Tmb borderless vol18

Page 1

วารสารที่สร้างความเป็นได้และส่งเสริมศักยภาพของทุกธุรกิจในโลกไร้พรมแดน / Vol. 18 MARCH - MAY 2014

Opportunity of Services Business inThailand Medical Tourism...

ไทยพร้อมหรือไม่กับการเป็นฮับ AEC

สัมภาษณ์พิเศษซีอีโอ ธุรกิจบริการชั้นน�ำของไทย

เกาะเทรนด์

ธุรกิจคนดัง


Editor’s Talk ธุรกิจบริการ นับเป็นหนึ่งในหลายธุรกิจที่มีบทบาทส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย จัดเป็น Product of Excellence อันประกอบด้วย 3 ธุรกิจหลัก ได้แก่ ธุรกิจบริการทางการแพทย์ ธุรกิจการให้บริการของผลิตภัณฑ์ และธุรกิจบริการส่งเสริมสุขภาพ อาทิ บริการนวดไทยและสปา ที่ก่อประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่อง เช่น การท่องเที่ยวและอาหาร ทั้งนี้ธุรกิจบริการส่วนใหญ่ของไทยเป็น SMEs ที่ต้องการ ‘แรงบันดาลใจ’ และ ‘ต้นแบบ’ ในการ ประกอบธุรกิจให้ประสบความส�ำเร็จท่ามกลางการแข่งขันที่รุนแรง ส�ำหรับวารสาร Borderless ฉบับที่ 18 จึงเจาะลึกไอเดียและทิศทางการด�ำเนินธุรกิจของธุรกิจบริการ ผ่านบทสัมภาษณ์ของผู้ประกอบการไทยชั้นน�ำในคอลัมน์ Success Story ที่เตรียมความพร้อมในการ แข่งขันในประเทศ รวมถึงการรุกฆาตในตลาดต่างประเทศเพือ่ เป็นการขานรับกระแสเออีซที จี่ ะมาถึงในไม่ชา้ นี้ ไม่วา่ จะเป็นวินเนอร์ฯ, สยามโกลบอลเฮ้าส์, โอเอซิส สปา และโรงพยาบาลเจ้าพระยา ทีล่ ว้ นแล้วแต่มชี อื่ เสียง และเป็นผู้เล่นที่ประสบความส�ำเร็จ ทั้งยังมีความโดดเด่นเป็นอย่างมากอีกด้วย นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของผู้ประกอบการไทย เช่น ประเทศไทยมีความพร้อม ด้านบุคลากรทางการแพทย์ที่เชี่ยวชาญ รวมถึงการให้บริการด้วยรอยยิ้มและใส่ใจในการดูแลผู้ป่วย อย่างใกล้ชิด แต่ยังต้องปรับปรุงในเรื่องของการจัดการที่มีประสิทธิภาพ เป็นต้น พร้อมกันนีย้ งั สามารถติดตามความเคลือ่ นไหวทางเศรษฐกิจอีกมากมาย ทัง้ ข้อมูลทีอ่ ดั แน่นของคอลัมน์ TMB Report ที่วิเคราะห์ถึงโอกาสและความท้าทายของธุรกิจบริการสุขภาพภายใต้เออีซี ส่วนคอลัมน์ Reflection น�ำเสนอ ‘ตลาดส�ำหรับธุรกิจบริการ’ ขณะที่คอลัมน์ Celebrity Biz พาคุณไปรู้จักกับธุรกิจ ร้านอาหารแนวใหม่ของนักร้องเสียงคุณภาพอย่างคุณแชมป์-ศุภวัฒน์ พีรานนท์ และคุณฟาน ศรีไตรรัตน์ ทายาทธุรกิจเรือด่วนเจ้าพระยา ขณะเดียวกันยังสานต่อองค์ความรู้เรื่อง Lean Six Sigma กับคอลัมน์ Efficiency Expertise อันเข้มข้นและอัดแน่นไปด้วยความรู้ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ได้จริง ตลอดจนเรื่องราวไลฟ์สไตล์ต่าง ๆ ทั้งกิน ดื่ม ท่องเที่ยว และอาหารสมองอย่างหนังสือชั้นดีที่พร้อมเสิร์ฟให้คุณอ่านอย่างครบรส

ใช้โทรศัพท์มือถือของท่าน สแกนเพื่อดาวน์โหลดวารสาร สนใจรับวารสาร TMB BORDERLESS กรุณาส่งที่อยู่ของท่านมาที่ bizsolution@tmbbank.com

ดาวน์โหลดได้ที่ Apple store ของ iOS และ Play store Android

บรรณาธิการบริหาร คุณปิติ ตัณฑเกษม คุณปพนธ์ มังคละธนะกุล กองบรรณาธิการ คุณวิทยา สินทราพรรณทร ดร.เบญจรงค์ สุวรรณคีรี คุณเชาวพัฒน์ เลิศวงศ์เสถียร คุณมยุรฉัตร ซื่อสัตย์สกุลชัย คุณวาทินี ณรงค์เกียรติคุณ คุณหนึ่งธิดา กุลเสวต คุณภัทรานิษฐ์ ไตรพิพัฒน์

Special Thanks l คุณวิทูร สุริยวนากุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สยามโกลบอลเฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) l คุณอัครวงศ์ เดชาโชติธนเศรษฐ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท วินเนอร์ เทเลคอมป์ กรุ๊ฟ จ�ำกัด l นพ.พงษ์พัฒน์ ปธานวนิช กรรมการผู้จัดการ โรงพยาบาลเจ้าพระยา l คุณภาคิน พลอยภิชา กรรมการผูจ ้ ดั การโอเอซิส สปา l คุณฟาน ศรีไตรรัตน์ กรรมการบริหาร เรือด่วนเจ้าพระยา l คุณฐานันดร์ ปฏิภานธาดา นักออกแบบบอนไซ เจ้าของเว็บไซต์ bonsaibaison l คุณศุภวัฒน์ พีรานนท์ เจ้าของร้านอาหาร Bad Motel ออกแบบโดย บริษัท จีเอ็ม มัลติมีเดีย จ�ำกัด (มหาชน) 914 อาคารจีเอ็ม กรุ๊ป ถนนพระราม 5 แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร. 02 241 8000 โทรสาร 02 243 9099

facebook fanpage TMB Borderless


CONTENTS

009

Vol. 18 MARCH - MAY 2014

005 Knowledge 006 Trend Watching 009 TMB Report โอกาสและความท้าทาย ของธุรกิจบริการสุขภาพภายใต้ AEC

012

012 Celebrity Biz ฟาน ศรีไตรรัตน์ เลือดใหม่ ‘เรือด่วนเจ้าพระยา’

แชมป์-ศุภวัฒน์ พีรานนท์ Bad Motel แหล่งแฮงเอาต์ของฮิปสเตอร์ 006

014 Efficiency Expertise ‘lean six sigma’ เพื่อปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ 016 Reflection คาถาสำ�หรับธุรกิจบริการ... ‘Do the right thing’ ไม่ใช่ ‘Do thing right’ 019 How to Success 016

014


CONTENTS 031

Vol. 18 MARCH - MAY 2014

026

020 028

032

020 SME Inspiration นพ.พงษ์พัฒน์ ปธานวนิช โรงพยาบาลเจ้าพระยา หนึ่งในผู้นำ� ‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเที่ยงคืน’

028 Big Idea

022 ภาคิน พลอยภิชา 10 ปี โอเอซิส สปา กับมาตรฐานบริการระดับสากล

029 Leisure

024 วิทูร สุริยวนากุล ‘นวัตกรรมทางความคิด’ สารเร่งโตสไตล์ ‘สยามโกลบอลเฮ้าส์’

031 Book Summary

026 อัครวงศ์ เดชาโชติธนเศรษฐ์ วินเนอร์ เหนือชั้นด้วย ‘บริการหลังการขาย’

034 Indulging

030 Hobby บอนไซ ไม้สง่าในกระถางงาม

032 Edutainment

038 Questionnaire 039 TMB Movement 022

024

030

026

034


KNOWLEDGE Trend Watching TMB Report Celebrity Biz Efficiency Expertise Reflection


เรือ่ ง : อรรถ อรรถมาตย์

ต้อนรับดาวเทียมดวงใหม่

‘ทีดีอาร์เอส-แอล’

องค์การนาซาประสบความส�ำเร็จในการปล่อยดาวเทียมสือ่ สาร ดวงใหม่ ‘ทีดอี าร์เอส-แอล’ มูลค่า 350 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือราว 11,550 ล้านบาท ที่แหลมคานาเวอรัล รัฐฟลอริดา สหรัฐอเมริกา นับเป็นดาวเทียมรุ่นที่ 3 ด้านการติดตามและถ่ายทอดข้อมูล ที่ ถู ก ปล่ อ ยสู ่ ห ้ ว งอวกาศ หลั ง จากรุ ่ น แรกถู ก ปล่ อ ยไปตั้ ง แต่ ป ี 2526 โดยนาซาถือว่าดาวเทียมดวงนี้จะปฏิวัติรูปแบบการสื่อสาร ที่เคยมีมา เพราะจะท�ำให้การศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงของ ชัน้ บรรยากาศโลกได้ละเอียด และมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ อันจะส่งผล ต่อการน�ำข้อมูลที่เที่ยงตรงและแม่นย�ำขึ้นนี้ ไปวิเคราะห์ ปรับปรุง แก้ไข และสร้างสมดุลของระบบนิเวศ ขณะที่ ‘ทีดีอาร์เอส-เอ็ม’ ดาวเทียมอีกดวงในรุ่นนี้ ได้ฤกษ์ปล่อยขึ้นสมทบในปี 2558

006 BORDERLESS


เทรนด์การท่องเที่ยว

อวกาศ

ในช่วง 2-3 ปีทผี่ า่ นมานีม้ กี ารทดลองทัวร์ทอ่ งเทีย่ ว อวกาศให้ เ ห็ น กั น อยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง มาในปี นี้ เราจะเห็ น เทรนด์ร้อนๆ นี้ อย่างชัดเจนมากขึ้น จากหลายบริษัท ทีเ่ สนอการท่องเทีย่ วนอกโลก เช่น สายการบิน Virgin Galactic ของริ ช าร์ ด แบรนสั น นั ก ธุ ร กิ จ ชื่ อ ดั ง ชาวอั ง กฤษ ประสบความส� ำ เร็ จ ในการทดสอบ SpaceShipTwo ยานอวกาศเชิงพาณิชย์ ที่จะน�ำคน ไปเทีย่ วในอวกาศ ด้วยสนนราคาตัว๋ ทีแ่ พงถึง 200,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือราว 6.6 ล้านบาท เพื่อที่จะได้ สิทธิ์โดยสารไปกับ SpaceShipTwo ยานอวกาศ เชิงพาณิชย์ที่จะบินขึ้นไปให้ใกล้ขอบอวกาศมากที่สุด ในระยะเวลาเพียง 20 นาทีเท่านั้น ก็จะได้เดินทาง วนรอบโลกและสัมผัสกับสภาพไร้น�้ำหนักที่เป็นไฮไลต์ ของการท่องเทีย่ วอวกาศ ซึง่ ประสบการณ์สดุ เอ็กซ์ตรีม แบบนี้ เ ป็ น ที่ ต ้ อ งการของมหาเศรษฐี ที่ นิ ย มความ แตกต่าง และมุ่งแสวงหาสินค้าและบริการที่กลุ่มแมส ไม่มีโอกาสเอื้อมถึง

แบงก์ชาติจีน

เผชิญวิกฤต

กลายเป็นข่าวใหญ่ขึ้นมาทันทีเมื่อธนาคารกลางแห่ง ประเทศจีน (PBOC) ประสบภาวะขาดดุลงบ เพราะต้อง อัดฉีดเงินเข้าระบบป้องกันวิกฤตสภาพคล่องจ�ำนวนมากถึง 3.75 แสนล้านหยวน หรือราว 6.2 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐฯ เข้ า สู ่ ร ะบบธนาคารในช่ ว งกลางเดื อ นมกราคมที่ ผ ่ า นมา ซึ่ ง ถื อ เป็ น วงเงิ น ที่ สู ง ที่ สุ ด นั บ ตั้ ง แต่ ก ่ อ นที่ จ ะถึ ง เทศกาล ตรุษจีนปีที่แล้ว โดยธนาคารกลางจีนได้ขยายวงเงินปล่อยกู้ ระยะสั้น (SLF) เพื่อท�ำให้ธนาคารขนาดเล็กมีเงินทุนมากขึ้น เพือ่ ไม่ให้สถานการณ์เลวร้ายลงไปกว่าเดิม ธนาคารกลางจีน จึ ง ต้ อ งออกโรงช่ ว ยเหลื อ แต่ นั่ น ก็ ส ่ ง ผลต่ อ สถานะ ความแข็งแกร่งและความมั่นคงของธนาคารกลางจีนเช่นกัน

BORDERLESS

007


WTO บรรลุข้อตกลงการค้าโลก

เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์

ในที่สุด WTO ก็บรรลุข้อตกลงการค้าโลก เป็ น ครั้ ง แรกในประวั ติ ศ าสตร์ ณ บาหลี ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย เมื่ อ เดื อ นธั น วาคม ที่ผ่านมา จากการประชุมของรัฐมนตรีการค้า จาก 159 ประเทศ หลังมีความพยายามร่วมกัน มานานถึ ง 12 ปี โดย ‘ข้ อ ตกลงบาหลี ’ (Bali Package) ที่น่ายินดี ซึ่งจะช่วยเพิ่ม เงินหมุนเวียนในตลาดโลกได้มากถึง 1 ล้าน ล้านเหรียญสหรัฐฯ หรือราว 33 ล้านล้านบาท นั้น ประกอบด้วย การลดขั้นตอนการศุลกากร ลงเพื่อเพิ่มความโปร่งใส การพัฒนาร้านค้า ปลอดภาษีส�ำหรับประเทศที่ยากจน รวมถึง การขยายโอกาสให้กับประเทศก�ำลังพัฒนา ด้วยการเพิ่มเงินอุดหนุนเกษตรกร และด้วย ข้อตกลงนีค้ าดว่าจะท�ำให้เกิดการจ้างงานมากถึง 20 ล้านต�ำแหน่ง โดยมี 18 ล้านต�ำแหน่ง อยู่ในประเทศก�ำลังพัฒนา และแน่นอนว่า นี่ คื อ โอกาสทองส� ำ หรั บ ประเทศที่ ย ากไร้ จะได้ลืมตาอ้าปากได้เสียที นั่นหมายถึงการ ส่งเสริมคุณภาพชีวติ ของประชากรโลกโดยรวม ด้วยนั่นเอง

ใครแพ้ ใครชนะในโลกไอทีปี

2013 เป็นที่แน่นอนแล้วว่าในปี 2014 นี้ Wearable Technology จะเป็ น พระเอกในโลกไอที แต่ ล องมาย้ อ นความหลั ง กั น ดู สั ก นิ ด ว่ า ใครกั น คือผู้แพ้ และใครคือผู้ก�ำชัยในโลกไอทีปีที่ผ่านมา โดย mashable.com เว็ บ ไซต์ ด ้ า นไอที ชื่ อ ดั ง ระบุ ว ่ า นอกเหนื อ จากทวิ ต เตอร์ ที่ แ ต่ ง ตั ว เข้ า ตลาดหลักทรัพย์ได้อย่างสวยงามแล้ว ยังมีกูเกิล กลาส ที่เป็นนวัตกรรมแห่งปี ส่วนกูเกิลเองยังมี ส่วนแบ่งการตลาดสูงถึง 80% ในระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์ ขณะที่ เ กมคอนโซลต้ อ งยกให้ กั บ เอ็ ก ซ์ บ็ อ กซ์ วั น และเพลย์ ส เตชั่ น โฟร์ ที่ ม าแรง เกินใคร ส่วนแอปเปิลแม้จะไม่หวือหวาแต่ก็ถือว่า ท� ำ ได้ ไ ม่ ขี้ ริ้ ว ขี้ เ หร่ ส่ ว นที่ พ ่ า ยแพ้ แ บบยั บ เยิ น 008 BORDERLESS

เห็ น จะเป็ น มายสเปซ ที่ แ ม ้ จ ะ อ อ ก แ บ บ ห น ้ า ต า เว็ บ ไซต์ ใ หม่ แต่ ก็ เ รี ย กคะแนนนิ ย ม กลับมาไม่ได้ เช่นเดียวกับบาร์นส์ แอนด์ โนเบิ ล คู ่ แข่ ง อเมซอน ที่ แ ม้ จ ะรี ดี ไซน์ อี รี ด เดอร์ ใ หม่ แต่ ย อดขายก็ ยั ง หล่ น ลง อย่างน่าใจหาย ส่วนซัมซุง เกียร์ สมาร์ต วอทช์ก็มีกระแสตอบรับที่ไม่ค่อยจะสู้ดีนัก และไม่แพร่หลายในกลุ่มแมส เช่นเดียวกับ แบล็ ก เบอร์ รี ที่ นั บ วั น จะสาละวั น เตี้ ย ลง แม้จะเปลี่ยนซีอีโอแล้วก็ตามที


TMB Report เรือ่ ง : ศูนย์วเิ คราะห์เศรษฐกิจ ทีเอ็มบี

โอกาสและความท้าทาย ของธุรกิจบริการสุขภาพ ภายใต้

AEC

ธุรกิจบริการสุขภาพ (Healthcare Services) เป็นหนึ่งในสาขาบริการเร่งรัด ให้เปิดเสรีก่อนก้าวสู่การรวมกลุ่ม เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC อย่างเป็นทางการในปี 2558 โดยประเทศสมาชิกอาเซียนมีข้อผูกพัน ในการยกเลิกข้อจ�ำกัดต่าง ๆ ในการ เข้าสู่ตลาด เพิ่มเพดานสัดส่วนการลงทุน ของประเทศสมาชิก และลดข้อจ�ำกัด เพื่อเพิ่มโอกาสในการเคลื่อนย้ายบุคลากร วิชาชีพด้านบริการทางการแพทย์ ของชาติอาเซียน แม้การเปิดตลาดใน AEC มีแนวโน้มที่จะเป็นโอกาสในการขยาย ตลาดบริการสุขภาพของผู้ประกอบการไทย ขณะเดียวกันยังมีความท้าทาย ที่ผู้ประกอบการไทยต้องเตรียมพร้อม รับมือด้วยเช่นกัน

BORDERLESS

009


TMB Report

ความคืบหน้าสาขาบริการสุขภาพกับการเปิดตลาด AEC

ประเทศอาเซียนได้เริ่มเจรจาลดข้อจ�ำกัดด้านการค้าบริการระหว่างกันมาตั้งแต่ปี 2538 โดยได้ด�ำเนินการจัดท�ำ ข้อผูกพันการเปิดตลาดมาแล้ ว ทั้ ง สิ้ น 8 ชุ ด และยั งต้ อ งมี การเจรจาผู ก พั น การเปิ ดตลาดการค้ า บริ ก ารต่ อ เนื่ อ ง จนถึงปี 2558 ครอบคลุมทัง้ สิน้ 127 สาขาบริการ แต่กลับเป็นว่าในขณะนีก้ ารเปิดเสรีการค้าบริการยังมีความคืบหน้าน้อยกว่า การค้าสินค้าอยูม่ าก แม้วา่ ทีผ่ า่ นมาอาเซียนได้กำ� หนดแนวทางของการรวมกลุม่ เป็นตามล�ำดับขัน้ โดยสาขาบริการสุขภาพ ต้องด�ำเนินการ 1) ยกเลิกข้อจ�ำกัดในการให้บริการข้ามพรมแดน 2) ทยอยให้นักลงทุนอาเซียนมีสัดส่วนการถือหุ้นได้ ในนิติบุคคลที่ประกอบธุรกิจในประเทศสมาชิกอาเซียนได้ไม่ต�่ำกว่าร้อยละ 51 ในปี 2551 และเพิ่มเป็นร้อยละ 70 ในปี 2553 3) ให้คนชาติอาเซียนเข้ามาท�ำงานได้มากขึ้น ทั้งนี้ เหตุผลส่วนหนึ่งที่ประเทศสมาชิกส่วนใหญ่ยังไม่สามารถ ปฏิบัติได้ตามเป้าหมายในแต่ละช่วง เป็นเพราะด้วยความที่ธุรกิจบริการมีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ อาเซียนมากขึ้น สะท้อนจากโครงสร้างภาคบริการคิดเป็นร้อยละ 40-50 ของ GDP ของอาเซียน ดังนั้นการเปิดตลาด ของแต่ละประเทศจึงค�ำนึงถึงความพร้อม ระดับการพัฒนาและความสามารถในการแข่งขันของประเทศตนเป็นหลัก และโดยที่กรอบการเปิดเสรีการค้าบริการมีความยืดหยุ่นพอสมควร กล่าวคือ เป็นการเปิดเสรีแบบค่อยเป็นค่อยไป สามารถก�ำหนดเงื่อนไขไปพร้อมกับการเปิดเสรีได้ (ข้อนี้ประเทศส่วนใหญ่ถือปฏิบัติ) และที่ส�ำคัญข้อผูกพันอาเซียน มิได้เป็นข้อผูกพันทางกฎหมาย หรืออีกนัยหนึ่งไม่ได้อยู่เหนือกฎหมายของประเทศต่างๆ จึงเป็นช่องทางให้ประเทศ สมาชิกก�ำหนดเงื่อนไขไว้เป็นการเฉพาะเพื่อลดผลกระทบ

สาขาบริการสุขภาพภายใต้ข้อผูกพันชุดที่ 8 ของไทยและรูปแบบการค้าบริการ

สาขาบริการสุขภาพภายใต้ AEC ประกอบด้วยสาขาย่อยหลักๆ ได้แก่ 1) การให้บริการด้านโรงพยาบาล (Hospital Services) 2) การให้บริการทางแพทย์และทันตกรรม (Medical and Dental Services) 3) การให้บริการด้านสุขภาพอื่นๆ (Other Human Health Services) ซึ่งในบทความนี้เน้นการวิเคราะห์ในสาขาย่อย 1 และ 2 ในประเด็นเมื่อก้าวสู่ AEC แล้วทิศทางการให้บริการจะด�ำเนินไปในรูปแบบใด เมื่อพิจารณาจากปัจจัยพื้นฐาน ที่จะเกื้อหนุนการเติบโตของการให้บริการของโรงพยาบาล รวมทั้งข้อจ�ำกัดที่เรามีอยู่ในขณะนี้ ทั้งนี้ หากยึดตามรูปแบบการค้าบริการตามแนวทางของข้อตกลงการค้าบริการ (GATS) ที่อาเซียนน�ำมาใช้ สามารถ แบ่งได้เป็น 4 โหมด (ภาพประกอบ 1) ซึ่งตามข้อผูกพันชุดที่ 8 ของไทยก�ำหนดไว้ว่าในส่วนของโหมด 1 และโหมด 2 ไทยระบุไม่มีข้อจ�ำกัดในการให้บริการ กล่าวคือไทยเปิดกว้างส�ำหรับการที่ผู้รับบริการหรือผู้ป่วยชาติอาเซียนจะได้รับ ข้อมูลทางการแพทย์จากผู้ให้บริการที่อยู่ในประเทศไทย และรวมถึงการที่ผู้ป่วยชาติอาเซียนเดินทางมารับการรักษา ในประเทศไทย หรืออีกนัยหนึง่ เป็นลักษณะบริการ Medical Tourism ส�ำหรับโหมด 3 เป็นเรือ่ งของการทีผ่ ปู้ ระกอบการไทย สนใจไปตั้งโรงพยาบาล สถานพยาบาลในประเทศอาเซียน หรือผ่านการร่วมทุนกับกิจการที่ตั้งอยู่ในประเทศอาเซียน กับการที่นักลงทุนชาติอาเซียนมาจัดตั้งธุรกิจบริการสุขภาพหรือมาถือหุ้นในโรงพยาบาลของไทย (Hospital Services) เราก�ำหนดเพดานสัดส่วนการถือหุ้นไว้ที่ไม่เกินร้อยละ 49 และพ่วงด้วยมีเงื่อนไขพิเศษเพิ่มเติม อาทิ บริการด้าน โรงพยาบาล มีข้อสงวนให้ไทยยังสามารถก�ำหนดพื้นที่ จ�ำนวน และประเภทของบริการทางการแพทย์ในโรงพยาบาลได้ อาทิ บริการด้านวิชาชีพด้านการแพทย์ทั่วไปและด้านการแพทย์เฉพาะทาง มีเงื่อนไขเพิ่มเติมว่าจะต้องจัดตั้งในรูปแบบ Out Patience Clinic ในโรงพยาบาล บริการวิชาชีพทันตกรรมและวิชาชีพด้านพยาบาล มีเงื่อนไขเพิ่มเติมว่าจะต้อง 010 BORDERLESS

