R
esume ประวัต
ประวัติผู้เขียน
ตัวผมนั้นหรือ? ยังแทบคิดไม่ออกเลยว่าพ่อแม่ผมเลี้ยงยังไงให้ผมรักการถ่ายภาพ เรื่องของเรื่องมัน เริ่มต้นที่ผมเข้ามหาลัยฯ ได้สักพัก มีเพื่อนคนหนึ่งในสาขามีกล้องดิจิตอน DSLR มาถือถ่ายภาพเล่น ผมเลยเห็น ว่าโห โคตรเท่น์เลย “มันเริ่มขึ้นที่ผมคิดว่า..ถือกล้องแล้วเท่น์” พอผมมีความต้องการมากๆ ก็ดิ้นล้นทุกวิถีทาง เพื่อให้ครอบครัวซื้อกล้องให้ กล้อง DSLR กล้องตัวแรกของผมคือ canon 450D ทุกๆวันที่ผมมีมัน มันทำ�ให้ผม ต้องจับมันมาเล่นทุกครั้ง ทุกวัน และทุกเวลาเมื่อมีเวลาว่าง หรือไม่ว่างก็จะเอามาถือกล้องตัวนั้น และผมกลับคิด ได้อีกว่า ทำ�ไมไม่เอาเวลาถ่ายภาพเล่นๆ ที่ทำ�อยู่ ให้เป็นรายได้ระหว่างเรียนด้วยเลยล่ะ และการถ่ายภาพบุคคล Portrait นั้นเป็นรายได้ที่ได้ตรงไปตรงมามากสำ�หรับช่างภาพมือสมัครเล่นอย่างผม (เพราะถ่ายเสร็จได้เงินเลย) เมื่อถ่ายภาพแล้วได้เงิน จะรีรออะไรละ ?? ณ ตอนนั้นดีใจเป็นที่สุด และเริ่มสะสมอุปกรณ์เพิ่มเติม และเรียน รู้ไปเรื่อยๆ จังหวะชีวิตของผมเปลี่ยนไป คืออาจารย์ ในสาขาที่ผมเรียนคนหนึ่ง ที่ท่านดูแลเด็กหลัง ห้องอย่างพวกผมมาโดยตลอด ตัดสินใจสมัครเข้ารับการฝึกงาน “เป็นผู้ช่วยช่างภาพ” ของบริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนพลับลิชชิ่ง จำ�กัด มหาชน เพราะท่านเข้าใจเด็กหลังห้องอย่างผมดีว่า เรียน ไม่เอาถ่านสักเท่าไหร่ งานที่ให้ทำ�ก็ไม่ค่อยส่ง ไม่เหมาะกับการเป็นครู ในสาขาวิชาชีพที่ผมเรียน และเมื่อหนังสือตอบรับจากอมรินทร์ ฯ มาถึงก็ดีใจมากที่ได้เข้าฝึกงาน และอาจารย์ท่านพูดกับผม สั้นๆว่า “อย่าทำ�ให้เสียชื่อ สาขาเราล่ะ!” และนั้นคือ จุดเปลี่ยนของผม พอเข้าไปได้ผมกับวิธีคิด การตัดสินใจ และกระบวนการแก้ไขปัญหา ของช่างภาพนิตยาสารชื่อดัง ระดับประเทศ ทั้ง 13เล่ม มันทำ�ให้ผมเหมือนได้ ออกจากกะลา มากๆ และทุกวินาทีที่ได้ฝึกงานผมเต็มที่กับมันทุกๆวินาที แม้ ว่าผมจะเทียบกับเพื่อนฝึกงานที่มาจาก สาขาการถ่ายภาพ โดยตรงก็ตาม และ 4 ปี ที่เรียนมา อีก 4 เดือนที่เรียนรู้อย่างจริงจัง ณ ตอนนี้ ทำ�ให้ผมก้าวขึ้นไปยืนอยู่ ณ จุดเริ่มต้น ของช่างภาพทุกคนที่ควรผ่านมา“เป็นพนักงานสตูดิโอ บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนพลับลิชชิ่ง จำ�กัด มหาชน” และคงเป็นก้าวที่มั่นคง และถูกต้องที่สุดสำ�หรับผม ที่จะทำ�ให้ผมได้ก้าวขึ้นไปเป็นช่างภาพ นิตยาสารเหมือนพี่ช่างภาพ คนอื่นๆที่ผมรู้จัก ก็เพราะว่าผมเริ่มถ่ายภาพบุคคลในระหว่างเรียน และเป็นผล งานของผมนั้นเอง จึงได้จัดทำ�หลังสือเล่มนี้ขึ้นมา เพื่ออธิบาย กระบวน วิธีคิด และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ของตัวผม อีกทั้งยังมี ข้อมูลพื้นฐาน ที่ผมว่าคุณควรที่จะเรียนรู้ อีกด้วย สำ�หรับการเริ่มต้นที่จะถ่ายภาพบุคคล Portrait และผู้ที่มีความรู้มาอยู่แล้ว ผมเชื่อว่าหนังสือเล่มนี้ จะทำ�ให้คุณเข้าใจได้ง่าย และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้
