Food Packaging Design

Page 1

FOOD PACKAGING

DESIGN by Chonnipa



FOOD PACKAGING

DESIGN by Chonnipa


INTRO

DUCTION หนังสือการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร (Food Packaging Design) จะนำ�เสนอเรื่องราว เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารที่มีตั้งแต่ทฤษฎี ไม่ว่าจะเป็นข้อควรรู้ว่า การจะออกแบบ งานบรรจุภัณฑ์อาหารสักชิ้นจะต้องมีอะไรบ้าง ต้องคำ�นึงถึงอะไรบ้าง รวมไปถึงการออกแบบโครงสร้าง ในรูปแบบต่างๆ และแต่ละรูปแบบนั้น เหมาะกับบรรจุอาหารแบบใดได้บา้ ง นอกจากนีย้ งั มีน�ำ เสนอ เกีย่ วกับวัสดุทจ่ี ะนำ�มาทำ�บรจุภัณฑ์ ก็คือกระดาษประเภทต่างๆ ซึ่งมั่นใจได้ว่า ผู้ที่ศึกษาหนังสือเล่มนี้ ไม่ได้เพียงแค่ออกแบบได้ แต่ยังสามารถออกแบบบรรจุภัณฑ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย

ชนม์นิภา สายคำ�


สารบัญ

CONTENT Chapter 1 เรื่องของ “บรรจุภัณฑ์” บรรจุภัณฑ์ (packaging) และการบรรจุ (Package) หลักการหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ข้อคำ�นึงการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร ความสำ�คัญของบรรจุภัณฑ์

Chapter 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร ส่วนประกอบกล่องบรรจุภัณฑ์ ข้อมูลที่ควรมีบนบรรจุภัณฑ์อาหาร ขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร

Chapter 3 Template and Design Bags Template (ถุง/ซอง) Boxes Template (กล่อง) Trays Template (ถาด) Inspiration : Great Food Packaging Design

-5-

7 8 9 10 12

13 14

16 19

22 23 33 71 80



Chapter 1 เรื่องของ “บรรจุภัณฑ์”

-7-


Food Packaging Design

Packaging

Package

และการบรรจุ

อย่างแรกที่เราต้องรู้จักก็คือคำ�ว่า

Package และคำ�ว่า Packaging Package

Packaging

หมายถึง สิ่งห่อหุ้มหรือบรรจุภัณฑ์ รวมทั้ ง ภาชนะที่ ใ ช้ เ พื่ อ การขนส่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก แหล่ ง ผู้ ผ ลิ ต ไปยั ง แหล่ ง ผู้ บ ริ โ ภคหรื อ แหล่ ง ใช้ ประโยชน์หรือวัตถุประสงค์เบื้องต้นในการป้องกัน หรือรักษาผลิตภัณฑ์ให้คงสภาพตลอดจนคุณภาพ

หมายถึ ง การนำ � เอาวั ส ดุ เช่ น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ ไม้ ประกอบเป็น ภาชนะหุ้มห่อสินค้าเพื่อประโยชน์ในการใช้ ส อยมี ความแข็ ง แรง สวยงาม ได้ สัดส่วนที่ถูกต้องสร้าง ภาพพจน์ที่ดี มีภาษาในการติดต่อสือ่ สาร และทำ�ให้ เกิดผลความพึงพอใจจากผู้ซื้อสินค้า

ใกล้เคียงกันกับเมื่อแรกผลิตให้มากที่สุด

(Creativelanna.com : 2559)

-8-


Chapter 1 เรื่องของ “บรรจุภัณฑ์”

หลักการออกแบบ

บรรจุภัณฑ์ หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ

1. การออกแบบโครงสร้าง

2. การออกแบบกราฟิก

เน้ น การสื่ อ ความหมายด้ ว ยภาพวาด สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ช่วยส่งเสริมการขาย ให้เป็นที่สนใจ และสะดุดตาสามารถสื่อสารกับผู้บริโภคได้ว่านี้เป็น สินค้าอะไร รวมไปถึงแสดงถึงข้อมูลสำ�คัญของสินค้า นั้นๆ ด้วย (netra.lpru.ac.th : 2559)

