Builder Magazine Vol.12 issue , October 2014

Page 1






USGBoral.com *เปรียบเทียบกับแผนยิปซัมตราชาง ชนิดมาตรฐานขนาด 9 มม. © 2014 USG BORAL สงวนลิขสิทธิ์ เคร องหมายการคา USG BORAL, SAG-DEFYING STRENGTH, ชีตร็อค และ INNOVATION INSPIRED BY YOU เปนเคร องหมายการคาของผลิตภัณฑของยูเอสจี-บอรอล บิวดิง้ หรือบริษทั ในเครือหนึง่ แหงหรือมากกวา


อยาใหแผนแอนๆ มาทําลายช อเสียงของคุณ

ขอแนะนําแผนยิปซัมตราชางพลัส ที่ใชเทคโนโลยีของชีตร็อคแบรนด® น้ําหนักเบากวาแผนยิปซัม ชนิดมาตรฐานถึง 13% เนื้อแผนสม่ําเสมอทําใหงายตอการตัดและหัก แข็งแกรงทั่วแผนไมแอนตัว (Sag-Defying Strength™) ซึ่งเหมาะอยางยิ่งสําหรับฝาเพดาน ทําใหชางสามารถทําในสิ่งที่ ตนเองถนัดไดดี งานเสร็จเร็วขึ้น ทําไดนานขึ้น และใหผลลัพธที่ดีขึ้น


PROPERTY 22

BUILDER REPORT

24

DEVELOPER TALK

30

·ÔÈ·Ò§¢Í§ Zero Carbon ¾Ñ²¹ÃÑ° ¾Ãç;à¾Íà μÕé ¡ŒÒÇ‹ҧÍ‹ҧªŒÒæ áμ‹àμçÁໂ›ÂÁ´ŒÇ¤سÀÒ¾

PROPERTY FOCUS

´Ñ¹¾ÔɳØâš໚¹ Hub âŨÔÊμÔ¡Ê à¢μàÈÃÉ°¡Ô¨ãËÁ‹àª×èÍÁ⧠CLMV áÅШչ

PRODUCT 36 48 56 60 82 84

PRODUCT REVIEWS

44

Ç‹Ò´ŒÇÂàÃ×èͧ¢Í§¡ÃШ¡

(Glass) DETAILS “IZIZ Glass” ¡ÃШ¡ÍѨ©ÃÔÂÐ SPECIAL SCOOP High Performance Building Solution

52 92

SMART BUILDER “SD50” ¹ÇÑμ¡ÃÃÁàËÅç¡¢ŒÍÍŒÍÂ

ÃѺáç´Ö§ÊÙ§ á¡Ã‹§ ·¹ ÃдѺâÅ¡

THE SPECIALIST AGC ¡ÃШ¡ÍÒ«ÒÎÕ

¼Ù¼Œ ÅÔμ¡ÃШ¡á¼‹¹àÃÕºÃдѺá¹Ç˹ŒÒ¢Í§ä·Â

PROJECT IN PROGRESS

¡Ñº§Ò¹Ãкº¡ÃͺÍÒ¤ÒÃἧ¡ÃШ¡

IDEA & INNOVATION

¼ÅÔμÀѳ± ËÑμ¶¡ÃÃÁ㹧ҹʶһ˜μ¡ÃÃÁ

GREEN

10 Íѹ´Ñºá;¾ÅÔपÑè¹·ÕèàÍ×éÍ»ÃÐ⪹ μ‹Í¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Í§ºÃôҼٌÍ͡Ẻ

62

ECO GREEN

¹ÇÑμ¡ÃÃÁºŒÒ¹¤Í¹¡ÃÕμÊíÒàÃç¨ÃÙ» «Õ¤Í¹âÎÁ ¡ÑºÃкºâ¤Ã§ÊÌҧ¼¹Ñ§¤Í¹¡ÃÕμÊíÒàÃç¨ÃÙ»

64 68

GREEN IDEA GREEN ºŒÒ¹ GREEN àÁ×ͧ

IN TREND

INNOVATION FOCUS

“Seacon Bearing Wall” INNOVATIVE PRODUCTS

86 128 ࢌÒμÅÒ´

8

CONSTRUCTION

“¾Åѧ§Ò¹ÊÕà¢ÕÂÇ” ¾Åѧ§Ò¹·Ò§àÅ×Í¡ãËÁ‹ ÊíÒËÃѺÍÒ¤ÒÃà¢ÕÂÇ·Õàè »š¹ÁÔμáѺÊÔ§è áÇ´ÅŒÍÁ “Êѧ¤ÁÍØ´Á »˜ÞÞÒ”



MISCELLENEOUS 14 16 18 28 32 34 90

BUILDER NEWS BUILDER GOSSIP AROUND THE WORLD LES MISCELLANEOUS TALKING WITH ARCHAN MANOP ÂÒâ´ » ¡ÃÐμØŒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨´ŒÇÂÍÊѧËÒÏ Âؤ ¤Êª. BUILDING CODES & CONCEPT UPDATE IT Personal Backup

106 VIEWPOINT

10 ¢ŒÍ¤Çû¯ÔºÑμÔã¹Êíҹѡ§Ò¹Ê¶Ò»¹Ô¡ à¾×èÍ»ÃÐ⪹ 㹡ÒþѲ¹Òμ¹àͧÊÙ‹ÇÔ¶ÕáË‹§Á×ÍÍÒªÕ¾ áÅСÒÃÊÌҧÁÙŤ‹Òà¾ÔèÁãËŒμ¹àͧ (1) 108 àÃ×èͧ ÊÕ ÊÕ 110 HANG OUT CAFÉ Fill in the blank

114 HANG OUT PLACE Camel Republic 118 ONCE UPON A TIME 120 PHOTOMANIAS 122 ÃͺÃÑéÇ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 126 áǴǧÊÁÒ¤Á 132 BUILDER CLUB

10

DESIGN 70

94

COVER STORY Áͧ¼‹Ò¹¡ÃШ¡¡ÃͺÍÒ¤Òà ÊÙ¼‹ ¹Ñ§¡ÃШ¡μ¡á싧 TALK TO TALK GRAPHITECTURE

á¹Ç¤Ô´¹Í¡¡Ãͺ ÊÙË »Ù Ẻ·ÕËè ÅÒ¡ËÅÒ 98 DESIGNER HUB 102 DESIGNED BY

Design a Dream “SMILE GALLERY DENTAL CLINIC”



Anniversary นิตยสาร Builder ฉบับเดือนตุลาคมนีก้ เ็ ป นฉบับที่ 12 แล ว ครบรอบ หนึ่งป ท่นี ิตยสารของเราได นําเสนอเรื่องราวต างๆ ไว มากมาย และหลากหลาย เพือ่ ให ผอู า นได เพลิดเพลินและได สาระไปพร อมๆ กันด วยค ะ

คณะผู จัดทําฝ ายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮ าส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469

สํ า หรั บ ฉบั บ ที่ 12 นี้ เรามาว า กั น ด ว ยเรื่ อ งของแผ น กระจก และอุปกรณ ประกอบ โดยการนําเสนอคอลัมน Cover Story ผ านมุมมองไปยังงานสถาป ตยกรรมและงานตกแต งภายในที่ใช วัสดุกระจกได น าสนใจ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของวัสดุอุปกรณ ที่ ใช ประกอบการก อสร าง-ติดตั้งงานกระจก รวมทั้งบทสัมภาษณ แนวคิดการทํางานของนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย หญิงเก งแห ง พั ฒ นรั ฐ พร็ อ พเพอร ตี้ และแนวคิ ด การสร า งสรรค ง านของ คุณนนทวัฒน เจริญชาศรี จาก DUCTSTORE the design guru Co.,Ltd. ด วย GRAPHITECTURE แนวคิดนอกกรอบสู รูปแบบ ที่หลากหลาย แต หากใครสนใจเรื่องของวัสดุเรายังมีรีวิวสินค า เกี่ยวกับกระจกให ผู อ านของเราได สาระเช นกัน

คณะที่ปรึกษา: ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา รศ.มานพ พงศทัต อ.ชวพงศ ชํานิประศาสน ศ.ดร.บัณฑิต จุลาสัย ผศ.รัชด ชมภูนิช ชวลิต สุวัตถิกุล สุกิจ ทรัพย เพิ่มพูน ผศ.ดร.จตุวัฒน วโรดมพันธ

สุดท ายในวาระครบรอบหนึ่งป ทีมงาน Builder ขอขอบพระคุณ ผูม อี ปุ การคุณและผูอ า นทุกท านทีต่ ดิ ตามกันมาโดยตลอด และหวัง เป นอย างยิ่งว าทุกท านจะติดตามและสนับสนุนเราต อไป แล วเรา จะนําเรื่องราวดีๆ ที่น าสนใจและไอเดียใหม ๆ มานําเสนอในเล ม ต อๆ ไปนะคะ อย าลืมติดตามเราในฉบับครบรอบเล มต อไปนะคะ

ทีมงานฝ ายบริหาร: กรรมการผู จัดการ รองกรรมการผู จัดการ รองกรรมการผู จัดการ Publishing Director

คุณชาตรี มรรคา คุณศุภแมน มรรคา คุณศุภวาร มรรคา คุณป ยะนุช มีเมือง

ฝ ายขายโฆษณา: Sales Director

คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com

ติดต อฝ ายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดต อฝ ายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดต อฝ ายบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 87716-9976

คณะผู จัดทําฝ ายกองบรรณาธิการ: บริษัท แท็งค ดีไซน แอนด โปรดักชั่น จํากัด 1104/31 หมู บ านโนเบิล คิวบ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2 184 8431 โทรสาร (66) 2 184 8431

แยกสี / เพลท โรงพิมพ

12

บริษัท สุรศักดิ์ฟ ล ม จํากัด บริษัท กรังด ปรีซ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด

ณัชชา นันทกาญจน หัวหน ากองบรรณธิการ editor.buildernews@gmail.com

ทีมงานฝ ายกองบรรณาธิการ: หัวหน ากองบรรณาธิการ คุณณัชชา นันทกาญจน natcha.tank@gmail.com กองบรรณาธิการ

อาร ตไดเรคเตอร กราฟ กดีไซเนอร

คุณหนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้ คุณณัฐธยาน รุ งรุจิไพศาล คุณภัณฑิรา มีลาภ คุณอรวรรณ เสถียรเขต คุณยิ่งยศ จารุบุษปายน คุณธีรภัทร สลัดทุกข

WHERE TO FIND



·Ò·Ò ÊμÕÅ ÇÒ´á¼¹¢ÒÂàËÅç¡àÊŒ¹à¾ÔèÁ¢Öé¹ 5% ¨Ò¡»Õ¡‹Í¹ มร.ราจีฟ มังกัล กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) (TSTH) กล าวว า สําหรับแผนการตลาดป นี้ บริษัทตั้งเป าปริมาณการขายเหล็กเส นโตขึ้น 5% จากป ที่ผ านมา ซึ่งมีปริมาณการขาย 1.29 ล านตัน ต่ํากว าป ก อนที่มีอัตราการโต ของปริมาณการขายที่ 10% เนื่องจากสถานการณ ทางการเมืองในไทยส งผลกระทบต อ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ (จีดีพี) ป นี้โตแค 2% ทําให ความต องการใช เหล็กลดลงตาม ไปด วย คาดว าป นปี้ ระเมินความต องการใช เหล็กในไทยโตเพียง 2.5% มาอยูท ี่ 18 ล านตัน ฉะนั้นในป นี้บริษัทเน นการส งออกเหล็กเส นไปยังอาเซียนมากขึ้น โดยเฉพาะลาว กัมพูชา เมียนมาร โดยมีสัดส วนการส งออกเพิ่มขึ้นจากป ก อน 10% เป น 15%

ÇÒâ¡Ð »ÃÐà·Èä·Â à»Ô´μÑÇâÁ´ÙÅẺˌͧ¹éíÒÞÕè»Ø†¹ÊíÒàÃç¨ÃÙ» มร.ริวอิชิ นิชิดะ ประธานบริษัท บริษัทวาโกะ ไซซากุโช จํากัด กล าวถึง การเป ดตัวโมดูล แบบห องน้าํ ญีป่ นุ สําเร็จรูป ครัง้ นีว้ า เป นการเป ดตัวนวัตกรรมผลิตภัณฑ หอ งน้าํ สําเร็จรูปที่ ช วยปฏิวตั กิ ารก อสร างห องน้าํ ในเรือ่ งลดต นทุน ย นระยะเวลาในการก อสร าง และคุณภาพ ที่เพิ่มขึ้น โดยระบบโมดูลนวัตกรรมดังกล าวออกแบบโดยสถาปนิกญี่ปุ น ที่รวบรวมทุก ความต องการของห องน้ําแบบโมเดิร น ในรูปแบบที่เรียบง ายและไม ซับซ อนในการติดตั้ง โดยมีให เลือก 4 รูปแบบ ซึ่งผสมผสานการออกแบบที่สวยงามเข ากับเทคโนโลยีทันสมัย ของญี่ปุ นได อย างลงตัว วาโกะ บีเอ็มเอส มีวัสดุให เลือกหลากหลาย ตั้งแต หินธรรมชาติ ไปจนถึงกระเบื้องแก วโมเสกสวยงาม เพื่อตอบสนองความต องการห องน้ําในแบบต างๆ ของลูกค า โดยมี บริษัท ดี.พี. เซรามิคส จํากัด ผู นําในการจัดจําหน ายผลิตภัณฑ สําหรับ ห องน้ําของประเทศไทย เป นผู จัดจําหน าย

¹ÔμÂÊÒà Garage Life Thailand ¨Ñ´»ÃСǴÍ͡Ẻ âç¨Í´Ã¶ 2014 คุณพีระพงศ เอี่ยมลําเนา บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร Garage Life Thailand เดินหน าทําการตลาดเชิงรุก เพื่อตอกย้ําแบรนด นิตยสาร“Garage Life Thailand” ให เป นที่รู จักอย างแพร หลาย อีกทัง้ ยังเป นการตอบสนองความต องการของผูอ า นทีร่ กั รถและชืน่ ชอบ เรื่องราวเกี่ยวกับรถ จึงได จับมือยักษ ใหญ วงการอสังหาริมทรัพย บริษทั เฟรเกรนท กรุป ผูพ ฒ ั นาโครงการอสังหาริมทรัพย ระดับไฮเอนด ภายใต แบรนด “เซอร เคิล” จัดโครงการ Fragrant Group Presents Garage Life Design Award 2014 หรือโครงการประกวดออกแบบ โรงจอดรถ ประจําป พ.ศ. 2557 เพื่อเป ดโอกาสให นิสิต นักศึกษาไทย ได โชว ไอเดียในการออกแบบสุดเจ ง ชิงเงินรางวัลพร อมโล เกียรติยศ มูลค ากว า 3 แสนบาท โดยมีมหาวิทยาลัยชั้นนําทางด านวิชาคณะ สถาป ตยกรรมศาสตร เข าร วมโครงการ

14


á¹àªÍÃÑÅ ¾Òà ¤ ©Õ¡á¹Ç¾Ñ²¹Òâ¤Ã§¡Òà “à´ÍÐ á¹àªÍÃÑÅ ¾Òà ¤ ºÒ§¡Ð਌Ҕ

ZWCAD Design à»Ô´μÑÇ«Í¿μ áÇà ÊíÒËÃѺ§Ò¹Í͡Ẻ ZWCAD+ 2015 Beta 㪌¿ÃÕ

นายนคร ลักษณกาญจน กรรมการผู จัดการ บริษัท แนเชอรัล พาร ค จํากัด (มหาชน) ได เป ดเผยถึงโครงการพัฒนาไร เกษตรกรรมแห งใหม วา ในขณะนีท้ างบริษทั ฯ กําลังดําเนินการปรับพืน้ ทีข่ องทีด่ นิ บนเนือ้ ทีข่ นาด 37 ไร ตั้งอยู ต.บางกระสอบ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ ซึ่งอยู ใน บริเวณพืน้ ทีบ่ างกะเจ า เพือ่ เตรียมการในการพัฒนาเป นไร เกษตรกรรม เพื่อเป นศูนย การอนุรักษ และเรียนรู เชิงเกษตรกรรม ภายใต แนวคิด ตามพระราชดําริดา นเศรษฐกิจพอเพียง และการเกษตรอย างยัง่ ยืนของ พระบาทสมเด็จพระเจ าอยูห วั ฯ พร อมเตรียมเป ดเป นแหล งท องเทีย่ วเชิง เกษตรแห งใหม ภายใน ป 2558

ซีดับเบิลยูแคด ดีไซน (ZWCAD Design) หนึ่งในผู นําด านโซลูชั่น ซอฟต แ วร สํ า หรั บ งานออกแบบ CAD ในอุ ต สาหกรรมต า งๆ เป ดตัวซอฟต แวร สําหรับงานออกแบบ ZWCAD+ 2015 Beta ที่ ร วมเอาฟ เ จอร ข องกู เ กิ ล เอิ ร ธ (GoogleEarth) ไว ใ นตั ว ทําให สถาปนิก วิศวกร นักออกแบบ และผู ใช งาน สามารถนําเข า ภาพสแน็ปช็อตจากกูเกิลเอิร ธได โดยตรง ช วยให สามารถตรวจสอบ ผลงานขั้ น สุ ด ท า ยในรู ป แบบแผนที่ จ ริ ง ได อ ย า งถู ก ต อ งแม น ยํ า มากยิ่งขึ้น โดยให ดาวน โหลดใช งานได ฟรีแล ววันนี้

ºÃÔÉÑ·¡‹ÍÊÌҧÊÑÞªÒμÔÍàÁÃԡѹ ¶Ù¡¨Ñºã¹¢ŒÍËÒ㪌«Í¿μ áÇà ¼Ô´¡®ËÁÒ พ.ต.อ. ชัยณรงค เจริญไชยเนาว รองผู บังคับการและโฆษกกอง บังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรม ทางเศรษฐกิจ (บก.ปอศ.) กล าวว าตั้งแต ต นป 2557 ที่ผ านมา เจ า หน าที่ตํารวจได เข าตรวจค นและดําเนินคดีกับองค กรธุรกิจกว า 100 บริษัท ในข อหาละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต แวร พบเครื่องคอมพิวเตอร 1,119 เครื่อง ที่มีซอฟต แวร ที่ไม มีไลเซ นต คิดเป นมูลค าเชิงพาณิชย ราว 53 ล านบาท รวมซอฟต แวร ที่พัฒนาโดยผู ผลิตไทย และพบว า องค กรธุรกิจเหล านั้นมีผู ถือหุ นสัญชาติต างๆ ได แก ไทย จีน ญี่ปุ น มาเลเซีย อิตาลี ดัทช อเมริกัน และเกาหลีใต โดยล าสุดได จับกุม บริษัทก อสร างซึ่งมีผู ลงทุนสัญชาติอเมริกัน ที่ใช ซอฟต แวร ไม มี ไลเซ นต ของออโต เดสก ทํางานสําหรับโครงการก อสร างขนาดใหญ ใน ประเทศไทย คิดเป นมูลค าเชิงพาณิชย ราว 756,000 บาท ทัง้ นีบ้ ริษทั มีรายได ตอ ป มากกว า 100 ล านบาท แต ใช ซอฟต แวร ผดิ กฎหมายใน การทําธุรกิจออกแบบและก อสร างโครงการพาณิชย และที่พักอาศัย หลายแห ง รวมถึงโรงงานและคลังสินค าด วย ทั้งนี้ จึงขอความ ร วมมือจากผู ที่รู เบาะแส แจ งการใช ซอฟต แวร ที่ไม มีไลเซ นต และ ผิดกฎหมาย ผ านทางสายด วนที่ 02-714-1010 หรือทางออนไลน โดยมีสิทธิ์ได รับเงินรางวัลสูงถึง 250,000 บาท ซึ่งข อมูลของผู แจ ง เบาะแสจะถูกป ดเป นความลับ สําหรับข อมูลเพิ่มเติมสามารถเข าชม ได ที่ www.stop.in.th 15


เรื่อง: กองบรรณาธิการ

¢‹ÒǤÇÒÁà¤Å×è͹äËǢͧ¤¹Ç§¡Òá‹ÍÊÌҧª‹Ç§»ÅÒ½¹μŒ¹Ë¹ÒÇ㹩ºÑº¹ÕéÂѧ¤§ÁÕ¤ÇÒÁà¤Å×è͹äËÇãËŒªØ‹Á©èíÒ㨠¡Ñ¹Í‹ҧμ‹Íà¹×èͧ ·Ñé§ã¹Ê‹Ç¹¢Í§ÂÍ´¢Ò ¢ÂÒ¡ÒÃŧ·Ø¹ à»Ô´ÊÒ¢ÒãËÁ‹ á싧μÑ駼ٌºÃÔËÒä¹ãËÁ‹ Ōǹ໚¹¢‹ÒÇ ¹‹ÒÂÔ¹´Õ¤ÅÐà¤ÅŒÒ¡Ñ¹ เริม่ จากข าวแรกของคนในวงการกับบริษทั พรอสเพค ดีเวลลอปเมนท จํากัด ทีไ่ ด อานิสงส จากนโยบายภาครัฐ คสช. ที่ต องการป นไทยเป นศูนย โลจิสติกส ระดับโลกเพื่อหนุนการเติบโตการผลิตเพื่อส งออก คุณพรศริน เมธีวัชรานนท เอ็มดีสาวสวย ไม รอช าสนองรับนโยบายภาครัฐทันที เร งสั่งเดินหน าทุ มทุนกว าพันล านบาท ขยายพื้นที่โรงงานและคลังสินค าให เช าเฟส 2 ทันที แว วว าจะเดินหน าเป ดกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย ระดมทุนครั้งใหญ ในไตรมาส 3 นี้ด วย นับเป นน องใหม ไฟแรงในวงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย เชิงพาณิชย ที่มองข ามไม ได จริงๆ

ข าวความชุ มฉ่ําถัดมาก็คงต องยกให บริษัท ยูเรกา ดีไซน หรือ EUREKA ซึ่งแว วมาว า ป นี้รับส มหล นเต็มๆ งานนี้รายได คงทะลักแน นอน เนื่องจากผู บริหารคนเก ง คุณนรากร ราชพลสิทธิ์ ที่มีวิสัยทัศน กว างไกล เล็งเห็นถึงศักยภาพและโอกาสการเติบโตในอนาคต และได เป ดสาขาทีอ่ นิ โดนีเซียไปแล วเมือ่ ต นป ทผี่ า นมา ผนวกกับป นอี้ นิ โดนีเซียจ อขึน้ แท น แชมป สง ออกรถยนต ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต อานิสงส นคี้ งหนีไม พน EUREKA เป น แน แท แถมรวยทะลักโดยไม รู ตัวแน ๆ

มาต อกันทีข่ า วความเคลือ่ นไหวของผูเ ชีย่ วชาญด านการให บริการงานวิศวกรรมระบบกันบ าง กับการส งมอบ งานที่เสร็จรวดเร็วก อนเวลาที่กําหนดอย างต อเนื่อง โดยครึ่งป แรกส งมอบงานให กับลูกค าถึง 4 โครงการ ด วยกัน อันได แก โครงการ สีลม คอมเพล็กซ , โครงการ เดอะ ไนน ทาวเวอร แอนด เดอะ ช็อปส แอท คอร ริดอร , โครงการ คอนแวนชั่น ฮอลล แอท เดอะ ไนน ทาวเวอร และโครงการ นิคมอุตสาหกรรมเอเชีย สุวรรณภูมิ และยังมีโครงการที่อยู ในระหว างการเตรียมส งมอบในเร็วๆ นี้อีก 2 โครงการ นับว าเป นบริษัท ทีย่ ดึ มัน่ ในการบริการส งมอบงานทีร่ วดเร็วตรงเวลาอย างแท จริง แบบนีต้ อ งยกนิว้ ให คณ ุ ธิตวิ รการ เงินนําโชค กรรมการผู จัดการ บริษัท คิวทีซี เอ็มอี จํากัด ที่บริการงานได เยี่ยมยอดจริงๆ

ส วนข าวต อมา ขอนําเสนอข าวของคนวงการเหล็กกันบ าง โดยคุณนัคพัฒน ยิ้มเศรษฐี กรรมการผู จัดการ บริษัท ผาทองกิจสตีลอินดัสตรี้ จํากัด ผู ผลิตและจําหน ายเหล็กเส น เพื่อใช ในงานก อสร าง ภายใต เครื่องหมายการค าอักษรย อ PTK มาตรฐานเหล็กเส นไทย ที่ได เตรียมความพร อมเข าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทยและกําลังอยู ระหว างการเตรียมความพร อมทั้งการจัดโครงสร างธุรกิจ โครงสร างทางการเงิน และ ปรับปรุงมาตรฐานบัญชีเพื่อรองรับการเข าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย ในอนาคตเพื่อ ขยายไลน ผลิตเหล็กเส นอีกด วย ส วนข าวสุดท ายขอทิ้งท ายในฉบับนี้กับข าวการเป ดตัวโครงการ “เดอะ ไบรท ” ไลฟ สไตล มอลล ของเครือแลมป ตั้น กรุ ป ซึ่งเป นโครงการที่เป ดโอกาสใหม ๆ ให กับเจ าของกิจการ ในย านพระราม 2 ได เติมเต็มไลฟ สไตล ระดับพรีเมียมให แก กลุม ลูกค า ไม วา จะเป นร านค า ร านอาหาร การบริการทางด านสุขภาพความงาม การเงินการธนาคาร และเป นการ เป ดตัวร วมกันเป นครั้งแรกของทายาทธุรกิจ 3 พี่น อง “ไชยสงวนมิตต ” ในฐานะผู บริหาร มืออาชีพกับแผนการขยายอาณาจักรธุรกิจ “แลมป ตั้น กรุ ป” อย างเป นทางการอีกด วย 16



เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

¾ÒÇÔÅàÅÕ¹ Breath Box

‘Breath Box’ พาวิลเลียนริมทะเลที่ตั้งอยู ในงาน Festival des Architecture Vives ซึ่งเป นงานเทศกาล ด านสถาป ตยกรรมของประเทศฝรัง่ เศสในช วงฤดูรอ นทีผ่ า นมา ออกแบบโดย NAS Architecture ซึง่ จุดเด น ของพาวิลเลียนนี้คือ การใช แผ นเหล็กขัดเงาจํานวน 345 แผ น แขวนไว กับโครงสร างด านหน าของ อาคารในลักษณะบานพับ หากเมื่อมองจากระยะไกลจะมองเห็นวิวของเมืองและท องทะเลสะท อนผ านทาง แผ นเหล็ก สําหรับพื้นที่ภายในนั้นผู ที่มาเยี่ยมชมสามารถมองเห็นตัวเองผ านทางกระจกที่จะเปลี่ยนแปลง ไปตามการพัดของลม โดยโครงสร างของอาคารทําจากไม ของต นสนทีถ่ กู ทําให ไหม เกรียมจากเครือ่ งพ นไฟ แล วนํามาขัดเงาเพื่อให พื้นผิวโครงสร างมีสีเข มตัดกับแผ นเหล็กขัดเงานั่นเอง See more: http://www.youtube.com/watch?v=bnSeAzdEHks

âçáÃÁËÃÙº¹à¤Ã¹¡‹ÍÊÌҧ

โรงแรมทีว่ า นีม้ ชี อื่ ว า Faralda NDSM Crane Hotel ตัง้ อยูใ นเมืองอัมสเตอร ดมั ประเทศ เนเธอร แลนด ทีถ่ กู ออกแบบให มหี อ งพักให เลือก 3 แบบ บนระดับความสูงประมาณ 50 เมตร แขกที่เข าพักสามารถสัมผัสประสบการณ ใหม อาทิ การแช ตัวในอ างจากุซซี่บนยอด ของเครน หรือสนุกสนานกับการเล นบันจี้จัมพ โดยราคาห องพักตกอยู ที่คืนละ 435 ยูโร หรือประมาณ 17,850 บาท เลยทีเดียว Image: Faralda NDSM Crane Hotel © Fotoburo Raphael Drent / http://faralda.com/

18


ÍÒ¤ÒÃ ‘The Building on the Water’

สถาปนิกชื่อดังชาวโปรตุเกส Alvaro Siza ได รับคัดเลือกให ออกแบบ โรงงานอุตสาหกรรมเคมีแห งใหม ให กบั บริษทั ยักษ ใหญ อย าง Shihlien Chemical Industrial Jiangsu อาคารแห งนีม้ ชี อื่ ว า ‘The Building on the Water’ ซึ่งถูกก อสร างขึ้นบนอ างเก็บน้ําที่ New Salt Industrial Park ในเมืองหวายอัน ประเทศจีน โดยโครงสร างทําจากคอนกรีต สีขาวในรูปทรงโค งยาว 300 เมตร ซึ่งต างจากลักษณะการออกแบบ โรงงานทวั่ ไป อีกทัง้ ยังวางรูปแบบการใช แสงธรรมชาติและปฏิสมั พันธ กับบริบทสิง่ แวดล อม เช น การสะท อนของน้าํ หรือโทนของแสงและเงา ส งผลให อาคารนี้โดดเด นและให อารมณ ที่แตกต างกันไปไม ว าจะมอง จากบนพื้นดิน บนอากาศ หรือบนพื้นน้ํา See more: http://www.dezeen.com/2014/08/06/alvaro-siza-china-floating-officebuilding-on-the-water-shihlien-chemical

‘Krystall hotel’ âçáÃÁËÃÙàËÁ×͹à¡Åç´ËÔÁÐÅ͹éíÒ

บริษัทสถาป ตยกรรมชื่อดังในประเทศนอร เวย Waterstudio ร วมกับ บริษทั Dutch Docklands ออกแบบโรงแรมลอยน้าํ ทีม่ รี ปู ทรงของเกล็ด หิมะ ตั้งอยู ใกล เมือง Tromso ในประเทศนอร เวย โดยโครงสร างของ ตัวโรงแรมจะถูกยึดไว ดว ยสปริงทีแ่ ข็งแรงทนทาน สามารถรับความแรง ของกระแสน้ําและลมได หลังคาของอาคารทําจากกระจกเพื่อให แขก ผู เข าพักได สัมผัสแสงจากธรรมชาติ ราวกับได นอนอยู กลางมหาสมุทร พื้นที่ภายในโรงแรมประกอบไปด วย ห องพัก 86 ห อง, ห องประชุม, สปาและสิ่งอํานวยความสะดวกอีกมาก โรงแรมนี้จะเริ่มก อสร างกลาง ป 2015 และคาดว าจะแล วเสร็จในเดือน ธันวาคมป 2016 See more: http://inhabitat.com/koen-olthuiss-floating-krystall-hotel-to-sparkle-off-the-coast-of-norway/

ÊÃÐÇ‹Ò¹éíÒ¸ÃÃÁªÒμÔ ‘Naturbad Riehen’

Zaha Hadid Í͡ẺÀÒÂã¹ãËŒâçáÃÁ ME Dubai Hotel

สถาปนิก Zaha Hadid เผยการออกแบบตกแต งภายในให กับโรงแรม ME Dubai Hotel ภายในอาคาร Opus ทีเ่ ธอได เคยออกแบบเอาไว กอ น หน านี้ โดยภายในประกอบด วยห องพักจํานวน 100 ห อง, ร านอาหาร ระดับ Michelin star, เล านจ และ ร านกาแฟ ซึง่ ในการออกแบบจะเน น ส วนเว าและส วนโค ง การใช เหลี่ยมมุม ด วยดีไซน ที่ล้ําอนาคตซึ่งเป น แบบฉบับของเธอนั่นเอง

See more: http://www.dezeen.com/2014/08/06/zaha-hadid-interior-me-dubaihotel-crest-installation-london-design-festival

สระว ายน้ํา Naturbad Riehen ในประเทศสวิตเซอร แลนด แห งนี้ ออกแบบโดย Herzog & de Meuron ถือได ว าเป นสระว ายน้ํา ธรรมชาติอันปราศจากคลอรีน ที่ตั้งอยู ท ามกลางธรรมชาติ ทําให ผูท ม่ี าว ายน้าํ รูส กึ เหมือนกําลังว ายน้าํ อยูใ นบ อน้าํ ธรรมชาติ โดยหลักการ ในการทํ า ให น้ํ า สะอาดนั้ น เริ่ ม จากการใช เ ครื่ อ งกรองน้ํ า กรอง คราบสิง่ สกปรก ชิน้ ส วนเล็กๆ หรือเส นผมออกก อน จากนัน้ น้าํ จะถูก ส งไปยังส วนของการฟ นฟู (Regeneration Area) ซึ่งจะเป นที่ที่พืช เช น ดอกบัวและดอกไอริสจะทําหน าที่ร วมกับตะกอนน้ําเพื่อกรอง และดูดซึมแบคทีเรียและส วนประกอบอืน่ ๆ ในท ายทีส่ ุดน้าํ สะอาดจะ ถูกส งกลับไปยังสระว ายน้ําอีกครั้ง See more: http://inhabitat.com/herzog-de-meurons-naturbad-riehen-is-nowopen-for-chlorine-free-swimmming/ 19


ÍÒ¤ÒÃ˹ŒÒμҤŌÒ¡ÃдҹËÁÒ¡ÃØ¡ã¹àÇÕ´¹ÒÁ

อาคารนี้ เ ป น อาคารในมหาวิ ท ยาลั ย ด า นเทคนิ ค FTP ใกล กับเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เป น ผลงานการออกแบบของบริษัทสถาปนิกเวียดนาม Vo Trong Nghia Architects โดยมีจุดประสงค เพื่อ สร างอาคารสีเขียวในมหาวิทยาลัย ลักษณะภายนอก ของอาคารมีลักษณะเหมือนกับกระดานหมากรุก หันหน ารับลม ช วยให การระบายอากาศมีประสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ ต นไม ทต่ี ง้ั อยูด า นหน าของหน าต างทุกบาน จะช วยลดแรงลมที่ผ านเข ามายังพื้นที่ภายในและ ให ความรู สึกร มรื่น โดยในแต ละชั้นยังถูกออกแบบ ให สามารถรับแสงธรรมชาติ เพื่อประหยัดพลังงาน ไฟฟ าอีกด วย See more: http://www.dezeen.com/2014/08/11/fpt-university-vietnam-vo-trong-nghia-architects

à¿Íà ¹Ôà¨Íà ŌÍàÅ×è͹

สตูดิโอในรัสเซีย Ruetemple ออกแบบเฟอร นิเจอร ล อเลื่อน 3 ชิ้นใหญ ที่สามารถนํามาประกอบกัน เป นห อง, เตียงนอน หรือโซฟา ได ตามต องการ ทําให ผู อยู อาศัยไม รู สึกเบื่อกับบรรยากาศและการ ตกแต งภายในบ าน นับว าเป นไอเดียการออกแบบที่ สร างสรรค และใช ประโยชน ได ดีทีเดียว See more: http://www.dezeen.com/2014/09/01/interiorfor-students-ruetemple-russia-mobile-furniture-gianthammocks

â¤Ã§¡Òÿ„¹œ ¿ÙàÁ×ͧ 100 áË‹§ »ÃШíÒ»Õ 2014

มู ล นิ ธิ ร็ อ ค กี้ เ ฟ ล เ ล อ ร (Rockefeller Foundation) องค กรผู นําด านการฟ นฟูสังคม เชิญชวนเมืองต างๆ จากทัว่ โลก เข าร วมเป น 1 ใน 100 เมือง ผ านโครงการฟ น ฟูเมือง 100 แห ง ประจํ า ป 2014 (2014 100 Resilient Cities Challenge) โดยเมืองที่ชนะแต ละแห งจะได รับการ สนับสนุนด านการสร างแผนฟ นฟูเมือง พร อมทั้งความช วยเหลือด าน อุปกรณ และเทคนิค รวมถึงทรัพยากรสําหรับใช ในการดําเนินงานและ ได รบั การสนับสนุนให มกี ารจ างประธานเจ าหน าทีด่ า นการฟ น ฟู (Chief Resilience Officer) เพื่อช วยดูแลการพัฒนากลยุทธ การฟ นฟูเมือง อีกด วย ทัง้ นีผ้ ส ู มัครเข าร วมโครงการจะต องแสดงให เห็นถึงวิธกี ารดําเนินการ และแผนการเพื่อฟ นฟูเมือง รวมถึงวิธีตอบสนองความต องการของ ผู ยากไร ในเมืองนั้นๆ อย างละเอียด See more: http://www.archdaily.com/541742/the-rockefeller-foundation-kicksoff-its-2014-resilient-cities-challenge

ÍÒ¤ÒÃ Leatop Plaza tower

อาคาร Leatop Plaza tower เป นอาคารแรกในประเทศจีนตอนใต ที่ได รับประกาศนียบัตรรับรอง LEED Gold Certification อาคารนี้ เป นอาคารที่เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม ซึ่งเป นผลงานของ JAHN Architects ทีอ่ อกแบบเปลือกอาคารเป นชัน้ กระจกเพือ่ ช วยลดความ ร อนจากแสงอาทิตย และช วยให ได รบั แสงจากธรรมชาติมากขึน้ วัสดุ ก อสร างใช วสั ดุทอ งถิน่ รวมไปถึงไม รไี ซเคิล พืน้ ทีภ่ ายในติดตัง้ ระบบ ระบายอากาศที่ควบคุมได , ระบบการนําความร อนกลับมาใช และ ระบบเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงเพื่อช วยลดการใช พลังงาน ภายในอาคาร

See more: http://inhabitat.com/jahns-leatop-plaza-becomes-south-chinasfirst-leed-gold-certified-building/

20


àËμؼŠ6 »ÃСÒ÷Õè Zaha Hadid äÁ‹¤Çà ¿‡Í§ÃŒÍ§¹ÔμÂÊÒà the New York Review of Books

จากการรายงานข อมูลที่ผิดพลาดของ Martin Filler เกี่ยวกับ Zaha Hadid ในเรื่องการเสียชีวิตของ แรงงานก อสร างสนามกีฬาในประเทศกาตาร เป นเหตุ ให เ ธอไม พ อใจอย า งมากและดํ า เนิ น คดี ฟ อ งร อ ง นิตยสารดังกล าว ในขณะเดียวกันก็มีผู คนมากมาย ที่คัดค านการฟ องร องของเธอ โดยที่พวกเขาได ให เหตุผลเอาไว เช น คดีความนี้ทําให เธอดูเป นคนที่ นึกถึงแต ประโยชน ของตัวเอง ที่แสดงให เห็นว าเธอ ต องการแสดงอํานาจ และจะเป นการเพิ่มกระแสข าวทางด านลบของเธอ ซึ่งเธออาจจะแพ คดีนี้ และ Martin Filler อาจจะ กลายเป นฝ ายทีถ่ กู ในท ายทีส่ ดุ และสุดท ายเธอเพ งเล็งไปทีศ่ ตั รูผดิ คน เราอาจไม รขู อ มูลข อเท็จจริงในเบือ้ งลึก แต นกี้ เ็ ป นข าว ที่สร างชื่อให Zaha ดังไปทั่วโลกยิ่งขึ้นได อีก See more: http://www.archdaily.com/542852/the-critics-speak-6-reasons-why-hadid-shouldn-t-have-sued-the-new-york-review-of-books

¡ÒûÃСÒȼŠCarbuncle Cup 2014

นิตยสารด านสถาป ตยกรรมแห งเมืองผู ดี ‘Buliding Design’ ได ประกาศรายชื่อรางวัล Carbuncle Cup 2014 ซึ่งเป น รางวัลที่มอบให กับอาคารที่มีการออกแบบได แย ที่สุดในอังกฤษในช วงระยะเวลา 1 ป ที่ผ านมา ยังดีที่เมืองไทยไม มีรายการ ประกวดแบบนี้ขึ้นมา ซึ่งในป นี้รายชื่ออาคารที่ติดโผอาคารยอดแย แห งเมืองผู ดี ได แก 1. Trinity Square ศูนย การค าในเมืองเกทส เฮด ออกแบบโดย 3D Reid และก อสร างโดย Spenhill Developments 2. Vauxhall Tower อาคารรูปทรงกระบอก สูง 50 ชั้น ก อสร างโดย Berkeley Group 3. Woolwich Central อาคารที่อยู อาศัย ผลงานของ Sheppard Robson 4. Chancellor’s Building ศูนย การศึกษาสําหรับมหาวิทยาลัย Bath ผลงานของ Stride Treglown 5. Unite Stratford City หอพักนักศึกษา ผลงานของ BDP 6. QN7 อาคารห องชุด ผลงานของ CZWG See more: http://www.dezeen.com/2014/08/28/carbuncle-cup-2014-uk-worst-new-building-shortlist-announced-building-design

Trinity Square

Vauxhall Tower

Woolwich Central

Chancellor’s Building

Unite Stratford City

QN7

21


เรื่อง: ปฏิทิน เวลา

¢³Ð¹Õé·ÑèÇâÅ¡¡íÒÅѧãËŒ¤ÇÒÁʹã¨ã¹àÃ×èͧ¢Í§¹âºÒÂÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ à¾×èͼÅÑ¡´Ñ¹Êѧ¤Áä»ÊÙ‹Êѧ¤Á à¢ÕÂÇ (Green Society) â´Â¨ÐàËç¹ä´Œ¨Ò¡¡ÒûÃЪØÁ»ÃЪҤÁâÅ¡â´Â International Union of Architects (UIA) ·ÕèàÁ×ͧ´Òà ºÑ¹ »ÃÐà·ÈáÍ¿ÃÔ¡ÒãμŒ ã¹ª‹Ç§à´×͹ÊÔ§ËÒ¤Á·Õ輋ҹÁÒ ·Õèä´ŒÁÕ¡ÒûÃСÒȾѹ¸¡Ô¨ÃÐËÇ‹Ò§ÊÁÒªÔ¡ 124 ͧ¤ ¡Ã 㹡ÒÃÇÒ§¹âºÒÂàÃ×èͧ¢Í§¡ÒÃÊÌҧ ʶһ˜μ¡ÃÃÁÍ‹ҧÂÑè§Â×¹ÀÒÂã¹»Õ 2050 «Öè§à»š¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö觢ͧ¡ÒÃÇҧἹŴ¡ÒûŋÍ¡ Ò« àÃ×͹¡ÃШ¡ã¹ÃٻẺÊØ·¸Ô໚¹Èٹ (Zero Carbon) โดยในรายงานระบุว าพลังงานที่ถูกใช อยู ทั่วโลกนั้น กว า 70% อยู ในพื้นที่ชุมชนเมืองใหญ และมีการปล อย ก าซภาวะเรือนกระจกออกมาเป นจํานวนมากจากสิ่งปลูกสร าง เนื่องจากเมืองต างๆ มีการพัฒนาขยายตัว อย างต อเนื่องตลอดกว า 2 ทศวรรษที่ผ านมา ทั้งสิ่งปลูกสร างใหม และการปรับปรุงอาคารเก าทั้งหลาย ดังนัน้ จึงต องมีการเตรียมการและหันมาให ความสนใจอย างแท จริงกับการใช นา้ํ มันเชือ้ เพลิงอย างฟุม เฟ อย และการปล อยก าซเรือนกระจกออกมาทําลายสภาวะโลกให มีปริมาณลดลง ซึ่งนโยบายแผนที่ได เสนอมานั้นจะเน นไปที่เป าหมายหลักสําหรับงานสถาป ตยกรรมและการก อสร าง เพื่อให บรรลุจุดประสงค ของ Zero Carbon ซึ่งได แก • การวางผังและออกแบบเมือง, ชุมชน, การพัฒนาเมือง หรือสิง่ ปลูกสร าง ให เกิดสมดุลคาร บอน (Carbon Neutral) คือ ในระยะเวลาหนึ่งป ไม สามารถจะใช พลังงานได เกินกว าที่ผลิตใหม หรือนําพลังงานจาก แหล งพลังงานหมุนเวียนมาใช ได • การปรับปรุงและฟ น ฟูเมืองเก า, ย านชุมชนเก า, การพัฒนาเมืองเก า หรือสิง่ ปลูกสร างเก า ให เกิดสมดุล คาร บอน (Carbon Neutral) ในขณะที่ยังคงเคารพคุณค ามรดกทางวัฒนธรรมอันดีด วย • หากในกรณีทสี่ มดุลคาร บอน (Carbon Neutral) ไม สามารถเกิดขึน้ ได หรือนํามาประยุกต ใช ได การวางผัง และออกแบบเมือง, ชุมชน, การพัฒนาเมือง, สิ่งปลูกสร าง หรือการปรับปรุงสิ่งปลูกสร างเก านั้นๆ ก็จะต องมีศักยภาพและสมรรถนะในการผลิตหรือนําพลังงานจากแหล งพลังงานหมุนเวียนมาใช ในอนาคตได • มุง เน นในหลักการมีสว นร วมในการค นคว าและตัง้ เป าตามแผนการประชุมเพือ่ เป าหมายภายในป 2050 • ให การสนับสนุนและประชาสัมพันธ สถาป ตยกรรมที่มีความรับผิดชอบต อสังคม เพื่อการพัฒนาชุมชน และมอบโอกาสในการเข าถึงแหล งข อมูลและเครื่องมืออย างเท าเทียมกัน • การวางผังและออกแบบอย างยั่งยืน ครอบคลุม และสร างสรรค สิ่งแวดล อมที่ปล อยก าซเรือนกระจก ในรูปแบบสุทธิเป นศูนย (Zero Carbon) • การออกแบบทีป่ ระหยัดค าใช จา ยด านพลังงาน โดยการใช แหล งพลังงานหมุนเวียนจากภายในโครงการ และแหล งทรัพยากรธรรมชาติที่มี เช น การประยุกต ใช พลังงานความร อนและการปรับอากาศ พื้นที่ กักเก็บน้ําในโครงการ การใช พลังงานจากแสงอาทิตย ทําความร อน การใช แสงสว างจากดวงอาทิตย และระบบระบายอากาศตามธรรมชาติ เป นต น ส วนในประเทศไทยเองก็มีการตื่นตัวทางด านนี้ไม น อย ซึ่งทางกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงานได มอบหมายให มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล อมไทยดําเนินการจัดโครงการรณรงค สร างเครือข ายและ ขอความร วมมือการอนุรกั ษ พลังงานในอาคารในรูปแบบสมัครใจจากผูป ระกอบการอาคารอย างต อเนือ่ ง ทัง้ นี้ เพื่อเป นการกระตุ นให ผู ประกอบการภาคเอกชน รวมทั้งผู ใช พลังงานขนาดใหญ ตระหนักและมีจิตสํานึกใน การใช พลังงานอย างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังมีการออกแผนอนุรักษ พลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2554 - 2573) เพื่อเป นแนวทางในการอนุรักษ พลังงานและยังเป นการสนับสนุนการใช พลังงานภายในประเทศอีกด วย 22


โดยขอบเขตในการศึกษาด านการจัดการการใช พลังงานภายในอาคาร ในรูปแบบสุทธิเป นศูนย หรือ Zero Carbon Building ซึ่งหมายถึง อาคารที่ มี ก ารประหยั ด พลั ง งานจากการออกแบบ การเลื อ กใช เทคโนโลยีที่ส งผลต อการประหยัดพลังงาน หรือมีระบบการจัดการ พลังงานที่มีประสิทธิภาพ โดยอาคารสามารถผลิตพลังงานใช เองได ใกล เคียงกับความต องการ คัดเลือกสรรหาอาคารที่มีศักยภาพที่เข า ข ายดังกล าว เพื่อรวมรวมข อมูลจัดทําเป นคู มือ เพื่อเป นประโยชน และ เป นกรณีศึกษาต อไป พร อมทั้งยังจัดทําการทดสอบผลสําหรับวัด เป าหมาย รวมทัง้ การประชาสัมพันธ กระตุน ให เกิดความร วมมือสนับสนุน นโยบายการอนุรักษ พลังงานภายในอาคาร

หากมองที่ ป ระโยชน ที่ จ ะได รั บ จากการอนุ รั ก ษ พลังงานในแต ละป ก็จะส งผลให เกิดการประหยัด พ ลั ง ง า น แ ล ะ ก า ร ห ลี ก เ ลี่ ย ง ก า ร ป ล อ ย ก า ซ คาร บอนไดออกไซด (CO2) ได เป นอย างมาก หากคิด เป น มู ล ค า ทางการเงิ น ก็ จ ะส ง ผลให เ กิ ด การ ประหยัด ค า ใช จ า ยพลั ง งานสะสมเป นเงินจํ า นวน มากเช นกัน นอกจากประโยชน โดยตรงดังกล าว แล วก็ยังมีประโยชน ทางอ อมอื่นๆ อีกด วย เช นการ เพิ่มคุณภาพสิ่งแวดล อมและผลกระทบทางบวกต อ เศรษฐกิจมหภาค

แนวทางการพิจารณาความเป น Zero Carbon ของอาคารส วนใหญ นัน้ จะมีหลักเกณฑ โดยคํานึงถึง รูปแบบการออกแบบอาคารและการจัด วางผังโครงการ การใช พลังงานไฟฟ า การใช พลังงานเชีอ้ เพลิงประเภท ต างๆ การผลิตพลังงานใช เองจากพลังงานทดแทนภายในโครงการ ระบบทําความเย็นอาคารและการบริหารการทํางาน การบริหารจัดการ น้ําและการกําจัดน้ําเสีย การจัดการของเสียและขยะประเภทต างๆ รวมไปถึงมาตรการอนุรักษ พลังงานและการดําเนินงานที่เป นมิตรกับ สิ่งแวดล อม เช น การเข าร วมโครงการฉลากเพื่อสิ่งแวดล อม หรือการ ทํากิจกรรมชดเชยการปล อยก าซเรือนกระจก อย างการปลูกป า ใช รถ จักรยาน ใช ระบบโดยสารสาธารณะในการเดินทางแทนการใช รถยนต ส วนตัว เป นต น

และเพือ่ ให เกิดความเป นไปได ตามนโยบายเรือ่ งของ การสร างสถาป ตยกรรมอย างยั่งยืนภายในป 2050 นั้น หน วยงานแต ละฝ ายที่เกี่ยวข องในเรื่องของการ อนุรักษ พลังงาน โดยเฉพาะงานสถาป ตยกรรมและ การก อสร าง จะต องคํานึงถึงการรักษาสิ่งแวดล อม และการใช ทรัพยากรต างๆ อย างคุ มค า เพื่อให เกิด ความเป นมิตรกับสิ่งแวดล อมและความยั่งยืนอย าง แท จริงเสียที

เอกสารอ างอิง 1. ข อมูลการประชุม World Congress of the International Union of Architects 2014 ณ เมืองดาร บัน ประเทศแอฟริกาใต 2. Energy Beyond Standard 2013 (คู มือสมัครเข าร วมโครงการ VA2556) โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) ร วมกับ มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล อมไทย 3. แผนอนุรักษ พลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2554 - 2573) โดยกระทรวงพลังงาน 4. Global Carbon Emission by Nation Infographic, image courtesy of StanfordKay, information-graphic and illustration studio.