thodsaphon khongkam
Thank you ประวัต
ขอบคุณ
ซึ่งหนังสือเล่มนี้ เกิดขึ้นมาด้วยแรงบรรดานใจของตัวผมแล้ว และยังมีบุคคล ที่ค่อยช่วยเหลือตัวผมมาตลอดตั้งแต่เริ่มจนเป็นปัจจุบันนี้
พ่อและแม่ ที่อบรมสังสอนผมมาให้ได้ดี อาจารย์ก่อเกียรติ ขวัญสกุล ค่อยดูแลเด็กหลังห้องคนนี้ และค่อยเคี้ยวเขนจนได้ดี อาจารย์มาณวิกา กิตติพร ที่เรียบเรียงและช่วยเหลือในการทำ�หนังสือเล่มนี้ คุณทศพล บัวเพ็จ ที่บอลคือคนที่ช่วยดูแล ให้ความรู้ทุกอย่างในช่วงระหว่างการฝึกงาน พี่ๆช่างภาพอมรินทร์ฯ ที่แนะและสอนผม ให้ผมได้มีโอกาสฝึกประสบการณ์การถ่ายภาพมากกขึ้น กลุ่มถ่ายภาพนักเลงภาพถ่าย พี่ค่อยแชร์เรื่องราวการถ่ายภาพอยู่เสมอ และบุคคลต่างๆ ที่ไม่ได้เอ่ยถึง……
ontents C
The Basics of position & technic 13 การจัดองค์ประกอบของภาพบุคคล
03 Golden mean 05 Golden Triangle
04 Golden Spiral
ที่
การวัดแสง หน้าให้
โฟกัสไป ลูกตาเป็นสำ�คัญ
06 Rule of the thirds
trick portraits 15 เคล็ดลับการถ่ายภาพบุคคล
09
การทิ ้งฉากหลัง หรือ ละลายฉากหลัง
1011 อย่แสงสีาให้ขตัวองฉากหลั ง แบบกลายเป็นคน
12 อย่าให้ตวั แบบคอขาด
จะเลือกขวา หรือ ซ้าย ดี
16 ตาโตสิ..ดูดีกว่า
C
ontents
17 18 19
ให้แสงครึ่งหน้า
อย่าให้นางแบบหน้ามืด เงยหน้านิดนึง..แล้วจะดี วัดแสงอย่างไร
20 ทิศทางแสง เลนส์ช่วงมุมกว้าง หรือ ช่วงเทเล...ดี? 21 จะใช้ 22 ประกายตา
24 Properties 23 มุมสวย/ไม่สวย
ก้มนิด เงยหน่อย
25 ที ที ่ควรปิดก็่คใวรเปิ ห้ปิดด... ก็เปิด
26 ลองใช้เทคนิค Rim Light
2728
การโพสท่า แต่ ง ตั ว แต่งหน้าซะหน่อย คุยกันก่อน
The Basics of
POSITION &
TECHNIC
การจัดองค์ประกอบของภาพบุคคล
บทความนี้ผมได้รวบรวมจากเว็บไซต์และหนังสือที่ผมอ่านจากหลายที ่ ใช้เวลาเรียบ เรียงและหาภาพประกอบนานอยู่หลายเดือน และได้รับคำ�แนะนำ�ปรึกษาด้านเนื้อหาจากช่างภาพ อาชีพท่านนึงซึ่งมีประสบการณ์และอยู่ในวงการถ่ายภาพนานนับสิบปี ภาพประกอบบางภาพได้รับ ความช่วยเหลือจากพี่ๆ และเพื่อนๆ ที่ถ่ายภาพด้วยกัน
G0lden
MEAN THE
เว ล า ถ่ า ย ภ า พ สิ่ ง ห นึ่ ง ที่ เร า ภ า พ พยายามทำ�ก็คือ การทำ�ให้ภาพนั้นมีความน่า สนใจและเทคนิคง่ายๆ ในหัวข้อแรกที่เราควรรู้ ก็คือ “การจัดองค์ประกอบ” เรามาดูทฤษฎีแรก กัน..
