มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร
๑
ลายสัก อักขระ เลขยันต์ การสักของผู้คนในสังคมแต่ละกลุ่มต่างก็มีลกั ษณะแตกต่างกันไปตามวิถีความเชื่อและ การถือปฏิบตั ิที่แตกต่างกัน เช่น การสักของคนในลุ่มแม่น ้าเจ้ าพระยามีความแตกต่างกับการสักของ ผู้คนในสังคมไทยใหญ่และสังคมล้ านนามีการสักขาลาย (สักเตี่ยวก้ อมหรื อสักขาก้ อม) โดยจะสักตังแต่ ้ บริ เ วณตัง้ แต่ เ อวถึ ง หั ว เข่ า หรื อ การสั ก แบ้ งบ่ อ งบริ เ วณอวั ย วะเพศของผู้ ชายในภาคอี ส าน ซึ่ ง มี จุด มุ่ง หมายส าคัญ คื อ เพื่ อ แสดงออกถึ ง ความเป็ น ชายชาตรี (นฤพนธ์ ด้ ว งวิ เ ศษ, ๒๕๖๐.) ความสวยงาม และความมีเสน่ห์ (ณัฎฐภัทร นาวิกชีวิน, ๒๕๒๑, น.๓๔) เป็ นสาคัญ ถึงกระนันการสั ้ กของคนในสังคมไทยโดยทัว่ ไป ไม่ว่าจะเป็ นสังคมล้ านนา สังคมอีสาน หรื อผู้คนในลุ่มน ้าเจ้ าพระยา ยังคงมีความเกี่ยวข้ องต่อความเชื่อและความศรัทธาทางไสยศาสตร์ เช่น การสักข่ามของชาวไทยใหญ่ การสักเสือ การสักหนุมานของคนลุ่มน ้าเจ้ าพระยาและลุ่มน ้านครชัยศรี ภายใต้ ความเชื่ อ ว่ า จะมี ค วามคงกระพั น ชาตรี สามารถป้ อ งกั น อั น ตรายจากศั ต ราวุ ธ ได้ (สายสม ธรรมธิ, ๒๕๓๘, น. ๑๐.) เป็ นต้ น อนึ่ง การสักนัน้ นอกจากจะเป็ นที่ นิยมของผู้ช ายแล้ ว ผู้หญิ งในสังคมไทยใหญ่ สังคม ล้ านนา และสังคมอีสาน ยังมีการสักลายบริ เวณแขน ขา และข้ อมือได้ เพื่อป้อ งกันอันตรายไม่ให้ งูและ สัตว์มีพิษมาขบกัดอีกด้ วย (สังคีต จันทนะโพธิ, ๒๕๕๒, น. ๙๔.) ปั จจุบนั การสักยังคงมีอิทธิพลต่อผู้คนในสังคมไทยอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน กลุ่มเยาวชนทังชายและหญิ ้ งที่ตา่ งนิยมสักร่างกาย โดยมีความคลี่คลายในความหมายของการสัก ซึ่ง มีทงั ้ ที่ มุ่งเน้ นเพื่อความสวยงามตามกระแสแฟชั่น และเพื่อหวังผลตามความเชื่อดังเดิ ้ ม ด้ วยเหตุนี ้ การสักลายและการสักยันต์จึงถือเป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมที่น่าสนใจภายใต้ บริ บท สังคมและวัฒนธรรมที่ปรับเปลี่ยนไป โดยเฉพาะการสักยันต์ตามแบบจารี ตดังเดิ ้ มตามความเชื่อความ ศรัทธาที่ยงั คงมีอิทธิพลต่อการดาเนินวิถีชีวิตของผู้คนในสังคม
๒
๑. ความหมายของยันต์ การสักยันต์ และอักขระเลขยันต์ ยันต์ ความเชื่อเกี่ยวกับเลขยันต์และคาถาอาคมเป็ นเรื่ องที่สืบเนื่องต่อกันมาตังแต่ ้ สงั คมมนุษย์ ยุ ค ดึ ก ด าบรรพ์ จะกล่ า วว่ า เป็ นความเชื่ อ ของศาสนาใดศาสนาหนึ่ ง โดยเฉพาะก็ ค งไม่ ไ ด้ (เสฐี ยร พันธรังษี , ๒๕๒๑, น. ๒๑.) สาหรับในอาณาจักรโบราณของดินแดนสุวรรณภูมิก็เช่นกัน ล้ วนมี รากฐานความเชื่อแบบวิญญาณนิยมมาตังแต่ ้ ดงเดิ ั ้ ม ในภายหลังจึงผสมผสานเข้ ากับลัทธิมนตรยาน ของพุทธศาสนาและลัทธิพราหมณ์ - ฮินดู เกิดเป็ นความเชื่อรูปแบบเฉพาะปรากฏอยูใ่ นระบบเลขยันต์ ต่าง ๆ (ณัฐธัญ มณีรัตน์, ๒๕๕๙, น. ๑๐.) คาว่า “ยันต์” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ นิยามความหมายว่า “ตารางหรื อลายเส้นเป็ นตัวเลข อักขระหรื อรู ปภาพที ่เขี ยน สัก หรื อแกะสลักลงบนแผ่นผ้า ผิ วหนัง ไม้ โลหะ เป็ นต้น ถือว่าเป็ นของขลัง เช่น ยันต์ตรี นิสิงเห ยันต์พระเจ้า ๕ พระองค์ เรี ยกเสือ้ หรื อผ้าเป็ นต้น ทีม่ ี ลวดลายเช่นนัน้ ว่า เสือ้ ยันต์ ผ้ายันต์ เรี ยกกิ ริยาทีท่ าเช่นนัน้ ว่า ลงเลข ลงยันต์” (ราชบัณฑิตยสถาน , ๒๕๕๖, น. ๙๔๕.) ส่วนพจนานุกรมภาษาสันสกฤต ให้ ความหมายว่า “เป็ นเครื ่องราง เป็ นแผนภาพ จาลองเกี ่ยวกับดวงดาวหรื อแผนผังอันศักดิ์ สิทธิ์ ” (Aman Shivaram Apte, ๑๙๙๘, p. ๑๘๐๔. อ้ างถึง ใน ณัฐธัญ มณีรัตน์, ๒๕๕๙, น.๑๒.) สาหรับ อาจารย์เทพย์ สาริกบุตร นักโหราศาสตร์ ไทยให้ ความเห็นว่า “คาว่า ยันต์ นีเ้ พีย้ น มาจากคาว่า ยัญญ์ ซึ่ งเป็ นภาษาบาลี แปลว่า สิ่ งที ่มนุษย์ พึงเซ่ นสรวงบูชาให้มีความเจริ ญ แต่มาใช้ใน ภาษาไทยเราเปลี ่ยนเขี ยนเป็ น ยันต์ ไป หมายถึงรอยเส้นที ่ขีดขวางไปมาสาหรับลงคาถา นอกจากนี ้ ยังมี กล่าวไว้อีกว่า เส้นยันต์นนั้ เปรี ยบด้วยแต่ละอักขระคื อพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แสดงถึงทัศนคติ ที่คน โบราณมี ต่อยันต์ และอักขระว่าเป็ นสิ่ งศักดิ์ สิทธิ์ ไม่ สามารถลบหลู่เหยี ยบย่ าได้” (เทพย์ สาริ กบุตร, ๒๕๐๑, น. ๑ อ้างถึงใน ณัฐธัญ มณี รัตน์ , ๒๕๕๙, น. ๑๒.) ดังนัน้ จากความหมายข้ างต้ นอาจกล่าวได้ ว่า “ยันต์” หมายถึง ลายเส้ น ตัวเลข อักขระ รูปภาพ แผนภาพ หรื อแผนผัง ที่เขียน สัก หรื อแกะสลักลงบนแผ่นผ้ า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็ นต้ น อาจมี การลงคาถากากับ ถื อว่าเป็ นของขลังเป็ นเครื่ องรางอันศักดิ์สิทธิ์ ที่พึงบูชาให้ เกิดความสุขความเจริ ญ และมีความหมายแตกต่างกัน ไปตามคติความเชื่อของแต่ละกลุ่มคน (สิโรตม์ ภินนั ท์รัชต์ธร, ๒๕๖๐, น. ๘.)
๓
อักขระ อักขระ คือ ตัวหนังสือ (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖, น. ๑๓๘๘.) สาหรับอักขระในยันต์ นันถื ้ อเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญของยันต์ ต่าง ๆ ทังในส่ ้ วนของอักขระขอมไทยที่จะปรากฏในยันต์ของ คนในสังคมลุ่มแม่น ้าภาคกลางและในสังคมไทยปั จจุบนั หรื ออักขระธรรมล้ านนาที่จะปรากฏในยันต์ ล้ านนามาแต่โบราณ หรื ออักขระธรรมอีสานที่จะปรากฏให้ เห็นในยันต์ของคนในสัง คมภาคอี ส าน โดยอักขระที่นามาผู้โยงกันเป็ นรูปรอยยันต์ตา่ ง ๆ นันล้ ้ วนเป็ นการสื่อถึงภาษาบาลีที่ ปรากฏทังในทาง ้ พุทธศาสนา รวมทังที ้ ่ปรากฏในคัมภีร์และวรรณกรรมต่าง ๆ เลขยันต์ เลขยันต์ คือ ตัวเลขที่ประกอบในยันต์ตา่ ง ๆ (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖, น. ๑๐๗๖.) ที่ ถูกเขียน สัก หรื อแกะลงไปบนแผ่นผ้ า ผิวหนัง ไม้ โลหะ ฯลฯ ซึง่ ถือเป็ นของวัตถุมงคลของขลัง โดยยันต์ ที่ปรากฏตัวเลขยันต์อย่างเด่นชัดในยันต์นนั ้ ๆ เช่น ยันต์ตรี นิสิงเห ยันต์พระเจ้ า ๕ พระองค์ เป็ นต้ น (ณัฐธัญ มณีรัตน์, ๒๕๕๙, น. ๑๑.) ลายสัก ลายสัก คือ ลวดลายทางทัศนศิลป์ ประเภทหนึ่งที่ประกอบขึ ้นจากเส้ นเป็ นองค์ประกอบ สาคัญ ซึ่งลวดลายทางทัศนศิล ป์ ดัง กล่าวอาจมี อักขระ เลขยันต์ และลวดลายทางทัศนศิลป์ อื่ น ๆ เป็ นองค์ประกอบของลวดลายนัน้ ๆ ซึ่งลวดลายดังกล่าวจะถูกสักลงไปบนร่างกายด้ วยวิธีการนาเอา เหล็ ก แหลมจุ่ ม หมึ ก หรื อ น า้ มัน มาทิ่ ม แทงลงไปบนผิ ว หนัง จนเกิ ด เป็ นลายสัก ลวดลายต่ า ง ๆ (ราชบัณ ฑิตยสถาน, ๒๕๕๖, น. ๑๐๕๔ และ ๑๑๙๗.) เช่น ลายสัก หนุม าน ลายสักพระพิฆ เนศ ลายสักท้ าวเวสสุวณ ั ลายสักฤๅษีบรมครู ลายสักเสือ ลายสักนก ฯลฯ การสักยันต์ การสักยันต์หรื อการนาเอาเหล็กแหลมจุ่มหมึกหรื อน ้ามันมาทิ่มแทงลงไปบนผิวหนังให้ เกิดเป็ นลวดลายหรื ออักขระ (ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๖, น. ๙๔๕ และ ๑๑๙๗.) ถือเป็ นการดาเนิน วิถีชีวิตของผู้คนในสังคมไทยทุกภูมิภาคตังแต่ ้ อดีตจนถึงปัจจุบนั ตามความเชื่อและเป็ นการสร้ างสรรค์ ผลงานศิลปะลงบนเรื อนร่างของมนุษย์ภายใต้ ความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ผนวก กับความเชื่อทางไสยศาสตร์ มีเป้าหมายหลักของการสักยันต์เพื่อเสริ ม สร้ างสิริมงคลเป็ น ขวัญและ
๔
กาลังใจในการดาเนินวิถีชี วิต การสักยันต์จะกระทาโดยพระหรื ออาจารย์ที่มี คาถาอาคม รวมทัง้ มี ความรู้ด้านอักขระวิธีทงบาลี ั ้ และขอม (นฤพนธ์ ด้ วงวิเศษ, ๒๕๖๐.) นามาผูกโยงกันเป็ นรูปรอยต่าง ๆ แล้ วสักลงไปบนส่วนต่าง ๆ ของร่ างกาย โดยเชื่ อ ว่ายันต์หรื อลายสักแต่ละลายจะให้ คุณและการ คุ้มครองกับผู้ที่ได้ รับการสักในลักษณะที่แตกต่างกันออกไป เช่น ยันต์มงกุฎเชื่อว่าจะมีคณ ุ ด้ านเมตตา มหานิยม ยันต์อริ ยสัจจ์เชื่อว่าจะมีคณ ุ ด้ านอยู่ยงคงกระพัน ยันต์เต่าทองเชื่อว่าจะมีคณ ุ ด้ านลาภและ มหามิตร เป็ นต้ น(อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป., น. ๓๘, ๑๘๐ และ ๑๙๐.) ๒. ความเป็ นมาของการสักในสังคมไทย การสักยันต์ถือศาสตร์ และศิลป์ ที่มีการสืบทอดกันมาเป็ นระยะเวลายาวนานของสังคม ต่าง ๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิ ทังพม่ ้ า มอญ ลาว ขอมหรื อเขมร และชนชาติไท ซึง่ ล้ วนมีความเชื่อความ ศรัทธาทางศาสนาและคติชาติพนั ธุ์ที่หลากหลาย ค่านิยมการสักยันต์ดงั กล่าวคงเป็ นไปทังเพื ้ ่อความ สวยงามและเพื่อหวังผลอิทธิฤทธิ์นานาประการ เช่น เมตตามหานิยม อยูย่ งคงกระพัน เป็ นต้ น ส่งผลให้ ยันต์มีรูปแบบและอักขระแตกต่างกันไป รวมถึงมีพิธีกรรมที่เกี่ยวข้ องกับการสักยันต์แตกต่างกันออกไป ตามจารี ต ความเชื่อ และความศรัทธาของคนในสังคมนัน้ ๆ สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงอธิบายถึงความเป็ นมาของ การสักยันต์ ภ ายหลัง จากการเข้ าร่ วมส ารวจขุ ม ทรั พ ย์ ก่อนประวัติศาสตร์ ในดินแดนแถบนี ร้ ่ วมกับ ศาสตราจารย์คาเลนเฟล์ นักปราชญ์ชาวฮอลันดา ผู้เชี่ยวชาญในการสารวจ ไว้ วา่ “... มนุษย์ ก่อนประวัติศาสตร์ หรื อแม้มนุษย์ ที่ยงั เป็ นป่ าเถื ่อนใน ปัจจุบนั นี ้ ชอบเอาอะไรทาตัวเป็ นเครื ่องป้องกันอันตรายทัว่ ทุกแห่ง ในที ่ที่มี ดิ นแดงพวกมนุษย์ ก่อนประวัติศาสตร์ ชอบเอาดิ นแดงทาตัว ...ที ่มนุษย์ ชอบ เอาดิ นแดงทาตัวเมื ่อดึกดาบรรพ์นนั้ ด้วยเห็นว่าโลหิ ตเป็ นกาลังของมนุษย์ ถ้าโลหิ ตตกก็อ่อนกาลัง ถ้าโลหิ ตตกไม่หยุดก็เลยตาย...จึ งเชื ่อว่าสี แดงอาจ ท าให้ เ กิ ด ก าลัง ก็ เ อาดิ น แดงทาตัว เหมื อ นอย่ า งทายาบ ารุ ง ก าลัง ... ” (กรมพระยาด ารงราชานุ ภ าพ, สมเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ, ๒๔๘๑, น. ๓๑-๓๒.)
