Creative magazine 04

Page 1



Editor's Note บทบรรณาธิการ

สารบั เตรียมเปิ ดประตูสู่ อนาคต

Creative Brief Calendar Inspiration Ideas Materials Classic Item Insight

Creative Entrepreneur Apostrophy' s

Cover Story

Macrotrends VS Microtrends

Creative City โซล

The Creative

ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี

04 05 05 06 08 09 12 14 20 24

หากเป็นเมื่อหลายปีก่อน คงจะไม่มีใครคิดว่ามหาอำนาจเศรษฐกิจอย่างสหรัฐอเมริกา จะประสบ ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจเข้าขั้นสาหัส และคงคิดไม่ถึงกับความพรั่นพรึงของสถานะทางการเงิน

ของอาณาจักรดูไบ เวิลด์ ทีเ่ คยประกาศสร้างให้นครดูไบเป็นประตูแห่งอาระเบีย ทัง้ นี้ ยังไม่นบั รวม

ข่าวร้ายทีก่ ระหน่ำถึงปัญหาจากสภาวะโลกร้อน วินาศกรรมการก่อการร้าย การแพร่ระบาดของเชือ้ โรค

สายพันธุใ์ หม่ และบรรดาเหตุการณ์ทคี่ กุ คามคุณภาพชีวติ และจิตใจอีกระลอกแล้วระลอกเล่า ที่เราเริ่มต้นด้วยการบอกข่าวร้ายนี้ ดูอาจจะไม่ใกล้เคียงกับธรรมเนียมของเทศกาลปีใหม่

แต่เชือ่ หรือไม่วา่ ข่าวร้ายเหล่านีค้ อื วัคซีนชัน้ ดีทจี่ ะคุม้ กันให้เรารับการเปลีย่ นแปลงในอนาคตอันใกล้ เพราะเมือ่ โลกกำลังหมุนพร้อมกับความเปลีย่ นแปลงนัน้ ได้สร้างปรากฏการณ์ใหม่ๆ ทีก่ ระทบกับ การดำเนินชีวติ ของเราอย่างไม่ตอ้ งสงสัย ความเปลีย่ นแปลงทีม่ าจากการวางนโยบายระดับชาติเพือ่ การแก้ปัญหาร่วมกันของนานาประเทศ อันนำมาซึ่งกติกาใหม่ในการดำเนินชีวิตของคนทั้งโลก

หรือความเปลี่ยนแปลงที่มาจากพลังความคิดของคนแต่ละกลุ่มที่ต้องการสื่อสารกับโลก ทุกสิ่ง

ทุกอย่างไม่วา่ จะถูกกะเกณฑ์ดว้ ยบรรดาผูน้ ำโลก หรือ เหล่าวัยรุน่ ในฮาราจูกุ มาถึงวันนีไ้ ด้กลายเป็น วิถขี องโลกไปแล้ว ดังนั้น ความยากของการใช้ชีวิตข้างหน้าก็คือ ความไม่รู้ถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที ่ จะเกิดขึ้น แต่ความง่ายอยู่ตรงที่ว่า เราสามารถเตรียมตัวรับมือด้วยการมองหาความรู้ เพื่อสร้าง

ความเข้าใจให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงนั้นได้ และนี่จะเป็นประตูแห่งโอกาสที่ทำให้เราอยู่ได้

อย่างแข็งแรงในวันข้างหน้านัน่ เอง อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล ผู้อำนวยการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC)

ภาพปก

Earth : Nasa Moon : www.flickr.com/photos/aussiegall/441659993

จัดทำโดย

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) 622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์ ชัน้ 24 ถนนสุขมุ วิท 24 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 ประเทศไทย โทร. 02-664-7667 แฟกซ์. 02-664-7670

พิมพ์ที่

บริษทั เกียวโด เนชัน่ พริน้ ติง้ เซอร์วสิ จำกัด 167/5 หมู่ 4 ถนนบางนา-ตราด (กิโลเมตรที่ 29.5) อำเภอบางบ่อ สมุทรปราการ 10560 โทร. 02-313-4413-4 แฟกซ์. 02-313-4415 จำนวน 50,000 เล่ม

Media Partner

จัดวางโดย

บริษทั สแปลช คอมมูนเิ คชัน่ ส์ (ไทยแลนด์) โทร. 02-624-9626 แฟกซ์. 02-237-5656 นิตยสารฉบับนี้ใช้หมึกพิมพ์จากน้ำมันถัว่ เหลือง ทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทัง้ ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และทีส่ ำคัญคือเป็นผลผลิตจากความคิดของผูป้ ระกอบการไทย http://creativecommons.org/licenses/by-nc-sa/3.0/th/ อนุญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงทีม่ า ไม่ใช้เพือ่ การค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย

ภายใต้โครงการ

“Creative Thailand สร้างเศรษฐกิจไทยด้วยความคิดสร้างสรรค์” คือโครงการโดยศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) มีเป้าหมายในการเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ (Creative Economy) และผลักดันอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industries) ให้เป็นกลไก สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.creativethailand.org หรือ twitter.com/Creative_Th อีเมล์ creativethailand@tcdc.or.th




