108 PC problems

Page 1

1

108 ปญหา เครื่องคอมพิวเตอร ที่พบกันบอย ๆ และแนวทางการแกไขเบื้องตน รวบรวมปญหาตาง ๆ ที่พบไดบอย ๆ กับการใชงานเครื่องคอมพิวเตอร โดยไดพยายามรวบรวม ปญหาที่พบเห็นกันบอย ๆ และนํามาสรุปใหเปนแนวทางสําหรับ การแกไขปญหาเบือ้ งตน หวังวา จะมีประโยชนกับคนอื่น ๆ ไดบาง ปญหาของ Windows •

หลังจาก Setup Windows ใหมแลวเกิดการคาง ไมยอมทําการ Setup ตอไป เกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุ แตสิ่งหนึ่งที่พบบอย ๆ คือการตั้งคา Virus Warning ใน bios ไว ทําใหเครื่องไมสามารถ เขียนขอมูลทับลงบนสวนของ boot record ของฮารดดิสกได ให ลองแกใน bios ตั้งใหเปน Disable ไวกอน และหลังจากทําการ Setup Windows เสร็จแลว คอยตั้งเปน Enable ใหม

หลังจาก Setup Windows จะขึ้นขอความ Windows Protection Error ที่พบบอย ๆ มากคือปญหาของ RAM อาจจะเปนเฉพาะชวงที่ทําการ Setup Windows เทานั้น (โดยทีป่ กติกอน Setup Windows จะใชงานได ไมเปนอะไร) ใหทดลองหา RAM มาเปลี่ยนใหมดู หรือหากเปน SDRAM ใหทดลองตั้งคาใน bios คาของ CAS จากที่ตงั้ เปน 2 ลองตั้งเปน 3 ดู อาจจะชวยแกปญหาไดบาง

ใช AMD K6II-350 ขึ้นไปลง Windows95 แลวเกิด Error แตลง Windows98 ได จะเกิดจากการใช CPU ของ AMD ที่มีความเร็วตั้งแต 350MHz ขึ้นไปกับ Windows95 วิธีแกไขคือไป Download Patch สําหรับแกปญหานี้ที่ AMDK6UPD.EXE มาแกไขโดยสั่ง รันไฟลนี้แลวบูทเครื่องใหมกอน อานรายละเอียดทีน่ ี่

ปญหาของ ฮารดแวร •

RAM หายไปไหนเนี่ย ใสเขาไป 32 M. ทําไม Windows บอกวามี 28 M. เอง อาการของ RAM หายไปดือ้ ๆ จะเกิดกับการใชเมนบอรดรุนที่มี VGA on board นะครับ ที่ จริงก็ไมไดหายไปไหนหรอก เพียงแตสวนหนึ่งของ RAM จะถูกนําไปใชกับ VGA ครับ และขนาดทีจ่ ะโดนนําไปใชก็อาจจะเปน 2M, 4M หรือ 8M ก็ไดขึ้นอยูก ับการตั้งใน BIOS ครับ


2 •

ใชเครื่องไดสักพัก มักจะแฮงค พอปดเครื่องสักครูแลวเปดใหม ก็ใชงานตอไดอีกสักพักแลว ก็แฮงคอีก อาจจะเกิดจากความรอนสูงเกินไป อยางแรกใหตรวจสอบพัดลมตาง ๆ วาทํางานปกติดี หรือเปลา หากเครื่องทํา Over Clock อยูดวยก็ทดลองลดความเร็วลงมา ใชแบบงานปกติ ดูกอนวายังเปนปญหาอยูอีกหรือเปลา ถาใน bios มีระบบดูความรอนของ CPU หรือ Main Board อยูดวยใหสังเกตคาของ อุณหภูมิ วาสูงเกินไปหรือเปลา ทั้งนี้อาจจะทําการเพิม่ การ ติดตั้งหรือเปลีย่ นพัดลมของ CPU ชวยดวยก็ดี

มีขอความ BIOS ROM CHECK SUM ERROR ตอนเปดเครื่อง อาการนี้สวนใหญเกิดจากถานของ BIOS หมดหรือเกิดการหลวมครับ ใหลองขยับถานให แนน ๆ ดูกอน ถาไมหายก็ตอ งลองเปลี่ยนถานบนเมนบอรดดู (กอนเปลี่ยนถามี Meter วัด ไฟดูกอนก็ด)ี หลังจากเปลี่ยนแลวใหทําการ Clear BIOS Jumper กอนดวย จะเปน Jumper ใกล ๆ กับ IC BIOS นั่นแหละ ทําการ Jump คางไวสัก 5 วินาทีแลวก็ Jump กลับที่เดิมกอน หลังจากนัน้ ตองเขาไปตั้งคาตาง ๆ ของ BIOS ใหมดว ย

ลืม Password ของ BIOS จะทํายังไงดี ใหทําการถอดถานของ BIOS ออกสักครู แลวใสกลับเขาไปใหม ทําการ Clear Jumper BIOS กอนดวย หรือลองดูวิธีการ Clear/Reset Password ของ BIOS

ซื้อฮารดดิสกมาขนาดใหญ ๆ แตหลังจากทําการ Format แลวเครื่องมองเห็นแค 2G อยางแรกใหดกู อนเลยวา ใชระบบ FAT16 หรือ FAT32 ถาหากเปน FAT16 จะมองเห็นได สูงสุดแค 2G ตอ 1 Partition เทานั้น ตองใชแบบ FAT32 ครับ วิธีการคือใช FDISK ของ แผน Startup Disk WIN98 มาทํา FDISK (ถาเปน FDISK จาก DOS หรือ WIN95 จะเปน แบบ FAT16) ดูวิธีการทํา fdisk และ การ format ฮารดดิสก ที่นี่

ไมสามารถใชงาน ฮารดดิสกไดมากกวา 8G. สําหรับเมนบอรดรุนเกา ๆ เกิดจากที่ BIOS ไมสามารถรูจักกับ ฮารดดิสกที่มีขนาดใหญ ๆ ได จะเปนกับเมนบอรดรุน เกา ๆ ที่เคยพบมาอีกแบบคือ Windows มองเห็นเกิน 8G แตไมสามารถใชงานได จะบอกวา ฮารดดิสกของเราเต็ม วิธีแกไขอยางแรกคือ ใหลองทําการ Update BIOS เปน Version ใหม ดูกอน (ถาหาได) หรือไมก็หา Download โปรแกรมสําหรับจัดการพื้นที่ฮารดดิสก จากเวป ไซตของผูผลิตฮารดดิสกยหี่ อนั้น ๆ หรืออาจจะใชวิธีการแบง Partition ใหมีขนาดใหญไม เกิน 8G ตอ 1 Partition ก็อาจจะชวยได


3

ปญหาของ ซอฟตแวร •

หลังจากลงโปรแกรมปองกันไวรัส McAfee 4.0.3 แลวไมสามารถบูทเขา Windows ได เทาที่พบจะเกิดกับบางเครื่องเทานั้น ปญหาเกิดจากหลังจากที่เราติดตั้ง McAfee ลงไปแลว เครื่องจะทําการ Scan ขอมูลในฮารดดิสกโดยใสเปน Batch File ไวในไฟล autoexec.bat ซึ่งบางครั้งจะเปนปญหาทําใหคาง ไมยอมเขา Windows ตอไป วิธีแกไขคือ ใหเปดเครื่อง เขาใน MS-DOS Mode โดยกดปุม F8 คางไวขณะเปดเครื่อง จะเขามาที่เมนู Microsoft Windows 98 Startup Menu เลือกขอ 6. sefe mode command prompt only แลวใชคําสั่ง "edit autoexec.bat" เพื่อแกไขไฟลโดยใหลบบรรทัดที่มีคําสั่ง scan.exe ออกครับ ทําการ save file แลวทดลองบูทเครื่องใหมอีกครั้ง

พิมพหนา Web Page ออกเครื่องพิมพแบบ Ink Jet เปนภาษาไทยไมได จะมีแต ภาษาอังกฤษ สวนใหญ ปญหานี้จะเกิดกับการใชเครื่องพิมพแบบ อิงคเจ็ท รุนใหม ๆ วิธีแกไขคือ ใหลอง หา Download Driver รุนใหม ๆ ของเครื่องพิมพจาก Web Site ของเครื่องพิมพนั้น ๆ เพราะบางครั้งอาจจะมีการแกไขปญหานีแ้ ลว หรือไมกใ็ ชวิธีเขาไปตั้งคา Regional Settings ที่ Control Panel เปน English(USA) กอน เมื่อพิมพเสร็จแลวก็เปลีย่ นกลับมาเปน Thai เหมือนเดิม การตั้งคาก็ทําโดยกดที่ Start เมนู >> Settings >> Control Panel เลือกที่ Regional Settings เปลี่ยนเปน English(USA)

สั่ง Defrag Hard Disk แลวไมยอมเสร็จ จะกลับมาเริ่มตนใหม วนแบบนี้อยูเรื่อย ๆ สาเหตุ เกิดจากมีโปรแกรมบางตัวทํางานอยูในเวลานั้นดวยและสั่งเขียนขอมูลลงบนฮารดดิสก เชน Screen Saver, Winamp หรือพวก Anti Virus บางตัว ใหทําการปดโปรแกรมเหลานี้ให หมดกอน หรืออาจจะใชวิธีเขา Windows ใน Self Mode (กด F8 ตอนเปดเครื่องแลวเลือก Self Mode)

ใชการดจอของ TNT แลวเมื่อพิมพขอความตาง ๆ สระบนลางไมยอมขึน้ มาทันที ตองพิมพตัวตอไปกอนจึงจะเห็น เปนปญหาที่พบบอยมาก ๆ กับผูที่ใชการดจอของ TNT ครับใหลองหา Driver รุนใหม ๆ จากเวปไซตของผูผลิตการดจอมาใช จะแกไขไดหรือใช Driver ของ Detonator Version 3.65 ขึ้นไป หาไดจาก http://www.3dchipset.com

Audio Grabber โปรแกรมแปลงเพลงจาก ซีดีเพลงธรรมดา ใหเปน MP3

ในขณะนี้ เพลงในรูปแบบของ MP3 กําลังเปนที่นิยมกันมากสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร วิธีการที่จะ แปลงเพลงจากรูปแบบของ CD Audio หรือ CD เพลงธรรมดาทั่ว ๆ ไปก็งาย ๆ โดยใชโปรแกรม Audio Grabber เปนตัวแปลง มาดูวิธีการกันเลยดีกวา


4 •

เริ่มตนจากหาโปรแกรม Audio Grabber มาติดตั้งกอน โปรแกรมนี้จะเปน Shareware ครับซึ่งจะมี ขอจํากัดตาง ๆ มากเหมือนกันเชนในรุนเกา ๆ ก็จะทําการแปลงไดเฉพาะบาง Track เทานั้น หรือในรุน ใหม ๆ ที่เห็นก็คือจะทําการแปลงไดเพียงแคครึ่ง Track ดังนั้น งานนี้ตองหาตัวที่เปน Full Version มาใช กันเอง เมื่อทําการ Download มาเรียบรอยแลวก็ทําการ Unzip ไปเก็บไวกอน แลวสั่ง Setup จากไฟล Setup.exe ไดเลย จากนั้นก็กด Next ไปเรื่อย ๆ จนเสร็จ (งาย ๆ นะ ขอไมลงรายละเอียดในสวนของ วิธีการติดตั้งนะ) นอกจากนี้แลว เจาโปรแกรม Audio Grabber ก็ยังสามารถทําการติดตั้งตัว Encoder ตัวอื่น ๆ เพิ่มเติมได ดวย ที่ผมแนะนําใหใชก็คือ BladeEnc's MP3 DLL หาไดจากเวปของ Audio Grabber Download เพราะวาจะไดเสียงที่ดีกวาตัว Encoder ที่มีมาใหกับ Audio Grabber มาก การติดตั้ง Encoder ก็ทําไดงาย ๆ ครับ เพียงแคทําการ Unzip เอาไปเก็บไวใน Folder เดียวกับโปรแกรม Audio Grabber เทานั้นก็ใชงาน ไดแลว ในขั้นแรก ใหทําการหา Download และติดตั้งใหครบกอน เริ่มตนเรียกโปรแกรม Audio Grabber (หากหาไมพบใน Start Menu ลองใช Windows Explorer เปดหา จาก C:\Program Files\AudioGrabber นะครับ เรียกไฟล audiograbber.exe ตามรูปตัวอยาง)

• • •

เมื่อเรียกโปรแกรมขึ้นมาและใสแผน CD เพลงในชอง CD ROM Drive จะเห็นหนาตาดังนี้


5

• •

กอนที่จะเริ่มตน ตองทําการ Set คาตาง ๆ กอนครับ เริ่มจาก ใชเมาสกดที่ปุม Settings บน Tool Bar


6 •

• • •

ที่ชอง Directory to store files in: ใหเลือกชื่อของ Folder ที่จะเก็บไฟล MP3 หลังจากที่ทําเสร็จแลว โดยอาจจะสราง Folder ขึ้นมาใหมก็ไดครับ เพื่อจะไดไมไปปนกับไฟลอื่น ๆ การเลือกก็ทําโดยกดที่ปุม Browse... แลวเลือก Folder ที่ตองการนะครับ เมื่อกําหนดเรียบรอยแลวก็กดที่ปุม OK ทําการ Setup ในสวนของการแปลงเปนไฟล MP3 โดยใชเมาสกดที่ปุม MP3 บนเมนู Tool Bar

ทําการติ๊กถูกที่ชองตอไปนี้ Send Wavefile to MP3 CODEC Delete wavefile after MP3 is created เพื่อใหทําการลบไฟล wave หลังจากทํา MP3 เสร็จ Encode with Highest Quality หรือตามรูปดานบนในสวนดานลาง ก็คือสวนที่สามารถใหเราทําการเลือกโปรแกรมที่จะทําการแปลง ไฟล MP3 ได ซึ่งจะมีทั้งแบบ External และ Internal เนื่องจากในขั้นตอนการติดตั้ง ผมแนะนําใหใช ตัวแปลงของ BladeEnc DLL นะ โดยหา Download มาแลวก็ Unzip เก็บไวใน Folder เดียวกับ Audio Grabber เลย การเลือกใชก็โดยใชเมาสกดเลือกที่ BladeEnc DLL ตามรูปเลย ชองของ Mode ก็คือการเลือกจํานวนของขอมูลที่จะเขารหัส โดยปกติจะใชงานที่ 128kBit/s, 44,100Hz, Stereo ครับ แตถาใครตองการคุณภาพเสียงที่ดีกวานี้ หรือแยกวานี้ ก็ลองเลือกเปนคาอื่น ๆ ดูก็ได ซึ่งยิ่ง เราเลือกคาสูงขึ้น ขนาดของไฟล MP3 ที่ไดก็จะใหญมากขึ้นตามไปดวย เลือกเสร็จเรียบรอยแลวก็กด OK เลย


7

• •

ขั้นตอนตอไป ก็คือการกด ติ๊กเครื่องหมายถูก ที่ Norm. เพื่อใหโปรแกรมทําการปรับระดับของเสียงให เสมอกัน และกด ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ชอง MP3 ดวยนะ ที่ชองของ Track ตาง ๆ ก็เลือกเพลงที่ตองการ จะเปลี่ยนเปน MP3 จากนั้นกดที่ Grab! เพื่อเริ่มตน ไดเลย


8 •

• •

นี่คือภาพขณะโปรแกรมกําลังทํางาน โดยจะทําการ copy ขอมูลจากแผนเพลงกอน ทําการ Normal และ เปลี่ยนเปน MP3 ใชเวลามากนอยก็ขึ้นอยูกับความเร็วของเตรื่องคอมพิวเตอร และความเร็วของ CDROM Drive ดวยนะ รอจนเสร็จ ก็จะไดไฟล MP3 ตามตองการ

ไฟล MP3 ที่ไดจะเก็บอยูใน Folder ที่เราเลือกตอนแรก จะเห็นวาขนาดไมใหญมากนัก ก็ทําการเปลี่ยน ชื่อใหเปนชื่อเพลงซะ เปนอันจบ นําเอาไปฟงกับ Winamp ไดเลย

Cache นั้นสําคัญไฉน [ 15 Mar. 1999 ] •

Cache คืออะไร? และ ที่มาของ Cache Cache นั้น ถาวากันตามหลักการ มันก็คือ หนวยความจําชนิดหนึ่ง ซึ่งจะมีความเร็วในการเขาถึง และการถายโอนขอมูล ที่สูง โดยจะมีหนาทีใ่ นการเก็บ พัก ขอมูลที่มีการใชงานบอยๆ เพื่อเวลาที่ CPU ตองการใชขอมูลนั้นๆ จะไดคนหาไดเร็ว โดยที่ไม จําเปน ที่จะตองไปคนหาจากขอมูลทั้งหมด เปรียบเทียบกันงายๆ ก็เหมือนกับการอานหนังสือ แลวเวลาที่เจอขอความที่นาสนใจ ก็ทําการจดบันทึกไวทส ี่ มุด แลวเมือ ่ เวลา ตองการ ขอมูลนั้นๆ ก็สามารถคนหาจากในสมุดจดไดงายกวา เปดหาจากหนังสือทั้งเลม แนนอน ขอมูลที่จดลงในสมุดนั้น มี ขนาดนอยกวา ในหนังสือแนๆ คงไมมีใครที่จะลอกขอมูล ทุกบันทัด ทุกหนาของหนังสือ ลงในสมุดจดเปนแนแท เรามาวากันถึงเรื่อง Cache ของเรากันตอดีกวา จากที่กลาวมาแลวขางตน ในปจจุบัน เราจะพบการใชงาน Cache อยู 2 แบบ นั่น ก็คือ Memory Cache และ Disk Cache โดยที่หลักการทํางานของทั้ง 2 ชนิดนี้ก็คลายๆ กัน กลาวคือ Disk Cache นั้น จะเปน การอานขอมูลที่ตองการใชงานเขามาเก็บไวในหนวยความจําหลัก เมื่อ CPU มีการเรียกใชงาน ก็จะเขาไปคนหาในหนวยความจํา หลักกอน หากวาไมพบจึงจะไปคนหาใน Harddisk ตอไป และ ในกรณีของ Memory Cache นั้น ก็เปนอีกลําดับขั้นหนึ่งถัดจาก Disk Cache นั่นก็คือ จะทําการดึงขอมูลที่มีการเรียกใชงานบอยๆ เขามาเก็บไวในหนวยความจํา ขนาดเล็ก ที่มีความไวสูงกวา หนวยความจําหลัก เมื่อ CPU ตองการใชงาน ก็จะมองหาขอมูลที่ตองการที่ หนวยความจําขนาดเล็กนั้นกอน กอนที่จะเขาไปหา ในหนวยความจําหลักที่ มีการเขาถึงและการสงถายขอมูลทีช ่ า กวาตอไป และ หนวยความจําขนาดเล็กๆ นั้น เราก็เรียกมันวา Cache นั่นเอง สําหรับในบทความนี้ เราจะพูดถึงเรื่อง Memory Cache กันอยางเดียว เพราะฉะนั้นผมจะขอเรียกแคสั้นๆวา Cache ก็ขอใหเปน


9 อันเขาใจตรงกันนะครับ วามันหมายถึง Memory Cache

Cache นั้น ตําแหนงของมัน จะอยูระหวาง CPU กับ หนวยความจําหลัก โดยมันจะทําการดึง หรือ เก็บขอมูลที่มีการเรียกใชงาน บอยๆ จากหนวยความจําหลัก ซึ่งความไวในการอาน หรือ สงถายขอมูลจาก Cache ไปยัง CPU หรือ จาก CPU ไปยัง Cache นั้น จะทําไดเร็วกวา จากหนวยความจําหลักไปยัง CPU หรือจาก CPU ไปยังหนวยความจําหลัก มาก เพราะทําดวย SRAM ซึ่งมี ความไวสูง และมีราคาแพงกวาหนวยความจําของระบบที่เปน DRAM อยูมาก และก็เพราะราคาที่แพงนี้ ทําใหขนาดของ Cache ที่ใชในระบบ จึงมีขนาดนอยกวาหนวยความจําหลักอยูมากเชนกัน DRAM หรือ Dynamic RAM นั้นจะทําการเก็บขอมูลในตัวเก็บประจุ ( Capacitor ) ซึ่งจําเปนจะตองมีการ refresh เพื่อ เก็บ ขอมูลใหคงอยู โดยการ refresh นี้ ทําใหเกิดการหนวงเวลาขึ้นในการเขาถึงขอมูล และก็เนื่อง จากที่มันตอง refresh ตัวเองอยู ตลอดเวลานี้เอง จึงเปนเหตุใหไดชื่อวา Dynamic RAM สวน SRAM นั้นจะตางจาก DRAM ตรงที่วา DRAM จะตองทําการ refresh ขอมูลอยูตลอดเวลา แตในขณะที่ SRAM จะเก็บ ขอมูลนั้นๆ ไว และจะไมทําการ refresh โดยอัตโนมัติ ซึ่งมันจะทําการ refresh ก็ตอเมื่อ สั่งใหมัน refresh เทานั้น ซึ่งขอดีของ มัน ก็คือความเร็ว ที่เร็วกวา DRAM ปกติมาก แตก็ดวยราคาที่สูงกวามาก จึงเปนขอดอยของมันเชนกัน จากที่กลาวมาขางตน ก็ดูเหมือนวา Cache นั้น มีความสําคัญ ตอความเร็วของระบบอยูไมใชนอย แลวทําไมเราถึงเพิ่งจะให ความสําคัญกับมันละ? เพราะวา เพิ่งมีการใช Cache กับ CPU รุนใหมๆ อยางนั้นหรือ? เปลาเลย จริงๆแลว เรามีการใช Cache มาตั้งนานแลว ตั้งแตรุน 80486 ซึ่งสมัยนั้นทาง Intel ก็ไดเริ่มมีการใส Cache ใหกับ CPU ของตน โดยเริ่มใสขนาด 8KB ในรุน 486DX-33 และ ไดทําการเพิ่มเปน 16KB ในรุน 486DX4 เปนตนมา ซึ่ง Cache ที่ใส ไปนั้น ไดใสเขาไปในแกนหลักของ CPU เลย ทําใหการติดตอระหวาง CPU กับ Cache นั้น ทําไดเร็วมาก และมีการใช Cache อีกขั้นหนึ่ง โดยใสไวที่ Mainboard ซึ่งจะมีขนาดทีใ่ หญกวา แตชา กวา Cache ที่ใสไวในแกน CPU เมื่อ CPU ตองการขอมูลใดๆ ก็จะทําการคนหาจาก Cache ที่อยูภายในแกน CPU กอน หากวาพบขอมูลที่ตองการ ( เรียกวา Cache Hit ) ก็จะดึงขอมูลนั้นๆ มาใชงานไดเลย แตหากไมพบ ( เรียกวา Cache Miss ) ก็จะทําการคนหาในสวนของ Cache ที่ อยูบน Mainboard ตอไป และ หากวายังไมพบอีก ก็จะไปคนหาในหนวยความจําหลักตอไปอีกขั้น และหากวาในหนวยความจํา หลักนั้น ก็ยังไมมีขอมูลทีต ่ องการ ก็จะไปคนหาตอใน Harddisk ตอไป ดวยตําแหนงในการเก็บ Cache ที่ตา งกัน และ ลําดับขั้นในการเรียกใชงานตางกัน จึงเรียก Cache ที่อยูในแกนของ CPU วา Internal Cache หรือ Level 1 Cache ( L1 Cache ) และ เรียก Cache ที่อยูบน Mainboard นั้นวาเปน External Cache หรือ Level 2 Cache ( L2 Cache ) ตอมา ใน CPU รุน Pentium ของ Intel นั้น ก็ไดทําการแบง Cache ภายใน ออกเปน 2 สวนเพื่อแยกการทํางานกัน ซึ่งก็ไดแบง จาก 16KB นี้ ออกเปน 8KB เพื่อใช เก็บคําสั่งตางๆ เรียกวา Instruction Cache และ อีก 8KB เพื่อใชเก็บขอมูลตางๆ เรียกวา Data Cache และตอมา CPU ในรุน Pentium II ของทาง Intel นั้น ก็ไดมีการเปลี่ยนแปลงตําแหนงการเก็บ Cache ระดับ 2 ซึ่งจากปกติจะ จัดเก็บไว บน Mainboard ก็ทาํ การยาย มาเก็บไวบน Package เดียวกับ CPU ( CPU Intel Pentium II นั้น จะมีลักษณะเปน Cartridge แผนกวางๆ มี CPU อยูตรงกลางและ เก็บ Cache ไวขางๆ แลวรวมกันเปน Package เดียวกัน เรียกวา Single Edge


10 Contact Cartridge หรือ SECC แตก็ยังคงเรียก Cache ที่อยูบน SECC วาเปน External Cache หรือ Level 2 Cache เชนเดิม เพราะยังคง อยูภ  ายนอกตัว CPU เพียงแคอยูบน Package เดียวกันเทานั้น แตดวยราคาทีส ่ ูงมากของ CPU Pentium II ในสมัยที่เพิ่งวางตลาดนั้น ทําใหมีผท ู ี่มีอํานาจในการซื้อมาใชงานนอย ทาง Intel จึงไดตัด Cache ระดับ 2 ออก จาก Pentium II เพื่อลดตนทุนการผลิต และ เปลี่ยนรูปแบบ Package ใหดูบางลง แลวเรียก CPU ใหมนี้วา Celeron และ เรียก Package ของ Celeron วา Single Edge Processor Package จากที่กลาวมาแลวขางตนมาแลววา Cache นั้นมีราคาสูง เพราะฉะนั้น เมื่อตัด Cache ระดับ 2 ออกทําใหราคาของ Celeron ถูก กวา Pentium II อยูมาก และ ทาง Intel ก็หวังจะใช Celeron ทีร่ าคาถูกนัน ้ ตีตลาดระดับกลาง และ ระดับลาง แตแลวก็ฝนสลาย เพราะ Celeron ที่ไมมี Cache นั้น ในดานการเลนเกมส ที่ไมมีการเรียกใช Cache เทาไร ทําคะแนน หรือ มี ความสามารถ เทียบเทากับ Pentium II ที่ระดับความเร็วเทาๆ กัน แต ในงานดาน Office Application เชน Microsoft Word, Microsoft Excell กลับทําไดแยมากๆ จากที่เห็นก็คือ Celeron ทีค ่ วามเร็ว 300 MHz นั้น เมื่อใชงานกับ Application ดังกลาว กลับชากวา Pentium MMX 233 เสียอีก ทําให Celeron รุนดังกลาวไมไดรบ ั ความนิยมเทาใดนัก ทาง Intel จึงไดผลิต Celeron รุนใหมที่ไดเติม Cache ระดับ 2 เขาไปดวย โดยใหมีขนาดเพียง 1/4 ของ Pentium II แตให ทํางานดวย ความเร็วเทากับ ความเร็วของ CPU ( Cache ระดับ 2 ของ Pentium II นั้นจะทํางานที่ความเร็วเพียงครึ่งหนึง่ ของ ความเร็ว CPU ) และเพียงแคเพิ่ม Cache ระดับ 2 เขาไปนี้เอง ผลคะแนนทีไ ่ ดจากการทํางานกับ Application ดังกลาวนัน ้ กลับ ั เพิ่มขึ้นมามาก ตางจาก รุนเดิมที่ไมมี Cache อยางเห็นไดชด นี่เปนจุดหนึ่งละนะ ทีท ่ ําให Cache เริ่มเปนทีส ่ นใจ มากขึ้น แตยังไมหมดเทานี้ อีกจุดหนึง่ ที่ทาํ ใหเรื่องของ Cache นั้น เปนที่ กลาวถึง กันมากขึ้นในขณะนี้ เกิดจากการประกาศตัวของ AMD K6-III AMD K6-III มีอะไรดี ถึงทําใหเรื่องของ Cache เปนที่นาสนใจนัก อันนี้คงตองเทาความกลับไปอีกสักนิดหนึ่งกอน วา CPU ของ AMD นั้นก็มีการใช Internal Cache และ External Cache เชนเดียวกับ CPU ของ Intel มาโดยตลอด เมื่อ Intel เปลี่ยน สถาปตยกรรมใหม เอา Cache ไปไวบน Package ของ CPU และไมมีการใช Cache บน Mainboard อีกตอไป แตทาง AMD ก็ ยังคงใชงานบน สถาปตยกรรมเดิม คือมี Internal Cache ภายใน CPU และมี External Cache อยูบน Mainboard เรื่อยมา จนถึงรุน AMD K6-2 พอมา AMD K6-III ( หรือก็คอ ื AMD K6-3 แตมีการเปลีย ่ นชื่อ เพื่อใหสอดคลองกับ Intel Pentium III ) ทาง AMD ก็ไดทํา การ เพิ่ม Cache เขาไปที่ Package ของ CPU บาง ( แตไมไดรวมเขาไปในแกนของ CPU ) และ ก็ยังคงใหมี Cache บน Mainboard เชนเดิม ดังนั้น จึงเกิดมีการใชงาน Cache ถึง 3 ระดับดวยกัน ( เรียกวา Tri-Level Cache ) โดย ระดับแรกสุดนั้น ก็  น Mainboard ซึ่ง คือ Cache ที่อยูภายในแกนของ CPU เลย ระดับถัดมา ก็อยูบ  น Package ของ CPU และ ระดับสุดทายอยูบ ขนาดของ Cache ก็จะมากขึ้นตามลําดับ ในขณะที่ความเร็วในการใชงานกลับลดลงตามลําดับ และนี่เอง จึงทําใหเรื่องของ Cache นั้นเปนที่นาสนใจยิ่งนัก ทั้งเรื่องที่วา ขนาดของ Cache ที่มีใน Celeron มีนอย แตทาํ งาน ดวยความเร็วสูง เทากับความเร็ว CPU สวน Pentium II มี Cache มากกวา Celeron แตทํางานดวยความเร็วเปนครึ่งหนึ่ง ของ ่ งของ Tri-Level Cache ใน AMD K6-III นั้น จะทําใหระบบเร็วขึ้น CPU อยางไหนสําคัญกวากัน ขนาด หรือ ความเร็ว? และ เรือ จริงไหม? มี Cache หลายระดับดีกวาไหม? เราจะมาดูกันตอไป ถึงรายละเอียด และ ความสําคัญของ Cache ในแตละระดับกันตอไป •

Cache ระดับ 1 ( Level 1 cache ) ุ ทําให CPU สามารถเขาถึงได Cache ระดับ 1 นั้น จะเปนสวนที่สาํ คัญทีส ่ ุด และตําแหนงของมันก็จะอยูใกลๆ กับตัว CPU ที่สด รวดเร็วมาก ซึ่งโดยปกติแลวขนาดของมัน ก็จะไมใหญนัก เชน สําหรับ CPU Intel Pentium II หรือ Intel Celeron จะมี L1 Cache ขนาดเพียง 32 KB และ บน AMD K6-2 จะมีขนาด 64 KB ซึ่งถึงแมวาจะมีขนาดเพียง เล็กนอย แตก็มีความสําคัญมาก ลองดูผลการทดลองประกอบ เพื่อดูความสําคัญของ Cache ทั้ง 2 Level นะครับ o o o o o

AMD K6-2 350MHz บน ASUS P5A ( L2 512KB ) PC100 SDRAM 1x128 MB Matrox Millenium G200 8 MB Display Card Driver Version 4.26 ทดสอบโดย Program Final Reality 1.01 บน Windows 98 / DirectX 6.0 ทดสอบ 4 ครั้ง โดยทดสอบ ครั้งที่ 1 L1 on L2 on, ครั้งที่ 2 L1 on L2 off, ครั้งที่ 3 L1 off L2 on และ ครัง้ สุดทาย L1 off L2 off

ผลที่ไดจากการทดสอบเปนดังกราฟนีค ้ รับ


11

จากรูป จะเห็นวา เมื่อ disable L1 cache แลว Performance จะ drop ลงอยางเห็นไดชด ั ๆ เลย และ เชนกัน เมื่อ disable L2 Cache แลว Performance ก็ drop ลงเชนกัน แตก็ยังเห็นผลไดไมชัดเจนเทากับการ disable L1 Cache เอาละ ทีนี้ดผ ู ลการทดสอบอยางไมเปนทางการของผมประกอบนะครับ o o o

Intel Pentium II 300 MHz ( L1 32KB, L2 512 KB ) บน DFI LX ( ที่ office ) PC 66 SDRAM 1x32 MB ทดสอบโดย Wintum 98 version 1.0.33

การทดสอบ

Memory Performance ( MB/s )

L1:on, L2:on

636.0284

L1:on, L2:off

538.4206

L1:off, L2:on

*

L1:off, L2:off

*

่ เรียก Program ก็คา  งไปเลย ( ไม หมายเหตุ * หมายถึง ใชเวลาในการ boot นานมาก ( มากกวา 5 นาที ) และ เมือ hang แตนานมาก ก็เลยไมไดทดสอบ )

จากผลการทดลองขางตน ทั้ง 2 การทดลอง ก็พอจะสรุปกันไดแลวนะครับ ถึงความสําคัญของ Level 1 Cache และ Level 2 Cache โดยเฉพาะอยางยิ่ง กับ Level 1 Cache นั้น เมื่อผมปดการใชงานของมันที่ BIOS เทานั้นหละ ( Disable Level 1 Cache ) กวาจะ boot ทีนึงก็นานเลย กวาจะทําอะไรๆ ก็ลําบาก จะขยับ mouse ยังยากเลยครับ พอเรียก program ก็รอกวา 5 นาที ถึงจะขึ้นหนาจอมา ยิ่งถา เปน mode ที่ disable ทั้งL1 และ L2 cache นั้น พอเรียก program ก็หยุดนิ่งไปเลย Level 1 cache นั้น จะทํางานดวยความเร็วทีเ่ ทากับ CPU เลย ( คงเพราะฝงอยูในตัว CPU ) และ สําหรับกวาที่วา ยิ่งมี Cache มากๆ ก็จะยิ่งเร็วกวา แนนอนวา คํากลาวนี้เปนจริง แตก็ไมใชทั้งหมดทุกกรณี เพราะวามีองคประกอบอื่นๆ ดวย ดังจะเห็นไดจาก L1 cache ของ Intel Pentium II ซึ่ง มี ขนาดเพียง 32 KB แตมีการเขาถึงได 4 ทิศทาง ( 4 way associative ) ในขณะที่ AMD K6-2 จะมี L1 cache ขนาด 64 KB แตมี การเขาถึงไดเพียง 2 ทิศทาง ( 2 way associative ) ซึ่งในกรณีของการเขาถึง แบบสุมนั้น Intel จะทําไดเร็วกวา AMD •

Cache ระดับ 2 ( Level 2 cache ) สวนถัดมาในการคนหาขอมูลของ CPU เมื่อคนหาใน Cache ระดับ 1 ไมพบ ก็คือ Cache ระดับ 2 ซึ่ง ขนาดของ Level 2 Cache นั้น ก็จะตางกัน ตามรุน และ ชนิดของ CPU นั้นๆ ซึ่ง ก็แนนอน จะมีความของความเร็วแตกตางกันไปดวย


12 จากที่กลาวมาแลวเมื่อตอนตนๆ ถึงเรื่องของ Celeron กับ Pentium II ที่วา Celeron นั้นมี Cache ระดับ 2 เพียง 128 KB แต ทํางานดวยความเร็วเทาๆ กับ CPU สวน Pentium II จะมี Cache ระดับ 2 ถึง 512 KB แตทํางานดวย ความเร็วเพียง ครึง่ หนึ่ง ของความเร็วของ CPU แลวอยางไหน สําคัญกวากัน ความเร็ว หรือวาขนาด ่ ุด เพราะวา เราจะมาดูผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพกันระหวาง Pentium II กับ Celeron ซึ่งดูจะยุติธรรม และ เปนกลางทีส ตางก็ใชแกนของ CPU เหมือนๆกัน จะตางกันก็เพียงแคขนาด และ ความเร็วของ Cache ระดับ 2 เทานั้น ใหสังเกตุที่รูปขางลาง 2 รูปตอไปนี้ ซึ่งเปนกราฟแสดงผลเปรียบเทียบ Performance ระหวาง Pentium II 300 และ Celeron 300A ดวย Mainboard ASUS P2B สวน spec อื่นๆ ก็ตามที่กลาวไวแลวขางตน ( ตอนทดสอบ K6-2 )

แสดงผลการเปรียบเทียบระหวาง ขนาด และ ความเร็วของ L2 cache ดวย Winstone

แสดงผลการเปรียบเทียบระหวาง ขนาด และ ความเร็วของ L2 cache ดวย Quake II

จะเห็นไดวา มี Level 2 Cache มากๆ นั้น ให Performance ที่ดีกวาจริงๆ แตก็ไมมากนัก เห็นผลไมชัดเจน เมื่อเทียบ กับ Celeron ที่มี Level 2 Cache ที่เร็วๆ อยางไรก็ตาม ขนาดของ Level 2 cache นั้น ก็ยังเปนจุดหลักสําคัญของ Performance เพื่อลดการ access disk โดยการอาน ่ ะตองอานขอมูล ขอมูลมาเก็บไวที่ RAM และนําสวนสําคัญๆ ทีใ่ ชบอยๆ มาเก็บที่ Cache นั้น ถา Cache มีขนาดทีใ่ หญๆ การทีจ จาก RAM ซึ่งชากวา Cache นั้น ก็ทําไดดีกวา ยิ่งกับระบบ Network-File-Server นั้น ยิ่งมี Cache มากๆ และ เร็วๆ จะยิ่งดี ดังนั้น Intel Pentium II Xeon จึงมี L2 Cache 512K หรือมากกวานั้น และ ทํางานที่ความเร็วเทาๆ กับ CPU สําหรับ AMD K6, K6-2 นั้น ใช cache ซึ่งอยูบน Mainboard ซึ่ง ความเร็วสูงสุด ก็ตาม FSB ที่ใช เชน K6-2 300 MHz นั้น Level 2 Cache ก็จะมี ความเร็ว ที่ 100 MHz ( FSB 100 MHz ) แต Intel Pentium II - 300 MHz นั้น จะมี Level 2 Cache ที่ ความเร็ว 150 MHz และ Celeron 300A จะมี Level 2 Cache ที่มีความเร็วถึง 300 MHz ซึ่งสําหรับ AMD K6-2 กับ Pentium II นั้น ดูไมแตกตางเทาไร แตหากวา เปน Pentium II 400 ละ จะมี Levl 2 Cache ทีท ่ ํางานที่ 200 MHz ในขณะที่ AMD K6-2 ่ ําใหผล Performance ใน 400 MHz ก็ยังใช Cache ทีท ่ าํ งานดวยความเร็ว 100 MHz เชนเดิม นั่นก็เปนสวนสําคัญจุดหนึ่งทีท เรื่อง Memory Performance ของ AMD ดอยกวา Intel Pentium II และ Celeron แตในสําหรับ AMD K6-3 นั้น ทาง AMD ไดรวม Level 2 cache เขากับ Package เดียวกับ CPU เลย โดยเก็บฝงไวบนตัวของ CPU เชนเดียวกับ Celeron แตมีขนาดเปน 2 เทา และ ทํางานที่ความเร็วเทาๆ กับ CPU ซึ่งก็ทําให AMD K6-3 นั้น มี L2 cache มากกวาถึง Celeron 2 เทา และ มี Level 2 cache ที่ความเร็วเปน 2 เทาของ Pentium II ( ที่ความเร็วเทาๆกัน )


13 มาดูความสําคัญของ Levl 2 cache จากการทดลองอื่นๆ บางนะครับ อันนีเ้ ปนการทดลองของทางบริษท ั Level 2 Company กัน นะครับ โดยใช Program Ziff-Davis' Ver. 3.0 program MAC version ( ทดสอบกับเครือ ่ ง Mac ) โดยทดสอบกับ L2 cache ขนาด 256 KByte และ 1024 KByte โดยผลที่ไดนี้ เปน เปอรเซ็นตที่เพิ่มขึ้นจากการที่ไมมี L2 cache

Processor Graphics Mix Publishing Graphics Mix QuickDraw Routines Copy Bits Text Lines

256 K 30% 27% 38%

1,024 K 57% 44% 95%

40% 47% 49%

70% 86% 117%

ก็เปนผลไวดูคราวๆนะครับ เพราะเปนผลบนเครื่อง Mac แตผลที่ไดกส ็ ามารถใชเปนขอสรุปไดเชนกันถึงความสําคัญ ของ Cache ไดเชนกัน •

Cache ระดับ 3 ( Level 3 cache ) AMD K6-III นั้น มีจุดที่นาสนใจมากๆ อยางหนึ่ง นั้นก็คือ K6-III นั้นจะมี Level 2 cache ฝงอยูใน chip CPU มาดวย แตใน ขณะเดียวกัน Mainboard ที่ใชสําหรับ AMD K6-III นั้น ก็มี Cache มาใหดว ย ทําให มันมอง Cache บน Mainboard นั้นๆ เปน Cache ระดับ 3 ( Level 3 Cache ) ทีนี้ เรามาลองดูกันวา ถามี Cache ระดับ 3 แลว Performance จะเพิ่มขึ้น หรือ ลดลงอยางไร และ ขนาดของ Cache ระดับ 3 นั้นจะตองเปนเทาไร โดยจากรูปนี้ เปนการทดลองจาก Tom's Hardware เปรียบเทียบใหเห็นถึงผลของการมี Cache ระดับ 3 ที่ ขนาดตางๆ โดยทดสอบกับ CPU AMD K6-III ( เพราะเปนรุนเดียวในปจจุบน ั ที่มีการใชงาน Cache ถึง 3 ระดับ )

จากกราฟ ก็คงจะเห็นถึง Performance ที่เพิม ่ ขึ้นเมื่อมี Cache ระดับ 3 และ Performance ที่เพิ่มขึ้น กับ ขนาดของ Cache ระดับ 3 แลวนะครับ แตจะเปนเชนนี้กับทุกกรณีหรือไม เรามาลองวิเคราะหกันดูดีกวานะครับ ถาผมกําหนดให เวลาทีใ่ ชในการอานขอมูลจากแหลงตางๆ เปนดังนี้

Cache ระดับ 1

1 หนวยเวลา ( Unit )

Cache ระดับ 2

10 หนวยเวลา ( Unit )

Cache ระดับ 3 ขนาด 512 K

100 หนวยเวลา ( Unit )


14 Cache ระดับ 3 ขนาด 1,024 K

200 หนวยเวลา ( Unit )

Cache ระดับ 3 ขนาด 2,048 K

400 หนวยเวลา ( Unit )

หนวยความจําหลัก

1,000 หนวยเวลา ( Unit )

เมื่อ CPU ตองการขอมูลเพื่อการประมวลผล ก็จะมองหาขอมูลทีต ่ องการดังกลาวเสียกอน จากใน Cache ระดับ 1 ซึ่งถาหาพบ ก็ จะใชเวลาเพียง ไมเกิน 1 หนวย แตถาไมพบ ก็จะไปมองหาที่ Cache ระดับ 2 ตอไป ถาหาพบ ก็จะใชเวลาไมเกิน 11 หนวย เวลา ( 1+10 ) แตถาหาไมพบ ก็ตองเสียเวลา มากกวา 11 หนวยเวลาเพือ ่ ไปคนหาในหนวยความจําหลัก หรือ ใน Cache ระดับ 3 ตอไป ถาไมมี Cache ระดับ 3 การหาขอมูลนั้น เมื่อหาจากใน Cache ทั้งระดับ 1 และ ระดับ 2 ไมพบ ก็จะเขาไปหาทีห ่ นวยความจํา หลักตอไป ซึ่งถาพบ ก็จะใชเวลามากกวา 11 ( 1+10 ) หนวยเวลา แตไมเกิน 1,011 ( 1+10+1,000 ) หนวยเวลา แตถามี Cache ระดับ 3 ก็จะทําการเขาไปคนหาใน Cache ระดับ 3 ตอไป ซึ่งเวลาทีใ่ ช ก็ขึ้นอยูกับขนาดของ Cache ระดับ 3 นั้นดวย ซึ่ง ถาหาพบใน Cache ระดับ 3 ก็จะใชเวลาที่มากกวา 11 หนวยเวลา แตนอยกวา 111 ( 1+10+100 ) หนวยเวลา สําหรับ Cache ระดับ 3 ขนาด 512KB และ นอยกวา 211 ( 1+10+100 ) สําหรับ Cache ระดับ 3 ขนาด 1,024 KB และ นอยกวา 411 ( 1+10+400 ) สําหรับ Cache ระดับ 3 ขนาด 2,048KB ซึ่งจะสังเกตุไดวา ถาสามารถหาขอมูลพบใน Cache ระดับ 3 นั้น เวลา ที่ใชงาน ก็นอยกวา การที่ไมมี Cache ระดับ 2 อยูมากกวาเทาตัว แตถา ไมพบละ? ถาไมพบขอมูลที่ตองการใน Cache ระดับ 3 ก็จะเสียเวลาในการคนหาที่มากขึ้น กอนที่จะไปคนหาใน หนวยความจําหลักตอไป ซึ่งตรงจุดนี้เอง ก็เปนผลทําให Performance ที่ไดลดลง แตอยางไรก็ตาม การทีม ่ ี Cache ระดับ 3 ขนาดใหญนั้น โอกาสที่จะทําใหคนหาขอมูลที่ตองการ นั้นก็มากขึ้น สําหรับอัตราสวนระหวาง Level 2 ตอ Level 3 นั้นก็มีสวนสําคัญ เชนเดียวกันกับ อัตราสวนระหวาง Level 1/Level 2 หากวา CPU มองหา ขอมูลที่ตองการใน Cache ระดับใดๆ ไมเจอ ก็จะทําการคนหาใน Cache ระดับถัดไป ซึ่งจะมีความเร็วชากวา แตมี ่ องการเจอนั้น ก็มีนอยกวา ขนาดใหญกวา แตอยางไรก็ตาม ถาใน Cache ระดับถัดไปนัน ้ ขนาดไมใหญ โอกาสทีจ ่ ะหาขอมูลทีต ( เพราะมีเนื้อที่ นอยกวา ทําใหโอกาสที่จะดึงขอมูลจาก RAM มา แลวตรงกับที่ตองการนัน ้ เปนไปไดนอยกวา ) ก็ทําให CPU นั้น เสียเวลา ในการคนหาไปอยางสูญเปลา ( ในกรณีทห ี่ าไมพบ ) แลวก็จะทําใหผล Performance นั้นชากวา จากทีค ่ วรจะเปน ปกติแลว อัตราสวนจะเปนระหวาง Cache ระดับถัดมาตอ Cache ระดับกอนหนา จะเปน 4:1 เชน Level 2 Cache /Level 1 Cache ของ Celeron จะเปน 128:32 ( 4:1 ) และ K6-3 จะเปน 256:64 ( 4:1 ) ยกเวนของ Pentium II ที่เปน 512:32 ( 16:1 ) ทาง AMD ก็ไดอางวา ดวย Cache 1Mb บน Mainboard นั้น จะทําให Performance เพิ่มขึ้น 3-4 % ( L3/L2 = 1024/256 = 4/1 ) ซึ่ง ปจจุบันนั้น ก็มี Mainboard ที่มี ทัง้ Cache 1M และ 512 K ใหเลือก เพราะฉะนั้น นี่คงเปนตัวชวยในการพิจารณาตัว  ค ี่ ด ิ จะใช AMD K6-3 วาควรจะใช Mainboard อะไรดี สําหรับการ disable Level 3 Cache นั้น คิดวา หนึ่งแลวนะครับ สําหรับผูท เปนไปได โดยผานทาง BIOS ซึ่งก็นาจะมีผลชวยในการ Overclock ใหไดมากขึ้น คราวนี้เราลองยอนกลับไปดูถงึ ตอนแรก ที่ผมเปรียบเทียบเรื่อง Cache กับการจดโนตยอลงสมุดนั้น เราอาจสรุปไดวา สมองของ เราเปน Cache ระดับ 1 เพราะเมื่ออานและเห็นวาขอความไหน หรือประโยคไหนที่นา จําทีส ่ ุด สําหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา ก็ คงอาจเล็งไวแลววา ตรงนี้ อาจารยตองเอามาออกขอสอบแนๆ ก็จะอานแลวทองจําเอาไว และ เมื่อเกินความสามารถทีจ ่ ะทองจํา ก็ทําการจดโนตยอไวในสมุดเลมเล็กๆ นั่นก็คือ Cache ระดับ 2 นั่นเอง และ บางทีในการอาน ก็อาจมีเรื่องที่นาสนใจมากๆ จด โนตยอไมไหว ก็อาจใชปากกาขีดขอความสําคัญๆหรือทําการคั่นหนาหนังสือตรงนั้นไว นั่นก็คือ Cache ระดับ 3 นั่นเองครับ ก็เห็นกันแลวนะครับ วา ขนาดของ Cache นั้น เปนสิ่งสําคัญ และ ความเร็วของ Cache นั้น ก็สําคัญเชนกัน แต ถาใหเลือก ระหวาง Celeron 300A ซึ่งมี Level 2 cache 128 K ทํางานที่ความเร็วเทาๆ กับ CPU กับ Pentium II 300 ที่มี L2 cache 512 K ทํางานเปนครึ่งหนึ่ง แตราคานั้นตางกันเทาตัว ในขณะที่ Performance ในดานที่ไมเกี่ยวกับ Business นั้น แทบไมตา งกัน ก็ ขอเลือก Celeron จะดีกวา ( ถูกกวาตั้งเยอะ ) แตหากวาตองใชงานดาน Business แลวละก็ คงจะตองเลือก CPU ที่มี Cache มากๆ ไวกอน เพราะถึงแมวา Cache นั้นจะเร็ว แตมีขนาดนอย เปอรเซ็นตในการหาขอมูลพบใน Cache ก็นอยลง ถึงแมจะถูกชดเชยดวยความเร็ว แตมน ั ก็ทําให Cache นั้นตอง รับ ภาระที่หนักมากขึ้นไปดวย


15

ตารางขางลางนี้ ก็แสดงถึง Feature ตางๆ ของ L1,L2,L3 cache ของ CPU ในแตละรุน

K6-2

K6-3

K7

Celeron

Xeon

PII

64kB

64kB

128kB

32kB

32kB

32kB

2

2

2

4

4

4

512kB+

256kB

512kB+

128kB

512kB+

512kB

FSB

1xCPU

1/3,1/2xCPU

1xCPU

1xCPU

1/2xCPU

L3 Size

-

512kB+

-

-

-

-

L3 Speed

-

FSB

-

-

-

-

Memory Access

FSB

FSB

2xFSB

FSB

FSB

FSB

L1 Size L1 'associativety' L2 Size L2 Speed

Relate Link o o o o o o

เรื่องนารูเกี่ยวกับ เรื่องนารูเกี่ยวกับ

Intel Celeron

RAM Cache and More Cache at OverClocker.com ... [Web Link] Cache and everything about cache at PC Guide ... [Web Link] Introduction about Cache at WebOpedia ... [Web Link] What's Cache

โดย

L2 Company. ... [Web Link]

© Copyright 1999. BeyondXtreme-ByX's eXtreme. All Rights Reserved. WebMaster@ByXtreme.com

ทําอยางไร เมื่อคอมพิวเตอรแฮงค


16

การใชงาน Windows 98 ปกติตองบอกวา เปนเรื่องธรรมดามาก ๆ เลยที่จะเกิดอาการแฮงค ของเครื่องคอมพิวเตอร อาจจะเรียกไดวาเปนผลเนื่องจาก ระบบของ Windows ยังมีปญหาตาง ๆ อยู โดยที่หลาย ๆ ทานก็ยังบอกวาไมมี Windows รุนไหนหรอกครับที่จะสมบูรณที่สุด ทุกอยางยอม ตองมีปญหา และมีการแกไขปรับปรุงไปเรื่อย ๆ ครับ เขาเรื่องกันดีกวา วาเราควรจะทําอยางไรดี เมื่อจู ๆ เครื่องคอมพิวเตอรทกี่ ําลังใชงาน (หรือเลน) อยางเมามัน เกิดอาการนิ่งไปซะดื้อ ๆ ซะนี่ แต อยาเพิ่งคิดนะครับ วาผมจะสอนวิธีแกไขปญหาตาง ๆ ที่จริงตองบอกวา การแกไขปญหาแบบนี้ทํา ไดยากมาก ๆ เลยครับ เพราะสาเหตุของการแฮงค มีไดรอ ยแปดพันเกา ตองไลไปทีละจุดทีเดียว จนกวาจะเจอตนเหตุของปญหานั้น ๆ จริง ๆ เอาเปนวา วันนี้ จะแนะนําสิ่งที่ควรทําในเบื้องตน เทานั้น ลองทําดูทีละขั้นตอนกันนะครับ อยาเพิ่งกดปุม Reset หรือปดเครื่องในทันที เมื่อเครื่องคอมพิวเตอรแฮงค หรือนิ่งคางไมยอมรับการทํางานตาง ๆ โดยปกติแลว อยา พยายามกดปุม Reset หรือปดเครื่องในทันที เพราะการทําแบบนั้น อาจจะมีผลทําใหอปุ กรณตาง ๆ โดยเฉพาะ ฮารดดิสก มีปญหาหรือเสื่อมสภาพไดเร็วขึ้น การปดเครื่อง ควรจะเปนวิธสี ุดทายที่จะทํา เมื่อไมสามารถทําอะไรไดแลวจริง ๆ เทานั้น พยายามปดโปรแกรมหรือซอฟตแวรที่คางอยู สิ่งแรกที่ควรทํา คือใหพยายามปดโปรแกรมหรือซอฟตแวรที่ใชงานอยูและเกิดการคาง ขึ้นมา โดยวิธีการคือ ใหกดปุม Ctrl + Alt + Del พรอม ๆ กันทั้ง 3 ปุม ซึ่งจะมีหนาตางเมนูของการ Close Program ขึ้นมา


17

ตรงนี้ หนาตาอาจจะไมเหมือนกับรูปตัวอยางนี้นกั ขึ้นอยูกับวาในเครื่องนั้น มีการเรียก ซอฟตแวรอะไรไวบาง แตหลักการของเมนูนี้คือ เราสามารถทําการเลือกปดซอฟตแวรบางตัว (ที่มี ปญหาหรือคางอยูขณะนั้น) ไดเลย โดยปกติ หากมีซอฟตแวรที่มีปญหาคางอยู มักจะมีขอความวา Not Responding ตอทายชื่อซอฟตแวรตวั นั้น ๆ ดวยเสมอ ก็ใหเลือกปดไปเลยครับ (ถายังสามารถ ปดได) โดยกดที่ปุม End Task ซึ่งหากไมมีปญหาอะไรมาก จะสามารถปดโปรแกรมนั้นไดทนั ที และหลังจากนัน้ ก็ควรที่จะสัง่ Restart Computer ใหมสักครั้ง กอนที่จะใชงานตอไป แตถาในขณะนั้น ไมสามารถปดซอฟตแวรตาง ๆ ไดเลย เราจะทําอะไรไดบาง อยางแรกคือ ให ทําการทดลองสั่ง Shutdown โดยการกดที่ปมุ Shut Down ซึ่งเครื่องอาจจะรับหรือไมรบั ก็ได ให ทดลองดูกอนครับ ถากดที่ Shut Down แลวก็ยังไมสามารถทําอะไรได ขั้นตอนตอไปคือการกดปุม Ctrl + Alt + Del พรอม ๆ กันซ้ําอีกครั้ง ถาอานตามคําอธิบายดานบนก็จะบอกวา เปนการ Restart Computer ใหม ครับ ในบางครั้ง เมื่อเราสั่ง Shutdown อาจจะมีเมนูขึ้นมาถามวา ยังมีซอฟตแวรทใี่ ชงานอยู จะใหรอ (Wait) หรือปดเครื่องไปเลย (Shut Down) เผื่อไววา บางครั้งเราอาจจะตองการเวลาบาง เพื่อใหมกี าร Close ซอฟตแวรตัวนัน้ จริง ๆ ตรงนี้ก็ใหเลือก Shut Down ไปเลยครับ

ทําไมตองปดซอฟตแวรเหลานี้กอนดวย หลาย ๆ ทานคงสงสัยสิครับ วาทําไมเราจึงตองปดซอฟตแวรเหลานีก้ อน ทั้ง ๆ ที่ ความเปนจริง แลว ถาเครื่องคาง เราก็กดปุม Reset หรือกดปุมปดเครื่องแลวเปดใหมเลยก็ได ก็ขอแนะนําหลักการ งาย ๆ ครับวา หากสามารถปดเครื่องแบบปกติได เราควรจะทดลองทําดูกอนครับ เพราะวาถาเรามี การปดเครื่องหรือ Shut Down ได จะเปนการเคลียรขอมูลตาง ๆ ที่ใชงานของฮารดดิสก ให เรียบรอยกอนการ Shut Down จริง ๆ ครับ และเมื่อเปดเครื่องใหม ก็จะสามารถใชงาน ตอไปได ตามปกติทันที (ถาหากไมมปี ญหาทางฮารดแวรจริง ๆ) จะเกิดอะไรขึ้น หากไมมีการ Shut Down กอนปดสวิทชไฟ ถาหากไมสามารถทําการ Shut Down ไดกอนการปดเครื่อง เมื่อเราเปดเครื่องมาใหมในครั้งตอ ๆ ไป Windows จะมีการตรวจสอบการทํางานของฮารดดิสกกอนเสมอ โดยการเรียกโปรแกรม Scandisk ขึ้นมาทํางาน เราสามารถขาม ขั้นตอนนี้ไปไดโดยการกด Enter เพื่อออกจากการทํา


18

Scandisk ไดเลย (แตปกติแลว ก็ควรจะรอใหเครื่อง Scandisk ใหเรียบรอยจะดีกวา) หรือในบางครั้ง หากมีปญหาคอนขางมากจริง ๆ เราอาจจะเห็นเมนูใหเลือกเขา Safe Mode ซึ่งควรที่จะเลือกเขา Sefe Mode สักครั้งหนึ่งกอน ถาหากเครื่องไมมปี ญหาอะไรจริง ๆ ก็สั่ง Restart Windows ใหม ทุกอยางก็ จะกลับมาทํางานเปนปกติเหมือนเดิมครับ Blue Screen คืออะไร หลาย ๆ คนคงจะเคยไดยินคํา ๆ นี้มาบางแลว ที่จริงแลว Blue Screen ก็คือการแฮงค ของเครื่อง คอมพิวเตอรแบบหนึ่งนัน่ เอง แตแทนทีจ่ ะมีอาการแบบ นิ่ง หรือคางไปเฉย ๆ ที่หนาจอ จะ กลายเปนสีฟา และมีตัวหนังสือบอกรายละเอียดตาง ๆ (ที่อานไมเห็นจะเขาใจเลย) สวนใหญแลว ก็ จะมีขอความบอกวา ใหกดคียอะไรก็ได เพือ่ ทํางานตอไป หรือกด Ctrl + Alt + Del เพือ่ ทําการ Restart Computer ถาหากเจอหนาจอแบบนี้ ก็มีหลักการเดียวกันครับ คือกดลองกดปุมอะไรก็ได กอน และพยายามทําการ Shut Down ใหได แตถาหากไมไดจริง ๆ ก็กด Ctrl + Alt + Del เพื่อบูท เครื่องใหมเลยครับ

Power Supply ของเคสรุนใหมแบบ ATX แถมทายสําหรับผูที่ใชเครื่องที่มีระบบ Power Supply แบบ ATX ซึ่งจะใชซอฟตแวรในการ ควบคุมสวิทช ปด-เปด ดังนัน้ หากเครื่องแฮงค ในบางครั้งอาจจะไมสามารถกดปดเครื่องได ใหทํา การกดปุม Power นั้นคางไวประมาณ 10 วินาทีครับ จะเปนการสั่งใหเครื่องปดได โดยไมตองอาศัย ซอฟตแวรมาชวย ปญหาสวนใหญ เกิดจากอะไรบาง สวนใหญของปญหาเครื่องคอมพิวเตอรคางก็มีไดมากมาย แตสาเหตุหลัก ๆ ก็ขอรวบรวมมาไว ตรงนี้ 1. การไมเขากันของอุปกรณตาง ๆ เชนเมนบอรดกับการดจอ หรือการดเสียง 2. การตอสายไฟ สายสงขอมูลตาง ๆ หลวมหรือตอไวไมแนนดีพอ 3. การเสียบแรม ขั้วตอสาย หรือ การด ตาง ๆ หลวมหรือไมแนน 4. ความสกปรกของจุดสัมผัสของอุปกรณ เชนขาของแรม ขั้วตอของการดตาง ๆ ในเครื่อง 5. ฮารดดิสก เริ่มมีปญหา หรือใกลจะเสีย


19

6. ระบบไฟ หรือระบบจายไฟไมดีพอ เชนไฟตกบอย ๆ หรือชุดจายไฟไมดี 7. การลงโปรแกรมไมสมบูรณ หรือมีปญหากับซอฟตแวรบางตัว 8. ความรอนของ ซีพียู พัดลมของ ซีพียู ตรวจสอบวายังทํางานไดปกติหรือไม 9. กอนที่จะเกิดปญหา ไดมีการทําอะไรบาง เชนลงโปรแกรมเพิ่ม หรือเพิ่มการดในเครื่อง นั่น อาจจะเปนสาเหตุหลักก็ได

ระเบิดศึก ยุค Intel Pentium Classic กับ AMD 5x86 และ AMD K5 [ 11 Apr. 1999 ] Intel Pentium ( Classic )

เพื่อแกปญหาการอางชื่อรุนของ CPU ในการขาย CPU เลียนแบบจากทาง AMD และ Cyrix ทาง Intel จึงตัดสินใจจดลิขสิทธิช ์ ื่อ CPU ของตน แต ชื่อที่เปนตัวเลขนั้น ไมสามารถจดทะเบียนลิขสิทธิ์ได จึงไดทําการเปลีย ่ นชือ ่ CPU ใน generation ที่ 5 ของตนเปน Pentium ( Pentium มีรากศัพทมาจาก Penta ที่แปลวา 5 ) ซึ่งตอมา ก็เรียกวา Pentium Classic ่ ใจใหแก และพรอมๆ กันนั้นเอง ก็ไดเกิด slogan ของ Intel ซึ่งจะติดมาพรอมๆกับ CPU ของตนวา "Intel Inside" เพื่อสรางความมัน ลูกคาของตน วาได CPU ของตน ( Intel ) แนๆ ทาง Intel ไดประกาศตัว CPU Intel Pentium ในป 1993 โดยเพิ่ม Cache ภายใน หรือ L1 Cache เปน 2 เทาจากรุน 486 คือ จาก 8 K เปน 16 K แตแบงหนาที่การทํางานของ Cache เปน 2 สวน คือ เปน Data Cache ใชสาํ หรับเก็บขอมูลที่จะใชประมวลผล มีขนาด 8 K และ อีกสวนหนึ่ง เปน Instruction Cache ซึ่งใชเก็บคําสั่งตางๆ ที่จะใชในการประมวลผล อีก 8 K ในสวนของทรานซิสเตอรภายใน ก็เพิ่มจาก 486 ซึ่งมีประมาณ 1.2 ลานตัว ไปเปน 3.1 ลานตัว และ ในสวนของการประมวลผล ก็ เปลี่ยนจากเดิมมาเปน 32 Bit แตในสวนของ FPU นั้นใช 64 Bit ดังนั้น pin ตรง interface ที่ใช ก็ตองรองรับการสง/รับ ขอมูลขนาด 64 Bit ดวย ทําใหตองเปลี่ยน Interface ดวย ทําให CPU Intel Pentium ไมสามารถใชบน Mainboard ของ 486 ได เรียก Interface นี้วา SPGA ซึ่งมีจํานวนชองขาสําหรับใส pin ทั้งหมด 296 ขา หรือ ที่เราเรียกกันจนติดปากวาเปน Socket 7 นั่นเอง และ ไฟเลี้ยงของ CPU ก็เปลี่ยนมาเปน 5 Volt ใน Pentium รุนแรกๆ ( Pentium 60 และ Pentium 66 ) แตตอมา3.3 Volt เพราะการใช ไฟที่ 5 Volt นั้น ทําใหความรอนที่เกิดขึ้นสูงมาก จึงไดลดไฟเลี้ยงลง รวมถึงเปลี่ยนมาใช system bus ที่ 50 , 60 และ 66 MHz ดวย


20 CPU Intel Pentium นี้ ไดเพิ่ม Architecture เขาไปใหมที่เรียกวา "super-scalar" ซึ่งก็ทําใหประสิทธิภาพโดยรวมเพิ่มขึ้นมาจาก 486 มาก โดยเฉพาะประสิทธิภาพในดานการประมวลผลเลขจํานวนเต็ม ที่เพิ่มขึ้นเปนเทาตัวเลยทีเดียว เรามาดูลักษณะเดนๆ ของ Intel Pentium กันดีกวา

• • • • • • • • • • • • • •

เปน Superscalar Architecture Dynamic Branch Prediction ( เกี่ยวกับการทํานายผลการคํานวนลวงหนา ) สําหรับหนวยประมวลผลเลขจํานวนเต็มเปน Pipeline ( 2 Pipeline ) หนวยประมวลผลเลขทศนิยม ก็เปน Pipeline ( 1 Pipeline ) Improved Instruction Execution Time แบง Cache ออกเปน 8 K สําหรับขอมูล และ อีก 8 K สําหรับ คําสั่ง ในสวนของ Cache ขอมูล จะเปน Cache แบบ WriteBack 64-Bit Data Bus Bus Cycle Pipelining Address Parity Internal Parity Checking Functional Redundancy Checking Execution Tracing สนับสนุนการทํางานแบบ Symmetric MuliProcessing หรือ SMP ทําใหสามารถใช Dual CPU ชวยกันประมวลผลได แตอยางไรก็ตาม ในชวงที่ Pentium วางตลาดไมนาน ก็มีขาวทีท ่ ําใหทาง Intel ตองสะอึก นั้นก็คือในชวงปลายป ( ประมา ลเดือน พฤศจิกายน ) 1994 ( พ.ศ. 2537 ) มีการพบ Bug หรือขอผิดพลาดในการคํานวนเลขทศนิยม ซึ่งเกิดขึ้นกับการหาร  เลย จนเปนขาวและทําใหผซ ู ื้อเกิดความลังเลอยูพอสมควร ทําให Intel ตองเรงแกปญหานี้ และ ออกแถลงการณแกขาวจนวุน ทีเดียว โดยทาง Intel ก็ยินดีเปลี่ยน CPU ทีม ่ ีปญหานั้นให ( รุนที่มีปญ  หาคือรุนแรกๆ ไดแก Pentium 60 และ Pentium 66 )

AMD 5x86 และ AMD K5 สําหรับ AMD นั้น เมื่อแยกตัวออกมาจาก Intel และ ผลิต CPU เลียนแบบ CPU ของ Intel โดยใช Microcode ของ Intel ซึ่ง ก็ผลิตมาจนถึงรุน AMD 5x86 ซึ่งก็เปน CPU ที่มีความเร็วมากถึง 133 MHz ใชตวั คูณที่ 4 ( 33x4 ) ทําใหประสิทธิภาพ โดยทั่วๆไป นั้นใกลเคียงกับ ระดับ Intel Penium 75 เลยทีเดียว แตโดยสถาปตยกรรมภายในแลว ก็เหมือนๆกับ 486DX นั่นเอง เพราะ ไมใช Superscalar Design เพียงแต มันเพิม ่ ความเร็วขึ้นมาเทานั้นเอง แตก็มีบางสําหรับบางคําสั่ง ที่มน ั สามารถทํางานไดเสร็จภายใน 1 รอบสัญญาณนาฬิกา


21

AMD 5x86 นั้น มี Cache ภายใน หรือ L1 Cache ขนาด 16 K และ เปนแบบ Write Back เปน CPU แบบ 32 Bit และ ใช ความกวางของเสนทางขอมูล 32 Bit รวมถึงสามารถอางตําแหนงได 32 Bit ดวย โดยราคานั้น ก็ถูกมากๆ และ คิดคุณภาพตอราคา ก็จด ั วาคุม  คามากๆ โดยใช Pin และ Mainboard แบบ 486 ได

และ ตอมา ทาง AMD ก็ไดหน ั มาผลิต CPU ที่เปนของตัวเองบาง โดยทําการออกแบบสถาปตยกรรมภายในใหมเองทั้งหมด และ เปลี่ยนชื่อ CPU ของตน ซึ่งจัดวาเปน Generation ที่ 5 เสียใหมวา AMD K5 ซึ่งในชวงแรกๆ ก็ยังคงเรียกวา AMD 5k86 เพื่อมิใหผูใชเกิดการสับสน และ เปรียบเทียบรุน  ของ CPU ไมถูก โดยสถาปตยกรรมของ AMD K5 นั้นได spec ตางๆ เปนเทาตัวของ Intel Pentium และไดมีการใช P-Rating ( หรือ PR ) เปนตัววัดประสิทธิภาพ เทียบกับ CPU ของ Intel Pentium ซึ่งประสิทธิภาพของ AMD K5 นั้น ก็จัดไดวา ดีเยี่ยมทีเดียว เพียงแต รุนนี้ออกมาชา และขาดการโปรโมทที่ดี ทําใหไมไดรับการนิยมเทาที่ควร ทั้งๆ ทีค ่ วามสามารถนัน ้ ก็เทียบเทากับ Intel Pentium ( จะมีก็แตในสวนของ FPU ที่ยังคงตามหลังอยู ) และ ราคานั้น ก็ถูกกวา Intel Pentium อยูพอสมควรเชนกัน เรามาดูลักษณะเดนๆ ของ AMD K5 บางดีกวา o o o o o o o o o o o o o

4-issue core with full out-of-order execution and completion แบง L1 Cache เปนสองสวน คือ 8 K สําหรับ Cache ขอมูล และ อีก 16 K สําหรับ Cache คําสั่ง ในสวนของ Cache ขอมูล จะเปน Cache แบบ WriteBack Dynamic, block-oriented branch prediction with speculative execution 5-stage RISC-like pipeline 6 parallel functional units High-performance FPU Validated software compatibility Static clock control with AMD-patented Digital Phase Lock Loop (DLL) circuitry 64-bit Pentium-compatible และใช Socket 7 เชนเดียวกับ Pentium ใช System Bus เปน 60 และ 66 MHz Compatibility with existing 586-class systems and supporting designs ใชไฟเลีย ้ ง CPU 3.52 MHz

ั นี้ ถูก AMD เขาซื้อ และ รวมเทคโนโลยี เขาเปน CPU ในยุคใหม ผมจะขอกลาวถึง NextGen 5x86 สักนิดหนึ่ง เพราะ บริษท ในชวงเวลาถัดมา โดย CPU ของ NextGen ในสมัยนั้น คือ 5x86 มีคุณสมบัติทด ี่ ูแลวนาสนใจมากๆ เลยทีเดียว แตก็มีขอดอย ที่นาเสียดายใชนอยเชนกัน มาดูลักษณะเดนๆของ Nx586 กันดีกวา o

Superscalar Execution


22 o o o o

มี 2 Pipeline และสามารถจัดการกับคําสั่งแบบไมเรียงลําดับได แบง Cache ระดับ 1 ออกเปน สวนขอมูล และ สวนคําสั่ง Branch Prediction 64-bit bus

ซึ่งดูๆแลว ก็เหมือนๆ กับ ทั้ง Pentium และ AMD K5 เลย แตยังครับ ยังมีอยู 2 จุด ที่เปนจุดเดน และ นาสนใจของ Nx586 o

RISC86 Microarchitecture จากพื้นฐานการทํางานของ RISC นั้น จะเร็วและ มีประสิทธิภาพโดยรวม สูงกวาแบบ CISC ดังนั้น การเพิ่มประสิทธิภาพใหกับ CPU ตระกูล x86 ซึ่งเปน CISC ก็โดยการ แปลงคําสั่งของ RISC มาใชบน CISC ซึ่งก็เรียกวาเปน RISC86 ซึ่งผลที่ไดก็คือ 1. ไดประสิทธิภาพแบบ RISC สําหรับคําสั่งของ x86 ที่เปน CISC 2. หนวยการทํางาน หรือ Execution Unit ก็จะมีขนาดเล็กลง 3. หนวยการทํางานจะมีประสิทธิภาพดีขึ้น 4. งายตอการเพิ่มหนวยการทํางานในภายภาคหนา ซึ่งนอกจากจะทําใหมีประสิทธิภาพสูงในชวงนั้นแลว ยัง เผื่อสําหรับอนาคตตอไปไดอีกดวย

o

On-chip L2 Cache Controller Nx586 นั้นจะมีตัวควบคุมการทํางานของ L2 Cache ( ที่อยูบน Mainboard ) อยูใน ตัว CPU เองเลย ทําใหสามารถควบคุมการทํางานใหไดประสิทธิภาพมาก กวาการทีจ ่ ะใหตัวควบคุมบน Mainboard เปนตัวควบคุม ซึ่งแนนอน การทํางานของ L2 Cache ก็จะทํางานดวยความเร็วที่เทาๆกับความเร็วของ CPU เลย ซึ่งก็ จะทําใหไดประสิทธิภาพสูงขึ้นอีก

ดูแลวนาจะมีประสิทธิภาพสูง และ เปนคูแขงทีน ่ ากลัวมากสําหรับ Intel Pentium เลยนะครับ แต Nx586 นั้น มีขอดอยทีท ่ ําให ความเดนของมันลดลงไปเลย ก็คือ 21. ใช Socket ที่ตา งจาก Pentium และ K5 อีกทั้งยังใชไฟเลีย ้ ง 4 Volt ดวย ทําใหตองออกแบบ Mainboard มา เฉพาะตัวเลย 22. ไมสนับสนุนการทํางานเชิงทศนิยม ทําใหไม compatible กับ คําสั่งเกาๆ บางคําสั่งของ 486 DX และ ประสิทธิภาพ ดานนี้ดอยลงไปถนัดตา ซึ่งจุดนี้หละครับ ที่ทาํ ใหมันไมเดน ไมดังนัก แต มันก็เปนเทคโนโลยี ที่ AMD นําไปใชในการพัฒนา CPU ของตนตอไป รายละเอียดเพิ่มเติม Write Back กับ Write Through เปนวิธีการเขียนขอมูลกลับลง ที่หนวยความจําหลัก โดยที่ Write Throught นั้น เมื่อมีการเขียนขอมูลลงบน Cache แลว ก็จะทําการ เขียนขอมูลลงบน หนวยความจําหลักดวย ทันที ซึ่งก็จะเสียเวลาในการเขาถึงหนวยความจําหลักอยูมาก ( เมื่อเทียบกับการเขาถึง หนวยความจํา Cache ) แต Write Back นั้นจะตางกัน โดย Write Back นั้นจะเก็บขอมูลบน Cache ใหนานทีส ่ ุด เมื่อมีการ Idle หรือ ้ ๆ ลงบน หนวยความจําหลัก ซึ่งก็ชวยลดเวลาลงอีกมาก ตองการใชเนื้อที่บน Cache ในการเก็บขอมูล อื่น จึงจะทําการเขียนขอมูลนัน เลยทีเดียว PR ( P-Rating ) P-Rating นั้น เปนมาตรในการวัดประสิทธิภาพของ CPU ที่งา ยตอความเขาใจ ซึ่งเกิดจากความรวมมือในการกําหนดมาตรฐานรวมกัน ระหวาง AMD, Cyrix, IBM และ SGS Thomson โดยใชโปรแกรม Winstone เปนตัวทดสอบประสิทธิภาพ ( ในสมัยนั้นใช Winstone 96 ) ทําไมตองเปน P-Rating? ์ ื่อ Pentium แลว AMD, Cyrix และ เจาอื่นๆ ก็ไมสามารถจะใชชื่อ Pentium ได ซึ่งแตรุน ก็เพราะวา เมื่อ Intel ตัดสินใจจดลิขสิทธิช 286, 386 หรือแมแต 486 ทีผ ่ า นมา ไมวาจะของ Intel , AMD , Cyrix หรือเจาไหนๆ ก็ใชชื่อนี้ได แตเมือ ่ เกิดเหตุการณนี้ขึ้น ก็อาจ สรางความงุนงงแกผูซื้อ วารุนใหมๆ ของ AMD, Cyrix นั้น จะเอาไปเทียบรุน  กับ Pentium ที่เทาไร จึงเกิดมาตรฐานนี้ข้น ึ มา การทดสอบประสิทธิภาพเพื่อหาคา PR นั้น ก็ทําโดยใช CPU Intel Pentium วัดประสิทธิภาพดวย Winstone ในระดับตางๆ จากนั้น จึง เอา CPU Intel Pentium ออก แลว เอา AMD K5 ( หรือ อื่นๆ ) ใสลงไปแทน แลว วัดประสิทธิภาพเปรียบเทียบกัน โดยที่อุปกรณอื่นๆ ยังคงเหมือนเดิม ตางกันที่ CPU เทานั้น


23 ถา AMD K5 นั้น มี P-Rating เปน 100 ( PR 100 ) นั่นก็หมายความวา CPU ตัวนั้นมีประสิทธิภาพที่เทียบเทา หรือ เหนือกวา CPU ของ Intel Pentium ที่ความเร็ว 100 MHz หรือ AMD K5 PR 133 ก็หมายความวา มีประสิทธิภาพในระดับเดียวกันหรือมากกวา Intel Pentium 133 MHz นั่นเอง แตอยางไรก็ตาม "PR" นั้น ก็ไมใชเปนตัวบอกความเร็วที่แทจริงของ ความเร็วของ CPU ดังที่ไดเห็นแลวจากตัวอยางขางตนของ AMD ปจจุบันนี้ ก็เหลือแต CPU ของ IBM และ Cyrix เทานั้น ที่ยังคงใช PR เปนตัวบอกรุนความเร็วของ CPU ของตน Pipelining คือการแบงหนาที่การทํางานของ CPU เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โดยแบงคราวๆ เปน 5 ขั้นตอน คือ o o

o o

o

Instruction Fetch หรือ ภาครับคําสั่ง จะทําหนาที่รับคําสั่งใหมๆ ทั้งจากหนวยความจําหลัก หรือจากใน Instruction Cache เขามา เพื่อสงตอใหภาคตอไปจัดการตอ Instruction Decode หรือ ภาคการแปลคําสัง่ คือ จะทําหนาที่แยกแยะคําสั่งตางๆ ของ CISC ซึ่งในตอนที่แลว เรา ทราบแลววา CISC นั้น ในแตละคําสั่ง จะมีขนาดที่ไมแนนอน ตรงสวนนี้ก็จะทําการซอยคําสั่งนั้นเปนคําสั่งยอยๆ ใหมี ความยาวเทาๆกัน ในลักษณะเชนเดียวกับ RISC เรียกคําสั่งยอยๆ นั้นวา Micro Operation Get Operands หรือ ภาครับขอมูล คือ รับขอมูลที่จะใชในการประมวลผลเขามาเก็บไว เชนจากขั้นตอนที่ 2 เรารูวา จะใชการ "บวก" ก็ตองรับคาทีจ ่ ะใชในการบวก มาดวยอีก 2 คา บางทีขั้นตอนนี้ ก็ถูกรวมเขากับขั้นตอนที่ 2 Execute หรือ ภาคประมวลผล เปนขั้นตอนที่ทาํ การประมวลผลตามคําสั่งและ operand ที่ไดรับมาจากขั้นที่ 2 และ 3 ซึ่ง ถาใหขั้นที่ 2 เปนการถอดรหัสวาเปนการบวก ขั้นที่ 3 รับคาที่จะบวก ขั้นนี้ ( ขั้นที่ 4 ) ก็จะทําการบวกใหไดผล ลัพธออกมา Write Result หรือ ภาคการเขียนขอมูลกลับ เมื่อทําการประมวลผลเสร็จสิ้น ผลลัพธที่ไดกจ ็ ะนําไปเก็บไวใน register หรือ ใน Data Cache ซึ่งบางที ขั้นตอนนี้ ก็ถูกมองรวมไวกับขั้นที่ 4

ดังจะเห็นไดวา เมื่อ CPU ไดรบ ั คําสั่งเขามาแลว ก็จะทําการแปลงหรือถอดรหัสใหเปนคําสั่งที่ CPU เขาใจ แลวจึงทํางานตาม คําสั่งนั้นๆ ซึ่งในขณะที่ทาํ งานแตละคําสั่งนั้น ก็ตองรอใหทําครบทุกขั้นตอนเสียกอน จึงจะรับคําสั่งใหมๆ เขามาได การทํางาน แบบ Pipelining นั้น ก็จะชวยใชชวงเวลาใหคม ุ คา ให CPU ทํางานไดเต็มประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยในขณะที่รับคําสั่งเขามาก็จะ ทําการสงตอให ภาคแปลคําสั่ง เมื่อสงตอให แลว ก็ทําการรับคําสั่งถัดไปทันที และ เมื่อ ภาคแปลคําสั่งไดรับคําสั่ง ก็จะทํา การแปล และ แยกแยะคําสั่ง แลวสงตอใหภาครับขอมูลตอไป เปนทอดๆ ซึ่งทําใหสามารถทํางานไดหลายๆ คําสั่งในขณะ เวลาเดียวกัน การทํางานแบบ Pipeline นี้ ก็ชวยเพิ่มประสิทธิภาพของ CPU ไดอีกมากมายเลยทีเดียว Super Scalar อีกวิธีหนึ่งสําหรับเพิ่มประสิทธิภาพของ CPU นั่นก็คือ การให CPU นั้นสามารถทํางานหลายๆ คําสั่งไดพรอมๆกัน ใน 1 สัญญาณนาฬิกา หรือมีหลายๆ Pipeline ทําใหสามารถทํางานไดหลายๆ คําสั่งพรอมๆ กันได เรื่องของ Pipeline และ SuperScalar สามารถอานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ Pipeline and SuperScalar ครับ

<< Prev : Page 1

Next : Page 3 >>


24

ชวงตนยุคที่ 6 ( ของ CPU ) [ 11 June 1999 ] Intel Pentium Pro ( P64C )

ในราวๆ เดือนพฤศจิกายน ป ค.ศ. 1995 Intel ก็ไดเปดตัว CPU ในยุคที่ 6 ของตน โดยมี CodeName วา "P6" ซึ่งพัฒนาและปรับปรุงการทํางานเพิ่มเติมขึ้นมาอีก พอสมควรจาก Pentium Classic แตไดมีการยาย Cache ภายนอก ( หรือ Cache ระดับ 2 , L2 Cache ) ซึ่งปกติแลวจะวางอยูบน Mainboard มาไวที่ แผน Silicon เดียวกันกับ CPU เลย ( แตไมไดอยู ภายใน CPU ) เพื่อเพิ่มความเร็วในการทํางานของ L2 Cache และ การเพิ่มความเร็วในการเขาถึง และดึง ขอมูลจากใน Cache ... แตก็ดวยเหตุที่ตองรวม เอา Cache เขาไปดวยนี้เอง ทําใหราคาของ CPU นั้นสูงเอามากๆ Intel ไดเปลี่ยนแนวคิดของตัวเอง โดยหันมาใชการประมวลผลแบบ RISC ใน CPU ของตนบาง ดวยการดัดแปลงชุดคําสั่งสําหรับ x86 ของตนใหเปน ชุดคําสั่ง ของ RISC ที่เล็กกวา เร็วกวา และ งายกวาเดิม เรียกวาเปนชุดคําสั่ง RISC86 Pentium Pro มี ชุด Pipeline 3 ชุด ซึ่งมากกวา Pentium Classic ซึ่งมีเพียง 2 ชุด และมีการแยกขั้นตอนการทํางานออกเปนถึง 14 ขั้นตอน และยังสนับสนุนการ ทํางาน แบบคาดเดาคําสั่งที่จะตองเรียกใชลวงหนาได ซึ่งเรียกวา Speculative Execution แต Intel เรียกการทํางานนี้วา เปน Dynamic Execution อีกสิ่งหนึง่ ที่เปลี่ยนไป ก็คือ Interface ที่ใช ซึ่งจากเดิมใชบน Socket 7 ก็หันมาใชที่ Socket 8 แทน ทําใหไมสามารถใชงานไดกับ Mainboard ของ Pentium Classic แนนอน จะใชรุนนี้ ก็ตอ งซื้อ Mainboard ใหมดวย สิ่งที่นาแปลกใจ สําหรับ Pentium Pro อยางหนึ่ง ก็คือ ขนาดของ Cache ภายใน หรือ Cache ระดับ 1 ที่ยังคงมีเพียง 16 K เทานั้น เทาๆ กับ Pentium Classic เลย แต ก็ชดเชยจุดดอยตรงนี้ดว ย Cache ระดับ 2 ที่มีขนาดใหญ และมีใหเลือกหลายรุน คือรุนที่มี Cache ระดับ 2 ขนาด 256 KB, 512 KB หรือ 1 MB และ ทํางานดวยความเร็ว เดียวกับ CPU เพราะอยูบน Silicon เดียวกัน Pentium Pro นี้ โดยมากจะถูกนํามาใชเปน Server มากกวาที่จะเปน Desktop PC เพราะ มันสนับสนุนการทํางานแบบ SMP หรือ Symmetric MultiProcessing ซึ่งทําใหใช CPU ได หลายตัว บน Mainboard ตัวเดียวกันได ทําใหชวยเพิม่ เสถียรภาพในการทํางาน สนับสนุนเรื่องของ Fault Tolerant ดวย เมื่อ CPU ตัวใดตัวหนึ่งเสียหาย อีกตัวหนึ่งก็จะทํางานแทนที่ได และยังชวยสนับสนุนการประมวลผลแบบขนานอีกดวย

Intel Pentium MMX ( P55C )


25

ในชวงตนป ค.ศ. 1997 Intel ก็ไดเปดตัวเทคโนโลยีใหมของตน คือ MMX หรือ MultiMedia eXtension ขึ้นมา โดยมีจุดประสงค เพื่อใหชวยเพิ่มความสามารถใน ดาน Multimedia เพราะในปจจุบันนี้ Computer และงานดาน Multimedia แทบจะแยกกันไมออกแลว ดวยเหตุนี้เอง ทาง Intel จึงไดรวมชุดคําสั่ง MMX เขามา ใน CPU ตระกูล Pentium ของตนดวย เพื่อเปนจุดขายใหม และ สราง มาตรฐานใหมของตนขึ้นมา มาดูกันดีกวาครับ วา Pentium MMX หรือ P55C นี้ มีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจาก Pentium Classic หรือ P54C บาง อันดับแรกเลย คือชุดคําสั่ง MMX ไงละครับ อันนี้ของแนอยูแลว :-) ตอมาคือขนาดของ Cache ภายใน ที่เพิม่ ขึ้นมาเปนเทาตัวจากเดิม ซึ่งมี Data Cache 8 K และ Instruction Cache 8 K ก็ถูกเพิ่มอีกเทาตัวเปน Data Cache 16 K และ Instruction Cache 16 K ในสวนที่เปลี่ยนแปลงอีกอยาง ก็คือ เรื่องของ ไฟเลี้ยง ซึ่ง Pentium Classic นั้น ใชไฟเลี้ยง 3.3 Volt แต Pentium MMX นั้น จะใชไฟเลี้ยงเปน 2.8 Volt ที่ CPU core แต ในสวนของ CPU I/O ยังคงเปน 3.3 V. ในรายละเอียดปลีกยอยของสถาปตยกรรมภายใน ก็ไดมีการนําเอาเทคโนโลยีบางสวนจาก Pentium Pro ซึ่งจัดเปน CPU ในยุคที่ 6 ของ Intel ( P6 ) ที่เปดตัวออกมา กอนหนานี้ไมนานนัก ไดแก ความสามารถในเชิงของ Branch Target Buffer หรือ BTB ซึ่งเกี่ยวของกับการทํานายผลการคํานวนลวงหนา ... ชวยเพิ่มความเร็วในการ ประมวลผลไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ยงั มีการพัฒนา / ปรับปรุง ในเชิงของ Return Address Prediction อีกดวย อีกทั้งยังสามารถทําการถอดรหัส และแยกการทํางานออกเปน 2 Pipe พรอมๆ กันได เปน Pipe จํานวนเต็ม และ MMX ซึ่งสามารถทํางานไปพรอมๆกันไดเลย สรุปรายละเอียด ของ CPU Intel Pentium MMX o o o o o o o o o o o

มีตั้งแตรุนความเร็ว 166 MHz ถึง 233 MHz ใชเทคโนโลยี ขนาด 0.35 micron Cache ระดับ 1 มีขนาดเปนเทาตัวของ Pentium Classic คือเปน 32 K Die Size มีขนาด 141 ตารางมิลลิเมตร เพิ่มจํานวนของการ Write Buffer จาก 2 เปน 4 นําเทคโนโลยีเรื่อง Branch Prodiction ( Branch Target Buffer ) จาก Pentium Pro มาใช พัฒนาเรื่อง Return Stack ซึ่งแรกเริ่มเดิมทีนั้นมีใน Cyrix/IBM 6x86 เพิ่ม step การทํางานของ U และ V Pipeline อีก 1 step พัฒนาเกี่ยวกับการทํางานแบบขนานของ Pipeline U และ V ชุดคําสั่ง MMX ใชไฟเลี้ยงใน CPU core 2.8 V แต ใชสําหรับ CPU I/O เปน 3.3 V.

Pentium MMX นี้ ยังคงเปน CPU ในรุนที่ 5 ของ Intel จะจัดเปนรุนที่ 5.1 ก็คงได ถึงแมจะออกมาทีหลัง Pentium Pro ซึ่งจัดเปน CPU ในรุนที่ 6 ของ Intel ก็ตามแต

AMD K6


26 ในวันที่ 2 เมษายน ป ค.ศ. 1997 ทาง AMD เอง ก็ไดทําการเปดตัว CPU ในรุนที่ 6 ของตนขึ้นมาบาง เพื่อหมายจะมาแขงกับ Intel Pentium MMX นั่นก็คือ AMD K6 ยังคงจําเรื่องของ NextGen ไดไหมครับ บริษัทนี้ถูก AMD ซื้อและทําการรวมเทคโนโลยีเขามาดวย ซึ่งในขณะที่ซื้อนั้น ทาง NextGen ก็ไดออกแบบ CPU ในรุนที่ 6 ของตนไว แลว คือ Nx686 ซึ่ง AMD ก็เลยไดถือโครงสรางทีน่ าสนใจของ Nx686 มารวมเขากับ เทคโนโลยีของตน และ เพิ่มชุดคําสั่ง MMX ของตนเองเขาไปดวย ทําใหได K6 ออกมา MMX ของ AMD K6 นั้น ถึงแมจะมีจํานวนชุดคําสั่งเทาๆ กัน มีคําสั่งเหมือนๆกันกับ Intel แตกระบวนการทํางานก็แตกตางกันไป เพราะ ถาทําในกระบวนการเดียวกัน ก็จะถือเปนการ ลวงละเมิดลิขสิทธิ์ของ Intel ซึ่งไดจดไวกอนแลว แตอยางไรก็ตาม MMX ของ AMD ก็ใชงานไดกับทุก Application ที่สนับสนุนการทํางานของ Intel MMX และใหประสิทธิภาพที่ไดผล พอๆ กัน ถึงดีกวาดวยซ้ํา สําหรับบางงาน ( AMD เรียก MMX ของตนวาเปน MMX enhanced )

สําหรับในรุนแรกนั้น AMD ไดเปดตัวที่ความเร็ว 166, 200 และ 233 MHz ซึ่งมี transistor ภายใน 8.8 ลานตัว และใชเทคโนโลยี ขนาด 0.35 micron และตอมาก็ได เปดตัว รุนความเร็วที่ระดับ 266 และ 300 MHz แลวก็ไดหันมาใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 micon ดวย ซึ่งในชวงนั้นเอง ก็ไดทําการตัดราคา CPU ของตนลงอีก ดวย เพื่อหมายจะ แขงกับ Intel Pentium MMX ( คงไมหวังจะแขงกับ Pentium Pro ละครับ เพราะ เนนตลาดคนละดานกัน ) สิ่งที่ AMD K6 มีเพิ่มเติมเหนือไปกวา Intel Pentium MMX ที่เห็นไดชัดๆ ก็คือ ขนาดของ Cache ภายใน หรือ Cache ระดับ 1 ( L1 Cache ) ซึ่งจะมีขนาดเปน เทาตัวของ Intel Pentium MMX ซึ่งก็คือ มี Data Cache 32 K และ Intruction Cache 32 K แตสิ่งที่ทําให AMD K6 ไมเหนือไปกวา Intel Pentium MMX อยางสมบูรณ นั่นก็คือ เรือ่ งของ การคํานวนเชิงทศนิยม เพราะยังคงทําไดชา กวา ณ ที่ CPU ความเร็วเทาๆกัน ซึ่งใน ขณะนั้น เกมส 3 มิติ ( 3D ) กําลังเปนที่แพรหลาย และเปนที่ทราบกันวา การคํานวนเชิง 3 มิตินั้นตองใช การคํานวนเชิงทศนิยมอยางหนัก ตรงจุดนี้เอง ทีท่ ําให Intel Pentium MMX ยังคงเหนือกวา ( ณ ที่ความเร็วของ CPU เทาๆกันนะ ) แตดวยปจจัยของราคา ซึ่ง ในขณะนัน้ ราคาของ AMD K6 300 MHz นั้นพอๆกัน หรือแพงกวาเพียงเล็กนอย กับ Intel Pentium MMX 233 MHz และดวยความสามารถ ในการคํานวนเชิงทศนิยมของ K6 300 MHz นั้น ก็เทียบไดกับ Intel Pentium MMX 233 MHz ดวย แตดวยความเร็วดานอื่นๆ ที่เหนือกวา ก็เลยเปนจุดที่ชดเชยกันได อยาง ลนเหลือ ... มาดู สรุปรายละเอียดของ AMD K6 กันดีกวานะครับ o o o o

o

มีความเร็วตั้งแต 166MHz ถึง 300MHz ใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 และ/หรือ 0.35 micron จัดเปน CPU ในรุนที่ 6 ของ AMD เปน RISC86 CPU ซึ่งมีสถาปตยกรรมดังนี้ มี 7 หนวยประมวลผลแบบขนาน สามารถถอดรหัสของ x86 ไปยัง RISC86 ไดทีละหลายๆคําสั่ง สามารถทํานายผลการประมวลผลลวงหนาได 2 ระดับ ( Branch Prediction ) สามารถคาดเดาคําสั่งทีจ่ ะตองทํางานลวงหนาได ( Speculative Execution ) สนับสนุนการทํางานแบบ Out-Of-Order Execution ( เปน Feature ที่ใชใน Pipeline ) สนับสนุนการทํางานแบบ Data Forwarding ( เปน Feature ที่ใชใน Pipeline ) มีชุดคําสั่งเพิ่มเติมเพื่อจัดการกับดาน MultiMedia ซึ่งก็คือชุดคําสั่ง MMX นั่นเอง

จริงๆ แลวในขณะที่ทาง AMD เปดตัว K6 ไดไมนาน Intel ก็ไดเปดตัว Intel Pentium II ขึ้นมาแขง หมายจะกลบรัศมีของ K6 ดวย ซึ่งความจริง ก็ควรจะจัดเปรียบเทียบ K6 กับ Pentium II แตดวยสถาปตยกรรมแลว ก็เลยขอเปรียบเทียบ K6 กับ Pentium MMX แทน ก็แลวกันนะครับ ... อาจเปนการไมแฟรสาํ หรับ Pentium MMX สักหนอย เพราะยังคงเปน CPU ในรุนที่ 5 แต AMD K6 เปนรุนที่ 6 แลว


27 ตารางเปรียบเทียบ สรุปความสามารถดานตางๆ ระหวาง Intel Pentium MMX , Intel Pentium Pro และ AMD K6

Processor Feature

AMD K6

RISC core Superscalar Speculative execution Out of order execution Data forwarding Register renaming Simple x86 decoders Sophisticated x86 decoders Long x86 decoders Vector x86 decoders Execution Pipelines Branch prediction Advanced 2 level branch prediction Branch history table entries Branch target cache entries Branch prediction accuracy MMX technology High performance FPU L1 instruction and data cache Industry compatible SMM Latency ( ยิ่งนอยยิ่งดี )

Yes / 6 issue

Pentium Pro Pentium MMX Yes / 5 issue Yes

No

Yes Yes Yes Yes 2 1 1 6

No No No No 1 1 2

2 1 5 Yes Yes

8,192 16 95% Yes 32K + 32K 2 clock

No 256

512 0 90% No Yes 8K + 8K Yes 5-7 clock

75-80% Yes 16K + 16K 2 clock

รายละเอียดเพิ่มเติม •

MMX MMX เทคโนโลยีนั้น เปนชุดคําสั่งภายใน CPU ที่เพิ่มเขามาอีก 57 คําสั่ง เพือ่ จัดการกับงานในมัลติมีเดีย โดยเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรมทํางานเกี่ยวกับระบบเสียง (Audio) ภาพกราฟก 2 มิติ ( 2D ) ภาพกราฟก 3 มิติ ( 3D ) ,ภาพเคลือ่ นไหวตางๆ และรวมไปถึงระบบการวิเคราะหและจดจําเสียงพูด ( Voice Recognition ) และการสื่อสารผาน โมเด็ม โดย MMX นี้ เปนชุดคําสั่ง ที่ใชสถาปตยกรรมแบบ SIMD กลาวคือ สามารถประมวลผลดวยคําสั่งเดียวกัน แตใชชดุ ขอมูลตางกันได พรอมๆ กัน ( SIMD : Single Instrunction Multiple Data stream ) เรียกวาเปนการประมวลผลแบบขนาน หรือ Parallel Processing เรื่องของ SIMD นี้ สามารถอานเพิ่มเติมไดที่ สถาปตยกรรมแบบ SIMD ครับ เทคโนโลยีนี้ ทาง Intel เองก็ไดพยายามผลักดันใหผูผลิต Software และ Hardware ตางๆ ใหสราง Application และ Driver ที่ชวยสนับสนุนการทํางานของ MMX เพื่อ จะไดใชประโยชนในจุดนี้อยางเต็มที่ แตในความเปนจริง จนถึง ณ ปจจุบันนี้ ก็มีผูผลิต Software เพียงไมกเี่ จาเทานัน้ ที่ออกแบบมาเพือ่ MMX อาจกลาวไดวา เปนเทคโนโลยีที่ไมสําคัญเทาไรนัก ... แตจําเปนตองมี เพราะเหมือนกับเปน Standard สําหรับ CPU ในขณะนี้ไปเสียแลว ( หลังจาก Intel ประกาศเปดตัว MMX บริษัทผูผลิต CPU อื่นๆ ก็หนั มาจับ MMX ใส CPU ของตนตามไปดวย ทัง้ AMD , Cyrix และแมแตนองใหมๆ อยาง IDT หรือ RISE ก็จับเจา MMX นี้ใสลงใน CPU ของ ตนดวย ) จําเปนไหม? สําหรับ MMX กับงานดาน Business สําหรับผม คิดวาไมจําเปน เพราะแทบจะไมชวยอะไรเลย เวนเสียแตงานดาน Presentation ซึ่งจําเปนตองใช Multimedia มาสนับสนุนดวย สําหรับ Software ที่สนับสนุน MMX นี้ ที่เห็นเดนชัดเลย ก็มี Adobe Photoshop ซึ่งมี Patch ให upgrade ใชคําสั่ง MMX ได ทําใหการทํางานในบางดาน ทําไดเร็ว ขึ้นอยางเห็นไดชดั

Speculative Execution ( หรือที่ Intel เรียก Dynamic Execution )


28 เปนกระบวนการทํางานเมื่อทํางานคําสั่งใดๆ เสร็จเพียงครึ่งทางกอน แลวรอดูวา มีคําสั่งไหน ที่ตองการใชในขั้นตอไป และเรียกใชมันกอน ( เปนกระบวนการของ Out-Of-Order Execution ) ทําใหชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานขึ้นอีกระดับ •

Out-Of-Order Execution


29

ชวงตนยุคที่ 6 ( ของ CPU ) [ 11 June 1999 ] Intel Pentium Pro ( P64C )

ในราวๆ เดือนพฤศจิกายน ป ค.ศ. 1995 Intel ก็ไดเปดตัว CPU ในยุคที่ 6 ของตน โดยมี CodeName วา "P6" ซึ่งพัฒนาและปรับปรุงการทํางานเพิ่มเติมขึ้นมาอีก พอสมควร จาก Pentium Classic แตไดมีการยาย Cache ภายนอก ( หรือ Cache ระดับ 2 , L2 Cache ) ซึ่งปกติแลวจะวางอยูบน Mainboard มาไวที่ แผน Silicon เดียวกันกับ CPU เลย ( แตไมไดอยู ภายใน CPU ) เพื่อเพิ่มความเร็วในการทํางานของ L2 Cache และ การเพิ่มความเร็วในการเขาถึง และดึง ขอมูลจากใน Cache ... แตก็ดวย เหตุที่ตองรวมเอา Cache เขาไปดวยนี้เอง ทําใหราคาของ CPU นั้นสูงเอามากๆ Intel ไดเปลี่ยนแนวคิดของตัวเอง โดยหันมาใชการประมวลผลแบบ RISC ใน CPU ของตนบาง ดวยการดัดแปลงชุดคําสั่งสําหรับ x86 ของตนใหเปน ชุดคําสั่ง ของ RISC ที่เล็ก กวา เร็วกวา และ งายกวาเดิม เรียกวาเปนชุดคําสั่ง RISC86 Pentium Pro มี ชุด Pipeline 3 ชุด ซึ่งมากกวา Pentium Classic ซึ่งมีเพียง 2 ชุด และมีการแยกขั้นตอนการทํางานออกเปนถึง 14 ขั้นตอน และยังสนับสนุนการ ทํางาน แบบคาดเดาคําสั่งที่จะตองเรียกใชลวงหนาได ซึ่งเรียกวา Speculative Execution แต Intel เรียกการทํางานนี้วา เปน Dynamic Execution อีกสิ่งหนึง่ ที่เปลี่ยนไป ก็คือ Interface ที่ใช ซึ่งจากเดิมใชบน Socket 7 ก็หันมาใชที่ Socket 8 แทน ทําใหไมสามารถใชงานไดกับ Mainboard ของ Pentium Classic แนนอน จะใชรุนนี้ ก็ตอ งซื้อ Mainboard ใหมดวย สิ่งที่นาแปลกใจ สําหรับ Pentium Pro อยางหนึ่ง ก็คือ ขนาดของ Cache ภายใน หรือ Cache ระดับ 1 ที่ยังคงมีเพียง 16 K เทานั้น เทาๆ กับ Pentium Classic เลย แตก็ชดเชยจุดดอยตรงนี้ดวย Cache ระดับ 2 ที่มีขนาดใหญ และมีใหเลือกหลายรุน คือรุนที่มี Cache ระดับ 2 ขนาด 256 KB, 512 KB หรือ 1 MB และ ทํางานดวย ความเร็วเดียวกับ CPU เพราะอยูบน Silicon เดียวกัน Pentium Pro นี้ โดยมากจะถูกนํามาใชเปน Server มากกวาที่จะเปน Desktop PC เพราะ มันสนับสนุนการทํางานแบบ SMP หรือ Symmetric MultiProcessing ซึ่งทําใหใช CPU ได หลายตัว บน Mainboard ตัวเดียวกันได ทําใหชวยเพิม่ เสถียรภาพในการทํางาน สนับสนุนเรื่องของ Fault Tolerant ดวย เมื่อ CPU ตัวใดตัวหนึ่งเสียหาย อีกตัวหนึ่งก็จะทํางานแทนที่ได และยังชวยสนับสนุนการประมวลผลแบบขนานอีกดวย

Intel Pentium MMX ( P55C )


30 ในชวงตนป ค.ศ. 1997 Intel ก็ไดเปดตัวเทคโนโลยีใหมของตน คือ MMX หรือ MultiMedia eXtension ขึ้นมา โดยมีจุดประสงค เพื่อใหชวยเพิ่มความสามารถในดาน Multimedia เพราะในปจจุบันนี้ Computer และงานดาน Multimedia แทบจะแยกกันไมออกแลว ดวยเหตุนี้เอง ทาง Intel จึงไดรวมชุดคําสั่ง MMX เขามาใน CPU ตระกูล Pentium ของตนดวย เพือ่ เปนจุดขายใหม และ สราง มาตรฐานใหมของตนขึ้นมา มาดูกันดีกวาครับ วา Pentium MMX หรือ P55C นี้ มีอะไรเปลี่ยนแปลงไปจาก Pentium Classic หรือ P54C บาง อันดับแรกเลย คือชุดคําสั่ง MMX ไงละครับ อันนี้ของแนอยูแลว :-) ตอมาคือขนาดของ Cache ภายใน ที่เพิม่ ขึ้นมาเปนเทาตัวจากเดิม ซึ่งมี Data Cache 8 K และ Instruction Cache 8 K ก็ถูกเพิ่มอีกเทาตัวเปน Data Cache 16 K และ Instruction Cache 16 K ในสวนที่เปลี่ยนแปลงอีกอยาง ก็คอื เรื่องของ ไฟเลี้ยง ซึ่ง Pentium Classic นั้น ใชไฟเลี้ยง 3.3 Volt แต Pentium MMX นั้น จะใชไฟเลี้ยงเปน 2.8 Volt ที่ CPU core แต ในสวนของ CPU I/O ยังคงเปน 3.3 V. ในรายละเอียดปลีกยอยของสถาปตยกรรมภายใน ก็ไดมีการนําเอาเทคโนโลยีบางสวนจาก Pentium Pro ซึ่งจัดเปน CPU ในยุคที่ 6 ของ Intel ( P6 ) ที่เปดตัวออกมากอนหนา นี้ไมนานนัก ไดแก ความสามารถในเชิงของ Branch Target Buffer หรือ BTB ซึ่งเกี่ยวของกับการทํานายผลการคํานวนลวงหนา ... ชวยเพิ่มความเร็วในการประมวลผลไดอีกทาง หนึ่ง นอกจากนี้ยงั มีการพัฒนา / ปรับปรุง ในเชิงของ Return Address Prediction อีกดวย อีกทั้งยังสามารถทําการถอดรหัส และแยกการทํางานออกเปน 2 Pipe พรอมๆกันได เปน Pipe จํานวนเต็ม และ MMX ซึ่งสามารถทํางานไปพรอมๆกันไดเลย สรุปรายละเอียด ของ CPU Intel Pentium MMX o o o o o o o o o o o

มีตั้งแตรุนความเร็ว 166 MHz ถึง 233 MHz ใชเทคโนโลยี ขนาด 0.35 micron Cache ระดับ 1 มีขนาดเปนเทาตัวของ Pentium Classic คือเปน 32 K Die Size มีขนาด 141 ตารางมิลลิเมตร เพิ่มจํานวนของการ Write Buffer จาก 2 เปน 4 นําเทคโนโลยีเรื่อง Branch Prodiction ( Branch Target Buffer ) จาก Pentium Pro มาใช พัฒนาเรื่อง Return Stack ซึ่งแรกเริ่มเดิมทีนั้นมีใน Cyrix/IBM 6x86 เพิ่ม step การทํางานของ U และ V Pipeline อีก 1 step พัฒนาเกี่ยวกับการทํางานแบบขนานของ Pipeline U และ V ชุดคําสั่ง MMX ใชไฟเลี้ยงใน CPU core 2.8 V แต ใชสําหรับ CPU I/O เปน 3.3 V.

Pentium MMX นี้ ยังคงเปน CPU ในรุนที่ 5 ของ Intel จะจัดเปนรุนที่ 5.1 ก็คงได ถึงแมจะออกมาทีหลัง Pentium Pro ซึ่งจัดเปน CPU ในรุนที่ 6 ของ Intel ก็ ตามแต

AMD K6

ในวันที่ 2 เมษายน ป ค.ศ. 1997 ทาง AMD เอง ก็ไดทําการเปดตัว CPU ในรุนที่ 6 ของตนขึ้นมาบาง เพื่อหมายจะมาแขงกับ Intel Pentium MMX นั่นก็คือ AMD K6 ยังคงจําเรื่องของ NextGen ไดไหมครับ บริษัทนี้ถูก AMD ซื้อและทําการรวมเทคโนโลยีเขามาดวย ซึ่งในขณะที่ซื้อนั้น ทาง NextGen ก็ไดออกแบบ CPU ในรุนที่ 6 ของตนไว


31 แลว คือ Nx686 ซึ่ง AMD ก็เลยไดถือโครงสรางทีน่ าสนใจของ Nx686 มารวมเขากับ เทคโนโลยีของตน และ เพิ่มชุดคําสั่ง MMX ของตนเองเขาไปดวย ทําใหได K6 ออกมา MMX ของ AMD K6 นั้น ถึงแมจะมีจํานวนชุดคําสั่งเทาๆ กัน มีคําสั่งเหมือนๆกันกับ Intel แตกระบวนการทํางานก็แตกตางกันไป เพราะ ถาทําในกระบวนการเดียวกัน ก็จะถือเปนการ ลวงละเมิดลิขสิทธิ์ของ Intel ซึ่งไดจดไวกอนแลว แตอยางไรก็ตาม MMX ของ AMD ก็ใชงานไดกับทุก Application ที่สนับสนุนการทํางานของ Intel MMX และใหประสิทธิภาพที่ไดผล พอๆ กัน ถึงดีกวาดวยซ้ํา สําหรับบาง งาน ( AMD เรียก MMX ของตนวาเปน MMX enhanced )

สําหรับในรุนแรกนั้น AMD ไดเปดตัวที่ความเร็ว 166, 200 และ 233 MHz ซึ่งมี transistor ภายใน 8.8 ลานตัว และใชเทคโนโลยี ขนาด 0.35 micron และตอมาก็ได เปดตัว รุนความเร็วที่ระดับ 266 และ 300 MHz แลวก็ไดหันมาใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 micon ดวย ซึ่งในชวงนั้นเอง ก็ไดทําการตัดราคา CPU ของตนลงอีก ดวย เพื่อหมายจะ แขงกับ Intel Pentium MMX ( คงไมหวังจะแขงกับ Pentium Pro ละครับ เพราะ เนนตลาดคนละดานกัน ) สิ่งที่ AMD K6 มีเพิ่มเติมเหนือไปกวา Intel Pentium MMX ที่เห็นไดชัดๆ ก็คือ ขนาดของ Cache ภายใน หรือ Cache ระดับ 1 ( L1 Cache ) ซึ่งจะมีขนาดเปน เทาตัวของ Intel Pentium MMX ซึ่งก็คือ มี Data Cache 32 K และ Intruction Cache 32 K แตสิ่งที่ทําให AMD K6 ไมเหนือไปกวา Intel Pentium MMX อยางสมบูรณ นั่นก็คือ เรือ่ งของ การคํานวนเชิงทศนิยม เพราะยังคงทําไดชา กวา ณ ที่ CPU ความเร็วเทาๆกัน ซึ่ง ในขณะนั้น เกมส 3 มิติ ( 3D ) กําลังเปนที่แพรหลาย และเปนทีท่ ราบกันวา การคํานวนเชิง 3 มิตินั้นตองใช การคํานวนเชิงทศนิยมอยางหนัก ตรงจุดนี้เอง ที่ทาํ ให Intel Pentium MMX ยังคงเหนือกวา ( ณ ที่ความเร็วของ CPU เทาๆกันนะ ) แตดวยปจจัยของราคา ซึ่ง ในขณะนัน้ ราคาของ AMD K6 300 MHz นั้นพอๆกัน หรือแพงกวาเพียงเล็กนอย กับ Intel Pentium MMX 233 MHz และดวยความสามารถ ในการคํานวนเชิงทศนิยมของ K6 300 MHz นั้น ก็เทียบไดกับ Intel Pentium MMX 233 MHz ดวย แตดวยความเร็วดานอื่นๆ ที่เหนือกวา ก็เลยเปนจุดที่ชดเชยกันได อยางลนเหลือ ... มาดู สรุปรายละเอียดของ AMD K6 กันดีกวานะครับ o o o o

o

มีความเร็วตั้งแต 166MHz ถึง 300MHz ใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 และ/หรือ 0.35 micron จัดเปน CPU ในรุนที่ 6 ของ AMD เปน RISC86 CPU ซึ่งมีสถาปตยกรรมดังนี้ มี 7 หนวยประมวลผลแบบขนาน สามารถถอดรหัสของ x86 ไปยัง RISC86 ไดทีละหลายๆคําสั่ง สามารถทํานายผลการประมวลผลลวงหนาได 2 ระดับ ( Branch Prediction ) สามารถคาดเดาคําสั่งทีจ่ ะตองทํางานลวงหนาได ( Speculative Execution ) สนับสนุนการทํางานแบบ Out-Of-Order Execution ( เปน Feature ที่ใชใน Pipeline ) สนับสนุนการทํางานแบบ Data Forwarding ( เปน Feature ที่ใชใน Pipeline ) มีชุดคําสั่งเพิ่มเติมเพื่อจัดการกับดาน MultiMedia ซึ่งก็คือชุดคําสั่ง MMX นั่นเอง

จริงๆ แลวในขณะที่ทาง AMD เปดตัว K6 ไดไมนาน Intel ก็ไดเปดตัว Intel Pentium II ขึ้นมาแขง หมายจะกลบรัศมีของ K6 ดวย ซึ่งความจริง ก็ควรจะจัดเปรียบเทียบ K6 กับ Pentium II แตดวยสถาปตยกรรมแลว ก็เลยขอเปรียบเทียบ K6 กับ Pentium MMX แทน ก็แลวกันนะครับ ... อาจเปนการไมแฟรสาํ หรับ Pentium MMX สักหนอย เพราะยังคงเปน CPU ในรุนที่ 5 แต AMD K6 เปนรุนที่ 6 แลว ตารางเปรียบเทียบ สรุปความสามารถดานตางๆ ระหวาง Intel Pentium MMX , Intel Pentium Pro และ AMD K6


32 Processor Feature

AMD K6

RISC core Superscalar Speculative execution Out of order execution Data forwarding Register renaming Simple x86 decoders Sophisticated x86 decoders Long x86 decoders Vector x86 decoders Execution Pipelines Branch prediction Advanced 2 level branch prediction Branch history table entries Branch target cache entries Branch prediction accuracy MMX technology High performance FPU L1 instruction and data cache Industry compatible SMM Latency ( ยิ่งนอยยิ่งดี )

Yes / 6 issue

Pentium Pro Pentium MMX Yes / 5 issue Yes

No

Yes Yes Yes Yes 2 1 1 6

No No No No 1 1 2

2 1 5 Yes Yes

8,192 16 95% Yes 32K + 32K 2 clock

No 256

512 0 90% No Yes 8K + 8K Yes 5-7 clock

75-80% Yes 16K + 16K 2 clock

รายละเอียดเพิ่มเติม •

MMX MMX เทคโนโลยีนั้น เปนชุดคําสั่งภายใน CPU ที่เพิ่มเขามาอีก 57 คําสั่ง เพือ่ จัดการกับงานในมัลติมีเดีย โดยเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรมทํางานเกี่ยวกับระบบเสียง (Audio) ภาพกราฟก 2 มิติ ( 2D ) ภาพกราฟก 3 มิติ ( 3D ) ,ภาพเคลือ่ นไหวตางๆ และรวมไปถึงระบบการวิเคราะหและจดจําเสียงพูด ( Voice Recognition ) และการสื่อสารผาน โมเด็ม โดย MMX นี้ เปนชุดคําสั่ง ที่ใชสถาปตยกรรมแบบ SIMD กลาวคือ สามารถประมวลผลดวยคําสั่งเดียวกัน แตใชชดุ ขอมูลตางกันได พรอมๆ กัน ( SIMD : Single Instrunction Multiple Data stream ) เรียกวาเปนการประมวลผลแบบขนาน หรือ Parallel Processing เรื่องของ SIMD นี้ สามารถอานเพิ่มเติมไดที่ สถาปตยกรรมแบบ SIMD ครับ เทคโนโลยีนี้ ทาง Intel เองก็ไดพยายามผลักดันใหผูผลิต Software และ Hardware ตางๆ ใหสราง Application และ Driver ที่ชวยสนับสนุนการทํางานของ MMX เพื่อจะไดใชประโยชนในจุดนี้อยางเต็มที่ แตในความเปนจริง จนถึง ณ ปจจุบันนี้ ก็มีผูผลิต Software เพียงไมกี่เจาเทานัน้ ที่ออกแบบมาเพือ่ MMX อาจกลาวไดวา เปนเทคโนโลยีที่ไมสําคัญเทาไรนัก ... แตจําเปนตองมี เพราะเหมือนกับเปน Standard สําหรับ CPU ในขณะนี้ไปเสียแลว ( หลังจาก Intel ประกาศเปดตัว MMX บริษัทผูผลิต CPU อื่นๆ ก็หนั มาจับ MMX ใส CPU ของตนตามไปดวย ทัง้ AMD , Cyrix และแมแตนองใหมๆ อยาง IDT หรือ RISE ก็จับเจา MMX นี้ใสลงใน CPU ของ ตนดวย ) จําเปนไหม? สําหรับ MMX กับงานดาน Business สําหรับผม คิดวาไมจําเปน เพราะแทบจะไมชวยอะไรเลย เวนเสียแตงานดาน Presentation ซึ่งจําเปนตองใช Multimedia มาสนับสนุนดวย สําหรับ Software ที่สนับสนุน MMX นี้ ที่เห็นเดนชัดเลย ก็มี Adobe Photoshop ซึ่งมี Patch ให upgrade ใชคําสั่ง MMX ได ทําใหการทํางานในบางดาน ทําไดเร็ว ขึ้นอยางเห็นไดชดั

Speculative Execution ( หรือที่ Intel เรียก Dynamic Execution ) เปนกระบวนการทํางานเมื่อทํางานคําสั่งใดๆ เสร็จเพียงครึ่งทางกอน แลวรอดูวา มีคําสั่งไหน ที่ตองการใชในขั้นตอไป และเรียกใชมันกอน ( เปนกระบวนการของ Out-Of-Order Execution ) ทําใหชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานขึ้นอีกระดับ


33 •

Out-Of-Order Execution อานเพิ่มเติมไดที่ Out-Of-Order Execution ครับ

เมื่อจักรพรรดิตกบัลลังก [ 07 August 1999 ] Intel Pentium II ( Klamath/Deschute )

ในกลางป 1996 Intel ก็ไดสงตัว CPU ในตระกูล x86 ตัวใหมของตน ออกสูทอ งตลาด นั่นก็คือ Intel Pentium II ซึ่งจะวาไปแลว ก็เหมือน Pentium Pro ที่ถูก พัฒนาขึ้นมาอีกระดับหนึ่งนัน่ เอง เพราะโดยสถาปตยกรรมทั่วๆไปแลว ก็ไมตางจาก Pentium Pro เลย เพียงแตมีการปรับแตงบางอยางใหมีความสมดุลย และ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เชนมีการใสคําสั่ง MMX เขาไป และมี การปรับแตง Interface เสียใหม โดยจากเดิมนั้นใช Interface แบบ Socket เชน Intel Pentium Pro ใช Socket 8 หรือ Intel Pentium MMX ใช Socket 7 ( และ/หรือ Socket 5 ) ก็หันมาใช Interface เปนแบบ Slot แทน และเปลี่ยน Package ของ CPU จากที่เปน PGA ( Pin-Grid Array ) มาเปน SECC ( Single Edge Contact Cartridge ) ซึ่งมีลักษณะ เหมือนกับ กลองวีดีโอเทป และ ไดมกี ารยายตําแหนงของ Cache ระดับ 2 ออกมาไวตา งหาก ถึงแมวาจะอยูใน SECC เหมือนกับ CPU แตก็ไมไดบรรจุไวบน Chip ของ CPU อยาง Pentium Pro และ ทํางานดวยความเร็วเปนครึ่งหนึ่งของ ความเร็ว CPU ( เชน CPU ความเร็ว 300 MHz เจา Cache ระดับ 2 นี้ ก็จะทํางานที่ความเร็วเพียง 150 MHz เทานัน้ ) และยังไดเพิ่มขนาดของ Cache ระดับ 1 เปน 32K ซึ่งเปน 2 เทาของ Intel Pentium Pro เลยทีเดียว รูปขางลางนี้ แสดง Package ของ Intel Pentium II ทั้งดานหนา และ ดานหลัง

เรียก Interface ใหมที่ใชตอเชื่อมระหวาง CPU กับ Mainboard วา เปน Slot-1 ( สล็อตวัน ) โดยสาเหตุหลัก ที่ Intel ตองเปลี่ยนมาใชเปน Slot-1 นั้น ทาง Intel อางวา เพื่อลดปญหาคอขวดระหวาง Cache ระดับ 2 และ หนวยความจําหลัก ซึ่งเปนปญหาสําคัญ ที่เปนตัวหนวงประสิทธิภาพของระบบ แตโดยความเห็นสวนตัวแลว คาดวาจุดประสงคหลัก จริงๆ แลว นาจะเปนเพราะเรือ่ งของลิขสิทธิ์มากกวา ... เพราะเมื่อ Intel ยายมาใชเปน Slot-1 แลวก็ไดมีการจดลิขสิทธิ์ไวทันที


34 บริษัทผูผลิต CPU เจาอื่นๆ หากตองการที่จะผลิต CPU ที่ใช Slot-1 ดวย ก็ตองจายคาสิทธิบัตรใหกับทาง Intel เปนจํานวนไมใชนอยๆเลยทีเดียว CPU Intel Pentium II นั้น มี 2 รุน ... รุนแรกทีอ่ อกสูทอ งตลาดนัน้ ใชเทคโนโลยีขนาด 0.35 Micron และ ใชไฟเลี้ยง ( Vcore ) 2.8 Volt มี Code Name วา Klamath ซึ่ง CPU รุนนี้จัดวามีความรอนสูง ตอมา ทาง Intel จึงไดทําการลดขนาดของแผนเวเฟอรลง หันมาใชเปนขนาด 0.25 Micron แทน และใชไฟเลี้ยงเปน 2.0 Volt แทน โดยรุน นีจ้ ะมี Code Name วา Deschute พรอมกันนั้น ก็ไดเปดตัว chipset ตัวใหมของตน ซึ่งสนับสนุนการทํางานถึง 100 MHz ดวย ... นั่นก็คอื chipset Intel 440BX เอาละครับ ลองมาดู Spec รายละเอียดของ Pentium II กันดีกวานะครับ o o o o o o o o o o

มีต้งั แตรุน 233 MHz ถึง 450 MHz ( 233-333 MHz ใช FSB 66 MHz , 350-450 MHz ใช FSB 100 MHz ) Deschute Core นั้น ใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 Micron เพื่อเพิม่ ความถี่ของ core ไดมากขึ้น และ ใชไฟนอยลง มี MMX ดวย แตเหนือชัน้ ไปวา Intel Pentium MMX เพราะสามารถทํางานไดทีละ 2 ชุดคําสั่ง MMX ไดพรอมๆกัน มีสถาปตยกรรมแบบ Dual Independent Bus ( DIB ) โดยแบงเปน System Bus และ Cache Bus เพื่อเพิ่มความกวางของเสนทางขอมูล และ เพิ่ม ประสิทธิภาพโดยรวม รุน 350, 400 และ 450 MHz นั้น ใชความเร็วบัสของระบบ ( FSB ) เพิ่มจากเดิม 66 MHz เปน 100 MHz เพื่อดึงประสิทธิภาพใหเกิดมากที่สุด Cache ระดับ 1 ขนาด 32 K แบงเปน Cache ขอมูล 16 K และ Cache คําสั่งอีก 16 K Cache ระดับ 2 อยูใน SECC เดียวกัน ขนาด 512 K ทํางานที่ความเร็วเปนครึ่งหนึ่งของความเร็ว CPU รุน 350, 400 และ 450 MHz นั้น สามารถอางตําแหนงของหนวยความจําไดมากถึง 4 GB สามารถใชรวมกันเปน Dual Processor ได โดยจะสามารถอางหนวยความจําหลักไดถึง 64 GB และ ยังมีรายละเอียดปลีกยอยอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการตรวจสอบความผิดพลาดของ Cache ระดับ 2 อีกหลายอยาง

CPU ในสายการผลิตที่ใช Code Name วา Deschute นั้น ทาง Intel ไดมีการปองกันการ OverClock CPU ของตน โดยไดมีการ Lock คาตัวคูณ ใหคงที่ตลอด ไม วาจะปรับแตงอยางไร ก็ไมมีผล ( Multiplier Lock ) เพื่อลดปญหาการ Remark CPU ของตน และ เพื่อปดกัน้ การ OverClock CPU ของตนอีกทางหนึง่ แตกด็ ูเหมือนวา จะไรผล เพราะ ก็ยงั คงมีการ OverClock CPU ตระกูลนี้กนั ใหสนุกมือเลยทีเดียว :-)

Intel Pentium II Xeon

Pentium II Xeon นั้น ถูกพัฒนาเพื่อเนนใหใชงานสําหรับ Server โดยเฉพาะ ถึงแมวาสถาปตยกรรมโดยทั่วๆ ไป จะคลายๆ กับ Pentium II แตสิ่งที่แตกตางกันอยาง เห็น ไดชัดนัน้ ก็มีไมนอยเชนกัน ดังนี้ o o o o o o o o o o

ใช Interface ใหม เปน Slot-2 ( สล็อตทู ) และ ไมสามารถใชดวยกันไดกับ Slot-1 ใชงานบน Mainboard ที่ใช chipset 440GX ( AGP set ) และ/หรือ 440NX ( PCI set ) มีหนวยความจําแคช L2 ทั้งในขนาด 450MHz 512 กิโลไบต และ 400MHz 512 กิโลไบต หรือ 1 เมกะไบต ใชขอมูลรวมกันกับสวนที่เหลือของระบบผานทางซิสเต็มบัสความจุสูงที่ทํางานไดครั้งละหลายรายการ และมีความเร็ว 100MHz เพิ่มหนวยความจําไดสูงถึง 64 กิกะไบต ซิสเต็มบัสสนับสนุนการปฏิบัติตามคําสั่งหลายรายการพรอมกัน เพือ่ ขยายแบนดวิธ และยังสนับสนุนการทํางานโปรเซสเซอรไดสูงสุดถึง 8 ตัว PSE36 การขยายการสนับสนุนหนวยความจํา ใหเปนขนาด 36 บิตที่ทําใหระบบปฏิบตั ิการใชหนวยความจําขนาดใหญกวา 4 กิกะไบตได ซึ่งจะทําใหระบบ มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นสําหรับการใชงานแอพพลิเคชั่นที่ตองอานขอมูลมากๆ และใชพนื้ ที่หนวยความจํามากในการทํางาน สนับสนุนคลัสเตอร หรือความสามารถในการจัดระบบเครื่องเซิรฟ เวอรที่ใช โปรเซสเซอร 4 ตัวหลายระบบเปนสวนเดียวกันได มีระบบชวยตรวจจับความรอน โดย Diode ที่อยูบน PCB จะชวยตรวจจับอุณหภูมิ และ สามารถหยุดการทํางาน หากวาอุณหภูมิสูงเกินไปได มีระบบตรวจสอบ และ แกไขขอผิดพลาดของขอมูล ( ECC : Error Correction Code )


35 o

มีระบบตรวจสอบการทํางานแบบซ้ําซอน ( FRC : Functional Redundancy Checking )

โดยพื้นฐานของราคา และ เปาหมายทางการตลาดแลว ก็ดูจะไมเหมาะกับ HomeUser หรือผูใชงานระดับทั่วไป ละครับ

Intel Celeron ( SEPP / PPGA 370 )

ถึงแมวา Intel Pentium II ที่ออกมานั้น จะมีประสิทธิภาพที่ดูแลวเดน และ นาสนใจมากๆ แตก็ติดปญหาที่ราคานั้น จัดวาสูงมาก ทําใหไมสามารถเขามามีสวนแบงในตลาดระดับลาง ได ... ทาง Intel จึงไดเปดตัว Celeron ขึ้น โดยใชโครงสรางภายในมาจาก Intel Pentium II รุน Deschute นั่นเอง เพียงแตตัดเอา Cache ระดับ 2 ออก และ เปลี่ยน Package เล็กนอย เปน SEPP ( Singel Edge Processor Package )และไดผลิตออกมา 2 รุนคือ ที่ความเร็ว 266 และ 300 MHz โดยมี CodeName วา Covinton ซึ่งราคานั้น ก็จัดวาถูกกวา Pentium II ที่ความเร็วเทาๆ กัน ครึ่งตอครึ่งเลยทีเดียว แตดูเหมือนวา การตัด Cache ระดับ 2 ออกไปนั้น มีผลตอประสิทธิภาพโดยรวมเปนอยางมาก และ ยิ่งเปนจุดที่ทําให คูแขงไดมีโอกาสซ้ําเติมตรงนี้ และ ใชขอบกพรองตรงนี้ของ Celeron มาพัฒนา CPU ของตนใหเปนจุดเดนแทน ก็เลยทําใหทาง Intel ตัดสินใจใส Cache ระดับ 2 เขาไปดวย แตไมไดเอาไปไวบน PCB เดียวกัน อยาง Pentium II หากแต นําไปวางไวบนแผน Siligon เดียวกันกับ CPU เลย ทําให Cache ระดับ 2 ที่เพิ่มเขาไปนั้น ทํางานดวยความเร็ว เทากันกับ CPU เลยทีเดียว แตขนาดของ Cache ระดับ 2 นั้น หากทาง Intel เพิ่มเขาไป ในจํานวนเทาๆกับ Pentium II ( คือ 512 K ) ผลก็คือ ราคานั้น อาจจะพอๆกัน หรือ อาจจะแพงกวา Pentium II ซะดวยซ้ํา ... Intel ไมทําเชนนั้นแนๆ ดังนัน้ ขนาดของ Cache ระดับ 2 ที่ Intel ใสเพิ่มเขาไป จึงมีเพียงแค 128K หรือเปน 1/4 ของขนาดของ Cache ระดับ 2 ใน Pentium II เทานัน้ Celeron ที่เพิ่ม Cache ระดับ 2 เขาไปนั้น ก็มีตั้งแตรนุ ความเร็ว 300 MHz เปนตนไป เพื่อไมใหสบั สนในการเลือกซื้อ เพราะในรุนที่ไมมี Cache ระดับ 2 ก็มีรุนที่มีความเร็ว 300 MHz ดวย ทาง Intel จึงเรียกชื่อ Celeron รุน 300 MHz ที่มี Cache ระดับ 2 นี้วา เปนรุน Celeron 300 A แทน และ ใหชื่อสายการผลิตนี้วา Mendocino ตอมา เพื่อเปนการลดคาใชจายลงอีก ทาง Intel จึงไดตัดสินใจผลิต Celeron Version ใหม ที่ใช Core เดิม หากแตเปลี่ยน Interface หันกลับมาใชเปน Socket ตามเดิม แตวา ไดออกแบบใหม ( อีกแลว ) เปน Socket ที่มีจํานวนขา 370 ขา ( Socket 7 นั้นมี 321 ขา ) และเรียก Package ของ Celeron ใหมนี้วาเปน PPGA

รูปแสดงการเปรียบเทียบใหเห็นถึงความแตกตางของ CPGA ( 321 Pin ใชกับ Socket 7 ) และ PPGA ( 370 Pin ใชกับ Socket 370 )

สถาปตยกรรมโดยทั่วไปนั้น ก็ เหมือนๆกับ Pentium II เพราะใช Core หลัก เดียวกัน มีการล็อคตัวคูณสัญญาณนาฬิกาเหมือนกัน แตกตางกันก็ตรงที่ Celeron นั้น ยังคงใช ความเร็ว Bus ของระบบเปน 66 MHz ตลอดมา และ ใชผลิตรุนที่เปน SEPP ( ใช Interface เปน Slot-1 ) จนกระทัง่ รุนความเร็ว 433 MHz จึงเลิกผลิต และ หันไป เนนการผลิตแบบที่เปน PPGA แทน


36

รูปแสดงรูปราง และ รายละเอียดของ SEPP ของ Celeron รุน Mendocino Core

รูปเปรียบเทียบ SEPP, SECC ตั้งแต Celeron ( Covinton ) , Celeron ( Mendocino ) และ Pentium II ( Deschute )

AMD K6-2 3DNow!

