Thaiprint Magazine Vol.98

Page 1


Thai Print Magazine ฉบับที่ 98

2 ปีเวียนบรรจบครบอีกครัง้ กับการจัดงานแสดงสินค้า การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ Pack Print International 2013 เป็นงานแสดงการพิมพ์ทยี่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ดุ ในอาเซียน มีการน�ำ นวัตกรรมเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ทันสมัยทางด้าน บรรจุภณ ั ฑ์และการพิมพ์ โดยมีการจัดขึน้ ครัง้ แรกในประเทศ ไทย ตัง้ แต่ปี 2550 และจัดขึน้ มาอย่างต่อเนือ่ งครับ โดย หลังจากเสร็จสิน้ งาน Pack Print International 2013 เราจะ เก็บภาพบรรยากาศดีๆ เหล่านีม้ าฝากผูอ้ า่ นทุกๆ ท่าน และงานทีท่ างสมาคมการพิมพ์ไทยและคณะผูบ้ ริหาร สมาคมฯ ต่างทุม่ เทแรงกายแรงใจสละเวลาอันมีคา่ ด้วย วัตถุประสงค์ที่ต้องการจะให้อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ของไทย เราก้าวเข้าสูเ่ วทีโลกในอนาคตอันใกล้ นัน่ ก็คอื งาน Thai Print Awards 2013 ซึง่ ทางสมาคมฯ จะมีการจัดขึน้ เป็น ประจ�ำทุกปี ก้าวสูป่ ที ี่ 8 แล้วเราต้องติดตามกันนะครับว่า ใครจะได้รบั รางวัลอันทรงเกียรติในปีนบี้ า้ ง ในปีนจ้ี ะจัดขึน้ ช่วงเดือนกันยายน 2556 เราจะเก็บภาพบรรยากาศของงาน นีม้ าฝากกันในฉบับหน้าครับ สมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดงานสัญจรและมีการจัด สัมมนาให้ความรู้กับผู้ประกอบการโรงพิมพ์ ใ นภาคต่างๆ ของประเทศไทย และเมือ่ เดือนมิถนุ ายน 2556 ทีผ่ า่ นมา ทางสมาคมฯ ได้จดั งานการพิมพ์ไทยสัญจร 56 ภาคใต้ขนึ้ ได้รบั การตอบรับจากผูส้ นับสนุนการจัดงานและผูป้ ระกอบ การโรงพิมพ์เข้าร่วมสัมมนาในครัง้ นีก้ นั อย่างมาก และมี การบรรยายจากผูเ้ ชีย่ วชาญในหลายๆ ด้าน สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กบั ผูป้ ระกอบการเป็นอย่างดีเยีย่ ม และนับเป็นข่าวดีอกี เรือ่ งทีท่ าง ส.อ.ท. ผนึกก�ำลัง SCB เดินหน้า พาอุตสาหกรรมไทยให้เป็นหนึง่ ในภูมภิ าค อาเซียนโดยประเดิม...อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุ ภัณฑ์ไทยน�ำร่อง ซึ่งในงานได้รับเกียรติจาก ดร.พีรพันธ์ พาลุสขุ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมเป็นประธานเปิดงานและกล่าวปาฐกถาพิเศษ ซึง่ เราก็เก็บสาระดีๆ มาฝากกันในเล่ม สามารถเปิดอ่านได้ ตามใจชอบเลยครับ...

THE THAI PRINTING ASSOCIATION

Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ อุปนายก คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช , คุณนิธ ิ เนาวประทีป, คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณถิร รัตนนลิน, คุณคุณา เทวอักษร เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์​์ ผู้ช่วยเลขาฯ คุณสุวทิ ย์ เพียรรุง่ โรจน์, คุณคมสันต์ ชุนเจริญ, คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณวริษฐา สิมะชัย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต ปฎิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ ประชาสัมพันธ์ คุณพชร จงกมานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน์, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุพันธ์ุ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธำ�รง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทัย ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงี่ยม, คุณหิรัญ เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิริอำ�พันธ์กุล, คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง, คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์, คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์, คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล

Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด เอื้อเฟื้อกระดาษที่ใช้พิมพ์ thaiprint magazine โทรศัพท์ 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จำ�กัด ช่วยเคลือบปกวารสารการพิมพ์ไทยด้วยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก์. เพิ่มคุณค่าให้งานพิมพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ

บริษัท สีทอง 555 จำ�กัด บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จำ�กัด

โทรศัพท์ 0-2425-9736-41 ผู้ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ทำ�เพลท โทรศัพท์ 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว โทรศัพท์ 02-682-217779

หนังสือเล่มนี้พิมพ์ด้วยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER


Content 18

26 92

Print News 18 การพิมพ์ไทยสัญจร 56 ภาคใต้ 26 งานเลี้ยงสังสรรค์วันการพิมพ์ไทย 2556 28 “วันการพิมพ์ไทย” และพิธีวางพวงมาลาคารวะหมอบรัดเลย์ 30 ปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์” 44 ส.อ.ท. ผนึกกำ�ลัง SCB เดินหน้าพาอุตสาหกรรมไทยเป็นหนึ่งในภูมิภาคอาเซียน 108 ล็อกซเล่ย์จับมือมิลานกรุ๊ป บุกตลาดอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ Thaiprint Cover Story 22 Fit Primus Plus+ นวัตกรรมใหม่ของเพลทเทอร์มอล CtP Print Interview 40 บทสัมภาษณ์ คุณฉี เสี่ยว หยิน กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด Print Business 48 Adobe PDF Print Engine โดย คุณกิตติ พรพิพัฒน์วงศ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ลานความคิด 66 “ขายหัวเราะ” ภารกิจแห่งชาติและรางวัลที่คู่ควร Print Technology 72 เมื่อต้องการพิมพ์สีน้ำ�เงินโทนรีเฟล็กบลู Reflex Blue… Print Knowledge 78 ASEAN Beyond 2015 เปิดประตูสู่ประชาคมอาเซียน 120 Green Printing 128 การป้องกันและตรวจสอบทุจริตโดยผู้ประกอบการ 132 Mineral oil-free (VOC free), Offset ink range Coming !!! Print Education & Development 92 ปิดคอร์สนักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 6 หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้นของสถาบันการพิมพ์ไทย Young Printer 98 ตรีรตั น์ ศิรจิ นั ทโรภาส / บริษทั เปเปอร์กรีน จำ�กัด Art Gallery 114 World Sand Sculpture ปั้นทรายโลก Print Travel 140 เยือนถิน่ ศิลปะ, กลางดงศิลปิน World Legend 146 Seven Wonders of the World Health 150 จู๊ด..จู๊ด..เพราะว่า “อาหารเป็นพิษ”

98

114 140

Thai Print Magazine ปีที่ 14 ฉบับที่ 97 สมาคมการพิมพ์ไทย

เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดทำ�ขึ้น เพื่อบริการข่าวสาร และสาระความรู้แก่สมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ในวารสารนี้เป็นอิสรทรรศ์ ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอ

บรรณาธิการบริหาร อนันต์ ขันธวิเชียร กราฟฟิค ศุภนิชา พวงเนตร ฝ่ายบัญชี มยุรี จันทร์รัตนคีรี 16 ThaiPrint Magazine

พิมพ์ท ่ี

บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จำ�กัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064


Print News

การพิมพ์ไทยสัญจร 56 ภาคใต้ เมื่อวันเสาร์ที่ 22 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา สมาคมการพิมพ์ไทยจัด งาน “การพิมพ์ไทยสัญจร 56 ภาคใต้” ณ ห้องตะกัว่ ป่า เอ โรงแรมหรรษา เจบี หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จัดขึ้นเพื่อให้พี่น้องในอุตสาหกรรมการพิมพ์และ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องรวมถึงผู้ประกอบการทั่วไปในภาคใต้ ซึ่งสมาคมการพิมพ์ ไทยจะมีการจัดงานสัญจรขึ้นทุกๆ ปีในภาคต่างๆ ของไทย โดยมีผู้เข้าร่วม ฟังการบรรยาย ในการสัมมนาทางวิชาการจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านสิ่งพิมพ์ และความรู้ทั่วไปในการบริหารธุรกิจโรงพิมพ์สำ�หรับผู้ประกอบการทั่วไป เป็นจำ�นวนมากทีใ่ ห้ความสนใจเข้าร่วมในงานนี้ อีกทัง้ ยังมีโอกาสได้รว่ มพบ ปะพูดคุยกับผู้จำ�หน่ายเครื่องจักรและอุปกรณ์การพิมพ์ชั้นนำ�ของประเทศ ไทย พร้อมโปรโมชั่นพิเศษในงานมากมาย

18 ThaiPrint Magazine

โดยได้รับเกียรติจาก คุณ พรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ไทยขึ้นกล่าวเปิดงาน และ ทักทายแขกผู้มีเกียรติที่เข้าร่วมงาน ในครัง้ นี้ หลังจากนัน้ ก็มกี ารบรรยาย พิเศษเรือ่ งบริหารการตลาด โดยคุณ อาทิตยา จ�ำปา ผู้จัดการส่วนการ ตลาดบริษัทผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จ�ำกัด ได้กล่าวถึงขบวนการบริหารการ ตลาดโดยจะมีหลักๆ คือ การวางแผน การตลาด การควบคุมและการด�ำเนิน งาน มีองค์ประกอบอะไรบ้างในแง่ของ การท�ำการตลาดการวิเคราะห์วางแผน ก�ำกับดูแลให้บรรลุวัตถุประสงค์ทาง ธุรกิจได้เป็นอย่างดี ซึง่ การบริหารการ ตลาดเป็นหัวใจหลักของการท�ำธุรกิจ และมีรายละเอียดมากมายทีส่ ามารถ ท�ำให้ผู้ประกอบการสิ่งพิมพ์มีการ มองช่องทางการตลาดได้กว้างมากขึ้น มีประโยชน์โดยตรงต่อผูป้ ระกอบการ ทางภาคใต้


การพิมพ์ไทยสัญจร 56 ภาคใต้

และหลั ง จากนั้ น ก็ มี ก าร บรรยายเกีย่ วกับการซ่อมบ�ำรุงเครือ่ ง จักรอย่างไรให้ได้ผล โดยคุณชัยยา ตันติสุบารมย์ จบการศึกษาปริญญาเอกทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าจาก มหาวิ ท ยาลั ย พระจอมเกล้ า ลาด กระบังด้านสัญญาณรบกวนทางสาย และท่านยังผ่านงานใหญ่ๆ ด้านการ บริ ก ารการติ ด ตั้ ง ซ่ อ มบ�ำรุ ง รั ก ษา และยังเคยเป็นวิศวกรติดตั้งเครื่อง มื อ วั ด รายละเอี ย ดสู ง ให้ กั บ บริ ษั ท ของญีป่ นุ่ ชือ่ มิตโุ ตโย เอเชียแปซิฟกิ เคยเป็นหัวหน้าหน่วยดูแลการซ่อม บ�ำรุ่งอุปกรณ์ในสถานีบริการน�้ำมัน เขตภาคกลางกว่า 300 สถานีให้กับ บริษัทขายน�้ำมันคือเอสโซ่ประเทศ ไทย เคยดูแลการทดสอบชิ้นส่วน อิเล็คทรอนิคส์ให้กับลูกค้า เช่น เอ เอ็มดี เท็กซัส อินสตรูเม้นท์ ฟิลิปส์ เซมิ ค อนดั ด เตอร์ ใ ห้ กั บ ทริ โ อเทค (บางกอก) อดีตท่านเคยเป็นผูจ้ ดั การ ทั่ ว ไปทางด้ า นบริ ก ารลู ก ค้ า ให้ กั บ บริษทั ไฮเดลเบิรก์ กราฟฟิคส์ (ประเทศ ไทย) จ�ำกัด และปัจจุบนั เป็นผูจ้ ดั การ ส่วนธุรกิจอะไหล่เขตเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ให้กับบริษัท เม็ทโซ่ เปเปอร์ ประเทศไทย จากประสบการณ์ทเ่ี คย

สะสมมา ก็สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ให้ผปู้ ระกอบการโรงพิมพ์สามารถ น�ำความรู้ที่ได้รับไปดูแลเครื่องพิมพ์ในโรงพิมพ์ของตัวเองได้เป็นอย่างดี และในช่ ว งบ่ า ยหลั ง จากรั บ ประทาอาหารเที่ ย งเสร็ จ ก็ จ ะมี ก าร บรรยายในหัวข้อ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนะ เยีย่ งกมลสิงห์ การศึกษา D.Eng Design and Manufacturing Engineering, 2555 Asian Institute of Technology วศ.ม. วิศวกรรมอุตสาหการ, 2541 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วศ.บ. วิศวกรรมการวัดคุมทางอุตสาหกรรม, 2537 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อาจารย์ประจ�ำ สาขาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบบริการ 2542 - ปัจจุบันมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย กรรมการวิชาการ สมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ไทย 2548 - ปัจจุบนั ที่ปรึกษาทางด้านบรรจุภัณฑ์ D-Cash international cosmetic 2556 และ น�้ำตาลมิตรผลซึ่งต้องถือว่าในยุคแข่งการแข่งขันด้านการพิมพ์การออกแบบ บรรจุ ภั ณ ฑ์ มี ค วามส�ำคั ญ อย่ า งยิ่ ง เพราะการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ นั้ น เป็นการเพิ่มมูลค่าสินค้าและสร้างความโดดเด่นให้กับสินค้ามากยิ่งขึ้นซึ่งผู้ ประกอบการโรงพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ก็สามารถน�ำเทคนิคต่างๆ ไปพัฒนา

ThaiPrint Magazine 19


Print News

ต่อยอดให้กบั ธุรกิจของตัวเองได้เช่น กัน หลังจากจบจากการบรรยาย ในช่วงท้ายของการสัมมนาในครั้งนี้ ยังมีการจัดการเสวนาเรื่องการพิมพ์ ในระบบดิจติ อลโดยได้รบั เกียรติจาก คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ ประธาน กลุ่ม Young Printer Group และผู้ บริหารบริษัท บี.บี.การพิมพ์ และ บรรจุภัณฑ์ จ�ำกัด คุณฆัมพร รักษา แก้ว จากบริษทั ฟูจซิ รี อ็ กซ์ (ประเทศ ไทย) จ�ำกัด และ คุณธัชชัย ธนาวิ ชนัน จาก บริษัทอินเตอร์ฟาร์อีสท์ วิศวการ จ�ำกัด (มหาชน) ได้มากล่าว ถึงการพิมพ์ระบบดิจิตอลเป็นการ พิมพ์ประเภทไหนบ้างและกลุ่มเป้า หมายของงานพิมพ์ประเภทนี้มีใน ส่วนไหนบ้าง ซึ่งกลุ่มของ Digital Printing จะตอบโจทย์ของผูท้ สี่ งั่ พิมพ์ จ�ำนวนน้อยและต้องการความรวดเร็ว ทันต่อความต้องการและคุณภาพดี 20 ThaiPrint Magazine

ปัจจุบันระบบการพิมพ์ดิจิตอลคุณภาพเทียบเท่ากับระบบออฟเซ็ตมากๆ เพราะฉะนั้นกลุ่มลูกค้าที่ต้องการพิมพ์งานในจ�ำนวนไม่มาก ก็จะหันมาใช้ ระบบนีม้ ากกว่าและมีราคาต้นทุนทีถ่ กู กว่าด้วย กลุม่ ลูกค้าก็จะกว้างมากขึน้ แต่จะค่อยขยายตัวขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งการเสวนาก็จะท�ำให้ผู้ประกอบการเข้าใจ ธุรกิจการพิมพ์ด้วยระบบดิจิตอลมากยิ่งขึ้น สามารถท�ำให้ผู้ประกอบการ สามารถต่อยอดธุรกิจของโรงพิมพ์มากขึ้นจากเดิมที่มีอยู่แล้ว ซึ่งเป็นเครื่อง พิมพ์ในระบบออฟเซ็ตและสามารถที่ซื้อเครื่องพิมพ์ในระบบดิจิตอลเพิ่ม เพือ่ ขยายตลาดสิง่ พิมพ์ได้กว้างมากขึน้ ต้องชืน่ ชมสมาคมการพิมพ์ไทยเป็น อย่างสูงทีไ่ ด้มกี ารจัดกิจกรรมเหล่านีข้ นึ้ มา เพือ่ กระตุน้ และพัฒนาผูป้ ระกอบ การโรงพิมพ์ให้มกี ารตืน่ ตัวในการพัฒนาธุรกิจสิง่ พิมพ์ เอาใจใส่กบั งานพิมพ์ ให้มีคุณภาพควบคู่ไปกับการออกแบบที่ทันสมัย เพื่อจะรองรับกับการเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ที่จะเข้ามาในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าครับ และในช่วงท้ายของงานสัมมนาก็มีการแจกรางวัลส�ำหรับผู้โชคดีที่เข้าร่วม งานในวันนัน้ ก็ขอแสดงความยินดีดว้ ยนะครับ ส�ำหรับผูท้ ไี่ ด้รบั รางวัลติดไม้ ติ​ิดมือกลับบ้านไปครับ...


Thaiprint Cover Story

นวัตกรรมใหม่ของเพลทเทอร์มอล CtP จาก Xingraphics หนึง่ ในสีข่ องผูผ ้ ลิตเพลทเทอร์มอล CtP รายใหญ่ของโลก ทีไ่ ด้รบั การยอมรับอย่าง แพร่หลาย ทัง้ ด้านคุณภาพและมาตรฐานการผลิตในระดับสากล ได้เปิดตัวนวัตกรรมใหม่ลา่ สุดของเพลท เทอร์มอล CtP “Fit Primus Plus” ทีม่ คี ณ ุ สมบัตแิ ละประสิทธิภาพทีเ่ หนือกว่าเพลทเทอร์มอล CtP รุน่ อืน่ ๆ ในตระกูล “Fit” รวมถึงน�้ำยา Developer (ARTO-D) และ Replenisher (ARTO-R) สูตรใหม่ล่าสุดที่ถูก พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยลดปริมาณการใช้น�้ำยาในกระบวนการล้างเพลทให้น้อยลงและลดการเกิดตะกอนและ คราบสกปรกในกระบวนการล้างเพลท โดยทีค่ ณ ุ สมบัตเิ ด่นของเพลทเทอร์มอล CtP “Fit Primus Plus” มี ดังนี้

Fit Primus Plus ถูกคิดค้นขึ้นเพื่อให้เป็นเพลทที่ดีที่สุดในตระกูล “Fit” 22 ThaiPrint Magazine


บริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด

 เก็ บ เม็ ด สกรี น ได้ ค มชั ด 1-99% ที่ 450 lpi และเม็ดสกรีน FM ได้ถึง 10 ไมครอน  ช่ ว งกว้ า งการล้ า งน�้ ำ ยา ของเพลทดี ขึ้น  ยอดพิมพ์เฉลี่ยสูงขึ้น และ ลดโอกาสการเกิ ดสกัมของเพลท  ลดปริ ม าณการใช้ น�้ ำ ยา (Developer, Replenisher) ได้ถงึ 40% เมื่อใช้คู่กับน�้ำยารุ่นใหม่ ARTO-D และ ARTO-R จาก Xingraphics  ลดปริ ม าณการใช้ ห มึ ก และน� ้ำยาฟาวเท่นในกระบวนการ พิมพ์ได้ถึง 10%  ยืดอายุการใช้งานของเครือ่ ง เพลท Fit Primus Plus ช่วยลดปริมาณการใช้น�ำ้ ยาได้ถงึ 40 % ล้างเพลท เนือ่ งจากปริมาณตะกอน และ จึงภูมิใจ และคราบสกปรกในกระบวนการ น�ำเสนอนวัตกรรมใหม่ของเพลทเทอร์มอล CtP ทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ ล้างเพลทลดน้อยลง ในกระบวนการพิมพ์ พร้อมไปกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและความคุ้มค่า เพือ่ ให้ “Fit Primus Plus” เป็นทางเลือกทีด่ ที สี่ ดุ ของเพลทเทอร์มอล CtP สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 02-332-4470 หรือ www.xingraphics.com

ThaiPrint Magazine 23


Print News

งานเลี้ยงสังสรรค์วันการพิมพ์ไทย 2556 ส

หพันธ์อุตสาหกรรมการพิมพ์ จัดงานวันการพิมพ์ไทย 2556 เวียนบรรจบครบรอบอีก 1 ปี เมื่อวันจันทร์ที่ 3 มิถุนายน 2556 ที่ผ่านมา กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยได้เดินทางมาร่วมงาน เลี้ยงสังสรรค์เป็นประจำ�กันทุกๆ ปี ที่มีการจัดงานวันการพิมพ์ไทยขึ้น ณ ห้องอังรีดูนัง ชั้น 1 ราชกรีฑา สโมสร (สปอร์ตคลับ) ถ.อังรีดูนังต์ ก่ อ นเข้ า สู่ เ วลาเริ่ ม งาน แขกผู้มีเกียรติในกลุ่มอุตสาหกรรม การพิ ม พ์ เ ริ่ ม ทยอยเข้ า มาลง ทะเบี ย นในส่ ว นหน้ า งานที่ ท าง ส ห พั น ธ์ จั ด ไว้ ใ ห้ พ ร้ อ ม ทั้ ง รั บ หนังสือวันการพิมพ์ไทยและของ ที่ระลึก หลังจากได้เวลาที่ก�ำ หนด แขกผู้ มี เ กี ย รติ เข้ า ร่ ว มงานอย่ า ง พร้อมเพรี​ียงกัน อาหารที่ทางผู้จัด เตรี ย มก็ ท ยอยเสิ ร์ ฟ ออกมาตาม โต๊ะอาหารสร้างความเพลิดเพลิน 26 ThaiPrint Magazine


งานเลี้ยงสังสรรค์วันการพิมพ์ไทย 2556

ด้วยเสียงเพลง หลังจากนั้นทางสหพันธ์ได้มีการจัด บรรยายพิเศษ เรื่อง ASEAN Byond 2015&Creative Economy โดย ผศ.ดร.การดี เลียวไพโรจน์ อาจารย์ประจำ�วิชาคณะพาณิชยศาสตร์และการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ปรึกษาสำ�นักงาน ส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (SIPA) และ กรรมการบริษัท บิซิเนส ออนไลน์ จำ�กัด (มหาชน) ต่อจากการบรรยายพิเศษจบก็มีการโชว์นักร้องนัก แสดงมากมาย โดย JOB COPYMAN สร้างความ เพลินเพลินให้กับแขกผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างมาก และหลังจากที่สนุกกันพอสมควรก็ต่อด้วยการชม Presentation กิจกรรมสหพันธ์อตุ สาหกรรมการพิมพ์ วาระปี 2555-2556 ต่อด้วยพิธีส่งมอบตำ�แหน่ง ประธานสหพั น ธ์ อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ จ ากคุ ณ ประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม ประธานชมรมการจัดพิมพ์ อิเล็กทรอนิกไทยให้กบั คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยเป็ น ประธานสหพั น ธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์คนใหม่แทน เป็นอันเสร็จสิ้น พิธีการ พร้อมทั้งการจัดงานก็สำ�เร็จโดยสมบูรณ์

ThaiPrint Magazine 27


Print News

“วันการพิมพ์ไทย” และพิธีวางพวงมาลาคารวะหมอบรัดเลย์ วันการพิมพ์ไทยได้ เวียนบรรจบครบ รอบอีก 1 ปี ในการรำ�ลึกถึงคุณูปการของหมดบรัดเลย์ ที่ท่านได้ริเริ่มการพิมพ์ให้เกิดขึ้นในประเทศไทยของ เราพี่น้องชาวการพิมพ์ไทยทุกท่านต่างรำ�ลึกถึงอยู่ใน ใจเสมอมาทุกๆ วันที่ 3 มิถุนายน 2556 มูลนิธิเงินทุน งานแสดงการพิมพ์แห่งประเทศไทย ร่วมกับสหพันธ์ อุตสาหกรรมการพิมพ์องค์กรทางการพิมพ์และสถาบัน การศึกษาด้านการพิมพ์ จัดพิธีวางพวงมาลารำ�ลึกถึง คุณูปการของหมอบรัดเลย์ ณ สุสานโปรแตสแต๊นท์ ถ.เจริญกรุง (ข้างโรงแรมแม่น้ำ�) ซึ่งจะมีพิธีวางพวง มาลาเป็นประจำ�ทุกปี และในวันเดียวกันนั้นกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ได้จัดทำ�บุญทักษิณานุปทานถวาย แด่องค์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพร้อม ทั้งบังสกุลอุทิศส่วนกุศลให้แก่บุคคลในวงการพิมพ์ที่ ล่วงลับไปแล้ว ณ วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม ตั้งอยู่ตรงข้ามกระทรวงมหาดไทย คลองหลอด

28 ThaiPrint Magazine


Print News

ปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อ...

นโยบายภาครัฐในการสนับสนุน อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ โดย...ดร.พีรพันธุ์ พาลุสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วันนี้นับว่าถือเป็นเกียรติและมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้รับเชิญ ให้มาเป็นประธานการเปิดงานสัมมนาในวันนี้และกล่าวปาฐกถาพิเศษใน หัวข้อ “นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์” ซึ่ง เป็นงานที่จัดโดยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยร่วมกับธนาคารไทย พาณิชย์ และทีผ่ มกล่าวว่ารูส้ กึ เป็นเกียรติและก็ยนิ ดีเพราะวันนีเ้ ป็นวันที่ 10 ที่ผมได้รับตำ�แหน่งก็พยายามที่จะออกไปพบพวกท่านทั้งหลาย พร้อมทั้ง ได้บอกกระทรวงวิทยาศาสตร์ซง่ึ เป็นกระทรวงทีเ่ ต็มไปด้วยคนเก่งคนทีเ่ ป็น ปัญญาของประเทศทีร่ วมกันอยูท่ น่ี น่ั ผมเยีย่ มสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) แห่งเดียว มีคนทำ�งานอยู่สัก 1,000 กว่า คน มีคนจบปริญญาเอก 800 กว่าคน ในวันแรกที่ผมได้เข้าไปทำ�งานที่ กระทรวง ท่านปลัดกระทรวงได้บอกว่า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีเป็นกระทรวงของคนดีคนเก่งและปกครองง่ายด้วย ผมก็บอกว่าท่าน

30 ThaiPrint Magazine

เหล่านัน้ ว่า ผมก็โชคดีทม่ี าอยูท่ า่ ม กลางคนเก่งและผมก็ต้องการเอา ความเก่งของคนเหล่านั้นให้ออก ไปสูพ่ น่ี อ้ งประชาชน ออกไปช่วยใน การพัฒนาประเทศ ผมอยากจะเห็น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีโดนหน้าทีซ่ ง่ึ เป็นกระทรวงหลัก ในการพัฒนาให้กับประเทศเป็น ฐานในการพัฒนาให้กับประเทศ วันนี้นับเป็นโอกาสดีที่เรา ได้มาพบกันในวันนี้ กระทรวงวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นกระทรวง ทีม่ คี วามสำ�คัญ เพราะพวกท่านทัง้ หลายที่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมจะ มีความเข้มแข็งมีความสามารถใน การแข่งขันและพัฒนาไปอย่างยั่ง ยืน ก็จะต้องอาศัยความรูท้ างวิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยีที่มั่นคงใน การให้การสนับสนุนในขณะทีว่ ทิ ยา ศาสตร์และเทคโนโลยีที่ดี ถ้าไม่มี ใครนำ�ไปใช้กจ็ ะหมดความหมาย ซึง่ การเชื่อมต่อระหว่างวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กั บ ภาคอุ ต สาห กรรมมีความสำ�คัญอย่างยิ่งที่อุต สาหกรรมจะนำ�ไปต่อยอดในการ พัฒนาในด้านต่างๆ ซงึ่ ทุกประเทศ


นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์

ทีเ่ จริญแล้ว เขาก็จะนำ�เอาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็นฐานในการพัฒนา อยูเ่ สมอ ผมยกตัวอย่างให้หลายๆ แห่ง ให้ฟงั อย่างเช่น ประเทศเกาหลี ใต้ซ่งึ อดีตก่อนนั้นเราเคยไปช่วยเขา และทำ�ไมสมัยนี้จึงพัฒนาตัวเองได้ ยกตัวเองขึ้นเป็นระดับต้นๆ ของโลก ได้กเ็ พราะรัฐบาลเกาหลีใต้เมือ่ หลาย สิบปีมาแล้ว ได้มกี ารวางเป้าหมายไว้ อย่างชัดเจนว่าวิทยาศาสตร์จะนำ� ประเทศเกาหลีใต้ไปสูจ่ ดุ ไหนอย่างไร ภายในระยะเวลาเท่าไหร่ เขาก็ทำ�มา อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันนี้ ผมจึงถามข้าราชการทัง้ หลาย ในกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยีว่า วิทยาศาสตร์ของไทยจะพา ประเทศไทยไปทางไหน อีกกี่ปีข้าง หน้าเราจะไปถึงจุดไหน...ถ้าเราได้ คำ�ตอบเหล่านี้เราก็จะเดินหน้าไป ด้วยกัน ในยุคนีไ้ ม่ใช่จะมาพูดว่าเป็น หน้าทีข่ องราชการอย่างเดียว แต่เรา จะต้องร่วมมือกันทุกภาคส่วน โดยให้ รัฐบาลเป็นแกนกลางเป็นผู้นำ�ร่วม กับทุกภาคส่วน โดยขณะนี้ได้มีการ เปิดหลักสูตรของสถาบันเทคโนโลยี ชั้นสูง เรากำ�ลังจะสร้างหลักสูตรใหม่

ที่จะกำ�หนดทิศทางของประเทศซึ่งรัฐบาลเองก็มีความตั้งใจที่จะลงทุนสร้าง ระบบ logistics ให้กบั ประเทศเราจะสร้างรถไฟรางคูเ่ ราจะสร้างรถไฟความเร็ว สูงโดยกระทรวงคมนาคม ในอีก 7-8 ปีข้างหน้ากระทรวงวิทยาศาสตร์ก็จะมี ส่วนร่วมในการสร้างวิศวกรทีจ่ ะมาทำ�งานในธุรกิจเหล่านีก้ นั ต่อไป ซึง่ นโยบาย ของภาครัฐก็พร้อมทีจ่ ะสนับสนุนในอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์และสิง่ พิมพ์ไทย เราต้องการทีย่ กระดับการแข่งขันของประเทศเพือ่ จะนำ�ประเทศของไทยให้มี รายได้ตา่ งๆ ทีส่ งู ขึน้ ซึง่ เป็นนโยบายหลักทีท่ า่ นนายกรัฐมนตรี น.ส. ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ได้ประกาศเอาไว้ว่ายุทธศาสตร์ของประเทศคืออะไร ขณะเดียวกัน เราก็จะมุ่งที่จะลดความเหลื่อมล้�ำ ในสังคม สิ่งเหล่านี้ก็ต้องมีการให้ความรู้ และมีทางแก้ไขเพื่อให้ทุกคนที่อยู่ในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ ขณะเดียวกันในยุคปัจจุบันนี้ถ้าใครไม่พูดถึงสิ่งแวดล้อมก็คงจะเป็น ไปไม่ได้แล้ว เราก็จะต้องมีทิศทางว่าทุกอย่างจะต้องเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วย รัฐบาลมีความชัดเจนมากในการสนับสนุนกับยุทธศาสตร์ดังกล่าว ที่รัฐบาลได้ประกาศเอาไว้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคือกลไกลพื้นฐานที่สำ�คัญ มากในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมโดย ThaiPrint Magazine 31


Print News

มีการพิสจู น์จากหลายๆ ประเทศทีเ่ จริญแล้ว เขามีนโยบายให้เอาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ รัฐบาลปัจจุบนั ภายใต้แกนนำ�โดย ฯพณฯ ท่าน นายกรัฐมนตรี นางสาว ยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ก็ได้ประกาศทีจ่ ะมีการจัดงบประมาณสนับสนุนการทำ�วิจยั ให้ขน้ึ มาในระดับ 1% ของ GDP ให้ได้ ซึง่ ปัจจุบนั นีเ้ ราทำ�ได้เพียง 02% เท่านั้น เอง ยังถือว่าน้อยมาก ตัวเลขดังกล่าวนี้ก็ไม่ได้หมายความว่าการลงทุนนี้จะ มาจากภาครัฐอย่างเดียว แม้ว่าปัจจุบันสัดส่วนการลงทุนการทำ�วิจัยและ การพัฒนาส่วนใหญ่มาจากภาครัฐมากกว่าภาคเอกชน แต่สัดส่วนดังกล่าวก็ เริม่ มีการขยับปรับเปลีย่ นไปในทางทีด่ ขี น้ึ การลงทุนจากภาคเอกชนจะสูงขึน้ และน่าจะมีแนวโน้มเป็นไปได้ว่าสัดส่วนจากภาคเอกชนจะมีสัดส่วนที่สูงขึ้น กว่าภาครัฐ ในที่สุดเมื่อไหร่ที่เราสามารถเพิ่มงบการวิจัยไปถึง 1% ได้รัฐบาล ก็ตั้งใจว่าตอนนั้นการวิจัยจะมาจากภาคเอกชน 70% และภาครัฐ 30% แต่ ไม่เป็นไรครับ ตอนนีร้ ฐั บาลจะเป็นฝ่ายลงทุนให้กอ่ นและเราก็จะสามารถทำ� งานไปด้วยกัน ซึง่ ขณะนัน้ ก็จะเป็นไปตามมาตรฐานประเทศทีเ่ ขาพัฒนาแล้ว เขาก็บรรลุผลของการวิจยั แบบนี้ เพราะฉะนัน้ การลงทุนทำ�วิจยั ก็จะเป็นการ