หมายเหตุ: MC# คือรหัสวัสดุในฐานข้อมูลของ

















CREATIVE CITY จั

พระราชวังเคียงบก สร้างขึ้นในปี 1937

เป็นพระราชวังที่ใหญ่ที่สุดในบรรดาพระราชวัง ทั้ง 5 ของเกาหลีใต้ เป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์

แห่งชาติเกาหลี และพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านแห่งชาติ

Richard.Fisher

eimoberg

laszio-photo

เมืองหลวงแห่ งการออกแบบ เมืองหลวงแห่งการออกแบบของโลก (World Design Capital) ประจำปี โซลไม่ได้พอใจกับการเป็นศูนย์กลางแห่งวัฒนธรรมและเทคโนโลยี เท่านั้น แต่วางแผนที่จะยกระดับตัวเองให้เป็นมหานครแห่งการ ออกแบบแห่งใหม่ของโลก โดยมีนายโอ เซ ฮุน ผู้ว่าการกรุงโซล เป็นผู้ผลักดันโครงการนี้มาตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งในปี 2549 โดย

จัดตั้งแผนกออกแบบ ซึ่งมีรองผู้ว่าฯคอยดู แ ล เพื่ อ วางรากฐาน สนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมการออกแบบ และเปิดหลักสูตรสัมมนา สำหรับนักออกแบบรุ่นใหม่ ความพยายามของเขาส่งผลเมื่อโซลได้ รับเลือกจากสภาการออกแบบอุตสาหกรรมสากล (International Council of Societies of Industrial Design: ICSID) ให้เป็น

2010 เพื่อตอบโจทย์เมืองแห่งดีไซน์ ผู้ว่าการหนุ่มไฟแรงเดินหน้าปรับปรุง ทัศนียภาพใน 30 เขตทัว่ เมือง ตัง้ แต่เรือ่ งพืน้ ฐาน เช่น ปรับแต่งเสาไฟฟ้า ตู้ โทรศัพท์สาธารณะ และทางเดินเท้าให้สวยงาม เพิ่มความเขียวขจีในเมือง ด้วยต้นไม้ ไปจนถึงการสร้างสิ่งก่อสร้าง และอาคารที่สร้างสรรค์ให้เข้า กับสภาพแวดล้อมและภาพลักษณ์ใหม่ของเมือง เท่านั้นยังไม่พอ สำนัก ว่าการกรุงโซลยังดำเนินการเปลี่ยนสีของหลอดไฟที่ตกแต่งสะพานข้าม แม่น้ำฮันกว่า 20 แห่งทั่วเมือง เพิ่มความน่าสนใจ ดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ เป็นอย่างดี

Seoul Design Olympiad เพื่อผลักดันให้โซลเป็นที่รู้จักใน แจมซิ ล โอลิ ม ปิ ก สเตเดี้ ย ม กับสิ่งแวดล้อม สำนักว่าการโซล ฐ า น ะ เ มื อ ง ห ล ว ง แ ห่ ง ก า ร ออกแบบ ทางการจึงริเริ่ม Seoul Design Olympiad ขึ้ น ในปี 2551 เพื่ อ แสดงผลงานศิ ล ปะ แฟชั่ น และดี ไ ซน์ ห ลายแขนง จากนั ก ออกแบบแนวร่ ว มสมั ย ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง แถมยั ง เปิ ด กว้ า งให้ ชาวเมื อ งโซลนำผลงานการ ออกแบบของตนมาร่ ว มแสดง

ได้ด้วย เทศกาลนี้จัดขึ้นในเดือน ตุลาคมของทุกปี ณ สนามกีฬา

มกราคม 2553 | Creative Thailand

สถานที่ จั ด แข่ ง ขั น กี ฬ าโอลิ ม ปิ ก เมื่อปี 2534 โดย Seoul Design Olympiad ประจำปี 2552

ที่ ผ่ า นมา จั ด ขึ้ น ภายใต้ แ นวคิ ด

“i Design” เพื่ อ สนั บ สนุ น

ความคิ ด ที่ ว่ า ทุ ก คนสามารถ สร้างสรรค์และสนุกกับงานดีไซน์ ดี ๆ ได้ มี ก ารจั ด การประกวด ออกแบบ เพื่อค้นหานักออกแบบ หน้าใหม่ที่สร้างผลงานเป็นมิตร

ยั ง จั บ มื อ กั บ บ ริ ติ ช เ ค า น์ ซิ ล เกาหลี เชิ ญ ผู้ สู ง อายุ แ ละคน พิ ก ารมาทำงานร่ ว มกั บ ที ม นั ก ออกแบบ ในการแข่งขันออกแบบ พั ฒ นาไอเดี ย สำหรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใหม่ แถมยังจัดงานแสดงแฟชั่น ไปพร้อมๆ กันด้วย เพื่อผลักดัน ให้ ก รุ ง โซลเป็ น หนึ่ ง ในห้ า ของ ประเทศที่จัดงานแฟชั่นโชว์ระดับ นานาชาติของโลก


