Thai Print Magazine ฉบับที่ 99
ผ่านพ้นไปอย่างยิง่ ใหญ่สำ� หรับงาน Pack Print International 2013” ซึง่ จะมีการจัดแสดงเครือ่ งพิมพ์ทที่ นั สมัยและ โชว์นวัตกรรมเทคโนโลยีที่น�ำสมัยทางด้านการพิมพ์และ บรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ จะมีการจัดแสดงขึน้ ทุกๆ 2 ปี ต่อจากนัน้ ยัง มีงานของสมาคมการพิมพ์ไทยที่มีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งใน การผลักดันให้ชาวอุตสาหกรรมการพิมพ์ทวั่ ประเทศได้มเี วที ส�ำหรับการแข่งขันด้านเทคโนโลยีการพิมพ์และการบริการที่ เป็นเลิศ โดยมีการจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติขึ้นหรือ Thai Print Awards 2013 ปีนจ้ี ดั ขึน้ เป็นครัง้ ที่ 8 แล้วครับ และ จัดเป็นประจ�ำทุกปี สามารถติดตามภาพบรรยากาศของงาน และรายละเอียดของงานได้ภายในเล่มเราเก็บมาฝากกันครับ กระแสการตืน่ ตัวเรือ่ งอุตสาหกรรมสีเขียวช่วงนีก้ ถ็ อื ว่า ก�ำลังมาแรง และชาวอุตสาหกรรมต่างๆ ก็หันมาใส่ใจเรื่อง พวกนี้มากขึ้น โดยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีทที่ นั สมัยขึน้ ฉบับนีเ้ ราเลยหยิบยกตัวอย่างสินค้า ที่ดีซึ่งมีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมช่วยลดสภาวะโลกร้อนอย่าง เป็นอย่างดี คือ แก้วกระดาษชนิดย่อยสลายได้สมบูรณ์โดย ชีวภาพ (Biodegradable Paper cup) เพราะเทียบกับถุงพลาส ติก 1 ใบ ต้องใช้เวลาย่อยสลายนานถึง 400 ปี ถ้าน�ำไปเผาก็ จะท�ำให้เกิดสภาวะโลกร้อนได้แต่แก้วกระดาษชนิดนีส้ ามารถ ย่อยสลายเองโดยธรรมชาติภายใน 4-6 เดือน ลองติดตาม รายละเอียดได้ ใ นเล่มครับ ท่ามกลางกระแสยุคดิจทิ ลั และเทคโนโลยีอนิ เทอร์เน็ต ทีน่ ำ� การเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่สำ� นักพิมพ์และโรงพิมพ์ตา่ งๆ ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ ซึ่งบริษัท Maga News Sweden ได้ผลิตเครื่องจ�ำหน่ายสิ่งพิมพ์ผ่านตู้ขายอัต โนมัติเครื่องแรกของโลก มีชื่อว่า MagaNews Magazine ความพิเศษของเครือ่ งนี้ คือ เป็นทัง้ โรงพิมพ์และตูข้ ายในคราว เดียวกัน คือ ท่านสามารถเลือกหนังสือเสร็จ จ่ายเงินผ่าน บัตรเครดิต สามารถสัง่ พิมพ์ออกมาเป็นเล่มได้เลยภายใน 2 นาที นับว่าเป็นเรื่องใหม่ที่น่าสนใจ เลยเก็บมาฝากผู้อ่านกัน ครับ และมีสาระความรูม้ ากมายภายในเล่ม สามารถเปิดอ่าน ได้เลยครับพบกันใหม่ฉบับหน้า...สวัสดีครับ
THE THAI PRINTING ASSOCIATION
Editor นายกสมาคม คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ อุปนายก คุณพงศ์ธรี ะ พัฒนพีระเดช , คุณนิธ ิ เนาวประทีป, คุณศิริวรรณ สุกัญจนศิริ, คุณถิร รัตนนลิน, คุณคุณา เทวอักษร เลขาธิการ คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์์ ผู้ช่วยเลขาฯ คุณสุวทิ ย์ เพียรรุง่ โรจน์, คุณคมสันต์ ชุนเจริญ, คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ, คุณวริษฐา สิมะชัย เหรัญญิก คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต ปฎิคม คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ ประชาสัมพันธ์ คุณพชร จงกมานนท์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข ที่ปรึกษานายกสมาคม คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ทีป่ รึกษา คุณมานิตย์ กมลสุวรรณ, คุณเกษม แย้มวาทีทอง, คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย, คุณรังษี เหลืองวารินกุล, คุณธนะชัย สันติชัยกูล, คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล, คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์, คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม, คุณสมชัย มหาสิทธิวัฒน์, คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์, คุณมารชัย กองบุญมา, คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ, คุณสุพันธ์ุ มงคลสุธี, คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล, คุณธวัชชัย ยติถิรธำ�รง, คุณวรสิทธิ์ เทวอักษร, คุณอุทัย ธนสารอักษร, คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง, คุณพัชร งามเสงี่ยม, คุณหิรัญ เนตรสว่าง, ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์, อ.พัชราภา ศักดิ์โสภิณ, คุณชัยวัฒน์ ศิริอำ�พันธ์กุล, คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง, คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์, คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย, คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล, คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์, คุณวรธนกร พุกกะเวส, คุณธนวัฒน์ อุตสาหจิต, ที่ปรึกษาพิเศษด้านกฏหมาย คุณธนา เบญจาธิกุล
Special Thanks บริษัท ผลิตภัณฑ์กระดาษไทย จำ�กัด เอื้อเฟื้อกระดาษที่ใช้พิมพ์ thaiprint magazine โทรศัพท์ 0-2586-0777 โทรสาร 0-2586-2070 บริษัท เอ็ม.พี.ลักก์ ยูวี จำ�กัด ช่วยเคลือบปกวารสารการพิมพ์ไทยด้วยดีตลอดมา เอ็ม.พี.ลักก์. เพิ่มคุณค่าให้งานพิมพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจคุณ
บริษัท สีทอง 555 จำ�กัด บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จำ�กัด
โทรศัพท์ 0-2425-9736-41 ผู้ผลิตและจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด โทรศัพท์ 0-3441-7555 โทรสาร 0-3441-7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ทำ�เพลท โทรศัพท์ 0-2216-2760-8, 0-2613-7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว โทรศัพท์ 02-682-217779
หนังสือเล่มนี้พิมพ์ด้วยกระดาษคุณภาพ เพื่องานคุณภาพ PAPER
Content 18
22 70
88 120
Print News 18 ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) มอบประกาศนียบัตรให้แก่โรงพิมพ์ ‘เอ็ม เอ็น คอมพิวออฟเซท’ โรงพิมพ์ต้นแบบรายแรกในไทย 22 งานประกาศผล “งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 8” 38 สรุปผลรางวัล “งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 8” 45 ฟูจิซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) เปิดตัวแท่นพิมพ์รุ่นใหม่ล่าสุด Xerox iGen4 Diamond Edition ในงาน Pack Print International 2013 54 เครื่องพิมพ์ดิจิตอลของเอชพี ช่วยเสริมโอกาสทางธุรกิจ ให้กับบริษัทด้านการพิมพ์ของไทย 70 ปิดฉาก 3rd CAS CUP 2013 ฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ปี 3 74 Canon รุกหนักประกาศชูความพร้อมเป็นผู้นำ�ในโลกธุรกิจสิ่งพิมพ์ดิจิทัล 103 เอชพีขยายพอร์ตโฟลิโอ Z Workstation เปิดตัวอัลตร้าบุ๊คเครื่องแรกของโลก 108 แคนนอน เปิดแคมเปญใหม่ ‘Be You Be PIXMA’ รองรับ Social Life เต็มรูปแบบ 114 โกดักกลับมาแกร่ง หลังพ้นล้มละลาย จับธุรกิจงานพิมพ์ อวดนวัตกรรมสุดล้�ำ 126 Pack Print International 2013 Thaiprint Cover Story 52 เครื่องยิงเพลท CtP ระบบ FLEXO / LETTERPRESS Print Interview 30 บทสัมภาษณ์ คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธาน 8th Thai Print Awards 2013 94 บทสัมภาษณ์ คุณธัชพล ตัง้ กุลวโรดม ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ บจก. Print Business 48 Adobe PDF Print Engine Part 2 โดย คุณกิตติ พรพิพัฒน์วงศ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด Print Technology 66 การซีดจางของสิ่งพิมพ์ Print Knowledge 84 “แก้วกระดาษ” ชนิดย่อยสลายได้สมบูรณ์โดยชีวภาพ Print Creative 88 MegaNews Magazines หนังสือตามสั่ง Young Printer 98 พิมพ์สริ ิ เหลืองเจริญนุกลู / ก.พล (1996) บจก. Art Gallery 120 นิทรรศการ Re-ทิ้ง (Re-Think) World Legend 146 Seven Wonders of the Middle World Health 150 โรคกรดไหลย้อน - โรคกระเพราะ ความเหมือนที่แตกต่าง
98
Thai Print Magazine ปีที่ 14 ฉบับที่ 99 สมาคมการพิมพ์ไทย
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-Mail : thaiprint@thaiprint.org, www.thaiprint.org Thai Print Magazine ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดทำ�ขึ้น เพื่อบริการข่าวสาร และสาระความรู้แก่สมาชิกสมาคมการพิมพ์ไทย และบุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทย ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ในวารสารนี้เป็นอิสรทรรศ์ ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิมพ์ไทยไม่จำ�เป็นต้องเห็นด้วยเสมอ
บรรณาธิการบริหาร อนันต์ ขันธวิเชียร กราฟฟิค ศุภนิชา พวงเนตร ฝ่ายบัญชี มยุรี จันทร์รัตนคีรี 16 ThaiPrint Magazine
พิมพ์ท ่ี
บริษทั ก.การพิมพ์เทียนกวง จำ�กัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
Print News
ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) มอบประกาศนียบัตรให้แก่โรงพิมพ์ ‘เอ็ม เอ็น คอมพิวออฟเซท’ โรงพิมพ์ต้นแบบรายแรกในไทย ที่สำ�เร็จหลักสูตร อบรม 10 วัน ทำ�ธุรกิจให้เป็นจริง
วันที่ 25 กันยายน 2556, กรุงเทพฯ มร. โคจิ เทสึกะ ประธาน บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด
เป็นประธานมอบประกาศนียบัตรแก่ คุณวนัสนาถ ตัน๊ งาม ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด โรงพิมพ์ เอ็ม เอ็น คอม พิวออฟเซท ในฐานะเป็นต้นแบบโรงพิมพ์รายแรกในประเทศไทย ทีผ ่ า่ นการอบรมหลักสูตรการทำ�การขายและ การตลาดจากธุรกิจดิจติ อลพริน้ โดยได้รบั เกียรติจากนายกสมาคมในวงการธุรกิจการพิมพ์ตา่ งๆ อาทิเช่น คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย, คุณไชยวุฒ์ิ พึง่ ทอง นายกสมาคมการบรรจุภณ ั ฑ์ ไทย, คุณไชยวัฒน์ หาญสมวงศ์ นายกสมาคมการค้าวัสดุอปุ กรณ์การพิมพ์ไทย, คุณเจน นรารัตน์วงศ์ เลขาธิการสมาคมธุรกิจถ่ายภาพและผูต้ ดิ ตาม ทั้งนี้ มร. โคจิ เทสีกะ ได้ เปิดเผยว่า ในปัจจุบันอุตสาหกรรม การพิ ม พ์ ใ นประเทศไทยนั้ น มี ก าร แข่งขันสูง เทคโนโลยีการพิมพ์ด้วย ระบบดิจิตอลมีบทบาทความสำ�คัญ มากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันการพิมพ์ โดยระบบออฟเซทนั้นมีการเติบโตที่ ถดถอย ลูกค้าที่สั่งพิมพ์งานมีความ ต้องการทีเ่ ปลีย่ นไปจากการผลิตงาน พิมพ์จ�ำ นวนมากมาเป็นจำ�นวนน้อย ต้องการความรวดเร็วและต้องการผู้ ประกอบการงานพิมพ์ทม่ี คี วามเข้าใจ 18 ThaiPrint Magazine
โรงพิมพ์ต้นแบบ
แนวทางการทำ�การตลาดของลูกค้า มากขึ้น ดังนั้น ธุรกิจจึงต้องปรับกล ยุทธ์ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของ ตลาด เราในฐานะผูบ้ กุ เบิกตลาดงาน พิมพ์แบบดิจิตอลมามากกว่า 20 ปี นอกจากเทคโนโลยีแท่นพิมพ์ใหม่ๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการในตลาด อย่างต่อเนื่องแล้ว บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) เล็งเห็นว่า การมีส่วน ช่วยให้ลูกค้าได้เข้าใจแนวทางการ ทำ�การตลาดและการขายงานพิมพ์ ดิจิตอลพริ้น มีส่วนสำ�คัญที่จะทำ� ให้ธุรกิจการพิมพ์ของลูกค้าเจริญ เติบโตและมีความยั่งยืนทางธุรกิจ ได้อย่างแท้จริง ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จึง ได้สร้างหลักสูตรการอบรม “อบรม 10 วัน ทำ�ธุรกิจให้เป็นจริง” โดยทีม งาน Business Development ที่ เป็ น ที ม งานที่ เ ป็ น ที่ ป รึ ก ษาทาง ด้านการขายและการทำ�การตลาด ธุรกิจดิจิตอลพริ้นกับลูกค้า ถือเป็น
โอกาสดีที่ คุณวนัสนาถ ตั๊นงาม ผู้จัดการฝ่ายการตลาด โรงพิมพ์ เอ็ม เอ็น คอมพิวออฟเซท เป็นท่านแรกที่ผ่านการอบรมหลักสูตรนี้ โดยได้ผ่านการ อบรมทางทฤษฎีและผ่านการทดสอบภาคสนาม เช่น หาลูกค้าใหม่ได้จริง ขายได้จริง ทำ�แผนการตลาดที่เหมาะสมกับธุรกิจของตัวเองและนำ�ไปใช้ จริงกับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรดังกล่าวนี้จะถูกจัดขึ้นเพื่อ ผู้ประกอบการธุรกิจการพิมพ์ที่ใช้แท่นพิมพ์ดิจิตอลพริ้น ฟูจิ ซีร็อกซ์ ทั่ว ประเทศ โดยในปี 2557 บริษัทฯ จะเปิดรับสมัครอย่างเป็นทางการ โดยจะ เน้นไปที่ผู้บริหารรุ่นใหม่ที่อายุไม่เกิน 30 ปีเท่านั้น ประโยชน์ในการอบรม ครั้งนี้ เป็นการสร้างการเติบโตทางธุรกิจและเสริมศักยภาพความสามารถ ในการแข่งขันในอุตสาหกรรมการพิมพ์ ทั้งในระดับประเทศและระดับ นานาชาติ มร. โคจิ เทสึกะ กล่าวต่อไปอีกว่า ถือว่าเป็นอีกหนึ่งโครงการที่เรา ได้แสดงเจตนารมย์อย่างชัดเจน ที่จะเป็นส่วนหนึ่งที่ตอบโจทย์ทางธุรกิจ ของท่านไม่ว่าจะเป็น Delight Your Customers, Produce More Jobs, Reduce Costs, and Grow Your Business เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้าของ คุณ, ลดต้นทุน เพิ่มกำ�ไร, พร้อมทั้งเสนอแนวคิดใหม่ๆ ในการทำ�ตลาด ชู แนวทางการทำ�ธุรกิจที่เปรียบเสมือนเป็นที่ปรึกษาทางธุรกิจสิ่งพิมพ์ให้กับ ลูกค้า เป็นคู่ค้าที่แท้จริงของลูกค้าตลอดไป เพราะความสำ�เร็จของ ลูกค้าคือ ความสำ�เร็จของเรา
ThaiPrint Magazine 19
Print News
ปลูกจิตสำ�นึกให้ภาคอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์หันมาร่วมมือร่วมใจกันอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จากความมุ่ ง มั่ นของสมาคมการพิ ม พ์ ไทยและคณะผู้ บ ริ ห ารสมาคมฯมี เป้ า หมายที่ จ ะยก ระดับมาตรฐานสิ่งพิมพ์ไทยให้สามารถแข่งขันได้อย่างทัดเทียมในเวทีโลก โดยให้การสนับสนุนด้วย ความตั้งใจจริงที่จะส่งเสริมเพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพงานพิมพ์ของผู้ประกอบการในกลุ่ม ธุรกิจการพิมพ์ต่างๆเดินไปถึงยังจุดเป้าหมายดังกล่าว สมาคมการพิมพ์ไทยจึงได้ริเริ่มจัด การ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ (Thai Print Awards) ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ.2549 ซึ่งได้รับความ ร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนซึ่งได้ดำ�เนินการมาเป็นอย่างดียิ่ง
คุณประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ถ่ายภาพร่วมกับคณะผู้จัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 22 ThaiPrint Magazine
งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
จ
ะเห็นได้ว่า จากการ ประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติทง้ั 7 ครัง้ ที่ผ่านมา ได้รับการตอบรับจาก สมาชิกและผู้ประกอบการในอุต สาหกรรมการพิ ม พ์ เ ป็ น อย่ า งดี โดยประสบความสำ�เร็จตามเป้า หมายที่ตั้งไว้ ซึ่งผลงานที่ผ่านเข้า รอบจากเวทีประกวดสิง่ พิมพ์แห่ง ชาตินั้น สามารถคว้ารางวัลและ สร้างความภาคภูมิใจให้กับภาค อุตสาหกรรมสิง่ พิมพ์ของประเทศ ไทยในการส่งผลงานเข้าร่วมแข่ง การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งเอเชีย หรือ Asian Print Wards ในหลาย ปีตดิ ต่อกัน สร้างความภาคภูมใิ จ และได้นำ�ชื่อเสียงเกียรติยศกลับ มาสูป่ ระเทศไทยเรา และเพือ่ เป็น การสานต่อวัตถุประสงค์และความ สำ�เร็จต่างๆ ให้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง ปีนส้ี มาคมการพิมพ์ไทยได้จดั การ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 8 ประจำ�ปี 2556 ขึ้นอีกครั้ง ณ โรง แรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัล เวิล์ด กรุงเทพฯ ห้องคอนเวนชั่น
คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัดงาน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 ขึ้นกล่าวรายงานการจัดงาน ThaiPrint Magazine 23
Print News
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ขึ้นกล่าววัตถุประสงค์ของการจัดงาน
ฮอลล์ ชั้น 22 เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2556 โดยได้รับ เกียรติจาก คุณประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงอุตสาหกรรม มาเป็นประธานในพิธกี ล่าวเปิด งาน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 ซึ่งงานในปี
24 ThaiPrint Magazine
นีจ้ ดั ขึน้ ภายใต้แนวคิด Environment Care For Sustanable Printing Excellence เพือ่ การปลูกจิตสำ�นึก ให้ภาคอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์หันมาร่วมมือร่วมใจกัน อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมควบคูไ่ ปกับการพัฒนาคุณภาพงาน พิมพ์อีกทั้งยังผลักดันอุตสาหกรรมให้ก้าวสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อย่างเต็มภาคภูมิในปี พ.ศ. 2558 โดยอาศัยกลไกลตลาดเดียว (Single Market) ของภูมภิ าคในการร่วมกันขับเคลือ่ นยอดการส่งออกของ อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ไทยให้ได้ 100,000 ล้านบาท ตรงตามเป้าหมายใหม่ของสมาคมการพิมพ์ไทยที่ได้ ตั้งไว้ โดย คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคม การพิมพ์ไทยได้กล่าวว่า ในนามสมาคมการพิมพ์ไทย ขอต้อนรับผู้มีเกียรติทุกท่านเข้าสู่การประกาศผลการ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 ในค่�ำ คืนนี้ และใน การจัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ หรือ Thai Print Awards มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ทีจ่ ะยกระดับมาตรฐานอุต สาหกรรมสิ่งพิมพ์ให้มีคุณภาพทัดเทียมกับนานาชาติ เป็นการกระตุน้ อุตสาหกรรมการพิมพ์ให้เกิดการพัฒนา อย่ า งต่ อ เนื่ อ งอั น จะก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ ต่ อ การ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแด่ประเทศชาติ สมาคม การพิมพ์ไทยได้จัดงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้ง นี้เป็นครั้งที่ 8 ซึ่งถือว่าการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ทั้ง 7 ครั้งที่ผ่านมานั้น ประสบความสำ�เร็จอย่างดี
งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 ยิ่งมีผู้นำ�ส่งผลงานเข้าประกวดมี เพิ่มมากขึ้นทุกปีและส่งมาจากผู้ ประกอบการทั่วประเทศ และหลัง จากการประกาศผลในค่�ำ คืนนีเ้ สร็จ สิ้นลงทางสมาคมการพิมพ์ไทยจะ จัดการรวบรวมผลงานที่ชนะการ ประกวดในระดั บ เหรี ย ญทอง เหรี ย ญเงิ น และเหรี ย ญทองแดง ส่งต่อไปแข่งขันในงาน Asian Print Awards ซึง่ จะมีการแข่งขันสิง่ พิมพ์ ในระดับเอเชียในปลายปีน้ี ผมเชือ่ ว่าทุกท่านคงจะได้สมั ผัส Green Society ที่เราได้น�ำ มาตกแต่งโดยรอบ บริเวณงานแล้วนะครับ ซึ่งบรรยา กาศแบบนั้น เป็ น การตอกย้ำ� แนว ความคิดของการจัดงานประกาศผล ของการประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ในปีนี้ Environmentad Care For Sustainable Printing Excellence ซึ่งทางสมาคมการพิมพ์ไทยมีเป้า หมายที่ จ ะกระตุ้ น จิ ต สำ � นึ ก ให้ ผู้ ประกอบการ วิสาหกิจ การพิมพ์ เดินหน้าไปสู่อุตสาหกรรมสีเขียว มี ค วามห่ ว งใยสภาพแวดล้ อ มใช้ พลังงานสะอาด ใช้ประโยชน์จาก ทรั พ ยากรอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หมุนเวียนของเสียกลับมาใช้ใหม่ ป้องกันการเกิดปัญหาจากมลพิษ โดยใช้เทคโนโลยีสะอาดและผลิต สิ น ค้ า ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ของงานพิ ม พ์ สู่ ค วามเป็ น เลิ ศ ซึ่ ง เมื่อถึงปี 2558 ประเทศไทยก้าว เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ประเทศไทยก็จะมีความ พร้อมที่จะเป็นศูนย์กลางการพิมพ์ ของ AEC เพื่อรองรับความต้อง การใช้ สิ่ ง พิ ม พ์ แ ละการขยายตั ว
คุณพยุงศักดิ์ ชาติสิทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ขึ้นกล่าวแสดงความยินดีกับคณะผู้จัดงานฯ
คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัดงาน ขึ้นมอบของที่ระลึกให้กับ คุณพยุงศักดิ์ ชาติสิทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทยขึ้นมอบของที่ระลึก ให้กับคุณประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ThaiPrint Magazine 25
Print News
Mr. Alf Carrigan Chairman of The Independent Judging Panel on the stage
26 ThaiPrint Magazine
ของการค้าขายระหว่างประเทศสมาชิก อันสามารถ นำ � เงิ น ตราเข้ า สู่ ป ระเทศเพื่ อ บรรลุ เ ป้ า หมายตาม ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ แ ละบรรลุ เ ป้ า หมาย การส่งออกได้ถึง 100,000 ล้านบาทต่อปีในปี 2558 อย่างแน่นอน ผมใคร่ถือโอกาสนี้ขอขอบคุณผู้ที่ให้ การสนับสนุนการจัดงานประกาศผลการประกวดสิ่ง พิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทำ�ให้งานต่างๆ บรรลุเป้าหมายและประสบความสำ�เร็จ ด้วยดีอันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการ พิมพ์และประเทศชาติในที่สุด คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานการจัด งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 กล่าวว่า งาน ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ 7 ครั้งที่ผ่านมา ได้ทำ�ให้ได้ ทำ�ให้ชื่อเสียงเรื่องคุณภาพสิ่งพิมพ์จากประเทศไทย เป็นทีย่ อมรับจากผู้ซื้อสิง่ พิมพ์ทวั่ โลก ยอดการส่งออก สิ่งพิมพ์ของไทยได้เติบโตอย่างต่อเนื่อง คาดว่าจะมี การส่งออกสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์กระดาษปีละ 6-7 หมืน่ ล้านบาทและจะขึน้ ไปจนถึงกว่าหนึง่ แสนล้านบาท ต่อปี เมือ่ เปิดเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC อย่างไรก็ตามไม่ว่าอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุ ภัณฑ์กระดาษจะเติบโตค่อนข้างมาก ผู้ประกอบการ ของไทยอย่าได้นง่ิ นอนใจ เพราะประเทศคูแ่ ข่งของเรา อย่างเช่น ญี่ปุ่น จีน มาเลเซียและอินโดนีเซีย ได้มีการ พัฒนาสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง ซึ่งทาง เราจะต้องเตรียมตัวในการปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์ ของตนเอง โดยมุ่งตอบสนองความต้องการของลูกค้า เป็ น หลั ก และต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาการออกแบบให้ ทั น สมัย รับกระแสโลก และที่สำ�คัญต้องเป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้อมด้วย การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติในครั้งนี้
งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
นับเป็นปีที่ 8 เป็นปีที่ยากลำ�บาก ของผู้ประกอบการและทุกวงการ เนื่ อ งจากภาวะเศรษฐกิ จ โลกที่ ชะลอตัวและการบริโภคในประ เทศลดลงแต่การประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติในครั้งนี้ได้มีผลงานจาก โรงพิมพ์ที่ส่งผลงานเข้าประกวด เพิ่ ม ขึ้ น จากปีที่แ ล้วในปีนี้มีผู้ส่ง ผลงานทั้งสิ้น 114 บริษัท เพิ่มขึ้น จากปีที่แล้วร้อยละ 32.56 และ ผลงานที่ส่งเข้าประกวดในปีนี้มี ทั้งสิ้น 760 ชิ้น เพิ่มขึ้นจากปีที่ แล้วร้อยละ 4.54 ผู้ประกอบการ ที่ได้รับรางวัลมี 41 แห่ง จากการ ประกวด 28 ประเภท กรรมการ ตัดสินในปีนี้มีทั้งสิ้น 9 ท่านเป็น กรรมการจากต่างประเทศ 2 ท่าน และในประเทศ 7 ท่าน กรรมการ ตัดสิน Green Awards 3 ท่าน สุดท้ายนี้ ผมขอขอบคุณ ผู้ ส นั บ สนุ น ทุ ก ท่ า นผู้ ส่ ง ผลงาน เข้ า ประกวดกรรมการตั ด สิ น ผล งานผู้ ดำ � เนิ น งานในการจั ด งาน เจ้าหน้าที่ของสมาคมรวมถึงแขก ผู้มีเกียรติในห้องนี้ครับ
คุณพยุงศักดิ์ ชาติสทิ ธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ ไทย ให้เกียรติขึ้นกล่าวแสดงความยินดีกับงานในครั้งนี้ กล่าวว่าในนาม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผมรู้สึกยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้มีโอกาส มาร่วมงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 ซึ่งงานประกวดสิ่งพิมพ์แห่ง ชาติถอื ว่าเป็นงานทีย่ ง่ิ ใหญ่และมีความหมายสำ�หรับผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ของเราเป็นอย่างมากและในการจัดงานในทุกๆ ครั้งที่ผ่านมา ถือว่าประสบความสำ�เร็จเป็นอย่างดียิ่งทุกครั้งและที่ส�ำ คัญ ทีส่ ดุ ได้สะท้อนให้เห็นถึงการพัฒนาของสิง่ พิมพ์ไทยทัง้ ในด้านของคุณภาพ งานพิมพ์มาตรฐานการพิมพ์ซึ่งไม่ได้เป็นรองประเทศใดในโลกเลย เป็นที่ ยอมรับกับผูซ้ อ้ื สิง่ พิมพ์จากทัว่ โลกและการจัดงานประกาศผลการประกวด สิ่งพิมพ์แห่งชาติในครั้งนี้ได้มุ่นเน้นในเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมควบคู่ ไปกับการพัฒนาคุณภาพงานพิมพ์ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายของสภา อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ต้องการปลูกจิตสำ�นึกของผู้ประกอบการ ในภาคอุตสาหกรรมไทยเรื่องของการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ร่วมมือใน
ThaiPrint Magazine 27
Print News
การพัฒนาเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมการให้ความสำ�คัญกับ ปัญหาเรือ่ งของสิง่ แวดล้อมในระยะยาว โดยเลือกใช้วตั ถุดบิ ทีส่ ามารถย่อย สลายได้ตลอดเวลาที่ผมได้ติดตามการทำ�งานของสมาคมการพิมพ์ไทย อย่างใกล้ชิด ทำ�ให้ผมได้รับทราบเรื่องของนโยบายตลอดจนการกำ�หนด ยุทธศาสตร์ที่มีการวางแผนมีการดำ�เนินการอย่างมีระบบชัดเจน ส่งผลให้ กลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์มีการพัฒนาก้าวหน้าและเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการร่วมมือร่วมใจของผู้ประกอบการสิ่งพิมพ์อย่างเข้มแข็ง มีการพัฒนา ตนเองอย่างไม่หยุดนิ่ง มีการส่งผ่านจากรุ่นสู่รุ่นมีการร่วมมือกันอย่างน่า ภาคภูมิใจ ซึ่งสามารถยกเป็นตัวอย่างให้กับภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ ได้น�ำ เป็นตัวอย่างที่ดี ซึ่งกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์ก็ถือว่าเป็นอุตสาหกรรมที่ มีความสำ�คัญอีกอุตสาหกรรมหนึง่ ในการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศได้และมีความยั่งยืนต่อไป ในด้านสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ
28 ThaiPrint Magazine
ไทยได้มกี ารแบ่งกลุม่ อุตสาหกรรม ต่างๆ เป็น 42 กลุ่มอุตสาหกรรม แบ่งเป็นทั้งหมด 11 คลัสเตอร์ ซึ่ง คลัสเตอร์การพิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ถือว่าเป็นคลัสเตอร์หนึ่งที่มีความ สำ�คัญของสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทยและมีความสำ�คัญทีม่ ี ส่ ว นเข้ า ไปเกี่ย วข้ อ งกั บ อุ ต สาห กรรมอืน่ ๆ อีกมากมาย เช่น อาหาร ครัวโลก การพิมพ์ กระดาษ โลหะ พลาสติกและแก้ว ซึ่งก็ต้องได้รับ ความร่วมมืออย่างดีย่งิ จากกระทรวงอุตสาหกรรมและสำ�นักงาน ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (สสว.) ในการสนับสนุน ในด้านต่างๆ ซึ่งเรามีความมั่นใจ กับการที่เราจะก้าวเป็นเบอร์หนึ่ง ของเอเชียหรือของโลก ก็คงไม่ไกล เกินฝันและขอชื่นชมและให้กำ�ลัง ใจกับกลุ่มสิ่งพิมพ์ฯ สมาคมการ พิมพ์ไทยทีพ่ วกท่านได้ทมุ่ เทกำ�ลัง ใจและกำ�ลังกายในการจัดงานการ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติในทุกๆ ครั้ง ขอให้รักษาคุณภาพให้ดียิ่งๆ
งานประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8
ขึ้นไปและขออวยพรผู้ท่ีชนะเลิศและส่งต่อไปประกวดในระดับนานาชาติ ให้สามารถคว้ารางวัลกลับมาให้มากๆขอให้การจัดงานในครั้งนี้ประสบ ความสำ�เร็จเหมือนทุกๆ ปีที่ผ่านมาครับ หลังจากคุณประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาห กรรม ให้เกียรติเป็นประธานในพิธแี ละได้ขน้ึ กล่าวแสดงความยินดีและชืน่ ชมการทำ � งานของสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยในการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม การพิ ม พ์ ม าอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและส่ ง เสริ ม ให้ อุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ เ ป็ น อุตสาหกรรมสีเขียวเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีต่อนานาชาติและขอแสดงความชื่นชมให้กับสมาคมการพิมพ์ไทย ที่ ยึ ด มั่ น ในการที่ ทำ � ให้ อุ ต สาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ์ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ตลอดไป กระทรวงอุตสาหกรรมมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะสนับสนุนใน อุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ให้ก้าวสู่ความเป็นที่หนึ่งของโลก ด้านการพิมพ์และขอแสดงความยินดีผู้ที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินี้และ ขอเป็นกำ�ลังใจสำ�หรับผู้ที่ยังไม่ได้รับรางวัลในค่ำ�คืนนี้ว่าอย่าท้อถอยขอ ให้เพียรพยายามเพื่อที่ท่านจะพบกับความสำ�เร็จในวันข้างหน้าและขอ ให้การจัดงานในครั้งนี้สำ�เร็จบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่มุ่งหวังไว้ครับ สมาคมการพิมพ์ไทยและคณะผู้จัดงานการประกวดสิ่งพิมพ์แห่ง ชาติ ได้มีการจัดงานที่ยิ่งใหญ่สำ�หรับผู้ประกอบการ วิสาหกิจ เกี่ยวกับ การพิมพ์ของไทยได้มีเวทีท่ยี ่งิ ใหญ่ในการแข่งขันด้านงานพิมพ์ของไทย สำ�หรับปีนก้ี ถ็ อื ว่าประสบความสำ�เร็จอย่างยิง่ ต้องรอติดตามการประกวด
สิง่ พิมพ์แห่งชาติในครัง้ ต่อๆ ไปนะ ครับว่าทางคณะกรรมการผูจ้ ดั งาน ประกาศผลการประกวดสิ่งพิมพ์ แห่งชาติจะมีอะไรมาสร้างความ ตื่นตาตื่นใจกันอีก ต้องรอติดตาม กันนะครับ แล้วอย่าลืมส่งผลงาน มาร่วมในการประกวดสิง่ พิมพ์แห่ง ชาติในปีหน้ากันเยอะๆ นะครับ..