จัดตัง้ ในรูปแบบ Department ในโรงพยาบาล เท่านั้น เป็นต้น ส่วนในโหมด 4 ไทยระบุ ผู้ที่จะด�ำเนินธุรกิจที่เกี่ยวกับบริการวิชาชีพ ด้ า นการแพทย์ นั้ น ต้ อ งมี ใ บอนุ ญ าต ด�ำเนินการและสามารถด�ำเนินการได้เพียง แห่งเดียวเท่านัน้ รวมทัง้ ต้องเป็นผูม้ ใี บอนุญาต ประกอบวิชาชีพด้วย

ไทยพร้อมขยายตลาด Medical Tourism จากหลายปัจจัยเกื้อหนุน

หากมองในรูปแบบการค้าบริการ เราได้ ภาพค่ อ นข้ า งชั ด เจนว่ า ไทยมี โ อกาสสู ง ส�ำหรับการค้าบริการในโหมด 2 ซึ่งเป็นการ ดึงดูดผูป้ ว่ ยจากต่างชาติมารับบริการในไทย เมื่ อ พิ จ ารณาหลายปั จ จั ย เกื้ อ หนุ น จาก ศั ก ยภาพที่ มี อ ยู ่ เราพร้ อ มด้ ว ยจุ ด แข็ ง ในหลายด้าน (ภาพประกอบ 2) ทั้งด้าน โรงพยาบาลที่ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก และได้ รั บ การ ยอมรับจากต่างประเทศ สะท้อนจากการ มี จ� ำ นวนโรงพยาบาลที่ ไ ด้ รั บ มาตรฐาน Joint Commission International (JCI Accreditation) ของสหรัฐฯ ถึง 25 แห่ง มากที่สุดในอาเซียน และการมีโรงพยาบาล ชั้ น น� ำ ที่ ไ ด้ รั บ การจั ด อั น ดั บ Top Ten ของการเป็ น โรงพยาบาลที่ ดี ที่ สุ ด ในโลก ส�ำหรับ Medical Tourists อยู่ถึง 2 แห่ง (โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์และโรงพยาบาล กรุงเทพ ได้รับการจัดอันดับที่ 6 และ 8) แม้ว่า Prince Court Medical Center ของ มาเลเซียได้ครองอันดับหนึ่งก็ตาม อีกทั้ง ด้านจ�ำนวนเตียงรองรับผู้ป่วยเมื่อเทียบกับ ประชากรอยูใ่ นเกณฑ์ดี โดยในรายละเอียด พบว่าจ�ำนวนเตียงของโรงพยาบาลเอกชน ของไทยสามารถรองรับผู้ป่วยต่างชาติได้ใน ระดับสูงสุดเช่นกัน รองมาเป็นสิงคโปร์ และ มาเลเซีย ขณะที่อัตราค่าบริการยังต�่ำกว่า เมื่ อ เที ย บกั บ คู ่ แข่ ง ส� ำ คั ญ อย่ า งสิ ง คโปร์ ซึ่งถือเป็นข้อได้เปรียบที่ส� ำคัญที่สามารถ ดึงดูดผู้ป่วยต่างชาติให้เข้ามาใช้บริการได้ มากที่สุดในเอเชีย สอดคล้องกับรายงาน Medical Technology : Electronic Health Records ที่เปิดเผยข้อมูล 2012 Top Travel Destinations for Medical Tourism โดยไทย ขึน้ แท่นอันดับหนึง่ ด้วยจ�ำนวนผูป้ ว่ ยต่างชาติ 1.2 ล้านคน ด้วยความโดดเด่นในเรือ่ ง ‘Some of the world’s best value’ ซึ่งสิงคโปร์ อยู่ในอันดับ 4 ด้วยจ�ำนวนผู้ป่วยต่างชาติ 6.1 แสนคน จากสโลแกน ‘One of the most


sophisticated health care systems in the world, especially for cancer treatment’ ปรากฏว่ามาเลเซียไม่ติดอยู่ใน 1 ใน 8 ของการจัดอันดับนี้ นอกจากนี้ ไทยยังเป็น แหล่งท่องเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงเป็นทีด่ งึ ดูด รองรับผูป้ ว่ ยและญาติหรือผูด้ แู ลผูป้ ว่ ยกรณี ที่ต้องใช้ระยะเวลารักษานาน อย่างไรก็ตามเรายังคงต้องเผชิญกับข้อจ�ำกัดในเรื่องการขาดแคลนบุคลากร ทางการแพทย์ เมื่ อ ตลาด Medical Tourism มี แ นวโน้ ม เติ บ โตสู ง ต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะแพทย์ เพื่อพิจารณาจากจ�ำนวนแพทย์ต่อประชากร 10,000 คน ที่เรา ต้องเร่งปรับปรุงเพราะอยู่ในระดับที่ต�่ำกว่าสิงคโปร์และมาเลเซียอยู่มาก ทั้งๆ ที่ แพทย์ไทยได้รับการยอมรับความสามารถในระดับสากล

ไทยเตรียมพร้อมรับการแข่งขันที่สูงขึ้น จากการรุกคืบของทุนต่างชาติ

ในด้านการค้าบริการในโหมด 3 ที่กล่าวถึงเรื่องการลงทุนของผู้ประกอบการ ต่างชาติ ที่เกี่ยวข้องกับสัดส่วนการถือหุ้นในธุรกิจโรงพยาบาล ซึ่งหากเป็นไปตาม เป้าหมายของการเปิดเสรีบริการด้านนี้ เราต้องเพิ่มเพดานการถือหุ้นให้นักลงทุน ต่างชาติเป็นร้อยละ 70 ตั้งแต่ปี 2553 แต่จากข้อผูกพันของไทยชุดที่ 8 บ่งบอก ว่าการบริการด้านโรงพยาบาล (Hospital Services) ยังคงสัดส่วนการถือหุ้นของ ต่างชาติไว้เท่าเดิม คือร้อยละ 49 เพราะเรายังยึดตามพระราชบัญญัตกิ ารประกอบ ธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 และมีเงื่อนไขเพิ่มเติมว่าผู้ที่จะประกอบธุรกิจนั้น ต้องมีใบอนุญาตด�ำเนินการและเป็นผู้มีใบอนุญาตวิชาชีพที่เกี่ยวข้องด้วย ท�ำให้ เรายังคงมีข้อจ�ำกัดในการเข้าถึงตลาดอยู่สูงกว่าประเทศอื่น ไม่เฉพาะแต่เทียบกับ สิงคโปร์และมาเลเซีย อย่างไรก็ตาม เนือ่ งจากตลาดบริการสุขภาพในไทยมีแนวโน้ม เติบโตดี โดยเฉพาะส่วนของตลาด Medical Tourism ท�ำให้ไทยเป็นเป้าหมายหนึ่ง

ที่ ฐ านทุ น ต่ า งชาติ ส นใจเข้ า มาถื อ หุ ้ น ในกิ จ การดั ง กล่ า ว โดยในกลุ่มอาเซียน ผู้ประกอบการรายใหญ่ในประเทศคู่แข่ง อย่ า งมาเลเซี ย และสิ ง คโปร์ มี แ นวโน้ ม รุ ก คื บ เข้ า มา ใ น กิ จ ก า ร ข อ ง ไ ท ย เ พิ่ ม ขึ้ น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก ลุ ่ ม ทุ น ข อ ง มาเลเซียอย่าง KPJ Healthcare Berhad ซึ่งเป็นผู้ให้บริการ สุ ข ภาพรายใหญ่ ข องมาเลเซี ย มี เ ครื อ ข่ า ยโรงพยาบาล 22 แห่ง แบ่งเป็นอยู่ในมาเลเซีย 20 แห่งและอินโดนีเซีย 2 แห่ ง ซึ่ ง ขณะนี้ รุ ก คื บ เข้ า มาถื อ หุ ้ น ในโรงพยาบาลไทย บ้างแล้ว นอกจากนี้ยังมีกลุ่ม Integrated Healthcare Holdings Sdn Bhd (IHH) ซึ่งมีรัฐบาลมาเลเซียในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ มากกว่าร้อยละ 60 ได้ประกาศขยายฐานออกสู่ประเทศต่างๆ อย่ า งเข้ ม ข้ น เพื่ อ ชิ ง ต� ำ แหน่ ง การเป็ น ศู น ย์ ก ลาง Medical Hub และ Health Hub ที่ใหญ่ที่สุดในตลาดเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ และยึดเครือข่ายธุรกิจในโรงพยาบาลอาเซียน ซึ่งใน ประเด็นนี้ เราจึงเห็นความเคลื่อนไหวของผู้ประกอบการธุรกิจ โรงพยาบาลของไทยเข้าไปถือหุ้นในโรงพยาบาลอื่นๆ ท� ำให้ กลายเป็นเครือข่ายที่เข้มแข็งและมีฐานะที่แข็งแกร่ง พร้อมรับ การแข่งขันที่สูงขึ้นจากต่างชาติ หากมองในอีกมุมของการค้าบริการโหมด 3 ที่ผู้ประกอบการไทยสามารถออกไปจัดตั้งธุรกิจหรือเข้าถือหุ้นในกิจการ ประเทศอาเซียน ก็ถือเป็นโอกาสในการขยายตลาดเช่นกัน เมื่ อ พิ จ ารณาจากเครื่ อ งชี้ ส� ำ คั ญ ได้ แ ก่ สั ด ส่ ว นถื อ หุ ้ น โดยต่างชาติ ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพต่อหัว และสัดส่วนประชากร สูงอายุ โดยตลาดอาเซียน 4 (สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์) ค่อนข้างโดดเด่นในเรื่องความสามารถในการ ใช้ จ ่ า ย ขณะที่ ก ลุ ่ ม CLMV มี แ นวโน้ ม เปิ ด ตลาดมากกว่ า โดยอนุญาตให้เข้าไปถือหุ้นได้มากกว่าอีกกลุ่ม แต่มีข้อจ� ำกัด ในเรื่องความสามารถในการใช้จ่ายด้านสุขภาพอยู่ในระดับต�่ำ อย่างไรก็ตาม กลุม่ CLMV มีแนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจ ในอัตราสูงต่อเนื่องเฉลี่ยร้อยละ 6.8 ต่อปีในช่วงปี 2556-2558 ท� ำ ให้ ค าดว่ า ในอนาคตค่ า ใช้ จ ่ า ยในด้ า นสุ ข ภาพมี แ นวโน้ ม เพิ่มขึ้นด้วย ทั้งนี้ ตลาดผู้ป่วย CLMV เป็นกลุ่มที่ไม่อาจมองข้ามได้ เนื่องจากการที่เป็นประเทศเพื่อนบ้านที่สามารถเดินทางเข้ามา ใช้บริการในไทยได้สะดวก ผู้ป่วยในกลุ่มนี้จึงมักเข้ามาใช้บริการ โรงพยาบาลในจังหวัดที่ติดกับพรมแดน โดยเป็นในลักษณะ เข้ามาเองโดยตรง กับเป็นการส่งต่อผู้ป่วยมารักษาในไทย จึงเป็นโอกาสที่โรงพยาบาลในจังหวัดภาคอีสานในการรุกขยาย เครือข่ายเพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่ให้มากขึ้น ดังนัน้ ในภาพรวมแล้วส�ำหรับธุรกิจบริการสุขภาพเมือ่ ก้าวสู่ AEC จากความพร้อมและศักยภาพในหลายด้านที่ไทยมีอยู่ ค่อนข้างชัดเจนว่าเป็นโอกาสส�ำหรับผู้ประกอบการไทยที่จะ ต่อยอดให้ธุรกิจเติบโต เสริมความแข็งแกร่งและสร้างเครือข่าย ให้ครอบคลุมมากขึ้นในภูมิภาค

tmbanalytics@tmbbank.com (66) 2 299 2645 BORDERLESS

011


Celebrity Biz เรือ่ ง : ญามินทร์ ภาพ : กฤตพล

มุง่ เน้นสร้างคนอย่างจริงจัง

ธุรกิจแต่ละอย่างจะเจริญเติบโตได้ดั่งใจได้นั้น สิ่งสำ�คัญคือ บุคลากร หากมีการวางโครงการใหม่ ๆ ขึ้นมา โครงสร้างที่จะ ทำ�ให้ระบบธุรกิจดำ�เนินไปได้ คือ ทีมงาน คุณฟานจึงให้ความ สำ�คัญกับการ Put the right man on the right job รวมทั้ง ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ความเชี่ยวชาญในงานด้านนั้น ๆ ให้กับทีมงาน เพราะเห็นว่า หากสร้างทีมงานที่ดีได้ตั้งแต่เริ่มต้น การขยายธุรกิจให้เติบโตก็เป็นเรื่องง่าย

ฟาน ศรีไตรรัตน์

เลือดใหม่ ‘เรือด่วนเจ้าพระยา’

เห็นทางรุง่ ต้องพุง่ เข้าใส่

แม้ว่าเมืองกรุงจะเดินมาสู่ยุคที่ ‘เรือ’ ไม่ใช่ช่องทางการ คมนาคมสำ�คัญอีกต่อไป แต่ที่ดินริมน้ำ�ก็ยังคงมีมูลค่า สามารถ พัฒนาต่อไปได้ คุณฟานจึงหยิบที่ดินริมน้ำ�ที่ครอบครัวมีอยู่ มาพัฒนา ในอีกไม่ช้าเราก็จะได้เห็นคอมมูนิตี้มอลล์แห่งใหม่ บนท่ามหาราช นำ�จุดเด่นในเรือ่ งความคลาสสิกของตัวอาคารเก่า มาใช้เป็นแม่เหล็กเรียกแขก คุณฟานมองว่า ในภาพลักษณ์ของ ความโบราณ มีความทันสมัยซ่อนอยู่ นัน่ คือคาแร็กเตอร์ของแหล่ง ท่องเที่ยวยอดนิยมในยุคนี้ ต้องมีบรรยากาศเก่า ๆ มีกลิ่นอาย เรโทร จึงจะขายได้ ทั้งยังวางแผนขยับขยายสถานที่ดังกล่าว ให้เป็นจุดศูนย์รวมของเรือท่องเที่ยว ผู้คนก็จะหลั่งไหลมาเที่ยว เกาะรัตนโกสินทร์กันอย่างคับคั่ง

ผุด Design Hotel ทีท่ า่ เตียน

เมื่อผู้ประกอบการโรงแรมหลายเจ้ามองเห็นว่าทำ�เลทอง ของโรงแรมริมน้ำ�บนเกาะรัตนโกสินทร์ยังคงมีเสน่ห์ที่ล้นเหลือ โดยเฉพาะแลนด์มาร์กบริเวณตรงข้ามวัดอรุณราชวราราม ซึง่ เป็น โลเกชั่นเกรดเอ ดังนั้นหลังจากประสบความสำ�เร็จกับโรงแรม Riva Surya บริเวณท่าพระอาทิตย์ที่เพิ่งเปิดให้บริการไม่นาน จึง พัฒนา Design Hotel อีกแห่งขึน้ มาสร้างความคึกคักให้ตลาด ปักหมุด อยูใ่ นย่านท่าเตียน โดยชูจดุ ขายด้าน ‘อาหารและเครือ่ งดืม่ ’ ด้วยการ ออกแบบร้านอาหารให้นา่ นัง่ ทำ�บาร์ให้นา่ ดืม่ เป็นหลัก เพือ่ เพิม่ ช่องทางของกลุ่มเป้าหมาย อ้าแขนต้อนรับทั้งแขกของโรงแรม และแขกขาจรของห้องอาหาร ที่ต้องการเสพสุ นทรี ย์ข องวิ ว ริมแม่น�ำ้ เจ้าพระยา ขณะเดียวกันก็มงุ่ มัน่ กับการให้บริการทีเ่ ป็นเลิศ ด้วยการฝึกอบรมพนักงานอย่างเข้มข้น เพือ่ ให้พนักงานสามารถ บริการอย่างชำ�นาญและสร้างความประทับใจให้กบั ลูกค้าทุกคน

พร้อมรับมือกับทุกสถานการณ์ในอนาคต

คุณฟานบอกกับเราอย่างตรงไปตรงมาว่า ธุรกิจเรือด่วน และเรือข้ามฟากนั้น มีโอกาสเติบโตค่อนข้างน้อย เนื่องจาก ผู้คนนิยมการคมนาคมทางอื่นที่สะดวกสบายและรวดเร็วกว่า อย่าง รถไฟฟ้า หรือ รถตู้ ดังนั้นลู่ทางที่จะรองรับให้ธุรกิจนี้ ยังดำ�เนินต่อไปได้ คือ ต้องรู้จักปรับตัวเองตามกระแส อย่าย่ำ� อยู่กับที่ ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนบริการเรือด่วนให้กลายเป็นบริการ เรือท่องเที่ยว (Chaophraya Tourist Boat) มากขึ้น ทั้งยังหัน มาจับธุรกิจ Shuttle Boat บริการเรือรับ-ส่งให้แขกของโรงแรม ต่าง ๆ ทีต่ ง้ั อยูร่ มิ น้� ำ ซึง่ ก็ถอื ว่าเป็นการทำ�ธุรกิจแบบ Win-Win เพราะโรงแรมก็ไม่ตอ้ งแบกรับภาระต้นทุนในเรือ่ งเรือเอง ไม่ตอ้ งจ้าง คนขับให้ยุ่งยาก ในขณะที่ทางบริษัทเรือด่วนเจ้าพระยา ก็มีราย ได้เพิ่มอีกหนึ่งช่องทาง และเป็นการบริการสินทรัพย์ที่มีอยู่ให้ เกิดอรรถประโยชน์สูงสุด 012 BORDERLESS

ความถนัดทางด้านไอทีทสี่ งั่ สมมาจากการศึกษา ในประเทศแคนาดา เป็นเพียงแค่ตน้ ทุนความรู้ แต่ก�ำ ไร ในชีวิตการทำ�งานของ ‘ฟาน ศรีไตรรัตน์’ บุตรชาย ของ ‘ภัทราวดี มีชูธน’ ศิลปินชื่อดัง เขาเป็นหนึ่งใน ทายาทธุรกิจเจเนอเรชั่นที่ 4 เรือด่วนเจ้าพระยา และ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในเครือสุภทั ราฯ ปัจจุบนั ดำ�รง ตำ�แหน่งกรรมการบริหาร ล้วนมาจากประสบการณ์ การเรียนรูด้ ว้ ยตัวเองแทบทัง้ สิน้ จากคนทีไ่ ม่มคี วามรู้ เรื่องระบบการขนส่งทางเรือ และเรื่องการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ เขาก็ค่อย ๆ ซึมซับความรู้ ตลอด จนอาศั ย ความพยายามนำ � เสนอแนวคิ ด วิ ธี ก าร พัฒนาธุรกิจรูปแบบใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าแก่องค์กร จนเกิดเป็นผลลัพธ์ทนี่ า่ พึงพอใจ ถึงตอนนี้ ปฏิเสธไม่ได้ ว่า ผูช้ ายคนนีค้ อื หนึง่ ในฟันเฟืองช่วยขับเคลือ่ นธุรกิจ เรือด่วนเจ้าพระยาและอสังหาริมทรัพย์ตา่ ง ๆ ในเครือ สุภัทราฯ ให้เติบโตต่อไปในอนาคต

แผนพัฒนาฯ รับ AEC

สำ�หรับตลาดการค้าเสรีอาเซียนทีก่ �ำ ลังจะเปิดประตูในอนาคต คุณฟานมองว่าเป็นช่องทางทีจ่ ะ ทำ�ให้ธุรกิจโรงแรมและศูนย์การค้าที่เขากำ�ลังดูแลอยู่มีทิศทางการเติบโตที่ดี โดยต้องเริ่มจากสร้าง รากฐานที่ตัวบุคคล มีการฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษอย่างจริงจัง ในขณะเดียวกันพนักงานแต่ละ คนต้องมีใจรักในการบริการ นั่นจึงจะทำ�ให้ลูกค้าเกิดความประทับใจและไว้เนื้อเชื่อใจในแบรนด์ ส่วนการบริการทางเรือ แม้ส่วนตัวจะมองว่าโอกาสเติบโตยาก แต่ถ้าจังหวะน้ำ�ขึ้นเมื่อไหร่ เขาก็ เตรียมพร้อมตักทันที และนอกจากตัวบุคคลแล้ว ต้องไม่ลืมสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ เข้าไปในแต่ละ โครงการ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น

พัฒนาตัวเอง พิสจู น์ฝมี อื

ช่วงแรกที่เข้ามาสานต่อธุรกิจของครอบครัว คุณฟานยอมรับว่าได้เจองานหินเข้าให้แล้ว เพราะงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย กับสิง่ ทีไ่ ด้ศกึ ษามานัน้ แยกตัวออกจากกันอย่างชัดเจน แต่แม้ในช่วงเริม่ ต้น จะยังไม่มั่นใจนัก เนื่องจากยังมีประสบการณ์น้อยอยู่ แต่คุณฟานก็ตื่นตัวที่จะเรียนรู้และลองเสนอ ไอเดียต่าง ๆ อย่างแข็งขัน จนกระทัง่ ผลงานของเขาได้รบั การยอมรับ และนัน่ ทำ�ให้เขารูส้ กึ ภาคภูมใิ จ และกระตือรือร้นที่อยากจะพัฒนาตัวเองต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง


เปิดร้านสร้างแหล่งแฮงเอาต์

มีการพูดคุยกันในกลุ่มเพื่อนสนิทว่าเราอยากมีที่แฮงเอาต์และมีความสุขด้วยกัน ประกอบกับมีหนุ้ ส่วนทีจ่ บั ธุรกิจร้านอาหารอยูแ่ ล้ว จึงเสนอไอเดียร่วมกันว่าเราน่าจะทำ� ธุรกิจเล็กๆ เป็นร้านอาหารกึง่ บาร์ทมี่ งุ่ เน้นเรือ่ งความฮิปและความเป็นสตรีทในกรุงเทพฯ นัน่ คือจุดกำ�เนิดของ Bad Motel คำ�คำ�นีม้ นั นิยามทุกสิง่ ทุกอย่างของตัวร้านอาหารกึง่ บาร์ นี้ได้ดี เนื่องจาก Motel ไม่ใช่โรงแรม คนจะไม่ค่อยคาดหวังมากเท่าไหร่ แค่สะกิดให้เขา สงสัยเล่นว่า เอ๊ะ! มันคืออะไร เป็นร้านอาหารหรือเปล่านะ สร้างความสนใจแรกให้เกิดขึน้ ผมอยากให้ชื่อของ Bad Motel เป็นชื่อที่เมื่อพูดถึงแล้วทุกคนร้อง ‘อ๋อ!’ เพราะการที่เรา ได้สร้างข้อสงสัยให้ระเบิดขึ้น สุดท้ายแล้วมันจะกลายเป็นทอล์ก ออฟ เดอะ ทาวน์