golden mean คือสัดส่วน (ratio) 1:1.6180339.. ซึ่งดูเหมือนกับอัตราส่วนของ ระบบฟิลม์ 35 มม.
(24x36มม. = 5:7.5)
สูตรเรขาคณิตนี้ ถูกคิดให้สอดคล้องกับ golden mean โดยเป็นหลักแนวทางสำ�หรับ ศิลปินมากมาย และเป็นแนวทางสำ�หรับช่าง ภาพสมัยใหม่ได้เป็นอย่างดี
Spiral Golden
แบ่งภาพทีละ 1:1.618 ของด้านยาว แล้วลากจุดตัด เป็นเส้นโค้ง
T
Golden
riangle
แบ่งเป็นสามเหลี่ยม 3อัน (แบ่งโดยใช้อัตราส่วน 1:1.618)
RTULEHE THIRDS OF
(กฏสามส่วน) การถ่ายภาพโดยวางวัตถุอยู่ตรงกึ่งกลางภาพจะทำ�ให้ ภาพดูน่าเบื่อ ดังนั้นเราจึงนำ�แนวคิดของกฏสามส่วนมาใช้จัดวางองค์ประกอบภาพ เพื่อทำ�ให้ภาพถ่าย ดูน่าสนใจมากขึ้น ซึ่งกฏสามส่วน ก็ถูกนำ�เอามาจาก golden mean ซึ่งเป็นทฤษฎีพื้นฐานดังที่ได้กล่าวไปข้างต้น ตัวอย่างการใช้ กฏสามส่วน โดยนำ�จุดสนใจของภาพไปวางบริเวณจุดตัดภาพนี้จุดสนใจของ ภาพคือบริเวณดวงตาและใบหน้าดังนั้นจะถือว่าเป็นจุดสนใจของภาพ
P ortraits RICK T เคล็ ด ลั บ การถ่ า ยภาพบุ ค คล
เทคนิคการถ่าย
ภาพบุคคล ให้ได้ดี
การ ทีเ่ ราจะ ถ่ายภาพบุคคล ( โดยเฉพาะอย่างยิง่ .. นางแบบ) ให้ได้ด.ี .ให้ออกมาสวย เป็น ทีน่ า่ พอใจ (ของตัว แบบเอง) นัน้ ตัวช่างภาพเองจะต้องคำ�นึงถึงเทคนิคต่าง ๆ เหล่านี.้ .
*หมายเหตุ ในที่นี้จะขอใช้คำ�ว่า “นางแบบ” แทนบุคคลทั้งหมด
ละลาย การทิ้งฉากหลัง หรือ
ฉากหลัง
ดีตรงทีจ่ ะทำ�ตัวแบบเด่น ไม่มฉี ากหลังรก ๆ มาแย่ง สายตา แต่ในบางกรณี..หากฉากหลังไม่แย่งสายตาหรือ เป็น ลักษณะฉากหลังทีส่ ามารถทีจ่ ะเล่าเรือ่ งราวได้ ก็ถอื ได้วา่ เป็น ภาพทีส่ มบูรณ์เช่นกัน
ส
แ งสี ของฉากหลัง
แสงสีของฉากหลังที่ดี ก็คือ แสงสีของฉากจะต้องมืดกว่าค่าแสงเฉลี่ย ของหน้านางแบบ และสว่างกว่าค่าแสงที่ผมส่วนมืดของนางแบบ ในบางกรณี..เราจะอาจกำ�หนดให้ฉากหลังมีความสว่าง หรือ ชัด ก็ได้ ถ้าหากฉากหลังนั้นๆ มีความน่าสนใจ (แต่ ถ้าหากฉากหลังนั้นมีลักษณะไม่สวยงาม ยุ่งเหยิง รวมทั้งจะไปแย่งความเด่นของ ตัวแบบไปโดยไม่จำ�เป็นแล้ว ก็ให้ใช้วิธีการละลายฉากหลัง หรือ เลี่ยง/หลบฉากหลังแทน)
อย่าให้
พิการ
คน
นางแบบกลายเป็น