23


เรื่อง: โญดา ภาพ: กัณฑ ตนนท สุรัชต วิรากูล

¤Ø³ÃÑ°ÇÔäÅ ÃѧÉÕÊÔ§Ë ¾Ô¾Ñ²¹ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ¾Ñ²¹ÃÑ° ¾Ãç;à¾Íà μÕé

24


¨Ò¡¸ØáԨÍØμÊÒË¡ÃÃÁ´ŒÒ¹ä¿¿‡ÒáʧÊÇ‹Ò§ ÊÙ‹¸ØáԨ´ŒÒ¹ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ ¤Ø³à¹Â – ÃÑ°ÇÔäÅ ÃѧÉÕÊÔ §Ë ¾Ô¾Ñ ²¹ ¼ÙŒ ºÃÔ ËÒÃËÞÔ §áË‹§ ¾Ñ²¹ÃÑ ° ¾ÃçÍ ¾à¾Íà μÕé ¡Ñ º ¡ÒÃàÃÔèÁμŒ¹â¤Ã§¡Òà ‘à¾ÅÔ¹ ;Òà ·àÁŒ¹· ’ ã¹Â‹Ò¹ÃѧÊÔμ·ÕÂè ¡ÃдѺâ¤Ã§¡ÒÃ;Òà ·àÁŒ¹· ¡ºÑ ÁÒμðҹãËÁ‹à¾×Íè ¼Ù¾Œ ¡Ñ ÍÒÈÑ ·Õäè ´ŒÃºÑ ¡ÒÃÃѺÃͧ´ŒÇÂÃÒ§ÇÑÅË;ѡ´Õà´‹¹»ÃШíÒ»Õ 2555 ¨Ò¡ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѸÃÃÁÈÒÊμà ÃѧÊÔμ จุดเริ่มต นของพัฒนรัฐ พร็อพเพอร ตี้ ก อนเริ่มต นธุรกิจอสังหาริมทรัพย คุณเนยถือเป น ทายาทรุ นที่ 2 ของนักธุรกิจด านอุตสาหกรรมไฟฟ า แสงสว าง แบรนด ‘RACER’ ซึ่งเป นผู นําในตลาด และได ดาํ เนินกิจการมายาวนานหลายสิบป ด วยพืน้ ฐาน ของครอบครั ว นั ก ธุ ร กิ จ คุ ณ เนยจึ ง เป น ผู ห ญิ ง ที่ ทํางานสายบริหารได เก งไม แพ ผู ชายเลยทีเดียว และ เมื่อการบริหารธุรกิจของครอบครัวได ขยายกิจการ ใหญ โตและมีบริษัทในเครือเพิ่มมากขึ้น จนถือได ว า อยูต วั แต สง่ิ เหล านัน้ ยังไม ตอบโจทย ในการทํางานของ ตัวคุณเนยเองนัก ดังนั้นจึงอยากท าทายตัวเองด วย การสร างธุรกิจใหม ขึ้นมา เพื่อเป นการพิสูจน ตัวเอง ในการเป นผู บริหารที่ประสบความสําเร็จโดยไม ต อ ยอดจากธุรกิจเดิมของครอบครัว และเมื่อมองหาธุรกิจที่สองที่ต องการทํา เริ่มแรก คุณเนยมองไปทีธ่ รุ กิจสปาเพือ่ สุขภาพทีเ่ กีย่ วข องกับการ ดูแลร างกาย ซึง่ ในเวลานัน้ กําลังเป นทีน่ ยิ มอย างมาก แต แผนนี้ก็มีอันต องหยุดไป โดยคุณเนยได เกริ่น ให ฟ งว า “เริ่มต นในตอนนั้นก็สนใจอยากจะทําสปา เพราะเป นเรื่องของสุขภาพ และการดูแลร างกาย แต เมือ่ นําแผนนีไ้ ปปรึกษากับครอบครัวและคนใกล ชดิ แล วก็เห็นพ องกันว าธุรกิจสปานั้น น าจะเป นกระแส สังคมทีม่ าเร็วไปเร็ว ไม นา จะคุม กับการลงทุนในระยะ ยาว เราจึงตัดสินใจหยุดแผนนี้เอาไว ก อน เริ่มมอง หาธุรกิจตัวอื่นเข ามาแทน พอดีช วงนั้นมีคนมาเกริ่น ให ฟ งว าธุรกิจห องพักแถวย านรังสิตน าสนใจ เพราะ มีจาํ นวนห องให เช าพักน อยและไม เพียงพอต อความ ต องการของตลาดในเวลานั้น ก็เลยตัดสินใจลองไป สํารวจพื้นที่บริเวณย านรังสิตดู ซึ่งเมื่อประมาณ 5 ป ก อนพบว าจํานวนห องพักนั้นมีน อยมากจริงๆ และ จํานวนนักศึกษามหาวิทยาลัยในละแวกนั้นก็มีอยู จํานวนมาก ที่นี้เลยมาลองปรึกษากับทางครอบครัว ดูอกี ครัง้ แต คราวนีท้ กุ คนเห็นด วยและสนับสนุนเป น แนวทางเดียวกันหมด เราก็เลยตัดสินใจหันมาจับ ธุรกิจทางด านอสังหาริมทรัพย และเริ่มโครงการแรก ขึ้นที่ย านรังสิตนี้”

โครงการแรก กับ เพลิน อพาร ทเม นท โครงการแรกของพั ฒ นรั ฐ พร็ อ พเพอร ตี้ เป น โครงการเซอร วสิ อพาร ทเม นท ใกล กบั มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร รังสิต โดยกลุม เป าหมายก็คอื นักศึกษา และอาจารย ในมหาวิทยาลัยนั่นเอง แต จังหวะและ โอกาสที่เอื้อต อการทําธุรกิจของพัฒนรัฐทําให เกิด เป นโครงการ ‘เพลิน อพาร ทเม นท ’ ขึ้นมาได อย าง เหมาะเจาะในเวลาที่เหมาะสม โดยคุ ณ เนยได เ ล า ถึ ง การเกิ ด โครงการนี้ ว า “หลังจากที่ตัดสินใจแล วว าจะลงทุนพัฒนาโครงการ แถวรั ง สิ ต ก็ ไ ด ม าซื้ อ ที่ ดิ น จํ า นวน 3 ไร เอาไว โดยเริ่ ม ทํ า การออกแบบและขออนุ ญ าต รวมทั้ ง การขอ EIA ไว ด ว ย แต ร ะหว า งนั้ น ด ว ยจั ง หวะ และโอกาสที่ ดี อพาร ท เม น ท โ ครงการข า งๆ ที่ อ ยู ติ ด กั น นี้ ไ ด ท ราบข า วการลงทุ น ของพั ฒ นรั ฐ ก็ได เข ามาเสนอขายโครงการให กับเรา ด วยที่ดิน ขนาด 5 ไร พร อมด วยอพาร ทเม นท ที่ก อสร างแล ว เสร็จทั้งโครงการ ทั้งยังมีผู เช าที่ติดสัญญาเช าอยู กับ โครงการอีกด วย ซึ่งเราเห็นว าเป นข อเสนอที่ดีและเป นประโยชน ต อ การลงทุน เพราะตอนนั้นพัฒนรัฐยังไม ได เริ่มลงมือ ก อสร างตึกขึน้ มาเลย ซึง่ การเข าเทคโอเว อร โครงการ นีจ้ ะทําให เราสามารถเป ดกิจการได เร็วขึน้ กว ากําหนด เดิ ม มากและราคาที่ เ สนอมานั้ น ก็ เ ป น ที่ น า พอใจ อย างยิ่ง เราจึงตัดสินใจเทคโอเว อร อพาร ทเม นท ดังกล าวเข ามาเป นส วนหนึง่ ของทีด่ นิ ทีซ่ อ้ื ไว กอ นหน านี้ และทําการปรับปรุงโครงการเสียใหม เกิดเป นเพลิน อพาร ทเม นท อย างที่เห็นในป จจุบัน”

25


โครงการเพลิน อพาร ทเม นท มีทดี่ นิ ทัง้ หมดรวม 8 ไร ถึงแม ทาํ เลทีต่ งั้ ของโครงการจะอยูท า ยซอย แต ในบริบทเช นนีท้ าํ ให มขี อ ดี คือ ได ความเงียบสงบและบรรยากาศทีด่ ี มีบริเวณทีก่ ว างขวางสําหรับการจอดรถพร อมพืน้ ทีส่ ีเขียวเป ดโล งโดยรอบโครงการ อีกด วย ทีเ่ พลิน อพาร ทเม นท จะเน นเรือ่ งของความสะอาด ความปลอดภัย และการให บริการทีด่ อี ย างมาก ภายในห องพักจะมี สิง่ อํานวยความสะดวกทีค่ รบครันเพือ่ ให ผเ ู ช าทัง้ หลายได รบั ความสะดวกสบายทีด่ ที ส่ี ดุ ถือเป นการยกระดับมาตรฐานอพาร ทเม นท ในย านนี้ขึ้นมา โดยเพลินถือได ว าเป นเซอร วิสอพาร ทเม นท ที่มีระดับและเหมาะแก การพักอาศัยอย างยิ่ง คุณเนยได กล าวเสริมถึงแนวคิดของโครงการเพลินแห งนี้ว า “เมื่อเริ่มทําการปรับปรุงโครงการที่นี่ ก็อยากให เป นโครงการที่ น าอยู มีมาตรฐานความปลอดภัยสําหรับนักศึกษา อาจารย และผู เช าทั้งหลาย ให ทุกคนรู สึกพักแล วเพลิน ไม ว าจะเป น ส วนใดก็ตาม อย างร านอาหารเมือ่ ทุกคนได ลมิ้ ลองรสชาติกอ็ ยากให เกิดความรูส กึ เพลิดเพลิน อร อยลิน้ ด วย ดังนัน้ ทัง้ การตกแต ง ปรับปรุงพื้นที่ส วนต างๆ ไปจนถึงงานบริการที่มีอยู ก็ต องเป นไปตามแนวคิดที่เพลินตา เพลินใจเช นกัน ในเรื่องของการออกแบบปรับปรุงโครงการ เนื่องจากเป นการซื้ออาคารที่ก อสร างแล วเสร็จมา มหาวิทยาลัย ฟรีเคเบิ้ลทีวี 95 ช อง ฟรีอินเตอร เน็ต wi-fi บริการห อง จึงไม สามารถออกแบบพื้นที่ได ตามที่ต องการแต อ านหนังสือพร อมเครือ่ งปรับอากาศ ห องฟ ตเนส ห องซักรีด และร านค า แรกได ทางพัฒนรัฐจึงเน นปรับปรุงการสร างระบบ ร านอาหารที่บริการด วยราคาเป นกันเอง ซึ่งสิ่งเหล านี้ทั้งหมดก็เพื่อ ภายในใหม และการตกแต งด วยสีสนั โดดเด นสะดุดตา ให ผู เช าเพลินกับการพักอยู ที่นี่อย างแท จริง และเพื่อยกระดับให เพลิน และมี ส ไตล ที่ เ ป น เอกลั ก ษณ แ ทน โดยห อ งพั ก เป นเซอร วิสอพาร ทเม นท ที่ครบวงจรด วย” ได รับการปรับปรุงใหม เป น 4 แบบ คือ standard, silver, gold, platinum ซึ่งแต ละห องจะได รับการ นอกจากการพัฒนาและปรับปรุงตกแต งที่สวยงาม สะอาดสะอ าน และ ตกแต งที่แตกต างกันไปด วยเฟอร นิเจอร และเครื่อง ปลอดภัยแล ว ที่นี่ยังใส ใจในเรื่องของสิ่งแวดล อมและการประหยัด ใช ไฟฟ าครบชุด อาทิ ห องแบบ standard เป นห อง พลังงานอีกด วย เพื่อให เป นเซอร วิสอพาร ทเม นท สีเขียว (Green สไตล สตูดโิ อทีเ่ ป นห องมาตรฐานตามแบบทีม่ อี ยูเ ดิม Service Apartment) ทีน่ า อยูแ ละเป นมิตรต อสิง่ แวดล อม โดยเริม่ ด วย ห องแบบ silver เป นห องสไตล สตูดิโอที่ตกแต งด วย การใช ไฟฟ าส องสว างชุดหลอดไฟที่ประหยัดพลังงานอย าง T5 และใช เฟอร นิเจอร ครบชุด ห องแบบ gold ห องขนาดใหญ LED Solar street แทนโคมไฟส องถนนแทน ซึ่งเป นการนําพลังงาน กว าห องมาตรฐาน โดยมีการแบ งพื้นที่ส วนรับแขก แสงอาทิตย มาใช แทนการใช ไฟฟ า และยังใช LED Bulbs ซึ่งประหยัด พร อมตกแต งด วยเฟอร นิเจอร และเครื่องใช ไฟฟ า ไฟฟ าได ดีและมี อายุ การใช งานยาวนานแทนการใช หลอดตะเกี ยบ และห องแบบ platinum ห องขนาดใหญ แบบห องคู ประหยัดไฟ นอกจากจะเป นการช วยประหยัดพลังงานแล ว ยังช วยลด ที่มีส วนรับแขก และส วนครัว pantry ที่มาพร อม ค าใช จา ยส วนกลางภายในโครงการได เป นอย างดี ซึง่ แนวทางนีย้ งั เป นการ เฟอร นิเจอร เครื่องใช ไฟฟ า และชุดครัว ซึ่งห องพัก กระตุ นให โครงการละแวกนี้ให ตื่นตัว และร วมมือกันหันมาใส ใจดูแล ของเราผูเ ช าสามารถหิว้ กระเป าเข าอยูไ ด ทนั ที อีกทัง้ สิ่งแวดล อมและการประหยัดพลังงานกันมากขึ้นอีกด วย เพลินยังมีบริการส วนกลางที่อํานวยความสะดวก ให แก ผู เช าอย างเต็มที่ อาทิ รถตู บริการรับ-ส งที่ 26


วิสัยทัศน การทํางาน และด ว ยการที่ คุ ณ เนยเป น ผู บ ริ ห ารซึ่ ง ถื อ ได ว า เป น นั ก คิ ด คนหนึ่ ง ที่ นิ ย มคิ ด หาไอเดี ย มาเพิ่ ม คุ ณ ค า ให แ ก ธุ ร กิ จ มา โดยตลอดตั้งแต เริ่มต นทําธุรกิจของครอบครัว จนกระทั่ง มาทําธุรกิจอสังหาริมทรัพย คุณเนยจะมองหาโอกาสและ ช องทางการตลาดใหม ๆ อยูเ สมอ โดยมีคาํ สอนทีค่ ณ ุ พ อเคยสอน ไว เป นคติในการทํางาน คุณเนยเสริมให ฟ งว า “ตั้งแต ในวัย เด็กจะถูกคุณพ อสอนให รู จัก ‘ขยัน อดทน ซื่อสัตย และเป น คนดี’ ดังนั้นในการทํางานก็จะใช คติตามที่คุณพ อสอนเสมอ ตลอดเวลาที่ทํางานมานั้นไม ว าจะพบกับป ญหาและอุปสรรค ใดก็ต องอดทน เวลาทํางานก็ต องขยันหมั่นเพียร ทําธุรกิจ ก็ต องมีความซื่อสัตย และต องเป นคนที่ดีของสังคมด วย ซึ่งคําสอนนี้สามารถนํามาใช กับการทํางานได ทุกครั้ง” และ อีกสิง่ หนึง่ ทีค่ ณ ุ เนยให ความสําคัญในการทํางานก็คอื ทีมงาน ภายในองค กร ซึ่งบุคคลเหล านี้ถือเป นกําลังหลักในการขับ เคลื่อนของธุรกิจ เปรียบได กับทุกคนเติบโตไปพร อมๆ กับ องค กร หากขาดทีมงานทีด่ อี งค กรก็คงไม สามารถก าวไปข าง หน าได อย างราบรื่นเช นกัน

และในอนาคตทางพัฒนารัฐ พร็อพเพอร ตี้ ก็พร อมที่จะก าว ต อไปข างหน า ซึ่งทางเราเองก็ได เตรียมมองหาพื้นที่ในการ ลงทุนโครงการต อไป โดยแนวโน มคาดว าจะขยายการลงทุน ไปที่หัวเมืองท องเที่ยวชายทะเลอย างหัวหิน ซึ่งจะเป นแนว ห องพักสไตล รีสอร ทขนาดเล็ก เพื่อจับกลุ มนักท องเที่ยวแบบ ครอบครัวทีม่ าพักผ อนและต องการความเงียบสงบ แต สาํ หรับ โครงการแถบชานเมืองย านรังสิต ทางพัฒนรัฐก็ได มกี ารเตรียม ที่ดินเก็บไว อีก 2 แปลง เพื่อการลงทุนในอนาคตอีกด วย ทัง้ นีใ้ นส วนของเพลิน อพาร ทเม นท เอง ทางเราเองก็ยงั มีแผน พัฒนาสําหรับความพร อมในอนาคตเช นกัน ทั้งในเรื่องของ ระบบการรักษาความปลอดภัยที่ต องสูงขึ้น และการเตรียม ความพร อมของพนักงานเพื่อต อนรับลูกค าชาวต างชาติให มากขึน้ เมือ่ ประเทศไทยก าวเข าสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ในป หน า ซึ่งตลาดอสังหาริมทรัพย นั้นมีการแข งขันสูง อย างในย านรังสิตเองก็เช นกัน ป จจุบนั จํานวนห องพักให เช ามี จํานวนเพิม่ มากขึน้ จนล นตลาด แต ละโครงการจึงต องเน นการ ให บริการทีด่ มี คี ณ ุ ภาพและสร างชือ่ เสียงทีด่ ี อีกทัง้ ต องพัฒนา ตัวเองอย างต อเนือ่ ง ซึง่ หากมองในมุมกลับกัน ทัง้ หมดนีก้ จ็ ะ ตลอดระยะเวลา 3 ป ที่พัฒนรัฐเติบโตขึ้นมาอย างช าๆ แต เป นสิทธิประโยชน ของลูกค าเพราะทําให เกิดทางเลือกทีล่ กู ค า มั่นคง เนื่องด วยวิสัยทัศน ของผู บริหารหญิงคนนี้ ซึ่งคุณเนย จะคัดสรรสิ่งที่ดีที่สุดให กับตัวเอง” ได แสดงวิสยั ทัศน ในการทํางานเอาไว วา “พัฒนรัฐเน นคุณภาพ ในการสร างผลงานและบริการที่ดีให แก ลูกค า ซึ่งตอบโจทย สําหรับพัฒนรัฐ พร็อพเพอร ตี้ ช วงเวลา 3 ป นี้คงเปรียบเช น ได ตามความต องการ ในการทําธุรกิจบางครั้งนั้นเราก็ต อง เด็กทีเ่ ริม่ ออกเดินไปอย างช าๆ ความท าทายใหม ๆ ข างหน าที่ ให คุณภาพนําหน า ไม ใช นึกถึงแต ผลกําไรเท านั้น ซึ่งหาก ต องเจอในอนาคตยังมีอีกมากมาย หากแต วันนี้แต ละก าวที่ โครงการดีมีคุณภาพ เมื่อลูกค าได มาสัมผัสและรับรู ได ด วย ก าวเดินมานั้นเต็มเป ยมไปด วยคุณภาพและบริการที่จริงใจ ตนเองแล ว หากเขาเห็นว าพัฒนรัฐไปพัฒนาโครงการไหนอีก อย างแท จริง ก็จะเกิดความเชื่อมั่นและเชื่อถือในเราเอง 27


เรื่องชาวบ าน: ศ.ดร.บัณฑิต จุลาสัย

¹Ñºà»š¹àÇÅÒà¡×ͺˌÒÊÔº»ÕÁÒáŌǷÕèʶһ¹Ô¡ Buckminster Fuller Í͡Ẻʶһ˜μ¡ÃÃÁ·Õè¨ÐÃͧÃѺÇÔ¶ÕªÕÇÔμ ¢Í§Á¹ØÉ ã¹âš͹Ҥμ ã¹ÃٻẺ¢Í§ Geodesic Dome ÃÙ»¤ÃÖ觷ç¡ÅÁ¢¹Ò´ãËÞ‹ àÊŒ¹¼‹ÒÈٹ ¡ÅÒ§ 76 àÁμà ÊÙ§ 62 àÁμà ¤ÅØÁ¾×¹é ·Õáè ÅÐÊÔ§è ¡‹ÍÊÌҧà¾×Íè áÊ´§¼Å§Ò¹¢Í§»ÃÐà·ÈÊËÃÑ°ÍàÁÃÔ¡Ò ã¹§Ò¹ Expo’67 ·Õè Montreal นอกจากหลังคาโค งกลมที่เป นโครงถักสามมิติ มุงด วยกระจกขนาด มหึมาแล ว พื้นที่จัดแสดงที่แบ งออกเป นหลายชั้นนั้น ยังเชื่อมต อด วย บันไดเลื่อนที่ยาวถึง 37 เมตร อีกทั้งรถรางมินิเรลยังวิ่งทะลุหลังคา เข าไปและออกจากอาคาร เป นที่ตื่นตาตื่นใจของคนที่ไปเที่ยวงาน Expo และเป นที่กล าวขานไปทั่วโลกถึงอนาคตของสถาป ตยกรรมและ ของบ านเมือง จากวันนั้นจนถึงวันนี้ แม ว าแนวคิดที่จะครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ ทั้ ง ชุ ม ชนหรื อ เมื อ ง ด ว ยโครงสร า งขนาดใหญ ที่ ส ามารถควบคุ ม สภาพแวดล อมได นั้นยังไม เป นรูปธรรม แต ก็มีการพัฒนาโครงสร าง ขนาดใหญ เสมอมา ศูนย แสดงงานศิลปะการแสดงแห งชาติ ที่ป กกิ่งนั้น โรงละครร องแบบ ฝรัง่ โรงงิว้ แบบจีน และคอนเสิรต ฮอลล ทีม่ ที นี่ งั่ รวมกันกว าห าพันสีร่ อ ย ที่นั่ง รองรับผู คนได พร อมกันถึงหมื่นสองพันคนนั้น อยู ใต โครงสร าง หลังคาโค งกลมรูปวงรีผืนเดียว สถาปนิกฝรั่งเศส Paul Andreu ออกแบบอาคารหลังนี้ให เป นรูปไข ยาว 212 เมตร กว าง 144 เมตร สูง 46 เมตร ตั้งอยู กลางสระน้ํา ในสวนสาธารณะขนาดใหญ หน าลาน มหาประชาชน ใจกลางนครป กกิ่ง หรือทีอ่ ยูใ กล ตวั มากๆ เช น ศูนย การค าเซ็นทรัลเวิลด ก็มพี นื้ ทีร่ องรับ กิจกรรมต างๆ มากถึง 550,000 ตารางเมตร และที่จอดรถมากถึง 7,000 คัน เพียงแค พื้นที่ทั้งหมดไม ได อยู ภายใต หลังคาเดียวกัน หากแยกกันอยู ใน 3 อาคาร คือ อาคารศูนย การค าสูง 7-13 ชั้น อาคาร โรงแรม 55 ชั้น อาคารสํานักงาน 51 ชั้น แต ก็มีหลังคากระจกผืนใหญ คลุมช องโล งหลายแห งในศูนย การค าแห งนี้ หรื อ ที่ กํ า ลั ง จะเป น ข า วว า จะลงมื อ เร็ ว ๆ นี้ คื อ ไอคอนสยาม ริมแม นา้ํ เจ าพระยา ก็จะมีพนื้ ทีม่ ากหลายแสนตารางเมตร ประกอบด วย ศูนย การค า คอนโดมิเนียม โรงแรม ฯลฯ เรื่องชาวบ านฉบับนี้ เริ่มจากบ านเขา มาจบที่บ านเรา เหมือนจะอวด ชาวบ า นว า เมื อ งไทยเรานี้ ขนาดทะเลาะกั น บ า ง ปฏิ วั ติ กั น บ า ง สถาป ตยกรรมก็ยังก าวหน าก าวไกลไม แพ ใคร (ฮา)

28



เรื่อง: วสันต คงจันทร กรรมการผู จัดการ บจก.โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท www.m-property.co.th

Å‹ÒÊØ´·Õè ¤Êª. â´Â ¾Å.Í.Í. »ÃШԹ ¨Ñè¹μͧ ËÑÇ˹ŒÒ½†ÒÂàÈÃÉ°¡Ô¨ ä´Œ»ÃЪØÁËÇÁ¡ÑºË¹‹Ç§ҹ ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ à¾×èͼÅÑ¡´Ñ¹ãËŒ¨Ñ§ËÇÑ´¾ÔɳØâÅ¡ ໚¹ÎѺ´ŒÒ¹âŨÔÊμÔ¡Ê àª×èÍÁ⧨ҡ»ÃÐμÙ¡ÒäŒÒ ªÒÂá´¹¨Ò¡¨Õ¹¼‹Ò¹ Ê»».ÅÒÇ ¼‹Ò¹àªÕ§¢Í§ ÁÒÂѧ¾ÔɳØâÅ¡ ¼‹Ò¹ä»¶Ö§·‹ÒàÃ×ÍáËÅÁ©ºÑ§ã¹á¹Ç à˹×Í-ãμŒ ËÃ×Í¡ÃШÒÂä»ÊÙ¡‹ ÅØÁ‹ »ÃÐà·Èà¾×Íè ¹ºŒÒ¹ã¹á¹ÇμÐÇѹμ¡-μÐÇѹÍÍ¡ (àª×Íè Áà¢μàÈÃÉ°¡Ô¨ ¾ÔàÈÉ àªÕ§ÃÒ ˹ͧ¤Ò ¹¤Ã¾¹Á ÁØ¡´ÒËÒà áÅÐáÁ‹ÊÍ´) ä»áÁ‹ÊÍ´ μ‹Íä»Âѧ‹ҧ¡Ø§Œ àÁÕ¹ÁÒà ´ŒÒ¹μÐÇѹÍÍ¡ä»Âѧ¢Í¹á¡‹¹ ÁØ¡´ÒËÒà ¹¤Ã¾¹Á ÊÙ‹ Ê»».ÅÒÇ ¡ÑÁ¾ÙªÒ áÅÐàÇÕ´¹ÒÁ «Ö觻˜¨¨ØºÑ¹ãªŒ¶¹¹ 4 àŹ àª×èÍÁμ‹Í¡Ñ¹ μ‹Íä»Âѧ¨Ð¡‹ÍÊÌҧàÊŒ¹·Ò§Ã¶ä¿¤Ù‹¢¹Ò¹¶¹¹àª×èÍÁ⧠¶Ö§¡Ñ¹ä´Œ à¾×èÍãËŒ¾ÔɳØâš໚¹Èٹ ¡ÅÒ§¡ÃШÒÂÊÔ¹¤ŒÒáÅСÒÃà´Ô¹·Ò§ä´ŒÍ‹ҧàμçÁ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ÁÒ¡¢Öé¹ â´ÂàμÃÕÂÁ¹íÒËͧ´ŒÇÂâ¤Ã§¡ÒÃö俷ҧ¤Ù‹ Èٹ ¢¹Ê‹§Ã¶ºÃ÷ء à¾×èÍãËŒ¾ÔɳØâÅ¡ ÁÕʋǹʹѺʹعãËŒà¡Ô´ÈÑ¡ÂÀÒ¾·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§»ÃÐà·Èä·Â·ÕèÊíÒ¤ÑÞã¹Í¹Ò¤μ เศรษฐกิจเมืองพิษณุโลกขยายตัวอย างต อเนื่องย อนหลัง 5 ป เมืองพิษณุโลกในป จจุบันเป นศูนย กลางทางเศรษฐกิจของภาคเหนือ ตอนล าง เป นเมืองศูนย กลางทางการศึกษาสําคัญ (ม.นเรศวร) เมือง ศูนย ราชการสําคัญ มีผลผลิตมวลรวมจังหวัด (GPP) ในป 2555 ประมาณ 85,000 ล านบาท (ภาคเกษตร 36.8% และภาคนอกเกษตร 63.2% โดยแยกเป นภาคการขายส งการขายปลีกฯ 12.2%, ภาคการศึกษา 9.4% และภาคอุ ต สาหกรรม 7.9% ตามลํ า ดั บ ) เป น ลํ า ดั บ 16 ของประเทศ ในช วง 8 ป ที่ผ านมา มีอัตราการขยายตัวเฉลี่ยถึงป ละ 8.6% ประชากรรวมทั้งจังหวัดประมาณ 850,000 คน มีจํานวนบ าน ประมาณ 300,000 หลัง ในป 2555 มีจาํ นวนบ านขยายตัว 2.2% ต อป หรือประมาณ 7,000 หลังต อป (ข อมูลกรมการปกครอง) สภาพตลาดอสังหาริมทรัพย ขยายตัว 2 เท า ในป 2554-2556 ราคาที่ดินเพิ่ม 2-3 เท า สภาพตลาดอสังหาริมทรัพย ในป จจุบันส วนใหญ เป นบ านจัดสรรกว า 40 โครงการ จํานวนประมาณ 5,000 หน วย (เมื่อ 2 ป ก อนมีเพียง 2,000 กว าหน วย) ขายได แล วประมาณ 70% ยอดขายต อป (ป 2556) ประมาณ 1,000-1,500 หน วย ราคาขายประมาณ 2.0-5.0 ล านบาท ในขณะที่คอนโดมิเนียมล าสุดมีเป ดขาย 9 โครงการ ประมาณ 1,500 หน วย (ขายได 80%) ราคาขายส วนใหญ 1.0-2.0 ล านบาท รวมทั้ง โครงการคอนโดฯ ของแสนสิริ และ ทีซีซี แลนด มูลค าโครงการรวม ทั้งบ านจัดสรรและคอนโดฯ ประมาณ 13,000 ล านบาท (ข อมูล บจก. โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ฯ ล าสุดกลางป 2557) โดยเฉพาะในช วงป 2555-2556 ที่อสังหาริมทรัพย ขยายตัวอย างมาก เนื่องจากเศรษฐกิจของเมืองขยายตัวสูงในรอบ 10 ป ที่ผ านมา การไปถึง ของศูนย การค าเซ็นทรัล (Indicator สําคัญ) ทําให เมืองขยายตัว ตลาดอสังหาริมทรัพย คึกคักเช นเดียวกับเมืองสําคัญอื่นๆ ส งผลให ราคาที่ดิน เพิ่มขึ้นในรอบ 2 ป ที่ผ านมาเป นอย างมาก เนื่องจากมีความต องการซื้อที่ดินเพื่อการขยายตัวของตลาด อสังหาริมทรัพย การขยายตัวทางเศรษฐกิจ ถนนบางสายราคาที่ดินเพิ่มเป นเท า ยกตัวอย างเช น

30


ถนนสิงหวัฒน สี่แยกอินโดจีน ถนนสิงหวัฒน ถนนสายพิษณุโลก-นครสวรรค ถนนสายพิษณุโลก-บึงพระ ถนนสายเลี่ยงเมือง ด านเหนือ ถนนสายเลี่ยงเมือง ด านตะวันออก/ใต ถนนสายเลี่ยงเมือง ด านตะวันตก

บริเวณวัดพระศรีมหาธาตุซึ่งเป นแลนด มาร คของเมืองพิษณุโลก เมื่อ 2 ป ก อน ราคาตารางวาละ 5-7 หมืน่ บาท เพิม่ เป นตารางวาละ 70,000-100,000 บาท ในวันนี้ เมื่ อ 2 ป ก อ น ราคาตารางวาละ 15,000 บาท เพิ่ ม เป น ตารางวาละ 20,000-30,000 บาท บริ เ วณเซ็ น ทรั ล พิ ษ ณุ โ ลกเมื อ งใหม เมื่ อ 2 ป ก อ น ราคาตารางวาละ 10,000-15,000 บาท เพิ่มเป นตารางวาละ 30,000-50,000 บาท บริเวณด านหน า ม.นเรศวร เมือ่ 2 ป กอ น ราคาตารางวาละ 10,000-15,000 บาท เพิ่มเป นตารางวาละ 15,000-20,000 บาท บริ เ วณย า นสถานี ร ถไฟความเร็ ว สู ง เมื่ อ 2 ป ก อ น ราคาตารางวาละ 8,000-10,000 บาท เพิ่มเป นตารางวาละ 10,000-20,000 บาท เมื่อ 2 ป ก อน ราคาตารางวาละ 5,000-15,000 บาท เพิ่มเป นตารางวาละ 10,000-20,000 บาท เมื่อ 2 ป ก อน ราคาตารางวาละ 3,000-7,000 บาท เพิ่มเป นตารางวาละ 7,000-20,000 บาท เมื่อ 2 ป ก อน ราคาตารางวาละ 3,000-7,000 บาท เพิ่มเป นตารางวาละ 5,000-10,000 บาท โครงการเมกะโปรเจ็กต สําคัญ ใ น วั น ห น า ฮั บ โ ล จิ ส ติ ก ส รถไฟรางคู จากความพร อมทางด านเศรษฐกิจ กํ า ลั ง แปรเปลี่ ย นกํ า ลั ง ซื้ อ ใน ท องถิน่ เป นกําลังซือ้ จาก AEC หรือ CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar และ Vietnam) รวมจีน โดยกลุม ประเทศเพือ่ นบ านเหล านี้ มีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ในช วง 3 ป ทผี่ า นมา เฉลีย่ ไม ตา่ํ กว า 5% ต อป มีประชากรรวมกันกว า 170 ล านคน เป นแหล งทรัพยากร ที่อุดมสมบูรณ เป นตลาดแรงงาน ขนาดใหญ ที่ จ ะรองรั บ การขยาย ตัวของอุตสาหกรรมและค าแรงต่าํ กลุ ม CLMV จึงมีศักยภาพทั้งการ เป น ฐานการผลิ ต และตลาด การค า ใหม ข องภู มิ ภ าค (ข อ มู ล สภาหอการค าแห งประเทศไทย)

หากโครงการดั ง กล า วเดิ น หน า ได โ อกาสของเมื อ งพิ ษ ณุ โ ลก สองแคว อาจกลับมาสู ยุครุ งเรือง ทางการค าเช นในอดีต เนื่องจากทําเลที่ตั้งเป นศูนย กลางของการขนส ง การกระจายสินค า ฯลฯ อันส งผล ต อเนื่องให เศรษฐกิจขยายตัวจากระดับท องถิ่นเป นระดับ AEC กันเลยทีเดียว ชาวพิษณุโลกเตรียมพร อม รับกับการเปลีย่ นแปลงเช นนีห้ รือยัง ด านอสังหาริมทรัพย รูปแบบการพัฒนาใหม นอกเหนือจากบ านจัดสรร คอนโดมิเนียม หอพัก อพาร ทเมนท รองรับนักศึกษา วันหน าจะเป นโอกาสของคลังสินค า ศูนย กระจาย สินค า โรงแรม (โอกาสของการนําอพาร ทเมนท มาทําโรงแรม) ศูนย คา ปลีก-ค าส ง ฯลฯ คงจะได เห็นกันมากขึน้ น าเสียดายที่รถไฟความเร็วสูงจากไปพร อมใครบางคนเสียแล ว

31


เรื่อง: รศ.มานพ พงศทัต

การกระตุ นเศรษฐกิจวิธีหนึ่งที่นิยมทํากันทั่วโลกก็คือ “การกระตุ นให ประชาชนมีที่อยู อาศัย” ทั้งนี้ก็เพราะ ธุรกิจอสังหาฯ โดยเฉพาะการก อสร างบ าน 1 หลัง จะมี Multiplier Effect สร างงานสูงถึง 2.5 เท า หมายถึง ปูน หิน เหล็ก ทราย สี เฟอร นิเจอร เครื่องไฟฟ า ซึ่งขายดีตามๆ กัน ธุรกิจสร างบ านจึงเป น Core Business ที่กระจายออกไปข างหน าและส งผลมาข างหลัง สร างงานในรอบแรกก็ 2.5 เท าแล ว และต อไป ในวัสดุก อสร างก็สร างงานในรอบที่ 2 และรอบที่ 3 ต อไป ในอดีต ท าน ลี กวน ยู (ค.ศ.1977) ใช วิธีนี้สร างพื้นฐานเบื้องต น ด วยการประกาศว าจะสร างที่อยู อาศัย ให ชาวสิงคโปร ทุกคน โดยขณะนั้นมีอยู ไม ถึง 2 ล านคน และเมื่อก อสร างโต เศรษฐกิจทุกอย างก็โตตาม สิงคโปร เป นประเทศเล็กๆ การก อสร างถนนหนทางมีไม มากนัก ซึ่งจะเอาการสร างสาธารณูปโภคไป กระตุ นการสร างงานก็ไม เกิดผลเท าที่ควร อเมริกาในอดีตหลังสงครามโลก ก็สร างฐานเศรษฐกิจด วยการ “สร างถนนทัว่ ประเทศ” ถนนอเมริกาจึงดีทสี่ ดุ ในโลก ตามมาด วยสมัย Clinton ก็ประกาศว าจะกระตุน ด วยการ “สร างบ านให คนอเมริกา ป ละ 1 ล านหลัง” ประเทศไทยก็สร างฐานเศรษฐกิจเหมือนอเมริกา เริ่มด วยจอมพลสฤษดิ์ (พ.ศ.2502) ที่สร างระบบ สาธารณูปโภค ถนน โดยแผนพัฒนาประเทศแผนแรก ต อมาสมัยทักษิณ ก็ใช “การสร างบ านให คนจน” เช น บ านเอือ้ อาทร บ านมัน่ คง ป ละ 1 ล านหลัง (ต อมาลดลงเหลือครึง่ หนึง่ ) ตอนนัน้ ก็มกี ารกระตุน สร างบ านภาค เอกชน ด วยการจัดเงิน “กู เพื่อซื้อบ าน” (ธอส.) ดอกเบี้ยต่ํา ก็เหมือนอเมริกา อีกตัวอย างก็คือ จีน เมื่อ 5 ป ที่ผ านมา จีนเป ดประเทศเป นการใหญ มีคนชนบทย ายเข าเมืองป ละ 60 ล านคน “อสังหาฯ ของจีนก็เป น เครือ่ งจักรการเติบโตทางเศรษฐกิจ” พร อมทัง้ มีพนื้ ทีก่ ว างใหญ และจีนฉลาด ทีก่ ระจายอํานาจให แต ละท องถิน่ พัฒนากันเอง จีนจึงมีศูนย กลางเติบโตหลายแห ง เช น ป กกิ่ง เทียนจิง เซี่ยงไฮ กวางเจา เฉินตู เป นต น การโด ปด วยการใช อสังหาฯ จึงเป นยาขนานเอกที่ทุกประเทศนิยมใช ไทยเราเองก็ใช ตลอดเวลา และก็ใช ยาโด ปนีบ้ อ ยมาก ทุกรัฐบาลทีเ่ ข ามาบริหาร ก็จะมีนกั ธุรกิจอสังหาฯ รายใหญ ๆ เข ามาใกล ชดิ กับทุกรัฐบาล และจะกระตุ นให รัฐมีนโยบายโด ปอสังหาฯ กันทั้งนั้น ยุค คสช. ซึ่งสัญญากับประชาชนไว ว า 1 ป จะคืนอธิปไตยให ก็ใช วิธีกระตุ นเศรษฐกิจด วย “การสร าง สาธารณูปโภค ลงทุน 2.5 ล านๆ บาท” ทําขนส งมวลชน รถไฟ ทําระบบน้ํา เหมือนสมัยจอมพลสฤษดิ์ และ อเมริกา พวกเราชาวอสังหาฯ ที่เป นทั้งนักการเมืองและนักธุรกิจ ทั้งที่สนับสนุนเสื้อเหลือง เสื้อแดง และอีก หลายคนที่ใกล ชิดทหารตอนสมัยเรียน วปอ. ด วยกัน ก็เริ่มขว างก อนหินถามว าจะโด ปอีกได ไหม ขณะนี้ “อสังหาฯ กําลังล นตลาดเมืองไทย” ยักษ ใหญ ออกไปกวาดตลาดต างจังหวัดทําให คนต างจังหวัดเริม่ ไม พอใจ คอนโดก็ล นตลาด สร างแล วขายได บ างไม ได บ าง ที่เหลืออยู ก็เยอะ ตอนเหลืองแดงรบกันตลาด อสังหาฯ ที่ตกลง 30% ก็ยังไม ฟ น คําถามคือ เราจะโด ปกันอีกหรือ “รอหน อยได ไหม” ให ก อนเนื้อที่กินไปเต็มคําเต็มกระเพาะย อยสัก 1-2 ป จะได ไหม หรือผู ประกอบการยักษ ใหญ ในตลาดรอไม ได เพราะกลัวราคาหุ นจะตก จึงต องสร างอีก โตอีก แล วสร าง Demand เทียมมาซื้อ (ซื้อลงทุนกันเอง และเก็งกําไร) ธุรกิจก็จะ Over Supply ไม รู จบ ถ าจะให มีการเติบโตอย างยั่งยืน ต องพยายามสร างสมดุลระหว างอุปสงค และอุปทานไว ให Demand มากกว า Supply นิดเดียว ตลาดก็จะ Health มากขึ้น ขอฝากนักการเมือง คสช. ไว ว าคิดให ดีกับคนข างๆ ครับ