ร้านอาหารทีข่ ายคอนเซ็ปต์

Bad Motel เป็นร้านอาหารที่ขายคอนเซ็ปต์ล้วนๆ มีอาหารอร่อยและเครื่องดื่ม คุณภาพ ตั้งแต่ก้าวแรกที่เข้ามาในร้าน คุณจะรู้สึกแปลกใหม่ อารมณ์เหมือนเข้ามา ในโรงแรมที่มีดีไซน์ แต่ที่จริงไม่ใช่ ที่นี่ค้างคืนไม่ได้ เป็นแค่ร้านอาหาร เพียงแต่เป็น ที่ที่เราสามารถมานั่งพักใจได้ชั่วครู่หนึ่ง ส่วนเมนูอาหารเราก็ทำ�เก๋ด้วยการใช้คำ�ว่า Room Service ทำ�อาหารแนวสตรีทฟู้ดและฟิวชั่นฟู้ดที่หลายคนคาดไม่ถึง แล้วก็ บวกความพิเศษเข้าไป ยิ่งไปกว่านั้น บริเวณชั้น 2 เรายังจัดให้เป็นนิทรรศการศิลปะ ตรงนี้เราคิดไว้แต่แรกแล้วว่า อยากจะสนับสนุนงานของศิลปินสตรีทอาร์ต ทั้งหุ้นส่วน หลาย ๆ คนก็เป็นอาร์ทิสต์ จึงเปิดพื้นที่ส่วนหนึ่งของร้านให้เป็นดิสเพลย์โชว์งานศิลปะ หมุนเวียน

แชมป์

ศุภวัฒน์ พีรานนท์ Bad Motel

แหล่งแฮงเอาต์ ของฮิปสเตอร์

เจาะกลุม่ ฮิปสเตอร์

สำ�หรับกลุ่มเป้าหมายเรามุ่งไปที่ Hipster, First Jobber ซึ่งเราก็ต้องคำ�นึงถึงเรื่อง ราคาและรสชาติให้ถูกปากลูกค้า แล้วก็นำ�ความฮิปสเตอร์มาผสมผสานในเมนูอาหาร และบรรยากาศร้าน จนพวกเขามองเห็นว่าร้านมีไลฟ์สไตล์ที่ชัดเจนและใช่สำ�หรับพวก เขา ทั้งโลเกชั่นของเราก็อยู่ในย่านทองหล่อ เหมาะกับการมานั่งสังสรรค์กัน

ผลักดันร้านด้วยโซเชียลเน็ตเวิรก์

ผมรู้สึกว่าโลกแคบลงเยอะเมื่อมีอินเทอร์เน็ต ผมและหุ้นส่วนจึงใช้แผนโปรโมตร้าน ผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ก ไม่ว่าจะเป็น FourSquare Instagram และ Facebook เราไม่ต้อง ลงทุนอะไรมาก เพียงแต่ใช้ประสบการณ์ในการเป็นศิลปิน ดีเจ ดีไซเนอร์ และเซเลบ ของหุ้นส่วนแต่ละคน มาสร้างเครือข่าย ช่วยกันพีอาร์ เมื่อทำ�เป็น Networking มูลค่า จะเพิ่มมหาศาลทีเดียว แล้วก็ทำ�การตลาดผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ก เช่น เมื่อเช็กอินชื่อร้าน ก็จะได้รับส่วนลด ก็จะช่วยดึงลูกค้าเข้าร้านได้ไม่น้อย

สำ�คัญทีร่ สชาติ

จากประสบการณ์ในการทำ�ร้านอาหาร ผมว่ามีอยูอ่ ปุ สรรคเดียวทีจ่ ะทำ�ให้รา้ นอาหาร รุง่ หรือร่วง คือ ‘รสชาติ’ ถ้ารสชาติไม่อร่อยเขาก็ไม่กลับมาทาน นัน่ คืออุปสรรคหลักสำ�หรับ ผม ไม่ใช่เพราะร้านตกแต่งไม่ดี หรือบุคลากรลาออกบ่อย แต่อยูท่ เี่ รือ่ งรสชาติลว้ น ๆ เลย รสชาติดีนั้นครอบคลุมตั้งแต่เครื่องปรุงยันวัตถุดิบ สร้างเอกลักษณ์ให้รสชาติให้ได้ พยายามเพิ่มไลน์อัพ (Line Up) ของอาหารเข้ามา ทำ�ให้อาหารที่คนคุ้นเคยดูแปลกใหม่ และพิเศษกว่าทีอ่ นื่ เมือ่ ลูกค้าประทับใจแล้วเขาจะบอกปากต่อปากแล้วโปรโมตให้เราเอง ตอนเปิดร้านแรกๆ เราจัด Food Tasting และ Drink Tasting กันบ่อยมาก เพือ่ หารสชาติ ที่เป็น Bad Motel จริงๆ

ทำ�ธุรกิจร้านอาหารต้องอย่าฮึกเหิม

ธุรกิจร้านอาหารสอนผมว่าอย่าฮึกเหิมเกินไป เพราะเวลาทีเ่ ราเกิดไอเดียใหม่ ๆ เรา จะรู้สึกฮึกเหิมที่ต้องทำ�ให้ได้เดี๋ยวนั้น และเพื่อให้เห็นผล การทำ�ธุรกิจแบบนี้จะฮึกเหิม ไม่ได้ ต้องอาศัยการหล่อเลี้ยง เอาใจใส่ คล้ายการดูแลต้นไม้ เวลาเลี้ยงต้นไม้เราจะใส่ใจ ทะนุถนอม พอเห็นมันค่อย ๆ โตขึน้ เราจะรูส้ กึ ภูมใิ จเพราะมันมาจากน้�ำ พักน้�ำ แรงของเรา ถ้าเราฮึกเหิมมาก ๆ ทำ�อะไรแล้วไม่คิด เวลาพลาดขึ้นมามันจะเจ็บมาก

เห็ น วิ่ ง รอกเดิ น สายขึ้ น เวที ค อนเสิ ร์ ต ขั บ ขาน บทเพลงไพเราะให้แฟน ๆ ได้ฟังกันอย่างเพลิดเพลิน ในฐานะศิลปินหนุม่ ของค่ายฟรอนท์เทจ มิวสิค เลเวล ค่ายเพลงน้องใหม่ ในเครือจีเอ็มเอ็มแกรมมี่ ทั้งยัง ฝากเสี ย งนุ่ ม ๆ ในฐานะดี เ จเป็ น เพื่ อ นคลายเหงา ที่คลื่น MET 107 รวมถึงเป็นพิธีกรรายการเคเบิล วิจารณ์หนัง เป็นนักแต่งเพลง และโปรดิวเซอร์ จน แทบไม่มีเวลาหยุดพัก แต่ แชมป์-ศุภวัฒน์ พีรานนท์ ก็ยังหาโอกาสให้เราได้พูดคุยเกี่ยวกับธุรกิจที่เขากับ เพือ่ นร่วมแก๊งจับมือกันทำ�เป็นรูปเป็นร่างในนาม Bad Motel ร้านอาหารกึ่งบาร์ย่านทองหล่อ ซึ่งกำ�ลัง ไปได้สวยด้วยจุดขายเด่นด้านคอนเซ็ปต์ที่แตกต่าง และอาหารรสชาติดี ซึง่ เขาบอกว่า กว่าจะออกมาเป็น ร้านอาหารที่สมบูรณ์แบบขนาดนี้ ไม่ใช่เรื่องง่าย

BORDERLESS

013


Efficiency Expertise เรื่อง : คุณชลิต โรจนวิทย์สกุล

‘Lean Si

x Sigma

เพอื่ ปรบั ปรงุ อ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ งคก์ ร าพ

สวัสดีครับคุณผู้อ่าน คอลัมน์ Efficiency Expertise เรือ่ งการเพิม่ ประสิทธิภาพ (Efficiency) ในปีทผี่ า่ นมาส�ำหรับคอลัมน์ Efficiency Expertise ของเราได้นำ� เสนอเรือ่ งราวทีเ่ ป็นประโยชน์จากกรณี ตัวอย่างหลาย ๆ ลักษณะที่น่าจะเป็นกรณีศึกษา ให้ กั บ บางท่ า นได้ น� ำ ไปใช้ ป ระโยชน์ กั บ ธุ ร กิ จ ได้ บ้างไม่มากก็น้อยนะครับ จากที่มีหลายๆ ท่าน ได้เคยส่ง E-mail เข้ามาปรึกษาในหลาย ๆ ตัวอย่าง แต่ส่วนมากจะเป็นธุรกิจขนาดเล็ก หรือ SME วันนี้ผมขอน�ำประสบการณ์ที่เคยมีโอกาสเข้าไป ดูงานทีโ่ รงงานของบริษทั ทีเ่ ราเรียกได้วา่ เป็นต้นแบบ หรือต้นฉบับของการเพิม่ ประสิทธิภาพกันเลยทีเดียว ถ้าพูดถึงการศึกษาเรื่องการเพิ่มประสิทธิภาพ เชื่ อ แน่ ว ่ า ทุ ก ที่ จ ะต้ อ งพู ด ถึ ง กรณี ศึ ก ษาจาก บริษัทโตโยต้า อย่างแน่นอน

014 BORDERLESS

เชื่อไหมครับว่าบริษัทโตโยต้า ครั้งหนึ่งเคยเป็นบริษัทที่เกือบจะล้มละลาย

ในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จนกระทัง่ ประธานบริษทั ในขณะนัน้ ต้องแสดงความ รับผิดชอบด้วยการลาออกกันเลยทีเดียว และในเวลานั้นก็จะมีแต่บริษัทของ ผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของโลกเพียงแค่ 3 รายเท่านั้น คือ ฟอร์ด จีเอ็ม และ ไครสเลอร์ (ซึ่งหลายๆ ท่านอาจจะรู้จักกันในชื่อ Big 3) สถานการณ์ช่วงนั้น ยอดขายของรถยนต์โตโยต้าในตลาดโลกมีนอ้ ยมาก และทีส่ ำ� คัญแทบจะไม่มใี คร รูจ้ กั กับบริษทั สัญชาติญปี่ นุ่ ทีช่ อื่ โตโยต้าเลยสักนิด ผูบ้ ริโภคในช่วงนัน้ มีความคิดว่า สินค้าที่ผลิตโดยบริษัทญี่ปุ่นถูกมองว่าเป็นสินค้าที่ไม่มีคุณภาพ จริงๆ แล้ว ถ้าหากโตโยต้าพยายามที่จะผลิตรถยนต์ด้วยกระบวนการ แบบเดียวกับ Big 3 หรือบริษัทผลิตรถยนต์ขนาดใหญ่ในตอนนั้น โดยมีวิธีการ ก็คือเน้นการผลิตด้วยปริมาณครั้งละมากๆ เพื่อน�ำไปสู่กลยุทธ์การประหยัด เนื่องจากขนาด (Economy of Scale) ซึ่งจะมีต้นทุนการผลิตที่ต�่ำและสามารถ แข่งขันราคากับ Big 3 ได้ แต่จริงๆ แล้วก็เป็นสิง่ ทีไ่ ม่สามารถท�ำได้ เพราะผูบ้ ริโภค ไม่ ไ ด้ มี ค วามต้ อ งการ (Demand) ที่ จ ะอยากซื้ อ รถยนต์ ข องโตโยต้ า มาก ขนาดนัน้ แต่ถา้ หากโตโยต้าใช้กลยุทธ์การมุง่ เน้นคุณภาพให้ลกู ค้ารูส้ กึ พึงพอใจ โดยการผลิตครั้งละน้อยๆ ซึ่งแน่นอน สิ่งที่จะเกิดขึ้นก็คือ ต้นทุนการผลิตที่สูง และไม่สามารถขายแข่งกับ Big 3 ได้อยูด่ ี ซึง่ เหตุการณ์ในช่วงเวลานัน้ เอง นับเป็น ความท้าทายอย่างมากส�ำหรับโตโยต้า ทีจ่ ะพลิกสถานการณ์ทแี่ สนยากล�ำบาก นี้กลับมาได้อย่างไร ลองคิดดูนะครับ ถ้าคุณเป็นผู้บริหารของบริษัทโตโยต้า คุณจะท�ำอย่างไรกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น หลั ง จากนั้ น ไม่ น าน เจ้ า ของและผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท โตโยต้ า ได้ มี โ อกาสไปเยี่ ย มชมสายการผลิ ต รถยนต์ ข องฟอร์ ด ในสหรั ฐ อเมริ ก า และทีแ่ ห่งนัน้ เอง ทีท่ ำ� ให้เขาได้แรงบันดาลใจในวิธกี ารเติมเต็มสินค้าบนชัน้ วางของ จากซูเปอร์มาร์เก็ต ระบบการผลิตแบบโตโยต้า (TPS - Toyota Production System) จึงถูกพัฒนาและถือก�ำเนิดขึ้นหลังจากนั้น ส่งผลให้ประสิทธิภาพ การผลิตรถยนต์โตโยต้าดีขึ้นเรื่อยๆ คุณภาพก็ดีขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ ต้นทุน การผลิตลดต�่ำลง ความสามารถในการแข่งขันของโตโยต้าก็ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากบริษัทที่แทบไม่มีใครรู้จักในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กลายมาเป็น บริษัทผู้ผลิตรถยนต์ที่มียอดขายอันดับหนึ่งของโลกในปี 2007 จากตัวอย่างทีย่ กมาในคอลัมน์ครัง้ นี้ อาจยังไม่ละเอียดมากนัก หากผูอ้ า่ น ท่านใดสนใจอยากจะเรียนรูเ้ รือ่ งการเพิม่ ประสิทธิภาพอย่างลึกซึง้ ผมขอแนะน�ำว่า ท่านลองศึกษากรณีต่างๆ จากบริษัทโตโยต้าดูนะครับ ผมเชื่อแน่ว่า นี่จะเป็น กรณีศึกษาที่คลาสสิกที่สุด ในแวดวงการเพิ่มประสิทธิภาพเลยทีเดียวครับ


นอกเหนือไปจากนั้น ส�ำหรับหลายๆ ท่านที่อยากศึกษาเรื่องการ เพิ่มประสิทธิภาพในลักษณะของ Supply Chain ซึ่งจริงๆ แล้ว ถ้าเรา สามารถวางแผนในการปรับปรุงประสิทธิภาพในรูปแบบของ Supply Chain ได้นั้น จะส่งผลให้ผลของการปรับปรุงประสิทธิภาพนั้นสะท้อน ออกมาได้ผลลัพธ์ทดี่ กี ว่าด้วยซ�ำ้ อย่างทีเ่ ราเคยพูดไปในฉบับทีแ่ ล้วนะครับ (แสดงภาพโรงงาน 3 แบบ) ตัวอย่างของบริษทั ใหญ่ๆ ทีใ่ ห้ความส�ำคัญกับการเพิม่ ประสิทธิภาพ ในรูปแบบของ Supply Chain ในปัจจุบันค่อนข้างมีให้เห็นเพิ่มมากขึ้น ผันแปรตามความรุนแรงของการแข่ งขั นในตลาด แต่ ที่ผ มจะขอยก ตัวอย่างเพื่อน�ำมาแลกเปลี่ยนให้ผู้อ่านได้เห็นภาพลักษณะการท�ำงาน ขององค์กรลักษณะนี้ คือ การพัฒนาประสิทธิภาพของ Supply Chain ร่วม กันระหว่างบริษทั ผูผ้ ลิตฮาร์ดดิสก์ทใี่ หญ่ระดับโลกแห่งหนึง่ ในทีน่ ี้ ผมขอ ใช้แทนว่า บริษัท A แล้วกันนะครับ ต้องขออนุญาตยังไม่เปิดเผยชื่อจริง ของบริษัท ผมเองเคยมีโอกาสท�ำงานอยู่ที่นั่นหลายปี เกรงว่าจะไม่ เหมาะสมหากน�ำข้อมูลมาเปิดเผย ท่านใดอยากรู้ก็ลองหลังไมค์มาคุย กันเอาเองนะครับ สิง่ ทีอ่ ยากจะน�ำมาเป็นกรณีศกึ ษาเพือ่ สร้างประโยชน์ ให้กบั คุณผูอ้ า่ น ก็จะเป็นเรือ่ งของ บริษทั A กับ Suppliers ของบริษทั ครับ จริงๆ แล้วอุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์เป็นอุตสาหกรรมหนึ่งที่มีการแข่งขัน ด้านราคาที่รุนแรงมาก บริษัทที่จะชนะและอยู่รอดได้ ต้องเป็นบริษัท ที่มีการพัฒนาประสิทธิภาพ ซึ่งไม่ใช่แค่ตัวเองเท่านั้นนะครับ แต่ต้อง ท�ำการปรับปรุงทั่วทั้ง Supply Chain เลยทีเดียว ในอดีต Supplier มีหน้าที่เพียงแค่ผลิตชิ้นส่วนให้ได้ตามข้อก�ำหนด (Specification) ที่ ก� ำ หนดโดยวิ ศ วกรฝ่ า ยออกแบบของบริ ษั ท A เพียงเท่านั้น และพยายามพัฒนาประสิทธิภาพในขอบเขตของตัวเอง เพื่อที่จะลดต้นทุน จะได้มีต้นทุนที่แข่งขันได้ และสามารถลดราคาให้ บริษทั A ได้เมือ่ ถูกร้องขอ ส่วนบริษทั A เอง ก็พฒ ั นาประสิทธิภาพในโรงงาน ประกอบของตัวเองและพยายามร้องขอให้ Supplier ลดราคาชิ้นส่วน ให้ ทุ ก ปี ๆ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพนั้ น เป็ น ไปในลั ก ษณะที่ ต ่ า งคน ต่างท�ำการปรับปรุง โดยที่การท�ำงานร่วมกันแล้วมองผลประโยชน์ที่ดี ที่สุดของทั้ง Supply Chain ยังไม่เกิดขึ้น หลั ง จากนั้ น บริ ษั ท A น� ำ เครื่ อ งมื อ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพ ของกระบวนการที่ ชื่ อ Six Sigma มาใช้ ไ ด้ 2-3 ปี ซึ่ ง ได้ รั บ ผล การปรับปรุงที่น่าประทับใจอย่างมาก บริษัท A ก็เริ่มให้ความรู้เรื่อง Six Sigma กั บ Strategic Suppliers ของตั ว เองกั บ Supplier เพื่อให้ท�ำการพัฒนาประสิทธิภาพไปด้วยกัน โครงการหนึ่งในหลายๆ โครงการที่ผมเองได้มีโอกาสท�ำร่วมกับ Supplier ของบริษัท A ก็คือ การลดต้ น ทุ น การผลิ ต ของวั ต ถุ ดิ บ แผ่ น วงจร ซึ่ ง เป็ น ชิ้ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ มี ต ้ น ทุ น สู ง มาก โรงงานผู ้ ผ ลิ ต ชิ้ น ส่ ว นนี้ ก็ อ ยู ่ ถึ ง ประเทศสิ ง คโปร์ จากการศึกษาร่วมกันเราพบว่าทองค�ำที่ใช้เคลือบเส้นลายวงจรซึ่งมี ราคาสูง ส่งผลต่อต้นทุนการผลิตอย่างมาก แต่ถ้าหากเราสามารถ ลดความหนาของทองค�ำนี้ลงได้ จะท�ำให้ต้นทุนการผลิตแผ่นวงจร ของ Supplier ลดลงอย่างมาก จากนั้นก็เกิดโครงการ Six Sigma Black Belt ร่ ว มกั น ระหว่ า งบริ ษั ท A กั บ Supplier รายนี้ เพื่อศึกษาหาความหนาที่เหมาะสมที่สุดของทองค�ำเพื่อให้ได้ต้นทุน

Lean Six Sigma

ช่วยปรับทั้งห่วงโซ่อุปทานได้อย่างไร? ตัวอย่าง การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอย่างไม่เป็นระบบ (ต่างคนต่างปรับปรุง) l ปรับปรุงได้ช้า l ไม่สามารถวัดผลการปรับปรุงได้ l ไม่สามารถรักษาผลการปรับปรุงไว้ ได้ เช่น Kaizen ตัวอย่าง การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานแบบมีระบบ (ต่างคนต่างปรับปรุง) l ปรับปรุงผลลัพธ์เฉพาะตัวเองโดยไม่ ค�ำนึงถึงภาพรวม l เกิดอุปสรรคในการร่วมกันพัฒนาประสิทธิภาพ l ผลลัพธ์การปรับปรุงวัดผลได้ แต่ไม่เต็มศักยภาพ ตัวอย่าง การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานแบบที่มีความร่วมมือระหว่างกัน l การเพิ่มประสิทธิภาพของห่วงโซ่ให้ ได้ดีที่สุด l กระบวนการทั้งภายใน และภายนอกต้องเชื่อมโยงกัน l ผลลัพธ์ที่ ได้เต็มศักยภาพ

ของชิน้ ส่วนทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ โดยทีก่ ารท�ำงานของชิน้ ส่วนหลังจากน�ำไปประกอบเป็นฮาร์ดดิสก์ แล้วก็ยงั คงดีเหมือนเดิม ต่อมาหลังจากการท�ำงานร่วมกันอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 เดือน โครงการก็สำ� เร็จลุลว่ งและท�ำให้เกิดผลการประหยัดต้นทุนที่ Supplier ปีละหลายล้านบาท เลยทีเดียว ผลประโยชน์ทางการเงินที่เกิดขึ้นถูกแบ่งเป็นสองส่วนเท่าๆ กัน ส่วนแรก ถือว่าเป็นต้นทุนที่ประหยัดได้ของ Supplier อีกส่วนหนึ่ง Supplier คืนกลับให้บริษัท A ในรูปแบบของราคาขายที่ถูกลง นี่ก็เป็นตัวอย่างโครงการปรับปรุงที่มองผลประโยชน์ ที่ดีที่สุดของทั้ง Supply Chain เป็นตัวตั้ง และท�ำการปรับปรุงร่วมกันจนประสบ ความส�ำเร็จแบบชนะ-ชนะ (win-win) ได้ในที่สุดครับ ช่วงนีผ้ มได้มโี อกาสเข้าร่วมเป็นวิทยากรในโครงการ TMB Efficiency Improvement for Supply Chain รุ่นที่ 1 ที่อบรมให้ความรู้เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับ กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร ในครั้งหน้า ผมอาจจะน�ำกรณีศึกษาที่น่าสนใจมากฝาก เพิ่มเติมนะครับ เพราะการอบรมในครั้งนี้ มีหลายกรณีศึกษาของบริษัทที่เกี่ยวข้อง มาแลกเปลีย่ นกันหลายต่อหลายเรือ่ ง น่าจะเป็นประโยชน์ให้กบั คุณผูอ้ า่ นอยูม่ ากทีเดียว แล้วเจอกันใหม่ฉบับหน้าครับ

