Hospital Research Project

Page 1

HOSPITAL RESEARCH PROJECT

: S A M I T I V E J H O S P I TA L A N D M A N A R O M H O S P I TA L

Fa c to r s , Te c h n o l o g i e s a n d I n n o v a t i o n s o f I n te r i o r A r c h i t e c t u re a n d B u i l t E n v i ro n m e n t I n s t r u c t o r : A j . Vi r a t R a t t a k o r n Authors : Jurairat Bootprasertwicha Phachara Phanthawutkoson Nutchakarn Kanchanapan Tizzada Limpisthira Thanakorn Chanreungrit



HOSPITAL RESEARCH PROJECT

: S A M I T I V E J H O S P I TA L A N D M A N A R O M H O S P I TA L

Fa c to r s , Te c h n o l o g i e s a n d I n n o v a t i o n s o f I n te r i o r A r c h i t e c t u re a n d B u i l t E n v i ro n m e n t I n s t r u c t o r : A j . Vi r a t R a t t a k o r n Authors : Jurairat Bootprasertwicha Phachara Phanthawutkoson Nutchakarn Kanchanapan Tizzada Limpisthira Thanakorn Chanreungrit



CONTENT

7 15 17 31 33

37

81 89 93 97 119

126

127 129 133 145 153 173

H O S P I TA L H I S TO RY H O S P I TA L T Y P E H O S P I TA L L EG A L S A M I T H I V E J H O S P I TA L OVERVIEW DESIGN PROCESS DESIGN FACTOR DESIGN TECHNOLOGY DESIGN INNOVATION DESIGN DETAIL DESIGN SUGGESTION

M A N A R O M H O S P I TA L OVERVIEW GENERAL INFORMATION DESIGN PROCESS DESIGN INNOVATION DESIGN DETAIL DESIGN SUGGESTION


6


HOSPITAL HISTORY ประวั ต ิ ค วามเป็ น มาของโรงพยาบาลในประเทศไทย

เมื่อปี พ.ศ. 2424 ประเทศไทยเกิดอหิวาตกโรคระบาดไปทั่ว ในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่5 จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นชั่วคราวในที่ชุมชนรวม 48 ตำ�บล ครั้น โรคร้ายเสื่อมถอยลง โรงพยาบาลจึงได้ปิดทำ�การไป แต่ในพระราชหฤทัย ทรงตระหนักว่า โรงพยาบาลนั้นยังประโยชน์บำ�บัดทุกข์บำ�รุงสุขให้พสกนิกร ดังนั้น 5 ปีต่อมา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งคณะกรรมการ เพื่อดำ�เนินการก่อสร้างโรง พยาบาลถาวรแห่งแรกในประเทศไทย ณ บริเวณวังของกรมพระราชวังบวร สถานพิมุข (วังหลัง) ทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ�เจ้าพระยา โดยพระราชทาน พระราชทรัพย์เป็นทุนแรกเริ่มในการดำ�เนินการ ในระหว่างที่เตรียมการก่อสร้างโรงพยาบาลนั้น สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ฯ พระราชโอรสอันประสูติจากสมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินีนาถ ได้ประชวรโรคบิดสิ้นพระชนม์ลง ยังความอาลัยเศร้า โศกแห่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ยิ่งนัก ถึงกับทรงมีพระราช ปณิธานอย่างแรงกล้าที่จะให้มีโรงพยาบาลเกิดขึ้น ครั้นเสร็จงานพระเมรุแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รื้อโรงเรือนและ เครื่องใช้ต่างๆ

ในงานพระเมรุนำ�ไปสร้างโรงพยาบาล ณ บริเวณวังหลังดังกล่าว แล้วยังพระราชทานทรัพย์ส่ วนของสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราช กกุธภัณฑ์ แก่โรงพยาบาลอีกด้วย โดยในระยะแรก ได้จัดสร้างเรือนพักผู้ ป่วยขึ้น 6 หลัง national (JCI) ในระดับนานาชาติ นั่นเอง เมื่อ 124 ปีที่แล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงพระกรุณา เสด็จพระราชดำ�เนินทรงประกอบพิธีเปิด และพระราชทานนามว่า “โรง ศิริราชพยาบาล” สำ�หรับทั้งแผนปัจจุบันและแผนโบราณของไทย ต่อมาได้โปรดเกล้า ให้จัดตั้งโรงเรียนแพทย์แห่งแรกของประเทศไทย และพัฒนาขึ้นเป็นคณะ แพทยศาสตร์จัดการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี ครั้นถึง พ.ศ. 2512 ได้สถาปนามหาวิทยาลัยมหิดล จึงเปลี่ยนนามเป็น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ได้ทรงพัฒนายกระดับ มาตรฐานทางวิชาการแพทย์ และโรงพยาบาลศิริราชเข้าสู่มาตรฐานสากล แพทย์ในประเทศที่มีชื่อเสียง และได้รับการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผ่านการรับรองคุณภาพ Hospital Accreditation (HA) ในระดับชาติ และ Joint Commission Inter

7


H O S P I TA L H I STO R Y TIMELINE

ร.5 โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง คณะกรรมการ เพ่ือดํา เนินการก่อสร้างโรง พยาบาลถาวรแห่ง แรกในประเทศไทย ณ บริเวณวัง ของกรมพระ ราชวังบวข สถานพิมุข

2429

8

สถานทูตอังกฤษ ชุ​ุมชน ชาว อังกฤษ และ Mr. George Greville CMG ราชทูตได้ ปรึกษาหารือเร่ื องความเจ็บ ร.5 ทรงโปรดเกล้าฯจัด ไข้ของชาวอังกฤษในสยาม จึงนําเรื่องเสนอ รัชกาลท่ี 5 ตั้ง โรงเรียนแพทย์แห่งแรก และได้รับพระราชานุญาต ของไทย ชื่อว่า “โรงเรียน และพระราชประสงค์ให้ก่อ ศิริราชแพท ยากร” ต่อ ตั้ง “บ้าน พยาบาล หรือ มา ได้รับ พระราชทาน เนอสซิ่งโฮม” ข้ึน เพื่อเป็น นามว่า “ราชแพทยาลัย” สถานท่ีรักษาพยาบาลแก่

2433

2440

2424

2431

2441

ประเทศไทยเกิดอหิวาตก โรคระบาด ร.5โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงพยาบาลข้ึนชั่ว คราวในท่ีชุมชน 48 ตําบล แต่เม่ือโรคหยุดระบาด ได้

โรงพยาบาลก่อสร้างแล้ว เสร็จและสถาปนาข้ึนใน เม่ือ วันท่ี 26 เมษายน พ.ศ. 2431 และโปรด เกล้าฯพระราชทานนาม

โรงพยาบาลก่อสร้างแล้ว เสร็จและได้ว่าจ้างผู้จัดการ พยาบาลผู้ดูแลคนแรกชื่อ Miss Cawley และพยา บาลชื่อ Miss Hitchens จากประเทศอังกฤษมา เป็นพยาบาลประจํา


โรงเรียนแพทย์พัฒนาเป็น คณะแพทยศาสตร์ จัดการ เรียนการสอนปริญญาตรี แห่งแรกในประเทศไทย และจัดตั้ง “มหาวิทยาลัย

โรงพยาบาลได้ก้าวสู่ พัฒนาการคร้ังสําคัญ เพื่อปรับองค์กรสู่ระดับ มาตราฐานสากล

2485

2534 2512 ร.9 สถาปนา“มหาวิทยาลัย มหิดล” ขึ้น และพระราช ทานนามใหม่เป็น “คณะ แพทยศาสตร์ศิริราชพยา บาล” และด้วยมหากรุณาธิ คุณของสมเด็จ พระมหิดลา ธิเบศร์ อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ได้ทรง พัฒนายกระดับมาตรฐาน

2539

ได้ก่อสร้างอาคารใหม่ ขึ้น และเปลี่ยนช่ือโรง พยาบาลเป็น “โรง พยาบาลบีเอ็นเอช”

9


“Hospital is an integral part of medical organization, the func is to provide for the population health care, both curative and and whose out- patient servic to the family in its home enviro hospital is also a center for th health workers and biosocial r “ สถานพยาบาล

หมายถึง สถาน โรคศิลปะ การประกอบวิช าชีพเวชกรรมตามกฎหมา วิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือ การประ จะได้รับผลประโยชน์ตอบแทนหร

“ โรงพยาบาล หมายถึง สถานพยาบาลใดๆซึ่งได้รับอนุญาตให้ตั้งและดำ�เนินการสถานพยาบาลตามพระราชบัญญัต ซึ ่ งมีเตีย งรับคนไข้ ไว้ค้างคืน และจัดให้ มี ก ารวิ นิ จ ฉั ยโรค การศั ลยกรรม ผ่ า ตั ดใหญ่ และให้ บ ริ การด้ านพยาบาลเต็ ม เวลา ”

10


f a social and ction of which n complete d preventive, ces reach out onment, the he training of research. ”

W H AT D O E S T H E H O S P I TA L M E A N S ?

นที่รวมตลอดถึ งยานพาหนะ ซึ่ง จัด ไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบ ายว่าด้วยวิ ช าชี พ เวชกรรม การประกอบวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วย ะกอบวิช าชี พทั น ตกรรมตามกฎหมายว่า ด้วยวิชาชีพ ทันตกรรม ทั้งนี้โ ดยกระทำ�เป็นปกติธุระ ไม่ว่า รื อไม่ แต่ ไม่ รวมถึ งสถานที ่ ขายยาตามกฎหมายว่า ด้วยยาซึ่งประกอบธุรกิจการขายยาโดยเฉพาะ ”

ติ สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 เพื่อประกอบการรั ก ษาคนไข้ หรื อผู ้ ป่ ว ย

11


โรงพยาบาล คื อ องค์ ก ารที ่ ด ำ � เนิ น งาน ด้ า นการแพทย์

ทั ้ ง ในสถานที ่ ต ั ้ ง ของโรง

พยาบาลและในชุ ม ชน มี ห น้ า ที ่ ใ ห้ บ ริ ก าร สาธารณสุ ข ทุ ก ด้ า นแก่ ป ระชาชน ทั ้ ง ด้ า น การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ

การป้ อ งกั น โรค/

ภาวะเสี ่ ยงต่อการเกิดโรคหรือลักษณะ ที ่ จ ะเป็ น อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพ

การรั ก ษา

พยาบาล และการฟื ้ น ฟู ส ภาพภายหลั ง การ เจ็ บ ป่ ว ย ทั ้ ง การให้ บ ริ ก าร ณ องค์ ก าร และ การให้ บ ริ ก ารภายนอกองค์ ก าร

รวมทั ้ ง

ขยายไปถึ ง บ้ า นของผู ้ ป ่ ว ยด้ ว ย นอกจาก นี ้ ยั ง เป็ น สถานที ่ ฝ ึ ก อบรมบุ ค ลากรด้ า น การแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข

ตลอดจนการ

ศึ ก ษา การค้ น คว้ า และการวิ จ ั ย ในด้ า นการ แพทย์ ด้ า นการสาธารณสุ ข และด้ า นอื ่ น ๆ ที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง เพื ่ อ การแก้ ป ั ญ หาและการ พั ฒ นาคุ ณ ภาพชี ว ิ ต ของประชาชน

12


13


14


HOSPITAL TYPE ประเภทของโรงพยาบาล

การจัดประเภทโรงพยาบาลตามการใหบริการ แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1) โรงพยาบาลทวั่ไป(generalhospital) ให  บ ริ ก ารการรั ก ษาในโรคพื้ น ฐานและการรั ก ษาทั่ ว ไปซึ่ ง จะ อยูทั้งในรูปแบบของ โรงพยาบาลรัฐและโรงพยาบาลเอกชนประกอบ ไปดวยหนวยงานสวนตาง ๆ ตามความจําเปนของการ รักษา และ ความสามารถในการใหบริการ ซึ่งโดยพื้นฐานแลวโรงพยาบาลจะประ กอบดวยแผนกตาง ๆ ที่ใหบริการรักษา เชน แผนกฉุกเฉิน แผนก อายุรกรรม แผนกกุมารเวช แผนกศัลยกรรม หองผาตัด หองปฏิบัติ การ แผนกสูตินารีเวช แผนกอภิบาล ผูปวยวิกฤติ หองคลอด และ หองทารกแรกเกิดซ่ึงแผนก เหลานี้เปนแผนกพื้นฐานของโรงพยาบาล ที่ ใหการรักษาในระดับเบื้องตน (primary care) นอกจากนี้ โรง พยาบาลที่มีขนาดใหญอาจมีการใหบริการใน รูปแบบอื่น ๆ เชนแผนก เอกซเรยแผนกทันตกรรม แผนกตาหูคอจมูกแผนกผิวหนังแผนก จิตเวชแผนกโรคหัวใจซึ่งเปนโรงพยาบาลทั่วไป เชนบํารุง ราษฏร พญาไท กรุงเทพฯ วิภาวดี สมิติเวช เปนตน

ทุนดานเครื่องมือแพทยคอนขางสูงและเสพติด) สถาบันมะเร็งแหง ชาติ โรงพยาบาลโรคผิวหนัง โรงพยาบาลทันตกรรม เปนตน อาศัย ช่ื อเสียง ของแพทยผูเช่ียวชาญเปนสําคัญเม่ือเทียบกับการรักษาจากโรง พยาบาลทั่วไป โรงพยาบาล เฉพาะทางจะมีความไดเปรียบจากการรักษา ที่มีความเปนเลิศเฉพาะอยาง โรงพยาบาลสวนใหญจึง เริ่มที่จะจัดตั้ง แผนกหรือหนวยงานที่สามารถรองรับการรักษาเฉพาะทางมากขึ้นหรือ มีการตั้งคลีนิค เฉพาะทางขึ้นมา เชน ศูนยหัวใจโรงพยาบาลกรุงเทพ ศูนยหัวใจพญาไท หรือคลีนิคจิตเวชเด็ก โรงพยาบาลรามาธิบดี เปนตน 3) โรงพยาบาลแยกประเภทผูปวย(specificpatienthospital) โรงพยาบาลที่มีการแยกหรือรับแตเฉพาะผูปวยที่มีขอจํากัด ดานตาง ๆ เชน ขอจํากัด ดานศาสนาหรือขอจํากัดดานความปลอดภัย เชน โรงพยาบาลสงฆที่มีการใหบริการเฉพาะอัน เนื่องจากขอจํากัดของ สมณเพศ โรงพยาบาลเด็กซึ่งมีขอจํากัดดานเครื่องมือแพทยที่เหมาะ สมกับเด็ก และภาวะภูมิคุมกันของเด็ก

2) โรงพยาบาลรกัษาโรคเฉพาะทาง (specialized hospital) โรงพยาบาลที่ ใหการรักษากับโรคหรือสวนของรางกายในแบบ เฉพาะทางที่มีการ รักษาแบบยุงยากซับซอน เชน โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน โรงพยาบาลโรคทรวงอก โรงพยาบาลศรีธัญญา (จิตเวช) โรง พยาบาลธัญญารักษ (ผูปวยยาโรงพยาบาลเหลานี้สวนใหญจะมีการลง

15


16


HOSPITAL LEGAL กฏหมายที ่ เ กี ่ ย วกั บ โรงพยาบาลอาคารสถานพยาบาล

พระราชบัญญัติ 1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522, (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535, (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 - มาตรา 32,มาตรา 32 ทวิ,มาตรา 33, มาตรา 34 2. พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 - มาตรา 46, มาตรา 47, มาตรา 48, มาตรา 49, มาตรา 50, มาตรา 51 3. พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541, (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2547, (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2555 - มาตรา 4, มาตรา 14 ประกาศกระทรวง และกฏกระทรวง 1. กฏกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ 2522 - ฉบับที่ 6 2527, ฉบับที่ 33 2535, ฉบับที่ 39 2537, ฉบับที่ 44 2538, ฉบับที่ 55 2543 2. ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม - ฉบับที่ 2 2535, ฉบับที่ 3 2539 3. กฏกระทรวงว่าด้วยการประกอบกิจการสถานพยาบาล พ.ศ 2545 - ข้อ 7, ข้อ 10, ข้อ 27, ข้อ 28 4. กฏกระทรวงว่าด้วยลักษณะของสถานพยาบาล และลักษณะการให้ บริการของสถานพยาบาล พ.ศ. 2545 - ข้อ 5, ข้อ 6, ข้อ 1

17


พระราชบั ญ ญั ต ิ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ.2522

18

๓๒

๓๒ทวิ

“มาตรา 32 อาคารประเภทควบคุมการใช้ คือ อาคารดังต่อไปนี้ “(1) อาคารสำ�หรับใช้เป็นคลังสินค้า โรงแรม อาคารชุด หรือสถาน พยาบาล” (2) อาคารสำ�หรับใช้เพื่อกิจการพาณิชยกรรม อุตสาหกรรม การศึกษา การ สาธารณสุข หรือกิจการอื่น ทั้งนี้ ตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง เมื่อผู้ ได้รับ ใบอนุญาตให้ก่อสร้างดัดแปลงหรือเคลื่อนย้ายอาคารประเภทควบคุมการ ใช้ หรือผู้แจ้งตามมาตรา 39 ทวิได้กระทำ�การดังกล่าวเสร็จแล้ว ให้แจ้งเป็น หนังสือให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบตามแบบที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกำ�หนด เพื่อทำ�การตรวจสอบการก่อสร้างดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารนั้นให้ แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งห้ามมิให้บุคคลใดใช้อาคาร นั้นเพื่อกิจการดังที่ระบุไว้ ในใบอนุญาต หรือที่ได้แจ้งไว้ตามมาตรา 39 ทวิ ภายในกำ�หนดเวลาตามวรรคสองถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นได้ทำ�การตรวจ สอบแล้วเห็นว่าการก่อสร้างดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารนั้นเป็นไปโดย ถูกต้องตามที่ได้รับใบอนุญาตหรือที่ได้แจ้งไว้ตามมาตรา 39 ทวิแล้ว ก็ให้ ออกใบรับรองให้แก่ผู้ ได้รับใบอนุญาตหรือผู้แจ้งตามมาตรา 39 ทวิ เพื่อ ให้มีการใช้อาคารนั้นตามที่ได้รับใบอนุญาตหรือขที่ได้แจ้งไว้ตามมาตรา 39 ทวิได้ แต่ถ้าเจ้าพนักงานท้องถิ่นมิได้ทำ�การตรวจสอบภายในกำ�หนด เวลาตามวรรคสอง ให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารนั้นใช้หรือยินยอม ให้บุคคลใดใช้อาคารนั้นเพื่อกิจการดังที่ระบุไว้ ในใบอนุญาตหรือที่ได้แจ้ง ไว้ตามมาตรา 39 ทวิ ต่อไปได้ห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคาร ประเภทควบคุมการใช้ ใช้หรือยินยอมให้บุคคลใดใช้อาคารนั้นเพื่อกิจการ อื่นนอกจากที่ระบุไว้ ในใบอนุญาต หรือที่ได้แจ้งไว้ตามมาตรา 39 ทวิ” (“มาตรา 32” แก้ ไขโดย พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา 9) (มาตรา 32 “(1)” แก้ ไขแล้วโดย พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 16)

“มาตรา 32 ทวิ เจ้าของอาคาร ดังต่อไปนี้ (1) อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ (2) อาคารชุมนุมคน (3) อาคารตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง ต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบด้านวิศวกรรมหรือผู้ตรวจสอบด้านสถาปัตยกรรม แล้วแต่กรณี ทำ�การตรวจสอบสภาพอาคาร โครงสร้างของตัวอาคาร อุปกรณ์ประกอบต่างๆ เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า และการจัดแสงสว่างระบบ การเตือนการป้องกันและการระงับอัคคีภัย การป้องกันอันตรายเมื่อมีเหตุ ชุลมุนวุ่นวาย ระบบระบายอากาศ ระบบระบายน้ำ� ระบบบำ�บัดน้ำ�เสีย ระบบ เครื่องกล หรือระบบอื่น ๆ ของอาคารที่จำ�เป็นต่อการป้องกันภยันตรายต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สิน แล้วรายงานผลการตรวจ สอบต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กำ�หนดในกฎกระทรวง ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นพิจารณาผลการตรวจสอบสภาพอาคารตามวรรค หนึ่งโดยมิชักช้า เพื่อพิจารณาออกใบรับรองการตรวจสอบสภาพอาคารหรือ ดำ�เนินการตามมาตรา 46 หรือมาตรา 46 ทวิ แล้วแต่กรณี ต่อไป” (“มาตรา 32 ทวิ” บัญญัติเพิ่มโดย พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543 มาตรา 17)


๓๓

๓๔

“มาตรา 33 ห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารซึ่งไม่เป็นอาคาร ประเภทควบคุมการใช้ ใช้หรือยินยอมให้บุคคลใดใช้อาคารดังกล่าวเพื่อ กิจการตามมาตรา 32 เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือได้แจ้งให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นทราบแล้ว และให้นำ�มาตรา 25 และ มาตรา 27 หรือมาตรา 39 ทวิ แล้วแต่กรณีมาใช้บังคับโดยอนุโลม ให้นำ�ความในวรรคหนึ่งมาใช้บังคับแก่การเปลี่ยนการใช้อาคารประเภท ควบคุมการใช้สำ�หรับกิจการหนึ่งไปใช้เป็นอาคารประเภทควบคุมการใช้ สำ�หรับอีกกิจการหนึ่งโดยอนุโลม”

“มาตรา 34 ห้ามมิให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารที่ต้องมีพื้นที่ หรือสิ่ง ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเข้าออกของรถตามที่ระบุ ไว้ ในมาตรา 8 (9) ดัดแปลง หรือใช้หรือยินยอมให้บุคคลอื่นดัดแปลงหรือ ใช้ที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเข้าออกของรถนั้นเพื่อการอื่น ทั้งนี้ ไม่ว่า ทั้งหมดหรือบางส่วน เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น ข้อห้ามตามวรรคหนึ่งให้ถือว่าเป็นภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์นั้น โดยตรงตราบที่อาคารนั้นยังมีอยู่ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะมีการโอนที่จอดรถ ที่กลับ รถและทางเข้าออกของรถนั้นต่อไปยังบุคคลอื่นหรือไม่ก็ตาม”

(“มาตรา 33” แก้ ไขโดย พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา 9 )

(“มาตรา 34” แก้ ไขโดย พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 มาตรา 9)

19


กฏกระทรวงออกตามความใน พระราชบั ญ ญั ต ิ ค วบคุ ม อาคาร พ.ศ.2522

ฉบับที่ ประเภทและส่วนต่างๆของอาคาร (๔) เป็นห้องแถว ตึกแถวที่ใช้พักอาศัย อาคารชุด ห้อพัก โรงแรม และ ห้องคนไข้ พิเศษของโรงพยาบาล (๖)(ก) อาคารพาณิชย์ ส่วนของห้องแถว ตึกแถวที่ใช้เพื่อการพาณิชย์ มหาวิทยาลัย วิทยาลัย โรงเรียน และโรง พยาบาล

ฉบับที่

หน่วยน้ำ�หนักบรรทุกจรเป็นกิโลกรัม ต่อ ตารางเมตร ๒๐๐ ๓๐๐

๓๙

หมวด ๒ แบบ และจำ�นวนห้องน้ำ�ห้องส้วม ชนิดหรือประเภทของอาคาร (๑๓) สถานพยาบาลตามกฏ หมายว่าด้วยสถานพยาบาล ต่อพื้นที่อาคาร ๒๐๐ เมตร (ก) ผู้ชาย (ข) ผู้หญิง

ห้องส้วม ห้องน้ำ� ที่ถ่ายอุจจาระ ที่ถ่ายปัสสาวะ

๒ ๒

๒ -

อ่างล้าง มือ

-

๑ ๑

หมวด ๓ ระบบจัดแสงสว่าง และการระบายอากาศ

ฉบับที่

๓๓

หมวด ๒ ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟ้า ระบบป้องกันเพลิงไหม้ ลำ�ดับ ๑๙

20

สถานที่ โรงพยาบาล - ห้องคนไข้ - ห้องผ่าตัด และห้องคลอด - ห้อง ไอ.ซี.ยู

ลูกบาศก์ เมตร/ซ.ม./ตารางเมตร ๒ ๘ ๕

ลำ�ดับ ๑๑

สถานที่(ประเภทการใช้) ห้องน้ำ� ห้องส้วมโรง มหรสพ สถานพยาบาล สถานีขนส่งมวลชน ห้าง สรรพสินค้า หรือตลาด

หน่วยความเข้มของแสงสว่าง (ลักษ์ : LUX) ๒๐๐

หมวด ๓ ตารางที่ ๕ อัตราปรับอากาศ กรณีที่มีเครื่องระบายอากาศ ลำ�ดับ ๑๙

สถานที่(ประเภทการใช้) หน่วยความเข้มของแสงสว่าง (ลักษ์ : LUX) สถานพยาบาล -ห้องคนไข้ ๒ -ห้องผ่าตัดและห้องคลอด ๘ -ห้องช่วยชีวิตฉุกเฉิน ๕ - ห้องไอ.ซี.ยู ห้องซี.ซี.ยู ๕


ฉบับที่

๔๔

ข้อ ๓ อาคารประเภทและลักษณะดังต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีระบบการระบาย น้ำ�และระบบบำ�บัดน้ำ�เสียที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปรับปรุงน้ำ�เสีย ออกจากอาคาร ให้เป็นน้ำ�ทิ้งที่มีคุณภาพมาตรฐานที่กำ�หนดไว้ ในข้อ ๔ ก่อนที่จะระบายลงสู่แหล่งรองรับน้ำ�ทิ้ง (๑) อาคารประเภท กโรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลตาม กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลที่มีจำ�นวนเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนรวมกัน ทุกชั้นในอาคารหลังเดียวกัน หรือหลายหลังรวมกันตั้งแต่ ๓๐ เตียงขึ้นไป (๒) อาคารประเภท ข โรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลตาม กฎ หมายว่าด้วยสถานพยาบาลที่มีจำ�นวนเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนรวมกัน ทุกชั้นในอาคารหลังเดียวกันหรือหลายหลังรวมกันตั้งแต่ ๑๐ เตียงแต่ ไม่ เกิน ๓๐ เตียง (๔) อาคารประเภท งโรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลตาม กฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลที่มีจำ�นวนเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนรวมกัน ทุกชั้นในอาคารหลังเดียวกัน หรือหลายหลังรวมกัน ไม่ถึง ๑๐ เตียง ข้อ ๔ น้ำ�ทิ้งจากอาคารที่จะระบาย จากอาคารลงสู่แหล่งรองรับน้ำ�ทิ้งได้ ต้องมีคุณภาพน้ำ�ทิ้งตามประเภท ของอาคารตามมาตรฐานคุณภาพน้ำ�ทิ้ง ข้อ ๑๐ อาคารที่ใช้เป็นตลาด โรงแรม ภัตตาคาร หรือ สถานพยาบาล ต้อง จัดให้มีที่รองรับขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล โดยมีลักษณะ ดังต่อไปนี้ (๑) ผนังต้องทำ�ด้วยวัสดุถาวรและทนไฟ (๒) พื้นผิวภายในต้องเรียบและ กันน้ำ�ซึม (๓) ต้องมีการป้องกันกลิ่นและน้ำ�ฝน (๔) ต้องมีระบบการระบายน้ำ�เสียและขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลลงสู่ระบบ บำ�บัดน้ำ�เสีย (๕) ต้องมีการระบายอากาศและป้องกันน้ำ�เข้า (๖) ต้องมีความจุไม่น้อยกว่า ๑.๒ ลิตรต่อพื้นที่ของอาคารหนึ่งตารางเมตร (๗) ต้องจัดไว้ ในที่ที่สามารถขนย้ายขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลได้โดย สะดวก

ฉบับที่

๕๕

ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้ อาคารสาธารณะ หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์ในการชุมนุม คนได้โดยทั่วไป หรือเพื่อกิจกรรมทางราชการ การเมือง การศึกษา การ ศาสนา การสังคม การนันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมุด สนามกีฬากลาง แจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสินค้า ศูนย์การค้า สถานบริการ ท่า อากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ท่าจอดเรือ โป๊ะจอด เรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนา เป็นต้น ส่วนที่ ๒ พื้นที่ภายในอาคาร ข้อ ๒๒ ห้องหรือส่วนของอาคารที่ใช้ ในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ต้องมีระยะ ดิ่งไม่น้อยกว่าตามที่กำ�หนดไว้ดังต่อไปนี้ ประเภทการใช้อาคาร ๑.ห้องที่ใช้เป็นที่พักอาศัย บ้านแถว ห้องพักโรงแรม ห้องเรียนนักเรียน อนุบาล ครัวสำ�หรับอาคารอยู่อาศัย ห้องพักคนไข้พิเศษ ช่องทางเดินในอาคาร ๓.ห้องขายสินค้า ห้องประชุม ห้องคนไข้รวม คลังสินค้า โรงครัวตลาดและอื่นๆที่คล้ายกัน

หน่วยน้ำ�หนักบรรทุกจรเป็น กิโลกรัม ต่อ ตารางเมตร ๒.๖๐ เมตร ๓.๕๐ เมตร

ข้อ ๒๔ บันไดของอาคารอยู่อาศัยรวม หอพักตามกฎหมายว่าด้วยหอพัก สำ�นักงาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน และอาคารพิเศษ สำ�หรับที่ใช้กับชั้นที่มีพื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันไม่เกิน ๓๐๐ ตาราง เมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า ๑.๒๐ เมตร แต่สำ�หรับบันไดของ อาคารดังกล่าวที่ใช้กับชั้นที่พื้นที่อาคารชั้นเหนือขึ้นไปรวมกันเกิน ๓๐๐ ตารางเมตร ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร ถ้าความกว้าง สุทธิของบันไดน้อยกว่า ๑.๕๐ เมตร ต้องมีบันไดอย่างน้อยสองบันได และ แต่ละบันไดต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า ๑.๒๐ เมตร

21


พระราชบั ญ ญั ต ส่ ง เสริ ม และรั ก ษา คุ ณ ภาพสิ ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535

๔๖ มาตรา ๔๖ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีอำ�นาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำ�หนดประเภท และขนาดของ โครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่มีผลกระทบ สิ่งแวดล้อมซึ่งต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อ เสนอขอความเห็นชอบตามมาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ในการประกาศตามวรรคหนึ่ง ให้กำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจน เอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องเสนอพร้อมกับรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อม สำ�หรับโครงการหรือกิจการแต่ละประเภทและแต่ละขนาดด้วย ในกรณีที่โครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดใดหรือที่จะจัดตั้งขึ้นใน พื้นที่ใดมีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไว้แล้ว และเป็นมาตรฐานที่ สามารถใช้กับโครงการหรือกิจการประเภทหรือขนาดเดียวกันหรือในพื้นที่ ลักษณะเดียวกันได้ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่ง แวดล้อมแห่งชาติอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำ�หนดให้โครงการหรือ กิจการในทำ�นองเดียวกันได้รับยกเว้นไม่ต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้ แต่ทั้งนี้ โครงการหรือกิจการนั้นจะต้องแสดง ความยินยอมปฏิบัติตามมาตรการต่างๆ ที่กำ�หนดไว้ ในการวิเคราะห์ผลก ระทบสิ่งแวดล้อมสำ�หรับโครงการหรือกิจการนั้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่รัฐมนตรีกำ�หนด

22

๔๗ มาตรา ๔๗ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการของส่วน ราชการ รัฐวิสาหกิจหรือโครงการร่วมกับเอกชน ซึ่งต้องเสนอขอรับความ เห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ ให้ส่วน ราชการหรือรัฐวิสาหกิจซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้น จัดทำ� รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ในระยะทำ�การศึกษา ความเหมาะสมของโครงการเสนอต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เพื่อเสนอความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี ในการพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมที่เสนอตามวรรคหนึ่ง คณะรัฐมนตรีอาจขอให้บุคคลหรือสถาบัน ใด ซึ่งเป็นผู้ชำ�นาญการหรือเชี่ยวชาญเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมทำ�การศึกษาและเสนอรายงานหรือความเห็นเพื่อประกอบการ พิจารณาด้วยก็ได้ สำ�หรับโครงการหรือกิจการของส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามมาตรา ๔๖ ซึ่งไม่จำ�ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ ส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโครงการหรือกิจการนั้นจัด ทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อเสนอขอความเห็นชอบ ก่อนที่จะดำ�เนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำ�หนดไว้ ในมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙


๔๘

๔๙

มาตรา ๔๘ ในกรณีที่โครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามมาตรา ๔๖ เป็นโครงการหรือกิจการซึ่งจะต้อง ได้รับอนุญาตจากทางราชการตามกฎหมายก่อนเริ่มการก่อสร้างหรือดำ�เนิน การให้บุคคลผู้ขออนุญาตเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำ�นาจตามกฎหมายนั้น และต่อสำ�นักงานนโยบายและ แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม* ในการเสนอรายงานดังกล่าวอาจ จัดทำ�เป็นรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่รัฐมนตรีกำ�หนดตามมาตรา ๔๖ วรรคสอง ก็ได้ ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำ�นาจ อนุญาตตามกฎหมายรอการสั่งอนุญาตสำ�หรับโครงการหรือกิจการตามวรรค หนึ่งไว้ก่อนจนกว่าจะทราบผลการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อมตามมาตรา ๔๙ จากสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม* ให้สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม*ตรวจสอบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและเอกสาร ที่เกี่ยวข้องที่เสนอมา หากเห็นว่ารายงานที่เสนอมามิได้จัดทำ�ให้ถูกต้องตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่กำ�หนดไว้ ในมาตรา ๔๖ วรรคสอง หรือมีเอกสาร ข้อมูลไม่ครบถ้วน ให้สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม*แจ้งให้บุคคลผู้ขออนุญาตที่เสนอรายงานทราบภายในกำ�หนดเวลา สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น ในกรณีที่สำ�นักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม*พิจารณาเห็นว่า รายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและเอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอมาถูกต้องและ มีข้อมูลครบถ้วน หรือได้มีการแก้ ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้องครบถ้วนตามวรรค สามแล้ว ให้สำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม* พิจารณาเสนอความเห็นเบื้องต้นเกี่ยวกับรายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน กำ�หนดสามสิบวัน นับแต่วันที่ได้รับการเสนอรายงานนั้น เพื่อนำ�เสนอให้ คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการพิจารณาต่อไปกฎหมายสำ�หรับโครงการหรือ กิจการนั้น หรือผู้แทนร่วมเป็นกรรมการอยู่ด้วย

มาตรา ๔๙ การพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการตามมาตรา ๔๘ ให้กระทำ�ให้แล้วเสร็จภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากสำ�นักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม* ถ้าคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการมิได้ พิจารณาให้เสร็จภายในกำ�หนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการผู้ ชำ�นาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการให้ความเห็นชอบ หรือในกรณีที่ให้ ถือว่าคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการให้ความเห็นชอบแล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมี อำ�นาจตามกฎหมายสั่งอนุญาตแก่บุคคลซึ่งขออนุญาตได้ ในกรณีที่คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการไม่ให้ความเห็นชอบ ให้เจ้าหน้าที่รอ การสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขออนุญาตไว้ก่อนจนกว่าบุคคลดังกล่าวจะเสนอ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่คณะกรรมการผู้ชำ�นาญ การสั่งให้ทำ�การแก้ ไขเพิ่มเติมหรือจัดทำ�ใหม่ทั้งฉบับ ตามแนวทางหรือราย ละเอียดที่คณะกรรมการผู้ชำ�นาญการกำ�หนด เมื่อบุคคลดังกล่าวได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมซึ่ง ได้ทำ�การแก้ ไขเพิ่มเติมหรือได้จัดทำ�ใหม่ทั้งฉบับแล้ว ให้คณะกรรมการผู้ ชำ�นาญการพิจารณารายงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่ได้รับการเสนอรายงานดังกล่าว แต่ถ้าคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการมิได้ พิจารณาให้แล้วเสร็จภายในกำ�หนดเวลาดังกล่าว ให้ถือว่าคณะกรรมการ ผู้ชำ�นาญการเห็นชอบ และให้เจ้าหน้าที่ดังกล่าวสั่งอนุญาตแก่บุคคลผู้ขอ อนุญาตได้ ในกรณีที่เห็นเป็นการสมควร รัฐมนตรีจะประกาศในราชกิจจานุเบกษา กำ�หนดให้โครงการหรือกิจการตามประเภทและขนาดที่ประกาศกำ�หนด ตามมาตรา ๔๖ ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมใน การขอต่ออายุใบอนุญาตสำ�หรับโครงการหรือกิจการนั้น ตามวิธีการเช่น เดียวกับการขออนุญาตด้วยก็ได้ 23


พระราชบั ญ ญั ต ส่ ง เสริ ม และรั ก ษา คุ ณ ภาพสิ ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2535

๕๐ มาตรา ๕๐ เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๘ และมาตรา ๔๙ ให้กรรมการผู้ชำ�นาญการหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการ มี อำ�นาจตรวจสถานที่ซึ่งเป็นที่ตั้งของโครงการหรือกิจการที่เสนอขอรับความ เห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ตามความเหมาะ สม เมื่อคณะกรรมการผู้ชำ�นาญการได้ ให้ความเห็นชอบในรายงานการวิเคราะห์ ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๙ แล้ว ให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำ�นาจตาม กฎหมายในการพิจารณาสั่งอนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาต นำ�มาตรการ ตามที่เสนอไว้ ในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปกำ�หนดเป็น เงื่อนไขในการสั่งอนุญาต หรือต่ออายุใบอนุญาตโดยให้ถือว่าเป็นเงื่อนไขที่ กำ�หนดตามกฎหมายในเรื่องนั้นด้วย

24

๕๑ มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติตามมาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๘ รัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติอาจ กำ�หนดให้รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามมาตรา ๔๖ ต้อง จัดทำ�หรือได้รับการรับรองจากบุคคลซึ่งได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ชำ�นาญการ ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก็ได้ การขอและการออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู้ชำ�นาญการศึกษาผลกระ ทบสิ่งแวดล้อมที่จะมีสิทธิทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม การควบคุมการปฏิบัติงานของผู้ ได้รับใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบอนุญาต การสั่งพักและการเพิกถอนการอนุญาต และ การเสียค่าธรรมเนียมการขอและการออกใบอนุญาตให้เป็นไปตามหลัก เกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำ�หนดในกฎกระทรวง


พระราชบั ญ ญั ต ิ ส ถานพยาบาล พ.ศ ๒๕๔๑

๔ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ สถานพยาบาล หมายความว่า สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะซึ่ง จัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบอาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม การ ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์หรือการประกอบอาชีพทันตกรรม ตาม กฎหมายว่าด้วยอาชีพทันตกรรม ทั้งนี้ โดยการทำ�เป็นปกติธุระ ไม่ว่าจะได้ รับประโยชน์ตอบแทนหรือไม่ แต่ไม่รวมถึงสถานที่ขายยาตามกฎหมายว่า ด้วยยา ซึ่งประกอบธุระกิจการขายยาโดยเฉพะ

๑๔

หมวด ๒ การประกอบกิจการสถานพยาบาลและการดำ�เนินการสถาน พยาบาล มาตรา ๑๔ สถานพยาบาลมี ๒ ประเภท ดังต่อไปนี้ (๑) สถานพยาบาลประเภทที่ไม่มีผู้ป่วยค้างคืน (๒) สถานพยาบาลประเภทที่มีผู้ป่วยค้างคืน ลักษณะของสถานพยาบาลแต่ละประเภทตามวรรคหนึ่ง และ ลักษณะการให้บริการของสถานพยาบาลให้เป็นไปตามที่กำ�หนดในกฎ กระทรวง

25


ประกาศกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ ่ ง แวดล้ อ ม

ฉบับที่

เรื่อง กำ�หนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกจิการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อม โดยที่เป็นการสมควรเพิ่มเติมการกำ�หนเประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจกรรม ของส่วนราชการรัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่ต้องจัดทำ�รายงาน วิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มตามบั ญ ชี ท้ า ยประกาศกระทรวงวิ ท ยา ศษสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่องกำ�หนดประเภทและขนาดของ โ๕รงการหรือกิจกรรมของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่ต้องจัด ทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติส่ง เสริมและรักษษคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จึงกำ�หนดประเภทและขนาดของโ๕รง การหรือกิจการของส่วนของราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่ต้องจะดทำ� รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพิ่มเติมตามบัญชีท้ายประกาศ นี้ ประกาศ ณ. วันที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ ลำ�ดับที่ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด ๕ โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล ๕.๑ ที่มีเตียงสำ�หรับผู้ป่วย (๑) กรณีตั้งอยู่ริมแม่น้ำ� ฝั่งทะเล ทะเลสาบ ไว้ค้างคืนตั้งแต่ ๓๐ เตียง หรือชายหาด ซึ่งเป็นบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิด ขึ้นไป ผลกระทบกระเทือนต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม (๒) กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ (๑) ๕.๒ ที่มีเตียงสำ�หรับผู้ป่วย ไว้ค้างคืนตั้งแต่ ๖๐ เตียง ขึ้นไป

26


ฉบับที่ เรื่อง กำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำ� รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม อาศัยอำ�นาจตามความในมาตรา 46 และมาตรา 51 แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จึงกำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธี การ ระเบียบการปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลก ระทบสิ่งแวดล้อมในส่วนขั้นตอนที่ต้องเสนองานรายการวิเคราะห์ผลกระ ทบสิ่งแวดล้อม ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ให้ยกเลิกความในลำ�ดับที่ 4 ตามบัญชีท้ายประกาศ 1 ของ ประกาศประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมลงวัน ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2535 และให้ ใช้ความในลำ�ดับที่ 1 ตามบัญชีท้าย ประกาศนี้แทน ข้อ 2. ให้ยกเลิกความในลำ�ดับที่ 3 ตามบัญชีท้ายประกาศประกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทางในการจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลก ระทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ลงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2535 และให้ ใช้ความในลำ�ดับ ที่ 2 ตามบัญชีท้ายประกาศนี้แทน ข้อที่ 3. ให้ยกเลิกในลำ�ดับที่ 5 ตามบัญชีท้ายประกาศกระทรวง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดหลักหลักเกณฑ์ วิธี การ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระ ทบสิ่งแวดล้อม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ลงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ.2535 และ ให้ ใช้ความในลำ�ดับที่ 3 ตามบัญชีท้ายประกาศนี้แทน ข้อ 4. ให้ประเภทและขนาดของโครงการ ลำ�ดับที่ 3.4 และ 5 ตาม บัญชีท้ายประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจการของส่วนราชการ

๓ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน ที่ต้องจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง แวดล้อม ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2529) ต้องเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ สิ่งแวดล้อมตามขั้นตอนละดับที่ 4.5 และ 6 ตามบัญชีท้ายประกาศนี้ ข้อ 5. สำ�หรับการขยายโครงการหรือกิจการ และแนวทางในการ จัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามประกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำ�หนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางในการจัดทำ�รายงานการวิเคราะห์ผลก ระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2535 ประกาศ ณ. วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2439 ลำ�ดับที่ ๓

ประเภทโครงการหรือกิจการ โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล (๑) กรณีตั้งอยู่ริมแม่น้ำ� ฝั่งทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด ซึ่งเป็น บริเวณที่อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบ กระเทือนต่อสิ่งแวดล้อม (๒) กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ (1)

ขั้นตอนการเสนอรายงาน ๓.๑ กรณีโครงการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ให้เสนอรายงานฯ ใน ขั้นก่อนขออนุมัติงบประมาณหรือ ดำ�เนินการก่อสร้าง ๓.๒ กรณีโครงการของเอกชน ๓.๒.๑ กรณีโครงการที่อยู่ในเขต ท้องที่ ซึ่งมี พระราชกฤษฎีกาให้ ใช้กฎหมายว่า ด้วยการควบคุมอาคาร ให้เสนอรา ยงานฯ ในขั้นอนุญาตก่อสร้างขอ ขยาย ขอเปลี่ยนแปลงการใช้อาคาร

27


กฎกระทรวงว่ า ด้ ว ยการสถานพยาบาล และลั ก ษณะการให้ บ ริ ก ารของสถาน พยาบาล พ.ศ.๒๕๔๕

๕ หมวด ๒ ลักษณะของสถานพยาบาลและลักษณะการให้บริการของสถาน พยาบาล ประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ข้อ ๕ อาคารและพื้นที่ใช้สอยของสถานพยาบาลต้องมีลักษณะโดยทั่วไป ดังนี้ (๑) ตั้งอยู่ในทำ�เลที่สะดวก ปลอดภัย และไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (๒) สำ�หรับสถานพยาบาลที่มีลักษณะเป็นโรงพยาบาล โครงสร้างของ อาคารต้องไม่ติดกับอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างอื่น

๖ ข้อ ๖ สถานพยาบาล ต้องมีลักษณะเฉพาะดังนี้ (๑) ได้รับอนุญาตให้เป็นอาคารสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมอาคาร (๒) รายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้รับความเห็นชอบตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม (๓) ถูกสุขลักษณะตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข (๔) ไม่ขัดหรือฝ่าฝืนต่อกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง

28

๑๓ ข้อ ๑๓ สถานพยาบาล ต้องมีลักษณะโครงสร้างภายในเพื่อการจัดบริการใน แต่ละแผนกตาลักษณะการประกอบวิชา ดังนี้ (๑) มีความปลอดภัยต่อผู้ ให้บริการ และผู้รับบริการในการประกอบวิชาชีพ ตามประเภทและสาขานั้น (๒) มีความสะดวกและเหมาะสมในการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีบริการที่ ได้มาตรฐานและมีคุณภาพตามลักษณะการประกอบวิชาชีพ ที่สภาวิชาชีพ หรือคณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะแล้วแต่กรณี ประกาศกำ�หนด (๓) ให้มีการระบุขอบเขตการให้บริการในกรณีที่โครงสร้างมีข้อจำ�กัด


กฎกระทรวง ว่ า ด้ ว ยการประกอบ กิ จ การสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๕

๒๗

ส่วนที่ ๒ สถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ข้อ ๗ ในการพิจารณาอนุมัติการจัดตั้งสถานพยาบาล ผู้อนุญาตได้ต่อเมื่อ พิจารณาแล้วเห็นว่า (๑) ผู้ขออนุมัติแผนงานการจัดตั้งสถานพยาบาลมีคุณสมบัตไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามมาตรา๑๗ แห่งพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑ (๒) บริการนั้นเหมาะสมกับความต้องการของประชาชนในเขตพื้นที่และ เหมาะสมกับสภาวะการเจ็บป่วยของประชาชนในเขตพื้นที่นั้น (๓) แผนการลงทุนเหมาะสมกับขนาดและประเภทของบริการ (๔) แบบแปลนสถานพยาบาลเป็นไปตามลักษณะที่กำ�หนดในกฎกระทรวง ที่ออกตามความในมาตรา ๑๔ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติสถาน พยาบาล พ.ศ. ๒๕๔๑

หมวด ๙ การขอและการอนุญาตให้เปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการสถาน พยาบาล ข้อ ๒๗ การเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการสถานพยาบาลจากประเภทที่ ไม่มีผู้ป่วยค้างคืนเป็นการประกอบกิจการของสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ ป่วยไว้ค้างคืนไม่สามารถกระทำ�ได้

๑๐

๒๘

ข้อ ๑๐ ให้ผูได้รับอนุมัติแผนงานการจัดตั้งสถานพยาบาล ดำ�เนินการ ก่อสร้างอาคารสถานที่ตามแผนงานดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในเวลาที่ กำ�หนดไว้ ในแผนงานนั้น และหากยังไม่แล้วเสร็จให้ผู้ ได้รับอนุมัติแผน งานการจัดตั้งสถานพยาบาลดังกล่าวรายงานความก้าวหน้าของการก่อสร้าง อาคารสถานที่ต่อผู้อนุญาตเป็นระยะทุกหกเดือน กรณีที่ไม่สามารถก่อสร้างอาคารสถานที่ให้แล้วเสร็จได้ภายในกำ�หนดระยะ เวลาสามปีนับตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติ ถ้าผูได้รับอนุมัติแผนงานการจัดตั้ง สถานที่พยาบาลผู้นั้นยังมีความประสงค์จะประกอบกิจการสถานพยาบาล อีก ให้ยื่นคำ�ขออนุมัติแผนการจัดตั้งสถานพยาบาลใหม่

ข้อ ๒๘ ผู้รับอนุญาตที่ประสงค์จะเปลี่ยนแปลงการประกอบกิจการสถาน พยาบาลให้แตกต่างไปจากที่ระบุในใบอนุญาต หรือก่อสร้างอาคารขึ้นใหม่ หรือดัดแปลงอาคารเกินกว่าที่ได้รับอนุญาตไว้เดิมในกรณีใดกรณีหนึ่ง หรือ หลายกรณี ให้กระทำ�ได้เมื่อได้รับอนุญาตจากผู้อนุญาต

29


30


SAMITIVEJ HOSPITAL โรงพยาบาลสมิ ต ิ เ วช สาขา สุ ข ุ ม วิ ท

31


“Hospitals need new packaging, brand new dress that be speaks health and happiness rather than sickness and suffering, hope instead of despair....What is being done to create for the patient surroundings that make him want to live, that restore to him the old fight to regain his health� - Dorothy Draper 32


SAMITIVEJ OVERVIEW

ภาพรวมโรงพยาบาลสมิ ต ิ เ วช

At Samitivej,Truly we care โรงพยาบาลสมิติเวช เราใส่ใจอย่างแท้จริง โรงพยาบาลสมิติเวช ตั้งอยู่ใจกลางเมืองย่านสุขุมวิท ซอย 49 เป็น โรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ ที่ให้บริการรักษาโรคทั่วไปทุกชนิด และยัง เป็นโรงพยาบาลชื่อดังอันดับต้นๆในประเทศไทย มีรักษามาตรฐานระดับ สากล ทำ�ให้การออกแบบโรงพยาบาล จึงมีลักษณะค่อนข้างซับซ้อนอย่าง มาก เนื่องจากประกอบด้วยบริการที่หลากหลายครอบคลุมทุกการรักษา พร้อมหน่วยงานและเครื่องมือการแพทย์ที่ครบครัน โดยมีฟังก์ชั่นตาม มาตรฐานโรงพยาบาลทั่วไป โดยแบ่งเป็น ส่วนการวินิจฉัยโรคและการรักษา เช่น ห้องแล็ปทดลอง, การถ่ายภาพ, ส่วนห้องฉุกเฉิน ห้องผ่าตัด ส่วน บริการผู้ป่วยนอก ส่วนฟังก์ชั่นแผนกต้อนรับ ร้านอาหาร ส่วนบริการผู้ป่วย ใน และอื่นๆอีกมากมาย ด้วยความหลากหลายนี้ ทำ�ให้เกิดการพัฒนาและ ปรับปรุงโรงพยาบาลอยู่บ่อยครั้ง เพื่อปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้เหมาะสม ตาม ความต้องการที่มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเมื่อก่อตั้งโรงพยาบาล สถาปนิก ที่ออกแบบ คือ คุณรังสรรค์ ต่อสุวรรณ ต่อมาได้มีการแก้ ไขปรับปรุงใหม่ ครั้งใหญ่ โดย บริษัท TEAC ARCHITECT ทำ�ให้เปลี่ยนโฉมการออกก แบบภายในทั้งหมด เพื่อให้ทันสมัยมากขึ้น และมีการออกแบบปรับปรุง แก้ ไขมากมายจนถึงปัจจุบัน โดยบทความในส่วนนี้จะกล่าวถึง ข้อมูล เบื้องต้นของโรงพยาบาลสมิติเวช ประวัติและการพัฒนาด้านการออกแบบ ของโรงพยาบาลในปัจจุบัน กระบวนการออกแบบ ปัจจัยในการออกแบบ เทคโนโลยีในการออกแบบ นวัตกรรมในการออกแบบ รวมถึงแนวทางข้อ เสนอแนะในการปรับปรุงงานออกแบบ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

33


GENERAL INFORMATION

ข้ อ มู ล เบื ้ อ งต้ น

HISTORY

VISION & MISSION

โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2522 โดยได้รับ รางวัลชนะเลิศด้านการรักษาพยาบาลด้วยมาตรฐานระดับสากลที่ได้รับการ รับรองโดย JCI ด้วยพันธกิจหลักของโรงพยาบาล คือการให้บริการด้วย คุณภาพและนวัตกรรมใหม่ ๆ ทำ�ให้โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เติบโต เป็นโรงพยาบาลชั้นแนวหน้าเรื่องเทคโนโลยีด้านการแพทย์ ปัจจุบันโรง พยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เป็นที่ยอมรับจากประชาชนคนไทยและชาวต่าง ประเทศที่อาศัยอยู่ในเมืองไทย ในฐานะทางเลือกของผู้ ให้บริการทางการ แพทย์และกลายเป็นศูนย์กลางชั้นนำ�สำ�หรับการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ได้รับการยอมรับโดยกองทุนเพื่อเด็ก แห่งสหประชาชาติ (UNICEF) และองค์การอนามัยโลก (WHO) ในปี พ.ศ. 2542 เราเป็นโรงพยาบาลแห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับการรับรองเป็น “โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่-ลูก” (Mother & Baby Friendly Hospital) นอกจากนี้ยังมีความสำ�เร็จอื่น ๆ เช่น รางวัลผู้ประกอบการดีเด่นด้าน ธุรกิจบริการสาขาโรงพยาบาลในปี พ.ศ. 2547 (Prime Minister Award 2004) และได้รับการประกาศรับรองคุณภาพโรงพยาบาลไทย (Hospital Accreditation – HA) จากสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ที่โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิทวิสัยทัศน์ของเรา คือ การให้บริการที่มี ประสิทธิภาพและความเป็นเลิศในทุก ๆ ด้าน โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท ให้บริการที่ครอบคลุมตั้งแต่การบริการ ระดับปฐมภูมิจนถึง ตติยภูมิด้วยจำ�นวนเตียงที่รองรับผู้ป่วยจำ�นวน 270 ราย ห้องตรวจโรค 87 ห้อง และบุคลากรมากกว่า 1,200 คนโรงพยาบาล สมิติเวชสุขุมวิท จึงได้รับการยอมรับในฐานะแหล่งให้บริการทางการแพทย์ ที่ครบวงจร ซึ่งตั้งอยู่ใจกลางกรุงเทพมหานครมาอย่างยาวนาน

Vision มุ่งมั่นที่จะเป็นผู้นำ�โรงพยาบาลระดับแนวหน้าของแระเทศไทย ที่ ให้บรบิ การทางการแพทย์ครบวงจร ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ด้วยบุคลากรที่มีความ รู้ ความสามารถและจริยธรรม เพื่อเป็นที่ยอมรับและเกิดความพึงพอใจสูงสุด ของผู้มารับบริการ และผู้ ให้บริการ

ประวัติความเป็นมาของโรงพยาบาล

34

วิสัยทัศน์และพันธกิจ

Mission ให้บริการทางการแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ มาตรฐานระดับสากล ให้บริการที่มีคุณภาพด้วยราคาที่เหมาะสม และพึงพอใจสูงสุด ศูนย์รวมให้บริการด้วยเทคโนโลยีทันสมัยและมีจริยธรรม พัฒนาบุคลากรต่อเนื่องในทุกสาขา Values เพื่อคุณค่าในการดำ�เนินชีวิตด้วยสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ เคารพให้เกียรติแลรักษาความลับของผู้ ใช้บริการ คำ�นึงถึงสิทธิประโยชน์ ตระหนักถึงความสำ�คัญและยอมรับในบุคลากรทางการแพทย์ทุกสาขา ศึกษาความต้องการของชุมชน ทั้งทางด้านการรักษาพยาบาลและสุขภาพ อนามัย ตระหนักถึงหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดให้มีบริการทั้งทางด้าน การรักษาและดูแลสุข ภาพที่ดีที่สุด


"ศูนย์กลางชั้นนำ�สำ�หรับการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การให้บริการที่มีประสิทธิภาพและความเป็นเลิศในทุกด้าน และ การบริการทางการแพทย์ที่ครบวงจร"

DEPARTMENT & MEDICAL SERVICES

แผนกการบริการและการรักษา

Department แผนกการบริการ

Medical service การบริการรักษา

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

แผนกผู้ป่วยนอก แผนกฉุกเฉิน แผนกเด็ก แผนกผู้ป่วยใน แผนกผ่าตัด แผนกคลอด แผนกไอซียู แผนกเอกซเรย์ แผนกแล็ป แผนกเวชระเบียน แผนกการเงิน แผนกเภสัชกรรม

แผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟูและกายภาพบำ�บัด แผนกไต แผนกทันตกรรม แผนกรังสีวินิจฉัย ไลฟ์เซ็นเตอร์ คลินิก หู คา จมูก คลินิกโรคมะเร็ง คลินิกจิตเวช คลินิกนอกเวลาโดยแพทย์เฉพาะทาง คลินิคผิวหนัง คลินิกศัลยกรรม คลินิกอายุรกรรม จักษุคลินิก ศูนย์โรคภูมิแพ้ ศูนย์กระดูก ข้อ และการแพทย์กีฬา ศูนย์ระบบทางเดินหายใจ ศูนย์รักษาและฟื้นฟูปัญหาสุขภาพเส้นผม และหนังศีรษะ

18. 19. 20. 21. พันธุ์ 22. 23. 24. งาม 25. 26. 27. 28.

ศูนย์วัคซีน ศูนย์สมองและระบบประสาท ศูนย์สุขภาพ ศูนย์สุขภาพสตรี และเวชศษสตร์การเจริญ สถาบันโรคตับและระบบทางเดินอาหาร สถาบันกุมารเวช สถาบันศัลยกรรมตกแต่งและเสริมความ สถาบันสุขภาพผิวพรรณ สถาบันหัวใจ หน่วยฉุกเฉิน หอทารกแรกเกิด และทารกภาวะวิกฤต

35


36


DESIGN PROCESS

กระบวนการออกแบบ

Hospital Functional Analysis วิเคราะห์ความต้องการพื้นที่ใช้สอยในการใช้งานในโรงพยาบาล 1.1 ส่วนบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วย Medical Service Department • งานบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก OPD Out-Patient Deparment o งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยทั่วไป General Medical Services o งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยเฉพาะโรค Specific Medical Service o งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน Emergency Mediacal Service • งานบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน IPD In-Patient Department o งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยทั่วไป General Care o งานรักษาพยาบาลเฉพาะผู้ป่วย Specific Care o งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต Critical Care o งานผ่าตัดรักษาผู้ป่วย Operative Care o งานทำ�คลอด Labor Care 1.2 ส่วนบริการตรวจวินิจฉัยโรค Diagnoistic Department • งานตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ Laboratory Services • งานตรวจวินิจฉัยทางเอ็กซเรย์ • งานตรวจวินิจฉัยด้วยเอ็กเรย์คอมพิวเตอร์ • งานตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Ultrasound Examination • งานตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Resonance Intensifier - MRI) • งานตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา Chemical Laboratory • งานตรวจทางพันธุกรรม • งานตรวจวินิจฉัยด้วยกล้องไฟเบอร์ออพติก • งานตรวจวินิจฉัยด้วยสารรังสี

1.3 ส่วนบริการสนับสนุน Supporting Service Department • แผนกเวชระเบียน Medical Record Unit • แผนกเภสัชกรรม Phamaceutical Unit • แผนกจ่ายกลาง Central Sterile Supply Unit • แผนกพัสดุและบำ�รุงรักษา • แผนกโภชนาการ Nutrition Service Unit • แผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟู Rehadbilitation Unit 1.4 ส่วนสำ�นักงานบริหารจัดการ Administration Department • แผนกบริหารจัดการทั่วไป General Adminisatration Unit • แผนกบริหารจัดการทางการแพทย์ Medical Adminisatration Unit • แผนกบริหารจัดการทางพยาบาล Nursing Adminisatration Unit 1.5 ส่วนพัฒนาโรงพยาบาล Hospital Improving Department • ฝ่ายแผนงานและโครงการร • ฝ่ายผลิตและพัฒนาสื่อและภาพ • ฝ่ายห้องสมุด • ฝ่ายวิจัย • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร • ฝ่ายฝึกอบรม

37


งานบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก OPD Out-Patient Department

งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยทั่วไป General Medical Services เป็นส่วนงานที่อยู่อาคาร1 ชั้น1 ให้บริการผู้ป่วยที่มีอาการป่วยค่อนข้าง เสี่ยงต่อการเกิดอาการภาวะฉุกเฉิน ผู้ป่วยสามารถนั่งรอรับการรักษาได้ และเจ้า หน้าที่หน่วยงานรักษาพยาบาลจะต้องเฝ้าระวัง ดูแลผู้ป่วยขณะรอรักษาอย่าง ใกล้ชิด เพราะหากเกิดอาการ หน่วยงานพยาบาลสามารถช่วยเหลือและส่งไปยัง หน่วยงานรักษาในลำ�ดับต่อไปได้ทันที ดังนั้นผู้ออกแบบส่วนงานรักษาผู้ป่วยทั่วไป จึงคำ�นึงถึงผู้ ใช้งานและ ผู้รับบริการทั้ง2 ส่วน โดยการออกแบบจุดพักคอยผู้ป่วยให้ความรู้สึกสบาย ด้วยเฟอร์นิเจอร์เก้าอี้ผ้าบุและมีพนักพิงและเท้าแขนเพื่อความเป็นส่วนตัว และ ให้ความรู้สึกผ่อนคลายจากสีเบจ สงบเยือกเย็นจากเฟอร์นิเจอร์ ไม้ จึงทำ�ให้การ นั่งรอการรักษาไม่ตึงเครียด กดดันและหวาดกลัวจากการรักษานั่นเอง

38

นอกจากจะคำ�นึงผู้ ใช้แล้วผู้ออกแบบยังเน้นผุ้ ใช้งาน โดยการ แบ่งห้อง ตรวจรักษาที่เว้นพื้นที่ในการรักษาได้อย่างคล่องตัว ไม่เล็กไม่ใหญ่จนเกินไป ออกแบบชั้นวางที่เก็บของใช้เครื่องมือการแพทย์ การรักษาได้เหมาะสม และ สะดวกต่อการนำ�มาใช้เมื่อเกิดกรณีฉุกเฉินได้เลย การออกแบบโต๊ะตรวจ ทำ� โค้งมนเพื่อลดการกระแทกของผู้ป่วย และการเกิดอุบติเหตุขณะทำ�งานรักษา อีกด้วย


งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยเฉพาะโรค Specific Medical Service เป็นส่วนงานที่อยู่อาคาร1 ชั้น1-2 อาคาร2 ชั้น1-5 เพื่อรองรับผู้ป่วย ที่ทราบผลการนิจฉัยโรคแล้ว และยังคงต้องรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง โดย เป็นการรักษาเฉพาะโรค ส่วนงานนี้ผู้ออกแบบเน้นฟังชั่นสำ�หรับผู้ ใช้บริการโดย เฉพาะโซนพักคอย จุผู้มาใช้บริการได้ ไม่เกิน20 คน จะไม่ใช่การนั่งรอการตรวจ แบบจดวางเป็นแถวอย่างเดียว แต่เน้นเป็นชุดรับแขกด้วย เพื่อรองรับญาติผู้ ป่วยที่มารอ ทำ�ให้ทั้งผู้ป่วยและญาติมีความรู้สึกเป็นส่วนตัว สามารถสนทนา ในกลุ่มเหมือนการนั่งพักผ่อนในบ้าน อีกทั้งยังให้ความรู้สึกเรื่องการยกระดับ ลูกค้า เปรียบเสมือนเป็นลูกค้าพิเศษนั่นเอง และการจัดวางพื้นที่ในส่วนการ รักษาผู้ป่วยเฉพาะโรคยังมีส่วนที่คำ�นึงถึงความรวดเร็วด้านการบริการ โดยแยก ส่วนการจ่ายยา การชำ�ระเงิน มาที่ส่วนงานเฉพาะโรค เพื่อให้ลุกค้าประหยัด เวลาและความรวดเร็วในขั้นตอนแบบครบครัน ส่งผลดีให้ทั้งผู้รับบริการและเจ้า หน้าที่ให้บริการอีกด้วย

งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน Emergency Mediacal Service เป็นส่วนงานที่อยู่ อาคาร 3 ชั้น 1 และต้องเผชิญหน้าอยู่ระหว่างความ เป็นความตายของผู้ป่วย ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินทุกระดับจำ�เป็นต้องมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับระบบงานรักษาพยาบาลหรือระบบงานการแพทย์ ฉุกเฉินดังนั้นหากมีผู้ป่วย ที่เกิดจากหลายๆสาเหตุที่อาจถึงชีวิต เช่น การได้ รับอุบัติเหตุ การหมดสติฉับพลัน การเสียเลือดรุนแรงจากเหตุการณ์ต่างๆ การ ถูกสัตว์มีพิษกัด หรือการเกิดอาการจากโรคร้ายแรงต่างๆ เป็นต้น ทั้งหมดนี้ จึงมีการเตรียมความพร้อมจากหน่วยงานรักษาพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยเหลือชีวิตผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน ให้ปลอดภัยกลับมาใช้ชีวิตเป็นปกติ ได้ ดังนั้นผู้ออกแบบส่วนงานพยาบาลจึงคำ�นึงถึงการใช้งานของเจ้าหน้าที่เป็น สำ�คัญ โดยการออกแบบทางเดิน ทางลำ�เลียงผู้ป่วยให้สามารถช่วยผู้ป่วยไปยัง ห้องรักษาต่างๆได้ทันท่วงที โดยไม่ต้องมากรอกประวัติก่อนการรักษา ระหว่าง การลำ�เลียงประตูทางเข้าจะต้องเปิดอัตโนมัติ การออกแบบมีการเน้นวัสดุ อุปกรณ์ที่ไม่มีพื้นผิวขลุขละ ใช้พื้นหินอ่อน เพื่อจะให้เข็นผู้ป่วยได้โดยไม่สะดุด อีกทั้งแสงไฟว่างในระดับที่ผ่านมาตรฐานสถานพยาบาล ตามกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อสะดวกและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานของหน่วย งานในการให้ความช่วยเหลือและการรักษาผู้ป่วยนั่นเอง 39


งานบริการรักษาพยาบาลผู้ป่วยใน IPD In-Patient Department

งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยทั่วไป General Care เป็นส่วนงานที่อยู่อาคาร1 ชั้น3-5 และอาคาร3 ชั้น3-5 ซึ่งให้บริการผู้ ป่วยที่เข้ามาพักรักษาตัว ให้การดูแลด้านสุขภาพอนามัย การดูแลความสะอาด ของเสื้อผ้า ที่นอน และเครื่องใช้ การดูแลด้านอาหารและน้ำ�ดื่มให้สะอาด และการส่งเสริมการหายจากโรค การ ดูแลด้านจิตใจให้ผ่อนคลาย ไม่วิตกกังวล และมีกำ�ลังใจที่เข้มแข็ง และการ ดูแลด้านสิ่งแวดล้อมให้สะอาด ปราศจากเชื้อโรค และสิ่งปฏิกูล ฯลฯ ดังนั้นผู้ ออกแบบจึงต้องแบบออกส่วนงาน รวมไปถึงห้องพัก โดยคำ�นึงถึงการใช้งาน ของผู้ ให้บริการและ ผู้รับบริการ กรณีห้องพักผู้ป่วย การออกแบบจะเน้นสิ่งอำ�นวยความ สะดวกครบครัน เพื่อให้ผู้ป่วยเลือกพักได้ตามความต้องการและงบประมาณ โดยมีตั้งแต่เริ่มต้นห้องธรรมดาขนาด ขนาดสตูดิโอ 40

ขนาด 27 ตรม. จนกระทั่ง ห้องสวีท ขนาด 45-60 ตรม. ในห้อง ทุกขนาด ผุ้ออกแบบคำ�นึงถึงญาติผู้ป่วยโดยวางจุดรับรองภายในห้องด้วยชุด รับแขกที่เน้นการดีไซน์บุผ้า สีเอิร์ธโทน และขนาดของชุดรับแขก จะแตกต่าง ไปตาม ประเภทของห้องพักนั่นเอง และทุกประเภทได้รับออกแบบเพื่อให้ ได้รับ ความสะดวกและความปลอดภัยสูงสุดด้วย


งานรักษาพยาบาลเฉพาะผู้ป่วย Specific Care เป็นส่วนงานที่อยู่อาคาร 1 ชั้น 6 งานรักษาพยาบาลที่ให้กับผู้ป่วยแต่ละ คนตามสภาวะของผู้ป่วยและโรคของผู้ป่วยนั้น ได้แก่ การให้ยา การให้เลือด การดูแลรักษาแผล การป้องกันภาวะแทรกซ้อน (เช่น การป้องกันแผลกดทับ เป็นต้น) การดูแลเฉพาะเรื่อง (เช่น การดูแลผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจ เป็นต้น) การให้การรักษาเฉพาะโรค (เช่น โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคกระดูก โรคตา โรคมะเร็ง โรคจิต หรือโรคอัมพาต เป็นต้น) และงานให้การรักษาเฉพาะบุคคล (เช่น การให้คำ�ปรึกษา เป็นต้น) ดังนั้นการออกแบบ จึงออกแบบมาเพื่อให้ผู้ ใช้งานโดยเฉพาะในส่วนนี้ เพราะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ทางการแพทย์ เพื่อการรักษาพยาบาล และค่อน ข้างซับซ้อนในการวางอุปกรณ์เพื่อให้ถูกหลักการใช้งาน จึงทำ�ให้ส่วนงานนี้ไม่ เน้นความสวยงามแต่เน้นการออกแบบที่ใช้วัสดุที่ทำ�ความสะอาดง่าย โลหะส แตนเลสจึงเป็นองค์ประกอบสำ�คัญในการออกแบบในส่วนนี้เป็นอย่างมาก อีก ทั้งการใช้เฟอร์นิเจอร์ถ้าเป็นลอยตัว เช่นโฟฟา ก็จะหุ้มหนังเพื่อง่ายต่อการ ทำ�ความสะอาดเช่นกัน แสงไฟสว่างผ่านมาตรฐาน ไม่เน้นแสงสีส้มที่หลอกตา เพื่อประสิทธิภาพในการรักษาพยาบาล

งานรักษาพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต Critical Care เป็นส่วนงานที่อยู่อาคาร 1 ชั้น 2 อาคาร 3 ชั้น 2 งานรักษาพยาบาล ที่ให้กับผู้ป่วยที่มีอาการหนักที่อาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้ง่าย และต้องให้การ ดูแลรักษาอย่างใกล้ชิดตลอดเวลา เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของโรคและ ผลการรักษา วิเคราะห์ ประเมิน และเปลี่ยนแปลงวิธีการรักษาให้เหมาะสมและ ทันเวลาอยู่เสมอ โดยทั่วไปมักจะจัดไว้เป็นหน่วยงานเฉพาะในการดูแลผู้ป่วย ที่เรียกว่า “หออภิบาล หอผู้ป่วยหนัก หรือ หอผู้ป่วยไอ.ซี.ยู. (Intensive Care Unit - ICU)” ซึ่งจะมีสถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ แพทย์ พยาบาล ทีมงาน และ ระบบงานที่ดี ทันสมัย ครบถ้วน และมีประสิทธิภาพสูง ส่วนงานนี้จะเน้นการ ออกแบบ ให้ผู้ ใช้งานทำ�งานได้สะดวกที่สุด เพราะต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ ทางการแพทย์ เพื่อการรักษาผู้ป่วยวิกฤต ในการวางอุปกรณ์มีการจัดวางถูก หลักการใช้งาน จึงทำ�ให้ส่วนงานนี้ไม่เน้นความสวยงามแต่เน้นการออกแบบที่ ใช้วัสดุที่ปลอดภัย ทำ�ความสะอาดง่าย โลหะสแตนเลสจึงเป็นองค์ประกอบใน การออกแบบในส่วนนี้อีกทั้งการใช้เฟอร์นิเจอร์ถ้าเป็นลอยตัว เช่นโฟฟา ก็จะหุ้มหนังเพื่อง่ายต่อการทำ�ความสะอาดเช่นกัน การลบมุมของเฟอร์นิเจอร์ ที่อาจเกิดอุบัติเหตุขณะรับการรักษา พื้นผนังจะต้องรีบ เน้นการปล่อยพื้นทาง เดินที่โล่ง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย แสงไฟสว่างผ่านมาตรฐาน ไม่ เน้นแสงสีส้มที่หลอกตา เพื่อประสิทธิภาพในการรักษาพยาบาล 41


งานผ่าตัดรักษาผู้ป่วย Operative Care เป็นส่วนงานที่อยู่อาคาร 1 ชั้น 2 งานรักษาพยาบาลผู้ที่ต้องได้รับ การผ่าตัดร่างกาย เพื่อการรักษา เช่น ผ่าตัดสมอง ผ่าตัดหัวใจ ผ่าตัดในช่อง อก ผ่าตัดตา ผ่าตัดไต ผ่าตัดกระดูก ผ่าตัดมดลูก เป็นต้น ซึ่งต้องใช้สถานที่ อุปกรณ์ ทีมผ่าตัด และเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำ�เพาะในการดำ�เนินงาน การออกแบบ เน้นแสงไฟสว่างผ่านมาตรฐานห้องผ่าตัด เพื่อการทำ�งาน ที่สะดวก เช่น หยิบเครื่องมือผ่าตัด หรือ อุปกรณ์อื่นๆที่จำ�เป็นขณะทำ�การ ผ่าตัด ฉะนั้นการออกแบบไม่ว่าจะเป็นเฟอร์นิเจอร์บิ้วท์อิน หรือ ลอยตัว จะ ต้องอิงข้อมูลการใช้งาน เพื่อการออกแบบมาให้ผู้ ใช้สามารถใช้งานได้จริงและ สะดวกปลอดภัย จึงทำ�ให้ส่วนงานนี้ไม่เน้นความสวยงามแต่เน้นการออกแบบ ที่เรียบๆสีไม่ฉูดฉาด ใช้วัสดุที่ทำ�ความสะอาดง่าย โลหะสแตนเลสมีผลในการ ออกแบบในส่วนนี้เป็นอย่างมาก การใช้เฟอร์นิเจอร์ถ้าเป็นลอยตัว จะมีทั้งชั้น วางที่เป็นล้อเข็นได้ เพราะหากต้องใช้อุปกรณ์สามารถเคลื่อนย้ายได้ทันที จึงทำ�ให้การออกแบบที่เน้นการใช้งานเป็นหลักและสะดวก มีผลต่ออุปกรณ์ เครื่องมือทางการแพทย์ เพื่อประสิทธิภาพในการรักษาพยาบาลสูงสุด

งานทำ�คลอด Labor Care ส่วนงานทำ�คลอดอยู่ที่อาคาร 1 ชั้น 2 งานรักษาพยาบาลหญิงมีครรภ์ใน ระยะที่ทารกในท้องแม่จะคลอดออกมาชมโลกอย่างปลอดภัยทั้งแม่และลูก เป็นส่วนงานที่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการออกแบบเป็นอย่างมาก เพราะ ผู้ออกแบบได้สื่อการออกแบบออกมาเพื่อเน้นความรู้สึกในเรื่องความอบอุ่น ปลอดภัย เฟอรนิเจอร์สีอ่อนสบายตา สิ่งอำ�นวยความสะดวกครบครัน และ ออกแบบห้องพักทารกแรกเกิดที่ยังต้องอยู่ในการดูแลหลังการคลอด โดยให้ ผนังอีกฝั่งเป็นกระจกเพื่อให้มารดาและญาติๆมาเยี่ยมชมขณะที่นอนพักใน ห้องที่ต้องมีพยาบาลดูแลอย่างใกล้ชิด ภายในห้องจะเน้นผนังวอลเปเปอร์ลาย การ์ตูน และพื้นเรียบหินอ่อน แสงสว่างเหมาะสม อีกทั้งภายในห้องบางจุดมี การบุผ้าบริเวณจุดนอนของเด็กทารก เพื่อให้ความรู้สึกเชื่อมั่นในเรื่องความ ปลอดภัยของผู้ ใช้บริการ 42


ส่วนบริการตรวจวินิจฉัยโรค Diagnoistic Department • งานตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ Laboratory Services • งานตรวจวินิจฉัยทางเอ็กซเรย์ • งานตรวจวินิจฉัยด้วยเอ็กเรย์คอมพิวเตอร์ • งานตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง Ultrasound Examination • งานตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Magnetic Resonance In tensifier - MRI) • งานตรวจชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา Chemical Laboratory • งานตรวจทางพันธุกรรม • งานตรวจวินิจฉัยด้วยกล้องไฟเบอร์ออพติก • งานตรวจวินิจฉัยด้วยสารรังสี ส่วนบริการสนับสนุน Supporting Service Department • แผนกเวชระเบียน Medical Record Unit อาคาร 1 ชั้น 1 • แผนกเภสัชกรรม Phamaceutical Unit อาคาร 1 ชั้น 1 • แผนกจ่ายกลาง Central Sterile Supply Unit อาคาร 1 ชั้น G • แผนกพัสดุและบำ�รุงรักษา อาคาร 1 ชั้น G • แผนกโภชนาการ Nutrition Service Unit อาคาร 1 ชั้น G • แผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟู Rehadbilitation Unit อาคาร 1 ชั้น 4 ส่วนสำ�นักงานบริหารจัดการ Administration Department อ • แผนกบริหารจัดการทั่วไป General Adminisatration Unit • แผนกบริหารจัดการทางการแพทย์ Medical Adminisatration Unit • แผนกบริหารจัดการทางพยาบาล Nursing Adminisatration Unit ส่วนพัฒนาโรงพยาบาล Hospital Improving Department • ฝ่ายแผนงานและโครงการร • ฝ่ายผลิตและพัฒนาสื่อและภาพ • ฝ่ายห้องสมุด • ฝ่ายวิจัย • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร • ฝ่ายฝึกอบรม

43


44


Hospital User’s needs Analysis วิเคราะห์ความต้องการของผู้ ใช้งาน 1.1 ผู้ป่วย Patient • ผู้ป่วยนอก o ผู้ป่วยใหม่ o ผู้ป่วยเก่า o ผู้ป่วยนัด 1.2 บุคลากร Staff o เจ้าหน้าที่รักษาพยาบาล o เจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์ o เจ้าหน้าที่บริการและบริหารจัดการโรงพยาบาล

45


OUT-PATIENT ผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยนอก หมายถึง ผู้ที่รับการบริการหรือเวชภัณฑ์อันเนื่องมาจากการรักษา พยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกหรือในห้องรักษาฉุกเฉินของโรงพยาบาลและ สถานพยาบาล หรือผู้ที่รับการศัลยกรรมผ่าตัดเล็ก โดยไม่เป็นผู้ป่วยใน

ผู้ป่วยใหม่ ( New Partient ) ด้วยระบบของโรงพยาบาลสมิติเวช เมื่อผู้ป่วยใหม่เข้ามาใช้บริการ จะ ถูกส่งไปยังแผนกอายุรกรรม OPD ก่อนเป็นอันดับแรก เพื่อตรวจวินิจฉัยโรค เบื้องต้น โดยเริ่มต้นลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่ที่เวชระเบียน ชั้น 1 ใกล้ทางเข้า ที่สุด ผู้ป่วยรับเอกสารการลงทะเบียนผู้ป่วยใหม่ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบประวัติ ทั่วไป เพื่อลงระบบ จะมีเจ้าหน้าตรวจสอบข้อมูลและถามอาการเบื้องต้น กรณี เป็นผู้ป่วยต่างชาติ จะมีบริการพิเศษ เพื่อรองกลุ่มผู้รับบริการนานาชาติ ตาม มาตรฐานสากล จากนั้นจะมีเจ้าหน้าที่ส่งต่อไปยังห้องวินิจฉัยอาการ แผนก อายุรกรรม เมื่อมีการพบแพทย์ หากมีกรณีวินิจฉัยเพิ่มจากส่วนของOPDอายุร กรรม จะมีการส่งกรณีผู้ป่วยใหม่ไปยังส่วนงานเฉพาะทางทันที

ผู้ป่วยเก่า ( Old Partient ) ผู้ป่วยเก่าเป็นผู้ป่วยที่มีการลงทะเบียนและเคยมีการรักษาแล้ว หากมี การเจ็บป่วย และต้องเข้ารับการรักษา จะมีการแบ่งประเภทดังนี้ การเจ็บป่วยจากภายนอก เช่น หู ตา คอ จมูก ผิวหนัง ฟัน สามารถไปที่แผน กนั้นๆได้เลย โดยติดต่อเค้าเตอร์ในแต่ละแผนก ซึ่งจะอยู่ที่อาคาร 2 ทั้งหมด การเจ็บป่วยภายใน เช่น มีไข้ ปวดท้อง เวียนศรีษะ หน้ามืด หรืออาการที่ไม่ ทราบสาเหตุที่ชัดเจน จะต้องเข้ารับบริการแผนกอายุรกรรม เพื่อวินิจฉัยอาการ เบื้องต้นทุกครั้งก่อนเข้ารับการรักษาที่ถูกต้องและแม่นยำ�

ผู้ป่วยนัด ( Appointment Partient ) เป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง โดยมีแพทย์เฉพาะทางให้การ บริการ สามารถติดต่อเค้าน์เตอร์แต่ละแผนก โดยที่แผนกรักษาเฉพาะทาง ภายใน เช่น กระเพาะ ตับ ไต หัวใจ เป็นต้น จะอยู่ที่อาคาร1 ชั้น1และ2 เท่านั้น ส่วนแผนกรักษาเฉพาะทางภายนอก เช่น ตา จมูก ผิวหนัง ทันตกรรม จะอยู่ อาคาร2ทั้งหมด และยังรวมแผนกรักษาผู้ป่วยเด็กด้วย

ผู้ป่วยฉุกเฉิน ( Emergency Partient ) คือ ผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤต ต้องทำ�การรักษาทันที และสามารถเข้ารับ การบริการที่แผนกฉุกเฉินได้เลย

46


47


IN-PATIENT ผู้ป่วยใน ผู้ที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลอย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง หรือผู้ที่ต้องเสียค่าห้องและอาหารประจำ�วัน ในการเข้ารักษาในโรง พยาบาลและสถานพยาบาล

ผู้ป่วยที่มีอาการหนักหรือวิกฤต (critical patient) คือ เป็นโรคหรือมีสภาวะที่จะก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิต เช่น ผู้ป่วย หัวใจวาย ผู้ป่วยหัวใจขาดเลือด ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินของหลอดเลือดในสมอง ผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะระบบไหลเวียนเลือดล้มเหลว ผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดมาก เป็นต้น

ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัดใหญ่ (major operation patient) เช่น ผ่าตัดหัวใจ ผ่าตัดสมอง ผ่าตัดปอด ผ่าตัดตับ ผ่าตัดกระเพาะ ลำ�ไส้ ผ่าตัดมดลูก ผ่าตัดกระดูก ฯลฯ เนื่องจากต้องการได้รับการดูแลรักษา อย่างใกล้ชิด ทั้งก่อนผ่าตัด ในขณะผ่าตัด และภายหลังการผ่าตัด

ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลหรือควบคุมสภาวะร่างกาย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลหรือควบคุมสภาวะร่างกายเพื่อการวินิจฉัย โรคให้ทราบแน่นอนว่าเป็นโรคอะไร ที่ไม่สามารถทำ�ได้หรือทำ�ได้แต่อาจเกิด อันตรายหรือเกิดความเบี่ยงเบนไป ถ้าไม่รับไว้ดูแลในโรงพยาบาล เช่น ผู้ป่วยที่ ต้องเจาะตับหรือไตเพื่อการวินิจฉัยโรค เป็นต้น

ผู้ป่วยที่อาจเกิดอันตรายแก่ชีวิตหรืออาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ รุนแรง (risk patient) ถ้าให้กลับไปรักษาตัวที่บ้าน เช่น ผู้ป่วยที่มีไข้สูง ท้องเดินอย่างรุนแรง ได้รับการกระทบกระแทกอย่างรุนแรงที่ศีรษะที่อาจมีเลือดออกภายในสมอง หรือผู้ป่วยที่มีภาวะผิดปกติทางจิต เป็นต้น

48


49


STAFF บุคลากร คือเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั้งเต็มเวลาและบาง เวลา โดยแต่ละฝ่ายมีการปฏิบัติการงานตามที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหน้าที่ ภายในองค์กร

เจ้าหน้าที่รักษาพยาบาล

หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการให้บริการ ตรวจรักษาโรค โดยตรง เช่น แพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล

เจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานด้านการให้บริการทางแพทย์อื่นๆนอก เหนือจากการตรวจรักษาโรคโดยตรง เช่น หน้าที่เอ็กซ์เรย์ นักกายภายบำ�บัด นักเทคนิคการแพทย์ เภสัขกร และเจ้าหน้าที่ประจำ�ในแผนกที่ให้บริการทางการ แพทย์ เป็นต้น

เจ้าหน้าที่บริการและบริหารจัดการโรงพยาบาล หมายถึงเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการักษาะพยาบาล หรืองานบริการทางการแพทย์ เช่น ผู้อำ�นวยการ หัวหน้าแผนก เจ้าหน้าที่ฝ่าย การเงินและบัญชี เจ้าหน้าที่งานพัสดุ พนักงานจ่ายยา พนักงานขับรถ พนักงาน ทำ�ความสะอาด เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย เป็นต้น ส่วนงานรักษาพยาบาล เป็นหน่วยที่เกี่ยวข้องกับการบริการผู้ป่วย และ เป็นส่วนสนับสนุน หน่วยงานบริการทางการแพทย์โดยทั้ง 2หน่วยงาน ประสาน งานในส่วนของการรักษา บริการผู้ป่วย ในโรงพยาบาลเช่นกัน เพียงแต่หน้าที่ ของหน่วยงานแพทย์ จะแยกส่วนงานเฉพาะทางได้ชัดเจนมากกว่าส่วนงาน รักษาพยาบาล ซึ่งในส่วนของการบริหาร การจัดการในโรงพยาบาล จะส่วนที่ไม่ ได้เกี่ยวข้องกับแผนกที่มีการรักษาหรือบริการผู้ป่วย หากเป็นหน่วยงานที่คอย ดูแลควบคุมการจัดการโดยรวมขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการประชาสัมพันธ์ การตลาด เพื่อให้เกิดรายได้ของโรงพยาบาล เป็นต้น โดยส่วนงานบริหาร จะ แบ่งเป็นส่วนงานผู้อำ�นวยการ จะอยู่ที่ชั้น3 อาคาร1ส่วนงานด้านเอกสารแผนก บริหาร บุคคล การตลาด บัญชี จัดซื้อ จะอยู่ที่อาคาร1 ชั้น7 และยังมีแผน กอื่นๆจะแยกส่วนงานลงไปชั้นG ด้วยเช่นกัน

50


51


52


Hospital Plan Analysis วิเคราะห์แปลนของโรงพยาบาล 1. Target User กลุ่มผู้ ใช้งาน • Visitor • Out Patient • In Patient Visitor • In Patient • Staff 2. User Behavior พฤติกรรมผู้ ใช้งาน 3. Function ประโยชน์ ใช้สอยของอาคาร • Shop Area • OPD Area • IPD Area • Staff Area 4. Building Requirement 6. Circulation การสัญจร • ทางสัญจรภายนอก • ทางสัญจรภายใน o Customer Circulation ทางสัญจรของผู้รับบริการ o Staff Circulation ทางสัญจรของผู้ ให้บริการ 7. Grouping & Zoning การแบ่งแผนกและกลุ่มโซนพื้นที่ • Visitor Zone • Out Patient Zone • In Patient Visitor Zone • In Patient Zone • Staff Zone 53


TARGET USER กลุ่มผู้ ใช้งาน

Visitor ผู้มาเยี่ยมชม

IPD Visitor ผู้มาเยี่ยมผู้ป่วย

ผู้ที่มาเพื่อใช้บริการสถานที่ แต่ไม่ได้มีความต้องการจะเข้ารับการรักษาหรือพบ แพทย์ พื้นที่ส่วนที่เข้าใช้ คือ ส่วนร้านค้า และห้องประชุมอบรม

ผู้ที่มาเพื่อเยี่ยมผู้ป่วยในโรงพยาบาล โดยพื้นที่ส่วนที่เข้าใช้ คือ ส่วน IPD

54


Patient ผู้่ป่วย

Staff บุคลากร

ผู้ที่มาเพื่อเข้ารับการรักษากับแพทย์ ในลักษณะผู้ป่วยนอก และหากจะต้องพัก รักษาตัวในโรงพยาบาล จะกลายเป็นผู้ป่วยใน พื้นที่ส่วนที่เข้าใช้ คือส่วน OPD และ IPD

ผู้ที่ทำ�งานประจำ�อยู่ในโรงพยาบาล โดยพื้นที่ส่วนที่เข้าใช้ สามารถเข้าได้ทุก พื้นที่ โดยขึ้นอยู่กับหน้าที่และการทำ�งาน

55


USER BEHAVIOR พฤติกรรมของกลุ่มผู้ ใช้งาน

OPD Medicine Clinic

56

OPD Specific Department

Operating Room & Birth Unit


IPD Ward

Visitor

Staff

57


BUILDING REQUIREMENT ความต้องการของอาคาร

ด้วยโรงพยาบาลสมิติเวชตั้งอยู่ใจกลางเมือง และอยู่ในซอย จึงมีขนาด พืนที่แนวราบที่จำ�กัด อีกทั้ง ตามกฏผังเมือง พื้นที่นี่จะอยู่ในเขตคลองเตย เป็นเขตพื้นที่สีน้ำ�ตาล ย.10 เป็นที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาหนาแน่นมาก เนื่องจาก โดยมีข้อจำ�กัดว่าถ้าทำ�เลอยู่ในซอยที่กว้างไม่เกิน 10 เมตร สามารถ สร้างอาคารสูงได้ ไม่เกิน 23 เมตร และในซอยสุขุมวิท 49 นั้น เขตทางไม่ถึงตา มกฏหมายผังเมืองกำ�หนด ทำ�ให้เนื้อที่ประมาณ 2.5 ไร่ของโรงพยาบาล จึงจะ ต้องจัดสรรพื้นที่ให้สามารถใช้ประโยชน์อย่างสูงสุด โดยพื้นที่ 2.5 ไร่นี้ เทียบ แล้วจะเท่ากับ 1000 ตารางวา หรือ 4000 ตารางเมตร ตามกฏผังเมือง FAR หรือ อัตราสวนพื้นที่อาคารรวมตอพื้นที่ดิน จะมีค่าเท่ากับ 8 เป็นอัตราสวน พื้นที่อาคารรวมทุกช้ันของอาคารทุกหลังตอพื้นที่ดินที่ใชเปนที่ตั้งอาคาร และ OSR หรือ อัตราสวนของที่วางตอพ้ืนที่อาคารรวม มีค่าร้อยละ 4 เป็นอัตราสวน ของที่วางอันปราศจากสิ่งปกคลุมตอพ้ืนที่อาคาร รวมทุกช้ันของอาคารทุกหลัง ที่กอสรางในท่ีดินแปลงเดียวกัน ซึ่งในพื้นที่ส่วนของอาคาร 1 และอาคาร 3 นั้น เมื่อเชื่ิอมกันแล้วจะมีขนาด 9800 ตารางเมตร จึงทำ�ให้ ใช้ FAR เท่ากับเพียง 2.45 เท่านั้น

58


59


Circulation การสัญจร FLOOR 1 Building 1,2,3

ทางเข้า-ออก ที่ 1

Circulation การสัญจรภายนอกอาคาร

ทางออก ที่ 2 เส้นทางไปจุดรับ-ส่งผู้ป่วย

เส้นทางไปจุดรับ-ส่งผู้ป่วย เส้นทางสำ�หรับผู้ที่ต้องการรับ-ส่งผู้ป่วย โดยจะขึ้นแลมป์ไปยังอาคาร 1 ชั้น 1 ซึ่งเป็นจุดรับ-ส่งหน้าล๊อบบี้อาคาร และจะมีเส้นทางออกที่สุดทางเพื่อลง แลมป์ และหากตรงไปจะเป็นเส้นทางออกจากโรงพยาบาลอีกด้านหนึ่ง แล้วไป จอดรถใต้อาคาร2 ได้ หรือตรงไปออกจากอาคาร

60


FLOOR 1 Building 1,2,3

ทางเข้า-ออก ที่ 1

ทางออก ที่ 2 เส้นทางรถพยาบาลไปแผนกฉุกเฉิน

เส้นทางรถพยาบาลไปแผนกฉุกเฉิน เส้นทางสำ�หรับส่งผู้ป่วยฉุกเฉนอย่างรวดเร็ว โดยจะขึ้นแลมป์เหมือนกัน และจะพบ แผนกฉุกเฉินที่ อาคาร 3 ชั้น 1 เป็นอันดับแรก สร้างความสะดวก รวดเร็วเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

61


Building Floor

FLOOR G Building 3

3 G

ไปยังที่จอดรถ

ทางเข้า-ออก ที่ 1 เส้นทางไปจุดรับ-ส่งร้านค้า และไปที่จอดรถ

เส้นทางไปจุดรับ-ส่งร้านค้า และไปที่จอดรถ เส้นทางสำ�หรับผู้ที่มาใช้บริการร้านค้า,ผู้ที่มาเยี่ยมคนไข้ ในโรงพยาบาล, ผู้มาใช้บริการหรือบุคลากรที่ต้องการไปที่จอดรถ โดยจะวนรอบวงเวียนลอดใต้ อาคารไปยังจุดรับ-ส่งร้านค้า และสามารถผ่านไปยังที่จอดรถใต้อาคาร 1 และใต้ อาคาร 2 หากต้องการออกจากอาคาร จะต้องวนกลับมาที่เส้นทางเดิม เพื่อสวน ออกตรงทางเข้าโรงพยาบาล โดยเมื่อที่จอดรถใต้อาคาร 1 จะมที่จอดรถสำ�หรับ บุคลากร และสำ�หรับผู้มาใช้บริการส่วนใหญ่จะจอดใต้อาคาร 2 62


FLOOR 1 Building 1,2,3

Circulation การสัญจรภายในอาคาร

เส้นทางสัญจรผู้ ใช้บริการ และลิฟต์ลูกค้า

เส้นทางสัญจรผู้มาเยี่ยมชม สำ�หรับส่วนบริการร้านค้าร้านอาหาร สามารถเข้าได้ 2 เส้นทาง คือ เข้าประตู ทางเข้าใต้ตึกด้านหน้าอาคาร 3 ชั้น G และเข้าทางอาคาร 1 ชั้น 1 เดินผ่านไป ยังอาคาร 3 แล้วลงบันได้เลื่อนลงมา 1 ชั้น สำ�หรับส่วนฝึกอบรม สามารถไปยัง อาคาร 2 และขึ้นลิฟต์ ไปยัง ชั้น 6 เพื่อไปห้องประชุมล่ำ�ซำ�

63


FLOOR 1 Building 1,2,3

เส้นทางสัญจรผู้ ใช้บริการ และลิฟต์ลูกค้า

64


FLOOR 2 Building 1,2,3

เส้นทางสัญจรผู้ ใช้บริการ และลิฟต์ลูกค้า

สัญจรผู้ป่วย OPD - OPD อาคาร 1 ชั้น 1-2 เมื่อเข้าไปในตัวอาคาร หากเลี้ยวซ้ายจะเป็น OPD อายุรกรรม หากเดินตรงไปหรือขึ้นบันได้วนไปชั้น 2 จะเป็น OPD เฉพาะทาง รักษาภายใน หรือสามารถขึ้นลิฟต์ ไปชั้น 2 ได้ที่บริเวณกลางอาคาร - OPD อาคาร 2 ชั้น 1-6 เมื่อเข้าไปในตัวอาคาร สามารถใช้บริการลิฟต์เพื่อไป แผนกในชั้นนั้นๆได้เลย 65


