ธัญสก พันสิทธิวรกุล
Thunska
Pansittivorakul
I ever hate my life. We’re in the dark period. Global worming, corruption and virus etc. The world still runs. The life goes on. But the difference way of life. (Or it is learning, experience. Up to understand.) Immersion, Lustfulness, Love and Friendship are the beautiful part for me.
ผมเคยชิงชังชีวิต และเราอยู่ในยุคที่พร�่ำบ่นถึงสิ่งเลวร้าย โรคร้อน รัฐบาล ไวรัส ฯลฯ โลกยังคงหมุน ชีวิตยังคงด�ำเนิน แต่ในบางหลืบมุมของ การเดินทาง (หรือบ้างก็ว่าเป็นการเรียนรู้ การสั่งสม ประสบการณ์ สุดแล้วแต่จะเรียกให้ดูดีอย่างไร) ความหมกหมุ่น กามารมณ์ ความรัก มิตรภาพ ล้วนเป็น แง่งามชีวิตส�ำหรับผม
PROJECT 6 (LIFE SHOW) 2008
A
ll photography of exhibition. It’s the place and thing that I met for 4-5 years ago. By a
digital camera. Taking sloppily, untested but it’s easy and swiftly.
Private matter, it’s a topic.
Is it suitable to be
present? And is it art? I don’t know but living is art for me. Even though it’s differences with another one. But different is the attraction that no one can get them or duplicated. “Memory, Secret and Felling that I could not tell or write. Not even make a films. I mutter and repeated it all on these picture.” (If you are a one of my memory, I hope you understand. So I’m not in the time to hope anything from this world.)
76
MAKE FORM NOT FUN
ภ
าพถ่ายที่นำ�มาแสดงนี้ ถ่ายระหว่างเดินทางใน ช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ด้วยกล้องดิจิตอลที่บ้างก็ ว่าฉาบฉวย ไร้รสนิยม ขณะที่ก็สะดวก กระชับ ฉับไว เรื่องส่วนตัวยังคงเป็นข้อโต้แย้ง ความส่วนตัวนั้น เหมาะสมเพียงพอไหมในการนำ�เสนอ และมันเป็น ศิลปะหรือเปล่า ผมไม่รู้ แต่สำ�หรับผม การใช้ชีวิต คือศิลปะ และชีวิตเป็นเรื่องสากล แม้รูปแบบชีวิต ของแต่ละบุคคลจะแตกต่างกัน แต่ความต่างคือเสน่ห์ ที่ไม่อาจมีใครฉกฉวย หรือลอกเลียนได้ ความทรงจำ� ความลับ ความรู้สึก ที่ผมไม่อาจพูด หรือเขียน หรือแม้แต่ผลิตมันออกมาเป็นภาพยนตร์ ผมบ่นพร่ำ�และพร่างพรูไปบนภาพบันทึกเหล่านี้ แล้ว… (และหากคุณเป็นบุคคลที่เป็นส่วนหนึ่งในความ ทรงจำ�ของผม ผมแค่หวังว่าคุณจะเข้าใจ แต่ผมพ้นวัย ที่จะคาดหวังต่อสิ่งใดในโลกแล้ว) Thunska Pansittivorakul
MAKE FUN NOT Form
77
Interview | Can you tell us a bit about your thought process and your work as a film maker and someone who enters his work in film festivals abroad? THUNSKA PANSITTIVORAKUL : There are two kinds of film festivals. The main ones are Cannes, Berlin and Venice. We can not send our movies there because they only accept movies which were shot using film. Even if you use a digital camera you would have to transfer your moie on the film for screening, which costs a lot of money. Just the transfer to film would cost millions. Plus, most of our work is done on digital cameras. We’ve fought our way here using digital technology. The other line of film festivals are Rottedam and such. These festivals would have movies that are outside the main-
บทสัมภาษณ์
ช่วยเล่าให้ฟังถึงแนวคิดและการทำ�งานในฐานะที่เป็น ศิลปินทำ�หนัง และส่งหนังเข้าประกวดเทศกาลหนัง นานาชาติ ธัญสก พันสิทธิวรกุล : ในโลกจะมีเทศกาลหนังสาย หลักคือ คานส์ เบอร์ลิน และ เวนิส เราไม่สามารถไป คานส์ ได้เพราะเขารับเฉพาะที่เป็นฟิล์มเท่านั้น ถึงแม้จะ ถ่ายเป็นดิจิตอล แต่เวลาฉายต้องเอาลงฟิล์ม ซึ่งใช้ทุน เยอะ แค่ค่าลงฟิล์มก็หลายล้านแล้ว และงานส่วนใหญ่ ของเราก็เป็นดิจิตอล เราต่อสู้มาด้วยดิจิตอลตลอด เทศกาลหนังสายรองลงมา ก็จะเป็นพวกร็อตเตอร์ดาม เทศกาลหนังพวกนี้จะเป็นหนังนอกกระแส เพราะต่าง ประเทศจะมีหนังเข้าของเขาอยู่แล้ว มีทั้งหนังที่กำ�ลังจะ เข้าโรง หนังที่ดูยาก มีหมดทุกแบบ แต่หนังของเราไป ฉายกับเทศกาลหนังเกย์ค่อนข้างน้อย ไม่รู้ทำ�ไม แล้วก็ เป็นหนังเกย์ในแนว straight ที่ร็อตเตอร์ดามหนังเกย์ น้อยมาก แต่เบอร์ลินเยอะกว่า หนังที่เราทำ�ไม่ใช่เรื่อง ที่คนปกติจะเข้าใจ มันจึงต้องมีพื้นที่ของมัน เราเลยส่ง
