที่ผมยกตัวอย่างมานี้ คือ การใช้ Cloud Computing มาประยุกต์กบั อุตสาหกรรม การพิมพ์ ท่านผู้อ่านสามารถจะใช้มันเพื่อเพิ่มผลกำ�ไร ให้กับธุรกิจของท่านในราคาที่เหมาะสม ยังเหลืออีก 2 Solutions ซึ่งผมจะกล่าวต่อไปในเล่มหน้าครับ
Print News
HP Post DRUPA
นวัตกรรมการพิมพ์หลังงานดรูป้า
2012
บริษทั เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน) โดยแผนกอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้จดั งานสัมมนาขึน้ เมือ่ วันที่ 11 กันยายน ที่ผ่านมา ในหัวข้อเรื่อง นวัตกรรมการพิมพ์หลังงานดรูปา 2012 เพื่อเก็บตกรายละเอียดของเทคโนโลยีในระบบดิจิตอล ใน บูธของHP Indigo เพื่อให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ให้แก่สมาชิกของสมาคมการพิมพ์ไทย ณ โรงแรม Renaissance ราชประสงค์ ตัวแทนบริษัท เบอร์ลี่ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน) คุณวรนันท์ ถาวรนันท์ ตำ�แหน่ง ผู้อำ�นวยการฝ่าย วิศวกรรมและอุตสาหกรรมการพิมพ์ กล่าวต้อนรับผู้ ร่วมงาน คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ไทยให้เกียรติกล่าวเปิดงานและได้รับเกียรติ จากตัวแทนของ HP Indigo Mr.Allon Maoz และ Mr.Mahidi SEA.Graphic Solution Business โดยเริม่ ด้วยงานเสวนา The Visitors Talk หวั ข้อ เปิดมุมมอง HP Indigo นี้ ได้รับเกียรติจาก 3 ท่าน ผู้มี ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรมงานของ HP Indigo คือ คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายกสมาคมการ พิมพ์ไทย คุณปรเมศร์ วงศ์วรกุล ผู้จัดการการตลาด บริษัท อักษรอาร์ต และ คุณศศิธร ไพรศรี ผู้จัดการ ฝ่ายขายเครื่องพิมพ์ดิจิตอล บริษัท เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ จำ�กัด (มหาชน)
52 ThaiPrint Magazine
HP Post DRUPA 2012
เริ่มเปิดประเด็นจากงาน DSCOOP เป็นงาน พบปะสั ง สรรค์ ข องผู้ ส นใจงานพิ ม พ์ ร ะบบดิ จิ ต อลใน กลุ่มผู้บริโภค Brand owner เจ้าของและฝ่ายการตลาด ของผู้ให้บริการการพิมพ์ PSP และบริษัทผู้ให้บริการ งานหลังพิมพ์ในระบบดิจิตอล ของ HP Indigo ที่เรียก ได้ว่า เป็นระบบดิจิตอลออฟเซ็ท ในงานนี้จัดขึ้น 3 วัน ก่อนงาน Drupa อัดแน่นไปด้วยเนื้อหาสาระ ผู้เข้าร่วม งานสามารถเลือกหัวข้อการการฟังบรรยายตามธุรกิจ ที่ตนสนใจ ได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์ ฟังคำ�บรรยาย เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และติดต่อ ธุรกิจระหว่างประเทศ เรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีจากงาน พิมพ์ในระบบดิจติ อลสมัยใหม่ รวมทัง้ ซอฟต์แวร์ทส่ี ามารถ นำ�ไปใช้ประโยชน์เพื่อการออกแบบและทำ�การตลาด จากแนวคิดใหม่ๆ จากงานนี้อีกด้วย สำ�หรับบูธในงาน Drupa - มุมมองของคุณพงศ์ธรี ะ ได้บรรยายบรรยากาศ ภายในบูธ HP Indigo ซึ่งมีการโชว์เครื่องพิมพ์อย่าง ครบทุกรุ่นตามรูปแบบของงานพิมพ์ เช่น งานพิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์, งานพิมพ์สง่ิ พิมพ์ทว่ั ไป, งานพิมพ์ฉลากและ บรรจุภณ ั ฑ์ประเภทอ่อนตัว ส่วนมุมมองในอุตสาหกรรม การพิมพ์นี้ ทางคุณพงศ์ธีระกล่าวว่า ถึงเวลาที่ต้องมี การปรับตัวและเริ่มกันอย่างจริงจัง ซึ่งสอดคล้องกับคุณ ปรเมศร์ งานพิมพ์ดิจิตอลถือเป็นการเปลี่ยนนวัตกรรม งานพิมพ์ที่สร้างรูปแบบงานพิมพ์ที่หลากหลาย ทันสมัย ได้ พร้อมทั้งคุณภาพและเวลาที่เร็วขึ้น ตอบสนองต่อ
การแข่ ง ขั น ที่ นั บ วั น จะมากขึ้ น ทั้ ง ตลาดภายในและ ภายนอกประเทศ - คุณศศิธร ตัวแทนจำ�หน่ายเครือ่ งพิมพ์ดจิ ติ อล ยอมรับว่า Drupa ปีนี้ HP Indigo ได้รับการตอบรับ อย่างดียิ่งจากเจ้าของโรงพิมพ์ออฟเซต เป็นงานโชว์ที่ ค่ อ นข้ า งเต็ ม รู ป แบบของงานพิ ม พ์ ใ นระบบดิ จิ ต อล เป็ น โอกาสที่ เ จ้ า ของงานพิ ม พ์ ไ ด้ มี โ อกาสเรี ย นรู้ นวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการตัดสินใจมากขึ้น และเชิญชวนให้ผู้ประกอบการที่รับฟังการสนทนาได้ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของงาน Dscoop ที่จะจัดขึ้นทุกๆ ปี นวัตกรรมใหม่ๆ ของ HP Indigo พอสรุปได้ดังนี้ Enhanced Productivity mode (EPM) โปรไฟล์ ใหม่ที่สามารถพิมพ์งานด้วยหมึกเพียง 3 สี เท่านั้น CMY ทำ�ให้งานพิมพ์เร็วขึ้น 30% One-Shot process Kit Prints on Synthetics ระบบการพิ ม พ์ แ บบใหม่ ที่ ใช้ โ มผ้ า ยางจะสะสมหมึ ก ThaiPrint Magazine 53
Print News
ทุกรอบพิมพ์ของงานนั้นไว้และถ่าย ทอดสู่วัสดุพิมพ์ด้วยรอบพิมพ์เพียง ครั้งเดียว เพื่อลดความร้อนสะสม บนวัสดุการพิมพ์ ทำ�ให้การพิมพ์งาน บนวั ส ดุ จำ � พวกฟิ ล์ ม ได้ ตำ � แหน่ ง สี แม่นยำ�ลดการคลาดเคลื่อนของงาน พิมพ์ลดความสูญเสียและยังสามารถ และพิมพ์บนวัสดุได้มากขึน้ เช่น วัสดุ จำ�พวก PVC, PET, Teslin®, PC 54 ThaiPrint Magazine
HP ElectroInk UV Red ระบบหมึกล่องหนที่พิมพ์ลงบนวัสดุแล้ว มองไม่เห็นภาพในแสงปกติแต่จะสามารถเห็นภาพได้ภายใต้แสง UV เท่านั้น ท่านก็สามารถเพิ่มสินค้าใหม่ด้าน security applications มาในกลุ่มสินค้า ท่าน จำ�พวก Identity cards, Credit cards, Voting cards, High value coupons, Tickets, Invisible barcodes Emboss เทคนิคการสร้างแม่พิมพ์ปั๊มนูนชั่วคราว เพื่อกดทับบน กระดาษพิมพ์ให้นูนขึ้น Raising Print เทคนิคการพิมพ์ด้วยหมึกใส พิมพ์หลายๆ รอบ ทำ�ให้งานส่วนที่ต้องการนูนขึ้น นอกจากนี้ ยังมีโหมดการพิมพ์ จำ�พวกสีพิเศษ IndiChrome colors ที่ทำ�ให้ขอบข่ายของ Gamut สีกว้างขึ้น เช่น สี Orange, Green, Violet, Rhodamine Red, Reflex Blue, Bright Yellow. Transparent และ White Ink ทีสามารถพิมพ์งานรองพื้นบนกระดาษสีเข้ม หรือฟิล์มใส ทำ�ให้สีงาน พิมพ์สดใสและโดดเด่นขึ้น และสิ่งที่หลายท่านคาดหวังจาก HP Indigo คือ การพิมพ์งาน larger format ในงานนี้มีการเผยโฉม HP Indigo 10000 Digital Press เครื่องพิมพ์ ที่สามารถพิมพ์ได้ถึงขนาด B2 คือ 75x53 cm / 29.5x20.9 inches และยัง ตามมาด้วยเครือ่ ง HP Indigo 20000 ระบบพิมพ์แบบม้วน หน้ากว้าง 30 นิว้ สำ�หรับงาน flexible packaging และ HP Indigo 30000 ระบบพิมพ์แบบแผ่น
HP Post DRUPA 2012
ขนาดงานพิมพ์ 75x53 cm. พิมพ์ลง วัสดุหนาถึง 600 microns. สำ�หรับ งาน Folding & Carton มากันแบบ ครอบคลุมเกือบทุก Segment ของ งานพิมพ์ในระบบดิจิตอล ตามมาด้ ว ยข้ อ เสนอแนะ คำ � บรรยายที่ มีป ระโยชน์ จ ากคุ ณ ณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข จากบริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด ในธุรกิจปัจจุบนั งานเราไม่สามารถรองรับงานเพียง อย่างเดียวได้ เราต้องเป็น One stop service หมายความว่า เราต้องเข้า พบลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ โ ภคโดยตรง และสามารถรองรับความต้องการลูกค้า ที่หลากหลายได้ โดยมีทีมกราฟิกที่ สามารถแก้ไขงานและออกแบบงาน ให้ ลูก ค้ า ได้ โ ดยลู ก ค้ า ยอมจ่ า ยเพิ่ม ถ้าเราสามารถช่วยลูกค้าได้ ตลาด พวก SMEs มีมากมายทั่วประเทศ ที่ ข าดความรู้ เ รื่ อ งงานพิ ม พ์ แ ละ การออกแบบ ถ้าเราตอบโจทย์นี้ได้ งานมี อ ยู่ม ากมายในตลาดสำ � หรั บ งานดิจิตอล จำ�พวกงานพิมพ์ยอด น้อยๆ คำ�แนะนำ�ที่มีประโยชน์จาก คุณณรงค์ศักดิ์ หัวข้อสุดท้ายงานมาที่ Cross Media marketing โดย Mr. Gabriel Duke ตำ�แหน่ง Business Development & Marketing Director. Cross
Media เป็นอีกหนึ่งโซลูชั่นที่โรงพิมพ์สามารถเสนอบริการที่เพิ่มขึ้น เพื่อมุ่ง หวั ง ที่ จ ะติ ด ต่ อ สื่ อ สารโดยตรงกั บ กลุ่ ม ผู้ บ ริ โ ภคที่ มี ผ ลทั้ ง โดยตรง และโดยอ้อมกับธุรกิจผ่านช่องทางการสือ่ สารต่างๆ เช่น Direct mail, Press Ad., Collateral, Social media, SMS, QR codes, Apps ฯลฯ สามารถสือ่ สาร และรายงานผลอย่างรวดเร็วในกลุม่ ผูใ้ ช้ Media ต่างๆ มีผบู้ ริโภคอยูม่ ากมาย หัวใจของการทำ�ตลาดยุคใหม่ก็คือ ฐานข้อมูลลูกค้า ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าแบบ B2B หรือ B2C ก็ตาม การเลือกใช้สื่อที่เหมาะสม รวมทั้งโปรโมชั่นที่ ตรงใจกลุ่มลูกค้า จะสร้างแรงจูงใจด้วยในการตัดสินใจในโอกาสเวลาอันสั้น การตอบสนองของผู้บริโภคทำ�ให้ธุรกิจเกิดการเคลื่อนตัวอย่างต่อเนื่องและ สามารถสร้างBrand Loyalty ได้ในที่สุด ท่านสามารถอ่านรายละเอียด Cross Media เพิ่มเติมได้ที่ http://www.mindfireinc.com/ และข้อมูลของ HP Indigo ทั้งหมดใน http://www.hp.com/go/indigo ขอขอบคุณสมาคมการพิมพ์ไทยที่อำ�นวยความสะดวกและ ขอบคุณกลุม่ Young Printer ทีม่ สี ว่ นร่วมอย่างมากในการทำ�กิจกรรมนี้
ThaiPrint Magazine 55
Print Data ตลาดส่งออก กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 10 ประเทศแรกของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ รายการ
2551
2552
2553
2554
2554 2555 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2552
2553
2554
สัดส่วน (ร้อยละ)
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
2551
2552
2553
2554
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
1. เวียดนาม
146.23
148.63
143.97
164.33
120.29
133.77
1.64
-3.13
14.15
11.21
11.01
12.38
10.79
11.15
11.37
2. มาเลเซีย
136.60
116.84
135.70
146.03
110.69
103.43
-14.46
16.14
7.61
-6.56
10.29
9.73
10.17
9.91
8.79
3. อินโดนีเซีย
88.99
94.43
103.06
118.28
85.25
98.46
6.11
9.14
14.77
15.50
6.70
7.87
7.72
8.03
8.37
4. ออสเตรเลีย
66.53
70.58
84.01
95.84
72.00
90.09
6.08
19.03
14.09
25.12
5.01
5.88
6.29
6.50
7.66
5. เกาหลีใต้
98.39
97.55
105.96
112.27
79.56
88.13
-8.50
5.62
5.95
10.78
7.41
8.13
7.94
7.62
7.49
6. ไต้หวัน
64.01
56.41
51.26
66.54
49.21
50.86
-11.88
-9.12
29.80
3.36
4.82
4.70
3.84
4.52
4.32
110.19
39.51
45.45
61.00
46.53
43.84
-64.15
15.05
34.19
-5.78
8.30
3.29
3.41
4.14
3.73
7. จีน 8. กัมพูชา
24.75
24.89
33.19
40.80
31.00
42.75
0.58
33.35
22.91
37.90
1.86
2.07
2.49
2.77
3.63
9. ญี่ปุ่น
37.44
53.94
56.32
57.20
46.16
41.84
44.08
4.41
1.56
-9.36
2.82
4.49
4.22
3.88
3.56
10. สหรัฐอเมริกา
36.55
40.02
47.40
29.17
25.42
41.14
9.48
18.46
-38.46
61.83
2.75
3.33
3.55
1.98
3.50
รวม 10 ประเทศ
809.67
742.78
806.33
891.45
666.11
734.32
-8.26
8.55
10.56
10.24
60.98
61.88
60.42
60.50
62.42
518.10
457.63
528.28
582.06
418.84
442.10
-11.67
16.44
10.18
5.55
39.02
38.12
39.58
39.50
37.58
1,327.76 1,200.41 1,334.61 1,473.51
1,084.95
1,176.42
-9.59
11.18
10.41
8.43
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
อื่นๆ มูลค่ารวม
ตลาดส่งออก กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 20 ประเทศแรกของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ รายการ
2551
2552
1. เวียดนาม
146.23
148.63
2. มาเลเซีย
136.60 88.99
3. อินโดนีเซีย
2553
2554
2554 2555 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)
สัดส่วน (ร้อยละ)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2552
2553
143.97
164.33
120.29
133.77
1.64
-3.13
116.84
135.70
146.03
110.69
103.43
-14.46
16.14
94.43
103.06
118.28
85.25
98.46
6.11
9.14
2554 14.15
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
2551
11.21
11.01
7.61
-6.56
14.77
15.50
2552
2553
12.38
10.79
10.29
9.73
6.70
7.87
2554
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
11.15
11.37
10.17
9.91
8.79
7.72
8.03
8.37
4. ออสเตรเลีย
66.53
70.58
84.01
95.84
72.00
90.09
6.08
19.03
14.09
25.12
5.01
5.88
6.29
6.50
7.66
5. เกาหลีใต้
98.39
97.55
105.96
112.27
79.56
88.13
-8.50
5.62
5.95
10.78
7.41
8.13
7.94
7.62
7.49 4.32
6. ไต้หวัน 7. จีน 8. กัมพูชา
64.01
56.41
51.26
66.54
49.21
50.86
-11.88
-9.12
29.80
3.36
4.82
4.70
3.84
4.52
110.19
39.51
45.45
61.00
46.53
43.84
-64.15
15.05
34.19
-5.78
8.30
3.29
3.41
4.14
3.73
24.75
24.89
33.19
40.80
31.00
42.75
0.58
33.35
22.91
37.90
1.86
2.07
2.49
2.77
3.63
9. ญี่ปุ่น
37.44
53.94
56.32
57.20
46.16
41.84
44.08
4.41
1.56
-9.36
2.82
4.49
4.22
3.88
3.56
10. สหรัฐอเมริกา
36.55
40.02
47.40
29.17
25.42
41.14
9.48
18.46
-38.46
61.83
2.75
3.33
3.55
1.98
3.50
11. ฮ่องกง
56.70
47.26
49.72
74.26
38.16
39.77
-16.65
5.21
49.36
4.23
4.27
3.94
3.73
5.04
3.38
12. สหรัฐอาหรับ อามิเรตส์
43.61
33.33
47.54
50.23
38.85
37.40
-23.58
42.63
5.65
-3.72
3.28
2.78
3.56
3.41
3.18
13. ฟิลิปปินส์
48.57
34.26
47.93
47.99
40.52
35.73
-29.46
39.90
0.11
-11.83
3.66
2.85
3.59
3.26
3.04
14. สิงคโปร์
65.01
51.09
52.71
54.37
40.82
35.67
-21.41
3.16
3.16
-12.63
4.90
4.26
3.95
3.69
3.03
15. ซาอุดิอาระเบีย
23.71
27.87
20.07
33.67
20.70
31.54
17.58
-28.01
67.82
52.40
1.79
2.32
1.50
2.29
2.68
16. ลาว
17.04
19.38
24.39
28.46
21.02
24.22
13.77
25.84
16.69
15.26
1.28
1.61
1.83
1.93
2.06
17. เบลเยียม
51.90
44.67
43.52
39.63
30.08
19.53
-13.93
-2.58
-8.94
-35.06
3.91
3.72
3.26
2.69
1.66
9.04
11.98
14.62
16.74
12.41
13.21
32.52
22.00
14.53
6.45
0.68
1.00
1.10
1.14
1.12
19. ฝรั่งเศส
12.36
9.68
10.79
9.93
7.06
12.98
-21.65
11.42
-7.97
83.93
0.93
0.81
0.81
0.67
1.10
20. บังกลาเทศ
10.85
13.16
15.34
14.79
10.93
12.50
21.30
16.61
-3.59
14.28
0.82
1.10
1.15
1.00
1.06
รวม 20 ประเทศ 1,148.45 1,035.47 1,132.94 1,261.52
926.65
996.87
-9.84
9.41
11.35
7.58
86.49
86.26
84.89
85.61
84.74
18. พม่า
อื่นๆ มูลค่ารวม
212.00
158.30
179.55
-8.01
22.27
5.12
13.43
13.51
13.74
15.11
14.39
15.26
1,327.76 1,200.41 1,334.61 1,473.51
179.31
1,084.95
1,176.42
-9.59
11.18
10.41
8.43
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
56 ThaiPrint Magazine
164.95
201.67
ข้อมูลส่งออก ตลาดส่งออก หนังสือและสิ่งพิมพ์ 10 ประเทศแรกของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ รายการ
2551
2552
2553
2554
2554 2555 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)
สัดส่วน (ร้อยละ)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2552
2553
2554
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
2551
2552
2553
2554
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
14.61
12.39
12.69
15.03
11.12
8.47
-15.16
2.39
18.44
-23.88
1.01
0.79
14.17
15.49
12.71
1.75
1.38
3.26
7.66
6.10
6.65
-21.39
136.31
135.30
8.96
0.12
0.09
3.64
7.90
9.99
3. สิงคโปร์
24.54
19.17
3.56
5.57
4.10
5.85
-21.86
-81.44
56.59
42.78
1.69
1.22
3.97
5.74
8.78
4. เวียดนาม
1.88
2.96
5.55
8.16
6.21
5.33
57.64
87.66
47.01
-14.23
0.13
0.19
6.19
8.41
8.00
5. พม่า
0.64
1.71
2.17
4.43
3.41
4.93
166.20
27.12
103.55
44.70
0.04
0.11
2.43
4.56
7.41
6. ญี่ปุ่น
221.10
143.05
3.87
5.15
3.96
4.31
-35.30
-97.30
33.06
8.74
15.26
9.13
4.32
5.31
6.47
6.78
4.34
5.20
7.46
6.13
3.53
-35.91
19.65
43.47
-42.32
0.47
0.28
5.80
7.69
5.31
1. สหรัฐอเมริกา 2. อินโดนีเซีย
7. สหราชอาณาจักร
2.63
3.33
2.44
2.84
20.97
-99.80
26.67
16.49
75.61
84.62
2.93
3.43
4.26
9. ออสเตรเลีย
4.36
3.44
3.92
6.20
5.29
2.50
-21.20
14.06
55.92
-52.73
0.30
0.22
4.38
6.30
3.75
10. มาเลเซีย
1.64
1.42
7.49
3.13
2.75
2.49
-13.69
427.97
-58.15
-9.44
0.11
0.09
8.36
3.23
3.75
8. ฮ่องกง
รวม 10 ประเทศ
1,095.86 1,325.65
1,373.17 1,515.51
50.33
66.03
51.51
46.90
10.37
-96.68
31.19
-8.95
94.75
96.73
56.19
68.06
70.42
51.16
39.23
30.98
24.20
19.70
-32.82
-23.31
-21.03
-18.57
5.25
3.27
43.81
31.94
29.58
1,449.32 1,566.67
89.56
97.01
75.70
66.60
8.10
-94.28
8.32
-12.02
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
76.16
อื่นๆ มูลค่ารวม
ตลาดส่งออก หนังสือและสิ่งพิมพ์ 10 ประเทศแรกของไทย มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐ รายการ 1. สหรัฐอเมริกา
2551 14.61
2552
2553
2554
2554 2555 (ม.ค.-ก.ย.) (ม.ค.-ก.ย.)
สัดส่วน (ร้อยละ)
อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) 2552
2553
2554
12.39
12.69
15.03
11.12
8.47
-15.16
2.39
18.44
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
2551
2552
2553
2554
2555 (ม.ค.-ก.ย.)
-23.88
1.01
0.79
14.17
15.49
12.71
1.75
1.38
3.26
7.66
6.10
6.65
-21.39
136.31
135.30
8.96
0.12
0.09
3.64
7.90
9.99
3. สิงคโปร์
24.54
19.17
3.56
5.57
4.10
5.85
-21.86
-81.44
56.59
42.78
1.69
1.22
3.97
5.74
8.78
4. เวียดนาม
1.88
2.96
5.55
8.16
6.21
5.33
57.64
87.66
47.01
-14.23
0.13
0.19
6.19
8.41
8.00
2. อินโดนีเซีย
5. พม่า
0.64
1.71
2.17
4.43
3.41
4.93
166.20
27.12
103.55
44.70
0.04
0.11
2.43
4.56
7.41
6. ญี่ปุ่น
221.10
143.05
3.87
5.15
3.96
4.31
-35.30
-97.30
33.06
8.74
15.26
9.13
4.32
5.31
6.47
6.78
4.34
5.20
7.46
6.13
3.53
-35.91
19.65
43.47
-42.32
0.47
0.28
5.80
7.69
5.31
1,095.86 1,325.65
2.63
3.33
2.44
2.84
20.97
-99.80
26.67
16.49
75.61
84.62
2.93
3.43
4.26
-52.73
0.30
0.22
4.38
6.30
3.75
7. สหราชอาณาจักร 8. ฮ่องกง 9. ออสเตรเลีย
4.36
3.44
3.92
6.20
5.29
2.50
-21.20
14.06
55.92
10. มาเลเซีย
1.64
1.42
7.49
3.13
2.75
2.49
-13.69
427.97
-58.15
-9.44
0.11
0.09
8.36
3.23
3.75
11. เบลเยียม 12. เยอรมนี
1.32
1.21
1.76
1.94
1.60
1.84
-8.20
45.31
10.06
15.12
0.09
0.08
1.97
2.00
2.76
2.85
2.85
2.47
3.16
2.36
1.72
-0.22
-13.37
27.97
-27.46
0.20
0.18
2.75
3.25
2.58
17.41
13.20
0.99
0.96
0.73
1.69
-24.19
-93.52
-2.34
130.74
1.20
0.84
1.10
0.99
2.53
13. ไต้หวัน 14. เม็กซิโก
2.04
1.49
2.38
2.02
1.41
1.55
-27.00
59.85
-15.28
9.83
0.14
0.10
2.66
2.08
2.32
15. ฟิลิฟปินส์
5.82
1.43
3.85
3.93
3.25
1.33
-75.34
168.53
2.10
-59.10
0.40
0.09
4.30
4.05
2.00
16. ลาว
0.73
0.93
5.41
1.20
0.90
0.77
27.30
479.51
-77.89
-14.86
0.05
0.06
6.05
1.23
1.15
17. ฝรั่งเศส
3.07
2.24
2.34
1.38
1.06
0.76
-27.28
4.72
-4.09
-28.12
0.21
0.14
2.61
1.43
1.14
18. ศรีลังกา
0.04
0.16
0.21
0.30
0.24
0.75
297.71
31.59
43.64
219.98
0.00
0.01
0.24
0.31
1.13
19. อินเดีย
1.09
2.09
0.99
0.60
0.39
0.72
92.40
-52.53
-39.77
84.36
0.08
0.13
1.11
0.62
1.08
20. จีน
0.40
0.42
0.54
0.88
0.61
0.66
6.21
26.85
63.82
6.94
0.03
0.03
0.60
0.90
0.99
1,407.94 1,541.54
71.27
82.40
64.05
58.66
9.49
-95.38
15.61
-8.41
97.14
98.40
79.58
84.94
88.08
25.13
18.29
14.61
11.65
7.94
-39.26
-27.23
-20.10
-31.88
2.86
1.60
20.42
15.06
11.92
1,449.32 1,566.67
89.56
97.01
75.70
66.60
8.10
-94.28
8.32
-12.02
100.00
100.00
100.00
100.00
100.00
รวม 20 ประเทศ อื่นๆ มูลค่ารวม
41.38
ที่มา : สำ�นักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
สำ�นักสารสนเทศธุรกิจระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก
ThaiPrint Magazine 57
ad BK Conroll_m19.indd 1
4/10/10 1:47 AM
K CMY CY MY CM Y M C
93 Ad SIEGWERK #92_pc3.indd 1
5/7/2555 22:38:51
Print News
Control P
ผู้ผลิตงานพิมพ์ดิจิตอลออฟเซ็ต ผสมผสานกับการเย็บแบบคลาสสิก ถ้าจะพิมพ์งานจะค�ำนึงถึงจ�ำนวนที่ ต้องการจะใช้เป็นหลัก ซึ่งการพิมพ์ แบบออฟเซ็ตต้องพิมพ์จำ� นวนเยอะๆ เพือ่ ให้คมุ้ กับค่าเพลตและเฉลี่ยแล้ว ราคาต่อหน่วยถูกลง ท�ำให้เราได้สิ่ง พิมพ์ทเี่ กินความจ�ำเป็นมาก แต่การ พิ ม พ์ ดิ จิ ต อลออฟเซ็ตสามารถแก้ ปัญหานี้ได้ นอกจากนั้นแล้ว ข้อดี คือ สามารถพิมพ์งานบนฐานข้อมูล สามารถพิมพ์ให้ทุกหน้าไม่ซ�้ำกันได้ เหมาะส�ำหรับการ์ดเชิญที่ต้องการ ระบุชื่อคนรับที่แตกต่างกันได้ เราน�ำเอาเทคนิคการพิมพ์ สมัยใหม่มารวมกับเทคนิคการเข้า เล่มแบบคลาสสิกในรูปแบบต่างๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับงานกระดาษให้ ความเป็นมา ของบริษทั Control P ? ระบบการพิมพ์ของเราถือว่าเป็นแบบดิจิตอลออฟเซ็ต สามารถทีจ่ ะ มีลกั ษณะเป็นงานท�ำมือเพือ่ ให้สะดุด พิมพ์งานจ�ำนวนน้อยได้ และคุณภาพใกล้เคียงกับงานพิมพ์ออฟเซ็ต เรา ตาคนรับ ไม่เหมือนใคร รูปแบบเฉพาะ สามารถ Print On Demand ได้ ท�ำให้ไม่ตอ้ งพิมพ์จำ� นวนเยอะ อยากจะท�ำ อยากเก็บรักษาไว้ เล่มเดียวก็สามารถท�ำได้ ท�ำให้การปรับเปลี่ยนปรับปรุงงานพิมพ์ได้ตลอด เวลา อย่างเช่น เมนูร้านอาหารสามารถเปลี่ยนรายละเอียดของอาหารและ ราคาได้ ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท�ำให้คนหันมาสนใจ การลดการใช้กระดาษให้น้อยลง ด้วยการใช้อินเตอร์เน็ตในการส่งเอกสาร 68 ThaiPrint Magazine
Control P
“ดีใจกับรางวัลที่ได้ ซึ่งถือว่าเป็นครั้งแรกที่เข้าประกวดและสามารถคว้ารางวัลเหรียญทองมาได้ เรายังใหม่ กับวงการพิมพ์ ซึ่งรางวัลที่ได้ถือเป็นเกียรติและเป็นเครื่องพิสูจน์ว่างานพิมพ์ของเราได้มาตรฐานและสามารถแข่งขัน กับงานพิมพ์ประเภทดิจิตอลในตลาดได้เป็นอย่างดี” ผลงานทีผ่ า่ นมา มีงานชิน้ ไหนทีป่ ระทับใจเป็นพิเศษ ? ต้องบอกว่าประทับใจกับงานทุกชิน้ ทีท่ ำ� ออกไป เพราะงานทุกชิ้นที่ท�ำให้ลูกค้าเราเปรียบเสมือนท�ำให้ คนพิเศษ เราดูแลเอาใจใส่กับคุณภาพงานพิมพ์ทุกเล่ม ตั้งแต่ขั้นตอนการพิมพ์ไปจนถึงการเข้าเล่ม ในส่วนงาน ที่ประทับใจเป็นพิเศษ คงเป็นผลงานของช่างภาพมือ อาชีพท่านหนึ่ง ซึ่งเป็นช่างภาพระดับต้นๆ ของเมือง ไทย ได้รวบรวมผลงานถ่ายภาพแฟชั่นโชว์มาให้เราจัด พิมพ์เป็นรูปเล่ม เพือ่ น�ำไปแสดงในงานทัง้ ในประเทศและ ต่างประเทศ ซึ่งลูกค้าท่านนี้ประทับใจในเรื่องคุณภาพ สีสัน และการเข้าเล่ม ซึ่งเราได้ใช้เทคนิคการเข้าเล่มทั้ง แบบเย็บเล่มด้วยมือแบบญีป่ นุ่ และการเข้าเล่มแบบ PUR ยังถือว่าใหม่สำ� หรับเมืองไทย ซึ่งมีคุณสมบัติเทียบเคียง กับการเข้าเล่มแบบเย็บกี่ และสามารถยึดกระดาษทีมี ความหนาได้ถึง 400 แกรม การท�ำงานก็ยากขึ้นตาม งานที่ซับซ้อนและต้นทุนวัสดุก็มีราคาแพงขึ้นตามไป ด้วย ซึ่งผลงานชิ้นนี้ได้รับรางวัลเหรียญทองจากงาน Thai Print Awards ครั้งที่ 7 ในสาขาระบบการพิมพ์ แบบดิจิตอล ประเภท Book Printing