FLOOR 1 Building 1,2,3

เส้นทางสัญจรผู้ ใช้บริการ และลิฟต์ลูกค้า

เส้นทางสัญจร ผู้มาเยี่ยมผู้ป่วย IPD - IPD อาคาร 1 ชั้น 2-7 เมื่อเข้าไปในตัวอาคาร เดินตรงไปตามทางจะพบลิฟต์ 3 ตัว เพื่อขึ้นไปยัง IPD แต่ละชั้น - IPD อาคาร 3 ชั้น 2-5 จะต้องเดินเข้าทางอาคาร 1 ก่อน แล้วเดินไปยัง อาคาร 3 และขึ้นลิฟต์ตรงสุดทางบริเวณทางเข้าแผนกฉุกเฉิน เพื่อขึ้นไปยัง IPD แต่ละชั้น 66


FLOOR 2 Building 1,2,3

เส้นทางสัญจรผู้ ใช้บริการ และลิฟต์ลูกค้า

เส้นทางสัญจรผู้ป่วย IPD เข้ารับการผ่าตัดหรือทำ�คลอด - IPD อาคาร 1 ชั้น 2-7 จะมีลิฟต์ 3 ตัว เพื่อลงไปยังแผนกผ่าตัดทำ�คลอดชั้น 2 และเลี้ยวซ้ายเข้าห้องผ่าตัด - IPD อาคาร 3 ชั้น 2-5 จะมีลิฟต์ 2 ตัว เพื่อลงไปยังชั้น 2 เลี้ยวซ้ายและผ่าน ทางเชื่อมตึกไปยังอาคาร 1 และเลี้ยวซ้ายเข้าห้องผ่าตัด

67


FLOOR 1 Building 1,2,3

เส้นทางสัญจรเฉพาะบุคลากร และลิฟต์พนักงาน

เส้นทางสัญจรเฉพาะบุคลากร - ทางเดินบุคลากร ชั้น 1 จะมีเส้นทางเฉพาะบุคลากรอ้อมหลังตึก เชื่อมระหว่าง อาคาร 1 และอาคาร 3 ได้ ต้นทางจะเป็นแผนกอายุรกรรม และสุดทางจะเป็น แผนกฉุกเฉิน ไว้ ในกรณีที่หมอ พยาบาล จะต้องรีบไปยังแผนกฉุกเฉินเพื่อทำ�การ รักษาอย่างเร่งด่วน - ทางเดินบุคลากร ชั้น 2 จะมีเส้นทางเฉพาะบุคลากร เพื่อไปยังฝ่ายแล๊​๊ปวินิจฉัย โรค ,แผนกผ่าตัดและทำ�คลอด, และห้องไอซียู โดยต้นทางจะอยู่บริเวณลิฟต์ เดินอ้อมหลังตึกไป สุดทางจะเป็นห้องไอซียู 68


FLOOR 2 Building 1,2,3

เส้นทางสัญจรเฉพาะบุคลากร และลิฟต์พนักงาน เส้นทางสัญจรเฉพาะบุคลากร - ลิฟต์ 1 ตัว อาคาร 1 เชื่อมกันระหว่าง แผนกเอกซเรย์ ชั้น 1, แผนกผ่าตัดทำ�คลอด, แล็ป วินิจฉัยโรค ชั้น 2, หอผู้ป่วย ชั้น 3-6, ฝ่ายทรัพยากรส่วนบุคคล ชั้น 7 - ลิฟต์ 1 ตัว อาคาร 1 เชื่อมกันระหว่าง ทางเดิน ชั้น 1, ทางเดิน ชั้น 2, หอผู้ป่วย ชั้น 3-6, ฝ่ายทรัพยากรส่วนบุคคล ชั้น 7 - ลิฟต์ 2 ตัว อาคาร 2 เชื่อมกันระหว่าง ที่จอดรถ ชั้น B1-B2, แผนกรักษาแต่ละแผนกชั้น 1-6 - ลิฟต์ 2 ตัว อาคาร 3 เชื่อมกันระหว่าง ฝ่ายโภชนาการ, ซักฟอก, ขนส่งพัสดุ ชั้น G, แผนก อายุรกรรม, แผนกฉุกเฉิน, ทางไปอาคาร 1 ชั้น 1, ห้องไอซียู ชั้น 2, และห้องพักผู้ป่วย ชั้น 3-5 69


GROUPING & ZONING การแบ่งแผนกและกลุ่มโซนพื้นที่ การจัดสรรพื้นที่ใช้สอยสามารถแบ่งเป็น 4 ส่วนหลัก ได้แก่ 1. Visitor Zone พื้นที่สำ�หรับบุคคลภายนอก พื้นที่นี่จะรองรับลูกค้าที่มาเพื่อใช้บริการในส่วนร้านค้าเท่านั้น ไม่ได้มี ความต้องการจะเข้ารับการรักษาหรือพบแพทย์ โดยร้านค้าจำ�นวนหนึ่งจะอยู่ ที่อาคาร 1 ชั้น 1 คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 30% และในส่วนโซนร้านค้าจะอยู่ที่ อาคาร 3 ชั้น B คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 70% และพื้นที่รองรับบุคคลภายนอกอีก ส่วนคือ ห้องประชุม สำ�หรับอบรม ตั้งอยู่ที่ อาคาร 2 ชั้น 6 2. OPD Zone พื้นที่สำ�หรับรักษาผู้ป่วยนอก พื้นที่นี่จะรองรับลูกค้าที่เข้ามารับการรักษาหรือพบแพทย์ แต่ไม่ได้ จำ�เป็นต้องพักรักษาค้างคืนในโรงพยาบาล โดยจะแบ่งเป็น ส่วนบริการ OPD อายุรกรรม จะอยู่ที่อาคาร 1 ชั้น 1 เชื่อมพื้นที่ต่อเนื่อง กับ อาคาร 3 ชั้น 1 เท่านั้น แบ่งตรวจอายุรกรรมออกเป็น 7 เคาท์เตอร์ แยกตาม ประเภทการรักษา - ส่วนบริการ OPD แผนกเฉพาะทางตรวจภายใน จะอยู่ที่อาคาร 1 ชั้น 1 และ 2 ได้แก่ อาคาร 1 ชั้น 1 สถาบันหัวใจ, ศูนย์กระดูก-ข้อ และการแพทย์กีฬา, ศูนย์เอกซเรย์, อาคาร 1 ชั้น 2 สถาบันโรคตับและทางเดินอาหาร, แผนกไต - ส่วนบริการ OPD แผนกเฉพาะทางตรวจภายนอก จะอยู่ที่อาคาร 2 ชั้น 1-6 อาคาร 2 ชั้น 1 ศูนย์สุขภาพสตรี, ไลฟ์ เซ็นเตอร์ อาคาร 2 ชั้น 2 แผนกเด็ก อาคาร 2 ชั้น 3 ศูนย์สุขภาพ อาคาร 2 ชั้น 4 จักษุคลีนิก, คลีนิกทันตกรรม อาคาร 2 ชั้น 5 คลินิกผิวหนัง, สถาบันสุจภาพผิวพรรณ อาคาร 2 ชั้น 6 ศูนย์ศัลยกรรมตกแต่ง และรักษาฟื้นฟูปัญหาสุขภาพ เส้นผม - ส่วนบริการแผนกฉุกเฉิน จะอยู่ที่อาคาร 3 ชั้น 1

70

3. Operating, Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด - ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด จะอยู่ที่ อาคาร 2 ชั้น 2 อาคาร 2 ชั้น 2 ห้องผ่าตัด, ห้องคลอด 4. IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน - หอพักผู้ป่วยใน จะอยู่ที่ อาคาร 1 ชั้น 2-6, อาคาร 3 ชั้น 2-5 อาคาร 2 ชั้น 2 ไอซียู อาคาร 2 ชั้น 3 หอผู้ป่วยใน อาคาร 2 ชั้น 4 หอผู้ป่วยใน, หอทารกแรกเกิด อาคาร 2 ชั้น 5-6 หอผู้ป่วยใน อาคาร 3 ชั้น 2 ไอซียู อาคาร 3 ชั้น 3 หอผู้ป่วยในเด็ก อาคาร 3 ชั้น 4-5 หอผู้ป่วยใน 5. Staff Zone พื้นที่สำ�หรับเฉพาะบุคลากรภายในโรงพยาบาล - ส่วนบริการรักษา จะอยู่ทุกส่วนในอาคาร - ส่วนออฟฟิศบริหารและจัดการ จะอยู่ที่ อาคาร 1 ชั้น 3, 7 อาคาร 1 ชั้น 3 สำ�นักผู้อำ�นวยการ อาคาร 1 ชั้น 7 ฝ่ายทรัพยากรส่วนบุคคล - ส่้วนสนับสนุนงานบริการรักษา จะอยู่ที่ อาคาร 1 ชั้น G, อาคาร 3 ชั้น G อาคาร 1 ชั้น G นิติอาคาร วิศวกร อาคาร 3 ชั้น G โภชนาการ ซักฟอก ขนส่งพัสดุ


FLOOR G Building 3

Kitchen Zone ส่วนทำ�อาหาร Cleaning Zone ส่วนซักฟอก

Gateux House ร้านขนมปัง กาโตว์เฮ้าส

7Eleven ร้านเซเว่น

FLOOR G STAFF ZONE BUILDING 3 - Kitchen Zone ส่วนทำ�อาหาร - Cleaning Zone ส่วนซักฟอก VISITOR ZONE BUILDING 3 - Sodexo Canteen ศูนย์อาหารโรงพยาบาล โดย Sodexo - Gateux House ร้านขนมปัง กาโตว์เฮ้าส์ - 7Eleven ร้านเซเว่น - Book Magazine ร้านหนังสือ - Starbucks ร้านกาแฟสตาร์บัคส์

Sodexo Canteen ศูนย์อาหารโรงพยาบาล โดย Sodexo Book Magazine ร้านหนังสือ Starbucks Coffee ร้านกาแฟสตาร์บัคส์

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร

71


FLOOR 1 Building 1,2,3

Imaging Center ศูนย์เอกซเรย์

Out Patient Department Clinic แผนกอายุรกรรมผู้ป่วยนอก

Sport & Orthopedic Center ศูนย์กระดูก-ข้อ และการแพทย์กีฬา

VIP Suite ห้องพัก VIP Pharmacy ห้องยา OPD Cashier แผนกการเงินผู้ป่วย Customer Service ลูกค้าสัมพันธ์ Emergency Department แผนกฉุกเฉิน

Heart Institute สถาบันหัวใจ Medical Record เวชระเบียน

Life Center ไลฟ์ เซ็นเตอร์

72

FLOOR 1 OPD ZONE BUILDING 1 - Out Patient Department Clinic แผนกอายุรกรรมผู้ป่วยนอก - Imaging Center ศูนย์เอกซเรย์ - Sport & Orthopedic Center ศูนย์กระดูก-ข้อ และการแพทย์กีฬา - VIP Suite ห้องพัก VIP - Pharmacy ห้องยา และ OPD Cashier แผนกการเงินผู้ป่วยนอก - Customer Service ลูกค้าสัมพันธ์ - Heart Institute สถาบันหัวใจ - Medical Record เวชระเบียน BUILDING 2 - Life Center ไลฟ์ เซ็นเตอร์ - Women’s Health Center ศูนย์สุขภาพสตรี BUILDING 3 - Emergency Department แผนกฉุกเฉิน

Women’s Health Center ศูนย์สุขภาพสตรี

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร


Bajarisan Cardiac Catheterization Labaratory ห้องปฏิบัติการหลอดเลือดเลือดหัวใจ

FLOOR 2 Building 1,2,3

Birth Unit ห้องคลอด

Hemodialysis Department แผนกไต

Operating Room ห้องผ่าตัด Sport & Orthopedic Center ศูนย์กระดูก-ข้อ และการแพทย์กีฬา

NTENSIVE CARE UNIT ไอซียู

Liver and Digestive Institute สถาบันโรคตับและทางเดินอาหาร NTENSIVE CARE UNIT ไอซียู Samitivej Internation Children’s Hospital โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช

FLOOR 2 OPD ZONE BUILDING 1 - Hemodialysis Department แผนกไต - Liver and Digestive Institute สถาบันโรคตับและทางเดินอาหาร BUILDING 2 - Samitivej Internation Children’s Hospital โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช OPERATION & BIRTH UNIT ZONE BUILDING 1 - Birth Unit ห้องคลอด - Operating Room ห้องผ่าตัด IPD WARD ZONE BUILDING 1 - INTENSIVE CARE UNIT ไอซียู BUILDING 3 - INTENSIVE CARE UNIT ไอซียู

Sport & Orthopedic Center ศูนย์กระดูก-ข้อ และการแพทย์กีฬา

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร

73


FLOOR 3 Building 1,2,3

Executive Office สำ�นักผู้อำ�นวยการ Pediatric Ward หอผู้ป่วยเด็ก

Ward หอผู้ป่วย

Wellness Center ศูนย์สุขภาพ

FLOOR 3 OPD ZONE BUILDING 2 - Wellness Center ศูนย์สุขภาพ IPD WARD ZONE BUILDING 1 - Ward หอผู้ป่วย BUILDING 3 - Pediatric Ward หอผู้ป่วยเด็ก STAFF ZONE - Executive Office สำ�นักผู้อำ�นวยการ

74

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร


FLOOR 4 Building 1,2,3

Ward หอผู้ป่วย

Ward หอผู้ป่วย

Ward หอผู้ป่วย Rehabilitation Medicine & Physical Therapy เวชศาสตร์ฟื้นฟูและกายภาพบำ�บัด

Eye Clinic จักษุคลินิค

FLOOR 4 OPD ZONE BUILDING 1 - Rehabilitation Medicine & Physical Therapy เวชศาสตร์ฟื้นฟูและกายภาพบำ�บัด BUILDING 2 - Eye Clinic จักษุคลินิค - Dental Clinic คลินิกทันตกรรม IPD WARD ZONE BUILDING 1 - Ward หอผู้ป่วย - Nursery & NICU หอทารกแรกเกิด BUILDING 3 - Ward หอผู้ป่วย

Dental Clinic คลินิกทันตกรรม

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร

75


FLOOR 5 Building 1,2,3

Oncology Center อองคอลโลจีเซ็นเตอร์

Ward หอผู้ป่วย

Ward หอผู้ป่วย

Esthetics Institute สถาบันสุขภาพผิวพรรณ Skin Clinic คลินิกผิวหนัง

FLOOR 5 OPD ZONE BUILDING 2 - Esthetics Institute สถาบันสุขภาพผิวพรรณ - Skin Clinic คลินิกผิวหนัง IPD WARD ZONE BUILDING 1 - Ward หอผู้ป่วย - Oncology Center อองคอลโลจีเซ็นเตอร์ BUILDING 3 - Ward หอผู้ป่วย

76

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร


FLOOR 6 Building 1,2

Ward หอผู้ป่วย

Plastic Surgery & Hair Restoration Medical Center ศูนย์ศัลยกรรมตกแต่ง และรักษาฟื้นฟูปัญหาสุขภาพเส้นผม Bancha Lamsam Audithorium ห้องประชุมบัญชา ล่ำ�ซำ�

FLOOR 6 VISITOR ZONE BUILDING 2 - Bancha Lamsam Audithorium ห้องประชุมบัญชา ล่ำ�ซำ� OPD ZONE BUILDING 2 - Plastic Surgery & Hair Restoration Medical Center ศูนย์ศัลยกรรมตกแต่ง และรักษาฟื้นฟูปัญหาสุขภาพเส้นผม IPD WARD ZONE BUILDING 1 - Ward หอผู้ป่วย

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร

77


FLOOR 7 Building 1

Human Resources Division ฝ่ายทรัพยากรบุคคล Insurance & Corporate Service Center ศูนย์บริการลูกค้าประกัน Ward หอผู้ป่วย

FLOOR 7 IPD WARD ZONE BUILDING 1 - Ward หอผู้ป่วย STAFF ZONE BUILDING 1 - Human Resources Division ฝ่ายทรัพยากรบุคคล - Insurance & Corporate Service Center ศูนย์บริการลูกค้าประกัน

78

Visitor Zone พื้นที่ผู้เยี่ยมชม OPD Zone พื้นที่รักษาผู้ป่วยนอก Operation & Birth Unit Zone พื้นที่ห้องผ่าตัดและทำ�คลอด IPD Ward Zone พื้นที่หอพักผู้ป่วยใน Staff Zone พื้นที่เฉพาะบุคลากร


79


80


DESIGN FACTOR

ปั จ จั ย ในการออกแบบ

ในปัจจุบันทิศทางการออกแบบโรงพยาบาลเอกชนสมัยใหม่ จะสังเกตเห็น ปรากฏการณ์สำ�คัญอย่างหนึ่งที่ดูเสมือนกำ�ลังเป็นกระแสนิยม นั่นก็คือการ ออกแบบโรงพยาบาลโดยการถอดรูปลักษณ์มาจากโรงแรมหรูระดับห้าดาว จนบางครั้งไปถึงขั้นจำ�ลองโครงสร้างความสัมพันธ์บางด้านระหว่าง “ลูกค้ากับ พนักงานโรงแรม” มาใช้เป็นตัวแบบโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง “คนไข้ กับบุคลากรในโรงพยาบาล” โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทเองก็เช่นเดียวกัน โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท นอกจากจะมีภาพลักษณ์ในนามธรรมที่ เหมือนโรงแรมแล้ว ยังมีรูปธรรมที่สอดคล้องกับแนวความคิดนั้น โดยที่ยังคง เล็งเห็นความสำ�คัญของประโยชน์ใช้สอยภายในพื้นที่ต่างๆของโรงพยาบาล ที่ จะต้องได้รับประโยชน์สูงสุดจากการรักษา 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

Efficiency and Cost-Effectiveness ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า Flexibility and Expandability ความยืดหยุ่นและการขยายตัว Therapeutic Environment สภาพแวดล้อมบำ�บัด Cleanliness and Sanitation การรักษาความสะอาดและระบบสุขาภิบาล Accessibility and Connection การเข้าถึงและความเชื่อมโยงของพื้นที่ การใช้งาน Controlled Circulation การควบคุมเส้นทางสัญจร Aesthetics and Function ความสวยงามและประโยชน์ใช้สอย Security and Safety ระบบมาตรการรักษาความปลอดภัย Sustainability การพัฒนาที่ยั่งยืน

81


1. EFFICIENCY & COST-EFFECTIVENESS ประสิทธิภาพและความคุ้มค่า จากสภาพความเป็นจริงที่ทรัพยากรโลกมีอยู่อย่างจำ�กัด ความคุ้มค่า คุ้มทุน จึงเป็นสิ่งจำ�เป็นที่มนุษย์จะต้องคำ�นึงถึง เพื่อให้การกระจายทรัพยากร เป็นไปได้อย่างเป็นธรรม และโดยเฉพาะทรัพยากรด้านสุขภาพของประเทศใน ปัจจุบัน กล่าวได้ว่ากำ�ลังอยู่ในภาวะขาดแคลน ดังนั้นการกำ�หนดผลลัพธ์จาก การบริการสุขภาพ โดยเฉพาะผลลัพธ์ด้านการพยาบาลจึ​ึงจำ�เป็นจะต้องแสดงว่า มีความคุ้มค่าหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นความคุ้มค่าต่อผู้ ใช้บริการ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้ ให้บริการ หรือแม้แต่สังคม การตัดสินความคุ้มค่านั้น ไม่ใช่เรื่องของความประหยัดเงิน แต่ต้อง อาศัยการตัดสินคุณค่าของผลที่เกิดขึ้น เช่น วิธีการรักษาแบบหน่ึงซึ่งมีต้นทุน สูง เป็นสิ่งไม่คุ้มค่ากับโรงพยาบาล แต่คุ้มค่าสำ�หรับผู้ป่วยเนื่องจากทำ�ให้ความ เจ็บป่วยลดลง ผู้บริหารโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทนี้ จึงจำ�เป็นต้องคิด วิเคราะห์ ให้ คุณค่าต่อผลลัพธ์ทางการพยาบาลและตัดสินใจ บริหารจัดการการใช้ทรัพยากร บุคลลากรทางการแพทย์ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ รวมทั้งเวชภัณฑ์ ต่างๆ รวมทั้งสนับสนุนการปฏิบัติงานของการพยาบาลให้เกิดผลลัพธ์ที่คุ้มค่า สำ�หรับการให้พยาบาลในองค์รวม คือผู้ ใช้บริการหายป่วย ทุเลาในเวลาที่เหมาะ สม หรือถึงแก่กรรมด้วยความสงบ ไม่ให้เกิดความเสี่ยง ปลอดภัย ไม่มีภาวะ แทรกซ้อน ผู้ ให้บริการปลอดภัย ผู้ ใช้บริการมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถดูแล ตนเอง รวมทั้งญาติผู้ป่วยจะต้องพึงพอใจกับการบริการ

82


2. FLEXIBILITY & EXPANDABILITY ความยืดหยุ่นและการขยายตัว เนื่องจากภาวะการแข่งขันของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนยังคงมีความ รุนแรงอย่างต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการแข่งขันกันในการขยายสาขา และปรับปรุงสถานประกอบการให้มีรูปแบบที่ทันสมัย สวยงาม และการ ปรับปรุงคุณภาพในการให้บริการ ซึ่งเป็นจุดขายของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน รวมทั้งยังมีการสร้างความแตกต่างในการให้บริการ โดยการเปิดให้บริการในรูป แบบศูนย์การแพทย์เฉพาะทางมากขึ้น ไม่ว่า จะเป็น ศูนย์โรคหัวใจ ศูนย์โรค ทางสมอง และศูนย์โรคมะเร็ง โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีแนวโน้มจะได้รับการรับรองมาตรฐาน เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และยังมีจุดเด่นในด้านค่าบริการและค่าใช้จ่ายในการ ผ่าตัดที่ไม่สูงมากนัก เมื่อเทียบกับของประเทศคู่แข่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การ ผ่าตัดเกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนั้น ยังมีบุคลากรที่มีความ สุภาพอ่อนโยนในการให้บริการ ทำ�ให้ผู้ป่วยที่เข้ามาใช้บริการเกิดความประทับ ใจ ประกอบกับการที่ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง เหล่า นี้ ล้วนเป็นจุดเด่นในการดึงดูดผู้ป่วยชาวต่างชาติให้เข้ามารับการรักษาพยาบาล ในโรงพยาบาลสมิติเวชมากขึ้น และยังเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันให้แก่ธุรกิจในวงการโรงพยาบาลเอกชนไทยอีกด้วย นอกเหนือจากมุมมองเรื่องการขยายตัวทางธุรกิจที่มีต่อต่างประเทศ แล้ว ปัจจุบันธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศไทยมีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง ทำ�ให้การแข่งขันของธุรกิจมุ่งเน้นด้านคุณภาพมากขึ้น โดยผู้ประกอบการต่าง เร่งปรับปรุงอาคารสถานที่ ทั้งอาคารตรวจโรค หออภิบาลและห้องพักผู้ป่วย เครื่องมือทางการแพทย์ที่ทันสมัย รวมไปถึงอาคารจอดรถ ซึ่งจำ�เป็นต้องใช้เงิน ลงทุนจำ�นวนมาก ทำ�ให้ผู้ประกอบการรายใหญ่ที่มีความพร้อมด้านเงินลงทุนมี ความได้เปรียบ

การออกแบบโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท นั้นกลับไม่ได้ตระหนัก ถึงภาวะการแข่งขันนี้ตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง เนื่องจากเป็นโรงพยาบาลเอกชนที่เก่า แก่ มีอายุมานาน ซึ่งในอดีตมีคู่แข่งทางธุรกิจไม่มากนักเมื่อเทียบกับปัจจุบัน การเตรียมความพร้อมสำ�หรับการรับมือในเรื่องนี้นั้น เพิ่งเกิดขึ้นมาไม่นาน นัก ทำ�ให้การวางผังของอาคารค่อนข้างตายตัว ด้วยพื้นที่ที่จำ�กัดในใจกลาง เมืองเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร แต่เมื่อสังคมเริ่มมีการขยายตัว ประกอบ กับธุรกิจสถานพยาบาลมีการแข่งขันที่สูงขึ้นอย่างตื่อเนื่อง ทำ�ให้ทางออกของ การขยายตัวของอาคารสำ�หรับโรงพยาบาลนี้เป็นไปได้เพียงแนวดิ่งเท่านั้น แต่ ก็ยังคงเป็นไปด้วยความยากลำ�บาก เนื่องจากโครงสร้างอาคารที่มีอยู่เดิม ไม่ ว่าจะเป็นเสา คาน หรือแม้แต่เสาเข็ม และฐานราก นั้นไม่ ได้ถูกออกแบบจาก วางแผนเพื่อเตรียมรับมือกับการขยายตัวเอาไว้ นอกจากการเพิ่มพื้นที่ในแนวดิ่งแล้ว เมื่อความต้องการพื้นที่มากขึ้น ผู้ประกอบการและผู้ออกแบบมักจะใช้วิธีขยับขยายจากการปรับผังของพื้นที่ ใช้สอยให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในบางกรณีมีการยกเลิกการใช้งานในบางส่วน และเพิ่มส่วนอื่นๆเข้ามา และมีบางกรณีที่ลดพื้นที่ลงแต่ยังเก็บไว้เพื่อใช้งาน นั้นๆ โดยเพิ่มการใช้งานในอื่นในพื้นที่เดิม

83


3. THERAPEUTIC ENVIRONMENT สภาพแวดล้อมบำ�บัด ผู้บริหารของโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท นั้นได้มีนโยบายการส่งเสริม ให้โรงพยาบาลพัฒนาสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มจากสิ่งแวดล้อมที่มีความปลอดภัย ตามมาตรฐาน เช่น เรื่องของการกำ�จัดขยะ น้ำ�เสีย ระบบสำ�รองฉุกเฉินต่างๆ จนถึงสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ จนถึง การต่อยอดด้วยสิ่งแวดล้อมเพื่อการเยียวยา โดยการจัดสิ่งแวดล้อมในสถาน พยาบาลที่ทำ�ให้ผู้ ใช้สอยรู้สึกดี สบาย ผ่อนคลาย ซึ่งมีสาเหตุมาจากทางโรง พยาบาลเข้าใจความรู้สึก อีกทั้งยังสัมผัสได้ถึงความต้องการ และความทุกข์ ของผู้ป่วย นั่นคือปัจจัยสำ�คัญที่นำ�ไปสู่การบำ�บัดและเยียวยาที่ได้ผล โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีแนวคิดในเรื่องของสภาพแวดล้อมที่ดี จะมีผล ต่อผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก ซึ่งเป็นการเพิ่ม ประสิทธิผลของการรักษาและเร่งการฟื้นตัวของผู้ป่วย รวมถึงการยกระดับ คุณภาพชีวิตในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ด้วย จากผลการศึกษา แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าองค์ประกอบต่างๆ ใน สภาพแวดล้อม เช่น แสง สี เสียง กลิ่น ทัศนียภาพ งานศิลปะ เสียง วัสดุและ พื้นผิวต่างๆ มีอิทธิพลอย่างมากต่อการบำ�บัดเยียวยาผู้ป่วย การจัดสภาพแวดล้อมที่เยียวยานี้ เราใช้ประสาทสัมผัส (ผัสสะ) ทั้ง 5 ของเราในการตีความ ซึ่งได้แก่ การมองเห็น, การรู้รส, การได้กลิ่น, การได้ยิน เสียง และการสัมผัส ซึ่งล้วนส่งผลกระทบต่อร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และโดย เฉพาะอย่างยิ่งต่อเงื่อนไขทางกายภาพของผู้ ใช้สอยพื้นที่ ดังนั้น การสร้างความ เข้าใจในเรื่องของสัมผัสทั้งหลายนี้ จึงเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างยิ่งในการสร้างสรรค์ สภาพแวดล้อม เพื่อการเยียวยาที่ได้ผล ซึ่งจะแยกอธิบายได้ดังนี้ การมองเห็น (Sight) องค์ประกอบที่ให้เรามองเห็นนั้น ได้แก่ - แสง (Light) แสงที่พอเหมาะ แสงธรรมชาติ แสงประดิษฐ์ หรือแสงแดด โดยโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท นั้น มีการเว้นพื้นที่ว่างในพื้นที่ต่างๆ เพื่อการ เพิ่มพื้นที่การกระจายแสง รวมถึงใช้วัสดุมันวาวในการควบคุมแสง นอกจากนั้น ยังมีผนังภายนอกอาคารเป็นกระจกใสบานใหญ่ เป็นการเปิดช่องแสงสำ�หรับ แสงธรรมชาติอีกด้วย - สี (Colour) สีสรรที่ใช้ประกอบอาคาร โทนสีของอาคารเป็นสีโทนร้อน ที่มีอุณภูมิสีไปทางอุ่น คือไม่ร้อนมาก สบายตา เพื่อสร้างความรู้สึกจากการมอง เห็น - รูปทรง (Form) ลักษณะรูปทรงของวัตถุที่มองเห็น ในบางพื้นที่มีการ ใช้แสงและเงามาใช้ ในเชิงเปรียบต่าง (Contrast) เพื่อเน้นรูปทรงต่างๆภายใน อาคาร เช่น ผนังตกแต่ง หรือเฟอร์นิเจอร์ ให้น่ามองยิ่งขึ้น

84

- ทัศนียภาพ (Views) ภาพที่ปรากฏต่อสายตา จากการที่โรงพยาบาลใช้ วัสดุพื้นและผนังส่วนใหญ่ที่มีพื้นผิวมันวาวนั้น ทำ�ให้เกิดแสงและภาพสะท้อน ออกมาดูหรูหรา และเปิดทัศนะด้วยผนังกระจก - งานศิลปะ (The arts) ซึ่งแบ่งออกเป็น - ทัศนศิลป์ (Visual arts) ภาพวาด จิตรกรรม ปฏิมากรรม ภายในโรง พยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีการประดับและตกแต่งด้วยงานศิลปะดังกล่าวอยู่ มากมาย เพื่อสร้างความรู้สึกให้กับผู้พบเห็น ไม่ว่าจะเป็นผู้ป่วย บุคคลภายนอก รวมไปถึงบุคคลากรของโรงพยาบาล - ศิลปการแสดง (Performing arts) การเล่นดนตรี นอกจากจะให้ความ สำ�คัญกับงานทัศนศิลป์แล้ว ทางโรงพยาบาลยังคงให้ความสำ�คัญกับศิลปะการ แสดง โดยมีการแสดงเปียโน ซึ่งถือเป็นจุดขายอย่างหนึ่งของโรงพยาบาลอีก ด้วย การรู้รส (Taste) โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีการให้ความสำ�คัญกับรสชาติอาหาร ซึ่งแตก ต่างกับโรงพยาบาลหลายๆแห่ง เนื่องจากทางผู้บริหารเข้าใจความรู้สึกของผู้ ป่วย และมีแนวคิดในเรื่องนี้ว่า ผู้ป่วยเองก็ต้องการรสชาติอาหารดีๆไม่ต่างจาก คนทั่วไป การได้กลิ่น (Smell) กลิ่นที่เกิดขึ้น เช่น กลิ่นยา กลิ่นน้ำ�ยาเคมี ฯลฯ โดยมีการระมัดระวังเป็นอย่าง ยิ่งในการทำ�ระบบระบายอากาศ การได้ยินเสียง (Hearing) เสียงจากแหล่งต่างๆมากมายในโรงพยาบาล ทั้งที่เกิดจากมนุษย์ เครื่องมือ เครื่องจักร จะถูกกักเก็บไว้ด้วยการแยกพื้นที่การใช้งานออกจากส่วนของ สาธารณะ และในขณะเดียวกันเสียงในพื้นที่สาธารณะจะถูกดูดซับด้วยวัสดุพื้น ผิวหยาบ การสัมผัส Touch วัสดุพื้น ในพื้นที่สาธารณะส่วนใหญ่ของโรงพยาบาล เป็นพื้นหินอ่อนซึ่งมี ผิวสัมผัสมันวาว ไม่ชรุขระ นอกจากวัตถุประสงค์ของการสร้างภาพลักษณ์ที่ หรูหราเปรียบเสมือนโรงแรม แล้ว ยังคงมีเรื่องของความสะดวกในการทำ�ความ สะอาด ไม่เป็นที่สะสมของตะไคร้และเชื้อรา ซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งของการเกิด เชื้อโรค แต่ก็ยังคงไม่เหมาะสมเลยทีเดียว เพราะการใช้งานพื้นผิวลักษณะนี้นั้น เกิดความลื่น ซึ่งเป็นอันตรายกับผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว แต่นอกจากหินอ่อนแล้ว ทางผู้ออกแบบกำ�หนดให้บางส่วนของพื้นที่เป็น พื้นวัสดุพรม เพื่อลดความเจ็บปวดในการเกิดอุบัติเหตุ เช่น ล้ม หรือเสียการ ทรงตัว