Also, at the end of that year our movie was going to Rotterdam again. I met Bruce LaBruce who was a famous producer and Oki Hiroyuki and also Jürgen Brüning. When we met they asked me to participate at the Porn Film Festival. They wanted to work with me but I was rather confused. I felt that my work was not Pornography even though there were sex scenes in it, it was not intended as a porno. stream because most countries would have their own movies already. There are all kinds of movies there, up and coming movies, movies that are more art based, everything. But our movies rarely enter gay film festivals, I don’t know why. There are not a lot of gay movies in Rotterdam but they’re more popular in Berlin.Our movies are not for normal people to understand. It needs it’s own space, so we enter them in film festivals. For our movie we shot from only one angle. You can’t see the actor. You can only see the back of the head. When you watch a movie you’d expect to see the actor’s face and guess what he would say or what he’d do but in our film there’s nothing. Which film festivals have you entered in in Thailand?
78
MAKE FORM NOT FUN
หนังเราได้ ไปฉายที่ร็อตเตอร์ดามอีกครั้ง มีโปรดิวเซอร์ของผู้กำ�กับหนังคนหนึ่งที่ ดังมาก คือ Bruce LaBruce และ Oki Hiroyuki กับ Jürgen Brüning ตอน เจอกันก็ ได้สูจิบัตร Porn Film Festival ให้มา และอยากร่วมงานกับเรา ตอนนั้น เราก็งงและรู้สึกว่าโดนดูถูก งานเรามันไม่ใช่หนังโป๊นะ ถึงแม้จะโป๊ก็ตามแต่เจตนา มันไม่ใช่
เข้าเทศกาลหนัง หนังของเราตั้งกล้องอยู่มุมเดียว ไม่ เห็นหน้าคนแสดง เห็นแต่ข้างหลัง คือเวลาเราดูหนัง เราคาดหวังว่าเราจะเห็นหน้าตัวละคร คาดหวังว่าจะคุย อะไร ทำ�อะไรกันใช่ไหม แต่เรื่องที่เราทำ�ไม่มีอะไรเลย เทศกาลในบ้านเรา ฉายที่ไหนมาบ้าง ธัญสก : ก็ไปเทศกาลหนังทดลองกรุงเทพ หรือ BEFF (Bangkok Experimental Film Festival) ของพี่เจี๊ยบ (กฤติยา กาวีวงศ์) อีกครั้งหนึ่งที่ Bangkok Film ก่อน ที่จะมาทำ�งานในชุดปัจจุบันชุดนี้ เราก็ทำ�เรื่องการเมือง ชื่อเรื่อง “บริเวณนี้อยู่ภายใต้การกักกัน” หรือ “This Area Is Under Quarantine” ซึ่งโดนแบนในเทศกาล Bangkok Film จริงๆ เรื่องนี้ด่าทักษิณ แต่โดนแบน ด้วยเหตุผลอื่น เพราะในเรื่องมีภาพทหารกำ�ลังเตะคน ที่มาเรียกร้องความยุติธรรมในภาคใต้ เรารู้เลยละว่า เขาต้องการเซ็นเซอร์ภาพทหารที่ทำ�ร้ายประชาชน ใน หนังตอนนั้น เป็นการสัมภาษณ์คนสองคน คนหนึ่งมา จากอีสาน อีกคนเป็นคนมุสลิมจากภาคใต้ ทั้งคู่เป็น Thunska Pansittivorakul
THUNSKA : We entered the BEFF or Bangkok Experimental Film Festival that was by Krittiya Kavivong. And we also entered Bangkok Film. Before I worked on the current project I did a political fim called “This Area Is Under Quarantine” Which was banned from Bangkok film. This film was actually anti-Taksin but it was banned on other grounds. There was a scene in which a soldier was beating up some demonstrators in the south and I knew they had to censor the scene because it depicted soldiers using force against the people. In that movie there was a scene where two people were being interviewed. One was from Isan and the other was a Muslim from the south and they were both gay. It was quite a cliché, I just felt everyone was hating on Taksin and so I did, too.