32 ThaiPrint Magazine

ทำ�วิจัย เพื่อตอบสนองความรู้ความ ต้ อ งการของตั ว เองผมอยู่ ใ นมหา วิทยาลัยมานาน มีการทำ�วิจัยขึ้นมา เยอะ ถามว่าผมทำ�วิจัยเรื่องอะไรก็ ต้องตอบว่าผมทำ�วิจยั เรือ่ งทีผ่ มอยาก จะรู้ เพราะฉะนัน้ ก็เป็นเหตุให้ใครหลาย คนได้คิดว่าการทำ�วิจัยขึ้นมานั้นถูก เก็บไว้บนหิ้ง เราไม่ได้ตอบโจทย์ของ ประเทศไทย ต่อนี้ไปเราจะรวมหน่วย วิจัยทั้งหมดให้มาอยู่ภายใต้ร่มคัน เดียวกันภายใต้แกนนำ�ของท่านนายก รัฐมนตรี แล้วเราก็จะมีทิศทางการ วิจยั ทีช่ ดั เจนเราจะเอาความต้องการ ของพวกท่านทัง้ หลายในภาคเอกชน ในภาคอุตสาหกรรมต่างๆ หากท่านมีค�ำ ถามอะไร ต้อง การรู้เรื่องอะไร เราก็จะให้กระทรวง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ปหา คำ�ตอบมาให้กับพวกท่านทั้งหลาย ผลการวิจยั ทีอ่ อกมาแบบนีก้ ส็ ามารถ ตอบโจทย์ ใ ห้ กับ ประเทศได้ แ ละ สามารถนำ�ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ อย่างที่สุด นี่คือนโยบายของรัฐที่มี ความต้องการที่จะทำ�เรื่องนี้ให้เกิด ขึน้ ได้จริงนะครับ อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์และ สิง่ พิมพ์ ก็เป็นอุตสาหกรรมสนับสนุน


นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ ก็มคี วามสำ�คัญอย่างยิง่ กับผลิตภัณฑ์ ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ เพื่อการอุปโภคบริโภค ผู้ประกอบ การไทยเป็นผู้ที่มีความสามารถใน การพั ฒ นาตนเองอย่ า งมากอย่ า ง ต่อเนื่อง ทั้งในด้านการใช้เทคโนโลยี และการผลิตทีท่ นั สมัย ตลอดจนการ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ ไ ด้อย่างเหมาะ สมน่าชื่นชม ในส่วนของภาครัฐก็มี ความพยายามที่ช่วยในภาคเอกชน นี้เข้มแข็งขึ้น เรามีหน่วยงานที่เกี่ยว ข้องมากมายตามกระทรวงต่างๆ รวม ไปถึงมหาวิทยาลัยหลายแห่งที่มีบท บาทเข้ามาเสริมด้วย กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมีการจัดตั้งศูนย์การบรรจุ หีบห่อไทยขึ้นตามมติคณะรัฐมนตรี เมือ่ ปี 2527 ภายใต้สถาบันวิจยั วิทยา ศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศ ไทย (วว.) ก็มีพันธกิจครอบคลุมทั้ง การจัดตั้งห้องปฏิบัติการให้บริการ วิเคราะห์ทดสอบความเข้มแข็งของ บรรจุภณ ั ฑ์ การเป็นศูนย์กลางข้อมูล องค์ความรู้การฝึกอบรมตลอดจนมี การพัฒนาสร้างนวัตกรรมขึ้น การ ทำ�งานของศูนย์น้กี ็มีการพัฒนาและ ให้ บ ริ ก ารต่ อ ภาคเอกชนมาได้ ใ น ระดับหนึ่ง ถึงแม้ว่าจะมีปัญหาบาง ประการที่จ ะต้ อ งดำ � เนิ น การแก้ ไข และพัฒนากันต่อไป แต่หากท่าน ทั้งหลายมีข้อคิดเห็นมีคำ�แนะนำ�ที่ จะทำ � ให้ ก ารทำ � งานให้ ผ ลดี ยิ่ ง ขึ้ น และเป็ น ประโยชน์ แ ก่ ภ าคอุ ต สาห กรรมอย่างแท้จริง ขอให้เสนอมาและ เราจะได้ด�ำ เนินการต่อไป อีกประเด็น หนึง่ ทีม่ คี วามสำ�คัญและเป็นการเรียก ร้องจากภาคอุตสาหกรรมแทบทุก ประเภทโดยเฉพาะอย่างยิ่งสัมพันธ์ โดยตรงกับการบรรจุภัณฑ์นั่นก็คือ

การออกแบบ ซึ่งการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ให้ได้มาซึ่งคุณสมบัติที่ต้องการ ก็มีความหลากหลายมีความซับซ้อนและมีความแตกต่างไปตามประเภท บรรจุภัณฑ์ในแต่ละชนิดบางชนิด ให้ความสำ�คัญในเรื่องความแข็งแรงเพื่อ ปกป้องสินค้าที่อยู่ภายใน ขณะที่น้ำ�หนักที่ต้องเบา ในยุคปัจจุบันคงหนีไม่ พ้นเรื่องการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมผลิตภัณฑ์ทางด้านการบริโภค อาจจะ เป็นทางเลือกวิธหี นึง่ เช่น บรรจุภณ ั ฑ์ส�ำ หรับสินค้าทางการเกษตร ผัก ผลไม้ บรรจุ ภัณฑ์จะต้องใช้ความสามารถในการเก็บรักษาถนอมสินค้าภายในยืดอายุ ของผักและผลไม้ให้ยาวนานต่อไปให้เก็บไว้ได้เป็นเวลานาน สินค้าบางชนิดได้เน้นเรื่องความสวยงามน่าซื้อเป็นลำ�ดับต้นๆ ที่ เห็นชัดเจนอยู่ปัจจุบัน คือ บรรจุภัณฑ์ประเภทอาหาร ขนมขบเคี้ยว เมื่อไม่ นานนี้ ผมมีโอกาสได้เดินทางไปประเทศญีป่ นุ่ ขากลับจะไปซือ้ ขนมกลับบ้าน ปรากฏว่าไปเห็นคนไทยไปรุมซื้อกล้วยญี่ปุ่น ผมเองก็ซื้อกลับมา แต่สงสัยว่า ประเทศญี่ปุ่นเขามีกล้วยด้วยหรือ ซึ่งบรรจุภัณฑ์เขาดูแล้วน่าสนใจ นี่ก็คือ ความก้าวหน้าที่เขาในความสำ�คัญกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ทำ�ให้สินค้า ชวนให้น่าซื้อ ในส่ ว นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ นประเทศไทยเราผมก็ อ ยากให้ ค วามสำ � คั ญ อยากให้การสนับสนุน ผมมีโอกาสได้ไปประเทศ เอกวาดอร์ล่าสุดเมื่อเดือน ธันวาคมทีผ่ า่ นมา มีเพือ่ นทีเ่ ป็น ส.ส. ไปด้วย บางท่านก็มเี พือ่ นเป็นดาราติดตาม ไปด้วย บางท่านก็ซื้อหมวกจากเอกวาดอร์สีขาวทำ�จากหญ้า มีราคาตั้งแต่ 3,000-20,000 บาท ถ้าราคา 3,000 บาท ก็คือบรรจุหีบห่อแบบง่ายๆ นะ ครับ แต่ถ้าราคา 20,000 บาท คุณภาพสินค้าก็ดีขึ้น บรรจุภัณฑ์ก็ดีขึ้น ราคา ก็ได้ดีขึ้น ผมจึงคิดว่าผมมาจากจังหวัดยโสธร มีพี่น้องที่นั่นทำ�เครื่องจักสาน และหมวกขายกันอยู่ทุกวันขายได้วันละ 100-300 บาทต่อวัน ผมก็อยากให้ เขาขายได้วันละเป็นพันเป็นหมื่นเหมือนกัน ผมจึงบอกเขาว่าบรรจุภัณฑ์มี ThaiPrint Magazine 33


Print News

ความสำ�คัญเหมือนกันที่จะทำ�ให้มูลค่าสินค้าเพิ่มมากขึ้น และนอกจากนั้น บ้านผมก็ยงั มีขา้ วอีกอย่างทีส่ �ำ คัญเหมือนกัน เจ้าหน้าทีก่ ระทรวงเกษตรก็บอก ให้ชาวบ้านทำ�บรรจุภัณฑ์สำ�หรับส่งข้าวมาผมก็นำ�ห่อข้าวที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ ที่ดีนำ�เข้าไปในสภาผู้แทนราษฎร ผมก็มีเพื่อนที่ส่งออกข้าว ผมก็น�ำ ข้าวของ จังหวัดยโสธรพร้อมทัง้ บรรจุภณ ั ฑ์ทด่ี ี ถามว่าอย่างนีพ้ อจะส่งออกไปยังประเทศ อเมริกาได้ไหม เขาบอกว่าไม่ได้ เพราะว่าบรรจุภัณฑ์ยังไม่ดีพอ ผมก็นำ�กลับ ไปจังหวัดยโสธร และบอกเขาว่ายังส่งออกไม่ได้ ท่านจะต้องแก้ไขทีบ่ รรจุภณ ั ฑ์ และอย่างนีใ้ ครจะช่วยเขาได้ ก็ตอ้ งเป็นกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว่าท่านจะต้องใช้กระดาษอย่างไรออกแบบกันอย่างไร นี่คือตัวอย่างที่เห็น ได้ว่าบรรจุภัณฑ์และการออกแบบนั้นสำ�คัญอย่างไร เพราะฉะนั้นการสนับ สนุนในส่วนนี้จำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องให้ความรู้ทั้งศาสตร์และศิลป์พร้อมๆ กับ การออกแบบให้มรี ปู ลักษณ์ทส่ี วยงามอาจจะต้องนำ�ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเข้ามาร่วมด้วย อย่างที่ผมได้เรียนท่านทั้งหลายไปแล้วพร้อมกับการเลือกใช้วัตถุดิบ ที่มีคุณสมบัติได้อย่างถูกต้อง แล้วยังมีการออกแบบเชิงวิศวกรรมโดยอาศัย

34 ThaiPrint Magazine

เทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ช่วยใน การออกแบบก็ จ ะทำ � ให้ เ ห็ น ภาพ จำ�ลองของชิ้นงานที่เหมือนจริงมาก สามารถเปรี ย บเที ย บรายละเอี ย ด ต่างๆ ได้ด้วย นี่คือความสำ�คัญของ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ครับ นอก จากเรื่องของการออกแบบ ประเด็น สำ�คัญเบื้องต้นคือหลายๆ ภาคส่วน จะต้องให้การสนับสนุนกับภาครัฐ เพื่อพัฒนาให้ผู้ประกอบการไทยมี ความเข้ ม แข็ ง ให้ อุต สาหกรรมของ เราให้ มี อ นาคตที่ ดี แ ละก็ ส ามารถ รักษาอุตสาหกรรมและบริการเดิม ไว้ของเราไว้ตรงกับยุทธศาสตร์ของ รัฐบาลคือการสร้างความสามารถ ในการแข่งขันกระผมและกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพร้อมที่ จะให้การสนับสนุนในบริบทของการ ใช้ ความสามารถทางวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเข้ามาเสริมกำ�ลังให้ ท่านทั้งหลายได้ไปสู่ความสำ�เร็จ เรามีศูนย์บรรจุหีบห่อที่กระ ทรวงวิทยาศาสตร์นะครับ นอกจาก นี้นอกจากนี้ก็ยังมีกรมวิทยาศาสตร์ บริการซึง่ เป็นหน่วยงานเดียวในประ เทศไทยที่ ใ ห้ บ ริ ก ารออกใบรับรอง สินค้าวัตถุสุ มั ผัสอาหารประเภทต่างๆ ให้กับผู้ประกอบการมาตั้งแต่ปี2554


นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ และกรมวิ ท ยาศาสตร์ ก็ เ ป็ น กรมที่ เก่าแก่ทส่ี ดุ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ มีอายุร่วม 100 ปีมาแล้ว ผมได้มี โอกาสพบกับเจ้าหน้าทีใ่ นกรมนี้ ส่วน ใหญ่จะเป็นสตรีมีอุปนิสัยน่ารักกัน ทุกท่าน มีความเข้มแข็งมากท่านเหล่า นั้ น ส่ ว นมากจะอยู่ แ ต่ ใ นห้ อ งแล็ ป ผมจึงได้กล่าวว่าท่านเป็นกรมวิทยา ศาสตร์สง่ เสริมบริการนะครับ ต่อไปนี้ เราอาจจะต้องออกไปพบกับพี่น้อง ประชาชนมากยิง่ ขึน้ เพือ่ ทีจ่ ะนำ�ความ รู้ความต้องการของพี่น้องประชาชน นำ�มาพัฒนาให้มีความเข้มแข็งมาก ยิ่งขึ้น ต่อมาในเรือ่ งของการก้าวเข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ภายในอีกไม่กป่ี แี ล้วนะครับ แต่ จริงๆ ในเรือ่ งของอาเซียนเราจะมีอยู่ 3 ประชาคม คือ ประชาคมเรื่องการ เมือง ประชาคมทางวัฒนธรรมแต่ที่ พูดกันอยู่มากที่สุดคือ AEC ซึ่งเทียบ กับทางยุโรปแล้ว เราจะตามหลังเขา ประมาณ 50 ปี ทางยุโรปเขาเป็นสหภาพไปแล้ ว เราเพิ่ ง จะเริ่ ม ต้ น เป็ น ประชาคม แต่เราก็กำ�ลังจะเริ่มต้น แล้วครับ สำ�หรับในเรื่องการก้าวเข้า สูก่ ารเป็นผูน้ �ำ ในอาเซียน บทบาทของ เราก็จะมีความสำ�คัญมีการประชุม ครั้งที่ 15 การประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานและผลิต ฐานเรือ่ งการถนอมอาหารที่ประเทศ อินโดนีเซีย เมือ่ ปี 2555 ทีป่ ระชุมมีมติใน กรมวิทยาศาสตร์บริการจัดตั้งห้อง ปฏิบัติการอ้างอิงของอาเซียนด้าน การวัตดุสมั ผัสอาหารและต้องดำ�เนิน การให้แล้วเสร็จ ในปี 2557 คณะกรรม การที่ปรึกษาด้านมาตรฐานคุณภาพ ของอาเซียนเป็นคณะกรรมการภาย

ใต้คณะรัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียนด้วย จัดตัง้ ขึน้ เพือ่ อำ�นวยความสะดวก ในการรวมกลุม่ เศรษฐกิจของอาเซียน เพือ่ การค้าในภูมภิ าคของอาเซียนและ มีการเจรจาเพื่อนำ�ไปสู้ข้อตกลงเพื่อยอมรับร่วมกันสำ�หรับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่เป็นผลิตภัณฑ์ของอาเซียน โดยจัดตั้งคณะทำ�งานด้านผลิตภัณฑ์อาหาร สำ�เร็จรูป เนื่องจากอาเซียนตระหนักถึงความสำ�คัญของวัตถุ​ุสัมผัสอาหารที่ จะมีผลกระทบต่อคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าอาหารที่มูลค่าการ ค้าขายของในอาเซียนก็นับแสนล้านบาท นอกจากนี้ก็จะมีการวิจัยร่วมกับ ภาคเอกชนในการปรับปรุงคุณภาพของบรรจุภัณฑ์ เช่น เรื่องแก้ว ขวดน้ำ� แก้วน้� ำ และการลดพลังงานที่ใช้ในกระบวนการผลิต และยังได้เป็นเจ้าภาพ จัดประชุมวิชาการนานาชาติ ในปี 2558 ซึ่งจะมีประเทศที่เข้ามาร่วมถึง 40 ประเทศ และมีประเทศไทยและประเทศเวียดนามทีเ่ ป็นสมาชิก เพราะฉะนัน้ เราก็จะได้รับบทบาทที่สำ�คัญอีกในเรื่องนี้ ในปัจจุบันการแข่งขันทางด้านการตลาดทั้งภายในและต่างประเทศ นับวันจะเพิม่ มากขึน้ ทุกปี เพราะฉะนัน้ การบรรจุภณ ั ฑ์จงึ เป็นสิง่ สำ�คัญอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อมีสินค้าส่งออกไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศรูปแบบของ บรรจุภัณฑ์เพื่อการจำ�หน่ายสินค้าเหล่านี้ ต้องสามารถเทียบเคียงกับคู่แข่ง ของประเทศอื่นได้ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่าการบรรจุภัณฑ์มีความสำ�คัญ จึงเกิดการรวมตัวกันขึ้นเป็นสมาคมบ้าง สมาพันธ์บ้าง และองค์กรต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้สินค้าไทยได้ไปจำ�หน่ายยังต่างประเทศยกมาตรฐานการ บรรจุภณ ั ฑ์สสู่ ากล โดยผูป้ ระกอบการจะต้องพัฒนารูปแบบของบรรจุภณ ั ฑ์ท่ี ThaiPrint Magazine 35


Print News

สวยงามดึงดูดผู้บริโภคและคุณภาพบรรจุภัณฑ์ต้องเป็น ไปตามมาตรฐานของประเทศคู่ค้าด้วย บรรจุภัณฑ์ต้อง ไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนอาหารหรือสินค้าที่บรรจุส่ง ต้องไม่เกิดผลกระทบกับสุขภาพของผูบ้ ริโภค โดยเฉพาะ บรรจุภัณฑ์อาหารเป็นที่นานาประเทศก็ให้ความสำ�คัญ โดยเฉพาะประเทศคู่ค้าของไทย โดยเขาจะเข้มงวดเรื่อง ของสารปนเปื้อน กรมวิทยาศาสตร์บริการเองก็มีห้อง ปฏิบัติการที่ทันสมัยและติดตามความเคลื่อนไหวของ

36 ThaiPrint Magazine

กฏระเบียบทางด้านนี้อยู่สม่ำ�เสมอ ทำ�ให้สามารถเป็น ห้องปฏิบัติการอ้างอิงสำ�หรับอาเซียนในด้านวัสดุสัมผัส อาหารที่จะนำ�เป็นการสนับสนุนผู้ประกอบการบรรจุ ภัณฑ์และอาหารอย่างต่อเนือ่ ง จนกระทัง่ เราจะรวมเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 และอีกหน่วยงาน ที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการทั้งหลาย คือ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึง่ ในนัน้ จะมีบคุ ลากรทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากในทุก ศาสตร์ ขณะนีเ้ รามีพพิ ธิ ภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์ ซึง่ ก็มบี ริษทั เอกชนหลายๆ บริษัทที่ได้ไปใช้บริการที่นั่นทำ�วิจัยร่วม กันออกแบบร่วมกัน เป็นการร่วมมือกันซึง่ ก็เป็นตัวอย่าง ที่ดี ท่านจะใช้อะไรเราก็มีเครื่องมือพร้อมให้บริการท่าน จะใช้กระดาษอะไร วัตถุอย่างไร เราก็มีให้บริการความรู้ กับท่านได้ ก็ขอให้พวกท่านไปใช้บริการเหล่านี้ ซึ่งเราก็ พร้อมที่จะช่วยเหลือพวกท่านอยู่ตลอดไปครับ


Print Interview

คุณฉี เสี่ยว หยิน

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด อยากให้ท่านกล่าวถึงความเป็นมาของบริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศ ไทย) จำ�กัด ในด้านธุรกิจทีเ่ กีย่ วกับสิง่ พิมพ์มคี วามเป็นมาอย่างไรบ้าง..? บริษัท ซันซิน ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 2005 ธุรกิจหลัก มุ่งเน้นเกี่ยว กับเครื่องจักรและวัสดุอุปกรณ์หลังการพิมพ์ ในระหว่างปี ค.ศ.2005 ถึงปี ค.ศ.2012 บริษัทได้พัฒนามาเรื่อยจากที่มีพนักงานเพียง 10 กว่าคน มูลค่า ผลิตภัณฑ์ ประมาณ 10 ล้านบาท จนปัจจุบันมีพนักงานกว่า 50 คน มูลค่า ผลิตภัณฑ์กว่า 200 ล้านบาท ซันซินยึดหลักที่ว่า “สินค้าคุณภาพดี บริการ ที่ดีเยี่ยม ราคาย่อมเยา” บริษัทซันซินยังมุ่งเน้นในความซื่อสัตย์เพือ่ มุง่ มัน่

40 ThaiPrint Magazine

ในการพัฒนาให้ดยี ง่ิ ๆ ขึน้ ไป อย่าง น้อยในทุกๆ ปีบริษทั จะต้องเติบโต ขึ้น 20% การแข่งขันในด้านการตลาดการ พิ ม พ์ มี ก ารวางแผนและพั ฒ นา เทคโนโลยีดา้ นการพิมพ์มง่ ุ เน้นกลุม่ อุตสาหกรรมการพิมพ์ประเภทใด เป็นพิเศษ...? การแข่งขันในด้านการตลาด การพิมพ์มีสูงมาก ซันซินยังคงต้อง พยายามทำ�ให้ดีที่สุด เพื่อให้เครื่อง จักรและวัสดุอุปกรณ์หลังการพิมพ์ มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่ดีย่งิ ๆ ขึน้ เพราะเป็นสินค้าทีผ่ ลิตจากประเทศ จีน ซึง่ ตอนนี้ สินค้าต่างๆ ทีผ่ ลิตจาก ประเทศจีนได้พัฒนาคุณภาพใกล้จะ ถึ งระดั บ เดี ย วกั น กั บ ประเทศญี่ปุ่น ยุโรปแล้ว แต่เรือ่ งราคายังเป็นแค่เศษ หนึง่ ส่วนสีข่ องราคาญีป่ นุ่ ยุโรป ซึง่ ใน


บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด อนาคตอันใกล้นี้ ซันซินก็จะพัฒนา อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในด้ า นเครื่ อ งจั ก ร วัสดุอุปกรณ์ต่างๆ หลังการพิมพ์ ซึ่ง จะพัฒนาถึงการใช้ระบบดิจติ อลและ ทางซันซินยังมีการวางแผนว่าภายใน สองปีจะนำ�อุปกรณ์ครบชุดของระบบ ออกสู่ท้องตลาด รวมถึงวัสดุต่างๆ ที่ ใช้ ใ นการพิ ม พ์ ก็ จ ะมี ก ารพั ฒ นา อย่างต่อเนื่องพร้อมกันไปด้วย บริษัทมีการวางนโยบายล่วงหน้า สำ�หรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐ กิจอาเซียนไว้อย่างไรบ้าง..? สำ�หรั บการเข้า สู่เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ในปี ค.ศ.2015 นี้ ทางบริษทั ซันซินก็เตรียมความพร้อม ไว้แล้ว เพื่อเข้าสู่เศรษฐกิจอาเชียนที่ จะถึงใกล้ๆ นี้เรียบร้อยแล้ว โดยการ ได้จดั สร้างคลังสินค้า ศูนย์แสดงสินค้า รวมถึงศูนย์การสาธิตสินค้า และศูนย์ พั ฒ นาการให้ คำ � ปรึ ก ษาสอบถาม เกี่ยวกับสินค้าที่นิคมอุตสาหกรรม

ThaiPrint Magazine 41


Print Interview

การพิมพ์สินสาคร ซึ่งจะแล้วเสร็จในปี 2014 นี้ ในปี2015 ทางบริษัทซันซิน เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำ�วัน ยังมี ยินดีต้อนรับนักธุรกิจอาเซียนที่เข้ามาเยี่ยมชมศูนย์แสดงสินค้าเครื่องจักร อีกมากของการพัฒนาอุตสาหกรรม สิง่ พิมพ์ทจี่ ะต้องพัฒนาไปเรือ่ ยๆ ไม่ ของบริษัทซันซินอย่างเต็มรูปแบบ ได้หยุดอยู่แค่น ี้ แนวโน้มการพัฒนา ั ฑ์ยงั มีอกี การเจริญเติบโตของธุรกิจด้านการพิมพ์มกี ารแข่งขันสูงมากน้อยแค่ไหน ด้านการพิมพ์และบรรจุภณ มากมายไม่รจู้ บ ในอนาคตจะต้องหา และมองอุตสาหกรรมการพิมพ์ในอนาคตไว้อย่างไรบ้าง...? อุตสาหกรรมการพิมพ์เป็นอุตสาหกรรมที่มีมาตั้งแต่สมัยดั้งเดิม ซึ่ง วัสดุและเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ใน ก็มีและใช้กันเรื่อยมา จนบางครั้งแยกออกจากชีวิตประจำ�วันไม่ได้ เหมือน อุตสาหกรรมเกี่ยวกับการพิมพ์และ

42 ThaiPrint Magazine


บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด

บรรจุ ภัณ ฑ์ เ พื่อ ให้ ก้ า วไกลและทั น พิมพ์แบบเก่า ราคาของอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกซ์กจ็ ะลดลงอย่างรวดเร็ว การ อัพเกรดของอุ ป กรณ์ อิเ ล็ กทรอนิกส์ ก็จะเป็น ไปอย่ างรวดเร็ วเหมื อนกั น สมัยต่อสภาวะการณ์ แนวโน้มแล้วก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ไล่ตามกันมาอย่างติดติด แต่ก็ยังคงไม่สามารถ ปัจจุบันการพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัล เข้ามาแทนที่อุตสาหกรรมแบบเก่าได้โดยสิ้นเชิง มีการเติบโตมากน้อยแค่ไหนและ ในอนาคตการขยายตัวจะเป็นไป ในทิศทางใด..? แนวโน้ ม ในการพั ฒ นาสิ่ง พิมพ์ในอนาคตยุคใหม่ จะต้องใช้เทค โนโลยีเข้ามาช่วยในอุตสาหกรรมนี้ การพิมพ์แบบดิจิตอลจะต้องถูกนำ� มาใช้อย่างแน่นอน เพราะอีก 2-3 ปี ข้างหน้าก็จะเป็นทีน่ ยิ มทัว่ โลก แต่สง่ิ ที่ทุกๆ คนแสวงหาอยู่นั้นก็จะมีจุดๆ นึงที่ถึงจุดอิ่มตัวของตลาด ดังนั้น สำ�หรับการลงทุนจะ ต้องมีความระมัดระวัง เพราะการ พิมพ์แบบดิจติ อลจะแตกต่างจากการ

ThaiPrint Magazine 43


Print News

ส.อ.ท. ผนึกกำ�ลัง SCB

เดินหน้าพาอุตสาหกรรมไทยเป็นหนึ่งในภูมิภาคอาเซียน ประเดิม!!อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทยนำ�ร่อง

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยร่วมกับธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) จับมือพาอุตสาห-

กรรมไทยสู่ AEC ผ่านงานสัมมนาหัวข้อ “ทิศทางบรรจุภัณฑ์ไทย สู่ความเป็นผู้นำ�ในAEC” เมื่อวันพุธที่ 10 กรกฎาคม 2556 ที่ผ่านมา ณ ห้องวิภาวดีบอลรูม C โรมแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัล ลาดพร้าว โดยได้รับเกียรติจาก ดร.พีรพันุ์ พาลุสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มากล่าวเปิดงานพร้อมปาฐกถาพิเศษในหัวข้อ “นโยบายภาครัฐในการสนับสนุนอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์” หวังให้อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทยนำ�ร่องก้าวเป็นผู้นำ�ใน AEC เพื่อดึงดูดความสนใจและ ส่งเสริมการขายการออกแบบ

คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ประธานคลัสเตอร์การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 44 ThaiPrint Magazine

คุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ ประ ธานคลั ส เตอร์ ก ารพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภัณฑ์สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย เปิดเผยว่าในปัจจุบันคงปฏิเสธ ไม่ได้ว่ารูปแบบของบรรจุภัณฑ์และ การออกแบบการพิมพ์บนบรรจุภณ ั ฑ์ นั้นถือเป็นส่วนประกอบที่ทำ�หน้าที่ สำ�คัญหลายบทบาท ทั้งการปกป้อง สินค้า ทำ�หน้าทีก่ ารสือ่ สารคุณสมบัติ ของสินค้า ทำ�ให้การขนส่งสะดวกมาก ยิ่งขึ้น รวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับสินค้าผ่านการออกแบบและการ


ส.อ.ท. ผนึกกำ�ลัง SCB

พิมพ์บนบรรจุภัณฑ์เพื่อดึงดูดความ สนใจของผู้บริโภค ซึ่งจะนำ�ไปสู่การ ส่งเสริมการขายได้อีกทางหนึ่งด้วย แต่ในอีกด้านหนึ่งก็ยังปฏิเสธไม่ได้ ว่ า การพั ฒ นาบรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละการ พิ ม พ์ ยั ง มี ข้ อ จำ � กั ด อี ก หลายอย่ า ง อาทิ กฎระเบียบ เทคโนโลยี การ สร้างนวัตกรรมเพื่อลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม รวมถึงการออกแบบสือ่ ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ท่ีมีหลาก หลายรู ป แบบและด้ ว ยข้ อ จำ � กั ด หลากหลายที่เป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนาบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ของ ไทยนีเ้ อง ในฐานะคลัสเตอร์การพิมพ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย จึงได้รว่ มกับธนาคารไทย พาณิชย์จำ�กัด(มหาชน)จัดงานสัมมนา “ทิศทางบรรจุภณ ั ฑ์ไทย สูค่ วามเป็น ผูน้ �ำ ในAEC” ขึน้ เพือ่ สร้างความเป็น หนึ่งให้บรรจุภัณฑ์ไทยเป็นหนึ่งใน ภูมิภาคอาเซียน

ThaiPrint Magazine 45


Print News

ดร.พีรพันธุ์ พาลุสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คลัสเตอร์การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีวิสัยทัศน์ที่จะมุ่งสู่ความเป็นผู้นำ�ด้านการออกแบบร่วมกันพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์และวัสดุที่มีรูปแบบหน้าที่การใช้งานต่างๆ ที่หลากหลายประเภท รวม ถึงมีเจตนารมณ์ที่จะสร้างความเข้มแข็งและร่วมมือกันภายในคลัสเตอร์ เพือ่ ยกระดับอุตสาหกรรมการพิมพ์และบบรจุภณ ั ฑ์ของไทยให้เป็น Qualified supplier ที่ได้รับการยอมรับในระดับภูมิภาค โดยจะเริ่มนำ�ร่องในบรรจุภัณฑ์ อาหารที่เป็น High Value Added (HVA) ก่อน และปัจจัยที่จะนำ�บรรจุภัณฑ์ ไทยขยายตลาดเข้าสู่ AEC ได้นั้นผู้ประกอบการต้องเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจากต้นทางจนถึงปลายทางของห่วงโซ่ อุปทาน (End-to-End supply chain) ใช้ความต้องการของลูกค้าเป็นที่ตั้ง (Customer centric) โดยมีการ บริหารแบบ Voice of Customer (Voc) เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้อง

46 ThaiPrint Magazine

การของตลาดได้แม่นยำ�มากขึน้ มีการ ส่งเสริมด้าน R&D เพื่อพัฒนาเทคโน โลยี แ ละนวั ต กรรมด้ า นการพิ ม พ์ และบรรจุภัณฑ์ ยกระดับและพัฒนา ทักษะฝีมือแรงงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ในอุตสาหกรรมมีการยกระดับและ พั ฒ นาทั ก ษะด้ า นการออกแบบ บรรจุภัณฑ์รวมถึงต้องมีการพัฒนา ระบบการบริ ห ารจั ด การเพื่ อ ลด ต้นทุนด้านการผลิต การขนส่ง และ โลจิ ส ติ ก ส์ ไ ปในขณะเดี ย วกั น ด้ ว ย คุณเกรียงไกร กล่าว ด้าน นางสุธารทิพย์ พิสิฐ บัณฑูรย์ ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่อาวุโส รองผูจ้ ดั การกลุม่ ลูกค้าธุรกิจ ธนาคาร ไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) กล่าวว่า ทีผ่ า่ นมาอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ไทย มี ก ารขยายตั ว ในระบบเศรษฐกิ จ อย่างต่อเนือ่ ง แต่กย็ งั พบว่ามีขอ้ จำ�กัด หลายอย่างที่ผู้ประกอบการจะต้อง ทำ�ความเข้าใจเพือ่ พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ ให้ มีรูป แบบและมาตรฐานที่ส อด คล้องกับความต้องการของตลาด การ


ส.อ.ท. ผนึกกำ�ลัง SCB

จัดสัมมนาวันนีจ้ งึ ถูกจัดขึน้ เพือ่ ให้ผปู้ ระกอบการรับทราบ นโยบายภาครัฐในการสนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์ แนวทางการพัฒนาและข้อจำ�กัดของอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถพัฒนาและยก ระดับอุตสาหกรรมให้เป็นที่ยอมรับในภูมิภาคอาเซียน ได้ นอกจากข้อมูลและความรู้ต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไทยแล้ว ธนาคาร ไทยพาณิชย์และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยยัง เห็นร่วมกันว่า เงินทุนทีจ่ ะนำ�มาพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์กเ็ ป็น ส่ ว นสำ � คั ญ อี ก ส่ ว นหนึ่ ง ที่ จ ะนำ � ไปสู่ ก ารพั ฒ นาด้ า น ต่างๆ ของผู้ประกอบการได้โดยเราพร้อมที่จะสนับสนุน ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมโดยการสนับสนุนทางการ เงินให้กับผู้ประกอบการเพื่อให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างเต็ม ศักยภาพ ซึง่ ธนาคารไทยพาณิชย์ยนิ ดีเป็นส่วนหนึง่ ของ ความสำ�เร็จของธุรกิจเพื่ออุตสาหกรรมไทยก้าวไกลใน AEC นางสุธารทิพย์กล่าว