4. CLEANINESS & SANITATION การรักษาความสะอาดและระบบสุขาภิบาล การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานบริการสาธารณสุขข้างต้น มีความ สำ�คัญและมีความจำ�เป็นอย่างมาก เพราะการจัดการสิ่งแวดล้อมโดยรอบตัว ของผู้มารับบริการ หรือญาติผู้ติดตามมาก็ตาม มีทั้งผลกระทบโดยตรงและ โดยอ้อมต่อผู้คนเหล่านี้ หากจัดการไม่ดีอาจจะเอื้ออำ�นวย ต่อการแพร่ระบาด ของเชื้อโรคให้เป็นไปได้ง่ายขึ้น มีผู้คนเจ็บป่วยมากขึ้น ดังนั้น หน่วยงานที่ ให้ บริการด้านสุขภาพอนามัย ไม่ว่าจะขนาดใดก็ตาม ควรได้คำ�นึงถึงผลกระทบ ต่อสุขภาพของผู้ที่มาใช้บริการด้วย จากการศึกษาโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท พบว่าโรงพยาบาลมีมาตรฐานการ รักษาความสะอาดและระบบสุขาภิบาล เป็นไปตามมาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข โดยเริ่มตั้งแต่ภายนอกอาคารตลอดจนภายใน คื​ือ - บริเวณภายนอกรอบๆอาคาร มีสภาพแวดล้อมทั่วไปสะอาด เป็น ระเบียบ สวยงาม และมีการอำ�นวยความสะดวกในการให้บริการ นอกจากนั้น ยังมีการป้องกันมลภาวะจากภายนอกด้วยต้นไม้ - บริเวณภายในอาคาร มีการระบายอากาศดี แสงสว่างเพียงพอ มีการจัด สิ่งอานวยความสะดวกสาหรับผู้พิการ มีการควบคุมแหล่งกาเนิดเสียงในโรง พยาบาล และมีการจัดแบ่งพื้นที่อาคารเป็นระเบียบ มีป้ายเตือนต่างๆชัดเจน - ระบบน้ำ�อุปโภคและบริโภค มีน้ำ�อุปโภค บริโภค ในปริมาณที่เพียงพอ โดยได้รับการรักษาคุณภาพให้ถูกสุขลักษณะ นอกจากนั้นยังมีการตรวจสอบ คุณภาพอยู่เสมอ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของสำ�นักงานคณะกรรมการ อาหารและยา • ปริมาณน้ำ�ดื่ม
 - จุดบริการน้ำ�ดื่มแผนกคนไข้นอก ไม่น้อยกว่า 20 ลิตร/เตียง/วัน
 - ภาชนะใส่น้ำ�ดื่มของผู้ป่วยใน ward จัดให้มี 1 ที่/ผู้ป่วย 40 คน/วัน - จุดบริการน้ำ�ดื่มสาธารณะใน ward จัดให้มี 1 ที่/1 ward - จุดบริการน้ำ�ดื่มสำ�หรับเจ้าหน้าที่ จัดให้มี 1 ที่/1 ward
 • ปริมาณน้ำ�ใช้ ไม่น้อยกว่า 500 ลิตร/เตียง/วัน
 • คุณภาพน้ำ�ดื่มน้ำ�ใช้ เป็นไปตามข้อกำ�หนดน้ำ�สะอาดของกองสุขาภิบาล ระบบการจัดการน้ำ�เสีย มีพื้นที่แยกเป็นสัดส่วน บริเวณรอบๆ สะอาด มีการ ระบายอากาศดี ไม่มีกลิ่นเหม็นหรืออับ มีแสงสว่างและอุณหภูมิที่เหมาะสม นอกจากนั้นยังมีการตรวจวิเคราะห์น้ำ�ทิ้งอย่างสม่าเสมอ ระบบการจัดการมูลฝอย โดยแยกเป็น 3 ประเภท คือ มูลฝอยทั่วไป มูลฝอย ติดเชื้อ และมูลฝอยอันตราย มีที่รองรับมูลฝอย
 - ที่รองรับมูลฝอยทั่วไป 1 ที่/4 เตียง และที่รองรับมูลฝอยติดเชื้อ 1 ที่/8 เตียง

- ลักษณะและคุณภาพ เป็นไปตามข้อกำ�หนดของกองสุขาภิบาลคือ มีฝา ปิดมิดชิด ใช้วัสดุคงทน แข็งแรง ไม่รั่ว ไม่ซึม ที่พักมูลฝอย
 - ปริมาณความจุ ประมาณ 10 ลิตร/เตียง
 - ลักษณะและคุณภาพเป็นไปตามข้อกำ�หนดเรื่องที่พักมูลฝอยรวม ของกองสุขาภิบาล การทำ�ลายมูลฝอยติดเชื้อ
 - มีเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ อัตราเผา 0.5 กิโลกรัม/เตียง/วัน - มีการใช้สารเคมีทำ�ลายเชื้อ เช่น ไลโซล เป็นต้น - การควบคุมสัตว์ และแมลงพาหะนำ�โรค มีการตรวจสอบและป้องกัน โดยการสำ�รวจพื้นที่โรงพยาบบาลสมิติเวชนั้นไม่พบร่องรอยของสัตว์ หรือแมลง และห้ามนำ�สัตว์เข้ามาในพื้นที่โรงพยาบาล - ระบบการจัดการสิ่งปฏิกูล ห้องน้ำ�และห้องส้วมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ส้วมสาธารณะ เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งแพร่โรคติดต่อ แบ่งเป็น 3 ประเด็น คือ ความสะอาด ความเพียงพอ และความปลอดภัย การสุขาภิบาลอาหาร ส่วนเตรียมและปรุงอาหาร - สะอาด เป็นระเบียบ จัดเป็นสัดส่วนมีแสงสว่างเพียงพอ ไม่อับทึบ ไม่มี มลภาวะรบกวน - พื้น ผนัง เพดาน ทำ�ด้วยวัสดุที่ทำ�ความสะอาดง่าย มีสภาพดี - โต๊ะเตรียมปรุงอาหาร และผนัง ทำ�ด้วยวัสดุที่ทำ�ความสะอาดง่าย - บริเวณที่เตรียมปรุงอาหารมีการระบายอากาศ รวมทั้งกลิ่นและควันจาก การทำ�อาหารได้ดี - การลำ�เลียงอาหารที่ปรุงสำ�เร็จแล้ว และภาชนะใส่อาหารไปยังที่ต่างๆ มี การปกปิดมิดชิด ภาชนะและอุปกรณ์ - ภาชนะอุปกรณ์ เช่น จาน ชาม ช้อน ส้อม ทำ�ด้วยวัสดุที่ไม่เป็นอันตราย - มีการแยกล้างภาชนะอุปกรณ์สาหรับผู้ป่วยที่สามารถแพร่เชื้อโรคได้ทาง สารคัดหลั่งโดยเฉพาะ - ล้างและเก็บภาชนะอุปกรณ์ด้วยวิธีการที่สามารถทำ�ความสะอาด กำ�จัด และป้องกันเชื้อโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ การซักฟอก - มีพื้นที่เพียงพอ และแยกเป็นสัดส่วน - ระบบท่อไอน้ำ� มีฉนวนกันความร้อนหุ้ม - มีการระบายน้ำ�ที่ดี รางระบายน้ำ�มีฝาปิดมิดชิด - มีการตรวจสอบเครื่องซักผ้า เครื่องอบผ้า และอุปกรณ์ ไฟฟ้าต่างๆเสมอ 85


5. ACCESSIBILITY การเข้าถึงแล้วความเชื่อมโยงของพื้นที่ใช้งาน การออกแบบโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท คำ�นึงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภายในและภายนอกแผนก มีการกำ�หนด ตำ�แหน่งของพื้นที่ใช้สอยไว้อย่างชัดเจนเป็นสัดส่วน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ในการใช้งาน และเกิดการบริหารจัดการที่รวดเร็ว จากการติดต่อประสานงาน ลดการเดินทางของเจ้าหน้าที่ เช่น แผนกผู้ป่วยในที่มีการบริหารจัดการทั้ง ระบบ ให้ผู้ป่วยสามารถรับยาและจ่ายเงินเสร็จสิ้นภายในแผนก โดยการจัดกลุ่ม กิจกรรมที่คล้ายกันหรือใกล้เคียงไว้ ในพื้นที่เดียวกัน และลดความสับสนของ เส้นทางสัญจรระหว่างหน่วยงาน และจัดเส้นทางตามลักษณะกรใช้งาน เช่น ขนส่งวัสดุฆ่าเชื้อ วัสดุสกปรก เส้นทางผู้ป่วย ญาติ และเจ้าหน้าที่

86

6. CONTROL CIRCULATION การควบคุมเส้นทางสัญจร เส้นทางการสัญจรภายในโรงพยาบาล
 • มีเส้นทางจากตึกรับคนไข้ และแผนกบริการอื่นๆ ไปยังตึกคนไข้ • ทางออกสำ�หรับคนไข้นอก
 • เส้นทางสำ�หรับผู้มาเยี่ยมคนไข้
 • เส้นทางสำ�หรับบุคลากรทางการแพทย์ของโรงพยาบาล
 • เส้นทางส่งอาหาร และนำ�มูลฝอยออกจากโรงพยาบาล • ทางนำ�ศพจากตึกคนไข้ ห้องไอซียู ไปยังห้องดับจิต (เก็บศพ) การสัญจรบริเวณโดยรอบโรงพยาบาล
 • มีถนนสำ�หรับรถยนต์ผู้ที่มาโรงพยาบาล รถพยาบาล • มีเส้นทางที่คนไข้ เข้า-ออก โรงพยาบาลแยกกับทางรถยนต์ • มีพื้นที่จอดรถไม่เพียงพอกับปริมาณความต้องการในช่วงที่มีผู้ ใช้บริการปกติ • มีจุดตรวจ ควบคุมการเข้า-ออกโรงพยาบาล • มีถนนลำ�เลียงน้ำ�มัน มูลฝอย และสิ่งปฏิกูล แยกจากเส้นทางปกติ • มีเส้นทางการเคลื่อนย้ายศพออก โดยมีความสะดวกต่อผู้รับบริการ ดังนี้ • มีทางสัญจรร่วมในสถานที่ให้บริการผู้ป่วย ขนาดความกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร และทางลาดเอียงที่มีความชันไม่เกินสิบห้าองศา สำ�หรับเคลื่อนย้ายผู้ ป่วยและผู้พิการ • มีทางเชื่อมระหว่างจุดบริการผู้ป่วยทุกจุดรวมทั้งหอผู้ป่วยทุกหอ ทางเชื่อมมี พื้นเรียบและมีหลังคา • มีที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์สำ�หรับผู้ป่วยและญาติเป็นสัดส่วนซึ่ง เห็นได้ชัดเจนจากทางเข้า โรงพยาบาล ระยะทางเดินจากที่จอดรถมาที่อาคารบริการผู้ป่วยไม่เกิน 200 เมตร


7. SECURITY & SAFETY ระบบมาตรการรักษาความปลอดภัย โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีการรักษาความปลอดภัยในทุกๆด้าน ทั้ง สำ�หรับผู้ป่วย ผู้ติดต่อ หรือบุคคลากร โดยมีการสำ�รวจและรายงานความเสี่ยง ในการทำ�งานแต่ละส่วน แยกตามลักษณะงาน และจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น นอกจากนั้นยังมีระบบป้องกันอันตรายจากเครื่องมือและสภาพแวดล้อม มีการ ตรวจสุขภาพและรักษา ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟูสุขภาพเจ้าหน้าที่ - การป้องกันและระงับอัคคีภัย 1. มีอุปกรณ์ดับเพลิงที่อยู่ในสภาพดี ติดตามอาคาร ห้อง หรือแผนกต่างๆ ทั่วทั้งอาคาร 2. มีอุปกรณ์ตรวจจับควัน (Smoke detector) กระจายตามจุดต่างๆ 3. มีการติดตั้งสัญญาณไฟไหม้ สำ�หรับเตือนผู้ที่อยู่ภายในบริเวณโรง พยาบาล และมีการติดตั้งเครื่องส่งสัญญาณแจ้งไปยังหน่วยดับเพลิงของ เทศบาล และสถานีตำ�รวจด้วย 3. มีหัวฉีดน้ำ� กรณีเพลิงไหม้ 4. มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบด้านการดับเพลิงที่มีความรู้ ความชำ�นาญ นอกจากนั้นยังมีการอบรมให้ความรู้กับพนักงานทุกๆระดับ 5. มีสถานที่สำ�หรับเก็บเวชภัณฑ์ และสารเคมีหรือวัตถุไวไฟ และมีป้าย เตือนอันตราย 6. สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ใช้การได้ ทางหนีไฟมีป้ายมองเห็นชัดเจน และไม่มีสิ่งกีดขวาง 7. มีแผนการป้องกัน และระงับอัคคีภัย 8. มีทางออกเพียงพอเมื่อเกิดเพลิงไหม้ - การป้องกันอุบัติเหตุ เหตุรำ�คาญ และการระงับอาชญากรรม 1. มีการติดกล้องวงจรปิดในทุกๆพื้นที่ 2. มีพนักงานรักษาความปลอดภัยที่ได้รับการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อม ประจำ�อยู่ตามจุดต่างๆของโรงพยาบาล - การป้องกันเสียงและแรงสั่นสะเทือน มีการแยกติดตั้งเครื่องยนต์ มอเตอร์ ไฟฟ้า ไว้นอกตัวอาคารของโรงพยาบาล เช่น ตึกผู้ป่วย ห้องผ่าตัด เพื่อป้องกันไม่ให้เสียงและความสั่นสะเทือนรบกวน

8. SUSTAINABILITY การพัฒนาที่ยั่งยืน จากปัญหาด้านสภาวะโลกร้อนที่มีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นทุกปี วิถีชีวิตของ ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนไปตามกระแสทุนนิยม และต้องการความสะดวก สบายในการดำ�รงชีวิตมากขึ้น เป็นผลให้มีการออกกำ�ลังกายน้อยลง ร่างกาย อ่อนแอ ไม่มีภูมิคุมกันต่อโรคภัยไข้เจ็บ จำ�เป็นต้องเข้ารับการรักษาพยาบาล กิจกรรมที่เกิดขึ้นในโรงพยาบาลมีรูปแบบที่หลากหลาย และมีความจำ�เป็นต้อง ใช้พลังงานและทรัพยากรต่างๆ หลายรูปแบบ เพื่อสนับสนุนการให้บริการกับ ผู้ป่วยและญาติ ในการเข้ามารับบริการในแต่ละวันเป็นจำ�นวนมาก ซึ่งมีส่วนที่ จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งทางตรงและทางอ้อม จากการที่โรง พยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีภารกิจหลักเป็นงานให้บริการ และเป็นอีกองค์กร หนึ่งที่มีความห่วงใยต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม นอกเหนือจากเรื่องของสิ่งแวดล้อมแล้ว การพัฒนาคุณภาพอย่างยั่งยืน ของมนุษย์ ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการพัฒนาคุณภาพของโรงพยาบาล โดยจะ ต้องเริ่มต้นจากความเชื่อมั่นในคุณค่า ศักดิ์ศรีและศักยภาพของมนุษย์ที่จะ คิด ที่จะสร้างสรรค์ และปฏิเสธการถูกกลืนเข้าเป็นส่วนหนึ่งของระบบกลไกที่ ทำ�งานไปวันๆ เท่านั้น ซึ่งนั่นจะเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างสรรค์งานคุณภาพ อย่างยั่งยืน เป็นจุดเริ่มต้นของการทำ�งานด้วยพลังขับเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการ ตื่นรู้จากภายในคณะผู้บริหารจึงได้ตระหนักถึงการเป็นส่วนหนึ่งที่จะร่วมช่วย เหลือชุมชนและสังคม โดยจะดำ�เนินงานด้านรักษ์โลก และคืนศักดิ์ศรี ให้มนุษย์ เพื่อเป็นต้นแบบในการเผยแพร่แก่บุคลากรในองค์กรและประชาชนทั่วไปได้ ในส่วนของการพัฒนาที่ยั่งยืนของงานสถาปัตยกรรมหรือตัวอาคารของโรง พยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท มีการใช้พลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และรูปแบบใหม่ของการประหยัดพลังงานในชีวิตประจำ�วันของคนเมืองในยุค ปัจจุบัน ภายใต้แนวความคิดพลังงานสีเขียวของคนเมือง โดยการจัดสภาพ แวดล้อมภายในโรงพยาบาลตามจุดต่างๆ ให้มีความปลอดภัย สะอาด สวยงาม และเอื้ออำ�นวยต่อผู้ป่วยและญาติให้มีความสุขกาย สบายใจ และเป็นรูปแบบ ของสถาปัตยกรรมที่เน้นความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

87


88


DESIGN TECHNOLOGY

เทคโนโลยี ใ นการออกแบบ

รูปแบบในการออกแบบภายในพื้นที่ของโรงพยาบาล จะมีแนวทางที่ เปลี่ยนไป โดยปัจจัยหลักขึ้น อยู่กับการพัฒนา ของเครื่องมือและเทคโนโลยี ทางการแพทย์ ซึ่งในปัจจุบันเทคโนโลยีการแพทย์เป็นระบบดิจิตอลทั้งหมด ทำ�ให้การออกแบบมีรูปแบบ ที่แตกต่างไปจากเดิม เพื่อตอบสนองการใช้งาน ตามการพัฒนาของเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์ อาทิ ในปัจจุบัน ไม่ จำ�เป็นต้องมีห้องเก็บฟิล์มเอ็กซเรย์แล้วเนื่องจากสามารถบันทึกและส่ง ข้อมูลผ่านผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ได้ทันที แฟ้มประวัติ คนไข้มีฐานข้อมูล ในคอมพิวเตอร์ และรูปแบบการสั่งยา หมอจะสั่งผ่านระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ จำ�เป็นต้องเขียน ใส่แฟ้มแล้วนำ�ส่ง ไปยังห้องจ่ายยา ทำ�ให้ ไม่ต้องรอจ่ายเงิน รับยาซึ่งเป็นขั้นตอนที่ยาวนานเหมือนสมัยก่อน

89


90


รูปแบบในการออกแบบภายในพื้นที่ของโรงพยาบาล จะมี แนวทางที่เปลี่ยนไป โดยปัจจัยหลักขึ้นอยู่กับการพัฒนา ของเครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์

91


92


DESIGN INNOVATION

นวั ต กรรมในการออกแบบ

CONSTRUCTION การออกแบบโครงสร้างแบบ Post-Tension การเก็บงานระบบ ใต้ฝ้าจะเก็บได้สะดวกเนื่องจากไม่มีคานภายในอาคาร และได้พื้นที่ระหว่าง พื้นถึงฝ้าเพดานที่มากขึ้น ข้อดีอีกอย่างหนึ่งคือเป็นโครงสร้างที่สามารถสร้าง จำ�นวนชั้นได้มากกว่าโครงสร้างทั่วไป

93


SPECIFIC DISEASE MEDICAL พัฒนาการออกแบบให้สอดคล้องกับเทรนด์ของโรคต่างๆที่เกิดขึ้นใน ปัจจุบัน โดยเฉพาะโรคที่ติดต่อทางเดินอากาศ อาทิ ไข้หวัดหมู ซา ไข้หมัดนก อีโบล่า และโรคอื่นๆ ทำ�ให้เกิดการคิดค้นออกแบบห้องตรวจโรคติดเชื้อทาง เดินอากาศขึ้นมาโดยเฉพาะ จะต้องแยกห้องตรวจเหล่านี้ออกมาจากห้องตรวจ ประเภท และในการออกแบบจะให้ความสำ�คัญในเรื่องการควบคุมเชื้อโรคและ อากาศที่ไหลเข้าและออกของพื้นที่ภายในอาคาร X เครื่องปรับอากาศภายในอาคารทุกเครื่อง จะมีตัวขับลมขนาด ใหญ่ เพื่อที่จะขับเชื้อโรคให้ผ่านตัวกรองอากาศ ที่มีความถี่สูง เพื่อให้เชื้อโรค ออกไปภายนอกอาคาร รวมถึงออกแบบระบบอากาศภายในให้ถ่ายเทอย่าง มีประสิทธิภาพ ทั้งเรื่องของอุณหภูมิที่คงที่ ควบคุมเรื่องกลิ่น จนกระทั่งการ ควบคุมให้อากาศที่ไม่ชื้นและไม่แห้งจนเกินไป

94


95


96


DESIGN DETAIL

รายละเอี ย ดในการออกแบบ

โรงพยาบาลสมิติเวชได้รับรางวัลชนะเลิศด้านการรักษาพยาบาลด้วย มาตรฐานระดับสากลที่ได้รับการรับรองโดย JCI ด้วยพันธกิจหลักของโรง พยาบาล คือการให้บริการด้วยคุณภาพและนวัตกรรมใหม่ ๆ ทำ�ให้โรงพยาบาล สมิติเวช สุขุมวิท เติบโตเป็นโรงพยาบาลชั้นแนวหน้าเรื่องเทคโนโลยีด้านการ แพทย์ ปัจจุบันโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท เป็นที่ยอมรับจากประชาชนคน ไทยและชาวต่างประเทศที่อาศัยอยู่ในเมืองไทย เนื่องจากผู้บริหารได้เล็งถึง การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โดยได้ทำ�การปรับปรุงด้านการออกแบบโรง พยาบาล ให้เป็นเสมือนที่ให้คำ�ปรึกษาด้านสุขภาพ ไม่ใช่การรักษาอาการ ป่วยอย่างเดียว จึงเกิดการสร้างภาพลักษณ์ ด้านการตลาด เพื่อดึงกลุ่มลูกค้า เพื่อมาใช้บริการรักษาสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจำ�ปี ทำ�ให้ชั้น 1อาคาร1 ซึ่งเป็นประตูและหน้าตาของสมิติเวชเปลี่ยนไปจากเดิมให้ เกิดความทันสมัย ร่วมสมัยมากขึ้น

97


OPD CLINIC แผนกรักษาผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท ในบริเวณพื้นที่ส่วน OPD ชั้น1 อาคาร1นั้น เป็นส่วนที่สำ�คัญของโรงพยาบาลเป็นอย่าง มาก สิ่งที่ผู้ออกแบบคำ�นึงถึงคือการสื่อความรู้สึกของผู้ ใช้บริการที่มีส่วน ร่วมสำ�คัญ เพราะเมื่อย่างก้าวเข้ามาสิ่งแรกที่จัดวางการแบบเค้าน์เตอร์ ประชาสัมพันธ์ ที่คอยต้อนรับผู้เข้ามาใช้บริการให้ ไปยังจุดเวชระเบียน เพื่อกรอกประวัติเบื้องต้น การวางจุดเชื่อมโยงผู้ออกแบบสื่อการใช้ ได้เป็น อย่างดี แผนกต่างๆที่เป็นส่วนของลำ�ดับต่อจากเวชระเบียน ได้ทำ�งานง่ายขึ้น การเข้ามาใช้บริการลูกค้าต่างชาติเช่นกัน ได้มีจุดที่เป็น ล่ามภาษา สร้างจุดเด่นในการติดป้ายภาษานั้น และมีเจ้าหน้าที่คอยช่วยเหลือ ในการแนะนำ�ต่างๆได้เป็นอย่างดี ส่วนเวชระเบียน การเงิน การจ่ายยา ผู้ ออกแบบเห็นความสำ�คัญโดยการวางจุดที่เป็นกรุ๊ปไว้ เพื่อสะดวกในการมอง เห็นและลำ�ดับขั้นตอนต่างๆได้อย่างรวดเร็ว การวางเฟอร์นิเจอร์จัดวางเพื่อ ความเป็นระเบียบ เว้นทางเดินที่เชื่อมไปยังแผนกต่างๆได้ตามมาตรฐานโรง พยาบาลพื้นทางเดินเน้นสีที่สะอาด ไม่มีล่องเพื่อป้องกันการสะดุดของผู้ ใช้ บริการ วัสดุที่ใช้ ในการออกแบบเฟอนิเจอร์บิ้วท์อินภาพรวมเป็นไม้ สีที่ใช้ Natural Beech ท็อปหินสีน้ำ�ตาลทอง เพราะมองแล้วให้ความรู้สึกสะอาด มี ความเป็นธรรมชาติ ทำ�ให้ผู้ ใช้รู้คลายความกังวลได้ เก้าอี้นั่งรอมีพนักพิงและ บุผ้าสีน้ำ�ตาล มีเท้าแขน เพื่อกั้นระหว่างนั่งรอ สื่อให้ผู้ ใช้รู้สึกมีความเป็นส่วน ตัว สบาย และโล่งใจ นอกจากแผนกต่างๆที่ออกแบบภาพรวมได้ลงตัวแล้วนั้น ยังมีส่วน ของห้องพักสวีทที่จัดวางไว้ติดกับสถาบันหัวใจ ได้ออกแบบโดยใช้วัสดุที่ ได้คุณภาพเหมือนโรงแรม 5 ดาว เฟอรนิเจอร์สีเอิร์ธโทน เน้นสว่าง สะอาด ปลอดภัย ภายในห้องประกอบด้วย ข้าวของเครื่องใช้ที่ครบครัน ผู้ป่วย ญาติ สามารถหิ้วประเป๋าเข้าพักรักษาตัวได้เลย อีกทั้งการออกแบบยังเพิ่มความสุนทรีให้กับผู้ ใช้บริการโดยการนำ�เปียโน วาง ตรงจุดพักคอย เพิ่มทั้งภาพลักษณ์ในการสร้าง บรรยากาศและความรู้สึกมี ความสุขอีกด้วย ไม่เพียงแต่ด้านการรักษาสุขภาพ โรงพยาบาลยังคำ�นึงถึงผู้ มาใช้บริการด้านอื่นๆ โดยการเพิ่มจุดร้านค้าเข้ามา เช่นร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก ร้านกาแฟ เหมือนผู้ ใช้ ได้มาห้างสรรพสินค้าอีกด้วย

98


99


100


101


การออกแบบพื้นที่ย่อยในส่วน OPD ของโรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท ในส่วนที่ ของพื้นที่ลงทะเบียน พื้นที่ชำ�ระเงินและพื้นที่รับยา จะออกแบบให้พื้นที่อยู่ส่วน กลางของตัวอาคารและสามารถเดินได้โดยรอบ เพื่อให้ผู้ ใช้สามารถเดินหาได้ง่าย และสะดวกในการติดต่อลงทะเบียน ชำ�ระเงินและรับยา

102


103


104


การออกแบบพื้นที่แผนกย่อย OPD โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท จะออกแบบให้ พื้นที่อยู่โดยรอบของอาคาร เพื่อให้ผู้ ใช้สามารถหาแผนกย่อยแต่ละแผนกได้โดย ง่าย และจดจำ�ได้ง่ายในการมารักษาในครั้งต่อไป

105


โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท คำ�นึงถึงการออกแบบที่ครอบคลุมการใช้งานที่ เกี่ยวข้องทั้งหมดอย่างครบวงจรภายในโรงพยาบาล ภายในโรงพยาบาลจะมีร้าน ค้า อาทิ ร้านกาแฟ ร้านขายหนังสือ ร้านขายดอกไม้ รวมถึงการออกแบบที่ ให้มี เอกลักษณ์เฉพาะของโรงพยาบาลสมิติเวชทุกสาขา โดยจะมีการเล่นเปียโนใน ยามค่ำ�คืนให้บรรยากาศเปรียบเสมือนโรงแรมหรูระดับ 5 ดาว

106


107


PEDIATRIC WARD หอพักผู้ป่วยในเด็ก โรงพยาบาลสมิติเวช เป็นโรงพยาบาลที่มีชื่อเสียงในด้านการรักษา ดูแลสุขภาพเด็กโดยแผนกเด็กจะอยู่ที่อาคาร 2ชั้น2 และหอผู้ป่วยเด็กจะอยู่ ที่อาคาร3ชั้น2 เมื่อผู้ป่วยเด็กเข้าพักรักษาอาการป่วย ผู้ปกครองสามารถเดิน ทางเชื่อมจากอาคาร 1 เพื่อเข้าไปยังอาคาร 3ชั้น 2 ได้เลย ดังนั้นผู้ออกแบบ ได้โจทย์ในเรื่องของการออกแบบมามากกว่าแผนกอื่น ในเรื่อง Mood and Tone ที่เน้นความสดใส ร่าเริง มีความสุขทั้งสุขภาพกายใจ สีที่ใช้ภายนอก จะ เน้นสีเขียวพลาสเทล แสงไฟผ่านมาตรฐาน ผนังมีการตกแต่งด้วยลวดลาย การ์ตูน ให้ความรู้สึกกับเด็กในเรื่องความเข้าใจ ว่าไม่ได้มารักษาอาการป่วย แต่มาเที่ยวมากกว่า และการวิถีวิถันในการใช้วัสดุเพื่อการออกแบบ จะเน้น วัสดุกันกระแทกเช่น พื้นที่ทางเดินภายในชั้นอาคาร ซึ่งมีสนามเด็กเล่น (Playground) มี การปูพื้นด้วยเบาะหนังสีเขียวเต็มพื้นที่ จัดวางของเล่นเหมือนสวนสนุก เพื่อ ลดความกังวลของผู้ปกครองทั้งเรื่องความปลอดภัย และความตรึงเครียด ของเด็ก การสร้างอารมณ์จากสิ่งแวดล้อมโดยรอบ โดยมีต้นไม้ สัตว์ต่างๆที่ เป็นของตกแต่งแล้วนั้น การแบ่งพื้นที่ว่างเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานและ ผู้ ใช้บริการด้วยการทำ�ทางเดินโดยไม่มีของเกะกะ เพราะเด็กอาจจะวิ่งชนได้ รวมไปถึงเจ้าหน้าที่หากมีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจะทำ�ให้ ไม่สะดวกต่อการเดิน ภายในห้องพัก จะมีหลายขนาด การตกแต่งเป็นสีพาสเทล ผ้าม่านจะเป็นลาย การ์ตูน ที่นอนวางกับพื้นเพราะกลัวเด็กเกิอันตรายขณะหลับ โดยที่นอนขนาด 6 ฟุต เพื่อให้ผู้ปกครองนอนพักด้วย บิ้วท์อินภายในห้อง จะเป็นไม้สี Natural Maple และซิ้งค์ท็อปสีขาว ภายในห้องมีข้าวของเครื่งใช้ครบครัน สามารถเข้าพักได้เหมือน โรงแรม หน้าห้องพัก กรณีเป็นผู้ป่วยเด็กวิกฤต จะมีแพทย์นั่งด้านหน้าห้อง พักอย่างใกล้ชิด เพื่อตรวจเช็คอาการอย่างสม่ำ�เสมอดังนั้นในการออกแบบหอ ผู้พักเด็ก ผู้ออกแบบคำ�นึงถึงเด็ก ผู้ปกครอง และแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ที่ มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด โดยการออกแบบห้องให้อยู่ในจินตนาการของเด็กไม่ พอ ยังต้องออกแบบมาเพื่อการใช้งานที่ถูกวิธีอีกด้วย