กล่าว คือ ในถ่ายรูปบุคคลใดๆ พยายามอย่าทำ�ให้นางแบบเป็นคน พิการเด็ดขาด นั่นคือ อย่าให้ปลายมือ ปลายเท้า ข้อศอกขาดพยายามเก็บเข้ามาใน เฟรมให้หมด แต่.. ถ้าหากจะตัดส่วนไม่เอาไว้ในเฟรมก็ต้องตัดให้เห็นว่าจงใจตัด เช่น ตัดสูงกว่าศอกและเข่า (แต่ประเภทเห็นทั้งตัว ยกเว้นนิ้วเท้าอย่างนี้ไม่ควรตัดอย่างเด็ดขาด)
ให้ขาด
อย่า
คอ
ตัวแบบ
ถ้า ฉากหลังเป็นท้องฟ้า ทะเล ขอบฟ้า หรือ อะไรก็ตามทีม่ เี ส้นนอน พยายาม อย่าจัดให้ พาดผ่านคอนางแบบเด็ดขาด เพราะ จะทำ�ให้ได้ภาพในลักษณะ “นางแบบคอขาด” *จะให้ที่สุดดีควรจัดให้เส้น นอนอยู่สูงกว่าระดับศีรษะ หรือ ต่ำ�กว่าไหล่จึงจะทำ� ให้ภาพดูดีขึ้น
วั ด แสง โฟกัส
ที่หน้าให้ ไปที่ลูกตาเป็นสำ�คัญ
การถ่ายภาพใบหน้า “จะต้อง เน้นถ่ายลูกตา : ลูกตาจะต้องชัดเสมอ” ถ้ า หากไม่ ชั ด ก็ จ ะต้ อ งมี เ หตุ ผ ล มารองรั บว่า...ทำ�ไมถึงไม่อยากให้ชดั * ใบหน้าจะเป็นจุดแรกที่คนมอง ดังนั้นอย่างน้อยที่สุดเราจะต้องเซ็ทให้แสง ที่หน้าพอดีเสมอ ยกเว้นในกรณีที่เจตนาให้ มืด หรือ สว่างกว่าปกติ...แต่ก็ต้องมีเหตุผล มารองรับเสมอ
ขวาซ้ายดี!
จะเลือก
หรือ
“ปกติแล้วใบหน้าของคนเราทัง้ สองซีก...สวยไม่เท่ากัน” เรื่อง นี้ช่างภาพผู้ที่มีความพิถีพิถันจะต้องอาศัยการ พินิจพิจารณาให้ดี ๆ หลังจากนั้นจึงค่อยพยายามวางกล้อง ให้อยู่ฝั่งที่สวยกว่า หรือ จัดแสงหลักให้อยู่
โต
ดี
สิ..ดู กว่า
ตา
ดังที่กล่าวข้างต้นแล้วว่า “ใบหน้าของ คนเราทั้ง 2 ซีก..สวยไม่เท่ากัน”
คำ�ถาม...แล้วเราจะสังเกตได้อย่างไรล่ะ ? คำ�ตอบ …ใบหน้าซีกที่สวยกว่าดูไม่ยาก ครับ..มีเคล็ดลับอยู่ว่า “ให้ดูที่ลูกกะตาเป็นสำ�คัญ”...หากลูก ตาข้างไหนโตกว่า ..ใบหน้าข้างนั้นคือ ก็มักจะเป็น ข้างที่สวยกว่า (อันนี้ถือเป็น“เคล็ดลับ”ที่จะมักรู้กันในหมู่ ช่างภาพระดับเซียน ๆ ทั้งหลายนะครับ )
่ ส ง คร ง เ ึ
ให ้
หน้า
ในกรณีที่สภาพของแสงที่ตก กระทบบนใบหน้าทั้งสองฟากมีความต่างกันมาก ผลที่ออก มาก็คือ ซีกหนึ่งสว่างจ้า แต่อีกหนึ่งมืด หากมีสภาพ แสงในลักษณะนี้ ประการแรกให้ถามตัวแบบว่า ชอบสภาพ แสงในลักษณะนี้หรือไม่ สภาพ ที่แหล่งกำ�เนิดแสงอยู่
ด้านข้าง หากดูแล้วเห็นว่าจะทำ�ให้ตัวแบบบถ้าดูแล้ว “ดูไม่ดี” เราสามารถกำ�หนดเทคนิคให้ตัวแบบหันหน้าเข้า
หาแสงเล็กน้อยก็จะดูขึ้นมากที เดียว
นางแบบหนา้ มดื อย่าให้..!!