ThaiPrint Magazine 47


Printing Business

Adobe PDF Print Engine โดย กิตติ พรพิพัฒน์วงศ์

บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด DigitalPrint Expert

| 25489-13

vpc

สวัสดีท่านผู้อ่านทุกๆ ท่านครับ แรกเริ่มเลยตั้งใจไว้ว่าจะเขียนเรื่อง ผมขอเกริน่ น�ำให้ทา่ นผูอ้ า่ น PSD ต่อ แต่ผมได้รับค�ำถามจากหลายๆ ท่านถามว่า ทราบก่อนถึงเรือ่ งของ Configurable PostScript Interpreter (CPSI) หรือ 1. ท�ำไม Adobe CPSI ยังมีการใช้งานอยู่ เพราะอะไร? เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า PostScript RIP 2. Hybrid RIP คืออะไร มีวัตถุประสงค์ในการสร้างอย่างไร? ซึง่ ผมเชือ่ ว่าท่านผูอ้ า่ นทีเ่ ป็นขาประจ�ำ 3. Adobe PDF Print Engine รองรับไฟล์งานประเภท Variable บทความของผมคงทราบมาบ้างแล้ว Data ได้ หรือไม่? ว่ามันคืออะไร 4. Adobe PDF Print Engine ของเครื่องพิมพ์ยี่ห้ออะไรดีที่สุด ส�ำหรับผู้อ่านหน้าใหม่ผม วัดผลกันอย่างไร? ขออธิบายสั้นๆ ครับ CSPI คือ ตัว แปลภาษา PostScript ให้กลายเป็น ภาพ (Raster File) ซึ่งอยู่กับงาน Pre Press มานานกว่า 40 ปี ตัว CPSI เป็นสมองของ Computer to Film (CTF) หรือทีเ่ รียกกันอย่างติดปากว่า Image Setter นั่นเอง โดยจะท�ำการ แปล PostScript ให้กลายเป็น Film เพือ่ น�ำไปท�ำเพลทต่อไป ภาษา Post Script ก็คือ ภาษากลางที่คิดค้นโดย Dr.John Warnock ซึ่งขณะนั้นท�ำ งานอยู่ที่บริษัท Xerox Corporation และได้นำ� เสนอเรือ่ งนีก้ บั ผูบ้ ริหารของ Xerox แต่ไม่ได้รับความสนใจ พี่เค้า เลยน้อยใจลาออกไปเปิดบริษัทร่วม กันกับ Dr. Charles Geschke แล้ว 48 ThaiPrint Magazine


Adobe PDF Print Engine

ก่อตั้งบริษัท Adobe Systems Incorporated ทีท่ กุ ท่านรูจ้ กั กันนัน่ เอง ภาษา PostScript ใช้ในการสื่อสาร ระหว่าง RIP กับ Software ที่ใช้ทำ� งานต่างๆ เช่น Adobe Creative Suite Software, Microsoft Suite หรือ Software ที่ใช้ในการจัดวางหน้า งานต่างๆ (Imposition) ถ้าไม่มีภาษา กลาง ตัว RIP คงเหนื่อยหนักชนิด สาหัส เพราะต้องคอยเพิ่มความ สามารถในการแปลงไฟล์งานให้กลาย เป็นภาพทุกครั้งเมื่อมีโปรแกรมใหม่ เกิดขึน้ เช่น ถ้าผมเขียนโปรแกรมขึน้ มาตัวหนึง่ มี Format File คือ .ars ตัว RIP ก็ตอ้ งคอยมาเพิม่ ความสามารถ ในการแปลงไฟล์นามสกุล .ars ลงไป ใน RIP ซึ่งในความเป็นจริงมันท�ำไม่ ได้ ดังนั้นจะสังเกตว่าทุกครั้งที่เราสั่ง พิมพ์งาน จึงต้องเลือก Driver เครือ่ ง พิมพ์ก่อน ตัว Driver นั่นแหละคือ ตัวแปล Format File ต่างๆ ที่มีให้ กลายเป็นภาษา PostScript เพื่อให้ RIP สามารถแปลงรายละเอียดที่ได้

รับให้กลายเป็นภาพได้นั่นเอง ทุกท่านคงทราบว่า PostScript ไม่สนับสนุน การท�ำงานของ Transparency ซึง่ เป็นจุดหนึง่ ทีเ่ ราต้องให้ความส�ำคัญเพราะ Transparency เป็นส่วนหนึง่ ทีส่ ำ� คัญของการ Design งาน เช่น การใส่ Effect Drop Shadow, การน�ำไฟล์ PSD (รวมทัง้ Smart Object)มา Place ใน Illustrator หรือ InDesign ซึง่ เป็นเรือ่ งปกติในการท�ำงาน ดังนัน้ เมือ่ RIP ของคุณเป็น แบบ CPSI งานออกแบบที่มีการใช้ Transparency ทัง้ หมดจะถูก Flattening ทุกครัง้ ก่อนการพิมพ์ ซึง่ เรือ่ งของ Color Management หรือ Color Mode ใน Object บางตัวก็จะเปลี่ยนแปลงไป ผมขอยกตัวอย่างเรือ่ งสีครับ ท่านทราบ หรือไม่? ว่าการท�ำ Flattening ในโปรแกรมออกแบบ เช่น InDesign จะท�ำการ Flatten งานตามค่าที่ตั้งเอาไว้ใน Document Blending Mode เช่น ถ้าตั้งไว้ ว่า RGB แต่ภาพที่ใช้ใน InDesign เป็น CMYK และมีการใส่ Effect Drop Shadow เมื่อมีการท�ำ Flattening ภาพ CMYK จะถูกแปลงเป็น RGB โดย อัตโนมัติ ซึ่งก็จะผิดไปจากความต้องการของผู้ออกแบบทันทีใช่ไหมครับ นอกจากนั้นท่านผู้อ่านทราบ หรือไม่? ถ้าท่านแปลงไฟล์งานเป็น PDF และ ส่งไปพิมพ์กบั RIP ทีเ่ ป็นแบบ CPSI เมือ่ ตัวRIP ได้รับไฟล์งาน จะท�ำการ แปลงไฟล์จาก PDF ให้กลายเป็น PostScript ก่อน ด้วย PDF Library แล้ว จึงท�ำการแปลงให้เป็นภาพ Raster อีกครั้ง ซึ่งในกระบวนการนีก้ อ็ าจจะมี ปัญหาเรือ่ ง Object บางตัวหายไป เช่น ภาพหายไป, กราฟฟิคหายไป เป็นต้น ซึง่ ปัญหาดังกล่าวมาจาก PDF Library ทีอ่ ยูใ่ น RIP เป็นเวอร์ชั่นเก่า เมื่อมี การสร้างไฟล์ และ Effect ต่างๆ ด้วย Software เวอร์ชั่นใหม่ เช่น Adobe CC อาจท�ำให้เกิดปัญหาแบบนี้ได้ แต่เดี๋ยวก่อนยังไม่หมดครับ ทุกท่านต้อง อย่าลืมครับว่าภาษา PostScript นัน้ ทาง Adobe ประกาศหยุดการพัฒนา แล้ว ดังนัน้ ลองคิดดูครับว่าท่านผูอ้ า่ นจะฝากระบบการพิมพ์ไว้กบั PostScript ThaiPrint Magazine 49


Printing Business

แบบเดิม หรือไม่? ซึ่งหมายถึงการฝากอนาคตของเรา ไว้กับสิ่งที่แทบจะไม่มีอนาคตแล้ว คุ้มไหมครับ? ผมเชื่อ ว่าทุกท่านมีค�ำตอบอยู่ในใจอยู่แล้วว่ามัน “ไม่คุ้ม” ส่วน Adobe PDF Print Engine หรือเรียกอีก อย่างว่า APPE เป็น RIP หรือ สมองทีใ่ ช้ในการขับเคลือ่ น Computer To Plate (CTP) มามากกว่า 10 ปี แต่ปจั จุบนั นี้ ถูกน�ำมาใช้ในเครือ่ งพิมพ์ดจิ ติ อลอย่างกว้างขวางมากขึน้ อย่างทีท่ ราบกันครับว่า Adobe PDF Print Engine สร้างมา

50 ThaiPrint Magazine

เพือ่ รองรับไฟล์งาน PDF แบบ Direct หมายความว่า เมือ่ มีการส่งไฟล์งานไปพิมพ์ จะไม่มกี ารแปลงค่าอะไรทัง้ สิน้ มันจะประมวลผลไฟล์ PDF ให้กลายเป็นภาพทันทีโดย ไม่มกี ารสูญเสียรายละเอียดใดๆ รวมทัง้ ไม่มกี ารท�ำ Flat tening (Live Transparency) ด้วย งานพิมพ์ทถี่ กู Design ด้วย Effect ต่างๆ จาก Adobe Suite Software จะยังคง อยู่อย่างครบถ้วน ลดปัญหาเรื่องสีที่เคยเกิดขึ้นกับงาน ที่พิมพ์ด้วยระบบ RIP แบบ CPSI ไม่ว่าจะเป็นเรื่องชอง การ Design Transparency บนสีพเิ ศษ (SPOT Color) หรือ อื่นๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ เร็ว และดีกว่าแบบ CPSI แน่นอน แต่ทกุ ท่านสงสัยไม่ครับว่า ท�ำไม? ในปัจจุบนั ยังมีการขาย RIP แบบ CPSI อยู่ และค�ำว่า Hybrid RIP คืออะไร? รวมทัง้ ค�ำถามอืน่ ๆ ผมจะตอบทุกท่านในแบบของ FAQ ดังนี้ครับ 1. ท�ำไม Adobe CPSI ยังมีการใช้งานอยูเ่ พราะ อะไร? ตอบ: ความส�ำคัญของ CPSI ในปัจจุบันนี้คือ เพื่อรองรับงานพิมพ์แบบ Variable Data Printing (VDP) เพราะว่างานพิมพ์แบบ VDP กว่า 90% ยังคงอยู่บนพื้น ฐานของ RIP ระบบเก่าตัวนี้ เพราะ Software ประเภท VDP Application ใช้ภาษา PostScript ในการท�ำงานมา


Adobe PDF Print Engine มากกว่า 30 ปี มี Format File VDP ที่รองรับมากมาย เช่น VPS, VIPP, Optimized PS หรือ อื่นๆ ดังนั้น การจะเปลี่ยนรูปแบบงาน VDP ให้ เป็นแบบ PDF เลยเป็นไปได้ยาก อีกทั้งตอนนี้ Format File ของ PDF ส�ำหรับงาน VDP ที่เรียกว่า PDF/VT ก็ยังไม่เป็นที่แพร่หลายอีกทั้ง Software ที่สร้างไฟล์ PDF/VT ยังมีน้อย อยู่ เช่น XMPie, GMC หรือ อื่นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อสงสัยในเรื่อง ของ Performance ว่าเป็นอย่างไร? ดีกว่าเดิมหรือไม่? ซึ่งเป็นเหตุผลที่ ส�ำคัญว่าท�ำไม? ตอนนี้ยังคงมีการ ใช้ CSPI อยู่ในปัจจุบัน 2. Hybrid RIP คืออะไร มี วัตถุประสงค์ในการสร้างอย่างไร? ตอบ: Hybrid RIP เป็น RIP ทีส่ ามารถท�ำงานได้ 2 ส่วนพร้อมกัน คือ มีทงั้ CPSI และ APPE อยูใ่ นตัว สามารถสลับกันใช้ได้ จุดประสงค์เพือ่ ใช้กับงานพิมพ์เฉพาะด้าน เช่น เมื่อ ต้องการพิมพ์งาน Variable Data Printing (VDP) ก็สามารถเลือกใช้งาน RIP แบบ CPSI ได้ หรือ งานออกแบบที่ ต้องการความถูกต้องของสีสนั ความ ถูกต้องของรูปแบบการ Design หรือ อืน่ ๆ ก็สามารถสลับไปเลือก RIP แบบ APPE ในการท�ำงานได้เลยทันที 3. Adobe PDF Print Engine (APPE) รองรับไฟล์งานประเภท Variable Data ได้ หรือไม่? ตอบ: ปัจจุบนั นีร้ ะบบ APPE สามารถรองรับงานพิมพ์แบบ VDP ผ่าน Format File คือ PDF/VT1 และ PDF/VT2 ได้แล้ว ซึ่งทั้ง 2 format รองรับ Live Transparency ด้วย ท�ำ ให้ไม่มีข้อจ�ำกัดด้านการออกแบบ เหมือนกับการใช้ CPSI ทีต่ อ้ งท�ำการ

Flattening effect ก่อนแม้ว่าจะเป็นงาน VDP ก็ตาม ท�ำให้การประมวลผล ของ CPSI ช้ากว่าระบบ APPE แน่นอน (ในทางทฤษฎี) แต่ในเรื่องของ ประสิทธิภาพอย่างอื่นก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องตั้งค�ำถามอยู่ดีว่าเมื่อเทียบกับ ระบบ CPSI แล้วมันดีกว่าจริงหรือไม่ ผมเองยังหาค�ำตอบเรื่องนี้อยู่ ถ้าท�ำ Research เสร็จเมื่อไหร่ จะแจ้งให้ทราบอีกครั้งครับ 4. Adobe PDF Print Engine ของเครื่องพิมพ์ยี่ห้ออะไรดีที่สุด วัดผลกันอย่างไร? ตอบ: การวัดความสามารถของ APPE ว่ารองรับการใช้ Effect ต่าๆ ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของ Transparency, Device N, JPEG 2000 Compression, Color Management, Spot Color หรือ อืน่ ๆ อย่าวัดกันที่ Brochure ของสินค้า หรือ ค�ำพูดของ Sale แต่เรามาวัดกันด้วย Test Chart มาตรฐานดีกว่าครับ เพราะตอนนี้ ECI.ORG ได้สร้าง Test Chart ตัวหนึ่งคือ Altona Test Suite Version 2.0 (ต่อยอดมาจาก Altona Test Suite Version 1.0 ที่สร้างมาเพื่อ ทดสอบความสามารถของ PDF/X-3) มาเพื่อใช้ในการทดสอบ APPE RIP ว่าดี หรือไม่? อย่างไร? สามารถรองรับ PDF/X-4 ได้เต็มรูปแบบ หรือไม่? ซึ่งเราสามารถหา Download Free ได้ที่ www.eci.org โดยจะมีรายละเอียด ของ Test Chart พร้อมค�ำอธิบายในแต่ละหัวข้อ เพื่อให้ผู้อ่านมั่นใจว่าจะไม่ โดนหลอกให้เชื่อว่า APPE จากบริษัท A หรือ B นั้นดีจริงหรือไม่ ผมคิดว่าข้อมูลที่ผมให้ไปคงพอท�ำให้ท่านผู้อ่านเข้าใจเกี่ยวกับ APPE มากขึ้นนะครับ ในฉบับหน้าเรามาต่อกันเรื่อง PSD ตอนที่ 2 ครับ รับรองว่าเข้มข้นถึงใจแน่นอนครับ

ThaiPrint Magazine 51


ลานความคิด

ร ว ค ่ ู ค ่ ี ท ล ั ว ง า ร ะ ล แ ิ ต า ช ง ่ ห แ จ ิ ก ร า ภ ีระสุเวท

ชัยธ โดย.. วงศกร

มีหนังสืออยูเ่ ล่มหนึง่ ทีห่ า่ งหายไปจากชีวติ ของข้าพเจ้านานมากๆ แล้ว และทุกทีทเ่ี ฉียดก็ไม่เคย คิดทีจ่ ะหยิบจับด้วยวัยและความสนใจทีเ่ ปลีย่ นไปมากพอสมควร... ‘ขายหัวเราะ’ ยังคงเป็นหนังสือหรือนิตยสาร รายสัปดาห์ท่ีติดลมบนและทำ�ยอดขายถล่มทลายมาก ทีส่ ดุ เล่มหนึง่ ของประเทศ และน่าจะเป็นการ์ตนู เพียงเล่ม เดียวของประเทศแถวอาเซียนเพือ่ นบ้านเรา ไม่วา่ จะเป็น อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์และเวียดนาม ที่ได้ขึ้น

66 ThaiPrint Magazine

ทำ�เนียบถูกเก็บเข้าไปไว้ในพิพิธภัณฑ์มังงะ (มังงะ หมาย ถึง การ์ตูน) ของประเทศญี่ปุ่น ด้วยลายเส้นที่โดดเด่น และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว (ไม่ได้หมายความว่าประเทศ ที่เหลือไม่มีการ์ตูนเลย แต่ลายเส้นของเค้านั้นไม่มีเอก ลักษณ์เป็นของตัวเอง เพราะไปลอกญี่ปุ่นจ้าวตำ�รับ การ์ตูนในเอเชียมาอีกทีหนึ่ง ซึ่งคนญี่ปุ่นเองก็คงไม่ใคร่ อยากเก็บการ์ตนู ทีเ่ หมือนๆ อย่างทีต่ วั เองมีเกลือ่ นอยูแ่ ล้ว เท่าไรนัก) คนไทยทัว่ ๆ ไป อาจเห็นขายหัวเราะเป็นการ์ตนู ตลกราคาถูกไว้แก้เครียดไปวันๆ เท่านัน้ แต่ความจริงแล้ว หน้าทีข่ องมันยังมีมากกว่านัน้ มาก การ์ตนู ขายหัวเราะนัน้ ถูกจัดให้อยู่ในประเภทการ์ตูนล้อเลียนทางวัฒนธรรม สังคมแกมด้วยการเมืองบ้างเล็กน้อย ซึ่งประเทศไหนๆ ก็มีกันทั้งนั้น (แต่ส่วนใหญ่อาจจะซุกซ่อนอยู่ตามหน้า หนังสือพิมพ์คอลัมน์พ์ เิ ศษมากกว่าพิมพ์ออกมาเป็นเล่ม พ็อคเกตบุ๊ค) และการ์ตูนประเภทนี้มันไม่ใช่แค่ล้อเลียน ใครก็ได้ไปเรือ่ ยเปือ่ ย แต่หน้าทีข่ องมันนัน้ ถือเป็นภารกิจ ที่ต้องจริงจังและทำ�ประโยชน์มหาศาลให้แก่ประเทศ ชาติได้เลย ยามที่เหนื่อยจากหน้าที่การงาน เราก็มักจะพัก ดูข่าวจากทีวีหรือนั่งอ่านหนังสือพิมพ์ โดยคิดว่าจะหา อะไรเพื่อแก้เครียดได้ แต่หลายครั้งยิ่งอ่านยิ่งดูไปก็กลับ พบว่ามีแต่ข่าวเครียดๆ หรือข่าวอะไรประหลาดๆ ทำ�ให้


ขายหัวเราะ ภารกิจแห่งชาติและรางวัลที่คู่ควร

ต้องร้องอุทานและมีค�ำ ถามผุดขึ้นมาในหัวเสมอว่า ‘เกิดอะไรขึ้นกับสังคม ฉันกันแน่เนีย่ ’ ซึง่ นัน่ อาจยิง่ ทำ�ให้เครียดกว่าเดิมเข้าไปใหญ่ ฉะนัน้ แล้วหน้าที่ แก้เครียดนั้นอาจต้องตกมาอยู่กับการ์ตูนล้อเลียนอย่างเลี่ยงหลีกไม่ได้ ขายหัวเราะนั้นได้หยิบจับเรื่องราวธรรมชาติของมนุษย์ผู้ไม่สมบูรณ์ ที่พร้อมจะทำ�เรื่องน่าอาย เพ้อฝัน พิสดารเกินจริง ผิดบาป ผิดกฎหมาย มา ถ่ายทอด และเหตุการณ์เหล่านั้นล้วนเป็นเหตุการณ์จริงๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ไทยมาเล่าสู่กันฟังอยู่เสมอ มันคือตัวแทนของการระบายความอัดอั้นที่เรา อยากจะบ่น อยากจะแชร์เรื่องราวที่เรารู้เห็นกันทั่วไปในสังคมของเรา แต่ ทำ�อะไรกับมันไม่ได้ หรือไม่รู้จะทอดถ่ายมันออกมาอย่างไรดี ฉะนั้น การออกมาวางแผงสัปดาห์ละครั้งของมัน จึงทำ�หน้าที่ ระบายความเครียดเรือ่ งเกีย่ วกับวัฒนธรรม สังคม การเมือง ในสังคมไทยได้ สูงมากไม่แพ้การปรากฎตัวแสดงทอร์คโชว์เดี่ยวไมโครโฟนปีละครั้งของโน้ส อุดมเลยทีเดียว แต่คูณูปการประโยชน์ของมันต่อประเทศไทย ที่ข้าพเจ้าค้น พบยังมีมากกว่านั้น เป็นที่รู้กันดีว่า เอาเข้าจริงแล้ววิถีชีวิตวัยเด็กที่เติบโตมาในเมือง อย่างข้าพเจ้า มักจะมีเงินพอให้จับจ่ายใช้สอยอย่างเหลือเฟือจนมองข้าม การ์ตูนไทยเล่มราคา 12-15 บาท อย่างขายหัวเราะนี้ไปอย่างรวดเร็ว เพื่อ ควานหาการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีให้เลือกอย่างหลากหลายกว่ามาก จนโอกาสที่จะ ได้ซื้อการ์ตูนอย่าง ‘ขายหัวเราะ’ เป็นไม่มี นอกจากนานๆ ครั้งเท่านั้นที่จะ ได้ไปเยือนร้านตัดผมหรือร้านอาหารบางแห่งที่มีบริการหนังสือให้อ่านรอ แก้เซ็ง จนกระทั่งเมื่อไม่นานมานี้ ข้าพเจ้าก็ได้สัมผัส ‘ขายหัวเราะ’ อีกครั้ง หากแต่อ่านมันด้วยสายตาที่เปลี่ยนไป จากเด็กคนหนึ่งที่เคยขำ�อย่างคุ้มค่า จำ�นวน 12 บาทอยู่หลายมุก จนเติบโตมาได้อ่านใหม่ ก็ตกตะลึงในความ ลุ่มลึกทางความคิดของผู้เขียน จนต้องสบถกับตัวเองว่า ‘ตายๆ เหตุฉะไหน ขายหัวเราะ จึงยังไม่ได้รับการตั้งแต่เป็น ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรมไทยเสีย ทีเนี่ย’

ข้าพเจ้ารูส้ กึ ว่าสิง่ ทีก่ ระทรวง วัฒนธรรมของประเทศไทยควรจะ กระทำ�มานานมากๆ แล้วก็คือ การ มอบรางวั ล ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นวั ฒ น ธรรมไทยดีเด่น ให้แก่ทีมงานการ์ตูน ‘ขายหัวเราะ’ ถ้าทางกระทรวงเกิด ถามขึ้นมาว่า มีเหตุสมควรอันใด ที่ จะต้องมอบให้รึ? ข้าพเจ้าจะรีบโบ้ย ให้ไปถามฝรัง่ ตาน้�ำ ข้าว ผูส้ นใจศึกษา ภาษาไทยเบือ้ งต้นโดยด่วนทันที สิง่ ทีห่ ลายๆ คนไม่คอ่ ยรู้ คือ การ์ตูน ‘ขายหัวเราะ’ นั้น นอกจาก ประชาชนชาวไทยโดยทั่ ว ไปเป็ น ThaiPrint Magazine 67


ลานความคิด

ตลาดผู้ซื้อกลุ่มใหญ่แล้ว ก็ยังมีตลาดอีกกลุ่มหนึ่งที่ส�ำ คัญ แม้จะไม่เยอะก็ ตามคือ ฝรั่ง ... ใช่แล้ว อ่านไม่ผิด โดยเฉพาะฝรั่งหรือชาวต่างประเทศชาติ อืน่ ๆ ทีส่ นใจศึกษาภาษาไทยเป็นความรูต้ ดิ ตัว เหตุผล ก็ไม่มอี ะไรพิสดาร หาก แต่เป็นเพราะว่ามันอ่านง่าย เข้าใจง่าย กะทัดรัด มีภาพประกอบ ทำ�ให้เรียนรู้ ภาษาไทยได้รวดเร็ว แต่นั่นไม่ใช่ใจความหลักที่ข้าพเจ้าอยากให้กระทรวง วัฒนธรรมได้ยิน

--- ‘ไอว่านอกจากมันอ่านง่ายสนุกแล้ว สิ่งที่ประเทศของยูควรต้อง กลับไปศึกษาจากขายหัวเราะ คือ วัฒนธรรมของตัวละครในเล่ม มันโคตร ‘ไทย’ เลยว่ะ ไอเคยอ่านใบโบรชัวร์แนะนำ�ว่า ประเทศไทยมีวิถีชีวิตดีงาม นู้นนี้ ไอคิดว่าแม้มันจะมีจริงก็ตามแต่มันก็ไม่ใช่ทั้งหมด พฤติกรรมของคน ไทยตามหมู่บ้านที่ไอสัมผัสมาจริงๆ น่ะเป็นเหมือนที่ในขายหัวเราะ บอก เปี๊ยบเลย แต่ไม่ยักกะมีหนังสือเกี่ยวกับสังคมไทยเล่มไหนในประเทศนี้บอก ยูเลยว่าอันนี้แหล่ะคือของจริง’ --68 ThaiPrint Magazine

จากวั น นั้ น ถึ ง วั น นี้ ก าร์ ตู น ‘ขายหัวเราะ’ โลดแล่นอยู่ในหน้า แผงนิตยสารไทยมากว่า 50 ปีเข้าไป แล้ว ขึ้นชื่อว่ามุกของตัวละครเป็น เรื่องของวัฒนธรรม วัฒนธรรมของ มนุ ษ ย์ ย่ อ มเปลี่ ย นแปลงอยู่ เ สมอ การที่จะทำ�ให้ยอดขายไม่ตก ก็ต้อง ปรับปรุงมุขที่จะวาดออกไปตลอด เวลา เพื่อมาสนองคนอ่านเช่นกัน ฉะนั้น ทีมงานการ์ตูนขายหัวเราะ ก็ คงจะสะสมคลังความรู้เรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรมแบบ ‘ไทยๆ’ ไม่น้อย แม้ มันจะไม่ใช่ด้านดีที่จะสามารถเอา ไปอวดใครๆ ได้ก็ตาม ถ้าเราอ่านอย่างตรงไปตรง มา ไม่คิดอะไรมาก มันก็คือหนังสือ ที่ ร วมความเป็ น ธรรมดาสามั ญ หลายอย่างของมนุษย์ที่ใครๆ ก็อาจ เผลอพลาดไปทำ�ตามอย่างการ์ตูน นัน้ ได้ มาให้เราได้ข�ำ ขันเฮฮากัน แต่ ถ้ า จะมองมั น ในอี ก มุ ม หนึ่งให้ลึกขึ้น หนังสือเล่มนี้ถือได้ว่า เป็น ‘สารานุกรมวัฒนธรรมคนไทย’ ที่แหวกแนวไปกว่าเล่มไหนๆ คงจะ ไม่เกินเลยมากนักที่จะบอกว่า ขาย หั ว เราะคื อ ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นวั ฒ น


ขายหัวเราะ ภารกิจแห่งชาติและรางวัลที่คู่ควร ธรรมสังคมไทยร่วมสมัย (ที่โดนมองข้าม) ตัวจริง เราเองนั้นก็ควรจะต้องกลับไปอ่านขายหัวเราะ ใหม่ด้วยสายตาที่เปลี่ยนไปคือ เรื่องราวที่ถูกนำ�มาถ่าย ทอดในหนังสือเล่มนีน้ น้ั ‘โคตรจะเป็นไทย’ กว่าโบรชัวร์ หรือหนังสือแนะนำ�การท่องเทีย่ วประเทศไทยเล่มไหนๆ คนไทยนัน้ ก็เหมือนชาติอน่ื ๆ มีทง้ั ด้านดีทน่ี า่ ชมอย่างยิง่ และมีทง้ั ด้านเสียทีน่ า่ จะต้องปรับปรุงกันต่อไป แต่ธรรม ชาติของมนุษย์นั้นเมื่อต้องพูดถึงสิ่งที่ตัวเองเป็นแล้ว ก็ มักจะปิดตาเลือกรับรูแ้ ต่ดา้ นดีอยูเ่ สมอ (หลายครัง้ ก็เป็น ด้านดีที่มาจากการสร้างจินตนาการกันขึ้นมาเอง แล้วก็ เออออกันว่าจริงไปในท้ายที่สุด) ไม่ใช่เพียงแค่ ขายหัวเราะ ... ละครน้�ำ เน่าของ ไทยหลายเรื่อง ก็ฉายภาพวิถีชีวิตแบบไทยๆ ได้อย่าง โดดเด่นมาก หรือแม้กระทั่งรายการทีวีที่นำ�เสนอเรื่อง จริงบ้างโม้บ้างผ่านวิถีชีวิตของชาวบ้านกับตำ�รวจไทย ได้อย่างขำ�ขันสุดๆ อย่าง ‘คดีเด็ด’ ก็ตาม การแอบส่อง ผู้หญิงเข้าห้องน้�ำ เอย วงเหล้าเอย ขาไพ่เอย หาเลขเด็ด ขอหวยเอย ซ่องโสเภณีเอย เหล่านี้คือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆ ในเมืองไทยอย่างที่เราๆ ท่านๆ เองก็ล้วนรู้กันดีอยู่ แต่ บางทีก็เลือกที่จะมองข้ามในการศึกษามันอย่างจริงๆ จังๆ และหลายทีผู้ใหญ่ในบ้านเมืองเองก็ปฏิเสธมันไป อย่างสิ้นเชิง ปราชญ์ดา้ นการพัฒนาสังคมกล่าวไว้วา่ รากฐาน การพัฒนาประเทศที่ดีนั้นอันดับแรกสุดคือ ต้องยอมรับ ความเป็นจริงตามทีม่ นั เป็นอยูก่ อ่ น ทุกๆ ประเทศก็ลว้ น แต่มีด้านแปลกๆ อัปลักษณ์ให้ต้องปกปิดและไม่ควรนำ� มาขึน้ โบรชัวร์การท่องเทีย่ วด้วยประการทัง้ ปวงเหมือนๆ กันทัง้ สิน้ แต่ถา้ กระทรวงวัฒนธรรมหรือผูใ้ หญ่ในประเทศ ทำ�เป็นไม่รู้ไม่ชี้ ไม่กล้าจะเปิดใจยอมรับ การวิจัยเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาอย่างรอบครอบรัดกุมก็คงไม่เกิด เมื่อมันไม่เกิด เราก็คงพัฒนาสังคมไปอย่างสะเปะสะปะ เกาไม่ถูกที่คัน และก็ล้มเหลวในการแก้ไขปัญหาสังคม ซ้ำ�ไปซ้ำ�มาอยู่อย่างนั้น ลายเส้นของการ์ตูน ‘ขายหัวเราะ’ เป็นสิ่งที่มี เอกลักษณ์แม้แต่คนญีป่ นุ่ เองก็ยงั ต้องทึง่ นัน้ ไม่มขี อ้ สงสัย เป็นแน่ แต่สง่ิ ทีโ่ ดดเด่นและสำ�คัญกว่าคือ story และการ เล่าเรื่อง พฤติกรรมของตัวการ์ตูนขายหัวเราะนั้นแม้จะ ทำ�ให้เราต้องอายกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในเมืองไทยก็ตาม แต่ถ้ามองอีกมุมหนึ่ง มันก็เป็นสิ่งที่เราต้องยอมรับและ

ยืดอกภูมิใจไม่น้อยว่า อย่างน้อยก็มีคนกลุ่มหนึ่งที่ไม่ หลอกตัวเองจับจุดด้อยพลิกขึ้นมาเป็นจุดแข็งจนทำ�ให้ ชาวญี่ปุ่นยอมรับได้ ลองคิดดูเล่นๆ ถ้ากลุ่มทีมงานหัวเราะหลอกตัว เองด้วยการจับเรือ่ งราว การไหว้ การยิม้ ประเพณีอนั แสนดี ที่กระทรวงวัฒนธรรมพร่ำ�บอกกันเสมอๆ ในโบรชัวร์มา เขียนเป็นการ์ตูนมันจะเป็นยังไง... การ์ตูนเล่มนี้ก็คงไม่มี ทางได้ขึ้นทำ�เนียบพิพิธภัณฑ์มังงะเป็นแน่ มันคงจะน่า เบื่อ จืดชืด ไม่สนุกและไม่ชวนขำ�เอาเสียเลย ชื่อเค้าก็ บอกอยู่แล้วนิว่า ขายหัวเราะ เราลองมาหัวเราะให้กับ ความอัปลักษณ์ของประเทศไทยกันหลายๆ ครั้งดีมั้ย การขำ�ตัวเอง อาจเป็นก้าวแรกของการยอมรับความเป็น จริงและอาจทำ�ให้สิ่งที่เห็นสิ่งที่เป็นอยู่ต่างๆ มันดูดีขึ้น อย่างผิดหูผิดตา ที่มา : blogazine.in.th