หลังจากทีพ่ ลาดทามาแลวกับ รุน K6 ซึ่ง มีหนวยประมวลผลดานทศนิยมนั้นดอยกวาของ Intel อยู ตัง้ แต 1 - 2 ระดับ ( ประสิทธิภาพ FPU ของ K6 300 MHz นั้น พอๆ กับ Pentium MMX 233 MHz เทานั้น ทั้งๆ ที่ความเร็วหางกันอยูถึง 2 ระดับ ) ทําให CPU รุน K6 นั้น ไมเปนที่แพรหลาย สําหรับ ผูที่ตองการพลังในการประมวลผลดานทศนิยม เปนอยางมาก ... แนนอน ... กับเกมส 3D ที่กําลังเปนที่นิยมนั้น K6 ทําคะแนนไดไมดีเลย จัดวาแยเอามากๆ แตถาเปนการทํางานดานอืน่ ๆ นัน้ โดยเฉพาะกับงานดาน Office Application หรืองานที่ตองการใชการประมวลผลดานเลขจํานวนเต็ม ( เกมส 2D ก็ใช ) นัน้ K6 กลับทําไดดีเกินคุมเลยทีเดียว


37 AMD ก็ไดเล็งเห็นถึงขอบกพรองตรงนั้นของตน และก็คิดหาทางแกไข ... แตการออกแบบโครงสรางใหมนนั้ ไมใชงายๆ นอกจากจะใชเวลาไมใชนอยๆแลว ยังตองทุมทุนในการพัฒนาอีก มากดวย ซึ่งหาก AMD เลือกทางนี้ ก็จะไมมี CPU ออกมาแขงกับ Intel และ ปลอยให Cyrix นั้นแขงชิงความเปนเจาตลาดกับ Intel เทานั้น ... ซึ่งแนนอนไมวา ผลการชิงนั้น จะ เปนอยางไร AMD ก็คงไมยอมแนๆ เพราะ ตนไดแตเพียงมองดูเขาชิงกัน ... AMD ตองการมีสวนรวมดวย ... แตจะทําอยางไร ละ ในเมื่อ FPU ของ AMD นั้น สูกับทาง Intel ไมได เลย แลวจะทําอยางไรดี? 3DNow! จึงไดถือกําเนิดขึ้นมาเพือ่ การนี้โดยเฉพาะ โดย 3DNow! นี้ ก็เหมือนๆ กับ ชุดคําสั่ง MMX ของ Intel คือเปน คําสั่งใหมๆ ที่เพิ่มเขามาเพื่อการหนึง่ การใด ... ใชครับ 3DNow! นี้ มีมาเพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการคํานวนเชิง FPU เพื่อใชกับเกมส หรือ Application ที่มีการคํานวนภาพแบบ 3 มิติ ( 3D ) นั่นเอง ก็ใชวา 3DNow! ที่เกิดขึ้นนี้ จะรุง และ เพิ่มประสิทธิภาพของ CPU ไดเต็มที่ซะทีเดียวนัก เพราะ 3DNow! นี้ เปนชุดคําสั่งภายใน ที่จําเปนตองมี Driver และ/หรือ Software ที่ใชนั้น ก็ตองมีการเรียกใช และมีการปรับแตงใหเขากับ 3DNow! ดวย จึงจะทําให มันใชงานไดมีประสิทธิภาพสูงสุด แตอยางไรก็ดี มีบริษัทผูผลิตเกมส และ ผลิต Graphic Chip ไมนอยเลยทีเดียว ที่ออกตัววาจะผลิตเกมส หรือ Driver ของ Graphic Chip ใหสนับสนุนการทํางานของ 3DNow! นี้ดว ย โดยเฉพาะอยางยิ่ง เมื่อเจาตลาด Graphic Chip 3D เกมสในขณะนั้น ซึ่งก็คือ 3Dfx ไดประกาศและพัฒนา Driver สําหรับ Chip Voodoo ของตน ใหสนับสนุนการทํางานของ 3DNow! นี้ดวย ก็ทําให CPU AMD K6-2 3DNow! นี้ เริ่มกลายเปนที่กลาวขวัญถึงกันอยางมาก ประกอบกับทาง VIA และ ALI ไดออก Chipset ที่ใชกับ Socket 7 ( AMD K6-2 นี้ยังคงใช Interface แบบ Socket 7 ) ที่ใชงานที่ 100 MHz ได ก็ชวยทํา ให AMD K6-2 นี้ มีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีก สําหรับทางดานรายละเอียดทั่วๆไป นั้นก็ขอสรุปคราวๆดังนี้ครับ o o o o o

ใช FSB ที่ 66 MHz สําหรับ AMD K6-2 266 , 300 MHz ( AFR-66 ) และ 366 MHz ใช FSB ที่ 95 MHz สําหรับ AMD K6-2 333 , 380 และ 475 MHz ใช FSB ที่ 100 MHz สําหรับ AMD K6-2 300, 350, 400 , 450 และ 500 MHz ใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 Micron และใชไฟเลี้ยง CPU เปน 2.2 Volt ( K6-2/III 400 MHz ในรุนแรกๆ ใชไฟ 2.4 Volt ) ใช Interface แบบ Socket 7 ( 321 Pin )

ดวยประสิทธิภาพที่สูง และ เดนทั้งดานการคํานวนเลขจํานวนเต็ม และ ยังเดนในดานเกมส 3D ( ถึงแมจะไมใชที่ 1 แตคุณภาพ ก็อยูใน ขายที่ยอมรับได ) บวกกับ ราคาที่จัดวาถูกมากๆ ... ก็ทําให AMD K6-2 3DNow! นี้ ขายดิบขายดี เปนเทน้าํ เททา เลยละครับ

หลายคน โดยเฉพาะทาง Intel คงแทบไมเชื่อสายตาตัวเอง ที่ผลการสํารวจตลาดในเดือนมกราคม ป 2542 ที่ผานมานั้น ผลปรากฏวา ยอดขาย CPU โดยรวม ของ AMD นั้นสูงกวา เพราะ สวนแบงของตลาดระดับลาง และ ระดับกลางนั้น AMD แทบจะยึดครองไวไดเกือบหมด และ ในเดือนกุมภาพันธตอมา สวนแบงตลาด ของ AMD ก็ยังคงเหนือกวา Intel อีกเชนเดิม

เอาละสิ แลวอยางนี้ จักรพรรดิจะทําอยางไร? เมื่อบัลลังกถูกฉกชิงไปตอหนาตอตา ... จักรพรรดิจะสิ้นชื่อก็คราวนี้นะหรือ? ... สงครามบทนี้ จะจบลงอยางนี้หรือ? ... ไมแนๆ ... Intel คงตองหาทางโตกลับมาแนๆ แตจะโตกลับอยางไร และ สําเร็จไหม ... แลว AMD นั้น มีการเตรียมตัว ในการตัง้ รับการโตกลับของ Intel ไวอยางไร? ... มาดูกันตอเลยครับ


38 ตารางสรุปเปรียบเทียบ Spec ตาง

Processor Features

Performance Benefits

Process Technology (micron) Die size (mm2)

Smaller die size=lower cost

Clock speed (MHz)

Faster clock speed generally means faster processing and apps launching

AMDK6®-2 with Pentium Celero 3DNo ®II n w!™ techno logy 0.25

0.25

0.25

81

131

131 or 155

300 333 350/36 6/380 400 450 475

300 333 350 400 450

300/30 0A 333 366 400 433 466 500

L1 cache

Built-in feature that helps the CPU retrieve even faster

64K Yes

32K Yes

32K Yes

L2 cache Support

Augments L1 cache, making data retrieval even faster

Yes

Yes

No 266/30 0 MHz Yes 300A/3 33MH z

Processor bus (max bus speed)

Moves data between CPU and memory

MMX™ Technology

Enhances multimedia applications and runs other apps 10% faster

Yes

Yes

Yes

3DNow!™ Technology

Enables superior visual and multmedia experience

Yes

No

No

100 MHz Bus Support

Moves data between the CPU and the main memory. L2 cache can't improve performance without a fast bus to move the data. Faster bus eliminates the data bottleneck

Yes

Yes, but only at 350MHz and above

No

Accelerated Graphics Port Support

Speeds up 3D graphics

Yes

Yes

Yes

X86 compatibility

Standard industry architecture, essential for running standard PC applications

Yes

Yes

Yes

Super Slot 1 Slot 7™ 100MHz 1,Sock 100M 66MHz et 370 Hz 66MH Socket z 7 66MH z


39

รายละเอียดเพิ่มเติม •

3DNow! 3DNow! นั้น เปนชุดคําสั่งใหม ที่ทาง AMD เปนผูคิดคน และ พัฒนา โดยจะมีคาํ สั่งใหมๆ ที่เพิ่มเติมเขามาอีก คําสั่งที่ใชงานในแบบ SIMD ( Single Instruction Multiple Data stream ) เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในดานการคํานวนเชิงทศนิยม รวมถึงไดแกไขปญหาคอขวด ( BottleNeck ) ของ 3D Graphics Pipeline ระหวาง CPU และ 2D/3D Graphic Card ดวย ทาง AMD เลือกใชวธิ ีนี้ ในการแกไขปญหาเรื่องประสิทธิภาพดาน FPU ในการเลนเกมส 3 มิติ ซึ่ง CPU ของตนนั้นทําไดแยกวาของทาง Intel ที่ระดับความเร็วสัญญาณนาฬิกา เทาๆกัน อานรายละเอียดเรื่องของ 3DNow! และ ประสิทธิภาพในการประมวลผลของ FPU ตางๆ ไดที่ พลังแหงการประมวลผลเชิงทศนิยม ( FPU Power )

Cache Cache นั้น สําคัญไฉน อานเพิ่มเติมได ทีบ่ ทความเรื่อง Cache ครับ

Stepping คา Stepping เปนคาที่บงบอกถึงจํานวนการแกไข CPU โดย Stepping 0 หมายถึง core ที่เปน Original Product และเมื่อมีการพบขอผิดพลาดในสวนของ MicroCode ของ core CPU หรือพบ CPU นั้นๆไมสมบูรณ ก็จะทําการแกไขใหม เมื่อทําการแกไขใหมเรียบรอยแลว ก็จะเพิ่ม Stepping เปน 1 และเมื่อพบขอผิดพลาดและ ได ทําการแกไขอีกก็จะทําการเพิ่มคา Stepping เขาไปอีก ซึ่ง จะวาไปแลว Stepping นี้ ก็อาจเปรียบไดกับการพิมพหนังสือ ... เปนการพิมพครั้งที่ 1 ... พิมพครั้งที่ 2 หรือ พิมพ ครั้งที่ 3 เปนตน โดยปกติแลว จะพบวา CPU ที่มีคา Stepping มากกวา 0 มักจะ Overclock ไมคอยได หรือ มีเปอรเซ็นตสําเร็จ ในการ OverClock ต่ํากวา CPU ที่มี Stepping เปน 0 แตวา มันจะมีความ Stable สูงกวา สรุปงายๆ ก็คือ CPU ที่มี Stepping มาก ก็ยิ่ง OverClock แตมันก็มากดวยความ Stable

S-Code S-Code หรือ ที่ Intel เรียกวา S-Spec นั้นเปน ตัวอักษร 5 ตัวโดยนําหนาดวยตัว "S" ซึ่งทาง Intel ใชสําหรับระบุความแตกตางของชนิดของ CPU ของตนทัง้ ในดานของ ชนิด, Stepping, Vcore หรือแมแต ชนิดของการ Package CPU วาเปน OEM หรือ Retail โดยสามารถดูไดทตี่ ัวของ SEPP เลย หรือ ถาเปนรุน Retail ก็จะดูได จากขางกลองที่บรรจุ

Multiplier Lock ความเร็วในการทํางานของ CPU นั้นถูกกําหนดดวยคา 2 คา นั้นก็คือ คาความเร็ว Bus ของระบบ และ คาตัวคูณสัญญาณนาฬิกา โดย เรียกคาความเร็ว Bus ของระบบวาเปน ความเร็ว ภายนอก เพราะระบบ Bus จะใชความเร็วนีเ้ ปนหลัก แต ความเร็วภายในของ CPU หรือ ที่เราเรียกๆ กันวา CPU ความเร็ว 450 MHz นั้น เกิดจาก ผลคูณของความเร็ว Bus ของ ระบบ กับ คาตัวคูณสัญญาณนาฬิกา เชนความเร็ว Bus ของระบบ เปน 100 MHz และ คาตัวคูณสัญญาณนาฬิกานั้นเปน 4.5 ก็จะไดความเร็วของ CPU เปน 450 MHz เดิมทีนั้น ทั้งคาของความเร็วระบบ และ คาตัวคูณ จะสามารถปรับแตงไดจากการ set บน Mainboard แตเนื่องจาก เกิดปญหาเรือ่ ง CPU remark มากเหลือเกิน ซึ่งก็เกิดจากการ เพิ่มคาของตัวคูณใหมากขึ้น เชน จากเดิมเปน 4.5 ก็เพิ่มเปน 5 แลวทําการ Screen ตัว CPU เสียใหมวาเปน CPU 500 MHz แลวก็ขายในราคา 500 MHz ... แนนอน ... ผูเสียหายรายใหญนั้นคือ Intel ดังนัน้ ทาง Intel จึงได ทําการปรับแตงโครงสรางการกําหนดคาของ ตัวคูณเสียใหม โดยมีการฝงคานั้นไวในสวนของ Package CPU เลย และไม จําเปนตองอานคาตัวคูณจาก Mainboard อีกตอไป

OEM & Retail CPU แบบ OEM หรือที่เราเรียกกันติดปากวา เปนแบบ ถาด ( Tray ) จะเปน CPU ที่มีเพียงแคตัว CPU โดดๆ ไมมี Heatsink หรือ พัดลมจากทางผูผลิต CPU ให ( ที่มี ก็จะ เปนของที่ทางรานเพิ่มใหเอง ) การรับประกันจะมีใหเพียงไมนานนัก ซึ่งเปนการประกันโดยผูขายเอง ไมใชจากทางผูผลิตโดยตรง


40 Retail หรือ ที่เราเรียกกันวา แบบกลอง (BOX) ซึ่งแบบนี้ จะมี Heatsink และพัดลมติดมาพรอมกันเลย โดยทั้งหมดจะถูกบรรจุอยางดีในกลอง พรอมดวยคูมือ รวมถึงรับประกันจาก ทางผูผลิตไมต่ํากวา 1 ป โดยปกติแลว แบบ OEM จะมีราคาถูกกวาแบบ Retail อยูพอสมควร และ ในตลาดบานเราจะพบแบบ OEM ไดมากกวาแบบ Retail โดยเฉพาะอยางยิ่ง CPU ของ AMD, Cyrix และ IDT ซึ่งจะเห็นไดแตแบบ OEM เทานั้น ( พอจะพบเห็น CPU ของ AMD แบบ Retail บาง ... แตนอยมาก ) ประสิทธิภาพของ OEM และ Retail นั้น ไมแตกตางกัน จะมีบางก็ในเรื่องความสามารถในการ OverClock และ เสถียรภาพ ซึ่งก็ไมเห็นชัดเทาไรนัก

Empire Strike Back! [ 07 August 1999 ] Intel Pentium III ( Katmai )

Intel ตอบโต AMD กลับ ดวยการชิงเปดตัว Pentium III ออกมากอนหนา AMD K6-III โดยไดเปลี่ยนแปลงกําหนดการ ใหออกเร็วขึ้น และ ไดสรางความผิดหวังพอสมควร กับ การเรงออกจนเกินไปในครั้งนี้ เพราะอะไร? กอนหนานี้ Intel ไดประกาศวา Pentium III นั้น จะใชเทคโนโลยีขนาด 0.18 Micron ใชไฟเลี้ยง 1.8 Volt และ มี Cache ระดับ 1 ขนาด 64 K ดวย แตเมื่อถึงเวลาจริงๆ นั้นปรากฏวา ยังคงเปน เทคโนโลยีขนาด 0.25 Micron ใชไฟเลี้ยง 2.0 Volt และ ยังคงมี Cache ระดับ 1 เพียง 32 K เชนเดียวกับ Pentium II เลย จากขอมูลหลายๆแหลง กลาววา Pentium III นั้นใช สถาปตยกรรมแกนหลัก ( Core ) เดียวกันกับ Pentium II นั่นก็คือใช Deschute Core เชนเดิม เพียงแตได เพิ่มเติมประสิทธิภาพอยางอืน่ เขาไปแทน อาทิ SSE และ Processor Serial Number ( เรียก Core ใหมนี้วา Katmai Core ) ซึ่ง หากตัดความสามารถทั้ง 2 อยางนี้ ออกแลวละก็ .. Pentium III ก็ไมตางจาก Pentium II เลยทีเดียว ปญหาหนึง่ ที่นา จะเกิดขึ้นกับ Pentium III หนักกวา Pentium II นั้นก็คือเรื่องปญหาดานความรอน เนื่องจาก Pentium III นั้น มีจํานวนทรานซิสเตอรอัดแนนอยูภายใน CPU กวา 9.5 ลานตัว ซึ่งมากกวา Pentium II ถึง 2 ลานตัว และ อัดกันอยูบนแผนเวเฟอร ขนาด 0.25 Micron ผลก็คือ ความรอนที่เกิดขึ้นกับตัว CPU นั้น สูงกวา Pentium II แนนอน


41 สรุปสถาปตยกรรมโดยคราวๆของ Pentium III o o o o o o o o o

ใชเทคโนโลยีการผลิต ขนาด 0.25 Micron Katmai Core นั้น พัฒนาขึ้นมาจาก Deschute Core โดยการเพิ่มชุดคําสั่ง SSE Interface ที่ใชตอ เขากับ Mainboard เปน Slot-1 Cache ระดับ 1 ขนาด 32 K แบงเปน Cache ขอมูล 16 K และ Cache คําสั่ง 16 K โดยมีการเขาถึงได 4 ทาง ( 4-Way Associative ) Cache ระดับ 2 อยูบน PCB เดียวกันกับ CPU ใน SECC2 เดียวกัน โดยมีขนาด 512 K และทํางานที่ความเร็วเพียงครึ่งหนึ่งของความเร็ว CPU ใชไฟเลี้ยง CPU Core 2.0 Volt ชุดคําสั่ง พิเศษสําหรับชวยจัดการงานดาน Multimedia, Internet และ Graphics 3D อีก 70 คําสั่ง ( SSE ) Processor Serial Number ซึ่งเปนลักษณะเฉพาะของ CPU Pentium III แตละตัว ใช FSB 100 MHz และ ยังคงมีการล็อคคาตัวคูณสัญญาณนาฬิกา ( Multiplier Lock )

อยางไรก็ตาม Intel มีแผนการจะวางตลาด Pentium III ตัวใหมที่ใช Core ใหม ที่มี CodeName วา Coppermine ในราวปลายๆป 1999 นี้ โดยคาดวา Coppermine นี้ จะใช FSB ที่ 133 MHz รวมถึงใชเทคโนโลยีแบบ 0.18 Micron และเริ่ม ตนที่ความเร็ว 600 MHz

Intel Pentium III Xeon

เหมือนกับเปนผลรวมของ Pentium II Xeon บวกกับความสามารถใหมของ Pentium III คือ SSE และ Processor Serial Number ดังนัน้ โดยสถาปตยกรรม หลักแลว ก็ยังคงพื้นฐานเดิมของ Pentium II Xeon เชนเดิม เพราะฉะนั้น ความสามารถใหมๆ ที่เดนๆ ก็มีเพียง o o o o o o

Internet Streaming SIMD Extension ที่ชวยใหสามารถแสดงขอมูลที่เต็มไปดวยสื่อตางๆ ไดอยางรวดเร็ว และเสริมใหแอพพลิเคชัน่ ประเภท Streaming Media และ Application ที่ตองใชพื้นที่ในหนวยความจําสูงๆ สามารถทํางานไดดียงิ่ ขึน้ สามารถ ทํางานรวมกันกับแพลตฟอรมของเวิรก สเตชั่น และเซิรฟเวอรที่ใช Pentium II โปรเซสเซอร ได เขากันไดกับระบบปฏิบัติการตางๆ ทั้งบนไมโครซอฟต Windows NT หรือระบบ UNIX ได มีใหเลือกขนาดของ Cache ระดับ 2 ไดหลายแบบ กลาวคือ รุน 500 MHz นั้นมี ขนาดของ Cache ระดับ 2 ใหเลือกถึง 3 รุน คือ 512 KB, 1 MB หรือ 2 MB และแบบความจุ 512 KB สําหรับรุน 550 MHz ยังคงความสามารถตางๆ ที่มีใน Pentium II Xeon เดิม เชน ECC, SMB และ FRC ซึ่งจําเปนอยางมากสําหรับ WorkStation หรือ Server คุณสมบัติ Processor Serial Number

และก็เชนกันกับ Pentium II Xeon นั่นก็คือ CPU ตัวนี้ เหมาะกับการใชเปน Server และ / หรือ WorkStation เทานั้น ไมเหมาะกับ Home User ทั่วๆไป แนนอน ครับ ทั้งดวยประสิทธิภาพที่เกินความจําเปน และ ราคาที่สูงเกินอาจเอือ้ ม

AMD K6-III 3DNow! ( SharpTooth )


42

AMD หมายจะตอกย้ําความเจ็บช้าํ ใหกับ Intel ซึ่งไดเคยสรางไวแลว เมื่อคราว K6-2 ดังนั้น มาคราวนี้ AMD ไดรับประสปการณเรื่องความเร็ว Cache ระดับ 2 มาจาก Celeron ก็เลยตัดสินใจ รวม Cache ระดับ 2 เขาไปใน CPU ดวย โดยเพิ่มใหมขี นาดเปน 2 เทาของ Celeron คือ มีขนาดถึง 256 K และ ทํางานดวย ความเร็วเทาๆ กับ CPU เลยทีเดียว และ ยังคงใชกับ Mainboard Socket 7 ที่มี Cache บน Mainboard อีกดวย ก็เลยทําใหมันมอง Cache บน Mainboard นั้น เปน Cache ระดับ 3 ไปโดยปริยาย CPU ตัวใหมนี้ เดิมที AMD จะใหชื่อ K6-3 และ มี Code Name วา SharpTooth แตตอมา ภายหลังจากที่ทาง Intel ประกาศตัว Pentium III และ ทาง AMD เองก็หมายจะให CPU ตัวใหมนี้ของตนเปนคูแขงกับ Pentium III ก็เลยเปลี่ยนชือ่ K6-3 นี้เล็กนอย มาเปน K6-III แทน o

o

o o o

ดานสถาปตยกรรมแบบ SuperScalar มีหนวยประมวลผลที่สามารถทํางานไดพรอมๆ กันถึง 10 หนวย Branch Prediction 2 ระดับ Speculative Execution Out-Of-Order Execution แบบเต็มรูปแบบ Register Renaming และ Data Forwarding ทํางานดวยชุดคําสั่ง RISC86 ไดถึง 6 ชุดคําสั่ง ตอ 1 สัญญาณนาฬิกา สถาปตยกรรมแบบ Tri-Level Cache ( Cache 3 ระดับ ) Cache ภายใน มีขนาดโดยรวมมากถึง 320 KB Cache ระดับ 1 ขนาด 64 KB แบงเปน Cache ขอมูล 32 KB ( เปน Write-Back Dual-Port ) และ Cache ชุดคําสั่ง อีก 32 KB มีการเขาถึง Cache ระดับ 1 ได 2 ทางพรอมๆกัน ( 2 Way -Associative ) Cache ระดับ 2 ฝงอยูใน Silicon ชิ้นเดียวกับ CPU ขนาด 256 KB ( Write-Back ) มีการเขาถึง Cache ระดับ 2 ได 4 ทางพรอมๆกัน ( 4 Way -Associative ) มอง Cache บน Mainboard เปน Cache ภายนอก ( Cache ระดับ 3 ) ใชเทคโนโลยี 3DNow! ( 21 ชุดคําสัง่ SIMD FPU ) Package เปน Ceramic Pin Grid Array ( CPGA ) ซึ่งมี 321 ขา เพื่อใชกับ Interface แบบ Socket 7 ( Super 7 ) มีทรานซิสเตอร 21.3 ลานทรานซิสเตอร บน Die Size ขนาด 118 ตารางมิลลิเมตร และใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 Micron 5 Layer-Metal Silicon

ดวยประสิทธิภาพที่ดพี อๆ กันในการใชงานทัว่ ๆไป และ มีขอเดนขอดอย ตางกัน ซึ่งเมือ่ จะมองๆ ไป ก็นาจะชดเชยสวนดอยกันไปได และ ราคานั้น AMD ก็ยังคงถูกกวา Pentium III ณ ระดับความเร็วเทาๆ กัน ... งานนี้ก็เลยดูเหมือนวา K6-III จะย้ําแคนไดสําเร็จ ... แต ในความเปนจริง กลับไมเปนเชนนั้น เพราะเมือ่ Intel ประกาศ เปดตัว Pentium III ก็ได เปดตัว SSE และ สรางภาพลักษณใหกับ Internet SSE อยางมาก เพื่อให ผูใชฝงใจวา หากจะเลน Internet ใหเร็วๆ แลว ก็ตองใช Pentium III ซึ่งเรื่องนี้ ทาง Intel ทุมทุนในการโปรโมทเปนอยางมาก อีกทั้ง Intel ไดทําการหั่นราคา CPU Pentium III ของตน ลงอยางรวดเร็ว ดังนั้น ผลลัพธ ก็เหมือนกับวา ทาง Intel นั้น เปนจักรพรรดิ ที่ กลับมาทวงบัลลังกคืน ดวยขุมกําลังอันมหาศาลเลยทีเดียว ... แลว Intel จะทวงบัลลังกคืนไดไหม? หรือวา เปนแคเพียงการดิน้ รนเฮือกสุดทาย หรือ AMD มีการเตรียมการโตตอบอยางไร ? กาลเวลาจะเปนผูใหคําตอบนี้ไดอยางดีที่สุด

ตารางสรุปเปรียบเทียบ Spec ตาง


43 Processor Features

Performance Benefits

Process Technology (micron)

AMD-K6®-III with Pentium®III 3DNow!™ technology 0.25

0.25

Die size (mm2)

Smaller die size=lower cost

118

140

Clock speed (MHz)

Faster clock speed generally means faster processing and apps launching

400 450

450 500 550

Total System cache (max)

Larger cache typically improves overall performance

2368 KB

544 KB

*Internal cache

Built-in feature that helps the CPU access data and instructions even faster

320 KB

32 KB

L2 cache support

Augments L1 cache, making data and instruction access even faster

256 KB (full speed)

512 KB (half speed)

L3 cache support

Provides additional system cache improving overall performance

Yes (up to 2 MB)

No

Processor bus (max bus speed)

Moves data between CPU and main memory

100MHz

100MHz

MMX™ Technology

Improves quality and performance of integer-based multimedia applications

Yes

Yes

Advanced Floating Point Multimedia Technology

Enables superior visual and multmedia experience

Yes 3DNow! technology

Yes Streaming SIMD Extensions

Accelerated Graphics Port Support

Speeds up 3D graphics

Yes

Yes

X86 compatibility

Standard industry architecture, essential for running standard PC applications

Yes

Yes

รายละเอียดเพิ่มเติม •

SSE : Streaming SIMD Extension เปนชุดคําสัง่ แบบ SIMD ที่ทาง Intel เพิ่มเขาไปใน CPU ของตน ซึ่งก็เหมือนกับ MMX และ 3DNow! ( ของ AMD ) เพียงแต MMX นั้น เปน SIMD สําหรับการ ประมวลผลเลขจํานวนเต็ม แต SSE นั้น เนนดาน ทศนิยมเปนหลัก และ ยังใชงานไดกวางขวางกวา 3DNow! ของ AMD อีก เพราะไมไดจํากัดแค Application ดาน 3D เทานั้น SSE นั้น เปนชุดคําสัง่ 70 คําสั่ง ที่มีคําสั่งในการประมวลผลเชิงทศนิยม อยู 50 คําสั่ง ... เปน ชุดคําสั่ง MMX ใหม ซึ่ง Compat กับ MMX เดิม 57 คําสั่ง อีก 12 คําสั่ง และ เปนชุดคําสัง่ ที่จัดการเกีย่ วกับ Cache อีก 8 คําสั่ง อานเพิ่มเติมได ที่บทความเรื่อง FPU Power : ประสิทธิภาพในการประมวลผลเชิงทศนิยม ครับ

PSN : Processor Serial Number เปน Feature ใหม ที่ทาง Intel เพิ่มเติมเขาไปใหกับ CPU Pentium III ของตน โดยแตเดิมนัน้ ใชขอมูลขนาด 32 Bit เทานั้น ในระบุชนิด ของ CPU แตใน Pentium III นั้น จะมี chip PROM ( Programable ROM ) ขนาด 96 Bit ฝงอยูใน Pentium III เลย โดยจะมีการจัดเก็บรหัสขอมูลของ CPU แตละตัวที่ ไมซ้ํากันเลย ( เปน Uniqe Number ) ขนาด 64 Bit และจะทํางานโดยการเรียกผานชุดคําสั่ง CPU_ID เพื่อใหใชงาน PSN ได


44 PSN นั้น ทาง Intel อางวา มีไว เพือ่ ใหผูดูแลระบบขององคการ สามารถใช PSN ในการติดตามขอมูลเกี่ยวกับ เครื่อง Computer ที่ตออยูกับ Network ทั้งในดาน ตําแหนง ที่ตั้งของเครื่อง, Configuration, Application ที่ใชงานตางๆ และ อื่นๆ ได อีกเหตุผลหนึง่ ก็คือ เรือ่ งของ Internet Security ซึ่ง Intel มองถึงเรือ่ งของ E-Commerce โดย PSN นั้นจะชวยปองกันการ Access เขาไปใชงาน จากผูที่ไมมีสิทธิ โดยผูใชสามารถลงทะเบียน PSN ของเครื่องที่ใชตดิ ตอกับเว็ปไซทที่ใชบริการ E-Commerce นั้นๆ แลว เมื่อมีการ Access เขาไปเพื่อจะติดตอธุรกิจ ก็อาจมีการใหใส login และ password จากนั้น ระบบก็จะสง PSN ไปใหกับผูใหบริการดวย เพื่อเปนการยืนยันอีกทางหนึง่ •

Tri-Level Cache สําหรับ AMD K6-III นั้น ไดมีการนําเอา Cache ระดับ 2 เขามาไวในตัว CPU เลย เปน Cache ภายในที่ทํางานดวยความเร็ว เทากับ ความเร็วของ CPU และมอง Cache ภายนอกที่อยูบน Mainboard ซึ่งทํางานดวยความเร็วเทาๆกับ System Bus เปน Cache ระดับ 3 ซึ่ง ผลที่ไดนั้นก็จะชวยลดการเกิด Cache Miss ลง และ ยังทําให CPU ดึงขอมูลที่ตองการใชงานไดงายขึ้นอีกดวย ประสิทธิภาพโดยรวมก็ดีขึ้น และ กับงานที่มีการเรียกใชงาน Cache มากๆ เชนพวก Presentation หรือ Office Application ตางๆ ก็จะยิ่งเห็นผลของ Tri-Level Cache ไดมากขึ้น อานเพิ่มเติมได ที่บทความเรื่อง Cache ครับ

ทิ้งทวนศตวรรษที่ 20 [ 12 November 1999 ] Intel Pentium !!! ( Coppermine ) Intel ไดปลอยตัว CPU Pentium !!! รุนใหม ที่เรียกวา Pentium !!! Coppermine โดยมีการ ปรับปรุงสถาปตยกรรมภายในอีกไมใชนอย เพื่อเปนการแกตัวจากการที่รีบปลอย Pentium !!! Katmai มากเกินไป จนทําให Katmai ที่ออกมา ผิดจาก Spec ที่เคยกลาวไวบางพอสมควร จุดเดนตางๆ ของ Pentium !!! ที่ใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ 0.18 ไมครอน ( หรือ Coppermine Core ) ก็มีดังนี้ ลดขนาดของชองทางการเชื่อมตอระหวางทรานซิสเตอรภายในใหนอ ยลง ทําใหตดิ ตอกันไดเร็ว

o ขึ้น o o o o o o

ใช Fluorine-Doped SiO2 ( SiOF ) เปนขั้วไฟฟา Dielectric ทําใหมี ความเร็วในการทํางานที่ดีขึ้น มีชั้นโลหะมากขึ้น สําหรับสงผานขอมูลจํานวนมากๆ ชวยสงผลให Interface ของ Cache ระดับ 2 ที่อยูบน CPU สามารถทํางานดวยความเร็วเดียวกันกับ CPU ทํางานดวยศักยไฟฟาต่าํ ลง คือลดลงมาอยูในระดับ 1.1 - 1.7 Volt กินไฟต่ํา ( ใชพลังงานไฟฟาต่ํา ) ทําใหเกิดความรอนนอย ขนาดของแผน Die ลดลงจาก 128 ตารางมิลลิเมตร ( Katmai Core ) เหลือเพียง 106 ตารางมิลลิเมตร แตบรรจุทรานซิสเตอรไดมากขึ้นเปน 28.1 ลานตัว มี Cache ระดับ 2 ที่อยูบนตัว CPU ขนาด 256 KB ( Integrated On-Die L2 Cache )


45 6 Metal Layer Process

o

เทคโนโลยีใหมๆ ที่เปนอาวุธลับอีก 2 ชิ้น ทีท่ าง Intel กลาววา จะชวยให Pentium !!! ที่ใช เทคโนโลยีการผลิต 0.18 ไมครอนนี้ ใหประสิทธิภาพเหนือกวา Katmai Core เดิม ในทุกๆดาน ถึง 20% เมื่อเทียบกันที่ความเร็วของ สัญญาณนาฬิกาที่เทากันที่ 600 MHz ก็คือ Advanced Transfer Cache ( ATC ) และ Advanced System Buffering ( ASB ) ซึ่งจากเทคโนโลยีใหมที่เพิ่มขึน้ มาอีก 2 อยางนี้ ทาง Intel ก็ ไดอางวา มันจะทําให Pentium !!! ที่ใช Coppermine Core มีประสิทธิภาพที่เหนือกวา Katmai Core อยูถึง 20%

นอกจากนี้ ทาง Intel ยังไดเผยบรรจุภัณฑแบบใหมของ Pentium !!! คือ FC-PGA หรือ Flip-Chip Pin Grid Array ซึ่งสามารถใช Plug เขากลับ Socket แบบ 370 pin ไดอีกดวย โดยใหความเห็นวา เปนการลดขนาดของ CPU เพื่อใหตอๆไป ผูผลิต PC สามารถออกแบบ Case หรือเครื่องคอมพิวเตอรใหมี รูปทรงกระทัดรัด หรือ แปลกใหมไดงา ยขึ้น จากการที่ CPU Pentium !!! รุนใหมที่เปดตัวขึ้นมานี้ บางรุน ก็มีระดับความเร็วที่เทากับรุนเดิม ( Katmai ) ซึ่งก็อาจสรางความสับสนใหกับทั้งผูซื้อ และ ผูขายได ดังนัน้ ทาง Intel จึงไดกําหนดใหใชตัวอักษร E และ B กํากับไวหลังตัวเลขแสดงความเร็วเพื่อบงบอกถึงคุณสมบัติเหลานี้ ดังนี้ o o

ตัวอักษร E หมายถึง CPU Pentium !!! ที่ใชเทคโนโลยีในการผลิตแบบ 0.18 ไมครอน และมี Cache ระดับ 2 อยูบน Die เดียวกันกับ CPU ทํางานดวยความเร็วเทากันกับ CPU ( ซึ่งก็รวมถึงมี Advance Transfer Cache ดวย ) ตัวอักษร B หมายถึง CPU Pentium !!! รุนที่ใช FSB เปน 133 MHz

เพราะฉะนั้นรุน ที่มีทั้งตัว E และ ตัว B ก็จะหมายถึง CPU Pentium !!! Coppermine ที่ใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ 0.18 มี On-Die Full Speed L2 Cache และใช FSB 133 MHz สวนรุนที่มีความเร็วมากกวา 650 MHz ขึ้นไป จะใชการผลิตแบบ 0.18 ไมครอน มี On-Die Full Speed L2 Cache และมี FSB 133 MHz ทั้งหมด ดังนั้นจึงไมจําเปน ตองมีตัวอักษร E หรือ B กํากับไว

AMD Athlon ( K7 ) ความพยายามของ AMD ที่พยายามจะหนีใหพนจากเรื่องทีถ่ ูกมองวามีเทคโนโลยีตามหลัง Intel อยูเสมอ ดูเหมือนจะถึง จุดสิ้นสุดแลว เมื่อทาง AMD ไดเปดตัว CPU ตระกูลใหม สายพันธุที่ 7 ของตน ที่ชอื่ วา Athlon โดยสลัดคราบ สถาปตยกรรมเดิมที่มีมาจนถึงรุน ที่ 6 จนหมดสิ้น เหลือไวเพียงชุดคําสั่ง 3DNow! เทานั้น ที่ยงั คงมีอยู แตกไ็ ดมีการ ปรับปรุง และเพิ่มเติมชุดคําสั่งนี้ใหม เรียกวา เปน Enhance 3DNow! โดยสถาปตยกรรมหลักคราวๆ ของ Athlon เปนดังนี้ o

เปน Superpipeline 9 สาย เปนสวนของหนวยประมวลผลทางทศนิยม ทีเ่ ปนแบบ Out-Of-Order และ Superscalar 3 สาย เปนสวนของหนวยประมวลผลเลขจํานวนเต็ม ที่เปนแบบ Out-Of-Order และ Superscalar 3 สาย เปนสวนของหนวยคํานวนหาตําแหนงสําหรับการประมวลผลอีก 3 สาย ชุดคําสั่ง Enhanced 3DNow! ที่รวมเอาชุดคําสั่งเดิม 21 คําสั่ง และอีก 19 คําสั่ง สําหรับการจัดการดาน Cache และ ชวยในการประมวลผลเลขจํานวนเต็ม และอีก 5 คําสั่งสําหรับการ ประมวลผลดาน DSP ( Digital Singal Processing ) ใช Alpha EV6 Bus ที่ความเร็ว 200 MHz โดย EV6 Bus นี้ใชเทคโนโลยี DDR ( Double Data Rate ) ทําให มีความเร็ว MHz สูงกวา FSB อยูเทาตัว Cache ระดับ 1 ขนาด 128 K และมี Cache ระดับ 2 อยูใน Package เดียวกัน กับ CPU ( แตไมไดอยูบน Die เดียวกัน )

o

o o


46 o o o

ใช Interface แบบ Slot A ในการ Plug เขากับ Mainboard แผน Die มีขนาด 184 ตารางมิลลิเมตร ใชเทคโนโลยีขนาด 0.25 ไมครอน และมีจํานวน Transistor 22 ลานตัว ใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ 6 Metal Layer

AMD Athlon เปน CPU ในรุนที่ 7 ของ AMD ซึ่งนับเปนเจาแรก ที่เขาสูยุคที่ 7 เพราะแมวา Intel จะมี Pentium !!! Coppermine ออกมา แตก็ยงั จัดวาเปนรุนที่ 6 อยู เรื่อง FPU ของ AMD ที่เคยดอยกวา Intel เพราะทาง AMD นั้นใช Low Latency FPU ในรุนกอนๆ มารุนใหมนี้ ทาง AMD ก็ไดหันมาใชแบบ Pipeline แลว และไดใช Pipeline สําหรับประมวลผลดานทศนิยมถึง 3 สาย รวมถึงการเพิ่มขนาดของ Cache ระดับ 1 ถึง 128K เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพอีกดวย

นอกจากนี้ ทาง AMD ยังไดเปดโรงงานผลิตแหงใหมที่ Dresden ที่เรียกวาเปน Fab 30 ( Fab = Fabrication เปนลักษณะของโรงงานวิจัย และ ผลิต สวนเลข 30 หมายถึง AMD ไดกอตั้งมาเปนเวลา 30 ปแลว ซึ่งไมไดหมายถึงวา เปนโรงงานผลิตสาขาที่ 30 แตอยางใด ) ในไตรมาสสุดทายของป 1999เพื่อ ใช เปนที่ผลิต และ พัฒนา Copper Athlon แลวยังรวมไปถึงการคนควาวิจัยใน วงจรอื่นๆ ที่เกี่ยวของอีกดวย

Fab 30 ที่ Dresden นี้ ตัง้ อยูบนพื้นที่ขนาด 75 เอเคอร ทีท่ างเหนือของ Dresden ในรัฐ Saxony ประเทศเยอรมณี โดยจะใชเปนโรงงานผลิตหลักสําหรับ AMD Athlon ที่ใชเทคโนโลยี HiP6L หรือก็คือเทคโนโลยี Copper ขนาด 0.18 ไมครอน ภายใต ขอตกลงรวมกับทาง Motorola และคาดวาจะเริ่มทําการ ผลิต Copper Athlon เพื่อสงออกสูทอ งตลาด ในชวงครึ่งหลังของป 2000

เปรียบเทียบเทคโนโลยี 3DNow! ตัวใหมที่ใชกบั Athlon กับ ชุดคําสั่ง Intel SSE

Functionality

Enhanced 3DNow!

SSE

Conclusion

SIMD floating point functionality

21

50

สําหรับเรื่องนี้ ทาง AMD อางวา ตนนั้นเปนผูริเริ่ม SIMD FPU เปนเจาแรก โดยเทคโนโลยีดานนี้ของทาง AMD และ Intel ตางก็สนับสนุน การประมวลผลดานทศนิยมทีละ 4 คําสั่ง ตอสัญญาณนาฬิกา และตาง ก็สามารถทําไดถึงระดับ 2.4 GFlops ที่ระดับความเร็ว 600 MHz เทาๆกัน ในดานของชุดคําสั่ง AMD จะใชชุดคําสั่งทีน่ อยกวา และ เรียบงาย กวา ( เปนลักษณะของ RISC ) แตการทํางานที่สลับซับซอน ก็ จําตองเขียน Code สําหรับการ Optimize เอาเอง สวนทาง Intel จะใชชดุ คําสั่งที่มากกวา และ สลับซับซอนกวา ( เปนลักษณะ ของ CISC ) ซึ่ง ในการเรียกใชงานจะทําไดงายกวา แตในการ ทํางานอาจจะตองเสียเวลาในการรอถึง 2 สัญญาณนาฬิกา เพราะ จําตองใชการควบคุมของ MMX เขามาเกี่ยวของดวย

MMX (integer)

19

20

ทั้งคู ตางก็มชี ุดคําสัง่ สําหรับการจัดการ Cache และ ชุดควบคุม


47 Streaming Control โดยทาง AMD ไดเพิ่มชุดคําสั่งเขา มาจาก 3DNow! เดิมอีก 19 คําสั่ง สวนทาง Intel SSE นัน้ มีอยู 20 คําสั่ง โดย 12 คําสั่ง จะทํางานรวมกับชุดคําสั่ง MMX เดิม และอีก 8 คําสั่ง จะชวยในการจัดการของ Cache

augmentation and data movement DSP communication extensions

5

ไมมี

เปนชุดคําสัง่ ใหมของทาง AMD ที่ใชสถาปตยกรรม SIMD กับ การประมวลผลดาน DSP ( Digital Signal Processing ) สําหรับใชกับ Soft Modem , Soft ADSL , การคํานวนทางคณิตศาสตรที่ซับซอน , MP3 และ Dolby Digital

จํานวนชุดคําสั่ง ใหมทั้งหมด

45

70

-

หมายเหตุ ตารางนี้ ใชขอมูลอางอิงกับทาง AMD แตไดมีการแกไขและเพิ่มเติมขอมูลในสวนของทาง Intel ใหมแลว

AMD พลาดทาไปมากกับการเปดตัว Athlon ซึ่งหมายจะย้าํ แคนใหกับทาง Intel แตไมเปนดังคาด เพราะแมจะมีการเปดตัว Athlon ไปตั้งแตกลางๆ ปแลว มี CPU ขายแลว แตกลับไมมี Mainboard ใหใช ที่มีออกมา ก็กลับมีปญหาจนตองเรียกกลับคืน และกวาจะมี Mainboard มารองรับมากขึ้นก็ปาเขาไป ชวงไตรมาสสุดทาย ของปซะแลว ... แถมยังประสบปญหาจากการที่ไตหวันเกิดแผนดินไหวอีกดวย ทําใหงานนี้ AMD เจ็บตัวอยูไมนอ ย แตก็ใชวา จะเจ็บเปนอยูอยางเดียว เพราะอยางไร ประสิทธิภาพของ Athlon ที่ออกมา ความเร็วเปน MHz ที่ออกมาขม Intel เปนระยะๆ และ ราคาของ Athlon ที่ถูกกวา Intel Pentium !!! ที่ระดับ ความเร็วเทาๆ กัน ก็สรางความกดดันใหกับ Intel บาง ไมใชนอ ยๆ ... ยังไงก็นับวา "Athlon นี้เปนอาวุธชิน้ สุดทายของ AMD ที่ใชอัด Intel Pentium !!! ทิ้ง ทวน อําลาศตวรรษที่ 20 " รวมถึง Fab 30 ที่เพิ่งเปดตัว โดยทาง AMD หมายจะใชเปนกองกําลังหลักในป 2000 สําหรับการพัฒนา และ ผลิต Athlon ที่ใช ทองแดงในการเชือ่ มตอ ( Copper Interconnect ) กับ CPU ความเร็วในระดับ GHz ก็นับเปน " ความหวังใหมของทาง AMD ในศตวรรษที่ 21" Intel เอง ก็พลาดทากับการที่เปดตัว Coppermine แลว แตกลับไมมีสินคามาวางขาย อีกทัง้ ยังประสบปญหาในดาน Chipset ตัวใหมๆ ที่หมายจะเอา มาใชกับ Pentium !!! Coppermine ทําใหทาง Intel ก็ประสบปญหาไมแพทาง AMD เชนกัน ... ก็ดูเหมือนวาทาง Intel จะยอมรับวาประสิทธิภาพ ของ Pentium !!! ( Katmai ) นั้นจะแพ Athlon ที่ระดับความเร็ว MHz เทาๆ กัน ในหลายๆดาน ดังนั้น "Pentium !!! Coppermin นี่ก็คือ อาวุธ ชิ้นสุดทาย ของทาง Intel ที่จะใชตอกรกับทางหมายจะเอามาโตกลับ AMD Athlon คืน" ละครับ รวมถึง Chipset ใหมๆ ที่จะเอามาใชกับ Pentium !!! Coppermine ซึ่งจะรวมเอา เทคโนโลยีใหมๆ ความสามารถใหมๆ เชนการรองรับ RAMBUS , AGP 4X และ UDMA/66 ที่จะชวยทําให Pentium !!! Coppermine แสดงประสิทธิภาพไดอยางเต็มที่ ก็นับวาเปน "ความหวังใหมของ Intel ที่จะชวยเสริมฐานบัลลังกใหมนั่ คงกวาเดิม" เชนเดียวกันครับ

รายละเอียดเพิ่มเติม •

Advanced Transfer Cache ( ATC ) เทคโนโลยีนี้เปนเทคโนโลยีของการนําเอา Cache ระดับ 2 ขนาด 256 KB มาฝงไวในตัว CPU เลย ( Integrated On-Die 256 KB L2 Cache ) และไดขยายความกวางของระบบบัสที่ใชในการติดตอกับ Cache ระดับ 2 ที่จากเดิมใชเพียง 64 Bit มาเปน 288 Bit ( 256 Bit Data + 32 Bit ECC ) นอกจากนัน้ ยังไดเปลี่ยนเทคนิคการเขาถึงขอมูลแบบสุมของ Cache จาก 4 ทาง เปน 8 ทาง ( 8 - Way Associative ) และยังมีชวงจังหวะรอในการ รับสงขอมูลต่ํา ( Low Latency ) ทําใหมีความเร็วในการทํางานของ Cache เพิ่มขึ้นอยางนอย 4 เทา เมื่อเทียบกับความเร็วในการสงผานขอมูลของ Katmai Core สรุปจุดเดนของ ATC ไดดังนี้ o มีขนาด 256K บน Die เดียวกันกับ CPU ทํางานดวยความเร็วเทาๆ กับ CPU o มีการเขาถึงแบบสุมได 8 ทาง ( 8-Way Set Associative, 1024 sets , 32 Byte line + 4 Byte ECC , 36 Bit Physical Address ) o มีความเร็วในการทํางานของ Cache เพิ่มขึ้นอยางนอย 4 เทา เมือ่ เทียบกับ Katmai Core o มีความกวางของระบบบัสที่ใชในการติดตอรับสงขอมูลกับ Cache ระดับ 2 ขนาด 288 Bit ( เปนขอมูล 256 Bit และ เปน การตรวจสอบความ ผิดพลาด หรือ ECC 32 Bit ) o มี Back-To-Back Throughtput 2 ชวงสัญญาณนาฬิกา


48

Advanced System Buffering ( ASB ) เทคโนโลยีใหมอีกประการหนึง่ เปนเทคโนโลยี ที่มีการเพิ่มขนาดของ Buffer ( หรือทีพ่ ักขอมูล ) ใหมีจาํ นวนมากขึ้น โดยทาง Intel ไดกลาววา ปริมาณที่เพิ่มขึ้นนี้ ไดทํา การทดสอบแลววา เปนขนาดที่สมดุล และชวยใหใชประโยชนของ FSB 133 MHz ไดอยางเต็มที่แลว ซึ่งเทคโนโลยีนี้ ชวยทําใหหนวยประมวลผลกลาง หรือ CPU สามารถเขาถึงหนวยความจําหลัก หรือ Main Memory ไดเร็วขึ้น ASB นี้จะชวยลดปญหาคอขวด ( Bottleneck ) ใหลดนอยลง โดยการเพิ่มขนาดของ Fill Buffer จาก 4 เปน 6 หนวย ทําใหการทํางานของ Cache ดาน Concurrent Non-Blocking Data เพิ่มขึ้นอีก 50% และ เพิ่มขนาดของ Bus Queue Entry จาก 4 ไปเปน 8 หนวย ทําใหมีการทํางาน ประสานกัน ระหวาง Outstanding Memory กับระบบบัส มากขึ้น นอกจากนี้ ยังไดเพิ่มขนาดของ Writeback Buffer จาก 1 เปน 4 อีกดวย ซึ่งทําใหลด การ Block ระหวางขั้นตอน Cache Replacement ลง ละยังทําใหเวลาในการ Deallocation ในการ Fill Buffer เร็วขึ้นอีกดวย

แนวโนมในศตวรรษหนา [ Post : 12 November 1999 ] แนวโนมในอนาคตอันใกลนี้ ทั้งคู ตางก็เตรียมตัวที่จะฟาดฟนกันอีกครั้ง ดวย CPU ระดับ 64 Bit โดยในขณะนี้ทาง Intel ก็ไดประกาศตัว CPU ระดับ 64 Bit ออกมาแลว โดยใหชื่อวา Itanium ( หรือชื่อเดิมคือ Merced ) โดยไดเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสถาปตยกรรมภายในใหมเกือบทั้งหมด .. ในขณะที่ทาง AMD ก็ ไดเปดตัว Sledgehammer ( หรือรูจักกันในนาม K8 ) ที่เปนสถาปตยกรรมแบบ 64 Bit เชนกัน ... แตยังคงยึดหลักสถาปตยกรรม x86 เดิม กอนที่จะเขาสู CPU ระดับ 64 Bit นี้ ทาง Intel ก็จะทิ้งทวน CPU ระดับ 32 Bit ( IA32 ) ตัวรุนสุดทาย ที่มีชอื่ วา Willamette โดยใหฉายากันภายในวา "Athlon Killer" หรือ "เพชรฆาต Athlon" ซึ่งกอนหนานี้ ตาม Roadmap ของ Intel เจา Willamette นี้ ควรจะตองเปดตัวในราวไตรมาสที่ 3 ของป 2000 แตไปๆ มาๆ ทาง Intel ก็จําตองเลื่อนกําหนดการ ใหเขามาอีก จนมีขาวลือกันวา ปลายๆ ปนี้ คงไดมีการเปดตัว Willamette แนๆ ... ดูเหมือนวาทาง Intel เองก็ลนลานอยูไมนอยเหมือนกันนะครับ สําหรับการเปดตัว Athlon ของ AMD มาดูทางดาน CPU ระดับ 64 Bit ( IA64 ) ของ Intel กันบาง ... ยักษใหญ ผูครองตลาดมานาน ไดวางแผนไวแลว วาจะออก CPU Itanium ในราวๆ กลางป 2000 โดยจะทําการ เปลี่ยนแปลงสถาปตยกรรมภายในของ CPU นี้ ใหมหมด จนแทบไมเหลือคราบของ x86 อีกเลย ... โดยเฉพาะในสวนของชุดคําสั่งตางๆ ที่มีการ เปลี่ยนแปลงไปใช ชุดคําสั่ง EPIC ซึ่งทาง Intel ไดใหความเห็นเกี่ยวกับชุดคําสั่ง EPIC นี้วา เปนชุดคําสั่งที่ออกแบบมาเพื่อ ผูออกแบบ ระบบ hardware โดยจะ ชวยทําใหเขาถึง hardware ไดงาย และ มีสมรรถภาพเหนือกวา สถาปตยกรรมเดิม x86 อยูมาก ... รวมถึงประสิทธิ ภาพที่ไดนั้น ก็จะมากกวาเดิมอีกดวย ... โดยทาง Intel ก็ไดยกตัวอยางเพิ่มเติมวา ชุดคําสัง่ EPIC นี้จะสามารถทํางานไดทลี ะ 6 คําสั่ง ในชวง สัญญาณนาฬิการอบเดียว ซึ่งมากกวา ความเร็วของ Pentium III 32 Bit ในปจจุบัน ที่ทํางานไดเพียงแค 1.5 ถึง 2 คําสั่ง ในชวงเวลาเทากัน ในดานของสถาปตยกรรมบาง ... Itanium นี้จะเปน CPU ที่ใชสถาปตยกรรม IA-64 ซึ่งเปนสถาปตยกรรมแบบ 64 Bit ที่สนับสนุนทั้ง MMX และ SSE อยาง เต็มที่ รวมไปถึงยังสนับสนุน การทํางานแบบ 32 Bit ของ IA-32 อีกดวย โดยเจา Itanium นี้ นอกจากจะมี Cache ระดับ 2 บนเวเฟอรเดียวกันกับ CPU แลว ยังจะมี Off-Chip Cache ระดับ 3 ที่รองรับไดมากถึง 4 M อีกดวย ( IMHO, Off-Chip Cache นี้ นาจะเปนเหมือนกับ Cache ระดับ 2 ที่มีอยูใน Pentium II หรือ Pentium III รุน ปจจุบัน คืออยูใน Package เดียวกันกับ CPU แตไมไดอยูใน Chip CPU ) ก็ตองยอมรับวา Intel ใจเด็ดมาก ... เพราะเมื่อเปลี่ยนสถาปตยกรรมใหม Software ที่ใช ก็ตองเขียนใหม เพื่อใหรองรับกับสถาปตยกรรมใหมนี้ ไมวาจะเปน OS เชน ตองทํา 64 Bit Linux หรือ 64 Bit Windows เพื่อใชสําหรับ Itanium ( EPIC ) ... หรือแมแต Application ตางๆ ก็จาํ เปนตอง เขียนใหม ให สามารถใชงานไดบน Itanium นี้ จริงๆ เหตุการณทํานองนี้ Intel เองก็เคยทํามาแลว เมื่อคราวที่เปลี่ยนสถาปตยกรรมจาก 486 ไปสู Pentium ... ซึ่งในตอนนั้น Intel ยังคงใชพนื้ ฐานสถาปตยกรรม จากทาง x86 อยูไมใชนอยๆ ก็เลยไมมีปญหาหนักเทากับคราวนี้ ...


49 ในดานตลาดระดับกลาง และระดับลาง Intel ก็ยังคงใช Celeron เปนตัวบุกตลาดดานนี้เชนเดิม และคาดวา จะมีการใส Technology SSE เขา ใน Celeron อีกทั้งยังมีขาวลือตางๆ เกี่ยวกับ Celeron III อีกดวย ทางดาน AMD Sledgehammer นั้น ก็มีแนวทางการพัฒนาที่แตกตางไปอยาง Intel Itanium อยางสิ้นเชิง เพราะ AMD นั้น ยังคงใชโครงสรางหลัก จาก x86 เดิม เพียงแตไดทําการแกไข ปรับปรุงในบางสวน แลวเรียกสถาปตยกรรมใหมนี้วา x86-64 เกี่ยวกับเรื่องนี้ ทาง AMD ไดใหความเห็นวา ในบางเวลา หรือ ในการใชงานบางอยางนั้น ก็ไมจําเปนที่จะตองใชการประมวลผลแบบ 64 Bit เสมอไป เชนงานดาน Word Processing หรือ การปรับแตง/แกไข ภาพ เปนตน ดังนั้น ทาง AMD จึงยังคงใหความสําคัญกับสถาปตยกรรมเดิมคือ x86 อยู และยังใหความเห็นเพิ่มเติมวา ทาง Intel Itanium นั้น ก็ยังคงตองใชการจําลอง Mode การประมวลผลแบบ 32 Bit อยูดี เพื่อใหใชไดกับ Application ที่ไมไดออกแบบมาสําหรับ 64 Bit ... โดยทาง AMD ก็ไดกลาวอีกวา ผูพัฒนา Application นั้น ก็คงไมอยากเสียเวลาแกไขโปรแกรมใหใชงานแบบ 64 Bit นักหละ เพราะผลตางของ ประสิทธิภาพที่ไดเพิ่มขึ้น ก็ไมไดมากมายนัก ไมคุมกับการเสียเวลา สิ่งหนึ่ง ที่นา สนใจ ก็คอื ประสิทธิภาพใน Mode จําลองการประมวลผลแบบ 32 Bit ของ Itanium นี้ จะเปนอยางไร? ... ดีกวา หรือวา แยกวา การประมวล ผลแบบ 32 Bit ของ Pentium III รุนปจจุบัน ... และเมื่อเทียบกับรุน Coppermine ละ? จะเปนอยางไร ... คําถามนี้ ทาง Intel ไดใหความเห็นวา จุดมุงหมาย หรือ ตลาดของ CPU ทั้ง 2 รุนนี้ ตางกัน .. การออกแบบอะไรๆ ก็ตา งกัน ดังนั้น จะใหเอามาเปรียบเทียบกัน ก็คงเปนไปไมได ... ในตลาดระดับกลาง และระดับลาง ... ทาง AMD ก็จะยังคงใช K6-2 และ K6-III เปนคูหัวหอก ในการถลมตลาดระดับนี้ โดยจะมี K6-2+ ซึ่งเปน CPU K6-2 เดิม แตมีการเปลี่ยนแปลงสถาปตยกรรมภายในบางอีกเล็กนอย และมีขาวออกมาบาง วา AMD จะยุติสายการผลิต K6-III แลวหัวมา ใชหัวหอกตัวเดียว คือ K6-2+ แทน เพราะ K6-2+ นั้นก็จะมี On-Die Cache เชนเดียวกับ K6-III แลว แถมยังใชเทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน อีกดวย ซึ่งก็คาดวา จะเริ่มเขาบุก ตลาดในราวๆ ตนป 2000

ศึกนี้ไมจบสิน้ งายๆ [ First Post : 07 August 1999 ] [ Update 12 November 1999 ] ดานการตลาด ทุกวันนี้ การแขงขันดานตลาด CPU ของ AMD และ Intel รุนแรงมาก ทัง้ แขงกันดวย เทคโนโลยี และ ลูกเลนทางการตลาดมากมาย แตดวยเทคโนโลยีใหมๆ นั้น ตองอาศัยเวลาในการพัฒนาอยูไมใชนอ ยๆ ดังนั้น กลไก การแขงขัน ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ก็คือ กลไก ในเรือ่ งของราคา ซึ่งมีการลดราคา ห้ําหั่นกัน อยางรุนแรงเลยทีเดียว จากการที่ Intel ไดประกาศหั่นราคา CPU ของตน ทัง้ Pentium II/III และ Celeron ลงอยางหนัก และประกาศหั่นราคาลงถี่มากๆ ทําให AMD เอง ก็ตอง หั่นราคาของตนลงดวย เพราะ ในเมื่อ คุณภาพ ไมทิ้งกันมาก แตหากราคาพอๆ กัน ก็จะทําใหผูซื้อ ตัดสินใจลําบาก หรือ หากวา คุณภาพดอยกวา เล็กนอย แตราคาพอๆกัน ผูซื้อ ก็ ไมลังเลเลย ที่จะซื้อของที่มีคุณภาพสูงกวา จริงไหมครับ? ดังนัน้ เมื่อ Intel ประกาศหั่นราคาลง ทาง AMD ก็จําเปนตองหัน่ ราคาลงดวย ไมวา จะเต็มใจ หรือ ไมเต็มใจก็ตามที ผลที่ตามมานัน้ ก็คือ ผลกําไรลดลง จากรายงานทางการตลาดของ AMD ในไตรมาสที่ 2 ของป 1999 นี้ สิ้นสุดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ผลปรากฏวา AMD มียอดขาดทุนสุทธิถึง 163 ลาน USD จาก ยอดขายทั้งหมด 595 ลาน USD ซึ่งจัดวาเปนมูลคาไมใชนอ ยๆ เลยทีเดียว ยิ่งเมื่อเทียบกับเมื่อไตรมาสแรก ที่มยี อดขาดทุนเพียงแค 65 ลาน USD เทานัน้ W.J. Sanders ซึ่งเปนประธาน และ CEO ของ AMD ไดชี้แจงใหเห็นวา เมื่อปที่ผานมา ( 1998 ) AMD สามารถ ทํากําไรจาก CPU ของตนไดถึงตัวละ 100 USD เลยทีเดียว แตแลวเมื่อมีสงครามการห้ําหัน่ ราคากันหนักขอขึ้น ก็ทําใหกําไรจาก CPU ของตนเหลือเพียงตัวละ 78 USD และ ทายสุดก็หลนมาเหลือเพียง 6 USD เทานั้น


50 ดังนัน้ หากมีสงครามห้าํ หั่นราคากันอยางหนักตอไป ก็คงเปนปญหากับทาง AMD แนนอน ... แลว ปญหานี้ไมเกิดกับ Intel หรือ? เกิดครับ เกิดแนนอน ... แตไมมีผลกระทบที่หนักเทากับ AMD เพราะ Intel นั้นเปนบริษัท ที่ใหญกวา และ มีโรงงานผลิตที่ใหญ และ มากกวา ดังนั้นตนทุนในการผลิต และ การบรรจุ Package ก็นอยกวา ถึงแมวา จะไดกําไรนอยลง จากสงครามการหั่นราคา แตกไ็ มทําให Intel สูญกําไรไปเสีย ทีเดียว เพราะ อยางไรซะ Intel ก็ยังคงไดกําไร ในสวนของ CPU สําหรับ High-End Computer หรือ Server ในตระกูล Xeon มากกวา เพราะถึงแมจะ คูแขงอยาง SUN แตก็ไมไดกอสงครามการหั่นราคา เพือ่ แยงตลาดกันรุนแรง เหมือนกับ Low-End Computer ทําใหทาง Intel ยังมีกําไร และ ไดผลบวกตรงจุด นี้อยู

ดานเทคโนโลยี ในดานเทคโนโลยี ถึงแมวา จะมีการแขงขันกันชากวาดานการตลาด แตก็ไดมีการบอกถึงแผนงานตางๆ รวมถึง แผนการออกแบบ CPU เพื่อมาขมขวัญกันอยูเปนระยะๆ มีการ ใชเทคโนโลยีใหมๆ เขามา เพื่อใชเปนจุดขาย และ เปนจุดเดนของ CPU ของตน ทุกวันนี้ AMD ก็ไดแกคําครหา วาเปนผูตามหลัง Intel ในดานเทคโนโลยี ไดแลว เพราะสามารถสราง CPU ของตน ใหกา วล้ํานํา Intel ไปบางแลว แมวาจะติดปญหา ดานอื่นๆ ไมใชนอยๆ ก็ตามที แตถามองเฉพาะดาน CPU แลว ก็นบั วา AMD ทําไดสําเร็จ โดยเฉพาะดานการประมวลผลเชิงทศนิยมที่สามารถพัฒนา และ ปรับปรุงใหดี ขึ้นมา ทัดเทียม หรืออาจจะเหนือกวา Intel ในบางดานแลว นอกจากนั้น ยังมีแผนงานสําหรับ CPU รุนใหมๆ เทคโนโลยีใหมๆ และ ระดับความเร็วสูงๆ ออกมาเกทับทาง Intel อยูเปนระยะๆ สวนทางดาน Intel เอง ก็ไมไดนอ ยหนา โดยการชิงเปดตัว CPU ที่ใชเทคโนโลยีการผลิต 0.18 ไมครอนกอนทาง AMD และยังมี เทคโนโลยีใหมๆ ออกมาอยูเสมอ ผลัดกันรุก ผลัดกันรับ ... ผลัดกันเกทับอยูเปนระยะๆ ... ดานเทคโนโลยีนี้ คงหาผูชนะกันลําบาก เพราะผลัดกันแพ ผลัดกันชนะอยูเปนชวงๆ ผูแพ ผูชนะ ก็เปนแคชวงเวลาหนึ่งๆ เทานัน้ บทสรุป และ ความเห็นสวนตัว

ดูเหมือนวา ตางฝาย ตางก็งัดเอาอาวุธใหมๆ เขามาห้ําหั่นกันอยูเปนระยะๆ นะครับ ดูแลวไมนาจะจบสิ้นกันงายๆ ทาง Intel เองนั้น ก็คงจะลําบากหนอย เพราะวาตองรับมือ หลายทาง ทัง้ ดานตลาด Desktop PC ที่ตองรับมือกับทัง้ AMD และ Cyrix ( VIA ) ตลาด Chipset แขงกับทาง ( VIA และ ALI ) และรวมไปถึงตลาด เครื่อง Server ที่มีคูแขงอีกหลายเจา ทั้ง SUN และ Compaq ( Alpha ) แตในขณะที่ทาง AMD นั้น แมจะมี Chipset ของตนเองออกมาบางแลว และ พยายามจะผลักดัน CPU ตัวใหมๆ ของตนใหเขาสูตลาด Server ดวย แตก็ยังไมเนนหนักไปทางนั้นสักเทาไร โดยความเห็นสวนตัว ณ เวลานี้ ความเร็วของ CPU ดูเหมือนจะไมคอยมีผลกับความรูสึกในการทํางานแลว แมวาจะเพิ่มความเร็วกันใหถึงระดับ 1 GHz ก็ไมใหความรูสึก วาเร็วขึ้นจาก 300 MHz สักเทาไร เพราะเทคโนโลยีดานอื่นๆ ยังคงเปนตัวหนวงใหระบบอยู อยางนอยๆ ก็ Harddisk ละครับ ที่ยังคงเปนตัวหนวงความเร็วของระบบ มาชานานแลว ดังนั้น ถาทาง AMD จะหันมาสนใจดานการตลาดบาง หาพันธมิตรทางการคาเพิ่มเติมบาง ก็จะดีกวานี้ไมนอย ... เพราะทุกๆวันนี้ แมเทคโนโลยีจะทัดเทียม หรืออาจจะนําหนาทาง Intel ไปบางแลว แตดานการตลาดยังคงตามหลัง Intel อยูหลายกาวเลย ... จะอยางไรก็ดี แมวา เทคโนโลยีของทุกวันนี้ จะเปนไปอยางรวดเร็ว มีการคิดคนสถาปตยกรรมใหมๆ อยูเสมอ และ มีการแขงขันกันทางตลาด อยางมาก ทั้งเรือ่ งราคา และ เรื่อง การโฆษณาชวนเชือ่ ตางๆ นาๆ เพื่อใหหนั มาใช CPU รุนใหมๆ อยูเ สมอ แตก็ไมจําเปนเสมอไป ที่เราจะตอง ตามซื้อ เพือ่ ไลตามใหทนั เทคโนโลยีอยูเสมอไป ... ทัง้ AMD และ Intel แขงขันกัน ผลดีนั้นตกอยูที่ผูบริโภค เพราะจะไดซื้อ CPU คุณภาพดี ใหเหมาะสมกับงานที่ใช และ ราคาไมแพง แตก็ตอ งขึ้นอยูกับความเหมาะสมในการเลือกซื้อ / เลือกใชดวย บทความนี้ คงจะขอจบลงที่ตรงนี้ แต สงครามการแขงขันชิงความเปนเจาตลาดของ AMD และ Intel ยังไมจบ ยังคงมีอยูตอ ไปเรื่อยๆ หากวามีขอมูล ทัง้ ดานการตลาด และ ดานเทคโนโลยี เขามาเพิ่มอีกมาก ก็อาจมีภาค 2 ตอ ก็เปนได ... แตอยางไรซะ ก็อยากฝากขอคิดไวสักขอ ( แมจะไมเกี่ยวกับเรื่องนี้สักเทาไร ) ก็คือ " เราควรจะรูใหเทาทันเทคโนโลยี แต ไมจําเปนจะตอง ทําตัวตามใหทันเทคโนโลยีเสมอไป " ขอบคุณครับ

เจาะกะโหลก! DDR RAM


51 111111วันนี้ก็จะพามารูจ  ักกับ DDR SDRAM ซึ่งตอนนี้ราคาก็ไดถูกลงแลวหลังจากตอนทีน ่ ําเขามาแรกๆ 128Mb 8,xxx บ. ตอนนี้อยูท  ี่ 4,xxx บ. ราคาลงมากวาครึ่ง เพื่อนๆ หลายคนคงสงสัยวา DDR SDRAM มันมีประสิทธิภาพแตกตางกับ SDRAM และ RAMBUS อยางไร ตามมาดูเลยครับ...

DDR คืออะไร ? 11111 DDR ยอมาจากคําวา Double Data Rate ซึ่งเปนเทคโนโลยีแบบใหม ที่จะเขามาแทนที่ SDRAM ที่เราใชอยูใ นปจจุบัน เนื่องจาก DDR ไดรับการพัฒนา และ ยึดถือหลักการทํางานตามปกติของ หนวยความจําแบบ SDRAM จึงทําใหทํางานไดเหมือนกัน SDRAM แทบทุกอยาง แตกตางกันตรงที่ SDRAM โดยทัว่ ไปจะมีการโอน ถายขอมูลเพียงครั้งเดียวในหนึ่งลูกของสัญญาณนาฬิกา ในขณะที่ DDR สามารถสงขอมูลไดถึง 2 ครั้งในหนึ่งลูกของสัญญาณนาฬิกาดังรูป

คือสามารถสงขอมูลทั้งขาขึ้นและขาลงไดในครั้งเดียว ดังนั้นความเร็วที่แทจริงของ Bus จึงเพิ่มเปน 266 MHz ซึ่งมากกวาหนวยความจํา SDRAM PC133 ถึง 2 เทา สงผลใหขนาด BANDWIDTH ของ หนวยความจํานั้นสูงขึ้นจากเดิมถึง 50% ทําใหระบบตางๆทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพกวาการใช หนวยความจําแบบเดิม


52

นอกจาก DDR จะทํางานไดเปน 2 เทา แลวยังเปนการชวยแกปญหาคอขวดในการใชงานใหลดลงอยาง มาก ทําใหเห็นไดชัดเจนวา DDR SDRAM เหนือกวา SDRAM PC100/133

หนวยความจําแบบ DDR SDRAM ในปจจุบน ั จะมีอยู 2 แบบคือ PC1600 และ PC2100 ซึ่งตัวเลขที่ ตอทายไมไดหมายถึงความเร็วของระบบ BUS ดังเชนตัวเลขที่ตอทาย SDRAM แตกลับเปนคาทีใ่ ชระบุ ขนาด BANDWIDTH ของหนวยความจํา มาดูในสวนของ Benchmark กันดีกวา


53 BAPco's SYSmarkj (Windows® 2000)

แตทวาที่กลาวมาทั้งหมดเปนเพียงทฤษฎี สวนการใชงานจริง DDR RAM มีประสิทธิภาพเหนือกวา SDRAM ไมถึง 2 เทาตามทฤษฎี ทั้งนี้เนื่องจากปจจุบัน Chipset ทีผ ่ ลิตขึ้นเพื่อสนับสนุน DDR RAM ยัง ไมสามารถเรียกใชประสิทธิภาพของแรมชนิดนี้ไดอยางเต็มที่รวมทั้ง Software ตางๆ แตทวาก็ยังมีการ พัฒนาตอไป และในไมชา เราจะไดเห็น DDRII หากมีขอผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย ถามีขอ  สงสัยอะไร หรือมีสิ่งใดอยากจะเสนอ ก็ POST ทาง EMAIL หรือ WEBBOARD ก็ได อางอิงโดย จุลสาร ATEC-COMPUTER

Direct Rambus มารูจักหนวยความจําชนิดนี้กันเถอะ [ 16 ธันวาคม 2542 ]

หลังจากที่ Intel ไดเผยขอมูล Chipset i820 ซึ่งรองรับการทํางานของหนวยความจําอีกแบบ หนึ่ง ซึ่งไมคุนหู คุนตาเรากันสักเทาไรนัก นัน ่ คือ Rambus ก็ทําใหกระแสเกี่ยวกับ Rambus นี้ เพิ่มขึ้นอยางมาก ทั้งตอบรับ และ ตอตาน ... ทั้งทีจ ่ ริงๆ แลว Rambus ก็ไมใชอะไรที่ใหม ไมใช สิ่งที่เพิ่งคิดคนขึ้นมา .. มันมีมานานแลว แตไมไดรับความสนใจ ดังนั้น การที่ Intel หันมาใช Rambus นี้ ก็เหมือนเปนการปลุกผี Rambus ใหกลับมีชื่อขึ้นมา แลว Rambus นั้น คืออะไร? มีดีอยางไร? ทําไม Intel ถึงไดหันมาใช Rambus นี้? เพราะ Intel เล็งเห็นวา Rambus มีประสิทธิภาพสูงกวา SDRAM ที่ใชอยู อยางนั้นหรือ? ... คําถามเหลานี้ อาจเปนคําถามที่คางคาใจเพื่อนๆ อยู ก็ได ... เรามาศึกษาเรื่องของ Rambus กันดีกวานะครับ วามันคืออะไร? มีขอดี ขอเสียอยางไร? เพื่อจะ ไดเปนแนวทาง ในการหาคําตอบของคําถามที่เหลือกันนะครับ

Rambus คืออะไร? Direct Rambus DRAM หรือ DRDRAM นั้น เปนชุดของเทคโนโลยีทางดานหนวยความจํา ที่ ประกอบดวย ความสามารถในการสงถายขอมูลในระดับสูงของ Chip หนวยความจํา , การ เชื่อมตอกับ Interface ของหนวยความจํา , Signaling Protocol และ การเชื่อมตอของสัญญาณ ตางๆ ที่เกี่ยวของ เขาไวดวยกัน Rambus นี้ เปนเทคโนโลยีทางดานหนวยความจําความเร็วสูง รุนที่ 3 ที่คด ิ คนและพัฒนาโดย บริษัท Rambus Inc. แหง Mountain View รัฐ California ซึ่ง บริษัท Rambus นี้ ไมไดผลิต Chip หนวยความจําชนิดนี้ และ ไมไดผลิตแผงวงจร ASIC ( Application Specific Integrated


54 Circuit ) เพื่อใชใน การเชื่อมตอแตอยางใด .. แตทาง Rambus นั้น ไดจดทะเบียนลิขสิทธิ์ ทางดานการออกแบบวงจรตางๆ รวมถึงเทคโนโลยีตางๆ ที่พวกเขาทําการออกแบบ และพัฒนา เอาไว .. ซึ่งถาบริษัทผูผ  ลิตหนวยความจําใดๆ ตองการจะผลิตหนวยความจําชนิดนี้ ก็ตองเสีย คาลิขสิทธิใ์ หกบ ั ทาง Rambus แทน ื่ เอาไปผลิตนัน ่ เองละครับ พูดงายๆ ก็คือ ตัวเอง ไมผลิตเอง แตขาย Design ใหกับผูอน และเมื่อไมนานมานี้ทาง Intel ซึ่งเปนยักษใหญในวงการ Micro Processor และ ผูผ  ลิต Chipset ตางๆ รวมถึงอุปกรณตางๆ ทีใ่ ชในเครื่องคอมพิวเตอร ไดประกาศวาจะใชหนวยความจําชนิด Direct Rambus เพื่อมาใชเปนหนวยความจําหลักของเครื่อง PC ( Personal Computer ) ใน อนาคต ซึ่งก็ได ใหเหตุผลหลักในการทีจ ่ ะใช หนวยความจําชนิดนี้อยู 2 ขอ 1. คือ ถึงเวลาของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของหนวยความจําทีใ่ ชกันมานานแลว และ 2. Direct Rambus นี้ ยังผลใหเกิดความเปลีย ่ นแปลงของระบบตางๆที่เกี่ยวของกับระบบ ของหนวยความจํา ทั้ง Chip ของหนวยความจําเอง , Module ของหนวยความจําทีจ ่ ะ ใชตอเขากับ Chipset , โปรโตคอลของสัญญาณตางๆ , อัตราการรับสงขอมูล , สัญญาณนาฬิกา และ การจัดการดานอุณหภูมต ิ างๆ

Easy Recovery โปรแกรมกูข  อ  มูลทีห ่ ายหรือถูกลบกลับคืนมาจากฮารดดิสก หลาย ๆ ครั้ง ทีค ่ ณ ุ อาจจะมีการเผลอ ทําการลบไฟลสําคัญทิ้งไป หรือกรณีที่เกิดการฟอรแมตฮารดดิสกทิ้งแบบไม ตองใจ รวมถึงกรณีที่ จู ๆ ขอมูลบนฮารดดิสก เกิดการอันธานหายไปเพราะสาเหตุใดก็ตาม ลองมาดูซอฟตแวรตวั หนึ่ง ที่อาจจะชวยทําการกูข  อมูลเหลานัน ้ กลับคืนมาใหคณ ุ ได โปรแกรมที่กําลังจะกลาวถึงนี้คือ Easy Recovery ครับ นับไดวาเปนโปรแกรมสําหรับการกูข  อมูล ทีท ่ ํางานไดดีในระดับหนึ่ง ที่สักวัน คุณอาจจะจําเปนตองพึ่งพาได ในยามคับขัน โดยปกติ เมื่อเราทําการลบไฟล หรือมีการทําฟอรแมตฮารดดิสก สวนที่เปนไฟลจริง ๆ นั้น จะยังไมถูกลบทิ้งไป ดังนัน ้ เมื่อตองการ กูขอมูลเหลานี้กลับคืนมา ตัวโปรแกรม Easy Recovery จะทํางานโดยการ คนหาไฟลตาง ๆ ที่ยังคางอยูบ  นพืน ้ ที่ของฮารดดิสกนี้ และพยายามทําการอานกลับขึ้นมาใหม ซึ่งจะประสบความสําเร็วมากนอย เพียงใด ขึน ้ อยูกบ ั วา ไฟลเหลานัน ้ ถูกเขียนทับไปแลวหรือยัง ดังนั้น หากรูสึกตัววามีการลบไฟลหรือฟอรแมต ฮารดดิสกผิด สิ่งแรกที่ตองทําคือ พยายามอยาใหมก ี ารเขียนขอมูลทับลงไปบน ฮารดดิสกตัวนั้นโดยเด็ดขาด นั่น หมายถึงโอกาสที่จะกูขอมูลกลับคืนมาได จะมีสูงขึน ้ กอนอื่น ก็ตองทําการหาดาวนโหลดตัวโปรแกรม Easy Recovery ที่วานีม ้ าเก็บไว เตรียมใชงานกันกอน สามารถ หาไดจาก หนาดาวนโหลดซอฟตแวร ครับหลังจากนั้น ใหทาํ การ unzip และเตรียมการติดตั้งใชงาน สิ่งที่ตองเตรียมไว กอนใชงานโปรแกรมนี้คือ ถาหากเปนการกูขอ  มูลจาก ฮารดดิสกหรือพารติชน ั่ ที่ถูกทําการฟอร แม็ตไปแลว ควรที่จะทําการหา ฮารดดิสกตางหากมาอีกตัว เพื่อใชสําหรับติดตั้ง Windows และเปดเครื่อง รวมถึง พื้นทีว่ าง ๆ สําหรับเก็บขอมูล ที่จะไดมาจากการกูไ ฟลไวดวย โดยอาจจะเปนฮารดดิสกตัวเดียวกันที่แบงเปนหลาย ๆ พารติชน ั่ ก็ได แตถาจะใหดี ขอแนะนําใหถอดฮารดดิสกตัวที่ถูกลบหรือฟอรแมตนี้ ไปตอพวงกับเครื่องอื่น และ


55 ลงโปรแกรมที่เครื่องอื่น จะไดผลดีกวากันครับ เชน สมมติวาฮารดดิสกคุณถูกฟอรแมตไปแลว ก็ใหถอดฮารดดิสก คุณ ไปตอพวงกับเครื่องของเพื่อน และลงโปรแกรม Easy Recovery ที่เครื่องของเพื่อน เพื่อทําการ กูขอมูลจาก ้ ะครับ ฮารดดิสกของคุณ โดยไฟลที่จะกูไดนน ั้ ก็นําไปเก็บไว ในฮารดดิสก ของเพื่อนคุณ คงจะพอเขาใจในจุดนีน ถัดมาหลังจากทีเ่ ตรียมอุปกรณกน ั ครบแลว เริม ่ ตนการติดตั้งตัวโปรแกรม Easy Recovery ที่เครื่องอื่นไดเลย โดยที่ขน ั้ ตอนการติดตัง้ จะไมมีอะไรมาก เพียงแคเรียกไฟลสําหรับการติดตั้ง และกดที่ปม ุ Next หรือ Yes เทานั้น กดไปเรื่อย ๆ จนถึง Finish เปนอันจบขัน ้ ตอนการติดตัง้ พรอมที่จะใชงานครับ หลังจากติดตั้งตัวโปรแกรมเรียบรอยแลว เริ่มตนการกูขอมูล โดยเรียกโปรแกรม Easy Recovery ขึ้นมาใชงาน ลองดูตามตัวอยางในภาพไปเรื่อย ๆ นะครับ

หลังจากทีเ่ รียกโปรแกรมใชงาน กดที่ปม ุ Next เพื่อทํางานตอไป


56

โปรแกรมจะแสดงขอมูล และรายละเอียดตาง ๆ ของฮารดดิสก ทีม ่ ีอยูในเครื่อง จากตัวอยางตามภาพดานบนนี้ จะ เห็นวา มีพน ื้ ที่อยูจ ํานวนหนึ่ง แสดงเปน Unknow File System Type นั่นคือขอมูล สวนที่หายไปและตองการกู คืน ใหเลือกทีไ่ ดรฟ หรือพื้นที่สว นที่ตองการกู และกดที่ปม ุ Next เพื่อทํางานตอไป


57 หนาจอตอไป จะเปนการกําหนดชวงของพื้นที่ฮารดดิสก ที่ตองการจะกูขอมูลกลับคืนมาจากสวนที่เลือก โดยที่ถาเรา ไมทราบ ก็ไมตองกําหนด คือจะเปนการเลือกใชพน ื้ ที่ทั้งหมดเทาทีม ่ ี สําหรับการหาไฟลตาง ๆ เพื่อทําการกูคน ื ตรง นี้ใหกด Next ไดเลย

หนาจอตอไป ใหกําหนดชนิดของ File System Type โดยทีค ่ วรจะเลือกชนิดใหถก ู อาจจะดูงาย ๆ คือ กอนที่จะ ทําการ ลบไฟลหรือ ฟอรแมตฮารดดิสกนน ั้ ฮารดดิสกตัวนัน ้ มีการจัดโครงสรางเปนแบบไหน FAT16 หรือ FAT32 ก็เลือกแบบนัน ้ (ปกติของ Windows จะเปน FAT32 ครับ) หากไมเขาใจเรื่อง FAT ตาง ๆ ขอให ยอนกลับไปอานเรื่อง ฮารดดิสก จากหัวขอ Article กันกอนนะครับ จากนัน ้ กดปุม  Next เพื่อทํางานตอไป


58

โปรแกรม จะทําการแสดงขอมูลคราว ๆ ใหเราดู กดที่ปม ุ Next เพื่อทํางานตอไป

ตอมาที่หนาจอนี้ ตัวโปรแกรม จะเริ่มตนทําการสแกนหา โครงสรางตาง ๆ ของไฟล ที่ยังพอที่จะทําการกูกลับคืนมา ได รอสักพัก อาจจะนานสักหนอย โดยที่อาจจะเพิม ่ ความเร็วในการทํางานตรงนีไ้ ด โดยการกดที่ปม ุ Hide Progress Details ก็ได


59

รอใหโปรแกรมทํางานจนเสร็จกอน อาจจะใชเวลาคอนขางนานสักหนอยกวาจะได 100%

หลังจากที่โปรแกรมทําการสแกนหาไฟลจนเสร็จแลว จะมีหนาตางตามภาพดานบนนี้ กดปุม OK เพื่อทํางานตอไป ไดเลย


60

เริม ่ ตน ขบวนการเลือกไฟลที่ตองการจะกู โดยโปรแกรม จะแสดงโครงสรางของไฟลทั้งหมด เทาทีพ ่ อจะคนหามา ไดจากฮารดดิสก นํามาแสดง และจะใหคุณทําการเลือกวา ตองการกูไฟลไหนบาง ใหเลือกไฟลที่ตอ  งการ โดยเอา เมาสกดที่ ตารางสี่เหลี่ยม ใหขึ้นเปนเครื่องหมายถูกไวครับ เลือกเทาที่คุณตองการ อยาลืมสังเกตุ ขนาดของไฟล รวมทั้งหมดดานลาง วามีการเลือกไวเปนจํานวนเทาใดแลวดวยนะครับ


61 หรือในกรณีที่เปนไฟล ที่เก็บอยูใน Sub Folder ก็สามารถเลือกไฟลยอยลงไปก็ได

ทําการเลือกไฟลที่ตองการ ใหครบ หรือเทาที่คด ิ วาเปนไฟลสําคัญ ที่ตองการจะกูกลับคืนมานะครับ เมื่อเลือกไดครบ แลว ใหกดทีป ่ ุม Browse ในชอง Destination เพื่อกําหนดวา จะทําการ copy ขอมูลเหลานี้ ไปเก็บไวที่ไหน ใน กรณีเชนนี้ ก็แนะนําวา ใหทําการเก็บไฟลทจี่ ะกูกลับมาไว บนฮารดดิสกตัวอื่น ที่ไมใชฮารดดิสกตวั ที่กําลังกูขอมูล เพราะวาเราตองการ ที่จะหลีกเลี่ยง การเขียนขอมูลทับ ลงไปใน ฮารดดิสก ตัวทีม ่ ป ี ญหา ใหมากทีส ่ ุดนะครับ เชน จากตัวอยาง ผมเลือกเก็บไวใน E:\ ครับ กดที่ปม ุ Next เพื่อเริม ่ ตน ขบวนการกูไฟลกลับคืนมา

และเนื่องจาก การที่จะตองทํา สแกนขอมูล ตามขัน ้ ตอนแรกใชเวลาคอนขางนาน หากไมมั่นใจวา อาจจะตองมีการ เขามาคนหาไฟล ที่ตองการกูกลับคืนมาใหม เราอาจจะทําการเก็บรายการนี้ไวกอนก็ได เพื่อที่จะไดไมตองทําการ สแกนไฟล ใหเสียเวลาใหมอีก แตถาไมตองการเก็บไวแลว ก็กดที่ No ไดเลย


62

โปรแกรม จะเริม ่ ตนการกู และทําการ copy ไฟลตาง ๆ ที่เลือกไว ใหรอจนจบขัน ้ ตอนนี้กอน

หลังจากที่ตวั เลขขึ้น 100% ก็เปนอันวาจบขั้นตอนกรกูขอมูลเรียบรอย ทดลองเปด windows explorer เพื่อดูไฟล ตาง ๆ ที่กูกลับคืนมาไดเลย


63

จากภาพดานบนนี้ จะเห็นวา ไฟลตาง ๆ สามารถกูก  ลับคืนมาไดเปนสวนมาก แตทั้งนี้ อาจจะมีไฟลบางตัว ที่ทําการ กูกลับคืนมาได ไมสมบูรณนัก และบางครั้ง ไฟลทม ี่ ีชื่อเปนภาษาไทยบางไฟล ก็พบปญหาวา ไมสามารถกูชื่อไฟล ได โดยชื่อไฟลทเี่ ปนภาษาไทย จะกลายเปนขีด _ _ _ _ _ แทน ซึ่งก็ตองเสียเวลามาเปลี่ยนชื่อไฟลใหมดวยครับ แตอยางนอย ผมคิดวา ยังดีกวาทีจ่ ะ ไมไดอะไร กลับคืนมาเลย ใชไหมครับ เทคนิคเล็ก ๆ นอย ๆ เพิม ่ เติม ในการเลือกไฟลทต ี่ อ  งการกูค  น ื บางครั้ง หากไฟลที่ตองการกู มีมากมายและมีชื่อซ้ํา ๆ กัน อาจจะทําใหเราสับสน และไมสามารถกําหนดไฟลที่ ตองการกูคน ื มาได เราอาจจะใชตัวชวยคือ การกดที่ปม ุ Shoe Tag Options และใสชื่อหรือกําหนดคา ของไฟลที่ ตองการกูได เชายจากตัวอยาง ผมตองการไฟลที่เปน *.zip เทานัน ้ ครับ


64 โดยการใสคําวา *.zip ในชอง Tag File Named และกดทีป ่ ุม Tag ก็จะเปนการเลือกไฟลทงั้ หมด ที่มีชื่อลงทาย ดวย .zip ครับ สรุปผลทีไ่ ด จากการทดลองใชโปรแกรมกูไ ฟลกลับคืนมา โดยรวมแลว ถือไดวา เปนโปรแกรมที่ ควรจะมีตด ิ เครื่องไวบางครับ เพราะวาสักวัน คุณอาจจะมีความจําเปน ที่ จะตองงัดเจา โปรแกรมนี้ ขึ้นมาใชบางก็ได ถึงแมวา อาจจะไมสามารถทําการกูไฟล กลับคืนมาไดทั้งหมด และยังมี ปญหากับชื่อไฟลที่เปน ภาษาไทยอยูบ  าง ก็ยังดีกวาขอมูลหายไปเลยครับ

คอมพิวเตอรนั้นมี Form Factor ที่แตกตางกัน. AT และ ATX นั้นเปนมาตราฐานทั่วไป. NLX และ LPX นั้นเปนสองแบบที่แตกตางออกไป. ซึ่ง Form เหลานี้จะอธิบายถึงรูปราง และขนาดของเมนบอรด รวมไปถึง layout และสวนประกอบตางๆบนบอรด. Form Factor จะเปนตัวกําหนดวาคุณจะตองซื้อเคส (Case) แบบใด. เพราะเคสตางก็มี layout และใช Power Supply ตางชนิดกัน. AT Form Factor ใน Form ของ AT นี้นั้นมีแบบ AT ธรรมดา และ Baby AT. ซึ่งพื้นฐานแลวทั้งสอง นั้นตางกันที่ขนาดของบอรด. บอรด AT นั้นจะมีความกวางประมาณ 12" ซึ่งแปลวามัน ไมสามารถนํามาใสกับเคสในบัจจุบันได. โดยทั่วไปแลวบอรดแบบ AT นี้จะเปนบอรด ชนิดเกาๆ เชน 386 หรือกอนหนานี้. การที่จะจัดการกับขางในเคสนั้นคอนขางจะมีปญหา เนื่องจากขนาดของเมนบอรดมันจะเหลื่อมล้ํากับชองใส Drive และสวนอื่นๆ Baby AT นั้นเปน Form ที่ถูกใชอยางกวางขวางในบอรดและเคสในปจจุบัน. เมนบอรดแบบ Socket 7 จํานวนมาก และบอรืดของ Pentium II อีกจํานวนนึง ก็ไดใช Form Factor แบบนี้. บอรดแบบ Baby AT นั้นมีขนาดกวางประมาณ 8.5" และยาว 13". ซึ่งจะมีขนาดเล็กกวา AT และทําใหการทํางานในเคสนั้นงายดายขึ้น เพราะวามันจะมีที่ วางมากกวา และมันมีมีรูใหขันนอดอยู 3 แถว. บอรดที่ใช AT Form นั้นจะตองใช serial และ parallel ports ติดอยูกับ expansion slot บนเคส และติดตอกับเมนบอรดดวยการใชสายเคเบิ้ล. บนบอรดนั้นจะมีเพียง keyboard connector เพียงตัวเดียวที่ติดอยูดานหลัง. สวน Processor นั้นจะยังคงอยู ตรงดานหนาของบอรด สวน SIMM slots นั้นจะอยูในที่ตางๆกัน และโดยทั่วไปแลวมัน จะอยูดานบนของบอรด ซึ่งตอนนี้นั้นวงการอุตสาหกรรมไดยานหนีจาก AT form factor ดวยเหตุผลงายๆ เพียงเพราะวา ATX นั้นมันมีขอไดเปรียบอยูมากมาย. ซึ่งผูคนโดยมากแลวจะรําคาญมาก กํากับการออกแบบของ AT form factor. เหตุผลขอแรกก็คือ มันจะตองใชสายเคเบิ้ล เพื่อติดตอ Connector กับ เมนบอรดมากมาย ไมวาจะเปน COM 1, COM 2, printer port, USB, PS/2 mouse, ฯลฯ ซึ่งทําใหภายในเคสนั้นจะดูรกไปหมด ทําใหจะทํางาน ไดยุงมาก เหตุผลขอที่สอง คือ รูปแบบของ AT นั้นไมเอื้ออํานวยตอระบบการระบายความรอน ลมจะไมพัดไปยังพื้นที่ๆตองการระบายความรอน อยางเชน CPU. และอากาศที่ไหลก็ มักจะนําฝุนมาดวย ซึ่งในบางครั้ง Power Supply มันจะเปนตัวเก็บฝุนเสียเอง ATX Form Factor ในป 1995 ทาง Intel ไดออก ATX Form Factor ซึ่งมันคอยๆไดรับความนิยมมาก ขึ้น และ ผูคนเริ่มโยนบอรด AT ซึ่งไดรับความนิยมมานานอยางชาๆ. ซึ่งเมนบอรด


65 Pentium II และบอรดรุนหลังจากนี้ สวนมากแลวจะเปนแบบ ATX แมวายังจะมีบอรด Pentium II แบบ AT บางตัววางขายอยู แตก็เปนสวนนอย. สวนบอรดของ Pentium ตอนแรกโดยทั่วไปนั้นจะเปนแบบ AT แตทางผูผลิตเมนบอรดก็ออกวางจําหนายบอรด ของ Pentium ในรูปแบบ ATX ออกมาตามหลังมากมาย รูปแบบของ ATX นั้นไดพัฒนาขึ้นมาจาก AT อยางมากมาย และไดแกไขขอเสียที่ เกิดขึ้นกับ AT ออกไปดวย. ซึ่งตั้งแต AT Form นั้นเกาเกินไป แถมยังมีขอยุงยาก มากมาย ทําให ATX นั้นสามารถเกิดไดอยางเต็มตัว. ตัวอยางของ feature ใหมๆ เชน - รวม I/O Connectors ไวบนบอรด : เมื่อผูใ ช AT นั้นจะตองตอ Port ตางๆติดกับ ดานหลังเคส และ ตองตอสายเคเบิ้ลเหลานั้นลงบอรดอีก ซึ่งเปนเรื่องยุงยาก แตบอรด ATX นั้นไดติด Port เหลานี้มาไวบนบอรดใหเลย ซึ่งทําใหการติดตั้งนั้นงายขึ้นมาก. - รวม PS/2 Mouse Connector ไวบนบอรด - ลดการเหลื่อมล้ําระหวางบอรดและชองใส Drive : บอรดแบบ ATX นั้นจะไมไป เหลื่อมล้ํากับชองใส Drive ในดานหนา ซึ่งทําใหผูใชนั้นสามารถที่จะถอด/ใส Drive และตัวเมนบอรดไดงายขึ้น และการที่ Drive มันไมไปเหลื่อมกับบอรดทําใหความรอน ลดลงดวย. - ลดการที่ซีพียูเขาไปยุงกับการด : CPU ใน AT นั้นบางตัวอาจอยูดานหลังของชอง ใสการดตางๆ ทําใหบางครั้งเราไมสามารถใสกาณืดที่มีความยาวมากๆได เพราะมันจะไป ติดซีพียู แต ATX ไดยายที่อยูของ CPU ไปอยูดานบน ซึ่งอยูใกล Power Supply ซึ่ง ตรงนี้เอง ทําใหผูใชนั้นสามารถที่จะใส expansion cards ที่มีความยาวเต็มที่ไดโดยไม ตองไปกังวลวาจะไปชนกับ Heaksink ของ CPU. - มี Power Connector ที่ใชงานไดงายขึ้น : ATX นั้นใช Power Connector แบบ 20-pin เพียงตัวเดียวในการติดตอกับเมนบอรด และมีสัญลักษณที่บอกวาสามารถตอให ถูกไดเพียงทางเดียว. ซึง่ งายกวา Connector ของ AT ซึ่งแบงออกเปน 2 ชิ้น และตอ ไดยาก. - มีการระบายความรอนที่ดีขึ้น - 3.3 Volt Power : เมนบอรด ATX นั้นไดถูกออกแบบมาใหรับไฟ 3.3 Volt ได โดยตรงจาก Power Supply. ซึ่งตั้งแต CPU รุนใหมนั้นทํางานที่ 3.3 Volt ซึ่งตรงนี้ สามารถทําใหเอาสวน voltage regulator ที่ใชในการลดไฟจาก 5V ไปเปน 3.3V ออกไปไดเลย. แตตองจําไววา CPU หลายตัว ไมไดทํางานที่ 3.3V ยังคงจําเปนจะตอง ใส voltage regulator เขาไปอยูดี NLX Form Factor NLX นั้นเปน Form Factor แบบใหม และออกมาเพื่อ PC ที่มีองคประกอบนอยๆ. ระบบ NLX นั้นจะตองใช riser board เหมือนกับระบบ LPX. Riser board นี้จะถูกวางตั้ง ตรงอยูในเคสและตอเขาโดยตรงกับ Power Supply และ expansion cards แตละตัว นั้นจะถูกตอเขากับ Riser board นี้ เชนเดียวกับ HDD และ FDD connectors ก็จะติดอยู บนบอรดของมันเอง. ดังนั้นแลว ถามองอยางายๆแลว Riser board นี้ก็เปรียบเหมือน Hub ของระบบ NLX ซึ่งทุกสิ่งทุกอยางจะถูกติดตอไปยัง Riser board. ดังนั้นแลว เมนบอรดของ NLX นี้จะถอดออกไดโดยงายโดยถอดแค Riser board ออก แลวเอา บอรดใหมมาเสียบเขาแทนที่. บอรด NLX นั้นจะดูแตกตางมาก มากกวาที่ AT ตางจาก ATX. อยางแรกเลยคุณตอง จําไดวา มันไมมี expansion card slots เลย และยังไมมี drive connectors. ดังนั้นแลว 340-pin connector ที่อยูบนเมนบอรดนั้น จะเปนตัวที่ใชเสียบ Riser board. แตสวนที่ คลายกับ ATX คือ I/O connectors จะอยูบน Panel ซึ่งอยูดานขางของบอรด และ สามารถใชอุปกรณ USB, parallel และ serial กับระบบ NLX ได


66 สวน Power supply นั้นจะดูคลายกับของ AT. และติดตอกับเมนบอรดโดยใช 20pin connector. และจะมีพัดลมดูดอากาศ 1 ตัว อยูใกลๆกับบริเวณที่วางซีพีบูบน เมนบอรด ซึ่งพัดลมตัวนี้ใชเปนระบบระบายความรอนของระบบ NLX. LPX Form Factor LPX นั้นดูคลายระบบ NLX ในรูปแบบ AT. เมนบอรด LPX นั้นก็มีหลายสิ่งที่ เหมือนกัน ขนาดพอๆกัน และมีมุมมองที่เหมือนเมนบอรด Baby-AT. และสามารถใช power connectors แบบเดียวกับ AT ได โดยเปน 6-pin connectors จํานวน 2 ชุด โดยปกติมักจะมีปายบอกวาเปน P8 และ P9. และสิ่งที่คลาย NLX นั้นคือใช riser card มาเปน Hub ของระบบ. สวน external I/O ports ของระบบ LPX ก็มีรูปแบบเหมือน ทั่วไป เรียงจากซายไปขวาดังนี้ VGA, parallel port, 2 serial ports, PS/2 mouse, PS/2 keyboard. แตในรุนใหมๆอจตางไปจากนี้โดยมี USB Port และ Lan Cennector ดวย. LPX ถูกนํามาใชในทุกวันนี้ และถูกผลิตโดยผูผลิตบางราย และสามารถใชไดถึงกับ Pentium II. แตดวยความลาชาของการกําหนดมาตราฐาน ทําใหมันไมสามารถไปไกล ไดมากกวานั้น.

การเตรียมตัวกอนลง Software หลังจากตอ Lan เพื่อใช Files &........ไดแลว เราก็คงอยาก ใช Internet รวมกัน ดวย การทําให Lan ของเราใช Internet รวมกันได มี Software ประเภท Proxy หลายตัว เชน Wingate , Winroute , Winproxy ,........ แตในที่นี่จะกลาว ถึง Software ที่มีมากับ Windows 98SE Thai คือ " Internet Connection sharing " [ ตอนนี้ Com. ก็จะมี Protocol : TCP/IP อยูดวยแลว จําเปนสําหรับ Internet ครับ ] เริ่มแรกตองดูวา Com. ของเราลง Software แลวหรือยัง และเปน Windows 98SE หรือเปลา [1] Click ขวาที่ Network Neighborhood--->Properties [ ดูวามี Internet Connection sharing หรือยัง ถายังก็เตรียม ตัวครับ ]


67 [2] Click ขวาที่ MY Computer ----------> Properties [ ดูวา เปน Windows 98 Second Edition หรือเปลา ]

ตองเปน Windows 98 Second Edition นะครับ สิ่งที่ตองเตรียมไวกอนลง Software ก็คือ : 1] แผน CDROM Windows98SEThai 2] แผน Floppy disk 1 แผน Formatใหเรียบรอยครับ [แผน Floppy diskใชทําแผน Client Configuration Disk เพื่อ ลงในเครื่องClient] 3] เครื่องที่เปน Host ควรจะทดลอง ตอเขา Internet ใหใชไดเปนปกติกอน หมายเหตุ สําหรับ IP Address ของ Host [เครื่องที่ตอกับ Modem] นั้น หลังจากลง Software นี้แลว จะถูกติดตั้งคา IP Addressเปนคา Default ของSoftware คือ 192.168.0.1 [ หมายความวา ถาเดิมเราตั้งไว 192.168.10.20 ก็จะถูก เปลี่ยนเปน 192.168.0.1 ซึ่งคงไมมี ปญหาสําหรับ Lan เล็กๆในบานของเรา เพราะSoftware นี้ สามารถจาย IP Address ใหกับ Client ไดอยาง อัตโนมัติ [[DHCP] คือชวง 192.168.0.2 ถึง 192.168.0.253 ]

การลง Software ที่ Host การลง Software Internet Connection sharing ก็เหมือนการลง Software อื่นๆ ของ Windows เพิ่มเติมครับ : My Computer ---> Control Panel ---> Add/Remove Programs --->Windows Setup


68

Click เลือก Internet Tools แลว Double click

Click เลือก Intenet Connection sharing OK ---> Apply


69 ใสแผน CDROM Windows 98SE แลว OK

เลือก DRIVE ของ CDROM แลว OK กําลังลง Software จาก CDROM


70

Click Next เลือกชนิดการตอเขา Internet แลว Next

กรณีใชหลาย Account เลือก Account ที่ตองการ [ เปลี่ยนทีหลังได ] แลว Next [ ถามี Account เดียวก็จะไมมี หนาตางใหเลือก ชนิดการตอเขา Internet และ Account ]


71

เตรียมสรางแผน Client Configurstion Disk แลว Click Next

ใสแผน Floppy disk ที่เตรียมไว แลว OK

ทําแผน Client Configuration Disk เสร็จแลว


72

OK Click Finish

Click เพื่อ Restart เปนอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการลง Software ครับ การ Set Network ที่ Host หลังจาก Boot ขึ้นมา ก็ Logon เขาWindows [ตอง Logon เขามา หาม Cancel] Click ขวาที่ Network Neighborhood --->


73

Properties เลือกที่ TCP/IP ของ Lan Card แลว Click

Properties ที่ IP Address Tab จะไดคา IP Address เปน 192.168.0.1 ที่ Gateway Tab ใหปลอยวางไว ไมตองใสอะไร


74 จากนั้นก็เลือก TCP/IP ของ Internet Connection sharing แลว Click

Properties ที่ IP Address Tab เลือก Obtain an IP address automatically แลว OK สวน Tab อื่นไมตองเปลี่ยนแปลงอะไรเลย ตั้งคาการใชงาน Internet Connection sharing ที่เครื่อง Host จากนี้ก็เปนการ Set คาการใชงานของ Internet Connection sharing ครับ My Computer ----> Control Panel

Double Click ที่ Internet


75

Option เลือก Enable Internet Connection sharing [เพื่อใหเครื่อง Client ใช Internet ไดดวย]

ถาเลือก Show Icon in Taskbar : จะมี Iconของ Internet Connection sharing

ถา Click ขวาที่ Icon จะเห็นวามีตัวเลือกใหเราสามารถ Set คาตางๆไดตามตองการครับ

เชน ถาเลือกที่ Status [หรือ Double Click ที่ Icon ICS เลยก็ได] จะแสดงใหเห็นถึง จํานวน Computers ที่ใช Internet รวมกันการติดตั้งในเครื่อง Client ที่เครื่อง Client กอนการลง Software จากแผน Client Configuration Disk เราควร Set คา Network ใหเรียบรอยกอน ดังนี้


76 Click ขวาที่ Network Neighborhood---> Properties

เลือก TCP/IP ของ Lan Card แลว ---> Properties

ที่ IP Address Tab เลือก Obtain an IP address


77

automatically

ที่ Gateway Tab ไมตองใสอะไร ที่ WINS Configuration Tab เลือก Use DHCP for WINS


78

Ressolution ที่ DNS Confoguration Tab เลือก Disable DNS แลว Click OK เมื่อมีการติดตั้งคาใหม ก็จะมีการ Restart ขึ้นมาใหม หลังจาก Com. Restart ขึ้นมาแลว เราก็ Logon เขา Windows เปดแผน Client Configuration Disk

Double Click ที่ icsClient.exe ซึ่งจะเปนการ Set คาใน Browser โดยอัตโนมัติ [ ขอความใน ReadMe.txt เปน ภาษาไทย ลองเปดอานดูซิครับ ]


79

Click Next


80

Click Next Click Finish เปนอันเสร็จสิ้นการ Set เครื่อง Client ครับ ลองเปดดูที่ Internet Option ใน Control Panel


81

Double Click ที่ Internet จะเห็นวาถูกติดตั้งคาอยูที่ Connect to the Internet using a local area network จากนี้เราก็สามารถ เลน Internet จากเครื่อง Client ไดแลวครับ อีกวิธีก็คือ

Click ที่ปุม Setup เลือกใชอินเตอรเน็ตผาน


82

Lan เลือกตอ

Lan ไมตอง Check ปุม ใดๆ


83

ไม Set คา E-mail (Set ภายหลังได)

Click ที่ปุม Finish


84

ดูเว็บไซตได

ที่ BROWSERS [ทั้ง IE & NETSCAPE] ไมตองปรับแตงอะไรเลยครับ[ไมตองSet Proxy] [ OPERA ผมไมไดใชครับ คิดวาคงใชไดเหมือนกัน ลองดูซิครับ] หมายเหตุ ที่เครือ่ ง Client สามารถใช ICQ , IRC & IPhone ไดเลยครับ [ไมตองSet Proxy] ใครแกปญหาอะไรไดก็ชวยๆบอกกันหนอยครับ ใครรูอะไร หรือวาผมเขาใจผิดที่ใด ก็แจงไดครับ

จั้มเปอร(Jumper) เชื่อหรือไม? เพิ่มศักยภาพใหคอมพไดงาย ๆ ผาน Jumper Dip Switch สะพานไฟแหงชีวิตคอมพ ของคุณ สิ่งที่หลายคนกลัวนักหนากําลังจะถูกเปดเผย ความจริง...


85

วันเวลาผานไปเทคโนโลยีกา วหนาไปเรื่อย ๆ ทุกวันนี้คงปฏิเสธไมไดวาคอมพิวเตอรมีบทบาทใน ชีวิตประจําวันของเราเปนอยางมาก หลายคนเลือกที่ซื้ออุปกรณ คอมพิวเตอรมาประกอบเอง หรือ ใหทางรานประกอบให แทนที่จะซื้อจากบริษัทขายคอมพิวเตอร Brandname ปญหาที่ตามมาคือเรา จะประกอบอุปกรณแตละชิน้ เขาไป ไดอยางไร? หรือในกรณีที่รานคาประกอบใหเรา เคยคิดบาง ไหมวารานคานั้นประกอบใหเราถูกตองหรือเปลา ? ประกอบเครื่องคอมพิวเตอรใหเราแลวสามารถ ดึง ประสิทธิภาพออกมาเต็มที่หรือเปลา ? บอยครั้งที่ผมเองก็พบวาชางที่รานติดตั้งตัว Jumper บน เมนบอรดผิด สับ Dip Switch ผิด อันจะเกิดจากชางไมมปี ระสบการณ หรือหลงลืมไปชั่วขณะก็ไม อาจทราบได แตสุดทายก็ผิดไปแลว

Jumper & Dip Switch อุปกรณนาสะพรึงกลัว


86

ผมเชื่อไดเลยวาเพื่อน ๆ หลายคนคงเคยไดยินคําวา Jumper, Dip Switch มาบางแลว แตอาจจะยังไม เขาใจวา เซ็ตอยางไร หรืออาจจะไมกลาไปยุงกับมัน อันที่จริงสิ่งเหลานี้ไมใชสิ่งที่นา กลัวเลย และ จําเปนมาก ๆ ที่เราจะตองรูไวบาง พวก Jumper, Dip Switch ตาง ๆ เหลานี้จริง ๆ มีหนาที่สําหรับ กําหนดการทํางาน ของอุปกรณคอมพิวเตอรใหทําหนาที่ตางกันออกไป จะเห็นตัวอยางหนาที่ ชัดเจนก็บน เมนบอรดรุนหนึ่งเราสามารถเลือกไดวาจะใหมี FSB (Font Side Bus) ความเร็วเทาไร 66,100,133 MHz จะใหตัวคูณ (Multiple) ของ CPU เทาไร ? เพื่อใหเมนบอรด รุนนัน้ ๆ สามารถ รองรับการทํางานของ CPU ไดมากที่สุด แลวก็เปนหนาที่ของชาง หรือเราเองที่จะตองมานั่งเซ็ตให ตรงกัน นี่เปนเพียงตัวอยางเล็ก ๆ นอย ๆ เทานั้น ในวันนี้เราจะมาคุยกันเรื่องที่เกี่ยวกับพวก Jumper ตาง ๆ ที่อยูบน เมนบอรด, Hard Drive , CD-ROM Drive กันวาสามารถเซ็ตอะไรไดบาง Jumper บน เมนบอรด เมนบอรดถือวาเปนสวนที่มี Jumper ใหเซ็ตติดตั้งอยูมากพอสมควร เมนบอรดรุนใหม ๆ พยายามจะ ลดความยุงยากในสวนนีจ้ ึงพยายาม ทําเทคโนโลยีที่เรียกวา "Jumper Less" คือมี Jumper ใหนอย ที่สุดหรือ ไมมีเลย แลวยายการเซ็ตคาตาง ๆ ไปเปนสวน Software หรือบน Bios ที่เรียกวา "Soft Menu" เพื่อใหผูใชงานยังคงสามารถปรับแตงคาตาง ๆ ได จากเดิมที่รูปรางหนาตาของ Jumper เปน ขาทองแดงแลวใชพลาสติกเล็ก ๆ ซึ่งขางในมีแผนโลหะเปนตัวเชื่อม เมนบอรดบางรุนก็เปลี่ยนมา เปน Dip Switch ที่ปรับแตงไดงายกวา สะดวกกวา และดูไมนากลัวแทน วิธีการเซ็ต Jumper สวน ใหญจะเปนการเชื่อมขาทองแดงเขาดวยกัน ซึ่งตองอาศัยตัวเชื่อมทีเ่ ปนลักษณะพลาสติกตัวเล็ก ๆ ที่ ขางในจะเปนทองแดง เปนสื่อใหขาทองแดงทั้งสองเชื่อมถึงกัน และพลาสติกรอบขางทําหนาที่เปน ชนวนปองกันไมใหทองแดงไปโดนขาอื่น ๆ

สวนวิธีการเซ็ต Dip Switch ก็งาย ๆ ใหเรานึกถึง Switch ไฟธรรมดาที่มีการปดและเปด ซึ่งจริง ๆ แลวทั้ง Jumper และ Dip Switch นั้นตางมีจุดมุงหมายเหมือนกันตรงทีท่ ํางานเปรียบเสมือน Switch ธรรมดา มีสภาวะเปดและปด (Open and Close) เพื่อใหการเชื่อมและตัดวงจรนั้นเปนตัวบอกให


87

เมนบอรด รูวาเราตองการใหทํางานอยางไร

ตัวอยาง Dip Switch บนเมนบอรด อันที่จริงแลวเวลาเราจะเช็ท Jumper หรือ Dip Switch เราจําเปนตองอานคูมือเมนบอรดใหดี ๆ กอน เพื่อที่จะไดรูวา เรากําลังจะเซ็ตอะไร เซ็ตตรงไหน อยางไร และไดคาอะไรนะครับ ภาพดานขางนี้ เปนตัวอยาง Layout ของเมนบอรดของ Soltek SL-75JV บนเมนบอรดที่สําคัญ ๆ หลัก ๆ ที่เราตองเซ็ตก็คือเรื่อง ของ FSB (Font Side Bus) และ Multiple ของ CPU เพื่อใหเมนบอรดทํางานสอดคลองกับ CPU ที่เรานํามา ติดตั้ง จากตัวอยางทั้งสองสวนนีเ้ ปนการเซ็ตแบบ DIP Switch ซึ่ง SW1 เปนการเซ็ต FSB (Font Side Bus) และ SW2 เปนการเซ็ต Multiple (ตัวคูณ) ตามคูมือเมนบอรด เปนดังตารางที่ 1 และ 2 เมนบอรดที่นํามาเปนตัวอยางนี้ รองรับการทํางาน CPU ตระกูล AMD เพราะฉะนัน้ หาก ผมตองการนําเอา CPU Athlon Thunderbird ความเร็ว 850 MHz มาติดตั้งบนเมนบอรดรุนนี้ผมตองเซ็ต SW1 CPU Clock = 100 MHz ซึ่งตองปรับ DIP 1-5 บน SW1 เปน Off On Off Off On ตามลําดับ สวน SW2 ตองเลือก Multiple 8.5x เพราะฉะนั้นตองเซ็ต DIP 14 บน SW2 เปน Off Off On Off

มีการเซ็ต Jumper หนึ่ง ที่เรานาจะรูไววาอยูตรงสวนไหนของเมนบอรด คือ การ Clear CMOS Data เอาไวเวลาที่เรา Update CMOS Version ใหม ๆ หรือ


88

วาหากเกิดปญหาจากการที่เราเขาไป Set คาตาง ๆ ใน BIOS แลวทําให BOOT ไมได เราจะไดใช Jumper Clear CMOS DATA ทําการ Clear คาตาง ๆ ใน BIOS ใหกลับไปอยูในสภาวะเริ่มตน เหมือนคาที่ถูกเซ็ตจากโรงงานนะครับ สําหรับเมนบอรดรุนนี้ตัว Jumper นี้จะอยูที่ JBAT1 ดังรูป สภาวะปกติตวั Jumper จะเชื่อมอยูที่ขา 1-2 หากเราตองการ Clear CMOS Data เราตองยาย Jumper มาที่ 2-3 แตอยาลืมนะครับวาตองทําการยาย Jumper ขณะปดเครื่อง และตามคูมือบอกวาแคเรายาย มาก็จะ Clear CMOS แลวไมตองเปดเครือ่ ง จากนั้นทําการยายกลับไปยัง 1-2 แลวทํางานตามปกติ

Jumper บน Hard Drive และ CD-Rom Drive

หนาที่หลัก ๆ ของ Jumper ใน Hard drive และ CD-Rom Drive ก็คือการเซ็ตวา Drive นั้นเปน Master หรือ Slave หลาย ๆ คนอาจจะเริ่มงงวาอะไร Master อะไร Slave จะขออธิบายคราว ๆ ดังนี้ นะครับวาปจจุบัน Drive จําพวก Hard Drive และ CD-Rom Drive นั้นจะมีมาตรฐานการตอแบบ IDE ซึ่งบนเมนบอรดสวนใหญจะมีชองตอ IDE สองชองซึ่งเรียกวา Primary และ Secondary แตละ ชองก็จะตอ Drive ได 2 Drive นั้นหมายความวาเครื่องโดยทั่วไปจะสามารถใส Hard drive และ CD-Rom Drive รวมกัน 4 ตัว เนื่องจาก 1 ชอง IDE สามารถตออุปกรณได 2 ตัวนีแ้ หละครับที่ทําให เราตองมานั่งเซ็ตวาจะใหตวั ไหนเปน Master ตัวไหนเปน Slave แตละรุน แตละยี่หอก็กําหนด ตางกันออกไป แตอยางไรก็ตามเราก็ยังสามารถ ใชพื้นฐานความรูในการเซ็ตเดียวกันได สําหรับ ฮารดดิสกและไดรฟ CD-Rom นั้น ผูผลิตมักจะระบุการเซ็ตคามาให บนตัวมันเอง ใกล ๆ กับจุดที่ เซ็ตอยูแลว และการดูก็ไมยากเทาไหร เพียงแตทานตอง เขาใจคําวา Master กับ Slave เทานั้น สวน


89

คาอื่น ๆ ที่เห็น เชน Cable Select นั้น จะเปนการใชงานแบบพิเศษกับ สายเคเบิ้ล จะเกิดอะไรหาก เราเซ็ตไมถูกตอง หรือเซ็ตอุปกรณ 2 ตัวมาชนกันเอง คําตอบคืออุปกรณไมถึงกับเสียหายหรอกครับ แคเครื่องของเราก็จะมองไมเห็นวา เราไดตดิ ตั้งตัว Drive นั้นไปแลวเทานั้นเอง พอเราเซ็ตใหมให ถูกตองทุกอยางก็จะ กลับมาเปนเหมือนเดิมครับ ไมตองกลัวกับการเซ็ต Jumper พวกนีน้ ะครับ สรุป เรื่องราวของ Jumper ที่จริงก็คือ สวนที่ชวยใหอุปกรณตาง ๆ ทํางานไดหลากหลายหนาที่ ตรงตาม ความตองการของผูใช ในเมนบอรดสวนใหญจะเปนการเซ็ตวาขณะนี้ตอ งการนําเอา CPU อะไรมา ติดตั้ง จะให Disable/Enable ความสามารถตาง ๆ ในเมนบอรดไมวาจะเปน Sound On Board, Vga On Board หรือจะเปนการ Clear CMOS Data สวนใน Drive ชนิดตาง ๆ ไมวา จะเปน Hard drive , CD-ROM Drive จะเปนการกําหนดบทบาทหนาที่ สวนในอุปกรณอื่น ๆ นั้น เราอาจจะเห็นการเซ็ต Jumper ไดใน Card Interface บางประเภท ทั้งนี้ทั้งนั้นการเซ็ตคาตาง ๆ ตองอาศัยคูมือประกอบ เพราะวาแตละอุปกรณ แตละโรงงานก็จะ ออกแบบมาไมเหมือนกัน เซ็ตผิดพลาดก็อาจจะทําใหอปุ กรณนนั้ ใชงานไมได แตโดยสวนตัวแลว คิดวาไมนาจะทําใหถึงกับเสียหายอะไร เพราะทางโรงงานผูผลิตตองเผื่อเหตุการณนี้ไวอยูแ ลว ขอ ใหเซ็ตใหถูกตองอุปกรณก็นา จะใชงานได ดังนั้น ไมตองกลัวนะครับของอยางนี้ ถาเราอานคูมือ เขาใจดีแลวก็ลยุ เลยครับ Norton Ghost โปรแกรมชวย แบคอัพฮารดดิสก เก็บไวเผื่อยามฉุกเฉิน ครั้งหนึ่ง สมัยที่ผมเองหัดใชงาน Windows ชวงแรก ๆ ก็ซนพอสมควร มีการลองของคือ ทดลองลงโปรแกรมตาง ๆ เดี๋ยวใส เดี๋ยวเอาออก ไมนานเทาไรนัก Windows ตัวเกงก็เพี้ยนไปเลย ตองมาลง Windows ใหมอีก เรียกไดวา ตองลง Windows ใหมทุกสัปดาหเลยก็วาได เปนอยางนี้อยูคอนขางนานพอสมควร ในสมัยนั้นผมเองก็คิดหาวิธีที่ จะทําการ copy ตัวซอฟตแวรตาง ๆ เก็บไวเปนแบคอัพสํารองเอาไว เพื่อที่เวลามีปญหา จะไดนําเอาไฟลที่ทําแบค อัพนั้นมาใชงาน จนกระทั่งมาพบกับโปรแกรม Norton Ghost ที่มีความสามารถเก็บขอมูลทั้งหมดใน พารติชัน ของฮารดดิสก ไวไดแบบที่เรียกวา ทุกกระเบียดนิ้วเลยทีเดียว อีกทั้งตัวโปรแกรมก็ทํางานบน DOS ซึ่งเปนการ ทํางานที่งาย ๆ ไมยุงยาก และสามารถทํางานหลังจากที่ทําการ ฟอรแม็ต ฮารดดิสก ไดทันที ใชเวลาในการทํา แบคอัพ และนํากลับคืนไมนานมากนัก ดังนั้น จึงขอแนะนําใหทานที่มีฮารดดิสก ที่มีพื้นที่เหลือมากพอ หลังจากที่ ทําการลง Windows ใหมและติดตั้งซอฟตแวรตาง ๆ เรียบรอยแลว ทําการเก็บแบคอัพขอมูลและ Windows เก็บไว ครั้งตอไป หากมีปญหาที่ตัว Windows ก็จะไดไมตองมาทําการลงโปรแกรมใหมทั้งหมดครับกอนอื่น ตองหา โปรแกรม Norton Ghost นี้มาใชงานกันกอน ลองดูจาก http://www.symantec.com/ นะครับ โปรแกรมจะมีขนาด ไมใหญมากนัก หลังจากดาวนโหลดมาแลวก็ใหทําการ unzip และเขียนไฟล ใสแผนดิสกไวกอน จากนั้น จะบูต เครื่องจากแผนดิสกที่ไดนี้ หรือจะ copy เฉพาะไฟล ghost.exe เก็บไวใน โฟลเดอรตางหาก เพื่อที่จะใชงาน โดยตรงเลยก็ได


90 ทําความเขาใจกับฮารดดิสกในเบื้องตนกอน กอนการใชงาน Norton Ghost อยากจะใหทําความเขาใจ ระบบการเก็บขอมูลและการแบงพารติชันของฮารดดิสก กันกอน เพราะตรงนี้ถือเปนสิ่งที่สําคัญมาก ๆ หากเราไมเขาใจและทําโดยใสไดรฟหรือพารติชันผิด ขอมูลตาง ๆ อาจจะหายไปทั้งหมดเลยก็ได ดังนั้น ขอใหพยายามศึกษาคําวา Drive และ Partition ใหเขาใจจริง ๆ กอน Drive ในที่นี้หมายถึง ตัวฮารดดิสก คือ ในคอมพิวเตอร 1 เครื่องสามารถที่จะทําการติดตั้ง ไดรฟตาง ๆ ไดหลาย ๆ ตัวเชน Drive A: คือฟลอปปดิสก Drive C: คือฮารดดิสกตัวแรก สวน Drive D: คือซีดีรอม เปนตน สําหรับกรณี ของฮารดดิสก จะมีพิเศษกวานั้น คือเราสามารถทําการแบงฮารดดิสก 1 ตัวใหเปนหลาย ๆ ไดรฟได เชน ฮารดดิสก 1 ตัวแตถูกแบงออกเปน Drive C: และ Drive D: โดยที่ซีดีรอม ก็จะกําหนดใหเปน Drive E: แทนเปน ตน Partition ก็คือการแบงพื้นที่ของฮารดดิสก ออกเปนหลาย ๆ ไดรฟ หรือเรียกวาการแบงเปนหลาย ๆ Partition นั่นเอง จากตัวอยางขางบน คือ เราสามารถที่จะแบงฮารดดิสก 1 ตัวออกเปนไดหลาย ๆ พารติชัน หรือแบง ออกเปนหลาย ๆ ไดรฟนั่นเอง ทีนี้ ลองสํารวจเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานอยูกันกอน วามีฮารดดิสกติดตั้งอยูกี่ตัว และมีการแบงการใชงานหรือแบงพารติชัน ตาง ๆ ออกเปนอยางไรบาง อยางเชนฮารดดิสกของเครื่องที่ผมใชงาน มี 1 ตัวแตแบงออกเปน 2 พารติชัน ดังนั้น ในระบบ Windows เครื่องผมก็จะมองเห็นวามีไดรฟ C: กับ D: เปน ฮารดดิสก สวนซีดีรอม ก็จะเปนไดรฟ E: แทน ที่ตองใหทําความเขาใจกับเรื่อง Drive และ Partition ตรงนี้กอน ก็ เพราะวา ในการใชงาน Norton Ghost จะตองมีการอางถึงสองคํานี้ และเพื่อเปนการปองกัน การผิดพลาดที่อาจจะ เกิดขึ้นได จากการใสหรือระบุ Drive หรือ Partition ผิดครับ ฮารดดิสกที่จะทําแบคอัพได ตองเปนอยางไร จากที่ไดบอกแลววา การใชงาน Norton Ghost นี้จะเปนการทําสํารองหรือแบคอัพขอมูลทั้งพารติชัน ของ ฮารดดิสก ดังนั้น ฮารดดิสกหรือคอมพิวเตอรที่จะทําการแบคอัพแบบนี้ได จะตองมีการแบงพารติชัน ออกเปน อยางนอย 2 พารติชัน หรือจะตองมีไดรฟ อยูในเครื่องอยางนอย 2 ไดรฟนั่นเอง ดวยเหตุผลงาย ๆ ก็คือ เราจะทํา การเก็บทุกอยางใน Drive C: นําเอาไปเก็บไวใน Drive D: เพื่อที่จะไดทําการฟอรแมต Drive C: ได หลังจากนั้น ก็ ทําการนําขอมูลที่ถูกเก็บไวใน Drive D: มาใสคืนใน Drive C: ใหม หรือที่เรียกวาการ Restore นั่นเอง ดังนั้น หาก ใครมีฮารดดิสกแคเพียง Drive C: ตัวเดียว คงจะตองเริ่มตนวางแผน การจัดแบงพารติชันของฮารดดิสก กันใหม กอนนะครับ อยางนอยที่สุดก็ควรที่จะแบงออกเปน 2 ไดรฟ เพื่อใชสําหรับลง Windows ไดรฟหนึ่ง และอีกไดรฟ ที่เหลือก็สําหรับเก็บขอมูลและไฟลที่จะทําแบคอัพดวย Norton Ghost ดวย หากเครื่องใครที่คิดวาพรอมแลว ก็ เริ่มตนทดลองใชงานกันไดเลย เริ่มตนเรียกใชงานโปรแกรม Norton Ghost หลังจากที่หา ดาวนโหลด มาแลวก็ทําการ unzip และเก็บไวในโฟลเดอรที่สรางขึ้นมาใหม จะไดไฟล GHOST.EXE ซึง่ ในการใชงาน จะตองทําใน MS-DOS Mode เทานั้น วิธีการเขา DOS Mode ทําไดโดยการสั่ง Shutdown และเลือกที่ Restart in MS-DOS mode หรือเมื่อบูทเครือ่ งใหม กดปุม F8 คางไวและเลือกที่ MS-DOS mode หรือจะเปนการบูทเครื่องจากแผน Startup Disk Windows 98 ก็ได หลังจากเขา MS-DOS mode แลวก็ใช


91 คําสั่งเปลี่ยนโฟลเดอรไปที่ ๆ เก็บโปรแกรม Norton Ghost เรียก ghost และกด Enter จะมีโลโกของโปรแกรม กด ที่ปุม OK เพื่อเริ่มตนการใชงาน การทําแบคอัพหรือทําสําเนาฮารดดิสกเก็บไว ขั้นตอนแรก คือการทําแบคอัพเก็บไวกอน โดยการเรียกโปรแกรม Norton Ghost และกดที่ OK เพื่อเริ่มตนการ ทํางาน จะเห็นเปนเมนูตาง ๆ ใหเลือก

ในการทําแบคอัพเก็บขอมูล หลังจากเรียกโปรแกรมแลว ใหเลือกที่เมนู Local >> Partition >> To Image (ใชปุม ลูกศรซายขวา และกด Enter เพื่อเลือก) คือเปนการสั่งใหทํากับ Partition ใหสรางเปน Image ไฟลเพื่อเก็บไวใช งาน (Image คือไฟลแบคอัพ ที่จะเก็บขอมูลทั้งหมดของฮารดดิสกครับ) กดปุม Enter เพื่อเลือกการทํา Partition to Image ครับ

ทําการเลือก Drive ที่ตองการจะทําแบคอัพสํารองขอมูล คือ Drive ที่ 1 นั่นเอง (ตัวอยางนี้มีฮารดดิสก 1 ตัวใน เครื่องนี้) ใชปุม Tab เพื่อเลื่อนปุมไปที่ OK และกด Enter (กดที่ปุม Tab ไปเรื่อย ๆ เพื่อเปลี่ยนตําแหนงของการกด ปุมได)


92

จากนั้นทําการเลือก Partition ของ Drive ที่ตองการจะทําแบคอัพ เชนในที่นี้มีอยู 2 partition (คือ C: กับ D: นั่นเอง) ใหเลือกที่ Partition 1 คือ Drive C: และเลือกที่ OK (โดยกดปุม Tab สําหรับเปลี่ยนตําแหนงการกดปุมนะครับ)

จากนั้น เลือกชื่อไฟลของ Image file ที่จะเก็บเปนขอมูลไว เชน win98th หรืออะไรก็ได กดที่ Open เพื่อทํางาน ตอไป

โปรแกรมจะมีการถามถึงระดับของการบีบอัดขอมูล เลือกที่ Fast ครับ


93 โปรแกรมจะถามยืนยันอีกครั้ง ก็กดที่ Yes เพื่อเริ่มตนทําการแบคอัพทันที

ภาพตัวอยางขณะที่โปรแกรมกําลังทําการก็อปปหรือทําแบคอัพครับ รอจนจบก็เปนอันเสร็จขั้นตอนการแบคอัพ แลว ซึ่งเราจะไดไฟล win98th.gho หรือชื่อไฟลตามที่เราตั้งไว ที่มีขนาดใหญมาก ๆ เก็บสํารองไว

---------------------------------------------------------------------------การนําขอมูลที่เก็บไวมาใชงานใหมหรือที่เรียกวา Restore หลังจากนี้ หากวันดีคืนดี Windows มีอันตองเปนไปดวยเหตุผลใดก็ตาม หากเราตองการที่จะนําเอาขอมูลและ โปรแกรมตาง ๆ ที่ไดทําการสํารองเก็บไวออกมาใชเหมือนเดิม วิธีการก็จะคลาย ๆ กันคือ เรียกโปรแกรม Norton Ghost กอน (จาก MS-DOS mode นะครับ)


94 ในการนําขอมูลกลับมา หลังจากเรียกโปรแกรมแลว ใหเลือกที่เมนู Local >> Partition >> From Image คือเปน การนําเอา Image file มาใสลงใน Partition นั่นเอง

เลือกไฟลที่ตองการจะนําขอมูลมาใชงาน แลวเลือกกดที่ Open

เลือก Partition ของขอมูลที่อยูใน Image file และกด OK

เลือกฮารดดิสกที่จะใสขอมูลจาก Image file ควรระมัดระวัง Drive ใหถูกตองดวยนะครับถามีฮารดดิสกหลายตัว


95

ถาหากฮารดดิสกที่เลือกใสขอมูลกลับลงไปมีหลายพารติชัน ใหทําการเลือก Partition ที่ตองการ เชน Drive C: ก็ คือ Partition ที่ 1 นั่นเอง กดที่ OK

โปรแกรมจะมีการถามเพื่อยืนยันการทํางานอีกครั้ง หากมั่นใจวาไมมีอะไรใสผิดก็กดที่ Yes เพื่อเริ่มตนการนํา ขอมูลจาก Image file มาใสลงใน Partition ไดเลยครับ หลังจากที่โปรแกรมทําการก็อปปเสร็จเรียบรอยแลว ใน กรณีเชนนี้จะตองทําการ Restart Computer ใหมเสมอ หากไมมีอะไรผิดพลาด เราก็จะได Windows ตัวเดิมเมื่อ ครั้งที่ยังไมมีปญหากลับคืนมาเหมือนเดิมครับ ขอควรระวังอยางมากคือ การเลือก Drive และ Partition เพราะหากทําผิด Partition อาจจะทําใหขอมูลตาง ๆ หาย ได ดังนั้น กอนที่จะทํา ควรจะทําการสํารองขอมูลที่สําคัญมาก ๆ เก็บไวกอน เพื่อความปลอดภัยของขอมูลนะครับ นอกจากนี้ หากลองดูใหดี ๆ ในเมนูตาง ๆ จะเห็นวา เราสามารถที่จะทําการ โคลนนิ่งระหวางฮารดดิสก 2 ตัวได เลย โดยการเลือกที่ในเมนู Drive ซึ่งจะทําใหการ copy ขอมูลทุกอยางในฮารดดิสก ไปใสไวในฮารดดิสกอีกตัว หนึ่งไดอยางรวดเร็ว วิธีนี้ รานคาที่ประกอบคอมพิวเตอรขายนิยมใชกันมาก เพราะใชเวลาไมเกิน 20 นาทีก็ สามารถลงโปรแกรมตาง ๆ ในฮารดดิสกของเครื่องลูกคาไดแลว หากใครมีเครื่องคอมพิวเตอรหลาย ๆ ชุดที่มี อุปกรณตาง ๆ เหมือนกัน โดยเฉพาะตามรานอินเตอรเน็ตคาเฟ ตาง ๆ ที่มักจะมีปญหากับซอฟตแวรตาง ๆ บอย ๆ (เนื่องจากมีผูใชงานหลายคน) ก็สามารถที่จะทําการ โคลนนิ่งฮารดดิสกโดยวิธีนี้ไดดวยนะครับ

Partition Magic ซอฟตแวรสําหรับจัดการ พารติชั่นของฮารดดิสกแบบงาย ๆ โปรแกรม Partition Magic เปนซอฟตแวรที่ใชงานสําหรับ การจัดการแบงขนาดของฮารดดิสก โดยสามารถทํา การแบง ลบ สราง เปลี่ยนขนาด หรือเปลี่ยนชนิดของ FAT ของฮารดดิสกได โดยที่สามารถทําบนฮารดดิสก ที่มี ขอมูลอยูไดเลย และขอมูลที่เก็บอยู จะไมมีการสูญหายดวย (ถาไมมีปญหาของเครื่องระหวางการทํางาน) นอกจากนี้ ประโยชนที่เห็นไดอยางชัดเจนอีกอยางหนึ่งคือ ผูที่ไดทําการลง Windows XP ไวแบบ NTFS และเกิด


96 เปลี่ยนใจจะลบหรือ format พารติชั่นที่เปน NTFS จะไมสามารถ ทําไดงายนัก แตดวยโปรแกรม Partition Magic นี้ จะสามารถลบ FAT ที่เปนแบบ NTFS ไดสบาย ๆ •

เมื่อเอยถึง การจัดการกับฮารดดิสก ในสมัยกอนจะมีซอฟตแวรที่นิยมใชงานกันมากคือ FDISK ที่มีมา กับ DOS หรือ Windows โดยที่ตัว FDISK นี้ จะเปนโปรแกรมเล็ก ๆ สําหรับใชในการ ลบหรือสรางพาร ติชั่นของฮารดดิสก โดยสามารถกําหนดขนาดของ แตละพารติชั่นไดตามตองการ กอนที่จะทําการ format เพื่อใชงานตอไป แตปญหาที่มักจะพบกันบอย ๆ คือ การสรางหรือลบ พารติชั่นดวยโปรแกรม FDISK นั้น จะทําใหขอมูลบนฮารดดิสกหายไป และสําหรับคนที่ไมมีฮารดดิสกอีกตัวมาสํารองขอมูล ไว ก็จะตองสูญเสียขอมูลไปดวย ดังนั้น Partition Magic ก็เปนทางเลือกอีกทางหนึ่งที่นาใช

มาทําความเขาใจกับซอฟตแวร Partition Magic ที่จะแนะนําตัวนี้กันกอน เนื่องจากวา ตัวโปรแกรมเต็ม ๆ ของ Partition Magic นั้นจะมีขนาดใหญมาก และหาดาวนโหลดมาใชงานได คอนขางยาก ดังนั้น ซอฟตแวรที่ผมจะแนะนําตอไปนี้ จะไมใชเปนตัวเต็มของโปรแกรมนี้ แตจะเปนแผนดิสกที่ ไดจากการทํา Create Rescue Diskettes ซึ่งจะไดเปนแผนดิสกออกมา มีขนาดแคเพียงแผนดิสก 1 แผนเทานั้น และ สามารถนําแผนดิสกที่ไดนี้ ไปใชบูตเครื่อง และเรียกใชงานโปรแกรม Partition Magic ไดเหมือนกัน โดยอาจจะมี ความสามารถบางอยางที่ถูกตัดออกไปบาง แตสวนที่ยัง สามารถใชงานได ก็เพียงพอ ตอความตองการแลวหละ ครับ โดยสามารถดาวนโหลดได ที่นี่ จากนั้น ก็ทําการ แตกไฟล ที่ดาวนโหลดไปดวย winzip ออกมากอน จากนั้น ก็ดับเบิ้ลคลิกเรียกไฟลขางใน เพื่อที่จะเขียนลงแผนดิสกไดเลย เอาหละครับ เมื่อจัดการทําแผนดิสกไดเรียบรอยแลว ก็เริ่มตนการบูตเครื่องจากแผนดิสกนี้ไดเลย

เมื่อบูตเครื่องดวยแผนดิสกของ Partition Magic จะไดตามภาพดานบนนี้ รอสักครูกอน


97

เริ่มเขาหนาจอของโปรแกรม รอสักครูครับ


98 หลังจากนั้น ก็จะเริ่มเขาสูการใชงานตัวโปรแกรมครับ ขั้นแรก ทําการเลือก Disk หรือฮารดดิสกที่เราตองการ ทํางานใหถูกตองกอน จากปุมที่ดานบนขวามือ และลองมาดูรายละเอียดของฮารดดิสก ที่มีอยูในเครื่องครับ (ตัวอยางในภาพ เปนฮารดดิสกของผม ที่ไดทําการ แบงพารติชันตาง ๆ ไว และมีสวนที่เปน NTFS ที่ไมสามารถ ลบดวย FDISK ธรรมดาไดดวย) ตอไปนี้ ก็จัดการทําในสิ่งที่ตองการไดเลย เชนจะเปลี่ยนขนาด ลบ สราง หรือเปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ โดยเลือกจาก เมนูตาง ๆ ครับ โดยที่จะขอ อธิบายความหมายของแตละเมนูคราว ๆ ที่ใชงานบอย ๆ ดังนี้ •

• • • •

Resize/Move คือการเปลี่ยนแปลงขนาดของพารติชันที่ไดเคยแบงไวแลวใหม โดยอาจจะเปลี่ยนใหใหญ ขึ้น หรือเล็กลงไดตามตองการ โดยที่ขอมูลไมสูญหายไปไหน (แตถาขอมูลสําคัญมาก ๆ ก็นาจะสํารอง เผื่อไวกอน) Create คือการสรางพารติชันขึ้นมาใหม ตองมีพื้นที่วาง เหลือมากพอที่จะสรางพารติชันใหม Delete คือการลบพารติชันที่สรางไวแลว สามารถลบ NTFS ของ Windows XP ไดดวย Label คือการเปลี่ยนชื่อของ Volumn Label ของฮารดดิสก Format คือการ format ฮารดดิสก

นอกจากนี้ ก็ยังมีเมนูของการ Convert และ Advance ที่สามารถใชกําหนดคาตาง ๆ ของพารติชั่นไดอีกดวย แต สําหรับ การใชงาน ในเบื้องตน ก็คงไมจําเปนตองใชงานมากนักครับ ดังนั้น สวนนี้ผมขอขามไป โดยจะแนะนํา เฉพาะสวนที่ ควรจะทราบไว และเปนสวนที่ นาจะใชงานจริง ๆ เทานั้น ตัวอยางของการแนะนําครั้งนี้ คือการทํา format พารติชันที่ถูกสรางจาก Windows XP และเปน NTFS โดยจะทํา การ format และเปลี่ยนใหเปน FAT32 เพื่อใชงานใหม (เพราะอยางที่บอกไววา หลายคนมีปญหาลบ Windows XP แบบ NTFS ไมได)


99

โดยการคลิกเมาสที่ พารติชั่นที่ตองการทํางานกอน จากนั้น เลือกที่เมนู Operations และ Format เพื่อทําการ format ครับ


100 จากนั้น ก็เลือกรูปแบบของระบบ FAT ใหม เชนสําหรับการใชงานทั่วไปก็เลือกเปน FAT32 ใสชื่อ Label ที่ ตองการ จะตั้งชื่อใหกับ ฮารดดิสก และพิมพคําวา OK ในชองขางลาง เพื่อการยืนยันคําสั่งครับ จากนั้นก็กดที่ปุม OK เพื่อกลับไปหนาแรก ในตรงนี้ โปรแกรมจะยังไมไดทํางานทันทีนะครับ เราสามารถกําหนดงานอื่นใหกับโปรแกรมไดอีก แตถา ตองการใหโปรแกรม ทํางานตามที่เราตองการ ก็กดที่ปุม Apply ที่มุมขวาดานลางไดเลย

กดที่ปุม Apply เพื่อเริ่มตนการทํางาน และกด Yes เพื่อยืนยันอีกครั้ง


101

รอสักครู ใหโปรแกรมทํางานไปจนเสร็จนะครับ เมื่อโปรแกรมทํางานเสร็จแลว ก็กด OK และถาไมตองการทํา อะไรตอ ก็กดที่ปุม Exit เพื่อออกจากโปรแกรมไดเลยครับ


102 ในบางครั้งที่เรากดออกจากโปรแกรม อาจจะมีการถามแบบตัวอยางในภาพดานบนนี้ เนื่องจาก การที่เราไลบ สรางพารติชั่นใหม การเรียกชื่อไดรฟเชน C: D: E: อาจจะเปลี่ยนไปจากเดิม ตรงนี้ก็กด OK ไปเลยก็ได ไมมี ปญหาอะไรครับ สรุป Partition Magic นับไดวาเปนซอฟตแวร ที่นาจะมีติดเครื่องไวใชงานมาก ๆ เหมาะสําหรับคนที่ตองทําการ format หรือแบงขนาดของฮารดดิสกบอย ๆ ครับ และโดยเฉพาะการใชงานในการลบ NTFS ของ Windows XP ที่ ทําไดแบบงาย ๆ ก็ทดลองเลนกันดูเองครับ สวนใครติดใจโปรแกรมนี้ จะหาซอฟตแวร ที่เปนตัวเต็ม มาใชงาน แบบจริง ๆ จัง ๆ ก็ไดครับ *** ขอควรระวัง ในการใชงาน Partition Magic คือ บอยครั้งที่เกิดการเครื่องแฮงค ระหวางการแบงพารติชั่น ซึ่ง จะพบไดมาก ในเครื่องที่มีอายุการใชงานมานานแลว หรือเครื่องคอมพิวเตอร ที่มีอุปกรณบางตัว อาจจะทํางานได ไมสมบูรณเต็มที่ (ปญหานี้พบบอยมากนะครับ) ซึ่งสวนมาก อาจจะเกิดอาการ พารติชั่นหายไปเลย หลาย ๆ ทาน จึงมีการตั้งชื่อภาษาไทยใหกับโปรแกรมนี้วา "พารติชั่นลองหน" นะครับ ***

RAM ยอมาจาก (Random Access Memory) เปนหนวยความจําหลักที่จําเปน หนวยความจํา ชนิดนี้จะสามารถเก็บขอมูลได เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟาหลอเลี้ยง เทานั้นเมื่อใดก็ตามที่ไมมีกระแสไฟฟา มาเลี้ยง ข็อมูลที่อยูภายในหนวยความจําชนิดจะ หายไปทันที หนวยควมจําแรม ทําหนาที่เก็บชุดคําสั่งและขอมูลที่ระบบคอมพิวเตอร กําลังทํางานอยูดวย ไมวาจะเปนการนําเขาขอมูล (Input) หรือ การนําออกขอมูล (Output) โดยที่เนื้อที่ของหนวยความจําหลักแบบแรมนี้ถูกแบงออกเปน 4 สวน คือ 1. Input Storage Area เปนสวนที่เก็บขอมูลนําเขาที่ไดรับมาจากหนวยรับขอมูล เขาโดย ขอมูลนี้จะถูกนําไปใชในการประมวลผลตอไป 2. Working Storage Area เปนสวนที่เก็บขอมูลที่อยูในระหวางการประมวลผล 3. Output Storage Area เปนสวนที่เก็บผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ตามความ ตองการของผูใช เพื่อรอที่จะถูกสงไปแสดงออก ยังหนวยแสดงผลอื่นที่ผูใชตองการ 4. Program Storage Area เปนสวนที่ใชเก็บชุดคําสั่ง หรือโปรแกรมที่ผูใชตองการ จะสงเขามา เพื่อใชคอมพิวเตอรปฏิบัติตามคําสั่ง ชุดดังกลาว หนวยควบคุมจะทําหนาที่ ดึงคําสั่งจากสวน นี้ไปที่ละคําสั่งเพื่อทําการแปลความหมาย วาคําสั่งนั้นสังใหทําอะไร จากนั้นหนวยควบคุม จะไปควบคุมฮารดแวรที่ตองการทํางานดังกลาวใหทํางานตาม คําสั่งนั้นๆ Module ของ RAM RAM ที่เรานํามาใชงานนั้นจะเปน chip เปน ic ตัวเล็กๆ ซึ่งสวนที่เรานํามาใชเปนนวย ความจําหลัก จะถูกบัดกรีติดอยูบนแผงวงจร หรือ Printed Circuit Board เปน Module ซึ่งมีหลัก ๆ อยู 2 Module คือ SIMM กับ DIMM


103

SIMM หรือ Single In-line Memory Module โดยที่ Module ชนิดนี้ จะรองรับ datapath 32 bit โดยทั้งสองดานของ circuit board จะใหสัญญาณ เดียวกัน ความเปนมาของ SIMM RAM ในยุคตน ๆ ที่คอมพิวเตอรเริ่มใชงานกันอยางแพรหลายมากขึ้น ซึ่งสวนมากมักเปน คอมพิวเตอร ระดับบุคคล (prosonal computer:PC) ใชซีพียู 8088 หรือ 80286 หนวยความจํา DRAM ถูกออกแบบให บรรจุอยูในแพคเกจแบบ DIP (dual in-line package) หรือที่เรียกวาแบบตีนตะขาบเหมือนกับไอซีที่ใชงานกันทั่วไป การใชงาน หนวยความจําแบบนี้ จึงตองมีการจัดสรรพื้นที่มากพอสมควร บนเมนบอรด ถาเคยเปดฝา เรื่องดูภายในก็จะเห็นซ็อกเก็ตไอซีเหลานี้ เรียงกันเปนแถวเต็มไปหมด การเพิ่มหนวยความจําชนิดนี้ทําไดงาย เพี่ยงแตซื้อ DRAM ตามขนาดความจุที่ ตองการมา เสียบลงใน ซ็อกเก็ตที่เตรียมไว และทําการติดตั้งจั๊มเปอรอีกบางตัวหรือบาง เครื่องอาจเพียงตั้งคาในซอตฟแวร ไบออส (BIOS) ของเครื่องใหม เปนอันเรียบรอยใช งานไดทันที ครั้งเมื่อเวลาผานไปเทคโนโลยีกาวหนาขึ้น เทคนิคการแพคเกจชิพไอซีลงบนตัวถัง ทันสมัยมากขึ้น และเปนที่รูจักกันดีกับเทคโนโลยี อุปกรณติดพื้นผิว ทําใหการติดตั้ง หนวยความจําหรือเพิ่มหนวยความจํา ทําไดยากขึ้นและตองมีเครื่องมือเฉพาะ จึงไดมี การคิดคน วิธีการใหม โดยการนําเอาตัวไอซี DRAM แบบ ติตงั้ บนพื้นผิวไปติดบน แผงวงจรแผนเล็ก ๆ กอน แลวจึงเดินลายทองแดงตอขาจากตัวไอซี DRAM ออกมา และแยกเปนขาเชื่อมตอเอาไวเมื่อตองการจะติดตั้งก็นําเปเสียบลงในซ็อกเก็ตที่เตรียมไว บนเมนบอรดไดทันที โมดูลหนวยความจําแบบนี้มีชื่อเรียกวา ซิพแรม (SIP RAM : Single In-line Package RAM) แรมชนิดนี้จะมี 30 ขา การพัฒนายังไมหยุดเพียงเทานี้ เพื่อความสะดวกในการใชงานมากขึ้น จึงไดมีการ ออกแบบซ็อกเก็ต สําหรับหนวยความจําชั่วคราว แบบใหม โดยออกแบบในลักษณะคอน เน็กเตอรที่สวนของลายทองแดงบนแผน วงจรของซิพแรมโดยตรง ทําใหสามารถตัดขา ที่ยื่นออกมา จากตัวโมดูลได ดังนั้นจึงไดมีการตั้งชื่อเรียกใหมวา แบบซิมแรม (SIMM RAM : Single In-line Memory Module RAM) ซิพแรมมีขาตอใชงาน 30 ขา เชนเดียวกับซิมแรม และสัญญาณที่ตอใชงานแตละขาก็เหมือนกันดวย DIMM หรือ Dual In-line Memory Module โดย Module นี้เพิ่งจะกําเนิดมาไมนานนัก มี datapath ถึง 64 บิต โดยทั้งสองดาน ของ circuite board จะใหสัญญาณที่ตางกัน ตั้งแต CPU ตระกูล Pentium เปนตนมา ไดมีการออกแบบใหใชงานกับ datapath ที่มากวา 32 bit เพราะฉะนั้น เราจึงพบวาเวลา จะใส SIMM RAM บน slot RAM จะตองใสเปนคู ใสโดด ๆ แผง เดียวไมได Memory Module ปจจุบันมีอยู 3 รูปแบบคือ 30-pin, 72-pin, 168-pin ที่นิยมใชใน เวลานี้คือ 168-pin


104 รายละเอียดของ RAM แตละชนิด Parity จะมีความสามารถในการตรวจสอบความถูกตองของ ขอมูล โดยจะมี bit ตรวจสอบ 1 ตัว ถาพบวามีขอมูลผิดพลาด ก็จะเกิ system halt ในขณะที่แบบ NonParity จะไมมีการตรวจสอบ bit นี้ Error Cheching and Correcting (ECC) หนวยความจําแบบนี้ ไดพัฒนาขึ้นมาอีกระดับหนึ่ง เพราะนอกจากจะตรวจสอบวามี ขอมูลผิดพลาดไดแลว ยังสามารถแกไข bit ที่ผิดพลาดไดอีกดวย โดยไม ทําให system halt แตหากมีขอมูลผิดพลาดมาก ๆ มันก็มี halt ไดเหมือนกัน สําหรับ ECC นี้ จะเปลือง overhead เพื่อเก็บขอมูล มากวาแบบ Parity ดังนั้น Performance ของมันจึง ถูกลดทอนลงไปบาง ชนิดและความแตกตางของ RAM Dynamic Random Access Memory (DRAM) DRAM จะทําการเก็บขอมูลในตัวเก็บประจุ (Capaciter) ซึ่งจําเปนตองมีการ refresh เพื่อ เก็บขอมูล ใหคงอยูโดยการ refresh นี้ทําใหเกิดการหรวงเวลาขึ้นในการเขาถึง ขอมูล และก็เนื่องจากที่มันตอง refresh ตัวเองอยูตลอดเวลานี้เองจึงเปนเหตุใหไดชื่อ วา Dynamic RAM Staic Random Access Memory (SRAM) จะตางจาก DRAM ตรงที่วา DRAM ตองทําการ refresh ขอมูลอยูตลอดเวลา แต ในขณะที่ SRAM จะเก็บขอมูล นั้น ๆ ไว และจําไมทําการ refresh โดยอัตโนมัติ ซึ่งมัน จะทําการ refresh ก็ตอเมื่อ สั่งใหมัน refresh เทานั้น ซึ่งขอดีของมันก็คือความเร็ว ซึ่ง เร็วกวา DRAM ปกติมาก แตก็ดวยราคาที่สูงวามาก จึงเปนขอดอยของมัน Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) FPM นั้น ก็เหมือนกับ DRAM เพียงแตวา มันลดชวงการหนวงเวลาขณะเขาถึงขอมูล ลง ทําให มันมีความเร็วในการเขาถึงขอมูล สูงกวา DRAM ปกติ ซึ่งโดยที่สัญญาณ นาฬิกาในการเขาถึงขอมูล จะเปน 6-3-3-3 (Latency เริ่มตนที่ 3 clock พรอมดวย 3 clock สําหรับการเขาถึง page) และสําหรับ ระบบแบบ 32 bit จะมีอัตราการสงถาย ขอมูลสูงสุด 100 MB ตอวินาที สวนระบบแบ 64 bit จะมีอัตรา การสงถายขอมูลที่ 200 MB ตอววินาที เชนกัน ปจจุบันนี้ RAM ชนิดนี้แทบจะหมดไปจากตลาดแลวแต ยังคงมี ใหเห็นบาง และมักมีราคา ที่คอนขางแพงเมื่อเที่ยบกับ RAM รุนใหม ๆ เนื่องจากที่วา ปริมาณใน ทองตลาดมีนอยมาก ทั้ง ๆ ที่ยังมีคนตองการใชแรมชนิดนี้อยู Extended-Data Output (EDO) DRAM หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งก็คือ Hyper-Page Mode DRAM ซึ่งพัฒนาขึ้นอีกระดับหนึ่ง โดยการที่มันจะอางอิง ตําแหนงที่อานขอมูล จากครั้งกอนไวดวย ปกติแลวการดึงขอมูล จาก RAM ณ ตําแหนงใด ๆ มักจะดึงขอมูล ณ ตําแหนงที่อยูใกล ๆ จากการดึงกอนหนา นี้ เพราะฉะนัน ้ ถามีการองอิง ณตําแหนงเกาไวกอน ก็จะทําให เสียเวลาในการเขาถึง ตําแหนงนอยลง และอีกทั้งมันยังลดชวงเวลาของ CAS latency ลงดวย และดวย ความสามารถนี้ ทําใหการเขาถึงขอมูลดีขึ้นกวาเดิมกวา 40% เลยทีเดียว และมี ความสามารถโดยรวมสูงกวา FPM กวา 15% EDO จะทํางานไดดีที่ 66 MHzดวย timming 5-2-2-2 และก็ยังทํางานไดดีเชนกัน แมจะใชงานที่ 83 MHz ดวย Timming นี้และหากวา chip EDO นี้ มีความเร็วที่สูงมากพอ (มากวา 50ns) มันจะ สามารถใชงาน ได ณ 100 MHz ที่ Tomming 6-3-3-3 ไดอยางสบาย อัตราการสงถายขอมูลสูงสุด ของ DRAM ชนิดนี้อยูที่ 264 MB ตอวินาที EDO RAM ในปจจุบันนี้ไมเปนที่นิยมใชแลว Burst EDO (BEDO) DRAM BEDO ไดเพิ่มความสามารถขึ้นมาจาก EDO เดิม คือ Burst Mode โดยหลังจากที่ มันได address ที่ ตองการ adress แรกแลวมันก็จะทําการ generate อีก 3 address


105 ขึ้นทันที ภายใน 1 สํญญาณนาฬิกา ดังนั้น จึงตัดชวงเวลาในการรับ adress ตอไป เพราะฉะนั้น Timming ของมันจึงเปน 5-1-1-1 ณ 66 MHz BEDO ไมเปนที่แพรหลาย และไดรับความนิยมเพียงระยะเวลาสั้น ๆ เนื่องจากวาทาง Intel ตัดสินใจใช SDRAM แทน EDO และไมไดใช BEDO เปนสวนประกอบในการพัฒนา chipset ของตน ทําให บริษัทผูผลิต ตาง ๆ หันมาพัฒนา SDRAM แทน Synchronous DRAM (SDRAM) SDRAM จะตางจาก DRAM เดิมตรงที่มันจะทํางานสอดคลงกับสัญญาณนาฬิกา สําหรับ DRAM เดิมจะ ทราบตําแหนงที่อาน ก็ตอเมื่อเกิดทั้ง RAS และCAS ขึ้น แลวจึงทําการ ไปอานขอมูลโดยมีชวงเวลาในการ เขาถึงขอมูล ตามที่เรามักจะไดเห็นบนตัว chip ของ ตัว RAM เลย เชน -50, -60, -80 โดย -50 หมายถึง ชวงเวลาเขาถึง ใชเวลา 50 นาโน วินาทีเปนตน แตวา SDRAM จะใชสัญญาณนาฬิกาเปนตัวกําหนดการ ทํางานโดยจะใช ความถี่ของสัญญาณเปนตัวระบุ SDRAM จะทํางานตามสัญญาณนาฬิกาขาขึ้นเพื่อรอรับ ตําแหนงขอมูล ที่ตองการใหมันอาน แลวจากนั้นมันก็จะไปคนหาให และใหผลลัพธ ออกมาหลังจากไดรับ ตําแหนงแลว เทากับคาของ CAS เชน CAS 2 ก็คือ หลังจากรับ ตําแหนงที่อานแลวมันจะใหผลลัพธออกมา ภายใน 2 ลูกของสัญญาณนาฬิกา SDRAM จะมี Timming เปน 5-1-1-1 ซึ่งแน มันเร็วพอ ๆ กันกับ BEDO RAM เลยที่เดียว แตวา มันสามารถทํางานได ณ 100 MHz หรือมากวา และมีอัตราการสงถาย ขอมูลสูงสุดที่ 528 MB ตอวินาที DDR SDRAM (หรือ SDRAM II) DDR RAM นี้แยกออกมาจาก SDRAM โดยจุดที่ตางกันหลัก ๆ ของทั้งสองชนิดนี้คือ DDR SDRAM นี้สามารถที่จะใชงานไดทั้งขาขึ้น และขาลง ขแงสัญญาณนาฬิกาเพื่องสง ถายขอมูล นัน ่ ก็ทําใหอัตราสงถาย เพิ่มขึ้นไดถึงเทาตัว ซึ่งมีอัตราการสงถายขอมูลสูสุด ถึง 1 G ตอวินาทีเลยทีเดียว Rambus DRAM (RDRAM) ชื่อของ RAMBUS เปนเครื่องหมายการคาของบริษัท RAMBUS Inc. ซึ่งตั้งมาตั้งแต ยุค 80 แลว เพราะฉะนั้นชื่อนี้ ก็ไมไดเปนชื่อที่ ใหมอะไรนัก โดยปจจุบันไดเอาหลักการ ของ RAMBUS มาพัฒนาใหม โดยการลด pin รวม static buffer และทําการปรับแตง ทาง interface ใหม DRAM ชนิดนี้ จะสามารถ ทํางานไดทั้งขอบขาขึ้น และลงของ สัญญาณนาฬิกา และเพียงชองสัญญาณเดียว ของหนวยความจํา แบบ RAMBUS นี้ มี Performance มากกวาเปน 3 เทา จาก SDRAM 100 MHz แลว และเพียงแคชอง สัญญาณเดียวนี้ก็มีอัตราการสงถายของมูลสูงถึง 1.6 G ตอวินาที ถึงแมวาเวลาในการ เขาถึงขอมูลแบบ สุมของ RAM ชนิดนี้จะชา แตการเขาถึงขอมูลแบบตอเนื่องจะเร็วมาก ๆ ซึ่งกาวา RDRAM นี้มีการพัฒนา Interface และมี PCB (Printed Circuit Board) ที่ดี ๆ แลวละก็รวมถึง Controller ของ Interface ให สามารถใชงานไดถึง 2 ชองสัญญาณ แลวมันจะมีอัตราการสงถายขอมูลเพิม ่ เปน 3.2 G ตอวินาที และหากวาสามารถใชไดถึง 4 ชองสัญญาณก็จะสามารถเพิ่มไปถึง 6.4 G ตอวินาที Synchronous Graphic RAM (SGRAM) SGRAM นี้ก็แยกออกมาจาก SDRAM เชนกันโดยมันถูกปรับแตงมาสําหรับงานดาน Graphics เปนพิเศษแตโดยโครงสรางของ Hardware แลว แทยไมมีอะไรตางจาก SDRAM เลย เราจะเห็นจากบาง Graphic Card ที่เปนรุนเดียวกัน แตใช SDRAM ก็มี SGRAM ก็มี เชน Matrox G200 แตจุดที่ตางกัน ก็คือ ฟงกชัน ที่ใชโดย Page Register ซึ่ง SG สามารถทําการเขียนขอมูลไดหลาย ๆ ตําแหนง ในสัญญาณนาฬิกาเดียว ในจุดนี้ ทําใหความเร็วในการแสดงผล และ Clear Screen ทําไดเร็วมาก และยังสามารถ เขียน แค บาง bit ในการ word ได (คือไมตองเขียนขอมูลใหมทั้งหมดเขียนเพียงขอมูลที่ เปลี่ยนแปลง เทานั้น) โดยใช bitmask ในการเลือก bit ที่จะเขียนใหมสําหรับงานโดย ปกติแลว SGRAM แทบจะไม ใหผลที่ตางจาก SDRAM เลย มันเหมาะกับงานดาน


106 Graphics มากกวา เพราะความสามารถที่ แสดงผลเร็วและ Clear Screen ไดเร็วมันจึง เหมาะกับใชบน Graphics Card มากกวา ที่จะใชบน System Video RAM (VRAM) VRAM ชื่อก็บอกแลววาทํางานเกี่ยวกกับ Video เพราะมันถูกออกแบบมาใชบน Dispaly Card โดย VRAM นี้ก็มีพื้นฐานมาจาก DRAM เชนกัน แตที่ทําใหมันตางกันก็ ดวยกลไกการทํางานบางอยาง ที่เพิ่มเขามา โดยที่ VRAM นั้น จะมี serial port พิเศษ เพิ่มขึ้นมาอีก 1หรือ 2 port ทําใหเรามองวามันเปน RAM แบบ พอรทคู (Dual-Port) หรือ ไตรพอรท (Triple-Port) Parallel Port ซึ่งเปน Standard Interface ของมัน จะ ถูกใชในการติดตอกับ Host Processor เพื่อสั่งการให ทําการ refresh ภาพขึ้นมาใหม และ Seral Port ที่เพิ่มขึ้นมา จะใชในการสงขอมูลภาพออกสู Display Windowns RAM (WRAM) WRAM นี้ ดู ๆ ไปลวเหมือนกับวา ถูกพัฒนาโดย Matrox เพราะแทบจะเปนผูเดียวที่ ใช RAM ชนิดนี้ บน Graphics Card ของตน (card ตระกูล Millenium และ Millenium II แตไมรวม Millenium G200 ซึ่งเปน ซึ่งใช SGRAM ) แตในปจจุบันก็เห็นมีของ Number 9 ที่ใช WRAM เชนกัน ในรุน Number 9 Revolutuon IV ที่ใช WRAM 8M บน Crad WRAM นี้โดยรวมแลวก็เหมือน ๆ กับ VRAM จะตางกันก็ตรงที่ มันรองรับ Bandwith ที่สูงกวา อีกทั้งยังใชระบบ Double-Buffer อีกดวย จึงทําใหมันเร็วกวา VRAM อีกมากทีเดียว

DRAM

Fast Page DRAM

EDO RAM

SDRAM

คือ เมโมรี่แบบธรรมดาที่สุด ซึ่งความเร็วขึ้นอยูกับคา Access Time หรือเวลาที่ใชในการเอาขอมูลในตําแหนงที่ เราตองการออกมาให มีคาอยูในระดับนาโนวินาที (ns) ยิ่ง นอยยิ่งดี เชน ชนิด 60 นาโนวินาที เร็วกวาชนิด 70 นาโน วินาที เปนตน รูปรางของ DRAM เปน SIMM 8 บิต (Single-in-line Memory Modules) มี 30 ขา DRAM ยอ มาจาก Dynamic Random Access Memory ปกติแลวขอมูลใน DRAM จึงถูกเก็บเปนชุด ๆ แตละชุด เรียกวา Page ถาเปน Fast Page DRAM จะเขาถึงขอมูลได เร็วกวาปกติสองเทาถาขอมูลที่เขาถึงครั้งที่แลว เปนขอมูล ที่อยูใน Page เดียวกัน Fast Page DRAM เปนเมโมรี่ SIMM 32 บิตมี 72ขา (Pentium มีดาตาบัสกวาง 64 บิต ดังนั้นจึงตองใส SIMM ทีละสองแถวเสมอ) EDO Ram นําขอมูลขึ้นมาเก็บไวใน Buffer ดวย เพื่อวา ถา การขอขอมูลครั้งตอไป เปนขอมูลในไบตถัดไป จะใหเราได ทันที EDO RAM จึงเร็วกวา Fast Page DRAM ประมาณ 10 % ทั้งที่มี Access Time เทากัน เพราะโอกาสที่เราจะ เอาขอมูลติด ๆกัน มีคอนขางสูง EDO มีทั้งแบบ SIMM 32 บิตมี 72 ขา และ DIMM 64 บิตมี 144 ขา คําวา EDO ยอ มาจาก Extended Data Out เปนเมโมรี่แบบใหมที่เร็วกวา EDO ประมาณ 25 % เพราะ สามารถเรียกขอมูลที่ตองการขึ้นมาไดทันที โดยที่ไมตองรอ ใหเวลาผานไปเทากับ Access Time กอน หรือเรียกไดวา ไมมี Wait State นั่นเอง ความเร็วของ SDRAM จึงไมดูที่ Access Time อีกตอไป แตดูจากสัญญาณนาฬิกาที่ โปรเซสเซอรติดตอกับ Ram เชน 66, 100 หรือ 133 MHz เปนตน SDRAM เปนแบบ DIMM 64 บิต มี 168 ขา เวลา ซึ้อตองดูดวยวา MHz ตรงกับเครื่องที่เราใชหรือไม SDRAM ยอมาจาก Sychronous DRAM เพราะทํางาน "sync" กับ


