AD SCG#2012_19_M2.indd 02 Ad scg_p2 #97_pc3.indd1 19 2 Ad SCG p2 #94_pc3.indd
19/9/2555 11:09 3/5/2556 22:45:01 3/11/2555 10:14:01
05 Ad Inter Interink #97_pc3.indd 3 03 Ink#95_pc3.indd
3/5/2556 27/2/2556 23:29:01 0:13:40
Ad SoySoy ink ink cervo pc1.indd 1 9 SOY Inkcervo100 #97_pc3.indd 09 Ad #94_pc3.indd 9
19/4/2555 15:48:38 3/5/2556 23:20:51 9/11/2555 23:25:30
71 Ad Bottcher� Bottcher #94_pc3.indd 90 #93_pc3.indd 71 90
10/11/2555 1:16:44 7/9/2555 11:31:15
AD SCG#2012_18_M2.indd 18 12 Ad #97_pc3.indd 129 Adscg SCG #94_pc3.indd12 129
19/9/2555 11:12 3/5/2556 22:40:55 10/11/2555 1:35:53
เชิญพบกับ RISO ได้ที่งาน...
PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 28th - 31st Aug, 2013
HALL 103, BITEC, BANGKOK
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถ.บางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0-2361-4643 แฟกซ์ 0-2364-4652 ข้อมูลเพิ่มเติม www.riso.co.th หรือ www.riso.co.jp
Thai Print Magazine ฉบับที่ 97
สวัสดีครับผูอ้ า่ นทีเ่ คารพรักทุกท่าน ปัจจุบนั นีน้ อกเหนือ จากการแข่ ง ขั น ทางด้ า นคุ ณ ภาพของงานพิ ม พ์ แ ละการ ออกแบบที่น�าสมัยโดยผ่านกระบวนการคิดเพื่อความแปลก ใหม่ของงานพิมพ์และชิน้ งานพิมพ์ทมี่ เี ทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามา รองรับ แต่สงิ่ ทีเ่ กิดขึน้ ในตอนนีช้ าวอุตสาหกรรมการพิมพ์ยงั หันมาใส่ใจเรื่องการสร้างสรรค์ธุรกิจสิ่งพิมพ์กับสิ่งแวดล้อม อย่างเช่นงานที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดขึ้นมาอย่างต่อ เนือ่ ง เช่น งานประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติ ครัง้ นีเ้ ป็นครัง้ ที ่ 8 ติดต่อกันมาทุกปี โดยเมือ่ ปีท ี่ 7 ทีผ่ า่ นมารางวัลในการประกวด มีเพิม่ ขึน้ มา 1 รางวัล ทีจ่ ะมอบให้กบั โรงพิมพ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพและ เอาใจใส่ กับ สิ่ง แวดล้ อ มเป็ น พิ เ ศษเพื่อ เป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ อุตสาหกรรมการพิมพ์ทั่วๆ ไปได้เห็นถึงความสำ�คัญในการ อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่ง พิมพ์ให้มคี ณ ุ ภาพผลิตผลงานชัน้ ยอดเข้าสูต่ ลาดนานาชชาติได้ อย่างทัดเทียมคูแ่ ข่ง เราจึงเก็บภาพงานแถลงข่าวการประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 8 มาฝากกัน ติดตามได้ภายในเล่มครับ จากการที่สมาคมการพิมพ์ไทยได้เร่งเห็นความส�าคัญ ของการรวมกลุ่มการพิมพ์ในแต่ละภาคของอุตสาหกรรมสิ่ง พิมพ์เพื่อเป็นการสร้างความสามัคคีของโรงพิมพ์ด้วยกันเอง สร้างความเข้มแข็งจากการได้แชร์ความรู้แชร์ประสบการกันใน กลุม่ และเมือ่ วันที ่ 19 มิถนุ ายน 2556 ทีผ่ า่ นมา เราก็สามารถ ตัง้ ชมรมกลุม่ การพิมพ์ภาคใต้ขนึ้ มาและเลือกตัง้ ประธานชมรม กลุม่ การพิมพ์ภาคใต้ได้สา� เร็จแล้ว คือ คุณเวทิน ศิรนิ พุ งศ์ บริษทั เทมการพิมพ์ จ�ากัด เราเลยถือโอกาสขอสัมภาษณ์เพือ่ ทราบ ถึงแนวคิดและการตัง้ วัตถุประสงค์ตา่ งๆ ทีจ่ ะพัฒนาอุตสาห กรรมการพิมพ์ภาคใต้ให้เจริญเติบอย่างมัน่ คงติดตามอ่านได้ใน เล่มครับ สาระความรูต้ า่ งๆ มีมากมายครับ เรือ่ งเกีย่ วกัประโยชน์ ในการท�ามาตรฐานการพิมพ์ของ ISO 12647 และในฉบับนีจ้ ะ พูดถึงการต่อยอดมาตรฐานการพิมพ์ 12647 ไปเป็นมาตรฐาน ทีเ่ รียกว่า ISO 15311 Digital Printing Standard ลองไปท�า ความรูจ้ กั กันดูครับ และขณะนีส้ ถาบันการพิมพ์ไทยได้เปิดสอน นักเรียนการพิมพ์รนุ่ ที ่ 6 แล้วนะครับ เราเก็บภาพบรรยากาศ การเรียนการสอนมาฝากกันครับ อย่างไรสามารถติดตามสาระ ความรูม้ ากมายได้ในเล่มเลยครับ..
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ อุปนายก คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช , คุณนิธ ิ เนาวประทีป, คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณถิร รัตนนลิน, คุณคุณา เทวอักษร เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์์ ผู้ช่วยเลขาฯ คุณสุวทิ ย์ เพียรรุง่ โรจน์, คุณคมสันต์ ชุนเจริญ, คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณวริษฐา สิมะชัย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต ปฎิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ ประชาสัมพันธ์ คุณพชร จงกมานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน์, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุพันธ์ุ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธ�ารง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทัย ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงี่ยม, คุณหิรัญ เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�าพันธ์กุล, คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง, คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์, คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์, คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล
Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำากัด เอื้อเฟื้อกระดาษที่ใช้พิมพ์ thaiprint magazine โทรศัพท์ 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จำากัด ช่วยเคลือบปกวารสารการพิมพ์ไทยด้วยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก์. เพิ่มคุณค่าให้งานพิมพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ บริษัท สีทอง 555 จำากัด บริษัท สุนทรฟิล์ม จำากัด บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จำากัด
โทรศัพท์ 0-2425-9736-41 ผู้ผลิตและจำาหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ทำาเพลท โทรศัพท์ 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว โทรศัพท์ 02-682-217779
หนังสือเล่มนี้พิมพ์ด้วยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER
#97_pc3.indd 15 15 Ad Ad President-mac19.indd President Supply #94_pc3.indd 1 15
4/5/2556 0:16:30 10/11/2555 1/9/10 5:17:04 0:02:41 PM
Content
Print News
22 58
22 36 40 44 58 88 106 108 114
งานแถลงข่าว “งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 8“ โรงพิมพ์เว็พเพิร์ท ชไวน์เฟิร์ท (Weppert Schweinfurt) เอสซีจี เปเปอร์ สร้างรากฐานแข็งแกร่งในอาเซียน ชูนโยบายนวัตกรรม เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ทุ่มงบวิจัยและพัฒนากว่า 320 ล้าน ก้าวสู่ปีที่ 100 อย่างมั่นคง สัมมนา “สรรสร้างให้สร้างสรรค์ในธุรกิจสิ่งพิมพ์” NEVIA Friendship party & Mini Concert Discover HEI : Heidelberg @ PAck Print International 2013 งานพบปะสังสรรค์สนทนาอนาคตธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ เอชพีเฟ้นหาสุดยอดของนักออกแบบไทย กับงาน Cut & Paste CHARACTERIZED 2013 กลุ่มบริษัท เจริญอักษร จัดการแข่งขันฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ครั้งที่ 3 หรือ 3rd CAS CUP 2013 และตะกร้อกระชับมิตร
Thaiprint Cover Story
66 คุณภาพถูกตา ราคาโดนใจ บริษัท ริโก้ (ประเทศไทย) จำากัด
Print Knowledge
26 Carbon Footprint การสร้างสรรค์ธุรกิจสิ่งพิมพ์กับสิ่งแวดล้อม 120 Creative Economy วิถีเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 132 ได้อะไรมากกว่าจาก AFTA
92
Print Business
48 ISO 15311 Digital Printing Standard โดย คุณกิตติ พรพิพัฒน์วงศ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำากัด
Print Interview
52 บทสัมภาษณ์ คุณเชวง อยู่วิมลชัย กรรมการผู้จัดการใหญ่ ไทยเคเค อุตสาหกรรม บจก. 80 บทสัมภาษณ์ คุณเวทิน ศิรินุพงศ์ ประธานชมรมการพิมพ์ภาคใต้คนแรก
Print Technology
138
72 หมึกพิมพ์สำาหรับชะลอการสุกของผลไม้ 84 เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ยอดอัจฉริยะแห่งอนาคต
Print Education & Development
92 เปิดคอร์สใหม่ นักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 6
Young Printer
98 นริสสรา เฉลิมชัยชาญ / เจนเนอรัล คอมพิวเตอร์ บจก.
เรื่องเล่าจากภาพ
137 ภาพวาดที่หายไป
Art Gallery
138 จิตรกรรมฝาผนังของอาจารย์ชลูดและผลงานย้อนหลัง
Print Travel
142 เกาะสมุย
World Legend
147 สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
Health
150 โรคบ้านหมุน
142 Thai Print Magazine ปีที่ 14 ฉบับที่ 97
98
สมาคมการพิมพ์ไทย
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดทำาขึ้น เพื่อบริการข่าวสาร และสาระความรู้แก่สมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ในวารสารนี้เป็นอิสรทรรศ์ ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จำาเป็นต้องเห็นด้วยเสมอ
บรรณาธิการบริหาร อนันต์ ขันธวิเชียร กราฟฟิค ศุภนิชา พวงเนตร ฝ่ายบัญชี มยุรี จันทร์รัตนคีรี 16 ThaiPrint Magazine
พิมพ์ท ่ี
บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จำากัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
YLW 780 เครื่องซิลคสกรีน
YLU เครื่องเคลือบยูวี
YLEM เครื่องอัดลาย
YLL-3AWF เครื่องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ
YLM-350 เครื่องถายโอนเลเซอรระบบยูวี
ผูจัดจำหนายเครื่องจักรหลังการพิมพ บริษัท ยีลี่ (ประเทศไทย) จำกัด 969/1 ซ.พัฒนาการ 15 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2369-4011-2 แฟกซ. 0-2369-4013 E-mail : Yiilee_Thailand@hotmail.com 25 Ad Yilee YIILEE #97_pc3.indd 25 24 Thailand#94_pc3.indd 24
YIILEE (THAILAND) CO.,LTD. 969/1 PATTANAKARN SOI 15, PATTANAKARN RD., SUANLUANG, BANGKOK 10250 TEL. 0-2369-4011-2 FAX. 0-2369-4013
3/5/2556 23:26:01 9/11/2555 23:03:18
S-188 U.V Varnish แบบหนา S-189 Low Viscosity U.V Varnish แบบบาง น้ำยายูวี สำหรับการเคลือบในอุตสาหกรรม กระดาษแบบหนา และ แบบบาง C-190 Screen-Printing U.V Vanish สำหรับงานที่มีความนูนต่ำ C-190H High Viscosity สำหรับงานที่มีความนูนสูง
S-168 Opp Glue เปนกาว OPP ใชสำหรับ BOPP, PET, PVC ฟลม ใหติดกับกระดาษทำใหกระดาษเงาและเรียบ น้ำยาสปอตยูวีแบบซิลคสกรีน เคลือบเฉพาะจุดเพื่อใหเกิดความเงาสูง มีประสิทธิภาพในการเคลือบกระดาษสูง มีความสวยงาม โดดเดน สามารถเก็บรักษาไวไดนาน
กาวน้ำ OPP สำหรับฟลม BOPP, PET, PVC กับกระดาษและสิ่งพิมพกระดาษ สามารถทำใหกระดาษที่เคลือบฟลมแลวมีผิวเรียบเนียน มีความเงาสูง ยึดเกาะไดดี สามารถปมนูนกระดาษหรือรีดลายกระดาษได และสามารถใชกับเครื่อง Manual และ Auto ได
OPP FILM LAMINATION ใส 15 mic ความยาว 4000 เมตร ดาน 15 mic ความยาว 4000 เมตร มี Size 400, 450, 460, 500, 540, 550, 580, 600, 630, 640, 725, 750, 780, 800, 880, 900, 915, 920, 1020
969 ซ.พัฒนาการ 15 ถ.พัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท 0-2729-8847-8 แฟกซ 0-2729-8849 E-mail : Kmorethailand@hotmail.com 24 Ad Kmore K-moreThailand#94_pc3.indd #97_pc3.indd 24 25 25
3/5/2556 23:24:06 10/11/2555 10:06:01
AdToyo 08 Toyoink Ad Toyo#97_pc3.indd Ink #94_pc3.indd ad _m14.indd 1 8 8
3/5/2556 10/11/2555 0:29:44 1/26/12 22:47:20 9:57 PM
21 21 Ad CoMax #97_pc3.indd SPS Thailand #95_pc3.indd 1
4/5/2556 14:54:57 0:26:03 27/2/2556
Print News
งานแถลงข่าว
เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 ที่ผ่านมาทางสมาคมการพิมพ์ไทย ได้จัดงานแถลงข่าวการประกวดสิ่ง พิมพ์ครั้งที่ 8 ขึ้นเพื่อเชิญชวนสื่อต่างๆและผู้ที่สนใจส่งผลงานเข้าร่วมในการประกวดในงานนี้ได้เข้าใจในกติกาต่างๆ ในการส่งชิ้นงานเข้าประกวดโดยจัดขึ้น ณ ห้องบอลรูม 2 โรงแรมเอส 31 สุขุมวิท จากความตั้งใจของสมาคมการ พิมพ์ไทยที่ได้มีการจัดการประกวดสิ่งพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2549 สร้างความตื่นตัวให้กับอุตสาหกรรมการ พิมพ์ไทยมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งภาคเอกชนไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิตเครื่องจักรทางการพิมพ์หรือผู้ผลิตอุปกรณ์ทางการ พิมพ์และทางภาครัฐต่างก็ให้ความสนใจเข้าร่วมสนับสนุนในกิจกรรมนี้ในทุกๆ ปี ทั้งนี้ก็เพราะผลลัพธ์ที่ได้จากงาน การประกวดสิ่งพิมพ์ ทำ�ให้ประเทศไทยเราได้รับการยอมรับเป็นอย่างมากทั้งในด้านการยกระดับคุณภาพสิ่งพิมพ์ และความสำ�เร็จจากงานประกวดสิ่งพิมพ์ในระดับนานาชาติหรือ Asian Print Awards หลายๆ ปีติดต่อกัน ซึ่งนับ เป็นสิ่งที่ยืนยันได้ว่าขณะนี้คุณภาพงานพิมพ์ของโรงพิมพ์ในประเทศไทยมีความก้าวหน้าทัดเทียมกับประเทศที่พัฒนา แล้ว
22 ThaiPrint Magazine
แถลงข่าวงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
ดังนั้น เพื่อเป็นการสานต่อ ความสำ�เร็จที่ผ่านมา สมาคมการ พิมพ์ไทย จึงได้จัดงานการประกวด สิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 8 ขึน้ อีกครัง้ ใน ปี พ.ศ. 2556 โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ กระตุ้นอุตสาหกรรมการพิมพ์ให้เกิด การพัฒนาด้านคุณภาพสิง่ พิมพ์อย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันให้ทดั เทียมกับประเทศ อื่นๆ ทั่วโลก และเป็นการประกาศ เกียรติคณ ุ แก่ผผู้ ลิตสิง่ พิมพ์ทส่ี ามารถ ผลิตผลงานชัน้ ยอดเข้าสูต่ ลาดนานา ชาติได้อย่างทัดเทียมคู่แข่ง หลั ง จากที่ แขกผู้ มี เ กี ย รติ และสื่อมวลชนเริ่มทยอยเข้ามาลง ทะเบียนหน้าห้องแถลงข่าวเสร็จจน ครบกำ�หนดเวลาก็ได้เริ่มแถลงข่าว โดยได้รบั เกียรติจาก คุณพรชัย รัตน ชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ ไทยได้ให้เกียรติกล่าวต้อนรับแขกผู้ มีเกียรติส่ือมวลชนและผู้สนับสนุน หลัก ผู้สนับสนุนทั่วไปในการจัดการ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 นี้ ขึ้น ซึ่งได้กล่าวถึงความเป็นมาของ การประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ แรก จนถึงปัจจุบัน โดยสมาคมการพิมพ์ ไทยเป็ น ผู้ ริ เริ่ ม ในการจั ด กิ จ กรรม การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติตั้งแต่ ครั้งที่ 1 เป็นต้นมา หลังจากนั้น คุณ วิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานการ
ประธานการจัดการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 คณะผู้จัดงานและผู้สนับสนุนการจัดงานถ่ายภาพร่วมกันไว้เป็นที่ระลึก
จัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 ได้กล่าวถึงรายละเอียดการจัด งานในครั้งนี้ วัตถุประสงค์ของการจัดงานคณะกรรมการในการตัดสินการ ประกวดครั้งนี้มาจากองค์กรหรือหน่วยงานใดมีความเช่ียวชาญด้านการ พิมพ์เป็นอย่างมาก จึงได้รับการคัดเลือกให้มาเป็นคณะกรรมการในการ ตัดสินและวิธีการส่งผลงานเข้าประกวดจะต้องทำ�อย่างไรบ้าง หลังจากกล่าว ThaiPrint Magazine 23
Print News
(ซ้าย) คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์, Mr. Alf Carrigan, คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ และคุณเกรียงไกร เธียรนุกุล
ขอบคุณแขกผู้มีเกียรติและสื่อมวลชนเสร็จ คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล รอง ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ให้เกียรติกล่าวแสดงความยินดี กับทางสมาคมฯ ที่สามารถจัดการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติติดต่อมาได้จน ถึงครัง้ นีเ้ ป็นครัง้ ที่ 8 และได้กล่าวถึงภาพความสำ�เร็จของการจัดงาน 7 ครัง้ ที่ ผ่านมา ภาพรวมของอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยและอนาคตของอุตสาห กรรมการพิมพ์มีทิศทางที่จะดียิ่งๆ ขึ้นไป และสุดท้าย Mr. Alf Carrigan ประธานคณะกรรมการการตัดสินใน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 กล่าวถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสิน ผลงานที่ส่งเข้าประกวดในครั้งนี้ และหลังจากจบงานแถลงข่าวช่วงเย็นทาง สมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดงานเลี้ยงขอบคุณผู้มีพระคุณต่างๆ ที่ให้ความ ช่วยเหลือและผลักดันในอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยได้มีการพัฒนาติดต่อ กันมาอย่างต่อเนื่อง และที่ขาดไม่ได้คือผู้ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณใน การจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติตั้งแต่ครั้งแรกจนถึงปัจจุบัน ทาง สมาคมการพิมพ์ไทยจึงขอแสดงความขอบพระคุณที่ได้มีผู้ให้การสนับสนุน การจัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 นี้ขึ้นเพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการผลิตสิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และที่เหนือกว่านั้นคือการเป็น อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ที่เน้นเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่กับการพัฒนา คุณภาพงานพิมพ์ทางสมาคมการพิมพ์ไทย จึงขอถือโอกาสเลี้ยงอาหารค่�ำ ผู้ที่มีอุปการคุณ ณ ห้องอาหารจีนแมนโฮ โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างผู้สนับสนุนและคณะผู้จัด งานคณะกรรมการบริ ห ารสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยได้ มี โ อกาสแลกเปลี่ ย น ความคิดเห็นข้อติชมต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาให้ดีมากยิ่งๆ ขึ้น ไป 24 ThaiPrint Magazine
แถลงข่าวงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
งานเลี้ยงผู้สนับสนุนงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ณ โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพ
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย มอบของที่ระลึกให้แก่ผู้สนับสนุนการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัดงานประกวด มอบของที่ระลึกให้แก่ผู้สนับสนุนการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
ThaiPrint Magazine 25
Print Knowledge
Carbon Footprint
การสร้างสรรค์ธุรกิจสิ่งพิมพ์กับสิ่งแวดล้อม
Green Print คุณลักษณะกระดาษ Green Read • กระดาษถนอมสายตา Green Read เป็นกระดาษสำ�หรับสิง่ พิมพ์ทม่ี คี ณ ุ ลักษณะโดดเด่น ผลิตจากเนือ้ ไม้ 100% (Virgin Fiber) ผ่านกระบวนการผลิตที่รักษาสิ่ง แวดล้อม ด้วยโทนสีครีมของกระดาษจึงช่วยให้เกิดการ ถนอมสายตา ทั้งยังผ่านการควบคุมความฟู (Bulkiness) ของกระดาษ โดยคงไว้ซง่ึ น้�ำ หนักของกระดาษทีเ่ บาและ มีค่าความทึบแสง (Opacity) สูงถึง 90% ประโยชน์และการใช้งาน • ลดคาร์บอนฯ ได้มากกว่า 1.5 แสนกิโลกรัม /ปี • ปรับความหนาบางของกระดาษได้ • น้�ำ หนักเบา สะดวกต่อการพกพา • โทนสีนุ่มนวล ถนอมสายตา • การผลิตรักษาสิ่งแวด ล้อม • ลดต้นทุนค่ากระดาษ • ลดต้นทุนค่าขนส่ง 26 ThaiPrint Magazine
โดย... คุณธีรนันทา ฤทธิ์มณี สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Green Label • เครื่องหมายรับรอง “งานพิมพ์สีเขียว” ผ่าน กระบวนการพิมพ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในช่วงการผลิต ผ่านการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment :LCA) ของสิ่งพิมพ์ตลอดช่วงอายุและสามารถแสดงค่า ตัวเลขของ CO2 ที่วัดค่าได้ กระดาษ • กระดาษเป็นส่วนประกอบหลักที่ใช้มากที่สุด ในการผลิตสิ่งพิมพ์ นอกจากการใช้กระดาษรีไซเคิลที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังมีกระดาษประเภทอื่นๆ ที่มีคุณลักษณะรักษาสิ่งแวดล้อม ไม่แตกต่างกัน เช่น การ ใช้กระดาษจากฟาร์มกระดาษ เพื่ออนุรักษ์ป่าไม้ธรรม ชาติและการใช้กระดาษที่ผ่านกระบวนการผลิตที่ได้การ รับรองมาตรฐาน ISO9001, ISO14001 และ PEFC เพื่อ สนับสนุนระบบการจัดการป่าไม้แบบยั่งยืน การตรวจปรู๊ฟ • ด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล การตรวจปรู๊ฟสีจาก
Carbon Footprint เพลตจึงไม่ใช่ส่ิงจำ�เป็นสำ�หรับงาน พิมพ์อีกต่อไป การทำ�ดิจิตอลปรู๊ฟ สามารถตรวจสอบและแก้ไขจุดต่างๆ ก่อนพิมพ์จริงได้ทัง้ ยังช่วยลดปริมาณ วัสดุที่ใช้ในการผลิตสิ่งพิมพ์ ทุ่นแรง และขับสารคาร์บอนฯ น้อยกว่าการ ปรู๊ฟจริง เพลต • ในอดีตการทำ�เพลตแม่ พิมพ์จะต้องใช้ฟิล์มและน้ำ�ยาเคมี แต่พฒ ั นาการของเทคโนโลยีดจิ ติ อล ในระบบ CTP (Computer-to-plate) ทำ�ให้ตัดขั้นตอนการใช้ฟิล์มออกไป เปลีย่ นเป็นการสร้างภาพลงบนเพลต โดยตรงจากคอมพิวเตอร์ หมึกพิมพ์ • การใช้หมึกพิมพ์ที่ท�ำ จาก ถั่วเหลือง เป็นการใช้ทรัพยากรที่ สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้และลด การปล่อยสารอินทรีย์ระเหย (VOC) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหมึกฐาน น้ำ�มัน โดยหมึกพิมพ์ที่ทำ�จากถั่ว เหลือง มีความสะอาด ทนทานต่อ การเสียดสีมากกว่าหมึกฐานน้�ำ มัน ระบบจ่ า ยหมึ ก อั ต โนมั ติ CIP3 • ระบบควบคุมการจ่ายหมึก พิมพ์อัตโนมัติ จะช่วยลดเวลาใน การปรับตัง้ เครือ่ งพิมพ์ ไม่สนิ้ เปลือง กระดาษ โดย CIP3 จะควบคุมปริมาณ การปล่อยหมึกพิมพ์ไปยังหน่วยพิมพ์ แต่ละหน่วย ท�ำให้ผลิตงานได้รวดเร็ว ยิ่งขึ้น
“คาร์บอนฟุตพริน้ ท์” “ฉลากคาร์บอน” ฟังมาก็เยอะ เห็นมาก็มาก เริ่มตรงไหน? ท�ำอย่างไร? ต้องรู้อะไรบ้าง? ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ภาวะโลกร้อนขึ้นเกิดจากกระบวนการที่มีก๊าซเรือนกระจกเกิดขึ้น ซึ่งมักเกิดจากกระบวนการที่มีการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น น�้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ เมื่อก๊าซลอยสูงขึ้นไปในชั้นบรรยากาศของโลก จะท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ที่รังสีความร้อนถูกกักขังไว้ในบรรยากาศโลกที่ เรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก หรือ Greenhouse Effect
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases: GHGs) “ส่วนประกอบก๊าซในชั้นบรรยากาศทั้งที่มีอยู่ในธรรมชาติและสร้าง ขึ้นโดยมนุษย์ ซึ่งสามารถดูดซับและปลดปล่อยรังสีที่ความยาวคลื่นในช่วง ความถีข่ องรังสีอนิ ฟราเรดซึง่ ถูกปล่อยออกมาจากพืน้ ผิวโลกในชัน้ บรรยากาศ และเมฆ” “Gaseous constituent of the atmosphere, both, natural and anthropogenic, that absorbs and emits radiation at specific wavelengths within the spectrum of infrared radiation emitted by the Earth’s surface, the atmosphere, and clouds”
ThaiPrint Magazine 27
Print Knowledge • Carbon dioxide (CO2) • Methane (CH4) • Nitrous oxide (N2O) Kyoto Protocol • Hydrofluorocarbons (HFCs) • Perfluorocarbons (PFCs) • Sulphur hexafluoride (SF6) • Nitrogen trifluoride (NF3) • Trifluoromethyl sulphur pentafluoride (SF5CF3) • Halogenated ethers (e.g. C4F9OC2H5, CHF2OCF2OC2F4OCHF2, CHF2OCF2OCHF2 ) • Other halocarbons (e.g. CF3I, CH2Br2, CHCl3, CH3Cl, CH2Cl2) • etc.