๕
จากความเชื่อและความศรัทธาทางศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนา ประกอบกับความ เชื่อทางไสยศาสตร์ ก่อได้ เกิดเป็ นการสักยันต์ที่มีความขลังและมีอานุภาพศักดิ์สิทธิ์ ทังในทางเมตตา ้ มหานิยมและในทางอยู่ยงคงกระพัน (สุขกมล สันติพร, ๒๕๕๑, น. ๑๓๙-๑๔๐.) ส่งผลให้ คนในสังคม นิยมการสักยันต์กนั อย่างแพร่หลาย ดังปรากฏว่าในแผ่นดินกรุงศรี อยุธยาพระมหากษัตริ ย์ เจ้ านายชัน้ ผู้ใหญ่ เสนาบดี นายทหาร เรื่ อยลงมาถึงชาวบ้ านต่างนิยมการสักยันต์เพื่อให้ อยูย่ งคงกระพันชาตรี และ มีเมตตามหานิยมกันทัว่ ไป ตัวอย่างเช่น ในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เหล่าเสนาบดีและ แม้ แต่องค์พระมหากษัตริ ย์เองต่างก็สกั ยันต์กนั ทังนั ้ น้ ดังปรากฏในบันทึกจดหมายเหตุของ ลา ลูแบร์ ความตอนหนึง่ ว่า “พวกผู้หญิ ง ชาวสยามไม่ ใ ช้ ช าดทาปากทาแก้ ม หรื อแต้ม ไฝเลย แต่ข้าพเจ้าเคยเห็นขุนนางผู้ใหญ่คนหนึ่งที ่ขามี สีน้ าเงิ นหม่น ๆ เหมื อนสี ดิน ปื นเมื ่อเราถูกยิ งด้วยอาวุธปื นไฟ (arme à feu) คนที ่ชี้ให้ดูบอกแก่ข้าพเจ้า ว่าเป็ นเครื ่ องกาหนดความยิ่ งศักดิ์ ให้แก่ขุนนางผู้ใหญ่เท่านัน้ จะมี สีน้ าเงิ น มากหรื อน้ อ ยก็ สุ ด แท้ แ ต่ บ รรดาศั ก ดิ์ สู ง ต่ าของขุ น นางผู้ นั้ น และ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั นัน้ ทรงสักสี น้ าเงิ นตัง้ แต่ฝ่าพระบาทขึ้ นไปถึงพระนาภี ที เดี ยว อี กคนหนึ่ ง ยื นยั น แก่ ข้ า พเจ้ า ว่ า หาใช่ เ ป็ นเครื ่ องก าหน ด ยศถาบรรดาศักดิ์ ไม่ แต่ทาไปเพราะเชื ่อโชคลางของขลังให้อยู่ยงคงกระพัน เท่านัน้ ยังอี กคนหนึ่ งก็ พูดจนชักให้ข้าพเจ้าสงสัยว่ า พระเจ้ากรุ งสยามจะ ทรงสักสี น้ าเงิ นจริ งหรื อไฉน ความจริ งเป็ นอย่างไร ข้าพเจ้ามิ ได้ทราบเลย” (มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ , ๒๕๔๘, น. ๙๗.) ในสมัย รั ต นโกสิ น ทร์ การสัก ยัน ต์ ยัง คงเป็ นที่ นิ ย มกั น อย่ า งแพร่ ห ลายทัง้ ในระดับ เจ้ านายชันผู ้ ้ ใหญ่ นายทหาร เรื่ อยลงมาถึงชาวบ้ าน ดังที่ท่านหญิงเริ งจิตรแจรง อาภากร พระธิดาใน พระเจ้ าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ได้ ทรงบันทึกไว้ วา่ “...เสด็จพ่อทรงเชื ่อถื อทางไสยศาสตร์ มี พระอาจารย์ ที่สาคัญและ สนิ ทชิ ดเชื ้อมาก คื อหลวงปู่ ศุข หลวงพ่อพริ้ ง หลวงพ่อเขี ยววัดเครื อวัลย์ ... ทรงสักยันต์ ทงั้ องค์ ตงั้ แต่หนุ่ม ๆ เช่น สักรู ปหนุมาน สักเป็ นลิ งลมที ่พระชงค์ สักมังกรพันแขน สักยันต์ ที่นิ้วใช้ชกต่อยหนัก สักลิ งลมที ่พระชงค์ สาหรับ เดิ น ไว ทรงด าเนิ น ตัว ปลิ ว ใครตามแทบไม่ ทัน ที ่ พ ระอุ ร ะสัก ตั ว เลข
๖
ร.ศ. ๑๑๒ เพราะรับสัง่ ว่าเจ็ บใจต้องจาปี ให้ดี ฝรั่งเข้ามาเอาเมื องเราเมื ่ อ ร.ศ. ๑๑๒ ต้องจาเลขสักไว้ มี ลูกศิ ษย์ ท่านที ่เป็ นทหารเรื อที ่ใกล้ชิดสักตาม หลายคน...” (เริ งจิ ตรแจรง อาภากร, ๒๕๓๗, น. ๒๒๘.) ครัน้ ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชมาสูร่ ะบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุขนัน้ การสักยันต์กลับถูกลดความนิยมลงหรื อเป็ น เรื่ อ งต้ อ งห้ า มส าหรั บ ผู้ที่ ต้ อ งการเข้ า รั บ ราชการ โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง การเข้ า รั บ ราชการต ารวจที่ คณะกรรมการข้ าราชการตารวจได้ การกาหนดหลักเกณฑ์ไว้ อย่างชัดเจนในข้ อ ๒ ของ กฎ ก.ตร. ว่า ด้ วยคุณสมบัตแิ ละลักษณะต้ องห้ ามของการเป็ นข้ าราชการตารวจ พุทธศักราช ๒๕๔๗ ว่า “ข้อ ๒ การบรรจุบคุ คลเข้ารับราชการเป็ นข้าราชการตารวจ ผู้ที่จะ ได้รับการบรรจุนอกจากต้องมี คุณสมบัติและไม่ มีลักษณะต้องห้าม ตาม มาตรา ๔๘ (๑) ถึง (๕) แล้ว จะต้องมี คณ ุ สมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม อืน่ ตามมาตรา ๔๘ (๖) ดังต่อไปนี ้ ... (๑๓) ไม่เป็ นผู้มีแผลเป็ น ไฝ ปาน รอยสัก หูด หรื อซี สต์ ที ่ส่วน ต่ า ง ๆ ของร่ า งกาย ซึ่ ง มี ข นาดใหญ่ ห รื อมากจนแลดู น่ า เกลี ย ด...” (กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็ นข้าราชการ ตารวจ พุทธศักราช ๒๕๔๗) อย่างไรก็ ตาม การสักยันต์ บนร่ างกายในสัง คมไทยยัง คงมี ปรากฏให้ เห็นอยู่ในระดับ ข้ าราชการชันผู ้ ้ ใหญ่ ดังเห็นได้ จากการที่พลตารวจตรี ขุนพันธรักษ์ราชเดช อดีตผู้บงั คับการตารวจภูธร ภาค ๘ ผู้มีชื่อเสียงด้ านการปราบโจรผู้ร้ายทัว่ ภาคใต้ และภาคกลางที่มีการสักยันต์ราหูอมจันทร์ ยันต์ หนุมาน และพญาพาลี (ราช รามัญ, ๒๕๔๖, น. ๑๗.) จวบจนกระทัง่ ในปั จจุบนั การสักยันต์ยงั คงได้ รับความนิยมจากประชาชนจานวนมากทุก เพศ ทุกวัยมีความเชื่อและความศรัทธาต่อความขลังและอานุภาพที่ศกั ดิส์ ิทธิ์ในด้ านต่าง ๆ ของการสัก ยันต์ ด้ วยเหตุนี ้การสักยันต์จงึ กลายเป็ นศาสตร์ และศิลป์ ที่มีความผูกพันกับคนในสังคมไทยตลอดมา
๗
๓. การสัก: เครื่องมือของรั ฐในการควบคุมคนในสังคมไทย การสักนอกจากจะสักลงบนส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายจะเป็ นการแสดงออกถึงความเชื่ อ และความศรัทธาหรื อเป็ นการแสดงออกถึงความสวยงามและความเป็ นชายชาตรี แล้ ว ในอดีตการสัก ลงบนร่ างกายของคนในสังคมลุ่มแม่น ้าเจ้ าพระยายังถูกใช้ เป็ นเครื่ องมื อสาคัญของรัฐในการควบคุม คนในสัง คมสมบูรณาญาสิทธิ ราชย์ ที่พระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข ตัง้ แต่สมัยอยุธ ยามาจนต้ น รัตนโกสินทร์ ภายใต้ กฎระเบียบและโครงสร้ างทางสังคมที่เคร่งครัด การสักได้ ถกู ใช้ เป็ นเครื่ องมือสาคัญ ในการควบคุมไพร่ ซึ่งเป็ นผู้ชายฉกรรจ์ที่มีอายุระหว่าง ๑๘ – ๖๐ ปี ให้ เข้ ามารับราชการในกรมกอง ต่าง ๆ โดยมูลนาย1ในพระนครจะต้ องนาไพร่ที่อยู่ในสังกัดของตนเข้ าไปรับการสักเลกที่หอพระสุรัสวดี ส่วนมูลนายในหัวเมืองจะต้ องนาไพร่ ไปสักกับกองข้ าหลวงพิเศษและกรมขุนนางที่รับผิดชอบ ซึ่งไพร่ ทุกคนจะได้ รับการสักชื่อเมืองและชื่อมูลนายที่ สงั กัดไว้ ที่ข้อมือ (ปิ ยะฉัตร ปี ตะวรรณ, ๒๕๒๖, น. ๒๔๒๘.) เพื่อเป็ นหลักฐานบ่งชี ้ข้ อมูลของไพร่คนนัน้ ยิ่งไปกว่านันในสมั ้ ยอยุธยาและต้ นรัตนโกสินทร์ การสักยังถูกใช้ เป็ นเครื่ องมือสาคัญของ รั ฐ ในการลงโทษด้ ว ยการประจานให้ ผ้ ูก ระท าความผิ ด ดัง กล่ า วเกิ ด ความอับ อายหรื อ เพื่ อ เป็ น เครื่ องหมายแสดงให้ ร้ ู ว่าผู้นนเป็ ั ้ นนักโทษ โดยการสักลงโทษนันจะท ้ าการสักที่บริ เวณหน้ าผาก แก้ ม หรื อสักตัวผู้กระทาความผิด ควบคูไ่ ปกับการจองจาด้ วยเครื่ องพันธนาการและการตีฆ้องประกาศความ ชัว่ และตระเวนไปรอบเมือง (มนตรี เงินสวัสดิ์, ๒๕๔๙, น. ๘๓.) ซึ่งการลงโทษด้ วยการสักประจาน รู ปแบบนี ้ปรากฏเป็ นลายลักอักษรให้ เห็นอย่างเด่นชัดในกฎหมายตราสามดวงที่ได้ มีการบัญญัติให้ ลงโทษผู้หญิงที่ลกั ลอบมีช้ กู บั ชายอื่นด้ วยการสักรูปชายชู้ไว้ ที่แก้ มข้ างหนึ่งและสักรูปหญิงไว้ ที่แก้ มอีก หน้ าหนึ่งเพื่อประจานให้ เกิดความอับอายแก่คนทั่วไป (สุทธิวาทนฤพุฒิ, หลวง, ๒๕๒๙, น. ๑๑๙.) 1
มูลนาย หมายถึง กลุ่มคนในชนชั้นผู้ปกครองของสังคมไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีจวบจนในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยจากการทบทวนวรรณกรรมเรื่อง “การปกครองและการบริหารของไทยสมัยโบราณ ของ ควอริ ช เวลส์ ” (เวลส์ , ๑๙๓๔/๒๕๒๗, บทที่ ๓ ชนชั้ น ในสั งคม.) นั้ น ท าให้ ผู้ วิ จั ย สามารถจ าแนกมู ลนายออกเป็น ๒ ประเภทสาคัญ คือ หนึ่ง มูลนายที่เป็นโดยชาติกาเนิด อันประกอบด้วย พระมหากษัตริย์ กรมพระราชวังบวนสถาน มงคลฝ่ายหน้า (วังหน้า) กรมพระราชวังบวนสถานภิมุขฝ่ายหลัง (วังหลัง) ลงมาถึง พระบรมวงศานุวงศ์ในทุกระดับ และ สอง มูลนายที่เป็นโดยการดารงอยู่ในยศถาบรรดาศักดิ์ อันประกอบด้วย ขุนนางของราชสานักทั้งขุนนางฝ่ายทหารและ ขุนนางฝ่ายพลเรือน ทั้งขุนนางระดับสูงที่ได้รับการแต่งตั้งโดยตรงจากพระมหากษัตริย์ให้มีศักดินา ๔๐๐-๑๐,๐๐๐ ไร่ หรือขุนนางระดับล่างที่ได้รับการแต่ งตั้งจากขุนนางชั้นสูงให้รับราชการและทาหน้าที่ในการเป็นผู้ช่วยมูลนายในระดับสูง ในการควบคุมไพร่ โดยมีศักดินาตั้งแต่ ๒๕-๔๐๐ ไร่ (เวลส์, ๑๙๓๔/๒๕๒๗, น. ๑๙-๓๖.)
๘
หรื อแม้ กระทัง่ ถูกใช้ เป็ นเครื่ องมือในการลงโทษโจรผู้ร้ายที่ลกั ทรัพย์ของผู้อื่นด้ วยการสักประจานของที่ ลักขโมยดังกล่าวไว้ ที่หน้ าอกของโจรผู้ร้ายนัน้ ดังปรากฏอย่างชัดเจนในพระไอยการลักขณโจร มาตรา ๙๙ ที่ระบุไว้ อย่างชัดเจนว่า “มาตราหนึ่ง ผูร้ ้ายลักเรื อท่านเจ้าของจับได้พิจารณาเป็ นสัจให้ทวน โทษโดยขนาฏให้ เ อาค่ า เรื อตั้ง ไหมทวี คู ณ ให้ ศัก สิ่ ง อัน ลัก ไว้ น ะอก…” (ราชบัณฑิ ตยสถาน, ๒๕๕๐, น. ๗๒๗.) (โปรดดูภาพที ่ ๑ ประกอบ) ภาพที่ ๑ กฎหมายตราสามดวง: พระไอยการลักขณโจร มาตรา ๙๙
ที่มาภาพ: ราชบัณฑิตยสถาน, กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, น. ๖๗๙. แม้ กระทัง่ การลงโทษต่อผู้ร่วมก่อกบฏจีนตัวเหี ้ ่ยเมืองฉะเชิงเทราที่รัฐสยามได้ มีการใช้ การ สักประจานเข้ ามาเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการลงโทษผู้ร่วมก่อกบฏปลายแถวแทนการประหารชีวิต ดัง่ ที่ ปรากฏในพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ของเจ้ าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิ บดี ความตอนหนึง่ ว่า “...เจ้าพระยาบดิ นทรเดชา เจ้าพระยาคลัง เสร็ จราชการแล้วก็พา กันมาเฝ้าถึงกรุงเทพมหานคร เมื ่อวัน เดื อน ๖ ขึ้ น ๓ ค่ า ตัง้ กองชาระเอา แต่ที่ตวั นายไปประหารชี วิตเสี ย นอกนัน้ เป็ นแต่คนปลายเหตุเข้าน้าสบถ ก็
๙
ให้ ส ั ก แก้ ม เป็ นอั ก ษรจี นอั ก ษรไทยว่ า “พวกตั้ ว เหี ่ ย ปล่ อ ยไป... ” (ทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี, เจ้าพระยา, ๒๕๓๘, น.๑๒๘-๑๒๙.) อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนั การสักเลกและการสักหน้ าซึ่งถือเป็ นเครื่ องมือที่สาคัญของรัฐ ไทยในการควบคุมคนในสังคมไทยหรื อเป็ นเครื่ องในการลงโทษผู้กระทาความผิดนันได้ ้ ถูกยกเลิกไป แล้ วตังแต่ ้ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้ าเจ้ าอยู่หวั และรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้ า เจ้ าอยูห่ วั ตามลาดับ (สุลักษณ์ ศรีบุรี และทวีวงศ์ ศรีบุรี, ๒๕๓๐, น. ๑๘-๑๙. ) ๔. ความเป็ นมาของยันต์ ในสังคมไทย ยันต์หรื อรอยเส้ นที่นามาผู้โยงกันเป็ นรู ปรอยต่าง ๆ ประกอบเข้ ากับตัวเลข อักขระ หรื อ รูปภาพที่ถกู เขียน สัก หรื อแกะลงไปบนผิวหนังหรื อวัตถุตา่ ง ๆ นันถื ้ อเป็ นถือศาสตร์ และศิลป์ ที่มีการสืบ ทอดกันมาเป็ นระยะเวลายาวนานของสังคมต่าง ๆ ในดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งล้ วนมีความเชื่อและความ ศรัทธาทางศาสนาพราหมณ์และศาสนาพุทธ ผนวกกับความเชื่อทางไสยศาสตร์ ที่แตกต่างกันออกไป โดยเชื่อว่ายันต์ในรูปแบบต่าง ๆ จะให้ คณ ุ ทางเมตตามหานิยมและอยูย่ งคงกระพันกับผู้บชู ายันต์นนั ้ โดยยันต์ในสัง คมไทยและชุม ชนต่าง ๆ ในดินแดนเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ ต่างได้ รับ อิทธิพลมาจากมีการติดต่อค้ าขายและรับอิทธิพลวัฒนธรรมด้ านต่าง ๆ จากอินเดียมาตังแต่ ้ ยคุ แรกเริ่ ม รับวัฒนธรรม โดยเฉพาะได้ รับอิทธิพลด้ านศาสนาทังศาสนาพุ ้ ทธที่มีทงฝ่ ั ้ ายหินยานและฝ่ ายมหายาน รวมถึงศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู จนส่งผลให้ ความเชื่อต่าง ๆ เนื่องในศาสนาเหล่านันแผ่ ้ อิทธิพลและ ฝังรากลึกอยูใ่ นจิตใจของคนในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาตังแต่ ้ อดีต ในประเทศไทยก็เช่นเดียวกัน ที่พบว่ามีคติความเชื่ อเนื่องในศาสนาพุทธทังฝ่ ้ ายหินยานและฝ่ ายมหายาน รวมถึงศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ผสมผสานกันอยูใ่ นจิตใจของผู้คนทุกชนชันและทุ ้ กยุคทุกสมัยมาตังแต่ ้ อดีตจนถึงปัจจุบนั ซึ่งความเชื่อเรื่ องยันต์และการสักยันต์ นับเป็ นความเชื่อหนึ่งที่ยงั คงฝั งรากลึกอยู่ในผู้คน และสัง คมไทยมาอย่ า งช้ า นานจวบจนถึ ง ปั จ จุบัน ความเชื่ อ นี เ้ กี่ ย วข้ อ งกับ อัก ขระ เลข รู ป รอย สัญลักษณ์ รวมถึงเวทมนต์คาถาอาคมต่าง ๆ ซึง่ ยึดโยงอยูก่ บั ความเชื่อเนื่องในศาสนาพุทธและศาสนา พราหมณ์ – ฮินดูตามแต่ทศั นะคติของโบราณจารย์ที่คดิ สร้ างยันต์นนั ้ ๆ ขึ ้นมา อย่างไรก็ดี แม้ ในปัจจุบนั ยังไม่สามารถสรุปได้ ชดั เจนว่ายันต์และการสักยันต์จะเกิดขึ ้นใน สมัยใด แต่หากพิจารณาหลักฐานต่าง ๆ ที่หลงเหลืออยู่ในประเทศไทยนัน้ อาจจะพอสันนิษฐานได้ ว่า ความเชื่อเรื่ องยันต์และการสักยันต์มีร่องรอยมาแล้ วตังแต่ ้ อดีต หลักฐานที่สาคัญได้ แก่