รู้สึกอย่างไรกับรางวัล Thai Print Awards ครั้งที่7 ที่ ได้รับมาครั้งนี้ ? ตื่นเต้น และภูมิใจมากครับ ดีใจกับรางวัลที่ได้ ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ครั้ ง แรกที่ เข้ า ประกวดและสามารถคว้ า รางวัลเหรียญทองมาได้ ต้องถือว่าเรายังใหม่กับวงการ พิมพ์ เปิดกิจการมาได้เพียง 2 ปี แต่มีลูกค้าให้การตอบ รับเป็นอย่างดี ซึง่ รางวัลทีไ่ ด้ถอื เป็นเกียรติและเป็นเครือ่ ง พิ สู จ น์ ว ่ า งานพิ ม พ์ ข องเราได้ ม าตรฐานและสามารถ แข่ ง ขั น กั บ งานพิ ม พ์ ป ระเภทดิ จิ ต อลในตลาดได้ เ ป็ น อย่างดี ส่วนหนึ่งต้องบอกว่าหลังจากได้รับรางวัล ท�ำให้ คนรู้จักเรามากขึ้น ซึ่งต้องขอขอบพระคุณ ทางคณะ กรรมการ และ ผู้จัดงาน Thai Print Awards ที่เห็น คุณค่าของงานฝีมือของเราโดยมอบรางวัลนี้ให้ และที่ ThaiPrint Magazine 69
Print News
ขาดไม่ได้คือ ทาง BJC ที่คอยให้ค�ำปรึกษาและคอยให้ ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยให้ผมได้รับรางวัลในครั้งนี้ด้วยครับ ค�ำแนะน�ำกับทาง Control P ตลอดสองปีที่ผ่านมา ต้องการดูผลงานและรู้จักผมมากขึ้น ก็เข้ามาชมผมได้ บน website ครับ http://www.ibookavenue.com Control P รับงานพิมพ์ประเภทไหนบ้าง ? ผมรับงาน On Demand ทุกรูปแบบ ที่สามารถพิมพ์ลง บนกระดาษขนาด A3 ได้ โดยเฉพาะหนังสือที่ต้องการ งานคุณภาพสูง ซึ่งเราสามารถเข้าเล่มได้หลายรูปแบบ และมีกระดาษแบบพิเศษให้เลือก เพื่อตอบสนองงาน พิมพ์ลูกค้าในระดับไฮเอนด์ และลูกค้าทั่วไปที่ต้องการ งานคุณภาพสูงฝีมือประณีตในราคาที่เหมาะสมและ เป็นกันเองครับ ก่อนที่ผมจะตัดสินใจท�ำธุรกิจนี้ ผมพยายามหา เครื่องพิมพ์ดิจิตอลที่ตอบโจทย์คุณภาพที่ผมต้องการได้ ทีใ่ กล้เคียงกับงานพิมพ์ออฟเซ็ตมากทีส่ ดุ มีความนิง่ ของ คุณภาพสีอย่างต่อเนื่องและสามารถพิมพ์บนกระดาษที มีพื้นผิวที่ผมต้องการได้ โดยไม่สูญเสียรายละเอียด ต่างๆ ของคุณภาพงาน ผมมีโอกาสทดสอบเครือ่ งพิมพ์ มาหลายยีห่ อ้ สุดท้ายก็จบลงด้วยเครือ่ งพิมพ์ของ HP Indigo นีแ่ หละครับ ทีส่ ามารถตอบโจทย์งานพิมพ์คณ ุ ภาพแบบ ต่างๆ ทีห่ ลากหลายของงานผมได้เป็นอย่างดี และ Indigo 70 ThaiPrint Magazine
90 Ad Bottcher� #93_pc3.indd 90
7/9/2555 11:31:15
Print News
แคนนอน โชว์นวัตกรรมการพิมพ์แห่งอนาคต ครบครันด้วยโซลูชั่น ซอฟต์แวร์ พร้อมเผยถึงเทรนด์ เพื่อผลักดันธุรกิจการพิมพ์ดิจิทัลของไทย ในงาน GASMA Print 2012 19 กันยายน 2555 – แคนนอนผู้น�ำธุรกิจเทคโนโลยีด้านบิสซิเนส อิมเมจจิ้ง โซลูชั่น น�ำเสนอสุดยอด นวัตกรรมการพิมพ์ระบบดิจิทัลแห่งอนาคต ทั้งโซลูชั่นเพื่อการพิมพ์ ซอฟต์แวร์ส�ำหรับธุรกิจการพิมพ์ ดิจิทัลทุกขนาด พร้อมน�ำเสนอเทรนด์การพิมพ์ของอนาคต “Digital Fast Printing” ที่อุตสาหกรรมการพิมพ์ ของไทยควรเตรียมพร้อมรับมือ รวมทั้งการจัดแสดงและสาธิตเครื่องพิมพ์สียอดนิยม imagePRESS C1+ ๊ สีจากเครือ่ งพิมพ์เพียงเครือ่ งเดียว ทีส่ ามารถตอบสนองการพิมพ์งานได้หลากหลายรูปแบบ รวมทัง้ งานปรูฟ และเครื่องพิมพ์ดิจิทัลขาวด�ำ โอเซ่ วาริโอ้ พริ้นท ดีพีไลน์ (Océ Vario Print DP-Line) ที่ให้คุณภาพงานพิมพ์ เหมือนระบบออฟเซต ในงานแสดงเทคโนโลยีและวัสดุอุปกรณ์การพิมพ์ “GASMA PRINT 2012” เพื่อ ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำที่สร้างสรรนวัตกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง คุณชูศักดิ์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ ฝ่ายขายส่วนงานบิสซิเนส อิมเมจจิ้ง โซลูชั่น บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด กล่าวว่า “นวัตกรรมทีแ่ คนนอนได้น�ำ มาแสดงในงานครัง้ นี้ เป็ น นวั ต กรรมการพิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล แห่ ง อนาคตที่ ไ ด้ วิ จั ย และพัฒนาจนมีความเชี่ยวชาญ และได้รับการยอมรับ 72 ThaiPrint Magazine
จากทั่วโลก เราเชื่อว่าทั้งเครื่องพิมพ์ดิจิทัล โซลูชั่น ซอฟต์ แวร์ แ ละแนวคิ ด ธุ ร กิ จ แบบใหม่ ข องแคนนอน ที่นำ�มาเสนอในงานครั้งนี้ จะช่วยให้อุตสาหกรรมการ พิมพ์ของไทยตื่นตัวและพัฒนาเพื่อสร้างความแตกต่าง ในเชิงธุรกิจจนสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้”
แคนนอน
แนวโน้ ม ของธุ ร กิ จ การพิ ม พ์ ดิ จิ ทั ล ในอนาคต อันใกล้นี้จะเป็นไปในรูปแบบ “Digital Fast Printing” นั่นคือ ไม่ว่าขนาดของธุรกิจการพิมพ์ของแต่ละองค์กร จะมีขนาดเท่าไหร่ แต่การบริหารจัดการงานสื่อสิ่งพิมพ์ ต้องง่าย สะดวก ไม่ยุ่งยากต่อผู้ใช้งาน และสามารถ ดำ�เนินงานจากภายนอกสำ�นักงานได้ ซึ่งแนวคิดนี้ สามารถทำ�ได้จริงแค่เพียงมีซอฟต์แวร์และเครื่องพิมพ์ ดิจิทัลที่มีประสิทธิภาพสูง ซึ่งสามารถรองรับการทำ�งาน เพียงเท่านั้น ภายในบูธของแคนนอน ท่านจะได้พบการนำ� เสนอรูปแบบร้านค้าในมิติใหม่ ทั้งร้านค้าขนาดเล็ก (Biz Print shop) และขนาดกลาง (Print Service) ที่สามารถ ตอบสนองความต้อ งการของลูก ค้ารายย่ อยได้ อย่ า ง ครบครันด้วย Web 2 Print Solution ที่ช่วยในการบริหาร จัดการงานพิมพ์อย่างครบวงจร เพียงแค่สง่ั พิมพ์งานผ่าน ทางเว็บไซต์ได้ทนั ที ซึง่ ท่านสามารถเปิดให้บริการตลอด 24 ชม. ผู้ใช้สามารถกำ�หนดขั้นตอนการทำ�งานทั้งหมด ในรูปแบบเป็นดิจิทัลได้อย่างอัตโนมัติ เหมาะสมกับผู้ให้
บริการงานพิมพ์ทกุ ระดับ นอกจากนีย้ งั สามารถคำ�นวณ ราคา และตรวจสอบงานก่อนพิมพ์ รวมถึงการทำ�รายงาน สรุปการใช้งานได้อีกด้วย เหมาะกับท่านที่กำ�ลังวางแผน ธุรกิจเพื่อให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง เครือ่ งพิมพ์สี imagePRESSC1+ เป็นเครือ่ งพิมพ์ ดิจติ อลแบบ “วานิช” ในขัน้ ตอนเดียว ทีไ่ ด้รบั การออกแบบ มาเพื่อสนองตอบความต้องการงานพิมพ์หลากหลาย รูปแบบ เช่น งานกราฟฟิคดีไซน์ งานการพิมพ์รูปแบบ ตัวอย่างสินค้า (Mock-up) นามบัตร งานพิมพ์โปสเตอร์ ใบปลิว สื่อโฆษณาและประชาสัมพันธ์ฯลฯ ซึ่งล้วน แล้วแต่เป็นงานที่ต้องการความโดดเด่นและแตกต่าง ThaiPrint Magazine 73
Print News
นอกจากนั้นเครื่องพิมพ์รุ่นนี้ยังสามารถรองรับความ ต้องการแบบ Print-on-Demand ที่มีจำ�นวนงานพิมพ์ ไม่มากแม้เพียงหนึ่งก็ทำ�ได้ และที่สำ�คัญเครื่องพิมพ์นี้ ได้ ผ่ า นมาตรฐานการพิ ม พ์ ง านคุ ณ ภาพระดั บ โลกรั บ ประกันโดย Forga Cert Digital Print เครื่องพิมพ์ดิจิทัลขาวดำ� โอเซ่ วาริโอ้ พริ้นท์ ดีพี ไลน์ (Océ Vario Print DP-Line) สามารถตอบสนองความ ต้องการของการพิมพ์งานได้อย่างต่อเนื่อง ทั้งวัสดุหนา และบางจุ ด เด่ น ที่ สำ � คั ญ อยู่ ที่ คุ ณ ภาพงานพิ ม พ์ ที่ ไ ด้ เหมือนคุณภาพงานพิมพ์ที่มาจากระบบออฟเซต และ ยังสามารถสร้างเวิร์คโฟล์การทำ�งานที่สะดวกสำ�หรับผู้ 74 ThaiPrint Magazine
ใช้งาน ทำ�ให้งา่ ยต่อการใช้งานด้วยระบบเครื่องพิมพ์ที่ สะอาดปลอดภัย ช่วยลดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ( Zero Ozone ) ด้วยศักยภาพของนวัตกรรมการพิมพ์ที่ได้รับ การยอมรับจากผู้ประกอบการธุรกิจการพิมพ์มาแล้ว ทั่วโลก แคนนอนมั่นใจเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถเป็น แรงผลักดันที่สำ�คัญที่ทำ�ให้อุตสาหกรรมการพิมพ์และ ผู้ประกอบการสิ่งพิมพ์ของไทยก้าวสู่เวทีโลกได้อย่าง มั่นคง และประสบความสำ�เร็จ
Ad Thai sanguan#87-mac19.pdf
4/23/11
11:01:13 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
E-mail : s_stsi@hotmail.com
ad.Com-Press#89 pr2-m14.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
15/10/2554
0:41
Print News
สูค่ วามสำ�เร็จทีย่ ง่ั ยืน ... กับการบริการอย่างเหนือชัน้ ของ บริษทั อินเตอร์ ฟาร์อสี ท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) ฟังความเป็นมาและแนวคิดทีท่ นั ต่อโลกแห่งการพิมพ์และบริการด้านงานพิมพ์กบั คุณ ดำ�ริห์ เอมมาโนชญ์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร-ปฏิบตั กิ าร ... อยากให้ท่านเล่าถึงความเป็นมาของบริษัทอินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) และทำ�ธุรกิจด้าน ใดบ้าง…? แรกเริ่มเดิมที บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) เปิดกิจการมาได้กว่า 30 ปี ซึง่ ตอนเริม่ ต้น เรายังไม่ได้เป็นมหาชน แต่จะอยู่ในกลุ่มเครือของสห พัฒนพิบลู ซึง่ ช่วงเริม่ ต้นเราก็ไม่ได้ท�ำ เกีย่ วกับสินค้าด้าน เทคโนโลยี แต่เป็นธุรกิจเกี่ยวกับแอร์คอนดิชั่น ซ่อม รถยนต์ให้กับ บริษัทในเครือ จนกระทั่งคุณณรงค์ เตชะ ไชยวงศ์ ประธาน Ifec ในปัจจุบัน ที่ทางครอบครัวได้ทำ� ธุรกิจเกี่ยวกับเครื่องถ่ายเอกสารอยู่ก่อน ก็ได้ชักนำ�มา แบรนด์ UBIX ดำ�เนินการโดย บริษัท โคนิจูโรกุ ก่อนจะ ร่วมกับบริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด ภายใต้ เปลี่ยนเป็นแบรนด์ Konica และในภายหลังได้พัฒนาให้ มีระบบการเช่าเครื่องด้วยจึงต้องมีการระดมทุนมากขึ้น จนกระทั่งปี 2537 ทาง บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด ได้ขยายธุรกิจและจดทะเบียนเป็นบริษัทจำ�กัด (มหาชน) และเจริญเติบโตมาเรื่อยๆ จนกระทั่งใน ปัจจุบัน บริษัทฯ มี พนักงานกว่า 400 คน มีสาขาให้ บริการและจัดจำ�หน่ายกว่า 12 แห่ง ครอบคลุมทุกภาค ในประเทศ โดยในภาคเหนือ เช่น พิษณุโลก เชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น โคราช ขอนแก่น ภาค 80 ThaiPrint Magazine
สัมภาษณ์ ifec
ตะวันออก ที่ศรีราชา ในปลายปี 2555 จะเปิดสาขาที่ มาบตาพุด จ.ระยอง และภาคใต้ท่ี สุราษฎร์ธานี ภูเก็ต และ หาดใหญ่ โดยการทำ�งานของเจ้าหน้าที่ในทุกๆ สาขา จะเปรียบเสมือนกับการทำ�งานอยู่ในสำ�นักงานใหญ่ ด้วยระบบ online เนื่องจากทางบริษัทฯ เน้นที่การให้ บริการมากกว่าการขายเพียงผลิตภัณฑ์ บริษทั ฯ ตระหนัก ว่า ไม่วา่ ธุรกิจในภาคใดๆ ก็ตาม ลูกค้าไม่ได้ประสงค์เป็น เจ้าของเครื่องถ่ายเอกสาร แต่ต้องการเอกสารในการ ทำ�งานหรือทำ�เงิน บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) จึงถือว่าการให้บริการเป็นวิสัยทัศน์ของ บริษัทฯ มีการนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายเพื่อให้ บริการกลุ่มลูกค้าที่แตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงาน ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา หรือแม้แต่บริษัทฯ ที่เกี่ยวกับธุรกิจการพิมพ์ ทางบริษัทฯ จึงให้บริการด้วย ผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย คือ เริ่มตั้งแต่ผลิตภัณฑ์ ทีม่ รี าคาไม่กห่ี มืน่ บาทไปจนกระทัง่ ถึงหลักหลายล้านบาท เราจึงต้องเน้นไปที่การให้บริการมากกว่าเน้นที่การขาย ผลิตภัณฑ์ บริษัทฯ จึงต้องเตรียมความพร้อมทั้งในด้าน ของ Infrastructure และ Facility ต่างๆ เพื่อให้สามารถ แข่งขันกับยักษ์ใหญ่ในวงการได้ ด้วยเหตุทช่ี อ่ื ของบริษทั ฯ นัน้ ยาวมาก คือ บริษทั อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) ต่อมาได้มี การเปลีย่ นโลโก้และจึงได้เรียกกันสัน้ ๆ ว่า Ifec (Inter Far East Engineering Public Co., Ltd.) เพื่อที่ผู้บริโภคหรือ
ผู้ใช้บริการจะสามารถเรียกและจดจำ�ชื่อของบริษัทฯ ได้ ง่ายขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยีด้านการพิมพ์ปัจจุบันและใน อนาคตอันใกล้ ifec มีการพัฒนาในด้านใดที่โดดเด่น กว่าคู่แข่งในตลาดบ้าง...? เทคโนโลยีการพิมพ์แบ่งได้เป็น 2 มิติ คือ เทคโนโลยีการพิมพ์ส�ำ หรับสำ�นักงาน และเทคโนโลยีการพิมพ์ สำ�หรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ ซึ่ง ifec ทำ�ทั้ง 2 ส่วน ภายใต้แบรนด์ Konica Minolta ในเทคโนโลยีการพิมพ์ สำ�นักงานนั้นอาจจะเรียกได้ว่าเครื่องถ่ายเอกสารนั้นได้ ตายไปแล้ว แต่จะเป็นในลักษณะของเครื่องแบบ Multi function คือ 1 เครื่องทำ�งานได้หลากหลายอย่าง ไม่ว่า ถ่ายเอกสาร การพิมพ์ scan หรือ fax และยังพิมพ์ เอกสารแบบขาว-ดำ�อย่างเดียว (black and white หรือ ThaiPrint Magazine 81
Print News mono multi function) หรือแบบที่ พิมพ์ได้ทั้งขาว-ดำ�และสี (color multi function) ซึง่ เรียกได้วา่ มีการขยายตัว ดีมาก และกำ�ลังก้าวไปอีกขั้นด้วย การนำ�เสนอ Hard Ware ควบคูไ่ ปกับ ระบบการจัดการ ที่เรียกว่า solution หรือ software application ด้วยการ พั ฒ นาในลั ก ษณะนี้ ทำ � ให้ ธุ ร กิ จ ใน วงการสำ�นักงานนีไ้ ม่ตาย แต่หากยัง คงเป็นเครื่องถ่ายเอกสารแบบเก่าก็ อาจจะตายได้ เนื่องจากการพัฒนา ในรู ป แบบนี้ ข ยั บ เข้ า ใกล้ กั บ การ เป็น IT มากขึ้น มีลูกเล่นมากขึ้น มี รู ป แบบการนำ� เสนอที่ แตกต่ า งกั น มากมายเพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความ ต้องการที่มากขึ้นและเปลี่ยนไปของ โลกธุรกิจ ซึ่งยังจะมีการพัฒนาต่อๆ ไปอีก และเมื่อก้าวเข้าสู่ยุค Digital สินค้าเหล่านี้ก็ยิ่งพัฒนาเร็วขึ้น ไม่ว่า จะเป็น Application หรือ Feature ต่างๆ ก็จะ Update เร็วมาก เช่น หาก คุณต้องการ scan ข้อมูลจากเครื่อง ในออฟฟิศลงใน iPad, iPhone ก็ สามารถทำ�ได้อย่างรวดเร็ว หรือจะ สั่งพิมพ์จากเครื่อง iPad, iPhone มาที่สำ�นักงานก็ได้ ทำ� profile มาลง ในเครื่องก็ได้ เรียกว่าเป็น mobility printing และต่อไปในอนาคตก็จะ เข้าสู่ระบบของ cloud ซึ่งสามารถ scan ข้อมูลไปเก็บไว้ใน cloud การ ทำ�งานทุกอย่างจะอยู่ในเครื่องเรา เครื่องเดียว มาถึงอีก domain หนึ่ง คือ ในส่วนของอุตสาหกรรมการพิมพ์หรือ ธุรกิจ Express Printing Services ในสมัยก่อนเราจะรู้จักกันแต่ระบบ offset แต่ปัจจุบันนี้เปลี่ยนไป กล่าว คือ วันนี้มีระบบ digital printing มา เป็นตัวชูโรง ไม่ได้มาแทนทัง้ หมดแต่ 82 ThaiPrint Magazine
สัมภาษณ์ ifec
เป็นการเสริมในส่วนของระบบการ print on demand ที่เกิดจากกระแส ของธุรกิจที่เปลี่ยนไป เช่น สมัยก่อน หากต้องการพิมพ์งานใดๆ ก็ตาม ต้องพิมพ์จำ�นวนมากเพื่อลดต้นทุน ต่อชิน้ แต่ในปัจจุบนั การพิมพ์ปริมาณ เยอะๆ กลับกลายเป็นการสูญเปล่า กล่าวคือ พิมพ์ได้ราคาต่อชิ้นถูกจริง แต่ใช้ชิ้นงานที่พิมพ์ได้ไม่หมด ซึ่งก็ เท่ากับว่าต้นทุนการพิมพ์ต่อชิ้นก็ยัง สูงอยู่ดี เนื่องจากการตลาดปัจจุบัน ของแต่ละธุรกิจและองค์กรนั้นเน้น ที่ focus marketing มากขึ้น การ ทำ� การประชาสัมพันธ์หรือ สื่อ การ ตลาดก็เน้นมาที่การทำ�ตลาดแบบ Direct และ Event Marketing มากขึน้ ทำ�ให้ธุรกิจ organizer ทั่วโลกหรือ แม้แต่ในประเทศเพิ่มจำ�นวนมากขึ้น ทำ�ให้ระบบ mass marketing ลด บทบาทลง เมือ่ สือ่ ออกมาในลักษณะ นี้ ความต้องการสื่อสิ่งพิมพ์ก็จะมุ่ง ไปทีง่ านพิมพ์ทเ่ี ฉพาะเจาะจงมากขึน้ ความต้องการที่เร็วขึ้น ทำ�ให้ผู้ผลิต ได้ เ ปรี ย บเนื่ อ งจากการย่ น ระยะ เวลาในการพิมพ์ ทำ�ให้เรียกราคาต่อ
ชิน้ ได้สงู ขึน้ ในขณะทีล่ กู ค้าเองก็ยอมจ่ายเนือ่ งจากความต้องการในปริมาณ ที่น้อยและระบบการพิมพ์แบบ offset ไม่สามารถทำ�ได้ digital printing จึงเข้า มามีบทบาทในระบบ short run printing คือ งานพิมพ์ที่ต้องการปริมาณ น้อยๆ ในเวลาที่จ�ำ กัด มีรูปแบบที่เฉพาะกิจจริงๆ เช่น งานพิมพ์ที่ exclusive จริงๆ ต้องการปริมาณไม่มาก เพือ่ นำ�เสนอกับลูกค้าเฉพาะกลุม่ นีค่ อื ความได้ เปรียบของระบบ digital printing ซึง่ ความได้เปรียบเหล่านีท้ �ำ ให้หลายๆ ค่าย ทีท่ �ำ เครือ่ งถ่ายเอกสารหันมาสนใจกับระบบ digital printing และพยายาม launch สิง่ ทีเ่ รียกว่า production print ทัง้ การพิมพ์ขาว-ดำ� และพิมพ์สี สำ�หรับสิ่งที่ต้องปรับปรุงพัฒนาเลย หลักๆ ก็คือเรื่องของคุณภาพ กล่าวคือ 1. การพัฒนาคุณภาพงานพิมพ์ในระบบ digital ให้เทียบเท่ากับ และใกล้เคียงระบบ offset 2. ทำ�อย่างไรให้งานพิมพ์ทพ่ี มิ พ์ตอ่ เนือ่ งมีความเสถียรมากขึน้ เนือ่ ง จากการพิมพ์ระบบ offset นั้นใช้ระบบการทำ� plate ทำ�ให้คุณภาพงานที่ พิมพ์ออกมาเสถียรตั้งแต่แผ่นแรกจนสิ้นสุดการพิมพ์ ในขณะที่การพิมพ์ ระบบ digital นั้น ความเสถียรของคุณภาพงานพิมพ์อาจจะยังไม่คงที่ จาก งานพิมพ์ระบบ digital ที่ผ่านมาก็เคยประสบปัญหาที่ว่าคุณภาพงานพิมพ์ แผ่นแรกกับแผ่นสุดท้ายที่ออกมานั้นไม่เหมือนกัน 3. ความหลากหลายของวัตถุดิบที่น�ำ มาใช้ นั้นคือ ความหนาของ กระดาษ ในอดีตการพิมพ์ระบบ offset เองก็ประสบกับปัญหานี้เช่นกัน คือ เครือ่ งไม่สามารถรองรับการพิมพ์บนกระดาษทีม่ ี gram แตกต่างกันมากๆ ได้ ในระบบ digital เองก็มีปัญหาเช่นนี้เหมือนกัน ซึ่งในเวลาต่อมาก็ได้พัฒนา ระบบให้สามารถพิมพ์บนกระดาษที่มีความหนาแตกต่างกันให้มีคุณภาพ เท่าเทียมกัน อีกทั้งจะทำ�อย่างไรให้การพิมพ์แบบ 2 หน้าออกมามีคุณภาพ ที่ดีด้วย ThaiPrint Magazine 83
Print News
ซึง่ ในปัจจุบนั Konica Minolta เองก็ได้พฒ ั นาเครือ่ งพิมพ์ digital ให้ ทันกับความต้องการด้วยคุณภาพทีโ่ ดดเด่น โดยเครือ่ งรุน่ top ของ Konica Minolta รุน่ Press C8000 และหากพูดถึงในเรือ่ งของราคาก็เรียกได้วา่ สามารถ แข่งขันกับคูแ่ ข่งได้ดว้ ยราคาทีย่ อ่ มเยากว่า โดยเครือ่ งพิมพ์ระบบ digital ทุกรุน่ (C8000, C70hc และรุน่ พืน้ ฐาน คือ C6000 และ C7000) ของ Konica Minolta นัน้ จะเน้นทีค่ วามแข็งแรง ทนทานของโครงสร้างเครือ่ งพิมพ์ หากเปรียบใน ด้านโครงสร้างของเครือ่ งแล้วจะเปรียบได้กบั รถยุโรป คือ โครงสร้างเป็นโลหะ ชุบ zink กันสนิม ทำ�ให้เครือ่ งไม่ไหวตัวเมือ่ มีการพิมพ์งานด้วยความเร็วทีส่ งู และเหมาะกับการพิมพ์งานต่อเนือ่ งในปริมาณมาก ส่วนต่อมาเน้นที่คุณภาพของ toner เรียกว่า simitri toner ซึ่งเป็น นวัตกรรมเฉพาะของ Konica Minolta โดยขนาดของ toner นี้จะเล็กมาก ประมาณ 5-6 ไมครอน และมีรปู ทรงกลม (round shape) จึงทำ�ให้ภาพคมชัด ทัง้ ตัวอักษรและรูปภาพและไม่กอ่ ให้เกิดมลภาวะ ด้วยส่วนผสมแบบ biomass technology ซึง่ เป็นส่วนผสมทีม่ าจากชีวภาพ 84 ThaiPrint Magazine
สำ � หรั บ ความโดดเด่ น ของ รุ่น Press C8000 คือ 1. เป็นเครื่องเดียวในเมือง ไทยที่สามารถพิมพ์บนกระดาษหนา 350 gram ได้ 2. มีระบบ Duplex fixing ที่ ช่วยในเรื่องของการพิมพ์ 2 หน้า ให้ ได้คณ ุ ภาพงานพิมพ์ทส่ี วยงาม คมชัด ทั้ง 2 หน้า 3. นอกจากการพิมพ์ได้เร็ว ถึง 80 แผ่นต่อนาที แล้วยังมีความ เสถียรของคุณภาพสูง บนพืน้ ฐานของ ระบบ CMYK โดยมีเทคโนโลยีพเิ ศษที่ เรียกว่า RU ซึ่งเป็น real time censer ช่วยในการควบคุมคุณภาพสีทกุ แผ่น โดยจะปรับสีตลอด เป็น real time adjustment ทำ�ให้สีคงคุณภาพทุก แผ่นตลอดงานพิมพ์ 4. Capacityทีส่ งู คือสามารถ พิมพ์ได้ตอ่ เนือ่ ง 10,500 แผ่นต่อ 1 งาน พิมพ์ (job) ต่อวัน เนื่องจากมีระบบ การระบายความร้อนด้วยไอระเหย ของน้�ำ ทีด่ ี ทำ�ให้เครือ่ งไม่รอ้ น 5. ประหยั ด พลั ง งานด้ ว ย หมึกพิมพ์ระบบ simitri toner เนือ่ งจาก มีจุดหลอมละลายต่� ำ ทำ�ให้ใช้ไฟฟ้า และพลังงานน้อย 6. มีระบบ finishing สำ�หรับ งานพิมพ์หนังสือทีม่ คี วามหนาไม่เกิน 300 แผ่น โดยสามารถทีจ่ ะสัง่ การจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ได้เลย ทำ�ให้ใช้ คนเพียง 1 คน เพื่อควบคุมเครื่อง พิมพ์ได้ 3-4 เครื่องพร้อมๆ กัน สำ�หรับรุ่น C70hc เหมาะ กับงาน graphic ด้วยระบบ RGB หรือ CMYK ทำ�ให้งานพิมพ์ที่ได้มี สีสนั สดใส จัดจ้าน สามารถรองรับการ พิมพ์กระดาษหนาได้ถึง 300 gram โครงสร้างของเครื่องไม่แตกต่างจาก
สัมภาษณ์ ifec
เครือ่ งพิมพ์รนุ่ ใหญ่ แต่จะต่างกันทีข่ นาด และวัตถุประสงค์ ในการพิมพ์งาน เหมาะสำ�หรับการพิมพ์ photo album หรืองานพิมพ์โบรชัวร์บ้านหรือรถที่เน้นสีสันสดๆ ifec เปิดกลยุทธ์และทิศทางการตลาดภายใต้แคมเปญ Speed Up your Business โดยเตรียมความพร้อมใน ด้านแผนการรุกตลาด โคนิก้า มินอลต้า ในประเทศ ไทยไว้อย่างไรบ้าง….? Campaign นี้เน้นธุรกิจอุตสาหกรรมทั่วไป จาก ผลกระทบของน้ำ�ท่วมและการเพิ่มค่าจ้างแรงงานขั้น ต่� ำ รวมถึงต้นทุนการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น หลายๆ องค์กร จึงเน้นไปที่การที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ทาง Konica Minolta จึงได้เน้นที่การเพิ่มผลผลิต ในราคา ต้นทุนที่ต่ำ�ลงทำ�ให้มีผลกำ�ไรมากขึ้นและลดมลภาวะ เพื่อไม่ให้กระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทาง Konica Minolta จึงได้เสนอระบบ OPS (Optimise Printing Services) หรือระบบการจัดการงานเอกสารสำ�นักงานที่เหมาะสม ให้กับองค์กรขึ้นมา ซึ่งจะเกี่ยวกับระบบ office operation เพือ่ ช่วยในการลดต้นทุนด้วยการวางระบบต่างๆ ทีเ่ กีย่ ว กับระบบการทำ�งานในออฟฟิศ มีสว่ นไหนทีค่ วรลดหรือ เพิม่ อย่างไร เริม่ ตัง้ แต่การจัดวางอุปกรณ์ตา่ งๆ ให้สะดวก ต่อการทำ�งาน มีส่วนไหนที่สามารถลดทอนลงได้หรือ ไม่ เช่น การจัดเก็บเอกสารต่างๆ เป็น soft file แทนการ
พิมพ์เอกสารออกมาเก็บซึ่งช่วยประหยัดทั้งในด้านการ พิมพ์เอกสารและการจัดเก็บอีกด้วย ซึ่งในจุดนี้จะเน้น ไปที่ธุรกิจและองค์กรขนาดกลางและขนาดใหญ่ รวมทั้งบริษัทฯ มีกลยุทธ์และ Campaign พิเศษ เพือ่ ขยายฐานธุรกิจเข้าสูธ่ รุ กิจการพิมพ์ ในปัจจุบนั เราจะ เห็นได้วา่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ไม่ได้มแี ค่ในโรงพิมพ์ขนาด ใหญ่ แต่จะมีพวก copy service หรือ Express Printing Services ซึ่งมีแนวโน้มที่จะ upgrade ตัวเองไปเป็นการ ทำ�งานพิมพ์ทั้งระบบ หรือ print on demand เพื่อขยาย ธุรกิจของตนออกไป หากโรงพิมพ์ไม่มองธุรกิจส่วนนี้ก็ อาจเสียโอกาสได้เช่นกัน เนื่องจากธุรกิจเล็กๆ เหล่านี้ อาจจะปรับตัวเองไปเป็นผูใ้ ห้บริการการพิมพ์เต็มระบบก็ ThaiPrint Magazine 85
Print News
เครื่องพิมพ์จะรวมระบบการเย็บเล่มไว้ในเครื่อง ระบบ เครื่องพิมพ์แบบ digital printing ก็จะจับมือกับระบบ offset ร่วมมือกันในการทำ�งานพิมพ์ทั้ง 2 ระบบควบคู่ กันไป (Work Process Management Program) ซึง่ Konica Minolta เอง ก็มีแผนการที่จะจับมือกับระบบพิมพ์ offset ที่มีชื่อเสียงของญี่ปุ่นเช่นกัน ซึ่งการรวมตัวกันนี้จะมีให้ เห็นในเร็วๆ วันนี้แน่นอน เป็นได้ หรือแม้แต่ในมหาวิทยาลัยก็อาจจะมีธรุ กิจ book on demand ที่พิมพ์หนังสือเพื่อจำ�หน่ายให้แก่นิสิต นักศึกษาด้วยเช่นกัน การพั ฒ นาด้ า นการพิ ม พ์ ใ นระบบดิ จิ ทั ล จะมี ก าร เจริญเติบโตขนาดไหนในอนาคตอันใกล้นี้....? การพัฒนาการพิมพ์ระบบ digital มีใน 2 แง่ คือ - คุณภาพ ซึ่งก็มีการพัฒนามาเรื่อยๆ - ความเสถียรของคุณภาพ คือ สามารถเข้าไป แทนที่ระบบ offset ได้หรือไม่ - การขยายฐาน การเพิม่ คุณค่า และประสิทธิภาพ ของการทำ�งาน Production Print ในงาน Drupa ที่ผ่านมาได้มีการให้ความสำ�คัญ ในเรื่องของระบบ finishing ว่าเป็นแบบ inline (เสร็จทั้ง ระบบจากเครื่อง) หรือ offline (ต้องอาศัยแรงงานเพื่อ ทำ�ให้สำ�เร็จ) แต่เนื่องจากราคาค่าแรงที่สูงขึ้น ต่อไป 86 ThaiPrint Magazine
บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) ได้ เป็นผู้สนับสนุนหลักในการจัดงาน เลือกตั้ง Young Printer Group ที่พัทยาที่ผ่านมาอยากให้ท่านพูดถึง ความรู้สึกกับงานในครั้งนั้น...? ความคิดเห็นในการได้เป็น sponsor การเลือกตัง้ young printer ของทางสมาคมการพิมพ์ไทยนั้น โดย ส่วนตัวมีความชื่นชมในการรวมตัวกันของบริษัทต่างๆ ในธุรกิจประเภทเดียวกัน ก่อตั้งเป็นสมาคม และในเรื่อง ของการผลักดันให้ธุรกิจการพิมพ์นั้นมีการพัฒนา จาก ธุรกิจครอบครัวธรรมดา กลายเป็นธุรกิจทีม่ คี วามก้าวหน้า ในระดับภูมิภาค รวมไปถึงการที่มีคนรุ่นใหม่เข้ามารับ ช่วงก็เป็นสิ่งที่ดี เพราะธุรกิจนี้ได้เข้าสู่ยุค digital จึง ต้องการคนรุ่นใหม่เข้ามารับช่วง และถือเป็นการเดินที่ ถูกทางแล้ว และไปในทิศทางที่ดีด้วย ในความคิดเห็น ของผมว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์จะโตขึ้นเยอะครับ
Print Interview
สูร่ างวัลอันทรงเกียรติ
THAI PRINT ASSOCIATION AWARD:GREEN PRINT CONCEPT สัมภาษณ์ คุณอานนท์ วาทยานนท์ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สมุยอักษร แนวคิดในการให้ความสำ�คัญต่อสิ่งแวดล้อมนี้เกิด ขึ้นได้อย่างไรและเริ่มต้นมาตั้งแต่เมื่อใด..? ความจริงแล้วเรือ่ งการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมก็มมี า นานมากแล้วครับ สักประมาณ 10 ปีเห็นจะได้ แต่มาทำ� เป็นเรื่องเป็นราวจริงๆ ก็ประมาณ 6 ปี คือ จริงๆ แล้ว ผมก็มสี ว่ นทีเ่ กีย่ วข้องกับสมาคมการท่องเทีย่ วบนเกาะนี้ ครับ และทุกคนก็ควรจะรูอ้ ยูแ่ ล้วว่าควรจะดูแลกันอย่างไร กับธรรมชาติบนเกาะนี้ เพราะธรรมชาติคอื หัวใจของการ ท่องเทีย่ ว อันนีก้ ถ็ อื ว่าเป็นสาเหตุทท่ี �ำ ให้ผมกลับมาคิด และคำ�นึงถึงเรือ่ งนี้ ของเสียทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการพิมพ์
88 ThaiPrint Magazine
ก็ถอื ว่าเยอะ เราถึงได้มาคิดว่าจะทำ�อย่างไรกับสิง่ ทีส่ ง่ ผล กระทบกับสิง่ แวดล้อม ทำ�เลทีต่ ง้ั โรงพิมพ์เราก็ตง้ั อยูไ่ ม่หา่ ง จากคลองซึง่ คลองก็พร้อมทีจ่ ะไหลลงสูท่ ะเลและห่างจาก ทะเลเพียง 50 เมตร เราก็ยง่ิ ต้องระวังมากขึน้ โดยเริม่ ต้น จากการแยกขยะเพือ่ ทีจ่ ะทำ�ให้ของเสียจากกระบวนการ ผลิตน้อยทีส่ ดุ หลังจากนัน้ เราก็มาเริม่ การทำ�ระบบบำ�บัด น้�ำ เสีย จุดเริม่ ต้นอีกอย่างทีส่ ำ�คัญมาก ผมเชื่อว่า คือฐาน ความเชือ่ ต่อธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ต้องมีความศรัทธา กับธรรมชาติ เกื้อกูลธรรมชาติ เคารพธรรมชาติ โดยถือ ว่าเป็นญาติผู้ใหญ่ของเรา ซึ่งเราจะต้องเคารพและดูแล ให้เป็นอย่างดี คราวนีเ้ ราก็ยอ้ นกลับมาดูสภาพความจริง ที่เกิดขึ้นกับธรรมชาติกันครับ ไม่ว่าจะเป็นน้�ำ ก็ดี ดินก็ดี ป่าไม้กด็ ี อากาศก็ดี เราจะทำ�กันอย่างไรกับความสูญเสีย ที่เกิดขึ้นสะสมมายาวนานให้กลับฟื้นขึ้นมาดีด่ังเดิมได้ ซึง่ ในอุตสาหกรรมต่างๆ ก็มสี ว่ นทีจ่ ะทำ�ลายธรรมชาติลง ไปมาก อย่างอุตสาหกรรมการพิมพ์ถา้ ทุกท่านช่วยกันหัน มาปลูกจิตสำ�นึกที่ดีต่อธรรมชาติ ผมก็คิดว่ากลุ่มการ พิมพ์เราก็สามารถช่วยโลกได้อีกเยอะครับ
สมุยอักษร
หลั ง จากที่ ไ ด้ เ ริ่ ม นำ � แนวคิ ด นี้ แ ละมาทดลองทำ � สามารถช่วยแก้ไขปัญหาด้านใดได้บา้ งสำ�หรับงานใน โรงพิมพ์...? เรื่องนี้ผมขอแยกออกเป็น 2 ส่วนนะครับ อันดับ แรก คือ เรือ่ งของการแยกขยะ ส่วนไหนทีย่ งั ใช้ได้กน็ �ำ กลับ มาใช้ได้อกี คือ ส่วนทีเ่ ก็บขายได้ เราก็น�ำ ไปขายรายได้ จากขยะนี้ เราก็น�ำ มาเป็นสวัสดิการให้กบั พนักงาน ขยะ เปียกเรานำ�ไปทำ�ปุ๋ยหมักใช้ใส่ต้นไม้และพืชสวนครัว ส่วนที่สองเรื่องของน้ำ�เสีย เราก็มีวิธีการในการทำ�ให้น้ำ� เสียมีสภาพดีขน้ึ โดยการใช้วธิ ตี กตะกอนน้�ำ เสีย เริม่ ต้น โดยใช้สารส้มบ้างกับอะไรบ้าง เราก็มีโอกาสได้พูดคุย ปรึกษาในเรือ่ งของสารเร่งการตกตะกอน Bio-Separator A&B ของบริษัทแห่งหนึ่ง หลังจากที่เราทดลองนำ�มาใช้ ระยะหนึ่งพบว่า น้�ำ ที่เราได้จากการตกตะกอนมันใสจริง แต่ก็ยังมีสภาพเป็นกรด ซึ่งถ้าเราจะปล่อยลงทะเลเลยก็ ไม่นา่ ทีจ่ ะปลอดภัยนัก เราก็มาต่อยอดในเรือ่ งของพืชน้�ำ ซึง่ ตรงนี้ เราก็ได้แนวคิดมาจากโครงการของในหลวงบ้าง อะไรบ้างทีม่ อี ยูใ่ นอินเตอร์เน็ต ก็หาความรูม้ าจากตรงนัน้ ว่ามีพชื น้�ำ อะไรบ้างทีโ่ ครงการหลวงทดลอง มีตน้ กก ผัก ตบชะวา รวมทัง้ หญ้าแฝก เราใช้หญ้าแฝกอยูป่ ระมาณ 1 ปี ก็ไม่ส�ำ เร็จเพราะมันค่อยๆ ตายไป ตอนหลังก็เปลี่ยนมา ใช้เป็นผักตบชวาซึ่งก็ถือว่าดีอยู่ในระดับหนึ่ง แต่ก็ยังไม่ ดีพอ จนสุดท้ายมาจบลงที่จอกน้ำ�นี่แหล่ะครับ เพราะ เจริญเติบโตได้ดที ส่ี ดุ ในขัน้ ตอนนีน้ อกจากใช้พชื น้�ำ แล้ว
เราเติม EM (Effective Microorganisms) ที่เราผลิตเอง และเติมอากาศด้วย ทำ�ให้ทุกอย่างลงตัว คุณภาพน้ำ� อยู่ในระดับที่ดีมากพอที่จะปล่อยลงดินเป็นระบบซึม ดินอีกทีและก็ยังสามารถนำ�ไปรดน้ำ�ต้นไม้ ดอกไม้ หรือ ไม่ก็พืชสวนครัวที่ปลูกไว้ กากที่ได้จากการทำ� EM เราก็ นำ�มาทำ�เป็นปุย๋ ใส่พชื ทีเ่ รามีอยู่ ใครสนใจสามารถนำ�ไป ปรับใช้ให้เหมาะสมกับสภาพโรงพิมพ์ของแต่ละทีก่ อ็ ยากจะ ฝากไว้ว่าเป็นเรื่องไม่ยากครับ (เข้าดูระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย โรงพิมพ์สมุยอักษรได้ใน www.samuiaksorn.com) คิดว่าถ้าโรงพิมพ์ในประเทศไทยนำ�แนวคิดแบบนี้ไป ใช้จะมีขีดจำ�กัดในด้านใดบ้างหรือสามารถทำ�ได้ทุก ที่ทั่วประเทศหรือไม่...? ขีดจำ�กัดผมขอมองตรงนี้ว่าเราอาจจะมองเป็น 2 ส่วนก็ได้ครับ อันดับแรกเลย คือ ความพร้อมของผู้ ประกอบการเองว่า เขามีความพร้อมขนาดไหนเพราะถ้า เขายังไม่มีความพร้อม ผมคิดว่าเรื่องตรงนี้ก็ยังไม่เกิด ส่วนที่สองคือองค์ความรู้หรือวิธีการ ผมคิดว่าตรงนี้มี อยู่ทั่วไปครับ ทั้งมหาวิทยาลัยก็ดีหรือสื่อต่างๆ ที่มีอยู่ ก็ดี ผมคิดว่าน่าจะมีองค์ความรูแ้ ละวิธกี ารอยูพ่ อสมควร แต่ถ้าอันดับแรก คือ ความพร้อมของผู้ประกอบการยัง ไม่พร้อมทุกอย่างก็ยังไม่เกิดครับ อย่างโรงพิมพ์ที่อยู่ ต่างจังหวัด จะมีขนาด SME เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเรื่อง ของกำ�ไรก็จะได้น้อย จะต้องต่อสู้ในด้านต่างๆ ให้ธุรกิจ ของเราอยูร่ อดก็จะยังไม่มาคิดถึงเรือ่ งตรงนี้ คือ ต้องให้ ThaiPrint Magazine 89
Print Interview
ผ่านตรงจุดนีม้ าก่อนครับ อย่างผมเปิดมา 20 ปี ใน 10 ปีแรก ผมเองก็คง ยังไม่มาคิดถึงเรื่องตรงนี้ครับ เราจะต้องฟันฝ่าอุปสรรคทางธุรกิจไปก่อน ถึงค่อยมาคิดเรื่องรักษาสิ่งแวดล้อมตรงนี้ เรื่องขีดจำ�กัดของสถานที่อย่าง ต่างจังหวัด พื้นที่มีค่อนข้างเยอะ ราคาไม่แพง ถ้าเป็นพื้นที่ในกรุงเทพอาจ จะเป็นอุปสรรคได้ในเรือ่ งตรงนี้ แต่ความจริงก็ใช้พน้ื ทีไ่ ม่เยอะนะครับ สำ�หรับ ทำ�กระบวนการบำ�บัดแบบนี้ ซึ่งก็ใช้พื้นที่เพียง 60-70 ตรม. จะมีถังกวน ถังตกตะกอน บ่อกรอง บ่อพืชน้ำ�ที่มีน้ำ�วน และก็สามารถปล่อยออกทิ้ง ได้แล้ว ถ้าในส่วนของสถานที่ที่จำ�กัดจริงๆ เราก็สามารถลดขนาดของบ่อ ต่างๆ ได้ เพราะธุรกิจเล็กน้ำ�เสียก็มีน้อย แต่ถ้าคุณขยายธุรกิจใหญ่ขึ้น จำ�นวนน้ำ�เสียก็มากขึ้นเป็นเงาตามตัวตรงนี้ต้องดูที่ความเหมาะสมครับ ซึ่งผมมองเป็นเรื่องของจิตสำ�นึกครับว่าเราจะจัดการกับน้ำ�เสียได้อย่างไร บ้าง เป็นหน้าทีข่ องเราทุกคน เราอย่าไปมองว่าใครจะมาช่วยเรา เพราะถ้า เราอยากจะทำ�เราก็สามารถหาความรูเ้ พิม่ เติมได้ แต่ถา้ เป็นไปได้อย่างสถาบัน ทีส่ อนด้านการพิมพ์ตา่ งๆ ไม่ทราบว่าเรามีการสร้างจิตสำ�นึกในกับเยาวชน รุน่ ใหม่ทอ่ี ยูใ่ นอุตสาหกรรมการพิมพ์ ได้เล็งเห็นตรงนีเ้ ป็นเรือ่ งสำ�คัญ กำ�หนด เป็นนโยบายหลักในการเรียนการสอน ผมคิดว่าก็จะเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้นโดย ร่วมมือกับหลายๆ ฝ่ายทั้งทางภาครัฐและเอกชนจะยิ่งดีขึ้นเป็นลำ�ดับครับ
90 ThaiPrint Magazine
รู้สึกอย่างไรบ้างที่ทางสมาคมการ พิมพ์ไทยได้จัดงานการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติขึ้น และในปี นี้เน้นเรื่องอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์สี เขียวเป็นพระเอกของงาน...? โดยส่ ว นตั ว ก็ รู้ สึ ก ดี ใ จมากครั บ เพราะอย่ า งน้ อ ยก็ ทำ � ให้ เราทราบ ได้ ว่ า สิ่ ง ที่ เราทำ � มาทั้ ง หมดก็ ไ ม่ ไ ด้ ว่าจะหลงทางอาจจะมาถูกทางพอ สมควรเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ที่ ดี สำ � หรั บ ทุกๆ อุตสาหกรรมในอุตสาหกรรม สิ่ ง พิ ม พ์ ที่ ม าเน้ น ในตอนนี้ ก็ ยั ง ไม่ สายไปครับ ถือว่าน่าจะเป็นจุดเปลีย่ น ที่ดีต่อสังคม ผมคิดว่าทุกฝ่ายคง ยอมรับปัญหาในปัจจุบันในสภาพ แวดล้อม ในเรื่องของสภาวะโลก ร้ อ นผลกระทบของการพั ฒ นาที่ ขาดสมดุลการใช้ปัจจัยมากเกินไป ไม่ว่าจะเป็นทรัพยากร น้ำ� ดิน ป่าไม้ สุ ด ท้ ายแล้ ว สมดุ ลมั น ไม่ ไ ด้ อ ยู่ ต รง จุ ด ที่ จ ะทำ � ให้ โ ลกมี ค วามสุ ข ได้ สุ ด ท้ า ยก็ ย้ อ นกั บ มาเป็ น ปั ญ หา สภาวะโลกร้อน ภัยพิบัติ ต่างๆที่ เกิ ด ขึ้ น ตามมาทุ ก คนต้ อ งกลั บ มา ดูตรงจุดนี้ระหว่างการอนุรักษ์และ การพัฒนาจะต้องสมดุลกัน สังคม ก็จะอยู่ได้ เราก็จะอยู่ได้ชีวิตเราก็มี ความสุขโลกก็มีความสุข
สมุยอักษร
มี ค วามรู้ สึ ก อย่ า งไรบ้ า งที่ ไ ด้ คั ด เลือกให้ได้รับรางวัล THAI PRINT ASSOCIATION AWARD จากคณะ กรรมการการประกวด...? ก็ดีใจมากครับ ที่ทางสมาคม ได้เห็นความสำ�คัญ ซึ่งผมคิดว่าเรา เป็นเพียงฟันเฟืองตัวเล็กๆ ที่อยู่ใน ชนบทเป็นธุรกิจ SME ซึ่งก็ทำ�ให้มี กำ�ลังใจมากขึ้น และที่สำ�คัญได้สร้าง มั่นใจในแนวปฏิบัติต่อทายาทของ เราที่จะมาทำ�ต่อจากเรา จะได้เห็น ความสำ�คัญในเรื่องของการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนา ธุรกิจ เป็นคุณงามความดีที่เราส่งต่อ ไปด้วยกับธุรกิจที่แข็งแรงให้รุ่นลูกรุ่น หลาน เขาจะได้เติบโตอย่างยั่งยืน ต่อไป ก็ดีใจครับที่ทางสมาคมการ พิมพ์ไทยเห็นความสำ�คัญตรงนี้
อยากให้ชักชวนผู้ที่อยู่ในธุรกิจสายโรงพิมพ์ให้เล็งเห็นความสำ�คัญ กับอุตสาหกรรมสีเขียวว่าดีอย่างไรทำ�แล้วจะส่งผลดีต่อธุรกิจและโลก ของเราอย่างไรบ้าง..? ในเรื่องของการทำ�แล้วจะเป็นการเพิ่มต้นทุนหรือเปล่า บางคนอาจ คิดเช่นนั้น จากการประเมินที่เราเก็บตัวเลข จากกระบวนการทั้งหมดจะมี ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นประมาณ 8,000-10,000 บาทต่อเดือน แต่ถ้าเรามองว่าสิ่ง ที่เพิ่มขึ้นมันจะทำ�ให้สังคมเรายั่งยืน ธรรมชาติยั่งยืน ธุรกิจมันยั่งยืน ถ้าเรา ไม่ช่วยกันทำ�ตรงนี้แล้ว สุดท้ายแล้วธรรมชาติที่เสียสมดุลย์ก็จะกลับมากระ ทบกับชีวิตเราอีก เพราะฉะนั้นจำ�เป็นที่จะต้องผนวกเข้าไปในกระบวนการ ผลิตของเรา ถามว่าราคาแพงไหม ผมก็คิดว่าไม่สูงนะครับเทียบกับความ ยั่งยืนของสังคมของโลกที่เราได้กลับคืนมากับค่าใช้จ่ายตรงนี้ ควรมองว่า เป็นหน้าที่ของทุกคนครับ เราควรที่จะต้องปรับเปลี่ยนความคิดของเราเอง ในเรื่องความยั่งยืนของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อแลกกับการได้อยู่บน โลกสีเขียวใบนี้อย่างมีความสุขครับ
ThaiPrint Magazine 91
Print Interview News
“Samui Akson Brochure” Printing
92 ThaiPrint Magazine
สมุยอักษร
Process “GREEN PRINT CONCEPT”
ThaiPrint Magazine 93
HONGEI PRINTING MACHINERY
TM
BAODER
ผู้เชี�ยวชาญทางด้านเครื�องหลังการพิมพ์ทุกชนิด ผู้จัดจำหน่ายเครื�องหลังการพิมพ์ที�ดีที�สุด
ขอขอบคุณ บจก.หลักพิมพ์
ได้สนับสนุนเครื�องปะประกบลูกฟูกอัตโนมัติ
ขอขอบคุณ บจก.สหชัยกิจการพิมพ์
ได้ซื�อเครื�องปั�มไดคัทอัตโนมัติ เครื�องที��เมื�อปลายปี����
เครื�องปั�มไดคัทอัตโนมัติ รุ่น BD-����CS Automatic Die-Cutting Machine
ความเร็วสูงสุด:����แผ่น/ชั�วโมง
ผลิตในไต้หวัน
เครื�องเคลือบปะประกบลูกฟูกอัตโนมัติ รุ่น CS-���� Fully Automatic Laminator
ความเร็วสูงสุด:�����แผ่น/ชั�วโมง
ผลิตในไต้หวัน
Flyig-Knife Cutter
ขอขอบคุณ JL Coating Center Co.,Ltd. ได้สนับสนุนเครื�องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ
ผลิตในไต้หวัน
เครื�องสปอตยูวีอัตโนมัติ รุ่น KYU-�W
ผลิตในไต้หวัน
เครื�องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ รุ่น KYE-���DR-K High-Speed Water-Based FilmLaminating Machine
High Speed U.V Spot Coating Machine
เครื่องสปอตยูวีอัตโนมัติ ใช้น้ำยายูวี 4g/m²
ขอขอบคุณ บจก.สหชัยกิจการพิมพ์
ได้ซื�อเครื�องปะกล่องอัตโนมัติ รุ่น CM-����PC Hydraulic Collecting System
เครื�องปะกล่องไฮสปีดอัตโนมัติ รุ่น CM-���FC
เครื�องปะปกแข็งอัตโนมัติ รุ่น ZFM���A/���A
High speed fully automatic folder gluer
Automatic Case Making Machine
Electric Spray Gun Plasma Device
ความเร็วสูงสุด:���m/min
Thermal Film Laminate
ฟอยล์ทองเค
สนใจเข้าชมสินค้าได้ที� ���ถนนพระรามที�ี� แขวง/เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ �����(ติดกับโฮมโปรพระราม�) สอบถามรายละเอียดได้ที� Tel:��-���-���� Fax:��-���-���� www.hongeith.com
HONGEI PRINTING MACHINERY
TM
ผู้เชี�ยวชาญทางด้านเครื�องหลังการพิมพ์ทุกชนิด ผู้จัดจำหน่ายเครื�องหลังการพิมพ์ที�ดีที�สุด
เครื�องเคลือบยูวีอัตโนมัติ
UV Roller Coating Machine
เครื�องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ รุ่น QLF-���/��� Full-auto Vertical Laminating Machine
เครื�องเคลือบลามิเนทหน้าต่าง(ป้อนมือ)
Open-window Water-based Film Laminator
เครื�องเคลือบลามิเนท(ป้อนมือ)
Semi-auto Laminating Machine
เครื�องขัดเงา
เครื�องเคลือบยูวีกึ�งอัตโนมัติ
Paper Pressing Machine
UV Roller Coating Machine
เครื�องปะกล่อง
Single Side Sticker Folder Gluer
เครื�องปะกล่อง (pre-folder) Pre-folder Folder Gluer
เครื�องทากาวอัตโนมัติ
Feeding gluing machine
เครื�องพับสี�ด้านอัตโนมัติ
Automatic folding machine
เครื�องปั�มไดคัทอัตโนมัติ
เครื�องปั�มไดคัทกึ�งอัตโนมัติ
Automatic Die Cutting and Creasing Machines
Semi-automatic Die-cutting and Creasing Machine
เครื�องตัดกระดาษจั�วปัง
Cardboard slitting machine
เครื�องตัดกระดาษจั�วปัง(ไส้กลาง) Slitting machine
เครื�องเจาะรูอัตโนมัติ
Automatic Punching Machine
เครื�องเข้าห่วงกระดูกงู
Automatic Blocking Machine
เครื�องพับกระดาษควบคุมโดยไฟฟ้า Combined Folding Machine
เครื�องซิลค์สกรีนอัตโนมัติ
เครื�องเจาะรู
Punch Press
เครื�องไสกาว
Elliptic Perfect Binding Machine
Full Automatic Cylinder Screen Press
เครื�องอบยูวี
UV Photofixation Machine
เครื�องซิลค์สกรีนกึ�งอัตโนมัติ Horizontal-lift halftone printing Machine
เครื�องปะประกบลูกฟูกอัตโนมัติ Automatic Flute Laminator
เครื�องปะประกบลูกฟูกกึ�งอัตโนมัติ Semi-Automatic Flute Laminator
เครื�องเย็บกี�
เครื�องเย็บมุมหลังคากึ�งอัตโนมัติ
Semi-Automatic Sewing Machine
Semi-Automatic Sewing Machine
เครื�องพิมพ์กล่องลูกฟูกระบบเฟล็กช์โซ่ พร้อมสล็อตเตอร์และสแตกเกอร์
Three-color Printer Series Machine
Automatic Flexo Printing & Slotting Machine
เครื�องทำลอนกระดาษลูกฟูก�ชั�น
Single Side Corrugated Cardboard Machine Groups
เครื�องพิมพ์กล่องลูกฟูกอัตโนมัติ
เครื�องเย็บกล่อง
Semi-stitching Machine
สนใจเข้าชมสินค้าได้ที� ���ถนนพระรามที�ี� แขวง/เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ �����(ติดกับโฮมโปรพระราม�) สอบถามรายละเอียดได้ที� Tel:��-���-���� Fax:��-���-���� www.hongeith.com
Print News
Mitsubishi ย�้ำชัด !!! ยังเติบโตอย่างต่อเนื่องในธุรกิจ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2555 ที่ผ่านมา ณ โรงแรมรามาดา พลาซ่า แม่น�้ำริเวอร์ไซด์ ทาง บริษัท SM Graphic จ�ำกัด และบริษัท Mitsubishi Heavy Industries Printing and Packaging Machinery จ�ำกัด ได้จัดงานแถลงข่าวเพื่อตอกย�้ำความมั่นใจในแบรนด์ Mitsubishi ว่ายังมีความ ก้าวหน้ามั่นคงและยังเติบโตในธุรกิจอย่างต่อเนื่อง
อยากจะให้แนะนำ�ตัวเองสักนิด นึงครับ กระผมชื่อ นายโคจิ โอคูโบะ เป็นผูอ้ ำ� นวยการแผนกฝ่ายขายของ Mitsubishi Heavy Industries Printing and Packaging Machinery, Ltd. (MHIPPM) ในการแถลงข่าวครัง้ นี้ จัดขึน้ เพือ่ อะไรครับ เนือ่ งจากสถานการณ์ของผูผ้ ลิต เครื่ อ งพิ ม พ์ ท้ั ง หลายที่ มี ปั ญ หา ทั้งที่ Mitsubishi ไม่มีปัญหา แต่ หลายคนกลับมองว่าเรามีปัญหา เราจึงต้องจัดงานแถลงข่าวเพือ่ บอก ว่า เรายังอยู่ เรายังมีผลิตภัณฑ์ หลายอย่างออกมาอย่างมากมาย 98 ThaiPrint Magazine
เพียงแต่ว่าตอนนี้ แผนกในบริษัทได้มีการปรับเปลีย่ นและจัดตัง้ มาเป็น บริษทั เพือ่ จำ�หน่ายสินค้านัน้ ๆ โดยเฉพาะ เช่น เครือ่ งพิมพ์ในปัจจุบัน เรามี แบรนด์ใหม่ ชื่อว่า Brand diamond โดยตั้งชื่อตามโลโก้เดิมของ Mitsubishi ซึ่งเป็นเพชร 3 เมตร ทำ�ไมถึงได้มกี ารเปลีย่ นชือ่ บริษทั จากเดิมทีช่ อื Mitsubishi Heavy Industries ไปเป็น MHI Printing & Packaging Machinery, LTD.? อย่างทีแ่ จ้งไปข้างต้นว่า เรา (MHIPPM) ได้แยกตัวออกมาจาก Mitsubishi Heavy Industry เมื่อเดือนกรกฎาคม 2553 ซึ่งมีเหตุผลดังนี้ 1) ในส่วนของธุรกิจการพิมพ์และธุรกิจบรรจุภัณฑ์ทั่วทั้งโลกในปัจจุบัน มีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน และพวกเราเชือ่ ว่า เครือ่ งจักรของทัง้ สองธุรกิจ จะมีแนวโน้มที่จะร่วมกัน 2) MHI เองก็มีธุรกิจที่ค่อนข้างใหญ่มียอดขายมูลค่าสูงถึง 2904 billion JPY, มีผลิตภัณฑ์มากกว่า 700 ชนิด และมีจำ�นวนพนักงานโดยประมาณ 69,000 คน จากโครงสร้างองค์กรที่มีขนาดใหญ่นี้ เราจึงมีความคิดที่จะแยก ตัวออกมาเพื่อความรวดเร็วในการตัดสินใจ ความรวดเร็วในการทำ�โปรเจ็ค พิเศษ และความรวดเร็วในการลงทุน 3) อุตสาหกรรมการพิมพ์ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปค่อนข้างมาก และรวดเร็ว และทางเรา MHIPPM เชื่อว่าการเปลี่ยนแปลงไปตามแนวโน้ม ของการพิมพ์ที่รวดเร็วนี้เป็นสิ่งที่สำ�คัญโดยการมีกลุ่มที่มีความชำ�นาญโดย เฉพาะด้าน แล้วทางบริษทั มีสถานการณ์ทางการเงินเป็นอย่างไรบ้างครับ ในเรื่องของสถานะทางการเงินของ MHIPPM จากที่เราได้รับทราบแล้ว ว่า Heidelberg และ Komori และ Komori 2 บริษทั ที่ทำ�ธุรกิจทางด้าน เครื่องพิมพ์ได้ประสบปัญหาจากภาวะเศรษฐกิจที่อยู่ในช่วงถดถอยเมื่อปี 2008 จนถึงปี 2011 ที่ผ่านมา ซึง่ ทางเราได้ประสบปัญหานีเ้ ช่นเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม จากความพยายาม ในการเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในการบริหารจัดการใหม่นี้ ทำ�ให้เราสามารถ ยืนอยู่เหนือตำ�แหน่งจุดที่อาจจะต้องประสบปัญหาเช่นกันในปี 2011
Mitsubishi
MHIPPM มีธุรกิจหลักๆ อยู่ 4 ด้านธุรกิจ คือ ธุรกิจผลิตเครื่องพิมพ์ ออฟเซตแบบป้อนแผ่น, ธุรกิจผลิตเครือ่ งพิมพ์ออฟเซตแบบป้อนม้วน, ธุรกิจ ผลิตเครื่องพิมพ์สำ�หรับพิมพ์หนังสือพิมพ์และธุรกิจผลิตเครื่องขึ้นรูปกระดาษ (เครือ่ งทำ�กระดาษลูกฟูก, เครือ่ งขึน้ รูปกล่อง) ซึง่ ธุรกิจของเรานัน้ สามารถรองรับ แนวโน้มของตลาดการพิมพ์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกำ�ไรจากธุรกิจ การผลิ ต เครื่ อ งพิ ม พ์ ห นั ง สื อ พิ ม พ์ ใ นประเทศญี่ ปุ่ น และธุ ร กิ จ เครื่ อ งทำ� กระดาษลูกฟูกทั่วโลก ในงาน Drupa 2012 ทีผ่ า่ นมา มีหลายคนสงสัยว่า ทำ�ไมบูท้ ของ MHI จึงมี ขนาดเล็กมาก เมือ่ เทียบกับในปีอน่ื ๆ ทีผ่ า่ นมา Drupa 2012 คือ งานแสดงทีเ่ กีย่ วกับอุตสาหกรรมการพิมพ์ทใ่ี หญ่ทส่ี ดุ ใน โลกปัจจุบันซึ่งในการออกงานจะมีต้นทุนที่ค่อนข้างสูงมาก ถ้าหากพิจารณา ถึงสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบนั แล้ว ทางเราเองไม่อยากทีจ่ ะต้องเสียค่าใช้จา่ ย ออกไปมาก นัน่ หมายถึง ต้นทุนทีม่ ากขึน้ เช่นกัน เราจึงตัดสินใจออกบูท้ ทีเ่ ล็ก และประหยัดค่าใช้จ่าย, เราต้องการประหยัดเพื่อนำ�เงินดังกล่าวมาทำ�ให้ ลูกค้าพึงพอใจ เราคิดว่ามันไม่จำ�เป็นทีต่ อ้ งออกบูท้ ใหญ่ๆ แต่อย่างน้อยเราก็ยงั ออกงาน มันเป็นความสำ�คัญของเราในการต้อนรับลูกค้าจากทั่วโลก ในขณะทีค่ ณ ุ อาจจะรู้ เราได้แสดงเทคโนโลยีสมัยใหม่ของระบบพิมพ์ ECO UV และระบบคุมสี DIAMOND EYE S และระบบตรวจเช็คอัตโนมัติที่ดรูป้า 2012 เราคิดว่ามันเป็นสิ่งที่น่าพอใจมากกว่า ในเร็วๆ นี้ อั๊กฟ่า, เอชพี และไฮเดลเบิร์ก ได้ประกาศว่าจะไม่ร่วมงาน IPEX ที่จะมาถึง เดี๋ยวนี้มันเป็นเวลาที่จะตัดสินใจถึงความสำ�คัญของการ ออกงานหรือไม่ แล้วไม่ทราบว่า เครือ่ งพิมพ์ของ Mitsubishi มีการพัฒนาอะไรใหม่ๆ หรือ เทคโนโลยีใหม่บ้างครับ เครื่องพิมพ์ Mitsubishi หรือเครื่องพิมพ์ brand diamond ของเรามี เทคโนโลยีใหม่ๆ หลายอย่างเพิ่มขึ้นมา ดังนี้ครับ - ECO UV และ LED UV ปัจจุบันในประเทศญี่ปุ่นทั้งอุตสาหกรรมการ พิมพ์ทั่วไป และหนังสือ และอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ได้สอบถามถึง ECO UV และ LED UV เป็นอย่างมาก อันเนื่องมาจากการเติบโตขึ้นของระบบการ พิมพ์ที่พิมพ์ด้วยระบบ UV ซึ่งเติบโตมากถึง 70% จากในอดีตเพียง 10% ทาง บริษัทฯ มีงานมากกับการทดลองพิมพ์ และอาบยูวีที่ห้องสาธิตสำ�หรับลูกค้า ที่สนใจจำ�นวนมาก เพื่อความอยู่รอดของโรงพิมพ์ในญี่ปุ่นที่ต้องการหาบาง
สิ่งที่จะช่วยเรา คำ�ตอบคือ ECO UV และ LED UV ซึ่งทั้งสองระบบ นี้ ก็ ไ ด้ แ สดงถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพออก มาทั้ ง ในด้ า นของการแห้ ง ตั ว เร็ ว ไม่ก่อให้เกิดปัญหาทางการพิมพ์ เช่น ปัญหาการซับหลังและไม่จำ�เป็น ต้องใช้แป้งในระบบการพิมพ์ และ ยังสามารถเพิ่มผลผลิตของคุณได้ ถึง 40% หรือมากกว่านี้ได้ ซึ่งมี ความคุ้มค่าต่อการลงทุน - Diamond EYE - S (In line color control by sensor and auto defect checking function) ระบบ นี้จะช่วยในการก่อให้เกิดของเสีย ในกระบวนการพิ ม พ์ ง านน้ อ ย มากๆ และอีกทั้งยังสามารถตรวจ สอบงานพิ ม พ์ ไ ปยั ง ใบพิ ม พ์ แ ละ สามารถคัดแยกออกมาได้ ถ้าหาก ใบพิมพ์นั้นเกิดปัญหาขึ้น ซึ่งจะ ช่ ว ยให้ ช่ า งพิ ม พ์ ไ ม่ เ ครี ย ดในการ ทำ�งาน ไม่จำ�เป็นต้องคอยชักใบ พิมพ์ออกมาตรวจสอบในขณะที่ เครื่องกำ�ลังพิมพ์งาน - Digital segment ในส่วนของ ระบบการพิมพ์แบบดิจิตอล เมื่อ เดือนพฤศจิกายน 2554 ทางเรา MHIPPM ได้เปิดตัวเครื่องพิมพ์ ต้นแบบระบบดิจิตอล ที่ห้องแสดง สินค้าของเรา ซึ่งเป็นวิสัยทัศน์ ThaiPrint Magazine 99
Print News