Prject 6 (Life Show)
เกย์ แล้วมัน cliché มากเลย เราแค่รู้สึกว่า เขาเกลียด ทักษิณกัน เราก็ต้องเกลียดด้วย หลังจากนั้น พอเปลี่ยนรัฐบาล เป็นรัฐบาล อภิสิทธิ์ มีสงกรานต์เลือดปี 2552 ช่วงนั้นเราสอนอยู่ ที่ ม.กรุงเทพ พอตื่นเช้าขึ้นมา รถไฟฟ้าหยุด เปิดทีวี มาแล้วเป็นภาพกล้องถ่ายไกลๆ เห็นอนุสาวรีย์ชัยฯ มี ควันคลุ้ง แล้วก็มีเสียงรายงานตลอดเวลาว่าเสื้อแดง บุกกรุงเทพฯ รถแก๊ซไปอยู่ที่ดินแดง และเทคโนโลยีก็ เปลี่ยนไป มีเฟซบุ๊คมีคลิปหลายอย่าง แต่ละอย่างก็ รายงานแตกต่างกันไป มันทำ�ให้เราคิดว่า ตกลงเกิด อะไรขึ้นกันแน่ ตอนนั้นอายุ 36 ปี น่าอายมากที่ไม่เคยรู้ เรื่องการเมืองอย่างจริงจัง เราก็เริ่มหาข้อมูล คุยกับคน บนเฟซบุ๊ค มีคนแชร์ข้อมูลมาให้ เมื่อศึกษาไปสักพัก เราเราก็รู้สึกว่าประเทศนี้น่ากลัวกว่าที่คิด ที่ผ่านมาเวลา จะทำ�หนังขึ้นมาสักเรื่อง เราไม่เคยสนใจว่าคนอื่นจะคิด ยังไง เราสนใจแค่ว่า ณ เวลานั้น เราคิดถึงอะไร และ เราก็รู้ว่าเราสนใจเรื่องการเมือง ประกอบกับปลายปีนั้น MAKE FUN NOT Form
79
80
MAKE FORM NOT FUN
MAKE FUN NOT Form
81
After that there was a change of government. Then we had the bloody Songkran in 2009. I was teaching at Bangkok University at the time. I woke up and found the sky train had stopped. I turned on the T.V. and saw long distance shots of the Victory Monument with smoke billowing up around it. There were all these reports of how the red shirts were coming in to Bangkok, there was the gas truck at Din Daeng. And when you went on facebook there was all this conflicting information. It made me think “What actually happened?” I was 36 then and it was really embarassing that I really didn’t know anything about politics. I started to find information. I talked to people on facebook. People shared their information with me. The more I studied it I became aware of how dangerous this country
หนังเราได้ ไปฉายที่ร็อตเตอร์ดามอีกครั้ง มีโปรดิวเซอร์ ของผู้กำ�กับหนังคนหนึ่งที่ดังมาก คือ Bruce LaBruce และ Oki Hiroyuki กับ Jürgen Brüning ตอนเจอ กันก็ ได้สูจิบัตร Porn Film Festival ให้มา และอยาก ร่วมงานกับเรา ตอนนั้นเราก็งงและรู้สึกว่าโดนดูถูก งานเรามันไม่ใช่หนังโป๊นะ ถึงแม้จะโป๊ก็ตาม แต่เจตนา มันไม่ใช่ Jürgen Brüning เขาก็ชวนทำ�หนังโดยจะให้ทุนทำ� ตอนนั้นอยู่ช่วงคาบเกี่ยวคือ ช่วงต้นปี 2552 ก่อนเกิด เหตุการณ์หลายอย่างในกรุงเทพฯ ตอนแรกก็ ไม่ได้คิด เรื่องการเมืองหรอก แต่จะทำ�หนังประชดฝรั่ง หนังก็จะ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสิ่งที่ฝรั่งชอบในเมืองไทย เช่น ชาว ประมง นักมวย หมอนวด ปรากฏว่าระหว่างเริ่มถ่าย ทำ�เพื่อนก็โทรมาแจ้งข่าวการวางระเบิดที่คอกวัว เราจึง รีบกลับกรุงเทพฯในวันต่อมา วันรุ่งขึ้นก็นัดกันไป อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ไปไว้อาลัย และเกิดความรู้สึก ว่าเรื่องพวกนี้เกิดใกล้ตัวเรามาก เหยื่อผู้เคราะห์ร้าย