ThaiPrint Magazine 29
Print Interview Interview
วิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์
ประธาน 8th Thai Print Awards อยากทราบที่มาของการจัดงาน Thai Print Awards มีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทยอย่างไรบ้าง..? เนื่ อ งจากสมาคมการพิ ม พ์ ไ ทยมี นโยบายในการทีจ่ ะทำ�ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ กลางการส่งออก สง่ิ พิมพ์ในภูมภิ าคนี้ซง่ึ ประเทศ ไทยมีความพร้อม ตั้งแต่การปลูกป่าเพื่อนำ�ไม้ มาทำ�เยือ่ กระดาษ มีโรงงานผลิตกระดาษขนาด ใหญ่ มีโรงพิมพ์ที่มีความพร้อมในการผลิตสิ่ง พิมพ์เพื่อการส่งออกหลายโรง เมื่อประเทศไทยมีศักยภาพในการส่ง ออกสิ่งพิมพ์ แต่จะทำ�อย่างไรที่จะให้ผู้ซื้อสิ่ง พิมพ์ทเ่ ี ป็นชาวต่างประเทศทราบถึงศักยภาพของ อุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทย คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล ซึ่งขณะนั้นเป็นนายกสมาคมการ พิมพ์ไทย ได้พูดคุยกับ Mr. Alf Carrigan ซึ่ง เป็นหัวหน้าของกรรมการประกวด Asian Print Awards ประเทศสิงคโปร์ ซึ่งปี พ.ศ. 2516 ได้ มาประกาศผลที่ประเทศไทย คุณเกรียงไกรได้ ทาบทาม Mr. Alf Carrigan ให้มาช่วยจัด Thai Print Awards เพื่อที่จะนำ�ผลงานที่ชนะการ ประกวดสิง่ พิมพ์ในประเทศไทย ส่งไปประกวด ต่อทีป่ ระเทศสิงคโปร์ในงาน Asian Print Awards ปีต่อมา พ.ศ. 2549 การประกวด Thai Print Awards ครัง้ ที่ 1 ก็ได้เริม่ ขึน้ ผลงานที่ได้รบั รางวัล จากการประกวดได้ถกู ส่งไปประกวดต่อ ที่ประเทศสิงคโปร์ และจากการที่เคยได้รางวัล แค่หนึง่ เหรียญทองแดง และได้รบั รางวัลเหรียญ ทองหลายเหรียญ ต่อมาได้เหรียญทองจำ�นวน มากที่สุดในการประกวด Asian Print Awards
30 ThaiPrint Magazine
ประธาน 8th Thai Print Awards
การประกวด Thai Print Awards เป็นเวทีทท่ี �ำ ให้ชาวต่างประเทศรูจ้ กั ประเทศไทยมากขึน้ ในด้านคุณภาพของการพิมพ์ การส่งออกสิง่ พิมพ์ท�ำ ได้มาก ขึ้น โรงพิมพ์ในประเทศมีการตื่นตัว ในการพัฒนาคุณภาพให้ได้มาตรฐานตาม ความต้องการของลูกค้าในต่างประเทศ ซึ่งต้องการคุณภาพที่สูงและความคง ที่ของงานพิมพ์ แนวคิดหรือสโลแกนของงาน Thai Print Awards ครั้งที่ 8 คืออะไรครับ ช่วยอธิบายทีม่ าของแนวคิดนีข้ น้ึ มาเพือ่ ตอบสนองหรือมุง่ เน้นในส่วนไหน บ้างครับ..? Environment Care for Sustainable Printing Excellence เป็น แนวคิดทีม่ งุ่ เน้นด้านรักษ์สง่ิ แวดล้อมพร้อมกับคุณภาพงานพิมพ์ทด่ี เี ลิศ ซึง่ สอด คล้องกับการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 7 Going Green for a Better Planet ซึ่งรักษาสภาพแวดล้อมเพื่อโลกของเรา อุตสาหกรรมการพิมพ์นับเป็นอุตสาหกรรมที่ทำ�ลายสิ่งแวดล้อมน้อย เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ แต่โรงพิมพ์ก็ยังมีส่วนที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวด ล้อมอยูบ่ า้ งซึง่ สามารถควบคุมได้ ในต่างประเทศมีการรณรงค์ลดโลกร้อน รวม ทั้งผู้ซื้อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ก็บังคับให้โรงพิมพ์คู่ค้าจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อมด้วย ถึงจะทำ�มาค้าขายกัน โรงพิมพ์ในเมืองไทยเกือบทัง้ หมดก็มกี ารจัดการทางด้าน สิ่งแวดล้อมตามกฏข้อบังคับของรัฐบาลอยู่แล้ว ถ้าไม่ทำ�ก็ต่อใบอนุญาตไม่ได้ หรือไปตั้งโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมซึ่งมีการบำ�บัดของเสียครบวงจร จะเห็นได้ว่า สมาคมการพิมพ์ไทยมีรางวัลพิเศษอยู่หนึ่งรางวัล คือ Green Award ซึง่ มอบให้กบั ผูป้ ระกอบการทีผ่ ลิตสิง่ พิมพ์โดยไม่ท�ำ ลายสิง่ แวด ล้อม ตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบในการผลิต ได้แก่ กระดาษ หมึกพิมพ์ สารเคมีที่ ใช้ในการพิมพ์ กระบวนการกำ�จัดของเสีย ซึง่ ปีนมี้ โี รงพิมพ์จากต่างจังหวัดได้รบั รางวัลไป ชื่อ สมุยอักษร ได้ส่งวิธีการผลิตสิ่งพิมพ์และกระบวนการกำ�จัดของ เสียของโรงพิมพ์ได้ดีเป็นอย่างยิ่ง นับว่าเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับโรงพิมพ์อื่นๆ ทั่วประเทศ
อุปสรรคในการจัดงานในครัง้ นีม้ อี ะไร บ้างครับ และใช้หลักการใดในการแก้ ไขปัญหาให้สำ�เร็จและสมบูรณ์ ไ ด้ มากน้อยแค่ไหนครับ อุปสรรคในการจัดงานในครั้งนี้ ไม่ค่อยมีนะครับ เพราะทางทีมงานมี ประสบการณ์ในการจัดงานมาก่อน ทุกคนรู้หน้าที่ของแต่ละคนทำ�ให้งาน ราบรื่นดี ปีนี้งานจะกระชับตรงเวลา เนื่อง จากประธานในพิธีมาตรงตาม กำ�หนดเวลา คนจัดงานเลยสามารถ ทำ�ให้งานเลิกตรงเวลา ซึ่งเป็นเรื่องที่ ดีมาก ThaiPrint Magazine 31
Print Interview
และต้องขอขอบคุณทุกท่านที่ได้ร่วมมือร่วมใจในการจัดงานในครั้งนี้ โดยเฉพาะผู้ให้การสนับสนุนหลัก ได้แก่ SCG Paper, Gold East Paper, Ferrostaal, Fuji Xerox, Ifec และผู้สนับสนุนทั่วไป ได้แก่ Heidelberg, SM Graphic Center Co.,Ltd, Toyo Ink, CGS (Thailand) Co., Ltd, Bottcher, Sansin, ส.ศรีอักษร พริ้นติ้ง โปรดักส์, Messe Dusseldorf Asia และ Asian Print Awards ส่วนอุปสรรคตอนตัดสินก็มีบ้าง ได้แก่ ผลงานที่ส่งเข้าประกวดในปีนี้ มีจ�ำ นวนมากและส่วนมากจะส่งมาในวันสุดท้ายของวันปิดรับสมัคร ทำ�ให้คณะ ทำ�งานทำ�ไม่ค่อยจะทัน รวมทั้งการกรอกข้อมูลในใบสมัครไม่ครบถ้วน อยาก ให้ผสู้ ง่ ผลงานเข้าประกวดกรอกข้อมูลให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะมากได้ เพือ่ เป็นประ โยชน์ตอ่ ผูส้ ง่ ผลงานเข้าประกวดเอง เพราะกรรมการตัดสินจะใช้ขอ้ มูลในใบสมัคร เป็นตัวตัดสินส่วนหนึ่ง
32 ThaiPrint Magazine
จากการที่ได้พยายามผลักดันให้อุต สาหกรรมการพิมพ์ของไทยเราพัฒนา และมีการตื่นตัวมากขึน้ ทุกปีๆ เพือ่ ก้าวเข้าสูก่ ารเป็นศูนย์กลางการพิมพ์ ของภูมภิ าคอาเซียนในขณะนีม้ คี วาม เป็นไปได้มากน้อยแค่ไหนครับ..? อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ ใ น ประเทศไทยเราได้มีการพัฒนาทาง ด้านเครื่องจักรรวมทั้งบุคคลากรทาง การพิมพ์อย่างต่อเนื่องทำ�ให้ประเทศ ไทยพร้อมทีจ่ ะเป็นศูนย์กลางในการผลิต สิ่งพิมพ์เพื่อการส่งออกในภูมิภาคนี้ การสนับสนุนการส่งออกสิ่ง พิมพ์ของไทยจากภาครัฐด้วยการไม่ เก็บภาษีกระดาษนำ�เข้า บางประเภท และเครื่องจักรทางการพิมพ์ แต่ก็ยัง มี การเก็บภาษีอุปกรณ์ส้นิ เปลืองและ อะไหล่ทางการพิมพ์ ซึง่ ยังเก็บในอัตรา ที่สูงอยู่ ถ้าได้ลดภาษีนำ�เข้าเหล่านี้จะ ทำ�ให้คา่ ใช้จา่ ยของโรงพิมพ์ ลดลง และ ยังสามารถทำ�เป็นศูนย์กลางซ่อมเครือ่ ง พิมพ์ในภูมิภาคนี้ได้อีกด้วย ความพร้อมทางด้านก่อนพิมพ์ เช่น การถ่ายภาพ การเรียงพิมพ์ การ จัดหน้าและกราฟฟิคดีไซน์ ทางมหา วิทยาลัยต่างๆ มีการเรียนการสอนแทบ
ประธาน 8th Thai Print Awards
ทุกมหาวิทยาลัย ทำ�ให้เรามีบคุ คลากร ทางด้านนี้มาก ทำ�ให้สามารถรับงาน ตั้งแต่การถ่ายภาพ การเรียงพิมพ์เนื้อ หา การจัดหน้า การพิมพ์ การทำ�เล่ม รวมทัง้ การจัดส่งถึงผูบ้ ริโภค ท�ำ ให้ประ เทศไทยเป็นศูนย์กลางการพิมพ์อย่าง ครบวงจร สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับสิง่ พิมพ์ ดงั เช่นรัฐบาลอยากให้เป็น เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ดีกว่าส่งกระ ดาษเปล่าไปขายต่างประเทศ เปรียบ เทียบกับทางด้านอาหารได้มีการทำ� ข้าวปรุงสำ�เร็จใส่กล่อง เวลาจะทานก็ ใส่ไมโครเวบดีกว่าส่งข้าวสารไปขาย เป็นกระสอบ ในอนาคตอันใก้ลนี้ จะมีการเปิด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จะทำ�ให้ โอกาสทางการค้ามีมลู ค่าสูงขึน้ โดยจะ ต้องมีการแนะนำ�สินค้าและบริการสู่ กลุ่มเป้าหมาย โดยผ่านกิจกรรมทาง การตลาด ซึ่งอุตสาหกรรมการพิมพ์ก็ จะได้ รับ ประโยชน์ จ ากตลาดใหม่ ๆ เหล่านี ้ เพียงแต่วา่ ใครจะมีความพร้อม มากกว่ากัน
- คุณมีสินค้าและบริการสำ�หรับเปิดตลาดเปิดใหม่หรือยัง - คุณมีบุคลากรที่พร้อมสำ�หรับตลาดใหม่หรือยัง - คุณมีคู่ค้าสำ�หรับตลาดใหม่หรือยัง - โอกาสได้ถูกจัดเตรียมไว้ให้กับผู้ทีมีความพร้อมเท่านั้น ในการประกวดสิง่ พิมพ์แห่งชาติครัง้ ที่ 8 มีผสู้ ง่ ผลงานเข้าร่วมประกวดมาก น้อยแค่ไหนครับ และอยากชิญชวนโรงพิมพ์ต่างๆ ทุกขนาดธุรกิจส่งผล งานเข้าร่วมในปีต่อไปและอยากแนะนำ�อะไรเป็นพิเศษบ้างครับ..? ในปีนี้มีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดมากกว่าปีที่ผ่านมา มีโรงพิมพ์ที่ส่งผล งาน 114 โรงพิมพ์ มาก กว่าปีที่ผ่านมาถึง ร้อยละ 32.56 เป็นนิมิตรหมายที่ ดีที่มีโรงพิมพ์สนใจส่งผลงานเข้าประกวด มี ผลงานส่งเข้าประกวด 760 ชิ้น มากกว่าปีที่ผ่านมาร้อยละ 4.54 ผลงานในปีนี้เท่าที่ได้สัมผัสดู รู้สึกว่าค่อน ข้างธรรมดา ไม่ค่อยโดดเด่น ปีต่อไปอยากจะให้โรงพิมพ์คัดผลงานเตรียมไว้ แต่เนิ่นๆ
ThaiPrint Magazine 33
Print Interview
ผู้ ที่ ทำ � งานพิ ม พ์ ร ะบบดิ จิ ต อลจะต้ อ งเน้ น งาน ออกแบบและงานหลังการพิมพ์เป็นพิเศษ เพราะคุณภาพ การพิมพ์ในระบบนี้จะตัดสินค่อนข้างลำ�บาก จึงต้องมาดู ด้านการออกแบบ และงานหลังการพิมพ์ อยากฝากอะไรถึงผู้ส่งผลงานเข้าประกวดในปีนี้ครับ ตลอดจะผู้สนับสนุนทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างไร บ้างครับ..? ขอขอบคุณอีกครั้งสำ�หรับผู้สนับสนุนหลักและผู้ สนับสนุนทั่วไป ตลอดจนผู้ส่งผลงานเข้าประกวดทุกท่าน รวมทั้งภาครัฐที่ให้การสนับสนุนอุตสาหกรรมการพิมพ์ มาโดยตลอดทางสมาคมการพิมพ์ไทย หวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าทางภาครัฐจะลดภาษีอะไหล่เครื่องจักรทางการพิมพ์ ลงให้เหมือนเพื่อนบ้านที่เป็นศูนย์กลางทางด้านอะไหล่ ทางการพิมพ์ในภูมิภาคนี้ ซึ่งมีเครื่องพิมพ์น้อยกว่าไทย มากมาย แต่เวลาโรงพิมพ์ในประเทศสั่งอะไหล่ จะต้องสั่ง ผ่านประเทศเพื่อนบ้าน ต้องใช้เวลาในการเดินทาง ทำ�ให้ เสียโอกาสทางการค้าเป็นอย่างมากครับ
34 ThaiPrint Magazine
Thai Print Awards Thaiprint Awards
สรุปผลการประกาศรางวัล การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 8 ช่วงที่ 1
ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสเตอร์และสิ่งพิมพ์ประเภทโฆษณา ณ จุดขาย (Posters and Point of Purchase Materials) ได้แก่ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์ พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั รุง่ ศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด และเหรียญ ทองแดง ได้แก่ บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จำ�กัด >>> คุณประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม มอบรางวัลให้กับบริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ใบปลิว แผ่นพับ แค็ตตาล็อก จุลสาร จดหมายข่าว 16 หน้า หรือน้อยกว่า โดยไม่รวมปก (Leaets, Flyers, Folders, Booklets, Catalogues and Newsletter – Up To 16 pages excluding cover) ได้แก่ บริษทั บีทเี อส เพรส จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท จี.พี.ไซเบอร์พรินท์ จำ�กัด >>> คุณพยุงศักดิ์ ชาติสทุ ธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มอบรางวัลให้กบั บริษทั บีทเี อส เพรส จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท แค็ตตาล็อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว มากกว่า 16 หน้า (Brochures, Booklets, Catalogues and Newsletter - More than 16 pages excluding cover) ได้แก่ บริษัท สุพรชัย จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท พงษ์วริน การพิมพ์ จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1987) จำ�กัด >>> คุณวิฑรู ย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม มอบรางวัลให้กบั บริษทั สุพรชัย จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ไปรษณียบัตร บัตรอวยพร นามบัตร สูจิบัตร บัตรเชิญในโอกาสต่างๆ (Postcards, Greeting Cards, Name Cardes and Invitation Cards) น่าเสียดายที่ปีนี้ไม่มีผู้ได้รับรางวัลเหรียญทอง ส่วนเหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จ�ำกัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ไอคอนไอเดีย จ�ำกัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท นิตยสาร วารสาร ที่พิมพ์ด้วยระบบ ป้อนแผ่น (Sheetfed Magazines And Journals) บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ฐานการพิมพ์ จำ�กัด >>> คุณปิยะบุตร ชลวิจารณ์ อดีตรัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม มอบรางวัลให้กบั บริษทั รุง่ ศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ปฏิทิน (Calendars) ได้แก่ บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ (1977) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์ตะวันออก จำ�กัด (มหาชน) >>> คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย มอบรางวัลให้กับ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด 38 ThaiPrint Magazine
สรุปผล 8th Thai Print Awards 2013
ช่วงที่ 2 ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์หนังสือจำ�นวนจำ�กัดและงานพิมพ์ เลียนแบบภาพศิลป์ (Limited Edition Books and Art Reproductions) ได้แก่ บริษัท ไชยเจริญการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท โรงพิมพ์อักษรสัมพันธ์ (1987) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท แปลนพริ้นติ้ง จำ�กัด >>> Mr. Alf Carrigan Chairman of The Independent Judging Panel on the stage มอบรางวัลให้กับ บริษัท ไชยเจริญการพิมพ์ และบรรจุภัณฑ์ จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือทีพ ่ มิ พ์ 4 สี หรือมากกว่า (Book Printing - 4 or more colors) ได้แก่ บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั รุง่ ศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั พงษ์วรินการ พิมพ์ จำ�กัด >>> Mr. Alf Carrigan Chairman of The Independent Judging Panel on the stage มอบรางวัลให้กับ บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภณ ั ฑ์ทพ ่ี มิ พ์ดว้ ยระบบออฟเซ็ทป้อน แผ่น (Packaging Sheetfed Offset) ได้แก่ บริษทั สยามทบพันแพคเกจจิง้ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั เบญจมิตร บรรจุภณ ั ฑ์ จำ�กัด บริษทั คอนติเนนตัล บรรจุภณ ั ฑ์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ทรินติ ้ี พับลิชชิง่ จำ�กัด >>> Mr. Alf Carrigan Chairman of The Independent Judging Panel on the stage มอบรางวัลให้กับ บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์จากเครือ่ งป้อนม้วน - กระดาษ เคลือบผิว 70 gsm และมากกว่า(Web Offset - Coated Stock 70 gsm and up) ได้แก่ บริษทั ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั ไซเบอร์พริน้ ท์ จำ�กัด และ เหรียญทองแดง ได้แก่ บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) >>> คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มอบรางวัลให้กับ บริษัท ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์จากเครือ่ งป้อนม้วน - กระดาษ เคลือบผิว 65 gsm หรือน้อยกว่า (Web Offset - Coated Stock 65 gsm and less) น่าเสียดายที่ในปีนี้ไม่มีผู้ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ส่วนเหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั ไซเบอร์พริน้ ท์ จ�ำกัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ดับบลิว พี เอส (ประเทศไทย) จ�ำกัด
ThaiPrint Magazine 39
Thai Print Awards
ช่วงที่ 3 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท หนังสือ (Book Printing) ได้แก่ บริษัท สุนทรฟิลม์ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษทั อิมเมจ ควอลิต้ี แล็บ จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำ�กัด และ บริษัท ธนาบุตร จำ�กัด >>> Mr. Paul Callaghan Chairman , Asian Print Awards มอบรางวัลให้กับ บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ใบปลิว แผ่นพับ โบรชัวร์ (Leaflets/ Flyers/ Folders & Brochures) ได้แก่ บริษทั เอ็ม.ไอ.ดับบลิว. กรุป๊ จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท เปเปอร์เมท (ประเทศไทย) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด >>> คุณเกษม แย้มวาทีทอง ประธานมูลนิธิสหพันธ์อุตสาหกรรม มอบรางวัลให้กับ บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว. กรุ๊ป จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท แค็ตตาล็อก จุลสาร โบรชัวร์ (Catalogues/ Booklets & Brochures) ได้แก่ บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท พราว เพรส (2002) จำ�กัด และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน) >>> คุณมยุรี ภาคลำ�เจียก กรรมการตัดสิน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 มอบรางวัลให้กับ บริษัท สุนทรฟิล์ม จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท ปฎิทินและหนังสือภาพ (Calendars & Photo books) ได้แก่ บริษัท สิบคน จำ�กัด เหรียญเงิน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท ธนาบุตร จำ�กัด และ บริษัท เว็บทูพริ้นท์ จำ�กัด >>> คุณอมรรัตน์ อัคควัฒน์ กรรมการตัดสิน การประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติครั้งที่ 8 มอบรางวัลให้กับ บริษัท สิบคน จำ�กัด
ช่วงที่ 4 ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสการ์ด การ์ด และบัตรเชิญ (Postcards/ Greeting & Invitation Cards) ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เหรียญเงิน บริษัท โมเดอร์นฟิล์ม เซ็นเตอร์ และเหรียญทองแดง ในปีนี้ไม่มีผู้ได้รับรางวัล >>> คุณทรงสิทธิ์ หอวิจิตร Sale Director บริษัท เอสเอ็ม กราฟฟิค เซ็นเตอร์ จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท โปสเตอร์ (Posters) ได้แก่ บริษัท แพน แปซิฟิก ปริ้นติ้ง จำ�กัด เหรียญเงิน บริษัท สเปซวัน จำ�กัด และเหรียญทองแดง บริษัท โมเดอร์นฟิล์ม เซ็นเตอร์ จำ�กัด >>> คุณประชา อินผลเล็ก ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั ไฮเดลเบิรก์ กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัท แพน แปซิฟิก ปริ้นติ้ง จำ�กัด
40 ThaiPrint Magazine
สรุปผล 8th Thai Print Awards 2013 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภัณฑ์ (Packaging) น่าเสียดายที่ ปีนี้ไม่มี ผู ้ ไ ด้ รับรางวัลเหรียญทองและเหรียญเงิน ส่วนเหรียญทองแดง ได้แก่ บริษัท แอล บี ลาเบล แอนด์ แพคเกจจิ้ง จ�ำกัด และ บริษัท ราชาการพิมพ์ (2002) จ�ำกัด
ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์ดิจิตอลภายนอกอาคาร, งาน พิมพ์ขนาดใหญ่และป้ายโฆษณา (Digital - Large Format - Signage and Outdoor Full Size Print) ได้แก่ บริษทั อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จ�ำกัด เหรียญเงิน บริษทั สเปซวัน จ�ำกัด และ เหรียญทองแดง ในปีนี้ไม่มีผู้ได้รับรางวัล >>> คุณวิบลู ย์ สือ่ วีระชัย กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ส.ศรีอกั ษร พริน้ ติง้ โปรดักส์ จำ�กัด มอบรางวัลให้กบั บริษทั อิมเมจ ควอลิต้ี แล็บ จำ�กัด
ช่วงที่ 5 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Flexography (Flexible Packaging-Flexography) ได้แก่ บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จ�ำกัด ส่วนเหรียญเงินและเหรียญทองแดง ในปีนี้ไม่มีผู้ได้รับรางวัล >>> คุณนภดล ไกรฤกษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีจีเอส (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท บรรจุภณ ั ฑ์ออ่ นตัวทีพ ่ มิ พ์ดว้ ยระบบ Gra vure (Flexible Packaging-Gravure) ได้แก่ บริษัท ทีพีเอ็น ฟู้ด แพค จำ�กัด เหรียญเงิน บริษัท ไพร์ม แพคเกจจิ้ง จำ�กัด และเหรียญทองแดง บริษัท พริ้นท์มาสเตอร์ จำ�กัด >>> คุณเกอร์เนอร์ท ริงลิ่ง กรรมการผู้จัดการ Messe Düsseldorf Asia Pte. Ltd. มอบรางวัลให้กับ บริษัท ทีพีเอ็น ฟู้ด แพค จำ�กัด
ThaiPrint Magazine 41
Thai Print Awards
ช่วงที่ 6 ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์หลากชิ้นที่ใช้เป็นชุด (MultiPiece Production & Campaings) ได้แก่ บริษทั เบญจมิตร บรรจุภณ ั ฑ์ จ�ำกัด เหรียญเงิน บริษทั โมเดอร์นฟิลม์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด และเหรียญทองแดง ในปีนี้ไม่มีผ้ไู ด้รับรางวัล >>> คุณเหล่ย เจิ้น เหวิน รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ซันซิง พริ้นติ้ง แมชชีน แมททีเรียล (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัท เบญจมิตร บรรจุภัณฑ์ จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท งานการประดับหรือตกแต่งหลังการพิมพ์ (Embellishment) ได้แก่ บริษัท สุพรชัย จำ�กัด เหรียญเงิน บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จำ�กัด (มหาชน) และเหรียญทองแดง บริษัท คอนติเนนตัล บรรจุภัณฑ์ (ไทยแลนด์) จำ�กัด >>> คุณยิ่งยง สุวัฒนาวงศ์ชัย ผู้จัดการฝ่ายขาย บริษัท เบิ้ตท์เชอร์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัท สุพรชัย จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท นวัตกรรมทางการพิมพ์ (Innovation/ Specialty Printing) ได้แก่ บริษัท สเปซวัน จ�ำกัด เหรียญเงิน บริษัท ทีเคเอส สยามเพรส แมเนจเม้นท์ จ�ำกัด และ บริษทั ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จ�ำกัด ส่วนเหรียญทองแดง ในปีนี้ ไม่มีผู้ได้รับรางวัล >>> คุณเรียว รัตนสมบัติ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท โตโยอิงค์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด ผลงานที่ได้รบั รางวัลเหรียญทอง ประเภท การพิมพ์ปรุฟ ๊ ด้วยระบบดิจติ อล (Digital Color Proofing) ได้แก่ บริษทั รุง่ ศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด เหรียญเงิน บริษทั สุนทรฟิลม์ จำ�กัด และเหรียญทองแดง บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จำ�กัด (มหาชน) >>> คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายกสมาคมการพิมพ์ไทย มอบรางวัลให้กับ บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด ผลงานที่ได้รับรางวัลเหรียญทอง ประเภท งานพิมพ์เพือ่ ประชาสัมพันธ์บริษทั หรือ ผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ (Self Promotion) น่าเสียดายที่ในปีนี้ไม่มีผู้ได้ รับรางวัลนี้ ส่วนเหรียญเงิน ได้แก่ บริษัท เมย์ฟลาวเวอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และเหรียญ ทองแดง บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศ ไทย) จ�ำกัด
42 ThaiPrint Magazine
สรุปผล 8th Thai Print Awards 2013
รางวัล GREEN PRINT CONCEPT THAI PRINT ASSOCOATION AWARD : GREEN PRINT CONCEPT >>> คุณพรชัย รันตชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย มอบรางวัลให้กับห้างหุ้นส่วนจำ�กัด สมุยอักษร
สรุปรางวัล Best of The Best BEST IN SHEETFED OFFSET >>> คุณพุทธพร แสงรัตนเดช ผู้อำ�นวยการฝ่ายการตลาดบริษัท เอส.ซี.จี. เปเปอร์ จำ�กัด (มหาชน) มอบรางวัลให้กับบริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำ�กัด
BEST IN CREATIVE USE OF DIGITAL TECHNOLOGY >>> คุณยูจิ นากาตะ ผู้จัดการสำ�นักงานผู้แทน บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำ�กัด (มหาชน) มอบรางวัลให้กับ บริษัท สเปซวัน จำ�กัด
BEST CREATIVITY IN PRINTING APPLICATION & DESIGNS >>> คุณสิทธิพัฒน์ บุญ-หลง ผู้อำ�นวยการฝ่ายขาย บริษัท แฟโรสตัล (ไทยแลนด์) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัท สุพรชัย จำ�กัด
BEST IN MORE THAN ONE PRODUCTION PROCESS >>> คุณเควิน หวง Director of Gold East paper กลุ่มบริษัทเจริญอักษร มอบรางวัลให้กับ บริษัท ทีเคเอส สยามเพรส แมเนจเม้นท์ จำ�กัด
ThaiPrint Magazine 43
Thai Print Awards BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING PROCESSES >>> คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ เลขาธิการสมาคมการพิมพ์ไทย มอบรางวัลให้กับ บริษัททีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จำ�กัด
BEST IN DIGITAL PRINTING >>> คุณโคจิ เทสึกะ (Mr.Koji Tezuka) ประธานบริษัท บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด มอบรางวัลให้กับ บริษัทสุนทรฟิล์ม จำ�กัด
ขอขอบคุณผูสนับสนุนทุกบริษัทฯ ที่รวมเปนสวนหนึ่งในความสำ�เร็จของการจัดงานประกวดสิ่งพิมพแหงชาติ ครั้งที่ 8 นี้ ผูส้ นับสนุนหลัก (Major Sponsors) BY
ผูส้ นับสนุนทัว่ ไป (Patrons)
Asain Print Awards
44 ThaiPrint Magazine
โรงพิPrint มพ์ตNews ้นแบบ
ฟูจซิ รี อ็ กซ์ (ประเทศไทย) ผูน้ ำ� วงการเทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจติ อล เปดิ ตัวแท่นพิมพ์รนุ่ ใหม่ลา่ สุด ในงาน Pack Print International 2013 สุดยอดแท่นพิมพ์ดจิ ติ อลทีม่ ยี อดจ�ำหน่ายมากกว่า 2,200 แท่นทัว่ โลก!!