อย่างหนึง่ ของเรา และในขณะนีย้ งั อยูใ่ นกระบวนการวิจยั และพัฒนา ซึ่งเราเองก็ยังไม่สามารถบอกได้ว่าจะเสร็จ เมื่อไหร่ แต่ระบบดิจิตอลเป็นอีกระบบหนึ่งที่สำ�คัญของ พวกเรา MHIPPM แล้วมีแนวโน้มจะพัฒนาหรือเป็นไปได้ม้ยั ครับที่จะมี การพัฒนาเครือ่ งพิมพ์ Mitsubishi ให้เป็นระบบไฮบริด ในขณะนี้เรายังไม่ได้คิดถึงเรื่องการพัฒนาระบบการ พิมพ์ทง้ั ในออฟเซตและเฟล็กโซในเครือ่ งเดียวกัน ซึง่ ความ ต้ อ งการเครื่อ งพิ ม พ์ ใ นลั ก ษณะนี้ส่ว นใหญ่ จ ะมาจาก อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ต่ เราก็ จ ะพิ จ ารณาถึ ง การ พัฒนาระบบการพิมพ์แบบนี้ในอนาคต การพิมพ์ระบบ ECO UV และ LED UV ของ Mitsubishi มีข้อได้เปรียบอะไรบ้างที่เราคิดว่าเหนือ กว่าของที่อื่น ข้อดีของ ECO and LED UV จะช่วยให้ทั้ง อุตสาหกรรมการพิมพ์ในส่วนของหนังสือและอุตสาหกรรม การพิมพ์ในส่วนของบรรจุภณ ั ฑ์มากมายดังรายละเอียดต่อ ไปนี้ 1) ระยะเวลาในการแห้งตัวเร็ว 2) ไม่มีปัญหาและไม่ต้องพิมพ์ซำ�้ 3) ไม่ต้องใช้ระบบการพ่นแป้ง 4) ระบบ DON - TEN เป็นไปได้ 5) ไม่ต้องกังวลว่าเมื่อสีแห้งแล้วจะเปลี่ยนสีได้ 6) ช่างพิมพ์ไม่มีความกังวลและเครียด 7) เพิ่มผลผลิตได้มาก 8) สามารถผลิตงานได้มากขึ้น และสร้างความ น่าเชื่อถือที่สูงขึ้น เทคโนโลยีใหม่ในประเทศญีป่ นุ่ ในตอนนีม้ อี ะไรบ้าง เนือ่ งจากการแข่งขันทีย่ ากท่ามกลางโรงพิมพ์ดว้ ยกัน โรงพิมพ์ญี่ปุ่นจึงต้องมีการจัดการกับผลผลิตที่สูงขึ้นและ หาความแตกต่างจากคนอื่นๆ คำ�ที่เป็นหัวใจหรือกุญแจสำ�คัญ คือ ระยะเวลาการส่ง ที่สั้น และข้อบกพร่องเป็นศูนย์ 100 ThaiPrint Magazine
ECO UV และ LED UV คือ เทคโนโลยีที่แพร่หลายใน ญี่ปุ่นขณะนี้ Tandem Prefector (TP) สำ�หรับการพิมพ์ สองหน้าในครัง้ เดียวคือความต้องการเสมอ ในขณะเดียว กัน ระบบเปลี่ยนเพลท อัตโนมัติ ระบบ Simultaneous คืออาวุธที่สำ�คัญ Diamond Eye-S (in-line color control & defect check) กำ�ลังแพร่หลาย มีขอ้ แนะนำ�ในการช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยในการพิมพ์ ของลูกค้าในไทยอย่างไรบ้างครับ 1) ระยะเวลาการส่งที่สั้น ไม่มีการผิดพลาด ไม่มีการ พิมพ์ซ้ำ� 2) ทบทวนขั้นตอนการพิมพ์รวมทั้งการจัดการวัสดุ 3) หัวใจ Kaizen เข้าไปที่บริษัท 4) ประหยัดพลังงาน 5) ลดจำ�นวนของผู้ปฏิบัติการ (การปฏิบัติการที่มี ประสิทธิภาพมากขึ้น, การปฏิบัติการที่ง่าย) 6) การจัดการเรื่องสี รวมถึงข้อมูลของสีส่งถึง CTP ไปยังเครื่องพิมพ์ผ่าน PPC Server 7) “5S” เซริ, เซตง, เซโซ, เซเคทซึ, ซิทซึเคะ เซริ = สะสาง ทำ�ให้เป็นระเบียบ ของทีไ่ ม่จำ�เป็นต้อง ใช้ให้ขจัดทิ้งไป เซตง = สะดวก วางสิง่ ของในสถานทีค่ วรอยูแ่ ละง่าย ที่จะหยิบมัน เซโซ = สะอาด ทำ�ความสะอาดสถานทีแ่ ละการบำ�รุง รักษา เซเคทซึ = สุขลักษณะ รักษาและปฏิบัติ 3ส. ดังกล่าว ข้างต้น ได้แก่ สะสาง สะดวกและสะอาดให้ดตี ลอดไป ซิทซึเคะ = สร้างนิสยั คือการรักษาและปฏิบตั ิ 4 ส หรือสิง่ ทีก่ ำ�หนดไว้แล้วอย่างถูกต้องจนติดเป็นนิสยั 8) ทำ�ความสะอาดเครื่องพิมพ์เป็นระยะๆ 9) การบำ�รุงรักษาเชิงป้องกัน พวกเราหวังว่าคุณจะมีความเข้าใจเกีย่ วกับ Mitsubishi MHIPPM และ บ.เอสเอ็มกราฟฟิคเซ็นเตอร์ตัวแทนจำ�หน่าย ในประเทศไทยของพวกเรามากขึ้น เราจะพยายามทำ�ให้ ดีที่สุดที่จะสนับสนุนการพิมพ์ไทยและอุตสาหกรรมครับ สุดท้ายนี้ อยากฝากทิง้ ท้ายอีกประโยคนึงว่า “Mitsubishi Never Die” ครับ ขอบคุณครับ
55 ad smg#87 cs5-m19.pdf
1
14/6/2554
17:12
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
61 Ad SM Graphic#91_pc3.indd 61
19/4/2555 15:42:00
Printing Education & Development
เปิดคอร์สใหม่ นักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 5 ของสถาบันการพิมพ์ไทย จากการที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้ผลัดดันให้ประเทศไทยเรามีสถาบันด้านการพิมพ์ของไทยขึ้นมา และได้ก่อตั้ง สถาบันการพิมพ์ไทยจนสำ�เร็จ มีนักเรียนที่ส�ำ เร็จจากสถาบันการพิมพ์ไทยนี้ทั้งหมด 4 รุ่นแล้ว สำ�หรับรุ่นนี้จะเป็นรุ่นที่ 5 ที่ทางสถาบันการพิมพ์ไทยเปิดสอนมาอย่างต่อเนื่อง สำ�หรับวันนี้เป็นวันแรกของการเรียนการสอนของนักเรียนรุ่นนี้ซึ่ง ต้องขอบอกตรงๆ เลยว่า วารสารการพิมพ์ไทยยังไม่เคยมาสัมผัสกับวันแรกของการเรียนของนักเรียนรุ่นที่ผ่านๆ มา วันนี้เราลองมาดูกันครับว่า ในวันแรกทางสถาบันได้เตรียมการเรียนการสอนเรื่องใดบ้าง มีการเตรียมความพร้อมเรื่อง อะไรบ้างก่อนที่จะให้นักเรียนได้สัมผัสกับเครื่องพิมพ์จริงๆ ... ในวันแรกนักเรียนทุกท่าน จะต้องเรียนในภาคทฤษฎีกอ่ นในช่วง เช้าของวันเรียน ซึ่งเรียนเรื่องเครื่อง พิมพ์ออฟเซตและความปลอดภัย ในการท�ำงานกับเครือ่ งพิมพ์ และเป็น การสร้างความเข้าใจให้กบั นักเรียนได้ รูจ้ กั ระบบการท�ำงานของเครือ่ งพิมพ์ ประเภทของเครื่องพิมพ์ออฟเซต เครื่องพิมพ์ออฟเซตป้อน แผ่น (Sheet-fed offset press) เป็น เครือ่ งพิมพ์ชนิดทีป่ อ้ นกระดาษทีละ แผ่นเข้าเครื่องพิมพ์อย่างสม�่ำเสมอ บรรยากาศวันแรกของการเรียนในช่วงเช้า ก่อนที่จะลงปฏิบัติงานกับเครื่องพิมพ์จริงๆ ในช่วงบ่าย เครื่ อ งพิ ม พ์ มี ห ลายขนาดด้ ว ยกั น 102 ThaiPrint Magazine
นักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 5
ซึ่ งสามารถเลือ กใช้ได้ตามวัตถุป ระสงค์ ข องงานและ ขนาดของงานๆ เครือ่ งพิมพ์แบบออฟเซตป้อนม้วน (Web-fed offset press) เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้ สามารถพิมพ์ได้ความเร็วสูงและปริมาณการพิมพ์มาก ในเวลาจ�ำกัดโดยอาจมีหน่วยพิมพ์ตงั้ แต่ 1 ถึง 10 หน่วย หรือมากกว่าได้เรียงอยู่ในแถว (in-line) เดียวกันหรือตั้ง ซ้อนกัน (stack) พิมพ์ได้หน้าเดียวหรือครั้งละสองหน้า (Blanket-to-Blanket) ก็ได้ขึ้นอยู่กับการออกแบบเครื่อง พิมพ์ งานที่ใช้ในการพิมพ์ส่วนใหญ่ ได้แก่ หนังสือพิมพ์ ใบแทรก สิ่งพิมพ์โฆษณา หนังสือเล่ม วารสาร ฉลาก และสิ่งพิมพ์อื่นๆ เครือ่ งพิมพ์สำ� หรับพิมพ์งานทัว่ ไป (Conventional web-offset press) เครือ่ งพิมพ์แบบนีเ้ หมาะทีจ่ ะใช้พมิ พ์ งานที่ไม่ต้องการคุณภาพมากนัก เช่น หนังสือพิมพ์ หนังสือเรียน นิตยสาร ซึ่งส่วนมากมักพิมพ์ 1-2 สี และใช้กระดาษซึ่งดูดซับน�้ำมันจากหมึกพิมพ์ได้ดีเช่น กระดาษปรู๊ฟหรือกระดาษปอนด์ เครือ่ งพิมพ์ออฟเซตชนิดป้อนม้วนส�ำหรับงาน ุ ภาพสูง (Commercial web-offset press) เครือ่ ง พิมพ์คณ พิ ม พ์ แ บบนี้ เ หมาะที่ จ ะใช้ พิ ม พ์ ง านที่ มี คุ ณ ภาพเช่ น นิตยสาร แคตตาล็อก หนังสือประเภทสวยงาม หนังสือ คุณภาพอืน่ ๆ ทีพ่ มิ พ์ดว้ ยกระดาษเคลือบผิวหรือกระดาษ
อาร์ต กระดาษพวกหมึกแห้งตัวช้า เพราะกระดาษดูด ซับหมึกได้น้อยมากเป็นต้น โครงสร้างของเครื่องพิมพ์ออฟเซต หน่วยป้อนกระดาษ หน่วยป้อนกระดาษท�ำหน้าที่ แยกกระดาษทีละแผ่นออกจากกองกระดาษแล้วส่งต่อ ผ่านไปยังหน่วยพิมพ์ผ่านแผงป้อน (feed board) โดยมี การควบคุมการเคลื่อนที่ให้เป็นแนวตรงและเป็นจังหวะ สม�่ำเสมอความเร็วที่ตั้งไว้ซึ่งเทคนิคการเคลื่อนที่ป้อม กระดาษนี้แบ่งเป็น 2 แบบ คือ 1.การป้อนกระดาษทีละ แผ่น (single-sheet feeding) 2.การป้อนแบบต่อเนื่อง (stream feeding) ThaiPrint Magazine 103
Printing Education & Development
คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ผู้อำ�นวยการสถาบันการพิมพ์ไทย นั่งพูดคุยวางแผนการสอนกับอาจารย์ผู้สอนท่านอื่นๆ
หลังจากรับประทานอาหารเที่ยงเสร็จ นักเรียนก็มีกีฬาให้ผ่อนคลายก่อนเข้าเรียนภาคปฏิบัติในช่วงบ่าย
องค์ประกอบของหน่วยป้อนกระดาษ ลมเป่า จากหัวลมเป่าทีเ่ รียกว่า air blast nozzle อยู่ด้านหลังและด้านข้างของขอบส่วนบนของกระดาษ สามารถปรับระดับความแรงของลมได้ ลมดูด จากหัวลมดูดปลายยางส�ำหรับดึงกระดาษ ขึ้น (Pickup suckers) ส�ำหรับส่งกระดาษไปข้างหน้า (forwarding suckers) ทัง้ นีล้ กั ษณะแผ่นยางทีใ่ ช้มี 2 ลักษณะ คือ แบบปลายบานกับแบบธรรมดา โดยแบบแรกจะเหมาะ ส�ำหรับกระดาษบางซึ่งปกติแผ่นกระดาษบางมักจะแยก ออกจากกันค่อนข้างยาก องค์ประกอบของหน่วยพากระดาษ - สายพานที่รองรับแผ่นกระดาษจะต้องจัดให้ เป็นคู่อยู่ในระยะเท่ากันทั้ง 2 ข้าง (symmetry) จากขอบ กระดาษ - ลูกกลิง้ ยาง 3 จะท�ำหน้าทีค่ วบคุมการเคลือ่ น ที่ของแผ่นกระดาษ - ลูกกลิ้งพลาสติก 2 ควรก�ำหนดต�ำแหน่งวาง ที่ปลายของแผ่นกระดาษในจังหวะที่แผ่นกระดาษนั้น ชิดฉากหน้าพอดี เพื่อป้องกันการถอยหลังของแผ่น กระดาษ 104 ThaiPrint Magazine
บรรยากาศในห้องอาหารที่ทางสถาบันได้จัดเตรียมไว้ให้กับ นักเรียนการพิมพ์ได้พักทานอาหารพร้อมทั้งเครื่องดื่มอย่างจุใจ
- ลูกกลิ้งแปรง 1 (brush rolls) และลูกเหล็ก 6 (hold-down balls) ควรจะวางทับบนแผ่นกระดาษเพื่อ ป้องกันการลื่นไถลเกิดขึ้น - แปรงขนยาว 5 (stop brush) จะวางอยูข่ า้ งๆ ลูกกลิ้งพลาสติกท�ำหน้าที่เหมือนกัน - แผ่นโลหะแบน 4 หรือ hold-down fingers วางอยู่ที่ขอบใกล้มุมบนของแผ่นกระดาษทั้ง 2 ข้าง ใน จังหวะทีแ่ ผ่นกระดาษชิดฉากหน้า คอยกดกระดาษไม่ให้ ขยับลอยตัวขึ้นมาก่อนที่จะส่งเข้าหน่วยพิมพ์ องค์ประกอบของหน่วยก�ำกับฉากท�ำหน้าทีจ่ ดั กระดาษ ให้ระดับเท่ากันทุกแผ่นขณะท�ำการพิมพ์ - ฉากหน้า (front guide) จะมี 2 3 4 5 หรือ 6 ขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละเครื่อง ท�ำหน้าที่กำ� กับ ฉากด้านของกระดาษและฉากหน้าจะเปิดให้กระดาษ เข้าท�ำการพิมพ์ - ฉากข้าง (side guide) ฉากข้างมี 2 ข้าง ซ้าย และขวา ท�ำหน้าที่กำ� กับฉากกระดาษข้างก่อนกระดาษ จะเข้าท�ำการพิมพ์ - ฟันจับกระดาษ (swing gripper) เมื่อกระดาษ เข้าฉากเรียบร้อยแล้ว ฟันจับกระดาษจะจับกระดาษส่ง เข้าท�ำการพิมพ์ ยังมีในเรื่องของส่วนพิมพ์ ซึ่งจะมี 3 ส่วน คือ โมแม่พิมพ์ โมยาง โมกดพิมพ์ ซึ่งรายละเอียดมีอยู่ มากมายครับ นักเรียนจะต้องเข้ามาเรียนเองครับถึงจะ ทราบรายละเอียดดังกล่าวซึ่งต่อไปเราจะยกแต่หัวข้อ หลักๆ ที่มีการเรียนในช่วงเช้านะครับ หน่วยลงหมึก ท�ำหน้าที่ถ่ายโอนและจ่ายหมึก พิมพ์ จากรางหมึกพิมพ์ไปยังแม่พิมพ์ หน่วยท�ำความชื้น ท�ำหน้าที่ให้ความชื้นกับ แม่พิมพ์ในบริเวณส่วนที่ไม่ใช่ภาพ เพื่อไม่ให้หมึกพิมพ์
นักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 5
หลังจากแบ่งกลุ่มกันเรียบร้อยแล้ว นักเรียนก็แยกกันทำ�อย่างตั้งใจ
คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย สาธิตการจัดเรียงกระดาษ ให้นักเรียนการพิมพ์ดูเป็นตัวอย่างก่อนจะให้แบ่งกลุ่มทำ�กันเอง
เกาะติดลงบนส่วนที่ไม่ใช่ภาพ ระบบ ความชื้นมีหลายแบบ เช่น แบบหุม้ ลูกน�ำ้ และระบบแอลกอฮอล์ ความปลอดภัยในการท�ำงานกับ เครื่องพิมพ์ออฟเซต การจัดการเพื่อความปลอดภัยใน โรงพิมพ์ 1. การฝึกอบรม เจ้าของ กิจการควรได้ตระหนักถึงความปลอด ภัยต่อพนักงานทุกคน ซึ่งนอกจาก จะช่วยรักษาชีวิตและร่างกายของ พนักงานแล้วยังช่วยรักษาทรัพย์สิน อันมีค่าของเจ้าของกิจการด้วย 2. การจัดการเกีย่ วกับสภาพ การณ์ที่ไม่ปลอดภัย เจ้าของกิจการ จะต้ อ งจั ด การสถานที่ เ ครื่ อ งจั ก ร เครือ่ งมือ สารเคมี และสภาพแวดล้อม ให้ปลอดภัย จะต้องจัดให้มผี คู้ วบคุม ดูแลในเรื่องนี้อย่างสม�ำ่ เสมอ 3. การจัดตรวจสุขภาพของ พนักงาน เจ้าของกิจการควรจะจัด ระบบการตรวจสุขภาพประจ�ำปีของ ช่างพิมพ์อย่างสม�ำ่ เสมอ ควรมีหน่วย ปฐมพยาบาลไว้ในโรงงาน
โดยทุกลุ่มจะมีอาจารย์จะคอยแนะนำ� นักเรียนอย่างใกล้ชิดเพื่อความถูกต้อง
อาจารย์สาธิตการเปิด-ปิดเครื่องพิมพ์อย่างถูกวิธี และสอนให้รู้ถึงอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องพิมพ์
ความรับผิดชอบพื้นฐานของช่างพิมพ์ 1. การเตรียมพร้อมก่อนปฏิบัติงานพิมพ์ อุบัติเหตุมักเกิดได้ง่าย จากการไม่ระมัดระวังและสภาพจิตใจที่ไม่ปกติ ใจเลื่อนลอย นอนดึก หรือมี อาการไม่สบายเกิดขึ้น 2. การแต่งกาย ชุดท�ำงานควรเป็นชุดที่รัดกุม ไม่รุ่มร่ามแขนสั้น เอวรัดและสะอาดอยู่เสมอ เล็บและผม ควรตัดให้สั้นไม่ปล่อยยาวรุ่มร่าม เพราะอาจจะท�ำให้ผมถูกดึงติดเข้าไปในเครื่องพิมพ์เป็นอันตรายได้ง่าย รองเท้าควรสวมใส่แบบหุ้มส้นเช่นรองเท้าผ้าใบ หรือ รองเท้าหัวแข็ง 3. การใช้เครือ่ งป้องกันอันตราย ควรเลือกใช้เครือ่ งป้องกันอันตราย ให้เหมาะสมกับงาน 4. การจัดเครือ่ งใช้วสั ดุอปุ กรณ์ให้เป็นระเบียบและรักษาความสะอาด ควรจัดระเบียบบริเวณรอบๆ เครื่องพิมพ์ 5. การตระหนักถึงการกระท�ำที่ไม่ปลอดภัยช่างพิมพ์ทุกคน ควร ต้องตระหนักถึงอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ
ThaiPrint Magazine 105
Printing Education & Development
หลังจากเรียนภาคทฤษฎีเสร็จนักเรียนทั้งรุ่นที่ 5 ถ่ายภาพร่วมกับอาจารย์ผู้สอนหน้าสถาบันอย่างพร้อมเพรียงกัน
นักเรียนการพิมพ์ทุกท่านจะตั้งใจฟัง อาจารย์ผู้สอนอย่างละเอียดเพื่อจะได้ใช้ เครื่องพิมพ์เป็นและถูกวิธี 106 ThaiPrint Magazine
ความปลอดภัยในการใช้เครื่องพิมพ์ออฟเซต - การปฏิบัติก่อนเดินเครื่องพิมพ์ - การปฏิบัติระหว่างท�ำการพิมพ์ - การปฏิบัติหลังการพิมพ์ ซึ่งทุกขั้นตอนจะมีอาจารย์ผู้สอนอธิบายในนักเรียนฟังในช่วงเช้า อย่างละเอียด และหลังจากที่เรียนเสร็จทุกครั้งช่วงท้ายชั่วโมงการเรียนการ สอนจะมีการทดสอบให้นักเรียนท�ำข้อสอบ เพื่อประเมินความเข้าใจของ นักเรียนว่ามีความเข้าใจมากน้อยแค่ไหน ก่อนจะปล่อยให้นักเรียนลงมารับ ประทานอาหารเที่ยง ซึ่งทางสถาบันได้จัดเตรียมไว้อย่างเพียงพอส�ำหรับ นักเรียนทุกท่าน ช่วงบ่ายหลังจากนักเรียนพักกันเรียบร้อยแล้วก็จะถึงเวลา เข้าเรียน ในช่วงบ่ายอาจารย์ผู้สอนจะเริ่มสอนนักเรียนตั้งแต่วิธีการจัดเรียง กระดาษการเตรียมกระดาษก่อนจะให้นักแบ่งกลุ่มเพื่อสะดวกในการสอน แยกกันอธิบายส่วนประกอบต่างๆ ของเครื่องพิมพ์ โดยมีอาจารย์คอยดูแล อย่างใกล้ชิดและถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจให้กับนักเรียนทุกกลุ่มอย่าง ละเอียดและทดลองเดินเครื่องพิมพ์เปล่าๆ ก่อนที่จะท�ำความสะอาดส่วน ต่างๆ ของเครื่องพิมพ์ สอนวิธีเปิดปิดเครื่องพิมพ์อย่างถูกวิธี ซึ่งทุกๆ ราย ละเอียดนี้นักเรียนสามารถน�ำไปใช้งานได้จริงกับเครื่องพิมพ์ทุกครั้งจนกว่า จะเรียนจบในหลักสูตรนี้ครับ เดี๋ยวพอถึงสัปดาห์สุดท้ายของนักเรียนการ พิมพ์รุ่นนี้ผมจะไปสัมภาษณ์ถึงความรู้สึกที่นักเรียนมีต่อหลักสูตรการเรียน การสอนและอาจารย์ผู้สอนว่าเป็นอย่างไรบ้างครับ ไว้รอติดตามกันได้ใน ฉบับต่อไปนะครับ
Print News
สมาคมการพม ิ พไ์ทย The Thai Printing Association
THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 แหลงรวมขอมลูลาสดุของผปูระกอบการ ในอตุสาหกรรมการพมิพ หนงัสอื “THAI PRINTING DIRECTORY 2011-2012” เลมใหมลาสดุที รวมรายชอื ขอมูลลาสุดของผูประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพทั้งกอนการพิมพ การพิมพ หลังการพิมพ รวมทั้งผูจำาหนายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณดานการพิมพและการซอมบำารุง เหมาะสำาหรับใชเปนคูมือ การซอืขาย และเปน็ประโยชนตอองคกรของทาน
ใบสงัซอืหนงัสอื ชือ - นามสกลุ .................................................................................................................................บรษิทั ................................................................................................ ทอียู ................................................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศพัท ............................................................................................................................................... โทรสาร ........................................................................................... ขอสงัหนงัสอื THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 จำานวน ...................... เลม เงนิสด 800 บาท / เลม (มารบัดวยตนเอง) โอนเงนิ 900 บาท / เลม (รวมคาจดัสงทางไปรษณยี) (ราคานยีงัไมรวมภาษมีลูคาเพมิ) สงัซอืไดทสีมาคมการพิมพไทย 311-311/1 ซอย.15 (ซอยศนูยวจิยั) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรงุเทพฯ 10310 โทรศพัท 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688 วธิีการชาำระเงนิ
ชอืบญ ั ชี “สมาคมการพมิพไทย” ชอืบญ ั ชี ออมทรพัย เลขที 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณชิย สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรณ ุ าสงแฟกซหลกัฐานการโอนเงนิพรอมใบสงัซอืมาทสีมาคมฯ 120 ThaiPrint Magazine
Thai Print Awards Thaiprint Awards
สรุปผลการประกาศรางวัล การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 7 ช่วงที่ 1 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสเตอร์ และสิ่งพิมพ์ประเภทโฆษณา ณ จุดขาย (Posters and Point of Purchase Materials) ได้แก่ บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัทรุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด ส่วนเหรียญทองแดง ในปีนี้ ไม่มีผู้ได้รับรางวัล >>> Mr.AIf Carrigan Chairman of the Independent judging Panel มอบรางวัลให้กับ บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ใบปลิว แผ่นพับ แค็ตตาล็อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว 16 หน้า หรือน้อยกว่า โดยไม่รวมปก (Leaflets, Flyers, Folder, Brochure, Booklets, Catalogues, and Newsletter - Up to 16 pages excluding cover) ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1987) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท เอส เอ็ม เค พริ้นติ้ง จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด >>> คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย ประธานการจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 มอบรางวัลให้บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1987) จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท แค็ตตาล็อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว มากกว่า 16 หน้า โดยไม่รวมปก (Brochure, Booklets, Catalogues, and Newsletter More than 16 pages excluding cover) ได้แก่ บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1987) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) >>> ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม มอบรางวัลให้บริษัท ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ไปรษณียบัตร บัตรอวยพร นามบัตร สูจิบัตร บัตรเชิญ ในโอกาสต่างๆ (Postcards, Greeting Cards, Name Cards, and Invitation Cards) สำ�หรับรางวัลนี้ปีนี้ไม่มีผู้ได้รับเหรียญทองและเหรียญทองแดง ผู้ที่ได้ รับเหรียญเงินได้แก่ บริษัท เอ็ม ซี ดี การพิมพ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท นิตยสาร วารสาร ทีพ ่ มิ พ์ดว้ ยระบบป้อนแผ่น (Sheetfed Magazines and Journals) ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์ จำ�กัด >>> คุณชาวัลย์ สวัสดิช์ โู ต รักษาผูอ้ �ำ นวยการ สนง.ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม มอบรางวัลให้บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ปฏิทิน (Calendars) ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ (1977) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) และ เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ไอคอนไอเดีย จำ�กัด และบริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) >>> คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มอบรางวัลให้ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด) 108 ThaiPrint Magazine
สรุปผล 7th Thai Print Awards 2012 ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์หนังสือจำ�นวนจำ�กัดและงานพิมพ์ เลียนแบบภาพศิลป์ (Limited Edition Books and Art Reproductions) น่าเสียดายที่ใน ปีนี้ ไม่มีผู้ได้รับรางวัลเหรียญทอง ส่วนเหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือที่พิมพ์น้อยกว่า 4 สี (Book Printing - Less than 4 colors) ได้แก่บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นจำ�กัด (มหาชน) เหรียญทองแดง ไม่มีผู้ได้รับรางวัลนี้ >>> คุณพยุงศักดิ์ ชาติสิทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มอบรางวัลให้บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน)
ช่วงที่ 2 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือ (Book Printing - Digital Printing) ได้แก่ บริษทั คอนโทรล พี จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด และเหรียญ ทองแดง ได้แก่ บริษัท สิบคน จำ�กัด และ บริษัทสุนทรฟิล์ม จำ�กัด >>> Mr. AIf Carrigan Chairman of the Independent judging Panel มอบรางวัลให้กับบริษัท คอนโทรล พี จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท ใบปลิวแผ่นพับ โบรชัวร์ (Leaflets, Flyers, Folders & Brochures - Digital Printing) ได้แก่ บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท วิสคอม เซ็นเตอร์ จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ธนาบุตร จำ�กัด >>> คุณอนุสสรา จิตรมิตรภาค กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทไปรษณีย์ไทย มอบรางวัลให้กับบริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท แค็ตตาล็อค จุลสาร โบรชัวร์ (Catalogues, Booklets & Brochures - Digital Printing) ได้แก่ บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท โมเดอร์น ฟิล์ม เซ็นเตอร์ จำ�กัด และ บริษัท สิบคน จำ�กัด เหรียญ ทองแดง ได้แก่ บริษัทเปเปอร์เมท (ประเทศไทย) จำ�กัด >>> คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ประธานสหพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ มอบรางวัลให้กับบริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ปฏิทินและหนังสือภาพ (Calendars & Photobooks - Digital Printing) น่าเสียดายที่ในปีนี้ ไม่มีผู้ได้รับเหรียญทองและเหรียญเงิน ส่วนผู้ที่ได้รับเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด และ บริษัท เอ็ม.ไอ. ดับบลิว.กรุ๊ป จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสการ์ด การ์ดและบัตรเชิญ (Postcards, Greeting & Invitation Card - Digital Printing) ได้แก่ บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว.กรุ๊ป จำ�กัด เหรียญเงินไม่มีผู้ได้รับรางวัลนี้ เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท นีโอ ดิจิตอล จำ�กัด >>> คุณมยุรี ภาคลำ�เจียก กรรมการการตัดสินการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 มอบรางวัลให้กับบริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว.กรุ๊ป จำ�กัด ThaiPrint Magazine 109