32



เรื่อง: อ.ชวพงษ ชํานิประศาสน

ในทีส่ ดุ ส วนราชการก็คดิ แก ไขป ญหาการออกกฎกระทรวงผังเมืองรวม ความเสียหายทางเศรษฐกิจสังคม ทีจ่ ะนําความขัดแย ง ที่ ห มดอายุ ก ารบั ง คั บ ใช โดยการออกข อ บั ญ ญั ติ ห รื อ เทศบั ญ ญั ติ ให เกิดขึ้นในชุมชนนั้นเอง และกับชุมชนข างเคียง ท องถิ่นได ดังเช น เป นอย างยิง่ เทศบัญญัติเทศบาลนครนครราชสีมา ที่กฎกระทรวงผังเมือง เทศบัญญัติเทศบาลนครนนทบุรี เทศบัญญัติเทศบาลนครหาดใหญ

สิ่งที่จําเป นต องปฏิรูปทางผังเมือง จําเป นที่ส วน ราชการ ประชาชน หรือชุมชน น าจะทําความเข าใจ เรื่องการผังเมืองร วมกันดังนี้

โดยใช บทบัญญัติทางพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 แก ไข 1. ต องเข าใจตรงกันว า ผังเมืองรวมคือ แผนพัฒนา ปรับปรุงมาตรา 8( .. ) ดังมีบทบัญญัติไว ดังนี้ เมื อ งโดยภาครั ฐ จะต อ งเขี ย นแผนลงทุ น พั ฒ นา สาธารณู ป โภค สาธารณู ป การในเขตผั ง เมื อ ง ทั้งนี้โดยมีเนื้อหา ถ อยคํา และหลักเกณฑ ข อกําหนด หรือข อบังคับ เพือ่ รองรับจํานวนประชากรในชุมชนนัน้ โดยคิดจาก หรือข อบัญญัตทิ อ งถิน่ ในลักษณะของการตรากฎกระทรวงผังเมืองรวม ความสามารถ ประสิทธิภาพ ศักยภาพ ของวัตถุดิบ ทั้งสิ้น ที่จะนํามาใช ในการบริหารจัดการสาธารณูปโภคนั้น ได พอเพียง การออกเทศบั ญ ญั ติ ท้ อ งถิ่ น ที่ เ รี ย กว่ า เทศบั ญ ญั ติ น คร... หรื อ เทศบัญญัติเมืองให มีลักษณะดังกฎกระทรวงผังเมืองรวม เป นการ 2. จํ า นวนประชากร วิ ถี ชี วิ ต อาชี พ สั ง คม ออกแบบวางผังพัฒนาเมืองหรือชุมชน โดยมิได ใช หรือมิได รบั ฟ งความ ประเพณี จะต อ งสอดคล อ งพอเพี ย งกั บ ความ คิดเห็นของประชาชนจึงเป นเรือ่ งทีน่ า วิตกกังวลถึงป ญหาและข อขัดแย ง สามารถ ประสิทธิภาพการให บริการสาธารณูปโภค ในชุมชนเมืองเป นอย างยิ่ง ทั้งนี้ด วยเหตุ 3 ประการคือ สาธารณูปการ 1. เป นการกําหนดแผนพัฒนาเมือง โดยผู ออกแบบเมืองเป นการวาง ผังพัฒนาเมืองตามแนวความคิด ความฝ น หรือจินตนาการส วนตัว อันมิได รถ ู งึ วัตถุประสงค หรือแนวทางของการใช ชวี ติ ของผูค นในชุมชนนัน้ ว าประสงค จะมีชีวิตอยู ภายใต ขอบเขตของเศรษฐกิจหรือวิถีชีวิตเป น อย างไร ชุมชนนั้นมีศักยภาพแห งความคิดความปรารถนาเป นเช นใด

3. จะต อ งมี ห น ว ยงาน หรื อ องค ก รผู มี อํ า นาจ หน าที่ อาจจะเป นบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจ ที่มีอํานาจ รวบรวมที่จะจัดการ ดูแล จัดทํา ให บริการในเรื่อง สาธารณูปโภค สาธารณูปการ อย างจริงจัง รวมทั้ง อํานาจบริหารการเงิน งบประมาณ อย างโปร งใส

2. ผลจากเหตุในข อที่ 1 มีผลต อการพัฒนาเมืองในด านงบประมาณ การลงทุน ในด านสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เพราะจะใช งบประมาณ ส วนนีไ้ ด จากงบประมาณส วนกลางเท านัน้ เพราะชุมชนมิได รบั รู รับชอบ หรือเห็นประโยชน จากการพัฒนาเมืองในด านนี้ ประกอบกับเทศบัญญัติ ลั ก ษณะดั ง กล า วมิ ไ ด กํ า หนดอายุ ใ ช ง าน การจะพั ฒ นาเมื อ งด า น สาธารณูปโภคให สอดคล องกับแผนผังการใช ทดี่ นิ จึงไม มคี วามแน นอน

คําถามและป ญหาสําคัญก็คือ หากส วนราชการที่มี อํานาจหน าที่ที่จะกําหนดแนวทางการพัฒนาเมือง ยอมให มกี ารออกแบบ หรือวางแผนพัฒนาเมือง โดย ไม ให ประชาชนในชุมชนนัน้ มีสว นร วมรับรู หรือรับฟ ง ความคิ ด เห็ น ของประชาชน ในรู ป แบบการออก เทศบัญญัติท องถิ่นในลักษณะดังกล าวนี้

3. การประกาศเทศบัญญัติในลักษณะผังเมืองรวมที่มิได รับฟ งเสียง ประชาชน น าจะก อให เกิดป ญหาการใช ประโยชน ทดี่ นิ ในชุมชนเมืองนัน้ สร างความขัดแย งในชุมชนเอง และอาจหมายรวมไปถึงการสร างโอกาส ในการแสวงหาประโยชน ทับซ อนในการเพิ่มมูลค าของที่ดินโดยมิชอบ

เชื่อได อย างแน นอนว า ป ญหาความขัดแย งในสังคม ป ญหาการจัดการ การบริหารชุมชนเมือง การพัฒนา โครงสร างพืน้ ฐานของบ านเมืองย อมไร ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลที่จะทําให ประชาชนในชุมชนนี้มีชีวิต ภายใต สภาพแวดล อม สภาพสังคมที่สงบสุข

ภายใต แนวความคิดปฏิรูปประเทศ ที่ถึงแม เทศบัญญัติท องถิ่นใน รูปแบบนี้จะเกิดขึ้นก อนแนวความคิดปฏิรูปประเทศก็ตาม แต แนวทาง ความคิดที่จะให เกิดการควบคุมการใช ประโยชน ที่ดิน เช น เทศบัญญัติ ท องถิ่นในรูปแบบนี้จะเป นการปฏิรูปการผังเมืองของประเทศไปสู 34



เรื่อง: อรวรรณ เสถียรเขต

“¡ÃШ¡ (Glass) ໚¹Íա˹֧è ÇÑÊ´Øμ¡á싧ºŒÒ¹·Õáè ·º¨ÐÁÕμ´Ô äÇŒ¡¹Ñ ·Ø¡ºŒÒ¹ ºÒ§ºŒÒ¹ÁÕàÍÒänj㪌ÊÍ à¾×èÍ»ÃÐ⪹ ·ÑèÇä» áμ‹¡çÁÕºŒÒ¹ÍÕ¡äÁ‹¹ŒÍ·Õè¹ÔÂÁàÍÒ¡ÃШ¡ÁÒá싧ºŒÒ¹ ´ŒÇ¤ÇÒÁ¤ÅÒÊÊÔ¤áÅÐÁÕ ÊäμÅ ·ÕèÊǧÒÁ¢Í§¡ÃШ¡¨Ö§·íÒãËŒ¡ÃШ¡ä´ŒÃѺ¤ÇÒÁ¹ÔÂÁ໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö觢ͧ¡ÒÃμ¡á싧ºŒÒ¹” ในป จจุบันอาคารต างๆ ส วนใหญ นิยมใช กระจกเป นส วนประกอบของผนังอาคาร นอกจากจะมีความ สวยงามแล ว ยังช วยให สามารถมองออกไปเห็นทัศนียภาพภายนอกได มากยิ่งขึ้น แต สําหรับผู ออกแบบ อาคาร นอกจากจะคํานึงถึงความสวยงามแล ว ความร อนที่จะเข ามาภายในอาคาร การประหยัดพลังงาน และความปลอดภัยของผู ใช ก็เป นสิ่งสําคัญที่ต องคํานึงถึงด วย ทุกวันนีก้ ระจกถูกนําไปใช ในการทําผนังภายนอกอาคารมากขึน้ เนือ่ งจากกระจกเป นวัสดุสาํ เร็จรูปทีต่ ดิ ตัง้ ง าย และรวดเร็ว ยังนิยมใช กระจกในการทําผนังภายนอกของอาคารแทนผนังทึบ แม จะมีความยุ งยากในการ ก อสร างมากกว า แต ชว ยให เกิดความโปร งโล งทัง้ ในแง ของทัศนียภาพและแสงสว างต อผูใ ช อาคาร เพียงแต กระจกเป นวัสดุโปร งใสที่นําแสงสว างจากธรรมชาติจากภายนอกเข ามาภายใน และยังนําเข าความร อน จากแสงแดดเข ามาอีกด วย ดังนั้นการเลือกใช กระจกแต ละประเภทให ถูกต องกับการใช งานทั้งในแง ของ คุณสมบัติ การประหยัดพลังงาน และความสวยงามไปพร อมกันจึงมีความจําเป น ฉบับนี้จึงขอเล าถึงเรื่อง ราวของกระจก (Glass) ก อนที่จะนําไปตกแต งบ าน ขอเริ่มต นจากกระจกเพื่อการอนุรักษ พลังงานเป นตัวแรก เพื่อให เข ากับกระแสลดโลกร อนที่กําลังเป นที่ สนใจ และให ความสนใจของผูบ ริโภคในขณะนี้ ขอหยิบยกผลิตภัณฑ ของ บริษทั กระจกไทยอาซาฮี จํากัด มาแนะนําให รู จัก เนื่องจากเป นผู ผลิตและจําหน ายกระจกรายใหญ และเก าแก ของเมืองไทยที่มุ งเน นผลิต สินค าด วยคุณภาพและการบริการทีป่ ระทับใจ พร อมทัง้ มีผลิตภัณฑ กระจกให เลือกใช แบบครบวงจร โดยเฉพาะ กระจกเพื่อการอนุรักษ พลังงาน ซึ่ง AGC ได ทําการผลิตออกมาเพื่อป อนตลาดและเป นทางเลือกให กับผู บริโภคมากถึง 4 ชนิด อาทิเช น 1. AGC LON-E Glass, Sunergy เป นกระจกที่มีคุณสมบัติให ค าสะท อนแสงและค าอัตราการขยายความ ร อนต่ํา เนื่องจากเป นกระจกที่ผ านการเคลือบชั้นโลหะโดยระบบ Pyrolytic โดยใช ไอของสารเคมีเคลือบ ลงบนผิวกระจก จึงทําให มีคุณสมบัติในการป องกันความร อนที่มาจากดวงอาทิตย และเป นเสมือนฉนวน กันความร อน ‘Sunergy’ เป นกระจกประเภทเดียวที่มีคุณสมบัติทางด านเทคนิคเหมือนกระจก Soft Coat และสามารถนําไปแปรรูปได ภายหลังเหมือนกระจก Hard Coat 2. AGC Laminated Safety Glass, LAMITAG-E เป นกระจกที่มีคุณสมบัติประหยัด ปลอดภัย แสงส อง ผ านสูง และมีการส งผ านความร อนต่าํ เนือ่ งจากเป นกระจกนิรภัยลามิเนตทีผ่ ลิตโดยการนํากระจกสองแผ น มาประกบกัน ด วยฟ ล ม PVB โดยกระจกแผ นหนึ่งจะเป นกระจกซอฟต โต โลว อี ที่มีคุณสมบัติในการให แสงธรรมชาติผ านได มาก แต มีค าส งผ านความร อนจากรังสีอาทิตย ต่ํา ทําให ได กระจกที่ประหยัดพลังงาน และมีความปลอดภัยสูง

36


Ashton

กระจกใสพิเศษ เทียบกับกระจกใสธรรมดา

3. AGC Insulating Glass, PAIRTAG Low-E เป นกระจกประหยัดพลังงานให แสงส องผ านได ดี ผลิตโดย การนําเอากระจกสองแผ นมาประกบกันโดยมีเฟรมอลูมเิ นียมคัน่ กลาง เช นเดียวกับกระจกฉนวนความร อน ‘เพร เทค’ แต เนือ่ งจากกระจกทีอ่ ยูด า นนอกเป นกระจก Low-E จึงทําให สามารถช วยลดความร อนและช วย ในการประหยัดพลังงานได อีกด วย 4. AGC Laminated Safety Glass, LAMITAG-E II เป นกระจกนิรภัยเชิงนิเวศ รักษ สิ่งแวดล อม รักษ โลก ประหยัด ปลอดภัย แสงส องผ านสูง การส งผ านความร อนจากรังสีอาทิตย ต่ํา เนื่องจากเป นกระจกนิรภัย ลามิเนตทีผ่ ลิตโดยการนํากระจกสองแผ นมาประกบกันด วยฟ ลม PVB โดยกระจกแผ นหนึง่ จะเป นกระจก Soft Coat Double Low-E ทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ ห แสงธรรมชาติสง ผ านสูง แต มคี า ส งผ านความร อนจากรังสีอาทิตย ตา่ํ ทําให ได กระจกที่ประหยัดพลังงานและมีความปลอดภัยสูง เมื่อกระจกแตกจะไม หลุดร วง ทั้งนี้กระจกเพื่อ การอนุรักษ พลังงานไม ได มีเพียงแค นี้ ยังมีกระจกประหยัดพลังงานอีกหลายประเภทจากหลายแบรนด ทั้งในและต างประเทศให เลือกในตลาดอีกมากมาย เพื่อตอบโจทย ไลฟ สไตล ของผู ใช งาน สําหรับผู ที่สนใจติดต อได ที่ บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จํากัด 200 หมู 1 ถ.สุขสวัสดิ์ ต.ปากคลองตลาด อ.พระสมุทรเจดีย จ.สมุทรปราการ 10290 โทร. 0-2815-5000 โทรสาร 0-2815-7375 www. Agc-flatglass.co.th

37


รู เรื่องของกระจกเพื่อการอนุรักษ พลังงานไปแล ว กระจกตัวถัดมา ขอนําเสนอกระจกตกแต งของ กลาสเดค กันบ าง ซึ่งได ขึ้นชื่อว าเป น ผู สร างสรรค ศิลปะบนกระจกได อย างวิจิตรและสวยงามอันดับต นๆ ป จ จุ บั น เป น ศิ ล ปะอี ก แขนงที่ ผู บ ริ โ ภคให ค วามสนใจและนํ า มาใช ตกแต งบ านอย างแพร หลาย ด วยคุณสมบัตอิ นั โดดเด นทีไ่ ม เหมือนใคร เนือ่ งจากมีชนิ้ เดียว ซึง่ ยากต อการลอกเลียนแบบ ด วยประสบการณ และ ความเชี่ยวชาญในการออกแบบ ผนวกกับเทคโนโลยีและเครื่องจักรที่ ทันสมัย กระจกตกแต งจาก ‘กลาสเดค’ จึงได รับความนิยมและนําไป ใช กบั ทีอ่ ยูอ าศัยอย างแพร หลาย กระจกตกแต ง ของ กลาสเดค นัน้ มีให เลือกมากมาย เริ่มจาก Stack Glass หรือกระจกทุกชนิดที่ทําการ ตัดและประกอบด วยกาวยูวี (UV) ซึง่ เป นกาวพิเศษเฉพาะ และมีการนํา เทคนิคการซ อนกระจกเข ามาใช ในการผลิต จึงทําให เป นกระจกที่มี ความโดดเด นในด านสถาป ตยกรรมการโชว แสง โดยเมือ่ กระจกกระทบ กับแสงไฟหรือแสงแดด จะก อให เกิดแสงสวยงามในตัวเอง พร อมเปล ง แสงระยิบระยับเมื่อแสงตกกระทบ จึงเหมาะสําหรับนําไปใช ในการ ตกแต ง เช น ประติมากรรมด านงานศาลพระภูมิ เป นต น นอกจากนี้ยังมี Stained Glass หรือ กระจกสี ตัดและประกอบด วย รางโลหะ ซึ่งถูกผลิตขึ้นมาเพื่อใช กับงานช องแสง ซึ่งมี 2 แบบให เลือก คือ กลาสเดค แบบอบ ซึ่งจะเป นงานฝ มือที่ใช ฝ มือในการเพ นท เพื่อก อ ให เกิดมิติและลวดลาย ส วนกลาสเดค แบบตัดประกอบ จะเป นงาน ออกแบบเพื่อให เกิดลายกราฟฟ กหรือลวดลายที่เน นเรื่องของอารมณ ซึ่งกระจกประเภทนี้จะถูกนํามาประกอบเข ากับรางโลหะซึ่งมีให เลือก ใช ตามความต องการของลูกค า 4 ราง อาทิ รางตะกั่ว รางทองเหลือง รางซิงค และรางชุบโครเมียม เป นต น Fused Glass หรือ กระจกหลอม เป นอีกผลิตภัณฑ ของ กลาสเดค ที่มี ความโดดเด นอีกตัวและนิยมนํามาใช เป นผนังกัน้ บานติดตาย เป นต น กระจกหลอมเกิ ด จากการนํ า เอากระจกใสมาขึ้ น รู ป ด ว ยการสร า ง แบบหล อ โดยดีไซเนอร จะทําการออกแบบ จากนัน้ จึงนําไปขึน้ แบบหล อ เพือ่ ให กระจกเกิดการหลอมละลายตามแบบทีไ่ ว ออกแบบไว ซึง่ กระจกชนิดนี้ จะมีความแข็งแกร งแต นอ ยกว ากระจกเทมเปอร แต มขี อ เสียคือเปราะง าย เหมาะสําหรับนําไปกับบานติดตาย บานเป ดผนังกั้นห อง เป นต น ส วนกระจกอีกตัวของ กลาสเดค ที่อยากนําเสนอ คือ Sandblasted Glass หรือ กระจกแกะลายพ นทราย ซึ่งเป นกระจกที่นิยมนํามาใช ภายในอาคารมากกว างานภายนอกอาคาร เนื่องจากกระจกประเภทนี้ ไม เหมาะกับงานทีต่ อ งโดนแสงบ อยๆ เพราะจะทําให สเี พีย้ นและสีซดี จาง จึ ง เหมาะกั บ งานภายในมากกว า ทั้ ง นี้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ก ระจกพ น ทราย ของกลาสเดคยังมีความโดดเด นเหนือคูแ ข งขันคือสามารถพ นทรายให มีความลึก และมีมิติได ลึกถึง 3 ชั้น ซึ่งจะให ภาพที่เสมือนจริงและลงสี ได อย างสวยงาม จึงเป นที่สนใจของผู ใช เรื่อยมาก นอกจากนีย้ ังมีผลิตภัณฑ กระจก Souvenir หรือ ผลิตภัณฑ จากกระจก โดยการนําเศษกระจกมารีไซเคิลแล วนํามาทํา เป นกลุ มของผลิตภัณฑ ทีร่ ะลึกและของชําร วยต างๆ ได อกี มากมาย นอกจากผลิตภัณฑ กระจก แล วยังมีการบริการงานตัด-เจียร และงานติดตั้งกระจก มีบุคลากรให คําปรึกษาด านงานกระจกตกแต งที่ครบวงจร

38

สําหรับผู ที่สนใจสามารถติดต อได ที่ บริษัท กลาสเดค จํากัด 29 ซ.พระราม 3 ซ. 59 ถ.พระราม 3 ยานนาวา ช องนนทรี กรุงเทพมหานคร 10120 โทร 0-2683-4491-2 แฟกซ 0-2683-4490 www.glassdec.com


กระจกตัวถัดมาทีอ่ ยากนําเสนอคือ กระจกกราฟฟ ก หรือกระจกเคลือบสี ดีไซน พิเศษที่ผลิตขึ้นตามแบบของลูกค า ซึ่ง Glass Effexts สามารถ ช วยเติมเต็มจินตนาการ สร างความแตกต างในแบบฉบับเฉพาะตัวของ ลูกค าให เกิดความประทับใจได ด วยเทคนิคการลงสีเคลือบกระจกแต ละเฉดสีตามลวดลายกราฟฟ กที่ต องการ ด วยเทคนิคการลงสีเคลือบกระจกแต ละเฉดสี ตามลวดลายกราฟฟ กที่ ต องการ คุณสมบัตพิ เิ ศษของสีเคลือบกระจก ‘กลาสเอฟเฟ กซ ’ ทีย่ ดึ ติด เป นเนื้อเดียวกับกระจก ทนทานต อความร อน ความชื้น และรังสี UV ไม กะเทาะหลุดล อน จึงเหมาะสําหรับใช ติดตั้งได ทุกสภาพการใช งาน แม แต ในห องน้าํ ทีเ่ ป นส วนเป ยกชืน้ ใช กรุผนังแทนวอลเปเปอร ติดหน า บานตู บานประตู หน าต าง ใช กรุผนังหัวเตียงในห องนอน สร างสรรค ลวดลายสวยบนผิวกระจกหลากสี ทั้งในล็อบบี้โรงแรม ฉากกั้นกระจก ห องน้ํา ห องนอน ห องครัว หรือทําเป นโลโก ติดผนังแทนวอลเปเปอร กรุหน าบานตู ลิน้ ชัก ป ายชือ่ สินค า ป ายบอกสถานที่ หรือในลิฟท เป นต น ส วนกระจกอีกตัวที่น าสนใจ คือ กระจกลวดลาย (Pattern Glass) ซึ่งเกิดจากการพิมพ ลายลงบนผิวกระจกด านหนึ่ง ด วยลูกกลิ้งที่มี ลวดลาย โดยลวดลายกระจกจะแตกต างกันตามแบบหรือดีไซน ของแต ละ ผู ผลิต Pattern ลักษณะการส องผ านของแสง แสงจะส องผ านได น อย กว ากระจกใสแผ นเรียบ รวมทัง้ การหักเหของแสงทีเ่ กิดขึน้ จากลวดลาย ของกระจก ทําให ได ความสวยงามที่แตกต าง จากความมุ งมั่นและพัฒนาขึ้นอย างต อเนื่อง เพื่อสร างความแตกต าง ในการให บริการด านผลิตภัณฑ กระจก จึงเน นดีไซน เฉพาะเพื่อสร าง ความแตกต างส งผลให ผลิตภัณฑ Glass Effexts ได รับความไว วางใจ ของลูกค า ทั้งกลุ มสถาปนิก มัณฑนากร และผู รับเหมา รวมทั้งเจ าของ ชิน้ งาน ต างให การยอมรับผลิตภัณฑ โดยเฉพาะผลิตภัณฑ ฉากกัน้ อาบ น้ํากระจก Shower Master ซึ่งเป นผลิตภัณฑ จากประเทศออสเตรเลีย ที่ได รับการยอมรับในตลาดเมืองไทย ทั้งด านคุณภาพ ดีไซน และการ บริการ มากว า 15 ป Glass Effexts ยังมีผลิตภัณฑ เกี่ยวกับงานกระจกไว บริการลูกค า มากมายเพื่อตอบโจทย ไลฟ สไตล ของผู ใช ได ทุกการใช งาน เช น กระจก กราฟฟ ก กระจกลวดลายพิเศษ กระจกสลักลาย กระจกพ นทรายแบบ พิเศษ ดีไซน เฉพาะ ประตูกระจก ดีไซน พเิ ศษ กระจกเคลือบสี หลากสีสนั แห งจินตนาการ การพิมพ ภาพ หรือ กราฟฟ กบนผิวกระจกDigital Printing -Images on glass ป ายกระจกดีไซน พิเศษ กระจกเงาดีไซน กระจกเงาสีกลาสเอฟเฟ กซ แกลเลอรี่ภาพ กระจกหลอม กระจกฟ วส กระจกเฟอร นเิ จอร โต ะกระจก กระจกใสพิเศษ ประตูกระจก บานเลือ่ น จากสเปน และฉากกั้นอาบน้ํา กระจกบานเปลือย แบรนด หรูจาก ออสเตรเลีย ตู อาบน้ํากระจก ราคามาตรฐานโครงการ รวมทั้งน้ํายา เคลือบปกป องผิวกระจก เป นต น สําหรับผู ที่สนใจสามารถติดต อได ที่ บริษัท ดีดีเอสวี คอนเซ็ปท จํากัด (กลาสเอฟเฟ กซ ) 29 ซ. 18 ถ.สุขุมวิท คลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 0-2663-4419, 0-2663-4420, 0-2663-4087-9 โทรสาร 0-2663-4162, 0-2260-5512 Email: info@ddsv-concept.com www.glass-effexts.com,www.ddsv-concept.com

นอกจากมีผลิตภัณฑ ให เลือกหลากหลายแล ว กลาสเอฟเฟ กซ ยังไม หยุด ที่จะสรรหาผลิตภัณฑ กระจกคุณภาพทั้งในและนอกประเทศ รวมทั้ง นําเข าอุปกรณ ติดตั้งกระจก ไว คอยบริการกับลูกค าทุกระดับ เช น ผลิตชิ้นงานตามความต องการของผู ออกแบบ รวมทั้งบริการให คํา ปรึกษาด านงานออกแบบ และการติดตั้งโดยไม คิดมูลค า ตลอดจน จัดหาผลิตภัณฑ กระจกทุกประเภท นําเข าผลิตภัณฑ จากต างประเทศ ตามความต องการของลูกค า ผู รับเหมา และงานโครงการ

39


ถัดมาขอนําเสนอผู ให บริการเกี่ยวกับงานกระจกกัน เพื่อเป นอีกทางเลือกให กับผู ใช บริษทั โฮมกลาส 2003 จํากัด หนึง่ ผูใ ห บริการงานกระจกคุณภาพพร อมอุปกรณ ตดิ ตัง้ สําหรับ งานกระจกและอลูมเิ นียมทัง้ ปลีกและส งทุกชนิด อาทิ กระจกใส กระจกเขียวใส กระจกฝ า กระจกนิรภัย (เทมเปอร และลามิเนต) กระจกอินซูเลท กระจกคัลเลอร โค ท กระจก ลวด กระจกตกแต ง และอื่นๆ ในราคายุติธรรม อีกทั้งยังบริการรับติดตั้งกระจกแบบ ครบวงจร โดยมุง เน นคัดสรรแต วสั ดุทไี่ ด มาตรฐาน และคํานึงถึงประโยชน ใช สอย และความ ทนทานเป นสําคัญ นอกจากนี้ โฮมกลาส 2003 ยังมีบริการรับเจียรกระจก ริม ปรี โค ง เจาะรู และบาก เนือ่ งจากมีทางโรงเจียรของตนเอง จึงทําให สง มอบงานให กบั ลูกค าได อย างรวดเร็วพร อม รับประกันงานคุณภาพได อย างเต็มที่ ด วยเหตุนจี้ งึ ทําให ได รบั การยอมรับและเรียกใช งาน จากลูกค ามาโดยตลอด โดยยึดหลักบริการหลังการขาย พร อมให คําแนะนําที่ดีที่สุดแก ลูกค า เพราะความพึงพอใจของลูกค าคือความภูมใิ จของเรา สําหรับผูท มี่ องหาผูใ ห บริการ ด านงานกระจกครบวงจรที่มาพร อม การให รับบริการเจียรริม เจียรปลี เจาะรู บาก

สําหรับผู ที่สนใจติดต อได ที่ บริษัท โฮมกลาส 2003 จํากัด 645 ถ.รามอินทรา คันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230 โทร. 0-2918-0000 โทรสาร 0-2918-0084 Email:homeglass2003@hotmail.com www.homeglass2003.com

มาต อกันทีก่ ระจกกันไฟ PYROSTOP (ไพโรสต อป) ซึง่ เป นกระจกเซฟตีท้ างเลือกใหม สําหรับงานป องกันอัคคีภยั ปลอดภัย ทั้งต อชีวิตและทรัพย สิน และยังสามารถช วยออกแบบอาคารให โปร ง สว าง และดูกว างขึ้น เพราะแสงสว าง จากส วนอื่นๆ สามารถผ านเข ามาได ทําให รูปแบบของอาคารดูทันสมัยอีกด วย ‘กระจกทนไฟ PYROSTOP (ไพโรสต อป)’ ใช งานได จริง โดยมีโครงการชั้นนําที่เลือกใช ในส วนงานผนังทนไฟ ส วนป ดล อมของลิฟท ดับเพลิง ประตูทนไฟของทางหนีไฟ ตัวอย างเช น โครงการในเครือบริษทั เอเชีย่ น พร อพเพอร ตี้ จํากัด (AP GROUP) ไม วา จะเป น Life@Thapra ทีน่ ํากระจกทนไฟไปใช ในส วน ป ดล อมของลิฟท ดบั เพลิง, Life@Ratchada นํากระจกทนไฟไปใช ในส วนของประตูหนีไฟ หรือโครงการในกลุม ของบริษทั อารียา พร อพเพอร ตี้ จํากัด ได มกี ารนํากระจกทนไฟไปใช ในหลายๆ โครงการเช นกัน ตลอดจนโครงการของธนาคาร เช น ไทยพาณิชย ได มีการเลือกใช กระจกทนไฟในการปรับปรุงประตูทางเข าของธนาคารสาขาชิดลม ทั้ง 12 ชั้นด วย และอีกหลายๆ โครงการ 40


สําหรับผู ที่สนใจติดต อได ที่ บริษัท ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตี้กลาส จํากัด 41/8 ถ.พระราม 3 ช องนนทรี ยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120 โทร.0-2294-6287 โทรสาร 0-2294-6286 www.tgsg.co.th

แนวโน มของกระจกทนไฟในอนาคตจึงเป นอีกทางเลือกหนึง่ ทีส่ ถาปนิก ผู ออกแบบ เจ าของโครงการ หรือผู ใช งาน จะเลือกใช เป นอันดับต นๆ ในการมองหาวัสดุทนไฟรูปแบบใหม ที่มีคุณสมบัติตรงตามข อกําหนด และกฎหมายฉบับต างๆ ทั้งนี้ การออกแบบและเลือกใช วัสดุที่มีคุณสมบัติในการทนไฟก็สามารถช วยหลีกเลี่ยงโศกนาฏกรรมไม ให เกิดขึ้นได ตัวอย างเช น เหตุการณ ไฟไหม ที่ซานติก าผับ อาคารฟ โก เพลส หรือโรงแรมหรูกลางเมืองพัทยาเมื่อหลายป ก อน ป จจุบันมีมาตรฐานและ กฎหมายที่บังคับให อาคารต องใช วัสดุที่มีอัตราการทนไฟ ซึ่งกฎหมายได ระบุไว คือ สามารถลดการแผ ของความร อนและ ลดการแพร ขยายของควันไฟ คอนกรีตเสริมเหล็ก อิฐ ยิปซั่ม เหล็ก เป นวัสดุที่นิยมนํามาใช ในการก อสร างเพราะวัสดุเหล านี้ ได ผ านการทดสอบว ามีคุณสมบัติในการป องกันเมื่อเกิดอัคคีภัย ซึ่งก็เป นที่นิยมใช กันมาอย างต อเนื่องจนถึงป จจุบัน ด วยเทคโนโลยีทลี่ า้ํ สมัยทําให กระจกกลายเป นอีกวัสดุทมี่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการสกัดกัน้ เปลวไฟ ควันไฟ และมีความสามารถในการ สกัดกั้นความร อนได ไม ต างจากวัสดุที่เคยๆ ใช กันมา นอกจากสกัดกั้นเปลวไฟได แล ว ยังมีความโดดเด นด านความโปร งใส โปร งแสงอีกด วย นับเป นผลิตภัณฑ ที่น าสนใจอย างยิ่ง

ส วนกระจกอีกประเภทที่อยากแนะนํานั้นคือ กระจกดัดโค ง หรือ CurveTech ซึง่ กระจกประเภทนีส้ ามารถผลิตได จากกระจกหลากหลาย ประเภท เช น ผลิตมาจากกระจกเทมเปอร กระจกลามิเนต กระจก สะท อนแสง ฯลฯ สําหรับการทํากระจกดัดโค งคุณภาพสูง กระจกจะถูก ดั ด ด ว ยเครื่ อ งดั ด ความร อ นคุ ณ ภาพสู ง เพื่ อ ให ไ ด รู ป แบบที่ ลู ก ค า ต องการ กระจกดั ด โค ง เหมาะสํ า หรั บ ทํ า หน า ตึ ก หรื อ ตกแต ง ภายในและ เฟอร นิเจอร ที่ต องการให ขอบมน เช น หน าตึก และหลังคาตึก ตกแต ง ภายใน พาทิชนั่ กระจก หน าต าง ประตูหรือเฟอร นเิ จอร ทตี่ อ งการขอบมน เป นต น กระจกเทมเปอร ดัดโค ง ของตระการตา เป นอีกผลิตภัณฑ ที่ได รับความสนใจและถูกนําไปใช กับโครงการเด นๆ หลายโครงการ เช นกัน ด วยเทคโนโลยีทท่ี นั สมัยในการผลิต ผนวกกับได รบั มาตรฐาน มอก. 965 – 2537 JIS R 3206 ANSI Z 97.1 -1984 ซึ่งได รับมาตรฐานนี้ แต เพียงผู เดียวในประเทศไทย ผู บริโภคมั่นใจได ถึงความแม นยําใน ทุกรัศมีที่ลูกค าสั่งทํา

สําหรับผู ที่สนใจติดต อได ที่ บริษัท ตระการตา จํากัด 19/231 ถ.บางนา-ตราด กม. 17.5 ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ โทร. 0-2750-867-8 โทรสาร 0-2752- 6262

ด วยคุณสมบัติอันโดดเด นของกระจกดัดโค ง ผสานเทคโนโลยีในการ ผลิตและมาตรฐานที่ได รับ ทําให ลูกค าให ความไว วางใจและเลือกใช กระจกดัดโค งของตระการอย างแพร หลาย นอกจากกระจกดัดโค งแล ว ยังมีกระจกชนิดอื่นๆ ไว บริการลูกค าอีกมากมาย เช น กระจกฉนวน กระจกลามิเนต กระจกเคลือบสี กระจกพิมพ ลายไว บริการ พร อมทั้ง ยังมีเครื่องมือแปรรูปกระจกที่ทันสมัยไว บริการแบบครบวงจร อาทิ เครื่อง CNC, Water jet เป นต น 41


ขอทิ้งท ายที่กระจก Insulated Glass ซึ่งเป นเทรนด กระจกที่กําลังมาแรงและเป นที่นิยมในขณะนี้ ทําให เหล าสถาปนิก นักออกแบบ และเจ าของโครงการอสังหาริมทรัพย ต างให ความสนใจในกระจกนวัตกรรมทีก่ า วล้าํ และใส ใจสิง่ แวดล อม Solar X หรือกระจกแผ รังสีความร อนต่ําของ BSG Glass อย างล นหลาม ดูได จากงาน BCI ASIA AWARDS 2014 หลังจากที่ได โชว ในงานก็ได รบั ความสนใจเป นอย างมาก ด วยคุณสมบัตอิ นั โดดเด นของกระจกแผ รงั สีความร อนต่าํ ทีเ่ คลือบผิวด วยเทคนิค Magnetron sputtering double silver ที่ยอมให แสงผ านเข ามาได ถึง 50% แต สามารถลดความร อนจากรังสีอาทิตย ได เป น อย างดี ซึ่งทําให ประหยัดพลังงานไฟฟ าระบบแสงสว างได ดี อีกทั้งยังมีค าการสะท อนแสงต่ํา เป นอีกทางเลือกหนึ่งสําหรับ อาคาร บ านพักอาศัยที่ต องการจะประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ Solar X ยังมีความสามารถในการตัดรังสี Infrared ซึ่งเป น รังสีความร อนได มากกว าทําให สามารถลดความร อนที่จะผ านกระจกเข ามาได เป นอย างดี กระจกอินซูเลท Solar X สามารถลดความร อนจาก แสงอาทิตย ได มากกว ากระจกอินซูเลททั่วไปกว า 60% และลดได มากกว ากระจก Low-E ทั่วไปกว า 40% และมีให เลือกใช ทั้งหมด 3 ซีรี่ส ประกอบด วย

• Champagne Series เป นซีรี่ส ที่ได รับแรงบันดาลใจจากสีของ แชมเปญ ที่ให ความรู สึกบางเบา หรูหรา และสดชื่น เราจึงนําแชมเปญ ทีม่ ชี อื่ เสียงระดับโลก 9 ชนิด มาเทียบเฉดสีอย างพิถพี ถิ นั เพิม่ เอฟเฟค กระจกต างๆ เข าไปเพือ่ ให เข าถึงทุก Function การออกแบบ จนกลายเป น Champagne Series หนึง่ ใน BSG GLASS Signature ทีส่ มบูรณ แบบ • Rust Series เป นซี่รี่ส ที่นําเอาความ Antique มี 3 เอฟเฟค ให เลือกใช งาน ได แก ความสะท อน ความขุ นแบบ มาอยู ในยุค Modern ซึ่งจะเติมเต็มความรู สึกที่ โปร งแสง และผิวสัมผัส Satin Special โดย Effect ของสนิมจะให Mood และ Tone ทีผ่ สมผสานความเป น Antique และ Modern • Scott Series เป นซีรสี่ ท ใี่ ห นาํ เอาเส นตรงมาวางขัดกันให เป นตาราง อย างลงตัว แนวคิดในการออกแบบ เริม่ จากแนวคิด เพิ่มลูกเล นด วยการเลือกใช สี ความหนา และความหนักเบาของเส นที่ ที่ เ ป น ธรรมชาติ คื อ โดยปกติ ส นิ ม จะเกิ ด ขึ้ น บน แตกต างกัน จนเกิดเป นลวดลายพิเศษที่มีมิติแปลกตา ให ความรู สึก โลหะ แต งานนี้เราเอาสนิมมาอยู บนกระจก ทําให ราวกับเส นตรงเคลื่อนไหวดูมีชีวิต เป นอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับงาน เราสามารถมองเห็นลายสนิมได ทั้งสองด าน ทําให ดีไซน ที่ต องการความแปลกใหม เหมาะสําหรับนําไปกรุผนังซ อนไฟ นําไปใช งานได หลากหลาย ทั้งกรุผนัง ฉากกั้นห อง ฉากกั้นห อง เป นต น ประตู ฯลฯ 42


ผลิตภัณฑ กระจกของ BSG ไม ได มีเพียงแค นี้ยังมีนวัตกรรมกระจกที่โดดเด น ที่ได รับ รางวัลอวอร ดอีกมากมาย ล าสุดได รับรางวัล The Winner of The Vanceva World of color awards 2014 ในสาขา Interior Division จากผลงานนวัตกรรมกระจกดีไซน สําหรับ ceiling ภายในโรงแรม Arize Hotel Sukhumvit ไปหมาดๆ กับกระจก Rainbow Pollo ซึง่ เป นผลิตภัณฑ ทมี่ คี วามโดดเด นด านลวดลายทีด่ ลู า้ํ สมัย และลูกค าสามารถปรับ เปลีย่ นสีสนั ของลวดลายบนพืน้ ผิวกระจกได ดว ยเอฟเฟคของแสง ทําให ได Mood & Tone ที่แตกต างกันเมื่อเป ด-ป ดไฟ นอกจากนี้ Rainbow Pollo เป นกระจกนิรภัย ที่ให ความ ปลอดภัยจากการแตกสูง ด วยคุณสมบัตกิ ารยึดเกาะทีย่ อดเยีย่ มของฟ ลม PVB (PolyVinyl Butyral) ทําให กระจกไม ร วงหล นเมื่อแตก จึงไม ทําอันตรายต อผู ใช

สําหรับผู ที่สนใจติดต อได ที่ บริษัท ไทยเทคโนกลาส จํากัด (BSG GLASS) 21/24-25 สาธร บิสเนสปาร ค ถ.กรุงธนบุรี คลองต นไทร คลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600 (ติดรถไฟฟ าบีทีเอส สถานีวงเวียนใหญ ) โทร. 0-2862-0311 โทรสาร 0-2862-0312-4 Email:info@bsgglass.com www.bsgglass.com

´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕã¹»˜¨¨Øº¹Ñ ¡ÃШ¡¨Ö§ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒÁÒ¡¢Ö¹é à¾×Íè μͺʹͧμ‹Í¤ÇÒÁμŒÍ§¡Òâͧ¼Ù·Œ ÃÕè ¡Ñ ã¹¡ÒÃμ¡á싧 ºŒÒ¹ áÅСÃШ¡àͧ¡çÁËÕ ÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãˌ䴌àÅ×Í¡ÁÒ¡¢Ö¹é áμ‹¡Êç Òí ¤ÑÞÇ‹ÒàÁ×Íè àÅ×Í¡¡ÃШ¡ã¹áºº·Õμè ÍŒ §¡ÒÃä´ŒáÅŒÇ Í‹ÒÅ×ÁÈÖ¡ÉÒÃÒÂÅÐàÍÕ´㹡ÒÃμÔ´μѧé áÅзíÒ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´ ÃÇÁ¶Ö§ÇÔ¸¡Õ ÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒ¨Ò¡¼Ùጠ·¹¨íÒ˹‹ÒÂÁÒãËŒ´´Õ ÇŒ  ËÒ¡¤Ø³ÃÙ¨Œ ¡Ñ 㪌èٌ ¡Ñ ¶¹ÍÁÃÑ¡ÉÒÍ‹ҧ¶Ù¡ÇÔ¸Õ ¡ÃШ¡¡ç¨ÐÁÕÍÒÂØ¡ÒÃ㪌§Ò¹Â×¹ÂÒÇ áÅÐäÁ‹àÊÕÂËÒ¡‹Í¹¶Ö§àÇÅÒÍѹ¤Çà ÃÙŒÅÖ¡ ÃÙŒ¨ÃÔ§ ÃÙŒàÃ×èͧ¡ÃШ¡¡‹Í¹¹íÒä»μ¡á싧ºŒÒ¹ä»àÃÕºÌÍÂáÅŒÇ ËÒ¡μÑ´ÊÔ¹ã¨ãªŒ¡ÃШ¡ã¹μ¡á싧ºŒÒ¹ Í‹ÒÅ×Á ¤íÒ¹Ö§¶Ö§¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ÀÒÂã¹ÍÒ¤ÒôŒÇ à¹×èͧ¨Ò¡»ÃÐà·Èä·ÂÁÕá´´¨Ñ´μÅÍ´»Õ áʧÍÒ·Ôμ ·Õèʋͧ¼‹Ò¹ ¡ÃШ¡à¢ŒÒÁÒ áÅСÅÒÂ໚¹¾Åѧ§Ò¹¤ÇÒÁÌ͹ÍÂÙ‹ÀÒÂã¹ÍÒ¤Òà ¡ÒÃàÅ×͡㪌¡ÃШ¡¨Ö§¤ÇþԨÒóҤسÊÁºÑμÔ ¢Í§¡ÃШ¡ãËŒ¤Ãº¶ŒÇ¹ à¾×èÍ¡‹ÍãËŒà¡Ô´¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ÀÒÂã¹ÍÒ¤Òà áÅкÃÃÅØÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤ 㹡ÒÃ㪌§Ò¹ 43