กิจกรรม/แหล่งปล่อยและดูดซับก๊าซเรือนกระจก การใช้พลังงาน • การเผาไหม้เชื้อเพลิง - ในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าหรือความร้อน - ในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม - ในยานพาหนะ - ในครัวเรือน อาคารพาณิชย์ - ในอุปกรณ์หรือเครื่องจักรทางการเกษตร - อื่น ๆ • การรั่วไหลของเชื้อเพลิง ปฏิกิริยาหรือกระบวนการทางเคมีบางอย่างในอุตสาหกรรม • กระบวนการจุดระเบิด (Detonation) • กระบวนการ Calcination • กระบวนการผลิตแอมโมเนีย (NH3), กรดไนตริก, Caproactam, Glyoxal, Glyoxylic Acid • อื่น ๆ การใช้/การรั่วไหลของสารเคมีบางประเภท • สารดับเพลิงที่มีส่วนประกอบของ CO2 • สารท�ำความเย็น เช่น R-134a , R-152, R-407 • SF6 (Sulphur hexafluoride ) • อื่น ๆ การเกษตรกรรม ปศุสัตว์ ป่าไม้ และการใช้พื้นที่ • การเพาะปลูกข้าว การเกษตรกรรม ปศุสัตว์ ป่าไม้ และการใช้พื้นที่ • การเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางเกษตร การเผาถางพื้นที่ • การเลี้ยงสัตว์บางชนิด 28 ThaiPrint Magazine
Carbon Footprint
การเกษตรกรรม ปศุสัตว์ ป่าไม้ และการใช้พื้นที่ • การจัดการที่ดิน (การใช้ปุ๋ยและสารเคมี) • การตัดไม้ท�ำลายป่า • การปลูกป่า
การก�ำจัดขยะและของเสีย • การจัดการ/การทิ้ง/ฝังกลบขยะของแข็ง • การจัดการ/บ�ำบัดน�้ำเสีย • การเผาก�ำจัดขยะของเสีย • อื่น ๆ
ภาวะโลกร้อนตามธรรมชาติ
ภาวะเรือนกระจก เป็นการทำ�ให้โลกร้อนปกติ เกิดจากก๊ษซคาร์บอนไดออกไซด์ และ ก๊าซเกี่ยวข้องอื่นๆ เราพบได้ในชั้น บรรยากาศ ก๊าซเหล่านี้มีผลให้ โลกร้อนขึ้นเหมือนกับความร้อน ที่เกิดขึ้นในเรือนกระจก
ภาวะโลกร้อนตามอย่างรวดเร็ว
การเพิม่ ก๊าซเรือนกระจกในจำ�นวนมากๆ เกิดผลโดยตรงต่อภาวะเรือนกระจก ผลกระทบทีเ่ ริม่ ปรากฎวันนี้ เริม่ ขึน้ จาก 2 เมือง หลังการปฏืวตั อิ ตุ สาหกรรม
ThaiPrint Magazine 29
Print Knowledge การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ • คาร์บอนฟุตพรินท์องค์กร (Carbon Footprint Organization) • คาร์บอนฟุตพรินท์ของผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint Product) • คาร์บอนฟุตพรินท์ของผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint Service) คาร์บอนฟุตพริน้ ท์องค์กร (Carbon Footprint Organization) การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร “การประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรทั้งทางตรงและทาง อ้อม โดยแสดงปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้ง หมดที่ประเมินได้ในหน่วยของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า” หน่วยนับของคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ก๊าซต่างชนิดกัน/ ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงต่างกัน/ หน่วยต่างกัน เปรียบเทียบกันได้อย่างไร เปลี่ยนให้อยู่ในหน่วยเดียวกัน
หน่วยเทียบเท่า CO2 (CO2-equivalent) • CO2 -equivalent • กิโลกรัมหรือตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ขอบเขตการด�ำเนินงาน: Scope 1, 2 และ 3
30 ThaiPrint Magazine
ขัน้ ตอนการระบุแหล่งปล่อยก๊าซเรือนกระจก ก�ำหนดขอบเขตการด�ำเนินงาน • การปล่อยและดูดกลับก๊าซเรือนกระจกโดยตรง (Scope 1) • การปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมจากการใช้ พลังงาน (Scope 2) • การปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมจากอื่นๆ (Scope 3)
Carbon Footprint คาร์บอนฟุตพริน้ ท์ผลิตภัณฑ์/บริการ (Carbon Footprint Product/Service) “ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์/บริการที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ทั้งทางตรงและทางอ้อมโดยแสดงปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดที่เกิดขึ้นในหน่วยของก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์เทียบเท่า” ประเมินตลอดวัฏจักรชีวิต พิจารณาทุกกระบวนการที่เกี่ยวข้อง การปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจกตลอดวั ฏ จั ก รชี วิ ต ของ ผลิตภัณฑ์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่กระบวนการได้มาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต การขนส่งและกระจายสินค้า การใช้งานและการ กำ�จัดซากผลิตภัณฑ์
Business- to-Business: B2B
Business- to-Consumer: B2C
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกตั้งแต่กระบวนการได้มาซึ่งวัตถุดิบ การผลิต จนถึง ณ หน้าโรงงานพร้อมส่ง ออกหรือจนถึงที่เป็นสารขาเข้าหรือวัตถุดิบผู้ผลิตรายต่อไป ตามที่ก�ำหนดใน PCRs ของแต่ละผลิตภัณฑ์ ThaiPrint Magazine 31
Print Knowledge Carbon Footprint Label สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (Thailand Environmental Institute) และ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (Thailand Greenhouse gas Organization) ได้รว่ มกันริเริม่ โครงการฉลากคาร์บอนขึ้นในเดือนสิงหาคม 2551 ซึง่ ในประเทศไทยจะแบ่งฉลากคาร์บอนออกเป็น 2 ประเภท คือ ฉลากแบบที่ 1 พิจารณา การประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากทั้ ง วงจรชี วิ ต ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ (Cradle to Grave) ตัง้ แต่การได้มาซึง่ วัตถุดบิ การขนส่ง การผลิต การบรรจุ หีบห่อ การใช้งาน จนกระทัง่ การก�ำจัด ของเสียที่เกิดขึ้น ซึ่งการด�ำเนินงาน จะใช้เวลาค่อนข้างมากเนื่องจากมี กระบวนการประเมินซับซ้อน ฉลากแบบที่ 2 พิจารณาการประเมินการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยพิจารณาเฉพาะก๊าซเรือกระจกทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิต (Production stages) เท่านัน้ (Gate to gate) ซึ่งวิธีนี้จะใช้เวลาในการด�ำเนินงานน้อยกว่า แบบแรก โดยในช่วงแรกของโครงการจะมุ่งเน้นการออกฉลากคาร์บอนแบบ ที่ 2 เพื่อให้การด�ำเนินการออกฉลากกระท�ำได้รวดเร็ว เพื่อรองรับกระแส ของผู้บริโภคในการมีส่วนร่วมเพื่อช่วยบรรเทาปัญหาภาวะโลกร้อน
ตัวอย่างสินค้าที่มีฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์
32 ThaiPrint Magazine
การประเมินคาร์บอนฟุต พริ้นท์ของสิ่งพิมพ์ การประเมิ น คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ข องกลุ ่ ม บริ ก ารงานพิ ม พ์ สามารถแยกออกตามลักษณะธุรกิจ ดังนี้ • งานสร้างสรรค์เนื้อหา ส�ำหรับสื่อสิ่งพิมพ์ (การบริการ) • งานก่อนพิมพ์ (การบริการ) • งานพิมพ์และหลังพิมพ์ (การบริการ) • สิ่งพิมพ์ (ผลิตภัณฑ์) การประเมิ น คาร์ บ อนฟุ ต พริ้นท์จะพิจารณาภายใต้ขอบเขต ของกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ดังนี้ • ช่วงต้นน�้ำ (Upstream) ได้แก่ การได้มาซึ่งวัตถุดิบ ก่อนเข้า สู่กระบวนการผลิต เช่น กระดาษ หมึกพิมพ์ แม่พิมพ์ น�้ำยาเคมี รวม ถึงการขนส่ง • ช่วงการผลิต (Production) เริ่มตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบจั ด หน้า วางหน้า ถ่ายฟิล์ม ท�ำแม่พิมพ์ ขั้นตอนพิมพ์ และท�ำเล่ม รวมทั้ง ปริ ม าณไฟฟ้ า ที่ ใช้ ไ ปในแต่ ล ะขั้ น ตอน • ช่วงปลายน�้ำ (Downstream) ได้แก่ การจัดส่ง การจ�ำหน่าย และการน�ำไปใช้งาน รวมถึงการก�ำจัด (Disposal) และการแปรท�ำใหม่ (Recycle)
Carbon Footprint
ขอบเขตของระบบในการผลิตสิ่งพิมพ์
หนังสือเล่มแรกที่ประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ หนังสือ “แรกเริ่มสถาปัตยกรรมของสยามประเทศ” - ขนาด 7.5 x 10.25 ตารางนิ้ว - ปกพิมพ์ 2 หน้า จ�ำนวน 500 เล่ม - กระดาษปกอาร์ตการ์ด 260 แกรม - ขนาด 18”x12.5“ - ปกพิมพ์ 4 สี ใช้หมึกโพรเซส เคลือบมันระบบยูวี - กระดาษเนื้อในไม่เคลือบผิว 70 แกรม - ขนาด 21”x 31” - เนื้อในใช้หมึกสีด�ำ - ท�ำเล่มแบบไสสันทากาว - จัดจ�ำหน่ายที่ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
ThaiPrint Magazine 33
Print Knowledge ผลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากขั้นตอนการผลิตหนังสือ ขั้นตอน
รายการ
การจัดหา วัสดุพิมพ์ และการใช้ และการใช (Procurement)
กระดาษปก+เนื้อใน+ห่ อของ หมึกพิมพ์/ กาว นํ้ายาเฟาว์เทน นายาเฟาวเทน IPA ฟิ ล์ม แม่พิมพ์ นายาลางฟลม/ นํ้ายาล้างฟิ ล์ม/ แมพมพ แม่พิมพ์ นํ้ายาล้างหมึก/ ทําความสะอาด การผลิต การทําฟิ ล์ม/ แม่พิมพ์ (Production) ออกแบบ จัดหน้า ปรู๊ ฟ พิมพ์ ทําเล่ม เคลือบปก อาบมันยูวี การขนส่ ง การจัดส่ ง (Transportation) วัสดุพิมพ์ การฝังกลบ แปรใช้ใหม่ (กระดาษ) แปรใช้ใหม่ (แม่พิมพ์) แยกโลหะเงินจากฟิ ล์มและ นํ้ายาล้างฟิ ล์ม (ตัวคงภาพ) การบําบัดนํ้าเสี ยจาก นํ้ายาล้างฟิ ล์ม/ แม่พิมพ์ รวม (kg-CO2) : ต่อเล่ม (kg-CO2) :
ปริมาณการปล่อย CO2
%
รวมปริมาณการปล่อย CO2
%
146.85 6.51 0 002 0.002 2.51 9.01 96.64 1.67 1.20 58.36 39.53 85.66 56.08
24.42 1.08 0 00 0.00 0.42 1.50 16.07 0.28 0.20 9.70 6.57 14.24 9.33
264.39
43.97
243.46
40.48
3.83 0.21 8.64 4.15 5.76 24.33
0.64 0.04 1.44 0.69 0.96 4.05
8.85
1.47
84.67
14.08
12.18
2.03
38.25 601.37 1.20
6.36
ประโยชน์การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ • สามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อลดก๊าซเรือนกระจก และลดต้นทุนการผลิต • กระตุ้นให้ผู้ประกอบการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในการผลิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น • เกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น • ก่อให้เกิดส�ำนึกแห่งการรักษาสิ่งแวดล้อม • ช่วยในการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค • ภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร • เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันตลาดโลก
34 ThaiPrint Magazine
Print News
โรงพิมพ์เว็พเพิร์ท ชไวน์เฟิร์ท (Weppert Schweinfurt) โรงพิมพ์ เว็พเพิร์ท ได้ลงทุนติดตั้งเครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์ก สปีดมาส เตอร์ CD 102-6-L-UV เพื่อรองรับการเติบโตทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้น ก่อนหน้านั้นโรงพิมพ์ เว็พเพิร์ท ได้นำ�เครื่องพิมพ์ ไฮเดลเบิร์ก สปีดมาสเตอร์ XL 106 มาติดตั้งและทำ�การผลิตงานพิมพ์ไปเมื่อช่วงปลาย ปีที่แล้ว และสำ�หรับการลงทุนครั้งนี้ก็ได้มีการตัดสินใจเลือกลงทุนติดตั้ง เครื่องพิมพ์ของไฮเดลเบิร์กใหม่ซึ่งเป็นรุ่น สปีดมาสเตอร์ CD 102-6 -L-UV เพิ่มขึ้นมาอีก 1 เครื่อง โดยโรงพิมพ์ เว็พเพิร์ท นี้ ตั้งอยู่ที่เมือง ชไวน์เฟิร์ท ในประเทศเยอรมนี นับเป็นโรงพิมพ์ทจ่ี ดั ว่าเป็นศูนย์กลางแห่งการสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ๆ ในรูปแบบของสิ่งพิมพ์ ณ เมือง ชไวน์เฟิร์ท เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2556 โรงพิมพ์ เว็พเพิร์ท ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตทางธุรกิจที่ดีอย่างต่อ
36 ThaiPrint Magazine
เนือ่ ง ได้จดั ซือ้ เครือ่ งพิมพ์ไฮเดลเบิรก์ รุ่นสปีดมาสเตอร์ CD 102-6-L-UV เพื่อรองรับปริมาณการผลิตสิ่งพิมพ์ คุณภาพสูงที่นับวันแต่จะมีปริมาณ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ทั้ ง ในส่ ว นงานพิ ม พ์ แ ละ งานหลังพิมพ์ซ่ึงรวมไปถึงการเพิ่ม เติมการเคลือบวานิชเอฟเฟ็คต่างๆ เพิ่มเข้าไปในงานสิ่งพิมพ์ มร. นอร์ เบิ ร ์ ท เฮททริ ช (Norbert Hettrich) ในฐานะหุ้นส่วน และผูจ้ ดั การของบริษทั เว็พเพิรท์ ได้ กล่าวว่า เครือ่ งพิมพ์ของไฮเดลเบิรก์ นัน้ นอกจากจะสามารถเติมเต็มกระ บวนการผลิ ต ได้ อ ย่ า สมบู ร ณ์ แ ละ ลงตัวแล้ว ยังส่งผลให้ประสิทธิภาพ ในการผลิตเพิ่มขึ้นอย่างมาก การ ตัดสินใจติดตั้งเครื่องพิมพ์ออฟเซต ระบบ UV ท�ำให้ในอนาคตเราจะ สามารถควบคุมให้ผลงานพิมพ์และ การเคลื อ บซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น กระบวน งานหลั ง พิ ม พ์ มี คุ ณ ภาพที่ ดี เ ยี่ ย ม พร้อมๆกันได้เป็นอย่างดี ส่งผลให้ ลูกค้าของเราได้รับผลงานพิมพ์ที่มี
Weppert Schweinfurt
มร. นอร์เบิร์ท เฮททริช (Noebert Hettrich), หนึ่งในกรรมการบริหารของ บริษัท เว็พเพิร์ท ชไวน์เฟิร์ท
คุณภาพในระดับสุดยอด ไม่ว่าจะเป็นการเคลือบ UV วานิช ที่มีเอฟเฟ็คต่างๆ แบบเต็มพื้นที่หรือเฉพาะจุด รวมไปถึงการเคลือบUV วานิชแบบ Metallic Effect ที่ ส่องประกายโลหะแวววาวได้อย่างงดงาม การลงทุนติดตั้งเครื่องพิมพ์ 6 สีใหม่นี้เป็นส่วน หนึ่งของแผนการขยายความเติบโตทางธุรกิจของบริษัท ซึ่งเป็นโรงพิมพ์ที่อยู่ในเมืองชไวน์เฟิร์ท มีความมุ่งมั่นที่ จะเป็นผู้นำ�ด้านตลาดสิ่งพิมพ์ โดยได้เพิ่มช่องทางธุรกิจ ด้านการพิมพ์แบบออนไลน์ขึ้นมาอีกช่องทางหนึ่งในชื่อ ของ เอ็กสโพสพริ้นท์, วีไอพีพริ้นท์ แอนด์ บูเซอร์วีไอพี (Xposeprint, VIP Print and Buecher.vipprint) ทัง้ นี้ ในปี 2555 บริษทั เว็พเพิรท์ มีผลกำ�ไรจากการประกอบการเพิม่ ขึน้ ถึง 18% เฉพาะธุรกิจการพิมพ์ออนไลน์เพียงอย่างเดียว ก็มอี ตั ราการเจริญเติบโตเป็นตัวเลขถึง 3 หลัก เลยทีเดียว ทัง้ นี้ การจัดซือ้ เครือ่ งพิมพ์ใหม่ในช่วงเวลาทีผ่ า่ นมานัน้ ส่งผลต่อการขยายตัวทางธุรกิจด้านการพิมพ์ออนไลน์ ซึ่ ง ต้ อ งยกให้ เ ป็ น ผลจากการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานผ่ า น กระบวนการพิมพ์ออฟเซตระบบ UV โดยผ่านช่องทาง ของ xposerprint.de ซึง่ วางตำ�แหน่งของตนเองในบทบาท
ของธุรกิจสิง่ พิมพ์คณ ุ ภาพสูงผ่านระบบออนไลน์โดยเฉพาะ อย่างยิ่งสิ่งพิมพ์ประเภทโบรชัวร์ ด้วยราคาที่สามารถ แข่งขันได้ในตลาดสิ่งพิมพ์ในประเทศเยอรมนีได้อย่าง ต่อเนื่อง การพิมพ์ในระบบ UV ออฟเซตนั้น นอกจาก จะส่งผลดีต่อโรงพิมพ์ เว็พเพิร์ท ที่สามารถสร้างสรรค์ ผลงานพิมพ์ที่มีคุณภาพสูงแล้วยังส่งผลดีต่อลูกค้าให้่ได้ รับผลงานพิมพ์ที่มีความสวยงามอีกด้วย ทั้งนี้เนื่องจาก หมึกพิมพ์จะแห้งตัวทันทีที่ผ่านแสง UV ภายในเสี้ยว วินาที และสามารถส่งผ่านไปยังกระบวนการหลังพิมพ์ ได้ทันทีโดยไม่ต้องเสียเวลารอให้หมึกแห้งสนิทเสียก่อน เหมือนการพิมพ์ด้วยหมึกธรรมดา ทำ�ให้ใช้ระยะเวลาใน กระบวนการผลิตจนเป็นสิ่งพิมพ์สำ�เร็จนั้นสั้นลง มีผล ให้สามารถผลิตงานอื่นๆ ต่อไปได้อย่างรวดเร็ว และมี อัตราผลผลิตต่อระยะเวลาการผลิตที่มากขึ้น ยิ่งไปกว่า นั้นการพิมพ์ระบบ UV ยังส่งผลให้สิ่งพิมพ์มีสีสดใสและ มีความเงาทีโ่ ดดเด่น ผิวหน้าของสิง่ พิมพ์มคี วามทนทาน ต่อรอยขีดข่วนได้ดกี ว่าการพิมพ์ดว้ ยหมึกธรรมดา จึงทำ� ให้สง่ิ พิมพ์ตา่ งๆ จากทีน่ ม่ี คี ณ ุ ภาพสูงอย่างมีระดับและ ThaiPrint Magazine 37
Print News
ดูสวยงามสะดุดตาเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นโบรชัวร์ แผ่นปลิว แผ่นโฆษณา หรือแม้กระทั่งสติ๊กเกอร์ เครื่องพิมพ์ไฮเดลเบิร์ก สปีดมาสเตอร์ CD 1026-L-UV ซึ่งเป็นเครื่องพิมพ์ออฟเซตชนิดป้อนแผ่นที่มี หน่วยพิมพ์จำ�นวน 6 สี พร้อมหน่วยเคลือบเงาระบบ UV ได้ถูกนำ�มาติดตั้งยังโรงพิมพ์เว็พเพิร์ต ที่เมืองชไวน์ เฟิร์ท เมื่อปลายเดือนเมษายน ซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียว กับการแนะนำ�ให้พนักงานในฝ่ายผลิตที่เข้ามาใหม่ได้ เรียนรู้เทคนิคการพิมพ์ด้วยระบบ UV หมึก UV และ การเคลือบ UV วานิชชนิดต่างๆ รวมไปถึงคุณสมบัติ ของวัสดุที่สามารถนำ�มาพิมพ์ด้วยระบบ UV จากผู้เชี่ยว ชาญโดยตรง นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2382 เป็นต้นมา ชื่อของโรง พิมพ์เว็พเพิร์ท ได้ปรากฏขึ้นในนามของผู้ผลิตงานพิมพ์ ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์และนำ�เทคโนโลยี ระดับสูงในกระบวนการพิมพ์มาใช้อย่างต่อเนื่อง โดยที่ มาของธุรกิจเริ่มต้นจากโรงพิมพ์เล็กๆ มาสู่บริษัทผู้ผลิต สิ่งพิมพ์คุณภาพสูงที่ประสบความสำ�เร็จทางธุรกิจเป็น อย่างมาก โรงพิมพ์ของบริษัทเว็พเพิร์ท ซึ่งประกอบไป ด้วยธุรกิจในเครือ เอ็กสโพสพริ้นท์, วีไอพีพริ้นท์ แอนด์
38 ThaiPrint Magazine
บูเซอร์วีไอพีมีบทบาทที่ทำ�ให้ทุกวันนี้ ชื่อของเว็พเพิร์ท เป็นที่รู้จักกันทั่วไปในนามของผู้ผลิตสิ่งพิมพ์คุณภาพสูง กว่า 26,000 รายการ ครอบคลุมสิง่ พิมพ์ทางธุรกิจรูปแบบ ต่างๆ ตามทีล่ กู ค้าต้องการได้ทง้ั หมด นอกจากนีโ้ รงพิมพ์ เว็พเพิร์ท ยังได้ให้บริการออกแบบงานพิมพ์ตลอดจนให้ คำ�แนะนำ�ในเรื่องกระบวนการหลังพิมพ์รวมไปถึงการ เคลือบรูปแบบต่างๆ อันนำ�ไปสูผ่ ลงานพิมพ์คณ ุ ภาพสูง ที่มีความสมบูรณ์อย่างไร้ที่ติ โดยมีบริการจัดส่งสิ่งพิมพ์ ผ่านเครือข่ายโลจิสติกจากผู้ผลิตไปถึงมือลูกค้าโดยตรง
3 1 EC 0 T I 2 B t 3,
in Hall 10 r P ck 01,
Pa th No. F
13 0 2 , 31
Boo t 28 – þÔÁ¾ Ãç¨! à Ó Ê Á Ò Ò s Õ¡ Ù‹¤Ç Augu Ø´áË‹§à·¤â¹âÅ¢ͧ·‹Ò¹¡ŒÒÇÊ Ê Ô¨ ÑÊ ¼ÑÊ¢Õ´ ¼ÅÑ¡´Ñ¹ãËŒ¸Øá Á ·Õè¨Ðª‹ÇÂ
Êͺ¶ÒÁà¾ÔèÁàµÔÁ ·Õèâ·Ã 02 6106182
Print News
เอสซีจี เปเปอร์ สร้างรากฐานแข็งแกร่งในอาเซียน ชูนโยบายนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ทุ่มงบวิจัยและพัฒนากว่า 320 ล้าน ก้าวสู่ปีที่ 100 อย่างมั่นคง เอสซีจี เปเปอร์ เป็นธุรกิจแรกในเครือเอสซีจี ที่เปิดบ้านร่วมเฉลิมฉลองในโอกาสเอสซีจี ครบรอบ 100 ปี โดยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วนได้เข้าเยี่ยมชมในกิจกรรม “เอสซีจี เปเปอร์ เปิดบ้านสู่ความยั่งยืน” โดยการน�ำเสนอความมุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจเพื่อสร้างสรรค์อนาคต ที่ดีขึ้น ภายใต้แนวคิด “Thinking forward for Sustainability : คิดไกลเพื่ออนาคต”
คุณรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอสซีจี เปเปอร์ เปิดเผยว่าในโอกาสที่เอสซีจีครบรอบ 100 ปี เอสซีจี เปเปอร์ ได้เปิด บ้านให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วนเข้าเยี่ยมชมในกิจกรรม “เอสซีจี เปเปอร์ เปิดบ้านสู่ความยั่งยืน” น�ำเสนอความมุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจเพื่อสร้าง สรรค์อนาคตทีด่ ขี นึ้ ภายใต้แนวคิด “Thinking forward for Sustainability : คิดไกลเพื่ออนาคต” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา เอสซีจี เปเปอร์ ด�ำเนิน ธุรกิจบนพื้นฐานของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ค�ำนึงถึงความสมดุลของการ พัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้เติบโตไปพร้อมกัน ผ่าน แนวคิด 3G ได้แก่ Green Process, Green Product และ Green Mind คือ การมีกระบวนการผลิตและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงการ ปลูกจิตส�ำนึกของพนักงานและประชาชนทั่วไปให้รักษ์สิ่งแวดล้อมมีส่วน ร่วมในการพัฒนาชุมชนและสังคมด้วยการด�ำเนินงานร่วมกับหลายฝ่าย ผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อน�ำไปสู่ความยั่งยืน 40 ThaiPrint Magazine
เอสซีจี เปเปอร์ ยังมุง่ มัน่ เติบ โตอย่างยั่งยืนในอาเซียน โดยเน้น สร้างความแข็งแกร่งของ 2 สายธุรกิจ หลักคือสายธุรกิจกระดาษบรรจุภณ ั ฑ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ (Packaging Business Value Chain) ด้วยกลยุทธ์พฒ ั นาสินค้า และขยายธุ ร กิ จ สู่ ต ลาดในภู มิ ภ าค อาเซียน อาทิ ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศพม่า เพื่อก้าวสู่การเป็น ผู้นำ�ธุรกิจกระดาษครบวงจรในภูมิภาคทั้ ง ฐานการผลิตและการตลาด โดยการสรรหาพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ หรือการควบรวมกิจการ (Merger & Acquisition) เพื่อช่วยให้การขยาย ธุรกิจและตลาดเป็นไปอย่างรวดเร็ว และสายธุ ร กิ จ เยื่ อ และกระดาษ (Fibrous Business Value Chain) ด้ ว ยกลยุ ท ธ์ ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใหม่ ได้แก่ การลงทุนผลิตสินค้ากลุม่ HVA อาทิ กระดาษ Machine Glazed ที่ผลิตจากเยื่อกระดาษบริสุทธิ์ มีผิว มันวาว และความบางพิเศษ สำ�หรับ ผลิตบรรจุภัณฑ์อาหารและอุตสาห กรรมทางการแพทย์ การลงทุนติดตัง้ เครือ่ งจักรเพือ่ ผลิต Dissolving Pulp วัตถุดิบหลักสำ�หรับการผลิตเส้นใย
เอสซีจี เปเปอร์
เรยอนในอุตสาหกรรมเส้นใยและสิ่งทอ ซึ่งเอสซีจีคาดว่าในปี 2556 ยอด ขายทั้งหมดจะเติบโตในปี 2556 ประมาณ 7 - 8% สำ�หรับโครงการการลงทุนทั้งในประเทศและภูมิภาค ซึ่งได้รับการ อนุมัติและอยู่ในระหว่างการดำ�เนินการในปัจจุบัน โดยมีมูลค่าการลงทุน รวมเป็นเงินทั้งสิ้นประมาณ 13,000 ล้านบาท ประกอบด้วยโครงการที่ สำ�คัญดังนี้ - เอสซีจี เปเปอร์ ขยายกำ�ลังการผลิตกระดาษบรรจุภัณฑ์ใน ประเทศไทยที่จังหวัดราชบุรีและกาญจนบุรีอีกประมาณ 400,000 ตันต่อปี ด้วยเงินลงทุน 6,700 ล้านบาท ซึ่งจะทำ�ให้มีกำ�ลังการผลิตกระดาษบรรจุ ภัณฑ์ของเอสซีจี เปเปอร์ ในอาเซียน (ประเทศฟิลปิ ปินส์ ไทย และเวียดนาม) รวมทัง้ สิน้ 2.3 ล้านตันต่อปี ทัง้ นีค้ าดว่าการขยายกำ�ลังการผลิตจะแล้วเสร็จ ในปี 2557 - Vina Kraft Paper Co., Ltd. (เวียดนาม) วางแผนขยายการ ลงทุนมูลค่า 700 ล้านบาท เพื่อเพิ่มกำ�ลังการผลิตกระดาษบรรจุภัณฑ์จาก 220,000 ตันต่อปี เป็น 250,000 ตันต่อปี โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จกลางปี 2556 เพือ่ รองรับความต้องการกระดาษบรรจุภณ ั ฑ์ในเวียดนามทีเ่ พิม่ สูงขึน้
- เอสซีจี เปเปอร์ ร่วมทุนกับ Nippon Paper Industries Company Limited และ NP Trading Company Limited สองบริษทั ย่อยของ Nippon Paper Group ประเทศญี่ปุ่นจัดตั้ง บริษทั สยามนิปปอน อินดัสเตรียล เปเปอร์ จำ�กัด (SNP) มูลค่าเงินลงทุน 2,200 ล้านบาท เพื่อเป็นฐานการ ผลิตกระดาษมูลค่าเพิ่ม Machine Glazed ที่ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์สำ�หรับ อุตสาหกรรมอาหารและการแพทย์ (Hygienic Packaging) ทีอ่ ำ�เภอบ้าน โป่ง จังหวัดราชบุรี มีกำ�ลังการผลิต 43,000 ตันต่อปี คาดว่าจะเริม่ ดำ�เนิน การผลิตเชิงพาณิชย์ได้ภายในกลาง ปี 2557
ThaiPrint Magazine 41
Print News - บริษทั ฟินคิ ซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จำ�กัด (มหาชน) ลงทุนปรับ ปรุ ง สายการผลิ ต เยื่ อ ให้ ส ามารถ ผลิต Dissolving Pulp ได้ด้วยเงิน ลงทุน 370 ล้านบาท โดยคาดว่าจะ สามารถผลิตเยื่อ Dissolving Pulp ได้ประมาณ 96,000 ตันต่อปี และ โครงการจะดำ�เนินการแล้วเสร็จช่วง ปลายปี 2556 ปัจจุบัน เอสซีจี เปเปอร์ มี พนักงานทัง้ หมดประมาณ 10,000 คน ในประเทศประมาณ 7,000 คนและ ต่างประเทศ ประมาณ 3,000 คน “เอสซีจี เปเปอร์ จะก้าวสู่ เส้นทางธุรกิจสินค้าที่มีมูลค่าเพิ่มสูง (HVA) ด้วยการประสานความร่วมมือ กับสถาบันวิจยั และสถาบันการศึกษา ทัง้ ในและต่างประเทศ เพือ่ เสริมศักย ภาพในการคิ ด ค้ น นวั ต กรรมเพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ย่ั ง ยื น และเพื่ อ ผลิ ต สิ น ค้ า ที่ ต อบสนองความต้ อ งการ ของผูเ้ กีย่ วข้องในทุกๆ ด้าน และที่ สำ�คัญทีส่ ดุ การพัฒนาดังกล่าว ต้อง ไม่ทำ�ลายสิง่ แวดล้อม ทัง้ ยังได้รบั การ ยอมรับจากชุมชนและสังคมเพื่อให้ ธุ ร กิ จ สามารถดำ�เนินต่อไปได้อย่าง มั่ น คงควบคู่ ไ ปกั บ ชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้อมที่ยั่งยืน” นายรุ่งโรจน์กล่าว ในตอนท้าย ขอบคุณข่าวจาก .. สำ�นักงานสื่อสารองค์กร เอสซีจี
42 ThaiPrint Magazine
11
9 7
1
7
8 5
5 5 10
4
4 5 5
5
Print News
“สรรสร้างให้สร้างสรรค์ในธุรกิจสิ่งพิมพ์”
CREATING CREATIVITY in PRINTING BUSINESS
จบไปแล้วสำ�หรับสัมมนาดีๆ ทีใ่ ห้ความรูเ้ กีย่ วกับ Creative Economy หรือ ระบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ซึง่ งานในครัง้ นีส้ �ำ นักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรเี ป็นทีป่ รึกษาดำ�เนินงานโครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมสือ่ สิง่ พิมพ์ไทยเชิงสร้างสรรค์สฐู่ านการผลิตในอาเซียน โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ การวางแผนยุทธศาสตร์และแนวทางปฏิบตั ใิ นการส่งเสริมพัฒนาอุตสาหกรรมสือ่ สิง่ พิมพ์เชิงสร้างสรรค์ของไทยให้มศี กั ยภาพทางการแข่งขันสูฐ่ านการ ผลิตในอาเซียน ทัง้ นีภ้ ายใต้การดำ�เนินโครงการดังกล่าว สถาบันวิทยาการหุน่ ยนต์ภาคสนามและภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ได้มีความ ร่วมมือในการจัดการสัมมนาเรือ่ ง “สรรสร้างให้สร้างสรรค์ในธุรกิจสิง่ พิมพ์”
44 ThaiPrint Magazine
ขึ้นเพื่อเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์และความเชี่ยว ชาญระหว่างผูป้ ระกอบการธุรกิจโรง พิมพ์นกั วิชาการและบุคคลผูม้ คี วาม รู้ความสามารถในแวดวงการพิมพ์ รวมถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจให้ได้รับ ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับเศรษฐกิจ สร้างสรรค์และความสำ�คัญของการ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการดำ�เนิน ธุรกิจ เป็นการเปิดมุมมองในการทำ� ธุรกิจและส่งเสริมพฤติกรรมการคิด อย่างสร้างสรรค์ และต้องการเป็น ส่วนหนึ่งในการเผยแพร่ข้อมูลข่าว สารทีเ่ ป็นรูปธรรม เพือ่ ให้ผทู้ ด่ี �ำ เนิน ธุรกิจและบุคคลทั่วไปได้รับทราบถึง ความหมายของเรื่องเศรษฐกิจสร้าง สรรค์ (CREATIVE ECONOMY) เพือ่ สามารถนำ�ไปสร้างความได้เปรียบ ทางการแข่งขันช่วยสร้างธุรกิจให้แข็ง แกร่งโดยเฉพาะวงการอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทย โดยการสัมมนาครัง้ นี้ ได้จดั ไปเมือ่ วันที่ 25 เมษายน 2556
สัมมนา “สรรสร้างให้สร้างสรรค์ในธุรกิจสิ่งพิมพ์”
ณ โรงแรม อมารี เอเทรียม กรุงเทพ ได้มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมงานเป็น จำ�นวนมาก โดยส่วนใหญ่จะมาจาก ภาคธุรกิจหรืออุตสาหกรรมทางด้าน การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ สำ�หรับการเปิดมุมมองใหม่ ทางด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ในงาน สัมมนาครัง้ นี้ เรียกได้วา่ เป็นการเปิด โลกทัศน์ สำ�หรับผูท้ ก่ี �ำ ลังสนใจในด้าน นีอ้ ยูเ่ ลยก็วา่ ได้ เนือ่ งจากวิทยากรทีเ่ ข้า ร่วมบรรยายในครัง้ นี้ แต่ละท่านถือว่า เป็นสุดยอดของวงการการพิมพ์และผู้ ทรงคุณวุฒิทางด้านเศรษฐกิจที่จะมา ให้ความรู้ แนะนำ�วิธกี าร และกระตุน้ พลัง ในการผลักดันผูเ้ ข้าร่วมสัมมนาให้ มีแนวคิดไปในทิศทางเดียวกัน ก่อให้ เกิดประโยชน์ท้ังต่อผู้เข้าร่วมและต่อ วงการการพิมพ์ไทยต่อไป ดร.วรพจน์ อังกสิทธิ์ หัวหน้า โครงการและประธานหลักสูตรธุรกิจ เทคโนโลยีสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ ภาคสนาม ได้ให้เกียรติเป็นประธาน กล่าวเปิดงานสัมมนาในครัง้ นี้ ดร.ปิยะนิตย์ โอนพรัตน์วบิ ลู ผูท้ รงคุณวุฒจิ ากสำ�นักพัฒนาขีดความ สามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วิทยากร