Some people thought you can just send anything in and they would always choose my films. But I can only say that I felt the movies when I made them. And if you feel something when you make a movie people watching it will feel it too. If you don’t feel anything while making your movie, you’re just going through the motions or if it’s become some kind of competition, then your work won’t govery far. is. Before, when I made a movie I never cared what other people thought. I was only inerested in what I was thinking at the time. And I knew I was interested in politics. Also, at the end of that year our movie was going to Rotterdam again. I met Bruce LaBruce who was a famous producer and Oki Hiroyuki and also Jürgen Brüning. When we met they asked me to participate at the Porn Film Festival. They wanted to work with me but I was rather confused. I felt that my work was not Pornography even though there were sex scenes in it, it was not intended as a porno. Jürgen Brüning wanted to make a film together and he offered to finance it as well. At that time it was early 2009 before a lot of things started happening in Bangkok. At first I really didn’t think I’d make a political film. I just wanted to make a satire. It would be a film about the stereotypical things about Thailand such as fishermen, boxers and masseuses. But when we had just started filming we got a call about the
82
MAKE FORM NOT FUN
ในวันนั้นก็เป็น เป็นคนที่เรารู้จัก เราจึงอีเมลไปบอก โปรดิวเซอร์ว่า เราขอเปลี่ยนโปรเจ็กต์ เขาก็เห็นด้วย โดยโปรเจ็กต์ใหม่นั้นก็คือการเล่าเหตุการณ์ในเรื่องที่ ไม่เกี่ยวข้องกันเลย 17 เหตุการณ์ ได้ชื่อโปรเจ็กต์คือ “Terrorist” เราจะเลือกบาง Part นำ�มาแสดงกับเว่อร์ ในโชว์ Retro Ver-spective ด้วย ขอย้อนไปปี 2008 คุณธัญสกได้รับการติดต่อจาก แกลเลอร่ีเว่อร์ให้มาแสดงงาน รายละเอียดของ นิทรรศการนั้นเป็นอย่างไร ธัญสก : ตอน BEFF ครั้งที่ 5 (More Things Change) จะมี section หนึ่งที่จัดที่แกลเลอรี่เว่อร์ เรานำ�หนังของ เราไปฉายที่นั่น ตอนนั้นก็รู้จักโต๊ะ(ปรัชญา พิญทอง) อยู่บ้าง โต๊ะเค้าก็ชวนเรามาแสดงงานที่แกลเลอรี่ เว่อร์ เราก็ตอบตกลงลองแสดงดู ในตอนแรกก็ฉายหนัง ก่อน เป็นการครบรอบ 8 ปีของตัวเองที่ทำ�หนังมา เรา ชวนพี่ภาณุ อารี แม้ตัวหนังไม่เกี่ยวข้องกันเลย เป็น หนังชนกลุ่มน้อยทั้งคู่ เขาเป็นมุสลิม เราเป็นเกย์ ตอน ฉายหนังนั้นคนก็มาดูเยอะพอสมควร หลังจากนั้น เราก็แสดงงานภาพถ่ายของเราเอง เป็ น ภาพในชี วิ ต ประจำ � วั น ที่ ถ่ า ยระหว่ า งการเดิ น ทาง เพราะช่วงนั้นเราเดินทางบ่อย ถ่ายโดยใช้กล้องดิจิตอล เราชอบความแข็งของดิจิตอล ความเร็วของดิจิตอลที่
Thunska Pansittivorakul
MAKE FUN NOT Form
83
bombing at Kok Wua and so we flew back immediately. The next day we went to the memorial service at the Liberty Monument and I felt that these things were happening so close to home. The victim of that day’s incident was someone I knew. I e-mailed our producer and said I wanted to change the project and he agreed. The new project would depict 17 incidents that were not related to each other. The name of the project is “Terrorist” We’ll be showing parts of the film at “Retro Ver-spective “ In 2008 you were contacted by Gallery Ver to participate in an exhibition. Can you tell us a bit about that project? THUNSKA : That was the fifth BEFF (More Things Change) and there was a section that was held at Gallery Ver. We were going to show