เรื่อง/ภาพ: อรวรรณ เสถียรเขต

àËÅç¡àÊŒ¹à»š¹ÇÑÊ´Ø¡Í‹ ÊÌҧËÅÑ¡·Õ¨è Òí ໚¹μŒÍ§ãªŒã¹¡Òá‹ÍÊÌҧ§Ò¹â¸һÃÐàÀ·¤Í¹¡ÃÕμàÊÃÔÁàËÅ硷ѧé ËÅÒ àËÅç¡ ¤Ø³ÀÒ¾Ê٧͋ҧ SD50 ¨Ö§à»š¹Íա˹Ö觷ҧàÅ×Í¡·Õè਌Ңͧâ¤Ã§¡ÒùíÒÁÒ㪌¡Ñºâ¤Ã§¡ÒÃμ‹Ò§æ ´ŒÇ¤سÊÁºÑμÔ ·Õèá¢ç§á¡Ã‹§¡Ç‹Ò »ÃÐËÂÑ´¡Ç‹Ò ª‹ÇÂÅ´¡ÒÃ㪌àËÅç¡ä´Œ 20-40% ·íÒãËŒ»ÃÐËÂÑ´μŒ¹·Ø¹àËÅç¡ä´ŒÊÙ§¶Ö§ 34% ´Ñ§¹Ñ鹡ÒÃàÅ×͡㪌ÇÑÊ´Ø¡‹ÍÊÌҧáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ¡‹ÍÊÌҧ·ÕèàËÁÒÐÊÁ¡Ñºâ¤Ã§¡ÒùÑé¹ ¡çÁÕʋǹ·íÒãËŒâ¤Ã§¡Òá‹ÍÊÌҧ â´ÂÃÇÁÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾áÅÐÁÕ»ÃÐÊÔ·¸Ô¼Åà¾ÔèÁ¢Öé¹ บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด เป นอีกหนึ่งผู ผลิตเหล็กเอกชนรายใหญ ที่สุดจากประเทศอินเดีย ที่ได เข ามาลงทุนใน ประเทศไทย ในป พ.ศ. 2549 ภายใต ชื่อ บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ที่ได ผลิตเหล็กเส นคุณภาพออก สู ตลาดมาอย างต อเนื่อง โดยมีโรงงานผลิตสินค าเหล็กทั้งหมด 3 โรงงาน ประกอบด วย บริษัท เอ็น.ที.เอส. สตีลกรุ ป จํากัด (มหาชน) (NTS) บริษทั เหล็กสยาม (2001) จํากัด (SISCO) และ บริษทั เหล็กก อสร างสยาม จํากัด (SCSC) ซึง่ มีกาํ ลังการผลิต รวมทั้ง 3 โรงงาน 1.7 ล านตันต อป และเป นผู นําอันดับ 1 ในการผลิตเหล็กเส นภายใต แบรนด ทาทา ทิสคอน บกส ซึ่งมี ให เลือกหลากหลายชั้นคุณภาพ อาทิ SD40, SD50 Tata Tiscon S Supper Ductile (เหล็กต านแรงแผ นดินไหว) เหล็กเส นขึ้นรูป (Cut and Bend) และเหล็กฉาก รางน้ํา เป นต น มร.ราจี ฟ มั ล กั ล ป กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ทาทา สตี ล (ประเทศไทย) จํากัด ได เป ดเผยว า “ด วยกระบวนการผลิตเหล็กเส นผ าน ระบบ Thermo Mechanical Treatment (T.M.T) โดยการพ นสเปรย ละอองน้าํ แรงดันสูงในระดับอุณหภูมทิ เี่ หมาะสมเข าไป จะส งผลให เกิด การจัดระบบโครงสร างภายในของเนื้อเหล็ก (Micro Structure) จนได คุณสมบัตเิ หล็กทีม่ คี วามแข็งแกร งในส วนรอบนอกและแกนเหล็กด านใน ก็จะมีความยืดหยุ นสูง ก อให เกิดเหล็กเส นคุณภาพที่สูงขึ้น มีความ แข็งแกร งสูงกว ามาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ทําให สามารถดัดโค ง เหล็กได ง าย โดยไม เกิดการปริแตก และในการศึกษาเปรียบเทียบจากการออกแบบพบว า การใช เหล็กเส น ก อสร างชนิด SD40 เทียบกับ SD50 แล ว เหล็กเส น SD50 สามารถ ประหยั ด ปริ ม าณการใช เ หล็ ก เส น ทั้ ง หมดในโครงการได สู ง สุ ด ถึ ง 15-20% ด วยคุณสมบัตเิ ด นของเหล็กชัน้ คุณภาพ SD50 ทีถ่ กู พัฒนาด วย กระบวนการผลิตด วยวิธี Thermo Mechanical Treatment (T.M.T) ทีจ่ ดั ระบบโครงสร างภายในของเนือ้ เหล็กให ได คณ ุ สมบัตคิ วามแข็งแกร ง ทนทานด านผิวนอก แต มีความยืดหยุ นสูงในแกนเนื้อเหล็กด านใน ทําให สามารถดัดโค งในวงแคบไม ปริแตกหักง าย และมีกาํ ลังสามารถรับแรงดึงได สงู กว าเหล็ก SD40 ทัว่ ไป นอกจากนี้ยังปรับปรุงคุณภาพให เส นมีลักษณะที่บางขึ้น จึงสามารถขึ้นรูปได ดี โดยมีขนาดที่ผลิตขาย ในตลาดตัง้ แต ขนาดเส นผ านศูนย กลาง 10-40 มิลลิเมตร และในป จจุบนั อยูร ะหว างการเตรียมการผลิตขนาด เส นผ านศูนย กลาง 6-8 มิลลิเมตร สําหรับเหล็กเส นมอก. อีกด วย”

44


คุณภาพงานที่เพิ่มขึ้น เหล็กข ออ อย SD50 สามารถช วยลดต นทุนงบประมาณได เนื่องจากจะช วยลดปริมาณการใช เหล็กในโครงสร างทดแทนการ ใช เหล็ก SD30 และ SD40 รวมทั้งต นทุนในส วนงานอื่นๆ เช น ค าใช จ าย ค าขนส ง ค าแรงงาน ค าพื้นที่กองเก็บ ซึ่งทําให ได คุณภาพงานที่เพิ่มขึ้น เพราะสะดวกและง ายต อการทํางานเทคอนกรีต เพราะปริมาณเหล็กเส นที่ใช ลดลง ทําให มีพื้นที่ในการ เทคอนกรีตที่เพิ่มขึ้น สามารถควบคุมคุณภาพงานได ตามแผนงาน โดยเฉพาะงานก อสร างงานโครงสร างขนาดใหญ ๆ เช น เสาตอม อสะพาน ทางด วน ตึกสูง หรือโครงสร างขนาดใหญ ตา งๆ ทีม่ กี ารรับน้าํ หนักมาก ซึง่ ต องการความแข็งแรงเพือ่ ความ ปลอดภัย จึงต องใช เหล็กเสริมรับแรงจํานวนมาก นอกจากนี้จะช วยให โครงสร างคอนกรีตเสริมเหล็กมีคุณสมบัติในการรับแรงอัดได สูง เพราะด วยคุณสมบัติการรับแรงอัดของ คอนกรีตทํางานร วมกับคุณสมบัติรับแรงดึงของเหล็ก สร างให เกิดความแข็งแรงในงานก อสร างประเภทต างๆ ในป จจุบัน ในตลาดมีเหล็กก อสร างชัน้ คุณภาพทีแ่ ตกต างกันคือ SD30, SD40 และ SD50 ทีม่ คี ณ ุ สมบัตริ บั แรงดึงสูง โดย SD50 สามารถ รับแรงดึงได มากสุดในมาตรฐานคุณภาพในขณะนี้ เมื่อรับแรงดึงได มากขึ้นในการออกแบบโครงสร างจึงสามารถลดปริมาณ เหล็กเส นลงได และช วยทําให ประหยัดค าก อสร างโครงการ โดยที่ยังให ความมั่นคงและแข็งแกร งตามต องการ

45


ให บริการ CUT & BEND เหล็กเส นขึ้นรูป อีกทัง้ เรายังมีบริการ CUT & BEND เหล็กเส นขึน้ รูป ตัดและดัดไว คอยบริการให กบั ผูร บั เหมาเพือ่ เพิม่ ความ สะดวกในการจัดทําโครงสร างเหล็กก อสร างให ได มากขึ้น และช วยเสริมความมั่นใจด วยกระบวนการผลิต และคุณภาพงานมากยิ่งขึ้น ด วยเหล็กเส นข อต อ Coupler ใช ต อความยาวเหล็กเส นข ออ อยแทนการทาบ ซึง่ สามารถใช ในงานก อสร างคอนกรีตเสริมเหล็กทุกประเภท โดยเหล็กข ออ อยดังกล าวจะช วยเสริมเพิม่ ความ ยาวของเหล็ก โดยยังคงคุณสมบัติให เหล็กทั้งเส นมีความมั่นคงแข็งแรง รับน้ําหนักบรรทุกได เหมือนเดิม โดดเด นด วยบริการ • ด วยทีมงานพนักงานบริการให ข อมูล พร อมคําปรึกษาอย างใกล ชิดร วมกับทีมผู ใช งาน • ด ว ยการควบคุ ม และจั ด การเกี่ ย วกั บ วั ต ถุ ดิ บ เหล็ ก เส น ที่ ใ ช ผ า นทางโรงงานผลิ ต ในเครื อ ทาทา สตีล (ประเทศไทย) • ด วยเครื่องจักรที่ทันสมัย ควบคุมด วยระบบคอมพิวเตอร สามารถตัดและดัดเหล็กได ตามขนาด ความยาว และองศาตามแบบที่ต องการ • โดยบริการจัดส งตามเวลาที่ลูกค าต องการ ประโยชน ของบริการ เหล็กเส นขึ้นรูป CUT & BEND ป องกันการสูญเสียเศษเหล็กทีเ่ หลือจากการตัดและดัดเหล็กหน างาน และการตัดดัดทีไ่ ม ตรงตามการใช งาน และป องกันป ญหาเหล็กสูญหายและไม ตอ งสัง่ เหล็กเพิม่ จากทีต่ อ งการใช จริงมาเก็บไว ทหี่ น วยงาน นอกจากนี้ ยังประหยัดต นทุน ไม ตอ งเช าพืน้ ทีก่ องเก็บเหล็กไว สาํ หรับการตัดและดัด ไม ตอ งจ างแรงงานเพิม่ ไว สาํ หรับ การตัดและดัด รวมทัง้ ประหยัดค าขนส ง หากต องสัง่ เหล็กเส นเพิม่ จากทีว่ างแผนการใช งานจริง ช วยประหยัด เวลาในการให แรงงานทําการตัดและดัดเหล็กที่หน วยงาน และช วยเพิ่มประสิทธิภาพในการใช งานที่มีอยู ให ทํางานในส วนอื่น ลดป ญหาการขาดแคลนแรงงานในหน วยงานก อสร างได อย างมีประสิทธิภาพ นวัตกรรมเหล็กเส นขึน้ รูปถูกพัฒนาขึน้ มาเพือ่ ช วยเพิม่ ประสิทธิภาพงานก อสร าง โดยลดการใช แรงงานพืน้ ฐาน ซึ่งเหมาะกับสถานการณ แรงงานขาดแคลนในป จจุบันอย างมาก ด วยเหตุนี้จึงทําให งานก อสร างจํานวน มากได ให ความไว วางใจและเรียกใช บริการเหล็กเส นขึ้นรูป CUT & BEND ของเราอย างต อเนื่องตั้งแต ป 2549 อาทิ โครงการสะพานข ามอ างเก็บน้ําลําปาว ส วนงาน Segment Concrete สนามบินสุวรรณภูมิ Girder Southern Ring Road อาคาร Shangri –la Hotel Condominium PACIFIC GENERAL Rajadamri Tower Millennium Resident Tower โครงการแมกโนเลียส ราชดําริ โครงการ ลุมพินี คอนโด ทาวน ชลบุรี อาคารเรียนเสนาธิการทหารบก เป นต น

46



เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ¡ÃШ¡¨Ö§ÁÕ¡ÒþѲ¹ÒÁÒ¡¢Öé¹ à¾×èÍμͺʹͧμ‹Í¤ÇÒÁμŒÍ§¡Òâͧ ¼ÙŒ·ÕèÃѡ㹡ÒÃμ¡á싧ºŒÒ¹ ¡ÃШ¡ã¹ÃٻẺμ‹Ò§æ ÁÕÍÍ¡ÁÒãˌ䴌àÅ×͡໚¹à¨ŒÒ¢Í§ ËÅÒ¡ËÅÒ ÁÒ¡¢Öé¹ «Ö觡ÃШ¡ “IZIZ Glass” ËÃ×Í¡ÃШ¡ÍѨ©ÃÔÂÐ ¡ç໚¹ÍÕ¡¼ÅÔμÀѳ± ·Õ蹋Òʹ㨠áÅÐ໚¹¹ÇÑμ¡ÃÃÁÅ‹ÒÊØ´·ÕèÊÌҧ¤ÇÒÁá»Å¡ãËÁ‹ãËŒ¡ÑºÇ§¡ÒáÃШ¡à»š¹Í‹ҧÁÒ¡ ผลิตภัณฑ “IZIZ Glass” เป นกระจกชนิดพิเศษที่ทํางานด วยระบบไฟฟ า ซึ่งสามารถปรับสภาพจาก โปร งแสงเป นโปร งใสได เพียงเสี้ยววินาที เมื่อมีการจ ายแรงดันไฟฟ า 110 โวลท เข าไปในตัวกระจก กระจก iZZi เป นกระจกลามิเนต 2 ชั้น ตรงกลางเป นชั้นฟ ล มประกอบด วยผลึกเหลว (Liquid Crystal) ซึ่งจะเรียง ตัวเป นระเบียบเพื่อให แสงผ านได เมื่อทําการจ ายกระแสไฟ หรืออยู ในสภาพกระจัดกระจาย หากหยุดจ าย กระแสไฟ จะก อให เกิดสภาพโปร งแสง เนื่องจากมีคุณสมบัติในการควบคุมแสงและทัศนะในการมองเห็น จึงเหมาะสําหรับการใช งานทั้งภายนอกและภายในอาคาร และสามารถนํากระจกดังกล าวมาทําเป นจอฉาย ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวได อีกด วย IZIZ Glass เป นนวัตกรรมใหม ของการใช กระจก จุดเด นคือสามารถเปลี่ยนจากกระจกโปร งแสงเป น กระจกใสได ดว ยเวลาเพียงไม ถงึ วินาที โดยจะให ความเป นส วนตัวสูง เนือ่ งจากคนภายนอกไม สามารถมองผ าน เข ามาในอาคารหรือในห องได จึงทําให อาคารมีความโอ อ า หรูหรา ล้ําสมัย อีกทั้งยังสร างความมั่นใจต อ ผู ใช ได เป นอย างดี แม ว ากระจกจะโปร งแสงทําให ไม สามารถมองผ านได แต ก็ยังคงมีแสงสว างกระจายอยู โดยรอบภายในห อง และมีแสงสว างเพียงพอต อความต องการ คุณประโยชน ทโ่ี ดดเด น อีกประการคือสามารถใช เป นผนังกัน้ ห อง หรือผนังกระจกภายนอกอาคาร และใน ขณะเดียวกันสามารถใช เป นจอสําหรับฉายโปรเจกเตอร ทใ่ี ห ภาพชัดเจน สีสนั สดใส ได อย างน าอัศจรรย และสามารถ เปลี่ยนจากกระจกโปร งแสงให ความเป นส วนตัว มาเป นโปร งใสที่เห็นทัศนียภาพภายนอกได ทุกเวลาที่ ต องการ อีกทั้งยังช วยลดปริมาณแสงอาทิตย ที่ส องเข าตา และตัดรังสี UV ได มากกว า 99% ทําให ประหยัด พลังงานไฟฟ าในการทําความเย็น เพราะเป นกระจกนิรภัยหลายชัน้ (ลามิเนต) พร อมทัง้ ยังช วยหน วงเหนีย่ ว การบุกรุกจากผู ประสงค ร ายได ด วย ด ว ยคุ ณ สมบั ติ เ หล า นี้ จึ ง ทํ า ให ก ระจก IZIZ Glass ถู ก นํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ไ ด อ ย า งหลากหลาย เช น ฉากส วนตัวหน าต าง ประตู ผนังกระจก และหลังคา ใช ได ทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร กระจกหลังคา กันแดดรถยนต หรือหน าต างรถยนต ใช เป นม านบังตาในรถพยาบาล ใช แทนม านบังตาหรือผ าม าน หน าต าง กระจกนิรภัยในศาลหรือห องพิจารณาคดีนักโทษ ใช เป นจอสําหรับเครื่องฉายโปรเจกเตอร หรือ ใช เป นจอ โฮมเธียเตอร ผนังสํานักงาน ห องประชุม ร านค า เฟอร นิเจอร และตู โต ะประชาสัมพันธ ตลอดจนพื้นที่ รับแขก ห างสรรพสินค า ห องแสดงสินค า บานประตูและหน าต าง ฉากสําหรับโฆษณาประชาสัมพันธ พื้นที่ ที่ต องการความเป นส วนตัวหรือพื้นที่ปลอดภัยสูง เป นต น แต ควรใช งานในสภาวะแวดล อมที่ -20 ถึง 80 องศาเซลเซียส และการเก็บรักษาในอุณหภูมิ -20 ถึง 70 องศาเซลเซียส

48


ON-CLEAR

OFF-PRIVATE

49


พลังงานไฟฟ าที่ใช ไฟฟ าที่ใช แรงดันไฟฟ า 110 โวลท หรือ กําลังไฟที่ใช 5 วัตต ต อตารางเมตร ความถี่ 50 เฮิร ซ นอกจากนี้ ยังสามารถใช ได ที่แรงดันไฟฟ า 0-240 โวลต A.C. พลังงานไฟฟ าที่ใช ประมาณ 3.5 วัตต ต อตารางเมตร กระแสไฟฟ าน อยกว า 200 แอมแปร ต อตารางเมตร และการควบคุมการหรี่ของแรงดันไฟ 10-80 โวลต A.C. เป นต น วิธีการติดตั้ง สําหรับการติดตัง้ หากเป นงานติดตัง้ แผ นเดียว แนะนําให ใส เฟรมรอบ กรณีทมี่ กี ระจกหลายแผ นมาต อเรียง กันเป นผนังหรือฉากกั้น สามารถติดตั้งแบบเว นระยะ (Butt Joint) โดยการยิงซิลิโคนได โดยที่เส นรอบรูป ของแผงกระจกทั้งหมดอยู ในเฟรม IZIZ Glass มีขนาดและความหนามาตรฐานให เลือกดังนี้ ขนาดมาตรฐาน มีให เลือกหลายขนาด ได แก ขนาด 1000 × 2400 มิลลิเมตร ขนาด 1000 × 2700 มิลลิเมตร ขนาด 1200 × 2400 มิลลิเมตร ขนาด 1200 × 2700 มิลลิเมตร และขนาด 1200 × 3000 มิลลิเมตร ความหนามาตรฐาน มีให เลือกได แก ความหนาที่ 8.76 มิลลิเมตร ความหนา 10.76 มิลลิเมตร และหนา 12.76 มิลลิเมตร การทําความสะอาด 1. ใช น้ําทําความสะอาดชะล าง ฝุ น ผง ออกจากกระจกก อน 2. ฉีดน้ํายาเช็ดกระจกหรือน้ําสะอาดเท านั้น ให ทั่วกระจกแล วใช ผ าสะอาดเช็ดให ทั่วกระจก 3. ใช ผ าสะอาดปราศจากเศษผงหรือสิ่งสกปรกทําความสะอาดกระจก หรือยางรีดน้ําเช็ดกระจกให แห ง 4. ห ามใช สารทําความสะอาดที่มีส วนผสมของกรดไฮโดรฟลูออริก (hydrofluoric) หรือ กรดฟอสฟอริก (phosphoric) เพราะมีฤทธิ์กัดกร อนผิวกระจก 5. ห า มใช วั ต ถุ ขั ด ทํ า ความสะอาดที่ มี ผิ ว หยาบ เช น ผงขั ด แปรงขั ด กระดาษทราย หรื อ ใบมี ด ในการทําความสะอาดกระจกเด็ดขาด เรื่ อ งราวของผลิ ต ภั ณ ฑ ก ระจกยั ง ไม ห มดเพี ย งเท า นี้ มี ก ระจกแต ล ะประเภทอี ก มายมายให เ ลื อ กใช ด วยเทคโนโลยีในป จจุบนั ทําให กระจกมีการพัฒนามากขึน้ เพือ่ ตอบสนองต อความต องการของผูท รี่ กั ในการ ตกแต งบ าน โดยทีม่ กี ระจกในรูปแบบต างๆ ออกมาให ได เลือกเป นเจ าของ และมีรปู แบบทีห่ ลากหลายมากขึน้ แต เ มื่ อ เลื อ กกระจกในแบบที่ ต อ งการได แ ล ว อย า ลื ม ศึ ก ษารายละเอี ย ดในการติ ด ตั้ ง และทํ า ความ สะอาดรวมทั้งวิธีการดูแลรักษาจากผู แทนจําหน ายมาให ดีด วย หากคุณรู จักใช รู จักถนอมรักษาอย างถูกวิธี กระจกก็จะมีอายุการใช งานยืนยาว และไม เสียหายก อนถึงเวลาอันควรเช นกัน” ขอขอบคุณข อมูลจาก บริษัท ไทย เยอรมัน สเปเชียลตี้ กลาส จํากัด (TGSG) 9 ซอยพระรามที่ 3 ซ. 59 ถนนพระรามที่ 3 แขวงช องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเพพฯ 10120 โทรศัพท 0-2294-6287 แฟกซ 0-2294-6286 E-mail. marketing@tgsg.co.th, center@tgsg.co.th

50



เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

àÁ×Íè ¾Ù´¶Ö§¡ÃШ¡ ¼ÅÔμÀѳ± ¡ÃШ¡à»š¹ÇÑÊ´Ø·ÃèÕ ¨ŒÙ ¡Ñ ¡Ñ¹à»š¹Í‹ҧ´Õ·¡Ø ÀҤʋǹÍØμÊÒË¡ÃÃÁ μÅÍ´¶Ö§ 㹪ÕÇÔμ»ÃШíÒÇѹ¢Í§¤¹àÃÒ à¹×èͧ¨Ò¡ÇÑÊ´Ø¡ÃШ¡ÊÒÁÒö¹íÒä»ãªŒä´ŒËÅÒ¡ËÅÒÂμÒÁ¤ÇÒÁ μŒÍ§¡Ò÷Ñ駧ҹÀÒÂã¹áÅÐÀÒ¹͡ ¢Öé¹ÍÂÙ‹¡Ñº¤ÇÒÁμŒÍ§¡ÒÃ㪌¹Ñé¹àͧ ËÒ¡¨ÐãËŒÁͧÀÒ¾ÃÇÁ μÅÒ´ÇÑÊ´Ø¡ÃШ¡¹Ñé¹ ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ¡ÃШ¡à»š¹μÅÒ´·ÕèãËÞ‹ áÅÐ໚¹ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ·ÕèÁÕ¡ÒÃàμÔºâμ ÅŒÍ仡Ѻ¨Õ´Õ¾Õ¢Í§»ÃÐà·ÈÁÒâ´ÂμÅÍ´ â´Â੾ÒÐμÅÒ´ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕ¶×ÍÇ‹ÒÁÕ¡ÒÃàμÔºâμ·Õè´Õ¡Ç‹Ò ÀÙÁÔÀÒ¤Í×è¹ Ê‹Ç¹ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ´Ñ§¡Å‹ÒÇã¹ä·Â ¨ÐàμÔºâμÊÙ§¡Ç‹Ò¨Õ´Õ¾Õà©ÅÕè»ÃÐÁÒ³ 2-3% à¡×ͺ ·Ø¡»Õ ÂÔ§è 㹪‹Ç§»·Õ ¼Õè Ò‹ ¹ÁÒ·ÕÍè μØ ÊÒË¡ÃÃÁ¡ÃШ¡ä´ŒÃºÑ ÍÒ¹ÔÊ§Ê ¨Ò¡Ã¶¤Ñ¹ááÂÔ§è ·íÒãËŒμÅÒ´¢ÂÒ μÑÇÁÒ¡¢Öé¹Ê‹§¼ÅãËŒà¡Ô´¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ÁÒ¡¢Öé¹àª‹¹¡Ñ¹ ผูผ ลิตและจําหน ายผลิตภัณฑ กระจกมีผเู ล นในตลาด เกิดขึ้นมากมายหลากหลายแบรนด ให เลือกใช หลาก หลายยีห่ อ บริษทั กระจกไทยอาซาฮี จํากัด (มหาชน) (AGC) เป นอีกผู ผลิตกระจกที่อยากนําเสนอในฐานะ ที่เป นผู ผลิตกระจกแผ นเรียบรายใหญ ในประเทศ ถือได ว าเป นผู ผลิตรายแรกและเก าแก นับอายุได กว า 50 ป เลยทีเดียว ซึ่งมีการก อตั้งบริษัทฯ ในป 2506 โดยการร วมทุนระหว างผูล งทุนไทยและอาซาฮี กลาส ประเทศญี่ปุ น เป นผู ผลิตกระจกแผ นเรียบที่มุ งเน น ผลิตสินค าคุณภาพมาตรฐานสากลออกสู ตลาดเพื่อ ตอบสนองความต อ งการของผู ใ ช แ ละผู บ ริ โ ภค เรือ่ ยมา ด วยการผลิตและบริการทีม่ คี ณ ุ ภาพจนเป นที่ รู จักและยอมรับตลอดระยะเวลา 50 ป ที่ผ านมา ตามนโยบายที่ว า “ก าวสู อนาคต สรรค สร างสิ่งที่ดี เพื่อโลกที่สดใส” อีกทั้งยังมุ งมั่นพัฒนาแสวงหา เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ การบริการ วิธีการดําเนิน ธุรกิจ ตลอดจนการใช ทรัพยากรที่เป นนวัตกรรม ใหม และหาวิธีปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อให ได ประสิ ท ธิ ภ าพและคุ ณ ภาพที่ ดี ที่ สุ ด ในทุ ก กิ จ กรรม เสมอมา เพื่อสร างแบรนด ให เป นที่ประจักษ และรู จัก อย างแพร หลาย ทั้งนี้กระจกไทยอาซาฮี ยังนําระบบบริหารคุณภาพ มาใช ในการดําเนินกิจการเพื่อให เป นไปตามระบบ คุณภาพสากลด านสิง่ แวดล อม เพือ่ เสริมศักยภาพใน ด านการแข งขันด านการผลิตและการให บริการ ซึง่ ได รับการรับรองคุณภาพจากสถาบัน BVQI และ DNV ประกอบด วย มาตรฐาน 9001 ระบบบริหารคุณภาพ และมาตรฐาน ISO 14001 ระบบการจัดการสิ่งแวดล อม โดยได รับการ รับรองคุณภาพการบริหารตั้งแต ป 2537 และป 2547 พร อมมุ งเน นและให ความสําคัญกับนโยบายด านความปลอดภัยและ สิง่ แวดล อม ด วยการสร างสภาพแวดล อมในการทํางานของพนักงานให มคี วามปลอดภัย ภายใต นโยบายด านความปลอดภัย และสิ่งแวดล อมของ AGJA ตามนโยบายที่ว า “อย าปฏิบัติงานหากไม มีมาตรการความปลอดภัย” 52


Ghelamco Arena

B TWIN

นอกจากนี้บริษัทยังมุ งเน นจัดกิจกรรม CSR เพื่อตอบแทนสังคมอย างต อเนื่อง โดยบริษัทได มีการจัด กิจกรรมมอบทุนการศึกษามาตั้งแต ป 1974 แล วป จจุบันมอบทุนการศึกษาไปแล วกว า 5,000 ทุน การศึกษา และกิจกรรมช วยเหลือเด็กในชนบทอย างต อเนื่อง ด วยการเข าไปพบปะเด็กและคอยช วยเหลือ และแนะนําเด็กเพื่อให เด็กช วยเหลือตนเองได เช น การแนะนําวิธีการเพาะเห็ดให เพื่อให สามารถใช ในการ ดําเนินชีวิตได ซึ่งทําให ได รับเกียรติบัตรในเรื่องของ CSR ทั้งในประเทศและต างประเทศ จากกระทรวง อุตสาหกรรม ด านความรับผิดชอบต อสังคม และกรมโรงงานอุตสาหกรรม 4 ป ซ อน และกลุ มบริษัท ในเครือ AGJA ทั่วโลก รางวัล Look Beyond อีกถึง 2 ครั้ง

53


สําหรับกลยุทธ ดา นการตลาดบริษทั ยังคงมุง เน นการทํา การตลาดแบบไดเร็คเหมือนทีผ่ า นมา โดยการมุง เน นให ความรูเ กีย่ วกับสินค าให กบั สถาปนิก วิศวกร ผูร บั เหมา เพื่ อ ให เ ข า ถึ ง กลุ ม เป า หมายได โ ดยตรงส ว น ด า นช อ งทางกระจายสิ น ค า ของบริ ษั ท จะมุ ง เน น กระจายโดยการส งออกเป นหลัก ที่เหลือจะกระจาย สินค าในประเทศซึ่งกระจายผ าน 4 ช องทางหลัก ประกอบด วย 1. ผ านตัวแทนจําหน ายทั่วประเทศ ป จจุบันกระจก ไทยอาซาฮี มีดลี เลอร ประมาณ 70-80 รายทัว่ ประเทศ 2. กระจายสิ น ค า ผ า นลู ก ค า อุ ต สาหกรรมอย า ง ต อเนื่อง เช น โรงงานผลิตรถยนต โรงงานผลิต โคมไฟ ฯลฯ 3.กระจายสินค าผ านผู รับเหมาและติดตั้ง โดยจะมุ ง เน นเข าหาวิศวกร และผู รับเหมาเป นหลัก ซึ่งป นี้ จะมุ งเน นบุกตลาดผู รับเหมาเป นหลัก และ 4. กระจายสินค าให กับอุตสาหกรรมทั่วไป เช น กลุ ม ลูกค าที่ซื้อกระจกไปใช กับผลิตภัณฑ ของตนเอง เช น ไปใช กับงานเฟอร นิเจอร ฯลฯ ป จจุบันบริษัทมีกําลัง การผลิตกระจกทั้งหมด 500 ตันต อวัน หรือกว า 7,500 ล านบาท ส วนโรงงานผลิตที่ระยองคาดว าจะ มีกําลังการผลิตประมาณ 100-200 ตันต อวัน

Ashton ขอขอบคุณข อมูล บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จํากัด (มหาชน) 200 หมู 1 ถนนสุขสวัสดิ์ ตําบลปากคลองตลาด อําเภอพระสมุทรเจดีย จังหวัดสมุทรปราการ 10290 โทร. 0-2815-5000 โทรสาร 0-2815-7375 www.Agc-flatglass.co.th

54

อนึ่ ง ป จ จุ บั น กระจกไทยอาซาฮี เ ป น บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต กระจกแผ นเรียบชั้นนําของไทย ผลิตกระจกในระบบ โฟลต ซึ่งเป นระบบการผลิตที่ทันสมัย ผลิตกระจก โฟลตใส กระจกโฟลตสีตัดแสง กระจกลวดลาย กระจกเงา กระจกสะท อนแสง กระจกแปรรูปชนิด ต างๆ อาทิ กระจกนิรภัยเทมเปอร กระจกฉนวน ความร อน กระนิรภัยลามิเนต และกระจกเพื่อการ อนุรักษ พลังงาน เพื่อตอบสนองความต องการของ ลูกค า สําหรับการใช งานสถาป ตยกรรม การตกแต ง การก อสร าง อุตสาหกรรมยานยนต และการแปรรูป เพื่ออุตสาหกรรมต อเนื่อง โดยให บริการลูกค าทั้ง ในและต างประเทศ ตลอดเวลากว า 50 ป และได ตอบสนองความต องการของผู ใช ผู บริโภค ด วยการ ผลิ ต กระจกและบริ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพในมาตรฐาน ระดับสากล



เรื่อง: ปฏิทิน เวลา

ËÒ¡¾Ù´¶Ö§à·Ã¹´ ¡ÒÃÍ͡Ẻã¹ÂؤÊÁÑÂãËÁ‹ Í‹ҧઋ¹ÍÒ¤Òâ¹Ò´ãËÞ‹ äÁ‹ÇÒ‹ ¨Ð໚¹ Mega Tall ËÃ×Í Mega Building μ‹Ò§¡çÁÕ¡ÒÃÍ͡ẺÃкº¡ÃͺÍÒ¤ÒÃâ´Â㪌ἧ¡ÃШ¡ÍÂÙ‹ÁÒ¡ «Ö§è ¼ÙÍŒ ͡Ẻ¹ÔÂÁàÅ×͡㪌෤â¹âÅÂÕÍ¹Ñ ·Ñ¹ÊÁÑÂáÅзç»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾à¾×Íè ÁÒÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹Íѹ â´´à´‹¹ «Ö§è ¹Í¡¨Ò¡¡ÃШ¡·Õàè »š¹ÇÑÊ´ØËÅÑ¡·Õμè ÍŒ §¤íÒ¹Ö§¶Ö§áÅŒÇ ÇÑÊ´ØÍ‹ҧ¡ÒÇÂÒá¹ÇËÃ×Í«ÔÅâÔ ¤¹ ÂÒá¹ÇÊíÒËÃѺ¡ÒÃμÔ´μѧé ἧ¡ÃШ¡¡ç¶Í× ä´ŒÇÒ‹ ໚¹Íա˹֧è ÇÑÊ´Ø·μèÕ ÍŒ §ÁÕ¤³ Ø ÀÒ¾ÊÙ§ÍÂÙº‹ ¹ËÅѡࡳ± ¢Í§ÁÒμðҹáÅФÇÒÁ¹‹Òàª×èͶ×ÍÍÕ¡´ŒÇÂ

Capital gate

แม ในประเทศไทยเทคโนโลยีการก อสร างยังต องพัฒนาต อไปอีกไกลกว าเราจะสามารถสร างอาคารสูงอย าง Kingdom Tower หรืออาคารขนาดใหญ อย าง Century Global Center ได แต ปจ จุบนั ก็มเี ทคโนโลยีใหม ๆ ทางด านระบบกรอบอาคารและการติดตั้งแผงกระจกที่น าสนใจเริ่มเข ามาสู วงการก อสร างบ านเรามากขึ้น ซึ่งหากเอ ยชื่อบริษัทอย าง Kaskal Co.,Ltd. หรือ YHS International Co.,Ltd. หรือ Thai-German Specialty Glass Co.,Ltd. หรือ Permasteelisa (Thailand) Ltd. ขึ้นมานั้น เราต างก็รู ว าบริษัทเหล านี้ ถือว าเป นผูน าํ และเชีย่ วชาญในเรือ่ งของกระจกสําหรับงานอาคาร ทีไ่ ด สร างผลงานเอาไว มากมาย นอกจาก ความเชี่ยวชาญแล วเรื่องของการรับรองคุณภาพในการติดตั้งระบบกระจกกรอบอาคารก็เป นส วนหนึ่งที่ทั้ง สามบริษัทได มุ งเน น โดยทั้งสามบริษัทต างได รับการรับรองคุณภาพเป นสมาชิก Quality Bond จากทาง บริษัท ดาว คอร นนิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อเป นการการันตีมาตรฐานผลงานอีกขั้นหนึ่ง

56


ซึ่ ง เป น ที่ รู ว า บริ ษั ท ดาว คอร น นิ่ ง จํ า กั ด ถือได ว าเป นผู นําทางด านนวัตกรรมการผลิตซิลิโคน และเทคโนโลยีทางด านซิลิคอน ที่ให บริการแบบ เพิ่มประสิทธิภาพ ‘High Performance Building Solutions’ เพื่อตอบสนองความต องการอันหลาก หลายของลูกค า อีกทัง้ ยังร วมมือกับผูเ ชีย่ วชาญด าน อุตสาหกรรมจากทัว่ โลกในการพัฒนาการใช พลังงาน ภายในอาคารอย างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดการใช ทรัพยากรธรรมชาติในวัสดุก อสร าง ที่จะยกระดับ สุขภาพและความปลอดภัยแก ผู ใช สอยอาคาร โดย ครอบคลุมตั้งแต การให บริการที่ปรึกษาในขั้นตอน การออกแบบไปถึงการตรวจสอบวัสดุสําหรับระบบ การติดตัง้ กระจก ไม วา จะเป นกาวยาแนวชนิดรับแรง ทั้งแบบโครงสร างและแบบนิรภัย วัสดุกันน้ํา กระจก ฉนวน 2 ชั้น ผลิตภัณฑ ประตูหน าต าง การปกป อง วัสดุอาคาร และนวัตกรรมสําหรับฉนวนกันความร อน ประสิทธิภาพสูง ไฟ LED ระบบจัดการอุณหภูมิ และการทํางานร วมกันระหว างเซลล พลังงานแสง อาทิ ต ย กั บ แผงเซลล แ สงอาทิ ต ย ใ นการออกแบบ อาคารอีกด วย ดังนั้น Quality Bond จึงเป นการยกระดับการใช เทคโนโลยี กาวยาแนวซิลิ โคนสํ าหรับระบบกรอบ อาคารและการติ ด ตั้ ง แผงกระจกในประเทศไทย ให มี คุ ณ ภาพที่ สู ง ขึ้ น โดยเป น การส ง เสริ ม การ ให คํ า ปรึ ก ษาแก ส มาชิ ก อั น ได แ ก ผู ผ ลิ ต และ ผู ติ ด ตั้ ง แผงกระจก รวมทั้ ง การให คํ า ปรึ ก ษาแก ผู ออกแบบ ที่ปรึกษาด านกรอบอาคาร นักวางระบบ การก อสร าง และผู ที่เกี่ยวข องในระบบการระบุวัสดุ สําหรับโครงการก อสร าง นอกจากนี้ยังรวมไปถึง บริการที่ทันสมัยในเรื่องของการติดตั้งกระจกด วยกาวยาแนวชนิดรับแรงโครงสร างอีกด วย ซึ่งข อดีของ Quality Bond นั้น นอกจากจะเป นการรับรองมาตรการทํางาน และยังสามารถแบ งป นความรู ด านการติด ตัง้ แผงกระจกด วยวัสดุยาแนวชนิดรับแรงโครงสร าง กระจกฉนวน 2 ชัน้ และการประยุกต ใช กาวยาแนวด วย ซิลิโคนแบบอื่นๆ ซึ่งจะทําให ผู ผลิต ลูกค า และผู ระบุวัสดุ (Specifiers) สามารถที่จะเชื่อมั่นในการควบคุม ความซับซ อนทางด านเทคนิคในการออกแบบได เป นอย างดี

57


Dow Corning European Distribution Center, Feluy, Belgium. EDC External facade

Dow Corning TSSA illustrated in Spider Application for Point Fixed Glazing

และเพื่อเป นการตอบโจทย การออกแบบที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต จึงได มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ติดตัง้ แผงกระจกกรอบอาคาร ซึง่ ทางบริษทั ดาว คอร นนิง่ เองก็ได มกี ารนําเสนอผลิตภัณฑ แผ นซิลโิ คนชนิด โครงสร างติดกระจก TSSA (Transparent Silicone Structural Adhesive) เพือ่ ใช ในการยึดกระจกเฉพาะ จุดที่มาพร อมกับซิลิโคนยึดเกาะอย างเหนียวแน นคล ายกับแผ นฟ ล มด วยความหนา 1 มิลลิเมตร เท านั้น แต สามารถรับแรงโครงสร างได สูง โดยรับแรงจรได ถึง 1.3 Mpa และรับแรงคงที่ได 0.6 MPa สามารถ ประยุกต ใช ตดิ ตัง้ ยึดกับแผ นกระจกได โดยง ายและปลอดภัย สมรรถนะรับแรงเคลือ่ นไหวได สงู เหมาะกับการ ติดตั้งทั้งภายในและภายนอกอาคาร ไม วา จะเป นระบบกระจกกรอบอาคารที่เป นกระจกดัดโค งหรือกระจก ลามิเนต แผงกระจกราวกันตก และกระจกตกแต งภายในอาคาร เป นต น ทัง้ ยังให ความสวยงามและมุมมอง ดุจกระจกใส ไร รอยต อ ปราศจากการเจาะหมุดยึดกระจก สร างอาคารให แลดูทันสมัยและปลอดภัย อีกทั้ง ยังช วยเพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานของกระจกฉนวนอัดก าซ เพราะไร รอยเจาะจึงป องกันการรั่ว ซึมของอากาศภายในและภายนอกได เป นอย างดีอีกด วย

58


อีกหนึ่งผลิตภัณฑ ที่เป นนวัตกรรมที่ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อตอบโจทย การใช งานระบบติดตั้งแผงกระจกที่ สะดวกมากยิง่ ขึน้ ได แก กาวยาแนว 121 Structural Glazing Sealant ที่เหมาะสําหรับการใช งานติดตั้ง หรือซ อมแซมแผงกระจก Glazing panel ภายใน ไซต ก อ สร า ง หรื อ กระจกหน า ร า นค า หรื อ โชว รู ม เพราะสามารถติดตั้งต อแผ นกระจกได โดยไม ต อง ยกอุปกรณ ขนาดใหญ จากโรงงานมา เพียงแต ผสม ส วนประกอบและสารทําละลายในอัตรา 1:1 ตามที่ บรรจุภัณฑ ระบุเอาไว เท านั้น ก็สามารถใช ป ดรอยต อ ช องกระจกได โดยคุณสมบัตดิ า นต างๆ ยังคงไม ตา ง จากการผลิตมาตรฐานโรงงาน อีกทั้งยังสามารถ ติดตั้งหรือซ อมแซมงานให เสร็จได ภายในหนึ่งวัน โดยซิลโิ คนจะเซ็ตตัวได เร็วภายใน 24-48 ชัว่ โมงเท านัน้ จึงให ความสะดวกในการใช งานแก ทมี ช างได มากกว า แบบเก าเป นอย างมาก นอกจากนี้การใช ซิลิโคนยาแนวในระบบกรอบอาคารที่เป นแผงกระจก ก็เป นส วนหนึ่งของการออกแบบอาคารอย างยั่งยืนอีกด วย ทั้งการช วย ป องกันพลังงานความร อนจากแสงอาทิตย เข าสูอ าคาร การช วยลดและ ป องกันแรงเคลื่อนจากแผ นดินไหว การป องกันและควบคุมอุณหภูมิ ภายในอาคาร การช วยป องกันการลามของอัคคีภยั เป นต น และสุดท าย ซิลิโคนยาแนวยังถูกพัฒนาไปในขั้นสูงยิ่งขึ้น เพื่อตอบโจทย สําหรับ Zero-energy Building ในอนาคตอีกด วย ขอบคุณข อมูลจาก บริษัท ดาว คอร นนิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด 177/1 อาคาร BUI Building ชั้น 17 ถ.สุ ร วงศ (ซอยอนุ ม านราชธน 1) สุ ร วงศ บางรั ก กทม. โทร. 02-634-6700 โทรสาร. 02-634-6798-9 www.dowcorning.com

http://9gag.com/gag/aQp4N97?ref=mobile.s.email

59


เรื่อง: อรช กระแสอินทร , LEED GA

ÊíÒËÃѺ·‹Ò¹¼ÙŒÍ‹Ò¹·Õè໚¹¹Ñ¡Í͡Ẻ ã¹áμ‹ÅФÃÑé§ÊíÒËÃѺ¡ÒÃÍ͡Ẻ¹Ñé¹ ¤§¨ÐàÇÕ¹ËÑǡѺ¡ÒÃàÅ×Í¡¼ÅÔμÀѳ± ÇÑÊ´Ø¡Í‹ ÊÌҧÊíÒËÃѺ§Ò¹Í͡Ẻ¢Í§·‹Ò¹ â´ÂʋǹãËÞ‹¤§äÁ‹ãª‹à¾ÃÒÐÁѹÂÒ¡ËÃ×ͨíÒ¡Ñ´ á싨Ð໚¹ã¹·Ò§¡ÅѺ¡Ñ¹ à¾ÃÒÐÁѹàÂÍÐàËÅ×Íà¡Ô¹ áÅÐà¾×èÍ·Õè¨Ðãˌ䴌§Ò¹Í͡Ẻ·Õè´Õ·ÕèÊØ´ ·‹Ò¹¹Ñ¡Í͡Ẻ¡çμŒÍ§¤Œ¹¤ÇŒÒ¤Œ¹ËÒ¼ÅÔμÀѳ± ÁÒà¾×Íè Çҧŧä»ã¹§Ò¹Í͡Ẻ¢Í§·‹Ò¹ãËŒàËÁÒÐÊÁ ·Ñ§é ã¹´ŒÒ¹ÃٻẺ¢Í§¼ÅÔμÀѳ± ¡ÒÃ㪌§Ò¹ áÅÐÃÇÁ¶Ö§»˜¨¨Ñ Í×è¹æ ઋ¹ ¡ÒûÃÐËÂÑ´¡ÒÃ㪌¹éíÒ áÅСÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ໚¹μŒ¹