ThaiPrint Magazine 69


Print Technology

เมื ่ อ ต้ อ งการพิ ม พ์ ส ี น ้ ำ � เงิ น โทน รี เฟล็ ก บลู Reflex Blue… ส

วัสดีครับ วันนี้กระผมนายไอไอเค มีบทความน่ารู้เกี่ยวกับ การพิมพ์สีน�้ำเงินโทนรีเฟล็กบลู Reflex Blue มาฝากกันนะครับ ถ้าอยากรู้ว่า Reflex Blue คืออะไร ใช้งานยังไง เชิญติดตามอ่านได้เลยครับ สีรีเฟล็กบลู (Reflex Blue) เป็นหนึ่งในกลุ่มสีพิเศษที่ใช้มาก โดย เฉพาะในงานพิมพ์สีที่เกี่ยวกับโลโก้ต่างๆ ขององค์กร และยังคงเป็นสีที่ สร้างปัญหางานพิมพ์มากที่สุดด้วย สีรเี ฟล็กบลู มักมีปญ ั หาพิมพ์ขอบล้น มีความทนข่วนทีต่ �ำ่ มีคา่ ทน แดดน้อยและมีค่าการแห้งตัวช้า นอกจากนี้ยังคงมีปรากฏการณ์สีเหลือบ (bronzing) ทำ�ให้เฉดสีลอยและเปลี่ยนไปจากน้ำ�เงินเป็นม่วง เมื่อมองที่ มุมมองต่างกัน และเมื่อมีการผสมกับสีพิเศษโทนน้�ำ เงินอื่นแล้ว สีรีเฟล็กบลูที่ปน เปื้อนกับหมึกสีนั้นๆ จะส่งผลด้านสมบัติที่ไม่ดีของรีเฟล็กบลูต่อผลการ พิมพ์โดยรวมด้วย

Figure 1 ต้องการพิมพ์งานด้วยสี Reflex Blue 72 ThaiPrint Magazine

สีรีเฟล็กบลู การแห้งตัว ที่ช้า หมึ ก พิ ม พ์ ซึ่ ง ทำ � จากเรซิ น วานิช น้�ำ มันลินซีด น้�ำ มันถัว่ เหลือง และตัวทำ�ละลายและรวมตัวกับสาร ให้สี ในส่วนของเรซินและวานิชทำ� หน้าที่ควบคุมค่าความเหนียวและ ความเงาของหมึกพิมพ์ ในขณะที่ ตัวทำ�ละลายทำ�หน้าทีค่ วบคุมความ เสถี ย รของการพิ ม พ์ แ ละการไหล


อินเตอร์อิ้งค์

น้�ำ มันแห้งทำ�หน้าทีค่ วบคุมความแข็ง แรงของชั้นหมึก ค่าการแห้งตัวและ การเซ็ตตัว ส่วนสารให้สีทำ�หน้าที่ ให้สีต่างๆ ของเฉดหมึก ถึงแม้ว่าสารให้สีแต่ละตัว มีความเป็นเอกเทศ ส่วนมากมีรูป ร่างที่เป็นรูปแบบและพื้นที่ผิวที่แน่ นอน แต่ในกรณีของสีรีเฟล็กบลู กลับไม่เป็นเช่นนั้น โดยมีรูปร่างไม่ แน่นอน ในการทำ�หมึกสีรีเฟล็กบลู ผู้ผลิตหมึกต้องทำ�การเคลือบผิวสาร ให้สีที่เหมาะสมและจำ�เพาะ เป็น ผลทำ�ให้ต้องรับความชื้นมากกว่า หมึกสีในสูตรอื่นๆ ซึ่งเป็นสาเหตุ ทำ�ให้หมึกสีนี้แห้งช้าไปด้วย กลไกการแห้งตัวของหมึก พิมพ์โดยทั่วไปอาศัยสองรูปแบบ ด้วยกัน กล่าวคือ ใช้วิธีดูดซึมลงใน กระดาษและการระเหยจากพื้นผิว ในขณะที่หมึกแห้งตัว สารให้สีที่มี รูปต่างแน่นอน จะเซ็ตตัวอยู่ใกล้ กันและเรียงตัวค่อนข้างมีระเบียบ

Figure 2 ภาวะ Bronzing ที่เกิดจากสี Reflex Blue

และเรียบในชั้นหมึกพิมพ์ อย่างไรก็ตาม สารให้สีรีเฟล็กบลูมีพื้นผิวหยาบ บนชั้นหมึก แม้ว่าเมื่อสัมผัสชั้นหมึกจะรู้สึกแห้ง แต่เมื่อถูเบาๆ จะทำ�ลาย ผิวของชั้นหมึกและทำ�ให้สารให้หมึกในชั้นถัดไปเปิดเผยสู่ภายนอก จึง เป็นสารเหตุที่ท�ำ ให้หมึกสีรีเฟล็กบลูนี้ ไม่ทนข่วนและเสี่ยงต่อการซับหลัง เนื่องจากสาเหตุนี้ด้วย

ThaiPrint Magazine 73


Print Technology

สีรีเฟล็กบลูสีเพี้ยนไป ภาวะที่ สี รีเ ฟล็ ก บลู ที่ เ ปลี่ ย นไปสามารถเกิ ด ขึ้ น ได้ เ มื่ อ ชั้ น หมึ ก พิมพ์ถูกพิมพ์ทับด้วยวอเตอร์เบสโคดติ้งหรือ UV โค๊ดติ้ง ซึ่งเกิดจากปฏิกิริยาทางเคมี เนื่องจากผลของความไม่เข้ากันของ pH ระหว่างความเป็น ด่างในวอเตอร์เบสโคดติ้งกับสารให้สีที่ไวต่อความเป็นด่าง เช่น รีเฟล็กบลู ซึ่งโดยมากจะทำ�ให้ความเป็นสีน�้ำ เงินของรีเฟล็กบลูจางลง จึงเป็นผลทำ� ให้แผ่นพิมพ์ที่วิ่งก่อนจะซีดไป

2. ใช้ระบบการพิมพ์ดว้ ย UV เนื่องจากสามารถแห้งตัวได้ทันที 3. พิมพ์กองให้น้อยแผ่นลง ซึ่งจะช่วยให้มีอากาศถ่ายเทได้ดี 4. วางแผนพิมพ์วันสุดท้าย ของสัปดาห์ เช่น พิมพ์วันศุกร์ หรือ วันเสาร์ เป็นต้น เพื่อให้งานพิมพ์มี เวลาแห้ ง ตั ว สมบู ร ณ์ ก่ อ นนำ � ไปสู่ ข้อแนะนำ�เมื่อต้องการใช้งานสีรีเฟล็กบลู กระบวนการถัดไป 1. อย่าใช้รีเฟล็กบลู หรือใช้ให้น้อยที่สุด หรือพยายามเลี่ยงใช้ตัว 5. พิมพ์วานิชทับ เพื่อป้อง เทียบสีรีเฟล็กบลู ซึ่งอาจมีความแตกต่างของเฉดสีบ้าง กันเรื่องรอยขีดข่วนที่อาจเกิดขึ้น ได้ โดยเลือกวอเตอร์เบส หรือ UV โค๊ดติ้งที่มีความเป็นด่างต่ำ�ๆ หรือ มีค่าทนความร้อนที่สูง และต้องมี การทดลองการพิมพ์โดดนี้ก่อนวิ่ง งานจริง โดยทดสอบทัง้ ในส่วน solid และ halftone ทุกครั้ง เลือกโค๊ดทับ ครึ่งหนึ่ง ส่วนอีกครึ่งหนึ่งไม่ทำ�การ โค๊ด เปรียบเทียบทดสอบ

74 ThaiPrint Magazine


Print Knowledge

ผศ.ดร. การดี เลียวไพโรจน์ Thammasat Business School karndee@tbs.tu.ac.th

Quick overview of ASEAN ASEAN Community History 1967 Beginning of ASEAN Community Founded with 5 countries (Indonesia, Malaysia, Phillippines, Singapore, & Thailand) 1984 Brunai Darussalam joined 1990s Vietnam, Laos PDR, Myanmar, & Cambodia joined redpectively 1997 ASEAN Vision 2020 adopted by ASEAN leaders 2003 ASEAN Community established ASEAN Community comprised of three pillars - ASEAN Political-Security Community - ASEAN Economy Community - ASEAN Socio-Cultural Community 2007 Acceleration of the Establishment of an ASEAN Community by 2015 (from 2020) Developed Roadmap for and ASEAN Community 2009-2015 Each pillar with own Blueprint

78 ThaiPrint Magazine

Key facts ASEAN

“With China, India and other emerging economies entering the global arena, ASEAN must ensure that it stays ahead of the pact by establishing itself as a cohesive economic region.” Malaysian Ministry of International trade

Population : approx 600 Mn GDP : US$ 1.5 Bn Trade US$ 1.5 Bn FDI : US$ 60 Bn Enployment : 276 Mn


ASEAN Beyond 2015

ASEAN Community 2015 for a common regional vision 3 Key pillars to drive vision: political security, economic, & socio-cultural AEAN Community 2015 Vision “To transform ASEAN into a stable, prosperous, and highly competitive region with wquitable economic development, and reduced poverty and socio-economic disparities” AEAN Political-Security Community (APSC) “To be a cohesive, peaceful, stable & resilient region with shared responsibility for comprehensive security ... a dynamic & outward-looking region”

AEAN Economic Community (AEC)

AEAN Socio-Cultiral Community (ASCC)

“To be a single market & production base ... a region with tree movement of goods, services, investment, skilled labor, and freer flow of capital...”

“ASCC is focused on nurturing the human, cultural and natural resources for sustained development in a harmonious and people-oriented ASEAN”

Key focus & highest impact area

ASEAN Economic Community (AEC) 4 key characteristics The focus is the creation of single market and production base

1

2

3

4

Single market and production base

Competitive economic region

Equitable economic development

Integration with the Global economy

1.1 Free flow goods

2.1 Competition policy

3.1 SME Development

1.2 Free flow services

2.2 Consumer protection

1.3 Free flow investment

2.3 Intellectual property rights (IPR)

3.2 Initiative for ASEAN integration

4.1 Coherent approach towards external economic relations

1.4 Free flow capital 1.5 Free flow skilled labor

2.4 Infrastructure development

4.2 Enhanced participation in global supply networks

1.6 Priority integration sectors 1.7 Foods, agriculture, and forestry

ThaiPrint Magazine 79


Print Knowledge

MEGA TRENDS TO ASEAN MARKET TRENDS 7 Major ASEAN Social Factors & Trends are reshaping ASEAN societies and way of life

1

Influx of foreign investment and increasing job opportunity Average FDI Inflow Annual Growth (2007-2011) ASEAN Average = 29%

Vietnam Thailand Singapore Philippines -14% Myanmar Malaysia Lao PDR Indonesia Cambodia Brunei

5% 8%

Domestic impact of Internationalization raises awareness of self & international cultures Diverse workface & talent pools Resource exploitation ASEAN needs to orchestrate the rapid growth

41% 18%

115%

12%

52%

5%

50%

Urban area - the engine room of economic grownth Lao PRD posts largest urbanizing growth The ASEAN cities are growing faster than infrastructure Expanding urbanization creates waves of new ASEAN consumers

2

Urbanization & migration in ASEAN Labor Migration (% of population), 2010 Emigrants

Intra ASEAN Migration (thounsand of migrants)

Immigrants

Emigrants

Immigrants

40.7%

1883.0 1518.7

80 ThaiPrint Magazine

1163.0 448.2

t

222.021.5

Vie

262.3

ai

122.3

g

ill

9.1

Ph

n My

l

0.8

Sin

10.1

Th

335.4

321.1

Ma

82.8

Lao

158.5

o

53.7

320.6

Ind

120.3

m

9.3

Ca

0.1%

t

2.5%

Bru

Th

g

ill

ai

1.2%1.7%

0.5%

Ph

My

a

1.0% 0.2%

Vie

6.1%

4.6%

Sin

8.4% 5.3%

Ma l

2.7% 0.3%

Lao

0.1%

o

1.1%

Ind

Ca

m

2.3% 2.2%

1195.6


ASEAN Beyond 2015

ASEAN is steadily urbanizing … in diverse rates

• ASEAN is steadily urbanizing • In 1950, only around 15% of its population lived in urban areas. • In 2010, it reached 49.24%. • In Brunei Darussalam, more than 75% of its population living in the urban area. • About merely less than half of its populations living in the urban area in Philippines and Indonesia. • Around 30% of the population of CLMV and Thailand are living in the urban area. • Interestingly, Lao PDR posts the most significant growth around 5.1% during 2005-2010 Urban Population % of population

Brunei Darussalam Cambodia Indonesia Lao PDR Malaysia Myanmar Philippines Singapore Thailand Vietnam

% change per annum

1990

1995

2000

2005

2010 1990-1995 1995-2000 2000-2005 2005-2010

65.8 12.6 30.6 15.4 49.8 24.7 48.6 100 29.4 20.3

68.6 14.2 35.6 17.4 55.7 25.9 48.3 100 30.3 22.2

71.1 16.9 42 22 62 27.8 48 100 31.1 24.5

73.5 18.8 43.1 27.4 67.6 30.4 48.1 100 32.3 27.3

75.7 20.1 44.3 33.2 72.2 33.6 48.9 100 34 30.4

3.6 5.5 4.5 5 4.8 2.4 2.2 2.9 1.8 3.8

3.2 5.8 4.7 7 4.6 2.6 2 2.9 1.3 3.5

2.7 3.7 1.8 6.1 3.7 2.5 2 1.2 1.9 3.5

2.4 2.6 1.7 5.1 2.8 2.8 2.1 2.8 1.7 3.2

Source : The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (Escap). (2011). Statistical Yearbook for Asia and the Pacific 2011.

Vietnam’s urbanization – Ho Chi Minh City

• Ho Chi Minh City • Foreign investment is concentrated around the city area • By 2015, the urban proportion of the population in Vietnam will expect to reach 38% of total national population and 45% by 2020. This is equivalent to an urban population of 44 million ThaiPrint Magazine 81


Print Knowledge

Vietnam’s urbanization – Ha Noi

• Global Sphere, a Dubai-based company, just announced a US$30 billion investment in 35 sq-km real estate development in Hanoi. • Expected to complete by 2030 • The company plans to build about 70 residential towers in the area, which dubbed as “Hanoi Wall Street”

Urbanization in Lao PDR

• Among ASEAN countries, Lao PDR is experiencing the highest urbanization rate of 4% – 5% per annum. • Vientiane Urban Infrastructure and Services Project • Luang Prabang Urban Improvement and Heritage Conservation

82 ThaiPrint Magazine


ASEAN Beyond 2015

3

Rise of ASEAN middle class and new riches Booming consumer products/services – technology products Driver of entrepreneruship and innovation Spending than saving Risk of household debt and financial vulnerability

The Rise of ASEAN Middle Class

Economic Growth Engine Educated Unique Life Style and Taste Technology Oriented Environmental Conscious Spending than Saving

ThaiPrint Magazine 83


Print Knowledge

More earning – more spending • Booming industry and consumer products and services – technology products • Massive talented producers and consumers • Spending than saving – the risk of household debt and financial vulnerability Source: Percentage of ASEAN Population. ON MALL Co., Ltd. (2011). In Euromonitor Interna@onal. (2009a).

Where to shop in Vietnam

• Vietnam still has only one shopping mall per million people, compared to an average of 10 per million in developed countries. • So there are plenty of opportunities available to get into the Vietnamese retail market. • Although it has 1.2 times the population of Thailand, Vietnam has 50 times fewer hypermarkets per capita. • Hypermarkets are well suited to markets where commercial space is readily available, where real estate costs are low, and where low retail prices are especially attractive to consumers.

84 ThaiPrint Magazine


ASEAN Beyond 2015

4

Expansion of IT & social media Fast growing internet users and penetration Borderless source of knowledge Rise of digital consumers and entrepreneurs & business Social participation & culture integration Privacy invasion

ThaiPrint Magazine 85


Print Knowledge

5

Greying ASEAN ASEAN is getting old before growing rich Especially in Singapore, Thailand, and Vietnam Working after retirement age Coping with producitivty issue – SG Coping with healthcare and well being

6

Women Advancement Balancing between work and family Family responsibilities – constraints to choice of career New work model

Master Card Worldwide Index of Women’s Advancement 2012 ประเทศ

คะแนนรวม (2012)

ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส สิงคโปร เวียดนาม ไทย จีน ฮองกง ไตหวัน มาเลเซีย

83.3 83.1 77.8 77.4 75.0 74.6 73.7 73.7 73.5 68.3

การศึกษาระดับ ชั้นอุดมศึกษา 134.5 137.7 125.8 98.1 107.2 133.2 118.4 104.2 107.0 135.9

อินโดนีเซีย ญี่ปุน เกาหลี อินเดีย

37.9 64.8 63.5 48.4

103.3 89.8 73.1 69.5

86 ThaiPrint Magazine

คะแนนโดยรวมป 2012 การเปน ความเปนผูนำดาน การมีสวนรวม เจาของธุรกิจ ธุรกิจและภาครัฐ ในกำลังแรงงาน 56.6 73.1 61.6 46.8 77.1 53.2 47.1 192.3 62.8 46.0 65.5 74.0 37.5 32.7 90.1 38.5 36.0 79.9 42.6 24.0 64.3 29.0 48.4 75.1 30.4 34.3 78.9 32.5 58.7 57.1 35.9 29.4 42.2 32.5

45.9 15.0 17.3 65.8

61.0 69.0 68.9 35.9

โอกาสทางการ จางงานทั่วไป 105.5 111.1 98.1 113.6 71.6 95.2 82.8 110.1 109.0 111.2 94.4 105.3 102.8 52.9


ASEAN Beyond 2015

7

Culture Coaliation Multicultural work place Diverse workforce: different values & etiquettes Better be adaptable

One Size only fits One ASEAN IS NOT ASEAN ASEAN in itself is a fragmented market.

• Various Cultural Backgrounds & Languages • Different Beliefs & Lifestyle • Different Work Habits & Personality • Different Education System & Children Development Scheme

ASEAN Heterogeneity Ethnicity

Various Cultural Backgrounds & Languages Burman 68% Shan 9% Karen 7% Rakhine 4% Chinese 3% Indian 2% Mon 2% Other 5%

Khmar Viet Chinese Other MYANMAR

Thai 75% Chinese 14% Other 11% Malay 50% Chinese 23% Indigenous 11% Indian 7% Other 8% Chinese 77% Malay 14% Indian 8% Other 1%

90% 2% 1% 4%

LAOS THAILAND

Lao 55% Khmou 11% Hmong 8% Other 26% (Over 100 minor groups)

Kinh (Viet) Tay Thai Muong Other

86% 2% 2% 2% 8%

PHILIPPINES VIETNAM

CAMBODIA

MALASIA

BRUNEI

Tagalog 28% Cebuano 13% Hocano 9% Bisaya/Bibisaya 8% Hiligaynon Honggo 8% Boikol 6% Waray 3% Other 25% Malay 66% Chinese 11% Indigenous 3% Other 4%

SINGAPORE INDONESIA

Javanese Sundanese Madurese Minangkabau Betawi Bugis Banjar Other

41% 15% 3% 3% 2% 2% 2% 30%

Source : Central Intelligence Agency, The World Fact Book (2009) ThaiPrint Magazine 87


Print Knowledge Different Beliefs & Lifestyle

• Black Wedding Dress in Indonesia & Malaysia • 8 meals a day in Brunei • Push up bra for Vietnamese Body Cover for Myanmar • Singaporean Lady – Materialistic & Finance Concerned

Very Socializing. Infrastructure on the Way

• Booming Property & Construction • Places to Hangout • Decent Service & Products for Expats

Peaceful and Conservative but yet Open-Minded

• Family Oriented • Simple & Easy Going • Friendly Society • Growing City – More Construction

88 ThaiPrint Magazine


ASEAN Beyond 2015

ASEAN Printing Industries

- Advanced technology - Logistic - Shift direction to advanced service - High productivity - Low energy cost and high efficiency - Advanced logistic system - Printing industry support other high value industries - Relatively small domestic market - Large domestic market - Logistic obstacle - Sole producer of Food Grade material

ASEAN and AEC 2015 may not be all that easy and pretty

ThaiPrint Magazine 89


Print Education & Development

ปิดคอร์สนักเรียนการพิมพ์รุ่นที่ 6

หลักสูตรการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้นของสถาบันการพิมพ์ไทย ผ่านไปอีก 1 รุน่ แล้วนะครับ ส�ำหรับนักเรียนการ พิมพ์รุ่นที่ 6 ซึ่งในรุ่นนี้ต้องบอกก่อนเลยครับว่าเป็น รุ่นที่โชคดีที่สุด เพราะทางสถาบันได้มีการเตรียมความ พร้อมเรือ่ งต่างๆ ทีท่ างสถาบันได้รบั ฟังจากนักเรียนรุน่ ก่อนๆ พูดถึงเรือ่ งต่างๆ ของสถาบันและหลักสูตรการเรียนการ สอนพร้อมทั้งมีข้อเสนอแนะในการที่จะให้สถาบันการ พิมพ์ไทยได้มีการปรับปรุงแก้ไขในเรื่องต่างๆ เช่น การ เตรียมเครื่องพิมพ์ก่อนที่จะให้นักเรียนมาเริ่มใช้เครื่อง พิมพ์ ซึง่ ทางสถาบันก็ได้รบั ความร่วมมือจาก MITSUBIAHI HEAVY INDUSTRIES,LTD. ได้สง่ ช่างผูช้ ำ� นาญการมาช่วย เตรียมความพร้อมของเครื่องพิมพ์ก่อนที่จะให้นักเรียน การพิมพ์เข้าใช้เครื่องพิมพ์ และในสัปดาห์สุดท้ายของ การเรียนการสอนช่วงเช้า MITSUBIAHI HEAVY INDUSTRIES ยังให้เจ้าหน้าที่ที่มีความช�ำนาญในการใช้เครื่อง พิมพ์ของ MITSUBIAHI สอนให้รู้ถึงส่วนประกอบต่างๆ 92 ThaiPrint Magazine


ปิดคอร์สการเรียนการสอนนักเรียนการพิมพ์ รุ่นที่ 6

ของเครื่องพิมพ์ MITSUBIAHI อย่าง ละเอียด เริม่ ตัง้ แต่ชดุ ปล่อยกระดาษ (Feeder) ชุดสวิงกริป๊ เปอร์ (Register) หน่วยพิมพ์ (Printing unit) ชุดกระดาษ ออก และปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ในงานพิมพ์ ซึ่งแต่ละส่วนจะมีรายละเอียดย่อย ออกมาอีกซึ่งจะต้องเข้าไปศึกษากัน เองนะครับ เพราะยกตัวอย่างมาบาง ส่วนเท่านั้น และอีกช่วงในเวลาเรียน ภาคทฤษฎีตามหลักสูตรของการเรียน การสอนจากที่ให้นักเรียนรู้ถึงส่วน ประกอบต่างๆ ของเครื่องพิมพ์ท�ำ ความรู้จักหน้าที่ของส่วนประกอบ ต่างๆ แล้ว นักเรียนควรที่จะรู้ถึงวิธี ในการบ�ำรุงรักษาเครือ่ งพิมพ์ออฟเซต Maintenance เพื่อป้องกันการเสื่อม สภาพของเครื่องพิมพ์เบื้องต้นที่ช่าง พิมพ์ควรปฏิบัติเป็นประจ�ำและสม�่ำ เสมอ ซึง่ วิธกี ารทีต่ อ้ งปฏิบตั ไิ ปพร้อมๆ กันคือต้องเดินเครื่องอย่างถูกวิธีการ บ�ำรุงรักษา เริ่มจากการเดินเครื่อง อย่างถูกวิธีก่อน ช่างพิมพ์ควรศึกษา และท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับชิ้นส่วน อุ ปกรณ์ และกลไกของเครื่อ งพิมพ์ ตลอดจนการใช้งานที่ถูกต้องทุกครั้ง

เครื่องพิมพ์ที่มีกลไกพื้นฐานไม่ซับซ้อน จะมีความทนทานไม่ขัดข้องได้ง่าย แม้วา่ จะใช้อย่างไม่ทะนุถนอม แต่ถา้ เป็นเครือ่ งพิมพ์ทใี่ ช้เทคโนโลยีทซี่ บั ซ้อน จะต้องใช้งานด้วยความระมัดระวัง เพราะถ้าหากใช้เครื่องไม่ถูกวิธี เครื่อง จะขัดข้อง ช�ำรุดหรือสึกหรอได้เร็วกว่าที่ควรจะเป็น จึงควรที่จะจัดท�ำคู่มือ ปฏิบัติงานไว้ให้เป็นมาตรฐานการบ�ำรุงรักษาเครื่องเป็นประจ�ำทุกวัน เป็น มาตรการป้องกันการเสื่อมสภาพของเครื่องพิมพ์วิธีหนึ่ง ซึ่งได้แก่ การเติม น�้ำมันหล่อลื่น การเปลี่ยนชิ้นส่วน การปรับแต่งและการท�ำความสะอาดทั้ง ก่อนเริม่ งานและหลังเลิกงานตามตารางบ�ำรุงรักษาถือเป็นเรือ่ งทีจ่ ำ� เป็นมาก เปรียบเสมือนมนุษย์ทตี่ อ้ งการรับประทานอาหารเข้าไปเสริมพลังทุกวัน มีทงั้ การวัดการเสื่อมสภาพ การฟื้นฟู การเสื่อมสภาพ ซึ่งรายละเอียดทั้งหมดมี สาระความรู้มากมายเลยครับ แต่ขอยกมาบางหัวข้อที่น่าสนใจนะครับ ผลกระทบจากการบ�ำรุงรักษาเครื่องพิมพ์ เพราะการเสื่อมสภาพ เสื่อมสมรรถนะเครื่องพิมพ์ที่เพิ่มมากขึ้นและขาดการบ�ำรุงรักษาอย่างถูก ต้อง จะส่งผลเสียไปสูป่ จั จัยต่างๆ ได้มาก ได้แก่ ประสิทธิภาพทีล่ ดลงคุณภาพ ThaiPrint Magazine 93


Print Education & Development

ต�่ำลง งานพิมพ์ผิดพลาด การส่งมอบงานล่าช้า และ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ซึ่งการแข่งขันในธุรกิจนั้น จะต้อง ค�ำนึงถึงการแข่งขันด้านราคา ด้านคุณภาพ และการส่ง มอบของตรงเวลา จึงนับได้วา่ การบ�ำรุงรักษาเครือ่ งพิมพ์ ที่ไม่ได้จัดระบบให้ดีจะส่งผลกระทบต่อธุรกิจได้หลาย ประการการบ�ำรุงรักษาเครื่องพิมพ์หลังปฏิบัติงาน หลัง จากเสร็จสิ้นการพิมพ์ทุกครั้ง ช่างพิมพ์จะต้องท�ำความ สะอาดรางหมึกและลูกกลิ้งหมึกให้สะอาดปราศจาก หมึก โดยเฉพาะที่บริเวณผิวและบริเวณขอบของลูกกลิ้ง หมึก เพราะหากมีหมึกแห้งแล้วแข็งค้างอยูบ่ นเครือ่ งพิมพ์ แล้วการรับและถ่ายทอดหมึกพิมพ์จะไม่ดีเหมือนเดิม 94 ThaiPrint Magazine

ดังนั้น ควรให้ความส�ำคัญในการล้างท�ำความสะอาดลูก กลิ้งหมึกทุกครั้ง ก่อนท�ำความสะอาดระบบหมึก จะ ต้องท�ำความสะอาดแม่พิมพ์และทาด้วยกัมอาระบิก ก่อน จากนั้นจึงน�ำกระดาษออกจากส่วนป้อนกระดาษ และส่วนรองรับกระดาษของเครื่องพิมพ์ รวมถึงการท�ำ ความสะอาดระบบท�ำความชื้น หมายถึงการท�ำความ สะอาดรางน�ำ้ ยาฟาวน์เทนและลูกกลิ้งน�ำ้ ต่างๆ นั่นเอง โดยปกติแล้วลูกกลิ้งน�้ำจะมีรอยและคราบหมึกพิมพ์มา เปรอะเปื้อนอยู่บ้าง ปริมาณคราบหมึกที่เปรอะเปื้อน จะมากหรือน้อยขึ้นกับคุณสมบัติของหมึกพิมพ์และน�้ำ ยาฟาวน์เทนที่ใช้การล้างลูกกลิ้งน�้ำมีวัตถุประสงค์เพื่อ ก�ำจัดคราบไขมันและหมึกพิมพ์ต่างๆ ออกให้หมด ซึ่ง จะท�ำให้ลูกกลิ้งน�ำ้ มีคุณสมบัติในการรับและถ่ายโอนน�้ำ ได้ดเี หมือนเดิม โดยรายละเอียดทัง้ หมดมีอกี หลากหลาย ขั้นตอน ซึ่งผู้ที่สนใจจะต้องสมัครเข้ามาเรียนด้วยตัวเอง ถึงจะรูว้ า่ ขัน้ ตอนต่างๆ ทีท่ างสถาบันได้นำ� ความรูม้ าเสนอ นั้น ท่านสามารถน�ำไปให้กับชีวิตประจ�ำวันได้จริงและ เป็นประจ�ำทุกครัง้ ทีม่ กี ารเรียนการสอนนักเรียนแต่ละรุน่ ในสัปดาห์สุดท้าย ทางวารสารการพิมพ์ไทยจะ ต้องไปสัมภาษณ์นักเรียนมาฝากกันครับว่าหลังจากที่ได้ เรียนตั้งแต่สัปดาห์แรกจนถึงสัปดาห์สุดท้าย นักเรียน เขาได้รับความรู้มากน้อยขนาดไหนและรู้สึกอย่างไรกับ สถาบันการพิมพ์ไทยลองไปติดตามกันได้เลยครับ


ปิดคอร์สการเรียนการสอนนักเรียนการพิมพ์ รุ่นที่ 6 กลุ่มที่ 1 กฤติยา ธรรมติกานนท์ / แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) บจก. กัลยาพร เกิดด้วยบุญ / แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) บจก. เจนนี ่ เศรษฐบุตร / แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) บจก. ชนินทร เตชะธาดา / เพอร์เฟคท์ พริน้ ท์ แอนด์ แอ็ดเวอร์ไทซิง่ บจก. จีระศักดิ์ การพิมพ์ / ร้าน แสงชัยการพิมพ์ กลุ่มที่ 2 บุษบงค์ รุ่งอโนทัย / แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) บจก. ธีต ิ วิทูรธนไพบูลย์ / แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) บจก. ปิลัญธณ์ ศาสตร์ปรีดี / หจก.เอ็น.พี.การพิมพ์ อัศวิน เมธาวัฒนากุล / อรุณศิลป์ ครีเอชั่น (1999) บจก. นิดา เหล่าวัฒนาวงศ์ / บางกอกลิฟท์ แอนด์ เครน บจก.