CREATIVE CITY จั

สำนักว่าการเมืองโซลติดไฟและหัวฉีดน้ำ รอบสะพาน Bonpo สำหรับการแสดงน้ำพุ ประกอบแสงสีเหนือแม่น้ำฮัน

Seoul Tower บนยอกเขานัมซัน เป็นจุดชมวิวเมืองโซลที่เยี่ยมที่สุด บนหอคอยที่มีพื้นที่แสดงศิลปะ และภัตตาคาร N Grill ที่หมุนรอบ ตัวเอง 360 องศา

st.solaris

yeowatzup

The Han River Renaissance Project

d'n'c

โครงการพัฒนาพื้นที่ริมแม่น้ำฮัน ได้รับการชื่นชมจาก เมื อ งต่ า งๆ ว่ า เป็ น ตั ว อย่ า งของแผนการฟื้ น ฟู แ ละ ปรับปรุงพื้นที่ริมแม่น้ำที่มีประสิทธิภาพ โดยการสร้าง สวนสาธารณะตลอดทางยาวกว่า 4.6 กิโลเมตร ริม แม่น้ำ เพื่อให้เป็นศูนย์รวมทางวัฒนธรรมและสถานพัก ผ่อนหย่อ นใจสำหรับ ชาวเมือ ง รวมถึงพัฒ นาระบบ ขนส่งมวลชนในพื้นที่บริเวณนี้ เพื่อให้ชาวเมืองและนัก ท่องเที่ยวเดินทางมาได้สะดวก โครงการนี้คาดว่าจะ เสร็จสมบูรณ์ภายในปี 2553

ชอง เก ชอน คลองในฝั

ชอง เก ชอน คือสายน้ำคู่บ้านคู่เมืองโซล

ที่มีอายุร่วม 600 ปี เคยถูกถมเพื่อสร้าง ถนนและสะพานยกระดับ จนเกิดปัญหา

น้ ำ เน่ า เสี ย และชุ ม ชนแออั ด ในปี 2546 อดี ต ผู้ ว่ า การโซล นายลี เมี ย ง บั ก ได้ ตัดสินใจรื้อโครงสร้างทางด่วน และคืนชีวิต ให้ แ ก่ ค ลองเก่ า แก่ ส ายนี้ ในช่ ว งแรก โครงการนี้ ถู ก วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ อ ย่ า งมาก เพราะใช้ ง บประมาณสู ง หลายร้ อ ยล้ า น เหรียญสหรัฐฯ แต่เพียงแค่สองปี น้ำในคลองชอง เก ชอน ที่กลับมาใสสะอาดอีกครั้ง ทำให้ทุกฝ่าย หันกลับมาชมเชย มีการพัฒนาพื้นที่สองฝั่งคลองให้เป็นแหล่งช้อปปิ้ง สวนสาธารณะ และสถานที่ แสดงงานของศิลปิน เคยมีการวัดกันว่า โครงการฟื้นฟูชอง เก ชอน ช่วยลดอุณหภูมิในพื้นที่บริเวณ ใกล้เคียงลงถึง 3.6 องศาเซลเซียส เมื่อเทียบกับบริเวณอื่นๆ ของเมืองโซล

dolmang

โจทย์ ที่ ท้ า ทายที่ สุ ด คงหนี ไ ม่ พ้ น การสร้ า ง อาคารศาลาว่าการกรุงโซลแห่งใหม่ ทีต่ อ้ งผสมผสาน สถาปัตยกรรมโบราณเข้ากับศิลปะสมัยใหม่ และ โครงการทงแดมุน ดีไซน์ พลาซ่า (Dongdaemun Design Plaza) ซึ่งทางการทุ่มงบประมาณกว่า

98 ล้านเหรียญสหรัฐฯ มอบหมายให้ซาฮา ฮาดิด สถาปนิกหญิงคนแรกของโลกทีไ่ ด้รบั รางวัลพริตซเกอร์ เป็นผู้ออกแบบให้เป็นศูนย์กลางการช้อปปิ้ง แฟชั่น วั ฒ นธรรม ศู น ย์ อ อกแบบ และห้ อ งจั ด แสดง

คอนเสิร์ต ที่ ไ ด้ ม าตรฐานระดับโลก โดยคาดว่า

จะเสร็จสมบูรณ์ในปี 2553 ผู้ ว่ า โอเคยพู ด ไว้ ว่ า เขาต้ อ งการให้ ทั่ ว โลก

พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า “ถ้าหากต้องการดูดีไซน์ ล่ า สุ ด ต้ อ งไปที่ ก รุ ง โซล” คำพู ด นี้ อ าจจะฟั ง ดู ทะเยอทะยาน แต่ด้วยโครงการต่างๆ ที่จะเสร็จ สมบูรณ์ในปีนี้ ความภาคภูมิใจในความเป็นชาติ และจิ ต วิ ญ ญาณ can-do ของคนเกาหลี

ปี 2553 นี้จึงเป็นปีที่ทุกสายตาทั่วโลกต้องจับจ้องไป ที่โซลอย่างไม่ต้องสงสัย

d'n'c

22 | 23







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.