วันที่ 28 สิงหาคม 2556, กรุงเทพฯ ม.ร. โคจิ เทสึกะ ประธานบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เปิดเผยว่า ในปัจจุบันอุตสาหกรรมการพิมพ์ในประเทศไทยนั้นมีการ แข่งขันสูง เทคโนโลยีการพิมพ์แบบดิจิตอลมีบทบาทความ สำ�คัญมากยิ่งขึ้น การพิมพ์แบบออฟเซทนั้นมีลดลง ความ ต้องการที่เปลี่ยนไปของลูกค้า จากการผลิตงานพิมพ์ จำ�นวนมากมาเป็นจำ�นวนน้อยและความต้องการงานพิมพ์ ภายใน 24 ชั่วโมงมีมากขึ้น ดังนั้น ธุรกิจจึงต้องปรับ กลยุทธ์ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของตลาด เราในฐานะผู้ บุกเบิกตลาดงานพิมพ์แบบดิจิตอลมาประมาณ 20 ปี จึง ได้คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อตอบสนองความ ต้องการในตลาดอย่างต่อเนื่อง ทางบริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด เล็งเห็น ว่า การเข้าร่วมงาน “Pack Print International 2013” นั้นเป็นโอกาสที่ดี เพื่อให้ผู้ประกอบการได้นำ�เทคโนโลยีการ พิมพ์แบบใหม่ ไปใช้ในการสร้างการเติบโตทางธุรกิจ และ เสริมศักยภาพความสามารถในการแข่งขันในอุตสาหกรรม การพิมพ์ ทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ
มร.โคจิ กล่าวต่อไปอีกว่า ปีนี้ถือว่าเป็นครั้งที่ 4 ของการเข้า ร่วมงาน “Pack Print International” ซึง่ ทางบริษทั ฯ เข้าร่วมงานตัง้ แต่ครัง้ แรกทีม่ กี ารจัดงานขึน้ โดยคอนเซ็ปต์ ของทางบริษัทฯ ในปีนี้ คือ Delight Your Customers, Produce More Jobs, Reduce Your Cost, and Grow Your Business ชูแนวทาง การทำ�ธุรกิจที่เปรียบเสมือนเป็นที่ ปรึกษาทางธุรกิจสิง่ พิมพ์ให้กบั ลูกค้า โดยการนำ � โซลู ช่ั น ที่ ช่ ว ยในการ บริหารจัดการงานพิมพ์ให้มปี ระสิทธิ ภาพ, ลดต้นทุน เพิม่ กำ�ไร, พร้อมทั้ง เสนอแนวคิดใหม่ๆ ในการทำ�ตลาด อาทิเช่น การทำ�ตลาดด้วยงานพิมพ์ แบบ Personalized และงานพิมพ์ แบบ Security เป็นต้น ในส่วนของผลิตภัณฑ์ที่นำ� มาแสดงนั้น ทางบริษัทฯ ได้นำ�แท่น พิมพ์รนุ่ Color C75 Press และ Color J75 Press แท่นพิมพ์ที่ได้รับความ นิยมมากในตลาด ณ ขณะนี้ และ แท่นพิมพ์ FX 1400 Inkjet Color ที่ สามารถพิมพ์งานด้วยระบบความ เร็วระดับ Ultra High Speed ซึ่งพิมพ์ ได้เร็วถึง 1,312 หน้าต่อนาที นอกจากนี้ยังมีแท่นพิมพ์สี ระดับโปรดักชั่นที่สามารถพิมพ์และ เคลือบวานิชได้ในขัน้ ตอนเดียวอย่าง แท่นพิมพ์ Color 1000 Press และสุด ท้ายแท่นพิมพ์ Xerox iGen4 Press ThaiPrint Magazine 45
Print News Diamond Edition ทีน่ �ำ มาเปิดตัวเป็น ครั้งแรกในประเทศไทย แท่นพิมพ์ รุ่นนี้ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีทั้ง ในยุโรป อเมริกาและเอเชีย ด้วยยอด จำ�หน่าย 2,200 แท่นทั่วโลก นายพิชยั ธัญญวัชรกุล ผูอ้ �ำ นวยการฝ่ายขาย Production System Business บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ (ประ เทศไทย) จำ�กัด กล่าวเสริมว่า แท่น พิมพ์ “Xerox iGen4 Press Diamond Edition” ให้ความละเอียดและความ คมชัดของงานพิมพ์เทียบเท่าคุณภาพ งานพิมพ์จากระบบออฟเซต หมึก พิมพ์ชนิดด้าน (Matte Dry Ink) ที่ทำ� ให้งานพิมพ์ดูสวยและมีความคมชัด ความเร็วในการพิมพ์อยู่ที่ 110 หน้า ต่อนาที สามารถรองรับกระดาษที่มี ความหนาได้ถึง 350 แกรม และรอง รับวัสดุในการพิมพ์ได้ถงึ ขนาด 14.33” x 26” ซึง่ เป็นขนาดใหญ่สดุ ในเครือ่ ง ระดับเดียวกันในตลาด นอกจากนีย้ งั มีระบบ Auto Density Control ทีค่ อย ตรวจสอบและควบคุมความเข้มของสี ให้มคี วามถูกต้องซึง่ จะช่วยลดปัญหา การเกิดเส้นสีขาวบนภาพ ทำ�ให้ได้ งานพิมพ์ท่มี ีคุณภาพสูงและมีความ
46 ThaiPrint Magazine
โรงพิมพ์ต้นแบบ
สม่�ำ เสมอมากขึน้ อีกทัง้ ยังประหยัดเวลาในการพิมพ์ดว้ ยระบบอัจฉริยะทีช่ ว่ ย ควบคุมการทำ�งานอย่างอัตโนมัตแิ ละต่อเนือ่ งตัง้ แต่ตน้ จนจบ ซึง่ ถือเป็นข้อได้ เปรียบที่ช่วยลดต้นทุนของผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งพิมพ์ เกี่ยวกับฟูจิ ซีร็อกซ์ บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ์ จำ�กัด เป็นบริษัทร่วมทุนแบบ 75-25 ระหว่าง บริษัท FUJIFILM Holding Corporation และ Xerox Corporation (ประเทศ สหรัฐอเมริกา) ซึ่งพัฒนา ผลิต และจำ�หน่ายอุปกรณ์หรือเครื่องพิมพ์ใน สำ�นักงาน เครื่องดิจิตอลสีและขาวดำ�แบบมัลติฟังก์ชั่น รวมไปถึงซอฟต์แวร์ ด้านการจัดการเอกสาร โซลูชั่นและการให้บริการทั้งในประเทศญี่ปุ่น และ ภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิก รวมทั้งประเทศจีน นอกจากนี้ยังผลิตเครื่องถ่าย เอกสารระบบดิจิตอลเครื่องมัลติฟังก์ชั่น และพรินเตอร์สำ�หรับจำ�หน่ายทั่ว โลกอีกด้วย ฟูจิซีร็อกซ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1962 โดยมีสำ�นักงานใหญ่อยู่ในกรุง ประเทศและต่างประเทศ สำ�หรับข้อ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น มีพนักงานจำ�นวนมากกว่า 45,000 คน ทั่วโลก และ มูลเพิ่มเติม กรุณาดูได้จาก มีกลุ่มบริษัทในเครือรวมทั้งตัวแทนจำ�หน่ายมากกว่า 80 แห่ง ทั้งภายใน www.fujixerox.com
ThaiPrint Magazine 47
Printing Business
Adobe PDF Print Engine Part 2 โดย กิตติ พรพิพัฒน์วงศ์
บริษทั ฟูจิ ซีรอ็ กซ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด DigitalPrint Expert
| 25489-13
vpc
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ เป็นอย่างไรบ้างครับ ช่วงนี้ฝนฟ้าตกบ่อย ดูแลสุขภาพกันด้วยนะครับ เนือ่ งจากฉบับทีแ่ ล้วผมได้แทรกเรือ่ ง Adobe PDF Print Engine และ Hybrid RIP เพราะได้ยินหลายคนถามกันมากว่ามันคือ อะไร และจ�ำเป็นหรือไม่ในการท�ำงาน ในฉบับนี้กลับมาเขียนเรื่อง Process Standard Digital (PSD) ต่อในตอนที่ 2 ครับ Process Standard Digital เป็นมาตรฐานในการท�ำงานเพื่องาน พิมพ์ Digital โดยเฉพาะทีแ่ ยกออกมาอย่างชัดเจนจากมาตรฐาน ISO12647-7 Contract Proof Systems และ ISO 12647-8 Validation Print Systems เดิม โดยในส่วนของ Process Standard Digital (ต่อไปขอเรียกว่า PSD) มีหัวใจ ส�ำคัญอยู่ 3 อย่างตามที่เคยอธิบายแบบคร่าวๆ ไปในฉบับที่ 98 คือ Output Process Control, Color Fidelity และ Workflow ซึ่งมีรายละเอียดอยู่ค่อน ข้างมาก ท�ำให้บางคนคิดว่าการท�ำมาตรฐานเป็นเรื่องที่ไกลตัวและไม่อยาก ท�ำ แต่อย่างที่ผมอธิบายท่านผู้อ่านไปแล้ว ผมคิดว่าการท�ำมาตรฐานคือการ
48 ThaiPrint Magazine
ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานให้มีประ สิทธิภาพมากขึน้ โดยมีเงือ่ นไขและวิธี การที่ชัดเจน ดังนั้น ผมคิดว่าท่านผู้ อ่านเลือกได้อยูแ่ ล้วครับว่าจะบริหาร จัดการโรงพิมพ์ของท่านไปในรูปแบบ ใด ในฉบับนีผ้ มจะเริม่ พูดถึงเรือ่ ง Output Process Control ก่อน เริ่มทีละ เรื่องจะได้ไม่หนักจนเกินไปนะครับ Output Process Control PSD ได้จัดท�ำ Guideline ใน การบริ ห ารจั ด การเรื่ อ งการควบคุ ม กระบวนการท�ำงาน (Process Control) โดยมีอยู่ 8 ขั้นตอนที่สามารถน�ำไป ใช้กับการพิมพ์ Digital ได้ทุกระบบ ไม่วา่ จะเป็น Large Format เช่น Inkjet หน้ากว้าง หรือ Small Format เช่น เครื่องพิมพ์ Xerox iGen4 Diamond Edition ก็ได้ โดยมีรายละเอียดทั้ง 8 ขั้นตอน ดังนี้: 1. Maintenance According to Manufacturer Setting พูดง่ายๆ ก็คอื การจัดการเครือ่ งพิมพ์ Digital ใน ส่วนของ Hardware ให้อยู่ในมาตรฐาน เหมือนซือ้ ใหม่นนั้ เอง ซึง่ ในขัน้ ตอนนี้ ถือเป็นจุดเริม่ ต้นทีส่ ำ� คัญของอีกหลาย ขัน้ ตอนที่จะตามมาโดยการจัดการก็
Adobe PDF Print Engine (Part 2) ไม่ยากอะไรครับ เพียงแต่ท�ำตามค�ำ แนะน�ำของบริษัทฯ ที่ขายเครื่องพิมพ์ ให้ ท ่ า นในส่ ว นของการดู แ ลรั ก ษา เครือ่ งพิมพ์ เช่น การตรวจสอบ Sensor ในการป้อนกระดาษ, การตรวจสอบ เรือ่ งของชุดท�ำภาพอย่างง่ายด้วยตัว เอง เป็นต้น ซึ่งในปัจจุบันนี้สามารถ ท�ำได้อย่างง่ายดายผูผ้ ลิตหลายค่ายก็ สร้างสรรค์ Software เพือ่ ให้ผปู้ ฏิบตั ิ งานสามารถตรวจสอบ, แก้ไข, ปรับปรุง คุณภาพได้ดว้ ยตัวเอง โดยอาจแบ่งการ ตรวจสอบออกมาเป็นแบบรายวัน, อาทิตย์ละครั้งหรือเดือนละครั้งก็แล้ว แต่ความยากง่ายในการท�ำงาน แล้ว แต่ผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ ซึ่งในเรื่องของ การ Maintenance ยังรวมไปถึงการ ดูแลเรือ่ งวัสดุสนิ้ เปลือง (Consumable) ต่างๆ อีกด้วยว่าเพียงพอต่อการท�ำ งานหรือไม่ ในส่วนตัวผมขอแนะน�ำ ให้ ต รวจเช็ ค ระบบการพิ ม พ์ ทุ ก วั น อาจจะเป็นช่วงเช้าก่อนเริ่มงานหรือ อาจจะทุกการท�ำงาน ในกรณีทบี่ ริษทั ฯ ของท่านท�ำงานแบบ 7/24 2. Identify/Check Material Combination คือ การเลือกใช้วัสดุ พิมพ์ที่เหมาะสมกับเครื่องพิมพ์ โดย ต้องค�ำนึงถึงปัจจัย 2 ส่วน คือ Runa-
bility และ Printability ซึง่ Runability หมายถึงการทีว่ สั ดุพมิ พ์สามารถพิมพ์ผา่ น ทางเดินกระดาษของเครือ่ งพิมพ์นนั้ ๆ ด้วยความเร็วสูงสุดของเครื่องพิมพ์ ใน ขณะที่ Printability หมายถึง ความสามารถของการยึดเกาะของหมึกพิมพ์บน วัสดุพมิ พ์ประเภทนัน้ ๆ หรือพูดง่ายๆ คือการพิมพ์งานเพือ่ ให้ได้คณ ุ ภาพตาม วัสดุพมิ พ์ชนิดต่างๆ นัน่ เอง ซึง่ การทดสอบทัง้ 2 อย่างทีก่ ล่าวมาแล้วนัน้ บาง ครัง้ อาจต้องมีการปรับแต่งตัว Digital Front End หรือ RIP ให้เหมาะสมกับการ พิมพ์วสั ดุพมิ พ์บางชนิด เช่น กระดาษ Texture เป็นต้น ซึง่ ในปัจจุบนั นีอ้ าจจะใช้ Fogra Image Quality Test Form เป็นตัวทดสอบและทีส่ ำ� คัญในการทดสอบทัง้ Runability และ Printability ต้องปิดระบบการจัดการสีก่อนพิมพ์ เพราะในขั้น ตอนนี้ไม่ได้ต้องการเรื่องความถูกต้องของสี แต่ต้องการทราบถึงประสิทธิภาพ ในการพิมพ์สูงสุดของเครื่องพิมพ์ก่อนเท่านั่นเอง 3. Select Color Reference(s) ในขั้นตอนนี้เป็นการต่อยอดมาจาก ข้อ 2 เมื่อเราได้วัสดุพิมพ์ที่มีคุณภาพแล้ว สิ่งที่ต้องท�ำต่อคือ เลือก Color Reference ซึ่งบางคนอาจไม่ทราบว่าคืออะไร จริงๆ แล้วผมคิดว่าทุกคนเห็น Color Reference ทุกวันโดยเฉพาะผู้ที่ท�ำงาน Proof หรือ งานออกแบบด้วย
ThaiPrint Magazine 49
Printing Business
Software ตระกูล Adobe ยกตัวอย่างเช่น Fogra 39 เป็นต้น (Fogra39 ไม่ใช่ Color Profile นะครับ) โดยการเลือก Color Reference ต้องพิจารณาก่อนว่า วัสดุพิมพ์ที่ใช้ในข้อที่ 2 สามารถที่จะจ�ำลองค่าได้ใกล้เคียงกับ Color Reference ที่ต้องการหรือไม่ เช่น ถ้าเลือกกระดาษ Coated แบบ Gloss ก็สามารถ จะใช้ Fogra 39 เป็น Reference ได้ แต่ถ้าจะใช้กระดาษ Uncoated แต่เลือก Color Reference เป็น Fogra 39 อันนี้แสดงว่าไม่เข้าใจเรื่องสีครับ 4. Analyze Printing Condition เมื่อเราทราบแล้วว่า จะใช้ Color Reference อะไร ในขั้นตอนต่อไปคือจะท�ำอย่างไรให้สามารถพิมพ์งานได้ใกล้ เคียงกับเป้าหมายที่วางเอาไว้ ขั้นตอนแรกคือ การพิมพ์สี Solid ของ C, M, Y, K, R, G, B ออกมา แล้วตรวจสอบดูว่ามีความใกล้เคียงกับค่าที่อยู่ใน Color Reference มากน้อยแค่ไหน นอกจากนัน้ แล้วตรวจสอบการไล่ระดับสี (Gradient), ความคงทีข่ องสีทพี่ มิ พ์ออกมาด้วยการมองหรือการใช้เครือ่ งมือวัด, ตรวจสอบ ความสามารถในการพิมพ์งานต่อเนื่องตั้งแต่การ Warm up เครื่องพิมพ์จนถึง การพิมพ์งานจริง นอกจากนัน้ แล้วยังต้องท�ำการตรวจสอบเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม ในการท�ำงานทัง้ อุณหภูมแิ ละความชืน้ ในระหว่างการพิมพ์ดว้ ย ซึง่ ทัง้ 2 ขัน้ ตอน นี้ส่งผลโดยตรงกับคุณภาพงานพิมพ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเครื่องพิมพ์ Digital แบบ Electrophotography 5. Calibration (Adjustment) การท�ำ Calibration คือ กระบวนการท�ำให้ เครือ่ งพิมพ์กลับเข้าสูม่ าตรฐานเพราะการพิมพ์ Digital ไม่วา่ จะ Inkjet หรือ Electro
50 ThaiPrint Magazine
photography เมือ่ พิมพ์ไปนานๆ ตัว เครือ่ งพิมพ์อาจจะไม่สามารถทีจ่ ะผลิต งานพิมพ์ได้เหมือนกับทีเ่ คยท�ำได้ ไม่ ว่าจะเป็นเรือ่ งสีหรือคุณภาพงานพิมพ์ ดังนั้น การ Calibration จึงเป็นเรื่อง ส�ำคัญอย่างยิ่ง ใน PSD ได้ให้ราย ละเอียดว่าก่อนการ Calibration ต้อง ท�ำการตรวจสอบและปรับตัง้ เรือ่ งของ สี Solid ของ C, M, Y, K, R, G, B และ การไล่เฉดสีตา่ งๆ ให้เรียบร้อยก่อนแล้ว จึงเข้าสูก่ ระบวนการ Calibration (หรือ บางท่านเรียกว่ากระบวนการ Linearization ก็ไม่ผดิ ) บางระบบก็มี Linearization Reference เพือ่ ง่ายต่อการปรับ เครื่องพิมพ์เข้าสู่มาตรฐานก่อน โดย อาจจะใช้ทงั้ Spectrophotometer ใน การอ่านค่าสีเพือ่ Adjust เครือ่ งพิมพ์ ให้พร้อมทีจ่ ะผลิตงานพิมพ์ตา่ งๆ ต่อไป 6. Characterization & Profiling เข้าสูข่ นั้ ตอนส�ำคัญอีกส่วนหนึง่ ของการท�ำงานคือ การท�ำ Paper Profile หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการท�ำ Printer Characterization บนวัสดุพิมพ์ ชนิดต่างๆ ที่เราเลือกใช้ โดยการท�ำ งานทีถ่ กู ต้องคือเลือกเครือ่ งพิมพ์ทใี่ ช้, เลือกกระดาษทีใ่ ช้ แล้วท�ำการสร้าง Paper Profile โดยวิธกี ารคือเลือก Test Chart มาตรฐาน เช่น IT.8.7-4 หรือ ECI2002 แล้วพิมพ์บนกระดาษและ เครื่องพิมพ์ที่ต้องการ จากนั้นเลือก
Adobe PDF Print Engine (Part 2)
Profiling Software หรือ Software ท�ำ Profile เช่น i1 Profiler เป็นต้น แล้วท�ำ การวัดค่าด้วย Spectrophotometer เช่น i1iO หรือ i1 iSis ซึ่งผูอ้ า่ นบางท่าน อาจจะมีแค่ i1 Pro2 ก็สามารถใช้งานได้เช่นเดียวกัน เพียงแต่เลือก Measurement Mode ให้ถกู ต้องว่าเป็น Non UV Cut Filter หรือว่า UV Cut Filter ซึง่ ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ ก็ตอ้ งดูตามกระดาษทีใ่ ช้วา่ เป็นกระดาษทีเ่ ป็น OBA Free หรือเป็น OBA Paper เป็นต้น ในส่วนของโรงพิมพ์ทมี่ เี ครือ่ งพิมพ์ Digital อยูห่ ลายเครือ่ ง หลายรุน่ หลาย ยี่ห้อ ก็สามารถใช้ Concept นี้ในการท�ำงานได้ เพียงแต่ต้องเพิ่มกระบวนการ ในการ Average Profile โดยวิธกี ารคือให้วดั ค่าของเครือ่ งพิมพ์ตา่ งๆ ผ่าน Test Chart มาตรฐานออกมาเป็นค่า Text File แล้วน�ำค่าของแต่ละเครือ่ งพิมพ์ทไี่ ด้ใส่ ไว้ใน Profiling Software เช่น Color Profiler Suite ของ EFI เพือ่ ท�ำการค�ำนวณหา ค่ากลางของ Text File ทีว่ ดั ค่าได้ทงั้ หมดแล้วสร้าง Paper Profile ออกมา เพื่อให้ สามารถน�ำไปใช้รว่ มกับเครือ่ งพิมพ์ทกุ เครือ่ งได้อย่างลงตัว ส�ำหรับท่านผูอ้ า่ นทีต่ อ้ ง การค่าความถูกต้องของสีมากกว่าการท�ำ Paper Profile ธรรมดา ก็สามารถท�ำได้ โดยเลือกใช้ Software ทีส่ ามารถท�ำ Device Link Profile ได้ซงึ่ ก็มมี ากมายใน ปัจจุบนั *หมายเหตุ:- การท�ำ Paper Profile ไม่ครอบคลุมการท�ำ Hexachrome Printing Systems เพราะตอนนี้ใน PSD ยังไม่มีการก�ำหนดรูปแบบที่ชัดเจน ของ Multi-Ink Systems 7. Validation (With & Without Color Management) การตรวจเช็ค คุณภาพของการพิมพ์ Digital ถูกแบ่งออกเป็น 2 อย่าง คือ 7.1 การตรวจสอบแบบไม่ผ่านระบบการจัดการสี คือ การตรวจ สอบงานพิมพ์ผา่ นความสามารถในการพิมพ์สสี งู สุดของเครือ่ งพิมพ์หรือเรียกอีก อย่างหนึ่งว่า Device Mode ซึ่งจะดูเรื่องสี Solid CMYK เป็นหลักว่าถูกต้อง หรือไม่ เช่น ตรวจสอบสี CYAN 100% ว่ามีสีอื่นเข้ามาปะปนในสี หรือไม่ เป็นต้น 7.2 การตรวจสอบแบบผ่านระบบการจัดการสี คือ การตรวจสอบ ความถูกต้องของระบบการจัดการสีวา่ มีการแปลงค่าสีจากต้นทางไปยังปลายทาง
ได้อย่างถูกต้องหรือไม่ (Color Transformation) มีปญ ั หาเกิดขึน้ ในขัน้ ตอน นีห้ รือไม่ โดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ Fogra Media Wedge V.3.0 ในการตรวจสอบ ทัง้ 2 ขัน้ ตอน ซึง่ จะใช้การเปรียบเทียบ ค่าระหว่าง Target กับค่าทีพ่ มิ พ์ได้จริง ว่าเป็นอย่างไร มีความแตกต่างเท่าไหร่ อยูใ่ นมาตรฐานหรือไม่ เป็นต้น 8. Quality Assurance ขั้น ตอนสุดท้ายในการท�ำงาน คือ เรื่อง ความถูกต้องของสีและความคงทีข่ อง สีในระหว่างการพิมพ์โดยต้องก�ำหนด วิธีการในการตรวจสอบคุณภาพงาน พิมพ์ให้เป็นมาตรฐาน เช่น คุณภาพ งานพิมพ์กอ่ น และหลังจาก Calibration เพือ่ เก็บข้อมูลในการวิเคราะห์รปู แบบ และลักษณะของงานพิมพ์ แล้วน�ำไป ใช้ในการก�ำหนดรูปแบบการตรวจเช็ค ได้อย่างเป็นรูปธรรม เพราะว่า Digital Printing เมือ่ ถูกใช้อยูใ่ นสิง่ แวดล้อมที่ มีความชื้น อุณหภูมิ และวัสดุพิมพ์ที่ แตกต่างกัน จึงต้องใช้วิธีการควบคุม และตรวจสอบคุณภาพที่แตกต่างกัน ด้วย ซึ่งในปัจจุบันมีระบบการตรวจ เช็คผ่าน Web มาช่วยในการจัดการ เรือ่ งนี้ พร้อมกับเก็บข้อมูลเครือ่ งพิมพ์ ต่างๆ และวิเคราะห์สถานะเครือ่ งพิมพ์ ให้กบั ผูใ้ ช้ได้อย่างอัตโนมัติ เช่น CMI Software เป็นต้น ทัง้ 8 ข้อทีก่ ล่าวมาข้างต้นเป็น 1 ใน 3 ส่วนส�ำคัญส�ำหรับการท�ำมาตร ฐานการพิมพ์ Digital ครับ ผมหวังว่าคง ไม่ยากเกินไปนะครับ ฉบับหน้าผมจะ เพิม่ เติมในส่วนทีเ่ หลือให้ครับ ส�ำหรับ ท่านที่อยากติดต่อสอบถามผมเกี่ยว กับเรือ่ ง Digital Printing สามารถติดต่อ ทาง email ได้ที่ dpekitti@gmail.com ครับ
ThaiPrint Magazine 51
Thaiprint Cover Story Fit your needs, Fit your future
เครื่องยิงเพลท CtP ระบบ FLEXO / LETTERPRESS ในปัจจุบนั เทคโนโลยีของเครือ่ งยิงเพลท CtP ได้มาถึงจุดทีผ ่ ปู้ ระกอบการโรงพิมพ์สามารถน�ำมา ใช้งานได้อย่างคุม้ ค่ามากทีส่ ดุ ไม่วา่ จะเป็นด้านเทคโนโลยีของเครือ่ ง CtP และซอฟท์แวร์ ทีท่ ำ� ให้คณ ุ ภาพของ เพลททีย่ งิ ด้วยเครือ่ ง CtP มีคณ ุ ภาพทีด่ ขี นึ้ รวมถึงมีความสะดวกรวดเร็วในการท�ำงาน ลดการสูญเสีย และใช้งานง่าย ในด้านราคาก็มคี วามคุม้ ค่าส�ำหรับการลงทุนอย่างมากเมือ่ เทียบกับแต่กอ่ น ซึง่ เห็นได้จาก เครือ่ งยิงเพลท CtP ระบบออฟเซ็ท ในช่วง 3 ปี ทีผ ่ า่ นมา ได้ติดตั้งเครื่องยิงเพลท CtP ให้ ลูกค้าไปกว่า 100 เครื่อง ซึ่งลูกค้า ทั้งหมดมั่นใจในประสบการณ์การ บริการของ บริษัท เนชั่นไวด์ จ�ำกัด เครื่องยิงเพลท CtP ยี่ห้อ เป็นเครื่องยิง เพลทคุณภาพสูงและได้รับความ นิยมเป็นอย่างมากทัว่ โลก ด้วยยอด ขายทีเ่ ป็นอันดับ 1 ของโลกหลายปี ต่อเนื่องกัน
PlateRite FX Series
PlateRite FX870II / FX870IIE 52 ThaiPrint Magazine
PlateRite FX Series
PlateRite FX1524/1200 มีให้ทา่ นเลือก 3 รุน่ 3 ขนาด FX870 : ขนาดเล็กสุด 4” x 4” FX1200 : ขนาดเล็กสุด 7.9” x 7.9” FX1524 : ขนาดเล็กสุด 7.9” x 7.9”
ใหญ่สดุ 34.2” x 30” ใหญ่สดุ 47.2” x 42” ใหญ่สดุ 60” x 42”
ในส่วน CtP ในระบบ Flexo และ Letterpress นั้น ทาง SCREEN ได้พัฒนาเครื่องยิงเพลท CtP ที่สามารถตอบโจทย์การใช้งานได้ อย่างครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของคุณภาพเครื่อง CtP และเม็ดสกรีน ที่คมชัด ความรวดเร็วและง่ายต่อการใช้งาน รวมถึงระบบซอฟท์แวร์และ workflow ที่เปี่ยมประสิทธิภาพ ด้วยเทคโนโลยีเฉพาะและการพัฒนาที่ ต่อเนื่องของ SCREEN
บริษัท เนชั่นไวด์ จำ�กัด
คุณสมบัติเด่น High Quality
• การสร้างภาพโดยตรงที่คมชัด • เทคโนโลยีขั้นสูงของหัวเลเซอร์ • เม็ดสกรีน Flexo ความละเอียดสูง 4800 dpi
ตัวอักษรขนาด 2 points
ลักษณะเม็ดสกรีน
Flexo Dot
Flexo SPM Dot 120L SPM 120L
AM 120L
4800 dpi
2400 dpi
High Speed
• Flexo: 4 - 5.3 ตร.ม./ ช.ม. (3.3 ตร.ม./ ช.ม. ที่ 4,800 dpi) • Letterpress: 5.9 - 6.3 ตร.ม./ ช.ม.