๑๐
การใช้ อกั ษรขอมไทย ยันต์ที่ มีมาตังแต่ ้ โบราณจนถึงปั จจุบนั นิยมใช้ อกั ษรขอมไทย ซึ่ง เป็ นอักษรที่นกั ภาษาศาสตร์ สนั นิษฐานว่าเกิดขึ ้นและนิยมในสมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ ๑๘ – ๒๐) และนิยมใช้ ต่อเนื่ องมาในสมัยหลัง โดยเฉพาะในการจารึ กภาษาบาลี ที่เกี่ ยวเนื่ องกับพุทธศาสนา อย่างไรก็ตาม การใช้ อกั ษรดัง กล่าวยังไม่อาจนามาใช้ เป็ นข้ อสนับสนุนที่ชดั เจนได้ ว่าระบบยันต์เกิดขึ ้น ในสมัยสุโขทัย จึงเป็ นเพียงร่องรอยที่มีความเกี่ยวข้ องกับสมัยสุโขทัยเท่านัน้ เนื่องจากอาจเป็ นการใช้ อักษรนี ้ในสมัยหลังก็เป็ นได้ “จารึกลานเงินอักษรขอม” พบที่พระเจดีย์วดั บรมธาตุกาแพงเพชร สมเด็ จพระเจ้ าบรม วงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภ าพ ทรงบันทึกจากคาบอกเล่าของนายชิด มหาดเล็กเวร ถึงการ ค้ นพบจารึกและเนื ้อหาในจารึ กนันว่ ้ ากล่าวถึงตานานการสร้ างพระพิมพ์และลักษณะการสักการบูชา โดยในตอนท้ ายของจารึ กนันได้ ้ กล่าวถึงยันต์โบราณหนึ่งที่มีความศักดิ์สิทธิ์ ที่ผ้ ใู ดจะสระหัวให้ เขี ยน ยันต์นี ้ใส่ไส้ เทียนจะสามารถป้องกันอันตรายทังปวงให้ ้ สิ ้นไปได้ (สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระ ยาดารงราชานุภาพ ๒๕๓๕, ๗๖ – ๗๙) ซึ่งณัฐธัญ มณีรัตน์ ผู้ศึกษาด้ านเลขยันต์ได้ อธิบายถึงยันต์ ดังกล่าวว่าเป็ น “ตัวเฑาะว์ ” ซึ่งเป็ นอักขระโบราณ มีลกั ษณะคล้ ายตัว “ธ” ในสมัยสุโขทัย ซึ่งหมายถึง ธฺรม หรื อ ธรรม คือ ความทรงไว้ ซึ่งได้ แก่สภาวธรรมทังปวง ้ โดยเชื่อว่ายันต์นี ้มีอานุภาพทางอยู่ยงคง กระพันและเป็ นที่นิยมมาแต่โบราณ จนถือได้ ว่าเป็ นอักขระยันต์ที่มีความเก่าแก่ที่สดุ แบบหนึ่งของไทย (ณัฐธัญ มณีรัตน์ ๒๕๕๓, ๔๓) อย่างไรก็ดี ยังไม่อาจทราบแน่ชดั ได้ ว่าจารึกดังกล่าวนันมาอายุ ้ อยู่ใน สมัยใดแน่ ซึ่งหากพบว่าอยู่ในสมัยเมืองกาแพงเพชร (ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๙ – ๒๐) อันร่วมสมัยกับ สมัยสุโขทัยนันก็ ้ จะเป็ นร่องรอยที่เก่าแก่ประการหนึง่ เกี่ยวกับยันต์ จารึกแผ่นทองคา คาถาหัวใจพระสูตร เป็ นอักษรขอมไทย ภาษาบาลีอายุประมาณ พุทธ ศตวรรษที่ ๒๐ พบที่สุโขทัย มีข้อความว่า “... ที(ม) ส อ (ขุ) จ (ภ) ก ส พุทฺธสมิ อุทฺธ อโธมออุ ” ซึ่ง อาจารย์ฉ่า ทองคาวรรณ ได้ อธิบายว่า คาถา ที(ม) ส อ (ขุ) คือหัวใจพระสูตร, คาถา จ ภ ก ส คือหัวใจ คาถากาสลัก, คาถา พุทฺธสมิ คือหัวใจไตรสรณคมน์ , คาถา อุทฺธ อโธ คือกรณียเมตตาสูตร, คาถา มอ อุ คือ โอม ถือเป็ นคาประนบแทนพระเจ้ าทังสามในศาสนาพราหมณ์ ้ (หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร ๒๕๒๙, ๑๙๗) จารึกดังกล่าวณัฐธัญ มณีรัตน์ ผู้ศกึ ษาด้ านเลขยันต์วิเคราะห์ว่าเป็ นการใช้ อกั ขระย่อซึ่ง เป็ นพัฒนาการของระบบยันต์เบื ้องต้ น (ณัฐธัญ มณีรัตน์ ๒๕๕๓, ๔๔)
๑๑
ภาพที่ ๒ ยันต์ ท่ พ ี บในจารึกลานเงินอักษรขอม พระเจดีย์วัดบรมธาตุกาแพงเพชร
ที่มาภาพ: ณัฐธัญ มณีรัตน์, เลขยันต์ : แผนผังอันศักดิ์สิทธิ์, น. ๔๓. นอกจากหลักฐานจารึ กลานเงินอักษรขอมที่พ บที่พ ระเจดีย์วัดบรมธาตุกาแพงเพชร ซึ่งบ่งชี ้ถึงความเป็ นมาของยันต์ที่เก่าแก่แล้ วนัน้ ยังพบหลักฐานสาคัญที่บง่ ชี ้ถึงความเก่าแก่ของยันต์ ซึ่งสามารถย้ อนไปถึงในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑ เช่น จารึ กรอยพระพุ ทธบาทวั ดชมภู เ วก จังหวัดนนทบุรี ซึ่งเป็ นจารึกในสมัยสุโขทัยที่เขียนด้ วยตัวอักษรขอม ซึ่งลักษณะของรูปล้ อทรงกลมใน รอยพระพุท ธบาทนัน้ มี ลัก ษณะคล้ า ยคลึง กับ ยัน ต์ อิ ติปิ โ สแปดทิ ศ จารึ ก จากฐานพระพุ ท ธรู ป วั ด คู ย าง จั ง หวั ด ก าแพงเพชร ที่ มี จ ารึ ก ถึ ง คาถาพระพุ ท ธเจ้ าแกว่ ง จั ก รซึ่ ง ถู ก น าไปผู ก เป็ น ยันต์ปถมังสี่ด้าน จารึ ก วั ด ตระพังนาค จังหวัดสุโขทัย (มีอายุรายพุทธศตวรรษที่ ๒๑) เขียนด้ วย ตัวอักษรขอมสุโขทัย มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกับรูปแบบยันต์อย่างหนึง่ ที่เรี ยกว่ายันต์โสฬสมหามงคล และ จารึ ก โสฬสมหามงคล วัด หน้ า พระเมรุ จัง หวัด พระนครศรี อ ยุธ ยา (ณัฐ ธัญ มณี รั ต น์ , ๒๕๕๙, น. ๔๓-๔๘.) เป็ น ต้ น เหล่ า นี ล้ ้ ว นเป็ น หลัก ฐานบ่ง ชี ถ้ ึ ง ความเป็ น มาของยัน ต์ ที่ มี ม าแต่ โ บราณ ในประเทศไทย สาหรับในส่วนของร่องรอยระบบยันต์ในวรรณกรรม ณัฐธัญ มณีรัตน์ ศึกษาด้ านเลขยันต์ วิเคราะห์วา่ มีการกล่าวถึงเวทมนต์คาถาอาคมอยูใ่ นวรรณกรรมเก่าหลายชิ ้น ตัวอย่างที่สาคัญคือ ลิลิต พระลอ (วรรณกรรมสมัยอยุธยาตอนต้ น ราวพ.ศ. ๑๙๙๑ – ๒๐๒๖) มีเนื ้อหาเกี่ยวข้ องกับการทาเสน่ห์
๑๒
ด้ ว ยเวทมนต์ ค าถาและยัน ต์ โดยสัน นิ ษ ฐานว่ า เป็ น ยัน ต์ พ ญาเขาค า, บทเสภาขุน ช้ า งขุ น แผน (วรรณกรรมที่น่าจะตกทอดมาตังแต่ ้ สมัยอยุธยา) มีเนื ้อหากล่าวถึงพิธีกรรมทางไสยศาสตร์ หลายตอน ที่เกี่ยวข้ องกับเวทมนต์คาถา เช่น พิธีทากุมารทอง พิธีฝังรูปฝั งรอยทาเสน่ห์ การรบด้ วยเวทมนต์คาถา รวมถึงคัมภีร์และวิชาคาถาอาคมต่าง ๆ (ดูรายละเอียดใน ณัฐธัญ มณีรัตน์ ๒๕๕๓, ๔๔ – ๔๘) ทังนี ้ ้ หากพิจารณาถึงยันต์ประเภทต่าง ๆ ที่ได้ กล่าวไว้ ข้างต้ น ซึ่งถือเป็ นยันต์สาคัญที่มี มาแต่โบราณกาล และเป็ นที่นิยมของผู้ใช้ ยนั ต์กลุม่ ต่าง ๆ ในสังคมไทยตังแต่ ้ ในส่วนของกลุ่มคนชันสู ้ ง ทางสังคมที่จะใช้ ยนั ต์ที่มีความสลับซับซ้ อน ประกอบขึ ้นจากอักขระและกลการเดินที่มีแบบแผนเฉพาะ ลงมาถึงกลุม่ ชาวบ้ านที่จะใช้ ยนั ต์ที่ไม่มีความสลับซับซ้ อนมากนัก ล้ วนเป็ นยันต์ที่เกิดจากกระบวนการ ทายันต์ในสองลักษณะคือ การฝึ กจิตตามแนวทางของพระพุทธศาสนาของกลุ่มพระภิกษุและกลุ่มแม่ ทัพนายกองที่ให้ ความสาคัญกับการฝึ กจิตเป็ นสาคัญ และการขออานาจจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรื อการใช้ แรงครูที่ให้ ความสาคัญกับพิธีกรรมและการเซ่นสรวงบูชาครูที่เป็ นฤๅษี เทวดา หรื อครูอาจารย์ที่ร่ าเรี ยน สืบทอดกันมา โดยมีความเชื่อว่าแรงครูจะทาให้ ทกุ อย่างสาเร็จได้ ๕. อักขระที่นิยมใช้ ในการเขียนยันต์ และสักยันต์ อักษรและอักขระในยันต์ถือเป็ นหัวใจสาคัญของยันต์อนั แสดงถึงความหมายของยันต์นนั ้ อักษรที่ ปรากฏในยันต์โดยทั่วไป ได้ แก่ อักษรขอมไทย และอักษรธรรมล้ านนา ซึ่ง เป็ นอักษรและ อักขรวิธีที่เหมาะสมกับการบันทึกภาษาบาลีอนั เป็ นภาษาที่ใช้ ในการเขียนยันต์ อักษรขอมไทย (กรรณิการ์ วิมลเกษม, ๒๕๕๒, น. ๑๕-๒๕.) อักษรขอมไทย เป็ นอักษรโบราณชนิดหนึ่งที่ใช้ ในการอาณาจักรสุโขทัยและอยุธยา ร่วม สมัยกับการใช้ อกั ษรธรรมล้ านนาในภาคเหนือ การเรี ยกชื่อนี ้เพราะว่าเป็ นตัวอักษรที่มีรูปแบบคล้ าย อักษรขอมโบราณ โดยมีการเพิ่มเติมตัวอักษรและอักขรวิธีให้ สามารถบันทึกได้ ครบถ้ วนตามระบบเสียง ภาษาไทย จากการศึกษาเปรี ยบเทียบรู ปแบบและอักขระวิธีของอักษรขอมไทยที่พบในจารึ กสมัย สุโขทัย กับอักษรโบราณ ๓ ชนิด ที่มีอายุก่อนอาณาจักรสุโขทัยในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ได้ แก่ อักษรขอมโบราณของอาณาจักรหริ ภุญชัย อักษรขอมโบราณของอาณาจักรขอมสมัยเมืองพระนคร อักษรกวิ (Kawi) ของอาณาจักรศรี วิชยั พบว่าอักษรขอมไทยมีรูปแบบและอักขรวิธีคล้ ายกับอักษรขอม
๑๓
โบราณมากที่สดุ โดยเฉพาะการมี “ศก” อยูบ่ นตัวอักษร อันเป็ นลักษณะเฉพาะของอักษรขอมโบราณที่ มีมาตังแต่ ้ พุทธศตวรรษที่ ๑๕ เป็ นต้ นมา ส่วนในทางอักขรวิธีนนั ้ ก็เป็ นการรับระบบของอักษรขอม โบราณมาเกือบทังระบบ ้ สาหรับอักษรขอมโบราณนันใช้ ้ ในอาณาจักรขอมสมัยเมืองพระนครในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๙ เป็ นอักษรที่ พัฒ นามาจากอัก ษรหลัง ปั ล ลวะที่ ใ ช้ ในอาณาจัก รเจิ นละ (พุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๕) อักษรหลังปั ลลวะกลุ่มนีพ้ ัฒนามาจากอักษรปั ลลวะที่ ใช้ ในอาณาจักรเจินละช่วงพุทธ ศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๒ โดยรับอักษรปัลลวะมาจากทางอินเดียใต้ อีกทีหนึง่ ในดิ น แดนประเทศไทยในปั จ จุ บัน นี ้ ได้ พ บจารึ ก อัก ษรขอมโบราณที่ มี อ ายุ ตัง้ แต่ พุ ท ธศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๘ เป็ นบริ เวณกว้ างทั ง้ ในบริ เวณภาคกลา ง ภาคตะวั น ออก และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะภาคกลางในบริ เวณที่ใกล้ เคียงกับดินแดนของอาณาจักรสุโขทัย อักษรขอมไทยนี ้ไม่พบใช้ ในอาณาจักรอื่น ๆ ที่ร่วมสมัยกับอาณาจักรสุโขทัย ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้ ว่า อักษรขอมไทยเป็ นอักษรที่คนไทยที่คนไทยสุโขทัยเป็ นผู้พฒ ั นาขึ ้นมาใช้ ตงแต่ ั ้ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๙ เป็ น ต้ นมา โดยพัฒนามาจากอักษรขอมโบราณ เพิ่มเติมตัวอักษรและปรับปรุงระบบอักขรวิธีให้ เหมาะสม กับการบันทึกภาษาไทย ซึง่ เป็ นภาษาคนละตระกูลกับภาษาเขมรและภาษาบาลีสนั สฤต จากหลักฐานดังกล่าวแสดงให้ เห็นอย่างชัดเจนว่าภาษาไทยสมัยสุโขทัยได้ ศึกษาเรี ยนรู้ อักษรขอมไทย จนสามารถนามาใช้ บนั ทึกเรื่ องราวต่าง ๆ ได้ ทงภาษาไทย ั้ ภาษาบาลี และภาษาเขมร ได้ มีการใช้ ตวั อักษรชนิดนี ้สืบต่อมาในสมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมาการใช้ อกั ษรขอม ไทยลดลงไปตามลาดับจนยุติลงในที่สดุ แต่โดยเหตุที่ตวั อักษรขอมไทยใช้ บนั ทึกพระธรรมคาสอนและ วรรณกรรมทางพุทธศาสนาเป็ นภาษาบาลีเป็ นส่วนใหญ่ คนไทยทัว่ ไปจึงนิยมยกย่องว่าเป็ นตัวอักษร ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ เขียนคาถาและยันต์ตา่ ง ๆ มาโดยตลอด ดังนันในปั ้ จจุบนั จึงพบเห็นการเขียนอักษรขอม ไทยในลักษณะนี ้เท่านัน้ อักษรธรรมล้ านนา (กรรณิการ์ วิมลเกษม, ๒๕๕๒, น. ๑๐๓ - ๑๑๐) อักษรธรรมล้ านนา เป็ นอักษรโบราณชนิดหนึง่ ที่นิยมใช้ ในอาณาจักรล้ านนา มีชื่อเรี ยกอีก หลายชื่อ ได้ แก่ อักษรธรรมเหนือ ตัวเมือง อักษรล้ านนาไทย และอักษรไทยยวน นักภาษาโบราณหลาย ท่านได้ สันนิษฐานตรงกันว่า อักษรธรรมล้ านนาพัฒนามาจากอักษรมอญโบราณที่ใช้ ในอาณาจักร
๑๔
หริภญ ุ ชัย เนื่องจากมีรูปแบบอักษรและอักขรวิธีที่คล้ ายคลึงกับอักษรมอญโบราณเป็ นอย่างมาก ทังรู้ ป พยัญชนะตัวเต็มและตัวเชิง รูปสระลอยและสระจม ส าหรั บ อัก ษรมอญโบราณนัน้ ใช้ ใ นอาณาจัก รหริ ภุ ญ ชัย ประมาณพุท ธศตวรรษที่ ๑๗ - ๑๘ พบหลัก ฐานจารึ ก ที่ เ มื อ งล าพูน เป็ น อัก ษรที่ พัฒ นามาจากอัก ษรหลัง ปั ล ลวะที่ ใ ช้ ใ น อาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๕) อักษรหลังปั ลลวะกลุ่มนี ้พัฒนามาจากอักษรปั ลลวะที่ ใช้ ในอาณาจักรทวารวดีช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๑ - ๑๒ โดยรับอักษรปั ลลวะมาจากทางอินเดียใต้ อีกที หนึง่ อัก ษรธรรมล้ า นนานี น้ ัก ภาษาโบราณส่ว นมากสัน นิ ษ ฐานว่า มี ก ารใช้ ม าตัง้ แต่ส มัย พญามังรายแห่งอาณาจักรล้ านนา (ราวพุทธศตวรรษที่ ๒๐) โดยคนล้ านนาใช้ บนั ทึกเรื่ องราวต่าง ๆ ในทางธรรม อาทิเช่น พระธรรมคาสัง่ สอนทางพุทธศาสนา วรรณกรรม และชาดกต่าง ๆ เป็ นต้ น รวมถึง ในทางโลก อาทิเช่น กฎหมาย ตานาน ตารา โหราศาสตร์ เป็ นต้ น โดยใช้ สืบเนื่องมาอย่างยาวนาน จนถึงปัจจุบนั อนึ่ง ในอาณาจักรล้ านนายังปรากฏอักษรอีกสองชนิดคือ อักษรฝั กขาม และอักษรไทย นิเทศ ซึ่งนิยมใช้ ในการบันทึกเรื่ องราวและกิจกรรมทางสั งคมต่าง ๆ ที่เป็ นภาษาไทย อักษรฝั กขามนัน้ ใช้ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐ - ๒๔ โดยพัฒนามาจากอักษรไทยสุโขทัย (นิยมใช้ ในอาณาจักรสุโขทัย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๐) อักษรฝักขามนี ้ต่อมาจึงพัฒนามาเป็ นอักษรไทยนิเทศ ๖. คัมภีร์แม่ แบบของระบบยันต์ ในอดีตหากกล่าวถึงการเรี ยนฝึ กหัดเขียนยันต์ประเภทต่าง ๆ ของคนในสังคมไทยนัน้ กล่าวกันว่าโบราณจารย์จะต้ องให้ ผ้ เู ริ่มเรี ยนฝึ กเขียนยันต์จากคัมภีร์แม่แบบที่สาคัญในวิชาไสยศาสตร์ ไทยที่มีมาแต่โบราณ ได้ แก่ คัมภีร์ปถมัง คัมภีร์อิธะเจ คัมภีร์พทุ ธคุณ คัมภีร์มหาราช และคัมภีร์ตรี นิสิง เห คัมภีร์ ๔ เล่มแรกนันเป็ ้ นการฝึ กหัดเขียนและลบอักขระ ส่วนคัมภีร์เล่มสุดท้ ายมุ่งเน้ นถึงการเขียน และคานวณตัวเลขมากกว่าคัมภีร์เล่มอื่น ๆ คัมภีร์ทงั ้ ๕ เล่มนี ้ถือเป็ นคัมภีร์แม่แบบที่สาคัญในการเรี ยน เขียนเลขยันต์แบบต่าง ๆ ซึง่ ผู้สนใจด้ านนี ้ต้ องเรี ยนให้ เชี่ยวชาญ คัมภี ร์แม่แบบของระบบยันต์ในแต่ละเล่ม นัน้ มีรายละเอี ยดที่แตกต่างกันออกไปดัง นี ้ (ณัฐธัญ มณีรัตน์, ๒๕๕๙, น.๙๘ - ๑๐๙.)