จากที่ ก ล า วมา ท า นผู อ า นอาจจะนึ ก ไปถึ ง ความ ก าวหน าในเทคโนโลยีของตัวผลิตภัณฑ แต หากว า งานออกแบบของท านเป นงานออกแบบรีสอร ทหรือ บ านหรืออะไรก็ตามที่ต องการความเป นธรรมชาติ ต อ งการความเป น พื้ น ถิ่ น ท า นจะหาผลิ ต ภั ณ ฑ อย างไรที่เหมาะสมกับงานออกแบบของท าน และ แม วา ป จจุบนั จะมีวสั ดุสงั เคราะห ตา งๆ ทีถ่ กู สร างขึน้ เพื่อเลียนแบบพื้นผิวและสีสันที่ดูเหมือนธรรมชาติ มากแล วก็ตาม สิ่งหนึ่งที่วัสดุเหล านั้นยังลอกเลียน ไม ได คอื ทีม่ าของการผลิตทีว่ สั ดุธรรมชาติจริงแล วนัน้ จะเกิดขึ้นจากงานหัตถกรรมนั่นเอง

สถาป ตยกรรมพื้นถิ่นที่มีเสน ห ทั้งเรือนผูกที่สร างการนําเอาวัสดุไม ไผ มาผูกมาขัดกัน หลังคาจากทีน่ าํ เอาใบจากมาตากแห ง เรือนไม ทไี่ ม ตอ ง ใช ต ะปู ใ นการก อ สร า ง ซึ่ ง ภู มิ ป ญ ญาเหล า นี้ อ ยู กั บ ตั ว ช า งไม ช า ง ผูกเรือนซึ่งก็ล มหายตายจากไปเยอะแล ว งานหัตถกรรมในป จจุบันที่ แม วา จะเหลืออยูบ า ง แต กไ็ ม รวู า ในอนาคตจะยังคงอยูไ ปอีกนานแค ไหน

โอกาสของงานหัตถกรรมในงานก อสร างนั้น ยังมีโอกาสอยู ตลอดจาก ประสบการณ โดยตรงของผม ก็มคี นรูจ กั ถามถึงคนทีส่ ามารถจะทํางาน จักสานหรือขึน้ รูปชิน้ งานพิเศษทีเ่ ขาต องการเสมอ ประเด็นสําคัญคือคน ทีม่ คี วามต องการสินค ากับผูผ ลิตงานหัตถกรรมนัน้ มักจะไม คอ ยได มา เจอกัน และสุดท ายงานออกแบบหลายๆ งานก็อาจจะเลี่ยงไปใช วัสดุ อย างอื่นที่กลายเป นว าพยายามจะเลียนแบบงานหัตถกรรมจากวัสดุ ประเทศไทยเรานั้น ก็มีความหลากหลายของงาน ธรรมชาติ และนี่อาจจะเป นช องทางทางธุรกิจอย างหนึ่งที่ท านผู อ าน หัตถกรรมตั้งแต ของชิ้นเล็กๆ อย างตะกร า กระเป า จะลองพิจารณาดูก็ได นะครับ ก็คือการสร างผลิตภัณฑ หัตถกรรมจาก ฯลฯ จนถึ ง งานขนาดใหญ ร ะดั บ บ า น เราเคยมี งานฝ มือเพื่อตอบสนองงานออกแบบป จจุบัน

60


ตัวอย างของโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ หัตถกรรมจากวัสดุธรรมชาติ โดยการผลิตจากคนในชุมชนท องถิ่นนั้น ผมบังเอิญไปประสบกับ ตัวเองตอนไปเดินงาน Building Eco Expo หรือ BEX 2013 ทีป่ ระเทศ สิงคโปร เมื่อป ที่แล ว ซึ่งงานนี้ก็จะเป นการแสดงสินค าวัสดุก อสร างที่ เน นไปทางด านอาคารเขียว เพื่อตอบรับต ออาคารประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล อม ในงานก็มีสินค าเทคโนโลยีหลายๆ อย าง ซึ่งก็ล้ําสมัยมาก แต สิ่งที่ผม ได ไปเจอ ก็คือโครงการของ Camp International ร วมกับนักศึกษา สถาป ตยกรรมของมหาวิทยาลัยในประเทศสิงคโปร ได ทําโครงการ นํ า เอางานฝ มื อ การสานไม ไ ผ ม าพั ฒ นาเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ แ ผ น เพื่ อ ใช สําหรับเป นฝาผนังทีใ่ ห แสงและลมผ านได บา ง เป นตัวกรองแสงสําหรับ ภายในอาคาร ซึง่ แผ นเล็กๆ ขนาด 60x60 เซนติเมตรนี้ ก็ได รบั การสาน มองย อนกลับมาที่บ านเรา ผมก็ได คิดว าในประเทศไทยเราเองนั้น จากชาวบ านบนเกาะบอร เนียวในพื้นที่ที่รอการพัฒนา มีงานหัตถกรรมที่หลากหลาย และหลายๆ อย างก็สามารถที่จะพัฒนา สิ่งหนึ่งที่ได ทําเพิ่มเติมจากการเอาของจากชาวบ านในพื้นที่ห างไกล ไปสู ผลิตภัณฑ ที่ตอบสนองงานออกแบบใหม ๆ ได อย างมากมาย และ มาขายเพื่อเป นรายได ของเขานั้น ก็คือการให นักเรียนออกแบบได ที่สําคัญคือเป นทั้งการสร างงานและการอนุรักษ การทํางานหัตถกรรม ทําการออกแบบลวดลาย โดยเป นการเรียนรู วิธีการทํางานและทําการ แก ชุมชนไปด วยกัน แต การจะต อยอดเป นธุรกิจได นั้น ก็คงต องมีการ ออกแบบร วมกันกับชาวบ านจากหมูบ า นบนเกาะบอร เนียวนัน้ เพือ่ ให ได ปรับปรุงอะไรมากมายพอสมควร ผลิตภัณฑ ทเี่ หมาะสมต อการก อสร างในป จจุบนั หลังจากนัน้ เกือบป แล ว ผมเองก็ไม ได ขา วหรือแม แต พยายามหารายละเอียดของโครงการแต ก็ เรื่องคุณสมบัติความทนทานของวัสดุ ความปนเป อนของแมลงและ หาไม เจอเท าไหร ยกเว นในเว็บไซต ของ Camp International (http:// เชื้อราต างๆ บนวัสดุ เป นเรื่องพื้นฐานของวัสดุพื้นบ านที่ต องเพิ่มเติม www.campsinternational.com/blog/2012/10/wow-completing- เมื่อต องเข าสู ระบบการก อสร าง ซึ่งก็ต องอาศัยความรู ทางวัสดุศาสตร borneo-project-work) ทีไ่ ด มบี ทความของผลสําเร็จการสิง่ เสริมอาชีพ และทําการทดสอบเพื่อให ลูกค าได มั่นใจ อีกด านหนึ่งต องมีการรักษา ให ชาวบ านทีบ่ อร เนียว โดยการใช แผ นไม ไผ สานนัน่ และลงรูปอาคารที่ มาตรฐานของฝ มือของผู ผลิตเอง ปรับปรุงให การผลิตชิ้นงานมีความ คงที่ ใ ห ม ากที่ สุ ด และเป น ไปตามแบบที่ ไ ด ต กลงกั น ไว นอกจากนี้ ใช แผ นไม ไผ สานนั่นเป นผนังของอาคาร การพัฒนาทางด านวัตถุดบิ เช นการปลูกอย างต อเนือ่ ง ก็เป นตัวทีส่ ร าง ความน าสนใจของการนําเอาวัสดุธรรมชาติมาสร างเป นผลิตภัณฑ ความมั่นใจให แก ลูกค าได ว าจะได รับของตามช วงเวลาท่ีได ตกลงกันไว ก อสร างนี้ คือการนําเอารูปแบบของงานพื้นถิ่น มาปรับเป น Modular Design ซึ่งเอื้อให นักออกแบบสามารถนําเอาแผ นไม ไผ ไปประยุกต เข า ผมเองอยากเห็นวัสดุก อสร างหรือตกแต งอาคารที่เกิดขึ้นจากฝ มือ กับงานออกแบบของตนเอง ในขณะเดียวกัน นักออกแบบนัน้ ก็สามารถ ช างหรือจากภูมิป ญญาของไทยเกิดขึ้นมามากๆ หรือโลดแล นในระดับ ที่จะบอกความต องการของตนเองเพื่อที่ผู ผลิตชิ้นงาน สามารถปรับ นานาชาติ เพราะนอกจากจะเป นการสร างเศรษฐกิจให แก ประเทศ ชิน้ งานให เป นไปตามความต องการของผูอ อกแบบ อันได แก สีของเส น แล ว ผมคิดว าจะเป นการส งต อความคิดของการพัฒนาโดยต อยอด ที่สาน ลวดลายการสาน ความถี่และความแน น และความโปร งเพื่อให จากภูมิป ญญาของท องถิ่นไปสู ระดับโลกได อย างเป นรูปธรรม ทําให แสงผ าน เหล านี้เป นสิ่งที่ตัวแผ นผนังไม ไผ สานที่ผู สานสามารถที่จะ งานฝ มือเหล านั้นยังดําเนินต อไปไม สูญหายไปเพราะการพัฒนาอย าง ที่เคยเป นมา สร างให เกิดตามความต องการของนักออกแบบได 61


เรื่อง: ผศ.ดร.จตุวัฒน วโรดมพันธ LEED AP, TREES Founder รฐา จิตตวิสุทธิกุล

¾Åѧ§Ò¹ÊÕà¢ÕÂÇ ËÃ×Í Green Power ¹ÑºÇ‹Ò໚¹¡ÃÐáÊ·ÕèÁÒáç㹻˜¨¨ØºÑ¹·ÕèࢌÒÁÒÁÕº·ºÒ·ÁÒ¡¢Öé¹ ËÅÒÂæ ¤¹ ¤§¨Ðà¤Âä´ŒÂÔ¹¡Ñ¹ÁÒºŒÒ§áÅŒÇ àÃÒ¨ÐÁÒ·íÒ¤ÇÒÁÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñº¾Åѧ§Ò¹ÊÕà¢ÕÂǡѹãËŒÁÒ¡¢Öé¹Ç‹Ò¤×ÍÍÐäà áÅÐà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº ¾Ç¡àÃÒÍ‹ҧäà พลั ง งานสี เ ขี ย ว คื อ การผลิ ต ไฟฟ า โดยใช พ ลั ง งานหมุ น เวี ย น (Renewable energy) เป นแหล งพลังงานทีไ่ ด จากธรรมชาติรอบตัวเรา สามารถสร างทดแทนได ได แก พลังงานแสงอาทิตย , พลังงานลม, พลั ง น้ํ า , พลั ง งานชี ว มวล เป น ต น ถื อ เป น พลั ง งานสะอาดที่ ไ ม ก อให เกิดมลพิษต อสิ่งแวดล อมและช วยลดโลกร อน ซึ่งเป นประเด็นที่ ให ความสําคัญเนื่องจากพลังงาน ที่ใช ในป จจุบันเป นการผลิตไฟฟ า จากเชื้อเพลิงฟอสซิล (Fossil) ได แก น้ํามันป โตรเลียม, ถ านหิน, ก าซ ธรรมชาติ เป นต น เป นการเผาไหม ของเชื้อเพลิงก อให เกิดก าซพิษที่ เป นมลภาวะต อสิ่งแวดล อม เช น ฝุ นละออง, คาร บอนมอนอกไซด , คาร บอนไดออกไซด เป นต น และอีกทัง้ ใช หมดแล ว ไม สามารถทดแทน ได ทันตามความต องการ

พลังงานฟอสซิล

พลังงานหมุนเวียน

ยกตัวอย างโครงการส งเสริมพลังงานสีเขียว เช น • โครงการอาคารเขียวในหมวดพลังงาน และบรรยากาศ (Energy and Atmosphere) ของเกณฑ LEED และ TREES ที่สนับสนุน เรือ่ งพลังงานสีเขียวให มกี ารผลิตพลังงานหมุนเวียนมาใช กบั อาคาร และในส วนของเกณฑ LEED ทีม่ กี ารซือ้ ใบรับรองพลังงานหมุนเวียน • โครงการเก็ บ ภาษี ค าร บ อนไดออกไซด ข องประเทศเดนมาร ค เพือ่ ลดการใช นา้ํ มันและส งเสริมการใช พลังงานลมและแสงอาทิตย • โครงการตลาดไฟฟ า สี เ ขี ย ว (Green Power Market) ในหลายประเทศทีก่ าํ ลังขยายตัวอย างรวดเร็ว จะเห็นได จากประเทศ สหรัฐอเมริกา ทีร่ ฐั บาลให การสนับสนุนโครงการตลาดไฟฟ าสีเขียว ทีเ่ ป นมาตรการสําคัญเพือ่ แก ไขภาวะโลกร อน ซึง่ ประเทศไทยก็ถอื ว า เป นประเทศที่มีศักยภาพอย างมากที่จะพัฒนาพลังงานสีเขียว ประเทศไทยเป นแหล งที่มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ ประเทศ หนึ่ง ซึ่งเป นข อได เปรียบของการผลิตไฟฟ าจากพลังงานหมุนเวียน จึ ง ได มี ก ารพั ฒ นาและทดลองนํ า พลั ง งานหมุ น เวี ย นมาใช ห ลาย ประเภท ได แก • พลังงานแสงอาทิตย เนื่องจากสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย ทีเ่ ป นเมืองร อน มีแสงแดดตลอดป จึงมีการติดตัง้ แผงโซลาร เซลล ในระดับที่แสงอาทิตย ส องถึงเพื่อผลิตไฟฟ า • ชีวมวล เช น ชานอ อย ปาล มน้ํามัน มันสําปะหลัง หรือกากเสียจาก โรงงานอุตสาหกรรม สามารถนํามาเผาไหม และนําความร อนไป ผลิตไฟฟ าได ซึ่งแหล งเกษตรกรรมอย างประเทศไทยมีวัตถุดิบใน การผลิตอยู มาก • พลังงานน้ํา โดยการสร างเขื่อนเพื่อเก็บน้ําและนํามาผลิตไฟฟ า • พลังงานลม นํากระแสลมมาใช ในการหมุนกังหันเพื่อผลิตไฟฟ า เป นที่นิยมมากในทวีปยุโรปและอเมริกา • ก าซชีวภาพ ก าซที่เกิดจากการย อยสารอินทรีย ในของเสียและไป เผาจนนําความร อนมาผลิตไฟฟ า

การใช พลังงานไฟฟ ามากกว าครึง่ หนึง่ ในโลก มาจากการเผาไหม เชือ้ เพลิง ฟอสซิลที่ไม สามารถทดแทนได และมีอยู อย างจํากัด ด วยปริมาณ การใช พลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ อาจทําให ในอนาคตขาดแคลน พลังงาน จนถึงขัน้ พลังงานหมดไปจากโลก ทัว่ โลกรวมถึงประเทศไทย จึ ง ได ต ระหนั ก ถึ ง ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และหั น มามองพลั ง งานที่ สามารถทดแทนได ไม มีวันหมด และนํามาเป นพลังงานไฟฟ าได อย าง พลังงานหมุนเวียน จึงทําให เกิดโครงการ นโยบาย และการรณรงค ทสี่ ง เสริมพลังงานสีเขียวเพือ่ คุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล อมทีด่ ขี องประชากร โดยการส งเสริมพลังงานสีเขียวมี 3 รูปแบบ คือ 1) การลงทุนในการ ผลิตพลังงานหมุนเวียน เพือ่ ใช ในกิจการของตนเอง เช น การติดตัง้ แผง โซลาร เซลล การติดตั้งกังหันลม 2) การเลือกซื้อไฟฟ าจากผู ผลิตไฟฟ า พลังงานสีเขียวจะเป นพลังงานทางเลือกใหม ให กับประเทศในอนาคต ที่ใช พลังงานหมุนเวียน และ 3) การซื้อ “ใบรับรองพลังงานหมุนเวียน” มีความสําคัญทางด านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล อม ซึง่ ทําให ประเทศ พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น ดังนั้น หากต องการที่จะเห็นพลังงานสีเขียว หรือ Renewable Energy Certificate (REC) พัฒนาไปได อย างรวดเร็ว ต องอาศัยความร วมมือของทุกๆ ฝ ายอย าง จริงจัง เพื่อแก ไขป ญหาสิ่งแวดล อม

62



เรื่อง: ผศ.ณัฐธร ธรรมบุตร

อ างอิงจากมาตรฐานและข อมูลของ GBA ทีว่ า ด วยนิว้ ต อตารางฟุต ของวัสดุฉนวน R-20 นิว้ ทีแ่ บ งออกเป น Cellulose ใช 600 BTU, Mineral wool ใช 2,980 BTU และ Expanded polystyrene foam ใช 18,000 BTU และ 5% ของ Co2 ที่ซีเมนต ได ปล อยนออกสู บรรยากาศ สิ่งเหล านี้คือ วัสดุมาตรฐาน ที่ใช ในการสร างอาคารทั่วไปในโลก แต ถ ารวมกันในภาพรวมแล ว ควรมองในภาพสุดท ายที่กระบวนการ ก อสร าง, การใช วัสดุก อสร าง ควรมีค า Carbon Footprint ต่ําสุด และตัวมาตรฐานใหม คือ ZEB ต องการ สร างบ านทีล่ ด Carbon Footprint แล วยังเหลือพลังงานมากพอทีจ่ ะขับเคลือ่ นรถไฟฟ าไปอย างน อย 12,500 ไมล ใน 1 ป อีกด วย นับว าเป นความคิดที่จริงจังและโหดร ายต อดีไซเนอร ทั่วโลก ที่ไม ใช แค Outcome เป นแค อาคารประหยัดพลังงาน แต จริงๆ แล วกว าจะได อาคารนัน้ มาต องหมดเปลืองพลังงานไปไม รเู ท าไหร เท ากับว าจริงๆ แล วเราแค ย ายแหล งก อกําเนิด Carbon Footprint จากบ านเราไปยังโรงงานที่ผลิต เท านั้น มาตรฐาน ZEB นี้ค อนข างท าทาย เช น จากภาพเป นอาคารที่ใช ไม เป นวัสดุก อสร างเป นส วนใหญ และเป นวัสดุ Recycle ฉนวนที่เป น Cellulose ปราศจากซีเมนต และโฟม มีการใช Photo Voltaic Cell บนหลังคา เป นต น สําหรับประเทศไทยแล ว SCG หรือกลุ มวัสดุก อสร างภายในประเทศที่กําลังพัฒนาบ าน ประหยัดพลังงาน หรือบ าน CMK SCG ทีนี้ควรจะลองรวบรวมข อมูลและคํานวณดูว าแท จริงแล ว อาคาร ดังกล าวมีการพัฒนาให เหมาะสมต อภูมอิ ากาศบ านเราอย างไร และในฐานะทีเ่ ป นเมืองแห งแสงแดด เราได ประโยชน จากการผลิตพลังงานสะอาดชนิดนี้บ างหรือไม เรือ่ งราวของการอยูอ ย างพอเพียงและพึง่ พาอาศัยตัวเอง และลดภาระต อสภาพแวดล อม ไม เบียดเบียนผูอ นื่ โดยเฉพาะธรรมชาติ เป นแนวคิดแบบ ZEB หน อยๆ เริ่มแพร หลายในหลายๆ ประเทศ ทั้งนี้เนื่องด วย กฎหมาย, ค าใช จ าย และความรู สึกสํานึกกับภาวะแวดล อมที่มนุษย ผู อยู อาศัย และธรรมชาติต องแบกรับไว กับ Overdose ของมนุษย ที่กระทํา ต อสิ่งรอบตัวที่ขยายวงกว างออกไปทุกทีทุกที ส วนหนึ่งเป นเพราะ การตลาดแบบทุนนิยมที่สร างความต องการ (จําลอง) ขึ้นมาจากอากาศ เหตุผลหลักๆ ทีม่ กี ารรวบรวมบทความเกีย่ วข องกับ Green Idea ในคอลัมน นี้ ส วนหนึง่ เป นการชีแ้ นวทาง ที่ดีไซเนอร ที่ว าโลกกําลังทํางานอย างหนักเพื่อต อต านและต อสู กับกระแสโลกาภิวัฒน และการตลาดที่ กําลังบดบัง และทําให ดีไซเนอร ทั่วโลกหันมาค นคว าและรับใช ต อมวลมนุษยชาติมากกว าจะตอบสนองต อ ความเจริญทางด านวัตถุ เฉพาะสิ่งที่ตาเห็น และลึกลงไปในเนื้อแท ของการใช ชีวิตบนโลกนี้ และในฐานะที่ ดีไซเนอร มีส วนสําคัญต อการออกแบบ และการมองกลับในมุมกว างๆ นี้ น าจะมีประโยชน ต อประเทศ ในอนาคตอันใกล เมื่อเป ดสู AEC ในฐานะที่เป นประเทศใหญ และเป นศูนย กลางของทุกๆ อย าง บทความเล็กๆ ในหนังสือ Builder นี้ น าจะเป นแนวจุดประกายความคิดเรือ่ ง Green ให กระจายไป และมีผล การใช ดีไซเนอร รุ นใหม ได มองเห็นทิศทางของอนาคตที่จะมาถึงในอนาคตอันใกล นี้อย างหลีกเลี่ยงไม ได นอกจากแนวคิดเรื่องอาคารแล ว วัสดุที่เหมาะสมก็เป นเรื่องสําคัญ เพราะดีไซเนอร ควรจะมีการทํางาน ร วมกับผู ผลิตวัสดุให มากขึ้น และหวังว าความร วมมือของผู ผลิตรายใหญ เช น SCG กับ ดีไซเนอร ควรจะดีและส งผลต อประเทศชาติมากกว าแค ยอดขาย สําหรับแนวคิดอืน่ ๆ ทางด าน Urban design ถึงแม วา ประเทศเราจะยังไม มคี วามหนาแน นทางด านผังเมือง มากนัก จนกระทัง่ ต องมีการทํา Urban Farm หรือ Micro Apartment ก็ตาม แต จะปฏิเสธเสียไม ได วา เรือ่ ง ราวดังกล าวคงจะมาถึง ในอนาคตอันใกล อย างหลีกเลีย่ งไม ได ดังจะเห็นได จากพฤติกรรมการพักอาศัย และ พฤติกรรมผูบ ริโภคทีเ่ ปลีย่ นไปในช วงระยะเวลา 5 ป นี้ ทีม่ จี าํ นวนผูค นย ายถิน่ เข าสูเ มืองมากขึน้ (หลังวิกฤต น้ําท วม และป ญหาภัยก อการร ายใน 4 จังหวัด) ในขณะที่ประเทศเพื่อนบ านได อาศัยจังหวะดังกล าว ศึกษา และคาดการณ ล วงหน าไปแล ว และเมื่อถึงระยะเวลาสุกงอม ใครล ะจะเป นผู ได รับผลประโยชน จากแนวคิด

64


POWER CUBE : ¾Åѧ§Ò¹ÊдǡÊíÒËÃѺ·Ø¡·Õè

แนวคิดของ The Power Cube เริ่มเมื่อ 7 ป ก อน เมื่อแนวคิดที่ว า “It Generates. It internets. It cools and Refreshes” เป นสโลแกน และการพัฒนาได มาถึงจุด “it exits” แปลว า ต นแบบได รบั การพัฒนามา จนได Working Prototype แล ว และด วยกําลังผลิตกว า 15 กิโลวัตต ซึ่งเป นผลงานของ Dennis McGuire ที่ได จดทะเบียนสิทธ์ิ US patent US 8593102 สําหรับ Container ที่ประกอบด วย Solar cell สามารถพับเก็บและกางออกได อย างรวดเร็วพร อม Back up battery และ internet โดยมีจุดมุ งหมายจะ ตอบสนองต อความสามารถในการเคลื่อนย ายสถานี internet ดังกล าวไปได อย างสะดวกสําหรับสถานีห างไกล สําหรับการ เคลื่อนย ายเพื่อตามทางการและพื้นที่ทุกขภัยเพื่อให สามารถมีพลังงานและ Internet กล าวคือ สามารถติดต อโลกภายนอก ได ในกรณีมีอุบัติภัย และถ าเป นเหตุที่ด อยพัฒนา Internet จะเป นกําลังสําคัญในการให ความรู แก ชุมชนนั้นๆ เพื่อพัฒนาไป สู องค กรที่มีความรู ต อไป See more: http://www.treehugger.com/renewable-energy/power-cube-it-generates-it-internets-and-its-back.html

HIVCHAUS: THE MODULAR DESIGN หลักคิดง ายๆ ของ Modular Design ทําอะไรได อีกมากมายไม รู จบ ความเป น Modular ทําให การขยายตัวทําได อย างต อเนื่อง มีความ คล องตัวในการปรับเปลี่ยน ปรับได กับหลายๆ รูปแบบอาคาร ตั้งแต บ านพักอุบัติภัย และมาถึงแนวคิดที่ค อยๆ ได รับความนิยมสําหรับ การใช ชีวิตแบบพอเพียง และไม เบียดเบียนธรรมชาติ พึ่งพาตนเอง ใช พลังงานต่าํ ซึง่ เรียกว าบ านแบบ Off Grid ในแบบฉบับของ Modular แบบหกเหลี่ยมรังผึ้ง Hivehaus พัฒนาโดย Designer ชาวอังกฤษ Barry Jackson จากหลักการอาศัยอยู ใน Modular แบบ Compact แต ขยายได ทั้งหกทิศทางเป นกลุ มเหมือนรังผึ้ง

Cabinet Board สามารถขยายได โดยการออกแบบให บานเป ดใช สอย ได เมื่อเป ดออกจนสุดผนังด วยน้ําหนักที่เบากว า Hivehaus ไม ตอ งการฐานราก Concrete ใหญ โต แค ฐานแผ นบางกับ หินกรวดเพื่อกระจายน้ําหนักแค นี้ก็เพียงพอแล ว และบ าน Hivehaus มาพร อมกับขาที่ปรับได ทําให มันสามารถสร างได บนทุกๆ สภาพ แวดล อม ไม ว าจะเอียงหรือตรง โดยการปรับระยะของขาที่ฐานให ได ระดับ ในขณะทีห่ ลังคาก็จะสามารถปูทบั ได ดว ยหญ าหรือพืชพรรณอืน่ ๆ เป น Green Roof เป นการลดค าใช จ ายจากพลังงานแสงแดดและการ คายความร อน จะเพิม่ เติม Solar Cell หรือจะบําบัดน้าํ เสียจากสุขภัณฑ มาใช แล วอีกทัง้ รวบรวมน้าํ จากหลังคา (น้าํ ฝน) มาใช ประโยชน ได หมด ครบเครือ่ งจริงๆ ด วยการออกแบบให เป น Inside-out กล าวคือ บานพลิก ที่ติดตั้งเตาผิงหรือ Fire Wall ก็จะได เตาผิงสําหรับการใช ชีวิตอุ นๆ ภายนอกบริเวณเฉลียงส วนช องเป ดบนหลังคา เพื่อให มีแสงพอเพียง นั้นก็สามารถทําได เช นกัน

บ าน Hivehaus นี้มาเป น Package ในกล องขนส งง ายๆ ตามแนวคิด คล ายของ IKEA สามารถประกอบด วยแรงงานคนแค สองคนก็พอ โดยมี ระยะของทรงเหลี่ยมแต ละด านเพียง 2 เมตร ซึ่งสามารถคํานวณพื้นที่ ภายในแต ละ Modular ได 9.3 ตารางเมตร เท ากับห องที่เล็กที่สุดมี กฎหมายกําหนด 9 ตารางเมตรเช นกัน ทีค่ วามสูงมาตรฐาน 2.5 เมตร ในแต ละ Unit ก็จะแยก Design กันเป น Unit Modular ของห องนอน, ห องครัว โดยอาศัยเพียงแค Uniform Internal Partition หรือผนัง ภายในเป นตัวแบ ง Space เพือ่ เป นประตูหรือแผงกัน และเช นกับความ และข าวดีคือ จะมีการผลิตออกขายทั่วโลกป หน า ตอนนี้มีเฉพาะใน Flexible ของงานออกแบบนี้ก็คือ ทุกส วนสามารถปรับ ลด ถอด เติม ประเทศอังกฤษ และข าวดีมากๆ ก็คือ ไม ต องขออนุญาตปลูกสร าง ได ตามต องการ ด วยแนวคิดวิธีการที่ Modular ของห องครัว ทั้งตัว ในฐานะอาคาร See more: http://www.treehugger.com/modular-design/hivehaus-modular-off-grid-hexagon-house.html

65


¨Ò¡ºŒÒ¹»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ÁÒÊÙ‹ºŒÒ¹ãªŒ¾Åѧ§Ò¹¹ŒÍ ¼ÅÔμ¾Åѧ§Ò¹àͧ ÍÕ¡·Ñé§ÂѧªÒà ¨ä¿Ã¶ Hybrid ä´Œ´ŒÇ แนวคิดเรือ่ ง ZEB (ZERO Energy Building Standard) เป นมาตรฐาน ที่ช วยสร างพื้นฐานสําหรับอาคารประเภทนี้ และที่เป น Prototype สําหรับอาคารขนาด 220 ตารางเมตร สําหรับครอบครัวธรรมดา ออกแบบโดย Designer ชาว Norway Shohetta เมื่อเปรียบเทียบกันแล วกับมาตรฐานอื่นๆ เช น PASSIVHAUS ที่ตั้ง มาตรฐานไว วา จะใช พลังงานเท าไร แต อาคารจะทําด วยวัสดุบางชนิดที่ อาจเป นผลเสียต อสภาพแวดล อม ในขณะทีม่ าตรฐาน ZEB นี้ พิจารณา ลึกลงไปในส วนของการใช วสั ดุ และแม แต พลังงานทีใ่ ช ในการผลิตวัสดุ ก็ถูกกําหนดโดยมาตรฐานใหม นี้เช นกัน รวมทัง้ หักลบกับพลังงานทีใ่ ช ในการใช งาน อีกทั้งพลังงานในการกําจัดวัสดุก อสร างนั้นด วย ทําให เหลือชนิดของวัสดุทเี่ ป นมิตรจริงๆ ต อธรรมชาติเอาแบบเนือ้ ๆ กันเลย See more: http://www.treehugger.com/green-architecture/positive-energy-house-sets-whole-new-standard-green-building.html

Micro House ÍÒÈÃÁẺÇÔàǡʶҹ·ÕèäÁ‹àºÕ´àºÕ¹ã¤Ã

สําหรับแนวคิดการ Recycle หรือ Reuse ของวัสดุใช แล ว ให เป นประโยชน ใช สอยได ดขี นึ้ แทนทีจ่ ะกองเป น ขยะ มีหลายแนว จากตัวอย างอื่นๆ สําหรับอาคารพักอาศัยแบบ Micro House ในบรรยากาศธรรมชาติ, สงบ และไม เป นภาระต อธรรมชาติอย างที่กล าวมาแล ว เพราะความสามารถในการเกาะเกี่ยวโดยธรรมชาติ ของ Container ทําให มันมีความยืดหยุ นสูง สถาปนิก Dachi Papuashvili จาก Georgia จึงได ออกแบบ Micro Home ที่พ่ึงพาตนเองและอยู โดดเดี่ยวท ามกลางความสงบ ในขณะที่ยังคงมีรูปทรงที่สื่อออกถึง ความสัมพันธ ด วยจิตและวิญญาณที่เคารพต อความสงบของธรรมชาติ (ไม กางเขน-ผู เรียบเรียง) อาคาร Micro Home ดังกล าว ออกแบบมาสําหรับคนที่พักอาศัยแค 1 คน สามารถประกอบและติดตั้งได ทุกสภาพภูมปิ ระเทศ จากแนวคิดเรือ่ งความสันโดษนี้ เดิมผูพ กั ทีอ่ าจเป นพระหรือผูแ สวงหาฯ จะพักอาศัยทํา กิจวัตรในอาศรม แต การออกแบบด วยการใช วสั ดุเหลือใช ของ Shipping Container นอกจากจะทําให สร าง ได รวดเร็วแล วยังใช แรงงานน อยและประหยัด ตัวอาคารประกอบด วย Container 2 ชุด พร อมบุฉนวนและ หุ มภายนอกอาคารด วยไม เป นองค ประกอบคล าย Form ของไม กางเขนที่กลายเป นอาคาร 4 ชั้น ที่มีพื้นที่ ใช สอย 24 ตารางเมตร ที่ประกอบด วย พื้นที่ทํางานห องสมาธิ ห องพักผ อนและทําอาหาร มีห องอาบน้ํา ในขณะทีช่ นั้ ล างเป นห องเก็บของ ด วยรูปทรงทีน่ า สนใจนีก้ ลับทําให ดา นบนสุดเหมาะสําหรับใช งานในฐานะ ห องสวดมนต ทําสมาธิ พร อม Outdoor terrace ด วยรูปทรงที่พุ งสูงขึ้น โดยจากการ Stack อาคารตาม ยาวทําให เกิดความสันโดษ แยกตัวออกจากสภาพโดยรอบ ถึงแม วา สถาปนิกจะพยายามอธิบายว า บังเอิญ การออกแบบตั้งใจจะสร างความสัมพันธ จากประโยชน ใช สอยเป นที่ตั้ง มากกว าจะใช สัญลักษณ ทางศาสนา มาเป นแนวคิด แต จากงานที่ได เห็นก็ต องยอมรับว าความสัมพันธ ของรูปทรงที่เกิดขึ้นกับสัญลักษณ มี ความลงตัวและสอดคล องกันอย างยิ่ง และยิ่งน าสนใจมากขึ้นเมื่ออาคารนี้มีระบบที่เป นมิตรกับธรรมชาติ อื่นๆ ระบบบําบัดสําหรับห องน้ํา การกักเก็บน้ําฝนไว ใช รวมทั้งระบบ Solar Cell ทั้งหมดนี้ตอบโจทย ใน เรื่องความสันโดษ มีน อยใช น อย และความพยายามแสวงหาความสงบได อย างดี See more: http://www.treehugger.com/modular-design/skit-off-grid-cruciform-shipping-container-home-dachi-papuashvili.html 66



เรื่อง: คณินณัฎฐ โอฬารวงศ สกุล

ã¹ÂؤÇѲ¹¸ÃÃÁ “Êѧ¤ÁÍØ´Á»˜ÞÞÒ” Í‹ҧ»˜¨¨Øº¹Ñ ¹Õé ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѹѺ໚¹Ê¶ÒºÑ¹·ÕÊè Òí ¤ÑÞÍѹ´Ñº μŒ¹æ 㹡ÒüÅÔμ·ÃѾÂҡúؤ¤ÅÍÍ¡ÊÙÊ‹ §Ñ ¤Á ËÅÒ¡ËÅÒÂʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ äÁ‹ÇÒ‹ ÃÑ°ËÃ×ÍàÍ¡ª¹ μ‹Ò§¾Ò¡Ñ¹ÁØ‹§Ë¹ŒÒ¼ÅÔμ´Í¡¼Å·Ò§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàËÅ‹Ò¹Õéãˌ໚¹·ÃѾÂҡúؤ¤Å·ÕèÁդس¤‹Òà¾×èÍÍÍ¡ÁÒ ¾Ñ²¹Ò»ÃÐà·ÈªÒμÔ ËÅÒÂáË‹§ÁØ‹§à¹Œ¹ã¹·Ò§ÇÔªÒ¡ÒÃ໚¹ËÅÑ¡ ¨Ö§·íÒãËŒºÃÃÂÒ¡ÒȢͧʶҹÈÖ¡ÉÒ àμçÁä»´ŒÇ¤ÇÒÁ¤ÃèíÒà¤Ã‹§ áμ‹¹Í¡¨Ò¡ºÃÃÂÒ¡ÒÈáË‹§¤ÇÒÁÃÙŒáÅСÅÔè¹ÍÒÂáË‹§»˜ÞÞÒàËÅ‹Ò¹Ñé¹ ÊÔè§Ë¹Ö觷ÕèʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¤ÇÃÊÌҧãˌᡋ ¹ÔÊÔμ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ ¹Í¡à˹×ͨҡºÃÃÂÒ¡ÒÈáË‹§ÇÔªÒ¡Òà ¹Ñ蹤×Í ºÃÃÂÒ¡ÒÈáË‹§ “Êع·ÃÕÂÐ (Aesthetics)” ความสุนทรียะทางอารมณ เป นส วนหนึง่ ในการช วยเหลือให บคุ คล เกิดสภาวะความฉลาดทางอารมณ หรือ Emotional Quotient ซึง่ เป นสิง่ ทีค่ วรพัฒนาควบคูไ ปพร อมๆ กับความฉลาดทางสติปญ ญา หรือ Intelligence Quotient ทั้งสองสิ่งนี้เป นสิ่งที่มีความสําคัญ ในการผลิตบัณฑิตที่เพรียบพร อมสําหรับเป นกําลังในการพัฒนา ประเทศชาติ ที่มหาวิทยาลัยต างๆ ต องคํานึงถึง สําหรับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แต เดิมทีนนั้ ยังสมบูรณ ไปด วย พื้นที่สีเขียวซึ่งเป นพื้นที่สุนทรียทางธรรมชาติ แต ในยุคป จจุบันนี้ อาจกล าวได ว าเป นยุคโลกาภิวัฒน ของเกษตรศาสตร ที่ต องเร งพัฒนาอาคารสิ่งปลูกสร าง เพื่อให เพียงพอ กับปริมาณของนิสิตและบุคลากรที่เพิ่มมากขึ้น จนทําให วิทยาเขตบางเขน หรือแต ก อนที่เรียกกันว า “ทุง บางเขน” กลายเป น “เมืองการศึกษา” ทีค่ ราคร่าํ ไปด วยตึกสูงและสิง่ ปลูกสร างมากมาย ซึง่ แต ละคณะหรือ แต ละหน วยงานเองก็ต องเร งพัฒนากันอย างต อเนื่อง เพื่อให ตอบสนองกับนโยบายทางการศึกษาจาก สิง่ แวดล อมในป จจุบนั ของมหาวิทยาลัย จึงทําให เกิดการตัง้ คําถามทันทีวา ….พืน้ ทีแ่ ห งสุนทรียภาพทางของ เกษตรศาสตร หายไปไหน? เมื่อคําถามเหล านี้เกิดสะกิดใจบรรดาสถาปนิก ภูมิสถาปนิก น อยใหญ ที่อยู ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ประจวบเหมาะกับวาระทีม่ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กาํ ลังเข าสูป ท ี่ 72 และวาระครบรอบ 20 ป แห ง การสถาปนา คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จงึ ได รเิ ริม่ โครงการ KU CREATIVE ART ขึ้นเพื่อพัฒนากายภาพส งเสริมสิ่งแวดล อมในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในมิติ “ด านสุนทรียภาพ” เพื่อสร างบรรยากาศการเรียนการสอนเชิงสร างสรรค แก นิสิต บุคลากร และ นักวิจัยของมหาวิทยาลัย ผ านผลงานศิลปะภูมิทัศน (Land Art) ซึ่งเป นศิลปะที่มีที่ตั้งเฉพาะจุด เป นงาน สามมิติที่ออกแบบเพื่อที่จะแปรสภาพการรับรู ของสิ่งแวดล อม (Perception of space)

68


ซึง่ โครงการนีม้ งุ หมายจะใช พนื้ ทีส่ าธารณะของมหาวิทยาลัย เป นโจทย ในการสร างงานศิลปะกึง่ ชัว่ คราว เพือ่ สร างภาพแห งสุนทรียภาพเฉพาะ ตัวของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยโครงการนีเ้ ป นโครงการภายใต ความร ว มมื อ ระหว า งศิ ษ ย เ ก า ศิ ษ ย ป จ จุ บั น และคณาจารย คณะสถาป ตยกรรมศาสตร ซึ่งสามารถแสดงออกถึงความร วมมือ ความสามารถ และความคิดริเริม่ สร างสรรค ของผูม สี ว นร วมในองค กรสู สาธารณะ อีกทั้งเพื่อให สอดคล องแนวคิดในการพัฒนาสู วิทยาเขต สีเขียว (Green Campus) ซึ่งเป นการสร างจิตสํานึกด าน สิ่งแวดล อม และเน น สร า งพื้ น ที่ สุ น ทรี ย ะ อี ก ทั้ ง ยั ง มี ค วามพยายามที่ จ ะรื้ อ ฟ น อัตลักษณ เดิมของมหาวิทยาลัย คือ การสัญจรด วยจักรยาน ด วยการสร าง เส นทางจักรยานรอบมหาวิทยาลัย ให นิสิต บุคลากร และบุคคลทั่วไป สามารถป นชื่นชมภูมิทัศน ที่ปรับปรุงใหม และผลงานการออกแบบ ศิลปะภูมิทัศน ตามจุดต างๆ โดยงาน “ศิลปะภูมทิ ศั น ” นีจ้ ะถูกติดตัง้ ตามจุดต างๆ ของมหาวิทยาลัย ซึ่งเป นสถานที่สําคัญ คือ สํานักหอสมุด, โรงอาหารกลาง 1, ป ายรถ ตะลัย, หอประชุมใหญ , ถนนชูชาติกําภู 1 และ 2, ประตูวิภาวดีรังสิต, อู รถตะลัย, ถนนจันทรสถิตย , สนามอินทรีย จันทรสถิตย รวมทั้งสิ้น 10 จุด ซึ่งเป นบริเวณที่มีปริมาณผู คนสัญจรผ านไปมาสูง ฉะนั้น ด ว ยศั ก ยภาพของพื้ น ที่ แ ล ว พื้ น ที่ เ หล า นี้ ข องมหาวิ ท ยาลั ย จะถู ก เปลี่ยนแปลงประโยชน ใช สอย จากเพียงแค จุดพักคอยหรือทางเท า กลายเป นพื้นที่แสดงงานศิลปะภูมิทัศน หรือ Outdoor Gallry ของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร

ผลงานศิลปะเหล านี้ไม ใช เพียงแต ช วยสร างบรรยากาศแห งสุนทรีย ใน รั้วมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แห งนี้เท านั้น แต ยังเป นเครื่องมือปลุก จิตสํานึกในการอนุรักษ สิ่งแวดล อมให ผู คนที่ผ านไปมา ทั้งนิสิตและ บุคลากรให ได รับรู ถึงเรื่องราวต างๆ ที่ถูกตีความผ านองค ประกอบ ทางศิลปะ และเศษวัสดุเหลือใช ถือเป นการคืนชีวติ ให กบั เศษขยะเหล านี้ อีกครั้งให เป นเครื่องมือสร างจิตสํานึกด านการอนุรักษ และการรับรู สุนทรียภาพ อันเป นสิ่งที่ควรมีในทุกๆ ความคิด และจิตใจของคนใน ยุคป จจุบันที่เป นยุคแห งการแข งขันและเร งรีบ เพื่อช วยจรรโลงโลกให งานศิ ล ปะแต ล ะชิ้ น ออกแบบโดยน อ งๆ นิ สิ ต ป จ จุ บั น ชั้ น ป ที่ 3 น าอยู งดงาม และสร างความรู สึกละเมียดละไมในอารมณ ของตน คณะสถาป ตยกรรมศาสตร ร วมกับ คณาจารย และศิษย เก า ภายใต แนว อันเป นความสุขที่พึงแสวงหาได โดยง าย ความคิดของ “ความยั่งยืน” (Sustanable) ซึ่งกลั่นกรองมาอย าง แยบคาย ผนวกเข ากับผลงานต างๆ ทําให งานออกแบบดังกล าว สําหรับคนที่ผ านไปผ านมาในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต สะท อนมุมมองในด านสิ่งแวดล อม, ความโหยหาอาทร และบอกเล า บางเขน ก็อย าลืมไปแวะเยีย่ มชม และเสพอารมณ สนุ ทรียะ ผ านผลงาน เรื่องราวประวัติศาสตร ของพื้นที่ ผ านการตีความจากที่ว าง (Space), “ศิลปะภูมทิ ศั น ” ของน องๆ นิสติ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร ได ตามจุด เวลา (Time) และกิจกรรม (Activities) ซึ่งมีความโดดเด นแตกต างกัน จัดแสดงต างๆ ตั้งแต วันนี้เป นต นไป ซึ่งผลงานต างๆ จะทยอยติดตั้ง ออกไปในแต ละชิ้นงาน ทั้งงานโครงสร างกึ่งถาวรและงานติดตั้งแบบ และจัดแสดงไปจนถึงสิ้นป 2557 ชั่วคราว

69


เรื่อง: ปฏิทิน เวลา

ËÒ¡ä´ŒÅͧ¹Ñ§è à¾ÅÔ¹æ ªÁÇÔǢͧ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã ¨Ò¡´Ò´¿‡Òº¹ÂÍ´μÖ¡ÊÑ¡áË‹§Ë¹Ö§è ¨ÐÊѧà¡μ àËç¹ÀÒ¾¢Í§àÁ×ͧãËÞ‹·àÕè μçÁä»´ŒÇÂÍÒ¤ÒÃÊÙ§·Õμè Ò‹ §¡çᢋ§¡Ñ¹¾Ø§‹ ÊÙ§¢Ö¹é 仺¹·ŒÍ§¿‡Ò ʶһ˜μ¡ÃÃÁ μÖ¡ÊÙ§àËÅ‹Ò¹ÕéʋǹãËÞ‹ÁÑ¡¨Ð¶Ù¡Í͡ẺáÅС‹ÍÊÌҧ´ŒÇÂἧ¡ÃШ¡à»š¹¼¹Ñ§¡ÃͺÍÒ¤ÒÃá·º ·Ñé§ÊÔé¹ Í´·Õè¨ÐʧÊÑÂäÁ‹ä´ŒàËÁ×͹¡Ñ¹Ç‹Ò ‘áŌǷíÒäÁ¨Ö§μŒÍ§à»š¹¡ÃШ¡´ŒÇ¹Ð?’