• Trueflow SE Rite Flexo • Pixel Stream Flexo Dots
• ป้อนเพลทเข้าและออกได้อย่างสะดวกและง่ายดาย • ระบบ Clamp แบบ Built-in ในตัวเครื่อง
Superior Workflow Easy Operation
ThaiPrint Magazine 53
Print News
เครื่องพิมพ์ดิจิตอลของเอชพี ช่วยเสริมโอกาสทางธุรกิจให้กับบริษัทด้านการพิมพ์ของไทย มอบงานพิมพ์ที่มีคุณภาพและช่วยเพิ่มก�ำลังการผลิต รวมทั้งรองรับงานพิมพ์ได้หลากหลายมากขึ้น เอชพีประกาศถึงบริษัทด้านการพิมพ์ชั้นนำ�ของไทยที่ใช้เครื่องพิมพ์ดิจิตอลของเอชพีใน การขยายโอกาสการเติบโตทางธุรกิจด้วยประสิทธิภาพที่เพิ่มมากขึ้น และการรองรับงานพิมพ์ได้อย่าง หลากหลาย โดยมีทั้งธุรกิจที่ให้บริการงานพิมพ์เชิงพาณิชย์ทั่วไป และการพิมพ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์ รวม ทั้งงานพิมพ์ป้ายและดิสเพลย์ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ไซเบอร์พริ้นท์ กรุ๊ป (Cyber Print Group) ซึ่งให้บริการงานพิมพ์ อย่ า งครบวงจรด้ ว ประสบการณ์ มากกว่า 50 ปี ได้ติดตั้งเครื่องพิมพ์ HP Indigo 5600 Digital Press เพื่อเสริมศักยภาพให้สามารถรอง รับงานเร่งด่วนหรืองานพิมพ์จำ�นวน น้อย และการพิมพ์ในรูปแบบอื่นๆ นอกเหนือจากกระดาษ เช่น การพิมพ์ บนพลาสติกและวัสดุทเ่ี ป็นโลหะ นายวิธิต อุตสาหจิต กรรม การผู้จัดการ บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์ จำ�กัด กล่าวว่า “เครื่องพิมพ์ HP Indigo ให้ความแม่นยำ�ในการเทียบสี งานพิมพ์ในระดับสูงและคุณภาพที่ เหนือกว่า จึงตอบสนองความต้อง การทางธุรกิจของเราได้อย่างตรงจุด โดยไซเบอร์พริน้ ท์เลือกใช้เครือ่ งพิมพ์ HP Indigo 5600 Digital Press ซึ่ง รองรับปริมาณงานพิมพ์ได้อย่างยืด หยุน่ และให้คณ ุ ภาพงานพิมพ์ออฟเซ็ท ที่แม่นยำ�และพิมพ์ซ้ำ�ได้หลายครั้ง โดยคุณภาพยังคงสม่ำ�เสมอกันไม่ ว่ า จะพิ ม พ์ จำ � นวนมากหรื อ น้ อ ย ก็ตาม” 54 ThaiPrint Magazine
HP ผู้ เชี่ ย วชาญด้ า นการพิ ม พ์ อย่างบริษทั ทัง้ ฮัว่ ซิน การพิมพ์ จำ�กัด (Thung Hua Sinn Co.,Ltd.) ได้ติดตั้ง เครื่องพิมพ์ HP Indigo WS6600 Digital Press เพื่อเสริมทัพเครื่อง พิมพ์ดิจิตอลที่มีอยู่เดิมให้สามารถ ขยายสู่การพิมพ์บรรจุภัณฑ์กระดาษ และฉลาก รวมทัง้ การพิมพ์งานมูลค่า สูง เช่น กล่องกระดาษเกรดพรีเมียม และสินค้าตัวอย่างสำ�เร็จรูปได้ ในปัจจุบันธุรกิจมักได้รับคำ� สัง่ พิมพ์งานแบบกระชัน้ ชิดหรือพิมพ์ จำ�นวนน้อย ดังนั้น เพื่อรับมือกับ ปัญหาดังกล่าว ทั้งฮั่วซินจึงต้องหา โซลู ชั่ น ที่ ช่ ว ยลดค่ า ใช้ จ่ า ยในการ พิมพ์จำ�นวนน้อยได้อย่างมีประสิทธิ ภาพและพิมพ์งานได้อย่างรวดเร็ว นายอนันต์ชาติ ทังเกษม วัฒนา ผูอ้ �ำ นวยการบริหาร ทัง้ ฮัว่ ซิน กล่าวว่า“ความสามารถในการรับงาน พิ ม พ์ จำ � นวนน้ อ ยให้ ยั ง คงมี กำ � ไร
ด้วยนั้น เป็นสิ่งสำ�คัญอย่างยิ่งในการสร้างความแตกต่างให้ธุรกิจสามารถ แข่งขันได้ โดยนับตั้งแต่ทั้งฮั่วซินติดตั้งเครื่องพิมพ์ HP Indigo WS6600 Digital Press ทำ�ให้เราสามารถรับงานพิมพ์ระยะสั้นหรือจำ�นวนน้อยได้ใน ราคาไม่แพง และพิมพ์ได้รวดเร็วตามกำ�หนดเวลาที่ลูกค้าต้องการ นอกจาก นี้ยังสามารถขยายไปสู่งานพิมพ์อื่นๆ เพื่อสร้างการเติบโตทางธุรกิจ เช่น การพิมพ์ฉลากและบรรจุภัณฑ์ที่มีความซับซ้อนยิ่งขึ้นได้” นายศุภรัฐ โชติกุลธนชัย ผู้จัดการประจำ�ประเทศไทย ผลิตภัณฑ์ เอชพี อินดิโก้ กล่าวว่า “อุตสาหกรรมการพิมพ์และโรงพิมพ์ในปัจจุบันมีการ แข่งขันกันสูงมาก ดังนั้น บริษัทด้านการพิมพ์จึงมองหาเครื่องพิมพ์ที่ช่วยลด
ThaiPrint Magazine 55
Print News
ต้นทุนและนำ�เสนอทางเลือกใหม่ๆ ในขณะเดียวกันก็ให้คณ ุ ภาพงานพิมพ์ ทีย่ อดเยีย่ ม เอชพีได้เห็นความจำ�เป็น ดังกล่าวจึงได้น�ำ เสนอผลิตภัณฑ์ดา้ น การพิมพ์กราฟฟิคทีห่ ลากหลาย ซึง่ ช่วยให้ลกู ค้าในประเทศไทยสามารถ ขยายโอกาสทางธุรกิจ และรับงาน พิมพ์ได้หลายประเภทมากขึ้น” ธุรกิจด้านการพิมพ์ปา้ ยและ ดิสเพลย์ทง้ั ภายในและภายนอกอาคาร อย่าง บริษทั มาสเตอร์ ฮับ จำ�กัด (Mas
56 ThaiPrint Magazine
ter Hub Co.,Ltd.) ได้ให้ความไว้วาง ใจในเครื่องพิมพ์ HP Scitex FB7600 Industrial Press เพื่อเสริมกำ�ลังการ ผลิตและการพิมพ์ได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ นายภาณุจักษุ์ กาญจน อุดมการ ผู้บริหารของ มาสเตอร์ ฮับ กล่าวว่า “เทคโนโลยีของเอชพีได้ชว่ ย ขยายโอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจให้เรา อย่างต่อเนื่อง เราจึงติดตั้งเครื่อง พิมพ์ HP Scitex FB7600 Industrial
Press เพิ่มเติม ซึ่งรองรับการพิมพ์ สื่อได้หลายประเภท อีกทั้งยังเหนือ กว่าด้วยการพิมพ์ทร่ี วดเร็ว และด้วย เทคโนโลยีการพิมพ์แบบดิจิตอลที่ ก้าวล้�ำ ทำ�ให้ได้ผลงานพิมพ์ปา้ ยและ ดิสเพลย์ที่มีคุณภาพทั้งในด้านสีสัน และความทนทาน” ด้ ว ยพอร์ ท โฟลิ โ อที่ ไ ด้ รั บ การพิสูจน์แล้วถึงความไว้วางใจจาก ลูกค้า ทำ�ให้เอชพีเป็นผู้น�ำ ด้านการ เปลีย่ นผ่านจากเครือ่ งพิมพ์อนาล็อก ไปสู่ดิจิตอล บริษัทด้านการพิมพ์ และนักการตลาด รวมทั้งบริษัทด้าน ครีเอทีฟและโรงพิมพ์ ต่างให้ความ ไว้ ว างใจในโซลู ชั่ น การพิ ม พ์ ก ราฟ ฟิคจากเอชพี จนสามารถขยายการ รองรับงานพิมพ์ได้อย่างหลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสในการเติบโตของ ธุรกิจ
Print Technology
การซี ด จางของสิ ่ ง พิ ม พ์ ส
วัสดีครับ ช่วงนี้น้องน�้ำมาเยือนอีกแล้วนะครับ ส่วนดีๆ ที่น้องน�้ำน�ำมาฝากก็คือ ความชุ่มฉ�่ำ แต่ฉบับนี้เรื่องราวที่น�ำมาฝากไม่ใช่เรื่องกับฝนแต่อย่างใดนะครับ แต่จะเป็น เรื่องตรงข้ามกันเลย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับแสงแดดเปรี้ยงๆ ที่มีผลต่อการซืดจาง ก่อนอื่นขออันเชิญพระธรรมเรื่องอนิจจัง ความไม่เที่ยงมาเริ่มนะ ครับ สิ่งพิมพ์เองก็ไม่มีข้อยกเว้นสีต่างๆ ที่เคยสดใสก็ค่อยๆ ซีดจางไป เมื่อเวลาผ่านไป สาเหตุหลัก คือ การสัมผัสกับแสงโดยเฉพาะในส่วน ของรังสี UV ซึ่งทำ�ให้ระบบหมึกพิมพ์และกระดาษเกิดปฏิกิริยาที่ชื่อว่า การออกซิไดซ์ เมื่อหมึกเกิดออกซิไดซ์ สีที่เคยเป็นจะค่อยๆ จางหายไป เลือนหายไป อันที่จริงแล้ว กลไกการเปลี่ยนแปลงนี้มีความซับซ้อนมาก ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อม (แสง ความร้อนความชื้น) ชนิดของสารให้สีที่ถูก นำ�มาใช้
รูป 1 การซีดจางของสิ่งพิมพ์ 66 ThaiPrint Magazine
ในส่วนของผูผ้ ลิตหมึกมีระบบ ประเมินทนต่อแสงของหมึกพิมพ์ มัก ใช้วิธีวัดโดยเครื่องทดสอบการทน แดด light fastness tester เป็นตัว บ่งชี้วัดระดับของความต้านทานต่อ แสงของสีทดสอบกับหมึกพิมพ์ชนิด ต่างๆ ตามสูตรสีทผี่ ลิตได้เพือ่ ทดสอบ ความต้านทานต่อการซีดจางของแต่
อินเตอร์อิ้งค์ ละแม่สหี รือสีพเิ ศษทีผ่ ลิต โดยน�ำตัว อย่ างชิ้ น ปรุ ๊ ฟของหมึก พิมพ์น�ำไป วางในต�ำแหน่งทีม่ กี ารฉายรังสีทเี่ ปล่ง คาร์บอนอาร์ค ไฟซีนอนอาร์คหรือ หลอดปรอท ซึง่ จะแปลผลในรูปของ จ�ำนวนชั่วโมงที่อยู่ในภาวะการฉาย แสงใกล้เคียงกับผลกระทบทีเ่ กิดจาก การท�ำลายของเฉดสี อันเนื่องมา จากแสงในเวลากลางวันปกติ ซึ่งวิธี ดังกล่าวนี้ให้ผลในเชิงเปรียบเทียบ ว่าหมึกพิมพ์ตามสูตรที่ผลิตได้นั้นมี สมบั ติ ก ารทดต่ อ แสงได้ ใ นระดั บ คะแนนว่า ดีหรือไม่ดี แต่จะไม่ได้ให้ ผลลัพธ์ทแี่ น่นอนร้อยเปอร์เซ็นต์เท่า กับชิ้นงานพิมพ์ อันเนื่องมากจาก ผลของชัน้ หมึกทีใ่ ช้พมิ พ์มคี วามแตก ต่างกัน สภาวะแสงธรรมชาติที่ชิ้น งานพิมพ์ก็มีโอกาสความแตกต่าง จากเครื่องทดสอบด้วย เกณฑ์ในการประเมินผลทนแดด Blue Wool Scale เป็นวิธีที่ ได้รบั การยอมรับในระดับสากลในการ ประเมินต่อผลทนแดด โดยกำ�หนด ภายใต้มาตรฐานอังกฤษ BS1006 ขนาดประกอบด้วย 8 แถบที่แตก ต่างกันของขนแต่ละย้อมด้วยสีย้อม สีฟา้ ทีแ่ ตกต่างกันของ light fastness ช่วงขนาดตัง้ แต่ 8 (ดี-อัตราทีต่ �ำ่ มาก ของการซีดจาง) ถึง 1 (แย่มาก-จาง หายไปอย่างรวดเร็วมาก) ขนาดของ Blue Wool ไม่ได้เป็นมาตราส่วนที่ เส้นตรง แต่เป็นลอการิทึม กล่าวคือ ในระดับต่ำ�ๆ จะมีผลต่อการทนแดด ทีล่ ะเอียดมาก แต่ในระดับทีส่ งู ขึน้ ไป จะมีความแตกต่างห่างออกไป
รูป 2 รูปเริ่มต้น
รูป 3 ผ่านไป 1 เดือน
รูป 4 ผ่านไป 1 ปี
ThaiPrint Magazine 67
Print Technology
รูป 5 ผ่านไป 18 เดือน
รูป 6 ผ่านไป 2 ปี
เมื่อสัมผัสในลักษณะเดียวกับการพิมพ์สำ�หรับระยะเวลาเดียวกัน ของเวลาระดั บ ของการซี ด จางของชิ้ น งานพิ ม พ์ คื อ เมื่ อ เที ย บกั บ ที่ ข อง แถบเทียบเท่าจาก Blue Wool เพื่อให้ค่าที่แสดงให้เห็น light fastness ของ การพิมพ์ Wool Scale การจำ�แนกประเภทการต้านทนต่อแสง light fastness คือ:
68 ThaiPrint Magazine
WS 1 – WS 2 – WS 3 – WS 4 – WS 5 – WS 6 – WS 7 – WS 8 –
แย่มาก แย่ ปานกลาง ค่อนข้างดี ดี ดีมาก ยอดเยี่ยม ทนแสงสูงสุด
เคล็ดลับสำ�หรับเครื่องพิมพ์: ในกรณีที่กระดาษที่ใช้พิมพ์ มีปริมาณเส้นใย fiber ของเยื่อไม้ที่มี ระดับสูง โอกาสทีจ่ ะกลายเป็นสีเหลือง จะมีมากขึ้น ชัน้ หมึกทีม่ คี วามหนาทีจ่ ะส่ง ผลต่อการทนแดดของการพิมพ์สงู ขึน้ ด้วยเนือ่ งจากมีอนุภาคสารให้สที ม่ี าก ขึ้ น ในพื้ น ที่ สำ � หรั บ รั บ อิ ท ธิ พ ลของ แสง ในทางตรงกันข้ามชัน้ หมึกทีบ่ าง จะลดผลต่อการทดแดด ถ้ า ผสมหมึ ก พิ ม พ์ ที่ ส มบั ติ การทนแดดที่ต่างกันเบสหมึกที่การ ทนแดดต่ำ�จะไม่ได้รับการยกระดับ ให้ทนแดดให้สูงขึ้นได้ อันที่จริงจะทำ� ให้ ห มึ ก ผสมที่ ไ ด้ มี ค่ า ทนแดดโดย รวมแย่ลง เท่ากับค่าทนแดดของเบส หมึกที่ต่ำ�นั้นเอง การลดความเข้ ม สี โ ดยการ เติมmediumจะเป็นการลดค่าทนแดด ของหมึกพิมพ์ไปด้วย เนื่องจากแสง สามารถทะลุ ท ะลวงเข้ า ไปในชั้ น หมึกพิมพ์ทม่ี ากขึน้ ได้ หลักทัว่ ไปของ การเจือจาง คือ การเติม medium ต่อ สีเบสในอัตราส่วน 1:1 จะลดค่าทน แดดไป 1 เกรด การเติม medium ต่อ สีเบสในอัตราส่วน 1:3 จะลดการทน แดดไป 2 เกรด ผลของฤดูมีผลอย่างมากใน การซีดจางของสี ช่วงหน้าร้อนอาจ มีผลเร่งต่อการซีดจางของสีเร็วขึ้น ถึง 2-3 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงหน้า หนาว
Print News
3rd CAS CUP 2013
ฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ปี 3 ปิดฉากได้อย่างสนุกสนานกับความประทับใจทุกโรงพิมพ์
กลุ่มบริษัท เจริญอักษร กรุ๊พ จัดพิธีปิดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลสานสัมพันธ์อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์
ปีที่ 3 หรือ “3rd CAS CUP 2013” อย่างเป็นทางการ ในวันอาทิตย์ที่ 22กันยายน 2556 เวลา 17.00-20.00 น. ณ สนามฟุตซอล สินสาคร เอฟซี ปาร์ค นิคมอุตสาหกรรมสินสาคร โดยมีคุณโฉมบังอร ดารารัตนโรจน์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ กลุ่มบริษัทเจริญอักษร กรุ๊พ เป็นประธานในพิธี และผู้บริหารกลุ่มบริษัทเจริญ อักษร กรุ๊พ รวมทั้งผู้บริหารและพนักงานของอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์เข้าร่วมงานเป็นจำ�นวนมาก โดยผลการจัดการแข่งขันผู้ ชนะเลิศ Nevia League คือ บริษัท ฮูทามากิ (ประเทศไทย) จำ�กัด รับ เงินรางวัล 50,000 บาท พร้อมถ้วย เกียรติยศ ชนะเลิศ Paper One League คือ กลุม่ บริษทั ไซเบอร์พริน้ ท์ รับเงินรางวัล 40,000 บาท พร้อม ถ้วยเกียรติยศ ชนะเลิศ Rainbow Leauge คือ บริษัท ฟูจิเอช จำ�กัด รับ เงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมถ้วย เกียรติยศ ชนะเลิศ Sino Leauge ได้แก่ บริษัท สตาร์เฟล็กซ์ จำ�กัด รับ เงินรางวัล 20,000 บาท พร้อมถ้วย เกียรติยศ 70 ThaiPrint Magazine
3rd CAS CUP 2013
ปีน้ียังมีการแข่งขันตระกร้อ กระชับมิตร ซึง่ ผูท้ ค่ี ว้ารางวัลชนะเลิศ การแข่งขันตระกร้อกระชับมิตร ได้แก่ บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิช ชิง่ จำ�กัด (มหาชน) รับเงินรางวัล 30,000 บาท พร้อมถ้วยเกียรติยศ และบริษัท อื่นอีกจำ�นวนมากที่กวาดรางวัลจาก การแข่งขันในครั้งนี้ เป็นจำ�นวนเงิน กว่า 200,000 บาท ภายในงานได้ จั ด กิ จ กรรม ภายใต้คอนเซ็ป “THE BOX PARTY” โดยมีการรับประทานอาหารร่วมกัน ในทุกทีมที่ร่วมการแข่งขัน และช่วง พิเศษสุดด้วยการจับรางวัล Happy Box ทีส่ ร้างความสนุกสนานและเรียก เสียงหัวเราะสร้างบรรยากาศภาย ในงานเต็มไปด้วยความคึกคักและ ได้รับความสนใจจากผู้เข้าร่วมงาน เป็นจำ�นวนมาก
ThaiPrint Magazine 71
Print News
>> รุกหนักประกาศชูความพร้อมเป็นผูน้ ำ� ในโลกธุรกิจสิง่ พิมพ์ดจิ ทิ ลั เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา แคนนอน หนึ่งเดียวผู้มีความพร้อมด้าน ผลิตภัณฑ์การพิมพ์ดิจิทัลแบบครบวงจร เดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ โดยนำ�เสนอการ ทำ�งานร่วมกันของเครื่องพิมพ์ระบบดิจิทัล (สี) imagePRESS C7010VP และเครื่องพิมพ์ระบบ ดิจิทัล (ขาวดำ�) Océ VarioPrint 6000 Ultra Line ที่จะมาช่วยสร้างคุณภาพงานพิมพ์ที่เทียบเท่า ระบบออฟเซต
มร.วาตารุ นิชโิ อกะ ประธาน บริษัทและประธานกรรมการ บริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง (ไทยแลนด์) จำ�กัด เปิดเผยว่า “หลังจากที่ แคนนอน มาร์เก็ต ติง้ (ไทยแลนด์) จำ�กัด และบริษทั โอเซ่ (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้มีการควบ รวบกิจการบริษทั อย่างสมบูรณ์ไปเมื่อ วันที่ 1 มกราคม 2556 ที่ผ่านมา โดย ในงาน “Pack Print International 2013” ทีง่ านแสดงสินค้าอุตสาหกรรม การบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ระดับ ภูมภิ าคทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ดุ ถือเป็นงานแรก ที่บ ริ ษัท ได้ นำ� เสนอความสมบู ร ณ์
74 ThaiPrint Magazine
Canon แบบในโลกการพิมพ์ โดยแคนนอน มีความพร้อมตั้งแต่ขั้นตอนแรกจน ถึ ง ขั้น ตอนสุ ด ท้ า ยในกระบวนการ พิมพ์ นับเป็นการประกาศให้ตลาด ทราบว่าแคนนอน พร้อมทีจ่ ะก้าวขึน้ เป็นอันดับหนึ่งในโลกธุรกิจสิ่งพิมพ์ ดิจิตอล” ปัจจุบัน แคนนอนได้พัฒนา ผลิตภัณฑ์การพิมพ์ให้มปี ระสิทธิภาพ ที่สมบูรณ์แบบ สร้างความสามารถ อย่างไร้ขดี จ�ำกัด มีการขยายก�ำลังผลิต มีการน�ำเสนอสินค้าและบริการทีห่ ลาก หลายให้แก่ลกู ค้าประเภทองค์กร ไม่ เฉพาะส�ำหรับโรงพิมพ์หรือห้างร้าน องค์กรขนาดใหญ่ แต่สามารถใช้ใน ธุรกิจงานพิมพ์ขนาดกลางและขนาด เล็ก ตลอดจนถึงพัฒนานวัตกรรม ด้านการจัดการเอกสารและการพิมพ์ แบบมืออาชีพให้ลูกค้าเลือกใช้ ได้ มากขึน้ สามารถตอบสนองความต้อง การของลูกค้าได้อย่างหลากหลาย ถือ ว่าเป็นอีกหนึ่งธุรกิจใหม่ที่ทางแคน นอนมี แ ผนงานที่ จ ะขยายธุ ร กิ จ ใน ตลาดการพิมพ์ แคนนอนมี ศั ก ยภาพการ พิมพ์ท่สี มบูรณ์แบบในระบบดิจิตอล
ที่ จ ะเพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการ แข่งขัน สร้างความแข็งแกร่งให้กับ ธุรกิจให้กับกลุ่มลูกค้าในระยะยาว ด้วยการสร้ างความแตกต่ างให้ กับ สินค้าและบริการ ซึง่ เป็นปัจจัยสำ�คัญ ในการขยายฐานลูกค้า และความพึง พอใจของลูกค้าต่อบริการ ภายใต้ แนวความคิด “CANON - Complete World of Print” ด้ ว ยเครื่ อ งพิ ม พ์ ร ะบบดิ จิ ตอล (สี) imagePress C7010VP เป็น เครื่องพิมพ์ท่มี าพร้อมกับเทคโนโลยี ที่ล้ำ�หน้าเพื่อตอบสนองความต้อง
ThaiPrint Magazine 75
Print News
การของธุรกิจ Print on Demand ซึ่งเทคโนโลยีการทำ� ความร้อนแบบ Dual Fusing จะช่วยในการรองรับงาน กระดาษที่หนากว่าปกติ แต่ Speed ในการทำ�งานไม่ลด ลง นอกจากนีย้ งั สามารถเพิม่ ช่วงสีเพือ่ ให้สขี องงานพิมพ์ เสถียรดูสมจริงที่สุด ภาพคมชัดผ่านเส้นสายในเชิงสถา ปัตยกรรมที่ลงตัว และสามารถรองรับกระดาษที่มีความ หนาหลากหลาย สำ�หรับเครือ่ งพิมพ์ระบบดิจติ อล (ขาวดำ�) Oce’ (โอเซ่) VarioPrint 6000 Ultra Line ผูม้ เี อกสิทธิเ์ พียง หนึง่ เดียวสำ�หรับเทคโนโลยีการภาพคูเ่ จมีไน (Gemini) ที่ สามารถพิมพ์ 2 หน้าในเวลาเดียวกัน ทำ�ให้ Registration หน้า-หลังตรงกันเทียบเท่าคุณภาพงานพิมพ์ออฟเซต อีกทั้งยังเป็นเครื่องพิมพ์ดิจิตอลหน้า-หลังที่เร็วที่สุดใน โลก
76 ThaiPrint Magazine
Print Knowledge
“แก้วกระดาษ”
ชนิดย่อยสลายได้สมบูรณ์โดยชีวภาพ (Biodegradable Paper Cup) บทความโดย.. บริษัท ไทยเคเค อุตสาหกรรม จำ�กัด
ค
วามก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของโลกเรานั้นนับวันยิ่งก้าวไกลและพัฒนาไปอย่างรวด เร็ว แต่ขณะเดียวกันความก้าวหน้านั้นก็ย้อนกลับมาสร้าง ปัญหาทางมลพิษกับสิ่งแวดล้อมที่หนักหนาสาหัสกับโลก ของเรา ปัจจุบันภาวะโลกร้อน Global warming ไม่ใช่ เรื่องไกลตัวอีกต่อไป หลายประเทศทั่วโลกต้องเผชิญกับ สภาวะอากาศทีแ่ ปรปรวน ฤดูกาลทีแ่ ปรเปลีย่ น เช่น ร้อน ผิดปกติ หนาวผิดปกติ แล้ง ฝนมากผิดปกติ เป็นต้น ความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมจึงเป็นเรื่องที่ต้องพัฒนาควบคู่ กันไปด้วย เช่น การทีห่ ลายประเทศทัว่ โลกได้เริม่ ทยอยออก ข้อกำ�หนดกฏหมายเพื่อสิ่งแวดล้อม เพื่อบังคับใช้ เพื่อให้ เป็นหน้าที่ของทุกคนที่ต้องตระหนัก ให้ความสำ�คัญและ ให้ความร่วมมือ สินค้าทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (Green Product) และพลาสติกชนิดย่อยสลายได้โดยธรรมชาติ จึงเป็นกระแสที่มาแรง ณ ขณะนี้ ด้วยเป็นแนวทางทางหนึ่ง เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกจากการก�ำจัดขยะ
84 ThaiPrint Magazine
พลาสติก (จากพลาสติกทั่วไปที่ย่อยสลายไม่ได้ตามธรรม ชาติ) พลาสติกโดยทั่วไป (ย่อยสลายไม่ได้โดยชีวภาพ) มี ผลท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อนซึ่งถุงพลาสติก 1 ใบ ต้องใช้ เวลาย่อยสลายถึงกว่า 400 ปี หากน�ำไปเผาก็จะท�ำให้เกิด ก๊าซเรือนกระจก หรือ GHG (Green House Gas) และ สารก่อมะเร็ง ท�ำให้เพิ่มภาวะท�ำให้โลกร้อน ท�ำให้อากาศ เป็นพิษ เกิดมลภาวะที่อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แก้วกระดาษ เคลือบพลาสติกชีวภาพชนิดย่อย สลายได้สมบูรณ์โดยชีวภาพ จึงเป็นนวัตกรรมที่คิดค้นขึ้น เพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม โดยบริษทั ไทย เคเค และกลุม่ ปตท. ได้พัฒนากระดาษเคลือบ Polybutylene Succinate (PBS) ร่วมกันจนสามารถผลิตกระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ ส�ำหรับบรรจุภัณฑ์ชนิดต่างๆ เช่น แก้วกระดาษ ถ้วย กระดาษ กล่องอาหาร เป็นต้น ซึง่ ทีผ่ า่ นมาผลิตภัณฑ์เหล่า นีใ้ ช้กระดาษเคลือบพลาสติกชนิดโพลีเอทธิลนี (LDPE) ซึง่
แก้วกระดาษ Bio Cup ใช้เวลาในการย่อยสลายหลายปีมาสู่ กระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ จะ สามารถย่ อ ยสลายได้ ภ ายในระยะ เวลาสัน้ ๆ ในธรรมชาติ เช่น 4-6 เดือน โดย Polybutylene Succinate (PBS) เหมาะกับสภาวะอากาศบ้านเราเป็น อย่างยิง่ เนือ่ งจากบ้านเราเป็นประเทศ ร้อนชื้นส่งผลให้กระดาษเคลือบ PBS ดั ง กล่ า วสามาถย่ อ ยสลายได้ ใ น สภาวะปกติโดยไม่จ�ำเป็นต้องฝังกลบ หรือก�ำจัดผ่านโรงหมักหรือโรงก�ำจัด ขยะ เช่น ด้วยการทิ้งไว้ตามสภาวะ ปกติของบ้านเราที่มักจะมีความร้อน ประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ์ประมาณ 50% พร้อม ด้ ว ยจุ ลิ น ทรี ย ์ ที่ มี อ ยู ่ ต ามธรรมชาติ ของบ้านเรา Polybutylene Succinate (PBS) จะสามารถย่อยสลายกลายเป็น นำ�้ พลังงาน ก๊าซส�ำหรับการสังเคราะห์ แสงของพืชและมวลชีวภาพทีม่ ปี ระโยชน์ ต่อดินได้ ภายในระยะเวลาประมาณ 4 เดือน Polybutylene Succinate (PBS) ผลิตจากวัตถุดิบหลัก 2 ชนิด คือ กรด ซัคซินกิ และสาร 1,4-บิวเทนไดออลมี คุณสมบัตินิ่มและยืดหยุ่นคล้าย Low Density Polyetylene (LDPE) มี heat
seal strength และ adhesion สูง ทนความร้อนได้สูงถึง 100 องศาเซลเซียส สามารถใช้สัมผัสอาหารได้ โดยผ่านการทดสอบ migration ตามมาตรฐาน EC11/2011 ของสหภาพยุโรปและถูกบรรจุอยู่ใน Positive List ของประเทศ ญี่ปุ่น ได้รับตรารับรอง Compostable Mark ตามมาตรฐาน EN-13432 ของ ทวีปยุโรป ASTM 6400 สหรัฐอเมริกา ตรา Green Plastic Mark ของประเทศ
ThaiPrint Magazine 85
Print Knowledge
ญี่ปุ่น และ OK Compost ตามมาตรฐาน Din Certco แก้วกระดาษ เคลือบพลาสติกชีวภาพชนิดย่อยสลายได้สมบูรณ์โดย ชีวภาพ สามารถบรรจุได้ทั้งของเหลวชนิดร้อนและเย็นได้ เนื่องจากพลาสติก ชนิดนี้สามารถทนความร้อนได้มากกว่า 100 องศาเซลเซียส ซึ่งหลังการใช้ งานสามารถจำ�กัดได้โดยการฝังกลบลงในดิน ด้วยจุลินทรีย์ที่มีอยู่ตามธรรม ชาติในดิน ความร้อนและความชื้นในดิน จึงทำ�ให้เกิดการย่อยสลายพลาสติก ขึ้นหลังการฝังกลบเพียง 4 เดือน และจะเหลือเพียง น้�ำ อากาศและมวล ชีวภาพที่มีประโยชน์ต่อพืช จึงเป็นการหมุนเวียนที่น�ำ มาสู่อนาคตที่ยั่งยืน ของโลกสีเขียว โดยในปัจจุบันได้มีการผลิตกระดาษดังกล่าวเพื่อส่งผลิตเป็น สินค้าต่างๆ เช่น ถ้วยกาแฟอเมซอน, ถังป๊อบคอร์นย่อยสลายได้ของโรง ภาพยนตร์ในเครือเมเจอร์ซีนีเพล็กซ์ เป็นต้น ซึ่งทั้ง 2 รายการนี้เป็นบรรจุภัณฑ์ ที่มีปริมาณการใช้ในแต่ละวันเป็นจำ�นวนมาก ดังนั้น จึงถือเป็นโอกาสที่ดีที่จะ เริ่มต้นในการใช้บรรจุภัณฑ์ที่สามารถย่อยสลายได้ 100% เพื่อผลดีต่อสิ่งแวด ล้อมและธรรมชาติต่อไปในอนาคต
86 ThaiPrint Magazine
ทัง้ นีเ้ มือ่ วันที่ 6 กันยายน 2556 คุณเชวง อยูว่ มิ ลชัย กรรมการผูจ้ ดั การ ใหญ่ บจก. ไทยเคเคอุตสาหกรรมและ คุณศุภโชค เลี่ยมแก้ว กรรมการผู้จัด การใหญ่ บจก. พีทที ี โพลีเมอร์ มาร์เก็ต ติ้ง ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่วมมือในการพัฒนากระดาษเคลือบ พลาสติกชีวภาพ PBS ย่อยสลายได้ 100% ในเชิงพาณิชย์ ณ สนามกอล์ฟ อมตะ สปริง คันทรีคลับ โดยมีผบู้ ริหาร และผู้มีเกียรติเข้าร่วมเป็นสักขีพยาน อย่างคับคั่ง ท่ามกลางความยินดีของ ทุกฝ่าย
Print Creative
หนังสือตามสั่ง เพื่อการอ่านยั่งยืน ท่ามกลางกระแสยุคดิจิทัลและเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่ น�ำการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่มาสู่ทุกมิติของสังคม อุตสาหกรรม สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ ไ ด้ ก ้ า วเข้ า สู ่ โ ลกใหม่ ด ้ ว ยการผลิ ต สื่ อ ออนไลน์ ที่ สามารถเข้าถึงผู้อ่านได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว แต่ในขณะเดียว กันรูปแบบการบริโภคข้อมูลข่าวสารของผู้คนที่เปลี่ยนไปก็ส่ง ผลกระทบถึงธุรกิจสื่อสิ่งพิมพ์บนแผ่นกระดาษ ด้วยค่าใช้จ่ายใน การตีพิมพ์ การกระจายสินค้า และการบริหารจัดการที่สูงกว่า เมือ่ เปรียบเทียบกับการผลิตสือ่ ออนไลน์ ด้วยเหตุนกี้ จิ การสิง่ พิมพ์ จ�ำนวนไม่น้อยที่ไม่อาจปรับตัวและยืนหยัดต่อไปได้ในสมรภูมิแห่งการแข่งขัน จ�ำ ต้องปิดตัวลง กลายเป็นประเด็นชวนให้กลับมาคิดกันต่อว่า “เราจะสามารถน�ำเทคโนโลยีที่มีอยู่ทุกวันนี้ มาช่วยต่อลมหายใจให้แก่กิจการสิ่งพิมพ์ เพื่อคงความหลากหลายให้แก่โลกแห่งการอ่านได้อย่างไร บ้าง”
ปัญหาดังกล่าวถูกนำ�ไปขบคิดจนเกิดเป็น ธุรกิจจำ�หน่ายสิ่งพิมพ์ผ่านตู้ขายอัตโนมัติเครื่องแรก ของโลกที่มีชื่อว่า “MegaNews Magazines” โดย บริษัท MegaNews Sweden ซึ่งเพิ่งจะเริ่มให้บริการ ในสวีเดนเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ความพิเศษของ MegaNews Magazines เครื่องนี้ คือ การทำ�หน้าที่เป็นทั้งโรงพิมพ์และตู้ขาย อัตโนมัติในคราวเดียวกัน โดยจะเชื่อมต่อกับเซิร์ฟ เวอร์ของสำ�นักพิมพ์ เมื่อผู้ใช้เลือกสิ่งพิมพ์ฉบับที่ ต้องการบนหน้าจอระบบสัมผัสพร้อมกับชำ�ระเงิน ผ่านบัตรเครดิตแล้วเครื่องก็จะทำ�การพิมพ์นิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์จากไฟล์ .pdf ออกมาเป็นหนังสือ ร้อนๆ พร้อมอ่านภายในเวลาเพียง 2 นาที นอกจาก นี้ ด้วยขนาดของตู้ที่ใช้พื้นที่ไม่เกิน 4 ตารางเมตร ทำ�ให้สามารถนำ�ไปตั้งในที่สาธารณะที่มีขนาดเล็ก ช่วยให้เข้าถึงผู้บริโภคได้มากขึ้นอีกด้วย 88 ThaiPrint Magazine
MegaNews Magazines หนังสือตามสั่ง
Stefan Melesko อาจารย์และผู้เชี่ยวชาญ ด้านเศรษฐศาสตร์ของสือ่ (Media Economics) กล่าว ว่า “สิ่งพิมพ์ส่วนใหญ่มีต้นทุนในการกระจาย สินค้า (distribution cost) คิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ 10 ของโครงสร้างต้นทุนทั้งหมด (cost structure) ยิ่งไป กว่านัน้ ก็คอื หลังจากทีต่ พี มิ พ์และกระจายไปสูจ่ ดุ วาง ต่างๆ แล้ว มีสง่ิ พิมพ์จ�ำ หน่ายไม่หมดถึงร้อยละ 30-40 ของจำ�นวนตีพิมพ์ ทำ�ให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ ดำ�เนินการส่งคืนสำ�นักพิมพ์และบริหารจัดการสต็อก เหล่านี้ต่อไปอีก” ดังนั้น MegaNews Magazines จึงดูเหมือน ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่ตรงจุด และเป็นการบุกเบิก เส้นทางการจำ�หน่ายสื่อสิ่งพิมพ์ที่น่าสนใจไม่น้อย โดยเฉพาะสำ�หรับสำ�นักพิมพ์ขนาดเล็กหรือผู้ผลิต นิตยสารเฉพาะกลุ่ม ซึ่งอาจจะไม่ต้องการตีพิมพ์ใน ปริมาณมากหรือมีเงินทุนไม่มากพอ เพราะหนังสือ แต่ละเล่มจะถูกตีพิมพ์ผ่าน MegaNews Magazines ก็ต่อเมื่อมีการสั่งซื้อจากผู้อ่านเท่านั้น วิธีนี้จึงช่วย ลดค่าใช้จ่ายในการตีพิมพ์ การกระจายสินค้า และ การบริหารจัดการสต็อกไปได้มาก ทั้งยังเข้าถึงกลุ่ม
ผู้อ่านได้มากขึ้นและยังสามารถตรวจสอบยอดขาย ของสิ่งพิมพ์แต่ละฉบับได้แบบเรียลไทม์อีกด้วย การจ�ำหน่ายด้วยการพิมพ์แบบ “ตามสั่ง” นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ สต็อกแล้ว ยังจะเป็นประโยชน์กบั สิง่ แวดล้อมอีกด้วย เพราะจากผลการประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment: LCA)* ของสถาบันวิจัย Innventia เมื่อ เปรียบเทียบการผลิตและจ�ำหน่ายสิ่งพิมพ์ผ่านทาง MegaNews Magazines กับวิธีที่ใช้ ใ นปัจจุบัน ซึ่ง เน้นการตีพิมพ์ในปริมาณมาก เพื่อให้สามารถกระ จายสู่จุดวางและเข้าถึงผู้บริโภคให้มากที่สุด พบว่า ThaiPrint Magazine 89
Print Creative
ได้เติบโตอย่างยั่งยืนไปพร้อมๆ กับโลกที่ยังคงหมุนต่อไปไม่มีวัน หยุดนิ่ง *Life Cycle Assessment (LCA) คือ กระบวนการวิเคราะห์ และประเมิ น ค่ า ผลกระทบของ ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่มีต่อสิ่ง แวดล้อม โดยพิจารณาตลอดช่วง ชีวติ ของผลิตภัณฑ์ ตัง้ แต่การสกัด หรือการได้มาซึง่ วัตถุดบิ กระบวน การผลิต การขนส่ง และการแจก จ่าย การใช้งานผลิตภัณฑ์ การน�ำ มาใช้ ใ หม่หรือแปรรูป และการจัด การเศษซากของผลิตภัณฑ์หลัง การใช้งาน
การจ�ำหน่ายผ่าน MegaNews Magazines จะช่วยลดปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกลงได้ถึงร้อยละ 60 โดยความแตกต่างส�ำคัญอยู่ที่การใช้ กระดาษอย่างคุ้มค่านั่นเอง ขณะนี้ MegaNews Magazines กำ�ลังอยูใ่ นช่วงทดลองให้บริการใน สนามบิน โรงแรมและร้านค้าอื่นๆ ทั่วสวีเดนเป็นเวลา 6 เดือน นับตั้งแต่ เดือนมิถุนายน 2013 โดยปัจจุบันมีสำ�นักพิมพ์ชั้นนำ�ในสวีเดนจำ�นวน มากที่เข้าร่วมจำ�หน่ายสื่อสิ่งพิมพ์ผ่าน MegaNews Magazines แล้ว ประมาณ 200 ฉบับ อาทิ Bonnier Tidskrifter, Aller Media, Albinson & Sjöberg, LRF Media, IDG, Talentum และ Medströms จึงเป็นไปได้ว่า นี่อาจเป็นการเริ่มต้นที่นำ�ไปสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งของแวดวงสิ่งพิมพ์ที่จะ 90 ThaiPrint Magazine
ขอบคุณบทความจาก..