หากจำ�เป็นทีเ่ ราจะต้องถ่ายภาพ ย้อนแสง ก็ให้ Fill
flash เพือ่ ลบเงา (เปิดแสง) ที่ตัวแบบ
( ยกเว้นในกรณีที่เราต้องการในลักษณะ Silhouette ก็ว่าไปอย่าง )
หนา้
เงย
ดี
นิดนึง..แล้วจะ
กำ�หนดให้ตัวแบบเงยหน้าขึ้นนิดนึง ภาพจะ ออกมาดูดีกว่าหน้าตรง หรือก้มหน้างุด ๆ (ยกเว้นเจตนา ให้ได้ภาพที่แสดงออกซึ่งอารมณ์อื่นใด?)
*เคล็ดลับหนึ่งในการดูว่าใบหน้าข้างไหนสวยกว่า กัน ก็คือ ให้สังเกตที่มุมปากเวลายิ้มของตัวแบบ (มุมปากข้างไหนยกสูงกว่ากัน ก็ข้างนั้นแหละครับ)
แสง
วัด
อย่างไร
ใน การถ่ายภาพบุคคล ควรเน้นการวัดแสง แบบเฉพาะจุดที่ใบหน้าเป็นสำ�คัญ หลังจากวัดแสง ได้แล้วก็ให้แล้วกดปุ่ม AE ล็อคค่าแสงไว้ จากนั้นจัด องค์ประกอบใหม่ (หรือในกล้องบางรุ่นอาจมีฟังก์ชั่นพิเศษ เช่น มีระบบ FlexiZone (CANON) หรือ ฟังก์ชั่น Area (FUJI) เป็นต้น) *ถ้าเปลี่ยนมุม หรือ ค่าแสง เปลี่ยน ก็ให้เล็ง แล้วกดล็อกค่าแสงใหม่
Directiona l LIGHT ทิศทางแสง
หาก เป็นไปได้พยายามเลี่ยง แหล่งกำ�เนิดแสงซึ่งอยู่หน้าตรง ตรง หลัง ด้านบน ด้านล่าง ทั้งนี้เพราะแหล่งกำ�เนิดแสงในลักษณะนี้จะถ่าย ภาพให้สวยยาก ( ยกเว้นภาพที่เจตนาให้เป็นเช่นนี้โดยเฉพาะ ) พยายาม กำ�หนดให้ทิศทางแสงเข้าด้านข้าง หรือ เฉียง ๆ (สภาพ แสงธรรมชาติที่เหมาะสมดังกล่าว ก็คือ ในช่วงเวลาเช้าไม่ควรเกิน 8 โมง เช้า และอีกช่วงหนึ่งก คือ ช่วงเวลาเลย 5 โมงเย็นไปแล้ว) *หรือ อีกกรณีหนึ่ง ก็คือ พยายามเลือกสภาพแสงเกลี่ย ๆ นุ่ม ๆ เช่น ในสภาพแสงรำ�ไร ใต้ชายคา หรือ ในวันที่ฟ้าครึ้ม หรือ ให้เกลี่ย แสงโดยใช้ แผ่นรีแฟล็ก หรือแก้โดยการ fill flash (การ fill flash อย่างง่ายๆ ที่สุด กือ การนำ�กระดาษขาวมาทำ�เป็นก ระบัง (ป้อง) ไว้เหนือ flash...และให้เงยหน้า flash ขึ้นด้านบน ประมาณ 45 องศา...เป็นการแล้วยิง/สะท้อนแสงลงมา)
กเว้ทาเลง
จะใช้เลนส์ ช่วงมุม
หรือ..ช่วง
ถ่ายภาพคนให้ดดู ี มักนิยม ใช้กนั ในช่วง 85-145 มม. ทัง้ นีเ้ พราะใน ช่วงเทเลนัน้ จะได้ภาพทีด่ ี ให้สดั ส่วนสวย ทีส่ ดุ รวมทัง้ ทิง้ ฉากหลังได้ดี ให้อารมณ์ได้นมุ่ นวลดี เห็นนางแบบได้ชดั เต็มตา *ในการถ่ า ยภาพบุ ค คลนั้น ไม่ จำ� เป็ น ว่าจะต้องใช้กว้างสุดเสมอไป นัน่ คือ ให้พจิ ารณา เลือกเอาตามความเหมาะสมเป็นกรณีๆ ไปเช่น f/2.8-3.5 ในช่วง 50 มม. และ f/3.5-4.5 สำ�หรับ ช่วง 105 มม. เป็นต้น ส่วนเลนส์อน่ื ๆ ก็ให้อาศัยหลักการ คำ�นวณคล้าย ๆ กัน เช่น ช่วงรับแสงกลาง ๆ ประมาณ 2 สต็อป จากกว้างสุด ถึง 2 สต็อปจาก แคบสุด เป็นต้น