108


109


110


111


การออกแบบห้องตรวจ ห้องรักษา ภายในหอผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท จะใช้โทนสีอ่อน เพื่อให้ดูสะอาดตา ตามผนังทำ�ลวดลายการ์ตูนเพื่อไม่ ให้เด็กที่เข้าทำ�การรักษาเครียดจนเกินไป และจะมีทีวีคอยเปิดรายการการ์ตูน เพื่อดึงให้เด็กสามารถอยู่ในสถานที่นี้ได้นานและ ไม่ร้องให้เพื่อที่จะออกจากห้อง

112


113


114


การออกแบบภายในห้องพักผู้ป่วยเด็กโรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท จะใช้ โทนสีอ่อน เพื่อให้ดูสะอาดตา ตามผนังทำ�ลวดลายการ์ตูนเพื่อไม่ ให้เด็กเครียด จนเกินไป การนอนจะไม่ใช้เตียงเนื่องจากกลัวว่าเด็กจะตกจากเตียง จึงใช้เพียง ฟูกปูกับพื้น พื้นที่ส่วนมินิบาร์ (Mini Bar) มีตู้เย็นและไมโครเวฟ ซึ่งสามารถอยู่ ระยะยาวได้อย่างสะดวกสบาย ภายในห้องน้ำ�มี สิ่งอำ�นวยความสะดวก (Amenities) ครบครันในระดับมาตรฐานโรงแรม

115


การออกแบบห้องพักผู้ป่วยเด็กภาวะวิกฤต (PICU) ภายในหอผู้ป่วยเด็ก โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท ออกแบบโดยที่ด้านหน้าห้องพักผู้ป่วยเด็กภาวะ วิกฤต (PICU) จะมีพยาบาลคอยเฝ้าดูอาการอยู่ตลอดเวลา ภายในห้องพักจะ แตกต่างจากห้องพักทั่วไป รูปแบบเตียงจะปนเตียงลักษณะพิเศษที่สั่งเฉพาะเพื่อ ผู้ป่วยเด็กภาวะวิกฤต ห้องน้ำ�จะถูกลดขนาดลง และภายในห้องพักจะมี ส่วน เตรียมอาหาร (Pantry) ซึ่งจะแตกต่างจากห้องพักผู้ป่วยทั่วไปที่จะมีเพียง พื้นที่

116


117


118


DESIGN SUGGESTION

ข้ อ เสนอแนะปรั บ ปรุ ง การออกแบบ

พื้นที่ของwardเด็กมีส่วนกลาง play ground ไว้สำ�หรับให้เด็กๆที่มาทำ�การรักษาเล่นในขณะที่รอตรวจผู้ศึกษาจึงเน้นการอ อกเเบบที่เพิ่มสีสันใส่คอนเซ็ปลูกกวาดที่สะท้อนความรู้สึกการกินขนมของ เด็กๆทำ�ให้เด็กรู้สึกมีความสุขเมื่อได้ก้วเข้ามาในเเผนกนี้ การออกเเบบนอก จากจะคำ�นึกถึงสีสันเเล้วเรายังคำ�นึกถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ลดปัญหาอุบัติเหตุที่ เกิดจากการเล่นของเด็กๆ เช่น พื้นเป็นเบาะที่หุ้มด้วยหนังทำ�ความสะอาดได้ ง่าย เก้าอี้นั่งรอที่ให้ผู้ปกครองสามารถอยู่ใกล้ชิดเด็กที่สุดโดยการวางไว้ตรง จุดที่สามารถหมุนตัวได้โดยรอบโดยไม่มีพนักพิงเน้นทรงยาวเพื่อให้สามารถ นั่งกับเด็กได้เเละใส่สีสันลงไปในเก้าอี้เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยระหว่างความ เป็นเด็กกับผู้ ใหญ่ ห้องนี้ผู้ออกเเบบจึงทำ�มาเพื่อให้เด็กรู้สึกอยากมาอีกครั้ง ไม่กลัวกับการมาพบเเพทย์เเละลดความกังวลของผู้ปกครองที่กดดันในเรื่อง ของผลการรักษานั้นเอง

119


120


เค้าเตอร์ประชาสัมพันธ์IPD จะอยู่ส่วนหน้าแผนก ผู้ออกเเบบได้คำ�นึงถึงผู้ปกครองเเละเด็กให้ ไปในทิศทางเดียวกันโดยการสร้าง จุดเด่นที่เค้าเตอร์ที่สื่อถึงการต้อนรับด้วยเค้าเตอร์ทรงกลมหมุนรอบทิศทาง สื่อถึงการพร้อมให้ความช่วยเหลือเเละบริการที่ดีของสสมิติเวช และเจ้าหน้าที่ สามารถมองเห็นจุดพักคอยได้ครอบคลุม อีกทั้งผู้มาใช้บริการก็สามารถมอง เห็นเจ้าหน้าที่ที่เค้าเตอร์ ได้ชัดเจนเช่นกัน จุดพักคอยผู้ออกเเบบเน้นความเป็น ครอบครัวโดยการจัดกลุ่มชุดรับเเขกบุผ้าสีครีมเเละหมอนอิงเพิ่มสีสันเพื่อให้เกิด ความสบายลดความตึงเคลียดเเละรู้สึกถึงความเป็นลูกค้าพิเศษ(VIP)

121


ห้องไอซียูเด็ก ผู้ออกแบบได้มองเห็นข้อเสียของเตียงเหล็กเเบบเดิมๆโดยการเพิ่มสีสันของ เตียงให้เป็นสีพลาเทลเพื่อให้ลดความกลัวของเด็กที่มาทำ�การรักษา รอบๆห้องมี การใช้เฟอร์นิเจอร์แบบติดตาย ชั้นวางเพื่อใช้ประโยชน์ในการวางสิ่งของประเภท ของเล่นต่างๆ ตุ๊กตา เพื่อให้เด็กคุ้นเคยกับการอยู่ที่บ้าน เก้าอี้ที่ใช้สำ�หรับญาติๆ ก็จะเน้นสีสันที่หลากหลายเพื่อให้เข้ากับพฤติกรรมของเด็กๆทำ�ให้ห้องไอซียูจาก พื้นที่ขาวๆเเละเตียงเหล็กกายเป็นห้องเเห่งการจินตนาการของเด็กๆ

122


123


124


ห้องพักผู้ป่วยเด็ก จากการสอบถามเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลปัจจุบันมีการวางที่นอนไว้บนพื้นโดย ไม่มีเตียง เหตุผลเพราะกลัวเด็กตกเตียงขณะหลับ ผู้ออกแบบจึงมองเห็นการ ปรับปรุงให้ห้องพักมีประสิทธิภาพเเละภาพลักษณ์ที่ดีต่อ โรงพยาบาลโดยการสร้างเตียงผู้ป่วยปรับระดับได้เพื่อให้ก่อนนอนสามารถปรับ ลงพื้นพร้อมดึงที่นอนให้ขยายออกให้ผู้ปกครองสามารถนอนพร้อมเด็กได้เมื่อ เด็กหลับผู้ปกครองสามารถดึงขอบเตียงพับกันตกได้อีกด้วย วิธีนี้จึงน่าจะพัฒนา ให้เป็นอุปกรณ์พิเศษสำ�หรับโรงพยาบาลได้อีกด้วยเเละในห้องพักผู้ป่วยนี้ผู้ ออกแบบยังคำ�นึงถึงผู้เข้าเยี่ยมผู้เฝ้าผู้ป่วยโดยการจัดวางเฟอร์นิเจอร์ ไว้ชิดผนัง

125


126


MANAROM HOSPITAL โรงพยาบาลมนารมย์

127


“Hospitals need new packaging, brand new dress that be speaks health and happiness rather than sickness and suffering, hope instead of despair....What is being done to create for the patient surroundings that make him want to live, that restore to him the old fight to regain his health� Dorothy Draper 128


MANAROM OVERVIEW

ภาพรวมโรงพยาบาลมนารมย์

Your mental health comes first โรงพยาบาลมนารมย์, เสริมสร้างพลังใจเพื่อสังคม เนื่องด้วยปัจจุบัน ความต้องการบริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวช เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ขณะที่ความสามารถตอบสนองต่อความต้องการดัง กล่าวยังไม่เพียงพอ คณะจิตแพทย์หลายท่านได้ตระหนักถึงความสำ�คัญ ของปัญหานี้ จึงได้ร่วมกันก่อตั้ง บริษัท พีเอซี (สยาม) จำ�กัด PAC (Siam) Co.,Ltd.[(Psychiatric Associates Corporation,PAC )] ขึ้น เมื่อ 15 ตุลาคม 2546 เพื่อดำ�เนินการก่อสร้างโรงพยาบาลมนารมย์ ซึ่งเป็นโรง พยาบาลเอกชนเฉพาะทางสุขภาพจิตและจิตเวช และแล้วเสร็จในเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2549 เพื่อให้บริการด้านสุขภาพจิตทั้งในด้านการส่งเสริม ป้องกัน การรักษา และ ฟื้นฟูสุขภาพจิต ปัญหาจิตเวชและระบบประสาทให้แก่ผู้ป่วย ทั้งเด็ก ผู้ ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดย บุคลากรทางการแพทย์ที่มีประสบการณ์ ผู้เชี่ยวชาญทาง ด้านจิตเวช ประสาทวิทยาและสาขาที่เกี่ยวข้องจากหลายสถาบันการแพทย์ ในประเทศไทย โรงพยาบาลมนารมย์ เปิดให้บริการดูแลรักษาเฉพาะทางสุขภาพจิตและ จิตเวช ประกอบด้วยบริการผู้ป่วยนอก ฟื้นฟูสมรรถภาพทางจิตสังคม ทั้ง แบบโปรแกรมกลางวันและแบบ พำ�นักในโรงพยาบาล ซึ่งมีทั้งห้องกลุ่ม กิจกรรมบำ�บัด ห้องสันทนาการ ห้องกายภาพบำ�บัด สนาม กลางแจ้ง ห้อง สำ�หรับฝึกผ่อนคลายความเครียด เป็นต้น โรงพยาบาลมนารมย์เชื่อมั่นว่า จะเป็น องค์กรที่มีส่วนช่วยให้สุขภาพจิตของประชาชนในสังคมไทยดีขึ้น และเป็นสังคมที่น่าอยู่มากขึ้น

โรงพยาบาลมนารมย์ เป็นโรงพยาบาลเอกชนเฉพาะทางด้านสุขภาพ จิตที่ มอบทางเลือกใหม่สำ�หรับผู้ที่ต้องการค้นหา และพัฒนาศักยภาพใน ตัวเองเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การดูแลรักษาสุขภาพจิตให้แข็งแรงสมบูรณ์ เป็นการลงทุนที่คุ้มค่า และยั่งยืนสำ�หรับการใช้ชีวิต อย่างเป็นสุข มีหลัก ปรัชญาว่าสุขภาพจิตที่ดี คือ รากฐานที่สำ�คัญของคุณภาพชีวิต ครอบครัว และสังคม นอกจากนั้นยังเป็นผู้นำ�ในการให้บริการด้านสุขภาพจิตและ จิตเวชที่ครบสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพและคุณภาพตามมาตรฐานสากล พร้อมด้วยจรรยาบรรณเป็นวิสัยทัศน์ และพันธกิจ คือการให้บริการด้าน สุขภาพพฤติกรรมสุขภาพจิต และจิตเวช ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล โดยยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพและหลักธรรมาภิบาลที่ดี ด้วยบุคลากร สหวิชาชีพที่มีความชำ�นาญและเจตคติที่ดีให้การรักษาทั้ง สุขภาพกายและ จิตใจ โดยมุ่งพัฒนาคุณภาพการบริการและการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้ง ส่งเสริมงานพัฒนาสุขภาพจิตแก่สังคมไทย

129


GENERAL INFORMATION

ข้ อ มู ล เบื ้ อ งต้ น

VISION & MISSION

DEPARTMENT & MEDICAL SERVICES

วิสัยทัศน์และพันธกิจ

แผนกการบริการและการรักษา

ปรัชญา สุขภาพจิตที่ดี คือ รากฐานที่สำ�คัญของคุณภาพชีวิต ครอบครัว และสังคม

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17.

วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำ�ในการให้บริการด้านสุขภาพจิตและจิตเวชที่ครบสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพ และคุณภาพตามมาตรฐานสากล พร้อมด้วยจรรยาบรรณ พันธกิจ ให้บริการด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพจิต และจิตเวช ที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สากล ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพและหลักธรรมาภิบาลที่ดี ให้บริการด้วยบุคลากรสหวิชาชีพที่มีความชำ�นาญและเจตคติที่ดีให้การรักษาทั้ง สุขภาพกายและจิตใจ มุ่งพัฒนาคุณภาพการบริการและการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมงานพัฒนาสุขภาพจิตแก่สังคมไทย

130

ผู้ป่วย ผู้ป่วยใน/ห้องพักผู้ป่วยใน คลินิคปัญหาการนอน จิตเวชเด็กและวัยรุ่น จิตเวชผู้สูงอายุ กิจกรรมกลางวัน กิจกรรมบำ�บัด กายภาพบำ�บัด ศิลปะบำ�บัด ดนตรีบำ�บัด ละครบำ�บัด การเล่นบำ�บัด โปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพสำ�หรับผู้ติดสารเสพติด ความบกพร่องในการเรียนรู้ ศูนย์พัฒนาทักษะการเรียนรู้มนารมย์ Manarom Development Center : MDC การอบรมสัมมนา พัฒนา บุคลิกภาพและศักยภาพ


131


132


DESIGN PROCESS

กระบวนการออกแบบ

Hospital Site Analysis วิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้งของโรงพยาบาล Surrounding Site Analysis วิเคราะห์บริเวณใกล้เคียง

Climate Site Analysis วิเคราะห์สภาพภูมิอากาศ

ทิศเหนือติดกับซอย สุขุมวิท 70/3 เป็นทางเข้าหลักของโครงการ ซึ่ง เนื่องจากเป็นถนนในซอยและเป็นทางเข้าหมู่บ้านนภาลัยทำ�ให้รถเข้าออกส่วน ใหญ่เป็นผู้อยู่อาศัยของหมู่บ้าน จึงไม่มีรถสัญจรผ่านไปมามากนัก ในช่วงเช้า ของหลายๆเดือนจะได้รับอากาศที่ดี มีแสงแดดพอประมาณ ไม่แรงจนเกิน ไป เนื่องจากการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ทำ�มุมกับผิวโลก ทำ�ให้แสงที่ได้รับ เป็นแสงในลัษณะของการตกกระทบ (Indirect Sunlight) ไม่ใช่แสงจากดวง อาทิตย์โดยตรง ทิศใต้เป็นพื้นที่โล่ง อากาศปลอดโปร่ง แต่ได้รับแสงแดดจัดมากในช่วง บ่ายของเกือบทุกเดือนในแต่ละปี เนื่องจากเป็นทิศซึ่งเป็นทางผ่านของดวง อาทิตย์ ที่เคลื่อนที่จากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก

ทิศตะวันออกติดกับถนนสุขุมวิท ซึ่งเป็นถนนทางหลวงสายหลักของ ประเทศ และเป็นถนนชื่อดังในด้านเศรษฐกิจ ทำ�ให้มีสำ�นักงาน ห้าง ร้าน และ ที่พักอาศัยเกิดขึ้นมากมาย ก่อให้เกิดความหนาแน่นและคับคั่งของการจราจร ในช่วงเวลาเช้า กลางวัน และช่วงเย็น ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของการเกิดมลภาวะ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นมลภาวะทางอากาศ อย่างเช่นฝุ่นหรือควัน มลภาวะทาง เสียงจากรถที่สัญจร และความวุ่นวายของเมืองหรือชุมชน รวมทั้งได้รับแรงสั่น สะเทือน ซึ่งไม่ได้เกิดจากรถยนต์เพียงอย่างเดียว แต่ยังเกิดจากการเคลื่อนตัว ของรถไฟฟ้าอีกด้วย ส่วนปริมาณลมที่พักผ่านนั้น มีลมประจำ�ฤดูร้อนพัดผ่าน ในระดับปานกลางทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ทิศตะวันตกติดกับหมู่บ้านนภาลัย เป็นกลุ่มอาคารพักอาศัยในแนวราบ เงียบ สงบ ซึ่งไม่ได้ก่อให้เกิดมลภาวะในระดับที่อันตราย

133


Hospital Site Analysis วิเคราะห์ทำ�เลที่ตั้งของโรงพยาบาล Pollution Site Analysis วิเคราะห์มลพิษทางอากาศ โครงสร้างทางกายภาพและสิ่งอานวยความสะดวกสบายภายนอกอาคาร บริเวณภายนอกรอบๆ อาคาร เป็นพื้นที่ทั้งหมดที่อยู่รอบอาคารสถาน พยาบาลและอยู่ในความรับผิดชอบของโรงพยาบาลมนารมย์ สภาพแวดล้อม โดยทั่วไป สะดวกต่อการให้บริการ สะอาด เป็นระเบียบ และปลอดภัย มีการ จัดการป้องกันมลภาวะรบกวนจากภายในและภายนอกสถานพยาบาล ได้แก่ มีฉากบังตา/ฉากกั้นเสียงจากการจราจรภายใน/ภายนอกสถานพยาบาล มีการ ป้องกันการสะท้อนแสงของกระจกของอาคารสถานพยาบาลของอาคารข้าง เคียงหรืออาคารตรงข้าม มีระบบป้องกันเสียงดัง ไอน้ำ� ควันไฟ โครงสร้างทาง กายภาพ เป็นการจัดการภายนอกอาคาร เพื่ออำ�นวยความสะดวก และเกิด ความปลอดภัยในการเข้ารับบริการของผู้เข้ารับบริการ ญาติผู้มารับบริการ รวม ทั้งบุคลากรทางการแพทย์ สภาพด้านหน้าโรงพยาบาล - มีรั้วทำ�ด้วยวัสดุถาวร และมั่นคงแข็งแรง มีระบบแสงสว่างส่องบริเวณ รั้วในเวลากลางคืนอย่างเพียงพอ นอกจากนี้ยังมีความกว้างของช่อง ประตูเหมาะกับการสัญจร มีความกว้างอย่างน้อย 6 เมตร - รั้วด้านข้างและด้านหลัง มีรั้วทำ�ด้วยวัสดุถาวร และมั่นคงแข็งแรง ถนนภายในโรงพยาบาล - มีความกว้างของถนนเหมาะสมแก่การสัญจร เพียงพอที่รถสามารถ สวนทางได้ ไม่ต้องหยุดรอ มีทางเดินแยกจากผิวถนนชัดเจน - ผิวถนนเป็นวัสดุถาวร ไม่เกิดฝุ่น น้ำ�ขัง หรือเสียงดังเวลารถวิ่ง - มุมเลี้ยวถนนเหมาะสม มีระยะมุมมองชัดเจนไม่สิ่งกีดขวางสายตา - สภาพถนนภายในไม่ชารุด น้ำ�ไม่ท่วมขัง ผิวถนนได้ระดับมีความเอียง ลาดเหมาะสม 134

- มีดวงโคมส่องสว่างเป็นระยะในเวลากลางคืนอย่างเพียงพอ และมั่นคง แข็งแรง มีระบบระบายน้ำ�ที่ดี ที่จอดรถ - มีที่จอดรถถาวรเป็นสัดส่วน พื้นผิวเป็นวัสดุถาวร ไม่มีฝุ่น น้ำ�ขัง หรือ เสียงดังเวลาวิ่ง - การแบ่งช่องจอดรถแต่ละคันชัดเจน แบ่งแยกส่วนจอดดรถแต่ละ ประเภทและส่วนที่เป็นทางวิ่ง - ระบบแสงสว่างเพียงพอ มีการติดตั้งอย่างมั่นคงแข็งแรง - มีที่จอดรถสาหรับคนพิการไว้ ใกล้ประตูทางเข้าอาคารมีเครื่องหมาย แสดงอย่างชัดเจน รวมทั้งความกว้างของช่องจอดรถสะดวกต่อการขึ้น ลงของคนพิการ - มีระบบระบายน้าที่ดี ทางสัญจรระหว่างอาคารหรือทางเดินเชื่อม (Covered Way) - มีหลังคาคลุมทางเดินเชื่อมระหว่างอาคารเพื่อกันแดดฝน ผิวพื้นทาง เรียบสะอาด พื้นไม่แตกร้าว - กรณีที่ทางเดินถูกฝนสาดได้ ผิวทางเดินไม่ลื่นจนเสี่ยงอันตรายต่อผู้ สัญจร - ทางเดินให้บริการผู้ป่วยต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 2 เมตร - ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างในเวลากลางคืนอย่างเพียงพอและติดตั้งอย่าง มั่นคงแข็งแรง - ติดตั้งแผ่นป้ายบอกทางชัดเจน - ส่วนที่เป็นทางลาด ผิวพื้นไม่ลื่น มีความลาดชัน ไม่เกิน 1:12 และมี อุปกรณ์จับเพื่อช่วยพยุงสำ�หรับคนพิการได้อย่างปลอดภัย


โครงสร้างทางกายภาพและสิ่งอำ�นวยความสะดวกสบายภายในอาคาร โครงสร้างทางกายภาพ และสิ่งอำ�นวยความสะดวกสบายภายในอาคาร เป็นการจัดการภายในอาคาร เพื่ออำ�นวยความสะดวก และเกิดความปลอดภัย ในการเข้ารับบริการของผู้เข้ารับบริการ ญาติผู้มารับบริการ รวมทั้งบุคลากร ทางการแพทย์ และเรื่องของสุขอนามัยด้านสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลมนา รมย์จึงมีมาตรฐานในการสร้างและออกแบบโครงสร้างที่ถูกต้องตามหลักการ ใช้สอย ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จากการเข้าสำ�รวจพบว่า

บันได - - - - -

ผิวพื้นเรียบสะดวก ทำ�ความสะอาดง่าย และปลอดภัยต่อการสัญจร มีระบบแสงสว่างและติดตั้งไฟฉุกเฉินที่สามารถส่องสว่างได้ทั่วทั้งบันได ไม่มีสิ่งกีดขวางทางสัญจร ติดตั้งป้ายบอกตำ�แหน่งบันได และป้ายบอกชั้นอย่างชัดเจน ความกว้างของบันไดความยาวชานพักบันไดไม่น้อยกว่า1.50 เมตร

ประตูทางเข้า - ทางเข้าอาคารสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน ไม่มีสิ่งกีดขวาง - มีดวงโคมส่องสว่าง ผิวพื้นอาคารเรียบสะอาด พื้นที่ให้บริการผู้ป่วย - ผิวอาคารเรียบ สะอาด พื้นไม่แตกร้าว - ความกว้างช่องทางสัญจรส่วนที่ ให้บริการผู้ป่วยมีขนาดกว้างไม่ต่ำ�กว่า 2 เมตร - มีระบบแสงสว่างอย่างเพียงพอและติดตั้งอย่างมั่นคงแข็งแรง - ผิวริมทางเดินไม่มีส่วนยื่นกีดขวางทางสัญจร - ผิวผนังทางสัญจรพบการล่อนหลุดชำ�รุดเป็นบางส่วน - ทางลาดพื้นผิวไม่ลื่น มีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีอุปกรณ์จับ เพื่อช่วยพยุงตัวได้อย่างปลอดภัย - มีระบบระบายอากาศที่ดี - มีที่นั่งพักคอยในจำ�นวนที่เพียงพอ ไม่กีดขวางทางสัญจร

135


136


สิ่งอำ�นวยความสะดวกและอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย ห้องน้ำ� ห้องส้วม - มีห้องน้ำ�แยกชาย หญิง และห้องนำ�้คนพิการ จำ�นวนเพียงพอต่อผู้ ใช้ บริการ - ผิวพื้นไม่ชำ�รุด ไม่มีน้าท่วมขัง ไม่ลื่น และสะดวกต่อการทำ�ความ สะอาด - เครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ สะอาด ไม่ชำ�รุด และอยู่ในตาแหน่งเหมาะสมกับ การใช้งาน - ระดับพื้นของห้องน้ำ�มีการปรับปรุงระดับลาดเอียง ให้น้ำ�ไหลสะดวก - ติดตั้งดวงส่องสว่าง มีความสว่างเพียงพอ - ผนังห้องใช้วัสดุที่ทำ�ความสะอาดง่ายและมิดชิด - มีระบบระบายอากาศที่ดี ไม่มีกลิ่นอับเหม็นและไม่ชื้น - ห้องน้ำ�สาหรับคนพิการ มีราวจับพยุงติดตั้งอย่างมั่นคงแข็งแรง การจัดสถานที่และสิ่งแวดล้อมเพื่อความสะดวกผู้ ใช้บริการลิฟท์และทางลาด - มีการตรวจสอบและซ่อมบำ�รุงลิฟท์อย่างสม่าเสมอ - ลิฟท์สำ�หรับขนส่งผู้ป่วยต้องบรรทุกเตียงเข็นผู้ป่วยได้ - มีระบบสื่อสารติดต่อกับภายนอกที่ใช้การได้ดี เมื่อเกิดขัดข้อง และมี การตรวจสอบสม่ำ�เสมอ - ภายในลิฟท์สะอาดไม่มีกลิ่นเหม็นอับ หรือร้อนอบอ้าว มีระบบระบาย อากาศที่ดี - ผิวทางลาดสะอาด ปลอดภัย ไม่ลื่น - ผนังข้างทางลาดใช้วัสดุที่มีความมั่นคงแข็งแรง - มีความลาดชันไม่เกิน 1:12 การจัดสถานที่จอดรถรับส่งผู้ป่วยฉุนเฉิน และบริเวณที่รับส่งผู่ป่วยฉุกเฉิน - ผิวจราจรเป็นวัสดุถาวร และอยู่ในระดับเดียวกับจุดรับส่งผู้ป่วย - สะดวกรวดเร็วต่อการเข้าจอด มีช่องจอดรถยนต์ใกล้ทางเข้าห้อง ฉุกเฉิน - ไม่กีดขวางการจราจร - มีระบบแสงสว่างในเวลากลางคืนอย่างเพียงพอ และติดตั้งอย่างมั่นคง แข็งแรง - มีหลังคาคลุมเพื่อกันแดดและฝน - บริเวณรับส่งหน้าอาคารสะดวก ไม่แออัด - มีหลังคาคลุมเพื่อกันแดดและฝนเป็นอย่างดี พื้นจอดรถ - อยู่ในระดับเดียวกับพื้นบริเวณที่ผู้ป่วยจะขึ้นลงรถ หรือบริเวณที่พัก คอยของผู้ป่วย ระดับพื้นแตกต่างกันมีทางลาด - ผิวพื้นบริเวณรับส่งผู้ป่วย เป็นผิวถาวรที่เรียบ ไม่ลื่นและทำ�ความ สะอาดง่าย - มีระบบแสงสว่างในเวลากลางคืนอย่างเพียงพอ และติดตั้งอย่างมั่นคง แข็งแรง - มีพื้นที่เป็นบริเวณกว้างเพียงพอต่อการให้บริการ - สะดวกต่อการใช้สัญจรของคนพิการ

137


Conceptual Design แนวคิดในการออกแบบ

งานออกแบบอาคารโรงพยาบาลมนารมย์ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการ มองผ่านงานในมุมมองของสถาปนิกผู้เป็นปรมาจารย์ของวงการในระดับโลก อย่าง “แฟรงค์ ลอยด์ ไรท (Frank Loyd Wrigth) ” ในงานออกแบบต่างๆ ที่ผ่านมาของเขา โดยผู้ออกแบบได้นำ�เอางานบ้านน้ำ�ตก ซึ่งเป็นผลงานชิ้นเอก ของ อาจารย์แฟรงค์ ลอยด์ ไรท์ ด้วยการนำ�ลักษณะการออกแบบจากความผสมผสานอันกลมกลืน กันระหว่างสถาปัตยกรรมกับธรรมชาติ มารวมกันกับความต้องการพื้นที่และ ประโยชน์ใช้สอยของโรงพยาบาล จากโจทย์ที่โรงพยาบาลมนารมย์เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง ที่ให้การรักษาผู้ ป่วยทางจิตเวช รวมกับความต้องการของผู้ก่อตั้ง ซึ่งต้องการให้ผู้เข้ารับการ บำ�บัดไม่รู้สึกว่าตนเองกำ�ลังเข้ารับการรักษาจากสถาบัน ผู้ออกแบบจึงมีแนว ความคิดในการออกแบบคือ “บ้าน” เพื่อให้ความรู้สึกป็นส่วนตัวและเป็น กันเองกับผู้เข้ารับการบำ�บัด เป็นเสมือนครอบครัวที่ให้ความอบอุ่นกายและใจ โดยการวางสถานะของโรงพยาบาลเป็น บ้านสำ�หรับผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิต เป็นที่ที่พวกเข้าเหล่านั้นจะได้รับคำ�แนะนำ� การสนับสนุน และการบำ�บัด เป็น สถานที่ซึ่งพร้อมจะเป็นมิตร เพ่อลดความเป็นทางการของคำ�ว่า “โรงพยาบาล” ลง ด้วยพื้นที่ที่เปิดโล่ง และสัมพันธ์กับบริบทของตัวอาคารในทุกๆพื้นที่ และ ทุกๆกิจกรรม จากแรงบันดาลใจดังกล่าวรวมกับโจทย์ที่ผู้ออกแบบได้รับ ได้ผลผลิต กลับมาคืองานสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะเหมือนบ้านรวมกับธรรมชาติ ที่มี พื้นที่เป็นลานโล่ง (Courtyard) ในส่วนทางเข้าหลักภายในอาคารเป็นบ่อน้ำ� ล้นซึ่งใช้แทนค่าน้ำ�ตก และมีต้นไม้อยู่ตรงกลางบ่อนั้นแทนค่าป่าไม้ ดังเช่นงาน ของแฟรงค์ ลอยด์ ไรท์ และเลือกใช้วัสดุที่มาจากธรรมชาติ

138


139


Design Elements ส่วนประกอบในการออกแบบ การออกแบบโรงพยาบาลมนารมย์นั้น มีรายละเอียดในแต่ละส่วนที่มีความ สัมพันธ์กับการรักษา ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์ เหตุผล หรือที่มาของการ ออกแบบ รวมทั้งการเลือกใช้องค์ประกอบต่างๆทางศิลปะทั้ง 2 มิติ เช่น การ เลือกใช้โทนสีต่างๆ การให้ความสำ�คัญกับเส้น ที่มีทั้งความเปรียบต่าง (Contrast) และความกลมกลืน ผสานกัน (Harmony) เป็นอันหนึ่งอันเดียว รวม ทั้งการออกแบบใน 3 มิติ เช่น การเลือกใช้พื้นผิววัสดุ ลักษณะของการให้แสง สว่าง รูปร่างและรูปทรงของเฟอร์นิเจอร์ เพื่อสร้างพื้นที่ว่างให้ตอบสนองการ ใช้งาน และได้รับประโยชน์อย่างสูงสุด ด้วยองค์ประกอบต่างๆดังนี้