Print Interview Interview
ธัชพล ตั้งกุลวโรดม
ผูจ้ ดั การฝ่ายขาย บริษทั ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ จำ�กัด ฉบับนี้ เรามาแนะนำ�ผู้จัดการฝ่ายขายคนใหม่ของกลุ่มกระดาษพิมพ์เขียน
(Printing & Writing) บริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จำ�กัด ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ที่มีประสบ การณ์ในด้านการบริหารคลังสินค้า การตลาดและการขายในเจริญอักษรมายาว นานกว่า 17 ปี ด้วยการคลุกคลีอยู่ในแวดวงอุตสาหกรรมการพิมพ์มาอย่างยาว นาน บวกกับการเป็นคนรุ่นใหม่ที่เข้าใจระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นอย่างดี ทำ�ให้ คุณธัชพล ก้าวขึ้นมาเป็นผู้จัดการฝ่ายขายกลุ่มกระดาษพิมพ์เขียน (กลุ่มเจริญ อักษรมีการแบ่งยูนิตการขายออกเป็นส่วนต่างๆ เช่น กลุ่มกระดาษพิมพ์เขียน, กลุ่มกระดาษคอมพิวเตอร์ฟอร์ม, กลุ่มกระดาษพิมพ์ดิจิตอล , กลุ่มกระดาษถ่าย เอกสารและสำ�นักงาน) เรามาทำ�ความรู้จักกับการบริหารงานขายรุ่นใหม่กันค่ะ
94 ThaiPrint Magazine
การรับตำ�แหน่งผู้จัดการฝ่ายขาย กลุ่มกระดาษพิมพ์เขียน มี การเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง..? บทบาทของ บริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จำ�กัด ในอุตสาหกรรม การพิมพ์ไทยกว่า 42 ปี ที่ผ่านมา ถือได้ว่าประสบความสำ�เร็จทั้งในด้านยอด ขายเป็นอันดับต้นของผูน้ �ำ เข้ากระดาษและการมีผลิตภัณฑ์ทห่ี ลากหลายเป็น ทางเลือกให้แก่ลูกค้าภายใต้กลยุทธ์การทำ�ตลาดที่มุ่งเน้นให้ความสำ�คัญ กับพันธมิตรในทุกๆ ช่องทาง โดยในปี 2556 นี้ เป็นปีที่บริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จำ�กัด มีการเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ เกิดขึ้นในหลายด้าน ทั้งในส่วน ของการย้ายออฟฟิตใหม่ จากจุฬาลงกรณ์ ซอย 16 ไปยังอาคาร สำ�นักงานแห่งใหม่ ย่านถนนเจริญราษฎร์ และการย้ายคลังสินค้า หลักจากคลังสินค้าพระประแดง ไปตั้งอยู่ในนิคมอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์สินสาคร คุณธัชพล กล่าวว่า “การมารับบทบาทหน้าที่ ใหม่ในครั้งนีค้ ือความท้าทายครั้งสำ�คัญ” เพราะเป็นช่วงที่ เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ด้านการย้ายสำ�นักงานใหม่ และการย้ายคลังสินค้าหลัก มีผลกระทบกับงานด้านการขาย และบริการพอสมควร แต่จำ�เป็นต้องดำ�เนินการขยับขยาย เพือ่ ให้การทำ�งานคล่องตัวและรองรับการเติบโตขึน้ ในอนาคต การบริหารจัดการด้านระบบการจัดจำ�หน่ายจึงเป็นสิ่งสำ�คัญ อันดับต้นๆ ที่ต้องเร่งดำ�เนินการการฝึกอบรมบุคลากรฝ่าย ขายให้เป็นทีมงานมืออาชีพทีม่ คี วามเชีย่ วชาญด้านผลิตภัณฑ์
บริษัท ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ จำ�กัด และการพิมพ์พร้อมให้ค�ำ ปรึกษาแก่ ลู ก ค้ า และการพั ฒ นาระบบไอที ให้เป็นศูนย์กลางการทำ�งานที่จะ ประสานการทำ�งานในส่วนต่างๆ เข้า ด้วยกัน ด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลกัน แบบเรียลไทม์ ข้อมูลในทุกๆ ส่วนถูก นำ�มารวมกัน เพื่อใช้ในการบริหาร จัดการ วิเคราะห์และวางแผนงาน ได้อย่างสอดคล้องกัน การบริการขนส่งที่ผ่านมา ต้องยอมรับว่ามีปัญหาเพิ่มขึ้นใน เรื่ อ งการส่ ง สิ น ค้ า ให้ ลู ก ค้ า ล่ า ช้ า กว่าปกติ เนื่องจากการย้ายคลังสิน ค้าจากคลังพระประแดงไปยังคลัง สิ น ค้ า หลั ก ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรม สินสาครมีระยะทางไกลขึ้น กอร์ป กับปัญหาการจราจรในปัจจุบันที่มี ความหนาแน่นมาก ต้องใช้ระยะ เวลาในการเดินทางขนส่งเพิ่มมาก ขึ้นในแต่ละเที่ยว ซึ่งเราก็ไม่ได้นิ่ง นอนใจและเร่งดำ�เนินการบริหาร จัดการเพื่อให้การบริการขนส่งสิน ค้ากลับเข้าสู่ภาวะปกติให้เร็วที่สุด มีการเพิ่มจำ�นวนรถขนส่งมากขึ้น สามารถติดตามการทำ�งานได้ด้วย ระบบ GPS การเปิดคลังกระจาย สินค้าเพื่อบริการเป็น 3 โซน คือ คลังสินค้าสินสาคร ซึง่ เป็นคลังขนาด ใหญ่ ใช้เก็บสินค้าหลัก คลังไผ่เงิน
สำ�หรับกระจายสินค้าในเขตใจกลางเมือง และคลังเจริญอักษร เทรดดิ้ง ที่ เน้นบริการโซนพืน้ ทีฝ่ ง่ั ตอนเหนือของกรุงเทพฯ เพือ่ ให้บริการลูกค้าได้อย่าง รวดเร็วยิ่งขึ้น โดยคาดว่าภายในสิ้นปี 2556 ระบบจะมีความสมบูรณ์และ สามารถจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้าได้ 24 ชั่วโมง 365 วัน (มีการวางแผนงาน ล่วงหน้า) การกระจายสินค้าไปยังภูมิภาคต่างๆ บริษัทฯ ได้มีการร่วมมือกับ พันธมิตรตัวแทนจำ�หน่ายในแต่ละภูมิภาค เพื่อเป็นตัวช่วยในการกระจาย สินค้าไปในภูมิภาคต่างๆ มีคลังจัดเก็บสินค้าเพื่อบริหารด้านเวลาและต้น ทุนการขนส่งสินค้าให้เหมาะสม ซึง่ เดิมมีตวั แทนจำ�หน่ายแล้วในภาคเหนือ ในปีน้กี ็ได้ขยายไปในส่วนของภาคอีสานเพิ่มเติมและได้รับการตอบรับเป็น
ThaiPrint Magazine 95
Print Interview อย่างดีมีพันธมิตรตัวแทนจำ�หน่าย เพิ่มขึ้นหลายรายในภาคอีสาน มีแนวคิดอย่างไรบ้างกับการขยาย ตลาดไปสู่ภูมิภาคอาเซียน..? การขยายตลาดไปยั ง ภู มิ ภาคอาเซียน ถือเป็นนโยบายและ แผนงานหลักของกลุ่มบริษัทในเครือ เจริญอักษรที่ผู้บริหารได้เริ่มดำ�เนิน การมาแล้วระยะเวลาหนึ่ง มองว่า เป็นโอกาสสำ�คัญทางธุรกิจที่จะได้ เปิดการค้าไปในประเทศเพื่อนบ้าน เป็นการขยายฐานการค้าและสร้าง ความเข้มแข็งให้กบั กลุม่ บริษทั ในเครือ เจริญอักษรได้เป็นอย่างดี ปัจจุบนั มี แนวโน้มไปในทิศทางที่ดีมาก มีการ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งบริษัทกับพันธมิตร ในต่างประเทศมีการจัดตัง้ สำ�นักงาน สาขาแล้วในประเทศพม่าและเวียด นาม ด้วยความร่วมมือจากโรงงาน ผู้ ผ ลิ ต สิ น ค้ า รายใหญ่ ที่ ไ ด้ ไ ว้ ว าง ใจให้ทางบริษทั ฯ เป็นตัวแทนจำ�หน่าย สินค้าในหลายๆ ประเทศ อาทิเช่น
96 ThaiPrint Magazine
บริษัท ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ จำ�กัด
พม่า เวียดนาม กัมพูชา โดยเฉพาะ ประเทศพม่า ซึ่งถือเป็นตลาดเปิด ใหม่ที่มีอัตราการเติบโตสูง จากบทสั ม ภาษณ์ ข้ า งต้ น พอสรุปได้ว่าทิศทางการดำ�เนินงาน ของกลุ่มกระดาษพิมพ์เขียน บริษัท ซี.เอ.เอส.เปเปอร์ จำ�กัด ในปี 2556 นี้ และต่อๆ ไป จะพัฒนาปรับเปลี่ยน ไปในรูปแบบแนวทางดังต่อไปนี้ • ด้านการขาย การมุ่งเน้น ให้ความสำ�คัญกับลูกค้าเป็นอันดับ แรก หน้าทีห่ ลักของเราคือการคัดสรร ผลิตภัณฑ์ที่ดี มีคุณภาพและราคาที่ เหมาะสมมาตอบสนองความต้อง การของลูกค้าและตลาด พร้อมทัง้ การ นำ�เสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เพือ่ เป็นทาง เลื อ กในการใช้ ง านให้ ห ลากหลาย มากขึ้น • ด้านคลังสินค้า และการ บริ ก ารจั ด ส่ ง การเปิ ด คลั ง กระจาย สินค้าเพื่อเพิ่มความสะดวกในการ ให้บริการลูกค้าเป็น 3 โซน การเพิ่ม
จำ�นวนรถขนส่งมากขึ้นกว่า 30% สามารถขยายการให้บริการได้ตลอด 24 ชัว่ โมง 365 วัน (มีการวางแผนงานล่วงหน้า) และสามารถติดตามการทำ�งาน ได้ด้วยระบบ GPS • ด้านการตลาด การขยายตลาดไปยังภูมภิ าคต่างๆ ทัง้ ในและต่าง ประเทศ ภายใต้ความร่วมมือจากพันธมิตรในหลายๆ ด้าน ทั้งจากโรงงาน ผู้ผลิตและตัวแทนจัดจำ�หน่ายในการเพิ่มช่องทางการกระจายสินค้าและ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายการค้าของบริษัท ซี.เอ.เอส. เปเปอร์ จำ�กัด • ด้านบุคลากร การฝึกอบรมบุคลากรฝ่ายขายให้เป็นทีมงานมือ อาชีพ มีความเชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์และการพิมพ์พร้อมให้คำ�ปรึกษาแก่ ลูกค้า • ด้านเทคโนโลยี ระบบไอทีจะเป็นศูนย์กลางการทำ�งานทีจ่ ะประสาน การทำ�งานในส่วนต่างๆ เข้าด้วยกัน ด้วยการเชือ่ มโยงข้อมูลกันแบบเรียลไทม์
“เราจะมุ่งมั่นพัฒนาการทำ�งานอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด เพื่อ ตอบสนองและให้บริการพันธมิตรทางการค้าของเราให้ดีที่สุด”
ThaiPrint Magazine 97
Young Printer
พิมพ์สิริ เหลืองเจริญนุกูล บริษัท ก.พล (1996) จำ�กัด
You’re Cool
“ สวัสดีครับผู้อ่านที่รักทุกท่าน สำ�หรับ Young Printer ฉบับนี้ ผมขอแนะนำ� “คุณพิมพ์สิริ เหลืองเจริญนุกูล” หรือ “คุณมิ้งค์” ซึ่งใครหลายคนคงจะคุ้นหน้าคุ้นตาเธอเป็นอย่างดี เพราะเธอมี บทบาทในกิจกรรมพิเศษหลายๆ อย่างที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยได้จัดขึ้นและทุกๆ ครั้งก็จะมีเธอคนนี้ เข้าร่วมงานด้วยทุกครั้ง ลองมาทำ�ความรู้จักกับเธอคนนี้กันดูครับ ” อยากจะให้แนะนำ�ตัวเองสัน้ ๆ ก่อนจะถามคำ�ถามต่อไป?
สวัสดีค่ะ ชื่อ นางสาวพิมพ์สิริ เหลืองเจริญนุกูล ชื่อเล่น ว่า มิ้งค์ ค่ะ แต่ถ้าเพื่อนสมัยเรียน จะเรียกว่า พิมพ์ ค่ะ ตอนนี้ อายุ 27 ปี จาก บริษัท ก.พล (1996) จำ�กัด หรือ ก.พลพิมพ์ ค่ะ จบการศึกษาปริญญาตรี สาขา Marketing และปริญญาโท สาขา Professional Management จาก มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ หรือ ABAC ค่ะ
ความชื่นชอบที่มีต่อธุรกิจเกี่ยวข้องกับการ พิมพ์ของครอบครัวเป็นอย่างไรบ้าง?
98 ThaiPrint Magazine
มิ้งค์เติบโตมาก็เห็นป๊ากับม๊าทำ�งานด้านนี้ แล้วก็รสู้ กึ ผูกพันกับธุรกิจสิง่ พิมพ์มาตัง้ แต่เด็กค่ะ เพราะว่าทุกวันหลังเลิกเรียนต้องมาอยู่โรง พิมพ์จนถึง 3 ทุ่ม ถึงได้กลับบ้าน เป็นแบบนี้ ทุกวัน เป็นเวลากว่า 20 ปี แม้กระทัง่ วัน อาทิตย์ เวลาคิดอะไรไม่ออกก็ต้องมาโรง พิ ม พ์ ก่ อ นกลายเป็ น ว่ า ทุ ก วั น นี้ ก็ ต้ อ งมา โรงพิมพ์ทุกวันเหมือนเดิม ความที่ได้เห็นได้ สัมผัสทุกวัน ทำ�ให้ชื่นชอบและภูมิใจกับทุก สิง่ ที่ป๊ากับม๊าได้สร้างขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นชื่อ เสียง, ความน่าเชื่อถือ และคุณภาพของงาน เลยทำ�ให้มิ้งค์เป็นคนชอบอ่านหนังสือมาก ค่ะ
พิมพ์สิริ เหลืองเจริญนุกูล
บทบาทและหน้าที่รับผิดชอบ กับงานธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ์ มีอะไรบ้างและมีความยากหรือ ไม่?
หลังจากเรียนจบก็มีโอกาส ไปทำ�งานทีอ่ น่ื ได้ 6 เดือน ป๊าก็เรียก ให้ม้ิงค์กลับมาทำ�งานที่โรงพิมพ์ใ น ตำ�แหน่งการเงินและการบัญชี แต่ ในทางปฎิบัติต้องดูทุกอย่าง ทั้งการ ผลิตและฝ่ายบุคคลค่ะ แต่การผลิต มิ้งค์ไม่ได้เข้าไปดูมากนักเพราะให้พ่ี ชายเป็นคนดูแล มิง้ ค์จะไปเน้นหนัก ที่การเงินและบุคคลค่ะ ส่วนในเรื่อง ของความยากง่ายในการทำ�งานนั้น มิ้ง ค์ ข อบอกว่ า ทุ ก โรงพิ ม พ์ ก็ต้อ งมี ปัญหากันทุกที ขึ้นอยู่กับว่าปัญหา นัน้ จะมาแบบไหน แต่ในส่วนของการ ผลิตนัน้ ไม่คอ่ ยมีปญ ั หาค่ะ เพราะ ป๊าชำ�นาญทางผลิตอยูแ่ ล้ว แต่สว่ น ทีย่ ากและละเอียดอ่อนก็คงเป็นฝ่าย บุคคลค่ะ
แบ่งเวลาอย่างไรระหว่างงานกับ ชี วิ ต ส่ ว นตั ว มี เวลาให้ กั บ ตั ว เองมากแค่ไหน? เมื่อได้กลับมาทำ�งานที่โรง พิมพแล้ว เวลาทำ�งานมิ้งค์ทำ�เต็มที่
ค่ะ แต่เมื่อมีเวลาว่างก็จะหากิจกรรมทำ�กับครอบครัวค่ะ และก็ทำ�ธุรกิจส่วน ตัวของตัวเองเล็กๆ ควบคู่กับทำ�โรงพิมพ์ไปด้วยค่ะ ส่วนถ้าว่างจริงๆ ก็มีไป ต่างจังหวัดหาสถานทีไ่ ปถ่ายรูป ถ่ายวิว ถ่ายคนอืน่ นะคะ เลยทำ�ให้รปู ของ ตัวเองไม่คอ่ ยจะมี >< ส่วนช่วงเย็นหลังเลิกงานก็มีไปทานข้าวกับเพื่อนค่ะ
อุปสรรคที่เกิดขึ้นกับงานมีอะไรบ้างและเรามีวิธีแก้ไขอย่างไร ถึงผ่านพ้นไปได้?
ทุกบริษทั ต่างก็มอี ปุ สรรค์ในการทำ�งานกันทัง้ นัน้ อยูท่ ว่ี า่ เราจะมองว่า อุปสรรคนัน้ หนักหรือเบาแตกต่างกัน ส่วนของมิง้ ค์นน้ั อุปสรรคหรือปัญหาที่ มักจะเกิดขึน้ และประสบกับตนเองบ่อยๆ ก็คงจะเป็นเรือ่ งของพนักงาน อย่าง เช่น พนักงานมีปญ ั หาเรือ่ งครอบครัว บางครัง้ ก็ตอ้ งกลายไปเป็นตัวกลางเข้าไป จัดการ แต่บางครั้งถ้าปัญหานั้นหนักเกินไปที่จะต้องตัดสินใจ ก็จะเข้าไป ปรึกษาป๊ากับม๊าค่ะ เพราะเค้าทั้งสองจะมีประสบการณ์ในการตัดสินใจได้ดี กว่าเราค่ะ ThaiPrint Magazine 99
Young Printer
อาชีพที่ทำ�เกี่ยวกับการพิมพ์คิดว่าเราโชคดีกว่าคนอื่นหรือไม่ที่ เกิดมาอยู่ในครอบครัวที่ทำ�ธุรกิจเกี่ยวกับการพิมพ์?
แค่เกิดมาในครอบครัวทีอ่ บอุน่ และเลีย้ งดูให้เราเป็นได้อย่างทุกวันนี้ ก็ถอื ว่าโชคดีแล้วค่ะ ไม่ตอ้ งทำ�ธุรกิจการพิมพ์ มิง้ ค์กร็ สู้ กึ ว่าโชคดีแล้วค่ะ และ ความโชคดีของการที่ครอบครัวทำ�ธุรกิจการพิมพ์เลยทำ�ให้ม้ิงค์ชอบอ่าน หนังสือค่ะ ได้เพิม่ เติมความรูใ้ หม่ๆ ตลอดค่ะ
ตอนนี้ยังโสดอยู่หรือมีครอบครัวแล้วแบ่งเวลาอย่างไรให้กับ ครอบครัวที่เรารักบ้าง ?
ตอนนี้โสดค่ะ ยังไม่ได้มีใครเป็นพิเศษค่ะ ตอนนี้แบ่งเวลาให้กับป๊า กับม๊ามากกว่าค่ะ จะพาพวกท่านไปเที่ยวแล้วก็หาร้านอาหารใหม่ๆ ให้พวก เค้าได้ลองชิมกันค่ะ
มีกิจกรรมอะไรบ้างที่ท�ำ เป็นประจำ�กับครอบครัว?
กิจกรรมทีท่ �ำ กันเป็นประจำ�โดยปกติถา้ ไม่ได้ออกไปไหน คือ ทานข้าว เย็นกับครอบครัวค่ะ แต่ถา้ วันอาทิตย์มง้ิ ค์กบั พีช่ ายก็จะพยายามหาร้านอาหาร ใหม่ๆ แล้วพาป๊ากับม๊าไปทานค่ะ แต่ถ้ากิจกรรมนอกเหนือจากนี้ คือ ช่วย ป๊าปลูกต้นไม้ที่บ้านแล้วก็สวนผักที่โรงงานค่ะ
เราได้คิดพัฒนาธุรกิจด้านเกี่ยวกับการพิมพ์ทต่ี อ่ ยอดมาจากรุน่ ก่อนๆ มีอะไรบ้างทีค่ ดิ ว่าจะทำ�ขึน้ ให้ดีกว่าจากเดิม?
จากเดิม ป๊ากับม๊าก็ท�ำ ไว้ค่อนข้างดีอยู่แล้วในเรื่องของการผลิต แต่ พอเราได้เข้ามาช่วยงานทีบ่ า้ นก็มเี พิม่ เติมในเรือ่ งของระบบคอมพิวเตอร์ ลง บันทึกการสัง่ การผลิต การส่งของ การใช้เอกสารในการสัง่ งานต่างๆ ทุกแผนก มากขึน้ ค่ะ แต่คอ่ นข้างจะเปลีย่ นยากในช่วงแรกๆ ค่ะ เพราะคนรุน่ เก่าๆ มัก 100 ThaiPrint Magazine
พิมพ์สิริ เหลืองเจริญนุกูล
จะไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง จะมีต่อ ต้านบ้าง แต่ปจั จุบนั สามารถใช้ระบบ นี้ได้เต็มประสิทธิภาพแล้วค่ะ
รูส้ กึ อย่างไรกับกิจกรรมต่างๆ ที่ ทางสมาคมจัดขึน้ ประทับใจตรง ไหนบ้างและกิจกรรมทีช่ อบเป็น พิเศษ?
ต้องบอกว่า ปาป๊ามักจะพา มิ้งค์ไปร่วมกิจกรรมกับทางสมาคม บ่อยๆ ในสมัยก่อน เพราะปาป๊าเอง ก็เป็นกรรมการสมาคมการพิมพ์ไทย มาก่อนก็รสู้ กึ ว่าเป็นสมาคมทีเ่ ข็มแข็ง ทุ ก คนรั ก และเคารพซึ่ ง กั น และกั น และกิจกรรมต่างๆ ก็ท�ำ ให้เราได้รู้จัก บุคคลที่ทำ�ธุรกิจด้านเดียวกันมากขึ้น ค่ะ ส่วนประทับใจกิจกรรมไหนเป็น พิ เ ศษก็ ค งเป็ น การจจั ด การแข่ ง ขั น แรลลี่ค่ะ เพราะชอบกิจกรรมแนวนี้ อยู่แล้ว
ThaiPrint Magazine 101
Young Printer
บทบาทในการเป็นสมาชิกนั้น ได้รับผิดชอบในส่วนไหนและ รู้สึกอย่างไร? ตำ�แหน่งที่ได้รับในการเป็น คณะกรรมการ Yount Printer มิ้งค์ได้ รับมอบหมายให้เป็น เหรัญญิก ค่ะ เป็นตำ�แหน่งที่พวกพี่ๆ เค้าดูจากที่ เราทำ�การเงินของบริษทั ค่ะ แต่เมือ่ ถึง เวลาจริงๆ พวกเพื่อนๆ ทุกคนก็มา ช่วยกันทำ�งานอย่างเต็มที่ ไม่เจาะจง ว่าใครจะอยู่ต�ำ แหน่งไหนค่ะ
อยากจะฝากอะไรหรือแนะนำ� เข้าเป็นสมาชิก Young Printer ได้อย่างไรและรู้สึกอย่างไรกับ แนวคิดดีๆ ให้กบั สมาชิกรุน่ ต่อ ไปไว้อย่างไรบ้าง? ตำ�แหน่งนี้?
ปาป๊าพยายามให้มิ้งค์เป็น Young Priter นานแล้วค่ะ แต่ด้วยความ ที่เราก็ยังเรียนอยู่เลยยังไม่พร้อมที่เข้ามาท�ำกิจกรรมกับทางสมาคม แต่เมื่อ ปีกว่าๆ ที่แล้ว มิ้งค์ได้ลงเรียนคอร์สการพิมพ์กับทางสถาบันการพิมพ์ไทย ที่นิคมฯ สินสาคร หลังจากนั้นพี่ๆ ทางสมาคมก็โทรมาชักชวนให้เข้าร่วม กิจกรรม CMYK ที่จัดขึ้นที่พัทยา และนั้นเป็นก้าวแรกที่ท�ำให้เราได้สัมผัส กับค�ำว่า Young Printer จริงๆ เป็นอย่างไร ส่วนความรู้สึกที่ได้เป็นส่วนหนึ่ง ของคณะกรรมการ YPG 2012-2014 ก่อนอืน่ ต้องขอบคุณพีๆ ่ น้องๆ ทุกคน ที่ไว้วางใจให้มิ้งค์เข้ามาเป็นสมาชิกค่ะ มิง้ ค์รสู้ กึ ภูมใิ จและดีใจมากทีไ่ ด้พบกับ ผู ้ ใ หญ่ ใ นสมาคมที่น่ารักและเพื่อนๆ YPG ที่รักและเป็นกันเอง สามารถ ปรึกษาได้ทกุ เรือ่ ง ทัง้ เรือ่ งงานทีช่ ว่ ยแก้ปญ ั หาให้หรือจะเป็นเรือ่ งส่วนตัว มิง้ ค์ รู้สึกดีใจและอบอุ่นใจมากที่ได้ไปพัทยาในวันนั้น 102 ThaiPrint Magazine
ขอฝากถึงสมาชิกท่านอื่นๆ ทีส่ นใจอยากจะเข้ามามีสว่ นร่วมเป็น สมาชิก YPG ทีร่ นุ่ ต่อไปว่า การได้เข้า มาเป็นสมาชิกนั้นได้ทั้งมิตรภาพจาก เพือ่ นๆ ทัง้ โรงพิมพ์ ธุรกิจหลังและก่อน การผลิต, ความรู้ในเรือ่ งต่างๆ ทัง้ ทาง แก้ปญ ั หาในเรือ่ งของงาน ได้รจู้ กั คูค่ า้ อื่นๆ มากขึ้น เปลี่ยนจากคู่แข่งทาง ธุรกิจมาเป็นมิตรภาพและพันธมิตรที่ ดีตอ่ กันและช่วยท�ำให้วงการพิมพ์ไทย เติบโตอยู่ในประเทศไทยไปนานๆ ค่ะ
HP
เอชพีขยายพอร์ตโฟลิโอ Z Workstation เผยโฉมเวิร์คสเตชั่นอัลตราบุ๊คเครื่องแรกของโลก
เอชพี นำ�โดย มร.อาร์แมนโด ปาสกาล (ทีส่ องจากขวา) ผูอ้ �ำ นวยการ ประจำ�ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไต้หวัน และฮ่องกง กลุ่มธุรกิจการ พิมพ์และคอมพิวเตอร์ บริษทั ฮิวเลตต์-แพ็คการ์ด ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ และ ญีป่ นุ่ , คุณปวิณ วรพฤกษ์ (ทีส่ องจากซ้าย) ผูจ้ ดั การทัว่ ไป กลุม่ ธุรกิจการ พิมพ์และคอมพิวเตอร์ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำ�กัด, คุณ อรรฆพล เหลืองระฆัง (ขวาสุด) ผู้จัดการพัฒนาการตลาด ผลิตภัณฑ์เวิรค์ สเตชั่นและเดสก์ท็อปโซลูชั่น กลุ่มธุรกิจการพิมพ์และคอมพิวเตอร์ บริษัท ฮิวเลตต์-แพคการ์ด (ประเทศไทย) จำ�กัด และคุณศุภลักษณ์ สัปตตัง้ ตระกูล (ซ้ายสุด) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อินเทล ไมโครอิเล็คทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด จัดงานแถลงข่าว “HP Workstation Solutions World” ประกาศขยายพอร์ตโฟลิโอ ของกลุ่มผลิตภัณฑ์ ซี เวิร์ค สเตชั่น และ ซี ดิสเพลย์
และเปิดตัวผลิตภัณฑ์ HP ZBook 14 (เอชพี ซีบคุ๊ 14) เวิรค์ สเตชัน่ อัลตรา บุค๊ TM เครือ่ งแรกของโลก รวมถึงกลุม่ ผลิตภัณฑ์เวิร์คสเตชั่นรุ่นแรกที่มา พร้อมเทคโนโลยี Thunderbolt (ธัน เดอร์โบลต์) จากอินเทล สำ�หรับการ ถ่ายโอนข้อมูลด้วยความเร็วสูงแบบ ไฮสปีด ผลิ ตภั ณ ฑ์ ใ นพอร์ ต โฟลิ โ อ ใหม่นี้ ประกอบไปด้วย HP ZBook Mobile Workstations (เอชพี ซีบุ๊ค โมบาย เวิร์คสเตชั่น) จำ�นวน 3 รุ่น HP Z Desktop Workstations (เอช พี ซี เดสก์ทอ็ ป เวิรค์ สเตชัน่ ) ซึง่ มีรางวัล การันตีและมาพร้อมชิปประมวลผล และจอแสดงผลใหม่ HPZDisplays (เอชพี ซี ดิสเพลย์) จำ�นวน 2 รุ่น ผลิตภัณฑ์ตระกูล HP Z (เอช พี ซี) ได้รบั การออกแบบมาให้ตอบรับ ความต้องการสูงสุดของลูกค้าส�ำหรับ การปฏิบตั งิ านทีม่ คี วามส�ำคัญระดับ mission-critical ซึง่ ต้องการผลิตภัณฑ์
ThaiPrint Magazine 103
Print News
ทีม่ ปี ระสิทธิภาพยอดเยีย่ มและสามารถไว้ใจได้ ผลิตภัณฑ์เวิรค์ สเตชัน่ รุน่ แรก ทีผ่ นวกเอาเทคโนโลยี Thunderbolt ของอินเทล เช่น HP Z Mobile (เอชพี ซี โมบาย) บางรุ่น และเดสก์ท็อป เวิร์คสเตชั่น สามารถถ่ายโอนข้อมูลด้วย ความเร็วสูงระหว่างเครือ่ งซีเวิรค์ สเตชัน่ เครือ่ งดิสเพลย์ และเครือ่ งคอมพิวเตอร์ ใกล้เคียง ท�ำให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มอบการเชื่อมต่อ I/O ที่รวดเร็วและเอนก ประสงค์ทสี่ ดุ ในปัจจุบนั นี้ ผลิตภัณฑ์ในกลุ่ม HP Z นี้ได้รับการออกแบบ ทดสอบ และรับรอง คุณภาพแล้วว่าเหมาะสำ�หรับงานด้านวิศวกรรม งานด้านการออกแบบที่ใช้ โปรแกรม CAD งานสถาปัตยกรรม งานออกแบบทั่วไป งานผลิตอนิเมชั่น ภาพยนตร์ งานด้านการศึกษา งานภาครัฐ และอุตสาหกรรมเพื่อสุขภาพ มร. อาร์แมนโด ปาสกาล กล่าวว่า “ลูกค้าระดับมืออาชีพอาศัย พึ่ ง พาพาร์ ท เนอร์ ที่ เชื่ อ ใจได้ ใ นการนำ�เสนอเทคโนโลยีโซลูช่ันที่ผ่านการ ทดสอบและรั บ รองประสิ ท ธิ ภ าพแล้ ว เพื่ อ ให้ ร องรั บ แอพพลิ เ คชั่ น ที่ มี ความสำ�คัญระดับ mission-critical ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ์ภายใต้กลุ่ม HP Z ได้รับ การการันตีดา้ นคุณภาพสูงสุด อีกทั้งการขยายพอร์ตโฟลิโอผลิตภัณฑ์เวิร์ค
104 ThaiPrint Magazine
สเตชั่นแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่น ของเอชพี ที่ มี ต่ อ ตลาดผู้ ใ ช้ ง าน ระดับมืออาชีพ ซึ่งถูกมองข้ามจาก ผู้ผลิตรายอื่นๆ ในตลาด เอชพี นำ�เสนอ โมบาย เวิร์คสเตชั่น เครื่องแรกของโลก เอชพีได้พัฒนา โมบาย เวิร์ค สเตชั่นขึ้น โดยผนึกรวมดีเอ็นเอของ HP Z ซึ่งเป็นที่รู้จักในหมู่ลูกค้าทั่ว โลก ผลิตภัณฑ์ HP ZBook Mobile Workstation (เอชพี ซีบุ๊ค โมบาย เวิร์คสเตชั่น) รุ่นใหม่นี้ มาพร้อมกับ รูปลักษณ์ทบ่ี างและเบาขึน้ ผลิตภัณฑ์ ในตระกูล HP ZBook ครอบคลุมไป ถึง HP ZBook 14 ซึ่งเป็น เวิร์คสเตชั่น อัลตราบุ๊ค เครื่องแรกของโลก รวม ถึง HP ZBook 15 และ HP ZBook 17 ผลิตภัณฑ์ HP ZBook Mobile Workstation โดดเด่นด้วยทางเลือก ของชิปประมวลผลจากอินเทล Intel Haswell dual-core และ quad-core processor เจเนอเรชั่นที่ 4 และเทค โนโลยีกราฟฟิกล้ำ�สมัยจาก NVIDIA และ AMD รวมถึงเทคโนโลยีกราฟ ฟิกมืออาชีพระบบเคปลาร์ (Keplar) จาก NVIDIA และคุณสมบัติ tool-free
HP chassis ซึ่งเอื้ออำ�นวยต่อการอัพ เกรดและการซ่อมบำ�รุง ผลิตภัณฑ์ HP ZBook 14 ตอบสนองลูกค้าที่ประสงค์จะใช้งาน แบบสะดวกด้ ว ยระบบสั ม ผั ส ด้ ว ย ออปชัน่ แผงควบคุมระบบสัมผัสผลิต ภัณฑ์ HP ZBook 15 มีระบบแสดงผล ความละเอียดสูง QHD+ 3,200 x1,800 สำ�หรับผู้ท่ีต้องการการแสดงผลรูป ภาพที่ให้ความคมชัดสูง ทั้งนี้ ผลิต ภัณฑ์ HP ZBook 15 และ HP ZBook 17 มาพร้อมกับเทคโนโลยีพอร์ท Thun derbolt และอุปกรณ์เสริม DreamColor Display panel ซึง่ ช่วยเพิม่ ความแม่น ยำ�และความสม่ำ�เสมอของเม็ดสีใน งานพิมพ์และการแสดงผลบนหน้า จอขนาดใหญ่