คุณชลิต โรจนวิทย์สกุล : เจ้าหน้าที่บริหาร Lean Six Sigma, TMB

ผู้ช�ำนาญการด้าน Lean Six Sigma มีประสบการณ์ ในบริษัทชั้นน�ำ อย่าง Seagate Technology, GE Capital และ Ayutthaya Capital Lease รวมทั้งเป็นผู้ที่ประยุกต์วิธีการของ Lean เข้ากับกระบวนการทางการเงินและการขายเพื่อเพิ่มยอดขายให้กับบริษัทจนประสบความส�ำเร็จอย่างมาก ปัจจุบันด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหาร Lean Six Sigma ของ TMB ซึ่งได้น�ำวิธีการของ Lean Six Sigma มาปรับใช้กับองค์กร ด้วยการฝึกอบรมพนักงาน ให้มีความรู้ความสามารถ ตลอดจนการจัดท�ำโครงการต่าง ๆ เพื่อเพิ่ม Efficiency ในกระบวนการท�ำงานให้ดียิ่งขึ้น

• หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ E-mail : tmbeisc@tmbbank.com

BORDERLESS

015


Reflection เรือ่ ง : ปพนธ์ มังคละธนะกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารเอสเอ็มอีและซัพพลายเชน TMB

ช่

่ใ

‘Do คา th ไม

บ ิ จ ร ก ก ิ ร ุ า ธ ร บ ั ... ร ห ำ ส h t i n t g ส h ’ า g i ถ e r thing right’ o D ‘

ธุ ร กิ จ บริ ก ารเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ความส�ำคัญกับระบบเศรษฐกิจไทย เป็นอย่างมาก เนือ่ งจากประเทศไทย เป็น แหล่งท่องเที่ยวที่เป็นที่นิยม อันดับต้น ๆ ของโลก ธุรกิจบริการ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การท่ อ งเที่ ย ว และธุรกิจบริการทัว่ ๆ ไปจึงได้รบั ผลประโยชน์ตามไปด้วย 016 BORDERLESS


แต่จะเห็นได้ว่าผู้ประกอบการไทยเราให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาธุรกิจบริการ อย่างเป็นระบบค่อนข้างน้อยมาก โดยมักจะคิดกันไปเองว่าคนไทยเราเป็นคนทีม่ จี ติ ใจ โอบอ้อมอารี ยิ้มง่าย พูดจาไพเราะ มีน�้ำใจโดยธรรมชาติ ดังนั้น การให้บริการ น่าจะเป็นเรื่องง่าย เหมารวมก็คือผู้ประกอบการไทยเราเชื่อว่าการให้บริการอยู่ใน สายเลือดของคนไทยเราว่างัน้ หากผู้ประกอบการธุรกิจบริการคิดเช่นนี้ ผมว่าอันตรายมากนะครับ เพราะการให้บริการไม่ใช่มีแค่เพียง ยิ้มสวย พูดเพราะ ไหว้สวยเท่านั้น ผมขอให้ค�ำจ�ำกัดความของธุรกิจบริการตามความเข้าใจของตัวเองดังนี้ครับ “ธุรกิจบริการ คือ ธุรกิจทีจ่ ะต้องมีปฏิสมั พันธ์ระหว่างผูซ้ อื้ กับ ผูข้ าย ในการส่งมอบสินค้าหรือบริการนัน้ ๆ โดยการปฏิสัมพันธ์นั้นอาจเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับบุคคล หรือ ระหว่างบุคคลกับเครื่องอัตโนมัติ ก็ได้” ขอย�ำ้ นะครับว่าค�ำจ�ำกัดความข้างต้นเป็นการตีความของผมเอง หากยึดตามค�ำจ�ำกัดความของผมข้างต้น ธุรกิจส่วนใหญ่จะมีบางส่วนของธุรกิจไม่มากก็น้อยที่มีลักษณะของธุรกิจบริการ เช่น ธุรกิจขายเฟอร์นิเจอร์ หากดูแค่ตวั สินค้า จะเป็นธุรกิจการผลิต แต่กม็ บี างส่วนทีเ่ ป็นธุรกิจบริการด้วยเช่นกัน ได้แก่ บริการหลังการขาย หรือ บริการซ่อมเฟอร์นิเจอร์ ดังนัน้ การให้บริการจึงเป็นส่วนทีส่ ำ� คัญอย่างมากของทุกธุรกิจ และเป็นจุดทีส่ ร้างความแตกต่างได้อย่าง ยั่งยืนให้แก่ธุรกิจที่ใส่ใจกับเรื่องนี้ เวลาเราพูดถึงเรื่องการพัฒนาการให้บริการอย่างเป็นระบบ คนส่วนใหญ่มักจะเน้นไปที่ ‘ฮาร์ดแวร์’ มากกว่า ‘ซอฟต์แวร์’ ‘ฮาร์ดแวร์’ ในที่นี้ผมหมายถึง ระบบต่างๆ ที่สรรหากันมาลงในบริษัทเพื่อให้การเก็บข้อมูลหรือการให้ บริการมีความคล่องตัวขึน้ ได้แก่ ระบบ CRM (Customer Relationship Management) ระบบการจองโรงแรม หรือการจองเวลาของการให้บริการ และระบบอืน่ ๆ ทีช่ ว่ ยให้กระบวนการในการให้บริการมีความคล่องตัวขึน้ แต่คนส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญน้อยมากกับ ‘ซอฟต์แวร์’ ผมบอกได้เลยครับว่า การพัฒนา ‘ซอฟต์แวร์’ (ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือบุคลากรของบริษัทนั่นเอง) นั้นยากกว่า หลายเท่านัก เนื่องจากการจะพัฒนาคนให้มีใจบริการนั้น ไม่ใช่แค่ให้การอบรมก่อนเริ่มงานเพียงไม่กี่วัน แล้วเสร็จ ต้องก�ำหนดเป็นวัฒนธรรมองค์กรกันเลยทีเดียวจึงจะสามารถท�ำได้อย่างต่อเนื่องหรือยั่งยืน จนสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างชัดเจน การจะพิสูจน์ได้ว่าบริการใดมีการให้บริการดีหรือไม่ ให้ดูตอนที่เกิดเหตุที่ไม่พึงประสงค์ อย่างเช่น เรื่องการ Complain ของลูกค้า หรือเหตุการณ์ที่นานๆ ครั้งถึงจะเกิด แต่หากเกิดแล้ว และไม่สามารถจัดการ ได้ดี จะท�ำให้ลูกค้าไม่พอใจอย่างมาก น�ำไปสู่การเลิกซื้อสินค้าหรือบริการของเรา ยิ่งไปกว่านั้น อาจน�ำไป บอกต่อกับคนใกล้ชิด ท�ำให้คนใกล้ชิดพานไม่ซื้อสินค้าหรือบริการเราไปด้วย อย่าลืมนะครับ คนเรามักจะบอกต่อในกรณีที่ไม่พอใจมากกว่ากรณีที่พอใจ ดังนั้น หน้าที่ของธุรกิจคือ ท�ำอย่างไรเมื่อเกิดเหตุที่ไม่พึงประสงค์แล้ว พนักงานผู้ให้บริการของเราสามารถท�ำให้ลูกค้ายังพึงพอใจได้ แน่นอนครับการฝึกอบรมให้ไหว้สวย ยิ้มสวย ไม่มีทางช่วยเลย หนทางเดียวที่จะท�ำให้เกิดขึ้นได้คือ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เป็นองค์กรที่มีวัฒนธรรมการให้บริการเป็นเลิศ ไม่ง่ายนะครับส�ำหรับการสร้างวัฒนธรรม เพราะเมื่อพูดถึงการสร้างวัฒนธรรมแล้วต้องใช้เวลาปลูกฝัง กันเป็นเวลานานจนเกิดเป็นสิ่งที่คู่กับองค์กร ผมขอยกตัวอย่างที่เกิดขึ้นกับผมเองกับธุรกิจหนึ่งที่ได้ชื่อว่ามีความเป็นเลิศที่สุดในการให้บริการลูกค้า (Customer Service) บริษัทที่ว่าคือ บริษัท Zappos.com ซึ่งเป็นเว็บไซต์ขายรองเท้าออนไลน์ชื่อดัง CEO ของบริษัทนี้ มีวสิ ยั ทัศน์วา่ ถึงแม้ธรุ กิจของเขาจะเป็นการขายรองเท้าออนไลน์กต็ าม แต่เขามีวสิ ยั ทัศน์วา่ จุดทีจ่ ะสร้างความ แตกต่างได้ก็คือ การสร้างประสบการณ์ในการซื้อของกับเว็บไซต์แห่งนี้ ให้ลูกค้ามีประสบการณ์ที่ดีที่สุด เป็นหนทางเดียวที่จะสร้างความแตกต่างจากเว็บไซต์ขายของอื่น ๆ ผมเองได้มีประสบการณ์ตรงกับเว็บไซต์นี้ ขอบอกกันดัง ๆ ตรงนี้เลยครับว่า... จริง ผมเป็นลูกค้าประจ�ำของเว็บไซต์นคี้ รับ ทุกครัง้ ทีซ่ อื้ ทุกอย่างก็เรียบร้อยดี จนกระทัง่ มีครัง้ หนึง่ ผมสัง่ ของ ให้ไปส่งที่บ้านพี่สาวที่ San Antonio ที่สหรัฐฯ (เนื่องจากเว็บไซต์นี้ไม่ส่งมาที่เมืองไทย) เพื่อให้พี่สาว น�ำกลับมาให้ตอนมาเที่ยวเมืองไทย ปรากฏว่า เมื่อพี่สาวน�ำของมาให้... รองเท้าที่ได้ไม่ตรงกับที่สั่งครับ

ไซส์ถกู แต่ผดิ รุน่ ครับ ด้วยความอยากรู้ ผมเลยส่งอีเมล ถึงฝ่าย Customer Service ของเว็บไซต์นี้ พรรณนาว่า ผมไม่ ส ามารถคื น ของได้ เพราะพี่ ส าวได้ ก ลั บ ไป ที่สหรัฐฯ แล้ว จะจัดส่งจากเมืองไทยก็วุ่นวาย ขอให้ ทางเว็บไซต์แนะน�ำให้ว่าควรท�ำอย่างไรดี ความประหลาดใจที่ 1... เพียงไม่กี่วัน ผมก็ได้รับ อีเมลตอบกลับมา (ส่วนใหญ่เวลาส่งอีเมลกับพวก เว็บไซต์กว่าจะติดต่อกลับก็เป็นสัปดาห์) ความประหลาดใจที่ 2… เนื้ อ ความในอี เ มล ตอบมาว่า ความผิดพลาดเกิดจากทางบริษัทเขาเอง เพราะหยิบสินค้าผิดจากโกดังตั้งแต่ต้น ดังนั้นเขาจะ คืนเงินให้ผมผ่านเครดิตการ์ดทันที ส�ำหรับรองเท้า… เขาบอกว่าผมจะท�ำอะไรกับมันก็ได้ ความประหลาดใจที่ 3… คนที่ตอบอีเมลผมเป็น พนักงานระดับชั้นผู้น้อยของบริษัทเท่านั้น สรุ ป แล้ ว ทั้ ง กระบวนการใช้ เวลาไม่ ถึ ง สั ป ดาห์ ผมได้รบั เงินคืน ได้รองเท้าฟรี แถมยังพกความประทับใจ ไปบอกต่อกับคนใกล้ชิด และท่านผู้อ่านจนถึงวันนี้ ทั้ ง หมดด� ำ เนิ น การโดยพนั ก งานชั้ น ผู ้ น ้ อ ย หากไม่ใช่เป็นวัฒนธรรมองค์กร ประสบการณ์อย่างนี้ ไม่มีวันเกิดขึ้นได้หรอกครับ วัฒนธรรมทีว่ า่ ก็คอื การให้บริการก็คอื การแก้ปญ ั หา ให้แก่บุคคล ท�ำอย่างไรที่จะให้พนักงานทุกคนของ องค์กรใช้วิจารณญาณท�ำสิ่งที่ถูกต้อง (Do the right thing) ให้แก่ลูกค้า ไม่ใช่สักแต่อ้างว่าท�ำตามนโยบาย บริษัท (Do thing right) โดยไม่ใช้วิจารณญาณเลยว่า หากเกิดขึ้นกับเรา เราก็คงไม่ปลื้มสักเท่าไร…

BORDERLESS

017


บร�การธุรกรรมออนไลน เพ�่อธุรกิจ ปลอดภัยสูง ควบคุมได ง ายเพ�ยงปลายนิ​ิ�วคลิ�ก • สร างรายการได 24 ชั่วโมง ทุกวัน • ติดตามสถานะรายการได ทันที • ไม ต องส งเอกสารตัวจร�ง

บร�การข อมูลบัญชี

• ข อมูลสรุปยอดบัญชีและรายการเคลื่อนไหวทางบัญชี : บัญชีกระแสรายวันและออมทรัพย บัญชีเง�นฝากประจำ บัญชีสินเชื่อ

บร�การจัดการด านการเง�น

• โอนเง�นอัตโนมัติและหักบัญชีอัตโนมัติ (ภายในบัญชี TMB) • รับชำระค าสินค าและบร�การ • ชำระภาษีเง�นได นิติบุคคล • รายงานการเร�ยกเก็บเช็ค และรายงานการรับชำระค าสินค าและบร�การ

บร�การข อมูล เคร�่องรูดบัตร EDC บร�การสินเชื่อเคร�อข ายธุรกิจการค า บร�การธุรกิจการค าประเทศ และบร�การเง�นโอนระหว างประเทศ

• ด านการนำเข า : เป ดและแก ไข L/C ชำระเง�นค าสินค าเข าตามตัว๋ เร�ยกเก็บ B/C และ L/C ออกหนังสือค้ำประกันเพ�่อการออกสินค า • ด านการส งออก : แจ งเป ด L/C เร�ยกเก็บเง�นค าสินค าตามตั๋วเร�ยกเก็บ B/C และ L/C รับซื้อ / ซื้อลดเอกสารส งออก • สินเชื่อ : ทรัสต ร�ซีท แพ็คกิ�งเครดิต • เง�นโอนระหว างประเทศ : รับเง�นโอนจากต างประเทศโอนเง�นไปต างประเทศ

บร�การสินเชื่อ

• ข อมูลวงเง�นสินเชื่อ และยอดเบิกใช สินเชื่อ • เบิกใช วงเง�นสินเชื่อ : หนังสือค้ำประกัน • ตั๋วสัญญาใช เง�น เง�นกู ระยะยาว • รับชำระคืนสินเชื่อและค าธรรมเนียม

บร�การโอนเง�นระหว างธนาคาร

• โอนเง�นผ านระบบ Smart และระบบ BAHTNET

บร�การโอนเง�นเข าบัญชีเง�นเดือนพนักงาน บร�การออกเช็คอัตโนมัติ


How to success SME Inspiration


SME Inspiration เรือ่ ง : ไม้มว้ น

นพ.พงษ์พัฒน์ ปธานวนิช หนึ่งในผู้นำ�

‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเที่ยงคืน’ โรงพยาบาลเอกชนถื อ เป็ น ธุ ร กิ จ ที่ ส ร้ า งเม็ ด เงิ น มหาศาลให้ กั บ ประเทศในแต่ ล ะปี ชื่ อ เสี ย งของ โรงพยาบาลเอกชนไทยที่โด่งดังไปทั่วโลก ช่วยสร้าง ความมั่นใจให้กับลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ ขณะที่การ แข่งขันที่เข้มข้นก็เป็นเหมือน ‘คันเร่ง’ ท�ำให้โรงพยาบาล ต้ อ งพั ฒ นาบริ ก ารและศั ก ยภาพการรั ก ษาพยาบาล อยู่ตลอดเวลา เพื่อสร้างจุดเด่นและเสริมจุดขาย อันจะ เป็นการตอกย�้ำ ‘จุดยืน’ ของโรงพยาบาลในกลางใจลูกค้า ทั้งคนไทยและต่างชาติ

020 BORDERLESS


โรงพยาบาลเจ้าพระยา เป็นหนึ่งในโรงพยาบาลเอกชนไทยที่ลุกขึ้นมา สร้างความแตกต่างด้วยกลยุทธ์ธุรกิจและโมเดลการตลาดใหม่ๆ จนสร้าง ชื่อเสียงให้กับโรงพยาบาลมาถึงทุกวันนี้ ในฐานะ ‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง เที่ยงคืน’ ซึ่งเป็น ‘จุดยืน’ ที่ทำ�ให้โรงพยาบาลโดดเด่นและแตกต่าง

“มีคนไข้อบุ ตั เิ หตุตาขับรถมาจากชุมพรตอนดึก ใช้เวลามาถึงทีน่ อี่ าจจะ 6 ชัว่ โมง แต่แน่ใจว่า มีหมอเฉพาะทางแน่ๆ ขณะทีถ่ า้ เขาแวะไปโรงพยาบาลในชุมพรอาจจะใช้เวลาไม่ถงึ 2 ชัว่ โมง แต่ ถ้ า ไม่ มี ห มอเฉพาะทาง เขาก็ อ าจต้ อ งรอจนเช้ า การรั ก ษาตามั น รอช้ า ไม่ ไ ด้ ” คุณหมออธิบาย

นพ.พงษ์พัฒน์ ปธานวนิช กรรมการผู้จัดการโรงพยาบาลเจ้าพระยา เล่าถึงที่มาของบริการ ‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเที่ยงคืน’ ว่ามีจุดเริ่มต้น มาจากการปรั บ ยุ ท ธศาสตร์ ข องโรงพยาบาลจากเชิ ง รั บ มาเป็ น เชิ ง รุ ก ทำ�ให้โรงพยาบาลต้องหา ‘จุดยืน’ ที่แตกต่างและโดดเด่นมากพอ

ด้วยบริการ ‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเทีย่ งคืน’ ทำ�ให้ปจั จุบนั โรงพยาบาลเจ้าพระยามีลกู ค้า จากต่างจังหวัดเข้ามารับการรักษามากกว่า 40% โดยมีทั้งจังหวัดที่อยู่ตามขอบกรุงเทพฯ อาทิ นนทบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี สมุทรสาคร ราชบุรี ฯลฯ ไล่ไปถึงจังหวัดในภาคตะวันตก และภาคใต้ตอนบน

“โรงพยาบาลเอกชน ถือเป็นทางเลือกในการรักษา ฉะนั้นเราจึงไม่ได้ ขายแค่บริการทางการแพทย์ (Medical Care) แต่เราขายความเชื่อมั่นว่า ถ้ามาที่นี่ จะได้รับบริการที่ดีกว่า เร็วกว่า มั่นใจที่เก่าหรือโรงพยาบาล ในจังหวัดของเขา เราก็ดูว่าตลาดขาดอะไรและลูกค้าต้องการอะไร”

นอกจากช่วยขยายฐานลูกค้า ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเที่ยงคืนยังเป็นประโยชน์อย่างมาก กับโรงพยาบาลในแง่ของการใช้สถานที่และเครื่องมือแพทย์ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ (Utilization) ได้มากขึ้น ซึ่งถือเป็นการนำ� ‘ต้นทุนจม’ (Sunk Cost) มาสร้างรายได้เพิ่ม ขณะที่การขยายเวลาให้บริการยังช่วยให้จำ�นวนลูกค้าที่หนาแน่นในช่วงชั่วโมงปกติให้ลด ลง ซึ่งทำ�ให้เวลาในการรอคิวลดลง

นพ.พงษ์ พั ฒ น์ เล่ า ว่ า เนื่ อ งจากทางโรงพยาบาลเล็ ง เห็ น ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ที่เปลี่ยนไปของลูกค้า ซึ่งต้องทำ�งานจนดึกดื่นทำ�ให้ไม่มีเวลาเข้าไปตรวจ รักษาโรคหรือเช็กสุขภาพในช่วงกลางวัน ประกอบกับการเจ็บป่วยฉุกเฉิน ทีไ่ ม่เลือกเวลา ซึง่ บางโรคจำ�เป็นต้องรักษาทันทีโดยแพทย์เฉพาะทาง มิเช่นนัน้ อาจทำ�ให้จากที่เจ็บป่วยไม่หนักกลายเป็นขั้นรุนแรง และอาจทำ�ให้จากที่ จะรักษาได้ง่ายๆ กลับกลายเป็นรักษาได้ยุ่งยาก ด้วยเหตุนี้ โรงพยาบาลเจ้าพระยาจึงปรับบริการให้เป็นไปตามไลฟ์สไตล์ และความสะดวกในชีวิตของลูกค้า โดยเริ่มจากเปิดให้บริการ ‘ศูนย์แพทย์ เฉพาะทาง 24 ชัว่ โมง’ ใน 3 สาขา ได้แก่ ศูนย์หวั ใจ 24 ชัว่ โมง ศูนย์กมุ ารเวช 24 ชั่วโมง และศูนย์จักษุ 24 ชั่วโมง ปัจจุบัน โรงพยาบาลมีศูนย์แพทย์ เฉพาะทางทั้งสิ้น 12 สาขา เพื่อสร้างความแตกต่างและสร้าง ‘แบรนดิ้ง (Branding)’ ให้แบรนด์ ‘โรงพยาบาลเจ้าพระยา’ เป็นทีจ่ ดจำ�มากยิง่ ขึน้ ผูบ้ ริหารจึงได้เลือกใช้ค�ำ ว่า ‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเที่ยงคืน’ เป็นจุดขาย โดยเริ่มเปิดตัวครั้งแรก เมื่อปี 2550

“นับตั้งแต่เปิดบริการศูนย์การแพทย์เที่ยงคืนมาจนถึงปีนี้ จำ�นวนลูกค้าที่มาใช้บริการ โรงพยาบาลตั้งแต่หลัง 5 โมงเย็นจนถึงเช้ามืด เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 40-50%” คุณหมอระบุ ทั้งนี้ นพ.พงษ์พัฒน์ ให้มุมมองว่า มาถึงวันนี้ ความสำ�เร็จของโรงพยาบาลเจ้าพระยา คงมาจากการปรับกลยุทธ์และการบริการให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปของลูกค้า โดยนอกจาก ‘ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเทีย่ งคืน’ โรงพยาบาลยังมีการจัดกิจกรรมทีส่ อดรับกับ ไลฟ์สไตล์และความชอบของคนรุน่ ใหม่ อาทิ ดนตรีในสวนของโรงพยาบาล และงานแสดง ศิลปะในโรงพยาบาล เป็นต้น “จากข้อจำ�กัดที่ตั้งอยู่ในซอย ไม่ค่อยมีคนรู้จักเรา ทุกวันนี้ ลูกค้าทั่วประเทศรู้จักเรา แม้แต่ลูกค้าต่างประเทศก็เป็นลูกค้าเราเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งหมดนี้เป็นเพราะที่ผ่านมา เราพยายามสร้างจุดเด่นให้คนกล่าวถึงเราในหลายๆ มิติ โดยทุกมิตลิ ว้ นแต่เกิดจากปรัชญา บริการที่เรายึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง ผมเชื่อว่านี่น่าจะเป็น ‘กุญแจความสำ�เร็จ’ ที่ใช้ได้กับ ทุกธุรกิจบริการ” คุณหมอนักบริหารแห่งโรงพยาบาลเจ้าพระยาให้ข้อคิดทิ้งท้าย