เน้ น คุ ณ สมบั ติ ข องวั ส ดุ ใ ช้ ทำ � บรรจุ ภั ณ ฑ์ และรูปแบบบรรจุภัณฑ์ ที่ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก แต่ บางสินค้าต้องมีการออกแบบลักษณะโครงสร้างที่ อาจจะซับซ้อนและแปลกใหม่ เพือ่ สร้างเป็นเอกลักษณ์ หรื อ อาจจะเพื่ อ การปกป้ อ งสิ น ค้ า รวมไปถึ ง คุ ณ สมบัติอื่นๆ ในการห่อมหุ้มสินค้าอีกด้วย

-9-


Food Packaging Design

ข้อคำ�นึงในการออกแบบ

บรรจุภัณฑ์

การที่จะออกแบบบรรจุภัณฑ์ต้องคำ�นึงถึงความสะดวกในการใช้ความปลอดภัยในการบริโภค และยังรวมถึงดีไซน์สวยๆ ที่ทำ�ให้สินค้าดูมีคุณภาพ หากแบบบรรจุภัณฑ์ไม่น่าเชื่อถือหรือไม่น่าซื้อใช้ สินค้าคุณจะดีแค่ไหนก็ลำ�บากที่จะทำ�กำ�ไรได้สูงๆ เรามาดูกันว่าต้องคำ�นึงถึงข้อไหนบ้างที่จะออกแบบ บรรจุภัณฑ์แล้วจะประสบความสำ�เร็จ

1. ขนาด

ผลเกี่ยวกับความรู้สึกที่ดีต่อการส่งเสริมความมีคุณค่า สูงของผลผลิตที่บรรจุอยู่ภายใน

น่าจะยืดหยุ่นได้บ้างเรื่องนี้ต้องปรึกษาร่วม กั บ โรงพิ ม พ์ ใ นการใช้ ก ระดาษว่ า จะใช้ ข นาดเท่ า ใด จึงจะลงตัวกับขนาดของกระดาษที่ทางโรงพิมพ์หรือ 4. วัสดุที่ใช้ควรเหมาะสมกับสินค้า โรงงานกล่องมีอยูใ่ นขนาดทีเ่ ป็นมาตรฐาน กรณีนจ้ี ะ ควรคำ�นึงถึงต้นทุนให้มากวัสดุที่ดีหรือเลว ไม่ทำ�ให้เสียกระดาษไปโดยเปล่าประโยชน์ ทัง้ ยังช่วย เกินความจำ�เป็นจัดว่าเป็นสิ่งที่ไม่ดีทั้งสิ้น วัสดุที่มี ประหยัดราคาในการผลิตบรรจุภัณฑ์อีกทางหนึ่งด้วย คุณภาพดีราคา แพง ทำ�ให้ต้นทุนสูงจึงต้องบวกส่วน เกินนี้เข้าไปในราคาขายผลิตภัณฑ์ จะส่งผลให้ราคา 2. รูปแบบ จำ � หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ พงโดยไม่ จำ � เป็ น ซึ่ ง จะส่ ง ผล ควรจะทันสมัยประกอบกันในลักษณะที่น้อย ชิ้นที่สุดหรือเป็นชิ้นเดียวกันตลอดก็ยิ่งดีออกแบบให้ เกาะเกี่ยวกันโดยไม่ต้องใช้กาวจะเป็นการดีที่สุดโดย ให้ล็อคกันได้ชิ้นต่อชิ้นในตัวเองรับนํ้าหนักได้มากพอ ตามต้องการและใช้วัสดุที่เบาราคาถูกเป็นต้น