ผลิตภัณฑ์ HP Z820 Workstation แบบ dual-socket มอบประสิทธิ ภาพการทำ�งานอันยอดเยีย่ ม พร้อมการันตีดา้ นรูปลักษณ์ดว้ ยรางวัลด้านดีไซน์ อีกทั้งยังมีแชสซี (chassis) ที่เอื้อต่อการซ่อมบำ�รุงโดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ HP Z820 มีหน่วยประมวลผลมากถึง 24 คอร์ จุข้อมูล ได้มากถึง 512 กิกะไบต์ในหน่วยความจำ� ECC memory มีสตอเรจที่ สามารถบันทึกข้อมูลด้วยความเร็วสูงได้มากถึง 15 เทราไบต์ และเก็บบันทึก ข้อมูลกราฟฟิก NVIDIA K6000 ได้ 2 ชุด ผลิตภัณฑ์ HP Z620 Workstation คือ เวิร์คสเตชั่นที่มีความอเนก ประสงค์สูงสุดเครื่องหนึ่งของเอชพี ซึ่งสามารถปฏิบัติงานและแสดงผลด้วย ภาพได้อย่างทรงประสิทธิภาพมีหน่วยประมวลผลมากถึง 24 คอร์ จุข้อมูล ได้มากถึง 192 กิกะไบต์ในหน่วยความจำ� ECC memory มีสตอเรจที่ สามารถบันทึกข้อมูลด้วยความเร็วสูงได้มากถึง 12 เทราไบต์ และเก็บบันทึก ข้อมูลกราฟฟิก NVIDIA K6000 หรือ NVIDIA K5000 ระบบคู่ ซึ่งช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการแสดงผลทางกราฟฟิกทีม่ คี วามเร็วสูงได้เป็นอย่างดี
ผลิตภัณฑ์ HP Z Workstation เปีย่ ม ประสิทธิภาพด้วย Ivy Bridge และ Thunderbolt ผลิตภัณฑ์ HP Z420, Z620 และ Z820 Workstation ได้รับการ ปรับปรุงให้มีพลังขับเคลื่อนมากยิ่ง ขึ้นด้วยชิปประมวลผลรุ่นใหม่ล่าสุด จากอินเทลตระกูล Intel Xeon® E51600v2 และ E5-2600v2 processor หรือในอีกชือ่ หนึ่งคือ Ivy Bridge รวม ไปถึงหน่วยความจำ�ใหม่ทป่ี ฏิบตั งิ าน ได้รวดเร็วขึน้ 16% และพอร์ท Thun derbolt เจเนอเรชัน่ ที่ 2 ซึง่ ช่วยเสริม ประสิทธิภาพการใช้งานในด้านการ ออกแบบ ด้วยการส่ง-รับข้อมูลที่มี ความรวดเร็วกว่าระบบคลื่นความถี่ หรือแบนด์วธิ ของ USB 3.0 ถึง 4 เท่า อีกทัง้ ยังสามารถเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์ เสริมได้หลายชิน้ ในเวลาเดียวกัน ผ่าน เพียงพอร์ท Thunderbolt ทีก่ ะทัดรัด เพียงพอร์ทเดียว ThaiPrint Magazine 105
Print News
ผลิตภัณฑ์เวิร์คสเตชั่นของ เอชพีที่ได้รับความนิยมที่สุด ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ HP Z420 Workstation ซึ่งมีหน่วยประมวลผลได้มากสุดถึง 8 คอร์ ใช้ชิปประมวลผลรุ่นล่าสุด ของอินเทล Intel Xeon processor E51600 v2 และ E5-2600 v2 โดยจุ ข้อมูลได้มากถึง 64 กิกะไบต์ ใน หน่วยความจ�ำ ECC memory มี สตอเรจที่สามารถบันทึกข้อมูลด้วย ความเร็วสูงได้มากถึง 12 เทราไบต์ และเก็บบันทึกข้อมูลกราฟฟิกผ่าน NVIDIA Quadro K6000 หรือ AMD W7000 หรือ dual NVIDIA K2000 โดย ผลิตภัณฑ์ HP Z420 รุ่นใหม่นี้ ได้รบั การยกระดับให้มอบประสิทธิภาพ การท�ำงาน รวมถึงรูปลักษณ์หรือ ฟอร์ ม แฟคเตอร์แบบมินิทาวเวอร์ที่ ปรับขยายได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ หรืออุปกรณ์ใดๆ ในราคาทีน่ า่ จับจอง ผลิตภัณฑ์ HP Z Display แสดง ภาพคมชัดและแม่นยำ� ผลิตภัณฑ์ HP Z27i IPS Display (เอชพี ซี 27 ไอ ไอพีเอส ดิสเพลย์) และ HP Z30i IPS Display (เอชพี 106 ThaiPrint Magazine
ซี 30 ไอ ไอพีเอส ดิสเพลย์) ใหม่เป็นรุ่นที่เพิ่มเติมขึ้นจากกลุ่มผลิตภัณฑ์ ดิสเพลย์ระดับมืออาชีพของเอชพี เหมาะสำ�หรับผูใ้ ช้งานซึง่ เป็นนักออกแบบ ผู้เขียนคอนเทนท์และนักวิเคราะห์ข้อมูลที่ทำ�งานกับภาพที่จำ�เป็นต้องมี ความคมชัดและแม่นยำ�สูงสุด รวมถึงความสามารถในการดัดแปลงข้อมูลภาพ เหล่านั้น เพื่อการนำ�ไปใช้กับงานที่มีควาสำ�คัญระดับ mission-critical ได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเชื่อถือได้ ผลิตภัณฑ์ HP Z27i และ HP Z30i แสดงภาพได้เต็ม 100 เปอร์เซ็นต์ ตามระบบช่องสี sRGB อันเป็นมาตรฐานช่องสีสำ�หรับเว็บไซต์ และยังใช้กัน ในวงกว้างในแวดวงวิศวกรรม ครีเอทีฟ และการใช้งานแอพพลิเคชั่นระดับ มืออาชีพ นอกจากนี้ ผลิตภัณฑ์ HP Z30i ยังแสดงภาพได้เต็ม 100% ตาม ระบบช่องสีของ Adobe® RGB ซึ่งใช้ในงานภาพถ่าย และดิจิตอล พรีเพรส เวิร์คโฟล์ อีกด้วย ผลิตภัณฑ์ HP Z Displays มาพร้อมระบบ IPS Gen 2 panel ใหม่ ทีต่ ดิ ตัง้ เพิม่ เข้ามา ซึง่ ช่วยให้ประหยัดพลังงานได้มากกว่าระบบ IPS รุน่ แรก ของเอชพีถงึ 37% แต่ยงั คงสามารถแสดงผลของสีได้อย่างแม่นยำ�ทุกมุมมอง ผลิตภัณฑ์ HP Z Displays ได้รับการการันตีคุณภาพด้วย ENERGY STAR® และ EPEAT® Gold โดยผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 รุ่นมีขาตั้งที่สามารถปรับทิศทางได้ 4 ทิศ รวมถึงระบบปลดล็อค HP QR2 quick release ที่สะดวกสบาย อีกทั้ง ยังได้รบั การรับรองจาก TCO อีกด้วย นอกจากนี้ สำ�หรับผูท้ ต่ี อ้ งการประหยัด พืน้ ทีบ่ นโต๊ะทำ�งานยังสามารถเลือกใช้อปุ กรณ์เสริม HP Thin Client Mount Kit ซึ่งพร้อมรองรับทั้งผลิตภัณฑ์ HP Z27i และ HP Z30i โดยผู้ใช้งานสามารถ ติดตั้งเดสท็อปของ HP Thin Client หรือ Ultra Slim ไว้ที่ด้านหลังของเครื่อง ดิสเพลย์ได้อย่างสะดวกและมั่นคง
Print News
แคนนอน เปิดแคมเปญใหม่ ‘Be You Be PIXMA’ รองรับ Social Life เต็มรูปแบบ พร้อมหนังโฆษณาชุดใหม่ ผ่านไลฟ์ไตล์สดุ อินเทรนด์ของ โดม ปกรณ์ ลัม
แคนนอน ตอกย�ำ้ ความเป็นอันดับหนึง่ ของวงการใน ฐานะผูน้ ำ� ตลาดพรินเตอร์องิ ค์เจ็ทในประเทศไทย 13 ปีซอ้ น เผยแผนรุกตลาดครึง่ ปีหลัง เปิดตัวทัพสินค้าเครือ่ งพิมพ์ตระกูล PIXMA ใหม่คกึ คัก ในงาน Canon PIXMA be Beyond in Printing ชูจดุ เด่นเรือ่ งของ Social Printing การสัง่ งาน Application สุดล�้ำ มอบอิสรภาพไร้ขอบเขตทุกงานพิมพ์ให้สะดวกทุกที่ ทุกเวลาและง่ายกว่าทีเ่ คย ผ่านระบบ Wi-Fi และ Cloud Printing ตอบโจทย์ความต้องการผู ้ ใ ช้ ยคุ ออนไลน์สดุ ล�ำ้ ทุกไลฟ์สไตล์ พร้อมเปิดตัวภาพยนตร์โฆษณาชุดใหม่ “Impossible Style” ดึงหนุม่ สุดเทรนดีห้ ล่อขัน้ เทพ “โดม ปกรณ์ ลัม” มาร่วมเป็น พรีเซ็นเตอร์จบั กระแสคนรุน่ ใหม่ตอ่ เนือ่ งเป็นปีที่ 3 มัน่ ใจดัน ยอดขายครองแชมป์อนั ดับหนึง่ ต่อเนือ่ ง มร. วาตารุ นิชโิ อกะ ประธานบริษทั และประธาน กรรมการบริหาร บริษทั แคนนอน มาร์เก็ตติง้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดเผยว่า “ปีผา่ นมาถือเป็นปีทปี่ ระสบความส�ำเร็จอย่าง ยิ่งส�ำหรับแคนนอน หลังจากสร้างสถิติใหม่มียอดขายรวม 10,248 ล้านบาท ในจ�ำนวนนีก้ ลุม่ ผลิตภัณฑ์คอนซูเมอร์ซสิ เต็มโปรดักส์ทปี่ ระกอบด้วยพรินเตอร์และอุปกรณ์พรีเซ็นเตชัน่ เติบโตขึน้ ถึง 12% ด้วยยอดขายตลอดปีรวม 3,201 ล้านบาท โดยมีผลิตภัณฑ์พรินเตอร์องิ ค์เจ็ทตระกูล PIXMA เป็นตัวน�ำ 108 ThaiPrint Magazine
Canon : Be You Be PIXMA
ส่ ง ผลให้ แ คนนอนยั ง คงครองแชมป์ อันดับหนึ่งในตลาดเซ็กเม้นต์นตี้ อ่ เนือ่ ง จนก้าวมาถึงปีที่ 13 ด้วยส่วนแบ่งตลาดที่ 60.8% (สรุปจากครึง่ ปีแรกของปี 2556)” “ความส�ำเร็จของแคนนอนเกิด จากความมุ่งมั่นไม่หยุดยั้งที่จะพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้กา้ วล�ำ้ สามารถตอบสนอง รูปแบบวิถีชีวิตส่วนตัวและการท�ำงาน ของผูบ้ ริโภคทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอด เวลาให้ดยี งิ่ ขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ปัจจุ บันที่การใช้งานอุปกรณ์สมาร์ทดีไวซ์ และแอพพลิเคชัน่ ต่างๆ รวมถึงเว็บไซต์ โซเชียล เน็ตเวิรค์ ได้กลายมาเป็นเทรนด์ ใหม่ของคนยุคนี้ อันเป็นจุดเปลีย่ นผ่าน ส�ำคัญทีท่ ำ� ให้แคนนอนวางแนวทางการ พัฒนาโดยน�ำเทคโนโลยี Wi-Fi เข้ามา เพื่อสอดรับกับแนวโน้มตลาด ไม่ว่าจะ เป็นการเปิดตัวเทคโนโลยี PIXMA Wi-Fi ท�ำให้พรินเตอร์สงั่ พิมพ์งานแบบไร้สาย ได้ ใ นปี 2553 และระบบ PIXMA Cloud Printing ทีช่ ว่ ยอ�ำนวยความสะดวกสบาย ให้ผู้ใช้งานสั่งพิมพ์งานจากที่ไหนเมื่อ ไหร่ก็ได้ในโลกผ่านระบบ Cloud Printing ในปี 2555”
“ล่าสุด แคนนอนพร้อมแล้วทีจ่ ะก้าวไปอีกขัน้ กับครัง้ แรกเทคโนโลยี PIXMA Cloud Link พัฒนาใหม่ลา่ สุดและระบบเชือ่ มต่อ Wi-Fi ท�ำให้พรินเตอร์ PIXMA ตอบ สนองการสัง่ พิมพ์คอนเทนต์ออนไลน์ทงั้ เอกสารและรูปภาพทีถ่ กู เก็บไว้บนบริการ คลาวด์ตา่ งๆ และโซเชียล เน็ตเวิรค์ ได้อย่างเต็มรูปแบบจึงมัน่ ใจว่าจะตอบโจทย์ความ ต้องการผู ้ ใช้ ยุคใหม่ทุกไลฟ์สไตล์ที่ชื่นชอบเทคโนโลยีและต้องการความสะดวก ในการใช้งานทุกที่ทุกเวลาได้เป็นอย่างดี ซึ่งแคนนอนคาดว่าจะช่วยกระตุน้ ยอด ขายช่วงครึ่งปีหลังและสามารถครองอันดับหนึ่งของตลาดอิงค์เจ็ทได้อย่างต่อ เนือ่ ง” มร.วาตารุ กล่าว โดยเมือ่ ช่วงกลางปี 2556 แคนนอนได้ออกแคมเปญ“Be You, Be PIXMA เป็นคุณทุกสไตล์พริน้ ต์” เพือ่ ให้ผบู้ ริโภคสามารถเลือกพรินเตอร์ไปใช้งานได้อย่าง ตรงใจและเหมาะสมกับตัวเองมากทีส่ ดุ โดยทางแคนนอนมีพรินเตอร์ให้เลือกถึง 3 แบบ • PIXMA Life ตอบรับไลฟ์สไตล์สดุ เทรนดี้ เจาะกลุม่ ผู้ใช้ยุคใหม่ที่ชื่นชอบ เทคโนโลยีทันสมัย สนุกกับการพริ้นต์เพื่อแบ่งปันประสบการณ์ความสนุกและ ถ่ายทอดตัวตนบนโลกออนไลน์ • PIXMA Work ตอบสนองไลฟ์ไตล์เพือ่ คนท�ำงาน เน้นความคุม้ ค่าและ คุณภาพให้ทุกงานลุล่วงด้วยประสิทธิภาพของที่สุดแห่งเทคโนโลยีสุดล�้ำจากแคน นอน เหมาะสมกับกลุม่ SMEs โดยเฉพาะ • PIXMA Pro เจาะกลุม่ ช่างภาพและผูใ้ ช้มอื อาชีพทีต่ อ้ งการคุณภาพ ระดับ Master Piece เน้นเทคโนโลยีการพิมพ์ทนั สมัยเพือ่ ความคมชัดสมบูรณ์แบบ ทุกรายละเอียดของงานภาพ และเพือ่ เป็นการตอกย�ำ้ การรับรูข้ องเครือ่ ง Canon PIXMA Inkjet Printer แคนนอนได้เปิดตัวภาพยนตร์โฆษณา Be You Be PIXMA ในเดือนสิงหาคมทีผ่ า่ น มา โดยบอกเล่าความเป็นตัวคุณผ่านเครือ่ ง PIXMA Inkjet Printer ทัง้ 3 สไตล์ และ ในเดือนกันยายนเปิดตัว PIXMA Life ด้วยพรินเตอร์ใหม่ลา่ สุด PIXMA 4 รุน่ ด้วย ThaiPrint Magazine 109
Print News
MG3570, MG5570, MG6470, MG7170 ส�ำหรับผูใ้ ช้ยคุ โซเชียลออนไลน์ น�ำเทรนด์ ไม่เหมือนใคร ด้วยความ เทรนดีห้ ลากหลายรูปแบบดังนี้ 1. Trendy Printing รองรับ Social Life เต็มรูปแบบด้วยเทคโนโลยี PIXMA Cloud Link พัฒนาใหม่ มอบอิสระไร้ขดี จ�ำกัด เติมเต็มความต้องการด้านงานพิมพ์ ทุกไลฟ์สไตล์ยคุ ใหม่ให้งา่ ยและสนุกยิง่ กว่าทีเ่ คย เชือ่ มโยงพรินเตอร์ Canon PIXMA เข้ากับหลากหลายบริการคลาวด์ยอดนิยมต่างๆ ช่วยให้ผใู้ ช้สงั่ พิมพ์เอกสารหรือรูป ภาพทีต่ อ้ งการจากหน้าจอพรินเตอร์ได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งใช้คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ อืน่ ให้ยงุ่ ยาก ไม่วา่ จะเป็นอัลบัม้ ออนไลน์ เช่น Picasa, Photobucket, Flickr เว็บเก็บ ข้อมูลดังอย่าง Evernote, Dropbox และยังตอบสนองค�ำสัง่ พิมพ์รปู สวย พร้อม คอมเมนต์ของเจ้าของภาพทีโ่ พสไว้บนโซเชียลเน็ตเวิรค์ เจ้าดังอย่าง Facebook หรือ Twitter ได้อย่างเต็มรูปแบบ 2. Trendy Solution น�ำเสนอ Application สุดล�้ำ “PIXMA Printing Solution” แอพพลิเคชัน่ การพิมพ์อจั ฉริยะที่เชื่อม ต่อถึงคุณแบบออนไลน์ให้ คุณสัง่ พรินต์ได้ทงั้ Photo Printing, Document Printing และ Scan เอกสาร หรือรูปภาพเข้าสู่ Devices ได้โดยตรง หรือการเข้าถึง ทุกข้อมูลของพริ น เตอร์ ของคุณ ไม่วา่ จะเป็น web manual, วิธีการติดตั้ง, การตรวจสอบรุน่ หมึกหรือ แม้กระทัง่ การซือ้ หมึกแบบ ออนไลน์ โดยแอพพลิเคชัน่ 110 ThaiPrint Magazine
นี้ สามารถดาวน์โหลดได้ทงั้ ระบบ iOS และ Android 3. Trendy Access เชือ่ มต่อ Smart Devices ได้จากทุกที่ สามารถรอง รับการพรินต์ภาพผ่าน Smart Devices เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต โน๊ตบุค๊ ดิจติ อล คาเมร่า ผ่านระบบ Wi-Fi โดยไม่ตอ้ งใช้ อุปกรณ์ Router อีกต่อไป 4. Trendy Design ตอบโจทย์ ชีวติ มีสไตล์ไปอีกขัน้ หน้าจอระบบทัช สกรีนอัจฉริยะ ระบบ Capacitive ช่วย ให้การใช้งานทุกค�ำสัง่ รวดเร็วและง่ายขึน้ (เฉพาะรุน่ MG7170) มาพร้อมกับดีไซน์ ทันสมัย เน้นรูปลักษณ์สวยมีสไตล์เข้า กับเฟอร์นเิ จอร์ภายในบ้านหรือส�ำนักงาน ได้อย่างลงตัว มีให้เลือก 4 สี 4 สไตล์ บ่งบอกความเป็นตัวคุณไม่เหมือนใคร ทัง้ สีขาว สีดำ� สีแดง และสีนำ�้ ตาลช็อค โกแลตใหม่ลา่ สุดให้เลือกตามสไตล์ทใี่ ช่ โดนใจคุณ เพื่อสร้างการรับรู ้ ใ นตลาดผู้ บริโภคยิ่งขึ้น แคนนอนได้เปิดตัวหนัง โฆษณาชือ่ ว่า Impossible Style น�ำ แสดงโดยหนุม่ สุดฮอต โดม ปกรณ์ ลัม ซึ่งถูก เลือกให้เป็นฐานะพรีเซ็ น เตอร์ หลักของแคนนอนต่อเนือ่ งกันเป็นปีที่ 3 ด้ ว ยภาพลั ก ษณ์ ข องคนรุ ่ น ใหม่ สุ ด โมเดิรน์ ทีเ่ น้น Social Life มีไลฟ์สไตล์ การใช้ชวี ติ และการท�ำงานผูกพันกับโลก ออนไลน์ แ ละการสื่ อ สารบนโซเชี ย ล เน็ตเวิร์คตรงตามคอนเซ็ปต์บอกเล่า เรือ่ งราวชีวติ อิสระกับไลฟ์สไตล์สดุ มันส์ ผ่านการใช้งานพรินเตอร์ PIXMA รุ่น ใหม่
Print News
โกดักกลับมาแกร่ง หลังพ้นล้มละลาย จับธุรกิจงานพิมพ์ อวดนวัตกรรมสุดล�้ำ โกดักเดินหน้าเต็มขั้นรุกธุรกิจการพิมพ์เชิงพาณิชย์ หลังหลุดพ้นจากภาวะล้มละลายจากการ ปรับโครงสร้างบริษัทตามกฎหมาย บท 11 โดยพัฒนาเป็นบริษัทที่เป็นผู้นำ�ด้านเทคโนโลยีการพิมพ์ภาพ บรรจุภัณฑ์ สื่อหนังสือ และหนังสือพิมพ์ ให้แก่ลูกค้าองค์กรธุรกิจ มั่นใจธุรกิจสามารถทำ�กำ�ไรด้วย โครงสร้างทุนที่แข็งแกร่ง ทั้งยังมีการลงทุนอย่างต่อเนื่องเพื่อช่วยให้ลูกค้าเติบโต
Evandro Matteucci ผู้จัด การทั่วไปฝ่ายธุรกิจกราฟิกและรอง ประธานฝ่ายการตลาดในเขตภูมภิ าค เอเชียแปซิฟิกกล่าวว่า “โกดักได้ดำ�เนินการตามขั้น ตอนสุดท้ายในการปรับโครงสร้าง ตามกฎหมาย บท 11 การล้มละลาย ของสหรัฐอเมริกาจนเสร็จสมบูรณ์ ด้ ว ยการชำ � ระหนี้ สิ น จากการเรี ย ก ร้องทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเดิม และแก้ไขปัญหาภาระข้อผูกพันของ 114 ThaiPrint Magazine
Kodak หลังพ้นล้มละลาย
กองทุนบำ�เหน็จบำ�นาญของพนักงานต่างๆทัว่ โลก ทัง้ นีบ้ ริษทั ยังประสบความ สำ�เร็จในการบรรลุข้อตกลงสำ�หรับเงินจำ�นวน 695 ล้านดอลลาร์ ตามการ ปรับโครงสร้างองค์กรในกฎหมาย บท 11 โดยโกดักได้ช�ำ ระเต็มจำ�นวนให้แก่ ผู้ปล่อยกู้ DIP และผู้ถือตราสารหนี้ และเสนอขายหุ้นเพิ่มทุนให้ผู้ถือหุ้นเดิม และได้รบั เงินประมาณ 406 ล้านดอลลาร์ของเงินลงทุนใหม่จากเจ้าหนีแ้ บบ ไม่มีหลักประกัน โกดักในยุคใหม่นบั ตัง้ แต่วนั นีจ้ ะเน้นธุรกิจงานพิมพ์เชิงพาณิชย์ บรรจุ ภัณฑ์ สื่อหนังสือ และหนังสือพิมพ์ เพื่อปูเส้นทางธุรกิจเพื่อการเติบโตและ ทำ�กำ�ไร ด้วยเทคโนโลยีทท่ี นั สมัยสอดคล้องกับตลาดการพิมพ์ปจั จุบนั ทีเ่ ปลีย่ น ทิศทางไปสู่งานพิมพ์ดิจิตอลมากขึ้นกับโซลูชั่นงานพิมพ์ที่หลากหลาย รอง รับทั้งระบบงานพิมพ์ออฟเซ็ต ไฮบริด และดิจิตอล ที่ตอบสนองความต้อง การของลูกค้าและยังเพิ่มรายได้ให้แก่ลูกค้าได้อย่างยั่งยืนด้วย ด้วยผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเทคโนโลยีระบบการพิมพ์ เพื่อป้องกันการปลอมแปลง บรรจุภัณฑ์ที่สะดุดตาและทันสมัย ระบบเซ็น เซอร์แบบสัมผัสหน้าจอบนโทรศัพท์มือถือและแท็บแล็ต รวมถึงการพิมพ์ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ และหนังสือต่างๆ ตามที่ลูกค้าต้องการ ยกตัวอย่าง สเปซวันที่ใช้เทคโนโลยีเครือ่ งพิมพ์ Nexpress SX 3300 จนได้รบั รางวัลต่างๆ ThaiPrint Magazine 115
Print News
Mr. Oscar Planas
ในสาขาภาพพิมพ์มากมาย หรือ TPN FlexPak ที่ใช้ระบบการพิมพ์บรรจุ ภัณฑ์ด้วยเทคโลยีของโกดักที่ช่วยลดต้นทุนและส่งเสริมความเป็นผู้นำ� ในตลาด Evandro ทิ้งท้ายว่า “โกดักได้เปลี่ยนไปสู่การเป็นบริษัทเทคโนโลยี ที่มุ่งเน้นการพิมพ์ส�ำ หรับธุรกิจและองค์กร ด้วยโซลูชั่นและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่พัฒนาจนประสบความสำ�เร็จและสามารถตอบสนองความต้องการให้กับ ลูกค้าคนสำ�คัญของเรา ไม่วา่ จะเป็นการทำ�บรรจุภณ ั ฑ์สนิ ค้า สือ่ สิง่ พิมพ์ และ อุตสาหกรรมด้านการพิมพ์ต่างๆ ท้ายนี้ต้องขอขอบคุณพนักงานทุกท่านที่ ยืนหยัดพร้อมเดินไปด้วยกัน ขอบคุณซัพพลายเออร์ ลูกค้า และหุ้นส่วน ธุรกิจที่เชื่อมั่นในโกดัก ทำ�ให้เราได้รับแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์เทคโน โลยีใหม่ๆ ให้แก่ลูกค้าอย่างไม่หยุดยั้ง” Mr. Evandro Matteucci 116 ThaiPrint Magazine
Art Gallery
นิทรรศการ Re-ทิง้ (Re-Think) นิทรรศการศิลปะเพือ่ ลดการ “ทิง้ ” เพิม่ การ “Think” จากสิ่งไร้ค่าในกองวัสดุแต่หากเปลี่ยนแปลงน�ำมาฟื้นคืนคุณค่า นอกเหนือจากจะก่อเกิดประโยชน์ เกิดขึ้นแล้วยังเป็นการลดการทิ้งไม่เพิ่มปริมาณขยะ และด้วยผลกระทบที่เกิดขึ้นกับธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบ จากภาวะโลกร้อน แนวคิดอีโคนับเป็นการชะลอผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อไป ในอนาคต ด้วยแนวคิดดังกล่าวต่อเนื่อง นับตั้งแต่วันนี้ถึง 17 พฤศจิกายนนี้ ในพืน้ ทีศ่ ลิ ปะ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ภายในห้องนิทรรศ การหลักชั้น 7 กลุ่มศิลปิน Re-ทิ้ง ร่วมกันสร้างสรรค์ศิลปกรรม ที่มีความ หมายเผยแพร่ใน “Re-ทิ้ง (Re-Think) : นิทรรศการศิลปะเพื่อลดการ “ทิ้ง” เพิ่มการ “Think” ขึ้น
120 ThaiPrint Magazine
คุณพศุตม์ กรรณรัตนสูตร ภัณฑารักษ์นิทรรศการและหนึ่งใน ศิลปินร่วมแสดงผลงานบอกเล่าว่า นิทรรศการดังกล่าวนำ�แนวคิดอีโค เป็นแนวคิดหลักซึง่ การแสดงผลงาน ร่วมกันครัง้ นีไ้ ด้ประชุม มองทิศทาง ในเรือ่ งนีร้ ว่ มกัน โดยแต่ละท่านสร้าง สรรค์ผลงานอิสระ “ศิลปินนำ�วัสดุ ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการใช้ งาน การหมดสภาพของตัววัสดุเอง หรื อ เกิ ด จากการทิ้ ง วั ส ดุ จ ากผู้ ใช้ สร้างสรรค์ศลิ ปะ ซึง่ แต่ละท่านมอง วัสดุไม่ใช่เพียงแค่เป็นวัสดุท่เี สื่อม สภาพหรือถูกทิ้ง แต่มองวัสดุเป็น สิ่งที่สามารถสร้างสิ่งทดแทนที่มีค่า มากกว่าของเดิม”
นิทรรศการ Re-ทิ้ง (Re-Think)
ศิลปินทำ�งานศิลปะในหลายสาขาผลงานที่ จัดแสดงจึงมีความหลากหลายทั้งผลงานจิตรกรรม ปฏิมากรรม ศิลปะจัดวาง สื่อผสม ฯลฯ แนวคิด ผลงานสร้ า งสรรค์ ศิ ล ปะของศิ ล ปิ น ที่ จั ด แสดงใน นิทรรศการนี้ มีดังต่อไปนี้ นภดล วิรุฬห์ชาตะพันธ์: นำ�เสื้อผ้าเก่าของ คนในครอบครัวที่ถูกหลงลืมมาสร้างประติมากรรม แบบ collage เหมือนการปะ ติด ต่อ ร้อยเรียงความ ทรงจำ�ของศิลปิน ณัฏฐพล บุญเผือก: ใช้กระบวนการสร้างงาน ศิลปะเป็นการบำ�บัดขยะปฏิกูลที่ตกค้างอยู่ภายในใจ และใช้ผลงานเพื่อบำ�บัดสิ่งแวดล้อมในฐานะของหนึ่ง ในผู้ทำ�ลายที่ไม่ต้องการอยู่นิ่งเฉยแล้วมองดูความ เสื่อมสลายต่อไป ปิติวรรธน์ สมไทย: นำ�กล่องกระดาษใช้แล้ว มาสร้างอัตลักษณ์ใหม่ ในการรับรู้ประวัติศาสตร์ที่ถูก สร้างจากภาพลักษณ์ที่ถูกบิดเบือน ทำ�ให้การรับรู้ถูก ชี้น�ำ เชื่อมโยงไปสู่สิ่งที่เป็นมายา และตกอยู่ในวังวน ของกระบวนการนี้ไปตลอดกาล พศุตม์ กรรณรัตนสูตร: สนใจเสน่หพ์ น้ื ทีว่ า่ ง เมือ่ ถูกจำ�กัด ควบคุม ยอมรับ แลกเปลีย่ นประสบการณ์ ทุกครัง้ ทีม่ คี วามว่างขึน้ ในบริบทใหม่ จะให้มมุ มองและ มิติอารมณ์ที่ต่างไป โดยใช้ป้ายไวนิล (Vinyl banners) ทีห่ มดอายุการใช้งานของข้อความไร้มลู ค่า อยูใ่ นภาวะ ไร้ความหมาย นำ�มาสร้างความหมายใหม่และเพิ่ม มูลค่า
ThaiPrint Magazine 121
Art Gallery
วีรวัฒน์ สิริเวสมาศ: นำ�หนังสือพิมพ์ที่มี อายุเพียงวันเดียวแต่ท�ำ หน้าทีบ่ นั ทึกเหตุการณ์ เล่า เรื่องที่เกิดขึ้นและเป็นไปในชั่วขณะนั้นมาสร้างงาน ศิลปะ โดยให้ภาษาและภาพในวัสดุชว่ ยเล่าเรือ่ งผ่าน รูปทรงที่ถูกกำ�หนดขึ้นใหม่โดยศิลปิน ญาณวิทย์ กุญแจทอง: นำ�ผลของการละเลย ไม่ใส่ใจและเมินเฉยต่อการเรียกร้องของธรรมชาติ คือเหตุการณ์มหาอุทกภัยเมื่อปี 2554 มาสร้างงาน ศิลปะ ซึ่งในความเสียหายใหญ่หลวงที่เกิดขึ้น สิ่งที่ อดทนต่อความเปลี่ยนแปลงได้ดีกลับเป็นสิ่งที่มา จากธรรมชาติเช่นกัน นอกจากนี้ ใ นช่ ว งต้ น เดื อ นพฤศจิ ก ายนนี้ นิทรรศการศิลปะเพื่อลดการ “ทิ้ง” เพิ่มการ “Think” เตรียมจัดกิจกรรมเสวนา อาร์ตติสทอล์ก ถ่ายทอด การทำ�งาน แนวคิดสร้างสรรค์ศิลปะของศิลปินอีก ด้วย
122 ThaiPrint Magazine
Print News
สมาคมการพม ิ พ ทย The Thai Printing Association
THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014 แหลงรวมขอมูลลาสุดของผูประกอบการใน อุตสาหกรรมการพิมพ หนังสือ "THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014" เลมใหมลาสุดที่รวมรายชื่อขอมูล ลาสุดของผูประกอบการในอุตสาหกรรมการพิมพ ทั้งกอนการพิมพ การพิมพ หลังการพิมพ รวมทั้งผูจำหนายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณดานการพิมพและการซอมบำรุง เหมาะสำหรับใชเปน คูมือการซื้อและเปนประโยชนตอองคกรของทาน
ใบสั่งซื้อหนังสือ ชื่อ - นามสกุล ................................................................... บริษัท ............................................... ที่อยู ............................................................................................................................................. โทรศัพท ............................................................................ โทรสาร ............................................. ขอสั่งหนังสือ THAI PRINTING DIRECTORY 2013-2014 จำนวน ................ เลม วิธีการชำระเงิน เงินสด 800 บาท / เลม (มารับดวยตนเอง) โอนเงิน 900 บาท/เลม (รวมคาจัดสงทางไปรษณีย) (ราคานี้ยังไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) สั่งซื้อไดที่สมาคมการพิมพไทย 311-311/1 ซอย 15 (ซอยศูนยวิจัย) ถนนพระราม 9 แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพ 10310 โทรศัพท 0-2719-6685-7 โทรสาร0719-6688
ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพไทย” ชื่อบัญชี ออมทรัพย เลขที่ 035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย สาขา ถนนพระราม 4 หมายเหตุ : กรุณาสงแฟกซหลักฐานการโอนเงินพรอมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ 120 ThaiPrint Magazine
105 Ad 115 Ad Thai The print2 Thai Printing_pc3.indd #97_pc3.indd 105 115
4/5/2556 2/3/2556 22:49:40 11:20:59
Print News 4th International Packaging and Printing Exhibition for Asia
28 - 31 PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 Aug 2013
BITEC | Bangkok Halls 102 – 104
gister at
k-print.de
promotion code and gift when you visit!