ก่อนที่จะเข้ามาเรียนหลัก สูตรนีม้ กี ารคาดหวังกับสถาบันการ พิมพ์ไทยไว้อย่างไรบ้าง..? นั ก เรี ย นส่ ว นใหญ่ มี ค วาม เชื่ อถื อในสถาบันการพิมพ์ไทยอยู่ แล้ว เพราะมีนักเรียนส่วนใหญ่ที่ทาง บริษัทส่งมาเพื่อเรียนรู้ถึงระบบการ พิมพ์ออฟเซตเบือ้ งต้นเพือ่ นำ�ความรู้ ที่ได้มาพัฒนาในด้านอาชีพที่ทำ�อยู่ ซึ่งทางบริษัทเองก็ส่งพนักงานเข้ามา เรียนหลายรุ่นแล้วก็เห็นว่าพนักงาน มีความรูค้ วามเข้าใจมากและนำ�ไปใช้ ในด้านงานบริการลูกค้าได้ดขี น้ึ จึงส่ง พนักงานเรียนเป็นรุน่ ๆ ไปและมีบาง ส่ ว นที่ เ ป็ น เจ้ า ของโรงพิ ม พ์ เ องก็ มี ความอยากที่เรียนรู้เรื่องระบบการ พิมพ์ออฟเซตจึงตัดสินใจเข้ามาเรียน โดยมี ค วามหวั ง ว่ า จะได้ ค วามรู้ไ ป บริหารงานทีโ่ รงพิมพ์ของตัวเอง รวม ถึงบางส่วนที่พ่อแม่ส่งมาให้เรียนรู้ เพื่อจะได้สามารถรับทอดงานสาย โรงพิมพ์ต่อจากพ่อและแม่ เพราะ

ฉะนั้นจะสรุปได้ว่านักเรียนส่วนมากมีความเชื่อถือในตัวสถาบันการพิมพ์ ไทยมากอยู่แล้ว ระบบการเรียนการสอนและสื่อที่ใช้ในการเรียนองสถาบันการ พิมพ์ไทยเป็นอย่างไรบ้าง...? นักเรียนทัง้ รุน่ บอกว่าโอเคดีแล้ว มีความพร้อมในการเรียนมีอปุ กรณ์ ต่างๆ ทีใ่ ห้เรียนรูเ้ รือ่ งต่างๆ ได้อย่างเข้าใจและเห็นของจริง อย่างเช่น นำ�แผ่น เพลทตัวจริงมาให้ดู ซึง่ ทำ�ให้เห็นและมีความเข้าใจมากยิง่ ขึน้ รวมถึงอุปกรณ์ ต่างๆ มีความพร้อมดีมาก ถ้าเทียบกับหลักสูตรการพิมพ์ของสถาบันอื่นๆ ที่ เคยไปเข้าร่วมเรียนมาที่สถาบันการพิมพ์ไทยคิดว่าน่าจะดีที่สุด บางท่านก็ บอกว่าเหมาะสมดีแล้ว เพราะเวลาลงเครือ่ งจำ�นวนคนกับเครือ่ งก็พอดี ไม่มาก

ThaiPrint Magazine 95


Print Education & Development

ไปไม่นอ้ ยเกินไป และที่เห็นได้อีกอย่างคือมีการเตรียมความพร้อมของเครือ่ ง พิมพ์กอ่ นทีจ่ ะให้นกั เรียนเข้าไปใช้เครือ่ ง พอถึงเวลาเรียนเราก็สามารถทีจ่ ะใช้ เครือ่ งพิมพ์ที่ดีเลยถือว่าดีมาก ความเห็นนักเรียนส่วนมากพึงพอใจกับสื่อ ทีใ่ ช้ในการเรียนการสอน แต่กม็ บี างท่านแนะนำ�ว่าอยากจะให้นำ�ชิน้ ส่วนต่างๆ ของเครื่องพิมพ์แยกเป็นชิ้นๆ ให้นักเรียนดูพร้อมกับสอนในช่วงเช้าที่เรียน ภาคทฤษฎีจะได้เห็นส่วนต่างๆ ของเครือ่ งพิมพ์ประกอบไปด้วย ทางสถาบัน ก็ขอรับไว้พจิ ารณานะครับ แต่ตอ้ งคำ�นึงถึงความเหมาะสมด้วยว่าจะสามารถ ทำ�ได้ขนาดไหน ระยะเวลาของหลักสูตรมีความเหมาะสมมากน้อยแค่ไหน..? ต่างตอบกันเสียงเดียวว่ามีความเหมาะสมดีแล้ว เนื่องจากการเดิน ทางที่ไกลอยู่บ้าง เพราะบางท่านมาจากนนทบุรีเดินทางค่อนข้างไกลครับ จึงคิดว่า 10 สัปดาห์และเรียนสัปดาห์ละ 1 วัน ก็เหมาะสมดีแล้วครับ ซึ่ง บางท่านก็บอกว่าอาจจะห่างเกินไป ทำ�ให้ลืมๆ เรื่องที่เรียนในสัปดาห์ที่ ผ่านมาต้องมาเริ่มใหม่ ซึ่งความจริงเรื่องแบบนี้น่าจะต้องฝึกฝนหรือไม่ก็ ทบทวนในช่วงเวลาที่ว่างจากงานประจำ�ที่ทำ�อยู่นะครับ แต่นักเรียนส่วน

96 ThaiPrint Magazine

ใหญ่กพ็ อใจกับระยะเวลาทีเ่ รียนตาม ทีห่ ลักสูตรนีก้ ำ�หนดมีหลายๆ ท่านชม ว่าดีมากที่แบ่งเวลาเรียนภาคทฤษฎี ช่วงเช้าและเรียนภาคปฏิบัติช่วงบ่าย ได้ความรู้ความเข้าใจดีมากและชอบ ทีไ่ ด้มโี อกาสไปดูงานข้างนอก ทำ�ให้ เห็นถึงการทำ�งานจริงสร้างความเข้าใจ ได้มากขึ้น ถึงกับบอกว่าชอบมากที่ ได้ออกไปดูงานข้างนอก อยากให้ไป บ่อยๆ บางท่านก็ชอบที่ครูผู้สอนได้ สอนวิธีแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน การพิมพ์โดยได้นำ�ประสบการณ์จริง มาถ่ายทอดให้กบั นักเรียน ซึง่ นักเรียน สามารถนำ�ไปแก้ไขและใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำ�ได้จริง ก็ถือเป็นเรือ่ งดี ครับทีน่ กั เรียนมีความพึงพอใจในการ สอนของครูผส้ ู อนและมีบางท่านอยาก ให้สอนการใช้เครื่องพิมพ์สี่สีให้มาก กว่านีห้ น่อยเพราะส่วนใหญ่จะได้เรียน เครือ่ งพิมพ์สเี ดียวเป็นส่วนมาก ถ้าเพิม่ ระยะเวลาเรียนเครือ่ งพิมพ์สส่ี มี ากขึน้ อีกจะถือว่าเหมาะสมมากที่สุดครับ


ปิดคอร์สการเรียนการสอนนักเรียนการพิมพ์ รุ่นที่ 6

จากการที่ ไ ด้ เรี ย นจนจบคอร์ ส นี้ แล้วอยากให้สถาบันปรับปรุงใน เรื่องใดบ้าง...? ตอบเป็ น เสี ย งเดี ย วกั น ว่ า ดีแล้วถ้าเทียบกับหลักสูตรอื่นที่เคย ไปเรี ย นมาที่ นี้ น ่ า จะสมบู ร ณ์ ที่ สุ ด การเรียนการสอนของครูเป็นกันเอง กับลูกศิษย์ทุกคนเอาใจใส่นักเรียน ทุกคนเป็นอย่างดี คอยดูแลอย่างใกล้ ชิ ด ขณะลงปฏิ บั ติ กั บ เครื่ อ งพิ ม พ์ จริงๆ แนะน�ำส่วนประกอบต่างๆ อย่างละเอียดเข้าใจดีมาก อุปกรณ์ ก็ มี ก ารเตรี ย มความพร้ อ มก่ อ นใช้ งานจริง ถือว่าดีมากแล้วส�ำหรับหลัก สูตรการพิมพ์ออฟเซตเบื้องต้น แต่ อยากให้สถาบันเปิดสอนหลักสูตรที่ เรียนรูม้ ากกว่านีอ้ กี จะมาลงเรียนต่อ

จบแล้วครับส�ำหรับการสัมภาษณ์นกั เรียนการพิมพ์รนุ่ ที่ 6 ซึง่ ถือว่า นักเรียนรุน่ นีม้ คี วามพึงพอใจในสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่างๆ ของสถาบันการ พิมพ์ไทย หากท่านใดสนใจจะสมัครเข้าเรียนหลักสูตรดังกล่าวสามารถติดต่อ สอบถามรายละเอียดได้ทสี่ มาคมการพิมพ์ไทย 02-719-6685-7

ThaiPrint Magazine 97


Young Printer

ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส บริษัท เปเปอร์กรีน จำ�กัด

“สวัสดีครับผู้อ่านที่เคารพรัก สำ�หรับ Young Printer ฉบับนี้ขอแนะนำ� “คุณตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส” หรือ “คุณปุ๊น” ซึ่งเขาเองก็มีบทบาทในการรับผิดชอบกิจกรรมพิเศษหลายๆ อย่างที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดขึ้นและงานอื่นๆ ที่จะมีเขา เข้าร่วมทุกๆ ครั้ง ลองมาทำ�ความรู้จักกับเขาดูเลยครับ ” อยากจะให้ชว่ ยแนะน�ำตัวเองสัน้ ๆ ก่อนจะถาม ค�ำถามต่อไป...?

สวัสดีครับผม “ตรีรตั น์ ศิรจิ นั ทโรภาส” ชือ่ เล่น “ปุ๊น” ครับ ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการ บริษทั เปเปอร์กรีน จ�ำกัด โดยทางบริษทั เราท�ำหน้าที่ จ�ำหน่ายกระดาษถนอมสายตา น�้ำหนักเบา ปราศจาก สารคลอรีน เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม จากประเทศแคนาดา แต่ เ พี ย งผู ้ เ ดี ย วในประเทศไทยและเอเชี ย ตะวั น ออก เฉียงใต้ครับ โดยธุรกิจกระดาษนี้เริ่มมาตั้งแต่สมัยอาม่า สืบทอดต่อมายังคุณพ่อ และผมเพิง่ มาดูแลธุรกิจต่อจาก คุณพ่อครับ โดยส่วนตัวผมนัน้ จบการศึกษาระดับปริญญา ตรีจากวิทยาลัยดุริยางค์ศิลป์มหาวิทยาลัยมหิดล สาขา ธุรกิจดนตรี เอกเปียโนแจ๊สครับ นอกเหนือจากบทบาท นักธุรกิจแล้ว ผมยังมีงานอดิเรกเป็นนักแต่งเพลง/โปรดิว เซอร์/มือเปียโนของค่าย RS และอดีตศิลปินวง April Fools’ Day จากค่าย RS ครับ โดยกิจกรรมยามว่าง ของผมนอกจากการเล่นดนตรีแต่งเพลงแล้วนัน้ ก็ยงั ชอบ การเล่นกีฬา extreme กับเพือ่ นๆ ถ้ามีเวลาหยุดว่างยาวๆ ก็จะไปทะเล หรือสถานที่ที่ธรรมชาติสวยๆ ครับ 98 ThaiPrint Magazine


ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส

ความชื่นชอบที่มีต่อธุรกิจการพิมพ์ (กระดาษ) ของครอบครัวเป็นอย่างไรบ้าง..?

ชื่นชอบมากครับ อาจเพราะในบริษัทที่ผมดูแล นั้นเป็นบริษัทจ�ำหน่ายกระดาษที่มีนวัตกรรมสูง มีความ Green สูงมาก, น�้ำหนักที่เบากว่ากระดาษทั่วไป (Light weight) สร้างสรรค์คุณภาพงานพิมพ์ที่พิมพ์ได้ออกมา สวยกว่ากระดาษชนิดอื่น (High Opacity) ท�ำให้ผมนั้น หลงรักในตัวกระดาษและมีความทะเยอทะยานที่อยาก จะส่งต่อไปสู่ผู้บริโภคทุกท่านครับ ย้อนกลับไปเมือ่ ประมาณ 7 ปีที่แล้ว เราได้คุย กับทางโรงงานผลิตกระดาษต่างประเทศ ซึ่งเป็นโรงงาน ที่มี Sizing ระดับ TOP 5 ของโลก และเขาได้น�ำเสนอถึง นวัตกรรมกระดาษที่เขาท�ำขึ้นมานั้นต้องเรียกว่าตะลึง กันไปเลย แต่ต้องยอมรับว่ามันมีความยาก เนื่องจาก ในไทยยังไม่มีใครรู้จักกระดาษประเภทนี้เลย กระดาษที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กระดาษที่ไม่ใช้สารคลอรีนใน การผลิต น�้ำหนักของกระดาษที่เบากว่าปกติแต่ความ หนาเท่าเดิม มันเป็นอย่างไร? มันท�ำได้อย่างไร? และผู้ บริโภคจะได้ประโยชน์จากมันอย่างไร? ซึ่งสิ่งที่ผมได้ เล่ามานัน้ จริงๆแล้ว มันเป็นสิง่ ทีผ่ บู้ ริโภคต้องการทัง้ นัน้ แต่เพียงเขายังไม่ทราบว่ามีนวัตกรรมแบบนี้ด้วย ก็ต้อง ให้เวลากันหน่อยครับ และต้องยอมรับว่าแม้จะเหนือ่ ยใน การน�ำเสนอมากกว่ากระดาษทั่วไป แต่ในระยะยาวนั้น สิ่งที่เราท�ำอยู่ ณ วันนี้ คือการท�ำการตลาดอย่างยั่งยืน กับผูบ้ ริโภค เพราะเราก�ำลังช่วยประหยัดเงินให้ลกู ค้าทัง้ ค่ากระดาษ ต้นทุนค่าขนส่ง และสร้างสรรค์ผลงานพิมพ์ ที่สวยขึ้น รวมไปถึง Benefits ใน Eco Achievements ที่

ทางกระดาษเราได้มาด้วยครับ เช่น Totally Chlorine Free, 50% Less Wood Fiber than UFS, FSC, PEFC เป็นต้น ซึ่ ง ลู ก ค้ า เราสามารถเอาไปน� ำ เสนอสาธารณะได้ ว ่ า กระดาษทีค่ ณ ุ เลือกใช้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมจริงๆ เนือ่ ง จากมันเป็น certificate ที่มาพร้อมกับกระดาษทุกตัว และผมจะภูมิใจทุกครั้งที่ได้เห็นงานพิมพ์ที่ใช้กระดาษ ของเปเปอร์กรีนในแผงหนังสือครับ เพราะวันนี้เราเป็น ส่วนหนึง่ ทีก่ ำ� ลังช่วยโลก และมอบสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ ให้กบั ผูอ้ า่ น อยู่ด้วย ThaiPrint Magazine 99


Young Printer

แบ่งเวลาอย่างไรระหว่างงานกับ ชี วิ ต ส่ ว นตั ว มี เวลาให้ กั บ ตั ว เองมากแค่ไหน..?

บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบกับงานธุรกิจการพิมพ์มีอะไรบ้าง และมีความยากหรือไม่..?

ผมเชื่อว่าไม่มีอะไรที่ยากเกินความสามารถแต่ต้องเรียนว่างานค่อน ข้างละเอียดครับ ตัวผมดูแลรับผิดชอบหน้าที่ฝ่ายขายและการตลาด รวมไป ถึงการบริหารสต๊อก ขนส่ง และโรงตัดให้แก่ลกู ค้า ผมมองตัวเองเป็นทีป่ รึกษา ด้านกระดาษ เรา Feed ข้อมูลเรือ่ งราคา คุณภาพ และความคุม้ ค่าให้แก่ลกู ค้า ให้ค�ำปรึกษาลูกค้าว่างานแบบนี้ เหมาะกับกระดาษแบบไหนครับ เนื่องจาก แม้ว่ากระดาษของเราจะสามารถตอบโจทย์งานพิมพ์ที่ต้องการผลงานที่ สวยได้ก็จริง แต่ผมก็เป็นแค่ต้นน�้ำ ถ้าไม่มีปลายน�้ำอย่างโรงพิมพ์ที่จะมา support เรา ก็เหนื่อยเช่นกันครับ ผมจะท�ำงานควบคู่ทั้ง End User และทาง โรงพิมพ์ โดยทางเรามี Marketing Division คอยวัดผลความพึงพอใจในงาน กับลูกค้าครับ เพราะผมคิดว่า ลูกค้าของลูกค้า ก็คือลูกค้าของเราครับ 100 ThaiPrint Magazine

เวลาเป็ น สิ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ มาก ต้องไล่ระดับความส�ำคัญของสิ่งที่ เราท�ำให้ดีครับ เป็นความโชคดีที่ผม ท�ำงานตั้งแต่อายุ 16 เริ่มต้นจาก การเป็นศิลปินฝึกหัด และเป็นศิลปิน ในภายหลัง ท�ำให้ผมได้ฝึกบริหาร เวลาตั้งแต่เด็ก สมัยก่อนเวลาเลิก เรียนก็ต้องรีบไปอาร์เอส รีบไปซ้อม ดนตรีบา้ ง เล่นคอนเสิรต์ บ้าง ก็ตอ้ ง ฝึกการแบ่งเวลาให้แก่ครอบครัวและ เพือ่ นๆ ของเรา ยิง่ โตมาความรับผิด ชอบยิ่งสูงครับ ต้องแบ่งเวลางาน เวลาเล่นกีฬา เวลานัดเจอเพื่อน เวลาพักผ่อน ซ้อมดนตรี ท�ำเพลง แต่ดที มี่ อื ถือสมัยนี้มี Organizer ที่ ค่อนข้างดีครับ คอยเตือนเรา และ อย่างเวลาท�ำงานถ้าเราลืมอะไรทาง ทีมงานผมก็จะคอยเตือนผม ซึง่ ผม ถื อ ว่ า โชคดี ม ากที่ ไ ด้ ที ม งานที่ มี คุณภาพมาร่วมงานอยู่กับเราครับ


ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส

อุปสรรคที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไรบ้างและเรามีวิธีแก้ไขอย่างไร ถึงผ่านพ้นไปได้..?

มีหลากหลายมากครับ ทัง้ ปัจจัยทีค่ วบคุมได้ และปัจจัยทีค่ วบคุมไม่ ได้ผมเชื่อว่าทุกๆ องค์กร ต่างก็ต้องมีอุปสรรคด้วยกันไม่มากก็น้อย ส่วนตัว อุปสรรคของผมในการท�ำงานก็มีตั้งแต่การบริหารจัดการภายในบริษัท การ ผลิต การจัดเก็บสินค้า รวมถึงการจัดส่งสินค้า แต่ก็พยายามที่จะแก้ปัญหา มันและพยายามท�ำให้ผลลัพธ์ออกมาให้ดที สี่ ดุ ครับ ส่วนวิธแี ก้ไขคือพนักงาน ทุกคนของบริษทั จะต้องเข้ามามีสว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างบูรณาการ ครับ เพราะสิ่งหนึ่งที่ผมเรียนรู้มาคือ ปัญหาเมื่อเกิดที่จุดหนึ่งแล้วมันจะส่ง ผลต่อไปเรื่อยๆ ไปยังส่วนต่างๆ ครับ ฉะนั้น วิธีแก้ไขที่ดีที่สุดและยั่งยื่น คือ การที่พนังงานทุกคนรวมทั้งผมเข้ามาส่วนร่วมในปัญหานั้นและแก้ไขไป พร้อมๆ กันครับ

ThaiPrint Magazine 101


Young Printer

และทานข้าวกับครอบครัวอย่างน้อยอาทิตย์ละ 2 ครั้ง ครับ โดยส่วนมากจะทานที่บ้านครับ เพราะคุณย่าผม ท�ำกับข้าวอร่อยมากกก..ภูมิใจน�ำเสนอมาก 5555

มี กิ จ กรรมอะไรบ้ า งกั บ ครอบครั ว ที่ ท� ำ เป็ น ประจ�ำ..?

ทานอาหารและดืม่ ชาครับ เป็นกิจกรรม Routine ทีท่ ำ� กับทัง้ ครอบครัว แต่ถา้ เวลาผมอยูก่ บั พ่อ 2 คน เราจะ ชอบเข้าห้อง Home Theatre ดูหนังหรือคอนเสิร์ตโปรด อาชีพทีท่ ำ� เกีย่ วกับการพิมพ์คดิ ว่าเราโชคดีกว่า ของเรากันครับ

คนอื่ น หรื อ ไม่ ที่ เ กิ ด มาอยู ่ ใ นครอบครั ว ที่ ท� ำ ธุรกิจการพิมพ์..? เราได้คิดพัฒนาธุรกิจด้านเกี่ยวกับการพิมพ์ที่ โชคดีที่ผมรักในสิ่งที่ครอบครัวท�ำครับ ผมหลง ต่อยอดมาจากรุ่นก่อนๆ มีอะไรบ้างที่คิดว่าจะ รักการค้าขาย เหมือนที่ผมหลงรักในเสียงดนตรีครับ ผม ท�ำขึ้นให้ดีกว่าจากเดิม? ใช้ passion เหมือนกันครับ คลั่งไคล้เลยแหละ ผมโชคดี ที่เกิดมาได้คุณพ่อที่เก่งครับ สอนอะไรดีๆ ให้ผมเยอะที่ สอนนั้นไม่ใช่วิธีการค้าขายนะ แต่เป็นความคิดและหลัก การ และโชคดีทสี่ ดุ ทีไ่ ด้เกิดมาเป็นชาวพุทธครับ ได้เรียน รู้พระธรรมเอามาปรับใข้ในชีวิตประจ�ำวันครับ ถือว่ามี ประโยชน์มาก

อย่างแรกเลยคือต้อง Maintain ธุรกิจให้ได้ครับ และตอนนีผ้ มค่อนข้างให้ความส�ำคัญในการหาตลาดใหม่ การท�ำ Marketing การท�ำ Branding และการ Educate ผู้อ่านทุกท่านให้ได้รับรู้ว่ามีกระดาษประเภทนี้มีอยู่ใน ประเทศไทยครับ โดยทางเราท�ำการตลาดค่อนข้างหนัก กับผู้บริโภคและส�ำนักพิมพ์ครับ นอกจากนี้เรายังได้รับ แรงสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐ ไม่วา่ จะเป็นกรุงเทพ ตอนนี้ยังโสดอยู่หรือมีครอบครัวแล้วแบ่งเวลา มหานครหรือกระทรวงต่างๆ ในการผลักดันการใช้กระดาษ อย่างไรให้กับครอบครัวที่เรารักบ้าง.. ? น�ำ้ หนักเบาครับ และท้ายทีส่ ดุ ก็คอื การพัฒนาบุคลากร โสดสนิทครับ แค่นกี้ แ็ บ่งเวลาแทบไม่ไหวแล้วครับ ของเราครับ ผมและคุณพ่อให้ความสนใจในเรือ่ งนีอ้ ย่าง ผมแบ่งดังนีค้ รับ อาทิตย์นงึ อยูก่ บั ครอบครัวเต็มวัน 1 วัน มาก บริษทั ต้องมีแขนซ้าย แขนขวา ขาซ้าย ขาขวา และ 102 ThaiPrint Magazine


ตรีรัตน์ ศิริจันทโรภาส โตไปพร้ อ มกั น ทุ ก หน่ ว ยงานใน บริษทั ครับ อย่างทีมการตลาดและทีม ขายของเรานั้นค่อนข้างแข็งแรงครับ แต่เราก็คงยังไม่หยุดนิ่งแค่นี้เพราะ โลกหมุนไปเราก็ต้องหมุนตาม และ ต้องพัฒนาในเรือ่ งของคุณภาพสินค้า และบริการเพื่อตอบโจทย์ความต้อง การของผู้บริโภค เป็นส�ำคัญครับ

รู้สึกอย่างไรกับกิจกรรมต่างๆ ที่ทางสมาคมจัดขึ้นประทับใจ ตรงไหนบ้ า งและกิ จ กรรมที่ ชอบเป็นพิเศษ?

ประทับใจทุกกิจกรรมนะครับ เพราะว่าได้ให้ทกุ คนในแวดวงสิง่ พิมพ์ มาเจอกันครับ ผมว่านัน่ คือจุดประสงค์ ของค�ำว่า “สมาคม” ครับ การได้แชร์ ไอเดีย การได้พูดคุยกัน หลากหลาย ความคิด หลากหลายทีม่ า สิง่ เหล่านี้ หาไม่ได้ในต�ำราเรียนและเมื่อได้เข้า มาในสมาคม พีๆ ่ หลายท่านก็ให้การ ต้อนรับเราเป็นอย่างดีครับ รู้สึกเป็น เกียรติครับ

เข้าเป็นสมาชิก Young Printer บทบาทในการเป็นสมาชิกนั้นเราได้รับผิดชอบในส่วนไหนและ ได้อย่างไรและรู้สึกอย่างไรกับ รู้สึกอย่างไร? ผมเพิ่งเข้าร่วมกลุ่ม Youngprinter ของสมาคมฯ ได้ไม่นาน เข้าร่วม ต�ำแหน่งนี้? ทางคุณชานนท์ ผูจ้ ดั การด้าน การตลาด บริษัทผมเป็นคนสมัครให้ ครับ ซึง่ ณ ขณะนัน้ ผมบวชจ�ำพรรษา อยู่ หลังจากลาสิกขา รุน่ พีผ่ ม (คุณ เชาวฤทธิ์ เหตระกูล) ก็ชวนมางาน สมาคมด้ ว ยกั น ก็ รู ้ สึ ก อบอุ ่ น ดี ค รั บ แม้วา่ หลายท่าน ผมไม่เคยเจอมาก่อน แต่ก็ให้การต้อนรับดีครับ

งานยังไม่มาก ก็เลยยังไม่ได้รับมอบหมายงานอะไรกับประธานกลุ่ม แต่ก็ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือช่วยเหลือในทุกๆ กิจกรรมที่ทางกลุ่ม Youngprinter มอบหมายมาให้และก็คาดหวังที่จะได้ช่วยงานในอนาคตต่อไปครับ

อยากจะฝากอะไรหรือแนะน�ำแนวคิดดีๆ ให้กับสมาชิกรุ่นต่อๆ ไปไว้อย่างไรบ้าง?

ยินดีต้อนรับสู่สมาคมการพิมพ์ไทยครับ อย่าเป็นน�้ำเต็มแก้วที่ไม่ เปิดรับแนวคิดใหม่ๆ เพราะชีวิตเราคือการเรียนรู้ ณ ที่แห่งนี้มีมิตรภาพที่ดี มากมายที่เป็นคุณครูคอยสอนเรา จงเลือกเอาสิ่งดีๆ ที่ได้เรียนรู้มาปรับใช้ กับท่านครับ ขอบคุณครับ

ThaiPrint Magazine 103


Print News

ล็อกซเล่ย์จับมือมิลานกรุ๊ป บุกตลาดอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

เมือ่ วันที่ 14 มิถนุ ายน 2556 นายสุรพันธ์ ภาษิตนิรนั ดร์ กรรมการรองกรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่ บริษัท ล็อกซเล่ย์ จำ�กัด (มหาชน) และ ดร.เหงียน แท็ง หมี ผู้ก่อตั้งและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท มิลาน กรุ๊ป ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงร่วมกันในการแต่งตั้งให้บมจ.ล็อกซเล่ย์ เป็นผู้แทนจำ�หน่ายแต่เพียง ผูเ้ ดียวในประเทศไทย โดยมีนายฟิลปิ คาลเวิรท์ เอกอัครราชทูตแคนนาดาประจำ�ประเทศไทย และนายโง ดึก๊ ถัง เอกอัครราชทูตเวียดนามประจำ�ประเทศไทย พร้อมด้วยนายธงชัย ล่ำ�ซำ� กรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ล็อกซเล่ย์ ให้เกียรติร่วมเป็นพยานในพิธี ดร.เหงียน แท็ง หมี เปิดเผยว่า มิลาน กรุป๊ เป็น ผู ้ น� ำ ด้ า นการผลิ ต วั ส ดุ ใ นอุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละ บรรจุภัณฑ์คุณภาพสูง เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญมากเรื่องการวิจัยและพัฒนา จุดเด่นของ มิลานจึงอยู่ที่มีนวัตกรรมเป็นของตนเอง บริษัทแม่ของ มิลานกรุป๊ อยูท่ ปี่ ระเทศแคนาดา และไปตัง้ ฐานการผลิตที่ เวียดนามมีโรงงานตัง้ อยูท่ จี่ งั หวัดจร่า วิน ซึง่ อยูห่ า่ งจาก เมืองโฮจิมินห์ซิตี้ไปทางใต้ 120 ก.ม. โรงงานแห่งนี้เป็น แห่งเดียวในเอเชียและเป็นแห่งที่ 4 ของโลก ที่ได้รับใบ อนุญาต (Filling License) ให้ผลิตหมึกและบรรจุหมึกใน ตลับภายใต้เครือ่ งหมายการค้าของ Hewlett-Packard หรือ HP 108 ThaiPrint Magazine


พิธีมอบประกาศนียบัตร

ทัง้ นี้ มิลาน กรุป๊ สามารถครองส่วนแบ่งการตลาดในเวียดนามได้ถงึ 65% โดยผลิตภัณฑ์ของมิลาน ร้อยละ 70 ส่งออกไปยังประเทศต่างๆ กว่า 34 ประเทศทัว่ โลก ส�ำหรับภูมภิ าคเอเชีย บริษทั ฯ ได้เข้าไปท�ำตลาดแล้วเช่น กัมพูชา ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย อินเดีย ฯลฯ เป็นต้น โดยในส่วนของประเทศ ไทย บริษัทฯ ได้จับมือกับล็อกซเล่ย์ให้เป็นผู้แทนจ�ำหน่ายแต่เพียงผู้เดียวใน ประเทศไทย ซึง่ เชือ่ มัน่ ว่าล็อกซเล่ยจ์ ะสามารถเปิดตลาดสินค้าของมิลานใน ประเทศไทยให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายได้ เพราะไทยถือเป็นตลาดส�ำคัญ ที่มีอัตราการเติบโตสูงมาก ด้านนายสุรพันธ์ ภาษิตนิรนั ดร์ กล่าวว่า ล็อกซเล่ยจ์ ะท�ำหน้าทีด่ แู ล ด้านการตลาดและการจัดจ�ำหน่ายสินค้าในประเทศไทยทั้งหมดให้มิลาน ซึ่งผลิตภัณฑ์ของมิลานมีคุณภาพสูงในราคาที่เหมาะสมสามารถแข่งขันได้ ทั้งนี้ จะแบ่งตลาดออกเป็น 2 ส่วน คือ ตลาดด้านวัสดุการพิมพ์ และตลาด บรรจุภณ ั ฑ์ ในส่วนของตลาดวัสดุการพิมพ์ ช่วงแรกบริษทั ฯ จะใช้กลยุทธ์เจาะ กลุ่มฐานลูกค้าเดิมที่มีอยู่ ซึ่งล็อกซเล่ย์มีฐานลูกค้าเครื่องพิมพ์ขนาดใหญ่ที่ เป็นพวกโรงพิมพ์ต่างๆอยู่แล้ว ขณะที่ตลาดบรรจุภัณฑ์ ล็อกซเล่ย์ก็มีเครือ ข่ายลูกค้าและคู่ค้าที่จะสามารถเข้าไปน�ำเสนอผลิตภัณฑ์ได้ ไม่ว่าจะเป็นผู้ ผลิตนมสดหนองโพ กรีนนัท น�ำ้ มันพืชกุ๊ก ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ภายใต้แบรนด์มลิ านทีจ่ ะเข้ามาท�ำตลาดในประเทศ ไทย มี 4 กลุม่ ได้แก่ 1. กลุม่ แผ่นพิมพ์ CTP (Computer to Plate) มีจดุ เด่นที่ คุณภาพสูงในราคาที่แข่งขันได้ ผลิตโดยใช้อลูมิเนียมของซูมิโตโมจากญี่ปุ่น ท�ำให้ผิวของแผ่นเพลทมีความเรียบสม�ำ่ เสมอ ช่วยให้คุณภาพงานพิมพ์คม ชัดสูง ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี้ บริษัทฯ จะท�ำตลาดตรงเจาะถึงกลุ่มลูกค้าเป้า หมายและขายผ่านดีลเลอร์รายใหญ่ๆ ทีม่ อี ยู่ 2-3 ราย ตัง้ เป้ายอดขาย 100 ล้านบาท หรือคิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดประมาณ 10% ของมูลค่าตลาด รวม 1,000 ล้านบาท ThaiPrint Magazine 109


Print News

ผลิตภัณฑ์กลุ่มที่ 2 เครื่อง พิมพ์ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์ (Printer for Packaging) ซึง่ เป็นเครือ่ งพิมพ์สำ� หรับ พิมพ์วันเดือนปีผลิต วันหมดอายุ บาร์โค้ด คิวอาร์โค้ด ฯลฯ จุดเด่นของ ผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้ คือ มีขนาดที่เล็ก กะทัดรัด แข็งแรงทนทาน เพราะท�ำ ด้วยโลหะ ซึ่งเป็นความร่วมมือกัน ระหว่างมิลาน กรุ๊ปและ HP ในการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ กลุ่มที่ 3 หมึกพิมพ์แบบต่อ เนื่อง หรือ CIJ (Continuous Inkjet) เป็นหมึกคุณภาพมาตรฐาน HP ใช้ใน อุตสาหกรรมการพิมพ์บนบรรจุภณ ั ฑ์ กลุ่มที่ 4 แผ่นฟิล์มส�ำหรับ ผลิตบรรจุภัณฑ์ (Packaging Film) เป็นนวัตกรรมฟิลม์ ใสทีส่ ามารถป้อง กันแสง UV และออกซิเจน เมือ่ น�ำมา ผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์แล้ว สามารถน�ำ เข้าไมโครเวฟได้ และรีไซเคิลได้ ซึ่ง ผลิตภัณฑ์กลุ่มที่ 2-4 นี้ บริษัทฯ จะ เริ่มน�ำเข้ามาท�ำตลาดภายในปลาย ปีนี้

110 ThaiPrint Magazine

About Mylan Group Mylan Group is a Canadian-invested company founded in 2004 in TraVinh Province, Vietnam. The company and its subsidiaries are recognized by customers around the globe for their high performing and environmentally friendly products for the printing and packaging industries. Mylan Group develops and manufactures high-quality and consistent CTP and CTcP offset printing plates and related chemicals; industrial inkjet printers; inkjet printing inks; multilayer high barrier thermoforming sheets for packaging applications; solar control films, window decorative films; and polymers for OLED. About Loxley บริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ำกัด (มหาชน) เป็นกลุ่มบริษัทชั้นน�ำของ ประเทศไทย โดยมีสว่ นร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศผ่านทาง เทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งตลอดระยะเวลากว่า 74 ปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ เติบโตและขยายธุรกิจสินค้าและบริการตอบสนองความต้องการของ ตลาดอย่างรอบด้าน มีความหลากหลายใน 6 กลุ่มธุรกิจ ได้แก่ กลุ่ม ธุรกิจสารสนเทศและโทรคมนาคม กลุ่มธุรกิจเทคโนโลยี กลุ่มธุรกิจงาน โครงการ กลุม่ ธุรกิจการค้า กลุม่ ธุรกิจบริการ และกลุม่ ธุรกิจร่วมทุนครอบ คลุมสินค้าและบริการ ความหลากหลายของธุรกิจที่บริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินการ แสดงให้เห็นถึงขีดความสามารถระดับมือ อาชีพทีม่ คี วามมุง่ มัน่ ในการน�ำเสนอนวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ ช่วยแก้ไขปัญหา ต่างๆ ของประเทศ ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถดูได้ที่ www.loxley.co.th