107

SDRAM II (DDR)

RDRAM

สัญญาณนาฬิกาบนเมนบอรด DDR (Double Data Rate) SDRAM มีขา 184 ขา มีอัตรา การสงขอมูลเปน 2 เทาของความเร็ว FSB ของตัว RAM คือ มี 2 ทิศทางในการรับสงขอมูล และมีความเร็วมากกวา SDRAM เชน ความเร็ว 133 MHz คูณ 2 Pipline เทากับ 266 MHz RDRAM หรือที่นิยมเรียกวา RAMBUS มีขา 184 ขา ทํามา เพื่อใหใชกับ Pentium4 โดยเฉพาะ(เคยใชกับ PentiumIII และ Chipset i820 ของ Intel แตไมประสบผลสําเร็จ เนื่องจากมีปญหาเรื่องระบบไฟจึงยกเลิกไป) มีอัตราการสง ขอมูลเปน 4 เทาของความเร็ว FSB ของตัว RAM คือ มี 4 ทิศทางในการรับสงขอมูล เชน RAM มีความเร็ว BUS = 100 MHz คูณกับ 4 pipline จะเทากับ 400 MHz เปนเมโมรี่ แบบใหมที่มีความเร็วสูงมาก คิดคนโดยบริษัท Rambus, Inc. จึงเรียกวา Rambus DRAM หรือ RDRAM อาศัย ชองทางที่แคบ แตมีแบนดวิทดสูงในการสงขอมูลไปยัง โปรเซสเซอร ทําใหความเร็วในการทํางานสูงกวา SDRAM เปนสิบเทา RDRAM เปนทางเลือกทางเดียวสําหรับ เมนบอรดที่เร็วระดับหลายรอยเมกกะเฮิรดซ มีแรมอีกชนิด หนึ่งที่ออกมาแขงกับ RDRAM มีชื่อวา Synclink DRAM ที่ เพิ่มความเร็วของ SDRAM ดวยการเพิ่มจํานวน bank เปน 16 banks แทนที่จะเปนแค 4 banks

หนวยความจําหรือ RAM เปนสิ่งที่ขาดไมไดเมื่อคุณคิดจะใชคอมพิวเตอร ดังนั้นการ พิจารณา เลือกซื้อคอมพิวเตอรจึงจําเปนตองคํานึงถึงการ เลือกซื้อชนิดและปริมาณของ หนวยความจําดวย ความตองการหนวยความจําของคอมพิวเตอรนั้นนับวันก็จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งนี้ก็ เนื่องมา จากความตองการของผูใชที่ตองการเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานไดงายขึ้นโดย ผูที่ไมคุนเคย ก็สามารถทําได หรือจะเปนความตองการทํางานในแบบมัลติมีเดียซึ่งเปน อีกปจจัยสําคัญที่ทําให ความตองการหนวยความจําเพิ่มมากขึน ้ ดวยเหตุนี้ทางผูผลิตจึงไดเรงผลิตหนวยความจําเขาสูทองตลาดจนปจจุบันราคาแรม ลดลงอยาง ที่ไมเคยปรากฏมากอน จากเมื่อตนปที่แลวที่ราคาแรมแบบ 72 พินขนาด 8 MB มีราคาประมาณ 5,000 บาท ทุกวันนี้ผูใชสามารถหาซื้อแรมชนิดเดียวกันไดในราคา เพียงประมาณ 800 บาทเทานั้น ดังนั้นการเพิ่มหนวยความจําจึงไมใชเรื่องยากอีกตอไป สําหรับผูใชโดยทั่วไป คําถามตอมาที่ผูใช สงสัยคือ หนวยความจําแบบใดจึงจะดีที่สุด หนวยความจําที่เปนที่รูจักและมีจําหนายมากที่สุดคือหนวยความจําแบบ 72 พิน สวน หนวย ความจําแบบ 30 พินซึ่งมีใชสําหรับเครื่องรุน 80386 นั้นตอนนี้ไดหายไปจาก ทองตลาดแลว ทั้งนี้ก็เพราะเครื่องคอมพิวเตอรรุนใหมตั้งแตเครื่องแบบ 486 เปนตนมา ตางก็ใชหนวย ความจําแบบ 72 พินทั้งนั้น สําหรับหนวยความจําแบบ 72 พินนั้นก็จะมี อยู 2 ประเภทที่ผูใช รูจักกันดีคือแบบ Fast Page Mode และ EDO ซึ่งแบบแรกนั้นก็เริ่ม จะไมเปนที่นิยมแลว ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาแรมแบบ EDO ที่ทําใหมีความเร็วสูงกวา ดังนั้นหากผูใชตองการ จะซื้อหนวยความจําก็ควรจะเลือกแบบ EDO หรือที่เร็วกวาจึงจะ เหมาะ ที่สําคัญราคาของ หนวยความจําแบบ Fast Page Mode นั้นสูงกวาแบบ EDO แลวอันเนื่องมาจากปริมาณที่ มีอยูเพียงเล็กนอยในตลาด แตสําหรับเครื่องคอมพิวเตอร บา งรุนซึ่งไมสามารถใสแรม แบบ EDO ไดนั้นก็ยังคงตองใชแรมแบบ Fast Page Mode ตอไป ซึ่งเครื่องที่ไมสนับสนุน แรมแบบ EDO นั้นก็จะเปนเครื่องรุน 486 สวนแรมอีก ประเภทหนึ่งซึ่งเพิ่งจะมีใชไมนานนัก คือแรมแบบ SDRAM ซึ่งปจจุบันเปนแรมที่มี


108 ความเร็วสูงที่สุด โดยแรมประเภทนี้จะเปนแรม แบบ 168 พินซึ่งมีอยูในบอรดบางรุน เทานั้น สําหรับราคาของแรมประเภทนี้นั้นยังมีราคาสูง อยูทั้งนี้ก็เนื่องจากยังเปน เทคโนโลยีที่ใหมและยังไมแพรหลายมากนัก แตคาดวาในอนาคต ก็จ ะสามารถเขามา ครองตลาดไดเหมือนที่ EDO ทําไดมากอนหนานี้แลว วิธีการเลือกซื้อหนวยความจํานั้นผูใชตองคํานึงถึงซ็อกเก็ตใสหนวยความจําของบอรดวา มีอยูเทาใด โดยปกติบอรดในปจจุบันจะมีซ็อกเก็ตใสแรม 4 ซ็อกเก็ต โดยเวลาใสจะตอง ใส เปนคูจึงจะสามารถใชงานได ดังนั้นหากผูใชตองการเพิ่มหนวยความจําจึงตองซื้อ หนวย ความจําที่มีขนาดความจุเทากัน 2 แผง แตก็อาจมีบอรดบางรุนที่มีซ็อกเก็ตแรม 6 หรือ 8 ซ็อกเก็ตซึ่งมีประโยชนในกรณีตองการเพิ่มแรมในอนาคต จะสามารถทําไดอยาง ยืดหยุนมากกวา ตัวอยางเชน หากแรมในเครื่องผูใชเปนแบบแผงละ 8 MB 2 แผงแลว ตองการจะเพิ่มขึ้นไปอีก ผูใชที่มีซ็อกเก็ตแรมเพียง 4 ซ็อกเก็ตจะมีโอกาสเพิ่มไดเพียง ครั้งเดียว ทั้งนี้เพราะชองแรม ที่เหลืออยูมีเพียงคูเดียว ปญหาก็คือหากผูใชตองการเพิ่ม หนวยความจําใหสูง ๆ เชน ตองการแรมมากกวา 32 MB ก็ตองซื้อแรมแบบ 16 MB 2 แผงซึ่งเปนการจายเงินจํานวนมาก ในครั้งเดียว แตถาผูใชมีซ็อกเก็ตแรม 6 ซ็อกเก็ตก็ยัง มีโอกาสที่จะเพิ่มไดอีกในภายหลังทําให ไมจําเปนตองซื้อแรมแบบ 16 MB ในครั้งแรกนี้ ก็ได ซึ่งก็จะทําใหไมตองเสียคาใชจายในการ เพิ่มแรมมากนัก อยางไรก็ตามก็มีบอรดบางรุนที่ผูใชสามารถเพิ่มแรมทีละ 1 แผงไดซึ่งก็จะยิ่งเปน ประโยชน เพราะทําใหผูใชมีโอกาสเพิ่มแรมไดสะดวกยิ่งขึ้น สวนแรมแบบ SDRAM นั้น ปจจุบันบอรด ทั่ว ๆ ไปจะมีซ็อกเก็ต SDRAM เพียง 1 ซ็อกเก็ต ดังนั้นหากผูใชตองการ เพิ่มแรมก็จะมีโอกาส เพียงครั้งเดียวเชนกัน จะมีเพียงบอรดบางรุนเทานั้นที่มีซ็อกเก็ตแร มแบบ SDRAM มากกวา 1 ชอง ซึ่งที่พบในปจจุบันนั้นก็จะเปนแบบ 2 ซ็อกเก็ตสําหรับ บอรดเพนเทียม และสูงสุดที่พบคือ 4 ซ็อกเก็ตสําหรับเพนเทียมโปร (มีเฉพาะซ็อกเก็ต แรมแบบ SDRAM เทานั้น) อยางไรก็ตามบอรดที่มีซอ ็ กเก็ตแรมแบบ SDRAM นี้จะมีซ็อกเก็ตแบบ 72 พินรวมอยูดวย ซึ่ง สามารถใชหนวยความจําทั้ง 2 ชนิดรวมกันได แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับบอรดดวยวาผูใชจะ สามารถ ใสแรมทั้ง 2 แบบรวมกันไดในลักษณะใดบาง เชน เมื่อผูใชใสแร มแบบ SDRAM แลวจะใช ซ็อกเก็ตแรมแบบ 72 พินไดเพียง 1 คูเทานั้น หรืออาจใชไดครบทุก ซ็อกเก็ต ทั้งนี้ก็อยูท ี่เมนบอรดแตล ะรุน ผูใชจึงควรตรวจดูในคูมือใหแนชัดกอนวาบอรด รุนนั้น ๆ สนับสนุนการ ใสแรมในลักษณะใด สวนขนาดของแรมที่เหมาะสมในปจจุบันนั้น ขั้นต่ําจะอยูที่ 32 MB จึงจะ ใชงานไดอยางสะดวก แตแนะนําวาควรเปน 64 MB หรือสูง กวาเพื่อประสิทธิภาพในการ ใชงานที่สูงขึ้น

ศึกนี้ไมจบสิ้นงายๆ [ First Post : 07 August 1999 ] [ Update 12 November 1999 ]

ดานการตลาด ทุกวันนี้ การแขงขันดานตลาด CPU ของ AMD และ Intel รุนแรงมาก ทั้งแขงกันดวย เทคโนโลยี และ ลูกเลนทาง การตลาดมากมาย


109 แตดวยเทคโนโลยีใหมๆ นั้น ตองอาศัยเวลาในการพัฒนาอยูไมใชนอยๆ ดังนั้น กลไก การแขงขัน ที่เกิดขึ้นในปจจุบัน ก็คือ กลไก ในเรื่องของราคา ซึ่งมีการลดราคา ห้ําหั่นกันอยางรุนแรงเลยทีเดียว จากการที่ Intel ไดประกาศหั่นราคา CPU ของตน ทั้ง Pentium II/III และ Celeron ลงอยางหนัก และประกาศหั่น ราคาลงถี่มากๆ ทําให AMD เอง ก็ตองหั่นราคาของตนลงดวย เพราะ ในเมื่อ คุณภาพ ไมทิ้งกันมาก แตหากราคาพอๆ กัน ก็จะทําใหผูซื้อ ตัดสินใจลําบาก หรือ หากวา คุณภาพดอยกวา เล็กนอย แตราคาพอๆกัน ผูซื้อ ก็ไมลังเลเลย ที่จะซื้อของที่มี คุณภาพสูงกวา จริงไหมครับ? ดังนั้น เมื่อ Intel ประกาศหั่นราคาลง ทาง AMD ก็จําเปนตองหั่นราคาลงดวย ไมวาจะเต็มใจ หรือ ไมเต็มใจก็ตามที ผลที่ ตามมานั้นก็คือ ผลกําไรลดลง จากรายงานทางการตลาดของ AMD ในไตรมาสที่ 2 ของป 1999 นี้ สิ้นสุดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน ผลปรากฏวา AMD มี ยอดขาดทุนสุทธิถึง 163 ลาน USD จากยอดขายทั้งหมด 595 ลาน USD ซึง่ จัดวาเปนมูลคาไมใชนอยๆ เลยทีเดียว ยิ่ง เมื่อเทียบกับเมื่อไตรมาสแรก ที่มียอดขาดทุนเพียงแค 65 ลาน USD เทานั้น W.J. Sanders ซึ่งเปนประธาน และ CEO ของ AMD ไดชี้แจงใหเห็นวา เมื่อปที่ผานมา ( 1998 ) AMD สามารถ

ทํากําไรจาก CPU ของตนไดถึงตัวละ 100 USD เลยทีเดียว แตแลวเมื่อมีสงครามการห้ําหั่นราคากันหนักขอขึ้น ก็ทําให กําไรจาก CPU ของตนเหลือเพียงตัวละ 78 USD และ ทายสุดก็หลนมาเหลือเพียง 6 USD เทานั้น ดังนั้นหากมีสงครามห้ําหั่นราคากันอยางหนักตอไป ก็คงเปนปญหากับทาง AMD แนนอน ... แลว ปญหานี้ไมเกิดกับ Intel หรือ? เกิดครับ เกิดแนนอน ... แตไมมีผลกระทบที่หนักเทากับ AMD เพราะ Intel นั้นเปน บริษัท ที่ใหญกวา และ มีโรงงานผลิตที่ใหญ และ มากกวา ดังนั้นตนทุนในการผลิต และ การบรรจุ Package ก็นอยกวา ถึงแมวา จะไดกําไรนอยลง จากสงครามการหั่นราคา แตก็ไมทําให Intel สูญกําไรไปเสียทีเดียว เพราะ อยางไรซะ Intel ก็ ยังคงไดกําไร ในสวนของ CPU สําหรับ High-End Computer หรือ Server ในตระกูล Xeon มากกวา เพราะถึงแม จะคูแขงอยาง SUN แตก็ไมไดกอสงครามการหั่นราคา เพื่อแยงตลาดกันรุนแรง เหมือนกับ Low-End Computer ทํา ใหทาง Intel ยังมีกําไร และ ไดผลบวกตรงจุดนี้อยู

ดานเทคโนโลยี ในดานเทคโนโลยี ถึงแมวา จะมีการแขงขันกันชากวาดานการตลาด แตก็ไดมีการบอกถึงแผนงานตางๆ รวมถึง แผนการ ออกแบบ CPU เพื่อมาขมขวัญกันอยูเปนระยะๆ มีการใชเทคโนโลยีใหมๆ เขามา เพื่อใชเปนจุดขาย และ เปนจุดเดนของ CPU ของตน ทุกวันนี้ AMD ก็ไดแกคําครหา วาเปนผูตามหลัง Intel ในดานเทคโนโลยี ไดแลว เพราะสามารถสราง CPU ของตน ให กาวล้ํานํา Intel ไปบางแลว แมวาจะติดปญหาดานอื่นๆ ไมใชนอยๆ ก็ตามที แตถามองเฉพาะดาน CPU แลว ก็นับวา AMD ทําไดสําเร็จ โดยเฉพาะดานการประมวลผลเชิงทศนิยมที่สามารถพัฒนา และ ปรับปรุงใหดีขึ้นมา ทัดเทียม หรือ อาจจะเหนือกวา Intel ในบางดานแลว นอกจากนั้น ยังมีแผนงานสําหรับ CPU รุนใหมๆ เทคโนโลยีใหมๆ และ ระดับ ความเร็วสูงๆ ออกมาเกทับทาง Intel อยูเปนระยะๆ


110 สวนทางดาน Intel เอง ก็ไมไดนอยหนา โดยการชิงเปดตัว CPU ที่ใชเทคโนโลยีการผลิต 0.18 ไมครอนกอนทาง AMD และยังมี เทคโนโลยีใหมๆ ออกมาอยูเสมอ ผลัดกันรุก ผลัดกันรับ ... ผลัดกันเกทับอยูเปนระยะๆ ... ดานเทคโนโลยีนี้ คงหาผูชนะกันลําบาก เพราะผลัดกันแพ ผลัดกันชนะอยูเปนชวงๆ ผูแพ ผูชนะ ก็เปนแคชวงเวลาหนึ่งๆ เทานั้น บทสรุป และ ความเห็นสวนตัว ดูเหมือนวา ตางฝาย ตางก็งัดเอาอาวุธใหมๆ เขามาห้ําหั่นกันอยูเปนระยะๆ นะครับ ดูแลวไมนาจะจบสิ้นกันงายๆ ทาง Intel เองนั้น ก็คงจะลําบากหนอย เพราะวาตองรับมือหลายทาง ทั้ง ดานตลาด Desktop PC ที่ตองรับมือกับทั้ง AMD และ Cyrix ( VIA ) ตลาด Chipset แขงกับทาง ( VIA และ ALI ) และรวมไปถึงตลาดเครื่อง Server ที่มีคูแขงอีกหลาย เจา ทั้ง SUN และ Compaq ( Alpha ) แตในขณะที่ทาง AMD นั้น แมจะมี Chipset ของตนเองออกมาบางแลว และ พยายามจะผลักดัน CPU ตัวใหมๆ ของตนใหเขาสูตลาด Server ดวย แตก็ยังไมเนนหนักไปทางนั้นสักเทาไร โดยความเห็นสวนตัว ณ เวลานี้ ความเร็วของ CPU ดูเหมือนจะไมคอยมีผลกับความรูสึกในการทํางานแลว แมวาจะเพิ่ม ความเร็วกันใหถึงระดับ 1 GHz ก็ไมใหความรูสึกวาเร็วขึ้นจาก 300 MHz สักเทาไร เพราะเทคโนโลยีดานอื่นๆ ยังคง เปนตัวหนวงใหระบบอยู อยางนอยๆ ก็ Harddisk ละครับ ที่ยังคงเปนตัวหนวงความเร็วของระบบมาชานานแลว ดังนั้น ถาทาง AMD จะหันมาสนใจดานการตลาดบาง หาพันธมิตรทางการคาเพิ่มเติมบาง ก็จะดีกวานี้ไมนอย ... เพราะทุกๆวันนี้ แมเทคโนโลยีจะทัดเทียม หรืออาจจะนําหนาทาง Intel ไปบางแลว แตดานการตลาดยังคงตามหลัง Intel อยูหลายกาว เลย ... จะอยางไรก็ดี แมวาเทคโนโลยีของทุกวันนี้ จะเปนไปอยางรวดเร็ว มีการคิดคนสถาปตยกรรมใหมๆ อยูเสมอ และ มีการ แขงขันกันทางตลาด อยางมาก ทั้งเรื่องราคา และ เรื่องการโฆษณาชวนเชื่อตางๆ นาๆ เพื่อใหหันมาใช CPU รุนใหมๆ อยู เสมอ แตก็ไมจําเปนเสมอไป ที่เราจะตอง ตามซื้อ เพื่อไลตามใหทันเทคโนโลยีอยูเสมอไป ... ทั้ง AMD และ Intel แขงขัน กัน ผลดีนั้นตกอยูที่ผูบริโภค เพราะจะไดซื้อ CPU คุณภาพดี ใหเหมาะสมกับงานที่ใช และ ราคาไมแพง แตก็ตองขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมในการเลือกซื้อ / เลือกใชดวย บทความนี้ คงจะขอจบลงที่ตรงนี้ แต สงครามการแขงขันชิงความเปนเจาตลาดของ AMD และ Intel ยังไมจบ ยังคงมีอยู ตอไปเรื่อยๆ หากวามีขอมูล ทั้งดานการตลาด และ ดานเทคโนโลยี เขามาเพิ่มอีกมาก ก็อาจมีภาค 2 ตอ ก็เปนได ... แตอยางไรซะ ก็อยากฝากขอคิดไวสักขอ ( แมจะไมเกี่ยวกับเรื่องนี้สักเทาไร ) ก็คือ " เราควรจะรูใหเทาทันเทคโนโลยี แต ไมจําเปนจะตอง ทําตัวตามใหทันเทคโนโลยีเสมอไป " ขอบคุณครับ

PC Bus

เมื่อ IBM ไดทําการเปดตัว IBM PC ( XT ) ตัวแรก ซึ่งใช CPU 8088 เปน CPU ขนาด 8 Bit ดังนั้น เครื่อง


111 Computer เครื่องนี้ จึงมีเสนทางขอมูลเพียง 8 เสนทาง ( 8 data line ) และ เสนทางที่อยู 20 เสนทาง ( 20 address line ) เพื่อใชในการอางตําแหนงของหนวยความจํา Card ที่นํามาตอกับ PC Bus นั้น จะเปน Card แบบ 62 pin ซึ่ง 8 pin ใชสําหรับสงขอมูล อีก 20 pin ไวสําหรับอาง

ตําแหนงของหนวยความจํา ซึ่ง CPU 8088 นั้น สามารถอางอิงหนวยความจําไดเพียง 1 Megabyte ซึ่ง ในแตละ pin นั้น สามารถสงขอมูลไดเพียง 2 คา คือ 0 กับ 1 ( หรือ Low กับ High ) ดังนั้น เมื่อใช 20 pin ก็จะอางอิงตําแหนงไดที่ 2 คูณกัน 20 ครั้ง ( หรือ 2 ยกกําลัง 20 ) ซึ่งก็จะไดเทากับ 1 Meg. พอดี สวน pin ที่เหลือ ก็ใชเปนตัวกําหนดการอานคา วาอานจากตําแหนงของหนวยความจํา หรือ ตําแหนงของ Input/Output หรือ บาง pin ก็ใชสําหรับจายไฟ +5, -5, +12 และ สาย Ground ( สายดิน ) เพื่อจายไฟใหกับ Card ที่ตอพวงบน Slot ของ PC Bus นั่นเอง และ ยังมี pin บางตัวที่ ทําหนาที่เปนตัว reset หรือ เปนตัว refresh หรือแมกระทั่ง clock หรือ สัญญาณนาฬิกาของระบบนั่นเอง ระบบ Bus แบบ PC Bus นี้ มีความกวางของ Bus เปน 4.77 MHz และ สามารถสงถายขอมูลดวยความเร็วสูงสุดที่ 2.38 MB ตอ วินาที

ISA Bus

ในยุคของ PC AT หรือ ตั้งแต CPU รุน 80286 เปนตนมา ไดมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของ เสนทางขอมูลจาก 8 Bit ไป เปน 16 Bit ทําให IBM ตองมาทําการออกแบบระบบ Bus ใหม เพื่อใหสามารถสงผานขอมูลทีละ 16 Bit ได แนนอน วา การออกแบบใหมนั้น ก็ตองทําใหเกิดความเขากันไดยอนหลังดวย ( Compatble ) กลาวคือ ตองสามารถใชงานกับ PC Bus ไดดวย เพราะ ถาหากไมเชนนั้นแลว ก็คงจะขายออกยาก ลองคิดดูวา ถาหากออก PC AT ที่ใช ระบบบัสใหม ทั้งหมด และ ไมเขากันกับ PC XT ที่ออกมากอนหนานั้นได เครื่อง PC AT นั้นๆ อนาคตการตลาดก็คงรุงไดยาก แตปญหานี้ IBM แกไขไดดีทีเดียว นั่นก็คือ ไดทํา Slot มาตอเพิ่มจาก PC Bus เดิม อีก 36 Pin โดยที่เพิ่มเสนทางขอมูล อีก 8 Pin รวมแลวก็จะเปน 16 Pin สําหรับสงขอมูลไดทีละ 16 Bit พอดี และ เพิ่ม 4 Pin สําหรับทําหนาที่อางตําแหนง จากหนวยความจํา ซึ่งก็จะรวมเปน 24 Pin และ จะอางไดมากถึง 16 Meg. ( 2 ยกกําลัง 24 ) ซึ่ง ก็เปนขนาดของ หนวยความจําสูงสุดที่ CPU 80286 นั้น สามารถจะอางได แตอยางไรก็ตาม การอาง ตําแหนงของ I/O Port นั้น ก็ยังคง ถูกจํากัดไวที่ 1,024 อยูดี เนื่องจาก ปญหาดานความเขากันได กับ PC Bus นอกจากนี้ Pin ที่เพิ่มเขามา ยังชวยเพิ่มการอางตําแหนง DMA และ คาของ IRQ เพิ่มอีกดวย ซึ่งเรื่องของ DMA และ IRQ จะนํามาเขียน ใหอานกันตอไปครับ Slot แบบใหมนี้ เรียกวาเปน Slot แบบ 16-Bit ซึ่งตอมาก็เรียกกันวาเปน AT Bus แตเราจะรูจักกันในนามของ ISA Bus มากกวา โดยคําวา ISA มาจากคําเต็มวา Industry Standard Architecture


112

รูปแสดงรูปราง ของ ISA Bus แสดงตําแหนงของทั้ง 8 Bit และ 16 Bit เราสามารถนํา Card แบบ 8 Bit มาเสียบลงบนชอง 16 Bit ได เพราะ ใช สถาปตยกรรมพื้นฐานเหมือนๆกัน จะตางกันก็ ตรงสวนที่เพิ่มมา สําหรับ 16 Bit เทานั้น ซึ่งจะใช ( ในกรณีที่ใช Card 16 Bit ) หรือ ไมใช ( ในกรณีใช Card 8 Bit ) ก็ได ระบบ Bus แบบ ISA Bus นี้ มีความกวางของ Bus เปน 8 MHz และ สามารถสงถายขอมูลดวยความเร็วสูงสุดที่ 8 MB ตอ วินาที

ISA Bus ( Continue )

ในป 1985 ทาง Compaq ซึ่งไมยอมนอยหนา IBM ไดประกาศเปดตัว Computer ของตน ในรุน 286/12 โดย 12 นั้นหมายถึง ความเร็วคือ 12 MHz ซึ่ง ในขณะนั้น IBM มีแค 286 ที่ทํางานดวยความเร็ว 8 MHz ในขณะนั้น ความเร็ว จาก 8 MHz ไป 12 MHz นับวาสูงมากๆเลย เพราะเพิ่มขึ้นมาอีก ครึ่งหนึ่งเลยทีเดียว ( ถาเทียบกับ สมัยนี้ ก็เหมือนๆกับ จาก Pentium II 300 ไปเปน Pentium II 450 นั่นหละครับ ) ซึ่งแนนอน Bus ของระบบ ก็ตอง ทํางานที่ 12 MHz ตามไปดวย แลวปญหาก็เกิดขึ้น ISA Bus นั้น เราทราบแลววามันทํางานที่ 8 MHz ถานํามันมาใชงานที่ 12 MHz ก็ตองมีปญหาแนๆ และ นี่หละ เปน

ปญหาสําคัญ เพราะหากวา CPU ทํางานไดเร็วจริง แตไมสามารถใช Card ตอพวงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหกับมันไดเลย ถาเปนคุณ คุณจะซื้อไหม? นี่หละครับ ปญหาที่ทาง Compaq จะตองแกใหได และ ก็แกไดดีทีเดียว นั่นก็คือ ในระบบบัส มันทํางานดวยความเร็วเดียวกับ CPU ไมได ก็แยกการใชนาฬิกา ของระบบบัส ออกจาก CPU ไป เลย โดยที่ CPU และ อุปกรณอื่นๆ บน Mainboard จะทํางานที่ความเร็ว 12 MHz แต ที่ตัว Bus เอง จะทํางานคงที่ ที่ 8 MHz เพราะใชสัญญาณนาฬิกา แยกจากกัน ซึ่งวิธีการนี้ ก็เปนทางแก ซึ่งก็ยังใชกันอยูจวบจนปจจุบันนี้ แต ... ในสมัยนั้น หนวยความจําหลัก หรือ RAM จะอยูบน Expansion Card ที่ตออยูกับ ISA Bus ดวย เพราะฉะนั้น มันก็เลย ทํางานดวยความเร็วเพียง 8 MHz เทานั้น และ ตอๆ มา ยิ่งมี CPU ขนาด 16 MHz หรือ 25 MHz ในยุคของ 386 ดวยแลว RAM ก็จะทํางานดวยความเร็วเพียงแค 8 MHz เทานั้นนะหรือ?


113 ทาง Compaq ก็เลยตองแกไขอีกครั้ง ซึ่งในตนป 1987 ทาง Compaq ก็ได วางตลาด Compaq Deskpro 386 ที่ ความเร็ว 16 MHz โดยคราวนี้ ก็แยกสัญญาณนาฬิกาของ RAM ออกไปดวยซะเลย ซึ่งก็เปนตนแบบสําคัญที่ใชกันตอมา ในปจจุบันนี้ โดยให ISA Bus ทํางาน ที่ความเร็วคาหนึ่ง RAM อีกคาหนึ่ง และ CPU อีกคาหนึ่ง

MCA Bus

ทั้ง IBM และ Compaq นั้น เปนคูแขงทางการคากัน ดังนั้น เรื่องที่จะให Compaq อยูเหนือตนเอง สําหรับ IBM นั้น เปนไปไมได ทาง IBM จึงไดออกมาตรฐานระบบบัส ของตนใหม เรียกวา Micro Channel Architecture หรือ MCA

เมื่อระบบบัส ไดมีการแขงขันกันขึ้น แนนอน ระบบที่ถูกนํามาใชเปนตัวเปรียบเทียบ คือ ISA ซึ่ง ก็มีการจับตามองวา ทาง IBM นั้น จะหาทางแกไขจุดออนของ ISA Bus ของตนอยางไร แต วิศวกรของทาง IBM นั้น มองในมุมที่แตกตางจาก คนอื่นๆ เมื่อ Intel ไดเปดตัว CPU ของตน รุน 80386 ซึ่งเปน CPU ขนาด 32 Bit สามารถอางตําแหนงหนวยความจําไดมาก ถึง 4 Gigabyte โดยมีความเร็วเริ่มตนที่ 16 MHz ซึ่ง ISA Bus ดูจะไมเหมาะแลว กับ CPU ระดับนี้ บรรดาผูใช PC ตางก็มองกันวา ทางออกที่ดี คือควรจะมีระบบบัสใหมที่สามารถรองรับในจุดนี้ได แตอยางที่บอกไปแลวนั้นวา วิศวกรของทาง IBM มองในจุดที่แตกตางจากคนอื่นๆ ทั่วไป เพราะ แตเดิมนั้น IBM จับ ตลาด Mainframe มากอน และ แนนอน วิศวกรของทาง IBM ก็จะชินและ ถนัดกับ Mainframe มากกวา ทําให วิศวกรเหลานั้นมองวา PC ก็ควรจะทํางาน แบบ หลายๆ task พรอมๆ กันได ( Multiple task ) ประกอบกับ IBM ตองการที่จะใหภาพพจน Mainframe ของตน ดูมีประสิทธิภาพสูงกวา PC จึงไมคอยไดเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงขีด ความสามารถใหกับระบบบัสใหมของตน ใหเดนกวาเดิมมากนัก มาดูกันดีกวาวา MCA นั้น มีจุดเดน และ จุดดอยอะไรบาง เริ่มจากจุดเดนของ MCA กันกอนเลยก็แลวกันนะครับ o

o

o

o

MCA นั้นใชตัวควบคุม Bus ของตัวเอง แยกจาก CPU เรียกวา Central Arbitration Point และ การ

สงผานขอมูล ก็ทําโดยผานระบบที่เรียกวา Bus Master ซึ่งชวยใหการสงผานขอมูลระหวาง Card ตางๆ กับ หนวยความจําหลัก ไดอยางรวดเร็ว และ ยังชวยในการสงผานขอมูลระหวาง Card อีกดวย สามารถกําหนดคาตางๆ ทั้ง IRQ, DMA, Port ผานทาง Software ได โดยไมตองไปยุงเกี่ยวกับ Jumper หรือ Dipswitch บน Card เลย โดยคาตางๆ สามารถ set ผานทาง Program เพียงตัวเดียว ก็สามารถ set ได กับทุกๆ Card ที่ใชกับ MCA สามารถแชร IRQ รวมกันได ซึ่ง นี่เปนปญหาสําคัญเรื่องหนึ่ง เพราะ IRQ มีจํานวนจํากัด แตก็อยากมี Card เพิ่มมากๆ IRQ ก็อาจไมเพียงพอ MCA สามารถ แชรการใชงาน IRQ รวมกันระหวาง Card อื่นๆ ได ทํางานที่ 10 MHz สนับสนุนเสนทางขอมูลทั้ง 16 Bit และ 32 Bit ซึ่งสามารถใหอัตราการสงถายขอมูลได


114 สูงสุดถึง 20 Meg ตอ วินาที เลยทีเดียว และ ดวย ความกวางของ เสนทางตําแหนงขนาด 32 Bit ก็ทําให สามารถอางตําแหนงบนหนวยความจําไดถึง 4 GigaByte ดูๆแลว ก็นาจะเปนสถาปตยกรรมระบบบัส ที่นาสนใจอยูใชนอยนะครับ แตสาเหตุที่ทําใหระบบบัส MCA นี้ ไปไมถึง ดวงดาว ก็คือ o

o

ความไมเขากันกับ ISA Bus เพราะ IBM นั้นไดออกแบบ MCA มาใหมทั้งหมด ทําใหไมเขากันกับ ISA เลย แมแตนอย แนนอน ระบบบัสแบบ MCA นี้ ไดนํามาใชบน IBM PS/2 ของ IBM เอง ดังนั้น ใน เครื่อง PS/2 นี้ ก็จะไมมี ISA และ Card ISA ก็ไมสามารถนํามาใชกับ PS/2 ได นี้หละ ปญหาหลักสําคัญเลย และ ปญหาที่หนักที่สุด ก็คือ ทาง IBM นั้น ไดจดลิขสิทธิ์ในเรื่องของ MCA เอาไวดวย ดังนั้นผูที่จะผลิต Card แบบ MCA เพื่อมาใชกับ Bus แบบ MCA ของตน ก็ตอง เสียคาลิขสิทธิ์ใหดวย ( เปนเงิน 5% ของรายไดจาก การขาย Card นั้น ๆ ) ซึ่งก็ไมใชนอยๆ เลยทีเดียว ตรงนี้หละ ที่เหมือนกับ IBM กําลังฆาตัวตาย กับวิธีการเชนนี้

ก็ตรงเรื่องลิขสิทธิ์นี่เอง ถึงแมวาจะดูแลวนาสนใจ ดูแลวเปนระบบที่ดี แต มาตายเพราะการตลาดของ IBM เสียเอง ตอมาในภายหลัง ไดมีการเพิ่มขีดความสามารถ เขาไปอีก คือเรื่องของ Streaming Data Mode ซึ่งทําใหใชเสนทาง ขอมูลไดถึง 64 Bit และ สามารถเพิ่มอัตราการสงผานขอมูลไดถึง 80 M/s และ ยังไดเพิ่มสัญญาณนาฬิกาไปเปน 20 MHz ซึ่งจะสามารถทําใหอัตราสงถายขอมูลสูงสุดที่ 160 M/s ดวย เพื่อแขงขันกับ EISA ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป

EISA Bus

จากที่ไดกลาวมาแลว ถึงจุดจบอันไมนาบังควรของ IBM ที่ทําการจดลิขสิทธิ์ และ เรียกเก็บคาลิขสิทธิ์ จากรายไดทั้งหมด 5 % ( จากรายไดทั้งหมดนะครับ ไมใชจากกําไรทั้งหมด ) แถมยังไมใหความชวยเหลือในดานขอมูลของระบบนี้อีก ทําใหมัน ถูกกองไวกับ IBM ไมแพรหลายทั่วไปอยาง ISA แนนอน Compaq ซึ่งเปนคูแขงทางการคาของ IBM คงไมไปกมหัวใหกับ IBM เพื่อขอใช MCA เปนแนแท ทาง Compaq จึงไดรวมทุนวิจัยระบบบัสใหม รวมกับอีก 8 บริษัท ในป 1988 ซึ่งเรียกกันวาเปน "Gang of Nine" แต พวกเขากลับเรียกตัวเองวา "WATCHZONE" เพราะ ประกอบไปดวยบริษัท Wyse, AST Research, Tandy, Compaq, Hewlett-Packard, Zenith Data Systems, Olivetti, NEC และ Epson และไดพัฒนา Extended Industry Standard Architecture หรือ EISA ขึ้นมาไดสําเร็จ EISA นั้น ใชพื้นฐานหลักมาจาก ISA แตไดเพิ่มขีดความสามารถบางอยางขึ้น ซึ่งบางอยางก็พัฒนามาจาก MCA ดวย ซ้ํา

ยังเขากันไดกับ ระบบ ISA รุนเกาดวย และ เสียคาลิขสิทธิ์นอยกวาที่จะตองจายใหกับ IBM อีกดวย เรามาดูจุดเดน/ดอยของ EISA กันดีกวาครับ


115

o o o

o

o

ใชเสนทางขอมูลขนาด 32 Bit ซึ่งทําใหมีอัตราสงผานขอมูลไดถึง 33 Meg ตอ วินาที อางหนวยความจําไดถึง 4 Gigabyte ดึงเอาความสามารถเดนๆ ทั้ง Bus Mastering, Automated Setup และ Interrupt Sharing จาก MCA และ พัฒนามาเปนแบบฉบับของตน ดังนั้นจึงสามารถ ปรับแตงคาตางๆ ทั้ง IRQ, DMA และ Port ผานทาง Software โดยไมตองไปยุงเกี่ยวกับ Jumper หรือ Dipswitch ได ใช สัญญาณนาฬิกาที่ 8.33 MHz เทานั้น ซึ่งตรงนี้เองที่เปนจุดดอยของมัน แตที่ตองใชเพียงเทานี้ ก็เพื่อคงความ เขากันไดกับ ระบบ ISA แบบเกา ไมมีการเพิ่ม IRQ และ DMA เพราะ ใชรวมกันได ( เปนความสามารถของ MCA ที่ EISA ดึงมาเปนแบบ ของตนเอง )

เมื่อทาง IBM เห็นเชนนี้ ก็ยอมไมได เพราะ จากอัตราสงถายขอมูล ซึ่งสูงกวา MCA ของตน ( 20 M/s ) จึงไดทําการ เพิ่ม Feature ใหกับ MCA ของตน ดังที่ไดกลาวมาแลว ซึ่งทําให อัตราการสงถายขอมูลเพิ่มไดถึง 160 M/s และ แนนอน ทาง WATCHZONE ก็ไมยอมนอยหนา ไดทําการพัฒนา EISA ขึ้นเปน EISA-2 ซึ่งมีอัตราการสงถายถึง 132 M/s เลยทีเดียว

Local Bus

เมื่อคราวที่ Compaq ไดเปดตัว Deskpro 386 นั้น ที่เคยกลาวไปแลววา ไดแยกสัญญาณนาฬิกาของหนวยความจํา หลัก , Bus และ CPU ออกจากกัน ซึ่ง Compaq ก็ได เปดตัว ระบบ Bus ใหมของตนไปดวย เพราะ หนวยความจําหลัก ของเครื่องนี้ จะอยูบน Slot ขนาด 32 Bit ซึ่งออกแบบมาเฉพาะของ Compaq เทานั้น ซึ่ง ก็เปนจุดเริ่มตน ใหผูผลิตแต ละบริษัท เริ่มที่จะหันไปออกแบบและผลิตระบบบัส ที่เปนมาตรฐาน ของตนเองขึ้นมา แนนอน Intel ก็เปนหนึ่งในนั้น ระบบบัสเหลานี้ แตเดิมเรียกวา เปน Private Bus เพราะใชเปนการสวนตัวเฉพาะบริษัทเทานั้น แตตอมาก็เรียกวาเปน Local Bus หรือ Bus เฉพาะที่ เพราะใช สัญญาณนาฬิกาเดียวกับ CPU โดยไมตองพึ่งวงจรสัญญาณนาฬิกาพิเศษแยก ออกจาก CPU เลย ขอดีของมันก็คือ ทําใหสามารถใชสัญญาณนาฬิกาเดียวกันกับ CPU ในขณะนั้นได ซึ่งก็มักจะนํามาใชกับ หนวยความจํา หลัก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของระบบ แตก็มี Card แสดงผลอีกชนิดหนึ่งที่ตองการความไวสูง เชน Display Card ซึ่ง หากมีการเขาถึงและสงถายขอมูลระหวาง CPU กับ Display Card ไดเร็วแลว ก็จะชวยลดปญหาเรื่อง Refresh Rate ต่ํา เพราะ CPU จะตองทําการประมวลผลและนํามาแสดงผลบนจอภาพ ยิ่งหากวามีการใช mode resolution ของ จอภาพสูงๆ และ เปน mode graphics ดวยแลว CPU ก็ยิ่งตองการการสงถายขอมูลใหเร็วขึ้น เพื่อ ภาพที่ไดจะไดไมกระตุกและไมกระพริบ ( Refresh Rate ต่ํา เปนเหตุใหจอกระพริบ ) เนื่องจากระบบ Local Bus นั้น จะชวยในการสงผาน และ เขาถึงขอมูลไดเร็ว จึงไดมีบริษัทหัวใส นําเอาระบบ Local Bus มาใชกับ Display Card ดวย โดยบริษัทแรก ที่นํามาใชและเปดตัวอยางเปนทางการ คือ NEC ซึ่งใชกับ NEC


116 Powermate ( ในป 1991 ) และ ตอๆมา ผูผลิตรายอื่นๆ ก็ไดพยายามเลียนแบบ แตก็ไดออกแบบระบบ Local Bus

ของตน ซึ่ง Card ของแตละบริษัท ก็นําไปใช กับ บริษัทอื่นไมได ทําใหมีการกําหนดมาตรฐานระบบ Bus นี้ขึ้นมา โดย กลุมนั้นชื่อ Video Electronic Standards Association หรือ VESA และ ไดเรียก มาตรฐานนั้นวาเปน VESA Local Bus หรือ สั้นๆวา VL Bus ในป 1992 ระบบ VL Bus นั้น สามารถใชสัญญาณนาฬิกา ไดสูงถึง 50 MHz ทั้งยังสนับสนุนเสนทางขอมูลทั้ง 32 Bit และ 64 Bit รวมถึงอางตําแหนงหนวยความจําไดสูงถึง 4 Gigabyte อีกดวย แตอยางไรก็ตาม VL Bus ก็ไมเชิงวาเปนสถาปตยกรรมที่ดีนัก เพราะไมมีเอกลักษณ หรือ คุณสมบัติพิเศษ นอกเหนือไปจาก ISA มากนัก เพราะมันเหมือนๆกับ การเพิ่มขีดความสามารถใหกับ ISA มากกวาที่จะเปนพัฒนา ความสามารถใหกับ ISA เนื่องจากมันก็ยังคงให CPU เปนตัวควบคุมการทํางาน ใช Bus Mastering ไมได และ ยังไม สามารถปรับแตงคาตางๆ ผานทาง Software ได จากจุดออนตรงจุดนี้ ทําใหทาง Intel ไดพัฒนาระบบ Local Bus ของ ตนขึ้นมานั่นเอง

PCI Bus

ระบบ PCI หรือ Peripheral Component Interconnect ก็เปน Local Bus อีกแบบหนึ่ง ที่พัฒนาขึ้นโดย Intel ในเดือนกรกฎาคม ป 1992 โดยที่แยกการควบคุมของระบบบัส กับ CPU ออกจากกัน และสงขอมูลผานกันทางวงจรเชื่อม ( Bridge Circuit ) ซึ่ง จะมี Chipset ที่คอยควบคุมการทํางานของระบบบัสตางหาก โดยที่ Chipset ที่ควบคุมนี้จะ เปนลักษณะ Processor Independent คือ ไมขึ้นกับตัว Processor ( หรือ CPU )


117 แรกเริ่มที่เปดตัวนั้น PCI จะเปนระบบบัสแบบ 32 Bit ที่ทํางานดวยความเร็ว 33 MHz ซึ่งสามารถใหอัตราเร็วในการ สงผานขอมูลถึง 133 M/s ตอมา เมื่อ Intel เปดตัว CPU ใน Generation ที่ 5 ของตน Intel Pentium ซึ่งเปน CPU ขนาด 64 Bit ทาง Intel ก็ไดทําการกําหนดมาตรฐาน ของ PCI เสียใหม เปน PCI 2.0 ในเดือนพฤษภาคม ป 1993 ซึ่ง PCI 2.0 นี้ก็จะมีความ กวางของเสนทางขอมูลถึง 64 Bit ซึ่งหากใชงานกับ Card 64 Bit แลว ก็จะสามารถใหอัตราเร็วในการสงผานที่สูงสุดถึง 266 M/s

จุดเดนของ PCI ที่เห็นไดชัด นอกเหนือไปจากขางตน ก็ยังมีเรื่องของ Bus Mastering ซึ่ง PCI นั้น ก็สามารถทําได เชนเดียวกับ EISA และ MCA แลว Chipset ที่ใชเปนตัวควบคุมการทํางาน ก็ยังสนับสนุนระบบ ISA และ EISA อีก ดวย ซึ่งก็สามารถทําใหผลิต Mainboard ที่มีทั้ง Slot ISA , EISA และ PCI รวมกันได นอกจากนั้น ยังสนับสนุน ระบบ Plug-and-Play อีกดวย ( เปนมาตรฐานที่พัฒนาในป 1992 ที่กําหนดให Card แบบ Plug-and-Play นี้ จะไม มี Dipswitch หรือ Jumper เลย ทุกอยาง ทั้ง IRQ, DMA หรือ Port จะถูกกําหนดไวแลว แตเราก็สามารถเลือก หรือ เปลี่ยนแปลงไดจาก Software )

รูปแสดงรูปราง ของ PCI Bus สวน Slot สีดําดานลาง ก็คือ Slot ISA นั่นเอง


118 รูปแสดงรูปราง ของ PCI Bus อีกรูปหนึ่ง

รูปแสดงลักษณะของ PCI 64 Bit ( วงสีเหลือง ) และ PCI 32 Bit ( วงสีแดง )

AGP

ในกลางป 1996 เมื่อ Intel ไดทําการเปดตัว Intel Pentium II ซึ่งพรอมกันนั้นก็ไดทําการเปดตัวสถาปตยกรรมที่ชวย เพิ่มประสิทธิภาพ ของหนวยแสดงผลดวย นั่นก็คือ Accelerated Graphics Port หรือ AGP ซึ่งก็ไดเปดตัว Chipset ที่สนับสนุนการทํางานนี้ดวย คือ 440LX ( ซึ่งแนนอน Chipset ที่ออกมาหลังจากนี้ ก็จะสนับสนุนการทํางานของ AGP ดวย ) AGP นั้น จะมีการเชื่อมตอกับ Chipset ของระบบแบบ Point-to-Point ซึ่ง จะชวยใหการสงผานขอมูลระหวาง Card AGP กับ Chipset ของระบบไดเร็วขึ้น และยังมีเสนทางเฉพาะ สําหรับติดตอกับหนวยความจําหลักของระบบ เพื่อใชทํา

การ Render ภาพ แบบ 3D ไดอยางรวดเร็วอีกดวย จากเดิม Card แสดงผล แบบ PCI นั้น จะมีปญหาเรื่องของหนวยความจําบน Card เพราะเมื่อตองการใชงานดานการ Render ภาพ 3 มิติ ที่มีขนาดใหญมากๆ ก็จําเปนตองมีการใชหนวยความจําบน Card นั้นมากๆ เพื่อรองรับขนาดของ พื้นผิว ( Texture ) ที่เปนองคประกอบสําคัญของงาน Render แนนอน เมื่อหนวย ความจํามากๆ ราคาก็ยิ่งแพง ดังนั้น ทาง Intel จึงไดทําการคิดคนสถาปตยกรรมใหมเพื่องานดาน Graphics นี้ โดยเฉพาะ AGP จึงไดถือกําเนิดขึ้นมา AGP นั้นจะมี mode ในการ Render อยู 2 แบบ คือ Local Texturing และ AGP Texturing โดยที่ Local Texturing นั้น จะทําการ copy หนวยความจํา ของระบบไปเก็บไวที่เฟรมบัฟเฟอรของ Card ( หนวยความจําบนตัว Card ) จากนั้นจึงทําการประมวลผลโดยดึงขอมูลจากเฟรมบัฟเฟอรบน Card นั้นอีกที ซึ่งวิธีการนี้ ก็เปนวิธีการที่ใชบน


119 ระบบ PCI ดวย วิธีนี้จะพึ่งขนาดของหนวยความจําบน Card มาก AGP Texturing นั้น เปนเทคนิคใหม ที่ชวยลดปริมาณของหนวยความจํา หรือ เฟรมบัฟเฟอรบน Display Card ลง

ไดมาก เพราะสามารถทําการใชงาน หนวยความจําของระบบใหเปนเฟรมบัฟเฟอรไดเลย โดยไมตองดึงขอมูลมาพักไวที่ เฟรมบัฟเฟอรของ Card กอน ( สามารถอานเรื่องของ AGP Texturing เพิ่มเติมไดที่ Vision4D ครับ )

แสดงระบบบัสแบบ PCI คราวๆ

แสดงระบบบัสของ AGP ที่มีจดุ เดนที่เหนือกวา PCI ตรง Port พิเศษของ AGP โดยปกติแลว AGP จะทํางานที่ความเร็ว 66 MHz ซึ่งแมวาระบบจะใช FSB เปน 100 MHz แตมันก็จะยังคงทํางานที่ 66 MHz ( ซึ่งตรงจุดนี้ Mainboard บางรุน บางยี่หอ สามารถปรับแตงคานี้ได แต ทั้งนี้ และ ทั้งนั้น ก็ควรคํานึงถึง ขีดจํากัดของ Card และ อุปกรณอื่นๆ ดวย ) ซึ่ง ใน mode ปกติของมัน ก็จะมีความสามารถแทบจะเหมือน กับ PCI แบบ 66 MHz เลย โดยจะมีอัตราการสงขอมูลที่สูงถึง 266 M/s และ นอกจากนี้ยังสามารถทํางานไดทั้งขอบขาขึ้นและขอบขา ลงของ 66 Mhz จึงเทากับวามันทํางานที่ 133 MHz ซึ่งจะชวยเพิ่มอัตราการสงถายขอมูลขึ้นไดสูงถึง 532 M/s ( แนนอนวาทั้ง Card ที่ใช และ Chipset ที่ใช ตองสนับสนุนการทํางานแบบนี้ดวย ) ซึ่งเรียก mode นี้ วา mode 2X และ mode ปกติวาเปน mode 1X สําหรับความเร็วในการสงถายขอมูลนั้น ก็ขึ้นกับชนิดของหนวยความจําหลักดวย ถาหนวยความจําหลัก เปน ชนิดที่เร็ว ก็จะ


120 ยิ่งชวยเพิ่มอัตราเร็วในการสงถายมากขึ้น ดังนี้ o

EDO DRAM หรือ SDRAM PC 66 ได 528 M/s

o

SDRAM PC100 ได 800 M/s

o

DRDRAM ได 1.4 G/s ( ขอขอบคุณ คุณ Noko สําหรับขอมูลตรงนี้ครับ )

อีกสาเหตุหนึ่งที่ระบบบัสแบบ AGP ทําไดดีกวา PCI ก็เพราะ เปน Slot แบบ เอกเทศ ไมตองไปใช Bandwidth รวมกับใคร ( เพราะเครื่องๆ หนึ่งมี Display Card เพียง ตัวเดียวก็เพียงพอแลว ดังนั้น จึงใน Mainboard จึงมี Slot AGP เพียง Slot เดียว )

รูปแสดงรูปราง ของ Slot AGP อีกไมนาน chipset ตัวใหมของทาง Intel ก็จะออกมาแลว ซึ่งจะรองรับการทํางานของ AGP 4X ซึ่งก็จะชวยใหเพิ่ม อัตราการสงผานขอมูลไดสูงขึ้นอีกเทาตัวจาก 2 X เลยทีเดียว

ตารางสรุปเกี่ยวกับระบบบัส ชนิด

ปที่เปดตัว

PC Bus 1981 ISA 1984

ความกวางของ Bus

ความเร็วนาฬิกา

8 Bit 16 Bit

4.77 MHz 8 MHz


121 MCA 1987 EISA 1988 VL Bus 1992 PCI 1992 AGP

1996

32 Bit 32 Bit 32/64 Bit 32/64 Bit 32 Bit ( or Greater Than )

10 MHz 8.33 MHz 50 MHz 33 MHz 66 MHz

อางอิง Winn L. Rosch, Hardware Bible : Premier Edition , SAMS Publishing, 1997 Vincent P. Heuring, Harry F. Jordan, Computer Systems Design and Architecture , Addison-Wesley, 1997 Peter Norton, John Goodman, Inside the PC , Seventh Edition, SAMS Publishing,1997 สัญญพงศ สายวงศนวล, คูมือการอัปเกรด และ บํารุงรักษา PC , Fourth Edition, ซีเอ็ดยูเคชั่น, 1996 [ Web Link ] http://www.agpforum.org [ Web Link ] http://developer.intel.com/drg/mmx/AppNotes/agp.htm

VGA Card หรือ Display Adapter มีหนาที่เปลี่ยนสัญญาณ digital ใหเปนสัญญาณภาพ โดยมี Chip เปนตัวหลักในการ ประมวลการแปลงสัญญาณ สวนภาพนั้น CPU เปนผูประมวลผล แตปจจุบัน เทคโนโลยี การประมวลผลภาพนั้น VGA card เปนผูประมวลผลเองโดย Chip นั้นไดเปลี่ยนเปน GPU (Grarphic Processing Unit) ซึง่ จะมีการประมวลภาพในตัว Card เองเลย เทคโนโลยีนี้เปนที่แพรหลายมากเนื่องจากราคาเริ่มปรับตัวต่ําลงมาจากเมื่อกอนที่ เทคโนโลยีนี้เพิ่งเขามาใหมๆ โดย GPU คาย Nvidia เปนผูริเริ่มการลุยตลาด

Card VGA-ISA


122

Card VGA-VESA

Card VGA-PCI

Card VGA-AGP หลักการทํางานพื้นฐานของการดแสดงผลจะเริ่มตนขึ้น เมื่อโปรแกรมตางๆ สงขอมูล มาประมวลผลที่ ซีพียูเมือ ่ ซีพียูประมวลผล เสร็จแลว ก็จะสงขอมูลที่จะนํามาแสดงผลบน จอภาพมาที่การดแสดงผล จากนั้น การดแสดงผล ก็จะสงขอมูลนี้มาที่จอภาพ ตาม ขอมูลที่ไดรับมา การดแสดงผลรุนใหมๆ ที่ออกมาสวนใหญ ก็จะมีวงจร ในการเรง ความเร็วการแสดงผลภาพสามมิติ และมีหนวยความจํามาใหมากพอสมควร หนวยความจํา การดแสดงผลจะตองมีหนวยความจําที่เพียงพอในการใชงาน เพื่อใชสําหรับเก็บ ขอมูลที่ไดรับมาจากซีพย ี ู และสําหรับการดแสดงผล บางรุน ก็สามารถประมวลผลได ภายในตัวการด โดยทําหนาที่ในการ ประมวลผลภาพ แทนซีพย ี ูไปเลย ชวยใหซีพียูมี เวลาวามากขึ้น ทํางานไดเร็วขึ้น เมื่อไดรับขอมูลจากซีพียูมาการดแสดงผล ก็จะเก็บขอมูลที่ไดรับมาไวใน หนวยความจําสวนนี้นี่เอง ถาการดแสดงผล มีหนวยความจํามากๆ ก็จะรับขอมูลมาจาก


123 ซีพียูไดมากขึ้น ชวยใหการแสดงผลบนจอภาพ มีความเร็วสูงขึ้น และหนวยความจําที่มี ความเร็วสูงก็ยิ่งดี เพราะจะมารถรับสงขอมูลไดเร็วขึ้น ยิ่งถาขอมูล ที่มาจากซีพียู มี ขนาดใหญ ก็ยิ่งตองใชหนวยความจําที่มีขนาดใหญๆ เพื่อรองรับการทํางานไดโดยไม เสียเวลา ขอมูลที่มี ขนาดใหญๆ นั่นก็คือขอมูลของภาพ ที่มีสีและความละเอียดของ ภาพสูงๆ ความละเอียดในการแสดงผล การดแสดงผลที่ดีจะตองมีความสามารถในการแสดงผลในความละเอียดสูงๆ ไดเปน อยางดี ความละเอียดในการแสดงผลหรือ Resolution ก็คือจํานวนของจุดหรือพิเซล (Pixel) ที่การดสามารถนําไป แสดงบนจอภาพได จํานวนจุดยิ่งมาก ก็ทําใหภาพที่ได มี ความคมชัดขึ้น สวนความละเอียดของสีก็คือ ความสามารถในการแสดงสี ไดในหนึ่งจุด จุดที่พูดถึงนี้ก็คือ จุดที่ใชในการแสดงผล ในหนาจอ เชน โหมดความละเอียด 640x480 พิกเซล ก็จะมีจุดเรียงตามแนวนอน 640 จุด และจุดเรียงตามแนวตั้ง 480 จุด โหมดความละเอียดที่เปนมาตราฐานในการใชงานปกติก็คือ 640x480 แตการด แสดงผลสวนใหญ สามารถที่จะแสดงผลไดหลายๆ โหมด เชน 800x600, 1024x768 และการดที่มีประสิทธิภาพสูงก็จะ สามารถแสดงผลในความละเอียด 1280x1024 สวน ความละเอียดสก็มี 16 สี, 256 สี, 65,535 สี และ 16 ลานสีหรือมักจะเรียกกันวา True color อัตราการรีเฟรชหนาจอ การดแสดงผลที่มีประสิทธิภาพ จะตองมีอัตราการรีเฟรชหนาจอไดหลายๆ อัตรา อัตราการรีเฟรชก็คือ จํานวนครั้งในการกวาดหนาจอ ใหมในหนึ่งวินาที ถาหากวาอัตรารี เฟรชต่ํา จะทําใหภาพบนหนาจอ มีการกระพริบ ทําใหผูที่ใชงานคอมพิวเตอร เกิดอาการ ลา ของกลามเนื้อตา และอาจทําใหเกิดอันตราย กับดวงตาได อัตราการรีเฟรชใน ปจจุบันอยูที่ 72 เฮิรตซ ถาใชจอภาพขนาดใหญ อัตรารีเฟรชยิ่งตองเพิ่มมากขึ้น อัตรารี เฟรชยิ่งมากก็ยิ่งดี

ผมเขียนแบบ Multi Config ที่ผมเอามาใหดูเปนของเครื่องผมนะครับ ไปประยุกตใชกับเคี่องคุณได แตวิธีนี้ตองแกไฟล Config.sys ดวยนะ (หลังเครื่องหมายบวกคือคําอธิบาย แตเวลาทําหามไส) ตัวอยาง Config.sys [MENU] +จําเปน MENUITEM=WINDOWS98 +หลังคําสั่งMenuitem=ตามดวยชื่อเมนูในที่นี้คือ Windows98 กับดอสตรับ MENUITEM=DOS [COMMON] +จําเปน +ใสคําสั่งที่ตองการใหrunในการเลือกทั้งสองเมนูนี้ [WINDOWS98] +จําเปนอางถึงเมนูที่ไสไวในคําสั่งmenuitem +ใสคําสั่งที่ตองการให run ในสวนของเมนูWindows98 ;DEVICE=C:\WINDOWS\HIMEM.SYS ;device=C:\WINDOWS\emm386.exe [DOS] +จําเปนอางถึงเมนูที่ไสไวในคําสั่งmenuitem +ใสคําสั่งที่ตองการให run ในสวนของเมนูDos DEVICE=C:\WINDOWS\HIMEM.SYS devicehigh=C:\WINDOWS\emm386.exe DEVICEHIGH=C:\CDPRO\VIDE-CDD.SYS /D:MSCD001 /P:1F0,14 /P:170,15 /P:1E8,12 /P:168,10 DEVICEHIGH=C:\WINDOWS\COMMAND\ANSI.SYS


124 DOS=HIGH,UMB [COMMON] +จําเปนกรณีใหrunทายไฟล +ใสใหrunทั้งสองเมนู ตังอยางไฟล Autoexec.bat GOTO %CONFIG% +ตองมี อางสวนของMulticonfig ของ Config.sys :WINDOWS98 +อางเมนู ใสคําสั่งที่ตองการใหrun @C:\PROGRA~1\NORTON~4\NAVDX.EXE /STARTUP GOTO END ไปบรรทับที่:END :DOS +อางสวนเมนู Dos +ใสคําสั่งที่ตองการใหrunในสวนdos @C:\PROGRA~1\NORTON~4\NAVDX.EXE /STARTUP \CREATIVE\SBLIVE\DOSDRV\SBEINIT.COM LOADHIGH C:\WINDOWS\COMMAND\MSCDEX /D:MSCD001 /V /E LH C:\WINDOWS\COMMAND\DOSKEY /INSERT LH C:\AMOUSE\AMOUSE LH C:\S3DRV\S3VBE20 /INSTALL C:\STARTDOS\DOS.BAT GOTO END :END การแกไขและซอมคอมพิวเตอรดวยตนเอง ถาคุณมีปญหาการใชคอมพิวเตอร หรือเครื่องพิมพ ลองตรวจสอบปญหาจากหัวขอเหลานี้กอน ไมแนนะ ทาน อาจพบวิธีการแกไขดวยตนเอง ขอมูลเหลานี้สวนใหญเกิดจากประสบการณในการซอมคอมพิวเตอรโดยตรง ซึ่ง พอสรุปปญหาได 2 ลักษณะ คือ ปญหาที่เกิดจาก Software และปญหาที่เกิดจาก hardware

1.ปญหาจากOperating System Windows ปญหานี้สวนใหญมาจากการติดตั้งโปรแกรมใหมๆ หรือการ Uninstall โปรแกรมแลวทําให File บางไฟล หายไปวิธีแกไขงายๆ คือการติดตั้ง Windowsทับเขาไปใหม (ชางสวนใหญแนะนํากันตอๆมา) ไมตองกลัวนะครับ วาโปแกรมที่มีอยูกอนแลวจะหายไป !ไมหายครับและก็ไมจําเปนตองลงโปรแกรมอื่นๆ ใหมดวยแตควรเตรียม แผน drive ของ การดจอ ซาวดการด ไวใหพรอมก็จะดี 2. ปญหาจาก Application เชนโปรแกรมการใชงานตาง ๆ ได Microsoft Word, Excel, internet Explorer มีหลักคลาย ๆ กันคือใหติดตั้ง โปรแกรมทับเขาไปใหม แตผมแนะนําวาใหลองปดโปรแกรมทั้งหมด แลว Restart ใหมจะดีกวา อีกเรื่องหนึ่งที่ นาสนใจคือ โปรแกรมบางตัวอาจไม support การใชงานบาง OS ดังนั้น อาจจําเปนตองมีการถอดการติดตั้งออก หรือที่เรียกวา uninstall (สวนใหญโปรแกรมที่เราติดตั้งจะมีมาใหดวย) ถาไมมีลองเขาไปที่ Control Panel เลือก Add/ Remove Program 3. ปญหาจากไวรัส


125 ปญหานี้อาจพบอาการแปลก ๆ เชน เปดโปรแกรมไมได, มีหนาตางแปลก ๆ แสดงขึ้นมาที่หนาจอ การแกไขก็ ลองตรวจสอบโดยใชโปรแกรมเช็คไวรัสดู เชน Norton Antivirus หรือ McAfee.VirusScan เปนตน 4. ปญหาจากผูใชงาน ตัวอยางเชน กดปุม Scroll Lock แลวหนาจอเลื่อนทั้งหนา (Microsoft Excel) เรื่องปกติครับ ไมมีใครทุกคนที่จะ สามารถใชโปรแกรมไดเกงทุกอยางบางครั้งก็มีพลั้งเผลอบาง เรื่องนี้ตองแกไขโดยการซื้อหนังสือมาอานครับ เพื่อที่จะทําใหเราสามารถใชโปรแกรมไดคลองและเกง

Disk Drive อานขอมูลไมได -> ใหแกไขโดยซื้อแผนทําความสะอาด + น้ํายา ลางก็จะสามารถแกไขได CD-ROM Drive อานขอมูลไมได -> สาเหตุมาจากฝุนที่เกาะอยู ใหซื้อแผนทําความสะอาดสําหรับ CD-ROM และสาเหตุอีก อยางหนึ่งคือ แผนที่อาน อาจมีปญหามาจากการบันทึกถาเปนไปได ใหทดสอบโดยนําแผนไปอาน CD-ROM Drive เครื่องอื่น ๆ ดู(ความเร็ว CD-ROM ถาต่ํากวา 24x มักจะมีปญหาในการอาน) RAM-Memory ถาเกิดฝุนละออง หรือมีอาการรอง -> ใหนํายางลบดินสอมาทําความสะอาด แลวนําเสียบลงไป ใหม หนวยความจํา ปจจุบันมีราคาถูกลงมาก อยางไรก็ตามปญหาที่พบ เกี่ยวกับ Ram คือการไมสัมพันธระหวางแรมเกา กับแกมใหม หมายความวา การเพิ่มแรมควรใชยี่หอเดียวกัน รุน เดียวกัน และขนาดเทากันจะดีกวาทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับเมนบอรดของแตละรุนดวย Harddisk ทํางานชาลง -> สวนใหญมาจากพื้นที่วางใน harddisk ไมมากพอสําหรับผูใชวินโดวส 95,98 ควรมีพื้นที่เหลือ อยางนอยสัก 500 MB การแกไข ควรทําDisk Cleanup (ทําทุกวัน) ตามดวย Scandisk (ทําทุกวัน) และ Disk Defragment (ทําทุกเดือน) Power Supply ไฟไมเขา -> ลองขยับปลั๊กดูกอน ปญหานี้เกิดบอยมาก นอกจากนี้อาจเปนที่ฟวสขาด ใหหามาเปลี่ยน แตถาเสีย แลว ไมแนะนําใหซอม ซื่อตัวใหมเลยดีกวา สวนเรื่องการปองกันปญหาคือ ใหหาเครื่องเปา มาเปาอยางนอย 3 เดือนครั้ง ขึ้นอยูกับหองที่ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรดวยวามีฝุนมากนอยเพียงใด Mouse เมาสเลื่อนสะดุด -> ปญหานี้แกไขงาย และมักเปนกันบอยๆ หลังจากใชงานไปไดสักพัก สาเหตุคือการไมคอย นิยมใชแผนรองเมาส ทําใหฝุนจากพื้นเขาเกาะติดไดงาย สําหรับการแกไข คือ ใหหงายเมาส แกะ ตัวล็อก นําลูกกลิ้งดานหลังออก จากนั้นใหดูในชองดานใน จะเห็นฝุนเกาะเปนคราบอยูใหใช น้ํายาทําความสะอาดเมาสเช็ด ทําความสะอาด Monitor ปญหาที่พบเชน สีเพี้ยน -> ใหลองถอดสายสัญญาณของจอออก แลวเสียบใหม หรือจอภาพมี แตสีขาวดํา ทั้งๆ ที่เปนจอสี ใหถอดสายสัญญาของจอและดูวาเข็มใดงอหรือไม ใหแกไข และ ลองเสียบใหม


126

เครื่องพิมพชนิดหัวเข็ม (Dot matrix) พิมพติดขัดเปนประจํา ปญหาที่พบสวนใหญมีเศษกระดาษ ผงกระดาษ หรือ Clip ตกลงไป ใหถอดมาทําความสะอาด และอีกอยาง หนึ่งที่มีปญหาบอยคือ แผงกั้นระหวางหัวพิมพกับกระดาษอาจชํารุด ใหหาซื้อมาเปลี่ยนเอง (จะไดราคาถูกกวา ไม เสียคาแรงดวย) สีจางมาก ทั้งๆ ที่เปลี่ยนตลับผาหมึกใหม เรื่องนี้ผมก็พบบอยเหมือนกัน ปญหานี้แกไขโดยการเลื่อนคันโยก ปรับตําแหนงของการพิมพใหอยูในระดับที่ ถูกตอง (เชน หมายเลข 0-1 สําหรับการพิมพกระดาษ 1 แผน , หมายเลข 2-3 กระดาษมีสําเนา 2 แผน เปนตน) พิมพกระดาษตอเนื่อง แลวไมเลื่อน ตรวจสอบคันโยกวาปรับตําแหนงใด ปกติจะมี 2 ตําแหนงคือ แบบกระดาษ 1 แผน และแบบกระดาษตอเนื่อง หัวเข็มหัก (คงตองสงซอม) สาเหตุที่พบมากคือ ปรับความใกลไกลเวลาพิมพกระดาษที่มีความหนาตางๆ ไมถูกตอง ลองศึกษาจากคูมือดู และอีกอยางหนึ่งผาหมึกถาจางแลวใหรีบเปลี่ยน อยาฝนใช เพราะจะทําใหหัวเข็มชํารุดไดงาย เครื่องพิมพพนหมึก (Inkjet) พิมพไมออก ไมมีสี ปญหาจากการอุดตันของตัวตลับหมึก ควรเลือกซื้อเครื่องที่หัวพนหมึกอยูในตลับจะดีกวา เวลาเปลี่ยนจะได เปลี่ยนพรอมกันไป (ราคาจะแพงกวาสักนิด) สําหรับวิธีปองกันปญหาไดบางคือ หลังจากมีการเปลี่ยนตลับหมึก แลว ควรใชใหหมด ไมควรถอดออกมาเพราะจะทําใหอุดตัน สําหรับการทดสอบ แกไขใหลองลางหัวเข็ม ผาน คําสั่งในโปรแกรม หรือผานทางเครื่องพิมพโดยตรง(คงตองอานคูมือดูแตละรุนอีกทีนะครับ) พิมพออกมาสีเพี้ยน หมึกหมดครับ สีใดสีหนึ่งอาจหมด ทําใหสีที่ผสมออกมาไมสมบูรณ การแกไขใหเปลี่ยนตลับหมึก Inkjet บาง รุนสามารถเปลี่ยนตลับสีแยกเปนสีๆ ไดดวย ชวยใหประหยัดเงินไดมากขึ้น แตถาไมใชเพราะคุณเพิ่งเปลี่ยนตลับ หมึก ใหทดสอบโดยใชวิธีการลางหัวเข็ม อาจลางผานคําสั่งในโปรแกรม หรือผานทางเครื่องพิมพโดยตรง(คงตอง อานคูมือดุแตละรุนอีกทีนะครับ) เครื่องพิมพเลเซอร (Laser) พิมพไมออก สีจาง ปญหาอยางหนึ่งคือ ผงหมึกไมอยูในแนวราบ ใหเอาตลับหมึกมาเขยา ๆ (แนวราบ) ออ! ถาเปนตลับใหม อยาลืมดึงแผนพลาสติกที่กั้นผงหมึกไวดวย มิฉะนั้นอาจพิมพไมติดเลย พิมพยังไงก็ไมออก สาเหตุอาจมาจากกระดาษติดครับ ผมพบบอยมากถึงมากที่สุด ใหลองถอด ตลับผงหมึกออกมา สังเกตวามีกระดาษติดหรือไม ถามีใหระวังเรื่องการดึง กระดาษโดยดูจากคูมือเรื่องทางเดินของกระดาษ ใหดึงไปตามเสนทางของทางเดินกระดาษ ฟนเฟองของเครื่องพิมพจะไดไมหัก (เฟองแตละตัว ราคาคอนขางแพงครับ) พิมพแลวสกปรก มีลายเสน


127 ตัวลูกกลิ้งสกปรก ใหเปดเครื่อง เอาตลับผงหมึกออก และทําความสะอาดลูกกลิ้งดู สาเหตุอีกอยางหนึ่งคือตัว ตลับไมไดมาตรฐาน (อาจเกิดจากตลับที่มีการนํามาใชใหม) ควรตรวจดูกอน นอกเหนือจากที่กลาวขางตนแลว การตรวจสอบปญหาเครื่องคอมพิวเตอรอีกวิธีหนึ่งที่คอนขางายและมี ประสิทธิภาพอยูในระดับที่นาพอใจคือ การใชโปรแกรมตรวจสอบปญหา เชน Norton Utilities หรือ First Aid เปนตน เพียงแคคุณติดตั้งโปรแกรมเหลานี้ จากนั้น run โปรแกรมดู (เครื่องคอมพิวเตอรที่มี Brand ดี ๆ อาจมี โปรแกรมตรวจสอบปญหาแถมมาใหดวย)

การแกปญหางานพิมพ เปนปญหาอีกปญหาหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในระหวางการทํางานกับเคื่องคอมพิวเตอร ในขณะที่ทําการสั่งให เครื่องพิมพงานออกทางเครื่องพิมพ แยกเปนปญหาแตละปญหาออกไดดังนี้

เครื่องพิมพงานออกมาเปนภาษาตาง ดาว ปญหาลักษณะนี้เกิดจากการที่กําหนดคาของเครื่องพิมพผิดพลาด เนื่องจากมีการสลับการใชงาน เครื่องพิมพมากกวาหนึ่งตัวตอเครื่องคอมพิวเตอรหนึ่งเครื่อง สาเหตุ กําหนดไดรเวอรของเครื่องพิมพไมตรงกับเครื่องพิมพที่เชื่อมตอกับคอมพิวเตอร การแกปญหา กําหนดไดรเวอรของเครื่องพิมพใหถูกตอง 1. คลิกเมาสที่เมนู Start >..Setting >..Printer… 2. ที่หนาตางของ Printer ตรวจสอบดูวาเครื่องพิมพที่เชื่อมตออยูตรงกับรายการที่กําหนด ในสวน ของ Setting Printer นี้หรือไม

*** จากรูป จะเห็นวามีการติดตั้งไดรเวอรของเครื่องพิมพไวสองรุน เครื่องที่สามารถใชงานไดในขณะนี้ คือ

เครื่องที่มีเครื่องหมายเช็คมารกที่ Icon กลาวคือถาตอนนี้เครื่องพิมพที่ตออยูกับคอมพิวเตอรเปนเครื่องพิมพ HP Laser jet รุน 6L PCL เมื่อสั่งใหเครื่องพิมพเอกสารออกทาง เครื่องพิมพ จะพิมพออกมาไดอยางถูกตอง แต ถาเครื่องพิมพเปนยี่หอหรือรุนอื่น เครื่องพิมพจะพิมพงานออกมาผิดพลาดได ***


128

การยกเลิกการพิมพ ในการสั่งใหเครื่องพิมพเอกสารออกทางงเครื่องพิมพ เมื่อผูใชเห็นวาการพิมพออกมาผิดพลาด ก็ สามารถที่จะทําการยกเลิกการพิมพในขณะนั้นได 1. ดับเบิลคลิกที่ Icon Printer ที่ task bar

2. ที่หนาตาง Printer properties คลิกที่งานที่กําลังพิมพอยู

3. คลิกเมาสที่รายการ Document เลือกคลิกที่ Cancel Printing

4. สังเกต การทํางานในตําแหนง Status จะเปลี่ยนแปลงจาก Printing เปน Delete…

คลิกปดหนาตางทํางาน *************************************************************** ********


129

สั่งพิมพออกทางเครื่องพิมพแต เครื่องพิมพไมทํางาน ปญหาลักษณะนี้อาจเกิดจากการที่เครื่องพิมพถูกกําหนดใหหยุดการทํางานชั่วคราวหรืออาจมีการ กําหนดใหเปนการพิมพลงแฟม ในคําสั่งพิมพเอาไวก็ได

เครื่องพิมพถูกสั่งใหหยุดชั่วคราว 1. คลิกเมาสที่ เมนู Start >…Setting >…Printer… 2. คลิกขวาที่ Icon ของ Printer ตรวจดูวามีรอยเช็คมารกที่คําสั่ง Pause หรือไม ถามีใหทําการ

เช็คเครื่องหมายออก

โปรแกรมสั่งใหพิมพลงแฟม 1. เปดโปรแกรมทํางานขึ้นมา ที่รายการ แฟม…คลิกเลือกที่ พิมพ… 2. ที่กรอบโตตอบตรวจสอบดูวามีการเช็คที่คําสั่งพิมพลงแฟมหรือไม ถามีใหเช็คออก

****************************************************

บทความพิเศษเรื่อง การเกิด bad ของฮารดดิสก ที่นาจะไดอานกัน


130

ตกลงกันกอน บทความนี้ไดมาจากการที่มผี ูใจดีมาโพสตไวในกระทูของ pantip.com ซึ่ง เห็นวานาจะมีประโยชนสําหรับผูที่สนใจ และไมอยากใหบทความดี ๆ ตองสูญหายไป ดังนั้น จึงขอ นําเอาขอความที่มีผูมาโพสตนี้ เก็บไวในที่แหงนี้ เพื่อเผยแพรครับ (ขอใหอานโดยใชความเชื่อของ ทานเองนะครับ วาจะเชื่อหรือไม อยางไร) การ Low-level Format และ High-level Format การ Low-lovel Format เปนกระบวนการทํางานของฮารดดิสกโดยมีจดุ ประสงคเพื่อสราง หรือกําหนด Track, Sector หรืออธิบายไดอีกอยางวาเปนการเขียนโครงสรางของ Track,Sector ตาม รูปแบบที่ Firmware ภายในฮารดดิสกไดกาํ หนดไว เพื่อใหการทํางานของกลไกภายในกับวงจร ควบคุมหรือ PCB สอดคลองเปนระบบเดียวกัน ซึ่งการ Low-level Format นั้นเปนการลบขอมูลทุก สิ่งทุกอยาง โดยที่ขอมูลทุกสิ่งทุกอยางจะถูกลบไปอยางถาวรจริง ๆ กอนอื่นเราตองเขาใจกัน เสียกอนวา การ Low-level Format นั้น เปนกระบวนการทํางานหรือเปนคําสั่งของฮารดดิสกรุนเกา ที่ยังใช Actuator แบบ Stepper Motor ,ใชระบบ Servo เกา ๆ แบบ Dedicated Servo, มีการใช โครงสรางของ Track, Sector แบบเกา ซึ่งฮารดดิสกในปจจุบันนี้ไมใชและไมเหมือนกันเลย การใช Stepper Motor เปน Actuator ของฮารดดิสกรุนเกา ๆ นัน้ มีขอเสียหรือจุดออนตรงที่เมื่อเราใชไป นาน ๆ เฟองกลไกภายใน Motor จะหลวม ทําใหการควบคุมใหหวั อาน/เขียนอยูน ิ่ง ๆ บน Track (ที่ จะอานขอมูล)เปนไปไดยาก และอีกสาเหตุที่กลไกหลวม ก็เพราะอุณหภูมิที่สูงซึ่งเกิดจากการที่ตัว Actuator เคลื่อนที่ไปมาเพื่อหาขอมูล แนนอนครับ มันเปนโลหะที่ตองมีความรอนเกิดขึ้น เปรียบเทียบก็เหมือนกับ Ster รถจักรยานหรือรถจักรยานยนต ที่ตองรูด เมื่อเจอกับโซที่ลากผานไป มาเปนเวลานาน ๆ และก็เปนสาเหตุใหหัว/อานเขียน ไมสามารถอานขอมูลไดอยาง ถูกตอง ยิ่ง นับวันอาการก็จะรุนแรงมากขึ้น อีกประการหนึ่งที่การ Low-level Format ไมสามารถนํามาใชกับ ฮารดดิสกรุนใหมไดก็เพราะโครงสรางการจัดวาง Track, Sector ไมเหมือนกัน ฮารดดิสกรุนเกาจะมี จํานวนของ Sector ตอ Track คงที่ ทุก ๆ Track แตในฮารดดิสกรุนใหม จํานวนของ Sector จะแปร ผันไปตามความยาว ของเสนรอบวง (ของ Trackนั่นแหละครับ) ยิ่งตางรุนตางยี่หอตางความจุ ก็ยิ่ง ตางไปกันใหญ หากเราฝนไป Low-level Format ผมบอกตรง ๆ ครับวานึกไมออกวาจะเกิดอะไรขึ้น ฮารดดิสกอาจไมรับคําสั่งนี้เพราะ ไมรูจักหรืออาจรับคําสั่งแลวแตไมรจู ะทําอยางไร จนอาจจะทําให วงจรคอนโทรลเลอร (PCB) สับสนกันเอง (ระหวาง IC) จนตัวมันเสียหายก็ได แตถาฮารดดิสกของ เพื่อนทานใดเปนรุนเกา ซึ่งมีลักษณะตรงกับที่ผมเอยมา และมี BIOS ที่สนับสนุนก็สามารถ Lowlevel Format ไดครับ (เชน คอมฯ รุน 286 ของผม Hdd 40MB.) เราจะเห็นไดวา BIOS รุนใหมจะไม มีฟงกชั่น Low-level Format แลว เพราะ BIOS ก็ไมอาจทีจ่ ะรูจักโครงสราง Track, Sector ของ ฮารดดิสกไดทกุ ยี่หอ ทุกรุนเพราะความตางอยางที่ผมบอกไวละครับ กลับมาสูความจริงของ ความรูสึกเรากันหนอยนะครับ ซึ่งผมเขาใจดีวา เพื่อน ๆ ทุกคนหากเมื่อเจอ Bad Sector ใน ฮารดดิสกของตัวเองยอมใจเสียแนนอน เพราะขอมูล ที่อยูขางในนั้นมีผลกับจิตใจ กับความรูสึกของ


131

เรามาก และเราตองการที่จะไดมันคืน และในตอนนั้นเราก็ไมไดคดิ ถึงดวยซ้ําวาเราซือ้ มันมาแพง แคไหน และถาหากเราไดยิน ไดฟงอะไรที่เลาตอกันมาวา มันสามารถที่จะทําใหฮารดดิสกของเราดี เชนเดิมได เรายอมใหความสนใจ อยากลอง อยากได อยากมี แตเพื่อน ๆ ครับ อยางที่ผมบอกละ ครับวาการ Low-level Format นั้นใชไมไดกับฮารดดิสกรนุ ใหม ๆ ตัวผมเองก็เปน Salary Man หรือ มนุษย เงินเดือนเหมือนเพื่อน ๆ ละครับ ผมรูสึกเสียดายเปนเชนกัน แตเมื่อผมมาถึงจุด ๆ หนึ่งที่รูวา เราไมสามารถเอา สนามแมเหล็กมาเรียงใหดีเหมือนเดิมได และไมมีเครื่องมืออะไรที่จะมาชวยได ดวย ผมก็ตองปลง และถนอมมัน ใหดีที่สุด เอาละผมขอพากลับมาที่เนือ้ หากันตอนะครับ การ High-level Format หรือการ Format (หลังจากการแบง Partition แลว) ที่เราเรียกกันอยู บอย ๆ โดยใช DOS นั้นมีจุดประสงคเพื่อทําการเขียนโครงสรางของระบบไฟล (FAT: File Allcation Table ซึ่งมีทั้ง FAT32 และ FAT16) และเขียน Master Boot Record (ซึ่งเปนพ.ท.ที่จะเก็บ แกนหลักของระบบปฏิบัติการเชน DOS) การ Format นี้นั้นฮารดดิสกจะไปลบ FAT และ Master Boot Record ทิ้งไป แตมันไมไดทําการลบทุกสิ่งทุกอยาง เหมือนดังเชนเรากวาดของบนโตะทิ้งไป จนเหลือแตพนื้ เรียบๆ มันแคทําการเขียนขอมูล "0000" ลงไปบนแผนดิสก เทานั้น ซึง่ คําวา "เขียน ขอมูล 0000 ก็คือการFormat ของเรานั่นแหละครับ" ดังนัน้ หากใครคิดวาการ Format บอย ๆ นั้น ไม ดีก็... (ผมขอไมตอบเพราะมันเปนเรื่องนานาจิตตังครับ) เพื่อน ๆ บางคนถามในกระทูวา Virus ทํา ใหเกิด Bad Sector ไดหรือไม ผมขอตอบวาไม แตมันทําให ฮารดดิสกเสียไดครับ เพราะการที่มัน เขาไปฝงที่ Master Boot Record ครับ ก็ตองแกกนั โดยการ Fdisk กําหนด Partition กันใหม และ Virus ก็เปนเพียงแคขอมูล ๆ หนึ่งที่เราจะลบทิ้งไปก็ได และ Virus จะเขาไปใน Firmware และ System Area ของฮารดดิสกก็ไมไดเด็ดขาด เพราะ Firmware ของฮารดดิสกจะไมยอมใหแมกระทั่ง BIOS ของคอมฯเห็น Cylinder นี้ซึ่งเสมือนวา Cylinder นี้ไมมีอยูจริง การที่ฮารดดิสกพบ Bad Sector นั้น มันจะทําการทดลองเขียน/อานซ้ํา ๆ อยูพักหนึ่งจนกวาจะครบ Loop ที่ กําหนดแลว วา เขียนเทาไหรกอ็ านไมไดถูกตองซักที ฮารดดิสกกจ็ ะตีใหจุดนั้นเปนจุดตองหามที่จะเขาไปอานเขียน อีก แตถาขอมูลสามารถกูคืนมาไดมันก็จะถูกยายไปที่ ๆ เตรียมไวเฉพาะ เมื่อฮารดดิสกตีวาจุดใดเสีย แลวมันจะเอาตําแหนงนั้นไปเก็บที่ System Area ซึ่งขอมูลที่บอกวามีจุดใดที่เสียบางนั้นจะถูกโหลด มาทุกครั้งที่ฮารดดิสก Boot และเราไมสามารถเขาไปแกขอ มูลนี้ไดดว ยครับ Norton ก็ทําไมได สิ่งที่ มันทํา ก็ทําไดแค Mark ไวแลวก็เก็บขอมูล นี้ไว จากนัน้ ก็ทําเหมือนกับที่ Firmware ฮารดดิสกทํา คือไมเขาไปยุง เกี่ยว พ.ท.นีอ้ ีก หรือหลอกเราวาไมมี พ.ท.เสีย เกิดขึน้ เลย การ Format ดวย DOS ก็ แกไขไมไดเชนกันครับ เพื่อน ๆ บางคนคิดวาหากมี Bad Sector แลวมันจะขยายลุกลามออกไป ผม ขอตอบวาไมจริงครับ เราไมควรลืม วา บนแผนดิสกนนั้ คือสารแมเหล็กที่ฉาบอยู และมันหลุดได ยาก ตอใหหลุดแลวก็ลามไมไดดว ยนะครับ ไมเหมือน กับโรคผิวหนังครับ ผมขอจบลงเทานี้ละครับ การซอมฮารดดิสก โดยแกไขไมใหมี Bad Cluster หรือ Bad Sector


132

ผมขอชี้แจงเรื่อง การซอมฮารดดิสก โดยแกไขไมใหมี Bad Cluster หรือ Bad Sector ให เพื่อน ๆ เขาใจสักหนอยนะครับวา การที่ฮารดดิสกมี Bad Cluster หรือ Bad Sector นั้น เราไม สามารถที่จะแกไขไมใหมันหายไปได เพราะการทํางานของ Firmeware ในฮารดดิสกจะกําหนดไว วา ถาหากหัวอาน/เขียนของมัน พบปญหา เชนอานแลวขอมูลไมถูกตอง และวงจรตรวจสอบที่อยู บน PCB มันใช ECC หรือ CRC หรือ Read Retry (หรือวิธีอื่น ๆ ที่แลวแตเทคโนโลยีของ บ. ผูผลิต) เขามาชวยแลวแตแกไขไมได ฮารดดิสกจะตีวา พ.ท.นัน้ เปน Defect หรือกําหนดใหเปนจุดเสียที่มัน จะไมเขาไปยุงเกี่ยวอีก และขอมูลที่เอาไวบอกตัวฮารดดิสกเองวาจุดใดบางที่เสียนั้น จะเก็บไวที่ System Area ซึ่งเปน Cylinder ที่เราจะเขาไปแกไขขอมูลในจุดนี้ไมไดเลย เพราะเปน Cylinder ที่ ฮารดดิสกกันเอาไวใหตัวของมันเองโดยเฉพาะ และทุกครั้งที่ฮารดดิสกบูตมันจะตองเขาไปอาน ขอมูลที่ System Area แลเอามาเก็บที่ Ram เพื่อที่จะบอกกับตัวมันเองวามี พ.ท. ตรงไหนบางที่หาม เขาไปอาน/เขียน การที่จะเขาไปแกขอมูลในจุดนีต้ องใชเครื่องที่โรงงานผูผลิตนั้นออกแบบมา โดยเฉพาะ และตอใหเราเขาไปแกไดก็ไมมีประโยชนเพราะ พ.ท.ตรงนั้นอาจมีสิ่งสกปรกติดอยู หรือสนามแมอาจถูกกระทบกะเทือนจนหลุดออก ซึ่งเปนชิ้นเล็กที่ตาเปลามองไมเห็น และในความ เปนจริงยังมีสาเหตุอื่น ๆ อีกมากที่ทําใหเกิด Bad Cluster หรือ Bad Sector ก็ตามแตจะเรียก สิ่งที่เรา ทําไดดีที่สุดคือ หามกระแทกฮารดดิสกแรง ๆ ไมวามันจะทํางานอยูห รือไมก็ตาม และเมื่อคุณจับมัน ก็ไมควรจับที่ PCB เพราะไฟฟาสถิตยในตัวเราอาจวิ่งไปยังวงจรที่ PCB แลวทําให IC เสียหายได และจุดนี้เองทีร่ านที่ทําใหเกิดรานรับซอมฮารดดิสก ซึ่งเขาเพียงแคอาศัยการเปลี่ยนแผน PCB ที่ ประกบอยูโดยการหารุนและยี่หอที่ตรงกันมาเปลี่ยน งาย ๆ เทานี้เอง และการที่เราคิดวาแผนดิสก ภายในมีรอยก็นาจะเปลี่ยนได ผมขอบอกเพื่อน ๆ วาเปนไปไมไดเด็ดขาดที่จะเปด Cover หรือผา ครอบมันออกมาแลวเอาแผนใหมใสเขาไป เพราะบนแผนดิสกทุกแผนและทั้งสองดานของแผนจะ มีสัญญาณ Servo เขียนอยู ซึ่งสัญญาณนี้จะถูกเขียนในลักษณะตัดขวางเหมือนกับการแบงเคกกลม ๆ ออกเปนสวน ๆ โดยที่สัญญาณนี้จะตองตรงกันทุกแผนจะวางเยื้องกันไมไดเลย เพราะเครื่องเขียน สัญญาณกําหนดใหตองตรงกัน ซึ่งผมขอเปรียบเทียบกับลอรถยนตที่ตองมีจุบเติมลม ที่เราตองเอา จุบของลอทุกลอมาวางใหตรงกันเพื่อที่จะบอกให PCB ไดรับทราบวาจุดเริ่มตนของดิสกหรือ Sector 0 หมุนไปอยูที่ใดบนแผนดิสก และสัญญาณนี้ไมสามารถมองใหไดดว ยตาเปลาตอใหเอา กลองจุลทรรศมาสองก็ไมเห็น การที่เราจะจับฮารดดิสกใหมีความปลอดภัยนั้นตัวเราตองลง กราวนด นั่นคือเทาเราตองแตะพื้นใหไฟฟาสถิตยจากตัวเราไหลลงพื้นดิน เพื่อน ๆ อาจนึกไมถึงวา มันจะมีผลมากถึงขนาดวาทําใหฮารดดิสกเสีย แตเราอยาลืมวากิจกรรมในชีวิตประจําวันของเราไป จับโลหะอะไรมาบางแลวมันถายเทประจุใหเราเทาไหร,จะมีผลตอสิ่งอื่น ๆ ไหมเราไมรูเหมือนกับ รถบรรทุกขนถายน้ํามัน ที่เวลาวิ่งตองเอาโซลากไปตามถนนเพื่อระบายประจุ หรือทําใหเกิดความ ตางศักยนอยทีส่ ุด หรือเปนศูนยเพราะมันอันตรายมากที่เวลาเอาหัวจายน้ํามันรถไปตอกับวาลวรับ น้ํามัน ซึ่งอาจเกิดประจุไฟฟา วิ่งจากศักยสงู ไปศักยต่ําแลวเปนประกายไฟ เพราะเวลารถวิ่งไปชน อากาศที่มีประจุลอยอยูมันก็จะสะสมไปเรือ่ ย ๆ ผมอยากบอกกับเพื่อน ๆ วาผมก็เสียดายมาก ๆ หาก


133

ฮารดดิสกของผมเกิด Bad Sector ขึ้นมาแตก็ตองทําใจยอมรับ เนื่องจากมันแกไขไมไดจริง ๆ ตอให เอาเครื่องมือในโรงงานมากองตอหนาผมแลวใหผมอยูใน Clean Room ผมก็ทําไมได (ยกเวนนั่งรือ้ ชิ้นสวนออกหมดแลวเอาแผนดิสกใหมมาใสเพราะเครื่องเขียน Servo อยูในนั้น) แตการที่เราจะเลีย่ ง ไมใช พ.ท.ที่เสียอยูในตอนอื่น ๆ ของขอมูลนั้นก็ทําไดเชนแบงพารทชิ ั่นออกเปนสวน ๆ โดยให พารทิชันที่เราไมตองการครอบตรงจุดเสียไว หรือถาหากเราตองการกูข อมูลที่มีความสําคัญมาก ๆ ก็ ตองใช Software ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ เชน Spinrite หากถามวาทําไม บ.ผูผลิตไมออกแบบให ฮารดดิสกแกไขขอมูลใหถูกตองเสียกอน หรือใหมันสามารถกูขอมูลไดเลา คําตอบก็เปนเพราะมัน ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้น, และทําใหระยะเวลาทีใ่ ชในการผลิตหรือกวาที่จะออกจําหนายไดชา ออกไปอีก ,ทําใหความเร็วในการทํางานลดลงดวย และมีอีกหลาย ๆ อยางที่ผมพิมพไมไหวแลว ผม หวังวาการที่ผมบอก Email Address ไวนนั้ จะทําใหเนื้อหานี้มีความนาเชื่อถืออยูบางนะครับ ป.ล.หากอานแลวไมเขาใจ ผมก็ขอโทษทีเพราะตอนนี้งว งมาก ๆ แลวครับ ออ! อีกอยางครับเกือบ ลืมบอกไปวาผมเคยทํางานอยู Failure Analysis มีหนาทีว่ ิเคราะหหาจุดเสียของฮารดดิสก... (เอาแค หนาที่เดียวก็พอเนาะ) ดวยความหวังดีกับทุก ๆ คนครับ (ประโยคนีเ้ ชยแตตรงกับความรูสึกผมดี) คําถาม ฮารดดิสกที่พงึ่ ซื้อมาทําไมถึงมีแบดไดครับใครที่รูเกี่ยวกับฮารดดิสชวยแนะนําหนอยครับ คําตอบ เทาที่ทราบนะคะ มันมี Bad Sector มาตั้งแตอยูขั้นตอนผลิตที่โรงงานแลวคะ กอนที่จะนํา ออกจําหนาย เคาจะทํา Low Level Format และ mark สวนที่เปน Bad sector ทิ้งไป ดังนั้นฮารดดิสค แตละตัว ถึงแมจะรุนเดียวกัน ยี่หอเดียวกัน จํานวน Cylinder, Head ฯลฯ เทากัน แตความจุที่แทจริง อาจไมเทากันก็ไดคะ เรื่องนี้ จริงๆแลวก็ทาํ นองเดียวกับ CPU รุนเดียวกันแตแยกขายที่ความเร็ว นาฬิกา ตางๆกันเปนชวงๆ เชน 200 MHz, 233MHz, 266 MHz, 300MHz ฯลฯ ซึ่งจริงๆแลว CPU พวกนี้ก็ทํามาจากแผนเวเฟอรเดียวกัน โรงงานเดียวกัน เพียงแต พอผลิตออกมาแลว ไมผานการ ทดสอบคุณภาพที่ความถี่สูง เคาก็ลดการทดสอบลงมา จนถึงความถี่ที่ผานการ ทดสอบ เคาก็แปะ ตราวารับรองวา CPU ตัวนี้ (หรือ lot นี้) ใชไดที่ความถีท่ ี่ทดสอบ แตก็เปนไปไดวา เรายังสามารถ Over Clock ขึ้นไปไดอกี (คือใชที่ความเร็วมากกวา ที่เคาระบุ) เผื่อแจคพอทนะคะ เพราะการ ควบคุมคุณภาพ เคาเฉลี่ยที่ทงั้ lot ซึ่งไมได หมายความวาทุกตัว สรุปวา คุณโชคดีคะ ที่แจคพอทไป เจอที่เคาตรวจ Bad sector ไปแลว แตกวาจะ ผานมาถึงมือคุณ มันเกิด Bad sector เพิ่มนะคะ จาก เคยไดยินมาเหมือนคุณ แ ต ง ก ว า ฮารดดิสคจะถูกออกแบบใหมีความจุ มากกวาขนาดที่ ระบุนิดหนอย สําหรับเผื่อใหกับ bad secter ที่อาจจะมี ถาฮารดดิสคนั้นยังมีเนื้อที่สว นที่ดีมากกวา


134

ขนาดที่ระบุกถ็ ือวาผานมาตรฐาน สามารถขายไดไมผิดกฏหมาย และไมถือวาเปนการเอาเปรียบผู ซื้อดวย ฮารดดิสกจะมี bad sector อยูเกือบทุกตัวอยูแ ลว จะมีไมกตี่ ัวที่ไมมี bad sector เลย เขาจะ กันไวเอาไปทําฮารดดิสกความเร็วสูง สวนพวกธรรมดาเมื่อผานขึ้นตอนการผลิตในโรงงาน เขาจะ ทําเครื่องหมายไว ทําใหเครื่องมองไมเห็น และเครื่องไมควรจะเห็น คราวนี้ถาเครื่องมองเห็น แสดง วามีการผิดปกติ ซึ่งไมเปนไร เพราะถาใช Dos หรือ วินโดวส ฟอรแม็ตมันจะกันไวอกี ที แลวก็ใชได อยางปกติ ไมมีปญหาเพราะเครื่องจะไมมองและไมใช ปญหาจะมีก็ตรงที่ใชๆ ไป กลับมี bad sector มากขึ้น หรือใชๆ ไปจูๆ เกิดฟองวามี bad sector แสดงวาเริ่มมี bad sector เกินขึน้ ตรงในสวนที่ดี งานนี้ตองสงโรงงานซอมเทานั้น ทําไฟลสํารองจากฮารดดิสกแลวสงซอมเทานั้นครับ คุณกาละมะชนพูดถูกครับ HDD ปจจุบันจะมี spare sector ที่ไมใชสํารองไวอยู ถาเกิดมี sector เสีย controller บน HDD จะ mark ไว และเอา spare sector ที่เหลือมาใชแทน กลไกนี้จะ ทํางานโดยอัตโนมัติในตัว HDD เราไมอาจสังเกตหรือรูไดเลย และนี่เปน เหตุผลสําคัญที่ผูผลิตหาม ไมใหผูใชพยายาม low-level format HDD แถม HDD ปจจุบันมักจะเสียแลวเสียเลย ซอมไมไดอีก แลว เพราะ controller ไมยอม ใหเปลี่ยนแปลงขอมูลตําแหนง sector เสียตรงนี้ได วาแตคุณเจาของ กระทูขน HDD ยังไงครับ การขนยาย HDD ผิดวิธีอาจทําใหมัน ถึงกับพังได ผมเคยเห็นบางคนขน HDD ยังกะขนหนังสือธรรมดา ที่แนะนําก็คือ ใสกลอง seashell หรือถุงกันไฟฟาสถิตยและหุม ฟองน้ํากันกระแทกครับผม และ อยาเขยาหรือไปเจอกับแรงสะเทือน คิดซะวามันเปราะกวาแกว ไวน

การแกปญหาระบบคอมพิวเตอร การแกไขปญหาในการทํางานของระบบคอมพิวเตอร จําเปนที่เราตองศึกษาการทํางานของระบบ คอมพิวเตอรแตละสวนไป ทั้งทางดานฮารดแวรและซอฟตแวร โดยทําการศึกษาถึงการทํางานของสวนประกอบ แตละสวนวามีการทํางานเปนอยางไร เพื่อที่จะเปนสวนที่ใชสําหรับการวิเคราะหปญหาไดอีกทาง เมนบอรด : MAIN BOARD เมนบอรด เปนสวนประกอบที่มีขนาดใหญที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร ลักษณะภายนอกจะเหมือนกับวง แผงวงจรไฟฟาทั่วไป โดยมีชิพไอซีและขั้วตอตางๆมากมายอยูบนตัวมันเพื่อใชในการควบคุมของอุปกรณตอพวง ไมวาจะเปน ซีพียู, หนวยความจํา, การดขยายตางๆ, ฮารดดิสก, ฟลอปปดิสก, ซีดีรอมไดรว ฯลฯ อุปกรณเหลานี้ แมจะมีความสําคัญเพียงใด ก็ไมสามารถทํางานไดถาไมติดตั้งลงบนเมนบอรด

สวนประกอบที่สําคัญบนเมนบอรด


135 1. ชุดชิพเซ็ต ชิพเซ็ตเปนหัวใจของเครื่องคอมพิวเตอร การทํางานของชิพเซ็ตนั้นเปรียบ

เสมือนลามแปรภาษาตางๆ ใหอุปกรณแตละชิ้นที่อยูบนเมนบอรดเขาใจและทํางานรวมกันไดอยางราบรื่น และมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยชุดชิพเซ็ตนี้จะประกอบดวยไอซีสองตัว(หรือมากกวาในชิพเซ็ตรุนใหมๆ) นั่นคือชิพเซ็ต ที่เรียกกันงายๆ วา North Bridge หรือที่เรียกอยางเปนทางการวา System Controller หรือ AGP Set และตัวที่สองคือ South Bridge เรียกเปนทางการวา PCI to ISA Bridge System Controller หรือ North Bridge ชิพเซ็ตตัวนี้จะมีหนาที่ควบคุมการทํางานของอุปกรณที่ทํางานดวยความเร็วสูงกวาอุปกรณอื่นๆ บน เมนบอรด อุปกรณเหลานี้ไดแกซีพียู, หนวยความจําแคชระดับสอง หรือ L2 cache หนวยความจําหลักหรือ RAM, ระบบกราฟกบัสแบบ AGP(Accelerated Graphic Port) ระบบบัส PCI PCI to ISA Bridge หรือ South Bridge ชิพเซ็ตตัวนี้จะรับภาระที่เบากวาตัวแรก คือเปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอระหวางระบบบัสแบบ PCI กับ อุปกรณอื่นๆ ที่มีความเร็วต่ํากวาตัวมัน เชนระบบบัสแบบ ISA, ระบบบัสอนุกรมแบบ USB, ชิพ คอนโทรลเลอร IDE, ชิพหนวยความจํารอมไบออส,ฟลอปปดิสก, คียบอรด, PS/2 เมาส, พอรทอนุกรมและ พอรทขนาน ชุดชิพเซ็ตนี้จะมีอยูดวยกันหลายบริษัทเชนเดียวกับซีพียู ทําใหเกิดการสับสนในการเลือกใชงาน โดย การพิจารณาวาจะใชชิพเซ็ตรุนใด ยี่หอใดตองพิจารณาจากซีพียูที่เราเลือกใชเพื่อเปนหลักในการเลือกชิพเซ็ตนั้นๆ ซึ่งจะกลาวถึงรายละเอียดอีกครั้ง

2. ROM BIOS& Battery Backup ROM BIOS : Basic Input Output System หรือบางครั้งอาจเรียกวา CMOS เปนชิพหนวยความจําที่

ใชเก็บขอมูล และโปรแกรมขนาดเล็ก ที่จําเปนตอการบูตระบบของเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งในอดีตสวนของ ROM BIOS จะแยกเปนสองสวนคือ ไบออสและซีมอส หนาที่ของไบออสคือ เก็บขอมูลพื้นฐานที่จําเปนตอ การบูตระบบของเครื่องคอมพิวเตอร สวนซีมอสทําหนาที่เก็บโปรแกรมขนาดเล็กที่จะใชในการบูตระบบซึ่งผูใช สาสมารถที่จะเปลี่ยนแปลงขอมูลภายในซีมอสนี้ได ในปจจุบันมีการนําเอาทั้งสองสวนมารวมไวดวยกัน และเรียกชื่อใหมวา ROM BIOS ดังนั้นบน เมนบอรดรุนใหมๆ จะไมมีซีมอสอยู เมื่อมีการรวมกันผลคือมีขอมูลบางสวนที่อยูภายในชิพรอมไบออสนั้น ตองการพลังงานไฟฟามาหลอเลี้ยงเพื่อรักษาขอมูลไว ทําใหจําเปนตองมีแบตเตอรี่แบคอัพบนเมนบอรด ซึ่ง แบตเตอรี่แบคอัพนี้ยอมมีวันที่จะหมดอายุเชนกัน ยี่หอของรอมไบออสที่นิยมใชในปจจุบันมีอยูสามยี่หอดวยกันนั่นคือ Award, AMI, Phoenix ซึ่ง ไบออสของ Award จะไดรับความนิยมมากที่สุดในเครื่องประเภทขายปลีก(Retail คือตลาดของผูใชทั่วไป) สวน AMI จะรองลงมา ในสวนของ Phoenix นั้นมักจะใชในเครื่องแบรนดเนมเปนสวนใหญ ประสิทธิภาพ ของไบออสนั้นจะใกลเคียงกัน ตางกันเฉพาะรายละเอียดในการปรับแตงเทานั้น 3.หนวยความจําแคช ระดับสอง : Level 2 Cache L2 cache ทําหนาที่เปนหนวยความจําสํารองหรือ บัฟเฟอร ใหกับซีพียู โดยพื้นฐานความคิดมาจาก ปญหาอุปกรณที่ทํางานดวยความเร็วสูงในคอมพิวเตอรมักเสียวลาสวนหนึ่งไปกับการรออุปกรณที่ทํางานชากวา ทํางานใหเสร็จสิ้นเสียกอน อุปกรณที่ทํางานดวยความเร็วสูงนั้นจึงจะสามารถทํางานไดตอไป


136 จากอดีต เมื่อซีพียูตองการขอมูลสักชุดตองไปคนหาและเรียกขอมูลจากฮารดดิสกซึ่งทํางานชากวาซีพียู อยูมาก หรือถาตองการคําสั่งที่จะนําไปประมวลผล ซีพียูก็ตองเขาไปเรียกหาจาก RAM ซึ่งมีความเร็วต่ํากวาซีพียู อยูดี ความมุงหมายในการนําหนวยความจําแคชระดับสองมาใชในชวงกอนก็เพื่อลดชองวางระหวางความเร็ว ของซีพียู และหนวยความจําหลัก RAM นั่นเอง โดยหนวยความจําแคชระดับสองบนเมนบอรดจะทําหนาที่ดึง ชุดขอมูลในลําดับถัดไปหรือชุดคําสั่งในลําดับตอๆ ไปหลายๆ ชุดจากฮารดดิสกหรือหนวยความจําหลักที่ทํางาน ชากวามาเก็บไวที่ตัวเองในระหวางที่ซีพียูกําลังทําการประมวลผลอยู เมื่อซีพพียูตองการขอมูลหรือชุดคําสั่งชุด ตอไปก็จะทําการเรียกใชจากแคชระดับสองซึ่งทํางานเร็วกวา RAM หรือฮารดดิสก ที่ทํางานชากวา ตามหลักการแลว ขนาดของแคชระดับสอง ถามีมากยิ่งจะทําใหซีพียูทํางานเร็วขึ้น แตเนื่องจาก หนวยความจําแคชระดับสองซึ่งเปน SRAM : Static RAM มีราคาแพง และโอกาสที่ซีพียูจะเรียกชุดคําสั่ง ในตําแหนงเดิม หรือตําแหนงที่อยูติดกันนั้นไมไดมีอยูตลอดเวลา ทําใหแคชระดับสองมีขนาดไมใหญนัก โดย มาตรฐานจะอยูที่ 512 KB และอยูบนเมนบอรด(ปจจุบันยายไปอยูในตัวซีพียู ในขนาดเทาๆ เดิม แตมีความเร็วที่ มากกวาคือความเร็วเทากับซีพียู) 4.ซ็อคเก็ต หรือสล็อตสําหรับติดตั้งซีพียู ซ็อกเก็ต หรือสล็อต ที่อยูบนเมนบอรดนั้น เปนอุปกรที่ชวยใหการติดตั้งซีพียูลงบน เมนบอรด ซึ่งเริ่มใชในซีพียูรุน 80386 ซึ่งตอนนั้นยังไมมีคานชวยสําหรับการถอดประกอบ โดยเริ่มมีคานชวย ในการถอดประกอบในซ็อกเก็ตแบบ Socket 3 ใชกับซีพียู 80486 โดยซ็อกเก็ตแตละตัวจะใชกับซีพียูในแต ละรุนไป ดังนี้(จะกลาวเฉพาะที่มีใชโดยทั่วไปในปจจุบันที่มีอยูเทานั้น) • Socket 3 ใชกับซีพียู ที่มีจํานวนขา 237 ขา 80486 SX, 80486DX2, 80486DX4 • Socket 5 ใชกับซีพียู ที่มีจํานวนขา 320 ขา Pentium 75-133, K5, Cyrix6x86MI • Socket 7 ใชกับซีพียู ที่มีจํานวนขา 321 ขา Pentium MMX,K6-2, K6-3, Cyrix MII • Socket 370ใชกับซีพียู ที่มีจํานวนขา 370 ขา Celeron, Celeron II, Pentium III Cumine • Socket 423ใชกับซีพียู Pentium 4 • Socket A ใชกับซีพียู 462 ขา Duron, Atlon Thunder Bird บางรุน • Slot I ใชกับซีพียู 242 ขา Pentium II, Pentium III, Celeron บางรุน ใชกับซีพียู 242 ขา Athlon, Athlon ThunderBird • Slot A 5.ซ็อกเก็ตสําหรับ หนวยความจําหลัก RAM ในชวงแรกๆ นั้น ซ็อกเก็ตที่ใชสําหรับการติดตั้ง RAM จะเปนแบบ SIMM : Single Inline Memory Module ที่รองรับ RAM ที่มีขาสัญญาณ 30 ขา สามารถเพิ่มหนวยความจําไดสูงสุดไมเกิน 2 Bank หรือ 8 สล็อต (เปนหนวยความจําแบบ 8 บิต) มีความจุแผงละ 1 – 4 MB เทานั้น ถัดมามีการพัฒนาเปนแบบซ็อกเก็ตติดตั้ง RAM แบบ SIMM 72 ขา เปน RAM แบบ 32 บิต มี ขนาดความจุตั้งแต 4 – 32 MB ซึ่งเมื่อนําไปใชกับซีพียูที่เปนแบบ 64 บิต เชน Pentuim จึงตองใชสองแผง จึงจะรองรับการทํางานรวมกับซีพียูไดดี ตอมาในชิพเซ็ตรุน 430 VX ซึ่งสามารถรองรับหนวยความจํารุนใหมคือแบบ DIMM : Dual Inline Memory Module 168 ขา 64 บิต ซึ่งมีทั้ง EDO RAM และ SDRAM ซึ่งมีความเร็วสูงกวา SIMM RAM มาก และเปน RAM มาตรฐานสําหรับคอมพิวเตอรจนถึงปจจุบัน (ขณะนี้ RAM ที่ออกมาใชกับเครื่องคอมพิวเตอรจะมีที่มาแรงคือ DDR SDRAM ใชงานกับซีพียู Pentuim 4, Duron, Athlon ThunderBird)


137 6.สล็อตสําหรับเสียบการดเพิ่มขยายตางๆ

จากยุคเริ่มแรกที่เปนสล็อตแบบ ISA ซึ่งเปนแบบ 8 บิต ทํางานที่ความเร็ว 8 MHz ตอมา พัฒนาขึ้นเปนแบบ 16 บิต เพื่อเพิ่มความเร็วใหสามารถรองรับอุปกรณใหมๆ ที่มีความเร็วในการทํางานสูงได ตอมาไดพัฒนาระบบบัสแบบ Vesa ISA 32 บิต ความเร็ว 33 MHz ขึ้นมาแตยังคงความยาวเอาไวเพื่อใชกับ การด ISA แบบเดิม ซึ่งเปนขอจํากัดของบัสแบบ Vesa ISA ตอมาทาง Intel ไดทําการออกแบบสล็อตแบบ ใหมที่เรียกวา PCI เขามาแทนที่สล็อตแบบ Vesa ISA ดวยคุณสมบัติที่เทากัน แตขอไดเปรียบคือมีขนาดที่สั้น กวา และยังสะดวกในการติดตั้งและอัพเกรดในตอนหลังอีกดวย แตความเร็วของ PCI ยังไมเพียงพอตอการใช งานรวมกับการดแสดงผลรุนใหมที่เปนแบบสามมิติ และมีชิพเรงความเร็วสามมิติอยูในตัวได จึงตองมีการพัฒนา ระบบบัสขึ้นมาสเพื่อใชงานรวมกับการดแสดงผลแบบใหมนี้ซึ่งเรียกวา AGP : Accerelated Graphic Port แบบ 32 บิต ความเร็วสูงถึง 100 MHz (AGP Port จะมีเพียง 1 Slot เทานั้นบนเมนบอรด) 7. วงจรควบคุมการจายไฟใหกับซีพียู หรือ Voltage Regulator บนเมนบอรดจะมีวงจรจายไฟใหกับซีพียูอยูอีชุดหนึ่ง โดยแยกจาก Power Supply ในเมนบอรดรุน เกาจะเปนแบบ Linear ซึ่งมีขอดอยคือไมสามารถรองรับกับซีพียูที่มีความเร็วสูงได จึงไดเปลี่ยนมาเปนแบบ Switching แทนเพื่อใหกระแสไฟฟาที่จายออกมามีความบริสุทธิ์พอ การสังเกตวาบน เมนบอรดนั้นมีวงจรจายไฟใหกับซีพียูเปนแบบใด ถาเปนแบบ Switching ใกลๆ ซอกเก็ต หรือสล็อตที่ใชติดตั้งซีพียูนั้นจะมีขดลวดทองแดงที่พันอยูบนแกนทรงวงแหวนอยางนอย สองวง แตถาวงจรควบคุมการจายไฟเปนแบบ Linear จะไมมีวงแหวนนี้ แตจะเปน IC Regulator แบบ 3 ขา แทน 8. วงจรกําเนิดสัญญาณนาฬิกา วงจรสัญญาณนาฬิกาสรางจากวงจรที่เรียกวา Oscillator หรือวงจรกําเนิดความถี่สัญญาณนาฬิกา ซึ่ง การตั้งคาความเร็วของสัญญาณนาฬิกาของระบบบัสที่ใชกับซีพียูแตละรุนนั้น คือการแจงหรือกําหนดใหวงจร กําเนิดความถี่สัญญาณนาฬิกกานี้ผลิตความถี่ที่ซีพียูแตละรุนตองการนั่นเอง ซึ่งเมื่อไดรับความถี่ที่ตองการแลว ภายในตัวซีพียูเองจะมีสวนที่เรียกวาวงจรอัตราการคูณสัญญาณนาฬิกาภายในทําหนาที่เพิ่มความถี่ของสัญญาณ นาฬิการะบบที่ไดรับมาอีกครั้งหนึ่ง เชนซีพียู Pentuim II 450 MHz ระบบบัสเทากับ 100 MHz ตัวคูณที่ ใชจะเปน 4.5(100X4.5=450) 9. ชิพควบคุมพอรตชนิดตางๆ หรือ Multi I/O (Multi Input Output) เปนชิพที่ควบคุมการทํางานของอุปกรณความเร็วต่ําเชน พอรตอนุกรม(Serial),พอรตขนาน (parallel),พอรต PS/2 ของคียบอรดและเมาส,พอรตอินฟราเรดและฟลอปปดิสกคอนโทรลเลอร เทคโนโลยี ในสวนนี้แทบไมมีการเปลี่ยนแปลงมานานแลว เนื่องจากอุปกรณตางๆ ที่ชิพตัวนี้ควบคุมอยูมีการทํางานที่ ความเร็วต่ําพอที่ชิพในปจจุบันสามารถที่จะควบคุมไดโดยไมตองมีการพัฒนา การเปลี่ยนแปลงในสวนนี้อาจมีบางในสวนของพอรตอนุกรม ซึ่งในยุคแรกจะใชชิพ UART 8255 หรือ 16540 ที่รองรับความเร็วในการรับสงขอมูลที่ความเร็ว 14.4 kbps เทานั้นซึ่งไมเพียงพอ ถาหากมีการใช อุปกรณเชนโมเด็มที่ใชการเชื่อมตอผานพอรตอนุกรมนี้และทํางานดวยความเร็วสูงกวา 14.4 kbps ทําใหมีการ พัฒนาชิพตัวนี้ไปเปนรุน16550 เพื่อใหสามารถรองรับความเร็วในการรับสงขอมูลผานพอรตอนุกรมไดเกินกวา 14.4 kbps 10. จัมเปอรและดิพสวิทช

ใชสําหรับการตั้งคาตางๆ บนเมนบอรดโดยมีรูปรางลักษณะตางกัน แตถูกนํามาใชงานในจุดประสงค เดียวกัน คือใชสําหรับการตั้งคาใหกับอุปกรณที่ติดตั้งบนเมนบอรดใหทํางานตามที่เราตองการ เชน


138 ใชตั้งคาอัตราตัวคูณใหกับซีพียู • ใชตั้งคาแรงดันไฟเลี้ยงที่จะปอนใหกับซีพียู • ใชตั้งคาสัญญาณนาฬิกาของระบบ • ใชสําหรับการลบคาที่บันทึกไวใน CMOS แตเดิมนั้นจะมีเฉพาะจัมเปอรซึ่งมีลักษณะเปนหลักตอที่เวลาจะเลือกใชจะตองมีแคพเปนตัว เชื่อมตอ ซึ่งการเสียแคพเขากับจัมเปอรตองใหตรงกับหลักนั้นทําไดยากพอสมควรเนื่องจากจัมเปอรมีขนาดเล็ก มาก ตอมาจึงมีการนําเอาดิพสวิทชมาใชแทนซึ่งสามารถใชงานไดงายกวา และมีสีสันที่สังเกตไดงายกวาดวย 11. คอนเน็คเตอรและพอรตชนิดตางๆ คอนเน็คเตอรและพอรตที่อยูบนเมนบอรดนั้นจะมีอยูหลายชนิด เชน • Primary IDE Connector เปนคอนเน็คเตอรขนาด 40 ขา ใชเชื่อมตอกับอุปกรณที่ใชมาตรฐานการเชื่อมตอแบบ EIDE สามารถใชงานพรอมกันได 2 ตัว เปนคอนเน็คเตอรขนาด 40 ขา ใชเชื่อมตอกับอุปกรณที่ใช • Secondary IDE Connector มาตรฐานการเชื่อมตอแบบ EIDE สามารถใชงานพรอมกันได 2 ตัว • Floppy Disk Connector คอนเน็คเตอรขนาด 34 ขา ใชตอกับฟลอปปดิสกไดรว • AT/ATX Power Connector ขั้วสําหรับรองรับขั้วตอสายไฟจากเพาเวอรซัพพลาย แบบ AT จะเปนแบบ12 ขั้วเรียงกัน พบในเมนบอรดรุนเกา สวนแบบ ATX จะมี 20 ขา (เปนแบบสองแถวคู) • Serial Port Connector มีรูปทรงคลายกับตัว D ในภาษาอังกฤษ บางครั้งเรียกวา DB-9 มี 9 ขา อยูภายนอกเครื่อง มีสองพอรทใชเชื่อมตอกับอุปกรณ ภายนอก เชน เมาส หรือโมเด็ม • Parallel Port Connector มีรูทรงเหมือนกับ Serial Port แตมี 25 ขา เรียกวา DB-25 ใช สําหรับการเชื่อมตอเขากับ Printer (หรือเรียกโดยทั่วไปวา พอรท พรินเตอร) • PS/2 Port เปนพอรทมาตรฐาน DIN 6 ขนาดใหญมี 5 ขาสัญญาณใชกับ AT Style เชื่อมตอกับคียบอรดเทานั้น อีกตัวหนึ่งเปน DIN 6 เล็ก ใช กับคียบอรดและเมาสแบบ PS/2 หัวตอเล็ก • USB Connector มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาแบนๆ มีสองพอรท ใชสําหรับ การเชื่อมตอกับอุปกรณรุนใหมๆที่ใชงานผานทางพอรทนี้ สวนใหญใน บอรดแบบ ATX จะติดตั้งบนเมนบอรดเลย แตถาเปนแบบ AT จะมี เฉพาะขั้วตอบนบอรดตองหาการด USB(Universal Serial BUS) มาตอเพิ่มเอง •

พอรทอื่นๆ บนเมนบอรด •

IrDA Infrare Module Connector เปนหลักตอแบบ 5 Pin บนบอรด ใชสําหรับเชื่อมตอกับ

อุปกรณที่ควบคุมดวยลําแสงอินฟราเรด สวนใหญเปนอุปกรณ ประเภทไรสาย เชน เมาส กลองดิจิตอล เปนตน


139 •

Wake-Up on LAN Connector

ใชคูกับการด LAN ที่สนับสนุนคุณสมบัตินี้ และตองเปดใช

คุณ สมบัติในไบออสในหัวขอ Wake-Up on LAN ดวย ใชสําหรับ การควบคุมปด-เปดเครื่องผานระบบ LAN • Modem Wake UP Connector ใชรวมกับการดโมเด็มแบบติดตั้งภายใน จุดประสงคเพื่อเปด เครื่องผานโมเด็ม ตองมีการตั้งคาในไบออสหัวขอ Resume by Ring ใหเปน Enable

*******************************************************************

การใชงาน Defrag ฮารดดิสก เพื่อเพิ่มความเร็วใหกับการทํางานของระบบ การทํา Defrag ฮารดดิสกหรือ Disk Defragmenter ก็คือการทําการจัดเรียงขอมูลของไฟลตาง ๆ ที่เก็บอยูใน ฮารดดิสก ใหมีความตอเนื่องหรือเรียงเปนระบบตอ ๆ กันไป ประโยชนที่จะไดรับคือ ความเร็วในการอานขอมูล ของไฟลนั้น จะมีการอานขอมูล ไดเร็วขึ้น ยกตัวอยางงาย ๆ เชนถาหากมีไฟลที่เก็บอยูในฮารดดิสก ที่มีการเก็บ ขอมูลแบบกระจัดกระจายอยูทั่วไป เมื่อตองการอาน ขอมูลของไฟลนั้น หัวอานของฮารดดิสกก็จะตองมีการ เคลื่อนยายไปมาเพื่อทําการอานขอมูลจบครบ หากเรามีการทํา Defrag ฮารดดิสก แลวจะทําใหการเก็บขอมูลจะมี ความตอเนื่องกันมากขึ้น เมื่อตองการอานขอมูลนั้น หัวอานของฮารดดิสกจะสามารถอานได โดยไมตอง เคลื่อนยายหัวอานบอยหรือมากเกินไป จะทําใหใชเวลาในการอานไดเร็วขึ้นที่จริงแลว ยังมีโปรแกรมของบริษัท อื่น ๆ อีกหลายตัวที่สามารถทําการจัดเรียงขอมูลใหมีความตอเนื่องกันได เชน Speed disk ของ Norton และอื่น ๆ อีกมาก แตในที่นี้จะขอแนะนําหลักการของการใชโปรแกรม Disk Defragmenter ที่มีมาใหกับ Windows อยูแลว ไมตองไปคนหาจากที่อื่นครับ ขอแนะนํากอนใชโปรแกรม Disk Defragmenter เพื่อใหการใชงาน Disk Defragmenter มีประสิทธิภาพมากที่สุด กอนการเรียกใชโปรแกรม Disk Defragmenter ควรจะเรียกโปรแกรม Walign กอนเพื่อการจัดเรียงลําดับของไฟลที่ใชงานบอย ๆ ใหมาอยูในลําดับตน ๆ ของ ฮารดดิสกครับ โดยที่โปรแกรม Walign จะทําหนาที่จัดเก็บขอมูลการใชงานไฟล ที่มีการเรียกใชบอย ๆ ไว และ นํามาจัดการเรียงลําดับ ใหอยูในสวนแรก ๆ ของฮารดดิสก ดังนั้นการที่เราเรียกโปรแกรม Walign กอนการทํา


140 Disk Defragmenter จะเปนการเพิ่มความเร็วของการอานขอมูลไดอีกทางหนึ่ง โปรแกรม Walign จะอยูใน Folder C:\WINDOWS\SYSTEM\Walign.exe ครับ เปดโดยการเขาไปใน My Computer และเลือกไฟล

กดดับเบิลคลิกที่ไฟล Walign เพื่อเรียกไฟล Walign.exe

โปรแกรมจะเริ่มตนการ Tuning up Application เมื่อเสร็จแลวจึงทําการ Defrag ตอไป นอกจากนี้ สิ่งที่สําคัญมาก ๆ ในการทํา Disk Defrag คือตองปดโปรแกรมตาง ๆ ที่ทํางานอยูในขณะนั้นใหหมด กอน เชน Screen Saver, Winamp หรือโปรแกรมอื่น ๆ ที่จะตองทําใหมีการอาน-เขียน ฮารดดิสก บอย ๆ เพราะวา เมื่อใดก็ตามที่ฮารดดิสกมีการอาน-เขียนขอมูล จะทําใหโปรแกรม Disk Defragment เริ่มตนการทํา Defrag ใหม ทุกครั้ง ทําใหการทํา Defrag ไมยอมเสร็จงาย ๆ หรืออาจจะใชวิธีเขา Windows แบบ Self Mode โดยการกด F8 เมื่อเปดเครื่องเพื่อเขาหนาเมนู และเลือกเขา Self Mode แทนก็ได การเรียกใชโปรแกรม Disk Defragmenter เรียกใชโปรแกรม Disk Defragmenter โดยการกดเลือกที่ Start Menu เลือกที่ Programs และเลือก Accessories เลือกที่ System Tools และเลือก Disk Defragmenter ตามรูปตัวอยาง


141

เลือกที่ Disk Defragmenter เพื่อเรียกใชโปรแกรม Defrag

เลือกที่ Drive ที่ตองการทํา Defrag และกด OK เพื่อเริ่มตนการทํา Defrag หรืออาจจะเลือกที่ Settings... เพื่อทําการ ตั้งคาตาง ๆ กอนก็ได


142 Rearrange program files... เลือกถาตองการใหมีการจัดเรียงลําดับการเก็บขอมูลของไฟล Check the drive... เลือกถาตองการใหมีการตรวจสอบฮารดดิสกกอนการทํา Defrag This time only เลือกถาตองการใหการตั้งคาขางบน มีผลเฉพาะการเรียก Disk Defragmenter ในครั้งนี้เทานั้น Every time I degragment... เลือกถาตองการเก็บคาที่ตั้งไวใหใชตลอดไปโดยไมตองเขามาเลือกใหม เมื่อเลือกไดแลวก็กด OK (แตขอแนะนําใหเลือกใชคาที่ตั้งไวอยูแลว จะดีกวาครับ)

เมื่อกด OK ก็จะเริ่มตนการทํา Disk Defragment ซึ่งระยะเวลาที่ใช จะคอนขางนานมากนะครับ ประมาณ 1-4 ชม. ทีเดียว ดังนั้นก็นาน ๆ ทําสักครั้งก็พอ ไมตองทําบอยนัก ถาสงสารฮารดดิสกที่ตองมีการทํางานที่หนัก ๆ มากครับ โดยสวนตัวผมแนะนําวา ถาไมมีการลงโปรแกรมตาง ๆ บอยนักก็ไมจําเปนตองทําก็ได แตถาหากรูสึกวา ฮารดดิสกทํางานชาลงไป ก็ลองทําดูสักครั้งครับ ขอควรระวังในการทํา Defrag ฮารดดิสก ขณะที่กําลังทําการ Defrag หากตองการยกเลิกการทํางาน จะตองกดที่ Stop เทานั้น หามปดเครื่องหรือกดปุม Reset เปนอันขาด ไมเชนนั้นขอมูลในฮารดดิสกของคุณอาจจะสูญหายไดครับ

การใชงาน Scan Disk สําหรับตรวจสอบขอผิดพลาดของ ฮารดดิสก Scandisk เปนโปรแกรมที่ใชสําหรับ ทําการตรวจสอบการทํางาน และความบกพรองของฮารดดิสก และระบบ ไฟลของ Windows ในเบื้องตน เมื่อใชงาน Windows ไปนาน ๆ และรูสึกวาการทํางานตาง ๆ ของ Windows เริ่ม จะมีปญหา อาจจะใชโปรแกรม Scandisk เพื่อทําการตรวจสอบ ฮารดดิสกและระบบไฟลตาง ๆ ของ Windows ได รวมทั้งการแกไขปญหาของระบบไฟล ถาหากการเสียหายนั้นไมมากจนเกินไป การเรียกใชโปรแกรม Scandiskเรียกใชโปรแกรม Scandisk โดยการกดเลือกที่ Start Menu เลือกที่ Programs และ เลือก Accessories เลือกที่ System Tools และเลือก Scandisk ตามรูปตัวอยาง


143

กดเลือกที่ Scandisk เพื่อเริ่มตนการทํางานของโปรแกรม

หนาตาของเมนูการเลือก Scandisk ซึ่งมีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้Select the drive(s) คือชองสําหรับเลือกฮารดดิสก ที่ตองการทําการตรวจสอบStandard จะเปนการตรวจสอบเฉพาะระบบไฟลตาง ๆ เทานั้นThorough จะเปนการ ตรวจสอบระบบไฟลตาง ๆ และทําการทดสอบพื้นที่ใชงานดวยวามีปญหาหรือไม Automatically fix errors เปนการกําหนดใหทําการแกไขปญหาที่พบโดยอัตโนมัติ เมื่อพบขอผิดพลาดขึ้นเมื่อ เลือกคาตาง ๆ ไดเรียบรอยแลวก็กดที่ Start เพื่อเริ่มตนการทําการตรวจสอบฮารดดิสกไดเลย ในที่นี้ หาก ฮารดดิสก ไมไดมีปญหาอะไรมากนัก ก็ทําแบบ Standard ก็พอแลว แตถาหากเปนฮารดดิสกที่สงสัยวาใกลจะเสีย หรือคิดวาปญหาเกิดจาก ฮารดดิสกแลว ใหเลือกที่ Thorough ครับซึ่งจะทําการตรวจสอบพื้นผิวไดดีกวา (แตก็จะ ใชเวลานานดวย)


144

หนานี้ คือรายงานผลของการตรวจสอบเมื่อสิ้นสุดครับ จะเปนรายละเอียดตาง ๆ ของฮารดดิสกที่ทําการตรวจสอบ การเลือกคาตาง ๆ ในแบบ Advanced นอกจากนี้แลว ยังสามารถทําการเลือกคาตาง ๆ แบบ Advanced ไดดวยโดยการกดเลือกที่ปุม Advanced...