Thai Print Awards ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสเตอร์ และสิง่ พิมพ์ประเภทสือ่ โฆษณา ณ จุดขาย (Poster, Showcards & Point of Sale Materials - Digital Printing) ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั ดิจติ อล ออฟเซท เอเชีย แปซิฟคิ จำ�กัด เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท แพน แปซิฟิก ปริ้นติ้ง จำ�กัด และ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) >>> ผศ.ชนัสสา นันทิวชั รินทร์ กรรมการตัดสินการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 7 มอบรางวัลให้กับบริษัท สเปซวัน จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภณ ั ฑ์ (Packaging - Digital Printing) น่าเสียดายที่ในปีนี้ ไม่มีผู้ได้รับเหรียญทอง ส่วนเหรียญเงิน ได้แก่ บริษัทอิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ทั้งฮั่วซิน จำ�กัด
คุณตันหยง จากรายการตีสิบ ช่วงดันดารา ขึ้นมาร้องเพลงขับกล่อมแขกผู้มีเกียรติด้วยเสียงที่มีคุณภาพพร้อมทั้งการแสดง music for the world orchester จากกองดุริยางค์ศิลป์ทหารเรือ สร้างความเพลิดเพลินให้ผู้ได้รับฟังและเป็นการพักการประกาศ ผลรางวัลก่อนเข้าช่วงประกาศผลรางวัลในช่วงที่ 3 ต่อไป
ช่วงที่ 3 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือปกแข็งที่พิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า (Hard-Coverd Book Printing - 4 or more colors) ได้แก่ บริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด และ เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) >>> คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ กรรมการตัดสินการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 มอบรางวัลให้กับบริษัท อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือปกอ่อนทีพ ่ มิ พ์ 4 สี หรือมากกว่า (Soft-Coverd Book Printing - 4 or more colors) น่าเสียดายทีใ่ นปีน้ี ไม่มผี ไู้ ด้รบั รางวัล เหรียญทองและเหรียญทองแดง ผูท้ ไ่ี ด้รบั รางวัลเหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั พิมพ์ดี จำ�กัด
ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภัณฑ์ที่พิมพ์ด้วยระบบออฟเซ็ท ป้อนแผ่น (Packaging Sheetfed Offset) ได้แก่ บริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ์ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด มายการพิมพ์ และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำ�กัด >>> คุณอมรรัตน์ อัคควัฒน์ กรรมการตัดสินการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 มอบรางวัลให้กับบริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ์ จำ�กัด 110 ThaiPrint Magazine
สรุปผล 7th Thai Print Awards 2012 ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภณ ั ฑ์ออ่ นตัวทีพ ่ มิ พ์ดว้ ยระบบ Flexo graphy (Flexible Packaging - Flexography) น่าเสียดายทีใ่ นปีน้ี ไม่มผี ไู้ ด้รบั เหรียญทองและ เหรียญเงิน ส่วนเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ทีพเี อ็น เฟล็กซ์แพค จำ�กัด
ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Gravure (Flexible Packaging - Gravure) ได้แก่ บริษัท ทีพีเอ็น ฟู๊ดแพค จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท ไพร์มแพ็คเกจจิ้ง จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท พริ้นท์ มาสเตอร์ จำ�กัด >>> คุณนภดล ไกรฤกษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท ทีพีเอ็น ฟู๊ดแพค จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสการ์ด การ์ด และบัตรเชิญ (Postcards, Greeting Cards and Invitation Cards - Digital Printing) ได้แก่ บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ หสม.188 พริน้ ติง้ กรุป๊ และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั เปเปอร์เมท (ประเทศไทย) จำ�กัด >>> คุณคาซูโอะ เซมบะ ประธานบริษัท โตโยอิ้งค์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท ทั้งฮั่วซิน จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์จากเครือ่ งป้อนม้วน - กระดาษ เคลือบผิว 70 gsm และมากกว่า (Web Offset - Coated Stock 70 gsm and up) ได้แก่ บริษทั คอมฟอร์ม จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จำ�กัด และ เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด ( มหาชน ) >>> คุณอนุรักษ์ ศศะสมิต กรรมการผู้จัดการบริษัท เบิ้ตท์เชอร์(ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท คอมฟอร์ม จำ�กัด ผลงานทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์จากเครือ่ งป้อนม้วน - กระดาษ เคลือบผิว 65 gsm หรือน้อยกว่า (Web Offset - Coated Stock 65 gsm and less) ได้แก่ บริษทั ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่บริษทั คอมฟอร์ม จำ�กัด และ เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ไซเบอร์พริน้ ท์ จำ�กัด >>> คุณวิบูลย์ สื่อวีระชัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส์ จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท ดับบลิว พี เอส(ประเทศไทย) จำ�กัด
ช่วงที่ 4 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท การพิมพ์สื่อสารข้อมูลการตลาด (Transpromo) ได้แก่ บริษทั ล็อกซบิท จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั เปเปอร์เมท (ประเทศไทย) จำ�กัด และเหรียญทองแดงไม่มีผู้ได้รับรางวัลนี้ >>> คุณทรงสิทธิ์ หอวิจติ ร กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั เอส เอ็ม กราฟฟิค เซ็นเตอร์ จำ�กัด มอบรางวัลให้กบั บริษทั ล็อกซบิท จำ�กัด (มหาชน) ThaiPrint Magazine 111
Thai Print Awards ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์ด้วยระบบ Ink Jet (Digital Printing - Ink Jet) ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท เปเปอร์เมท (ประเทศไทย)จำ�กัด >>> คุณประชา อินทร์ผลเล็ก ผูจ้ ดั การทัว่ ไปฝ่ายขาย บริษทั ไฮเดนเบิรก์ กราฟฟิค เว็นเตอร์ จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์หลากชิ้นที่ใช้เป็นชุด (MultiPiece Production & Campaigns) ได้แก่ บริษัท เกรย์ แมทเทอร์ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัทเนติกุลการพิมพ์ จำ�กัด >>> คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัทเกรย์ แมทเทอร์ จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานการประดับหรือตกแต่งหลังการ พิมพ์ (Embellishment) ได้แก่บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ไม่มีผู้ได้รับรางวัลนี้ ส่วนเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท พริ้นติ้ง โซลูชั่น จำ�กัด >>> Mr.Gernot Ringling Managing Director of Messe Duesseldorf Asia Pte Ltd. มอบรางวัลให้กับบริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท นวัฒกรรมทางการพิมพ์ (Innovation / Specialty Printing) ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัทที.เค.เอส. สยามเพรส แมเนจเม้นท์ จำ�กัด ส่วนเหรียญทองแดงไม่มีผู้ได้รับรางวัลนี้ >>> คุณฉี เสี่ยว หยิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซันซิง พริ้นติ้ง แมชชีน แมททีเรียล (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท สเปซวัน จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทองประเภท การพิมพ์ปรู๊ฟด้วยระบบดิจิจตอล (Digital Color Proofing) ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท แม แม อินดัสเตรียล จำ�กัด >>> คุณก้องฟ้า พันธ์พิกุล กรรมการตัดสินการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7 มอบรางวัลให้กับบริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์(1977) จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์เพื่อประชาสัมพันธ์บริษัทหรือ ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ (Self Promotion) ได้แก่ บริษัท ไทยอ๊อฟเซท จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด และ บริษัท พลัสเพรส จำ�กัด ส่วน เหรียญทองแดง ได้แก่ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สุพรชัย ไดคัท >>> คุณภาณุพงศ์ เหรียญกนกกุล กรรมการตัดสินการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 7 มอบรางวัลให้กับบริษัท ไทยอ๊อฟเซท จำ�กัด
112 ThaiPrint Magazine
สรุปผล 7th Thai Print Awards 2012
รางวัล GREEN PRINT CONCEPT THAI PRINT ASSOCOATION AWARD : GREEN PRINT CONCEPT >>> คุณพรชัย รันตชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย มอบรางวัลให้กับ ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สมุยอักษร
THAI PRINT ASSOCOATION AWARD : GREEN PRINT CONCEPT >>> คุณพรชัย รันตชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย มอบรางวัลให้กับ บริษัท พริ้นท์ซิตี้ จำ�กัด
หลังจากที่ประกาศรางวัลประเภท GREEN PRINT CONCEPT เสร็จสิ้นไป หลังจากนั้นทางผู้ดำ�เนินรายการก็ให้พักชม music for the world orchester จากกองดุริยางค์ศิลป์ทหารเรือสร้าง ความผ่ อ นคลายให้ กั บ แขกผู้ เข้ า ร่ ว มงานก่ อ นที่ จ ะเข้ า สู่ ช่ ว ง สำ�คัญของงานคือการประกาศรางวัล BEST OF THE BEST
สรุปรางวัล Best of The Best BEST IN SHEETFED OFFSET >>> คุณพุทธพร แสงรัตนเดช ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาด บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด ใน เอสซีจี เปเปอร์ มอบรางวัลให้กับ บริษัทโรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน)
BEST IN MORE THAN ONE PRODUCTION PROCESS >>> Mr.Kevin Huang Senior Sales Director C.A.S.PAPER CO.,LTD & GOLD EAST PAPER CO.,LTD มอบรางวัลให้กับ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด
BEST IN CREATIVE USE OF DIGITAL TECHNOLOGY >>> คุณ ชูศักดิ์ ธรรมสิทธิ์บูรณ์ Director Business Imaging บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท สเปซวัน จำ�กัด ThaiPrint Magazine 113
Thai Print Awards BEST CREATIVE IN PRINTING APPLICATION &DESIGNS >>> คุณสิทธิพัฒน์ บุญหลง Sales Director บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING PROCESSES >>> คุณณรงค์ เตชะไชยวงศ์ ประธานกรรมการ/ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั อินเตอร์ฟาร์อสี ท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน ) มอบรางวัลให้กับบริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ์ จำ�กัด BEST IN DIGITAL PRINTING >>> Mr.Koji Tezuka President & Director บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย)จำ�กัด มอบรางวัลให้กับบริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด
ขอขอบคุณผูสนับสนุนทุกบริษัทฯ ที่รวมเปนสวนหนึ่งในความสำ�เร็จของการจัดงานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 7 นี้ ผูสนับสนุนหลัก (Major Sponsors)
BY
C.A.S. GROUP
ผูสนับสนุนทั่วไป (Patrons)
Asain Print Awards
114 ThaiPrint Magazine Thai Print#2012_001-013,114_M2.indd 1
21/9/2555 14:59
SCG Print Interview
ธรรมาภิบาลสรรค์สร้างโลกให้สวยงาม มุง่ อุดมการณ์กลับคืนสูส่ งั คม และสิง่ แวดล้อมเดินไปกับความเติบโตทีย่ ง่ั ยืนกับ SCG PAPER โดย คุณ พันเทพ สุภาไชยกิจ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด ใน เอสซีจี เปเปอร์ การดำ�เนินกิจการของ SCG PAPER ใช้หลักการใด ในการพัฒนาธุรกิจให้ยั่งยืน...? SCG Paper ดำ�เนินธุรกิจตามหลักธรรมมาภิบาล และอุดมการณ์ 4 ของ SCG มาโดยตลอด มีจุดยืนใน การเป็นองค์กรที่คำ�นึงถึงสังคม สิ่งแวดล้อม และการ เติบโตอย่างยัง่ ยืน รวมทัง้ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเพือ่ สร้างสรรค์นวัตกรรมกระดาษให้ตอบสนองความต้องการ ที่หลากหลายของลูกค้า ไม่วา่ จะเป็นเรื่องของการผลิต สินค้าคุณภาพพรีเมี่ยมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย ใช้เยื่อ EcoFiber* ซึ่งช่วยลดการใช้ต้นไม้ใหม่ลง และ สามารถตอบสนองกระแสรักษ์สิ่งแวดล้อมที่กำ�ลังตื่นตัว กันทั่วโลก สินค้าที่ผลิตมาจากเยื่อ FSC** หรือสินค้า
อื่นๆ ที่ได้รับฉลาก SCG Eco Value*** ยิ่งไปกว่านั้น ในเรื่องของการเพิ่มผลผลิต บริษัทก็ได้ทุ่มเทอย่างหนัก จนล่าสุดได้รับรางวัล TPM Special Award และกำ�ลังอยู่ ระหว่างการตรวจประเมินรางวัล TPM Advance Special Award ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนธันวาคมของ ปีนี้ นอกจากนี้ ในเรื่องของการตลาดทาง SCG Paper ยังปฏิบัติตามหลัก Human Value Marketing อันประกอบไปด้วย Understanding, Innovation & Sustainability Development และ Co-Creation ทั้งหมด นั้น เป็นการพัฒนาเพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน นั่นเอง และยังจะโยงไปสู่การเติบโตร่วมกันทั้งภาค อุตสาหกรรมการพิมพ์ ทั้งนี้ SCG Paper ยังเป็นสมาชิกของ The Sus tainable Forest Products Industry (SFPI) ซึ่งอยู่ภายใต้ คณะกรรมการธุรกิจโลกเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน (The World Business Council for Sustainable Development : WBCSD) อีกด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่ยืนยันได้อย่างดีถึงความ ทุ่มเทและตั้งใจจริงในการพัฒนาธุรกิจให้ยั่งยืน EcoFiber* คือ เยื่อกระดาษคุณภาพสูงที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผลิตโดยนำ�เศษวัสดุหรือวัสดุซึ่ง ผ่านการใช้งานแล้ว มาคัดสรร จัดการ และควบคุมการ ThaiPrint Magazine 115
Print Interview สังคมและนิเวศวิทยาของคนรุน่ นีแ้ ละคนรุน่ หลัง SCG Eco Value*** คือฉลากของ SCG ที่ รับรองนวัตกรรมของสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม โดยสินค้าหรือบริการที่จะสามารถใช้ฉลาก SCG eco value ได้ จะต้องผลิตจากกระบวนการพิเศษ ที่ต่างจากกระบวนการปกติส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม น้อยทีส่ ดุ และดีกว่าสินค้าทัว่ ไป โดยอ้างอิงตามมาตรฐาน ISO 14021 ทั้งยังต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองและ รับรองจากคณะกรรมการของ SCG อีกด้วย
คุณพันเทพ สุภาไชยกิจ - กรรมการผู้จัดการ บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด ใน เอสซีจี เปเปอร์
ผลิตอย่างมีประสิทธิภาพด้วยเทคโนโลยีเฉพาะ เพื่อให้ ได้เยื่อกระดาษที่มีคุณภาพสูง เหมาะสำ�หรับเป็นส่วน ผสมในการผลิตกระดาษคุณภาพพรีเมี่ยม FSC** ย่อมาจาก The Forest Stewardship Council (FSC) หรือคณะกรรมการรับรองมาตรฐานการ ปลูกป่า ซึง่ เป็นองค์กรอิสระระหว่างประเทศทีไ่ ม่แสวงหา ผลก�ำไร มีจุดประสงค์ในการก่อตั้งเพื่อวางระบบเครื่อง หมายรับรองสากลที่ ไ ม่ขึ้นกับใครและเป็นที่เชื่อถือได้ ส�ำหรับไม้และผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ทีท่ �ำมาจากไม้ชนิ้ นัน้ ได้ รับ การรับรองว่ามีแหล่งทีม่ าจากป่าไม้ทม่ี กี ารบริหารจัดการ อย่างยั่งยืนเพื่อสนองตอบความต้องการด้านเศรษฐกิจ
116 ThaiPrint Magazine
จากสภาวะเศรษฐกิจโลกโดยภาพรวมส่งผลกระทบ กับอุตสาหกรรมกระดาษและอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ มากน้ อ ยขนาดไหนและมี วิธีใ นการรั บ มื อ อย่ า งไร บ้าง….? การแข่งขันธุรกิจในปัจจุบันมีความรุนแรงและ รวดเร็วกว่าในอดีตมาก โดยเฉพาะการเปิดประชาคม อาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งน่าจะส่งผลกระทบต่อการ ท�ำธุรกิจหลายๆ อย่างของประเทศไทยมากขึ้น ดังนั้น เราจึงจ�ำเป็นที่จะต้องติดตามข่าวสาร รวมทั้งวิเคราะห์ ข้อมูลให้ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง เพื่อที่จะได้รับมือ และแก้ไขสถานการณ์ไ ด้ทนั และอีกสิง่ หนึง่ ทีส่ ง่ ผลกระทบ กับอุตสาหกรรมกระดาษและอุตสาหกรรมการพิมพ์ใน ตอนนี้ น ่ า จะเป็ น เรื่ อ งของเทคโนโลยี แ ละสื่ อ ดิ จิ ทั ล มากกว่าเรื่องของสภาวะเศรษกิจโลก ซึ่งแนวทางการ รับมือของ SCG Paper คือคิดค้นนวัตกรรมกระดาษที่ มีจุดเด่น และสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ บริโภคและลูกค้าได้อย่างเต็มที่
SCG
การพั ฒ นาสิ น ค้ า กระดาษของ SCG PAPER มีการพัฒนาในด้าน ใดบ้ า งและมุ่ ง เน้ น ไปในด้ า นใด เป็นพิเศษ...? SCG Paper มุ่งมั่นที่จะ พัฒนาและคิดค้นผลิตภัณฑ์กระดาษ ที่ตอบสนองต่อความต้องการของ ลูกค้ามาโดยตลอดโดยได้ผลักดันทั้ง เรื่องนวัตกรรม (Innovations) และ การปลูกฝังในการคิดค้นและพัฒนา High Value Added Product ทีม่ งุ่ เน้ น ไปที่ก ารตอบสนองเรื่อ งความ พึ ง พอใจของลู ก ค้ า เป็ น หลั ก ตาม แนวทางของ Human Value Marketing และจากเรือ่ งกระแสรักษ์โลก ที่ได้รับความสนใจจากองค์กรต่างๆ มากขึน้ ในระยะ 2-3 ปีน้ี SCG Paper จึงได้มุ่งเน้นพัฒนาสินค้าในกลุ่มนี้ เป็ น พิ เ ศษและมี สิ น ค้ า ที่ ไ ด้ รั บ การ ตอบรั บ ที่ ดี ม ากหลายรายการ เช่น กระดาษ Green Series และ กระดาษถ่ายเอกสาร Idea Green ที่ มี EcoFiber เป็นส่วนสำ�คัญในการ ผลิตแทนเยื่อที่ผลิตมาจากไม้ใหม่
กระแสนิยมเรือ่ งการอนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม SCG PAPER มีการจัดโครงการ อะไรบ้างที่ส่งเสริมการรักษาสิ่งแวดล้อมให้คืนกลับสู่สังคม...? SCG Paper ได้ดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด เป็นระยะเวลาหลายสิบปีแล้ว ตามอุดมการณ์ข้อที่ 4 ของ SCG ที่ว่า “ถือมั่น ความรับผิดชอบต่อสังคม” โดยกิจกรรมที่คนส่วนใหญ่รู้จักดีที่สุด คือ การ สร้างฝายชะลอน้ำ�และยังมีกิจกรรมอื่นๆ อีกมาก ที่ทาง SCG Paper ได้ร่วม อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมกับชุมชนต่างๆ เช่น โครงการ “ค่ายเยาวชนรุ่นใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” ที่โรงงานบ้านโป่ง จ.ราชบุรี, โครงการ “บำ�บัดน้ำ�เสีย ชุมชนก่อนปล่อยลงสู่แม่น้ำ�แม่กลอง” และโครงการ “ปลูกต้นไม้ให้กับ ชุมชน” ที่ชุมชนท่าน้ำ�ชุกโดน จ.กาญจนบุรี ซึ่งอยู่ใกล้กับโรงงานวังศาลา, โครงการ “รักษ์บึงโจด” ที่ดูแลโดย บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำ�กัด (มหาชน) จ. ขอนแก่น เป็นต้น นอกจากเรื่องของสินค้าที่ SCG Paper ได้พัฒนาขึ้นมา เพื่อตอบ โจทย์เรื่องของสิ่งแวดล้อมอย่างเช่น กระดาษ Green Series กระดาษเพื่อ
ThaiPrint Magazine 117
Print Interview
สิ่งแวดล้อมคุณภาพสูงระดับพรีเมี่ยม เพื่อการพิมพ์ระบบออฟเซ็ท หรือ กระดาษถ่ายเอกสาร Idea GreenEco Edition ที่ใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ผลิตภัณฑ์จนถึงบรรจุภัณฑ์ โดยการห่อด้วยกระดาษคราฟท์และพิมพ์ ด้วยหมึกออฟเซ็ท water base แล้ว ยังมีการจัดทำ�โครงการที่เกี่ยวเนื่องไป กับสินค้าอีกด้วย เช่น Idea : Bag To Schoolซึ่งเป็นโครงการที่เก็บรวบรวม เปลือกห่อของกระดาษ Idea Eco Edition มาผลิตเป็นกระเป๋าเพื่อมอบให้ กับน้องๆ ที่ขาดแคลน จากการที่สมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 7 โดยปีนี้มุ่งเน้นอุตสาหกรรมสีเขียวเป็นหลักนั้น SCG PAPER มีความคิดเห็นเป็นอย่างไรบ้าง..? SCG Paper ได้สนับสนุนการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติมาตลอด ตัง้ แต่การประกวดครัง้ ที่ 1 จนถึงครัง้ ปัจจุบนั และขอชืน่ ชม Theme ของการ ประกวดในครัง้ ที่ 7 “Going Green For The Better Planet” ว่าเป็นสิ่งที่ดี มากเข้ากับกระแสรักษ์โลก และยังสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกับนโยบาย การทำ�ธุรกิจของทาง SCG Paper อีกด้วย การที่สมาคมการพิมพ์ไทยได้กำ�หนด Theme การประกวดให้คำ�นึง ถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมสีเขียวและมีการเพิ่มรางวัลพิเศษให้แบบ ในครั้งนี้ น่าจะทำ�ให้อุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยตื่นตัวและให้ความสำ�คัญ 118 ThaiPrint Magazine
กั บ อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย วมากขึ้ น และจะเป็ น แรงผลั ก ดั น ที่ สำ � คั ญ ให้ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ไ ทยเติ บ โต เป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับใน ระดับโลก นำ�มาซึ่งการเปิดโอกาส ให้เกิดการจ้างผลิสิ่งพิมพ์จากนานา ประเทศกว่าอดีตที่ผ่านมา ทั้งนี้ผมเชื่อว่าหากทุกภาค ส่วนหันมาให้ความสำ�คัญและใส่ใจ ที่จะดูแลสิ่งแวดล้อม ภาคธุรกิจหรือ อุตสาหกรรมต่างๆ ก็มุ่งสู่อุตสาหกรรมสีเขียว จะทำ�ให้เราเติบโตไป อย่างยั่งยืนร่วมกันได้อย่างแน่นอน ครับ
Print News ข่าวประชาสัมพันธ์ นางสาว ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร (ขวา) นายกรัฐมนตรี มอบโล่ประกาศเกียรติคุณ ให้แก่ มร.โคจิ เทสึกะ (ซ้าย) ประธาน บจก. ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) ในฐานะที่ ฟูจิ ซีร็อกซ์ เป็ น องค์ ก รภาคเอกชนที่ ท� ำ ประโยชน์ เ พื่ อ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยเข้าร่วมในกิจกรรม “แนวร่วมดูแลคูคลอง” หนึ่งใน “โครงการรวม แรงไทย น�ำ้ ใสทุกคูคลอง” ของกระทรวงการคลัง ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์
มร. โคจิ เทสึกะ (ซ้าย) ประธาน บจก. ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) ให้เกียรติเป็นประธาน ในพิธีมอบทุนการศึกษาของมูลนิธิฟูจิซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�นวน 200,000 บาท เพือ่ เป็นทุน สนับสนุนการศึกษาให้แก่ นายฟุรซาน สาและ (ขวา) นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ภาค วิ ช าเทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ คณะครุ ศ าสตร์ อุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ณ หอเกียรติยศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุร ี ในฐานะผูส้ นับสนุนหลัก “งานประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 7” มร. โคจิ เทตสึกะ (ขวา) ประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้ให้เกียรติกล่าวสุนทรพจน์เพื่อปลูกฝัง จิตสำ�นึกให้ภาคอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ร่วมกัน สร้างอุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์สเี ขียว (Green Industry) ควบคู่ ไปกับการรักษางานพิมพให้ ุ ภาพพร้อม ์ มคี ณ ทั้งมอบรางวัลชนเลิศ สาขา Best in Digital Printing ให้แก่ นายสมเพ็ชร เจียรมณีทวีสนิ (ซ้าย) กรรมการผู้จัดการ บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จำ�กัด ณ ห้องคอนเวนชัน่ ฮอลล์ บี โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ThaiPrint Magazine 119
(ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม)
ad App-member-mac19.indd
1
1/11/10 5:03:36 PM
119 Ad S.G.S pc1.indd 1
7/9/2555 3:53:28
Print Technology
UV LED INK เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา เทคโนโลยีการพิมพ์ได้ก้าวไปอีกขั้น โดยมีการพัฒนาและนำ� UV LED มาใช้ ในวงการพิมพ์หมึก UV โดยมีจุดเน้นด้านรักษาสิ่งแวดล้อมและยังคงให้คุณภาพงานพิมพ์ที่สูง โดยมีการปรับปรุง ทั้งในส่วนของหมึกพิมพ์ UV-LED มีความจำ�เพาะที่ความยาวคลื่นที่ 375-385-395 nm ดังนั้นหมึก UV ที่ใช้จึงต้อง มี photoinitiator ที่มีสมบัติจำ�เพาะต่อความยาวคลื่นนั้น และมีระบบ lamp ที่พิเศษ ดังนั้น ในฉบับนี้ กระผมนาย iiK จึงขอแนะนำ�เทคโนโลยีดังกล่าว รวมทั้งเรื่องราวที่น่าสนใจ เพื่อให้ ท่านผู้อ่านได้ก้าวตามเทคโนโลยีดังกล่าว และหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในฐานะเป็นข้อมูลส่วนหนึ่งในการตัดสินใจ การติดตั้งเครื่อง UV LED ด้วย
Figure 1 หลอดไฟ UV LED
แผนภาพคลื่นรังสีต่างๆที่ได้จากหลอดไฟ UV ซึ่งตามปกติแล้วจะให้ความยาวคลื่นทุกๆ ความยาวคลื่น มีเข้มหรือความสูงต่ำ� แตกต่างกัน นับตั้งแต่ 200 นาโนเมตรจนถึง 500 นาโนเมตร ซึ่งสำ�หรับหลอดไฟ UV LED นั้น จะให้ความยาวคลื่นเดี่ยวเท่านั้น (กรอบสีเขียว) ซึ่งมีข้อดี คือ ไม่ทำ�ให้เกิดก๊าซพิษโอโซนในช่วงความยาวคลื่นที่ 200-350 นาโนเมตร (กรอบสีม่วง) และไม่ก่อให้ เกิดความร้อนที่ 400 -500 นาโนเมตร (กรอบสีแดง) 122 ThaiPrint Magazine
อินเตอร์อิ้งค์ ข้อดีของเทคโนโลยีของ UV LED • ไม่ปล่อยรังสีอันตราย UVC และก๊าซโอโซน • ไม่ส่งคลื่นความร้อนรังสี IR เหมือนหลอดไฟ UV แบบดัง้ เดิม จึงสามารถวิง่ งานได้ยาวและไม่กระทบต่อการแบนงอตัวของกลุม่ วัสดุใช้พมิ พ์ ประเภทพลาสติก • ไม่ตอ้ งติดตัง้ การท่อระบายอากาศหรือพัดลมเหมือนแบบดัง้ เดิม เนื่องจากรังสี UV LED ที่ให้ความยาวคลื่นที่สเปกตรัมเพียงช่วง 370 nm นั้น ไม่ก่อให้เกิดก๊าซโอโซน ซึ่งเป็นก๊าซพิษและมีกลิ่นเหม็น • ความสม่ำ�เสมอของรังสี UV ที่ได้ -> ทำ�ให้งานพิมพ์ที่ได้มี คุณภาพสม่ำ�เสมอ • หลอดไฟ UV LED มีอายุโดยเฉลี่ยประมาณ 20,000 – 30,000 ชั่วโมง เมื่อเทียบกับหลอด UV แบบดั้งเดิม 1,000 -2,000 hours • ประหยัดพลังงาน (>60%) ทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นหลอด UV เอง รวมถึง เครื่องปรับอากาศและการระบายอากาศที่ใช้บริเวณโรงพิมพ์ • หลอด LED เองมีใช้พลังงานโวลต์ที่ต� ่ำ ทำ�ให้มีอาชีวอนามัยที่ดี มีความปลอดภัยในสถานทำ�งาน • เปิดปิดไฟได้ทนั ที ไม่ตอ้ งรอวอล์มอัพเพือ่ รอให้ไฟ UV นิง่ ไม่ตอ้ ง เสียเวลาในการพิมพ์ • รังสีจาก LED มีทิศทางที่ค่อนข้างมีทิศทางจำ�เพาะ ไม่ท�ำ ให้เกิด การรัว่ ไหลของรังสี จึงไม่ท�ำ ให้หมึกพิมพ์ UV ทำ�อยู่นอกบริเวณได้รับผล กระทบจากรังสีที่รั่วไหลนี้ ทำ�ให้แห้งตัวได้ • ขนาดกะทัดรัด ไม่สิ้นเปลืองพื้นที่ • หลอด UV LED ไม่ใช่เป็นเครื่องจักรเชิงกล ทำ�ให้สามารถทำ�การ บำ�รุงรักษาและการควบคุมใช้งานที่สะดวก • UV LED ไม่ได้ท�ำ จากโลหะเป็นพิษ เช่น ปรอท ข้อเสียของเทคโนโลยีของ UV LED • ช่วงความยาวคลื่นแคบ บางครั้งอาจมีระดับพลังงานไม่เพียงพอ ต่อการแห้งตัวของหมึก UV โดยเฉพาะการพิมพ์กลุ่มสีหนักและต้องการ ความยึดเกาะที่สูง ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องเลือกใช้หมึก UV จำ�เพาะสำ�หรับ UV LED ซึ่งจะใช้สารเร่งปฏิกิริยารังสี-สสาร หรือ Photo initiator ทั้งในเชิง คุณภาพและปริมาณให้ตรงและมีปฎิกิริยาที่สอดคล้องกับความยาวคลื่น ช่วงนั้นๆ • พลังจากหลอดไฟ UV LED ที่น้อยกว่า ทำ�ให้ต้องติดตั้งหลอดไฟ ให้ใกล้กับวัสดุใช้พิมพ์ให้ใกล้มากขึ้น
ThaiPrint Magazine 123
Print Technology ตารางเปรียบเทียบเชิงเทคนิค LED
หลอด UV ทัว่ ไป
ความยาวคลื่น
365nm/385nm/400nm
250-600nm
ลักษณะของคลื่น
ความยาวคลื่นเดี่ยว
มีหลายช่วงคลื่น
การใช้พลังงาน
น้อย
มาก
ความเป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม ไร้สารปรอท
มีปรอท
การเปิ ดปิ ดไฟ
ทันที ON/OFF
4 minute warm up
อายุหลอดไฟ
>20,000 hours
3,000 to 4,000 hours typical
ขนาดของจุดพิมพ์
3-12mm)
ชึ้นอยูก่ บั ชนิดและอายุหลอด UV
การยึดเกาะของสิ่ งพิมพ์
มีให้เลือกน้อย แต่กาํ ลังเติบโต
มีมากชนิดให้เลือก
การเลือกวัสดุใช้พิมพ์
เน้นกลุ่มที่ไวต่อความร้อน เช่น ฟิ ล์มบางๆ พลาสติกบางๆ
มีความหลากหลาย
โฟม กระดาษ ซึ่งจะให้ผลการพิมพ์ที่ดี
สำ�หรับบริษัท อินเตอร์อิงค์ จำ�กัด ได้ร่วมมือกับ T&K Toka ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นผู้น�ำ ด้านหมึก UV ได้ พัฒนาหมึก UV LED ที่มีคุณภาพสูง พิมพ์งานแล้วไม่ ซีดเหลือง โดยแบ่งเป็น 2 Series เพื่อใช้กับ substrates ที่แตกต่างกันดังนี้ • สำ�หรับกลุ่มพลาสติก • สำ�หรับกลุ่มกระดาษ ท่านผู้อ่านที่สนใจ สามารถติดต่อเพื่อขอข้อมูล เพิ่มเติมได้กับทางบริษัทฯ mkt@inter-ink.com
124 ThaiPrint Magazine
PrintเนชัNews ่นไวด์
จัดงาน Open House แนะนำ�
ทีมผู้บริหารจาก CRON Asia Pacific ร่วมถ่ายภาพ กับทีมผู้บริหารของบริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด
เมือ่ วันที่ 25 – 26 ตุลาคม ทีผ่ า่ นมา บริษทั เนชัน่ ไวด์ จำ�กัด ได้จดั งาน Open House “CRON” Beyond Just CtP ขึ้น ณ อาคารเนชั่นไวด์ เพื่อแนะนำ� เครื่อง CtP ระบบ UV ยี่ห้อ “CRON” โดยได้รับเกียรติจาก Mr.Kenny Lai – Managing Director Asia Pacific และ Mr.Dominic Leong – Marketing Director Asia Pacific มาร่วมพูดคุย และแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ กั บ บรรดาผู้ เข้ า ร่ ว มงานอย่ า งอบอุ่ น และเป็นกันเอง บรรยากาศภายในงานเต็มไป ด้วยความคึกคัก เริ่มจากการแนะนำ� “CRON” เครื่อง CtP ระบบ UV ที่มี ยอดติดตั้งทั่วโลกกว่า 1,800 เครื่อง ตัวเครื่องทำ�งานด้วยระบบ External Drum ซึ่งเป็นระบบที่ผู้ผลิตเครื่อง CtP ชัน้ นำ�ของโลกเลือกใช้ เนือ่ งจาก สามารถสร้างเม็ดสกรีนที่คมชัดกว่า ได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงการพัฒนา ระบบแหล่งกำ�เนิดแสงให้เป็นรูปแบบ
Beyond Just CtP เครื่อง CtP ระบบ UV
บรรยากาศการทดสอบประสิทธิภาพและการทำ�งานของ “CRON” เครื่อง CtP ระบบ UV
เดียวกับระบบ Thermal คือ ใช้หัว Laser Diode ที่มีคุณภาพสูงและอายุการ ใช้งานยาวนานจากประเทศญีป่ นุ่ โดยทีต่ วั เครือ่ ง CtP ระบบ UV ของ “CRON” สามารถต่อพ่วงกับตัวป้อนเพลท, เครือ่ งล้างเพลทและตัวเก็บเพลท แบบ Full Automation ในราคาที่คุ้มค่ากว่าเมื่อเทียบกับระบบอื่นๆ ต่อจากนัน้ ผูเ้ ข้าร่วมงานได้ชมการทดสอบประสิทธิภาพและการทำ�งาน ของเครื่อง “CRON” CtP ระบบ UV รุ่น 4632E ที่มีความเร็วในการสร้างภาพ 17 แผ่นต่อชั่วโมง ด้วยหัวเลเซอร์ 32 หัว ที่สามารถเปลี่ยนได้ทีละหัวโดยไม่ ต้องเปลี่ยนยกชุด ซึ่งการทดสอบประสิทธิภาพและการทำ�งานของเครื่อง ภายในงานมีด้วยกันทั้งหมด 3 รูปแบบ คือ • คุณภาพของเม็ดสกรีนที่สามารถเก็บได้ที่ 1-99% โดยคุณภาพของ เม็ดสกรีนที่ได้ไม่แตกต่างจากระบบ Thermal • ความเสถียรของเครื่อง “CRON” CtP ระบบ UV ที่สามารถยิงงาน ได้คุณภาพดีและคงที่เหมือนกันในแต่ละวัน • ระบบ Registration ของเครื่อง “CRON” CtP ระบบ UV ที่เที่ยงตรง ในเพลทแต่ละสี ช่วยให้ประหยัดเวลาในการตั้ง เพลทบนแท่นพิมพ์ และ ไม่ต้องกังวลเรื่อง Registration ของงานพิมพ์ เมื่อมีการซ่อมเพลทบางสี หลังจากจบการบรรยายและทดสอบการทำ�งานของเครือ่ ง ผูเ้ ข้าร่วมงาน ต่างพากันมั่นใจในประสิทธิภาพและคุณภาพของเครื่อง “CRON” UV CtP และวางใจด้วยประสบการณ์การดูแลและติดตั้งเครื่อง CtP โดยทีมงานของ บริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด สนใจสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมเกีย่ วกับ “CRON” เครือ่ ง CtP ระบบ UV ได้ที่โทร. 02-332-4470 ThaiPrint Magazine 125
Print News
โรคเส้นเลือดสมองตีบ
โดย นพ.เขษม์ชัย เสือวรรณศรี (อายุรแพทย์ประสาทวิทยา)
ผ่านไปแล้วครับ สำ�หรับงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครัง้ ที่ 17 BookExpo Thailand 2012 ระหว่างวันที่ 18-28 ตุลาคม 2555 ณ ศูนย์ การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึง่ งานนีส้ ร้างความประทับใจมากครับ เพราะ เห็นผู้คนหรือบรรดาหนอนหนังสือแห่แหนเบียดเสียดกันเข้าไปในงาน อย่างคับคั่ง ทำ�ให้สัมผัสได้ว่ากระแสการอ่านของไทยเรา ก็ยังถือว่า ยังมีการตื่นตัวเรื่องการอ่านกันอยู่ดูจากสำ�นักพิมพ์ต่างๆ ก็นำ�หนังสือ มาจัดแสดงกันหลากหลายของประเภทหนังสือ ซึง่ การเดินทางเข้าชมนัน้
126 ThaiPrint Magazine
ต้องขอแนะนำ�ว่าใช้รถสาธารณะ จะสะดวกที่สุดครับ เพราะเรื่อง ที่จอดรถนั้นอาจจะสร้างปัญหา ขึน้ ได้ เนือ่ งจากผูค้ นหลัง่ ไหลมา ทัว่ สารทิศ แต่ถา้ จำ�เป็นจริงๆ ที่ จะต้องนำ�รถส่วนตัวมา ทางศูนย์ การประชุมก็ได้จัดเตรียมที่จอด รถเพิม่ เติมไว้ให้เช่นกัน แต่จะไกล ออกไปจากศูนย์การประชุมแถว โรงงานยาสูบ แต่ก็ไม่ต้องกังวล ใจเพราะมีรถสองแถวไว้บริการ ฟรีให้กับผู้ที่นำ�รถไปจอดบริเวณ นั้น ตลอดระยะเวลาการจัดงาน 11 วันนั้น มีกิจกรรมมากมาย อย่างเช่น ในวันแรกมีการแข่งขัน อมรินทร์ยอดอัจฉริยะรอบ Final หมวดวิทยาศาสตร์ จัดโดยบริษทั อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิง จำ�กัด ในวันต่อมามีการประกวด เล่ า นิ ท านจากวรรณกรรมและ
งานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 17
นิทานพืน้ บ้านไทยระดับประถมศึกษา ซึง่ เป็นกิจกรรม ที่ดีมาก มีการสนับสนุนให้เด็กรักในการอ่าน จัดโดย บริษัท สกายบุ๊กส์ จำ�กัด และในวันเดียวกันมีอีก กิจกรรมที่น่าสนใจมาก คือ เทคนิคสร้างห้องเรียน 2 ภาษา ด้วยการเพิ่มพูนคลังศัพท์และพัฒนาทักษะ การอ่านจัดโดยบริษัท ซีเอ็ดยูเคชัน่ จำ�กัด (มหาชน) และที่น่าสนใจที่สุด สำ�หรับโครงการอบรมเชิงปฏิบัติ การเรื่อง พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้วยกิจกรรมส่งเสริม การพูดการออกเสียง วิทยากร โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการเรื่อง ”พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อก้าว สูป่ ระชาคมอาเซียน ด้วยกิจกรรมส่งเสริมการพูดการ ออกเสียงวิทยากรโดย อาจารย์ ดร.ศิตา เยีย่ มขันติถาวร จัดโดยสำ�นักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็น โครงการทีน่ า่ ให้ความสนใจอย่างยิง่ นอกจากนัน้ ยังมี กิจกรรมอื่นๆ อีกมากมายที่น่าสนใจ ดูจากจำ�นวน ผูท้ เ่ี ข้าร่วมงานมีจ�ำ นวนเป็นหมืน่ ต่อวัน ทีเ่ ข้ามาเยีย่ ม ชมงาน ทำ�ให้เข้าใจได้วา่ ยังมีผทู้ น่ี ยิ มหรือยังรักในการ อ่านรูปแบบหนังสือเล่มอยูม่ าก ถึงแม้กระแส E-BooK จะมีแนวโน้มทีจ่ ะเติบโตขึน้ เรือ่ ยๆ จากข่าวทีน่ า่ สะดุด ใจจากทีมงานคือวงการหนังสือถึงขัน้ วิกฤตแล้วจริงๆ หรือ เมื่อตัวเลขดัชนีการอ่านพบว่า สถานการณ์การ อ่านของคนไทยเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ThaiPrint Magazine 127
Print News
ประเทศไทยมีปริมาณการอ่านต่ำ�กว่าประเทศอื่น มาก โดยเฉพาะเมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศอาเซียน ด้วยกันแล้ว อย่างเช่น ประเทศเวียดนาม มีปริมาณ การอ่านเฉลี่ย 60 เล่มต่อปี ประเทศสิงคโปร์ 40-60 เล่มต่อปี ประเทศมาเลเซีย 40 เล่มต่อปี ประเทศ ญีป่ นุ่ 50 เล่มต่อปี ประเทศเกาหลีใต้ 52.2 เล่มต่อปี ประเทศสาธารณรัฐเช็ค 16 เล่มต่อปี และประเทศไทย 94 นาทีต่อวัน (ปี 2552) ในขณะที่รัฐบาลมีนโยบาย ที่จะเพิ่มการอ่านเป็น 10 เล่มต่อปีในปี 2555จาก ข้อมูลข้างต้นจะเห็นได้ว่าประเทศพัฒนาแล้วใน ภูมิภาคเอเชีย เช่น ญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ จะมีอัตรา การรู้หนังสือของประชากรผู้ใหญ่ที่ค่อนข้างสูงมาก ดังนั้น รัฐบาลของไทยเราจึงควรมีการกำ�หนดเป้า หมายที่ชัดเจน ในการส่งเสริมให้คนไทยรักการอ่าน หนังสือเพิ่มขึ้น รวมถึงในระดับครอบครัวเองก็มี ส่วนสำ�คัญในการช่วยส่งเสริมการอ่านให้กับบุตร ของตน ให้เห็นความสำ�คัญในการอ่านและทำ�เป็น ตัวอย่างให้กบั ลูกของท่านเห็น เพือ่ เป็นการกระตุน้ จิตสำ�นึกให้เด็กไทยรักในการอ่านมากยิ่งขึ้น
128 ThaiPrint Magazine
AD SCG#2012_18_M2.indd 18
19/9/2555 11:12
Young Printer
จิรานุช ชุนเจริญ
บริษัท พงษ์พัฒน์การพิมพ์ จำ�กัด “ สวัสดีครับท่านผูอ้ า่ นทีเ่ คารพรักทุก ท่าน ตอนนีค้ ณะกรรมการ YPG ชุดเก่าก็ได้ หมดวาระไปเรียบร้อยเเล้ว และก็มกี ารเลือกคณะ กรรมการ YPG ขึน้ มาใหม่ ฉบับนีเ้ ราลองมา ทำ�ความรูจ้ กั กับ คุณจิรานุช ชุนเจริญ หรือ คุณบี คณะกรรมYPG รุน่ ใหม่ไฟแรงทีจ่ ะเข้ามา ช่วยผลักดันให้กจิ กรรมของสมาคมการพิมพ์ ไทย มีการพัฒนาและช่วยเหลือให้อตุ สาหกรรม การพิมพ์ไทยมีการเติบโตต่อไปอย่างไม่หยุดนิง่ เรามาลองทำ�ความรูจ้ กั กับเธอได้เลยครับ ” ความชื่ น ชอบที่ มี ต่ อ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การ พิมพ์ของครอบครัวเป็นอย่างไรบ้าง?
บีคลุกคลีกับการพิมพ์มาตั้งแต่เด็กๆ ค่ะ เพราะ พ่อแม่และพี่ชายบีให้ทำ�งานมาตั้งแต่ยังเล็ก โดยทำ�งาน ไปเรียนไปควบคู่กัน เลยพอรู้ว่าธุรกิจการพิมพ์นั้นมันมี รายละเอียดทีค่ อ่ นข้างเยอะ ทำ�ให้เราต้องเป็นคนรอบคอบ ตลอดเวลาแล้วก็ต้องหมั่นเรียนรู้อะไรใหม่ๆ ไม่อย่างงั้น อยากจะให้แนะน�ำตัวเองสั้นๆ ก่อนจะถาม เราจะตามและเอาชนะคูแ่ ข่งไม่ทนั เพราะวงการนีม้ กี าร แข่งขันที่ค่อนข้างสูง แต่ตอนนี้โชคดีที่ได้เข้ามาร่วมงาน ค�ำถามต่อไป? สวัสดีคะ่ ชือ่ “จิรานุช ชุนเจริญ” ชือ่ เล่นว่า “บี” ค่ะ กับสมาคมการพิมพ์ไทยเลยทำ�ให้บีมีเพื่อนๆ ในวงการ บีเพิ่งเรียนจบปริญญาตรี ที่ Oxford Brookes University, เดียวกันแล้วสามารถช่วยเหลือบีได้อย่างดีมากๆ เลยค่ะ UK Major: Business and Marketing Management and Minor: Japanese จากประเทศอังกฤษค่ะ แล้วกลับมา บทบาทและหน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบกั บ งานธุ ร กิ จ เมืองไทยได้สักระยะหนึ่งแล้วค่ะ โดยส่วนตัวแล้วบีเป็น เกี่ยวกับการพิมพ์มีอะไรบ้างและมีความยาก คนรักอิสระ มีความเป็นตัวของตัวเองสูง และไม่ชอบ หรือไม่? บีกลับมาไทยจริงๆ ก็แค่ไม่กเ่ี ดือนเองค่ะ แต่ตง้ั แต่ อะไรจุกจิกยุ่งยาก ชอบใช้ชีวิตง่ายๆ สบายๆ หรือเป็น คน Chill Chill ค่ะ และก็ชอบ Hang Out กับเพื่อนๆ ค่ะ กลับมา ยังไม่มีโอกาสได้ Chill เลย เพราะว่าต้องเริ่ม ทำ�งานทันที ตอนนีบ้ รี บั ผิดชอบในส่วนของการตลาดค่ะ ^_^ บีต้องติดต่อลูกค้าทั้งไทยและต่างประเทศ ซึ่งเป็นเรื่อง 130 ThaiPrint Magazine
จิรานุช ชุนเจริญ
ที่ยากสำ�หรับบีค่ะ เพราะบีต้องเรียนรู้ตลอดเวลาตั้งแต่กระบวนการพิมพ์ทั้ง ก่อนและหลังอีกทั้งยังต้องปรับเปลี่ยนวิธีการพูด ในเวลาเราเจรจาธุรกิจกับ คนไทยและคนต่างประเทศ เพราะมี Style ที่ไม่เหมือนกันค่ะ โดยความ เห็นส่วนตัว บีว่าธุรกิจการพิมพ์เป็นเรื่องที่ไม่ยาก แต่ต้องมีใจพร้อมทั้งอาศัย เวลาและทำ�ความเข้าใจกับมันค่ะ รวมไปถึงการที่จะต้องทำ�อย่างไรในการ รักษาฐานลูกค้าของเราให้ยง่ั ยืน เพือ่ จะได้สบื ทอดธุรกิจโรงพิมพ์ของพ่อแม่ เราให้เจริญรุ่งเรืองต่อไปในอนาคตค่ะ
และผลของมัน พอเราหลับแล้วตื่น ขึ้นมา เดี๋ยวมันก็ลืมๆ ไปเอง ไม่ต้อง คิดมากให้เสียเวลา สูเ้ อาเวลาไปเรียน รูแ้ ละแก้ไขให้ดขี น้ึ กว่าเดิมจะดีกว่าค่ะ
บอกตามตรงเลยค่ะว่าตั้งแต่กลับมายังไม่ค่อยมีเวลาให้กับตัวเอง เลยค่ะ เพราะตอนนี้ต้องตื่นแต่เช้า แล้วทำ�งานถึงเที่ยงคืน ตีหนึ่งตีสอง เกือบทุกวันเลยค่ะ เพราะว่าบีต้องรับผิดชอบทั้งธุรกิจการพิมพ์และธุรกิจ ผลิตภัณฑ์บำ�รุงผิวอีกด้วยค่ะจึงทำ�ให้มีเวลาที่น้อยมากๆ แต่ก็พยายามหา เวลาให้กบั ตัวเองค่ะ เช่น ไปวิง่ Jogging ทานข้าวกับพ่อแม่และเพือ่ นๆ ฟัง เพลงคลาสสิกหรือเป่า Flute เพื่อเป็นการผ่อนคลายความเครียดค่ะ ^_^
มั ก จะคิ ด ฝั น เสมอว่ า อยากจะเป็ น อย่างนัน้ อย่างนี้ แต่ในชีวติ จริงพอ เติบโตมา บางครัง้ สิง่ ทีเ่ ราฝันมักจะ ไม่เป็นจริงเสมอไป แต่ตัวบีเองเเล้ว บีคิดว่าบีโชคดีกว่าคนอื่นๆ เพราะ เรามีธุรกิจเป็นของตัวเอง บีไม่ต้อง เป็นลูกจ้างใคร แต่เป็นลูกจ้างให้พ่อ แม่ของเราเนีย่ แหละ ดีทส่ี ดุ แล้ว เพราะ ไม่ต้องมีความกดดันมากนัก เนื่อง จากพ่อแม่บีเป็นคนใจดี ปล่อยให้ ทำ � ในสิ่ ง ที่ บี อ ยากทำ � บนพื้ น ฐาน ของความถูกต้อง ยิ่งไปกว่านั้น แม่บี คอยสอนบีอยู่เสมอว่า คนเราต้อง ภูมิใจในสิ่งที่มี เค้าบอกว่า “ดูอย่าง เด็กข้างถนนสิ พวกเขาต้องนัง่ ขอทาน
อาชีพที่ทำ�เกี่ยวกับการพิมพ์ คิดว่าเราโชคดีกว่าคนอื่นหรือ ไม่ที่เกิดมาอยู่ในครอบครัวที่ แบ่งเวลาอย่างไรระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัวมีเวลาให้กับตัว ทำ�ธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ์? เมือ่ ก่อนตอนเด็กๆ คนเรา เองมากแค่ไหน?
อุปสรรคทีเ่ กิดขึน้ กับงานมีอะไรบ้างและเรามีวธิ แี ก้ไขอย่างไรถึง ผ่านพ้นไปได้? อย่างที่บีเล่าไปข้างต้นว่า บีเริ่มทำ�งานมาตั้งแต่เด็กๆ จึงเจอปัญหา ตลอดเวลา อย่างทีร่ ๆ ู้ กัน เราให้ความสำ�คัญกับลูกค้ามาก เพราะพวกเขาสัง่ งานพิมพ์กบั เรา ดังนัน้ เราก็จะเจอลูกค้าหลายประเภท จนบางคร้ังก็ท�ำ ให้ บีหวั เสียเหมือนกัน แต่ตอนนีเ้ ริม่ ปลงแล้วค่ะ เพราะสิง่ หนึง่ ทีบ่ เี ข้าใจธรรมชาติ ของมนุษย์ คือ คนเราต้องการได้สง่ิ ทีด่ ที ส่ี ดุ สำ�หรับตัวเอง ดังนั้น บีจึงต้อง เข้าใจ เพราะจะได้ไม่ทำ�ให้ตัวเองเสียสุขภาพจิตค่ะ เพราะทุกอย่างมีเหตุ
ThaiPrint Magazine 131
Young Printer
ตอนนี้ยังโสดอยู่หรือมีครอบครัวแล้วแบ่งเวลาอย่างไรให้กับ ครอบครัวที่เรารักบ้าง ?
โสดค่ะ ตอนนี้แฟนบี คือ งานบอกได้เลย ทำ�งานจนหัวฟูแล้ว 555 เพราะต้องรับผิดชอบสองธุรกิจควบคู่กันไป โดยแต่ละธุรกิจมีรายละเอียด ที่เยอะมากๆ จึงทำ�ให้ต้องใส่ใจอยู่ตลอดเวลาและต้องตามทุกอย่างให้ทัน ส่วนใหญ่วันธรรมดาช่วงเย็นๆ บีกจ็ ะไปกินข้าวกับเพือ่ นๆ หากเป็นวันเสาร์ อาทิตย์กใ็ ช้เวลาอยูก่ บั ทีบ่ า้ นค่ะแล้วก็กลับมาทำ�งานต่อค่ะ ชีวติ บีกเ็ รียบง่าย สบายๆ ค่ะ แต่เป็นคนชอบค้นคว้าหาอะไรทำ�ใหม่ๆ อยูเ่ สมอๆ เพือ่ จะได้ ไม่ปล่อยเวลาให้เสียเปล่าค่ะ
มีกิจกรรมอะไรบ้างกับครอบครัวที่ทำ�เป็นประจำ�?
ทุกคนในบ้านล้วนแต่มีกิจกรรมเป็นของตัวเองค่ะ แต่ทุกวันอาทิตย์ ส่วนใหญ่บีและครอบครัวก็จะอยู่บ้าน แล้วก็พาพ่อแม่ไปกินข้าวแล้วก็เดิน เล่นในสถานที่ใหม่ๆ ค่ะ เพราะปาป๊ากับมาม๊าอายุมากแล้ว รวมไปถึงต้อง ทำ�งานหนักทุกวันบีก็เลยอยากให้พวกเขาผ่อนคลายแล้ ว ก็ เ ห็ น ที่ ใ หม่ ๆ ไปวันๆ หรือเด็กขายพวงมาลัย บี แปลกๆ จะได้เป็นการเปิดหูเปิดตาไปในตัวด้วยค่ะ อยากเป็นแบบนั้นหรือเปล่า” บีตอบ ี ่อยอดมาจากรุ่น ได้เลยว่า ไม่อยากเป็น เพราะรู้ว่า เราได้คิดพัฒนาธุรกิจด้านเกี่ยวกับการพิมพ์ท่ต ิ ว่าทำ�ขึน้ ให้ดกี ว่าจากเดิม? ชีวิตต้องลำ�บากอย่างไร บีจึงคิดว่า ก่อนๆ มีอะไรบ้างทีค่ ด คิดค่ะ คิดตลอดเวลา แต่ยงั ทำ�ไม่ได้ เพราะเดีย๋ วติดนัน่ ติดนี่ บีคดิ ว่า ธุ ร กิ จ การพิ ม พ์ ข องเราดี ท่ีสุด แล้ ว เพราะถ้าเราไม่ท�ำ แล้ว เราจะปล่อย ตอนนี้การพิมพ์ในระบบ Digital มาแรงมากๆ นักลงทุนหลายๆ คน กิจการที่พ่อแม่ของเราสร้างมาด้วย หันไปลงทุนกับระบบนี้มาก จึงทำ�ให้บีตื่นเต้นมากในการที่จะก้าวไปลงทุน ความเหน็ดเหนื่อยให้หายไปกับตา ในระบบนีอ้ ย่างเต็มตัวแต่ระบบ Offset ก็ยงั ต้องมีอยู่ เพราะสามารถตอบโจทย์ หลายๆ ปัญหาได้คะ่ รวมไปถึงสมัยนีก้ ารจะทำ�ธุรกิจอะไรก็แล้วแต่ ล้วนต้อง ได้หรอกค่ะ 132 ThaiPrint Magazine
จิรานุช ชุนเจริญ
ใช้ หั ว คิ ด ตลอดเวลากั บ การเป็ น Creator ผู้คนสมัยนี้ต้องการอะไร แปลกๆ ใหม่ๆ ที่คนอื่นเค้ายังไม่ ทำ�กัน จึงทำ�ให้บีต้องคิดตลอดเวลา แล้วก็ Update ข่าวสารใหม่ๆ อยู่ เสมอ เพือ่ จะได้สบื ทอดธุรกิจการพิมพ์ ให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืนยิ่งๆ ขึ้น ไปค่ะ
รูส้ กึ อย่างไรกับกิจกรรมต่างๆ ที่ ทางสมาคมจัดขึน้ ประทับใจตรง ไหนบ้างและกิจกรรมทีช่ อบเป็น พิเศษ? บีดใี จมากค่ะ ทีไ่ ด้เข้าร่วมทำ� กิจกรรมกับสมาคมหลายๆ อย่างและ การเป็น Young Printer ค่ะ บีดีใจ ที่ได้รู้จักคนใหม่ๆ ในวงการพิมพ์ทั้ง เด็กและผู้ใหญ่ ยิ่งไปกว่านั้นมันทำ� ให้บีได้เรียนรู้ว่า เงินซื้อความจริงใจ ไม่ได้ เพราะการเข้ามาเป็นสมาชิก ของสมาคมการพิมพ์ไทยนัน้ เราต้อง เสียสละเวลาของตัวเองส่วนหนึ่งใน การร่วมทำ�กิจกรรมต่างๆ กับทาง สมาคม อีกทัง้ บีรสู้ กึ ได้เลยว่า สมาคม
นี้มีแต่ความจริงใจให้กัน เพราะคนที่ ไม่จริงใจก็จะไม่สามารถอยู่สมาคมนี้ ได้ เพราะเพือ่ นๆ และพีๆ ่ มีแต่ชว่ ย กับช่วย สามารถเปลี่ยนจากศัตรูเป็น เพื่อนกันได้ค่ะ บีจึงมีความสุขแล้ว ก็เฮฮามากเวลาเจอทุกคนในสมาคม ค่ะ อย่างเช่น พี่ตั้ง นายกสมาคม การพิมพ์ไทย ตอนแรกที่บีเจอ พี่เค้า ก็เข้ามาคุยกับเราแล้วค่ะแล้วก็มคี วาม เป็นกันเองมาก ถึงแม้ว่านานๆ จะ เจอที จึงทำ�ให้บีมีความสุขและสนุก สนานทุกครั้งเวลาเจอพี่ตั้ง รวมไปถึง เวลาที่บีเจอสมาชิก Young Printer ด้วยกัน ส่วนใหญ่ก็จะพากันไปเฮฮา สนุกสนาน ทำ�ให้พวกเราสนิทกัน มากขึ้นค่ะ
เข้าเป็นสมาชิก Young Printer ได้อย่างไรและรู้สึกอย่างไรกับ ตำ�แหน่งนี้? บีเข้าเป็นสมาชิก Young Printer พร้อมกับเฮียเบ้นซ์ซ่งึ เป็นพี่ชายบีค่ะ แต่เนือ่ งจากตอนนัน้ บียงั เรียนอยูเ่ ลย ไม่คอ่ ยร่วมทำ�กิจกรรมกับทางสมาคม
มากนักจนตอนนีเ้ รียนจบเเล้วจึงกลาย เป็นสมาชิก Young Printer อย่าง เต็มตัว แล้วได้รับการโหวตให้เป็น รองประธานกรรมการ Young Printer ตอนที่ ไ ปทำ � กิ จ กรรมกั บ สมาคมที่ พัทยาค่ะ บีบอกได้ค�ำ เดียวเลยว่า อยู่ ในสมาคมนีส้ นุกสนานมากๆ เพราะ รู้สึกว่ามีกิจกรรมตลอดเวลา อย่าง เช่น นัดกันไปกินข้าวกันจนน้�ำ หนักขึน้ หรือร้องคาราโอเกะ เป็นต้น จึงมี ความสุขมากๆ ค่ะ เพราะ บีไม่ต้อง เกร็งตลอดเวลามีความเป็นตัวของ ตัวเองดี จึงไม่รู้สึกกดดันเลยค่ะใน การเป็นสมาชิก Young Printer อีกทั้ง ทำ�ให้บีเรียนรู้ว่า หากคนเรามีความ เห็นแก่ตัวเเล้ว ก็จะไม่สามารถทำ�ให้ เกิดสิ่งดีๆ ขึ้นมา แต่อย่างไรตรงกัน ข้ามหากคนเรามีน้ำ�ใจให้แก่กันและ กัน มันจะมีแต่ได้กับได้ค่ะ อย่างเช่น พี่แบ้งค์และพี่เบนซ์ที่ BB การพิมพ์ พวกพี่เขาคอยช่วยบีตลอดเวลา และ ไม่เคยปฏิเสธบีเลยค่ะ บีจึงประทับ ใจพวกเขามากค่ะ รวมไปถึงพี่ๆ ใน โรงพิมพ์อื่นๆ อีกด้วยค่ะ ThaiPrint Magazine 133
Young Printer
อยากจะฝากอะไรหรือแนะนำ�แนวคิดดีๆ ให้กบั สมาชิกรุ่นต่อๆ ไปไว้อย่างไรบ้าง?
บทบาทในการเป็นสมาชิกนั้นเราได้รับผิดชอบ ในส่วนไหนและรู้สึกอย่างไร?