ตา
ประกาย
“ยิ่งมีประกายตาวาววับ...ยิ่งสวย”
... พยายามเลือกมุมถ่าย หรือ เปิดแฟลช หรือ ใช้รีแฟล็กช่วยบ้าง เพื่อให้ตามีประกาย
สวย
มุม
ไม่
แต่ ละคนมักจะมีมุมสวย และมุมไม่สวยประจำ�ตัว อยู่ ช่างภาพมีความพิถีพิถันจะต้องมีเซนต์ตรงนีนั่น คือ “จะต้องพยายามหาจุดเด่นนี้ให้เจอ” เพราะนั่นคือ ตำ�แหน่งที่จะวางกล้องนั่นเอง *ตำ�แหน่งยอดนิยมในการวางกล้อง ก็คือ ตำ�แหน่ง ระดับปลายจมูกของนางแบบ หรือ สูง/ต่ำ�กว่าไม่ มากนัก ไม่เกินตา และปากยกเว้นในกรณีหาก พิจารณาแล้วเห็นว่า “นางแบบมีมุมสวยเป็น พิเศษ” หรือ “มีส่วนจะต้องหลบ/เลี่ยงเป็น พิเศษ” ก็ อาจจะต้องกด หรือเงยกล้อง เข้าช่วย
“มุมมหาชนสำ�หรับถ่ายภาพนางแบบ ก็คือ มุมหน้าเฉียง” ตำ�แหน่งวางกล้อง ก็คือ ให้เล็งไปที่แนวแบ่งครึ่ง ระหว่างสันจมูก และดวงตา...มุมนี้ส่วนใหญ่มักจะสวย
ก เงย
้มนิด
หน่อย
P
จะ ถ่ายมุมก้ม หรือเงย ดี...ไม่ได้ถือเป็นกฎ ตายตัวแต่อย่างใด ทั้งนี้ให้พิจารณาถึงปัจจัยเอื้ออย่าง อื่นด้วย กล่าวคือ “ให้พิจารณาถึงโครงหน้าของนาง แบบเป็นสำ�คัญ”
*หลักการ ก็คือ อะไรไม่สวยก็ผลักไปให้ไกล ๆ จากกล้อง เช่น ถ้าคางไม่สวย หรือ กรามกว้าง...ก็ให้ก้มหน้านิด ๆ นึง จะได้ไม่เห็นกราม หรือ ผู้ที่หน้าผากเถิก...ก็ให้เงยขึ้นมาหน่อย เป็นต้น เคล็ดลับ : การก้มหน้าจะทำ�ให้ตาโต และอยู่ ใกล้กล้อง ซึ่งจะ เป็นจุดดึงดูดสายตามากขึ้น
OSITION ในที่นี้ ไม่ได้หมายถึงเรื่องคุณสมบัติ อะไรหรอกนะ แต่..หมายถึงอุปกรณ์ประกอบฉาก นั่นเอง ดัง เช่น ดอกไม้ เครื่องประดับ หนังสือ กระเป๋า หมวก ตุ๊กตา หมอนอิง รวมถึงอุปกรณ์ อื่นใด โดยพยายามเลือกอันที่ดูแล้วน่ารัก ๆ เหมาะกับนางแบบ และเหมาะสมกับสถานที่
เคล็ดลับ : อุปกรณ์ประกอบฉาก เหล่านี้ ถ้าหากให้นางแบบได้ถือ อุ้ม หิ้ว หรือ อิง แอบ แนบ หรือวางไว้ข้างๆ แนบตัว ก็จะ ทำ�ให้นางแบบไม่รู้สึกขวยเขินเขินมากเกินไป นัก อี ก ทั้ ง ยั ง จะเป็ น การช่ ว ยสร้ า ง บรรยากาศ และเรื่องราวได้ดียิ่งขึ้นอีกด้วย
ปิด...