อันที่จริงคําถามง ายๆ แบบนี้ เคยมีคนตั้งกระทู ถามเพื่อหาคําตอบ มาแล ว และคําตอบทีไ่ ด นนั้ ก็หลากหลายไอเดียจนแทบไม นา เชือ่ ตอบมา ได ดบี าง ไม ได สาระบ างก็ว ากันไป แต โดยส วนตัวผูเ ขียนเองก็อดสงสัย ไม ได วา เหตุผลจริงๆ ทีเ่ รานิยมออกแบบและก อสร างด วยกระจกกันนัน้ เกิดขึน้ เพราะประโยชน ใช สอยทีเ่ หมาะสมกับประเทศไทยหรือเพราะเป น เทรนด ของการออกแบบยุคใหม กันแน ว าแล วก็อยากชวนมาคิดร วม กันว างานกระจกทีน่ ยิ มใช กนั อย างแพร หลาย ทัง้ ในงานสถาป ตยกรรม งานออกแบบตกแต งภายใน และเพือ่ การใช งานเฉพาะทางทัง้ หลายนัน้ มีความสําคัญอย างไรบ าง หากมองกันที่กระจกเพื่องานสถาป ตยกรรมกรอบอาคาร ผนังกระจก เปลือกอาคารส วนใหญ นยิ มใช กระจกเพือ่ การประหยัดพลังงานกันอย าง แพร ห ลาย เพราะมี ส ว นช ว ยในการรั บ ภาระความร อ นของอาคาร ลดปริมาณความร อนทีถ่ า ยเทผ านผนังได และในขณะเดียวกันก็สามารถ นําเอาประโยชน จากแสงธรรมชาติเข ามาใช งานภายในอาคารได อย าง เหมาะสมด วย

70

กระจกเพื่อการประหยัดพลังงาน กระจกประหยั ด พลั ง งานที่ นิ ย มใช กั น อย า ง แพร หลายนั้นมีให เลือกมากมาย กระจกฉนวนกัน ความร อน (Insulation Glass) ก็เป นหนึ่งชนิดที่ ผูอ อกแบบนิยมเลือกใช กนั มาก เนือ่ งจากเป นกระจก ดัดแปลง (Processed Glass) ที่นําเอากระจกต าง ชนิดกันตัง้ แต 2 แผ นขึน้ ไป นํามาประกอบกันโดยใส ฉนวนตรงกลาง เช น อากาศแห ง (Dried Air) หรือ ก าซเฉื่อยไว ภายใน เพื่อให มีคุณสมบัติในการเก็บ รักษาอุณภูมิภายในได ดีและสามารถสะท อนความ ร อนได แต ด วยคุณสมบัติที่บรรจุก าซหรืออากาศไว ภายใน กระจกประเภทนี้จึงไม สามารถเจาะรูหรือ ปรับแต งรูปทรงกระจกได ในภายหลัง โดยทั่วไปมีให เลือกใช 2 แบบ คือ กระจกฮีตมิเรอร (Heat Mirror Glass) และ กระจกฮีตสต อป (Heat Stop Glass) ซึ่งตามพิพิธภัณฑ อาคารเก็บอาหาร ห องเก็บไวน หรืออาคารที่ต องการควบคุมอุณภูมิให คงที่ตลอด เวลา นิยมนํากระจกฮีตสต อปมาใช กันมาก


อย างโครงการ ศูนย เอ็นเนอร ยี่ คอมเพล็กซ ก็เป นอาคารประหยัด พลังงานที่เลือกใช กระจกฉนวนกันความร อน (Insulation Glass) เช นกัน ภาพของอาคารกระจกสีเขียวทีต่ งั้ อยูบ นถนนวิภาวดีรงั สิตใกล กบั บริเวณสวนจตุจกั ร สร างความสะดุดตาแก ผทู เี่ ดินทางผ านไปมา อาคาร แห งนี้ถือได ว าเป นอาคารประหยัดพลังงานแห งแรกที่ได รับการรับรอง LEED: Core & Shell version 2.0 ระดับ Platinum และยังได รับ การการันตีด วยรางวัลจากหลายสถาบัน อาทิ รางวัลชนะเลิศ ASEAN Energy Award 2011 และรางวัลดีเด น Thailand Energy Award ประจําป 2554 ด านอนุรักษ พลังงาน ประเภทอาคารสร างสรรค เพื่อ การอนุรักษ พลังงาน (อาคารใหม ) และฉลากอาคารประหยัดพลังงาน ระดับดีเด น ป 2554 เป นต น ศูนย เอ็นเนอร ยี่ คอมเพล็กซ แห งนี้ถือเป นอาคารสํานักงานที่มีความ สําคัญทางด านพลังงานอย างมาก เพราะเป นทีต่ ั้งของสํานักงานบริษทั ปตท. สํารวจและการผลิต จํากัด และกระทรวงพลังงานแห งชาติ ดังนัน้ อาคารแห ง นี้ จึ ง เปรี ย บเสมื อ นเป น ต น แบบในการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน การพัฒนาอาคารยัง่ ยืน สร างผลกระทบต อสภาพแวดล อมน อยทีส่ ดุ และ มีประสิทธิภาพสูงสุด ทีส่ ามารถสือ่ สารวิธคี ดิ และภาพพจน ของโครงการ และองค กรออกไปสู สาธารณชนในวงกว างให ตระหนักถึงความสําคัญ ทางด านพลังงาน อีกทั้งเป นแลนด มาร กของกรุงเทพมหานครและถือ เป นสถาป ตยกรรมอีกแห งหนึง่ ทีม่ คี วามโดดเด นในระดับภาคพืน้ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ด วย ทั้งนี้ผู ออกแบบมีแนวคิดในการออกแบบด านสถาป ตยกรรมให รูปทรง ของอาคารมี ลั ก ษณะเป น ทาวเวอร ที่ โ ค ง มนคล า ยกั บ รู ป ทรงของ หยดน้าํ เพือ่ เป ดมุมมองโดยรอบให กบั อาคารให มากทีส่ ดุ และได ประโยชน จากศักยภาพของที่ตั้งที่มีอยู เพื่อสร างสภาพแวดล อมในการทํางาน ที่ดี ซึ่งหากมองตามหลักพลศาสตร แล วรูปทรงแบบนี้จะช วยลดความ ร อนด านนอกอาคารได อย างดี ก อให เกิดภาวะสบาย (Comfort Zone) ให แก ผู ใช สอยอาคารได และด วยการเลือกใช กระจกประหยัดพลังงาน เป นผนังกรอบอาคารโดยรอบตามลักษณะโค งของรูปทรง จึงมีผล ทําให ช วยลดอุณหภูมิของเปลือกอาคารและลดการใช พลังงานในการ ปรับอากาศอีกด วย

เจ าของโครงการ: Energy Complex สถาปนิก: A49 / Design concept

หากพิจารณาจะเห็นว าในการออกแบบกรอบอาคารได เลือกใช กระจก ที่มีประสิทธิภาพสูง คือมีอัตราการถ ายเทความร อนต่ําเพื่อช วยลด ความร อนที่เข าสู อาคาร แต ยอมให แสงสว างผ านเข าสู อาคารได เพื่อ ลดการใช งานระบบไฟฟ าแสงสว างในเวลากลางวัน ซึ่งศูนย เอ็นเนอร ยี่ คอมเพล็ ก ซ ก็ ไ ด มี ก ารออกแบบกรอบอาคารโดยเลื อ กใช ก ระจก หลายแบบร วมกันทั้ง • กระจกฉนวนกันความร อน (Insulated Glass Unit: IGU) ซึ่งเป น กระจก 2 แผ นทีป่ ระกบกัน โดยมีชอ งว างตรงกลางระหว างกระจกบรรจุ ด วยก าซเฉื่อยที่มีคุณสมบัติในการถ ายเทความร อนต่ํา • กระจกลามิเนต (Laminated Glass) ซึง่ เป นการนํากระจกมาประกบ เข าด วยกันหลายชั้น โดยชั้นนอกใช กระจกลามิเนต ด านในเป นแผ น อลูมเิ นียมเคลือบสีกรุฉนวนกันความร อน ส วนด านในสุดเป นแผ น High Pressure Laminate • และส วนบริเวณ 3 ชั้นด านบนของอาคาร เป นผนังกระจก 2 ชั้น (Double Glass Facade) ที่มีการปล อยพื้นที่ว างระหว างผนังกว าง 1 เมตร เพือ่ เป นช องระบายความร อนภายในอาคาร และช วยลดความร อนที่ จะเข าสู อาคารได ด วย นอกจากภายนอกที่ เรามองเห็ นกรอบกระจกอาคารซึ่งเป นกระจก ประหยัดพลังงานแล วนั้น ภายในโครงการยังได รับการออกแบบโดย คํานึงถึงการใช พลังงานอย างมีประสิทธิภาพในทุกส วน การวางแผน การใช พลังงานอย างประหยัดทั้งในป จจุบันและอนาคต ให เกิดความ สัมพันธ สอดคล องกับสภาพแวดล อมด วยการใช เทคโนโลยีทเี่ หมาะสม กับโครงการ ทั้งงบประมาณ บริบทโดยรอบ และศักยภาพในการ ตอบสนองต อเทคโนโลยีของบุคลากรและองค กร ตลอดจนพื้นฐาน ของประเทศในการรองรับเทคโนโลยีนนั้ ๆ และคํานึงถึงการสร างสรรค นวัตกรรมในการอนุรกั ษ พลังงานใหม ๆ โดยการนําองค ความรูใ หม ทไี่ ด มาบริหารจัดการให เกิดการประหยัดพลังงานได ในระดับประเทศชาติ นี่จึงเป นสิ่งสําคัญอีกประการที่ส งผลต อการใช พลังงานของอาคารและ สร างความโดดเด นให อาคารนี้ในการเป นผู นําทางด านพลังงงานของ ภูมิภาคด วย

วิศวกรและที่ปรึกษา: Mitr technical consultant / Thai Engineering Consultant / Anderson Bjornstad Kane Jacobs / Newcomb & Boyd / Werner Sobek Ingenieure / Arup facade

เครดิตรูปภาพ: A49

71


ถ าหากจะกล าวถึงกระจกประหยัดพลังงานที่นิยม ใช กั น อย า งแพร ห ลายอี ก ชนิ ด หนึ่ ง คงต อ งเป น กระจกแผ รังสีต่ํา (Low-E Glass) เป นอีกหนึ่งชนิด ของกระจกเคลือบผิว ที่นํากระจกโฟลตใสมาผ าน กระบวนการเคลือบด วยโลหะออกไซด ที่มีโลหะเงิน บริสุทธิ์เป นส วนประกอบสําคัญ ซึ่งช วยให สามารถ ถ ายเทความร อนได ดี จึงทนทานต อการแตกร าวใน พื้ น ที่ ที่ มี ค วามแตกต า งของอุ ณ ภู มิ ภ ายนอกและ ภายในได ดี กระจกจะมีลักษณะใส ไม ทึบแสง ให ค า แสงส งผ านได มาก แต มีค าการสะท อนแสงอาทิตย ได น อ ย ด ว ยคุ ณ สมบั ติ ที่ เ คลื อ บด ว ยสารที่ มี ค า การแผ รังสีต่ํามาก กระจกชนิดนี้จึงมีความสามารถ ในการแผ รั ง สี ต่ํ า ไปด ว ย เพราะฉะนั้ น จึ ง นิ ย มนํ า กระจกชนิดนี้ไปทําเป นกระจกป องกันความร อนได เป นอย างดี อาคารประหยั ด พลั ง งานที่ มี ค วามโดดเด น อย า ง โครงการ ‘ปาร คเวนเชอร – ดิ อีโคเพล็กซ ออน วิทยุ’ ก็เลือกใช กระจกแผ รังสีต่ํา (Low-E Glass) เป นกรอบอาคารเช นกัน และอาคารแห งนี้ก็ยังเป น อาคารอนุรักษ พลังงานที่ได รับการรับรอง LEED ในระดั บ Platinum ในประเภท Mixed Uses Complex เป น แห ง แรกของเมื อ งไทยอี ก ด ว ย จากแนวคิดปรัชญาของการสร างโครงการเพือ่ ให เป น อีโค คอมเพล็กซ ซึง่ จะเป นสถานทีท่ เี่ ต็มไปด วยพืน้ ที่ สีเขียวและธรรมชาติทตี่ งั้ อยูย า นใจกลางเมือง เน นให ความสําคัญกับคุณภาพชีวิตที่ดีของผู ใช สอยภายใน อาคาร โดยให เกิดผลกระทบต อสิ่งแวดล อมน อย ที่สุด โครงการนี้มุ งคํานึงถึงสิ่งแวดล อมโดยใส ใจใน รายละเอียดตั้งแต เริ่มต นกระบวนการวางแผนและ การออกแบบ กระทัง่ ขัน้ ตอนการก อสร าง จนสุดท าย ที่เป ดใช งาน อาคารหลังนี้ก็ยังคงคอนเซ็ปต ของ การอนุรักษ และประหยัดพลังงานภายในอาคารมา โดยตลอด ฉะนัน้ จึงส งผลให ปาร คเวนเชอร ได รบั การ การันตีด วยรางวัลอย าง Thailand Energy Award 2013 ประเภทอาคารสร างสรรค เพื่อการอนุรักษ พลังงาน (อาคารใหม ) และรางวัล ASEAN Energy Awards 2013 เป นต น และเพราะทําเลทีต่ งั้ ของอาคารทีอ่ ยูบ ริเวณย านเพลินจิต ทําให อาคารแห งนีม้ คี วามโดดเด นเป นอย างมาก ยิง่ เมือ่ มองผ านรูป ทรงโค งของอาคารทีแ่ ปลกตาคล ายการประนมมือไหว ก็เข าใจได วา ผูอ อกแบบต องการสอดแทรกความเป นไทยมาผสมผสาน ในงานสถาป ตยกรรมโดยสะท อนผ านรูปทรงโค งของอาคารเอาไว ซึง่ งานสถาป ตยกรรมนัน้ ออกแบบให มลี กั ษณะเป นอาคาร โค งสูง 34 ชั้น ประกอบด วยพื้นที่ใช สอย 3 โซน คือ ส วนอาคารสํานักงานให เช าระดับเกรด A ส วนโรงแรมระดับห าดาว The Okura Prestige Bangkok และสุดท ายส วนพื้นที่ร านค า The Oasis ที่อยู ด านล างของอาคาร เมื่อพิจารณาถึงแนวคิดในการอนุรักษ และประหยัดพลังงานในโครงการนี้ จะเห็นความสอดคล องกันของการออกแบบด าน ต างๆ เป นอย างดี ไม วา จะเป นการเลือกใช วสั ดุอปุ กรณ ในการก อสร างโครงการ การออกแบบพืน้ ทีว่ า งภายในโครงการ กระทัง่ การบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการประหยัดพลังงาน ที่มีการวางแผนและออกแบบระบบต างๆ ที่เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม ในส วนวัสดุกรอบอาคารเองก็มกี ารเลือกใช กระจกอนุรกั ษ พลังงาน เป นกระจกลามิเนต 3 ชัน้ ทีเ่ คลือบผิวชนิด Low-E Coating ไว ตรงกลางระหว างแผ นกระจกมีช องอากาศ 12 มิลลิเมตรอยู เพื่อลดการถ ายเทความร อนจากภายนอกอาคารเข าสู ภายใน อีกทั้งยังมีคุณสมบัติช วยลดปริมาณเสียง แสงแดด และความร อนที่เข าสู ตัวอาคาร จึงช วยประหยัดการใช พลังงาน ของระบบปรับอากาศได ด วย 72


การที่ผู ออกแบบเลือกใช กระจก Low-E Coating มาช วยเรื่องของการประหยัดพลังงานนั้นถือเป นข อดีอย างหนึ่ง แต ด วยรูป ทรงของอาคารที่โค งมน ดังนั้นในการออกแบบกระจกแต ละชิ้นที่นํามาติดตั้งเป นกรอบอาคารจึงต องสั่งทําแยกเป นพิเศษ ทีละชิ้น โดยมีทีมงานอย าง Viracon ซึ่งเป นผู ผลิตกระจกชั้นนํามาผลิตกระจกชนิดพิเศษให กับทางโครงการโดยเฉพาะ และ ในการติดตั้งระบบกรอบกระจกอาคารก็จําเป นต องให ทีมงานที่มีความชํานาญและเชี่ยวชาญด านเทคนิคในการติดตั้งกระจก เปลือกอาคารมาเป นผู รับติดตั้งงานด วย เพื่อให ได กรอบอาคารที่สวยงามอย างที่เห็นกัน ไม ใช เพียงรูปลักษณ ภายนอกอาคารที่โดดเด นและกรอบกระจกประหยัดพลังงานที่สะท อนสายตาเมื่อยามเดินทางผ านไปมา เท านั้น แต ด วยการใส ใจสิ่งแวดล อมอย างแท จริงที่สามารถเห็นเป นรูปธรรมในทุกขั้นตอนตั้งแต เริ่มต นโครงการจนโครงการ แล วเสร็จ ต อเนื่องถึงระหว างการใช สอยอาคารและการบริหารจัดการโครงการในป จจุบัน เหล านี้ถือเป นเหตุสําคัญที่ทําให โครงการปาร คเวนเชอร อีโคเพล็กซ ประสบความสําเร็จด วยพื้นที่เช าที่มีผู เช าเต็มอัตรา อีกทั้งยังได รับความร วมมือจากผู เช า พื้นที่ที่พร อมใส ใจการอนุรักษ พลังงานภายในโครงการเป นอย างดีอีกด วย

เจ าของโครงการ: Univentures สถาปนิก: Palmer & Turner (Thailand)

วิศวกรและที่ปรึกษา: Palmer & Turner (Thailand) / Project Asia / Davis Langdon & Seah / Aurecon Consulting (Connell Wagner) / EEC Lincolnescott (Vision Design) / P Landscape / Dr. Atch Sreshthaputha / CB Richard Ellis (Thailand) / Graphic 49 / Brandscape ผู รับเหมา: Thai Obayashi

เครดิตรูปภาพ: กัณฑ ตนนท สุรัชต วิรากูล บริษทั ยูนเิ วนเจอร จํากัด (มหาชน)

73


74



กระจกเพื่อการตกแต ง เมื่อมองผ านกรอบผนังอาคารเข าสู ภายในอาคาร กระจกยังคงเป นอีก หนึ่งวัสดุที่นักออกแบบนิยมนํามาใช ในงานตกแต งเพื่อให เกิดความ สวยงาม โดยเฉพาะในงานโรงแรม รีสอร ท โชว รูมร านค า หรือร าน อาหาร ที่ต างก็เน นการตกแต งเพื่อสร างบรรยากาศดึงดูดใจแก ลูกค า เพราะกระจกเมื่อเวลาถูกแสงแดดหรือแสงไฟตกกระทบจะเกิดความ ระยิบระยับและสีสันที่สวยงาม ก อให เกิดมิติในบรรยากาศแห งสถานที่ นั้นๆ ไม ว าจะเป น กระจกสี กระจกฝ า หรือ กระจกลวดลาย เพราะ สามารถนํามาพัฒนาออกแบบให เกิดรูปแบบใหม ๆ ได หลากหลาย จึงมักนํามาประดับเป นส วนหนึง่ ในการตกแต ง อาทิ ผนังกระจกภายใน อาคาร ฉากกั้นห อง บานประตูหน าต าง ช องแสง เป นต น โรงแรมเรเนซองส กรุงเทพ ราชประสงค เป นอีกหนึ่งโครงการที่น า จะหยิบยกขึ้นมาพิจารณาถึงการเลือกใช วัสดุกระจกได อย างสวยงาม เริม่ ตัง้ แต กรอบอาคารไปจนถึงการตกแต งภายในโรงแรม ในขณะทีก่ าร ออกแบบโรงแรมส วนใหญ จะมุ งเน นไปที่การตกแต งภายในเพื่อสร าง บรรยากาศให แก แขกผูม าเยือน โดยปล อยให ผนังกรอบอาคารภายนอก เป นเพียงเปลือกหุ มอาคารเท านั้น แต สําหรับโรงแรมเรเนซองส กลับมี การเล นสีสันในงานผนังกระจกด านหน าอาคารเพื่อให เกิดมิติในงาน ออกแบบที่เปล งประกายดึงดูดสายตาแก นักท องเที่ยวและผู ที่เดินทาง ผ านไปมา 76

ด วยแนวคิดในการออกแบบอาคารโดยรวม ที่ต องการให โรงแรม เรเนซองส แห งนี้เป นโรงแรมหรูระดับห าดาว บนทําเลที่ต้งั อยู ในย าน ใจกลางเมืองท ามกลางแหล งช็อปป ง ดังนัน้ โรงแรมเรเนซองส กรุงเทพ ราชประสงค จึงถูกออกแบบให สะดุดตานักท องเทีย่ วทีม่ าเยือนกรุงเทพฯ ได ในทันที แสงสะท อนระยิบระยับที่ส องสะท อนกับผนังกระจกกรอบ อาคารตลอดจนการตกแต งภายใน จึงสร างความหลงใหลให กับลูกค า และมอบประสบการณ ใหม ที่จะกลบความน าเบื่อของโรงแรมในเมือง แบบเดิมๆ ออกไป การออกแบบผนั ง กระจกทางด า นหน า อาคารให ดึ ง ดู ด สายตาไป ตามแนวโค งของแผงกระจก โดยเลือกใช กระจกนิรภัยหลายชั้น (Laminated Safety Glass) ที่มีการดัดแปลงกระจกเคลือบสีด วย ระบบ Vanceva® ซึง่ เป นระบบทีน่ ยิ มใช กบั ผนังภายนอกอาคาร กระจก ชนิดนีถ้ กู เลือกใช ในการออกแบบเพือ่ เน นโครงสร างธรรมดาให มรี ปู ทรง ที่สวยงามและกรอบอาคารที่คมชัด อีกทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการ สะท อนแสงเพื่อส งเสริมให โรงแรมโดดเด นเสมือนงานประติมากรรม กระจกสีที่ไม เคยพลาดการดึงดูดสายตาของชาวเมือง ด วยกรอบผนัง กระจกสีฟ าไพลินที่เปล งประกายขับสีสันให กับอาคาร ในขณะที่ส วน ตกแต งภายในจะตกแต งด วยสีสันสดใส สร างมิติที่แตกต างระหว าง ภายในและภายนอกอาคารแก แขกผู ที่มาเยือน


อีกคุณลักษณะหนึง่ ทีแ่ สดงถึงการออกแบบกระจกกรอบอาคารได อย าง มีมติ ิ โดยการนํากระจกลวดลาย (Pattern Glass) มาใช ตกแต งประกอบ กับผนังกระจกกรอบอาคาร การพิมพ ลวดลายด วยแพทเทิร นของ รูปทรงดอกราชพฤกษ ตดิ อยูบ นแผ นกระจก ซึง่ รูก นั ว าเป นดอกไม ประจํา ชาติของไทย การนําลักษณะของดอกไม มาเล นเป นลายเงาที่เรียบง าย ด วยการทําซ้าํ กันไปมาประกอบกับการจัดวางของแผงกระจกด านหน า ของโรงแรม การสือ่ ด วยสัญลักษณ เช นนีแ้ สดงให เห็นถึงการผสมผสาน กันระหว างความทันสมัยของโรงแรมในเมืองและกลิน่ อายแบบท องถิน่

77


78


และเมื่อก าวเข าสู ภายในอาคารของโรงแรมเรเนซองส วัสดุกระจก ยั ง คงถู ก นํ า มาประกอบกั บ การตกแต ง เอาไว ไ ด อ ย า งสวยงาม ทัง้ กระจกสี และ กระจกลวดลาย (Pattern Glass) ทีพ่ มิ พ ลวดลายด วย แพทเทิร นของรูปทรงดอกไม ติดอยู บนแผ นกระจก เพื่อตอกย้ําแนวคิด เชิงสัญลักษณ ของการผสมผสานระหว างความทันสมัยของโรงแรมใน เมืองและกลิน่ อายแบบท องถิน่ ให สอดคล องกันทัง้ ภายนอกและภายใน โครงการ การออกแบบตกแต งภายในด วยกระจกสีสันสดใส และกระจกพิมพ ลวดลายแพทเทิร นของดอกไม ไทย ผสมผสานกับการออกแบบตกแต งแสง (Lighting Design) ทีเ่ น นสีสนั ในโทนสีแดงและสีเหลือง สร างบรรยากาศ แห งมนต ขลังด วยประกายตกกระทบเมือ่ ต องแสง ในขณะทีผ่ นังกระจกสีฟา ภายนอกจะคอยกัน้ ความวุน วาย จากตัวเมืองเข าสู ภายในอาคาร นอกจากการตกแต งที่สวยงามดึงดูดใจแล ว แขกผู มาเข าพักจะได เพลิดเพลินกับสิ่งอํานวยความสะดวก ทั้งห องอาหารของโรงแรมที่มีอาหารรสชาติเลิศคอยให บริการ รวมถึงสระว ายน้ําในร มและห องซาวน า และ กิจกรรมสันทนาการต างๆ มากมาย พร อมทั้งห องพักที่มีสไตล เพื่อให ตอบสนองความต องการสําหรับ ทั้งนักธุรกิจและนักท องเที่ยวที่เดินทางมายังกรุงเทพฯ อีกด วย

โครงการ: โรงแรมเรเนซองส กรุงเทพ ราชประสงค

ผู ออกแบบตกแต งภายใน: PIA Interior

ผลิตภัณฑ กระจก: BSG Glass

เครดิตรูปภาพ: Thai Techno Glass (BSG Glass)

79


และอีกหนึ่งโรงแรมที่มีการออกแบบตกแต งภายใน ด วยกระจกตกแต งได อย างน าสนใจ Arize Hotel Sukhumvit โรงแรมที่ ตั้ ง อยู ใ จกลางเมื อ งย า น สุขุมวิท ท ามกลางแหล งธุรกิจและแหล งไลฟ สไตล ทัง้ ร านค าและร านอาหารชัน้ นํา ซึง่ ได รบั การออกแบบ ที่โดดเด น ด วยการเลือกใช กระจกนิรภัยหลายชั้น (Laminated Safety Glass) มาตกแต งได อย าง สวยงามแปลกตา และเป นนวัตกรรมการออกแบบ ทีล่ า้ํ สมัย จนได รบั การการันตีดว ยรางวัล The Winner of The Vanceva World of color awards 2014 ในสาขา Interior Division จากผลงานนวัตกรรม กระจกดีไซน สําหรับฝ าเพดาน Arize Hotel Sukhumvit เปรียบเสมือนโอเอซิส ใจกลางเมือง เพราะที่นี่เน นบริการที่เป นมิตรและ คุณภาพที่ดีเลิศ พร อมทั้งการออกแบบตกแต งที่มี ดีไซน ล้ําสมัยและมีระดับ เพื่อสร างความประทับใจ ตั้งแต ในครั้งแรกที่แขกจะได พบเมื่อเข าพักกับทาง โรงแรมแห งนี้ เมื่อก าวเข าสู ด านในโรงแรม ผู ออกแบบได สร าง ความประทับใจแรกด วยสีสันจากฝ าเพดานกระจก สีฟ าที่จะนําแขกเข าสู บริเวณแผนกต อนรับ สร าง บรรยากาศของความทั น สมั ย และผ อ นคลายใน โซนต อนรับที่มีรูปแบบแพทเทิร นที่เป นเอกลักษณ และสีสันที่สวยงาม ด วยกระจก Rainbow Pollo จาก BSG Glass ในโทนสี ฟ า น้ํ า ทะเล ซึ่ ง เป น กระจกนิ ร ภั ย หลายชั้ น (Laminated Safety Glass) ที่เกิดจากนํากระจกหลายแผ นมาประกบกัน และติดด วยแผ นฟ ล ม PVB (Poly Vinyl Butyral) แทรกระหว างกลางระหว างกระจกแต ละแผ น และ การเลือกใช กระจกลามิเนตมาประยุกต ใช จะทําให เกิดความมั่นใจในเรื่องของความปลอดภัยทั้งหมด หากเกิ ด เหตุ ที่ ไ ม ค าดคิ ด เกิ ด ขึ้ น เพราะกระจก ประเภทนีเ้ มือ่ แตกกระจกจะติดอยูก บั แผ นฟ ลม PVB ไม ร วงหล นจากกรอบ เกิดความปลอดภัยสูงเมื่อนํา มาใช งาน ดังนั้นจึงเหมาะกับกรณีใช งานฝ าเพดาน เช นนี้อย างมาก กระจก Rainbow Pollo เป นนิยามของความสมบูรณ แบบ ที่เต็มไปด วยมนต เสน ห แห งแสงไฟ ผสมผสานกับ ลวดลายที่เป นเอกลักษณ สามารถสร างสรรค ตาม จินตนาการได สร างบรรยากาศและมุมมองให มีมิติ ที่ ม ากขึ้ น ด ว ยคุ ณ ลั ก ษณะพิ เ ศษของกระจกที่ ใ ห แสงสว างในทีว่ า งอย างมีศลิ ปะบวกกับความโดดเด น ในการออกแบบลวดลายทีล่ ะเอียดประณีตและล้าํ สมัย ลงบนกระจก ทีส่ ามารถปรับเปลีย่ นสีสนั ของลวดลาย บนพื้นผิวกระจกได ด วยเอฟเฟกซ สร าง Mood & Tone ทีแ่ ตกต างกันเมือ่ เป ดและป ดไฟ ทําให เกิดเป น บรรยากาศทีห่ รูหราและมีคณ ุ ค า แลดูทนั สมัยเหนือชัน้ ของโรงแรมย านใจกลางเมืองแห งนี้ โครงการ: โรงแรม Arize Hotel Sukhumvit 80

ผู ออกแบบตกแต งภายใน: Aroz Design

ผลิตภัณฑ กระจก: BSG Glass

เครดิตรูปภาพ: Thai Techno Glass (BSG Glass)


กระจกเพื่อการใช งานเฉพาะทาง นอกจากการนํากระจกมาใช กับงานสถาป ตยกรรม และการตกแต งภายในทีน่ ยิ มกันอย างแพร หลายแล ว ก็ ยั ง มี ก ารประยุ ก ต ใ ช เ ป น กระจกเพื่ อ ใช ง าน เฉพาะทาง (Application glass) ซึง่ เป นกระจกทีด่ ดั แปลง เพื่ อ ให ไ ด คุ ณ สมบั ติ ที่ เ หมาะสมกั บ การใช ง าน เฉพาะอย างหรือเพือ่ ก อให เกิดความสวยงาม อย างเช น

สะอาดที่ ยุ ง ยาก หากยิ่ ง เป น ตึ ก สู ง การทํ า ความ สะอาดก็จะยิง่ เสีย่ งอันตรายและมีคา ใช จา ยสูง ดังนัน้ ด ว ยนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ส มั ย ใหม ที่ ใ ช ในการผลิตกระจก สามารถพัฒนากระจกทีท่ าํ ความสะอาด ตัวเองขึน้ มาได แต ยงั คงมีราคาทีส่ งู และมีกระบวนการ ที่ซับซ อน ค าลงทุนสูงมาก จึงทําให ยังไม เป นที่นิยม แพร หลายในประเทศไทยนัก

กระจกเสริมลวด (Wired Glass) กระจกที่ใส แผง ตาข ายลวดลงในกระจกขณะที่กระจกหลอมเหลว เพื่อเป นการเพิ่มความแข็งแรง ส งผลให เป นกระจก ที่ มี ค วามแข็ ง แรงสู ง และถื อ เป น กระจกนิ ร ภั ย ชนิ ด หนึ่ ง เนื่ อ งจากเมื่ อ กระจกแตกจะเป น เม็ ด ละเอียดและติดอยู กับแผงตาข ายลวด การนําไป ใช งานเนือ่ งจากเป นกระจกนิรภัยและมีความแข็งแรง เป นพิเศษ จึงนิยมใช ในส วนบันไดหนีไฟ และด วย คุณสมบัติพิเศษของกระจกประเภทนี้ที่เมื่อกระจก แตกกระจกจะยึดอยู กับกรอบและยังมีตาข ายลวด เหล็กยึดอยู จึงมีการนําไปใช ในพื้นที่ที่ต องการความ ปลอดภั ย และป อ งกั น การโจรกรรมเป น พิ เ ศษได อีกด วย แบ งออกเป น 4 กลุม ตามลวดลายของตาข าย คือ ลายข าวหลามตัด (Diamond-shaped Pattern) ลายสี่เหลี่ยม (Baroque Pattern) ลายหกเหลี่ยม (Hexagonal Pattern) และลายแนวตั้ง (Pinstripe Pattern)

แต จากการพัฒนาโดยนักวิจยั จากคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ได พัฒนาเครื่องสังเคราะห ฟ ลม บางของโลหะออกไซด โดยกระบวนการสปาร ค ซึ่งเป นเทคโนโลยีการเคลือบผิวระดับนาโน เกิดเป น “กระจกทําความสะอาดตัวเอง” ทีเ่ ป นนวัตกรรมใหม ซึ่งจะมาช วยแก ป ญหากระบวนการผลิตที่ซับซ อน โดยจุ ด เด น อยู ที่ ก ารเคลื อ บฟ ล ม บางของโลหะ ออกไซด โดยไม ต องใช ป มสุญญากาศ และสามารถ ขยายขนาดพื้ น ที่ ผิ ว เคลื อ บโดยการเพิ่ ม จํ า นวน หัวสปาร คเรียงกันเป นแถวยาวมากขึน้ ได นอกจากนี้ ยังสามารถออกแบบให เป นเครื่องเคลือบฟ ล มบาง แบบพกพาได ด ว ย ซึ่ ง สามารถเคลื อ บผิ ว โลหะ ออกไซด โดยเฉพาะฟ ลม บางของ TiO2 บนแผ นกระจก หรือบานกระจกหน าต าง โดยไม ตอ งถอดออกจากกรอบ ของตัวอาคาร

กระจกกันกระสุน กระจกที่ประกอบไปด วยกระจก นิ ร ภั ย ชนิ ด พิ เ ศษโดยมี แ ผ น ฟ ล ม พ ลาสติ ก อยู ตรงกลาง มาติดกับกระจกนิรภัยหลายๆ ชัน้ จนสามารถ รับแรงได ตามที่ต องการส งผลให กระจกประเภทนี้ มีความหนาและแข็งแรงมากเป นพิเศษ การนําไป ใช งานนิยมใช ในห องนิรภัยต าง ๆ ที่ต องการความ ปลอดภัยมากเป นพิเศษ รวมถึงการป องกันกระสุนป น โดยตรง กระจกทนไฟ (Fire Resistance Glass) เป นกระจกนิรภัยชนิดหนึ่ง ผลิตขึ้นจากกระจกนิรภัย ชนิดพิเศษและนําไปประกบกับกระจกนิรภัยหลายๆ ชั้น โดยมี Sodium Silicate มาทําลามิเนตกัน จนมี คุณสมบัติสามารถทนไฟได นานสุด 2 ชั่วโมง โดยไม เสี ย รู ป ป อ งกั น ไฟ ควั น และลดความร อ นที่ จะเข ามาสู ภายใน การนําไปใช งานในพื้นที่ที่เสี่ยงต อ การเกิดอัคคีภยั รวมถึงพืน้ ทีป่ ลอดภัยภายในอาคาร เช น โถงลิฟท ดับเพลิง บันไดหนีไฟ เป นต น

ด วยเทคโนโลยีการเคลือบฟ ลม บางโดยกระบวนการ สปาร คนีส้ ามารถนําไปเคลือบผิวโลหะออกไซด ตวั อืน่ ๆ ได ด วย จึงสามารถประยุกต ใช งานได ในวงกว าง ทั้งในเชิงพาณิชย ทดแทนสินค านําเข า และคาดว า น า จะเป น สิ น ค า ส ง ออกได เพราะมี ข อ ได เ ปรี ย บ ในเรื่ อ งของต น ทุ น ที่ ต่ํ า กว า เทคโนโลยี ที่ ใ ช ร ะบบ สุญญากาศ ดังนั้นบานกระจกเคลือบผิวที่สามารถ ทําความสะอาดตัวเองได (self-cleaning surface) นี้ คาดว าจะเป นที่นิยมและแพร หลายในอนาคตต อไป โดยเฉพาะกับอาคารสูง ร านค า และสิง่ ปลูกสร างต างๆ ที่ ต อ งการความสะอาด สวยงาม และความใส ของผนังกรอบกระจกอาคาร

ËÒ¡¾Ô¨ÒóÒãËŒ´ÕáÅŒÇ ¡ÃШ¡¶×Í䴌NjÒ໚¹ÇÑÊ´Ø·ÕèÍÒ¤Òà ʋǹãËÞ‹¹ÔÂÁ¹íÒÁÒ㪌㹧ҹ¡‹ÍÊÌҧÍ‹ҧá¾Ã‹ËÅÒ «Ö觡çÁÕ·Ñ駢ŒÍ´ÕáÅТŒÍàÊÕ ¡ÒÃàÅ×͡㪌¡ÃШ¡ãËŒàËÁÒСѺ ¿˜§¡ ªÑ蹡ÒÃ㪌§Ò¹μÒÁ·ÕèμŒÍ§¡ÒÃà¾×èÍãËŒà¡Ô´»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ÊÙ§ÊØ´¹Ñé¹à»š¹ÊÔ觨íÒ໚¹ÁÒ¡ äÁ‹ãª‹á¤‹à¾Õ§¤ÇÒÁÊǧÒÁ ·Ò§ÊÒÂμÒà·‹Ò¹Ñé¹ à¾ÃÒÐËÒ¡ÁͧÍÕ¡ÁØÁ˹Öè§àÁ×èͤíÒ¹Ö§ ¶Ö§·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒμÔ·ÕèμŒÍ§ÊÙÞàÊÕÂáÅСÒÃÊÔé¹à»Å×ͧ ¾ÅÑ §§Ò¹à»š¹ ¨íÒ ¹Ç¹ÁÒ¡ ·Ñ駡ÒÃ㪌 · ÃÒÂáÅÐËÔ¹μÒÁ กระจกทําความสะอาดตนเอง อย างที่ทราบกันดีว าแนวโน มของผนังกรอบอาคาร ¸ÃÃÁªÒμÔ áÅСÒÃ㪌 à ª×é Í à¾ÅÔ §ã¹¡Ãкǹ¡ÒüÅÔ μ ตึกสูงสมัยใหม มักใช กระจกเป นวัสดุหลัก แต ป ญหา ¡ÃШ¡áŌǹÑé¹ àÃÒ¨Ö§¤ÇäíÒ¹Ö§¶Ö§¤Ø³ÊÁºÑμÔ㹡Òà ของผนั ง กระจกอาคารสู ง นั้ น ก็ คื อ การทํ า ความ Í͡Ẻ¡ÃШ¡à¾×èÍàÅ×͡㪌§Ò¹Í‹ҧàËÁÒÐÊÁáÅÐà¡Ô´ »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ÊÙ§ÊØ´ แหล งข อมูลอ างอิง: 1. คู มือผู รับผิดชอบด านพลังงาน (อาคาร) พ.ศ. 2553, ตอนที่ 3 บทที่ 3 กรอบอาคาร 2. รายงานผลการศึกษาโครงการนําร องด านการจัดการการใช พลังงานภายในอาคารในรูปแบบคาร บอนสุทธิเป นศูนย หรือเกือบเป นศูนย , กระทรวงพลังงาน 3. THAI-GERMAN SPECIALITY GLASS Co.,LTD. “SPECIALITY ARCHITECTURAL GLASS GUILDE” (Catalog) 81


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ÊÁÒà ·â¿¹ËÃ×Íá·çºàÅçμà»ÃÕºàÊÁ×͹¢Í§¤Ù‹¡Ò¢ͧã¤ÃËÅÒÂæ ¤¹ à¹×èͧ¨Ò¡à»š¹ÍØ»¡Ã³ Ê×èÍÊÒà ·Õèàª×èÍÁμ‹ÍâÅ¡ÍÔ¹à·Íà à¹çμáÅÐ໚¹ÍØ»¡Ã³ ÊÌҧ¤ÇÒÁºÑ¹à·Ô§ä´ŒÀÒÂã¹à¤Ã×èͧà´ÕÂÇ áÅзÕèÊíÒ¤ÑÞÂѧÁÕá;¾ÅÔपÑè¹ ÁÒ¡ÁÒÂËÅÒ¡ËÅÒ»ÃÐàÀ·ãËŒàÅ×͡㪌§Ò¹ à¾ÔèÁ¤ÇÒÁÊдǡʺÒÂãËŒ¡Ñº¼ÙŒãªŒã¹Âؤ»˜¨¨ØºÑ¹ ©ºÑº¹ÕéàÃÒ¨Ö§¢Íá¹Ð¹íÒ á;¾ÅÔपÑè¹ 10 Íѹ´Ñº ·ÕèàÍ×éÍ»ÃÐ⪹ μ‹Í¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Í§ºÃôÒʶһ¹Ô¡áÅйѡÍ͡Ẻ·Ñé§ËÅÒ Íѹ´Ñº 1 Arrette Scale / Arrette Sketch

แอพฯ ด านการออกแบบที่ใช งานง ายสําหรับ iPad ช วยให ผู ใช สามารถ วาดภาพสเก็ตต างๆ ได โดยการใช มือ สามารถแชร ไอเดียและแก ไข สิง่ ต างๆ ได สะดวก มาพร อมฟ เจอร หลัก คือ Drawing tools, Grid&Scale, Edge, Layers, Base image และ Sharing นับว าเป นแอพฯ ทีม่ าพร อม คุณสมบัตคิ รบครันเมือ่ เทียบกับแอพฯ ในระดับเดียวกัน ตอนนีส้ ามารถ ใช งานได กับอุปกรณ ระบบปฏิบัติการ iOS เท านั้น สําหรับ Arrette Sketch นั้นเป นแอพฯ เวอร ชั่นฟรี ของ Arrette Scale ซึ่งต องซื้อใน ราคา 5.99 เหรียญสหรัฐฯ

Íѹ´Ñº 2 Archisketch

แอพฯ นี้ถูกออกแบบขึ้นเพื่อใช งานกับ iPad เท านั้น เป นแอพฯ ที่ช วยให คุณสามารถ สเก็ตภาพและร างงานออกแบบในรูปแบบดิจติ อลได อย างสะดวกและรวดเร็ว มาพร อม คุณสมบัตกิ ารใช งานที่ครบครัน สามารถดาวน โหลดได ฟรี (In-app Purchase สําหรับ เวอร ชั่นเต็ม ราคา 9.99 เหรียญสหรัฐฯ)

Íѹ´Ñº 4 Sun Seeker

แอพฯ ค นหาตําแหน งและเส นทางของแสงอาทิตย ที่สามารถแสดงผลได ทั้งแบบที่เป น Flat View Compass และแบบ Augmented Reality Camera 3D view เหมาะสําหรับสถาปนิก ช างภาพ หรื อ ผู ที่ ต อ งการใช ตั ว ช ว ยในการคํ า นวณ ทิ ศ ทางของแสง เนื่ อ งจากมั น สามารถค น หา ตําแหน งและเส นทางของแสงอาทิตย ได ทุกหนทุก แห งทั่วโลกในทุกฤดูกาล แอพฯ นี้รองรับอุปกรณ ระบบปฏิบัติการ iOS เท านั้น ราคา 6.99 เหรียญ สหรัฐฯ

82

Íѹ´Ñº 3 Morpholio Trace

แอพฯ นีท้ าํ หน าทีเ่ หมือนกระดาษลอกลาย ช วยให การ ร างภาพง ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น ผู ใช สามารถวาดลง บนรูปภาพ, เท็มเพลท, แผนงานและเอกสารต างๆ ได มาพร อ มฟ ล เตอร ห ลากหลาย ที่ ช ว ยให ภ าพ สเก็ตดูสมจริงยิ่งขึ้น อีกทั้งยังมีออพชั่นของพาเล็ตสี เพื่อให สะดวกต อการใช งาน เช น พาเล็ตสีสําหรับ งานแฟชั่น, งานเกี่ยวกับรถยนต หรืองานภาพถ าย เป นต น ในส วนของเลเยอร ผู ใช สามารถย อนกลับไป มาเพื่อแก ไข เพิ่มเติม หรือลบข อมูลที่ไม ต องการใน แต ละเลเยอร ได สามารถดาวน โหลดได ฟรี (In-App Purchase ราคา 0.99 เหรียญสหรัฐฯ) สําหรับระบบ ปฏิบัติการ iOS