Art Gallery

สถานที่ท่องเที่ยวแห่งใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา

World Sand Sculpture

“งานศิลปะ” ไม่ว่าจะเป็นงานแขนงใดก็ตาม ย่อมล้วนถูกบรรจงสร้างมาจากจินตนาการของผู้ที่ ชื่นชอบความนุ่มลึกของธรรมชาติที่จะสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นงานศิลป์ในรูปแบบต่างๆ เฉกเช่น ประติมากรรมทราย ซึ่งเป็นงานศิลปะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและก่อสร้างขึ้นด้วยหัวใจและจิตวิญญาณ ของนักปั้นที่มีความเป็นเลิศด้านจิตนาการ และมีนักปั้นจากนานาประเทศได้ก่อสร้างประติมากรรมทรายไว้ ที่นี่เป็นจ�ำนวนมาก จนนักท่องเที่ยวที่มาเยือนยอมรับว่าเป็นสถานที่เดียวในประเทศไทยที่ท�ำได้ขนาดนี้และ สร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติที่มาเยือน.... ประติมากรรมปั้นทรายโลก ตั้งอยู่ใกล้กับห้าง บิก๊ ซี เดิมจัดเป็นมหกรรมทีส่ ร้างขึน้ เพือ่ ร่วมฉลองปีมหา มงคล เฉลิมพระชนมายุ 80 พรรษา พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวฯ โดยระดมนักปั้นระดับโลกกว่า 70 คน จาก ฮอลแลนด์ เบลเยี่ยม เช็คโกสโลวาเกีย ไอร์แลนด์ สหรัฐ อเมริกาและไทย ร่วมโชว์ประติมากรรมทรายสุดยอด ความมหัศจรรย์กว่า 30 ผลงาน บนพืน้ ทีก่ ว่า 12 ไร่ ท�ำให้มหกรรมปัน้ ทรายนานาชาติครัง้ นีเ้ ป็นงาน แสดงประติมากรรมทรายในร่มที่ใหญ่ที่สุดในโลก หลัง จากงานดังกล่าวสิ้นสุดก็ได้เปิดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวให้ นักท่องเที่ยวที่สนใจได้มาชมความสวยงามและอลังการ ของปะติมากรรมทรายในรูปแบบต่างๆ ที่ถูกน�ำมาร้อย เรียงเป็นเรือ่ งราวได้อย่างน่าอัศจรรย์และเหมือนจริงกว่า 80 ชิน้ โดยทรายทีน่ ำ� มาใช้ ใ นการก่อสร้างประติมากรรม 114 ThaiPrint Magazine


World Sand Sculpture

เป็ น ทรายน�้ ำ จื ด ที่ มี ค วามแข็ ง แรง มีสีน�้ำตาลอ่อน โดยอาศัยเทคนิค การก่อสร้างที่เริ่มต้นด้วยการน�ำไม้ มาตีเป็นบล็อกสีเ่ หลีย่ ม รัดด้วยเหล็ก เพื่อความแข็งแรง ก่อนน�ำทรายที่ ร่อนแยกวัสดุ แล้วน�ำมาใส่ลงบล็อก ผสมน�้ำให้เข้ากันอัดด้วยเครื่องอัด ทราย จากนั้นศิลปินท�ำการตกแต่ง เป็นรูปอะไรและมีขนาดเท่าใดก็ได้ เช่น รูปคน รูปสัตว์หรือรูปพืช ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความคิดและจินตนาการ ของนักปั้น โซนทางเข้า มีประติมากรรมทรายที่น่า สนใจต่างๆ เริ่มตั้งแต่ประติมากรรม ช้าง ซึ่งเป็นการร่วมรณรงค์ในการ นำ�ช้างคืนสู่ป่า ประติมากรรมพระ นารายณ์ รายล้อมด้วยเทพบุตร เทพ ธิดาตามความเชือ่ ของพราหมณ์หรือ ศาสนาฮิ น ดู ว่ า วรรณะกษั ต ริ ย์ เ ป็ น พระนารายณ์อวตารลงมาเกิดบนโลก มนุษย์ ลายไทยรูปปั้นสัตว์ ลายไทย ต่างๆ จากนั้นก็จะเป็นรูปปั้นกำ�แพง ThaiPrint Magazine 115


Art Gallery

วัดพระพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) รวมทัง้ ยักษ์ ด้วย ถัดมาจะเป็นรูปปัน้ สิง่ ศักดิส์ ิทธิ์ที่โดดเด่นของเมือง แปดริ้ว เริ่มตั้งแต่เจ้าแม่กวนอิม วัดโสธรวรารามวร วิหาร พระพิฆเนศ นอกจานีย้ งั มีประติมากรรม ทรายรูป ปั้นพระเกจิอาจารย์ ชื่อดัง เช่น หลวงปู่ทวด หลวงปู่มั่น 116 ThaiPrint Magazine

โซนที่หนึ่ง เป็นการจำ�ลองกำ�เนิดนักษัตร 12 ราศี และตัว แทนของเทพในด้านต่างๆ เช่น เทพในการพูด วรรณคดี เรื่องรามเกียรติ์ พระนอนวัดโพธิ์และเรือพระราชพิธี เช่น เรือสุพรรณหงส์ เรือพระนารายณ์ทรงสุบรรณ โซนที่สอง จัดการแสดงประติมากรรมทรายในด้านวัฒน ธรรมและประติมากรรมวัดวาอารามที่สำ�คัญของไทย รวมถึงสิ่ง ก่อสร้างของประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งตัวละคร ต่างๆ ในวรรณคดีของไทย โดยเป็นลักษณะการแสดง แบบมืด ซึ่งจะมีแสง สี และเสียง ประกอบในการแสดง ประกอบด้วยประติมากรรมทราย ได้แก่ จตุคามรามเทพ สมเด็จพระ นเรศวรฯ กระทำ�ยุทธหัตถี นางเงือก กินรี หนุมาน สุดสาคร พระอภัยมณีและสุนทรภู่ ชีเปลือย และผีเสื้อสมุทร โซนที่ 3 เป็ น ส่ ว นของการจั ด การแสดงประติ ม ากรรม ทรายนานาชาติ ซึ่งจัดแสดงประติมากรรมที่เป็นจุดเด่น ในแต่ละประเทศประกอบด้วยประตูแบรนแดนเบิร์ก หอไอเฟล ทหารองครักษ์และหอนาฬิกาบิก๊ เบน รูปปัน้ เทพีเสรีภาพ ภาพวาดแวนโก๊ะและกังหันลม โคลีเซียม และนักสูเ้ สือ นักเต้นฟลามิงโกและนักสูว้ วั กระทิง ภูเขาไฟ ฟูจิ เกอิชา จิงโจ้ หมีโคอาล่า โรงละครโอเปร่า โบสถ์เซนต์


World Sand Sculpture

นิโคลัส พีระมิดกับสฟิงซ์ สุสาน ตุตันคาเมน กำ�แพงเมืองจีน มังกร และรูปปั้นหินกองทัพราชวงศ์ รายละเอียดเพิ่มเติม เปิดให้ชมทุกวันตั้งแต่เวลา 09.00 - 18.00 น. อัตราค่าเข้าชม ผู้ใหญ่ 100 บาท เด็ก 60 บาท สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมได้ท่ี สำ�นักงานมหกรรมปัน้ ทราย โลก โทร. 038-515120 http://www. thailandsandcity.com/ การเดินทาง 1. รถยนต์ส่วนตัว จากวัด โสธรวรารามวรวิหารเลี้ยวซ้ายมา ขับตรงมาประมาณ 800 เมตร เลย ห้ า งบิ๊ ก ซี จ ะเห็ น ป้ า ยบอกขนาด ใหญ่ เลี้ยวซ้ายจากถนนไปประมาณ 100 เมตร 2. โดยรถสาธารณะ จาก วัดโสธรสามารถนั่งรถสองแถวท้อง ถิน่ จากวัดหลวงพ่อหรือมอเตอร์ไซต์ รับจ้าง ThaiPrint Magazine 117


Print Knowledge

by... Peper Green

การก้าวสู่ความยั่งยื่นที่แข็งแรงในอนาคต ในปีนี้หลายบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ คงจะหนีไม่ได้กับ เรื่องของ ความยั่งยืน (Sustainable) เนื่องจากมันเป็นค�ำถามที่ง่ายๆ ว่า อุตสาหกรรมของเราจะเป็นอย่างไรในอนาคต เราจะท�ำงานและสร้างคุณค่า ของธุรกิจควบคู่ไปกับเทคโนโลยีนวัตกรรมใหม่ไปได้อย่างไร มันคงเป็นค�ำ ถามสั้นๆ แต่วิธีการและค�ำตอบของมันก็จะไม่ใช่เรื่องที่ง่ายเลย ถ้าเราพูด เรือ่ งธุรกิจสิง่ พิมพ์กจ็ ะหลีกเลียงไม่ได้ทตี่ อ้ งพูดถึง “กระดาษ” เพราะมันเป็น วัตุดิบแรกเริ่มที่สำ� คัญ และเป็นสินค้าที่ต้องผลิตมาจากธรรมชาติล้วนๆ นั้น ก็คือ “ต้นไม้” ดังนั้นการที่จะก้าวสู่ความยั่งยืน กระดาษถือเป็นกุญแจหลัก ที่สำ� คัญเลยก็ว่าได้ เพราะถ้าต้นไม้หมดไปเราก็คงไม่มีกระดาษ และตอน นั้นจะเกิดอะไรขึ้น

กระดาษเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างที่เราทราบกันดีว่า ใน ทุกวันนี้ไม่ว่าอุตสาหกรรมใดๆ ก็ตา่ ง มุ่งเน้นในเรื่องของการป้องกันและ รักษาสิ่งแวดล้อมด้วยกันทั้งนั้น ไม่ เว้นแม้กระทั่งในอุตสาหกรรม ผลิต กระดาษ ( Paper Industry ) ก็พยายาม ทีจ่ ะคิดค้นนวัตกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม ( Green Innovation ) การจัดการแบบ ยัง่ ยืน ( Sustainable Management ) เพือ่ ต้องการเป็นส่วนหนึง่ ในการเป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืนและนวัตกรรมเพื่อสิ่ง แวดล้อมในอุตสาหกรรมกระดาษ วันนี้ไม่วา่ จะเป็นผูผ้ ลิตหรือ ผู้บริโภคกระดาษ ต่างวิ่งกันหานวัต กรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green Innovation) กันมากขึน้ ผมขอยกตัวอย่าง นวัตกรรม 2 ตัว ที่เจอมาและเห็น ว่า เป็นนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ น่าสนใจเป็นอย่างมากในการผลิต กระดาษ

120 ThaiPrint Magazine


Green Printing 1. Up to 50 % less Wood Fiber Than Offset Paper คือ นวัตกรรมที่เข้ามาการันตีการลดการใช้เยื่อ ป่าลงได้ 50% เมื่อเทียบกับกระดาษปอนด์และกระดาษ ถนอมสายตาทั่วๆ ไปในท้องตลาด โดยใช้วิธกี ารผลิตทีเ่ รียกว่า Thermo Mechanical Pulping (TMP) ซึ่งนอกจากจะท�ำให้ประหยัดการใช้เยื่อ ได้ลงแล้ว ยังท�ำให้คา่ ทึบแสงในกระดาษสูงมากขึน้ (High Opacity) และน�้ำหนักกระดาษก็จะลดลง (lower basis weight) แต่ความหนาของกระดาษยังคงสูงอยู่ (High Thickness) เมื่อเทียบกับกระดาษปอนด์และกระดาษ ถนอมสายตาทั่วๆ ไปในท้องตลาด 2. Totally Chlorine Free (TCF) คือ อีกหนึ่ง นวัตกรรมที่น่าสนใจในการผลิตกระดาษ โดยปราศจาก การใช้สารคลอรีน ซึง่ เป็นการตัง้ ต้นของการผลิตกระดาษ เพื่อท�ำให้กระดาษเป็นสีขาว (การฟอกสีเยื่อไม้) และ เป็นสารทีม่ กี ารตกค้าง กลายเป็นขยะสารพิษในการผลิต กระดาษที่ต้องปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม TCF จึงกลายมาเป็น อีกหนึ่งความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคกระดาษที่ต้อง การมากกว่าเรื่องการรักษาป่าไม้ แต่รวมไปถึงเรื่องของ สุขภาพอีกด้วย เพราะสารคลอรีนที่เป็นสารเคมีในการ ผลิตกระดาษของจากปล่อยสูร่ ะบบนิเวศแล้ว ยังเป็นสาร ที่ต้องอยู่ในตัวกระดาษอีกด้วย

ดังนั้น เจ้าตัว TCF ของกระดาษจึงเป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่น่าสนใจ โดยเฉพาะกระดาษธุรกิจสิ่งพิมพ์ แนวหนังสือเด็ก อาหาร โรงพยาบาล หรือแนวทีต่ อ้ งการ ความเป็นปลอดภัยเสริมเพิ่มเข้าไปด้วย (Eco & Healthy Paper)

ThaiPrint Magazine 121


Print Knowledge จากตัวอย่างของ 2 นวัตกรรมการผลิตกระดาษ • Forest Stewardship Council (FSC) Chain of เพือ่ สิง่ แวดล้อมที่ได้กล่าวไปนัน้ น่าจะท�ำให้ผบู้ ริโภคหัน Custody Standard มามองและเอาใจใส่ในเรื่องนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม กันมากขึ้น เพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรมกระดาษ ต่อไป แหล่งที่มาของกระดาษก็สำ� คัญ เมื่ อ ความต้ อ งการกระดาษมี ม ากขึ้ น การใช้ ทรัพยากรป่าไม้ก็มากขึ้นเป็นเงาตามตัว ถ้าไม่มีอะไรมา ควบคุมดูแล ก็คงไม่มีทรัพยากรป่าไม้เหลือพอให้เราน�ำ มาผลิตกระดาษแน่นอน ทั้งในการตรวจสอบแหล่งที่มา • Sustainable Forest Initiative (SFI) Chain of ของกระดาษก็เป็นสิ่งที่ผู้ผลิตและผู้บริโภคควรให้ความ Custody Standard ส�ำคัญเช่นกัน เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงที่มาของกระดาษ ที่ได้มา ขบวนการผลิต การจัดส่ง ว่าเป็นมาอย่างไร เอกสารที่ แ สดงรู ป แบบของการได้ ม าของกระดาษมี หลายรูปแบบทีจ่ ะเข้ามายืนยันในระดับสากล ทีเ่ ราเรียกว่า มาตรฐาน Chain of Custody (CoC) ซึ่งกลายเป็น เหมือนเครื่ องมือ ในตรวจสอบกระดาษอีก วิธีหนึ่งว่ า กระดาษของเราเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแล้วหรือไม่ เช่น

122 ThaiPrint Magazine


Green Printing • Programme for the Endorsement of Forest Certification Schemes (PEFC)

แนวทางการจัดท�ำระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001:2004 ส�ำหรับโรงพิมพ์ แนวทางการจัดท�ำระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม ISO14001:2004 (เพียงบางประเด็นทีส่ ำ� คัญเท่านัน้ ) เนือ่ งจากแนวทางและรูปแบบขององค์กร, ท�ำเลทีต่ งั้ และกระบวนการภายในทีม่ คี วามแตกต่างกันอยูเ่ พือ่ ความเข้าใจง่าย จะดึงเอาเฉพาะบางส่วนทีเ่ ป็นแนวปฏิบตั หิ ลักๆ ให้นำ� มาประยุกต์ใช้ดงั นี้ 1. ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental aspects) 2. กฎหมายและข้อก�ำหนดอื่นๆ (Legal and other requirements) 3. การจัดการข้อร้องเรียนด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental complaint) 4. การจัดการขยะของเสีย (Waste management) 5. การจัดการน�้ำเสีย (Waste water treatment) 6. การจัดการมลภาวะทางอากาศ (Air Emission Control) 7. การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency preparedness and response) ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental aspects) ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมของโรงพิมพ์ที่ส�ำคัญได้แก่ ขยะของเสีย, น�้ำเสีย, กลิ่นไอสารเคมี โดยเฉพาะโรงพิมพ์ระบบกราเวียร์ (gravure) และ โรงพิมพ์ ระบบซิลค์สกรีน (silk screen), การใช้ไฟฟ้า, ก๊าซ LPG ส�ำหรับโรง พิมพ์ระบบออฟเซตแบบม้วน, เสียงดัง เป็นต้น กฎหมายและข้อก�ำหนดอื่นๆ (Legal and other requirements) ส� ำ หรั บ ประเด็ น ข้ อ ก� ำ หนดทางกฎหมายจะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมของโรงพิมพ์ที่บ่งชี้ แต่อย่างไรก็ตามโรงพิมพ์ที่ อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรมจะต้องน�ำข้อ บังคับของการนิคมฯ หรือเขตประกอบการฯมาพิจารณาด้วยครับ รวมถึง เงื่อนไขแนบท้าย ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (รง.4) นอกจากนี้หาก โรงพิมพ์ทมี่ ลี กู ค้าส่งออกอาจจะต้องน�ำข้อก�ำหนดของสารโลหะหนักต้องห้าม ตาม RoHS หรือ REACH หรือ PFOS มาอยู่ในการประเมินความสอดคล้อง ด้วย เป็นต้น ThaiPrint Magazine 123


Print Knowledge การจัดการข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental complaint) ข้อร้องเรียนด้านสิง่ แวดล้อมของโรงพิมพ์ ส่วนใหญ่จะเป็นเรือ่ งกลิน่ เหม็นจากโรงพิมพ์ระบบกราเวียร์ (gravure) โรงพิมพ์ ระบบซิลค์สกรีน (silk screen) และโรงพิมพ์ระบบออฟเซตที่ใช้หมึก UV นอกจากนี้ เรื่องเสียงดัง รบกวน ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ชุมชนรอบๆ โรงพิมพ์อาจจะร้องเรียนได้ อย่างไรก็ตามโรงพิมพ์ที่ตั้งอยู่ในการนิคมฯ หรือเขตประกอบการ อุตสาหกรรม จะมีปญ ั หาเรือ่ งการร้องเรียนน้อยกว่าโรงพิมพ์ทตี่ งั้ อยูน่ อกนิคมฯ หรือเขตประกอบการอุตสาหกรรมทั้งเรื่องกลิ่นไอสารเคมีและเรื่องเสียงดัง ซึง่ จะจัดการได้ยาก ดังนัน้ โรงพิมพ์อาจจะต้องลงทุนในระบบการบ�ำบัดกลิน่ ไอสารเคมี หรือ ก�ำแพงกั้นเสียง เพิ่มเติมเพื่อลดผลกระทบดังกล่าว

การจั ด การมลภาวะทางอากาศ (Air Emission Control) โรงพิ ม พ์ ที่ มั ก จะมี ป ั ญ หา เรื่องมลภาวะทางอากาศ ได้แก่ โรง พิมพ์ระบบกราเวียร์ (gravure). โรง พิมพ์ ระบบซิลค์สกรีน (silk screen) และโรงพิมพ์ระบบออฟเซตทีใ่ ช้หมึก UV จึงอาจจะต้องลงทุนระบบบ�ำบัด กลิ่นไอสารเคมีก่อน เพื่อลดการรบ กวนไปสู่ชุมชนรอบโรงงาน และใน ส่วนพืน้ ทีบ่ ริเวณแท่นพิมพ์ตอ้ งมีปา้ ย การจัดการขยะของเสีย (Waste management) เตือน และโรงพิมพ์ต้องจัดอุปกรณ์ ของเสียอุตสาหกรรมของโรงพิมพ์ จะเป็นของเสียอันตราย ได้แก่ อันตรายส่วนบุคคล (PPE) เช่น หน้า กระป๋องหมึกพิมพ์, เศษผ้าปนเปื้อน, กากตะกอนน�้ำเสีย เป็นต้น และของ กากคาร์บอนกรองกลิ่นไอสารเคมี เสียที่ไม่อันตราย ได้แก่ เศษกระดาษ, เศษพลาสติก เป็นต้น ซึ่งจะต้องส่งไป แก่ผู้ปฏิบัติงาน เป็นต้น ก�ำจัดหรือขายให้กับผู้รับบ�ำบัดที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาห กรรมอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ส่วนสิง่ ปฏิกลู สามารถส่งไปก�ำจัดโดยองค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ หรือนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตประกอบการอุตสาหกรรม ที่โรงงานตั้งอยู่ การจัดการน�้ำเสีย (Waste water treatment) น�ำ้ เสียจากโรงพิมพ์ระบบเฟล็กโซ (Flexo) และโรงพิมพ์ระบบออฟเซต จะต้องค�ำนึงปริมาณน�ำ้ เสียทีป่ ลดปล่อยออกมาในแต่ละเดือน หากมีปริมาณ มาก อาจจะต้องบ�ำบัดทางเคมีและทางชีวภาพ เพื่อให้ค่าคุณภาพน�ำ้ เสีย อยู่ในเกณฑ์ทกี่ ฎหมายก�ำหนด ส่วนโรงพิมพ์ระบบกราเวียร์ (gravure) และ โรงพิมพ์ระบบซิลค์สกรีน (silk screen) ซึ่งใช้น�้ำมันสารละลายเป็นหลักใน กระบวนการผลิต จึงมีปัญหาเรื่องน�้ำเสียน้อย แต่อย่างไรก็ตาม หากโรง พิมพ์ระบบกราเวียร์ (gravure) ใดมีการชุบพอกโมลด์พิมพ์ จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ ต้อ งลงทุ น ระบบบ�ำ บั ด ทางเคมี ใ ห้ มีสารโลหะหนักไม่เกินเกณฑ์ที่ ก�ำหนดด้วย

124 ThaiPrint Magazine


Green Printing การตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (Emergency preparedness and response) โรงพิมพ์ทุกระบบการพิมพ์ล้วนแล้วแต่มีวัสดุติดไฟได้ง่ายภายใน โรงพิมพ์ จึงจ�ำเป็นต้องฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น โดยเฉพาะการซ้อม อพยพหนีไฟแก่พนักงานทุกคน อย่างน้อยปีละครั้งตามที่กฎหมายก�ำหนด นอกจากนี้ จะต้องจัดท�ำแผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเกีย่ วกับสารเคมีหกรัว่ ไหล และแผนฉุกเฉินเกี่ยวกับก๊าซ LPG รั่วไหล/ระเบิด (ถ้ามี) จะเห็นได้ว่าระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ISO14001 ที่จะน�ำไป ประยุกต์ใช้กับโรงพิมพ์ไม่ใช่เป็นเรื่องยาก เพียงแต่จะต้องเข้าใจประเด็นผล กระทบด้านสิ่งแวดล้อมตามประเภทของโรงพิมพ์ และระบบการควบคุมที่ เหมาะสมให้สอดคล้องตามกฎหมายเท่านัน้ ในความเห็นของผูเ้ ขียนโรงพิมพ์ ระบบกราเวียร์ (gravure) เป็นโรงพิมพ์ทม่ี ผี ลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมมากกว่า ระบบการพิมพ์อื่นๆ และอาจจะต้องมีระบบการจัดการประเด็นปัญหาสิ่ง แวดล้อมเป็นการเฉพาะ สิง่ ส�ำคัญทีผ่ เู้ ขียนขอฝากให้ผปู้ ระกอบการโรงพิมพ์ น�ำไปพิจารณาก็คือ ความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นพนักงานและ ชุมชนรอบข้างโรงงาน หากผู้ประกอบการสามารถแสวงหาก�ำไรบนความ เดือดร้อนของพนักงานและชุมชนรอบๆ โรงงาน ย่อมไม่สามารถอยูร่ ว่ มกัน ได้ โ ดยปกติสุขอย่างแน่นอน ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อมจึงเป็นเรื่องส�ำคัญที่ ทุกคนทุกฝ่ายในสังคมที่ต้องรับผิดชอบร่วมกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (ปิยะชัย จันทรวงศ์ไพศาลม ,2556) Green Ocean Society 7 Habits ในกลยุทธ์น่านน�ำ้ สีเขียว หรือ Green Ocean Strategy จ�ำแนกองค์ ประกอบของกลยุทธ์ออกเป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ เรื่องของ “ระบบ” ที่ก�ำกับดูแลด้วยธรรมาภิบาลสีเขียว (Green Governance) และเรื่องของ “คน” ที่ปลูกสร้างด้วยอุปนิสัยสีเขียว (Green Habits) อุปนิสัยสีเขียวจะช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ที่โลกก�ำลังเผชิญอยู่ โดยเฉพาะวิกฤตภาวะโลกร้อนจาก การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศอันเกิดจากน�้ำมือ ของมนุษย์ เห็นได้จากพิบตั ภิ ยั แผ่นดินไหว สึนามิทญ ี่ ปี่ นุ่ สร้างให้เกิดวิกฤตนิวเคลียร์และการรัว่ ไหลของสารกัมมันตรังสี หรือสถานการณ์ฝนตกหนักติดต่อกันหลายวันใน 5 จังหวัดภาคใต้ที่ก่อให้เกิดน�้ำท่วม ดินถล่ม การจราจร ถูกตัดขาด หรือแม้กระทั่งความกดอากาศสูงที่แผ่จาก ประเทศจีนจนท�ำให้เกิดอากาศหนาวในฤดูรอ้ นเป็นช่วงๆ ความจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม เพื่อช่วยเยียวยาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มิให้เป็นภัย อันตรายต่อคนรุ่นเรา รวมทั้งต้องพิทักษ์ระบบนิเวศให้ ยืนยาวสืบต่อไปยังคนรุ่นหลัง ด้วยอุปนิสัยสีเขียวภาย ThaiPrint Magazine 125


Print Knowledge

ใต้กลยุทธ์น่านน�้ำสีเขียว ประกอบด้วย 7 อุปนิสัย ได้แก่ 1. Rethink ความเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้น ก็ต่อ เมื่อเรามีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงด้วยตนเอง กระแส การรณรงค์เรื่องสิ่งแวดล้อมจะไม่เกิดผลส�ำเร็จใดๆ หาก ทุกคนที่ได้รับฟังข้อมูลไม่ตระหนักว่าตนเองต้องเปลี่ยน แปลง การรอคอยให้ผู้อื่นท�ำไปก่อน แล้วเราจึงค่อยคิด จะท�ำนั้น จะท�ำให้ท่านได้รับการดูแลจากธรรมชาติเป็น คนท้ายๆ 2. Reduce โลกร้อน เมือ่ เราเผาผลาญทรัพยากร เกินขีดจ�ำกัดทีธ่ รรมชาติจะหมุนเวียนได้ทนั โลกบูดเพราะ เราบริโภคเกินจนเกิดขยะและของเสียที่ไม่สามารถย่อย สลายตามธรรมชาติได้ทนั จงช่วยกันลดการใช้ทรัพยากร ให้เหลือแต่เท่าที่จ�ำเป็น และช่วยกันลดการบริโภคเพื่อ ไม่ให้เกิดขยะและของเสียจ�ำนวนมากอย่างที่เป็นอยู่ 3. Reuse ส�ำรวจของทีซ่ อื้ มาแล้วเพิง่ ใช้เพียงหน เดียวว่า สามารถใช้ประโยชน์ซ�้ำได้หรือไม่ หาวิธีการใช้ บรรจุภัณฑ์ซ�้ำหรือหลีกเลี่ยงบรรจุภัณฑ์ชนิดใช้ครั้งเดียว ทิ้ง การซื้อของมีคุณภาพที่ราคาสูงกว่า แต่ใช้งานได้ทน นาน จะดีกว่าซื้อของที่ด้อยคุณภาพในราคาถูก แต่ใช้ งานได้เพียงไม่กี่ครั้ง 4. Recycle เป็นการน�ำวัสดุที่หมดสภาพหรือที่ ใช้แล้วมาปรับสภาพเพือ่ น�ำมาใช้ใหม่ เริม่ ลงมือปรับแต่ง ของใช้แล้วในบ้านให้เกิดประโยชน์ใหม่ ช่วยกันคัดแยก ขยะหรือวัสดุเหลือใช้ที่ไม่สามารถรีไซเคิลได้เองมอบให้ แก่หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ดีกว่าทิง้ ให้เสือ่ มโทรมหรือเก็บ ไว้เฉยๆ โดยเปล่าประโยชน์ 5. Recondition ของหลายอย่างสามารถปรับ แต่งซ่อมแซมแล้วน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ดงั เดิม จงพยายาม 126 ThaiPrint Magazine

ใช้ของให้ถกู วิธเี พือ่ หลีกเลีย่ งการช�ำรุดเสียหายก่อนเวลา อันควรและหากสิง่ ของใดมีกำ� หนดเวลาทีต่ อ้ งบ�ำรุงรักษา ให้หมั่นตรวจสอบและปฏิบัติตามตารางการบ�ำรุงรักษา เพื่อยืดอายุการใช้งานให้นานขึ้น 6. Refuse การปฏิเสธเป็นช่องทางหนึ่งที่ช่วย อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจ�ำกัดไม่ให้ถูก น�ำมาใช้หรือถูกท�ำลายเร็วขึ้น และเพื่อให้เวลาธรรมชาติ ในการฟื้นสภาพตัวเองตามระบบนิเวศ เริ่มจากสิ่งนอก ตัว เช่น สินค้าฟุ่มเฟือย สิ่งที่เราต้องเติมใส่ร่างกาย เช่น อาหารน�ำเข้า จนถึงสิ่งที่อยู่ข้างในกาย คือ จิตใจ เพราะ เมื่อจิตร้อน กายก็ร้อน สิ่งรอบข้างก็ได้รับกระแสร้อน สุดท้ายทั้งโลกก็ร้อนขึ้น 7. Return หน้าที่หนึ่งของมนุษย์ในฐานะผู้ อาศัยโลกเป็นที่พักพิง คือ การตอบแทนคืนแก่โลก ใคร ใช้ทรัพยากรใดจากธรรมชาติเยอะ ก็ต้องคืนทรัพยากร นั้นกลับให้มากๆ พยายามอย่าติดหนี้ โลก เพราะวัน หนึ่งโลกจะมาทวงหนี้จากท่าน ตราบที่ท่านยังต้องเวียน ว่ายตายเกิดบนโลกใบนี้


Infographic Green Printing

ThaiPrint Magazine 127


Print Knowledge

การป้องกันและตรวจสอบทุจริตโดยผู้ประกอบการ กรณีตัวแทนออกของปลอม ใบขนสินค้า และใบเสร็จรับเงินค่าภาษีอากร โดย นายจุมพล แรงกสิกร นักวิชาการศุลกากรชำ�นาญการพิเศษ 1. สภาพปัญหา การปฏิบัติพิธีการศุลกากร ในการน�ำสินค้าเข้าหรือส่งสินค้าออก ทั้งทางบก ทางเรือ ทางอากาศ และทางไปรษณีย์ ผู้ประกอบการจะต้อง ปฏิ บั ติ ใ ห้ ถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นตามกฎหมายศุ ล กากรและกฎหมายอื่ น ที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนระเบียบและประกาศที่กรมศุลกากรก�ำหนด ปัจจุบัน การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางศุลกากรในรูปแบบต่างๆ มีเพิม่ มากขึน้ ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศตามมาตรฐานสากล เช่น การคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ คลังสินค้าทัณฑ์บน เขตปลอดอากร นอก จากนี้ยังมีการใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยส่งเสริมการลงทุนการ ชดเชยค่าภาษีอากร รวมทั้งการน�ำสินค้าเข้าและสินค้าออกตามข้อตกลง

128 ThaiPrint Magazine

ทางการค้าระหว่างประเทศ อาทิ เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เขต การค้าเสรีไทย-จีน เขตการค้าเสรี ไทย–ออสเตรเลีย เขตการค้าเสรี ไทย–นิวซีแลนด์ เขตการค้าเสรีไทย –อินเดีย ความตกลงหุน้ ส่วนเศรษฐ กิจไทย–ญี่ปุ่น (JTEPA) เป็นต้น การปฏิบตั พิ ธิ กี ารศุลกากร ให้ถูกต้องครบถ้วนส�ำหรับการน�ำ เข้ า สิ น ค้ า และการส่ ง ออกสิ น ค้ า ตามปกติ หรือสินค้าที่ได้รับสิทธิ ประโยชน์ ตลอดจนสินค้าที่ต้อง ปฏิ บั ติ ต ามพั น ธกรณี ร ะหว่ า ง ประเทศ จึงเป็นเรือ่ งทีค่ อ่ นข้างยาก ล�ำบากส�ำหรับผู้ประกอบการที่จะ ศึกษา สร้างความเข้าใจและสามารถ ด�ำเนินการได้ดว้ ยตนเอง ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการจึง จ�ำเป็นต้องมอบอ�ำนาจให้ตัวแทน ออกของ หรือที่เรียกกันโดยทั่วไป ว่า ชิปปิ้ง ซึ่งมีทั้งนิติบุคคลและ บุคคลธรรมดาเป็นผู้ดำ� เนินพิธีการ ทางศุลกากรแทนตามมาตรา 106 มาตรา 108 และมาตรา 109 แห่ง