เปนการเลือกคาตาง ๆ ดังนี้ System and data areas คือเลือกทําการตรวจสอบในสวนของไฟลระบบ และไฟลขอมูล System area only คือเลือกทําการตรวจสอบในสวนของไฟลระบบเทานั้น Data area only คือเลือกทําการตรวจสอบในสวนของไฟลขอมูลเทานั้น Do not perform write-testing คือการเลือกใหไมตองทําการทดสอบการเขียนขอมูลลงฮารดดิสก Do not repair bad sectors... คือการเลือกใหไมทําการซอมแซมไฟลที่เสียหาย หากเปนไฟลของระบบหรือไฟลที่ ซอนไว เลือกคาตาง ๆ แลวกดที่ OK


145 การเลือกคาตาง ๆ ในเมนู Options หากเราทําการเลือกการตรวจสอบแบบ Thorough จะสามารถเลือกที่ Options เพิ่มเติมไดดวย ก็ลองดูรายละเอียด ดานในกัน

รายละเอียดตาง ๆ ในเมนู Options ซึ่งก็จะสามารถเลือกคาตาง ๆ ตามใจชอบได แตที่จริงก็คงไมจําเปนเทาไรนัก หรอกครับ ใชตามที่มีตั้งมาใหแบบนี้นะแหละดีแลว หรือหากใครอยากเปลี่ยนแปลงก็ทดลองไดเลยครับสรุปวา ปกติก็คงไมตองทําการ Scandisk บอยนัก แตถาหากมีความรูสึกวา ฮารดดิสกเริ่มมีการทํางานแบบแปลก ๆ ไปก็ ลองเขามาทําการตรวจสอบกันดูบางสักครั้งก็ดีครับ

การตอสาย LAN การตอสายของระบบ LAN จะมีสองแบบหลักๆคือ Bus และ Star ถาจะตอแบบประหยัด ก็ใชแบบ Bus เพราะไมตอ  งใช HUB แตวาหากเครื่องในระบบมากอาจจะเกิดปญหา จุกจิกได เนื่องจากสายหลุด หรือสายขาดเพียงจุดใดจุดหนึ่งก็จะทําใหระบบไมสามารถ ใชงานไดทั้งหมด เราลองมาดูเลยวาตอยังไง


146

ระบบ Star เมื่อสายขาด หรือ หลุดเสียหายจะมีผลกระทบกับคอมพิวเตอรเพียงเครื่อง เดียวเทานั้น สาย สายที่ใชในระบบ Bus จะเปนสาย Coaxial คลายๆสายอากาศทีวี สวนสายในระบบ Star จะเปนสาย UTP หรือเรียกแบบไทยๆวาสายคูตีเกลียว จะมี 4 คู หรือนับทั้งหมดได 8 เสน การตอสายในกรณีใชกับ HUB ดังรูป จะตอสายแบบปกติ pin ตอ pin ไมมีการสลับ สวนการตอแบบ Cross นั้นจะกลาวตอไปวาใชเมื่อไหรอยางไร การตอแบบ Bus จะ วุนวายกวานิดหนอย คือจะตองมี T-Connector และ Terminator มาวุนวาย การตอ ก็จะ ตอดังรูป ใหนํา T-Connector ตอกับการด LAN ที่เครื่องคอมพิวเตอรทุกตัวจากนั้น เครื่อง หัว-ทาย ให ปดดวย Terminator เพื่อใหสัญญาณวนครบตลอดทั้งระบบ Bus ตอแบบ 2 เครื่องโดยใชสาย UTP การตอแบบนี้จะใชไดแค 2 เครื่องเทานั้นไม สามารถขยายไดอีกเลยเพราะจะตองใชสาย UTP แบบ Cross เทานั้น


147

สาย Cross สามารถหาซือ ้ ไดตามรานขายอุปกรณและสาย Network ทั่วไป ตอ Star ใช HUB หลายตัว การขยาย HUB เพื่อเพิ่ม Port ใหมากขึ้นกวาเดิม จะมี การตออยูสามสี่แบบคราวๆ ตอไปนี้ 1. HUB บางยี่หอมีตัวตอพิเศษที่สามารถนํา HUB ยี่หอและรุนเดียวกันอีกตัวมาซอนทับ ไดเลยทันที 2. ถา HUB ที่มีหัว BNC (แบบที่ใชตอสาย Coaxial) สามารถตอเชื่อมกันดวยสาย Coaxial จะไดประหยัด Port 3. ถา HUB ที่ไมมีหัว BNC จะมีชองเสียบสาย UTP อยู 1 Port เขียนวา UP-LINK ใหใช สาย UTP แบบธรรมดา (ไมใชสาย Cross) เสียบชอง UP-LINK และไปเสียบที่ชอง ธรรมดา (ไมใชชอง UP-LINK) ของอีก HUB นึง 4. ถาไมมีชอง UP-LINK ใหใชสาย Cross ตอระหวาง Port ใด Port หนึ่งก็ไดระหวาง HUB สองตัว อุปกรณ เนื่องจากการตอLanมีหลายแบบและอุปกรณที่ใชก็มีแตกตางกันไปแตที่นี้จะกลาวถึง เฉพาะแบบ BUS ซึ่งเปนการตอ Computer ทุกตัวกับ สาย Cable ตามแนวของสาย Cable[โดยใชสายCoaxial] [เขาวากันวาใชความยาวไดถึง185 เมตร?] ขอดีของแบบ BUS ก็คืองาย และ ประหยัด ทีนี้ก็เริ่มเลยครับวาตองใชอะไรบาง 1.Lan Card เทา จํานวนComputer ที่ตองการตอ จะเปนแบบ PCI[เขาวาเร็ว] หรือ ISA ก็ได โดยใหมีขั้วตอแบบ BNC ดวย [เพราะบางCardจะมีเฉพาะRJ-45 ,บางอันมีครบ3 อยางคือมี AUI ดวย]

2. T-Connectorเทาจํานวน Lan Card , Terminator2 อัน [ 50 ohm] สําหรับปดเครื่อง หัว-ทาย สําหรับTerminator ถาฉุกเฉินจริงๆ ก็ใช ความตานทาน 50 ohm1/2 watt แทนไปกอนก็ไดครับ


148

3.สาย Coaxial RG 58 ซึง่ เปนสาย 50 ohm [พรอม BNC Connector ] จํานวนตามที่ ตองการตอ [สายที่ใชกับTV ใชไมไดนะครับ เพราะสาย TV เปน สาย 75 ohm] ถาทาน พอจะมีความรูทางชาง อยูบาง จะซื้อสาย Coaxial กับ ขั้ว BNC มาตอเองก็ไดครับ

รูปแสดงการเชื่อมโยงระหวางCom.ที่ขั้ว BNC


149

ในกรณีที่เราจะใชขั้วตอที่ RJ-45 Connector ตองใชสาย UTP[ซึ่งเปนสาย 100 ohm] [เห็นเขาวากันวาใชความยาวระหวางจุดไดถึง 100 เมตร ?] ความหมายแตละขาของRJ-45 Connector

วิธีการนับลําดับสาย


150

การตอสายเขากับConnector ทั้ง 2 ปลายสาย แบงไดเปน 2 กรณี คือ [1]ตอตรงระหวาง Computer 2 เครื่อง[ตอไดแค 2 เครื่อง?] โดยไมมี HUB Com.1 ลําดับสาย Com.2 White/Orange 1 White/Green Orange 2 Green White/Green 3 White/Orange Blue 4 Blue White/Blue 5 White/Blue Green 6 Orange White/Brown 7 White/Brown Brown 8 Brown สรุปคือ Cross สาย 1-3 , 2-6 ,3-1 & 6-2 สวนขาอื่นเหมือนเดิม [2] ตอจาก Computer ไปยัง HUB Com. ลําดับสาย Hub White/Orange 1 White/Orange Orange 2 Orange White/Green 3 White/Green Blue 4 Blue White/Blue 5 White/Blue Green 6 Green White/Brown 7 White/Brown Brown 8 Brown สรุปไมตอง Cross สายเลย [หมายเหตุกรณีที่เราตอใชที่ ขั้ว RJ-45 Connector ที่ขั้ว BNC -Connectorก็จะปลอย วางไวไมตอง ใสT-Connectorไว] การติดตัง ้ LAN CARD กอนอื่นที่ตองทําก็คือ ปดสวิทชเครื่องดึงปลั๊กออกแลวเปดฝาครอบออกใส Lan Cardใน Slot ที่เหมือนกับ Lan Card ใหแนน[เวลาใสใหใชแรงพอประมาณเพราะBoard อาจ


151 ชํารุดได] หลังจากใส Lan Card เรียบรอยแลวก็จะเปน การSetup[ลงDriver]ซึ่ง Card ที่เปน Plug&Play ก็จะสะดวกหนอยเพราะเมื่อเปดเครื่องๆก็จะเห็น Card เลย และจะมีขอความ บอกใหเราทํา ไปตามขั้นตอนจนเสร็จเรียบรอยครับแต Lan Card บางรุน[เกาหนอย] การSetupบางครั้งจะ ใหเราระบุคา IRQ ดวย ดังนั้นการ Set คา IRQใหกับ Lan Card ตองไมใหไปซ้ํากับ IRQ ของอุปกรณตัวอื่น หากเราตองการทราบวา ComputerของเราใชIRQ กับอุปกรณอะไรบาง Click ขวาที่ My Computer ---> Properties--->Click Device Manager--->Double Click ที่ Computer

การจะดูวา Lan Card ที่ติดตั้งแลวมีปญหาหรือไม Click ขวา ที่ My Computer เลือก Properties ---> Device Manager


152

ดูวา Lan Card ที่เราติดตั้ง มีเครื่องหมาย ! อยูขางหนาหรือเปลา ถา มี ให Remove แลวSetupใหม หมายเหตุ ในขั้นตอนตางๆ อาจมีการ สั่งให Restart หรือ ตองการแผน Cdrom Windowsดวยครับ การติดตัง ้ TCP/IP Protocol ปกติถา Com. เราเลน Internetได ก็จะมี TCP/IP Protocol ติดตั้งอยูแลว แตในกรณีที่ Setup Windows ใหม อาจยังไมไดติดตั้ง TCP/IP Protocol ไว การจะดูวาเครื่องของเราติดตั้ง TCP/IP Protocol หรือยัง ทําดังนี้ครับ ที่ Start ---> Setting ---> Control Planel ---> Double Click ที่ Network


153

ถายังไมมี Protocol TCP/IP ให Click Add

เลือกที่ Protocol แลว Click ที่ Add


154

ที่ Manufacturers เลือก Microsoft และที่ Network Protocols เลือก TCP/IP แลว Click OK

หมายเหตุ ในขั้นตอนตางๆ อาจมีการ สั่งให Restart หรือ ตองการแผน Cdrom Windowsดวยครับ การติดตัง ้ คา IP Address ของ Lan Card หลังจากทําการติดตั้ง Lan Card ตามคูมือของ Lan Cardที่ใหมาแลว เราก็จะได [Clickขวาที่Icon Network Neighborhood บนDesktop ---->Click Properties---


155 >Configuration]

Click ที่ File and Print Sharing [เพื่อทําให Computer ใช Files และ Printer รวมกัน ได]


156

Click เลือกทั้ง 2 ชอง แลว Click OK


157 Click เลือก TCP/IP ที่มีชื่อ Lan Card ที่เราติดตั้ง แลว Click Properties [หรือ Double Click ที่TCP/IPที่มีชื่อ Lan Card ที่เราติดตั้ง ก็ไดครับ]

Click เลือก Specify an IP address แลวใส หมายเลขลงในชอง IP Address และ Subnet Mask แลว Click OK โดย IP Address แตละเครื่องตองไมซ้ํากัน เชน เครื่องที่ 1 เปน 192.168.0.1 เครื่องที่ 2 เปน 192.168.0.2 เครื่องที่ 3 เปน 192.168.0.3ไปเรื่อยๆ แตคา Subnet Maskใหเหมือนกันทุกเครื่อง คาของ IP Address ใชคาอะไรก็ไดที่อยูในชวงของ Private IP ranges The private IP ranges that will not be allocated on the Internet are: 10.0.0.0 to 10.255.255.255 Class A 172.16.0.0 to 172.31.255.255 Class B 192.168.0.0 to 192.168.255.255 Class C Do not choose an IP range that is not on this list. Also note that 0 and 255 are reserved in any class. แลวที่สําคัญ อยาลืม ที่ Workgroup ของทุกเครื่อง ตองเปนชื่อเดียวกัน ถาเปนคนละ ชื่อจะมองไมเห็นกัน [Clickขวาที่Icon Network Neighborhood บนDesktop ---->Click Properties--->Identification]


158

ตอนนี้ถาเรา Double Click ที่ Icon Network Neighborhood [บน Desktop] เครื่อง ควรจะมองเห็นกันแลวครับ

หรือ เขาดูที่ Start--->Find--->Computer

Click ที่ Computer


159

พิมพชื่อเครื่อง Computer ที่ตองการทดสอบ แลว Click ที่ Find Now

ถึงเครื่องจะมองเห็นกันแลว แตการจะใช Files , Drives , Printer รวมกันได เราตองทํา การSharingกอนครับ หมายเหตุ ในขั้นตอนตางๆ อาจมีการ สั่งให Restart หรือ ตองการแผน Cdrom Windowsดวยครับ การตรวจสอบระบบเครือขาย TCP/IP Protocol 1. Click ขวา ที่ My Computer เลือก Properties ---> Device Manager


160

ดูวา Lan Card ที่เราติดตั้ง มีเครื่องหมาย ! อยูข  างหนาหรือเปลา ถา มี ให Remove แลว Setupใหม 2. ที่ MS-DOS Prompt ใชคําสั่ง winipcfg , ping เพื่อดูขอมูล และปญหาการติดตอ ระหวางเครื่อง


161

winipcfg จะทําใหเราทราบขอมูลตางๆ ในระบบ เชน IP Address , Subnet Mask

การ Ping IP Address ของตัวเอง[ในที่นี้คือ 192.168.0.1] ถาไมมีการตอบกลับ อาจมี ปญหาเกี่ยวกับ Network Card เชน IRQ , IO Address


162

การ Ping IP Address ของเครื่องอื่น[เชน 192.168.0.3] ถาไมมีการตอบกลับ แสดงวา เครื่อง 192.168.0.3 เสีย หรือ ปดอยู

ถามีการตอบกลับก็แสดงวาปกติ


163

หรือกรณีอาจมีปญหากับ สายCable หรือ ขั้ว BNC หลวม คําสั่งที่ใชในการตรวจสอบ ความจริงแลวมีมากกวานี้ [ดูขางลาง] แตเทาที่ผมทราบและใชอยูมีเทานี้ครับ

การ Share Printers , Drives , Files , ..... Click ขวา ที่ Icon ของ Printer หรือ Drive หรือ File ที่ตองการจะ Share กับเครื่องอื่น แลว Click เลือก Sharing


164

Click เลือก Shared As กรอกขอความตามตองการ แลว Click ที่ Apply และ OK [ถาเราตั้ง Password จะมีผลทําให เครื่องที่ตอเขามาจะShareไดตองพิมพ Password ดวย] หลังจากนั้นที่ Folder ของ Printer หรือ Drive , ....จะมีรูปมือ บนFolder นั้นๆ


165

ในทุกเครื่องที่ตองการใหเครื่องอื่นมองเห็น ตองทํา Sharing ดวย ทีนี้ลอง Double Click ที่ Network Neighborhood ของทุกเครื่อง

ลอง Double Click เครื่องที่ชื่อ Compaq และ Upper


166

แสดงวาเครื่อง Compaq ยอมให Share คือ Drive C และ D

เครื่อง Upper ยอมให Share คือ Drive D , E และ Printer ในกรณีนี้ Printer ติดตั้งอยูกับเครื่องที่ชื่อ Upper ถาเครื่อง Compaq จะใชPrinterรวม ดวย จะตองลง Driverของ Printer hp ที่เครื่อง Compaq ดวย โดย การ Double Click ที่ Icon Printer hp

แลวทําตามขั้นตอนไปเรื่อยๆจนจบครับ หมายเหตุ ในขั้นตอนตางๆ อาจมีการ สั่งให Restart หรือ ตองการแผน Cdrom Windowsดวยครับ


167 การทําสายสัญญาณ เพือ ่ ใชเองในบานหรือในสํานักงานขนาดเล็กก็ได วิธีการก็ไมมี อะไรมากอยางแรกเลยก็จัดเตรียมเรื่องของอุปกรณตาง ๆ ที่จะตองใชใหครบถวนกอนจะ ไดไมตองวิ่งหาตอนติดตั้ง โดยอุปกรณโดยทั่วไปก็มี สายสัญญาณหรือ UTP Cable หรือที่บานเราเรียกกันวาสาย LAN แลวก็หัว RJ-45 (Male), Modular Plug boots หรือ ตัวครอบสาย หากวามี Wry Marker แลวก็จะมีเหมือนกันเพราะวาจะชวยในการทําใหเรา จําสายสัญาณไดวาปลายดานไหนเปนดานไหน ซึง่ โดยสวนมากแลวก็จะเปนหมายเลข ไวใสในสวนปลายทั้งสองดานเพื่อใหงายในการตรวจสอบระบบสายสัญญาณ คีม แคมสายสัญญาณ หรือ Crimping Tool, มีดปอกสาย หรือ Cutter เอาละมาวากันเลยดีกวากอนอื่นก็หยิบมีดหรือ Cutter อันเล็ก ๆ มาอันหนึ่งแลวก็เล็ง ไปที่นิ้วจากนั้นก็ตัดนิ้วทิ้งไปซะ แลวคอยเอาหัว RJ มาตอกับนิ้วแทน เทานี้คุณก็สามารถ เชื่อมตอตัวคุณเองเขาสูระบบเครือขายดวยความไวสูงสุดถึง 100 มิลลิลิตรตอนาที บาง ทีอาจจะเปน Full Duplex Mode อีกตางหาก ลอเลน ๆ เอาละนะใชมีดปอก สายสัญญาณที่เปนฉนวนหุมดานนอกออกใหเหลือแต สายบิดเกลียวที่อยูดานใน 8 เสน แลวก็จะเห็นดายสีขาว ๆ อยูใหตัดทิ้งได โดยการปอกสายสัญญาณนั้นใหปอกออกไว ยาว ๆ หนอยก็ไดประมาณสัก 1 เซ็นครึ่งก็นาจะไดนะตามตัวอยางดังรูปขางลางนี้

จากนั้นก็ใหใส Modular Plug boots เขากับสาย UTP ดานที่กําลังจะตอกับหัว RJ45 ไวกอนเลยดังรูปขางลางนี้


168

รูปแสดงคีมหรือ Crimping Tool ที่จะใชในการแคมหัว อันนี้เปนของยี่หอ Amp ราคาในตลาดก็คงประมาณ 5,000-6,000 บาทมั้งแตถาไมไดใชเยอะก็แนะนําใหเดินซื้อ แถวพันทิพย หรือ ศูนยคอมพิวเตอรที่มีอยูทุกมุมในปจจุบันนี้ ถาเอาแบบพอใชไดราคาก็ ประมาณ 400-800 บาท คุณภาพก็พอใชไดนะ ผมก็เคยซื้อมาใชหลายอันแลว แตของ Amp นี้คอนขางนาใชและชัวรกวาเยอะในการเขาสาย แตราคานี่สิผมวามันไมคอยจะนา สนเทาไหร ถาเราไมมีอาชีพในการทํางานดานนี้เฉพาะหรือ ตองมีการเดินระบบ สายสัญญาณบอย ๆ

รูปของคีมหรือ Crimping Tool ดานหนาที่จะใชแคมสาย


169

หลังจากที่ปอกสายเสร็จแลวก็ใหทําการแยกสายทั้ง 4 คูที่บิดกันอยูออกเปนคู ๆ กอนโดยที่ใหแยกคูตาง ๆ ตามลําดับตอไปนี้ สม-ขาวสม ---> เขียว-ขาวเขียว ---> น้ํา เงิน-ขาวน้ําเงิน ---> น้ําตาล-ขาวน้ําตาล เพื่อแบงสายออกเปนหมวดหมูใหญ ๆ กอน จากนั้นจึงคอยมาทําการแยกแตละคูออกมาเปนเสน โดยใหไลสีดังนี้ ขาวสม ---> สม ---> ขาวเขียว ---> น้ําเงิน ---> ขาวน้ําเงิน ---> เขียว ---> ขาว น้ําตาล ---> น้ําตาล ซึ่งสีที่ไลนี้เปนสีที่ใชเปนมาตรฐานในการเชื่อมตอ ซึ่งจริง ๆ แลวการเขาสายมี มาตรฐานการไลสีอยูหลัก ๆ ก็ 2 แบบแตในที่นี้ผมเอาแบบนี้แลวกันเพราะวาสวนมาก แลวเขาจะใชวิธีการไลสีแบบนี้ หลังจากจัดเรียงสีตาง ๆ ไดแลวก็ใหจัดสายใหเปน ระเบียบ ใหพยายามจัดใหสายแตละเสนชิด ๆ กัน ดังรูป

หลังจากนั้นใหใชคีมตัดสายสัญญาณที่เรียงกันอยูนี้ใหมีระบบปลายสายที่เทากันทุก เสน โดยใหเหลือปลายสายยาวออกมาพอสมควร จากนั้นก็ใหเสียบเขาไปในหัว RJ-45 ที่เตรียมมา โดยใหหันหัว RJ-45 ดังรูปจากนั้นคอย ๆ ยัดสายที่ตัดแลวเขาไป โดย พยายามยัดปลายของสาย UTP เขาไปใหสุดจนชนปลายของชองวาในหัว RJ-45 เลย


170

จุดสําคัญอีกอยางหนึ่งในการเชื่อมตอสายสัญญาณในชวงนี้ก็คือตองยัดฉนวนหุมที่ หุมสาย UTP นี้เขาไปในหัว RJ-45 ดวย โดยพยายามยัดเขาไปใหไดลึกที่สุดแลวกัน เพื่อเปนการปองกันไมใหเกิดการหักงอของสายงาย โดยใหยัดเขาไปใหไดดังรูป ขางลางนี้

แลวก็นําเขาไปใสในชองที่เปนชองแคมหัวของ RJ-45 ในคีมที่จะใชแคมหัว หรือ Crimping Tool ใหลงล็อกของคีมพอดี จากนั้นก็ใหทําการกดย้ําสายใหแนน เพื่อให Pin ทีอยูในหัว RJ-45 นั้นสัมผัสกับสายทองแดงที่ใสเขาไป บรรจงนิดหนึ่งนะครับในชวงนี้ เพราะวาเปนชวงหัวเลียวหัวตอของชีวิตสายสัญญาณของคุณเลยแหละ เทาที่ประสบ การในการเขาสายสัญญาณของผม ถาเปนไอเจา Amp นี่ก็ไมตองออกแรงมากเทาไหรก็ OK ไดเลย แตถาเปนแบบของทั่ว ๆ ไปก็คงตองออกแรงกดกันนิดหนึ่งแลวกัน


171

อา...ทายที่สุดก็จะไดปลายสัญญาณของระบบที่คุณตองการดังกลาวดังรูป ที่นี้ก็ไป ทําอยางที่วามานี้อีกครั้งหนึ่งที่ปลายสายอีกดานหนึ่ง แตอยาหลงเขาใจผิดวานี่เปนสาย Cross นะ เพราะวาสาย Cross นั้นคุณตองทําการสลับสายสัญญาณที่เขานี้ ลองไปดู หัวขอ Tip of the Day นะผมแนะนําการเขาสาย Cross ไวที่นั่นแลว เพราะวาการเขา สายทั้งสองแบบนี้การไลสีของสายไมเหมือนกัน แตกตางกันนิดหนอย สวนสาย Cross เราสามารถนําเอาไปเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอร 2 เครื่องใหเปนระบบเครือขายไดโดยที่ ไมตองใช HUB ไดเลย แตไดแค 2 เครื่องเทานั้น สวนสายแบบที่ตอตรง ๆ นั้นจะใช เชื่อมตอจากเครื่องคอมพิวเตอรมายัง HUB

การครอสสายแลน(Cross) ของฝากวันนี้บอกเลาเรื่องเกี่ยวกับระบบสายสัญญาณใหฟงแลวกันนะ หลายๆ คนคงเคยทําระบบเครือขายมาบาง และคงสงสัยอยูวาบางครั้งเขาใชสายธรรมดา บางครั้งใชสาย Cross บาง แลวสองสายนี้แตกตางกันอยางไรบาง ลองมาดู ลักษณะการเชื่อมตอภายในของสาย UTP 8 เสนที่วากอนดีกวาวาเปนยังไงบาง ดูรูปเลยแลวกัน ถาเปนการเขาสายแบบธรรมดาหรือที่เขาใชกันทั่วไป จะเปนการ ตอแบบที่ 1 ไป และ 2 ไป 2 จนถึง 8 สวนการไลสีก็จะมีเปนมาตรฐานกลาง ๆ ในการ ใชดังที่แสดงอยูนั่นแหละ อันนี้เขาจะใชเชื่อมตอระหวาง เครื่อง คอมพิวเตอรมาที่ HUB หรือ Switching


172

สวนขางลางนี้เปนการเขาสายที่เราเรียกวา Cross Cable นั่นเอง สังเกตวาจะเปน การสลับระหวาง 1,2,3,6 ซึ่งเขา มักจะใชในกรณีของเชื่อมตอระหวาง HUB-toHUB โดยที่ไมผานทาง Uplink Port คือ ตอจาก Port ธรรมดาไป Port ธรรมดา เขาตองใชสาย Cross และเราสามารถนํามาดัดแปลง ใชกับเครื่องคอมพิวเตอร สองเครื่องที่ตองการตอเปน เครือขายโดยผานทางสาย UTP ไดโดยการใส LAN Card ลงที่เครื่องทั้งสองแลวใชสาย Cross ในการเชื่อมตอเครื่อง ทั้งสองใหเปน ระบบเครือขายโดยไมตองใช HUB ก็ได

สวนสายอีก 4 เสนที่เหลือคือ 4,5,7,8 ก็ไมตองไปสลับอะไรกับมันก็ได เพราะวา ไมไดใชในการสงสัญญาณนะจะ.. การตออินเตอรเน็ต โดยใชโมเด็ม 2 ตัวพรอมกัน หรือ Multi Link PPP ในปจจุบันนี้ การตออินเตอรเน็ตโดยใช โมเด็ม ธรรมดาทั่วไป จะสามารถทําความเร็วของการรับขอมูลได สูงสุดที่ 56Kbps ซึง่ ในความเปนจริงแลว มักจะไดความเร็วทีต ่ ่ํากวานั้น เชนอาจจะอยูที่ 40-50Kbps หากตองการใชงาน อินเตอรเน็ต ที่เร็วมากกวานี้ จะตองเปลี่ยน รูปแบบของการตอ อินเตอรเน็ตใหม เชนเปลีย่ นไปใช ISDN หรือ ADSL ซึ่งราคาคาบริการ จะแพงกวา การเชื่อมตอผาน โมเด็มธรรมดาคอนขางมาก ถาหากทานมี account ตอ อินเตอรเน็ตที่รองรับการเชื่อมตอแบบ Multi Link และมีโมเด็ม 2 ตัว มีคูสายโทรศัพท 2 สาย มาลองทําการ เชื่อมตออินเตอรเน็ตแบบ Multi Link ใหไดความเร็วเปน 2 เทาดีกวาครับ สิ่งแรกที่จะตองมี ในการใชงาน Multi Link คือ 1. Account สําหรับตออินเตอรเน็ตที่รองรับ Multi Link หรือที่ connect ไดพรอม ๆ กันหลายคนใน user เดียวกัน 2. โมเด็ม 2 ตัวติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร โดยจะเปนแบบ Internal หรือ External ก็ไดทั้งนั้น 3. คูสายโทรศัพท 2 เบอร สําหรับโมเด็ม 2 ตัวครับ 4. ระบบปฏิบต ั ิการตองเปน Windows98 ขึ้นไป หรือ Windows95 ที่อัพเกรต Dial-Up Networking เปนรุน  1.3


173 โดยปกติแลว การซื้อชั่วโมงอินเตอรเน็ตแบบรายชั่วโมง หากเปนแบบที่รองรับ Multi Link PPP แลว ระบบมักจะ ทําการ นับชั่วโมงการใชงานอินเตอรเน็ต เพิม ่ เปน 2 เทานะครับ เริม ่ ตนกับการเตรียมติดตัง้ โมเด็ม และอุปกรณตา ง ๆ ใหพรอมกอน กอนอื่น ก็ตองทําการติดตัง้ โมเด็ม 2 ตัวใหเรียบรอยกอน โดยดูวิธก ี ารติดตัง้ โมเด็มจากหนา setup ก็ได โดยที่ อาจจะตรวจสอบ การติดตั้งโมเด็ม 2 ตัวโดยการเขาที่ Control Panel เลือกเขาที่ Modem แลวจะเห็นรายการ โมเด็ม 2 ตัวตามภาพ

หลังจากที่ตด ิ ตั้งโมเด็มและลง driver ตาง ๆ ของโมเด็มเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปก็คือ ทําการตัง้ คาของ DialUp Networking ใหสามารถใชงานแบบ Multi Link โดยเลือกเขาที่ My Computer >> Dial-Up Networking


174 ถาหากยังไมมีการตั้งคาของ Connection ไว ตองทําการเพิ่ม Connection เขาไปกอน (เหมือนกับการสราง Connection ทั่ว ๆ ไป) จากนัน ้ กดเมาสขวาที่ Connection ที่จะทําการตัง้ ใหเปน Multi Link นั้น เลือกที่ Properties

ตรงชอง Connect using จะเปนการกําหนดวา จะใชโมเด็มตัวไหนในการตออินเตอรเน็ต ใหเลือกที่ตัวใดตัวหนึง่ ไปกอนครับ จากนั้นกดที่ปาย Multilink เพื่อกําหนดโมเด็มอีกตัว ใหใชงานได


175

กดเลือกที่ Use additional device และกดปุม Add... เพื่อเลือก โมเด็มอีกตัวใหเปน Multilink

จะมีเมนู Edit Extra Device ใหทําการเลือกใช โมเด็มทีเ่ หลืออยูอ  ีกตัว แลวกด ok และกําหนดเบอรโทร ของ โมเด็มตัวที่ 2 นี้ (ถาเปนคนละเบอรกับตัวแรก)


176

จะไดตามภาพตัวอยางครับ กด OK เปนอันเสร็จขั้นตอนการตัง้ คา การใชงานและเชือ ่ มตอโดยทําแบบ Multi Link หลังจากที่ตด ิ ตั้งและตั้งคาตาง ๆ เรียบรอยแลว เริม ่ ตนการเชื่อมตอแบบ Multi Link โดยการเขาผาน Connection แบบปกติ

การเชื่อมตอ ก็ทําแบบปกติ เปนการตอโมเด็มตัวแรกกอน (เหมือนกันตอเน็ตธรรมดาทุกอยาง)


177

รอจนกระทั่งการเชื่อมตอผานโมเด็มตัวแรก เสร็จเรียบรอย จากนัน ้ ใหกดดับเบิลคลิกที่ไอคอนของการเชื่อมตอ (ที่ task bar ดานลางขวามือของจอ) กดที่ปม ุ Details จะเห็นหนาตาของ Connection ตามภาพ

รอสักพัก ระบบจะทําการตอโมเด็มตัวที่ 2 ใหคุณเอง ถาหากการตอโมเด็มตัวที่ 2 สําเร็จ ความเร็วที่แสดงดานบน ก็ จะเพิม ่ ตัวเลขขึน ้ ไปครับ แตถาหากการเชื่อมตอไมสําเร็จ ความเร็วที่จะเทากับการตอแบบ โมเด็ม 1 ตัวธรรมดา ในสวนนี้ ผมเองยังไมมี Account ที่ใชงาน Multilink ไดจริง ก็เลยไมมีภาพตัวอยางของความเร็วที่จะไดมาแสดง ครับ โดยสรุป หากตองการความเร็ว ของการเชื่อมตออินเตอรเน็ตทีเ่ ร็วขึ้น โดยยังไมถึงขั้นเปลีย่ นไปใชพวก ISDN หรือ ADSL วิธก ี ารตอโมเด็มแบบนี้ อาจจะเปนอีกทางเลือกหนึ่ง สําหรับผูที่ตองการความเร็ว ในราคาประหยัดครับ

การตั้งคาและความหมายของคําตาง ๆ ใน BIOS ที่ควรทราบ โดยปกติแลว เราไมจําเปนตองทําการเปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ ใน BIOS บอยนัก ยกเวนเมื่อ เราตองการเปลี่ยนแปลงการตั้งคาตาง ๆ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนอุปกรณใหม ๆ เชน CPU, RAM หรือ Hard Disk เปนตน การเขาสู BIOS Setup Mode สําหรับวิธีการที่จะเขาไปตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS ไดนนั้ จะขึ้นอยูกับระบบของแตละเครื่อง ดวย โดยปกติเมื่อเราทําการเปดสวิทชไฟของเครื่องคอมพิวเตอร BIOS ก็จะเริ่มทํางานโดยทําการ


178

ทดสอบอุปกรณตาง ๆ กอนที่จะเรียกใชงานระบบ DOS จากแผน Floppy Disk หรือ Hard Disk ในชวงนี้จะเปนชวงที่เราสามารถเขาไปทําการแกไขเปลีย่ นแปลงการตัง้ คาตาง ๆ ใน BIOS ไดโดย กด Key ตาง ๆ เชน DEL, ESC CTRL-ESC, CTRL-ALT-ESC ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาแตละเครื่องจะตั้ง ไวอยางไร สวนใหญ จะมีขอ ความบอกเชน "Press DEL Key to Enter BIOS Setup" เปนตน ปุม Key ตาง ๆ ที่ใชสําหรับการ Setup BIOS สวนใหญจะเปนแบบเดียวกัน โดยจะมีรูปแบบทั่วไป Up, Down, Left, Right ใชสําหรับเลื่อนเมนูตามตองการ Page Up, Page Down ใชสําหรับเพิ่ม ลบ หรือเปลี่ยนแปลงคาตามตองการ ESC Key ใชสําหรับยอนกลับไปเมนูแรกกอนหนานัน้ Enter Key ใชสําหรับเลือกที่เมนูตามตองการ F1, F2 ถึง F10 ใชสําหรับการทํารายการตามที่ระบุในเมนู BIOS Setup ตัวอยางการตัง้ คาตาง ๆ ใน BIOS Setup สําหรับตัวอยางตอไปนี้ผมนํามาใหดแู บบรวมทั่ว ๆ ไปของ BIOS เทาที่หาขอมูลไดนะ ครับ ซึ่งสวนใหญก็จะคลาย ๆ กัน เริ่มจากหลังจากที่กด DEL หรือ Key อื่น ๆ ขณะเปดเครื่องเพื่อ เขาสู BIOS Setup Mode โดยปกติแลว ถาหากเปนการตั้งคาครั้งแรก หลังจากที่ทําการ Reset CMOS แลว ก็เลือกทีเ่ มนู Load BIOS Default Setup หรือ Load BIOS Optimal-performance เพื่อเลือกการ ตั้งคาแบบกลาง ๆ ของอุปกรณทั่วไปกอน จากนั้นจึงมาทําการเลือกแกไขเปลี่ยนแปลงแตละคา ตาม เมนูตอไปนี้

Standard CMOS Setup Date และ Time Hard Disk

Primary / Master Primary / Slave Secondary / Master

ใส วันที่ และ เวลา ปจจุบัน กําหนดขนาดของ HDD (Hard Disk) วามีขนาดเทาไร โดยเลือกตั้ง คาเองแบบ User, แบบอัตโนมัติ Auto หรือไมไดติดตั้งก็เลือกที่ None อุปกรณที่ตอกับ IDE แรก แบบ Master อุปกรณที่ตอกับ IDE แรก แบบ Slave อุปกรณที่ตอกับ IDE ที่สอง แบบ Master


179

Secondary / Slave - Cyls - Heads - Precomp - Landz - Sectors Mode - Auto BIOS - Normal - Large - LBA Drive A: B: Video Halt On - All errors - All, But Key - All, But Disk - All, But Disk/Key Memory - Base Memory - Extended - Other Memory

อุปกรณที่ตอกับ IDE ที่สอง แบบ Slave จํานวน cylinders ใสตามคูมือ HDD จํานวน heads ใสตามคูมือ HDD write precompensation cylinder ไมตองกําหนดหรือใสตามคูมือ HDD landing zone ไมตองกําหนด หรือใสตามคูมือ HDD จํานวน sectors ใสตามคูมือ HDD ถาหากทราบคาที่แนนอนใหใสเปน User แตถาไมแนใจ ใหตั้ง Auto ไว จะทําการตรวจสอบและตั้ง Mode ของ HDD อัตโนมัติ สําหรับ HDD ที่มี clys,heads,sectors ไมเกิน 1024,16,63 สําหรับ HDD ที่มี cyls มากกวา 1024 แตไม support LBA Mode Logical Block Addressing สําหรับ HDD ใหม ๆ จะมีการสง ขอมูลที่เร็วกวา ชนิดของ Diskette Drives ที่ติดตั้งใชงาน 360K, 720K, 1.2M หรือ 1.44M ชนิดของจอแสดงภาพ (ปกติจะเปน EGA/VGA) กําหนดการ Stop หากพบ Error ขณะที่ POST (Power-On Seft Test) การ POST จะหยุดและแสดง prompts ใหเลือกการทํางานตอไป ทุก Error การ POST จะไมหยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error การ POST จะไมหยุดกรณีของการเกิด Disk Drive Error การ POST จะไมหยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error หรือ Disk Error จะแสดงขนาดของ Memory ที่ใสอยู ซึ่งไมสามารถเปลี่ยนแปลง ได โดยปกติจะเปน 640K สําหรับ DOS คือ Memory ในสวนที่สูงกวา 1M ขึ้นไป หมายถึงสวนของระหวาง 640K ถึง 1M

BIOS Features Setup Virus Warning

การเตือนเมื่อมีการเขียนขอมูลทับ Boot Record ของ HDD


180

[Enabled] CPU Int / Ext cache การใชงาน CPU Internal / External Cache [Enabled] CPU L2 Cache ECC Check การใช External Cache แบบ ECC SRAMs Quick Power On Seft Test การทํา POST แบบเร็ว [Enabled] Boot Sequence เลือกลําดับของการบูทเชนจาก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:] Swap Floppy Disk กําหนดการสลับตําแหนง Drive A: เปน Drive B: [Disabled] Boot Up Floppy Seek การตรวจสอบชนิดของ Disk Drive วาเปนแบบใด [Disabled] Boot Up NumLock Status กําหนดการทํางานของ Key NumLock หลังจากเปดเครื่อง [Disabled] Boot Up System Speed กําหนดความเร็ว CPU หลังจากเปดเครื่อง [High] Gate A20 Option การเขาถึง Address memory สวนที่สูงกวา 1M [Fast] Typematic Rate Setting กําหนดความเร็วของการกด Key [Enabled] Typematic Rate (Chars/Sec) กําหนดความเร็วของการกด Key [6] Typematic Delay (Msec) กําหนดคา delay ของการกด Key [250] Security Option กําหนดการตั้งรหัสผานของการ Setup BIOS หรือ System [Setup] PS/2 Mouse Control กําหนดการใชงาน PS/2 Mouse [Disabled] PCI/VGA Palette Snoop แกปญหาการเพี้ยนของสีเมื่อใชการดวีดีโออื่น ๆ รวมดวย [Disabled] Assign IRQ for VGA กําหนดการใช IRQ ใหกับการดจอ [Enabled] OS Select for DRAM > 64M การกําหนดหนวยความจําสําหรับ OS2 [Non-OS] HDD S.M.A.R.T capability Self-Monitering Analysis and Reporting Technology ควร เลือก [Enabled] Video BIOS Shadow กําหนดใหทํา Shadow กับ ROM จากการดแสดงผล C0000C4000 ควรเลือก [Enabled Adapter ROM กําหนดใหทํา Shadow กับ ROM จากการดที่เสียบเพิ่มเติม - C8000 ใชกับการดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว) - CC000 ใชกับการด controller บางประเภท [Disabled] - D0000 ใชกับการด LAN [ถาไมใชตั้ง Disabled] - D4000 ใชกับ controller สําหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled] - D8000 ตั้ง [Disable] - DC000 ตั้ง [Disable]


181

- E0000 - E4000 - E8000 - EC000 System ROM

ตั้ง [Disable] ตั้ง [Disable] ตั้ง [Disable] ใชกับการด controller ชนิด SCSI [หากไมไดใชตั้ง Disable] การทํา Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled]

Chipset Features Setup Auto Configuration Hidden Refresh Slow Refresh

คือให BIOS จัดการคาตางๆโดยอัตโนมัตซิ ึ่งจะเปนคากลาง ๆ การเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled] ให DRAM ลดความถี่ในการเติมประจุไฟลง 2 - 4 เทา [เลือก Enabled ถาไมมีปญหาในการใชงาน] Concurrent Refresh การอาน-เขียนขอมูล ไดพรอมๆกับการเติมประจุไฟใน DRAM [เลือก Enabled ถาไมมีปญหาในการใชงาน] Burst Refresh การเติมประจุไฟลง DRAM ไดหลายๆ รอบในการทํางานครั้งเดียว [เลือก Enabled ถาไมมีปญหาในการใชงาน] DRAM Brust at 4 Refresh จํานวนการ Burst Refresh เปน 4 รอบในการทํางาน 1ครั้ง [Enabled] Staggered Refresh การเติมประจุลวงหนาใน DRAM ใน Bank ถัดไปดวย [Enabled] Refresh RAS Active Time ใหทดลองกําหนดคานอยทีส่ ุดเทาที่เครื่องจะสามารถทํางานได AT Cycle Wait State เวลาที่รอใหการด ISA พรอม ใหตั้งคาที่นอ ยสุดเทาที่เครือ่ งทํางาน ได 16-Bit Memory, I/O Wait เวลาที่ซีพียูตองรอระหวางรอบการทํางาน ตั้งนอยที่สุดทีท่ ํางานได State 8-Bit Memory, I/O Wait เวลาที่ซีพียูตองรอระหวางรอบการทํางาน ใหตั้งนอยสุดที่ทํางาน State ได DMA Clock Source กําหนดความเร็วของอุปกรณ DMA โดยมีคาปกติคือ 5 MHz Memory Remapping หากเปดการทํางานนี้ไวจะทํา Shadows กับ BIOS ใดๆ ไมได Cache Read Hit Burst หรือ ระยะพักรอเมือ่ อานขอมูลลงใน L1 Cache ใหตั้งนอยที่สดุ เทาที่ SRAM Read Wait State ทํางานได Cache Write Hit Burst หรือ ระยะพักรอเมือ่ อานขอมูลลงใน L1 Cache ใหตั้งนอยที่สดุ เทาที่ SRAM Write Wait State ทํางานได Fast Cache Read / Write ใหแคชทํางานโหมดความเร็วสูง จะมีผลเมือ่ แคชมีขนาด 64 KB หรือ 256 KB


182

Tag Ram Includes Ditry ใหแคชทํางานในโหมดเขียนทับโดยไมตองยาย/ลบขอมูลเดิมออก กอน หากมี Ram นอยกวา 256 MB ควรใช Dirty Bit Non-Cacheable Block-1 กําหนดขนาดหนวยความจําที่หามทําแคช [OK หรือ Disabled] Size RAS to CAS Delay Time คาหนวงเวลากอนที่จะสลับการทํางาน RAS-CAS ตั้งคานอยที่สุด เทาที่ทํางานได CAS Before RAS การสลับลําดับการทํางานระหวาง RAS และ CAS CAS Width in Read Cycle กําหนดคาหนวงเวลากอนทีซ่ ีพียูจะเริ่มอานขอมูลใน DRAM ตั้ง นอยที่สุดที่ทํางานได Interleave Mode ใหซีพียูอาน - เขียนขอมูลจาก DRAM ในโหมด Interleave Fast Page Mode DRAM ใหหนวยความจําทํางานแบบ FPM โดยไมตองอาศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกวา SDRAM CAS Latency ระยะรอบการทํางานของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งคานอย Time หรือ SDRAM Cycle ที่สุด หรือใชคา 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใชคา 3 กับ RAM Length ชนิด ความเร็วแบบ PC66/83 Read Around Write กําหนดใหซีพยี ูอาน - เขียนขอมูลจากหนวยความจําไดในคราว เดียวกัน [Enabled] DRAM Data Integrity เลือก Non-ECC หรือ ECC ตามขนิดของ SDRAM Mode System BIOS Cacheable การทําแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled] Video BIOS Cacheable การทําแคชของ Video BIOS ROM [Enabled] Video RAM Cacheable การทําแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถาไมมี ปญหา] Memory Hole at 15M-16M การจองพื้นทีส่ ําหรับ ISA Adapter ROM [Enabled] Passive Release กําหนด CPU to PCI bus accesses ชวง passive release [Enabled] Delayed Transaction เลือก Enable สําหรับ PCI version 2.1 AGP Aperture Size (MB) กําหนดขนาดของ AGP Aperture กําหนดเปนครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด Power Management Max Saving User Define Min Saving

กําหนดการประหยัดพลังงานแบบ สูงสุด กําหนดการประหยัดพลังงานแบบ ตั้งคาเอง กําหนดการประหยัดพลังงานแบบ ต่ําสุด


183

PM Control by APM Video Off Method - V/H SYNC + Blank - DPMS - Blank Screen Video Off After Standby Mode Supend Mode HDD Power Down Resume by Ring Resume by Alarm Wake Up On LAN

กําหนดใหควบคุมการประหยัดพลังงานผานทางซอฟทแวร APM กําหนดวิธีการปดจอภาพเมื่อเขาสูโหมดประหยัดพลังงาน จะปดการทํางาน V/H SYNC และดับจอภาพดวย Blank Screen สําหรับการดแสดงผลและจอภาพที่สนับสนุนโหมด DPMS จะทําการแสดงหนาจอวาง ๆ เมื่อประหยัดพลังงาน สําหรับจอรุน เกา ๆ ใหปดจอภาพเมื่อเขาสูโหมดประหยัดพลังงานแบบ Stanby หรือ Suspend กําหนดระยะเวลาเมื่อพบวาไมมีการใชงาน จะหยุดทํางานของ อุปกรณบางสวน จะตัดการทํางานบางสวนคลาย Standby Mode แตหยุดอุปกรณที่ มากกวา กําหนดระยะเวลากอนที่ BIOS จะหยุดการทํางานของ HDD เมื่อ Enabled สามารถสั่งใหทํางานจาก Soft Off Mode ได เมื่อ Enabled สามารถตั้งเวลาทํางานจาก Suspend Mode ได เมื่อ Enabled สามารถสั่งใหทํางานจาก Soft Off Mode ได

Integrated Peripherals IDE HDD BLOCKS MODE ให HDD อาน-เขียนขอมูลไดครั้งละหลาย Sector พรอมกัน [Enabled] IDE PIO Mode... กําหนดการทํางานแบบ Programe Input/Output [ตั้งสูงสุดหรือ Auto] IDE UDMA... กําหนดการทํางานแบบ DMA หรือ UDMA [Enabled หรือ Auto] On-Chip PCI IDE กําหนดการใชชองเสียบ HDD IDE ที่อยูบนเมนบอรด [Enabled] USB Keyboard Support กําหนดใหใช Keyboard แบบ USB [Enabled] Onboard FDC Controller กําหนดใหใชชองเสียบ Disk Drive ที่อยูบนเมนบอรด [Enabled] Onboard Serial Port 1 กําหนดคาแอดเดรสและ IRQ ให COM1 คาปกติคือ 3F8/IRQ4 Onboard Serial Port 2 กําหนดคาแอดเดรสและ IRQ ให COM2 คาปกติคือ 2F8/IRQ3 Parallel Port Mode กําหนดโหมดการทํางานของพอรตขนานไดใน 3 แบบ [EPP&ECP] - SPP (Standard Parallel Port) คือโหมดมาตรฐานเหมาะแกเครื่องพิมพรนุ เกาๆ - EPP (Enhanced Parallel Port) คือโหมด 2 ทิศทางเหมาะแกเครื่องพิมพรนุ ใหม - ECP (Extended Cap. Port) คือโหมดความเร็วสูง เมื่อตอพวงกับ Scanner, Laplink ฯลฯ


184

ECP MODE USE DMA

คือกําหนด DMA สําหรับ Port ขนานแบบ ECP ซึ่งคาปกติคือ 3

การตั้งคาอื่น ๆ Load BIOS Default Setup เมื่อกดเลือกทีน่ ี่ BIOS จะทําการตั้งคาตาง ๆ ใหเปนแบบกลาง ๆ สําหรับอุปกรณทั่ว ๆ ไป หรือเปน การตั้งคาแบบ Factory Setup ก็ได Load BIOS Optimize Setup เมื่อกดเลือกทีน่ ี่ BIOS จะทําการตั้งคาตาง ๆ ของอุปกรณ ใหไดประสิทธิภาพสูงสุด Password Setting ใชสําหรับการตั้ง Password เมื่อตองการจะเขาไปเปลี่ยนแปลงการตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS หรือเมื่อ ตองการจะเปดเครื่อง โดยปกติเมื่อใส Password ระบบจะใหใส Confirm ซ้ํา 2 รอบเพื่อปองกันการ ใสผิดพลาด (ไมใสอะไรเลย คือการยกเลิก password) Exit with Save Setting หรือ Exit without Save Setting เมื่อทําการเปลี่ยนแปลงขอมูลการตั้งคาตาง ๆ ของ BIOS แลวตองทําการ Save เก็บไวดวยนะครับ สวนใหญเมื่อทําการ Save แลวจะบูทเครื่องใหม คาตาง ๆ ที่ตั้งไวจึงจะใชงานได CPU Setup นอกจากนี้ ในเมนบอรดรุนใหม ๆ ที่เปนแบบ Jumper Free (ไมใช Jumper แตจะใชเมนูใน BIOS สําหรับตั้งคาตาง ๆ ) จะสามารถตั้งคาของความเร็ว CPU, คา multiple หรือ FSB, คาไฟ Vcore และ อื่น ๆ อีกแลวแตรุนของเมนบอรดนั้น ๆ การตั้งใช Virtual Memory หรือ Swap File ใหกับระบบของ Windows มาทําความเขาใจกันกอนวา Virtual Memory คืออะไร ขออธิบายแบบงาย ๆ นะครับ ลองนึกภาพวา หากเรามี หนวยความจําหรือ RAM ใสอยูในครื่องคอมพิวเตอรจํานวนหนึ่ง เชน 32MB. เมื่อใชงาน Windows จริง ๆ แลว การทํางานอง Windows หรือระบบซอฟตแวร จะตองทําการโหลดขอมูลทุก ๆ อยางไปเก็บไวในหนวยความจํา หรือ RAM กอนแลวซีพียูจงึ จะทําการ ประมวลผลจากขอมูลเหลานั้น ซึ่งโดยปกติแลวเฉพาะ Windows อยางเดียว ก็กินพื้นที่ของ RAM ไปมากพอแลว นอกจากนั้น ยังตองมีพื้นที่สําหรับการเก็บขอมูล และรับโปรแกรมหรือ ซอฟตแวร อื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้น RAM ขนาด 32MB. ยอมไมพอใชงานแนนอน แตใน Windows ก็มีระบบการ จัดการกับ RAM ที่มีจํานวนนอยนิดนี้ได โดยจะทําการเขียนขอมูลตาง ๆ ที่ยังไมจําเปนตองใชงานในขณะนั้น ลง เก็บไวในฮารดดิสกชั่วคราวกอน เมื่อตองการใชงานขอมูลในสวนนี้ จึงจะทําการอาน ขึ้นมาใชงาน โดยจะทําการ อานและเขียนแบบนี้สลับกันไปตามความตองการใชงานของขอมูล เราเรียกการทํางานแบบนี้วาการทํา Swap File ซึ่งจะทําใหเราสามารถรันซอฟตแวรที่มีขนาดใหญ ๆ หรือรันซอฟตแวรพรอม ๆ กันหลาย ๆ ตัวได


185 ในระบบ Windows ที่ทําการติดตั้งแบบมาตราฐานทั่ว ๆ ไป การตั้งคาจํานวนของฮารดดิสก ที่จะสํารองไวสําหรับ ทํา Swap File นี้จะถูกจัดการโดย Windows ซึ่งจะทําการปรับเปลี่ยนขนาดของ Swap File อัตโนมัติตามขนาดของ หนวยความจําหรือ จํานวนพื้นที่ ที่ตองการรันซอฟตแวรในขณะนั้น นอกจากนี้ เรายังสามารถทําการกําหนด ขนาดของ Swap File ที่วานี้ใหมีขนาดคงที่จํานวนหนึ่งไดดวย โดยหากทําการกําหนดขนาดของ Swap File ให คงที่แลว Windows ก็จะใชงานไฟลในขนาดที่ไดทําการกําหนดไวแลวเทานั้น ขอเปรียบเทียบการกําหนด Swap File ทั้ง 2 แบบ การกําหนด Swap File โดยอัตโนมัติจาก Windows 1. ไฟลจะมีขนาดเปลี่ยนไปไดเรื่อย ๆ ทําให Windows สามารถใชงานพื้นที่ทั้งหมดของฮารดดิสกมาเปน Swap File ได 2. เมื่อไฟลมีการปรับเปลี่ยนขนาดอยูตลอดเวลา จะทําใหการจัดเรียงขอมูลของไฟลบนฮารดดิสกกระจัดกระจาย ไมตอเนื่อง 3. การอานและเขียนขอมูลของ Swap File จะทําไดชาลง เพราะไฟลมีการกระจายมากขึ้น การกําหนด Swap File ใหมีคาคงที่ 1. ไฟลจะมีขนาดคงที่ ทําใหเรากําหนดและคํานวนการใชงานฮารดดิสกที่เหลือได 2. ขอมูลของไฟลจะไมกระจายมากนัก เพราะจะใชพื้นที่เดิม ๆ ที่ไดกําหนดขนาดไวแลวในการเก็บขอมูล 3. การอานและเขียนขอมูลของ Swap File จะเร็วขึ้นเพราะไฟลมีการกระจายนอยลง วิธีการตั้ง Swap File หรือ Virtual Memory วิธีการตั้งการใชงาน Virtual Memory ทําไดโดย เริ่มตนจากการเรียก Control Panel โดยกดเลือกที่ Start menu >> Settings และเลือกที่ Control Panel เลือกที่เมนูของ System คลิกที่ปาย Performance เลือกที่ Virtual Memory จะ ไดหนาตาดังรูป


186

ที่เมนูของ Virtual Memory มีความหมายดังนี้ Let Windows manage... เลือกตรงนี้ถาตองการให Windows จัดการ virtual memory อัตโนมัติ Let me specify my own... เลือกที่นี่ ถาตองการกําหนดขนาดของ virtual memory เปนคาคงที่เอง Hard disk เลือกฮารดดิสกที่ตองการทํา Virtual Memory หรือ Swap File Mimimun กําหนดขนาดต่ําสุดของ Swap File Maximum กําหนดขนาดสูงสุดของ Swap File Disable virtual memory คือการกําหนดใหไมใช virtual memory (จะใช RAM จริง ๆ เทานั้น) หลักการกําหนดขนาดของ virtual memory ควรจะกําหนดให minimum และ maximum มีขนาดเทากันนะครับ เพื่อให Swap File มีขนาดคงที่ไมมีการเปลี่ยนแปลง โดยขนาดที่แนะนําใหใชคือ ถาเครื่องมีแรมอยูนอยกวา 64M ควรใสเปน 128 แตถาเครื่องมีแรม 128M หรือมากกวานี้ ควรใสเปน 256 โดยประมาณนะครับ และนอกจากนี้ ควรเลือก ฮารดดิสก ตัวที่มีความเร็วมากที่สุด สําหรับทํา Swap File เพื่อเพิ่มความเร็วในการใชงาน Windows หลังจากที่ใสคาตามตองการแลวก็กด OK จะมีเมนูยืนยันการเลือกอีกครั้งก็กด Yes และเมื่อปดหนาจอของการ เลือก Windows จะตองทําการ Restart ใหมครั้งหนึ่ง การตั้งคาตาง ๆ จึงจะมีผล เราสามารถดูขนาดของ Swap File ไดโดยที่เมื่อกําหนดแลว โดยจะเห็นเปนไฟลในฮารดดิสกชื่อ Win386.swp ซึ่ง หากลบทิ้งไป Windows ก็จะทําการสรางขึ้นมาใหมโดยอัตโนมัติ ขอแนะนําเพิ่มเติมของการทํา Virtual Memory การตั้ง Virtual Memory คือการจําลองพื้นที่ของฮารดดิสก มาใชงานแทน RAM ดังนั้นถาจะใหไดผลดีที่สุด จะตองหาทางทําใหพื้นที่ ที่กําหนดใหเปน Swap File เปนพื้นที่ที่อยูในฮารดดิสกตัวที่มีการอานเขียนขอมูลไดเร็ว ที่สุด มาดูหลักการตาง ๆ ของการกําหนดใช virtual memory ที่ถูกตองวามีอะไรบาง


187 พื้นที่สวนไหนของฮารดดิสกที่มีการอานเขียนไดเร็วที่สุด ลองนึกภาพฮารดดิสก 1 ตัวที่มีจานดิสกเปนรูปวงกลมหมุนอยูดวยความเร็วสูง และมีหัวอาน ที่เคลี่อนยายไปมา เพื่ออาน หรือเขียนขอมูล จะเห็นไดวาในการหมุนของจานดิสก 1 รอบ พื้นที่ขอมูลที่อยูรอบนอกสุด จะสามารถ อานไดจํานวนมากกวาพื้นที่ ที่อยูดานในของจานฮารดดิสก ดังนั้น หากเราสามารถกําหนดให Swap File อยูใน สวนของพื้นที่นอกสุดไดมากเทาไร อัตราการอานเขียนขอมูลก็จะทําไดเร็วมากขึ้น ในการแบงฮารดดิสกใหมี หลาย ๆ พารติชัน การใชงานพื้นที่ของพารติชันแรก จะอยูนอกสุด และพารติชันถัดไป จะใชพื้นที่สวนที่อยูรอบ ใน ถัดเขามาเรื่อย ๆ กรณีที่มีฮารดดิสก 2 ตัว หากใครมีฮารดดิสกตออยู 2 ตัว ก็เปนไปไดที่จะกําหนดใหใชพื้นที่สวนนอกสุด ของฮารดดิสกตัวที่ 2 มาทําเปน Virtual Memory เพราะวาจะเปนสวนสามารถอานเขียนขอมูลที่เร็วที่สุด ทั้งนี้จะใชไดในกรณีที่ฮารดดิสกทั้ง 2 ตัว มีความเร็วพอ ๆ กันดวย ถาหากฮารดดิสกตัวที่ 2 เปนฮารดดิสกเกาหรือมีความเร็วชากวาตัวแรก ก็แนะนําใหไป ทําในฮารดดิสกตัวแรกดีกวา จะแบงพารติชัน สําหรับทํา virtual memory ตางหากไปเลย บางคนบอกวา ถาอยางนั้นจัดการแบงพารติชันของฮารดดิสกใหเปนหลาย ๆ พารติชันและตั้งใหทํา Virtual Memory หรือ Swap File ในพารติชันที่แบงไวโดยเฉพาะไปเลยจะดีไหม กอนอื่นตองมาดูกันกอนนะครับ วาการ แบงพารติชันนั้น ในพารติชันแรก จะใชพื้นที่นอกสุดของฮารดดิสก และพารติชันถัดไป ก็จะใชพื้นที่ในสวนรอบ ในของจานฮารดดิสก เขาไปเรื่อย ๆ ดังนั้นสรุปวา พารติชันแรกสุดของฮารดดิสก จะมีอัตราการอานเขียนขอมูล ไดเร็วที่สุด หากจะแบงพารติชันสําหรับทํา Swap File ในพารติชันแรก ก็เปนการกระทําที่ถูกตองครับ แตถาหาก คิดจะแบงพารติชัน และเก็บการทํา Swap File ไปไวในพารติชันถัดไป อันนี้ไมใชทางเลือกที่ดีนัก เพราะความเร็ว การอานเขียนขอมูลของพารติชันถัดไปนี้ จะชากวาการอานเขียนขอมูลของ พารติชันแรกครับ ในเรื่องนี้ ผมขอ แนะนําวาไมมีความจําเปนถึงขนาดนั้นครับ เพียงแตวาถาหากมีฮารดดิสกแคตัวเดียว ก็ใหทํา Swap File ไวใน พารติชันแรกของฮารดดิสกตัวนั้นก็เพียงพอแลว การใชโปรแกรมบางประเภท ทําการยาย Swap File มาไวสวนแรกสุดของฮารดดิสก จะมีซอฟตแวรบางตัวเชน Norton Speed Disk มีความสามารถในการยายสวนของ Swap File มาไวในสวนแรกสุด ของฮารดดิสก เพื่อการเขาถึงขอมูลไดเร็วขึ้น อันนี้ก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพของการทํา Virtual Memory ได ซึ่งเทาที่ทราบมาโปรแกรม Defrag ของ Windows ไมมีความสามารถในสวนนี้

การติดตั้งซีพียู Intel Pentium4 ซีพียู Pentium4 จะมีความพิเศษกวาซีพียู Athlon XP เนื่องจากจะตองมีขั้นตอนติดตั้งฐานรองฮีตซิงคกอนจึง จะติดตั้งซีพียูได แตเมนบอรดโดยสวนใหญในทองตลาดจะใสมาใหแลว จึงอาจขามขั้นตอนนี้ไปไดเลย สําหรับ รุนนี้จะใชกับ Socket 478 ซึ่งเปน Socket แบบลาสุดของทาง Intel ขั้นตอนในการติดตั้งซีพียูมีดังนี้ ขั้นตอนการติดตั้งฐานรองฮีตซิงค 1. วางฐานรองฮีตซิงคลงบนเมนบอรด โดยสังเกตใหชองของฐานตรงกับชองบนเมนบอรด


188

2. กดหมุดสีดําลงในชองใหครบทั้ง 4 ชอง โดยกดหมุดลงไปใหสุด

3. ใสหมุดสีขาวลงในชองของหมุดสีดําอีกที โดยใชนิ้วกดหมุดลงไปใหสุดเชนกัน

ขั้นตอนการติดตั้งซีพียู Pentium 4 1. ยกขาล็อคซีพียูขึ้น โดยในการยกขาล็อคนี้จะยกขึ้นมาตรงๆ จะยกไมขึ้นเพราะจะติด Socket ใหกดลง เล็กนอยแลวงางขาออกดานขางจากนั้นก็ยกขึ้น


189

2. นําซีพียูมาเสียบลงใน Socket โดยหันซีพียูดานที่มีรูกลมๆไปไวมุมเดียวกับขาล็อค

3. กดกานล็อคซีพียูลง สังเกตใหขาล็อคและยึดเขากับ Socket

ขั้นตอนการติดตั้งฮีตซิงค 1. ทําการวางฮิตซิงคลงไปในบล็อกของฐานติดตั้งใหฐานลางของฮีตซิงคสัมผัสกับผิวหนาของซีพียูพอดี


190

2. กดฮีตซิงคลงไปบนฐานรอง โดยกดใหเขี้ยวของฮีพซิงคล็อคเขากับขาของฐานรองทั้งสี่ดาน

3. สับคันโยกของฮีตซิงค เพื่อยึดตัวฮีตซิงคเขากับซีพียู ใหระวังทิศทางของคานล็อคดวย

4. ติดตั้งฮีตซิงคเรียบรอยแลว


191

5. เสียบสายพัดลมซีพียู เขากับขั้วตอพัดลมบนเมนบอรด

ขั้นตอนการติดตั้งแรมแบบ SDRAM ในการติดตั้งก็เพียงแตใสแรมลงใน DIMM Sockets โดยหันดานทีม ่ ีรอยเวาใหตรงกับเสนของ DIMM Sockets แลวกดลงไปจนขาล็อคดีดขึ้นมาล็อคแผงแรม

ในที่นี้จะเปนการตอสายไฟ และสายสัญญาณจากเพาเวอรซัพพลาย (Power Supply) ของเคสไปยังเมนบอรด หลังจากนั้นก็ติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส แตบางคนอาจตอสายไฟ และสายสัญญาณภายหลังจากติดตั้งเมนบอรด แตวิธีนี้จะทําใหเสียบสายสัญญาณยาก เนื่องจากคอนเน็กเตอรอยูใกลกับเคสมากอีกทั้งยังมองหา ตําแหนงของขายากอีกดวย จึงไมสะดวก


192 การตอสายเพาเวอรสําหรับเมนบอรด 1. หาตําแหนงของขั้วตอสายเพาเวอร

2. เสียบหัว AUX 20 Pin โดยหันดานที่มีหัวล็อคใหตรงกัน แลวเสียบลงไปตรงๆ (ถาใสผิดจะใสไมเขา)

รูจักสายสวิตชและสัญญาณชนิดตางๆ มาดูกันวามีสายสัญญาณอะไรบางที่จะตองตอเขากับ Front Panel Connector บนเมนบอรดซึ่งจะมีอยู 5 เสน ดวยกันดังนี้ POWER SW เปนสายไฟของสวิทชที่ใชในการเปด-ปดเครื่อง ซึ่งจะตอมาจากสวิทช ที่อยู ดานหนาเคส RESET SW เปนสายไฟที่ตอมาจากปุม Reset Switch ที่อยูทางดานหนาของเคสซึ่งจะเปนปุมที่ใช บูตเครื่องใหม ใชแทนการกดปุมPower เพื่อปดและเปดเครื่องใหม POWER LED เปนคอนเน็กเตอรที่จะสงไฟเลี้ยงไปยังหลอด LED ที่อยูทางดานหนาของเคส เพื่อ แสดงสถานะของเครื่องวาเปดหรือปด ถาเครื่องเปดอยูหลอด LED ก็จะแสดงไฟสีเขียว แตถาปดเครื่องไฟก็จะดับ H.D.D LED เปนสายไฟของหลอด LED ที่ตอมาจากดานหนาของเคส ใชแสดงสถานะการอาน หรือเขียนขอมูลของอุปกรณที่ตอกับ คอนเน็กเตอร Primary IDE หรือ Secondary IDE ไดแก ฮารดดิสก ซีดีรอมไดรว


193 SPEAKER เปนคอนเน็กเตอรที่ตอไปยังลําโพงของเครื่อง ใชแสดงเสียง Beep Code เทานั้น จะใช เสียงในรูปแบบอื่นๆไมได ขั้นตอนการตอสายสัญญาณ 1. เสียบสาย HDD LED ที่ขา IDELED โดยนําดานที่มีสายสีแดงเสียบที่ขั้วบวก (หันคอนเน็กเตอรดานที่มี ตัวหนังสือ HDD LED เขาทางดานในของเมนบอรด)

2. เสียบสาย POWER LED ที่ขา LED โดยนําดานที่มีสายสีเขียวเสียบที่ +5V (หันคอนเน็กเตอรดานที่มี ตัวหนังสือ Power LED เขาทางดานในของเมนบอรด)

3. เสียบสาย POWER SW ที่ขา ATX Power Switch

4. เสียบสาย SPEAKER ที่ขา SPEAKER Connector


194

5. เสียบสาย RESET SW ที่ขา RESET SW

การใสฐานรองเมนบอรด การใสฐานรองเมนบอรดมีจุดประสงคเพื่อปองกันไมใหแผนวงจรเมนบอรดสัมผัสกับเคสที่ทําจากโลหะ เพราะ จะทําใหเกิดการลัดวงจรไดทําใหเกิดความเสียหายขึ้นกับเมนบอรด โดยฐานดังกลาวจะมีทั้งที่เปนพลาสติก , อะลูมิเนียม หรือบางรุน ก็จะเปนน็อตสกูร ู

รูปแสดงฐานรองเมนบอรด และน็อตสกรู


195 1. สํารวจตําแหนงที่จะใสฐานรองเมนบอรด โดยวิธีที่งายที่สุดคือวางเมนบอรดทาบลงไปในเคสแลวใช ปากกาเมจิกมารคตําแหนงตางไว

2. ใสฐานรองในตําแหนงที่ทําการมารคไว จําเปนตองใสใหครบทุกจุดที่มารคไว เพื่อปองกันเมนบอรด สัมผัสกับเคส

3. เจาะชองดานหลังเคส โดยทั่วไปแลวดานหลังเคสจะเตรียมชองไวมากมาย เตรียมไวสําหรับใสพอรต ของเมนบอรดแตชองดังกลาวจะมีแผนอะลูมิเนียมปดไวให เลือกเจาะเฉพาะชองที่ตองใชเทานั้น

4. ติดตั้งเมนบอรดเขากับเคส โดยเริ่มจากเสียบพรอตกอนเปนอันดับแรก

5. สังเกตวาพอรตตางๆถูกติดตั้งเรียบรอย


196

6. จัดใหรูน็อตบนเมนบอรดตรงกับฐานรอง

7. ขันน็อตยึดเมนบอรดใหครบ และอยาลืมใสแผนรองน็อตดวยเพื่อปองกันเมนบอรดเปนรอย

8. เสร็จขัน้ ตอนการติดตั้งเมนบอรด


197 ขั้นตอนการตอสายไฟใหกับพัดลม 1. หาหัวตอของสายไฟของพัดลม โดยมากแลวจะมีลักษณะคลายหัวตอของสายไฟของฮารดดิสกแตจะ เปนปลั๊กสวม

2. เสียบสาย Power Supply เขากับสายพัดลม

นอกจากนี้ยังมีสายอีก 1 เสนที่ตองเชื่อมตอกันคือ สายที่ตอระหวางพัดลมตัวหนาและตัวหลัง 3. หาหัวตอของพัดลม แลวเสียบสายเขาดวยกัน ขั้นตอนการติดตั้งฟล็อปปดิสกไดรว 1. สอดฟล็อปปดิสกเขาไปในชอง ดันตัวไดรวใหเขาไปจนสุด สังเกตใหชองขันน็อตสกรูของไดรวพอดี กับรูน็อตของเคส

2. ขันน็อตสกรูยึดไดรวเขากับเคส ซึ่งจะมีทั้งหมด 4 ตัว ดานละ 2 ตัว


198

3. เลือกสายสัญญาณฟล็อปปดิสกไดรว สังเกตวาดานที่มีสีแดงอยูตรงไหน เสียบสายสัญญาณ โดยใหนํา ดานที่มีแถบสีแดงหันไปทางดานที่มีเลข 1 กํากับอยู บนบอรดของฟล็อปปไดรว

4. เสียบสายเพาเวอรเขากับไดรว ถาหันหัวผิดดานจะเสียบไมเขา

5. เสียบหัวคอนเน็กเตอรของสายสัญญาณเขากับคอนเน็กเตอร Floppy บนเมนบอรด โดยหันดานที่มี สีสันใหตรงกับรอง (หันดานที่มีแถบสีแดงไปทางดานที่มีเลข 1 กํากับก็ได)

การติดตั้งฮารดดิสก สําหรับขั้นตอนในการติดตั้งฮารดดิสกนั้นงายมาก เมื่อผานขั้นตอนของการเซตจัมเปอรเรียบรอย ก็ให จัดการติดตั้งฮารดดิสกเขาไปในเคสไดเลย และสําหรับการตอสายไฟและสายสัญญาณ ก็มีเคล็ดลับงายๆคือ หัน


199 หัวดานที่มีสีแดงเขาหากัน 1. เสียบจัมเปอรตําแหนง Master โดยดูจากสติกเกอรที่อยูบนฮารดดิสก

2. สอดฮารดดิสกเขาไปในชอง ขันน็อตยึดทั้ง 4 ตัว

3. เสียบสาย IDE และสาย Power โดยหันหัวดานที่มีสีแดงเขาหากัน

4. หาชองตอ IDE1 บนเมนบอรด (บางเมนบอรดอาจใชคําวา "PRIMARY IDE ") แลวสังเกตวาขา 1 อยูทางดาน ไหน โดยสังเกตวาจะมีคําวา "Pin 1" พิมพบอกไว


200

5. เสียบสาย IDE เขาที่ชอง IDE1 บนเมนบอรดหันดานที่มีแถบสีแดงไปทางดานที่มีเลข1 กํากับสังเกตวาสันของ หัวตอของสาย IDE นั้นจะเสียบเขาพอดีกับรองบนชอง IDE ฉะนั้นถาเกิดเสียบผิดดานก็จะเสียบไมเขา

ขั้นตอนการติดตั้งไดรว CD-ROM 1. เสียบจัมเปอรในชอง Master ที่ดานหลังของซีดีรอม

2. เลือกชองแลวสอดไดรว CD-ROM


201

3. ไขน็อตยึดไดรว CD-ROM เขากับเคส

4. เสียบสาย AUDIO เขาไปที่ชอง ANALOG AUDIO โดยหันสายสีแดงไปทางดานที่มีอักษร R

5. เสียบสาย IDE โดยหันแถบสีแดงไปทางชอง Power ซึ่งขา 1 ของ CD-ROM จะอยูทางดานนั้นพอดี

6. เสียบสาย Power โดยหันดานที่มีสายไฟเสนสีแดงเขาดานใน หรือสังเกตที่ดานหลังของไดรวจะเขียน วา +5 สวนสายไฟเสนสีเหลืองจะตองอยูทาง +12


202

7. ตอสาย AUDIO เขากับคอนเน็กเตอร CD-ROM บนเมนบอรด

8. ตอสายเขาที่ชอง Secondary IDE (IDE2) โดยหันดานที่มีแถบสีแดงใสเขาที่ Pin1

การติดตั้งการด AGP 1. หาสล็อต AGP สําหรับติดตั้งการดจอภาพ ซึ่งปกติแลวจะเปนชองสีน้ําตาล และจะอยูตรงกลางเมนบอรด

2. ถอดฝาดานหลังตรงสล็อต AGP ออก เพื่อเตรียมใสการด


203

3. เสียบแผนการดจอภาพลงในสล็อต AGP แลวใชนิ้วมือกดเบาๆจนสนิท

4. ขันน็อตยึดการดจอภาพเขากับตัวเคส

การติดตั้ง Sound Card


204

1. เสียบแผนการดลงในสล็อต แลวคอยๆออกแรงกดเบาๆ

2. ขันน็อต ยึดการดเสียงเขากับตัวเคส 3. ตอสาย AUDIO โดยนําสายที่ตออยูกับซีดีรอมไดรวตรงชอง Analog Audio มาเสียบเขาที่ คอนเน็ก เตอร CD_IN ของการดเสียง

การติดตั้งอุปกรณตอพวง กอนที่จะทําการติดตั้งสายไฟหรือสายสัญญาณใดๆใหตรวจสอบดูกอนวาอุปกรณแตละชนิดมีสายอะไรใหมาบาง และตองตอสายใดเขาที่พอรตใดบาง โดยตรวจสอบจากคูมือ หรือดูจากสัญลักษณที่กํากับมากับพอรตเสียกอน หลังจากนั้นก็เริ่มติดตั้งสายของ อุปกรณ ทีละเสนจนครบทุกอุปกรณ ซึ่งพรอตเชื่อมตอตางๆมีดังนี้


205

รูปแสดงพอรตเชื่อมตอชนิดตางๆที่อยูดานหลังเครื่อง LLF หรือ Low Level Format ฮารดดิสก ในสมัยกอน ๆ จะเปนขั้นตอนของการทําการ format ฮารดดิสกในระดับ ลึก ๆ ที่ไมใชการ format ธรรมดา โดยจุดประสงคคือ เพื่อเปนการจัดระบบการเก็บขอมูลของ ฮารดดิสกใหม และ แกไขปญหา bad sector ของฮารดดิสกไดดวย แตในปจจุบันนี้ ฮารดดิสกสวนใหญ มักจะไมจําเปนจะตองทําการ Low Level Format แลว เพียงแคใชวิธีการ format ธรรมดาก็มีความหมายเหมือนกัน โดยที่การทํา Low Level Format สมัยใหม ๆ นี้จะเปนเพียงแคการทํา Zero Fill หรือการลบขอมูลออกไปโดยการเขียนขอมูลทับใหหมด นั่นเอง Low Level Format ตางกับการ format ธรรมดาอยางไรฮารดดิสก เมื่อซื้อมาใชงานครั้งแรก จําเปนตองทําการ format กอนเพื่อใหสามารถใชงาน สําหรับการเก็บขอมูลตาง ๆ ได แตเมื่อเรามีการใชงาน ฮารดดิสกนั้น ไปนาน ๆ ในบางครั้ง หากพบวา ฮารดดิสกเริ่มจะมีปญหา เชนการอานหรือเขียน ขอมูลตาง ๆ เริ่มมีอาการสะดุดหรือคาง เปนบางครั้ง และหากใชโปรแกรม scan disk ตรวจสอบ อาจจะพบวา เริ่มจะมีสวนของ bad sector เพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆ นั่นคืออาการเริ่มตน ของฮารดดิสกที่ใกลจะมีปญหา การทําการ format ฮารดดิสกแบบธรรมดา โดยใชคําสั่ง format ที่มากับระบบ DOS หรือ Windows จะเปนเพียงแคการทดสอบวา พื้นที่ของฮารดดิสกสวนนั้น เสียจริง หรือไม หากตรวจสอบแลวพบวาเสีย ก็จะทําการ mark ตําแหนงนั้นไววาเสีย และจะไมมีการใชงานพื้นที่สวนนั้น อีกตอไป หรือทีม่ ักจะเรียกพื้นที่ที่เสียนั้นวา bad sector นั่นเอง ดังนั้น หากฮารดดิสกมี bad sector เกิดขึ้น ก็ไมตอง สนใจอะไรมากนัก เพียงแคการ mark bad sector ก็เพียงพอแลวแตในกรณีที่ พื้นที่ของฮารดดิสก เริ่มที่จะมีจุด bad sector เพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆ นั่นเปนอาการที่แสดงวา ฮารดดิสกเริ่มจะมีปญหา ซึ่งหากเราใชวิธีการ format ธรรมดา หรือการ mark bad ก็ไมชวยอะไรไดมากนัก เพราะวาพื้นที่ของฮารดดิสก จะมีพื้นที่ที่เสีย เพิ่มขึ้นมาเรื่อย ๆ จนไม สามารถใชงาน เก็บขอมูลตาง ๆ ได ดังนั้น หากเปนถึงระดับนี้ การทํา Low Level Format อาจจะเปนหนทางหนึ่ง ที่จะสามารถชวยตออายุการใชงานฮารดดิสก ออกไปไดอีกระยะหนึ่ง เมื่อไรจึงจําเปนตองทําการ Low Level Formatจากที่กลาวมาแลว เรื่องการเกิด bad sector ดานบน ดังนั้น หาก ฮารดดิสกของเราเกิดอาการ bad sector และมีทีทาวา จะเริ่มเพิ่มมากขึ้นไปเรื่อย ๆ การแกไขที่ดีที่สุด คือหาก ฮารดดิสกนั้น ยังมีประกันอยู ใหรีบสงเคลม เปลี่ยนตัวใหมโดยเร็ว แตถาหากเปนฮารดดิสก ที่หมดระยะเวลา


206 ประกันไปแลว ก็คงจะไมสามารถทําอะไรไดมาก ทางเลือกหนึ่งคือ หากยังคิดจะใชงานฮารดดิสกตัวนั้นตอไป ทดลองทําการ Low Level Format ดูกอนครับ อยางนอยที่สุด อาจจะชวยยืดระยะเวลา การใชงานฮารดดิสกตัวนั้น ออกไปไดอีกระยะหนึ่ง กอนที่จะทําการเปลี่ยนตัวใหมตอไปขอควรระวังในการทํา Low Level Format ฮารดดิสก คือ ขอมูลทุกอยางในฮารดดิสก จะถูกลบออก อยางถาวร ไมมีทางกูกลับมาไดอยางเด็ดขาด ดังนั้น กอนการทํา ควรที่จะตรวจสอบและสํารองขอมูลที่สําคัญ เก็บไวกอนเสมอ นอกจากนี้ ตองระวังเรื่องของการทําผิดไดรฟ หรือ ผิดตัวดวย ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของขอมูล ควรจะถอดฮารดดิสกตัวอื่น ที่ไมเกี่ยวของ ออกจากเครื่องไปกอน ครับ (ถาทําได) จะหาโปรแกรมสําหรับทําการ Low Level Format จากไหนที่แรกเลย สําหรับโปรแกรมหรือซอฟตแวร สําหรับ การทํา Low Level Format ก็คือ จากเว็บไซต ของผูผลิตฮารดดิสก ยี่หอนั้น ๆ แตถาหาก หาไมไดหรือหาไมพบ อาจจะใชโปรแกรมตามลิงคดานทายของหนานี้ก็ไดครับ

ตัวอยางการทํา Low Level Format ฮารดดิสกของ Maxtor ตอไปนี้ คือตัวอยางการใชงานของโปรแกรม Low Level Format ฮารดดิสก ซึ่งขอยกตัวอยางการใชงาน โปรแกรม MAXLLF.EXE ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับทําการ Low Level Format ของฮารดดิสกยี่หอ Maxtor ซึ่ง หากเปนกรณีของ ฮารดดิสกยี่หออื่น จะมีหลักการใชงานคลาย ๆ กันครับหลังจากที่ไดดาวนโหลด MAXLLF.EXE มาและทําการ unzip แลว เริ่มตนโดยการบูทเครื่องจากแผน Windows98 Startup Disk และเลือก บูทที่ DOS Prompt ครับ จากนั้นก็เรียกไฟล MAXLLF.EXE จากที่ไดดาวนโหลดมา


207 เมื่อเรียกโปรแกรม จะมีคําเตือนตาง ๆ โดยใหกดที่ปุมตัว Y เพื่อเริ่มตนการใชงานโปรแกรม หรือปุมอื่นๆ เพื่อ ยกเลิกการใชงาน

หนาตาของเมนูแรก จะเห็นรายละเอียดตาง ๆ ซึ่งในที่นี้ ใหสังเกตุที่ชอง Current Device จะเห็นวาแสดง ฮารดดิสกเปน QUANTUM FIREBALL ซึ่งเปนฮารดดิสก ที่ไมใชตัวที่ตองการทํา LLF ดังนั้น สิ่งแรกที่ตองทําคือ ทําการเปลี่ยน Drive ที่จะทํา LLF ใหเปน ฮารดดิสกตัวที่ตองการกอน โดยเลือกที่เมนู Select Device ครับ

จะมีกรอบขอความใหเลือก Device ที่ตองการคือ 0,1,2,3 ใหทําการเลือกเปลี่ยนไปเปน ฮารดดิสกตัวที่ตองการ เชนตัวอยาง เลือกที่ 2 ซึ่งเปนฮารดดิสก Maxtor ครับ


208

หลังจากนั้น จะเห็นวา รายละเอียดของ Current Device เปลี่ยนไปเปน Maxtor 71336 ซึ่งเปนฮารดดิสกตัวที่ ตองการทํา Low Level Format ที่ถูกตอง เมื่อตรวจสอบทุกอยางเรียบรอย และไมมีอะไรผิดพลาดแลว เริ่มตนสั่ง LLF โดยเลือกที่คําสั่ง Low Level Current Device และกด Enter ครับ

จะมีกรอบขอความ ถามยืนยันวาจะใช LBA Mode หรือไม ใหกด Y ครับ


209

จะมีกรอบขอความ ถามยืนยันการทํา Low Level Format อีกครั้ง ใหกด Y ครับ

หลังจากนั้น โปรแกรมจะเริ่มตนทําการ Low Level Format โดยจะมีรายละเอียดแสดงไปเรื่อย ๆ ครับ


210

หลังจากรอสักพัก จนโปรแกรมทํางานเสร็จเรียบรอย หรือมีขอความแจงวา low level format completed with no error ครับ เปนอันเสร็จเรียบรอย ใหกดปุมใด ๆ ก็ไดครับเพื่อกลับไปหนาแรกของโปรแกรม

สุดทายเมื่อเสร็จแลว ก็เลื่อนเมนูไปที่ EXIT เพื่อออกจากโปรแกรมนี้ครับ

หลังจากทํา Low Level Format แลวตองทําอยางไรตอไป


211 หลังจากนี้ ฮารดดิสกจะยังไมสามารถใชงานไดทันที จะตองทําการแบงพารติชันและทําการ format กอน จึงจะใช งานไดครับ

การทํา Multi Boot สําหรับใชงาน Windows หลายระบบในเครื่องเดียวกัน ถามกันมามากนะครับ วาจะลง Windows หลาย ๆ รุนในเครื่องเดียวกัน และใหสามารถเลือกบูตเขาระบบที่ ตองการไดอยางไร วันนี้ก็เลยเขียนคําแนะนํา วิธีการทํา Multi Boot สําหรับทานที่ตองการลง Windows หลาย ๆ ระบบมาใหดูกันครับ โดยโปรแกรมที่เปนพระเอกของเรื่องนี้คือ Partition Magic กับ Boot Magic ครับ กอนอื่น ตองขอบอกกอนวา บทความตอไปนี้ อยากจะแนะนําสําหรับทานที่พอจะลง Windows ดวยตัวเองเปน แลวเทานั้น เพราะในบางขั้นตอน อาจจะคอนขางยุงยาก และตองอาศัยความเขาในระบบของ ฮารดดิสกกันสัก หนอยครับ ดังนั้น ผมจะไมแสดงขั้นตอนแบบละเอียดมากนัก เอาแคพอเปนแนวทางเทานั้นพอครับ หากใครคิด จะทดลองทําดู ก็ตามผมมาไดเลยครับ เริ่มตนจากหาดาวนโหลดโปรแกรม Partition Magic และ Boot Magic มาเตรียมไวกอนนะครับ เพราะวาถือเปน หัวใจสําคัญของการทํา Multi Boot นี้ครับ ลองหาที่ http://kickme.to/fosi ดูนาจะมี หลังจากนั้น ใหทําการวาง แผนการแบง พารติชั่นของฮารดดิสก ไวเพื่อรองรับ Windows รุนตาง ๆ ใหเรียบรอย ยกตัวอยางของผมที่กําลังจะ ทําใหดู เปนฮารดดิสกขนาด 80G. โดยไดวางแผนการแบง พารติชั่นไวดังนี้ - 5G. สําหรับลง Windows 98 - 5G. สําหรับลง Windows Me - 6G. สําหรับลง Windows XP - และสําหรับเก็บขอมูลอีก 20G. และ 40G. ครับ จํานวนของพารติชั่นของฮารดดิสกที่จะแบง ก็แลวแตจะกําหนดกันใหเหมาะสมนะครับ อยางนอยก็ 1 พารติชั่น ตอวินโดวส 1 ระบบ สวนวิธีการแบงพารติชั่น ก็อาจจะใช FDISK หรือจะใช Partition Magic แบงก็ไดครับ หลังจากที่แบงและเตรียมความพรอม รวมทั้งโปรแกรม Partition Magic กับ Boot Magic เรียบรอยแลว ก็เริ่มตน กันเลยครับ โดยตัวอยางตอไปนี้ ผมจะลง Windows 98, Windows Me และ Windows XP รวมทั้งหมดเปน 3 ระบบ ในฮารดดิสกตัวเดียวกันครับ ขั้นตอนแรก ทําการลง Windows 98 ไปที่ไดรฟ C: กอน โดยมีขั้นตอนและวิธีการลงตามปกติทุกอยาง จัดการลง Driver ของอุปกรณตาง ๆ ใหเรียบรอยครับ (สําหรับทานที่ใชงาน Windows ตัวเดิมอยูแลวก็อาจจะไมจําเปน เพียง แคใช Partition Magic ทําการแบงพื้นที่ของฮารดดิสกที่เหลือใหเปน พารติชั่นใหมสําหรับ Windows ระบบอื่น ๆ ก็พอแลว) หลังจากนั้น ก็ทําการติดตั้งโปรแกรม Partition Magic และ Boot Magic ลงไปทั้งสองโปรแกรมครับ โดยขั้นตอน การติดตั้ง โปรแกรม Boot Magic จะมีขั้นตอนของการทํา Boot Magic Rescue Diskettes ดวย หามขามขั้นตอนนี้ ไปเด็ดขาดครับ ขอใหทําแผนบูตสําหรับโปรแกรม Boot Magic ไวดวยแผนดิสก 1 แผนครับ เพราะคุณจําเปนตอง ใชงานมันแนนอน


212

ขั้นตอนแรก ทําการเปลี่ยนชนิดของ partition จาก Logical เปน Primary กอน เอาหละครับ เพื่อทุกอยางพรอมแลวก็ลงมือกัน หลักการทํา Multi Boot ก็งาย ๆ ครับคือ ใหทําการเปลี่ยนชนิดของ partition ที่ตองการใหบูตไดจาก Logical เปลี่ยนเปน Primary จากนั้น ก็ใชโปรแกรม Boot Magic ทําการกําหนด ลําดับของการเลือกบูต จากพารติชั่นที่ตองการ เทานี้ครับ ลงมือทําการเปลี่ยนชนิดของ partition ที่จะลง windows ใหเปน Primary กอนโดยเรียกโปรแกรม Partition Magic ขึ้นมา

อันนี้เปนภาพที่ ผมไดทําการแบงฮารดดิสกเตรียมไวแลวนะครับ ดูที่ตําแหนงเมาสชี้อยูจะเปนวา ไดรฟ D: และ E: จะยังเปนแบบ Logical อยู ตองทําการเปลี่ยนตรงนี้ใหเปน Primary ครับ โดยกดเลือกที่ partition ที่ตองการจะ เปลี่ยน แลวเลือกเมนู Partition >> Convert ครับ


213

เลือกที่ชอง Primary partition แลวกด OK ครับ ทําแบบนี้ในทุก ๆ partition ที่ตองการลง Windows เมื่อครบแลวก็ กดเลือกที่ Apply เพื่อทําการเปลี่ยน partition ตอไปครับ ในกรณีที่มีการลง Drive Mapper ไวดวย หากมีการถาม Warning.... ตามภาพ

ก็เลือก No ไปเลยนะครับ จากนั้นก็รอใหโปรแกรม ทํางานไปจนเสร็จ แลวออกจากโปรแกรม Partition Magic และทําการ บูตเครื่องใหมกอน 1 ครั้งครับ เทานี้ก็เสร็จขั้นตอนแรกแลว ขั้นตอนตอไป ใชโปรแกรม Boot Magic เพื่อกําหนดการเลือกบูตระบบ ตอไป ใหทําการเรียกโปรแกรม Partition Magic ขึ้นมาโดยหนาตาของโปรแกรมจะเปนตามภาพดานลาง


214

จะเห็นวา มีเพียงแค partition เดียวที่ลง Windows 98 ไวแลวเทานั้น ดังนั้น ตองทําการเพิ่มรายการของ Partition ที่ ตองการใหเลือกบูตได โดยกดที่ปุม Add เพื่อเพิ่มการเลือกบูตจาก partition อื่น

ทําการเลือก partition ตอไปที่ตองการและกดปุม OK ครับ จะไดตามภาพดานลาง


215

ใสชื่อของระบบ ที่จะแสดงตอนเลือกบูตลงไปในชอง Name และกดปุม OK ครับ จากนั้นก็ทําการเพิ่ม partition ตอไปเรื่อย ๆ จนครับตามตองการ เชนตัวอยางของผมจะมี 3 Windows ใหเลือก

จากนั้น กําหนดคาตาง ๆ ดังนี้


216 - Set as Default สําหรับการกําหนดวา ถาไมเลือก จะเปนการบูตเครื่องจากที่ใด - Reorder เปนการเลื่อนลําดับของเมนูและ partition วาจะใหแสดงอันไหนกอนกัน - Startup Delay เลือกวา จะใหหนวงเวลาเทาไร ถาไมมีการเลือก ผมแนะนําใหตั้งไวเปน Timed 2 Seconds ครับ - BootMagic Enabled เปนการเลือกใหมีเมนูของการบูตเครื่อง ถาไมเลือกก็จะบูตจาก partition แรกครับ - Save/Exit เก็บคาที่ตั้งไวและออกจากระบบ เสร็จแลวครับ ตอไปนี้ หากทําการบูตเครื่องใหม จะมีขอความของการทํางาน Boot Magic แสดงใหเลือกครับ

และถาหากเราไมทําการ กดคียบอรด หรือขยับเมาสใด ๆ เลย โปรแกรมก็จะหนวงเวลาไว 2 วินาทีกอนที่จะบู ตจาก partition ที่เราเลือกเปน default ครับ แตถาหาก เราเพียงแคขยับเมาส หรือกดปุมบนคียบอรด เมนูของการ เลือกระบบ ก็จะแสดงและเราสามารถเลือกบูตจาก partition ตาง ๆ ไดครับ ของแถมอีกหนอยคือ หากจะใหการใชงาน Windows หลาย ๆ ระบบเปนไปดวยความงายดาย ก็สามารถทําไดโดย หลักการคือ ทําการซอน partition ที่ไมตองการไปซะ เชน เมื่อบูตเครื่องดวย Windows 98 ก็จะทําการซอน partition ของ Me กับ XP ไปกอนไมใหมองเห็น จะชวยใหเราสามารถจําชื่อไดรฟ และใชงานไดสะดวกขึ้นครับ โดยปกติแลว ถาเราทําการเปลี่ยนชนิดของ partition จาก Logical ไปเปน Primary แลว จะทําใหระบบ ไมสามารถ มองเห็น Primary Partition ตัวอื่น ๆ ไดอยูแลวครับ ดังนั้น กรณีเชนนี้ ไมตองทําอะไร แตถาหาก ทานใดตองการที่จะทําให สามารถมองเห็น partition ของตัวอื่น ๆ ไดดวย ก็สามารถกําหนดได โดยการ เลือกที่ partition ที่ตองการตั้งคา แลวกดปุม Properties >> Visible Partitions ครับ


217

หากตองการใหการบูต สามารถมองเห็น partition อื่น ๆ ไดดวยก็เลือกที่ชอง Override Default Selection และ เลือกที่ Partition ที่ตองการใหมองเห็นไดเลย จากนั้นก็กดปุม OK ครับ ขั้นตอนตอไป การลง Windows ตัวอื่น ๆ ตอไป ก็ทําการลง Windows ตัวอื่น ๆ ที่ตองการ โดยที่ กอนที่จะทําการลง Windows จะตองทําการเลือก Partition Default ใหเปน Partition ที่ตองการกอนนะครับ เชน ผมตองการลง Windows Me ก็ตองทําการเลือกให Partition ของ Windows Me เปนคา Default = Yes ไวกอน แลวคอยบูตเครื่องใหมจากแผนดิสก หรือจากซีดี เพื่อจะลง Windows ตอไปครับ หากไมทําการเลือกบูตระบบของ Windows ที่ตองการไว อาจจะทําใหขั้นตอนของการติดตั้ง Windows ตัวที่สอง มามองเห็นระบบ Windows ของตัวแรก และอาจจะทําใหมีปญหาก็ไดครับ ปญหาตอมาที่จะพบคือ เมื่อทําการลง Windows อีกตัวใน partition ใหมแลว บางครั้ง เราจะไมสามารถใชงาน Boot Magic เพื่อเลือกระบบได ตรงนี้แหละที่ผมแนะนําใหทําแผนดิสกของโปรแกรม Boot Magic ไว เพราะวา เพื่อลง Windows ตาง ๆ เรียบรอยแลว เราสามารถบูตเครื่องจากแผนดิสกนี้ และเขาไปทําการ Enable โปรแกรม Boot Magic ใหใชงานไดอีกครั้งครับ จากการทดลองของผม คือแบงขนาดของฮารดดิสกตามที่บอก และทําการลง Windows 98, Me และ XP ตาม ขั้นตอนที่เขียนมาจนจบ ทดลองใชงานดูก็ OK ดีครับ สบาย ๆ ไมพบปญหาอะไรครับ การทํางานของ CD-ROM ภายในซีดีรอมจะแบงเปนแทร็กและเซ็กเตอรเหมือนกับแผนดิสก แตเซ็กเตอรในซีดีรอม


218 จะมีขนาดเทากัน ทุกเซ็กเตอร ทําใหสามารถเก็บขอมูลไดมากขึ้น เมื่อไดรฟซีดีรอม เริ่มทํางานมอเตอรจะเริ่มหมุนดวยความเร็ว หลายคา ทั้งนี้เพื่อใหอัตราเร็วในการ อานขอมูลจากซีดีรอมคงที่สม่ําเสมอทุกเซ็กเตอร ไมวาจะเปนเซ็กเตอร ที่อยูรอบ นอกกรือวงในก็ตาม จากนั้นแสงเลเซอรจะฉายลงซีดีรอม โดยลําแสงจะถูกโฟกัส ดวยเลนสที่เคลื่อนตําแหนงได โดยการทํางานของขดลวด ลําแสงเลเซอรจะทะลุ ผานไปที่ซีดีรอมแลวถูกสะทอนกลับ ที่ผิวหนาของซีดีรอมจะเปน หลุมเปนบอ สวน ที่เปนหลุมลงไปเรียก "แลนด" สําหรับบริเวณที่ไมมีการเจาะลึกลงไปเรียก "พิต" ผิวสอง รูปแบบนี้เราใชแทนการเก็บขอมูลในรูปแบบของ 1 และ 0 แสงเมื่อถูกพิตจะกระจายไป ไมสะทอนกลับ แตเมื่อแสงถูกเลนสจะสะทอนกลับผานแทงปริซึม จากนั้นหักเหผาน แทงปริซึมไปยังตัวตรวจจับแสงอีกที ทุกๆชวงของลําแสงที่กระทบตัวตรวจจับแสงจะ กําเนิดแรงดันไฟฟา หรือเกิด 1 และ 0 ที่ทําใหคอมพิวเตอรสามารถเขาใจได สวนการ บันทึกขอมูลลงแผนซีดีรอมนั้นตองใชแสงเลเซอรเชนกัน โดยมีลําแสงเลเซอรจากหัว บันทึกของเครื่อง บันทึกขอมูลสองไปกระทบพื้นผิวหนาของแผน ถาสองไปกระทบ บริเวณใดจะทําใหบริเวณนั้นเปนหลุมขนาดเล็ก บริเวณทีไมถูกบันทึกจะมีลักษณะเปน พื้นเรียบสลับกันไปเรื่อยๆตลอดทั้งแผน แผนซีดีรอมเปนสื่อในการเก็บขอมูลแบบออปติคอล (Optical Storage) ใช ลําแสงเลเซอรในการอานขอมูล แผนซีดีรอม ทํามาจากแผนพลาสติกเคลือบดวย อลูมิเนียม เพื่อสะทอนแสงเลเซอรที่ยิงมา เมื่อแสงเลเซอรที่ยิงมาสะทอนกลับไป ที่ตัว อานขอมูลที่เรียกวา Photo Detector ก็อานขอมูลที่ไดรับกลับมาวาเปนอะไร และสงคา 0 และ 1 ไปใหกลับซีพียู เพื่อนําไปประมวลผลตอไป ความเร็วของไดรฟซีดีรอม มีหลายความเร็ว เชน 2x 4x หรือ 16x เปนตน ซึ่งคา 2x หมายถึงไดรวซีดีรอมมี ความเร็วในการหมุน 2 เทา ไดรสตัวแรกที่เกิดขึ้นมามีความเร็ว 1x จะมีอัตราในการโอนถายขอมูล (Data Tranfer Rate) 150 KB ตอวินาที สวนไดรฟ ที่มีความเร็วสูงกวานี้ ก็จะมีความเร็วในการโอนถายขอมูล ตามตาราง

ความเร็วของไดรว ซีดีรอม อัตราการโอนถายขอมูล (กิโลไบตตอวนาที) 1x 150 2x 300 3x 450 4x 600 6x 900 8x 1,200 10x 1,500 ความเร็วในการเขาถึงขอมูล (Access Time) ความเร็วในการเขาถึงขอมูลคือ ชวงระยะเวลาที่ไดรวซีดีรอมสามารถอานขอมูลจากแผน ซีดีรอม แลวสงไป ประมวลผล หนวยที่ใชวัดความเร็วนี้คือ มิลลิวินาที (milliSecond) หรือ ms ปกติแลวความเร็วมตราฐานที่ เปนของไดรวซีดีรอม 4x ก็คือ 200 ms แต ตัวเลขนี้จะเปนตัวเลขเฉลี่ยเทานั้น เปนไปไมไดแนนอนวาไดรว ซีดีรอมจะมีความเร็วใน การเขาถึงขอมูลบนแผนซีดีรอมเทากันทั้งหมด เพราะวาความเร็วที่แทจริงนั้นจะขึ้นอยู กับวาขอมูลที่กําลังอาน อยูในตําแหนงไหนบนแผนซีดี ถาขอมูลอยูในตําแหนงดานใน หรือวงในของแผนซีดี ก็จะมีความเร็วในการเขาถึงสูง แตถาขอมูลอยูดานนอกหรือวง นอกของแผน ก็จะทําใหความเร็วลดลงไป แคชและบัฟเฟอร ไดรวซีดีรอมรุนใหมๆ มักจะมีหนวยความจําที่เรียกวาแคชหรือบัพเฟอรติดตั้งมาบนบอรด


219 ของซีดีรอมไดรว มาดวย แคชหรือบัพเฟอรที่วานี้ก็คือชิปหนวยความจําธรรมดาที่ติดตั้ง ไวเพื่อเก็บขอมูลชั่วคราวกอนที่จะสง ขอมูลไปประมวลผลตอไป เพื่อชวยเพิ่มความเร็ว ในการอานขอมูลจากไดรวซีดีรอม ซึ่งแคชนี้มีหนาที่เหมือน กับแคชในฮารดดิกส ที่จะ ชวยประหยัดเวลา ในการอานขอมูลจากแผนซีดี เพราะถาขอมูลที่รองขอมามีอยู ในแคช แลว ก็ไมตองเสยเวลาไปอานขอูลจากแผนอีก ขนาดของแคชในไดรวซีดีรอมทั่วๆ ไปก็ คือ 256 กิโลไบต ซึ่งถายิ่งมีแคชที่มีขนาดใหญ ก็ยิ่งชวยเพิ่มความเร็วในการสงถาย ขอมูล ใหสูงขึ้นไปอีก ขอดีของการติดตั้งแคชลงไปในไดรวซีดีรอมก็คือ แคชจะชวยใหสามารถรับ-สงขอมูล ไดดวยความเร็ว สม่ําเสมอ เมื่อแอพพลิเคชั่นรองขอขอมูล มายังไดรวซีดีรอม แทนที่ จะตองไปอานขอมูลจากแผนซีดี ซึ่งมี ความเร็วต่าํ ก็สามารถอานขอมูล ที่ตองการจาก แคช ที่มีความเร็วมากกวาแทนได ยิ่งมีแคชจํานวนมากแลวก็ สามารถที่จะเก็บขอมูลมา ไวในแคชไดเยอะขึ้น ทําใหเสียเวลาอานขอมูลจากแผนซีดีนอยลง อินเตอรเฟซของไดรวซีดีรอม อินเตอรเฟซของไดรวซีดีรอมมีอยู 2 ชนิดคือ IDE ซึ่งมีราคาถูก มีความเร็วในการสงถาย ขอมูลอยูในขั้น ที่ยอมรับได และชนิด SCSI มีราคาแพงกวาแบบ IDE แตก็จะมีความเร็ว ในการสงถายขอมูลสูงขึน ้ ดวย เหมาะสําหรับนํามาใชเปนซีดีเซรฟเวอร เพราะตองการ ความเร็ว และความแนนอนในการสงถายขอมูลมากวา ไดรฟซีดีรอมจะมีอยู 2 แบบ คือ แบบติดตั้งภายใน และแบบติดตั้งถายนอก แบบติดตั้ง ภายในมีขอดีคือ ประหยัดพื้นที่ในการวางซีดีรอมไดรวและไมตองใชอดแปเตอรเพื่อ จายไฟใหกับไดรวซีดีรอม และที่สําคัญมีราคาถูกกวาแบบติดตั้งภายนอก แบบบติดตั้ง ภายนอกมีขอดีคือ สามารถพกพาไปใชกับ เครื่องอื่นไดสะดวก เทคโนโลยีซีดีรอม เทคโนโลยีซีดีรอมแบบที่นิยมใชกันมีอยู 2 ประเภทคือ CLV (Constant Linear Velocity) และ CAV (Constant Angular Velocity) การทํางานของ CLV คือตัวไดรฟจะทํางานที่ความเร็วในการสงผานขอมูลที่แนนอน (ความเร็ว X) แตมอเตอร นั้นหมุนที่ความเร็วระดับตางๆ กันขึ้นอยูกับเนื้อที่ในการเก็บขอูล โดยหากอานขอมูล บริเวณดานในของแผนซีดี ตัวไดรฟจะหมุนที่ความเร็วสูง แตเมื่อมีการอานขอมูลบริเวณ ดานนอก ตัวไดรฟจะลดความเร็วรอบลง โดย ความเร็วรอบนจะอยูระหวาง 500 ถึง 4,000 รอบตอนาที สําหรับซีดีรอมความเร็ว 8 เทา ซึ่งเทคโนโลยีนี้ทํา การเพิ่มความเร็ว ในการถายขอมูลโอนขอมูลไดยาก เนื่อจากตองคงความเร็ว ในการโอนถายขอมูลที่ 16 เทานั้น เมื่อขอมูลถูกเก็บอยูในพื้นที่วงในของแผนซีดี ตัวไดรฟจําเปนตองหมุนดวย ความเร็วสูง เพื่อใหคงอัตราการ ถายโอนขอมูลนั้นไว ทําใหเกิดปญหาความรอนและเกิด ขอมผิดพลาดในการรับขอมูลไดมากขึ้น แตสําหรับเทคโนโลยี CAV ซึ่งเปนเทคโนโลยีที่ใหมกวานั้นจะมีการทํางานที่ตางกัน โดยตัวไดรฟ CAV นั้นจะมีความเร็วในการหมุนคง ที่เชนเดียวกับที่เปนอยูในฮารดดิสก เมื่อมีการอานขอมูลบริเวณวงในของ แผนซีดีรอมนั้นตัวไดรฟอาจจะทําความเร็วในระดับ 8-12 เทา แตประโยชนที่ไดจาก แตประโยชนที่ไดจาก ตัวไดรฟเทคโนโลยีนี้ก็คือเมื่อ ไดรฟ ทําการอานขอมูลบริเวณวงนอกของแผนซีดีความเร็ว ในการอานจะเพิ่มขึ้น เปน 16 เทา เพราะเนื้อที่ดานนอกของซีดีนั้นจะเก็บขอมูลมากวาพืน ้ ที่วงในของแผน

การทํางานของคอมพิวเตอร เมื่อเรานึกถึงคําวา Technology เชื่อไดเลยวา สิ่งที่เราจะนึกถึง ในลําดับแรกๆ ก็คือ คอมพิวเตอร ที่ดูเหมือน จะเปนตัวแทน ซึ่งกันและกัน บางคน อาจจะคิดวา คอมพิวเตอร เปนเรื่องไกลตัว แตเราเชื่อวามันไมใชเรื่องยากจนเกินไป ที่จะสัมผัส และทํา ความคุนเคยกับมัน คําวาคอมพิวเตอรนั้น มีความหมาย ที่กวางขวางมาก ดังนั้น เพื่อให


220 เราทําความเขาใจ ไดตรงกันมากขึ้น เราจึงขอพุงเปามาที่ Personal Computer หรือ PC เพื่ออธิบายใหคุณ รูจักการทํางานของมัน

ภายใน PC นั้น จะประกอบไปดวยชิ้นสวนตางๆมากมาย ที่ถูกประกอบขึน ้ มา โดยมี microprocessor เปนศูนยกลางในการทํางาน ชิ้นสวนตางๆ ที่ประกอบกันขึ้นมา นอกจาก microprocessor แลว ยังมีตั้งแต หนวยความจํา, ฮารดดิสก, โมเด็ม ฯลฯ ซึ่งตางก็ ประสาน การทํางานรวมกัน และเรากลาวไดวา เจาเครื่อง PC นี้ ถือเปนเครื่อง อเนกประสงค ก็วาได เพราะมันสามารถ ตอบสนอง ความตองการของคุณ ไดอยาง หลากหลาย ตั้งแต การทํางานพื้นฐาน อยางการพิมพงาน, ตาราง ทําบัญชี รวมไปถึง การสื่อสาร ผาน email, chat หรือเลนอินเตอรเน็ต ซึ่งดวย บทความนี้ จะชวยใหคุณ เขาใจพื้นฐานการทํางานของมัน และเรียนรูไดมากขึ้นวา สวนประกอบทั้งหลายนั้น ประสานการทํางานรวมกัน ไดอยางไร สวนประกอบใน PC มาดูกันวา สวนประกอบหลักๆ ภายใน PC นั้น มีอะไรกันบาง Central processing unit (CPU) - ถือเปนสวนที่สําคัญที่สุด และเปนศูนยกลาง การทํางานของ PC ตัว CPU นั้น ถือวาเปน microprocessor ประเภทหนึ่ง ที่มี ความสามารถ ในการจัดการคําสั่ง และการประมวลผลที่มีความซับซอน เปนอยางมาก ถาเราเปรียบ PC กับการทํางานของมนุษยแลว เราจะเปรียบ CPU ไดเทากับเปนสมอง ของมนุษยเลยทีเดียว คุณคงจะคุนเคยกันดี เวลาเลือกซื้อ PC ที่มักจะตองคํานึงถึง CPU กันกอน วาจะเลือกใช Pentium III, Celeron หรือ Athlon ซึ่งนี่ก็คือตัวอยาง ที่แสดงให เห็น ถึงความสําคัญของ CPU ไดเปนอยางดี Memory - หรือหนวยความจํา ซึ่งถือวา เปนหนวยจัดเก็บขอมูล ที่ทํางานไดรวดเร็ว ที่สุด สวนใหญแลว เราจะคุนเคยกันดี กับ กับคําวา RAM ที่เสมือนหนึ่ง เปนตัวแทนของ หนวยความจํากันแลว การทํางานของมัน จะทํางานควบคูไปกับ CPU จึงจําเปน ตองมี ความเร็ว ในการทํางาน และอัตราการสงผานขอมูลที่สูง ซึ่งหากคุณ ยังมองไมเห็นภาพ วา Memory นั้น สําคัญอยางไร เราก็อยากจะอธิบายวา มันก็เปรียบเสมือนกับโตะทํางาน ของคุณ หากคุณ ไมมีโตะทํางาน เอาไวกองเอกสารตางๆ คุณคงจะยุงยากไมนอย กับ การจัดการ กับขอมูลเหลานั้น อยางไรก็ตาม ประเภทของหนวยความจํา ก็มอ ี ยู หลากหลาย ไมใชแคเพียง RAM เทานั้น นั่นคือ


221 • Random-access memory (RAM) - ถือเปน หนวยความจํา ที่เราคุนเคยกันมาก ที่สุด และเปนเสมือนหนึ่ง ตัวแทนของหนวยความจํา ก็วาได การทํางานของ RAM นั้น จะเปนเสมือนมือขวา ของ CPU โดยที่ขอมูลแทบทั้งหมด จะตองถูกสงผานมายัง RAM เสียกอน แลวจึงคอยสงตอไปให CPU อีกตอหนึ่ง • Read-only memory (ROM) - ถือเปน หนวยความจําถาวร ที่สามารถ เก็บขอมูล เอาไวไดภายใน แมวาจะไมมีประจุไฟฟา หลอเลี้ยงอยู ( ตางจาก RAM ที่เก็บขอมูลได ชั่วคราว เทาที่มี ประจุไฟฟาอยูเทานั้น ) จุดประสงค ของ ROM นั่นคือ สําหรับ กักเก็บ ขอมูลที่สําคัญๆ เอาไว อีกทั้ง ขอมูลเหลานี้ ยังไมสามารถ ปรับเปลี่ยนได เพื่อปองกัน ปญหา การโดนไวรัสเลนงาน หรือโดนผูไมประสงคดี จูโจมเอาได • Basic input/output system (BIOS) - BIOS ถือเปนสวนสําคัญ ที่อยูบน เมนบอรด เพื่อทําการ ควบคุม คาการทํางานตางๆ ของระบบ และคําสั่งการสื่อสารตางๆ ที่จําเปนตองใช ในระหวาง บูตเครื่อง ซึ่ง BIOS นั้น ก็ถือเปน ROM อีกชนิดหนึ่ง • Caching - ถือเปน หนวยความจํา ที่ทํางาน ไดอยางรวดเร็วที่สุด ซึ่งโดยตัวมันเอง ยังมีความสามารถ เหนือกวา RAM ดวยซ้ํา การทํางานของ Cache นั้น จะคอยประสาน การทํางาน ระหวาง RAM และ CPU อีกตอหนึ่ง โดยทุกวันนี้ CPU รุนใหมๆ จะมาพรอม Cache ในตัวดวยกันทั้งสิ้น เพื่อลดปญหา คอขวด ที่อาจเกิดขึ้น จากการสื่อสาร ระหวาง CPU และ RAM Mainboard - ถือเปน อุปกรณชิ้นใหญที่สุด ที่อยูภายในเครื่อง PC โดยลักษณะของ มันแลว จะเปนแผน circuit board รูปรางสีเหลี่ยมผืนผา ซึ่งเต็มไปดวย วงจร อิเล็กทรอนิกสที่ซับซอน นอกจากนี้ ตัวเมนบอรดเอง ยังเต็มไปดวย Slot มากมาย เพือ ่ การติดตั้ง ชิ้นสวนตางๆ ไมวาจะเปน CPU, RAM, Graphic Card, Sound Card รวมไป ถึง อุปกรณชิ้นใหญ อยางฮารดดิสก, CD ROM ก็ตอง ทําการเชื่อมขอมูล เขามายัง เมนบอรดผาน IDE Slot เชนเดียวกัน ดังนั้น หากเราเปรียบเทียบ กับตัว Case เปน เสมือนบาน แลวละก็ ตัวเมนบอรดเอง ก็คงเสมือนกับเปนพื้นบาน สําหรับติดตั้งอุปกรณ ตางๆ นั่นเอง


222

]

Power supply - ถือเปน หมอแปลงไฟฟาของระบบ เนื่องจาก อุปกรณทุกชิ้น ที่ติดตั้ง อยูภายใน PC นั้น จะตองไดรับ ไฟฟาหลอเลี้ยง มาจาก Power Supply ดวยกันทั้งสิ้น Hard disk - มันคือ คลังเก็บขอมูลของระบบ คุณจะขาดฮารดดิสกไปเสียไมได เพราะ ไมเชนนั้นแลว คุณจะไมสามารถ จัดเก็บขอมูลตางๆ ลงไปใน PC ของคุณไดเลย โดยตัว มันแลว ถือวาเปน สื่อเก็บขอมูลแบบถาวร ที่มีลักษณะเปนจานแมเหล็ก การทํางานของ ฮารดดิสกนั้น เปรียบเสมือน เปนตูลิ้นชัก สําหรับเก็บเอกสารจํานวนมาก เพราะฉะนั้น หากเราเปรียบเทียบ กับการทํางานแบบปกติแลว เราจะเห็นไดวา เมื่อเรา จะเริ่มตน ทํางาน เราก็ตอง หยิบเอกสารที่ตองการ มาจากตูลิ้นชัก ( หรือ ฮารดดิสก ) แลวก็นํา เอกสารเหลานั้น มากางลงบนโตะทํางาน ( เปรียบไดกับ RAM ) เพื่อเปนพื้นที่ทํางานอีก ทีหนึ่ง Operating system - หรือระบบปฏิบัติการ ซึ่งถือเปนสวนของซอฟตแวร ที่ถูกจัดเก็บ อยูบนฮารดดิสก ความสําคัญของ ระบบปฏิบัติการก็คือ มันเปนพื้นฐาน การทํางานของ PC หากคุณไมมีตัวระบบปฏิบัติการ คุณก็ไมสามารถ เปดเครื่อง PC และบูธขึ้นมาเพื่อ ทํางานไดเลย ตัวอยางของระบบปฏิบัติการ ที่คุนเคยกันดี ก็เลน Windows, Mac OS หรือ Linux Chipset - ถือเปนชิ้นสวน ที่ควบคุมการทํางาน ของทั้งระบบ ตั้งแต CPU, หนวยความจํา, IDE Drive หรือแมแตกราฟฟคการด อยางไรก็ตาม ตัว Chipset ดู เหมือนจะหางตัวเราสักหนอย เนื่องจากวา เวลาเลือกซื้อนั้น เราไมไดซื้อ Chipset แยก มาตางหาก แตมันจะถูกรวมมาอยูในเมนบอรด ตั้งแตโรงงานผลิตเลย ระบบบัส และ Port ตอเชือ ่ ม - ภายในเมนบอรดนั้น จะประกอบไปดวย ระบบบัส และ Port ตอเชื่อมที่หลากหลาย ซึ่งถูกติดตั้งขึ้นมา เพื่อรองรับ อุปกรณที่แตกตางกันออกไป ตั้งแต IDE Interface ที่ใชสําหรับตอเชื่อมกับ ฮารดดิสก และ CD-ROM ตอมาก็เปน PCI Slot ที่มีไว สําหรับการติดตั้ง อุปกรณอยาง การดเสียง และการดเน็ตเวิรก สุดทาย นั่นคือ AGP Slot สําหรับการติดตั้งกราฟฟคการด ซึ่งถือเปน Port ความเร็วสูงที่สุดตัว หนึ่ง ในบรรดา ที่เรากลาวถึงมา Sound card - PC ของคุณ อาจกลายเปนใบขึ้นมา หากขาด Sound Card เนื่องจากวา มันเปนตัวกลาง ในการควบคุม การทํางานที่เกี่ยวของกับเสียง ตั้งแต การบันทึกเสียง ไปจนถึงการเลนไฟลเสียงตางๆ ซึ่งถือไดวา เปนอุปกรณพื้นฐาน เพื่อรองรับระบบ มัลติมีเดียนั่นเอง อยางไรก็ตาม ในปจจุบัน ดวยวัตถุประสงคเพื่อลดตนทุนการผลิต ทํา


223 ใหมีการพัฒนา Chipset ที่รวมเอาความสามารถของ sound Card มาดวย แตมันก็ให ประสิทธิภาพที่ไมดีเทาไหรนัก เมื่อเทียบกับ การใชงาน Sound Card แบบแยกชิ้น Graphic Card - ถือเปนสวนของการแสดงผล ซึ่งจะชวยใหจอภาพของคุณ แสดงภาพ ตางๆ ไดอยางเต็มที่ และก็เชนเดียวกับ Sound Card นั่นคือ มันถือเปน อุปกรณพื้นฐาน เพื่อรองรับระบบมัลติมีเดีย และก็มีผูผลิตหลายราย ที่นําเอาคุณสมบัติของ Graphic Card มาไวใน Chipset แตมันก็ใหคุณภาพที่ไมดีนัก สําหรับ Graphic Card นี้ ก็ยังมีอีก หลายประเภท ตั้งแต การรองรับ คุณภาพในระดับ 2 มิติ ไปจนถึง การรองรับคุณสมบัติ แบบ 3 มิติ ซึ่งเหมาะสําหรับ นักเลนเกมส และผูใชงาน ในระดับ Graphic Design มือ อาชีพ การเชื่อมตอภายนอก ไมใชแคเพียง อุปกรณที่ติดตั้งภายในเทานั้น ยังมีอุปกรณภายนอก อีกหลายชิ้น ที่ทํา การเชื่อมตออยูกับ PC ของคุณ ซึ่งคุณจําเปน ตองใชงานมันทั้งสิ้น สวนใหญแลว เรามัก เรียก อุปกรณจําพวกนี้วา อุปกรณ Input / Output มาทําความรูจักกันวา อุปกรณ จําพวกนี้ มีอะไรกันบาง Monitor - จอภาพ อุปกรณที่ขาดไมได เพราะไมเชนนั้น คุณคงไมสามารถ รับชมการ แสดงผล ของ PC ไดเลย จอภาพนั้น จะอาศัยการทํางาน ของ Graphic Card หรือ VGA Card ซึ่งจะทําการประมวลผล ภาพการแสดงผลตางๆ แลวสงตอมายัง จอภาพผานทาง VGA Port Keyboard - เปนอุปกรณ Input ขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร คียบ  อรด ก็คือแปนพิมพดีด นั่นเอง อาจจะมีลักษณะแตกตางกันไปบาง ตามการออกแบบของแตละบริษัท Mouse - ลักษณะของเมาส ก็เหมือนหนูขาวตัวเล็กๆ นั่นเอง และนี่ก็คือสาเหตุ ที่ทําให อุปกรณชนิดนี้มีชื่อวา Mouse การทํางานของเมาส จะมีไวสําหรับ ชี้ตําแหนงบนหนาจอ คอมพิวเตอร เพื่อการสั่งงาน และเขาถึง โปรแกรมตางๆ ไดอยางงายดาย

สื่อบันทึกขอมูล - สื่อบันทึกขอมูล ที่เรากําลังพูดถึงนี้ ถือเปนอุปกรณ ทีส ่ ามารถ เคลื่อนยายได เพื่อใหคุณ สามารถ Save และพกพา ไฟลขอ  มูล ไปตามที่ตางๆ ไดตาม ตองการ ( คงไมดีแน ที่จะมานั่งถอดฮารดดิสกไปไหนตอไหน ) ซึ่งก็จะมีตั้งแต • Floppy disk - ถือเปน อุปกรณพื้นฐาน และเปนสื่อบันทึกขอมูล ที่ไดรับความนิยม มากที่สุด เนื่องจาก มีราคาที่ถูกมาก และใชงานไดงายดาย แตมันก็มี ความจุต่ําแคเพียง 1.44 MB เทานั้น • CD-ROM / R / RW - Drive อานแผน CD ที่มีความสามารถ ในการจัดเก็บขอมูล ขนาดถึง 650 MB ตอแผน CD 1 แผน และจนถึงตอนนี้ ก็ไดพัฒนา ใหมีความสามารถ ในการเขียนแผนขอมูล ( CD-R ) และการเขียนซ้าํ ( CD-RW ) เชนเดียวกับ การใชงาน แผน Floppy Disk กันแลว อยางไรก็ตาม มันก็มีตนทุนที่สูงกวา และใชเวลา ในการ เขียนที่นานกวาดวย จึงเหมาะสําหรับ การจัดเก็บขอมูลขนาดใหญๆ เทานั้น • Zip Drive เปนอุปกรณจัดเก็บขอมูลที่มาแรง โดยใชหลักการเดียวกับ Floppy Disk


224 แตมีความสามารถ จัดเก็บขอมูลที่สูงกวามาก ในระดับ 100 - 250 MB นอกจากนี้ ยังมี อุปกรณประเภทเดียวกับ Zip Drive อีก อาทิ Click Drive, Super Disk Drive เปนตน ซึ่งตางก็ใหความจุที่นาทึ่ง แถมยังใหความเร็ว ในการอานเขียนที่ดีอีกดวย • DVD-ROM - ถือเปน หนวยจัดเก็บขอมูล ทีม ่ ีขนาดใหญสุด ในระดับ GB กันเลย ทีเดียว อยางไรก็ตาม มันก็มีตนทุนที่สูงพอสมควร และจนถึงวันนี้ ก็ไดมีการพัฒนา DVD แบบเขียนไดแลวดวย ซึ่งเราเรียกกันวา DVD-R แตมันก็ยังไมแพรหลาย และมีราคา ที่ แพงกวา CD-RW หลายเทาตัว Ports - ก็คือ ชองสําหรับตอเชื่อม ซึ่งถูกออกแบบมา สําหรับ เชื่อมตออุปกรณตางๆ ตั้งแต เครื่องพิมพ, สแกนเนอร, โมเด็ม หรือแมแต ฮารดดิสกแบบติดตั้งภายนอก สําหรับ Port ที่นิยมใชงานกันในปจจุบัน จะประกอบไปดวย • Parallel Port - ถือเปน Port รุนเกา ที่ใหความเร็ว ในการตอเชื่อม ที่ดีในระดับหนึ่ง ถึงวันนี้ แมจะยังมี อุปกรณรองรับอยู แตก็พบไมมากนัก สวนใหญ จะใชตอเชื่อมกับ เครื่องพิมพ และ สแกนเนอร เปนตน • Serial Port - เปน Port รุนเกา เชนเดียวกับ Parallel Port นิยมใชตอเชื่อมกับ โมเด็มรุนเกาๆ • USB Port - ถือเปน Port ที่มีความอเนกประสงคมากที่สุด เพราะมีอุปกรณรองรับกับ USB มากมาย ไมวาจะเปนเครื่องพิมพ, สแกนเนอร, โมเด็ม, กลองดิจิตอล หรือแมแต CD-RW ดวยขอดี ที่ติดตั้งไดงายดาย และใหความเร็วที่นาพอใจ • Firewire (IEEE 1394) - ถือเปน Port ความเร็วสูงที่สุด ในบรรดา Port ที่เราพูด ถึง ความเร็วของมัน จึงไมตองแปลกใจ ที่มีผูพัฒนา อุปกรณ ใหทํางานรองรับ Firewire ตั้งแตฮารดดิสก แบบ External, CD-RW ไปจนถึง กลองวิดีโอดิจิตอล • Internet และ Network - อุปกรณ เพื่อทําการตอเชื่อมเขากับเครือขาย ไมวาจะ เปน โมเด็ม หรือการดเน็ตเวิรก ตางก็ตองตอเชื่อม เขากับ PC เชนเดียวกัน โดย สําหรับ โมเด็มนั้น เปนอุปกรณที่จําเปน สําหรับการติดตอ กับเครือขายอินเตอรเน็ต ซึ่งก็มีตั้งแต โมเด็มแบบอนาล็อกแบบ 56 kbps ไปจนถึงโมเด็มดิจิตอล ทั้งแบบ DSL, Cable และ อินเตอรเน็ตผานดาวเทียม ในขณะทีก ่ ารดเน็ตเวิรกนั้น ก็ชวยให PC ของคุณ เชื่อมตอ เขากับเครือขายได ซึ่งก็แบงออกเปนหลายชนิด เชนเดียวกัน ตั้งแต ความเร็วในระดับ 10 / 100 Mbps ไปจนถึงความเร็วในระดับ 1 Gbps เลยทีเดียว

ประสานการทํางาน ถึงตอนนี้ คุณไดทําความเขาใจ เกี่ยวกับ สวนประกอบตางๆ ที่รวมกันขึ้นมาเปน PC กัน แลว มาดูกันวา สวนประกอบเหลานี้ ทํางานกันอยางไร ตั้งแต เปดเครื่อง ไปจนถึง บูธ เสร็จเรียบรอย ถึงไดผสานพลังชวยให PC กลายเปนเครื่องมือ อันทรงประสิทธิภาพ เชนนี้ 1. เมื่อคุณ กดปุมเปดเครื่อง ทั้งบนตัวเครื่อง PC และจอภาพ นั่นหมายความวา คุณ กําลัง ปลอยใหกําลังไฟฟา ไหลผานเขาสูระบบ และเริ่มตน การทํางานของ PC ของคุณ 2. ที่หนาจอ คุณจะเห็นซอฟตแวร BIOS กําลัง Run โปรแกรมตางๆเริ่มตน ตั้งแตชวง ของ การทดสอบแรกเริ่ม ที่เรียกวา power-on self-test ( POST ) ซึ่งโดยปกติแลว คุณ จะเห็นตัว BIOS แสดงรายละเอียด เกี่ยวกับ ขนาดของ Memory, ความเร็ว CPU หรือ ขนาดของฮารดดิสก ที่หนาจอคอมพิวเตอร จากนั้น ในระหวางที่บูธเครื่องนี้ ตัว BIOS ก็


225 จะเตรียมการทํางาน และชิ้นสวนตางๆ ของเครื่อง ใหพรอมรับการทํางาน ดังนี้ • BIOS จะเปนผูตัดสินใจวา Video Card ทํางานอยางไร ในขั้นตอนแรก เพื่อให สามารถ แสดงผลได เมื่อแรกเปดเครื่อง ซึ่งตามปกติแลว ที่ตัว Video Card ( หรือ Graphic Card ) ก็จะมี BIOS ของมันเพื่อควบคุม การทํางานของ Graphic Processor และ หนวยความจํา ที่ติดตั้ง อยูบน Card ดวย แตถาเปนการดแบบที่รวมอยูบน Chipset ก็จะอาศัยขอมูล ที่อยูใน ROM เพื่อทําการตั้งคา BIOS • ตัว BIOS จะทําการตรวจสอบ การทํางานของ RAM ตั้งแต ขนาด ความเร็ว และ ประสิทธิภาพ จากนั้น ก็จะตรวจหา ตัว Input / Output, Drive Cd, Harddisk, Floppy Disk ซึ่งหากพบปญหาเกิดขึ้น มันจะมีเสียงสัญญาณดัง และแสดงปญหา ขึ้นมา ที่ หนาจอของคุณ • เมื่อเตรียมพรอม และทดสอบ อุปกรณตางๆ วาพรอมทํางานเรียบรอยแลว ตัว BIOS จะเตรียมระบบ เขาสู bootstrap loader เพื่อเตรียมพรอม ระบบปฏิบัติการ ใหทํางาน ตอไป

3. The bootstrap loader จะทําการโหลดขอมูล ของระบบปฏิบัติการ มาไวบน RAM เพื่อเตรียมพรอมสําหรับ ประมวลผล โดย CPU จากนั้น จะเขาสู ขั้นตอน การ เตรียมเครื่อง มือการทํางานตางๆ ใหพรอมตั้งแต • Processor management - เปนตัวควบคุม จัดการ การทํางานของ CPU • Memory management - เปนการจัดการ ระบบไหลเวียนขอมูล ระหวาง หนวยความจําหลัก, หนวยความจําเสมือนกับฮารดดิสก และ หนวยความจํา Cache บน CPU • Device management - เตรียมพรอม การตอเชื่อมตางๆ ใหพรอมสําหรับ การ ทํางาน ตั้งแต Printer, Scanner หรืออุปกรณ ตอพวงอื่นๆ • Storage management - เตรียมการทํางาน ของฮารดดิสก ใหพรอมรับ สําหรับ การเขียนอานขอมูล • Application Interface - เตรียมพรอม ใหระบบปฏิบัติการ และโปรแกรมตางๆ สามารถสื่อสารรวมกันได • User Interface - เตรียม Interface ของระบบปฏิบัติการ ใหพรอมสําหรับการใช งาน


226 4. เมื่อ ระบบปฏิบัติการพรอม สําหรับการใชงาน จากนั้น ก็เปนหนาที่ของคุณ ในการ เรียกใชงานโปรแกรมตางๆ ที่ตองการ ผานการปอนขอมูลโดยเมาส และคียบอรด 5. เมื่อเรียกใชงานโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ จะเรียกขอมูลมาจากฮารดดิสก มาเตรียม ที่ RAM เพื่อรองรับ การทํางานคูไปกับ CPU และในทางกลับกัน เมื่อคุณ ตองทําการ บันทึก ก็จะทําการยอนการกระทํา จาก RAM มาบันทึกลงฮารดดิสก สําหรับในบางครั้ง ที่โปรแกรม หรือไฟลมีขนาดใหญมากๆ โดยที่ RAM ของคุณ ไมสามารถรองรับได ระบบปฏิบัติการ ก็จะสรางหนวยความจําเสมือน โดยอาศัยพื้นที่บางสวนบนฮารดดิสก เพื่อรองรับการทํางานในกรณีนี้ 6. เมื่อคุณ ตองการเลิกใชงาน ก็คลิกที่ Start และเลือก Shut Down เพื่อปด PC ซึ่ง ระบบปฏิบัติการ จะทําการ ตรวจสอบ การทํางานทั้งหมด เพื่อปดโปรแกรมตางๆ และ พรอมสําหรับการปดเครื่อง จากนั้น เครื่องก็จะปดลงอัตโนมัติ ซึ่งก็รวมไปถึง การตัดไฟ ออกจากระบบดวย

การแบง Partition และ Format ฮารดดิสก


227 การแบงพารติชั่น (Partition) การแบงพารติชั่น หมายถึงการแบงพื้นที่ของฮารดดิส (HardDisk) ก็เปนไดรฟ (Drive) ตาง ๆ ตั้งแต C ไปไดเรื่อย ๆ ตามจํานวนเนื้อที่ของฮารดดิสกที่มีอยูเพื่อจัดสรรพื้นที่เก็บขอมูลใหไดคุมคาและมาก ที่สุด

การทําใหฮารดดิสกเปลี่ยนสถานะจากของใหมๆ ที่เพิ่งผลิตจากโรงงานมาเปนฮารดดิสกที่มีการ ติดตั้ง DOS หรือ Windows9x จะตองผาน 3 ขั้นตอน คือ การทํา Format ทางกายภาพ (Physical Formatting) การสรางพารติชั่น (Partitioning) และการ Format ทางลอจิคอล (Logical Formatting) เพื่อทําความเขาใจวาแตละขั้นตอนทํางานอยางไร เราลองมาดูสรุปเกี่ยวกับการทํางาน ของฮารดดิสกดังนี้ ฮารดดิสก (Hard Disk) คือ อุปกรณกลไกที่ประกอบดวยแผนจาน (โลหะกลมขนาดเล็กใชสําหรับ บรรจุแมเหล็กบนดานทั้งสอง) ซอนๆกัน มีแกนหมุน และมีหัวอาน/เขียน ขอมูล ทําหนาอานและ เขียนขอมูลจากแผนจาน หัวอานและเขียนจะเปนตัวทําใหประจุแมเหล็กถูกเก็บลงบนจาน (กลายเปน บิตตางๆ) เมื่อคุณสั่งใหโปรแกรมอานไฟลจากดิสก แผนจานจะหมุนไปรอบๆแกน แลวหัวอานจะ เลื่อนกลับไปกลับมาจนกระทั่งเจอบิตที่ตองการ จากนั้นซอฟตแวรในฮารดดิสกและตัวควบคุม ฮารดดิสก (Hard Disk Controller) จะอานขอมูลในบิตนั้นลงไปใน Ram และเมื่อคุณทําการบันทึก ขอมูล คอมพิวเตอรจะสงชุดของบิตไปยังฮารดดิสก และบันทึกดวยหัวเขียนกลายเปนประจุแมเหล็ก บนฮารดดิสก กลับมาเรื่องคอมพิวเตอรกันตอ ฮารดดิสกของคุณจะยังใชการไมไดจนกวาจะผานขั้นตอนการ Format และการทําพารตช ิ ั่น ขั้นแรก คือการ Format ทางกายภาพ หรือ Low-Level Format สวน ใหญผูผลิตจะทํามาใหแลว (สําหรับไดรวรุนเกาๆหรือไดรวแบบ SCSI นั้น จะมียูทิลิตี้ใรการทํา LowLevel Format สวน IDE จะไมมียูทิลิตี้ดังกลาว) การทํา Low-Level Format เปนการกําหนด โครงสรางฮารดดิสกใหเปนแทร็ก (Track) , เซ็กเตอร (Sector) , และไซลินเดอร (Cylinder) คุณจะ คุนเคยกับคําเหลานี้ถาคุณเปนคนชอบติดตั้งฮารดดิสก แทร็กมีลักษณะเหมือนรองบนแผนเสียง แตแทร็กแตละวงจรจะแยกจากกัน ไมไดเปนวงตอๆกัน เหมือนอยางบนแผนเสียง แทร็กจะถูกแบงออกเปนสวนๆเรียกวาเซ็กเตอร แตละเซ็กเตอรสามารถเก็บ ขอมูลไดมากมาย แตละแผนจานจะมีแทร็กและเซ็กเตอรเปนของตัวเอง แตละไซลินเดอรก็คือ กลุม แทร็กที่สัมพันธกัน ซึ่งก็คือแทร็กที่มีระยะหางจากแกนหมุนเทาๆกันนั่นเอง เราลองมานึกถึงภาพไซ ลินเดอรกัน สมมุติวามีแพนเคกวางซอนกันอยู และมีแกวน้ําจํานวนหนึ่ง ซึ่งแตละแกวมี เสนผาศูนยกลางไมเทากัน กดแกวแตละใบตรงกลางของกองแพนเคก ทําอยางนี้จนครบทุกแกว แพนแคกจะถูกแบงออกเปนวงๆตลอดทั้งกอง นั่นคือลักษณะของไซลินเดอร หลังจากทําการ Format ทางกายภาพแลว ฮารดดิสกจะถูกแบงออกเปนสวนๆ เรียกวา "พารติชั่น" แตละพารติชั่นคือการแบงกลุมไซลินเดอรที่อยูติดๆกัน และในระบบปฏิบัติการบางตัว เชน Linux คุณ สามารถระบุไดวาจะใหไซลินเดอรไหนอยูพารติชั่นใด จุดประสงคของการทําพารตอชันก็เพื่อชวย แบงสวนฮารดดิสก และทําใหสามารถ run ระบบปฏิบัติการไดหลายๆระบบบนเครื่องเดียว ซึ่งแตละ


228 ระบบปฏิบัติการจะสามารถทํางานไดดีที่สุดกับระบบไฟลของตน แตละพารติชั่นจะมีระบบไฟลืได เพียงอยางเดียวเทานั้น และในระบบไฟลก็จําเปนตองมีหลายพารติชั่นเพื่อลดการสูญเปลาของเนื้อที่ ซึ่งเราจะไดกลาวถึงเรื่องนี้ในลําดับตอไป แมวาเราจะทําการแบงพารติชั่นแลว แตละฮารดดิสกของคุณก็จะยังไมสามารถใชงานได และจะทํา ใหแตละพารติชั่นสามารถเก็บขอมูลได คุณจะตองทําการ Format ทางลอจิคอลเสียกอน ขณะที่การ Format ทางกายภาพ คือการกําหนดโครงสรางใหกับฮารดดิสกของคุณ การ Format ทางลอจิคอล จะเปนการแลกเปลี่ยนขอมูลกับระบบปฏิบัติการ โดยระบบปฏิบัติการจะกําหนดโครงสรางทางลอจิ คอล หรือระบบไฟลใหแกดิสก เมื่อคุณใชคําสั่ง Format บน DOS หรือเลือกเมนู Format ใน Windows Explorer นั่นหมายถึงคุณกําลังเริ่มตนทําการ Format ทางลอจิคอลใหกับแผนดิกสหรือ ฮารดดิสกของคุณ การ Format ทางลอจิคอล ก็คือ การใสระบบไฟลลงบนดิสก ระบบปฏิบัติการจะเปนตัวกําหนดวา ระบบไฟลแบบไหนที่จะใสลงบนดิสกของคุณ คุณไมสามารถเลือกเองได ระบบไฟลโดยทั่วๆไป สําหรับเครื่องที่ใช x86 ไดแก - FAT (File Allocation Table) เปนระบบไฟลมาตราฐานสําหรับ DOS และ Windows และดวยการที่ FAT เปนที่นิยมใชอยางกวางขวาง จึงสามารถใชรวมกับระบบปฏิบัติการอื่น เชน Linux , OS/2 และ ระบบปฏิบัติการอื่นๆอีกดวย - VFAT (Virtual File Allocation Table) เปนระบบไฟล FAT เวอรชันที่มีลักษณะเปน Protected Mode ซึ่งจะถูกใชโดย Windows 9x ระบบไฟลนี้จะคลายๆกับ FAT ตางกันตรงที่สามารรับชื่อไฟล ยาวๆได - NTFS (NT Files System) เปนระบบไฟลที่ถูกออกแบบมาเพื่อใชกับ WIndows NT โดยเฉพาะ แมวาคุณจะสามารถติดตัง้ Windows NT ในระบบไฟล FAT ได แตวา NTFS จะใหประสิทธิภาพที่ ดีกวาในดานระบบความปลอดภัยในการเขาถึงไฟลมากกวา และเสียเนื้อที่นอยกวา - HPFS (High Performance File System) เปนระบบไฟลที่ออกแบบมาเพื่อใชกับ OS/2 ซึ่ง HPFS ก็เหมือนกับ NTFS ที่จะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดี , มีความเชื่อถือไดของขอมูล มีประสิทธิภาพ และความเร็วสูงกวา FAT - FAT32 (32-bit File Allocation System) ระบบไฟลแบบนี้จะอยูใน Windows95 OSR2 ในเวอรชัน ที่มีการติดตั้งจากผูผลิต และ WIndows98 , FAT32 จัดขอจํากัดของ FAT หลายประการออกไป แต ระบบไฟลนี้จะไมสามารถใชกับระบบปฏิบัติการอื่นนอกจาก Windows95 OSR2 , Windows98 หลังจากทําการ Format ทางลอจิคอลแลวพารตอชันจะถูกเรียกวา Volume และจะดีมากหากคุณทํา การตั้งชื่อใหกับพารติชั่นซึ่งสามารถทําไดโดยผานทางคําสั่ง LABEL บน DOS หรือใช Windows Explorer การตั้งชื่อจะทําใหจําไดงายขึ้นเวลาคุณใชซอฟทแวร อยางเชน FDISK ซึ่งจะลดความผิด พลาดในการลบไฟลผิดพารติชัน จุดประสงคในการแบงพารติชั่น 1. เพื่อทําใหฮารดดิสกสามารถ Boot ดวยตัวเองได เรียกวา การ Set Active Partition 2. เพิ่มจํานวนไดรฟใหมากขึ้น เพื่อตองการเก็บขอมูลที่สําคัญไวเปนสัดสวน 3. ลดขนาดของฮารดดิสกใหเล็กลง เพื่อนําฮารดดิสกที่มีขนาดใหญไปใชกับเครื่องรุนเกาได ความหมายของแฟต (FAT) Cluster หรือ Sector ของฮารดดิสกที่ใชบันทึกขอมูลแบงไดเปน2ขนาดคือ 1.ขนาด FAT 16 (File Allocation Table) มีความเร็วในการทํางาน 16 bit จะเปนการแบงฮารดดิสก ขนาดความจุตั้งแต 16 เม็กกะไบตจนถึง 2.1 กิกะไบต และตองใช DOS 6.22 , WIN 95 ในการแบง


229 พารติชั่น 2.ขนาด FAT 32 (File Allocation Table) มีความเร็วในการทํางาน 32 bit จะเปนการแบงฮารดดิสก ขนาดความจุตั้งแต 512 เม็กกะไบตขน ึ้ ไปและตองใช WIN 95 OSR 2 , WIN 98 ในการแบงพาร ติชั่น ตารางเปรียบเทียบขนาดพารติชั่น FAT 16 FAT 32 ขนาด KB/ Cluster ขนาด KB/ Cluster 16 - 127 MB 2 มองไมเห็น 128 - 225 MB 4 มองไมเห็น 226 - 511 MB 8 มองไมเห็น 512 - 1,023 MB 16 4 1,024 - 2,048 MB 32 4 2,049 MB - 8 GB มองไมเห็น 4 8 - 16 GB มองไมเห็น 8 ขนาดฮารดดิสก

สวนของพารติชั่นที่จะตองสราง 1. Primary Partition 2. Extend Partition 3. Logical Partition Primary Partition คือไดรฟแรกที่สรางขึ้นมาสําหรับ Boot เครื่องและทํางานหลัก Extend Partition คือสวนขยาย หมายถึงเมื่อสราง Primary แลว ก็ใหสราง Extend เปนพื้นที่เตรียม แบงเปนไดรฟยอย Logical Partition คือสวนที่แบงจาก Extend สามารถแบงได D - Z แลวแตความตองการ ตัวอยางเชน 100% = 100 MB 20% เปน Primary 80% เปน Extend C Extend Logical Primary 80 MB. D 20 MB. 20 MB. E 20 MB. F 20 MB. G 20 MB. หลังจากนั้นจึงเอา 80% มาแบงเปน Logical โดยแบงไดตั้งแตไดรฟละ1 เปอรเซ็นตขึ้นไปแตถาจะ สรางเพียง 2 ไดรฟคือไดรฟ C และไดรฟ D สวนที่เปน Extend ทั้งหมด ก็จะถูกเลือกเปน Logical คือไดรฟ D อนึ่งถาจะสรางเพียงไดรฟเดียวคือไดรฟ C ก็ไมตองแบงอะไรทั้งสิ้น สวนที่เปน Extend และ Logical ก็ไมตองสรางเพียงเลือกการสรางเปน Primary ทั้งหมดในการสรางครั้งแรก แลวก็ Set Active พารติชั่นเทานั้น ก็ออกไป Format แลวลงโปรแกรมไดเลย รูปแบบการแบง หลังจากที่ใชคําสั่ง FDISKแลว จะมีรายการใหเลือก 4 รายการคือ 1. Create Partition การสราง Partition 2. Active Partition ทําใหฮารดดิสก Boot ดวยตัวเองได)


230 3. Delete Partition การลบ Partition 4. Display Partition การตรวจสอบจํานวนไดรฟที่สรางแลว หมายเหตุ ในการตอฮารดดิสกมากกวา 2 ตัวขึ้นไปเมื่อใชคําสั่ง FDISK จะมีรายการที่ 5 เพิ่มมาอีก โดยรายการ ที่ 5 นี้ใหทําการเลือกการแบงวาจะแบงพารติชั่นของฮารดดิสกตัวไหน

โปรแกรมที่ใชแบงพารติชั่น 1. โปรแกรม FDISK ซึ่งอยูในแผนที่ 1 ของ DOS 6.22 , แผนSTARTUP 95 และ STARTUP 98


231 2. โปรแกรม Partition Magic ที่ติดตั้งบนวินโดวสใชแบงบนวินโดวสและยังสามารถทําใส แผน Diskette นํามาใชบน DOS ไดดวย และที่พิเศษคือแบงแลวขอมูลไมเสียหาย 3. โปรแกรม MAXTOR ซึ่งติดมากับฮารดดิสกยห ี่ อ MAXTOR ก็สามารถแบงพารติชั่นได แต MAXTOR จะใชไดกับฮารดดิสกบางยี่หอบางขนาดเทานั้น ขั้นตอนการสรางพารติชั่น 1. ใหใสแผนดอสในไดรฟ A แลว Boot เครื่องจะพบเครื่องหมายA:\> 2. ใหพิมพคําสั่ง FDISK แลวกด Enter ตัวอยาง A:\>FDISK จะพบหนาตางซึ่งเปนรายการหลักของโปรแกรม FDISK ดังนี้ 1. Create Primary Partition การสรางไดรฟที่จะใชเปนงานหลักในการ Boot เครื่อง 2. Set Active Partition การกําหนดใหไดรฟที่สรางพารติชั่นแลวสามารถ Boot ได 3. Delete Partition การลบพารติชั่นที่ไมตองการ 4. Display Partition การตรวจสอบพารติชั่นที่สรางแลววาถูกตองหรือไม ใหเลือกหัวขอการสรางคือหมายเลข 1 แลวกด Enter หลังจากนั้นจะพบรายการยอยของหัวขอที่ 1 อีกขอดังนี้ 1. Create Primary Partition การสรางไดรฟ C เพื่อทํางานหลัก 2. Create Extend Partition การกําหนดเนื้อที่ของดิสกที่เหลือจากการสรางไดรฟ C แลว 3. Create Logical Partition การนําสวนที่เหลือดังกลาวมาแบงเปนไดรฟยอย

ใหเลือกขอที่ 1 คือการสราง Primary กอน แลวกด Enter หลังจากนั้นเครื่องจะถามวา จะเลือกทั้งหมดฮารดดิสกเปนพารติชั่นเดียวหรือไม (Y/N) ถากด Y ก็ หมายถึงจะเอาตามนั้นแลวเครื่องจะจัดการสรางให แตถากด N หมายถึง เราจะแบงเอง ในที่นี้ก็ใหกด N แลวกด Enter เพราะเราจะแบงเอง ขอสังเกต ถาใชแผนSTARTUP 98 Boot เครื่อง แลวพิมพคําสั่ง FDISK จะปรากฏ Y 2 ครั้งคือ Y ครั้งแรก จะเปนการถามวาจะใชเนื้อฮารดดิสกขนาดใหญสุดหรือไม ใหกด Y แลวกด Enter


232

Y ครั้งที่ 2 จะถามวาจะใชเนื้อที่ทั้งหมดเปนไดรฟ C หรือไม ใหกด N แลวกด Enter

หลังจากนั้นจะปรากฏหมายเลขบอกจํานวนเนื้อที่ของฮารดดิสกและเปอรเซ็นต 100% ถาประสงคทํา เปนไดรฟ C เพียงไดรฟเดียวก็กด Enter ไปเลย แลวกลับไปรายการหลัก Set Active Partition ออก จากโปรแกรม FDISK Format ฮารดดิสกก็ลงโปรแกรมไดเลย แตในกรณีที่จะแบงเปนไดรฟอื่นอีกก็ใหพิมพระบุตัวเลขที่จะทําเปนไดรฟ C ในชองเลขบอกจํานวนจะ พิมพเปนเปอรเซ็นตหรือจะพิมพเปนจํานวนเม็กกะไบตก็ไดถาเปนจํานวนเม็กกะไบตก็ไมตองพิมพ %


233 ในที่นี้สมมติวาฮารดดิสก 520 MB จะเปนไดรฟ C เพียง 50 เปอรเซ็นต ใหพิมพ 50% ในชองจํานวน เลขของฮารดดิสกดังนี้ (520) (50%) โดยพิมพทับเลข 520 เลยแลวกด Enter หลังจากนั้นจะได ไดรฟ C มา ใหกดปุม ESC เพื่อกลับไปรายการหลัก

1. Create Primary Partition


234 2. Set Active Partition 3. Delete Partition 4. Display Partition ตอไปใหกดเลข 1 แลวกด Enter เพื่อเลือกรายการสรางอีกครั้งแลวจะปรากฏรายการยอยของหัวขอ การสรางดังนี้ 1. Create Primary Partition 2. Create Extend Partition 3. Create Logical Partition ใหกดเลข 2 แลว Enter เพื่อเลือกรายการสราง Extend หลังจากนั้นจะปรากฏจํานวนของ Extend ทั้งหมด 50% คือ สวนที่เหลือจากการสราง Primary นั้นเอง ใหเลือกทั้งหมด โดยปุม Enter เลย ก็ เสร็จการสราง Extend


235

ตอไปเตรียมการสราง Logical โดยกดปุม ESC 1 ครั้งหลังจากนั้นจะปรากฏขอความวา No Logical Drive Partition หมายถึงวาขณะนี้ยังไมมีไดรฟอื่นนอกจาก C จะสรางไดรฟอื่นอีกหรือไม ถาจะทํา ทั้งหมดเปนไดรฟ D ก็กด Enter ไปเลย สวนที่เหลือทั้งหมดก็จะเปนไดรฟ D แตในที่นี้ใหฝกแบง หลาย ๆ ไดรฟใหพิมพจํานวนเลขที่จะสรางเปน Logical คือ D , E , F , G แลวแตความตองการ โดย จะพิมพเปนจํานวนเมกกะไบต หรือ % ก็ไดที่เหลือสุดทายถาจะพอแลวก็ใหกด Enter เลยเพียง เทานี้เราก็จะไดไดรฟมาเปนจํานวนที่เราตองการ


236

เมื่อเสร็จสิ้นการแบงไดรฟยอยแลว ใหกดปุม ESC 2 ครั้ง เพื่อกลับไปรายการหลักดังนี้ 1. Create Primary Partition 2. Set Active Partition 3. Delete Partition 4. Display Partition ตอไปใหทําการเซ็ต Active Partition เพื่อกําหนดใหไดรฟที่จะทํางานเปนหลักโดยเลือกหัวขอที่ 2 แลวกด Enter หลังจากนั้นเครื่องจะถามวาจะเอาไดรฟใดเปนไดรฟทํางานหลัก ใหพิมพเลข 1 ใน วงเล็บ (1) แลวกด Enter หมายถึงไดรฟ C นั้นเอง หลังจากนั้นจะมีอักษร A ปรากฏใตคําวา STATUS หมายถึงการระบุใหไดรฟทํางานเสร็จสิ้นแลว ก็ใหกดปุม ECS 3 ครั้งออกจากโปรแกรม FDISK ไป Format ลงในโปรแกรมไดเลย ขั้นตอนการลบ Partition ถามีขอมูลสําคัญให Copy ขอมูลไวกอน เพราะการลบพารติชั่นขอมูลจะถูกลบทั้งหมดหลังจากนั้นจึง ทําการลบตามขั้นตอนนี้ 1. Create Primary Partition 2. Set Active Partition 3. Delete Partition 4. Display Partition เมื่ออยูที่รายการหลักใหเลือกหัวขอที่ 3 แลวกด Enter หลังจากนั้นจะปรากฏหัวขอยอยของขอที่ 3 ดังนี้อีก 4 ขอดังนี้ 1. Delete Primary 2. Delete Extend 3. Delete Logical 4. Delete Non DOS


237

ใหเลือกเลข 3 แลวกด Enter คือลบ Logical กอนหลังจากนั้นจะปรากฏวงเล็บพรอมทั้งแสง Cursor กระพริบอยูใหพิมพชื่อไดรฟที่จะลบในชองวงเล็บเชน (D) แลว Enter เครื่องจะถามวามีชื่อไดรฟ หรือไมถามีใหพิมพชื่อไดรฟถาไมมีใหกด Enter เลย แลวกด Y กด Enter ลบไปเรื่อย ๆ จนหมดทุก ไดรฟ หลังจากนั้นกด ESC กลับมาที่รายการหลักอีกครั้งดังนี้ 1. Create Primary Partition 2. Set Active Partition 3. Delete Partition 4. Display Partition ใหเลือกหัวขอที่ 3 แลวกด Enter หลังจากนั้นจะปรากฏหัวขอยอยของขอที่ 3 ดังนี้อีก 4 ขออีกครั้ง 1. Delete Primary 2. Delete Extend 3. Delete Logical 4. Delete Non DOS ใหเลือกเลข 2 แลวกด Enter คือลบ Extend หลังจากนั้นจะปรากฏวงเล็บพรอมทั้งแสง Cursor กระพริบอยู ใหกด Y แลว Enter หลังจากนั้นกด ESC กลับมาที่รายการหลักอีกครั้งดังนี้ 1. Create Primary Partition 2. Set Active Partition 3. Delete Partition 4. Display Partition


238 ใหเลือกหัวขอที่ 3 แลวกด Enter หลังจากนั้นจะปรากฏหัวขอยอยของขอที่ 3 ดังนี้อีก 4 ขออีกครั้ง 1. Delete Primary 2. Delete Extend 3. Delete Logical 4. Delete Non DOS ใหเลือกเลข 1 แลวกด Enter คือลบ Primary หลังจากนั้นจะปรากฏวงเล็บพรอมทั้งแสง Cursor กระพริบอยู ใหกด Y แลว Enter


239

ลําดับการลบ 1. ใหทําการลบ Logical ใหหมดกอน โดยลบทีละไดรฟ 2. ใหลบ Extend 3. ใหลบ Primaryเปนลําดับสุดทาย หมายเหตุ ขอที่ 4 มีไวสําหรับลบไดรฟที่เครื่องไมรูจักคือ NON DOS ถาฮารดดิสกเปน NON DOS จะไม สามารถทําอะไรกับฮารดดิสกไดเลย จะแบงพารติชั่น จะ Format จะลบพารติชั่นจะทําอะไรไมได ทั้งสิ้น จะตองลบ NON DOS ออกกอนจึงทําอยางอื่นตอไปไดและการที่จะรูฮารดดิสกเปน NON DOS เมื่อเขารายการหลักของ FDISK ใหกดเลข 4 แลวกด Enter ใหสังเกตใตคําวา TYPE จะมีคําวา NON DOS ปรากฏอยู การใชแผนสราง Partition ถาใชแผน DOS 6.22 สราง จะเปน FAT16 ถาใชแผน STARTUP 95 สราง จะเปน FAT16 ถาใชแผน STARTUP 98 สราง จะเปน FAT32 หมายเหตุ ถาใชโปรแกรม Partition Magic ในการแบง จะสามารถเลือกไดวาจะเก็บขอมูลเดิมไว หรือไมเก็บ และสามารถเลือก FAT ไดวา จะใช FAT16 หรือ FAT32 สามารถใช Mouseไดในขณะแบงและจะไม มีปญหากับฮารดดิสกขนาดใหญแตโปรแกรมนอกจากนี้เมื่อแบงแลวขอมูลจะสูญหายหมดและมักจะ ติดปญหากับฮารดดิสกขนาดใหญเชนเห็นจํานวนฮารดดิสกไมครบบาง เปนตน ขอควรระวัง การแบงพารติชั่นเกิน 6 ครั้งและ Format ทุกครั้ง ฮารดดิสกอาจจะเสียหายเพราะจะ เปนรอยที่เคย แบง แตถาแบงแลวไม Format การเสี่ยงก็นอยแตไมจําเปนไมควรแบงพารติชั่นบอยแบงเพียงครั้ง แรกที่ประกอบเครื่องเสร็จและลงโปรแกรมก็พอหลังจากนั้นถาเครื่องมีปญหาจะลงโปรแกรมใหมเพียง Format ฮารดดิสกอยางเดียวก็พอ


240

การ Format ฮารดดิสก หลังการทํา Partition HDD แลว จะตองทําการ Format ฮารดดิสก กอนที่จะติดตั้ง OS เชน Windows โดยในการ Format ฮารดดิสก สามารถกําหนดการใชงานระบบ FAT ได 2 รูปแบบคือ 1. ระบบ FAT 16 แนะนําใหใชแผนบูต DOS 6.22 เหมาะสําหรับการลงโปรแกรม Windows 3.11 , 95 , 98 หรือ Windows NT 2. ระบบ FAT 32 แนะนําใหใชแผน Startup Windows 98 เหมาะสําหรับการลงโปรแกรม Windows 98, Windows 2000 , Windows ME

3. การ Format ฮารดดิสก ใหพารทิชั่นแรกสามารถบูตเครื่องไดใหใชคําสั่ง C:\>format C:/s/c/u คําสั่ง /s หมายถึง ใหติดตั้ง Sysytem Files เพื่อบูตเครื่องได คําสั่ง /c หมายถึง การตรวจสอบฮารดดิสกแบบ Complete เพื่อหาตําแหนงเนื้อที่ที่เสียหาย (Bad Sector) คําสั่ง /u หมายถึง ไมตองการกูสิ่งใดกลับคืนหลังการ Format แลว การ Format ฮารดดิสกจะมีการถามยืนยันวา คุณกําลัง Format ฮารดดิสก ขอมูลจะสูญหาย จะทํา ตอหรือไม ตอบ Y เพื่อทําการ Format 4. หลังจาก Format เสร็จสิ้นแลวใหใส Volume Label (ชื่อฮารดดิสกใสได 11 ตัวอักษร) ถาไม ตองการให Enter ผานไป หลังจากนั้นสามารถติดตั้ง Windos และ โปรแกรมใชงาน ตามตองการ ตอไป


241

การติดตั้ง Windows หลังจาก Format ฮารดดิสก นั้น เริ่มจากการทําใหคอมพิวเตอรติดตอกับ CdRom ได โดยการใชแผน Startup Windows 98 Boot แลวเลือกขอ 1 หรือ Setup Driver ของ CdRom จากแผน Driver ของ Cd-Rom ลงในฮารดดิสกโดยตรง แลว Restart เครื่องใหมเพื่อลง Windows จากแผน CD ติดตั้งของ Windows ตอไป การคํานวณเนื้อที่ความจุของฮารดดิสก สูตรการคํานวณคือ ความจุฮารดดดิสก = จํานวนหัวอาน x จํานวนเซ็คเตอรในหนึ่งไซลินเดอร x จํานวนไบตในหนึ่งเซ็ค เตอร x จํานวนไซลินเดอร ความจุในหนึ่งไซลินเดอร = จํานวนหัวอาน x จํานวนเซ็คเตอรในหนึ่งไซลินเดอร x จํานวนไบตใน หนึ่งเซ็คเตอร ตัวอยางเชนฮารดดิสกที่มีหัวอาน 4 หัว มี 615 ไซลินเดอรๆละ 17 เซ็คเตอรๆละ 0.5 กิโลไบต(512 ไบต) จะได ความจุฮารดดิสก = 4 x 17 x 0.5 x 615 = 20,910 KB หรือ 20 MB ความจุในหนึ่งไซลินเดอร = 4 x 17 x 0.5 = 34 KB คราวนี้คุณก็สามารถกําหนดขนาดของความจุของแตละพารทิชั่นจากการกําหนดจํานวนไซลินเดอรได ตัวอยางเชน ถาใหพารทช ิ ั่นมีจํานวน 200 Cylinders ก็จะมีขนาด 6,800 KB เปนตน สําหรับ ฮารดดิสกของคุณจะมีจํานวนหัวอาน, จํานวนไซลินเดอร, จํานวนเซ็คเตอรในหนึ่งไซลินเดอร และ จํานวนไบตในหนึ่งเซ็คเตอรเปนเทาใด ใหตรวจสอบจากผูขาย หรือเอกสารที่แนบมากับฮารดดิสก

หลายๆทานคงจะไดยินการปรับคา CAS Latency ของแรมใหเปน 2หรือ3 นะครับ แลวมันคืออะไร ? ผม ขออธิบายสั้นๆแลวกันนะครับ คาตัวนีจ ้ ะเปนคาของเวลาที่แรมจะทําการหนวงขอมูลแลวสงตอไป ยัง chip


242 set โดยถาคายิง่ ต่ําแรม มันก็จะสงขอมูลไดเร็วขึ้น แตถาคาสูงมันจะหนวงขอมูลไวแลวคอยสงครับ ผลที่ ตามมาก็คือ การะประมวลผลของระบบก็จะชาไปดวย จะเห็นวานักเลนคอมหลายๆทานจะแนะนําใหปรับ เปน CL 2 หรือ 2-2-2 นั่นเอง แต ปกติที่ตัว m/b จะ set มาที่ 3-3-3 โดยทัง้ นี้ขึ้นอยูกับ ชนิดและคุณภาพ แรมที่ใชดวยนะครับ วาจะรันที่ cas 2 ไดหรือเปลา เพราะแรมบางตัวนั้นสามารถรันไดเพียงที่ bus 100 cas 3 เทานั้น แตพอปรับเปน cas 2 อาจจะทําใหเครื่อง boot ไมขึ้นหรือ มี error ได แตถา แรมตัวไหนรับ ไดก็จะทําให performance ในสวนของแรมเพิ่มขึ้น 5-10% ทีเดียวครับ โดยผมจะทดสอบแรมสองตัวที่ มีคา CL ตางกัน

ที่เห็นในรูปจะเปนแรมของ micron pc133 โดยตัวบนจะเปน CL 3(3-3-3) ตัวลางจะเปน CL 2 (2-2-2)


243

ดานซายนี้จะเปน pc133 CL3 ตัวแรมจะเขียน -7.5 ตัวนี้จะเปน CL 2จะเขียน -7e = 7ns ซึ่งสามารถรับ ns นะครับ bus ไดสูงกวา 7.5 แนนอน คราวนี้มาถึง system ที่ใชทดสอบ m/b asus p3b-f cpu PIII500e Hd IBM dpta 20.5G vga dimond viper 550 tnt1 8m sdram แรม micron pc133 CL 2 128M ในการทดสอบผมได overclock 500e ไปที่ 750 MHZ โดยปรับ fsb ที่ 150 ซึ่งที่ fsb ขนาดนี้ จะมีแรม ไมกี่ยี่หอทีร่ ันที่ CL 2 ได โดยในสวนอง micron เอง ในรุน pc133CL 3 นี้ไมสามารถรันที่ 150 CL2 ได เลย ผมจึงจัดเอาเฉพาะ pc133 cl2 มาทดสอบครับ โดยปรับใน ไบออสตามรูป

มาถึงการปรับ หลายๆทานคงจะสงสัยวาปรับยังไง ใหเขาไปที่ไบออส หัวขอ chip set configration นะครับ

ครับจะมีตัวเลข 3-4ตัวที่เกียวของ และตรงทีเ่ ห็นผลมากสุดคงเปน CAS Latency นี่ละครับ รูปนี้ปรับแบบ ปกติ 3-3-3 ครับ


244

สวนอันนี้จะเปนการปรับแบบ CL2 นะครับ โดยจะเห็นวาหัวขอ sdram wait state ผมจะปรับเปน fast ดวย ตรงนี้เทาปรับวาผมปรับใหแรมแทบไมตองรอการหนวงขอมูลเลย ยังไงลองดูผลเปรียบเทียบดูนะครับ

ผลจาก sisolf 2000 ในสวนของ memory bencmark ที่ bus 150 CL3 และ sdram wait stage " normal "


245

นี่ก็เปนผลที่ bus 150 CL2 sdram wait stage normal จะเห็นวา performance เพิ่มมากทีเดียว


246

สุดทายนี้เปนผลที่ bus 150 CL2 saram wait stage "FAST" ครับ ก็เรียบวาปรับ แบบสุดๆเลยทีเดียว ยิ่ง bus สูงขนาดนี้ ที่ผมใช bus 150 เพื่อตองการใหเห็นความแตกตางชัดเจนนะครับ เพราะเมื่อ fsb ต่ําลง ความแตกตางจะลดเปนอัตราสวนตามตัวครับ สวนทานใดสนใจแรม micron pc133 CL3 นี้ก็หาไดทวั่ ไปตามพันทิพย เชน busitek itec persolf เฟมมัส ครับ แตถาใครสนใจ micron pc133 cl 2 นี่ผมเห็นมีขายที่ save way ครับ สนนราคาก็ตองเจรจากันเอา เองนะครับ

BIOS (Basic Input/Output System) คือ Chip ROM (EPROM : Erasable Programmable Read-Only Memory) Bios เปนโปรแกรมที่ทําหนาที่ควบคุมฮารดแวรในการ Boot คอมพิวเตอร โดยทุกครั้งเมื่อ เราเปลี่ยนเครื่องอาน ขอมูล ไมวา Floppy Disk Drive , Hard Disk Drive และ Cd-Rom Drive โดยเฉพาะ ฮารดดิสก เมื่อตอเพิ่มหรือ ถอดออก จะตองบอกให Bios รับรูเพื่อใชเปนขอมูลในการ Boot เครื่อง เพื่อเขาสูโปรแกรม Windows หรือ OS ตอไป