ทีบ่ รรยายในหัวข้อ วิถเี ศรษฐกิจสร้างสรรค์ มีการนำ�เสนอข้อมูลทางเศรษฐกิจ ทีเ่ กีย่ วข้องกับอุตสาหกรรมการพิมพ์และสนับสนุนด้วยผลสำ�รวจต่างได้อย่างน่า สนใจไว้วา ่ “4 ความสามารถในการเเข่งขันของอุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์สร้างสรรค์กรอบ วิเคราะห์ Diamond Model พิจารณาจากปัจจัยกำ�หนด (Determinants) 4 ด้าน และบทบาทของภาครัฐทีม่ ผี ลต่อปัจจัยแต่ละด้าน (1) บริบทของการแข่งขันและกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Context for Firm Strategy, Structure, and Rivalry) (2) เงือ่ นไขด้านปัจจัยการผลิต (Factor Conditions) (3) อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องเเละสนับสนุนกัน (Related & Supporting Industries) (4) เงือ่ นไขด้านอุปสงค์ (Demand Conditions) และกุญแจสำ�คัญของการพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ คือ Commercialization - ธุรกิจสร้างสรรค์ไม่จำ�เป็นต้องเป็นแค่วัฒนธรรม แต่เป็นเรือ่ งของการใช้ความคิดใหม่ สร้างมูลค่า/คุณค่าเพิม่ และต้องขายได้
ThaiPrint Magazine 45
Print News
Perception of the Buyers - สิง่ สำ�คัญคือ การรับรูข้ องลูกค้าต่อคุณค่าที่ ใส่ลงไปในสินค้า/บริการ Intellectual Property - Key Success Factor ของธุรกิจสร้างสรรค์ คือ การเปลีย่ นความคิดเป็นทรัพย์สนิ ทางปัญญาและจากทรัพย์สนิ ทางปัญญาเป็น ธุรกิจสร้างรายได้” คุณพิรชั ธัมพิพธิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั มอริโอโปร จำ�กัด วิทยากรที่ บรรยายในหัวข้อ เทคนิคและการประยุกต์งานสร้างสรรค์ ได้ให้ความรูไ้ ว้วา ่ ณ ตอนนี้ เราต่างตืน่ ตัวกับการเข้ามาของ AEC (Asian Economic Com munity) ซึง่ เป็นการรวมตัวของประเทศในกลุม่ อาเซียนเพือ่ การเพิม่ อำ�นาจต่อรอง กับเหล่าประเทศมหาอำ�นาจ ขยายฐานเศรษฐกิจในภูมภิ าค โดยมีการยกเว้นและ ลดกำ�แพงภาษีน�ำ เข้าต่างๆ ลงภายในกลุม่ ประเทศสมาชิก และนอกจากนัน้ ยังส่ง ผลให้เกิดการขยายงานและโยกย้ายกลุม่ ทุน แรงงาน ทัง้ ภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม การเงิน ฯลฯ ทำ�ให้เกิดการแข่งขันในภูมภิ าคมากยิง่ ขึน้ และถือเป็นการเปลีย่ น แปลงครัง้ ใหญ่ทท่ี กุ ประเทศสมาชิกต้องเตรียมพร้อมรับมือการลงทุนในอุตสาหกรรม Hi-Tech ซึง่ แรงงานมีคา่ ตอบแทนสูง จึงต้องการแรงงานทีม่ รี าคาถูก (เช่น
46 ThaiPrint Magazine
เวียดนาม อินโดนีเซีย พม่า) Mega Trend หมายถึงความเปลี่ยนแปลงสำ�คัญที่ กำ�ลังเกิดขึน้ ในวงกว้างและคาดว่าจะส่ง ผลต่อไปในอนาคต ซึง่ ผลกระทบเหล่า นี้มักครอบคลุมหลากหลายมิติและมี หลายระดับ ตัง้ แต่การดำ�เนินชีวติ ของ ประชากรไปจนถึ ง ผลรวมในระดั บ ประเทศ” หลังจากได้รบั ความรูจ้ ากผูท้ รง คุณวุฒทิ ง้ั สองท่านแล้ว ผูร้ ว่ มสัมมนาได้ มีสว่ นร่วมในกิจกรรมระดมสมอง เพือ่ จัดทำ� roadmap สิง่ พิมพ์เชิงสร้างสรรค์สู่ AEC และผลทีไ่ ด้จากความคิดเห็นของผู้ ร่วมสัมมนาส่วนใหญ่ จะมีแนวคิดไปใน ทิศทางเดียวกัน เช่นในเรือ่ งของปัญหา การเพิม่ มูลค่าให้สง่ิ พิมพ์ดา้ นเทคนิค คำ�ตอบส่วนใหญ่ คือ Green Product, Hybrid Printing, เพิม่ substrate ทางการพิมพ์ที่แปลกใหม่ เช่น สี กลิ่น สัมผัส, สร้างมาตรฐานให้งาน พิมพ์ (ISO), มีการควบคุมคุณภาพงาน พิมพ์, ช่างพิมพ์, เครือ่ งพิมพ์ดา้ นการ ออกแบบ (Design) Multifunction, สร้าง Design ทีแ่ ปลกใหม่ให้กบั งานพิมพ์, ส่ง เสริมหลักสูตร Creative ให้กบั นักศึกษา และบุคลากร เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาด้าน การออกแบบให้มากขึน้
สัมมนา “สรรสร้างให้สร้างสรรค์ในธุรกิจสิ่งพิมพ์” ต่อจากกิจกรรมระดม วิทยากรช่วงถัดไป คือ คุณ สุปรีย์ ทองเพชร Platform Development Director บริษทั ศิรวิ ฒ ั นา อินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) วิทยากรในหัวข้อ สร้างมูลค่าอย่างไรให้เหนือคูแ่ ข่ง ได้กล่าวไว้วา่ “ศิริวัฒนากำ�ลังจะเปลี่ยนแปลงบริษัทในด้านการ พัฒนาทางด้าน Marketing มากขึ้น องค์ประกอบต้องมี หลายส่วนมาก อาจจะต้องเป็น agency หรืออาจจะเป็น ใครก็ได้ ต้องมีกลุม่ คนทีจ่ ะต้องพัฒนา มีกลุม่ คนทีจ่ ะต้อง creative มีกลุม่ คนทีจ่ ะต้องพัฒนา media มีกลุม่ คนทีท่ �ำ หน้าทีว่ เิ คราะห์ลกู ค้าและกลุม่ คนทีท่ �ำ เทคนิคการวิจยั กลุม่ คนเหล่านีส้ ามารถทำ�งานคนละทีก่ นั ได้แต่ข้อมูลต้องถูกส่ง หาให้แต่ละฝ่ายรับรูอ้ ยูต่ ลอดเวลา เช่น ถ้าอยากทำ� research สักเล่มหนึง่ ผูผ้ ลิตก็ตอ้ งไปบอกฝ่าย creative ซึง่ ฝ่ายนีต้ อ้ ง ประสานงานกับ content ว่าช่วยเขียนงานให้รองรับ research นีด้ ว้ ย ไม่เช่นนัน้ ถ้าเป็นการตอบแบบสอบถามจะไม่มใี คร อยากทำ� เพราะใช้เวลาพอสมควรในการทำ�แบบสอบถาม แต่ละชุดการทำ�สือ่ ทีเ่ ป็น multimedia จะทำ�ให้เราสามารถ ตรวจสอบได้เลยว่ามีคนมาตอบกีค่ น ซึง่ ผูป้ ระกอบการและ ธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้องควรนำ�ไปใช้ในยุคโลกาภิวฒ ั น์ในปัจจุบนั นีไ้ ด้ แล้ว และสร้างมูลค่าของผลิตภัณฑ์และสร้างมูลค่ากระบวน การผลิตให้มากขึน้ เรือ่ ยๆ งานทีเ่ ป็น media เช่น บน tablet พัฒนาให้มจี ดุ เด่นและทำ�ให้นา่ สนใจ ต้องใส่วดิ โี อ ใส่เสียง ใส่ ภาพนิง่ ลงไป การสือ่ สารจะเป็นไปอย่างละเมียดละไมมาก ขึน้ ตรงใจผูเ้ สพเนือ้ หามากขึน้ เพือ่ ให้เรายังยืนอยูไ่ ด้บน วัฒนาการ สือ่ สิง่ พิมพ์มฐี านข้อมูลคนอ่านอยูแ่ ล้วแต่กป็ ฏิเสธ ไม่ได้วา่ คนทีด่ บู นสือ่ อิเลคทรอนิกส์กม็ มี ากขึน้ เช่นกัน” และวิทยากรช่วงสุดท้าย มาบรรยายในหัวข้อทีว่ า่ “Carbon footprint การสร้างสรรค์ธรุ กิจสิง่ พิมพ์กบั สิง่ แวด ล้อม” โดย อ.ธีรนันทา ฤทธิม์ ณี นักวิจยั โครงการสถาบัน วิทยาการหุน่ ยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี กล่าวว่า “นอกจากเป็นประโยชน์ตอ่ ผูบ้ ริโภคแล้ว คาร์บอน ฟุตพริ้นท์ยังมีความสำ�คัญต่อผู้ผลิตและผู้ส่งออกสินค้าไป ยังต่างประเทศ เนือ่ งจากการจัดทำ�คาร์บอนฟุตพริน้ ท์จะทำ� ให้ ผู้ผ ลิ ต ทราบว่ า ในแต่ ล ะขั้น ตอนของการผลิ ต สิ น ค้ า มี การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกเป็นปริมาณเท่าไร ทำ�ให้เห็น ประเด็ น ปั ญ หาที่ ต้ อ งปรั บ ปรุ ง แก้ ไขกระบวนการผลิ ต หรื อ การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีคำ�นึงถึงสิ่งแวดล้อม ตลอดวงจรชีวติ ของผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะในเรือ่ งการลดใช้ พลังงานซึง่ หมายถึงการลดต้นทุนการผลิต นอกจากนีก้ าร แสดงคาร์บอนฟุตพริ้นท์ยังเป็นการสื่อถึงความตั้งใจใน
ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมและสังคมของผูผ้ ลิตอีกด้วย ยิง่ ไปกว่านัน้ ฉลากคาร์บอนฟุตพริน้ ท์และฉลากลดคาร์บอน ยังช่วยเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลกด้วย เนือ่ งจากขณะนีค้ าร์บอนฟุตพริน้ ท์และฉลากคาร์บอนได้ถกู พัฒนาและใช้อยูใ่ นหลายประเทศแล้ว เช่น อังกฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน สหรัฐ แคนาดา ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ จีน เป็นต้น ผูผ้ ลิต จึงจำ�เป็นต้องมีขอ้ มูลคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของผลิตภัณฑ์ทส่ี ง่ ออกไปยังประเทศคูค่ า้ เหล่านี”้ หลังจากที่งานสัมมนาดำ�เนินมาจนถึงช่วงสุดท้าย ดร. วรพจน์ อังกสิทธิ์ ได้ให้เกียรติในการกล่าวปิดงานอีกครัง้ และมอบของทีร่ ะลึกให้แก่วทิ ยากรทุกท่านทีร่ ว่ มสัมมนา
ThaiPrint Magazine 47
Printing Business
ISO 15311
Digital Printing Standard โดย กิตติ พรพิพัฒน์วงศ์
บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด DigitalPrint Expert
| 25489-13
vpc
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่าน ฉบับที่แล้วได้ทิ้งท้ายเอาไว้เกี่ยวกับประโยชน์ในการทำ�มาตรฐาน
การพิมพ์ของ ISO 12647 ในฉบับนี้จึงขอพูดต่อในเรื่องการต่อยอดมาตรฐานของการพิมพ์ ISO 12647 ไปเป็นมาตรฐานที่เรียกว่า ISO 15311 Digital Printing Standard ก่อนที่จะไปถึงรายละเอียด ต่าง ๆ ผมขอยกคำ�ว่า “Standardization” ขึน้ มาก่อนว่าคืออะไร? ผมมอง ว่าคำ�ๆ นีต้ อ้ งมาพร้อมกับคำ� 2 คำ� คือ Specification และ Process ทำ�ไมผมถึงต้องพูดถึง 2 คำ�นี้ เพราะ ว่าคำ�ว่ามาตรฐานจะต้องรู้ทั้งเรื่อง
48 ThaiPrint Magazine
ของคุณลักษณะเฉพาะที่ต้องการ (Specification) และวิธีการ (Process) ที่ จะไปให้ถึงคุณลักษณะเฉพาะนั้นๆ ถ้าวันนี้บอกว่าอยากทำ�มาตรฐานอย่าง นั้น อยากทำ�มาตรฐานอย่างนี้ แต่พอถามถึง “วิธีการ” แล้วกลับไม่ได้รับ คำ�ตอบอย่างนี้ไม่มีวันทำ�มาตรฐานได้ครับ คงได้แต่สร้างฝันสร้างความหวัง ลมๆ แล้งๆ ขึ้นมาเป็นแน่ แต่ไหนแต่ไรเมื่อพูดถึงมาตรฐานการพิมพ์จะ ต้องมีครบทั้ง Specification และ Process ยกตัวอย่างเช่น มาตรฐาน ISO 12647-2 ก็ต้องมี “วิธีการ” ที่จะไปให้ถึงมาตรฐานที่เรียกว่า Process Standard Offset (PSO) สำ�หรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้ได้มา ซึ่งมาตรฐาน สำ�หรับเครื่องพิมพ์ดิจิตอลก็เช่นเดียวกัน มาตรฐานของเครื่อง พิมพ์ดิจิตอลคือ ISO 15311 ต้องมาพร้อมกับวิธีการ ซึ่งก็คือ Process Standard Digital (PSD) ซึ่งในส่วนของ ISO 15311 ผมเชื่อว่าท่านผู้อ่าน
ISO 15311 Digital Printing Standard
สามารถหาข้อมูลของค่า Tolerance ต่างๆ ที่อยู่ในมาตรฐานได้อยู่แล้ว ในฉบับนี้และฉบับหน้า ผมจะพูดเฉพาะรายละเอียดของ PSD เท่านั้น แต่ก่อนอื่นผมขอเล่ารายละเอียดที่สำ�คัญให้ทราบสักเล็กน้อยก่อนครับ ปี ค.ศ. 2007 ได้มีการคิดค้น และจัดทำ�มาตรฐานการพิมพ์ Proof เรียกว่า ISO 12647-7 Contract Proof Systems ซึ่งโดยปกติจะนำ�ไป ใช้กับเครื่องพิมพ์ดิจิตอลระบบ Ink Jet เป็นหลัก เพราะในมาตรฐานนี้มีค่า Tolerance ต่างๆ ที่ยากสำ�หรับเครื่องพิมพ์ระบบอื่นๆ จะทำ�ได้ แต่ก็มี เครื่องพิมพ์ดิจิตอลระบบ Electrophotography (หรือที่คุ้นเคยในชื่อระบบ Xerography) บางยี่ห้อเช่นเดียวกันที่สามารถจะผลิตงานพิมพ์ให้มีคุณภาพ ภายใต้มาตรฐานของนี้ระบบ ISO 12647-7 ถูกนำ�มาใช้อย่างต่อเนื่องจน ถึงปัจจุบนั แต่ในปี 2009 เริม่ มีกลุม่ คนตัง้ ข้อสังเกตและข้อสงสัยว่า มาตรฐาน ISO 12647-7 Contract Proof Systems ใช้สำ�หรับพิมพ์ใบปรู๊ฟแผ่นใหญ่ เพียง 1 แผ่นต่อการพิมพ์ 1 ครั้งเท่านั้น ดังนัน้ ถ้าพูดถึงการพิมพ์ดจิ ติ อลแบบ Production (การพิมพ์จ�ำ นวน มาก) เช่น หนังสือ 100 เล่ม หรือนามบัตร 1,000 แผ่น หรือแม้กระทั่งการ พิมพ์ป้าย Banner ขนาดใหญ่ด้วยระบบ Ink Jet แบบ Outdoor จะยัง สามารถใช้ ISO 12647-7 มาเป็นมาตรฐานได้หรือไม่ คำ�ตอบคือ “ไม่ได้” (ผมไม่พูดถึง ISO 12647-8 Validation Print นะครับ เพราะตัวนี้เป็น Draft ที่ทาง ISO คิดขึ้นมา เพื่อรองรับกับเครื่องพิมพ์ดิจิตอลแบบ Production แต่ยังไม่มีการประกาศใช้อย่างเป็นทางการ) เพราะถ้าพูดถึงเครื่องพิมพ์ดิจิ ตอล มันมีรูปแบบที่หลากหลายมาก เช่น เครื่องพิมพ์ดิจิตอลแบบ Production, เครื่องพิมพ์ป้ายไวนิลหรืออื่น ๆ ดังนั้น จะใช้มาตรฐาน ISO 12647-7 มารองรับไม่ได้ ซึ่งทาง ISO ก็รับรู้รับทราบในเรื่องนี้ครับ จึงมีการก่อตั้ง กลุ่ม Digital Printing Working Group (DPWG) ขึ้นมาในปี 2008 เพื่อศึกษา วิจัย และกำ�หนดทิศทางในการทำ�งานให้ถูกต้อง เป็นรูปธรรม ครอบคลุม ระบบการพิมพ์ดิจิตอลทุกรูปแบบ ซึ่งหัวใจสำ�คัญก็คือ ต้องการจะพัฒนา มาตรฐานการพิมพ์ดิจิตอลขึ้นมาให้ได้ และในปี 2011 ที่งาน Digi:media
Trade fair จึงมีการประกาศเปิดตัว PSD (Process Standard Digital) ซึ่งก็ได้รับการตอบรับใน Concept อย่างกว้างขวางจาก ทั้งผู้ประกอบ การและผู้ผ ลิ ต เครื่อ งพิ ม พ์ ดิจิต อล ประเภทต่างๆ มากมายและมีการเปิด ตัว PSD Handbook ที่งาน Drupa 2012 ที่ผ่านมา (แต่ตอนนั้นผมจำ� ได้ ว่ า ยั ง เป็ น ภาษาเยอรมั น อยู่ เ ลย ครับ) Process Standard Digital (PSD) อธิบายถึงวิธกี ารเพือ่ ปรับปรุง กระบวนการทำ�งาน และควบคุมคุณ ภาพของงานทัง้ กระบวนการ ตัง้ แต่ การสร้างไฟล์งานไปจนถึงการพิมพ์ งานออกมาให้ได้มาตรฐานการพิมพ์ ดิจิตอล หรือ ISO 15311 Digital Printing Standard ในกระบวนการ ของ PSD มีการนำ�มาตรฐาน ISO อื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้องมาประกอบกัน เช่น ISO 3664 Viewing Cabinet, ISO 13655 Measurement Device เป็น ต้น โดย PSD มีเป้าหมายหลักๆ อยู่ 3 ประการ คือ 1. Output Process Con trol : โดยมองถึงเครื่องพิมพ์ 2 ประเภท คือ
ThaiPrint Magazine 49
Printing Business
1.1 Large Format (ครอบคลุมถึงเครื่องพิมพ์ Large Format Inkjet/Proofing Machine) 1.2 Small Format (ครอบคลุมถึงเครื่องพิมพ์ Digital ระบบ Electrophotography) ในส่วนของ Output Process Control คือ ทำ� อย่างไร? เมื่อมีการพิมพ์งานซ้ำ� (Reprint) จึงจะได้งาน พิมพ์ที่มีคุณภาพและสีใกล้เคียงกันทุกครั้ง โดยวิธีการที่ จะรักษาคุณภาพของานพิมพ์มีรายละเอียดที่ต้องปฏิบัติ ตาม 8 ข้อดังนี้ - Maintenance -> ตรวจสอบเครื่องพิมพ์ดิจิ ตอลว่าอยู่ในมาตรฐานหรือไม่ เช่น Drum, ชุดทำ�ภาพ, ระบบป้อนกระดาษ เป็นต้น - Identify/Check Material -> จำ�แนกวัสดุพมิ พ์
50 ThaiPrint Magazine
ต่างๆ และตรวจสอบว่าวัสดุพมิ พ์เหล่านัน้ อยูใ่ นมาตรฐาน หรือไม่ - Select Color Reference -> เลือก Profile หรือ มาตรฐานสีที่ต้องการ เช่น Fogra 39, Gracol 2006 - Analyze Printing Condition -> วิเคราะห์ขอบ เขตสีที่ต้องการทำ�มาตรฐาน - Adjustment -> การทำ� Calibration หรือ Linearization เพื่อทำ�ให้เครื่องพิมพ์อยู่ในมาตรฐาน - Characterization & Profile -> การสร้าง Color profile กับกระดาษแต่ละชนิด - Validation -> ตรวจสอบว่างานพิมพ์อยู่ใน มาตรฐานหรือไม่ โดยอาจตรวจสอบผ่าน Fogra Media Wedge V.3.0 ด้วย Spectrophotometer - Quality Insurance (Option) -> นำ�ข้อมูลจาก ข้อ 7 มาวิเคราะห์ต่อเนื่องเพื่อให้ทราบว่าเครื่องพิมพ์มี แนวโน้มที่จะมีปัญหาเรื่องคุณภาพในอนาคตหรือไม่ ที่ ผมเขียนว่า Option คือจะทำ�หรือไม่ทำ�ก็ได้ครับ 2. Color Fidelity : ทำ�อย่างไร? เพื่อให้การ สื่อสารเรื่องสีและคุณภาพงานพิมพ์ระหว่างผู้ให้บริการ งานพิมพ์กับลูกค้าสามารถเข้าใจและรับรู้รับทราบถึงคุณ ภาพงานพิมพ์ในแง่มุมเดียวกันได้ รวมทั้งต้องสามารถ ผลิตงานพิมพ์ที่มีคุณภาพตามความคาดหวังของลูกค้า ได้อย่างถูกต้อง PSD จึงได้แบ่งวิธีการที่ใช้อ้างอิงถึง เรื่องนี้ออกเป็น 3 แบบ คือ 2.1 Characterization Dataset -> คือการเลือก เป้าหมายของ Profile ที่ต้องการ เช่น Fogra39 2.2 The Quality Type (A,B,C) for Image
ISO 15311 Digital Printing Standard Content -> คือ การเลือกระดับของ คุณภาพงานทีแ่ บ่งตามค่า Tolerance ต่างๆ ตามคุณภาพ A, B, C ซึ่งค่า ทีบ่ อกจะเป็นค่าต่�ำ สุดทีส่ ามารถยอม รับได้ โดยสามารถนิยามคุณภาพทั้ง 3 อย่างดังนี้ - Quality Type A (High Quality) : ใช้กับงานที่ต้องการคุณ ภาพของสีสูงมาก และลูกค้ามีความ คาดหวังเรือ่ งสีสงู มาก เช่น งานพิมพ์ ภาพถ่ า ยบนเครื่ อ งพิ ม พ์ ดิ จิ ต อล Large Format, งานพิมพ์โฆษณา ต่างๆ โดยต้องให้มคี ณ ุ ภาพงานพิมพ์ ใกล้เคียงกับมาตรฐาน ISO ของ Off set เมื่อพิมพ์ลงบนกระดาษเคลือบ ผิว (Coated Paper) บนแท่นพิมพ์ Offset แบบป้อนแผ่น - Quality Type B (Good Quality) : ใช้กับงานที่ต้องการคุณ ภาพของสีดี และลูกค้ามีความคาด หวังเรือ่ งสีพอสมควร เช่น Brochure, แผ่นพับ, สิง่ พิมพ์ทต่ี อ้ งการความสวย งาม เช่น หนังสือภาพ, หนังสือแฟชัน่ , ภาพงานศิลปะต่างๆ เป็นต้น โดย ต้องให้มีคุณภาพงานพิมพ์ใกล้เคียง กับมาตรฐาน ISO ของ Offset เมื่อ พิมพ์ลงบนกระดาษเคลือบผิวแบบ บาง LWC (Light Weight Coated Paper) บนแท่นพิมพ์ Offset ป้อน ม้วน - Quality Type C (Minimum Acceptable Quality) : ใช้กับ งานที่ ใ ห้ ค วามสำ � คั ญ กั บ คุ ณ ภาพ งานค่อนข้างน้อย แต่พอยอมรับได้ เช่น รายงานประจำ�ปี โดยต้องให้มี คุณภาพงานพิมพ์ใกล้เคียงกับมาตรฐาน ISO ของ Offset เมื่อพิมพ์ลง บนกระดาษไม่เคลือบผิว (Uncoated Paper) บนแท่นพิมพ์ Offset แบบ
ป้อนแผ่น หรือ ป้อนม้วน ก็ได้ 2.3 The Quality Type (A,B,C) for SPOT Color -> คือการเลือก ระดับของคุณภาพงานที่แบ่งตามค่า Tolerance ต่างๆ ตามคุณภาพ A, B, C ซึ่งค่าที่บอกจะเป็นค่าต่�ำ สุดของการพิมพ์สีพิเศษ ที่สามารถยอมรับได้ (ถ้ามี การใช้งาน) หมายเหตุ: สำ�หรับ Large Format Printing จะมีการระบุระยะใน การมองสีที่ถูกต้องด้วย 3. Workflow : 3.1 Data Preflight : ไฟล์ต้องมีการตรวจเช็คก่อนการพิมพ์จริง เพื่อป้องกันปัญหาของภาพ, Font หรืออื่นๆ 3.2 PDF/X Creation : การสร้างไฟล์ PDF/X ต้องทำ�ได้อย่างถูก ต้องตามมาตรฐานของ Fogra PDF/X Creation 3.3 ICC Handling : ต้องจัดการเรื่อง ICC Color Profile ได้อย่าง ถูกต้องและสมบูรณ์ เช่น ตัวหนีงสือสีด�ำ ถูกพิมพ์ด้วยสีด�ำ เพียงสีเดียว ไม่ได้ มาจากดำ� 4 สี, ค่าสีเทาที่มาจาก R=G=B จะต้องถูกพิมพ์ด้วยสีดำ�เพียงสี เดียว เป็นต้น 3.4 Altona Test Suite V1/V2 : รองรับการพิมพ์งานผ่าน Test Chart ชื่อ Altona (จาก ECI.org) ทั้ง 2 Version ได้อย่างถูกต้อง ซึ่งหมายถึง การทดสอบความสามารถของ RIP และข้อจำ�กัดต่าง ๆ ในการรองรับการ พิมพ์ด้วย PDF/X-3 และ PDF/X-4 3.5 Light Audit : มีการตรวจสอบสภาพแสงที่เหมาะสมต่อการดู งานพิมพ์ โดยต้องอ้างอิงกับมาตรฐานของ ISO 3664 Viewing Cabinet ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นเพียงการเริ่มต้นครับ หวังว่าเนื้อหาคงไม่ หนักเกินไป ฉบับหน้าผมจะมาเจาะรายละเอียดเพิ่มเติมให้มากขึ้นเกี่ยวกับ PSD แล้วพบกันใหม่ครับ
ThaiPrint Magazine 51
Print Interview
คุณเชวง อยู่วิมลชัย
กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม จำ�กัด
อยากให้ท่านกล่าวถึงความเป็นมาของ บริษัท ไทย เคเค อุตสาหกรรม จำ�กัดในด้านธุรกิจที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์มีความเป็นมาอย่างไรบ้าง..? บริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม จำ�กัด นั้นก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ.2521 โดยใช้ชื่อว่า “บริษัท THAI LIANG CHI” ซึ่งในขณะนั้นผลิตสินค้าประเภท Fiber Reinforced Plastic Tank, Cooling Tower และ Chemical Tank จากนั้นในปี พ.ศ.2529 บริษัทได้ร่วมทุนกับบริษัท KK Converter Co.,Ltd. (Taiwan) เปลี่ยนมาผลิตสินค้าในกลุ่ม Sticker, Adhesive Tape และ Melamine&Urea Compound ตามลำ�ดับ และในปีพ.ศ. 2533 ได้เปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการ และเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม จำ�กัด จนถึงปัจจุบัน สำ�หรับธุรกิจที่เกี่ยวกับสิ่งพิมพ์นั้น ทางบริษัทของเราได้ Supply สินค้าในกลุ่ม Sticker ให้กับโรงพิมพ์เพื่อผลิตเป็นงานพิมพ์ประเภทฉลากติด บรรจุภัณฑ์ต่างๆ โดยแบ่งเป็นสินค้าประเภท Paper Label, Direct Thermal Label, Synthetics Label, Graphic Art Label และ Specialty Products เช่น สติ๊กเกอร์ติดยางรถยนต์ (Tyre Label), สติ๊กเกอร์โพลิเอสเตอร์สำ�หรับ ติดอุปกรณ์อิเล็คโทรนิค, สติ๊กเกอร์ติดกระเป๋าเดินทาง (Baggage Tag) และ สินค้าใหม่ล่าสุดที่ทางบริษัทฯ ได้พัฒนาร่วมกับ บริษัท พีทีที โพลิเมอร์ 52 ThaiPrint Magazine
ไทย เคเค อุตสาหกรรม
มาร์เกตติ้ง จำ�กัด (PTT PM) ได้แก่ กระดาษเคลื อ บพลาสติ ก ชี ว ภาพ (PBS) ซึ่งเป็นสารที่สามารถย่อย สลายได้ 100% และปลอดภัย เพื่อ ผลิตบรรจุภัณฑ์ เช่น ถ้วยกาแฟ, กล่องใส่อาหาร เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี อย่างยั่งยืนและครบวงจร การแข่งขันในด้านการตลาดการ พิ ม พ์ มี ก ารวางแผนและพั ฒ นา เทคโนโลยีดา้ นการพิมพ์มงุ่ เน้นกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ประเภทใด เป็นพิเศษ...? จากเหตุภยั พิบตั ติ า่ งๆ ทีเ่ กิด ขึน้ ทัว่ โลก รวมถึงในประเทศไทยเรา พบว่าหลายๆ เหตุการณ์เกิดขึน้ จาก ภาวะโลกร้อน ดังนั้น การช่วยกัน อนุรักษ์ส่งิ แวดล้อมเพื่อลดภาวะโลก ร้อนจึงเป็นหน้าที่สำ�คัญที่ทุกคนจะ ต้องตระหนักและปฏิบัติให้ได้ ดังนั้น บริษทั ไทยเคเคฯ จึงมุง่ มัน่ ทีจ่ ะศึกษา, พั ฒนาและลงทุนผลิตสินค้า ที่เป็น ThaiPrint Magazine 53
Print Interview
มิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยในปัจจุบัน ได้เริ่มดำ�เนินการเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวด ล้อมโดยเลือกใช้กระดาษจากโรงงาน ทีม่ รี ะบบการบริหารการจัดการปลูกป่า ทดแทน (FSC, PEFC) และได้ด�ำ เนิน การผลิตกระดาษเคลือบพลาสติกชีว ภาพ (Bio Plastic) เช่น Polybutylene Succinate (PBS) เพือ่ ผลิตบรรจุภณ ั ฑ์ ต่างๆ ทั้งนี้ ได้มีการนำ�กระดาษดัง กล่าวไปใช้งานเพื่อผลิตแก้วกาแฟ อเมซอนเป็นที่เรียบร้อยแล้วและจะ ต่ อ ยอดไปยั ง สิ น ค้ า ประเภทต่ า งๆ ต่อไป 54 ThaiPrint Magazine
บริษัทมีการวางนโยบายล่วงหน้าสำ�หรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนไว้อย่างไรบ้าง..? การที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (AEC) ในปี พ.ศ.2558 นี้ ทางบริษัทไทยเคเคฯ ได้ขยายฐานการผลิตไปยังเมืองโฮจิมินห์ ประเทศ เวียดนาม โดยได้ตั้งบริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม (เวียดนาม) จำ�กัด ขึ้น ขณะนี้มีพนักงานประมาณ 80 คน เพือ่ เป็นการขยายตลาดของสินค้าไป ยังประเทศในกลุม่ อาเซียน เช่น พม่า, ลาวและกัมพูชา ปัจจุบนั นีบ้ ริษทั ไทยเคเคมีฐานลูกค้ากระจายไปแล้วกว่า 40 ประเทศ ทั่วโลก และบริษัทฯ ยังมุ่งเน้นการลงทุนเทคโนโลยีของเครื่องจักร เพื่อเพิ่ม ศั ก ยภาพในการผลิ ต สินค้าและคุณภาพของสินค้าให้สอดคล้องกับการที่ ประเทศไทยจะก้าวขึน้ เป็นศูนย์กลาง (hub) ด้านการพิมพ์ของอาเซียน โดย ปัจจุบนั บริษทั ใช้เครือ่ งเคลือบกาว (Coating Machine) เทคโนโลยีขน้ั สูงจาก ประเทศเยอรมันซึ่งสามารถเดินเครื่องที่ความเร็ว 400 เมตร/นาที และ เครือ่ งจักรสำ�หรับการตัดคุณภาพสูงจากประเทศเยอรมันเช่นกัน โดยมีความ เร็วสูงสุดถึง 700 เมตร/นาที ทั้งนี้บริษัทฯจะยืนหยัดพัฒนาศักยภาพและ สินค้าอย่างต่อเนื่อง ตามนโยบายของบริษัทที่ว่า “คุณภาพเชื่อถือได้ สู่ ความพอใจของลูกค้า พัฒนาไม่หยุดยั้ง”
ไทย เคเค อุตสาหกรรม
การเจริญเติบโตของธุรกิจด้านการพิมพ์มีการแข่ง ขั น สู ง มากน้ อ ยแค่ ไ หนและมองอุ ต สาหกรรมการ พิมพ์ในอนาคตไว้อย่างไรบ้าง...? การชะลอตั ว ของเศรษฐกิ จ โลกและการใช้ เทคโนโลยีเน็ตเวิร์กออกสื่อโซเชียลมีเดียแทนที่สื่อสิ่ง พิมพ์และวารสารต่างๆ ทำ�ให้ความต้องการสื่อสิ่งพิมพ์ ลดลง ส่งผลให้การแข่งขันสูงมากขึ้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่ ได้ แต่สำ�หรับบริษัทไทยเคเคฯนั้น เน้นสิ่งพิมพ์ประเภท บรรจุภัณฑ์เป็นหลัก เช่น ฉลาก, บรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจาก พลาสติกชีวภาพ เป็นต้น และจากการที่ประชากรโลกมี จำ�นวนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้อุตสาหกรรมผลิตสินค้าอุปโภค และบริโภคต่างๆขยายตัวมากขึ้นตามไปด้วย ตลอดจนกฏหมายบั ง คั บ เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า ที่ จ ะ ต้องมีฉลากระบุรายละเอียดของสินค้านั้นๆ ทำ�ให้ธุรกิจ สิ่งพิมพ์ประเภทฉลาก และบรรจุภัณฑ์ มีแนวโน้มขยาย ตัวตามภาคการผลิตที่เพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อาหาร,เครื่องใช้ไฟฟ้า, สินค้าโภคภัณฑ์, เครื่อง สำ�อางค์ และยา เป็นต้น ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ธุรกิจสิ่ง พิมพ์ประเภทฉลากและบรรจุภัณฑ์จะมีทิศทางที่ดีต่อ ไปอย่างแน่นอน
ThaiPrint Magazine 55
Print Interview
ปัจจุบันการพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัลมีการเติบโตมาก น้อยแค่ไหนและในอนาคตการขยายตัวจะเป็นไปใน ทิศทางใด..? สื่อสิ่งพิมพ์นั้นมีอยู่มากมายหลายประเภท ใน บางส่วนมีการใช้งานครั้งละมากๆ ลูกค้าก็สามารถซื้อ งานพิมพ์ได้หลากหลายช่องทาง แต่สำ�หรับกลุ่มลูกค้าที่ มีการพิมพ์ครั้งละน้อยๆ การพิมพ์ระบบดิจิตอลจึงเป็น ตัวเลือกให้กบั ลูกค้าได้เป็นอย่างดี เนือ่ งจากไม่มขี อ้ จำ�กัด ในเรื่องของจำ�นวน, ความรวดเร็วในพิมพ์ (บางราย สามารถรอรับได้ทันที) ทำ�ให้ปัจจุบันนี้ Digital Printing มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและกว้างขวางมากขึ้น ทั้ ง นี้ อ าจมี ปั จ จั ย หลายด้ า นที่ ส่ ง ผลกั บ การ เติบโตของ Digital Printing เช่น งานพิมพ์บางประเภท 56 ThaiPrint Magazine
มีจำ�นวนพิมพ์ ไม่ มากและมีการเปลี่ ยนแปลงรูปแบบ บ่อยๆ ได้แก่ การ์ดแต่งงาน, Photo Book, นามบัตร, แค๊ตตาล็อก เป็นต้น ก็จะหันไปใช้เครื่องพิมพ์ Print on Demand หรือในกลุ่มโฆษณาตามสถานที่ต่างๆ ทั้ง Out door และ Indoor ก็นิยมใช้การพิมพ์ระบบ Inkjet ใน การพิมพ์ เนือ่ งจากสามารถพิมพ์งานทีม่ หี น้ากว้างขนาด ใหญ่ได้ ซึ่งทางบริษัทไทยเคเค มองเห็นถึงทิศทางของ การขยายตัวของงานพิมพ์ประเภท Digital Printing จึงได้ มีการผลิตสินค้าประเภทสติ๊กเกอร์เพื่อรองรับกับการ พิมพ์ดังกล่าว เช่น สติ๊กเกอร์ประเภทกระดาษสำ�หรับ เครื่องพิมพ์ Print on Demand โดยปัจจุบันได้ผลิตเป็น สินค้า OEM ให้กับบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด และ ในส่วนของงาน Graphic ประเภทสื่อโฆษณา ขนาดใหญ่ (Outdoor) บริษัทได้มีการผลิตสติ๊กเกอร์ สำ�หรับงานพิมพ์ Inkjet Outdoor โดยเฉพาะ โดยร่วม มือกับบริษัท HICO และบริษัท SAELIM ซึ่งเป็นบริษัท ชั้นนำ�ของประเทศเกาหลีใต้ในการพัฒนาสินค้า ซึ่งมีทั้ง สินค้าประเภท PVC, PP และ PET ตามแต่ลักษณะงาน ของผู้ใช้งาน
55 ad smg#87 cs5-m19.pdf
1
14/6/2554
17:12
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
61 61 59 Ad Ad SM Graphic 59#94_pc3.indd 101 101 AdSM SMGraphic#91_pc3.indd Graphic#97_pc3.indd Mitsu DMV3000
19/4/2555 15:42:00 3/5/2556 22:49:29 10/11/2555 1:33:02
Print News
NEVIA Friendship party & Mini Concert
กลุ่มบริษัท เจริญอักษร จัดการแข่งขัน “ฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ครั้งที่ 3 และตะกร้อกระชับมิตร” เพือ่ ส่งเสริมให้บคุ ลากรในภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ออกกำ�ลังกายและสร้าง ความสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นระหว่างกลุ่มธุรกิจโรงพิมพ์และภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้รับการตอบรับด้วยดีตลอดมา...
58 ThaiPrint Magazine
NEVIA Friendship party & Mini Concert