“ตอนนั้น มีบางแห่งใช้คำ�ว่า ‘โรงพยาบาล 24 ชม.’ ไปแล้ว เราก็เลย ชูประเด็นว่า ‘เฉพาะทางเที่ยงคืน’ มาสื่อให้เห็นว่าดึกขนาดเที่ยงคืน ก็ยังมีหมอเฉพาะทางและหมอที่จะซัพพอร์ตการรักษา เช่น หมอรมยา หมอเอกซเรย์ ฯลฯ เพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างถึงที่สุดได้เหมือนการให้ บริการในเวลากลางวัน โดยใช้สโลแกนว่า สุขภาพมั่นใจได้ไม่ต้องรอเช้า” ทั้งนี้ นพ.พงษ์พัฒน์ ได้ให้ข้อมูลเพิ่มว่า ศูนย์แพทย์เฉพาะทางเที่ยงคืน ยังตอบโจทย์ลูกค้าในต่างจังหวัดที่อยู่ใกล้เคียงได้เป็นอย่างดี เพราะการ เดินทางในช่วงกลางคืน ทำ�ให้ระยะทางที่ดูเหมือนไกลดูใกล้ขึ้น เทียบกับ ความเสี่ยงที่ลดลงหากไปโรงพยาบาลในต่างจังหวัด ซึ่งอาจจะไม่ได้รักษา ด้วยแพทย์เฉพาะในทันที

BORDERLESS

021


SME Inspiration เรือ่ ง : ไม้มว้ น

ภาคิ น พลอยภิชา

10 ปี โอเอซิส สปา 
 กับมาตรฐานบริการ ระดับสากล ธุรกิจบริการที่โดดเด่นของผู้ประกอบการไทย คือ ‘สปา’ ซึ่งสร้างชื่อเสียงจนเป็นที่ยอมรับอย่าง กว้ า งขวาง และเป็ น หนึ่ ง ในกิ จ กรรมสุ ด โปรดของ บรรดานักท่องเที่ยว คุณภาคิน พลอยภิชา กรรมการ ผู ้ จั ด การ ‘โอเอซิ ส สปา’ พร้ อ มบอกเล่ า เรื่ อ งราว แห่งความส�ำเร็จของแบรนด์สปาไทยที่มีรางวัลคุณภาพ การั น ตี อ ยู ่ ม ากมาย อาทิ รางวั ล Lonely Planet Traveler Destination Awards ประเภทแหล่งท่องเที่ยว ในประเทศไทย, ‘Best Travel Destinations in Thailand’ ในหัวข้อ ‘สปายอดนิยม’ รางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Award) ครั้งที่ 9 ประจ�ำปี 2556 และนับเป็นต้นแบบสปาไทย ทีใ่ ส่ใจทัง้ คุณภาพของทรีตเมนต์ การบริ ก ารที่ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น จาก Therapist นับร้อยคน

จุดเริ่มต้นของโอเอซิส สปา

นับเป็นเวลากว่า 1 ทศวรรษแล้ว ทีโ่ อเอซิส สปา ได้ด�ำ เนิน ธุรกิจสปามาจนเป็นทีร่ จู้ กั ในการเป็น ‘เดย์สปา’ ทีเ่ ลือ่ งชือ่ ลำ�ดับ ต้นๆ ของเมืองไทย โดยคุณภาคินเล่าย้อนความหลังให้ฟังว่า “ผมร่วมกับหุน้ ส่วนธุรกิจ คุณโทบี้ อัลเลน เปิดให้บริการครัง้ แรก ปี 2546 ที่เชียงใหม่ ซึ่งก่อนหน้านี้ผมทำ�งานเกี่ยวกับธุรกิจยา เป็นธุรกิจเพือ่ การดูแลสุขภาพเช่นเดียวกัน มองเห็นการใช้ชวี ติ 022 BORDERLESS

ของคนยุคใหม่กบั ไลฟ์สไตล์ของคนทีเ่ ปลีย่ นไป มีการใช้ยาเพือ่ การรักษาอาการเจ็บไข้ได้ปว่ ยทีเ่ กิดขึน้ สุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคภัยต่างๆ แต่ถ้าคนเราดูแลตัวเองดีขึ้น ก็จะลดปัญหาการใช้ยาลงได้ นี่จึงเป็นจุดที่ทำ�ให้ตัดสินใจเข้ามาทำ�ธุรกิจนี้ และเชื่อว่าเป็นการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน ไม่ประมาท ผมไม่อยากให้เพือ่ นหรือคนรูจ้ กั พูดคำ�ว่า ‘รูอ้ ย่างนี’้ ซึง่ มันสายไปเสียแล้ว” คุณภาคินได้วางแผน ปลุกปั้นโอเอซิส สปา อย่างมีทิศทางที่ชัดเจนตั้งแรก จากการเสนอสปาที่มีความแตกต่างจาก ผู้ประกอบการรายอื่น ณ ขณะนั้น


“จะเห็นว่าเมือ่ สิบปีทแี่ ล้ว ไม่มสี ปาทีเ่ ป็นรูปแบบของการ์เด้น รีสอร์ต เลย เดย์สปา หรือสปาทีใ่ ห้บริการเฉพาะช่วงกลางวัน ไม่คา้ งคืน ส่วนใหญ่จะอยู่ ในทาวน์เฮาส์ในแหล่งชุมชน ดังนั้นผมจึงวางคอนเซ็ปต์ของโอเอซิส สปา เป็น ‘Garden villas in the middle of the city’ หรือสปาในบรรยากาศแบบ รีสอร์ตใจกลางเมือง จากความสำ�เร็จทีเ่ กิดขึน้ จึงพยายามใช้คอนเซ็ปต์นใี้ น การขยายสาขาไปในเมืองท่องเที่ยวต่างๆ ขณะเดียวกันก็พยายามรักษา และพัฒนามาตรฐานในการให้บริการอย่างสม่�ำ เสมอและต่อเนือ่ ง ปัจจุบนั โอเอซิส สปา มีทั้งหมด 10 สาขา คือ เชียงใหม่ กรุงเทพฯ ภูเก็ต จังหวัด ละ 3 สาขา และพัทยา 1 สาขา ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น Top destination และ ที่ผ่านมามีการตอบรับที่ดีมาก”

เจาะนักท่องเที่ยว เอาใจคนไทย

โอเอซิส สปา ก็เช่นเดียวกับธุรกิจสปาระดับกลางถึงบนรายอืน่ ทีม่ กี ลุม่ เป้าหมายหลักเป็นนักท่องเทีย่ ว ลูกค้าส่วนใหญ่ของทีน่ จี่ งึ เป็นนักท่องเทีย่ ว ด้วยสัดส่วนค่อนข้างสูงถึง 70% ขณะเดียวกันก็ไม่ได้ละทิ้งลูกค้าคนไทย เพราะเป็นฐานลูกค้าที่มีความสำ�คัญเช่นกัน โดยมีสัดส่วนอยู่ที่ 30% 
 “สำ�หรับลูกค้าคนไทยมีสดั ส่วนและอัตราการขยายตัวทีด่ ขี น้ึ จากช่วงแรก มีสัดส่วนเพียง 20% เท่านั้น โดยเฉพาะสาขาในกรุงเทพฯ ซึ่งมีอัตราการ เติบโตอย่างต่อเนื่อง”

เอกลักษณ์อันน่าหลงใหลของโอเอซิส สปา

ความหลากหลายของทรีตเมนต์ และความใส่ใจในรายละเอียดการนวด ตลอดจนการคั ด สรรผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ดี มี คุ ณ ภาพ ล้ ว นแล้ ว แต่ เ ป็ น ปั จ จั ย แห่งความสำ�เร็จของสปาแห่งนี้ “โอเอซิส สปา เสนอแพ็คเกจทรีตเมนต์ทหี่ ลากหลายตามความต้องการ ของลูกค้า แต่ละทรีตเมนต์ ก็จะช่ ว ยทำ � ให้ ระบบหมุ นเวี ย นเลื อ ดดี ขึ้ น ช่วยผ่อนคลายสุขภาพทั้งกายและใจ มีทรีตเมนต์ในการดูแลผิวพรรณ ดูแลผิวหน้า และมี Spa cuisine โดยจุดเด่นคือ การนำ�เสนอความเป็นไทยสปา ด้วยการนำ�สมุนไพรไทยมาใช้ในทรีตเมนต์ เช่น การนวดด้วยลูกประคบ นวด น้ำ�มัน และนวดแบบอายุรเวดิก เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี ชิโรดารา ศาสตร์ การนวดแบบอินเดียทีน่ �ำ มาดัดแปลงให้สอดรับการเป็นสปาไทย ปรนนิบตั ิ ด้วยการหยอดน้ำ�มันร้อนลงบนกลางหน้าผากซึ่งถือเป็นดวงตาที่สาม ทำ�ให้ผ่อนคลาย หลับง่ายขึ้น จะช่วยลดคนที่มีปัญหาหลับยาก หรือมีจิต ไม่ค่อยนิ่ง ทำ�ให้มีสมาธิมากขึ้น” ด้านตำ�แหน่งทางการตลาด โอเอซิส สปา เป็นเดย์สปาทีม่ ี Positioning อยูร่ ะหว่างเดย์สปาแบบสแตนด์อะโลนและสปาหรูในโรงแรม 5 ดาว การทีม่ ี Positioning แบบนี้ทำ�ให้ฐานลูกค้าของโอเอซิส สปา หลากหลายขึ้น

เปิดเบื้องหลังความสำ�เร็จ

คุณภาคินแจกแจงว่า ธุรกิจสปามีหวั ใจหลักอยูท่ กี่ ารบริการ การทำ�งาน เป็นทีมเวิร์ก เป็นเรื่องของบุคลากรและวัฒนธรรมองค์กร รวมถึงการนำ� เทคโนโลยี Spa Management System (SMS) เข้ามาใช้ในการจัดการ ธุรกิจสปา ซึ่งช่วยทำ�ให้การบริหารเป็นไปอย่างสะดวก คล่องตัว และมี ประสิทธิภาพมาก “ผมไม่ จำ � เป็ น ต้ อ งเดิ น ทางไปดู ทั้ ง หมด 10 สาขา แต่ อ าศั ย เทคโนโลยี ที่ เ ป็ น แอพพลิ เ คชั่ น ซึ่ ง เราพั ฒ นาขึ้ น มาเอง และได้ รั บ รางวั ล จากหลากหลายเวที ม าใช้ โดยเรามี Reservation center ที่

เชียงใหม่ สายทุกสายและอีเมลทุกฉบับ จะดำ�เนินการ ผ่านเซ็นเตอร์ที่เชียงใหม่ ทำ�ให้พนักงานแต่ละสาขา สามารถที่ จ ะโฟกั ส ที่ ลู ก ค้ า ได้ 100% SMS จะช่วยลดขั้นตอนของสาขาในการที่จะติดต่อ กั บ ลู ก ค้ า ก่ อ นที่ จ ะทำ � ทรี ต เมนต์ พวกเขาไม่ ต้องกังวลเรื่องรับโทรศัพท์หรือตอบอีเมล ดัง นั้นเมื่อเรามีเทคโนโลยีที่ดีเข้ามาช่วยส่งเสริม การจัดการธุรกิจ ก็ทำ�ให้เรามีโอกาสเติบโตได้ เร็วขึ้น “นอกจากนี้ยังเป็นสินค้าต่อยอดธุรกิจชั้นดี โดยให้บริการเช่าสำ�หรับธุรกิจสปาที่ต้องการ ระบบจัดการสปาที่มีประสิทธิภาพ และพัฒนาโดย ผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในธุรกิจสปาอย่างโอเอซิส สปา” 
 เพือ่ พัฒนาบุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญในการทำ�ทรีตเมนต์ และมีจิตใจแห่งการบริการ คุณภาคินจึงได้จัดตั้งโรงเรียนไทยโอเอซิส สปาขึ้น ซึ่งพัฒนา มาจากศูนย์ฝกึ อบรม เพือ่ ทำ�หน้าทีห่ ลักคือ พัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนือ่ ง นอกจากนีย้ งั ใช้ SMS คอยมอนิเตอร์ ระบบแบบสอบถามความพึงพอใจ มี Customer Service Index (CSI) ของ Therapist แต่ละคน “หลังลูกค้าทำ�ทรีตเมนต์เสร็จแล้ว เราสามารถที่จะดูรีพอร์ตได้ แบบรายวัน รายสัปดาห์ และรายเดือน ตั้งเป้าไว้ที่ความพึงพอใจของลูกค้าต้องไม่ต่ำ�กว่า 90% ถ้า Therapist คนไหน มีค่า CSI ต่ำ�กว่า 90% ก็จะถูกส่งกลับไปที่โรงเรียนใหม่ ทำ�ให้ Therapist มีความกระตือรือร้นที่จะให้บริการอย่างเต็มความสามารถอยู่เสมอ ผม อยากให้ลกู ค้าได้รบั ประสบการณ์ทดี่ จี ากบริการทีไ่ ด้มาตรฐานเหมือนกัน ไม่วา่ จะใช้บริการ ที่สาขาไหน นั่นหมายถึงบริการที่มีมาตรฐานตั้งแต่วันที่เปิด และเมื่อเวลาผ่านไปก็มี การพัฒนาให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง” เพราะธุรกิจสปาจัดเป็นธุรกิจบริการ ดังนั้นมาตรฐาน การให้บริการจึงเป็นปัจจัยหลักที่จะต้องให้ความสำ�คัญอย่างมาก 

 
 แม้โอเอซิส สปา จะมีรางวัลการันตีมากมาย แต่เขาบอกกับพนักงานเสมอว่า อย่ามัว แต่หลงระเริงกับรางวัล จนลืมพัฒนาตัวเอง ต้องทำ�ตัวเป็นแบบอย่างของสปาที่ดี ตั้งแต่ ภาพลักษณ์การแต่งตัว การพูดจา บุคลิกภาพ เพราะทั้งหมดเป็นเรื่องของแบรนดิ้ง นอกจากนี้หนึ่งในปัจจัยที่คุณภาคินเห็นว่ามีส่วนสำ�คัญเป็นอย่างมากในการผลัก ดันโอเอซิส สปา ให้เติบใหญ่อย่างเกรียงไกรเช่นทุกวันนี้ก็คือ ‘วัฒนธรรมองค์กร’ ที่เน้น ให้พนักงานมีความสุขในการทำ�งาน มีความรักในองค์กร รักเพื่อนพนักงานด้วยกันเอง เอื้ออาทรต่อลูกค้า เพราะเขาเชื่อว่าถ้าพนักงานมีคุณภาพชีวิตที่ดี ก็จะส่งผลให้เขามี ความรักและภักดีต่อองค์กร ท้ายที่สุดแล้วก็จะส่งต่อความสุขไปยังลูกค้าด้วย

มองโอกาสของธุรกิจสปาไทยในเออีซี

คุณภาคินวิเคราะห์ถึงโอกาสในการช่วงชิงชัยชนะของธุรกิจสปาไทยจากผู้ประกอบการ รายอื่นในเออีซีว่า “ผมยังคงเชื่อมั่นในศักยภาพของผู้ประกอบการไทย และธุรกิจสปา น่าจะเติบโตได้อย่างต่อเนือ่ งภายใน 5-10 ปี แต่กม็ คี วามกังวลในเรือ่ งปัญหาความขัดแย้ง ทางการเมืองที่ยืดเยื้อ ซึ่งส่งผลกระทบต่อนักท่องเที่ยวต่างชาติซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย หลักของธุรกิจสปา สำ�หรับกรณีของเออีซี ผมมั่นใจว่าธุรกิจสปาของไทยยังคงได้เปรียบ ประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งในเรื่องของการบริการ ความยิ้มแย้มแจ่มใสของพนักงาน และ ชือ่ เสียงทีส่ งั่ สมมา แต่ถา้ หากต้องการทีจ่ ะก้าวไกลไปกว่านีก้ ค็ วรทีจ่ ะมีระบบบริหารจัดการ ที่ดี มีประสิทธิภาพและรักษาความคงเส้นคงวาในการบริการไว้ให้ได้ และเมื่อทุกอย่าง สอดประสานกันอย่างลงตัวแล้ว สปาไทยย่อมไม่เป็นสองรองใคร”

BORDERLESS

023


SME Inspiration เรือ่ ง : ไม้มว้ น

วิทูร

สุริยวนากุล

‘นวัตกรรมทางความคิด’ สารเร่งโตสไตล์ ‘สยามโกลบอลเฮ้าส์’

จากร้านขายวัสดุเล็ก ๆ ในร้อยเอ็ดทีม่ พี นื้ ทีเ่ พียง 200 ตารางเมตร ซึง่ ตัง้ ขึน้ เพือ่ รองรับอาชีพรับเหมาก่อสร้างของตัวเอง คุณวิทรู สุรยิ วนากุล ผันตัวเองจากผูร้ บั เหมา ก่อสร้างและเจ้าของร้านขายวัสดุเล็ก ๆ มาเป็นเจ้าของโมเดิร์นเทรดด้านวัสดุก่อสร้าง ทีค่ รบวงจรและใหญ่ทสี่ ดุ ในแดนอีสาน ภายใต้แบรนด์ ‘สยามโกลบอลเฮ้าส์’ โดยปัจจุบนั สยามโกลบอลเฮ้าส์มีสาขากว่า 25 แห่งทั่วประเทศ และมีแผนขยายสาขาอีกปีละ 12-15 แห่ง กว่าจะก้าวมาถึงความส�ำเร็จ ณ วันนี้ คุณวิทูร สุริยวนากุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.สยามโกลบอลเฮ้าส์ ยอมรับว่า แม้ ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ก็ ไม่ยากเกินกว่าที่ผู้ประกอบการ เอสเอ็มอี (SMEs) จะฟันฝ่าไปถึง ขอเพียงมี ‘นวัตกรรมทางความคิด’ เพือ่ สร้างความแตกต่าง (differentiate) ให้กับธุรกิจของตัวเอง 024 BORDERLESS


คุ ณ วิ ทู ร เริ่ ม ต้ น เล่ า ว่ า ทั น ที ที่ เ รี ย นจบคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ก็เริ่มรับงานเป็นผู้รับเหมาก่อสร้าง จากนั้น 4-5 ปี จึงเห็นว่าควรทำ�ธุรกิจขายวัสดุก่อสร้างควบคู่ไปด้วย เพื่อลดต้นทุนของ งานรับเหมาก่อสร้างของตัวเอง จึงเปิดร้านขายวัสดุก่อสร้างเล็กๆ ขึ้นมา ยอดขายเป็นไปได้ดีจนต้องเปิดร้านแห่งที่ 2 เมื่อปี 2531 โดยร้านใหม่ นี้ใหญ่กว่าเดิมเกือบ 5 เท่า คือมีพื้นที่ขายถึงเกือบ 1,000 ตารางเมตร เป็นอาคารกระจกทันสมัย และมีสินค้าที่หลากหลายมากขึ้น ยิ่งบวกกับ การได้รับแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำ�หน่ายของเครือซิเมนต์ไทย ร้านแห่งที่ 2 จึงเติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่ อ ธุ ร กิ จ เติ บ โตต่ อ เนื่ อ ง บวกกั บ ในช่ ว งปี 2538 ประเทศไทย มีการลงทุนอย่างคึกคัก และเป็นช่วงทีป่ ระเทศกำ�ลังเข้าสูก่ ระแสโลกาภิวตั น์ คุณวิทรู มองว่าน่าจะถึงเวลาเปิดร้านใหม่อกี แห่งในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยตัง้ ชือ่ ร้านใหม่วา่ ‘สยามโกลบอลเฮ้าส์’ ซึง่ Global มาจาก Globalization นัน่ เอง “ตอนนั้ น ข้ อ จำ � กั ด ของผมคื อ จะทำ � อย่ า งไรให้ ร้ า นใหม่ อ ยู่ ร อด เพราะร้านที่จะเปิดใหม่อยู่ในร้อยเอ็ด ฐานลูกค้าส่วนใหญ่ก็คงเป็นลูกค้า เดิม คือเจ้าของบ้าน ผู้รับเหมารายย่อยและขนาดกลาง เราเลยพยายาม หาระบบบริการและรูปแบบร้านใหม่ๆ ที่ตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้ดี และแตกต่างจากร้านอื่นๆ ที่มีอยู่แล้วในตลาด” ในปี 2540 ร้านสยามโกลบอลฯ แห่งแรกจึงเกิดขึ้น โดยเป็นรูปแบบ โมเดิร์นเทรด ซึ่งมีพื้นที่ขายที่ใหญ่ขึ้น เพื่อเพิ่มพื้นที่สำ�หรับจัดเก็บสินค้า ให้มากขึ้น จะได้มีสินค้าที่หลากหลายและครบครันมากขึ้น และมีบริการ แบบ Drive through ที่ให้บริการลูกค้าได้เข้ามาเลือกซื้อและรับสินค้าได้ที่ โกดังโดยตรง ซึ่งจะทำ�ให้ระยะเวลารอสินค้าสั้นลง จากร้านค้าที่เคยมีพื้นที่ไม่ถึง 1,000 ตารางเมตร หลังจากปรับ รูปแบบร้านค้าใหม่ ร้านสยามโกลบอลฯ แต่ละแห่งจะมีพื้นที่ไม่ต่ำ�กว่า 1.8-3.2 หมื่นตารางเมตร สามารถจัดเก็บและจำ�หน่ายสินค้าได้มากถึง เกือบ 1 แสนรายการ สอดคล้องกับกลยุทธ์สร้างความแตกต่างด้านสินค้า และบริการ ภายใต้แนวคิด ‘ครบและหลากหลาย’ โดยเน้นการปรับสินค้า ให้เป็นไปตามความต้องการของลูกค้า ไม่ใช่เพียงเพราะร้านสยามโกลบอลฯ เป็นศูนย์จำ�หน่ายวัสดุก่อสร้าง และตกแต่งบ้านขนาดใหญ่และครบวงจร แต่ยังมีอีก 2 เหตุผลสำ�คัญที่ ทำ�ให้สยามโกลบอลฯ กลายเป็น ‘ขวัญใจ’ ของกลุ่มลูกค้าที่เป็นผู้รับเหมา และเจ้าของบ้าน ได้แก่ การตั้งราคาสินค้าแบบสมเหตุสมผล และการ รับประกันความพึงพอใจ โดยลูกค้าสามารถนำ�สินค้ากลับมาคืนได้ภายใน 15 วัน อันเป็นวิธซี อ้ื ใจลูกค้าทีส่ ร้างความแตกต่างให้กบั แบรนด์ ‘โกลบอลเฮ้าส์’ ได้เป็นอย่างดี ขณะที่ผู้ประกอบการคนอื่นมองว่า บริการนี้จะทำ�ให้กำ�ไร หดหายไป แต่คุณวิทูรกลับคิดต่าง โดยมองว่า ลูกค้าที่เอามาคืนจะซื้อ มากกว่าเดิม เพราะพวกเขาซื้อด้วยความสบายใจมากขึ้น “ช่วงปี 2540 ที่เปิดร้านสยามโกลบอลฯ สาขาแรก เป็นช่วงวิกฤต ต้มยำ�กุ้ง ตอนนั้นค่าเงินบาทอ่อนไปถึง 52 บาท แต่เพราะเราปรับมาใช้ นวัตกรรมด้านสินค้าและบริการ ลูกค้าก็มาใช้บริการของเรามากจนทำ�ให้ ร้านของเราอยู่รอดและมียอดขายพอที่จะเกินจุดคุ้มทุน” หลังจากสาขาแรกได้ 4 ปี สยามโกลบอลฯ จึงได้เปิดสาขาที่ 2 ที่ขอนแก่น จังหวัดที่ได้ชื่อว่ามีผู้ค้ารายใหญ่อยู่เต็มตลาด แต่ปรากฏว่า ผ่านสิ้นปีแรกสยามโกลบอลฯ ขอนแก่นได้ยอดขายมากกว่าที่ตั้งเป้าไว้ โดยคุณวิทูรเชื่อว่า เป็นผลจากความแตกต่างในรูปแบบร้าน รวมถึงการมี สินค้าและบริการที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า