247

BIOS (Basic Input/Output System) CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor) ขั้นตอนการทํางานของ BIOS ขั้นที่ 1 เมื่อเปดเครื่อง BIOS จะตรวจสอบอุปกรณพื้นฐานที่จําเปนตอการใชงาน เชน คีบอรด, ดิสกไดรฟ, จอภาพ, หนวยความจํา ฯลฯ หากมีอุปกรณใดอุปกรณหนึ่งทํางานไมถูกตอง จะแจงขอผิดพลาดให ทราบทั้งในลักษณะขอความ (หากจอภาพทํางานได) และเสียง beep หากจอภาพทํางานไมได ขั้นที่ 2 โหลดคากําหนดเกี่ยวกับอุปกรณตางๆขึ้นมาใชงาน โดยคาตางๆเหลานี้จะถูกเก็บไวใน CMOS ซึ่ง ผูใชสามารถเปลี่ยนแปลงไดโดยผาน SETUP ขั้นที่ 3 โหลดระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งไวในดิสกขึ้นมาทํางาน ขั้นที่ 4 เมื่อระบบปฏิบัติการเริ่มทํางาน นั่นคือคอมพิวเตอรเครื่องนั้นจะอยูในสภาพที่พรอมสําหรับการใช งานแลว สวน BIOS จะทําหนาที่ใหบริการตางๆตอระบบการปฏิบัติการอยูเบื้องหลัง เชน การอานเขียนขอมูลจากดิสก, เปดจอภาพเมื่อผูใชไมไดใชงานเปนเวลานานๆ ฯลฯ ขั้นที่ 5 มื่อตองการปดเครื่อง BIOS จะปดการทํางานของอุปกรณตางๆทั้งหมดรวมถึงตัดกระแสไฟที่จายให power supply ดวย คากําหนดตางๆที่เก็บไวใน CMOS จะไมหายไป เมื่อผูใชเปดเครื่องขึ้นมาใหม เมื่อเปดเครื่องคอมพิวเตอร BIOS จะเขาสูขั้นตอนที่เรียกวา POST (Power-On Self Test) ซึ่งเปนการตรวจ สอบอุปกรณตางๆที่มีในคอมพิวเตอรเครื่องนั้นเอง สาเหตุที่ตอง ตรวจสอบกอนก็เพราะ คอมพิวเตอรแตละ เครื่องจะมี อุปกรณไมเหมือนกัน อีกทั้งผูใชยังสามารถเปลี่ยนแปลงอุปกรณเหลานี้ไดโดยอิสระอีกดวย ดังนั้นยอม เปนการดี ที่จะมาตรวจ สอบกันกอนเริ่มตนทํางาน ในกรณีที่เจอขอผิดพลาด ก็บังสามารถรายงานใหผูใชทราบ และแกไขไดอยางถูกตอง ขั้นตอนการทํางานของ POST การ POST คือการทํางานของ BIOS ขณะเริ่มตนระบบ ซึ่งพอสรุปขั้นตอนไดดังนี้ ขั้นที่ 1 แสดงขอความเริ่มตนของการดแสดงผล ซึ่งปกติจะขึ้นอยูกับชนิดของการดแสดงผลที่ติดตั้งอยูใน คอมพิวเตอรนั้นๆ โดยอาจแสดงชื่อบริษัท-โลโกของผูผลิต, ชื่อรุน, ขนาดของหนวยความจํา ฯลฯ หรือในบางรุน อาจไมแสดง ขอความ ใดๆในขั้นตอนนี้เลยก็ได


248 ขั้นที่ 2 แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ BIOS รวมถึงหมายเลขอางอิงสําหรับผูผลิตเมนบอรดและขอความอื่นๆ จากภาพที่ 2-2 เปน BIOS ของ Award บนเมนบอรดซึ่งใชชิปเซ็ต Intel 430HX ขั้นที่ 3 ตรวจสอบและนับจํานวนหนายความจํา รวมทั้งเริ่มการทํางานของอุปกรณประเภทดิสกไดรฟ ขั้นที่ 4 เมื่อสิ้นสุดการทํางานของ POST แลว บนหนาจอจะแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับฮารดแวรพื้นฐาน ทั้งหมด จากนั้นจึง โหลดระบบปฏิบัติการ จากดิสกที่กําหนด (ผานทาง SETUP) มาทํางานตอไป

การ Set Bios โดยปกติแลว เราไมจําเปนตองทําการเปลี่ยนแปลงคาตาง ๆ ใน BIOS บอยนัก ยกเวนเมื่อเรา ตองการ เปลี่ยนแปลง การตั้งคาตาง ๆ หรือเมื่อมีการเปลี่ยน อุปกรณใหม ๆ เชน CPU, RAM หรือ Hard Disk เปนตน การเขาสู BIOS Setup Mode สําหรับวิธีการที่จะเขาไปตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS ไดนั้น จะขึ้นอยูกับระบบของ แตละเครื่องดวย โดยปกติเมื่อเราทําการเปดสวิทชไฟของเครื่องคอมพิวเตอร BIOS ก็จะเริ่มทํางานโดยทําการทดสอบอุปกรณตาง ๆ กอนที่จะเรียกใชงานระบบ DOS จากแผน Floppy Disk หรือ Hard Disk ในชวงนี้จะเปนชวงที่เราสามารถเขา ไปทําการแกไขเปลี่ยนแปลงการตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS ไดโดยกด Key ตาง ๆ เชน DEL, ESC CTRL-ESC, CTRL-ALT-ESC ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวาแตละเครื่อง จะตั้งไวอยางไร สวนใหญ จะมีขอความบอกเชน "Press DEL Key to Enter BIOS Setup" เปนตน วิธีการ Clear/Reset Password ของ BIOS โดยปกติแลว หากคุณใชเครื่องคอมพิวเตอรคนเดียว ก็คงไมมีความจําเปนตองตั้ง Password สําหรับ เขาไป Setup BIOS หรือเปดเครื่อง แตถาหากไดเคยตั้งไวแลวลืม หรือไดเมนบอรดมาโดยที่มีการตั้ง Password ไวและไมรูวาใช Password อะไร ก็มีวิธีการที่จะ Reset หรือ Clere Password ซึ่งอาจจะตองลองหลาย ๆ วิธีดูนะครับเทาที่ผมไดรวบรวมมาดังนี้ 1. ลองใช Password แบบ Case Sensitive คือแบบที่นาจะเปน 2. ทําการ Reset โดยการ Clear CMOS ดังนี้ • มองหา jumper สําหรับ Reset CMOS กอนโดยดูจากคูมือ หรืออาจจะมองหา jumper ใกล ๆ กับแบตเตอรี่ของ CMOS ก็ได สวนใหญจะมีลักษณะเปน jumper 3 ขา • วิธีการ Reset คือทําการ jump ใหตรงขามกับปกติ คือถาหากเดิมมีการ jump อยูที่ 1-2 ก็เปลี่ยนมาเปน 2-3 หรือถาปกติ jump อยูที่ 2-3 อยูแลวก็เปลี่ยนเปน 1-2 • จากนั้นเปดเครื่องคอมพิวเตอร ทิ้งไวสัก 5-10 วินาที ปดเครื่องคอมพิวเตอร • เปลี่ยน jumper กลับมาที่เดิม Password จะถูก Reset


249 3. ทําการถอดแบตเตอรี่ของ CMOS ออก ถาหากไมสามารถหา jumper สําหรับ Reset CMOS ไดอาจจะมีอีกวิธี คือทําการถอดแบตเตอรี่ของ CMOS ออกสัก 5 นาทีแลวก็ใสเขาไปใหม จะเปนการตั้งคาทุกอยางของ BIOS กลับไปเปน Default ได แตเมนบอรดบางรุน จะยังมี Password อยูโดยจะเปน Default Password ตามดานบนนะครับ หลังจากใสแบตเตอรี่แลวก็ถายังถาม Password อีกใหลองใส Default Password ขางบนดู การ Set BIOS สําหรับตัวอยางตอไปนี้นํามาใหดูแบบทั่ว ๆ ไปของ BIOS ซึ่งสวนใหญก็จะคลาย ๆ กัน เริ่มจากหลังจากที่กด DEL หรือ Key อื่น ๆ ขณะเปดเครื่องเพื่อเขาสู BIOS Setup Mode โดยปกติแลว ถาหากเปนการตั้งคาครั้งแรก หลังจากที่ทําการ Reset CMOS แลว ก็เลือกที่เมนู Load BIOS Default Setup หรือ Load BIOS Optimal-performance เพื่อเลือกการตั้งคาแบบกลาง ๆ ของอุปกรณทั่วไปกอน จากนั้นจึงมาทําการเลือกแกไขเปลี่ยนแปลงแตละคา ตามเมนูตอไปนี้เลยครับ

Standard CMOS Setup Date และ Time ใส วันที่ และ เวลา ปจจุบัน Hard Disk กําหนดขนาดของ HDD (Hard Disk) วามีขนาดเทาไร โดยเลือกตั้งคาเอง แบบ User, แบบ อัตโนมัติ Auto หรือไมไดติดตั้งก็เลือกที่ None Primary / Master อุปกรณที่ตอกับ IDE แรก แบบ Master (1 IDE จะตอ HDD หรือ CD-ROM ได 2 ตัว) Primary / Slave อุปกรณที่ตอกับ IDE แรก แบบ Slave Secondary / Master อุปกรณที่ตอกับ IDE ที่สอง แบบ Master Secondary / Slave อุปกรณที่ตอกับ IDE ที่สอง แบบ Slave ซึ่งจะตองกําหนด Cyls (cylinders) Heads, Sectors และ Mode สําหรับ Mode มีดังนี้ - Auto BIOS จะทําการตรวจสอบและตั้ง Mode ของ HDD อัตโนมัติ - Normal สําหรับ HDD ที่มี clys,heads,sectors ไมเกิน 1024,16,63 หรือขนาดไมเกิน 528M. - Large สําหรับ HDD ที่มี cyls มากกวา 1024 แตไม support LBA Mode - LBA Logical Block Addressing สําหรับ HDD ใหม ๆ จะมีการสงขอมูลที่เร็วกวา (สําหรับ HDD ถาหากทราบคาที่แนนอนใหใสเปน User แตถาไมแนใจ ใหตั้ง Auto ไว) Drive A: B: ชนิดของ Diskette Drives ที่ติดตั้งใชงาน 360K, 720K, 1.2M หรือ 1.44M Video ชนิดของจอแสดงภาพ (ปกติจะเปน EGA/VGA) Halt On กําหนดการ Stop หากพบ Error ขณะที่ POST (Power-On Seft Test) - All errors การ POST จะหยุดและแสดง prompts ใหเลือกการทํางานตอไปทุก Error


250 - All, But Key การ POST จะไมหยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error - All, But Disk การ POST จะไมหยุดกรณีของการเกิด Diskette Drive Error - All, But Disk/Key การ POST จะไมหยุดกรณีของการเกิด Keyboard Error หรือ Diskette Base Memory โดยปกติจะเปน 640K สําหรับ DOS Extended คือ Memory ในสวนที่สูงกวา 1M ขึ้นไป Other Memory หมายถึงสวนของระหวาง 640K ถึง 1M

BIOS Features Setup Virus Warning การเตือนเมื่อมีการเขียนขอมูลทับ Boot Record ของ HDD [Enabled] CPU Int / Ext cache การใชงาน CPU Internal / External Cache [Enabled] Quick Power On Seft Test การทํา POST แบบเร็ว [Enabled] Boot Sequence เลือกลําดับของการบูทเชนจาก C:, A: หรือ IDE-0, IDE-1 [C: A:] Swap Floppy Disk กําหนดการสลับตําแหนง Drive A: เปน Drive B: [Disabled] Boot Up Floppy Seek การตรวจสอบชนิดของ Disk Drive วาเปนแบบใด [Disabled] Boot Up NumLock Status กําหนดการทํางานของ Key NumLock หลังจากเปดเครื่อง [Disabled] Boot Up System Speed กําหนดความเร็ว CPU หลังจากเปดเครื่อง [High] Gate A20 Option การเขาถึง Address memory สวนที่สูงกวา 1M [Fast] Typematic Rate Setting กําหนดความเร็วของการกด Key [Enabled] Typematic Rate (Chars/Sec) กําหนดความเร็วของการกด Key [6] Typematic Delay (Msec) กําหนดคา delay ของการกด Key [250] Security Option กําหนดการตั้งรหัสผานของการ Setup BIOS หรือ System [Setup] PS/2 Mouse Control กําหนดการใชงาน PS/2 Mouse [Disabled] PCI/VGA Palette Snoop แกปญหาการเพี้ยนของสีเมื่อใชการดวีดีโออื่น ๆ รวมดวย [Disabled] Assign IRQ for VGA กําหนดการใช IRQ ใหกับการดจอ [Enabled]


251 OS Select for DRAM > 64M การกําหนดหนวยความจําสําหรับ OS2 [Non-OS] HDD S.M.A.R.T capability Self-Monitering Analysis and Reporting Technology [Enabled] Video BIOS Shadow กําหนดใหทํา Shadow กับ ROM จากการดแสดงผล C0000-C4000 [Enabled] Adapter ROM กําหนดใหทํา Shadow กับ ROM จากการดที่เสียบเพิ่มเติม C8000 ใชกับการดแสดงผลชนิด MDA (จอเขียว) CC000 ใชกับการด controller บางประเภท [Disabled] D0000 ใชกับการด LAN [ถาไมใชตั้ง Disabled] D4000 ใชกับ controller สําหรับ Disk Drive ชนิดพิเศษ [Disabled] D8000 ตั้ง [Disable] DC000 ตั้ง [Disable] E0000 ตั้ง [Disable] E4000 ตั้ง [Disable] E8000 ตั้ง [Disable] EC000 ใชกับการด controller ชนิด SCSI [หากไมไดใชตั้ง Disable] System ROM การทํา Shadow กับ ROM ของ BIOS ที่ F000 [Enabled]


252 Chipset Features Setup Auto Configuration คือให BIOS จัดการคาตางๆโดยอัตโนมัติซึ่งจะเปนคากลาง ๆ Hidden Refresh การเติมประจุไฟของ DRAM [Enabled] Slow Refresh ให DRAM ลดความถี่ในการเติมประจุไฟลง 2 - 4 เทา [Enabled ถาไมมีปญหา] Concurrent Refresh การอาน-เขียนขอมูล ไดพรอมๆกับการเติมประจุไฟใน DRAM [Enabled] Burst Refresh การเติมประจุไฟลง DRAM ไดหลายๆ รอบในการทํางานครั้งเดียว [Enabled] DRAM Brust at 4 Refresh จํานวนการ Burst Refresh เปน 4 รอบในการทํางาน 1ครั้ง [Enabled] Staggered Refresh การเติมประจุลวงหนาใน DRAM ใน Bank ถัดไปดวย [Enabled] Refresh RAS Active Time ใหทดลองกําหนดคานอยที่สุดเทาที่เครื่องจะสามารถทํางานได AT Cycle Wait State เวลาที่รอใหการด ISA พรอม ใหตั้งคาที่นอยสุดเทาที่เครื่องทํางานได 16-Bit Memory, I/O Wait State เวลาที่ซีพียูตองรอระหวางรอบการทํางาน ตั้งนอยที่สุดที่ทํางานได 8-Bit Memory, I/O Wait State เวลาที่ซีพียูตองรอระหวางรอบการทํางาน ใหตั้งนอยสุดที่ทํางานได DMA Clock Source กําหนดความเร็วของอุปกรณ DMA โดยมีคาปกติคือ 5 MHz Memory Remapping หากเปดการทํางานนี้ไวจะทํา Shadows กับ BIOS ใดๆ ไมได [Disable] Cache Read Hit Burst หรือ SRAM Read Wait State ระยะพักรอเมื่ออานขอมูลลงใน L1 Cache ใหตั้งนอยที่สุดเทาที่ทํางานได Cache Write Hit Burst หรือ SRAM Write Wait State ระยะพักรอเมื่ออานขอมูลลงใน L1 Cache ใหตั้งนอยที่สุดเทาที่ทํางานได Fast Cache Read / Write ใหแคชทํางานโหมดความเร็วสูง จะมีผลเมื่อแคชมีขนาด 64 KB หรือ 256 KB Tag Ram Includes Ditry ใหแคชทํางานในโหมดเขียนทับโดยไมตองยาย/ลบขอมูลเดิมออกกอน หากมี Ram นอยกวา 256 MB ควรใช Dirty Bit Non-Cacheable Block-1 Size กําหนดขนาดหนวยความจําที่หามทําแคช [OK หรือ Disabled] RAS to CAS Delay Time คาหนวงเวลากอนที่จะสลับการทํางาน RAS-CAS ตั้งคานอยที่สุดเทาที่ทํางานได CAS Before RAS การสลับลําดับการทํางานระหวาง RAS และ CAS CAS Width in Read Cycle กําหนดคาหนวงเวลากอนที่ซีพียูจะเริ่มอานขอมูลใน DRAM ตั้งนอยที่สุดที่ทํางาน ได Interleave Mode ใหซีพียูอาน - เขียนขอมูลจาก DRAM ในโหมด Interleave Fast Page Mode DRAM ใหหนวยความจําทํางานแบบ FPM โดยไมตองอาศัย RAS และ CAS ซึ่งจะเร็วกวา SDRAM CAS Latency Time หรือ SDRAM Cycle Length ระยะรอบการทํางานของ CAS latency ใน SDRAM ตั้งคานอยที่สุด หรือใชคา 2 กับ RAM ชนิด PC100 และใชคา 3 กับ RAM ชนิด PC66/83 Read Around Write กําหนดใหซีพียูอาน - เขียนขอมูลจากหนวยความจําไดในคราวเดียวกัน [Enabled] DRAM Data Integrity Mode เลือก Non-ECC หรือ ECC ตามขนิดของ SDRAM System BIOS Cacheable การทําแคชของ System BIOS ROM #F0000-FFFFF [Enabled] Video BIOS Cacheable การทําแคชของ Video BIOS ROM [Enabled] Video RAM Cacheable การทําแคชของ Video RAM #A0000-AFFFF [Enabled ถาไมมีปญหา] Memory Hole at 15M-16M การจองพื้นที่สําหรับ ISA Adapter ROM [Enabled]


253 Passive Release กําหนด CPU to PCI bus accesses ชวง passive release [Enabled] Delayed Transaction เลือก Enable สําหรับ PCI version 2.1 AGP Aperture Size (MB) กําหนดขนาดของ AGP Aperture กําหนดเปนครึ่งหนึ่งของ RAM ทั้งหมด

Power Management Max Saving กําหนดการประหยัดพลังงานแบบ สูงสุด User Define กําหนดการประหยัดพลังงานแบบ ตั้งคาเอง Min Saving กําหนดการประหยัดพลังงานแบบ ต่ําสุด PM Control by APM กําหนดใหควบคุมการประหยัดพลังงานผานทางซอฟทแวร APM Video Off Method กําหนดวิธีการปดจอภาพเมื่อเขาสูโหมดประหยัดพลังงาน V/H SYNC + Blank จะปดการทํางาน V/H SYNC และดับจอภาพดวย Blank Screen DPMS สําหรับการดแสดงผลและจอภาพที่สนับสนุนโหมด DPMS Blank Screen จะทําการแสดงหนาจอวาง ๆ เมื่อประหยัดพลังงาน สําหรับจอรุนเกา ๆ Video Off After ใหปดจอภาพเมื่อเขาสูโหมดประหยัดพลังงานแบบ Stanby หรือ Suspend Standby Mode กําหนดระยะเวลาเมื่อพบวาไมมีการใชงาน จะหยุดทํางานของอุปกรณบางสวน Supend Mode จะตัดการทํางานบางสวนคลาย Standby Mode แตหยุดอุปกรณที่มากกวา HDD Power Down กําหนดระยะเวลากอนที่ BIOS จะหยุดการทํางานของ HDD Resume by Ring เมื่อ Enabled สามารถสั่งใหทํางานจาก Soft Off Mode ได Resume by Alarm เมื่อ Enabled สามารถตั้งเวลาทํางานจาก Suspend Mode ได Wake Up On LAN เมื่อ Enabled สามารถสั่งใหทํางานจาก Soft Off Mode ได Integrated Peripherals


254

IDE HDD BLOCKS MODE ให HDD อาน-เขียนขอมูลไดครั้งละหลาย Sector พรอมกัน [Enabled] IDE PIO Mode... กําหนดการทํางานแบบ Programe Input/Output [ตั้งสูงสุดหรือ Auto] IDE UDMA... กําหนดการทํางานแบบ DMA หรือ UDMA [Enabled หรือ Auto] On-Chip PCI IDE กําหนดการใชชองเสียบ HDD IDE ที่อยูบนเมนบอรด [Enabled] USB Keyboard Support กําหนดใหใช Keyboard แบบ USB [Enabled] Onboard FDC Controller กําหนดใหใชชองเสียบ Disk Drive ที่อยูบนเมนบอรด [Enabled] Onboard Serial Port 1 กําหนดคาแอดเดรสและ IRQ ให COM1 คาปกติคือ 3F8/IRQ4 Onboard Serial Port 2 กําหนดคาแอดเดรสและ IRQ ให COM2 คาปกติคือ 2F8/IRQ3 Parallel Port Mode กําหนดโหมดการทํางานของพอรตขนานไดใน 3 แบบ [EPP&ECP] SPP (Standard Parallel Port) คือโหมดมาตรฐานเหมาะแกเครื่องพิมพรุนเกาๆ EPP (Enhanced Parallel Port) คือโหมด 2 ทิศทางเหมาะแกเครื่องพิมพรุนใหม ECP (Extended Capabilities Port) คือโหมดความเร็วสูง เมื่อตอพวงกับ Scanner, Laplink ฯลฯ ECP MODE USE DMA คือกําหนด DMA สําหรับ Port ขนานแบบ ECP ซึ่งคาปกติคือ 3 IDE HDD Auto Detection สําหรับคนหาฮารดดิสกแบบอัตโนมัติ โดยจะคนหา Primary Master , Primary Slave , Secondary Master , Secondary Slave ตามลําดับ โดยใหเราตอบ Y ในแตละขั้นตอนที่ตองการ ถาในขั้นตอนนี้ไมสามารถ คนหา ฮารดดิสกที่เราติดตั้งไวได ตองตรวจสอบการตอฮารดดิสกใหถูกตองอีกครั้ง

การตั้งคาอื่น ๆ Load BIOS Default Setup เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทําการตั้งคาตาง ๆ ใหเปนแบบกลาง ๆ สําหรับอุปกรณทั่ว ๆ ไป หรือเปนการตั้งคาแบบ Factory Setup ก็ได Load BIOS Optimize Setup เมื่อกดเลือกที่นี่ BIOS จะทําการตั้งคาตาง ๆ ของอุปกรณ ใหไดประสิทธิภาพสูงสุด


255 Password Setting ใชสําหรับการตั้ง Password เมื่อตองการจะเขาไปเปลี่ยนแปลงการตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS หรือเมื่อตองการจะเปด เครื่อง โดย ปกติเมื่อใส Password ระบบจะใหใส Confirm ซ้ํา 2 รอบเพื่อปองกันการใสผิดพลาด (ไมใสอะไรเลย คือการยกเลิก password) HDD Low Level Format เปนเมนูสําหรับทํา Low Level Format ของ Hard Disk ซึ่งใชสําหรับทําการ Format Hard Disk แบบระดับต่ําสุด ซึ่งถาหากไม มีปญหาอะไรกับ Hard Disk ก็ไมจําเปนตองทํา Exit with Save Setting หรือ Exit without Save Setting เมื่อทําการเปลี่ยนแปลงขอมูลการตั้งคาตาง ๆ ของ BIOS แลวตองทําการ Save เก็บไวดวยนะครับ สวนใหญ เมื่อทําการ Save แลวจะบูทเครื่องใหม คาตาง ๆ ที่ตั้งไวจึงจะใชงานได CPU Setup นอกจากนี้ ในเมนบอรดรุนใหม ๆ ที่เปนแบบ Jumper Free (ไมใช Jumper แตจะใชเมนูใน BIOS สําหรับตั้งคา ตาง ๆ ) จะ สามารถตั้งคาของความเร็ว CPU, คา multiple หรือ FSB, คาไฟ Vcore และอื่น ๆ อีกแลวแตรุนของ เมนบอรดนั้น ๆ การ Flash BIOS ก็ คื อการ Update เปลี่ยนแปลงขอมูลหรือซอฟทแวรที่บรรจุอยูใน BIOS ROM Chip ซึ่งจะเปนซอฟทแวรขนาดเล็ก ๆ ที่จําเปนสําหรับการบูทเครื่องคอมพิวเตอร การที่เราทําการ Update BIOS ก็คือการ Update ซอฟทแวรนี้นั่นเอง เหตุผลที่ตองมีการ Update BIOS มีดังนี้ - เพื่อให BIOS นั้นสามารถรองรับการทํางานของอุปกรณใหม ๆ ได - เพิ่มเติมและแกไขความสามารถตาง ๆ ใหมากขึ้นเชนการ Auto Detect อุปกรณตาง ๆ - เพิ่มการ Support กับ CPU ใหม ๆ ที่เพิ่งจะเกิดขึ้นมาดวย - เพิ่มการรองรับกับ Hard Disk ขนาดใหญ ๆ - รองรับหรือแกปญหา Y2K - แกไขปญหาบางอยางที่เกิดขึ้นกับเมนบอรด - ในบางครั้ง ก็อาจจะชวยเพิ่มประสิทธิภาพและความเสถียรภาพของระบบโดยรวมได - และอื่น ๆ อีกมากมาย รายละเอียดของ BIOS แตละ Version คงตองหาขอมูลจากเวปไซตของผูผลิตเมนบอรดแตละยี่หอนะครับ วาจะมีอะไรไหม ๆ บาง จําเปนมากแคไหน ที่ตองทําการ Flash BIOS โดยทั่วไปแลว หากคุณสามารถใชงานเครื่องคอมพิวเตอรไดปกติไมมีปญหาอะไรก็คงไมมี ความจําเปนที่จะตองทําการ Update BIOS นะครับแตถาหากวันใดที่ตองการเพิ่มอุปกรณใหม ๆ เขาไปในเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ เชนเปลี่ยน CPU หรือ Hard Disk ใหม และเกิดปญหา หรือไมสามารถใชงานได ก็อาจจะมีความจําเปนที่จะตองทําการ Update BIOS นะครับ ดังนั้น คงจะขึ้นอยูกับความจําเปนตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร วาตองการที่จะแกไขอะไรใน BIOS หรือไม เพราะจะวาไปแลว การ Update BIOS ไมใชเรื่องยากเย็นอะไรนัก แตหากเกิดการผิดพลาด ระหวางการ Flash BIOS ก็อันตรายมาก ถึงขนาดไมสามารถบูทเครื่องไดเลยเชียวนะครับ จะสามารถหา BIOS ใหม ๆ ไดจากที่ไหน


256 แนนอนครับ ก็ตองที่เวปไซตของผูผลิตเมนบอรดของแตละยี่หอนั้น ๆ และจะตองเปน BIOS ของเมนบอรดรุนเดียวกันดวยนะครับ ไมขอแนะนําใหนํา BIOS ของเมนบอรดรุนอื่น ๆ หรือ ที่ไมแนใจมาทําการ Flash เด็ดขาด สวนใหญจะไมสามารถใชงานได หรืออาจจะไมสามารถ บูทเครื่องไดเลยก็ได อีกที่หนึ่งสําหรับ Award BIOS นะครับ ถาหากหาไมไดและตองการ Flash จริง ๆ ก็ลองเขาไปหาดูที่ http://www.award.com.tw/download นะครับจะมี Image ของ BIOS อยูหลายรุน การเตรียมอุปกรณกอนทําการ Flash BIOS สิ่งที่ตองเตรียมสําหรับการ Flash BIOS มีดังนี้ • เตรียมแผน Floppy Disk สําหรับ Boot เครื่องเชน Windows Start Up Disk หรือแผน Boot DOS เพื่อใชสําหรับ Boot เครื่องเขา DOS Prompt อยางเดียว (อาจจะทําขึ้นมาเองงาย ๆ โดยใส แผนดิสกแลวสั่ง format a: /s ก็ได) • เตรียมโปรแกรมสําหรับ Flash BIOS โดยที่จะสามารถหาไดจากเวปไซตของผูผลิตเมนบอรด นั้น ๆ นะครับ สวนใหญจะเปนไฟลเล็ก ๆ เชน AWDFLASH.EXE หรือหากเวปไซตนั้น แนะนําใหใชโปรแกรมตัวอื่น ๆ ก็ขอใหใชตามนั้นนะครับ • เตรียม Image BIOS โดยที่จะสามารถหาไดจากเวปไซตของผูผลิตเมนบอรดนั้น ๆ นะครับ รูปแบบทั่วไปสวนใหญ จะเปนไฟลนามสกุล .BIN นะครับ อันนี้ขอเนนอีกครั้งวา ตองเปน Image BIOS สําหรับเมนบอรดรุนเดียวกันเทานั้นนะครับ ขั้นตอนการทํา Flash BIOS หลังจากที่ตัดสินใจจะทําการ Update BIOS แนนอนแลว และเตรียมอุปกรณหรือซอฟทแวรตาง ๆ พรอมแลว ก็เริ่มตนขั้นตอนตามนี้ • เปดเครื่อง และเขาไปทําการ BIOS Setup โดยกด DEL ระหวางที่เครื่องกําลังทดสอบ RAM อยู ทําการตั้งคาของ System BIOS Cacheable Option ใน BIOS ใหเปน Disabled เสียกอน ที่จะทําการ Flash BIOS ใหม •

ใหเปดคูมือของเมนบอรดเพื่อหาตําแหนงของ jumper สําหรับการ Flash BIOS (หากไมมีคูมือ ลองมองหาดู jumper ใกล ๆ กับ CMOS นะครับ สวนใหญจะเปน jumper 3 ขาและมีการพิมพ กํากับการใชงานอยูบนบอรด) ทําการเปลี่ยน jumper ไปที่ตําแหนง Flash นะครับ ซึ่งเทาที่ทราบมา เมนบอรดบางรุนอาจจะไมมีก็ได ใหลองหาดูกอน

Boot เครื่องใหม โดยทําการ Boot แบบ Clean Boot ครับ คือใหกด F8 ขณะที่กําลังจะเขาสูหนาจอ Start Windows จะเขาหนาจอของ Menu แลวจากนั้นเลือก Save Mode MS DOS Prompt แลวจึงทําในขั้นตอนตอไป หรือจะใหดีควรจะ Boot เครื่องจากแผนดิสกที่มีแตเพียง DOS อยางเดียว โดยไมมีการ Load Driver อะไรตาง ๆ เลย

สั่งหรือเรียกโปรแกรมสําหรับ Flash เชน AWDFLASH หรือโปรแกรมสําหรับ Flash BIOS ที่ Download มา ท โดยสวนใหญตรงนี้ โปรแกรมจะถามใหทําการ Save BIOS Version เกาที่มีอยู ในเครื่องเก็บไวกอน ขอแนะนําใหทําการ Save BIOS ใสแผนดิสกไวนะครับ เพื่อความไมประมาท


257 หรือถาหากเกิดการผิดพลาดขึ้น อาจจะยังพอแกไขได •

ใสชื่อของ file ที่เปน Image BIOS ที่ตองการจะ Flash จากนั้นทําการ Flash ตามขั้นตอนคําแนะนํา ของโปรแกรมนะครับ

การ Flash จะใชเวลาไมนานมากนัก ประมาณไมเกิน 1 นาที ระหวางนี้ก็ตองระวัง หามปดเครื่อง หรือทําการ Reset โดยเด็ดขาดนะครับ ไมเชนนั้น เมนบอรดคุณอาจจะไมสามารถ Boot ไดเลยก็ได (ตองระวังเรื่องไฟฟาดับดวยนะครับ พยายามอยาทําขณะที่เสี่ยงตอการเกิดไฟฟาดับเปนอันขาด)

หลังจากที่ Flash เรียบรอยแลว ใหปดเครื่องสักประมาณ 15 วินาที หากไดทําการเปลี่ยน jumper สําหรับการ Flash ไวตั้งแตตน ก็ทําการเปลี่ยนกลับไปเปนเหมือนเดิมดวยนะครับ

บางครั้ง ตองทําการ Clear CMOS jumper (คนละอันกับ Flash jumper นะครับ) กอนที่จะเปด เครื่องใหมดวยครับ

เปดเครื่องใหม เขาไปทําการ Setup BIOS โดยกด DEL ขั้นตอนแรกคือเลือกที่เมนู Load Default Setup หรือ Load BIOS Setup กอน จึงตั้งคาตาง ๆ ตามตองการ เลือก Save คาที่ตั้งไว ก็จบขั้นตอน การ Flash BIOS ครับ

สําหรับ Award BIOS หากวาในขณะที่ทําการ Flash BIOS ใหมนั้น เกิด Error Message มาวา Insufficient Memory ก็ไมตองตกใจนะครับ เพราะ มันก็จะยังไมไดทําการ Flash BIOS ใหใหม ดังนั้น ก็ใหคุณ Boot เครื่องใหม แลวเขาไป set ใน BIOS ตรง Chipset Feature Setup ใหเลือก Video BIOS Cacheable เปน Disable ซะ แลว Save และ Exit เพื่อ Boot ใหม Boot เขา Clean Boot แลวทําการ Flash ใหม ซึ่งก็ไมนาจะเกิดปญหานี้อีกแลว จากนั้น เมื่อทําการเสร็จแลว ก็ Reboot หรือ ปดเครื่องไวสักพัก แลวเปดใหม และเมื่อ Boot เขามาใหมแลว ใหเขาไปแกไขที่ Chipset Feature Setup ตรง Video BIOS Cacheable เปน Enabled เหมือนเดิมครับ

ขอควรระวังสําหรับการ Flash BIOS • ตองใช Image BIOS ที่เปนรุนเดียวกับเมนบอรดเทานั้น •

ระวังไฟตก ไฟฟาดับ หรือเครื่องแฮงก ขณะทําการ Flash เพราะอาจจะทําใหไมสามารถ Boot เครื่องไดเลย

ใหทําการ Save Image BIOS ของเดิมเก็บใสแผนดิสกไวกอนเสมอครับ

ถามีการเตือนวา Image BIOS ที่กําลังจะ Flash นั้นไมสามารถเขากันไดกับเครื่อง เหนือเมนบอรดของคุณ ระวัง อยาทําการ Flash โดยเด็ดขาด เพราะเปนไปไดมากที่คุณ ใช Image BIOS ผิดรุน ซึ่งอาจจะทําใหเครื่องคุณ Boot ไมขึ้นเลยก็ได

หาก Flash BIOS ไปแลว Boot ไมขึ้นจะแกไขอะไรไดบาง • การทํา Boot-Block

BIOS


258 สําหรับเมนบอรดรุนใหมๆ โดยเฉพาะที่ใชกับ Award BIOS นั้นจะมี Boot-Block BIOS มาดวย โดยจะเปนสวนของขอมูลเล็กๆ ที่จะไมมีการเขียนทับ หรือ แกไขใดๆ ลงไปได แมวาจะ Flash BIOS สักกี่ครั้งก็ตาม โดย Boot-Block BIOS นั้น จะรูจักแต Floppy Disk Drive และ Display Card แบบ ISA เทานั้น! หากวาใช Display Card เปน PCI หรือ AGP ก็หมดหวังเลยครับ และ Boot-Block BIOS นี้ จะสามารถ Boot เครื่องได เฉพาะ Floppy Disk เทานั้น ดังนั้น ก็เราก็สามารถเตรียม Image BIOS และ ตัว โปรแกรม Flash ใสไวในแผน แลว พอ Boot เสร็จ ก็ ทําการ Flash ซะใหม ก็ได หรือ จะเขียน autoexec.bat ใหทําการ Flash อัตโนมัติ เลยก็ไดครับ •

การทํา Hot Swapping การแกไขวิธีนี้ มีหลักการคือ นําเอา Chip BIOS ที่มีปญหาไปทําการ Flash กับเมนบอรดของเครื่องที่ใชงานไดปกติ โดยทําขณะที่ยังเปดเครื่องปกติอยู และถอด Chip BIOS ของเครื่องนั้นออก นําเอา Chip BIOS ที่ของเราที่มีปญหาใสเขาไปแลว ทําการ Flash ใหม การแกไขวิธีนี้วุนวายไมใชนอยๆ และ ผมขอไมรับผิดชอบนะครับ กับความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากวิธีนี้ นะครับ เพราะมันคอนขางละเอียด และ ผิดพลาดได งายๆ ... เพราะฉะนั้น ขอใหอยูในดุลยพินิจของตัวเองดวยนะครับ สําหรับวิธีนี้

1. ใหถอด Chip BIOS ที่มีปญหาออกมา แลวหาเมนบอรดรุนเดียวกัน Spec เดียวกัน ซึ่งไมมีปญหามาเพื่อใช ในการ Boot โดยกอนที่จะทําการ Flash ก็ใหเขาไปใน BIOS เพื่อ Set System BIOS Cacheable ใหเปน Enable กอนดวย 2. Boot เครื่อง ดวยเมนบอรดตัวที่ BIOS ไมมีปญหา และ Boot แบบ Clean ดังที่กลาวมาแลว 3. ทําการแกะ Chip BIOS จากเมนบอรดออกโดยที่ยังเปดเครื่องทิ้งไวอยู ตรงนี้ ตองใชความระมัดระวัง และ เสี่ยงเปนอยางมาก 4. ใส Chip BIOS ตัวที่มีปญหาลงไปแทนที่ แลวทําการ Flash BIOS ใหม จากนั้น ก็ Reboot หรือ ปดเครื่อง 5. ถาไมมีปญหาใดๆ เจา BIOS ที่เคยมีปญหา ก็จะกลับมาใชงานไดดังเดิมครับ ขอแนะนําเพิ่มเติมสําหรับใครที่คิดจะใชวิธีการนี้คือ กอนที่จะเริ่มตน ใหทําการแกะ Chip BIOS ออกมาจาก Socket กอนแลวใสใหมโดยวางแปะลงไป กดแตเพียงเบา ๆ แตตองแนใจวาทุก ๆ ขาของ Chip BIOS สัมผัสกับ Socket ดีนะครับ เมื่อถึงเวลาที่เปลี่ยน Chip BIOS โดยที่ยังตองเปดเครื่อง อยูนั้น จะชวยใหสามารถแกะ Chip CMOS ออกมาไดงาย เพื่อทําการ Flash BIOS แบบ Hot Swapping โดยที่ขณะที่จะทําการ Flash จะมีขอความเตือนวา BIOS นั้นไมสามารถเขากับเครื่องหรือเมนบอรดได ก็กด ยืนยันการทําการ Flash BIOS ตอไปไดเลย •

สําหรับเมนบอรดของ Intel โดยเฉพาะ

1. เปลี่ยน Jumper ตรง Flash Recovery Jumper ใหไปอยูตรง Recovery Mode ( อานจากคูมือ และ สําหรับบางรุน ก็ไมมี Jumper ตัวนี้นะครับ ) 2. เอาแผน Bootable Upgrade Disk ใสไวที่ Drive A;


259 3. Boot เครื่อง โดยเครื่องจะทํางานตามปกติ แตจะไมมีการ Display อะไรออกที่หนาจอ ( วิธีนี้ ก็คลายๆ กับ วิธีที่ Boot-Block BIOS เพียงแต ใชสําหรับเมนบอรดของ Intel บางรุน เทานั้น ) โดยจะดูผลการ Boot หรือ การทํางานโดย สังเกตุ จากไฟ LED บนฝา CASE และ/หรือ ฟงจากเสียง Beep 4. ระบบจะทําการกูคืนขอมูล BIOS ดวยขอมูลที่อยูบน Disk ให สังเกตุ ที่ไฟของ Floppy Disk ถาไฟติดอยู และ ยังมีเสียงอานอยู ก็แสดงวากําลังทํางานอยู และถาดับเมื่อไร ก็แสดงวาการ กูคืนนั้น เสร็จสิ้นลงแลว 5. ปดเครื่อง แลวเปลี่ยน Jumper จากขอแรกใหกลับอยูตําแหนงเดิม จากนั้นก็เปดเครื่องใหม ซึ่งก็นาจะไมมี ปญหาแลว

การแกไขเมื่อ Flash BIOS ลมเหลว หลังจาก Flash BIOS แลว ถากระบวนการดําเนินการไปอยางถูกตอง คอมพิวเตอรก็จะทํางานไดอยาง ถูกตอง ไม มีปญหาอยางใด อยางไรก็ตาม หลายครั้งพบวาผลจากการ Flash BIOS ไมไดเปนไปตามที่ คาดหวังทุก ประการ บางครั้ง อาจ พบความผิดพลาดได เชน ในกรณีของผูใชงานที่เคย Flash BIOS ครั้งแรก อาจจะทํา ผิดพลาด โดยการ ปดสวิทชไฟ ระหวางกระบวนการ Erase , Re-program BIOS ซึ่งกรณีนี้จะทําใหไบออสเสีย ใช บูตคอมพิวเตอร ไมได หรืออีกกรณี หนึ่งคือ มีความผิดพลาดในตัวโปรแกรมเอง เมื่อ Flash แลวปรากฎวาใชงาน ไมไดอีกตอไป อาการที่บงชี้วา ไบออสเสียก็คือ เมื่อเปดสวิทชแตเครื่องไมบูต ไมมีเสียง บี๊บ (POST = Power on self test) ไมมีขอความใด ปรากฎ บนจอภาพ ถาอาการดังกลาวเกิดขึ้นหลังจากการ Flash BIOS ก็ใหตั้งสมมุติฐาน ไวกอนวา เกิดปญหาขึ้นจากการ Flash BIOS สาเหตุที่ทําใหไบออสนอกจากการ Flash ผิดแลว ยังเกิดไดจากไวรัสบางตัว เชน W32.CIH.SPACEFILLER ซึ่งถูกตั้งเงื่อนไขให Flash BIOS ดวยโปรแกรมขยะอีกดวย

การแกไข หลังจาก Flash BIOS แลวเมื่อเปดคอมพิวเตอรแลวไมบูต ใหปดสวิทชแลวแกะไบออสออก ระหวาง การแกะให ระวัง เพราะตัว EEPROM สําหรับ BIOS นั้นมีหลายประเภท ประเภทที่เปนตีนตะขาบเสียบบน Socket จะแกะงายกวา แตหากเปนลักษณะคลายฝงตัวใน Socket แบบนั้นแกะลําบากมากกวา 1. ใหแกะ BIOS จากเมนบอรดที่ดี หรือนําเอา BIOS ที่ดีอยูแลว มาใสแทน BIOS ที่เสียแทน 2. ใหเปดเครื่องและบูตเครื่องตามปกติ สังเกตวาคอมพิวเตอรจะตองบูตตามปกติ ถาอาการเสียนั้นเกิดจากไบออส เสีย แตถาไมบูตอีก แสดงวาไบออสไมเสียแลว แตเปนเมนบอรดเสียแทน 3. ถาเครื่องก็บูตขึ้นมาแลว การทํางานของไบออสนั้นจะเหมือนกันกับสตารตเตอรในวงจรของหลอดฟลูออเรสต เซ็นต คือ เมื่อเปดคอมพิวเตอรไดแลว BIOS ก็หยุดทํางานไป (จะทํางานอีกครั้งเมื่อใชพวกโปรแกรม Management เขาถึงขอมูลใน DMI Pool เทานั้น) 4. ตอไปเมื่อคอมพิวเตอรเปดขึ้นมาแลว ก็เอาไบออสตัวเกาออก แกะขณะที่เปดเครื่องอยู (ระวังตัวไบออสตกลง บน เมนบอรด หรือพลาดขาไปถูกสวนอื่น ที่เปนวงจรในเคส ระวังเกิดความเสียหาย 5. เมื่อถอดเสร็จใหเอาไบออสตัวที่เสียใสลงไปแทน และ Flash BIOS ลงไปอีกครั้ง โดยใชโปรแกรม Flash BIOS ตามปกติ หลังจากนั้นใหลองบูตเครื่อง ถาบูตไดก็แสดงวา BIOS ตัวที่เสียถูก Re-Program ใหสามารถใชงาน ได ตามปกติอีก


260

เครื่องมือที่หาเองได ก็แผนเหล็กปดฝาหลังเคสนั่นแหละ หรือไมก็ไขควงปากแบนตัวเล็กๆ เอาไวสําหรับ EEPROM ออก จาก Socket ตองการมือที่นุมนวล แตแข็งแกรง ออกแรงนอยๆกอน แลวแรงเด็ดขาด อยาแรงมาก

แตถามี "คีมปากแบนแบบในภาพจะชวยไดมาก ปกติ แลวแตการวางตัวของ EEPROM ถางายขนาดวาไมตองถอด ออก จากเคสก็ไมตองเอาออกมาก็ได แตถามันยากเกินที่จะสอดมือใปทํางานในเคส ก็ถอดเอาเมนบอรดออกมา งานใหญละ คราวนี้จะเริ่มถอดละนะ คอยๆแซะละ อยารีบรอน บางตัวถอดงาย บางตัวยากเข็ญ และถาใชแรงมาก เกินไป ขา EEPROM จะหักเอา

เวลาถอดตัว EEPROM ออกมาแลว โปรดสังเกตดวยนะ มันจะมี Mark ไววาขาที่ 1 นะขาไหน โดยมากก็เปนจุด หลุมเล็ก บนตัว EEPROM โดยบน Socket เขาก็บากทําตําแหนงไว ตองใสใหตรงกัน ถาใสไมตรงกัน ไบออสจะ ไหมได ตรงนี้ตองระวังอยางมาก ถาถอดออกมาแลว

ไปหายืมเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆที่ใชเมนบอรดรุนเดียวกันเพื่อเขียนไบออสใหมไมได ก็เห็นตองพึ่งพาเครื่อ เขียน ไบออส ที่หนาตาเปนแบบนี้แหละครับ หาใชบริการไดที่รานแถว "บานหมอ" และ "พันธทิพย"


261

สําหรับ BIOS แบบเสียบลง Socket พบในเมนบอรดของเครื่องมียี่หอบางรุน และเมนบอรดรุนใหมๆที่ใชชิปเซ็ตอ ยาง Intel 810 เพิ่มความยุงยากอีกนิดหนอย แตถารูเทคนิคแลว ไมยากหรอก นี่แหละตัว BIOS ฝงอยูใน Socket แบบนี้แหละ แตไมไดหมายความวาถอดออกมาไมไดนะ ถอดออกมาได

เคล็ดลับอยู "คลิปหนีบกระดาษ" ตัวเล็กๆ นี่แหละ เอามาคลายลวดออกใหปลายแหลมๆ ทําใหตอง "คลิป" เพราะ คลิปมันใช "ลวดเปน" งัย คือ ขืนตัวแข็งไมออนตัว ใชคลิปนี้แหละ ดานปลายลวดสอดเขาไปใน Socket แลวก็.. พยายามสอดและดึง EEPROM ขึ้นมานะ คงไมยากนะ อีกวิธีหนึ่งที่ไมเคยมีแนะนําไวในตํารา แตมีนักทดลอง หลายทานเคยบอกผมก็คือ ระหวางการเปดเครื่องนั้น ใหถอดไบออสดีออก และเอาไบออสเสียใสลงไป แลวปด เครื่องคอมพิวเตอรเปดสวิตช อีกครั้ง ก็จะเปน Hot Burn BIOS แตผมลองแลวไมประสบความสําเร็จ แตถาไมมี อะไรที่ดีกวานั้นสําหรับ เมนบอรดรุนใหมๆ ที่ Flash BIOS ได แตตัวไบออสถูกบัดกรีลงบนเมนบอรดอยางถาวร เชน Intel BI440ZX กรณีที่ถูก CIH ทําลายไบออส คงไมมีทางเลือกนอกจากสงเขาซอมเทานั้น เพราะอยางไรก็ แกไขเองไมได

การปรับหัวอาน CD-Rom วิธีการปรับหัวอาน CD-Rom บางรุนที่อานแผนบางแผนไมได โดยวิธีปรับหัว VR ใน Drive CD-Rom หรือที่เรียกกันวา Variable Resist


262 สําหรับผูที่มี CD-Rom แตวา Drive ของทานไม สามารถอานแผนทองหรือแผน CD-R ได หรือวาอานไดบาง ไมไดบางก็แลวแตครับ แตกรณีที่ผมจะพูดถึงนี้ไมรวมถึงอาการ ของ CD-Rom ที่มอเตอรเสียนะครับ ผมจะทําเปนขั้นเปนตอนละกัน จะไดดูกันงายๆ

กอนอื่นก็ตองเตรียมอุปกรณใหพรอมครับ ดูในรูปดานบน เลยครับ อันดับแรกก็ CD-Rom ที่เริ่มใชไมไดอยางใจ ทางที่ดีขอใหเปน CD-Rom ที่หมดประกันแลวจะเยี่ยม เลยครับ ไมตองกลัวเอาไปเคลมไมไดเพราะหมดอายุรับประกัน แลว คุณคงไมมีอะไรตองเสียอีก แลวละ เมื่อเตรียม Drive เรียบ รอยแลวก็อยาลืมไขควงสี่แฉกขนาดไมตองใหญมากก็ ไดครับ แตที่ขาดไมไดก็คือไขควงสองแฉกขนาดเล็ก เล็กสุดยิ่งดีครับ อะไรจะไดงาย เขา เอาละเมื่อเตรียมอุปกรณครบแลวก็มาแงะ เจา CD-Rom เจาปญหากันไดเลยครับ สําหรับในรูปผมใช CD-Rom ของ Creative 8X ตัวเกาของผม ที่มีอาการอยางวาครับ อานแผนทองไมได ก็เลยถึงคราว..

กอนอื่นใหใชไขควงสี่แฉกจัดการทะลวง void ดานหลัง ของ Drive CD-Rom ซะ ดูใน รูปดานบนละกันครับ อาจจะยับเยินนิดหนอย แตไมเปนไรครับ จัดการเอาน็อต สองตัวนี้ ออกใหไดกอนนะครับ อะไรๆจะไดงายขึ้น

เมื่อคุณสามารถจัดการกับน็อตเจาปญหาสองตัวดานหลังได แลว(ของผมนี่ขันไวแนน


263 สุดๆเลยครับ ตองออกแรงกันพอสมควร) ก็ใหจัดการถอดหนากาก CD-Rom ที่เปน พลาสติกออก อันนี้ไม ตองใชไขควงครับ เพราะเขาแคมีตําแหนงที่ยึดกันไวเฉยๆ แลวก็ อยาลืม ถอดหนากากที่ติดกับถาด CD-Rom ดวยนะครับ ดูในภาพดานบน เลยครับ จากนั้นก็คอยถอดฝาครอบ CD-Rom ออกมาใหหมดครับ ขั้นตอนนี้ของผมไมตองพึ่งไข ควงเลย ถาเสร็จแลวก็ไปตามขั้นตอนตอไป ไดเลยครับ

เอาละครับ ทีนี้มันก็จะโปอยางที่เห็นในภาพดานบน ใหจับตรงบริเวณ ตัวยึดแผน CD งางขึ้นแบบในรูปนะครับ จากนี้ใหเตรียมไขควง สองแฉกเบอรเล็กๆไวในมือไดแลวครับ เมื่องางขึ้นแลวก็ใหหาตําแหนง ของเลนซที่เอาไวอาน CD ใหดีนะครับ

เมื่อเจอตําแหนงของหัวอาน CD แลว ใหตรวจหาชิ้นสวนที่เปนโลหะสี ออกทองเหลือง รูปรางลักษณะจะเปนวงรีเล็ก ดูในรูปดานบนละกันครับ ตรง ตําแหนงที่ผมเอาไขควงชี้ไว ใหดูนั่นแหละครับ สําหรับตําแหนงที่นอนนั้น ผมไมคอยแนใจเทาไหรวา CD-Rom ทุก ยี่หอจะวางตําแหนง VR ไว ตําแหนงเดียวกันรึปลาว เทาที่ผมเคยแงะดูนอกจากของ Creative แลว ผมเคยดูของ LGs บางเหมือนกับ พบวาวางตําแหนงหัวปรับ VR ไวคนละ ตําแหนงกัน ยังไงก็คงตองหาดีๆหนอยนะครับ ทีนี้เมื่อทุกทานหาหัวปรับ VR เจอแลวก็ใหจัดการเอาไขควงอันจิ๋วของเรา จัดการหมุน หัวปรับ VR ไปตามเข็มนาฬิกาประกาณ 20-25 องศาครับ ไมตอ  งหมุนหักโหมนะครับ นิดเดียวพอ รูปอาจจะมองไมคอยชัดนะครับ เพราะไอเจา VR นี้มันเล็กจิ๋วจริงๆ มุมกลองก็เลย คอนขางจํากัดครับ เอาเปนวาดูไวอางอิงตําแหนงหรือ รูปรางของหัวปรับ VR กับ Drive ของทานก็ไดครับ


264

เมื่อหมุนเรียบรอยแลวอยาเพิงประกอบกลับเขาไปนะครับ ใหลองใสแผน ทองหรือแผน อะไรก็ไดมี่เมื่อกอนมันไมสามารถอานได จากนั้นเสียบกลับ เขาไปทั้งโปๆอยางนั้นกอน เพื่อความแนใจ ถาเกิดวายังไมสามารถอานไดอีก ก็ใหเอาออกมาหมุนเพิ่มประมาณ 3-5 องศา จากนั้นลองดูอีกครั้งครับ

ถาอานไดก็แสดงวาสําเร็จแลว คุณอาจจะได CD-Rom ที่คุณคิดวา มันจากไปตลอดกาล กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง อยางนอยก็ใสไวฟงเพลง ละครับ ไมรูวาจเปลืองไฟรึปลาวนะ แตเจา CD-Rom ของผมทําแลว มันก็ OK ครับ แมวาจะสามารถอานแผนทองได ประมาณ 70% แตก็ ดีกวาสมัยกอนที่จะเอามาปรับหัว VR มากครับ เพราะกอนหนานั้น มัน ไมสามารถอานแผนทองไดเลย แตเทาที่ผมสังเกตุดู Drive CD-Rom ที่เอามาปรับ หัว VR นั้นจะใชเวลา seek แผนนานขึ้นกวากอนมากพอ สมควรเลยละครับ ถาเกิดทําตามขั้นตอนที่บอกมาแลวยังไมไดผลก็คงตองทําใจละครับ เพราะปจจัยที่ทํา ให CD-Rom เสียมันก็มีหลายสาเหตุ ที่จริงผมเองก็ ไมคอยจะรูอะไรเกี่ยวกับวิธีซอมมาก นัก เพราะผมเองก็ไมใชชางซะดวย ยังไง ถา Drive ยังอยูในประกันก็อยาเอามาเสี่ยง เลยครับ แนะนําวาใหสงราน เคลมดีที่สุด ปลอดภัยกวาครับ เพราะผมก็ไมการันตีวาทํา ตามวิธีนี้แลวจะ หายขาด 100% ก็หวังวาบทความนี้จะชวยใหหลายคนกระจางขึ้นนะครับวาไอเจา หัว VR ที่เคาวากันมัน อยูตรงไหน ถาจําไมผิดหนังสือคอมบางเลมก็ เคยลงเรื่องปรับหัง VR นี้บางเหมือนกัน แตไมไดลงรูปไวดวย หรือใครที่เคยแตไดยินเคาพูดกันแตตัวเองหาไมเจอหรือไมแนใจ ก็คงเอาไปทําตามไดไมยากนะครับ


265 การฟอรแมต ฮารดดิสก เพื่อเตรียมพื้นที่สําหรับติดตั้ง Windows ใหม การ ฟอรแมต ฮารดดิสก จะเปนขั้นตอนที่ตองทําตอจาก การจัดการแบงพารติชันของฮารดดิสก หรืออาจจะใชเมื่อ ตองการ ลบขอมูลทุก ๆ อยาง ที่มีอยูในฮารดดิสกออกทั้งหมด เชน ทําการฟอรแมตฮารดดิสก เพื่อจะทําการลง Windows ใหม เปนตนหลังจากที่ทําการจัดแบงพารติชัน โดยการทํา FDISK เสร็จแลว เราจะยังไมสามารถใชงาน Hard Disk นั้นไดในทันที โดยจะตองทําการ ฟอรแมตฮารดดิสกกอน ซึ่งก็จะมีวิธีการงาย ๆ คือใชคําสั่ง format ที่ อยูในแผน Windows 98 Startup Disk กอนอื่นมาดู คําสั่ง ในแบบตาง ๆ ที่นิยมใชกันกอน format c: แบบไมมีอะไรตอทาย คือการ format drive c: แบบมาตราฐานทั่วไป format c: /s คือการ format drive c: โดยจะทําระบบ system file ใหสามารถใชบูทเครื่องไดดวย format c: /q คือการ format drive c: แบบรวดเร็ว จะใชไดกับ Hard Disk ที่ format แลวเทานั้น format c: /c คือการ format drive c: โดยทําการตรวจสอบ bad sector ของฮารดดิสก ดวย format c: /u คือการ format drive c: โดยแบบนี้ จะไมสามารถทําการ unformat เพื่อกูขอมูลคืนมาได รูปแบบของคําสั่ง พอจะแบงออกไดคราว ๆ คือ format คือการเรียกคําสั่ง format นี้เพื่อเริ่มตนใชงาน c: หมายถึงชื่อของ drive ที่ตองการทําการ format โดยที่ในเครื่องคอมพิวเตอร อาจจะมีไดหลาย drive เชน c: d: e: หรือ f: ก็ได แลวแตวา จะมีการแบงพารติชันไวอยางไร ตรงนี้ตองระวัง ใสใหถูกตอง ไมเชนนั้น อาจจะทําให ขอมูลตาง ๆ หายไปหมดได /s หรือ /q หรือ /c หรือ /u เปนการกําหนดการทํางานของการ format เพิ่มเติมจากปกติ ตามรายละเอียดดานบน โดยอาจจะใสหรือไมตองใสก็ได ทั้งนี้การใชคําสั่งฟอรแมต แบบตาง ๆ อาจจะใชรวมกันก็ไดเชน format c: /s/q คือสั่งฟอรแมตแบบรวดเร็ว และทํา การสราง system file เพื่อใหสามารถใชบูทเครื่องไดดวย เปนตน วิธีการสั่งฟอรแม็ตฮารดดิสค เริ่มจากการบูทเครื่องคอมพิวเตอร โดยอาจจะใชการบูทจากแผน Windows Startup Disk แลวเลือกที่ขอ 1. จากเมนู หรือจะบูตเครื่องจากฮารดดิสก และสั่ง Shutdown โดยเลือกเขาที่ DOS Mode ก็ได จากนั้น พิมพคําสั่ง format ตามดวยคาพารามิเตอรดานบน และกด ENTER ครับ มาดูตัวอยางและหนาตาของการทําฟอรแมตฮารดดิสกตามรูปตอไป โดยรูปตัวอยางตอไปนี้ จะเปนการบูทเครื่อง จากแผน Windows Startup Disk และเลือกเขามาที่ DOS Prompt เขามาที่เมนูแรกหรือจะขึ้นเครื่องหมาย A:\> กอน จากนั้นพิมพคําสั่ง format c: /s (เปนการสั่งฟอรแม็ตโดยจะใส system file เพื่อใหใชบูทเครื่องไดดวย)


266

จากรูป เปนการสั่ง format c: /s เพื่อทําการฟอรแมตฮารดดิสก โดยกําหนดใหทําการสราง system file ดวยเพื่อให ฮารดดิสกนี้ ใชทําการบูทเครื่องได หลังจากสั่งฟอรแมตแลว จะมีการถามเพื่อยืนยันการฟอรแมตอีกครั้ง กด y และกด Enter เพื่อเริ่มตนการฟอรแมต รอสักพักอาจจะชาหรือเร็วขึ้นอยูกับขนาดและความเร็วของฮารดดิสก รอ จนเสร็จจะมีเมนูใหใสชื่อ Volume Label ก็ใสชื่อตามตองการ

หลังจากนั้น จะแสดงรายละเอียดตาง ๆ เทานี้เปนอันเสร็จขั้นตอนการฟอรแมต สามารถนําเอาฮารดดิสกนี้ไปใช งานไดทันที ในกรณีที่ไดทําการแบงฮารดดิสกออกเปนหลาย ๆ ไดรฟ ก็ตองทําการฟอรแมตทุก ๆ ไดรฟ จนครบ ตามตองการดวย

การวิเคราะหและแกปญหา คอมพิวเตอร


267 ในสวนของผูใชคอมพิวเตอรทั่วไป มักพบกับปญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอรอยูบอยๆ สวนใหญ แลวตองทําการเรียกชางเทคนิคเพื่อทําการตรวจซอม ซึ่งถาหากวาในหนวยงานนั้น ไมมีชางเทคนิค หรือบุคคลที่ ทําจะการแกไขปญหานั้นๆ ได จําเปนตองใชบริการจากรานซอมทั่วไป ซึ่งตรงนั้นจะตองมีคาใชจายที่เพิ่มขึ้นมา เอกสารชุดนี้ เปนการรวบรวมปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางการใชงานคอมพิวเตอร และแนวทางแกไข ปญหาเบื้องตนที่จะทําใหเครื่องคอมพิวเตอรสามารถทํางานตอไปได โดยไมจําเปนตองเสียคาใชจายในสวนของ ปญหาที่เกิดขึ้น เปนการประหยัดรายจายไดอีกทางหนึ่ง การรวบรวมปญหา จะเปนปญหาทั่วไปที่ไมเจาะลึกไปถึงทางดานเทคนิค เปนปญหาที่มักพบเสมอ สําหรับผูใชทั่วไป (ไมรวมถึงชางเทคนิค) ซึ่งเมื่อพบปญหาที่เกิดขึ้นจะตองใชเวลาในการตามชางเทคนิคใหมาทํา การแกไขให แมวาปญหานั้นอาจดูงายในสวนของชางเทคนิค แตผูใชทั่วไป มันเปนเรื่องใหญเสมอ แนวทางในการวิเคราะหและแกปญหาในเอกสารนี้ จะเปนแนวทางเบื้องตนสําหรับผูใชทั่วไป เปน แนวทางที่จะสามารถทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานเปนปกติในเบื้องตนกอนที่จะทําการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น อยางตอเนื่องตอไป

การทํางานของระบบคอมพิวเตอร ในการที่จะทําการวิเคราะหและแกไขปญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร จําเปนที่ผูใชทั่วไปตอง ทราบถึงการทํางานของระบบคอมพิวเตอรกอน ตองทราบวาเครื่องคอมพิวเตอรเริ่มทํางานอยางไร เมื่อมีปญหา เกิดขึ้นก็จะสามารถที่จะวิเคราะหไดวาปญหาเกิดขึ้นที่สวนใด ทําใหการกําหนดสาเหตุไดแคบลงการแกปญหาก็ สามารถที่จะทําไดงาย

ขั้นตอนการเริ่มทํางานของระบบ คอมพิวเตอร ปญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร สามารถเกิดขึ้นไดทั้งในสวนของฮารดแวร และซอฟทแวร การที่ จะทําการแกไขปญหานั้นๆ ตองกระทําอยางเปนขั้นตอน โดยเรียงลําดับได ดังนี้


268 ทําการวิเคราะหวาปญหาเกิดที่สวนใด • ทําใหระบบตอบสนองการทํางานใหได • ทําใหเครื่องสามารถบูตระบบใหไดอีกครั้ง สวนมากแลวจะมุงไปที่สวนสุดทายซึ่งเปนสวนที่มีความสําคัญนอยที่สุด การวิเคราะหปญหา เปนสวนที่สําคัญที่จะทําใหเราทราบถึงปญหาที่เกิดขึ้นและทําการแกไขปญหาไดงายขึ้นโดยที่อาจไมกระทบไปถึง ขอมูลที่อยูภายในของเครื่องคอมพิวเตอร ทําใหสามารถที่จะรักษาขอมูลเดิมไวได กอนอื่นตองทําความเขาใจกอนวา เรากําลังพูดถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอรที่เคย ทํางานไดดี แตมาถึงตอนนี้กลับทํางานไมไดทั้งที่กอนหนานั้นไมไดทําการเปลี่ยนแปลงใดๆ เลย (อาจมีผูใช มากกวาหนึ่งคน) •

ขั้นตอนการบูตเครื่องคอมพิวเตอร ถาเครื่องคอมพิวเตอรของเราอยูในสภาพที่ปกติจะมีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ 1. ฮารดแวรทํางาน และจัดการตามที่ระบุไวอยางถูกตอง 2. BIOS มีการโหลด MBR(Master Boot Record)และสงผานการควบคุมไปที่ MBR 3. MBR ทําการโหลด DBR(Dos Boot Record) และสงผานการควบคุมไปที่ DBR 4. DBR ทําการโหลดไฟลที่ซอนไว 5. ไฟลที่ซอนไวคือ IO.SYS ทํางานและทําการอาน CONFIG.SYS และไฟล MSDOS.SYS ทํางาน 6. โหลดไฟลคําสั่ง COMMAND.COM ของผูใชเครื่อง 7. มีการทํางานใน AUTOEXEC.BAT

การบูตขั้นที่ 1 : การตรวจสอบฮารดแวร ขั้นแรกจะมีการตรวจสอบฮารดแวรวาทํางานและมีการตอบสนองตอระบบอยางถูกตอง โดย Controller จะถามถึงฮารดแวรวาอยูที่นั่นหรือเปลา โดยการสั่งใหฮารดแวรทํางาน สําหรับฮารดดิสกแลว เครื่องจะสั่งใหทําการเลื่อนหัวอาน/บันทึก ไปที่ Cylinder 0 กอนแลวยายไปอยูที่ Cylinder สูงสุดแลว กลับมายัง Cylinder 0 อีกครั้ง การทํางานจะเปนไปตามนี้เมื่อมีการกําหนด คา Configuration อยางถูกตอง และสายตอตางๆ อยูใน ตําแหนงที่ถูกตองและแนนหนา รวมทั้งฮารดแวรตองทํางานอยางถูกตอง กรบูตขั้นที่ 2 : โหลด MBR และตรวจสอบความถูกตองของตารางพารติชั่น ถาการเซ็ตอัพฮารดแวรเปนไปอยางถูกตอง เครื่องจะปรากฏแสงที่ตําแหนงของฮารดแวรขึ้นมาในชวง สั้นๆ ในขณะที่ทําการบูตเครื่อง ในสวนของฮารดดิสกนั้นแสดงใหทราบวาระบบกําลังอาน MBR ซึ่งอยูที่ ตําแหนง head 0, cylinder 0, sector 1 ถาความพยายามในการอานไมไดผล ไดรวจะไมไดรับความสนใจ จากระบบ และอาจมีรายงานวา “Drive 0 failure” ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ BIOS ของระบบที่ติดตั้งอยูในระบบเอง


269 MBR ประกอบดวยตารางพารติชันซึ่งนับวาเปนสวนที่สําคัญของฮารดดิสกซึ่งจะอธิบายวาฮารดดิสกมี

การแบงเนื้อที่อยางไรและโปรแกรมสั้นๆ สําหรับการตรวจสอบความถูกตองของตารางพารติชันนั้นดวย ถาตาราง พารติชันถูกตอง มันจะใชรายละเอียดในตารางพารติชันสําหรับคนหา และโหลด DBR จากพารติชันที่ทํางาน ในสวนของโปรแกรมสั้นๆ ที่อยูบน MBR มีหนาที่ 3 ประการดังนี้ 1. ตรวจสอบวาตารางพารติชันนั้นถูกตอง 2. คนหาพารติชันที่บูตได หรือทํางานบนไดรวได 3. โหลดเซกเตอรแรกของพารติชันนั้น ในกรณีที่เปนพารติชันของ DOS จะเรียกเซกเตอรแรกวา DBR(Dos Boot Record) การบูตขั้นที่ 3 : ตรวจสอบ (DBR)

ถาไมมีปญหาในสวนของ MBR ระบบจะทําการโหลดขอมูลที่เปนประโยชนสําหรับเซกเตอรที่ เรียกวา DBR เขาไปและทําให DBR ทํางานได ตารางพารติชันจําแนกตําแหนงของ DBR โดยการชี้ตําแหนงดังกลาว ระบบคอมพิวเตอรสวนมากจะ บรรจุ DBR ไวที่ตําแหนง cylinder 0, head 1, sector 1 เฉพาะกรณีที่ใชระบบปฏิบัติการตัวเดียว แตถา เปนแบบอื่นอาจไมเปนดังตัวอยาง

หนาที่ของ DBR มี 5 ประการดังนี้ 1. รีเซ็ตไดรวที่บูตได 2. โหลดเซกเตอรแรกของไดเร็คทอรีหลักเขาไวในหนวยความจํา 3. ตรวจสอบ 2 entries แรกวาเปนชื่อของไฟลที่ซอนอยู 4. โหลดไฟลที่ซอนอยูลงในหนวยความจํา 5. สงผานการควบคุมไปยังไฟลที่ซอนอยู DBR ไดบรรจุโครงสรางที่สําคัญของขอมูลที่เรียกวา BPB(The BIOS Parameter Block) เนื่องจาก DBR เปนเซกเตอรแรกในพารติชัน BPB จึงประกอบดวยขอมูลซึ่งอธิบายรายละเอียดของพารติชัน ให DOS รู การบูตขั้นที่ 4 : โหลดไฟลที่ซอนอยู DBR จะโหลดไฟลที่เปนหัวใจของระบบการทํางาน 2 ไฟลเขาไวในหนวยความจํา ซึ่งไดแกไฟล IO.SYS และ MSDOS.SYS ระบบจะไมบูตถาไฟลทั้งสองนี้ไมถูกตองหรือไมมีไฟลทั้งสองนี้อยู(ไมวาจะ เปนสาเหตุจากฮารดแวรหรือซอฟทแวรก็ตาม) การบูตขั้นที่ 5 : ตรวจสอบคําสั่ง CONFIG.SYS ระบบจะดําเนินการบูตตอไปโดยโหลดไฟลที่ซอนอยูไฟลแรก และใหมันทํางาน ซึ่งจะทําการโหลด คําสั่ง CONFIG.SYS แลวใหมีการทํางานตามคําสั่งนี้ คําสั่งใน CONFIG.SYS ที่สําคัญคือคําสั่ง “DEVICE=” ซึ่งใชในการโหลดดีไวซไดรเวอรที่จําเปนในการเขาสูไดรวตางๆ ที่ติดตั้งไว การบูตขั้นที่ 6 : ระบบจะทําการโหลด COMMAND.COM COMMAND.COM เปน User shell หมายความวามันเปนโปรแกรมที่ใชอานคําสั่งของ ผูใชเครื่อง และแปลคําสั่งนั้นไปสูระบบการทํางาน สําเนาของคําสั่ง COMMAND.COM ที่ไมถูกตองจะทํา ใหระบบไมสามารถบูตได การบูตขั้นที่ 7 : Autoexec.bat ทํางาน


270 Command.com จะเรียกคําสั่งตางๆ ใน Autoexec.bat ตามลําดับ ถาคําสั่งผิดปกติจะทําใหเสีย

ระบบการทํางานไปดวย จากขั้นตอนการบูตเครื่องจะเห็นวา ขั้นตอนที่ทําใหไมสามารถอานไดรวไดเลยคือขั้นที่ 1 และ ขั้นที่ 2 ซึ่งเปนขั้นตอนการตรวจสอบฮารดแวรและ MBR ในขั้นที่ 3 DBR จะมีความสําคัญมากขึ้นสําหรับ DOS เวอรชั่นหลังๆ และขั้นที่ 5 CONFIG.SYS มีความสําคัญสําหรับไดรวเพิ่มเติมเชน CD-ROM เปนตน

การวิเคราะหอาการและการแกปญหา เบื้องตน การวิเคราะหอาการและการแกปญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอรนั้น จะตองเริ่มตนพิจารณาตั้งแต การเริ่มตนเปดเครื่องคอมพิวเตอรขึ้นมา เพื่อที่จะสามารถตรวจสอบไดวาปญหาเกิดขึ้นในชวงใดของการบูตระบบ โดยพิจารณาทีละขั้นตอน

การตรวจสอบฮารดแวร หลังจากเปดสวิทชใหระบบทํางาน CPU จะถูกรีเซ็ตใหไปอานขอมูลที่ BIOS เพื่อทําการตรวจสอบ ฮารดแวรที่เชื่อมตออยูภายในเครื่องคอมพิวเตอร BIOS : Basic Input Output System จะเปนตัวแรกที่ทํางานโดยจะเริ่มกระบวนการที่เรียกวา POST : Power On Self Test เพื่อทําการทดสอบระบบตางๆ ของคอมพิวเตอร โดยจะเช็คระบบตางๆ วา ทํางานเปนปกติหรือไม ในขั้นตอนนี้จะทําการติดตอกับหนวยความจํา ไดรว คียบอรด ฮารดดิสก จอภาพ และอุปกรณในสวน อื่นๆ ถาเกิดปญหาขึ้นมาในขั้นตอนนี้เครื่องจะทําการเตือนดวยขอความที่จอภาพ(กรณีที่ติดตอกับจอภาพได) แต ถาติดตอกับจอภาพไมไดเครื่องจะแจงเปนเสียงแทน

ขอความแสดงความผิดพลาด ขอความ CMOS BATTERY HAS FAIL CMOS CHECKSUM ERROR Disk Boot Failure, Insert System Disk and Press Enter FDD Controller Failure

ปญหา แบตเตอรี่แบกอัพ CMOS ออนกําลัง,แบตหมด ขอมูลภายใน CMOS ไมถูกตอง ซึ่งสวนใหญเกิดจากแบตเตอรี่ใกล หมด หรือมีการถอดแบตเตอรี่ออก BIOS ไมพบดิสกที่กําหนดใหใชสําหรับบูตระบบ หรือดิสกนั้นไมได ทําการติดตั้งระบบปฏิบัติการใดๆ ไว ระบบรีเซ็ตฟลอปปดิสกไมได อาจเนื่องจากการตั้งคาใน BIOS ไม ถูกตอง, สายเคเบิลหลุดหรือหลวม, หรือคอนโทรลเลอรเสีย


271 HDD Controller Failure KB/Interface Error Keyboard Error System Halted(Ctrl-AltDel) to Reboot

ระบบรีเซ็ตฮารดดิสกไมได อาจเนื่องจากการตั้งคาใน BIOS ไม ถูกตอง, สายเคเบิลหลุดหรือหลวม, หรือคอนโทรลเลอรเสีย หัวตอคียบอรดเสีย หรือหลุด/หลวม ไมไดติดตั้งคียบอรดหรือคียบอรดเสีย เกิดขอผิดพลาดบางประการขึ้น ซึ่งระบบจะพยายามแกปญหาโดยการ รีบูตเครื่องใหม

การ POST เสียงของ BIOS รหัสเสียงของ BIOS แตละยี่หออาจจะแตกตางกันไป แตสวนใหญรหัสเสียงจะใชสองลักษณะ คือ เสียงสั้น และเสียงยาว และใชทั้งสองแบบรวมกัน เพื่อใหไดความหมายที่มากพอ รหัสเสียง BIOS Award เสียง ความหมาย สั้น 1 ครั้ง POST ผาน ทุกอยางปกติ สั้น 2 ครั้ง POST ไมผาน มีปญหา ไมมีเสียง แหลงจายไฟ หรือเมนบอรดมีปญหา เสียงตอเนื่อง แหลงจายไฟ หรือเมนบอรดมีปญหา หรือหนวยความจํา RAM มีปญหา ยาว 1 สั้น 1 เมนบอรดมีปญหา ยาว1 สั้น 2 การดแสดงผลมีปญหา (MDA, CGA) ยาว 1 สั้น 3 การดแสดงผลมีปญหา (EGA) รหัสเสียง BIOS AMI เสียง สั้น 2 ครั้ง ไมมีเสียง เสียงตอเนื่อง ยาว1 สั้น 2 ยาว 1 สั้น 3 ยาว 1 ครั้ง

ความหมาย POST ไมผาน มีปญหา

แหลงจายไฟ หรือเมนบอรดมีปญหา แหลงจายไฟ หรือเมนบอรดมีปญหา หรือหนวยความจํา RAM มีปญหา การดแสดงผลมีปญหา (MDA, CGA) การดแสดงผลมีปญหา (EGA) การทดสอบเรียบรอย ไมมีปญหา

จากตารางรหัสตัวอยางเสียงของ BIOS ซึ่งเปน ยี่หอที่นิยมใชโดยทั่วไปในเครื่องที่เปนแบบ Home User สวนยี่หออื่นๆ เชน BIOS Phoenix จะมีใชในเครื่องประเภทแบรนดเนม เปนสวนใหญ ในสวนของ รหัสเสียงก็ใกลเคียงกัน ทั้งนี้ผูใช หรือผูดูแลระบบจะตองใชการสังเกตเอาเอง ********************************************************

การโหลด MBR และตรวจสอบความถูกตองของตารางพารติชัน


272 ขั้นตอนนี้จะกระทําตอเนื่องจากการตรวจสอบฮารดแวรเรียบรอยแลว มันจะทําการคนหาพารติชันที่บูต ไดของดิสกไดรว ในขั้นตอนการทํางานนี้ ถามีปญหาเกิดขึ้นจะมีขอความแสดงความผิดพลาดขึ้นมาขอความใด ขอความหนึ่งดังนี้ Invalid partition table, Error Loading Operating system หรือ Missing operating system การวิเคราะหใหดูตามผังการทํางานของ MBR โครงสรางของ MBR เปลี่ยนรหัส MBR จาก 0:7C00 ไปเปน อานตารางพารติชันแตละตารางเพื่อคนหาพารติชันที่บูต

พบ entries อื่นที่ไมใชไบตที่ 80 หรือ 00 ระบบแสดงขอความ Invalid partition คนพบ entry ที่บูตได Entry สําหรับตารางพารติชัน ทั้งหมดอยูในสภาพใชไดใชหรือไม

ไมมี entry สําหรับตารางพารติชัน ไมไดคนหาพารติชันที่บูตได ไปที่ ROM BIOS ไมใช

ระบบแสดงขอความ Invalid partition

ใช อาน Dos Boot Record ถึง ตําแหน งในหนวยความจํา การทํางานของ DBR

ไมสามารถอาน DBR

ความ Error หลังจากระบบทําการโหลด MBR เสร็จเรียบรอยแลว จะทํระบบแสดงข าการเรียกใหอDBR ทํางานเปนตัวถัดไป Loading การวิเคราะหปญหาในชวงการทํางานนี้สามารถวิเคราะหไดจากผังการทํ างาน Operating System โครงสรางของ DBR ตรวจดูวาไบตสุดทายของ DBR โหลดและทําการปรับปรุงตารางแสดงลักษณะเฉพาะดิสก ไมใช เปน AA55

ระบบแสดงขอความ Missing Operating System

ใช

รีเซ็ตไดรวที่บูตได

ทํางานโดยใช DBR

รีเซ็ตไดเรียบรอยหรือไม

ได คํานวณเซกเตอรจากไดเร็คทอรีแรกและเซกเตอร ของขอมูล จากนั้นอานเซกเตอรของไดเร็คทอรีแรก ไปที่ 0:500

ไมได

ขอความ Disk Boot


273

การทํางานของโปรแกรมระบบ ในขั้นตอนนี้เปนการทํางานที่เกิดขึ้นหลังจากการตรวจสอบฮารดแวรเรียบรอยแลว ถาเปนระบบ DOS จะมีการเรียกใชไฟล Config.sys เพื่อทําการโหลดดีไวซไดรเวอรของอุปกรณตางๆ ที่จําเปน หลังจากนั้นจึงทํา การเรียกใชไฟล Command.com เพื่อทําการติดตอกับผูใชงาน และสุดทายเปนการเรียกใชงาน Autoexec.bat ซึ่งเปนขั้นตอนเรียกใชโปรแกรมที่จําเปนสําหรับการเริ่มตนระบบ ตอไป สวนของ Windows’95/98 นั้น จะตางจาก DOS ตรงที่ไฟล Config.sys และ Autoexec.bat จะไมคอยมี ความสําคัญมากนัก แตจะเปนการเรียกใชงาน Windows Registry ซึ่งเปนสวนที่เก็บการเชื่อมตอกับอุปกรณ ตางๆ เขากับระบบไว ในขั้นตอนนี้ถามีปญหาจะพบกับขอความตอไปนี้ ขอความ ปญหาที่เกิด Bad or Missing ,Command ไฟล Command.com เสีย Interpreter Memory Allocation Error Cannot Load Command, System Halted Key_ Press any key to continues

Command.com ถูกทําลาย หรือมีโปรแกรมบางโปรแกรมพยามใช

หนวยความจําในตําแหนงที่สงวนไวสําหรับ Command.com เครื่องไมสามารถ โหลด Command.com ไดเนื่องจาก Bug ของ โปรแกรม หรือรุนของ Command.com ไมตรงกัน System file ของ Windows ถูกทําลาย ถาฟองไฟล XXX.Vxd จะเปนที่การติดตั้งระบบไมสมบูรณ ถาไม ฟองไฟล xxx.vxd มีปญหาที่ไฟล Autoexec.bat

จะเห็นไดวาปญหาที่เกิดจากการทํางานของระบบจะเกิดไดในทุกขั้นตอนการทํางาน โดยแตละสวน ปญหาที่เกิดขึ้นจะแตกตางกันไปโดยลักษณะของขอความที่ปรากฏจะเปนตัวบอกใหเราทราบวาปญหาที่เกิดขึ้น นั้นเกิดกับสวนใดของระบบนั่นเอง เมื่อใชแนวทางในเบื้องตนสําหรับการวิเคราะหถึงปญหาที่เกิดขึ้นแลว และทราบวาเกิดขึ้นกับสวนใด ของระบบ เราก็สามารถที่จะทําการแกไขไดงายขึ้นเนื่องจากเราไดกําหนดปญหาให แคบลง ทําใหการแกปญหาทําไดเร็วขึ้นดวย และเปนการแกไขปญหาไดอยางตรงจุด ***************************************************


274

แนวทางการแกปญหา ปญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอร จะเปนตัวชี้ใหเห็นถึงตําแหนงที่บรรจุขอมูลสําคัญๆ ในเครื่อง คอมพิวเตอร และแตละสวนมีผลถึงกัน ถาสวนใดสวนหนึ่งถูกลบหรือเสียไป จะทําใหสวนอื่นๆ ไมสามารถที่จะ ทํางานตอไปได เชนถาหากตารางพารติชันเสียหาย เราก็จะไมอาจเขาสูระบบไดแมวาสวนที่เปน FAT จะยัง สมบูรณดีอยู

ตําแหนงขอมูลที่สําคัญในเครื่อง คอมพิวเตอร ขอมูล

ตําแหนงที่ตั้ง

การกําหนด บริษัทผูผลิต/ผูใช

POST(Power On Self Test)

ROM BIOS

ประเภทของฮารดดิสก

Controller บนเมนบอรด

กําหนด Configuration ของ ฮารดดิสก

Partition Record(MBR)

Head 0/Cylinder 0/Sector 1 บนฮารดดิสก

FDISK/ XFDISK

DOS Boot Record(DBR)

Sector แรกใน Partition

FORMAT

MBR เปนตัวชี้ตําแหนง FAT(File Allocation Table) Root Directory

IO.SYS/MSDOS.SYS CONFIG.SYS COMMAND.COM

AUTOEXEC.BAT

ขอมูลของผูใช

MBR เปนตัวชี้ตําแหนง

Format C: หรือ C:/S

บูตเรคคอรดของ DOS เปน Format C: หรือ Format C:/S ทางออม คือ DBR ชี้ตําแหนง FAT และกําหนดขนาดของ FAT และ Root Directory อยู ถัดจาก FAT Root Directory / FAT Format C:/S หรือ SYS C: Root Directory / FAT ใช ผูใชเครื่อง /การติดตั้ง Device โดย MSDOS.SYS Driver ใหกับอุปกรณตางๆ Root Directory /FAT ตัวชี้ Format C:/S หรือ SYS C: ปญหาคือ Bad or Missing Command Interpreter Root Directory/ Sub Directory FAT Root Directory/ Sub Directory FAT

ผูใชเครื่อง /การติดตั้ง Device Driver ใหกับอุปกรณตางๆ ผูใชเครื่อง

จากตาราง ทําใหเราทราบถึงตําแหนงของขอมูลแตละตัว และการกําหนดขอมูลแตละชุดแลว การ แกปญหาก็สามารถทําไดงายขึ้นเมื่อมีขอความแสดงความผิดพลาดในการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรขึ้นมา


275

การแกไขปญหาชวงตรวจสอบ ฮารดแวร ขอความ CMOS CHECKSUM ERROR

Disk Boot Failure, Insert System Disk and Press Enter

FDD/ HDD Controller Failure

KB/ Interface Error(Keyboard Error)

System Halted(Ctrl-Alt-Del) to Reboot

ปญหา/การแกไข ปญหา ขอมูลภายใน BIOS ไมถูกตอง สวนใหญเกิดจากแบ ตเตอรีออนกําลัง หรือมีการ Clear BIOS การแกไข เปลี่ยนแบตเตอรีใหม ทําการแกไขขอมูลใน BIOS ใหถูกตอง (ดูหัวขอการเซ็ตอัพ BIOS) ปญหา BIOS ไมพบดิสกที่กําหนดใหทําการบูตระบบ หรือดิสก นั้นไมไดทําการติดตั้งระบบปฏิบัติการใดๆ ไว สวนใหญจะเกิด จากการใสแผนดิสกไวในเครื่องขับ หรืออาจเกิดจากสายตอหลวม หรือหลุดก็เปนได การแกไข ตรวจสอบในเครื่องขับดิสกวามีแผนดิสกเก็ต อยูภายใน หรือไม/ เช็คสายตอภายในของดิสกวาแนนหรือไม/ บูตระบ บจากไดรว A: ใชคําสั่ง SYS C: หลังจากขึ้นขอความ System Transferred ถอดแผนดิสกออกจากเครื่องขับ บูต เครื่องใหมอีกครั้ง ปญหา ระบบทําการรีเซ็ต Floppy disk/ Hard Disk ไมได อาจเปนเพราะการตั้งคาใน BIOS ไมถูกตอง, คอนโทรลเลอร เสีย, แตสวนใหญแลวจะเกิดจากสายเคเบิลหลุดหรือหลวม การแกไข ตรวจสอบสายเคเบิลวาหลุดหรือหลวมหรือไม/ ตรวจสอบคาใน BIOS ใหถูกตอง ถาคอนโทรลเลอรเสียตองทํา การเปลี่ยนใหม ปญหา หัวตอคียบอรดหลุด/หลวม การแกไข ขยับหัวตอใหเขาที่/ ถอดหัวตอแลวใสกลับเขาไปใหม รีบูตระบบ ปญหา เกิดการผิดพลาดบางประการ ระบบจะพยายามแกปญหา โดยการบูตระบบใหม

การแกปญหาที่เกิดขึ้นจากการบูตระบบ ปญหา Chipset ที่ควบคุม Interrupt

เสีย ปญหาเกิดที่เมนบอรด Setup ชนิดของ HDD ใน BIOS ผิด

อาการ การแกไข นับ Memory เสร็จ แลว Hang ไป รีบูตเครือ่ งขึ้นมาใหมอีกครั้ง ถายัง เฉยๆ ไมมีขอความใดๆ ขึ้นมา เปนเหมือนเดิม ทําการตรวจเช็คที่ เมนบอรด นับ Memory เสร็จแลวขึ้นขอความ ตรวจเช็คชนิดของ HDD ใน Drive C: Failure หรือ Drive BIOS ที่หัวขอ STANDARD C: Error / PRIMARY IDE : กําหนด ชนิด HDD ใหถูกตอง ถามีหัวขอ


276 AUTO ใหกําหนดเปนหัวขอนี้ DOS Partition เสีย

Boot ที่ Drive A: แลวพิมพ C:

1. Boot ที่ Dive A: พิมพ

ไมขึ้นขอความ Invalid Drive

Sys C: รอจนขึ้นขอความ

Specification

System transferred แลวบูตที่ Drive C: อีกครั้ง ถายังบูตไมได 2. ใช Norton Utilities

หัวขอ Disk Tool ใชคําสั่ง Make Disk Bootable ทําตามขั้นตอน

HDD Track 0 เสีย

HDD Boot Record เสีย

ของโปรแกรม ถายังไมหาย 3. ทําการ Format Drive C: ใหมไดเลย 1. Boot ที่ Drive A: ใชคําสั่ง เลี่ยงไปบูตที่พารติชันแทนโดยการ กําหนดใหเปนสองพารติชัน แลว Sys C: แลวยังไมไดผล 2. ใช Norton NDD ตรวจดูแลว กําหนดใหพารติชันที่สองเปน DOS Partition ถาใช FDISK มี Bad Sector ที่ Track 0 3. Format C:/S ไมผาน แต กําหนดให Partition ที่สองเปน Active Format C: เฉยๆ ผาน 4. Format ดวย Low Level ของ Disk Manager ฟอง Track 0 เสีย 1. ขึ้นขอความ Disk Boot บูตที่ Drive A: พิมพ Sys C: Failure หรือ Hang ไปเฉยๆ รีบูตอีกครั้ง ถาไมหาย ใช 2. ขอความ Non-System Disk Disk tool ใน Norton เลือก or Disk Error

Make Disk Bootable

การแกปญหาที่เกิดจากโปรแกรม ปญหา Hang ที่ Config.Sys หรือ Autoexec.bat หรือที่โปรแกรม Driver

อาการ บูตระบบขึ้นมาแลวเขาไปที่ Safe Mode หรือมีขอ ความ Press any Key to Continues

การแกไข บูตเครื่องขึ้นมาใหม แลวกดปุม F8 เลือกหัวขอ Step by Step Confirmations เพื่อทําการ ตรวจสอบ Config.sys และ Autoexec.bat เพื่อตรวจดูวามี ปญหาที่จุดใดแลวทําการ Mark ไว จากนั้นเขาไปแกไขใน Edit

ไฟลระบบเสีย

ขึ้นขอความ Key_

Config.sys/ Autoexec.bat บูตที่ Drive A: พิมพ Sys C:

(IO.SYS/ MSDOS.SYS)

(WINDOWS’98)

แลวทําการบูตระบบขึ้นมาใหมใน


277

เครื่องไมสามารถโหลด Command.com ได เนื่องจาก Bug ของโปรแกรม หรือรุนของ Command.com ไมตรงกัน

ขึ้นขอความ Cannot Load Command, System Halted

กรณีนี้ถาระบบบูตไปที่ C:\> ตอง ทําการติดตั้ง(Setup)โปรแกรม ระบบลงไปใหม จึงจะใชงานได เช็คดูวาในฮารดดิสกมีไฟล Command.com หรือไม ถาไม มีใหทําการบูตจากไดรว A: แลว ใชคําสั่ง Sys C: บูตใหมอีกครั้ง ถาไมไดผลใหทําการตรวจเช็คที่ RAM

ไฟล Command.com ใน ฮารดดิสกไมมี อาจถูกลบหรือถูก ทําลายโดยไวรัสหรือสาเหตุอื่น ไฟล Command.com ถูก ทําลาย หรือมีโปรแกรมพยายามใช เนื้อที่ในหนวยความจําที่สงวนไว สําหรับ Command.com

ขึ้นขอความ Bad or Missing Command Interpreter

ขึ้นขอความ File Allocation Error

บูตระบบจาก Drive A: แลวใช คําสั่ง Sys C: แลวบูตระบบขึ้นมา อีกครั้ง ทําการบูตระบบขึ้นมาใหมโดยการ Reset ถาไมไดผล บูตระบบจากไดรว A: แลวใช คําสั่ง Sys C: Restart เครื่อง

การสราง ลบ หรือจัดแบง พารตช ิ น ั ของฮารดดิสก โดยใช fdisk การจัดพารติชน ั ของฮารดดิสก คือขั้นตอนของการ จัดรูปแบบการใชงานของ ฮารดดิสก กอนขั้นตอนการ ฟอรแมต โดยทีเ่ ราสามารถ ทําการแบง ฮารดดิสก ออกเปนขนาดตาง ๆ เพื่อกําหนดใหใชงานไดในแตละ Drive เพื่อความ เปนระเบียบของขอมูล เชน ฮารดดิสก ขนาดเต็ม 8 GB อาจจะทําการแบงออกเปน Drive C: ขนาด 3 GB เพื่อใช สําหรับลง Windows และซอฟตแวรตาง ๆ และทําการแบงเปน Drive D: อีกสวนหนึ่งโดยใหมข ี นาดเปน 5 GB เพื่อใชสําหรับเก็บขอมูลอื่น ๆ เปนตน ชนิดของพารติชน ั่ จะแบงออกตามชนิดของ FAT ตาง ๆ ไดดังนี้ • • •

FAT16 เปนการจัดพารติชน ั สําหรับ DOS, Windows 3.1 และ Windows 95 รุนแรก ๆ จะรองรับ ขนาดของพารตช ิ ันไดสูงสุดที่ 2 GB ตอ 1 พารตช ิ ั่นเทานัน ้ FAT32 เปนการจัดพารติชน ั สําหรับ Windows 95 OSR2 และ Windows 98 สามารถรองรับขนาด ของพารตช ิ ันไดจาก 512 KB ไปจนถึง 64 GB ตอ 1 พารติชน ั NTFS เปนการจัดพารติชน ั สําหรับ Windows NT

ั ก็ตองทําการสราง ดังนัน ้ หากจะทําการจัดแบงพารติชัน ใหใชงานฮารดดิสกที่ขนาดมากกวา 2 GB ตอ 1 พารติชน พารติชน ั แบบ FAT32 ซึ่งจะสามารถใชงานไดในระบบ Windows 95 OSR2 หรือ Windows 98 ขึ้นไปเทานัน ้ ซอฟตแวร ที่ใชสําหรับการจัดแบง พารติชน ั ของ ฮารดดิสก แบบงาย ๆ ก็คือโปรแกรม FDISK ที่มีมาใหกบ ั Windows 98 นั่นเอง โดยที่ตองอยาลืมวา การใช FDISK จาก Windows 98 จะสามารถสรางพารติชน ั แบบ FAT32 ได แตถาหากเปน FDISK ที่มากับ Windows 95 หรือของ DOS จะสามารถทําไดเฉพาะระบบ FAT16 เทานัน ้ ไมสามารถทําเปน FAT32 ได โดยปกติแลว ขัน ้ ตอนการจัดแบงพารตช ิ ันของฮารดดิสก ไมจําเปนตองทําบอยนัก จะทําในกรณีที่ตองการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบ ชนิดของ FAT หรือกําหนดขนาดของพารตช ิ ันใหมเทานั้น ซึ่งขัน ้ ตอนการจัดพารตช ิ ันใหมนี้ ขอมูลทุกอยางทีเ่ ก็บอยูใน ฮารดดิสก จะหายไปทัง้ หมดดวย ดังนัน ้ ตองระวังหรือทําการเก็บสํารองขอมูลที่สําคัญเก็บ ไวกอน ในที่นจี้ ะยกตัวอยางของการจัดการ และการแบงพารตช ิ ันของฮารดดิสก โดยการใชคําสั่ง FDISK ที่มีมา กับ Windows เพื่อเปนการเตรียมฮารดดิสกกอนขั้นตอนการลง Windows ตอไป คําสั่ง FDISK จะสามารถหาไดจากแผน Windows 98 Start Up Disk ถาหากยังไมมี ตองทําการสรางแผน Windows 98 Startup Disk ขึ้นมากอน หลังจากนั้น จึงทําการบูทเครื่องคอมพิวเตอร โดยการบูทเครื่องจากแผน Windows 98 Startup Disk จากนัน ้ พิมพคําสั่ง fdisk แลวกด Enter


278

ถาฮารดดิสกมข ี นาดใหญมากกวา 512MB จะมีคําถามวาตองการสรางพารติชน ั ขนาดใหญหรือไม หรือเปนการ ถามวา ตองการใชงานแบบ FAT32 หรือไมนน ั่ เอง หากตอบ [N] ก็จะเปนการกําหนดใหใชงานแบบ FAT16 หรือ เหมือนกับการใช FDISK ของ DOS หรือ Windows 95 รุนเกาไป แตถาตองการแบงพารติชันแบบ FAT32 ก็ ใหกด [Y]

เมนูหลักสําหรับการใชงานแบบตาง ๆ โดยปกติแลวจะมีแค 4 รายการ แตถาหากมีการตอฮารดดิสกมากกวา 1 ตัว จะมีเมนูที่ 5 คือ Change current fixed disk drive สําหรับเลือกวาจะทํางานกับ ฮารดดิสก ตัวไหนใหเลือกดวย การแสดงขอมูลของ พารตช ิ ัน ตาง ๆ ทําโดยเลือกที่เมนู 4. Display partition information


279

เมนูของการแสดงพารตช ิ ัน (เลือกจากเมนู 4. จากเมนูหลัก) จะแสดงขอมูลตาง ๆ ของพารตช ิ ัน ในฮารดดิสก จะ เห็นรายละเอียดและการกําหนดรูปแบบการใชงานตาง ๆ รวมถึงการจัดแบงขนาดตาง ๆ ดวย ในกรณีทเี่ ปน ฮารดดิสก ที่ยงั ไมไดทําการจัดพารติชน ั ก็จะไมมข ี อมูลแสดงใหเห็น เราสามารถกดปุม  ESC เพือ ่ กลับไปเมนูหลัก

เมนูของการลบพารติชน ั (เลือกเมนู 2. จากเมนูหลัก) จะมีเมนูใหเลือกรายการลบพารติชน ั ตาง ๆ ซึง่ ขออธิบาย ความหมายของแตละพารติชน ั ดังนี้ • • • •

Primary DOS Partition เปนพารติชน ั หลักของฮารดดิสก Extended DOS Partition เปนพารติชน ั ถัดไปของฮารดดิวก Logical DOS Drive(s) จะเปนการกําหนดขนาดตาง ๆ ที่อยูใน Extended DOS Partition อีกที ซึ่ง สามารถกําหนดการสรางไดหลาย ๆ Drive ตามตองการ Non-DOS Partition เปนพารติขันในระบบอื่น ๆ ที่ไมใชระบบของ DOS

ในการลบพารตช ิ ัน จะตองทําการลบโดยเรียงลําดับขอมูลดวย เชนตองลบ Logical DOS Drive ออกใหหมดกอน จึงจะลบ Extended DOS Partition ได และหลังจากนั้น จึงทําการลบ Primary DOS Partition ตามลําดับ ตอไป


280

หากทําการลบพารติชน ั ตาง ๆ ขอมูลทุกอยางที่เก็บอยูในพารติชน ั นั้น ๆ จะหายไปหมด ดังนัน ้ เมื่อจะทําการลบ พารติชน ั จะมีการถามยืนยันการลบ โดยใหใส Volume Label ของฮารดดิสกนน ั้ กอนดวย เพื่อเปนการปองกัน การลบขอมูล โดยไมไดตั้งใจหรือลบผิดพารติชน ั ดังนัน ้ หากจะทําขั้นตอนนี้ ตองใชความระมัดระวังและอาน รายละเอียดตาง ๆ ใหรอบคอบกอน

เมนูของการสรางพารตช ิ ัน (เลือกเมนู 1. จากเมนูหลัก) จะเปนการสรางพารติชน ั แบบตาง ๆ ซึง่ จะคลาย ๆ กับเมนู ของการลบพารติชัน คือจะมีการสราง Primary DOS Partion, Extended DOS Partition และการสราง Logical DOS Drive ใน Extended DOS Partition ปกติแลวก็จะสรางเรียงตามลําดับตามตองการ


281

กรณีทเี่ ลือกสราง Primary DOS Partition เปนอักแรก จะมีเมนูถามวา ตองการใชพน ื้ ที่ทั้งหมดในฮารดดิสก สําหรับทําเปน Primary DOS Partition หรือไม หากตองการใชพื้นทีท ่ ั้งหมดสรางเปน Drive เดียวก็เลือก [Y] แตถาหากตองการระบุขนาดตาง ๆ ของพารติชน ั ดวยตัวเอง ก็เลือกที่ [N] เพื่อกําหนดขนาดเอง

จากรูป ถาหากเลือกที่จะกําหนดขนาดของ Primary DOS Partition เองโดยเลือก [N] จากขัน ้ ตอนที่แลว จะมี เมนูใหใสขนาดของ Primary DOS Partition ตามตองการ โดยอาจจะใสเปนตัวเลขจํานวนของ MB หรือใสเปน ตัวเลขเปอรเซ็นตก็ได จากตัวอยางสมมติวากําหนดขนาดเปน 70% ของจํานวนฮารดดิสกทั้งหมด ก็ใส 70% แลว กด Enter


282

หลังจากนั้น ก็ทําการสราง Extended DOS Partiton จากสวนของพื้นที่ฮารดดิสกที่เหลือ โดยการเลือกเมนูที่ 2. Create Extended DOS Partition ทําการกําหนดขนาดของพืน ้ ที่ตามที่ตองการ จากตัวอยางคือจะใชพื้นที่ 30% ที่เหลือทั้งหมด โดยการกําหนดขนาดนี้อาจจะใสเปยตัวเลขจํานวน หรือใสเปนตัวเลขเปอรเซ็นต ก็ไดแลวกด Enter

หลังจากที่สราง Extended DOS Partition แลวจะมีการแสดงรายละเอียดของการแบงพารติชันตาง ๆ ใหดูตาม รูป


283

ในสวนของ Logical Drive จะเปนการสรางขึน ้ ภายในของ Extended DOS Partition อีกที ซึ่งการกําหนด ขนาดของพืน ้ ที่ฮารดดิสก ก็กําหนดขนาดตามตองการ หรือถาตองการแบงในสวนของ Extended DOS Partition ออกเปนหลาย ๆ Drive ก็สามารถทําการกําหนดแบงไดจากสวนของ Logical Drive นี้

หลังจากที่ทําการสรางและจัดแบงพารติชน ั ตาง ๆ เรียบรอยแลว เมือ ่ กลับมาที่เมนูหลัก จะมีคําเตือนวาไมมีการ กําหนดพารติชน ั ไหน active อยูเลย ตองทําการกําหนดพารติชน ั ทีส ่ รางขึ้นมาใหเปน active partition ดวย เพื่อใหสามารถใชบูทเครื่องได การกําหนดทําโดยการเลือกทีเ่ มนู 2. Set active partition


284

ใสหมายเลขของ Partition ที่ตองการใหเปน active partition และกด Enter

เมื่อเลือกที่เมนู 4. เพื่อดูรายละเอียดตาง ๆ ก็จะเห็นลักษณะการจัดและแบงพารตช ิ น ั ในฮารดดิสก รวมถึงพารตช ิ ัน ที่ตั้งใหเปน active partition ดวย


285

หลังจากที่ทําการกําหนดและแบง Partition ตาง ๆ เสร็จเรียบรอยแลว เมื่อออกจากโปรแกรม FDISK ก็จะมี ขอความเตือนวา ใหทําการ Restart เครื่องคอมพิวเตอรใหมกอน การจัดพารติชน ั ตาง ๆ จึงจะมีผลและทําการ format ฮารดดิสกตอไป

การจัดแบงพารติชันของ ฮารดดิสกนี้ โดยปกติแลว จะไมจําเปนตองทําทุกครั้งที่ลง Windows ใหม ซึ่งจะทําการจัดพารติชัน ก็ตอเมื่อตองการจัดแบงขนาดของ ฮารดดิสกใหม หรือตองการลบขอมูล ใหสะอาดจริง ๆ เนื่องจากเกิดการติดไวรัส เครื่องคอมพิวเตอร เทานั้น และอยาลืมวา การทํา FDISK นี้ขอมูลทุกอยางที่มีอยู ใน ฮารดดิสก จะหายไปทั้งหมดดวย จึงควรจะตองใชความระมัดระวัง ในการทํา ทุก ๆ ขั้นตอน

การสราง ลบ หรือจัดแบง พารติชันของฮารดดิสก โดยใช fdisk การจัดพารติชันของฮารดดิสก คือขั้นตอนของการ จัดรูปแบบการใชงานของ ฮารดดิสก กอนขั้นตอนการ ฟอรแมต โดยที่เราสามารถ ทําการแบง ฮารดดิสก ออกเปนขนาดตาง ๆ เพื่อกําหนดใหใชงานไดในแตละ Drive เพื่อความเปนระเบียบของขอมูล เชน ฮารดดิสก ขนาดเต็ม 8 GB อาจจะทําการแบงออกเปน Drive C: ขนาด 3 GB เพื่อใชสําหรับลง Windows และซอฟตแวรตาง ๆ และทําการแบงเปน Drive D: อีกสวนหนึ่งโดยใหมีขนาดเปน 5 GB เพื่อใชสําหรับเก็บขอมูลอื่น ๆ เปนตนชนิดของพารติชั่น จะแบงออกตามชนิดของ FAT ตาง ๆ ไดดังนี้FAT16 เปนการจัดพารติชันสําหรับ DOS, Windows 3.1 และ Windows 95 รุนแรก ๆ จะรองรับขนาดของพารติชันได สูงสุดที่ 2 GB ตอ 1 พารติชั่นเทานั้น FAT32 เปนการจัดพารติชันสําหรับ Windows 97 OSR2 และ Windows 98 สามารถรองรับขนาดของพารติชันไดจาก 512 KB ไปจนถึง 64 GB ตอ 1 พารติชัน NTFS เปนการจัดพารติชัน สําหรับ Windows NT ดังนั้น หากจะทําการจัดแบงพารติชัน ใหใชงานฮารดดิสกที่ขนาดมากกวา 2 GB ตอ 1 พารติชันก็ตองทําการสรางพารติชันแบบ FAT32 ซึ่งจะสามารถใชงานไดในระบบ Windows 95 OSR2 หรือ Windows 98 ขึ้นไปเทานั้น ซอฟตแวร ที่ใชสําหรับการจัดแบง พารติชันของ ฮารดดิสก แบบงาย ๆ ก็คือโปรแกรม FDISK ที่มีมาใหกับ Windows 98 นั่นเอง โดยที่ตองอยาลืมวา การใช FDISK จาก Windows 98 จะสามารถสราง พารติชันแบบ FAT32 ได แตถาหากเปน FDISK ที่มากับ Windows 95 หรือของ DOS จะสามารถทําไดเฉพาะ ระบบ FAT16 เทานั้นไมสามารถทําเปน FAT32 ไดโดยปกติแลว ขั้นตอนการจัดแบงพารติชันของฮารดดิสก ไม


286 จําเปนตองทําบอยนัก จะทําในกรณีที่ตองการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบ ชนิดของ FAT หรือกําหนดขนาดของ พารติชันใหมเทานั้น ซึ่งขั้นตอนการจัดพารติชันใหมนี้ ขอมูลทุกอยางที่เก็บอยูใน ฮารดดิสก จะหายไปทั้งหมด ดวย ดังนั้นตองระวังหรือทําการเก็บสํารองขอมูลที่สําคัญเก็บไวกอน ในที่นี้จะยกตัวอยางของการจัดการ และการ แบงพารติชันของฮารดดิสก โดยการใชคําสั่ง FDISK ที่มีมากับ Windows เพื่อเปนการเตรียมฮารดดิสกกอน ขั้นตอนการลง Windows ตอไป หลักของการแบงพารติชั่นดวย FDISKกอนอื่น มาทําความเขาใจเรื่องของคําที่จะใช และหลักการแบงพารติชั่น ดวย FDISK กันกอนครับ โดยที่มีหลักการแบง เรียงตามลําดับ เพื่อใหเกิดความเขาใจแบบงาย ๆ และรวดเร็วดังนี้1. ขั้นแรก ตองสรางพารติชั่นที่เปน Primary DOS Partition กอน โดยถาหากจะแบงเปนไดรฟเดียว ก็เลือกตรงนี้ใหมี ขนาดเปน 100% ไดเลย แตถาหากตองการแบงใหเปนหลาย ๆ ไดรฟ ก็กําหนดขนาดไปตามตองการ 2. ตอไป ตองสราง Extended DOS Partition โดยกําหนดขนาดใหเทากับพื้นที่ ที่เหลือจากขอ 1. ครับ ตรงนี้จะยัง ไมใชไดรฟหรือพารติชั่นตัวที่สอง แตจะเปนการกําหนดพื้นที่สําหรับ พารติชั่นตัวที่สองหรือตัวถัดไปเทานั้น 3. ทําการสราง Logical DOS Drive(s) ขึ้นมาอีกครั้ง (ซึ่งจะใชพื้นที่ของ Extend DOS Partition ที่ไดสรางไวแลว) โดยที่ตรงนี้ จะกําหนดขนาดของพารติชั่นที่ตองการสําหรับไดรฟถัดไป เชนอาจจะกําหนด ใหใชพื้นที่ ที่เหลืออยู ทั้งหมด เปนอีกไดรฟหนึ่ง ก็เลือกขนาดเปน 100% แตถาหากตองการแบงยอยขนาดลงไป ก็ตองสราง Logical DOS Drive(s) ใหมีขนาดยอย ๆ ตามตองการยกตัวอยางละกัน สมมติวาฮารดดิสกขนาด 20G. ตองการแบงเปน 3 พารติชั่น โดยมีขนาดเปน 5+5+10 จากขอ 1. ก็ตองสราง Primary DOS Partition ขึ้นมาขนาด 5G. กอน แลวคอย สราง Extended DOS Partition ขนาด 15G. ที่เหลือ จากนั้นคอยทําการสรางเปน Logical DOS Drive(s) โดย กําหนดใหมีขนาด 5G. และ 10G. ตามลําดับครับ คําสั่ง FDISK จะสามารถหาไดจากแผน Windows 98 Start Up Disk ถาหากยังไมมี ตองทําการสรางแผน Windows 98 Startup Disk ขึ้นมากอน หลังจากนั้น จึงทําการบูทเครื่องคอมพิวเตอร โดยการบูทเครื่องจากแผน Windows 98 Startup Disk จากนั้น พิมพคําสั่ง fdisk แลวกด Enter

ถาฮารดดิสกมีขนาดใหญมากกวา 512MB จะมีคําถามวาตองการสรางพารติชันขนาดใหญหรือไม หรือเปนการ ถามวา ตองการใชงานแบบ FAT32 หรือไมนั่นเอง หากตอบ [N] ก็จะเปนการกําหนดใหใชงานแบบ FAT16 หรือ


287 เหมือนกับการใช FDISK ของ DOS หรือ Windows 95 รุนเกาไป แตถาตองการแบงพารติชันแบบ FAT32 ก็ใหกด [Y]

เมนูหลักสําหรับการใชงานแบบตาง ๆ โดยปกติแลวจะมีแค 4 รายการ แตถาหากมีการตอฮารดดิสกมากกวา 1 ตัว จะมีเมนูที่ 5 คือ Change current fixed disk drive สําหรับเลือกวาจะทํางานกับ ฮารดดิสก ตัวไหนใหเลือกดวย การ แสดงขอมูลของ พารติชัน ตาง ๆ ทําโดยเลือกที่เมนู 4. Display partition information

เมนูของการแสดงพารติชัน (เลือกจากเมนู 4. จากเมนูหลัก) จะแสดงขอมูลตาง ๆ ของพารติชัน ในฮารดดิสก จะ เห็นรายละเอียดและการกําหนดรูปแบบการใชงานตาง ๆ รวมถึงการจัดแบงขนาดตาง ๆ ดวย ในกรณีที่เปน ฮารดดิสก ที่ยังไมไดทําการจัดพารติชัน ก็จะไมมีขอมูลแสดงใหเห็น เราสามารถกดปุม ESC เพื่อกลับไปเมนูหลัก


288

เมนูของการลบพารติชัน (เลือกเมนู 2. จากเมนูหลัก) จะมีเมนูใหเลือกรายการลบพารติชันตาง ๆ ซึ่งขออธิบาย ความหมายของแตละพารติชัน ดังนี้ Primary DOS Partition เปนพารติชันหลักของฮารดดิสก Extended DOS Partition เปนพารติชันถัดไปของฮารดดิวก Logical DOS Drive(s) จะเปนการกําหนดขนาดตาง ๆ ที่อยูใน Extended DOS Partition อีกที ซึ่งสามารถ กําหนดการสรางไดหลาย ๆ Drive ตามตองการ Non-DOS Partition เปนพารติขันในระบบอื่น ๆ ที่ไมใชระบบของ DOS ในการลบพารติชัน จะตองทําการลบโดยเรียงลําดับขอมูลดวย เชนตองลบ Logical DOS Drive ออกใหหมดกอน จึงจะลบ Extended DOS Partition ได และหลังจากนั้น จึงทําการลบ Primary DOS Partition ตามลําดับตอไป

หากทําการลบพารติชันตาง ๆ ขอมูลทุกอยางที่เก็บอยูในพารติชันนั้น ๆ จะหายไปหมด ดังนั้นเมื่อจะทําการลบ


289 พารติชัน จะมีการถามยืนยันการลบ โดยใหใส Volume Label ของฮารดดิสกนั้นกอนดวย เพื่อเปนการปองกันการ ลบขอมูล โดยไมไดตั้งใจหรือลบผิดพารติชัน ดังนั้น หากจะทําขั้นตอนนี้ ตองใชความระมัดระวังและอาน รายละเอียดตาง ๆ ใหรอบคอบกอน

เมนูของการสรางพารติชัน (เลือกเมนู 1. จากเมนูหลัก) จะเปนการสรางพารติชันแบบตาง ๆ ซึ่งจะคลาย ๆ กับเมนู ของการลบพารติชัน คือจะมีการสราง Primary DOS Partion, Extended DOS Partition และการสราง Logical DOS Drive ใน Extended DOS Partition ปกติแลวก็จะสรางเรียงตามลําดับตามตองการ

กรณีที่เลือกสราง Primary DOS Partition เปนอักแรก จะมีเมนูถามวา ตองการใชพื้นที่ทั้งหมดในฮารดดิสก สําหรับทําเปน Primary DOS Partition หรือไม หากตองการใชพื้นที่ทั้งหมดสรางเปน Drive เดียวก็เลือก [Y] แต ถาหากตองการระบุขนาดตาง ๆ ของพารติชันดวยตัวเอง ก็เลือกที่ [N] เพื่อกําหนดขนาดเอง


290

จากรูป ถาหากเลือกที่จะกําหนดขนาดของ Primary DOS Partition เองโดยเลือก [N] จากขั้นตอนที่แลว จะมีเมนู ใหใสขนาดของ Primary DOS Partition ตามตองการ โดยอาจจะใสเปนตัวเลขจํานวนของ MB หรือใสเปนตัวเลข เปอรเซ็นตก็ได จากตัวอยางสมมติวากําหนดขนาดเปน 70% ของจํานวนฮารดดิสกทั้งหมด ก็ใส 70% แลวกด Enter

หลังจากนั้น ก็ทําการสราง Extended DOS Partiton จากสวนของพื้นที่ฮารดดิสกที่เหลือ โดยการเลือกเมนูที่ 2. Create Extended DOS Partition ทําการกําหนดขนาดของพื้นที่ตามที่ตองการ จากตัวอยางคือจะใชพื้นที่ 30% ที่ เหลือทั้งหมด โดยการกําหนดขนาดนี้อาจจะใสเปยตัวเลขจํานวน หรือใสเปนตัวเลขเปอรเซ็นต ก็ไดแลวกด Enter


291

หลังจากที่สราง Extended DOS Partition แลวจะมีการแสดงรายละเอียดของการแบงพารติชันตาง ๆ ใหดูตามรูป

ในสวนของ Logical Drive จะเปนการสรางขึ้นภายในของ Extended DOS Partition อีกที ซึ่งการกําหนดขนาด ของพื้นที่ฮารดดิสก ก็กําหนดขนาดตามตองการ หรือถาตองการแบงในสวนของ Extended DOS Partition ออกเปนหลาย ๆ Drive ก็สามารถทําการกําหนดแบงไดจากสวนของ Logical Drive นี้


292

หลังจากที่ทําการสรางและจัดแบงพารติชันตาง ๆ เรียบรอยแลว เมื่อกลับมาที่เมนูหลัก จะมีคําเตือนวาไมมีการ กําหนดพารติชันไหน active อยูเลย ตองทําการกําหนดพารติชันที่สรางขึ้นมาใหเปน active partition ดวยเพื่อให สามารถใชบูทเครื่องได การกําหนดทําโดยการเลือกที่เมนู 2. Set active partition

ใสหมายเลขของ Partition ที่ตองการใหเปน active partition และกด Enter


293

เมื่อเลือกที่เมนู 4. เพื่อดูรายละเอียดตาง ๆ ก็จะเห็นลักษณะการจัดและแบงพารติชันในฮารดดิสก รวมถึงพารติชัน ที่ตั้งใหเปน active partition ดวย

หลังจากที่ทําการกําหนดและแบง Partition ตาง ๆ เสร็จเรียบรอยแลว เมื่อออกจากโปรแกรม FDISK ก็จะมี ขอความเตือนวา ใหทําการ Restart เครื่องคอมพิวเตอรใหมกอน การจัดพารติชันตาง ๆ จึงจะมีผลและทําการ format ฮารดดิสกตอไป การจัดแบงพารติชันของ ฮารดดิสกนี้ โดยปกติแลว จะไมจําเปนตองทําทุกครั้งที่ลง Windows ใหม ซึ่งจะทําการจัดพารติชัน ก็ตอเมื่อตองการจัดแบงขนาดของ ฮารดดิสกใหม หรือตองการลบขอมูล ใหสะอาดจริง ๆ เนื่องจากเกิดการติดไวรัส เครื่องคอมพิวเตอร เทานั้น และอยาลืมวา การทํา FDISK นี้ขอมูลทุก อยางที่มีอยูใน ฮารดดิสก จะหายไปทั้งหมดดวย จึงควรจะตองใชความระมัดระวัง ในการทําทุก ๆ ขั้นตอน

การสรางแผน Startup Disk สําหรับใชบูทเครื่องคอมพิวเตอร จากแผนดิสก


294

แผน Windows 98 Startup Disk ก็คือแผนดิสก ใชสําหรับบูทเครื่อง โดยที่จะตองใชเมือ่ เกิด ปญหาตาง ๆ ขึ้นกับระบบ Windows และไมสามารถบูทเครื่องเขา Windows แบบปกติได โดยที่ ภายในแผนดิสกนี้ จะประกอบไปดวยระบบ DOS (ของ Windows) และไฟล Utilities ตาง ๆ ที่ จําเปนในการจัดการ และการฟอรแม็ต ฮารดดิสก รวมทัง้ โปรแกรมหรือคําสั่งของ DOS ตาง ๆ ใน สวนที่จําเปนตอการใชงาน โดยทั่วไป เรามักจะใชแผน Startup Disk สําหรับบูทเครื่อง เพื่อทําการจัด พารติชัน หรือ การ ฟอรแม็ต ฮารดดิสก ซึ่งโดยปกติ การใชงานเครื่องคอมพิวเตอร เราควรที่จะมีแผนดิสกนี้ไวสัก แผนนะครับ เผื่อไวใชยามฉุกเฉิน สวนวิธกี ารใชงานแผนดิสกนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร ที่ใชมีการ ตั้ง Boot Sequence ใหเลือกบูทจาก Drive A: กอนแลวคอยไปหา Harddisk ถาเราใสแผน Startup Disk ในชอง Floppy Disk Drive เครื่องก็จะเลือกบูทจากแผนดิสกนี้ แตถาหากตั้งให เครื่องบูท ระบบจาก ฮารดดิสกกอน เราตองไปเปลี่ยนใน bios ใหเปน Drive A: แทน จึงจะใชไดนะครับ ดู เรื่องการตั้ง bios จากหัวขอ การตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS เพิม่ เติมนะครับ การสรางแผน Windows 98 Startup Disk สามารถทําโดยใชเครื่องมือที่อยูในระบบ Windows 98 ไดซึ่งแผน Startup Disk ที่ไดนี้ จะสามารถนํามาใชสําหรับการบูทเครื่องคอมพิวเตอร และภายในแผน จะมีชดุ คําสั่งตาง ๆ ที่จําเปนเบื้องตน และนอกจากนี้ ยังมีการติดตั้ง Driver ของ CD-ROM รวมอยูดวย ดังนัน้ จึงสามารถใชงาน CD-ROM Drive ไดทันทีโดยไมตองทําการตั้ง Driver ของ CD-ROM ตาง ๆ ใหยุงยาก วิธีการสรางแผน Windows 98 Startup Disk ถาหากระบบ Windows ของคุณติดตั้งจากแผน ซีดี ตองทําการใสแผนซีดีสาํ หรับติดตัง้ Windows เขาไปในเครื่องกอน แตถาหากเปนเครื่องที่ทํา การติดตั้งจากฮารดดิสกโดยตรงก็ไมจําเปนครับ

การสรางแผน Startup Disk เริ่มตนโดยการเลือกที่เมนู Start >> Settings >> Control Panel >> Add/Remove Programs เลือกที่ปาย Startup Disk ตามรูป


295

กดที่ปุม Create Disk เพื่อเริ่มตนการสรางแผน Startup Disk

ใสแผน Floppy Disk ในชอง Floppy Disk Drive และกดที่ปุม OK จากนั้นก็รอสักพัก เครื่องจะทํา การสรางและ ก็อปปไฟลตาง ๆ ที่จําเปนใสลงในแผน Floppy Disk เมื่อเสร็จแลวก็สามารถนําแผน Floppy Disk ที่ไดนี้ไปใชงานได โดยจะสามารถนําไปใชเปนแผนบูทเครื่องคอมพิวเตอรไดทันที การสรางแผน Startup Disk สําหรับใชบูทเครื่องคอมพิวเตอร จากแผนดิสก แผน Windows 98 Startup Disk ก็คือ แผนดิสก ใชสําหรับบูทเครื่อง โดยที่จะตองใชเมื่อเกิดปญหาตาง ๆ ขึ้นกับระบบ Windows และไมสามารถบูท เครื่องเขา Windows แบบปกติได โดยที่ภายในแผนดิสกนี้ จะประกอบไปดวยระบบ DOS (ของ Windows) และ ไฟล Utilities ตาง ๆ ที่จําเปนในการจัดการ และการฟอรแม็ต ฮารดดิสก รวมทั้งโปรแกรมหรือคําสั่งของ DOS ตาง ๆ ในสวนที่จําเปนตอการใชงานโดยทั่วไป เรามักจะใชแผน Startup Disk สําหรับบูทเครื่อง เพื่อทําการจัด พารติชัน หรือการ ฟอรแม็ต ฮารดดิสก ซึ่งโดยปกติ การใชงานเครื่องคอมพิวเตอร เราควรที่จะมีแผนดิสกนี้ไวสัก


296 แผนนะครับ เผื่อไวใชยามฉุกเฉิน สวนวิธีการใชงานแผนดิสกนี้ หากเครื่องคอมพิวเตอร ที่ใชมีการตั้ง Boot Sequence ใหเลือกบูทจาก Drive A: กอนแลวคอยไปหา Harddisk ถาเราใสแผน Startup Disk ในชอง Floppy Disk Drive เครื่องก็จะเลือกบูทจากแผนดิสกนี้ แตถาหากตั้งให เครื่องบูทระบบจาก ฮารดดิสกกอน เราตองไปเปลี่ยน ใน bios ใหเปน Drive A: แทน จึงจะใชไดนะครับ ดูเรื่องการตั้ง bios จากหัวขอ การตั้งคาตาง ๆ ใน BIOS เพิ่มเติม นะครับการสรางแผน Windows 98 Startup Disk สามารถทําโดยใชเครื่องมือที่อยูในระบบ Windows 98 ไดซึ่ง แผน Startup Disk ที่ไดนี้ จะสามารถนํามาใชสําหรับการบูทเครื่องคอมพิวเตอร และภายในแผน จะมีชุดคําสั่งตาง ๆ ที่จําเปนเบื้องตน และนอกจากนี้ ยังมีการติดตั้ง Driver ของ CD-ROM รวมอยูดวย ดังนั้น จึงสามารถใชงาน CD-ROM Drive ไดทันทีโดยไมตองทําการตั้ง Driver ของ CD-ROM ตาง ๆ ใหยุงยากวิธีการสรางแผน Windows 98 Startup Disk ถาหากระบบ Windows ของคุณติดตั้งจากแผนซีดี ตองทําการใสแผนซีดีสําหรับติดตั้ง Windows เขาไปในเครื่องกอน แตถาหากเปนเครื่องที่ทําการติดตั้งจากฮารดดิสกโดยตรงก็ไมจําเปนครับการสรางแผน Startup Disk เริ่มตนโดยการเลือกที่เมนู Start >> Settings >> Control Panel >> Add/Remove Programs เลือกที่ ปาย Startup Disk ตามรูป

กดที่ปุม Create Disk เพื่อเริ่มตนการสรางแผน Startup Disk


297

ใสแผน Floppy Disk ในชอง Floppy Disk Drive และกดที่ปุม OK จากนั้นก็รอสักพัก เครื่องจะทําการสรางและ ก็ อปปไฟลตาง ๆ ที่จําเปนใสลงในแผน Floppy Disk เมื่อเสร็จแลวก็สามารถนําแผน Floppy Disk ที่ไดนี้ไปใชงาน ได โดยจะสามารถนําไปใชเปนแผนบูทเครื่องคอมพิวเตอรไดทันที

นอกจากสัญญาณเสียง Beep Code ที่ไบออสจะคอยแจงใหเราทราบแลว หากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นในขั้นตอน การ POST หรือมีความผิดพลาดของอุปกรณตัวใด แตในสวนของภาคการแสดงผลยังสามารถใชได ไบออสจะ รายงานขอความผิดพลาดนั้นออกมา ดังนั้นจึงจําเปนตองเขาใจความหมายเพื่อจะไดสามารถแกไข ปญหาไดอยาง ถูกตอง ดังตอไปนี้ การเสียจากการ Post ความหมาย 8024 Gate-A20 Error เกิดความผิดพลาดที่สัญญาณควบคุม A20 ที่ควบคุมโดยชิพ 8049 ที่คียบอรดเสีย ควรเปลี่ยนเมนบอรด Address time short เกิดความผิดพลาดในหนวยความจํา ทําใหเกิดความซ้ําซอนในการเขาถึงหนวยความจํา ควรเปลี่ยนหนวยความจํา Cache Memory Bad. Do not Enable Cache หนวยความจําแคชเสีย ควรปดการทํางานในสวนนี้ CMOS BATTERY HAS FAILED แบตเตอรี่ ที่จายใหกับ CMOS หมดควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม C: Drive Error ไมพบฮารดดิสก ควรตรวจเช็คการเชื่อมตอฮารดดิสก และตั้งคาไบออสใหม CMOS checkssum failure


298 ขอมูลที่เก็บภายใน CMOS ไมถูกตอง อาจเกิดจากแบตเตอรี่หมด ควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม หากยังไมหายอาจตอง เปลี่ยนเมนบอรดใหม CMOS system options not set CMOS เก็บขอมูลไมอยู อาจเกิดจากแบตเตอรี่ออน หมดควรเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม หรือเปลี่ยนเมนบอรดใหม CMOS diskplay type mismatch คาการแสดงผลไมตรงกับที่กําหนดในไบออส ควรกําหนดคาการแสดงผลใหม CMOS memory size mismatch ขนาดของหนวยความจําเปลี่ยนไปจากที่กําหนดในไบออส อาจเกิดจากหนวยความจํา (แรม) บางสวนเสีย ควร เปลี่ยนแรม CMOS Time and Date Not Set คาวันและเวลาไมถูกตอง อาจเกิดจาก RTC (Real Time Clock) เสียหรือกําหนดคาไมถูกตอง ควรกําหนดคา ใหม DiSK BOOT FAILURE INSERT SYSTEM DISK AND PRESS ENTER สามารถบูตระบบปฎิบัติการได ใหเปลี่ยนไดรฟใหม

ไบออสไมพบไดรฟที่

DISK DRIVES OR TYPE MISMATCH ERROR-RUN กําหนดชนิดของดิสกไดรฟไมตรงกับอุปกรณ ควรกําหนดใหมใหตรงกับอุปกรณที่ติดตั้ง iskette Boot Failure ไบออสไมสามารถบูตระบบปฎิบัติการได อาจเกิดจากไดรฟหรือแผนดิสกไมมีระบบปฎิบัติการอยู

ความรูเรื่อง Hard Disk ลักษณะทั่วไป

ระบบฮารดดิสคแตกตางกับแผนดิสเกตต ซึ่งโดยทั่วไปแลวจะมีจํานวนหนาสําหรับเก็บบันทึก


299 ขอมูลมากกวาสองหนา นอกจากระบบฮารดดิสคจะเก็บบันทึกขอมูลเหมือนแผนดิสเกตตยังเปนสวน ที่ใชในการอานหรือเขียนบันทึกขอมูลเหมือนชองดิสคไดรฟ แผนจานแมเหล็กของฮารดดิสค จะมีความหนาแนนของการจุขอมูลบนผิวหนาไดสูงกวาแผน ดิส เกตตมาก เชน แผนดิสเกตตมาตราฐานขนาด 5.25 นิ้ว ความจุ 360 กิโลไบต จะมีจํานวนวงรอบ บันทึกขอมูลหรือเรียกวา แทร็ก(track) อยู 40 แทร็ก กรณีของฮารดดิสคขนาดเดียวกันจะมีจํานวน วงรอบสูงมากกวา 1000 แทร็กขึ้นไป ขณะเดียวกันความจุในแตละแทร็กของฮารดดิสคก็จะสูงกวา ซึ่งประมาณไดถึง 5 เทาของความจุในแตละแทร็กของแผนดิสเกตต เนื่องจากความหนาแนนของการบันทึกขอมูลบนผิวแผนจานแมเหล็กของฮารดดิสคสูงมาก ๆ ทํา ใหหัวอานและเขียนบันทึกมีขนาดเล็ก ตําแหนงของหัวอานและเขียนบันทึกก็ตองอยูในตําแหนง ที่ ใกลชิดกับผิวหนาจานมาก โอกาสที่ผิวหนาและหัวอานเขียนอาจกระทบกันได ดังนั้นแผนจานแม เหล็กจึงควรเปนแผนอะลูมิเนียมแข็ง แลวฉาบดวยสารแมเหล็ก ฮารดดิสคจะบรรจุอยูในกลองโลหะปดสนิท เพื่อปองสิ่งสกปรกหลุดเขาไปภายใน ซึ่งถาตอง การ เปดออกจะตองเปดในหองเรียก clean room ที่มีการกรองฝุนละออกจากอากาศเขาไปในหอง ออก แลว ฮารดดิสคที่นิยมใชในปจจุบันเปนแบบติดภายในเครื่องไมเคลื่อนยายเหมือนแผนดิสเกตต ดิสค ประเภทนี้อาจเรียกวา ดิสควินเชสเตอร(Winchester Disk) ฮารดดิสคสวนใหญจะประกอบดวยแผนจานแมเหล็ก(platters) สองแผนหรือมากกวามาจัด เรียง อยูบนแกนเดียวกันเรียก Spindle ทําใหแผนแมเหล็กหมุนไปพรอม ๆ กัน จากการขับเคลื่อน ของ มอเตอรดวยความเร็ว 3600 รอบตอนาที แตละหนาของแผนจานจะมีหัวอานเขียนประจําเฉพาะ โดย หัวอานเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคลายหวี สามารถเคลื่อนเขาออกระหวางแทร็กตาง ๆ อยางรวดเร็ว

จากรูปเปนภาพตัดขวางของฮารดดิสคแสดงแผนจาน แกนหมุน Spindle หัวอานเขียน และกาน หัวอานเขียน


300

จากรูปแสดงฮารดดิสคที่มีแผนจาน 2 แผน พรอมการกํากับชื่อแผนและหนาของดิสค ผิวของ แผนจานกับหัวอานเขียนจะอยูเกือบชิดติดกัน คือหางกันเพียงหนึ่งในแสนของนิ้ว และระยะหางนี้ ใน ระหวางแทร็กตาง ๆ ควรสม่ําเสมอเทากัน ซึ่งกลไกของเครื่องและการประกอบฮารดดิสคตอง ละเอียดแมนยํามาก การหมุนอยางรวดเร็วของแผนจาน ทําใหหัวอานเขียนแยกหางจากผิวจาน ดวย แรงลมหมุนของจาน แตถาแผนจานไมไดหมุนหรือปดเครื่อง หัวอานเขียนจะเลื่อนลงชิดกับ แผนจาน ดังนั้นเวลาเลิกจากการใชงานเรานิยมเลื่อนหัวอานเขียนไปยังบริเวณที่ไมไดใชเก็บขอมูล ที่เรียกวา Landing Zone เพื่อวาถาเกิดการกระแทรกของหัวอานเขียนและผิวหนาแผนจานก็จะไมมีผลตอ ขอมูลที่เก็บไว ฮารดดิกสเปนอุปกรณที่รวมเอาองคประกอบ ทั้งกลไกการทํางาน และอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เขา ไวดวยกัน แมวาฮารดดิสก นั้นจะไดชื่อวาเปนอุปกรณที่มีความซับซอนที่สด ุ ในดานอุปกรณที่มีการ เคลื่อนไหว แตในความเปนจริงแลวการอธิบายการทํางาน ของฮารดดิสกนั้นถือวาไดงาย ภายใน ฮารดดิสกนั้นจะมีแผน Aluminum Alloy Platter หลายแผนหมุนอยูดวยความเร็วสูง โดยจะมีจํานวน แผนขึ้นอยูกับแตละรุนแตละยี่หอตางกันไป เมื่อผูใช พิมพคําสัง่ ใหคอมพิวเตอรทํางาน แขนกลของ ฮารดดิสก จะรอบรับคําสัง่ และเคลื่อนที่ ไปยังสวนที่ถูกตองของ Platter เมื่อถึงที่หมายก็จะทําการ อานขอมูลลงบนแผนดิสกนั้น หัวอานจะอานขอมูลแลวสงไปยัง ซีพียู จากนั้น ไมนานขอมูลที่ตองการ ก็จะปรากฏ การทํางานเขียนอานขอมูลของฮารดดิกส จะมีการทํางาน คลายกับการทํางาน ของของ เทปคาสเซ็ท แพล็ตเตอรของฮารดดิสก นั้นจะเคลือบไปดวยวัตถุจําพวกแมเหล็ก ที่มีขนาดความหนา เพียง 2-3 ในลานสวนของนิ้ว แตจะตางจากเทปทั่วไปคือ ฮารดดิสกนั้นจะใชหัวอานเพียง หัวเดียวใน การทํางาน ทั้งอาน และเขียนขอมูลบนฮารดดิกส สวนเขียนขอมูลลงบนฮารดดิสกนั้นหัวอานจะได รับกระแสไฟฟาผานเขาสู คอยลของหัวอาน เพื่อสรางรูปแบบแมเหล็กบนสื่อ ที่เคลือบอยูบนแพล็ต เตอรซึ่งเทา กับเปนการเขียนขอมูลลงบน ฮารดดิสก การอานนั้น ก็จะเปนการแปลงสัญญาณรูปแบบ แมเหล็กที่ไดบันทึก อยูบนฮารดิสกกลับแลวเพิ่ม สัญญาณและทําการ ประมวลผล ใหกลับมาเปน ขอมูลอีกครั้งอีก จุดที่แตกตาง กันของการเก็บขอมูลระหวาง ออดิโอเทปกับฮารดดิสกนั้นก็ คือเทปจะเก็บขอมูล ในรูปแบบของ สัญญาณ อนาล็อก แตสําหรับฮารดดิสกนั้นจะ เก็บในรูป สัญญาณ ดิจิตอลโดยจะเก็บ เปนเลขฐานสองคือ 0 และ 1 ฮารดดิสก จะเก็บขอมูลไวใน Track หรือ เสนวงกลม โดยจะเริ่มเก็บ ขอมูลที่ดานนอกสุด ของฮารดดิสกกอน จากนั้นจึงไลเขามาดานในสุด โดยฮารดดิสก จะเปนอุปกรณ ที่สามารถสุมเขาถึงขอมูลได คือการที่หัวอาน สามารถเคลื่อนที่ ไปอานขอมูลบนจุดใดของ ฮารดดิสกก็ได ไมเหมือนกับเทปเพลงที่หากจะตองการฟงเพลง ถัดไปเราก็ตองกรอเทป ไปยัง จุดเริ่มตนของเพลงนั้น หัวอานของฮารดดิสก นั้นสามารถบินอยูเหนือพื้นที่จัดเก็บ ขอมูลทันทีที่ไดรับ ตําแหนงมาจากซีพียู ซึ่งการเขา ถึงขอมูลแบบสุมนี้เปนเหตุผลสําคัญ ที่ทําใหฮารดดิสก สามารถ แทนที่เทปในการเก็บขอมูลหลักของคอมพิวเตอร ฮารดดิสกนน ั้ สามารถ เก็บขอมูลไดทั้ง 2 ดานของ แพล็ตเตอร ถาหัวอานเขียนนั้นอยูทั้ง 2 ดาน ดังนั้นฮารดดิสกที่ มีแพล็ตเตอร 2 แผนนั้นสามารถมี พื้นที่ในการ เก็บขอมูลไดถึง 4 ดาน และมีหัวอานเขียน 4 หัวการเคลื่อนที่ของ หัวอานเขียนนี้จะมีการ เคลื่อนที่ไปพรอม ๆ กันโดยจะมีการเคลื่อนที่ที่ตรงกัน Track วงกลมนั้นจะถูกแบงออก เปนหนวย ยอย ๆ เรียกวา Sector การเขียนขอมูลลงบนฮารดดิสกนั้นจะเริ่มเขียนจากรอบนอกสุด ของฮารดดิสก กอน จากนั้นเมื่อขอมูลใน Track นอกสุดถูกเขียนจนเต็มหัวอานก็จะเคลื่อนมายังแทร็กถัดมา ที่วาง


301 แลวทําการเขียน ขอมูลตอไป ซึ่งก็ดวยวิธีการนี้ทําใหประสิทธิภาพการทํางานสูงเปนอยางมากเพราะ หัวอานเขียนสามารถบันทึกขอ มูลไดมากกวา ในตําแหนงหนึ่งกอนที่จะเคลื่อนที่ไปยังแทร็คถัดไป ตัวอยางเชน ถาเรามีฮารดดิสกแบบ 4 แพล็ตเตอรอยูและหัวอานเขียนอยูที่แทร็ค 15 ไดรฟจะ เขียนขอมูลลงในแทร็ค 15 บนทั้ง 2 ดานของ แพล็ตเตอร ทั้ง 4 จนเต็มจากนั้นจึงเคลื่อนเขาไปหาที่ แทร็ค 16 ตอไป การหมุนของแพล็ตเตอรนั้นนับไดวา เร็วมาก ความเร็วต่ํา สุดก็เทากับ 3,600 รอบ ตอนาที และปจจุบันสูงสุดนับหมื่นรอบ ซึ่งเปนการทํางานที่เร็วกวา ฟล็อบปดิสกหรือเทปมาก ดวย ความเร็วขนาดนี้ทําใหหัวอานเขียนขนาดเล็กสามารถลอยหรือบินอยูเหนือพื้น ผิวไดหัวอานเขียนนั้น ไดรับการ ออกแบบใหบินอยูเหนือแผนแพล็ตเตอรที่กําลังหมุนอยูดวยความเร็วสูงนี้ ในความสูงเพียง 3 ลานสวนของนิ้ว ซึ่ง เทากับวาระยะหางระหวางหัวอานเขียนและแพล็ตเตอรนั้นมีขนาดเล็ก กวาเสน ผมของคนเราหรือแมกระทั่งฝุนมาก หากเกิดการกระแทก อยางรุนแรงขึ้นกับฮารดดิสกจนทําให หัวอานเขียนสัมผัสกับแผนแพล็ตเตอรก็จะทําใหพื้นผิว หรือหัวอานเขียน เกิดการเสียหาย ซึ่งสงผล ใหเกิด ปญหาขอมูลเสียหาย หรือถาโชครายก็คือฮารดดิสกพงั อยางแกไข ไมได อยางไรก็ตาม ปญหานี้มักจะไมเกิด กับฮารดดิสกในปจจุบัน ทั้งนี้เพราะฮารดดิสกในปจจุบันมีเทคโนโลยีการ ผลิตที่ สูงขึ้นและไดรับการปองกัน เปนอยางดีโดยถูกสราง ใหสามารถ รับแรงกระแทกไดสูงถึง 70-100 เทา ของ แรงดึงดูด (70-100G) การจัดเรียงขอมูลบนฮารดดิสก การจัดเรียงขอมูลบนฮารดดิสกนั้นมีลักษณะเดียวกับแผนที่ ขอมูลจะถูกจักเก็บไวในแทร็คบน แพล็ตเตอร ดิสกไดรฟทั่ว ๆ ไปจะมีแทร็คประมาณ 2,000 แทร็คตอนิ้ว (TPI) Cylinder จะหมายถึง กลุมของ Track ที่อยู บริเวณหัวอานเขียนบนทุก ๆ แพล็ตเตอร ในการเขาอานขอมูลนั้นแตละแทร็ค จะถูกแบงออกเปนหนวยยอย ๆ เรียกวา Sector กระบวนการในการจัดการดิสก ใหมีแทร็ค และ เซกเตอรเรียกวา การฟอรแมต ฮารดดิสก ในปจบันสวนใหญจะไดรับการฟอรแมตมาจากโรงงาน เรียบรอยแลว ในเครื่องคอมพิวเตอร โดยปกติ เซกเตอร จะมีขนาด เทากับ 512 ไบต คอมพิวเตอรจะ ใชขอมูลที่ไดรับการฟอรแมตนี้ เหมือนกับที่นักทองเที่ยวใชแผนที่ ในการเดินทาง คือใชระบุวาขอมูล ใดอยูที่ตําแหนงใดบนฮารดดิสก ดังนั้นหากฮารดดิสก ไมไดรบ ั การฟอรแมต เครื่องคอมพิวเตอร จะก็ ไมรูวาขอมูลถูกเก็บไวที่ใด และจะนําขอมูลมาไดจากที่ไหนในการออกแบบฮารดดิสก แบบเกานั้น จํานวน เซกเตอรตอแทร็กจะถูกกําหนดตายตัว เนื่องจากพื้นที่แทร็คบริเวณขอบนอกนั้นมีขนาด ใหญ กวาบริเวณขอบใน ของฮารดดิสก ดังนั้นพื้นที่สิ้นเปลืองของแทร็คดานนอกจึงมีมากกวา แตใน ปจจุบัน ไดมีการใชเทคนิคการฟอรแมต รูปแบบใหมที่ เรียกวา Multiple Zone Recording เพื่อบีบ ขอมูลไดมากขึ้น ในการนํามาจัดเก็บบนฮารดดิสกได Multiple Zone Recording จะอนุญาตใหพื้นที่ แทร็คดานนอก สามารถ ปรับจํานวนคลัสเตอรไดทําใหพื้นที่แทร็ค ดานนอกสุดมีจํานวนเซกเตอรมาก วา ดานในและดวยการแบงใหพื้น ที่แทร็คดานนอกสุดมีจํานวนเซกเตอรมากวาดานในนี้ ขอมูล สามารถจัดเก็บไดตลอดทั้งฮารดดิสก ทําใหมีการใชเนื้อที่บนแพล็ตเตอรไดอยางคุมคา และเปนการ เพิ่มความจุโดย ใชจํานวนแพล็ตเตอรนอยลงจํานวนของเซกเตอรตอแทร็ค ในดิสกขนาด 3.5 นิ้ว แบบปกติจะมีอยู ประมาณ 60 ถึง 120 เซกเตอรภายใตการจัดเก็บแบบ Multiple Zone Recording การทํางานของหัวอานเขียน หัวอานเขียนของฮารดดิสกนับเปนชิ้นสวนที่มีราคาแพงที่สุด และลักษณะของมัน ก็มีผลกระทบ อยางยิ่งกับ ประสิทธิภาพ ของฮารดดิสกโดยรวม หัวอานเขียนจะเปนอุปกรณแมเหล็ก มีรูปรางคลาย ๆ ตัว “C” โดยมีชอง วางอยูเล็กนอย โดยจะมีเสนคอยล พันอยูรอบหัวอานเขียนนี้เพื่อสราง สนามแมเหล็กไฟฟา การเขียนขอมูล จะใช วิธีการสงกระแสไฟฟาผานคอยล ทําใหเกิดความ เปลี่ยนแปลง ของสนามแมเหล็กซึ่งจะสงผลใหเกิด ความเปลี่ยนแปลงที่แพล็ตเตอร สวนการอาน ขอมูลนั้น จะรับคาความเปลี่ยนแปลง ของสนามแมเหล็กผาน คอยลที่อยูที่หัวอาน เขียนแลวแปลง คาที่ไดเปน สัญญาณสงไปยังซีพียู ตอไปเมื่อเทคโนโลยีพัฒนาไปความ หนาแนนของขอมูลก็ยิ่ง เพิ่มขึ้นในขณะที่เนื้อที่สําหรับเก็บขอมูลก็จะลดขนาดลง ขนาดบิตของขอมูลที่เล็กนี้ ทําใหสัญญาณ ที่เกิดขึ้นแลว สงไปยังหัวอานนั้นออนลง และอานไดยากขึ้น ดวเหตุนี้ทางผูพัฒนาจึงจําเปน ตองวาง หัวอานใหกับสื่อมากขึ้นเพื่อ ลดการสูญเสียสัญญาณ จากเดิมในป 1973 ที่หัวอานเขียนบินอยูหางสื่อ


302 ประมาณ 17 microinch (ลานสวนของนิ้ว) มาในปจจุบันนี้หัวอานเขียน บินอยูเหนือแผนแพล็ตเตอร เพียง 3 microinch เทานั้น เหมือนกับการนําเครื่องบิน โบอิ้ง 747 มาบินดวยความเร็วสูงสุด โดยให บินหางพื้นเพียง 1 ฟุต แตที่สําคัญก็คือหัวอานเขียนนั้นไมเคยสัมผัส กับแผนแพล็ตเตอร ที่กําลัง หมุนอยูเลยเมื่อเครื่อง คอมพิวเตอรถูกปด ฮารดดิสกจะหยุดหมุนแลวหัวอานเขียนจะ เคลื่อนที่ไปยัง พื้นที่ที่ปลอดภัย และหยุดอยูตรงนั้น ซึ่งแยกอยูตางหากจากพื้นที่ที่ใชเก็บขอมูล Seek Time คือระยะเวลาที่แขนยืดหัวอานเขียนฮารดดิสก เคลื่อนยายหัวอานเขียนไประหวางแทร็คของขอมูล บนฮารดดิสก ซึ่งในปจจุบันฮารดดิสก จะมีแทร็คขอมูลอยูประมาณ 3,000 แทร็คในแตละดานของ แพล็ตเตอร ขนาด 3.5 นิ้ว ความสามารถในการเคลื่อนที่ จากแทร็คที่อยูไปยังขอมูลในบิตตอ ๆ ไป อาจเปนการยายตําแหนงไปเพียง อีกแทร็คเดียวหรืออาจยายตําแหนงไปมากกวา 2,999 แทร็คก็ เปนได Seek time จะวัดโดยใชหนวยเวลาเปน มิลลิเซก (ms) คาของ Seek time ของการยาย ตําแหนงของแขนยึดหัวอานเขียน ไปในแทร็คถัด ๆ ไปในแทร็คที่ อยูติด ๆ กันอาจใชเวลาเพียง 2 ms ในขณะที่การยายตําแหนงจากแทร็คที่อยูนอกสุดไปหาแทร็คที่อยูในสุด หรือ ตรงกันขามจะตอง ใชเวลามากถึงประมาณ 20 ms สวน Average seek time จะเปนคาระยะเวลาเฉลี่ย ในการยาย ตําแหนง ของหัวเขียนอานไปมาแบบสุม (Random) ในปจจุบันคา Average seek time ของ ฮารดดิสกจะอยู ในชวงตั้งแต 8 ถึง 14 ms แมวาคา seek จะระบุเฉพาะคุณสมบัติในการทํางานเพียง ดานกวางและยาวของ แผนดิสก แตคา Seek time มักจะถูกใชในการเปรียบเทียบ คุณสมบัติ ทางดานความ เร็วของฮารดดิสกเสมอ ปกติ แลวมักมีการเรียกรุนของฮารดดิสกตามระดับความเร็ว Seek time ของตัว ฮารดดิสกเอง เชนมีการเรียกฮารดดิสก ที่มี Seek time 14 ms วา “ฮารดดิสก 14 ms” ซึ่งก็แสดงใหทราบวา ฮารดดิสกรุนนั้น ๆ มีความเร็วของ Seek time ที่ 14 ms อยางไรก็ตาม ถึงแมวาการใชคาความเร็ว Seek time กําหนดระดับชั้นของฮารดดิสกจะสะดวก แตคา Seek time ก็ ยังไมสามารถแสดงใหประสิทธิภาพทัง้ หมด ของฮารดดิสกได จะแสดงใหเห็นเพียงแตการคนหา ขอมูลในแบบสุม ของตัวไดรฟเทานั้น ไมไดแสดงในแงของ การอานขอมูลแบบเรียงลําดับ (sequential) ดังนั้น ใหใชคา seek time เปนเพียงสวนหนึ่ง ในการตัดสิน ประสิทธิภาพของ ฮารดดิสกเทานั้น Head Switch Time เปนเวลาสลับการทํางาของหัวอานเขียน แขนยึดหัวอานเขียนจะเคลื่อนยายหัวอานเขียนไปบน แพล็ตเตอร ที่อยูในแนวตรงกัน อยางไรก็ตามหัวอานเขียนเพียงหัวเดียวเทานั้นที่อานหรือบันทึก ขอมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ระยะเวลา ในการสลับกันทํางาน ของหัวอานเขียนจะวัดดวยเวลาเฉลี่ยที่ ตัวไดรฟใชสลับ ระหวางหัวอานเขียน สองหัวในขณะ อานบันทึกขอมูล เวลาสลับหัวอานเขียนจะวัด ดวยหนวย ms Cylinder Switch Time เวลาในการสลับไซลินเดอร สามารถเรียกไดอีกแบบวาการสลับแทร็ค (track switch) ในกรณีนี้ แขนยึดหัวอานเขียน จะวางตําแหนงของหัวอานเขียนอยูเหนือไซลินเดอรขอมูลอื่น ๆ แตมีขอแมวา แทร็คขอมูลทั้งหมดจะตองอยูใน ตําแหนงเดียวกันของแพล็ตเตอรอื่น ๆ ดวย เวลาในการสลับ ระหวาง ไซลินเดอรจะวัดดวยระยะเวลาเฉลี่ยที่ตัว ไดรฟใชในการสลับจากไซลินเดอรหนึ่งไปยัง ไซ ลินเดอรอื่น ๆ เวลาในการสลับไซลินเดอรจะวัดดวยหนวย ms Rotational Latency เปนชวงเวลาในการอคอยการหมุนของแผนดิสกภายใน การหมุนภายในฮารดดิสกจะเกิดขึ้นเมื่อ หัวอาน เขียนวางตําแหนง อยูเหนือแทร็คขอมูลที่เหมาะสมระบบการทํางาน ของหัวอานเขียนขอมูล จะรอใหตัวไดรฟ หมุนแพล็ตเตอรไปยังเซ็กเตอรที่ถูกตอง ชวงระยะเวลาที่รอคอยนี้เองที่ถูกเรียกวา Rotational Latency ซึ่งจะวัด ดวยหนวย ms เชนเดียวกัน แตระยะเวลาก็ขึ้นอยูกับ RPM (จํานวน


303 รอบตอนาที) ดวยเชนกัน รูจักกับ ฮารดดิสก และมาตราฐานของการเชื่อมตอ แบบตาง ๆ ฮารดดิสก (Hard Disk) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับเก็บขอมูลตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร มี ลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เปนโลหะแข็ง และมีแผงวงจรสําหรับการควบคุมการทํางาน ประกบอยูทด ี่ านลาง พรอมกับชองเสียบสายสัญญาณและสายไฟเลี้ยง สวนประกอบภายในจะถูกปด ผนึกไวอยางมิดชิด โดยจะเปนแผนดิสกและหัวอานที่บอบบางมาก และไมคอยจะทนตอการกระทบ กระเทือนได ดังนั้น จึงควรที่จะระมัดระวังเปนอยางยิ่ง เวลาจัดถือไมควรใหกระแทกหรือกระเทือน และระมัดระวังไมใหมือโดน อุปกรณอน ื่ ๆ ที่อยูบนแผงวงจร โดยปกติ ฮารดดิสก มักจะบรรจุอยูใน ชองที่เตรียมไวเฉพาะภายในเครื่อง โดยจะมีการตอสาย สัญญาณเขากับตัวควบคุมฮารดดิสก และ สายไฟเลี้ยงที่มาจากแหลงจายไฟดวยเสมอ ในที่นี้ จะขอแนะนําใหรูจักกับ ฮารดดิสก แบบตาง ๆ ใน เบื้องตน พอเปนพื้นฐานในการทําความรูจักและเลือกซื้อมาใชงานกัน ชนิดของ ฮารดดิสก แบงตามอินเตอรเฟสทีต ่ อ  ใชงาน ปจจุบันนี้ ฮารดดิสกที่มีใชงานทั่วไป จะมีระบบการตอใชงานแบงออกเปน 2 แบบใหญ ๆ คือ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) กับ SCSI (Small Computer System Interface) ซึ่งฮารดดิสกทั่ว ๆ ไปที่ใชงานกันตาม เครื่องคอมพิวเตอรตามบาน มักจะเปน การตอแบบ EIDE ทั้งนั้น สวนระบบ SCSI จะมีความเร็วของการรับสง ขอมูลที่เร็วกวา แตราคาของ ฮารดดิสกจะแพงกวามาก จึงนิยมใชกันในเครื่อง Server เทานั้น EIDE หรือ Enhance IDE เปนระบบของ ฮารดดิสกอินเตอรเฟสที่ใชกันมากในปจจุบันนี้ การตอ ไดรฟฮารดดิสกแบบ IDE จะตอผาน สายแพรและคอนเน็คเตอรจํานวน 40 ขาที่มีอยูบนเมนบอรด ชื่อ เรียกอยางเปนทางการของการตอแบบนี้คือ AT Attachment หรือ ATA ตอมาไดมีการพัฒนาไปเปน แบบยอยอื่น ๆ เชน ATA-2, ATAPI, EIDE, Fast ATA ตลอดจน ATA-33 และ ATA-66 ในปจจุบัน ซึ่งถาหากเปนแบบ ATA-66 แลวสายแพรสําหรับรับสงสัญญาณ จะตองเปนสายแพรแบบที่รองรับการ ทํางานนั้นดวย จะเปนสายแพรที่มีสายขางใน 80 เสนแทนครับ สวนใหญแลวใน 1 คอนเน็คเตอร จะ สามารถตอฮารดดิสกได 2 ตัวและบนเมนบอรด จะมีคอนเน็คเตอรให 2 ชุด ดังนั้น เราสามารถตอ ฮารดดิสกหรืออุปกรณอื่น ๆ เชนซีดีรอมไดรฟ ไดสงู สุด 4 ตัวตอคอมพิวเตอร 1 เครื่อง วิธีการรับสงขอมูลของฮารดดิสกแบบ EIDE ยังแบงออกเปนหลาย ๆ แบบ ในสมัยเริ่มตน จะเปนแบบ PIO (Programmed Input Output) ซึ่งเปนการรับสงขอมูลโดยผานซีพียู คือรับขอมูลจาก ฮารดดิสก เขามายังซีพย ี ู หรือสงขอมูลจากซีพียไ ู ปยัง ฮารดดิสก การรับสงขอมูลแบบ PIO นี้ยังมี การทํางานแยกออกไปหลายโหมด โดยจะมีความเร็วในกรรับสงขอมูลตาง ๆ กันไป ดังตารางตอไปนี้ PIO mode อัตราการรับสงขอมูล (MB./sec) อินเตอรเฟส 0 3.3 ATA 1 5.2 ATA 2 8.3 ATA 3 11.1 ATA-2 4 16.6 ATA-2 การรับสงขอมูลระหวาง ฮารดดิสก กับเครื่องคอมพิวเตอรอีกแบบหนึ่ง เรียกวา DMA (Direct Memory Access) คือทําการ รับสงขอมูลระหวางฮารดดิสก กับหนวยความจําโดยไมผานซีพียู ซึ่งจะ กินเวลาในการทํางานของซีพียูนอยลง แตไดอัตราการรับสง ขอมูลพอ ๆ กับ PIO mode 4 และยัง แยกการทํางานเปนหลายโหมดเชนเดียวกันการรับสงขอมูลทาง PIO โดยมีอัตราการรับสง ขอมูลดัง ตารางตอไปนี้


304 หัวขอ

DMA mode อัตราการรับสงขอมูล (MB./sec) อินเตอรเฟส 0 2.1 ATA Single Word 1 4.2 ATA 2 8.3 ATA 0 4.2 ATA Multi Word 1 13.3 ATA-2 2 16.6 ATA-2 ฮารดดิสกตัวหนึ่งอาจเลือกใชการรับสงขอมูลไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับปจจัยหลักคือ ฮารดดิสกที่ใช นั้นสนับสนุนการทํางานแบบใดบาง ชิปเซ็ตและ BIOS ของเมนบอรดตองสนับสนุนการทํางานในแบบ ตาง ๆ และอยางสุดทานคือ ระบบปฏิบัติการบางตัว จะมีความสามารถเปลี่ยนหรือเลือกวิธีการรับสง ขอมูลในแบบตาง ๆ ได เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในการทํางาน เชน Windows NT, Windows 98 หรือ UNIX เปนตน ถัดจาก EIDE ในปจจุบันก็มีการพัฒนามาตราฐานการอินเตอรเฟส ที่มีความเร็วสูงยิ่งขึ้นไปอีก คือ แบบ Ultra DMA/2 หรือเรียกวา ATA-33 (บางทีเรียก ATA-4) ซึ่งเพิ่มความเร็วขึ้นไป 2 เทาเปน 33 MHz และแบบ Ultra DMA/4 หรือ ATA-66 (หรือ ATA-5) ซึ่งกําลังเปนมาตราฐานอยูในปจจุบัน โดย มีรายละเอียดดังนี้ DMA mode อัตราการรับสงขอมูล (MB./sec) อินเตอรเฟส Ultra DMA/2 33.3 ATA-33 (ATA-4) (UDMA2 หรือ UDMA/33) Ultra DMA/4 66.6 ATA-66 (ATA-5) (UDMA4 หรือ UDMA/66) นอกจากนี้ ปจจุบันเริ่มจะเห็น ATA-100 กันบางแลวในฮารดดิสกรุนใหม ๆ บางยี่หอ SCSI เปนอินเตอรเฟสที่แตกตางจากอินเตอรเฟสแบบอื่น ๆ มาก ความจริงแลว SCSI ไมไดเปน อินเตอรเฟสสําหรับ ฮารดดิสก โดยเฉพาะ ขอแตกตางที่สําคัญที่สุดไดแก อุปกรณที่จะนํามาตอกับ อินเตอรเฟสแบบนี้ จะตองเปนอุปกรณที่มีความฉลาดหรือ Intelligent พอสมควร (มักจะตองมีซีพย ี ู หรือหนวยความจําของตนเองในระดับหนึ่ง) โดยทั่วไป การดแบบ SCSI จะสามารถตอ อุปกรณได 7 ตัว แตการด SCSI บางรุนอาจตออุปกรณไดถึง 14 ตัว (SCSI-2) ในทางทฤษฎีแลว เราสามารถนํา อุปกรณหลายชนิด มาตอเขาดวยกันผาน SCSI ไดเชน ฮารดดิสก เทปไดรฟ ออปติคัลดิสก เลเซอร พรินเตอร หรือแมกระทั่งเมาส ถาอุปกรณเหลานั้น มีอินเตอรเฟสที่เหมาะสม มาดูความเร็วของการ รับสงขอมูลของ SCSI แบบตาง ๆ กันดีกวา Ultra Ultra 3 Ultra 2 Wide (Ultra160) บัสขอมูล (บิต) 8 8 19 16 32 16 32 16 32 ความถี่ (MHz) 5 10 5 10 10 20 20 40 40 รับสงขอมูล (MB/s) 5 10 10 20 40 40 80 80 160 คอนเน็คเตอร SCSI-1 SCSI-2 SCSI-2 SCSI-2 SCSI-2 SCSI-3 SCSI-3 SCSI-3 SCSI-3 หัวขอ

SCSI

Fast

Wide

Fast

Wide Ultra

ประสิทธิภาพของฮารดดิสกขึ้นอยูก  ับอะไรบาง ความเร็วในการทํางานของฮารดดิสก ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยางเชน ความเร็งในการหมุน กลไก ภายใน ความจุขอมูล ชนิดของ คอนโทรลเลอร ขนาดของบัฟเฟอร และระบบการเชื่อตอที่ใชเปนตน ฮารดดิสกที่มีกลไกที่เคลื่อนที่เร็วที่สุดเพียงอยางเดียว อาจจะไมใชฮารดดิสกที่มีประสิทธิภาพดีที่สุด


305 ก็ได ความเร็วในการหมุนของฮารดดิสก ความเร็วในการหมุนของดิสก เปนสิ่งที่มีผลกับความเร็วในการอานและบันทึกขอมูลมากทีเดียว ฮารดดิสกทั่วไป ถาเปนรุนธรรมดา จะหมุนอยูที่ประมาณ 5,400 รอบตอนาที (rpm) สวนรุนที่เร็ว หนอยก็จะเพิ่มเปน 7,200 รอบตอนาที ซึ่งถือเปนมาตราฐาน อยูในขณะนี้ และถาเปนรุนใหญหรือ พวก SCSI ในปจจุบันก็อาจถึง 10,000 รอบหรือมากกวานั้น ฮารดดิสกที่หมุนเร็ว ก็จะสามารถ อาน ขอมูลในแตละเซ็คเตอรไดเร็วกวาตามไปดวย ทําใหความเร็วการรับสงขอมูลภายใน มีคาสูงกวา ฮารดดิสกที่หมุนมากรอบกวา ก็อาจมีเสียงดัง รอน และสึกหรอมากกวา แตโดยรวมทั่วไปแลว หาก ราคาไมเปนขอจํากัด ก็ควรเลือกฮารดดิสกที่หมุนเร็ว ๆ ไวกอน อินเตอรเฟสของฮารดดิสก ดังที่อธิบายแลววา ฮารดดิสกอินเตอรเฟสที่นิยมใชงานกันมากที่สุดสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรใน ปจจุบันไดแก แบบ ATA-33 และ ATA-66 ซึ่งมีอัตราการรับสงขอมูลที่สูงกวาแบบเกา หากตองการ อัตราการรับสงขอมูลที่เร็วกวานี้ ก็ตองเลือกอินเตอรเฟสแบบ SCSI ซึ่งจะมีขอดีคือ มีความเร็วสูงกวา แบบ EIDE มากและยังสามารถตออุปกรณตาง ๆ ไดถึง 7 ตัวดวยกัน โดยที่ราคาก็ยังคงจะ แพงกวา แบบ EIDE ดวย จะเหมาะสําหรับงานที่ตองใชความเร็วสูงเชน Server ของระบบ LAN เปนตน ประเด็นสําคัญของการตอฮารดดิสกแบบ IDE ก็คือ แตละสายที่ตอออกมานั้น ตามปกติจะตอได 2 ไดรฟ โดยฮารดดิสก ที่อยูบนสาย คนละเสนจะทํางานพรอมกันได แตถาอยูบนสายเสนเดียวกัน จะตองทําทีละตัว คือไมทํางานกับ Master ก็ Slave ตัวเดียวเทานั้น ในเวลาหนึ่ง ๆ และหากเปน อุปกรณที่ทําการรับสงขอมูลคนละแบบบนสายเดียวกัน เชนการตอฮารดดิสกแบบ UltraDMA/66 รวมกับซีดีรอมแบบ PIO mode 4 อุปกรณทุกตัวบนสายเสนนั้น ก็จะตองทําตามแบบที่ชากวา ดังนั้น จึงไมควรตอฮารดดิสกที่เร็ว ๆ ไวกับซีดีรอมบนสายเสนเดียวกัน เพราะจะทําใหฮารดดิสกชาลงตาม ไปดวย หนวยความจํา แคช หรือ บัฟเฟอร ที่ใช อีกวิธีที่ผูผลิตฮารดดิสก ใชเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของฮารดดิสกในปจจุบัน คือการใช หนวยความจําแคช หรือบัฟเฟอร (Buffer) เพื่อเปนที่พักขอมูลกอนที่จะสงไปยัง คอมโทรลเลอรบน การด หรือเมนบอรด แคชที่วานี้จะทํางานรวมกับฮารดดิสก โดยในกรณีอานขอมูล ก็จะอานขอมูลจาก ฮารดดิสก ในสวนที่คาดวาจะถูกใชงานตอไปมาเก็บไวลวงหนา สวนในกรณีบันทึกขอมูล ก็จะรับ ขอมูลมากอนเพื่อเตรียมที่จะเขียนลงไปทันที ที่ฮารดดิสกวาง แตทั้งหมดนี้จะทําอยูภายในตัว ฮารดดิสกเอง โดยไมเกี่ยวของกับซีพย ี ูหรือแรมแตอยางใด หนวยความจําหรือแคชนี้ ในฮารดดิสกรุนราคาถูกจะมีขนาดเล็ก เชน 128KB หรือบางยี่หอก็จะมี ขนาด 256-512KB แตถาเปนรุนที่ราคาสูงขึ้นมา จะมีการเพิ่มจํานวนหนวยความจํานี้ไปจนถึง 2MB เลยทีเดียว ซึ่งจากการทดสอบพบวา มีสวนชวย ใหการทํางานกับฮารดดิสกนั้นเร็วขึ้นมาก ถึงแม กลไกการทํางานของฮารดดิสกรุนนั้น ๆ จะชากวาก็ตาม แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับลักษณะการทํางานของ โปรแกรมดวย ปจจัยอื่น ๆ ในการเลือกซื้อฮารดดิสก หลังจากที่ไดพอจะรูจักกับฮารดดิสกแบบตาง ๆ กันแลว หากตองการซื้อฮารดดิสกที่จะนํามาใช งานสักตัว ปจจัยตาง ๆ ดานบนนี้ นาจะเปนตัวหลักในการกําหนดรุนและยี่หอของฮารดดิสกที่จะซื้อ ได แตทั้งนี้ ไมควรที่จะมองขามปจจัยอื่น ๆ เหลานี้ไปดวย ความจุของขอมูล


306 ยิ่งฮารดดิสกที่มีความจุมาก ราคาก็จะแพงขึ้นไป เลือกใหพอดีกับความตองการแตไปเนนเรื่อง ความเร็วดีกวาครับ เชนหากมีขนาด 15G 7,200 rpm กับ 20G 5,400 rpm ที่ราคาใกลเคียงกัน ผม มอลวานาจะเลือกตัว 15G 7,200 rpm ดีกวา ความทนทานและการรับประกัน อยาลืมวา ฮารดดิสก เปนอุปกรณที่ตองทํางานตลอดเวลา มีการเคลื่อนไหวตาง ๆ มากมายอยู ภายในและโอกาสที่จะเสียหายมีไดมาก โดยเฉพาะเรื่องของความรอนและการระบายความรอนที่ไมดี ในเครื่อง ก็เปนสาเหตุสําคัญของการเสียหาย นอกจากนี้ การเกิด แรงกระแทกแรง ๆ ก็เปนสาเหตุ หลักของ การเสียหายที่พบไดบอย ดังนั้น ปจจัยที่คอนขางสําคัญในการเลือกซื้อฮารดดิสก คือ เรื่อง ระยะเวลาในการรับประกันสินคา และระยะเวลาในการสงเคลม วาจะชาหรือเร็วกวาจะไดของกลับคืน มาใชงาน รวมทั้งรานคา ที่เราไปซื้อดวย ที่ในบางครั้ง เวลาซื้อสินคา จะบอกวาเปลี่ยนได เคลมเร็ว แตเวลาที่มีปญหาจริง ๆ ก็จะไมคอยยอมเปลี่ยนสินคาใหเราแบบงาย ๆ เทาที่เคยไดยินมา สวนมากจะนิยมซือ ้ ยี่หอ Quantum, IBM, Maxtor กันครับ ทั้งนี้ก็คงจะขึ้นอยูกับ ราคา ความรอน เสียง ความเร็ว และความชอบของแตละคนกันครับ ที่สําคัญคือเรื่องของความเร็ว ตาง ๆ ก็เลือกกันใหดีนะครับ

รานหนังสือ ซีดีรอม สินคาไอที

บริการดาวนโหลด Driver และบันทึกลง CD

Get your Free Advertising...for Thai web sites only!