เมือ่ วันศุกร์ท่ี 7 มิถนุ ายน 2556 ทีผ่ า่ นมา ณ ห้อง แอสเตอร์ บอลรูม ชัน้ 14 โรงแรมเดอะ เซนต์ รีจสิ กรุงเทพฯ บริษทั ซี.เอ.เอส เปเปอร์ จำ�กัด ได้จดั กิจกรรม พิเศษเพื่อเลี้ยงสังสรรค์และขอบคุณลูกค้าที่ให้การอุดหนุนสินค้าในเครือกัน มาอย่างต่อเนือ่ งโดยใช้ชอ่ื งาน “NEVIA Friendship party & Mini Concert ” ภายในงานมีการเสวนาในหัวข้อ “Printing Harmony,Printing Beyond” โดย Mr. Wu Kuochuan - Senior Director จากโรงงานโกลด์ อีสท์ เปเปอร์ (โรงงานกระดาษอาร์ตที่ใหญ่ที่สุดในโลก) และเสวนาพิเศษในหัวข้อ “จับตา ค่าเงินบาท ปัจจัยและผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทยและสิ่งพิมพ์” ซึ่ง เป็ น การพู ด คุ ย ให้ มุ ม มองเกี่ ย วกั บ ค่ า เงิ น บาทที่ ยั ง คงเป็ น กระแสร้ อ นแรง ในปัจจุบันว่าไปในทิศทางใด เราควรเตรียมพร้อมรับมือกันอย่างไรบ้าง โดยได้ รับเกียรติจาก คุณกิตติ เจริญกิจชัยชนะ ผู้บริหารกลุ่มงานขายผลิตภัณฑ์ ทางการเงินสายงานธุรกิจตลาดทุน ธนาคารกสิกรไทย ร่วมเสวนา โดยมีพิธีกร ชื่อดัง คุณบัญชา ชุมชัยเวทย์ เป็นผู้ดำ�เนินรายการ นอกจากนี้ ภายในงานยังมี “มินิคอนเสิร์ตของว่าน ธนกฤต AF2” ศิลปินชื่อดังที่มาสร้างความเพลิดเพลินกับผู้ร่วมงานเป็นมินิคอนเสิร์ตที่เรียก
เสียงหัวเราะได้ตลอดเวลาที่ขึ้นแสดง ระหว่างพักจากการร้องเพลง แขกผู้ มีเกียรติก็ได้มาขอถ่ายภาพไว้เป็นที่ ระลึก เรียกว่ามีความเป็นกันเองมาก ครับ สร้างความอิ่มอกอิ่มใจได้มาก เลยทีเดียว และหลังจากจบงานทาง บริษทั ซี.เอ.เอส เปเปอร์ จำ�กัด ได้มอบ หนังสือทีร่ ะลึก “วัดราชบพิธสถิตมหา สีมาราม พระอารามประจำ�รัชกาลที่ 5” โรงพิมพ์ละ 1 ชุด และมอบโชคให้ ผู้เข้าร่วมงานได้ลุ้นรับ Ipad จำ�นวน 2 รางวัล ภายในงานกันอีกด้วย และ ขอแสดงความยินดีกับผู้ท่ไี ด้รับรางวัล ในค่ำ�คืนนั้นด้วยนะครับ ThaiPrint Magazine 59
60-65 Ad S.si-Aksorm#95_pc3.indd #97_pc3.indd 6 63 Ad S.Sri-Aksorn1-6p
3/5/2556 8/2/2556 22:56:42 10:50:17
60-65 Ad S.si-Aksorm#95_pc3.indd #97_pc3.indd 1 64 Ad S.Sri-Aksorn1-6p
3/5/2556 8/2/2556 22:56:42 10:50:16
60-65 Ad S.si-Aksorm#95_pc3.indd #97_pc3.indd 4 65 Ad S.Sri-Aksorn1-6p
3/5/2556 8/2/2556 22:56:42 10:50:17
60-65 Ad S.si-Aksorm#95_pc3.indd #97_pc3.indd 5 60 Ad S.Sri-Aksorn1-6p
3/5/2556 8/2/2556 22:56:41 10:50:17
60-65 Ad S.si-Aksorm#95_pc3.indd #97_pc3.indd 3 61 Ad S.Sri-Aksorn1-6p
3/5/2556 8/2/2556 22:56:42 10:50:17
60-65 Ad S.si-Aksorm#95_pc3.indd #97_pc3.indd 2 62 Ad S.Sri-Aksorn1-6p
3/5/2556 8/2/2556 22:56:42 10:50:17
Thaiprint Cover Story
คุณภาพถูกตา ราคาโดนใจ เปิดรับประสบการณใ์ หม่ กับเทคโนโลยีระบบพิมพ์ ดิจิตอลสีจากริโก้ ที่ให้ คุณภาพระดับสูง กับ ราคาเบาๆ
แรงจูงใจของลูกค้าเกี่ยวกับจุดคุ้มและคืนทุน (ROI และ Breakeven Point) ของลูกค้า โดยยังคงมุ่งเน้นความ สามารถใช้งานเครื่องฯ เพื่ออรรถประโยชน์สูงสุด ริโก้ฯ ในคอนเซ็ปความคุ้มค่าด้านราคา และคุณภาพที่ถูกใจ
PxP Toner : Oil less Toner โทนเนอร์ คุณสมบัติพิเศษที่มีอนุภาคเล็กถึง 5 ไมครอน และหลอมเหลวเมื่อเจอความร้อน โดยไม่ อาศัยน้ำ�มันทำ�ให้งานพิมพ์ออกมาดูเสมือน งานพิมพ์จากระบบอ็อฟเซ็ต
นับตัง้ แต่ปี 2010 จนถึงปัจจุบนั ริโก้ฯ ภูมใิ จน�ำ เสนอเครื่องพิมพ์ดิจิตอลหลากหลายรุ่นเข้าสู่ตลาดธุรกิจ สิ่งพิมพ์ระดับโปรดักชั่น โดยเฉพาะเครื่องพิมพ์ดิจิตอล สีอย่าง Ricoh Pro C901™ Graphic Arts+,Pro™ C751, C751EX และ C651EX ทีไ่ ด้รบั การตอบรับจาก ตลาดเป็นอย่างดี เพราะด้วยคุณภาพอันดีเยีย่ ม ให้งาน พิมพ์ที่ออกมากเสมือนมืออาชีพ ทรงพลังสมรรถนะของ เครื่องพิมพ์ และการลงทุนของผู้ใช้งานอย่างชาญฉลาด ท�ำให้วนั นีร้ โิ ก้ฯ เป็นชือ่ ทีต่ ลาดวงการพิมพ์ให้การยอมรับ และได้รับความไว้วางใจทั้งจากลูกค้าระดับโรงพิมพ์และ องค์กรขนาดใหญ่
ในปีนรี้ โิ ก้ฯ ท้าทายทุกความต้องการของตลาด ไม่ว่าจะเป็นการพิมพ์บนกระดาษพื้นผิวเรียบ ผิวขรุขระ งานพิมพ์ซอง งานพิมพ์ขนาดยาว หรือแบนเนอร์ ท�ำงาน ได้เพิม่ จากคุณสมบัตเิ ด่นแต่เดิมของเครือ่ ง ในเรือ่ งของ อนุภาคโทนเนอร์ขนาดเล็กถึง 5 ไมครอน เป็นโทนเนอร์ หลอมเหลวได้โดยไม่ตอ้ งใช้นำ�้ มันเคลือบลูกกลิง้ ท�ำความ ร้อน ประกอบกับเทคโนโลยีเลเซอร์อย่าง VSCEL ทีใ่ ห้ความ ละเอียดสูงถึง 4,800 dpi ท�ำให้คณ ุ ภาพพิมพ์ทไี่ ด้มคี วาม ใกล้เคียงคล้ายงานอ็อฟเซ็ต เพราะไม่ขึ้นเงา อีกทั้งยัง สามารถน�ำงานพิมพ์ทไี่ ด้ไปท�ำการตกแต่งหลังพิมพ์ เช่น การเคลือบเงา เคลือบด้าน หรือ spot UV ได้โดยไม่ตอ้ ง ผ่านกระบวนการพิเศษใด ๆ ทีเ่ ป็นการเพิม่ ต้นทุน
ส�ำหรับ ปี 2013 นับเป็นโอกาสทองของผูท้ ตี่ อ้ งการ ลงทุนธุรกิจสิง่ พิมพ์ เพราะเทคโนโลยีใหม่ ๆ ต่างตบเท้าเปิด ตัวนวัตกรรมกันในปีนี้ ริโก้ฯ ก็ขอเปิดตัวโซลูชนั่ ใหม่ ๆ เพือ่ ต้อนรับความคึกคักที่กำ� ลังจะมาถึง แต่ปีนี้ริโก้ฯ จะแสดง ให้เห็นมากกว่า ด้วยเทคโนโลยีทอี่ อกแบบมาอย่างค�ำนึงถึง ความต้องการของตลาดอย่างแท้จริง แม้วา่ สภาวะเศรษฐกิจ จะมีการขยับตัวเพิม่ ขึน้ ในช่วงต้นปี แต่กย็ งั มีผปู้ ระกอบการ หลายท่านยังลังเลทีจ่ ะขยายการลงทุนเพิม่ ริโก้ฯ ค�ำนึงถึง
ครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชีย กับงาน Pack Print Intenational 2013 วันที่ 28 – 31 สิงหาคม 2556 ทีบ่ ธู๊ ริโก้ฯ สัมผัสประสบการณ์ใหม่ กับหลากหลานวัตกรรมทีพ่ ร้อม เพรียงมาให้เห็นในงานนีพ้ ร้อม ๆ กัน ด้วยคุณสมบัตเิ ฉพาะ ตัวของเครื่องพิมพ์ที่จะสร้างความประหลาดใจและความ ประทับใจกับผูท้ เี่ ข้ามาเยีย่ มชม ริโก้ฯ จะเปิดตัวสิง่ ทีม่ ากก ว่าเครือ่ งพิมพ์ดจิ ติ ลั แต่เป็นนวัตกรรมโซลูชนั่ แห่งปี 2013 ที่ ไม่เพียงจะตอบสนองแค่เฉพาะตลาดโรงพิมพ์เท่านัน้ ริโก้
66 ThaiPrint Magazine
คุณภาพถูกตา ราคาโดนใจ
ที่มา : Adam Page, Pira International http://www.slideshare.net/adampage1976
ยังเล็งเป้าหมายทีใ่ หญ่กว่านัน้ โดยเพิม่ ขอบเขต ไปถึงกลุม่ ซอฟท์แวร์ เน้นการน�ำเสนอทีเ่ ป็นโซลูชนั่ มากขึน้ เพราะเรา ได้เห็นแล้วว่า ในกระแสของสือ่ ดิจติ ลั ทีข่ อ้ มูลทุกอย่างได้ ก้าวไปอยูใ่ นโลกไร้สาย (wireless) การติดต่อสือ่ สารส่ง ข้อมูลต่าง ๆ เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ช่องว่างระหว่างข้อมูล กับผู้บริโภคลดแคบลง การปรับตัวของภาคธุรกิจหลาย ประเภทต้องขยับตัวให้ทนั ต่อกระแสของผูบ้ ริโภค ขนาด จ�ำนวนของผูบ้ ริโภคทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ยิง่ ท�ำให้การ สื่อสารต้องเร่งความเร็ว เพื่อตอบสนองลูกค้าให้ได้มาก ทีส่ ดุ หลายธุรกิจเริม่ มองหาแหล่งลงทุนเพิม่ ตามตลาดที่ ขยายตัว กลุม่ ภาคธุรกิจสิง่ พิมพ์กย็ อ่ มต้องการเทคโนโลยี ที่พร้อมเข้ามาตอบโจทย์ของลูกค้า หรือแม้กระทั่งตัวผู้ใช้ ปลายน�ำ้ (end users) เอง ก็เข้ามามีบทบาทในการตัดสิน ใจลงทุนของผูป้ ระกอบธุรกิจสิง่ พิมพ์มากขึน้ เช่นกัน ดังจะเห็นจากกราฟว่าในตลาดสิง่ พิมพ์ขนาด ใหญ่ ทัว่ โลกเริม่ ให้ความสนใจเกีย่ วกับการสือ่ สารและท�ำธุรกิจ ข้อมูลเป็นส�ำคัญ เห็นได้จากมูลค่าของตลาดสิง่ พิมพ์ทเี่ กีย่ ว กับ e-commerce กับ transaction VDP ซึง่ จากภาพ
ประกอบจะเห็นได้วา่ แนวโน้มการเติบโตของมูลค่าธุรกิจใน ตลาดพิมพ์ทวั่ โลกไปจนถึงปี 2015 มีการเติบโตขึน้ มาก อย่างเห็นได้ชดั ในขณะทีก่ ลุม่ Creative และ Layout ครอง อันดับมูลค่าในตลาดสูงสุด เนือ่ งจากไม่จำ� กัด output device ทีน่ า่ จับตารองลงมาคือ สิง่ พิมพ์ประเภทบรรจุภณ ั ฑ์ ที่ครองตลาดอย่างเหนี่ยวแน่น เป็นที่น่าสังเกตว่าในงาน Drupa ปี 2012 ทีผ่ า่ นมา หลาย ๆ ค่ายทีผ่ ลิตเครือ่ งพิมพ์ โดยเฉพาะเครือ่ งพิมพ์ดจิ ติ อล จะจัดโชว์กลุม่ งานตัวอย่าง ประเภทบรรจุภณ ั ฑ์ โดยเฉพาะริโก้ฯ ทีเ่ น้นท�ำงานตัวอย่าง ประเภทบรรจุภณ ั ฑ์หรือ ผลิตภัณฑ์ทเี่ น้นการใช้ประโยชน์ใน ชีวติ ประจ�ำวันและสามารถแฝงการโฆษณาไปในตัว เช่น ทีแ่ ขวนประตู ทีท่ ำ� จากแผ่น PICOTM Film กล่องใส่นามบัตร หรือแม้กระทัง่ ฉลากติดขวดน�ำ้ * โดยตลาดทีค่ าดว่ายังคงมี การขยายตัวเพิม่ ก็ยงั เป็นตลาดในภูมภิ าคเอเชียทีน่ า่ จับตา มองอยูเ่ ช่นเคย (อ้างจาก Global Production Copying and Printing Market Forecast: 2010-2015) แนวโน้ม ตลาดการลงทุนกับเครือ่ งพิมพ์ระบบ Electrophotography หรือ Digital Printing เพิม่ ขึน้ อย่างชัดเจน ในขณะทีร่ ะบบ พิมพ์อนื่ ๆ มีการปรับตัวบ้างเพียงเล็กน้อย
ที่มา : Adam Page, Pira International
http://www.slideshare.net/adampage1976 โดยเราหวังเป็นอย่างยิ่งว่านวัตกรรมที่เราได้น�ำ เสนอตลอดระยะเวลาการจัดงานและหลังจากนี้ จะเป็น แนวทางหรือสะพานเชือ่ มให้ผเู้ ข้าชมได้เก็บเกีย่ วประสบการณ์ กลับบ้าน ทางริโก้ฯ พร้อมทีจ่ ะเป็นผูใ้ ห้คำ� ปรึกษาในฐานะ ผู้เชี่ยวชาญด้านโซลูชั่นทางข้อมูลและสิ่งพิมพ์
สนใจจองเวลาชมสาธิตโซลูชนั่ ในงาน หรือสอบถามเพิม่ เติม โทร. 02-762-1524 หรือ ตัวแทนจ�ำหน่าย Market Forecast by Category, 2009-2015 ($Millions), InfoTrends 2011
“เชิญพบข้อเสนอโดนใจ จนท่านอยากจับจองเป็นเจ้าของ ที่ริโก้บู๊ธ E01”
*หมายเหตุ: เฉพาะบรรจุภัณฑ์กลุ่มทุติยภูมิ หรือตติยภูมิ ผลิตภัณฑ์ของริโก้ฯ ทุกตัว ผ่าน RoHs แล้ว ดูเพิ่มเติม http://www.ricoh.com/LSI/about/t-reels/
ThaiPrint Magazine 67
HONGEI PRINTING MACHINERY
TM
ผู้เชี�ยวชาญทางด้านเครื�องหลังการพิมพ์ทุกชนิด ผู้จัดจำหน่ายเครื�องหลังการพิมพ์ที�ดีที�สุด
BAODER
BAODER
เครื�องปั�มไดคัทอัตโนมัติ รุ่น BD-����CS
เครื�องปั�มไดคัท(+ทองเค)อัตโนมัติ รุ่น BD-����CSF
Automaitc Foil Stamping with Embossing And Diecutting Platen
Automatic Die-Cutting Machine
ความเร็วสูงสุด:����แผ่น/ชั�วโมง
ผลิตในไต้หวัน
ความเร็วสูงสุดในการทองเค:����แผ่น/ชั�วโมง
เครื�องสปอตยูวีอัตโนมัติ รุ่น SP����
เครื�องเคลือบปะประกบลูกฟูกอัตโนมัติ รุ่น CS-���� Automatic Flute Laminator
ความเร็วสูงสุด:�����แผ่น/ชั�วโมง
Nespot Auto UV/IP Spot Varnisher
ผลิตในไต้หวัน
เครื�องปะกล่องไฮสปีดอัตโนมัติ รุ่น CM-���PC
Full-auto Vertical Laminating Machine
High speed fully automatic folder gluer
ความเร็วสูงสุด:��m/min
Plasma Device
ผลิตในไต้หวัน
ความเร็วสูงสุด:(UV)����แผ่น/ชั�วโมง
เครื�องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ รุ่น QLF-���/���
Electric Spray Gun
ผลิตในไต้หวัน
ความเร็วสูงสุด:���m/min
Thermal Film Laminate
ฟอยล์ทองเค
สนใจเข้าชมสินค้าได้ที� ���ถนนพระรามที�ี� แขวง/เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ �����(ติดกับโฮมโปรพระราม�) สอบถามรายละเอียดได้ที� Tel:��-���-���� Fax:��-���-���� www.hongeith.com
HONGEI PRINTING MACHINERY
TM
ผู้เชี�ยวชาญทางด้านเครื�องหลังการพิมพ์ทุกชนิด ผู้จัดจำหน่ายเครื�องหลังการพิมพ์ที�ดีที�สุด เครื�องยกกระดาษอัตโนมัติ Lifter
Auto Thermal Film Laminating Machine
เครื�องเคลือบลามิเนทอัตโนมัติ
เครื�องตัดกระดาษ(โครงสร้างเครื�องเป็นชิ�นเดียว)
เครื�องสั�นกระดาษให้เรียบ
Large Format High-precision Paper Cutter with Integrated Rack
Jogger
เครื�องเคลือบลามิเนทกึ�งอัตโนมัติ
เครื�องเคลือบลามิเนท(ป้อนมือ)
Thermal Film Laminating Machine
Semi-auto Laminating Machine
เครื�องเคลือบยูวีอัตโนมัติ
UV Roller Coating Machine
เครื�องปะกล่อง
Single Side Sticker Folder Gluer
เครื�องขัดเงา
เครื�องเคลือบยูวีกึ�งอัตโนมัติ
Paper Pressing Machine
เครื�องปะกล่อง (pre-folder)
UV Roller Coating Machine
Pre-folder Folder Gluer
เครื�องซิลค์สกรีนอัตโนมัติ
Hydraulic Collecting System
เครื�องปะปกแข็งอัตโนมัติ รุ่น ZFM���A/���A
เครื�องเจาะรูอัตโนมัติ
Automatic Case Making Machine
Full Automatic Cylinder Screen Press
Automaitc Punching Machine
เครื�องทากาวกึ�งอัตโนมัติ
เครื�องพับกระดาษควบคุมโดยไฟฟ้า Combined Folding Machine
เครื�องเย็บกี�
เครื�องซิลค์สกรีนกึ�งอัตโนมัติ
เครื�องอบยูวี
Manual Gluing Machine
UV Photofixation Machine
Horizontal-lift halftone printing Machine
เครื�องไสกาว
Elliptic Perfect Binding Machine
เครื�องตัดสามด้าน
Three side trimmer
Semi-Automatic Sewing Machine
เครื�องปะประกบลูกฟูกอัตโนมัติ Automatic Flute Laminator
เครื�องปะประกบลูกฟูกกึ�งอัตโนมัติ Semi-Automatic Flute Laminator
เครื�องปั�มไดคัทกึ�งอัตโนมัติ Semi-automatic Die-cutting and Creasing Machine
เครื�องพิมพ์กล่องลูกฟูกระบบเฟล็กช์โซ่ พร้อมสล็อตเตอร์และสแตกเกอร์
Automatic Flexo Printing & Slotting Machine
เครื�องทำลอนกระดาษลูกฟูก�ชั�น
เครื�องปั�มไดคัท
Die-cutting and Creasing Machine
Single Side Corrugated Cardboard Machine Groups
เครื�องพิมพ์กล่องลูกฟูกอัตโนมัติ
Three-color Printer Series Machine
เครื�องเย็บกล่อง
Semi-stitching Machine
สนใจเข้าชมสินค้าได้ที� ���ถนนพระรามที�ี� แขวง/เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ �����(ติดกับโฮมโปรพระราม�) สอบถามรายละเอียดได้ที� Tel:��-���-���� Fax:��-���-���� www.hongeith.com
Print Technology
หมึ ก พิ ม พ์ . .. สำ � หรั บ ชะลอการสุ ก ของผลไม้ ส
วัสดีครับ วันนี้กระผมนายไอไอเค จะขอแนะน�ำนวัตกรรมส�ำหรับกล่อง บรรจุส�ำหรับยืดอายุของผลไม้มาฝากนะครับ เวลาเราไปตลาดเพื่อเลือกซื้อผลไม้สักอย่างนั้น เราก็ต้องดูโดย รวมด้วยตา ดูขนาด ดูตำ�หนิ ดูสี ชิมรสชาติ เปรี้ยวหรือหวานไปหรือ เปล่า มีกลิ่นแปลกๆ เนื่องจากการเน่าเสียหรือไม่ ทุกอย่างมันเป็นข้อมูล ประกอบการตัดสินใจในการซือ้ หรือไม่ซอ้ื นีแ่ หละเป็นแรงบันดาลใจให้เกิด นวัตกรรมของการสร้างสารเคลือบชะลอการสุกและประยุกต์ให้พิมพ์ได้ บนกล่องบรรจุภัณฑ์นะครับ ปัจจุบันมีเทคนิคและกระบวนการมากมายเพื่อจะป้องกันและลด ความเสื่อมเสียของมะม่วง หนึ่งในเทคนิคนั้นคือ การกำ�จัดแก็สเอทีลีน ในการเก็บรักษามะม่วง แบ่งเป็น 3 กลุ่มของเทคนิคการใช้ตัวกำ�จัดเอที ลีน คือ การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา การใช้เพทตินัมในอะลูมิเนียม เป็นตัวออก ซิไดส์เอทีลีนเป็นคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ� ซึ่งมีราคาแพงและไม่นิยม (ต่อมาเป็นการใช้ตัวออกซิไดส์ ส่วนใหญ่ใช้โปแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
72 ThaiPrint Magazine
ในถุ ง เล็ ก วางไว้ ใ นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ผั ก ผลไม้ แ ละการใช้ ส ารดู ด ซั บ เป็ น แร่ธาตุที่มีความพรุนสูง มีพื้นที่ผิว มากและสามารถตรึงโมเลกุลของ แก็สเอทิลีน ได้แก่ ถ่านกัมมันต์ ดินขาว ซีโอไลต์และหินภูเขาไฟ โดยการผสมพาลาเดียมและถ่านกัม มันต์ ถา่ นกัมมันต์จะใช้ในลักษณะที่ เป็นการบรรจุถงุ เล็กและการเคลือบ ลงไปบนกล่องกระดาษลูกฟูกและ ซีโอไลต์ในถุงพลาสติกพอลิเอทีลีน สามารถตรึงเอทีลีนได้ ในอุตสาห กรรมการพิมพ์การเคลือบเงากระดาษโดยการใช้ ห มึ ก ไม่ มี สี ห รื อ วานิชเป็นเทคนิคที่ราคาค่อนข้าง ถูก มีประสิทธิภาพในการป้องกัน หมึกพิมพ์และผิวกระดาษจากการ ขูดขีดในระดับปานกลาง เสริมความ สวยงามในด้านความแวววาวและ ความใส ให้ภาพที่สดใสและชัดเจน โดยการนำ � วานิ ช เคลื อ บกล่ อ ง กระดาษลู ก ฟู ก เพื่ อ ป้ อ งกั น สาร ดู ด ซั บ เอที ลี น จากการขี ด ข่ ว น และมี พ อลิ แ ลคติ ก เอซิ ด เป็ น องค์ ประกอบในน้ำ � หมึ ก เพื่ อ การย่ อ ย สลายและรีไซเคิลง่าย
อินเตอร์อิ้งค์
Figure 1 การทดลองกระดาษชะลอสุกของมะม่วง
การจะทำ�ให้ผลไม้ยืดอายุได้มีประสิทธิภาพ นั้น เราจะต้องให้หน้าสัมผัสของกระดาษสัมผัสกับผล ไม้โดยตรง ถ้าเรายังใช้วิธีแปะ หรือว่าไม่สำ�ผัสผลไม้ โดยตรงนั้นเชื้อรามันก็จะเกิดอยู่ ตอนนี้เราจึงทำ�ถุงห่อ หรือกระดาษทีน่ �ำ มาห่อตัวผลไม้เลย ปกติเรากินมะม่วง หรือว่าสาลีแล้ว เราจะพบว่าผลไม้พวกนี้มันอยู่ในถาด ที่ห่อหุ่มกันกระแทก ทางเราก็มาคิดกันว่า เราจะทำ�ให้ กระดาษยืดอายุผลไม้ของเรามีคุณสมบัติกันกระแทก ได้อีกอย่างด้วย ไม่เพียงแต่รักษาผิวมะม่วงหรือเชื้อรา เท่านั้น เราก็จะขึ้นรูปเป็นอย่างที่เขาทำ�ตามตลาด จากการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการชะลอ การสุกในงานวิจัยครั้งนี ้ พบว่า สามารถยืดอายุได้ 27 วัน มีแต่ชุดควบคุมมีอายุการเก็บรักษาเพียง 18 วัน ที่อุณหภูมิ 13±2°C ความชื้นสัมพัทธ์ 90±5 %RH
ขอขอบคุณ ข้อมูลจากอาจารย์ สุพัฒน์ คำ�ไทย หากมีท่านใดมีข้อสงสัยหรือข้อสอบถาม ติดต่อกับ กระผม นายไอไอเค ผ่านทาง mkt@inter-ink.com นะ ครับ mkt@inter-ink.com นายไอไอเค
ThaiPrint Magazine 73
Print Interview
คุณเวทิน ศิรินุพงศ์
ประธานชมรมการพิมพ์ภาคใต้คนแรก เจ้าของโรงพิมพ์เทมการพิมพ์ อ.เมือง จ.สงขลา อยากทราบประวัติความเป็นมาของประธานชมรมการพิมพ์ภาคใต้..? ก่อนหน้านี้ผมเริ่มจากการเป็นครูมาก่อนครับ ผมเรียนการศึกษา บัณฑิตที่วิทยาลัยการศึกษาบางแสน สมัยนี้คือมหาวิทยาลัยบูรพา เรียนจบ ก็มาเป็นครูสอนหนังสือแต่ผมเองชอบทางด้านโสต ด้านสื่อต่างๆ ชอบถ่าย ภาพ เล่นเครือ่ งเสียง ซึง่ ผมสอนวิชาฟิสกิ ส์นะครับ หลังจากนัน้ ก็ไปเปิดชมรม ถ่ายภาพ ได้ใช้เครื่องเสียงต่างๆ มีหน้าที่จัดเตรียมอุปกรณ์ ต่อจากนั้นมา ผมก็ย้ายออกไปประจำาอยู่ที่ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนเป็นผู้ดูแลทางด้าน สื่อต่างๆ พอดีเขาให้เครื่องพิมพ์มาเครื่องหนึ่ง เป็นเครื่องพิมพ์แท่นมา เครื่องพิมพ์ออฟเซ็ตมา และก็เอาไปไว้ในส่วนของงานบริการของศูนย์การ ศึกษานอนกโรงเรียนซึ่งให้ผมดูแลด้วย จากที่ผมไม่มีความรู้ด้านการพิมพ์ เลย กระดาษปรู๊ฟก็ไม่รู้จัก กระดาษปอนด์ก็ไม่รู้จัก แต่ก็ด้วยความจำาเป็น ที่เราจะต้องศึกษาและต้องทำาให้ได้โดยมีพี่เลี้ยงที่คอยสอนงานว่าจะต้อง ทำาอย่างไรถึงจะพิมพ์ออกมาได้สำาเร็จ มีอะไรที่อยากรู้เราก็ถามเขาตลอด 80 ThaiPrint Magazine
พอเรามีประสบการณ์มากพอที่จะ สามารถใช้เครื่องพิมพ์จนชำานาญ ก็ เลยตัดสินใจซื้อเครื่องพิมพ์เองและ ต่ อ มา ไ ด้ ออกมาทำ า โร งพิ ม พ์ เ อง ต้ อ งลาออกจากการเป็ น ครู ม าทำ า โรงพิมพ์เอง เริ่มจากเครื่องพิมพ์ตัว เดียวซึ่งผมยอมขายรถเก๋งไป 1 คัน เพื่อเอาเงินมาซื้อเครื่องพิมพ์และ นำ า มาตั้ ง พิ ม พ์ ที่ โรงจอดรถทำ า หลั ง เลิกงานช่วงแรกๆ เครื่องตัดก็ไม่มี เวลาซื้ อ กระดาษก็ ใ ห้ห เขาตั ด มาให้ พร้อม ก็ค่อยๆ โตขึ้นมาจนปัจจุบัน นี้ครับ
เทมการพิมพ์
อยากทราบความเป็นมาของชมรมก่อตั้งขึ้นมาได้ อย่างไร...? ความจริงแล้วการก่อตั้งก็เกิดมาจากคุณหงษ์ โรงพิมพ์ที่หาดใหญ่ ซึ่งได้พูดคุยกันและมองเห็นว่าทาง ภาคใต้ยังไม่มีการตั้งชมรมขึ้นมา แต่ทางภาคเหนือเขา ก็มกีารกอ่ตัง้ชมรมกลุ่มการพิมพ์ภาคเหนือ แลว้ ก็เลย เกิ ด ความคิ ด ที่ จ ะรวมกลุ่ ม กั น เพื่ อ ตั้ ง เป็ น กลุ่ ม ชมรม การพมิพภ์าคใตข้น้ึ มาบ้าง เพอ่ืเกดิเปน็ศนูยร์วมของกลมุ่ โรงพิมพ์ด้วยกัน จากที่ค่อยๆ หาสมาชิกได้นัดกันรวม กลุ่มกันและถามความเห็นกัน ค่อยเพิ่มสมาชิกเข้าจน เป็นกลุ่มก้อนจนได้ จึงหาช่องทางในการปรึกษากับทาง สมาคมการพิมพ์ไทย เพื่อขอให้ช่วยในการสนับสนุนจัด ตั้งชมรมการพิมพ์ภาคใต้ขึ้นมาได้สำาเร็จเมื่อเร็วๆ มานี้ เองเพื่อที่โรงพิมพ์ขนาดเล็กและโรงพิมพ์ขนาดใหญ่ได้ สามารถที่จะช่วยเหลือจุนเจือกันได้โรงพิมพ์ใหญ่ที่มี อุปกรณ์ครบมีคุณภาพก็สามารถมาใช้ร่วมกันได้ ช่วย เหลือซึ่งกันและกันได้นี่คือวัตถุประสงค์แรกเลยที่รวม กลุ่มกันขึ้นมา
หลังจากก่อตั้งเป็นชมรมการพิมพ์ภาคใต้ขึ้นมาแล้ว คิ ด ว่ าจะช่ ว ยให้ อุต สาหกรรมการพิ มพ์ ดี ขึ้ น ขนาด ใด..? เบื้องต้นเราต้องพยายามดึงกลุ่มต่างๆ ให้มา รวมตัวกันให้ได้มากที่สุด เราจะต้องทำาให้โรงพิมพ์ที่อยู่ ในกลุ่ ม เห็ น ก่ อ นว่ า ที่ ร วมกลุ่ ม กั น ขึ้ น มาแล้ ว เขาจะได้ อะไรกลับไปบ้าง จากการตั้งชมรมนี้ขึ้นมา เพราะถ้าเรา ThaiPrint Magazine 81
Print Interview และมี จำ า นวนสั่ ง พิ ม พ์ ที่ น้ อ ยมาก เพราะฉะนั้ น ผมจึ ง คิ ด ว่ า โอกาสที่ เติบโตได้ในตอนนี้ค่อนข้างยากมาก ครับ คือตอนนี้เราต้องรวมกลุ่มกัน ให้ได้ก่อนครับและมาวางแผนงาน กั น ว่ าชมรมกลุ่ ม ของเราจะพั ฒ นา ในเรื่องไหนก่อน แล้วปล่อยให้เด็ก รุ่ น ใหม่ เข้ า มาบริ ห ารกั น ต่ อ เราแค่ เป็นผูว้ างรากฐานให้แน่นหนาเท่านัน้ ครับเพราะเด็กรุ่นใหม่จะไวกว่ากัน มองเห็นอะไรที่แปลกๆ ใหม่กว่าคน รุ่นเก่าๆ ครับ
ไม่สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้โรงพิมพ์เห็นตรงนี้แล้วเราก็จะไม่เกิดความ เข้มแข็งในกลุ่มการพิมพ์ของเราเองเพราะฉะนั้นอันดับแรกชมรมเองต้อง อยากให้สมาคมการพิมพ์ไทยเข้า สร้างความแข็งแรงกันในกลุ่มก่อนครับ มาสนับสนุนในด้านใดบ้าง..? ก็ มี อ ยู่ ห ลายส่ ว นที่ อ ยาก หลังจากที่ตั้งชมรมกลุ่มการพิมพ์ภาคใต้ขึ้นมาได้แล้วคิดว่าจะมีการจัด ให้ทางสมาคมการพิมพ์ไทยเข้ามา กิจกรรมอะไรขึ้นมาบ้างครับ.? ช่วยเติมอย่างที่เคยๆ ทำากันมาเมื่อ ก็คงจะเป็นกิจกรรมที่สามารถให้คนในกลุ่มการพิมพ์เดียวกันเกิด ก่อนๆหน้านี้ก็ดีอยู่แล้วที่มีการจัด ความรักความสามัคคีกัน ได้มีโอกาสทำาความรู้จักกันเพื่อสร้างความคุ้นเคย สัญจรใต้และกิจกรรมต่างๆ ก็ดีอยู่ กันได้เห็นหน้ากันระหว่างโรงพิมพ์ใหญ่กับโรงพิมพ์เล็กได้พูดคุยกัน แสดง แล้วอย่างที่จะเพิ่มเติมก็อยากให้มี ความช่วยเหลือกันในด้านต่างๆ ที่สามารถเกื้อกูลกันได้ ใครมีอะไรที่ช่วย การพั ฒ นาความรู้ ค วามสามารถ กันได้ก็ช่วยเหลือกันไปเริ่มจากตรงนี้ก่อนครับ ของช่างพิมพ์ให้มีความรู้เรื่องต่างๆ การดู แ ลรั ก ษาเครื่องพิมพ์การดูแล ในฐานะเป็นประธานชมรมกลุ่มการพิมพ์ภาคใต้มีแนวคิดไหมครับที่จะ รั ก ษาความสะอาดเครื่อ งพิ ม พ์ ทำ า ชวนโรงพิมพ์ในชมรมให้หันมาใส่ใจเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม..? ยังไงทีใ่ ห้ประหยัดขึน้ เพราะจะให้โรง ตรงนี้ต้องมีแน่นอนครับ เพราะก็ทราบดีว่าเป็นเรื่องที่ต้องให้ความ พิมพ์เล็กๆ ส่งช่างพิมพ์ขึ้นไปเรียน สำาคัญเป็นอย่างยิง่ เราต้องร่วมกันครับ ระหว่างโรงพิมพ์ทม่ี ขี นาดใหญ่มคี วาม ก็คงไม่ไหว และหากส่งไปแล้วการ พร้อมมากกว่าโรงพิมพ์ขนาดเล็กจะสามารถช่วยเหลือกันได้อย่างไรเพราะ ที่เราจะควบคุมช่างพิมพ์ก็ยากมาก โรงพิมพ์เล็กส่วนใหญ่ก็ยังไม่มีงบประมาณที่จะมาเสียเพิ่มในเรื่องตรงนี้ เขาสามารถไปจากเราได้ ทั น ที ที่ มี อย่างโรงพิมพ์ใหญ่ จะช่วยเหลือหรือสนับสนุนด้านใดบ้างต้องมีการหาลือ โรงพิมพ์อน่ื ให้คา่ จ้างเขาสูงกว่า เพราะ กันในกลุม่ ก่อนครับ ซึง่ ผมต้องขอเวลาในช่วงแรกนีก้ อ่ นในการกำาหนดทิศทาง เมื่อก่อนผมเองก็เคยส่งช่างพิมพ์ขึ้น ของแผนการทำางานร่วมกับสมาชิกในกลุ่ม มาเรียน แต่พอเขาอยากไปเขาก็ ไป เจ้ า ของโรงพิ ม พ์ เ องก็ ต้ อ งหา การเติบโตของสิ่งพิมพ์ในภาคใต้ตอนนี้เป็นอย่างไรบ้างครับ...? ช่างพิมพ์ใหม่อีก ก็เป็นเรื่องที่ยาก ต้องบอกก่อนครับว่าตอนนี้เป็นเรื่องที่ยากครับ โรงพิมพ์ที่ภาคใต้ นะครับ ก็ยินดีครับที่ทางสมาคมการ ค่อนข้างโตยากครับ เพราะการแข่งขันกันสูงมาก จำานวนที่จ้างพิมพ์ก็จะมี พิ ม พ์ ไ ทยจะเข้ า มาสนั บ สนุ น พั ฒ จำานวนที่น้อยลงกว่าแต่ก่อนมาก อย่างเช่นงานพวกโปสเตอร์ก็มีจำานวนสั่ง นาชมรมกลุ่มการพิมพ์ภาคใต้ให้มี พิมพ์ที่น้อยลง ลูกค้าหันไปใช้วัสดุอื่นที่มีต้นทุนที่ต่ำากว่าและเป็นงานเล็กๆ ความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น 82 ThaiPrint Magazine
Print News
กระดาษ A4 ใช้แล้ว นิตยสารเก่า อย่าทิ้ง! ร่วมบริจาคเพื่อคนตาบอดได้.... เรียบเรียงโดยทีมกองบรรณาธิการวารสาร Thaiprint ขอขอบคุณภาพประกอบจาก มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์
โดยโรงเรียนสอนคนตาบอด ต้องการกระดาษ A4 และนิตยสารเหลือใช้เหล่านี้เป็นอย่างมาก เพื่อนำาไปทำาเป็น สื่อการเรียนการสอนให้กับบ้านเด็กตาบอดพิการซ้ำาซ้อนพญาไท จึงจัดทำาโครงการบริจาคกระดาษ A4 และหนังสือ เก่าขึ้น ผู้ใดที่มีหนังสือเก่าเหลือใช้โปรดอย่าทิ้ง เพราะ สามารถนำามาบริจาคให้กับเราได้ซึ่งสิ่งเหลือใช้เหล่านี้ จะเป็นประโยชน์มากกับโรงเรียนสอนคนตาบอดเป็น อย่างมาก ซึ่งเราอยากขอรับบริจาค กระดาษ A4 ที่ ใช้แล้ว ไม่ว่าจะหน้าเดียว และสองหน้า เพื่อนำาไปทำา อักษรเบลล์ ในชื่อโครงการ “กระดาษหน้าที่สาม” โดย กระดาษที่ขอรับบริจาคนั้น ต้องไม่พับ ไม่ยับ มีความ หนา 80 แกรมขึ้นไป และข้อมูลในกระดาษต้องไม่เป็น ความลับของบริษัท อ้อ ขอสงวนสิทธิ์พวกแผ่นใบปลิว โบรชัวร์ทั้งหลายนะครับ เพราะนักเรียนตาบอดจะไม่ สะดวกในการนำาไปใช้ต่อครับ สื่อการเรียนการสอนจากปฏิทินเก่า
ส่วนบ้านใครที่มีนิตยสารเก่า ๆ ก็ยังสามารถ ร่วมบริจาคให้คนตาบอดได้เช่นกันครับโดยนักเรียน ตาบอดจะนำานิตยสารเหล่านี้ไปใช้เป็นสมุดเขียนนั่นเอง
ดังนั้นแล้ว ใครที่มี กระดาษ A4 รวมทั้งนิตยสารเก่า ๆ ที่ไม่ใช้แล้วเก็บอยู่เป็นจำานวนมาก และไม่รู้ว่าจะ นำาไปใช้ทำาอะไรดี ก็สามารถร่วมบริจาคได้ที่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ หรือถ้าใครไม่สะดวกที่จะเดินทาง มาบริจาค ก็สามารถรวบรวมส่งมาได้ที่... มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 420 ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-8365-8, 0-2354-8370-1 โทรสาร 0-2354-8369 เว็บไซต มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ www.blind.or.th E-mail : school@blind.or.th
ThaiPrint Magazine 83
Print Technology
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ยอดอัจฉริยะแห่งอนาคต หากติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวเทคโนโลยีจากต่างประเทศเป็นประจ�ำ คุณน่าจะเคยได้ยินว่า บรรดาผู้ผลิตปริ้นเตอร์ทั้งหลาย เริ่มเจาะตลาดงานออกแบบกันด้วยเครื่องปริ้นแบบ 3D กันแล้ว เพราะ มันช่วยให้นักออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มองเห็นผลงานจากแนวคิดของตัวเองได้ชัดเจนมากขึ้น โดยไม่ ต้องวิเคราะห์แบบ 2D ผ่านทางหน้าจอคอมพิวเตอร์อีกต่อไป ซึ่งในวันนี้เรามารู้จักกับครื่องพรินท์ 3D สุดไฮเทคกันดีกว่าครับ เครื่องพิมพ์ตั้งโต๊ะหรือว่า Printer เป็นหนึ่งใน อุปกรณ์คู่กายมาช้านานแล้วตั้งแต่ Metric, acer, inkjet แต่ว่าโลกของเครื่องพิมพ์กำ�ลังก้าวไปสู่อีกยุคที่เรียกว่า เครื่องพิมพ์ 3 มิติ เครื่องพิมพ์แบบที่เรารู้จัก เป็นการฉีดพ่นพิมพ์ หมึกลงไปพื้นผิว อย่างเช่น พิมพ์ไปลงกระดาษสิ่งที่ได้ก็ เป็นแบนๆ 2 มิติ แต่เครื่องพิมพ์ 3 มิติ สามารถพิมพ์ ออกมาได้เป็นชิ้น อันเบื้องหลังกลไกเข้าใจไม่อยากเรา แค่เลือกแบบเป็นไฟล์ 3 มิติ ป้อนเข้าไปเครื่องพิมพ์ก็จะ จัดการฉีดพลาสติกขึน้ มาเป็นชิน้ ๆ จากฐานค่อยๆ ไล่ฉดี พลาสติกขึน้ มาสูพ่ น้ื บนมาก็จะได้เป็นชิน้ วัสดุนอ้ี อกมา
84 ThaiPrint Magazine