Íѹ´Ñº 5 Concept

แอพฯ ที่ ช ว ยให ผู ใ ช ม องเห็ น ภาพคอนเซ็ ป ต ท าง โครงสร างได ตั้งแต ขั้นแรกของการออกแบบ ช วยให สามารถค น หาวั ส ดุ ท างโครงสร า งอาทิ เหล็ ก คอนกรีต และไม โดยการวิเคราะห ความลึกและ ความเป นไปได ของวัสดุทจ่ี ะนํามาใช แต ละชนิด ต างจาก แอพฯ อื่นๆ ที่จะเน นในเรื่องของการนําเสนอภาพ โปรเจ็คท และการคํานวณทางโครงสร างที่ซับซ อน สามารถดาวน โ หลดได ฟ รี สํ า หรั บ อุ ป กรณ ร ะบบ ปฏิบัติการ iOS เท านั้น

Íѹ´Ñº 6 AutoCAD 360

แอพฯ นีช้ ว ยให ผใู ช สามารถดู, สร าง, แก ไข และแชร ภาพ 2D และ 3D ได บนอุปกรณ ทกุ รูปแบบ ใช งานได ทุกที่ทุกเวลา ช วยให คุณประหยัดเวลาและค าใช จ าย สามารถ ดาวน โหลดได ฟรี (In-App Purchase สําหรับเวอร ชั่น Pro ราคา 4.99 เหรียญสหรัฐฯ) ทั้งระบบปฏิบัติการ iOS และแอนดรอยด

Íѹ´Ñº 7 iRhino 3D / Droid Rhino

แม ว าแอพฯทั้งสองนี้จะถูกพัฒนาขึ้นโดยบริษัท ผูพ ฒ ั นาทีต่ า งกัน แต มนั ก็สามารถใช งานได อย างดี เยี่ยมเท าเทียมกัน สามารถใช เพื่อดูโมเดลที่สร าง ขึน้ จากโปรแกรม Rhino3D ได มาพร อมคุณสมบัติ ในการซูม, หมุนโมเดล 3D ได อย างง ายดายเพียง ใช นิ้วแตะหรื อ ลากก อ นที่จะแชร ภาพหรือแสดง ผลงาน โดยแอพฯ ดังกล าวราคา 3.99 เหรียญสหรัฐฯ สํ า หรั บ อุ ป กรณ ร ะบบปฏิ บั ติ ก าร iOS และ ราคา 2.99 เหรียญสหรัฐฯ สําหรับระบบปฏิบตั กิ าร แอนดรอยด

Íѹ´Ñº 9 AutoDesk FormIt

Íѹ´Ñº 8 SketchUp Mobile Viewer

แอพฯ ที่ถูกพัฒนาขึ้นเฉพาะสําหรับแท็บเล็ต ช วยให คุณสามารถนําเสนอโมเดล 3D และค นหาโมเดล 3D จาก3D Warehouse และสามารถดาวน โหลด ไฟล มาเก็บไว ได ฟรี ในตอนนีส้ ามารถรองรับแท็บเล็ต ระบบปฏิบัติการ iOS (iPad) เท านั้น ราคา 9.99 เหรียญสหรัฐฯ สําหรับระบบแอนดรอยด กําลังอยูใ น ขั้นตอนการพัฒนา

แอพฯ นี้ เ ป น ส ว นหนึ่ ง ของชุ ด ซอฟต แวร AutoDesk Revit ช วย ให นักออกแบบสร างสรรค ผลงาน ด านรายละเอียดของโครงสร างได ทุกที่ ทุกเวลา ใช ขอ มูลของสถานที่ จริ ง เพื่ อ ช ว ยในการออกแบบ นอกจากนี้ ยั ง ถู ก ออกแบบขึ้ น เพื่ อ สร า งเวิ ร ค โฟลว Building Information Modeling (BIM) ร วมกับ Revit (โดยการซิงโครไนซ งานออกแบบบน cloud) อีกด วย สามารถดาวน โหลด ได ฟรีสําหรับอุปกรณ ระบบปฏิบัติการ iOS และแอนดรอยด

Íѹ´Ñº 10 PadCAD

แอพฯ นี้ อ อกแบบมาเพื่ อ ช ว ยในการทํ า งานกั บ โปรเจ็คท ขนาดเล็กถึงปานกลาง สามารถสร างภาพที่ ชัดเจนจากการสเก็ต และสามารถส งไฟล ดังกล าว ไปยังโปรแกรม CAD บนเครื่องคอมพิวเตอร ในรูป แบบไฟล DWG เหมาะมากสําหรับบริษัทสถาปนิก ขนาดเล็ก ผู รับเหมาและนักประเมินราคา สามารถ ดาวน โ หลดได ฟ รี สํ า หรั บ PadCAD lite ส ว น PadCAD เวอร ชั่นเต็ม ราคา 14.99 เหรียญสหรัฐฯ สําหรับอุปกรณ ระบบปฏิบัติการ iOS และฟรี (inapp purchase) สําหรับระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด

83


เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)

Í‹ҧ·Õàè ÃÒ·ÃÒº¡Ñ¹´ÕÇÒ‹ ¸ØáԨÃѺÊÌҧºŒÒ¹ ໚¹¸ØáԨ·Õäè ´ŒÃºÑ ¼Å¡Ãзº¨Ò¡»˜ÞËÒ¡ÒâҴá¤Å¹áç§Ò¹½ÁÕ Í× áÅÐ »˜ÞËÒ¤ÇÒÁÅ‹ÒªŒÒ㹡Òá‹ÍÊÌҧ ·íÒãËŒ¼ÙŒ·ÕèμŒÍ§¡ÒÃÊÌҧºŒÒ¹à¡Ô´»ÃÐʺ¡Òó ´ŒÒ¹ÅºÍ‹ҧÁÒ¡ ´ŒÇÂàËμعÕé ¡ÅØÁ‹ ºÃÔÉ·Ñ «Õ¤Í¹âÎÁ ¨Ö§ä´Œ¹Òí Ãкº¡‹ÍÊÌҧÊíÒàÃç¨ÃÙ»ÁÒ㪌㹡Òá‹ÍÊÌҧºŒÒ¹ «Ö§è àÃÔÁè μѧé áμ‹¡ÒÃ㪌â¤Ã§ÊÌҧ¤Í¹¡ÃÕμ ÊíÒàÃç¨ÃÙ» Í‹ҧ¡ÒùíÒàÊÒáÅФҹÊíÒàÃç¨ÃÙ»ÁÒª‹ÇÂ㹡Òá‹ÍÊÌҧºŒÒ¹ «Ö觹Ѻ໚¹ÃÒÂáÃ¡æ ¢Í§ä·Â·Õè¹íÒÃкº ¡‹ÍÊÌҧÊíÒàÃç¨ÃÙ»¤Í¹¡ÃÕμÁÒ㪌㹡Òá‹ÍÊÌҧ áÅÐä´ŒÁÕ¡ÒþѲ¹ÒÃкº¡‹ÍÊÌҧÍ‹ҧμ‹Íà¹×èͧÁÒâ´ÂμÅÍ´ Å‹ÒÊØ´ä´Œ¾Ñ²¹Òâ¤Ã§ÊÌҧ¼¹Ñ§¤Í¹¡ÃÕμÊíÒàÃç¨ÃÙ»«Õ¤Í¹ (Seacon Bearing Wall) ÍÍ¡ÊÙ‹μÅÒ´ ¹Ñºà»š¹¡Òà ¾Ñ²¹ÒÇÑÊ´Øã¹Ê‹Ç¹ËÅÑ¡à¾×èÍÊÌҧºŒÒ¹¤Í¹¡ÃÕμÊíÒàÃç¨ÃÙ»·Ñé§ËÅѧ

โครงสร างผนังคอนกรีตสําเร็จรูปซีคอน (Seacon Bearing Wall) ถือเป นนวัตกรรมล าสุดที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อช วยให การ ก อสร างรวดเร็ว โดยเป นระบบก อสร างทีช่ ว ยลดขัน้ ตอนการก ออิฐฉาบปูนด วยการใช ผนังรับแรง นอกจากนีย้ งั ได คณ ุ ภาพงาน ภายใต มาตรฐานเดียวกัน จากเดิมที่ต องพึ่งแรงงานฝ มือด านการก อฉาบ ซึ่งการก อสร างระบบโครงสร างคอนกรีตสําเร็จรูป จะใช แรงงานเพียง 4-5 คนต อบ าน 1 หลัง จากเดิมใช แรงงาน 6-7 คน นอกจากนี้ยังช วยลดระยะเวลาก อสร างลงจาก 6 เดือน เหลือเพียง 4-4.5 เดือนเท านัน้ นับเป นนวัตกรรมทีถ่ กู พัฒนาเพือ่ แก ปญ หาแรงขาดแคลนแรงงานฝ มอื ในการก อสร าง ได ตรงจุดอย างมาก

84


โดยคุณศุภิชชา ชัยพิพัฒน กรรมการผู จัดการ กลุ มบริษัท ซีคอนโฮม ได กล าวถึงการพัฒนาระบบโครงสร างผนังคอนกรีตสําเร็จรูปซีคอนไว วา “นีถ่ อื เป นการพลิกวิกฤติให เป นโอกาสครัง้ ใหญ ทสี่ ดุ ครัง้ หนึง่ ของธุรกิจ รับสร างบ านเมืองไทย ซึง่ ป จจุบนั เราคงทราบกันดีถงึ ป ญหาทีเ่ กิดขึน้ ใน ธุรกิจรับสร างบ าน ทั้งป ญหาการขาดแคลนแรงงานฝ มือและป ญหา ความล าช าในการก อสร าง ทําให ผทู ตี่ อ งการสร างบ านเกิดประสบการณ ด านลบ ซึ่งกลุ มบริษัทซีคอนโฮม ได ให ความสําคัญกับเรื่องดังกล าว อย า งมาก จึ ง ได ต อ ยอดการพั ฒ นาระบบผนั ง คอนกรี ต สํ า เร็ จ รู ป ซีคอนและนํากลับมาใช อีกครั้ง จากเดิมที่มีการใช เพียงแค เสาและคาน สําเร็จรูปเท านัน้ แต ณ ป จจุบนั กลุม บริษทั ซีคอนโฮม สามารถพัฒนาวัสดุใน ส วนหลักเพือ่ สร างบ านคอนกรีตสําเร็จรูปทัง้ หลังได อย างรวดเร็ว ภายใต มาตรฐานเดียวกัน โดยในช วงเริม่ ต นนัน้ กลุม บริษทั ซีคอนโฮม สามารถ รองรับปริมาณการก อสร างได ที่ 50 หลังต อป มีแบบบ านทีร่ องรับระบบ โครงสร างผนังสําเร็จรูปซีคอนให เลือกทัง้ สิน้ 5 แบบ ภายใต ชอ่ื คอลเลคชัน่ ‘HAPPY BUDGET’

ทั้ ง นี้ ก ลุ ม บ ริ ษั ท ซี ค อ น โ ฮ ม มีการทุ มงบกว า 20 ล านบาทกับ โครงสร างผนังคอนกรีตสําเร็จรูป ซีคอน (Seacon Bearing Wall) ซึ่ ง ถื อ เป น นวั ต กรรมล า สุ ด ของ ธุ ร กิ จ รั บ สร า งบ า น โดยอาศั ย เวลาการพัฒนาระบบโครงสร าง ผนั ง คอนกรี ต สํ า เร็ จ รู ป ซี ค อน กว า 7 เดือน เพื่อพร อมนําเสนอ นวัตกรรมล าสุดสู มือผู บริโภค การพัฒนาระบบโครงสร างผนัง คอนกรีตสําเร็จรูปซีคอนในครั้งนี้ ได ถกู พัฒนารวมทัง้ หมดใน 2 ขัน้ ตอน คื อ ขั้ น ตอนการออกแบบระบบ โดยทีมวิศวกรผู มากประสบการณ และเชี่ยวชาญเฉพาะทางของซีคอนโฮม ซึ่งใช เวลาประมาณ 4 เดือน ก อนจะเข าสู ขั้นตอนที่ 2 กับการขยายพื้นที่โรงงาน พร อมเตรียมแม แบบและสายการผลิต ตลอดจนระบบ ติดตัง้ และขนย าย โดยทุกส วนได ถกู ออกแบบให สามารถรองรับกับการผลิตโครงสร างผนังคอนกรีตสําเร็จรูป ซีคอนทีเ่ หมาะกับบ านรุน HAPPY BUDGET ทัง้ 5 แบบ ได อย างลงตัว ซึง่ ในส วนนีใ้ ช เวลาประมาณ 3 เดือน ซึ่งแบบบ านนําร องทั้ง 5 แบบ ภายใต ชื่อคอลเลคชั่น ‘HAPPY BUDGET’ ที่บริการให แก ลูกค า ในรูปแบบ บ านสไตล MODERN CONTEMPORARY ซึ่งประกอบด วย แบบบ าน HAPPY BUDGET 1 ถึง HAPPY BUDGET 5 ซึง่ แบบบ านแต ละแบบบ านสามารถสร างได ในพืน้ ทีต่ งั้ แต 33 ตารางวาขึน้ ไป จนถึง 50 ตารางวา โดยมีพื้นที่ใช สอยตั้งแต 120 ตารางเมตร ไปจนถึง 194 ตารางเมตร ซึ่งพื้นที่ใช สอยนั้นจะขึ้นอยู กับแบบ บ านแต ละแบบ ตลอดจนขนาดพื้นที่ดิน โดยมีราคาเริ่มต นตั้งแต 1.5 – 2.3 ล านบาท ซึง่ ในอนาคตกลุม บริษทั ซีคอนโฮม มัน่ ใจว าระบบโครงสร างผนังคอนกรีตสําเร็จรูปซีคอน (Seacon Bearing Wall) เพื่อสร างบ านสําเร็จรูปทั้งหลังนั้นจะได รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย างต อเนื่อง จึงได เตรียมแผนเพื่อรองรับ ตลาดในอนาคตเอาไว โดยเฉพาะกลุ มตลาดที่มีงบประมาณจํากัด และกลุ มที่ต องการสร างบ านในระยะ เวลาที่รวดเร็วด วย

85


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

μŒ¹äÁŒÁËÑȨÃÃÂ μŒ¹à´ÕÂÇÁÕ¼ÅäÁŒ 40 ª¹Ô´

Sam Van Aken ศิลป นและอาจารย ด านศิลปะแห งมหาวิทยาลัย Syracuse ในสหรัฐอเมริกา ได สร างผลงาน “Tree of 40 Fruit” ซึ่งเป นต นไม ต นเดียวที่สามารถออกผลไม ที่ต างกันได ถึง 40 ชนิด เช น แอปริคอท, เชอรี,่ ลูกพลัม, อัลมอนด และลูกพีช ฯลฯ โดยเขาได ใช วธิ กี าร “chip grafing” การเพิ่มสายพันธุ ลงบนกิ่งก านของต นไม และเมื่อ เข าสู ฤดูใบไม ผลิ ใบไม ก็จะเปลี่ยนเป นสีสันที่หลากหลาย ซึ่งป จจุบัน “ต นไม มหัศจรรย ” นี้มีอยู ทั้งหมด 16 ต น กระจายอยู ตามพิพิธภัณฑ , อาร ทแกลลอรี่ และศูนย ชุมชนต างๆ See more: http://www.youtube.com/watch?v=hDFsyI62j3s

¿Í§¹éíÒ¡ÃÒä¿μ à»ÅÕè¹¾Åѧ§Ò¹áʧÍÒ·Ôμ ໚¹ä͹éíÒ

นักวิจัยในหน วยงานวิศวกรรมเครื่องกลแห ง MIT ได พัฒนาฟองน้ํากราไฟต ที่จะดูดซับน้ําและทําให มัน ร อนโดยใช แสงอาทิตย โดยฟองน้ํานี้จะเปลี่ยนน้ํา ให เป นไอน้ําที่สามารถนํามาใช สําหรับการกลั่นน้ํา บริสุทธิ์เป นแหล งพลังงาน ด วยต นทุนที่ต่ําทําให นวัตกรรมนี้มีแนวโน มที่จะถูกนําไปใช เป นแหล งน้ํา สะอาดจากดวงอาทิตย และแหล งพลังงานไอน้ําใน พื้นที่กําลังพัฒนาในอนาคต See more: http://inhabitat.com/mit-develops-brilliant-graphite-sponge-that-converts-solar-energy-into-steam/

à¤Ã×èͧá»Å§¹éíÒãˌ໚¹¡ÃÐáÊä¿¿‡Ò

ทีมนักวิจัยชาวเกาหลีใต ได สร างเครื่องแปลงสัญญาณที่จะแปลงการเคลื่อนไหวของน้ําใน โถสุขภัณฑ , น้ําฝน ให เป นกระแสไฟฟ า โดยพวกเขาได ทําการทดลองใช การเคลื่อนไหวจาก หยดน้าํ เล็กๆ (30 ไมโครลิตร) ให กลายเป นแสงไฟ LED ขนาดเล็กสีเขียวได สาํ เร็จ ซึง่ พวกเขา หวังว ามันจะสามารถใช งานได จริงกับน้ําในโถสุขภัณฑ หรือน้ําฝนได ในอนาคต See more: http://www.youtube.com/watch?v=MsLpOoSzK74 86


à«ÅÅ áʧÍÒ·Ôμ ẺÊà»ÃÂ μŒ¹·Ø¹μèíÒ

See more: http://inhabitat.com/scientists-create-cheapefficient-spray-on-solar-cells/

เมือ่ เร็วๆ นีน้ กั วิทยาศาสตร จากมหาวิทยาลัยเชฟฟ ลด ในอั ง กฤษได พัฒ นาเซลล แ สงอาทิ ตย แ บบสเปรย ต นทุนต่ําผลิตจากวัสดุที่เรียกว า เพอร โรฟสไกป (Perovskite) หรือ แคลเซียมไทเทเนียมออกไซด ทีม่ รี าคาถูกและมีประสิทธิภาพสูงในระดับทีใ่ กล เคียง กับโซลาร เซลล ทใี่ ช ซลิ กิ อน จากการวิจยั พบว าสเปรย เซลล แสงอาทิตย สามารถเปลีย่ นพลังงานแสงไปเป น พลังงานไฟฟ าได ราว 19% เลยทีเดียว ซึ่งขณะนี้ ทีมวิจยั กําลังพัฒนาปรับปรุงขัน้ ตอนการผลิตให เปลีย่ น แสงอาทิตย เป นไฟฟ าได 25% เท ากับเซลล จาก ซิลิกอนในเร็วๆ นี้

ˌͧáÅçºà͌ҴÍà ã¹àÁ×ͧâ¤à»¹àÎࡹ จากความมุ งมั่นที่จะเป นเมืองที่ปราศจากคาร บอนในป 2025 ส งผลให เมืองโคเปนเฮเกน เมืองหลวงของประเทศเดนมาร ก จัดตัง้ ห องแล็บเอ าดอร Danish Outdoor Lighting Lab (DOLL) ครอบคลุมพืน้ ทีถ่ นนเป นระยะทาง 9.2 กิโลเมตร ขึน้ บริเวณ ชานเมืองของ Albertslund เพื่อเป นสถานที่ที่ทดสอบหลอดไฟอัจฉริยะเพื่อใช บนท องถนน ขณะนี้มีกว า 25 บริษัทจองพื้นที่ เพื่อแสดงผลิตภัณฑ ของตนเอง โดยหลอดไฟทุกหลอดจะมี IP address ของตนเองเพื่อการควบคุมในระยะไกล ทีมงานจะ ทดสอบหลอดไฟต างๆ ว ามีคุณสมบัติ อาทิ สามารถหรี่แสงอัตโนมัติในขณะที่มีแดดจัดหรือจะส องสว างอัตโนมัติเมื่อมีผู คน เดินผ านในเวลากลางคืน เป นต น นอกจากนี้บริเวณไซต งานยังมีการติดเซ็นเซอร เพื่อตรวจจับความหนาแน นของการจราจร, คุณภาพอากาศ, เสียง, สภาพอากาศ และแสง UV เพือ่ ทีจ่ ะทดสอบว าสภาพแวดล อมแบบใดทีห่ ลอดไฟทํางานได ดที สี่ ดุ อีกด วย See more: http://inhabitat.com/smart-street-lamps-get-their-own-ip-address-to-help-copenhagen-go-carbon-neutral-by-2025/

áÍ¾Ï Morpholio Board 2.0

แอพฯ สมาร ทโฟนเวอร ชั่นล าสุด ‘Morpholio Board 2.0’ จาก Morpholio Project แอพฯ ที่ทําให คุณสามารถรวบรวมไอเดียต างๆ ไว ในที่ๆ เดียวได อย างสะดวกและรวดเร็ว โดยใช หลักการของ Board ซึง่ เป นส วนสําคัญในขัน้ ตอนการออกแบบหรือแสดงผลงาน อาทิ mood boards เป นที่เก็บรวบรวมไอเดียและสร างแรงบันดาลใจ, design boards ใช แสดงไอเดียหรือแนวคิด, white board สําหรับการสเก็ต, วาดภาพหรือเขียนข อความต างๆ, cork boards สําหรับเก็บรูปภาพที่ คุณชื่นชอบ และ memo boards สําหรับจดโน ตต างๆ เหมาะสําหรับ การใช งานในทุกสาขาอาชีพ ไม ว าจะเป นสถาปนิก, นักออกแบบ หรือ ช างภาพ See more: http://www.archdaily.com/538025/ad-app-guide-morpholioboard-2-0

»Ò¡¡Ò ‘Livescribe smartpen’ à»ÅÕÂè ¹¢ŒÍÁÙź¹¡ÃдÒÉ ãˌ໚¹ä¿Å ´Ô¨ÔμÍÅ

บริษทั เครือ่ งเขียนชือ่ ดัง Moleskine ออกแบบสมุดโน ต Moleskine Livescribe Notebooks เพื่อใช งานร วมกับปากกา Livescribe smartpen ซึ่งจะเชื่อมโยงกับอุปกรณ iOS ผ านทางบลูทูธและส ง สัญญาณการเขียนแบบ real time ไปยังแอพฯ โดยเซ็นเซอร การ เคลื่อนไหวในปากกาจะบันทึกตําแหน งและการเคลื่อนไหวของ ผู เขียนและแปลงแต ละหน าเป นภาพดิจิตอลแสดงบนสมาร ทโฟน หรือแท็บเล็ต อีกทั้งยังสามารถบันทึกเสียงในขณะที่เขียน สามารถ ควบคุมการทํางานไม ว าจะเริ่มอัด, หยุดชั่วคราวหรือสิ้นสุดการอัด ด วยการใช ปากกาแตะที่ไอคอนตรงซ ายล างของหน าสมุดโน ต See more: http://www.dezeen.com/2014/08/28/moleskine-livescribesmartpen-notebooks-paper-to-screen 87


˹ѧÊ×ÍàÅ‹ÁãËÁ‹Å‹ÒÊØ´¢Í§ Dominic Wilcox

‘Variations on Normal’ เป นหนังสือภาพสเก็ตซ ผลงานล าสุดของ ศิลป นและนักออกแบบชาวอังกฤษ Dominic Wilcox ที่มาในลักษณะ หนังสือปกแข็ง จํานวน 128 หน า โดยในแต ละหน าจะเป นภาพสเก็ตซ เก ๆ พร อมกับข อความบรรยายเด็ดๆ ผู ที่สนใจสามารถเข าไปสั่งซื้อ ได ที่เว็บไซต Amazon See more: http://www.dezeen.com/2014/08/27/competition-dominic-wilcoxvariations-on-normal-book-illustrated-inventions

â¤Ã§¡ÒþÅѧ§Ò¹¹éíÒ¢Öé¹¹éíÒŧãËÞ‹·ÕèÊØ´ã¹âÅ¡

บริษัท Atlantis Resource เผยงบการก อสร างโครงการพลังงาน น้ําขึ้นน้ําลงที่ใหญ ที่สุดในโลกในสก็อตแลนด ที่สูงถึง 83 ล านเหรียญ ดอลล าร สหรัฐฯ ซึง่ ถ าโครงการนีส้ าํ เร็จ จะสามารถผลิตกระแสไฟฟ าเทียบ เท ากับบ าน 175,000 หลัง จะมีเครื่องกังหันใต น้ํารวมทั้งสิ้น 269 ตัว เลยทีเดียว โดยในเฟสแรกจะเริม่ ทําการติดตัง้ เครือ่ งกังหันใต นา้ํ 61 ตัว ซึ่ ง จะสามารถผลิ ต กระแสไฟฟ า เที ย บเท า กั บ บ า น 42,000 หลั ง นับว าเป นการสร างพลังงานที่ยั่งยืนและช วยลดการปล อยคาร บอนใน อากาศอีกด วย See more: http://inhabitat.com/atlantis-announces-funding-for-the-worldslargest-tidal-energy-project-in-scotland/

ºÃÔÉ·Ñ mCube ¾Ñ²¹Òà¤Ã×Íè §μÑÇÇÑ´¤ÇÒÁà˧¢Í§¡ÒÃà¤Å×Íè ¹·Õè ¢Í§ÇÑμ¶Ø¢¹Ò´àÅç¡

บริ ษั ท เทคโนโลยี mCube พัฒ นาเครื่ อ งตั ว วั ด ความเร ง ของการ เคลือ่ นทีข่ องวัตถุขนาดเล็กเพือ่ ใช สาํ หรับฝ งในเสือ้ ผ าหรืออุปกรณ กฬี า ได สาํ เร็จ สามารถจับการเคลือ่ นไหว (MEMS) ด วยวงจรทีส่ ามารถอ าน ข อมูล ASIC ลงบนชิพเพียงอันเดียว ชิพตัวใหม นี้สามารถนําไปใช กับ เสือ้ ผ าหรืออุปกรณ กฬี าเพือ่ ตรวจจับการเคลือ่ นไหวขณะกําลังเล นกีฬา หรือทํากิจกรรม โดยจะเชือ่ มต อกับอินเตอร เน็ท จากนัน้ ชิพจะส งข อมูล ไปยังอุปกรณ อัจฉริยะเพื่อเก็บและวิเคราะห ข อมูล ขณะนี้ทาง mCube ได ส งชิพดังกล าวกว า 60 ล านชิ้น ไปยังประเทศจีนเพื่อใช สําหรับ สมาร ทโฟนและแท็บเล็ตแล ว

à¿Íà ¹Ôà¨Íà ÍÅÙÁÔà¹ÕÂÁ¼ÊÒ¹§Ò¹äÁŒ

ผลงานของนักออกแบบผลิตภัณฑ ชาวอิสราเอล Hilla Shamia กับ เก าอี้และโต ะสไตล ร วมสมัยผสมผสานงานไม และอลูมิเนียมเข าไว ด วย กันอย างลงตัว โดยการใช กระบวนการเทอลูมิเนียมเหลวลงไปหล อกับ ท อนไม ซุง ทําให เกิดเอฟเฟ กต ที่ผสมผสานระหว างการไหม ของไม กับ การไหลซึมของอลูมิเนียมเหลวลงไปในรอยแตกของเนื้อไม ให ความ รู สึกเหมือนวัสดุสองชนิดหลอมรวมตัวเข าด วยกันกลายเกิดเป นวัตถุ ใหม ขึ้นมา

See more: http://www.dezeen.com/2014/08/28/mcube-accelerometer-tiny- See more: http://www.thisiscolossal.com/2014/08/cast-aluminum-woodfurniture-hilla-shamia/ motion-sensors-clothes-wearable-technology/ 88



เรื่อง: กฤษณ นาคะชาต

àÁ×è;ٴ¶Ö§¡ÒÃÊíÒÃͧ¢ŒÍÁÙÅÍÒ¨´Ù໚¹àÃ×èͧ·ÑèÇä» áμ‹ËÒ¡ÅͧμÑ駤íÒ¶ÒÁ¨ÃÔ§¨Ñ§ ÁÑ¡¨Ð¾ºÇ‹Ò¼ÙŒãªŒ§Ò¹¤ÍÁ¾ÔÇàμÍà ʋǹãËÞ‹ÁÕ¾×é¹°Ò¹ ËÃ×Í»ÃÐʺ¡Òó 㹡Òà ÊíÒÃͧ¢ŒÍÁÙŹŒÍÂÁÒ¡ áÁŒã¹ÃдѺʋǹμÑÇàͧ¡çμÒÁ ʋǹãËÞ‹áÅŒÇÁÑ¡Áͧ¡Òà ÊíÒÃͧ¢ŒÍÁÙŤ×Í¡ÒÃà¡çº¢ŒÍÁÙÅäÇŒÍÕ¡·Õè à¼×èÍ¢ŒÍÁÙÅà¡‹ÒÁÕÍѹ໚¹ä»à¾Õ§෋ҹÑé¹ áμ‹ËÒ¡ÁͧãËŒÅÖ¡«Öé§Å§ä»ã¹àËμØ¡Òó ·ÕèÍÒ¨à¡Ô´¢Öé¹ä´Œã¹á¹ÇÍ×è¹ àª‹¹ ¡ÒÃà«¿·Ñº à¼ÅÍźä¿Å áÅФÇÒÁ໚¹»˜¨¨Øº¹Ñ ¢Í§¡ÒÃÊíÒÃͧ¢ŒÍÁÙÅ ËÁÒ¶֧ä¿Å ·ÊÕè Òí Ãͧ ¹Ñ¹é ¨Ð·íÒÍ‹ҧäÃãˌ໚¹ä¿Å ·ãÕè ËÁ‹àÊÁÍ à¾ÃÒÐËÒ¡ä¿Å ËÒÂáÅŒÇã¹ä¿Å ÊÒí Ãͧ¹Ñ¹é à¡‹Ò à¡Ô¹ä»¡ç¤§äÃŒ»ÃÐ⪹ ໚¹á¹‹¤ÃѺ ส วนวันนี้ผมคงไม ได สรุปว าวิธีใดวิธีไหนดีที่สุด ขึ้นอยู กับความเหมาะสม ถนัด และ สะดวกง ายของแต ละบุคคลนะครับ แต สําหรับวิธีที่แนะนํานั้นเน นสะดวกง าย ไม ต อง ติดตั้งโปรแกรมอะไรใดๆ ทั้งสิ้น เนื่องจากเป นคุณสมบัติที่ติดตัวมาของ Windows อยู แล วนั่นเอง มาดูกันเลยครับ หลายท านอาจเคยพบเห็นบ างเพียงแต ว าเป นฟ งก ชั่น การทํางานของ Windows Server ครับ แต หลายท านอาจไม ทราบว าใน Windows ปกติก็ มีเช นกัน นั่นคือ Previous Version คือคุณสมบัตใิ นการคืนค าไฟล โฟลเดอร ไปยังจุดทีม่ กี ารบันทึกไว โดยเมือ่ มีการเป ดใช งาน Previous version แล ว ระบบจะทําการบันทึกไฟล และโฟลเดอร ที่ถูกเปลี่ยนแปลงโดย อัตโนมัติ ซึ่งจะบันทึกได มากน อยแค ไหน ขึ้นอยู กับการตั้งค าของพื้นที่ในการบันทึก และ จะสัมพันธ กับพื้นที่ว างของฮาร ดดิสค ด วย แน นอนครับคุณน องท านนั้นไม ได เป ดไว เป น อันน าเสียดาย ก อนจะพูดถึงวิธตี อ ไป ลองมาดูการตัง้ ค า Previous version กันครับ คุณสมบัติ นี้มีมาช วง Windows Vista และ Windows 7 เป นต นมา ผมแนะนําให เป ดใช เลยครับ เพราะวิธีนี้ไม ใช Windows restore และใช งานง ายสะดวกกว ามาก และช วยเราได เมื่อไป เผลอลบหรือบันทึกไฟล ทับกันโดยไม ได ตั้งใจ เริ่มแรกให ทําตามขั้นตอนดังนี้ครับ 1. ไปที่ Control panel System protection ทางด านซ ายมือตามรูปเลยครับ

90

System protection มองหา system


2. เมือ่ เป ด System protection ขึ้นมา คุณจะ Drive ในเครือ่ งในช อง Protection Setting ให คุณเลือก Drive ที่ต องการเป ดใช Previous version แล วกดปุ ม Configure… ครับ

3. ระบบจะเป ดหน าต างใหม ขึ้นมาให คุณติ๊กเลือก Turn on system protection และกําหนดในส วนของ Disk space usage ซึ่งหากคุณ กําหนดพื้นที่เยอะ Previous version ก็จะสามารถย อนกลับไปได เยอะ และ Backup ได กว างขึ้นนั่นเองครับ เมื่อเสร็จขั้นตอนนี้ก็ Apply และ กลับไปทําเหมือนเดิมกับ Drive อื่น ซึ่งผมเองทําทุก Drive เลยครับ เพื่อความชัวร 4. เมือ่ เป ดทุกอย างแล วคุณจะต องสร าง Restore Point ก อนนะครับ เพือ่ เป นการกําหนดจุดทีจ่ ะย อนกลับ มาหาไฟล นั่นเอง โดยกลับไปที่ Tab System Protection แล ว Create Restore point ที่ด านล างสุดครับ เมื่อใช งานไปก็สามารถสร าง Restore Point ได อีกเรื่อยๆ ซึ่งขึ้นอยู กับแต ละท านจะวางแผนนะครับ ส วนถ าต องการสร าง Restore Point แบบอัตโนมัตินั้นก็มีอยู หลายวิธี เช น การใช งานร วมกับ Schedule Task หรือการเขียนสคริปต สั่งการเมื่อเป ดเครื่อง เป นต น ซึ่งท านสามารถค นหาได ใน Google ครับ ขออนุญาตไม นําเสนอในที่นี้ เพราะอาจจะยาวไป 5. หลังจากเป ดใช งานแล ว มาดูวิธีใช งานเมื่อเรา เกิดเผลอลบไฟล หรือเซฟทับไปนะครับ ให คุณเป ด Windows Explorer ขึ้นมาแล วพิมพ \\localhost\ c$ ระบบก็จะเข า previous version ของไดร ฟ C: คุณก็จะสามารถเข าไปดูดโฟลเดอร ต างๆ ได เหมือน ปกติ ซึ่งสมมุติว าคุณทําไฟล หายหรือเผลอลบหรือ เซฟทับไปก็แล วแต ให คุณไปที่โฟลเดอร ที่เก็บไฟล ครับ เช น ผมสมมุติว าไฟล ในโฟลเดอร ชื่อ PsTools ของผมหาย ก็คลิ๊กขวาเลือก Properties แล วไปที่ Tab Previous Version ซึ่งในส วนของ Folder version จะแสดงช วงเวลาที่มีการบันทึกโฟลเดอร นี้ไว ครับ ซึ่งเมื่อเลือกได ช วงเวลาที่ต องการคืนค าเพื่อค นหาไฟล แล วก็ให เราดับเบิ้ลคลิ๊กเลยครับ ระบบจะเป ดไฟล ที่ บันทึกไว ในช วงเวลานัน้ ขึน้ มา หากไฟล ทคี่ ณ ุ ต องการถูกบันทึกไว ในช วงเวลานัน้ ให กอ บป อ อกมาได เลยครับ เป นไงครับไม ยากเลยใช ไหม หรือถ าคิดว ายากแล วละก็ ผมว าถ าแลกกับไฟล หายแล วละก็ยอมเสีย เวลาเรียนรู หน อยดีกว า แต ส วนตัวผมเองจะใช หลายๆ วิธีรวมกันนะครับ ก อนจบบทความขอยก ตัวอย างสักเรื่องคิดว าเหมาะสมที่สุด คือการใช งาน Cloud อย างเช น Dropbox หรือ OneDrive เราก็เพียงสร างโฟลเดอร ที่ใช ซิงค กับคราวน ไว เก็บงานที่สําคัญ นอกจากจะปลอดภัยเรื่องไฟล หาย แล วยังสะดวกไม ตอ งพกพาอุปกรณ เก็บข อมูลให เมือ่ ยอีกด วยนะครับ แต สาํ หรับ Previous Version แล วข อดีตรงตามชือ่ ครับ คือมันสามารถย อนเวอร ชนั่ ของไฟล ได ดว ยนัน่ เอง สุดท ายนีข้ อให ไฟล ของ ทุกท านอยู รอดปลอดภัยกันด วยนะครับ Previous version: http://support.microsoft.com/kb/980444/th 91


เรื่อง: กองบรรณาธิการ

Project in Progress ©ºÑº¹Õé àÃÒ¨ÐμÒÁ´Ùâ¤Ã§¡Ò÷Õ蹋Òʹã¨ã¹àÁ×ͧàªÕ§ãËÁ‹¡Ñ¹ ËÅѧ¨Ò¡·ÕèàªÕ§ãËÁ‹¡íÒÅѧ àμÔºâμ¢Öé¹à»š¹Èٹ ¡ÅÒ§¡ÒÃàª×èÍÁμ‹Í·Ò§ÀÒ¤à˹×ÍàÁ×èÍà»Ô´ AEC ã¹»Õ˹ŒÒ¹ÕéáÅŒÇ àªÕ§ãËÁ‹Âѧ䴌ÃѺ¡ÒÃâËÇμãËŒμÔ´ Íѹ´Ñº·Õè 4 ·íÒàÅà¡ÉÕ³ÂÍ´¹ÔÂÁã¹ÊÒÂμÒªÒÇμ‹Ò§ªÒμÔ·ÑèÇâÅ¡¨Ò¡ ¹ÔμÂÊÒà Live and Invest Overseas ´Ñ§¹Ñ鹨֧ÁÕ¼ÙŒ¾Ñ²¹ÒÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ â¤Ã§¡ÒÃËÅÒÂæ ਌ÒËѹÁÒŧ·Ø¹ÊÌҧâ¤Ã§¡Ò÷Õè¹Õè¡Ñ¹ÁÒ¡¢Öé¹ àÃÒÁÒ´Ù¡Ñ¹Ç‹Ò ÁÕâ¤Ã§¡ÒÃã´·Õ蹋Òʹ㨠áÅÐÍÂÙ‹ÃÐËÇ‹Ò§¡ÒþѲ¹Òâ¤Ã§¡Òà ¡ÒÃÍ͡Ẻ ËÃ×Í¡Òá‹ÍÊÌҧºŒÒ§ ºÕ ÍàǹÔÇ àªÕ§ãËÁ‹ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่ใช สอย เจ าของโครงการ เริ่มต นก อสร าง คาดว าก อสร างแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

ถ.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม 17,500 ตารางเมตร บริษัท แสนสิริ จํากัด (มหาชน) ป 2556 ปลายป 2557 อยู ระหว างการก อสร าง

ลักษณะโครงการ แสนสิริ ส งโครงการ บี อเวนิว เชียงใหม ช็อปเฮาส โฮมออฟฟ ศสไตล โมเดิรน ล านนา สูง 3.5 ชัน้ จํานวน 100 ยูนติ ทีส่ ามารถตอบสนองความ ต องการได ทกุ รูปแบบ ลงตัวด วยพืน้ ทีฟ่ ง ก ชนั่ และดีไซน ทชี่ ว ยสะท อนภาพลักษณ โดดเด น บนทําเลศักยภาพเพื่อธุรกิจ ใกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม เชื่อมต อย านธุรกิจยอดฮิตอย าง ถนนนิมมานเหมินท และห างสรรพสินค า และรายล อมด วยแหล งชุมชนใกล เคียง พร อม รองรับทุกแรงบันดาลใจให คุณเข าถึงความสําเร็จได อย างเหนือกว า

Wittorio ºÒ äÇ« «Ô¡à¹à¨Íà ที่ตั้งโครงการ บนเนื้อที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มก อสร างโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

ถ.ดอยสะเก็ด-สันกําแพง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม 13 ไร บริษัท ไวซ พร็อพเพอร ตี้ จํากัด ป 2557 ป 2558 อยู ระหว างการออกแบบ

ลักษณะโครงการ โครงการไวซ ซิกเนเจอร โฮมออฟฟ ศ Wittorio สูง 3 ชั้น หน ากว าง 5 เมตร ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับความต องการของผู อยู อาศัยที่ต องการ พื้นที่ในการทํางานไปพร อมๆ กับพื้นที่สําหรับการพักผ อน โฮมออฟฟ ศที่ชั้นล างสามารถ ตกแต งให เป นส วนรับแขกหรือติดต อของบุคคลภายนอก ส วนชั้น 2 นั้นจัดให เป นพื้นที่ อเนกประสงค ที่จะสามารถปรับเปลี่ยนได ตามความต องการของคุณ ไม ว าจะเป นส วน พักผ อนของครอบครัวหรือจะใช เป นพืน้ ทีก่ ารทํางานก็สามารถทําได อย างลงตัว ในส วนของ พื้นที่ชั้นบนนั้นประกอบไปด วย ห องนอน 2 ห องพร อมห องน้ําในตัว เป นการแบ งสัดส วน ที่คํานึงถึงความเป นส วนตัว ซึ่งจะทําให ผู อยู อาศัยรู สึกถึงการพักผ อนอย างแท จริง

92


ͤÕÃÒ áÁà¹Íà àªÕ§ãËÁ‹ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่ใช สอย ผู พัฒนาโครงการ เริ่มก อสร างโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

ถ.นิมมานเหมินทร ซอย 9 อ.เมือง จ.เชียงใหม 5,000 ตารางเมตร บริษัท อัคริณ ฮอสพิทาลิตี้ แมเน็จเม นท เซอร วิซส จํากัด ป 2557 ป 2558 อยู ระหว างการเตรียมเอกสารขออนุญาต

ลักษณะโครงการ อัคริณ หันมาลงทุนร างรีสอร ตแนวบูติก ภายใต แบรนด อคีรา แมเนอร เชียงใหม ทีป่ ระกอบด วยห องสวีตและเรสิเดนซ รวม 30 ห อง ตัง้ อยูใ จกลาง เมืองบนถนนนิมมานเหมินท ซอย 9 ใกล กับแหล งร านค ามากมายและห างสรรพสินค า ทั้งยังใกล กับมหาวิทยาลัยเชียงใหม อคีรา แมเนอร ถูกออกแบบด วยดีไซน ที่โดดเด น สะดุดตาท ามกลางเมืองและแหล งท องเที่ยว

ÈØÀÒÅÑ Á͹àμŒ áÍ· àÇÕ§ àªÕ§ãËÁ‹ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มก อสร างโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

ถ.ซุปเปอร ไฮเวย อ.เมือง จ.เชียงใหม 5 ไร บริษัท ศุภาลัย จํากัด (มหาชน) ปลายป 2556 ปลายป 2558 อยูร ะหว างการเตรียมเอกสารขออนุญาต

ลักษณะโครงการ ศุ ภ าลั ย ส ง โครงการคอนโดมิ เ นี ย ม ตึกสูง 32 ชั้น ที่มีความกลมกลืนกับกลิ่นอายวัฒนธรรมของเชียงใหม ทัง้ การเลือกใช สอี าคาร “ข วง” สวนเป ดโล งเอนกประสงค และการเลือกนํา “ตุ ง ชั ย ” ซึ่ ง เป น สั ญ ลั ก ษณ แ ห ง “ความเป น ศิ ริ ม งคลของชี วิ ต ” มาประยุกต ใช เป นลายเส นหลักของอาคาร ทีป่ ระกอบด วยห องพักจํานวน 734 ห อง และส วนอํานวยความสะดวกที่ครบครัน

ÍÔ¹¹Ô«ÔâÍ àªÕ§ãËÁ‹ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่โครงการ ผู พัฒนาโครงการ เริ่มก อสร างโครงการ คาดว าแล วเสร็จ ความคืบหน าโครงการ

ถ.สันกําแพงสายใหม อ.สันกําแพง จ.เชียงใหม 78 ไร บริษัท แลนด แอนด เฮ าส จํากัด (มหาชน) ป 2557 ป 2557 อยู ระหว างการก อสร าง

ลักษณะโครงการ แลนด แอนด เฮ าส เองก็มโี ครงการทีเ่ ชียงใหม กว า 6 แห ง และโครงการบ านจัดสรรอินนิซโิ อ สันกําแพง ก็เป นอีกหนึง่ โครงการทีโ่ ดดเด น ด วยทําเล ท ามกลางธรรมชาติและวิวดอย อยู บนถนนสายตัดใหม ที่กําลังขยายเป น 4 เลน เชื่อมต อ เข าเมืองได อย างรวดเร็ว ตัวบ านที่ถูกออกแบบให มีความแตกต างจากโครงการอื่นๆ ด วยฟ งก ชนั่ การใช งานเต็มทุกพืน้ ที่ มีให เลือก 2 แบบ ด วยขนาดใช สอยตัง้ แต 119 ตารางเมตร บนขนาดที่ดิน 51 ตารางวา ด วยแนวคิดแบบบ านที่ก อสร างแล วเสร็จพร อมเข าอยู ทันที 93


เรื่อง: กองบรรณาธิการ ภาพ: DUCTSTORE the design guru Co.,Ltd.