นอกเหนือจากเมนบอรด เพาเวอรซพ ั พลายและอุปกรณรอบขางอื่น ๆ แลว ยังมี อุปกรณอีกอยางหนึ่งที่สําคัญ เปนการดเพื่อขยายในเครื่องคอมพิวเตอร การดเพิ่มขยาย สวนใหญที่เสียบในสล็อตจะเปนคอนโทรลเลอร หรือการดควบคุมอุปกรณ (Controller Card) Controller Board คอนโทรลเลอรบอรด คือ บอรดที่มีสายริบบอน ตอเชื่อมตัวบอรด เขากับดิสกไดรฟ หรือฮารดดิสก นั่นคือบอรดคอนโทรลเลอร Harddisk Controller คือ ชนิดของอุปกรณควบคุมฮารดดิสก และใชเปนชื่อเรียก ชนิดของฮารดดิสกดวย Harddisk Controller ทําหนาที่ประสานงานระหวางฮารดดิสก กับ BUS บางครั้งรวมมาบนเมนบอรด ไมไดแยกเปนการด ฮารดดิสกคอนโทรลเลอรมี หลายชนิด คือ IDE,EIDE,ESDI,SCSI • IDE (Integrated Drive Electronic) เปนชนิดที่มีความเร็วสูงเปนมาตรฐาน อุตสาหกรรม (de facto standard) สําหรับเชื่อมตออุปกรณฮารดดิสก ที่ใชกันมากใน เครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร สามารถเชื่อมตออุปกรณไดสูงสุด 2 ตัว สงผานขอมูลได ดวยความเร็วสูงสุดที่ 3 เมกกะบิต/วินาที และรองรับฮารดดิสกความจุสูงสุดที่ 528 MB. ซึ่งดวยขอจํากัดตาง ๆ เหลานี้ ทําใหเปนอุปสรรคตอการใชงานอุปกรณรุนใหม ๆ จึงไดมี การพัฒนาเปน EIDE


307

• EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) สามารถเชื่อมตออุปกรณ ไดถึง 4 ตัว รองรับฮารดดิสกไดสูงสุดถึง 8.4 กิ๊กกะไบต สงผานขอมูลไดสูงสุดที่ 9-16 เมกกะบิต/วินาที

• ESDI (Enhance Small Device Interface) เปนชนิดที่มีความเร็วสูงและความ จุสูง

• SCSI (Small Computer System Interface) นอกจากเปนฮารดดิสก คอนโทรลเลอรแลว ยังเปนคอนโทรลเลอรที่ควบคุมอุปกรณอื่น ๆ ไดอีก เปนมาตรฐาน การเชื่อมตอแบบขนานของ ANSI ใชเชื่อมตออุปกรณความเร็วสูงใด ๆ เชน ฮารดดิสก สแกนเนอร เปนตน สามารถเชื่อมตออุปกรณไดสูงสุด 8-16 ตัว


308

สังเกตโดยการไลสายริบบอน จากตัวฮารดดิสกไปยังแผงวงจร และแผงวงจรนั้นจะ เปนคอนโทรลเลอรของมัน บอรดฮารดดิสกคอนโทรลเลอรกับการตอสายริบบอนใชงาน จะเห็นไดวาขั้วตอบน ฮารดดิสกคอนโทรลเลอรจะมีขั้วแบบ 34 ขา อยู 2 แถว แตถูกตอใชงานไวเพียงแถว เดียว สวนขัว้ ตอแบบ 20 ขา มีสองแถวเชนกัน แตถูกตอกับสายริบบอนทั้งคู ขั้วตอ ทั้งหมดหาไดไมยาก มีลก ั ษณะเปนขาและมีฐานรองอยูขางลาง ศัพททางเทคนิคเรียกวา Pincushion แตมีฮารดดิสกบางแบบที่ไมไดอินเตอรเฟซ แบบ 3 ขั้วตอ แตใชการเชื่อม เพียงขั้วเดียว แตมีขาอยู 40 ขาแทน Tape Controller ถาตองการติดตั้งเทปไดรฟเพื่อสํารองระบบ จะตองมี คอนโทรลเลอรบางอยางดวย เทปไดรฟบางแบบสามารถใชฟล็อปปดิสกคอนโทรลเลอร ได แตมันไมไดถูกสรางขึ้นมาเพื่อสนับสนุนการใชงานกับเทป จึงทําใหการสํารองขอมูล ทําไดชามาก เทปไดรฟมีทั้งแบบติดตั้งภายนอกและภายใน ในการสํารองขอมูลควรใช แบบติดตั้งภายนอก เหมาะสําหรับการสํารองขอมูลหลาย ๆ เครื่อง และบางครั้งยัง สามารถใชรวมกันหลายคนได SCSI ทาชน IDE ทุกวันนี้เริ่มมีผูคนหันมาใชไดรฟแบบ SCSI กันมากขึ้น เพราะมีการทํางานที่ดีกวา เห็นไดจากยอดขายที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วนะครับ แตก็ไมไดหมายความวา SCSI จะเขีย ่ IDE กระเด็นไปเสียเลยก็ไมใช หากทานจะเลีอกซี้อมาใชสักอัน คงตองพิจารณากัน หนอยนะครับ เอาละเรามาดูกันวาอะไรจะดีกวากันนะครับ โดยปรกติแลวไดรฟแบบ IDE ก็มีคุณสมบัตพ ิ อๆและทํางานคลายๆกับ SCSI แหละ ครับ แตถาพิจารณาจากราคาที่ถูกกวาของ IDE แลวก็จะเห็นวาบานเรามีผูใช IDE กัน มาก ซึ่งบางทีก็จะเห็นแบบ SCSI เขามาบาง เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือ PC มักจะนิยมใส IDE กันมากเพราะราคาถูก และทํางานไดดีพอสมควร แตถาจะพิจารณา กันจริงๆแลวมันตองพิจารณากันใหดีๆ นานๆ บริษัทคอมบางแหงก็มีทั้งไดรฟแบบ SCSI และ IDE ใหเลือก ในไดรฟแบบ IDE และ SCSI มีทุกอยางที่เหมือนกันยกเวน logic board ของไดรฟแบบ SCSI จะมีชิปพิเศษอีกตัวหนึ่งซึ่งทําใหไดรฟแบบ SCSI ทํางาน บนบัสแบบ SCSI ดังนั้นไดรฟ SCSI สวนใหญก็คือแบบ IDE ที่เพิ่มชิปพิเศษตัวนี่ขึ้นมา นั่นเอง ในไดรฟแบบ SCSI นี้ขอมูลจะตองผานชิปพิเศษตัวนี้ดวย ทําใหไดรฟแบบ IDE เปน ตอในเรื่องนี้ เพราะไมมีชิปตัวนี้ใหผานใหเสียเวลา แตในคอมพิวเตอรหลายๆเครื่อง ไดรฟแบบ SCSI ก็ดีกวาแบบ IDE เพราะวา บัสSCSIจะคอนขางฉลาดกวาแบบ IDE ใน การสงผานขอมูลแบบ SCSI นี่จะมีขน ั้ ตอนมากมายยุงยาก ถาเอามาเปรียบเทียบกันจะ ทําใหไดรฟแบบ IDE ดูจะเร็วกวา แตใน Operating System ที่มีการสนับสนุน Multitasking หรือวาเราทํางานแบบทีเดียวหลายๆอยางในคราวเดียวกัน ไดรฟแบบ SCSI นาจะเปนตัวเลือกที่ดีกวานะครับ เพราะวาความฉลาดที่มันมีมากกวาแบบ IDE นั่นเอง


309 อุปกรณแบบ SCSI สามารถติดตอกับ CPU ไดอยางอิสระโดยผาน บัส SCSI เพราะวาอุปกรณทุกชนิดในคอมพิวเตอรจะมีตัวควบคุมที่ฝงอยู การรับ-สงขอมูลก็จะ สามารถทําไดที่ความเร็วสูงระหวางอุปกรณเหลานี้โดยไมใชกําลังของ CPU เลย ไดรฟ แบบ IDE ก็เหมือนกันคือใชตัวควบคุมนี้ แตวามันไมสามารถทํางานไดในเวลาเดียวกัน และไมสนับสนุนคําสั่งแบบหลายๆคําสั่งได ในจํานวนผูใชหลายๆคน สวนใหญไดรฟแบบ IDE ก็เพียงพอกับความตองการ และ ทํางานไดดี แตถาการทํางานของเราเปนแบบ multitasking แลวละก็ไดรฟแบบ SCSI นาจะเปนตัวเลือกที่ดีกวานะครับ สําหรับผูที่กําลังตัดสินใจที่จะซื้อไดรฟสองอยางนี้ ก็ พิจารณาการทํางานของเราใหดีๆนะครับวาเปนอยางไหน แลวก็ตัดสินใจใหดีกอนซื้อนะ ครับ.....

คอมพิวเตอรซอฟตแวร เนื้อหาประกอบดวยหัวขอตอไปนี้ • • • •

ความหมายของซอฟตแวรและหนาที่ของซอฟตแวร ประเภทของซอฟตแวร ขอดี - ขอเสียระหวางการจัดจางพัฒนาซอฟตแวรกับการจัดหาซอฟตแวรสําเร็จรูปในองคกร กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟตแวร

บทนํา ในปจจุบัน คอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทสําคัญในการดําเนินชีวิต ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มี การนําเครื่องคอมพิวเตอรมาใชในงานดานตาง ๆ เชน งานคํานวณ งานวิเคราะห งานวางแผน งานออกแบบ งานดานวิทยาศาสตร งานดานการแพทย ในยุคแรก ๆ นั้น เครื่องคอมพิวเตอรจะตองอาศัยมนุษยเปนผู ควบคุมการปฏิบัติงานของเครื่อง ตอมาไดมีการพัฒนาการสรางโปรแกรมขึ้นโดยรวบรวมคําสั่งงานตาง ๆ ที่มนุษยตองการเพื่อสั่งใหเครื่องทํางานแทน โปรแกรมหรือชุดคําสั่งนี้ เรียกวา ซอฟตแวร (Software) โปรแกรมหรือซอฟตแวรที่จะสั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานจะตองมีรายละเอียดทุกขั้นตอนเพื่อใหเครื่อง ปฏิบัติตามจนไดผลลัพธที่ตองการ โปรแกรมนี้จะถูกเก็บไวในหนวยความจําภายในซีพียู หลังจากนั้น เครื่องจะทํางานดวยตนเองตามโปรแกรมภายใตการควบคุมของหนวยควบคุม ความหมายของซอฟตแวรและหนาที่ของซอฟตแวร ซอฟตแวร (Software) หมายถึง รายละเอียดของชุดคําสั่ง (Instructions) ที่เขียนขึ้นอยางมีลําดับ ขั้นตอนเพื่อควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร หนาที่ของซอฟตแวรตอการบริหารองคกร มีดังนี้ - จัดการเกี่ยวกับทรัพยากรภายในองคกร - เปนเครื่องมือในการสรางความไดเปรียบของทรัพยากรที่มีตอคูแขงขัน - เปนสื่อกลางระหวางองคกรและการเก็บสารสนเทศภายในหนวยงาน ประเภทของซอฟตแวร สามารถแบงได 2 ประเภทคือ ซอฟตแวรระบบ (System Software)


310 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) 1 ซอฟตแวรระบบ (System Software) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อควบคุมการ ทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรใหประสานกัน และควบคุมลําดับขั้นตอนการทํางานของอุปกรณตาง ๆ ใน ระบบคอมพิวเตอร ซอฟตแวรระบบที่นิยมแพรหลาย ไดแก DOS, UNIX, WINDOWS, SUN, OS/2, NET WARE เปนตน ประเภทของซอฟตแวรระบบ (System Software) โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating Systems : OS) หรือ Supervisory Programs หรือ Monitors Programs เปนโปรแกรมที่สําคัญที่สุดอีกประการหนึ่งและมีความสลับซับซอนมาก ชวยให คอมพิวเตอรสามารถควบคุม (Control) การปฏิบัติงานของเครื่องไดเองโดยอัตโนมัติ และดูแลตรวจตราทุก ๆ การทํางานของฮารดแวรในระบบคอมพิวเตอร นับตั้งแตเปดเครื่องจนกระทั่งปดเครื่อง ทําหนาที่เปน ตัวกลางเชื่อมระหวางซอฟตแวรกับฮารดแวร หนาที่หลัก ๆ ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ มีดังนี้ 1) การจองและการกําหนดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอร 2) การจัดตารางงาน (Scheduling) 3) การติดตามผลของระบบ (Monitoring) 4) การทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน (Multiprogramming) 5) การจัดแบงเวลา (Time Sharing) 6) การประมวลผลหลายชุดพรอมกัน (Multiprocessing) ประเภทของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ 1) โปรแกรมที่ทํางานทางดานควบคุม (Control Programs) หมายถึง โปรแกรมที่ใช ควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรและอุปกรณที่เกี่ยวของที่สําคัญ ไดแก a. Supervisor การจัดการทั่วไปเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร จะอยูภายใต ความควบคุมของ Supervisor ซึ่งอยูในหนวยความจําหลักในซีพียูและทําหนาที่ประสานงานกับสวนอื่น ๆ ของโปรแกรมควบคุมระบบ เมื่อใดที่โปรแกรมภายใตระบบปฏิบัติการถูกเรียกมาใชงาน Supervisor จะสง การควบคุมไปยังโปรแกรมนั้น เมื่อการทํางานสิ้นสุดลง โปรแกรมดังกลาวจะสงการควบคุมกลับมายัง Supervisor อีกครั้ง b. โปรแกรมควบคุมงานดานอื่น ๆ (Other Job/Resource Control Programs) ไดแก โปรแกรม ที่ควบคุมเกี่ยวกับลําดับงาน ความผิดพลาดที่ทําใหการหยุดชะงักของโปรแกรม (Interrupt) หรือพิมพ ขอความหรือขาวสารใหแกผูควบคุมเครื่องทราบเมื่อมีขอผิดพลาด หรือตองการแจงใหทราบถึงสถานภาพ ของอุปกรณรับสง เปนตน 2) ระบบปฏิบัติการของไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer Operating System) จะมี ลักษณะเฉพาะโดยขึ้นอยูกับระบบปฏิบัติการและฮารดแวร โปรแกรมสําเร็จรูปไมสามารถใชขาม ระบบปฏิบัติการได เชน โปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชบนระบบปฏิบัติการ MS - DOS จะไมสามารถนําไปใช บน Windows ได ระบบปฏิบัติการที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอร ไดแก a. MS - DOS (Microsoft Disk Operating System) เปนโปรแกรมควบคุม ระบบปฏิบัติการ พัฒนาในชวงปค.ศ. 1980 จากบริษัท Microsoft พัฒนาขึ้นมาเพื่อใชกับงานเครื่อง คอมพิวเตอรที่ใช Microprocessor รุน 8086, 8088, 80286, 80386, 80486 สําหรับผลิตภัณฑเครื่อง


311 คอมพิวเตอร IBM Compatible ทั่วไป มี 2 เวอรชัน (Version) ไดแก PC-DOS และ MS-DOS ดอสเปน ระบบปฏิบัติการที่มีสวนประสานกับผูใช (User Interface) เปนแบบปอนคําสั่ง (Command - line User Interface) MS - DOS นั้นจะมีสวนประกอบโปรแกรม 3 สวน คือ IO.SYS MS - DOS.SYS และ COMMAND.COM ทั้ง 3 โปรแกรมจะทําหนาที่ในการจัดการทํางานทุกอยางในระบบ สําหรับ MS DOS.SYS และ IO.SYS นั้นเปนไฟลระบบและถูกซอนไวในขณะที่เราสั่งงาน IO.SYS เปนสวนที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอุปกรณปอนเขา (Input Device) และอุปกรณ แสดงผล (Output Device) เชน แปนพิมพ จอภาพ และเครื่องพิมพ เปนตน MS - DOS.SYS เปนสวนที่ใชในการเขาถึง (Access) โปรแกรมยอย (Routine) ตาง ๆ ของดอส เมื่อโปรแกรมมีการเรียกใชรูทีนเหลานั้น ตัว MS - DOS.SYS จะรับขอมูลตาง ๆ จากโปรแกรมตาง ๆ ผานจากรีจิสเตอรทําการควบคุมการทํางาน (Control Block) และจัดพารามิเตอรใน การเรียกใช IO.SYS ใหทํางานตามที่ตองการ COMMAND.COM ทําหนาที่เปนตัวประสาน คอยรับคําสั่งจากผูใชผานทางแปนพิมพ เพื่อ สงผานคําสั่งไปยังคอมพิวเตอร เปรียบเสมือนตัวเชื่อมผูใชกับโปรแกรมจัดระบบ คําสั่งในระบบ MS - DOS จะแบงเปน 2 ประเภท คือ - คําสั่งภายใน (Internal Command) เปนคําสั่งที่มีอยูแลวภายในระบบ เชน คําสั่ง DIR (Directory) เปนการเรียกขอมูลจากหนวยเก็บขอมูลสํารอง ขึ้นมาดูเพื่อคนหาแฟมขอมูล คําสั่ง COPY เปน การสํารองขอมูลไว REN (Rename) เปนการเปลี่ยนชื่อแฟมขอมูลโดยที่ขอมูลภายในยังคงเหมือนเดิม คําสั่ง TYPE เปนการเรียกดูรายละเอียดของขอมูลแตละแฟมขึ้นมาดู แตแฟมนั้นจะตองอยูในรูปของ ขอความ (Text File) และคําสั่ง CLS (Clear) เปนคําสั่งลบขอความบนจอภาพ โดยที่ขอมูลที่อยูภายในแฟม จะไมหาย เปนตน - คําสั่งภายนอก (External Command) คําสั่งประเภทนี้ตองเรียกใชจาก แผนโปรแกรมหรือจากหนวยความจําสํารองที่ไดสรางเก็บคําสั่งตาง ๆ เหลานี้ไวหากไมมีก็จะไมสามารถ เรียกคําสั่งขึ้นมาใชได เชน คําสั่ง CHKDSK (Check Disk) เปนคําสั่งที่ใชในการตรวจสอบหนวยเก็บขอมูล สํารองวามีพื้นที่ในการเก็บเทาใด ใชไปเทาใด คงเหลือเทาใด และมีสวนหนึ่งสวนใดของหนวยเก็บขอมูล สํารองเสียหรือไม คําสั่ง FORMAT เปนการจัดเตรียมโครงสรางภายในแผนหรือจานแผนเหล็ก เปนการวิเคราะห แผนจานแมเหล็กสําหรับตําแหนง (Track) ที่เสีย b. Windows 3.X ประมาณตนป ค.ศ. 1990 บริษัทไมโครซอฟตไดผลิต Windows 3.0 ซึ่ง นํามาใชการทํางานระบบกราฟกเพื่อใหผูใชใชงานงายและสะดวกเรียกวา GUI (Graphic User Interface) โดยใชภาพเล็ก ๆ เรียกวา ไอคอน (Icon) และใชเมาส (Mouse) แทนคียบอรด (Key Board) นอกจากนี้ Windows 3.0 ขึ้นไป ยังสามารถทําใหเครื่องคอมพิวเตอรใชงานโปรแกรมไดมากกวาหนึ่งโปรแกรมใน ขณะเดียวกันเรียกวา Multitasking ไดพัฒนาระบบปฏิบัติการ Windows ขึ้นมามี 3 เวอรชัน (Version) ไดแก Windows 3.0, Windows 3.1 และ Windows 3.11 c. Windows 95 ตอมาในป ค.ศ. 1995 บริษัทไมโครซอฟตไดผลิต Windows 95 ซึ่งเปน ระบบปฏิบัติการที่ทํางานแบบหลายงาน (Multitasking) การทํางานในลักษณะเครือขาย (Network) Windows 95 มีคุณลักษณะเดน ดังนี้ - มีระบบติดตอกับผูใชโดยแสดงเปนกราฟก (Graphical User


312 Interface :GUI) - มีความสามารถในการเปดเอกสารไดครั้งละหลายไฟล และสามารถใช โปรแกรมหลาย โปรแกรมในเวลาเดียวกัน - มีโปรแกรมเวิรดโปรเซสซิ่ง เรียกวา Word Pad โปรแกรมวาดรูป และเกม - เริ่มมีเทคโนโลยี Plug and Play และสนับสนุนการติดตอสื่อสารผาน เครือขาย อินเทอรเน็ต โดยติดตั้ง Windows 95 ไมจําเปนตองติดตั้งที่ MS-DOS กอน แตสามารถใชงาน รวมกับ MS-DOS ได - สามารถใชแอปพลิเคชันที่รันบน Windows 3.1 ไดเลยโดยไมตองแกไข และซอฟตแวรที่รันบน Windows 95 มีความสามารถสง Fax และ E - mail ได d. Windows 98 เปนการเพิ่มประสิทธิภาพของ Windows 95 ระบบปฏิบัติการ Windows 98 เปนระบบที่สนับสนุนการทํางานของโปรแกรมตาง ๆ บน Windows โดย เชื่อมตอกับระบบอินเทอรเน็ตอยางมีประสิทธิภาพ e. Windows Millennium Edition หรือเรียกสั้น ๆ วา "Windows ME" ใน เวอรชันนี้พัฒนามา จาก Windows 98 เพื่อแกไขขอผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากเวอรชันเกา มีการสนับสนุนการทํางานแบบมัลติมีเดีย มากขึ้น f. Windows NT เปนระบบปฏิบัติการในสวนของเครือขาย (Network) คลาย กับ Windows 95 พัฒนามาจาก LAN Manager และ Windows for Workgroup โดย Windows NT มี 2 เวอรชัน ไดแก Windows NT Server และ Windows NT Workstation โดยที่ Server จะทําหนาที่ ระบบปฏิบัติการเครือขายที่คอยใหบริการแกเครื่องที่เปน Workstation คุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ Windows NT มีดังนี้ - สามารถใชกับตัวประมวลผล (Processor) ไดหลายแบบ ทั้ง Pentium, DEC และ Alpha โดยยายรูปแบบโปรแกรมขามระบบได - สามารถเพิ่มขยายหนวยความจําไดถึง 4 จิกกะไบต (4 GB) - ทํางานไดในลักษณะหลายงานพรอมกันและสามารถเปลี่ยนแปลงรายการ แบบพหุคูณ หรือหลายรายการพรอมกัน (Multithreading) - สามารถใชกับเครื่องคอมพิวเตอรที่มีตัวประมวลผล (CPU) มากกวา 2 โปรเซสเซอร - สามารถสรางระบบแฟมของตนเองเปนแบบ NTFS ซึ่งแตเดิมจะเปนแบบ FAT (File Allocation Table) เพียงอยางเดียว - สามารถสนับสนุนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีจานแมเหล็กหลายตัวตอเปนชุด ซึ่งเรียกวา RAID (Redundant Aray of Inerpenside Disks) - มีระบบปองกันความปลอดภัยของขอมูลโดยสรางรหัสผานใหกับผูใชแต ละคน และ สามารถกําหนดวันเวลาในการใชงาน - โปรแกรมที่ใชระบบ DOS ก็สามารถจะนํามาใชงานบน Windows NT ได g. Windows 2000 Professional / Standard เปนระบบปฏิบัติการที่ไดรับ การ พัฒนาใหอํานวยความสะดวกใหกับผูใชที่ใชงานลักษณะเปนกราฟก เชน มีโปรแกรม Windows Installation Service ที่ชวยใหผูใชสามารถทําการติดตั้งหรืออัพเกรด (Upgrade) โปรแกรมไดงายและมีการ จัดการระบบตลอดจนมีการบริหารแมขายแบบรวมศูนย เหมาะสําหรับใชในงานสํานักงานมากกวาที่จะใช


313 ที่บาน จุดเดนของ Windows 2000 คือ การตอเชื่อมระบบเครือขายและระบบรักษาความปลอดภัยที่มี ประสิทธิภาพสูงและสนับสนุน Multi Language h. Windows XP เปนระบบปฏิบัติการที่มีความสมบูรณแบบทั้งในดานการ ทํางานรวมกับ Internet Explorer 6 และ Microsoft Web Browser Windows XP มี 2 รูปแบบดวยกัน คือ Windows XP Home Edition และ Windows XP Professional Edition i. Mac OS X ระบบปฏิบัติการ Macintosh Operating System เปนระบบ ปฏิบัติการของเครื่องแมคอินทอช เปนผลิตภัณฑแรกที่ประสบความสําเร็จเกี่ยวกับการทํางานแบบ GUI ใน ป ค.ศ. 1984 ของบริษัท Apple ตอมาไดมีการเปลี่ยนชื่อเปนระบบปฏิบัติการ Mac OS โดยเวอรชันลาสุดมี ชื่อเรียกวา Mac OS X เหมาะสมกับคอมพิวเตอรที่ผลิตโดยบริษัท Apple และมีความสามารถในการทํางาน หลายโปรแกรมพรอมกัน (Multitasking) เหมาะกับงานในดานเดสกทอปพับลิชชิ่ง (Desktop Publishing) j. OS/2 Warp Client พัฒนาขึ้นมาโดยบริษัท IBM ไดนําเครื่อง คอมพิวเตอร PS/2 ขาสูตลาดก็ไดติดตอบริษัทไมโครซอฟต พัฒนาระบบปฏิบัติการตัวใหมเปน ระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องลูกขาย สามารถทํางานแบบการทํางานหลายงาน (Multitasking) ได มี ลักษณะการทํางานแบบดอสมากกวา Windows สนับสนุนการทํางานแบบเครือขาย มีขีดความสามารถ ติดตอกับผูใชแบบกราฟกแต OS/2 ที่ผลิตออกมาในขณะนั้นไมเปนที่นิยม เพราะตองใชหนวยความจํา ขนาดใหญ และโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่อใชกับ OS/2 ก็มีนอย k. UNIX เปนระบบปฏิบัติการที่ใหญ สามารถใชงานในลักษณะการทํางาน หลาย ๆ โปรแกรมพรอมกัน (Multitasking) และเปนแบบมัลติยูสเซอร (Multi-User) คือ มีผูใชหลาย ๆ คน พรอมกัน เปนระบบที่พัฒนามาใชกับเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ เชน เครื่องเมนเฟรม มินิคอมพิวเตอร และเวิรกสเตชั่น (Workstation) เครื่องไมโครคอมพิวเตอรธรรมดา ๆ ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการ UNIX สามารถทํางานรองรับเครื่องคอมพิวเตอรที่มี User ตอเชื่อมเขามาไดมากถึง 120 ตัว ไปพรอม ๆ กันและ เหมาะสมสําหรับระบบเน็ตเวิรก (Network) นอกจากนั้นยังสามารถเคลื่อนยายงานและแอพพลิเคชั่นไปมา ระหวางแพลทฟอรมได และสามารถยายงานที่รันอยูบนDOS หรือ Windows มาใชบนระบบปฏิบัติการ UNIX ได นอกจากนี้ยังมียูทิลิตี้ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหกับ UNIX อีกดวย l. LINUX เปนระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคลายกับ UNIX พัฒนาขึ้นมาเพื่อ แจกจายใหใชโดยไมเสียคาใชจายบนเครือขายอินเทอรเน็ต และพัฒนาขึ้นเพื่อใชกับเครื่องคอมพิวเตอร PC ระบบปฏิบัติการลินุกซทะเล (Linux TLE) เกิดขึ้น เนื่องจากระบบปฏิบัติการลินุกซหลายคายจาก ตางประเทศยังใชงานภาษาไทยไดไมดีเทาที่ควร และการติดตั้งภาษาไทยก็ยุงยากพอสมควร จึงเปน อุปสรรคสําคัญในการนําลินุกซมาใชงาน จากปญหาเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ซอฟตแวรซึ่งมีราคาสูง ทําใหศูนย เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ ไดตั้งทีมออกแบบพัฒนาใหใชงานภาษาไทยและ สามารถนํามาใชงานแทน Windows ได ใหชื่อวา Linux TLE (Thai Language Extension) หรือ ลินุกซทะเล และเปนการพัฒนาโดยคนไทยซึ่งตองการพัฒนาซอฟตแวรกลางที่มีภาษาไทยเสริม ภายใตมาตรฐานสากล TLE จึงเปนตัวแทนของจุดประสงคของการพัฒนา และแสดงเอกลักษณของความเปนไทย ใหสอดคลอง กับที่มาและสามารถเขาใจไดในเวทีสากล ลินุกซทะเลไดพัฒนาระบบภาษาไทยใหใชงานไดดีถึง 100% มี ระบบการตัดคําที่อางอิงจากดิกชันนารี เพิ่มฟอนตภาษาไทยประเภทบิตแมปอีก 20 ฟอนต รวมทั้งฟอนต แบบ True - Type สนับสนุนมาตรฐาน TIS620 เปนฟอนตไทยซึ่งทาง NECTEC ไดจดลิขสิทธิ์เปนที่ เรียบรอยแลว


314 m. Solaris Solaris เปนเวอรชันหนึ่งของ UNIX พัฒนาโดยบริษัท Sun Microsystems เปนระบบปฏิบัติการเครือขายที่ออกแบบสําหรับงานดานโปรแกรม E - commerce 3) ระบบปฏิบัติการสามารถแบงออกตามลักษณะการทํางานไดดังนี้ a. ระบบปฏิบัติการสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรแบบ Stand - alone เปนระบบปฏิบัติการสําหรับ เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือโนตบุค ที่ทํางานโดยไมมี การเชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น หรือหากมีการเชื่อมตอเปนระบบเครือขาย เชน LAN หรือ Internet ก็จะเรียกระบบปฏิบัติการนี้วา "Client Operating System" ไดแก MS - DOS, MS - Windows ME, Windows server 2000, Windows XP, Windows NT, Windows server 2003, UNIX, LINUX, Mac OS, OS/2 Warp Client b. ระบบปฏิบัติการแบบฝง (Embedded Operating System) เปนระบบปฏิบัติการที่มาพรอมกับ คอมพิวเตอร จัดเก็บไวบนชิพ ROM ของเครื่องมี คุณสมบัติพิเศษ คือ ใชหนวยความจํานอยและสามารถ ปอนขอมูลโดยใช สไตลลัส (Stylus) ซึ่งเปนแทงพลาสติกใชเขียนตัวอักษรลงบนจอภาพได ตัว ระบบปฏิบัติการจะมีคุณสมบัติวิเคราะหลายมือเขียน (Hand Writing Recognition) และทําการแปลงเปน ตัวอักษรเขาสูระบบไดอยางถูกตองพบไดในคอมพิวเตอรแบบ Hand Held เชน Palm Top, Pocket PC เปน ตน ระบบปฏิบัติการชนิดนี้ไดรับความนิยม คือ Windows CE, Pocket PC 2002 และ Palm OS เปนตน c. ระบบปฏิบัติการเครือขาย (Network Operating System : NOS) เปน ระบบปฏิบัติการที่ออกแบบเพื่อจัดการงานดานการสื่อสารระหวางคอมพิวเตอรให สามารถใชทรัพยากร รวมกันได เชน เครื่องพิมพ ฮารดดิสก เปนตน ระบบปฏิบัติการเครือขายจะมีลักษณะการทํางานคลายกับ ระบบปฏิบัติการดอส จะแตกตางในสวนของการเพิ่มการจัดการเกี่ยวกับเครือขายและการใชอุปกรณ รวมกัน รวมทั้งมีระบบปองกันการสูญหายของขอมูล ปจจุบันระบบปฏิบัติการเครือขายจะใชหลักการ ประมวลผลแบบไคลแอนดเซิรฟเวอร (Client / Server) คือ การจัดการเรียกใชขอมูลและโปรแกรมจะ ทํางานอยูบนเครื่องเซิรฟเวอร ในขณะที่สวนประกอบอื่น ๆ ของระบบปฏิบัติการเครือขายจะทํางานอยูบน เครื่องไคลแอนด เชน การประมวลผล และการติดตอกับผูใช d. ระบบปฏิบัติการบนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญ ใชกับเครื่อง คอมพิวเตอรขนาดใหญระดับเมนเฟรมคอมพิวเตอร โดยนํามาใชในดานธุรกิจและการศึกษา ซึ่งจะมี ผูใชงานพรอมกันจํานวนมาก โดยตองทําการดูแลสั่งงานโปรแกรมพรอม กันจํานวนหลาย ๆ โปรแกรม (Multitasking) การเขาใชงานเครื่องของผูใชจํานวนหลาย ๆ คน (Multi - User) การจัดลําดับและแบงปน ทรัพยากรใหกับผูใช ตลอดจนการรักษาความเปนสวนตัวและความลับของผูใชแตละคน e. ระบบปฏิบัติการแบบเปด (Open Operating System) สามารถนําไปใช งานบนเครื่องตาง ๆ กันได เชน ระบบปฏิบัติการยูนิกซ (UNIX) เปนตน การเลือกใชระบบปฏิบัติการกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร (Selecting a Microcomputer Operating System) เชน งานพิมพเอกสาร งานคํานวณ งานออกแบบ หรืองานทางดาน บัญชี และมีจํานวนผูใชกี่คน จําเปนตองใชขอมูลและโปรแกรมตาง ๆ รวมกันหรือไม ผูใชแตละคนอยูที่ เดียวกันหรืออยูคนละแหง ประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร โดยเฉพาะตัวประมวลผล ขนาดความจุ ของหนวยความจํา โปรแกรมประยุกตที่มีใชอยูเดิมใชกับระบบปฏิบัติการชนิดไหน ตนทุนในการจัดหา ระบบปฏิบัติวามีมากนอยเทาไร และความสามารถในการใหบริการหลังการขายของผูจัดจําหนาย ซึ่งแตละ ปจจัยก็มีผลตอการตัดสินใจจัดหาระบบปฏิบัติการเพื่อใหเหมาะสมกับองคการและงบประมาณที่มี โปรแกรมภาษา (Language Software) โปรแกรมหรือซอฟตแวรที่จะสั่งให


315 เครื่องคอมพิวเตอรทํางานนั้นถูกเขียนขึ้นดวยภาษาที่เรียกวา "ภาษาคอมพิวเตอร" ผูเขียนโปรแกรม (Programmer) จะตองเขาใจถึงกฎเกณฑไวยากรณของคําสั่ง และวิธีการเขียนโปรแกรมของ ภาษาคอมพิวเตอรที่เลือกใชเขียนโปรแกรม ปจจุบันภาษาคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับเขียนโปรแกรมมีอยู มากมายหลายภาษา เชน Basic, C, C++, Java เปนตน โปรแกรมภาษาสามารถแบงออกได 3 แบบ คือ 1.ภาษาเครื่อง (Machine Language) เปนภาษาของเครื่องคอมพิวเตอรโดยมีโครงสรางและ พื้นฐานเปนเลขฐาน 2 และตัวสตริง (Strings) ซึง่ เครื่องสามารถเขาใจและพรอมที่จะทํางานตามคําสั่งได ในทันที ไมจําเปนตองมีโปรแกรมแปลภาษา คําสั่งของภาษาเครื่องนั้นจะประกอบดวยสวนสําคัญ 2 สวน คือ a. สวนที่บอกประเภทของคําสั่ง (Operation Code หรือ Op-Code) เปนสวนที่ จะบอกให เครื่องประมวลผล เชน ใหทําการบวก ลบ คูณ หาร หรือเปรียบเทียบ เปนตน b. สวนที่บอกตําแหนงของขอมูล (Operand) เปนสวนที่บอกใหทราบ ถึง ตําแหนงหนวยของขอมูลที่จะนํามาคํานวณวาอยูในตําแหนง (Address) ใดของหนวยความจํา 2) ภาษาที่ใชสัญลักษณ (Symbolic Language) ไดปรับปรุงใหงายขึ้นโดยสรางรหัส (Mnemonic Code) และสัญลักษณ (Symbol) แทนตัวเลขซึ่งเรียกชื่อภาษาวา ภาษาที่ใชสัญลักษณ ลักษณะโครงสราง ของภาษาสัญลักษณจะใกลเคียงกับภาษาเครื่องมากคือ ประกอบดวย 2 สวนที่เรียกวา Op - Code และ Operands โดยใชอักษรที่มีความหมายและเขาใจงายแทนตัวเลข 3) ภาษาระดับสูง (High - Level Language) เนื่องจากภาษาที่ใชสัญลักษณ ยังคงยากตอการเขาใจของมนุษย ประกอบกับความเจริญทางดานซอฟตแวรมีมากขึ้น จึงไดมีการพัฒนาให เปนคําสั่งที่มีความหมายเหมือนกับภาษาที่มนุษยใชกัน เพื่อใหสะดวกกับผูเขียนโปรแกรม เชน ใชคําวา PRINT หรือ WRITE แทนการสั่งพิมพ หรือแสดงคําวาใชคําวา READ แทนการรับคาขอมูลเขาสูเครื่อง คอมพิวเตอร เปนตน ภาษาระดับสูง ตัวอยางเชน Visual Basic, C, C++, Java เปนตน - คอมไพเลอร (Compiler) เปนโปรแกรมภาษาซึ่งทําหนาที่แปลคําสั่งในโปรแกรมตนฉบับที่ เขียนดวยภาษาโปรแกรมระดับสูงตามลําดับของชุดคําสั่งและขอมูลที่คอมพิวเตอรสามารถปฏิบัติการได - อินเทอรพรีเตอร (Interpreter) เปนโปรแกรมภาษาซึ่งทําหนาที่แปลคําสั่งในโปรแกรม ตนฉบับที่เขียนดวยภาษาโปรแกรมระดับสูง และปฏิบัติการตามคําสั่งโดยตรงจากโปรแกรมตนฉบับทันที จะแปลคําสั่งครั้งละหนึ่งคําสั่ง แลวประมวลผลในทันที หลังจากนั้น จะรับคําสั่งถัดไปเพื่อแปลเปน ภาษาเครื่อง แลวประมวลผลทันที เชนนี้เรื่อยไปจนกวาจะจบโปรแกรม หรือพบที่ผิดพลาดทางไวยากรณ ในคําสั่งที่รับมาแปล - ยุคของภาษาคอมพิวเตอร - ยุคที่ 1 (First Generation Language : 1GL) เปนภาษาระดับต่ํา (Low - Level Language) ประกอบดวยเลขฐานสอง ไดแก 0 และ 1 หรือเรียกวา "ภาษาเครื่อง (Machine Language)" - ยุคที่ 2 (Second Generation Language : 2GL) ไดมีผูพัฒนาใหมีการใชสัญลักษณแทนตัว เลขฐานสอง เรียกวา "ภาษาสัญลักษณ (Symbol Language)" คือ ภาษาอังกฤษ จะเปนคําสั่งสั้น ๆ ที่จําได งาย เรียกวา "นิวมอนิกโคด (Nemonic Code)" ทําใหนักเขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมไดงายขึ้น ตัวอยางภาษาสัญลักษณ ไดแก ภาษา Assembly และเนื่องจากเปนภาษาสัญลักษณ จึงตองใชตัวแปลภาษา เพื่อทําใหเปนภาษาเครื่องกอน ดวยตัวแปลภาษาที่เรียกวา "Assembler"


316 - ยุคที่ 3 (Third Generation Language : 3GL) ภาษาสัญลักษณไดมีการพัฒนาเพิ่มมากขึ้น ทํา ใหสามารถแทนตัวเลขฐานสองไดเปนคํา ทําใหกลายเปนภาษาที่มีไวยากรณที่เขาใจและเขียนไดงายขึ้น คําสั่งสั้นและกระชับมากขึ้น เชน ภาษา BASIC, COBOL, Pascal - ยุคที่ 4 (Fourth Generation Language : 4GL) ไดมีการพัฒนารูปแบบการเขียนโปรแกรมจาก ยุคที่ 3 ที่จัดวาเปนการเขียนแบบ Procedural ใหกลายเปนการเขียนแบบ Non - Procedural ที่สามารถ กระโดดไปทําคําสั่งใดกอนก็ไดตามที่โปรแกรมเขียนไว นอกจากนี้ จุดเดนของภาษาในยุคนี้เริ่มจากการ เขียนคําสั่งใหผูใชสามารถจัดการกับขอมูลในฐานขอมูลไดและพัฒนาตอมากลายเปนการเขียนคําสั่งใหได โปรแกรมที่มีสวนติดตอกับผูใชแบบกราฟกมากขึ้น และพัฒนาจนมาถึงการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object - Oriented Programming) เชน ภาษา C++, Visual C++, Delphi, Visual Basic เปนตน ปจจุบันมี ภาษาที่ใชหลักการของโปรแกรมเชิงวัตถุที่นิยมใช เชน ภาษา Java - ยุคที่ 5 (Fifth Generation Language : 5GL) เปนภาษาที่ใชสําหรับพัฒนาซอฟตแวรเพื่อระบบ ผูเชี่ยวชาญ (Expert System : ES) และปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ภาษาในยุคที่ 5 เรียกวา "ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)" คือ ไมตองสนใจถึงคําสั่งหรือลําดับของขอมูลที่ถูกตอง ผูใชเพียงแต พิมพสิ่งที่ตองการลงในเครื่องคอมพิวเตอรเปนคําหรือประโยคตามที่ผูใชเขาใจ คอมพิวเตอรจะพยายาม แปลคําหรือประโยคเหลานั้นเพื่อทําตามคําสั่ง แตถาไมสามารถแปลใหเขาใจได ก็จะมีคําถามกลับมาถาม ผูใชเพื่อยืนยันความถูกตอง โปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Software) เปนโปรแกรมที่ใหบริการตาง ๆ เชน การจัดเรียงขอมูลตาม หลักใดหลักหนึ่ง (Sort) รวมแฟมขอมูลที่เรียงลําดับแลวเขาดวยกัน (Merge) หรือยายขอมูลจากอุปกรณ รับสงอยางหนึ่งไปยังอีกอุปกรณหนึ่ง ประกอบดวยโปรแกรมตาง ๆ ไดแก Editor, Debugging, Copy 2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) เปนโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อให เครื่องคอมพิวเตอรทํางานเฉพาะอยางหรือเฉพาะดาน ประเภทของซอฟตแวรประยุกต (Application Software) มี 2 ประเภท คือ ซอฟตแวรสําหรับงานทั่วไปหรือซอฟตแวรสําเร็จรูป - ซอฟตแวรเกี่ยวกับระบบจัดการ - ซอฟตแวรประมวลผลคํา - ซอฟตแวรกระดานคํานวณ - ซอฟตแวรจัดการขอมูลดานงานธุรกิจ - ซอฟตแวรนําเสนอ (Presentation Software) - ซอฟตแวรเพื่อการติดตอสื่อสารและเขาถึงขอมูล ซอฟตแวรสําหรับงานเฉพาะดาน เปนโปรแกรมที่ผลิตขึ้นมาเพื่อทํางานอยางใดอยางหนึ่ง และไมสามารถทํางานอื่นได เชน โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมชวยงานอุตสาหกรรม เปนตน ขอดี - ขอเสียระหวางการจัดจางพัฒนาซอฟตแวรกับการจัดหาซอฟตแวรสําเร็จรูปในองคกร ขอดีของการจัดจางพัฒนาซอฟตแวร - ประหยัดคาใชจาย ขอดีของการจัดจางพัฒนาซอฟตแวร - การบริการบํารุงรักษา บริษัทผูรับจางจะชวยดูแลบํารุงรักษาและแกไขปญหาจน มั่นใจใน


317 ความถูกตองของโปรแกรม - ซอฟตแวรมีความยืดหยุนรองรับอนาคต - สามารถนําบุคลากรไปพัฒนางานอื่น ๆ ขององคกรได - การจัดการเงินทุน คาใชจาย แนนอนตามวงจรเวลาในขอสัญญา ขอเสียของการจัดจางพัฒนาซอฟตแวร - สูญเสียการควบคุม - ความตองการพึ่งพา (Dependency) - ความลับของหนวยงาน ขอดีของการจัดหาซอฟตแวรสําเร็จรูป - มีราคาต่ํากวาการพัฒนาเองเนื่องจากบริษัทผลิตขายในเชิงพาณิชยจํานวนมาก ทําใหตนทุน ต่ําลงกวาผลิตเพื่อขายในคราวเดียว - ความนาเชื่อถือ - การประมาณการเวลาจัดหา แนชัดและใชเวลานอยกวาวิธีใด ๆ ขอเสียของการจัดหาซอฟตแวรสําเร็จรูป - การจัดหาซอฟตแวรสําเร็จรูปมีขอเสียที่สําคัญทีส่ ุดคือ ความไมตรงกับความ ตองการของ หนวยงาน กฎหมายลิขสิทธิ์ของซอฟตแวร ความเปนมาของกฎหมายลิขสิทธิ์ ในประเทศไทยการกําหนดลิขสิทธิ์ไดปรากฏครั้งแรกราว พ.ศ.2445 ในรัชกาลที่ 5 เพื่อปองกัน การละเมิดลิขสิทธิ์ในงานวรรณกรรม (Literacy) เรื่อง "วัชิรญาณวิเศษ" และไดมีการปรับปรุงแกไข กฎหมายใหมในป พ.ศ.2457 สมัยรัชกาลที่ 6 โดยยังคงเนนงานดานวรรณกรรม ตอมาในปพ.ศ.2474 สมัย รัชกาลที่ 7 ไดมีการปรับปรุงแกไขกฎหมายฉบับนี้มีความสมบูรณครอบคลุมงานอื่น ๆ อีกเชน งานคิดคน ทางวิทยาศาสตรและผลงานของชาวตางชาติแกกฎหมายฉบับนี้มีบทลงโทษในสถานเบา ในปพ.ศ.2521 ได เพิ่มงานสื่อภาพ เสียง และวีดีโอใหครอบคลุมของกฎหมาย จากนั้นอีก 15 ป คือ พ.ศ.2534 รัฐบาลได ประกาศขยายความครอบคลุมงานดานวรรณกรรม ที่เกี่ยวของกับโปรแกรมคอมพิวเตอรหรือซอฟตแวร คอมพิวเตอร การนําไปเผยแพรและการใหเชา งานดานสื่อภาพ เสียง (Visual - Sound - Video) พระราชบัญญัติฉบับนี้ถูกใชมาจนถึงปจจุบันโดยเริ่มบังคับใชในวันที่ 21 มีนาคม 2538 ภายใตความ รับผิดชอบดูแลของกรมลิขสิทธิ์ทางปญญา กระทรวงพาณิชย (Department of Intellectual Property - DIP) ลิขสิทธิ์ในซอฟตแวรคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรซอฟตแวรถูกกําหนดนิยามเปนชุดของคําสั่ง หรือสิ่งอื่นใดที่ใชงานรวมกับ คอมพิวเตอรสามารถทํางานไดหรือไดผลลัพธใด ๆ ออกมา ซอฟตแวรคอมพิวเตอรถือเปนงานวรรณกรรม (Literacy) คลาย ๆ กับหนังสือ บทประพันธ บทบรรยาย การละเมิดลิขสิทธิ์จะถูกลงโทษโดยการปรับ 20,000 ถึง 200,000 บาท หากละเมิดกระทําไปเพื่อหวังผลกําไร - เปนการคา จะปรับ 100,000 ถึง 800,000 บาท หรือจําคุก 6 เดือนถึง 4 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ การปองกันสิทธิ์จะครอบคลุมตลอดอายุของผูสรางสรรค งานนั้น ๆ บวก 50 ป การขอลิขสิทธิ์จะตองจัดเตรียมหนังสือมอบอํานาจทําการแทน (ถามี) แบบฟอรมคํา รองขอจํานวน 3 ชุด ชุดสิ่งประดิษฐ 2 ชุดหรือภาพถาย (ในกรณีมิอาจนําสิ่งของ - ผลงานมายื่นเสนอได) ขอยกเวนเกี่ยวกับลิขสิทธิ์ดานคอมพิวเตอรซอฟตแวร


318 ผูละเมิดจะไมมีความผิดหาก - มิไดมีเจตนาเพื่อการคาหรือแสวงหากําไร - มิไดลวงล้ําสรางความเสียหายที่รุนแรงใด ๆ ตอเจาของลิขสิทธิ์ การบังคับใชพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์จะครอบคลุมถึงคอมพิวเตอรจากตางประเทศ ดังนี้ - ผูเปนเจาของลิขสิทธิ์มีสัญชาติหรือเปนพลเมืองของประเทศที่เปนสมาชิกของกลุม ความตกลง กรุงเบริน (Berne Convention for Protection of Literacy and Artistic Works) เชน USA, UK, JAPAN - งานนั้นไดจดสิทธิบัตรไวในประเทศที่เปนสมาชิกของ Berne หรือ TRIPs (องคกรตางประเทศ ที่ประเทศไทยเปนสมาชิกอยู เชน United Nations - UN, WHO - World Health Organization) เปนตน สําหรับจังหวะสัญญาณ Beep Code ของไบออส ยี่หอ AMI นั้นคอนขางมีสวนคลายกับของไบออสยี่หอ Award อยูพอสมควร มีความหมายดังนี้

เสียงดัง 1 ครั้ง

แสดงวามีปญหาในสวนของเมนบอรด อาจตองเปลี่ยนเมนบอรดใหม

เสียงดัง 2 ครั้ง ควรตรวจสอบแรม

แสดงวามีปญหาในสวนของแรม เชน เสียบไมแนนหรือแรมเสียทําใหบูตเครื่องไมผาน

เสียงดัง 3 ครั้ง ควรตรวจสอบแรม

แสดงวามีปญหาในสวนของแรม เชน เสียบไมแนนหรือแรมเสียทําใหบูตเครื่องไมผาน

เสียงดัง 4ครั้ง

แสดงวามีปญหาในสวนของชิพ Timmer อาจตองเปลี่ยนชิพหรือเมนบอรดใหม

เสียงดัง 5 ครั้ง

แสดงวามีปญหาในสวนของซีพียู อาจตองเปลี่ยนซีพียูใหม

เสียงดัง 6 ครั้ง เอง

แสดงวามีปญหาในสวนของชิพควบคุมคียบอรดเสีย หรือไมอาจเปนที่ตัวคียบอรด อาจตองเปลี่ยนชิพ,เมนบอรด หรือคียบอรดใหม

เสียงดัง 7 ครั้ง

แสดงวามีปญหาในสวนในสวนของซีพียู อจตองเปลี่ยนซีพียูใหม

เสียงดัง 8 ครั้ง แนนดี

แสดงวามีปญหาในสวนของการดแสดงผล ( VGA ) ตรวจสอบการดแสดงผลวาเสียบ หรือไมหากยังไมไดผลอาจตองเปลี่ยนการดแสดงผลใหม

เสียงดัง 9 ครั้ง

แสดงวามีปญหาในสวนของไบออส อาจตองเปลี่ยนไบออสใหม

เสียงดัง 10 ครั้ง

แสดงวามีปญหาในสวนของการเขียน CMOS อาจตองเปลี่ยนเมนบอรดใหม


319 เสียงดัง 11 ครั้ง เมนบอรด

แสดงวามีปญหาในสวนในสวนของหนวยความจําแคช ควรตรวจสอบแคชภายนอกบน

เสียงดังยาว ๆ 1 ครั้ง แสดงวาขั้นตอนการบูตเครื่องหรือขั้นตอนการ Post เปนปกติ เจาะเทคนิค เพิ่มความเร็วระบบ ดวยตัวคุณเอง ถึงแมวาวันนี้ การใชวินโดวส 95 จะเลิกบูม ผูคนกําลังจะหันไปอัพเกรดวินโดวส 98 กันแทนกันแลว แมวายังมี อาการรอใหผูพัฒนา ปรับปรุงใหใชภาษาไทยไดสมบูรณแบบ เหมือนวินโดวส 95 ผมจึงคิดวาหลายๆ คนคงยังไม สํารวจ และปรับแตงระบบ 98 ใหทํางานไดเต็มที่มากนัก พูดงายๆ คือคงใชโปรแกรมเพียงอยางเดียว ยังไมคอย กลาเจาะระบบเทาไร เพราะกลัวมีปญหา แลวตองเสียคาจายโดยเปลาประโยชน ครานี้ ผมกําลังจะมาขจัดความกลัว ในการปรับแตงระบบของคุณ ใหใชโปรแกรมทํางานไดดีกวา ไมตองกลัวนะ ครับ ลองทําตามวิธีที่ผมแนะนํา เผื่อบางทีคุณจะไดเห็นคุณคาของมันมากขึ้น มาเริ่มปรับแตงโปรแกรมของคุณ ใหเรงความเร็วในการทํางานไดเต็มที่ และปองกันหนวยความจําที่ไมพอ กับหลากหลายเทคนิค ที่รวบรวมมาเพื่อ คุณโดยเฉพาะ กอนที่จะปรับปรุงระบบ ขอใหคุณทําความรูจักออปชันตัวแปร ที่ใชปรับแตงระบบเสียกอน ดังนี้ ครับ รายละเอียดของแตละออปชัน BootDelay เปนคาสําหรับตั้งเวลาในการแสดงคําวา Starting Windows 95 ในชวงบูต กอนที่จะทําการบูตขั้นตอน อื่นตอไป คาปกติคือ 2 วินาที BootMenudelay เปนคากําหนดเวลาที่จะใหโปรแกรมทํางาตอไป ถาในระหวางนั้นไมมีการเลือกจากเมนู คาปกติ ตั้งไวที่ 30 วินาที BootMenu คาปกติจะเปน 0 แตถาเปน 1 จะแสดง Startup Menu ใหผูใชเลือก แตถาเปนผูใชตองกด F8 เพื่อแสดง เมนู BootKeys เปนการกําหนดใหผูใชสามารถกดปุม F4, F5, F6 และ F8 ในชวงบูตไดเมื่อกําหนดคาเปน 1 และไมได เมื่อกําหนดคาเปน 0 และถากําหนดใหเปน 0 คา Boot Keys จะไมสามารถควบคุม Boot Delay BootGUI มีไวเพื่อกําหนดใหโหลดสวนติดตอผูใชที่เปนกราฟก คาปกติจะมีคาเปน 1 ถาตั้งคาเปน 0 จะเปนการ โหลด Dos prompt และถาตองการเขาวินโดวสอีกครั้งใหพิมพ Win เหมือนกับวินโดวส 3.11 DoubleBuffer คาปกติเปน 0 คือจะไมทําการ DoubleBuffer ในทุกกรณี ถาตั้งคาเปน 1 จะทําการ DoubleBuffer เฉพาะบาง Controller ที่ตองการเทานั้น แตถาตั้งเปน 2 จะ DoubleBuffer ในทุกกรณี DrvSpace & DblSpace คาปกติเปน 1 เปนการกําหนดใหวินโดวส โหลดแฟม DrvSpace.bin ซึ่งเปนโปรแกรมลด ขนาดขอมูลโดยอัตโนมัติ ถาตั้งคาเปน 0 เปนการยกเลิกการโหลดอัตโนมัติ Logo คาปกติเปน 1 แตถาเปน 0 จะไมปรากฏภาพของโลโกวินโดวส ในชวง Startup LoadTop คาปกติเปน 1 แตถาเชตเปน 0 วินโดวส จะไมโหลด Command.com ไวที่หนวยความจําสวนบนของ 640 กิโลไบต Autoscan คาปกติเปน 0 คือจะขอความขึ้นเตือนใหตอบคําถามเกี่ยวกับการแก Lost Cluster เมื่อบูตโดยไมผานชัต ดาวน แตถากําหนดคาเปน 2 จะซอม Lost Cluster ใหอัตโนมัติ แตถาใครติดตั้ง PowerToys จะมีออปชันนี้ให กําหนด เริ่มตนปรับแตงไฟลบูตระบบกอน เริ่มตนใหคุณใชคําสั่งคนหาไฟล Msdos.sys และคลี่แอททิบริวตจาก Read-only หรือ Hidden ใหสามารถเขียนทับ


320 ได หรือใชคําสั่งที่ C: พิมพคําสั่งดังในวงเล็บ (attrib -r -s -h msdos.sys) เพราะไฟลตัวนี้จะซอนไวในระบบ จากนั้นเปดไฟลขึ้นมา ใหคุณเพิ่มออปชันดังในรูปตัวอยางที่ใหมา ใหคุณลบ Comment ซึ่งกําหนดโดยการนํา ";" มาวางไวหนาบรรทัดที่ตองการใหเปน Comment รายละเอียดที่เห็น ในรูปตัวอยางที่ผานมา บรรทัดที่มีตัว "x" เยอะๆ ไมมีความหมายใดๆ พิเศษ เปนเพียงขอมูลขยะที่ทําใหไฟลมี ขนาดเกิน 1 กิโลไบตเทานั้น แลวเซฟไฟล จําลองหนวยความจําดวย Disk Cache ตามปกติแลว วินโดวสจะกันพื้นที่วางสวนหนึ่งของแรม มาทําเปนแคชสําหรับเก็บไฟลขอมูลที่ตองการเรียกใชอยู บอยๆ เพื่อใหการเรียกใชขอมูลเหลานี้สามารถทําไดเร็ว เพราะการอานขอมูลจากแรม ยอมจะเร็วกวาการอาน ขอมูลจากฮารดดิสก ซึ่งวินโดวสจะกําหนดใหัอัตโนมัติ แตถาบางเครื่อง กําหนดใหวินโดวสกําหนดใหอัตโนมัติ อาจจะทําใหการทํางานของวินโดวสชาลง ถาคุณใชเครื่องแลวเปนอยางที่วานี้ ผมอยากใหคุณเขาไปกําหนดคา ของแคชสูงสุดและต่ําสุด หลักการกําหนดแคช คือกําหนด 1 ใน 8 ของแรมที่มีอยูในเครื่อง เชน ถาคุณมีแรมอยู 64 เมกะไบต ขนาดแคชที่จะกําหนดก็คือ 8 เมกะไบต ใหคุณคนหาไฟลหรือใชเท็กซเอดิเตอรตัวใดก็ได เปดไฟล System.ini หรือใชคําสั่งที่ C: พิมพคําสั่งดังในวงเล็บ แตคุณตองเขาไปที่ไดเรกทอรีของวินโดวส กอนพิมพตาม คําสั่ง (edit system.ini) ใหคุณเพิ่มออปชันคาของแคชสูงสุดและต่ําสุด กันพื้นที่ให Virtual Memory งานนี้เพื่อเปนการจําลองเนื้อที่วางบนฮารดดิสก ใหเปนหนวยความจําชั่วคราว เพื่อจัดเก็บขอมูลขณะทํางาน สําหรับการเชต Virtual Memory บนวินโดวส ใหคุณทําตามขั้นตอนดังนี้ครับ คลิ้กเมาสขวามือที่ My Computer แลวเลือก Properties เลือกแท็บ Performent แลวคลิ้ก Vitual Memory เลือกไดรฟที่คุณตองการทํา swapfile ควรแยกใหอยูไดรฟตางหาก จะชวยใหทํางานเร็วขึ้น หรือแบงพารทิชันไว กอนลวงหนาสําหรับจัดเก็บ swapfile ตางหาก กําหนดคา Maximum ของเนื้อที่ฮารดดิสกทั้งหมด เชน กําหนดที่ไดรฟ E: เปนตน จากนั้นคลิ้กปุม OK แลวรีสตารทวินโดวส ปรับแตงประสิทธิภาพของฮารดดิสก การปรับแตงบทบาทของเครื่องคอมพแบบนี้ เพื่อปรับประสิทธิภาพของฮารดดิสกที่ติดตั้งอยูในเครื่องคอมพของ คุณ ในการเขาถึงระบบไฟลบนฮารดดิสก แตคุณควรตรวจดูกอน ถาเครื่องคอมพของคุณมีแรมถึง 64 เมกะไบต นั่นลัถึงจะเหมาะสมที่จะปรับแตงแบบนี้ แตถามีแค 32 เมกะไบต ก็สามารถใชได แตตองมีวิธีการเพิ่มเติม โดยให คุณทําตามขั้นตอนดังนี้ คลิ้กเมาสขวามือที่ My Computer แลวเลือก Properties เลือกแท็บ Performent แลวคลิ้ก File System เลือกแท็บ Hard Disk ใหเปนแบบ Network server ตรงชอง Typical role of this machine คลิ้กปุม OK แลวรีสตารทวินโดวส เช็คฮารดดิสกสนับสนุน DMA (Direct Memory Access) ถาฮารดดิสกของคุณมีออปชันสนับสนุน DMA แตคุณไมใชออปชันนี้ และไมไดบอกใหเครื่องรับรู คุณอาจตอง เสียดายแย ออปชันตัวนี้ชวยใหเขาถึงขอมูลไดอยางรวดเร็ว ใหคุณทําตามขั้นตอนดังนี้นะครับ เพื่อแจงบอกให เครื่องคอมพของคุณรับทราบ แตคุณตองแนใจนะครับวา ฮารดดิสกของคุณสนับสนุน DMA ไมเชนนั้นเครื่องจะ เกิดแฮงกเปนแนแท คลิ้กเมาสขวามือที่ My Computer แลวเลือก Properties เลือกแท็บ Device Manager แลวคลิ้ก หัวขอ Disk drives ใหเปนเครื่องหมายลบ แลวเลือก General IDE DISK TYPE47 แลวดับเบิลคลิ้ก จะปรากฏ หนาตาง General IDE DISK TYPE47 Properties แลวคุณเลือกแท็บ Settings จากนั้นใหคุณแลวคลิ้ก ทําเครื่องถูก


321 หนาหัวขอ DMA คลิ้กปุม OK แลวรีสตารทวินโดวส เพิ่มความเร็วในการบูตเครื่อง ถาเครื่องของคุณบูตเขา วินโดวสไดชากวาปกติ ใหคุณลองเขาไปดูในไฟล Config.sys และ Autoexec.bat วามีการเรียกใชไดรเวอรอะไรที่ ไมจําเปนหรือไม ถาไดรเวอรตัวไหนที่มีอยูแลวในวินโดวสใหคุณลบไดรเวอรออกจากไฟล Config.sys หรือ Autoexec.bat ไดเลย ทําใหวินโดวสไมตองไปเรียกใชไดรเวอรตางใหเสียเวลา ยกเลิกฟอนตตัวอักษรที่ใชในวินโดวส ฟอนตใดที่ไมจําเปนตองใชหรือไมไดใชบอยๆ ก็ควรลบออกไปเสียเพื่อให วินโดวส สามารถทํางานไดเร็วขึ้น หรือไมก็ในขณะที่คุณติดตั้งฟอนตในวินโดวส ใหคุณนําเครื่องหมายถูกออก จาก Copy fonts to Fonst folder อยาโหลดโปรแกรมฝงตัวใน System Tray ใหมาก เพราะตัวบางตัวกินเนื้อที่ หนวยความจําเยอะ ทําใหการเรียกใชโปรแกรมอื่นชา คลานเหมือนเตายังไงยังงั้น ทั้งๆ ที่แรมมีเหลือเฟอ แตถา ไมไดใชบอย ก็ควรยกเลิกหรือกําจัดออกไปซะบาง จะชวยใหการใชโปรแกรมเร็วขึ้น และไมควรโหลดโปรแกรม ใน Start Menu เหมือนกัน เทคนิคที่วามา ยังไงคุณก็ลองนําไปปรับแตงกันดูนะครับ เผื่อวาจะชวยใหเครื่องคอมพ คุณเร็วขึ้น สามารถรันแอพพลิเคชันไดหลายโปรแกรม หรือสั่งพิมพงานไมตองรอนาน ทีนี้คุณก็จะไดใช ประสิทธิภาพที่มีอยูจริงใหคุมคาเสียที กอนที่จะอําลา 95 แลวหันหนาสูวินโดวส 98 ตอไป สําหรับวิธีนี้ จะเปนการแกไขคาในรีจิสตรีอีกตัวหนึ่ง ที่จะชวยทําใหระบบโหลดเคอรเนลใน Windows XP เอา ไปเก็บไวในแรมเลย และวิธีการนี้จะชวยทําใหมีประสิทธิภาพของแรมเพิ่มสูงขึ้นอยางมาก แต! มีขอจํากัดอยูอยาง หนึ่ง คือ เครื่องที่สามารถใชงานไดจะตองมีแรมไมต่ํากวา 256 เมกะไบตขึ้นไปครับ จึงจะเห็นผล ขั้นตอนการปรับแตง 1. เปดโปรแกรม Registry Editor ขึ้นมา โดยคลิกที่ Start > Run > พิมพ Regedit กด OK 2. เขาไปที่ HKEY_LOCAL_MACHINE > SYSTEM > CurrentControlSet > Control > SessionManager > Memory Management 3. ใหหาคียดังตอไปนี้ ที่หนาตางทางขวงมือ "DisablePagingExecutive"=dword:00000000 "LargeSystemCache"=dword:00000000 4. เมื่อพบแลวใหแกไขคาตัวเลย โดยเปลี่ยนเลข 0 ตัวสุดทายใหเปนเลข 1 หรือหากไมมี ใหสรางคียใหม โดยตั้งคาดังนี้ "DisablePagingExecutive"=dword:00000001 "LargeSystemCache"=dword:00000001


322

เปน 0

5. รีสตารทเครื่องใหม เพื่อใหคาที่เปลี่ยนแปลงเริ่มทํางาน 6. หากตองการใหคาตางๆที่ปรับแตงไวกลับเปนเหมือนเดิม ใหเปลี่ยนจาก 1 ไป

อยากใชคอมพิวเตอรใหเปน จะตองทําอยางไรกันบาง เริม่ ตนจากตรงนี้ หลาย ๆ คนทีไ่ ดมีโอกาสใชงานเครื่องคอมพิวเตอร ก็ทาํ ไดแคเพียงใชซอฟตแวรตาง ๆ ที่มีอยูใน เครื่องสําเร็จรูปแลวเทานัน้ วันดีคนื ดี เจาคอมพิวเตอรเครื่องเกงมีอันตองเกิดปญหาขึ้นมา ไมรูจะหัน หนาไปพึ่งใคร หากคุณพอจะรูจักกับอุปกรณตาง ๆ รวมถึงซอฟตแวรตาง ๆ ที่มีอยูในเครื่อง คอมพิวเตอรนนั้ บาง คงจะชวยไดมากใชไหมครับ อยางไรจึงจะเรียกวา ใชคอมพิวเตอรเปน คําถามแรกเลย คุณใชคอมพิวเตอรเปนหรือยัง คงจะไมมีคาํ ตอบที่แนนอนตายตัว วา อยางไรเรียกวาเปนนะครับ ในความคิดเห็นของผม หากคุณสามารถบอกไดทั้งหมดวา เครื่อง คอมพิวเตอรนนั้ มีสเปคอยางไร ใชซีพียู ความเร็วเทาไร ขนาดของแรม ชนิดของการดจอและการด เสียง อุปกรณตาง ๆ ที่ตอใชงานอยู ระบบปฏิบัติการ และซอฟตแวร ที่ใชงานอยูมีอะไรบาง และที่ สําคัญมากคือ จากจุดเริ่มตน ถาฮารดดิสกของคุณไมมีอะไรอยูเลย คุณสามารถที่จะลง Windows และโปรแกรมตาง ๆ ไดดวยตัวเองจบครบ ตามที่ตองการใชงานได สามารถใชงานซอฟตแวร ตาง ๆ ตามความจําเปน อาจจะไมตองครบทุกอยาง นั่นแหละ เรียกวาใชคอมพิวเตอรเปนในความคิด ของผมครับ ลองสํารวจตัวคุณเองกอน วาตอนนี้อยูใ นขัน้ ไหน ตรงไหนรูแลว ตรงไหนยังไมรูครับ


323

ลําดับการเริ่มตนเรียนรูคอมพิวเตอร มาดูลําดับการเริ่มตนศึกษาหาความรูเรื่องคอมพิวเตอรกอน ลองศึกษาทีละขั้นตอน อยาขามนะครับ 1. ศึกษาการใชงาน Windows ในเบื้องตน โดยที่ควรจะสามารถใชงานฟงคชันตาง ๆ พื้นฐานไดพอสมควร 2. ศึกษาการใชงาน ซอฟตแวรตาง ๆ ที่มีมากับเครื่อง เทาที่คิดวาจําเปนและตองการใชงาน เชน internet, word, excel ฯลฯ 3. อุปกรณตาง ๆ เชน printer, scanner, modem ที่มีตออยู ตองรูจักและใชงานไดเต็ม ความสามารถ 4. สามารถทําการลงซอฟตแวรใหม ๆ และทําการ Uninstall ออกได เนนที่ซอฟตแวรตาง ๆ ยังไมถึงกับลง Windows ใหมนะ 5. เริ่มตนหัดลง Windows ดวยตัวเอง จากการฟอรแม็ตฮารดดิสก ลบขอมูลออกทั้งหมด และลง Windows ไดจนครบ 6. สามารถจัดการกับ ฮารดดิสก ไดตามตองการ เชนการกําหนดขนาด การแบงพารตชิ ัน ตาง ๆ ตามตองการ 7. เริ่มตน การรื้อ ถอด ประกอบ ชิ้นสวนฮารดแวรตาง ๆ ของคอมพิวเตอร โดยเริ่มจาก สายไฟตาง ๆ สายจอ สายเมาส ฯลฯ 8. เปดฝาเครื่อง ลองสํารวจอุปกรณภายใน และทําความรูจ ักวา ชิน้ ไหนคืออะไร ใชสําหรับ ทําอะไร (มองเฉย ๆ อยาเพิ่งรื้อนะครับ) 9. ตรวจสอบสเปคเครื่องอยางละเอียด วาใชอุปกรณยหี่ ออะไร รุนไหน ขนาดเทาไรบาง เปนบทเรียนเริ่มตนดานฮารดแวรนะครับ 10. เริ่มตนการถอดเปลี่ยน ฮารดดิสก กอน ศึกษาการตอสายไฟ และสายขอมูลตาง ๆ (ฮารดดิสก จะ เปนจุดแรกที่ควรทราบไว) 11. หลังจากรูจ ักฮารดดิสก แลว การศึกษาตัว ซีดีรอม ฟลอปปดิสก ก็คงจะไมยากนัก 12. ถามีการด ตาง ๆ ที่เสียบอยูบนเมนบอรด เชนการดจอ การดเสียง โมเด็ม การทดลอง ถอด ใส ก็เปนอีกบทเรียนหนึ่งที่ดีมาก ๆ


324

13. ซีพียู แรม ทดลองแงะออกมา แลวใสกลับเขาไปใหม ใหคุนเคยมือเลยครับ 14. อุปกรณอนื่ ๆ สายไฟของระบบ สายแพร สายเสียง ฯลฯ ดูใหครบวามีอะไรบาง 15. สังเกตุ jumper ตาง ๆ และลองเปดคูมือเมนบอรดมาอานดู วาแตละตัวใชสําหรับทํา อะไรบาง 16. นึกภาพ วาถาจะอัพเกรดเครื่อง เปลี่ยน ซีพียูใหม เพิ่มแรม ฯลฯ ตองทําอะไรบาง หรือ ถามีซีพียูตัวใหมจริง ๆ ก็ลุยกันเลยครับ 17. ทําไดแคนี้ ก็ถือวาเกงแลวครับ ถาจะใหดี ตองถอดทุกชิ้นสวนออกมา แลวประกอบ ใหม ถาเครื่องใชงานได แปลวาคุณสอบผาน 18. หากสนใจเรื่องอินเตอรเน็ต ก็ลองเขียนเว็บไซตเปนของตัวเองขึ้นมาซักเว็บนึง อาจจะมี ไอเดียดี ๆ เกิดขึ้นตอเนื่องไดครับ อานแลวอยาเพิ่งใจเสียกันนะครับ ทุก ๆ หัวขอดานบนนี้ ใชเวลาศีกษาอยางนอยก็ ครึ่งปขึ้นไป ดังนั้น ไมตองฝนหวานกันเลย วาจะสามารถทําทุกอยาง เรียนรูไดภายใน 1 สัปดาห (แบบที่โรงเรียน สอนคอมพิวเตอรทั่วไป นิยมใชพูดกัน) แตถาหากคุณ สามารถทําไดทั้งหมดนี้ ก็จะเปนความภูมิใจ สวนตัว ของคุณเองครับ ในสวนของผม ก็คงจะทําไดแคเพียง หาขอมูลตาง ๆ ที่นาสนใจ มาแสดง เปนตัวอยางและแนวทางใหทุกทานไดทดลองทํากัน อาจจะมีบางเรื่องที่ตรงกับความตองการบาง ไมมากก็นอย จะเริ่มตนศึกษา ตองลงทุนกันหนอย มีคําถามทํานองนี้เขามาคอนขางบอยวา อยากจะเรียนคอมพิวเตอร ชวยแนะนําสถานที่สอนหรือ โรงเรียนที่ดี ๆ ใหหนอย โดยสวนตัวผมเองแลว เครื่องคอมพิวเตอรที่คณ ุ ใชงานนั่นแหละครับ คือ ครูที่ดีที่สุด เพียงแตวา หากตองการใช เครื่องคอมพิวเตอร ในการศึกษาหาความรู ก็ตอ งลงทุนกัน หนอย อยาเพิ่งนึกวาเปนการลงทุนอัพเกรด หรือตองซื้ออุปกรณตาง ๆ เพิ่มเติมนะครับ ผมหมายถึง การลงทุนโดยการลบทุกสิ่งทุกอยาง ที่มีเก็บอยูในเครื่องคอมพิวเตอรของคุณออกใหหมด และ เริ่มตนจากการ ทําการติดตั้งและลงซอฟตแวรตาง ๆ ดวยตัวคุณเอง ถาหากไดทดลองสักครั้งหนึ่ง ครั้งตอ ๆ ไปก็ไมใชเรื่องยากเลยครับ คราวตอไป ตองการที่จะอัพเกรดเครื่องดวยตัวเอง ก็ลองหา การดตาง ๆ แรม หรือซีพียู มาเปลี่ยนเอง จากนั้นความรูแ ละความชํานาญในดานตาง ๆ ก็จะตามมา เอง ไมยากหรอกครับ หากคิดวายากเกินไป ก็คงตองหาเพื่อนที่พอเปนมาเปนพี่เลี้ยงในครั้งแรก ๆ กอนด็ดีครับ บทสรุปสงทาย


325

การเรียนรู จะเกิดขึ้นไดจากการทดลอง หากตองการเรียนรูตองทําการทดลองดวยตัวคุณเอง เว็บไซตนี้ จะเปนขอมูลในเบื้องตน สําหรับการเรียนรูของทุก ๆ ทาน โดยผมจะพยายามเพิ่มเติม เนื้อหาใหครอบคลุมในทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปนทางดาน ซอฟตแวร ฮารแวร เทคนิคตาง ๆ เทาที่ผม เองพอจะทราบอยูบาง อาจจะทําไดชาไปสักนิดก็คงไมวากันนะครับ เพราะเว็บไซตนี้ ผมทําเองคน เดียว โดยใชเวลาวางจากงานประจํามาอัพเดทขอมูล กําลังใจของผมก็คอื จํานวนผูเขาเยี่ยมชม เว็บไซตครับ วันไหนเห็น ตัวเลขจํานวนผูเขาเยี่ยมชมเว็บเพิ่มขึ้น ก็รูสึกวา สิ่งที่ไดทําลงไป มีผูคน สนใจและตั้งใจที่จะเรียนรูมากขึ้นครับ สวนแบนเนอรของเว็บไซตสปอนเซอร ที่ติดอยูดานบนของ แตละหนาเว็บ ก็ขอฝากไวใหชวย ๆ กันดูแลกันบางนะครับ คลิกบอย ๆ หรือทุกครั้งที่แวะเขามา เยี่ยมชมเว็บไซตนี้นะครับ ขอใหมีความสุขกับการ ใชงานเครื่องคอมพิวเตอรนะครับ


326

ชนิดคําสั่ง DOS คําสั่งของ DOS มีอยู 2 ชนิดคือ 1. คําสั่งภายใน (Internal Command) เปนคําสั่งที่เรียกใชไดทันทีตลอดเวลาที่เครื่องเปดใชงานอยู เพราะคําสั่งประเภทนี้ถูกบรรจุลงในหนวยความจําหลัก (ROM) ตลอดเวลา หลังจากที่ Boot DOS สวนมากจะเปนคําสั่งที่ใชอยูเ สมอ เชน CLS, DIR, COPY, REN เปนตน 2. คําสั่งภายนอก (External Command) คําสั่งนี้จะถูกเก็บไวในดิสกหรือแผน DOS คําสั่งเหลานี้จะ ไมถูกเก็บไวในหนวยความจํา เมื่อตองการใชคําสั่งเหลานี้คอมพิวเตอรจะเรียกคําสั่งเขาสู หนวยความจํา ถาแผนดิสกหรือฮารดดิสกไมมีคําสั่งที่ตองการใชอยูก ็ไมสามารถเรียกคําสั่งนั้น ๆ ได ตัวอยางเชน คําสั่ง FORMAT, DISKCOPY, TREE, DELTREE เปนตน รูปแบบและการใช คําสัง่ ภายใน 20 คําสั่ง คําสั่ง หนาที่ รูปแบบ 1. CLS (CLEAR SCREEN) ลบขอมูลบนจอภาพขณะนั้น CLS 2. DATE แกไข/ดูวันที่ใหกับ SYSTEM DATE 3. TIME แกไข/ดูเวลา ใหกับ SYSTEM TIME 4. VER (VERSION) ดูหมายเลข (version) ของดอส VER 5. VOL (VOLUME) แสดงชื่อของ DISKETTE VOL [d:] 6. DIR (DIRECTORY) ดูชื่อแฟมขอมูล, เนื้อที่บนแผนดิสก, ชื่อแผนดิกส DIR [d:] [path] [filename [.ext]] [/p] [/w] • /p หมายถึง แสดงชื่อแฟมขอมูลทีละ 1 หนาจอภาพ ถาตองการดูหนาตอไปใหกดแปนใด ๆ • /w หมายถึง แสดงชื่อแฟมขอมูลตามความกวางของจอภาพ 7. TYPE แสดงเนื้อหาหรือขอมูลในแฟมขอมูลที่กําหนด TYPE [d:] [path] [filename.[.ext]] 8. COPY ใชคัดลอกแฟมขอมูลหนึ่ง หรือหลายแฟมขอมูลจากแฟมขอมูลตนทาง ไปยังแฟมขอมูล ปลายทาง อาจจะเปนจากแผนดิสกแผนหนึ่งหรือแผนดิสกเดิมก็ได COPY [d:] [path]


327

[filename[.ext]] [d:] [path] filename[.ext]] 9. REN (RENAME] เปลี่ยนชื่อแฟมขอมูล (ขอมูลขางในแแฟมขอมูลยังเหมือนเดิม) REN [d:] [path] [oldfilename[.ext]] [newfilename[.ext]] 10. DEL (DELETE) ลบแฟมขอมูลออกจากแฟนดิสก DEL [d:] [path] [filename[.ext]] 11. PROMPT COMMAND เปลี่ยนรูปแบบตัวพรอมรับคําสั่ง (system prompt) เปนตัวใหมตามที่ ตองการ PROMPT [prompt-text] or propt $p$ $ หมายถึงตัวอักษร t หมายถึง เวลา d หมายถึง วัน เดือน ป p หมายถึง เสนทาง Directory ปจจุบัน v หมายถึง DOS VERSION NUMBER g หมายถึง เครื่องหมาย > l หมายถึง เครื่องหมาย < q หมายถึง เครื่องหมาย = 12. MD (MAKE DIRECTORY) สราง subdirectory (หองยอย) เพื่อจัดเก็บแฟมขอมูล MD [d:] [path] [Dir_name] 13. CD (CHANGE DIRECTORY) เปนคําสั่งในการเปลี่ยนไปใชงาน subdirectory ที่ตองการ CD [d:] [path] [Dir_name] CD\ (การยายกลับมาสู ROOT DIRECTORY CD.. (การยายกลับมาที่ DIRECTORY) 14. RD (REMOVE DIRECTORY) ลบ subdirectory (หองยอย) ที่สรางดวยคําสั่ง MD RD [d:] [path] [Dir_name] คําสั่งภายนอก(EXTERNAL COMMAND) คําสั่งภายนอกมี 2 นามสกุล 1.นามสกุลเปน .COM เปน file ที่บรรจุขอมูลที่ถูกแปลงเปนภาษาเครื่องแลว 2.นามสกุลเปน .EXE เปน file ที่บรรจุขอมูลที่เขียนโดยใชภาษาระดับสูงและแปลงเปนภาษาเครื่อง แลว คําสั่ง หนาที่ รูปแบบ 1. TREE แสดงรายชื่อ directory ทั้งหมดในแผนดิสก ที่กําหนด TREE [d:] [/f] /f หมายถึงรายชื่อแฟมขอมูลในแตละ subdirectory ดวย 2. SYS (SYSTEM) เปนคําสั่ง copy แฟมขอมูลที่ใชในการเปดเครื่องลงในแผนดิสกหรือฮารดดิสก ที่ไมมีระบบ (เปดเครื่องไมได) SYS [d:] 3. CHKDSK (CHECK DISK) ตรวจสอบ directory หรือ file แสดงจํานวน memory ที่ใชไปและที่


328

เหลืออยู รวมถึงเนื้อที่ บนแผนดิสกที่ใชไป และที่เหลืออยู CHKDSK [d:] [path] [filename[.ext]] [/f] [/v] /f หมายถึง การตรวจสอบเนือ้ ที่ที่เสียหาย /v หมายถึง ใหแสดง directory และ แฟมขอมูลที่ซอนอยู 4. LABEL เพื่อกําหนดชื่อ (volume label), เปลี่ยนหรือลบ volume label บนดิสก LABEL [d:] [volume label] 5. FORMAT กรณีที่ diskette ใหม จะเปนการจัด track และ sector ของ diskette ใหม เพื่อใหเขียน ขอมูลได กรณีที่เปน diskette ที่มีขอมูลอยูแลวเมื่อใชคําสั่งนี้ขอมูลจะถูกลางไปหมด พรอมที่เขียนขอมูลใหม FORMAT [d:] [/s] [/v] /s หมายถึง ทําการ format โดยทําการคัดลอก โปรแกรมระบบดอส (BIO.COM, OS.COM, COMMAND.COM) /v หมายถึง กําหนด volume label ใหดิสก 6. DISKCOPY (COPY DISKETTE เปนคําสั่งที่ใช copy file ทั้งหมดจากแผนดิสกจากแผนหนึ่ง ไปใสอีกแผนหนึ่ง แตถาแผนดิสกอีกแผน ยังไมไดทาํ การ format ก็จะทําการ format ใหโดย อัตโนมัติ DISKCOPY [d:] [d:] อยากใชคอมพิวเตอรใหเปน จะตองทําอยางไรกันบาง เริม่ ตนจากตรงนี้ หลาย ๆ คนทีไ่ ดมีโอกาสใชงานเครื่องคอมพิวเตอร ก็ทาํ ไดแคเพียงใชซอฟตแวรตาง ๆ ที่มีอยูใน เครื่องสําเร็จรูปแลวเทานัน้ วันดีคนื ดี เจาคอมพิวเตอรเครื่องเกงมีอันตองเกิดปญหาขึ้นมา ไมรูจะหัน หนาไปพึ่งใคร หากคุณพอจะรูจักกับอุปกรณตาง ๆ รวมถึงซอฟตแวรตาง ๆ ที่มีอยูในเครื่อง คอมพิวเตอรนนั้ บาง คงจะชวยไดมากใชไหมครับ อยางไรจึงจะเรียกวา ใชคอมพิวเตอรเปน คําถามแรกเลย คุณใชคอมพิวเตอรเปนหรือยัง คงจะไมมีคาํ ตอบที่แนนอนตายตัว วา อยางไรเรียกวาเปนนะครับ ในความคิดเห็นของผม หากคุณสามารถบอกไดทั้งหมดวา เครื่อง คอมพิวเตอรนนั้ มีสเปคอยางไร ใชซีพียู ความเร็วเทาไร ขนาดของแรม ชนิดของการดจอและการด เสียง อุปกรณตาง ๆ ที่ตอใชงานอยู ระบบปฏิบัติการ และซอฟตแวร ที่ใชงานอยูมีอะไรบาง และที่ สําคัญมากคือ จากจุดเริ่มตน ถาฮารดดิสกของคุณไมมีอะไรอยูเลย คุณสามารถที่จะลง Windows และโปรแกรมตาง ๆ ไดดวยตัวเองจบครบ ตามที่ตองการใชงานได สามารถใชงานซอฟตแวร ตาง ๆ ตามความจําเปน อาจจะไมตองครบทุกอยาง นั่นแหละ เรียกวาใชคอมพิวเตอรเปนในความคิด ของผมครับ ลองสํารวจตัวคุณเองกอน วาตอนนี้อยูใ นขัน้ ไหน ตรงไหนรูแลว ตรงไหนยังไมรูครับ


329

ลําดับการเริ่มตนเรียนรูคอมพิวเตอร มาดูลําดับการเริ่มตนศึกษาหาความรูเรื่องคอมพิวเตอรกอน ลองศึกษาทีละขั้นตอน อยาขามนะครับ 1. ศึกษาการใชงาน Windows ในเบื้องตน โดยที่ควรจะสามารถใชงานฟงคชันตาง ๆ พื้นฐานไดพอสมควร 2. ศึกษาการใชงาน ซอฟตแวรตาง ๆ ที่มีมากับเครื่อง เทาที่คิดวาจําเปนและตองการใชงาน เชน internet, word, excel ฯลฯ 3. อุปกรณตาง ๆ เชน printer, scanner, modem ที่มีตออยู ตองรูจักและใชงานไดเต็ม ความสามารถ 4. สามารถทําการลงซอฟตแวรใหม ๆ และทําการ Uninstall ออกได เนนที่ซอฟตแวรตาง ๆ ยังไมถึงกับลง Windows ใหมนะ 5. เริ่มตนหัดลง Windows ดวยตัวเอง จากการฟอรแม็ตฮารดดิสก ลบขอมูลออกทั้งหมด และลง Windows ไดจนครบ 6. สามารถจัดการกับ ฮารดดิสก ไดตามตองการ เชนการกําหนดขนาด การแบงพารตชิ ัน ตาง ๆ ตามตองการ 7. เริ่มตน การรื้อ ถอด ประกอบ ชิ้นสวนฮารดแวรตาง ๆ ของคอมพิวเตอร โดยเริ่มจาก สายไฟตาง ๆ สายจอ สายเมาส ฯลฯ 8. เปดฝาเครื่อง ลองสํารวจอุปกรณภายใน และทําความรูจ ักวา ชิน้ ไหนคืออะไร ใชสําหรับ ทําอะไร (มองเฉย ๆ อยาเพิ่งรื้อนะครับ) 9. ตรวจสอบสเปคเครื่องอยางละเอียด วาใชอุปกรณยหี่ ออะไร รุนไหน ขนาดเทาไรบาง เปนบทเรียนเริ่มตนดานฮารดแวรนะครับ 10. เริ่มตนการถอดเปลี่ยน ฮารดดิสก กอน ศึกษาการตอสายไฟ และสายขอมูลตาง ๆ (ฮารดดิสก จะ เปนจุดแรกที่ควรทราบไว) 11. หลังจากรูจ ักฮารดดิสก แลว การศึกษาตัว ซีดีรอม ฟลอปปดิสก ก็คงจะไมยากนัก 12. ถามีการด ตาง ๆ ที่เสียบอยูบนเมนบอรด เชนการดจอ การดเสียง โมเด็ม การทดลอง ถอด ใส ก็เปนอีกบทเรียนหนึ่งที่ดีมาก ๆ


330

13. ซีพียู แรม ทดลองแงะออกมา แลวใสกลับเขาไปใหม ใหคุนเคยมือเลยครับ 14. อุปกรณอนื่ ๆ สายไฟของระบบ สายแพร สายเสียง ฯลฯ ดูใหครบวามีอะไรบาง 15. สังเกตุ jumper ตาง ๆ และลองเปดคูมือเมนบอรดมาอานดู วาแตละตัวใชสําหรับทํา อะไรบาง 16. นึกภาพ วาถาจะอัพเกรดเครื่อง เปลี่ยน ซีพียูใหม เพิ่มแรม ฯลฯ ตองทําอะไรบาง หรือ ถามีซีพียูตัวใหมจริง ๆ ก็ลุยกันเลยครับ 17. ทําไดแคนี้ ก็ถือวาเกงแลวครับ ถาจะใหดี ตองถอดทุกชิ้นสวนออกมา แลวประกอบ ใหม ถาเครื่องใชงานได แปลวาคุณสอบผาน 18. หากสนใจเรื่องอินเตอรเน็ต ก็ลองเขียนเว็บไซตเปนของตัวเองขึ้นมาซักเว็บนึง อาจจะมี ไอเดียดี ๆ เกิดขึ้นตอเนื่องไดครับ อานแลวอยาเพิ่งใจเสียกันนะครับ ทุก ๆ หัวขอดานบนนี้ ใชเวลาศีกษาอยางนอยก็ ครึ่งปขึ้นไป ดังนั้น ไมตองฝนหวานกันเลย วาจะสามารถทําทุกอยาง เรียนรูไดภายใน 1 สัปดาห (แบบที่โรงเรียน สอนคอมพิวเตอรทั่วไป นิยมใชพูดกัน) แตถาหากคุณ สามารถทําไดทั้งหมดนี้ ก็จะเปนความภูมิใจ สวนตัว ของคุณเองครับ ในสวนของผม ก็คงจะทําไดแคเพียง หาขอมูลตาง ๆ ที่นาสนใจ มาแสดง เปนตัวอยางและแนวทางใหทุกทานไดทดลองทํากัน อาจจะมีบางเรื่องที่ตรงกับความตองการบาง ไมมากก็นอย จะเริ่มตนศึกษา ตองลงทุนกันหนอย มีคําถามทํานองนี้เขามาคอนขางบอยวา อยากจะเรียนคอมพิวเตอร ชวยแนะนําสถานที่สอนหรือ โรงเรียนที่ดี ๆ ใหหนอย โดยสวนตัวผมเองแลว เครื่องคอมพิวเตอรที่คณ ุ ใชงานนั่นแหละครับ คือ ครูที่ดีที่สุด เพียงแตวา หากตองการใช เครื่องคอมพิวเตอร ในการศึกษาหาความรู ก็ตอ งลงทุนกัน หนอย อยาเพิ่งนึกวาเปนการลงทุนอัพเกรด หรือตองซื้ออุปกรณตาง ๆ เพิ่มเติมนะครับ ผมหมายถึง การลงทุนโดยการลบทุกสิ่งทุกอยาง ที่มีเก็บอยูในเครื่องคอมพิวเตอรของคุณออกใหหมด และ เริ่มตนจากการ ทําการติดตั้งและลงซอฟตแวรตาง ๆ ดวยตัวคุณเอง ถาหากไดทดลองสักครั้งหนึ่ง ครั้งตอ ๆ ไปก็ไมใชเรื่องยากเลยครับ คราวตอไป ตองการที่จะอัพเกรดเครื่องดวยตัวเอง ก็ลองหา การดตาง ๆ แรม หรือซีพียู มาเปลี่ยนเอง จากนั้นความรูแ ละความชํานาญในดานตาง ๆ ก็จะตามมา เอง ไมยากหรอกครับ หากคิดวายากเกินไป ก็คงตองหาเพื่อนที่พอเปนมาเปนพี่เลี้ยงในครั้งแรก ๆ กอนด็ดีครับ บทสรุปสงทาย


331

การเรียนรู จะเกิดขึ้นไดจากการทดลอง หากตองการเรียนรูตองทําการทดลองดวยตัวคุณเอง เว็บไซตนี้ จะเปนขอมูลในเบื้องตน สําหรับการเรียนรูของทุก ๆ ทาน โดยผมจะพยายามเพิ่มเติม เนื้อหาใหครอบคลุมในทุก ๆ ดาน ไมวาจะเปนทางดาน ซอฟตแวร ฮารแวร เทคนิคตาง ๆ เทาที่ผม เองพอจะทราบอยูบาง อาจจะทําไดชาไปสักนิดก็คงไมวากันนะครับ เพราะเว็บไซตนี้ ผมทําเองคน เดียว โดยใชเวลาวางจากงานประจํามาอัพเดทขอมูล กําลังใจของผมก็คอื จํานวนผูเขาเยี่ยมชม เว็บไซตครับ วันไหนเห็น ตัวเลขจํานวนผูเขาเยี่ยมชมเว็บเพิ่มขึ้น ก็รูสึกวา สิ่งที่ไดทําลงไป มีผูคน สนใจและตั้งใจที่จะเรียนรูมากขึ้นครับ สวนแบนเนอรของเว็บไซตสปอนเซอร ที่ติดอยูดานบนของ แตละหนาเว็บ ก็ขอฝากไวใหชวย ๆ กันดูแลกันบางนะครับ คลิกบอย ๆ หรือทุกครั้งที่แวะเขามา เยี่ยมชมเว็บไซตนี้นะครับ ขอใหมีความสุขกับการ ใชงานเครื่องคอมพิวเตอรนะครับ

ทําความรูจ ก ั กับ CPU รุน  ตาง ๆ ทีม ่ ใี ชงานมาตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบน ั สําหรับหนานี้ มีความตองการใหทานไดพอรูจัก CPU ตาง ๆ บาง กอนอื่นก็ตองบอกกอนวา ทั้งหมดทีไ่ ดรวบรวม มา อาจจะมีบางอยางผิดพลาดไดบาง ทัง้ นีไ้ ดพยายามสรุปมาเทาที่ ความรูความสามารถจะพอทําได หวังเพียงวาให ทาน ไดพอรูจักการพัฒนาของ CPU แบบตาง ๆ ที่มีใชงานกันบาง CPU รุน  เกา ๆ ในอดีต เริม ่ จากยุคแรก ๆ สมัยทีม ่ ีคอมพิวเตอรใชกันเลยอันนี้ก็เปนการพัฒนาของ Intel • • • • • • • • • • • • • •

1971 : 4004 Microprocessor รุนแรกของ Intel ใชงานในเครื่องคิดเลข 1972 : 8008 Microprocessor รุนที่พัฒนาตอมา ใชงานแบบ "TV typewriter" กับ dump terminal 1974 : 8080 Microprocessor รุนนีเ้ ปนการใชงานแบบ Personal Computer รุนแรก ๆ 1978 : 8086-8088 Microprocessor หรือรุน XT ยังเปนแบบ 8 bit เปน PC ที่เริม ่ ใชงานจริงจัง 1982 : 80286 Microprocessor หรือรุน AT 16 bit เริม ่ เปนคอมพิวเตอรที่ใชงานแพรหลายกันแลว 1985 : 80386 Microprocessor เริ่มเปน CPU 32 bit และสามารถทํางานแบบ Multitasking ได 1989 : 80486 Microprocessor เขาสูยุคของการใชจอสี และมีการติดตัง้ Math-Coprocessor ใน ตัว 1993 : Pentium Processor หลายคนยังใชอยูใ นตอนนี้ครับ 1995 : Pentium Pro Processor สําหรับเครื่อง Server และ Work Station 1997 : Pentium II Processor ปจจุบน ั ยังพอหาไดอยูบ  าง 1998 : Pentium II Xeon(TM) Processor สําหรับ Server และ Work Station 1999 : Celeron(TM) Processor สําหรับตลาดระดับลางของ Intel ที่ตัดความสามารถบางสวนออก 1999 : Pentium III Processor เปนทีน ่ ยิ มกันมาก 1999 : Pentium III Xeon(TM) Processor สําหรับ Server และ Work Station

ในยุคของ 80486 และ Pentium สวนของ AMD ก็เริม ่ ออก CPU มาบางแลวเทาที่เคยไดยน ิ มาบางก็มด ี งั นี้ X86, AM186, AM386, AM486 แตรุนทีเ่ ริม ่ พอจะเคยไดยน ิ มาก็จะเริ่มที่ 5x86, K5, K6, K6-II, K6-III, Athlon ปจจุบน ั มีขาวของ Spitfire และ Thunderbird บางแลว ยุดกลาง ๆ ก็ยังมี Cyrix อีกยี่หอหนึ่ง เริ่มจากไหนไมแนใจ แตทเี่ คยไดยน ิ ก็จะเปน 6x86, 6x86MX และ Cyrix MII ซึ่งปจจุบน ั นีย้ ังพอเห็นมีขายอยูบาง มาดู CPU ในแตละรุน  เปรียบเทียบกันดีกวา Brand

Model

Detail

Intel

8086

?

Intel

8088

?


332 Intel

80186

?

Intel

80286

?

Intel

80386 (SX/DX)

16-33 MHz Vcore 5.5V.

Intel

80486 (SX/DX2)

25-66 MHz L1=8K Vcore 5.25V.

Intel

80486 (DX4)

75-100 MHz L1=16K Vcore=3.6V.

Intel

80586 (Pentium)

60-100MHz L1=8+8K

Intel

Pentium Classic (P54C)

100-166MHz L1=8+8K Vcore 3.3V

Intel

Pentium MMX (P55C)

166-233MHz MMX, L1=16+16K Vcore 2.8V

AMD

5x86

L1=16K

AMD

K5

L1=8+16K

AMD

K6

166-300MHz MMX L1=32+32K

Cyrix

6x86

PR166 Vcore 3.5V

Cyrix

6x86MX

PR200-233 Vcore 2.9V

Cyrix

M II

PR300-333 Vcore 2.9V

CPU รุน  ปจจุบน ั ทีนี้มาดู CPU รุน  ปจจุบันกันบาง คงจะเปนตัวเลือกที่ดีสําหรับใครที่กําลังมองหาซื้อ CPU ใหมตอนนี้ Brand

Model

Speed

FSB

Vcore

Interface

Intel

Pentium II

233-333 MHz

66 MHz

2.8 V.

Slot-1

0.35Micron MMX L1=32K L2=512K Half Speed

Intel

Pentium II

350-450 MHz

100 MHz

2.0 V.

Slot-1

0.25Micron MMX L1=32K L2=512K Half Speed

Intel

Celeron

266-300 MHz

66 MHz

2.0 V.

Slot-1

0.25Micron MMX L1=32K no L2

Intel

Celeron

300-533 MHz

66 MHz

2.0 V.

Intel

Celeron II

533-766 MHz

66 MHz

0.18Micron MMX SSE Ondie 1.50 FC-PGA 370 L2=128K Full Speed V.

Intel

Celeron II

800-1000 MHz

100 MHz

0.18Micron MMX SSE Ondie 1.50 FC-PGA 370 L2=128K Full Speed V.

AMD

K6-II

266-366 MHz

66 MHz

2.2 V.

Socket 7

0.25Micron MMX 3DNow! L1=64K

AMD

K6-II

350-500 MHz

100 MHz

2.2 V.

Socket 7

0.25Micron MMX 3DNow! L1=64K

AMD

K6-III

400-450 MHz

100 MHz

2.4 V.

Socket 7

0.25Micron MMX 3DNow! L1=64K L2=256K Full Speed

AMD

K6-II+

500-550 MHz

100 MHz

2.0 V.

Socket 7

0.18Micron MMX 3DNow! L2=128K

AMD

K6-III+

450 MHz

100 MHz

2.0 V.

Socket 7

0.18Micron MMX 3DNow! L2=256K

AMD Athlon K7

500-1000 MHz

200 MHz DDR

1.60 V.

Slot-A

Cyrix

700-933 MHz

?

?

C3

Intel Pentium III

450-600 MHz

100 MHz / 2.0 V. 133 MHz

Techonoly

FC-PGA 370 0.25 Micron MMX L1=32K / Slot-1 L2=128K Full Speed

0.25Micron MMX E-3DNow! L1=128K L2=512K Half Speed

Socket 370 ? Slot-1

0.25 Micron MMX SSE L1=32K ECC L2=512K Half Speed


333 100 MHz / 133 MHz

0.18Micron MMX SSE Ondie 1.65 FC-PGA 370 L2=256K Full Speed V.

800-1130 133 MHz MHz Celeron II - 1.0A-1.3A 100 MHz Intel Tualatin GHz

0.18 Micron MMX SSE Ondie 1.70 FC-PGA 370 L2=256K Full Speed V. 0.18Micron MMX SSE Ondie 1.47 FC-PGA 370 L2=256K Full Speed V.

Intel Pentium III

500-733 MHz

Intel Pentium III

AMD

Duron

AMD

Athlon TBird

200 MHz DDR

1.60 V.

Socket A

0.18Micron MMX E-3DNow! L1=128K L2=64K Full Speed

700-1533 200/266 MHz MHz DDR

1.70 V.

Socket A

0.18Micron MMX E-3DNow! L1=128K L2=256K Full Speed

600-1200 MHz

AMD Athlon XP+

13331667 MHz

266 MHz DDR

1.75 V.

Socket A

0.18Micron MMX E-3DNow! L1=128K L2=256K Full Speed

AMD Athlon MP

1200 MHz

266 MHz DDR

1.75 V.

Socket A

0.18Micron MMX E-3DNow! L1=128K L2=256K Full Speed SMP

Intel

Pentium 4

1.3-1.8 GHz

400 MHz QDP

0.18Micron MMX SSE2 1.70 FC-PGA 423 L2=256K Full Speed V.

Intel

Pentium 4

1.5-2.0 GHz

400 MHz QDP

1.70 0.18Micron MMX SSE2 FC-PGA 478 V. L2=256K Full Speed

Intel

Pentium 4(A)

1.6A-2.2A 400 MHz GHz QDP

0.13Micron MMX SSE2 1.50 FC-PGA 478 L2=512K Full Speed V.

AMD

Advance Micro Device

MMX

MultiMedia eXtension

SSE

Streaming SIMD Extensions

PGA

Pin Grid Array

SECC

Single Edge Contact Cartridge

SEPP

Single Edge Processor Package

SMP

Symmetric Multi-Processor

FC-PGA

Flip-Chip Pin Grid Array

DDR

Double Data Rate

QDP

Quad-Pumped Techonology

L1

Cache Level 1 จะอยูภายในชิป

L2

Cache Level 2 อยูในหรือนอกชิป

On die Cache Level 2 ที่อยูในตัวชิป ก็ตองบอกกอนนะครับวาในหนานี้ทั้งหมด ผมเพียงแคสรุปมาใหเห็นภาพและเขาใจงาย ๆ เทานัน ้ หากทานใด ตองการขอมูลของ CPU แบบละเอียด ลึกซึ้งละก็ ไปดูทเี่ ว็บไซตตาม Link เหลานี้ • • • •

http://www.intel.com http://www.amd.com http://www.cyrix.com http://www.ibm.com

ปญหาการ shutdown และการแกใขเบื้องตน ปญหาจาก sound files เสียหาย เมื่อตองการตรวจสอบวาแฟมเสียง Exit Windows เสียหายหรือไม คลิก Start ชี้ไปที่ Settings คลิก Control Panel จากนั้นคลิก Sounds


334

ภายใต Events ใหคลิก Exit Windows ภายใต Name ใหคลิก (None) จากนั้นคลิก OK ปดระบบคอมพิวเตอร ถา Windows 98 ปดระบบอยางถูกตอง ปญหาอาจเกิดจากแฟมเสียงเสียหาย ใหเลือกหนึ่งใน ปฏิบัติการตอไปนี้เพื่อแกไขปญหา นําแฟมเสียงจากขอมูลที่ทําสํารองไวกลับคืนที่เดิม ติดตั้งโปรแกรมที่มีแฟมเสียงนั้นใหมอีกครัง้ ปลอยให Windows 98 กําหนดคาเพื่อไมใหมกี ารเลนแฟมเสียง Exit Windows ตอไป การปดระบบอยางรวดเร็วเปนคุณลักษณะใหมที่รวมอยูใน Windows 98 ที่ชวยลดเวลาทีใ่ ช ในการปดระบบคอมพิวเตอรไดมาก อยางไรก็ตาม คุณลักษณะนี้เขากันไมไดกับอุปกรณฮารดแวร บางอยาง และสามารถทําใหคอมพิวเตอรของคุณหยุดการตอบสนองถามีการติดตั้งอุปกรณเหลานี้ เมื่อตองการปดการใชการปดระบบอยางรวดเร็ว คลิก Start คลิก Run พิมพ Msconfig ในกลอง Open จากนั้น คลิก OK คลิก Advanced คลิกเพื่อเลือกกลองกาเครื่องหมาย Disable fast shutdown คลิก OK จากนัน้ คลิก OKอีกครั้ง เริ่มตนคอมพิวเตอรของคุณใหม เมื่อคุณไดรับแจงใหทําเชนนั้น ปดระบบคอมพิวเตอร และรอใหคอมพิวเตอรปดระบบ ถาคอมพิวเตอรปดระบบอยางถูกตอง คุณลักษณะการปดระบบอยางรวดเร็วอาจเขากันไมไดกับ อุปกรณฮารดแวร อยางนอยหนึ่งอยางที่ติดตั้งอยูในคอมพิวเตอรของคุณ คุณไมจําเปนตองทําตามขั้นตอนใด ๆ เพิ่มเติม อยางไรก็ตาม คุณอาจจะตองการติดตอกับผูผลิตอุปกรณที่ติดตั้งในคอมพิวเตอรของคุณ และสอบถามวาอุปกรณ ของคุณ เขากันไดกับคุณลักษณะการปดระบบอยางรวดเร็วของ Windows 98 หรือไม เมื่อตองการตรวจสอบวาคุณลักษณะ APM กอใหเกิดปญหาการปดระบบหรือไม คลิก Start ชี้ไปที่ Settings คลิก Control Panel และคลิกสองครั้งที่ System บนแท็บ Device Manager ใหคลิกสองครั้งที่ System Devices คลิกสองครั้งที่ Advanced Power Management support ในรายการอุปกรณ คลิกแท็บ Settings จากนั้นคลิกเพื่อลางกลองกาเครื่องหมาย Disable power status polling คลิก OK จนกระทั่งคุณกลับไปยัง Control Panel


335

เริ่มตนคอมพิวเตอรใหม ปดระบบคอมพิวเตอร คัดลอกมาจาก windows help ปญหาในการเเสดงผล ปญหาในการแสดงผล ใชการดจอของ TNT แลวเมื่อพิมพขอความตาง ๆ ไมยอมขึ้นมาทันที เปนปญหาที่พบบอยมาก กับผูที่ใชการดจอ TNT ลองใช Driver ของ Detonator Version 3.65 หรือใหมกวานี้ หาไดจาก http://www.nvidia.com ชัตดาวนแลวปรากฎขอความ Windows protect error เกิดมาจากไดรเวอรของอุปกรณฮารดแวรประเภทการดจอ และเมนบอรดเสีย การแกไขคือ ก็ไปดาวนโหลดไดรเวอร ตัวใหม มาแทนไดรเวอร ตัวเกา สวนคนที่ใชการดจอของ Nvidia และใช ไดรเวอร Detemator 3 (6.xx) ก็จะเกิดปญหานี้ดวย เพราะวา Detemator 3 (6.xx) จะไมทําการเคลียรแรม เมื่อเลิก ใช พอทําการชัตดาวนวินโดวสมันจะจัดการกับแรมที่คางไมได ทางแกไขนั้นใหทําการ ดาวนโหลดไดรเวอรการดจอของ Nvidia 7.xx แตไดรเวอรตัวนี้กยังมีปญหาในการเลน Mode 3D วิธีแกก็ใหคุณทําการรีสตารทใหม 1 ครั้ง แลวคอยชัตดาวนครับ เพราะเหตุใดจอจึงดับโดยไรสาเหตุ ใช Windows 98 ตอนบูตเครื่องขึ้นมาไมมีปญหา แตถาทิ้งเครื่องไวสักประมาณ 5 นาทีหรือขณะกําลังทํางาน อยู จอก็ดับไปเฉย ๆ แตเครื่องทํางานอยู ถาไปกดปุม ESC ก็จะกลับมาเหมือนเดิม สาเหตุที่เปนอยางนั้นก็คือ เกิดจาก การตั้งคา ในสวน Power Management ของวินโดวส ขั้นตอนการแกไขก็ทําตามขั้นตอนดังนี้ 1 เขาไปในสวนของ Display Properties คลิก Screen Saver 2 คลิกปุม Setting 3 คลิกที่ Power Schemes 4 เลือกคาตาง ๆ ในสวนของ Setting for Always ใหเปน Never ใหหมด และคลิกปุม OK 5 คลิกปุม OK อีกครั้ง แคนี้ก็สามารถแกไขปญหาไดแลว ปญหาสีเพี้ยนของหนาจอ ปญหาสีเพี้ยนลักษณะนี้อาจเกิดจากคลื่นแมเหล็กที่วางอยูใกล ( ไมโครเวพ,ลําโพง ) ถาพที จึงมีสีเพี้ยน ซึ่งหากวา มีการนําลําโพงที่ไมมี Shield ปองกันคลื่นแมเหล็ก ไปวางไวขางจอคอมพิวเตอร ก็อาจพบวาภาพบน จอคอมพิวเตอรแสดงสี วิธีการแกไขก็เพียงวางลําโพงใหหางจากจอคอมพิวเตอรหรือหาลําโพงที่ Shield ปองกันคลื่นแมเหล็กมาใช

จอภาพสั่น


336 ปญหานี้เกิดจากการไมไดเขาไปปรับอัตรา Refresh Rate ของจอภาพ หรือถาปรับแลวก็ยังสั่นอยูอีก ใหลองดูครับ วามีคลื่นแมเหล็กหรือเปลา เชน จอภาพที่วางใกล ๆ กัน หรือจะเปนคลื่นจากลําโพงที่วางไวใกลกับจอภาพ อัตรา Refresh สูง ๆ นั้นจะชวยใหภาพที่แสดงออกมานั้นนิ่งดูสบายตามากขึ้น สําหรับจอภาพขนาด 15" สวนใหญจะปรับอัตรา Refresh Rate อยูที่ 75-85 Hz ซึ่งการปรับอัตรา Refresh Rate นี้ จะสัมพันธกับความละเอียดของจอดวย เชน 800x600 @ 85Hz , 1024x768 @ 75Hz ฯลฯ ขั้นตอนการปรับอัตรา Refresh Rate ทําไดดังนี้ 1. คลิกขวาที่ Desktop เลือก Properties 2. คลิกที่แท็บ Settings และคลิกที่ Advanced 3. คลิกที่แท็บ Adapter ที่ Refresh Rate สามารถปรับอัตรา Refresh Rate ไดตามตองการ 4. คลิก ปุม OK 5. คลิกปุม YES เพื่อยืนยันอีกครั้ง เพียงแคนี้ก็สามารถแกปญหาไดแลวละครับ หากไมมีสวนใหปรับคา Refresh Rate ทําอยางไร หลังจากการที่ไดติดตั้งไดรเวอรตาง ๆ ครบแลวครั้นจะมาทําการปรับแตงอัตรา Refresh Rate แตปรากฎวาไม สามารถทําไดเลย เพราะไมมีชองใหปรับแตง ซึ่งหากวาพบปณหาแบบนี้ก็ตอง ใชซอฟตแวรชวยในการปรับแตง คือ โปรแกรม Power Strip โดยดาวนโหลดไดจากเว็บไซต http://www. Download.com ขั้นตอนในการปรับแตงจากโปรแกรม Power Strip มีดังนี้ 1 คลิกขวาที่ไอคอน Power Strip 2 เลือกไปที่ตัวเลือก Desk top 3 ปรับคารีเฟรชในสวนของ Refresh Rate ซึ่งควรปรับอยูที่ 70-85 Hz 4 เมื่อปรับแลวก็ให คลิกปุม OK เทานี้ก็สามารถปรับอัตรารีเฟรซไดแลวครับ ปญหาเมนบอรด อาการเสียที่เกิดจากเมนบอรดนั้นเปนปญหาที่คอนขางแกไขยาก และเกิดจากหลายสาเหตุ เนื่องจากมีอุปกรณ หลายตัวเขามาติดตั้งอยูบนเมนบอรด ทําใหเมื่อเมนบอรดมีปญหามักหาสาเหตุไมคอยเจอ สวนใหญจะมองไปที่ อุปกรณตัวอื่นมากกวา เพราะจะวาไปแลวโอกาสที่อาการเสียจะเกิดจากเมนบอรดนั้น มีคอนขางนอยทําใหอาจนึก ไมถึง สําหรับอาการเสียของเมนบอรดจะคลายกับอาการเสียของอุปกรณตัวอื่นที่ติดตั้งอยูบนเมนบอรด เชนเครื่องบูตไม ขึ้น , จอภาพมืด สวนใหญจะคิดวาสาเหตุนาจะเกิดมาจากจอภาพและฮารดดิสกมากกวา หรืออาการเครื่องแฮงค บอย หลายคนมักวิเคราะหวานาจะเกิดจากแรม หรือไมก็ ซีพียู แตแทจริงแลว หากเมนบอรดเสีย เครื่องก็ไม สามารถบูตได หรือเกิดอาการแฮงคบอยไดเหมือนกัน แนวทางในการวิเคราะหปญหาเกิดจากเมนบอรดมีดังนี้ - ตรวจสอบการเชื่อมตอของขั้วตอตาง ๆ บนเมนบอรดและอุปกรณตาง ๆ ใหแนนและถูกตอง เชนขั้วตอสายแพ กับฮารดดิสก , ขั้วตอสายไฟจากเพาเวอรซัพพลายกับกับเมนบอรด เปนตน - ตรวจสอบการติดตั้งของอุปกรณตาง ๆ บนเมนบอรดใหถูกตอง เชน แรม หรือการดตาง ๆ บนเมนบอรดใหแนน - ตรวจสอบการระบายความรอนบนอุปกรณเมนบอรดเชน พัดลมชิพเซ็ท พัดลมพาวเวอรซัพพลาย หรือพัดลม เสริมตัวอื่น ๆ วายังทํางานอยูดีหรือไม


337 - ตรวจสอบการเซ็ตจัมเปอรและดิปสวิตซบนเมนบอรดวากําหนดคาตาง ๆ ถูกตองหรือ สวนมากมักจะเปน เมนบอรด รุนเกา ๆ - ตรวจสอบการกําหนดคาในไบออสวามีการกําหนดคาถูกตองและเหมาะสมหรือไม - ตรวจสอบถานแบตเตอรี่บนเมนบอรดวาหมดแลวหรือยังถาหมดใหเปลี่ยนถานใหม - หากเมนบอรดถามหาพาสเวิรดแลวจําไมไดใหทําการเคลียรไบออสโดยถอดจัมเปอรไปเสียบที่ขา Clear Bios (ดู คูมือเมนบอรดประกอบ) หรือจะถอดถานแบตเตอรี่ออกมาทิ้งไวสักพักแลวใสเขาไปใหมก็ได - ตรวจวสอบอุปกรณฮารดแวรที่นํามาติดตั้งวาเขากันไดกับเมนบอรดหรือไม บางครั้งหากผูใชซื้ออุปกรณรุนใหม ๆ มาเมนบอรดตัวเดิมจะไมสามารถรองรับได ใหทําการอัพเดทไบออสเพื่อใหเมนบอรดมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถรูจักกับอุปกรณ ใหม ๆ ได หากไดทําการตรวจสอบขั้นตอนเหลานี้แลวยังไมพบปญหาก็อาจเปนไปไดวา เมนบอรดเสีย ใหเช็คดูวามี กระแสไฟลัดวงจร หรือเมนบอรดชอตหรือไม โดยตรวจสอบแทนรองน็อตหรือมีวัตถุแปลกปลอมอยางอื่นที่ สามารถนําไฟฟาไดแอบแฝงอยูบนเมนบอรดหรือไม ซึ่งปญหาที่พบบอยที่สุดคือ เมื่อผูใชไดติดตั้งเมนบอรดแลว ลืมนอตตกคางอยูบนเมนบอรดเมื่อมีกระแสไฟจายเขามาก็อาจทําใหเมนบอรดพังได เพราะนอตตัวเล็ก ๆ จะเปน ตัวนํากระแสไฟไดเปนอยางดี สรุป การที่จะรูวาเมนบอรดของคุณเสียเปลาตองมีการทดสอบคือนําเมนบอรดตัวใหมมาทดสอบครับ ถาไมมีคง จะตองถึงมือชางแลวละครับ ปญหาหนังไมมีภาพ วิธีแกไขภาพกระตุกเมื่อชมภาพยนตร ในการชมภาพยนตรนั้นหากวาอัตราการรีเฟรซภาพ (การกะพริบของหนาจอ) ไมเร็วภาพที่ออกมาก็จะมีอาการ กระตุก ๆ แตอาการกระตุกก็อาจเกิดจากเครื่องเลนซีดีเกาเกินไปหรือแผนที่ดูนั้นอาจไมดีก็ได ซึ่งหากวามีการรี เฟรซแลวอาการกระตุกยังไมหาย ก็ใหตรวจสอบจากจุดนี้ดวยโดยขั้นตอนการปรับอัตราการรีเฟรซของภาพใหเร็ว ขึ้นก็สามารถทําไดดังนี้ 1. คลิกขวาบนพื้นที่วาง ๆ ของเดสกทอป แลวเลือกไปที่คําสั่ง Properties 2. คลิกไปที่แท็ป Settings 3. เลือกสีในสวนของ Color เปน 256 Color 4. เลือกความละเอียดในสวนของ Screen ไปที่ 640 by 480 pixels 5. คลิกปุม Ok เพื่อทําการบันทึกคา เพียงเทานี้ก็จะทําใหอัตราการรีเฟรซของภาพเร็วขึ้นแลวครับ วิธีการปรับแตงไมโครโฟน ในการปรับแตงไมโครโฟนนั้นสามารถปรับแตไดในสวนของ Sound ที่อยูใน Control Panel โดยเมื่อทําการเสียบ ไมโครโฟนลงไปในซาวนการดแลวก็สามารถทํางานไดทันที แตในบางครั้งเราอาจจะไปปดเสียงของไมโครโฟน ไว ผลที่ตามมาเมื่อพูดใสโมโครโฟนก็จะไมมีอะไรเกิดขึ้น (ทําใหหลายคนคิดไปวาไมโครโฟนเสียแน ๆ ) ซึ่ง ขั้นตอนในการใชไมคนั้นสามารถทําไดดังนี้ 1. ดับเบิ้ลคลิกไอคอนรูปลําโพงขางลางทางซายมือของจอภาพ 2. คลิกเมนูคําสั่ง Option>Properties 3. จะพบตัวเลือกใหเลือกอยู 2 ตัวเลือกคือ


338 - Playback แสดงรายละเอียดของเสียที่จะออกมา - Recording แสดงรายละเอียดของการปรับรายละเอียดของการอัดเสียง ก็ใหเลือกที่ตัวเลือกแรก 4. คลิกเครื่องหมายถูกหนาตัวเลือก Microphone ในสวนของ Show all… 5. คลิกปุม OK 6. เพียงเทานี้ก็สามารถปรับเสียงดัง-เบาไดแลว โดยการเลื่อนตัวปรับระดับเสียงในสวนของ Microphone 7. หากวาตองการปรับรายละเอียดเพิ่มเติมของไมโครโฟน ก็ใหคลิกปุม Advanced 8. ซึ่งเราสามารถปรับเสียงสูง (Treble) เสียงต่ํา (Bass) ไดในสวนของ Tone Controls 9. เมื่อทําการปรับแตงจนพอใจแลว ก็ใหคลิกปุม Close ผมมีวิธีเลนอะไรสนุกๆ ใน System Properties ของ Windows มาบอกครับ วิธีเอา Logo ของคุณ ใสไป ใน System Property นะครับ และ ยังใส information ของเครื่องเราเขาไปเพิ่มเติมได ดวย โดยภาพจะเปนแบบรูปที่ผมเอามาใหดูนะครับ วิธีทําแบงเปน 2 ขั้นคือ สรางรูป Logo กับ สราง Infomation 1. สรางรูป ให สรางรูปขนาด สูง 114 กวาง 180 Pixel 2. ใส Logo ยังไง ก็ไดตามใจคุณ 3. save เปน file ชื่อ oemlogo.bmp 1.สราง information ใหสรางตาม pattern นี้ ครับ สวนขอมูลดานในที่เปนของผม หลัง เครื่องหมาย = คุณจะใส อะไรก็ได แตใหคงขอความ หนา เครื่องหมาย = ใวนะครับ [General] Manufacturer=My Custom Computer Model=Thunder Bird 800 MHz [Support Information] Line1= Built January 1,2001 Line2= Line3= System Info Line4= --------------------------------------Line5= Line6= TB 800 MHz With Alpha PAL 6035 + Delta Fan Line7= Run On Asus A7V Rev 1.04 Bios 1007 Line8= 320 Meg Of Ram <Micron 64meg & Infineon 256 meg> Line9= Vga Msi Geforce 256 SDR Tv Out Line10= Sound Blaster Vibra 128 Line11= Quantum Fireball Plus AS 20 Gig Line12= Modem Supra Express 56.6 Internal Line13= 6 Fans All over Case Line14=


339 Line15= And So On....... Line16=....................................... 2.ใสเสร็จให save เปน ชื่อ oeminfo.ini ครับ ขั้นสุดทาย ใหเอาทั้ง 2 file ไปใวที่ windows\system นะครับ โดยจะ back up file เดิมใวหรือไมก็ได ออ ใชไดทั้ง win 98/me นะครับ

เปดเครื่องแลวใชเวลาในการบูตนาน ทุกครั้งที่เปดเครื่องจะใชเวลาในการบูตนาน เนื่องจากมีการกําหนดใหเครื่องโหลดโปรแกรมในตอน เริ่มตนมากเกินไป หรืออาจเปนเพราะมีการปรับแตงการแสดงผลของจอภาพมากเกินไป เชนมีการใสภาพใหกับ หนาจอ หรือปรับแตงใหมีการแสดงผลในรูปแบบที่ตางไปจากการแสดงผลแบบปกติ ก็เปนได การเช็คดูวามีโปรแกรมใดบางที่โหลดขึ้นมาในชวงการบูตเครื่อง ขอสังเกตจุดแรกเลยก็คือที่ System tray ถามี Icon แสดงอยูมากแสดงวามีการโหลดโปรแกรมมาก ใหทําการเช็คดูวาสวนใดบางที่ไมจําเปนตอการใชงาน ขอแนะนํา

จากรูป 1. Icon Task monitor เปนโปรแกรมสําหรับการตรวจสอบระบบเอาออกได 2. Icon สลับภาษา 3. Icon Display 4. Icon Sound 5. Icon Sound card 6. Clock

ใชสําหรับสลับภาษาไทย/อังกฤษ มีหรือไมมีก็ได ใชปรับแตงหนาจอภาพ เอาออกได ปรับแตงเสียง เอาออกได ปรับแตงรายการตางๆ ไมจําเปน เอาออกได นาฬิกาบอกเวลา ใหคงไว

การตรวจสอบโปรแกรมที่โหลดขึ้นมา ชวงบูตเครื่อง 1. คลิกเมาสที่ปุม Start เลือก Run… 2. ที่กรอบโตตอบ พิมพ msconfig คลิก OK.


340

3. คลิกเมาสที่แถบ Start Up

*** รายการที่ปรากฏในหนาตาง แสดงถึงโปรแกรมตางๆ ที่เครื่องจะทําการโหลดขึ้นมาในชวงที่ทําการบูต

เครื่อง จะเห็นวาบางสวนเปนการโหลดโปรแกรมที่ไมจําเปนตองใชขึ้นมาดวย***

โปรแกรมสวนที่จําเปนตอการทํางาน สลับภาษา สํารองขอมูลของระบบอัตโนมัติ 2. ScanRegistry 3. system Tray แสดงการทํางานของระบบบน Task bar 4. LoadPowerProfile การกําหนดรหัสผาน 1. Internat.exe

เมื่อดูในสวนนี้จะเห็นวามีโปรแกรมจํานวนมากที่เครื่องทําการโหลดขึ้นมา แตที่จําเปนตอการใชงานจะ มีเพียงไมกี่โปรแกรม เมื่อทําการตรวจสอบดูแลว โปรแกรมใดที่ไมสําคัญสามารถที่จะกําหนดใหเครื่องไมตองทํา การโหลดโดยคลิกยกเลิกเช็คมารกหนาโปรแกรมออก หลังจากที่มีการเปลี่ยนแปลงในสวนของ Config ของระบบ เครื่องจะใหทําการ Restart เครื่องใหม กอนจึงจะทําใหการเปลี่ยนแปลงนี้สมบูรณ แตถาหัวขอใดที่กําหนดใหทําการเปลี่ยนแปลงไมไดเครื่องก็จะทําการ เปลี่ยนใหเปนดังตอนเริ่มตนกอนการเปลี่ยนแปลงเหมือนเดิม **************************************** เครื่องคอมพิวเตอร Shut Down ไมได


341 ปญหาที่เกิดในสวนนี้อาจเกิดจากการตั้งคาของ Power Management เอาไว แลวเกิดการ Conflict กับโปรแกรมบางตัวทําใหเมื่อใชคําสั่ง Shut Down แลวทําใหเครื่องปดไมลง

การทดสอบปญหา 1. คลิกเมาสที่ปุม Start เลือกคลิกที่ Run… 2. ที่กรอบโตตอบพิมพ Msconfig คลิก OK.