หลายวงการนำ�มาใช้แล้ว อย่างเช่น รถยนต์ที่ ตัวถังภายนอกถูกสั่ง Print ออกมา คนออกแบบบอกว่า เขาสามารถใช้วิธีนี้สร้างวัสดุชิ้นโตๆ แต่น้ำ�หนักเบาๆ ได้และก็ยังแข็งแรงด้วย เพราะว่าทำ�โครงสร้างภายใน เลียนแบบธรรมชาติ หรืองานด้านอวกาศนาซาก็ปริ้นต์ แบบจำ�ลองยานอวกาศมาใช้ นักวิทยาศาสตร์ยุโรปใช้ ปริ้นต์พื้นผิวดวงจันทร์ออกมาทดลอง ทางการแพทย์ ก็ เช่ น เดี ย วกั น ที่ ไ ด้ ใช้ เ ทคนิ ค นี้ เรี ย งพิ ม พ์ เซลล์ มี ชี วิ ต ประกอบกันเป็นหูเพือ่ ใช้ปลูกถ่ายกับร่างกายคนได้จริงๆ เป็นต้น เครื่องพิมพ์ 3 มิติ (3D Printer) เป็นนวัตกรรม คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ของโลก โดยการสร้างหุ่นจำ�ลอง 3 มิติ ที่ท่านต้องการตรวจสอบงานออกแบบให้กับทีม งาน หรือนำ�ไปเสนอผลงานออกแบบให้กับลูกค้า จาก การสร้างโมเดล 3 มิติ (3D Models) โปรแกรมโมเดล 3 มิติทั่วไป แล้วนำ�มาสั่งพิมพ์ โดยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ จะทำ�การพ่นเรซินมาทีละชั้นๆ ทำ�ให้ได้หุ่นจำ�ลองตาม ขนาดที่ต้องการ ซึ่งเครื่องพิมพ์ 3 มิติ มีตั้งแต่ขนาดเล็ก จนถึง ขนาดใหญ่ มีทั้งรุ่นที่พิมพ์ได้สีเดียว (Monochome) และหลายสี (Multicolors) ให้ท่านได้เลือก
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ
การสร้างหุ่นจำ�ลองด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิตินี้ ทำ�ให้ท่านทำ�งาน ออกแบบได้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น แม่นยำ� รวดเร็ว ต้นทุนต่�ำ กว่าเดิม และ ทำ�ให้ลูกค้า หรือผู้พบเห็นเกิดความประทับใจในผลงานออกแบบมากยิ่งขึ้น คุณลักษณะ The Fastest, Most Affordable, Color 3D Printing การพิมพ์โมเดลเป็นการสร้างโมเดล 3 มิติ ได้รวดเร็ว สามารถทำ�สี ได้เหมือนจริง ราคาประหยัดกว่า และใช้งานได้ง่าย Get More Models Sooner Fastest Print Speed • รวดเร็วกว่าการทำ�โมเดลด้วยวิธีอื่นๆ เช่น ทำ�ด้วยมือ ทำ�ด้วย เลเซอร์ ทำ�ด้วย CNC เป็นต้น 5-10 เท่า • สามารถสร้างโมเดลต่ออาคารได้หลายๆ แบบทีแ่ ตกต่างกันได้ภาย ในไม่กช่ี ว่ั โมง แทนการต้องทำ�เป็นหลายๆ วันหลายสัปดาห์ • สามารถสร้างโมเดลที่แตกต่างกันได้พร้อมๆ กันในเวลาเดียวกัน • รองรับการทำ�งานทุกแผนกในบริษทั หรือสถานศึกษา Use Color to Dramatically Communicate Design Intent Uniquely Multicolor • สามารถทำ�สีเหมือนจริงได้ โดยไม่ต้องมาทาสีใหม่เองอีก • สามารถทำ�ให้ประเมินงาน สไตล์ รูปร่าง ของผลงานออกแบบได้ ดีกว่า • สามารถพิมพ์ตัวหนังสือ รูปภาพ โลโก้ หรือความเห็นลงบน โมเดลได้โดยตรง • การพิมพ์ด้วยหัวพิมพ์หลายหัว ทำ�ให้แม่นยำ� และสีคงที่ • สีแบบ 24-bit color ทำ�ให้คุณภาพสีออกมาเหมือนกับการพิมพ์ • สามารถพิมพ์ชิ้นส่วนโมด้วย Inkjet ปกติ • สามารถสร้างโมเดลที่มีรูปทรง รูปร่างที่ซับซ้อนได้ ซึ่งอาจทำ�ไม่ เดลที่ละเอียด หรือบางๆ ได้แม่นยำ� กว่าแบบอื่นๆ ได้เลยในการทำ�โมเดลด้วยวิธีอื่น ThaiPrint Magazine 85
Print Technology
Lowest Operating Cost • โดยทั่วไปแล้วจะมีต้นทุนต่ำ�กว่าทุกวิธีการทำ�โมเดล เช่น เครื่อง เลเซอร์ ทำ�มือ ทำ�ด้วย CNC และอื่นๆ • ต้นทุนการทำ�สามารถคิดเป็น ลูกบาศก์เซ็นติเมตร • ใช้เทคโนโลยี Inkjet Technology ทำ�ให้ต้นทุนไม่สูงมาก • วัสดุที่ไม่ได้ใช้ สามารถนำ�มาใช้ได้ใหม่ ไม่เสียเปล่า Spend time generating ideas, not operating a 3D printer Easy to Use • ต้องการการอบรมการใช้งานเพียงเล็กน้อย • เป็นระบบเดียวที่สามารถทำ�งานได้อัตโนมัติ • การเซ็ตอัพอัตโนมัติ และทำ�งานได้อัตโนมัติ • มีแผงควบคุมเครื่อง สามารถใช้งานได้ง่าย Use in Any Standard Office or School Environment Safe and Office Friendly • เงียบ ปลอดภัย และไม่มีกลิ่น • การทำ�งานที่ครบวงจร ตั้งแต่การทำ�งาน การย้าย และการนำ� วัสดุมาใช้ซ้ำ� • วัสดุทั้งหมดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งไม่เป็นพิษกับผู้ใช้งาน • วัสดุที่เป็นของเหลว ไม่มีเหลือใช้ ทำ�ให้ประหยัด • ไม่ต้องใช้วัสดุค้ำ�ยัน หรือรองรับในการย้ายออกจากเครื่อง ทำ� ให้ไม่ต้องอุปกรณ์ใดที่มีคม หรือวัสดุใดที่เป็นพิษ ประโยชน์ของการสร้างโมเดลเป็น 3 มิติ ด้วยการพิมพ์ 3D Printing เพิ่มนวัตกรรม • สามารถพิมพ์ต้นแบบได้ในไม่กี่ชั่วโมง สามารถรับความเห็นจาก ผู้เกี่ยวข้องได้ ทำ�ให้น�ำ มาปรับปรุงผลงานได้รวดเร็ว ทำ�ให้กระบวนการ ออกแบบทำ�งานได้อย่างสมบูรณ์ • สามารถใช้เป็นการโฆษณาประชาสัมพันธ์องค์กรหรือผลิตภัณฑ์ ได้วา่ ใช้เครือ่ งมือทีท่ นั สมัยล้�ำ ยุค เพือ่ ช่วยให้ผลิตภัณฑ์มคี ณ ุ ภาพและอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อม 86 ThaiPrint Magazine
ปรับปรุงการสือ่ สารให้ดขี น้ึ • สามารถแสดงโมเดลเสมือน จริงเป็นสีตามทีต่ อ้ งการได้ ให้เหมือน กับการจินตนาการของท่าน • สามารถสร้างโมเดลเป็น 3 มิติ ให้สามารถจับต้องได้ในราคา ประหยัด สามารถใช้งานหลากหลาย ทำ � งานได้ ร วดเร็ ว ทั น ต่ อ ความต้องการ • สามารถลดกระบวนการ ออกแบบลงได้ โดยการใช้การพิมพ์ โมเดล 3 มิติ สามารถสร้างทาง เลือกแบบต่างๆ ได้ ลดต้นทุนในการพัฒนาลง • สามารถลดค่าใช้จ่ายจาก การทำ�โมเดลต้นแบบ และเครื่องมือ • สามารถทำ�ให้ทราบการ ผิดพลาดได้ตั้งแต่เริ่มต้น • ตัดค่าใช้จ่ายการเดินทาง ไปดูการผลิตต้นแบบที่โรงงานของ ตัวเอง หรือที่จ้างทำ� ธุรกิจประสบผลสำ�เร็จ • สามารถโชว์ผลงานออก แบบเป็น 3 มิติ ให้กับลูกค้า ทีมงาน สปอนเซอร์ หรือคู่ค้าได้เสมือนจริง
113 AdPMCL PMCLLabel #91_pc3.indd 113 38 36 Ad #97_pc3.indd 36 38 #94_pc3.indd AD PMCL-m19.indd 1
19/4/2555 4/5/2556 16:00:45 0:08:22 10/11/2555 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM
Print News
เตรียมพบกับ Heidelberg @ Pack Print 2013 ปฏิบตั กิ ารแห่งเทคโนโลยีชน้ั สูง ขีดสุดแห่งความเร็วทีม่ าพร้อมความคุม้ ค่า ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์การพิมพ์ยคุ ดิจติ อลได้ดที ส่ี ดุ ในฐานะผูน้ าำ ด้านการพิมพ์ท่ี นำาเสนอโซลูชั่นการพิมพ์ระดับโลก อย่างครบวงจรให้กับอุตสาหกรรม การพิมพ์และสือ่ สิง่ พิมพ์ตา่ งๆ ไฮเดล เบิรก์ ได้เตรียมทีจ่ ะนำาเสนอนวัตกรรม และเทคโนโลยีการพิมพ์ที่สามารถ ตอบโจทย์ ไ ด้ อ ย่ า งตรงเป้ า หมาย ภายใต้สโลแกน “Discover HEI” ใน งาน Pack Print International 2013 ณ ศูนย์แสดงสินค้า BITEC ที่บู๊ท หมายเลข F01 ใน Hall 103 ไฮเดลเบิร์กได้รวบรวมเอา เทคโนโลยีการพิมพ์อย่างครบวงจร โดยการนำ า เครื่ อ งพิ ม พ์ เ ครื่ อ งจั ก ร และอุปกรณ์ในกระบวนการพิมพ์ที่ เป็ น ผลงานการวิ จั ย และพั ฒ นา เทคโนโลยีล่าสุดในอุตสาหกรรมการ 88 ThaiPrint Magazine
Heidelberg @ Pack Print 2013 พิ ม พ์ ม านำ า เสนอเพื่ อ รองรั บ ปรั บ เปลี่ยนไปตามรูปแบบงานพิมพ์ได้ อย่างยืดหยุ่น สมดั่งคำาว่า “HEI Flexi bility” มาจัดแสดงในงานเพือ่ ให้ลกู ค้า และผู้ ส นใจเข้ า ชมงานได้ สั ม ผั ส เทคโนโลยี แ ละรั บ รู้ ถึ ง ทิ ศ ทางของ ตลาดสิ่ ง พิ ม พ์ เ พื่ อ จะได้ นำ า ไปปรั บ ทิศทางการดำาเนินธุรกิจให้ประสบ ผลสำาเร็จในอนาคต ไฮเดลเบิร์กได้ม่งุ เน้นการนำา เสนอให้ผู้ชมงานได้เห็นถึงรูปแบบ และทิ ศ ทางความต้ อ งการล่ า สุ ด ของลูกค้าและตลาดสิ่งพิมพ์ปัจจุบัน เช่น การพิมพ์ที่มีความสูญเสียใน กระบวนการในอัตราทีต่ าำ่ (Lean Production) การพิมพ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่ง แวดล้อม (Green Printing) ตลอดจน การพิมพ์ที่มีจำานวนไม่มาก (ShortRun) นอกจากนี้ ไฮเดลเบิร์กยังได้ ขยายการให้ บ ริ ก ารดู แ ลหลั ง การ ขายที่มีอยู่ในระบบอย่างครอบคลุม ทั้งหมด โดยไฮเดลเบิร์กได้จำาลอง กระบวนการผลิ ต ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น มาจั ด แสดงให้ ผู้ เข้ า ชมภายในบู๊ ธ ของไฮเดลเบิร์กในงาน Pack Print International 2013 ในครั้งนี้ ปัจจุบัน ภูมิภาคเอเชียได้รับ การจัดอันดับให้เป็นตลาดสิ่งพิมพ์ ที่ มี อั ต ราการเติ บ โตที่ สู ง ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็วและมีกำาลังซื้อที่มีศักยภาพ สูงทีส่ ดุ โดยมีรปู แบบของงานทีป่ รับ เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วและไม่หยุด นิ่งอยู่ตลอดเวลา โดยไฮเดลเบิร์กได้ เฝ้าติดตามสภาวความต้องการของ ตลาดในภูมิภาคนี้มาอย่างต่อเนื่อง และพบว่างานพิมพ์ยอดสั้น (Short Run) กำาลังมาแรงและเป็นที่ต้องการ โดยมีอัตราการเติบโตเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ดังนั้น ไฮเดลเบิร์กจึงได้นำา
เสนอระบบการพิ ม พ์ ที่ ส ามารถตอบโจทย์ นี้ ไ ด้ อ ย่ า งลงตั ว โดยยั ง คงคุ ณ สมบัติด้านคุณภาพอย่างครบถ้วน เรามีความเชื่อมั่นว่าตลาดสิ่งพิมพ์ในภูมิภาคเอเชียจะยังคงมีอัตรา การเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากอัตราค่าแรงงานที่กำาลังค่อยๆ ขยับตัวสูงขึ้น จึงมีความจำาเป็นที่จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดย การลดระยะเวลาในการผลิตงานจากที่เป็นอยู่เดิม หากให้ผลของปริมาณ งานที่มากขึ้น ด้วยการเพิ่มอัตราการผลิตให้มากขึ้น หากผู้ประกอบการ ต้องการที่จะได้รับผลกำาไรที่ดีก็จำาเป็นต้องหาทางเพิ่มการลงทุนเครื่องจักร อุปกรณ์ที่สามารถผลิตงานพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพและให้ผลงานที่มีคุณภาพ สูงไว้รองรับการแข่งขันในตลาดสิ่งพิมพ์ที่สูงขึ้นนี้ เพื่อตอบสนองความต้อง การของลูกค้าอย่างไม่มีข้อจำากัด ทั้งนี้ ไฮเดลเบิร์กมีความเชื่อมั่นว่าอัตรา การเติบโตและสภาวะการแข่งขันที่สูงมากของตลาดสิ่งพิมพ์ในภูมิภาคนี้จะ ยังคงดำาเนินต่อไปในอนาคตอย่างแน่นอน ThaiPrint Magazine 89
Print News
ในจังหวะเวลาที่เหมาะสมเช่นนี้ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ได้ให้ความ สนใจกับการพิมพ์งานยอดสั้น (Short Run) รวมไปถึงกระบวนการหลัง พิมพ์ที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น ระบบการพิมพ์แบบผสมผสานที่สามารถทำางาน ร่วมกับอุปกรณ์ในกระบวนการพับและการทำาเล่มสำาเร็จอย่างครบวงจร และไฮเดลเบิร์กยังได้ให้ความสำาคัญต่อการพิมพ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ด้วยไฮเดลเบิร์กเป็นเพียงบริษัทฯ เดียวที่มีการจัดการวิเคราะห์และวัดผล กระทบผลิตภัณฑ์ที่ก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพื่อสร้างความมั่นใจ ให้กับผู้ใช้เครื่องพิมพ์ของไฮเดลเบิร์กว่าเครื่องพิมพ์ของไฮเดลเบิร์กจะสร้าง ความสมดุลให้ชั้นบรรยากาศ การจัดแสดงเครื่องจักรและอุปกรณ์ทางการพิมพ์ครั้งนี้ จึงมีความ สอดคล้ อ งและเหมาะสมต่ อ สถาณการณ์ ข องตลาดสิ่ ง พิ ม พ์ ใ นปั จ จุ บั น เป็นอย่างยิง่ ในงานนีน้ อกจากลูกค้าและผูป้ ระกอบธุรกิจการพิมพ์จะมีโอกาส ได้มาพบปะกันแล้ว ยังเป็นโอกาสที่ดีที่จะได้ติดตามและสัมผัสเทคโนโลยี ใหม่ๆ รวมไปถึงได้รับรู้ทิศทางของธุรกิจสิ่งพิมพ์ว่าจะดำาเนินไปในทางใด เพื่อตอบสนองทิศทางความต้องการของตลาดสิ่งพิมพ์ยุคปัจจุบัน เพื่อให้ผู้ ประกอบธุรกิจสามารถสร้างผลกำาไรที่สูง โดยโรงพิมพ์และผู้ประกอบธุรกิจ สิ่งพิมพ์สามารถทำาผลกำาไรที่งดงามด้วยการลงทุนที่เหมาะสม ไฮเดลเบิร์ก มีความคาดหวังว่าการนำาเสนอและจัดแสดงในครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้ผู้ 90 ThaiPrint Magazine
เข้ า ชมได้ ม องเห็ น ลู่ ท างการลงทุ น ในธุรกิจสิ่งพิมพ์ที่จะให้ผลตอบแทน กลับคืนได้ในระยะสั้น ที่นับวัน แนวทางการทำาธุรกิจสิ่งพิมพ์ก็ยิ่งมี อั ต ราการเติ บ โตขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และมีลูกค้าเพิ่มมากขึ้น
Ad Thai sanguan#87-mac19.pdf
4/23/11
11:01:13 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
E-mail : s_stsi@hotmail.com
75 Ad Thai Sanguan #94_pc3.indd 75
10/11/2555 1:17:41
Print Education & Development
เปิดคอร์สใหม่ นักเรียนการพิมพ์รุ่นที่
6
ส
ถาบันการพิมพ์ไทยได้เปิดคอร์สการเรียนการสอนใหม่อีกรุ่น ซึ่งรุ่นนี้ก็เป็นรุ่นที่ 6 แล้วนะครับ ซึ่งทาง สถาบันก็ภูมิใจที่เห็นนักเรียนรุ่นใหม่ๆ สมัครเข้ามาเรียนหลักสูตรการพิมพ์พื้นฐานด้วยระบบออฟเซตเบื้องต้น ซึ่งรุ่น นี้ก็มีนักเรียนประมาณ 15 ท่าน ที่สนใจสมัครเข้ามาเรียนสำ�หรับฉบับนี้ผมได้เข้าไปดูการเรียนการสอนของนักเรียน ซึ่งเป็นช่วงที่เรียนสัปดาห์ที่ 4 และจะเรียนต่อเนื่องไปจนครบหลักสูตรนั่นคือ 10 สัปดาห์ และในสัปดาห์สุดท้ายเรา ก็จะมาสัมภาษณ์นักเรียนการพิมพ์รุ่นนี้กันว่าเขามาเรียนแล้วได้อะไรไปบ้างและอยากให้สถาบันการพิมพ์ไทยปรับปรุง หรือเพิ่มเติมในส่วนไหนกันบ้าง วันนี้ส�ำหรับช่วงเช้า อาจารย์ผู้สอนก็ได้มาสอนเรื่อง “หมึกพิมพ์ ประเภทหมึกข้น สาเหตุที่หมึก ออฟเซต OFFSET INK” มาท�ำความรู้จักหมึกพิมพ์ออฟเซตกันครับ พิ ม พ์ อ อฟเซตต้ อ งเป็ น หมึ ก ข้ น ลักษณะของหมึกพิมพ์ออฟเซต จะมีลักษณะเหนียวและหนืด จึงจัดเป็น เนื่องจากสาเหตุ 2 ประการ คือ 1. หมึกพิมพ์ออฟเซต มี ปริมาณผงสีมาก เพราะชัน้ ของหมึก พิมพ์ออฟเซตบนวัสดุพมิ พ์จะบาง มากประมาณ 1 หรือ 2 ไมครอน เท่านัน้ ท�ำให้ตอ้ งการผงสีในปริมาณ มากเพื่อรักษาระดับความเข้มข้น ของหมึกไว้ให้ได้ 2. หมึกพิมพ์ออฟเซต มี ตัวพาหมึกที่มีส่วนผสมน�้ำมันและ เรซิน ท�ำให้เนือ้ หมึกมีความเหนียว และความหนืดสูงส�ำคัญต่อการถ่าย โอนหมึกระหว่างลูกกลิ้งหมึกหรือ ระหว่างโม หากหมึกพิมพ์ออฟเซต ไม่หนืดพอ หมึกจะพอกบนลูกกลิง้ และโมล่าง ท�ำให้การถ่ายโอนหมึก ไม่ต่อเนื่อง
92 ThaiPrint Magazine
เปิดคอร์สใหม่นักเรียนการพิมพ์ รุ่นที่ 6
องค์ประกอบของหมึกพิมพ์ ออฟเซต 1. สารให้สี (Colorances) มีหน้าที่ให้สีหมึกพิมพ์ ท�ำให้เมื่อ หมึ ก พิ ม พ์ พิ ม พ์ ล งบนวั ส ดุ ใช้ พิ ม พ์ แล้วเกิดภาพในหมึกพิมพ์ออฟเซต จะใช้ผงสี (Pigment) - ผงสีอินทรีย์ (Organic Pigment) ผงสีชนิดนี้มีสีสดใส เข้ม และอนุภาคอ่อน จึงบดง่ายมีการ ดูดกลืนน�้ำมันสูงและกระจายในน�้ำ มันวาร์นิชยาก - ผงสีอนินทรีย์ (Inorganic Pigment) ส่วนใหญ่เป็นผงสีที่มีส่วน ประกอบของโลหะประเภทต่ า งๆ เช่น เหล็ก สังกะสี แคดเมียม ไททา เนียม เป็นต้น เมือ่ เปรียบเทียบกับผง สีอินทรีย์ ผงสีอนินทรีย์จะให้ความ อิ่มตัวของสีน้อยกว่า แต่ความทึบ แสง ความถ่วงจ�ำเพาะ และความ แข็งมีมากกว่า จึงบดให้มีอนุภาคที่ เหมาะสมได้มากกว่า และสามารถ ทนแสงความร้อนและสารเคมีต่างๆ ได้มากกว่าผงสีอินทรีย์ 2. ตัวพา (Vehicle) หรือ วาร์นิช (Varnish) เป็นส่วนผสม
ระหว่างตัวท�ำละลาย (Solvent) เรซิน (Resin) และน�้ำมันซักแห้ง (Drying-oil) เป็นต้น ยกเว้นหมึกที่ใช้ในการพิมพ์สิ่งพิมพ์ที่ใช้กระดาษปรู๊ฟหรือกระดาษ หนังสือพิมพ์และกระดาษทีไ่ ม่เคลือบผิว ตัวพาหมึกท�ำจากน�ำ้ มันปิโตรเลียม ซึ่งมีความหนืดต�่ำ จึงไหลซึมลงกระดาษสื่อพิมพ์ ซึ่งมีความพรุนมากได้ง่าย ส่วน เรซิน (Resin) ท�ำหน้าที่เป็นตัวยึดผงสีให้ติดวัสดุพิมพ์ (Binder) เรซิน มีทั้งที่ได้จากธรรมชาติและจากการสังเคราะห์ โดยทั่วไปมักนิยมใช้ เรซิน สังเคราะห์เนื่องจากท�ำให้คุณสมบัติที่แน่นอนและสม�่ำเสมอมากกว่า แบบธรรมชาติ 3. สารเติมแต่ง (Additive) เป็นสารที่เติมเข้าไปในหมึกพิมพ์เพื่อ ท�ำให้สมบัติบางประการของหมึกพิมพ์ดีขึ้น หรือปรับหมึกพิมพ์ให้มีสมบัติที่ ดีขึ้น เมื่อน�ำไปใช้พิมพ์บนวัสดุใช้พิมพ์และเมื่อน�ำสิ่งพิมพ์ไปใช้งาน เช่น สาร ท�ำแห้ง (Drier) แว๊กซ์ (Wax) ป้องกันรอยขูดขีด สารเพิ่มความเป็นพลาสติก (Plasticizer) เพื่อความมันวาวเป็นต้น ThaiPrint Magazine 93
Print Education & Development
คุณสมบัติของหมึกพิมพ์ออฟเซต หมึกพิมพ์ออฟเซตมีคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีที่ส�ำคัญซึ่งมีผล ต่อการปฏิบัติงานพิมพ์และคุณภาพงานพิมพ์ คุณสมบัติเหล่านี้ ได้แก่ คุณ สมบัติการแห้งตัวของหมึก คุณสมบัติทางกระแสวิทยา คุณสมบัติทาง ทัศนศาสตร์ และคุณสมบัติเกี่ยวกับความทนทานต่างๆ ของหมึกพิมพ์ - คุณสมบัติการแห้งของหมึกพิมพ์ออฟเซต ชนิดที่มีน�้ำมันซักแห้ง เป็นตัวพาหมึกจะแห้งตัวได้รวดเร็วโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี ออกซิเดชันและ โพลิเมอไรเซซันเป็นหลัก - คุณสมบัติทางกระแสวิทยาของหมึกพิมพ์ออฟเซต ได้แก่ ความ หนืด (Viscosity) ความเหนียวและกระแสการไหล (Flow) ซึ่งมีความส�ำคัญ มากต่อการถ่ายโอนหมึก จากรางหมึกไปสูล่ กู กลิง้ หมึกชนิดต่างๆ ระบบหมึก ไปสู่แม่พิมพ์จนถึงวัสดุพิมพ์ - คุณสมบัติทางทัศนศาสตร์ของหมึกพิมพ์ออฟเซต คุณสมบัติดา้ น
94 ThaiPrint Magazine
นี้ของหมึกพิมพ์ออฟเซตเช่นเดียว กั บ หมึ ก พิ ม พ์ ใ นระบบการพิ ม พ์ อืน่ ๆ คือ เป็นคุณสมบัตเิ กีย่ วกับการ มองเห็ น สี ซึ่ ง ถู ก ก� ำ หนดโดยชนิ ด ปริมาณของผงสีกับตัวพาหมึกที่ใช้ ในสูตรหมึก รวมไปถึง ขนาด รูปร่าง และลักษณะการกระจายตัวผงสีพา หมึกด้วย คุณสมบัติทางทัศนศาสตร์ ของหมึกพิมพ์ ได้แก่ ลักษณะเฉพาะ ของสีหรือเรียกว่า มิติของสี ได้แก่ สีสัน ความอิ่มตัวและความสว่างสี ความโปร่งใสและความทึบแสง ความ มันวาว ซึง่ รายละเอียดของเรือ่ งสีนนั้ ยังมีให้ศึกษาอีกมากมาย ผมขอยก ตัวอย่างมาบางส่วนนะครับ - คุณสมบัติเกี่ยวกับความ ทนทานของหมึกพิมพ์ออฟเซต ได้แก่ ความทนทานต่อแสง ความทนทาน ต่อความร้อนและความทนทานต่อ การถู
เปิดคอร์สใหม่นักเรียนการพิมพ์ รุ่นที่ 6 ชนิดของหมึกพิมพ์ออฟเซต การจ�ำแนกหมึกพิมพ์ออฟ เซตท�ำได้หลายแบบ เช่น จ�ำแนก ตามเครื่องพิมพ์ จ�ำแนกตามวัสดุ พิมพ์ จ�ำแนกตามการใช้ จ�ำแนก ตามองค์ประกอบ จ�ำแนกตามวิธี แห้งตัว เป็นต้น แต่ในที่นี้จะกล่าว ถึงชนิดหมึกพิมพ์ออฟเซตทีจ่ ำ� แนก ตามเครื่องเท่านั้น เครือ่ งพิมพ์ออฟเซตแบ่งได้ เป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ เครื่อง พิมพ์ออฟเซตแบบป้อนแผ่น และ แบบป้อนม้วน หมึกที่ใช้ก็มีสูตรที่ แตกต่างกัน เนื่องจากเครื่องพิมพ์ ออฟเซตแบบป้อนม้วนวิง่ ด้วยความ เร็วสูงกว่าแบบป้อนแผ่นมาก การ ป้อนกระดาษจึงท�ำได้เร็วกว่าเนื่อง จากป้อนเป็นม้วน หมึกจึงจ�ำเป็น ต้ อ งแห้ ง เร็ ว กว่ า มิ ฉ ะนั้ น จะเกิ ด ปัญหาซับหลัง ในทางปฏิบัติส�ำหรับงาน พิมพ์สี่สี ช่างพิมพ์ไม่ควรผสมสาร อืน่ ๆ เพิม่ เติมในหมึกชุดสีส่ อี กี เพือ่ หวังว่าจะสามารถปรับคุณสมบัติ ของหมึกให้เป็นไปตามที่ต้องการ ได้ ทั้งนี้เนื่องจากการผสมดังกล่าว จะท�ำให้ค่าความเหนียวของหมึกสี่ สีชดุ นัน้ ทางบริษทั ผูผ้ ลิตได้กำ� หนด ไว้แล้ว การพิมพ์ก็ต้องพิมพ์ตาม ล�ำดับค่าความเหนียวของหมึกพิมพ์ จากมากไปหาน้อยดังนี้ คือหมึกสี แรกที่พิมพ์ จะต้องมีความเหนียว มากกว่าสีที่สอง หมึกสีที่สามและ หมึกสีที่สี่ ตามล�ำดับ หากค่าความ เหนียวของหมึกพิมพ์เปลีย่ นไปหรือ มีการพิมพ์ผิดล�ำดับ จะท�ำให้เกิด การถอนผิวหมึกที่พิมพ์ไปก่อนเกิด ปัญหาต่อการพิมพ์สอดสีได้ ThaiPrint Magazine 95
Print Education & Development
เชีย่ วชาญด้านหมึกพิมพ์ ก็จะเสริมเพิม่ เติมให้ได้อกี เนือ่ ง จากนักเรียนบางท่านบริษัทที่เป็นผู้จ�ำหน่ายหมึกพิมพ์ โดยตรงส่งมาเรียนรู้เพิ่มเติมเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะให้ กับพนักงานมีความรู้เรื่องระบบการพิมพ์ เพื่อง่ายต่อ การเจรจาในการซื้อหมึกขายหมึกกับโรงพิมพ์ด้วยครับ หลั งจากเรี ย นจบช่ ว งเช้ า ทางอาจารย์ ผู้ ส อนจะมี การ ทดสอบจากแบบทดสอบทุกๆ ครั้งที่มีการเรียน เพื่อ สามารถรู้ได้ว่านักเรียนที่เรียนผ่านชั่วโมงนั้นไปแล้วได้ รับความรู้ความเข้าใจมากน้อยแค่ไหนครับ ส�ำหรับผู้ที่สนใจสมัครเข้าเรียนก็สามารถโทรเข้า ซึ่งรายละเอียดทั้งหมดจะมีอยู่ในหลักสูตรการ มาสอบถามรายละเอียดได้ที่สมาคมการพิมพ์ไทยได้ เรียนการสอนครับเรายกตัวอย่างไว้เท่านี้ครับ ในการ โดยตรงที่เบอร์ 02-7196685-7 ครับ... เลือกใช้หมึกให้เหมาะสมกับเครื่องพิมพ์ทั้งระบบป้อน แผ่นหรือป้อนม้วนนั้นยังมีรายละเอียดอีกมากมายครับ ซึ่ ง ภายในห้ อ งเรี ย นอาจารย์ ก็ จ ะให้ นั ก เรี ย นสามารถ สอบถามเพิ่มเติมได้ และนักเรียนบางท่านก็ซึ่งมีความ 96 ThaiPrint Magazine
91 Ad seethong pc1.indd 1
7/9/2555 3:46:48
Young Printer
นริสสรา เฉลิมชัยชาญ
บริษัท เจนเนอรัล คอมพิวเตอร์ จำ�กัด “ สวัสดีครับผู้อ่านที่เคารพรักทุกท่าน สำ�หรับ Young Printer ฉบับนี้ ขอแนะนำ� “คุณนริสสรา เฉลิมชัยชาญ” หรือ “คุณแอม” ซึ่งเธอก็มีบทบาทในการรับผิดชอบกิจกรรมพิเศษหลายๆ อย่าง ที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดขึ้นและงานอื่นๆ ที่จะมีเธอเข้าร่วมทุกๆ ครั้ง ลองมาทำ�ความรู้จักกับ เธอดูครับ ” อยากจะให้แนะนำ�ตัวเองสัน้ ๆ ก่อนจะถามคำ�ถามต่อไป?
และ Michigan State University พอ แอม นริสสรา เฉลิมชัยชาญค่ะ มีพี่น้อง 3 คน แอมเป็นคนโตค่ะ จบปริ ญ ญาตรี ก็ ทำ � งานด้ า นตรวจ แอมจบมัธยมที่อัสสัมชัญคอนแวนต์ ปริญญาตรีเรียน BBA จุฬาฯ สาขา สอบบัญชีที่ Deloitte สักระยะค่ะ บัญชีค่ะ ช่วงปริญญาตรีก็มีโอกาสไปแลกเปลี่ยนที่ Kanazawa University แล้ ว ก็ ไ ด้ ทุ น ไปศึ ก ษาปริ ญ ญาโทที่ Hitotsubashi University สาขาการ เงิน การบัญชี หลังจากนั้นก็ไปเรียน ภาษาจีนที่ East China Normal University ค่ะ แล้วก็กลับมา ทำ�งานที่ Uniqlo ประเทศไทย ค่ะ ทำ�ได้สักพัก ก็กลับมาช่วย ทำ�งานที่บ้านค่ะ
ะ ่ ค อม
แ
ความชื่ น ชอบที่ มี ต่ อ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การพิ ม พ์ ข อง ครอบครัวเป็นอย่างไรบ้าง?
แอมรู้ สึ ก ภู มิ ใจกั บ ธุ ร กิ จ นี้ นะคะ เพราะเป็นธุรกิจที่คุณพ่อคุณ แม่สร้างมากับมือเอง ตั้งแต่ยังไม่มี อะไรตอนเด็กๆ ที่บ้านอยู่ตรงสี่พระ ยาค่ะ เป็นตึกแถวสองห้อง ชั้นล่าง เป็นเครือ่ งพิมพ์ ชัน้ ลอยเป็นออฟฟิศ ชั้นบนก็เป็นที่อยู่อาศัยค่ะ ที่แอมจำ� ได้อยู่เสมอก็คือมักจะเห็นสีเลอะๆ ตามพื้น มีกลิ่นสี และก็ได้ยินเสียง 98 ThaiPrint Magazine
นริสสรา เฉลิมชัยชาญ เครือ่ งพิมพ์ท�ำ งานอยูเ่ รือ่ ยๆ ค่ะ พอ แอมทำ�การบ้านเสร็จ บางทีก็ไปช่วย พีๆ ่ เค้าเข้าเล่มค่ะ เวลาผ่านไป ธุรกิจ ก็เติบโตไปได้เรือ่ ยๆ ค่ะ ก็มกี ารขยับ ขยายสร้างโรงงานทีบ่ างบอน 4 และก็ ย้ายออฟฟิศไปทีพ่ ระราม 2 ค่ะ ทัง้ นี้ ทั้ ง นั้ น ก็ ต้ อ งขอขอบคุ ณ พนั ก งาน ทุ ก คนที่ ร่ ว มแรงร่ ว มใจทำ � งานให้ บริ ษั ท จนเจริ ญ เติ บ โตมาได้ จ นถี ง ทุกวันนี้ค่ะ และก็ขอขอบคุณลูกค้า ทุกท่านที่ให้ความไว้วางใจในบริษัท เราเสมอมาค่ะ และที่สำ�คัญมากๆ และขาดไม่ได้ก็คือ คุณพ่อคุณแม่ค่ะ ท่านทั้งสองทำ�งานหนักมาก อาจจะ เรียกว่าเกือบ 24 ชั่วโมง ตลอดระยะ เวลาเกือบจะ 30 ปีค่ะ กว่าจะมีจน ถึงทุกวันนี้ค่ะ
บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบ กับงานธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ์ มีอะไรบ้างและมีความยากหรือ ไม่?
ตอนนีแ้ อมดูแลด้านฝ่ายขาย และก็จัดซื้ออยู่ค่ะ โดยมีความตั้งใจ ว่าจะทำ�งานเรียนรูใ้ นทุกๆ แผนกของ บริษัท เพื่อเข้าใจภาพรวมของทั้ง บริษัทและธุรกิจนี้ค่ะ สำ�หรับงานที่ ทำ�อยู่ตอนแรกก็คิดว่ายากนะคะ แต่ พอทำ�ดูแล้วก็สนุกดีคะ่ เพราะได้พบ ปะกับคนหลากหลาย แต่ละคนก็มี แนวคิดที่แตกต่างกัน ซึ่งมีส่วนช่วย ในการพัฒนาตัวแอมเองได้มากค่ะ แต่ตอนนี้ที่แอมค่อนข้างกังวลก็คือ แผนกฝ่ายผลิตค่ะ ซึ่งคิดว่ายากที เดียว เนื่องจากตัวเองไม่ค่อยถนัด ทางด้านนี้ แต่คิดว่าถ้าได้ทำ�ดูแล้ว ค่อยๆ เรียนรู้ไปก็สามารถที่จะทำ� ได้ค่ะ
แบ่งเวลาอย่างไรระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัวมีเวลาให้กับตัว เองมากแค่ไหน?
ในเรื่องของการจัดสรรเวลา สำ�หรับตอนนี้แอมให้ความสำ�คัญกับ งานมากที่สุด เพราะเป็นธุรกิจที่แอมแ ละน้องๆจะต้องเป็นผู้รับช่วงต่อจาก คุณพ่อคุณแม่ค่ะ ซึ่งเราพี่น้องก็อยากให้ท่านได้มีเวลาพักผ่อนมากขึ้นหลัง จากที่ท�ำ งานหนักมาเพื่อครอบครัว อย่างไรก็ดี หลังจากมาทำ�งานที่บ้าน แอมก็รู้สึกว่ามีเวลาให้กับตัวเองค่อนข้างมากค่ะ โดยจะแบ่งเวลาไปเรียน คอร์สสั้นๆ เข้าสังคม พบปะเพื่อนฝูงและออกกำ�ลังกายค่ะ
อุปสรรคที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไรบ้างและเรามีวิธีแก้ไขอย่างไร ถึงผ่านพ้นไปได้?
แอมมองอุปสรรคออกเป็น 2 ส่วนค่ะ ส่วนแรก คือ อุปสรรคภายนอก เช่น วิกฤตเศรษฐกิจ การเมือง การแข่งขันที่รุนแรง การเปลี่ยนแปลงของรูป แบบธุรกิจการพิมพ์ค่ะ ซึ่งปัญหาเหล่านี้กระทบต่อบริษัททั้งทางตรงและทาง ThaiPrint Magazine 99
Young Printer
อ้อมค่ะ อย่างไรก็ตาม เราก็สามารถลดความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้น ด้วยการมีวินัยทางการเงิน ควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆ ให้เหมาะสม และพัฒนา ศักยภาพของบุคคลากรในบริษทั อย่างต่อเนือ่ งค่ะ สำ�หรับอีกส่วนคือ อุปสรรค ภายใน ซึ่งอุปสรรคที่ส�ำ คัญก็คือการสื่อสารที่ไม่ตรงกัน โดยแอมจะแก้ไข โดยดูว่าปัญหาเกิดจากสาเหตุอะไร แล้วก็พยายามทำ�ให้เกิดการสื่อสารทั้ง สองทาง มีการตรวจสอบอีกครั้ง และมีการแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรค่ะ
อาชีพทีท่ �ำ เกีย่ วกับการพิมพ์คดิ ว่าเราโชคดีกว่าคนอืน่ หรือไม่ทเ่ี กิด มาอยู่ในครอบครัวที่ทำ�ธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ์?
ทุกอาชีพมีทง้ั จุดแข็งและจุดอ่อนค่ะ แอมคิดว่าธุรกิจการพิมพ์นเ้ี ป็น ธุรกิจที่ต้องใช้ความละเอียดค่ะ เป็นงานที่ได้ผลตอบแทนที่ค่อนข้างน้อย เมื่อเทียบกับอาชีพอื่น และเป็นธุรกิจที่ใครๆ ก็สามารถเข้ามาทำ�ได้ง่ายค่ะ แต่อย่างไรก็ตามธุรกิจการพิมพ์ยังมีอนาคตอีกไกลค่ะ นอกจากนี้แอมว่า การทำ�งานในธุรกิจนี้เป็นการฝึกให้แอมมีความอดทนละเอียดรอบคอบใน การตัดสินใจค่ะ
ตอนนี้ยังโสดอยู่หรือมีครอบครัวแล้วแบ่งเวลาอย่างไรให้กับ ครอบครัวทีเ่ รารักบ้าง ?
ตอนนี้ก็ยังโสดอยู่ค่ะ ส่วนใหญ่วันอาทิตย์จะเป็นวันครอบครัวค่ะ ก็ไปทานข้าว ซื้อของหรือไม่ก็พักผ่อนที่บ้านค่ะ
มีกิจกรรมอะไรบ้างที่ท�ำ เป็นประจำ�กับครอบครัว?
สมาชิกแต่ละคนในครอบครัวก็มีงานอดิเรกคนละอย่างค่ะ แต่ใน วันหยุดเทศกาลหลายๆ วัน เราก็จะรวมตัวกันไปต่างจังหวัดค่ะ ไม่ก็ไปหา อาหารอร่อยๆ ทานในวันหยุดค่ะ 100 ThaiPrint Magazine
นริสสรา เฉลิมชัยชาญ
เราได้คดิ พัฒนาธุรกิจด้านเกีย่ ว กับการพิมพ์ทต่ี อ่ ยอดมาจากรุน่ ก่อนๆ มีอะไรบ้างทีค่ ดิ ว่าจะทำ� ขึน้ ให้ดีกว่าจากเดิม?
ตอนนี้กำ�ลังจะสร้างแบรนด์ ใหม่ของกระดาษต่อเนื่องขึ้นมาค่ะ แล้วก็พยายามลดต้นทุนทางการผลิต ที่ไม่จำ�เป็นลงค่ะ
รูส้ กึ อย่างไรกับกิจกรรมต่างๆ ที่ ทางสมาคมจัดขึน้ ประทับใจตรง ไหนบ้างและกิจกรรมทีช่ อบเป็น พิเศษ?
แอมคิดว่ากิจกรรมที่สมาคม จัดขึ้น เช่น การเยี่ยมชมโรงงานนั้น มี ป ระโยชน์ ต่ อ พวกเราเป็ น อย่ า ง มากค่ะ นอกจากเราจะได้รับความรู้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ซึ่ ง กันและกัน และยังทำ�ให้เรามีความ สัมพันธ์อนั ดีตอ่ คูค่ า้ ของเราค่ะ ยิง่ ไป กว่านั้นกิจกรรมบางอย่าง เช่น การ บริจาค สิ่งของให้เด็กผู้ยากไร้ก็เป็น อีกหนทางหนึ่งที่ทำ�ให้เราสามารถ ช่วยเหลือสังคมได้ค่ะ
ThaiPrint Magazine 101
Young Printer
อยากจะฝากอะไรหรือแนะนำ� แนวคิดดีๆ ให้กับสมาชิกรุ่น ต่อๆ ไปไว้อย่างไรบ้าง?