บีดใี จค่ะในการเป็นสมาชิก Young Printer เราก็ จะรับผิดชอบคล้ายๆ กับคณะกรรมการ Young Printer ท่านอื่นๆ ทุกคนจะได้รับตำ�แหน่งคนละ 1 ตำ�แหน่ง แต่ในความเป็นจริงแล้ว ทุกคนในคณะกรรมการนี้ จะ ทำ�งานร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จึงทำ�ให้บีรู้สึกดี ที่ไม่ต้องทำ�งานคนเดียว อย่างเช่น ในการประชุมหารือ ต่างๆ เราก็จะได้รับหน้าที่ที่แตกต่างกันไป แต่พอเอา เข้าจริง ทุกคนก็ช่วยกัน ทำ�ให้งานเสร็จเร็วมากขึ้นค่ะ
134 ThaiPrint Magazine
บี อ ยากจะบอกทุ ก คนที่ ยั ง ไม่ ไ ด้ เ ป็ น สมาชิ ก Young Printer ว่าหากท่านไม่ลองเข้ามาเป็นสมาชิกดู ท่านก็จะไม่ทราบว่าสมาคมนี้เป็นอย่างไร สิง่ ที่บีบอก ไปเป็นอย่างไร อย่างเช่น ความจริงใจ ความสนุกสนาน และความเป็นพี่เป็นน้อง มันมีแต่ความสุขและการให้ จริงๆ ค่ะ จากประสบการณ์โดยตรงของบี บีไม่จำ�เป็น ต้องมานัง่ เสแสร้งต่อหน้าคนอืน่ ๆ บีมคี วามเป็นตัวของ ตัวเอง ประกอบกับพี่ๆ ที่อยู่ในสมาคมมีความเป็น Friendly มากๆ ค่ะ จึงทำ�ให้บีมีความสุขทุกครั้งที่ได้เข้า ร่ ว มทำ � กิ จ กรรมทุ ก กิ จ กรรมกั บ ทางสมาคมค่ ะ อาทิเช่น การเยีย่ มโรงพิมพ์ตา่ งๆ ทำ�ให้บไี ด้เรียนรูอ้ ะไร อีกเยอะ และสามารถนำ�มาปรับเปลีย่ นให้เข้ากับโรงพิมพ์ ของเราได้ดียิ่งขึ้น สุดท้ายนี้ บีอยากจะบอกว่าทุกท่าน จะได้ทราบถึงการอยู่ดี กินดี ทำ�งานหนักนั้น มันมีความ สุขแค่ไหนกับการที่ได้เป็นสมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย ค่ะ ^_^
88 A.B.C Printing#91_pc3.indd1 88 143Ad A.B.C printing_87-m19.indd
19/4/2555 6/15/11 15:53:25 3:18 AM
Print News
Maximize Your Advantage with เพิม่ แต้มต่อความได้เปรียบกับเอชพี กรุงเทพ, 12 ตุลาคม 2555 – เอชพีขยายไลน์เครื่องพิมพ์ Ink Advantage เพื่อตอบโจทย์ความ ต้องการของสถานศึกษาและธุรกิจขนาดเล็กทั้งโซโห (SOHO) ไมโครบิส (Micro-Biz) และเอสเอ็มบี รายย่อย (Small SMB) ที่ต้องการงานพิมพ์คุณภาพ และต้นทุนต่อแผ่นต่ำ� สามารถควบคุมค่าใช้จ่ายได้ คุณวัตสัน ถิรภัทรพงศ์ ผูจ้ ดั การทัว่ ไป กลุม่ ธุรกิจ การพิมพ์และคอมพิวเตอร์ บริษัทฮิวเลตต์จ�ำ กัด กล่าว ว่า (ประเทศ) แพคการ์ด- “เราพบว่าปัจจุบันกลุ่มธุรกิจ ขนาดเล็กหรือกลุ่มโซโห-ไมโครบิส ตลอดจนเอสเอ็มบี รายย่อย (Small SMB) เป็นฐานของธุรกิจที่มีการขยาย ตัวอย่างต่อเนื่องและท้าทายต่อผู้ผลิตผู้ให้บริการในการ เข้าสู่ฐานลูกค้ากลุ่มนี้ และเนื่องจากสภาวะการแข่งขัน ในปัจจุบันที่ธุรกิจต้องเผชิญกับต้นทุนต่างๆ ที่สูงขึ้น จึง ทำ�ให้มีแนวโน้มในความต้องการการใช้งานเครื่องพิมพ์ ที่มีคุณภาพและให้ต้นทุนต่อแผ่นต่ำ� เพื่อลดค่าใช้จ่าย ภายในองค์กรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี เอชพีเล็งเห็นโอกาส 136 ThaiPrint Magazine
ทางการตลาดนี้และภูมิใจนำ�เสนอเทคโนโลยีที่จะช่วย ตอบโจทย์ความต้องการของกลุ่มลูกค้ากลุ่มใหม่นี้ โดย รวมเอาคุณภาพงานพิมพ์และราคาที่จับต้องได้มาไว้ ด้วยกัน” จากการสำ�รวจตลาดและผู้ใช้งานจริงในกลุ่ม สถานศึกษาและธุรกิจขนาดเล็กทั้งโซโห (SOHO) ไมโคร บิส (Micro-Biz) และเอสเอ็มบีรายย่อย (Small SMB) แล้ว เอสพีมองว่ากลุม่ สถานศึกษามีความต้องการในการพิมพ์ ปริมาณมาก แต่มกั มีขอ้ จำ�กัดในเรือ่ งของงบประมาณ จึง ต้องการเครือ่ งพิมพ์ทม่ี รี าคาไม่แพง และมีตน้ ทุนการพิมพ์ ต่อแผ่นต่� ำ เพื่อให้สามารถบริหารจัดการงบประมาณ
HP
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านธุรกิจขนาดเล็กนั้นต้องการงานพิมพ์คุณภาพ และมีข้อจำ�กัดในเรื่องของบุคลากร โดยเฉพาะด้านไอทีเครื่องพิมพ์ที่ใช้จึง ต้องเป็นเครื่องพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพและเสถียรภาพ เพื่อให้สามารถทำ�งาน ได้อย่างราบรื่นไม่ติดขัด นอกจากนี้ ยังพบว่าผูใ้ ช้งานไม่วา่ จะภายในสถานศึกษาหรือในธุรกิจ ขนาดเล็ก ต่างประสบปัญหาจากการใช้เครือ่ งพิมพ์แบบหมึกแทงค์ เช่น หมึก พิมพ์ซึมเลอะเทอะ กระดาษติดเอกสารไร้คุณภาพ หัวพิมพ์อุดตัน ไปจนถึง ชิ้นส่วนอุปกรณ์ชำ�รุด จนต้องคอยส่งซ่อมเป็นประจำ� รวมถึงการดัดแปลง เครื่องพิมพ์ ที่ส่งผลกระทบต่ออายุการรับประกันเครื่อง เป็นต้น ปัญหา ต่างๆ ที่เกิดจากเครื่องพิมพ์แบบหมึกแทงค์นี้ ล้วนก่อให้เกิด “ต้นทุนแฝง” ทางธุรกิจ เนื่องจากผู้บริหารสถานศึกษาหรือธุรกิจขนาดเล็ก ต้องเสียเวลา ของทรัพยากรบุคคลในการจัดการเครื่องพิมพ์ รวมทั้งสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย ที่ต้องจ่ายไปกับการซ่อมแซมเครื่องพิมพ์แบบหมึกแทงค์ ส่งผลธุรกิจสะดุด หรือหยุดชะงักขณะต้องการงานพิมพ์
“ลูกค้าของเราไม่ว่าจะเป็น โรงเรียนทิวไผ่งาม หรือธุรกิจห้องเสือ้ ISSUE ต่างก็ประสบปัญหาต่างๆ จาก ระบบพิมพ์แบบหมึกแทงค์นี้ และ ค้นพบว่าเครือ่ งพิมพ์ Ink Advantage เป็นทางเลือกใหม่ให้กบั ธุรกิจทีม่ องหา เทคโนโลยี ก ารพิ ม พ์ ที่ ใ ห้ ง านพิ ม พ์ ปริมาณมากตามความต้องการ ไร้ ปัญหาเครื่องพิมพ์หยุดชะงัก และยัง ช่ ว ยธุ ร กิ จ ควบคุ ม ค่ า ใช้ จ่ า ยด้ ว ย” คุณวัตสันกล่าวเพิ่มเติม ในครัง้ นี้ เอชพีเปิดตัวเครือ่ ง พิมพ์รนุ่ ล่าสุด HP Deskjet Ink Advan tage รุ่น 252hc All-in-One และรุ่น 2020hc ที่สามารถพิมพ์งานได้มาก ThaiPrint Magazine 137
Print News
ถึง 1,500 แผ่น ต่อหมึกพิมพ์เพียง ตลับละ 350 บาท เพือ่ เป็นทางเลือก ใหม่ ท่ี จ ะช่ ว ยควบคุ ม ค่ า ใช้ จ่ า ยให้ กับธุรกิจ และยังช่วยให้เพิม่ ประสิทธิ ภาพในการบริหารงานภายใน ให้เป็น ไปอย่างราบรื่น ไม่ติดขัด โดยเอชพีพร้อมลุยแผนการ ตลาดในการทำ � ตลาดเครื่ อ งพิ ม พ์ HP Deskjet Ink Advantage โดยเน้น การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องของ ปัญหาและค่าใช้จา่ ยแอบแฝงทีเ่ กิดจาก เครื่องพิมพ์แบบหมึกแทงค์และสร้าง การรับรูต้ อ่ ผลิตภัณฑ์ Ink Advantage ในกลุม่ เป้าหมาย ผ่านการสือ่ สารครบ วงจรทั้ ง ภาพยนตร์ โ ฆษณาทาง โทรทัศน์ การประชาสัมพันธ์ การสือ่ สารการตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ โปรโมชั่นและโรดโชว์ ที่สำ�คัญ คือ การพัฒนาช่องทางการจัดจำ�หน่าย เพื่ อ เข้ า สู่ ก ลุ่ ม ร้ า นค้ า รี เ ทลที่ ข าย เครือ่ งพิมพ์หมึกแทงค์โดยเฉพาะเครือ่ ง พิมพ์ HP Deskjet Ink Advantage 138 ThaiPrint Magazine
รุ่น 2520hc All-in-One และรุ่น 2020hc สองรุ่นใหม่นี้เป็นเครื่องพิมพ์ อเนกประสงค์เหมาะสำ�หรับสถานศึกษาและออฟฟิศขนาดเล็ก โดย HP Deskjet Ink Advantage รุ่น 2520hc All-in-One มาพร้อมกับคุณสมบัติ ที่ครบครัน ทั้งพิมพ์ สแกน และทำ�สำ�เนา และ HP Deskjet Ink Advantage รุ่น 2020hc เน้นการใช้งานด้านการพิมพ์เป็นหลัก โดยมีจุดเด่นด้าน ปริมาณงานพิมพ์ที่สูงถึง 1,500 แผ่น ในราคาที่คุ้มค่า โดยเสียค่าใช้จ่าย เพียงแค่ 350 บาทต่อหมึกพิมพ์ 1 ตลับ ให้ต้นทุนเพียง 23 สตางค์ต่อแผ่น อีกทั้งยังมอบงานพิมพ์คุณภาพ สีสันคมชัด วางใจได้ทุกครั้งที่พิมพ์ จึงช่วย ให้ธุรกิจดำ�เนินไปอย่างราบรื่น ไม่มีสะดุด
News Heidelberg Print Roadshow
ไฮเดลเบิร์กประกาศลุยแผนโรดโชว์ต่างจังหวัด เปิดตัวที่เชียงใหม่ประเดิมความสำ�เร็จภาคเหนือที่แรก สร้างความเชื่อมั่นให้ธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือได้อย่างดี บริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ผู้นำ�โซลูชั่นด้านการพิมพ์และการบริการ เป็นหุ้นส่วน ทางธุรกิจที่ดีต่ออุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์อย่างแท้จริง เดินหน้าประกาศลุยแผนโรดโชว์ต่างจังหวัดทั้งสามภูมิภาคทั่ว ประเทศ ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ เจาะตามหัวเมืองใหญ่ในแต่ละพื้นที่ ประสบความสำ�เร็จ ไปเรียบร้อยแล้วกับการเปิดตัวที่เชียงใหม่โดยประเดิมเคลื่อนพลสู่ภาคเหนือเป็นที่แรก ภายใต้ชื่อ “ไฮเดลเบิร์กโรดโชว์ ภาคเหนือ” มาพร้อมกับคำ�นิยามของงานที่ว่า “สัมผัสขีดสุดแห่งเทคโนโลยีการพิมพ์ ที่จะช่วยผลักดันให้ธุรกิจ ของท่านก้าวสู่ความสำ�เร็จ” งานจัดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น ฮอลล์ 2 โรงแรม เลอ เมอริเดียน เชียงใหม่ กระแสตอบรับนั้นดีเกินคาด หวังเพิ่มศักยภาพและเสริมกำ�ลังความแข็งแกร่งของตลาด ต่างจังหวัด สร้างสีสันและความเชื่อมั่นให้ธุรกิจสิ่งพิมพ์ภาคเหนือได้อย่างดี งานไฮเดลเบิร์กโรดโชว์ภาคเหนือที่จัดขึ้นในครั้งนี้ นับว่าประสบความ สำ�เร็จดี เนื่องจากมีลูกค้าให้ความสนใจเข้าร่วมงานกว่า 90 ราย ซึ่งนับเป็นตัวเลข ที่น่าพอใจสำ�หรับตลาดภาคเหนือโดยเฉพาะในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัด ใกล้เคียง อาทิ แพร่ ลำ�ปาง เป็นต้น ภายในงานมีการจัดสัมมนาในหัวข้อที่น่า สนใจและเป็นประโยชน์ตอ่ ธุรกิจสิง่ พิมพ์มากมาย อาทิ นวัตกรรมล่าสุดในงานดรูปา้ 2012 โดยคุณเฉลิมชัย ติยะพิษณุไพศาล ผู้จัดการผลิตภัณฑ์เครื่องและอุปกรณ์ การพิมพ์ ได้พูดถึงไฮไลท์นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ไฮเดลเบิร์กได้จัดแสดงใน งานดรูป้า 2012 โดยการจัดแสดงเทคโนโลยีของไฮเดลเบิร์กยังเป็นการจัดแสดง เพื่อตอบสนองทิศทางหลักของอุตสาหกรรมการพิมพ์ที่เกิดขึ้นเป็น 6 กลุ่ม คือ HEI FLEXIBILITY, HEI INTEGRATION, HEI EMOTIONS, HEI PRODUCTIVITY, HEI ECO, HEI END โดยมีทั้งจัดแสดงเครื่องพิมพ์ระบบดิจิตอล Heidelberg Linoprint C 901 และ C 751 เพื่อตอบสนองงานพิมพ์ยอดสั้นๆ และ Print on demand ซึง่ สามารถทำ�งานควบคูก่ บั ระบบการพิมพ์ออฟเซตของไฮเดลเบิรก์ ด้วย ระบบการจัดการค่าสีของไฮเดลเบิรก์ ช่วยให้สีที่ได้จาก Linoprint C 901และ C 751 ThaiPrint Magazine 139
Print News
และเครือ่ งพิมพ์ระบบออฟเซตของไฮเดลเบิรก์ มีความใกล้เคียงกันมากทีส่ ดุ ช่วยให้ โรงพิมพ์สามารถรับพิมพ์งานได้อย่างมีผลกำ�ไรตั้งแต่ 1 แผ่นเป็นต้นไป อีกทั้ง ยังมี CtP และซอฟท์แวร์ Prinect เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการให้ระบบ การทำ�งาน สะดวก ง่ายดายขึ้น รวมถึงการเปิดตัวเครื่องพิมพ์รุ่นใหม่ SX 52, SX 74, SX 102 และ CX 102 ที่ได้นำ�เทคโนโลยีจากเครื่องพิมพ์รุ่น XL หลายส่วน ไปใช้ โดยที่เครื่องพิมพ์รุ่น SM 52, SM 74, SM 102 และ CD 102 ได้เพิ่ม เติมระบบการทำ�งานอัตโนมัติหลายอย่างไว้เป็นมาตรฐานได้อย่างครบครัน ในส่ ว นเครื่ อ งจั ก รหลั ง การพิ ม พ์ ทั้ ง สำ � หรั บ คอมเมอร์ เชี ย ลและบรรจุ ภั ณ ฑ์ ที่แสดง ได้มีการเพิ่มระบบอัตโนมัติมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อระบบการพิมพ์สามารถ พิมพ์ได้เสร็จเร็วขึ้นเท่าไร ระบบหลังพิมพ์ยิ่งจำ�เป็นต้องมีระบบอัตโนมัติมากขึ้น เท่านั้น เพื่อไม่ให้เกิดคอขวดของกระบวนการผลิต โดยรวมของเทคโนโลยีใหม่ ที่ไฮเดลเบิร์กจัดแสดงนี้ เพื่อที่จะให้ช่างพิมพ์สามารถใช้งานเครื่องจักรต่างๆ ได้ สะดวก ง่ายดาย และใช้ได้เต็มประสิทธิภาพ ช่วยลดเวลาในการตั้งเครื่องพิมพ์ มากขึน้ เพิม่ ความเร็วในการผลิตงานให้สงู ขึน้ และทีส่ �ำ คัญคือสนับสนุนการพิมพ์ เพือ่ รักษ์สง่ิ แวดล้อม เหมาะกับลูกค้าโรงพิมพ์ในเอเชียให้ท�ำ งานกันได้สะดวกและ ง่ า ยดายยิ่ ง ขึ้ น ถั ด มาเป็ น หั ว ข้ อ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ท างการพิ ม พ์ ที่ มี คุ ณ ภาพช่ ว ย สร้างสรรค์งานพิมพ์ที่ดีกว่า โดยคุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิพัฒน์ ผู้จัดการทั่วไป แผนกวัสดุและอุปกรณ์ทางการพิมพ์ ได้แนะนำ�วัสดุอุปกรณ์ทางการพิมพ์จาก 140 ThaiPrint Magazine
ไฮเดลเบิ ร์ ก ที่ ม อบความได้ เ ปรี ย บ รวมทั้งช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้จน ถึงส่งมอบคุณภาพงานพิมพ์ที่สวยงาม และมีคณ ุ ภาพสูง การอธิบายถึงวัสดุทาง การพิมพ์ตา่ งๆ ทัง้ กระบวนการก่อนการ พิมพ์ พิมพ์ และหลังการพิมพ์ การ เปิดตัว Saphira Roller โดยจับมือ กับ Rotadyne ซึ่งเป็นผู้ผลิตลูกกลิ้งราย สำ�คัญของโลก และการประกาศความ ร่วมมือกับ Agfa Graphic กับการเป็น ผูจ้ ดั จำ�หน่าย Thermal Plate ของอัก๊ ฟ่า ในประเทศไทย และคุณสมบัตทิ ด่ี ขี อง ผลิตภัณฑ์ต่อคุณภาพงานพิมพ์ รวม ถึงการพัฒนาศักยภาพของช่างพิมพ์ ผ่านโปรแกรมการฝึกอบรมต่างๆ และ แนะนำ�นวัตกรรมการสั่งซื้อสินค้าวัสดุ อุปกรณ์ทางการพิมพ์ผา่ นระบบอินเตอร์ เน็ตหรือ Online Shop ที่สะดวกและ รวดเร็วซึ่งเป็นประโยชน์มากสำ�หรับ โรงพิมพ์ในต่างจังหวัด และช่ ว งบ่ า ยกั บ หั ว ข้ อ การ ควบคุมคุณภาพงานพิมพ์ ทีเ่ ป็นเสมือน หัวข้อทีท่ กุ คนตัง้ ตาคอย เพราะสามารถ ตอบโจทย์ ปั ญ หาเรื่ อ งงานพิ ม พ์ ไ ด้ อย่างครบครัน โดยคุณปิตชิ ยั ปัตตพงศ์
Heidelberg Roadshow ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์เครือ่ งและอุปกรณ์การ พิมพ์มือสอง ได้อธิบายถึงการควบคุม คุณภาพงานพิมพ์ที่ครอบคลุมในเรื่อง สิง่ ทีช่ า่ งพิมพ์ตอ้ งรูเ้ กีย่ วกับกระดาษทีใ่ ช้ พิมพ์ ส่วนประกอบของน้ำ�ยาฟาวเท่น การเคลือบเงา ทั้งชนิดและวิธีของการ เคลือบเงาที่ดีและถูกต้อง คุณสมบัติ ของเพลทที่ดี ชนิดของผ้ายาง การปรับ ตัง้ เครือ่ งพิมพ์ อาทิ การปรับตัง้ ลูกหมึก และลูกน้� ำ การหนุนผ้ายางและเพลท การตั้งแรงกดพิมพ์ การปรับตั้งหน่วย อบแห้งและการจัดลำ�ดับสีที่พิมพ์ รวม ถึงเครื่องมือของช่างพิมพ์ และหัวข้อสุดท้ายในเรื่องการ บริการ หรือ Systemservice มีมากกว่า เรื่องอะไหล่และการซ่อมเครื่อง โดย คุณนิรินธร เสรีพิทักษ์ ฝ่ายขายและ ผลิตภัณฑ์ซิสเต็มเซอร์วิส ซึ่งอธิบาย ครอบคลุมถึงเรื่องอะไหล่ที่มีคุณภาพ และการดูแลรักษาเครื่องพิมพ์ให้อยู่ใน สภาพดี โดยการตรวจเช็คคุณภาพ การ ดูแลรักษาเชิงป้องกัน การให้ค�ำ ปรึกษา และการจั ด การฝึ ก อบรมเพื่ อ การ พัฒนาศักยภาพ การติดตั้งโยกย้าย เครื่องจักร งานซ่อมบำ�รุง และอะไหล่ ที่ดีและมีคุณภาพ และยังมีกจิ กรรม Round Table Discussion & Workshop หรือกิจกรรม แบ่งกลุม่ ความรู้ ซึง่ เป็นการไขข้อข้องใจ ด้านการพิมพ์ทท่ี กุ คนอยากรูแ้ ละรับคำ� ปรึกษาจากผูเ้ ชีย่ วชาญโดยตรงก็เป็นอีก กิจกรรมไฮไลท์ของงาน โดยแบ่งเป็น สี่กลุ่ม ได้แก่ พิมพ์ดีมีคุณภาพ วัสดุดี คุณภาพดี รู้เขารู้เรานำ�สู่ชัยชนะ และ เครื่องดี พิมพ์สวย นอกจากนั้นการจัด แสดงตัวอย่างงานพิมพ์ตา่ งๆ ภายในงาน อาทิ งานพิมพ์คอมเมอร์เชียล งานพิมพ์ บรรจุภณ ั ฑ์ และงานพิมพ์ดจิ ติ อลก็สร้าง ความสนใจได้เป็นอย่างมาก และยังมี
การจัดแสดงวัสดุอุปกรณ์ทางการพิมพ์ จากไฮเดลเบิ ร์ ก ที่ ส ามารถดึ ง ดู ด ทุ ก สายตา เรียกได้ว่า มีการสั่งจองสินค้า ที่เอามาโชว์กันตั้งแต่งานยังไม่จบเลย ทีเดียว และยังมียอดการสัง่ ซือ้ ภายหลัง อีกมาก คุณก้องฟ้า พันธ์พกิ ลุ ผูจ้ ดั การ ฝ่ายการตลาด บริษทั สันติภาพแพ็คพริน้ ท์ จำ�กัด ซึง่ เป็นหนึง่ ในโรงพิมพ์ชน้ั นำ�ของ จังหวัดเชียงใหม่ กล่าวว่า “ผมได้รับ ประโยชน์มากในเรือ่ งการอัพเดทข้ อ มู ล ข่าวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ และเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมการพิมพ์ และโดยเฉพาะนวัตกรรมในงานดรูป้า ส่วนในช่วง Workshop ผมได้เข้าร่วมใน กลุ่มของคุณประชาในหัวข้อ “รู้เขารู้เรานำ�สู่ชัยชนะ” ซึ่งผมได้แนวคิดในการทำ� การตลาดแนวใหม่ โดยส่วนตัวแล้วคิดว่ากิจกรรมนี้เป็นประโยชน์อย่างมากใน การกระตุ้นเตือนให้ผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งพิมพ์ในต่างจังหวัดได้เห็นถึงความ เปลี่ยนแปลงในธุรกิจประเภทนี้ ซึ่งเราควรที่จะต้องเตรียมตัวและปรับตัวให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต” บริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ยังวางแผนที่จะ เชื่อมต่อโอกาสทางธุรกิจกับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ พม่า ลาว เวียดนาม และกัมพูชา โดยจะเดินสายโรดโชว์ไปยังประเทศเหล่านี้ภายในปีหน้าอีกด้วย โดยจะเสริมกำ�ลังสนับสนุนให้กับ Rieckermann ซึ่งเป็นตัวแทนของไฮเดลเบิร์ก ประเทศไทยทีด่ แู ลตลาดอินโดจีนอยูใ่ นขณะนี้ และคาดว่าในไม่ชา้ การจัดกิจกรรม โรดโชว์ก็จะเข้ามาอยู่ในแผนกิจกรรมทางการตลาดประจำ�ปีและจะเป็นอีกหนึ่ง กลยุทธ์ส�ำ คัญในการเติบโตตลาดต่างจังหวัดและอินโดจีนต่อไป ตารางงานไฮเดลเบิร์กโรดโชว์ ภาคเหนือ - วันเสาร์ที่ 13 ตุลาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น ฮอลล์ 2 โรงแรม เลอ เมอริเดียน เชียงใหม่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - วันเสาร์ที่ 10 พฤศจิกายน 2555 ณ ห้องนายูง โรงแรมเซ็นทาราคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี - วันเสาร์ท่ี 17 พฤศจิกายน 2555 ณ ห้องบอร์ดรูม โรงแรมดุสติ ปริน๊ เซส โคราช ภาคใต้ - วันเสาร์ท่ี 26 มกราคม 2556 ณ ห้องสุคนธา โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่
ThaiPrint Magazine 141
Print Travel
เมืองลิลล์ (ที่คิดว่าเล็กๆ) เรื่องและภาพ โดย คุณศนิศรา แสงอนันต์
ตามปกติแล้ว รถไฟฟ้าความเร็วสูง หรือทีเ่ รียกว่า TGV* (คือ Train à Grande Vitesse ในภาษาฝรั่งเศส) นัน้ มักวิง่ ให้บริการไป-กลับจากกรุงปารีสเชือ่ มต่อกับเมือง ที่มีความสำ�คัญหรือเป็นเมืองหลักๆ ของประเทศต่างๆ ในยุโรป และมักไม่หยุดทีเ่ มืองเล็กเมืองน้อยตามรายทาง สะเปะสะปะไปทั่วอย่างไร้สาระให้เป็นการเสียเวลาและ พลังงานไปโดยเปล่าประโยชน์ ดังนั้น การที่รถไฟฟ้า ความเร็ ว สู ง แวะจอดรั บ -ส่ ง ผู้ โ ดยสารที่ ส ถานี ที่ เ มื อ ง ลิลล์ ซึ่งอยู่ที่ชายแดนของประเทศฝรั่งเศสที่เชื่อมต่อกับ ประเทศเบลเยี่ยมนั้น จึงเป็นเรื่องที่น่าแปลกใจสำ�หรับ ฉัน ในความคิดของฉันนัน้ เมืองลิลล์คงจะเป็นเพียง เมืองเล็กๆ ตามบ้านนอกขอบชนบททั่วไปที่ไม่มีความ สำ�คัญอะไรนัก ก็คงแค่เป็นเมืองตามทางผ่านทีแ่ ม้ไม่ตอ้ ง แวะเยือนก็คงไม่พลาดจากการที่จะได้มีประสบการณ์ พิเศษอะไรของชีวิตที่จะเอามาเล่าสู่กันฟังกับใครๆ ได้ ในมหาสมาคมทั่วไป
142 ThaiPrint Magazine
เมืองลิลล์ (ที่คิดว่าเล็กๆ) จนเมื่อวันหนึ่งฉันได้มีโอกาสไปที่เมืองลิลล์ จึงได้ตาสว่างขึ้นมาได้ว่า เมืองลิลล์ที่คิดว่าเล็กๆ นั้น ไม่ใช่เมืองเล็กๆ อย่างที่เข้าใจผิดมาตลอดเสีย แล้ว มิหนำ�ซ้ำ�ยังเป็นเมืองที่มีประวัติเกี่ยวข้องกับคนสำ�คัญของประเทศ ฝรั่งเศสและเคยเป็นชุมชนโบราณในรูปแบบของเมืองมานานแสนนานแล้ว ด้วย การที่ได้ไปเมืองลิลล์นับเป็นโอกาสอันดีที่จะได้สัมผัสกับวัฒนธรรมของ ประเทศฝรั่งเศสทางตอนเหนือที่มีเอกลักษณ์แตกต่างไปจากส่วนอื่นๆ ของ ประเทศ ที่เมืองลิลล์นั้นเองมีพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ใหญ่เป็นอันดับสองของ ประเทศฝรั่งเศสรองจากพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ที่กรุงปารีส ภาพวาดที่แสดงอยู่ ในพิพิธภัณฑ์ที่ลิลล์มีจากหลายยุคสมัย และได้มีการรวบรวมผลงานของ จิตรกรเลือ่ งชือ่ ของโลกมาไว้มากมาย เช่น ผลงานของปิคาสโซ และแฟนไดค์ เป็นต้น นอกจากพิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะแล้ว ยังมีพพิ ธิ ภัณฑ์กลางแจ้งและพิพธิ ภัณฑ์ กังหันลมโบราณ ซึง่ มีกงั หันลมโบราณสองตัวทีย่ งั ใช้งานได้ดแี สดงการทำ�งาน ให้เห็นกับตาอยู่จนถึงทุกวันนี้ สถานที่ที่เป็นที่เลื่องชื่อว่าควรต้องไปเยือน คือ จัตุรัสของเมืองลิลล์ที่ มีชื่อว่า จัตุรัสชาร์ลส์เดอโกล และบริเวณชุมชนโบราณของเมืองที่รู้จักกันใน ชื่อว่า เมืองเก่า บ้านเรือนในบริเวณดังกล่าวนัน้ ล้วนเก่าแก่แต่สวยงาม ส่อให้ เห็นว่า เมืองนี้เป็นเมืองที่เป็นหลักเป็นฐานก่อร่างสร้างตัวร่�ำ รวยกันมานาน นักหนาแล้ว ไม่ใช่แหล่งชุมนุมเศรษฐีใหม่ทเ่ี พิง่ มาแอบสร้างบ้านแปงเมืองกัน อย่างรวยหรูอยู่ชานเมืองที่ตะเข็บชายแดน ที่จัตุรัสของเมืองลิลล์นั้นรายล้อมไปด้วยอาคารเก่าโบราณ แต่ยังคง ความงามตระการไว้อย่างน่าทึ่ง ด้านหนึ่งของจัตุรัสของเมืองลิลล์มีร้านขาย หนังสือที่ได้รับการยอมรับกันว่าเป็นร้านขายหนังสือที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป ขายหนังสือมาตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๓๖ ด้วย ร้านนั้นชื่อ Furet du Nord ที่มีพื้นที่ถึง ๖,๕๐๐ ตารางเมตร ตั้งอยู่ แล้ว ร้าน Furet du Nord มีหนังสือ ในอาคารที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ และที่ตรงนั้นได้เป็นร้าน นิตยสาร หนังสือพิมพ์ เครื่องเขียน ต่างๆ อย่างหลากหลาย หนังสือที่ ร้านนั้นมีขายทั้งภาษาฝรั่งเศสและ อังกฤษ นอกจากนี้ ยังมีแผนกพิเศษ สำ�หรับหนังสือสองภาษา คือ เป็น ทั้ ง ภาษาอั ง กฤษและฝรั่ ง เศสใน เล่มเดียวกัน อย่างไรก็ตาม ไม่ใช่ว่า หนังสืออะไรๆ ก็จะมีมาสุมขายกัน ที่นั่น ทางร้านเขา (อ้าง) ว่าเขาได้ เลื อ กสรรหนั ง สื อ มานำ � เสนอขาย ให้ลูกค้านักอ่านล้วนแต่หนังสือดีมี คุณภาพเท่านั้น
ThaiPrint Magazine 143
Print Travel
ในบริเวณชุมชนโบราณหรือเมืองเก่าของเมืองลิลล์นั้น มีอาคารที่ ทำ�การตลาดหุ้น (เก่า) มีอาคารหอการค้าที่มีหอนาฬิกาที่อยู่บนตัวอาคาร ที่เป็นที่กล่าวขวัญกันถึงความสวยงาม มีโรงละครอุปรากร และร้านรวงใน ตึกโบราณที่สวยสะดุดตาที่ขายสินค้าแบรนด์เนมอันเป็นที่นิยมและรู้จักกัน อย่างสากล สิ่งก่อสร้างต่างๆ ในส่วนของเมืองเก่าของลิลล์ ล้วนสะท้อนให้ เห็นศิลปะ วัฒนธรรม และสถาปัตยกรรมตามแบบของเฟลมมิชอย่างเด่นชัด ซึ่งแน่นอนว่า เป็นการได้รับอิทธิพลของเฟลมมิชจากเบลเยี่ยม ซึ่งเป็น ประเทศเพื่อนบ้านติดกัน แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ย้อนดูประวัติศาสตร์ของ ลิลล์ก็จะเข้าใจได้ ด้วยเหตุว่า ดินแดนที่เป็นเมืองลิลล์ในปัจจุบันนี้ เคยเป็น เมืองที่ปกครองโดยพวกเฟลมมิช, เบอร์กันดี และสเปน ก่อนที่จะมาเป็น ฝรั่งเศสแบบตายตัวและ (ค่อนข้าง) เต็มตัว 144 ThaiPrint Magazine
ในราวคริสต์ศตวรรษที่ ๑๗ พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ของฝรั่งเศสได้ ทรงดำ�ริให้มีการสร้างป้อมปราการ ขนาดใหญ่ขน้ึ เพือ่ ป้องกันเมืองลิลล์ ป้อมปราการนี้ได้สร้างเป็นรูปดาว ห้าแฉก กล่าวกันว่า ใช้อิฐกว่า ๖๐ ล้านก้อนในการก่อสร้าง ทุกวันนี้ ป้ อ มปราการนี้ ก็ ยั ง อยู่ ใ นสภาพดี และได้ใช้เป็นฐานทัพของกองกำ�ลัง ทหารฝรัง่ เศสและกองกำ�ลังของเนโต ด้วย บุ ค คลสำ � คั ญ ของประเทศ ฝรั่งเศสที่เกี่ยวข้องกับเมืองลิลล์ คือ นายพล ชาร์ลส์เดอโกล ซึ่งเป็นทั้ง นายกรั ฐ มนตรี แ ละประธานาธิ บ ดี ของฝรัง่ เศส (ทีค่ รองอำ�นาจอยูร่ าวช่วง ปี ค.ศ. ๑๙๕๘ – ๑๙๖๙) บ้านเกิด ของนายพลชาร์ ล ส์ เ ดอโกลอยู่ ที่ เมืองลิลล์นี้เอง และอยู่ไม่ไกลจาก บริเวณจัตุรัส (ชาร์ลส์เดอโกล) ของ เมืองลิลล์นัก ทุกวันนี้บ้านเกิดของ ท่านได้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์ มีข้าว ของเครื่ อ งใช้ ข องท่ า นนายพลตั้ ง
เมืองลิลล์ (ที่คิดว่าเล็กๆ)
แสดงให้ผู้คนเข้าชม แม้กระทั่งเตียงที่ท่านเกิดก็ยังมีอยู่ ให้ได้เห็นที่บ้านนั้นอย่างออกหน้าออกตาเป็นจุดเด่น เมื่อเดินทางดั้นด้นไปได้ถึงที่เมืองลิลล์แล้ว ผู้ไป เยือนสามารถซื้อทัวร์เพื่อชมเมืองกับบริการของรถบัส และมัคคุเทศก์จากสำ�นักงานการท่องเที่ยวของเมือง ลิลล์หรืออาจจะใช้บริการรถสามล้อถีบที่มีอยู่ตามสี่แยก (บางแห่ง) ของเมือง สามล้อพวกนี้ว่าจ้างเหมากันให้ไป ชมสถานที่สำ�คัญๆ ต่างๆ ของเมืองในราคาที่ต่อรองได้ หรือถ้าไม่กลัวหลงและไม่กลัวรถราที่จอแจอยู่ในเมือง ผู้ ที่ไปเยือนเมืองลิลล์ก็อาจถีบจักรยาน (สองล้อ) ชมเมือง กันเองได้ด้วย ซึ่งจักรยานเหล่านี้เป็นจักรยานที่จอดไว้ ตามถนนหนทางทั่วไปเพื่อให้ผู้คนทั่วไปได้เช่า ซึ่งการ เช่าก็ทำ�ได้ง่ายๆ ด้วยการหยอดเหรียญเพื่อปลดล็อครถ จักรยานที่จอดเรียงรายไว้-ตามราคาค่าเช่ารายชั่วโมง หรือรายวันตามราคาที่เขียนกำ�หนดไว้ ไม่ ว่ า จะไปที่ ไ หนในบริ เวณเมื อ งลิ ล ล์ . ..ผู้ ไ ป เยื อ นสามารถพบเห็ น สถานที่ ส วยงามน่ า สนใจให้ ไ ด้ เรียนรู้ถึงประวัติความเป็นมาได้แทบตลอดเวลา เมื่อได้ มี โ อกาสเข้ า ไปที่ เ มื อ งนี้ แ ล้ ว จะไม่ เข้ า ใจผิ ด อี ก ต่ อ ไป ว่าเมืองนี้เป็นแค่เมืองเล็กๆ และจะหมดความสงสัย ว่าทำ�ไมรถไฟฟ้าความเร็วสูงจึงได้มาแวะจอดที่เมือง ชายแดนแห่งนี้ด้วย...