๑๕
คัมภีร์ปถมัง คัมภีร์ปถมังเป็ นคัมภีร์เก่าแก่ที่มีมาแต่ครัง้ สมัยกรุงศรี อยุธยา ถือเป็ นคัมภีร์เวทย์มนต์เล่ม แรกในบรรดาคัมภีร์ทงปวงที ั้ ่ผ้ เู รี ยนเลขยันต์ตา่ ง ๆ จะต้ องเรี ยนคัมภีร์นี ้เพื่อเป็ นพื ้นฐานของการทาและ เขียนยันต์ทงปวง ั้ โดยคัมภีร์ปถมังจะบอกเล่าเรื่ องราวตังแต่ ้ ครัง้ การอุบตั ิของพระพุทธเจ้ า การบาเพ็ญ บารมี จนถึงการนิพพานของพระพุทธเจ้ า ซึ่งเนื ้อหาในแต่ละวรรคของคัมภีร์นนจะกล่ ั้ าวถึงสภาวธรรม ต่าง ๆ ในทางพุทธศาสนา คัม ภี ร์ปถมัง จะมี อานุภาพทางอยู่ยงคงกระพัน แคล้ วคลาด กาบัง กาย ตลอดจนล่องหนหายตัว เป็ นตบะเดชะ จังงัง และป้องกันภยันตรายทุกประการ คัมภีร์อิธะเจ หรือ คัมภีร์อิทธิเจ คัมภี ร์อิธะเจถื อเป็ นหนึ่งในคัมภี ร์แม่แบบระบบยันต์และเป็ นคัมภีร์ลบผงตามสูตรพระ มูลกัจจายน์หรื อตาราไวยากรณ์บาลีโบราณ เป็ นคัมภีร์เกี่ยวกับสระและพยัญชนะต่าง ๆ ตามวิธีการทา รูปศัพท์ของบาลีไวยากรณ์ ซึง่ ผู้ที่ศกึ ษาคัมภีร์อิธะเจจะเกิดความเข้ าใจเรื่ องระบบสระและพยัญชนะที่มี อยู่ในระบบยันต์ตา่ ง ๆ จนทาให้ สามารถเรี ยกสูตรอักขระในระบบยันต์ได้ อย่างแม่นยา และยังช่วยให้ เกิดความเข้ าใจในการอ่านออกเสียงคาถาบทต่าง ๆ ได้ อย่างถูกต้ องมากยิ่งขึ ้น คัมภีร์พุทธคุณ คัมภีร์พทุ ธคุณถือเป็ นหนึง่ ในคัมภีร์แม่แบบระบบยันต์และเป็ นคัมภีร์การลบอักขระบทต้ น ห้ องพระพุทธคุณ ในบท “อิติปิโสรั ตนมาลา” ซึ่ง ผู้ศึกษาคัม ภี ร์พุทธคุณจะเข้ าใจถึง อักษรในหมวด พุทธคุณที่ลงในยันต์ตา่ ง ๆ โดยคัมภีร์นี ้เชื่อว่ามีอานุภาพครอบจักรวาลทังทางคุ ้ ้ มครอง ป้องกั น และ เมตตามหานิยม คัมภีร์มหาราช คัมภีร์มหาราชถือเป็ นหนึ่งในคัมภีร์แม่แบบระบบยันต์และเป็ นคัมภีร์การลบนามของคน ทังหลายที ้ ่กาหนดเป็ นสิ่งสมมุติใช้ แทนมนุษย์หญิงชายทังปวงในโลก ้ โดยคัมภีร์มหาราชจะมีอานุภาพ ทางด้ านมหานิยม อานวยความเจริญ และเป็ นเสน่ห์
๑๖
คัมภีร์ตรีนิสิงเห คัมภีร์ตรี นิสิงเหถือเป็ นคัมภีร์แม่แบบตัวเลขของระบบยันต์ที่บงั เกิดจากอัตรากาลังเทวดา นพเคราะห์ โดยมีหลักสาคัญอยู่ที่อตั ราทวาทสมงคล ซึ่งเป็ น “กลเลข ๑๒ ตัว” โดยแบ่งออกเป็ น ๔ ชุด ชุดละ ๓ ตัว และทุกชุดจะบวกกันได้ เท่ากับ ๑๕ ได้ แก่ “๓๗๕ ๔๖๕ ๑๙๕ และ ๒๘๕” ซึง่ ตัวเลขต่าง ๆ จะมีความหมายใช้ แทนคุณพระตลอดจนเทพยาดาในโลกธาตุ เช่น เลข ๓ ใช้ แทนราชสีห์ทงสาม ั้ เลข ๗ ใช้ แทนพญาช้ างทัง้ เจ็ด เป็ นต้ น โดยตัวเลขดัง กล่าวนัน้ มี ที่มาจากการบวกลบคูณหารอัตราเลข โบราณแบบพิศดาลซึง่ ใช้ กาลังพุทธคุณเป็ นฐานคือ ๑๐๘ แล้ วบวกลบคูณหารจนได้ อตั ราดังกล่าว ทังนี ้ ้ คัมภี ร์ตรี นิสิงเหจะมี อานุภ าพทางการป้องกันคุณไสยและภูติผี ปีศาจ รวมทัง้ ป้องกันอวมงคลและ โรคภัยต่าง ๆ ได้ คัมภีร์นี ้มีเนื ้อหามุง่ เน้ นถึงการเขียนและคานวณตัวเลขมากกว่าคัมภีร์เล่มอื่น ๆ ที่เน้ น การเขียนอักขระ จึงถือเป็ นคัมภีร์แม่แบบที่สาคัญในการเรี ยนเขียนเลขยันต์แบบต่าง ๆ คัมภีร์ทงั ้ ๕ เล่ม ในข้ างต้ นถือเป็ นคัมภีร์แม่แบบของระบบยันต์ทงปวงที ั้ ่มีความศักดิส์ ิทธิ์ ที่ผ้ ศู กึ ษา ผู้เขียน และผู้ทายันต์ทกุ คนจะต้ องมีศกึ ษาคัมภีร์ทงั ้ ๕ เล่ม เพื่อให้ เกิดความเข้ าใจอย่างถ่อง แท้ จงึ จะสามารถทาการสักและเขียนยันต์ได้ อย่างถูกต้ องตามบทพระพุทธคุณในคัมภีร์โบราณ ๗. ประเภทของยันต์ รู ป แบบยัน ต์ ที่ ค นไทยนิ ย มบู ช าหรื อ สัก ไว้ ด้ ว ยการเขี ย นลงผ้ าประเจี ย ด กระดาษ แผ่นโลหะ แผ่นผ้ า เสื ้อยันต์ หรื อสักไว้ ตามร่างกาย ฯลฯ เพื่อหวังผลให้ บงั เกิดคุณวิเศษด้ านต่าง ๆ นัน้ อาจจาแนกออกได้ เป็ น ๔ กลุม่ ที่สาคัญ ได้ แก่ ลวดลายอักขระที่ผูกเป็ นยันต์ ลวดลายอักขระที่ผกู เป็ นยันต์เป็ นลักษณะที่มีมาแต่โบราณ โดยลวดลายอักขระที่ผกู เป็ น ยันต์นนประกอบขึ ั้ ้นจากคาถาและพุทธมนต์บทต่าง ๆ ในภาษาบาลีที่เขียนด้ วยอักษรขอมไทยแล้ วผูก เข้ ากันเป็ นรู ปทรงเพื่อให้ เกิดความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ และความสวยงามแก่ยนั ต์ ทังนี ้ ้หากพิจารณา ถึงองค์ประกอบของยันต์จะพบว่านอกจากตัวอักษรขอมไทยที่สื่อความหมายโดยตรงถึงคาถาและบท พุทธมนต์ต่าง ๆ แล้ ว ยังประกอบด้ วยเส้ นที่อยู่ในยันต์ ซึ่งเรี ยกว่ากระดูกยันต์ โดยยันต์ที่ปรากฏใน รูปแบบต่าง ๆ น่าจะมีที่มาและความหมายแตกต่างกันออกไป
๑๗
สาหรับยันต์ประเภทลวดลายอักขระที่ผูกเป็ นยันต์ซึ่งเป็ นที่นิยมสาหรับการสักยันต์นนั ้ ได้ แก่ ยันต์เ ก้ ายอดที่ เ ชื่ อ ว่า มี คุณ ทางด้ านแคล้ ว คลาดและคงกระพัน ยันต์แปดทิศ ที่ เ ชื่ อว่ า มี คุณ ทางด้ านอยู่ยงคงกระพันและเป็ นเมตตามหานิยม ยันต์ตรี นิสิงเหที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านป้องกันคุณไสย และภูติผีปีศาจ ยันต์นะต่าง ๆ ที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านเมตตามหานิยม ยันต์สร้ อยสังวาลที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านมหานิยม ยันต์พระเจ้ า ๕ พระองค์ที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านคงกระพัน ยันต์ชายธงที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านแคล้ วคลาดปลอดภัย ยันต์ขอมเชียงที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านคงกระพัน และยันต์งบน ้าอ้ อยที่ เชื่ อ ว่ า มี คุ ณ ทางด้ านอยู่ ย งคงกระพั น (พระอาจารย์ พิ เ ชษฐ์ ฐิ ต โสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๓๑ - ๕๔๓.) ภาพที่ ๓ ลวดลายอักขระที่ผูกเป็ นยันต์ (ยันต์ ลีลาพระยาราชสีห์ – ยันต์ ชายธง – ยันต์ พระยายนต์ )
ที่มาภาพ : อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๕๐, ๑๖๓ และ ๑๘๕. ลายรู ปที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา ลายรูปที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาถือเป็ นยันต์ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ ประเภทหนึ่งที่มีมาแต่ โบราณ โดยยันต์ประเภทนี ้จะมีลกั ษณะเป็ นรูปของพระพุทธรูปปางต่าง ๆ หรื อเทพต่าง ๆ เนื่องในพุทธ ศาสนา เช่น พระพุทธรูปปางสมาธิ พระพุทธรูปปางถวายเนตร พระปิ ดตา ท้ าวเวสสุวณ ั ฯลฯ ประกอบ เข้ ากับยันต์ที่เขียนขึ ้นจากคาถาและบทพุทธมนต์ตา่ ง ๆ ในภาษาบาลี เขียนด้ วยอักษรขอมไทยแล้ วผูก เข้ ากันเป็ นรูปทรงต่าง ๆ
๑๘
ตัวอย่างยันต์ในกลุ่มนี ้ เช่น ยันต์ธวัชชัย เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านนาความสุขความเจริ ญมา ให้ กับผู้บูชา ยันต์ธงไตรรัตน์ เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านโชคลาภ ความก้ าวหน้ า และการอยู่ร่มเย็นเป็ นสุข ยันต์มหาอานาจ เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านอานาจ ยันต์ประเจียดเปล่งรัศมี เชื่อว่าที่มีคณ ุ ทางด้ านเมตตา อยู่คง และแคล้ วคลาดอันตราย ยันต์พทุ ธนิมิตร เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านกันสารพัดภัยอันตรายและเป็ นที่ รักชอบแก่คนทัง้ หลาย และยันต์ท้าวเวสสุวณ ั เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านป้องกันโรคภัยและฝี ดาษ เป็ นต้ น (อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป, น. ๙๕-๙๖, ๑๒๖, ๑๗๒ ๑๙๓ และ ๓๐๓.) สาหรับยันต์ประเภทลายรู ปที่เกี่ ยวเนื่องกับพุทธศาสนานัน้ ถื อเป็ นยันต์ที่พบได้ จานวน น้ อยในการสักยันต์ โดยยันต์ประเภทนี ้ที่นามาใช้ สาหรับการสักยันต์ เช่น ยันต์องค์พระที่เชื่อว่ามีคณ ุ ครอบจักรวาล (พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๑๒๗-๑๒๘.) ยันต์ท้าวเวสสุวณ ั ที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านแคล้ วคลาดปลอดภัย (อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป, น. ๓๐๓.) เป็ นต้ น ภาพที่ ๔ ลายรู ปที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนา (ยันต์ ธงไตรรัตน์ – ยันต์ พุทธนิมิตร – ยันต์ ท้าวเวสสุวัณ)
ที่มาภาพ: อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๙๖, ๑๒๖ และ ๓๐๓. ลายรู ปที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ลายรู ปที่ เ กี่ ยวเนื่ องกับ ศาสนาพราหมณ์ – ฮิ นดูถือเป็ น ยัน ต์ที่มี ม าแต่โ บราณเช่น กัน ประกอบขึ ้นจากความเชื่อและศรัทธาทังจากทางศาสนาพราหมณ์ ้ - ฮินดูเป็ นพื ้นฐานสาคัญ มีลกั ษณะ เป็ นรู ปของเทพเจ้ าตามคติความเชื่ อทางศาสนาพราหมณ์ - ฮิ นดู อาทิ เช่น พระพรหม พระอิศวร พระนารายณ์ หนุมาน พระพิฆเนศวร์ ฤๅษี บรมครู ราหู ฯลฯ ผนวกเข้ ากับยันต์ที่เขียนขึ ้นจากคาถาและ บทพุทธมนต์ตา่ ง ๆ ในภาษาบาลีเขียนด้ วยอักษรขอมไทย แล้ วผูกเข้ ากันเป็ นรูปทรงต่าง ๆ
๑๙
ยันต์ในกลุม่ นี ้ เช่น ยันต์หนุมานเชิญธง ยันต์กระบี่พา่ ห์ และยันต์บรรจุด้ามพระแสง ที่เชื่อ ว่ามีคณ ุ ทางด้ านอยู่ยงคงกระพัน ยันต์มหาราลึก เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านเสน่หา ยันต์พระพรหมสี่หน้ า เชื่ อว่า มี คุณ ทางด้ านเมตตามหานิ ยม (อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป, น. ๑๒๗-๑๒๘.) ยันต์พ ระ พิฆเนศวร์ ซงึ่ เป็ นเทพแห่งความสาเร็จทังปวง ้ เชื่อว่ามีคณ ุ ด้ านความมัง่ คงและร่ ารวย ยันต์ฤๅษี เชื่อว่ามี คุณด้ านเมตตามหานิยม ยันต์พระนารายณ์ทรงครุ ฑ เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านอานาจและบารมี ยันต์ราหู อมจันทร์ เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านเมตตามหานิยม แคล้ วคลาดปลอดภัยช่วยหนุนดวงชะตา (ราช รามัญ, ๒๕๔๖, น. ๑๑๔ - ๑๓๕.) เป็ นต้ น สาหรับยันต์ประเภทลายรู ปที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู ซึ่งเป็ นที่นิยมสาหรับ การสักยันต์นนั ้ ได้ แก่ ยันต์ฤาษี เดินดงที่เชื่อว่ามีคุณครอบจักรวาล ยันต์ชูชกที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ าน เมตตามหานิยม ยันต์บตุ รลบที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านแคล้ วคลาดและคงกระพัน ยันต์ครุฑ ที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านมหาอานาจ รวมถึงยันต์หนุมานต่าง ๆ ทังยั ้ นต์หนุมาน ๔ กร ยันต์หนุมาน ๖ กร ยันต์หนุมาน คลุกฝุ่ น ยันต์หนุมานอมเมือง ยันต์หนุมานขุนกระบี่ ยันต์หนุมานหาวเป็ นดาวเป็ นเดือน และยันต์หนุ มานเชิญธงที่เชื่อว่าล้ วนมีคณ ุ ทางด้ านแคล้ วคลาดและคงกระพัน (พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และ คณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๔๒ - ๕๕๓.) ภาพที่ ๕ ลายรู ปที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู (ยันต์ พระพรหมสี่หน้ า – ยันต์ กระบี่พ่าห์ – ยันต์ พระพิฆเนศวร์ )
