โครงการออกแบบละพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ขนมกง“แม่ พกั ” Project Of Design and Develop Packaging OTOP
วิชา ARTI3413 การออกแบบบรรจุภัณฑ์ กลุ่ม 101 เสนอ ผศ.ประชิด ทิณบุตร จัดทาโดย นายธรรศ กุศลสร้ าง รหัสประจาตัว 5111312228 สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบประยุกต์ ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
คานา รายงานนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา ARTI3413 ออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ กลุ่ม 101เป็ น การสรุ ปขั้นตอนการทางาน โดยใช้หลัก 3ส (ส1 การสื บค้นข้อมูล ส2 สร้างสรรค์ผลงาน ส3 สรุ ปและนาเสนอผลงาน) ผูจ้ ดั ทาหวังว่ารายงานนี้จะเป็ นประโยชน์สาหรับผูท้ ี่ได้อ่าน หากการนาเสนอนี้ ขาดตกบกพร่ องประการใดต้องขออภัย ณ ในที่น้ ีดว้ ย
นายธรรศ กุศลสร้าง ผูจ้ ดั ทา
ที่มาของขนมกง ขนมกง เป็ นขนมไทยพื้ น บ้านภาคกลางที นิ ย มใช้ใ นขันหมากแต่ ง งาน ค า เรี ยก กง กงล้อ มีที่มาจากลักษณะเป็ นวงกลมมีเส้นไขว้พาดคล้ายกับกงล้อของเกวียน หรื อ ล้อรถในสมัยปัจจุบนั ซึงตีความถึงการหมุน ความก้าวหน้า ส่ ว นผสมของขนมกงนิ ย มเอาแป้ งจากธัญ ญพื ช ชนิ ดต่ า ง ๆ เช่ น แป้ งข้า วเม่ า ข้าวตอก แป้ งถัว่ นามากวนกับกะทิและน้ าตาลให้เหนียว จากนั้นนามาปั้ นเป็ นตัวขนม เวลาทอดชุบด้วยแป้ งผสมกะทิ บางแห่งใช้สูตรสมัยใหม่จะได้ลกั ษณะของฟองขนมเป็ น ปุ่ ม ฟอง เนื้อคล้ายกับแป้ งชุบทอดของ คนไท-ยวน เรี ย กฟองขนมกงลัก ษณะดั้ง เดิ ม แบบนี้ ว่ า "หัว แก้ว หัว แหวน" นอกเหนือจากความก้าวหน้าของชีวติ แล้ว ถ้าขนมกงมี "หัวแก้ว หัวแหวน"ก็ยงั หมายถึง มีทรัพย์สินแก้วแหวนเงินทองด้วย ขนมกงจึ งนิ ยมนาไปอวยพรในวาระมงคลต่าง ๆ นอกเหนือจากการประกอบในงานแต่งงาน ปั จจุบนั ยังพอจะมีคนทาขนมกงแบบโบราณอยูไ่ ม่กี่คนแล้ว เพราะการทาขนม ให้ไ ด้ฟ องขนมแบบนี้ ต ้องอาศัย ความเชี่ ย วชาญอย่า งมาก
ส่ ว นใหญ่ จึ ง หัน ไปใช้
ส่ วนผสมแป้ งสมัยใหม่ อาศัยแป้ งสาลี และ ไข่แดง เป็ นตัวช่วยแทน สู ตรสมัยใหม่ทา ให้เปลือกขนมกรอบแต่วา่ ทอดแล้วไม่มีฟองอากาศ ( ที่มา : http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=tawanclub&date=03-102012&group=9&gblog=6 )
วัตถ ุดิบและสัดส่วน ขนมกง 1. ถัว่ เขียวคัว่ บด 4 ¼ ถ้วย 2. แป้งข้าวเหนียว ¼ ถ้วย 3. นา้ ตาลทราย 2 ½ ถ้วย 4. กะทิ 2 ¼ ถ้วย แป้งสาหรับชุบ 1. แป้งสาลี 2. ไข่แดง 3. นา้ 4. นา้ มันพืช 5. เกลือ 6. นา้ มันพืชสาหรับทอด ขั้นตอนการปรุง 1. กะทิน้ าตาลทรายผสมเข้าด้วยกันในกระทะทองเหลือง ยกขึ้นตั้งไฟพอน้ ากะทิ เดือดใส่ ถวั่ เขียวบดและแป้ งข้าวเหนียวลงไป 2. กวนจนแป้ งที่ได้มีลกั ษณะเหนียว จนปั้นได้ 3. ปั้นถัว่ กวนที่ได้เป็ นก้อนกลม 2 ขนาด ขนาดที่เล็กกว่าคลึงเป็ นเส้นยาว 2 เส้น วางพาดบนวงกลมให้เป็ นรู ปกากบาท ทาจนหมดเตรี ยมไว้สาหรับชุบทอด 4. ผสมแป้ งสาลี ไข่แดง น้ า เกลือ น้ ามันพืช ใช้ตะกร้อมือหรื อเครื่ องตีไข่ ตีผสม ให้เข้ากัน 5. นาขนมที่ได้ลงชุบแล้วนาลงทอดให้แป้ งสุ กเหลือง ตักขึ้นทิง้ ให้สะเด็ดน้ ามัน หรื อซับด้วยกระดาษสาหรับซับน้ ามัน ( ที่มา : http://th.openrice.com/recipe/detail.htm?recipeid=808 )
ส1 การสื บค้ นข้ อมูล
Stage 1 : Research & Design Brief ข้ อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับตัวสิ นค้ า ชื่อสิ นค้า : ขนมกงแม่พกั
ที่อยู่ : หน้าวัดสุวรรณดาราราม จังหวัดพระนครศรี อยุธยา เบอร์โทรติดต่อ : 08-3812-1803 ประเภท : อาหารหวาน สัญชาติอาหาร : ไทย วัตุดิบหลัก : ถัว่ /แป้ ง เทคนิคการบรรจุ : ใส่ ในถุงแก้ว จานวน : 5 ชิ้น รู ปแบบการวางขาย : วางขายหน้าร้าน/ร้านขายขนม/ร้านขายของฝาก ราคา : 40 บาท การนาส่ งสิ นค้า : รถยนต์
Stage 2 : วิเคราะห์ ปัญหาทางกายภาพตัวสิ นค้ า (Ploblem Analysis) ปัญหาทีพ่ บ 1. Package เป็ นถุงแก้ว OPP ไม่มีความแข็งแรง เวลาถูกกระแทกจะทาให้ตวั ขนมแตกหักไม่คงรู ป 2. ป้ ายสิ นค้าใส่ รวมไว้ในถุงกับขนมกง เมื่อ โดนน้ ามันทาให้หมึกเยิม้ ละลาย เป็ นอันตรายต่อผู ้ บริ โภค 3. Label ป้ ายสิ นค้าไม่ดึงดูดใจ
Stage 3 : แนวทางการแก้ ปัญหาของตัวสิ นค้ า แนวทางการแก้ปัญหา 1. ออกแบบกล่องกระดาษให้แข็งแรงป้ องกันการกระแทก 2. ออกแบบ Label ใหม่ให้สวยงาม อยูบ่ นกล่องแทนที่จะอยูข่ า้ งในถุง
ส2 การสร้ างสรรค์ ผลงาน
นาเสนอตัวอย่ างการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Package Design Simple ) กาหนดโครงสร้ างหลักของบรรจุภัณฑ์ ทใี่ ช้ เทคนิคการบรรจุ : กล่องมีลกั ษณะเปิ ดฝาด้านบน บรรจุภณ ั ฑ์ที่ใช้ : กระดาษอาร์ตมัน 250 แกรม ขนาด : 9x9x11.5 ซม. สี ของบรรจุภณ ั ฑ์ : สี เขียวลวดลายใบตอง (สื่ อถึงขนมที่มีความเป็ นไทย) ระบบการพิมพ์ : พิมพ์ 4 สี (Offset) Fonts : JasmineUPC สี อกั ษร : สี ดา
แบบคลีก่ ล่องชั้นนอก
Sketchup Design
ส3 สรุป การนาเสนอผลงาน
โครงการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ ขนมกง“แม่ พกั ” ผูอ้ อกแบบ : นายธรรศ กุศลสร้าง รหัสประจาตัว 5111312228 รายวิชา ARTI3413 การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ กลุ่ม 101 Contact Email : tutt.kusolsang001@gmail.com Blog : arti3413-tutt.blogspot.com
สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบประยุกต์ ศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
MoodBoard