LINE เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจากเคลื่อนที่ของจุด หรือถ้าเรานำ�จุดมาวาง เรียงต่อ ๆ กันไป ก็จะเกิดเป็นเส้นขึ้น เส้นมีมิติเดียว คือ ความยาว ไม่มีความ กว้าง ทำ�หน้าที่เป็นขอบเขต ของที่ว่าง รูปร่าง รูปทรง น้ำ�หนัก สี ตลอดจน กลุ่มรูปทรงต่าง ๆ รวมทั้งเป็นแกนหรือ โครงสร้างของรูปร่างรูปทรง 
เส้น เป็นพื้นฐานที่สำ�คัญของงานศิลปะทุกชนิด เส้นสามารถให้ความหมาย แสดง ความรู้สึก และอารมณ์ได้ด้วยตัวเอง และด้วยการสร้างเป็นรูปทรงต่าง ๆ ขึ้น เส้นมี 2 ลักษณะคือ เส้นตรง (Straight Line) และ เส้นโค้ง (Curve Line) เส้น ทั้งสองชนิดนี้ เมื่อนำ�มาจัดวางในลักษณะต่าง ๆ กัน จะมีชื่อเรียกต่าง ๆ และ ให้ความหมาย ความรู้สึก ที่แตกต่างกันอีกด้วย และมีความสำ�คัญของเส้น 
 คือ ใช้ในการแบ่งที่ว่างออกเป็นส่วนๆ 
กำ�หนดขอบเขตของที่ว่าง หรือหมาย ถึง การทำ�ให้เกิดเป็นรูปร่าง (Shape) ขึ้นมา และสามารถกำ�หนดเส้นรอบนอก ของรูปทรง ทำ�ให้มองเห็นรูปทรง (Form) ชัดขึ้น 
รวมทั้งทำ�หน้าที่เป็นน้ำ�หนัก อ่อนแก่ของแสดงและเงา 
ให้ความรู้สึกด้วยการเป็นแกนหรือโครงสร้างของรูป และโครงสร้างของภาพ ลักษณะของเส้น
 1. เส้นตั้ง หรือ เส้นดิ่ง ให้ความรู้สึกทางความสูง สง่า มั่นคง แข็งแรง หนัก แน่น 
เป็นสัญลักษณ์ของความซื่อตรง 
 2. เส้นนอน ให้ความรู้สึกทางความกว้าง สงบ ราบเรียบ นิ่ง ผ่อนคลาย 
 3. เส้นโค้ง แบบคลื่น ให้ความรู้สึก เคลื่อนไหวอย่างช้าๆ ลื่นไหล ต่อเนื่อง สุภาพ
อ่อนโยน นุ่มนวล

140


MATERIAL

COLOR

วัสดุต่างๆมีพื้นผิวสัมผัส ลวดลาย และโทนสีในตัวเอง มีความสำ�คัญ ในการสร้างพื้นที่ว่างให้เกิดความรู้สึกที่ต้องการ หรือถ้าจะกล่าวกันง่ายๆก็ คือ วัสดุมีผลต่อความรู้สึกของคนนั่นเอง การเลือกใช้วัสดุจึงต้องเป็นงาน ที่พิถีพิถันเป็นพิเศษ เพราะนอกจากจะเป็นการสร้างความรู้สึกแล้ว ยังต้อง คำ�นึงประโยชน์ใช้สอยในการใช้งาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความแข็งแรง ความ สะดวกในการทำ�ความสะอาด ความปลอดภัยในการใช้งาน ทั้งในส่วนต่างๆ เช่น พื้น ผนัง ฝ้า เฟอร์นิเจอร์ รวมไปถึงลักษณะทางกายภาพต่างๆของอาคาร ทั้งภายนอกและภายใน วัสดุส่วนใหญ่ของโรงพยาบาลมนารมย์คือไม้ ทั้งไม้จริงและไม้สังเคราะห์ เช่น ไฟเบอร์ซีเมนต์ ลามิเนต เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้ออกแบบเลือกใช้เพื่อสร้างพื้นที่ว่าง ให้เกิดความรู้สึกนุ่มนวล อบอุ่น และผ่อนคลาย ในบางพื้นที่ที่เป็นสาธารณะ ผู้ ออกแบบใช้หินเทียมในการออกแบบเฟอร์นิเจอร์ สร้างความรู้สึกหนักแน่นแต่ ยังคงกลิ่นอายของธรรมชาติ

เมื่อมองย้อนกลับไปในอารยธรรมโบราณ พิธีบูชาพระอาทิตย์เป็น พิธีกรรมที่คนในยุคนั้นเชื่อว่าสามารถรักษาความเจ็บป่วยความเสื่อมของ ร่างกายได้ อาจถือได้ว่าพระอาทิตย์เป็นแหล่งต้นกำ�เนิดของแสงสีต่อมาเมื่อ มีการค้นพบ ความแตกต่างของสี มนุษย์ ได้นำ�ความรู้เรื่องสีมาปรับใช้ ในชีวิต ประจำ�วันหลายๆ ด้าน สีต่างๆ ไม่ได้เป็นเพียงสิ่งที่รับรู้และมองเห็นได้ด้วยตา เท่านั้น แต่พลังของสียังมีผลกระทบต่อชีวิตในระดับลึกกว่าที่ตามอง นั่นคือ สีมีผลเกี่ยวเนื่องกับอารมณ์ความรู้สึกนึกคิดและการตัดสินใจ ต่อมไพเนีย ลมีปฏิกิริยาในการตอบสนองต่อสีแต่ละสีแตกต่างกันออกไป ซึ่งส่งผลให้ ความรู้สึก จิตใจ ฮอร์โมนและอารมณ์ในร่างกายในขณะนั้นของเราแตกต่าง กัน เช่น ท้องฟ้าสีฟ้าสดใสทำ�ให้รู้สึกสดชื่น สีทึบของท้องฟ้ายามมีเมฆทำ�ให้ หดหู่ แสงแดดทำ�ให้ร่าเริง ดังนั้นเมื่อร่างกายมีความผิดปกติ สีจึงสามารถนำ�พา ให้กลับคืนสู่สภาพปกติได้ สีบางสี เช่น สีเขียว สีฟ้า ทำ�ให้รู้สึกมีสมาธิและมีใจ จดจ่อกับการเรียนมากขึ้น เพราะเป็นการกระตุ้นพลังงานและหน่วงความช้าของ ดวงตาให้ลดลง ด้วยความหลากหลายนี้จึงมีการนำ�พลังของสีแต่ละสีมาปรับ ใช้ เพื่อบำ�บัดเยียวยาความเจ็บป่วยทางร่างกายและจิตใจ เรียกศาสตร์แห่งการ รักษานี้ว่า “สีบíำ�บัด” หรือ “Color Therapy” สีบำ�บัด เป็นการใช้สีเชื่อมโยง ระหว่างจิตใจกับร่างกายทั้งในด้านบวกและด้านลบ สีสามารถโน้มน้าวชวนให้ รู้สึกตื่นเต้น โศกเศร้า พบเห็นได้จากในชีวิตประจำ�วัน ซึ่งถือได้ว่าแทรกอยู่ทุก ด้านตั้งแต่การแต่งกาย ไปจนถึงการตกแต่งสถานที่ และการสร้างบรรยากาศ สภาพแวดล้อม ก็มีการคำ�นึงถึงผลของสีที่มีต่ออารมณ์และความรู้สึกของคน เสมอ โดยทั่วไปศาสตร์ของสีบำ�บัดจะแบ่งชนิดหรือโทนสีออกเป็น 2 แบบคือ 141


กลุ่มสีโทนร้อน เป็นกลุ่มสีที่ทำ�ให้เกิดความรู้สึกมีพลัง เร่าร้อน กระตือรือร้น และ กระฉับกระเฉง ในทางจิตวิทยาความแรงของสีโทนร้อนช่วยกระตุ้นให้เกิด ความรู้สึกเจริญอาหาร ทำ�ให้เกิดความหิว และกระตุ้นให้มีชีวิตชีวาอยู่เสมอ

สีเหลือง (Yellow) เป็นสีแห่งความสนุกสนาน ความฉลาดรอบรู้ สดใสร่าเริง และทำ�ให้มีอารมณ์ขัน พลังของสีเหลืองช่วยให้ระบบการทำ�งานของน้ำ�ดีและ ลำ�ไส้เป็นไปตามปกติ ช่วยปรับสมดุลของระบบทางเดินอาหาร ทำ�ให้ระบบ ย่อยอาหารและระบบขับถ่ายทำ�งานดีขึ้น ทั้งยังสามารถใช้เยียวยาอาการท้อแท้ หดหู่และหมดกำ�ลังใจได้ด้วย

สีส้ม (Orange) เป็นสีแห่งความสร้างสรรค์ อบอุ่น สดใส มีสติปัญญาความ ทะเยอทะยานที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลัง ในขณะเดียวกันก็มีความระมัดระวังไป ในตัว พลังของสีส้มช่วยคลายอาการหอบหืดและโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ช่วยรักษาความผิดปกติของม้าม ตับอ่อน ลำ�ไส้ ทั้งยังช่วยในการดูดซึม อาหารของกระเพาะและลำ�ไส้ ได้เป็นอย่างดี ทางจิตวิทยาพลังของสีส้มมีคุณ ในการบรรเทาอาการซึมเศร้า หากต้องการเรียกพลังความกระตือรือร้นในชีวิต ให้กลับคืนมา สีส้มเป็นสีที่ควรมองหาและนำ�มาประยุกต์ใช้ ให้มากที่สุด

สีม่วง (Purple) ปรับสมดุลในร่างกาย สีม่วงเป็นสีแห่งผู้รู้ ช่วยให้เกิดความ รู้สึกผ่อนคลาย กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจ และสร้างความสงบในจิตใจได้ เป็นอย่างดี พลังของสีม่วงช่วยปรับสมดุลในร่างกายของเราให้กลับมาเป็น ปกติ ใช้บำ�บัดโรคไต กระเพาะปัสสาวะอักเสบ โรคผิวหนังบางชนิด อีกทั้งยัง ช่วยในการบำ�บัดโรคไขข้อได้อีกด้วย จากการวิจัยพบว่าพลังของสีม่วงช่วยให้ สมองของเราสงบ และสามารถสร้างแรงบันดาลใจไปในคราวเดียวกัน เมื่อต้อง ขบคิดกับปัญหาที่ยังไม่สามารถหาทางออกได้ การนำ�สีม่วงเข้ามาประยุกต์ใช้ กับข้าวของเครื่องใช้ที่อยู่รอบตัวจะทำ�ให้สามารถตัดสินใจกับเรื่องต่างๆ ได้ 142


กลุ่มสีโทนเย็น เป็นกลุ่มสีที่ให้ความรู้สึกสดชื่น สงบ ทำ�ให้เรารู้สึกผ่อนคลาย สบายใจ และไม่ ทำ�ให้เครียด สีโทนเย็นจึงเหมาะอย่างยิ่งสำ�หรับคนที่ต้องทำ�งานหนักและใช้ ความคิดเป็นอย่างมาก

สีเขียว (Green) เป็นสีที่เด่นที่สุดบนโลก ให้ความรู้สึกร่มรื่น สบายตา ผ่อน คลาย ปลอดภัย ทำ�ให้เกิดความหวังและความสมดุลในด้านการรักษา ใช้ เมื่อต้องการผ่อนคลายความตึงเครียด เพราะพลังของสีเขียวสามารถทำ�ให้ ประสาทตาผ่อนคลาย และความดันโลหิตของเราลดลงได้ ทั้งยังช่วยผ่อน คลายระบบประสาท ป้องกันการจับตัวของก้อนเลือด ต่อต้านเชื้อโรค รักษา อาการของคนเป็นโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เยื่อบุอักเสบ เป็นต้น

สีนí้ำ�เงิน (Dark blue) เป็นสีที่มีความสุขุม เยือกเย็น หนักแน่น และ ละเอียดรอบคอบ พลังของสีน้ำ�เงินทำ�ให้ระบบหายใจของเราเกิดความสมดุล และแข็งแรงขึ้น ใช้ ในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง และคลายความเหงา อีกทั้งยังเป็นสีที่ใช้ ในการสร้างแรงบันดาลใจและการแสดงออกทางศิลปะได้ดี

สีฟ้า (Blue) เป็นสีที่ให้ความรู้สึกสงบเยือกเย็น เป็นอิสระ ปลอดโปร่ง สบาย ปลอดภัย ใจเย็น และระงับความกระวนกระวายใจได้ดี พลังของสีฟ้ามีคุณใน การรักษาอาการของโรคปอด ลดอัตราการเผาผลาญพลังงาน รักษาอาการ เจ็บคอ และทำ�ให้ชีพจรเต้นเป็นปกติ

143


144


DESIGN INNOVATION

นวั ต กรรมในการออกแบบ

การให้บริการรักษาและเยียวยาแบบนิเวศน์บำ�บัด และการบำ�บัดด้วยศิลปะในหลายๆด้าน Architecture Design -

การออกแบบสถาปัตยกรรม

การออกแบบสถาปัตยกรรม ที่เป็นส่วนสนับสนุนการรักษานั้น ผู้ ออกแบบให้ความสำ�คัญกับเรื่องแสงสว่างจากธรรมชาติ และการใช้เส้นที่สร้าง ความรู้สึกเรียบนิ่ง สงบ รวมไปถึงการเน้นทางเข้าและออกแบบอาคารให้ผู้เข้า รับการรักษานั้นรู้สึกเหมือนเดินเข้าบ้าน ไม่ใช่สถานบำ�บัด

145


ภาพแสดงทางเข้าหลักของโรงพยาบาลมนารมย์ ผู้ออกแบบใช้รูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ยื่นออกมาจากตัวอาคารในการเน้น ทางเข้า รวมทั้งเส้นนอนที่สร้างระนาบแผ่นใหญ่ ให้เกิดความรู้สึกสงบนิ่ง ส่วน หน้าตัดเสาวงกลมที่สร้างทรงกระบอกสูงจากพื้นถึงหลังคานั้น นอกจากจะสร้าง ความเปรียบต่างให้อาคารเกิดความน่าสนใจแล้ว ยังมีหน้าที่ลดอันตรายจาก เหลี่ยมมุมของการกระทบในผู้ป่วยบางรายที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้อีก ด้วย

146

ภาพแสดงการออกแบบด้านข้างและด้านหลังอาคาร วัสดุที่ใช้ ในการออกแบบส่วนใหญ่เน้นไปที่กระจก นอกจากจะนำ�แสงธรรมชาติ เข้าสู่ภายในอาคารแล้ว ยังช่วยในการแลกเปลี่ยนระหว่างบรรยากาศภายนอก และภายในอาคารเพื่อตอบสนองการบำ�บัดด้วยธรรมชาติ


ภาพแสดงหลังคาบริเวณส่วนโถงของอาคาร ผู้ออกแบบยังคงให้ความสำ�คัญกับการเข้าถึงของแสงธรรมชาติ ซึ่งไม่เพียงแต่ ทางผนังเท่านั้น แม้แต่หลังคาเองก็ยังคงนวัตกรรมหลักของโครงการไว้ด้วย โดยยังคงคำ�นึงถึงการป้องกันฝนและฝุ่นละออง รวมทั้งการกรองแสงให้เบาบาง ลงในการเข้าสู่อาคาร อีกทั้งหลังคารูปวงกลมยังจะช่วยสร้างบรรยากาศภายใน ให้รู้สึกถึงความอบอุ่นและปลอดภัย รวมถึงช่องแสงเล็กๆที่ช่วยให้แสงเข้ามา ตัดกับผนังที่หนาทึบและสีเข้มแบบสุขุมให้ดูสวยงามอีกด้วย

147


Landscape Design การออกแบบภูมิสถาปัตย์ ในการออกแบบภู มิ ส ถาปั ต ย์ ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง นวั ต กรรมการรั ก ษานั้ น ประกอบไปด้วย งาน Hardscape และ Softscape ที่นอกจากจะช่วยในการ บำ�บัดแบบนิเวศน์บำ�บัดและ ยังเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือทางการแพทย์สำ�หรับโรง พยาบาลแห่งนี้

ภาพแสดงลานกิจกรรมและสวนพักผ่อนสำ�หรับผู้ป่วยใน การใช้พื้นที่สีเขียวและพื้นผิวเป็นสนามหญ้านั้น เป็นการออกแบบที่แสดงถึง การให้ความสำ�คัญในการรักษาแบบนิเวศน์บำ�บัด ซึ่งไม่ใด้มีประโยชน์ใช้สอย เพื่อการพักผ่อนหรือทัศนีภาพที่สวยงามเพียงเท่านั้น หากแต่ยังมีเรื่องของการ ดูดซับแสง เพราะบริเวณนี้อยู่ทางด้านทิศใต้ของโครงการ ซึ่งมีแสงแดดที่จัด มากในสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยในหลายๆเดือนของแต่ละรอบปี

148


ภาพแสดงทางเดินหลักภายนอกอาคารที่เป็นทางเชื่อมระหว่างกลุ่มอาคารของ โครงการ วัสดุที่ใช้เป็นวัสดุจากธรรมชาติ ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อการวิเคราะห์ราย ละเอียดในการออกแบบ นอกจากการเลือกใช้วัสดุจากธรรมชาตินั้น ผู้ ออกแบบยังจงใจใช้เส้นนำ�สายตาที่เกิดจากเส้นขนานของทางเดิน แนวต้นไม้ ใหญ่ที่ปลูกไว้ด้วยความสูงที่เท่ากัน รวมไปถึงแนวของต้นไม้พุ่มทางขวาของ ภาพ เส้นของกันสาด หรือขอบวงกบของประตูและหน้าต่าง เพื่อสร้างสมาธิ สำ�หรับผู้เข้ารับการบำ�บัด

ภาพแสดงโถงทางเข้าหลักของอาคาร น้ำ�เป็นอีกหนึ่งปัจจัยซึ่งขาดไม่ได้สำ�หรับคำ�ว่านิเวศน์หรือธรรมชาติ สร้างความ รู้สึกเย็นสบายทั้งทางกายและทางจิตใจ และด้วยช่องแสงขนาดใหญ่บนหลังคา ดังที่กล่าวมาแล้วนั้น ทำ�ให้แสงที่ลงมากระทบกับน้ำ�ก่อนจะสะท้อนไปอย่าง เบาบางลง ให้ผู้เข้ารับการบำ�บัดสัมผัสได้ถึงธรรมชาติแม้กระทั่งยังไม่ได้เข้ารับ การตรวจรักษา

149


Interior Design การออกแบบมัณฑศิลป์ ในการออกแบบภู มิ ส ถาปั ต ย์ ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง นวั ต กรรมการรั ก ษานั้ น ประกอบไปด้วย งาน Hardscape และ Softscape ที่นอกจากจะช่วยในการ บำ�บัดแบบนิเวศน์บำ�บัดและ ยังเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือทางการแพทย์สำ�หรับ โรงพยาบาลแห่งนี้ โดยทั้ ง หมดถู ก ออกแบบโดยการตั้ ง อยู่ บ นพื้ น ฐานและการตอบ สนองในเรื่องของการพัฒนาที่ดินให้ ได้รับประโยชน์สูงสุด สามารถปรับ เปลี่ยนและรองรับต่อการขยายตัวของกิจกรรมต่างๆ และยังคำ�นึงถึงการใช้ ประโยชน์ที่เป็นสาธารณะ สามารถพัฒนาเรื่องการสัญจรและสาธารณูปโภค นอกจากนั้นยังมีวัตถุประสงค์ในการออกแบบคือ เพื่อสนับสนุน สภาพแวดล้อมในทุกๆพื้นที่ ให้ความสะดวกและความปลอดภัยกับผู้ ใช้ งาน รวมทั้งกลมกลืนกับการรองรับพฤติกรรมต่างๆ และการขยายตัวของ กิจกรรมต่างๆ

150


151


152


DESIGN DETAIL

รายละเอี ย ดในการออกแบบ

โรงพยาบาลรมย์ประกอบไปด้วย 5 ส่วนหลักที่สัมพันธ์กัน คือ 1. ส่วนผู้ป่วยนอก (OPD : Out-patient Department) ประกอบไปด้วย การเงิน ห้องตรวจ ห้องสังเกตอาการ พื้นที่พักคอย ห้องยา ห้องฉุกเฉิน เป็นต้น 2. ส่วนผู้ป่วยใน (IPD : In-patient Department) ประกอบไปด้วย พื้นที่ พักคอย ห้องยา ห้องเก็บของ ห้องประชุม ห้องพักผู้ป่วย สวนสำ�หรับการบำ�บัด ห้องอาหาร ห้องสันทนาการ ห้องพักบุคคลากรทางการแพทย์ เป็นต้น 3. ส่วนการวินิจฉัยและบำ�บัด (Diagnostic and Therapeutic Department) ประกอบไปด้วย ห้องตรวจ ห้องบำ�บัดต่างๆ เป็นต้น 4. ส่วนสนับสนุนการบริการ (Supporting services Department) ประกอบไปด้วย ห้องอาหาร ห้องเก็บของ ห้องซ่อมบำ�รุง ห้องเก็บวัสดุและ อุปกรณ์ฆ่าเชื้อ เป็นต้น 5. ส่วนของสำ�นักงาน (Administration Department) ประกอบไปด้วย แผนกบัญชี ห้องประชุม ห้องสัมมนา เป็นต้น

153


ผังบริเวณ (Master plan) การออกแบบในเรื่องการวางตำ�แหน่ง หรือการจัดกลุ่มของอาคารในแนวเขต ที่ดินของโรงพยาบาลมนารมย์นั้น มี 2 อาคาร ที่เชื่อมต่อกันด้วยประโยชน์ ใช้สอย มีต้นไม้ ใหญ่ปกคลุมตลอดแนวรั้ว เพื่อการดูดซับแสงที่จะส่องกระทบ ถึงตัวอาคาร และใช้กรองมลพิษจากมลภาวะต่างๆ รวมทั้งใช้เป็นกำ�บังในการ พรางสายตาจากคนภายนอก

154


เส้นสีน้ำ�เงิน คือเส้นทางสัญจรของผู้ป่วยนอก ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ 3 ส่วน คือ ส่วนผู้ป่วยนอก ส่วนการวินิจฉัยและบำ�บัด และส่วนผู้ป่วยใน เมื่อผู้ป่วยนอกไม่ ว่าจะเป็นผู้ป่วยนัด ผู้ป่วยใหม่ หรือผู้ป่วยฉุกเฉิน จะเข้ามาทางส่วนของผู้ป่วย นอก ต่อเนื่องกับการเข้ารับการวินิจฉัยและบำ�บัด เมื่อแพทย์วินิจฉัยให้ต้องเข้า พักรักษา (Admit) จึงจะต้องไปในส่วนผู้ป่วยในเพื่อรับการบำ�บัด เส้นสีม่วง คือเส้นทางสัญจรของผู้ป่วยใน ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ 2 ส่วน คือส่วน ผู้ป่วยใน และส่วนการวินิจฉัยและบำ�บัด เมื่อผู้ป่วยในเข้าพักเพื่อรับการรักษา จะต้องเข้าร่วมการบำ�บัดตามโปรแกรมที่ทางโรงพยาบาลตั้งไว้ โดยในส่วนผู้ ป่วยในจะเป็นทางเข้าสำ�หรับบุคคลภายนอกที่ประสงค์จะเข้าเยี่ยม เส้นสีเขียว คือเส้นทางสัญจรของบุคคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ พยาบาล เภสัชกร เป็นต้น ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ 3 ส่วน คือส่วนผู้ป่วยนอกคือส่วนผู้ ป่วยนอก ส่วนการวินิจฉัยและบำ�บัด และส่วนของสำ�นักงาน โดยบุคลากรทาง

การแพทย์จะประจำ�การอยู่ที่ส่วนสำ�นักงาน และจะเข้าร่วมการรักษาในส่วนผู้ ป่วยนอก รวมทั้งส่วนการวินิจฉัยและบำ�บัด เส้นสีแดง คือเส้นทางสัญจรของเจ้าหน้าที่ทั่วไป เช่น พนักงานทำ�ความสะอาด ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ 3 ส่วน คือส่วนการวินิจฉัยและ บำ�บัด ส่วนผู้ป่วยใน และส่วนของสำ�นักงาน โดยเจ้าหน้าที่จะทำ�งานภายในส่วน สำ�นักงาน แต่จะต้องอำ�นวยความสะดวก และให้ความสนับสนุนต่อองค์กรใน ส่วนของผู้ป่วยใน และส่วนวินิจฉัยและบำ�บัด เส้นสีเหลือง คือทางสัญจรของการให้บริการ เช่น อาหาร ยา เครื่องใช้ต่างๆ ซึ่ง มีความสัมพันธ์กับ 2 ส่วน คือส่วนผู้ป่วยนอก และส่วนสนับสนุนการบริการ เส้นสีดำ� คือทางสัญจรของวัสดุและอุปกรณ์ฆ่าเชื้อ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับ 2 ส่วน คือส่วนสนับสนุนการบริการและส่วนผู้ป่วยนอก วัสดุหรืออุปกรณ์ดังกล่าว จะถูกเก็บรักษาในพื้นที่ส่วนสนับสนุน และจะถูกนำ�มาใช้ ในส่วนผู้ป่วยนอก 155


156


157


DEPARTMENT แผนกที่ให้การรักษา

คลินิกตรวจรักษาปัญหาการนอน (Manarom Hospital Sleep Disor- กลุ่มจิตเวชเด็กและวัยรุ่น der Clinic) - การตรวจสภาพการนอนหลับ Polysumnongraphy - คลินิก CPAP บริการตรวจ วินิจฉัย และรักษา ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหลับ

158

คลินิกสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น จัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการสุขภาพจิต ที่ดีในเด็กและวัยรุ่น และเพื่อตอบสนองความต้องการของครอบครัวสถาบัน การศึกษาและองค์กรที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาในเด็ก และวัยรุ่น ทางโรง พยาบาลเน้นความสำ�คัญของการเสริมสร้างครอบครัวที่มีความสุขและอบอุ่น โดยมีบริการจัดอบรม สัมมนาให้คำ�ปรึกษา ข้อเสนอแนะ และส่งเสริมให้ผู้ ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเหมาะสมในการดูแลเด็ก และวัยรุ่น พร้อมให้บริการตรวจวินิจฉัย ให้คำ�ปรึกษาและบำ�บัด รักษาด้านจิตเวช


คลินิกจิตเวชผู้สูงอายุ

กิจกรรมกลางวัน (Day Program)

คลินิกจิตเวชผู้สูงอายุ ให้บริการตรวจ วินิจฉัยและรักษา ผู้ป่วยสูงอายุที่มีปัญหา ดังต่อไปนี้ 1. ปัญหาความจำ�
 2. ปัญหาการนอน 
 3. ปัญหาภาวะสมองเสื่อม
 4. ปัญหาทางอารมณ์ เช่น ภาวะซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน

สำ�หรับผู้ที่ต้องการปรับตัวกับการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน เพื่อเพิ่มพูนทักษะใน การจัดการทางด้านอารมณ์ การจัดการความเครียด การปรับตัวทางสังคม การ ควบคุมพฤติกรรมและการดูแลตนเอง ที่มีสาเหตุจากความเจ็บป่วยต่าง ๆ ทาง ด้านร่างกายหรือจิตใจ หรือความไม่เหมาะสมทางด้านสิ่งแวดล้อมทำ�ให้มีผลก ระทบต่อความสามารถในการดำ�เนินชีวิตอย่างปกติ

159


กิจกรรมบำ�บัด (Occupational therapy : OT)

กายภาพบำ�บัด ( Physical or Physic Therapy)

กิจกรรมบำ�บัด คือการนำ�กิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายรวมทั้งวิธีการและ อุปกรณ์ที่เหมาะสมมาใช้ ในการบำ�บัดเกี่ยว กับความสามารถของบุคคลที่มี ความบกพร่อง ทางด้านร่างกาย จิตใจ การเรียนรู้และพัฒนาการเกี่ยวกับเด็ก โดย กระบวนการตรวจประเมิน ส่งเสริม ป้องกัน บำ�บัดและฟื้นฟูสมรรถภาพ ให้สามารถทำ�กิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำ�วันได้ เพื่อให้บุคคลดำ�เนินชีวิตได้ ตามศักยภาพ ป้องกันการไร้ความสามารถและคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพที่ดี

เป็นวิชาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้องกับการป้องกัน รักษา และ จัดการเกี่ยวกับ
การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ที่เกิดขึ้นจากสภาพและภาวะของ ร่างกายที่เกิดขึ้นในทุกช่วงของชีวิต
จะกระทำ�โดยนักกายภาพบำ�บัด (Physical Therapist : PT) - กายภาพบำ�บัดทางระบบประสาท (Neurophysiotherapy) - กายภาพบำ�บัดทางระบบกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ (Orthopedic) - กายภาพบำ�บัดในผู้สูงวัย (Geriatric)

160


ศิลปะบำ�บัดแนวมนุษยปรัชญา (Anthroposophic Art Therapy)

ละครบำ�บัด (Dramatherapy)

เป็นศาสตร์เฉพาะทางที่มุ่งเน้นกระบวนการเยียวยา บำ�บัดรักษา ผู้ที่ขาดความ สมดุลตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้ ใหญ่ เป็นแนวคิดที่สัมพันธ์กับการแพทย์มนุษย ปรัชญา

ละครบำ�บัด คือ รูปแบบของการบำ�บัดที่นำ�ศาสตร์ของละครมาประยุกต์ใช้ ใน กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของบุคคลภายใต้ความสัมพันธ์ ของการบำ�บัดรักษานักละครบำ�บัด(Dramatherapist) เปรียบเสมือนทั้งนัก คลินิกและศิลปินที่ผ่านการฝึกปฏิบัติอย่างเคร่งครัดภายใต้มาตรฐานของ วิชาชีพ ในการนำ�เสนอวิธีการที่นำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลงเชิงบวกของจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม แก่ผู้รับการบำ�บัด

161


การเล่นบำ�บัด (Play Therapy)

ดนตรีบำ�บัด (Music Therapy)

การเล่นบำ�บัด คือ การเล่นที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการในทุกๆ ด้านของเด็ก ทั้ง ด้านร่างกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์และจิตใจ การเล่นบำ�บัดเป็นวิธีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กอย่างเป็นธรรมชาติโดยใช้การ เล่นเป็นสื่อกลางที่ช่วยให้เด็กได้แสดงออกทางความคิด ความรู้สึกอย่างอิสระ ระบายปัญหาและความคับข้องใจผ่านการเล่น ซึ่งช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้และ จัดการกับปัญหาด้วยตนเอง มีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นมากขึ้น ส่งผลให้เด็ก ดำ�เนินชีวิตได้อย่างมีความสุขมากขึ้น

ดนตรีบำ�บัดเป็นการนำ�ดนตรีมาใช้ ในทางการแพทย์เพื่อรักษาผู้ป่วยหรือพัฒนา ศักยภาพด้านร่างกาย จิตใจ ความคิด และทักษะทางสังคม ทั้งแบบเดี่ยวและ แบบกลุ่มในทุกช่วงวัย อีกทั้งยังสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับผู้ที่อยาก เพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง โดยมีดนตรีเป็นเครื่องมือและสื่อกลางในการ บำ�บัด

162


163


164


กรอบสี่เหลี่ยมในภาพ แทนค่าด้วย - สีเหลือง คือ พื้นที่พักคอย เป็นพื้นที่สาธารณะ เป็นทางเข้าของผู้ป่วย นอก และต่อเนื่องกับแผนกจ่ายยา และแผนกวินิจฉัยและบำ�บัด - สีฟ้า คือ พื้นที่สำ�หรับการวินิจฉัยและบำ�บัด - สีเขียว คือ พื้นที่ส่วนบุคคลสำ�หรับบุคคลากรทางการแพทย์ - สีชมพู คือ พื้นที่ส่วนบุคคลสำ�หรับเจ้าหน้าที่ทั่วไปและบุคคลากรทางการ แพทย์

เส้นทางสัญจรและความสัมพันธ์กันของพื้นที่ในส่วนของแผนกผู้ป่วยนอกตาม แผนภาพ คือ - เส้นสีเหลือง คือเส้นทางสัญจรของผู้ป่วยนอก โดยเข้าสู่พื้นที่ทางโถงพัก คอย ซึ่งเป็นทางเข้าหลักของอาคาร และกระจายไปในส่วนวินิจฉัย ประกอบด้วย ชั่งน้ำ�หนัก เจาะเลือด ห้องตรวจ และห้องสังเกตอาการ - เส้นสีน้ำ�เงิน คือเส้นทางสัญจรของเจ้าหน้าที่ทั่วไป และบุคคลากร ทางการแพทย์ โดยเข้าจากทางด้านหลังของพื้นที่ซึ่งเป็นทางเข้ารองของอาคาร และกระจายไปในส่วนวินิจฉัยและบำ�บัด สามารถเข้าไปใช้พื้นที่ในส่วนบริการได้ เช่น ห้องเก็บของ วัสดุ หรืออุปกรณ์ต่างๆ - เส้นสีแดง คือ เส้นทางสัญจรของวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ ในการรักษา เช่น ผ้า เข็มฉีดยา เป็นต้น เข้าสู่พื้นที่จากทางข้างหลังเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่ และ กระจายไปในพื้นที่วินิจฉัยและบำ�บัด รวมไปถึงพื้นที่สำ�หรับแพทย์และพยาบาล

การจัดวางผังของแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลมนารมย์ มีทางเข้า-ออก แยกกันอย่างชัดเจนระหว่างผู้ ใช้บริการและบุคคลากรทางการแพทย์ โดยทาง เข้า-ออกของผู้เข้าใช้บริการเป็นทางเข้า-ออกหลักของอาคาร การสัญจรจะเริ่มจากพื้นที่จอดรถจนถึงบ่อน้ำ�ล้นในโถงอาคาร ซึ่งบริเวณนี้ถูกใช้ เป็นทางเชื่อมต่อไปแผนกบริการ ทั้งฝ่ายสนับสนุนการบริการและฝ่ายสำ�นักงาน เมื่อผู้ ใช้บริการเดินมาถึงบริเวณโถงดังกล่าว จะพบทางเข้าหลักอยู่ทางซ้าย เมื่อ เข้าสู่ภายในอาคารจะพบกับฝ่ายประชาสัมพันธ์ เพื่อกรอกประวัติและแจ้งอาการ เบื้องต้น จากนั้นจะมีเจ้าหน้าที่พาไปรอรับการตรวจวินิจฉัยบริเวณที่พักคอย เมื่อเข้ารับการตรวจแล้วพบว่า อาการที่เป็นนั้นไม่ได้อยู่ในระดับที่รุนแรง แพทย์ ก็จะสั่งจ่ายยา แล้วชำ�ระเงินจึงมีเคาน์เตอร์รองรับอยู่บริเวณหน้าห้องตรวจอาการ เนื่องจากทางโรงพยาบาลต้องการรักษาภาพลักษณ์ของผู้ป่วย ซึ่งมีผู้ป่วยบาง รายไม่สามารถควบคุมสติและร่างกายได้ ผู้ออกแบบจึงจัดลำ�ดับพื้นที่ให้ส่วน สาธารณะอยู่ลึกเข้าไปภายในอาคาร

เมื่อเข้ารับการตรวจแล้วพบว่า อาการที่เป็นนั้นไม่ได้อยู่ในระดับที่รุนแรง แพทย์ ก็จะสั่งจ่ายยา แล้วชำ�ระเงินจึงมีเคาน์เตอร์รองรับอยู่บริเวณหน้าห้องตรวจอาการ เนื่องจากทางโรงพยาบาลต้องการรักษาภาพลักษณ์ของผู้ป่วย ซึ่งมีผู้ป่วยบาง รายไม่สามารถควบคุมสติและร่างกายได้ ผู้ออกแบบจึงจัดลำ�ดับพื้นที่ให้ส่วน สาธารณะอยู่ลึกเข้าไปภายในอาคาร ในขณะเดียวกัน ในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีอาการค่อนข้างรุนแรง จนสมควรได้รับการเข้าพักเพื่อรับการรักษา จะมีเจ้าหน้าที่นำ�เปลหรือรถเข็นมา รับเพื่อพาไปยังห้องพักในแผนกผู้ป่วยใน ส่วนบุคลากรทางการแพทย์จะสามารถเดินเข้า-ออกสู่แผนกผู้ป่วยนอกได้ โดย เข้าจากทางเดินด้านหลังของอาคาร ผ่านพื้นที่แผนกฉุกเฉิน และบริเวณทาง เข้า-ออก มีบันไดขึ้นชั้น2 ซึ่งเป็นพื้นที่สำ�หรับการบำ�บัด นอกจากนั้นทางเข้าออกห้องตรวจจะถูกแยกออกจากทางเข้าของผู้ป่วยอีกด้วย 165


แผนกผู้ป่วยใน (IPD : In-patient Department) แผนกผู้ป่วยใน ให้บริการสำ�หรับผู้ป่วยที่ต้องการการดูแลใกล้ชิดและการพัก ฟื้นในสภาพแวดล้อมที่คล้ายบ้าน อบอุ่นเป็นกันเอง การดูแลรักษาผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวชในแผนกผู้ป่วยในของโรงพยาบาล มนารมย์นั้น นอกจากการรักษาอาการทางจิตใจ และพฤติกรรมด้วยยาแล้ว ยัง มุ่งเน้นการฟื้นฟูสภาพผู้ป่วย
ให้สามารถรับผิดชอบตนเอง และดำ�เนินชีวิต ใน สังคมได้อย่างเป็นปกติสุขมากที่สุด ตลอดจนการช่วยสร้างภูมิต้านทานป้องกัน การเกิดความเจ็บป่วยซ้ำ�โดยอาศัยการบำ�บัดที่เรียกว่า “นิเวศน์บำ�บัด” (Milieu therapy) มีประเภทห้องหลายแบบตามขนาด ตำ�แหน่งและสิ่งอำ�นวย ความสะดวกการออกแบบสถานที่คำ�นึงถึงความสะดวกสบายของผู้ป่วยและสิ่ง แวดล้อมต่างๆ ที่เหมาะสม ได้แก่ แสงธรรมชาติ สวนและต้นไม้ที่ ให้ความรู้สึก ผ่อนคลาย ตลอดจนความปลอดภัยระหว่างพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ภายใน ห้องประกอบด้วยอุปกรณ์ตามมาตรฐานที่มีคุณภาพสูง จัดห้องเพื่อความสะดวก ของการดูแลรักษา ความปลอดภัย ความสวยงาม และการอำ�นวยความสะดวก แก่ผู้ป่วยและญาติ นิเวศน์บำ�บัด เป็นกระบวนการการรักษาที่ช่วยฟื้นฟูให้ผู้ป่วยสุขภาพจิตและ จิตเวชเกิดทักษะที่จำ�เป็นต่อการดำ�เนินชีวิตที่มีคุณภาพได้ด้วยตนเอง และ ช่วยป้องกันการเจ็บป่วยซ้ำ� 
ความสำ�เร็จของ “นิเวศน์บำ�บัด” จำ�เป็นต้องอาศัย องค์ประกอบหลายด้านรวมตั้งแต่ การจัดสถานที่ บริเวณและสภาพแวดล้อม ให้เหมาะสม มีความปลอดภัย อำ�นวยต่อการปรับตัว 
และพฤติกรรมของผู้ ป่วย นอกจากการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาด้านอารมณ์ สังคม และจิตใจแล้ว ยังต้องมีทีมบุคลากรจากหลายสาขา อาทิ เช่น พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยาคลิกนิก นักกิจกรรม และผู้ช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ที่มีความรู้ ความ ชำ�นาญ เป็นผู้ดำ�เนินการรักษาให้เกิดการเรียนรู้ โดยผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลขณะที่พัก 
รักษาตัวในโรงพยาบาล รวมถึงมีการจัดโปรแกรมและ กิจกรรมต่างๆ ในแต่ละวัน เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้วินัย กติกา ความเหมาะสม และความคิดเห็นของสังคม เข้าใจปัญหาทาง 
อารมณ์และกรบวนการคิดของ ตนเองที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ฝึกให้รู้จักรับผิดชอบต่อผลของการกระทำ�ของ ตนเอง ฝึกความอดทน เพิ่มทักษะการสื่อสารกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ 
สามารถ รับมือกับความเครียดที่เข้ามาในชีวิต เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถเห็น คุณค่าของตนเองและสามารถดำ�เนินชีวิตได้อย่างเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ ชีวิตร่วมกับ
ผู้อื่นได้อย่างเป็นปกติสุข

166


167


จากการสำ�เข้าสำ�รวจพื้นที่แผนกผู้ป่วยในของโรงพยาบาลมนารมย์พบ ว่า บุคลากรหลายท่านให้สัมภาษณ์ ไปในทิศทางเดียวกัน คือเรื่องของเส้นทาง สัญจรที่ไขว้กันไปมา ไม่ว่าจะเป็นทางสำ�หรับบุคลากรทั่วไป บุคลากรทางการ แพทย์ เส้นทางลำ�เลียงสิ่งของ อาหาร รวมทั้งเส้นทางสัญจรของผู้ป่วยและญาติ ผู้เข้าเยี่ยม ดังแสดงในภาพ ถึงแม้ว่าแผนกผู้ป่วยในจะมีทางเข้า-ออก แยกจากกันอย่างชัดเจนระหว่าง การรักษาและการบริการ คือทางลำ�เลียงสิ่งของ อาหาร ต่างๆจากทางด้านหลัง อาคาร แต่ทางเข้า-ออก ของบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย และญาตินั้นเป็น เส้นทางเดียวกัน อีกทั้งเมื่อทุกเส้นทางเข้าสู่ภายในอาคารแล้ว การจัดกลุ่มพื้นที่ ประโยชน์ใช้สอยภายในอาคารนั้น กลับไม่ตอบรับกับการสัญจรดังกล่าว ทำ�ให้ การเข้าใช้พื้นที่เกิดความวุ่นวาย และไม่สะดวกกับผู้ ใช้งาน จากปัญหาดังกล่าวนี้เอง ทำ�ให้ผู้ศึกษาพบว่าการแก้ ไขนั้นเป็นไปได้ด้วยการ จัดสรรพื้นที่ภายในแผนกใหม่ โดยการจัดกลุ่มของพื้นที่ใช้สอยให้สอดคล้อง กับเส้นทางสัญจรของทางเข้า-ออกของอาคาร เช่น นำ�พื้นที่เก็บของ วัสดุ ย้ายเ

อุปกรณ์ ไปไว้บริเวณใกล้เคียงกับทางเข้าของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการและ สนับสนุน ส่วนห้องพักบุคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ พยาบาล เภสัชกร ย้ายไปใกล้ทางเข้าโดยจะต้องสัมพันธ์กันกับห้องพักผู้ป่วย ห้องสังเกตอาการ ควรนำ�ไปไว้ ใกล้ห้องพักแพทย์ ส่วนพื้นที่พักคอยสำ�หรับญาติผู้ป่วยที่ประสงค์ จะเข้าเยี่ยม ควรจัดไว้แยกจากพื้นที่สัญจรของกระบวนการรักษา เพื่อไม่ให้เกิด ความวุ่นวายในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ นอกเหนือจากปัญหาที่เกิดขึ้นจากการวางผังแล้ว โรงพยาบาลมนารมย์ ยังควรได้รับการแก้ ไขหรือปรับปรุงรายละเอียดต่างๆในการออกแบบห้องพักผู้ ป่วยในแผนกผู้ป่วยใน จากการศึกษาวรรณกรรมในเบื้องต้นก่อนทำ�การสำ�รวจ นั้นพบว่า การออกแบบห้องพักผู้ป่วยจิตเวชนั้น จะต้องคำ�นึงถึงความปลอดภัย และความเสี่ยงต่างๆที่จะทำ�ให้ผู้ป่วยเกิดความกังวลและเครียดจนถึงขั้นการ ทำ�ร้ายตัวเอง หรือร้ายแรงกระทั่งฆ่าตัวตาย


ความเสี่ยงต่างๆซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ ในห้องพักผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยในของโรง พยาบาลมนารมย์ เช่น วัสดุพื้นในห้องพักผู้ป่วยธรรมดาเป็นกระเบื้อง ซึ่งมี คุณสมบัติมันวาว และแข็ง ทำ�ให้อาจเกิดการลื่นล้มแล้วบาดเจ็บอย่างรุนแรง การเลือกใช้รูปแบบเฟอร์นิเจอร์เป็นแบบลอยตัว (Loose furniture) เป็น อันตราย ซึ่งผู้ป่วยสามารถเคลื่อนย้าย โดยการลากหรือยก และเป็นปัจจัยอัน จะก่อให้เกิดอันตรายต่างๆ ทั้งกับผู้อื่น และตัวผู้ป่วยเอง ไม่ว่าจะเป็นการปีน ป่าย การขว้างปา เป็นต้น นอกจากนั้นผู้ศึกษายังพบว่า เหลี่ยมมุม หรือขอบ เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เป็นอันตรายกับผู้ป่วยในกรณีของการทรงตัวหรือควบคุมตัว เองไม่ได้ รวมทั้งกรณีต้องการทำ�ร้ายตัวเอง การแก้ ไขปัญหาดังกล่าว ควรใช้รูปแบบเฟอร์นิเจอร์ชนิดติดตาย (Built-in furniture) เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเคลื่อนย้ายได้ และลบเหลี่ยมมุมของเฟอร์นิเจอร์ที่ เป็นความเสี่ยงในการก่อให้เกิดอันตราย


ประกอบด้วยพื้นที่และประโยชน์ใช้สอยในส่วนต่างๆ ดังรายละเอียดตามแผนภาพ

170


และในแต่ละพื้นที่มีความสัมพันธ์กัน รวมทั้งเส้นทางสัญจรต่างๆ คือ

กรอบสี่เหลี่ยมในภาพ แทนค่าด้วย - สีฟ้า คือ พื้นที่พักคอย และเคาน์เตอร์พยาบาลเป็นพื้นที่สาธารณะ เป็น ทางเข้าของผู้ป่วยใน และต่อเนื่องกับหอพักผู้ป่วย - สีเหลือง คือ พื้นที่ห้องพักผู้ป่วยใน - สีเขียว คือ พื้นที่ส่วนบุคคลสำ�หรับบุคคลากรทางการแพทย์ - สีชมพู คือ พื้นที่ส่วนบุคคลสำ�หรับเจ้าหน้าที่ทั่วไปและบุคคลากรทางการ แพทย์

เส้นทางสัญจรและความสัมพันธ์กันของพื้นที่ในส่วนของแผนกผู้ป่วยในตาม แผนภาพ คือ - เส้นสีเหลือง คือเส้นทางสัญจรของผู้ป่วยใน โดยเข้าสู่พื้นที่ทางโถงพัก คอย ซึ่งเป็นทางเข้าหลักของอาคาร และสัมพันธ์กับเคาน์เตอร์พยาบาล (Nurse station) - เส้นสีน้ำ�เงิน คือเส้นทางสัญจรของเจ้าหน้าที่ทั่วไป และบุคคลากร ทางการแพทย์ โดยเข้าจากทางด้านหลังของพื้นที่ซึ่งเป็นทางเข้ารองของอาคาร และสามารถเข้าไปใช้พื้นที่ในส่วนบริการได้ เช่น ห้องเก็บของ วัสดุ หรืออุปกรณ์ ต่างๆ รรมทั้งห้องพักแพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ด้านอื่นๆ และสัมพันธ์ กับห้องพักผู้ป่วย - เส้นสีแดง คือ เส้นทางสัญจรของวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ ในการรักษา เช่น ผ้า เข็มฉีดยา เป็นต้น เข้าสู่พื้นที่จากทางข้างหลังเช่นเดียวกับเจ้าหน้าที่ และ กระจายไปในพื้นที่ห้องพักผู้ป่วยและส่วนบริการ

171


ด้วยมนุษย์มีพื้นฐานของการอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ เมื่อเราได้จัดสิ่งแวดล้อมให้สื่อถึงความ สัมพันธ์กับธรรมชาติ ผู้ป่วยหรือผู้มารับบริการจะมีความรู้สึกใกล้ชิดและผูกพันธ์กับสิ่งต่างๆ ที่ อยู่รอบตัวไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ด้วยกันหรือกับสิ่งอื่นๆ ซึ่งจะส่งผลถึงการบำ�บัดรักษาให้ได้ผลดีกว่า ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ได้ ใกล้ชิดกับธรรมชาติ 172


DESIGN SUGGESTION

ข้ อ เสนอแนะปรั บ ปรุ ง การออกแบบ

ถึงแม้ว่าแผนกผู้ป่วยในจะมีทางเข้า-ออก แยกจากกันอย่างชัดเจน ระหว่างการรักษาและการบริการ คือทางลำ�เลียงสิ่งของ อาหาร ต่างๆจากทาง ด้านหลังอาคาร แต่ทางเข้า-ออก ของบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ป่วย และญาติ นั้นเป็นเส้นทางเดียวกัน อีกทั้งเมื่อทุกเส้นทางเข้าสู่ภายในอาคารแล้ว การจัด กลุ่มพื้นที่ประโยชน์ใช้สอยภายในอาคารนั้น กลับไม่ตอบรับกับการสัญจรดัง กล่าว ทำ�ให้การเข้าใช้พื้นที่เกิดความวุ่นวาย และไม่สะดวกกับผู้ ใช้งาน จากปัญหาดังกล่าวนี้เอง ทำ�ให้ผู้ศึกษาพบว่าการแก้ ไขนั้นเป็นไปได้ ด้วยการจัดสรรพื้นที่ภายในแผนกใหม่ โดยการจัดกลุ่มของพื้นที่ใช้สอยให้ สอดคล้องกับเส้นทางสัญจรของทางเข้า-ออกของอาคาร เช่น นำ�พื้นที่เก็บของ วัสดุ อุปกรณ์ ไปไว้บริเวณใกล้เคียงกับทางเข้าของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการและ สนับสนุน ส่วนห้องพักบุคลากรทางการแพทย์ เช่น แพทย์ พยาบาล เภสัชกร ย้ายไปใกล้ทางเข้าโดยจะต้องสัมพันธ์กันกับห้องพักผู้ป่วย ห้องสังเกตอาการ ควรนำ�ไปไว้ ใกล้ห้องพักแพทย์ ส่วนพื้นที่พักคอยสำ�หรับญาติผู้ป่วยที่ประสงค์ จะเข้าเยี่ยม ควรจัดไว้แยกจากพื้นที่สัญจรของกระบวนการรักษา เพื่อไม่ให้เกิด ความวุ่นวายในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ นอกเหนือจากปัญหาที่เกิดขึ้นจากการวางผังแล้ว โรงพยาบาลมนารมย์ ยังควรได้รับการแก้ ไขหรือปรับปรุงรายละเอียดต่างๆในการออกแบบห้องพักผู้ ป่วยในแผนกผู้ป่วยใน จากการศึกษาวรรณกรรมในเบื้องต้นก่อนทำ�การสำ�รวจ นั้นพบว่า การออกแบบห้องพักผู้ป่วยจิตเวชนั้น จะต้องคำ�นึงถึงความปลอดภัย และความเสี่ยงต่างๆที่จะทำ�ให้ผู้ป่วยเกิดความกังวลและเครียดจนถึงขั้นการ ทำ�ร้ายตัวเอง หรือร้ายแรงกระทั่งฆ่าตัวตาย ความเสี่ยงต่างๆซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ ในห้องพักผู้ป่วยในแผนกผู้ป่วยใน ของโรงพยาบาลมนารมย์ เช่น วัสดุพื้นในห้องพักผู้ป่วยธรรมดาเป็นกระเบื้อง ซึ่งมีคุณสมบัติมันวาว และแข็ง ทำ�ให้อาจเกิดการลื่นล้มแล้วบาดเจ็บอย่าง รุนแรง การเลือกใช้รูปแบบเฟอร์นิเจอร์เป็นแบบลอยตัว (Loose furniture)

เป็นอันตราย ซึ่งผู้ป่วยสามารถเคลื่อนย้าย โดยการลากหรือยก และเป็นปัจจัย อันจะก่อให้เกิดอันตรายต่างๆ ทั้งกับผู้อื่น และตัวผู้ป่วยเอง ไม่ว่าจะเป็นการ ปีนป่าย การขว้างปา เป็นต้น นอกจากนั้นผู้ศึกษายังพบว่า เหลี่ยมมุม หรือขอบ เฟอร์นิเจอร์ต่างๆ เป็นอันตรายกับผู้ป่วยในกรณีของการทรงตัวหรือควบคุมตัว เองไม่ได้ รวมทั้งกรณีต้องการทำ�ร้ายตัวเอง การแก้ ไขปัญหาดังกล่าว ควรใช้รูปแบบเฟอร์นิเจอร์ชนิดติดตาย (Built-in furniture) เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเคลื่อนย้ายได้ และลบเหลี่ยมมุมของ เฟอร์นิเจอร์ที่เป็นความเสี่ยงในการก่อให้เกิดอันตราย วัสดุพื้น ควรเป็นวัสดุที่นุ่มนวล เช่นพรม เพื่อลดความบาดเจ็บจาก อุบัติเหตุของผู้ป่วย นอกจากนั้นวัสดุผนัง ฝ้า หรือเฟอร์นิเจอร์ควรมีส่วนช่วย ในการบำ�บัด เยียวยารักษาด้วย โดยเลือกใช้วัสดุจากธรรมชาติ เช่น ไม้ เพื่อ สร้างความรู้สึกอบอุ่น เป็นกันเอง หรือหินที่สร้างความรู้สึกหนักแน่น มั่นคง นอกจากเรื่องของวัสดุ ยังมีอีกหนึ่งเรื่องที่สำ�คัญคือ การให้แสงสว่างในห้องพัก ของโรงพยาบาลเป็น แสงสีขาว (Day light) ซึ่งมีความเป็นทางการจนเกินไป ควรเลือกใช้แสงสีส้ม (Warm white) เพื่อสร้างความรู้สึกอบอุ่น เป็นกันเอง ผ่อนคลาย

173


พื้น (Floor) จากมาตรฐานของโรงพยาบาลที่อยู่ในกระบวนการการรับรองคุณภาพ พื้น อาคารก็จะเป็นไปตามมาตรฐานของความสะอาด และความปลอดภัยจากการติด เชื้ออยู่แล้ว ปัญหาที่พบส่วนใหญ่คือ พื้นทางเดิน พื้นทางเชื่อมระหว่างอาคาร ที่ มักจะไม่เรียบสนิท ทำ�ให้เป็นอุปสรรคในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย พื้นผิวทางเดินที่มี รอยแตก รอยแยกระหว่างจุดเชื่อมต่ออาคาร นอกจากจะทำ�ให้การเคลื่อนย้ายผู้ ป่วยสะดุดแล้ว ยังอาจกระทบกระเทือนหรืออาจทำ�ให้ผู้ป่วยบาดเจ็บได้

ผนัง (Wall) โรงพยาบาลส่วนใหญ่มักจะไม่ระมัดระวังในการใช้ผนังให้เกิดประโยชน์ เพื่อการเยียวยาโดยการติดตั้งป้ายประกาศ ป้ายบอกทาง สัญญลักษณ์ ต่างๆ มากมายจนดูรก แต่โรงพยาบาลมนารมย์นั้น มีการปล่อยผนังให้ว่างและติดภาพ ที่สวยงาม ซึ่งจะสร้างสิ่งแวดล้อมที่เยียวยามากกว่าทั้งนี้เพราะภาพทิวทัศน์และ ภาพถ่ายสวยๆ จะเป็นช่องทางทางหนึ่งที่ช่วยนำ�เราเข้าสู่ สุขภาวะซึ่งเป็นสภาวะ ที่มีฮอร์โมนด้านบวกหลั่ง ้ เพื่อเป็นเครื่องมือในการกระตุ้นให้คนเข้าเข้าสู่สภาวะ ที่มีการเชื่อมโยงระหว่างร่างกายและจิตใจ เป็นสภาวะที่เอ็นดอร์ฟินหลั่งโดยผ่าน ประสาทสัมผัสของการมองเห็นนั่นเอง

ฝ้าเพดาน (Ceiling) ห้องพักผู้ป่วย ซึ่งมีพฤติกรรมส่วนใหญ่ในท่านอน มักมีแสงสว่างที่ส่องจากฝ้า เพดานแยงตาผู้ป่วย มีผลกระทบในเรื่องของความสบายตา ผู้ป่วยอาจจะมีภาวะ เครียดได้ ซึ่งในสภาวะเครียดนี้ร่างกายก็จะหลั่งฮอร์โมนด้านลบออกมา หากได้ มีการปรับเปลี่ยนติดตั้งตาแหน่งไฟที่อยู่ในระยะที่ไม่รบกวนสายตาของผู้ป่วยก็ จะมีผลต่อการพักผ่อน และสุขภาวะของผู้ป่วยในทิศทางที่ดีขึ้นหากมีการติดตั้ง ภาพที่สวยงาม เช่น ภาพวิวธรรมชาติ ภาพท้องฟ้า ก็จะสร้างบรรยากาศที่เยียวยา จินตนาการของผู้ป่วยได้

เครื่องเรือน (Furniture) เครื่องเรือนหรือเฟอร์นิเจอร์จากการสำ�รวจพบว่า ในบางกรณีมักมีแบบที่ดูไม่สดใส ทั้งรูปแบบและสีสรร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีการให้เก่าโทรมไม่ได้รับการบารุงรักษา ก็จะทำ�ให้เกิดบรรยากาศที่หดหู่ น่ากลัว สร้างบรรยกาศที่ไม่สดใสสำ�หรับผู้ ใช้สอย ในกรณีที่โรงพยาบาลอนุญาติให้ญาติผู้ป่วยนำ�เครื่องใช้ เช่น หมอน ปลอกหมอน มาใช้ ในห้องพักผู้ป่วย ก็จะเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศที่คุ้นเคย เหมือนบ้านของ ผู้ป่วยเองได้เป็นอย่างดี โดยการสร้างบรรยากาศที่เหมือนบ้านของผู้ป่วยหรือผู้ที่ รับบริการนั้น ผู้ป่วยจะรู้สึกไว้วางใจปลอดภัย

174


175


176


แสงสว่าง (Lighting) โรงพยาบาลมีการเน้นเรื่องแสงสว่างจากธรรมชาติ ให้สามารถส่องเข้าถึงพื้นที่ ใช้สอยของผู้ป่วย ซึ่งนอกจากจะเป็นการประหยัดกระแสไฟฟ้าแล้ว ยังทำ�ให้ผู้ป่วยได้ เชื่อมโยงกับแสงสว่างธรรมชาติ สามารถรับรู้หรือกะเกณฑ์ช่วงเวลาของวันได้ ด้วย มนุษย์มีพื้นฐานของการอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ เมื่อเราได้จัดสิ่งแวดล้อมให้สื่อถึง ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ ผู้ป่วยหรือผู้มารับบริการจะมีความรู้สึกใกล้ชิดและผูกพันธ์ กับสิ่งต่างๆ ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยเอื้อให้เกิดพลังงานด้านบวกต่อมนุษย์ และส่ง ผลถึงการบำ�บัดรักษาให้ ได้ผลดีกว่าที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ได้ ใกล้ชิดกับธรรมชาติ

เสียง (Voice) ่แหล่งกำ�เนิดเสียงอื่นๆ เช่น เสียงเคร่ืองปรับอากาศ เสียงโทรทัศน์ เสียงคุยกัน อาจจะต้องมีแนวทางการจัดการเฉพาะจุดที่เป็นปัญหาที่มีการลงถึงรายละเอียดและ ความเหมาะสม เพราะโรงพยาบาลเป็นสถานที่ที่มีการใช้วัสดุในการดูดซับเสียงน้อย ใน ขณะที่กลับมีแหล่งกำ�เนิดเสียงมากมาย จึงควรพิจารณาลดแหล่งกาเนิดเสียงเพื่อลด ปริมาณเสียงที่รบกวนผู้ ใช้สอยพื้นที่ให้เหลือน้อยที่สุด หรือให้เหลือเฉพาะเสียงที่เอื้อ ประโยชน์และเยียวยา

สี (Color) สีภายในอาคารส่วนใหญ่จะเป็นสีอ่อน เช่น ขาวควันบุหรี่ ครีม เป็นต้น ซึ่งอาจ ทำ�ให้ดูจืดชีดน่าเบื่อบ้าง ในแต่ละส่วนพื้นที่ของโรงพยาบาล สามารถที่จะแบ่งพื้นที่ของ ผนังบางส่วนให้เป็นสีเข้ม เพื่อสร้างความแปลกตาให้กับผู้ ใช้สอยพื้นที่ได้ แต่ทั้งนี้สีที่ ทาภายในโรงพยาบาลมนารมย์ จะต้องไม่ใช่สีจืด หรือสีโทนร้อนมากเกินไป เพราะหาก เป็นสีโทนร้อนผู้ป่วยหรือผู้ที่เข้ารับบริการ

คุณภาพอากาศ (Air) ปัจจุบันแทบจะไม่พบปัญหาเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ในโรงพยาบาล เพราะส่วน ใหญ่ได้รับการจัดการเป็นอย่างดีแล้ว ยกเว้นความร้อนในอาคารที่เกิดจากแสงอาทิตย์ ที่ส่องมาที่หลังคาและแผ่รังสีความร้อนลงมาในอาคารนั้น ส่วนใหญ่เกิดจากการเลือก ใช้วัสดุหลังคาและฝ้าเพดานที่ไม่เหมาะสม โดยขาดการติดตั้งฉนวนกันความร้อนที่ดี ทำ�ให้อุณหภูมิภายในห้องสูง และสร้างความเครียดให้กับผู้ป่วยทางอ้อม ดังนั้น หากโรง พยาบาลจะต้องบูรณะหลังคาหรือต้องการแก้ปัญหาเรื่องความร้อนในอาคารอย่างจริงจัง

177



THANKS... ขอขอบคุ ณ ‘อาจารย์ วิ ร ั ต น์ รั ต ตากร’ ที ่ ม อบหมายให้ เ ราได้ ม ี โอกาสศึ ก ษาค้ น คว้ า เกี ่ ย วกั บ การออกแบบ กระบวนการออกแบบ ของโรงพยาบาล ซึ ่ ง หลั ง จากการศึ ก ษาในครั ้ ง นี ้ ท ำ � ให้ เ ราได้ ประโยชน์ เ ป็ น อย่ า งมาก ไม่ ใ ช่ เ พี ย งเรื ่ อ งการออกแบบเท่ า นั ้ น แต่ เรายั ง ได้ ศ ึ ก ษาวิ ธ ี ท ี ่ ไ ด้ ม าถึ ง การออกแบบ แง่ ม ุ ม แนวคิ ด ต่ า งๆ ทั ้ ง จากผู ้ ใ ช้ ง าน ผู ้ อ อกแบบ และผู ้ ป ระกอบการ หวั ง เป็ น อย่ า งยิ ่ ง ว่ า การศึ ก ษาโณงพยาบาล ค รั ง้ นี ้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า ใ น ว ง ก า ร อ อ ก แ บ บ โ ร ง พยาบาลของประเทศไทยให้ ก ้ า วหน้ า ในระดั บ สากล ขอขอบคุ ณ ‘โรงพยาบาลสมิ ต ิ เ วช สุ ข ุ ม วิ ท และศรี น คริ น ร์ ’ ที ่ เอื ้ อ เฟื ้ อ สถานที ่ ใ นการเก็ บ ข้ อ มู ล ศึ ก ษาและถ่ า ยภาพ ขอขอบคุ ณ ‘โรงพยาบาลมนารมย์ สุ ข ุ ม วิ ท ’ ที ่ เ อื ้ อ เฟื ้ อ สถานที ่ ใ น การเก็ บ ข้ อ มู ล ศึ ก ษาและถ่ า ยภาพ ขอขอบคุ ณ ‘คุ ณ เสนิ ส อยู ่ พ ู ล และ บริ ษ ั ท TEAC ARCHITECT CO.,LTD. ที ่ ส ละเวลาในการสนทนาสั ม ภาษณ์ ถึ ง แนวคิ ด และราย ละเอี ย ดเชิ ง ลึ ก ในการออกแบบโรงพยาบาล พร้ อ มทั ้ ง ให้ ข ้ อ มู ล ประกอบการศึ ก ษาในครั ้ ง นี ้ สุ ด ท้ า ย ขอขอบคุ ณ ‘เพื ่ อ นๆ’ ทุ ก คนในกลุ ่ ม ที ่ ร ่ ว มแรงร่ ว มใจกั น ทำ � ให้ ง านครั ้ ง นี ้ ส ำ � เร็ จ ลุ ล ่ ว งไปด้ ว ยดี



EDITOR THANAKORN TIZZADA NUCHAKARN PHACHARA JURAIRUT

CHANRUENGRIT LIMPISTHIRA K A N C H A N A PA N

P H A N T H A W AT KO S O N BOOTPRASERTWICHA


WHOOF + G R O UP




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.