ที่มาภาพ: อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๑๒๑ และ ๑๒๘., ajannookanpai, ตานานลายยันต์.. “พระพิฆเนศ”, ajannookanpai (http://www.ajannookanpai.com/articles/ 42234322/%E0%...A8.html (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๐)
๒๐
ลวดลายรู ปสัตว์ ลวดลายรู ปสัตว์ ประกอบขึน้ จากความเชื่ อ และอิ ทธิ ฤทธิ์ ข องสัตว์ ต่าง ๆ ในวรรณคดี ผนวกกับความเชื่อและความศรัทธาทางพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู และความเชื่อทางไสย ศาสตร์ ซึ่งยันต์ประเภทลวดลายรู ปสัตว์ นนั ้ มีทงั ้ รู ปสัตว์แบบจิตรกรรมไทยและสัตว์ในธรรมชาติที่มี เขี ้ยวเล็บ หรื อเป็ นสัญลักษณ์ของคุณวิเศษ เช่น เสือ ราชสีห์ หมู ตะขาบ จระเข้ ลิง มังกร ปลาไหลเผือก ไก่ฟ้า เต่าจิ ้งจก กิเลน หงส์ ช้ าง ปลา นก ฯลฯ เป็ นต้ น ประกอบเข้ ากับยันต์ที่เขียนขึ ้นจากคาถาและบท พุทธมนต์ต่าง ๆ ในภาษาบาลีแล้ วผูกเข้ ากันเป็ นรู ปทรงต่าง ๆ ซึ่งก่อให้ เกิดคุณ ความขลัง และความ ศักดิส์ ิทธิ์แก่ผ้ บู ชู ายันต์หรื อสักยันต์นนไว้ ั้ ตัวอย่างยันต์ในกลุ่มนี ้ เช่น ยันต์พญาหงส์ทอง เชื่อว่ามีคุณทางด้ านเมตตามหานิยม ยันต์แม่โพสพ (รู ปปลาตะเพียน) เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านค้ าขาย ยันต์มหาอานาจ เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ าน แคล้ วคลาดอันตราย ยันต์ราชสี ห์ เชื่ อว่า มี คุณทางด้ านกันภัยอันตราย ยันต์เสื อโผน เชื่ อว่า มี คุณ ทางด้ านเมตตามหานิยม ยันต์นกการเวก เชื่อว่ามีคุณทางด้ านค้ าขาย ยันต์สาลิกา เชื่อว่า ที่มี คุณ ทางด้ านเมตตามหานิยม ยันต์เต่าทอง เชื่อว่าที่มีคณ ุ ด้ านโชคลาภและเมตตามหานิยม ยันต์พระยา ช้ าง เชื่อว่าที่มีคณ ุ ทางด้ านคงกระพันชาตรี เป็ นต้ น (อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป, น. ๓๖-๔๐, ๔๘, ๖๒, ๖๙, ๑๐๕, ๑๘๐ และ ๒๑๗.) ส าหรั บ ยัน ต์ ป ระเภทลวดลายรู ป สัต ว์ ซึ่ ง เป็ นที่ นิ ย มส าหรั บ การสัก ยัน ต์ นัน้ ได้ แ ก่ ยันต์นกสาริ กาที่เชื่อว่ามีคุณทางด้ านเมตตามหานิยม ยันต์พญาหงส์ที่เชื่อว่ามีคุณทางด้ านเมตตา มหานิยม ยันต์เสือเผ่นที่เชื่อว่ามีคณ ุ ทางด้ านเมตตามหานิยมและอยู่ยงคงกระพัน ยันต์หมูทองแดงที่ เชื่ อ ว่า มี คุณ ทางด้ า นมหาลาภและคงกระพัน ยัน ต์ สิ ง โตที่ เ ชื่ อ ว่า มี คุณ ทางด้ า นเมตตามหานิ ย ม ยันต์สิงห์ที่เชื่อว่ามีคุณทางด้ านเมตตามหานิยม ยันต์ลิงลมที่เชื่อว่ามีคุณทางด้ านแคล้ วคลาดและ คงกระพัน ยันต์จิ ง้ จก ๒ หาง ที่ เ ชื่ อว่ามี คุณทางด้ า นเมตตามหานิ ย มและยัน ต์ ช้ างที่ เชื่ อ ว่ า มี คุณ ทางด้ านเมตตามหานิยม (พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๔๒ - ๕๕๓.)
๒๑
ภาพที่ ๖ ลวดลายรู ปสัตว์ (ยันต์ แม่ โพสพ – ยันต์ ราชสีห์ – ยันต์ พระยาช้ าง)
ที่มาภาพ: อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๓๗, ๔๘ และ ๒๑๗. โดยลวดลายยันต์ทงั ้ ๔ ประเภท มีความนิยมที่แตกต่างกันออกไปในการบูชาและ / หรื อการ สักไว้ ตามร่างกายตามความเชื่อและความศรัทธาถึงพุทธคุณ ความขลัง และความศักดิ์สิทธิ์ของยันต์ โดยมีเป้าหมายของการบูชาและการสักยันต์ประเภทและรู ปแบบต่าง ๆ เพื่อเสริ มสร้ างสิริมงคล ขวัญ และกาลังใจในการดาเนินวิถีชีวิตให้ กบั ผู้คนในสังคมไทยจวบจนถึงในปัจจุบนั ๘. ยันต์ สาคัญในลายสักที่มีมาแต่ โบราณ ยันต์ถือเป็ นเครื่ องรางของขลังที่เป็ นที่นิยมและศรัทธาในการบูชาและสักยันต์ของผู้คนใน ประเทศไทยมาเป็ นระยะเวลายาวนาน โดยยันต์สาคัญที่มีมาแต่ครัง้ โบราณกาลนันอาจมี ้ หลากหลาย ประเภทและหลากหลายรูปแบบ ทังในส่ ้ วนของยันต์ประเภทที่เกิดขึ ้นจากคาถาและบทพุทธมนต์ตา่ ง ๆ ในภาษาบาลีที่เขียนด้ วยอักษรขอมไทยหรื ออักษรธรรมล้ านนา แล้ วผูกเข้ ากันเป็ นรูปทรงต่าง ๆ รวมทัง้ ยันต์ประเภทรู ปรอย ประเภทรู ปรอยเทพเจ้ า และประเภทรู ปรอยสัตว์ ในวรรณคดีตามความเชื่อและ ความศรัทธาทางพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ที่ล้วนมีความเชื่อถึง มีความขลัง ความ ศักดิส์ ิทธิ์ และให้ คณ ุ ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไปทังคุ ้ ณทางด้ านเมตตามหานิยมหรื อทางด้ านอยู่ยง คงกระพันธ์ โดยขอยกตัวอย่างยันต์สาคัญที่มีมาแต่โบราณมาประกอบการอธิ บายถึงพุทธคุณและ อานุภาพของยันต์จานวน ๕ ยันต์ ดังนี ้
๒๒
ยันต์ เก้ ายอด ยั น ต์ เ ก้ ายอดถื อ เป็ นยั น ต์ ส าคั ญ ที่ มี ม าแต่ ค รั น้ โบราณกาลของคนในลุ่ ม แม่ น า้ ภาคกลาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสักยันต์ของทางวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม อัน เป็ นสถานที่สกั ยันต์ที่โด่งดังมาโบราณกาลของลุ่มแม่น ้าภาคกลางที่ มีบรมครู ด้านการสักยันต์สาคัญ ของวัดบางพระ เฉกเช่น หลวงพ่อหิ่ม อินฺทโชโต และหลวงพ่อเปิ่ น ฐิ ตคุโณ (พระอุดมประชานาถ) ที่ ยันต์เก้ ายอดดังกล่าวได้ ถกู นับถือเป็ นยันต์ครู ซึง่ มีความสาคัญยิ่งที่ผ้ สู กั ยันต์ทกุ คนจากทางวัดบางพระ จะต้ องสักเป็ นยันต์แรกก่อน จึงจะสามารถสักยันต์อื่น ๆ ต่อไปได้ ภาพที่ ๗ หลวงพ่ อหิ่ม อินฺทโชโต (ซ้ าย) และหลวงพ่ อเปิ่ น ฐิตคุโณ (ขวา)
ที่มาภาพ : ศักดิ์ศรี บุญรังศรี , “ปรมาจารย์แห่งลุม่ แม่น ้านครชัยศรี ..ต้ นกาเนิดการสักยันต์ “หลวงปู่ หิ่ม วัดบางพระ” ผู้ถ่ายทอดวิชาให้ หลวงพ่อเปิ่ น..เชี่ยวชาญอาคม รักษาโรคภัย.” Tnews. (www.tnews.co.th/contents/398307, สืบค้ นเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑) และ วัดบางพระ จ.นครปฐม (หลวงพ่อเปิ่ น), “หลวงพ่อเปิ่ น ฐิ ตคุโณ (พระอุดมประชานาถ),” วัดบางพระ จ.นครปฐม (หลวงพ่ อเปิ่ น) (https://www.facebook.com/Bp.or.Th/...ter, สืบค้ นเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๑)
๒๓
โดยยันต์เก้ ายอดถื อเป็ นยันต์ที่ถูกถอดมาจากบทพุทธคุณต่าง ๆ ที่แตกต่างกันออกไป ตามแต่พระอาจารย์ของสานักสักยันต์นนั ้ ๆ ทังในส่ ้ วนของเป็ นการถอดออกมาจากบทพุทธคุณอิติปิโส อันเป็ นบทสวดบูชาและสรรเสริญพระรัตนตรัยและพระพุทธคุณหรื อคุณวิเศษทัง้ ๙ ประการ แต่สาหรับ ในส่วนของยันต์เก้ ายอดของทางวัดบางพระนันเป็ ้ นการถอดออกมาจากสาระสาคัญของ “โลกุตรธรรม” หรื อสภาวะที่หลุดพ้ นแล้ วจากโลกิยะ อันไม่เกี่ยวข้ องต่อกาม ตัณหา ทิฏฐิ อวิชชา อีกต่อไป ซึ่งมีแก่น สาระธรรมที่สาคัญ ๙ ประการ ประกอบด้ วย อริ ยมรรค ๔ คือ (๑) โสดาปั ตติมรรค (๒) สกิทาคามิ มรรค (๓) อนาคามิมรรค และ (๔) อรหัตมรรค อริ ยผล ๔ คือ (๑) โสดาปั ตติผล (๒) สกิทาคามิผล (๓) อนาคามิผล และ (๔) อรหัตผล และ นิพพาน ๑ โดยยัน ต์ เ ก้ ายอดที่ ถ อดออกมาจากบทพุท ธคุณ ที่ แ ตกต่า งกั น ออกไปนัน้ ส่ ง ผลให้ รายละเอียดยันต์เก้ ายอดของสานักสักยันต์ตา่ ง ๆ จึงมีความแตกต่างกันออกไป ทังนี ้ ้ในการสักยันต์เก้ า ยอดนันจะสั ้ กไว้ บริ เวณต้ นคอด้ านหลัง โดยเชื่อว่าการสักยันต์เก้ ายอดมีอานุภาพและพุทธคุณทางด้ าน แคล้ วคลาดและคงกระพัน (ประทุม โพธิ์สวรรค์, สัมภาษณ์. และ พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และ คณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๓๓.) ภาพที่ ๘ ยันต์ เก้ ายอด ของทางวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ที่มาภาพ : จุก พังค์ ้ ศิษย์วดั บางพระ, “ยันต์เก้ ายอดหลวงพ่อเปิ่ น”, จุก พังค์ ้ ศิษย์วดั บางพระ (https://www.facebook.com/photo.php?fbid=... ter (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๑)
๒๔
ยันต์ แปดทิศ ยันต์แปดทิศเป็ นอีกหนึ่งยันต์สาคัญที่มีมาแต่โบราณของคนในลุ่มแม่น ้าภาคกลางและ ยัง คงเป็ นที่ นิ ยมในการสัก กระทั่ง ในปั จ จุบัน โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง การสักยัน ต์ ของทางวัด บางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ยันต์แปดทิศนันถู ้ กนับถือเป็ นหนึ่งในสามยันต์ที่มีความสาคัญยิ่งที่ ผู้สกั ยันต์จากวัดบางพระมากกว่าหนึง่ ยันต์จะต้ องสักเป็ นยันต์ลาดับรองลงมาจากยันต์เก้ ายอด ยันต์แปดทิศของทางวัดบางพระเป็ นการถอดออกมาจากสาระสาคัญของหนทางสู่ความ ดับทุกข์หรื อ “มรรค” ที่ในธัมมจักกัปปวัตตนสูตรพระพุทธเจ้ าทรงตรัสไว้ ว่าอริ ยมรรคมีองค์ ๘ นี ้เป็ น ทางสายกลางหรื อ ข้ อปฏิ บัติ อั น พอดี ที่ จ ะน าไปสู่ ค วามหลุ ด พ้ น ๘ ประการ อัน ประกอบด้ วย (๑) สัมมาทิฐิ : ความเห็นที่ถกู ต้ อง (๒) สัมมาสังกัปปะ : ความคิดที่ถกู ต้ อง (๓) สัมมาวาจา : วาจาที่ ถูก ต้ อ ง (๔) สัม มากัม มัน ตะ : การปฏิ บัติที่ ถูก ต้ อ ง (๕) สัม มาอาชี ว ะ : การหาเลี ย้ งชี พ ที่ ถูกต้ อง (๖) สัมมาวายามะ : ความเพียรที่ถูกต้ อง (๗) สัมมาสติ : การมีสติที่ถูกต้ อง และ (๘) สัมมาสมาธิ : การมีสมาธิที่ถูกต้ อง โดยทัว่ ไปการสักยันต์แปดทิศหรื อยันต์อิติปิโส ๘ ทิศ จะนิยมสักไว้ บริ เวณกลาง หลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสักยันต์แปดทิศตามแบบแผนของทางวัดบางพระนันจะสั ้ กไว้ บริเวณกลาง หลังต่ากว่ายันต์เก้ ายอดซึง่ ถือเป็ นยันต์ครูของวัดบางพระ (ประทุม โพธิ์สวรรค์, สัมภาษณ์.) โดยเชื่อว่า การสักยันต์แปดทิศมีอานุภาพและพุทธคุณครอบจักรวาล ทังทางด้ ้ านอยู่ยงคงกระพันและเป็ นเมตตา มหานิยม (ประทุม โพธิ์ สวรรค์, สัมภาษณ์., อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป., น.๑๘., โดมภ์ ทิพย์สุดา, ๒๕๕๕, น. ๘๕ – ๘๘. และ พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๓๓.)