อยากจะให้สมาชิกรุน่ ต่อๆ ไป ลองเข้ามาร่วมกิจกรรมของ Young Printer ให้มากขี้นนะคะ เพราะใน สมาคมนี้มีทั้งเพื่อนใหม่ๆ พี่ๆ ที่มี ความรู้ และประสบการณ์ต่างๆ ที่ เราสามารถจะขอคำ�ปรึกษาได้ในทุก เรื่องค่ะ และอีกสองปีข้างหน้านี้ที่ จะมี AEC เกิดขี้น มันจะเป็นการดี ถ้าเราสามารถรวมกลุม่ กันในสมาคม การพิมพ์ เพื่อเพิ่มอำ�นาจต่อรอง เข้าเป็นสมาชิก Young Printer ได้อย่างไรและรู้สึกอย่างไร กับ ของเราพร้อมๆ กับการร่วมมือกัน พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ใ ห้ ตำ�แหน่งนี้? พอดีวา่ เรียน KSME 16 รุน่ เดียวกับ “น้องเวป ทิพย์นารี” หจก.วี.พริน้ ติง้ สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ได้ ค่ะ น้องเวปเลยชักชวนเข้ามาค่ะ หลังจากเข้ามาเป็นสมาชิกในสมาคมก็ทำ� ค่ะ ให้ได้พบเจอกับเพือ่ นใหม่มากขีน้ มีการแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ ต่างๆ ค่ะ ทำ�ให้เรามีวิสัยทัศน์ที่กว้างขึ้นค่ะ
บทบาทในการเป็นสมาชิกนั้นเราได้รับผิดชอบในส่วนไหนและ รู้สึกอย่างไร? ได้รบั หน้าทีเ่ ป็นประชาสัมพันธ์คะ่ ช่วยประสานงานให้คนในสมาคม ทราบถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ก็รู้สึกสนุกดีค่ะ ได้รู้จักพบปะกับคนมาก ขึ้นค่ะ 102 ThaiPrint Magazine
Print News
สมาคมการพม ิ พไ์ทย The Thai Printing Association
THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 แหลงรวมขอมลูลาสดุของผปูระกอบการ ในอตุสาหกรรมการพมิพ หนงัสอื “THAI PRINTING DIRECTORY 2011-2012” เลมใหมลาสุดที่ รวมรายชื่อ ขอมูลลาสุดของผูประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพทั้งกอนการพิมพ การพิมพ หลังการพิมพ รวมทั้งผูจำาหนายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณดานการพิมพและการซอมบำารุง เหมาะสำาหรับใชเปนคูมือ การซื้อขาย และเปนประโยชนตอองคกรของทาน
ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อ - นามสกุล .................................................................................................................................บรษิทั ................................................................................................ ที่อยู ................................................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศพัท ............................................................................................................................................... โทรสาร ........................................................................................... ขอสั่งหนังสือ THAI PRINTING DIRECTORY 2011 - 2012 จำานวน ...................... เลม เงนิสด 800 บาท / เลม (มารับดวยตนเอง) โอนเงนิ 900 บาท / เลม (รวมคาจดัสงทางไปรษณยี) (ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สั่งซื้อไดที่สมาคมการพิมพไทย 311-311/1 ซอย.15 (ซอยศนูยวจิยั) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรงุเทพฯ 10310 โทรศพัท 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688 วธิีการชาำระเงนิ
ชื่อบัญชี “สมาคมการพมิพไทย” ชื่อบัญชี ออมทรพัย เลขที่ 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณชิย สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรุณาสงแฟกซหลักฐานการโอนเงินพรอมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ 120 ThaiPrint Magazine
105 Ad The Thai Thai print2 #97_pc3.indd 105 115 Printing_pc3.indd 115
4/5/2556 2/3/2556 22:49:40 11:20:59
117-118 pc1.indd 117 104 The Ad thai #97_pc3.indd 104 114 thaiprint printing Acc #95_pc3.indd 1 ad App-member-mac19.indd 1
11/9/2555 4:47:36 4/5/2556 22:47:30 28/2/2556 18:32:30 1/11/10 5:03:36 PM
Print News
งานพบปะสังสรรค์ สนทนาอนาคตธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม The Florence ชัน้ 6 ห้างสยามนครินทร์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดงาน “พบปะสังสรรค์สนทนา อนาคตธุรกิจสือ่ สิง่ พิมพ์” เพือ่ ให้พน่ี อ้ งในอุตสาหกรรมการพิมพ์และธุรกิจ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง รวมถึงผูป้ ระกอบการทางภาคใต้ เข้าร่วมฟังการสนทนาเพือ่ พูด คุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์กันสนทนาหัวข้อ “อนาคตธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์” โดยมี คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทยเป็นประธาน ในงานดังกล่าว
106 ThaiPrint Magazine
พร้อมกันนี้ได้มีการเลือกตั้ง ประธานชมรมการพิมพ์ภาคใต้คน แรก เพื่อเป็นตัวแทนประสานงาน และเชื่อมโยงธุรกิจอุตสาหกรรมสิ่ง พิมพ์กับส่วนกลางและสมาคมการ พิมพ์ไทยจะได้ให้การสนับสนุน และ จับมือเป็นหนึ่งเดียวเพื่อการแข่งขัน ในเวทีอาเซียน ในที่ประชุมได้มีการ เสนอชื่อของอาจารย์เวทิน ศิรินุพงศ์ แต่เพียงผู้เดียว และมีมติเอกฉันท์ โหวตให้อาจารย์เวทินจากร้านเทม การพิมพ์ นัง่ แท่นเก้าอีป้ ระธานชมรม การพิมพ์ภาคใต้เป็นคนแรก ทั้งนี้อาจารย์เวทินซึ่งติดภาร กิจไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ แต่ ได้โฟนอินมายังห้องประชุมเพื่อรับ ทราบและขอบคุณพี่น้องผู้ประกอบ การสื่อสิ่งพิมพ์ที่ได้วางใจ เลือกให้ เป็นตัวแทนในการทำางาน ซึ่งหลัง จากนี้จะมีการเลือกคณะกรรมการ
งานพบปะสังสรรค์ฯ
ทำ า งานและวางแผนแนวทางการ ทำางานอีกครัง้ หนึง่ ซึง่ คุณพรชัย รัตน ชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ ไทยได้กล่าวถึงการผลักดันให้มีกลุ่ม สมาคมของภาคใต้ว่า โครงการที่จะ ทำาในแต่ละภูมิภาคมีความคิดที่จะ ทำามานานหลายปีแล้ว ซึ่งครั้งแรก ที่เริ่มทำาสัญจรคือที่จังหวัดเชียงใหม่ มีความจำาเป็นที่ต้องรวมตัวกันเป็น กลุ่ม เพื่อง่ายในการสื่อสาร สามารถ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการหรือกระจาย งานจากส่วนกลางมาสู่ภูมิภาคและ จากภูมิภาคไปสู่ส่วนกลาง และที่ สำ า คั ญ เป็ น การจั บ มื อ ระหว่ า งผู้ ประกอบการให้เป็นปึกแผ่นเพื่อเข้า สู่การแข่งขันในเวทีอาเซียนได้อย่าง มีศักยภาพ
ThaiPrint Magazine 107
Print News
เอชพีเฟ้นหาสุดยอดของนักออกแบบไทย กับงาน Cut & Paste CHARACTERIZED 2013 กลับมาอีกครั้งอย่างยิ่งใหญ่กว่าเดิมสำ�หรับการแข่งขัน Digital Design ระดับโลก Cut & Paste Tournament 2013 ซึ่งหลังจากที่ได้ประสบความสำ�เร็จอย่างสวยงาม และได้แสดงศักยภาพของนักออกแบบไทยสู่สายตาชาว โลกอย่างภาคภูมิในงาน ‘Cut & Paste CHARACTERIZED 2013’ ที่จัดไปเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม 2556 ณ The Rink Ice Arena, Central Plaza Grand Rama 9 ที่ผ่านมา COMPETITORS
TOURNAMENT ARTWORK // THEME : SUPERHEROES REIMAGINED
108 ThaiPrint Magazine
Cut & Paste CHARACTERIZED 2013
โดยที่มีพิธีกรชื่อดังของไทย “DJ ภูมิ” เป็นผู้ดำ�เนินรายการและมี ดีเจเปิดเพลงเร้าใจพร้อมกำ�หนดให้แสงสีเสียงสร้างความตื่นเต้นประกอบ การแข่งขันตลอดงาน ซึ่งถือเป็นรูปแบบที่แปลกใหม่ ต่างจากการประกวด ออกแบบกราฟฟิคในเมืองไทยทั่วไป จึงไม่นา่ แปลกใจที่จะได้รับความสนใจ จากผู้ที่อยู่ในแวดวงกราฟฟิคเดินทางไปร่วมงานอย่างล้นหลาม ซึ่งแน่นอน ว่าในการแข่งขันในปีนี้มีความยิ่งใหญ่กว่าเดิม ซึ่งมีเป้าหมายเดิมก็คือการ เฟ้นหาสุดยอดนักออกแบบของไทย ที่จะมีโอกาสเข้าแข่งขันในรอบแชมป์ ชนแชมป์กับสุดยอดนักออกแบบอีก 9 ประเทศทั่วโลก ณ ประเทศสหรัฐ อเมริกา บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำ�กัด ร่วมกับ Cut & Paste เฟ้นหาสุดยอดนักออกแบบกราฟฟิคและอนิเมชั่นมืออาชีพ พร้อมส่งเสริม ศั ก ยภาพดี ไซเนอร์ ไ ทยให้ ก้ า วไกลสู่ เวที โ ลกด้ ว ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ เวิ ร์ค สเตชั่น ของ HP ที่มาพร้อมนวัตกรรมล้ำ�สมัยในการแข่งขัน ‘Cut & Paste CHARACTERIZED 2013’ ซึ่งทุกท่านก็จะได้พบกับสุดยอดฝีมือของนักออกแบบ ชาวไทยทีผ่ า่ นการคัดเลือกเข้ามาประชันความสามารถให้ชมกันสดๆ บนเวที ลุ้นระทึกกว่าที่เคยสัมผัส เข้าถึงการทำ�งานของนักออกแบบที่เรียกได้ว่า ทุกขั้นตอนอย่างเจาะลึก ผู้เข้าแข่งขัน ไม่มีการเตรียมตัวมาก่อน ไม่มีสคริปต์ แสดงความสามารถกันจะๆ ต่อหน้าผู้ชม คณะกรรมการตัดสินกันสดๆ บน เวที ประกาศผลและมอบรางวัลกันในคืนนั้นเลยทีเดียว สมกับเป็นงานที่ทุก คนรอคอยจริงๆ
โดยในการแข่งขันแต่ละครั้ง ประกอบด้วยผูเ้ ข้าแข่งขัน 3 ทีมๆ ละ 2 คน ซึง่ จะใช้ผลิตภัณฑ์เวิรค์ สเตชัน่ HP Z1 ของเอชพี ในการสร้างสรรค์ ผลงานภายใต้ธมี ‘CHARACTERIZED 2013’ บรรยากาศการแข่งขันเป็นไป อย่างคึกคักและเร้าใจ ส่วนหนึง่ เห็น ได้ชัดว่าเป็นเพราะมีพิธีกรชื่อดังของ เมืองไทยเป็นผู้ดำ�เนินรายการ ซึ่ง สามารถมองมุมแซวหามุขเล่นเรียก เสียงหัวเราะได้ตลอดเวลา ดังทีก่ ล่าว ไว้แล้วว่า เหมือนกับไปดังดูคอนเสิรต์ อย่างไงอย่างงั้น ขณะที่ผู้เข้าร่วมแข่งขันเอง ถือว่าเป็นสุดยอดของนักออกแบบ กราฟฟิค เพราะต้องมีสมาธิอย่างสูง มากถึงสูงที่สุด เนื่องจากต้องผจญ กับแสงแฟลชวูบวาบจากกล้องถ่าย ภาพและกล้ อ งถ่ า ยทอดสดผ่ า น เว็บไซต์ออนไลน์สดไปทั่วโลกจดจ่อ ThaiPrint Magazine 109
Print News
อยูต่ ลอดเวลา พร้อมๆ กับสายตาของกองเชียร์และคนดูขา้ งล่างเวทีจอ้ งมอง อยู่ตลอดเวลา โดยมีการลิงค์ภาพขณะออกแบบผ่านจอโปรเจคเตอร์ขนาด ใหญ่ให้ดูสดๆ ซึ่งผู้ชมเห็นหมดว่าผู้แข่งขันกำ�ลังใช้เครื่องมือจากซอฟท์แวร์ อะไร ทำ�อะไร หรือแม้กระทั่งคิดอะไรอยู่ในเสี้ยวเวลานั้น…ฯลฯ ต้องขอบอกว่างานประชัน Cut & Paste (Thailand) ตื่นเต้นๆ และ แปลกใหม่ มีอรรถรสในการแข่งขัน ทั้งการแสดงแนวคิด มูลเหตุแรงจูงใจ และโจทย์ในการแข่งขัน และที่สำ�คัญคือชัดเจนในผลงานและการตัดสินแพ้ ชนะ เพราะมีกรรมการตัดสินจำ�นวน 5 คน ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มาจากแขนง กราฟฟิคอาร์ตโดยตรง จึงเป็นที่เชื่อมั่นได้ว่า น่าจะมีความยุติธรรมแน่นอน สำ�หรับการแข่งขันที่กรุงเทพฯ ทีมผู้ชนะในปีนี้ ได้แก่ นายนราธิป ภาสภิรมย์ และ นายยุทธจิต โอกาวา ซึง่ ออกแบบผลงาน ‘หนุมาน Peace ’n love’ ที่จินตนาการให้หนุมานเป็นซูเปอร์ฮีโร่ ซึ่งนำ�สันติสุขมาสู่โลกของ เรา โดยผู้ชนะได้รับรางวัลจอมอนิเตอร์ HP ZR2440W สุดคมชัดจาก เอชพี จำ�นวน 2 เครื่อง นอกจากนี้ เอชพียังจัดการประกวด ‘Mess with [Jess]’ โดยให้ผู้เข้า ชมงานถ่ายภาพของตนเองกับฉาก Mess with [Jess] จากนั้นนำ�มาตกแต่ง โดยเวิร์คสเตชั่นของ HP ภาพที่โดนใจที่สุดจากผลโหวตของผู้เข้าร่วมงานจะ 110 ThaiPrint Magazine
ได้รับรางวัลโมบายเวิร์คสเตชั่น HP 8470W จากเอชพี จำ�นวน 1 เครื่อง นายฐิตพล บุญประสิทธิ์ ผู้ อำ�นวยการธุรกิจ กลุม่ ธุรกิจการพิมพ์ และคอมพิวเตอร์ บริษัท ฮิวเลตต์แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำ�กัด กล่าว ถึงการสนับสนุนการแข่งขัน Cut & Paste CHARACTERIZED 2013 ว่า “เอชพีรู้สึกยินดีที่ได้มีส่วน ร่ ว มในการแข่ ง ขั น ระดั บ โลกอย่ า ง Cut & Paste ในปีนี้ เรามุ่งหวังที่จะ ส่งเสริมให้นักออกแบบชาวไทยได้มี พื้นที่ในการแสดงผลงานและความ สามารถอันโดดเด่น ที่ผ่านมาเราได้ พั ฒ นานวั ต กรรมโดยเฉพาะเวิ ร์ ค สเตชั่นของเอชพีให้พร้อมตอบโจทย์ การใช้งานและความคิดสร้างสรรค์ ของนักออกแบบได้อย่างไร้ขีดจำ�กัด เราเชือ่ ว่าด้วยนวัตกรรมทีก่ า้ วล้�ำ จาก เอชพี จะมีสว่ นผลักดันการพัฒนาใน แวดวงการออกแบบกราฟฟิคและ อนิเมชั่นของไทย และช่วยต่อยอด ความคิดและแรงบันดาลใจของนัก ออกแบบชาวไทยต่ อ ไปอย่ า งไม่ หยุดยั้ง
113 Ad CGS #97_pc3.indd 113
4/5/2556 22:45:50
#97_pc3.indd 67 66-67 Ad VT Graphic =1-2 #94_pc3.indd 67
4/5/2556 1:40:44 10/11/2555 1:15:01
#97_pc3.indd 66 66-67 Ad VT Graphic =1-2 #94_pc3.indd 66
4/5/2556 1:40:43 10/11/2555 1:14:44
Print News
กลุ่มบริษัท เจริญอักษร
จัดการแข่งขันฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ครั้งที่ 3 หรือ 3rd CAS CUP 2013 และตะกร้อกระชับมิตร
กลุ่มบริษัท เจริญอักษร จัดการแข่งขัน “ฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ ครั้งที่ 3 และตะกร้อกระชับมิตร” เพือ่ ส่งเสริมให้บคุ ลากรในภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้ออกกำ�ลังกายและสร้าง ความสัมพันธ์ที่เหนียวแน่นระหว่างกลุ่มธุรกิจโรงพิมพ์และภาคอุตสาหกรรมการพิมพ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งได้รับการตอบรับด้วยดีตลอดมา... ในครั้งนี้นอกจากการแข่งขันฟุตบอลแล้วยังได้จัดการแข่งขันตะกร้อกระชับ 2 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา ณ สนาม มิตรเพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้โรงพิมพ์ขนาดเล็กสามารถส่งนักกีฬาเข้าร่วม สินสาครเอฟซีปาร์ค นิคมอุตสาหกรรม การแข่งขันได้พิธีเปิดการแข่งขันอย่างเป็นทางการจัดขึ้น เมื่อช่วงบ่ายของวันที่ สินสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยมี คุณโฉมบังอร ดารารัตนโรจน์ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัท เจริญ อักษรให้เกียรติเป็นประธานในพิธี คุณ วิชญสิทธิ์ ไชยหาญชาญไชย หัวหน้า คณะจัดการแข่งขัน กล่าวรายงาน การ เปิดการแข่งขัน 3rd CAS CUP 2013 แบ่งการแข่งขันเป็น 4 Division คือ
• CAS PaperOne League • CAS NeviaLeague • CAS Rainbow League • CAS Sino League
มีการแข่งขันตะกร้อกระชับมิตร ซึ่งจัดขึ้นเป็นแรกในกลุ่มอุตสาหกรรม สิ่งพิมพ์อีกด้วย
114 ThaiPrint Magazine
เครือเจริญอักษร
เงินรางวัลในการจัดการแข่งขัน ดังนี้ • ชนะเลิศ CAS PaperOne League 50,000 บาท พร้อมถ้วยเกียรติยศ • ชนะเลิศ CAS Nevia League 40,000 บาท พร้อมถ้วยเกียรติยศ • ชนะเลิศ CAS Rainbow League 30,000 บาท พร้อมถ้วยเกียรติยศ • ชนะเลิศ CAS Sino League 20,000 บาท พร้อมถ้วยเกียรติยศ • รองชนะเลิศในแต่ละ Division 10,000 บาท • ดาวซัลโว ทั้ง 4 Division 4 รางวัล รางวัลละ 3,000 บาท • ทีมมารยาทยอดเยี่ยมทั้ง 4 Division 4 รางวัล รางวัลละ 3,000 บาท เงินรางวัลของการแข่งขันตะกร้อ ดังนี้ • รางวัลชนะเลิศ 30,000 บาท • รองชนะเลิศอันดับหนึ่ง 20,000 บาท • รองชนะเลิศอันดับสอง 10,000 บาท รวมเงินรางวัลกว่า 200,000 บาท นอกจากกิจกรรมฟุตบอลสานสัมพันธ์และตะกร้อกระชับมิตรแล้วทาง คณะจัดงานยังมีกิจกรรมจัดประกวดขบวนพาเหรด เงินรางวัล 10,000 บาท ภาย ใต้คอนเซ็ป “CAS GREEN CARE” และการประกวดคลิปวีดีโอแบบสร้างสรรค์ ภายใต้ชื่อโครงการ “Like CAS CUP” ไม่ว่าร้อง เล่น เต้น กิจกรรมใดๆ ก็ได้ขอ ให้ในคลิปวิดีโอ มีโล้โก้ CAS CUP และโพสต์คลิปวิดีโอผ่านแฟนเพจ Printing League คลิปใดมียอด Like มากสุดและชนะเลิศรับทันทีเงินรางวัล 10,000 บาท สำ�หรับบรรยากาศภายในงานเป็นไปอย่างคึกคัก โดยหน้างานมีการเล่นเกมแจก ของรางวัลมากมาย ก่อนที่จะเดินขบวนวงดุริยางค์เข้าสู่สนาม ตามด้วยชมการ แสดงโชว์ลีดเดอร์แชมป์รายการ “เชียร์ลีดดิ้ง เอเชีย อินเตอร์เนชั่นแนล โอเพ่น แชมเปี้ยนชิพ 2013” จากมหาวิทยาลัยรังสิต ต่อด้วยกิจกรรมสุดฮาไฮไลท์ ภายในงานกับกิจกรรม “CAS HAHAE” และประกาศผลการประกวดขบวน พาเรดโดยรองชนะเลิศตกเป็นของ บริษัท ตรีสาน จำ�กัด ที่เตรียมความพร้อม มาอย่างอลังการ
สำ�หรับท่านทีส่ นใจกิจกรรมการ แข่งขันฟุตบอล 3rd CAS CUP 2013 ร่วมชมบรรยากาศการแข่งขัน ณ สนาม ฟุตบอลสินสาครเอฟซีปาร์ค นิคมอุต สาหกรรมสินสาครหรือดูภาพบรรยา กาศ ได้ที่www.cas-group.com หรือ Facebook- Printing League
ThaiPrint Magazine 115
Print News
โปรแกรมการแข่งขันฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ปี 3
116 ThaiPrint Magazine
เครือเจริญอักษร
ThaiPrint Magazine 117
92 Ad Hua Far #97_pc3.indd 92
4/5/2556 1:44:00
88 119Ad A Bprinting_87-m19.indd CPrinting#91_pc3.indd printing #97_pc3.indd 135 AdA.B.C A.B.C Printing #94_pc3.indd 135 143 A.B.C 1 88119
19/4/2555 4/5/2556 0:29:32 10/11/2555 1:37:18 6/15/11 15:53:25 3:18 AM
Print Knowledge
วิถีเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดย .. ดร. ปิยะนิตย์ โอนพรัตน์วิบูล สำ�นักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เศรษฐกิจสร้างสรรค์คืออะไร..? • นิยาม “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” ไม่ใช่เรือ่ งใหม่ แต่เป็นแนวคิดของการพัฒนาอุตสาหกรรมทางวัฒน ธรรมที่มีมายาวนานหลายทศวรรษ และยังมีการพัฒนา แนวคิดอย่างต่อเนื่อง • มีลักษณะเป็นนามธรรมมากกว่ารูปธรรม • ยังไม่มคี ำ� นิยามทีส่ ร้างความเข้าใจและการยอม รับอย่างเป็นหนึ่งเดียวกันอย่างแท้จริงแต่ละประเทศ หรือหน่วยงานอ้างอิงนิยามแตกต่างกัน
120 ThaiPrint Magazine
• มักน�ำนิยามของ “อุตสาหกรรมสร้างสรรค์” มาใช้กับนิยามของ “เศรษฐกิจสร้างสรรค์” • การแบ่งประเภทและขอบเขตของอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ในปัจจุบันยังไม่ชัดเจนและเป็นสากล ท�ำความเข้าใจก่อน “เศรษฐกิจสร้างสรรค์คือ อะไรกันแน่?” John Howkins เจ้าของแนวคิด “เศรษฐกิจ สร้างสรรค์” ได้อธิบายง่ายๆ ว่า คือ “การสร้าง มูลค่าที่เกิดจากความคิดของมนุษย์”
Creative Economy ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy)
• การใช้ความคิด (ideas) ทั้งความคิดเดิม • เศรษฐกิจสร้างสรรค์เกิดขึ้น เมื่อมีการใช้ หรือใหม่ ในการสร้างความคิดใหม่ๆ โดยความคิดนี้ ความคิด (ideas) ผลิตสินค้าและบริการ ซึ่งน่าสนใจ เริม่ ต้นจากจินตนาการและพรสวรรค์ของปัจเจกบุคคล และมีมูลค่า/คุณค่า • วิธีทางที่หลากหลายในการที่คนมีแบ่งปัน และขายความคิด (ideas) คือ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ นั่นเอง • ผลที่ตามมา คือ การเพิ่มขึ้นของราคา สินค้า/บริการ GDP และค่าจ้างเฉลี่ย ใส่ไอเดีย...สรรค์สร้างอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ใส่ไอเดีย...สรรค์สร้างอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
ThaiPrint Magazine 121
Print Knowledge ความหมายของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ในบริบทประเทศไทย ท่องเทีย่ ว การประเมินค่ากิจกรรมเชิง นิยามเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยตามระเบียบ นร. ว่าด้วยการขับ สร้ า งสรรค์ ค รอบคลุ ม หลายปั จ จั ย เคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ พ.ศ. 2553 เช่น ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ มรดก ทางวัฒนธรรม อาหาร สถาปัตยกรรม “แนวคิ ด การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ บนพื้ น ฐานของการใช้ อ งค์ สปา ราคา อัธยาศัยไมตรี เป็นต้น ความรู้ การสร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยง • แพทย์แผนไทย : ไม่มี กับพื้นฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสมความรู้ของสังคม และเทคโนโลยี ความชัดเจนว่าทำ�ไมแพทย์แผนไทย จึงมีลักษณะเชิงสร้างสรรค์มากกว่า และนวัตกรรมสมัยใหม่” แพทย์แผนปัจจุบัน นิยามตามระเบียบ นร. ว่าด้วยการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • อาหาร : กระบวนการผลิต พ.ศ. 2556 แปรรูปและบริโภคสินค้าอาหารใน เบื้ อ งต้ น ยั ง ไม่ ใช่ กิ จ กรรมเชิ ง สร้ า ง “การพัฒนาระบบเศรษฐกิจ โดยใช้องค์ความรู้ ความคิด สรรค์ ส่วนใหญ่เป็นการผลิตและขาย สร้างสรรค์ ทรัพย์สินทางปัญญา และการศึกษาวิจัย ที่เชื่อมโยงกับ เป็นวัตถุดบิ หลัก มเี พียงบางกิจกรรม/ พื้นฐานทางวัฒนธรรม การสั่งสม ความรู้ของสังคม เทคโนโลยี และ สาขาเท่านั้นที่มีการใช้ความคิดสร้าง นวัตกรรมสมัยใหม่ ในการผลิตสินค้าและบริการในรูปแบบใหม่ ซึ่งสร้าง สรรค์หรือนวัตกรรรม มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ หรือคุณค่าทางสังคม” • วิจิตรศิลป์ (Fine Arts) ภายใต้สาขาสถาปัตยกรรม : รวม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในบริบทของประเทศไทย 2 สาขาทีม่ คี วามแตกต่างกันมาก ทัง้ สาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย ด้านสุนทรียศาสตร์ ผู้ปฏิบัติ ตลาด ในช่วงปี 2552-2555 โดยทั่วไปจัดสาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์เป็น 4 รูปแบบทางธุรกิจและมูลค่าเพิ่ม กลุ่มหลัก 15 สาขาย่อย • โฆษณา : ข้อมูลที่ได้มา จากการใช้จ่ายในสื่อ (media) มาก กว่าการใช้จ่ายของหน่วยงาน • ความหลากหลายทางชีว ภาพ : ไม่ควรกำ�หนดเป็นสาขาทาง เศรษฐกิจ แต่ควรจัดเป็นตัวแปรหนึง่ มากกว่า • อาจมีการนับซ้ำ�ของข้อมูล สาขาท่องเที่ยว อาหาร หัตถกรรม เนื่องจากความเหลื่อมกันของตลาด สศช.จึงได้ศกึ ษาทบทวนการ กำ�หนดกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อย่างไรก็ตาม การจัดกลุ่มสาขาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ดังกล่าว ก่อให้ ใหม่ เพื่อให้สามารถประเมินมูลค่า เกิดปัญหาในการวิเคราะห์เชิงเศรษฐกิจเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาอย่าง ทางเศรษฐกิ จ ได้ อ ย่ า งชั ด เจนและ มาก ครอบคลุม อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ Comments ของ John Howkins เกีย่ วกับการกำ�หนดสาขาเศรษฐกิจ ต้องมีคุณลักษณะ 3 ประการ คือ สร้างสรรค์ของไทย • ท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม : ยากทีจ่ ะแยกออกจากสาขาอืน่ ของการ 122 ThaiPrint Magazine
Creative Economy การอยู่บนพื้นฐานของสินทรัพย์วัฒนธรรม (Cultural Asset-Based)
ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity)
การนําไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (Commercialization)
• ใช้พื้นฐานสินทรัพย์วัฒนธรรม ทั้งจับต้อง ได้และจับต้องไม่ได้ • สรรค์ที่ทําเพื่อการค้า (Creative Arts) มิใช่งานศิลปะบริสุทธ์หรือขั้นต้น ที่โดย พื้นฐานมีเป้าหมายเพื่อการอนุรักษ์
• ใช้ความคิด (Ideas) ทั้งความคิดเดิม หรือใหม่ ในการสร้างความคิดใหม่ๆ โดย ความคิดนี้เริ่มต้นจากจินตนาการและ พรสวรรค์ของปัจเจกบุคคล (by John Howkins)
• นําความคิดสร้างสรรค์นั้นๆ มาผลิตเป็น สินค้าและบริการที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ ซึ่ง อาจรวมถึงการสร้างและใช้ทรัพย์สินทาง ปัญญาเป็นเครื่องมือ เพื่อสร้างรายได้และ ความมั่งคั่ง
สศช. ได้ปรับกรอบแนวคิดการวิเคราะห์ขอบเขตอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ใหม่ โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลักคือ… Creative Originals • ศิลปะต้นฉบับเชิงสร้าง สรรค์ (Core Creative Arts) เป็น Input ในการร้างสรรค์ สินค้าและบริการสร้างสรรค์ • มีมูลค่าจากคุณค่าทาง วัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ และมีศักยภาพในการใช้ ประโยชน์เชิงพาณิชย์ในระดับ หนึ่ง เช่น หัตถศิลป์ (Crafts) ทัศนศิลป์ (Visual Arts) เป็นต้น
Creative Content / Media • พัฒนาต่อยอดจาก Creative Originals/Core Creative Arts โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ ระดับสูงถ่ายทอดสื่อสารในรูป ข้อความตัวอักษร เสียง หรือ รูปภาพ สู่สาธารณชน • คํานึงถึงประโยชน์ใช้สอย (Functionality) และศักยภาพ เชิงพาณิชย์ มากกว่าความคิด สร้างสรรค์อย่างเดียว (Pure Creativity) เพื่อผลิตสินค้า และบริการที่มีมูลค่าเพิ่ม เช่น สื่อภาพยนตร์ โทรทัศน์ ละคร เวทีี เกมคอมพิวเตอร์์และวีีดีโอ เกม หนังสือและนิตยสาร เป็นต้น
Creative Services • อาศัยความคิดสร้างสรรค์ และศักยภาพเชิงพาณิชย์ ระดับสูง เพื่อแปลงสินทรัพย์ ทางวัฒนธรรมให้เป็นสินค้าเชิง สร้างสรรค์ เช่น การให้บริการ โฆษณา การให้บริการสถาปัตย กรรม การให้คําปรึกษาด้านการ ออกแบบ การให้บริการสื่อใน รูปแบบใหม่ (New Media Agencies) การออกแบบแฟชั่น เป็นต้น
Creative Good/ Products • เป็นผลลัพธ์ของ Creative Content / Media /Services เช่น เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย รองเท้า เป็นผลผลิตของการ ออกแบบแฟชั่น เป็นต้น • อาจไม่จัดเป็นอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ เนื่องจากเป็นการ ผลิตตามห่วงโซ่การผลิตตาม ปกติ ซึ่งไม่ใช่กิจกรรมที่ใช้ ความคิดสร้างสรรค์ และมีคุณ ค่าหรือสาระเชิงวัฒนธรรมมาก เท่ากับกลุ่ม Creative Content / Media และ Creative Services
ThaiPrint Magazine 123
Print Knowledge
ปัจจุบัน สศช. จัดกลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ใหม่ แบ่งเป็น 12 สาขา อุตสาหกรรมสร้างสรรค์หลัก Creative Originals
Creative Content / Media
Creative Services
Creative Good/ Products
1. งานฝีมือและหัตถกรรม (Crafts) 2. 2 ศิลิ ปะการแสดง ป (P f i (Performing Arts) 3. ทัศนศิลป์ (Visual Arts) 4 ดนตรี (Music) 4. (M i )
5. ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (Film & Video) Vid ) 6. การพิมพ์ (Publishing) 7. การกระจายเสียง (Broadcasting) 8 ซอฟต์แวร์ (Software) 8. (S ft )
9. การโฆษณา (Advertising) 10. 10 การออกแบบ (Design) (D i ) ซึ่งรวมถึงการออกแบบ แฟชั่น (Fashion Design) 11 11. สถาปัตยกรรม (Architecture) (A hit t )
12. แฟชั่น (Fashion) (ในที่นี้ หมายถึึง การผลิิตเครืื่องแต่่ง กายสําเร็จรูป)
ส่วนอีก 3 อุตสาหกรรม (อาหารไทย ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ แพทย์แผนไทย) จัดเป็นอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสร้างสรรค์
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์กับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ในปี 2553 อุตสาหกรรม สร้างสรรค์ท่ีสร้างมูลค่าเพิ่มทาง เศรษฐกิจสูง คือ การออกแบบ ทัศนศิลป์ และแฟชั่น
อัตราการเติบโตของ 12 อุตสาหกรรมระหว่างปี 2549 2553 อันดับสูงสุด คือ ศิลปะ การแสดง ส่วนอันดับต่ำ�สุด คือ แฟชั่น 124 ThaiPrint Magazine
Creative Economy
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ทั้ง 12 อุตสาหกรรม สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจคิดเป็น 10.3% ของ GDP ประเทศ การวิเคราะห์ความสำ�คัญและอัตราการเติบโตในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมการออกแบบมีศักยภาพสูงมีความสำ�คัญต่อประเทศสูง และมีอัตราเติบโตสูงสุด
ThaiPrint Magazine 125
Print Knowledge
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์กับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ใน Value Chain ของอุตสาหกรรมการพิมพ์
กรอบการวิเคราะห์ Diamond Model สำ�หรับการวิเคราะห์และประเมินปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจ Diamond Model พิจารณาจากปัจจัยกำ�หนด (Determinants) 4 ด้าน และบทบาทของภาครัฐที่มีต่อปัจจัย แต่ละด้าน
126 ThaiPrint Magazine
Creative Economy ประเด็นด้านการแข่งขันของอุตสาหกรรมการพิมพ์ (Context for Firm Strategy, Structure and Rivalry)
ประเด็นด้านอุปสงค์ของผูบ้ ริโภคในอุตสาหกรรมการพิมพ์ (Demand Conditions)
ThaiPrint Magazine 127
Print Knowledge ประเด็นด้านปัจจัยการผลิตของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ (Factor / Input Conditions)
ประเด็นด้านอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องและสนับสนุน (Related & Supporting Industries)
สรุปประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะจากการระดมความคิดเห็นของผู้ประกอบการในอุตสาหกรรม การพิมพ์
128 ThaiPrint Magazine
Creative Economy
กุญแจสำ�คัญของการพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์
กรอบแนวคิดในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย
ความสำ�คัญของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อประเทศไทย สัดส่วนและมูลค่าของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ต่อ GDP ของไทย (ปี 2545 – 2552)
- อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้เศรษฐกิจไทยสูง มาโดยตลอด - กลุม่ งานสร้างสรรค์และ ออกแบบ (Functional Creation) เป็นกลุม่ ทีส่ ร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจสูงสุด (5.6% ของ GDP ในปี 2552 ThaiPrint Magazine 129
Print Knowledge แม้ว่าสัดส่วนมูลค่าของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ต่อ GDP ของไทย ลดลงจาก 12% ในปี 2545 เป็น 10% ในปี 2552 แต่ก็เป็นมูลค่าที่สูง เมื่อเทียบกับหลายประเทศ รวมทั้งสหรัฐ และหลายประเทศในยุโรป
10 เมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทย กรมทรัพย์สินทางปัญญา ได้คัดเลือกเมืองต้นแบบเศรษฐกิจสร้าง สรรค์ 10 เมือง มีดังนี้
จังหวัดชัยนาท เมืองแห่งเมล็ดพันธุ์ข้าว (นางลือ-ท่าชัย) จังหวัดเชียงราย เมืองแห่งการพัฒนา (ดอยตุง) จังหวัดเชียงใหม่ เมืองหัตถกรรมสร้างสรรค์ จังหวัดน่าน น่านเมืองเก่าที่มีชีวิต จังหวัดเพชรบุร ี เมืองเพชร เมืองตาลโตนด จังหวัดมหาสารคาม เมืองแห่งการเรียนรู้ สู่การพัฒนาชุมชน จังหวัดยะลา Bird City ศูนย์กลางเศรษฐกิจนก จังหวัดลพบุรี เมืองนวัตกรรมแห่งพลังงานทดแทน จังหวัดลำ�ปาง ลำ�ปาง เมืองเซรามิก จังหวัดอ่างทอง ชุมชนเอกราชหมู่บ้านทำ�กลอง
130 ThaiPrint Magazine
Creative Economy ตัวอย่างอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของไทย “ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์”ไม่จำ�เป็นต้องเป็นสิ่งแหวกแนว สุดหรู เข้าไม่ถึง อาจเป็นสิ่งใกล้ตัวที่หาได้ง่ายใน ท้องถิ่น มาปรับเปลี่ยนด้วยมุมมองใหม่ๆ แปลกใหม่ไม่ซ้ำ�ใคร สร้างทางเลือกการบริโภคใหม่ให้กับตลาด ร้านเกษรา เบเกอรี่ นำ�ผลิตภัณฑ์ปลาช่อนที่มีมากในท้องถิ่น มา แปรรูปเป็นเค้กและไอศครีมที่อร่อยเข้ากันอย่างลงตัว (ทั้งที่ไม่น่าเข้ากันได้ และไม่มีใครทำ�มาก่อน) พัฒนามาจนเป็นสินค้าของฝากสำ�คัญของเมือง สิงห์บุรี
ส้มตำ�อบแห้ง “Thai Smile” อาหารกึง่ สำ�เร็จรูปอบแห้งระบบ สุญญากาศ ทำ�ให้ผกั ผลไม้กลับคืนสูส่ ภาพเดิมใกล้เคียงกับของสดถึง 85-90% นำ�มาประกอบอาหารสะดวก เพียงแค่เติมน้ำ�และนำ�เข้าเครือ่ งไมโครเวฟ โดย รสชาติ ความหวานและสารอาหารยังคงอยูเ่ ช่นเดิม สามารถเก็บรักษาได้นาน 1 ปี
พราว (Proud) คือ ชื่อแบรนด์ของขนมไทยในบรรจุภัณฑ์สวยหรู จุดขาย คือ การนำ�ขนมไทยและผลไม้อบแห้งมาใส่ในบรรจุภัณฑ์สวยงาม เหมาะสำ�หรับเป็นของขวัญได้ทุกโอกาส ที่มา: www.tcdc.or.th
ThaiPrint Magazine 131
Print Knowledge
ได้อะไรมากกว่า จาก...