3. สีที่ใช้ต้องคำ�นึงถึงสินค้านั้นๆ

ควรกระทำ � ให้ ดู ก ลมกลื น กั น ให้ ม ากที่ สุ ด ระหว่างรูปร่างของผลิตภัณฑ์กับรูปร่างของบรรจุภัณฑ์ ซึ่งเป็นส่วนของการมองเห็นภายนอกโดยรอบประสาน กลมกลืนกันของลวดลายตัวอักษรและสีเป็นสิ่งสำ�คัญ ในการสร้างความน่าสนใจจากการมองเห็น จะช่วยส่ง

- 10 -


Chapter 1 เรื่องของ “บรรจุภัณฑ์”

กระทบต่อปริมาณการจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์นั้น หาก ใช้วัสดุที่ไม่ดีคุณภาพตํ่า ราคาอาจถูก แต่จะไม่คุ้ม กับความเสียหายที่อาจจะเกิดกับผลิตภัณฑ์ที่บรรจุ อยู่ภายในก็ได้ หรืออีกประการหนึ่งเมื่อลูกค้าสังเกต เห็นการบรรจุภัณฑ์ไม่ดี ก็อาจจะมีทัศนะไม่ดีต่อ สินค้า หรือผลผลิตที่อยู่ข้างในได้ซึ่งจะส่งผลต่อยอด การจำ � หน่ า ยเช่ น เดี ย วกั น จึ ง ต้ อ งพิ จ ารณาวางแผน ให้รอบคอบรัดกุม (Allideastudio : 2559)

- 11 -


Food Packaging Design

ความสำ�คัญของ

บรรจุภัณฑ์

ปัจจุบันบรรจุภัณฑ์มีความสำ�คัญกับธุรกิจเป็นอย่างมากในด้านต่างๆ ซึ่งสามารถแบ่ง ความสำ�คัญได้ออกเป็น 3 ด้านใหญ่ ๆ ดังนี้

1. รักษาคุณภาพ

3. ส่งเสริมทางด้านการตลาด

และปกป้องตัวสินค้าเริ่มตั้งแต่การขนส่ง การเก็บให้ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์เหล่านั้นมิให้เสีย หายจากการปนเปื้อนจากฝุ่นละออง แมลง คน ความชื้น ความร้อน แสงแดด และการปลอมปน เป็นต้น

บรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ การจั ด จำ � หน่ า ยเป็ น สิ่ ง แรกที่ผู้บริโภคเห็น ดังนั้น บรรจุภัณฑ์จะต้องจะทำ� หน้าที่บอกกล่าวสิ่งต่างๆของตัวผลิตภัณฑ์โดยการ บอกข้ อ มู ล ที่ จำ � เป็ น ทั ้ ง หมดของตั ว สิ น ค้ า และ นอกจากนั้นจะต้องมีรูปลักษณ์ที่สวยงามสะดุดตา เชิ ญ ชวนให้ เ กิ ด การตั ด สิ น ใจซื้ อ ซึ่ ง การทำ � หน้ า ที่ ดังกล่าวของ บรรจุภัณฑ์ นั้นเป็นเสมือนพนักงาน ขายที่ไร้เสียง (Silent Salesman) (crnfe.ac.th : 2559)

2. ให้ความสะดวกในเรื่องการขนส่ง

การจั ด เก็ บ มี ค วามรวดเร็ ว ในการขนส่ ง เพราะสามารถรวมหน่ ว ยของผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นั้ น เป็นหน่วยเดียวได้เช่น ผลไม้หลายผลนำ�ลงบรรจุใน ลังเดียว หรือเครื่องดื่มที่เป็นของเหลวสามารถบรรจุ ลงในกระป๋องหรือขวดได้ เป็นต้น

- 12 -


Chapter 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร

- 13 -


Food Packaging Design

ส่วนประกอบของ กล่องบรรจุภัณฑ์ ความกวาง

ความยาว

ความกวาง

EX : 8 cm.

EX : 4 cm.

EX : 8 cm.

EX : 4 cm.

ลิ้นปองกันฝุน EX : 3.6 cm.

ลิ้นปก กลองบน

ดานหลังกลอง

ดานขาง

EX : 2.5 cm.