ควรปิดก็ให้ ควร ก็เปิด
ที่
เปิด
เช่น “มีช่วงโหนกแก้มสูง หรือมีกรามกว้าง”.....ก็ให้ดึงผมลงมา ปิดข้างแก้มสักหน่อยก็ดี หรือว่า ให้นางแบบหันข้างหลบเอาไหล่บังนิดนึง หรือ ให้เอียงหน้าหน่อยก็จะดูดีขึ้น “หูกาง...จะดูแล้วเด่นเกินไป” ก็ให้เกลี่ยผมลงมาปิดซะหน่อย หรือ จะใช้เทคนิคนิคเบี่ยงข้างหลบมุมไป (อย่าให้เห็นพร้อมกันทีเดียวทั้งสองข้าง) “แก้มป่อง” กรณีนี้จะดูเป็นราย ๆ ไป เช่น บางคนถึงแก้มป่อง แต่ก็น่ารัก ก็ให้เสยผมเปิดแก้มป่องไปเลยเพราะจะยิ่งช่วยเพิ่มความน่า รักขึ้นไปอีก
L
RIM
ลองใช้เทคนิค
ight
จาก การวิจัย ได้บ่งบอกว่า การใช้เทคนิค Rim Light นี้...จะช่วยทำ�ให้ตัวนางแบบดูดีขึ้น สวยขึ้น 18.75% รวมทั้งจะทำ�ให้ผมสวยขึ้น 33.29%... (ว่าไปนั่น)
cโพส การ
ท่า
การโพสท่าพยายาม จัดวางท่าทางของนางแบบให้ดูเป็น ธรรมชาติมากที่สุด ให้ดูแล้วไม่รู้สึกว่าขัดๆ ขืนๆ หรือ ดูว่าเจตนาจน เกินไป..ไม่งั้นจะทำ�ให้ภาพที่ออกมาจะดูแข็งกระด้าง ฯลฯ
เคล็ดลับ : ลองหาจังหวะดี ๆ และใช้การถ่ายแบบ Candid ดูบ้าง เพราะการถ่ายในลักษณะนี้มักจะถ่ายทอดอารณ์ได้กลมกลืน ดูดี...ไม่น่าเบื่อ
เ เ ต ง ต ว ่ ั เเต่งหน้าซะหน่อย
หาก เป็นไปได้พยายามแต่งตัวให้เข้ากับบุคลิก ของนางแบบ และให้ตัวแบบได้ปัดหน้าทาแป้ง ฯลฯ บ้าง ทั้งนี้เพราะอย่างน้อยที่สุดการแต่งหน้าก็เพื่อกลบจุด ด้อยบนใบหน้า..ไม่ให้ เด่นเกินไป นั่นเอง
คยุ กันก่อน
ก่อนที่จะเริ่มถ่ายภาพ ช่างภาพที่มีเซนต์ซะหน่อย ควรจะชวน นางแบบสนทนาพูดคุยซะก่อน เหตุผลก็เพื่อไม่ให้นางแบบรู้สึกเขินอาย หรือรู้เกร็งจนเกินไป (ซึ่งอาจจะแสดงท่าทางออกมาอย่างไม่เป็นธรรมชาติระหว่าง การถ่ายภาพ) รวมทั้งและจะได้ทำ�ความเข้าใจกันด้วยว่าจะให้รูปออกมาสไตล์ไหน อารมณ์ไหน
Reference พื้นฐานการจัดองค์ประกอบภาพถ่าย
โดย GotoKnow คุณเกียรติศักดิ์ แย้มกลีบบัว http://www.gotoknow.org/posts/96419
นำ�บทความเทคนิคการถ่ายภาพ โดย siam freestyle Peesuh (นามสมมุติ)
http://www.thaitripdd.com/webboard/index.php?topic=1222.0
ndex I ภาพประกอบเนื้อหา โดย facebook
FireFly Studio Team https://www.facebook.com/ffs.team
คำ�ค้นหา