by :
ter t e b ess in ond s u b bey s er
d
bor
Jointly organized by :
งานแสดงการพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน โชว์นวัตกรรมเทคโนโลยีเครื่องจักรที่ทันสมัย ทางด้านบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา มีการเปิดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 ที่ไบเทคบางนา ซึ่งถือว่าเป็นงานแสดง การพิมพ์ที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียนโดยปีนี้ คุณประเสริฐ บุญชัยสุข รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธานในพิธเี ปิด แต่เนือ่ งด้วยท่านติด ภาระกิจส�ำคัญ จึงได้มอบหมายให้ คุณอาทิตย์ วุฒคิ ะโร รองปลัดกระทรวง อุตสาหกรรมมาเป็นประธานแทน โดยกล่าวถึงกระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะองค์กรของรัฐ มีภารกิจที่ส�ำคัญ คือ การส่งเสริมและสนับสนุน ภาคอุตสาหกรรมไทยให้แข็งแกร่งและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล ผม รูส้ กึ เป็นเกียรติและยินดีอย่างยิง่ ที่ได้มาร่วมพิธเี ปิดในงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 อย่างเป็นทางการในวันนี้และขอชื่นชมสมาคม การพิมพ์ไทย สมาคมบรรจุภัณฑ์ไทย และบริษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเซีย ทีร่ ว่ มกันจัดงานแสดงสินค้าระดับนานาชาติขนึ้ ในประเทศไทยเป็น ครั้งที่ 4 นับเป็นโอกาสอันดีที่การจัดงานแสดงสินค้านานาชาติที่ยิ่งใหญ่ ในภูมิภาคเอเชียนี้ ได้จัดขึ้นที่ประเทศไทยเพื่อสนับสนุนทิศทางอุตสาห
The Thai Packaging Association
The Thai Printing Association
126 ThaiPrint Magazine
กรรมบรรจุภณ ั ฑ์และการพิมพ์ไทย สู่การเป็นผู้น�ำในอาเซียน อีกทั้ง การจัดงานดังกล่าวจะเป็นเวทีที่ ส�ำคัญเพือ่ อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ และการพิมพ์ของไทยที่จะน�ำไปสู่ การพัฒนาและยกระดับภาคอุต สาหกรรมการผลิตและบริการให้ มีมาตรฐานสากล สามารถแข่งขัน ในเวทีโลก สามารถเชื่อมโยงอุต สาหกรรม และการสร้างเครือข่าย ธุรกิจ การเจรจาการค้าจากนานา ประเทศทั่วโลก และยังช่วยผู้ประ กอบการให้เข้าถึงเทคโนโลยีที่ทัน สมัย เพื่อทดแทนการขาดแคลน แรงงานและลดต้นทุนการผลิต อีก ทั้งเมือ่ ก้าวเข้าสูก่ ารเปิดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 จะท�ำให้ผปู้ ระกอบการไทยมีความ พร้ อ มที่ แข็ ง แกร่ ง และสามารถ รุ ก ขยายการลงทุ น และธุรกิจไป ในประเทศเพื่อนบ้านและขยาย ตลาดได้เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย
Pack Print International 2013
ปัจจุบันอุตสาหกรรมการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ไทยเป็นอันดับ 1 ของอาเซียน ทัง้ ในแง่มลู ค่ากว่า 3 แสน ล้านบาท และคุณภาพการพิมพ์ โดยคู่แข่งที่มีคุณภาพ การพิมพ์ใกล้เคียงไทย คือ สิงคโปร์ และมาเลเซีย แต่ ทัง้ สองประเทศไม่มกี ารพัฒนาเป็นคลัสเตอร์เหมือนไทย อุตสาหกรรมนี้มีอัตราการเติบโตปีละ 7-8% แต่คาดว่า หลังเปิดเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะเติบ โตเร็วยิง่ ขึน้ แนวทางการยกระดับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ ของไทยให้เป็นที่ยอมรับในภูมิภาคอาเซียนนั้น จะมุ่ง เน้นบรรจุภัณฑ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม ซึ่งจะสามารถเพิ่มราย ได้ให้กับประเทศมากขึ้น หากเปรียบเทียบเทคโนโลยี การบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ไทยนับว่าผู้ประกอบการ ไทยมีการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยล�้ำหน้าในภูมิภาคนี้ จึง ส่งผลให้มีการสั่งการพิมพ์และสั่งท�ำบรจุภัณฑ์ไทยมาก ขึ้น และยังมีโอกาสการเติบโตจากการส่งออกที่จะสูงขึ้น ในอนาคต ส�ำหรับอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ไทยจะเห็นได้ ว่าจะยังสามารถโตตามอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งประเทศ ไทยเป็นครัวโลกและแนวโน้มอุตสาหกรรมจะมุ่งพัฒนา บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและบรรจุภัณฑ์ ปลอดภัยจากการสัมผัสอาหาร ทีม่ มี าตรฐานสูงเพือ่ ตอบ สนองแนวโน้มความต้องการของตลาดโลกที่สูงขึ้น และกล่าวทิง้ ท้ายด้วยว่า ผมเชือ่ ว่าอุตสาหกรรม ทัง้ สองอุตสาหกรรมจะยังมีการเติบโตทีส่ ดใสและพัฒนา ยิง่ ๆ ขึน้ และมุง่ การเติบโตอย่างยัง่ ยืนการจัดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 จึงเป็นเวทีส�ำคัญระดับ
นานาชาติส�ำหรับอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ ของไทยซึ่งมีบริษัทชั้นน�ำจากทั่วโลกร่วมแสดงและเป็น เวทีสำ� หรับบริษทั ในประเทศไทยกับการจัดงานครัง้ นีด้ ว้ ย และมีผู้เข้าร่วมชมงานจากนานาประเทศซึ่งจะส่งผลดี ต่ออุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ไทยต่อไป
ThaiPrint Magazine 127
Print News
ต่อมา คุณนพรัตน์ เมธาวีกลุ ชัย ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานส่งเสริม การจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) กล่าวว่า ในนามของส�ำนัก งานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ ทีเส็บ ผมมี ค วามยิ น ดี ที่ ไ ด้ ส นั บ สนุ น การจั ด งานอย่ า งเต็ ม ที่ ง านแสดงสิ น ค้ า นานาชาติเพือ่ อุตสาหกรรมการบรรจุภณ ั ฑ์และการพิมพ์นานาชาติ ครัง้ ที่ 4 หรือ PACK PRINT INTENATIONAL 2013 และผมขอแสดงความยินดีกับ บริษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย (เอ็มดีเอ) สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทย และสมาคมการพิมพ์ไทย ที่ได้รว่ มจัดงานแสดงชัน้ น�ำระดับแถวหน้าของภูมิ ภาคนี้สาหรับอุตสาหกรรมการบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 เป็นเวทีที่เปิดโอกาส ให้บริษัทชั้นน�ำของโลกได้มาร่วมแสดงเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนวัตกรรม พร้อมทัง้ โซลูชนั่ ทีจ่ ะช่วยลดต้นทุนซึง่ จะช่วยขับเคลือ่ นอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์
128 ThaiPrint Magazine
และการพิมพ์ให้ก้าวไปข้างหน้า โดย การจั ด งานในปี นี้ ไ ด้ มี บ ริ ษั ท กว่ า 200 บริษัท จากทั้งในและต่างประ เทศจาก 20 ประเทศ ร่วมงาน จึง นับว่าเป็นงานแสดงระดับภูมภิ าคที่ นักอุตสาหกรรมในวงการให้ความ ส�ำคัญยิง่ อีกงานและจัดขึน้ ต่อเนือ่ ง ตลอดมาทุกๆ 2 ปี อีกทัง้ ยังมีความ ส�ำคัญเป็นเวทีการเจรจาทางการค้า และการสร้างเครือข่ายทางธุรกิจที่ ส�ำคัญทั้งธุรกิจในและต่างประเทศ ซึ่ ง เครื อ ข่ า ยเหล่ า นี้ จ ะสร้ า งผล ตอบแทนในอนาคตที่จะช่วยให้มี การพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต มาตรฐานการผลิต และการปฏิบัติ งาน ในฐานะทีเ่ ป็นหน่วยงานของ ภาครัฐ ทีเส็บมีพันธกิจที่จะสร้าง ความสามารถในการแข่งขันระยะ ยาวและสร้างพืน้ ฐานทีย่ งั่ ยืนให้กบั อุตสาหกรรมไมซ์ในประเทศไทยให้ สามารถแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิ ภาพและประสิทธิผลในระดับนานา ชาติ ซึ่งอุตสาหกรรมการจัดงาน
Pack Print International 2013 นิทรรศการได้มีบทบาทที่สาคัญใน การพั ฒ นาภาคอุ ต สาหกรรมและ เศรษฐกิจของประเทศ ทีเส็บได้ให้ การสนับสนุนอย่างเต็มที่ในการจัด งาน PACK PRINT INTENATIONAL 2013 ในครั้งนี้ ด้วยการจัดแคมเปญ ทางการตลาดที่ ใ ห้ สิทธิพิเศษกับผู้ เข้าร่วมชมงาน อาทิ แคมเปญ 100 A-HEAD และ BE My Guest ซึง่ ภาย ใต้โครงการนี้ ทีเส็บในฐานะหุ้นส่วน พันธมิตร พยายามช่วยดึงผู้เข้าชม งานที่มีคุณภาพจากต่างประเทศ ทีเส็บคาดว่าแคมเปญเหล่านี้ จะช่วยส่งเสริมการตลาดในต่างประ เทศและโอกาสในการสร้างเครือข่าย กับกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศเป้า หมาย เรามีความมั่นใจว่าแคมเปญ การสนับสนุนการจัดงานลักษณะนี้ จะช่วยสร้างการเติบโตและสร้างมูล ค่าทางเศรษฐกิจใหม่ทึ่จะช่วยเพิ่ม รายได้ให้กบั ประเทศ โดยเฉพาะการ จัดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 ในประเทศไทยในปีนี้ คาดว่าจะสร้างรายได้เป็นจ�ำนวนถึง 107. 5 ล้านบาทเข้าสู่ประเทศ ท้ายทีส่ ดุ ผมมัน่ ใจว่าการจัด งานแสดงสินค้าครั้งนี้จะเป็นงานที่ ประสบความสาเร็จในระดับภูมิภาค เอเชียและขอให้ทกุ ท่านประสบความ สาเร็ จ ทุ ก ประการในการจั ด งาน ตลอด 4 วันนี้ครับ
ถัดมา คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ได้ขึ้นกล่าวบนเวทีว่า ในนามของสมาคมการพิมพ์ไทย ผู้ร่วมจัดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 งานแสดงสินค้านานาชาติเพื่อ อุตสาหกรรมการบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ในครั้งที่ 4 ซึ่งเป็นงานแสดง สินค้าระดับภูมิภาคเอเชียที่ส�ำคัญอีกงาน ผมรู้สึกมีความยินดีอย่างยิ่งที่ ได้มากล่าวต้อนรับและขอขอบคุณท่านประธานสภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ที่ได้ให้เกียรติมาเป็นประธานในงานแถลงข่าว PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 พร้อมทั้งแขกผู้มีเกียรติและสื่อมวลชนทุกท่าน ที่ได้สละเวลาอันมีค่ามาร่วมงานในวันนี้ ซึ่งการจัดงานดังกล่าวร่วมจัด โดย 3 สมาคม คือ สมาคมการพิมพ์ไทย สมาคมการบรรจุภัณฑ์ไทยและ บริษัท เมสเซ่ ดุสเซลดอร์ฟ เอเชีย โดยต้องการให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ กลางการจัดงานในระดับภูมิภาคเอเชียเพื่ออุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์และ การพิมพ์ งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 หรือ PPI 2013 ในปีนี้ได้มีบริษัทชั้นน�ำจากทั่วโลกกว่า 220 บริษัท จาก 20 ประเทศ และ เป็นบริษัทตัวแทนชั้นน�ำจากไทยกว่า 90 บริษัท ที่ร่วมแสดงคาดว่าจะมีผู้ เข้าชมงานกว่า 20,000 คนจากทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งจากประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อพร้อมเชื่อมโยงทั้งภาคอุตสาหกรรม และภาคธุรกิจสู่การเปิดเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ที่ก�ำลังจะมาถึงนี้ ประเทศไทยในฐานะผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ที่ มีศกั ยภาพการผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพและมาตรฐานสากล จะได้ประโยชน์สงู สุด จากการจัดงานดังกล่าวนี้ คือ เพือ่ ใช้เป็นเวทีสง่ เสริมสนับสนุนอุตสาหกรรม การบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ไทยให้พัฒนาความแข็งแกร่งยิ่งขึ้น ทั้งภาค การผลิตและการบริการและการแลกเปลี่ยน การเจรจาทางการค้าการ สร้างเครือข่าย เพื่อเปิดตลาดทั้งในและต่างประเทศ เพื่ออนาคตที่สดใส อีกทัง้ การเชือ่ มโยงเครือข่ายทางธุรกิจในระดับเวทีโลก พร้อมการน�ำเสนอ เทคโนโลยีที่ทันสมัย นวัตกรรมใหม่ๆ จากการจัดงาน PACK PRINT ThaiPrint Magazine 129
Print News INTERNATIONAL 2013 ในครั้งนี้ ซึ่งอุตสาหกรรมในกลุ่มสิ่งพิมพ์ของไทยมี มูลค่ากว่า 100,000 ล้านบาท จุดแข็งทีส่ ำ� คัญ คือ คุณภาพการพิมพ์ทดี่ มี นี กั ออกแบบกราฟิกฝีมือเยี่ยม เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เป็นอุตสาห กรรมทีม่ คี รบวงจรทัง้ ซัปพลายเชนในประเทศ (ต้นน�ำ้ –กลางน�ำ้ -ปลายน�ำ้ ) และ มีการรวมตัวกันเป็นคลัสเตอร์ทเี่ ข้มแข็ง มีการจัดตัง้ นิคมอุตสาหกรรมการ พิมพ์และบรรจุภณ ั ฑ์ ซึง่ เป็นการสร้างภาพลักษณ์ดา้ นความพร้อมของอุตสาห กรรมอย่างชัดเจน ประกอบกับชื่อเสียงจากการประกวดงานพิมพ์ในระดับ ระดับนานาชาติ ส่วนตลาดส่งออกหลักของหนังสือและสิ่งพิมพ์ของไทยได้ แก่ประเทศสหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย สิงคโปร์ และเวียดนาม และที่ส�ำคัญ การเปิดเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 จะเป็นการเปิด โอกาสให้กับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการพิมพ์ของไทยได้ขยายธุรกิจ และเข้าสู่ตลาดที่มีขนาดใหญ่มีประชากรรวมกว่า 600 ล้านคน จึงเชื่อว่าจะ สามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออกในอาเซียนและรุกเข้าสู่ตลาดประเทศเพื่อน บ้านอย่างกัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนามได้อย่างมีศกั ยภาพ เนือ่ งจาก ตลาดสิง่ พิมพ์ในประเทศดังกล่าวยังไม่โตเท่าเมืองไทย ผมหวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่า งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 จะเป็นเวทีสำ� คัญเพือ่ รองรั บ การขยายธุ ร กิ จ ที่ มี ค วาม ต้องการและก้าวทันเทคโนโลยีที่ทัน สมั ย เพื่ อ สิ น ค้ า คุ ณ ภาพมาตรฐาน สากลเป็ น ที่ ย อมรั บ ในตลาดโลก โดยที่ ผู ้ ป ระกอบการไทยสามารถ แข่งขันในเวทีโ ลก และสามารถเพิ่ม ศั ก ยภาพก�ำลังการผลิตสินค้าเพื่อ รองรับปริมาณการบริโภคที่มีมากขึ้น ของอุ ต สาหกรรมทั้ ง ในและต่ า ง ประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และหลังจากนัน้ Mr. Gernot Ringling Managing Director, Messe Düsseldorf Asia กล่าวว่า Members of the media, distinguished guests, ladies and gentlemen. A very warm welcome to the opening of the fourth edition of PACK PRINT INTERNATIONAL. It is indeed a pleasure for me to be here in Bangkok and to see so many of you present here today. Thank you for taking time off from your busy schedule to join us for this occasion. I would especially like to extend my sincere appreciation to our Guest-of-Honour, His Excellency Khun Witoon Simachakedee for delivering the speech on behalf of the Minister of Industry, Khun Prasert Boonchaisuk, and gracing the opening of this very important industry exhibition. PACK PRINT INTERNATIONAL brings together the synergistic industries of printing and packaging under one roof to introduce the latest in cost-effective solutions, innovative technologies, machinery and equipment to the printing and packaging industries in Thailand and Southeast Asia. 130 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013 These industries are playing significant roles in driving the regional manufacturing sector to greater heights. With the theme ‘better business beyond borders’, PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 promises to provide an international platform for enhanced business opportunities by showcasing new technologies, innovations and cost effective solutions from the world’s best market leaders whose technologies meet the industry’s current expectations from the whole region. The printing industry is constantly undergoing changes in demand. Buoyant market factors like fast-changing retail trends and high speeds of production have pushed for increased productivity in printing and packaging. The global market for printing is forecast to reach USD 724 billion by 2014 and Asia is expected to hold 34.9% of this. Thailand is strengthening its position as a regional printing hub and is expected to reap a good share from this market. The packaging industry is expected to reach USD 11.1 billion by 2016 with the food and beverages sector being the key growth driver in Thailand.
และถัดมา คุณไชยวุฒิ พึ่งทอง นายกสมาคมบรรจุภัณฑ์ไทย กล่าวว่า ในนามสมาคมบรรจุภัณฑ์ไทยผู้ร่วมจัดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 ผมรูส้ กึ เป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิง่ และได้เล็ง เห็นว่าการจัดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 ได้จัดต่อเนื่อง ในประเทศไทยทุก 2 ปี และจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 4 ในปีนี้จะช่วยยกระดับ อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ของไทยให้มีศักยภาพสูงขึ้นทั้ง ภาคการผลิตและการบริการให้มมี าตรฐานและคุณภาพในระดับสากล โดย ผู้ประกอบการไทยจะได้สัมผัสเทคโนโลยีที่ทันสมัยใหม่ล่าสุดจากบริษัท ชัน้ น�ำทัว่ โลกทีเ่ ปิดโอกาสทางธุรกิจในการเจรจาการค้าและซือ้ ในระหว่าง งาน นอกจากนีย้ งั มีการจัดการประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารอุตสาหกรรมการบรรจุ ภัณฑ์อาเซียนและกิจกรรมอืน่ ๆ อีกมากมายทีต่ อบรับการก้าวเข้าสูป่ ระชา คมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ไทยสามารถ สร้างมูลค่าและน�ำรายได้เข้าประเทศจากการส่งออกและใช้ภายในประเทศ มีมูลค่าทางการตลาดกว่า 3 แสนล้านบาท โดยสัดส่วนของอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์ประมาณร้อยละ 50% และส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 50% เป็น อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ที่เกิดจากการใช้โดยตรงและทางอ้อม จึงถือเป็นอุต สาหกรรมที่ยังสดใสอยู่มาก ส�ำหรับโอกาสทางการค้าและการขยายตัว ตลอด หลังจากที่เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี พ.ศ. 2558 อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละการพิ ม พ์ ข องไทยจะมี ก ารส่ ง ออกปี ล ะ ประมาณ 6-7 หมื่นล้านบาทและอาจจะไปถึงกว่า 1 แสนล้านบาทต่อปี แต่อุตสาหกรรมดังกล่าวยังมีประเทศคู่แข่ง เช่น จีน ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย มาเลเซียและสิงคโปร์ ซึง่ ผูป้ ระกอบการไทยจะต้องปรับปรุงผลิตภัณฑ์ของ ตัวเองโดยมุง่ ตอบสนองลูกค้าเป็นหลักและต้องเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ขณะนี้ผู้ประกอบการไทยได้พร้อมรุกเข้าไปลงทุนและขยายฐาน การผลิตไปในประเทศเพื่อนบ้านนับว่าเป็นก้าวส�ำคัญของอุตสาหกรรม บรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละการพิ ม พ์ ไ ทยอี ก ระดั บ หนึ่ ง ที่ มี ศั ก ยภาพและมี ค วาม ThaiPrint Magazine 131
Print News
พร้ อ มในการขยายฐานการผลิ ต ไปในประเทศเพื่ อ นบ้ า นจากการเปิ ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีตลาดขนาดใหญ่ประชากรรวม 600 ล้านคน และเป็นการขยายฐานการผลิตเพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิตสินค้าเพื่อรองรับ ปริมาณความต้องการสินค้าที่มีเพิ่มมากขึ้นทั้งในและต่างประเทศ ส�ำหรับ ตลาดในประเทศของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์ไทยแนวโน้มและทิศทางจะยัง อยู่ในช่วงขาขึ้นและโตตามศักยภาพของผู้บริโภคโดยมีการใช้บรรจุภัณฑ์ที่ มากขึ้นจากเป้าหมายของการขยายตัวของโมเดิร์นเทรดที่เพิ่มจ�ำนวนขึ้น และการเข้ามาลงทุนของต่างชาติในประเทศไทย เช่น เทสโก้โลตัส หรือร้าน ค้าคอนวีเนียนสโต 7-11 แฟมิลี่มาร์ท และลอว์สันจากญี่ปุ่นเป็นต้น อัตรา การเติบโตบรรจุภัณฑ์ถ้าแยกตามประเภทคาดว่าจะมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย ดังนี้ กลุ่มสินค้า Flexible ประเภทพลาสติกฟิล์มมีอัตราการเติบโตประมาณ ร้อยละ 8-10% ประเภทกระป๋องและแก้วไม่โตมากโดยเฉลี่ยประมาณร้อย ละ 5-6% ประเภทขวดพลาสติก Prt ยังเติบโตตามปริมาณและการเพิ่มและ การขยายตัวของอุตสาหกรรมน�้ำดื่มเป็นหลัก งาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 จึงเป็นโอกาสที่ผู้ ประกอบการไทยใช้เวทีดงั กล่าวเพือ่ เข้าถึงเทคโนโลยีทที่ นั สมัย เพือ่ ความได้ เปรียบในการใช้เทคโนโลยีทั้งเพื่อการผลิตสินค้าคุณภาพที่ได้มาตรฐาน
132 ThaiPrint Magazine
สากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน การแข่งขันกับประเทศที่เป็นคู่แข่ง ส� ำ คั ญ ของไทยและเพื่ อ ลดต้ น ทุ น การผลิตและทดแทนแรงงานที่ขาด แคลนอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งขณะนี้ถือ ว่าผู้ประกอบการอุตสาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์และการพิมพ์ไทยสามารถเข้า ถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัยและต้นทุน ของเครือ่ งจักรได้งา่ ยขึน้ และปัจจุบนั แนวโน้มเทคโนโลยีการพิมพ์บรรจุ ภัณฑ์ด้วยระบบดิจิตอลได้มีบทบาท มากขึ้นทีเดียว ปัจจุบันกระแสของ โลกก�ำลังใช้ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็นข้อกีดกันทางการค้า โดยมองว่า Green Packaging และบรรจุภัณฑ์ ชีวภาพ ควรให้ภาครัฐและผูป้ ระกอบ การรายใหญ่ เ ป็ น ผู ้ ก� ำ หนดเทรนด์ เนื่องจากต้นทุนยังสูง ซึ่งเทคโนโลยี ยังเป็นการน�ำเข้าอีกทัง้ ผูป้ ระกอบการ และผู้บริโภคในอีก 5-10 ปีจากนี้ไป คือ การพัฒนารูปแบบ (ผูบ้ ริโภค) จิต ใต้ ส� ำ นึ ก ของผู ้ บ ริ โ ภคและภาครั ฐ เองจะต้องให้การสนับสนุนในการให้ สิทธิประโยชน์ทางภาษีส�ำหรับการ ตั้ ง โรงงานผลิ ต พลาสติ ก ชี ว ภาพที่ ย่อยสลายได้
Pack Print International 2013
หลังจากจบพิธีเปิดงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 อย่างเป็นทางการ ประธานในพิธีการ ได้เข้าเยีย่ มชมบูธต่างๆ อย่างเป็นทางการ พร้อมทัง้ คณะ ผูเ้ ข้าร่วมงาน ในวันนัน้ ก็เริม่ เข้าสูง่ านเพือ่ เลือกชมเครือ่ ง จักรและเทคโนโลยีการพิมพ์จากบริษทั ชัน้ น�ำทัว่ โลกทีข่ น เครือ่ งพิมพ์ทมี่ เี ทคโนโลยีทนี่ ำ� สมัยทีส่ ดุ มาให้ผปู้ ระกอบ การไทยได้เห็นประสิทธภาพงานพิมพ์ที่ทันสมัยที่สุดใน ยุคนี้ มีอะไรกันบ้าง ไปชมกันครับ
ThaiPrint Magazine 133
Print News
ก่
อนอื่นต้องขออภัยก่อนครับ ใจจริงก็อยากจะแนะน�ำให้ทุกบูธ แต่เนื่องจากภายในงานมีบูธเป็น จ�ำนวนมาก จะให้แนะน�ำทั้งหมด คาดว่าหน้ากระดาษคงจะไม่พอ แต่ผมก็จะเก็บภาพบรรยากาศภายในงาน มาให้ได้เยอะที่สุด แต่ถ้าหากมีตกหล่นไปบ้างก็ต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ผมขอชื่นชมผู้ร่วมแสดงสินค้า ในงานนี้ทุกรายที่ได้น�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาให้ได้ชมกันอย่างจุใจของนักอุตสาหกรรมการพิมพ์และ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ทั้งเครื่องหลังการพิมพ์ มีทั้งเครื่องตัด เครื่องพับ เครื่องไสกาว เครื่องรัด รอยพับ เครื่องเข้าเล่มและอีกมายมาย CANON
>>> เปิดตัวเครือ่ งพิมพ์ เวอริโอพริน 135 เป็นเทคโนโลยีผสมผสานระหว่าง Oce และ CANON จุดเด่น copy press ผสมกลับมาเป็นแมกเนติดัม สร้างประจุในตัวเองได้ ประหยัดพลังงานกว่า ความร้อนต�ำ่ กว่าเหมาะ กับพรินออนดีมาน ข้อดีเรือ่ งการประหยัดพลังงาน กระดาษหนากระดาษบาง จะพิมพ์ได้ดว้ ยความเร็วคงที่ ระบบ ระบายความถ่ายเทความร้อนสูก่ ระดาษ direct press มีระบบสายพาน กระดาษไม่สมั ผัสกับดัมโดยตรง พิมพ์ดว้ ย ระบบกดอัดลงบนเนื้อกระดาษ ท�ำให้คงทนอยู่นาน เก็บได้ 100 ปี การพิมพ์แบบ offset และ digital จะมีความ แตกต่างกันเล็กน้อย แต่ดิจิตอลจะคมชัดกว่า พิมพ์แรกเป็นออฟเซท ด้วยจ�ำนวนมาก ครั้งที่สองจะพิมพ์น้อย ใช้ออนดีมานแทน อาจจะสลับกันได้ การไล่เฉดจะเป็น ลายส�ำหรับดิจติ อล แต่ออฟเซทจะเรียบ กลุม่ ลูกค้า โรง พิมพ์ทวั่ ไป ก�ำหนดราคาขึน้ กับการประกอบ สามารถ ต่อได้ เป็นแบบโมดูล เปิดตัวไปแล้วไม่ใช่ครัง้ แรก ตัว ล่าสุดใช้งานง่าย หน้าจอเป็นระบบสัมผัส รองรับมัลติ ฟังก์ชนั่ สามารถพรีววิ ทีละหน้าและสามารถแก้ไขสลับ หน้าได้เลย รวมหลายงานเป็นเล่มเดียวได้ ลูกเล่นเยอะ ใช้หมึกโทนเนอร์ผงสิง่ แวดล้อม ไม่มขี นาดกระดาษ A3
FUJI XEROX
>>> เปิดตัว iGEN 4 DIAMOND Edition เครื่องพิมพ์ดิจิตอลคุณภาพสูง ระดับ production ที่ผ่านการ เจียระไนดุจเพชร จุดเด่นด้านผลผลิตที่สูง การพิมพ์จะอยู่ที่ 110 แผ่นต่อนาที พิมพ์ส่ีสี ระบบอัตโนมัติทุกอย่าง ตั้งแต่ถาดป้อนกระดาษ ระบบป้องกันการติดซ้อน การลงหมึก ตรวจสอบการลงสี มีการปรับให้การพิมพ์ล�ำดับ พิมพ์ลงหน้าหลัง ปรับให้เที่ยงตรง การบริหารจัดการสี color management tool การวัดค่าสี สีเพี้ยน หยุดการ ท�ำงานเพือ่ ปรับค่าสี ความชาญฉลาดจากระบบจัดการ อัตโนมัติ การบริหารจัดการ ง่าย มีปมุ่ เดียว ท�ำทุกอย่าง ส่วนสุดท้ายต่อระบบเพิ่มเติมได้ ลูกค้า โรงพิมพ์ งาน คุณภาพสูง ราคา 20 ล้านบาท เปิดตัวครั้งแรกที่เมือง ไทย รับประกัน 5 ปี สัญญาบริการ ครอบคลุมทุกอย่าง มีลูกค้าสนใจพอสมควร กลุ่มลูกค้าตามหัวเมืองใหญ่ก็ ให้ความสนใจ ธุรกิจดิจติ อลโตเรือ่ ยๆ น�ำเสนอให้ลกู ค้า ทีม่ คี วามพร้อมจริงๆ ถ้าเริม่ ต้นมีโซลูชนั่ เริม่ เช่นกัน 134 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013 RICOH THAILAND