ในปี 2547 สยามโกลบอลฯ ได้ขยายไปเปิดร้านทีอ่ ดุ รธานี ปี 2549 เปิดสาขาทีเ่ ชียงใหม่ และปี 2550 ได้เปิดสาขาทีร่ ะยองและชลบุรี กระทัง่ ปลายปี 2551 จึงได้เปิดสาขาทีน่ ครปฐม จากนั้นจึงนำ�บริษัทเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ราวกลางปี 2552 จาก 7 สาขาก่อนเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ ปัจจุบนั นี้ สยามโกลบอลฯ เปิดไปแล้ว 25 สาขา และมีแผนจะขยายสาขาปีละ 12-15 สาขา ท่ามกลางกระแสทีน่ กั วิเคราะห์มองว่า เศรษฐกิจ โลกยังต้องเผชิญอยู่กับภาวะวิกฤตอีกสักระยะ ทั้งนี้ คุณวิทูรเชื่อว่า อีก 4 ปีข้างหน้าบริษัทจะมีสาขาครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ โดยในไตรมาส 1 ปีหน้า ศูนย์กระจายสินค้ากลางของบริษทั จะเริม่ ดำ�เนินการได้ ซึง่ นีจ่ ะเป็น กลไกที่ ทำ � ให้ ก ารกระจายสิ น ค้ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น และทำ � ให้ ก ารขยายสาขา เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว “ไม่ใช่วา่ เราประมาท แต่เผอิญเราระดมทุนได้มาก และผมก็ไม่ได้หว่ งวิกฤตทีจ่ ะเกิดขึน้ เพราะเราเตรียมตัวมาตลอดและค่อนข้างระมัดระวัง เพราะเรามีประสบการณ์ตงั้ แต่สาขา แรก ซึ่งเราเปิดในช่วงวิกฤตที่ใหญ่ที่สุดของไทย เรายังผ่านมาได้ อย่างวิกฤตค่าน้ำ�มัน หรือวิกฤตทีส่ หรัฐอเมริกา ฯลฯ เราก็ยงั เติบโตและทำ�กำ�ไรได้ ผมเชือ่ ว่าตราบทีล่ กู ค้ายังพึง พอใจเราอยู่ เราน่าจะไปได้และแข่งขันได้ แม้จะอยู่ในช่วงวิกฤต” ด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยปีละ 40% ต่อเนื่องมากว่า 4 ปี บวกกับเป้าหมายในปี 2557 ทีบ่ ริษทั จะเปิดสาขาให้ครอบคลุมพืน้ ทีภ่ าคอีสานและภาคเหนือครบ 100% ถือเป็น บทพิสูจน์ถึงความแข็งแกร่งและความสำ�เร็จของ ‘สยามโกลบอลเฮ้าส์’ ได้เป็นอย่างดี โดย คุณวิทรู มองว่า จุดเริม่ ต้นความสำ�เร็จของบริษทั มาจากการเป็นผูจ้ �ำ หน่ายสินค้าวัสดุกอ่ สร้าง รายแรกที่นำ�เอา ‘นวัตกรรมทางด้านการขายวัสดุก่อสร้าง’ รูปแบบใหม่เข้ามาสู่วงการ วัสดุก่อสร้าง นั่นเอง “การเติบโตของธุรกิจของผม ซึ่งเราโตมาจากต่างจังหวัด มันเป็นการพิสูจน์ว่าทุกคน สามารถเริม่ ต้นธุรกิจทีไ่ หนก็ได้ขอให้ตงั้ ใจทำ�และมองระยะยาว โดยมี 2 เรือ่ งทีต่ อ้ งใส่ใจคือ เรื่องเงินทุน โดยเราต้องรักษาเครดิตกับธนาคารให้ดี เพราะถ้าไม่มีเครดิต เราก็สูญสิ้นทุก อย่าง และเรื่องลูกค้า เพราะไลฟ์สไตล์ของลูกค้าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เราต้องปรับตัว เพื่อตอบสนองความต้องการที่ไม่สิ้นสุดของลูกค้าให้ได้” และนี่ ก็ เ ป็ น แง่ คิ ด ดี ๆ ที่ ซี อี โ อแห่ ง สยามโกลบอลเฮ้ า ส์ บริ ษั ท มหาชนที่ เ ติ บ โต จากการเป็นเอสเอ็มอีเล็กๆ ในต่างจังหวัดเมื่อกว่า 20 ปีก่อน อยากฝากไว้เป็นกำ�ลังใจให้ กับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทย

BORDERLESS

025


SME Inspiration เรือ่ ง : อรรถ อรรถมาตย์

เดชาโชติธนเศรษฐ์

เหนือชั้นด้วย ‘บริการหลังการขาย’

แม้ ‘วินเนอร์ เทเลคอมป์ กรุ๊ฟ’ (Winner Telecom Group) จะเป็นธุรกิจ ไอที ที่ดูเหมือนจะโฟกัสที่เทคโนโลยีเป็นหลัก แต่ คุณอัครวงศ์ เดชาโชติธนเศรษฐ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั วินเนอร์ เทเลคอมป์ กรุฟ ๊ ผูด้ ำ� เนินธุรกิจจัดจ�ำหน่ายสมาร์ตโฟน และอุปกรณ์เสริม ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘Smart Mobility Executive’ ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพ และมาตรฐานของการบริการ เนื่องจากก่อตั้งธุรกิจจนประสบความส�ำเร็จและเอาชนะใจ ผูบ้ ริโภคได้จาก ‘การบริการ’ อันเป็นเลิศ แต่นอ้ ยคนนักจะรูว้ า่ คุณอัครวงศ์ สร้างเนือ้ สร้างตัว จากเด็กต่างจังหวัด ฐานะไม่สู้ดี แต่สามารถ ‘พลิกชีวิต’ ด้วยหนึ่งสมองและสองมือได้ 026 BORDERLESS


ไม่ยอมจำ�นนต่อโชคชะตา

สำ � หรั บ คนที่ ไ ม่ ไ ด้ เ กิ ด ในครอบครั ว ที่ พ รั่ ง พร้ อ มและมั่ ง คั่ ง อย่ า ง คุณอัครวงศ์ การต่อสูเ้ พือ่ ก้าวผ่านสถานะทางเศรษฐกิจจากชนชัน้ กลางทีม่ ี หนีส้ นิ ล้นพ้นตัว มาสูก่ ารเป็น ‘เศรษฐี’ นัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายเลย แต่การไม่ยอมแพ้ และไม่ปล่อยให้โชคชะตาชีวิตเล่นงาน ทำ�ให้วันนี้คุณอัครวงศ์ กลายเป็น นักธุรกิจรุน่ ใหม่ทน่ี า่ จับตา เพราะสามารถปลุกปัน้ ธุรกิจมูลค่านับพันล้านบาท ได้เป็นผลสำ�เร็จ ด้วยความมานะ อดทน และไม่เคยพลาดที่จะคว้า ‘โอกาส’ ที่เข้ามาในชีวิต “ชีวติ มีจดุ หักเหตอนทีค่ ณ ุ พ่อเสียชีวติ และภาระหนีส้ นิ ต่าง ๆ ก็ตกอยูท่ ี่ คุณแม่ ซึง่ รายได้ของครูตา่ งจังหวัดกับหนี้ ไม่สมดุลกัน ก็เลยมุง่ มัน่ ตัง้ ใจเรียน เพราะผมเชื่อว่าอะไรก็เป็นไปได้ ถ้าไม่ลดละความพยายาม และมีความ มุ่งมั่นตั้งใจ ผมมีความคาดหวังที่จะได้ทำ�งานดี ๆ มีรายได้ เพื่อแบ่งเบา ภาระของคุณแม่ ผมจึงเรียนไปด้วยทำ�งานไปด้วย กลางวันผมทำ�งาน เป็นพนักงานเสิร์ฟ เสร็จแล้วก็ไปหาซื้อวอลล์ชาร์จบ้านแถวสนามเสือป่า หอบหิ้วขึ้นรถประจำ�ทางเอาไปขายที่ต่างจังหวัด ตกเย็นไปเรียนภาคค่ำ� ด้านออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สถาบันราชภัฏสวนดุสิต พอเลิกเรียนเสร็จก็ไป ขายของแบกับดิน ซึ่งเป็นของเก่าจากที่บ้าน และที่เพื่อน ๆ บริจาคมาให้ อาทิ เสื้อผ้ามือสอง หนังสือ แถวคลองหลอด-สนามหลวง ถึงตี 3 ตี 4 “อยู่มาวันหนึ่งก็มีร้านขายโทรศัพท์มือถือมาขายอยู่ข้าง ๆ ตอนแรก ก็ ไ ม่ เข้ า ใจว่ า จะขายได้ เ หรอ แต่ ก ลั บ กลายเป็ น ว่ า มี ค นมุ ง ตลอดเวลา และขายดีมาก เขาให้ผมช่วยรีเซตเครือ่ ง สมัยนัน้ โทรศัพท์สว่ นใหญ่ยงั ไม่มี ภาษาไทย ผมก็พอรูภ้ าษาอังกฤษอยูบ่ า้ ง และยังสนใจในเรือ่ งของเทคโนโลยี อีกด้วย ทำ�ให้มวี ชิ าติดตัว พอทำ�เสร็จปุบ๊ ลูกค้าก็จา่ ยมา 500 บาท รูส้ กึ ว่า อยากลองทำ�ธุรกิจเกี่ยวกับโทรศัพท์มือถือบ้าง” คุณอัครวงศ์ในวัย 30 ปี เล่าถึงชีวิตในอดีตอันยากลำ�บาก แม้ไม่ถึงกับต้องกัดก้อนเกลือกิน แต่ก็ ไม่ได้สบายพอที่จะซื้อหาอะไรได้ดังใจ “จากนั้นผมลงทุนซื้อโทรศัพท์มือถือมือสองมา เครื่องละไม่กี่พัน ซือ้ มา 2 เครือ่ งจากมาบุญครอง วางไว้ไม่ถงึ วันก็ขายได้แล้ว ก็เริม่ เกิดความ มั่นใจ โดยผมไม่ได้ขายแค่เครื่องอย่างเดียว แต่ให้บริการด้านซอฟต์แวร์ เซตอัพต่าง ๆ โดยที่ไม่คิดค่าบริการเพิ่ม ก็เกิดการบอกปากต่อปาก แต่ ด้วยความที่เป็นร้านแบกับดิน ก็ยากที่จะทำ�ให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่นได้ ทั้งที่สินค้าชนิดเดียวกัน ผมก็เลยไปเช่าตู้ที่มาบุญครอง เป็นตู้เล็ก ๆ จ่าย ค่าเช่า 2-3 หมื่นบาทต่อเดือน” จากวันแรกที่เป็น ‘พ่อค้า’ คุณอัครวงศ์มีรายได้ต่อวันในหลักสิบ ก่อนจะเพิ่มเป็นหลักร้อย หลักพัน และกลายเป็นหลักหมื่นบาท กอปรกับ จำ�นวนลูกค้าที่หลั่งไหลเข้ามามากขึ้น ได้เพิ่มความมั่นใจให้กับเขาในการ ขยายธุรกิจอย่างจริงจัง ด้วยการเปิดร้านที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพิ่มจำ�นวน พนักงานเพือ่ เสริมทัพ ‘การบริการหลังการขาย’ ซึง่ เขายึดมัน่ มาโดยตลอด ว่าเป็นหัวใจสำ�คัญในการพิชิตธุรกิจ และโอกาสก็เดินเข้ามาหาเขาอีกครั้ง เมื่อมีเจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาดของศูนย์การค้าเซ็นทรัลพัฒนา ได้เชื้อเชิญ เขาให้ไปเปิดร้านวินเนอร์ที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัล ลาดพร้าว และนั่นเป็น จุดเปลี่ยนครั้งสำ�คัญที่ทำ�ให้เขาขยายธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว

บริหารจัดการสินค้าให้มีประสิทธิภาพ

สินค้าไอทีมชี ว่ งอายุสนั้ กว่าสินค้าประเภทอืน่ ๆ เพราะมีเรือ่ งของเทรนด์และเทคโนโลยี ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ความนิยมของสินค้าแต่ละรุ่นโดยเฉพาะ สมาร์ตโฟน จะไปเร็วมาเร็ว ซึ่งจะต้องรับมือให้ทัน และนำ�สินค้าออกสู่ตลาดให้เร็วที่สุด ที่ผ่านมาคุณอัครวงศ์ยอมรับว่ามีอุปสรรคในการทำ�ธุรกิจอยู่บ้าง โดยเฉพาะการ ขาดความแม่นยำ�ในการสต็อกสินค้า แต่ปัจจุบันมีระบบการจัดการ dead stock ทำ�ให้ บรรเทาเบาบางปัญหานี้ลงได้ โดยจากสัดส่วนเกือบ 20% ในอดีต ลดเหลือไม่เกิน 10% ในปัจจุบัน “เราจะเซตไทม์ไลน์ของสินค้า จากความนิยมของลูกค้า ถ้าได้รับความนิยมน้อย ก็จะวางจำ�หน่ายในระยะเวลาที่สั้นลงเพื่อหาวิธีการจัดการตัวสินค้าที่จะ dead stock ด้วย การโฟกัสความต้องการของลูกค้ามากขึน้ และเนือ่ งจากสินค้ามีไอเท็มจำ�นวนมาก จึงต้อง แบ่งเป็น by brand ก่อน แล้วค่อยแบ่ง by product ควรจะมีไทม์ไลน์เท่าไหร่ และหากครบไทม์ ไลน์ที่วางไว้แล้วจะดำ�เนินการอย่างไรต่อ ยังได้รับความนิยมอยู่ไหม เอสเคยูเยอะเกินไป หรือเปล่า “สินค้าของเราแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มหลัก คือ แท็บเลต สมาร์ตโฟน และแอ็คเซสโซรี จับกลุม่ ลูกค้า B+ ขึน้ ไป ทีต่ อ้ งการซือ้ แท็บเลตหรือสมาร์ตโฟนไปใช้ในการทำ�งาน การศึกษา ธุรกิจ และโซเชียลเน็ตเวิร์ก โดยเราจะดูแลและจัดการแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ ที่สอดรับกับ การใช้งานของลูกค้าแต่ละราย โดยเราลงทุนในเรื่องแอพพลิเคชั่นไปแล้วกว่า 2 ล้านบาท”

บริการหลังการขายต้องเป็นเลิศ

ธุรกิจร้านจำ�หน่ายสินค้าไอที โดยเฉพาะสมาร์ตโฟนและอุปกรณ์เสริม ไม่ใช่ธุรกิจ ประเภท ‘ซือ้ มาขายไป’ แต่เป็นธุรกิจทีต่ อ้ งดูแลลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะอยูเ่ คียงข้าง ลูกค้าเมื่อเกิดปัญหา ไม่ผลักภาระให้ลูกค้า และนั่นเป็นหัวใจที่ทำ�ให้วินเนอร์ประสบความสำ�เร็จมาจนถึงทุกวันนี้ “ลูกค้าจะมัน่ ใจกับการบริการหลังการขายของเรา ถ้าเทียบกับแบรนด์ทเี่ ป็นช็อปทัว่ ไป เพราะลูกค้าสามารถมารับบริการได้ตลอดเวลา เป็นตัวแทนทีจ่ ะนำ�เครือ่ งไปส่งศูนย์ฯ เจรจา กับศูนย์ฯ ให้ โดยที่ลูกค้าไม่ต้องไปดีลเอง นอกจากนี้ยังมีการแก้ปัญหาเบื้องต้น จะมีฝ่าย เทคนิคประจำ�ทุกสาขา คอยให้คำ�ปรึกษาและช่วยเหลือลูกค้าอย่างใกล้ชิด” ขณะเดียวกันท่ามกลางการแข่งขันทีส่ งู ของธุรกิจนี้ ในแง่ของกลยุทธ์การตลาด จึงต้อง พยายามค้นหาความต้องการของลูกค้า และมุง่ มัน่ ทีจ่ ะตอบสนองความต้องการนัน้ ให้มาก ที่สุด ด้วยการนำ�เสนอความแตกต่างของสินค้า จากการหาพันธมิตรธุรกิจที่เป็นดิสทริบิวเตอร์และซัพพลายเออร์มากขึน้ ภายใต้แนวคิด ‘วินเนอร์ให้ความคุม้ ค่ากับลูกค้ามากทีส่ ดุ ’ หรือนำ�เสนอสินค้าและบริการให้ลูกค้าได้รับอรรถประโยชน์สูงสุดนั่นเอง ขยายธุรกิจด้วยแฟรนไชส์ ไซส์เล็ก แม้ในขณะนี้คุณอัครวงศ์จะยังไม่มีแผนขยายธุรกิจ ‘วินเนอร์’ ด้วยระบบแฟรนไชส์ แต่เขาผุดไอเดียเด็ด ด้วยการปั้นแบรนด์ใหม่ ที่ใช้ชื่อว่า ‘i play’ เป็นร้านขนาดเล็กพื้นที่ 3x2 ตารางเมตร ซึ่งเป็นโมเดลธุรกิจใหม่ ที่เน้นสินค้าเป็นแกดเจ็ตราว 80% เน้นเปิดใน ไฮเปอร์มาร์เก็ต แต่ยังจับตลาดไฮเอนด์เช่นเคย โดยใช้งบลงทุน 5.9 แสนบาท “เรามีประกันความเสี่ยง จะรับซื้อสินค้าคืนเท่าไหร่ พร้อมกับออกแบบโปรโมชั่นให้ มีระบบจัดการสินค้า โดยผู้ลงทุนจะได้กำ�ไร 50% และคืนทุนในระยะเวลาราว 2 ปี คาดว่า จะมีแฟรนไชส์ 3-5 ราย ภายในสิ้นปี 2556 นี้ และปี 2557 น่าจะมี 25 ราย” สำ�หรับภาพรวมของปี 2556 คุณอัครวงศ์คาดว่าจะทำ�รายได้ทะลุ 1,000 ล้านบาท และคาดว่าจะเติบโตราว 20-25% และสำ�หรับแผนธุรกิจในปี 2557 นัน้ เน้นสร้างการบริการ ที่เหนือความคาดหมาย ใช้วัฒนธรรมไทยมาใช้กับแคมเปญ ‘อัธยาศัยดี ๆ มีที่วินเนอร์ ทุกสาขา’ และวางเป้าหมายเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 3-4 ปีข้างหน้า นอกจากนี้ ยังวางแผนขยายสาขาให้ครบ 30 สาขา ภายในปี 2560 ด้วย BORDERLESS

027


Big Idea เรือ่ ง : อรรถ อรรถมาตย์

3D Printer เทรนด์ร้อนประจ�ำปี

2014

สุดยอดไอเดียประจ�ำปีนี้ ต้องยกให้กับ ‘3D Printer’ หรือเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่ทั่วโลกก�ำลังจับตา ยิ่งงานแสดงสินค้าคอนซูเมอร์อิเล็กทรอนิกส์ ที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ในโลกอย่ า ง CES 2014 ที่ เ พิ่ ง จั ด ขึ้ น ที่ เ มื อ งลาสเวกั ส ประเทศสหรัฐอเมริกาที่ผ่านมา ได้ระบุให้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ เป็น 1 ใน 5 เทรนด์ที่น่าจับตาประจ�ำปีนี้ ซึ่งเฉพาะงานนี้มีบริษัทผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ 3 มิติ มาแสดงผลงานราว 30 แห่ง จากที่ ผ ่ า นมาการพิ ม พ์ ภ าพและโมเดล 3 มิ ติ จะอยู ่ ใ นแวดวง อุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่และมีราคาแพงมาก แต่ต่อมาได้มีการพัฒนา เทคโนโลยี แ ละผลิ ต เครื่ อ งพิ ม พ์ 3 มิ ติ ที่ มี ร าคาย่ อ มเยาว์ เอื้ อ มถึ ง ได้ ง ่ า ยมากขึ้ น และเปรี ย บเสมื อ นจุ ด เปลี่ ย นที่ ท� ำ ให้ แ ทบทุ ก ครั ว เรื อ น (โดยเฉพาะชนชั้ น กลาง) มี โ อกาสที่ จ ะครอบครองเครื่ อ งพิ ม พ์ 3 มิ ติ ไม่ต่างจากสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านอื่นๆ ตอนนีผ้ คู้ นต่างตืน่ ตัวกับการพิมพ์ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ในรูปแบบของโมเดล 3 มิติ ที่ทยอยออกมาสร้างความอื้ออึงอย่างต่อเนื่อง เช่น เครื่องประดับ กระเป๋า รองเท้า เสื้อผ้า แก้วน�้ำ เครื่องครัว ตัวอักษร กีตาร์ เฟอร์นิเจอร์ งานประติมากรรม ฯลฯ แน่นอนว่าโมเดล 3 มิติเหล่านี้สามารถใช้งาน ได้ จ ริ ง และเป็ น ช่ อ งทางท� ำ มาหากิ น ที่ ผู ้ ป ระกอบการยุ ค ใหม่ ห รื อ ใคร ที่ต้องการเริ่มต้นสร้างธุรกิจของตัวเองไม่ควรมองข้าม ในต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา มีผใู้ ห้บริการธุรกิจนีอ้ ย่างจริงจัง โดยคิดราคาตามขนาดของโมเดลที่พิมพ์ออกมา เช่น 1.5 เหรียญสหรัฐฯ ต่ อ ลู ก บาศก์ เซนติ เ มตร ซึ่ ง โดยส่ ว นใหญ่ แ ล้ ว จะรั บ สร้ า งสรรค์ โ มเดล ตามจิ น ตนาการของลู ก ค้ า เช่ น การพิ ม พ์ โ มเดลเสมื อ นหุ ่ น จ� ำ ลอง และของพรีเมียมต่างๆ เพื่อมอบให้กับคนส�ำคัญในโอกาสพิเศษต่างๆ 028 BORDERLESS

ค่ า ยผู ้ ผ ลิ ต ที่ น ่ า สนใจ คื อ ‘MakerBot’ ที่ น� ำ เสนอ เครื่องพิมพ์ 3 มิติในราคาที่ไม่แพงจนเกินไป รุ่นที่โดดเด่นคือ Replicator mini ราคาเริ่มต้น 1,375 เหรียญสหรัฐฯ สามารถ พิมพ์งานความสูงประมาณ 5 นิ้ว เหมาะกับผู้ใช้งานทั่วไป ขณะที่รุ่น Replicator Z18 ส�ำหรับกลุ่มลูกค้าธุรกิจ ราคา 6,500 เหรียญสหรัฐฯ ที่ช่วยสร้างสรรค์จินตนาการของคุณ ให้เป็นจริงได้ แต่ความท้าทายของอุตสาหกรรมนี้ ที่ Bre Pettis ซีอีโอของ MakerBot ให้สัมภาษณ์ไว้กับ cnet.com ก็คือ “คนทั่ ว ไปยั ง คิ ด ว่ า เครื่ อ งพิ ม พ์ 3 มิ ติ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ค นอื่ น เขาท� ำ กั น เหมื อ นกั บ สมาร์ ต โฟนในอดี ต ที่ ค นส่ ว นใหญ่ มองว่ายังไม่ต้องการหรอก ฉันไม่ได้อยากจะเชื่อมต่ออะไร กับใครขนาดนั้น และท�ำไมฉันจะต้องถ่ายภาพด้วยกล้อง จากสมาร์ตโฟน…แล้วดูเดี๋ยวนี้สิเป็นยังไง เครื่องพิมพ์ 3 มิติ มีโอกาสและจะต้องประสบความส�ำเร็จเหมือนกับสมาร์ตโฟน ในปัจจุบันให้ได้ ด้วยการน�ำเสนอราคาที่ถูกลงเรื่อยๆ ด้วย เทคโนโลยีที่ใช้งานง่ายและเป็นมิตร” อย่างไรก็ตามเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่มีเทคนิคซับซ้อนและ ต้องอาศัยความละเอียดในการพิมพ์สูง ยังคงมีราคาแพง เรือนแสน โดยใช้พิมพ์โมเดลยากๆ เช่น อวัยวะเทียม ชิ้นส่วน และอุปกรณ์ทางการแพทย์ และเครือ่ งเคลือบเซรามิก เป็นต้น ใครจะไปเชือ่ ว่า นวัตกรรมทีด่ เู พ้อฝันเช่นนี้ จะกลายเป็นจริง และซื้อหาได้ง่ายในปัจจุบัน