*รถไฟฟ้าความเร็วสูง คือ TGV (หรือ Train à Grande Vitesse ในภาษาฝรั่งเศส) นั้น เป็นบริการเดิน รถไฟด้วยระบบไฟฟ้า ที่เชื่อมต่อระหว่างประเทศหลาย ประเทศในทวีปยุโรปทีบ่ ริการและบริหารงานโดยประเทศ ฝรั่งเศส แรกเริ่มเปิดบริการในปี ค.ศ. ๑๙๘๑ ด้วยเส้น ทางภายในประเทศฝรั่งเศสก่อน คือ จากกรุงปารีสไป เมืองลีอง ต่อมาจึงมีการเปิดเส้นทางสายอื่นเชื่อมต่อ เมืองหลักๆ หลายเมืองในหลายประเทศในยุโรป เช่น ประเทศเบลเยี่ยม อิตาลี สเปน เยอรมนี และเนเธอร์ แลนด์ โดยมีสถานีศูนย์กลางที่กรุงปารีส เครือข่ายรถ ไฟฟ้าที่เชื่อมโยงเมืองต่างๆ ภายในทวีปยุโรปนี้เรียกว่า Thalys ในขณะที่เส้นทางรถไฟฟ้าความเร็วสูงที่เชื่อมต่อ จากทวีปยุโรปกับสหราชอาณาจักรมีชอ่ื เรียกว่า Eurostar เส้นทาง Eurostar นั้น เปิดบริการตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๙๔ เป็นต้นมาแล้ว ThaiPrint Magazine 145
Print Factory
โรงงาน+ออฟฟิศ พันธุ์ใหม่
มี design สร้างง่าย ถูก เร็ว ดี
ตอน กฏหมายการออกแบบโรงงาน
โดย...คุณพิจารณ์ แจ้งสว่าง กรรมการผู้จัดการ บริษัท สเร็นกรุ๊ป จำ�กัด
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุก ๆ ท่าน พบกับผมอีกเช่นเคย กับ “โรงงาน+ออฟฟิศ พันธ์ุใหม่ มี DESIGN สร้าง ง่าย ถูก เร็ว ดี” สำ�หรับตอนที่ 3 นี้ ผมจะขอพูดคุยกับทุกๆ ท่านในรายละเอียดของตัวบทกฏหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการก่อสร้างโรงงาน ทั้งนี้เพราะตัวกฏหมายนั้นเป็นสิ่งสำ�คัญที่สุดที่จะควบคุมลักษณะรูปแบบอาคารของท่าน การ ศึกษาตัวบทกฏหมายเกี่ยวกับอาคารโรงงาน จึงทำ�ให้ท่านได้อาคารที่ถูกต้องตามหลักกฏหมาย ไม่เสียโอกาสที่ท่านพึงมี พึงได้ และยังลดปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นหลังก่อสร้างอาคารแล้วเสร็จอีกด้วย คำ�จำ�กัดความตามกฏหมายของ “โรงงาน” คือ เป็นอาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำ�ลังรวมตั้งแต่ 5 แรงม้า หรือกำ�ลังเทียบ เท่าตั้งแต่ 5 แรงม้าขึ้นไป หรือ ใช้คนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป โดยใช้เครื่องจักร หรือไม่ก็ตาม สำ�หรับทำ� ผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อมแซม ซ่อมบำ�รุง ทดสอบ แปรสภาพ ลำ�เลียง เก็บรักษา หรือทำ�ลายสิ่งใดๆ โดยโรงงาน แยกเป็นประเภทได้ 3 ประเภท ดังนี้ครับ
146 ThaiPrint Magazine
โรงงานประเภทที่ 1 โรงงานที่ สามารถประกอบกิจการโรงงานได้ทนั ที ตามความประสงค์ ข องผู้ป ระกอบ กิจการโรงงาน โรงงานประเภทที่ 2 โรงงานที่ จะต้องแจ้งให้ผู้อนุญาตทราบก่อน โรงงานประเภทที่ 3 โรงงานที่ ต้องได้รบั ใบอนุญาติกอ่ น จึงจะดำ�เนิน การได้ ประเภทของโรงงานนั้น มีผล ต่อที่ตั้ง สภาพแวดล้อม ลักษณะ ภายนอกและลักษณะภายในอาคาร โดยโรงงานประเภทที่ 1 และโรงงาน ประเภทที่ 2 นัน้ ห้ามตัง้ อยูใ่ นบริเวณ บ้านจัดสรรเพือ่ การพักอาศัย อาคาร ชุดพักอาศัยและบ้านแถวเพือ่ การพัก อาศัยหรือภายใน 50 เมตร จากเขต
กฏหมายการออกแบบโรงงาน
ติดต่อสาธารณะสถาน ได้แก่ โรงเรียน หรือสถาบันการศึกษา วัดหรือศาสนสถาน โรงพยาบาล โบราณสถาน และสถานที่ทำ�การของหน่วยงานรัฐ รวมถึ ง แหล่ ง อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ ส่วนโรงงานประเภทที่ 3 นัน้ จะ มีขอ้ กำ�หนด คือ ห้ามตัง้ ในบริเวณบ้าน จัดสรรเพื่อการพักอาศัย อาคารชุด พักอาศัยและบ้านแถว หรือ ภายใน 100 เมตร จากเขตติดต่อสาธารณะ สถาน ได้แก่ โรงเรียนหรือสถาบัน การ ศึกษา วัดหรือศาสนสถาน โรงพยาบาล
โบราณสถานและสถานทีท่ �ำ การของหน่วยงานรัฐ รวมถึงแหล่งอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ สำ�หรับโรงงานประเภทที่ 3 นั้น นอกจากข้อห้ามเรื่องทำ�เลที่ตั้งแล้ว ยังต้องดูความเหมาะสมในเรื่องสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ตามขนาดและ ประเภทของโรงงาน ต้องจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธีกล ไม่ก่อให้เกิด อันตรายหรือเหตุรำ�คาญต่อบุคคลอื่นด้วยครับ ลักษณะทางกายภาพอื่นๆ ของโรงงานนั้น จะต้องมีความปลอดภัย มัน่ คงแข็งแรง มีบริเวณเพียงพอต่อการประกอบกิจกรรมนัน้ ๆ มีการระบาย อากาศทีเ่ หมาะสม โดยจะต้องจัดให้มพี น้ื ทีป่ ระตูหน้าต่างและช่องลมรวมกัน ไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ส่วนของพื้นที่ห้อง มีการระบายอากาศไม่น้อยกว่า 0.5 ลูกบาศก์เมตรต่อนาทีต่อคนงาน 1 คน การสัญจรเข้า-ออกของอาคารโรงงานนั้น ต้องจัดให้มีประตูเข้าออก ให้พอกับจำ�นวนคนในโรงงานจะหลบหนีภัยออกไปได้ทันท่วงที เมื่อเกิด
ThaiPrint Magazine 147
Print Factory
เหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้นอย่างน้อย 2 แห่ง กระจายห่างกันตามความเหมาะสม เพื่อให้การเข้าออกทำ�ได้รวดเร็วที่สุด ไม่กระจุกตัวอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่งของ อาคารนั่นเองครับ ประตูที่ใช้ต้องเป็นบานประตูที่เปิดออกได้งา่ ย มีขนาด กว้างไม่นอ้ ยกว่า 1.10 เมตร สูงไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร โดยขนาดประตูดงั กล่าวนี้ จะต้องมีขนาดใหญ่ขึ้นตามจำ�นวนคนที่มากขึ้นด้วย ในส่วนของบันไดนั้น จะต้องจัดให้มีอย่างน้อย 2 แห่ง กระจายห่างกัน ตามความเหมาะสมเช่นเดียวกับประตูครับ บันไดต้องมีลกั ษณะทีม่ น่ั คงแข็งแรง มีขนาดและจำ�นวนที่เหมาะสมต่อการประกอบกิจการอุตสาหกรรมของท่าน ขั้นบันไดนั้นต้องไม่ลื่น มีช่วงระยะเท่ากันตลอดบันได มีราวจับที่มั่นคงแข็ง แรง พืน้ อาคารนัน้ ต้องมีความมัน่ คงแข็งแรง ไม่มนี �ำ้ ขังหรือลืน่ อันจะก่อให้เกิด อันตรายแก่ผู้ใช้งาน พื้นที่ของโรงงานนั้น ต้องมีพื้นที่ปฏิบัติงาน ไม่น้อยกว่า 3 ตารางเมตร ต่อ คนงานหนึ่งคน โดยคำ�นวณพื้นที่ที่ใช้วางโต๊ะปฏิบัติงาน
148 ThaiPrint Magazine
เครื่ อ งจั ก รและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ร วมเข้ า ไปด้วย ความสูงจากพืน้ ถึงเพดานโดย เฉลีย่ ต้องไม่นอ้ ยกว่า 3.00 เมตร เว้น แต่จะมีการจัดการระบบปรับอากาศ ทีม่ กี ารระบายอากาศทีเ่ หมาะสม แต่ก็ ต้องมีความสูงไม่นอ้ ยกว่า 2.30 เมตร วัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างอาคารนั้นก็ ต้องมีความเหมาะสมกับการประกอบ กิจการอุตสาหกรรมของท่าน มีความ ปลอดภัย ต่อผู้ปฎิบัติงานในโรงงาน ในกรณีทโ่ี รงงานของท่าน จำ�เป็น ต้องมีลฟิ ท์ ลิฟท์ในโรงงานนัน้ จะต้อง มีน้ำ�หนักบรรทุกที่ปลอดภัยไม่น้อย
กฏหมายการออกแบบโรงงาน
กว่า 4 เท่าของน้ำ�หนักที่กำ�หนดให้ ใช้ โดยให้ถือว่าคนมีน้ำ�หนักบรรทุก 70 กิโลกรัมต่อคน ลิฟท์ที่ใช้จะต้อง เป็ น ลิ ฟ ท์ ป ระเภทที่ เ คลื่ อ นที่ ไ ด้ ก็ ต่อเมื่อประตูได้ปิดแล้ว มีระบบส่ง สัญญาณเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน และ จัดให้มีป้ายระบุจำ�นวนคนหรือน้ำ� หนักที่บรรทุกได้ให้เห็นอย่างชัดเจน อีกด้วย ในส่วนของห้องน้ำ�ห้องส้วมนั้น จะต้ อ งจั ด ให้ เ หมาะสมตามความ จำ�เป็น มีการถ่ายเทอากาศได้ดี ถูก สุขลักษณะ มีจำ�นวนที่พอเพียงต่อ พนักงาน โดยในกรณีทค่ี นงานไม่เกิน 15 คน จะต้องมีห้องส้วมอย่างน้อย 1 ทีน่ ง่ั ในกรณีทค่ี นงานไม่เกิน 40 คน จะต้องมีห้องส้วมอย่างน้อย 2 ที่นั่ง ในกรณีที่คนงานไม่เกิน 80 คน จะ ต้องมีหอ้ งส้วมอย่างน้อย 3 ทีน่ ง่ั และ ให้ เ พิ่ ม ขึ้ น ต่ อ จากนี้ ใ นอั ต ราส่ ว น 1 ทีน่ ง่ั ต่อจำ�นวนคนงานไม่เกิน 50 คน และสำ�หรับโรงงานทีม่ จี �ำ นวนคนงาน ชายและหญิงรวมกันมากกว่า 15 คน ก็จะต้องจัดห้องน้ำ�แยกประเภทเป็น ห้องน้�ำ ชาย และห้องน้�ำ หญิงไว้อย่าง ชัดเจน
สำ�หรับข้อกฏหมายต่างๆ ที่ผมได้นำ�เสนอท่านผู้อ่านในวันนี้ ก็ล้วน แล้วแต่เป็นไปเพื่อความปลอดภัยและการสร้างสภาวะที่ดีต่อการทำ�งาน อันจะนำ�มาซึ่งผลประกอบการที่น่าพอใจของท่านนั่นเองครับ ข้อกฏหมาย ที่เกี่ยวข้องกับโรงงานนั้นยังมีอีกมากจริงๆ ครับ ผมจะทยอยเอามานำ�เสนอ ให้กบั ท่านผูอ้ า่ นอีกในโอกาสต่อๆ ไป หากท่านผูอ้ า่ นท่านใด มีขอ้ เสนอแนะ แนะนำ� ติชม เพื่อเป็นประโยชน์อย่างไร ติดต่อพวกเราได้ทางเวปไซต์ www.planban.net ได้ ครับ
ThaiPrint Magazine 149
Health
โรคเส้นเลือดสมองตีบ โดย นพ.เขษม์ชัย เสือวรรณศรี (อายุรแพทย์ประสาทวิทยา)
วิถีการใช้ชีวิตของมนุษย์เราในยุคปัจจุบัน ล้วนแล้วมีแต่การแข่งขัน ซึ่งกลยุทธ์ต่างๆ ถูกกระบวนการ คิดที่จะต้องใช้ร่างกายในส่วนสมองมากที่สุด และสมองจะต้องทำ�งานอย่างหนักมาก ฉบับนี้ Thai Print ขอ นำ�ท่านผู้อ่านมารู้จักกับโรคเส้นเลือดสมองตีบ ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำ�ให้เป็นอัมพฤกษ์อัมพาตได้ อย่ารอให้ ถึงวันนั้นกันเลยนะครับ เราลองมาทำ�ความรู้จักกับโรคร้ายนี้ และทราบถึงสาเหตุความเสี่ยงที่อาจนำ�พาโรค ร้ายนี้มาถึงตัวเราเองได้ ไปติดตามกันได้เลยครับ... อัมพฤกษ์อัมพาต เป็นอาการที่คนทั่วไปโดยเฉพาะผู้สูงอายุ จะเกรงกลัวกันมาก ซึ่งอาการดังกล่าว หมายถึง การที่แขนขา อ่อนแรงซีกใดซีกหนึ่ง และมักจะไม่ค่อยหาย หรือหายแต่ไม่หายสนิท ใช้เวลาฟื้นฟูสมรรถภาพค่อนข้างนาน มีความพิการหลงเหลืออยู่บ้าง ไม่มากก็น้อย สาเหตุของอาการดังกล่าวมีได้หลายอย่าง แต่ทพ่ี บบ่อยทีส่ ดุ คือ ประมาณ 80-90% ก็คือ โรคหลอดเลือดสมองที่เหลือก็เป็นสาเหตุ อื่นๆ เช่น เนื้องอกในสมอง ฝีในสมอง เป็นต้น เส้นเลือดสมองตีบ หมายถึงอะไร เส้นเลือดสมองตีบ เป็นโรคหนึง่ ซึง่ จัดอยูใ่ นกลุม่ ใหญ่ ที่เรียกว่า โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งประกอบ ไปด้วย 3 โรค หลักๆ ได้แก่ เส้นเลือดสมองตีบ แตกและอุดตัน โดยที่เส้น เลือดสมองตีบเป็นแบบที่พบได้มากที่สุด (80-85%) เส้น เลือดที่ตีบเกิดจากการหนาตัวของผนังหลอดเลือด รวมทั้ง อาจมีเกล็ดเลือดหรือองค์ประกอบอืน่ ๆ ของเลือด มาสะสม ตามผนังหลอดเลือด ซึ่งจะทำ�ให้เลือดไหลผ่านได้น้อยลง ถ้าเป็นมาก ก็จะทำ�ให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอเพียง และ เกิดความเสียหายต่อเซลสมองบริเวณนั้นๆ
150 ThaiPrint Magazine
โรคเส้นเลือดสมองตีบ
มีอาการอย่างไรได้บ้าง เนือ่ งจากสมองมีหลายส่วน แต่ละส่วนมีหน้าที่ แตกต่างกันไป ดังนัน้ อาการในผู้ป่วยแต่ละคนขึ้นกับ บริเวณของสมองที่มีเส้นเลือดตีบ อาการที่พบ ได้แก่
วินิจฉัยอย่างไร อาศัยการซักประวัติ ตรวจร่างกายทัว่ ไปและการ ตรวจทางทางระบบประสาท และการทำ�เอ็กซเรย์คอมพิว เตอร์ (CT scan) ในบางรายหากสงสัยว่าอาจเป็นอย่างอืน่ แพทย์ ท่ี ต รวจอาจให้ ต รวจสมองด้ ว ยคลื่ น แม่ เ หล็ ก • แขนขาอ่อนแรงหรือชาซีกใดซีกหนึง่ (บางกรณี ไฟฟ้า (MRI) แทนการตรวจเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ การทำ� อาจเป็นทั้ง 2 ซีก) CT scan ของสมอง จะช่วยให้แยกได้ระหว่างเส้นเลือด • ลิ้นแข็ง พูดไม่ชัด หรือสำ�ลัก ตีบหรือแตก ซึ่งการรักษาจะต่างกันไป • พูดไม่ได้ หรือฟังไม่รู้เรื่อง (มีปัญหาด้านความ เข้าใจภาษา) รักษาให้หายขาดได้หรือไม่ • เวียนศีรษะมาก เดินเซ แบบทีไ่ ม่เคยเป็นมาก่อน ปัจจุบันยังไม่มียาใดที่รักษาอาการที่เกิดขึ้นได้ • มองไม่เห็นซีกใดซีกหนึ่ง โดยตรง แต่ผู้ป่วยแต่ละคนมีโอกาสที่จะดีขึ้นได้เอง โดย • โดยลักษณะสำ�คัญของอาการที่เกิด คือ เป็น เน้นการทำ�กายภาพบำ�บัดเป็นหลัก ซึ่งแต่ละคนจะมี ค่อนข้างเร็ว กระทันหันภายในเวลาเป็นนาที หรืออาจ ความแตกต่างกันไปในเรื่องของการฟื้นตัวว่าจะดีขึ้นได้ เป็นหลังตืน่ นอนโดยทีก่ อ่ นเข้านอนยังปกติอยู่ ถึงระดับใด โดยอาจพอบอกแนวโน้มได้คร่าวๆ หลังเกิด อาการ 2-4 สัปดาห์ แต่ก็ไม่ได้ท�ำ นายได้ถูกต้องแน่นอน อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคนี้ที่ไม่ เสมอไปเป็นเพียงแนวโน้ม เช่น ถ้าผ่านไป 2 สัปดาห์ สามารถป้องกันได้ แต่ปัจจัยเสี่ยงที่เราสามารถควบคุม อาการอ่อนแรงดีขึ้นมากพอสมควร ก็อาจบอกได้ว่ามี ได้ยังมีอีกหลายอย่าง ซึ่งถ้าเราคุมได้ดีก็จะสามารถลด โอกาสที่จะฟื้นตัวได้มาก บางรายทำ�กายภาพบำ�บัดไป โอกาสการเกิดอัมพฤกษ์อัมพาตได้มากแม้จะไม่100% 3-6 เดือน ไม่ค่อยดีขึ้นเท่าที่ควร ก็อาจมีแนวโน้มว่าจะ ก็ตาม ปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวได้แก่ ใช้เวลานานหรืออาจไม่ดีขึ้นกว่าเดิมมากนัก • ความดันโลหิตสูง • เบาหวาน ยาที่ใช้รักษามีอะไรบ้าง • ไขมันในเลือดสูง ยาที่ใช้ในโรคนี้ ใช้เพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ� เนื่อง • การสูบบุหรี่ จากถ้าเป็นครั้งหนึ่งแล้วจะมีความเสี่ยงที่จะเป็นซ้ำ�ได้ • โรคหัวใจบางชนิด ยาที่สำ�คัญ คือ ยาป้องกันเส้นเลือดตีบ ซึ่งแพทย์จะ ThaiPrint Magazine 151
Health
พิจารณาเป็นรายๆไป ไม่ควรซื้อทานเองเนื่องจากอาจ เกิดผลข้างเคียงได้ ยาที่มีความสำ�คัญมากอีกกลุ่มหนึ่ง คือ ยาที่ใช้ คุมปัจจัยเสี่ยงในรายที่มีปัจจัยเสี่ยง เช่น ยาเบาหวาน ความดันสูง ไขมันในเลือดสูง เป็นต้น รวมทั้งการปฏิบัติ ตัวที่ถูกต้องโดยเฉพาะการควบคุมอาหารที่เกี่ยวข้อง กับปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ ถ้าคุมโรคเหล่านี้ได้ดี โอกาสเป็น เส้นเลือดสมองตีบก็จะน้อยลงไปมาก ควรงดสูบบุหรี่ เนื่องจากเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ส�ำ คัญ และการเลิกขึ้นอยู่กับ จิตใจเท่านั้น โดยแทบไม่ต้องใช้ยาใดๆ การทำ�กายภาพบำ�บัด มีสว่ นสำ�คัญทีส่ ดุ ในการ เพิม่ โอกาสทีท่ �ำ ให้สว่ นทีอ่ อ่ นแรง กลับมามีแรงมากขึน้ ได้ ส่วนยาทีท่ าน จะเน้นไปทีก่ ารป้องกันการเกิดซ้�ำ ของเส้น เลือดสมองตีบ ดังนัน้ แม้ทานยาครบ แต่ไม่คอ่ ยทำ�กายภาพ บำ�บัด ก็ไม่สามารถทำ�ให้อาการดีขน้ึ ได้เท่าทีค่ วร ยาบำ�รุงสมองช่วยได้หรือไม่ มีคนพูดถึงยาบำ�รุงสมอง แปะก๊วย อาหารเสริม ฯลฯ ว่าจะช่วยให้อมั พาตหายได้หรือไม่ รวมทัง้ การรักษา ในแนวอื่นๆ อีกหลายรูปแบบ รวมทั้งยาฉีดบางชนิดที่ ราคาแพง ซึ่งทุกอย่างดังกล่าว ยังไม่มีหลักฐานที่เชื่อถือ 152 ThaiPrint Magazine
ได้ทางการแพทย์ว่าได้ผล และการรักษาบางอย่างอาจ เกิดผลเสียกับผู้ป่วยโดยไม่รู้ตัวได้ ถ้าไม่แน่ใจ จึงไม่ควร ทานหรือฉีด ยาหม้อ เป็นยาทีน่ ยิ มมากโดยเฉพาะในต่างจังหวัด ซึ่งนอกจากไม่เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยแล้ว ยังอาจเกิด อันตรายได้หลายรูปแบบ แต่คนนิยมทาน เนื่องจากใน ยาหม้อ มีสารที่ท�ำ ให้ทานแล้วรู้สึกสบาย เหมือนจะดีขึ้น ซึง่ ไม่วา่ เป็นโรคอะไรก็จะดีขน้ึ แต่เป็นเพียงความรูส้ กึ และ เป็นชั่วคราว ในระยะยาวไม่มีผล และสารนี้ทำ�ให้เกิด อาการตามมาได้หลายอย่าง เช่น น้ำ�ตาลในเลือดสูง โรคกระเพาะ ภูมคิ มุ้ กันต่�ำ ติดเชือ้ ง่าย หน้าบวมฯลฯ บาง รายที่ทานนานๆ เมื่อหยุดทานก็จะเกิดอาการไม่สบาย ได้หลายรูปแบบ ยาหม้อจึงเป็นยาที่ไม่ควรทานโดยเด็ด ขาด ทำ�ไมบางคนหาหมอพระ หรือทานยาหม้อแล้ว หายดี กลับมาเดินได้ อย่างที่กล่าวในตอนต้น คือ โรคนี้เป็นโรคที่ ในระยะแรกๆ ท�ำนายได้ยากว่าแต่ละคนจะดีขนึ้ ได้แค่ไหน หรือใช้เวลาเท่าใด บางรายอาจดีขนึ้ เองโดยไม่ได้ทานยา อะไรเลยก็เป็นได้ บางรายทานยาทุกอย่าง ท�ำกายภาพ บ�ำบัดเต็มที่ ก็อาจไม่ค่อยดีขึ้นมากนักก็เป็นได้ ดังนัน้ ในรายทีท่ านยาหม้อหรือรักษาแบบอืน่ ๆ ใดๆ ก็ตามแล้ว ดีขนึ้ มักเกิดจากการทีค่ นนัน้ จะดีขนึ้ เองอยูแ่ ล้ว แต่บงั เอิญ ไปทานยาหม้อด้วย คนจึงเข้าใจว่าดีจากยาหม้อ แล้วจึง น�ำไปบอกกันปากต่อปาก จึงกลายเป็นที่นิยมกันไป แต่ ในรายทีไ่ ม่ดขี นึ้ หรือเกิดผลข้างเคียงจากยาหม้อ คนทัว่ ไป ก็จะไม่ค่อยพูดถึง หรืออาจโทษว่าอาการที่แย่ลงเป็น จากตัวโรคเส้นเลือดสมองตีบเอง
โรคเส้นเลือดสมองตีบ
ทำ�ไมแพทย์มักมีอคติหรือปิดกั้นการรักษา แบบอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่แผนปัจจุบนั แพทย์ไม่ได้ปิดกั้นหรือมีอคติใดๆ เนื่องจาก แพทย์ทุกคนทราบว่า ในเมื่อขณะนี้ แผนปัจจุบันยังไม่ สามารถรักษาให้หายสนิทได้ทุกราย ญาติผู้ป่วยก็อยาก ลองพึ่งการรักษาทางอื่นดูบ้างเผื่อว่าอาจได้ผล แพทย์ ส่วนมากก็ให้ลองได้ แต่ต้องเป็นการรักษาหรือเป็นยา ที่ไม่เกิดอันตรายใดๆ กับผูป้ ว่ ย แต่การรักษาหลายอย่าง อาจเกิดอันตรายได้ เช่น ยาหม้อ การนวดโดยการ เหยียบการนอนในทรายด�ำ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่แพทย์ จ�ำเป็นต้องชี้แจง นอกจากนี้ ยังมีอีกประเภทที่ต้องชี้แจง แม้อาจ ไม่มอี นั ตรายนัก แต่เกิดจากการหวังผลประโยชน์ของคน บางกลุ่ม โดยฉวยโอกาสบนความเดือดร้อนของผู้ป่วย และญาติ เช่น อาหารเสริม เตียงแม่เหล็ก วิตามินบาง ชนิด ยาฉีดแพงๆ ซึ่งอ้างว่ามาจากเมืองนอก เป็นต้น โดยการโฆษณาชวนเชื่อเกินความจริง ซึ่งปัจจุบันเริ่มมี การเอาผิดทางกฏหมายกับคนกลุ่มนี้แล้ว
การออกก�ำลังกายอย่างสม�่ำเสมอ พักผ่อนเพียงพอ หลีกเลี่ยงของมึนเมา ควรตรวจเลือดเพือ่ หาปัจจัยเสีย่ งทุกปีโดยเฉพาะ ถ้าอายุมากกว่า 30-35 ปีขึ้นไป หรือมีประวัติคนใน ครอบครัวมีโรคทีเ่ ป็นปัจจัยเสีย่ ง เพราะเราอาจมีโรคเหล่า นัน้ ได้ เนือ่ งจากส่วนมากเป็นโรคทีเ่ กีย่ วข้องกับพันธุกรรม การดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้แล้ว หลักสำ�คัญๆ ได้แก่ 1. ควบคุมปัจจัยเสีย่ งอย่างเคร่งครัด ห้ามขาดยา พบแพทย์ตามนัด 2. ทำ�กายภาพบำ�บัดอย่างต่อเนื่อง โดยอาจทำ� เองที่บ้านได้หลังจากออกจากโรงพยาบาล 3. ให้กำ�ลังใจผู้ป่วย เนื่องจากโรคนี้พบว่าผู้ป่วย มีโอกาสมากที่จะมีโรคซึมเศร้า หรือเครียดร่วมด้วย ซึ่ง เกิดจากการที่เคยทำ�อะไรได้ แล้วมาทำ�ไม่ได้ 4. ในรายที่เดินไม่ได้ นอนอยู่กับเตียง ต้องพลิก ตัว จับนั่งบ่อยๆ เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน เช่น ปอด อักเสบ แผลกดทับ ทางเดินปัสสาวะอักเสบเป็นต้น ซึ่ง แพทย์และพยาบาลจะสอนการดูแลเหล่านี้ รวมทั้งการ สามารถป้ อ งกั น โรคเส้ น เลื อ ดสมองตี บ ได้ ให้อาหารทางสายยาง (ถ้าต้องใส่) ก่อนที่จะให้ผู้ป่วย หรือไม่ กลับบ้าน เนื่องจากเป็นโรคที่ถ้าเป็นแล้ว มักไม่หายสนิท เหลือความพิการอยู่บ้างไม่มากก็น้อย การป้องกันจึงมี ความส�ำคัญอย่างยิง่ ในรายทีม่ ปี จั จัยเสีย่ งดังกล่าวข้างต้น ควรควบคุมโรคเหล่านั้นให้ดี ไม่ขาดยา ตั้งใจควบคุม อาหาร จะลดโอกาสการเป็นอัมพาตลงได้มาก รวมทั้ง ThaiPrint Magazine 153
1273M Edit #93_pc3.indd 1 114 Ad m14.indd 3M Thailand 1 AD 1 #92_pc3.indd
11/9/2555 10:05:29 6/7/2555 5:40:02 6/10/2554 17:11