การป้องกันและตรวจสอบทุจริตโดยผู้ประกอบการ

พระราชบัญญัตศิ ลุ กากร พ.ศ.2469 แล้วแต่กรณี ตัวแทนออกของบาง รายอาจอาศัยช่องทางทีม่ กี ารมอบ อ�ำนาจ กระท�ำการทุจริตต่อผู้ประ กอบการด้วยการฉ้อโกงเงินค่าภาษี อากรที่ รั บ มาจากผู ้ ป ระกอบการ เพื่อน�ำมาช�ำระให้กรมศุลกากร 2. วิธกี ารกระท�ำทุจริตของตัวแทน ออกของต่อผู้ประกอบการ จากการตรวจสอบหลั ง การตรวจปล่อย ณ สถานประกอบ การ โดยใช้หลักการบริหารความ เสี่ยง (Risk Management) ตาม มาตรา 115 ทวิแห่งพระราชบัญญัติ ศุลกากร พ.ศ. 2469 เจ้าหน้าที่ผู้ ตรวจสอบพบว่ า ผู ้ ป ระกอบการ บางรายจัดเก็บเอกสารทางการค้า ประเภทต่างๆ และสื่อข้อมูลอิเล็ก ทรอนิ ก ส์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การน� ำ สิ น ค้ า เข้ า และการส่ ง สิ น ค้ า ออก รวมทั้งใบขนสินค้า และใบเสร็จรับ เงินค่าภาษีอากรไว้ในระบบบัญชี ณ สถานประกอบการ ตามมาตรา 113 ทวิแห่งพระราชบัญญัตศิ ลุ กากร

พ.ศ. 2469 และประกาศกรมศุลกากรที่ 26/2543 แต่มีการส�ำแดงรายการ ในเอกสารทางบัญชีหรือเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้องของผู้ประกอบการไม่ตรง กับรายการฐานข้อมูลในระบบของกรมศุลกากร สาเหตุของการส�ำแดง รายการของผู้ประกอบการและฐานข้อมูลของกรมศุลกากรที่ไม่ถูกต้อง ตรงกัน อาจเกิดจากตัวแทนออกของกระท�ำการทุจริต ปลอมใบขนสินค้า และใบเสร็จรับเงินค่าภาษีอากร เพือ่ น�ำไปหลอกลวงผูป้ ระกอบการให้หลง เชื่อว่าเงินค่าภาษีอากรที่ตนรับมาจากผู้ประกอบการนั้นได้น�ำไปช�ำระให้ กรมศุลกากรถูกต้องครบถ้วนแล้ว การกระท�ำทุจริตของตัวแทนออกของ อาจใช้วิธีการ ดังนี้ 2.1 ส�ำแดงราคาสินค้าในใบขนสินค้า ต�ำ่ กว่าราคาซือ้ ขายทีแ่ ท้จริง เพื่อผ่านพิธีการศุลกากร และช�ำระค่าภาษีอากรต�ำ่ กว่าที่ต้องช�ำระจริง 2.2 ส�ำแดงประเภทพิกัดอัตราศุลกากร ชนิดสินค้า ปริมาณสินค้า

ThaiPrint Magazine 129


Print Knowledge

ไม่ตรงกับความเป็นจริงในการผ่านพิธีการศุลกากร 2.3 ผ่านพิธกี ารศุลกากร โดยใช้ชอื่ ของนิตบิ คุ คลหรือบุคคลธรรมดา รายอืน่ ซึง่ มิใช่ผปู้ ระกอบการรายทีต่ นเป็นตัวแทนออกของ หลังจากนัน้ มา จัดท�ำใบขนสินค้าปลอมและใบเสร็จรับเงินค่าภาษีอากรปลอมขึ้น เพื่อน�ำ ไปยื่นให้ผู้ประกอบการรายที่ตนเป็นตัวแทนออกของ 3. สาเหตุการกระท�ำทุจริตของตัวแทนออกของต่อผูป้ ระกอบการ 3.1 ขั้นตอนการท�ำธุรกรรมของผู้ประกอบการที่เอื้อต่อการกระท�ำ ทุจริต - กรณีตัวแทนออกของสามารถด�ำเนินธุรกรรมโดยแจ้งต่อผู้ประ กอบการว่าตนเป็นผู้ชำ� ระค่าภาษีอากรล่วงหน้า (Advance Payment) ให้ กับผู้ประกอบการและมาเรียกเก็บเงินค่าภาษีอากรภายหลังเมื่อมีการผ่าน พิธีการศุลกากรแล้ว พร้อมน�ำสินค้ามาส่งมอบให้ผู้ประกอบการ - กรณีกรรมการผูจ้ ดั การหรือกรรมการผูม้ อี ำ� นาจลงนามของบริษทั ผู้ประกอบการเป็นชาวต่างชาติ และต้องเดินทางไปต่างประเทศบ่อยครั้ง หรือกรรมการดังกล่าวมีธุรกิจมาก ไม่มีเวลาตรวจสอบธุรกรรมการ น�ำ

130 ThaiPrint Magazine

สินค้าเข้าหรือการส่งสินค้าออกได้ มอบหมายให้ ตั ว แทนออกของ ด�ำเนินการลงลายมือชื่อแทนหรือ ตนเองได้ลงลายมือชื่อไว้ให้เป็น การล่ ว งหน้ า ในเอกสารธุ ร กรรม หลายฉบับ 3.2 การสร้างช่องทางทุจริต โดยอาศัยบุคคลอื่น - ตัวแทนออกของร่วมมือ กั บ พนั ก งานของผู ้ ป ระกอบการ สมคบกันฉ้อโกงเงินของผูป้ ระกอบ การ - ตัวแทนออกของที่ไม่สจุ ริต ฉ้อโกงผู้ประกอบการ โดยใช้ชื่อ นิติบุคคลหรือบุคคลธรรมดาราย


การป้องกันและตรวจสอบทุจริตโดยผู้ประกอบการ อืน่ ซึง่ มิใช่ผปู้ ระกอบการรายทีต่ น เป็นตัวแทนออกของในการผ่าน พิธีการศุลกากร 4. แนวทางการป้องกันและตรวจ สอบทุจริตโดยผูป้ ระกอบการ 4.1 แนวทางของผูป้ ระกอบ การ - ผูป้ ระกอบการควรเลือก ตัวแทนออกของซึ่งเป็นนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดา ทีม่ ปี ระวัตกิ าร ท�ำงานน่าเชื่อถือ มีความรู้ความ สามารถ มีความซื่อสัตย์สุจริต - ผูป้ ระกอบการควรระมัด ระวังในการเก็บ รวบรวม รักษา ข้อมูลการน�ำสินค้าเข้าและการส่ง สินค้าออกให้เป็นระบบ ตลอดจน การจัดล�ำดับความส�ำคัญของเอก สาร รวมทัง้ การมอบหมายงาน - ผูป้ ระกอบการพึงตระหนัก ถึงหน้าที่ในการตรวจสอบความ ถูกต้องของเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ การน�ำสินค้าเข้าและการส่งสินค้า ออก ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อความ รับผิดในภาระค่าภาษีอากร เช่น ตรวจสอบรายละเอียดของสินค้า จ�ำนวนเงินทีต่ อ้ งช�ำระค่าภาษีอากร ให้ถูกต้องตรงกับใบเสร็จรับเงิน ค่าภาษีอากร 4.2 แนวทางของกรมศุล กากรที่ เ อื้ อ ประโยชน์ ต ่ อ การ ตรวจสอบ - ผู้ประกอบการช�ำระค่า ภาษีอากรผ่านแคชเชียร์เช็ค สั่ง จ่ายกรมศุลกากรโดยตรง ช่วยให้ สามารถตรวจสอบข้อมูลการช�ำระ ค่าภาษีอากรได้ถูกต้องตรงกันกับ ระบบของกรมศุลกากร - ผูป้ ระกอบการเปิดบัญชี

ธนาคารช�ำระค่าภาษีอากรกับกรมศุลกากร โดยการบริการรับช�ำระค่าภาษี อากรทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบหักบัญชีอัตโนมัติของธนาคาร (e-Payment) ซึง่ ระบบจะท�ำการหักเงินค่าภาษีอากรจากผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นผูน้ ำ� เข้าหรือผู้ส่งออกอัตโนมัติ ตลอด 24 ชั่วโมง และจะช่วยให้สามารถตรวจ สอบข้อมูลการช�ำระค่าภาษีอากรได้ถูกต้องตรงกับระบบของกรมศุลกากร เช่นเดียวกับการช�ำระค่าภาษีอากรผ่านแคชเชียร์เช็คสั่งจ่ายกรมศุลกากร โดยตรง - ผู้ประกอบการซึ่งเป็นผู้นำ� เข้าหรือผู้ส่งออก สามารถตรวจสอบ ข้อมูลการจดทะเบียนของตนเองรวมถึงข้อมูลรายละเอียดในใบขนสินค้า สถานะการผ่านพิธีการศุลกากร และสถานะการช�ำระค่าภาษีอากรของใบ ขนสินค้านั้นได้โดยตรง ผ่านระบบติดตามสถานะการผ่านพิธีการศุลกากร ทางอินเตอร์เน็ตด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tracking) ที่ http://e-tracking.customs.go.th - ผู้ประกอบการ สามารถสมัครเข้าใช้บริการระบบ Smart Intelligence System (โครงการดีใจได้บริการ) โดยยื่นค�ำร้องขอจัดเก็บเอกสาร ในระบบ SIS และไม่มีค่าใช้จ่ายในการใช้บริการแต่อย่างใด จากโครงการ พัฒนาระบบจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-Document) ที่กรมศุลกากร จัดท�ำขึ้นมาเพื่อให้บริการกับผู้ประกอบการที่มีความประสงค์จะจัดเก็บ เอกสารและข้ อ มู ล ประกอบใบขนสิ น ค้ า ที่ มี เ ป็ น จ� ำ นวนมากและไม่ สามารถส่งเข้าสู่ระบบ e-Customs ได้อย่างครบถ้วน อันอาจเป็นเอกสาร ที่มีความส�ำคัญและสามารถใช้ในการตรวจสอบยืนยันความถูกต้องได้

ThaiPrint Magazine 131


Print Knowledge

Mineral oil-free (VOC free), Offset ink range Coming !!!

By.. Huber Inks

มิเนอรัล ออยล์ ฟรี (VOC FREE), หมึกพิมพ์ออฟเซต Mineral oil free/VOC Free เพื่อ สิ่งแวดล้อมที่แท้จริงและอย่างยั่งยืน ได้เวลาแล้วสำ�หรับอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทยเพื่อร่วมกันลดภาวะ โลกร้อน ในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ประชากรโลกเริม่ ตระหนัก และห่วงใยต่อปัญหามลพิษสภาพแวดล้อมและสิ่งแวด ล้อมในปัจจุบันเป็นอย่างมาก อุตสาหกรรมด้านต่างๆ พร้อมกับภาครัฐ เริ่มหันมาสนใจและมีความใส่ใจกับสิ่ง แวดล้อมมากขึน้ เป็นล�ำดับ ไม่เพียงจากส่วนราชการเท่า นั้น แต่ในขณะเดียวกันกระแสสังคมโลกและภาคประชา ชนทีเ่ ป็นผูบ้ ริโภคเริม่ เอาใจใส่และรณรงค์เรียกร้องการใช้ ผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นตามล�ำดับ ในภาคส่วนของอุตสาหกรรมการพิมพ์ หมึกพิมพ์

132 ThaiPrint Magazine

เป็นองค์ประกอบส�ำคัญในกระบวนการพิมพ์ที่ท�ำให้ เกิดภาพพิมพ์บนวัสดุที่ใช้พิมพ์สิ่งพิมพ์ ซึ่งเป็นสิ่งที่เรา ทุกคนสัมผัสอยู่ตลอดการใช้ชีวิตอย่างหลีกเลี่ยงไมได้ เช่น หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ นิตยสารต่างๆ แผ่นพับ ป้ายโฆษณา รวมถึงบรรจุภัณฑ์ทุกประเภท หากมีการ ใช้หมึกพิมพ์ทม่ี สี ว่ นผสมของโลหะหนัก เช่น ตะกัว่ แคดเมี่ยม ปรอท โครเมี่ยม โลหะหนักเหล่านี้จะฟุ้งกระจาย และอาจตกค้างอยู่ในบรรยากาศเป็นเวลานานหลาย เดือน เมือ่ มีการสัมผัสหรือหายใจเข้าไปแล้วจะสะสมอยู่ ในร่างกาย จึงเป็นอันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ส่วนสารอินทรีย์ระเหยง่าย (Organic Solvent) /From fossil resources) ที่ใช้เป็นส่วนผสมของตัวพาหมึกนั้น หากได้รับเข้าไปในร่างกายเป็นเวลานานหรือบ่อยครั้ง เข้า อาจเป็นอันตรายต่อระบบประสาท ระบบเลือดและ ไต นอกจากนี้ ยังเป็นสารสะสมก่อให้เกิดมะเร็งอีกด้วย และยังเป็นส่วนที่ท�ำปฏิกิริยากับแสงแดดเปลี่ยนเป็น โอโซนและมวลสารอื่นๆ เกิดเป็นหมอกในบรรยากาศ ชัน้ ล่าง มวลสารเหล่านีส้ ามารถท�ำให้เกิดการระคายเคือง ที่ตา จมูกและคอ อีกทั้งยังเป็นอันตรายต่อการเติบโต หรือถูกสะสมในพืชพันธุ์ได้อีกด้วย ดังนั้น ผู้ผลิตหมึกพิมพ์จึงได้ตระหนักถึงความ ส�ำคัญของปัญหาสารเคมีและสารระเหยทีส่ ง่ ผลต่อสุขภาพ


Mineral oil-free (VOC free) อนามัย และสิ่งแวดล้อม จึงได้พยายามพัฒนาปรับปรุง คุณภาพของหมึกพิมพ์โดยค�ำนึงถึง 1. Mineral oil free (from fossil resources) หรือ การลดสารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยได้ (Volatile Organic Compounds: VOCs 1) โดยใช้ Vegetable oil-Base มาทดแทน ( from renewable resources) 2. ยกเลิกการใช้วัตถุดิบที่มีส่วนผสมของโลหะ หนักต่างๆ เป็นองค์ประกอบ 3. พิจารณาลดขยะสารพิษที่เกิดขึ้นในกระบวน การอุตสาหกรรมการผลิต Mineral oil free หรือ VOC free ก�ำลังเป็น หั ว ข้ อ ที่ ถู ก เน้ น และกล่ า วถึ ง ในเรื่ อ งของการพั ฒ นา ปรับปรุง เพื่อหาสารมาทดแทนในหมึกพิมพ์ระบบออฟ เซตแบบป้อนแผ่นและป้อนม้วน (Web offset, Heatset and Coldset ink) อีกทั้งยังรวมไปถึงหมึกพิมพ์ ที่ใช้พิมพ์ บรรจุภัณฑ์ประเภทอาหารต่างๆ (Low migration/ Low odour MGA ink) ด้วยเทคโนโลยีการผลิตหมึกสมัยใหม่ จึงสามารถประสบความส�ำเร็จ และได้น�ำไปใช้ ใ นวงการ

อุตสาหกรรมการพิมพ์ระดับโลกอยู่ ณ ขณะนี้ โดยที่ในปัจจุบันผู้ผลิตหมึกพิมพ์โดยส่วนใหญ่ ได้ยกเลิกการใช้วัตถุดิบที่มีส่วนผสมของโลหะหนักเป็น องค์ประกอบในการผลิตหมึกพิมพ์ทั้งหมดแล้ว ซึ่งถูก ก�ำหนดเป็นหัวข้อส�ำคัญโดยโรงพิมพ์หรือผู้จ้างพิมพ์ (End user) โดยผูผ้ ลิตจะต้องแสดงให้ทราบถึงปริมาณสาร โลหะหนักมีค่าไม่เกินมาตรฐานของ RoHS, EN 71-3 (Toy test). ที่มีในองค์ประกอบของหมึกพิมพ์จงึ จะได้รบั การพิจารณาให้ ใช้ ไ ด้ ส่ ว นในการพิ จารณาลดขยะสารเคมี และสาร ระเหยที่เกิดขึ้นในกระบวนการอุตสาหกรรมการผลิต นั้น ผู้ผลิตต่างๆ ก็ได้พยายามด�ำเนินการเพื่อให้บรรลุ ถึงเป้าหมายกันอยู่ ในที่นี้จึงจะขอกล่าวเกี่ยวกับการลด สารประกอบอินทรียท์ รี่ ะเหยได้ (Volatile Organic Compounds : VOCs) หรือ Mineral oil-free โดยจะเน้นที่ หมึ ก พิ ม พ์ ใ นระบบออฟเซตป้ อ นแผ่ น และป้ อ นม้ ว น เท่านั้น

ภาพขององค์ประกอบหมึกพิมพ์ของแต่ละชนิด ThaiPrint Magazine 133


Print Knowledge ตารางแสดงปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่ายในหมึกพิมพ์ประเภทต่างๆ

ประเภทหมึกพิมพ์ Offset Letterpress Flexographic Gravure Screen Metal decoration Paper Coating

ชนิดของหมึกพิมพ์

ส่ วนผสม (%)

Sheet fed ink Heat set ink News offset ink

ต.ค.-40

Letterpress ink Alcohol-based ink Water-based ink Publication ink Flexible packaging ink Water based packaging Screen ink Tin printing ink Paper varnish

40 - 60 20 – 70 0 - 20 40 – 80 60 – 80 ต.ค.-30 20 - 70 ต.ค.-20 0 - 60

10 – 30 20 – 60

ทัง้ ยังมีความพยายามอย่าง มากใน 10 กว่าปีทผี่ า่ นมาทีพ่ ยายาม เปลี่ยนหมึกพิมพ์ออฟเซตจากฐาน น�้ำมันปิโตรเลียม (Petroleum oilbase ink) หรือ Mineral oil เป็นหมึก พิมพ์ฐานน�ำ้ มันพืช2 (Vegetable oilbased ink) เพื่อลดการระเหยของ สารประกอบไฮโดรคารบอนซึ่งเป็น ต้นเหตุส�ำคัญที่ก่อให้เกิดอันตราย ต่ อ ร่ า งกายและสิ่ ง แวดล้ อ มดั ง ได้ กล่าวมาแล้วข้างต้น เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า น�้ ำ มั น ถั่วเหลือง (Soybean oil) ได้เข้ามามี บทบาทส�ำคัญในการทดแทนที่น�้ำ มันปิโตรเลี่ยม (Petroleum solvent) หรือ Mineral oil และได้รบั ความนิยม อย่างมาก เนื่องจากในอดีตมีราคา ถู ก กว่ า น�้ ำ มั น ปิ โ ตรเลี่ ย มอี ก ทั้ ง ยั ง 134 ThaiPrint Magazine


Mineral oil-free (VOC free) ช่วยส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้ดขี นึ้ และได้มกี ารส่งเสริม ให้ใช้น�้ำมันถั่วเหลืองกันอย่างแพร่หลายทั้งในประเทศ สหรัฐอเมริกา ยุโรปและเอเซีย เช่น สถาบัน ASA (American Soybean Association) อนุญาตให้น�ำใช้ สัญญลักษณ์ “Soy mark” แก่ผู้ผลิตหมึกพิมพ์ออฟเซต ชุด 4 สี ที่มีส่วนผสมของน�้ำมันถั่วเหลืองตั้งแต่ 20% ขึน้ ไปในทุกสี สามารถน�ำสัญลักษณ์ไปติดทีฉ่ ลากได้เพือ่ แสดงให้เห็นว่าหมึกพิมพ์นนั้ ๆ ได้ใช้นำ�้ มันถัว่ เหลืองเป็น องค์ประกอบในการผลิตและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม แต่ถ้าเรามองลึกเข้าไปในองค์ประกอบของหมึก พิมพ์ออฟเซตทีม่ นี ำ�้ มันถัว่ เหลืองเป็นองค์ประกอบ ก็จะ พบว่ายังคงมีนำ�้ มันปิโตรเลี่ยม หรือ Mineral oil อยู่ ซึ่ง จะอยู่ในส่วนผสมของตัวพาหมึก (Varnish) เพียงแต่มี ปริมาณลดลงเท่านั้น ดังนั้น หมึกพิมพ์ฐานน�้ำมันพืช (Vegetable–Oil based Ink) จะยังคงมีสารประกอบอินทรีย์ ที่ ร ะเหยได้ อ ยู ่ ด ้ ว ยและจะยั ง คงเป็ น ตั ว ที่ ท� ำ อั น ตราย ต่อสุขภาพและสภาพแวดล้อมของเราอยู่ ปัจจุบัน บริษัท ฮิวเบอร์ อิงค์ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด และบริษัท Huber group ซึ่งเป็นผู้ผลิตหมึกพิมพ์ อันดับต้นๆ ของโลก ได้เล็งเห็นความส�ำคัญของการรักษา สุขภาพและส่งเสริมสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น จึงได้พัฒนา หมึกพิมพ์ชุดสี่สีที่ไม่มีสารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยได้ หรือเรียกว่า Mineral oil free /(Non Volatile Organic

Compounds) หรือ เรียกง่ายๆ VOC FREE ขึ้นมา เพื่อให้เกิดการรักษาสุขอนามัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวด ล้อมอย่างแท้จริง ซึ่งประสบความส�ำเร็จอย่างมากและ ใช้กันอย่างแพร่หลายไปทั่วโลกในขณะนี้ อีกทั้งได้มีการ น�ำเข้ามาจัดจ�ำหน่ายและท�ำการตลาดการขายอย่าง จริงจังในวงการอุตสาหกรรมการพิมพ์ไทย ณ เวลานี้ เพือ่ ร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริงและก็ยั่งยืนต่อไป โดยอยู่ในแนวคิดที่ว่า 1. Mineral oil free ; The share of fossilbased components in formulation has been reduced from 70 to 20 % 2. VOC Free ; /( Non Volatile Organic Compounds ) 3. Contributes to Carbon Off-set

ผลิตภัณฑ์หมึกพิมพ์ออฟเซต ที่ใช้แนวคิดนี้

10 – 30% 30 – 40% 10 – 15% 20 – 30%

10 – 30% 30 – 40% 20 – 25% 15 – 25%

Mineral oil free/ Non-Volatile Ink ( VOC free) 10 – 30% 30 – 40% 40 – 50% * 0%

0 – 5%

0 – 5%

0 – 5%

Formulation of ink Conventional ink Common Soya Ink Pigment Resin Vegetable oil Hydrocarbon Solvent Additive

รูปที่ 1. เปรียบเทียบองค์ประกอบหมึกพิมพ์แต่ละชนิดกับหมึกพิมพ์ที่ใช้แนวคิดนี้เพื่อสิ่งแวดล้อม ThaiPrint Magazine 135


Print Knowledge

รูปที่ 2 The Share of fossil-based components in our formulate has been reduced from 70 to 20 %

ของ RoHS, REACH และ EN71-3 อีกทัง้ ยังได้รบั การ รับรอง ISO 2846-1 จาก FOGRA ซึง่ เป็นสถาบันทีท่ ำ� การ ตรวจวิ เ คราะห์ ห มึ ก พิ ม พ์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งจากประเทศ เยอรมัน (ISO2846-1 no.24566) และยังใช้ได้กบั เครือ่ ง พิมพ์ทโี่ รงพิมพ์ตอ้ งการขอการรับรอง ISO12647-2 อีก ด้วย หมึกพิมพ์ออฟเซตของ บริษทั Huber Group ได้ ถูกน�ำเข้ามาและจัดจ�ำหน่ายโดย Huber inks (Thailand) Co.,Ltd เพือ่ ให้สงิ่ ทีด่ ที สี่ ดุ ทัง้ ในด้านการพิมพ์และการรักษา สุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริงและยั่งยืน ต่อไป ดังนั้นถ้าเป็นไปได้เราควรเลือกใช้หมึกพิมพ์ที่มี ส่วนประกอบจากวัสดุธรรมชาติ ไม่มสี ารเคมีอนั ตรายหรือ สีทผี่ สมโลหะหนัก และปราศจากสารเคมีตกค้างในงาน พิมพ์ ซึง่ จะท�ำให้เกิดความปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภคในการใช้ งานจริงและที่ส�ำคัญสามารถลดการปนเปื้อนของสาร เคมี,โลหะหนัก,ลดปริมาณการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จ�ำกัด พร้อมทัง้ ลดปริมาณสารระเหยต่างๆ ทีม่ อี ยูใ่ นหมึก พิ ม พ์ ซึ่ ง จะส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มของโลกใน รูปที่ 3 The mineral Oil-free inks of hubergroup ปัจจุบนั นีด้ ว้ ย (ซึง่ มีสว่ นร่วมลดภาวะโลกร้อนไปด้วยเช่น นอกจากคุณสมบัตสิ ำ� คัญนีแ้ ล้ว The Mineral oil- กัน) และเหนือสื่งอื่นใด เพี่อสุขภาพอนามัยของพวกเรา free inks of Huber group ยังได้คณ ุ สมบัตผิ า่ นเกณฑ์กำ� หนด ทุกคน 136 ThaiPrint Magazine


Mineral oil-free (VOC free)

หมายเหตุ 1 สารประกอบอินทรีย์ที่ระเหยได้ (volatile organic compounds: VOCs) หมายถึง สารประกอบไฮ โดรคารบอนหรือสารอินทรีย์ที่เป็นของเหลวหรือของแข็งที่ระเหยหรือระเหิดสู่อากาศได้ง่ายที่มีจุดเดือดไม่ เกิน 250 องศาเซลเซียสที่ความดันปกติ (ตามวิธีทดสอบ ISO11890-1 or ISO11890-2 ที่อุณหภูมิและความ ดันคงที่ 2 หมึกพิมพ์ฐานน�ำ้ มันพืช (vegetable oil-based ink) หมายถึงหมึกพิมพ์ที่ใช้น�้ำมันพืช เช่น น�ำ้ มันถั่ว เหลือง, น�้ำมันลินซีด, น�้ำมันทังออยล์ เป็นต้น มาทดแทน Mineral oil หรือ น�ำ้ มันปิโตรเลี่ยม เนื่องจากน�้ำมัน ถั่วเหลืองที่ใช้ ไ ม่ เป็นสารพิษและเป็นชนิดเดียวกับที่ใช้ประกอบอาหาร แต่ปจั จุบนั เริ่มมีราคาสูงขึ้นประกอบ กับประชากรของโลกเริ่มหันมาบริโภคน�้ำมันถั่วเหลืองมากขึ้น จึงมึการใช้นำ�้ มันพืชชนิดอื่นๆ มาทดแทน โดยที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมหรือเหนือกว่า

“เพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง” บริษัท ฮิวเบอร์ อิงส์(ประเทศไทย)จำ�กัด 23/91 อาคารสรชัย ชั้น 22, ซอยสุขุมวิท 63 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา, กรุงเทพฯ 10110 www.huberinks.co.th

Huber inks (Thailand) Co.,Ltd 23/91 Sorachai Building 22nd. Floor, Sukhumvit 63 Road,Kwang North Klongtoey, Khet Wattana, Bangkok 10110 www.huberinks.co.th

ThaiPrint Magazine 137


Print News

กระดาษ A4 ใช้แล้ว นิตยสารเก่า อย่าทิ้ง! ร่วมบริจาคเพื่อคนตาบอดได้.... เรียบเรียงโดยทีมกองบรรณาธิการวารสาร Thaiprint ขอขอบคุณภาพประกอบจาก มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์

โดยโรงเรียนสอนคนตาบอด ต้องการกระดาษ A4 และนิตยสารเหลือใช้เหล่านี้เป็นอย่างมาก เพื่อนำ�ไปทำ�เป็น สื่อการเรียนการสอนให้กับบ้านเด็กตาบอดพิการซ้ำ�ซ้อนพญาไท จึงจัดทำ�โครงการบริจาคกระดาษ A4 และหนังสือ เก่าขึ้น ผู้ใดที่มีหนังสือเก่าเหลือใช้โปรดอย่าทิ้ง เพราะ สามารถนำ�มาบริจาคให้กับเราได้ซึ่งสิ่งเหลือใช้เหล่านี้ จะเป็นประโยชน์มากกับโรงเรียนสอนคนตาบอดเป็น อย่างมาก ซึ่งเราอยากขอรับบริจาค กระดาษ A4 ที่ ใช้แล้ว ไม่ว่าจะหน้าเดียว และสองหน้า เพื่อนำ�ไปทำ� อักษรเบลล์ ในชื่อโครงการ “กระดาษหน้าที่สาม” โดย กระดาษที่ขอรับบริจาคนั้น ต้องไม่พับ ไม่ยับ มีความ หนา 80 แกรมขึ้นไป และข้อมูลในกระดาษต้องไม่เป็น ความลับของบริษัท อ้อ ขอสงวนสิทธิ์พวกแผ่นใบปลิว โบรชัวร์ทั้งหลายนะครับ เพราะนักเรียนตาบอดจะไม่ สะดวกในการนำ�ไปใช้ต่อครับ สื่อการเรียนการสอนจากปฏิทินเก่า

ส่วนบ้านใครที่มีนิตยสารเก่า ๆ ก็ยังสามารถ ร่วมบริจาคให้คนตาบอดได้เช่นกันครับโดยนักเรียน ตาบอดจะนำ�นิตยสารเหล่านี้ไปใช้เป็นสมุดเขียนนั่นเอง

ดังนั้นแล้ว ใครที่มี กระดาษ A4 รวมทั้งนิตยสารเก่า ๆ ที่ไม่ใช้แล้วเก็บอยู่เป็นจำ�นวนมาก และไม่รู้ว่าจะ นำ�ไปใช้ทำ�อะไรดี ก็สามารถร่วมบริจาคได้ที่โรงเรียนสอนคนตาบอดกรุงเทพ หรือถ้าใครไม่สะดวกที่จะเดินทาง มาบริจาค ก็สามารถรวบรวมส่งมาได้ที่...