EX : 1.5 cm.

ลิ้นปก กลองลาง

EX : 3.6 cm.

ลิ้นปก กลองบน

EX : 2.5 cm.

ดานหนากลอง

ดานขาง

ฝากลองดานลาง

ลิ้นปก กลองลาง

ลิ้นปองกันฝุน รอยพับลิ้น

ลักษณะเสนตาง ๆ บนกลอง เสนพับ เสนทากาว เสนตัด

**EX = ไซส์ตัวอย่าง** - 14 -

EX : 0.8 cm.

ฝากลองดานบน

EX : 3.6 cm.

EX : 0.8 cm.

ลิ้นทากาว

EX : 12 cm.

ความลึก

รอยพับลิ้น

EX : 4 cm.

EX : 1 cm.

ความยาว

EX : 3.6 cm.

EX : 2.5 cm.

EX : 2.5 cm.


Chapter 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร

ส่วนประกอบของ กล่องบรรจุภัณฑ์

1. ความยาว (Width)

7. ด้านหลังกล่อง (Rear Panel)

2. ความกว้าง (Lenght)

8. ฝากล่องบนและล่าง (Top/Bottom Closure Panel)

ส่วนใหญ่จะอยู่ในส่วนของด้านหน้ากล่อง และด้านหลังกล่องความยาวของกล่องบรรจุภัณฑ์ ส่วนใหญ่จะใช้หน่วยวัดเป็น มิลลิเมตร (mm.) และ เซนติเมตร (cm.)

ส่วนใหญ่จะอยู่ในส่วนของด้านข้างกล่อง ความกว้ า งของกล่ อ งบรรจุ ภั ณ ฑ์ ส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ หน่วยวัดเป็น มิลลิเมตร (mm.) และ เซนติเมตร (cm.)

3. ความลึก (Depth)

ถ้าภาษาทั่วไปก็จะเข้าใจเป็นความสูงวัด เป็นแนวตรงจากบนกล่องถึงล่างกล่องเมื่อกล่องพับ แล้วส่วนใหญ่ใช้หน่วยวัดเป็นมิลลิเมตร (mm.) และ เซนติเมตร (cm.)

4. ลิ้นทากาว (Glue)

เป็นส่วนเชื่อมสำ�หรับทากาวเพื่อติดด้าน แต่ละด้านของกล่องบรรจุภัณฑ์

5. ด้านหน้ากล่อง (Front Panel) สำ � หรั บ ใส่ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ แบรนด์ ใ นเรื่ อ ง ของโลโก้ รูปภาพอาหารสินค้า

6. ด้านข้างกล่อง (Left/Right side Panel) สำ�หรับใส่ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เช่น ข้อมูล ผู้จัดจำ�หน่ายและผลิต Barcode เป็นต้น

- 15 -

สำ�หรับใส่ข้อมูลเกี่ยวกับแบรนด์ เช่น ราย ละเอียดสินค้า ข้อมูลโภชนาการ ส่วนประกอบของ สินค้า เป็นต้น

ฝาสำ�หรับปิดด้านบนและด้านล่าง ซึ่งต้อง มีลิ้นกันฝุ่นช่วยคํ้ำ�ในการผิด

9. ด้านหลังกล่อง (Rear Panel)

สำ�หรับใส่ข้อมูลเกี่ยวกับแบรนด์ เช่น ราย ละเอียดสินค้า ข้อมูลโภชนาการ ส่วนประกอบของ สินค้า เป็นต้น

10. ลิ้นป้องกันฝุ่น (Dust Flap)

จะอยุ่ติดกับฝากล่องส่วนใหญ่จะเลยออก จากฝากล่องออกมาประมาณ 1 cm. พับลง ตัวนี้จะ ช่วยในเรื่องของการกันฝุ่นเข้าไปในสินค้า และเป็น ช่วยล็อกให้ฝากล่องไม่ดีดขึ้นมา

11. ลิ้นปีกกล่อง (Dust Panel)