AFTA
จิ๊กซอสานฝันของ “อาเซียน” ก�ำลังเป็นที่จับตามองของยักษ์ใหญ่ทาง เศรษฐกิจหลายประเทศทัว่ โลกกับข้อตกลงทางการค้าเสรีเฉพาะสินค้าและวัตถุทผ ี่ ลิตภายในประเทศสมาชิก อาเซียนทั้งหมด “เขตการค้าเสรีอาเซียน” หรือ ASEAN Free Trade Area (AFTA) แน่นอนว่าหากข้อ ตกลงนี้มีผลเป็นไปอย่างราบรื่นในปี 2558 ที่จะถึงนี้ “ไม้ซีก” อย่างสมาคมอาเซียนหรือ AEC ที่มี ประเทศสมาชิกเพียง 10 ประเทศ ย่อมสามารถงัดไม้ซุงอย่างประเทศที่เป็นเลิศทางด้านเศรษฐกิจได้ไม่ยาก เหมือนในอดีตที่ผ่านมา
การเพิ่มศักยภาพให้แก่ตัวเองของสมาคมอาเซียนในครั้งนี้ ถือเป็น ถึงตอนนี้ “แผนรุก” ของ AEC เดิน หมัดเด็ดทางเศรษฐกิจ ที่อาจทำ�ให้เหล่าเจ้าสัวนายทุนหลายประเทศถึงกับ หมากทำ � ลายกำ � แพงภาษี ห รื อ อุ ป สะอึก เพราะจากที่เคยเป็นเพียงฐานการผลิตสินค้าเพื่อป้อนสู่ตลาดโลกมา สรรคข้ อ กี ด ขวางทางการค้ า ที่มิใช่ ภาษี ร วมถึ ง การพั ฒ นาโครงสร้ า ง ภาษี ศุ ล กากรเดิ ม ที่ ไ ม่ เ อื้ อ อำ � นวย และเป็ น อุ ป สรรคสำ � คั ญ ที่ ทำ � ให้ ระบบการค้ า เสรี ข องอาเซี ย นไม่ อาจเกิดขึน้ ได้ เช่นนัน้ AEC จึงวาง แผนเปิดการค้าเสรีด้านการค้าให้ทั้ง กลุ่มประเทศสมาชิกผนึกกำ�ลังการ ผลิตสินค้าต่างๆ ที่ทั่วโลกต้องการ ให้สามารถมี Power ต่อรองกับกลุ่ม นายทุ น และผู้ ค้ า รายใหญ่ ห ลาย ประเทศทั่วโลกได้อย่างภาคภูมิและ ไม่ ถู ก มองข้ า มเหมื อ นกั บ ไม่ เ ห็ น คุณค่าอย่างสมัยก่อน 132 ThaiPrint Magazine
ได้อะไรมากกว่าจาก AFTA
นอกจากแผนยกเลิ ก ภาษี และปรับปรุงภาษีศุลกากรแล้ว แผน รุกอีกหลายประการที่ AEC กำ�ลัง วางหมากอย่างรอบคอบก็คือ 1. การเสาะหาวัตถุดบิ ในประ เทศสมาชิกอาเซียน 2. วิเคราะห์ถงึ ความต้องการ ของผู้บริโภคในสมาคมอาเซียน 3. ย้ายฐานการผลิตทีม่ คี วาม เหมาะสมกับประเทศสมาชิก 4. ให้ความสนใจกับ 4 ประ เทศที่มีข้อตกลงร่วมกันแบบเหนียว แน่นอย่างประเทศกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม หรือ กลุ่ม CLMV 5. พัฒนาบริษัทในกลุ่มของ ประเทศสมาชิ ก ให้ มีร ะบบการวาง แผนการดำ�เนินงาน การจัดกิจกรรม ต่างๆที่มุ่งบรรลุผลเพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า โดยการนำ� เสนอบริการและคุณภาพในระดับที่ เ ห นื อ กว่ า ต้ น ทุ น การผลิ ต เพื่ อ สามารถแข่ ง ขั น กั บ คู่ แข่ ง ในตลาด
โลกได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือการพัฒนาระบบโลจิสติกส์นั่นเอง 6. แก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานทุกระดับ เช่น แรงงานฝีมือ ทุกระดับในกลุ่มประเทศสมาคมอาเซียน 7. วิเคราะห์ศกั ยภาพของคูแ่ ข่งทางเศรษฐกิจทัว่ โลก เช่น การศึกษา และเปรียบเทียบอัตราภาษีนำ�เข้าของคู่แข่งทางเศรษฐกิจ ให้เกิดความได้ เปรียบในด้านของภาษีนำ�เข้ามากยิ่งขึ้น แผนรุกของ AEC นี้ หากนำ�มาใช้อย่างจริงจัง จะสามารถลดการ ขัดแย้งทางเศรษฐกิจที่มีอยู่เดิมลงได้ เช่นนั้นย่อมถือว่าแผนนี้น่าจะได้ผล
ThaiPrint Magazine 133
Print Knowledge
อย่างยิ่งยวด อันเป็นการสร้างโอกาสให้แก่ตัวเองอย่างชาญฉลาด กดรีเซต ให้ทั้ง 10 ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามข้อตกลงอันมีผลให้ทุกประเทศของ กลุ่มอาเซียนมีผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเท่าเทียม แต่ปัญหาและอุปสรรคที่สำ�คัญของ AFTA หรือการเปิดการค้าเสรี ของกลุ่มสมาคมอาเซียนนี้ ดูทีท่าว่าอาจประสบกับความขัดแย้งอย่างหนัก ด้ ว ยผลประโยชน์ ข องหลายประเทศสมาชิ ก ที่ ไ ม่ ค่ อ ยจะลงรู ป ลงรอย กันสักเท่าไหร่ อย่างเช่น เวียดนาม ที่ตอนนี้หันเหไปจับมือกับประเทศ มหาอำ�นาจอย่างจีนอีกทั้ง 2 ประเทศนี้ ยังมีข้อตกลงทางเศรษฐกิจร่วมกัน โดยที่สมาคมอาเซียนไม่ได้ร่วมสังฆกรรมด้วย หรือประเทศกัมพูชาที่ตอนนี้ มีพลังงานสำ�รองทั้งน้ำ�มันและก๊าซธรรมชาติอย่างเหลือเฟือ
134 ThaiPrint Magazine
และนอกจากนี ้ ประเทศลาว เพื่อนบ้านของเราแท้ๆ ณ วันนี้ ลาว สามารถส่งออกทองคำ�บริสุทธิ์ออก สู่ตลาดโลกได้หลายตัน ยังไม่นับ รวมแร่ ท องแดงอี ก หลายหมื่ น ตั น ต่อปี ซึ่งที่ผ่านมาไม่นานนี้ ลาวได้ ค้นพบแร่บอกซ์ไซด์ที่ว่ากันว่าเป็น แหล่ ง ที่ มี ป ริ ม าณมากที่ สุ ด ในโลก เช่นนีแ้ น่นอนว่าต่อไปอีกไม่นานเกิน รอ ลาวจะสามารถส่งออกอลูมเิ นียม คุณภาพเกรด A รองลงมาเป็นอันดับ สองจากประเทศฝรั่งเศสเลยทีเดียว ปัญหาที่ AEC ต้องพยายาม เจรจาตกลงก็คือ ผลประโยชน์หลาย ด้านที่ประเทศในกลุ่ม CLMV ที่มี ประเทศมหาอำ�นาจอย่างจีน ออสเตร เลี ย และสิ ง คโปร์ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มพั ฒ นา ทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าว แทนที่ จะเป็นประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วย กันเอง จึงกลายเป็นว่ากลุ่มประเทศ CLMV อาจไม่ง้ออาเซียนเลยก็เป็น ไปได้ เพราะมีมหาอำ�นาจทางเศรษฐ กิจหนุนหลังอยูแ่ ล้วผลประโยชน์ตา่ งๆ
ได้อะไรมากกว่าจาก AFTA
ที่กลุ่มประเทศทั้ง 4 นี้จะได้รับย่อม ตีราคาสูงเกินไปอย่างแน่นอน แต่ถงึ อย่างไร ปัญหาดังกล่าว ก็เป็นเพียงแค่ปญ ั หาหน้าเดียวที่ AEC อาจจั ด การตกลงเจรจาได้ ไ ม่ ย าก เพราะเป็ น เพี ย งผลประโยชน์ ท าง ด้านพลังงานอย่างเดียวเพียงเท่านั้น จึงอาจส่งผลกระทบน้อยนิดกับแผน รุกที่ AEC วางเอาไว้ ซึ่งหลักใหญ่ ใจความของการเปิดเสรีทางการค้า อาเซียนในปี 2558 นัน้ เน้นในเรือ่ ง ของการเสาะหาวั ต ถุ ดิ บ และสร้ า ง ฐานการผลิตอย่างมั่นคงในแวดล้อม ประเทศสมาชิ ก ของกลุ่ ม อาเซี ย น เอง อาทิเช่น หากสหภาพยุโรปหรือ EU กำ�ลังต้องการเสื้อกั๊กสักพันตัน ณ วันนี้ EU อาจจะต้องเลือกว่าจะ ลงทุ น กั บ ประเทศไหนดี เ พราะทั้ ง อาเซียนต่างก็มีแหล่งวัตถุดิบ และ มีแรงงานเป็นฐานการผลิตเหมือน กัน แต่หากข้อตกลงการเปิดการค้า เสรี มีผลบัง คับ ใช้ก ระบวนการผลิ ต สิ น ค้ า สู่ ต ลาดโลกย่ อ มเริ่ ม ขึ้ น ได้ ThaiPrint Magazine 135
Print Knowledge
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเริ่ ม ต้ น จากประเทศกั ม พู ช านำ � เข้ า ผ้ า จากประเทศ มาเลเซี ย มาปั ก เสร็ จ แล้ ว นำ � ส่ ง เข้ า ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ทำ � ปกเสื้ อ แล้ ว ส่ ง ต่ อ ไปให้ เวี ย ดนามติ ด กระดุ ม จากนั้ น ส่ ง ให้ ไ ทยตั ด เย็ บ และ แพ็กเกจจิ้งเตรียมส่งสินค้าให้ EU ตามกำ�หนด นี่คือตัวอย่างกระบวนการ การผลิตสินค้าสู่ตลาดโลกของสมาคมอาเซียน ดังนั้น การทำ�ลายกำ�แพง ภาษีระหว่างประเทศจึงเป็นแผนรุกด่านแรกของ AEC ที่จะต้องจัดการทุบ ทลายออกให้สิ้นซากนั่นเอง แน่นอนที่สุดว่า หากทั้ง 10 ประเทศสมาชิก สามารถบรรลุข้อตกลง AFTA หรือการเปิดการค้าเสรีได้อย่างราบรืน่ ตลาด ทีแ่ ตกแยกของทัง้ 10 ประเทศ ย่อมรวมกันเป็นหนึ่งเดียวและใหญ่ขึ้นทัด เที ย มกลุ่ ม เศรษฐกิ จ ทั่ ว โลกและที่ สำ � คั ญ อาเซี ย นจะมี อำ � นาจต่ อ รอง เพิ่มมากขึ้น ยากที่คู่แข่งทางเศรษฐกิจจะประเมินการได้ “ถามว่า “เรา” ประชากรผู้บริโภคซึ่งเป็นห่วงโซ่อาหารห่วงสุดท้าย จะได้ประโยชน์อะไรกับ AFTA ที่เปรียบเสมือนข้อตกลงระหว่างนายทุนต่อ นายทุนทั้ง 10 ประเทศ แบบนี้จะส่งผลกระทบถึงเราได้หรือไม่” แม้ข้อตกลงดังกล่าวดูผิวเผินแล้ว อาจจะเป็นผลดีหรือเสียกับนัก ลงทุน หรือผู้นำ�เข้าและส่งออกสินค้าโดยตรงก็ตาม แต่ผลกระทบย่อมตก มาถึงห่วงโซ่อาหารห่วงสุดท้ายอย่างเราๆ แน่นอนเป็นที่สุด เพราะนับจาก วันนั้นการอัตราการจ้างงานสูงขึ้น วัตถุดิบที่มีอยู่ตามท้องถิ่นจะถูกขุดขึ้น มาพัฒนาอย่างมีระบบให้อุดมไปด้วยประสิทธิภาพที่ทัดเทียมนานาอารยะ เศรษฐกิจ ต้นทุนการผลิตสินค้าอุปโภคและบริโภคจะถูกลงมากกว่าครึ่ง เพราะไม่มีภาษีนำ�เข้าเฉพาะประเทศที่เป็นคู่ค้ากัน 10 ประเทศ เมื่อต้นทุน ลดลง ราคาขายหน้าร้านก็จะต้องลดลงตามไปด้วยอย่างไม่ตอ้ งสงสัย กระทบ ยอดได้ทั้งดีมานซ์และซัพพลาย ส่งเสริมให้คุณภาพชีวิตของคนไทย และ 136 ThaiPrint Magazine
เพื่อนๆ ทั้ง 10 ประเทศของกลุ่ม สมาคมอาเซียนได้อยู่ดีกินดี มีคุณ ภาพชีวิตที่สูงจนไม่อาจจะประเมิน ค่าได้เช่นกัน หรือไม่ “ฝันของอาเซียน อันสูงสุด” ประชาชนของทั้ง 10 ประเทศสมาชิก อาจเข้าออกประเทศ ในกลุ่มได้ โดยที่ไม่ต้องทำ�หรือต่อ วีซ่าให้ยุ่งยาก เพียงแต่มีพาสปอร์ต เพียงเล่มเดียว ก็สามารถเดินทาง ไปท่ อ งเที่ ย วพ่ ว งกั บ การทำ� การค้ า ในประเทศเพื่อนๆ ในกลุ่มได้อย่าง เสรี ให้เพื่อน ลี และสหายคิมอิจฉา เล่นๆ จะเป็นไรไป
เรื่องเล่าจากภาพ ?
ภาพความทรงจำาจากวันเวลาของชีวิต
“ภาพวาดที่หายไป”
“รอยหมึกที่จางที่สุดก็ยังดีกว่าความทรงจำาที่แจ่มชัดที่สุด” - สุภาษิตจีน
********** ภาพถ่าย จากภาพที่วาดเองเลียนแบบภาพวาดโบราณของจีน **********
ฉันได้เห็นภาพวาดโบราณของจีนภาพหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ของวัดจีน แห่งหนึง่ และได้ถา่ ยภาพภาพโบราณซึง่ วาดด้วยหมึกจีนนัน้ เก็บไว้ ภาพโบราณ นั้นไม่มีรายละเอียดของภาพมากนัก มันเป็นเพียงภาพของชายร่างใหญ่คน หนึ่งที่นั่งอยู่เงียบๆ อย่างโดดเดี่ยวและกำาลังเพลินอยู่กับความคิดของตัวเอง แต่ไม่ได้ส่อแสดงว่าเขาเดียวดายหรือหงอยเหงา ภาพวาดนั้นดูเรียบง่ายและ ให้ความรู้สึกสงบสบาย ฉันชอบวาดภาพและตั้งใจไว้ว่าจะวาดภาพเลียนแบบภาพวาดโบราณ ภาพนั้น เพื่อส่งไปเป็นของขวัญวันเกิดให้เพื่อนรักคนหนึ่งที่อยู่ที่ประเทศไทย ฉันลงมือวาดภาพเลียนแบบตามภาพโบราณนั้นอย่างตั้งใจที่สุดกับทุกๆ ราย ละเอียดของภาพ เมื่อวาดเสร็จแล้วฉันได้ม้วนภาพเลียนแบบภาพวาดโบราณ ของจีนที่ฉันวาดเองนั้นใส่กรักทรงกระบอกส่งไปรษณีย์ไปให้เพื่อน และไม่ลืม ที่จะถ่ายภาพ ภาพที่ฉันได้วาดเป็นของขวัญให้เพื่อนนั้นไว้เป็นที่ระลึกสำาหรับ ตัวเองด้วย... แต่จนแล้วจนรอดเพื่อนก็ไม่ได้รับของขวัญที่เป็นภาพที่ฉันวาดเลียน แบบภาพโบราณนั้นเลย ภาพที่ฉันวาดได้หายสาบสูญไปอย่างไร้ร่องรอยแม้จนทุกวันนี้ สิ่งที่ เหลืออยู่คือภาพถ่ายของภาพวาดที่ฉันได้วาดให้เพื่อนเท่านั้น... และเพื่อนก็
เพียงได้เห็นภาพถ่ายของภาพวาดที่ เป็นของขวัญวันเกิดที่เพื่อนไม่เคยได้ รับเลยเท่านั้น...เช่นกัน วันเวลาผ่านมานานหลังจาก ที่ภาพวาดนั้นได้หายไป... ฉันได้พบ สุภาษิตของจีนที่กล่าวว่า “รอยหมึก ที่ จ างที่ สุ ด ก็ ยั ง ดี ก ว่ า ความทรงจำ า ที่ แจ่มชัดที่สุด”สุภาษิตจีนนั้นทำาให้ฉัน หวนคิ ด ถึ ง ภาพวาดด้ ว ยหมึ ก จี น ที่ หายไปภาพนั้นขึ้นมา... ...รอยหมึ ก ที่ ไ ด้ จ ารจารึ ก เรื่องราวหรือได้ตวัดปัดป้ายขึ้นเป็น ภาพขึน้ มานัน้ แม้จะจางไปบ้างพร้อม กับกาลเวลา แต่ก็ยังคงมีเค้าลางที่จะ บ่งบอกถึงข้อความหรือภาพทีห่ มึกนัน้ เป็นตัวแทนสื่อความหมายของถ้อย คำาและภาพได้ แต่ความทรงจำานั้น แม้จะแจ่มชัดอยู่ในห้วงคำานึงของใคร บางคน วันหนึ่งความทรงจำาก็จะจบ สิ้นไปพร้อมกับผู้ที่ได้เก็บความทรง จำานั้นไว้ตลอดจนชั่วชีวิต... ภาพวาดของฉันอาจจะเลือน ไปบ้างแล้วในวันนี้ แต่มันก็ยังแจ่มชัด อยู่ในความทรงจำาของฉันเสมอ และ แม้ เ มื่ อ ถึ ง วั น เวลาที่ ฉั น ต้ อ งจากไป พร้อมกับความทรงจำาของภาพนั้น... ภาพนั้นก็ยังคงอยู่ท่ีไหนสักแห่งหนึ่ง ในโลก มันยังคงอยูพ่ ร้อมกับเรือ่ งราว ความเป็นมาของตัวมันเองที่ไม่มีใคร เคยรู.้ .. และมันเองก็ไม่สามารถจะบอก เล่าให้ใครได้รบั รูไ้ ด้ แต่มนั ยังคงสือ่ ด้วย เส้นสายลายหมึกในตัวของมันให้ทุก คนที่ได้เห็นว่ามันคืออะไร มันยังคง ช่วยปลุกสะท้อนบางความรูส้ กึ ออกมา ได้จากผู้ท่ีได้พิศดูมันไม่ว่าความรู้สึก นัน้ จะเป็นความเหงา เศร้า เดียวดาย หรือความสงบ... แม้รอยหมึกของภาพ จะค่อยๆ จางลางเลือนลงไปพร้อมกับ ทุกคืนวันทีม่ นั ยังคงอยูก่ ต็ าม...
ThaiPrint Magazine 137
Art Gallery
นิทรรศการแสดงผลงานย้อนหลังของ “ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ” ศิลปินแห่งชาติ และครูคนส�ำคัญ ผู้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะตลอดระยะเวลามากกว่า 50 ปี จัดแสดงผลงาน ศิลปะตามช่วงเวลาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เช่น ผลงานชุดศิลปินชนบท ศิลปะจัดวาง และศิลปะ แบบคอนเซปชวล อาร์ต (Conceptual art), ผลงานวาดเส้นชุดบทกวี, ลูกสาว, ชุดธรรมศิลป์ และผลงานชุดใหม่ “จิตรกรรมฝาผนัง” ศิลปินนักค้นคว้าทดลอง ศาสตราจารย์ชลูดได้สร้างสรรค์ ผลงานศิลปะที่มีคุณค่า จนได้รับการยกย่องเป็นศิลปิน ชั้นเยี่ยม สาขาจิตรกรรม ในปี พ.ศ. 2502 และศิลปิน แห่งชาติ สาขาประติมากรรม ในปี พ.ศ. 2541 ในฐานะ ครูผู้ยิ่งใหญ่ ศาสตราจารย์ชลูดได้สร้างศิลปินมากมาย ให้กับวงการศิลปะ และเป็นผู้บุกเบิกการเรียนการสอน ด้วยการจัดตั้งภาควิชาภาพพิมพ์ (พ.ศ.2508) และภาค วิชาศิลปไทย (พ.ศ.2519) ในคณะจิตรกรรมประติมา กรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นอกจากนี้ ยั ง เป็ น นั ก วิ ช าการศิ ล ปะผู้ ส ร้ า งสรรค์ ตำ � ราวิ ช าองค์ ประกอบศิลป์ รวมไปถึงหนังสือและบทความทางศิลปะ ที่เป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษามากมาย แต่ทว่าสำ�หรับศาสตราจารย์ชลูดแล้ว ท่านกล่าว เสมอว่า ตนเป็นเพียง “ศิลปินชนบท” คนหนึ่งที่ยังคง สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ นำ�เอาประสบ การณ์เหล่านั้นไปถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ลูกหาในฐานะ “ครู” นิทรรศการครั้งนี้มิได้จัดขึ้นเพื่อยกย่องหรือเชิดชู เกียรติท่านเนื่องในวาระพิเศษใด หากทว่าต้องการนำ� “ศาสตราจารย์ชลูด นิม่ เสมอ” ศิลปินอาวุโส เสนอและเผยแพร่ ผ ลงานศิ ล ปะอั น ทรงคุ ณ ค่ า ตลอด หนึง่ ในศิษย์เอกคนสำ�คัญของ “ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี” เส้นทางการสร้างสรรค์ทย่ี าวนานกว่าหลายสิบปี เพือ่ ให้ ผู้มีบทบาทสำ�คัญในวงการศิลปะร่วมสมัยไทย ในฐานะ ผู้ชมได้ซึมซับสุนทรียภาพและเรียนรู้ผลงานศิลปะของ 138 ThaiPrint Magazine
จิตรกรรมฝาผนังของอาจารย์ชลูด
ศิ ล ปิ น คนสำ � คั ญ ที่ สุ ด คนหนึ่ ง ในประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปะ ร่วมสมัยไทย โดยแบ่งการจัดแสดงผลงานออกเป็น 6 ชุดด้วย กัน คือ ผลงานชุดจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งเป็นผลงานชุด ปัจจุบัน ที่ศาสตราจารย์ชลูดสร้างขึ้นตั้งแต่ช่วงปี พ.ศ. 2553-2556 เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด และจินตนาการที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา ซึ่งสัมพันธ์ ไปกับสภาวะแวดล้อมและสถานการณ์รอบตัว ผ่านรูป ทรงหลักคือ ภาพผู้หญิงและเด็ก ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แทน ความรู้สึกที่สะอาดบริสุทธิ์ อ่อนโยน ปรากฏอยู่ร่วมกับ รูปทรงซึ่งมีที่มาจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่ง แวดล้อมทางวัฒนธรรม โดยใช้เทคนิคที่เรียบง่ายอย่าง การวาดเส้นด้วยหมึก และการระบายสีอะคริลิคลงบน กระดาษสา ซึ่งเป็นวัสดุที่มีความเป็นธรรมชาติ ผลงาน ทั้งหมดถูกจัดวางเรียงรายต่อเนื่องกันจนเต็มฝาผนัง เพื่อโอบล้อมผู้ชมให้เข้ามาสัมผัสบรรยากาศของผลงาน โดยรวม เป็นจิตรกรรมฝาผนังร่วมสมัยที่มิได้บอกเล่า เรื่องราวทางพุทธศาสนา แต่ทว่ากำ�ลังบอกเล่าเรื่องราว ทางศิลปะจากประสบการณ์ชีวิตของศิลปิน ผลงานชุดธรรมศิลป์ เป็นผลงานที่ศาสตรา จารย์ชลูดสร้างขึ้นในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2530- 2539 โดยมิ ไ ด้ มี เจตนาสื่ อ แสดงความหมายธรรมะในพุ ท ธ ศาสนา แต่ถ่ายทอดออกมาจากสภาวะจิตใจที่มีธรรมะ
เป็นเครื่องกล่อมเกลา ด้วยรูปแบบผลงานที่เรียบง่าย รูปทรงอันสงบนิ่ง และสีสันที่นุ่มนวลสะอาดตา สะท้อน ความบริสุทธิ์ของจิตใจที่สงบนิ่งและปล่อยวาง อันเป็น ผลมาจากภาวะของสมาธิ ซึ่งเกิดขึ้นในขณะทำ�งานและ จากการศึกษาปฏิบัติธรรม ThaiPrint Magazine 139
Art Gallery
เป็นเทคนิคทีเ่ รียบง่าย แต่สามารถถ่ายทอดและแสดงออก ซึ่งอารมณ์ความรู้สึกได้เป็นอย่างดี ผลงานวาดเส้นที่น�ำ มาจัดแสดงมี 4 ชุดด้วยกัน คือ ผลงานชุด “บทกวี” (พ.ศ. 2525-2526) ผลงานชุด “ลูกสาว” (พ.ศ. 2528) ผล งานชุด “ประติมากรรมในทิวทัศน์” (พ.ศ. 2550) และผล งานชุด “วาดเส้นภาวนา” (พ.ศ. 2554) ผลงานชุดประติมากรรมชนบท เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2525 ศาสตราจารย์ชลูดนำ�แรงบันดาลใจจากสภาพ แวดล้อมและวิถีชีวิตชนบทไทย มาสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะที่มีความก้าวหน้าล้ำ�สมัย ทั้งในด้านรูปแบบและ ลักษณะการแสดงออก ด้วยการหยิบจับวัตถุและวัสดุ จากสิ่งแวดล้อมรอบตัว ทั้งวัสดุจากธรรมชาติ และวัสดุ สั ง เคราะห์ ที่ อ ยู่ ใ นชี วิ ต ประจำ � วั น มาเป็ น สื่ อ ในการ แสดงออก เริ่มจากการนำ�วัสดุมาห้อยแขวนวางพาดบน ตอไม้ พัฒนาต่อเนื่องมาจนถึงการนำ�วัสดุมาห้อยแขวน บนร่างกายตนเอง เพื่อเป็นสื่อแสดงความคิด ความ สัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในวิถีชีวิตชนบท ไทย ซึ่งนับได้ว่าศาสตราจารย์ชลูดเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิก แนวทางการทำ�งานศิลปะเชิงความคิด (conceptual art) ในหน้าประวัติศาสตร์ศิลปะร่วมสมัยไทย ผลงานวาดเส้นจากโรมและภาพพิมพ์นาม ธรรม ในช่วงเวลาที่เดินทางไปศึกษาเทคนิคภาพพิมพ์ กลวิธีร่องลึก (intaglio) ที่ประเทศอิตาลี ประมาณปี ผลงานวาดเส้น เป็นเทคนิคการสร้างสรรค์ที่ พ.ศ. 25499-2501 และศึกษาเทคนิคภาพพิมพ์หิน (lithศาสตราจารย์ชลูดมีความชืน่ ชอบเป็นพิเศษ และได้สร้าง ograph) ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2507 นั้น สรรค์ผลงานด้วยเทคนิคนี้ไว้เป็นจำ�นวนมาก เนื่องจาก ศาสตราจารย์ชลูดได้เดินทางไปวาดภาพทิวทัศน์ตาม 140 ThaiPrint Magazine
จิตรกรรมฝาผนังของอาจารย์ชลูด
สถานที่ต่าง ๆ ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี และกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเป็นผลงานที่ยังไม่เคยจัดแสดงที่ใด มาก่อน นอกจากนี้ยังมีผลงานภาพพิมพ์นามธรรม ซึ่งมี เทคนิคที่น่าสนใจอีกจำ�นวนหนึ่งด้วย ผลงานยุคแรก ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2498- 2505 ศาสตราจารย์ ช ลู ด สร้ า งสรรค์ ผ ลงานที่ ส ะท้ อ นภาพ วิถีชีวิตชนบทไทย ด้วยเทคนิคภาพพิมพ์แบบแกะลาย เส้น (engraving) โดยทดลองนำ�เมโซไนท์ (mesonite) หรือกระดาษอัดแข็งมาใช้แทนไม้เป็นคนแรกของไทย ต่อมาได้สร้างสรรค์ผลงานด้วยเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้ (wood cut) ซึ่งมีทั้งภาพพิมพ์ขาวดำ�และภาพพิมพ์สี เป็น การค้นพบเทคนิคที่มีความกลมกลืนกับอารมณ์ การ แสดงออก ด้วยเรื่องราวและรูปทรงที่เรียบง่าย แสดง ออกถึงความเป็นไทย นอกจากนี้ยังมีผลงานจิตรกรรม ชุด “ชีวิตชนบทปิดทอง” (พ.ศ.2499) ซึ่งศาสตราจารย์ ชลูดได้ทดลองติดทองคำ�เปลวลงบนจิตรกรรมร่วมสมัย เป็นคนแรก นับเป็นก้าวสำ�คัญในการนำ�ลักษณะของ ศิลปะไทยแบบประเพณีมาปรับใช้ เสนอภาพเรื่องราว วิถีชีวิตไทย ทำ�ให้เกิดลักษณะใหม่ของศิลปะร่วมสมัยที่ แสดงลักษณะไทยได้อย่างลงตัว
นิทรรศการ : จิตรกรรมฝาผนังของอาจารย์ ชลูด และผลงานย้อนหลัง ศิลปิน : ชลูด นิ่มเสมอ วันที่ : 31 พฤษภาคม – 18 สิงหาคม 2556 ดำ�เนินงานโดย : ฝ่ายนิทรรศการ หอศิลป วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร สถานที่ : ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 9 ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมโทร : 02214-6630–8 ต่อ 501 เว็บไซต์ : www.bacc.or.th ขอขอบคุณ ภาพและข้อมูลจากเวบ artbangkok.com
ThaiPrint Magazine 141
Print Travel
เกาะสมุย
สายลมแสงแดด สวรรค์กลางอ่าวไทย เรื่อง...รสิก ภูวนันท์
เกลียวคลืน่ กระทบหาดทรายดังแผ่วเป็นมาระยะๆ ฟ้าสีครามทอแสงประกายระยิบระยับบนเกลียว คลืน่ ฟองฟูเมือ่ ถาโถมเข้าฝัง่ ผูค้ นต่างเชือ้ ชาติตา่ งภาษาจากดินแดนในส่วนต่างๆ ของโลกเดินเล่นรับลมบ้าง ก็นอนเอกเขนกบนเปลผ้าใบ งีบหลับพักผ่อนในวันหยุดอันแสนสบาย บ้างก็เพ่งสายตาจับจ้องมองไกลไปสุด ปลายขอบทะเล ราวกับว่าบนผืนดินแห่งนีค้ อื สวรรค์กลางอ่าวไทย ของพวกเขา เพราะชื่อนี้เอง ทำ�ให้ต้องผมเดินทางไปสัมผัสสักครั้ง อยากเห็น ให้เต็มสองตาว่าจริงหรือไม่ ก่อนเดินทางมาถึงทีน่ ่ี ผมได้ศึกษาข้อมูลประวัติ ของเกาะแห่งนี้มาบ้าง ยิ่งทำ�ให้เกิดความน่าสนใจเป็นยิ่งนัก เกาะสมุย เป็นเกาะที่ตั้งอยู่บริเวณอ่าวไทยห่างจากสุราษฎร์ธานีไป ทางทิศตะวันออก 84 กิโลเมตร พืน้ ที่ 1 ใน 3 ของเกาะ เป็นทีร่ าบรอบ ล้อมไปด้วยภูเขา ช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคมเป็นช่วงคลื่นลมสงบ จึงเหมาะแก่การท่องเที่ยวมากที่สุด ซึ่งนักท่องเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวต่าง ชาติ ก็ตา่ งขนานนามให้เกาะสมุยว่าเป็น “สวรรค์กลางอ่าวไทย”
142 ThaiPrint Magazine
และเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่ เป็นอันดับ 3 ของประเทศและเป็น สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ สำ � คั ญ อั น ดั บ ต้นๆ ของประเทศอีกแห่งหนึง่ ทีม่ ี ชือ่ เสียงไปทัว่ โลก เพราะมีธรรมชาติ อันงดงาม มีหาดทรายขาวละเอียดที่ สะอาดบริสทุ ธิ์ อีกทัง้ ยังเพียบพร้อม ไปด้วยสิ่งอำ�นวยความสะดวกทุกรูป แบบครบครัน ทั้งที่พักหลากหลาย รูปแบบจำ�นวนมาก มีการคมนาคม ทีส่ ะดวก และมีสนามบินเป็นของตัว เอง ปัจจุบนั เกาะสมุยเป็นศูนย์กลาง การท่องเทีย่ วของทะเลอ่าวไทยตอน ใต้ท่ีมีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ ชาวต่างชาติหลั่งไหลไปเยี่ยมเยือน ปีละหลายล้านคน
เกาะสมุย ด้วยมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรการ ท่องเที่ยวที่มีความโดดเด่น สวยงาม มีเสน่ห์แตกต่าง กันไป ไม่วา่ จะเป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วทางธรรมชาติทส่ี วย งาม อาทิเช่น น้�ำ ทะเลใสบริสุทธิ์ หาดทรายขาวทอด ขนานไปกับทิวต้นมะพร้าวริมชายหาด และนอกจาก ธรรมชาติชายทะเลแล้ว ยังมีน�้ำ ตกที่มีน้ำ�ใสเย็นเกือบ ตลอดทั้งปี มีแหล่งท่องเที่ยวที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรม ของชาวท้องถิน่ เช่น วัดสำ�เร็จ วัดละไม วัดพระใหญ่ เจดียแ์ หลมสอ ฯลฯ ในท้องทะเลรอบเกาะสมุยยังมีแนวปะการังอยู่ ทัว่ ไป มีแหล่งปะการังที่อุดมสมบูรณ์อยู่ทางตอนใต้ของ เกาะ ซึง่ เป็นแหล่งดำ�น้�ำ ตืน้ ทีม่ ชี อ่ื เสียงของหมูเ่ กาะสมุย ไม่เพียงแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติเท่านั้น เกาะสมุย ยังพร้อมไปด้วยโรงแรม ที่พัก รีสอร์ท สนามกอล์ฟ สปา ร้านอาหาร สถานบันเทิง บริการนำ�เที่ยว และสิ่งอำ�นวย ความสะดวกครบครัน ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นเสน่ห์ที่ทำ�ให้ นักท่องเที่ยวหวลกลับมาเยือนครั้งแล้วครั้งเล่า เพียงแค่ข้อมูลบางส่วนของเกาะสมุย ก็ทำ�ให้ จิตใจอยากเป็นส่วนหนึ่ ง ของชาวสมุ ย ไปเลยที เ ดี ย ว และเชื่อว่าหลายท่านที่เคยมาเยือนแล้วอาจจะหลาย ครั้งหลายคราหรือยังไม่เคยมาเลยสักครั้ง ทราบหรือไม่ ว่า ความเป็นมาทีถ่ กู เรียกขนานนามนีว้ า่ เกาะสมุยแดน สวรรค์กลางอ่าวไทย ได้จนทุกวันนี้ มาได้อย่างไร
ในต้ น สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้าอยู่หัว เกาะสมุยเป็นเมืองส่งส่วยอากรขึ้นกับเมือง นครศรีธรรมราช โดยมีที่ว่าการเมืองอยู่ที่บ้านดอนแตง ใกล้วัดประเดิม หมู่ที่ 1 ตำ�บลหน้าเมือง อยู่ทางทิศใต้ ของเกาะสมุยมีข้อความปรากฏในหนังสือ “ชีวิวัฒน์” พระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรม พระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช ทรงนิพนธ์ไว้เป็นทำ�นอง รายงานการเสด็จตรวจราชการหัวเมืองปักษ์ใต้ ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมือ่ ปีวอก พ.ศ. 2427 ได้กล่าวถึงเกาะสมุยในขณะนั้นใจความตอน
ThaiPrint Magazine 143
Print Travel
หนึง่ ว่า “ในหมูบ่ า้ นเกาะสมุยนี้ ถ้าจะประมาณโรงเรือนราษฎรทีต่ ง้ั อยูจ่ ะเป็น ไทยประมาณ 400 หลังเศษ จีน 100 หลังเศษ เป็นจำ�นวนคนซึง่ ประจำ�อยู่ ณ เกาะนัน้ ไทยประมาณ 1,000 คนเศษ จีนสัก 600 คนเศษ คิดทัง้ คนจร ไปมา ตั้งบ้างไปบ้างจะเป็นคนรวมประมาณถึง 2,000 คน แต่คนในเกาะ สมุยนั้น มากๆ น้อยๆ เป็นคราวๆ เป็นต้นว่าถึงฤดูสักเลก คนหลบหนีมา อยู่เกาะสมุยเป็นอันมาก ถ้าจะคิดในเวลาอย่างมากจะเป็นคนประมาณถึง 5,000-6,000 คน คนไทยนั้นเป็นคนชาวนอก กริยา น้ำ�ใจเสียสละ เป็นชาว นอกทั้งสิ้น มักจะบิดเบือน พูดจาไล่ไม่จนและเป็นคนเกรงกลัวอาญานาย กดขี่ เป็นต้น ถ้าจะถามสิ่งใดก็พูดจาอ้อมค้อมวนเวียน ปิดบัง เป็นธรรมดา หาจริงยาก..... พวกนั้นมักจะเป็นชาติไหหลำ�ทั้งสิ้น.....ฯลฯ เมื่อเกาะสมุยเป็นเมืองส่งส่วยแก่เมืองนครศรีธรรมราช เจ้าเมือง นครศรีธรรมราช ก็สง่ คนมาปกครองเกาะสมุยความอีกตอนหนึง่ ในชีววิ ฒ ั น์
144 ThaiPrint Magazine
กล่าวว่า “เกาะสมุยนี้ มีต�ำแหน่งผู้ ว่าราชการเป็นพระคนหนึ่ง คือ นาย ฉิม ญาติพระยานครที่ตายเสียแล้ว ในเวลาบั ด นี้ ไ ม่ มี ตั ว พระสมุ ย ผู ้ ว ่ า ราชการ มีแต่ปลัดอยูค่ นหนึง่ เรียกว่า หลวงสมุยเป็นคนแก่อายุมาก” ชาว เกาะสมุยมักจะเรียกเจ้าเมืองเกาะ สมุยว่า “ตาหลวงหมุย” และการ ปกครองสมัยเดิม เจ้าเมืองแต่ละคน จะอยูจ่ นแก่เฒ่า และเมือ่ ตายไปแล้ว จะแต่งตั้งบุตรชายเป็นเจ้าเมืองแทน ต่อไป ในปี พ.ศ. 2427 ครั้งเมื่อ สมเด็จฯ กรมพระยาภานุพันธุ์วงศ์ วรเดชได้มาตรวจราชการหัวเมือง ปักษ์ใต้ ท�ำให้ทราบว่า ชาวเกาะสมุย ไม่อยากอยู่ภายใต้การปกครองของ เมืองนครศรีธรรมราช เพราะถูกกดขี่ ข่มเหง ท�ำให้ชาวเกาะสมุยเกรงอาญา เจ้าพระยานคร ดังนัน้ ชาวเกาะสมุย จึงได้รอ้ งทุกข์กบั สมเด็จฯ กรมพระยา ภานุพันธุ์วงศ์วรเดช ต่อมาในคราว เดียวกัน พระองค์ทรงแวะเยีย่ มเยียน
เกาะสมุย
ที่เมืองไชยาอันเป็นเมืองส�ำคัญแห่งหนึ่งในสมัยนั้น ได้ ทรงพบปะกับพระยาไชยา (ข�ำ ศรียาภัย) เจ้าเมือง (ต่อมา ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็นพระยาวจีสตั ยารักษ์) ก็ทรงชอบพออัธยาศัยของพระยาไชยามาก ด้วยเหตุนี้ เองจึงได้กราบทูลให้พระบาทสมเด็จฯ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงทราบถึงความต้องการของชาวเกาะสมุย จึงท�ำให้เกาะสมุยมาขึน้ กับเมืองไชยาด้วยเหตุนเี้ อง ต่อมา เมือ่ ปี พ.ศ.2440 (ร.ศ.116) ได้มกี ารจัดระบบการปกครอง ท้องถิน่ ขึน้ ใหม่ โดยยุบรวมหัวเมืองต่างๆ ตัง้ เป็นมณฑล จังหวัดและอ�ำเภอเมืองเกาะสมุยกับเกาะพะงันถูกยุบ รวมเป็นอ�ำเภอเดียวกันและได้ส่งหลวงพิพิธอักษร (สิงห์ สุวรรณรักษ์) ไปเป็นนายอ�ำเภอคนแรกของเกาะสมุย การคมนาคมบนเกาะสมุยในสมัยก่อนปี 2510 นั้น (ผมยังไม่เกิดเลย) เป็นไปด้วยความยากลำ�บากมาก ทีเดียว หากนึกถึงสภาพถิ่นทุรกันดารที่เต็มไปด้วยถนน ลูกรังผสมดินโคลนทั้งหลุมทั้งบ่อเรียกได้ว่าแสนสาหัส สุดๆ ครับ ดังนั้น ท่านนายอำ�เภอดิลก สุทธิกลม จึงดำ�ริให้ ปรับปรุงถนนบนเกาะสมุยและตัดถนนให้รอบเกาะ ซึ่ง แต่เดิมยังไม่รอบ ตรงจุดบริเวณอ่าวละไมไปสู่ต�ำ บลบ่อ ผุดโดยจะต้องข้ามภูเขาลูกหนึ่ง คือ เขาหมาแหงน ภูเขา ลูกนี้ ซึ่งเคยเปรียบเสมือนหนึ่งปราการยักษ์ที่แยกชาว
ตำ�บลมะเร็ตกับตำ�บลบ่อผุดให้อยู่ห่างไกลกัน เพราะว่า ถนนรอบเกาะทีส่ ร้างกันมาเรือ่ ยๆ นัน้ เมือ่ มาถึงเขาหมา แหงนก็ไม่สามารถจะสร้างถนนผ่านไปได้ เพราะไม่สามารถ พิชิตภูเขานี้ได้ ดังนั้น เมื่อก่อนถนนรอบเกาะสมุยจึงไม่ รอบเกาะ ทางด้านเหนือก็ผ่านมาทางตำ�บลแม่น�้ำ เรื่อย มาจนถึงตำ�บลบ่อผุดก็สุดทาง ส่วนทางด้านใต้มาจนถึง ตำ�บลมะเร็ตจดเชิงหมาแหงนก็หมดหนทางเช่นกัน ชาว มะเร็ตและชาวบ่อผุด จึงดูห่างไกลกันเหลือเกินทั้งๆ ที่ อยู่ติดกันแท้ๆ มี ผู้ ท่ี พ ยายามตั ด ถนนข้ า มเขาหมาแหงนนี้ หลายครั้ง กว่าจะได้ถนนรอบเกาะที่สมบูรณ์ที่พาให้เรา ท่านได้เที่ยวรอบเกาะได้นั้นต้องใช้เวลานับสิบๆ ปี ต้อง พบอุปสรรคมากมาย เลือดตายแทบกระเด็น นับว่าถนน สายนี้ตัดผ่านทุกตำ�บล โดยเฉพาะทางด้านทิศใต้กับทิศ เหนือตัดผ่านหมู่บ้าน ริมทะเล ที่มีทิวทัศน์อันสวยสด งดงาม โดยตั้งชื่อถนนรอบเกาะสมุยว่า “ถนนทวีราษฎร์ ภักดี” แต่นั้นมา ส่วนเรือ่ งความงดงามของธรรมชาติรอบเกาะนัน้ ผมเชือ่ ว่าแทบไม่ตอ้ งบรรยายเลยก็วา่ ได้ งดงามขนาดไหน แต่มีสถานที่หนึ่ง นับเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของเกาะ สมุย หินตา หินยาย ที่หาดละไม ซึ่งเป็นหินขนาดมหึมา ตัง้ อยูช่ ายทะเล มีรปู ร่างคล้ายอวัยวะเพศชายและหญิง ThaiPrint Magazine 145
Print Travel
ที่มีนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต้องแวะ เวียนไปชมอย่างสม่�ำ เสมอ ระหว่างทางเดินไปหินตาหิน ยายยังมีร้านค้าของฝากนานาชนิดให้ซื้อติดมือเป็นที่ ระลึก เช่น ผ้าบาติก งานหัตถกรรมจากมะพร้าว กะละแม เป็นต้น หากเดินจากลานจอดรถผ่านร้านค้าของทีร่ ะลึก ไปจะพบลานหินกว้าง มองไปทางขวามือจะเห็นหินตา ซึ่งเกิดจากหินแกรนิตที่ถูกกัดเซาะโดยน้�ำ ทะเลและความ ร้อน คล้ายอวัยวะเพศชายขนาดใหญ่ตั้งตระหง่านชี้ฟ้า อยู่ใกล้ชายทะเล นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะหยุดยืนชม หินตาจากลานหินนี้ และยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกที่ สวยงามไม่แพ้แห่งอื่นๆ ด้วยเช่นกัน ส่วนหินยายอยู่ทางซ้ายมือเป็นหินแกรนิตขนาด ใหญ่มหึมาตั้งอยู่ชายทะเล ลักษณะเหมือนร่างผู้หญิง ช่วงตัง้ แต่เหนือหัวเข่าไปถึงเอว โดยนอนหันหน้ารับคลืน่ ลมที่ซัดสาดอยู่เป็นระยะๆ
146 ThaiPrint Magazine
มีตำ�นานเล่าว่านานมาแล้วมีตายายคู่หนึ่งชื่อ ตาเครงกับยายเรียมเป็นชาวปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช เดินทางโดยเรือใบเพื่อไปสู่ขอลูกสาวของตาม่องล่าย ที่ จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ ให้แก่ลกู ชาย ครัน้ เรือแล่นมาถึง แหลมละไม เกิดพายุใหญ่ท�ำ ให้เรือล่ม ทั้งตาและยาย ได้อธิษฐานว่าขอให้เกิดเป็นสัญลักษณ์ให้ตาม่องล่าย ได้ทราบว่าตามาหาแล้ว มิได้ผดิ คำ�สัญญาแต่ประการใด ดังนั้น เมื่อตาและยายเสียชีวิต คลื่นได้ซัดร่างมาเกย ชายหาดกลายมาเป็นหินตาและหินยายจนถึงปัจจุบัน เป็นเรื่องราวที่เล่าสืบต่อกันมา คงต้องใช้ดุลพินิจเองนะ ครับ นอกจากนีแ้ ล้วยังมีอกี หาดหนึง่ ทีข่ น้ึ ชือ่ มากทีส่ ดุ ของเกาะแห่งนี้ หาดเฉวง เป็นชายหาดที่มีความยาวถึง 6 กิโลเมตร หาดทรายขาว สะอาดดุจปุยแป้ง น้�ำ ทะเล ใสราวกระจก จึงทำ�ให้หาดแห่งนีเ้ ต็มไปด้วยนักท่องเทีย่ ว จากทั่วสารทิศ อีกทั้งแสงสียามราตรีก็คึกคักไม่แพ้กัน นี่หรอ..แดนสวรรค์กลางอ่าวที่เล่าขานกันจาก ปากต่อปากจากภาพถ่าย จากการเดินทางครัง้ แล้วครัง้ เล่า รอยเท้ า บนผื น ทรายนั บ ล้ า นรอยถู ก จารึ ก ไว้ รุ่ น แล้ ว รุ่นเล่า เสน่ห์ความงามของเกาะแห่งยังคงตราตรึงต่อ สายตาชาวโลกมิรู้ลืม อย่าลืมนะครับ เที่ยวเมืองไทยไม่ ไปไม่รู้ (ไปแล้วจะรู้เอง)...