LEISURE Hobby Book Summary Edutainment Indulging Questionnaire TMB Movement


Hobby เรือ่ ง : ญามินทร์

บอนไซ ไม้สง่าในกระถางงาม

คุณคงเคยเห็นไม้ยืนต้นทรงสง่า ที่แตกกิ่งก้านสาขาสวยงามตามธรรมชาติ และหวังอยากให้ต้นไม้ทรงสวยนั้น ประดับตกแต่งอยูภ่ ายในชายคา แต่เมือ่ ไม่อาจยกต้นไม้ทงั้ ต้นเข้ามาตัง้ ตระหง่านในบ้านได้ มนุษย์จงึ ดัดแปลงธรรมชาติ ด้วยการสร้างสรรค์ต้นบอนไซ หรือ ต้นไม้ย่อส่วน เอามาวางประดับในบ้านแทน ความนิยมในบอนไซของคนไทยนัน้ ตามค�ำบอกเล่าของ คุณฐานันดร์ ปฏิภานธาดา นักสะสมบอนไซ เล่าให้เราฟังว่า คนไทยรับวัฒนธรรมนี้มาจากจีนและญี่ปุ่น ซึ่งถือว่าเป็นดินแดนต้นก�ำเนิดของบอนไซ โดยรับเข้ามาเมื่อประมาณ 40-50 ปีที่แล้ว และมีการก่อตั้งสมาคมบอนไซในประเทศไทยขึ้นในภายหลัง เวลาต่อมาก็มีการจัดประกวดต้นบอนไซ อย่างเป็นจริงเป็นจัง ซึ่งคุณฐานันดร์ก็เป็นคนหนึ่งที่เจนกับเวทีรางวัลบอนไซมานับครั้งไม่ถ้วน “ผูท้ นี่ ยิ มบอนไซในประเทศไทยมีตงั้ แต่วยั รุน่ ไปจนถึงผูใ้ หญ่วยั เกษียณอายุทพี่ อจะมีก�ำลังซือ้ บอนไซมีหลายราคา ตั้งแต่หลักพันไปจนถึงหลักแสน ซึ่งมูลค่าของมันจะอยู่ที่อายุไม้ ยิ่งเก่ายิ่งแพง ถัดมาเป็นเรื่องของรูปทรง ยิ่งถ้าสวย มากๆ และมีการันตีรางวัล ก็จะยิ่งมีราคาสูง แล้วจึงมาดูเรื่องขนาดไม้ สายพันธุ์ไม้ ถ้ามีความละเอียด ก็จะมีราคาแพง และหากถามว่าความสวยงามของต้นบอนไซต้องดูที่อะไร ผมคิดว่าคงต้องอาศัยประสบการณ์ในการดู เริ่มแรกต้องดู ที่ราก ต้องแผ่ขยาย กิ่งก้านสาขาต้องมีความสมดุลกัน โดยรวมแล้วต้องดูให้มีรูปร่างสง่างาม ก�ำย�ำ ตัวอย่างบอนไซ สายพันธุ์โดดเด่น ได้แก่ สายพันธุ์ ‘อิโตกาวา ชิมปากุ’ ซึ่งเป็นบอนไซสายพันธุ์ที่ดีที่สุดในญี่ปุ่น”

ฐานันดร์ ปฏิภานธาดา

ชายหนุ่มหัวใจบอนไซ

030 BORDERLESS

คุณฐานันดร์ ปฏิภานธาดา สถาปนิกหนุม่ ผูม้ ใี จให้กบั ต้นบอนไซ มาตั้งแต่อายุ 10 ปี นับตั้งแต่วันที่ได้เข้าไปในร้านหนังสือแห่งหนึ่ง แล้วสายตาก็พลันไปปะทะกับหนังสือบอนไซ จากนั้นเขาก็คลุกคลี อยู่กับต้นบอนไซเรื่อยมา จนถึงปัจจุบัน เขากลายเป็นนักสะสม ต้ น บอนไซตั ว ยง โดยเฉพาะบอนไซสายพั น ธุ ์ ต ้ น สน (Juniper) ถือเป็นสายพันธุ์โปรดของคุณฐานันดร์ก็ว่าได้ “บอนไซต้นสน นับเป็น King of Bonsai เสน่ห์ของบอนไซ สายพันธุ์นี้อยู่ที่รูปลักษณ์เฉพาะตัว ทั้งรูปทรง ความละเอียดของใบ และความอ่อนช้อยของล�ำต้น” ด้วยความผูกพันกับต้นบอนไซจนกลายเป็นหนึ่งในผู้เชี่ยวชาญ ด้านนี้ จากการสะสมที่เพิ่มคุณค่าทางจิตใจให้ตนเอง คุณฐานันดร์ จึ ง เริ่ ม ฝึ ก ปรื อ ฝี มื อ เป็ น ผู ้ ผ ลิ ต ต้ น บอนไซ ทั้ ง เลื อ กสายพั น ธุ ์ ดั ด และแต่ ง กิ่ ง ก้ า นเอง จากนั้ น จึ ง ขยั บ ขยายสร้ า งเป็ น เว็ บ ไซต์ www.bonsaibaison.com ขึน้ มา เพือ่ แบ่งปันความสวยงามของบอนไซ ไปสู่คนคอเดียวกัน ซึ่งได้รับกระแสตอบรับเป็นอย่างดี และเมื่อถาม ถึงเหตุผลทีเ่ ขาหลงใหลบอนไซ คุณฐานันดร์กใ็ ห้คำ� ตอบกับเราทันทีวา่ “ผมว่าบอนไซมีส่วนช่วยให้เราผ่อนคลาย มีสมาธิ การได้ดูแล บอนไซก็เหมือนเป็นงานอดิเรกอย่างหนึ่งที่ท�ำให้เรามีความสุขได้ ผมเคยอ่านหนังสือเจอมาว่า ตามศาสตร์ของเซน ถ้าเรานั่งดูบอนไซ อย่างน้อยสักวันละ 10 นาที จะท�ำให้อายุขัยของเรายืนนานขึ้น ซึ่งผมก็มานั่งวิเคราะห์ว่า อาจจะเป็นด้วยเหตุนี้ที่ท�ำให้ชาวญี่ปุ่น มีอายุขยั เฉลีย่ ทีส่ งู กว่าประเทศอืน่ ก็เพราะเขามีบอนไซ อีกทัง้ บอนไซ ยังให้สังคมและเพื่อนกับเราด้วย” ส�ำหรับมือใหม่ที่ตกหลุมรักกับบอนไซ และอยากท�ำความรู้จัก กับต้นไม้ย่อส่วนแสนสง่านี้ให้มากขึ้น สามารถแวะเข้าไปพูดคุย กับคุณฐานันดร์ได้ทางเว็บไซต์ www.bonsaibaison.com หรือ โทร. 08 9000 5544


Book Summary เรือ่ ง : ไม้มว้ น

Services Marketing :

Concepts, Strategies, & Cases หนังสือการตลาดเล่มนี้ นับเป็นผลงานสร้างชื่ออีกเล่มหนึ่งของ Professor ด้านการตลาด ซึ่ ง มี ความเชี่ ยวชาญเป็ น พิ เ ศษในเรื่ อ งของการตลาดในภาคบริ ก าร (Services Marketing) อย่าง Dr.Douglas Hoffman โดยได้ร่วมกับ ‘ที่ปรึกษาอิสระ’ ทางด้านอุตสาหกรรมบริการ อย่าง Mr.John E.G. Bateson ซึ่งผู้เชี่ยวชาญทั้งสองท่านได้วิเคราะห์การใช้ประโยชน์ ‘Services Marketing’ ในฐานะเครือ่ งมือในการแข่งขัน ผ่านหลากมุมมองจากหลายกรณีศกึ ษา ทัง้ ทีอ่ ยูภ่ ายใน และนอกเหนือไปจาก ‘9 Supersector’ ทางเศรษฐกิจ อันประกอบด้วย ภาคการศึกษาและบริการด้านสุขภาพ, กิจกรรมทางการเงิน, ภาครัฐบาล, สารสนเทศ, บริการท่องเที่ยวและการโรงแรม, บริการในภาคธุรกิจและความเป็นมืออาชีพ, การขนส่งและสาธารณูปโภค, การค้าส่งและค้าปลีก ตลอดจน ‘บริการอื่น ๆ’ นอกจากกรณีศึกษาที่เป็นตัวแทนของอุตสาหกรรมที่หลากหลายตลอดทั้งเล่ม ส�ำหรับ ฉบั บ ที่ พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 4 ซึ่ ง เป็ น ครั้ ง ล่ า สุ ด ยั ง ได้ ร วบรวมข้ อ มู ล ที่ ค รอบคลุ ม ประเด็ น ส� ำ คั ญ ในการท�ำธุรกิจปัจจุบัน เช่น การให้บริการระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ, บริการทางเทคโนโลยี, บริการ ทางการตลาดระดับโลก ฯลฯ ซึง่ เป็นการให้ขอ้ มูลเชิงลึกทีม่ คี ณ ุ ค่าและช่วยให้เข้าใจสภาพแวดล้อม ทางธุรกิจ ณ วันนี้ ที่เต็มไปด้วยพลวัตที่ซับซ้อนได้ง่ายขึ้น Services Marketing : Concepts, Strategies, & Cases จึงไม่เพียงเป็นประโยชน์กบั บริษทั ที่ท�ำธุรกิจทางด้านบริการ แต่ยังสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ให้กับบริษัทที่ผลิตและจ�ำหน่ายสินค้าได้ด้วย

Key Concepts

in Hospitality Management หนังสือเล่มนี้ได้รับยกย่องจากหลายสถาบันการศึกษาและมหาวิทยาลัยชั้นน�ำให้เป็น ‘คู่มือ’ ส�ำหรับนักศึกษา ผู้ที่สนใจศึกษาและผู้ที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจการให้บริการ (เกี่ยวกับการต้อนรับ) หรือ Hospitality Industry นับตั้งแต่ธุรกิจโรงแรม, ธุรกิจให้บริการที่พักอาศัย, ธุรกิจให้บริการด้านอาหาร และธุรกิจบริการศูนย์ประชุมและแสดงนิทรรศการ Key Concepts in Hospitality Management แต่งโดย Mr.Roy C. Wood ซึ่งเป็นหนึ่งใน ผู้เชี่ยวชาญแถวหน้าของโลกในอุตสาหกรรมนี้ ทั้งนี้ ผู้เขียนได้รวบรวมประสบการณ์ตรงจาก ผู้ที่ประสบความส�ำเร็จในอุตสาหกรรมธุรกิจการให้บริการในระดับสากล โดยน�ำเสนอมุมมอง ผ่านการบูรณาการข้อมูลทั้งในเชิงวิชาการ เชิงภูมิศาสตร์ และเชิงปฏิบัติการ แต่ละบทของหนังสือเล่มนี้ อัดแน่นด้วยเนือ้ หาทีก่ ระชับ พร้อมกับน�ำเสนอหลักการในการบริหาร จัดการที่เป็น ‘หัวใจ’ ของธุรกิจการให้บริการ รวมถึงสาระส�ำคัญที่เป็นประเด็นร่วมสมัย อันมีส่วน ก่อร่างสร้างให้อุตสาหกรรมธุรกิจการให้บริการของโลกเป็นเฉกเช่นทุกวันนี้ ในการตีพิมพ์ครั้งล่าสุด มีการแก้ไขเนื้อหาให้ครอบคลุมแนวคิดส� ำคัญ ที่ธุรกิจมีแนวโน้ม ที่จะต้องพบเจอในอุตสาหกรรมนี้ โดยผู้แต่งได้เขียนอย่างเข้าถึงและเข้าใจ ตลอดจนมีการอัพเดต ภาพรวมและตัวอย่างในชีวิตประจ�ำวันที่ผู้อยู่ในอุตสาหกรรมมักต้องมีส่วนร่วมจากทั่วโลก ด้วยเหตุผลทั้งหมดที่กล่าวมา จึงท�ำให้หนังสือเล่มนี้กลายเป็น ‘คู่มือ’ ที่ผู้ที่ต้องการศึกษาหรือ ต้องการเติบโตในอาชีพทีเ่ กีย่ วกับอุตสาหกรรมการให้บริการ (Hospitality Industry) ไม่อา่ นไม่ได้แล้ว! BORDERLESS

031


Edutainment เรือ่ ง : ญามินทร์

Lite rature The

HundredFoot JourneyRichard C. Morais

M ovie

Captain Phillips

ในช่วงต้นปีนี้ แทบทุกเวทีรางวัลใหญ่เกี่ยวกับภาพยนตร์ อย่าง BAFTA, Golden Globes และ OSCAR ล้วนกรุยทางให้ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม Captain Phillips ภาพยนตร์ที่สร้างจากเรื่องจริง อันน่าระทึกกลางทะเล ขึ้นแท่นเข้าชิงรางวัลแห่งความส�ำเร็จนับไม่ถ้วน นิยามของค�ำว่า ‘สถานการณ์สร้างวีรบุรุษ’ สามารถใช้ได้อย่างเต็มปากเต็มค�ำกับเหตุการณ์จริง ทีด่ ดั แปลงเป็นภาพยนตร์เรือ่ งดังกล่าว ซึง่ ทางโซนี่ พิคเจอร์ส หยิบเรือ่ งจริงทีเ่ กิดขึน้ ในเหตุการณ์โจรสลัด โซมาเลียบุกยึดเรือสินค้าสหรัฐฯ เมือ่ เดือนเมษายน ปี 2009 มาสร้างลงบนแผ่นฟิลม์ มอบหน้าทีด่ ำ� เนิน เรื่องราวให้ผู้ก�ำกับฯ พอล กรีนกราส ส่วนผู้ที่มารับบท กัปตันริชาร์ด ฟิลลิปส์ ตัวละครที่สุมรวมทั้ง อารมณ์ดรามาหนักอึ้ง และผู้น�ำในเหตุการณ์นาทีชีวิต คงไม่มีใครเอาอยู่ไปกว่า ‘ทอม แฮงส์’ อัจฉริยะ แห่งวงการภาพยนตร์ เรื่องราวเกือบ 130 นาทีของหนังด�ำเนินอยู่กลางทะเล ท่ามกลางสภาวการณ์ที่กดดันของการ จับตัวประกัน และการเรียกค่าไถ่ด้วยจ�ำนวนเงินสูงถึง 10 ล้านเหรียญฯ ในขณะที่บนเรือของกัปตัน ฟิลลิปส์ มีเงินสดอยู่เพียง 3 หมื่นเหรียญฯ กับข้อตกลงเชิงธุรกิจยื่นหมูยื่นแมวที่ดูเหมือนจะธรรมดา หากแต่มีอะไรให้ขบคิดมากกว่านั้นแน่นอน อีกประเด็นที่หนังต้องการสื่อและเสียดสีเป็นนัยๆ ก็คือ เรื่องมาตรการรักษาความปลอดภัยบนเรือพาณิชย์ที่แล่นผ่านน่านน�้ำ สะกิดภาครัฐให้หันมาพินิจถึง หลายชีวิตกลางทะเลอีกครั้ง

032 BORDERLESS

นวนิ ย ายชิ้ น เอกของผู ้ ป ระพั น ธ์ ‘ริชาร์ด ซี. โมเรส์’ จัดสรรเรื่องราว ให้อยูใ่ นประเภทผจญภัยแฝงแง่คดิ ชีวติ บนเส้นทางการเดินทางทีแ่ ปลกไปจาก รสชาติของวรรณกรรมแอดเวนเจอร์ เรือ่ งอืน่ ๆ เพราะก�ำหนดให้ 2 สถานที่ หลักในเรือ่ ง คือ 2 ร้านอาหารทีแ่ ตกต่าง กันสุดขัว้ ในมหานครปารีส ด�ำเนินเรือ่ ง ผ่านตัวละครหลัก อย่าง ฮัสซัน ฮาจี เชฟหนุม่ ชาวอินเดียทีอ่ พยพครอบครัว จากเมืองมุมไบ ผจญภัยไปทั่วยุโรป ก่อนมาลงหลักปักฐานที่ปารีส พร้อม กับเปิดร้านอาหารใหม่ที่ดูโอ่อ่ากว่า ร้ า นเดิ ม ในบ้ า นเกิ ด ท่ า มกลางร้ า น อาหารคู ่ แข่ ง ที่ น ่ า เกรงขามในระดั บ มิชลิน สตาร์ ของ มาดามแมลโลรี ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับร้านของเขา น�ำมาสู่ การเรียนรู้ความต่างของ 2 วัฒนธรรม ที่ ม าจากคนละทวี ป มี ก ารแก่ ง แย่ ง แข่งขันครบทุกรสชาติ แต่ทา้ ยทีส่ ดุ แล้ว ฮัสซันก็ได้คน้ พบกับความหมายทีแ่ ท้จริง ของชีวิตที่เขาพยายามค้นหาจนได้ The Hundred-Foot Journey ได้ รั บ ความนิ ย มมากถึ ง ขั้ น ถู ก แปล ไปแล้ว 25 ภาษาทัว่ โลก ทัง้ ยังรุกเร้าให้ โอปราห์ วินฟรีย์ เจ้าแม่พธิ กี รทอล์กโชว์ ชาวอเมริ กั น ชื่ อ ดั ง ปลี ก ตั ว มาเป็ น โปรดิวเซอร์ เพื่อแปรรูปวรรณกรรม ให้เห็นภาพจริงบนจอเงิน เตรียมจ่อคิว ฉายในเดือนสิงหาคมนี้ โดยมี วอลท์ดิสนีย์ ควบต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการสร้าง แต่ ทั้ ง นี้ ทั้ ง นั้ น แนะน� ำ ให้ ลิ้ ม รส ด้วยการอ่านก่อนดูหนัง พลังจินตนาการ จะท�ำให้คุณรัก The Hundred-Foot Journey อย่างที่หลายคนรัก


M usic

A Tribute to King of Jazz by John Di Martino

ในปีม้ามงคลนี้ Hitman ขอน�ำเสนออัลบั้ม ทรงคุณค่าทีค่ วรมีไว้ในครอบครอง โอกาสเดียวทีค่ ณ ุ จะได้ฟงั เพลงพระราชนิพนธ์ 11 บทเพลง แบ่งเป็น เพลงบรรเลง 9 เพลง และเพลงขับร้องอีก 2 เพลง ในเวอร์ชนั่ แจ๊ซนุม่ ระรืน่ หู รังสรรค์ทำ� นองใหม่โดย จอห์น ดิ มาร์ตโิ น ราชาอะคูสติกแจ๊ซชาวอเมริกนั ผูก้ ร�ำประสบการณ์อยูใ่ นวงการเพลงแจ๊ซมาอย่าง ยาวนาน เขาน�ำความหลากหลายของแนวดนตรี มาเพิม่ อรรถรสไพเราะให้อลั บัม้ นีแ้ น่นไปด้วยคุณภาพ

ไม่ว่าจะเป็น สวิง, บอสซาโนวา, แอโฟร โบเลโร และ แซมบา ทีไ่ ม่ได้สวยแค่ทว่ งท�ำนอง หากแต่ยงั มีลกู เล่น และเทคนิคแพรวพราวสมกับประสบการณ์ของศิลปิน ร่วมด้วยกระบวนการผลิตและบันทึกเสียงขั้นสูงจาก นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา โดยความร่วมมือจากนักดนตรี ระดับยอดฝีมอื อาทิ อเล็กซ์ ฟอสเตอร์, พอล เมเยอร์ส และทิม โฮร์เนอร์ เป็นต้น ท�ำให้คุณรู้สึกเหมือนได้ฟัง เพลงแจ๊ซอยูใ่ นคอนเสิรต์ ระดับโลก เสนอความไพเราะ ใน 2 รูปแบบ ได้แก่ CD 16 บิท และ Audiophile CD 24 bits 96 KHz เลือกซื้อได้ตามชอบ โดยรายได้ ส่วนหนึ่งจะน�ำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราช อัธยาศัย

TV Online

www.laola1.tv

เข้าใจความรู้สึกของคอกีฬาดีว่า เวลาพลาดแมตช์ส�ำคัญนั้น มันรู้สึก น่าเสียดายเพียงใด เราจึงพาคุณไปท�ำความรู้จักกับ www.laola1.tv เว็บไซต์ ถ่ายทอดสดรายการแข่งขันกีฬาครั้งส�ำคัญทั่วโลก ครอบคลุมแทบทุกแมตช์ และทุกชนิดกีฬา อาทิ ฟุตบอล, แฮนด์บอล, เทนนิส, เทเบิล เทนนิส, ฮอกกี้ น�้ำแข็ง, วอลเลย์บอล และกีฬาเอ็กซ์ตรีมสุดมันอีกมากมาย ทั้งนี้เว็บไซต์ ดังกล่าวได้รับการพัฒนาให้รองรับทุกระบบ ทั้งคอมพิวเตอร์พีซี และสมาร์ต แกดเจ็ตต่างๆ โดยมีศนู ย์บญ ั ชาการเว็บไซต์อยูท่ กี่ รุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึง่ ได้รบั แรงสนับสนุนจากสมาคมกีฬาชัน้ น�ำหลายแห่งจากทุกภูมภิ าคทัว่ โลก ทีนี้ ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหน ท�ำอะไร ก็สามารถอัพเดตทุกความเคลื่อนไหวของ กีฬาโปรดได้เสมือนเกาะขอบสนาม แม้ความจริงจะอยู่หน้าจอก็ตาม

Skyscanner

App Release

เสิร์ชเอนจินฉบับแอพพลิเคชั่น ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการความประหยัดและคุ้มค่า โดยจะช่ ว ยค้ น หาและเปรี ย บเที ย บราคาตั๋ ว เครื่ อ งบิ น โรงแรม และรถเช่ า โดยเฉพาะ เรื่องการหาตั๋วเครื่องบินในราคาประหยัดที่สุดนั้น ต้องยอมรับว่า Skyscanner เป็นมืออาชีพ ตัวจริง เพราะมีคลังข้อมูลไฟลต์กว่าล้านไฟลต์ จาก 1,000 สายการบิน ใช้เวลาเปรียบเทียบ ไม่ ถึ ง นาที ช่ ว ยคุ ณ ประหยั ด เวลาและประหยั ด เงิ น ในกระเป๋ า เป็ น ที่ น ่ า พอใจ รองรั บ ทุกการเดินทางของผู้คนทั่วโลก ด้วยจ�ำนวน 29 ภาษา รวมทั้งภาษาไทยด้วย ดาวน์โหลด ได้แล้วทั้งระบบ iOS และ Android