3. ที่กรอบโตตอบคลิกเมาสที่ปุม Advance

4. คลิกเมาสยกเลิกเช็คมารกที่รายการ Disable fast shutdown ออก คลิกปุม OK 5. คลิกปุม OK. แลวทําการ Restart เครื่องใหมอีกครั้ง

หลังจากบูตเครื่องขึ้นมาใหทําการทดสอบโดยใชคําสั่ง Shutdown ดูวาเครื่องสามารถที่จะทําการ Shutdown ไดหรือไม(ปกติแลวถาไมมีปญหาอื่นๆ อีก เครื่องจะ Shutdown ไดตามปกติ)***

***

*****************************************

คอมพิวเตอรที่เราๆทานๆเห็นกันจนชินตานั้นสวนใหญจะเปนคอมพิวเตอรที่เรียกวา พีซี แตที่จริงแลวยังมี คอมพิวเตอรอีกมากมายหลายประเภทซึ่งแตละประเภทก็เหมาะสําหรับงานแตกตางกันออกไปสําหรับรายละเอียด นั้นมีดังนี้


342 คอมพิวเตอรประเภทนี้ถือวาเปนคอมพิวเตอรรุนใหญที่สุดที่มีพลังการประมวลผลเร็วที่สุดและสามารถ รองรับการคํานวณที่สลับซับซอน และมีปริมาณมหาศาลไดสบายสวนใหญแลวองคกรที่ใชซุปเปอรคอมพิวเตอร มักจะเปนองคกรรัฐบาลหนวยงาน ทางทหาร มหาวิทยาลัย หรือบริษัทที่มีขนาดใหญ เนื่องจากซุปเปอรคอมพิวเตอรราคาสูงมากนั่นเอง สําหรับ หนาตาของซุปเปอรคอมพิวเตอรก็มีหลากหลายแบบบางรุนก็มีลักษณะกระบอกสูงทวมหัวบางยี่หอ ก็มีลักษณะ เปนตูสี่เหลี่ยมขนาดใหญสวนยี่หอที่โดงดังที่สุดก็คือCray

คอมพิวเตอรประเภทนี้ก็จัดวาเปนเครื่องรุนใหญเหมือนกัน แตเมนเฟรมใชกัน แพรหลายกวาซุปเปอรคอมพิวเตอรเนื่องจากมีราคาต่ํากวาและสามารถรองรับงาน หนักของธุรกิจไดเปนอยางดี องคกรที่ใชเมนเฟรมจะเปนองคกรขนาดใหญ เชน ธนาคาร บริษัทประกันภัย มหาวิทยาลัย หนวยงานรัฐบาลเปนตน ระบบปฏิบัติการที่ใชสวนใหญจะเปนของ ผูผลิตเมนเฟรมเอง ปจจุบันเมนเฟรมเสื่อมความนิยมลงอยางรวดเร็ว เนื่องจากมีราคาแพง และมีคอมพิวเตอร อยางอื่นที่สามารถเขามารองรับงานไดเชนกัน จุดออนอีกอยางของเมนเฟรมก็คือจะตองซื้ออุปกรณและ ซอฟตแวรจากผูผลิตนั้นเพียงบริษัทเดียว

คอมพิวเตอรประเภทนี้จัดอยูในรุนกลาง ซึ่งไดรับความนิยมมากอยูพอสมควร เนื่องจากมีราคาถูกกวา เมนเฟรมและสามารถรองรับงานธุรกิจไดดีระดับหนึ่งสวนใหญแลวมินิคอมพิวเตอรจะใช Unix เปนระบบ ปฏิบัติการคอมพิวเตอรประเภทนี้พบมากในองคกรตั้งแตขนาดกลางขึ้นไป

ไมโครคอมพิวเตอร (Micro Computer) เปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็ก ราคาถูก ที่เรามักจะ เรียกวา"คอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือเครื่องพีซี"(Personal Computer : PC) สามารถใชเปนเครื่อง สวนตัวหรือใชเปนเครื่องลูก(Client)ในเครือขายซึ่งในปจจุบันถูกพัฒนาใหมีประสิทธิภาพสูงมากเราสามารถ แบงเครื่องในระดับไมโครคอมพิวเตอรตามขนาดของเครื่องไดดังนี้

เปนคอมพิวเตอรสําหรับตั้งโตะ (Desktop Computer) เปนเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานตามบาน และสํานักงานเปนคอมพิวเตอรที่มีการใชงานอยางแพรหลาย เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูง ราคาไมแพง และถูก พัฒนาอยางตอเนื่อง โนตบุคคอมพิวเตอร (Notebook Computer) เปนคอมพิวเตอรที่มี ความสามารถเหมือนกับคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ แตถูกยอใหมีขนาดเล็ก น้ําหนักเบา เพื่อใหผูใชงานสามารถหิ้วไปไหนมาไหนไดสะดวกเหาะที่จะนําติดตัวไปใชงานตาม สถานที่ตางๆได


343

เปนคอมพิวเตอรแบบพกพาเชนเดียวกับโนตบุคสามารถใชประโยชนไดเชนเดียวกับคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ แตมีขนาดเล็กและน้ําหนักเบากวามาก เหมาะสําหรับผูใชที่ตองเดินทางไกลบอยๆ

ปาลม (Palm) เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็กแบบใหมที่กําลังเปนที่นิยม เปนเครื่องประเภท Organizer ที่ใชเปนสมุดบันทึกประจําวัน กําหนดการ รับสงเมล เปนตน สามารถพกพาติดตัว ไปมาไดสะดวกเนื่องจากตัวเครื่องมีขนาดเล็กมาก แท็บเลต พีซี (Tablet PC) เปนคอมพิวเตอรที่กําลังทยอยออกสูตลาด ใชจดบันทึกขอความ ตารางนัด หมาย เก็บเบอรโทรศัพท ฯลฯ จุดเดนที่สําคัญของเครื่อง Tablet PC ก็คือ สามารถจดบันทึกขอความลงไป บนหนาจอไดเลย งายตอการจดบันทึก

หลักการทํางานของระบบคอมพิวเตอรเริ่มจากผูใชจะทําการปอนขอมูลหรือคําสั่งผานทางอุปกรณรับขอมูล (InputDevices) ซึ่งขอมูลหรือคําสั่งที่รับเขามาจะถูกนําไปตีความ และประมวลผลโดยหนวยประมวลผล กลาง (Central Processing Unit) แลวนําผลที่ไดจากการประมวลผลมาเก็บไวที่หนวยความจําแรม พรอมกับแสดง ออกทางอุปกรณแสดงผล(OutputDevices)


344

ดังนั้นระบบคอมพิวเตอรจึงประกอบดวย 4 สวน ไดแก สวนประมวลผลกลาง หนวยความจํา อุปกรณรับ ขอมูล และอุปกรณแสดงผลซึ่งแตละสวนมีรายละเอียดดังนี้ หนวยประมวลผลกลาง หรือซีพียู เปนสวนสําคัญที่ทําหนาที่ในการประมวลผลขอมูล และควบคุม การทํางานของระบบ เปรียบเสมือนกับสมองของคนที่ทําหนาที่ในการคิด คํานวณ และคอยควบคุมการทํางาน ทุกสวนของรางกาย ซีพียูก็เชนเดียวกันมันจะทําหนาที่คิดคํานวณ และควบคุมการทํางานทุกสวนของระบบ คอมพิวเตอรใหสามารถทํางานไดตามตองการ

หนวยความจํา เปนสวนที่ใชสําหรับเก็บขอมูลและโปรแกรมตางๆมีทั้งแบบที่ใชเก็บขอมูลแบบถาวรและแบบ ที่ใชเก็บขอมูลแบบชั่วคราวหนวยความจําเปนสวนที่มีความจําเปนตอการทํางานของระบบคอมพิวเตอรถาไมมี หนวยความจําเราก็คงไมสามารถบันทึกขอมูลใดๆไวไดเลย เราแบงหนวยความจําออกเปน 2 ประเภท คือ

หนวยความจําหลัก เปนสวนที่ทําหนาที่รวมกับซีพียู โดยจะเปนที่สําหรับเก็บขอมูลสําคัญๆสําหรับซีพียู มีทั้ง ที่เก็บขอมูลแบบถาวรและชั่วคราว ซึ่งไดแก หนวยความจํารอม (ROM) และหนวยความจําแรม (RAM) ตามลําดับ หนวยความจํารอม(ROM : Read Only Memory) เปนหนวยความจําชนิดที่อานได อยางเดียว ใชเก็บขอมูลแบบถาวร และไมตองการพลังงานไฟฟาในการหลอเลี้ยงเราใชหนวยความจํา ชนิดนี้ในการเก็บโปรแกรมควบคุมการทํางานของระบบที่เรียกวา ไบออส (BIOS : Basic Input Output System) หนวยความจําแรม(RAM:RanddomAccessMemory) เปนหนวยความจําชนิดที่ตองการ พลังงานไฟฟาในการทํางานขอมูลภายในแรมจะสูญหายทันทีที่มีการดับเครื่อง แรมจะทํางานรวมกับซีพียูโดย ซีพียูจะใชแรมเปนที่เก็บขอมูลที่จะเปนตอการประมวลผลในขณะนั้นซึ่งจะเปนการจัดเก็บขอมูลแบบชั่วคราว เทานั้น คอมพิวเตอรเครื่องใดที่มีแรมมากๆก็จะทําใหเครื่องนั้นทํางานไดเร็วขึ้น หนวยความจําสํารอง คือ อุปกรณที่ทําหนาที่ในการเก็บบันทึกขอมูล และโปรแกรมตางๆแบบถาวรไดแก ฮารดดิสก ฟล็อปปดิสก แผนซีดีรอม ฯลฯ โดยถาเปนขอมูลที่มีขนาดเล็ก และตองการเคลื่อนยายไฟลไปที่


345 คอมพิวเตอรเครื่องอื่นๆก็ใชฟล็อปปดิสก แตถาเปนขอมูลที่มีขนาดใหญมากๆก็จะเก็บลงในฮารดดิสก หรือ แผนซีดีรอมซึ่งขอมูลที่เก็บในฟล็อปปดิสก หรือฮารดดิสก เราสามารถเปลี่ยนแปลงแกไข และบันทึกลงไปใหม ไดสวนแผนซีดีรอมไมสามารถเปลี่ยนแปลงได อุปกรณรับขอมูล เปนสวนที่ทําหนาที่รับขอมูลหรือคําสั่งจากผูใชเขาสูระบบคอมพิวเตอรแลวนําไป ประมวลผล อุปกรณรับขอมูลที่วานี้ ไดแก เมาส คียบอรด ฟล็อปปดิสก สแกนเนอร เปนตน

อุปกรณแสดงผล เปนสวนที่ทําหนาที่ในการนําผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลของซีพียูไปแสดงผลอุปกรณ แสดงผลที่วานี้ไดแกจอภาพพริ้นเตอรลําโพงเปนตน คอมพิวเตอรสามารถแบงไดเปน 2 สวนคือ สวนของฮารดแวร และซอฟตแวร โดยทั้งสองสวนนี้จะตองมีการ ทํางานรวมกันเพื่อใหเกิดการตอบสนองตอการสั่งงานจากผูใชซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ฮารดแวร หมายถึง อุปกรณตางๆที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอร ทั้งสวนประกอบภายในและภายนอก เครื่อง อยางเชน ซีพียู แรม ฮารดดิสก จอภาพเปนตน ซึ่งเปนสวนที่เรามองเห็น และสามารถจับตองได ซอฟตแวร  หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอรทํางานตามที่เราตองการ ซึ่งหมายถึง ระบบปฏิบัติการและโปรแกรมตางๆ ที่เราใชงานกันอยูทุกวัน ไมวาจะเปน Windows 98/ME ,MS Office ,Linux, Lotus, Winzip เปนตน ซึ่งเปนสวนที่ไมสามารถมองเห็นและจับตองได

เครื่องคอมพิวเตอรหรือที่เรามักจะเรียกวาเครื่องพีซีนั้น เกิดจากการประกอบกันของอุปกรณตางๆมากมาย ทั้ง สวนที่อยูภายในเครื่องและสวนที่อยูภายนอกเครื่องไมวาจะเปนซีพียู ,แรม,การดแสดงผล,ฮารดดิสก,เมาส, จอภาพ, คียบอรด ฯลฯ ซึ่งในแตละสวนก็จะมีหนาที่และความสําคัญแตกตางกันไป เราจึงจําเปนที่จะตองทําความ รูจักกับอุปกรณตางๆเหลานี้ และเรียนรูใหเกิดความเขาใจถึงหนาที่การทํางานของอุปกรณแตละสวน เพื่อเปน ความรูพื้นฐานกอนที่จะพิจารณาเลือกซื้ออุปกรณเหลานั้นมาประกอบเครื่องไดอยางถูกตองและมีประสิทธิภาพ

อุปกรณภายนอกเครื่องพีซี เปนสวนที่เราสามารถมองเห็นไดโดยไมจาํ เปนตองเปดเครื่อง ไดแก จอ ภาพ,เคส,คียบอรด,ลําโพง และเมาส


346

1.จอภาพ(Monitor)ใชแสดงผลขอมูลหรือกราฟกที่ไดจากการประมวลผลจากซีพียู 2. เคส (Case) ใชติดตั้งอุปกรณตางๆไมวาจะเปนเมนบอรด ฮารดดิสก ซีดีรอม ฟล็อปปดิสก การดตางๆ เปนตน 3.คียบอรด(Keyboard)ใชปอนขอมูลหรือคําสั่งตางๆเขาสูเครื่องพีซี 4. เมาส (Mouse) เปนอุปกรณชวยอํานวยความสะดวกในการเลือกคําสั่งหรือเลื่อนเคอรเซอรไปยังตําแหนงที่ ตองการ 5.ลําโพง(Speaker)เปนอุปกรณที่ใชแสดงเสียงจากสื่อมัลติมีเดียตางๆ

เมื่อเปดฝาครอบเครื่อง PC ออกมา จะพบวาภายในจะมีแผนวงจร และอุปกรณติดตั้งอยูในตําแหนงตางๆรวมไป ถึงสายไฟ และสายสัญญาณที่เชื่อมตอตามจุดตางๆตอไปนี้มาทําความรูจักกับชิ้นสวนตางๆภายในเครื่อง PC วาแต ละสวนเรียกวาอะไรและทําหนาที่อยางไร 1. ซีพียู (CPU) เปนสมองของคอมพิวเตอร ทําหนาที่ประมวลผลขอมูลและควบคุมการทํางานของระบบ ประสิทธิภาพและความรวดเร็วในการทํางานของเครื่องจะขึ้นอยูกับซีพียู เปนหลัก ดังนั้น ซีพียูจึงเปนชิ้นสวนที่ สําคัญที่สุดและก็แพงที่สุดดวย 2. แรม (RAM) ใชเก็บขอมูลและโปรแกรมที่กําลังใชงานอยู เพื่อรอสงใหกับซีพียูใชประมวลผลโดยจะเปนการ เก็บขอมูลเพียงชั่วคราวเทานั้นถาปดเครื่องขอมูลก็จะหายทันที 3. เมนบอรด (Mainboard) เปนแผงวงจรขนาดใหญที่ใชติดตั้ง และเชื่อมตอกับอุปกรณตางๆไมวาจะเปนซีพียู แรม ฮารดดิสก ซาวนการด เปนตน เหมือนกับศูนยกลางการติดตอระหวางอุปกรณตางๆ 4. ฮารดดิสก (Harddisk) ใชเก็บขอมูลขนาดใหญไดอยางถาวร นอกจากจะใชเก็บขอมูลแลวฮารดดิสกยังเปน สวนที่ใชเก็บระบบปฏิบัติการรวมไปถึงโปรแกรมตางๆอีกดวย 5. ซีดีรอมไดรว (CD-ROM Drive) เปนอุปกรณที่ใชอานขอมูลจากแผนซีดีรูปแบบตางๆไมวาจะเปน แผนโปรแกรมแผนเพลงและแผนหนัง 6. ฟล็อปปดิสกไดรว (Floppy Disk Drive) เปนอุปกรณที่ใชอาน/เขียนแผน Floppy Disk ที่ใชเก็บขอมูลขนาด


347 เล็กซึ่งมีความจุเพียง1.44MBเหมาะสําหรับโอนถายขอมูลขนาดเล็กหรือใชทําแผนบูต 7. ชองขยาย (Expansion Slot) เปนชองตอเติมที่ใชติดตั้งการดชนิดตางๆ อยางเชน ซาวนการด การดแลน การด จอภาพ เปนตน ในปจจุบันจะมีอยู 3 ชนิดไดแก ISA, PCI และ AGP 8. แหลงจายไฟ (Power Supply) อุปกรณที่ใชจายไฟใหกับอุปกรณตางๆภายในเครื่อง จะเห็นวาจะมีสายไฟจาก เพาเวอรซัพพลายเชื่อมตอไปยังอุปกรณตางๆ

ระบบ BUS บนเครื่องคอมพิวเตอร BUS หมายถึง ชองทางการขนสงถายขอมูลจากอุปกรณหนึ่งไปยังอุปกรณหนึ่งของระบบคอมพิวเตอรเพราะการ ทํางานของระบบคอมพิวเตอร CPU จะตองอานเอาคําสั่งหรือโปรแกรมจากหนวยคงวามจํา มาตีความและทําตาม คําสั่งนั้นๆ ซึ่งในบางครั้งจะตองอานขอมูลจากอุปกรณอื่นๆ เพื่อใชประกอบในการทํางาน หรือใชประมวลผล ดวยผลลัพธของการประมวล ก็ตองสงไปแสดงที่ยังจอภาพ หรือเครื่องพิมพหรืออุปกรณอื่นๆ ระบบ CPU ทาง กายภาพ คือสายทองแดงที่วางตัวอยูบนแผงวงจรของเครื่องคอมพิวเตอร ที่เชื่อมโยงกับอุปกรณตางๆ ความกวาง ของระบบบัส จะนับขนาดขอมูลที่วิ่งอยูโดยจะมีหนวยเปน บิต (BIT) บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร บัสจะมีความ กวางจะทําใหการสงถายขอมูลจะทําไดครั้งละมากๆ จะมีผลทําใหคอมพิวเตอรเครื่องนี้ทํางานไดเร็วตามไปดวย ระบบบัส ขนาด 16 บิตก็คือระบบการสงถายขอมูลพรอมๆกันในคราวเดียวกันไดถึง 16 บิต และบัส 32 บิต ยอม


348 เร็วกวาบัส 16 บิต ในระบบบัสที่สงขอมูลไดจํานวนเทาๆกัน นั้นก็ยังมีบางอยางที่ทําใหการสงขอมูลมีความ แตกตางกัน ดังที่เราจะเห็นวาเครื่องพีซีของเราในปจจุบันจะมีระบบบัสอยูหลายขนาดเชน ISA, EISA. MCA, VLPCI เปนตน ทั้ง ISA, AGP,VLPCI ลวนแตเปน CARD เพิ่มขยาย (EXPANSION CARD) ซึ่งนํามาตอกับระบบ บัสเพิ่มขยาย (EXPANSION BUS) ที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพ และชวยเพิ่มขีดความสามารถใหกับคอมพิวเตอร ระบบบัสเพิ่มขยายนั้น จะชวยใหเราสามารถปรับแตง หรือเพิ่มขยายความสามารถของระบบ โดยผานทาง PKUGINBOARD หรือเรียกวา เปน CARD เพิ่มขยาย EXPANSION CARD เชนเมื่อตองการให เครื่องCOMPUTER มี เสียง อยากใหคอมพิวเตอรเลนเพลงไดก็ตองหาซื้อSOUNDCARD และลําโพงมาตอเพิ่ม โดยแคนํามา PLUG ลง ใน EXPANSION SLIT บน MAINBOARD และทําการ CONFIG ก็สามารถใชงานได โดยไมจําเปนตอง เดินสายไฟ รื้อ MAINBOARD ใหยงุ ยาก ระบบบัสเพิ่มขยายนี้มีใชมานานแลว โดยสมัยแรกๆ ที่ทําการลดขนาด เมนเฟรม เปน MINICOMPUTER บริษัท DIGITAL EQUIPMENTDORPORATION หรือที่รูจักกันในนาม DEC ไดวางตลาด MINICOMPUTER ลักษณะ BUS-ORIENTED DESIGN ซึ่งประกอบไปดวย แผงวงจร ยอยๆบน BOARD นํามาประกอบรวมกัน ตอมา เครื่องจักรที่ไดรับยกยองวาเปน PC (PERSONAL COMPUTER) เครื่องแรกก็ไดถือกําเนิดขึ้นเปนผลงานของED ROBERTS โดยใหชื่อวา ALTAIR (อัลแตร) ซึ่งลักษณะของเครื่อง นี้ จะเปนลักษณะ SINGLE BOARD MACHINE กลาวคือมีเพียง BOARD เปลาๆ ซึ่งมี SLOTเพิ่มขยายใหจํานวน หนึ่ง และตัว CPU เองรวมทั้งหนวยความจําหลัก (MAINMEMORY/RAM) ก็อยูบน BOARD เพิ่มขยายที่นํามา PLUG บน SLOT นั้นๆนั่นเอง โดยระบบบัสที่ใชเรียกวา S-100 หรือ ALTAIR BUS (IEEE 696) ซึ่งก็ใชเปน มาตรฐานในวงการนี้มานานหลายป แตก็ใชวาเครื่องทุกๆ เครื่องจะตองใชALTAIR BUS นี้ เพราะทาง APPLE เองก็ออกมาตรฐานของตัวเองขึ้นมา เรียกวา APPLE BUSและทาง IBM เอง ก็ไดกําหนดมาตรฐาน PC BUS ขึ้นมาพรอมๆกับการ IBM PC ตนแบบ

การทํางานของระบบคอมพิวเตอร ถาเปรียบเทียบกับระบบโครงสราง รางกายของมนุษยเรานาจะ เปรียบเทียบไดงายและเห็นภาพชัดเจน เพราะอยางนอยคนเราสวนใหญคงจะพอรู ระบบโครงสรางการทํางาน ของรางกายของเราเองอยูบางไมมากก็นอยละ ดังนั้นระบบการทํางานของบัสก็จะ คลายกับเสนเลือดในรางกายของมนุษยนั่นเองสําหรับทําหนาที่ในการสงถายกระแสเลือดไปหลอเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย ซึ่งกระแสเลือดในระบบคอมพิวเตอรก็คือขอมูล (Data)นั่นเอง บัส คือ ทางเดินหรือ ชองทางระหวาง อุปกรณที่ใชในการติดตอสื่อสารภายในคอมพิวเตอร ในระบบไมโครคอมพิวเตอร การสงถายขอมูลสวนมากจะเปนระหวางไมโครโปรเซสเซอรกับอุปกรณภายนอก ทั้งหมด โดยผานบัส ในไมโครโพรเซสเซอรจะมีบัสตางๆ ดังนี้ บัสขอมูล (DATA BUS) คือบัสที่ ไมโคร โพรเซสเซอร (ซีพียู) ใชเปนเสนทางผานในการควบคุมการสงถายขอมูลจากตัวซีพียูไปยังอุปกรณภายนอก หรือรับขอมูลจากอุปกรณภายนอกเพื่อทําการประมวลผลที่ซีพียู บัสรองรับขอมูล( ADDRESS BUS) คือบัสที่ตัว ซีพียู เลือกวาจะสงขอมูลหรือรับขอมูลจากอุปกรณไหนไปที่ใด โดยจะตองสงสัญญาณเลือกออกมาทางแอดเดรส บัส บัสควบคุม (CONTROL BUS) เปนบัสที่รับสัญญาณการควบคุมจากตัวซีพียูโดยบัสควบคุมเพื่อบังคับ วาจะอานขอมูลเขามา หรือจะสงขอมูลออกไปจากตัวซีพียู โดยระบบภายนอกจะตอบรับตอสัญญาณควบคุมนั้น ไมโครโพรเซสเซอรไมใชจะควบคุมการทํางานของบัสทั้งหมด บางกรณีในการสงถายขอมูลภายนอกดวยกันเอง ผานบัสไดเปนกรณีพิเศษเหมือนกัน เชนการอานขอมูลจากหนวยความจําสํารองขนาดใหญสามารถ


349 สงผานขอมูลมายังหนวยความําหลักไดโดยผานไมโครโพรเซสเซอรเลย ขบวนการ DMA (DIRECT MEMORY ACCESS)

ก็โดยการใชขบวนการที่เรียกวา

บัสเปนเสนทางหลักของคอมพิวเตอรในการเชื่อมโยงในการดขยายทุกชนิด ไปยังไมโครโพรเซสเซอร บัสความ จริงก็ คือ ชุดของเสนลวดที่วางขนานกันเปนเสนทางวงจรไฟฟาเปรียบเทียบเหมือนถนนที่มีหลาย ชองทางจราจร ยิ่งมีชองทางจราจรมาก ก็ยิ่งระบายความรอนไดมากและหมดเร็ว เมื่อเราเสียบการดลงชองเสียบบนแผงวงจรหลัก (สล็อต) ก็เทากับวาไดเชื่อมตอการดนั้นเขากับวงจรบัสโดยตรง จุดประสงคหลักของบัสก็คือ การสงผานขอมูลไป และกลับจากไมโครโพรเซสเซอรหรือจากอุปกรณหนึ่ง โดยทางคอนโทรลเลอร DMA การดทุกตัวที่เสียบอยูบน สล็อตของแผงวงจรหลักจะใชเสนทางเดินของบัสอันเดียวกัน ดังนั้นขอมูลตางๆจึงถูกจัดระบบและควบคุมการสงผานในระบบ จะพบวาบัสแบงไดเปน 4 สวนใหญๆดังนี้ 1.สายไฟฟา(POWERLINE)จะใหพลังไฟฟากับการดขยายตางๆ 2. สายควบคุม (CONTROL LINE ) ใชสําหรับสงผานสัญญาณเวลา (TIMING SIGNG) จากนาฬิกาของระบบ และสงสัญญาณอินเตอรรัพต 3. สายแอดเดรส (ADDRESS LINE) ขอมูลใดๆที่ถูกสงผานไป แอดเดรสเปาหมายจะถูกสงมาตามสายขอมูลและ บอกใหตําแหนงรับขอมูล(แอดเดรส)รูวาจะมีขอมูลบางอยางพรอมที่จะสงมาให 4. สายขอมูล (DATA LINE) ไมโครเมตรจะตรวจสอบวามีสายสัญญาณแสดงความพรอมหรือ (บนสาย I/O CHANNEL READY) เมื่อทุกอยางเปนไปดวยดีขอมูลก็จะถูกสงผานไปตามสายขอมูล จํานวนสายที่ระบุถึง แอดเดรสของบัส หมายถึงจํานวนของหนวยความจําที่อางแอดเดรสไดทั้งหมด เชน สายแอดเดรส 20 สาย สามารถใชหนวยความจําได 1 เมกะไบตจํานวนของสายบัสจะหมายถึงบัสขอมูล ซึ่งก็คือขอมูลทั้งหมด ที่สงผาน ไปในบัสตามกฎที่ตั้งไว ความเร็วในการทํางานที่เหมาะสมจะเปนไปไดก็ตอเมื่อ จํานวนสายขอมูลเพียงพอกับ จํานวนสายขอมูลของไมโครโพรเซสเซอร จํานวนสายสงขอมูลมักจะระบุถึงคุณสมบัติของบัสในเครื่องพีซีนั้นๆ เชน บัส 16 บิต หมายถึง บัสที่ใชสายขอมูล 16 สายนั่นเอง

PC BUS เมื่อ IBM ไดทําการเปดตัว IBM PC(XT) ตัวแรกซึ่งใช CPU 8088 เปน CPU ขนาด 8 BIT ดังนั้นเครื่อง คอมพิวเตอรเครื่องนี้จึงมีเสนทางขอมูลเพียง 8 เสนทาง (8 DATA LINE) และเสนทางที่อยู 20 เสนทาง (20 ADDRESS LINE) เพื่อใชในการอางตําแหนงของหนวยความจํา CARD ที่นํามาตอกับ PC BUS นั้นจะเปน CARD แบบ 62 PIN ซึ่ง 8 PIN ใชสําหรับสงขอมูลอีก 20 PIN ไวสําหรับอางตําแหนงของหนวยความจํา ซึ่ง CPU 8088 นั้นสามารถอางอิงหนวยความจําไดเพียง 1 เมกะไบต ซึ่งในแตละ PIN นั้นสามารถสงขอมูลไดเพียง 2 คา คือ 0 กับ 1 (หรือ ROW กับ HIGH) ดังนั้นเมื่อใช20 PIN ก็จะอางอิงตําแหนงไดที่ 2 คูณกัน 20 ครั้ง(หรือยกกําลัง 20) ซึ่งก็จะไดเทากับ 1 MEGABYTE พอดีสวน PIN ที่เหลือก็ใชเปนตัวกําหนดการอานคาวาอานจากตําแหนงของ หนวยความจํา หรือตําแหนงของ INPUT/OUTPUT หรือบางสวน PIN ก็ใชสําหรับจายไฟ +5ม -5ม +12 และสาย GROUND สายดิน เพื่อจายไฟใหกับ GARD ที่ตอพวงบน SLOT ของ PC BUS นั่นเอง และยังมี PIN บางตัวที่ทําหนาที่เปนตัว RESETหรือเปนตัว REFRESH หรือแมกระทั่ง CLOCK หรือสัญญาณของระบบนั่นเอง


350 ระบบ BUS แบบ PC BUS นี้มี ความกวางของ BUSเปน 4.77 MHzและยังสามารถสงถายขอมูลดวยความเร็ว สูงสุดที่ 2.38 ตอวินาที

ในยุคของ PC AT หรือตั้งแต CPU รุน 980286 เปนตนมาไดมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของเสนทางขอมูลจาก 8 BIT เปน 16 BIT ทําให IBM ตองมาทําการออกแบบระบบ BUS ใหมเพื่อใหสามารถสงผานขอมูลทีละ 16 BIT แนนอนวาการออกแบบใหมนั้นก็ตองทําใหเกิดความเขากันไดยอนหลังดวย(COMPATBLE) กลาวคือ ตองสามารถใชงานกับ PC บัสไดดวย เพราะถาหากไมเชนนั้นแลว ก็คงจะขายออกยาก ลองคิดดูวา ถาหากออก PC AT ที่ใชระบบบัสใหมทั้งหมด และไมเขากันกับ PC XT ที่ออกมากอนหนานั้นได เครื่อง PC BUT เดิมอีก 36 PIN โดยที่เพิ่มเสนทางขอมูล 8 PIN รวมแลวก็จะเปน 16 PIN สําหรับสงขอมูลครั้งละ 16 BIT พอดี และ เพิ่ม 4 PIN สําหรับทําหนาที่อางตําแหนงจากหนวยความจํา ซึ่งก็จะรวมเปน 24 PIN และจะอางไดมากถึง 16 Meg. ซึ่งก็เปนขนาดของหนวยความจําสูงสุดที่ CPU 80286 นั้นสามารถที่จะอางได แตอยางไรก็ตามการอาง ตําแหนงของ I/O PORTนั้นก็ยังถูกกําหนดไวที่ 1024 อยูดี เนื่องจากปญหาการเขากันไดกับ PC BUS นอกจากนี้ PIN ที่เขามายังชวยเพิ่มการอางตําแหนง DMA และคาของIRQ SLOT แบบใหมนี้เรียกวาเปน SLOT แบบ 16-BIT ซึ่งตอมาก็เรียกกันวาเปน AT BUS แตเราจะรูกันในนาม ISA BUS มากกวาโดยคําวา ISA มาจากคําเต็มวา INDUSTRY STANDARD ARCHITECTUREเราสามารถนํา CARD แบบ 8 BIT มาเสียบลง ชอง 16 BIT ได เพราะใชสถาปตยกรรมเหมือนๆกัน จะตางกันก็ตรงที่เพิ่มมา สําหรับ 16 BIT เทานั้นซึ่งจะใช (ในกรณีที่ใช CARD 16 BIT) หรือไมใช (ในกรณีที่ใช CARD 8 BIT) ก็ไดระบบบัส แบบ ISA BUS นี้มีความ กวางของ BUS เปน 8 MHz และสามารถสงถายขอมูลดวยความเร็วสูงสุดที่ 8 MB ตอวินาที ในป 1985 ทาง COMPAG ไดประกาศเปดตัว COMPUTER ของตน ในรุน 286/12 โดย 12 นั้น หมายถึงความเร็วคือ 12 MHz ซึ่งขณะนั้น IBM มีแค 286 ที่ทํางานดวยความเร็ว 8 MHz ในขณะนั้น ความเร็วจาก 8 MHz ไป 12 MHz นับวาสูงมากๆเลย เพราะเพิ่มขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งเลยที่ เดียว (ถาเปรียบเทียบกับสมัยนี้ก็เหมือนๆกับจาก Pentium II 300 ไปเปน Pentium II 450 นั่นเอง) ซึ่งแนนอน BUS ของระบบ ก็ตองทํางานที่ 12 MHz ตามไป ดวย แลวปญหาก็เกิดขึ้น ISA BUS นั้นเราทราบแลววามันทํางานที่ 8 MHz ถามันทํางานที่ 12 MHz จะทําให เกิดปญหาที่สําคัญขึ้น เพราะหากวา CPU ทํางานไดเร็วจริง แตไมสามารถใช CPU ได ก็แยกการใชนาฬิกา ของ ระบบบัสออกจาก CPU ไปเลย โดยที่ CPU อุปกรณอื่นๆบน Mainboard จะทํางานที่ความเร็ว 12 MHz แตตัวที่ BUS เองจะทํางานคงที่ ที่ 8 MHz เพราะใชสัญญาณนาฬิกาแยกจากกัน ซึ่งวิธีการนี้ก็เปนวิธีการแกซึ่งก็ใชกัน จวบจนปจจุบันนี้ แตในสมัยนั้น หนวยความจําหลักหรือ RAM จะอยูบนExpansion Card ที่อยูกับ ISA BUS ดวยเพราะฉะนั้น มันก็เลยทํางานดวยความเร็วเพียง 8 MHz เทานั้นและตอๆมายิ่งมี CPU ขนาด 16 MHzหรือ 24 MHz ในยุคของ 386 ดวยแลว RAM ก็จะทํางานดวยความเร็วเพียงแค 8 MHz เทานั้น ทาง COMPAQ จึงได


351 ทําการแกไขอีกครั้ง ซึ่งในตนป 1987 ทาง COMPAQ ก็ไดวางตลาด COMPAQ Deskpro 386 ที่ความเร็ว 16 MHz โดยคราวนี้ก็แยกสัญญาณนาฬิกาของ RAM ออกไปดวย ซึ่งก็เปนตนแบบที่สําคัญที่ใชกันตอมาใน ปจจุบันนี้โดยให ISA BUS ทํางานที่ความเร็วคาหนึ่ง RAM อีกคาหนึ่ง และ CPU อีกคาหนึ่ง

ทั้ง IBM และ COMPAQ นั้นเปนคูแขงทางการคากัน ดังนั้นเรื่องที่จะให COMPAQ อยูเหนือตนเองสําหรับ IBM นั้นเปนไปไมได ทาง IBM จึงไดออกมาตราฐานระบบบัสของตนใหม เรียกวา MICRO CHANNEL AECHITECTURE หรือ MCA เมื่อระบบบัสไดมีการแขงขันกันขึ้นแนนอนระบบที่ถูกนําออกมา เปรียบเทียบ คือ ISAซึ่งก็มีการจับตามองวาทาง IBM นั้นจะหาทางแกไขจุดออนของ ISA BUS ของตนอยางไร ซึ่ง วิศวกรของทาง IBM นั้นมองในแงมุมที่แตกตางจากคนอื่นๆเมื่อ INTELไดเปด CPU ของตนรุน 80386 ซึ่งเปน CPU ขนาด 32 BIT สามารถอางตําแหนงหนวยความจําไดมากถึง 4 Gigabyte โดยมีความเร็วเริ่มตนที่ 16 MHz ซึ่ง ISA BUSดูจะไมเหมาะแลวกับ CPU ระดับนี้ บรรดาผูใช PC ตางก็มองกันวาทางออกที่ดี คือควรจะมีระบบบัส ใหมที่สามารถรองรับในจุดนี้ได จากการที่วิศวกรของ IBM ถนัดกับManinframe มากกวาทําใหวิศวกรเหลานั้น มองวา PC ก็ควรจะทํางานแบบหลายๆ TASK พรอมๆกันได (MULTIPLE TASK) ประกอบกับ IBM ตองการที่ จะใหภาพพจนMainframe ของตนดูมีประสิทธิภาพสูงกวา PC จึงไมคอยไดเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงขีด ความสามารถใหกับระบบบัสใหมใหเดนกวาเดิมมากนัก

เปนบัสที่สรางขึ้นจากกลุมผูขาย 9 บริษัท นําโดยบริษัท COMPAQ สรางขึ้นเพื่อสูกับ สถาปตยกรรมไมโครเชลแนลของ IBM EISA นั้นใชพื้นฐานหลักมาจาก ISA แตไดเพิ่มขีด ความสามารถบางอยางขึ้น ซึ่งบางอยางก็พัฒนามาจาก MCA ดวย ซ้ํายังเขากันไดกบั ระบบ ISA รุน เกาดวย และเสียคาลิขสิทธิ์นอยกวาที่จะตองจาย IBM อีกดวย บัส EISA รันที่ 8 MHz แตออกแบบ ใหกวางกวา 32 บิต หมายความวา แบนดวดิ ธ ของมันเปน 33 MHz ตอวินาที ผานบัสภายใตเงื่อนไข ที่ดีที่สุด บัส EISA มีปญหาการแอดเดรส และปญหาหนึ่งที่ทําใหเลิกพัฒนาอุปกรณไมโครแซน ISA BUS


352

เนล คือการคอมแพตทิเบิลยอนหลัง คือถาซื้อคอมพิวเตอรใหมแบบไมโครแซนเนลจาก IBM เรา จะตองซื้อการดอุปกรณพว งตอเปนรุน MCA ทั้งหมดซึ่งรวมถึงคอนโทรลเลอรของดิสก การด แสดงผลโมเด็ม และอื่นๆ ในทางตรงกันขาม ขอกําหนดของ EISA จะเรียกใชคอนเน็คเตอรที่ ยอมรับการด EISA หรือการด ISA อนุญาตใหมีการเปลี่ยนแปลงอุปกรณบางตัว หรือทั้งหมดของ เครื่องเกามาเครื่องใหมได สล็อตของ EISA จะทําจากพลาสติกสีน้ําตาล

MCABUS EISABUS

LOCAL BUSระบบบัสเหลานี้แตเดิมเรียกวา เปน PRIVATE BUS เพราะใชเปนการสวนตัวเฉพาะบริษัทเทานั้น แตตอมาก็เรียกวาเปน LOCAL BUS หรือ BUS เฉพาะที่ เพราะใชสัญญาณนาฬิกาเดียวกับ CPU โดยไมตองพึ่ง สัญญาณนาฬิการพิเศษแยกจาก CPU เลย ขอดีของมันคือ สามารถใชสัญญาณนาฬิกาเดียวกันกับ CPU ในขณะนั้นได ซึ่งก็มักจะนําไปใชกับหนวยความจําหลัก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมของระบบ แตก็มีการด แสดงผลอีกชนิดหนึ่งที่ตองการความไวสูงเชนDISPLAY CARD ซึ่งหากมีการเขาถึงและสงถายขอมูลระหวาง CPU กับ DISPLAY CARD ไดเร็วแลว ก็จะชวยลดปญหาเรื่อง REFRESH RATE ต่ํา เพราะ CPU จะตองทํา การ ประมวลผลและนํามาแสดงผลบนจอภาพ ยิ่งหากวามีการใช ของจอภาพสูงๆ และเปน MODE GRAPHICS ดวย แลว CPU ก็ยิ่งตองการ การสงถายขอมูลใหเร็วขึ้น เพื่อภาพที่ไดจะไดไมกระตุก และไมกระพริบ เนื่องจากระบบ LOCAL BUS นั้น จะชวยในการสงผาน และเขาถึงขอมูลไดเร็ว จึงไดมีบางบริษัท นําเอาระบบ LOCAL BUS มา ใชกับ DISPLAY CARD ดวย ตอมาไดมีการทําการกําหนดมาตรฐานระบบบัสนี้ขึ้นมา โดยกลุมที่ชื่อ VIDEO ELECTRONICSTANDARDS ASSOCIATION หรือ VESA และไดเรียกมาตรฐานนั้นวา VESA LOCAL BUS หรือเรียกสั้นๆวา VL BUS ในป1992 ระบบ VL BUS นั้น สามารถใชสัญญาณนาฬิกาไดสูงถึง 50 MHz ทั้งยัง สนับสนุนเสนทางขอมูลทั้ง 32 BIT และ 62 BIT รวมถึงอางถึงตําแหนงหนวยความจําไดสูงถึง 4 GIGABYTE อีก ดวย แตอยางไรก็ตาม VL BUS ก็ไมเชิงวาเปนสถาปตยกรรมที่ดีนัก เพราะไมมีเอกลักษณ หรือคุณสมบัติ พิเศษนอกเหนือไปจาก ISA มากนัก เพาะมันเหมือนกับเพิ่มขีดความสามารถใหกับ ISA มากกวาที่จําเปนพัฒนา


353 ความสามารถใหกับ ISA เนื่องจากมันก็ยังคงให CPU เปนตัวควบคุมการทํางานใช BUS MASTERING ไมได และยังไมสามารถปรับแตงคาตางๆ ผานทาง SOFTWARE ได

VL BUSโลคอลบัสแบบ VESA ออกแบบโดยกลุมที่ชื่อ VIDEO ELECTRONIC STANDARDS ASSOCIATION หรือ VESA เปนการรวมมือของผูขายผลิตภัณฑ การแสดงผลและบริษัทที่เกี่ยวกับดานกราฟ ประมาณ 120 แหง ลักษณะคอนเน็ตเตอรเสียบของการดอุปกรณพวงตอแบบวีแอลบัส ควรจําไววา คอนเน็ตเตอร เสียบแบบมาตรฐาน ISA 16 บิต อยูดานขวาและมีคอนเน็ตเตอรเสียบเพิ่มแบบ โลคอลบัสดานซาย ขอสําคัญที่ตอง จําไววาการเพิ่มสล็อต โลคอลบัส เพียง 1หรือ 2 สล็อตใหกับระบบไมจําเปนวาจะสามารถปรับปรุงการทํางานของ ระบบไดจนไมนาเชื่อ มันจะปรับปรุงการทํางานแตกับเพียงสวนประกอบที่ออกมาโดยเฉพาะเทานั้น เชน เสียบ การดแสดงผลที่ไมใชการดเรงความเร็วในสล็อต โลคอลบัส อาจมีผลทําใหการทํางานชาลงมากกวาเสียบการดเรง ความเร็ววิโตรสลงในบัส ISA การออกแบบ VL BUS จะเรียกใชคอนเน็ตเตอรที่เพิ่มจากคอนเน็ตเตอรของEISA หรือ ISA ความจริงผูขายสวนใหญที่ใสสล็อต VL BUS ในเครื่องพีซีจะวางอยูขางๆ สล็อต ISA หรือ EISA บน บอรดแม ลองใหรันที่ความเร็วซีพียู และลองรับขอมูลแบบ 32บิต ได VL BUS มีแบนดวิดธสูงสูด 133 เมกะไบต ตอวินาทีลักษณะของ VL BUS ไมใชบัสที่ออกแบบมาทดแทน ISA เหมือนกับที่ EISA และ MCA ไดพยายามมา กอนและประสบความลมเหลว หากแตเปนบัสสวนขยายที่ผูผลิตเพิ่มเขาไปบนแผงวงจรหลักของรุนใหมๆจะมี สล็อตของ VL BUSที่ตอยื่นออกมาจากสล็อตเดิมของ ISA ซึ่งอาจมีตั้งแต 1-3 สล็อต ตามแตละบริษัทจะเปน ผูผลิต ความเร็วในการถายโอนขอมูลใน VL BUS ไมไดกําหนดใหมีคาตายตัวเหมือนกับบัสแบบ ISA หรือ EISA หากแตมีความเร็วตามความเร็วของซีพียูโดยตรง ขอจํากัดของ VL BUS วีแอลบัสมีขอจํากัดสําคัญประการหนึ่งคือ จํานวนการดแอลบัส ที่จะเสียบใชงานไดจะ ขึ้นอยูกับความเร็วของซีพียูที่กําหนดของ VESA แลวผูใชสามารถเสียบการดเมื่อใชซีพียู 486 ที่ความเร็ว 33MHz และตองลดกําหนดการดลงไป เมื่อใชซีพียูที่มีความเร็วสูงขึ้นทั้งนี้เพื่อความเพี้ยนของสัญญาณที่อาจเกิดขึ้นจนเกิด คาที่ ยอมรับได และจะสงผลใหไมสามารถใชงานระบบ ยกเวนในกรณีที่แผงวงจรหลักไดรับการออกแบบใหมี บัฟเฟอรสําหรับเก็บพักขอมูลอยูก็อาจเพิ่มการดไดมากขึ้นใชกับซีพียูที่มีความเร็วสูงๆ แตทวาการใชกับบัฟเฟอรก็ อาจมีขอเสียเนื่องจากจะเปนตัวถวงความเร็วของซีพียูจากการที่ตองเพิ่มสถานะการรอคอย ซึ่งยอมสงผลให สมรรถนะการทํางานลดลง ขอจํากัดของวีแอลบัส แนะนําวาไมควรติดตั้งการดเกินกวา 1 การด เมื่อใชซีพียูที่มี ความเร็ว 40 MHz และไมควรใชการดวีแอลบัส กับซีพียูที่มีความเร็ว 50 MHz เพราะการออกแบบ วิแอลบัสไม สามารถรับอุปกรณที่พวงตอใหเทากับความเร็วของซีพียูที่เกินกวา 40 MHz ได แผงวงจรหลักที่จําหนายใน เมืองไทย โดยสวนใหญจะมีสล็อตสําหรับ วีแอลบัสเพียง 2 สล็อต ซึ่งมักจะไมเปนปญหาสําหรับการใชงาน และ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การดแบบวีแอลบัสที่มีจําหนายโดยทั่วไปคอนขางจํากัดอยูเพียงการดจอภาพและการดควบคุม ดิสกเทานั้น PCI BUSระบบ PCI หรือ PERIPHERAL COMPONENT INTERCONNECT ก็เปน LOCAL BUS อีกแบบหนึ่งที่พัฒนาขึ้นโดย INTEL โดยที่แยกการควบคุมของระบบบัส กับ CPU ออกจากัน และสงขอมูลผาน


354 กันทางวงจรเชื่อมซึ่งจะมี CHIPSET ที่คอยควบคุมการทํางานของระบบบัสตางหาก โดยที่ CHIPSET ที่ควบคุมนี้ จะเปนลักษณะ PROCESSOR INDEPENDENT คือไมขึ้นกับตัว PROCESSOR ตอมาเมื่อ INTEL เปดตัว CPU ใน GENERATION ที่ 5 ของตน INTEL PENTIUM ซึ่งเปน CPUขนาด 64 BIT ทาง INTEL ไดทําการกําหนด มาตรฐาน ของ PCU เสียใหมเปน PCI 2.0 ซึ่ง PCI 2.0 นี้ก็จะมีความกวางของเสนทางขอมูลถึง 64 BIT ซึ่งหากใช กับ CARD 64 BIT แลวก็จะสามารถใหอัตราเร็วในการสงผานที่สูงสุดถึง 266 M/s จุดเดนของ PCI ที่เห็นไดชัด นอกเหนือไปจากที่กลาวขางตนก็ยังมีเรื่องของ BUS MASTERING ซึ่ง CPI นั้นก็สามารถทําไดเชนกันกับ EISA และ MCA แลว CHIPSET ที่ใชเปนตัวควบคุมการทํางาน ก็ยังสนับสนุนระบบ ISA และ EISA อีกดวย ซึ่งก็ทําใหสามารถผลิต MAINBOARD ที่มีทั้ง SLOT ISA, EISA และ PCI รวมกันได นอกจากนั้นยังสนับสนุน ระบบ PLUG-ABD-PLAY อีกดวย

AGP ในกลางป 1996 เมื่อ INTEL ไดทําการเปดตัว INTEL PENTIUN II ซึ่งพรอมกันนั้นก็ไดทําการเปดตัว สถาปตยกรรมที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพของหนวยแสดงผลดวยนั่นก็คือ ACCELERATED GRAPHICS PORT หรือ AGP ซึ่งก็ไดเปดตัว CHIPSET ที่สนับสนุนการทํางานนี้ดวย คือ 440LX AGP นั้นจะมีการ เชื่อมตอกับ CHIPSETของระบบแบบ POINT-TO-POINT ซึ่งจะชวยใหการสงผานขอมูลระหวาง CARD AGP กับ CHIPSET ของระบบไดเร็วขึ้น และยังมีเสนทางเฉพาะสําหรับติดตอกับหนวยความจําหลักของ ระบบ เพื่อใชทําการ RENDER ภาพแบบ 3D ไดอยางรวดเร็วอีกดวยจากเดิม CARD แสดงผลแบบ PCI นั้น จะมีปญหาเรื่องของหนวยความจําเปน CARD เพราะเมื่อตองการใชงานดานการ RENDER ภาพ 3 มิติ ที่มี ขนาดใหญมากๆ ก็จําเปนตองมีการใชหนวยความจําบน CARD นั้นมากๆ เพื่อรองรับขนาดของพื้นผิว ที่เปน องคประกอบสําคัญของงาน RENDER แนนอนเมื่อหนวยความจํามากๆ ราคาก็ยิ่งแพง ดังนั้นทาง INTEL จึง ไดทําการคิดคนสถาปตยกรรมใหมเพื่องานดาน GRAPHICS นี้โดยเฉพาะ AGP จึงไดถือกําเนิดขึ้นมา AGP นั้นจะมี MODE ในการ RENDER อยู 2 แบบ คือ LOCAL TEXTURING และ AGP TEXTURING โดยใช LOCAL TECTURING นั้นจะทําการ COPY หนวยความจําของระบบไปเก็บไวที่เฟรมบัฟเฟอรของ CARD จากนั้นจะทําการประมวลผลโดยดึงขอมูลจากเฟรมบัฟเฟอรบน PCI ดวย วิธีการนี้จะเพิ่มขนาดของ หนวยความจําเปน CARD มาก AGP TEXTURING นั้นเปนเทคนิคใหมที่ชวยลดขนาดของหนวยความจํา หรือเฟรมบัฟเฟอรบน DISPLAY CARD ลงไดมาก เพราะสามารถใชงานหนวยความจําของระบบใหเปน เฟรมบัฟเฟอรไดเลย โดยไมตองดึงขอมูลมาพักไวที่เฟรมบัฟเฟอรของ CARD กอนโดยปกติแลว AGP จะ ทํางานที่ความเร็ว 66 MHz ซึ่งแมวาระบบจะใช FSB เปน 100 MHz แตมันก็ยังคงทํางานที่ความเร็ว 66 MHz ซึ่งใน MODE ปกติของมันก็จะมีความสามารถแทบจะเหมือนกับ PCI แบบ 66 MHz เลยโดยจะมีอัตราการ สงขอมูลที่สูงถึง 266 M/s และนอกจากนี้ยังสามารถทํางานไดทั้งขอบขาขึ้นและขอบขาลงของ 66MHz จึง


355 เทากับวามันทํางานที่ 133 MHz ซึ่งจะชวยเพิ่มอัตราการสงถายขอมูลขึ้นไดสูงถึง 523 M/s ซึ่งเรียก MODE นี้ วา MODE 2X และ MODE ปกติวาMODE 1X สําหรับความเร็วในการสงถายขอมูลนั้น ก็ขึ้นกับชนิดของ หนวยความจําหลักดวย ถาหนวยความจําหลักเปนชนิดที่เร็วก็จะยิ่งชวยเพิ่มอัตราเร็วในการสงถายมากขึ้น ดังนี้ - EDO RAM หรือ SD RAM PC 66 ได 528 M/s - SD RAM PC 100 ได 800 M/s - DR RAM ได 1.4 G/s อีกสาเหตุหนึ่งที่ทําใหระบบบัสแบบ AGP ทําไดดีกวา PCI ก็เพราะเปน SLOT แบบเอกเทศไมตองไปใช BANDWIDTH รวมกับใคร

เมนบอรด (Mainboard) หรือที่เรียกอีกอยางหนึ่งวา "มาเธอบอรด" (Matherboard) หมายถึง แผงวงจรไฟฟาขนาด ใหญที่ประกอบดวยอุปกรณอิเล็กทรอนิกสมากมาย เปนแผนวงจรหลักที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอุปกรณ ตางๆ และเปนศูนยกลางในการเชื่อมตอกับอุปกรณอื่นๆ รวมไปถึงอุปกรณตอพวงอื่นๆ ใหสามารถติดตอสื่อสาร ถึงกันไดเมนบอรดที่วางกันอยูในทองตลาด จะเปนเมนบอรดที่นําเขามาจากประเทศไตหวันและอเมริกา แต เมนบอรดที่ไดรับความนิยมมักจะมาจากไตหวันเนื่องจากราคาถูกกวา สวนในเรื่องของประสิทธิภาพก็ไมตางกัน มากนัก สําหรับเนื้อหาในบทนี้ จะมุงเนนใหทานไดรูจักกับสวนประกอบบนเมนบอรด หนาที่ของอุปกรณ ที่สําคัญ รวมไปถึงเทคโนโลยีใหม ๆ ที่ถูกบรรจุอยูบนเมนบอรดที่วางขายอยูในปจจุบัน

เมนบอรดประกอบไปดวยสวนตางๆ มากมายในหัวขอนี้จะนําใหผูอานไดรูจักกับสวนประกอบตางๆ ที่สําคัญ บนเมนบอรดเพื่อใหผูอานไดรูวาแตละสวนคืออะไรและมีหนาที่อยางไร


356

1. 2. 3. 4. 5.

6. 7. 8. 9. 10. 11.

หลังจากที่ไดรูจักสวนประกอบตาง ๆ บนเมนบอรดไปแลว ยังมีชิปหรือไอซีสําคัญ ๆ ที่ควรรูจัก โดยชิปที่วาจะ เปนชิปคอนโทรลเลอร (Controller) ที่ใชควบคุมการทํางานเฉพาะอยาง ตางกับชิปเซตที่ตองควบคุมทั้งเมนบอรด โดยชิปที่นาสนใจมีดังนี้Sound Chip หรือ Audio Chip เปนชิป Audio บนเมนบอรดที่เปนหัวใจในการควบคุม การทํางานแทนซาวนการด ปจจุบันเมนบอรดสวนใหญจะมี Sound Chip เกือบทั้งหมด ชิปที่ใชไดแก ADL 1980, AC97 Audio Codec และ CMedia8738I/O Contreller เปนชิปที่ทําหนาที่ควบคุมการรับสงขอมูลของเมนบอรด กับอุปกรณตอพวงผานพอรตตางๆ อยางเชน คียบอรด เมาส เครื่องพรินเตอร เปนตน USB 2.0 Controller Chip ชิปคอนโทรลเลอรตัวนี้จะทําหนาที่ควบคุมการใชงานพอรต USB ทั้งหมด ซึ่งคุณสมบัติที่ดีของพอรตประเภทนี้ก็ คือจะทํางานทันทีเมื่อมีการเสียบสายสัญญาณเขาที่พอรด USB นั่นเปนเพราะวาชิปคอนโทรลเลอรจะกระตุน โปรแกรมทันทีเมื่อรับรูวามีการใชงานพอรต USBRAID Controller Chip สําหรับชิป RAID Controller จะพบได ในเมนบอรดบางรุนเทานั้น โดยชิปดังกลาวจะทําหนาที่ควบคุมการสํารองขอมูลในรูปแบบของ RAID ซึ่งเปน มาตรฐานการสํารองขอมูลที่มีประสิทธิภาพ และมีความปลอดภัยสูงHardware Monitoring เมนบอรดที่ดีมักจะมี ชิปที่คอยตรวจสอบความผิดปกติทางดานฮารดแวร ซึ่งจะมีประโยชนอยางมากเมื่อเครื่องมีปญหา เพราะเมื่อชิป ดังกลาวตรวจพบก็จะบอกไดทันทีวา อะไรเสีย ก็จะไดทําการซอมไดถูกจุดSerial ATA Controller Chip เปนชิป


357 ที่พบไดในเมนบอรดรุนใหมๆ เทานั้นเนื่องจากฮารดดิสก มาตรฐาน Serial ATA เพิ่งเกิดไดไมนาน ซึ่งชิปดังกลาว ก็จะทําหนาที่ควบคุมการทํางานระหวางฮารดดิสกกับระบบใหเปนไปอยางราบรื่น

เปนที่ทราบกันดีแลววาชิปเซตจะประกอบดวยสวนที่เปนชิป North Bridge กับชิป South Bridge ซึ่งในการทํา นั้นชิปทั้ง 2 สวนจะตองมีการับสงขอมูลระหวางกันอยูตลอดเวลา ดังนั้นความเร็วในการโอนขอมูลระหวางชิปทั้ง สองจึงเปนปจจัยสําคัญที่บอกถึงประสิทธิภาพของชิปเซต เทคโนโลยีการโอนขอมูลระหวางชิปเซตนั้นมีอยูหลาย แบบดวยกัน โดยผูผลิตชิปเซตแตละยี่หอจะเปน ผูคิดคนขึ้น อยางเชน ชิปเซตจาก SiS จะใชเทคโนโลยี MuTIOL โดยสามารถสงผานขอมูลระหวางชิป North กับชิป Bridge South Bridge ไดที่ความเร็ว 1GB/s สวนถาเปนยี่หอ VIA จะใชเทคโนโลยี V-Link เปนตน

เปนสวนที่นาสังเกตวา คนสวนใหญไมเวนแตชางคอมพิวเตอรหลายตอหลายคน ยังไมเขาใจเรื่องของระบบ บัสภายในเครื่องมากนัก ทําใหเปนอุปสรรคในการเลือกซื้ออุปกรณที่เขากันไดดี ขอยกตัวอยางใหเห็นภาพงายๆ อยางนี้วา คุณอาจจะไปซื้อแรมประเภท DDR ที่ความเร็ว 333 MHz มาใชกับเมนบอรดที่สนับสนุนแรมที่ความเร็ว เพียง 266 MHz เทานั้น ถึงแมวาเครื่องจะทํางานไดตามปกติก็จริง แตถามองในแงประสิทธิภาพแลว ดูจะไม เหมาะสมนัก และก็สิ้นเปลืองโดยเปลาประโยชนอีกดวยที่เกริ่นมาขางตนเปนเพียงตัวอยางหนึ่งเทานั้น แตตอจาก นี้เราลองมาดูวาระบบบัสบนเมนบอรดเกี่ยวของหรือสัมพันธกับอุปกรณอื่นๆ อยางไร เพื่อใหเห็นภาพการทํางาน ทั้งระบบซึ่งจะนําไปสูการเลือกซื้ออุปกรณคอมพิวเตอรใหทํางานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด รูปแบบของเมนบอรด AT และ ATX การเลือกซื้อแรมเพื่อใสในเครื่องคงสรางความลําบากใจใหกับมือใหมไมนอยก็เพราะวาในปจจุบันนี้มีแรมหลาย มาตราฐานใหเลือกถึง 3 มาตรฐาน ไดแก SDRAM, DDR ,SDRAM และ RDRAM ซึ่งก็ตองเลือกเมนบอรดที่ สนับสนุนแรมเหลานี้ดวย เพื่อจะไดเขาชุดกัน อีกเรื่องหนึ่งที่สําคัญไมนอยก็คือการเลือกซื้อแรม เพราะ หลายคนมักมองขามเรื่องของคุณภาพแรม สวนใหญมักจะเลือกเอาถูกไวกอน สงผลใหเครื่องทํางานไดไมเต็มที่ หรือโอเวอรคล็อกไดนอย ในบทนี้เราก็จะมาทําความรูจักกับแรมมาตราฐานตางๆกัน แลวมาดูกันวามาตราฐาน ไหนมีประสิทธิภาพมากที่สุด อานบทนี้แลวก็จะสามารถเลือกแรมมาใชไดอยางถูกตองและใหเขากันได ตลอดจน การเลือกแรมคุณภาพสูงมาใช

แรม (Random Access Memory: RAM) เปนอุปกรณที่มีลักษณะเปนแผงวงจรรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดเล็กทํา หนาที่เก็บคําสั่งและขอมูลเพื่อรอสงใหกับซีพียูนําไปประมวลผล โดยที่ขอมูลและคําสั่งดังกลาวจะถูกโหลดมา จากฮารดดิสกอีกทีหนึ่ง คุณสมบัติที่สําคัญของแรมคือ มันจําเปนจะตองมีไฟเลี้ยงเพื่อหลอเลี้ยงขอมูล แตถาเมื่อไร ที่คุณเปดเครื่องขอมูลตางๆก็จะหายไปทันที แรมเปรียบเหมือนกับฮารดดิสกที่ใชสําหรับเก็บขอมูล แตการ ทํางานของแรมจะทําไดเร็วกวามากเนื่องจากแรมทําการอานเขียนดวยกระแสไฟฟา ผิดกับฮารดดิสกที่ตองอาศัย กลไกในการอานเขียนขอมูลลงบนจานแมเหล็ก ที่สําคัญคือ แรมมีขนาดความจุขอมูลนอยกวาฮารดดิสกหลายเทา


358 และยังเก็บขอมูลไดเพียงชั่วคราวคือในขณะเปดเครื่องเปดเครื่องเทานั้น เมื่อ ปดเครื่องขอมูลก็จะหายทันที่

แรมมีหลายชนิด ซึ่งแตละชนิดก็จะมีคุณสมบัติที่แตกตางกันไป ซึ่งแรม เหลานี้ไดถูกใชเปนมาตราฐานในสมัยตางๆตอไปนี้เปนแรมชนิดตางๆที่มีการ พัฒนาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน และแรมที่คาดวานาจะถูกใชในอนาคต FPM DRAM แรมสําหรับเครื่อง 286 FPM DRAM ( Fast Page Mode DRAM) โมดูลแบบ SIMM (Single Inline Memory Module) 30 ขา และ 72 ขา ใชกับเครื่องรุนเกา 286,386 และ 486 ปจจุบันไมมีการผลิตขายอีกแลว EDO RAM แรมสําหรับเครื่อง Pentium EDO RAM (Extended Data Output) ใชกับโมดูลแบบ SIMM 72 ขา มี ทางเดินขอมูลขนาด 32 บิต เมื่อใชกับซีพียูที่อานขอมูลทีละ 64 บิต ซึ่งก็คือซีพียูในรุนเพนเทียมเปนตนมา จึงตอง ใสเปนคู (32*2) แตถาใสกับซีพียู 486 ซึ่งเปนซีพียูแบบอานขอมูลทีละ 32 บิต จึงสามารถใสไดทีละแผง ปจจุบัน ไมนิยมใชกันแลว เพราะถูกแทนที่ดวย SDRAM SDRAM แรมที่กําลังจะเลิกใช SDRAM (Synchronous DRAM) เปนมาตราฐานแรมที่มีการใชงานสําหรับเครื่อง คอมพิวเตอรในปจจุบัน มี 168 ขาขนาด 64 บิต ใชติดตั้งบน DIMM Socket มีอยู 3 แบบ แบงตามความเร็วก็คือ PC66,PC100 และ PC133 MHz ที่ทํางานกับความเร็วบัส 66, 100 และ 133 MHz ตามลําดับ SDRAM ถูกนํามาใช แทนที่หนวยความจําแบบ EDO คุณสมบัติที่แตกตางกันของแรมชนิด SDRAM และ EDO คือ แรมแบบ SDRAM สามารถใสทีละแผงได เนื่องจากเปนแรมชนิดที่มีการทํางานแบบ 64 บิต เหมือนกับซีพียู ในขณะที่แรมชนิด EDO จะตองใสเปนคู เพราะแรมชนิดนี้มีการทํางานแบบ 32 บิตเทานั้นDDR SDRAM แรมมาตราฐานปจจุบัน DDR SDRAM (Double Data Rate SDRAM) เปนแรมที่มีการพัฒนาตอจากหนวยความจําแบบ SDRAM ใหมี ความเร็วในการทํางานทั้งของขาขึ้น และขาลงของสัญญาณ จึงทําให DDR SDRAM ทํางานไดเปน 2 เทาของ SDRAM โดยใชความถี่ในการทํางานเทากัน จากการที่ DDR SDRAM ทํางานไดเปน 2 เทาของ SDRAM ทําใหมี ผูเขาใจผิดวา DDR SDRAM ทํางานที่ความถี่เปน 2 เทาของ SDRAM แตความจริงแลว DDR SDRAM ใชความถี่ ในการทํางานเทาเดิม แตนําสัญญาณทั้งขาขึ้นและขาลงมาใช จึงทําใหทํางานไดเร็วเปน 2 เทา โดยความถี่ที่ โฆษณากันเปนความถี่เสมือน เชน DDR SDRAM PC200 กับ SDRAM PC100 ทํางานที่ความถี่ 100 เมกะเฮิรตซ เทากัน แต DDR SDRAM PC200 รับสงขอมูลไดมากกวา SDRAM PC100 เปน 2 เทา จึงถือกันวา DDR SDRAM PC200 ทํางานที่ความถี่ 200 เมกะเฮิรตซ และเนื่องจากแรมแบบ DDR SDRAM มีราคาไมแพงนัก แรมชนิดนี้จึง กลายเปนมาตราฐานใหมที่เขามาแทนที่ SDRAMRDRAM แรมสําหรับ Pentium 4 RDRAM (RAMBUS DRAM) เปนแรมที่ไดมีการคิดคนและพัฒนารูปแบบการทํางานใหมทั้งหมดโดยบริษัท แรมบัส (Rambus Inc.) โดยไดรับการสนับสนุนจากผูผลิตซีพียูยักษใหญอยางอินเทล (Intel) ใชเทคนิคการรับสงขอมูลแบบอนุกรมที่ ความถี่สูง โดยใชทั้งสัญญาณขาขึ้นและขาลงมากําหนดใหแรมทํางาน เชนเดียวกับ DDR SDRAM แมวาเสนทาง การรับสงขอมูล (Data Path) ที่แคบ แตมีความถี่ในการทํางานสูงสุดถึง 800 เมกะเฮิรตซ (400*2) ซึ่งทําใหสามารถ รับสงขอมูลไดสูงมากๆแตมีขอเสียที่รายแรงก็คือ RDRAM มีราคาตอหนวยที่สูงมากๆ(เนื่องจากการผลิตที่ ซับซอนบวกกับตนทุนในการคิดคนพัฒนาเทคโนโลยีใหมทั้งหมด)เมื่อเทียบกับ SDRAM และ DDR SDRAM แลวราคาและประสิทธิภาพที่ไดยังถือวาไมคุมคา


359

แรมกับการปอนขอมูลใหกับซีพียู CPU ถาจะถามวา อุปกรณชิ้นไหนสําคัญที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอร ก็คงตองตอบวา "ซีพียู" เนื่องจากอุปกรณ ชิ้นสวนนี้ถูกเปรียบเสมือนกับสมองที่มนุษยใชในการคิด คํานวณ สั่งงาน รวมไปถึงควบคุมการทํางานของ รางกาย และยังถูกเปรียบเทียบวาเปนหัวใจของการทํางานอีกดวยในบทนี้เรามาดูกันวา ทําไมซีพียูจึงไดถูกเปรียบ เหมือนกับสมอง และหัวใจถือวาเปนอวัยวะที่สําคัญ ที่สุดของมนุษย มาดูกันวามันมีการทํางานอยางไร พรอมทั้ง มาดูสเปคซีพียูที่กําลังขายอยูในทองตลาด

ซีพียู (CPU : Central Processing Unit) หรืออาจเรียกอีกอยยางหนึ่งวา "โพรเซสเซอร" (Processor) เปนสวนที่ ทําหนาที่หลักในการประมวลผลขอมูล ไมวาจะเปนการคิดคํานวณตัวเลข การวิเคราะหขอมูลทางตรรกะ และเมื่อ ซีพียูประมวลผลเรียบรอยแลวก็จะสั่งการใหสวนอื่นๆ ทํางานตามคําสั่ง นอกจากนี้ซีพียูยังควบคุม การทํางานของ สวนตางๆ ในระบบคอมพิวเตอร เราจึงเปรียบซีพียูเหมือนกับสมอง และหัวใจของมนุษยที่จะขาดอวัยวะเหลานี้ ไมได ดังนั้นซีพียูจึงเปนอุปกรณที่สําคัญที่สุด และก็มีราคาแพงที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอรซีพียูสามารถแบงออก ได 2 แบบ ไดแก ซีพียูแบบชิปจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีขาอยูดานลางมากมาย สําหรับติดตั้งลงบนซ็อกเกต (Socket) สวนอีกแบบหนึ่งเปนแบบการด จะมีลักษณะเปนแพ็คเกจสี่เหลี่ยมผืนผา ขางในจะเปนแผนวงจรที่ใชติดตั้งชิปซีพียูอีกทีหนึ่ง สวนดานลางของแผนวงจรจะมีแถบขาทองแดงที่ใช ติดตั้งลง บนสล็อต(Slot)

ซีพียูที่ใชกันอยูทุกวันนี้ผลิตจากผูผลิตชั้นนํา 3 บริษัทดวยกัน ไดแก อินเทล (Intel), เอเอ็มดี และเวียร(AMD) (VIA) แตละบริษัทตางก็ผลิตซีพียูออกปอนตลาดในระดับตาง ๆ ทั้งระดับลาง ระดับกลาง และระดับสูงซึ่งซีพียูแต ละยี่หอตางก็คุณสมบัติที่แตกตางกันไป ทั้งทางดานราคา และประสิทธิภาพในการทํางาน ในสวนนี้เราจะมาดูกัน วา แตละบริษัทผลิตซีพียูอะไรออกวางตลาดกันบาง บริษัท Intel Corporation อินเทล (Intel) เปนบริษัทผูผลิตซีพียูที่เกาแกที่สุด และก็เปนผูนําทางดานเทคโนโลยีการผลิตซีพียูที่ไดรับความ นิยมมากเปนอันดับหนึ่ง เนื่องจากมีการพัฒนามาอยางตอเนื่องและยาวนานที่สุด เริ่มตั้งแตรุน 80800, 80286, 80386, 80486, เพนเทียม (Pentium), เพนเทียม เอ็มเอ็มเอ็กซ (Pentium MMX),เพนเทียมโปร (Pentium Pro) เพ นเทียมทู (Pentium II), เซลเลอรอน (Celeron) เพนเทียมทรี (Pentium III) และลาสุดก็คือ เพนเทียมโฟว (Pentium 4) อินเทลมีเว็บไซตชื่อ www.Intel.com สําหรับใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับผลิตภัณฑของอินเทล รวมถึงการ แกปญหาตางๆ เพื่อเปนการสนับสนุนทางดานขอมูล และบริการสําหรับลูกคาทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีลิงคเชื่อมไป ยังประเทศตางๆ รวมถึงประเทศไทยดวย บริษัท Advanced Micro Devices, Inc. (AMD) เอเอ็มดี (AMD) เปนบริษัทคูแขงที่สําคัญของอิเทล ปจจุบัน ซีพียูจากเอเอ็มดีมีประสิทธิภาพสูงมาจนเปนที่ยอมรับของตลาดบานเราแลว และกําลังไดรับความนิยมมากขึ้น เรื่อยๆ ซีพียูจากเอเอ็มดี เชน k5,k6,k6-2,k6-lll,k7 Athlon, Duron, Athlon Thunderbird และซีพียูรุนลาสุดคือ Athlon XP เอเอ็มดีมีเว็บไซต ชื่อ www.amd.com สําหรับใหขอมูลขาวสารมากมาย รวมถึงการแกปญหาตางๆ เพื่อ ประโยชนสําหรับลูกคา ทั่วโลก นอกจากนี้ยังมีเว็บไซตที่เปนภาษาตางๆ รวมถึงประเทศไทยดวย บริษัท VIA Techmologies, Inc. เวียร (VIA) ไดซื้อกิจการตอจากบริษัท Cyrix (ผูผลิตซีพียูยี่หอ Cyrix) และบริษัท IDT (ผูผลิตซียูยี่หอ Winchip) แลวทําการพัฒนาตอ แตปจจุบันยังไดรับความนิยมนอยอยูเมื่อเทียบกับซีพียูจากอิน


360 เทลและเอเอ็มดี แตก็เปนซีพียูที่มีราคาถูกและมีคุณภาพใชได เปนอีกทางเลือกหนึ่งของผูที่ตองการซีพียูราคาถูก ซีพียูจากเวียรรุนลาสุดก็คือ VIA Cyrix M lll หรือ VIA Cyrix lll นั่นเอง VIA มีเว็บไซตชื่อ www.via.com.tw หรือ www.cyrix,com สําหรับใหขอมูลขาวสารมากมายรวมถึงการแกปญหาตางๆ เพื่อประโยชนสําหรับลูกคาทั่วโลก

ความเร็วในการทํางานของซีพียู หนวยความจําแคช (Memmory Cache) เทคโนโลยีซีพียูจาก Intel เทคโนโลยีซีพียูจาก AMD เทคโนโลยีซีพียูจาก VIA สิ่งสําคัญที่สุดที่เปนตัวบงบอกวาคอมพิวเตอรเครื่องไหนทํางานไดเร็วกวากัน เราก็มักจะดูกันที่ความเร็วซีพียู เปนหลัก ซึ่งความเร็วของซีพียูที่วานี้จะมีหนวยเปน เมกะเฮิรตซ (MHz) และกิกะเฮิรตซ (GHz) โดยความเร็วที่เรา อางถึงก็คือ ความเร็วของสัญญาณนาฬิกานั่นเองหรือจะเรียกวาสัญญาณ "Clock" ก็ได โดยสัญญาณนาฬิกาที่วานี้ จะเปนตัวกําหนดจังหวะในการทํางานใหกับอุปกรณภานในเครื่องคอมพิวเตอร เทียบไดกับการแขงเรือพาย ที่ จําเปนตองมีผูคอยใหจังหวะในการพายเรือเพื่อใหฝพายเกิดความพรอมเพียงกัน ความเร็วของซีพียู (CPU Speed) คือ ตัวเลขที่ใชวัดความเร็วในการทํางานของซีพียูในแตละตระกูลโดยซีพียูในแตละตระกูลจะมีหลายความเร็วให เลือก อยางเชนซีพียูในตระกูล Pentium III ก็จะมีหลายความเร็ว ใหเลือกตั้งแต 450,500 และ 550 เมกะเฮิรตซ เปน ตน

หนวยวัดความเร็วซีพียูที่ควรรู ความเร็วในการทํางานของซีพียูนี้จะวัดกันในหนวยเมกะเฮิรตซ (MHz = ลานรอบตอวินาที) แตซีพียูในปจจุบันนั้นเร็วกวาเมื่อกอนมาก ดังนั้นจะเห็นไดจากซีพียูรุนใหมๆ จะมีความเร็ว สูง ถึงระดับกิกะเฮิรตซ (GHz) โดยในสวนของ "เมกะ" จะแทนดวยตัวอักษร "M" ซึ่งมีคา เทากับ 1,000,000 ในสวนของ "เฮิรตซ" จะแทนดวยตัวอักษร "Hz" ซึ่งหมายถึง รอบตอ วินาที • 1 MHz (Mega Hertz) = 1,000,000 Mz 1 หรือ 1 ลานเฮิรตซ • 1 GHz (Giga Hertz) = 1,000,000,000 Hz หรือ 1 พันลานเฮิรตซ เครื่องที่มีซีพียูความเร็วสูงอาจทํางานไดชากวาเครื่องที่มีซีพียูความเร็วต่ํากวา เครื่องคอมพิวเตอรจะทํางานไดเร็วหรือชานั้น ไมไดขึ้นอยูกับซีพียูแตเพียงอยางเดียว แตยัง ขึ้นอยูกับอุปกรณอื่นๆ ดวย อยางเชน ขนาดของหนวยความจํา ความเร็วของฮารดดิสกและ การดแสดงผล เปนตน ดังนั้นเครื่องที่มีซีพียูความเร็วสูงๆก็ไมไดหมายความวาจะทํางานเร็ว กวาเครื่องที่มีซีพียูความเร็วต่ํากวาเสมอไป หนวยความจําแคช Cache Memory หนวยความจําแคช เปนสวนที่ใชสําหรับเก็บขอมูลหรือคําสั่งแบบชั่วคราว กอนจะปอนใหซีพียู ประมวลผล โดย ขอมูลหรือคําสั่งดังกลาวก็จะเปนสวนที่มีการเรียกใชงานจากซีพียูบอยๆ เพื่อเวลาที่ซีพียูตองการใชขอมูลเหลานั้น ก็จะสามารถคนหาไดอยางรวดเร็ว โดยไมจําเปนที่จะตองไปคนหาจากหนวยความจําแรม หรือจากฮารดดิสก ที่มคี วามเร็วชากวา (แคชจะมีความในการทํางานเกือบเทากับความเร็วซีพียู ขณะที่ SDRAM มีความเร็วประมาณ 6ns และฮารดดิสกมีความเร็วประมาณ10ms)หนวยความจําแคชเปนหนวยความจําแบบ Static RAM (SRAM) ที่มี คุณสมบัติหลักคือมีความเร็วในการทํางานสูง แตราคาแพงกวาหนวยความจําหลักของระบบที่เปนแบบ Dynamic


361 RAM (DRAM) อยูมากทําใหขนาดของหนวยความจําแคชถูกจํากัดใหมีขนาดเล็ก หนวยความจําแคชระดับ 1 (Cache Level 1 : L1) เปนแคชที่สรางอยูภายในตัวซีพียู เราเรียกวา อินเทอรนอลแคช (Internal Cache) มีขนาดใหญไมใหญนัก หนวยความจําแคชระดับ 1 จะมีอยูในซีพียูทุกชนิด ทุกรุนทีมีขายอยูใน ทองตลาดในปจจุบัน เชน ในซีพียูเพนเทียมทรี หรือเพนเทียมทู จะมีหนวยความจําแคชระดับ 1 ขนาด 32 KB โดย แบงเปน 16 KB สําหรับแคชคําสั่ง และอีก 16 KB สําหรับแคชขอมูล หนวยความจําแคชระดับ 2 (Cache Level 2 : L2) มีทั้งแบบที่สรางอยูภายในตัวซีพียูและแบบที่อยู ภายนอก ถา ซีพียูคาหาขอมูลจากแคชระดับ 1 ไมพบ ก็จะทําการคนหาตอที่แคชระดับ 2 ซึ่งขนาดของแคชระดับ 2 นั้นก็จะ แตกตางกันตามรุนและชนิดของซีพียู เชน ซีพียูเซลเลอรอนจะมีหนวยความจําแคชระดับ 2 ขนาด128 KB สวน ซีพียูเพนเทียมทรี และเพนเทียมทูจะมีขนาด 512 KB แคชระดับ 2 นี้มีทั้งแบบที่สรางมาบนตัวซีพียูเลย เชน เพ นเทียมทู เพนเทียมทรี แตถาเปนซีพียู 6x86,K5 เพนเทียม MMX จะไมมีหนวยความแคชระดับ 2 มาดวย ซีพียูจึง มองแคชบนเมนบอรดเปนแคชระดับ 2 แทน หนวยความจําแคชระดับ 3 (Cache Level 3 : L3) เปนแคชที่อยูภายนอกตัวซีพียู เราเรียกวา เอ็กเทอรนอลแคช (External Cache) โดยแคชในระดับนี้จะเปนแคชที่ติดตั้งอยูบนเมนบอรดเทานั้น เนื่องจากซีพียู K6-lll นั้น จะมี หนวยความจําแคชระดับ 2 ที่ถูกสรางอยูภายในตัวซีพียูเลย แตในขณะเดียวกันบนเมนบอรดที่ใชสําหรับซีพียู K6lll นั้นก็ยังคงมีหนวยความจําแคชมาดวย ทําใหซีพียูมองหนวยความจําแคชบนเมนบอรดที่เคยเปนแคชระดับ 2 เดิมนั้น เปนหนวยความจําแคชระดับ 3 แทน

รูปแสดง ลําดับการคนหาขอมูลของซีพียู จากรูป แสดงลําดับในการคนหาขอมูลที่ซีพียูจําเปนตองใชในการประมวลผล โดยมักจะเริ่มคนหา ที่แคช ระดับ 1 กอนเปนอันดับแรก ถาภายในแคชระดับ 1 ไมมีขอมูลที่ซีพียูตองการ มันก็จะไปคนหาตอที่ แคชระดับ 2 และ 3 ตามลําดับ ถายังไมพบก็จะคนหาตอที่แรม และสุดทายก็คือคนหาที่ฮารดดิสก 1 KB และ 1 MB หมายถึงอะไร? ขอมูลในทางคอมพิวเตอรจะเปนขอมูลที่ถูกเก็บเปนตัวเลขทั้งหมด โดยอักษรแตละตัวจะ เรียกวา ไบต (Byte) ซึ่ง 1 ไบตนี้จะเทากับ 8 บิต คําวาบิตนี้เปนหนวยขอมูลที่เล็กที่สุดในแตละ บิตจะหมายถึงตัวเลข 1 กับ 0 เทานั้น สรุปไดวา ขอมูลทั้งหลายที่ปรากฏอยูบนจอภาพนั้นจะถูก แทนดวยตัวเลข 1 และ 0 ทั้งหมด โดย 1 ตัวอักษร (1 ไบต) จะประกอบดวยตัวเลข 1 และ 0 ทั้งหมด 8 ตัว เกิดเปนรหัสขอมูล • 1 Byte = 1 ตัวอักษร • 1 KB (Kilo Byte) = 1,024 Byte • 1 MB (Mega Byte) = 1,048,576 Byte คงไมมีใครไมรูจักอินเทล อยางนอยๆ ก็คงเคยไดยินโฆษณา Intel Inside มาบาง สําหรับซีพียูจากคาย อินเทลนี้ก็ นับวายังครอบตําแหนงแชมป โดยสามารถครองสวนแบงทางการตลาดซีพียูมากเปนอันดับ 1 ตลอดกาล ณ วันนี้ แมวาชื่อเสียงของอินเทลจะสั่นคลอนไปบาง อันเนื่องจากคูแขงขันอยางเอเอ็มดีทํากําลังดีวัน ดีคืน และสามารถชิง สวนแบงไปไดไมนอย แตอิเทลก็ยังปลอยซีพียูออกมาขับเคี่ยวแบบตาตอตา ฟนตอฟนเรามาดูกันวาซีพียูจากคาย อินเทลที่กําลังวางตลาดอยูในขณะนี้ มีตระกูลไหนบาง


362 Pentium 4 แกน Willamette ซีพียูรุนใหมลาสุดจากอินเทลภายใตชื่อรหัสวา "Willamette" หรือจะเรียกวา "แกน Willamette" ก็ได ตอมาได ชื่ออยางเปนทางการวา "Intel Pentium 4 Prpcessor" เขามาแทนที่ Pentium III ออกวางตลาด ดวยความเร็วเริ่มตน ที่ 1.4 GHz และ 1.5 GHz และมาสิ้นสุดที่ 2 GHz ใชสถาปตยกรรมใหมลาสุดที่ชื่อ Intel Netburst mmicroarchitecture ซึ่งถูกออกแบบใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ไมวาจะเปนการประมวลผลขอมูลที่มี ปริมาณมากๆการประมวลผลภาพกราฟก 3 มิติ ภาพวิดีโอ ระบบเสียง การเลนเกมที่มีลักษณะอินเตอรแอคทีฟ นอกจากนี้ยังไดเพิ่มชุดคําสั่งใหมเขาไปอีก 144 ชุดคําสั่งใน SSE 2 สําหรับ Socket ที่ใชในการติดตั้งซีพียู Pentium 4 นั้นจะมีชื่อวา Socket 423 ความเร็ว (Core Speed)

1.3,1.5,1.6,1.7,1.8,1.9,2.0,GHz

ความเร็วบัส (System Bus)

400 MHz FSB

ไฟเลี้ยง (Vcore)

1.7 โวลต

ชองติดตั้งซีพียู (Socket)

Socket 423

แคชระดับ 1 ขนาด 32 KB (Execution Trace ขนาดหนวยความจํา Cache) แคช(Cache) แคชระดับ 2 ขนาด 256 KB (Advance Transfer Cache) ขนาดเทคโนโลยี การผลิต

0.18 ไมครอน

สถาปตยกรรม

Intel NetBurst Micro-Architecture

ชุดคําสั่ง

SSE 2 (Streaming SIMD Extensions)

Pentium4แกนNorthwood หลังจากที่ซีพียู Pentium 4 แกน Willamette ออกไปไมนาน ทางอินเทลก็ปลอย Pentium 4 รุนที่ 2 ออกมาอีก ใช ชื่อรหัสวา "Nothwood" โดยไดตลอดขนาดของการผลิตลงจากเดิม 0.18 ไมครอน มาที่ 0.13 ไมครอน (กินไฟ นอยลง) เพื่อทะลวงขอจํากัดทางดานความเร็วที่ไปหยุดอยูแค 2 GHz โดยในรุนนี้ตัวซีพียูจะมีขนาดเล็กลงกวาเดิม มากและใชกับ Socket 478 ซึ่งเปน Socket แบบใหม แมวาจํานวนขาของซีพียูจะมาขึ้นกวาเดิม แตจะมีขนาดเล็ก กวาเดิมมากสวนเทคโนโลยีตางๆยังคงเหมือนกับแกนWillamette


363 2.0 - 3+ GHz ความเร็ว (Core Speed)

ความเร็วบัส (System Bus)

400, 533 MHz FSB

ไฟเลี้ยง (Vcore)

1.5 โวลต

ชองติดตั้งซีพียู (Socket)

Socket 478

แคชระดับ 1 ขนาด 32 KB(Execution Trace ขนาดหนวยความจํา Cache) แคช(Cache) แคชระดับ 2 ขนาด 5125 KB (Advance Transfer Cache) ขนาดเทคโนโลยีการ 0.13 Micron ผลิต สถาปตยกรรม

Intel NetBust Micro-Architecture

ชุดคําสั่ง

SSE 2 (Streaming SIMD Extensions) ที่เพิ่ม ชุดคําสั่งใหม 144 คําสั่ง

สําหรับซีพียู Pentium 4 แกน Northwood ที่มีความเร็วเทากับแกน Willamette จะใชอักษรA ตอทาย ความเร็ว เพื่อ ระบุวาเปนแกน Northwood เชน ถาเปน pentium 4 ความเร็ว 1.6 GHz ก็จะสกรีนวา 1.6A ดังรูป Pentium4แกนNorthwoodบัส533MHz อีกเรื่องหนึ่งที่สําคัญก็คือ จะเห็นวาในชวงเดือนตุลาคุม ป 2545 นี้มีเมนบอรดที่รองรับความเร็วบัส 533 MHz ออกมาจํานวนมาก ซึ่งเมนบอรดเหลานี้ออกมาเพื่อรองรับซีพียู Pentium 4 ในรุนความเร็ว 2.26 และ 2.40 GHz ขึ้น ไป ที่ใชระบบบัส 533 MHz FSB โดยการเปลี่ยนแปลงระบบัสจากเดิม 400 MHz FSB ไปเปน 533 MHz FSB เปน การเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานระหวางซีพียูกับระบบ ซึ่งจะชวยใหความเร็วโดยรวมของเครื่องดีขึ้น CeleronTualatin ซีพียูราคาประหยัดที่ทางบริษัท Intel ผลิตออกมาเพื่อหวังเจาะตลาดระดับลาง และเพื่อการแขงขันกับบริษัท AMD โดย Celeron Tualatin ไดเพิ่มคําสั่งทางดานมัลติมีเดีย (ชุดคําสั่ง SSE ที่ใชใน Pentium III ) เพื่อเพิ่ม ความสามารถใหมากกวา Celeron ในรุนเดิม ใชเทตโนโลยีการผลิตขนาด 0.13 ไมครอน เทากับ Pentium 4 Northwood และมีการเพิ่ม L2 Cache เปน 256 KB ไดรับการออกแบบการตอเชื่อมลายวงจรโดยใชสารทองแดง (Copper Interconnection) แทนอะลูมิเนียม ซึ่งสงผลทําใหมีประสิทธิภาพการทํางานที่เร็วขึ้น


364

ความเร็ว (Core Speed)

1.4 GHz

133 MHz FSB

ความเร็วบัส (System Bus) ไฟเลี้ยง (Vcore)

1.3 โวลต

ชองติดตั้งซีพียู (Socket)

Socket 370 (สนับสนุน Tualatin CPU)

ขนาดหนวยความจําแคช(Cache)

แคชระดับ 1 ขนาด 32 KB แคช ระดับ 2 ขนาด 256 KB

ขนาดเทคโนโลยีการผลิต

0.13 Micron

สถาปตยกรรม

P6 Dynamic Execution Microarchitecture SSE 2 (Streaming SIMD Extensions) ที่เพิ่มชุดคําสั่งใหม 144 คําสั่ง

ชุดคําสั่ง

สําหรับซีพียูจากคาย AMD ที่กําลังเปนที่นิยมอยูในขณะนี้ก็คือ Athlon XP โดยคําวา "XP" ยอมาจาก "Extreme Performance" ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 รุน โดยในรุนแรกใชแกนที่มีชื่อรหัสตามสายการผลิตวา "พาโลมีโน" (Palomino) และ "เธอโรเบรด" (Thoroughbred) แตกอนที่จะทําความรูจักกับซีพียูจากเอเอ็มดี ใหลองทําความ เขาใจกับ รูปแบบการแจงความเร็วที่ทางเอเอ็มดีเปลี่ยนใหมเสียกอน ทางเอเอ็มดีไดเปลี่ยนรูปแบบการแจงความเร็วของซีพียู แบบใหม โดยจะวัดตาม PR Rating (Performance Rating) ซึ่งก็คือคาความสามารถในการประมวลของซีพียู โดย ไมไดใชเรื่อง MHz/GHz เหมือนเดิมอีกแลว แตกลับมาแขงเครื่องประสิทธิภาของซีพียูในการประมวลผลแทน ซึ่ง คา PR Rating นี้จะเปนคาที่ เปรียบเทียบกับ Athlon Thunderbird เดิม ไมใชเปนการเปรียบเทียบความเร็วกับซีพียู จากคาย Intel แตอยางใด ซึ่งในชางเปดตัด AMD ไดสงออกมาทั้งหมด4รุนไดแก -AthlonXP 1500+ PR = 1.33 GHz -AthlonXP 1600+ PR = 1.4 GHz


365 -AthlonXP 1700+ PR = 1.47 GHz -AthlonXP 1800+ PR = 1.53 GHz จะเห็นไดวาซีพียูจาก AMD ภายใตชื่อ Athlon XP จะมีเครื่องหมายบวกเพิ่มเขามา เพื่อบอกวา Athlon รุนนี้มี ประสิทธิภาพเหนือกวารุน Thunderbird รุนกอนหนาเทาไร โดยตัวเลขเทียบไดกับความเร็วสัญญาณนาฬิกาของ รุนThunderbied ที่เทียบกับรุน XP AthlonXP แกน Palomino จุดเริ่มตนของ Athlon XP แกน Palomino จะคลายกับ Pentium 4 รุนแรกที่ใชแกน Willamette คือจะใช สถาปตยกรรมแบบใหม แตใชขนาดเทคโนโลยีการผลิตเทาเดิมคือ 0.18 ไมครอน สวน Athlon XP ตัวนี้ก็ เหมือนกันคือ ทําการพัฒนาตอจาก Athlon Thuderbied ตัวเดิมที่มีขนาดการผลิต 0.18 ไมครอน ใชสถาปตยกรรม แบบใหมที่เรียกวา "QuantiSpeed Architecture" มาพรอมกับเทคโนโลยี3Dnow! Professional ที่เพิ่มชุดคําสั่งใหม 72 ชุดคําสั่ง สนับสนุน FSB 266 MHz ที่ทํางานในแบบ Double Data Rate (DDR) กับความเร็วบัส 133 MHz มี หนวยความจําแคช L1 ขนาด 128 KB และ L2 ขนาด 256 KB ความเร็ว Speed)

(Core

1500+ - 2100+ GHz

ความเร็วบัส (System Bus)

266 MHz FSB

ไฟเลี้ยง (Vcore)

1.7 โวลต

ชองติดตั้งซีพียู (Socket)

Socket A

ขนาด แคชระดับ 1 ขนาด 128 KB แคชระดับ 2 ขนาด หนวยความจําแคช 256 KB (Cache) ขนาดเทคโนโลยี การผลิต

ใชเทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน โดย มีทองแดงเปนตัวเชื่อมตอภายใน (Copper Interconneet) จากเมื่อกอนที่ใชอะลูมิเนียม (Aluminium Interconnect)

สถาปตยกรรม

QuantiSpeed Architecture

ชุดคําสั่ง

3Dnow ! Professional Technolgy (เพิ่ม 27 ชุดคําสั่งจาก 3Dnow!)

AthlonXPแกนThoroughbred ซีพียู Athlon XP รุนที่ 2 ที่เขามาแทน Palomino ดวยแกนที่มีชื่อวา "Thoroughbred" ที่ใชเทคโนโลยี การผลิตขนาด 0.13 ไมครอน เชนเดียวกับ Pentium 4 Northwood ของอินเทล โดยเริ่มตนที่รุน Athlon XP 2200+ ซึ่งมีความเร็วในการทํางาน 1.8 GHz และยังคงใช Socket 462 เชนเดิม หรือที่คุนกันในชื่อ Socket A เดิม โดยทั่วไปแลว Palomino และ Thoroughbred ไมมีความแตกตางกันในเรื่องของสถาปตยกรรมพื้นฐาน จะตางกัน เพียงแคเทคโนโลยีในการผลิตเทานั้นโดยลดจาก0.18มาเปน0.13


366 AthlonXPThoroughbredบัส333MHz เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอีกครั้งกับซีพียู Athlon XP Thoroughbred เมื่อทางเอเอ็มดีไดมีการ เปลี่ยนแปลงขนาด ของ Die Size (แกน) เพิ่มขึ้นอีก 4 mm ทางเอเอ็มดีจะเรียกวา Thoroughbred "B" และไดเพิ่มความเร็วบัส FSB เปน 333 MHz จากเดิมที่ใชความเร็ว FSB 266 MHz ก็เหมือนกับที่ทาง Intel ปลอยซีพียูบัส 533 MHz ออกมาแทนรุนที่ ใชบัส 400 MHzสําหรับซีพียู Athlon XP บัส 333 MHz จะเริ่มตนที่รุน Athlon XP 2600+ ซึ่งมีความเร็ว 2.13 GHz และตอมาก็เริ่มผลิต Thoroughbred "B" ที่รุน ความเร็วต่ํา ๆ อยางรุน 2000+,2200+,2400+,2600+,2700+ และ 2800+แตอยาลืมวาจะตองใชกับเมนบอรดที่สนับสนุนความเร็ว333MHzดวยเมื่อดูจากรูปจะเห็นวาหนาตาของ ซีพียู Athlon XP ใชแกน Thoroughbred "B" จะเหมือนเดิมทุกอยางแตจะมีขนาดของDieSizeใหญกวาเดิมเล็กนอย เทานั้น ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของซีพียู AMD Athlon XP & Intel Pentium 4 Processor Codename

AMD Thunderbird

AMD Palomino

AMD Thoroughbred

Intel Northwood

Micron Process

0.18 micron

0.18 micron

0.13 micron

0.13 micron

FSB operation 200 MHz (100x2)

266 (133x2)

266 MHz (133x2)

533 MHz (QDRx133)

Center Size

128 mm

128 mm

80 mm

146 mm

256 KB

256 KB

256 KB

512 KB

Voltage Drain 1.75 V

1.75 V

1.65 V

1.5 V

L2 Cache

Die

MHz

เปนอีกคายหนึ่งที่ผลิตซีพียูออกจําหนวยแขงกับอินเทลและเอเอ็มดี แตดวยคุณภาพที่ยังดอยกวา คูแขงขันอยูมาก ซีพียูจากเวียรจึงเหมาะกับเครื่องระดับลางเทานั้น แตก็มีจุดเดนตรงราคาที่ถูกมากเหมาะกับผูใชทั่วไปซึ่งมีรุนที่นาสนใจดังนี้VIA Cyrix III Cyrix lll จาก VIA ซึ่งวางกลุมเปาหมายใหอยูในตลาดระดับลาง มีความเร็วเริ่มจาก 533 MHz ไป จนถึง 667 MHz โดยจะติดตั้งอยูบน Socket 370 ใชเทคโนโลยีการผลิตที่ 0.18 ไมครอน เปนรุน ทีม่ ี แคชระดับที่ 1 สูงถึง 128 กิโลไบต ติดตั้งแบบ on - die คือผนวกอยูบนแกนซีพียูนั่นเอง แตไมมีแคชระดับ ที่ 2 ทํางาน ที่ความบัส 100 เมกะเฮิรตซ เหมาะสําหรับการใชงานทั่วๆไป เชน การใชโปรแกรมไมโครซอฟตออฟฟศ การ หนัง ฟงเพลง มีชุดคําสั่ง MMX กับ3D Now! ที่ชวยประมวลผลดานกราฟก และมัลติมีเดียแตดวยการที่ ไมมีแคชระดับที่ 2 ทําใหประสิทธิภาพในการทํางานดานกราฟก เลนเกม 3 มิติ และงานที่ตองการการ ประมวลผลสูงทําไดไมดีนักทั้งหมดนี้คือซีพียูจากคายตางๆที่กําลังออกสูตลาดคอมพิวเตอรบานเรา


367

เนื่องจากขอมูลและโปรแกรมตางๆ นั้นมีขนาดใหญเกินกวาที่จะเก็บลงแผนดิสกไดหมด ทําใหตองมีฮารดดิสก เอาไวเก็บขอมูลเหลานี้แทน ฮารดดิสกไดถูกพัฒนาใหมีความจะมากขึ้นเรื่อยๆ จนถึงปจจุบันมีความจะมากกวา 200 เมกกะไบตแลวนอกจากการพัฒนาทางดานความจุของฮารดดิสกแลว ในดานความเร็วก็มีการพัฒนาควบคูไป ดวย โดยเฉพาะเมื่อมีการเปลี่ยนมาตรฐานจากเดิมที่เปนแบบ Ultra ATA ไปสู Serial ATA ซึ่งก็ชวยเพิ่มความเร็ว ในการรับสงขอมูลระหวางฮารดดิสกกับระบบไดมากถึง 150 เมกกะไบตตอวินาที สูงกวามาตรฐานเดิมที่มี ความเร็วแค 133 เมกกะไบตตอวินาทีเทานั้น

ฮารดดิสก (Harddisk) เปนอุปกรณทีสามารถเก็บขอมูลไดมากและเก็บไดอยางถาวรโดยไมจําเปนตองมีไฟฟามา หลอเลี้อยงตลอดเวลาเหมือนกับหนวยความจําแรม เมื่อปดเครื่องขอมูลก็จะไมสูญหายไปไหน จากคุณสมบัติเหลา รี้เองทําใหฮารดดิสกถูกใชเปนไดรวหลักในการเก็บระบบปฏิบัติการ โปรแกรมและขอมูลตางๆ นอกจากนี้พื้นที่ ของฮารดดิสกบางสวนยังถูกนํามาจําลองเปนแรมเสมือนหรือ Visual Memory อีกดวย ซึ่งชวยใหเครื่องทํางานได เร็วขึ้น

ปจจุบันฮารดดิสกมีรูปแบบการเชื่อมตออยู 3 มาตรฐาน ไดแก E-IDE, SCSI และลาสุดคือ Serial ATA ซึ่ง ฮารดดิสกทั้ง 3 แบบมีประสิทธิภาพ และ การใชงานที่แตกตางกันดังนี้ ฮารดดิสกมาตรฐาน E-IDE E-IDE (อานวา "อี-ไอดีอี") ยอมาจากคําวา Enhances Integrated Drive Electronics เปนฮารดดิสกที่ไดรับการ พัฒนาตอจากฮารดดิสกแบบ IDE (Integrated Drive Electronics) ซึ่งเปนมาตรฐานดั้งเดิมที่มีขอจํากัดในเรื่องของ ความจุคือ มีความจุเพียง 528 MB แตฮารดดิสกแบบ E-IDE สามารถจุขอมูลไดมากถึงระดับกิกะไบต ลาสุด สามารถพัฒนาความจุไดมากถึง 200 กิกะไบต ในสวนของชองที่ใชเชื่อมตอแบบE-IDE นี้จะมีจํานวน 40 ขา โดยจะเชื่อมตอเขากับสายสัญญาณหรือที่อาจจะเรียกวา "สายแพ" ก็ได เครื่องคอมพิวเตอรแตละ เครื่องจะสามารถตอฮารดดิสกได 4 ตัว ฮารดดิสกแบบE-IDE เปนมาตรฐานที่นิยมใชกันโดยทั่วไป เนื่องจากมี ราคาถูก หาซื้องาย และมีการติดตั้งไมยุงยาก ฮารดดิสกมาตรฐาน SCSI SCSI(อานวา "สกัซ-ซี") ยอมาจากคําวา Small Computer System Interface เปนฮารดดิสกที่มีจุดเดนในเรื่องของ


368 ความจุที่มีมากกวาแบบ E-IDE และมีความเร็วในการสงถายขอมูลกวาแบบ E-IDE นอกจากนี้ยังสามารถตอพวง กันไดมากดวย (7-15 ตัว) ฮารดดิสกแบบ SCSI เหมาะที่จะใชสําหรับเครื่องประเภทเครื่องแมขาย (Server อาานวา เซิรฟเวอร) มากกวาเครื่องที่ใชตามบาน เนื่องจากมีราคาแพง และมีการติดตั้งที่ยุงยากกวา เพราะจะตองมีการ ติดตั้งการดควบคุมเพิ่มเติม ในการติดตั้งจะตองใชสายสัญญาณแบบ 50 ขา จะเห็นวาสายสัญญาณของฮารดดิสก แบบ SCSI จะใหญกวาแบบ E-IDE ที่มีแพียง 40 ขา ฮารดดิสกมาตรฐาน Serial ATA สําหรับอฮารดดิสกมาตรฐานใหมลาสุดในนาม Serial ATA มีจุดเดนอยูที่สามารถพัฒนาความเร็วในการโอน ขอมูลระหวางฮารดดิสกกับระบบไดสูง กวามาตรฐานเดิม Ultra ATA (E-IDE) ที่มาตันอยูที่ความเร็ว 133 เมกกะไบตตอวินาที ขณะที่มาตรฐาน Serial ATA มีความเร็วสูงถึง 150 เมกกะไบตตอวินาที และเปนที่คาดวาจะ สามารถพัฒนาความเร็วไดสูงสุดถึง 600 เมกกะไบตตอวินาที

ฮารดดิสก IDE และ E-IDE ไดมีการพัฒนาในเรื่องของการรับสงขอมูลอยูอยางตอเนื่องควบคูไปกับการพัฒนา ความเร็วในการหมุนจานดิสก ซึ่งโหมดการรับสงขอมูลหรือ Transfer Mode ที่วานี้ ชวยทําใหการทํางานมี ประสิทธิภาพขึ้น ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 แบบ คือ 1. แบบ PIO (Programmed Input/Output ) เปนโหมดการรับสงขอมูลผานซีดียู โดยฮารดดิสกที่มีการทํางานใน โหมดนี้จะตองอาศัยซีพียูชวยโอน ยายขอมูลให ทําใหเสียเวลาการทํางานของซีพียู 2. DMA (Direct Memory Access ) เปนโหมดการทํางานที่สามารถทําการรับสงขอมูลได โดยตรงระหวางแรม กับฮารดดิสก โดยไมตองผานซีดียู ซึ่งจะกินเวลาในการทํางานของซีพียูนอยลง เพราะไมตองขัดจังหวะใหซีพียู ชวยโอนยายขอมูล

ในหัวขอนี้จะพูดถึงมาตรฐานในแงของการพัฒนาทางดานความเร็ว เนื่องจากอุปกรณตางๆ ในคอมพิวเตอร ไม วาจะเปนซีพียู แรม การดแสดงผล ไดถูกพัฒนาใหมีความเร็วในการทํางานเพิ่มขึ้น ประกอบกับซอฟตแวร ระบบปฏิบัติการ และโปรแกรมมีขนาดใหญขึ้น เหตุนี้เองที่ทําใหตองมีการพัฒนาฮารดดิสกใหมีการรับสงขอมูล ไดมากขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นเครื่องคอมพิวเตอรที่มีอารดดิสกทํางานเร็ว ๆ ก็ยิ่งทําใหความเร็วโดยรวมของเครื่องสูงขึ้น ไปดวย

ฮารดดิสกแบบ IDE หรืออาจเรียกวา ATA (AT Attachment) นี้สามารถตอกับฮารดดิสกที่มี ความจุไมเกิน 528 เมกกะไบต ที่ใชกันในคอมพิวเตอรรุน 486 ใชการรับสงขอมูลในโหมด PIO (Programmed Input/ Output) Mode 0,1 และ 2 ไมสามารถตอกับอุปกรณ อื่นๆได นอกจากฮารดดิสกเพียงอยางเดียว ตอมาถูกพัฒนาเปนแบบ E-IDE เปนการพัฒนาตอจากมาตราฐาน IDE หรือ ATA ทําใหสามารถรับสงขอมูลไดรวดเร็วขึ้นและสามารถเชื่อมตอกับฮารดดิสกที่มีขนาดเกิน 528


369 เมกกะไบตได และพัฒนาใหสามารถเชื่อมตอกับอุปกรณอื่นๆ ไดอีก เชน ซีดีรอมไดรว หรือเทปไดรว โดยการ เชื่อมตอแบบ E-IDE นี้จะใชการสงขอมูลในโหมด PIO Mode 3 และ 4 เริ่มใชกับคอมพิวเตอรในรุนเพนเทียมเปน ตนมา

ฮารดดิสกมาตรฐาน Ultra ATA/33 ฮารดดิสกมาตรฐาน Ultra ATA/33 เปนฮารดดิสกแบบ E-IDE ที่มีการรับสงขอมูลผานทาง DMA (Direct Memory Access) ซึ่งจะชวยลดระยะเวลาการอาน/เขียนขอมูลจากบัฟเฟอร (Buffer) ของฮารดดิสกมีอัตราการ รับสงขอมูลเทากับ 33MB/S ฮารดดิสก Ultra ATA/33 จะมีความจุเทากับ 1.0-8.4 กิกะไบต ฮารดดิสกมาตรฐาน Ultra ATA/66 ฮารดดิสกมาตรฐาน Ultra ATA/66 ไดพัฒนาระบบการสงขอมูลใหรวดเร็วขึ้น และดลสัญญาณรบกวนทาง ไฟฟา โดยปรับประงสายสัญญาณ และคอนเนคเตอรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ไมไดพัฒนาเทคโนโลยีของแผน จานดิสกในดานความหนาแนนของของมูล แตคอมพิวเตอรที่จะใช Ultra ATA/66 ไดนั้นจะตองมีชิปเซตที่ สามารถรองรับความเร็วในการรับสงขอมูลขนาด 66 MB/S ไดดวย และในการติดตั้งจะตองใชสายสัญญาณแบบ 80 เสน แตฮารดดิสกแบบ Ultra ATA/66 นั้นยังคงใชกับสายสัญญาณแบบ 40 เสนแบบเกาไดเหมือนเดิมแตจะ ทํางานไดที่ความเร็วเทากับฮารดดิสก Ultra ATA/33 เทานั้น ฮารดดิสกมาตรฐาน Ultra ATA/100 ฮารดดิสกมาตรฐาน Ultra ATA/100 ไดพัฒนาความเร็วในการสงถายขอมูลใหสูงขึ้นไปอีกขั้นหนึ่งคือสามารถ รับสงขอมูลไดที่ความเร็ว 100 MB/S ในการติดตั้ง ก็ยังตองใชสายสัญญาณแบบเดียวกับที่ใชใน Ultra ATA/66 ดวยคือ ใชสายแบบ 80 เสนมาตรฐานใหมนี้ยังเขากัน ไดกับฮารดดิสกมาตรฐานเกา และสามารถใชไดกับเมนบอรดรุนเกาที่สวนควบคุมฮารดดิสก (Controller) ไม สนับสนุน Ultra ATA/33 ฮารดดิสกก็ทํางานที่ความเร็ว 33 MB/S เทานั้น เพราะฉะนั้นถาตองการใหฮารดดิสก Ultra ATA/100 ทํางานที่ความเร็ว 100 MB/S ก็ตองใชกับเมนบอรดที่สนับสนุนและจะตองใชกับสายสัญญาณ แบบ 80 เสนดวย มาตรฐานความเร็วของฮารดดิสก SCSI ฮารดดิสกแบบ SCSI มีคุณสมบัติที่เหนือกวาแบบ E-IDE มาก ไม วาจะเปนความเร็วในการโอนถายขอมูล (Bandwidth) ที่ปจจุบันมีความเร็วสูงถึง 160 MB/s ขณะที่ฮารดดิสกแบบ E-IDE มีความเร็วเพียง 133 MB/s รวมถึงความจุใกลเคียงกับแบบ SCSI มากขึ้นทุกที การพัฒนามาอยางตอเนื่องเหมือนแบบ E-IDE เชนกัน โดย มาตรฐานของการเชื่อมตอแบบ SCSI มีดังตอไปนี้ มาตรฐาน

ความเร็วในการรับสงขอมูล (เมกกะไบตตอวินาที)

SCSI

5

Fast SCSI

10

Wide SCSI

10

Fast & wide SCSI

20-40

Ultra SCSI

40

Ultra Wode SCSI

80


370 Ultra 2 SCSI

80

Ultra 3 SCSI

160

จะเห็นไดวาการเชื่อมตอแบบ SCSI มาตรฐานใหมๆ นี้จะมีความเร็วในการรับสงขอมูลที่สูง มาก การใชการเชื่อมตอแบบนี้จะทําใหประสิทธิภาพการ ทํางาน หรือความเร็วในการทํางานของเครื่องสูงขึ้นมาก แตประสิทธิภาพที่ดี ตองแลกมาดวยราคาที่สูง อุปกรณและการดแบบ SCSI มีราคาที่คอนขางแพง จึงไมคอย นํามาใชงานในเครื่องคอมพิวเตอรทั่วๆ ไป จะเหมาะกับการใชงานสําหรับงานที่ตองการประสิทธิภาพสูงจริงๆ มาตรฐานของ SCSI ก็มีการพัฒนาทางดานความเร็วเชนเดียวกับแบบ E-IDE คือมีการพัฒนาใหมีความเร็วใน การสงถายขอมูลเร็วขึ้น จาก SCSI-2 ที่สงขอมูลได 10 MB/s มาเปน Ultra SCSI ที่สงขอมูลไดที่ 20 MB/sตอมาก็เปน Ultra Wide SCSI ที่สงขอมูลได 40 MB/s SCSI เปนอินเตอรเฟสที่แตกตางจากอินเตอรเฟสแบบอื่นๆ มาก ความจริงแลว SCSI ไมไดเปนอินเตอรเฟส สําหรับฮารดดิสกโดยเฉพาะ ขอแตกตางที่สําคัญที่สุดไดแก อุปกรณที่จะนํามาตอกับอินเตอรเฟสแบบนี้ จะตอง เปนอุปกรณที่มีความฉลาดหรือ Intellihent พอสมควร (มักจะตองมี ชิปควบคุมหรือหนวยความจําของตนเอง ในระดับหนี่ง) โดยทั่วไปการดแบบ SCSI จะสามารถตอกับอุปกรณได 7 ตัว แตการด SCSI บางรุนอาจตอ อุปกรณไดมากถึง 14 ตัว (SCSI-2) ในทางทฤษฎีแลวเราสามารถนําอุปกรณหลายชนิดมาตอเขาดวยกันผานSCSI ไดเชน ฮารดดิสก เทปไดรว ออปติคัลดิสก เลเซอรพรินเตอร หรือแมกระทั่งเมาส ถาอุปกรณ เหลานั้นมีอินเตอรเฟสที่เหมาะสม มาตรฐานเร็วของการรับสงขอมูลของ SCSI แบบตาง ๆ กันดีกวา โครงสรางและการทํางานของฮารดดิสก หลายคนคงเคยเดินผานตามรานขอยคอมพิวเตอร ซึ่งมักจะเปดหนังหรือไมก็เปดเกมกราฟกสวยๆ เอาไว เพื่อ ดึงดูดลูกคาใหมายืนดู เบื้องหลังของภาพสวยๆเหลานั้น เกิดจากความสามารถของการดแสดงผล ในบทนี้เราจะมาทําความรูจักกับการดแสดงผลและกาวหนาของการดใน ยุคปจจุบัน การผลิตการดแสดงผลในปจจุบันมีความหลากหลายมากขึ้นกวาเมื่อกอนมากโดยมีหลายี่หอที่สราง ขึ้นมาเพื่อการทํางานเฉพาะดาย อยางเชน การดประเภทที่ใชตอกับจอภาพได 2 ตัว การดที่ใชสําหรับเลนเกม การด ที่ใชสําหรับตัดตอภาพวิดีโอการดสําหรับงานออกแบบประเภท CAD/CAM หรือจะเปนการดทีวี Turner (รับสัญญาณโทรทัศนได) เปนตน จะเห็นวาการดเดี๋ยวนี้มีความสามารถเฉพาะดานมากขึ้น แตการดที่ใชงานกัน สวนใหญจะเปนการดประเภทที่สามารถประมวลผลภาพไดทั้ง 2 มิติและ 3 มิติ สําหรับคุณภาพในการแสดงภาพ วาจะออกมาสวย เหมือนจริงและเปนธรรมชาติแคไหน ก็ชึ้นอยูกับคุณภาพของการดในแตละรุนที่เลือกใช

การดแสดงผลหรือ "กราฟฟกการด" (Graphic Card) เปนการดที่ทําหนาที่นําผลลัพธที่ไดจากการประมวลผล ของซีพียูออกสูจอภาพซึ่งอยูในรูปของขอความ และรูปภาพ ซึ่งเมื่อกอนนี้เราจะเรียกการดแสดงผลวา "วีจีเอ การด" (VGA Card) แตในปจจุบันเรียกวา "กราฟฟกการด" แทน เนื่องจากการดรุนใหม ๆ จะเรียกกราฟฟกชิป (Graphic Chip) ที่สามารถประมวลผลขอมูลกราฟฟกแทนซีพียูไดอยางมีประสิทธิภาพ ชวยลดภาระใหกับซีพียู ไดอยางมาก และยังไดเพิ่มปริมาณวิดีโอแรม เพื่อรองรับงานทางดาน 3 มิติที่ซับซอนหรือมีรายละเอียดมากขึ้น ตลอดจนการพัฒนาชิปแรมใหสามารถทํางานไดอยางรวดเร็ว ที่กลางมาทั้งหมดเปนปจจัยที่สําคัญที่ชวยใหการด แสดงผลในปจจุบันสามารถแสดงภาพกราฟก ไดอยางรวดเร็ว และเหมือนจริง


371

เนื่องจากการดแสดงผลในปจจุบันมีการพัฒนาในหลาย ๆ สวน ทําใหมีสวนประกอบที่เราจําเปนตองรูจัก มากกวาการดในรุนเกา ซึ่งมีดังนี้ 1. กราฟกชิป (Graphic chip) หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา "GPU" ซึ่งยอมาจาก Graphics Asselerator Unit ทําหนาที่ ประมวลผลขอมูลทางดาน กราฟกกอนที่จะนําออกแสดงยังจอภาพ กราฟกชิปในปจจุบันใชเทคโนโลยีการผลิต ขนาด 0.15 ไมคอน 2. วิดโี อแรม (Video RAM) เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูลภาพกอนนําแสดงออกสูจอภาพซึ่งขอมูลดังกลาวได ถูกประมวลผลเรียบรอยแลว สําหรับขนาดของวิดีโอแรมของการดรุนเกาจะมีเพียง 1-4 เมกกะไบต แตสําหรับ การดในปจจุบันจะมีมากกวา 4 เมกกะไบต เพื่อรองรับงานกราฟกที่ซับซอนมากขึ้น โดยจะพบวาการดในปจจุบัน จะมีวิดีโอแรมตั้งแต 32,64,128 และ 256 เมกกะไบต 3. ชิปไบออส (BIOS Chip) มีหนาที่คลายๆ กับชิปรอมไบออสของเมนบอรดคือ ควบคุมการทํางานเบื้องตน และ คอยตรวจสอบความผิดปกติตางๆ บนการดแสดงผล 4. แรมแดค (RAMDAC) เปนสวนที่ทําหนาที่แปลงสัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) ใหเปนสัญญาณแบบอะนาล็อก กอนที่จะสงใหกับจอภาพเพื่อนําไป แสดงผลตอไป โดยความเร็วขอRAMDACจะมีหนวยเปน MHz เชน ความเร็ว 400 MHz 5. เอจีพี อินเตอรเฟส (AGP Interface) เปนสวนที่ใชติดตั้งเขากับสล็อตของ เมนบอรด เพื่อเชื่อมทางเดินของขอมูลจากการดไปยังอุปกรณอื่นๆ ซึ่ง มาตรฐานการเชื่อมตอ ผานสล็อตแบบ AGP เปนมาตรฐานใหมที่ทํางานไดเร็ว กวาสล็อตแบบเดิมคือแบบ PCI 6. ชองเชื่อมตออุปกรณอื่นๆ ซึ่งการดแตละตัวจะมีจํานวนชองไมเทากัน ขึ้นอยู กับรุนของการดชองเชื่อมตออุปกรณที่เราควรรูจักไดแก » ชอง VGA Output สําหรับตอกับจอภาพ » ชอง DVI สําหรับตอกับจอภาพ LCD » ชอง Video In สําหรับตอกับกลองวิดีโอ » ชอง S-Video สําหรับตอกับทีวีความละเอียดสูง » ชอง Composite Output หรือ TV-Out สําหรับตอกับทีวี กราฟกชิปบนการดแสดงผลนั้น มีอยูหลายชนิดซึ่งมีประสิทธิภาพ และหนาที่ในการประมวลผลแตกตางกัน ดังนั้นเรามาดูกราฟกชิปขนิดตาง ๆ ที่มีหนา และการ ใชงานแตกตางกัน 1. ชิปเรงการประมวลผล 2 มิติอยางเดียว เปนยุคเริ่มแรกที่การแสดงผลแบบ 3 มิติยังไมเปนที่นิยมแพรหลายมาก นัก การแสดงผลเพียงแบบ 2 มิติก็เพียงพอตอความตองการแลว โดยใชซอฟตแวรจัดการการแสดงผล 3 มิติเพิ่ม เขาไปใหสามารถแสดงผลภาพแบบ 3 มิติแทน ตัวอยางของชิปแบบนี้ก็คือ S3 Trio จากคาย S3 2. ชิปเรงการประมวลผล 3 มิติ อยางเดียว เปนชวงเขาสูยุคที่การแสดงผลแบบ 3 มิติเริ่มมาแรงจึงมีการผลิตการดที่ เสริมการทํางานแบบ 3 มิติเพิ่มเขาไป ใหสามารถแสดงผลภาพแบบ 3 มิติไดอยางสวยงามมากยิ่งขึ้น ตัวอยางของชิปแบบนี้ก็คือ Voodoo 1 จากคาย 3Dfx


372 3. ชิปเรงการประมวลผลทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เปนชวงที่การแสดงผลแบบ 3 มิติไดรับความนิยมเปนอยางมาก ประกอบกับความยุงยากที่จะตองติดตั้งทั้งการดแสดงผลแบบเรง 2 มิติและแบบเรง 3 มิติ ถึง 2 ตัว นั้นยุงยาก จึงทํา ใหมีการผลิตชิปที่ทําหนาที่ทั้งเรงการประมวลผล 2 มิติ และ 3 มิติอยูในตัวเดียวกันขึ้นมาซึ่งเปนแนวทางที่นิยมอยู ในปจจุบัน ตัวอยางของชิปแบบนี้ ก็คือ Savage 4 จากคาย S3, Voodoo 3 3000 จากคาย 3Dfx, G400 จากคาย Marox, TNT2 จากคาย nVidia หรือ Range 128 จากคาย ATI เปนตน ตารางเปรียบเทียบความเร็วของแรมบนการดแสดงผล ในการพัฒนาการดแสดงผล นอกจากจะพยายามเรงใหกราฟกชิปประมวลไดเร็วขึ้นแลว ก็ยังไดพัฒนา หนวยความจําบนการดใหทํางานไดเร็วขึ้นดวย ทําใหในปจจุบันมีหนวยความจําชนิดตาง ๆ ติดตั้งอยูบนการดดังนึ้ ชนิดของแรม

คําอธิบาย

EDO DRAM (Dxtended Data Out DRAM)

เปนแรมแบบเดียวกับที่ใชในเครื่องคอมพิวเตอร มีความเร็วในการ ทํางานไมสูงมาก ปจจุบันไมนิยมนํามาใชกับการดแสดงผลแลว

SDRAM (Synchronous DRAM)

เปนแรมแบบเดียวกับที่ใชในเครื่องคอมพิวเตอรเชนกัน มีความเร็วใน การทํางานสูง เปนที่นิยมนํามาใชกับการดแสดงผลในปจจุบัน

SGRAM (Synchronous Graphics RAM)

เปนแรมที่พัฒนามาจาก SDRAM ใหทํางานไดเร็วกวา ไวใชสําหรับ การดแสดงผลโดยเฉพาะ นิยมนํามาใชกับการดแสดงผลที่มี ประสิทธิภาพในากรทํางานสูง

DDR SDRAM (Double Data Rate SDRAM)

เปนแรมที่พัฒนามาจาก SDRAM อีกเชนกัน มีความเร็วในการงานเปน 2 เทาของ SDRAM นิยมนํามาใชกับการดแสดงผลที่มีประสิทธิภาพใน การทํางานสูง

DDR SDRAM (Double Data Rate SGRAM)

มีความเร็วในการทํางานเปน 2 เทาของ SGRAM นิยมนํามาใชกับการด แสดงผลที่มีประสิทธิภาพในการทํางานสูงๆ

VRAM (Video RAM)

เปนแรมที่มีพื้นฐานมาจาก DRAM แตพัฒนาใหสามารถทํางานรับ-สง ขอมูลไดพรอมกัน

WRAM (Video RAM)

เปนแรมที่พัฒนาจาก VRAM ใหมีความเร็วในการรับ-สงขอมูลที่สูงขึ้น มักจะพบในการดของ Matrox รุนเกาๆ และการดจาก Nomber Nine

MDRAM (Window DRAM)

เปนแรมที่พัฒนามาจาก DRAM ใหสามารถรับ-สงขอมูลไดในเวลา เดียวกันทําใหมีความเร็วในการทํางานที่สูงกวา

RDRAM (Rambus DRAM)

เปนแรมที่ไดมีการออกแบบใหมหมดโดยบริษัท Rambus มีความเร็วใน การทํางานที่สูงมากๆ เหมาะสําหรับที่จะใชกับการดแสดงผลที่มี ประสิทธิภาพสูง ๆ แตดวยราคาที่คอนขางแพงจึงยังไมคอยเห็นการ นํามาใชกับการดแสดงผลมากนัก

ความโดดเดนของผูผลิตกราฟฟกคายตางๆ ในปจจุบันมีผูผลิตกราฟฟกชิปอยูหลายคาย ซึ่งชิปของแตละคายมีมาตราฐาน และประสิทธิภาพแตกตางกันดังนั้น เรามาดูกันวาแตละคายมีความโดดเดนทางดานใดกันบาง


373 nVidia ผูผลิตกราฟฟกชิปตระกูล Riva TNT และ Geforce nVidia เปนผูผลิตกราฟกชิปที่ไดรับความนิยมมากที่สุด แตจะผลิตชิปขายอยางเดียว ไมไดผลิตการดขายดวย เรา จึงเห็นชิปคายนี้ติดอยูบนการดยี่หอตางๆโดยชิปรุนนี้ไดรับความนิยมอยางสูงสุดในขณะนี้ไดแก ชิปในตระกูล Riva TNT , TNT2, TNT2 m64 และชิปในตระกูล Geforce ซึ่งมีอยูหลายรุนเชนกัน ทั้ง Geforce2 , Geforce3 และ รุนใหมลาสุดคือ Geforce4 3Dfx ผูผลิตกราฟกชิปสําหรับตลาดเกมในตระกูล Voodoo กราฟกชิปของทาง 3Dfx ก็ไดแก Voodoo Banshee, Voodoo3, Voodoo4 และ Voodoo5 เมื่อกอนนี้ 3Dfxจะผลิตชิปจําหนายใหกับผูผลิตการดแสดงผลยี่หอ ตางๆทําใหมีหลากหลายยี่หอ เชนเดียวกับชิปของคาย nVidia แตตอมาไดรวมบริษัทกับผูผลิตการดเพียงรายเดียว เทานั้นคือ STB ทําใหมีการดเพียงยี่หอเดียวเทานั้นที่ใชชิปของ 3Dfx แตไมประสบความสําเร็จ และปจจุบัน ถูกเทคโอเวอรโดย nVidia แลว Matrox ผูผลิตกราฟกชิปในตระกูล G400 ที่เดนเรื่องภาพคมชัด กราฟกชิปจาก Matrox มีคุณสมบัติเดนในเรื่องคุณภาพในการแสดงภาพ ทั้งเรื่องของความ คมชัด และสัสัน เปนอีกคายหนึ่งที่ผลิตกราฟกการดที่มีคุณภาพ นอกจากจะผลิตชิปแลว Matrox ยังผลิตการด จําหนายเองอีกดวย แตตอมาไดจําหนายชิปใหกับผูผลิตการดบางยี่หอบางแลวอยาง Gigabyte ชิปคายนี้จะใช อักษร G นําหนา เชน G200, G400, G450 เปนตน S3 ผูผลิตชิปกราฟกระดับคุณภาพราคาถูกในตระกูล Savage S3 เปนผูผลิตกราฟกชิปชื่อดังอีกคายหนึ่ง เนื่องจากผลิตชิปราคาไมแพง และมีการผลิตกราฟกชิปรุน ใหมๆ ออกมาจําหนายอยางตอเนื่อง แตดวยคุณภาพและประสิทธิภาพที่ไมสูงนัก จึงขายไดเฉพาะตลาดระดับลาง กราฟกชิปที่ผลิตจากคาย S3 ไดแก S3 Savage 3D ,S3 Savage 4 , S3 Savage 2000 เปนตน ATi ผูผลิตชิปกราฟก ATi เปนอีกคายหนึ่งที่ผลิตทั้งชิป และการดขายเอง และก็มีคุณภาพสูงอยูในเกณฑดีทีเดียวแตก็มี ราคาคอนขางสูง ลักษณะของการดที่ผลิตจากคายATi มักจะเปนการดที่มีความสามารถหลายดาน เชน ใชทํางาน ทั่วไป ตอออก TV นํามาเลนเกม หรือจะรับสัญญาณวีดีโอก็ได เปนตน ในปจจุบันไดจับมือกับอินเทลที่จะชวยกัน พัฒนาชิปเซตเพื่อรองรับซีพียูจากอินเทล การดแสดงผลที่ผลิตจาก ATi ไดแก ATi Rage 128 Pro, ATi Ati Rage Fury, ATi Radeon เปนตน

SiS ผูผลิตชิปกราฟก SiS เปนคายที่ผลิตทั้งกราฟกชิป และชิปเซตที่ใชกับ Mainboard ซึ่งชิปเซตดังกลาวก็จะเปนชิป ประเภท VGA O Chipset คือมีการรวมเอาสวนประมวลผลทางดานกราฟกเขาไวในตัวชิปเซตเลย แตก็ผลิตกราฟก ชิปจําหนายใหกับผูผลิตการดคายตางๆดวย การดที่ใชชิปจากคายนี้จะมีราคาถูก และไดประสิทธิภาพที่คุมคา เหมาะสําหรับตลาดระดับลางเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะในรุน SiS 6326 นั้นขายดีมาก


374

3Dlabs ผูผลิตชิปกราฟก คายนี้ผลิตกราฟกชิปในระดับสูง เพื่อใชประมวลผลงานที่ซับซอนประเภทของออกแบบอยางเชน งานดาน CAD/CAM, 3D Studio นับเปนกราฟกที่ผลิตขึ้นมาเพื่องานเฉพาะดานจริงๆการดแสดงผลที่ใชชิปจาก คายนี้จะมีคุณภาพ และประสิทธิภาพสูงมาก แตราคาก็สูงตามไปดวย

ความสําคัญของการดแสดงผล จากที่กลาวมาแลววาการดแสดงผลจะมีอยู 2 มาตรฐาน คือ การดแสดงผลที่ใชระบบบัสแบบ PCI และแบบ AGP โดยการดแสดงผลแบบ AGP จะมีคุณภาพดีกวาการดแบบ PCI โดยมันจะเรงความเร็วในการแสดงภาพกราฟกทั้ง ภาพ 2 มิติและ 3 มิติ และมีการเพิ่มหนวยความจําบนการดทําใหแสดงผลไดอยางรวดเร็ว อีกทั้งยังมีการเพิ่มชิปประมวลผลบนการด เพื่อทําหนาที่แทนซีพียู เปนการลดภาระใหกับซีพียูไดอยางมานอกจาก สิ่งเหลานี้แลว ก็ควรรูจักคุณสมบัติอื่นๆ กอนที่จะเลือกซื้อการดแสดงผล ซึ่งคุณสมบัติที่วาจะบอกมากับกลองที่ บรรจุการด ถาเรารูวาคุณสมบัติตัวไหนหมายถึงอะไรก็จะทําใหเราเลือกการดแสดงผลไดอยางดี 1. หนวยความจําวีดีโอ (Video Memory/Frame Buffer) เปนหนวยความจําที่ใชเก็บขอมูลที่ ไดรับจาก ซีพียู เพื่อสงตอใหกับจอภาพเพื่อทําการแสดงผล ตอไป ถาการดมีหนวยความจํามากก็จะรับขอมูลจากซีพียูไดมาก ชวย ใหการแสดงผล บนจอภาพมีความเร็วสูงขึ้นและถาใชหนวยความจําที่มีความเร็วในการทํางานสูงก็ยิ่งทําให สามารถรับขอมูลไดเร็วขึ้น 2. บัส(BUS) ระบบบัสซึ่งเปนที่นิยมอยูในขณะนี้คือ ระบบบัสแบบ AGP ซึ่งเปนระบบที่ใชกับการดแสดงผล เทานั้น มีความเร็วในการทํางานสูงกวาระบบบัสแบบPCI เนื่องจากระบบบัสแบบ PCI นั้นชาเกินไปสําหรับการ ทํางานดานกราฟกแบบ3 มิติที่มีความละเอียดสูง ระบบบัสแบบ AGP จึงเปนมาตราฐานบัสแบบใหมทํางานที่ ความเร็ว66MHzขึ้นไป 3. ความละเอียด (Resolution) คือ จํานวนของจุดหรือพิกเซล (Pixel) ที่การดสามารถนําไปแสดงผลบนจอภาพ ไดจํานวนจุดยิ่งมากก็ทําใหภาพ ที่ไดมีความคมชัดขึ้น การดแสดงผลสวนใหญสามารถที่จะแสดงผลในความ ละเอียดไดในหลายๆโหมด เชน 640 x 480, 800 x 600, 1024 x 768, 1280 x 1024 สวนความละเอียด ของสีจะ เริ่มตนที่ 16 สี, 256 สี, 65,535 สี และ 16 ลานสี หรือมักจะเรียกกันวา True Colr ในการเลือกความละเอียดของ ภาพและจํานวนสีก็ขึ้นอยูกับการใชงาน ถาเปนงานพื้นฐานทั่วไปก็ควรเลือกโหมด 800 x 600 จํานวนสี 65,535 สี แตถาเปนงานดานกราฟกที่ตองการความละเอียดสูง ก็ควรจะใชโหมดความละเอียด 1024 x 768 หรือ 1280 x 1024จํานวนสี16ลานสี 4. อัตราการรีเฟรซ (Refresh Rate) คือ จํานวนครั้งในการวาดหนาจอใหมใน 1 วินาที ถาหากวาการรีเฟรชต่ํา จะทําใหภาพบนหนาจอกะพริบจะทําใหภาพบนหนาจอกะพริบ ทําใหดูไมสบายตา อัตราการรีเฟรชที่ใชงานอยูคือ 72 Hz ถาใชจอภาพขนาดใหญ อัตราการรีเฟรชยิ่งมากก็ยิ่งดีเพราะจอภาพขนาดใหญแตมีการรีเฟรชต่ําจะทําให


375 ภาพบนจอกระพริบเชนเดียวกัน

โพรเซสเซอร (Processor)

ถาเปรียบเทียบกับรางกายของมนุษยโพรเซสเซอรก็นาจะเปรียบเทียบเปนเหมือนสมอง ของมนุษยนั่งเอง ซึ่งคอยคิดควบคุมการทํางานสวนตางๆของรางกาย ดังนั้นถาจัดระดับ ความสําคัญแลวโพรเซสเซอรก็นาจะมีความสําคัญเปนอันดับแรก


376

บล็อกไดอะแกรมของโพรเซสเซอร สวนประกอบของโพรเซสเซอรมีดง ั นี้ • Bus Interface Unit (BIU) (Cbox) คือสวนที่เชื่อมตอระหวาง address bus, control bus และ data bus กับภายนอกเชน หนวยความจําหลัก (main memory) และ อุปกรณภายนอก (peripherals) • Memory Management Unit (MMU) (Mbox) คือสวนที่ควบคุมโพรเซสเซอรในการ ใชงานแคช (cache) และหนวยความจํา (memory) โดย MMU ยังชวยในการทํา virtual memory และ paging ซึ่งแปลง virtual addresses ไปเปน physical addresses โดยใช Translation Look-aside Buffer (TLB) • Integrated on-chip cache เปนสวนสําหรับเก็บขอมูลที่ใชงานบอยๆใน Synchronous RAM (SRAM) เพื่อใหการทํางานของโพรเซสเซอรมีประสิทธิภาพสูงสุด ใชงานไดทั้ง L1 และ L2 on chip cache • Prefetch Unit (part of Ibox) คือสวนที่ดึงขอมูลและคําสั่งจาก instruction cache และ data cache หรือ main memory based เมื่อ Prefetch Unit อานขอมูลและคําสั่ง มาแลวก็จะสงขอมูลและคําสั่งเหลานี้ตอไปให Decode Unit • Decode Unit or Instruction Unit (part of Ibox) คือสวนที่แปลความหมาย ถอดรหัส หรือแปลคําสั่ง ใหเปนรูปแบบที่ ALU และ registers เขาใจ • Branch Target Buffer (BTB) คือสวนที่บรรจุคําสั่งเกาๆที่เขามาสูโพรเซสเซอร ซึ่ง BTB นั้นเปนสวนหนึ่งของ Prefetch Unit


377 • Control Unit or Execution Unit คือสวนที่เปนศูนยกลางคอยควบคุมการทํางานใน โพรเซสเซอรดังนี้ • อานและแปลความหมายของคําสั่งตามลําดับ • ควบคุม Arithmetic and Logic Unit (ALU), registers และสวนประกอบอื่นๆของ โพรเซสเซอร ตามคําสั่ง • ควบคุมการเคลื่อนยายของขอมูลที่รับ-สงจาก primary memory และอุปกรณ I/O • ALU (Ebox) คือสวนที่ปฎิบัติตามคําสั่งและเปรียบเทียบ operands ในบาง โพรเซสเซอรมีการแยก ALU ออกเปน 2 สวนดังนี้ • Arithmetic Unit (AU) • Logic Unit (LU) • operation ที่ ALU ปฎิบัติตามเชน • Arithmetic operations (+, -, *, และ /) • Comparisons (<, >, และ =) • Logic operations (and, or) • Floating-Point Unit (FPU) (Fbox) คือสวนที่ทําการคํานวณเกี่ยวกับจํานวนตัวเลขที่ เปนจุดทศนิยม • Registers (part of Ibox, Fbox, และ Ebox) คือสวนที่ใชสําหรับเก็บขอมูลสําหรับ การคํานวณในโพรเซสเซอร • Data register set เก็บขอมูลที่ใชงานโดย ALU เพื่อใชสําหรับการคํานวณที่ไดรับ การควบคุมจาก Control Unit ซึ่งขอมูลนี้อาจสงมาจาก data cache, main memory, หรือ Control Unit ก็ได • Instruction register set เก็บคําสั่งที่กําลังทํางานอยู หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หนวยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งวา โปรเซสเซอร (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเปนอุปกรณ ที่มีความสําคัญมากที่สุด ของฮารดแวรเพราะมีหนาที่ในการ ประมวลผลขอมูลที่ผูใชปอน เขามาทางอุปกรณอินพุต ตามชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ ผูใชตองการใชงาน หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยสวนประสําคัญ 3 สวน คือ 1. หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หนวยคํานวณตรรกะ ทําหนาที่เหมือนกับเครื่องคํานวณอยูในเครื่องคอมพิวเตอรโดย ทํางานเกี่ยวของกับ การคํานวณทางคณิตศาสตร เชน บวก ลบ คูณ หาร นอกจากนี้ หนวยคํานวณและตรรกะของคอมพิวเตอร ยังมีความสามารถอีกอยางหนึ่งที่เครื่อง คํานวณธรรมดาไมมี คือ ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร หมายถึง ความสามารถใน การเปรียบเทียบตามเงื่อนไข และกฏเกณฑทางคณิตศาสตร เพื่อใหไดคําตอบออกมาวา เงื่อนไข นั้นเปน จริง หรือ เท็จ เชน เปรียบเทียบมากวา นอยกวา เทากัน ไมเทากัน ของ จํานวน 2 จํานวน เปนตน ซึ่งการเปรียบเทียบนี้มักจะใชในการเลือกทํางานของเครื่อง คอมพิวเตอร จะทําตามคําสั่งใดของโปรแกรมเปน คําสั่งตอไป 2. หนวยควบคุม (Control Unit) หนวยควบคุมทําหนาที่คงบคุมลําดับขั้นตอนการการประมวลผลและการทํางานของ อุปกรณตางๆ ภายใน หนวยประมวลผลกลาง และรวมไปถึงการประสานงานในการ ทํางานรวมกันระหวางหนวยประมวลผลกลาง กับอุปกรณนําเขาขอมูล อุปกรณแสดงผล และหนวยความจําสํารองดวย เมื่อผูใชตองการประมวลผล ตามชุดคําสั่งใด ผูใชจะตอง สงขอมูลและชุดคําสั่งนั้น ๆ เขาสูระบบ คอมพิวเตอรเสียกอน โดยขอมูล และชุดคําสั่ง ดังกลาวจะถูกนําไปเก็บไวในหนวยความจําหลักกอน จากนั้นหนวยควบคุมจะดึงคําสั่ง จาก ชุดคําสั่งที่มีอยูในหนวยความจําหลักออกมาทีละคําสั่งเพื่อทําการแปล ความหมาย วาคําสั่งดังกลาวสั่งให ฮารดแวรสวนใด ทํางานอะไรกับขอมูลตัวใด เมื่อทราบ ความหมายของ คําสั่งนั้นแลว หนวยควบคุมก็จะสง สัญญาณคําสั่งไปยังฮารแวร สวนที่ ทําหนาที่ ในการประมวลผลดังกลาว ใหทําตามคําสั่งนั้น ๆ เชน ถาคําสั่ง ที่เขามานั้น


378 เปนคําสั่งเกี่ยวกับการคํานวณ หนวยควบคุมจะสงสัญญาณ คําสั่งไปยังหนวยคํานวณ และตรรกะ ใหทํางาน หนวยคํานวณและตรรกะก็จะไปทําการดึงขอมูลจาก หนวยความจําหลักเขามาประมวลผล ตามคําสั่งแลวนําผลลัพธที่ไดไปแสดงยังอุปกรณ แสดงผล หนวยคงบคุมจึงจะสงสัญญาณคําสั่งไปยัง อุปกรณแสดงผลลัพธ ที่กําหนดให ดึงขอมูลจากหนวยความจําหลัก ออกไปแสดงใหเห็นผลลัพธดังกลาว อีกตอหนึ่ง 3. หนวยความจําหลัก (Main Memory) คอมพิวเตอรจะสามารถทํางานไดเมื่อมีขอมูล และชุดคําสั่งที่ใชในการประมวลผลอยู ในหนวยความ จําหลักเรียบรอยแลวเทานั้น และหลักจากทําการประมวลผลขอมูลตาม ชุดคําสั่งเรียบรอบแลว ผลลัพธที่ได จะถูกนําไปเก็บไวที่หนวยความจําหลัก และกอนจะ ถูกนําออกไปแสดงที่อุปกรณแสดงผล

เมนบอรดเปนอุปกรณที่สําคัญรองมาจากซีพียู เมนบอรดทําหนาที่ควบคุม ดูแลและ จัดการๆ ทํางานของ อุปกรณชนิดตางๆ แทบทั้งหมดในเครื่องคอมพิวเตอร ตั้งแตซีพียู ไปจนถึงหนวยความจําแคช หนวยความจําหลัก ฮารดดิกส ระบบบัส บนเมนบอรด ประกอบดวยชิ้นสวนตางๆ มากมายแตสวนสําคัญๆ ประกอบดวย

1. ชุดชิพเซ็ต


379

ชุดชิพเซ็ตเปนเสมือนหัวใจของเมนบอรดอีกที่หนึ่ง เนื่องจากอุปกรณตัวนี้จะมีหนาที่ หลักเปนเหมือนทั้ง อุปกรณ แปลภาษา ใหอุปกรณตางๆ ที่อยูบนเมนบอรดสามารถ ทํางานรวมกันได และทําหนาที่ควบคุม อุปกรณตางๆ ใหทํางานไดตามตองการ โดยชิพ เซ็ตนั้นจะประกอบดวยชิพเซ็ตนั้นจะประกอบไปดวยชิพ 2 ตัว คือชิพ System Controller และชิพ PCI to ISA Bridge ชิพ System Controller หรือ AGPSET หรือ North Bridge เปนชิพที่ทําหนาที่ ควบคุมการทํางานของ อุปกรณหลักๆ ความเร็วสูงชนิดตางๆ บนเมนบอรดที่ ประกอบดวยซีพียู หนวยความจําแคชระดับสอง (SRAM) หนวยความจําหลัก (DRAM) ระบบกราฟกบัสแบบ AGP และระบบบัสแบบ PCI ชิพ PCI to ISA Bridge หรือ South Bridge จะทําหนาที่เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอกัน ระหวางระบบบัสแบบ PCI กับอุปกรณอื่นๆ ที่มีความเร็วในการทํางานต่ํากวาเชนระบบบัส แบบ ISA ระบบบัสอนุกรมแบบ USB ชิพคอนโทรลเลอร IDE ชิพหนวยความจํารอม ไออส ฟล็อบปดิกส คียบ  อรด พอรตอนุกรม และพอรตขนาน ชุดชิพเซ็ตจะมีอยูดว ยกันหลายรุนหลายยี่หอโดยลักษณะการใชงานจะขึ้นอยูกับ ซีพียูที่ใชเปนหลัก เชนชุด ชิพเซ็ตตระกูล 430 ของอินเทลเชนชิพเซ็ต 430FX, 430HX 430VX และ 430TX จะใชงานรวมกับซีพียู ตระกูลเพนเทียม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุดชิพเซ็ต ตระกูล 440 ของอิเทลเชน ชิพเซ็ต 440FX, 440LX, 440EX และชิพเซ็ต 440BX จะใชงานรวมกับ ซีพย ี ูตระกูลเพ นเที่ยมโปร เพนเที่ยมทู และเซลเลอรอน และชุดชิพเซ็ตตระกูล 450 ของอินเทลเชน ชุดชิพเซ็ต 450GX และ 450NX ก็จะใชงานรวมกับซีพียูตระกูลเพนเที่ยมทูซีนอนสําหรับ เครื่องคอมพิวเตอรระดับ Server หรือ Workstation นอกจากนี้ยังมีชิพเซ็ตจากบริษัท อื่นๆ อีกหลายรุนหลายยี่หอที่ถูกผลิตออกมา แขงกับอินเทลเชนชุดชิพเซ็ต Apollo VP2, Apollo VP3 และ Apollo mVp3 ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin IV+ และ Aladin V ของ ALi และชุดชิพเซ็ต 5597/98, 5581/82 และ 5591/92 ของ SiS สําหรับซีพียูตระกูลเพ นเที่ยม เพนเที่ยม MMX, K5, K6, 6x86L, 6x86MX (M II) และ IDT Winchip C6 ชุด ชิพเซ็ต Apollo BX และ Apollo Pro ของ VIA, ชุดชิพเซ็ต Aladin Pro II M1621/M1543C ของ ALi และชุดชิพเซต 5601 ของ Sis สําหรับซีพียูตระกูลเพนเที่ยม ทู และเซลเลอรอน ซึ่งชิพเซตแตละรุน แตละยี้หอนั้นจะมีจุดดีจุดดอยแตกตางกันไป 2. หนวยความจํารอมไบออส และแบตเตอรรีแ ่ บ็คอัพ


380

ไบออส BIOS (Basic Input Output System) หรืออาจเรียกวาซีมอส (CMOS) เปน ชิพหนวยความจําชนิด หนึ่งที่ใชสําหรับเก็บขอมูล และโปรแกรมขนาดเล็กที่จําเปนตอ การบูตของระบบคอมพิวเตอร โดยในอดีต สวนของชิพรอมไบออสจะประกอบดวย 2 สวนคือ ชิพไบออส และชิพซีมอส ซึ่งชิพซีไปออสจะทําหนาที่ เก็บขอมูลพื้นฐานที่ จําเปนตอการบูตของระบบคอมพิวเตอร สวนชิพซีมอสจะทําหนาที่ เก็บโปรแกรมขนาด เล็ก ที่ใชในการบูตระบบ และสามารถเปลี่ยนขอมูลบางสวนภายในชิพได ชิพไบออสใช พื้นฐานเทคโนโลยีของรอม สวนชิพซีมอสจะใชเทคโนโลยีของแรม ดังนั้นชิพไบออสจึง ไมจําเปนตองใชพลังงานไฟฟา ในการเก็บรักษาขอมูล แตชิพซีมอส จะตอง การพลังงานไฟฟาในการเก็บรักษาขอมูลอยตลอดเวลาซึ่งพลังงานไฟฟา ก็จะมาจาก แบตเตอรี่แบ็คอัพที่อยูบนเมนบอรด (แบตเตอรี่แบ็คอัพจะมีลักษณะเปนกระปองสีฟา หรือเปนลักษณะกลมแบนสีเงิน ซึ่งภายในจะบรรจุแบตเตอรรี่แบบลิเธี่ยมขนาด 3 โวลต ไว) แตตอมาในสมัย ซีพย ี ตระกูล 80386 จึงไดมีการรวมชิพทั้งสองเขาดวยกัน และ เรียกชื่อวาชิพรอมไบออสเพียงอยางเดียว และการที่ชิพรอมไบออสเปนการรวมกันของ ชิพไบออส และชิพซีมอสจึงทําใหขอมูลบางสวนที่อยูภายใน ชิพรอมไบออส ตองการ พลังงานไฟฟาเพื่อรักษาขอมูลไว แบตเตอรี่แบ็คอัพ จึงยังคงเปนสิ่งจําเปนอยูจนถึง ปจจุบัน จึงเห็นไดวาเมื่อแบตเตอรี่แบ็คอัพเสื่อม หรือหมดอายุแลวจะทําใหขอมูลที่คุณ เซ็ตไว เชน วันที่ จะหายไปกลายเปนคาพื้นฐานจากโรงงาน และก็ตองทําการเซตใหม ทุกครั้งที่เปดเครื่อง เทคโนโลยีรอมไบออส ในอดีต หนวยความจํารอมชนิดนี้จะเปนแบบ EPROM (Electrical Programmable Read Only Memory) ซึ่งเปนชิพหนวยความจํา รอม ที่สามารถบันทึกได โดยใชแรงดันกระแสไฟฟาระดับพิเศษ ดวยอุปกรณ ที่เรียกวา Burst Rom และสามาถลบขอมูลไดดวยแสงอุตราไวโอเล็ต ซึ่งคุณไมสามารถอัพเกรด ขอมูลลงในไบออสได ดวยตัวเองจึงไมคอยสะดวกตอการแกไขหรืออัพเกรดขอมูลที่อยู ในชิพรอมไบออส แตตอมาไดมีการพัฒนา เทคโนโลยชิพรอมขึ้นมาใหม ใหเปนแบบ EEPROM หรือ E2PROM โดยคุณจะสามารถทั้งเขียน และลบขอมูล ไดดวย กระแสไฟฟาโดยใชซอฟตแวรพิเศษ ไดดวยตัวเองอยางงายดายดังเชนที่เราเห็นกันอยู ในปจจุบัน 3. หนวยความจําแคชระดับสอง หนวยความจําแคชระดับสองนั้นเปนอุปกรณ ตัวหนึ่งที่ทําหนาเปนเสมือน หนวยความจํา บัฟเฟอรใหกับซีพียู โดยใชหลักการที่วา การทํางานรวมกับอุปกรที่ ความเร็วสูงกวา จะทําใหเสียเวลาไปกับการรอคอยใหอุปกรณ ที่มีความเร็วต่ํา ทํางานจน เสร็จสิ้นลง เพราะซีพียูมค ี วามเร็วในการทํางานสูงมาก การที่ซพ ี ียูตองการขอมูล ซักชุด หนึ่งเพื่อนําไปประมวลผลถาไมมีหนวยความจําแคช ปจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอยางรวดเร็ว ไมวาจะเปน เมนบอรด ซีพียู แรม บัส ฯลฯ ลวนแลวแตมีการพัฒนาและเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทํางาน มากขึ้นอีกดวย นอกจากนี้ชิ้นสวนตาง ๆ ภายในเครื่อง


381 คอมพิวเตอร ยังเปนปจจัยหนึ่งใน การพิจารณาเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอรอีกดวย ตอนนี้เราจะมาดูในเรื่องของเมนบอรด วาควรจะเลือกซื้อและพิจารณาสวนใดกันบาง สิ่งสําคัญในการเลือกซื้อ สิ่งสําคัญในการพิจารณาเลือกซื้อเมนบอรดสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรนั้น คุณจะตอง พิจารณาในสวนตาง ๆ ที่มีสวนสําคัญและเกี่ยวของกับการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพ มากที่สุด อาทิเชน ความคอมแพตทิเบิลของเมนบอรดกับซีพย ี ู, ซิพเซต, ไบออส,I/O chips, พอรตตาง ๆ รวมทั้งรูปแบบหรือโครงสรางของเมนบอรดดวย ฯลฯ นอกจากนี้สิ่ง หนึ่งที่สําคัญอีกประการก็คือ ยี่หอและรุนของเมนบอรดที่จะนํามาใชกับการทํางานที่ ตองการและประสิทธิภาพในการทํางาน ที่ไดรับ เมนบอรดในปจจุบัน เริ่มจากอดีตจนถึงปจจุบันหนาตาของเมนบอรดและประสิทธิภาพในการทํางานของ เมนบอรด มีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงใหมีประสิทธภาพในการทํางานมากขึ้น ซึ่งใน ปจจุบันนี้เมนบอรด ที่กําลังเปนที่นิยมกันก็คงจะหนีไมพนเมนบอรดเพนเทียมที่แซงหนา เมนบอรดรุน 486 ที่กําลัง จะกลายเปนเมนบอรดที่ถูกทอดทิ้ง เนื่องจากประสิทธิภาพที่ เหนือกวาของเมนบอรด เพนเทียม อีกทั้งแนวโนมที่กําลังมาแรงของเมนบอรดเพนเทียม โปรที่มีการเปดตัวผลิตภัณฑออกมามาก ขึ้น จึงเปนสวนหนึ่งที่ทําใหผูใชคอมพิวเตอรให ความสนใจและจับตามองความเคลื่อนไหวอยาง ตอเนื่อง เมนบอรดที่มีคุณลักษณะที่เรียกวา ATX Form Factor นั่นก็คือการจัดองคประกอบหรือ วงจร ตาง ๆ บนเมนบอรดใหมีความกระชับ และเสันทางเดินวงจรใกลที่สุด นอกจากนี้ยัง built-in พวกพอรตตาง ๆ ไว เชน Com1, Com2, PS/2 Keyboard, Mouse และ Parallelไวบน เมนบอรดอีกดวย คุณลักษณะสําคัญ สําหรับคุณลักษณะสําคัญของเมนบอรดที่ควรพิจารณา ก็เริ่มจากเมนบอรดเพนเทียม ที่ กําลังเปนที่นิยมและใชงานกันมากขึ้น ในการเลือกซื้อนั้นควรจะพิจารณาเมนบอรดกับ ซีพียูวา เมนบอรดนั้นสามารถใชงานหรือตองการซีพียูในการทํางานรุนใด ซึ่งอยางนอย ควรเลือกซื้อ เมนบอรดรุนต่ําสุดเปนรุนเพนเทียม 133 MHz ขึน ้ ไปและเมนบอรดนั้น สามารถที่จะอัพเกรด ซีพย ี ูไดถึงระดับไหน นอกจากนี้ยี่หอของ CPU ที่มีการพัฒนาอยู ในทองตลาด เชน AMD, Cyrix และ Intel ยังเปนปจจัยในการพิจารณาเลือกซื้ออีกดวย รวมทั้งคุณภาพของชิพเซตและ ยี่หอที่เปนยอมรับในการทํางาน เชน Triton, Intel หรือ SiS เปนตน สําหรับชิพเชตที่เพิ่งประกาศตัวไมนานของ Intel นั้น ก็คือ ชิพเชตที่สนับสนุน โปรเซสเซอรที่มี MMX สําหรับเพนเทียม (Pentium) ไดแก ชิพเชตรุน 430TX สวนเพ นเทียมโปร (Pentium Pro) ไดแก ชิพ เซตรุน 440LX ซึ่งชิพเซตทั้งสองรุนนี้มีการนํา คุณลักษณะพิเศษที่เปนโมเดลใหม ของเพนเทียม (P55C) และเพนเทียมโปร (" Klamath") คือ MMX ที่รวมคุณสมบัตใิ นดาน ระบบมัลติมีเดียไวอยางครบถวน เชน เรื่อง ของเสียง,กราฟก, ภาพ ซึ่งในขณะนี้เมนบอรดทั้ง เพนเทียมและเพนเทียมโปรที่สนับส นุนคุณสมบัติ MMX กําลังทยอยนําเขามาสูทองตลาด ซึ่งเปนอีกคุณสมบัตท ิ ี่นาสนใจ มาก สําหรับเมนบอรดที่ใชชิพเชตอยาง 430TX และ 440LX นี้ก็นาจะมีซ็อกเก็ต สําหรับใส SDRAM อยูดวยเพื่อรองรับการทํางานในอนาคต SDRAM นั้นเปนแรมชนิดใหมชวยเพิ่ม ความเร็วในการ ทํางาน ซึง่ จะพบวามี SDRAM อยูบนเมนบอรดบางชนิด จะมีอยู 1 ซ็อก