๒๕
ภาพที่ ๙ ยันต์ แปดทิศ ของทางวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ที่มาภาพ : จุก พังค์ ้ ศิษย์วดั บางพระ, “ยันต์๘ทิศมหายันต์ครอบจักรวาล”, จุก พัง้ ค์ ศิษย์ วัดบางพระ (https://www.facebook.com/photo.php?fbid=...theater (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๑๑ มกราคม ๒๕๖๑) ยันต์ งบนา้ อ้ อย ยันต์งบน ้าอ้ อย นับเป็ นอีกหนึง่ ยันต์สาคัญที่มีมาแต่โบราณของคนในลุม่ แม่น ้าภาคกลาง และยัง คงเป็ นที่ นิ ย มในการสัก กระทั่ง จนปั จ จุ บัน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในการสัก ยัน ต์ ข องทาง วัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่ยันต์งบนา้ อ้ อยถูกนับถื อเป็ นหนึ่งในสามยัน ต์ที่มี ความสาคัญยิ่งของทางวัดบางพระ (ประกอบด้ วยยันต์เก้ ายอด ยันต์แปดทิศ และยันต์งบนา้ อ้ อย) ซึ่งผู้สกั ยันต์จากทางวัดบางพระมากกว่าหนึ่งยันต์ส่วนใหญ่ จะสักเป็ นยันต์ลาดับรองลงมาจากยันต์ เก้ ายอด จากการสัมภาษณ์ปราชญ์ชาวบ้ านอาวุโสและไวยาวัจกรของวัดบางพระ พบว่ายันต์งบ น ้าอ้ อยถือเป็ นยันต์ที่ถอดออกมาจากเลขและสาระสาคัญของหมวดธรรมต่าง ๆ ในพระพุทธศาสนา แล้ วนามาผู้โยงกันในรูปวงกลมที่เรี ยกว่า “ยันต์งบน ้าอ้ อย” ซึง่ จากคาบอกเล่าพบว่าหลวงพ่อเปิ่ นได้ สืบ สานยันต์งบนา้ อ้ อย ยันต์เก้ ายอด และยันต์แปดทิศ มาจากหลวงพ่อหิ่ม อินฺทโชโต อดีตเจ้ าอาวาส วัดบางพระรูปที่ ๔ (พ.ศ. ๒๔๔๑ - ๒๔๙๕) (ประทุม โพธิ์สวรรค์, สัมภาษณ์.) ที่เชื่อกันว่าสืบสานพุทธา คมไสยเวทย์มาจากพระอธิการเฒ่า อดีตเจ้ าอาวาสวัดบางพระรูปที่ ๑ (พ.ศ.๒๓๓๐ - ๒๓๗๙) อันโด่ง
๒๖
ดังยิ่งในช่วงกรุงศรี อยุธยาแตกครัง้ ที่ ๒ ที่วดั บางพระได้ กลายเป็ นหนึ่งในศูนย์กลางความเจริ ญในแถบ ลุ่มแม่นา้ ท่าจี น เมืองนครชัยศรี (พระอาจารย์ พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๗๔.) กับ พระอาจารย์ทอง อดีตเจ้ าอาวาสวัดละมุด พระเกจิชื่อดังในสมัยนันผู ้ ้ ซึ่งเป็ นพระอาจารย์ของพระพุทธ วิถีนายก (หลวงปู่ บญ ุ ) แห่งวัดกลางบางแก้ ว (ศักดิศ์ รี บุญรังศรี , ๒๕๖๑) ทัง้ นี ้ การสักยันต์งบนา้ อ้ อยตามแบบแผนของทางวัดบางพระจะสักไว้ เป็ นคู่ที่บริ เ วณ กลางหลัง ต่ า กว่า ยัน ต์ เ ก้ า ยอดและอยู่ข นาบยัน ต์ แ ปดทิ ศ โดยเชื่ อ ว่า การสัก ยัน ต์ ง บน า้ อ้ อ ยนัน้ มี อานุภาพและพุทธคุณ ทางด้ านอยู่ยงคงกระพัน (ประทุม โพธิ์ สวรรค์, สัมภาษณ์. และ พระอาจารย์ พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๓๔.) ภาพที่ ๑๐ ยันต์ งบนา้ อ้ อย ของทางวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ที่มาภาพ : จุก พังค์ ้ ศิษย์วดั บางพระ, “ว่ากันด้ วยเรื่ อง ยันต์งบน ้าอ้ อย ยันต์ครูแห่งวัดบางพระเป็ น สุดยอดมหายันต์แห่งความเมตตา”, จุก พัง้ ค์ ศิษย์ วัดบางพระ(https://www.facebook.com/ search/top/?q=...สุดยอดมหายันต์แห่งความเมตตา (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑) ยันต์ ตรีนิสิงเห ยันต์ตรี นิสิงเหเป็ นอีกหนึง่ ยันต์สาคัญที่มีมาแต่โบราณกาล มีที่มาจากคัมภีร์ตรี นิสิงเหอัน เป็ นคัมภีร์แม่แบบตัวเลขของระบบยันต์ ยันต์ตรี นิสิงเหนี ้ถอดมาจากอัตรากาลังเทวดานพเคราะห์ โดย มีหลักสาคัญอยู่ที่อตั ราทวาทสมงคลหรื อ กลเลข ๑๒ ตัว ที่แบ่งออกเป็ น ๔ ชุด ชุดละ ๓ ตัว และทุก ชุดจะบวกกันได้ เท่ากับ ๑๕ ได้ แก่ “๓๗๕ ๔๖๕ ๑๙๕ และ ๒๘๕” ซึง่ ตัวเลขต่าง ๆ จะมีความหมายใช้
๒๗
แทนคุ ณ พระตลอดจนเทพยาดาในโลกธาตุ (ณั ฐ ธั ญ มณี รั ต น์ , ๒๕๕๙, น. ๑๐๕.) ดั ง นี ้ (โดมภ์ ทิพย์สดุ า, ๒๕๕๕, น. ๒๗๕ – ๒๗๗.) เลข ๓ ตรี นิสิงเห ใช้ แทนราชสีห์ทงสาม ั้ อันหมายถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เลข ๗ สัตตะนาเค ใช้ แทนพญานาคผู้ประเสริ ฐทังเจ็ ้ ดที่หมายความถึงพระพุทธเจ้ าทัง้ ๗ พระองค์ เลข ๕ เบญจเพชรฉลูนะกัญเจวะ ใช้ แทนพระวิสกุ รรมเทวบุตร ผู้เป็ นเจ้ าแห่งช่างก่อสร้ าง ทัง้ ๕ พระองค์ เลข ๔ จตุเทวา ใช้ แทนท้ าวจตุโลกบาตรผู้รักษาโลกทัง้ ๔ พระองค์ เลข ๖ ฉวัชราชา หมายถึงพระตาหรับคัมภีร์เพชรรัตน์มหายันต์ ๖ ชัน้ เลข ๕ เบญจอิตราเมเจวะ หมายถึง พระอินทร์ ทงั ้ ๕ เลข ๑ เอยักขา หมายถึง ยักษ์ เลข ๙ นวเทวา หมายถึง เทวดานพเคราะห์ทงั ้ ๙ เลข ๕ ปัญจพรหมมาสหบดี หมายถึง พรหมสุทธาวาส ๕ ชัน้ เลข ๒ เทวราช หมายถึง ท้ าววรุ ณผู้เป็ นเจ้ าแห่ง กลางวันและท้ าวมิ ตรผู้เป็ นเจ้ าแห่ง กลางคืน เลข ๘ อัฏฐอรหันตา หมายถึงพระอรหันต์ ๘ ทิศ และ เลข ๕ ปัญจะพุทธา นะมามิหงั โดยตัวเลขดังกล่าวนันมี ้ ที่มาจากการบวกลบคูณหารอัตราเลขโบราณแบบพิศดาล ซึ่งใช้ กาลัง พุทธคุณ เป็ นฐานคือ ๑๐๘ แล้ วบวกลบคูณหารจนได้ อัตราดัง กล่าว โดยยันต์ตรี นิสิง เหจะมี อานุภ าพทางการป้อ งกัน คุณ ไสยและภู ต ผี ปี ศาจ รวมทัง้ ป้อ งกัน อวมงคลและโรคภัย ต่า ง ๆ ได้ (อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป., น.๑๕.)
๒๘
ภาพที่ ๑๑ ยันต์ ตรีนิสิงเห
ที่มาภาพ : อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๑๕. ยันต์ หนุมานเชิญธง ยันต์หนุมานเชิญธงถื อเป็ นหนึ่งในยันต์สาคัญที่ประเภทลายรู ปที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา พราหมณ์ - ฮินดู ตามวรรณคดีเรื่ องรามเกียรติ์หรื อรามายณะของอินเดีย ซึ่งหนุมานถือเป็ นทหารเอก ของพระรามที่มีอิทธิฤทธิ์มากและยังสามารถสาแดงฤทธิ์เดชได้ หลากหลายประการ โดยทัว่ ไปผู้สกั ยันต์ จานวนมากจะนิยมสักยันต์หนุมานเชิญธง ซึ่งถือเป็ นหนึ่งในสุดยอดของยันต์หนุมานที่มีมาแต่โบราณ ไว้ บริ เวณกลางหลัง เนื่องจากเชื่อว่ายันต์หนุมานเชิญธงมี อานุภาพทางด้ านแคล้ วคลาดและคงกระพัน ชาตรี (อุ ร คิ น ทร์ วิ ริ ย ะบู ร ณะ, ม.ป.ป., น.๑๒๗., โดมภ์ ทิ พ ย์ สุ ด า, ๒๕๕๕, น. ๑๔๗. และ พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๔๗.)
๒๙
ภาพที่ ๑๒ ยันต์ หนุมานเชิญธง
ที่มาภาพ : อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๑๒๗. ยันต์ เสือฟุบ ยันต์เสือฟุบนับเป็ นหนึ่งในยันต์สาคัญที่ประเภทลวดลายรู ปสัตว์ เนื่องจากเสือถื อเป็ น สัตว์ที่มีลกั ษณะดุดนั น่าเกรงขาม คล่องเเคล่ว ว่องไว มีอานาจบารมี จนทาให้ ผ้ สู กั ยันต์จานวนมากจึง นิยมนารู ปเสือมาผนวกกับอักขระในภาษาขอมและบาลีมาสักเป็ นยันต์เสือรู ปแบบต่าง ๆ ไว้ บริ เวณ หน้ าอก แขน และกลางหลัง โดยการสักยันต์เสือฟุบนันมี ้ ความเชื่อว่ามีอานุภาพทางด้ านเมตตามหา นิยมและยังสามารถป้องกันภูตผีปีศาจ อาถรรพ์ และสัตว์ตา่ ง ๆ ไม่ให้ ทาร้ ายได้ (อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ม.ป.ป., น.๑๐๗-๑๐๘. และโดมภ์ ทิพย์สดุ า, ๒๕๕๕, น. ๒๕๕.)
๓๐
ภาพที่ ๑๓ ยันต์ เสือฟุบ
ที่มาภาพ : อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ, ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, ๒๕๕. ๙. การสักยันต์ แบบโบราณ: กรณีศึกษาวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ในกระบวนการสักยันต์แบบโบราณที่สืบทอดและถือปฏิบตั ิมากระทัง่ ในปั จจุบนั นันต่ ้ างมี อุปกรณ์ พิธีกรรม และขันตอนในการสั ้ กยันต์ที่จะต้ องถือปฏิบตั ิเป็ นแบบแผนเดียวกันมาอย่างเคร่งครัด เพื่ อ ด ารงไว้ ซึ่ง ความขลัง ความศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ แ ละคุณ ทางด้ า นเมตตามหานิ ย มและ / หรื อ ทางด้ า น อยู่ยงคงกระพันธ์ ของยันต์นนั ้ ๆ โดยจะขอยกตัวอย่างการสักยันต์แบบโบราณตามแบบแผนของวัด บางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม มานาเสนอเพื่อ ให้ เกิดความเข้ าใจต่อการสักยันต์แบบ โบราณของคนในลุม่ แม่น ้าภาคกลาง แบ่งการนาเสนอออกเป็ น ๒ ส่วน ดังนี ้ อุปกรณ์ ในการสักยันต์ อุปกรณ์ในการสักยันต์ที่สาคัญและมีมาแต่โบราณนัน้ ประกอบด้ วย เข็มสักยันต์ : สาหรับในการสักยันต์แบบโบราณ พระหรื ออาจารย์สกั ยันต์มักจะนิยม “เข็มสักยันต์” ที่ทามาจากก้ านร่ มผ่าปลายฝนปลายจนแหลม (พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และ คณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๙.) ที่ได้ รับการปลุกเสกมาใช้ ในการสักยันต์เพื่อความขลัง ความศักดิส์ ิทธิ์ และคุณ ของรอยสักนัน้ ๆ อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั การสักยันต์จะเปลี่ยนมาใช้ เข็มเหล็กชุดโครเมี่ยม ทองเหลือง
๓๑
หรื อแสตนเลสที่ปลายเข็มเจาะเป็ นช่องเล็ก ๆ ยาวประมาณ ๓-๔ เซนติเมตร (ประทุม โพธิ์ สวรรค์, สัมภาษณ์.) จุม่ หมึกและแทงลงบนไปในผิวหนังของผู้ที่ต้องการสักยันต์เพื่อให้ เกิดลวดลายอักขระยันต์ ประเภทต่าง ๆ หมึ ก สั ก ยันต์ : ส าหรั บ ในการสักยันต์ ลงอักขระ เลขยันต์ ตามแบบโบราณของทาง วัดบางพระต่างมีรูปแบบของหมึกที่ใช้ ในการสักยันต์สาคัญ ๒ ประเภท คือ (๑) การสัก ยัน ต์ ด้ วยหมึ ก : โดยการสัก ยัน ต์ ด้ วยหมึ ก ตามแบบโบราณนัน้ จะใช้ “หมึกสักยันต์ที่มาจากยางไม้ จากต้ นหมึกหรื อยางจากต้ นไม้ บางประเภท” ที่นามาเคี่ยวผสมกับเขม่าไฟ จากก้ นหม้ อหรื อกะลาเผาป่ นละเอียด กับ “หมึกสักยันต์ประเภทน ้าหมึกจีนหรื อหมึกแท่งสีดา” ที่ฝนลง ไปบนฝาหม้ อดินเผาแล้ วผสมกับน ้ามนต์และน ้ามันบางชนิดที่ผ่านการปลุกเสก ซึ่งหมึกทั ง้ สองชนิดใน ข้ างต้ นจะนิยมผสมกับเหล้ า ว่าน และสมุนไพรประเภทต่าง ๆ เพื่อสรรพคุณในการฆ่าเชื่อโรคและ สมานแผลที่เกิดจากการสักยันต์ ยิ่งไปกว่านันเพื ้ ่อเพิ่มความขลังของหมึกสักยันต์ประเภทนี ้ยังสามารถ นาหมึกสักยันต์ดงั กล่าวมาผสมกับดีควาย ดีปลาช่อน ดีหมี และดีเสือได้ อี กด้ วย ทังนี ้ ้ในกระบวนการ ทาหมึกสักยันต์โบราณทัง้ ๒ ประเภทนี ้พระหรื ออาจารย์สกั ยันต์จะทาการท่องคาถากากับและปลุกเสก หมึกสักยันต์ดงั กล่าวให้ เกิดความขลังของหมึกสักยันต์ อย่างไรก็ตาม การการสักด้ วยหมึกทัง้ ๒ ประเภท ในข้ างต้ นนันกลั ้ บไม่สามารถพบเห็นได้ โดยทัว่ ไปในปั จจุบนั เนื่องจากการทาหมึกสักยันต์ดงั กล่าวมีขนตอน ั้ กระบวนการ และพิธีกรรมที่ยงุ่ ยาก และซับซ้ อน จนส่งผลให้ ในปั จจุบนั พระหรื ออาจารย์สกั ยันต์ส่วนใหญ่ จึงนิยมใช้ หมึกฝรั่งสาหรับการ สักยันต์หรื อหมึกจี นส าเร็ จ รู ปแทนหมึกตามแบบโบราณในการสักยันต์แทน (ประทุม โพธิ์ ส วรรค์, สัมภาษณ์. และ นายต้ อม (นามสมมุต)ิ , สัมภาษณ์.) และ (๒) การสัก ยัน ต์ ด้ ว ยน า้ มัน : โดยการสัก ยัน ต์ ด้ ว ยน า้ มัน ตามแบบโบราณนัน้ จะใช้ “น ้ามันจันทร์ หอมแช่ว่าน” หรื อ “น ้ามันงา” ในการสักยันต์ประเภทนี ้ ทังนี ้ ้เพื่อเพิ่มความขลังของหมึก สักยันต์ประเภทนี ้ยังสามารถนาน ้ามันช้ างตกมันและ/หรื อน ้ามันเสือโคร่งมาผสมกับน ้ามันจันทร์ หอม แช่ว่านหรื อน ้ามันงาได้ อีกด้ วย โดยการสักยันต์ประเภทนี ้ลงบนร่ างกายเมื่อรอยสักตกสะเก็ดแล้ วนัน้ เนื อ้ ที่ ถูก สัก ก็ จ ะสมานเป็ น เนื อ้ เดี ย วกัน และจะไม่ป รากฏลวดลายให้ เ ห็ น (พระอาจารย์ พิ เ ชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๖๐.) แม่ พิมพ์ ยันต์ ประเภทลายรู ป ต่ า ง ๆ : โดยในการสักยันต์ ประเภทลายรู ปต่าง ๆ ที่ นอกเหนือจากการสักอักขระและเลขยันต์ตามแบบโบราณของทางวัดบางพระนัน้ ยังมีอปุ กรณ์ที่สาคัญ