การจัดองค์ประกอบของภาพบุคคล,The Basics of position & technic, golden mean, Golden Spiral, Golden Triangle, RULE OF THE THIRDS,เคล็ดลับการถ่ายภาพบุคคล, เทคนิคการถ่าย ภาพบุคคลให้ได้ดี, การทิ้งฉากหลัง หรือ ละลายฉาก หลัง,แสงสีของฉากหลัง, อย่าให้ตัวแบบ/นางแบบกลาย เป็นคนพิการ, อย่าให้ตัวแบบคอขาด, การวัดแสงที่หน้า ให้ โฟกัสไปที่ลูกตาเป็นสำ�คัญ, จะเลือกขวา หรือ ซ้าย ดี, ตาโตสิ..ดูดีกว่า, ให้แสงครึ่งหน้า, อย่าให้นางแบบหน้ามืด, เงยหน้านิดนึง..แล้วจะดี, ทิศทางแสง, วัดแสงอย่างไร, จะ ใช้เลนส์ช่วงมุมกว้าง, หรือ ช่วงเทเล...ดี, ประกายตา, มุม สวย/ไม่สวย, ก้มนิด เงยหน่อย, ที่ควรปิดก็ให้ปิด... ที่ ควรเปิดก็เปิด, ไม่ใช่ผู้พิการทางสายตานะ, หนูไม่ใช่ภาพ, การ์ตูนถมดำ�นะ, ลองใช้เทคนิค Rim Light, ไม่ใช่ทำ�บัตร ประชาชนนะ, Properties, ถ่ายคร่อม, การโพสท่า, แต่ง ตัว แต่งหน้าซะหน่อย, คุยกันก่อน
ทศพล ฆ้องคำ�
แวะมาชมผลงาน และทักทางกันได้นะครับ
http://www.facebook.com/ffs.team
The Basics
Contents
ก็เพราะว่า ผมเริ่มถ่ายภาพบุคคลในระหว่างเรียน และเป็นผลงานของผมนั้น เอง และวันนึงได้ติดสินใจมาแชร์ประสบการณ์การถ่ายภาพบุคคล จึงได้จัดทำ�หลัง สือเล่มนี้ขึ้นมา เพื่ออธิบาย กระบวน วิธีคิด และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าของตัว ผม อีกทั้งยังมี ข้อมูลพื้นฐาน ที่ผมว่าคุณควรที่จะเรียนรู้ อีกด้วย สำ�หรับการเริ่มต้น ofการจั position & technic ดองค์ประกอบของภาพบุคคล ที่จะถ่ายภาพบุคคล Portrait และผู้ที่มีความรู้มาอยู่แล้ว ผมเชื่อว่าหนังสือเล่มนี้ จะทำ�ให้คุณเข้าใจได้ง่าย และนำ�ไปใช้ในชีวิตจริงได้
เคล็ ดลับการถ่ายภาพบุคคล เทคนิคการถ่ายภาพบุคคลให้ได้ดี การทิ้งฉากหลัง หรือ ละลายฉากหลัง แสงสี ของฉากหลัง อย่าให้ตัวแบบ/นางแบบกลายเป็นคนพิการ อย่า ให้ตัวแบบคอขาด การวัดแสงที่หน้าให้ โฟกัสไปที่ลูกตาเป็น สำ�คัญ จะเลือกขวา หรือ ซ้าย ดี ตาโตสิ..ดูดีกว่า ให้แสงครึ่งหน้า อย่าให้นางแบบหน้ามืด เงยหน้านิดนึง..แล้วจะ ดี ทิศทางแสง วัดแสงอย่างไร จะใช้เลนส์ช่วงมุมกว้าง หรือ ช่วง เทเล...ดี ประกายตา มุมสวย/ไม่สวย ก้มนิด เงยหน่อย ที่ควรปิด ก็ให้ปิด... ที่ควรเปิดก็เปิด ไม่ใช่ผู้พิการทางสายตานะ หนูไม่ใช่ ภาพการ์ตูนถมดำ�นะ ลองใช้เทคนิค Rim Light ไม่ใช่ทำ�บัตร ประชาชนนะ Properties ถ่ายคร่อม การโพสท่า แต่งตัว แต่ง หน้าซะหน่อย คุยกันก่อน