>>> เปิดตัวเครือ่ งพิมพ์ขาวด�ำคุณภาพสูง Pro 8120s ครัง้ แรก คุณสมบัตเิ ด่นด้านคุณภาพการพิมพ์ทมี่ ี ความละเอียด 1200x4800 dpi ความเร็วในการพิมพ์ 135 หน้าพิมพ์ต่อนาที รองรับขนาดกระดาษ 330 x 488 มม. เหมาะส�ำหรับธุรกิจสิ่งพิมพ์ โรงพิมพ์ ห้างร้านทั่วไป รองรับงานพิมพ์ที่จำ� นวนไม่มาก ท�ำคู่มือ จ�ำนวนหลัก พันชุด ราคายังไม่ได้กำ� หนด แต่ไม่เกิน 3 ล้านบาท อายุ การใช้งาน 5-10 ปี มีบริการหลังการขาย จะคิดเงินเป็น หลายแผ่น ค่าหมึกฟรี อะไหล่เปลี่ยนฟรี มีซื้อขาด เช่า เช่าซือ้ จุดเด่น ใช้งานง่าย คุณภาพสูง บ�ำรุงรักษาง่าย หมึกหลอด หมื่นแผ่น พิมพ์ 10% ของหน้ากระดาษ จะได้ 50,000-100,000 แผ่น พร้อมเก็บเล่มอัตโนมัติ หลังพิมพ์
SANSIN
>>> เครื่องพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ เครื่องกระ บวนการหลังพิมพ์ ขายเครือ่ ง ไดคัท ขึน้ รูป ลูกค้าเป็น โรงพิมพ์ บรรจุภัณฑ์จะเป็นกระดาษ พิมพ์เคลือบ ลามิเนต งานหนังสือและบรรจุภณ ั ฑ์ เคลือบเพือ่ ความ ทนทาน เคลือบหน้ากล่องเพื่อความสวยงาม และ ความทนทาน แข็งแรงขึ้น ลูกค้ามีสนใจเข้ามาซื้อใน งาน PPI 2013
HEIDELBERG
>>> ขอเสนอ เครื่องพิมพ์ออฟเซ็ท ใช้งานได้คุ้มค่า ราคาไม่แพง เครื่องพิมพ์สปีดมาสเตอร์ SM 74 ด้วยคุณสมบัตเิ ด่น ความเร็วสูงสุดในการพิมพ์ 15,000 แผ่นต่อชัว่ โมง สามารถใช้กบั กระดาษ ความหนาตัง้ แต่ 0.03 มม. ถึง 0.6 มม. รองรับขนาดกระดาษใหญ่สุด 20.87 x 29.13 นิ้ว ขนาดกระดาษเล็กสุด 8.27 x 11.02 นิ้ว คุณภาพการพิมพ์เทีย่ งตรงด้วย โต๊ะควบคุม Prinect Press Center Compact พร้อมซอฟต์แวร์ Intellistart รองรับ ภาษาไทย มีระบบล้างอัตโนมัตทิ ำ� ให้สะดวกในการบ�ำรุงรักษา ตัง้ เครือ่ งได้รวดเร็ว เหมาะส�ำหรับงานพิมพ์เชิง พาณิชย์ทวั่ ไปด้วยระบบอัตโนมัตทิ หี่ ลากหลาย ช่วยเพิม่ ก�ำลังการผลิตงานพิมพ์ทสี่ งู ขึน้ พิมพ์บนกระดาษบรรจุภณ ั ฑ์ กล่อง กระดาษหนา นอกจากนีย้ งั มีเครือ่ งจักรรองรับ งานพิมพ์ครบวงจร ซอฟต์แวร์ ลดเวลาตัง้ เครือ่ ง ส�ำหรับ การออกงาน PPI 2013 ในครัง้ นี้ บริษทั ฯ ต้องการน�ำ เสนอในเรือ่ งของ short run printer เป็นแนวโน้มในตลาด การพิมพ์งานยอดสัน้ การท�ำโฆษณาหลากหลายปริมาณ น้อย โดยมีเครือ่ งพิมพ์แบบดิจติ อลและออฟเซททีห่ ลาก หลาย ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ท�ำให้ลกู ค้า ส่งมอบงานพิมพ์คณ ุ ภาพสูง เพิม่ ผลผลิต และเพิม่ ผล ก�ำไรได้ ThaiPrint Magazine 135
Print News KBA เยอรมัน
>>> เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 5 สี RAPIDA 75 ครั้งแรก มีสีพิเศษ เหมาะกับงานกระดาษหนา บรรจุภัณฑ์ เคลือบเงาในตัวได้ พิมพ์ได้กระดาษบางถึงหนา เครื่องเหมาะกับโรงงานบรรจุภัณฑ์ พิมพ์ปริมาณไม่มาก การ ท�ำงานได้รวดเร็ว ใช้คนท�ำงานน้อย ประหยัดค่าแรง ส�ำหรับเครื่องพิิมพ์ รุ่นนี้จะราคาย่อมเยาว์ 700,000 กว่า ยูโร การสั่งซื้อจะใช้เวลาในการเตรียมเคร่ื่อง 3-4 เดือน มีลูกค้าสนใจมาซื้อในงาน ตลาดการพิมพ์จะทรงๆ ส่วน บรรจุภัณฑ์โตอยู่ จึงเน้นตลาดบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้ ยังน�ำเครื่องพับรุ่นล่าสุด M 80 แบรนด์เยอรมัน มา เปิดตัวครั้งแรกในโลกที่งาน PPI 2013 คาดว่าจะเริ่ม ขายปลายปีนี้ จุดเด่นเครือ่ งแบบโมดูลล่าร์ เปลีย่ นแปลง ได้ตามงานที่เปลี่ยนไป สามารถพับได้ 200 กว่าเมตร ต่อวินาที หรือเทียบเท่ากระดาษ A4 20,000 กว่าแผ่น ต่อวินาที เหมาะส�ำหรับกลุ่มลูกค้าที่ผลิตหนังสือ Brochure Releases
136 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013
ThaiPrint Magazine 137
Print News
138 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013
ThaiPrint Magazine 139
Print News
พ
ลาดไม่ได้กับบูธที่ทางสมาคมการพิมพ์ไทยจัดขึ้น ครั้งนี้เราได้รับการสนับสนุนบูธจากบริษัท ซี.จี.เอส. (ประเทศไทย) จำ�กัด ที่ช่วยออกแบบและติดตั้งให้อย่างสวยงาม ไม่ว่าใครที่เดินผ่านไปผ่านมา ต่างก็ต้องเข้ามาแวะถ่ายรูปกับบูธเราแทบทุกคน นอกจากนี้ ทางสมาคมยังจัดมุมนั่งพักผ่อนสบายๆ สำ�หรับท่านที่เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าจากการเดินชมบูธภายในงาน อีกทั้งยังมีขนม ชา กาแฟ และเครื่อง ดื่มทั้งร้อนเย็น นำ�มาเสิร์ฟให้ดับหิวดับกระหาย นอกจากนี้ เรายังมีบริการนวดแผนไทยมาบริการ ท่านถึงบูธกันเลยทีเดียว เรียกได้ว่า บูธของสมาคมการพิมพ์ไทยเป็นมุมสำ�หรับพักผ่อนสำ�หรับงานนี้ จริงๆ
140 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013
ThaiPrint Magazine 141
Print News
แ
ละวันสุดท้ายของงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 ตามธรรมเนียมของคณะ ผู้จัดงานนำ�โดย คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ที่ปรึกษาสมาคมการพิมพ์ไทย และคุณไชยวุฒิ พึ่งทอง นายกสมาคมบรรจุภัณฑ์ไทย ได้นำ�คณะกรรมการจัดงานเดินมอบเกียรติบัตรและถือเป็นโอกาสดีที่ผู้ ร่วมแสดงสินค้าและคณะผู้จัดงานได้มีโอกาสพบเจอกันทักทายกัน ถามถึงผลตอบรับที่ได้จากการจัด งานในครั้งนี้ประสบผลสำ�เร็จอย่างไรบ้าง พร้อมทั้งได้ถ่ายภาพไว้เป็นที่ระลึกสำ�หรับงาน PACK PRINT INTERNATIONAL 2013 ในครั้งนี้ิ และอีก 2 ปีต่อไป จะได้มีโอกาสมาร่วมแสดงสินค้ากันอีกในครั้ง ต่อไป
142 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013
ThaiPrint Magazine 143
Print News
144 ThaiPrint Magazine
Pack Print International 2013
ThaiPrint Magazine 145
World Legend
ส
วัสดีครับผู้อ่านทุกท่าน เมื่อฉบับที่แล้วเราได้เห็นหรือไม่ครับว่าสิ่งมหัศจรรย์เหล่านั้น เป็นความยิ่งใหญ่อลังการของโลกเราจริง และมีบางสิ่งที่ยังหาเหตุและผลมาอ้างอิงยีงไม่ได้เลยว่าจะ เป็นฝีมือของมนุษย์เป็นผู้สร้างหรือใครเนรมิตให้เป็นสิ่งมหัศจรรย์เกิดขึ้นได้ อย่างสโตนเฮนจ์ เมืองซัล ลิสเบอรี่ ประเทศอังกฤษ ผู้เขียนก็ยังสงสัยว่าในยุคนั้นมนุษย์มีเครื่องมืออะไรที่จะน�ำหินก้อมมหึมาขึ้น ไปเรียงได้อย่างนั้นแต่ก็ยากที่จะหาค�ำตอบได้ ฉบับนี้เราลองไปท�ำความรู้จักกับ 7 สิ่งมหัศจรรย์ในยุคกลาง กันครับว่ามีอะไรกันบ้าง เริ่มจาก... สุเหร่าเซนต์โซเฟีย เมืองคอนสแตนดิโนเปิล ประเทศตุรกี :Mosque of Hagia Sophia (Istanbul) สถานที่ตั้ง เมืองคอนสแตนดิโนเปิล ประเทศตุรกี ปัจจุบันสามารถเข้าเยี่ยมชมได้ สุเหร่าเซนต์โซเฟีย (Saint Sophia) หรือ โบสถ์ ฮาเจีย โซเฟีย ปัจจุบันเป็นที่ประชุมสวดมนต์ของชาวมุสลิม ในอดีตเป็นโบสถ์ ทางศาสนาคริสต์ พระเจ้าจักรพรรดิ์คอนสแตนตินเป็นผู้สร้างเมื่อประมาณคริสต์ ศตวรรษที่ 13 ใช้เวลาสร้าง 17 ปี เพื่อเป็นโบสถ์ของศาสนาคริสต์ แต่ถูกผู้ก่อการ ร้ายบุกท�ำลายเผาเสียวอดวายหลายครั้ง เพราะเกิดการขัดแย้งระหว่างพวกที่
สุเหร่าเซนต์โซเฟีย
146 ThaiPrint Magazine
นับถือศาสนาคริสต์กับศาสนาอิสลาม จนถึงสมัยพระเจ้าจัสตินเนียนมีอำ� นาจ เหนือตุรกี จึงได้สร้างโบสถ์เซนต์โซเฟีย ขึน้ ใหม่ ใช้เวลาสร้างฐานโบสถ์ 20 ปี ตัว โบสถ์ 5 ปี เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.1996 (ค.ศ1435) พระองค์ต้องการให้เป็นสิ่ง สวยงามทีส่ ดุ ได้พยายามหาสิง่ ของมีคา่ ต่างๆ มาประดับไว้มากมาย สร้างเสร็จ ก็ได้มีการเฉลิมฉลองกันอย่างมโหฬาร ต่อมาเกิดแผ่นดินไหวอย่างใหญ่ท�ำให้ แตกร้าวต้องให้ช่างซ่อมจนเรียบร้อย ในสภาพเดิมเมือ่ สิน้ สมัยของจักรพรรดิ จัสตินเนียน ถึงสมัยพระเจ้าโมฮัมเม็ด ที่ 2 มีอำ� นาจเหนือตุรกี และเป็นผูน้ บั ถือ ศาสนาอิสลามได้ดัดแปลงโบสถ์หลังนี้ ให้เป็นสุเหร่าอิสลาม แต่ยังคงความ งามไว้เช่นเดิม สุเหร่าเซนต์โซเฟียมีเนือ้ ที่ 700 ตารางเมตร ภายในมีเสางามค�้ำที่
Seven Wonders of the Middle World สลักอย่างวิจิตร และ ประดับไว้งดงาม 108 ต้น (ชั้นบนขนาดเล็ก 68 ต้น ชั้น ล่างขนาดใหญ่ 40 ต้น) มียอดเป็นโดม คล้ายซาลาเปา มีหอมินาเรสท์เป็นยอด แหลมๆ มากมาย เนือ่ งจากศิลปะแบบ คริสเตียนผสมกับอิสลามนีเ้ อง ท�ำให้มี ความสวยงามอันน่ามหัศจรรย์ สนามกีฬาโคลอสเซียม กรุง โรมของอิตาลี : The Roman Colloseum, Italy สถานทีต่ งั้ กรุงโรมประเทศ อิตาลี ปัจจุบัน สามารถเข้าเยี่ยมชมได้ สนามกีฬากลางแจ้งแห่งนี้เป็นสิ่งก่อ สร้ า งที่ มี ชื่ อ เสี ย งของโลกอย่ า งหนึ่ ง เป็นอนุสรณ์ที่ใหญ่โตของอาณาจักร โรมันสมัยโบราณสร้างขึ้นในระหว่าง พ.ศ. 615 ถึง 623 (ค.ศ. ที่ 72-80) ตัว สนามสร้างมีรูปเป็นตึกวงกลมก่อด้วย อิฐและหินขนาดใหญ่ วัดโดยรอบยาว 527 เมตร สูง 57 เมตร มี 4 ชัน้ ภายในมี อัฒจันทร์สำ� หรับคนนั่งดู จุคนดูประมาณ 80,000 คน ใต้อัฒจันทร์ และ ใต้ดินมีห้องส�ำหรับขังนักโทษที่รอการ ประหารชีวิตและสิงโตหลายร้อยห้อง ใช้เป็นสถานที่ให้นักโทษ ต่อสู้กับสิงโต ที่อดอาหาร หากนักโทษผู้ใดเอาชนะ ฆ่าสิงโตได้ด้วยมือเปล่าได้ก็รอดชีวิต ไป หรือไว้ใช้เป็นที่ประลองฝีมือในเชิง ฟันดาบของบรรดาเหล่าทาสให้ตอ่ สูก้ นั เอง ยิง่ ถ้าต่อสูก้ นั จนถึงสามารถฆ่าคูต่ อ่ สู้ตายก็จะได้รับเกียรติอย่างสูง เพราะ เป็นการต่อสู้ที่ชาวโรมันนิยมและยก ย่องกันมาก ปีๆ หนึ่งต้องสูญเสียชีวิต นักโทษและทาสไม่ตำ�่ กว่าร้อยคน สนาม กีฬาแห่งนี้จึงเป็นสิ่งก่อสร้างที่แสดงถึง ความรุง่ โรจน์ของอาณาจักรโรมันโบราณ แต่เมือ่ อาณาจักรโรมันเสือ่ มลง ก็ถกู ข้า ศึกท�ำลายหลายครั้งหลายหน ในปัจจุ บันเหลือแต่ซากโครงสร้างอันใหญ่โต มโหฬารไว้ให้ชม
ก�ำแพงเมืองจีน : The Great Wall, China สถานที่ตั้ง ประเทศจีน ปัจจุบนั สามารถเข้าเยีย่ มชมได้กำ� แพงเมืองจีนหรือก�ำแพงอิฐยักษ์ เป็นก�ำแพงกัน้ เมืองและกัน้ ประเทศทัง้ ประเทศ ตามพรมแดนด้านเหนือของจีน เป็นก�ำแพงทีย่ าว ใหญ่มหึมา หาที่ใดในโลกมาเปรียบ ไม่ได้อีกแล้ว มีขนาดกว้างตั้งแต่ 4.5 เมตร ถึง 7.5 เมตร (10 ฟุต) ซึง่ ทหารม้าเข้าแถวเรียง 8 ได้อย่างสบายๆ มีความสูงจาก พื้นด้านล่างตั้งแต่ 8 เมตร ถึง 9 เมตร (20-30 ฟุต หนา 15-25 ฟุต) สูงพอที่จะ ไม่สามารถปีนข้ามไปได้งา่ ยๆ เดิมเชือ่ ว่ามีความยาว 2,550 ไมล์ (2,400 กิโลเมตร) บนก�ำแพงทุกๆ ระยะ 200 เมตร (300 ฟุต) จะมีหอหรือป้อม ส�ำหรับตรวจเหตุ การณ์ มีป้อมมากกว่า 15,000 แห่ง สร้างสูงขึ้นไปอีก 3 เมตร ถึง 6 เมตร และมี ระฆังแขวนเพื่อตีบอกสัญญาณเกิดเหตุ ไว้ประจ�ำทุกหอ รวมทั้งหมดมีไม่ต�่ำกว่า 20,000 หอ เริ่มสร้างระหว่างปี พ.ศ. 300-329 (243-252 ปีก่อนคริสตกาล) ใน สมัยพระเจ้าซี่วังตี่ ใช้เวลาสร้างประมาณ 10 ปี และมีการสร้างต่อเติมอีกหลาย ครัง้ ใช้แรงงานเกณฑ์จากราษฎรทัง้ ประเทศนับจ�ำนวนล้านคน มีผเู้ สียชีวติ นับพัน นับหมืน่ เป็นสิง่ ก่อสร้างชนิดเดียวในโลกทีส่ ามารถมองเห็นเมือ่ มองจากดวงจันทร์ ในสมัยนัน้ เป็นสิง่ ก่อสร้างทีป่ อ้ งกันข้าศึกได้อย่างดีเยีย่ ม ปัจจุบนั ไม่มีความหมายใน ด้านป้องกันประเทศอีกแล้วคงมีค่าเป็นสิ่งก่อสร้างที่มหัศจรรย์อย่างหนึ่งของ โลก
สนามกีฬาโคลอสเซียม
ก�ำแพงเมืองจีน ThaiPrint Magazine 147
World Legend
เจดีย์กระเบื้องเคลือบเมืองนานกิง เจดีย์กระเบื้องเคลือบเมืองนานกิง ประเทศจีน : Porcelian Tower of Nanking สถานที่ตั้ง เมืองนานกิง ประเทศจีน ปัจจุบัน สามารถเข้าเยี่ยมชม ได้เจดีย์กระเบื้องเคลือบเมืองนานกิง เป็นสิ่งก่อสร้างเจดีย์รูปแปดเหลี่ยม สูง 9 ชั้น สูง 261 ฟุต หลังคามุงด้วยกระเบื้องเคลือบสีเขียว มีกระดิ่งแขวนไว้ 80 ลูก และโคมไฟประดับอีกหลายร้อยผูกแขวนไว้ตามชายคา ยอดเจดียเ์ ป็นรูปกลมปิด ทอง องค์เจดียก์ อ่ ด้วยอิฐประดับด้วยกระเบือ้ งเคลือบทัง้ หมด เดิมทีพทุ ธศาสนิกชน ชาวจีนเป็นผู้สร้างไว้เพียง 3 ชั้นใน ค.ศ. 1430 จักรพรรดิ์ยุ่งโล้แห่งราชวงศ์เหม็ง ได้โปรดให้จัดสร้างเสริมขึ้นไปอีกจนสูง 9 ชั้น มีสายโซ่โยงลงมา 8 เส้น มีกระดิ่ง แขวนตามสายโซ่ 72 ลูก เวลาลมพัดมีเสียงดังไพเราะมาก เพื่อเป็นอนุสรณ์ระลึก คุณบิดามารดา จักรพรรดิ์ยุ่งโล้ได้บรรจุเครื่องบูชาที่ท�ำด้วยของมีค่า พวกเงิน ทองค�ำและอัญมณีอนื่ ๆ จ�ำนวนมาก กล่าวกันว่า บนยอดเจดียม์ ลี กู บอลปิดทอง มีเหล็กวงแหวนล้อมรอบถึง 9 วงมีไข่มุก ขนาดใหญ่ 5 เม็ดอยู่ที่ปลายเป็นเครื่อง ลางบอกความมีโชคชัยของกรุงนานกิงเจดีย์นี้เคยถูกฟ้าผ่าและถูกพวกกบฎไต้ เผ็ง ท�ำลายเมื่อปี พ.ศ. 2396 (ค.ศ. 1853) เสียหายมาก ต้องมีการซ่อมแซมเพื่อ ให้สว่ นทีเ่ หลืออยูไ่ ด้อวดความงามอันน่ามหัศจรรย์ตอ่ ไป ส่วนของมีคา่ ภายในนัน้
ถูกปล้นสะดมสูญหายไปหมดแล้ว ถึง กระนัน้ ก็ยงั ได้ชอื่ ว่า เป็นเจดียท์ ที่ ำ� ด้วย กระเบื้องเคลือบวิจิตรงดงามมีค่าสูง ยิ่ง สโตนเฮนจ์ เมืองซัลลิสเบอรี่ ประเทศอังกฤษ : Stonehenge สถาน ที่ตั้ง เมืองซัลลิสเบอรี่ มณฑลวิลไซร์ ประเทศอังกฤษ ปัจจุบันสามารถเข้า เยีย่ มชมได้กองหินประหลาดนีอ้ ยูก่ ลาง ทุ่งนาแห่งเมืองซัลลิสเบอรี ห่างจาก กรุงลอนดอนประมาณ 10 ไมล์ ประกอบ ด้วยแนวหินขนาดมหึมาหินเรียงราย ราวๆ 3 กิโลเมตร และมีกลุ่มหินใหญ่ ประมาณ 112 ก้อน ตั้งโดดเดี่ยวอยู่ กลางทุ่งนา เป็นรูปวงกลมซ้อนกันอยู่ 3 วง บางก้อนล้มนอน บางก้อนตัง้ ตรง บางก้อนวางซ้อนทับอยู่บนยอดก้อน หินที่ตั้งอยู่สองก้อนวงกลมรอบนอก มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 100 ฟุต มี หินทั้งหมด 30 ก้อน แต่ละก้อนสูง 13 ฟุต วงกลมรอบกลาง มีเส้นผ่านศูนย์ กลางยาว 76 ฟุต มีหนิ ทัง้ หมด 40 ก้อน มีสองก้อนตั้งสูงถึง 22 ฟุต วงในสุด มี เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 50 ฟุต มีหิน ทั้งหมด 42 ก้อน ล้มบ้างตั้งสูงบ้าง หิน แต่ละก้อนหนักเป็นตันๆ เฉลี่ยแล้วสูง 4 เมตร หนัก 26 ตันมีผู้สันนิษฐานว่า ตั้งอยู่ในที่นั้นมาตั้งแต่ก่อนคริสตกาล
สโตนเฮนจ์ 148 ThaiPrint Magazine
Seven Wonders of the Middle World ถึง 1,700 ปี เป็นสิ่งก่อสร้างที่โดยไม่ มีร่องรอยของความเป็นมา ไม่มีใคร ทราบว่าใครเป็นผู้สร้าง, สร้างเพื่อวัตถุ ประสงค์อะไร? ที่น่าแปลกก็คือในบริเวณนั้นเป็นทุ่งกว้าง ไม่มีภูเขา และสิ่ง ก่อสร้างด้วยก้อนหินอื่นๆ อีกเลย จึง ท�ำให้สงสัยว่าผู้ก่อสร้างน�ำหินเหล่า นั้นมาจากไหน และไม่ปรากฏว่ามีการ ขนหรือสิ่งปรักหักพังในการก่อสร้าง บริเวณที่ดังกล่าว ใช้อะไรยกหินก้อนที่ หนักๆ หลาย ๆ ตันขึ้นวางซ้อนกันได้ ซึ่งอยู่สูงถึง 13 ฟุต นับเป็นสิ่งก่อสร้าง ที่มหัศจรรย์ที่ท้าทายความอยากรู้ของ มนุษย์ยุคปัจจุบันยิ่งนัก สุ ส านแห่ ง อเล็ ก ซานเดรี ย (คาตาโคมป์) : Catacombs of Alexandria Egypt เมืองอเล็กซานเดรีย ประเทศอียิปต์ สถานที่ตั้ง เมืองอเล็ก ซานเดรีย ประเทศอียิปต์ สามารถเข้า เยี่ยมชมได้สุสานแห่งอเล็กซานเดรีย เป็นอุโมงค์ที่เก็บศพและทรัพย์สมบัติ ของกษัตริยอ์ ยี ปิ ต์โบราณ อุโมงค์ฝงั ศพ นี้ มีชอื่ เรียกว่า คาตาโคมบ์ (Catacombs) เป็นอุโมงค์ที่สร้างด้วย หินก้อนใหญ่ๆ และขุดลึกลงไปเป็นชั้นๆ บางตอนลึก ถึง 21 ถึง 24 เมตร (70-80 ฟุต) มีทาง เดินกว้างถึง 1.2 เมตร (3-4 ฟุต) วกไป เวียนมา เป็นระยะทางหลายๆ กิโลเมตร ตามริมผนังของอุโมงค์เป็นช่องๆ ไว้ ส�ำหรับเป็นทีบ่ รรจุศพมีแท่นบูชาอยูห่ น้า ช่องบรรจุศพเหล่านั้น พร้อมตะเกียง ดวงเล็กๆ แขวนไว้ บางส่วนของอุโมงค์ ตกแต่งทัว่ ๆ ไปไว้อย่างวิจติ รงดงามและ ปัจจุบันยังคงมีสภาพสมบูรณ์ หอเอนเมืองปิซา : Leaning Tower of Pisa ประเทศอิตาลี สถาน ที่ตั้ง เมืองปิซา ประเทศอิตาลี ปัจจุบัน สามารถเข้าเยีย่ มชมได้หอเอนแห่งเมือง ปิซา เป็นหอคอยหินอ่อนที่พิศดาร สูง 54 เมตร (181 ฟุต) มี 8 ชัน้ แต่ละชัน้ มี เสาหินอ่อนทีส่ ลักลวดลายวิจติ รรองรับ
สุสานแห่งอเล็กซานเดรีย
หอเอนเมืองปิซา
ได้ลงมือสร้างเมื่อ พ.ศ. 1717 (ค.ศ. 1174) ไปเสร็จในปี พ.ศ. 1893 (ค.ศ. 1350) ใช้เวานานถึง 176 ปี ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใช้เวลาสร้างนานที่สุดในโลก ความน่า มหัศจรรย์อกี อย่าง คือ เมือ่ เริม่ สร้างได้ 4-5 ชัน้ หอนีเ้ ริม่ เอียงแต่ไม่ถงึ กับพังทลาย ลงมา เพราะแรงทีจ่ ดุ ศูนย์ถว่ งเมือ่ ลากดิง่ ลงมาไม่ออกนอกฐานจึงไม่ลม้ ยังทรงตัว อยูไ่ ด้ เมือ่ สร้างเสร็จยอดของหอเอียงออกจากแนวดิง่ ของฐานถึง 4 เมตร (14 ฟุต) และหอเอนนีช้ ว่ ยให้กาลิเลโอ นักวิทยาศาสตร์ ชาวอิตาเลียน ผูม้ ชี อื่ เสียงของโลก ได้ทดลองเรื่องอัตราเร็วของเทห์วัตถุที่ตกลงมาจากที่สูง ส�ำหรับ 7 สิง่ มหัศจรรย์โลกยุคโบราณนัน้ ถูกรวบรวมโดยกลุม่ นักปราชญ์ ชาวกรีก แต่เอกสารสูญหาย ต่อมา แอนติเปเตอร์ แห่งไซดอน นักเขียนชาวกรีก โบราณ ได้รวบรวมเอกสารใหม่หลงเหลือให้เห็นอยู่ในปัจจุบันเพียงแห่งเดียว คือ พีระมิดแห่งกีซาในอียปิ ต์ นอกนัน้ ถูกท�ำลายด้วยภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติและน�ำ้ มือ มนุษย์ ส�ำหรับฉบับนี้คงพอทราบถึงความมหัศจรรย์ในยุดกลางกันแล้วนะครับ อาจจะมีที่เดิมที่ถือว่าข้ามยุคแต่ต้องอ่านฉบับหน้าครับว่าสิ่งมหัศจรรย์ในยุค โบราณจะน่าตื่นตาตื่นใจขนาดไหนโปรดรอติดตามกันนะครับ...
ThaiPrint Magazine 149
Health
โรคกรดไหลย้อน - โรคกระเพาะ ความเหมือนทีแ่ ตกต่าง..
ซึ ส วัสดีครับผู้อ่านทุกท่าน วันนี้ผมนำ�สาระดีๆ เกี่ยวกับสุขภาพมาฝากกันนะครับ ่งการที่เราเอาใจสุขภาพนั้นย่อมไม่ส่งผลเสียต่อร่างกายเราอย่างแน่นอน เพราะทุก
วันนี้โรคภัยมีมากมายหลายโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับตัวเราโดยที่เราไม่รู้ตัว เพราะฉะนั้นเรามาทำ�ความรู้จักกับโรค ต่างๆ ที่อยู่ใกล้ตัวมากที่สุดครับซึ่งคนทั่วไปคุ้นเคยกันดีกับโรคกระเพาะอาหาร และเมื่อมีอาการปวดท้อง ปวดแสบร้อนในช่องท้องส่วนบน เรอเปรี้ยวหรือมีรสขมในปาก ก็มักจะคิดเอาเองว่าโรคกระเพาะ กำ�ลังมาเยือนเป็นแน่แท้ ทั้งที่ความเป็นจริงอาจกำ�ลังถูกโรคกรดไหลย้อน (GERD) เล่นงานเอาก็เป็นได้ เราลอง มาทำ�ความรู้จักกับโรคนี้กันครับ... กรดไหลย้อน เป็นผลมาจากกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อน ขึน้ มาทีห่ ลอดอาหาร ซึ่งกรดเหล่านี้มีความเข้มข้นสูง มาก ทำ�ให้เกิดอันตรายต่อหลอดอาหาร และเยื่อบุใน หลอดอาหารที่มีความบอบบาง กระทั่งทำ�ให้เกิดการ อักเสบตามมา ซึ่งโดยปกติแล้วกรดหรือน้ำ�ย่อยจะไม่ สามารถขึ้นไปอยู่ในหลอดอาหารได้ ยกเว้นในช่วงที่ กลืนอาหาร หรือช่วงที่กล้ามเนื้อหูรูดส่วนล่างมีการ คลายตัวอย่างผิดปกตินั่นเอง
อย่างไรก็ตามเกี่ยวกับ กรดไหลย้อน นี้ รศ.พ.ญ.วโรชา มหาชัย หัวหน้าหน่วยทางเดินอาหาร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เปิดเผยว่า โรคกรดไหลย้อน ถึงแม้ว่าจะไม่ใช่โรคร้ายแรงถึงชีวิตเหมือนโรคมะเร็ง หรือโรคหัวใจ แต่เป็นโรคที่สร้างความทุกข์ทรมานให้ กับผู้ป่วย ทำ�ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพ การทำ�งานลดลง
“เนื่อ งจากโรคกรดไหลย้ อ นจะมี อาการท้องอืดท้องเฟ้อร่วมด้วย คล้ายๆ กับอาการของโรคกระเพาะอาหาร จึงทำ� ให้คนส่วนใหญ่มกั จะเหมารวมว่า ตนเอง อาจจะเป็นโรคกระเพาอาหารและไปซื้อ ยาเคลือบแผลในกระเพาะอาหารมารับ ประทานเอง ทำ�ให้การรักษาไม่ตรงจุดโดย เฉพาะคนไทยเรามั ก จะชอบซื้ อ ยามา รับประทานเอง และคิดว่าการไปพบแพทย์ เป็นเรือ่ งใหญ่ ระยะหลังมานี้จึงพบโรค กรดไหลย้อนเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ”
150 ThaiPrint Magazine
กรดไหลย้อน
อาการของกรดไหลย้อน แบ่งเป็น 2 ระบบ ดังนี้ 1. อาการกรดไหลย้อน ที่ เกิดในหลอดอาหารจะมีอาการเจ็บ คอ กลืนลำ�บาก รู้สึกเหมือนมีก้อน อยูใ่ นลำ�คอ แสบลิน้ เรือ้ รัง จุกแน่น แถวๆ หน้าอกคล้ายอาหารไม่ยอ่ ย อาการนี้มั ก จะเป็ น มากขึ้ น หลั ง อาหารมื้อหลัก การโน้มตัวไปข้าง หน้าการยกของหนักหรือการนอน หงาย ที่สำ�คัญคือจะมีอาการแสบ หน้าอก เรอเปรี้ยว รู้สึกเหมือนมี กรดซึ่ ง เป็ น น้ำ � รสเปรี้ ย วหรื อ รส ขมไหลย้อนขึ้นมาในปาก ภาวะดัง กล่าวนีอ้ าจทำ�ให้เกิดหลอดอาหาร อักเสบ ถ้าเป็นมากจนเกิดแผลรุนแรง อาจทำ�ให้หลอดอาหารตีบหรือ เกิดการเปลี่ยนแปลงเซลล์ของเยื่อ บุอาหารได้ 2. อาการ กรดไหลย้อน นอกหลอดอาหาร จะมีเสียงแหบ เรื้อรัง มักมีเสียงแหบตอนเช้าหรือ มีเสียงผิดปกติไปจากเดิม ไอเรือ้ รัง รู้สึกสำ�ลักในเวลากลางคืนหรือใน บางรายอาจมีอาการทางระบบหายใจ เช่น หอบหืดหรืออาการเจ็บหน้าอก ได้ ดังนัน้ หากมีอาการเหล่านี้อาจ
เป็นสัญญาณทีบ่ ง่ บอกว่าคุณกำ�ลังถูก “โรคกรดไหลย้อน” คุกคาม ถามว่าโรคนีอ้ นั ตรายไหม คำ�ตอบ คือ ถ้าเป็นแล้วรีบรักษา หรือทำ� ให้อาการหายไปก็จะไม่มอี าการอย่างไร แต่หากปล่อยไว้เนิ่นนาน อาจทำ�ให้ หลอดอาหารเกิดการอักเสบ เป็นแผลรุนแรงจนตีบ หรือเป็นมะเร็งทีห่ ลอด อาหารได้ แต่...ความรุนแรงนีจ้ ะมีได้เพียง 1% เท่านั้น กลุ่มเสี่ยง กรดไหลย้อน โรคกรดไหลย้อน เป็นโรคยอดฮิตของหนุ่มสาววัยทำ�งาน ดารา นักแสดง โดยเฉพาะสาวออฟฟิศที่ชอบกินจุบกินจิบ กินอาหารไม่เป็น เวลาและเร่งรีบ รวมถึงผู้ชอบอาหารรสจัด ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ มีโอกาสเสี่ยง สูงหากมีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ เรอเปรี้ยว ปวดแสบร้อนบริเวณหน้าอก และลิ้นปี่แล้วลามขึ้นมาที่หน้าอกหรือคอ ควรปรึกษาแพทย์ นอกจากนี้ ยังสามารถพบได้ในเด็กทารกจนถึงเด็กโต ในเด็กเล็ก อาการที่ควรนึกถึงโรคนี้ ได้แก่ อาเจียนบ่อยหลังดูดนม โลหิตจาง น้ำ�หนัก และการเจริญเติบโตไม่สมวัย ไอเรื้อรัง หอบหืด ปอดอักเสบเรื้อรัง ในเด็ก บางรายอาจมีปัญหาการหยุดหายใจขณะหลับได้
ThaiPrint Magazine 151
Health วิธกี ารรักษากรดไหลย้อน โรคกรดไหลย้อนสามารถ รักษาให้หายได้โดยการรับประทาน ยากลุม่ ยาลดกรด แต่ถา้ เป็นมาก และเรือ้ รังควรได้รบั การตรวจรักษา โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง และรับ ยาทีต่ รงกับโรค ในบางรายทีอ่ าการ หนักอาจต้องเข้ารับการผ่าตัด ดัง นั้นหากมีอาการควรไปพบแพทย์ เพือ่ ตรวจวินจิ ฉัยอาการ ขณะเดียว กัน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ ดำ�เนินชีวิต จะให้ผลดีมากเช่นกัน ซึ่งผู้ป่วยกรดไหลย้อน ควรปฏิบัติ ดังนี้ • ลดน้�ำ หนักสำ�หรับผูท้ ม่ี นี �ำ้ หนักเกิน เพราะคนอ้วนจะมีความ ดันในช่องท้องสูงทำ�ให้กรดไหลย้อนได้มาก • งดบุหรี่ เพราะการสูบบุหรี่จะทำ�ให้เกิดกรดมาก ทำ�ให้ หูรูดอ่อนแอ • ใส่เสื้อหลวมๆ เพื่อลดแรงกดที่กระเพาะ • ไม่ควรจะนอน ออกกำ�ลังกาย หรือยกของหนัก หลังออกกำ�ลังกาย • งดอาหารก่อนนอน 3 ชั่วโมง • งดอาหารมันๆ อาหารทอด อาหารที่ปรุงด้วยหัวหอม กระเทียม มะเขือเทศ ช็อกโกแลต ถั่ว ลูกอม เนย ไข่ รวมทั้งอาหารที่ มีรสเผ็ด เปรี้ยว และเค็มจัด • รับประทานอาหารแค่พออิ่ม หรืออาจแบ่งอาหารเป็นมื้อ เล็กๆ ทานน้อย แต่บ่อย • หลีกเลี่ยง ชา กาแฟ น้�ำ อัดลม เบียร์ สุรา • เลี่ยงการนอนตะแคงขวา เพราะท่านี้จะทำ�ให้กระเพาะอยู่ เหนือหลอดอาหารอาจทำ�ให้อาการกำ�เริบได้ • นอนหัวให้สูงประมาณ 6-10 นิ้ว โดยหนุนที่ขาเตียง ไม่ ควรใช้หมอนหนุนที่ศีรษะ เพราะทำ�ให้ความดันในช่องท้องสูง
152 ThaiPrint Magazine
แม้ จ ะมี วิ ธี รั ก ษากรดไหล ย้อนหรือรู้วิธีช่วยบรรเทากรดไหล ย้อนแล้วก็ตาม หากยังคงปฏิบัติ หรือใช้วิถีชีวิตแบบเดิมๆ ไม่ยอม เปลี่ยนแปลง กรดไหลย้อนก็จะยัง คงย้อนวนเวียนกลับมาเหมือนเดิม นั่นเอง!!
Print Data อันดับที่
ประเทศ
1 สิ งคโปร์ 2 อินโดนีเซี ย 3 พม่า 4 ญี่ปุ่น 5 สหรัฐอเมริ กา 6 ฮ่องกง 7 สหราชอาณาจักร 8 เวียดนาม 9 ฟิ ลิปปิ นส์ 10 มาเลเซี ย รวม 10 รายการ รวมอื่นๆ รวมทุกประเทศ
2553 3.56 3.26 2.17 3.87 12.69 2.63 5.20 5.55 3.85 7.49 50.3 39.3 89.56
8.69 8.47 6.84 5.56 12.09 4.25 4.73 6.97 2.54 3.84 64.0 27.0 90.93
56.59 135.31 103.55 33.06 18.44 26.67 43.47 47.01 2.10 -58.16 27.04 -15.62 8.32
อัตราขยายตัว (%) 2553 2553 2554 2555 2555 2556 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) 21.11 162.43 3.97 12.91 7.49 3.64 24.12 33.26 2.43 26.85 60.93 4.32 -33.34 -27.61 14.17 18.05 110.03 2.93 -44.25 36.54 5.80 -8.53 -35.22 6.19 -60.79 139.11 4.30 -33.33 20.58 8.36 -12.50 32.45 56.12 -21.63 -12.35 43.88 -15.57 18.46 100.00 -81.44 136.31 27.12 -97.30 2.39 -99.80 19.64 87.66 168.52 427.98 -96.68 -26.07 -94.28
หนังสื อและสิ่ งพิมพ์ 2556 (ม.ค.-ก.ค.) 9.31 5.75 5.19 4.93 4.53 4.29 3.68 2.75 2.07 1.74 44.2 13.3 57.51
55.89 10.49 54.51 7.92 -19.53 27.71 -36.63 -14.52 -35.30 22.49 0.20 -18.73 -6.27
ตลาดส่ งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ มูลค่ า : ล้ านเหรียญ 2554 2555 2555 (ม.ค.-ก.ค.) 3.55 5.35 3.90 3.06 6.25 2.04 2.69 4.24 0.86 1.44 33.4 15.2 48.55 5.57 7.66 4.43 5.15 15.03 3.33 7.46 8.16 3.93 3.13 63.8 33.2 97.01
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สํานักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์ โดยความร่ วมมือจากกรมศุลกากร
9.55 9.31 7.52 6.11 13.30 4.67 5.20 7.67 2.80 4.22 70.36 29.64 100.00
สั ดส่ วน (%) 2554 2555 2555 2556 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) 7.31 16.19 11.02 10.00 8.03 9.03 6.31 8.57 12.88 7.87 4.20 7.46 5.54 6.39 8.74 4.78 1.78 3.60 2.97 3.02 68.78 76.90 31.22 23.10 100.00 100.00
5.74 7.90 4.56 5.31 15.49 3.43 7.69 8.41 4.05 3.23 65.81 34.19 100.00
ThaiPrint Magazine 153