๓๒
ในการสักยันต์ประเภทลายรูปต่าง ๆ อีกอย่างหนึ่ง คือ “แม่พิมพ์ยนั ต์ประเภทลายรูปต่าง ๆ” ที่ลกู ศิษย์ ของทางวัดบางพระทาการแกะขึน้ จากไม้ ต่าง ๆ ตามคาบอกเล่าของพระอาจารย์ โดยแม่พิมพ์ยันต์ ประเภทลายรูปต่าง ๆ นันถื ้ อเป็ นหนึง่ ในเครื่ องมือที่สาคัญที่จะมีสว่ นช่วยให้ การสักยันต์ประเภทลายรูป ต่าง ๆ นันเป็ ้ นไปในแบบแผนเดียวกันและง่ายต่อการสักยันต์ประเภทลายรู ปต่าง ๆ โดยแม่พิมพ์ยนั ต์ ประเภทลายรู ปต่าง ๆ ที่เป็ นที่นิยมในการสักยันต์นนประกอบ ั้ อาทิ แม่พิมพ์ลายรู ปเสือเผ่น แม่พิมพ์ ลายรูปหนุมาน แม่พิมพ์ลายรูปพญาหงส์ แม่พิมพ์ลายรูปพญาครุฑ ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม่พิมพ์ยันต์ประเภทลายรู ปต่าง ๆ ที่ทามาวัสดุประเภทไม้ ชนิดต่าง ๆ ตามแบบโบราณนันกลั ้ บไม่มีความละเอียดเทียบเท่าแม่พิมพ์ยนั ต์ประเภทลายรูปต่าง ๆ ในรูปแบบตรา ยางที่ ถู ก ใช้ เป็ นแม่ พิ ม พ์ ใ นการสั ก ยั น ต์ ใ นยุ ค ปั จ จุ บัน (ประทุ ม โพธิ์ ส วรรค์ , สัม ภาษณ์ . และ นายต้ อม (นามสมมุต)ิ , สัมภาษณ์.) ภาพที่ ๑๔ แม่ พมิ พ์ ยันต์ แบบตรายาง
ภาพถ่ายโดย : ว่าที่ร้อยตรี ศิวพล โกศลสิริเศรษฐ์ พิธีกรรมและขัน้ ตอนในการสักยันต์ พิธีกรรมและขันตอนในการสั ้ กยันต์ สาหรับในการสักยันต์ตามแบบโบราณของทางวัด บางพระที่ถกู สืบทอดมาจวบจนในปั จจุบนั พิธีกรรมและขันตอนที ้ ่สาคัญที่สุดประการหนึ่งที่ผ้ สู กั ยันต์ ทุกคนจะต้ องถือปฏิบตั ิคือผู้สกั ยันต์จะต้ อง “ทาพิธีไหว้ ครู” ด้ วยการตังขั ้ นหรื อยกครูหรื อขึ ้นครูก่อนที่จะ ดาเนินการสักยันต์ โดยผู้สกั ยันต์จะต้ องนาเอาขันที่มีดอกไม้ ธูป เทียน ข้ าวตอก หมาก เมี่ยงบุหรี่ และ
๓๓
เงินบูชาครู มาทาพิธีขึ ้นครูเพื่อให้ พระอาจารย์ผ้ สู กั ยันต์ได้ รับผู้สกั ยันต์นนั ้ ๆ เป็ นศิษย์ก่อนดาเนินการ สักยันต์เป็ นอักขระและลวดลายประเภทต่าง ๆ (อังคาร ปัญญาศิลป์ , ม.ป.ป., น. ๖๙.) อย่างไรก็ตาม ก่อนที่ศิษย์จะสามารถทาพิธีไหว้ ครูเพื่อ ให้ พระอาจารย์ได้ รับผู้สกั ยันต์เป็ น ศิษย์ตามแบบโบราณของทางวัดบางพระ (สมัยหลวงพ่อหิ่ม อินฺทโชโต และหลวงพ่อเปิ่ น ฐิ ตคุโณ) นัน้ ผู้จะสักยันต์ต้องเข้ ามาอาศัยอยูท่ ี่วดั บางพระเป็ นระยะเวลาหนึง่ ก่อน (ประมาณ ๓ ถึง ๑๕ วัน ) เพื่อให้ หลวงพ่อได้ ศกึ ษานิสยั ใจคอและความเหมาะสมในการสักยันต์ต่าง ๆ ให้ กบั ผู้สกั ยันต์นนั ้ ๆ ก่อน จึงจะ สามารถฝากตัวเป็ นศิษย์และทาพิธีไหว้ ครูเพื่อสักยันต์ได้ (ประทุม โพธิ์สวรรค์, สัมภาษณ์.) ในปั จจุบนั การสักยันต์จากวัดบางพระนัน้ ผู้สักยันต์ต้องกระทาเพียงจัดหาดอกไม้ ธูป เทียน และค่ายกครูจานวน ๒๔ บาท (พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๙.) มา ขึ ้นครูและทาพิธีไหว้ ครู กบั พระหรื ออาจารย์ที่ทาการสักยันต์เพียงอย่างเดียว โดยไม่ต้องมาพานักอาศัย อยู่ที่วัดบางพระก่อนเป็ นระยะเวลาหนึ่งเพื่อให้ พระหรื ออาจารย์สักยันต์ศึกษานิสยั ใจคอและความ เหมาะสมเฉกเช่นการสักยันต์ตามแบบโบราณของทางวัดบางพระ (ประทุม โพธิ์ สวรรค์, สัมภาษณ์. และ นายต้ อม (นามสมมุต)ิ , สัมภาษณ์.) โดยหลังจากทาพิธีไหว้ ครูเป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ วนันพระหรื ้ ออาจารย์สกั ยันต์จะทาการเลือก วางตาแหน่งและรูปแบบของยันต์ตามความเหมาะสมให้ กบั ผู้สกั ยันต์ ทังนี ้ ้หากผู้สกั ยันต์ที่ไม่เคยมีการ สักยันต์จากทางวัดบางพระมาก่อนนันจะต้ ้ องทาการสักยันต์เก้ ายอดซึง่ เป็ นยันต์ครูของวัดบางพระเป็ น ลาดับแรกก่อน ต่อมาจึงจะสามารถสักยันต์แปดทิศและยันต์งบนา้ อ้ อย แล้ วจึงจะสามารถสักยันต์ อื่ น ๆ เป็ น ล าดับ ต่อ ไปได้ (ประทุม โพธิ์ ส วรรค์ , สัม ภาษณ์ . และพระอาจารย์ พิ เ ชษฐ์ ฐิ ต โสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๙.) ทังนี ้ ้ เมื่อพระหรื ออาจารย์สกั ยันต์เลือกแบบให้ กบั ผู้สกั ยันต์ได้ เรี ยบร้ อยแล้ วนันจะท ้ าการ วาดยันต์โดยใช้ หมึกจีนวาดและ / หรื อตีเส้ นยันต์ลงบนผิวหนังก่อน หรื อในกรณียนั ต์ประเภทลายรูป ต่าง ๆ พระหรื ออาจารย์สักยันต์จะนาเอาแม่พิมพ์ยันต์ประเภทลายรู ปต่าง ๆ ที่ทาจากไม้ ตามแบบ โบราณรมควันจากตะเกียงน ้ามันก๊ าดหรื อเทียนไขเพื่อให้ เกิดเขม่าจับแบบพิมพ์จากนันจึ ้ งจะทาการ พิมพ์ลงไปบนผิวหนังในบริเวณที่ต้องการสัก โดยเมื่อกาหนดจุด ยันต์หรื อวาดยันต์หรื อพิมพ์ยนั ต์ลงในบริ เวณที่ต้องการแล้ วนัน้ พระ หรื ออาจารย์สกั ยันต์จะนาเอาเข็มสักยันต์ฝนปลายจนแหลมจุ่มลงไปในน ้าหมึกหรื อน ้ามันแล้ ว จึงจะ ทาการกดผิวหนังในบริเวณที่จะสักให้ ตงึ จากนันจึ ้ งใช้ เข็มสักยันต์แทงตามรูปแบบพิมพ์ที่ได้ กาหนดร่าง
๓๔
ไว้ ควบคู่ไปกับบริ กรรมคาถาลงไปในยันต์ตลอดระยะเวลาที่สกั ยันต์เพื่อถ่ายทอดพระเวทย์ลงไปใน ยันต์นนั ้ ๆ จนแล้ วเสร็จการสักยันต์ (พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๕๙ – ๖๐.) ภาพที่ ๑๕ การสักยันต์ ในปั จจุบันของวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ภาพถ่ายโดย : ว่าที่ร้อยตรี ศิวพล โกศลสิริเศรษฐ์ อย่างไรก็ดี ในปั จจุบนั นันภายหลั ้ งได้ รับการสักยันต์ต่าง ๆ เป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ วนันผู ้ ้ สัก ยันต์จะต้ องเข้ าไปกราบที่หน้ าศพของหลวงพ่อเปิ่ น ฐิ ตคุโณ และให้ พระครู อนุกูลพิศาลกิจ (สาอางค์ ปภสฺสโร) เจ้ าอาวาสวัดบางพระรูปปั จจุบนั เป่ าคาถาและครอบครูให้ อีกครัง้ หนึ่ง (ประทุม โพธิ์สวรรค์, สัมภาษณ์. และพระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ, ๒๕๕๔, น. ๖๐.) อันเป็ นการเสร็ จพิธีกรรม และขันตอนในการสั ้ กยันต์ จากทางวัดบางพระ สถานที่อนั เป็ นตานานของการสักยันต์ของคนในลุ่ม แม่น ้าภาคกลางและของประเทศไทย สาหรับผู้ที่ได้ รับการสักยันต์ตามแบบโบราณจากทางวัดบางพระ จะต้ องตระหนักและถือ ปฏิบตั ิโดยเคร่งครัดเพื่อเทิดทูลและบูชาไว้ ซึ่งบุญญาธิการของบูรพาจารย์ที่ถกู ถ่ายทอดสู่ตวั ของคนสัก
๓๕
ยันต์ไม่ให้ เสื่อมคลายความขลังนันคื ้ อ ผู้สกั ยันต์ทกุ คนจะต้ อง “ทากรรมดีและถือปฏิบตั ใิ นศีล ๕” อย่าง เคร่งครัด อย่างไรก็ตาม จากการสัมภาษณ์ คณ ุ ประทุม โพธิ์ สวรรค์ ไวยาวัจกรวัดบางพระ พบว่า หากผู้สกั ยันต์คนใดไม่สามารถถือศีล ๕ ได้ ครบนันศี ้ ลสาคัญประการหนึ่งที่ผ้ สู กั ยันต์จะต้ องถือปฏิบตั ิ ให้ ได้ อย่างเคร่ งครัดคือ “ศีลข้ อ ๓ : กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปทสมาทิยามิ” หรื อการเว้ นจาก การประพฤติไม่เหมาะสมทางเพศ ดัง่ คาให้ สมั ภาษณ์ที่วา่ “...ผู้สกั ยันต์ กบั หลวงพ่อหิ่ มและหลวงพ่อเปิ่ นทุกคนต้องห้ามผิ ดลูกผิ ดเมี ยเขา เป็ นอันขาด มิ ฉ ะนั้นคุณพระเขาจะไม่ คุ้ม ครองเอา...” (ประทุม โพธิ์ ส วรรค์, สัมภาษณ์.) ภาพที่ ๑๖ ลายสักยันต์ แบบโบราณตาหรับวัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม
ภาพถ่ายโดย : ว่าที่ร้อยตรี ศิวพล โกศลสิริเศรษฐ์ ๑๐. ความเชื่อและการปฏิบัตติ นหลังจากได้ รับการสักยันต์ หากพิ จ ารณาถึ ง ความเชื่ อ ถึ ง ข้ อ ห้ า มหลัง การสัก ยัน ต์ โ ดยทั่ว ไปที่ พ ระหรื อ อาจารย์ ทังหลายได้ ้ ถ่ายทอดมาแต่โบราณเพื่อยันต์ที่สกั ยังคงความขลัง ความศักดิส์ ิทธิ์ และคุณของยันต์คงอยู่ กับผู้สกั ยันต์สืบไปนัน้ จะเห็นได้ วา่ ข้ อห้ ามหลังการสักยันต์ที่ปรากฏในสังคมไทยสามารถจาแนกได้ เป็ น
๓๖
๔ ประเภท (ประทุม โพธิ์ สวรรค์, สัมภาษณ์ ., ราช รามัญ , ๒๕๔๖, น. ๔๐-๔๑., สวร ฤษี , ๒๕๕๔, น.๑๕๙-๑๖๒., อังคาร ปั ญญาศิลป์ , ม.ป.ป., น.๑๕๕-๑๕๙. และพระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และ คณะ, ๒๕๕๔, น. ๖๐.) ดังนี ้ ความเชื่ อถึงข้ อห้ า มเกี่ ยวกั บ อากั ป กิ ริยา : ผู้สักยันต์ทุกคนห้ ามเดินลอดไม้ คา้ ต้ น กล้ วย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง กล้ วยตานี ที่ จ ะมี ค วามเฮี ย้ นมากเป็ นพิ เ ศษ ห้ ามเดิ น ลอดราวผ้ า ลอดสะพานหัวเดียว ลอดสะพานท่าน ้า ลอดร่องถ่ายทุกข์ ลอดให้ รัว้ บ้ าน ลอดใต้ ถนุ บ้ าน ลอดใต้ บนั ได ลอดผ้ าถุงสตรี และลอดใต้ ต้นมะเฟื อง รวมทัง้ ยังห้ ามเดินข้ ามสะพานที่ทอดข้ ามแหล่งนา้ ที่ไม่มีน ้า ห้ ามมองลงไปในบ่อน ้าที่ไม่มีน ้า ห้ ามแหงนหน้ ามองดูท้องฟ้า และห้ ามนัง่ บนครกที่ แตกหรื อครกที่ทา มาจากไม้ คงั่ ไม้ มะลุง และไม้ มะค่า ตลอดจนห้ ามนัง่ ทับหมอนหนุนหัว ห้ ามสตรี มานัง่ ทับหรื อนอนทับ บนร่างกาย ห้ ามบ้ วนน ้าลายลงโถส้ วมและพื ้น และห้ ามนอนหันหัวไปทางทิศตะวันตก อันเป็ นทิศของ คนตาย ความเชื่อถึงข้ อห้ ามเกี่ยวกับพฤติกรรม : ผู้สกั ยันต์ทกุ คนห้ ามเสพเมถุนกับผู้ที่ไม่ใช่ ภรรยาของตน รวมถึงผู้หญิงโสเภณี ตลอดจนเสพเมถุนกับลูกสาวที่พอ่ แม่ไม่อนุญาต และข่มขืนกระทา ชาเลาผู้อื่นในทุกกรณี นอกจากนี ้ผู้สกั ยันต์ทกุ คนยังห้ ามลักขโมยอันเป็ นการผิดศีลธรรมอย่างยิ่ง ความเชื่อถึงข้ อห้ ามเกี่ยวกับวาจา : ผู้สกั ยันต์ทุกคนห้ ามกล่าวคาหยาบคายกับผู้อื่น ห้ ามด่าบุพการี ทงของตนและของผู ั้ ้ อื่น ห้ ามด่าครูอาจารย์และผู้มีพระคุณทังของตนและของผู ้ ้ อื่น และ ห้ ามผิวปากในยาวค่าคืนเพราะเป็ นการเปิ ดทวาร ซึง่ อาจถูกทาคุณไสยได้ และ ความเชื่อถึงข้ อห้ ามเกี่ยวกับการบริ โภค : ผู้สกั ยันต์ทุกคนห้ ามบริ โภคเนื อ้ ๑๑ ชนิด ประกอบด้ วย เนื ้อเสือโคร่ง เนื ้อเสือเหลือง เนื ้อช้ าง เนื ้อม้ า เนื ้อสุนขั เนื ้อแมว เนื ้องู เนื ้อลิง เนื ้อหมี ปลา ไหล และเนื ้อมนุษย์ รวมทังยั ้ งห้ ามบริ โภคมะเฟื อง น ้าเต้ า เต่าร้ าง ฟั ก ตลอดจนห้ ามบริ โภคอาหาร เหลือเดนทังอาหารเหลื ้ อจากพระและคนอื่น ๆ และอาหารที่แจกเลี ้ยงในงานศพ โดยความเชื่อถึงข้ อห้ ามหลังการสักยันต์ทงั ้ ๔ ประเภท ในข้ างต้ นถือเป็ นความเชื่อที่สืบ ทอดกันมาแต่โบราณของคนในสังคมไทยให้ ผ้ สู กั ยันต์ทุกคนจะต้ องถือปฏิบตั ิโดยเคร่งครัดเพื่อยันต์ที่ สักลงบนร่ างกายนัน้ มีอานุภาพ ความขลัง ความศักดิ์สิ ทธิ์ และคุณทางด้ านเมตตามหานิยมหรื อ ทางด้ านอยู่ยงคงกระพันธ์สืบไปแก่ตวั ผู้สกั ทังหากวิ ้ เคราะห์ถึง ความเชื่อถึงข้ อห้ ามหลังการสักยันต์ ใน ข้ างต้ นนัน้ จึงอาจกล่าวได้ ว่าข้ อห้ ามดังกล่าวมี จุดหมายสูงสุดเพื่อให้ ผ้ สู กั ยันต์ดารงตนอยู่ในศีลธรรม และความไม่ประมาททังปวงที ้ ่อาจนามาซึง่ หายนะและอันตรายแก่ตวั ผู้สกั ยันต์
๓๗