138 ThaiPrint Magazine

มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ 420 ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-8365-8, 0-2354-8370-1 โทรสาร 0-2354-8369 เว็บไซต มูลนิธิช่วยคนตาบอดแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ www.blind.or.th E-mail : school@blind.or.th


Print Travel

เยือนถิ่นศิลปะ, กลางดงศิลปิน เรื่อง/ภาพ : สมเจตน์ สุดประสงค์

ะหว่างก้นจมอยูใ่ นเบาะ หลังพิงพนักเก้าอี้ ผมหลับตานึกถึงมงมาทร์ อุณหภูมใิ นเครือ่ ง อันอบอุ่น ผมไม่กลัวความสูง หากแต่ตื่นเต้นเล็กๆ ที่ได้นั่งเครื่องกลับ... มุ่งหน้ากลับแผ่นดินเกิด แผ่นดิน ที่ผมผูกพันอยู่มากมาย มากมาย..ยากจะบรรยายเป็นตัวหนังสือจนหมด ต่อให้บรรจงแต่งเติมเขียน อย่างไรก็ตาม วันจบของเรื่องคือ วันที่สมองสิ้นสัมปะชัญญะนักวาดกวาดมือทั้งแท่งชอล์ก ดินสอด�ำ พู่กัน จานสี แสตนแสดงรูป ...แล้วแต่ลูกค้าจะไปแสดงเจตจ�ำนงขอรูปติดมือกลับมาตุภูมิ.. ผมคิดถึงเรื่องราวทางศิลปะ (ในส่วนตัวผม) เมื่อครั้งรุ่นกระทง โอกาสสุดท้ายที่ผมจะได้ร�่ำเรียนก็ คือ ทีส่ ถาบันเก่า (ช่วงชัน้ มัธยมปลาย) ด้วยชะตาก�ำหนดว่างัน้ (การเลือกของ ตัวผมเองขณะนั้น ความเป็นไปได้ ของผมเรียกว่าไม่ม)ี ผมถูกจับยัดเข้า ไปอยู่ที่ห้องสาม สายศิลป์ – ภาษา ทัง้ สองอย่างของผมไม่ได้ความ ด้วย มือไม้มนั แข็งไปหมด สมองตือ้ ตันมัว แต่จะชูต้ ลูกลงห่วง แต่คะแนนวาดรูป (วาดตามแบบทีอ่ าจารย์เอามาตัง้ ให้) ผมได้ดไี ม่แพ้ใคร โดยเฉพาะรูปพระ พักตร์ของพระพุทธรูปสมัยต่างๆ 140 ThaiPrint Magazine


เยือนถิ่นศิลปะ, กลางดงศิลปิน

โลกผันแปรไปเร็ว ผมไม่ได้วาดรูปให้เป็นรูปอีก เลย มีแต่ขีดๆ ตามอารมณ์ แต่รู้ว่าวงการศิลปะไปไกล ไม่นอ้ ย ไปไกลจนบางทีผมก็งง เพราะยุคนีม้ คี ำ� ว่า “โพสต์ โมเดิร์น” ที่เป็นที่กล่าวถึงของสังคมก�ำลังร้อนแรงเป็น ที่กล่าวขาน ผมก็รับรู้... เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่ให้กับตัว แสดงเล็กๆ ที่ไม่มีพื้นที่ต่อการได้แสดงสิ่งที่ตัวเองมี แต่ มีอยู่ในตัวที่เป็นพลังแต่เดิมอันคับแคบ เพราะกรอบ ความคิดศิลปะในกรอบบีบและโบยตี ให้คนที่อยู่นอก กรอบได้หล่นหายไปจากสังคม และปรากฏตัวในที่แจ้ง กล้าแสดงพลังทางศิลปะที่มีอยู่ในตัวให้เป็นที่รับรู้ของ สังคม ซึง่ ผมก็รวู้ า่ แรงเสียดทานนัน้ ท้าทายต่อการปรากฏ ตัวของศิลปินไม่น้อย แต่ศิลปินที่สร้างผลงานอมตะทิ้ง ไว้ก็ยังเป็นที่ต้องการของผู้คนในสังคม ส่วนศิลปินที่มองมาทร์ เขาไปชุมนุมเพื่อแสดง ตัวเขาเอง พร้อมกับการแลกฝีมือกับเงิน แน่นอนว่าทุน นิยมเสรี ต้องอยูต่ อ้ งกินต้องใช้ ส�ำคัญทีส่ ดุ ก็เงิน น่าทึง่ ก็คอื แม้จะแลกด้วยเงิน แต่เขาก็ได้แสดงฝีไม้ลายมือฝาก ติดมือผู้ที่ต้องการได้ รูปจากที่นั่นเป็นที่ระลึกได้อย่างมี คุณค่า ผูค้ นทีไ่ ปร่วมประชุมหมุนวนอยูม่ ากหลายหลาก สัญชาติ เนื่องจากเป็นแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ ผมเห็น ภาพแต่ละภาพแล้วต้องนึกย้อนดูตัวเอง สมัยเรียนไม่ เอาอ่าว ครูบาอาจารย์เข็นแทบตาย ลูกศิษย์ไม่รกั ดีกเ็ ลย เป็นได้แค่เท่าที่เป็น

หลายภาพผมประทับใจ ทัง้ ภาพเหมือน ทัง้ ภาพ ผสม สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญๆ ของฝรั่งเศส ผมเดินชม แล้วชมอีก อิจฉาผู้มีพรสวรรค์ทางนี้เป็นอย่างยิ่ง สี โปสเตอร์ สีนำ �้ รวมถึงลายสเก็ตต์ ทีส่ นุกสนานกว่าก็คอื การปะทะระหว่างผูซ้ อื้ กับ ศิลปิน ผมชอบทั้งชั้นเชิง ทั้งน�้ำใจ ผมเข้าใจ (เอาเอง) ว่า ขณะที่เจรจา มันมีเรื่องราวเฉพาะมากมาย แววตากับ แววตา น�ำ้ เสียงกับน�ำ้ เสียง ไม่มีใครเลือกที่รักมักที่ชังแต่ การโคจรในครั้งหนึ่ง หรืออีกสักครั้ง อีกสักครั้ง และอีก สักครัง้ ของคนหลายๆ คน เกิดขึน้ ได้ เพราะครัง้ แรก มัน เหมือนกับแรกรักที่เป็นรักแรก แน่นอน ชั้นเชิง เหลี่ยม ต่อเหลี่ยม มุมต่อมุม ใครจะถอยเพื่อรุก หรือรุกเพื่อ ล่าถอย ซึ่งมันจะจ้องจบ สิ่งที่จบผมเชื่อว่ามันเป็นมาก กว่าแค่ราคา แต่เป็นคุณค่า และหากนิยามให้มนั มากอีก สักหน่อย มันเป็นคุณค่าข้ามขอบฟ้าที่มีการเจรจาปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันจริง รอยยิ้ม น�้ำเสียง แววตา ท่าทาง หากใครก็ตามได้รูปติดมือมาและลึกซึ้งกับรูปนั้นสักครั้ง อย่างจริงจัง ผมว่า..นัน่ ล่ะ เราต่างล้วนเป็นศิลปินระหว่าง กันและกันเรียบร้อยมาตั้งแต่ตอนที่เราได้พบกันแล้ว ...แล้ว...มันจะต่างกันไหมที่ใครสักคน คน คน และ คนๆ นั้น พบรักกับคนๆนั้น และคนๆ นั้นก็พบรักคน คน คน และคนๆ นั้น ด้วยเช่นเดียวกัน

ThaiPrint Magazine 141


Print Travel มหาวิหารพระหฤทัยแห่งมงมาทร์ Basilique du Sacré-Cœur de Montmartre Basilica of the Sacred Heart of Jesus of Paris มหาวิหารพระหฤทัยแห่งมงมาทร์ (ฝรัง่ เศส: Basilique du Sacré-Cœur de Montmartre) เป็นโบสถ์ และมหาวิหารรองในคริสตจักรโรมันคาทอลิก ซึ่งตั้ง อยู่บนยอดเขาที่สูงที่สุดของกรุงปารีสหรือที่เรียกกัน ว่า “มงมาทร์” สร้างขึ้นเพื่ออุทิศแก่พระหฤทัยของ พระเยซู

142 ThaiPrint Magazine

ปัจจุบันถือเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวหลัก ของกรุงปารีส ถือเป็นอนุสาวรีย์ของทั้งสองด้าน คือ การเมืองและวัฒนธรรม โบสถ์ ไ ด้ ถู ก ออกแบบโดย โปล อะบาดี สถาปนิกชาวฝรั่งเศสที่เป็นหนึ่งใน 77 สถาปนิกผู้ชนะการประกวดเริ่มการก่อสร้างในปี ค.ศ. 1875 และเสร็จสิ้นในปี ค.ศ.1914 โดยได้รับการแต่ง ตั้งโดยสมบูรณ์ (วางศิลาฤกษ์) ภายหลังจากสงคราม โลกครั้งที่ 2 ในปีค.ศ.1919 การก่อสร้าง รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของโบสถ์มีความ เป็นเอกลักษณ์มากในยุคนั้น โดยสถาปนิกเจ้าของ โครงการ โปล อะบาดี ได้เรียกว่า สถาปัตยกรรม แบบโรมัน-ไบแซนไทน์ (Romano-Byzantine) ซึ่งจัด ว่าแปลกใหม่ เพื่อแสดงออกถึงการต่อต้านสถาปัตย กรรมแบบฟื้นฟูบาโรก (Neo-Baroque) ดั่งที่ปรากฏที่ โรงอุปรากรปาแลการ์นีเยอย่างสิ้นเชิง การออกแบบ โบสถ์ได้หยิบยกสัญลักษณ์ของลัทธิชาตินิยมในสมัย นั้นมาเป็นองค์ประกอบ อาทิเช่น ประตูทางเข้า อัน ประกอบไปด้วยช่องโค้ง (ซุ้มประตู) 3 ช่อง ด้านบน ประดับรูปส�ำริด ของนักบุญแห่งประเทศฝรั่งเศส คือ นักบุญโยนออฟอาร์ค และ นักบุญพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส โดยมีระฆังหนักกว่า 19 ตัน หล่อใน ปีค.ศ.1895


เยือนถิ่นศิลปะ, กลางดงศิลปิน ตัวโบสต์ก่อจากหินปูนประเภททราเวอร์ทีน ซึ่งมีเหมืองตั้งอยู่ที่ เมือง ชาโต้-ลองดง ในเขตชานเมืองปารีสโดยคุณสมบัติพิเศษของหินชนิด นี้จะมีการคายแคลเซียมออกมาเป็นระยะ ท�ำให้คงความขาวของสิ่งปลูก สร้างได้ยาวนานในสภาวะภูมิอากาศต่างๆ ได้ ภายหลังจากการเริ่มต้นก่อสร้างส่วนฐานรากไม่นาน อะบาดี ก็ถึง แก่กรรมลงในปี ค.ศ. 1884 โดยได้มสี ถาปนิกอีก 5 คนรับผิดชอบต่อ โดยใน ระหว่างการก่อสร้าง สงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ท�ำให้การก่อสร้างหยุดชะงัก ลง จนเสร็จสิ้นภายหลังสงครามในปี ค.ศ.1919 มูลค่าการก่อสร้างทั้งหมดคิดเป็นเงินประมาณ 7 ล้านฟรังก์ โดย มาจากเงินบริจาคทั้งสิ้น โดยผู้มีจิตศรัทธาสามารถมีส่วนร่วมในการอุทิศ เงินสร้างส่วนต่างๆ ของโบสถ์ได้อีกด้วย และยังได้รับการสนับสนุนจาก สภาผู้แทนราษฎรในสมัยนั้นให้สนับสนุนงบประมาณก่อสร้างจนแล้วเสร็จ

จาก จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี th.wikipedia.org/wiki/มหาวิหารซาเคร-เกอร์

อย่างที่ผมกล่าวไว้ว่า แต่ศิลปินที่สร้างผลงานอมตะทิ้งไว้ ก็ยังเป็น ที่ต้องการของผู้คนในสังคมและก็เป็นเช่นนั้นจริงๆ ล�ำพังปัญญาของคนที่ท�ำงานพอเลี้ยงชีพ การจะครอบครองศิลปะ ระดับโลกจงเลิกคิด แค่ระดับปรมาจารย์ในเมืองไทย ยังท�ำได้แค่ยนื ชมและ ซาบซึ้งกับจินตนาการของผู้เขียนภาพ ที่พิพิธภัณฑ์ออร์เชย์ ผมเองก็ตอ้ งอึง้ เป็นครัง้ หนึง่ ของชีวติ ทีน่ า่ ยินดี ภาพอิมเพรสชัน่ นิสของศิลปินที่ผมชื่นชอบอย่างยิ่งอยู่ที่นี่ ทุกทีผมจะได้ดูก็ แค่ภาพประกอบในหนังสือชีวประวัติของเขา หรือที่เผยแพร่อยู่ในเว็ปไซต์ “ปอล โกแกง” ผมรูจ้ กั ปอล โกแกง และชืน่ ชอบเขาอย่างทีส่ ดุ จาก หนังสือเล่มหนึง่ .... “ก่อนโลกจะขานรับ” นวนิยายทีเ่ ขียนขึน้ จากนักเขียนชือ่ ดัง

วิลเลียม ซอมเมอร์เซทมอห์ม ผู้แปล เลิศ ก�ำแหงฤทธิรงค์ ตัวแทน ปอล โกแกง ในเรือ่ ง คือ สตริคแลนด์ เพือ่ สิง่ ทีเ่ ขาอยากท�ำ เพื่อสิ่งที่ฝัน ทุกอย่างที่มี ถูกทุ่มเท เพื่อสิ่งที่เขารัก ศิลปะให้ขนบเดิมถูก ท้าทายและก็คือขวากหนามส�ำคัญ ที่ ทิ่ ม แทงเขาจนลมหายใจสุ ด ท้ า ย ภาพเขียนอิมเพรสชัน่ นิส ในหนังสือ บรรยายเสียจนผมเพ้อคลั่ง

ThaiPrint Magazine 143


Print Travel

และนั่นคือต้นธารของการได้เริ่มรู้จักจิตรกรอิม เพรสชั่นนิสอีกหลายคน... โคลด โมเนย์, เอดัวร์ มาเน, แอดการ์ เดอกา, ปิแยร์ โอกุสต์, ปอล เซซาน, แล้วก็ แวน โกะ ผมชื่นชม พวกเขา ในลักษณะของเรือ่ งเล่า กับฝีมอื ทีฝ่ ากไว้กบั โลก โลกของศิลปะ ซึง่ หากได้ปะทะแล้วมักคุน้ กันด้วยชีวติ ที่ มีในขณะทีม่ ชี วี ติ บางทีผมก็อาจจะรับไม่ได้ เพราะบาง จังหวะผมยังไม่สามารถรับอารมณ์ของตัวเองได้ และใน บางครัง้ ถึงกับรังเกียจมันด้วยซ�ำ ้ แต่ผมไม่มีพรสวรรค์ใด พิเศษในตัว เป็นเพียงมนุษย์คนหนึ่ง เป็นผู้ชายคนหนึง่ ที่ มีชวี ติ หลงละเมอเพ้อพกไปกับจังหวะของจินตนาการเป็น ช่วงๆ เมื่อมันมาแล้วก็ไป ไปแล้วก็มา ซึ่งปัจจุบันแม้มัน ไม่หล่นหายไปเลย แต่มนั ก็ผกุ ร่อนเต็มทน เนือ่ งจากแห่ง หนตัวตนของผมไม่ได้ท�ำงานด้านศิลปะแขนงใดเลยสัก แขนงเดียว 144 ThaiPrint Magazine

ผมไปยืนจ้องแต่ละภาพเนิ่นนาน พยายามเก็บ รายละเอียดของภาพที่มีรายละเอียดน้อยๆ แต่งดงาม ช่างกลมกลืนไปด้วยน�ำ้ หนักของสี เนื่องจากเป็นพิพิธภัณฑ์ก็คือพิพิธภัณฑ์ เป็นที่ รวบรวมผลงาน การจัดแสดงก็เพือ่ ให้ผเู้ ข้าชมได้เห็นภาพ นัน้ ๆ อย่างเต็มที ่ หากจะว่าไป ด้วยมันเป็นแหล่งสะสม เพื่อให้คนส่วนรวมได้เข้าชม แม้จะพยายามจัดแต่งให้ น่าสนใจอย่างไร มันก็เป็นทีส่ นใจได้ในระดับหนึง่ ผมคิด ว่าหากไปอยู่ในห้องรับแขกของใครสักคนที่มีรสนิยมใน การจัดแต่งห้องให้สวยงาม ภาพหนึ่งๆ ที่ปรากฏอยู่ใน พิพิธภัณฑ์อาจเปล่งประกายงานศิลป์จนสะกดแขกผู้มา เยือนบ้านให้ได้แต่นั่งอิ่มเอมไปกับภาพเขียนจนเคลิบ เคลิ้ม แม้ว่าแขกคนนั้นอาจจะไม่มีอารมณ์ศิลป์ในการดู ภาพเขียนเลยก็ตาม อย่างไรก็ตามส�ำหรับผมแม้จะไม่ใช่ คนดูภาพเป็นและซาบซึ้งเท่าไหร่นัก เพราะครั้งหนึ่งครั้งนี ้ แม้จะเป็นการเดินทางมา ฝรั่งเศสครั้งแรก เพราะหน้าที่การงาน แม้ไม่รู้ว่าวันข้าง หน้าจะมีโอกาสได้เดินทางมาอีกหรือไม่ ผมก็ได้พยายาม ใช้เวลาเท่าที่มีอยู่ไปกับการเดินชมสิ่งที่อยู่ข้ามพรมแดน ที่ไกลหลายต่อหลายกิโลเอาไว้ เก็บเอาความสวยงาม ในความซาบซึ้งเท่าที่จะมีกับเขาได้ไว้ในความทรงจ�ำ


เยือนถิ่นศิลปะ, กลางดงศิลปิน พิพิธภัณฑ์ออร์แซ พิพธิ ภัณฑ์ออร์แซ (ฝรัง่ เศส: Musée d’Orsay) เป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะ พิพิธภัณฑ์การออกแบบ/สิ่งทอ และสถานทีท่ างประวัตศิ าสตร์ [2] ทีต่ งั้ อยูใ่ นกรุงปารีส ในประเทศฝรั่งเศส พิพิธภัณฑ์ออร์แซก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1986 บนฝั่งซ้ายแม่นำ�้ เซนในสถานที่ที่เดิม เคย เป็นสถานีรถไฟออร์แซ ที่สร้างในแบบสถาปัตยกรรม แบบโบซาร์โดยสถานีรถไฟแห่งนี้ถูกสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1898 ถึง ค.ศ. 1900 เพื่อให้เสร็จทันงาน Exposition Universelle เพือ่ ใช้เป็นชุมทางรถไฟสายตะวันตก เฉียงใต้ จนถึงปีค.ศ. 1939 ได้เลิกกิจการ เนื่องจาก ขนาดของชานชลาไม่กว้างพอส�ำหรับผู้โดยสารที่เดิน ทางจ�ำนวนมาก สถานีรถไฟออร์แซจึงลดความส�ำคัญ ลงเป็นสถานีรถไฟส�ำหรับเดินทางในระยะใกล้ ใน ปั จ จุ บัน ใต้ ดินส่วนหนึ่ง ของพิพิธภัณฑ์ยังคงใช้ เ ป็ น สถานีรถไฟชานเมืองด่วนพิเศษ หรือ RER โดยใช้ชื่อ สถานีเดียวกัน ในปี ค.ศ. 1970 ในขณะที่ก�ำลังจะมีการรื้อ ถอนสถานีออร์แซ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวัฒนธรรม ได้โต้แย้งโดยเสนอให้ปรับปรุงเป็นโรงแรมขึ้นแทน และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นอาคารที่มีคุณค่าทาง ประวัติศาสตร์ในปี ค.ศ. 1978 และภายหลังได้มีการ เสนอแผนการปรับปรุงให้เป็นพิพิธภัณฑ์เพื่อผสาน ความแตกต่างระหว่างสองพิพิธภัณฑ์หลักในขณะนั้น คือ พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์กับพิพิธภัณฑ์ศิลปะสมัยใหม่ ที่ ตั้งอยู่ที่ศูนย์ฌอร์ฌ ปงปีดู โดยได้รับการสนับสนุน โดยประธานาธิบดีฌอร์ฌ ปงปีดู ในปีค.ศ. 1978 ทีมสถาปนิกผู้ชนะการแข่งขัน เพื่อการออกแบบพิพิธภัณฑ์ได้รับการอนุญาตอย่าง เป็นทางการโดยปรับพื้นที่แสดงผลงานบนพื้นที่ 4 ชั้น รวมกว่า 20,000 ตารางเมตร และสถาปนิกชาวอิตาลี นายกาเอ โอเลนตี ได้รับเลือกเพื่อรับผิดชอบการ ตกแต่งภายใน ซึ่งรวมถึงการจัดสรรพื้นที่แสดงผลงาน การตกแต่งและเฟอร์นิเจอร์เพื่อใช้ในพิพิธภัณฑ์ และ ได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการในเดือนธันวาคมปี ค.ศ. 1986 โดยประธานาธิบดีฟร็องซัว มีแตร็องพร้อม กับภาพเขียนกว่า 2,000 ชิ้น รูปปั้นและประติมากรรม กว่า 600 ชิ้น

งานสะสมของพิพิธภัณฑ์ออร์แซเป็นศิลปะฝรั่งเศสที่ สร้างระหว่างปี ค.ศ. 1848 ถึง ค.ศ. 1915 ที่รวมทั้ง จิตรกรรม ประติมากรรม เฟอร์นิเจอร์ และภาพถ่าย แต่ที่เป็นที่รู้จักกันดีที่สุดคืองานชิ้นเอกจากสมัยศิลปะ อิมเพรสชันนิสม์และศิลปะอิมเพรสชันนิสม์สมัยหลัง ที่รวมทั้งงานของโกลด มอแน, เอดัวร์ มาแน, แอดการ์ เดอกา, ปีแยร์-โอกุสต์ เรอนัวร์, ปอล เซซาน, ฌอร์ฌปีแยร์ เซอรา, ปอล โกแก็ง และฟินเซนต์ ฟาน ก็อกฮ์ th.wikipedia.org/wiki/พิพิธภัณฑ์ออร์แซ

ThaiPrint Magazine 145


World Legend

สุดยอด 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก ทั้ง 3 ยุค (ยุคใหม่ ยุคกลาง ยุคโบราณ) ความมหัศจรรย์ทเี่ กิดขึน้ บนโลกของเรานัน้ เป็นสิง่ ทีน่ า่ ค้นหาส�ำหรับ ผู้ที่ต้องการค�ำตอบ แต่ความเป็นจริงนั้นมันเป็นสิ่งที่ยากมากส�ำหรับการที่ จะหาเหตุและผลมาเทียบเคียงเพราะบางสิ่งเกิดขึ้นหลายพันปี ซึ่งมนุษย์ใน ยุคเราๆ นี้ยังไม่มีใครเกิดขึ้นบนโลกนี้เลยและความเป็นไปได้ก็ยากที่จะหา ข้ออ้างอิง เราลองมาดูกันครับว่าสิ่งมหัศจรรย์ต่างๆ บนโลก เราทั้ง 3 ยุค

เมืองโบราณซีเชน อิตซา 146 ThaiPrint Magazine

มี อ ะไรกั น บ้ า งและมี ค วามเป็ น มา อย่างไรไปหาค�ำตอบกันครับ 1. เมืองโบราณซีเชน อิตซา ของชนเผ่ามายาในเขตยูคาทาน เม็กซิโก ชิเชน อิตซา ตั้งอยู่ที่คาบ สมุทรยูคาทานประเทศเม็กซิโก เป็น เมืองศูนย์กลางทางวัฒนธรรมของ เผ่ามายา ตัววิหารที่สร้างถวายแด่ เทพเจ้าของชนเผ่ามายา สร้างอยูบ่ น เนื้อที่กว่า 6.4 ตารางกิโลเมตร มี ลักษณะเป็นปีระมิดเป็นชั้นลดหลั่น ลงมาและมี บั น ไดอยู ่ ต รงกลางบน ยอดเป็นแท่นบูชาส�ำหรับท�ำพิธกี รรม สังเวยแด่เทพเจ้าชนเผ่ามายาได้ชื่อ ว่าเป็นเผ่าที่มีความป่าเถื่อนในการ บูชายันมนุษย์ แต่ก็ได้ชื่อว่ามีความ เจริญทางภาษาและความรูท้ างคณิต ศาสตร์และดาราศาสตร์ โดยมีการ


Seven Wonders of the World กำ�แพงเมืองจีน

รูปปั้นพระเยซูคริสต์

เมืองโบราณมาชูปิกชู

สร้างปฏิทนิ มายาขึน้ โดยก�ำหนดให้ 1 ปี มี 18 เดือน และแต่ละเดือน มี 20 วัน ดังนั้น 1 ปี ของชาวมายาจึงมี 360 วันและมีการเพิ่มวันที่ไม่ขึ้นกับเดือนใด เข้าไปอีก 5 วัน แม้จะมีความรูถ้ งึ เพียงนีแ้ ต่พวกนีก้ ลับไม่คน้ พบการประดิษฐ์ ล้อแต่อย่างใด 2. รูปปั้นพระเยซูคริสต์ หรือคริสต์ รีดีมเมอร์ บนยอดเขาใน นครริโอ เดอ จาเนโร ของบราซิล รูปปัน้ พระเยซูคริสต์ ตั้งอยู่บนยอดเขา โคคาวาดู (Cocarvado) กรุงริโอ เดอ จาเนโร (Rio de Janero) ประเทศบราซิล มีความสูงราว 38 เมตร สร้างในปี ค.ศ. 1921 ได้รับการออกแบบโดยไฮตอร์ ดา ซิลวา กอสตา (Heitor da Silva Costa) ชาวบราซิล และสร้างโดยพอล ลันดอฟสกี (Paul Landowski) ประติมากรชาวฝรั่งเศสเชื้อสายโปแลนด์ใช้ เวลาในการสร้าง 5 ปี โดยท�ำพิธเี ปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 ตุลาคม 1926 ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถขึ้นไปยังฐานของรูปปั้นเพื่อชมทิวทัศน์ของ เมืองริโอ เดอ จาเนโรได้ 3. ก�ำแพงเมืองจีน (ติดโผครั้งที่ 2 จากยุคกลาง) ก�ำแพงเมืองจีน หรือก�ำแพงหมืน่ ลี้ สร้างในสมัยของพระเจ้าจิน๋ ซีฮอ่ งเต้เพือ่ ป้องกันการรุกราน จากพวกมองโกลและพวกเติรก์ และได้มกี ารสร้างก�ำแพงต่ออีก 4 ครัง้ ใหญ่ๆ โดยส่วนใหญ่ถูกสร้างในสมัยราชวงศ์หมิง แต่ก็ถูกเผ่าเร่ร่อนจากมองโกเลีย

และแมนจูเรียบุกข้ามก�ำแพงเมืองจีน ได้สำ� เร็จ ก�ำแพงเมืองจีนเป็นก�ำแพง ทีก่ นั้ ระหว่างพรมแดนจีนกับธิเบตมี ความสูงจากพืน้ ดิน 20 - 30 ฟุต กว้าง 15 - 20 ฟุต ยาวประมาณ 2,400 กิโล เมตรก�ำแพงก่อด้วยดิน หินและอิฐโดย ทุกๆ 200 เมตร จะมีหอตรวจการอยู่ และมีระฆังแขวนอยู่ทุกหอรวมไม่ต�่ำ กว่า 20,000 หอ ระหว่างการก่อสร้าง มีผู้เสียชีวิตนับหมื่นคนและศพของ ผู ้ เ สี ย ชี วิ ต ก็ ถู ก ผั ง อยู ่ ใ นก� ำ แพงนั่ น เอง ก�ำแพงเมืองจีนเป็นสิ่งก่อสร้าง สิง่ เดียวของมนุษย์ทสี่ ามารถมองเห็น ได้จากดวงจันทร์ ปัจจุบนั ก�ำแพงเมือง จีนส่วนที่เหลืออยู่สร้างในสมัยราชวงศ์หมิงทัง้ สิน้ ก�ำแพงเมืองจีนถูกจัด เป็นสิง่ มหัศจรรย์ของโลกในยุคกลาง ด้วย 4. เมืองโบราณมาชูปกิ ชูของ ชนเผ่าอินคา ในเปรู มาชู พิคชู หรือ นครสาบสูญแห่งอินคา (The Lost City of the Incas) เป็นเมืองโบราณทีต่ งั้ อยูบ่ นภูเขาในประเทศเปรู อยูส่ งู จาก ระดับน�ำทะเลถึง 2,350 เมตร มาชู พิคชูสร้างโดยจักรวรรดิอ์ นิ คา และถูก ทิง้ ร้างเมือ่ อินคาพ่ายแพ้แก่ชาวสเปน จนกระทัง่ ถูกค้นพบโดยนักส�ำรวจชาว อเมริกนั ชือ่ ฮิรามบิงแฮม (Hiram Bing ham ) ในปี ค.ศ. 1911 ThaiPrint Magazine 147


World Legend เมืองโบราณเพตรา

5. เมืองโบราณเพตรา ในจอร์แดน นครเพตรา เป็นนครที่แกะ สลักลงบนหุบเขาใกล้ทะเลสาบเดดซี (Dead sea) และอ่าวอัคบา (Gulf of Aqaba) เมืองเพตราถูกสร้างโดยชาวบานาเทียน (Nabataeans) ซึง่ เป็นชนเผ่า เร่รอ่ นกลางทะเลทรายอาหรับ ซึ่งได้สกัดหน้าผาหินทรายให้เป็นบ้านเรือน ส�ำหรับพักอาศัย และได้เปลี่ยนจากอาชีพเลี้ยงแกะมาเป็นพ่อค้าและรับคุ้ม ครองกองคาราวาน ท�ำให้เพตราเป็นศูนย์กลางการค้าขนาดใหญ่มพี อ่ ค้าชาว กรีกได้อธิบายถึงความมั่งคั่งของเพตราว่าเป็นตลาดที่ส�ำคัญที่สุดของชาว อาหรับเปตราเจริญถึงขีดสูงสุดในช่วง 50 ปีกอ่ นคริสตกาล จนถึงคริสตศักราช ที่ 70 ในช่วงเวลานีเ้ ปตราถูกปกครองด้วยกษัตริยน์ าม อารีตสั ที่ 4 (Aretas IV) ผู้ที่ชาวกรีกยกย่องว่า ฟิโลเดมอส (Philodemos) ซึ่งแปลว่า ผู้รักประชาชน เพตราเริ่มเสียอ�ำนาจเมื่อมีเส้นทางการค้าที่สะดวกและปลอดภัยกว่าเกิด ขึ้น จนกระทั่งปี ค.ศ. 106 เพตราถูกผนวกเข้ากับอาณาจักรโรมัน จนคริสต์

สนามกีฬาโคลอสเซียม

148 ThaiPrint Magazine

ศตวรรษที่ 5 เพตรากลายเป็นที่ตั้ง ของมณฑลของบิชอบ และถูกมุสลิม ยึดครองในคริสต์ศตวรรษที่ 7 และ ค่อยๆ เสือ่ มลงจนหายไปจากประวัติ ศาสตร์ จนกระทัง่ ถูกค้นพบโดยนัก ส�ำรวจชาวสวิตเซอร์แลนด์ โจฮันน์ ลุควิก เบิร์กฮาร์ท (Johann Ludwig Burckhardt) ในปี ค.ศ. 1812 เพตรา จึงได้ปรากฏโฉมต่อชาวโลกอีกครั้ง 6. สนามกีฬาโคลอสเซียม ในกรุงโรมของอิตาลี โคลอสเซียม เป็นสนามกีฬากลางแจ้งขนาดใหญ่ ในกรุงโรม สร้างในสมัยจักรพรรดิเ์ วส ปาเชียน (Emperor Vespasian) แห่ง อาณาจั ก รโรมั น และสร้ า งเสร็ จ ใน สมัยของจักรพรรดิไตตัส (Titus) ใน คริสต์ศตวรรษที่ 1 โคลอสเซียมมี ลักษณะเป็นอัฒจันทร์รูปวงกลมก่อ ด้ ว ยหิ น ทรายและอิ ฐ วั ด โดยรอบ ประมาณ 527 เมตร สูง 57 เมตร จุ คนได้ประมาณ 80,000 คน มีห้อง ส�ำหรับขังทาส นักโทษและสัตว์ดรุ า้ ย เช่น สิงโต เสือ โดยจะให้ทาสสู้กัน เองจนกว่าจะเหลือผู้รอดชีวิตเพียง


Seven Wonders of the World ทัชมาฮาล

คนเดียว จึงจะได้รบั อิสระภาพหรือให้ นักโทษสู้กับสิงโตที่หิวโซ เนื่องจาก ถูกจับอดอาหาร ในแต่ละปีมนี กั โทษ และทาสตายไม่ตำ�่ กว่า 100 คน โคลอส เซียมถูกจัดเป็นสิง่ มหัศจรรย์ของโลก ในยุคกลางด้วย 7. ทัชมาฮาล ในเมืองอักรา ประเทศอินเดีย ทัชมาฮาล สร้างโดย จักรพรรดิช์ าห์ เจฮัน (Emperor Shah Jahan) เพือ่ เป็นอนุสรณ์แห่งความรัก แด่พระมเหสีมมุ ทัช มาฮาล (Mumtaz Mahal) ทัชมาฮาลถูกสร้างขึน้ ระหว่าง ค.ศ.1630-1648 ณ สวนริมผั่งแม่น�้ำ ยมนา เมืองอัครา ออกแบบโดยอุส ตาด ไอสา (Ustad lsa) สร้างด้วยหิน อ่อนสีขาวจากเมืองมะครานา หินอ่อน สีแดงจากเมืองฟาตีบุระ หินอ่อนสี เหลืองจากฝัง่ แม่นำ�้ นรภัทฑ์ เพชรตา แมวจากกรุงแบกแดด ปะการัง และ หอยมุกจากมหาสมุทรอินเดีย หิน เจียระไนสีฟ้าจากเกาะลังขะ เพชร จากเมืองบนทลขัณฑ์ ทัชมาฮาลได้

รับการรับรองจากสถาปิกทั่วโลกว่า สร้างได้ถูกสัดส่วนและงดงามที่สุด กว้างยาวด้านละ 100 เมตร ตรงกลาง มีโดมสูง 60 เมตร มีหอสูงมีโดมอยู่ บนรอบทั้ง 4 มุม ภายใต้โดมใหญ่มี โลงหินอ่อนประดับด้วยอัญมณีมาก มายบรรจุอยู่ แต่โลงพระศพจริงๆ อยู่ ในอุโมงค์ข้างใต้โลงหินนั้น เดิมชาห์ เจฮันตั้งพระทัยจะ สร้างสุสานส�ำหรับพระองค์เองที่อีก ฝัง่ ของแม่นำ�้ ยมนา โดยสร้างให้เหมือน กับทัชมาฮาลแต่สร้างด้วยหินอ่อนสี ด�ำ แต่ถกู พระโอรสจับพระองค์ขงั อยู่ 7 ปี จึงสิน้ พระชนม์ และพระศพของ พระองค์ถูกฝังอยู่เคียงข้างมิ่งมเหสี สุดทีร่ กั นัน่ เอง ส่วนอุสตาด ไอสา สถาปนิกผู้ออกแบบก็ถูกชาห์ เจฮัน สั่งประหารเนื่องจากไม่ต้องการให้ ออกแบบสถาปัตยกรรมใดๆ ที่สวย กว่าทัชมาฮาลได้ ทั้งนี้ สถานที่ทั้ง 7 แห่ง ได้ รับการคัดเลือกจากประชาชนทัว่ โลก

ร่วม 100 ล้านคน เป็นผูร้ ว่ มโหวตใน อิ น เตอร์ เ น็ ต ผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ www.new7wonders.com และผ่าน ระบบข้อความ SMS ของโทรศัพท์ มือถือ อย่างไรก็ดี ฝ่ายผู้จัดยอมรับ ว่ า ไม่ ไ ด้ ห าวิ ธี ป ้ อ งกั น การโหวต สนับสนุนสถานที่ที่ชื่นชอบมากกว่า หนึง่ ครัง้ ของประชาชนไว้รองรับ และ อ้างว่ามีผู้ร่วมโหวตจากทุกประเทศ ในโลก กลุ่มสถานที่ส�ำคัญที่ติดราย ชือ่ รอบสุดท้ายแต่ไม่ได้รับเลือก อาทิ เช่น ปราสาทหินนครวัดในกัมพูชา หอไอเฟลในฝรั่งเศส สโตนเฮนจ์ ใน อังกฤษ และวัดคิโยมิสึ วัดเก่าแก่ ในญี่ปุ่น เป็นต้น และส�ำหรับฉบับหน้าเรามา ดูกันครับว่าสิ่งมหัสจรรย์ในยุดกลาง จะมีอะไรให้เราได้ศึกษากันบ้างครับ

ThaiPrint Magazine 149


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.