Radio Online

www.live365.com อินเตอร์เน็ตเรดิโอที่อยู่เคียงข้างคุณทุกครั้ง ทีอ่ อนไลน์ กว่า 5,000 สถานี รันโดยคนจริงๆ ไม่ใช่ โดยระบบคอมพิวเตอร์ นอกจากความสามารถในการ เป็นคลังวิทยุขนาดใหญ่ให้คณ ุ เลือกฟังเพลงได้ตาม ความสนใจ หรือเลือกตามแนวเพลงที่ชอบซึ่งถูก ซอยออกกว่า 260 แนวเพลงแล้ว คุณยังสามารถ สวมบทบาทเป็นดีเจ สร้างสถานีวิทยุของตัวเอง ขึ้นมา แล้วแชร์ต่อไปให้คนฟังคอเดียวกัน โดยมี เครือข่ายผู้ฟังทั่วโลกเป็นล้านๆ คน สร้างสรรค์ ระบบอย่างมืออาชีพด้วยการพัฒนาระบบเสียง ให้คมชัด รื่นหู จึงได้รับความนิยมมาตลอด 15 ปี ถ้าคุณรักเสียงเพลง เชิญเป็นส่วนหนึง่ ของ Live365

Waze

แอพพลิเคชั่นรายงานผลการจราจรแบบเรียลไทม์ ก�ำลังได้รับความนิยมอย่างสูงในหมู่ผู้ใช้รถใช้ถนน Waze เรียกตัวเองว่าเป็นจราจรชุมชนและการน�ำทาง หรือ Social Navigation พูดง่ายๆ คือ เป็นเครือข่ายสังคมออนไลน์ ส�ำหรับผู้ใช้รถใช้ถนนนั่นเอง ความสามารถโดดเด่นของ Waze นอกเหนือจากการน�ำทางในรูปแบบแผนที่ เปอร์สเปคทีฟ แยกโทนสีชัดเจนในโหมดกลางวันและกลางคืนแล้ว ยังรายงานสภาพการจราจรบนท้องถนน โดยให้ผู้ขับขี่ที่ใช้รถใช้ถนนด้วยกันเอง มีการเก็บสถิติความเร็วในการขับขี่บนถนนย่านนั้นๆ ไว้ด้วย พร้อมทั้ง ฟังก์ชันให้กดไลค์และคอมเมนต์เหมือนในโซเชียลแอพพ์ยอดนิยมเลยก็ว่าได้ BORDERLESS

033


Indulging : Travel เรือ่ ง : อรรถ อรรถมาตย์

การท�ำอะไรคนเดียวดูเหมือนจะถูกมองว่าเป็นสิ่งที่แปลก ประหลาด หลายคนมีเพื่อนฝูงอยู่เป็นจ�ำนวนมาก แต่เลือกที่จะ เดินทางท่องเที่ยวคนเดียว เพราะการอยู่กับตัวเองก็เป็นความสุข อีกรูปแบบหนึ่ง หาใช่ความอ้างว้างโดดเดี่ยวแต่อย่างใด ที่ส�ำคัญ การเดินทางคนเดียว อาจท�ำให้พบเจอมิตรภาพใหม่ ๆ จาก Solo Traveler ที่มีหัวใจเดียวกัน คนที่ชอบเดินทางคนเดียวมักมีแนวคิดที่คล้ายคลึงกัน ในเรื่ อ งของรู ป แบบการท่ อ งเที่ ย ว เพราะมี ค วามยื ด หยุ ่ น และ คล่องตัวสูง สามารถปรับเปลี่ยนแผนท่องเที่ยวได้ตลอดเวลา จะไปที่ไหน เมื่อไหร่ ไปที่เดิม ๆ ซ�้ำ ๆ ได้อีกถ้าเราชอบ โดยไม่ต้อง ร้องขอความคิดเห็นจากใคร และถึงการลุยเดี่ยวจะท�ำให้ต้นทุน และค่าใช้จา่ ยในการเดินทางสูงกว่าการเทีย่ วเป็นหมูค่ ณะ แต่กช็ ว่ ย ขจัดปัญหาความวุ่นวายและกฎระเบียบของกรุ๊ปทัวร์ ได้ดีไม่น้อย และเป็นทางออกที่ลงตัวของคนขี้ร�ำคาญที่ยินดีจะจ่ายมากกว่า เพื่อความสบายใจ

The

of Solo Traveler ส�ำหรับ Solo Traveler สิ่งที่น่าสนใจที่สุด อาจไม่ใช่สถานที่ท่องเที่ยวส�ำคัญที่ใครๆ ก็ไป เยี่ยมชม แต่อาจจะเป็นภาพวาดแนวสตรีทอาร์ตในตรอกเล็กๆ แห่งหนึ่งที่ไม่ได้อยู่ในเส้นทาง น�ำเที่ยวของบริษัททัวร์แห่งใด แต่ทว่าคุณกลับค้นพบด้วยสองเท้าของคุณเอง ที่ส�ำคัญการเที่ยว แบบฉายเดี่ยวยังเป็นวิธีการฝึกสติที่ดี เพราะจะท�ำให้คุณคิดอะไรรอบคอบ และรู้จักแก้ปัญหา เฉพาะหน้าต่างๆ ด้วยตัวเอง โดยพึ่งพาคนอื่นให้น้อยที่สุด ต่อไปนี้คือค�ำแนะน�ำส�ำหรับคนที่ต้องการเที่ยวแบบฉายเดี่ยวอย่างปลอดภัยและไม่รบกวน เงินในกระเป๋าจนเกินไป อันดับแรกคือ ‘ปลอดภัยไว้ก่อน’ พยายามเลือกไฟลต์ที่ไปถึงจุดหมาย ปลายทางก่อนดึกดื่นมืดค�่ำ เพราะอาจเป็นอุปสรรคในการเดินทางและความปลอดภัย นอกจากนี้คุณต้องศึกษาข้อมูลให้ละเอียด รู้ชัดว่าจุดหมายปลายทางที่จะไปเยือนนั้น มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด เช่น เคปทาวน์ และโยฮันเนสเบิร์ก ประเทศแอฟริกาใต้ แม้จะเป็นเมืองท่องเทีย่ วทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก แต่การเดินไปไหนมาไหนคนเดียวไม่ใช่เรือ่ งทีค่ วรท�ำ

034 BORDERLESS


โดยเฉพาะเมื่อพระอาทิตย์ตกดิน เนื่องจากมีการก่ออาชญากรรมสูง และหาก เป็ น ผู ้ ห ญิ ง ด้ ว ยแล้ ว ไม่ ว ่ า จะเดิ น ทางไปแห่ ง หนใดยิ่ ง ต้ อ งระวั ง มากขึ้ น กว่าปกติ ส� ำ นวนไทยที่ ว ่ า ‘อย่ า ไว้ ใจทาง อย่ า วางใจคน’ ยั ง คงใช้ ไ ด้ ดี ไม่ ว ่ า ในสถานการณ์ใด โดยเฉพาะกับการเดินทางท่องเที่ยวคนเดียว ไม่ได้บอก ให้มองโลกในแง่ร้าย แต่การระวังตัวไว้ก่อน โอกาสที่ภัยจะมาถึงตัวย่อม น้อยลง อ้อ! การเช็กอิน นอกจากนี้ก่อนเดินทางควรวางแผนแต่เนิ่นๆ ทั้งการจองตั๋วเครื่องบิน และทีพ่ กั ทีส่ ว่ นใหญ่มกั มีขอ้ เสนอพิเศษหากจองห้องพักล่วงหน้าเป็นเวลานาน และไม่แน่วา่ อาจท�ำให้คณ ุ ได้โปรโมชัน่ สุดคุม้ ชนิดทีว่ า่ หลายๆ คนจะต้องอิจฉา ตามติด pantip.com ห้อง blueplanet เอาไว้ให้ดี รวมถึงแฟนเพจ ar-pae.com ที่ขยันสรรหาส่วนลดและโปรโมชั่นสายการบินและโรงแรมมาบอกกล่าวอยู่ เรือ่ ยๆ ส�ำคัญทีว่ า่ อย่าจองเพลินจนกระทบเงินในกระเป๋าและเวลาท�ำงานก็แล้วกัน เมื่อคุณต้องเดินทางไปท่องโลก เอกสารการเดินทางต่างๆ ต้องจัดเก็บ อย่างเป็นระเบียบ และพกพาติดตัวอยูต่ ลอดเวลา เตรียมเบอร์ตดิ ต่อสถานทูต หรือสถานกงสุลของไทยประจ�ำเมืองหรือประเทศนั้น และเบอร์ฉุกเฉินต่างๆ ไว้ให้พร้อม เพราะหากเกิดเหตุไม่พึงประสงค์จะได้ไม่ล�ำบาก ส�ำหรับนักเดินทางผูโ้ ดดเดีย่ วและปวารณาตัวให้กบั การเป็นแบ็กแพ็คเกอร์ ด้วยแล้วยิ่งต้องรู้จักการจัดเก็บกระเป๋าอย่างมีประสิทธิภาพ อะไรที่ไม่จ�ำเป็น ก็อย่าพกไปให้หนักเปล่าๆ ลองดาวน์โหลดแอพพ์เกี่ยวกับการแพ็คกระเป๋า และเช็กลิสต์รายการที่จะต้องน�ำติดตัวตลอดจนแอพพ์ที่ช่วยในการวางแผน ท่องเที่ยวมาใช้ดู แล้วจะได้ไอเดียเด็ดๆ อีกเพียบ โดยแอพพ์แนะน�ำ คือ Pack The Bag, Packing Pro, Triplt Travel Organizer และ Packing List เป็นต้น อย่าลืมใช้โซเชียลเน็ตเวิร์ก ให้เป็นประโยชน์ เช่น couchsurfing.com ช่ ว ยให้ คุ ณ ผู ก มิ ต รในฐานะเจ้ า บ้ า นที่ ใ ห้ ที่ พั ก ฟรี กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย วคนอื่ น ๆ และหากคุณออกเดินทางท่องเที่ยวคุณก็สามารถเลือกเป็นแขกได้แบบฟรีๆ เช่นกัน ที่ส�ำคัญยังได้เรียนรู้วิถีชีวิตของคนท้องถิ่นจริงๆ และหากโชคดีอาจจะ ได้ไกด์น�ำเที่ยวฟรีๆ อีกด้วย ถ้าคุณเดินทางไปเมืองใหญ่ การเช็กตารางเวลาและเส้นทางในการเดินรถไฟ และรถไฟฟ้าใต้ดินเป็นสิ่งจ�ำเป็น เพราะจะท�ำให้การท่องเที่ยวลื่นไหลและ ประหยัดเวลาอีกด้วย เช่น โตเกียว ใช้ hyperdia.com เป็นต้น

หากคุณจ�ำเป็นจะต้องหอบงานไปสะสาง หรือธุระปะปังติดตัวไปด้วย และจ�ำเป็นจะต้องเชือ่ มต่อกับอินเทอร์เน็ตตลอดเวลา การเช่าพ็อกเก็ต ไวไฟไปด้วยก็เป็นการดี แต่ถ้าไม่ได้จ�ำเป็นขนาดนั้น การเลือกที่พัก ที่มีบริการฟรีไวไฟก็เพียงพอแล้ว รวมถึงการท�ำการบ้านเรื่องสถานที่ ทีใ่ ห้บริการฟรีไวไฟไปด้วยก็ดี เพราะจะท�ำให้คณ ุ อัพโหลดและแชร์ภาพ ได้แบบสบายใจ ทั้งนี้อย่าคิดไปว่าการไปไหนมาไหนคนเดียว จะเป็นการตัดขาด ตัวเองจากโลก หรือเอาแต่เก็บตัวเงียบโดยไม่สงุ สิงกับใครเลย การพบปะ พูดคุยกับนักท่องเที่ยวคนอื่นๆ บริเวณล็อบบี้ หรือคอมมอน แอเรีย จะช่วยท�ำให้คณ ุ มีเพือ่ นทีร่ กั การท่องเทีย่ วเหมือนกันเพิม่ ขึน้ อีกเป็นกอง หรือระหว่างเดินทางถึงแม้จะดูแผนที่เป็น มีสารพัดแอพพ์แผนที่ ของเมืองนั้นๆ แต่บางครั้งการเลือกที่จะถามทางแทน จะท�ำให้คุณ ได้ปฏิสมั พันธ์กบั คนรอบข้างและอาจได้รบั ค�ำแนะน�ำใหม่ๆ ทีไ่ ม่คาดคิด มาก่อน แน่นอนว่าการโลดแล่นในโลกกว้างคนเดียว อาจจะท�ำให้คุณ ได้ถ่ายภาพวิวทิวทัศน์และจับชีพจรของเมืองผ่านกล้องตัวโปรดได้ ไม่ยาก แต่ครัน้ ถึงเวลาถ่ายรูปกลับเป็นเรือ่ งล�ำบากและยุง่ ยากอยูไ่ ม่นอ้ ย นอกจากขาตั้งกล้องที่ควรพกติดตัวแล้ว คุณอาจมีทางเลือกอื่นที่จะ ท�ำให้การเดินทางและถ่ายรูป Selfie สะดวกและคล่องตัวมากขึ้น ด้วยอุปกรณ์เสริมอย่าง #Theselfie ราคา 19.99 เหรียญสหรัฐฯ หรือราว 640 บาท และที่ส�ำคัญอย่าลืมเลือกสมาร์ตโฟนที่กล้องหน้า มีความละเอียดสูง เพื่อภาพที่คมชัด สวยงาม ซึ่ง Selfie นี่แหละ จะเป็นทักษะที่คุณได้เพิ่มมาแบบไม่รู้ตัวจากการเที่ยวเพียงล�ำพัง หลังท่องเที่ยวเสร็จแล้ว ถ้าคุณมีเวลาว่างพอ ก็ควรเขียนเรื่องราว แบ่งปันประสบการณ์ทคี่ ณ ุ ประสบพบเจอให้กบั คนอืน่ บ้าง อย่างน้อยๆ ก็อาจจะเป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้โลกนี้มี Solo Traveler เพิ่มขึ้น BORDERLESS

035


Indulging : Eat-Drink เรือ่ ง : อรรถ อรรถมาตย์

ร้านอาหารที่ได้รับการยกย่องรางวัล Asia’s best restaurant awards 2013 ร้านชื่อดังเหล่านี้นอกจากจะเลี้ยงต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังถูกปากคนไทยที่ชอบอาหารที่ครบเครื่อง ทั้งหน้าตาที่สวยงามและรสชาติ ที่อร่อยล�้ำอีกด้วย

Nahm Nahm

โรงแรมเมโทรโพลิแทน กรุงเทพฯ 27 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ เปิดบริการทุกวัน มื้อเย็นเวลา 19.00-22.30 น. และมื้อกลางวัน เปิดจันทร์-ศุกร์ เวลา 12.00-14.00 น. โทร. 02 625 3388
 www.comohotels.com/metropolitanbangkok/dining/nahm

อ่านว่า ‘น�้ำ’ เป็นร้านอาหารไทยร้านแรกที่ได้รับ Michelin star โรงแรมเมโทรโพลิแทน สาทร ทีน่ อกจาก จัดวางอาหารอย่างประณีตสวยงามแล้ว ยังใช้วัตถุดิบ สดใหม่ตามฤดูกาล พร้อมกระบวนการเตรียมเครือ่ งปรุง และวัตถุดิบที่พิถีพิถัน เช่น ข้าวสารแช่น�้ำดอกมะลิ ก่อนหุง ข้าวสวยของที่นี่นอกจากจะนุ่มแล้วยังหอม ยวนใจอีก หรือจะทานเป็นเซตก็ได้ตามสะดวก เมนูเด็ด ที่ไม่ควรพลาด คือ ‘แกงกะทิปูม้า’ เครื่องเคราเข้มข้น และกลมกล่อมมาก, ‘ขนมเบื้องไก่เค็ม’ แป้งที่ห่อ เป็นแป้งผสมน�้ำแกงเขียวหวาน หอมอร่อย

ส่วน ‘พล่ากะปิหมูหวานทานกับปลาทูย่าง’ เป็นอีกเมนูประทับใจที่อร่อย จนต้องบอกต่อ นอกจากนีย้ งั มีเมนูยวั่ น�ำ้ ลายอืน่ ๆ อีกมากมาย อาทิ แกงไตปลา ใส่กุ้ง ปลากรอบ หอยแครง และพริกไทยด�ำ, สาคูไส้ปลาช่อน แกงจืดเป็ดย่าง มะพร้ า วอ่ อ น และย� ำ ใบบั ว บกใส่ กุ ้ ง แดงหมู ร วน รวมถึ ง ของหวานอย่ า ง ขนมเบื้องหวานลูกพลับเชื่อม หากต้องการลิ้มลองอาหารระดับโลก กรุณา โทรฯจองล่ ว งหน้ า โดยเฉพาะวั น หยุ ด สุ ด สั ป ดาห์ แ ละวั น นั ก ขั ต ฤกษ์ เพราะนอกจากจะติดอันดับร้านอาหารที่ดีที่สุดในเอเชียแล้ว ยังเป็น 1 ใน 50 ร้านอาหารที่ดีที่สุดในโลกอีกด้วย

Gaggan

ร้านอาหารอินเดียสไตล์ฟิวชั่น เน้นการปรุงแต่งอาหารแบบโมเลคิวลาร์ (Molecular Gastronomy) พลิกแพลง ดัดแปลง ให้อาหารเมนูที่คุ้นเคย มีมิติ และการน�ำเสนอที่แปลกใหม่ เร้าใจกว่าเคย ชื่อร้านเป็นภาษาฮินดี แปลว่า ‘ท้องฟ้า’ เมนูทถี่ อื เป็นภาคบังคับหรือซิกเนเจอร์ของร้านคือ ‘Yoghurt Explosion’ โยเกิร์ตนมแพะผสมเครื่องเทศอินเดีย เมื่อกัดแล้วแตกชุ่มฉ�่ำในปาก ไม่ใช่ แค่อร่อย แต่ยังท�ำให้สนุกกับการรับประทานอีกด้วย ส่วน ‘ซุปเห็ดทรัฟเฟิล’ ก็เข้มข้น อร่อยกลมกล่อม ละมุนลิ้น นอกจากนี้ยังมีเมนูอื่นๆ รอยั่วน�้ำลาย อีกมากมาย อาทิ สลัดชีสแพะ, หอยนางรมทานกับโฟมเลมอนและเกลือทะเล รสเผ็ดจากมหาสมุทรอินเดีย, ปลาทอดคลุกเครือ่ งเทศและสมุนไพร และข้าวผัด รีซอตโตเห็ดกับชีส เป็นต้น อิ่มท้องภายใต้บรรยากาศอันอบอุ่นของร้านอาหารแห่งนี้ แบบไม่มีเบื่อ เพราะเชฟจัดสรรเมนูใหม่หมุนเวียนกันมาเชื้อเชิญลูกค้าทุกสัปดาห์ แถมยัง เพลิดเพลินกับครัวเปิด ที่เชฟแสดงฝีมือการสร้างสรรค์อาหารแต่ละเมนูอย่าง น่าตื่นตาตื่นใจ เปิดประสบการณ์ใหม่กับอาหารอินเดียได้แล้ววันนี้ที่ Gaggan แล้วพิสูจน์ ด้วยตัวเองว่า ‘ประสบการณ์การดินเนอร์ที่ไม่รู้ลืม’ เป็นอย่างไร 036 BORDERLESS

Gaggan
68/1 ซอยหลังสวน 3 ถนนเพลินจิต

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร. 02 652 1700 เปิดบริการเฉพาะดินเนอร์ วันจันทร์-อาทิตย์ เวลา 18.00-23.00 น. www.eatgaggan.com และ facebook ค้นคำ�ว่า Gaggan



TMB Movement

Photo Release นายเอศ ศิริวัลลภ หัวหน้าเจ้าหน้าที่บริหาร บริหารผลิตภัณฑ์ และการขายสิน เชื่อเครือข่ายธุรกิจ ทีเอ็มบี (ซ้าย) และพลเรือตรี ไตรขวั ญ ไกรฤกษ์ รองผู ้ บั ญ ชาการโรงเรี ย นนายเรื อ (ขวา) ร่วมลงนามการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินส�ำหรับการสมัคร สอบคัดเลือกเข้าโรงเรียนนายเรือ ทีเอ็มบีพัฒนาระบบการช�ำระเงิน รองรับการสมัครและลงทะเบียนออนไลน์ ส�ำหรับการสอบคัดเลือกเข้าเป็นนักเรียนเตรียมทหารในส่วนของกองทัพเรือ โดยผู้สมัครสามารถลงทะเบียนและตรวจสอบผลผู้มีสิทธิ์สอบ พร้อมทั้ง พิ ม พ์ บั ต รประจ� ำ ตั ว ผู ้ ส อบได้ ด ้ ว ยตนเองผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต ซึ่ ง ระบบ การช�ำระเงินนี้จะเชื่อมต่อกับระบบการลงทะเบียนออนไลน์โดยผู้สมัคร สอบ ซึ่งผู้สมัครสามารถเลือกช�ำระเงินผ่านช่องทางต่างๆ ของทีเอ็มบี ไม่ว่า จะเป็นช่องทางอินเทอร์เน็ต แบงกิ้ง ที่เปิดให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง หรือสาขาของธนาคารที่มีมากกว่า 400 สาขาทั่วประเทศ ตู้ ATM มากกว่า 2,300 ตู้ทั่วประเทศ ที่สามารถจ่ายโดยใช้วิธีสแกนบาร์โค้ดจากใบสมัคร ได้เลย (ทุกช่องทางค่าธรรมเนียม 20 บาทต่อรายการ) ทั้งนี้ยังมีระบบ SMS แจ้งเตือนข่าวสารทางมือถือให้กับผู้สมัครอีกด้วย ทีเอ็มบียังคงมุ่งมั่น พัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการธุรกรรมทางการเงิน (Transactional Banking) ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ประโยชน์ของลูกค้า ด้วยการบริการทางการเงินทีห่ ลากหลาย ตอบโจทย์ทั้งลูกค้าบุคคลและลูกค้าธุรกิจ

ทีสนัเบอ็สนุมน ทีบีมรถแข่ง

‘สิงห์ ทีเอ็มบี พีทีที เรซซิ่ง ทีม’ ต่อเนื่องปีที่ 3 นายบุ ญ ทั ก ษ์ หวั ง เจริ ญ (กลางซ้ า ย) ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร และนายปิติ ตัณฑเกษม (ที่ 2 จากซ้ า ย) ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ทีเอ็มบี มอบเงินสนับสนุนทีมรถแข่ง ‘สิงห์ ทีเอ็มบี พีทีที เรซซิ่ง ทีม’ เจ้าของแชมป์โปร เรซซิ่ง ซีรีส์ ปีล่าสุด โดยมี นายณัยณพ ภิรมย์ภักดี (กลางขวา) นักแข่งของทีม และนายณัฎธ์วัฒน์ ศิลปวิทยกุล (ที่ 2 จากขวา) ผู ้ บ ริ ห ารที ม ฯ ร่ ว มรั บ มอบ ที่ส�ำนักงานใหญ่ ทีเอ็มบี เมื่อเร็วๆ นี้

BORDERLESS

039



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.