สามเหลีWorld ่ยมเบอร์ มิวด้า Legend
BERMUDA ปริศนาแห่งท้องทะเล TRI NGLE สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
The
สามเหลีย่ มเบอร์มวิ ด้า หรือ Bermuda Triangle หรือที่ได้รู้จักกัน ในนาม “สามเหลี่ยมปีศาจ Devil’s Triangle” ซึง่ ความจริงแล้วเป็นเพียง พื้นที่ที่ถูกสมมุติขึ้นมาตามความคิด ของมนุษย์เท่านั้น สามเหลี่ยมเบอร์ มิวด้านี้ต้งั อยู่ทางตะวันตกของมหาสมุ ท รแอตแลนติ ก เหนื อ พื้ น ที่ ดั ง กล่าวนี้มีเนื้อที่ประมาณ 1.2 ล้าน ตารางกิโลเมตร หากเราดูในแผนที่โลกแล้ว จะพบว่ า สามเหลี่ ย มดั ง กล่ า วอยู่ ระหว่างจุด 3 จุด อันได้แก่ เปอร์โตริโก ปลายสุ ด ของรั ฐ ฟลอริ ด าในสหรั ฐ อเมริกาและเกาะเบอร์มวิ ด้า ซึง่ เป็น เกาะตั้งอยู่กลางมหาสมุทรแอตแลน ติกและเป็นดินแดนในปกครองของ อั ง กฤษมี พ้ืน ที่ค รอบคลุ ม ช่ อ งแคบ ฟลอริดาหมู่เกาะบาฮามาสและหมู่ เกาะแคริบเบียนทัง้ หมด
อย่างไรก็ตามสมมุติฐานของพื้นที่สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้ายังเป็นที่ ยอมรับและปรากฏอยูใ่ นงานเขียนจำ�นวนมากทีก่ ล่าวถึงความอาถรรพ์ พิศวง ลี้ลับในจุดปลายสุดของสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา ได้แก่ ชายฝั่งแอตแลนติก ของไมอามี, ซานฮวนเปอร์โตริโก, และเกาะเบอร์มิวด้านั้นส่วนใหญ่มักจะ เกิดอุบัติเหตุขึ้นตามแนวชายฝั่งทางด้านใต้โดยรอบหมู่เกาะบาฮามาสและ ช่องแคบฟลอริดา
ThaiPrint Magazine 147
World Legend
และในบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้านี่เอง คือ อีกหนึ่งเส้นทางเดิน เรือพาณิชย์ที่สำ�คัญที่สุดในโลกเลยก็ว่าได้ ซึ่งมีเรือมากมายใช้บริการลอย ลำ�ผ่านพื้นที่นี้อยู่เป็นประจำ� เพื่อมุ่งหน้าไปยังเมืองท่าในทวีปอเมริกาหรือ ทวีปยุโรปและหมู่เกาะแคริบเบียนอีกทั้งเหล่าเรือเรือสำ�ราญก็มีผ่านพื้นที่นี้ อยู่ไม่น้อย โดยเรือท่องเที่ยวเหล่านี้มักจะมุ่งหน้าไปและกลับระหว่างแหลม ฟลอริดากับหมู่เกาะแคริบเบียนอย่างสม่ำ�เสมอ นอกจากนี้ยังเป็นเส้นทาง บินผ่านมหาสมุทรที่มีการสัญจรทางอากาศยานอย่างหนาแน่นทั้งอากาศ ยานพาณิชย์ อากาศยานในภารกิจสงครามและส่วนตัว แล้วก็หายตัวไป อย่างลึกลับ ทั้งเรือและเครื่องบิน หายไปโดยไม่รู้ว่าหายไปไหนและที่ส�ำ คัญ หายไปได้อย่างไร เรื่องราวการหายไปอย่างไร้ร่องรอยและไร้วี่แววของเครื่องบินและ เรือเป็นเรื่องราวที่สร้างความสนอกสนใจให้กับคนทั่วทั้งโลก สามเหลี่ยม เบอร์มวิ ด้าเริม่ เป็นทีร่ จู้ กั กันแพร่หลายในปี พ.ศ.2494 หรือปี ค.ศ.1951 ดังนัน้ จึงดูเหมือนว่ามันเป็นเรื่องราวที่เพิ่งจะเกิดขึ้นมาไม่นานนี้เอง เมื่อข่าวคราว ถูกกระจายไปทั่วโลก คำ�ถามที่เกิดจากความฉงนสงสัยเกิดขึ้นมากมาย ซึ่ง ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น กับเรือและอากาศยาน ที่หายสาบสูญไปอย่างไร้ร่องรอย การหายไปโดยไม่หลงเหลือแม้แต่ซากให้ ศึกษาค้นคว้าหาความจริง ทำ�ให้ไม่อาจสันนิษฐานได้เลยว่าผู้คนกว่า 1,000 คนที่เป็นทั้งกัปตัน นักบิน เจ้าหน้าที่ และลูกเรือ เกิดอุบัติเหตุ ถูกโจรกรรม หรือเกิดการฆาตกรรมหมู่กันแน่ แล้วทั้งหมดทั้งสิ้นนี้คืออะไร และด้วย น้ำ�มือใคร ในปัจจุบันความลี้ลับ ซับซ้อน และซ่อนเงื่อนของสามเหลี่ยมพิศวง เบอร์มิวด้ายังคงเป็นปริศนาที่ยังเฝ้าคอยที่จะหาคำ�ตอบเรือหลายลำ�ที่ต้อง อับปางหายไปอย่างไม่มีวันหวนกลับ และเครื่องบินหลายลำ�ที่ต้องสาบสูญ หายไปตลอดกาล แล้วใครจะเป็นผู้เปิดโปงเรื่องราวความเป็นจริงทั้งหมดนี้ 148 ThaiPrint Magazine
ให้กระจ่างสายตาต่อประชาคมชาว โลก เทคโนโลยี ข องสิ่ ง ทรงภู มิ ปัญญาอันใด และของใคร ทีส่ ามารถ ดูดกลืนหรือเสกให้เหล่าเรือเดินสมุทร และอากาศยานกว่าร้อยลำ�หายไป อย่างไม่เหลือซาก นักวิทยาศาสตร์หรือ มนุษย์ต่างดาว??? และนักวิชาการ หลายต่อหลายแขนงต่างก็หาหลัก ฐานและทฤษฎีมาถกเถียงกัน จนมี องค์กรของรัฐ เอกชนเกิดขึ้น เพื่อ สำ�รวจ โดยหวังว่าจะเจอหลักฐาน อะไรก็ตามที่นำ�มาใช้ไขปริศนาของ ดินแดนบริเวณนี้ได้ จนกระทั่งมีนักวิทยาศาสตร์ คนหนึ่ง ที่มีชื่อเสียงในเรื่องของการ เล่นแร่แปลธาตุในสมัยนั้น ออกมา คลายปมถึงสาเหตุทเ่ี รือจมและเครือ่ ง บินตก โดยความพิศวงต่างๆ ที่เกิด จากสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้านี้ เกิด จากแก๊สมีเทนที่ก่อตัวขึ้น โดยแก๊ส ดังกล่าวอยู่ใต้ท้องทะเลในบริเวณ สามเหลี่ยมเบอร์มิวดา เมื่อแก๊ส เหล่านี้ขึ้นสู่พื้นผิวน้ำ�ได้จะพวยพุ่งสู่ อากาศและขยายตัวเป็นวงกว้างอย่าง รวดเร็วจนก่อตัวเป็นฟองแก๊สขนาด ใหญ่ เมื่อเรือเดินสมุทรหรือเครื่อง บินลำ�ใดผ่านเข้าไปในบริเวณนัน้ ก็จะ เข้ า ไปสู่ ฟ องแก๊ ส มี เ ทนขนาดยั ก ษ์ จนทำ � ให้ เ รื อ เหล่ า นี้ สู ญ เสี ย การ ควบคุม และจมลงไปสู่ก้นทะเลลึก ในที่สุด แต่แล้วทฤษฎีของนักวิทยา ศาสตร์คนนี้ ก็ถูกโต้แย้งกลับอย่าง รุนแรง จนแล้วจนรอดมาจนถึงบัดนี้ ก็ยังไม่อาจมีค�ำ ตอบใดๆ มาคลาย ปมปริศนาสามเหลี่ยมเบอร์มิวด้านี้ ได้จนตราบถึงวันนี้
สามเหลี่ยมเบอร์มิวด้า
ในปี 1945 เกิดเหตุการณ์หายสาบสูญของหมู่เครื่องบินทิ้งระเบิด TBM อันเป็นภารกิจแก้แค้นให้กับอ่าวเพิลฮาร์เบอร์ ซึ่งบินจากฐานทัพ ฟอร์ริด้าแล้วก็อันตรธานหายไปอย่างไร้ร่องรอย และนี่คือรายการบางส่วน ของการหายสาบสูญของเรือเดินสมุทรและเรืออากาศอื่นๆ 1947: เครื่องบิน C-45 Superfort หายไป 100 ไมล์ทะเลจากฝั่งไม อามี่ 1948: เครื่องบินโฟร์ทิวดอร์ IV หายไปพร้อมด้วยลูกเรืออีก 31ชีวิต 1948: เครื่องบิน DC-3 หายไปพร้อมกับผู้โดยสารและลูกเรือรวม 32 ชีวิต 1949: เครื่องบินโฟร์ทิวดอร์ IV ลำ�ที่ 2 หายไป 1950: เครื่องบินไจแอนท์ Globemaster ของกองทัพอากาศสหรัฐ หายไป 1950: เรือบรรทุกสินค้า SS แซนดร้าที่ยาวถึง350 ฟุตซึ่งขนอ่าง ล้างมือเต็มลำ� หายไปอย่างไร้ร่องรอย 1952: เครือ่ งบินบริตชิ นิวยอร์กขนส่งสูญหายไปพร้อมกับลูกเรืออีก 33 ชีวิต 1954: เรือฮีด Constellation กองทัพเรือสหรัฐหายไปพร้อมกับลูก เรืออีก 42 ชีวิต 1956: เครือ่ งบินมาร์ตนิ P5M กองทัพสหรัฐหายไปพร้อมกับลูกเรือ นับสิบนาย 1962: เครื่องบิน KB-50 หายไป 1963: เรือบรรทุกสินค้า Marine Sulphur Queen ขนาด 425 ฟุต หายตัวไปพร้อมกับลูกเรือทั้งหมด ไม่มีแม้แต่สัญญาณ Mayday หลังจาก นั้นอีกไม่นาน เครื่องบินstratotankersและ C-132 Cargomaster เครื่องบิน ยักษ์หายไปจากภารกิจฝึกซ้อมบิน 1967: เครื่องบินขนส่งสินค้า YC-122สูญหายไปอีก
1970: เรือบรรทุกสินค้าฝรั่ง เศส MiltonIatrides หายไปอยากไร้ ร่องรอย พร้อมลูกเรืออีก 50 ชีวิต ในปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารขี ด เส้ น ทางเดิ น เรื อ และเดิ น อากาศใหม่ เพื่อหลีกเลี่ยงพื้นที่อาถรรพ์แห่งนี้ อุบัติเหตุที่ยังหาคำ�ตอบไม่ได้ จึงลด ลงและปล่ อ ยให้ ส ามเหลี่ ย มเบอร์ มิวด้าเป็นปริศนาที่ยังคงรอคำ�ตอบ ต่อไป
ThaiPrint Magazine 149
Health
โรคข�ำๆ ที่ไม่ข�ำ
โรคบ้านหมุน อาการบ้านหมุนเป็นอาการที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน บางคนจะมีอาการเวียนศีรษะ, โคลงเคลง, ลุกไม่ไหว, ซึ่ง บางครั้งก็เป็นมากจนต้องน�ำส่งโรงพยาบาลเลยทีเดียว โดยค�ำวินิจฉัยส่วนใหญ่ของแพทย์มักระบุว่า เกิดจาก อาการเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ น�ำ้ ในหูไม่เท่ากัน หรือมีตะกอนในหูชั้นใน ท�ำให้มีค�ำถามตามมาอีกทีว่า อาการ เหล่านี้เกิดจากอะไร มีผลกระทบร้ายแรงหรือไม่และสามารถจะหายขาดได้หรือไม่ การรู้จักโรคนี้จึงเป็นเรื่องส�ำคัญ โรคเวียนศีรษะ-บ้านหมุน (Vertigo) คือ อาการ เวียนศีรษะทีม่ มี ากกว่าธรรมดา เพราะมีอาการรูส้ กึ เหมือน บ้านหรือสิ่งของที่มองเห็นหมุนได้ ผู้ที่เป็นจะรู้สึกเสีย อาการทรงตัว และมีอาการคลืน่ ไส้ หรืออาจจะมีอาเจียน ร่วมด้วย อาการมักจะเกิดขึ้นแบบเฉียบพลันหลายๆ คน โดยเฉพาะผู้สูงอายุอาจจะเคยเป็นอาการแบบนี้ เพราะ ว่าเป็นโรคที่พบบ่อยโรคหนึ่งในผู้สูงอายุ ครั้งแรกที่เป็น จะตกใจมาก บางคนเกิดอาการกลัวและกังวลว่าจะเป็น อัมพาต เว้นแต่คนที่เป็นหลายๆ ครั้งก็จะเริ่มชิน อาการ แบบนี้มักไม่ค่อยเป็นอันตราย มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้น ทีเ่ ป็นอาการนำ�ของโรคร้ายแรงอืน่ ๆ ส่วนทีม่ อี าการมึนๆ งงๆ หรือเวียนศีรษะเล็กๆ น้อยๆ หรืออาการเมารถ เมาเรือ ไม่จัดเป็นอาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุน เกิดขึ้นได้อย่างไร..? ปกติการทรงตัวของร่างกาย จะประกอบด้วย การทำ�งานที่ประสานกันของอวัยวะ 3 ส่วน คือ สายตา ระบบประสาทความรู้สึก และประสาทหูตอนใน โดยมี สมองเป็นตัวควบคุม แปรผล และสั่งการ ตัวอย่างเช่น เราเดินบนถนน สายตาจะมองภาพสิง่ ภายนอกทีส่ มั พันธ์ 150 ThaiPrint Magazine
กับร่างกายที่ก�ำ ลังเคลื่อนที่ ประสาทความรู้สึกจะรับรู้ ขาที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา ส่วนหูชั้นในจะรับรู้ถึงความ สัมพันธ์ของร่างกายกับแรงโน้มถ่วงของโลก คลื่นสัญญาณต่างๆ เหล่านี้ จะวิ่งมาที่สมอง สมองก็จะประมวลผลสัญญาณต่างๆ เหล่านี้ แล้วสั่ง การให้อวัยวะส่วนต่างรักษาความสมดุลของร่างกายให้ เดินอย่างคล่องแคล่ว สมดุล และสง่างาม ในผู้ที่สูญเสียการทำ�งานของระบบ สูญเสียการ ควบคุมการทรงตัวเหล่านี้ ก็จะมีอาการต่างๆ ที่เกี่ยวกับ
โรคบ้านหมุน การรักษาสมดุลของร่างกาย และใน ความผิ ด ปกติ นี้ บ างครั้ ง ทำ � ให้ เ กิ ด อาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุนขึ้นมา ได้ ซึ่งแท้จริงแล้วอาการเวียนศีรษะบ้ า นหมุ น เป็ น ลั ก ษณะของกลุ่ ม อาการเท่านั้น โดยที่โรคอะไรก็ได้ที่ ทำ�ให้เกิดอาการแบนนี้รวมๆ เรียก ว่า เวียนศีรษะ-บ้านหมุน มีโรคอะไรบ้างที่ทำ�ให้เกิด อาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุน..? นับว่าโชคดีไม่น้อยที่อาการ เวียนศีรษะ-บ้านหมุน ส่วนใหญ่มัก เป็นชั่วคราว และไม่ใช่มาจากสาเหตุ โรคร้ายแรงที่เป็นอันตรายต่อชีวิต ซึ่งมีเพียงส่วนน้อยนิดที่มาจากโรค ร้าย ส่วนใหญ่ทเ่ี ป็นมักไม่ทราบสาเหตุ แน่ชัดว่าเหตุ ใ ดที่ ทำ � ให้ ก ารทำ � งาน ของระบบการทรงตัวถึงเพี้ยนไปชั่ว ขณะ บางคนเป็นไม่กี่ชั่วโมง บาง คนเป็นอยู่หลายๆ วัน หรือเป็นๆ หายๆ บางครั้ ง ตั ว ผู้ ป่ ว ยเองมั ก จะสังเกตได้เองว่าสาเหตุนำ�มาก่อน คืออะไร ถ้าหากว่าเป็นอยู่บ่อยๆ ส่วนสาเหตุอื่นๆ ที่พบอาจทำ�ให้เกิด อาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุน ได้แก่ 1. อุบัติเหตุทางสมอง 2. สมองขาดเลือด 3. เครียด วิตกกังวล 4. อดนอน พักผ่อนไม่เพียง พอ 5. ดื่มสุรา หรือยาบางชนิด 6. การอักเสบของหูชั้นใน 7. โรคเมเนียส์ (Menieres disease) ซึ่งเป็นโรคของประสาทหู ชั้นในชนิดหนึ่ง
8. ปวดศีรษะไมเกรน บางคนมีอาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุนร่วมด้วย 9. เนื้องอกในสมอง หรือในหู 10. การเคลือ่ นทีอ่ ย่างรวดเร็ว เช่น บางคนไปเทีย่ วสวนสนุก นัง่ เครือ่ ง เล่นที่หมุนเร็วก็เป็นได้ อันตรายมากไหม..? ลำ�พังแต่อาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุน ถ้าไม่ได้มาจากสาเหตุที่ร้าย แรงไม่เป็นอันตราย แต่ทอ่ี นั ตรายคืออุบตั เิ หตุทอ่ี าจจะเกิดขึน้ ได้จากการเสีย การทรงตัว โดยเฉพาะคนที่ต้องทำ�งานกับเครื่องจักรกลหรือยานพาหนะที่มี ความเร็วสูง หรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ นอกจากนี้ในคนทีม่ อี าการอาเจียนมากๆ ร่างกายจะสูญเสียน้�ำ และ เกลือแร่ ถ้าหากได้น�้ำ และเกลือแร่ทดแทนไม่ทัน จะทำ�ให้ร่างกายขาดน้ำ� และเกลือแร่ ความดันเลือดจะตกต่�ำ ลง และอาจจะมีอาการของภาวะช็อก ได้ ถ้าไม่ได้รับการแก้ไข ก็ท�ำ ให้เป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ส่วนผู้ที่มีสาเหตุมา จากโรคอื่นๆ ก็มีอันตรายเป็นเพราะจากโรคนั้นๆ ดูแลตนเองอย่างไรดี..? เนื่องจากอาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุนพบได้บ่อย โดยเฉพาะผู้สูง อายุทั้งหลาย การรู้จักวิธีการดูแลรักษาตัวเองเบื้องต้น จะช่วยให้มีความ สะดวกและลดการพึ่งพาแพทย์และโรงพยาบาลได้มาก การดูแลตนเองค่อน ข้างไม่ยากและลำ�บากแต่ประการใด
ThaiPrint Magazine 151
Health ก็ลดเป็น ทุกๆ 8 ชั่วโมง เมื่ออาการ เป็นปกติดีแล้วสัก 1-2 วัน ก็สามารถ หยุดยาได้ ในขณะเดียวกันอาจจะ กินยาซินนาริซีน (cinnarizine) ขนาด 25 มิลลิกรัม หรือ เมอริสลอน ขนาด 6 มิลลิกรัม ครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง พร้อมๆ กันก็ได้ ทำ�ตามอย่างนีแ้ ล้ว ส่วนมาก อาการจะค่อยๆ ดีขน้ึ เมือ่ สามารถ เดินตัวตรงได้ ไม่มีอาการอะไรก็ทำ� งานหรือกิจกรรมอื่นๆ ได้ตามปกติ คราวต่อๆ ไป เมือ่ เริม่ ๆ จะเป็นอาการ ส่วนใหญ่แล้ว อาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุนหายเองได้ แม้ไม่ได้ แบบนีข้ น้ึ มาอีก ก็ทำ�ตามอย่างข้าง ทำ�อะไรเลย การรักษาและดูแลตนเองช่วยให้อาการทุเลาลงได้เร็ว และลด บนเลย ไม่ตอ้ งรอให้เป็นมากๆ จะได้ ความ ทุกข์ทรมานของอาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุน ผลดีกว่า เพราะถ้ารอให้เป็นมากๆ โดยเฉพาะถ้ามีอาเจียนมากแล้วจะ เมือ่ มีอาการ ควรทำ�อย่างไร..? ลำ�บาก 1. นอนพัก เพราะจะเสียการทรงตัว การนอนพักช่วยลดอาการ และลดอุบัติเหตุได้ การนอนหลับตาจะช่วยได้มาก บางคนลืมตาไม่ได้เลย ควรพบแพทย์เมื่อไหร่..? เพราะจะมีอาการมากขึ้น การดูแลตนเองเบื้องต้นมัก 2. อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยที่สุด เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ ถ้ามี จะได้ผลเป็นส่วนใหญ่ แต่บางครั้ง ใครอยู่เป็นเพื่อนยิ่งดี การเดินไปที่ต่างๆ เช่น ห้องน้ำ� ควรมีคนพยุงไปส่ง ด้วยปัจจัยหลายๆ ประการ จำ�เป็น 3. ห้ามขับรถเด็ดขาด เพราะอันตรายมาก ต้ อ งไปพบแพทย์ เ พื่ อ การวิ นิ จ ฉั ย 4. ดื่มน้�ำ อุ่นบ่อยๆ หรือน้�ำ เกลือแร่ โดยการจิบบ่อยๆ เนื่องจากมี และการรักษาที่ถูกต้อง อาการคลื่นไส้ กินอาหารไม่ได้ หรืออาเจียน การดื่มน้�ำ เกลือแร่บ่อยๆ ช่วย หลายคนอาจจะกังวลและ ลดอาการขาดน้�ำ ได้ และช่วยไม่ให้อ่อนเพลีย สงสัยว่า เมือ่ ไหร่จงึ ควรไปพบแพทย์ 5. กินยาพวกไดเมนไฮดริเนต (dimenhydrinate) ขนาด 50 มิลลิกรัม มีหลายคนที่ไม่เคยไปพบแพทย์เลย (ยาแก้เมารถ เมาเรือ) กินครั้งละ 1 เม็ด ทุกๆ 6 ชั่วโมง จนเมื่ออาการดีขึ้น และก็มีหลายคนเช่นกันที่ขาดความ มั่นใจในตนเอง ต้องไป พบแพทย์ ทุกๆ ครั้ง ซึ่งก็ไม่ดีทั้ง 2 ทาง ดังนั้น จึงมีข้อแนะนำ�ง่ายๆ ดังนี้ 1. เมื่อทำ�ตามวิธีการดูแล ด้วยตนเอง ข้างต้นแล้วผ่านไปอย่าง น้อย 8-12 ชม. แล้วยังไม่ดีขึ้น หรือ อาการแย่ลง ควรรีบไปพบแพทย์ 2. มีอาการอาเจียนมาก กิน ยาและดื่มน้ำ�ไม่ได้เลย หรือกินยา แล้วมีอาเจียนทุกครัง้ ร่างกายจะขาด 152 ThaiPrint Magazine
โรคบ้านหมุน น้ำ� เกลือแร่ และยา อย่าฝืนทน ควร ไปพบแพทย์เพื่อฉีดยา และบางราย อาจจะต้ อ งให้ น้ำ � เกลื อ ทางหลอด เลือด ในรายที่เป็นมากจริงๆ อาจ จะต้องพักในโรงพยาบาล แต่มีเป็น ส่วนน้อย 3. เมื่ออาการดีขึ้น แต่ไม่ ยอมหายเป็นปกติเสียที ควรไปพบ แพทย์เช่นกัน เพราะอาจจะมีสาเหตุ บางอย่างซ่อนอยู่ ที่อาจจะจำ�เป็น ต้องได้รับการค้นหาและรักษาที่ต้น เหตุ 4. เป็นบ่อยๆ มากๆ จน รบกวนชีวิตประจำ�วันค่อนข้างมาก ก็ต้องหาสาเหตุเช่นกัน หรือในราย ที่ ไ ม่ ส ามารถหาสาเหตุ ที่ แ ท้ จ ริ ง ได้ การกิ น ยาป้ อ งกั น ไว้ ก็ อ าจจะเป็ น ทางเลือกหนึ่ง สมุนไพรใช้ได้ไหม..? ขณะนี้ มี ก ารใช้ ส มุ น ไพร กันมาก มีที่ได้ผลและไม่ได้ผล การ ใช้ ส มุ น ไพรมั ก เป็ น ลั ก ษณะบอก ต่างๆ กัน ความน่าเชื่อถือยังค่อน ข้างมีปัญหา การเลือกซื้อจึงมีความ จำ�เป็นมาก โดยเฉพาะธุรกิจขายตรง ที่ มี โ อกาสเป็ น ลั ก ษณะชวนเชื่ อ ได้ ง่ายๆ และราคามักจะแพงมาก
มี ส มุ น ไพรที่ มี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย มากพอควรที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ได้ ว่ า จะ ช่วยรักษาอาการเวียนศีรษะ-บ้านหมุนได้ คือ สารสกัดจากใบแปะก๊วย (Gingko Biloba) ซึ่งมีขายตามร้านขายยาทั่วไป วิธีใช้มักจะเขียนราย ละเอียด ที่ข้างกล่อง จะป้องกันได้อย่างไร..? การป้องกันค่อนข้างยากในรายทีไ่ ม่ทราบสาเหตุ ส่วนรายทีม่ สี าเหตุ มาจากปัจจัยบางอย่างก็คงต้องพยายามหลีกเลีย่ งจากปัจจัยนัน้ ๆ ซึง่ ได้จาก การสังเกตของเราเองหรือจากคำ�แนะนำ�ของแพทย์ โดยรวมๆ แล้วการดูแล สุขภาพโดยทั่วไป ก็จะทำ�ให้โอกาสเป็นน้อยลงหรืออาจจะไม่เป็นเลย เช่น พักผ่อนเพียงพอ ออกกำ�ลังกายสม่�ำ เสมอ ทำ�จิตใจให้สงบ และผ่อนคลาย หลีกเลี่ยงยาเสพติดและของมึนเมา กิน อาหารทีส่ ง่ ผลดีตอ่ สุขภาพ และหลีกเลีย่ งอาหารเค็มจัด การปฏิ บั ติ เช่ น นี้ ยั ง อำ � นวยผลดี ต่ อ สุ ข ภาพโดย รวมด้วย บทความจาก..หมอชาวบ้าน
ThaiPrint Magazine 153
149 Ad Soontorn_pc3.indd 1
2/3/2556 10:15:52
155 #94_pc3.indd 155 127 Edit #93_pc3.indd 114 Ad 3M 1 AD 1 #92_pc3.indd 1553M Ad m14.indd 3M Thailand #97_pc3.indd 155 1
10/11/2555 1:38:05 11/9/2555 10:05:29 6/7/2555 5:40:02 6/10/2554 17:11 4/5/2556 0:33:14