๑๑. บทสรุป: การสักยันต์ และลายสักจากอดีตจวบจนปั จจุบัน กล่าวได้ ว่าการสักยันต์ซึ่งถื อเป็ นการสร้ างสรรค์ผลงานศิลปะลงบนเรื อนร่ างของคนใน สังคมไทยที่มีมาแต่โบราณจวบจนกระทั่ง ถึงในปั จจุบนั ภายใต้ ความเชื่ อทางศาสนาพราหมณ์ และ ศาสนาพุทธ ผนวกกับความเชื่อทางไสยศาสตร์ นนั ้ ถือเป็ นหนึ่งในวัฒนธรรมที่มีความผูกพันกับคนใน สังคมไทยในทุกชนชันมาตั ้ งแต่ ้ อดีตจวบจนถึงในปั จจุบนั โดยมีเป้าหมายเพื่อ เสริ มสร้ างสิริมงคล ขวัญ และกาลังใจในการดาเนินวิถีชีวิตให้ กบั ผู้คนในสังคมไทย ซึ่งในสังคมไทยผู้สกั ยันต์จะเลือกสักยันต์ได้ หลากหลายประเภท ทังประเภทลวดลายอั ้ กขระที่ผกู เป็ นยันต์ที่ประกอบขึ ้นจากคาถาและบทพุทธมนต์ ต่าง ๆ ในภาษาบาลีที่เขียนด้ วยอักษรขอมและบาลีแล้ วผูกเข้ ากันเป็ นรู ปทรงต่าง ๆ รวมทังลายรู ้ ปที่ เกี่ ยวเนื่องกับพุทธศาสนาที่ประกอบขึน้ จากรู ปพระพุทธรู ปและเทพตามความเชื่อทางพุทธศาสนา ตลอดจนลายรูปที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู และลวดลายรูปสัตว์ในวรรณคดี อันมีที่มาจาก คัมภีร์แม่แบบของระบบยันต์ ๕ เล่มสาคัญ ประกอบด้ วยคัมภี ร์ปถมัง คัมภีร์อิธะเจ คัมภีร์ตรี นิสิงเห คัมภีร์มหาราช และคัมภีร์พทุ ธคุณ โดยยันต์สาคัญที่มีมาแต่โบราณและจวบจนกระทังในปั ้ จจุบนั นันมี ้ หลากหลายประเภท อาทิ ยันต์เก้ ายอด ยันต์แปดทิศ ยันต์งบน ้าอ้ อย ยันต์หนุมานเชิญธง ยันต์ตรี นิสิงเห ยันต์เสือฟุบ เป็ น ต้ น ในการสักยันต์นนผู ั ้ ้ สกั ยันต์ทุกคนจะต้ องทาพิธีไหว้ ครู เพื่อให้ พระหรื ออาจารย์ผ้ สู กั ยันต์ ได้ รับผู้สกั ยันต์นนั ้ ๆ เป็ นศิษย์ก่อน จากนันพระหรื ้ ออาจารย์สกั ยันต์จะใช้ เข็มสักยันต์ที่ทามาจากวัสดุ ต่าง ๆ จุ่มหมึกและแทงลงบนไปในผิวหนังของผู้ที่ต้องการสักยันต์เพื่อให้ เกิ ด ลวดลายอักขระยัน ต์ ประเภทต่าง ๆ โดยหมึกสักยันต์จ ะมีทงั ้ ที่มีส่วนผสมมาจากธรรมชาติ นา้ หมึกจีน และนา้ มัน ทัง้ นี ้ ภายหลังจากการสักยันต์เป็ นที่เรี ยบร้ อยแล้ วนัน้ ผู้สกั ยันต์ทกุ คนจะต้ องถือปฏิบตั ิตามข้ อห้ ามต่าง ๆ ที่ ถูกถ่ายทอดโดยพระหรื ออาจารย์สกั ยันต์ โดยเคร่งครัดทังข้ ้ อห้ ามที่เกี่ยวข้ องกับอากัปกิริยา พฤติกรรม วาจา และการบริ โภคเพื่อยันต์ที่สกั ลงบนร่ างกายนันมี ้ อานุภาพ ความขลัง ความศักดิ์สิทธิ์ และคุณ ทางด้ านเมตตามหานิยมหรื อทางด้ านอยูย่ งคงกระพันธ์สืบไปแก่ตวั ผู้สกั ยันต์
๓๘
รายการอ้ างอิง หนังสือและบทความในหนังสือ กรรณิการ์ วิมลเกษม. (๒๕๕๒) ตาราเรียนอักษรไทยโบราณ อักษรขอมไทย อักษรธรรมล้ านนา อั ก ษรธรรมอี ส าน, กรุ ง เทพฯ: ภาควิช าภาษาตะวันออก คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากร. เจ้ าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี. (๒๕๓๘) พระราชพงศาวดารกรุงรั ตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓, พิมพ์ครัง้ ที่ ๖. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร. ณัฐธัญ มณี รัตน์. (๒๕๕๙) เลขยั นต์ : แผนผั งอั นศั ก ดิ์สิทธิ์ . พิมพ์ครัง้ ที่ ๒, กรุ งเทพฯ : สถาบัน พิพิธภัณฑ์การเรี ยนรู้แห่งชาติ. โดมภ์ ทิพย์สดุ า. (๒๕๕๕) ยันต์ ไทยยอดนิยม, กรุงเทพฯ : ไทยควอลิตี ้บุ๊ค (๒๐๐๖). เทพย์ สาริกบุตร. (๒๕๐๑) พระคัมภีร์พระเวท ฉบับจัตตุถบรรพ, กรุงเทพฯ: อุตสาหกรรมการพิมพ์. ประเทิน มหาขันท์. (๒๕๓๔) ศิลปะการสักลาย, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ . ปิ ยะฉัตร ปี ตะวรรณ. (๒๕๒๖) ระบบไพร่ ในสังคมไทย พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓, กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ . พระราชครู ว ามเทพมุนี และ อุร ะคิน ทร์ วิ ริ ย ะบูร ณะ. (๒๕๑๓) คั ม ภี ร์ ยั น ต์ ๑๐๘. กรุ ง เทพฯ : ลูก ส. ธรรมภักดี. พระอาจารย์พิเชษฐ์ ฐิ ตโสภโณ และคณะ. (๒๕๕๔) หลวงพ่ อเปิ่ น ฐิตคุโณ : อัตตชีวประวัติพระ อุ ด มประชานาถ (หลวงพ่ อเปิ่ น ฐิ ตคุ โณ) วั ดบางพระ ต.บางแก้ ว ฟ้ า อ.นครชั ยศรี จ.นครปฐม, กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์เคพี แฟมิลี่บ๊ คุ . พาทิศ ธารบัวแก้ ว. (๒๕๓๗) เปิ ดคัมภีร์โบราณ – ตานานสักยันต์ , นนทบุรี : ๙๙ มีเดีย แอนด์ พับ ลิชชิ่ง, ๒๕๓๗. มองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์ . (๒๕๔๘) จดหมายเหตุลา ลูแบร์ ราชอาณาจักรสยาม, แปลโดย สันต์ ท. โกมลบุตร, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒, นนทบุรี : ศรี ปัญญา. ราช รามัญ. (๒๕๔๖) สักยันต์ อิทธิฤทธิ์หรื อมนต์ ดา, กรุงเทพฯ : อนิเมทกรุ๊ป. ราชบัณ ฑิ ต ยสถาน. (๒๕๕๐) กฎหมายตราสามดวง ฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน, กรุ ง เทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน.
๓๙
ราชบัณฑิตยสถาน. (๒๕๕๖) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. เริ งจิตรแจรง อาภากร. (๒๕๓๗) เกร็ ดพระประวั ติเสด็จในกรมหลวงชุ ม พรเขตอุ ดมศั กดิ์, ใน อนุสรณ์ ท่านหญิงเริง. กรุงเทพฯ: กองโรงพิมพ์ กรมสารบรรณทหารเรื อ. วิสนั ต์ ท้ าวสูงเนิน. (ม.ป.ป.) คัมภีร์มหายันต์ โบราณ เล่ ม ๓, นนทบุรี : วี.ที.เอส. บุ๊คเซ็นเตอร์ . เวทย์ วรวิทย์. (ม.ป.ป) ลายยันต์ ตารับเขาอ้ อ, พิมพ์ครัง้ ที่ ๒, กาญจนบุรี: ร่มฟ้าสยาม. สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ, (๒๕๓๕) เสด็จประพาสต้ น, พิมพ์ครัง้ ที่ ๙, กรุงเทพฯ : ครุสภา. สมเด็จพระเจ้ าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ. (๒๔๘๑) เรื่ องก่ อนประวัติศาสตร์ , พิมพ์ ครัง้ ที่ ๒, พระนคร : โสภณพิพรรณธนากร. สวร ฤษี. (๒๕๕๔) ตานานลายสักยันต์ ของชายชาตรี. กรุงเทพฯ: อาศรมปัญญา ๕๙๘๐. สังคีต จันทนะโพธิ. (๒๕๕๒) รอยสักสยาม, กรุงเทพฯ : สยามบันทึก. สายสม ธรรมธิ. (๒๕๓๘) รายงานการศึกษาวิจัยเรื่ อง ลายสักไทใหญ่ , เชียงใหม่ : สถาบันวิจัย สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ส านั ก งานคณะกรรมการวั ฒ นธรรมแห่ ง ชาติ ร่ วมกั บ ศู น ย์ วั ฒ นธรรมจั ง หวั ด ขอนแก่ น มหาวิทยาลัยขอนแก่ น และ ศูนย์ วัฒ นธรรมจัง หวัด ต่าง ๆ ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ . (๒๕๓๗) เชิดชูเกียรตินายจารุ บุตร เรื องสุวรรณ อดีตประธานสภา ผู้ ไม่ เคยทอดทิง้ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย , ก รุ ง เ ท พ ฯ : ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร วั ฒ น ธ ร ร ม แ ห่ ง ช า ติ กระทรวงศึกษาธิการ. สิโรตม์ ภินนั ท์รัชต์ธร. (๒๕๖๐) จิตรกรรมฝาผนังภาพยันต์ ตรี นิสิงเห หอไตร วัดป่ าไผ่ อาเภอโพ ธาราม จังหวัดราชบุรี, กรุงเทพฯ : สถาบันไทยคดีศกึ ษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . สุขกมล สันติพร. (๒๕๕๑) ร้ อยแปดพันเก้ า เรื่ องราวรอบรู้ อยู่ค่ ูคนไทย, นนทบุรี : ฉลองบุญ. สุทธิวาทนฤพุฒิ, หลวง. (๒๕๒๙) ประวัตศิ าสตร์ กฎหมาย, กรุงเทพฯ: ศรี สมบัตกิ ารพิมพ์. สุลกั ษณ์ ศรี บรุ ี และทวีวงศ์ ศรี บรุ ี . (๒๕๓๐) ลายสักที่พบในภาคกลางของประเทศไทย, กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร. (๒๕๒๙) จารึ กในประเทศไทย เล่ ม ๕, กรุ งเทพฯ : ภาพพิมพ์การ พิมพ์.
๔๐
อังคาร ปัญญาศิลป์ . (ม.ป.ป.) รอยสักไทย, นนทบุรี: วี.ที.เอส.บุ๊คเซ็นเตอร์ . อุรคินทร์ วิริยะบูรณะ. (ม.ป.ป.) ๑๐๘ ยันต์ ฉบับ พิสดาร, กรุงเทพฯ: ส.ธรรมภักดี. ภาษาอังกฤษ Apte, Aman Shivaram. (๑๙๙๘) The Practical Sanskrit – English Dictionary, Delhi: Motilal Banarsidass, ๑๙๙๘. บทความวารสาร ณัฎฐภัทร นาวิกชีวิน. “การสักขาที่บ้านเชียง.” วารสารเมื องโบราณ ปี ที่ ๔ ฉบับที่ ๔ (๒๕๒๑): ๓๔. กฎหมาย ระเบียบ และประกาศ กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็ นข้าราชการตารวจ พุทธศักราช ๒๕๔๗, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ ๑๒๑ ตอนที่ ๖๒ ก (๒๘ กันยายน ๒๕๔๗): ๑๖-๑๗. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ชมรมกัลยาณธรรม, “พุทธคุณ ๙”, กัลป์ ยาณธรรม. http://www.kanlayanatam.com/sara/sara๑๒. htm (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๐) นฤพนธ์ ด้ วงวิเศษ, “รื อ้ สร้ างมายาคติ “ความเป็ นชาย” ในสังคมไทย – เราจะศึกษา “ความเป็ นชาย” อย่างไร,” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).http://www.sac.or.th/conference /2017/blog-post/%E๐%B9%80%E0% B2%E0%B8%A2/ (สื บค้ นเมื่ อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๐) ศักดิศ์ รี บุญรังศรี , “ปรมาจารย์แห่งลุม่ แม่น ้านครชัยศรี ..ต้ นกาเนิดการสักยันต์ “หลวงปู่ หิ่ม วัดบางพระ” ผู้ถ่ายทอดวิชาให้ หลวงพ่อเปิ่ น..เชี่ยวชาญอาคม รักษาโรคภัย.” Tnews. www.tnews.co.th/ contents/398307 (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๑)
๔๑
ศักดิ์ศรี บุญรังศรี , “อานุภาพ!! ยันต์เกราะเพชร หลวงพ่อปาน ไม่ตายโหงแน่นอน!! พระโดนงูเห่ากัด จั ง ๆ ไม่ ต้ องรั ก ษา แค่ วู บ วาบ แล้ วหายไปเอง เชื่ อ ถื อ ได้ จริ ง ๆ.. ”, ส านั ก ข่ า วที นิ ว ส์ . http://www.tnews.co.th/contents/ 310151 (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) สิ ร วิ ญ ช์ แสนเกตุ, “โทษประหารชี วิ ต ”, พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ ร าชทัณ ฑ์ . http://nlaw.igetweb.com/index. php?mo=14&newsid=206281 (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๖๐) อาจารย์โสภณ, “พระยันต์พระอิติปิโสเกราะเพ็ชร์ สุดยอดแห่งยันต์หลัง ”, คม ชัด ลึก. http://www. komchadluek.net/news/lifestyle/205699 (สืบค้ นเมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๐) สัมภาษณ์ นายต้ อม (นามสมมุติ). ผู้ได้ รับการสักยันต์จากหลวงพ่อเปิ่ น ฐิ ตคุโ ณ และลูกศิษย์วดั บางพระ อาเภอ นครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. สัมภาษณ์วนั ที่ ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑. ประทุม โพธิ์สวรรค์. อดีตข้ าราชการครู และไวยาวัจกร วัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. สัมภาษณ์วนั ที่ ๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑.
๔๒
ลายสัก อักขระ เลขยันต์ จัดทาโดย ที่ปรึกษา
สถาบันไทยคดีศกึ ษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , มกราคม ๒๕๖๑ อาจารย์ ดร. อนุชา ทีรคานนท์ ผู้อานวยการสถาบันไทยคดีศกึ ษา ดร. สิโรตม์ ภินนั ท์รัชต์ธร นักวิจยั ปฏิบตั กิ าร สถาบันไทยคดีศกึ ษา ผู้เขียน นายสุทธิเกียรติ อังกาบูรณะ นักวิจยั ปฏิบตั กิ าร สถาบันไทยคดีศกึ ษา ถ่ายภาพ ว่าที่ร้อยตรี ศิวพล โกศลสิริเศรษฐ์ เจ้ าหน้ าที่บริหารงานทัว่ ไปฏิบตั กิ าร สถาบันไทยคดีศกึ ษา ผู้ประสานงาน นายธนะปิ ติ ธิป๋า เจ้ าหน้ าที่บริหารงานทัว่ ไปฏิบตั กิ าร สถาบันไทยคดีศกึ ษา ออกแบบปกและรูปเล่ม ว่าที่ร้อยตรี ศิวพล โกศลสิริเศรษฐ์ เจ้ าหน้ าที่บริหารงานทัว่ ไปฏิบตั กิ าร สถาบันไทยคดีศกึ ษา ขอขอบคุณ อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้าหลวง/ สายการบินแอร์ เอชีย/ วัดบางพระ อาเภอนครชัยศรี จังหวัด นครปฐม/ คุณประทุม โพธิ์สวรรค์