สามารถจับ moment ได้ หรือจับแล้วก็เบลอๆ ไม่ชัด เราจึงรวบรวมภาพเหล่านัน้ มาแสดง โดยเลือกปริน้ ท์ภาพ บนกระดาษเพราะรู้ สึ ก ว่ า เทคนิ ค นี้ เ หมาะกั บงานและ space ด้วย หมายความว่าดิจิตอลชุดนั้น เป็นการทำ�ขึ้นมาเพื่อมา แสดงที่แกลเลอร่ีเว่อร์โดยเฉพาะ ธัญสก: มีทั้งที่ถ่ายไว้แล้ว บางภาพก็ถ่ายขึ้นมาใหม่ เป็น ความทรงจำ�ของเราโดยตั้งชื่อว่า Live Show ประมาณ ว่าโชว์ชีวิตเรา ก่อนหน้านี้ทำ�หนังมาโดยตลอด ก่อนมาแสดงงานใน แกลเลอรี่ งานศิลปะหรือแรงบันดาลใจอะไรบ้างที่ ทำ�ให้คุณธัญสกสนใจศิลปะ ธัญสก : ก็คงเริ่มที่มหาลัยนะ เราเรียนอยู่ที่จุฬาฯ ซึ่ง จะมีหอศิลป์อยู่ชั้นเจ็ด มีอยู่นิทรรศการหนึ่งเป็นงาน ภาพถ่ายของศิลปินจีนรุ่นใหม่ เค้าภาพถ่ายชีวิตประจำ� วัน ซึ่งภาพที่เราชอบมากเป็นภาพถ่ายผู้หญิงคนหนึ่ง กำ�ลังแต่งหน้า กิน แต่งตัว ภาพของที่เขาใช้ แล้วศิลปิน
showing at galleries what were your inspirations that made you interested in art? THUNSKA : It began in college. I studied at Chula and we had a gallery. There was this exhibition of photographs by young Chinese artists. He took pictures of everyday life. There was a piece that really impressed me. It was pictures of a woman putting on her make up, eating, getting dressed, pictures of her things. The artist arranged these pictures together and it showed that this was her life. It was saying things while saying nothing. I really liked that piece and felt that this is the kind of work I want to do. Some people might feel so much about that picture and some might not feel anything at all. At the same time I came across a book by Wolfgang Tillmans. It was the kind of work that you can see as very beautiful or just rubbish. My favorite piece was a picture called “Grey jeans over stair post” It was a real eye opener. I loved everything about that picture. And not just what was in the picture but also what was not in the picture. I felt the picture was full of many things. Why did he choose to take this picture. Normally you would try to get the nicest pose for your picture and imply some meaning. But I felt the picture was it’s own meaning. Which might be something entirely different than what the artist intended. A lot of Wolfgang’s work, when you see it you think “Why?” It’s like a slice of everyday life. Anyone can take those pictures. How was the response to you exhibition? THUNSKA : Some people liked it,some hated it. You shouldn’t even bother to ask if people like your work. You should just accept the fact that when you start making movies, at first you will question whether people hate your work. But after a while I just stopped caring. It’s not that I didn’t care about my work. Some people asked why I’ve been able to enter my work in to so many film festivals. Some people thought you can just send anything in and they would always choose my films. But I can only say that I felt the movies when I made them. And if you feel something when you make a movie people watching it will feel it too. If you don’t feel anything while making your movie, you’re just going through the motions or if it’s become some kind of competition, then your work won’t govery far.