382 เก็ต ซึ่งในปจจุบัน ควรจะเลือกเมนบอรดที่มีชองใส SDRAM อยู 2 ซ็อกเก็ต เพื่อการ เพิ่ม SDRAM ในอนาคต สําหรับลักษณะโดยทั่ว ๆ ไปของเมนบอรดในปจจุบันมักจะมีซอ ็ กเก็ตสําหรับใสแรมชนิด 72-pin (SIMM) เปนสวนใหญ ซึ่งเมนบอรดจะมีซ็อกเก็ตสําหรับใสแรมอยู 4 ซ็อกเก็ต แตสําหรับ เมนบอรดรุนใหม ๆ นั้นจะมีซ็อกเก็ตสําหรับใสแรมชนิด 72-pin อยูถึง 6-8 ซ็ อกเก็ตเลยทีเดียว ซึ่งผูใชสามารถเลือกซื้อไดตามความตองการที่จะใชงานของ หนวยความจําในการทํางาน สําหรับซ็อกเก็ตแรมแบบ 30-pin นั้นก็คงจะสูญไปเลย ทีเดียว สําหรับเมนบอรดรุนใหม ๆ ซึ่งหากจะใหแรมชนิด 30-pin ก็คงจะตองใชอะแดป เตอรในการแปลงเขาชวย และในการ พิจารณาซ็อกเก็ตที่มีอยูบนเมนบอรดก็มีสวน สําคัญในการทํางาน ดังนั้นผูซื้อควรเลือก เมนบอรดที่มีซ็อกเก็ตใสแรมไดหลาย ๆ แถว ซึ่งเราอาจจะพบวาเมนบอรดเพนเทียมนั้นมีการ ออกแบบมาให 1 แบงกประกอบดวย 2 ซ็อกเก็ต (มีบางเมนบอรดที่ออกแบบมาให 1 แบงก เทากับ 1ซ็อกเก็ต) ฉะนั้นหากผูใช ที่ตองการใชหนวยความจําในการทํางาน 16 MB ก็จะตองใสแรม 8 MB 2 แถวลงใน 2 ซ็อกเก็ต ก็จะครบ 1 แบงก ดังนั้นในการพิจารณาแบงก จึงเปนสิ่งสําคัญบนเมนบอรด ดวย เผื่อไวสําหรับอนาคตที่ตองการเพิ่มหนวยความจําใหกับ เครื่องคอมพิวเตอร สวนที่สําคัญอีกประการหนึ่งก็คือ สลอตบนเมนบอรด ซึ่งโดยสวนใหญแลว เมนบอรด ของ เพนเทียมจะประกอบดวย สลอต PCI และ ISA เปนสวนใหญ ซึ่งสลอตตาง ๆ ดังกลาวก็เปน ปจจัยหนึ่งที่สงผลใหกับการใชงานเครื่องคอมพิวเตอรดวยเชนกัน หากมี จํานวนสลอตมาก ๆ นั่นก็หมายความวาคุณสามารถที่จะติดตั้งการดที่สนับสนุน อินเตอรเฟสตาง ๆ ไดมากเพิ่มขึ้นดวย ในการพิจารณาเลือกซื้อเมนบอรดก็ควรจะ คํานึงถึงสลอตเหลานี้ดวย อยางนอยคุณก็ควรจะ เลือกสลอตแบบ PCI ใหมากไว เพราะสลอตแบบ PCI สามารถทํางานไดเร็วกวาสลอตแบบ ISA ดังนั้นเราจ ะสังเกตเห็น วาเมนบอรดที่เพิ่งจะออกมาในทองตลาดระยะหลังนี้จะสนับสนุนสลอต แบบ PCI มากกวาแบบ ISA คุณลักษณะ ATX เมนบอรดในปจจุบันมีการปรับเปลี่ยนและพัฒนารูปแบบใหมีความกระชับและมี ความสามารถ เพิ่มขึ้น ซึง่ เมนบอรด ATX นั่นก็คือ เมนบอรดที่ออกแบบวงจรใหมีความ กะทัดรัดมากขึ้น ซึ่ง จะทําใหมีความเร็วในการทํางานเพิ่มขึ้นประมาณ 10% รวมทั้งสวน ของ I/O Controler ที่มีอยู บนเมนบอรด และพวกพอรตตาง ๆ เชน Com1, Com2, PS/2, Parallel port, Mouse, มีติดอยูกับบอรดใหเลย นอกจากนี้ในสวนของ IR (infrared) Com Port ยังปนอีกสวนบนเมนบอรดซึ่งจะชวยใน เรื่อง ของการสงรับขอมูลโดยผานอุปกรณที่สนับสนุนระบบอินฟราเรดอยางพวกคียบอรด และ เครื่องพิมพ เชน เครื่องพิมพเลเซอรรุนใหม ๆ ของ HP ทุกรุนจะสนับสนุนการ ทํางานระบบ อินฟราเรด USB (Universal Serial Bus) ชองตอ I/O ที่สามารถตออุปกรณเพิ่มเติมแบบ Plug & Play ซึ่งมีความเร็วในการสงผาน ขอมูลสูงสุด 12 Mbและต่ําสุด 1.5 Mb (ขึ้นอยูกับอุปกรณที่ตอเชื่อม) เมนบอรดที่พรอมดวยเทคโนโลยี USB (Universal Serial Bus ) ซึ่ง USB ที่วานี้เปน I/O ที่เพิ่มเติมเขามาบนเมนบอรด สําหรับตออุปกรณ Plug and Play โดยในสวนของ USB นี้ จะเปนการเสริมประสิทธิภาพในการใชงานเมนบอรดเพิ่มมากขึ้น ชวยใหผูใช สามารถตอ เชื่อมอุปกรณตาง ๆ เขากับพีซีไดอยางงายดาย เชน การเชื่อมตอจอภาพ, เครื่องพิมพ, โมเด็ม, สแกนเนอร, กลองดิจิตอล,จอยสติกซ, ลําโพงดิจิตอล ฯลฯ USB มี


383 ความเร็ว (data rate) สูงสุด 12 Mbps และต่ําสุด 1.5 Mbps (ขึ้นอยูกับอุปกรณที่ ตอเชื่อม) นับวา USB ที่พัฒนาออกมานี้เปน การประชันกับการด SCSI ซึ่งคาดวาใน อนาคตคงจะเปนที่นิยมกันมากขึ้น และอาจจะเปน อีกออปชันหนึ่งที่ถูกพิจารณาเลือกซื้อ เมนบอรดในอนาคต Pipelined Burst Cache เมนบอรดนับวาเปนหัวใจหลักเลยทีเดียวในการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรเพราะเปน แผง วงจรที่รวบรวมหนาที่ของชิ้นสวนตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรในการทํางานไว อยางครบถวน ดังนั้นอีกสิ่งหนึ่งที่ผูใชควรพิจารณาดวยก็คือสวนที่เรียกวา Pipelined Burst Cache ซึ่งในสวนนี้ เพิ่งจะมีการพัฒนาขึ้นใชบนเมนบอรดเพนเทียมเปนครั้งแรก เมื่อไมนานมานี้ ในระยะแรก ๆ นั้นจะเปนเพียงโมดุลที่แยกยอยใหติดตั้งเพิ่ม แตใน ปจจุบันไดมีการ built-in ลงบนเมนบอรดเลย Pipelined Burst Cache นี้เปนแคชที่เร็วกวาแคชธรรมดา และมีหนาที่เปนบัฟเฟอรใน การรับสงขอมูลระหวาง CPU กับ RAM ซึ่งจะชวยใหผูใชสามารถทํางานไดรวดเร็วขึ้น

I/O chips สิ่งสุดทายที่จะกลาวถึงความสําคัญที่เกี่ยวของกับการเลือกซื้อเมนบอรดก็คือ I/O chips อาทิเชน ชิพ UART16550 ซึ่งเปนชิพที่ชวยในการควบคุมการ Input และ Output ของ อุปกรณที่ตอเขากับเครื่องคอมพิว เตอรที่เปน Com Ports โมเด็มความเร็วสูงในปจจุบัน จะตองการสวนนี้ ซึ่งสวนใหญจะมีอยูแลวบนเมนบอรดปจจุบันทุกรุน นอกเหนือจากสิ่ง ตาง ๆ ดังกลาวขางตนที่เปนปจจัยตอการพิจารณาเลือกซื้ อเมนบอรดแลว ยังมีสิ่งที่ควร จะพิจารณา เพิ่มเติมรวมดวยนั่นก็คือการปรับ Voltage ซึ่งบนเมนบอรดจะมีตัว Regulator สําหรับแปลง ไฟโดยสามารถเซตไดที่จัมเปอร Chipset อุปกรณสําคัญอีกชิ้นหนึ่งที่ผูใชจะมองขามไมไดสําหรับการเลือกซื้ออุปกรณ คอมพิวเตอร ก็คือ "ชิพเซ็ต" โดยปกติแลวชิพเซ็ตมักจะเปนอุปกรณคอมพิวเตอรที่ผูใช มองขามอยูเสมอ เพราะเห็นวามีความสําคัญเพียงเล็กนอยกับการทํางานของ คอมพิวเตอร แตความเปนจริง แลวชิพเซ็ตถือเปนอีกหัวใจหลักหนึ่งในการทํางานของ คอมพิวเตอรเลย ทั้งนี้เพราะชิพเซ็ต จะเปนผูทําหนาที่เปนสะพานเชื่อมระหวางการ ติดตอของซีพียูกับอุปกรณอื่น ๆ หนาที่ของชิพเซ็ตนั้นจะดูแลการทํางานของอุปกรณตาง ๆ ทั้งหมดบนเครื่อง ี ูกับ คอมพิวเตอรให สามารถทํางานสอดคลองกัน ตั้งแตการติดตอระหวางซีพย หนวยความจําบนเครื่อง การควบคุม ดูแลการทํางานของฮารดดิสคและอุปกรณเชื่อมตอ อื่น ๆ รวมไปถึงการดูแล การทํางานของการดดาง ๆ ที่มีอยูในเครื่อง ดวยหนาที่ที่ครอบคลุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอรมากเชนนี้ การเลือกใชชิพเซ็ต ที่มี ประสิทธิภาพสูงก็จะชวยใหการทํางานของระบบทั้งหมดดีขึ้น มีเสถียรภาพมากขึ้น นอกจากนี้ ยังทําใหความเร็วของระบบสูงขึ้นดวย ดังนั้นในการเลือกซื้อคอมพิวเตอรผูใช จึงจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองใหความสําคัญกับชิพเซ็ตที่มีอยูบนเมนบอรดไมยิ่งหยอนไป กวาการเลือกอุปกรณตัวอื่น ชิพเซ็ตนั้นหากจะแบงงาย ๆ สําหรับตลาดคอมพิวเตอรในปจจุบันของบานเราก็คงจะ แบงเปน ชิพเซ็ตสําหรับหนวยประมวลผล Pentium และ Pentium Pro สําหรับชิพเซ็ตที่


384 เปนที่รูจักมากที่ สุดสําหรับผูใชบานเราก็คงเปนชิพเซ็ตจากบริษัทอินเทล แตสําหรับ ตลาดตางประเทศแลวก็จะม ียี่หออื่นอยูดวยเชนกัน เชน VIA Technology หรือ SiS ซึ่ง บานเราก็พอมีบาง แตเนื่องจาก ตลาดซีพียูในบานเราก็เปนตลาดของชิพจากบริษัทอิน เทล ดังนั้นจะขอเนนถึงชิพเซ็ตของ บริษัทอินเทลเปนหลัก ชิพเซ็ตของบริษัทอินเทลที่พัฒนามาเพื่อใชกับซีพียูเพนเทียมนั้น มีชิพเซ็ตที่รูจักกันดี 3 รุนคือ Intel 430FX PCIset, Intel 430HX PCIset และ Intel 430VX PCIset Intel 430FX PCIset นั้นจะเปนชิพเซ็ตสําหรับเพนเทียมรุนแรกที่บริษัทอินเทลผลิตขึ้นโดยมี ลักษณะเดน อยูที่การสนับสนุนหนวยความจําหลักแบบ EDO RAM และยังสนับสนุน แคชแบบ pipelined burst SRAMs ซึ่งมีความเร็วสูงและสามารถสนับสนุนการทํางาน ของชิพเพนเทียมตั้งแต 75 ถึง 100 MHz แตมาในปจจุบันชิพเซ็ตรุนนี้ไมสามารถตอบสนองเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไปแลวดังนั้นทาง อินเทล จึงไดพัฒนาชิพเซ็ตใหมขึ้นคือ 430HX ซึง่ เปนรุนที่ดีที่สุดในปจจุบัน โดยมีความ คอมแพตทิเบิ้ล กับชิพเซ็ต 430FX และเพิ่มความสามารถอื่น ๆ เขาไปอีก เชน สนับสนุน MMX, สนับสนุน สถาปตยกรรม Concurrent PCI, สนับสนุน USB, คุณสมบัติที่ชวยลด ความซับซอนของวงจร ฯลฯ ซึ่งดวยความสามารถใหม ๆ ทั้งหมด ก็ทําใหสามารถเพิ่ม ความเร็วในการทํางานของ คอมพิวเตอรใหสูงขึ้นได สําหรับ Intel 430VX PCIset นั้น เปนชิพเซ็ตที่พัฒนาขึ้นเพื่อใหเหมาะ สําหรับการใชงานของธุรกิจขนาดเล็กและการใช งานแบบตามบาน เพราะออกแบบใหยืดหยุน ในการใชงานทําใหการใชงานคอมพิวเตอร ไดรับผลคุมคาที่สุด ชิพจะสนับสนุนหนวยความจํา แบบใหมคือ SDRAM นอกจากนี้ยัง ออกแบบใหสนับสนุนการทํางานแบบมัลติมีเดียมากที่สุด อีกดวย และเชนเดียวกับในรุน 430HX ในรุน 430VX นี้ก็สนับสนุน MMX เชนเดียวกัน ใน อนาคตนั้น อินเทลก็จะมีการ ผลิตชิพเซ็ตตัวใหมขึ้นมาอีกคือรุน 430TX ซึ่งจะเปนชิพที่เหมาะ สําหรับการทํางาน รวมกับ ชิพ Pentium MMX โดยเฉพาะซึ่งคาดวาจะชวยเพิ่มความเร็วใหกับ คอมพิวเตอร ไดอีกไมนอย ทางดานชิพเซ็ตสําหรับเพนเทียมโปรนั้นก็มีอยูหลายรุนตั้งแตรุน Intel 440 FX PCIset ซึ่งมี จุดเดนที่การปรับแตงใหใชประโยชนสําหรับการทํางานแบบ 32 บิต อยางเต็มที่, สนับสนุน Concurrent PCI ที่ชวยใหสลอตแบบ ISA และ PCI สามารถทํางานไปพรอม ๆ กันได, สนับสนุน USB และยังมีออปชันสนับสนุนการใชหนวยประมวลผล 2 ตัวอีกดวย สวนชิพเซ็ต 450GX PCIset นั้นจะเนนไปที่ตลาด OEM และเมนบอรดซึ่งเนนที่การ ทํางานในลักษณะ เซิรฟเวอร และความสามารถในการอัพเกรดเปนแบบ Multiprocessing ชิพเซ็ต 450KX จะเนนไปที่ความตองการเครื่องแบบ Workstation ประสิทธิภาพสูงซึ่งทั้ง 450GX และ 450KX นั้นจะเปนชิพเซ็ตที่มีเสถียรภาพในการ ทํางานสูง สวนชิพเซ็ตใหมในอนาคตของอินเทลสําหรับเพนเทียมโปรนั้นจะเปนรุน 430 LX ซึ่งจะ ผลิต ขึ้นเพื่อการสนับสนุนชิพเพนเทียมโปรที่เพิ่มเทคโนโลยี MMX เขาไปหรือที่ใชชื่อ รหัสวา Klamath ซึ่งก็คาดวาเมื่อผลิตออกมาคงจะชวยเพิ่มความเร็วและประสิทธิภาพ ของระบบไดดีทีเดียว

สําหรับเมนบอรดที่ใชไบออสยี่หอ Award นี้สัญญาณ เสียง Beep Code จะฟงคอนขางงายไมเหมือนไบออสยี่หอ อื่น โดยเสียงที่ไดยินจะเปนเสียง " ปบ" สั้นและยาวสลับกัน โดยมีจังหวะดังนี้ หวะเสียง เสียงดัง 1 ครัง้ แสดงวาขั้นตอนการบูตเครื่องหรือขั้นตอน Post เปนปกติ


385 เสียงดัง 2 ครั้ง แสดงวามีปญ  หาในสวนของแรม เชน เสียบไมแนนหรือแรมเสียทําใหบต ู เครื่องไมผาน ควรตรวจสอบแรม เสียงดัง 3 ครัง้ เสียงดังตอเนื่อง เสียงดังถี่ ๆ เสียงดัง 6 ครั้ง เสียงดัง 7 ครั้ง เสียงดัง 8 ครั้ง เสียงดัง 9 ครั้ง เสียงดัง 10 ครั้ง เสียงดัง 11 ครั้ง ไมมีเสียง แสดงวามีปญหาในสวนของแรม เชน เสียบไมแนนหรือแรมเสียทําใหบต ู เครื่องไมผาน ควรตรวจสอบแรม แสดงวามีปญหาในสวนของแหลงจายไฟ เชน เพาเวอรซัพพลาย หรือเมนบอรดอาจมีปญ  หา ใหตรวจสอบ เพาเวอรซัพพลาย และเมนบอรด แสดงวามีปญหาในสวนเมนบอรดใหตรวจสอบสายสัญญาณตาง ๆ และตัวเมนบอรด แสดงวามีปญหาในสวนของคียบ  อรด ใหตรวจสอบคียบอรด แสดงวามีปญหาในสวนของซีพียู อาจตองเปลี่ยนซีพย ี ูใหม แสดงวามีปญหาในสวนของการดแสดงผล ( VGA ) ตรวจสอบการดแสดงผลวาเสียบแนนดีหรือไม หาก ยังไมไดผลอาจตองเปลี่ยนการดแสดงผลใหม แสดงวามีปญหาในสวนของไบออส อาจตองเปลี่ยนไบออสใหม แสดงวามีปญหาในสวนของการเขียน CMOS อาจตองเปลี่ยนเมนบอรดใหม แสดงวามีปญหาในสวนในสวนของหนวยความจําแคช ควรตรวจสอบแคชภายนอกบนเมนบอรด แสดงวามีปญหาในสวนของ เพาเวอรซัพพลาย, เมนบอรด หรือซีพียู รวมถึงสายสัญญาณ และสายไฟตาง ๆ

รูจักกับอุปกรณตาง ๆ ที่จําเปนตอการใชงาน เครื่องคอมพิวเตอร สําหรับทานที่อยากทราบวา คอมพิวเตอรเครื่องที่ใชงานอยูนั้น เปนรุนไหน ความเร็วเทาไร มีขีด ความสามารถอะไรบาง ลองอานบทความนี้ดู อาจจะเนนเฉพาะในสวนของตัวเครื่องคอมพิวเตอร อยางเดียวเทานั้น ในสวนของอุปกรณตอพวงตาง ๆ เชนเครื่องพิมพ สแกนเนอร จอแสดงผล และ อื่น ๆ ขอขามไปกอน เอาแตเฉพาะสวนประกอบที่เปนคอมพิวเตอรจริง ๆ เทานั้น


386

CPU หรือ Central Processor Unit สิ่งแรกที่ควรรูคือ เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานอยูนี้ เปนเครื่องรุนไหน ความเร็วเทาไร สําหรับ CPU นี้ก็ขอพูดถึงแบบคราว ๆ โดยจะขอพูดถึงแตเฉพาะ CPU รุนที่ยังพอใชงานไดในปจจุบันเทานั้น ดังนี้ •

• •

• •

• •

• •

80486 เปน CPU ที่บางทานยังอาจจะมีใชงานอยู โดยทัว่ ไปที่พบจะเปน 486SX, 486DX และ 486DX4 Pentium Classic หรือ P54C จะมีความเร็วประมาณ 100-166 MHz ถือวายังพอใชงานไดอยู ในปจจุบนั แตอาจจะชาไปสักหนอย Pentium MMX หรือ P55C จะมีชุดคําสั่ง MMX ติดมาดวย ความเร็วตัง้ แต 166-233 MHz AMD K5 และ AMD K6 เปน CPU ของ AMD รุนแรก ๆ ที่พอมีขายในบานเรา ความเร็ว ประมาณ 166-300 MHz AMD K6-II และ AMD K6-III ปจจุบันยังถือวาใชงานไดดีอยู ความเร็ว 266-550 MHz IBM และ Cyrix MII ไมคอยไดยนิ ชื่อนัก แตพอมีขายอยูบ าง ความเร็วประมาณ PR200PR333 (หนวย PR ไมใช MHz นะครับแตถือวาใกลเคียงกัน) Intel Celeron รุนแรก ๆ จะเปน Slot 1 ความเร็ว 266-300 MHz และตอมาเปน Socket 370 ความเร็วที่ 300 MHz ขึ้นไป (ปจจุบันเทาทีไ่ ดยนิ จะมีความเร็วถึง 700 MHz แลว) Intel Pentium II เปน CPU แบบ Slot 1 รุนแรกครับ ความเร็ว 233-450 MHz Intel Pentium III รุนแรก ๆ จะเปน Slot 1 ความเร็ว 450-600 MHz รุนหลัง ๆ จะเปนแบบ FC-PGA 370 ความเร็วเริ่มที่ 500 เปนตนไป (จะมีรหัสตอทายดวย EB, E คือ CPU แบบ FC-PGA สวน B คือรุนที่รันดวยบัส 133 MHz) AMD Athlon เปน CPU ของ AMD ทํางานบน Slot A ครับที่เห็นความเร็วก็ 500 MHz ขึ้น ไป AMD Duron เปน CPU ของ AMD ทํางานบน Socket A ความเร็วตั้งแต 600 MHz ขึ้นไป AMD Thunderbird เปน CPU ของ AMD ทํางานบน Socket A ความเร็วตั้งแต 700 MHz ขึ้นไป Pentium IV เปนรุนใหมของ Intel ทํางานบน FC-PGA 423 ความเร็วตั้งแต 1.3 GHz ขึ้นไป

Mainboard สําหรับ CPU สําหรับ Mainboard ก็เปนสิง่ ที่สําคัญมาก โดยทั่ว ๆ ไปแลว Mainboard จะแบงออกเปนตามรูปแบบ ชนิดของ CPU ที่ใชงานดังนี้


387 •

• •

• •

• • •

Socket 3 สําหรับ CPU 80486 Socket 5 สําหรับ CPU Pentium รุนแรก ๆ ที่ความเร็ว ประมาณ 60-100 MHz Socket 7 สําหรับ CPU Pentium Classic และ Pentium MMX รวมถึง IBM และ Cyrix ดวย Super Socket 7 ที่จริงก็คือแบบเดียวกับ Socket 7 นั่นแหละ แตสามารถทํางานที่บัส 100 MHz ได (Socket 7 เดิมจะทํางานสูงสุดที่ 66 MHz) Socket 370 สําหรับ CPU Celeron โดยเฉพาะ Slot 1 สําหรับ CPU Celeron รุนแรก ๆ และ Pentium II, Pentium III แตจะมีอุปกรณ ตัว แปลง ที่เรียกวา Slotket เพื่อใหใช CPU แบบ Socket 370 หรือ FC-PGA ใหใชงานบน Mainboard แบบ Slot 1 ไดดวย Dual Slot คือจะมีทั้ง Socket 370 และ Slot 1 ทั้งคูซึ่งพอพบเห็นอยูบ าง Slot A สําหรับ CPU ของ AMD Athlon รุนแรก ๆ Socket A สําหรับ CPU ของ AMD Thunderbird และ Duron

นอกจากนี้ลักษณะของ Mainboard ยังมีการแบงตาม Case หรือระบบ Power Supply ดวยโดยแบง ออกเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ AT กับ ATX โดยสวนใหญแลวหากเปน Mainboard รุนใหม ๆ จะทํา เปนแบบ ATX เปนสวนมากซึ่งแบบ ATX นี้เทาที่เคยไดยินมาจะมีขอดีกวาแบบ AT ซึ่งเปนแบบ เกาคือ ระบบการระบายความรอนและการไหลเวียนของอากาศดีกวา ระบบ Power Supply แบบ ใหมสามารถสั่ง เปด-ปด เครื่องโดยใช Software ไดและอืน่ ๆ อีกมากครับ อยาลืมนะครับวา Mainboard ของแบบ AT กับ ATX ไมเหมือนกันและใสใน Case ตางชนิดกันไมได ดังนั้นเวลาเลือก ซื้อคอมพิวเตอร ควรจะตรวจสอบใหดีกอนวาเปนแบบใด

รูปตัวอยาง Mainboard Mainboard ในปจจุบันยังมีแบบที่เรียกวา All in One ดวยคือรวมเอา การดจอ เสียง โมเด็ม พอรท ตาง ๆ USB LAN ฯลฯ รวมไวบน Mainboard อันเดียวและขายในราคาที่เทากับหรือถูกกวา Mainboard แบบเปลา ๆ ซะอีก โดยทัว่ ไปแลว Mainboard แบบ All in One จะมีขอดีคือ ราคาถูก ไม ตองหาซื้ออุปกรณอยางอืน่ สามารถใชงานไดครบ แตขอ เสียคือไมสามารถทําการเปลี่ยนแปลง อุปกรณตาง ๆ ไดเพราะมันติดอยูบนบอรดเลย (อาจจะเปลี่ยนไดนิด ๆ หนอย ๆ ครับ) ขอเสียอีก อยางคือ จะกินแรงของ CPU และ RAM ของระบบเครื่องคอนขางมาก RAM หนวยความจําของคอมพิวเตอร


388

RAM สําหรับเครื่องคอมพิวเตอร จะมีหนวยเปน MB. ครับ (1M = 1 ลาน bit) โดยทั่วไปก็ 32M หรือ 64M บางเครื่องอาจจะมี 128 M หรือถึง 256 M เลยก็ไดหากจําเปนตองใชงานที่ใหญ ๆ จริง ๆ สําหรับ RAM ที่ใชกันทัว่ ไปก็มีอยูหลายชนิดมาก ถาหากแบงคราว ๆ ก็ขอแบงแบบงาย ๆ ตาม รูปราง ดังนี้ • •

RAM 30 Pin สําหรับ CPU รุนประมาณ 80486 หรือกอนหนานี้จะมีขนาดแถวละ 1-4 M. RAM 72 Pin สําหรับ CPU รุนประมาณ Pentium ขึ้นมา ซึ่งเทาที่ทราบจะมีอยู 2 ชนิดคือ FPM และ EDO ขนาดเทาที่เคยเห็นจะมี 4, 8, 16, 32 และ 64 M. โดยสวนใหญจะเห็นมีขาย แตแบบ EDO ซึ่งเวลาใสจะตองใสเปนคู (คนขายเขาก็จะขายเปนคูดว ย) RAM 168 Pin หรือ ที่เรียกวา SDRAM จะเปน RAM รุนใหม มีความเร็วการเขาถึง การอาน และการเขียนขอมูลไดเร็วกวาแบบ EDO มาก สวนใหญปจจุบันจะใช RAM แบบนีท้ ั้งนั้น ครับ ขนาดที่พบคือ 16, 32, 64, 128 และ 256 M. มีความเร็วบัสตั้งแต 66MHz, 100MHz, 133MHz และ 150 MHz นอกจากนี้ แรมรุนใหม ๆ ยังมีแบบ RD-RAM และ DDR-RAM อีกดวยครับ

RAM แบบ 30 pin

RAM แบบ 72 pin

RAM แบบ 168 pin ตัวอยางของ RAM แบบตาง ๆ

Hard Disk อุปกรณเก็บขอมูลในเครื่อง เรื่องของ Hard Disk ก็คงไมมีอะไรมาก ดูวาขนาดเทาไร เปนยีห่ ออะไร ความทนทานมากนอย ปญหาและการรับประกันเปนอยางไร สวนใหญกจ็ ะดูกนั แคนี้ แตที่อยากใหตรวจสอบเพิ่มเติมก็คือ


389 •

เปนแบบ UDMA33, UDMA66 หรือ UDMA100 หรือเปลา ถาเปน UDMA66 หรือ UDMA100 การสงถายขอมูลก็จะเร็วขึ้นแต Mainboard ตองรองรับดวย ความเร็วการหมุน 5,400 หรือ 7,200 รอบตอนาที ถาการหมุนเร็ว การเขาถึงขอมูลก็จะเร็ว ดวย ลายคนบอกวาเลือกความเร็วแบบ 7,200 รอบจะไดความเร็วกวาแบบ UDMA66 ขนาดของ Buffer ที่เห็นก็มี 1M กับ 2M ถามีแยะก็ดี

รูปตัวอยางของ Hard Disk VGA Display Card การดแสดงผล แบงออกตามชนิดไดคราว ๆ คือ • •

VGA แบบ 2D สําหรับงานธรรมดาทั่วไป ดูหนังฟงเพลงครับ VGA แบบ 3D SLI จะเปนลักษณะชองการนํามาตอพวงกับแบบ 2D เพื่อใหสามารถใชงาน 3D ไดดีขึ้น VGA แบบ 3D ที่รวมเอา 2D ไวในการดเดียวกัน ปจจุบนั สวนใหญจะเปนแบบนีห้ มดแลว เหมาะสําหรับเลนเกมสที่เปน 3มิติ แตราคาคอนขางแพงอยูมาก จะมีอยู 3 คายใหญ ๆ ที่ นิยมกันคือของ 3dfx, ของ TNT และ Savage VGA แบบ TVin TVout จะเปน Option เพิ่มเติมขึ้นมาเพื่อใหสามารถตอสัญญาณภาพออก TV ไดดว ย

รูปตัวอยาง VGA Card นอกจากนี้ VGA Card ยังจะตองมี RAM อยูบนการดดวยเหมือนกัน ยิง่ RAM มากก็จะชวยใหเลน เกมสไดภาพทีไ่ หลลื่นขึ้นครับ เทาที่เห็นปจจุบันนีจ้ ะมีตงั้ แต 8M, 16M และ 32 M และ VGA Card ก็จะมีทั้งแบบ PCI สําหรับ Mainboard รุนเกา ๆ และแบบ AGP สําหรับ Mainboard รุนใหม ซึ่ง แบบ AGP จะทํางานไดเร็วกวาแบบ PCI ครับ ปจจุบัน Mainboard รุนใหมจะเปน AGP หมดแลว CD-ROM


390

อาจจะเปนสิ่งจําเปนในเครื่องคอมพิวเตอรอีกชิ้นนึงครับ ความเร็วในรุน เกา ๆ ก็ 4X, 8X ปจจุบันที่ เห็นจะอยูที่ 40-52X ครับ (1X คือความเร็วการสงถายขอมูลเทากับ 150k/s)

รูปตัวอยาง CD-ROM Drive Sound Card Sound Card หรือการดเสียง ที่ยังพอเห็นจะมีทั้งแบบ ISA รุนเกาและ PCI รุนใหมครับ อันนี้คงจะ ขึ้นอยูกับคุณภาพและราคาของแตละยีห่ อ เทาที่พบจะมีบางรุนที่มี Wave Table ซึ่งจะชวยใหเราเลน เพลงแบบคาราโอเกะหรือ midi ไดเพราะขึน้ หรือถาหากไมมีก็อาจจะสามารถซื้อเปน Module ไป เพิ่มเติมภายหลังได

รูปตัวอยาง Sound Card Modem สําหรับตอเน็ต Modem ปจจุบนั จะเปน V90 56K หมดแลว แตหากเครื่องใครเปน 28.8 K หรือ 33.3 K ก็ยังพอใชได ดีอยูครับ Modem จะมีทั้งแบบ Internal และ External ซึ่งถาเปนแบบ External จะดูยุงยาก ตองตอ สายไฟเพิ่มเติม แตจะมีขอดีคือไมกินแรงของ CPU ครับ ถาเปนแบบ Internal ก็จะมีแบบ Soft Modem ดวยซึง่ จะเปลืองแรงของ CPU ไปอีกหนอย สวนประกอบอื่น ๆ สวนประกอบอื่น ๆ ก็คงจะไมมีอะไรแตกตางกันมากนักครับ เชน Floppy Disk Drive, Key Board หรือ Mouse สุดทายนี้ผมหวังวาคงจะพอรูบางนะครับวาสเปคเครื่องที่ทานใชงานอยูน ะเปนอยางไร กันบาง วิธีการบูตเครื่องใหเร็วทันใจ การอัพเกรดไบออส ไบออสคือโปรแกรมเล็กๆ ที่ความสามารถไมเล็กตามโปรแกรม ที่อยูบนเมนบอรด โดยจะทําหนาที่ในการ ควบคุมการสงขอมูล ระหวางอุปกรณตางๆ ดังนั้น การรูจักอุปกรณตางๆ การอัพเกรดไบออสของคอมพิวเตอรให


391 ไดโปรแกรมที่ใหมที่สุด จึงเปนสิ่งที่จะทําใหการทํางานของเมนบอรดดีขึ้น และบางครั้งอาจทําใหบูตเร็วขึ้นอีก ดวย รูปที่ 1 แสดงการแฟลชไบออส ขั้นตอนการอัพเกรดไบออสนั้นใหดูที่คูมือเมนบอรดวาใชเมนบอรดยี่หออะไร รุนไหน แลวเขาไปที่เว็บไซต ก็ไป ที่สวนดาวนโหลด โดยจะตองดาวนโหลดทั้งไฟลที่ใชในการแฟลชไบออส และไฟลโปรแกรมของไบออส เมื่อ ดาวนโหลดมาแลวใหแตกไฟลออกมา โดยจะเอาไวเก็บที่ดีที่สุดคือที่รูทของ C: จากนั้นใหบูตจากแผนดิสกแลว กด Shift + F5 ตอนบูตเพื่อที่จะไดบูตแบบไมไดโหลดอะไรมาเลย แลวที่ดอสพร็อมพ ใหพิมพ C: แลวกด Enter เพื่อเขาไดรฟ C: แลวพิมพ execute.exe bios.img โดย execute.exe จะแทนชื่อโปรแกรมที่ใชในการแฟลช ใหพิมพ ใหตรงกับชื่อโปรแกรม bios.img จะแทนตัวไฟลของโปรแกรม โดยพิมพใหตรงกับชื่อ จากนั้นกดคีย Enter อาจจะมีการถามวาตองการแฟลชจริงหรือไม? ก็ใหตอบ Yes ไป ก็จะเริ่มเขาสูกระบวนการแฟลช ใชเวลาระยะ หนึ่งก็เสร็จ ชวงนี้เปนชวงที่สําคัญที่สุดเพราะถามีการผิพลาด เชน ไฟฟาดับ ก็อาจทําใหเมนบอรดเสียไปได ดังนั้น ถามี UPS ก็คงจะดี เมื่อแฟลชเสร็จแลวก็ใหรีบูตใหม ถาบูตเขาก็แสดงวาแฟลชเรียบรอยแลว ใหดูเวอรชันและ วันที่ของไบออสที่ไดแฟลชเขาไปใหม จะเห็นวามีการเปลี่ยนไป ปรับแตงไบออส อยางที่ไดบอกไปแลววา ไบออสเปนโปรแกรมพื้นฐานที่สุดที่ทําหนาที่ในการเชื่อมโยงการทํางานของอุปกรณ ตางๆ การเขาไปปรับแกเกี่ยวกับไบออสก็จะทําใหการทํางานไดประสิทธิภาพมากขึ้น และทําใหบูตเร็วขึ้นได ขั้นตอนการเขาไปแกไขไบออส ใหกดคีย Delete หลังจากเปดเครื่อง ซึ่งสวนใหญจะใชคีย Delete อยูแลว ถาไมใช ก็ลองมองดูที่หนาจอตอนบูตวาตองกดคียอะไรเพื่อเขาไปแกไขไบออส หลังจากเขาไปสูหนาไบออสเซตอัพแลว ซึ่งสวนใหญจะเปนตัวหนังสือลวนๆ ใหเขาไปหาสิ่งตอไปนี้แลวแกไขตาม รูปที่ 2 หนาตาของไบออสเซตอัพ - Turbo Frequency ใหเลือก ENABLE คําสั่งนี้ไมไดมีทุกเมนบอรด แตถามีก็ใหเอนเนเบิลไว จะทําใหความเร็วบัส เร็วขึ้นประมาณ 2.5% ซึ่งจะทําใหความเร็วโดยรวมของระบบเร็วขึ้น (เปนการโอเวอรคล็อกแบบไมมากนัก) - IDE Hard Disk Detection สั่งใหตรวจสอบฮารดดิสกและซีดีรอม จากนั้นก็บันทึกลงไบออส จะทําใหความเร็ว ในการบูตเร็วขึ้นชัดเจนเมื่อเทียบกับที่การตั้งเปน Auto แลวตองตรวจสอบทุกครั้งที่บูต - Standard BIOS Setup Menu เขาไปเช็คดูอีกครั้งวาฮารดดิสกและซีดีรอมไมไดอยูในภาวะที่เปน Auto - Quick Power On Self Test (POST) ให ENABLE ไวจะทําใหบูตเร็วขึ้น - Boot Sequence ใหเลือกเปน C นําหนา ถาไมตองการบูตจากแผนดิสก จะทําใหไมตองเสียเวลาไปเริ่มบูตจาก แผนดิสกกอน - Boot Up Floppy Seek ให DISABLE ไวจะไดไมตองเสียเวลาในการไปคนหาแผนตอนเริ่มบูต ลดโปรแกรมที่โหลดตอนเริ่มตนบูตเขาวินโดวส


392 ขั้นตอนนี้แหละที่ลดโปรแกรมที่ขึ้นมาเปนแผงที่ทาสกบาร ซึ่งทําใหเสียทั้งเวลาในการบูตและเสียทรัพยากรของ เครื่องโดยที่บางครั้งเราไมไดใชมัน ปกติโปรแกรมเหลานี้จะถูกเขียนไวในหลายๆ ที่ เชน ในรีจิสทรี ใน Startup การเขาไปลบ ถาตองเขาลบตรงๆ ก็อาจจะเสียเวลา แตวินโดวสก็ไดใหทูลในการเขามาชวย นั่นคือโปรแกรม System Configuration Utility หรือที่รูจักในชื่อ MsConfig ขั้นตอนการเรียกใชโปรแกรมใหไปที่ Start - Run แลวพิมพ msconfig จากนั้นกด Enter หลังจากเปดโปรแกรมขึ้นมาแลวใหไปที่แท็บ Startup ซึ่งเปนสวนที่แสดงโปรแกรมทั้งหมดที่โหลดขึ้นมาตอนเขา วินโดวส ไมวาจะเขียนไวที่ไหน ตรงนี้เราสามารถพอเดาชื่อโปรแกรมได ถาไมตองการโปรแกรมใดก็เอา เครื่องหมายถูกขางหนาโปรแกรมออก เชน ICQ, HotSync Manager, MSN Messenger ซึ่งเราไมไดมีความเปน ตองโหลดทุกครั้งที่เปดเครื่อง หลังจากเลือกโปรแกรมที่ไมตองการออกแลวใหกด OK ก็จะมีหนาตางขึ้นมาถามวา จะรีตารทเลยหรือไม? ตรงนี้ แลวแตวาจะทํางานตอหรือจะรีสตารทเลยก็ได หลังรีสตารทเขามาวินโดวสแลวจะไมมีโปรแกรมเหลานี้โหลดขึ้น อีก รูปที่ 3 แสดงแท็บ Startup ของ System Comfiguration Utility เอาเซอรวิสที่ไมจําเปนออก เซอรวิสจะเปนสวนของโปรแกรมที่ทําหนาที่ตางๆ ของวินโดวส โดยทํางานอยูแบ็กกราวนด เพราะฉะนั้นเราก็จะ ไมเห็นโปรแกรม แตเซอรวิสเหลานี้คอนขางใชเวลาในการเปดตอนเปดเขาวินโดวสเหมือนกัน และก็จะใช ทรัพยากรของเครื่องไป บางเซอรวิสเปนสิ่งที่เราไมจําเปนตองใชก็เปดขึ้นมาหมดดวย ดังนั้น การเอาเซอรวิสที่ไม ตองการออก ก็จะเปนการลดเวลาในการบูตและประหยัดทรัพยากรของเครื่องไปไดเปนอยางดี ขั้นตอนการเอาเซอรวิสที่ไมตองการออก ใหไปที่ System Configuration Utility แลวไปที่แท็บ Services กดเลือก Hide all microsoft services ออกกอน ก็จะเหลือแตเซอรวิสที่เปนโปรแกรมที่เราติดตั้งลงไปใหม ใหเลือกเอาสวน ที่คิดวาไมตองการออก แลวกดปุม Apply สวนเซอรวิสของไมโครซอฟทซึ่งมีอยูมากมายนั้น คงจะตองเขาไปอาน กันเองนะครับ วาจะใชตัวไหน ตัวไหนไมใช โดยเขาไปที่ Services แลวเลือก Start - Run ใหพิมพ Services.msc ก็ จะมีโปรแกรมขึ้นมา ที่นี่จะมีเซอรวิสทุกตัวใหอานกันจนตาลายเลยก็วาได และการดูตรงสวนที่แสดงคําอธิบายของแตละเซอรวิส

เอาโลโกตอนบูตออก เราสามารถเพิ่มความเร็วในการบูตได โดยเอาโลโกตอนบูตออก แตจะเพิ่มความเร็วไดเล็กนอย วิธีการใหเขา System Configuration Utility เลือก boot.ini เลือกบรรทัดที่มี /fastdetect แลวเลือก /NOGUIBOOT เสร็จแลวกด ปุม OK เราสามารถยกเลิกไดโดยการติ๊กเอาเครื่องหมายถูกออก การลดการคนหาไดรฟที่ไมมีอยูจริง


393 บางครั้งวินโดวสของคุณมีอาการบูตชากวาปกติ อาจจะเปนเพราะวินโดวสพยายามหาไดรฟที่ไมมีอยูจริง เชน ใน กรณีที่ Primary IDE ของคุณมีฮารดดิสกเพียงตัวเดียว แตวินโดวสจะพยายามหาฮารดดิสกตัวที่ 2 ขณะที่กําลังบูต ทําใหเสียเวลาเพิ่มในการบูต วิธีการแกไข ใหเขาไปที่ Device Manager แลวไปที่ IDE/ATAPI Controllers เลือกที่ Primary IDE คลิ้กขวาแลว เลือก Properties จะมี (ใสรูป 01.bmp) หนาตาง properties ขึ้นมาใหไปที่แท็บ Advanced Settings ที่ชอง Device 1 ซึ่งในที่นี้คือไดรฟตัวที่ 2 บน IDE 1 ซึ่งไมมีอยูจริง ใหแกที่ Device type เปน none (ใสรูป 02.bmp) แลวกดปุม OK เพื่อยืนยัน ถาที่ Secondary IDE มีไดรฟฺที่วางอยูก็ใหทําอยางนี้ดวย Bootcelerator โปรแกรมชวยเพิ่มความรวดเร็วของการบูตเครื่องคอมพิวเตอร ปญหาการใชงานเครื่องคอมพิวเตอร ที่ติดตั้งระบบ Windows และเปนสิ่งที่หลาย ๆ คนไมคอยชอบคือ การที่ใช เวลาในการ บูตเครื่อง เพื่อเขาใชงานระบบ Windows นั้นตองเสียเวลาคอนขางมาก มาดูโปรแกรมที่จะชวยลดเวลา ในการบูตเครื่องนี้ได คือโปรแกรม Bootcelerator โดยหลักการทํางานของโปรแกรมนี้คือ จะไปลดการโหลดไฟล ตาง ๆ ที่ไมจําเปนในการทํางานออกไป ทําใหไมตองเสียเวลาในการโหลดไฟลเหลานี้ ซึ่งจะชวยใหลดเวลา การบูตเครื่องไปไดมากกอนอื่นก็ทําการหาดาวนโหลดโปรแกรม Bootcelerator นี้มากอน จากนั้น ทําการคลาย ไฟล zip ออกมา และเริ่มตนการติดตั้ง โดยการเรียก ไฟลสําหรับการติดตั้ง ตามตัวอยาง

หนาตาของการติดตั้งโปรแกรม ตรงนี้จะงาย ๆ ครับ โดยการกดที่ปุม Next หรือ Yes ไปเรื่อย ๆ จนถึง Finish ซึ่ง จะไมขอแสดงรายละเอียดตรงสวนของการติดตั้งนะครับ


394

หลังจากที่กด Next ไปเรื่อย ๆ จนถึง Finish ตามตัวอยางดานบนนี้ ก็เปนอันจบขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม WinSplit โปรแกรมสําหรับตัดแบงไฟลใหญ ๆ เพื่อการก็อปปใสแผนดิสกเก็ต คงจะตองยอมรับวา การโอนยายขอมูลระหวางเครื่องคอมพิวเตอร 2 เครื่อง โดยวิธีการ copy ไฟลขอมูลที่ตองการ นั้น เก็บใสไวใน แผนฟลอปปดิสก และนําไปใสในคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่ง เปนวิธีการที่สุดแสนจะสะดวก และงายที่สุด เพราะวา ไมจําเปนตองใช อุปกรณอื่น ๆ มาก และคอมพิวเตอรทุกเครื่อง ก็จะมี floppy disk drive อยู แลว แตปญหาที่พบกันมากคือ ขนาดของไฟล ที่ปจจุบันนี้ อาจจะมีขนาดใหญเกินกวาที่จะ สามารถทําการ copy ไปใสไวในแผนดิสกเพียงแผนเดียวได (แผนดิสกแบบ 3.5 นิ้วในปจจุบัน 1 แผน จะสามารถเก็บไฟลตาง ๆ ได ขนาด 1.44MB) ดังนั้น หากตองการโอนยายขอมูลที่มีขนาดเกินกวา ที่แผนดิสก 1 แผน จะสามารถเก็บได จําเปน จะตองหาวิธีการมาชวย และวิธีที่งาย ๆ ก็คือ ทําการตัดแบงไฟลขอมูลนั้น ออกเปนหลาย ๆ สวน ใหมีขนาดเล็กลง พอที่จะเก็บใสในแผนดิสกได จากนั้น จึงคอยนําเอาไฟลขอมูลที่ถูกตัดออกนี้ copy ไปใสใน เครื่องคอมพิวเตอร ที่ ตองการ และทําการตอไฟลที่ถูกแบง เขาดวยกันใหม เทานี้ก็สามารถโดนยายไฟลใหญ ๆ ไดแบบสะดวกแลว โปรแกรมที่จะนํามาแนะนํากันคือ Winsplie เปนโปรแกรมขนาดเล็ก ๆ ที่มีความสามารถในการตัดแบงไฟล ออกเปนหลาย ๆ สวน โดยสามารถกําหนดวา จะแบงออกเปนกี่ชิ้น หรือแบงโดยการกําหนดขนาดของแตละไฟล ได นอกจากนี้ ยังสามารถสราง batch file สําหรับสั่งใหทําการ ตอไฟล ที่ถูกตัดแบงออกมานี้ ใหทําการเชื่อมตอ กันใหมไดโดยงายดาย ลองดูวิธีการใชงานงาย ๆ กันครับ และทําการ unzip เก็บไวกอน จากนั้น ก็เริ่มการใชงาน โดยจากตัวอยางตอไปนี้ จะสมมติวา ตองการแบงไฟล sdat4147.exe ที่มีขนาดเกือบ 5MB ออกเปนหลาย ๆ สวน เริ่มตนจากการเรียกไฟล winsplit.exe


395

หลังจากเรียกโปรแกรม จะไดหนาตาของโปรแกรมตามภาพ ใหทําการเลือกไฟลที่ตองการจะตัดแบง โดยกดที่ปุม Source File และเลือกไฟลที่ตองการ หลังจากนั้น เลือกที่เก็บไฟลปลายทางโดยการกดที่ปุม Target Dir ครับ ที่ชอง Other Parameter ใหทําการเลือกวิธีที่ตองการตัดไฟล วาจะแบงขนาดอยางไร เชน แบงเปนจํานวนชิ้น โดย เลือกที่ Pieces หรือหากตองการแบงตามขนาดของไฟล ก็เลือกที่ Size ตามตัวอยาง

กําหนดจํานวนชิ้น หรือจํานวนขนาดของไฟลที่ตองการแบง และอยาลืมเลือกชอง Generate Batch File? ดวย เพื่อใหโปรแกรม ทําการสรางไฟล ที่ใชสําหรับการตอไฟลขอมูลเขาดวยกันดวย จากนั้น ก็กดที่ปุม Split ครับ


396

จะมีเมนูยืนยันการตัดแบงไฟลอีกครั้ง กดที่ Yes เพื่อเริ่มการทํางานของโปรแกรม

หลังจากที่โปรแกรมทํางานเสร็จแลว ก็มีเมนูมาแจงเราวาเรียบรอยแลว กดที่ปุม OK ไดเลย


397

เมื่อทําการเปดดูไฟลที่อยูในชอง Target Dir จะเห็นวา มีไฟลที่มีชื่อขึ้นตนดวย ไฟลขอมูลที่ทําการตัดแบง แตจะมี ขนาดเทาที่ตองกําหนด และมีนามสกุลไฟล ลงทายดวยตัวเลข 1 2 3 หรือ 4 ไปเรื่อย ๆ นี่คือไฟลขอมูลของเราที่ถูก ตัดแบงแลว และจะมีไฟล Join.bat เพิ่มขึ้นมา ไฟล Join.bat นี้ จะเปนไฟลที่ใชสําหรับการรวม ไฟลตาง ๆ ที่ถูก แบงออกมาเขาดวยกันใหมอีกครั้ง ดังนั้น การ copy ไฟลใหทําการ copy ไฟล Join.bat รวมใสแผนดิสกไปดวยนะ ครับ วิธีการรวมไฟลเขาดวยกัน หลังจากที่ไดทําการ copy ทุกไฟลใสแผนดิสกและนํามาถายลวใน เครื่องคอมพิวเตอร อีกเครื่องหนึ่งแลว ใหเรียกไฟล Join.bat โดยการดับเบิลคลิก เพื่อสั่งใหทําการรวมไฟลเหลานี้เขาดวยกัน

หลังจากเรียกไฟล Join.bat จะมีเมนูรอการยืนยัน การรวมไฟลอีกครั้ง ใหกดปุม Enter เพื่อทํางานตอไปครับ


398

รอใหโปรแกรมทํางานสักพัก ก็จะไดหนาตาตามภาพ เปนอันวา ไฟล sdat4140.exe ที่มีขนาดเกือบ 5MB สามารถ ยายไปอยูใน เครื่องคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งได โดยการแบงออกเปนไฟลเล็ก ๆ และก็อปปใสแผนดิสก เรียบรอยแลว เริ่มตนการใชงานโปรแกรม สําหรับการปรับแตงคาตาง ๆ โดยการเรียกโปรแกรมนี้ขึ้นมากอน

วิธีการตั้งคาตาง ๆ ก็งาย ๆ ครับ เพียงแคเลือกที่เมนู File และเลือก Recommended Settings เทานั้น ซึ่งจะเปนการ เลือกตั้ง ตามคาของโปรแกรมที่แนะนําใหตั้ง


399

หลังจากนั้น จะเห็นคาตาง ๆ ที่โปรแกรมแนะนําใหตั้ง กดที่ปุม Apply ก็เปนอันเสร็จเรียบรอย ทดลองและดูเวลา ที่ใช ในการบูตเครื่องครั้งตอ ๆ ไปนะครับ วาจะชวยเพิ่มความเร็วไดมากขึ้นแคไหน

วิธีการปรับแตง Windows98 ใหทํางานไดเร็วขึ้น แบบไมตองลงทุน เทคนิคการปรับแตง Windows 98 ใหใชงานไดเต็มประสิทธิภาพ ตรงนี้ ไดทําการรวบรวมมา จากประสบการณ เทาที่ไดทดลอง ใชงานจริง ๆ และรวบรวมมาจากเว็บไซตตาง ๆ ที่ไดแนะนํา เทคนิคเหลานีไ้ ว นํามาทดลอง และเลือกเฉพาะสิ่งที่คิดวา ควรจะทําการปรับแตงเทานั้น ที่จริงแลว ยังมีวิธีการปรับแตงอีกหลายรูปแบบ แตบางอยางเทาที่ไดทดลองทําดูแลว พบวา จะสามารถใชได เฉพาะกับอุปกรณบางยี่หอ และบางรุนเทานั้น หรือในบางครั้ง กลับสรางปญหาใหกบั อุปกรณรอบ ขางดวย ดังนัน้ จึงขอคัดเลือกมาเฉพาะทีค่ วรจะทําการปรับแตงจริง ๆ เทานั้น ลองทํากันทีละหัวขอ เลย แลวเปรียบเทียบความรูส ึกกันดูวา Windows ของคุณ เปลี่ยนแปลงไปอยางไรบาง •

ยกเลิกการใช Wallpaper ของ Desk Top สําหรับเครื่องที่มี RAM นอย

สําหรับทานที่ใช Windows และมี RAM นอยกวา 64M. ขอแนะนําใหยกเลิกการใชภาพ Wallpaper ของ Desk Top หรือถาหากจะใชจริง ๆ ก็ควรเลือกภาพที่มีขนาดเล็ก ๆ จะชวยทําใหคณ ุ มีหนวยความจําใชงานไดเพิม่ มาอีก 1-2 M. โดยที่หากตองการใหฉากหลังไมเรียบจนเกินไป ก็ลอง เลือกใช Pattern แทน Wallpaper การเปลี่ยนไปใช Pattern ก็เลือกที่ Start >> Settings >> Control Panel >> Display >> Background ที่ Wallpaper เลือก None และเลือกใช Pattern แทนโดยเลือกที่ ปุม Pattern และเลือก Pattern ที่จะใชงานแทน อานระยละเอียดเพิ่มเติมที่ การตั้ง Wallaper ของ เครื่อง


400 •

ตั้งหนาจอใหมีจํานวนสีแบบ High Color (16 bit)

โดยปกติแลว การตั้งหนาจอใหแสดงจํานวนของสีไดมากนอยเทาไรนัน้ จะขึ้นอยูกับการดจอที่ ใชงานอยูด วย เชน 256 Color, High Color (16 bit), High Color (24 bit) หรือ True Color (32 bit) แตจากขอมูลทั่ว ๆ ไปแลวสวนใหญจะบอกวา จํานวนของสีที่แสดงบนหนาจอนั้น ในระดับที่สูง กวา High Color (16 bit) นั้นสายตาของคนเรา จะไมสามารถแยกออกได ดังนั้นหากเปนการใชงาน คอมพิวเตอรโดยทัว่ ๆ ไปแลว การตั้งจํานวนสีแค High Color (16 bit) ก็เพียงพอแลว จะทําใหการ แสดงผลตาง ๆ ของหนาจอทําไดรวดเร็วขึน้ การแกไขก็ทําโดยเลือก Start >> Settings >> Control Panel >> Display >> Settings แลวเปลี่ยนตรงชอง Color กด OK

ใชวิธีการ Turn off Monitor แทนการใช Screen Saver

สําหรับทานที่ใช Windows และมี RAM นอยกวา 64M. ขอแนะนําใหใชวิธีการรักษาหนาจอ โดยการตั้ง Turn off Monitor แทนการใช Screen Saver ซึ่งจะชวยใหคุณมีหนวยความจําใชงานได เพิ่มขึ้นมาอีกหนอยนึง โดยวิธีการคือ เลือกที่ Start >> Settings >> Control Panel >> Screen Saver เลือกเปน None และเลือกที่ Settings ตั้งที่ Turn off Monitor เลือกเวลาที่ตองการปดหนาจอ กด OK อานรายละเอียดเพิ่มเติมที่ การตั้งใช Screen Saver •

การปรับแตงไฟล Msdos.sys

หากทานไมไดใชโปรแกรมบีบอัดขอมูลของ Hard Disk หรือ DriveSpace ของ Windows แลว ละก็ ควรทําการปรับแตงโดยเพิ่มคําสั่งตอไปนี้ในไฟล Msdos.sys ตามขั้นตอนดังนี้ 1. เปด Windows Explorer ขึ้นมากอน 2. เลือกที่เมนู View >> Folder Options 3. เลือก View >> Show All Files กด OK 4. เขาไปที่ Drive C:\ คลิกเมาสขวาที่ไฟล Msdos.sys กดที่ Properties 5. ยกเลิกเช็คบอกซที่ Read Only และ Hidden ออก แลวกด OK 6. เปด Notepad เลือก Open เปดไฟล C:\Msdos.sys 7. มองหาหัวขอ [Options] แลวเพิ่ม 3 บรรทัดนี้ลงไป


401

[Options] DrvSpace=0 DblSpace=0 BootDelay=0 8. บันทึกขอมูลโดยเลือกที่ File >> Save และปดโปรแกรม Notepad 9. เปลี่ยน Attributes ของ Msdos.sys ใหเปน Read Only และ Hidden เหมือนเดิมในขอ 4. และ 5.

การปรับแตงไฟล System.ini ใน C:\Windows 1. เลือกที่ Start Menu >> Run พิมพคําวา system.ini และกดที่ปุม OK 2. หาบรรทัดที่มีหัวขอ [386Enh] แลวเพิม่ คําสั่งเขาไป 2 บรรทัด [386Enh] LocalLoadHigh=1 PageBuffer=32 คาของ PageBuffer ใหกําหนดเปนครึ่งหนึ่งของ RAM ที่มีอยูทั้งหมด เชนมีแรมอยู 64M. ก็ กําหนดเปน 32 ครับ 3. หาบรรทัดที่มีหัวขอ [vcache] แลวเพิ่มคําสั่งเขาไป 2 บรรทัด [vcache] MinFileCache=8000 MaxFileCache=8000 คาของ 2 บรรทัดนี้จะหาไดจากจํานวน RAM คูณดวย 125 เชนแรม 64M. จะ เทากับ 64x125=8000 4. บันทึกขอมูลโดยเลือกที่ File >> Save และปดโปรแกรม Notepad


402 •

ปรับแตง Dial-Up Adapter 1. เปด Control Panel ดับเบิล้ คลิกที่ Network เลือก Dial-Up Adapter และกดที่ Properties 2. กดเลือกที่ Advance ชอง IP Packet Size เลือกเปน Large 3. ชอง Use IPX header compression เลือกเปน No กด OK ปรับแตง Dial-Up Networking 1. เปด Control Panel เลือกที่ Modem เอาเมาสคลิกเลือกที่ตัวโมเด็มทีใ่ ชงาน และเลือกที่ Properties 2. ตรงชองของ Maximum speed ใหเปลี่ยนเปนคาสูงสุดที่มีใหเลือกได เชน 115200 3. ใชเมาสกดที่ชอง Connection เลือกที่ปุม Port Settings... 4. ชอง Receive และ Transmit Buffer เลื่อนไปขวามือจนสุด แลวกด OK 5. ใชเมาสกดที่ชอง Advanced เอาเครื่องหมายถูกในชอง Use error control ออกซะ 6. ติ๊กถูกในชอง Use flow control และเลือก Hardware (RTS/CTS) 7. ชอง Extra String ใสคําวา s10=100 และกด OK ไปเรื่อย ๆ จนออกจากการตั้ง Modem

ปรับแตงความเร็ว COM Port สําหรับโมเด็มแบบ External 1. เปด Control Panel เลือกที่ System กดที่ Device Manager เลือกชอง View device by type 2. มองหารายการ +Ports (COM & LPT) กดขยายออกมาและเลือก COM2 หรือตําแหนงที่ ตอกับ Modem 3. ใชเมาสกดที่ COM Port นั้นกอน และกดที่ปุม Properites 4. กดเลือกที่ปา ย Port Settings ชอง Bits per seccond ใหเปลี่ยนเปนคาสูงสุดที่มีใหเลือก 5. จากนั้นกด OK ไปเรื่อย ๆ จนออกมาหนาเดิม

ใชการบีบอัดขอมูล (Compress Data) ของโมเด็มเพิ่มความเร็วการเลนเน็ต 1. สําหรับโมเด็มและ ISP ที่รองรับการบีบอัดขอมูลของโมเด็ม จะชวยใหการสงขอมูลเร็ว ขึ้นได 2. มีผลเฉพาะในสวนของขอมูลแบบ Text หรือ HTML ที่ยังไมผานการบีบอัดเทานัน้ 3. กรณีขอมูลไฟลหรือภาพตาง ๆ อาจจะไมคอยเห็นผลมากนัก 4. เริ่มจากเปดหนา My Computer >> Dial-Up Networking 5. คลิกเมาสขวาที่ตรงกับ Dial-Up ของ ISP ที่ใชงาน เลือกที่ Properties 6. เลือกที่ Configure.. เลือกปาย Connection กดที่ปุม Advanced.. 7. เอาเครื่องหมายถูกที่ชอง Compress data ออก และกดปุม OK 2 ครั้ง กลับมาที่หนา General กอน 8. กดที่ปาย Server Types ติ๊กถูกที่ชอง Enable software compression แลวกด OK จนจบ


403

9. ถาหากใชงานได เมื่อดูที่ Connection ขณะตออินเตอรเน็ต กด Details จะเห็นคําวา Microsoft Compression •

ปรับแตงสายโทรศัพท ใหมีสัญญาณรบกวนนอยที่สุด 1. สัญญาณรบกวนในสายโทรศัพท เปนสาเหตุหลักที่ทําใหเน็ตชานะครับ 2. อานรายละเอียดที่ การตอสายโทรศัพท และการปรับแตงตาง ๆ เพิ่มความเร็วและปองกัน สายหลุดของโมเด็ม

ปรับแตง Performance และการใช Swap File ของระบบ 1. เปด Control Panel ดับเบิล้ คลิกที่ System เลือกที่ Performance 2. ที่ Files System ชอง Typical role of this computer เปลี่ยนเปน Network Server กด OK 3. ที่ Virtual Memory เลือกที่ Let me specify my own virtual memory setting 4. ชอง Minimum และ Maximum ใสคาขนาดของ virtual memoey ควรจะอยูระหวาง 128256 5. จากขอ 4. ถามีแรม 64M ควรกําหนดเปน 128 แตถามีแรมอยู 128M หรือมากกวานี้ ควร จะกําหนดเปน 256 ครับ 6. กด OK 2 ครั้ง ทําการ Restart เครื่องใหม 7. อานรายละเอียดเพิ่มเติมจากเรื่อง การตั้งใชงาน virtual memory ครับ ทําความสะอาด Registry ลบสวนที่ไมจําเปนกับการใชงานออกไป 1. ดาวนโหลดโปรแกรม Regclean จากเว็บไซต http://www.microsoft.com/ 2. เรียกไฟล Regclean.exe เพื่อแตกไฟล และใชงาน 3. อานรายละเอียดไดที่ การทําความสะอาด Registry ครับ

ทํา Defrag ฮารดดิสก สักประมาณอาทิตยละครั้ง 1. โดยเลือกที่ Start Menu >> Programs >> Accessories >> System Tools >> Disk Defragmenter 2. ควรทําประมาณสัก อาทิตยละครั้งครับ 3. อานรายละเอียดการทํา และเทคนิคตาง ๆ เพิ่มเติมที่ การทํา Defrag ฮารดดิสก

การใชความสามารถของ DMA ใหเต็มที่ สําหรับทานมีใชเมนบอรดและฮารดดิสกทรี่ องรับการสงขอมูลแบบ DMA 1. เปด Control Panel ดับเบิล้ คลิกที่ System เลือกที่ Device Manager


404

2. เลือกที่ Disk Drives แลวกดเลือกที่ฮารดดิสกของเครือ่ ง 3. กดที่ Properties เลือกที่ปาย Settings 4. ใชเมาสกดเลือกที่ชอง DMA แลวกด OK ทําการบูทเครื่องใหมอีกครั้ง 5. สําหรับเครื่องที่ไมรองรับ DMA จะไมสามารถใชงานไดนะครับ โดยที่ชองที่ติ๊กไวจะ หายไปเอง

การปรับแตง Registry ใหระบบ Windows ใชงาน CPU ไดเต็มประสิทธิภาพ อีกวิธีหนึ่ง ในการปรับแตงระบบ Windows ตรงนี้สําหรับ Windows98 เทานั้น โดยการ ปรับแตง Registry ของระบบ เพื่อกําหนดคา Priorities ของการใชงาน CPU และตองขอ เตือนไวกอนนะครับวา วิธกี ารนี้ อยางนอย คุณควรที่จะพอทราบเรื่องตาง ๆ ของ Registry พื้นฐานบางนิดหนอยกอน หาอานไดจาก http://www.pssix.com ก็ไดครับ 1. ที่เมนู Start Menu เลือกที่ Run พิมพคําวา regedit กด OK 2. เขาไปที่คา Registry HKEY_LOCAL_MACHINE\System\CurrentControlSet\Services\VxD\BIOS 3. ทางขวามือกดเมาสขวา เลือก New >> DWORD Value ใสชื่อเปน CPUPriority กด Enter 4. ดับเบิลคลิกที่ CPUPriority แลวเปลี่ยนคา Value data จาก 0 เปน 1 กด OK 5. เขาไปที่คา Registry HKEY_LOCAL_MACHINE\System\CurrentControlSet\Control 6. ที่เมนูดานซายมือ เอาเมาสกดที่ Control แลวกดเมาสขวา เลือก New >> Key 7. ใสชื่อใหมเปน PriorityControl ไวครับ 8. ทางขวามือกดเมาสขวา เลือก New >> DWORD Value ใสชื่อเปน IRQ8Priority กด Enter 9. เปลี่ยนคาของ IRQ8Priority ใหเปน 1 แบบเดียวกับขอ 4. 10. กด OK และทดลองบูตเครื่องใหมแลวดูผลที่ได *** เนนอีกครัง้ การปรับแตง Registry แบบนี้ ลองกันเองครับ ผมไมรับประกันวาระบบจะ มีปญหาอะไรหรือไม เพียงแตบอกวา เครื่องผมไมมีปญหาอะไร ระบบเร็วขึ้นมาไดอกี พอสมควรครับ ***

หลังจากเสร็จสิ้นการปรับแตงทุกอยางแลว ลองเปรียบเทียบความรูสกึ ตาง ๆ ทั้งเวลาที่ใชงานทั่ว ๆ ไปและเวลาเลนอินเตอรเน็ตดูนะ วาไดผลอยางไรกันบาง


405

วิธีการปรับแตง Windows 98 ใหทํางานไดเร็วขึ้น แบบไมตองลงทุน เทคนิคการปรับแตง Windows 98 ใหใชงานไดเต็มประสิทธิภาพ ตรงนี้ ไดทําการรวบรวมมาจากประสบการณ เทาที่ไดทดลอง ใชงานจริง ๆ และรวบรวมมาจากเว็บไซตตาง ๆ ที่ไดแนะนําเทคนิคเหลานี้ไว นํามาทดลอง และ เลือกเฉพาะสิ่งที่คิดวา ควรจะทําการปรับแตงเทานั้น ที่จริงแลวยังมีวิธีการปรับแตงอีกหลายรูปแบบ แตบางอยาง เทาที่ไดทดลองทําดูแลว พบวา จะสามารถใชไดเฉพาะกับอุปกรณบางยี่หอ และบางรุนเทานั้น หรือในบางครั้ง กลับสรางปญหาใหกับอุปกรณรอบขางดวย ดังนั้น จึงขอคัดเลือกมา เฉพาะหัวขอที่ควรจะทําการปรับแตงจริง ๆ เทานั้น ลองทํากันทีละหัวขอเลย แลวเปรียบเทียบความรูสึกกันดูวา Windows 98 ของคุณ จะเปลี่ยนแปลงไป อยางไรบาง •

ยกเลิกการใช Wallpaper ของ Desk Top สําหรับเครื่องที่มี RAM นอย สําหรับทานที่ใช Windows และมี RAM นอยกวา 64M. ขอแนะนําใหยกเลิกการใชภาพ Wallpaper ของ Desk Top หรือถาหากจะใชจริง ๆ ก็ควรเลือกภาพที่มีขนาดเล็ก ๆ จะชวยทําใหคุณมีหนวยความจําใช งานไดเพิ่มมาอีก 1-2 M. โดยที่หากตองการใหฉากหลังไมเรียบจนเกินไป ก็ลองเลือกใช Pattern แทน Wallpaper การเปลี่ยนไปใช Pattern ก็เลือกที่ Start >> Settings >> Control Panel >> Display >> Background ที่ Wallpaper เลือก None และเลือกใช Pattern แทนโดยเลือกที่ปุม Pattern และเลือก Pattern ที่จะใชงานแทน

ตั้งหนาจอใหมีจํานวนสีแบบ High Color (16 bit) โดยปกติแลว การตั้งหนาจอใหแสดงจํานวนของสีไดมากนอยเทาไรนั้น จะขึ้นอยูกับการดจอที่ใชงานอยู ดวย เชน 256 Color, High Color (16 bit), High Color (24 bit) หรือ True Color (32 bit) แตจากขอมูลทั่ว ๆ ไปแลวสวนใหญจะบอกวา จํานวนของสีที่แสดงบนหนาจอนั้น ในระดับที่สูงกวา High Color (16 bit) นั้นสายตาของคนเรา จะไมสามารถแยกออกได ดังนั้นหากเปนการใชงานคอมพิวเตอรโดยทั่ว ๆ ไปแลว การตั้งจํานวนสีแค High Color (16 bit) ก็เพียงพอแลว จะทําใหการแสดงผลตาง ๆ ของหนาจอทําได รวดเร็วขึ้น การแกไขก็ทําโดยเลือก Start >> Settings >> Control Panel >> Display >> Settings แลว เปลี่ยนตรงชอง Color กด OK

ใชวิธีการ Turn off Monitor แทนการใช Screen Saver สําหรับทานที่ใช Windows และมี RAM นอยกวา 64M. ขอแนะนําใหใชวิธีการรักษาหนาจอโดยการตั้ง Turn off Monitor แทนการใช Screen Saver ซึ่งจะชวยใหคุณมีหนวยความจําใชงานไดเพิ่มขึ้นมาอีก หนอยหนึ่ง โดยวิธีการคือ เลือกที่ Start >> Settings >> Control Panel >> Screen Saver เลือกเปน None และเลือกที่ Settings ตั้งที่ Turn off Monitor เลือกเวลาที่ตองการปดหนาจอ กด OK อานรายละเอียด เพิ่มเติมที่ การตั้งใช Screen Saver


406 •

การปรับแตงไฟล Msdos.sys หากทานไมไดใชโปรแกรมบีบอัดขอมูลของ Hard Disk หรือ DriveSpace ของ Windows แลวละก็ ควร ทําการปรับแตงโดยเพิ่มคําสั่งตอไปนี้ในไฟล Msdos.sys ตามขั้นตอนดังนี้ 1. เปด Windows Explorer ขึ้นมากอน 2. เลือกที่เมนู View >> Folder Options 3. เลือก View >> Show All Files กด OK 4. เขาไปที่ Drive C:\ คลิกเมาสขวาที่ไฟล Msdos.sys กดที่ Properties 5. ยกเลิกเช็คบอกซที่ Read Only และ Hidden ออก แลวกด OK 6. เปด Notepad เลือก Open เปดไฟล C:\Msdos.sys 7. มองหาหัวขอ [Options] แลวเพิ่ม 3 บรรทัดนี้ลงไป [Options] DrvSpace=0 DblSpace=0 BootDelay=0

8. บันทึกขอมูลโดยเลือกที่ File >> Save และปดโปรแกรม Notepad 9. เปลี่ยน Attributes ของ Msdos.sys ใหเปน Read Only และ Hidden เหมือนเดิมในขอ 4. และ 5. •

การปรับแตงไฟล System.ini ใน C:\Windows 1. เลือกที่ Start Menu >> Run พิมพคําวา system.ini และกดที่ปุม OK 2. หาบรรทัดที่มีหัวขอ [386Enh] แลวเพิ่มคําสั่งเขาไป 2 บรรทัด [386Enh] LocalLoadHigh=1 PageBuffer=32 คาของ PageBuffer ใหกําหนดเปนครึ่งหนึ่งของ RAM ที่มีอยูทั้งหมด เชนมีแรมอยู 64M. ก็กําหนดเปน 32 หรือถาเครื่องมีแรม 128M. ก็เลือกเปน 64 ครับ 3. หาบรรทัดที่มีหัวขอ [vcache] แลวเพิ่มคําสั่งเขาไป 2 บรรทัด [vcache] MinFileCache=8000 MaxFileCache=8000 คาของ 2 บรรทัดนี้จะหาไดจากจํานวน RAM คูณดวย 125 เชนแรม 64M. จะเทากับ 64x125=8000 หรือแรม 128M. จะได 128x125=16000 ครับ 4. บันทึกขอมูลโดยเลือกที่ File >> Save และปดโปรแกรม Notepad


407 •

ปรับแตง Dial-Up Adapter เพิ่มความเร็วโมเด็มในการเลนเน็ต 1. เปด Control Panel ดับเบิ้ลคลิกที่ Network เลือก Dial-Up Adapter และกดที่ Properties 2. กดเลือกที่ Advance ชอง IP Packet Size เลือกเปน Large 3. ชอง Use IPX header compression เลือกเปน No กด OK ใชการบีบอัดขอมูล (Compress Data) ของโมเด็มเพิ่มความเร็วการเลนเน็ต 1. สําหรับโมเด็มและ ISP ที่รองรับการบีบอัดขอมูลของโมเด็ม จะชวยใหการสงขอมูลเร็วขึ้นได 2. มีผลเฉพาะในสวนของขอมูลแบบ Text หรือ HTML หรือไฟลที่ยังไมผานการบีบอัดเทานั้น 3. กรณีขอมูลไฟลหรือภาพตาง ๆ อาจจะไมคอยเห็นผลมากนัก 4. เริ่มจากเปดหนา My Computer >> Dial-Up Networking 5. คลิกเมาสขวาที่ตรงกับ Dial-Up ของ ISP ที่ใชงาน เลือกที่ Properties 6. เลือกที่ Configure.. เลือกปาย Connection กดที่ปุม Advanced.. 7. เอาเครื่องหมายถูกที่ชอง Compress data ออก และกดปุม OK 2 ครั้ง กลับมาที่หนา General กอน 8. กดที่ปาย Server Types ติ๊กถูกที่ชอง Enable software compression แลวกด OK จนจบ 9. ถาหากใชงานได เมื่อดูที่ Connection ขณะตออินเตอรเน็ต กด Details จะเห็นคําวา Microsoft Compression

ปรับแตงสายโทรศัพท ใหมีสัญญาณรบกวนนอยที่สุด 1. สัญญาณรบกวนในสายโทรศัพท เปนสาเหตุหลักที่ทําใหเน็ตชานะครับ 2. อานรายละเอียดที่ การตอสายโทรศัพท และการปรับแตงตาง ๆ เพิ่มความเร็วและปองกันสายหลุด ของโมเด็ม

ปรับแตง Performance และการใช Swap File ของระบบ 1. เปด Control Panel ดับเบิ้ลคลิกที่ System เลือกที่ Performance 2. ที่ Files System ชอง Typical role of this computer เปลี่ยนเปน Network Server กด OK 3. ที่ Virtual Memory เลือกที่ Let me specify my own virtual memory setting 4. ชอง Minimum และ Maximum ใสคาขนาดของ virtual memoey ควรจะอยูระหวาง 128-256 5. จากขอ 4. ถามีแรม 64M ควรกําหนดเปน 128 แตถามีแรมอยู 128M หรือมากกวานี้ ควรจะกําหนด เปน 256 ครับ 6. กด OK 2 ครั้ง ทําการ Restart เครื่องใหม 7. อานรายละเอียดเพิ่มเติมจากเรื่อง การตั้งใชงาน virtual memory ครับ ทําความสะอาด Registry ลบสวนที่ไมจําเปนกับการใชงานออกไป 1. ดาวนโหลดโปรแกรม Regclean จากเว็บไซต http://www.microsoft.com/ 2. เรียกไฟล Regclean.exe เพื่อแตกไฟล และใชงาน

ทํา Defrag ฮารดดิสก สักประมาณอาทิตยละครั้ง 1. โดยเลือกที่ Start Menu >> Programs >> Accessories >> System Tools >> Disk Defragmenter


408 2. ควรทําประมาณสัก อาทิตยละครั้งครับ 3. อานรายละเอียดการทํา และเทคนิคตาง ๆ เพิ่มเติมที่ การทํา Defrag ฮารดดิสก •

การใชความสามารถของ DMA ใหเต็มที่ สําหรับทานมีใชเมนบอรดและฮารดดิสกที่รองรับการสงขอมูลแบบ DMA 1. เปด Control Panel ดับเบิ้ลคลิกที่ System เลือกที่ Device Manager 2. เลือกที่ Disk Drives แลวกดเลือกที่ฮารดดิสกของเครื่อง 3. กดที่ Properties เลือกที่ปาย Settings 4. ใชเมาสกดเลือกที่ชอง DMA แลวกด OK ทําการบูทเครื่องใหมอีกครั้ง 5. สําหรับเครื่องที่ไมรองรับ DMA จะไมสามารถใชงานไดนะครับ โดยที่ชองที่ติ๊กไวจะหายไปเอง

การปรับแตง Registry ใหระบบ Windows ใชงาน CPU ไดเต็มประสิทธิภาพ อีกวิธีหนึ่ง ในการปรับแตงระบบ Windows ตรงนี้สําหรับ Windows 98 หรือ Windows Me เทานั้น โดย การปรับแตง Registry ของระบบ เพื่อกําหนดคา Priorities ของการใชงาน CPU และตองขอเตือนไว กอนนะครับวา วิธีการนี้ อยางนอย คุณควรที่จะพอทราบเรื่องตาง ๆ ของ Registry พื้นฐานบางนิดหนอย กอน ถาหากไมแนใจตรงนี้ ขามตรงนี้ไปกอน ไมตองทําการปรับแตงก็ไดครับ สําหรับการปรับแตง Registry ตรงนี้ เพื่อความงาย และไมถนัดเรื่อง Registry ดังนั้น จะขอไมขออธิบาย รายละเอียด แตใหทําการ คลิกที่ลิงคดานลางนี้ไดเลยครับ เปน Registry ที่ทําไวสําเร็จรูป คลิกแลวเลือก ที่ Open this file... และกด Yes แคนี้เองครับ โดยจะแบงเปน 2 ไฟลสําหรับเครื่องที่ใชการดจอแบบ AGP และ PCI 1. คลิกที่นี่เพื่อปรับแตง CPU Priority Registry สําหรับเครื่องที่ใชการดจอแบบ AGP Slot 2. คลิกที่นี่เพื่อปรับแตง CPU Priority Registry สําหรับเครื่องที่ใชการดจอแบบ PCI Slot *** เนนอีกครั้ง การปรับแตง Registry แบบนี้ ลองกันเองครับ ผมไมรับประกันวาระบบจะมีปญหา อะไรหรือไม เพียงแตบอกวา เครื่องผมไมมีปญหาอะไร ระบบเร็วขึ้นมาไดอีกพอสมควรครับ ***

หลังจากเสร็จสิน้ การปรับแตงทุกอยางแลว ลองเปรียบเทียบความรูสึกตาง ๆ ทั้งเวลาที่ใชงานทั่ว ๆ ไปและเวลา เลนอินเตอรเน็ตดูนะ วาไดผลอยางไรกันบาง

วิธีการปรับแตง Windows XP ใหทํางานไดเร็วขึ้น แบบไมตองลงทุน ความจริงแลว ระบบปฏิบัติการ Windows XP นั้น มีการจัดการกับสวนตาง ๆ ที่คอนขางจะดีอยูแลว ไมจําเปน จะตองไปปรับแตง อะไรเพิ่มเติมกันอีก แตถาหาก ใครอยากจะเสริมโนนนิด นี่หนอย ก็ลองมาดูขั้นตอน การ ปรับแตง Windows XP กันไดเลยครับ •

ทําการลง Driver ของอุปกรณตาง ๆ ที่มีมาใหสําหรับ Windows XP โดยเฉพาะ สําหรับทานที่ใชงาน Windows XP นั้น ความจริงหลังจากที่ลง Windows ใหม ๆ แลว อุปกรณบางตัว


409

อาจจะสามารถ ทํางานไดเลย โดยไมตองมานั่งลง Driver ใหยุงยาก แตเพื่อใหอุปกรณตาง ๆ นั้น สามารถทํางานได อยางเต็มประสิทธิภาพ มากขึ้น ขอแนะนําใหทําการลง Driver ของอุปกรณแตละตัว ไปอีกครั้งดวย จะชวยลดปญหาตาง ๆ ในการใชงานไดมาก การปรับแตง Performance ของระบบใหทํางานไดเร็วขึ้น เปนการตั้งคา Virtual Memory ของระบบที่เหมาะสม โดยเริ่มจากการคลิกเมาสขวาที่ My Computer บน หนา Desktop เลือก Properties และเลือก Advanced ในชอง Performance กดที่ปุม Settings >> Advanced และดานลางเลือกกดที่ปุม Change จะไดตามภาพ

ทําการเปลี่ยนคาของ Virtual ใหเปนแบบ Custom size และกําหนดไวที่ 512-512 ตามภาพแลวกด OK จากนั้น เครื่องจะทําการ Restart ใหมครั้งหนึ่งกอนครับ •

การปรับแตง Startup and Recovery ของระบบวินโดวส เปนการกําหนดขั้นตอน เมื่อระบบวินโดวสเริ่มตนทํางาน และการกําหนดการกระทํา เมื่อมีขอผิดพลาด เกิดขึ้นใหเหมาะสม โดยทําการคลิกเมาสขวาที่ My Computer บนหนา Desktop เลือก Properties และ เลือก Advanced ในชอง Startup and Recovery กดที่ปุม Settings จะไดตามภาพ


410

ทําการยกเลิกการเครื่องหมายถูกใตชอง System failure ออกใหหมด (สําหรับเครื่องหมายถูกดานบนใตชอง system startup ใหปลอยไวตามเดิม เนื่องจากเปนการกําหนดการเลือกบูต Windows แบบหลายระบบ หรือถาหาก เครื่องนั้น ลงระบบ Windows ไวแคตัวเดียว ไมไดใชลูกเลนนี้ก็เอาออกไปไดเชนกันครับ) จากนั้นก็กด OK ครับ •

การปรับแตงระบบรายงานขอผิดพลาดหรือ Error Reporting เปนการกําหนดวิธีการรายงานขอผิดพลาด ซึ่งไมคอยไดใชงานอะไร ก็จัดการยกเลิกการทํางานสวนนี้ ซะเลย โดยทําการ คลิกเมาสขวาที่ My Computer บนหนา Desktop เลือก Properties และเลือก Advanced ที่ดานลาง ใหกดที่ปุม Error Reporting จะไดตามภาพ


411

ทําการเลือกที่ชอง Disable error reporting ตามภาพแลวกด OK ครับ •

ปดการทํางานของ System Restore เพื่อไมใหเปลืองพื้นที่ของฮารดดิสก เปนการปดการทํางานของระบบ System Restore หรือระบบยอนเวลากลับของ Windows เชน ถาหาก เรามีการติดตั้ง ซอฟตแวรลงไปในเครื่อง แลวเกิดเปลี่ยนใจหรือวาซอฟตแวรตัวนั้น ไปสรางปญหา ใหกับระบบ เราก็สามารถยอยเวลากลับไป ณวันที่หรือเวลาที่เราตองการได แตเนื่องจากการที่จะ สามารถ ยอนเวลากลับไปไดนั้น Windows จะตองใชพื้นที่บน ฮารดดิสก สวนหนึ่ง ในการเก็บขอมูล ตาง ๆ เหลานี้ไวดวย ตรงนี้แหละครับที่เรียกวา System Restore ซึ่งถาหาก ไมตองการ ใชงานระบบใน สวนนี้ ก็จัดการปดการทํางานไปซะดีกวาครับ โดยทําการ คลิกเมาสขวาที่ My Computer บนหนา Desktop เลือก Properties และเลือก System Restore ตามภาพ


412

ติ๊กเครื่องหมายถูกที่ชอง Turn off System Restore on all drive แลวกด OK ครับ •

การตั้งใหปดระบบการทํางานของ Auto Update ไปเลยดีกวา เปนการตั้งใหระบบการอัพเดตไฟลหรือ Patch ตาง ๆ ผานทางเว็บไซตของ microsoft แบบอัตโนมัติไม ทํางาน เนื่องจาก ถาหากมีการตั้ง Auto Update นี้ไว จะทําใหเมื่อเลนอินเตอรเน็ตแลว จะมีการเช็คหรือ ตรวจสอบอยูบอย ๆ รวมถึงในบางครั้ง อาจจะเปนสาเหตุที่ทําให Windows ตอเน็ตเองดวย ซึ่งหากเรา ตองการที่จะทําการอัพเดตจริง ๆ ก็สามารถสั่งเองไดเชนกัน โดยทําการ คลิกเมาสขวาที่ My Computer บนหนา Desktop เลือก Properties และเลือก Automatic Updates ตามภาพ


413

เอาเครื่องหมายถูกหนาชอง Keep my computer up to date... ออกไปและกด OK ครับ •

การปดการทํางานของระบบ Remote Desktop เปนการปดการทํางานของการใชงาน Remote Desktop หรือการทํา Remote จากเครืองคอมพิวเตอร เครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่ง โดยปกติเราจะไมไดมีการใชงานสวนนี้อยูแลว ปดไปเลยดีกวาครับ โดย ทําการ คลิกเมาสขวาที่ My Computer บนหนา Desktop เลือก Properties และเลือก Remote ตามภาพ


414

เอาเครื่องหมายถูกออกไปใหหมดเหมือนภาพดานบน และกดที่ปุม OK ครับ ลักษณะทั่วไป ของฮารดดิสก

ระบบฮารดดิสคแตกตางกับแผนดิสเกตต ซึ่งโดยทั่วไปแลวจะมีจํานวนหนาสําหรับ เก็บบันทึก ขอมูลมากกวาสองหนา นอกจากระบบฮารดดิสคจะเก็บบันทึกขอมูลเหมือน แผนดิสเกตตยังเปนสวน ที่ใชในการอานหรือเขียนบันทึกขอมูลเหมือนชองดิสคไดรฟ แผนจานแมเหล็กของฮารดดิสค จะมีความหนาแนนของการจุขอมูลบนผิวหนาไดสูง กวาแผน ดิสเกตตมาก เชน แผนดิสเกตตมาตราฐานขนาด 5.25 นิ้ว ความจุ 360


415 กิโลไบต จะมีจํานวนวงรอบ บันทึกขอมูลหรือเรียกวา แทร็ก(track) อยู 40 แทร็ก กรณี ของฮารดดิสคขนาดเดียวกันจะมีจํานวน วงรอบสูงมากกวา 1000 แทร็กขึ้นไป ขณะเดียวกันความจุในแตละแทร็กของฮารดดิสคก็จะสูงกวา ซึ่งประมาณไดถึง 5 เทา ของความจุในแตละแทร็กของแผนดิสเกตต เนื่องจากความหนาแนนของการบันทึกขอมูลบนผิวแผนจานแมเหล็กของฮารดดิสค สูงมาก ๆ ทําใหหัวอานและเขียนบันทึกมีขนาดเล็ก ตําแหนงของหัวอานและเขียนบันทึก ก็ตองอยูในตําแหนง ที่ใกลชิดกับผิวหนาจานมาก โอกาสที่ผิวหนาและหัวอานเขียนอาจ กระทบกันได ดังนั้นแผนจานแม เหล็กจึงควรเปนแผนอะลูมิเนียมแข็ง แลวฉาบดวยสาร แมเหล็ก ฮารดดิสคจะบรรจุอยูในกลองโลหะปดสนิท เพื่อปองสิ่งสกปรกหลุดเขาไปภายใน ซึ่งถาตอง การเปดออกจะตองเปดในหองเรียก clean room ที่มีการกรองฝุนละออกจาก อากาศเขาไปในหอง ออกแลว ฮารดดิสคที่นิยมใชในปจจุบันเปนแบบติดภายในเครื่อง ไมเคลื่อนยายเหมือนแผนดิสเกตต ดิสคประเภทนี้อาจเรียกวา ดิสควินเชสเตอร (Winchester Disk) ฮารดดิสคสวนใหญจะประกอบดวยแผนจานแมเหล็ก(platters) สองแผนหรือ มากกวามาจัด เรียงอยูบนแกนเดียวกันเรียก Spindle ทําใหแผนแมเหล็กหมุนไปพรอม ๆ กัน จากการขับเคลื่อน ของมอเตอรดวยความเร็ว 3600 รอบตอนาที แตละหนาของแผน จานจะมีหัวอานเขียนประจําเฉพาะ โดยหัวอานเขียนทุกหัวจะเชื่อมติดกันคลายหวี สามารถเคลื่อนเขาออกระหวางแทร็กตาง ๆ อยางรวดเร็ว

จากรูปเปนภาพตัดขวางของฮารดดิสคแสดงแผนจาน แกนหมุน Spindle หัวอาน เขียน และกานหัวอานเขียน


416

จากรูปแสดงฮารดดิสคที่มีแผนจาน 2 แผน พรอมการกํากับชื่อแผนและหนาของ ดิสค ผิวของ แผนจานกับหัวอานเขียนจะอยูเกือบชิดติดกัน คือหางกันเพียงหนึ่งในแสน ของนิ้ว และระยะหางนี้ ในระหวางแทร็กตาง ๆ ควรสม่ําเสมอเทากัน ซึ่งกลไกของเครื่อง และการประกอบฮารดดิสคตอง ละเอียดแมนยํามาก การหมุนอยางรวดเร็วของแผนจาน ทําใหหัวอานเขียนแยกหางจากผิวจาน ดวยแรงลมหมุนของจาน แตถาแผนจานไมได หมุนหรือปดเครื่อง หัวอานเขียนจะเลื่อนลงชิดกับ แผนจาน ดังนั้นเวลาเลิกจากการใช งานเรานิยมเลื่อนหัวอานเขียนไปยังบริเวณที่ไมไดใชเก็บขอมูล ที่เรียกวา Landing Zone เพื่อวาถาเกิดการกระแทรกของหัวอานเขียนและผิวหนาแผนจานก็จะไมมีผลตอ ขอมูลที่เก็บไว ฮารดดิกสเปนอุปกรณที่รวมเอาองคประกอบ ทั้งกลไกการทํางาน และอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส เขาไวดวยกัน แมวาฮารดดิสก นั้นจะไดชื่อวาเปนอุปกรณที่มีความ ซับซอนที่สด ุ ในดานอุปกรณที่มีการเคลื่อนไหว แตในความเปนจริงแลวการอธิบายการ ทํางาน ของฮารดดิสกนั้นถือวาไดงาย ภายในฮารดดิสกนั้นจะมีแผน Aluminum Alloy Platter หลายแผนหมุนอยูดวยความเร็วสูง โดยจะมีจํานวนแผนขึ้นอยูกับแตละรุนแตละ ยี่หอตางกันไป เมื่อผูใช พิมพคําสั่งใหคอมพิวเตอรทํางาน แขนกลของฮารดดิสก จะ รอบรับคําสั่งและเคลื่อนที่ ไปยังสวนที่ถูกตองของ Platter เมื่อถึงที่หมายก็จะทําการ อานขอมูลลงบนแผนดิสกนั้น หัวอานจะอานขอมูลแลวสงไปยัง ซีพียู จากนั้น ไมนาน ขอมูลที่ตองการก็จะปรากฏ การทํางานเขียนอานขอมูลของฮารดดิกส จะมีการทํางาน คลายกับการทํางาน ของของเทปคาสเซ็ท แพล็ตเตอรของฮารดดิสก นั้นจะเคลือบไป ดวยวัตถุจําพวกแมเหล็ก ที่มีขนาดความหนา เพียง 2-3 ในลานสวนของนิ้ว แตจะตาง จากเทปทั่วไปคือ ฮารดดิสกนั้นจะใชหัวอานเพียง หัวเดียวในการทํางาน ทั้งอาน และ เขียนขอมูลบนฮารดดิกส สวนเขียนขอมูลลงบนฮารดดิสกนั้นหัวอานจะได รับ กระแสไฟฟาผานเขาสู คอยลของหัวอาน เพื่อสรางรูปแบบแมเหล็กบนสื่อ ที่เคลือบอยู บนแพล็ตเตอรซึ่งเทา กับเปนการเขียนขอมูลลงบน ฮารดดิสก การอานนั้น ก็จะเปนการ แปลงสัญญาณรูปแบบแมเหล็กที่ไดบันทึก อยูบนฮารดิสกกลับแลวเพิ่ม สัญญาณและ ทําการ ประมวลผล ใหกลับมาเปนขอมูลอีกครั้งอีก จุดที่แตกตาง กันของการเก็บขอมูลระหวาง ออดิโอเทปกับฮารดดิสกนั้นก็ คือเทป จะเก็บขอมูลในรูปแบบของ สัญญาณ อนาล็อก แตสําหรับฮารดดิสกนั้นจะ เก็บในรูป สัญญาณ ดิจิตอลโดยจะเก็บเปนเลขฐานสองคือ 0 และ 1 ฮารดดิสก จะเก็บขอมูลไวใน Track หรือ เสนวงกลม โดยจะเริ่มเก็บขอมูลที่ดานนอกสุด ของฮารดดิสกกอน จากนั้น จึงไลเขามาดานในสุด โดยฮารดดิสก จะเปนอุปกรณที่สามารถสุมเขาถึงขอมูลได คือ การที่หัวอาน สามารถเคลือ ่ นที่ ไปอานขอมูลบนจุดใดของ ฮารดดิสกก็ได ไมเหมือนกับ เทปเพลงที่หากจะตองการฟงเพลง ถัดไปเราก็ตองกรอเทป ไปยังจุดเริ่มตนของเพลง นั้น หัวอานของฮารดดิสก นั้นสามารถบินอยูเหนือพื้นที่จัดเก็บ ขอมูลทันทีที่ไดรับ ตําแหนงมาจากซีพียู ซึ่งการเขา ถึงขอมูลแบบสุมนี้เปนเหตุผลสําคัญ ที่ทําใหฮารดดิสก สามารถแทนที่เทปในการเก็บขอมูลหลักของคอมพิวเตอร ฮารดดิสกนั้นสามารถ เก็บ ขอมูลไดทั้ง 2 ดานของ แพล็ตเตอร ถาหัวอานเขียนนั้นอยูทั้ง 2 ดาน ดังนั้นฮารดดิสกที่


417 มีแพล็ตเตอร 2 แผนนั้นสามารถมีพื้นที่ในการ เก็บขอมูลไดถึง 4 ดาน และมีหัวอาน เขียน 4 หัวการเคลื่อนที่ของ หัวอานเขียนนี้จะมีการเคลื่อนที่ไปพรอม ๆ กันโดยจะมีการ เคลื่อนที่ที่ตรงกัน Track วงกลมนั้นจะถูกแบงออก เปนหนวยยอย ๆ เรียกวา Sector การเขียนขอมูลลงบนฮารดดิสกนั้นจะเริ่มเขียนจากรอบนอกสุด ของฮารดดิสกกอน จากนั้นเมื่อขอมูลใน Track นอกสุดถูกเขียนจนเต็มหัวอานก็จะเคลื่อนมายังแทร็กถัดมา ที่วางแลวทําการเขียน ขอมูลตอไป ซึ่งก็ดวยวิธีการนี้ทําใหประสิทธิภาพการทํางานสูง เปนอยางมากเพราะหัวอานเขียนสามารถบันทึกขอ มูลไดมากกวา ในตําแหนงหนึ่ง กอนที่จะเคลื่อนที่ไปยังแทร็คถัดไป ตัวอยางเชน ถาเรามีฮารดดิสกแบบ 4 แพล็ตเตอรอยูและหัวอานเขียนอยูที่แทร็ค 15 ไดรฟจะเขียนขอมูลลงในแทร็ค 15 บนทั้ง 2 ดานของ แพล็ตเตอร ทั้ง 4 จนเต็ม จากนั้นจึงเคลื่อนเขาไปหาที่แทร็ค 16 ตอไป การหมุนของแพล็ตเตอรนั้นนับไดวา เร็ว มาก ความเร็วต่ํา สุดก็เทากับ 3,600 รอบตอนาที และปจจุบันสูงสุดนับหมื่นรอบ ซึ่งเปน การทํางานที่เร็วกวา ฟล็อบปดิสกหรือเทปมาก ดวยความเร็วขนาดนี้ทําใหหัวอานเขียน ขนาดเล็กสามารถลอยหรือบินอยูเหนือพื้น ผิวไดหัวอานเขียนนั้นไดรับการ ออกแบบให บินอยูเหนือแผนแพล็ตเตอรที่กําลังหมุนอยูดวยความเร็วสูงนี้ ในความสูงเพียง 3 ลาน สวนของนิ้ว ซึ่ง เทากับวาระยะหางระหวางหัวอานเขียนและแพล็ตเตอรนั้นมีขนาดเล็ก กวาเสนผมของคนเราหรือแมกระทั่งฝุนมาก หากเกิดการกระแทก อยางรุนแรงขึ้นกับ ฮารดดิสกจนทําให หัวอานเขียนสัมผัสกับแผนแพล็ตเตอรก็จะทําใหพื้นผิว หรือหัวอาน เขียน เกิดการเสียหาย ซึง่ สงผลใหเกิด ปญหาขอมูลเสียหาย หรือถาโชครายก็คือ ฮารดดิสกพงั อยางแกไข ไมได อยางไรก็ตามปญหานี้มักจะไมเกิด กับฮารดดิสกใน ปจจุบัน ทั้งนี้เพราะฮารดดิสกในปจจุบันมีเทคโนโลยีการ ผลิตที่สูงขึ้นและไดรับการ ปองกัน เปนอยางดีโดยถูกสราง ใหสามารถ รับแรงกระแทกไดสูงถึง 70-100 เทาของ แรงดึงดูด (70-100G)

การจัดเรียงขอมูลบนฮารดดิสก การจัดเรียงขอมูลบนฮารดดิสกนั้นมีลักษณะเดียวกับแผนที่ ขอมูลจะถูกจักเก็บไว ในแทร็คบนแพล็ตเตอร ดิสกไดรฟทั่ว ๆ ไปจะมีแทร็คประมาณ 2,000 แทร็คตอนิ้ว (TPI) Cylinder จะหมายถึงกลุมของ Track ที่อยู บริเวณหัวอานเขียนบนทุก ๆ แพล็ตเตอร ใน การเขาอานขอมูลนั้นแตละแทร็คจะถูกแบงออกเปนหนวยยอย ๆ เรียกวา Sector กระบวนการในการจัดการดิสก ใหมีแทร็ค และเซกเตอรเรียกวา การฟอรแมต ฮารดดิสก ในปจบันสวนใหญจะไดรับการฟอรแมตมาจากโรงงานเรียบรอยแลว ในเครื่อง คอมพิวเตอร โดยปกติ เซกเตอร จะมีขนาด เทากับ 512 ไบต คอมพิวเตอรจะใชขอมูลที่ ไดรับการฟอรแมตนี้ เหมือนกับที่นักทองเที่ยวใชแผนที่ ในการเดินทาง คือใชระบุวา ขอมูลใดอยูที่ตําแหนงใดบนฮารดดิสก ดังนั้นหากฮารดดิสก ไมไดรับการฟอรแมต เครื่องคอมพิวเตอร จะก็ไมรูวาขอมูลถูกเก็บไวที่ใด และจะนําขอมูลมาไดจากที่ไหนใน การออกแบบฮารดดิสก แบบเกานั้นจํานวน เซกเตอรตอแทร็กจะถูกกําหนดตายตัว เนื่องจากพื้นที่แทร็คบริเวณขอบนอกนั้นมีขนาด ใหญกวาบริเวณขอบใน ของฮารดดิสก ดังนั้นพื้นที่สิ้นเปลืองของแทร็คดานนอกจึงมีมากกวา แตในปจจุบัน ไดมีการใชเทคนิค การฟอรแมต รูปแบบใหมที่ เรียกวา Multiple Zone Recording เพื่อบีบขอมูลไดมากขึ้น ในการนํามาจัดเก็บบนฮารดดิสกได Multiple Zone Recording จะอนุญาตใหพื้นที่แทร็ คดานนอก สามารถ ปรับจํานวนคลัสเตอรไดทําใหพื้นที่แทร็ค ดานนอกสุดมีจํานวน เซกเตอรมากวา ดานในและดวยการแบงใหพื้น ที่แทร็คดานนอกสุดมีจํานวนเซกเตอร มากวาดานในนี้ ขอมูลสามารถจัดเก็บไดตลอดทั้งฮารดดิสก ทําใหมีการใชเนื้อที่บน แพล็ตเตอรไดอยางคุมคา และเปนการ เพิ่มความจุโดย ใชจํานวนแพล็ตเตอรนอยลง จํานวนของเซกเตอรตอแทร็ค ในดิสกขนาด 3.5 นิ้วแบบปกติจะมีอยู ประมาณ 60 ถึง 120 เซกเตอรภายใตการจัดเก็บแบบ Multiple Zone Recording


418 การทํางานของหัวอานเขียน หัวอานเขียนของฮารดดิสกนับเปนชิ้นสวนที่มีราคาแพงที่สุด และลักษณะของมัน ก็ มีผลกระทบอยางยิ่งกับ ประสิทธิภาพ ของฮารดดิสกโดยรวม หัวอานเขียนจะเปน อุปกรณแมเหล็ก มีรูปรางคลาย ๆ ตัว “C” โดยมีชอง วางอยูเล็กนอย โดยจะมีเสนคอยล พันอยูรอบหัวอานเขียนนี้เพื่อสรางสนามแมเหล็กไฟฟา การเขียนขอมูล จะใช วิธีการสง กระแสไฟฟาผานคอยล ทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลง ของสนามแมเหล็กซึ่งจะสงผลให เกิด ความเปลี่ยนแปลงที่แพล็ตเตอร สวนการอานขอมูลนั้น จะรับคาความเปลี่ยนแปลง ของสนามแมเหล็กผาน คอยลที่อยูที่หัวอาน เขียนแลวแปลงคาที่ไดเปน สัญญาณสงไป ยังซีพียู ตอไปเมื่อเทคโนโลยีพัฒนาไปความ หนาแนนของขอมูลก็ยิ่ง เพิ่มขึ้นในขณะที่ เนื้อที่สําหรับเก็บขอมูลก็จะลดขนาดลง ขนาดบิตของขอมูลที่เล็กนี้ ทําใหสัญญาณที่ เกิดขึ้นแลว สงไปยังหัวอานนั้นออนลง และอานไดยากขึ้น ดวเหตุนี้ทางผูพัฒนาจึง จําเปน ตองวางหัวอานใหกับสื่อมากขึน ้ เพื่อ ลดการสูญเสียสัญญาณ จากเดิมในป 1973 ที่หัวอานเขียนบินอยูหางสื่อ ประมาณ 17 microinch (ลานสวนของนิ้ว) มาในปจจุบันนี้ หัวอานเขียน บินอยูเหนือแผนแพล็ตเตอรเพียง 3 microinch เทานั้น เหมือนกับการนํา เครื่องบิน โบอิ้ง 747 มาบินดวยความเร็วสูงสุด โดยใหบินหางพื้นเพียง 1 ฟุต แตที่ สําคัญก็คือหัวอานเขียนนั้นไมเคยสัมผัส กับแผนแพล็ตเตอร ที่กําลังหมุนอยูเลยเมื่อ เครื่อง คอมพิวเตอรถูกปด ฮารดดิสกจะหยุดหมุนแลวหัวอานเขียนจะ เคลื่อนที่ไปยัง พื้นที่ที่ปลอดภัย และหยุดอยูตรงนั้น ซึ่งแยกอยูตางหากจากพื้นที่ที่ใชเก็บขอมูล

Seek Time คือระยะเวลาที่แขนยืดหัวอานเขียนฮารดดิสก เคลื่อนยายหัวอานเขียนไประหวาง แทร็คของขอมูลบนฮารดดิสก ซึ่งในปจจุบันฮารดดิสก จะมีแทร็คขอมูลอยูป  ระมาณ 3,000 แทร็คในแตละดานของแพล็ตเตอร ขนาด 3.5 นิ้ว ความสามารถในการเคลื่อนที่ จากแทร็คที่อยูไปยังขอมูลในบิตตอ ๆ ไป อาจเปนการยายตําแหนงไปเพียง อีกแทร็ค เดียวหรืออาจยายตําแหนงไปมากกวา 2,999 แทร็คก็เปนได Seek time จะวัดโดยใช หนวยเวลาเปน มิลลิเซก (ms) คาของ Seek time ของการยายตําแหนงของแขนยึด หัวอานเขียน ไปในแทร็คถัด ๆ ไปในแทร็คที่ อยูติด ๆ กันอาจใชเวลาเพียง 2 ms ในขณะที่การยายตําแหนงจากแทร็คที่อยูนอกสุดไปหาแทร็คที่อยูในสุด หรือ ตรงกัน ขามจะตองใชเวลามากถึงประมาณ 20 ms สวน Average seek time จะเปนคา ระยะเวลาเฉลี่ย ในการยายตําแหนง ของหัวเขียนอานไปมาแบบสุม (Random) ใน ปจจุบันคา Average seek time ของ ฮารดดิสกจะอยู ในชวงตั้งแต 8 ถึง 14 ms แมวา คา seek จะระบุเฉพาะคุณสมบัติในการทํางานเพียง ดานกวางและยาวของ แผนดิสก แตคา Seek time มักจะถูกใชในการเปรียบเทียบ คุณสมบัติทางดานความ เร็วของ ฮารดดิสกเสมอ ปกติ แลวมักมีการเรียกรุนของฮารดดิสกตามระดับความเร็ว Seek time ของตัว ฮารดดิสกเอง เชนมีการเรียกฮารดดิสก ที่มี Seek time 14 ms วา “ฮารดดิสก 14 ms” ซึ่งก็แสดงใหทราบวา ฮารดดิสกรุนนั้น ๆ มีความเร็วของ Seek time ที่ 14 ms อยางไรก็ตามถึงแมวาการใชคาความเร็ว Seek time กําหนดระดับชั้นของฮารดดิสกจะ สะดวก แตคา Seek time ก็ยังไมสามารถแสดงใหประสิทธิภาพทั้งหมด ของฮารดดิสก ได จะแสดงใหเห็นเพียงแตการคนหาขอมูลในแบบสุม ของตัวไดรฟเทานั้น ไมไดแสดง ในแงของ การอานขอมูลแบบเรียงลําดับ (sequential) ดังนั้น ใหใชคา seek time เปน เพียงสวนหนึ่ง ในการตัดสิน ประสิทธิภาพของฮารดดิสกเทานั้น Head Switch Time


419 เปนเวลาสลับการทํางาของหัวอานเขียน แขนยึดหัวอานเขียนจะเคลื่อนยายหัวอาน เขียนไปบนแพล็ตเตอร ที่อยูในแนวตรงกัน อยางไรก็ตามหัวอานเขียนเพียงหัวเดียว เทานั้นที่อานหรือบันทึกขอมูลในเวลาใดเวลาหนึ่ง ระยะเวลา ในการสลับกันทํางาน ของ หัวอานเขียนจะวัดดวยเวลาเฉลี่ยที่ตัวไดรฟใชสลับ ระหวางหัวอานเขียน สองหัวในขณะ อานบันทึกขอมูล เวลาสลับหัวอานเขียนจะวัดดวยหนวย ms Cylinder Switch Time เวลาในการสลับไซลินเดอร สามารถเรียกไดอีกแบบวาการสลับแทร็ค (track switch) ในกรณีนี้แขนยึดหัวอานเขียน จะวางตําแหนงของหัวอานเขียนอยูเหนือไซลินเดอร ขอมูลอื่น ๆ แตมีขอแมวา แทร็คขอมูลทั้งหมดจะตองอยูใน ตําแหนงเดียวกันของแพล็ต เตอรอื่น ๆ ดวย เวลาในการสลับระหวาง ไซลินเดอรจะวัดดวยระยะเวลาเฉลี่ยที่ตัว ไดรฟ ใชในการสลับจากไซลินเดอรหนึ่งไปยัง ไซลินเดอรอื่น ๆ เวลาในการสลับไซลินเดอรจะ วัดดวยหนวย ms Rotational Latency เปนชวงเวลาในการอคอยการหมุนของแผนดิสกภายใน การหมุนภายในฮารดดิสกจะ เกิดขึ้นเมื่อหัวอาน เขียนวางตําแหนง อยูเหนือแทร็คขอมูลที่เหมาะสมระบบการทํางาน ของหัวอานเขียนขอมูลจะรอใหตัวไดรฟ หมุนแพล็ตเตอรไปยังเซ็กเตอรที่ถูกตอง ชวง ระยะเวลาที่รอคอยนี้เองที่ถูกเรียกวา Rotational Latency ซึ่งจะวัด ดวยหนวย ms เชนเดียวกัน แตระยะเวลาก็ขึ้นอยูกับ RPM (จํานวนรอบตอนาที) ดวยเชนกัน รูจักกับ ฮารดดิสก และมาตราฐานของการเชื่อมตอ แบบตาง ๆ ฮารดดิสก (Hard Disk) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับเก็บขอมูลตาง ๆ ของเครื่อง คอมพิวเตอร มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมที่มีเปลือกนอก เปนโลหะแข็ง และมีแผงวงจร สําหรับการควบคุมการทํางานประกบอยูที่ดานลาง พรอมกับชองเสียบสายสัญญาณและ สายไฟเลี้ยง สวนประกอบภายในจะถูกปดผนึกไวอยางมิดชิด โดยจะเปนแผนดิสกและ หัวอานที่บอบบางมาก และไมคอยจะทนตอการกระทบ กระเทือนได ดังนั้น จึงควรที่จะ ระมัดระวังเปนอยางยิ่ง เวลาจัดถือไมควรใหกระแทกหรือกระเทือน และระมัดระวังไมให มือโดน อุปกรณอื่น ๆ ที่อยูบนแผงวงจร โดยปกติ ฮารดดิสก มักจะบรรจุอยูในชองที่ เตรียมไวเฉพาะภายในเครื่อง โดยจะมีการตอสาย สัญญาณเขากับตัวควบคุมฮารดดิสก และสายไฟเลี้ยงที่มาจากแหลงจายไฟดวยเสมอ ในที่นี้ จะขอแนะนําใหรูจักกับ ฮารดดิสก แบบตาง ๆ ในเบื้องตน พอเปนพื้นฐานในการทําความรูจักและเลือกซื้อมาใช งานกัน ชนิดของ ฮารดดิสก แบงตามอินเตอรเฟสทีต ่ อ  ใชงาน ปจจุบันนี้ ฮารดดิสกที่มีใชงานทั่วไป จะมีระบบการตอใชงานแบงออกเปน 2 แบบ ใหญ ๆ คือ EIDE (Enhanced Integrated Drive Electronics) กับ SCSI (Small Computer System Interface) ซึ่งฮารดดิสกท่วั ๆ ไปที่ใชงานกันตาม เครื่องคอมพิวเตอรตามบาน มักจะเปนการตอแบบ EIDE ทั้งนั้น สวนระบบ SCSI จะมี ความเร็วของการรับสง ขอมูลที่เร็วกวา แตราคาของฮารดดิสกจะแพงกวามาก จึงนิยมใช กันในเครื่อง Server เทานั้น EIDE หรือ Enhance IDE เปนระบบของ ฮารดดิสกอินเตอรเฟสที่ใชกันมากในปจจุบันนี้ การตอไดรฟฮารดดิสกแบบ IDE จะตอผาน สายแพรและคอนเน็คเตอรจํานวน 40 ขาทีม ่ ี อยูบนเมนบอรด ชื่อเรียกอยางเปนทางการของการตอแบบนี้คือ AT Attachment หรือ ATA ตอมาไดมีการพัฒนาไปเปนแบบยอยอื่น ๆ เชน ATA-2, ATAPI, EIDE, Fast ATA ตลอดจน ATA-33 และ ATA-66 ในปจจุบัน ซึ่งถาหากเปนแบบ ATA-66 แลวสายแพร


420 สําหรับรับสงสัญญาณ จะตองเปนสายแพรแบบที่รองรับการทํางานนั้นดวย จะเปนสาย แพรที่มีสายขางใน 80 เสนแทนครับ สวนใหญแลวใน 1 คอนเน็คเตอร จะสามารถตอ ฮารดดิสกได 2 ตัวและบนเมนบอรด จะมีคอนเน็คเตอรให 2 ชุด ดังนั้น เราสามารถตอ ฮารดดิสกหรืออุปกรณอื่น ๆ เชนซีดีรอมไดรฟ ไดสงู สุด 4 ตัวตอคอมพิวเตอร 1 เครื่อง วิธีการรับสงขอมูลของฮารดดิสกแบบ EIDE ยังแบงออกเปนหลาย ๆ แบบ ในสมัย เริ่มตน จะเปนแบบ PIO (Programmed Input Output) ซึ่งเปนการรับสงขอมูล โดยผานซีพียู คือรับขอมูลจากฮารดดิสก เขามายังซีพียู หรือสงขอมูลจากซีพียูไปยัง ฮารดดิสก การรับสงขอมูลแบบ PIO นี้ยังมีการทํางานแยกออกไปหลายโหมด โดยจะมี ความเร็วในกรรับสงขอมูลตาง ๆ กันไป ดังตารางตอไปนี้ PIO mode อัตราการรับสงขอมูล (MB./sec) อินเตอรเฟส 0 3.3 ATA 1 5.2 ATA 2 8.3 ATA 3 11.1 ATA-2 4 16.6 ATA-2 การรับสงขอมูลระหวาง ฮารดดิสก กับเครื่องคอมพิวเตอรอีกแบบหนึ่ง เรียกวา DMA (Direct Memory Access) คือทําการ รับสงขอมูลระหวางฮารดดิสก กับหนวยความจํา โดยไมผานซีพียู ซึ่งจะกินเวลาในการทํางานของซีพียูนอยลง แตไดอัตราการรับสง ขอมูลพอ ๆ กับ PIO mode 4 และยังแยกการทํางานเปนหลายโหมดเชนเดียวกันการ รับสงขอมูลทาง PIO โดยมีอัตราการรับสง ขอมูลดังตารางตอไปนี้ หัวขอ

DMA mode อัตราการรับสงขอมูล (MB./sec) อินเตอรเฟส 0 2.1 ATA Single Word 1 4.2 ATA 2 8.3 ATA 0 4.2 ATA Multi Word 1 13.3 ATA-2 2 16.6 ATA-2 ฮารดดิสกตัวหนึ่งอาจเลือกใชการรับสงขอมูลไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับปจจัยหลักคือ ฮารดดิสกที่ใชนั้นสนับสนุนการทํางานแบบใดบาง ชิปเซ็ตและ BIOS ของเมนบอรดตอง สนับสนุนการทํางานในแบบตาง ๆ และอยางสุดทานคือ ระบบปฏิบัติการบางตัว จะมี ความสามารถเปลี่ยนหรือเลือกวิธีการรับสงขอมูลในแบบตาง ๆ ได เพื่อใหเหมาะสมกับ สภาพแวดลอมในการทํางาน เชน Windows NT, Windows 98 หรือ UNIX เปนตน ถัดจาก EIDE ในปจจุบันก็มีการพัฒนามาตราฐานการอินเตอรเฟส ที่มีความเร็วสูง ยิ่งขึ้นไปอีก คือแบบ Ultra DMA/2 หรือเรียกวา ATA-33 (บางทีเรียก ATA-4) ซึ่งเพิ่ม ความเร็วขึ้นไป 2 เทาเปน 33 MHz และแบบ Ultra DMA/4 หรือ ATA-66 (หรือ ATA-5) ซึ่งกําลังเปนมาตราฐานอยูในปจจุบัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ DMA mode อัตราการรับสงขอมูล (MB./sec) อินเตอรเฟส Ultra DMA/2 33.3 ATA-33 (ATA-4) (UDMA2 หรือ UDMA/33) Ultra DMA/4 66.6 ATA-66 (ATA-5) (UDMA4 หรือ UDMA/66)


421 นอกจากนี้ ปจจุบันเริ่มจะเห็น ATA-100 กันบางแลวในฮารดดิสกรุนใหม ๆ บางยี่หอ SCSI เปนอินเตอรเฟสที่แตกตางจากอินเตอรเฟสแบบอื่น ๆ มาก ความจริงแลว SCSI ไมไดเปน อินเตอรเฟสสําหรับ ฮารดดิสก โดยเฉพาะ ขอแตกตางที่สําคัญที่สุดไดแก อุปกรณที่จะนํามาตอกับอินเตอรเฟสแบบนี้ จะตองเปนอุปกรณที่มีความฉลาดหรือ Intelligent พอสมควร (มักจะตองมีซพ ี ียู หรือหนวยความจําของตนเองในระดับหนึ่ง) โดยทั่วไป การดแบบ SCSI จะสามารถตอ อุปกรณได 7 ตัว แตการด SCSI บางรุนอาจ ตออุปกรณไดถึง 14 ตัว (SCSI-2) ในทางทฤษฎีแลว เราสามารถนําอุปกรณหลายชนิด มาตอเขาดวยกันผาน SCSI ไดเชน ฮารดดิสก เทปไดรฟ ออปติคัลดิสก เลเซอร พรินเตอร หรือแมกระทั่งเมาส ถาอุปกรณเหลานั้น มีอินเตอรเฟสที่เหมาะสม มาดู ความเร็วของการรับสงขอมูลของ SCSI แบบตาง ๆ กันดีกวา

หัวขอ บัสขอมูล (บิต) ความถี่ (MHz) รับสงขอมูล (MB/s) คอนเน็คเตอร

SCSI Fast Wide Fast Wide Ultra

Ultra Ultra Ultra 3 Wide 2 (Ultra160)

8

8

19

16

32

16

32

16

32

5

10

5

10

10

20

20

40

40

5

10

10

20

40

40

80

80

160

SCSI- SCSI- SCSI- SCSI- SCSI- SCSI- SCSI- SCSI1 2 2 2 2 3 3 3

SCSI-3

ประสิทธิภาพของฮารดดิสกขึ้นอยูก  ับอะไรบาง ความเร็วในการทํางานของฮารดดิสก ขึ้นอยูกบ ั ปจจัยหลายอยางเชน ความเร็งใน การหมุน กลไกภายใน ความจุขอมูล ชนิดของ คอนโทรลเลอร ขนาดของบัฟเฟอร และ ระบบการเชื่อตอที่ใชเปนตน ฮารดดิสกที่มีกลไกที่เคลื่อนที่เร็วที่สุดเพียงอยางเดียว อาจจะไมใชฮารดดิสกที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดก็ได ความเร็วในการหมุนของฮารดดิสก ความเร็วในการหมุนของดิสก เปนสิ่งที่มีผลกับความเร็วในการอานและบันทึกขอมูล มากทีเดียว ฮารดดิสกทั่วไป ถาเปนรุนธรรมดา จะหมุนอยูที่ประมาณ 5,400 รอบตอนาที (rpm) สวนรุนที่เร็วหนอยก็จะเพิ่มเปน 7,200 รอบตอนาที ซึ่งถือเปนมาตราฐาน อยู ในขณะนี้ และถาเปนรุนใหญหรือพวก SCSI ในปจจุบันก็อาจถึง 10,000 รอบหรือ มากกวานั้น ฮารดดิสกที่หมุนเร็ว ก็จะสามารถ อานขอมูลในแตละเซ็คเตอรไดเร็วกวา ตามไปดวย ทําใหความเร็วการรับสงขอมูลภายใน มีคาสูงกวา ฮารดดิสกที่หมุนมากรอบ กวา ก็อาจมีเสียงดัง รอน และสึกหรอมากกวา แตโดยรวมทั่วไปแลว หากราคาไมเปน ขอจํากัด ก็ควรเลือกฮารดดิสกที่หมุนเร็ว ๆ ไวกอน อินเตอรเฟสของฮารดดิสก ดังที่อธิบายแลววา ฮารดดิสกอินเตอรเฟสที่นิยมใชงานกันมากที่สุดสําหรับเครื่อง คอมพิวเตอรในปจจุบันไดแก แบบ ATA-33 และ ATA-66 ซึ่งมีอัตราการรับสงขอมูลที่ สูงกวาแบบเกา หากตองการอัตราการรับสงขอมูลที่เร็วกวานี้ ก็ตองเลือกอินเตอรเฟส แบบ SCSI ซึ่งจะมีขอดีคือ มีความเร็วสูงกวาแบบ EIDE มากและยังสามารถตออุปกรณ


422 ตาง ๆ ไดถึง 7 ตัวดวยกัน โดยที่ราคาก็ยังคงจะ แพงกวาแบบ EIDE ดวย จะเหมาะ สําหรับงานที่ตองใชความเร็วสูงเชน Server ของระบบ LAN เปนตน ประเด็นสําคัญของการตอฮารดดิสกแบบ IDE ก็คือ แตละสายที่ตอออกมานั้น ตามปกติ จะตอได 2 ไดรฟ โดยฮารดดิสก ที่อยูบ  นสาย คนละเสนจะทํางานพรอมกันได แตถาอยู บนสายเสนเดียวกันจะตองทําทีละตัว คือไมทํางานกับ Master ก็ Slave ตัวเดียวเทานั้น ในเวลาหนึ่ง ๆ และหากเปนอุปกรณที่ทําการรับสงขอมูลคนละแบบบนสายเดียวกัน เชน การตอฮารดดิสกแบบ UltraDMA/66 รวมกับซีดีรอมแบบ PIO mode 4 อุปกรณทุกตัว บนสายเสนนั้น ก็จะตองทําตามแบบที่ชากวา ดังนั้น จึงไมควรตอฮารดดิสกที่เร็ว ๆ ไวกับ ซีดีรอมบนสายเสนเดียวกัน เพราะจะทําใหฮารดดิสกชาลงตามไปดวย

หนวยความจํา แคช หรือ บัฟเฟอร ที่ใช อีกวิธีที่ผูผลิตฮารดดิสก ใชเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของฮารดดิสกในปจจุบัน คือการใชหนวยความจําแคช หรือบัฟเฟอร (Buffer) เพื่อเปนที่พักขอมูลกอนที่จะสงไป ยัง คอมโทรลเลอรบนการด หรือเมนบอรด แคชที่วานี้จะทํางานรวมกับฮารดดิสก โดยใน กรณีอานขอมูล ก็จะอานขอมูลจากฮารดดิสก ในสวนที่คาดวาจะถูกใชงานตอไปมาเก็บ ไวลวงหนา สวนในกรณีบันทึกขอมูล ก็จะรับขอมูลมากอนเพื่อเตรียมที่จะเขียนลงไป ทันที ที่ฮารดดิสกวาง แตทั้งหมดนี้จะทําอยูภายในตัวฮารดดิสกเอง โดยไมเกี่ยวของกับ ซีพียูหรือแรมแตอยางใด หนวยความจําหรือแคชนี้ ในฮารดดิสกรุนราคาถูกจะมีขนาดเล็ก เชน 128KB หรือบาง ยี่หอก็จะมีขนาด 256-512KB แตถาเปนรุนที่ราคาสูงขึ้นมา จะมีการเพิ่มจํานวน หนวยความจํานี้ไปจนถึง 2MB เลยทีเดียว ซึ่งจากการทดสอบพบวา มีสวนชวย ใหการ ทํางานกับฮารดดิสกนั้นเร็วขึ้นมาก ถึงแมกลไกการทํางานของฮารดดิสกรุนนั้น ๆ จะชา กวาก็ตาม แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับลักษณะการทํางานของโปรแกรมดวย ปจจัยอื่น ๆ ในการเลือกซื้อฮารดดิสก หลังจากที่ไดพอจะรูจักกับฮารดดิสกแบบตาง ๆ กันแลว หากตองการซื้อฮารดดิสกที่ จะนํามาใชงานสักตัว ปจจัยตาง ๆ ดานบนนี้ นาจะเปนตัวหลักในการกําหนดรุนและยี่หอ ของฮารดดิสกที่จะซื้อได แตทั้งนี้ ไมควรที่จะมองขามปจจัยอื่น ๆ เหลานี้ไปดวย ความจุของขอมูล ยิ่งฮารดดิสกที่มีความจุมาก ราคาก็จะแพงขึ้นไป เลือกใหพอดีกับความตองการแต ไปเนนเรื่องความเร็วดีกวาครับ เชนหากมีขนาด 15G 7,200 rpm กับ 20G 5,400 rpm ที่ราคาใกลเคียงกัน ผมมอลวานาจะเลือกตัว 15G 7,200 rpm ดีกวา ความทนทานและการรับประกัน อยาลืมวา ฮารดดิสก เปนอุปกรณที่ตองทํางานตลอดเวลา มีการเคลื่อนไหวตาง ๆ มากมายอยูภ  ายในและโอกาสที่จะเสียหายมีไดมาก โดยเฉพาะเรื่องของความรอนและ การระบายความรอนที่ไมดีในเครื่อง ก็เปนสาเหตุสําคัญของการเสียหาย นอกจากนี้ การ เกิด แรงกระแทกแรง ๆ ก็เปนสาเหตุหลักของ การเสียหายที่พบไดบอย ดังนั้น ปจจัยที่ คอนขางสําคัญในการเลือกซื้อฮารดดิสก คือ เรื่องระยะเวลาในการรับประกันสินคา และ ระยะเวลาในการสงเคลม วาจะชาหรือเร็วกวาจะไดของกลับคืนมาใชงาน รวมทั้งรานคา


423 ที่เราไปซื้อดวย ที่ในบางครั้ง เวลาซื้อสินคา จะบอกวาเปลี่ยนได เคลมเร็ว แตเวลาที่มี ปญหาจริง ๆ ก็จะไมคอยยอมเปลี่ยนสินคาใหเราแบบงาย ๆ เทาที่เคยไดยินมา สวนมากจะนิยมซือ ้ ยี่หอ Quantum, IBM, Maxtor กันครับ ทั้งนี้ก็คง จะขึ้นอยูกับราคา ความรอน เสียง ความเร็ว และความชอบของแตละคนกันครับ ที่สําคัญ คือเรื่องของความเร็วตาง ๆ ก็เลือกกันใหดีนะครับ

ฮารดดิสกบูตไมขึ้น จริงแลวสาเหตุที่ฮารดดิสกบูตไมขึ้นนั้นหลายครั้งมักเกิดจากความผิดพลาดทางดานซอฟตแวร สวนสาเหตุ ทางดานฮารดแวรนั้นสวนใหญมักเกิดจากฮารดดิสกมีแบดเซ็กเตอรเปนจํานวนมาก หรือเกิด แบดเซ็กเตอรบริเวณ พื้นที่ที่เก็บขอมูลสําคัญของฮารดดิสกจึงทําใหฮารดดิสกไมสามารถบูตขึ้นมาได โดยจะแสดงอาการเงียบไปเฉยๆ หลังจากที่บูตเครื่องขึ้นมาแลว หรืออาจฟองขึ้นมาวา No Boot Device หรือ Disk Boot failure Please insert system disk and please anykey to continue สําหรับวิธีแกไขนั้น ใหเราทําการตรวจสอบแบดเซ็กเตอรโดยอาจบูตเครื่องขึ้นมาดวยแผนบูตแลวใช คําสั่ง Scandisk หรือโปรแกรม Norton Disk Doctor เวอรชั่นดอสตรวจสอบแบ็ดเซ็กเตอรและซอมแซมดูกอน หาก มีแบดเซ็กเตอรมากก็อาจไมหาย หนทางสุดทายคือทํา Fdisk แบงพารทิชั่นใหมแลวพยายามกันสวนที่เปนแบดเซ็ก เตอรออกไป บางครั้งสาเหตุที่ฮารดดิสกบูตไมขึ้น นิ่งเงียบไปเฉยๆ อาจเกิดจากแผน PCB ( แผนวงจรดานลางของฮารดดิสก ) เกิดการช็อต วิธีแกไขคือใหนําฮารดดิสกรุนเดียวกัน สเปคเหมือนกันมาถอดเปลี่ยนแผน PCB ก็จะทําใหฮารดดิสก ตัวที่ช็อตกลับมาทํางานไดเหมือนเดิม หากตองการกูขอมูลที่สําคัญกลับมาไมควรใชคําสั่ง Fdisk เด็ดขาดเพราะจะทําใหขอมูลที่อยูภายในฮารดดิสกให เกลี้ยงไปหมด ในที่นี้แนะนําใหใชโปรแกรม Spinrite ในการกูขอมูลสําคัญๆ ซึ่งโปรแกรมนี้เปนโปรแกรมที่ถูก สรางมาเพื่อกูขอมูลภายในฮารดดิสกโดยเฉพาะ ปญหาที่เกิดจากซีพียู ซีพียูเปนอุปกรณที่ใชเทคโนโลยีในการผลิตคอนขางสูงภายในมีรายละเอียดซับซอนโดยจะมีทรานซิสเตอรตัว เล็กๆ อยูรวมกันนับลานๆ ตัวทําใหหากมีปญหาที่เกิดจากซีพียูแลวโอกาสที่จะซอมแซมกลับคืนใหเปนเหมือนเดิม นั้นเปนไปไมไดเลย ชางคอมพิวเตอรเมื่อพบสาเหตุอาการเสียที่เกิดจากซีพียูแลวก็ตองเปลี่ยนตัวใหมสถานเดียว ปญหาที่เกิดขึ้นกับซีพียูสวนใหญแลวจะมีเพียง 2 อาการที่ชางคอมพิวเตอรพบไดบอยๆ อาการแรกคือ ทําให เครื่องแฮงคเปนประจํา และอาการที่สองคือวูบหายไปเฉยๆ โดยที่ทุกอยางปกติ เชนมีไฟเขา พัดลมหมุน แตไมมี อะไรเกิดขึ้นบนหนาจอ สาเหตุสวนใหญมักจะเกิดจากซีพียูมีความรอนมากเกินไปจนเมื่อถึงจุดๆ หนึ่งก็เดี้ยงไป แบบไมบอกไมกลาว เลย สําหรับวิธีแกปญหาก็คือตองสงเคลมสถานเดียว RAM หายไปไหน Spec 128 MB. ทําไม Windows บอกวามีแรมแค 96MB. เอง อาการของ RAM หายไปดื้อ ๆ จะเกิดกับการใชเมนบอรดรุนที่มี VGA on board นะครับ ที่จริงก็ไมไดหายไปไหน หรอก เพียงแตสวนหนึ่งของ RAM จะถูกนําไปใชกับ VGA ครับและขนาดที่จะ โดนนําไปใชกอ็ าจจะเปน 2M, 4M, 8M ไปจนถึง 128M. ก็ไดขึ้นอยูกับการตั้งใน BIOS ครับ "Insert System Disk and Press Enter"


424 อยู ๆ ผมไมสามารถบูตเขาสูวินโดวสได ไมทราบวาเกิดอะไรขึ้น โดยจะขึ้นขอความวา "Insert System Disk and Press Enter" ทั้ง ๆ ที่ผมไมไดทําการปรับแตงวินโดวส เลย ปญหานี้เกิดจากบูตเครื่องโดยมีแผนดิสกที่ไมมี OS หรือระบบปฎิบัติการอยูในไดรว A ซึ่งขั้นตอนแกปญหาก็ให เอา แผนไดรว A ออกจากนั้นก็กดปุม Enter เพียงเทานี้ก็สามารถเขาวินโดวสไดแลว ไดรวซีดีรอม อานแผนไดบางไมไดบาง หาแผนไมเจอ แกปญหาอยางไร ปญหานี้มักจะไมเกิดกับไดรวซีดีรอมตัวใหม ๆ ครับ แตสวนใหญจะเกิดกับไดรวซีดีรอมที่มีการใชงาน มานาน แลว หรือประมาณ 1 ปขึ้นไป และสาเหตุที่เห็นกันบอยก็คือหัวอานสกปรก สวนใหญจะเปนพวกฝุน เขาไปกับ แผนซีดี แลวเราก็นํามันเขาไปอานในไดรว ฝุนก็เลยเขาไปติดที่หัวอาน พอสะสมมาก ๆ เขาก็เลย ทําใหเกิด อาการ ดังกลาว อานแผนไมไดบางละ หาแผนไมเจอบางละ วิธีการแกไขก็คือทําความสะอาดหัวอาน โดยใชแผนซีดีที่ไว สําหรับทําความสะอาดหัวอาน ที่มีขายอยูตามรานคอมพิวเตอรทั่วไปมาใช รับรองอาการดังกลาวจะไมเกิดขึ้น แนนอน ปญหาของ CD Audio ถาคุณเลนซีดีออดิโอใน CD Writer แลว Windows Media หรือ CD Playar แสดงขอความ "Please insert an audio compact disk" หรือ Data or no disk loaded อาจมีสาเหตุมาจากไดรเวอร วิธีแกคือ ใหเปด Control Panel เลือก Sound &Multimedia คลิก Devices ดับเบิลคลิก ที่ Media Control Devices และ CD Audio Devices (Media Control) คลิก Remove และ Yes คลิก OK เพื่อปด หนาตางทั้งหมดและบูตเครื่องใหม อะไรคือสาเหตุ ที่ทําใหแผน CD-ROM เลนเพลงจนแผนแตก กลายเปนเรื่องปกติธรรมดาไปแลวครับ เรื่องไดรว CD-ROM ทําแผนแตก ซึ่งสาเหตุก็เปนเพราะไดรว ที่ผลิตใน ปจจุบันมีความเร็วสูง ทําใหเมื่ออานแผนที่มีคุณภาพต่ําหรือแผนที่มีรอยขีดขวนลึก ๆ ก็ทําใหเกิดสะดุดเปนผล ทํา ใหแผนแตก ซึ่งปญหานี้เราจะไมพบในไดรวรุนเกา ๆ เลย ทางแกก็คือหลีกเลี่ยงการใชแผนที่มีคุณภาพต่ํา หรือ แผนที่เปนรอยมาก ๆ

agp pro ปกติเปนของเมนบอรด Asus ครับ

เรื่องของ 2X และ 4X นะครับ อานนะ เอามาเทานี้กอนนะ GA card แบบ AGP =============== AGP ยอมาจาก Accelerated Graphics Port พัฒนาโดย Intel โดยอางอิงอยูกับมาตรฐาน PCI 2.1 จึงมีแบนดวิดทอยูที่ 66 MHz. จุดประสงคของ AGP ก็เพื่อเพิ่มความเร็วในการแสดง

ผลโดยเฉพาะกับวัตถุ 3 มิติและการทําพื้นผิวที่เรียกวา texture ทําใหการแสดงผลภาพวิดิโอที่ละเอียดและราบรื่นมากขึ้น


425 สําหรับการพัฒนา AGP โดยอินเทลเริ่มใชตั้งแตยุคของ Slot-1 และ Pentium II ในปจจุบันก็ยังมีใชอยูรวมทั้งบอรดของซ็อคเก็ต 7 ที่ เรียกวา Super 7 ก็สนับสนุน AGP ดวย AGP ยุคแรกเปน AGP แบบ 1X ตอมา 2X และที่สูงสุดตอนนี้คือแบบ 4X ทีมีในเมนบอรด ที่ใชชิพเซ็ตรุนใหม ๆ การสรางภาพ 3 มิติจะมีสวนประกอบที่สําคัญ 2 สวนคือ การสรางวัตถุ 3 มิติและการทําพื้นผิว โดยทั่วไปหนาที่การสรางวัตถุ 3 มิติจะเปนหนาที่ ของซีพียูเนื่องจากซีพียูสามารถคํานวณเลขทศนิยมไดจํานวนมาก ๆ ได ดีกวาชิพแสดงผล สวนชิพแสดงผลที่อยูในการดวีจีเอจะจัดการทางดาน การทําพื้นผิวและแสงเงาตาง ๆ ถายิ่งมีการใชพื้นผิวขนาดใหญ จํานวนบิต สีมาก ๆ แลวจะตองมีการโอนถายขอมุลจํานวนมากมายและตอเนื่องเชนเกมส ประเภท 3 มิติ การเลนเกมสใหไดความเร็วสูง ๆ แอพพลิเคชั่นทางธุรกิจ วิศวกรรมโยธา แอนิเมชั่นตาง ๆ นี่ก็ตองการแรมมมาก ๆ นะครับ อยาคิดวา เราไมไดทํางานพวกนั้นนะครับก็อาจจะเปนการเรียนหรือเอามาศึกษาครับ โปรแกรมที่ตองการการประมวลผลที่ตองการความเร็วนี่หากมีหนวยความจํา มาก ๆ นี่ก็จะชวยใหความสามารถทางดาน 3 มิติดีและเร็วครับ ไมตองมามัว นั่งคอยทรมานอยูนะครับ เชน หากมีงานพรีเซนเตชั่นที่ตองการใหเห็นสินคา หรืออุปกรณที่ตองการเห็นในหลายมุมมองหรือที่ใกล ๆ ก็พวกชารตของ เอ็กเซลที่แสดงผลแบบแอนิเมชั่นนะครับที่ขนาดใหญ ๆ นั้นตองการหนวย ความจําในการแสดงผลมากทีเดียวครับ การเพิ่มแรมบนการดแสดงผลนั้น เปนการแกปญหาที่มีราคาแพงเพราะตอนทุนในการผลิตแรมที่มีราคาสูง ถือวา เปนการสิ้นเปลือง การดแบบ AGP ออกแบบมาเพื่อเปนการแกปญหานี้โดยจะ มีชองทางที่สรางขึ้นมาโดยเฉพาะ ไมขึ้นอยูกับบัสใด ๆ มีการจัดการเปนของตน เอง ชองทางที่สรางขึ้นนี้จะทําการติดตอระหวาง System Memory หรือแรม ที่อยูบนเมนบอรดติดตอกับ Graphic Chip เพื่อเพิ่มความเร็วในการถายขอมูล และดึงเอาสวนที่วางของ System Memory มาใชในการประมวลผลของ Texture ขนาดใหญชองทางนี้คือ AGP ทําใหลดการใชแรมจํานวนมากบนตัวการด การดวีจีเอแบบ AGP คุณสมบัติของการด AGP คือ DIME หรือ Direct Memory Excecute การประมวลผลผานหนวยความจําของระบบหรือแรมโดยตรง เสมือนวาเปนหนวยความจําของตนเอง ทําใหไมจําเปนตองมีแรมบนตัวการดแสดงผล ที่มากมาย ความจําหลักนั้นจะสงผลใหมีการสงผานขอมูลของการดวีจีเอมี ความรวดเร็วขึ้น การสงผานขอมูลของหนวยความจําหลักจะขึ้น กับชนิดของหนวยความจําดังนี้ครับ 1. แบบ EDO DRAM.SDRAM จะได 528 MB/S 2. แบบ SDRAM PC100 จะได 800 MB/S 3. แบบ DRDRAM จะได 1.4 GB/S


426 ดังนั้นการที่จะไดความเร็วของการสงผานขอมูลของ AGP กี่ X นั้น ก็ตองขึ้นกับชนิดของหนวยความจําหลักดวยครับ เชน คุณใชเมนบอรด ที่รองรับ AGP4X แตใช SDram ก็ไมไดใชความสามารถถึง 4X หรอกครับ เพราะแรมมีความไวไมถึงครับ เขาใจเรื่องกี่ X ของ AGP =================

เมื่อมีการเรียกใชขอมูลพื้นผิว ขอมูลพื้นผิวจะถูกอานจากอุปกรณจัดเก็บขอมูลเชน ฮารดดิสกหรือซีดีรอมเอาไปเก็บไวใน System Memory จากนั้น Graphic Chip จะประมวลผล Texture จาก System Memory ผานทางพอรต AGP เมื่อไดผลลัพธ แลวจะสงมายังบัฟเฟอรซึ่งก็คือ Local Video Memory เพื่อนํามาแปลงเปนสัญญาณ ภาพแสดงที่มอนิเตอรอีกทีหนึ่ง AGP มีความกวางของบัสเทากับ 32 บิตเหมือนกับ PCI แตแตกตางตรงกับที่มันวิ่งที่ ความเร็วเทากับความเร็วของ FSB ซึ่งตางกับ PCI ที่วิ่งดวยความเร็วครึ่งหนึ่งของ FSB หากเปนบัสความไว 66 MHz. ก็จะปรับคาสัดสวน AGP เปน 1/1 บนบัสความไว 100 MHz. จะปรับคาสัดสวน AGP เปน 2/3 สวนเมนบอรดรุนใหมที่ใชบัว 133 MHz. ก็จะปรับคา สัดสวน AGP เปน 1/2 ทําใหการโอนถายขอมูลของ AGP มีมากกวา PCI ถึง 2 เทา นอก จากนั้น AGP ยังสามารถสงขอมูลไดถึง 2 ครั้งตอ 1 รอบสัญญาณนาฬิกาโดยจะทําการสง ขอมูลทั้งขอบขาขึ้นและขาลงของสัญญาณนาฬิกา ทําใหมีการโอนถายขอมูลมากกวา PCI ถึง 4 เทาหรือ ประมาณ 528 MB./s และเนื่องจาก AGP เปนบัสแบบ pipeline ซึ่งทําให ชิพวีจีเอสามารถประมวลและโอนถายขอมูลขอมูลเปนไดอยางเต็มที่ อีกทั้ง AGP ยังไดเพิ่มบัส พิเศษอีก 8 เสนเรียกวา Sideband Addressing สําหรับใหชิพวีจีเอประมวลผลคําสั่ง พรอมกับสงขอมูลผานทางเมนบัส 32 เสนได

++++++++++++++++++ คําสั่ง : Format คําอธิบาย : เปนคําสั่งที่สําคัญ ใชในการจัดเรียงแทรกเซ็กเตอร สรางและแบงพื้นที่สําหรับจัดเก็บไฟล หากมีขอมูล อยูในดิสก แลวนํามาฟอรแมต จะทําใหหายไปสิ้น ฉะนั้นควรระวังเปนอยางมากในการใชคําสั่งนี้ รูปแบบคําสั่ง : format ไดรฟเชน C: D: A: /s /q /u ตัวอยางคําสั่ง : fotmat c:/s /u /q อธิบายออปชั่น : /s = ทําใหไดรฟที่เราฟอรแมตนั้นมีไฟลระบบที่สามารถบูตเครื่องอยูดวย /q = ทําการฟอรแมตแบบรวดเร็ว การใชออปชั่นนี้จะใชก็ตอเมื่อไดรฟนั้นเคยถูกฟอรแมตมาแลว /u = เปนการยกเลิกฟอรแมตแบบ "sefe format" ทําใหการฟอรแมตเร็วขึ้นกวาเดิม เพิ่มเติม : หลังการฟอรแมตแลว เราตองใชชื่อไดรฟที่เราฟอรแมต ซึ่งจะสามารถใสไดไมเกินกวา 11 ตัวอักษร สั่ง : Xcopy


427 คําอธิบาย : เปนคําสั่งที่ขยายความสามารถของคําสั่ง copy ธรรมดา โดยคําสั่งนี้เราสามารถกอปปไฟลในโฟลเดอร ไดที้หมด คําสั่งนี้จะใชในกรณีที่เราตองการกอปปไฟลจํานวนมากๆ และไมตองการเปลี่ยนหรือยายตําแหนงยอยของไฟล นั้น ๆ รูปแบบคําสั่ง : xcopy ไดรฟตนฉบับเชน C: D: A: /โฟลเดอรที่ตองการยาย เคาะหนึ่งครั้งแลวพิมพไดรฟเปาหมายเชน C: D: A: /โฟลเดอรเปาหมายที่ตองการยายไมจําเปนวาตองมีอยูแลว /s /e /v /w ตัวอยางคําสั่ง : xcopy c:\pos a:\mov /s /e /v /w อธิบายออปชั่น : /s = กอปปทั้งโฟลเดอรหลัก และโฟลเดอรยอยทั้งหมดไปยังเปาหมาย /e = กอปปโฟลเดอรที่วางไมมีไฟลอะไรอยูไปดวย / v = ตรวจสอบขอมูลดวยวาถูกตองหรือไม / w = หยุดเพื่อกดปุมใดๆ กอนที่จะมีการทํางานตอไป เพิ่มเติม : ถาปลายทางของการกอปปเปนโฟลเดอรที่ยังไมไดสรางขึ้นมา จะมีคําถามขึ้นมาวาจะใหสรางเปนไฟล หรือสรางเปน โฟลเดอร ซึ่งแนะนําใหกด D เพราะถากด F คําสั่ง : Deltree คําอธิบาย : คําสั่งนี้เปนคําสั่งที่ใชกันบอยเหมือนกันครับ คําสั่งนี้จะเปนการสั่งใหลบโฟลเดอรที่เรากําหนด ซึ่ง หากมีไฟลอยูในโฟลเดอร หรือแมแตซับยอยโฟลเดอรก็จะถูกลบไปหมดครับ รูปแบบคําสั่ง : deltree โฟลเดอร หรือไฟลที่ตองการลบ ตัวอยางคําสั่ง : deltree windows อธิบายออปชั่น : หลังจากสั่งลบคําสั่งนี้จะขึ้นขอความวา เราแนใจที่จะลบหรือไม ถาแนใจก็กด y ถาเปลี่ยนใจไม ลบ ก็กด N ครับ เพิ่มเติม : การสั่งลบดวยคําสั่งนี้ แมแตไฟลที่ถูกซอนจะไมรอดพนไปได ฉะนั้นควรระวังเปนอยางยิ่งในการใช งาน คําสั่ง : Move คําอธิบาย : คําสั่งนี้เปนคําสั่งใชในการเคลื่อนยายไฟลจากไดรฟ โฟลเดอรหนึ่ง ไปยังไดรฟโฟลเดอรอีกที่หนึ่ง การเคลื่อนยายนี้สามารถ กําหนดไดวาจะเคลื่อนยายไปทั้งหมด หรือไปที่ละไฟล นอกจากนี้ผูใชยังเปลี่ยนชื่อไฟลขณะที่ยายไดดวย รูปแบบคําสั่ง : Move ไดรฟตนฉบับเชน C: D: A: ตามดวยโฟลเดอร หรือไฟลที่ตองการยาย ไปยังเปาหมาย ที่ กําหนด ตัวอยางคําสั่ง : move C:\windows C:\win อธิบายออปชั่น : ถาตองการยายไฟลในโฟลเดอร ก็ใหพิมพชื่อไฟลตอทาย เชน C:\windows\win.exe เพิ่มเติม : คําสั่งนี้ใชในกรณีที่เราจะลงวินโดวสใหมแตยังไมแนใจวา ของตัวเกามีอะไรที่ยังตองใชอยูบาง ก็ใหใช วิธีนี้ครับ ถาแนใจวาตัวเกาไมมีอะไรเหลืออยูใหตองใช แลวก็ลบ ไดเลย คําสั่ง : Attrib คําอธิบาย : คําสั่งนี้ ใชสําหรับกําหนดคุณสมบัติใหไฟลวาสามารถทําอะไรกับไฟลไดบาง เชน h คือซอนไฟล รูปแบบคําสั่ง : attrib +r +h +a +s ตามดวยชื่อไฟลที่ตองการกําหนดคุณสมบัติ


428 ตัวอยางคําสั่ง : move +r +h jojo.txt อธิบายออปชั่น : คําสั่งจะมีการกําหนดสถานะของไฟลอยู 4 แบบดวยกันคือ +r สําหรับกําหนดใหไฟลสามารถอานไดอยางเดียวไมสามารถทําการลบ หรือเปลี่ยนชื่อไฟลได +h สําหรับกําหนดใหไฟลสามารถซอนตัวจากการมองเห็นได +a สําหรับกําหนดเพื่อแสดงใหรูวาไฟลนั้นๆ เปนไฟลที่กําหนดคุณสมบัติ โดยโปรแกรม +s สําหรับกําหนดเพื่อแสดงใหรูวา ไฟลนี้เปนไฟลของระบบ เพิ่มเติม : ถาตองการใหสถานะของไฟลกลับคืนหรือหายไป ใหทําการใชคําสั่งซ้ําอีกครั้งหนึ่งแตใชลบ เชน ไฟลมีสถานะสําหรับอานอยางเดียว ถาตองการแกคืนเชน attrib -r jojo.txt คําสั่ง : md คําอธิบาย : เปนคําสั่งสําหรับสรางไดเรกทอรี่ (โฟลเดอรนั่นหละ) รูปแบบคําสั่ง : md ตามดวยชื่อของไดเรกทอรีที่ตองการสราง ตัวอยางคําสั่ง : md kok อธิบายออปชั่น : ไมมี เพิ่มเติม : เปนคําสั่งงายๆ ครับลองทําดูซิครับ คําสั่ง : rd คําอธิบาย : เปนคําสั่งสําหรับลบไดเรกทอรี่ รูปแบบคําสั่ง : rd ตามดวยชื่อของไดเรกทอรี่ที่ตองการลบ ตัวอยางคําสั่ง : rd kok อธิบายออปชั่น : หามีไฟลอยูในไดเรกทอรี่จะไมสามารถทําการลบไดนะครับ ตองทําการลบไฟลที่อยูภายในทิ้ง เสียกอนครับ เพิ่มเติม : หากตองการลบไดเรกทอรี่แลวมีไฟลอยูดานในหรือมีไดเรกทอรี่ซอนอยู ใชคําสั่ง deltree ดีกวาครับ คําสั่ง : del คําอธิบาย : คําสั่งสําหรับสั่งลบไฟลครับ รูปแบบคําสั่ง : del ตามดวยชื่อไฟลที่ตองการลบครับ ตัวอยางคําสั่ง : del jojo.txt อธิบายออปชั่น : หากตองการลบไฟลที่มีจํานวนมากๆ อยูในไดเรกทอรี่เดียวกัน คุณสามารถใชคําสั่ง del *.* เพิ่มเติม : การสั่งลบไฟล หากไฟลนั้นตั้ง attrib เปน +r จะไมสามารถลบไดครับ ตองแก attrib นั้นเสียกอน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.