ส่ ว นนี้ ค่ อ นข้ า งจำ � เป็ น ไว้ สำ � หรั บ คํ้ า ฝาก ล่องไม่ให้จมลงไปในกล่องและยังช่วยกันฝุ่นด้วย


Food Packaging Design

ข้อมูลที่ควรมี บนบรรจุภัณฑ์อาหาร

ตราสินค้า ชื่อสินค้า รายละเอียดของสินค้า

รูปภาพ

ปริมาตรหรือปริมาณ

Front Side - 16 -


Chapter 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร

ข้อมูลที่ควรมี บนบรรจุภัณฑ์อาหาร

รายละเอียดส่ง เสริมการขาย ส่วนประกอบของ สินค้า

ข้อมูล โภชนาการ

วันผลิต / หมดอายุ

บาร์โค้ด

MFG : 00 00 00 EXE : 00 00 00

สัญลักษณ์ การทิ้งขยะ ชื่อผู้ผลิตและผู้จำ�หน่าย

Back Side - 17 -


Food Packaging Design

สัญลักษณ์ที่ควรมี บนบรรจุภัณฑ์อาหาร

เครื่องหมาย GMP : Good Manufacturing Practice

หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหารอย่างปลอดภัย ขจัดความ เสี่ยงที่อาจจะทำ�ให้อาหารเป็นพิษ เป็นอันตรายไม่ปลอดภัยต่อผูบ้ ริโภค

เครื่องหมาย USDA Organic

เป็ น ตรารั บ รองอาหารและผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ อแกนิ ค ของสหรั ฐ อเมริ ก า อาหารประเภทนี้จะเป็นอาหารที่ไม่ผ่านการตัดต่อพันธุกรรมหรือฆ่าเชื้อโรคโดย การฉายรังสี

เครื่องหมาย Recycle

เป็นสัญลักษณ์ ที่ บ อกให้ รู้ ว่าของที่ คุณ ถื อ อยู่ ใ นมื อ ผลิ ตมาจากวั ส ดุ รีไซเคิลซึ่งก็ไม่ควรนำ�ของชิ้นนั้นกลับมารีไซเคิลซํ้าอีกครั้ง

เครื่องหมาย Please put this in the trash

เป็ น เครื่ อ งหมายรณรงค์ เ มื่ อ ใช้ เ สร็ จ แล้ ว ให้ ทิ้ ง ขยะเป็ น การสร้ า ง จิตสำ�นึกให้กับผู้บริโภค

เครื่องหมาย HALAL

ตราที่ติดบนสลากผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อบ่งบอกว่าผลิตภัณฑ์นั้นเป็นที่ ฮาลาล สำ�หรับมุสลิมใช้บริโภค

เครื่องหมาย อย.

อาหารที่จะได้รับ อย. นั้น ส่วนใหญ่ต้องผ่านขั้นตอนการตรวจสอบ เป็น ไปตามเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ผ่านในเรื่องของคุณภาพมาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์ ภาชนะบรรจุและการแสดงข้อมูลบนฉลากว่าครบถ้วน

- 18 -


Chapter 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร

ขั้นตอนการออกแบบ บรรจุภัณฑ์อาหาร

1. กำ�หนดกลุ่มเป้าหมาย

ถือเป็นเรื่องสำ�คัญของการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ เ พราะกลุ่ ม เป้ า หมายสามารถส่ ง ผลกระทบ ต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ด้ โ ดยตรง ผู้ประกอบการจะต้อ ง ศึกษาและเรียนรู้ความต้องการของตลาดและความ ต้องการของผู้บริโภคโดยกำ�หนดกลุ่มเป้าหมายให้ ชัดเจนเพื่อที่จะได้สามารถออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ ตรงต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด ตัวอย่าง กลุ่มเป้าหมาย เช่น วัยรุ่น วัยทำ�งาน แม่ บ้าน เด็ก ฯลฯ เป็นต้น กลุ่มเป้าหมายที่ได้ยกตัวอย่างนี้นอกจาก จะมี ค วามสนใจและความต้ อ งการที่ แ ตกต่ า งกั น แล้วกลุ่มเป้าหมายเดียวกันแต่ช่วงอายุต่างกันและ มี ส ถานะทางสั ง คมที่ แ ตกต่ า งกั น ก็ ย่ อ มมี ค วาม ต้ อ งการแตกต่ า งกั น ด้ ว ยเช่ น กั น ซึ่ ง ทำ � ให้ ลั ก ษณะ - 19 -

ของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ก็ ต้ อ งมี ค วามแตกต่ า งกั น ไปตาม กลุ่มเป้าหมายนั้นๆ หรือบางครั้งผลิตภัณฑ์บาง อย่างผลิตขึ้นมาเพื่อผู้บริโภคกลุ่มหนึ่งแต่ผู้บริโภค อีกกลุ่มหนึ่งกลับเป็นผู้เลือกและตัดสินใจซื้อ เช่น อาหารเสริมสำ�หรับเด็กหรือนมผงสำ�หรับ ทารก จะเห็นได้ว่าผลิตภัณฑ์เหล่านี้ ทารกและเด็กมิได้ เป็นผู้เลือกซื้อแต่ผู้เลือกและตัดสินใจซื้อกลับเป็นผู้ ปกครอง ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ แ สดงให้ เ ห็ น ว่ า ก่ อ นการ ออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ์ ผู้ ป ระกอบการจำ � เป็ น ต้ อ ง กำ � หนดกลุ่ ม เป้ า หมายเพื่ อ ทำ � การศึ ก ษาความ ต้องการของกลุ่ม เป้าหมายอย่างละเอียดรอบครอบ และค้นหาวิธีว่าจะออกแบบอย่างไรให้บรรจุภัณฑ์ ของท่านสามารถดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคตาม กลุ่มเป้าหมายให้ตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ของ ท่าน


Food Packaging Design

ขั้นตอนการออกแบบ บรรจุภัณฑ์อาหาร (ต่อ)

2. กำ�หนดชื่อตราสินค้า (Brand)

ตราสิ น ค้ า ใช้ เ ป็ น ชื่ อ หรื อ เครื่ อ งหมาย สำ�หรับการเรียกขานผลิตภัณฑ์ ผู้ประกอบการจะ ต้อ งทำ �การกำ �หนดชื่อตราสินค้าให้เรียบร้อ ยก่อ น การออกแบบบรรจุภัณฑ์ โดยกำ�หนดให้ชื่อตราสิน ค้ามีความเป็นเอกลักษณ์ ชัดเจน น่าสนใจ ที่สำ�คัญ จะต้องเป็นที่จดจำ�ได้ง่ายแก่ผู้บริโภคตราสินค้าที่ดี นั้นสามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้ คือตั้งตามชื่อเจ้าของ กิจการ ตั้งตามความเชื่ออันเป็นมงคลตั้งตามแหล่ง ที่มาของผลิตภัณฑ์ หรือตั้งโดยการผสมคำ�ที่มีความ หมายให้เกิดเป็นคำ�ใหม่ที่มีเอกลักษณ์ ฯลฯ เป็นต้น

3. วัสดุที่ใช้ทำ�บรรจุภัณฑ์

วั ส ดุ มี ค วามจำ � เป็ น อย่ า งยิ่ ง ต่ อ การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การที่ผู้ประกอบการตัดสินใจ ว่ า จะใช้ วั ส ดุ อ ะไรมาผลิ ต เป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ นั้ น ท่ า น ควรคำ�นึงถึงความปลอดภัยของผู้บริโภค ความ รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณสมบัติของวัสดุ แต่ละประเภท ที่จะนำ�มาผลิตบรรจุภัณฑ์เป็นสำ�คัญ เนื่องวัสดุแต่ละชนิดแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติที่เป็น ข้อดีและข้อเสีย ในการคุ้มครองผลิตภัณฑ์ให้คง คุณภาพ การยืดอายุผลิตภัณฑ์ และการนำ�กลับมา ใช้ใหม่(Recycle) ที่แตกต่างกันไป หากท่านเลือกใช้ วัสดุไม่ถูกต้องนอกจากจะทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อตัว ผลิตภัณฑ์ ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อมแล้วยังเป็นสาเหตุให้เกิด ต้นทุนในการผลิตบรรจุภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย

4. รูปทรงบรรจุภัณฑ์

ที่ มี รู ป ร่ า งสวยงามสามารถสร้ า งความ ประทับใจให้กับผู้บริโภคถึงแม้ผู้บริโภคจะยังมิได้ สัมผัสกับตัวผลิตภัณฑ์ที่อยู่ภายใน รูปทรงของ บรรจุภัณฑ์ส ามารถสร้ า งความเป็ น เอกลั ก ษณ์ ไ ด้ กล่าวคือเมื่อผู้บริโภคเห็นรูปทรงสามารถรับรู้ได้ทันที ว่าเป็นผลิตภัณฑ์อะไรและมีชื่อตราสินค้าอะไร หรือ จะเป็นผลิตภัณฑ์เดียวแตกต่างกันที่ชื่อตราสินค้า

5. สีสันและกราฟิก

สีสันและกราฟฟิคนี้คือการรวมของการใช้ สัญลักษณ์ ตัวอักษร ภาพประกอบ ลวดลายและ พื้นผิวซึ่งส่วนประกอบทั้งหมดสามารถบ่งบอกถึงชื่อ ตราสินค้า ลักษณะผลิตภัณฑ์ที่บรรจุอยู่ภายในได้ และสามารถแสดงถึงแหล่งที่มาของผลิตภัณฑ์ได้ ด้วย (netra.lpru.ac.th : 2559)

- 20 -


Chapter 2 การออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหาร

- 21 -


Food Packaging Design

Chapter 3 Template and Design

- 22 -


Chapter 3 Template and Design

Bags ถุงและซอง

- 23 -


Food Packaging Design

Bags ถุงและซอง

Card Board

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ กระดาษคราฟต์สีนํ้าตาลและขาว 70-180 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 24 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารทั่วไปที่มีภาชนะบรรจุแล้ว - สิ่งของทั่วไป - 25 -


Food Packaging Design

Bags ถุงและซอง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ กระดาษคราฟต์สีนํ้าตาลและขาว 70-180 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 26 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารทั่วไปที่มีภาชนะบรรจุแล้ว - สิ่งของทั่วไป - 27 -


Food Packaging Design

Bags ถุงและซอง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ กระดาษคราฟต์สีนํ้าตาลและขาว 70-180 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 28 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารทั่วไปที่มีภาชนะบรรจุแล้ว - สิ่งของทั่วไป

- 29 -


Food Packaging Design

Bags ถุงและซอง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ กระดาษคราฟต์สีนํ้าตาลและขาว 70-180 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 30 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารทอด - อาหารอบกรอบ

- 31 -

- เบเกอรี่ - อาหารว่าง



Chapter 3 Template and Design

Boxes กล่อง

- 33 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade - 34 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารทอด - อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - 35 -

- เบเกอรี่ - อาหารว่าง


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade - 36 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารนึ่ง - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า - 37 -

- เบเกอรี่ - อาหารทอด


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade - 38 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารนึ่ง - อาหารว่าง - อาหารหวาน - 39 -

- เบเกอรี่ - อาหารทอด


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade - 40 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - อาหารนึ่ง - อาหารว่าง - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - อาหารสำ�เร็จรูป - 41 -

- เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารหวาน - อาหารแช่แข็ง


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 42 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า - ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุง

- 43 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 44 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารนึ่ง - อาหารทอด - อาหารจานด่วน - อาหารจานเดียว

- 45 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 46 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารนึ่ง - อาหารทอด - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า

- 47 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 48 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุง

- 49 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 50 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารนึ่ง