คนมักตั้งคำ�ถามว่า ทำ�ไมหนังของเราไปฉายเทศกาลหนังบ่อยมาก จนคนเชื่อว่า ส่ง อะไรไปเขาก็เลือกงานเรา แต่เราบอกได้ว่า ณ เวลานั้นที่เราทำ�เรากำ�ลังรู้สึกอะไร และเชื่ออีกว่าถ้าตอนที่เราทำ� เรารู้สึก คนอื่นก็จะรู้สึก ถ้าเราไม่ได้รู้สึกกับมัน แค่ ทำ�ไป หรือแค่ทำ�เพื่อแข่งขัน มันก็จะจบอยู่แค่นั้น our film there. I knew Toh (Pratchya Pinthong) And he asked us to participate in the exhibition at Ver and we said yes. First we showed the movie. It was my 8th anniversery in the film business and I asked Panu Aree to participate too. Even though the two films weren’t related directly both of them dealt with minoities. HIs was a Muslim film and mines was a gay film. There were quite a lot of people there when we showed it. After that I showed some of my photography. They were just some everyday scenes from my commute because I was doing a lot of commuting at the time. It was shot on a digital camera because I like the rigidity of digital pictures. The speed of digital cameras allows you to capture the moment or if it’s too fast you get a nice blurred effect. I selected some shots and printed them on paper because I felt it was right for the pictures and the space. So those shots were selected especially for Ver? THUNSKA : They were already there. Some were new. They were all my memories and I named the exhibition “Live Show” because it is like a showcase of my life. You’ve always made fims. Before you started
84
MAKE FORM NOT FUN
ก็เอาหลายๆ ภาพมาแปะรวมกัน แสดงให้คนดูเห็นว่านี่ คือชีวิตเขา เป็นทั้งการบอกอะไร และไม่บอกอะไรเลย เรารู้สึกเลยว่า เราชอบงานแบบนี้ ถ้าเราจะทำ�งานสัก ชิ้น เราอยากทำ�งานแบบนี้ ที่บางคนจะรู้สึกได้อะไรจาก สิ่งนั้นเยอะ แต่บางคนก็รู้สึกว่าไม่เห็นมีอะไรเลย ใน ช่วงเวลาเดียวกันเราก็ ไปเจอหนังสือเล่มหนึ่ง ชื่อวูฟกัง ทิลมานส์ (Wolfgang Tillmans) งานวูฟกัง คนจะดู ว่าสวยก็ดูได้ จะดูว่าแย่มากก็ ได้ อย่างภาพที่เราชอบ ที่สุดเป็นภาพกางเกงยีนส์ตัวหนึ่งแขวนอยู่ตรงหัวบันได (Grey jeans over stair post, 1991) ภาพนี้เปิดโลกเรา เลย เรารู้สึกว่าชอบทุกสิ่งในภาพ และไม่ใช่แค่ในภาพ เท่านั้น แต่นอกภาพด้วย เรารู้สึกว่าภาพนั้นเต็มไปด้วย หลายอย่าง ทำ�ไมเขาเลือกที่จะถ่ายภาพสิ่งนี้ ปกติเวลา พูดถึงภาพถ่ายคือต้องโพสสวยๆ มีความหมาย แต่เรา รู้สึกว่านี่แหละคือความหมายของมัน ซึ่งอาจเป็นคนละ เรื่องกับที่เขาคิดก็ ได้ งานวูฟกังหลายชิ้น คนดูพอดูแล้ว แล้วคิดคงจะว่าถ่ายทำ�ไม เหมือนภาพถ่ายชีวิตประจำ� วัน ใครถ่ายก็ ได้ หลังจากเปิดนิทรรศการแล้ว เสียงตอบรับเป็น อย่างไร ธัญสก : บางคนชอบ บางคนด่า เวลาทำ�งานอะไร ก็ตาม ไม่ต้องถามว่าใครจะชอบงานเราหรือเปล่า แต่ ยอมรับเลยว่า แรกๆ ที่เริ่มทำ�หนังใหม่ๆ จะคิดว่าคนดู จะเกลียดเราไหม แต่ตอนหลังเราก็เริ่มไม่แคร์ ช่างมัน แต่ไม่ใช่ว่าทำ�อะไรก็ ได้นะ คนมักตั้งคำ�ถามว่า ทำ�ไม หนังของเราไปฉายเทศกาลหนังบ่อยมาก จนคนเชื่อว่า
Thunska Pansittivorakul
Prject 6 (Life Show)
ส่งอะไรไปเขาก็เลือกงานเรา แต่เราบอกได้ว่า ณ เวลา นั้นที่เราทำ�เรากำ�ลังรู้สึกอะไร และเชื่ออีกว่าถ้าตอนที่ เราทำ� เรารู้สึก คนอื่นก็จะรู้สึก ถ้าเราไม่ได้รู้สึกกับมัน แค่ทำ�ไป หรือแค่ทำ�เพื่อแข่งขัน มันก็จะจบอยู่แค่นั้น
MAKE FUN NOT Form
85