- 51 -

- อาหารทอด - อาหารหวาน


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 52 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - ผลิตภัณฑ์ของฝาก

- 53 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 54 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง

- 55 -

- ขนมอบกรอบ - อาหารหวาน


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 56 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - ขนมอบกรอบ - อาหารทอด - อาหารหวาน - อาหารว่าง - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - 57 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 58 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - ขนมอบกรอบ - อาหารทอด - อาหารหวาน - อาหารว่าง - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - ผลิตภัณฑ์อาหารแห้ง/สำ�เร็จรูปพร้อมปรุง - 59 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 60 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - ขนมอบกรอบ - อาหารทอด - อาหารว่าง - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - 61 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 62 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง

- 63 -

- ขนมขบเคี้ยว - อาหารหวาน - ผลิตภัณฑ์ของฝาก


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 64 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - ขนมขบเคี้ยว - ผลิตภัณฑ์ของฝาก - ผลิตภัณฑ์อาหารเช้า - ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุง - 65 -


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 66 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง

- 67 -

- อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - ผลิตภัณฑ์ของฝาก


Food Packaging Design

Boxes กล่อง

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 68 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง

- 69 -

- อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - ผลิตภัณฑ์ของฝาก



Chapter 3 Template and Design

Trays ถาด

- 71 -


Food Packaging Design

Trays ถาด

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 72 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง - อาหารจานด่วน - 73 -

- อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - อาหารจานเดียว - อาหารปิ้ง/ย่าง


Food Packaging Design

Trays ถาด

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 74 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง - อาหารจานด่วน - 75 -

- อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - อาหารจานเดียว - อาหารปิ้ง/ย่าง


Food Packaging Design

Trays ถาด

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 76 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง - อาหารจานด่วน - 77 -

- อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - อาหารจานเดียว - อาหารปิ้ง/ย่าง


Food Packaging Design

Trays ถาด

วัสดุที่เหมาะสำ�หรับทำ�บรรจุภัณฑ์ - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังขาว/เทา 230-500 g/m2 - กระดาษกล่องขาวเคลือบหลังคราฟต์ 230-500 g/m2 - กระดาษอาร์ตการ์ดมัน/อาร์ตการ์ด 180-400 g/m2 ** หากสัมผัสกับอาหาร ต้องเป็นเกรด FDA Food Grade

- 78 -


Chapter 3 Template and Design

สำ�หรับบรรจุอาหารประเภท - เบเกอรี่ - อาหารทอด - อาหารว่าง - อาหารจานด่วน - 79 -

- อาหารนึ่ง - อาหารหวาน - อาหารจานเดียว - อาหารปิ้ง/ย่าง


Food Packaging Design

Inspiration Packaging Design

- 80 -


Chapter 3 Template and Design

PALEO Brands : Grain Products - 81 -


Food Packaging Design

Sugar Island Brands : Rum Products

- 82 -


Chapter 3 Template and Design

Louis Charden Brands : Bakery Products

- 83 -


Food Packaging Design

Chilton’s Brands : Bakery Pie Products

- 84 -


Chapter 3 Template and Design

Tea & Fruits Brands : Tea Products

- 85 -


Food Packaging Design

Aomnaobo Brands : Eggs Products

- 86 -


Chapter 3 Template and Design

Thierry Brands : Macaron Products

- 87 -


Food Packaging Design

Les Recoltes De MaMan Brands : Tea Products

- 88 -


Chapter 3 Template and Design

Tpabkn-Mypabkn Brands : Tea Products

- 89 -


Food Packaging Design

Pistachio’s Brands : Pistachio’s salt sea Products

- 90 -


Chapter 3 Template and Design

Moller/Barnekow Brands : Wrap Products

- 91 -


Search about

Packaging Design • www.templatemeker.nl • www.issuu.com/dielines • www.allideastudio.com • www.packagingoftheworld.com • www.foodnetworksolution.com • netra.lpru.ac.th



FOOD PACKAGING

DESIGN by Chonnipa


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.