´ŒÇ¤ÇÒÁÁØ‹§ÁÑ蹨ҡã¹ÇÑÂàÃÕ¹·Õè¼ÙŒªÒ¤¹¹Õé ¤Ø³¹¹·ÇѲ¹ à¨ÃÔÞªÒÈÃÕ Design Director DUCTSTORE the design guru Co.,Ltd. ä´Œ¾ÂÒÂÒÁ·íÒàÁ×Íè ¤Ãѧé ÈÖ¡ÉÒÍÂÙã‹ ¹ÃдѺ»ÃÔÞÞÒμÃÕ ¡Ñº¨Ø´à»ÅÕè¹·ÕèÊíÒ¤ÑÞ㹪ÕÇÔμä´ŒÊÌҧ»ÃÐ⪹ ãËŒ¡ÑºÁØÁÁͧ áÅÐá¹Ç¤Ô´¢Í§à¢Òã¹àÇÅÒμ‹ÍÁÒ Í‹ҧÁÒ¡ ´ŒÇÂ໚¹á¹Ç¤Ô´·Õ¼è ÊÁ¼ÊÒ¹ÇÔªÒ¤ÇÒÁÃÙ·Œ äèÕ ´ŒÈ¡Ö ÉÒÁҷѧé Êͧᢹ§´ŒÇ¡ѹ ÊÌҧÊÃä ໚¹ ¼Å§Ò¹ã¹ÊäμÅ ¢Í§à¢Òàͧ ·Õè¶×Í䴌NjÒâ´´à´‹¹áÅÐÁÕàÍ¡Åѡɳ ੾ÒÐμÑÇ โดยทั่วไปจุดเริ่มต นของนักออกแบบหลายๆ คน ย อมไม แตกต างกันมากนัก แต กับคุณนนทวัฒน แล วมีบางสิ่งที่แตกต างออกไป ซึ่งน อยคนนักจะ ทําได อย างทีเ่ ขาทํา เมือ่ คุณนนทวัฒน ศกึ ษาในระดับ ปริญญาตรีซึ่งถือได ว าเป นจุดเปลี่ยนมุมมองในชีวิต และวิชาชีพของเขาเลยก็ว าได โดยคุณนนทวัฒน ได เล าถึงการเริ่มต นนี้ว า “ผมเริ่มเรียนออกแบบที่คณะ สถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ตอนป 2535 พออีกหนึง่ ป ตอ มา ในป 2536 ก็ได เอ็นทรานซ ใหม อีกครั้ง คราวนี้สอบติดคณะครุศาสตร สาขา ศิลปศึกษา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ซึง่ พอทราบผล การสอบคุณแม ของผมก็อยากให ลาออกแล วไปเรียน ที่จุฬาลงกรณ ฯ เเต เนื่องจากผมอยากเรียนทางด าน สถาป ตยกรรมมากกว า เลยขอคุณเเม เรียนควบทั้ง สองมหาวิทยาลัยเลย ซึง่ ในตอนนัน้ ผมเองก็ไม รวู า จะ เรียนจนจบได ไหม รูเ เค วา อยากจะลองทําดู อยากจะ เป นคนเพียงไม กี่คนเท านั้นที่ทําได เพราะคิดว าสอง สาขาวิชานี้จะต องเป นประโยชน กับเราในอนาคต ได อย างเเน นอน ถ าเราสามารถผสมผสานวิชาความรู ที่เราได ศึกษามาสร างสรรค เป นผลงานในเเบบของ เราเอง และในท ายที่สุดผมก็สามารถศึกษาจบใน ระดับปริญญาตรีจากทั้งสองมหาวิทยาลัยนี้ได ”

94

ด ว ยบุ ค ลิ ก ของคุ ณ นนทวั ฒ น ที่ มี ค วามเป น ป จเจกบุคคลสูง มีเอกลักษณ เฉพาะตัว กอปรกับ มุมมองวิสัยทัศน ที่อาจแตกต างจากคนอื่นๆ ไป จนถึงแนวคิดและหลักการในการทํางานออกแบบที่ เป นสไตล เฉพาะตัวของเขาแล วด วย ทําให ผชู ายคนนี้ สามารถสร างผลงานที่หลากหลายออกมาให เราได เห็นกัน หากแต มุมองของคุณนนทวัฒน เองแล ว เขามองตัวเองผ านสายตาตัวเองอย างไร “ผมต องการ ให ออฟฟ ศของผมเป น Multidisciplinary Design Studio เพราะผมเป นนักออกแบบที่ไม อยากจํากัด ตัวเองอยู แต ในกรอบ ต องการสร างแนวทางการ ออกแบบใหม ๆ อยากหาแนวคิดอย างอื่นมาเสริม ให ผลงานนั้นแข็งแกร งขึ้น ผมจึงให นิยามทฤษฎีใน การออกแบบของตัวเองซึง่ เรียกว า ‘Graphitecture’ คือเป นงานออกแบบที่เป น Hybrid การผสมผสาน ระหว า ง Graphic + Architecture เเละงาน ออกแบบสาขาอื่นๆ จึงสามารถสร างสรรค ในสิ่งที่ สนใจอย า งหลากหลายได ตั้ ง แต ง าน Graphic Design, Magazine Design, Installation, Interior, Architecture หรืองานเเขนงอื่นๆ ไปจนถึงงานที่ เกี่ยวข องกับการสร าง Branding”


¤Ø³¹¹·ÇѲ¹ à¨ÃÔÞªÒÈÃÕ Design Director DUCTSTORE the design guru Co.,Ltd. ÍÒªÕ¾ : ¹Ñ¡Í͡Ẻ

95


¼Á໚¹¹Ñ¡Í͡Ẻ·ÕèäÁ‹ÍÂÒ¡¨íÒ¡Ñ´μÑÇàͧÍÂً㹡Ãͺ μŒÍ§¡ÒÃÊÌҧá¹Ç·Ò§¡ÒÃÍ͡ẺãËÁ‹æ ÍÂÒ¡ËÒ á¹Ç¤Ô´Í‹ҧÍ×è¹ÁÒàÊÃÔÁãËŒ¼Å§Ò¹¹Ñé¹á¢ç§á¡Ã‹§¢Öé¹

ส ว นแนวทางในการทํ า งานโดยหลั ก การของผมนั้ น จะนํ า เสนอข อมูลเเละรูปแแบบของงานออกแบบที่ตอบสนองโจทย เเละกลุ มเป าหมายของลูกค า อย างตรงจุดรอบด านเเละเกิน ความคาดหวังเสมอ แต ให อยูใ นงบประมาณทีต่ งั้ เอาไว ให เกิด ประโยชน สงู สุด อีกทัง้ ในการทํางานต องให ความจริงใจ ไม มอง แต เพียงเรื่องเงินเป นที่ตั้งทั้งหมด ถ าโปรเจคนั้นมีความ น าสนใจเเละไปด วยกันได กับหลักการของผม ผมก็จะทําให เกินร อย เพราะในงานออกแบบนั้นก็เหมือนการเเชร วิสัยทัศน ร วมกัน ถ าหากมีมุมมองไปด วยกันได ผลงานจะออกมาดี มากๆ เพราะผลงานที่ดีนั้นไม ได อยู ที่นักออกแบบเพียงอย าง เดียว มีองค ประกอบหลากหลาย ทั้งตัวสินค าหรือตัวลูกค า เองด วย ถ าทุกอย างเเมทช กันได ผลสัมฤทธิ์ของงานก็จะไป ได ไกลมาก เเต ที่สําคัญคือลูกค าต องเชื่อใจในตัวนักออกแบบ ด วย เปรียบเหมือนถ าหากคุณไม สบายแล วคุณซื้อยาทาน เองได คุณก็คงไม ตอ งมาหาหมอหรอก นักออกแบบก็ไม ตา งกัน TMB CENTRAL RAMA9 ถือได ว าเป นวิชาชีพเฉพาะเช นกัน” ซึ่งตลอดเวลาที่ผ านมานั้นคุณนนทวัฒน ได สร างผลงานที่หลากหลาย และก็มีผลงาน ที่น าประทับใจอยู ไม น อยเช นกัน ซึ่งต าง ก็เป นผลงานที่สร างชื่อเสียงและเป นที่น า จดจํา โดยคุณนนทวัฒน เองได กล าวถึงผลงาน ที่ประทับและน าจดจําเอาไว 4 โครงการ อาทิเช น โครงการ TMB RAMA9 & TMB CAPITAL MARKETS 2012 ซึ่งทั้งสอง โปรเจคนี้ เ ขาได มี โ อกาสร ว มทํ า งานกั บ องค กรใหญ อย างธนาคารทหารไทย โดย คุณนนทวัฒน ได เล าถึงความประทับใจเอาไว วา “ครั้งนี้ถือเป นการที่ได โอกาสร วมทํางาน กับองค กรใหญ ที่มองเห็นวิสัยทัศน ผลงาน ออกแบบของบริษัทเรา ซึ่งโครงการทั้งสอง โปรเจค คือ ธนาคารสาขาเซ็นทรัลพระราม 9 เเละห องค าเงินของธนาคารทหารไทย ที่อาคารสํานักงานใหญ ซึ่งต องจัดการประกวดแบบทุกครั้ง เเละ เราสามารถชนะบริษัทใหญ ๆ ที่เข าร วมประกวดด วยกันได ซึ่งเป นความรู สึกที่ทําให เราฮึกเหิม เลือดสูบฉีด เกิดเป นความท าทายขึ้นมา โดยโปรเจคทั้งสองโครงการนี้ เราได ออกแบบพื้นที่ปรับปรุงภาพลักษณ ของ ธนาคารสาขา ให ตอบสนองกลุม เป าหมายทีเ่ ป นคนรุน ใหม มากขึน้ ซึง่ เป นแนวคิดทีเ่ ราอยากให เกิดประสบการณ ใหม ๆ กับธนาคาร ส วนโครงการห องค าเงิน (TMB CAPITAL MARKETS) ผมออกแบบทําให เป น พื้นที่ครีเอทีฟสเปซ เพราะพื้นที่ทํางานก็มีความสําคัญถือเป นส วนหนึ่งของชีวิตของทุกคน พื้นที่นั้นต อง สามารถช วยส งเสริมความคิดสร างสรรค ในเชิงบวกของการทํางานได ถ าหากคุณแฮปป จากภายใน คุณก็ สามารถทํางานออกมาได อย างดีและมีประสิทธิภาพได มากขึ้น”

96


UPPERGROUND BY CARNIVAL

ส วนอีกหนึ่งโครงการที่คุณนนทวัฒน หยิบยกมานั้น คือ โครงการ UPPERGROUND BY CARNIVAL ซึง่ เป น Retail Shopที่ CENTRAL WORLD เป นร านค าแฟชั่นเเนว Street Wear เช น เสื้อผ า รองเท า ทีม่ กี ลุม เป าหมายทีช่ ดั เจนในเรือ่ งของ Style โดยคุณนนทวัฒน มแี นวคิด ในการสร างสรรค ร านคือ “เราได มีการออกแบบ Facade โดยใช วัสดุที่ เป นแผ นเหล็กเจาะรู (Perforated Sheet) เพือ่ ให เกิดสภาพทีค่ ลุมเครือ น าสงสัยทําให ตัวร านเกิดความน าสนใจ การเจาะช องเป ดสลับกับแผง Perforated Sheet เเละการเล นลูกเล นให มีหลาย Layer ซ อนทับกัน เป นการทดลองเรือ่ งของ Form เเละ Material ของเรา ซึง่ ทําให ผลงาน ที่ออกมานั้นเป นที่น าพอใจมาก ในทุกๆ ผลงานการออกแบบจะทําให เราสามารถต อยอดในการออกแบบต อไปได เรื่อยๆ” และในโครงการสุ ด ท า ยที่ คุ ณ นนทวั ฒ น ป ระทั บ ใจซึ่ ง ถื อ เป น งาน ออกแบบสถาป ตยกรรมชิน้ แรกของเขา คือ UNTITLED HOUSE เป น โปรเจคบ านพักอาศัยที่เขาตั้งใจทําให กับเพื่อนโดยไม คิดค าออกแบบ เพือ่ เป นของขวัญสําหรับชีวติ ทีเ่ ริม่ ต นใหม “เนือ่ งจากงานออกแบบชิน้ นี้ ทําเป นของขวัญให เพื่อน เมื่อไม มีเรื่องราคาค าออกแบบหรือเรื่องกําไร ขาดทุนเข ามาเกีย่ วข อง ก็ทาํ ให เราทํางานด วยความสนุกเเละผลตอบรับ ที่ได จากเจ าของบ านเเละสื่อต างๆ กลับออกมาดีเกินคาด ซึ่งเป น เสมือนโปรเจคทีเ่ ติมพลังทําให ผมมีไฟได กลับมาทํางานสถาป ตยกรรม อีกครั้งหนึ่งเลยทีเดียว” และเมื่อทํางานออกแบบไปมากๆ คนเราก็ตอ งหาแรงบันดาลใจใหม ๆ ให กั บ ตั ว เองอยู เ สมอ ซึ่ ง วิ ธี การเติ ม ไอเดี ย ของนั ก ออกแบบอย า ง คุณนนทวัฒน ก็ไม แตกต างกัน เพราะเขาเชื่อว าการสร างแนวคิดหรือ รีเฟรซตัวเองเกิดขึน้ ได อยูเ สมอ “เเรงบันดาลใจของผมส วนใหญ มาจาก หนังสือทีช่ อบซือ้ อ าน เพราะผมเป นคนซือ้ หนังสือเยอะมาก ทีเ่ กีย่ วข อง กับงานออกแบบเเทบจะทุกสาขา ไม ว าจะเป นหนังสือหรือเเมกกาซีน ภาษาไทยเเละภาษาต างประเทศ แต ผมจะไม คอ ยชอบแบบทีเ่ ป น Digital ผมชอบสิ่งพิมพ มากกว า ชอบเวลาที่สัมผัส ได กลิ่นกระดาษ ดูเทคนิค การพิมพ และเวลาที่ต องการค นคว าหรือกลับมาเป ดอ านใหม มันก็จะ ให ความรู สึกที่ต างกันไป เเล วเเต ช วงเวลาที่เราสนใจเรื่องนั้นๆ และ อีกอย างทีผ่ มชอบคือเรือ่ งเเฟชัน่ เพราะผมเป นคนชอบเเต งตัว ชอบสะสม รองเท า ชอบหาของมือสองที่สวนจตุจักร หรือ Shopping online คือ ผมเป นนักออกแบบ ผมรู สึกว าก อนที่เราจะไปออกแบบอะไรให ใคร ได นั้น เราก็ต องออกแบบตัวเราเองก อน เมื่อผมรู สึกดี ก็จะทําให ผมมี อารมณ คิดเเละสามารถสร างสรรค งานออกเเบบที่ดีออกมาได ด วย”

UNTITLED HOUSE

แม นั ก ออกแบบส ว นใหญ ต อ งทํ า งานหนั ก และ ทํางานไม ค อยเป นเวลานัก แต คุณนนทวัฒน ก็มีวิธี การบาลานซ การใช ชีวิตได อย างลงตัวเช นเดียวกัน หลายๆ คนที่มีใจรักในการทํางานออกแบบ “ผมว า นั ก ออกแบบส ว นใหญ ค อ นข า งนอนไม ค อ ยเป น เวลานะ แต อาจเป นเพราะเกินครึ่งชีวิตของผมค อน ข างใช ชีวิตเเบบนี้มาตั้งเเต สมัยเรียนหนังสือแล ว ผมยอมรับว าเป นคนนอนดึกและตืน่ สาย เเต มนั ก็เป น ไลฟ สไตล แบบผม ซึง่ ไม ได มผี ลกระทบกับงานจนเกิด ความเสียหาย จริงๆ ค อนข างรู สึกว าผมได ใช เวลา ทํางานไปมากกว าการพักผ อนด วย แต ในการทํางาน ทุกวันสําหรับผมก็เหมือนกับทีเ่ ราได พกั ผ อนไปด วยนะ เพราะเราได ทํางานที่เรารัก สิ่งที่เราถนัด มันเเทบจะ เหมือนกับว าเราไม ได ทํางานอะไรเลย เพราะเรา สนุกไปกับงานจริงๆ เเต ในวันหยุดส วนใหญ ผมจะ หาเวลาไปเดินเล นช อปป ง ทีต่ ลาดนัดสวนจตุจกั รบ าง เเละใช เวลากับครอบครัวเเละลูกแฝดของผม ซึง่ เเค นี้ ก็รู สึกว าดีมากเเล ว” และสุดท ายนี้ คุณนนทวัฒน ได ฝากข อคิดสําหรับ นักออกแบบรุ นใหม ๆ หรือน องๆ ที่กําลังก าวเข ามา ในวิชาชีพนี้เอาไว ด วย “การจะเป นนักออกแบบต อง อดทน การที่เราจะก าวมาเป นนักออกแบบในสมัยนี้ อาจเหมื อ นดู ง า ยๆ เเต คุ ณ ต อ งเจ ง จริ ง ๆ ทัง้ เรือ่ งงานออกแบบเเละการทําธุรกิจ เพราะคุณอาจ ออกแบบได ดี แต การได เงินจากการออกแบบก็เป น อีกเรื่องหนึ่ง คุณต องรู จักวิธีการต อรองหรือเรียนรู ที่ จะไม ถกู โกงค าออกแบบ ซึง่ สิง่ เหล านีค้ งเป นประสบการณ ข อ ง เ เ ต ล ะ ค น ที่ ต อ ง เ จ อ แ ล ะ เ รี ย น รู กั น เ อ ง ไม สามารถสอนกันได เเละอีกสิง่ หนึง่ ทีส่ าํ คัญ คืออย าทิง้ ความฝ น บางฝ นนั้นไม ได มาด วยวันเวลาอันใกล คุณต องลงมือทําอย างต อเนื่อง และถ าหากคุณอุทิศ ตนจริงๆ ในการเป นนักออกแบบ วันนั้นของคุณจะ มาถึงอย างเเน นอน”

97


¾×é¹·Õèà»Ô´¡ÇŒ Ò§ãËŒ á¡‹ ¹Ñ¡¤Ô´ ¹Ñ ¡Í͡Ẻ ËÇÁÊ‹§¼Å§Ò¹à¢Œ ÒÁÒà¾×èÍà¼Âá¾Ã‹Ê‹ÙÊÒÂμҼٌ͋ҹ ໚¹¡ÒùíÒàʹͼŧҹ·Õ¹è Ò‹ ʹ㨷ѧé ã¹ÁØÁ¢Í§¡ÒÃÍ͡Ẻ§Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ §Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ μ¡á싧ÀÒÂã¹ §Ò¹ÀÙÁÊÔ ¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ 仨¹¡ÃÐ·Ñ§è §Ò¹Í͡ẺÇÑÊ´Ø ÊÔ¹¤ŒÒ §Ò¹Í͡Ẻ»‡Ò áÊ´§ÊÑÞÅѡɳ ËÃ×ͧҹÍ͡Ẻ¡ÃÒ¿¿¡Ô áÅÐÊ×Íè ÊÔ§è ¾ÔÁ¾ ·§éÑ ËÅÒ ÊÒÁÒöʋ§¼Å§Ò¹à¢ŒÒËÇÁä´Œ áÅÐÊͺ¶ÒÁ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔÁè àμÔÁä´Œ·èÕ www.designerhub.in.th

ออกแบบโดย ติดต อ

Chatree Khuabphimai E-mail. archtree@gmail.com

ชื่อโครงการ Architect 8318 ลักษณะงาน Architectural Design บริการรับออกแบบงานสถาป ตยกรรมโครงการต างๆ ออกแบบโดย ติดต อ

Sarawut Ketsakorn 81 อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี Tel. 087-333-4556 Email. thekop06@hotmail.com Web: http://facebook.com/taey.eiei

ชื่อโครงการ บูธสินค า ลักษณะงาน Interior Design บูธสินค าขายของประเภทอาหาร จําพวกสลัดผัก เป น Kiosk ที่ลูกค า สามารถเลือกดูและบริการตัวเองได

98


ออกแบบโดย ติดต อ

ฆฤณ สารกิจอาภา 79/355 คลองสามวา บางชัน กทม. Tel. 02-906-2657 Fax. 02-906-2657 Email. khrindesign@gmail.com

ชื่อโครงการ RAMITA TRADING CO.,LTD. ลักษณะงาน Architecture Design บจก.รมิตา เทรดดิ้ง เป นสํานักงานของบริษัทที่เริ่มทําธุรกิจแบบค อยเป นค อยไป ซึ่งต องคํานึงถึงรายได ผลประกอบการ เป นเรื่องหลัก ดังนั้นการที่จะขยายพื้นที่สํานักงาน จะต องมีศักยภาพและสอดคล องกับเงื่อนไขข างต นเป นสําคัญ การลงทุน แต ละครัง้ จึงมองข ามค าใช จา ยทีจ่ ะตามมาในอนาคตไม ได โดยเฉพาะเรือ่ งพลังงานทีม่ กี รอบความคิดหลักอยูท ี่ “พลังงานลม” โครงสร างอาคารใช วัสดุมวลเบาเป นแกนหลัก เพื่อผลต อน้ําหนักของตัวอาคาร และช วยลดมวลอากาศร อนที่สะสมใน อาคาร ซึ่งจะถูกระบายขึ้นด านบน จากช อง Wind Returner ที่ใช แรงผลักดันจากลมที่ปะทะเข ากับด านข างของตัวอาคาร ด านบนอาคารติดตั้งแผงโซลาร เซลล เต็มผืนสําหรับนํามาใช กับระบบไฟแสงสว างทั้งหมดของภายในอาคาร และระบบป มน้ํา

ออกแบบโดย ติดต อ

อาบบุญ ปะทะยศ 3 KK. Apartment ซ.สุภาพงศ 3/1 ถ.ศรีนครินทร หนองบอน ประเวศ กทม. Tel. 02-865-4655 Fax. 02-865-4211 Email. vannies@hotmail.com Web. http://www.coroflot.com/vannydesign

ชื่อผลงาน Rainy day ลักษณะงาน Product Design ออกแบบผลิตภัณฑ เครือ่ งแต งกาย รองเท าบูทในคอลเลคชัน่ Fashionable Wellington/ created for “ UZH ‘’ Classic-version in 2006

ออกแบบโดย ติดต อ

Nattaphan Petkong 297/123 Plammy Condominium ซ.ลาดพร าว 80 ถ.ลาดพร าว วังทองหลาง กทม. E-mail. nattaphan_studio@hotmail.com Web. http://www.coroflot.com/kickoc

ชื่อผลงาน Gift & Decorate ลักษณะงาน Product Design งานออกแบบผลิตภัณฑ เชิงเทียนตัง้ โต ะ สําหรับเป นของตกแต งและของขวัญ ทีม่ ใี ห เลือก ทั้งแบบเชิงเทียนคู และแบบเชิงเทียนเดี่ยว 99


ออกแบบโดย ติดต อ

รุ งนภา อัศวสันติชัย 89/83 ม.จินดาทาวน 2 บางชัน คลองสามวา กทม. Tel. 081-567-5906 Email. kungrungnapa@gmail.com Web. http://www.openthinkstudio.com

ชื่อโครงการ Key Visaul ลักษณะงาน Graphic Design ออกแบบ Key visaul สําหรับเว็บไซต นําเสนอ wording “Target” สือ่ สาร ชัดเจนตรงต อเป าหมาย และ “Optimize” สื่อสารตามความหมายว า โปร งใสชัดเจนตรวจสอบได

ออกแบบโดย ติดต อ

ชยวัธน อึ้งรังษีโสภณ 65-67 ซอยเจริญนคร 49 ถนนเจริญนคร บางลําภูล าง คลองสาน กทม. Tel. 089-922-3664 Email. chayawat.u@gmail.com Web. http://www.facebook.com/Inspride

ชื่อผลงาน SG Ring ลักษณะงาน Product Design การออกแบบผลิตภัณฑ เครื่องประดับ เป นแหวนรุ นที่ระลึกของโรงเรียน เซนต คาเบรียล ตัวแหวนชุบทองคํา18k

ออกแบบโดย ติดต อ

อุดมพร เวชศาสตร 25 ซ.5 ถ.สะเดา ต.บ อยาง อ.เมือง จ.สงขลา Tel. 089-655-5956 E-mail. aoraomaon@windowslive.com

ชื่อโครงการ ในหลวง ลักษณะงาน Painting สีน้ําในสมุดวาดภาพ ขนาด A4 โดยมีแรงบันดาลใจมาจากความรู สึก ที่มีความสุขทุกครั้งที่ได วาดรูปในหลวง

100



เรื่อง: ปฏิทิน เวลา ภาพ: บริษัท ออกแบบ พาย จํากัด

102


หลายคนคงเข็ ด และนึ ก กลั ว เมื่ อ ได เ วลาไปหา หมอฟ นกัน การทําฟ นเป นเรือ่ งยากสําหรับหลายคน โดยเฉพาะสําหรับเด็กๆ แต ในป จจุบนั คลินกิ ทันตกรรม หลายแห ง ได พ ยายามสร า งภาพลั ก ษณ แ บบใหม ขึน้ มา เพือ่ เป นการเข าถึง เชิญชวน และสร างความมัน่ ใจ ให กับลูกค า เมื่อเข ามารับบริการได อย างสบายใจ และหนึง่ ในร านทําฟ นทีส่ ร างภาพลักษณ ใหม ได อย าง น าสนใจ Smile Gallery Dental Clinic คลินิก ทันตกรรมทีน่ าํ เอารูปแบบของการออกแบบตกแต งด วย แนวคิดที่ต องการเชิญชวนให ลูกค าเข ามาใช บริการ อย างสบายใจ และอยากกลับมาใช บริการบ อยๆ เป นการเปลี่ยนภาพลักษณ แบบเดิมๆ ในการทําฟ น ให ลดความกลัวการทําฟ นแบบปกติดว ยการตกแต ง ในสไตล โมเดิรน อาร ตเข ามาผสมผสานในแต ละส วน พื้นที่แต ละจุดจะได รับการออกแบบให เกิดฟ งก ชั่น การใช งานอันเพลิดเพลิน เมื่อต องนั่งรอรับบริการ เป นเวลานานก็ไม เกิดความรู สึกเบื่อได ง ายๆ โดยการออกแบบแนวคิดและการตกแต งทัง้ หมดของ คลินกิ แห งนีม้ าจากความฝ นของคุณหมอเจ าของร าน ทั้งสองท านที่ต องการถ ายทอดแนวความคิดและจุด มุ งหมายที่จะตอบสนองความต องการให กับลูกค า โดยผ านการสร างสรรค โดย “พาย” บริษทั ออกแบบชัน้ นํา ที่มีผลงานต างๆ มากมาย ทั้งงานคอมเมอร เชียล, คอนโดมิ เ นี ย ม, บ า น และอื่ น ๆ อี ก มากมาย ซึ่ง “พาย” สามารถตอบโจทย ความต องการทั้ง การนํ า แนวความคิ ด ที่ แ ปลกใหม ม าประยุ ก ต ใ ช และการสร า งจุ ด สนใจในผลงานที่ ดู โ ดดเด น เป น เอกลักษณ

103


แนวทางการออกแบบคลินิกแห งนี้ “พาย” ได เลือกการออกแบบด วยสไตล Modern Loft โดยเป นการ ให ความสําคัญกับพื้นผิวของวัสดุที่ใช ในการตกแต งเป นหลัก เริ่มตั้งแต ขั้นตอนการคัดสรรวัสดุที่จะนํามา ทําเฟอร นิเจอร และอุปกรณ ตกแต งที่มีพื้นผิวสัมผัสและความละเอียดอ อนในลวดลายของวัสดุต างๆ วัสดุ ประเภทไม ที่แสดงถึงการผสมผสานกันระหว างการตกแต งสไตล Modern และ Loft เข าด วยกัน ผนวกกับ ผนังคอนกรีตขัดมันที่ได รับการออกแบบและตกแต งเป นพิเศษให อารมณ แบบดิบๆ แทรกด วยสีสันและ รูปแบบของเฟอร นเิ จอร ทดี่ แู ปลกตา เสริมด วยการสร างความสบายตาและก อให เกิดความรูส กึ ทีอ่ บอุน โดย การเลือกใช โทนสีของแสงไฟเข ามาช วยเพิม่ เติมในส วนต างๆ ของห องทันตกรรม ด วยคอนเซ็ปต ของคลินกิ ที่ ต องการเปลี่ยนความน ากลัวในการทําฟ นรูปแบบเดิมๆ ในอดีตให กลายมาเป นความอบอุ น ให บรรยากาศ ที่ผ อนคลายและดูเป นกันเองเมื่อก าวเข าประตูมา การออกแบบห องทันตกรรมได แรงบันดาลใจมาจาก สเปคตรัมของแสง เกิดเป นแสงไฟที่สะท อนออกมาพาดผ านบานกระจกของห องทันตกรรม โดยกลุ มลูกค าของคลินิกส วนใหญ เป นเด็กและวัยรุ น รวมถึงผู ที่มาใช บริการแบบเป นกลุ มหรือครอบครัว ดังนัน้ การจัดเตรียมบริเวณพืน้ ทีน่ งั่ รอจึงเป นส วนสําคัญทีจ่ ะช วยสร างความรูส กึ ทีเ่ ป นมิตร และให ความรูส กึ ผ อนคลายแก ผมู าใช บริการ การจัดวางเฟอร นเิ จอร ได ถกู ออกแบบให มลี กั ษณะเป นมุมทีส่ ามารถนัง่ คุยหรือ นั่งรอเป นกลุ มหลายคนได สร างเป นมุมน ารักและเก ๆ เพื่อดึงดูดให กลุ มลูกค าสามารถใช เวลาว างระหว าง นั่งคอยรับบริการไปพร อมถ ายรูปเก็บไว อวดเพื่อนๆ เป นที่ระลึกได อีกด วย

104


โครงการ สถานที่ตั้ง ก อสร างแล วเสร็จ เจ าของโครงการ ผู ออกแบบ ถ ายภาพ

Smile Gallery Dental Clinic 178/7 ถ.รัชดาภิเษก จันทรเกษม จตุจักร กทม. ป 2014 Smile Dental Clinic บริษัท ออกแบบ พาย จํากัด 556/56 ซ.สุขมุ วิท 55 (ทองหล อ) แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 บริษัท ไทเกอร ลิลลี่ คอมมิวนิเคชั่น จํากัด

ขอบคุณข อมูลจาก บริษัท ออกแบบ พาย จํากัด 556/56 ซ.สุ ขุ ม วิ ท 55 (ทองหล อ ) คลองตันเหนือ วัฒนา กทม. 10110

105


เรื่อง: ผศ.รัชด ชมภูนิช คณบดี คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ภาพ: คุณสรวิศ ณ นคร

การเข าปฏิบัติงานในสํานักงาน ถือเป นขั้นตอนเริ่มต นในการเตรียมตัวเข าสู ชีวิตแห งการปฏิบัติวิชาชีพของ สถาปนิก/ภูมิสถาปนิกใหม อย างแท จริง หลังจากตนเองได ใช เวลาส วนใหญ ในชีวิตไปกับการศึกษามาโดย ตลอด ดังนัน้ การประพฤติปฏิบัติตัวให สมกับการทํางานในฐานะมืออาชีพ (Professional) จึงเป นสิง่ จําเป น อย างยิง่ สําหรับการประพฤติปฏิบตั ติ นตลอดเวลาทีป่ ฏิบตั งิ านในสํานักงานหรือหน วยงานต างๆ และจะเป น พื้นฐานสําคัญต อการบ มเพาะทัศนคติที่ดีในการปฏิบัติวิชาชีพของตนเองต อไปในอนาคต นอกจากนี้ ช วงเวลาในการเริ่มต นชีวิตการทํางานขอให ลืมความคิดว าตนเองเพิ่งจบการศึกษา หรือตนเอง เป น เพียงสถาปนิก/ภูมสิ ถาปนิกใหม ออกไปโดยสิ้นเชิง เพราะความคิดดังกล าวจะเป นอุปสรรคอย างยิง่ ต อการทํางานอย างเต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากตนเองจะมีข ออ างและข อยกเว นให ตนเองเสมอ และ ประเด็นสําคัญคืออาจก อให เกิดความบกพร องเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการปฏิบตั งิ านทีข่ าดความรับผิดชอบ อย างเต็มที่ต อหน วยงานต นสังกัดได ดังนั้น เพื่อให เกิดประโยชน ต อการพัฒนาตนเอง และการเริ่มต นการ ทํางานอย างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ การสร างมูลค าเพิม่ ให ตนเอง และยังเป นผลดีตอ นิสติ รุน น องทีจ่ ะเข ารับ การฝ กปฏิบตั งิ านกับหน วยงาน/สํานักงานต างๆ ในนามสถาบันต อไปในอนาคต จึงขอให บณ ั ฑิตใหม ทกุ คน ถือปฏิบัติตามแนวทาง 10 ประการนี้ โดยเคร งครัดระหว างการปฏิบัติงานของตนเอง

106


1. จงรู ….กาละและเทศะ : จงปฏิบัติตนให เหมาะสมกับ กาละ หรือ โอกาสอย างเคร งครัด โดยหมั่นสังเกตเพื่อนร วมงาน บุคคลรอบข าง และสถานการณ แวดล อมของตนเองว าในช วงเวลานั้นๆ ตนเองอยู ใน สถานการณ แบบไหน และควรปฏิบัติตนอย างไร รวมทั้งจงปฏิบัติตัว ให สอดคล องกับเทศะ หรือระเบียบปฏิบัติของหน วยงาน โดยเฉพาะ อย างยิ่งต องแต งกายให ถูกต องตามระเบียบของบริษัทที่ตนเองเข า ฝ กงาน เพื่อแสดงว าตนเองให ความเคารพต อสถานที่ทํางานและเป น สมาชิกคนหนึ่งสังคมของทํางานโดยไม แปลกแยก

2. อย ามา (ทํางาน) แบบไทย….แต (กลับบ าน) ไปแบบฝรั่ง : การเข าปฏิบัติงานก อนเวลาเข างานถือเป นเรื่องสําคัญลําดับแรกของ ชีวิตคนทํางานน องใหม เนื่องจากการกระทําดังกล าวจะบ งบอกถึง ความมีวนิ ยั ในชีวติ และความรับผิดชอบของตนเองทีม่ ตี อ งานและสถานที่ ทํางาน ดังนั้น เพื่อสร างความประทับใจแก ผู บังคับบัญชาและเพื่อน ร วมงาน จงเดินทางมาถึงสถานที่ทํางานก อนเวลาเข างาน อย างน อย 30 นาที และควรกลับจากสถานที่ทํางานหลังเวลาเลิกงาน 30 นาที เป นประจําทุกวันหากไม มีกิจธุระจําเป นเร งด วน นอกจากนี้ในการนัด หมายประชุมต างๆ ทั้งภายในสํานักงานและกับลูกค า (หากมีโอกาส) จงมาก อนเวลานัดหมายประมาณ 15 นาทีเสมอ

3. อย าเป นคนเหยียบขี้ไก …ไม ฝ อ : จงระลึกเสมอว าในการปฏิบัติ งานจริ ง เจ า ของบริ ษั ท เป น ผู ว า จ า งให เ รามาทํ า งานโดยมี เ งิ น ค า ตอบแทน ดังนัน้ จงใช เวลาทุกนาทีในชัว่ โมงทํางานอย างมีประสิทธิภาพ อย างเต็มที่ โดยให ละเว นพฤติกรรมการเล นทางเครือข ายออนไลน ต างๆ โดยเด็ดขาด ได แก ไม เช็ค E-mail เล นโปรแกรม Chat Online (MSN, facebook, etc.) เล นเกมส เล น Internet ดูขา ว ดูเว็บไซต ฯลฯ รวมทั้งการกระทํากิจกรรมทางคอมพิวเตอร อื่นใด นอกเหนือจากงาน ในความรับผิดชอบของตนเองระหว างเวลาทํางาน

4. ยืนบนลําแข งของตนเอง…เสมอ : ในวันแรกของการปฏิบัติงาน ในสํานักงานหรือหน วยงาน จงนําอุปกรณ และเครื่องมือเขียนแบบที่ จําเป นของตนเอง เช น ปากกา ดินสอ ยางลบ ฉากปรับมุม ฯลฯ ไปใช งานในสถานที่ทํางาน เพื่อลดภาระเรื่องการเตรียมการและทรัพยากร ของสํานักงานต นสังกัด รวมทัง้ ระหว างการปฏิบตั งิ าน เมือ่ ตนเองได รบั มอบหมายงานใดก็ตามพึงกระทําด วยตนเองให ลลุ ว งเสียก อนขอความ นอกจากนี้ ระหว างเวลางานไม ควรใช เวลาทํางานอ านหนังสือพิมพ หรือ ช วยเหลือจากผู อื่น ยกเว นเป นเนื้อหาของงานที่ต องได รับคําปรึกษา หนังสืออ านเล น หรือคุยโทรศัพท สว นตัวของตนเอง แม วา จะปฏิบตั งิ าน นอกจากนี้การดูแลตัวเองอย างผู ใหญ และคนทํางานเป นเรื่องที่ต อง ทีร่ บั ผิดชอบจนแล วเสร็จก็ตาม ควรนําแบบพิมพ เขียวอาคารของสถานที่ ปฏิบัติเป นอย างยิง่ ระหว างการทํางาน โดยละเว นการขอรับบริการและ การอํานวยความสะดวกอันเกินสมควรหรือมากเกินปกติจากบุคลากร ทํางานมาศึกษาหาความรู เพิ่มเติม สนับสนุน เช น แม บ าน พนักงานรักษาความปลอดภัย เป นต น

เริ่มต นชิมลางเอาไปสี่แนวคิดกันก อน เพื่อนําไปลองปฏิบัติกันดู และในโอกาสหน าผมจะนําเสนอในส วนที่เหลือ ให ครบสิบข อควรปฏิบัติ เพื่อเป นประโยชน กับบัณฑิตใหม ในการสร างมูลค าเพิ่มให กับตนเองสู วิถีแห งมืออาชีพใน อนาคตต อไปครับ 107


ตอบโดย: คุณชวลิต สุวัตถิกุล

¤ÍÅÑÁ¹ ·Õè䢤ÇÒÁÃÙŒáÅÐãËŒ¤íÒμͺàÃ×èͧ»˜ÞËÒà¡ÕèÂǡѺÊÕ·ÒÍÒ¤ÒúŒÒ¹àÃ×͹ â´Â¾Õè¨Ø ¡ –ªÇÅÔμ ÊØÇÑμ¶Ô¡ØÅ ·Õè»ÃÖ¡ÉÒ áÅмٌ¤ÃèíÒËÇÍ´ã¹Ç§¡ÒÃÊÕÁÒÂÒǹҹ ËÒ¡ã¤ÃÁÕ¤íÒ¶ÒÁËÃ×Í¢ŒÍʧÊÑÂàÃ×èͧÊÕ...ÊÕ....ÊÒÁÒöʋ§¤íÒ¶ÒÁÁÒä´Œ·Õè editor.buildernews@gmail.com ¡Ñ¹ä´ŒàÅÂ

คําถามแรกจากเจ าของบ าน: เจ าของบ านทาสีชนิดน้าํ Water based กับผนังบริเวณห องน้าํ แล วเกิด การลอก ร อน โป งพอง อยากทราบว ากรณีนี้สาเหตุเกิดจากอะไร ได บ าง? แล วเราควรเลือกสีประเภทไหนที่เหมาะกับการใช งานในพื้นที่ ที่มีความชื้นสูง เช น บริเวณห องน้ํา หรือบริเวณซักล าง คําตอบ: ผนังห องน้ําเป นจุดที่มีความชื้นสะสมตัวอยู สูงมาก โดยเฉพาะบ านที่มี ห องน้ําชั้นบนและชั้นล างตรงกัน ผนังห องน้ําชั้นล างจะสะสมความชื้น จากพื้นและผนังของห องน้ําชั้นบนมากกว าปกติ ความชื้นนี้มาจาก การสะสมของการซึมผ านรอยยาแนวกระเบื้องทั้งผนังและพื้น การซึม ของน้ํ า มี ลั ก ษณะเฉพาะที่ ส ามารถซึ ม ขึ้ น ทางแนวตั้ ง ได โดยผ า น ทางตัวกลางเช นผนังอิฐของห องน้ํา เมื่อไปถึงผนังส วนที่ทาสีไว น้ําจะ เปลี่ยนสภาพเป นไอน้ําและเกิดแรงดันใต ฟ ล มสี ทําให เกิดสภาพฟ ล ม สีพองและลอกล อนได ป จจุบันนี้มีสีที่มีคุณสมบัติพิเศษที่ความชื้นสามารถระเหยผ านฟ ล มได โดยที่ไม เกิดความเสียหายแก ฟ ล มสี ลองไปที่ร านสีใหญ ๆ ที่มี PC แนะนํา แล วสอบถามรายละเอียดของผลิตภัณฑ กบั PC ได อย างสีของ เบเยอร ก็จะมีผลิตภัณฑ ที่ใช กับงานบูรณะอาคารทางประวัติศาสตร ที่ ใช ได ดีอยู ระบบหนึ่ง เหมาะกับการแก ป ญหาลักษณะนี้ได ดี แต อย าลืม ขัดสีเก าออกก อนด วยแปรงพลาสติก และห ามใช แปรงโลหะเพราะ จะเป นคราบสนิมภายหลังได ให ทําพื้นผิวสะอาดเรียบร อยก อนจะทาสี ใหม เสมอ

108

คําถามที่สองจากเจ าของบ าน: หากต องการทาสีห องใหม สามารถทาสีทับของเดิมไปได เลยหรือไม ? และควรใช สีประเภทไหนดี? หรือเราควรขูดลอกสีเดิมออกก อน และ จําเป นต องลงสีรองพื้นขาวซ้ําอีกครั้งก อนลงสีใหม ด วยหรือไม ? คําตอบ: จากคําถามนีน้ า จะเป นการทาสีภายในอาคาร เงือ่ นไขการเตรียมพืน้ ผิว ขึ้นอยูก บั สภาพผิวสีเดิม หากเอามือลูบดูแล วไม มคี ราบขาวติดมา ไม มี คราบเชื้อรา ก็สามารถทาสีทับได เลย หากลูบแล วมีคราบฝุ นขาวต อง ทําความสะอาดด วยน้ําที่ต มสุกแล ว และผ าที่ต มฆ าเชื้อแล ว (เพื่อหลีก เลีย่ งการปนเป อ นเชือ้ รา) เอาผ าชุบน้าํ หมาดๆ เช็ดจนไม มคี ราบฝุน ติด ผ าหรือเหลือติดน อยที่สุด แล วทาชั้นแรกด วยสีรองพื้นปูนเก า จึงค อย ทาสีทบั หน า กรณีทมี่ คี ราบเชือ้ ราให ใช นา้ํ ยาฆ าเช้อื ราสําหรับทาสี มีขาย ทั่วไปเอาชนิดที่ทาสีทับได ทาก อนตามวิธีใช ข างกระป อง แล วค อยทา รองพื้น แล วทาสีทับหน า มีขอ คิดเรือ่ งสีภายในทีอ่ ยากแนะนําคือ สีภายในโดยทัว่ ไปจะมีราคาถูก กว าสีภายนอก แต ป จจุบันนี้มีสีภายในคุณภาพสูงที่เช็ดล างได ดีมาก และยังป องกันเชือ้ ราเชือ้ โรคได อกี ด วย หรือชนิดทีก่ นั เชือ้ โรคและกําจัด กลิน่ อับ กลิน่ อาหารได ดแี น นอน ทว าราคาแพงกว าสีภายในธรรมดาทัว่ ไป แต ลองคิดถึงกระบวนการทาสีทยี่ งุ ยากและค าแรงทีต่ อ งจ ายแต ละครัง้ เทียบกับการทาสีดีๆ แล วอยู ไปจนลืม เพียงแต คอยทําความสะอาด ก็เรียบร อยเหมือนใหม อย างไหนจะดีกว ากัน



เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้ ภาพ: Fill in the Blank

110


ËÒ¡ã¤Ã¡íÒÅѧËÒʶҹ·Õè¹Ñ觪ÔÇã¹ÇѹʺÒÂæ àÃÒ¢Íá¹Ð¹íÒÌҹäÅ¿ŠÊäμÅ ªçÍ»áË‹§ãËÁ‹Å‹ÒÊØ´·ÕèÁÕ àÍ¡Åѡɳ äÁ‹àËÁ×͹ã¤Ã‹ҹ㨡ÅÒ§àÁ×ͧ ·ÕèÁÕª×èÍÇ‹Ò ‘Fill in the blank’ (¿ÔÅÍÔ¹à´ÍÐáºÅ§¤ ) ·ÕèãËŒºÃÔ¡Òäúǧ¨Ã·Ñé§ÍÒËÒà à¤Ã×èͧ´×èÁ ÃÇÁ¶Ö§¼ÅÔμÀѳ± ¨Ò¡·Ò§ÃŒÒ¹ ร าน Fill in the blank มีจุดเริ่มต นมาจากร านขายเฟอร นิเจอร และของแต งบ านสไตล เรียบง าย และมี กลิน่ อายของธรรมชาติทตี่ ลาดนัดจตุจกั ร และจากผลตอบรับทีด่ ที าํ ให Fill in the blank มีความคิดทีจ่ ะเพิม่ ไลน สินค าเพื่อตอบรับกับไลฟ สไตล ของคนในป จจุบันให มากยิ่งขึ้น ไม ว าจะเป นการแต งกาย ของตกแต ง บ าน และวัฒนธรรมการกินดื่ม ทําให เกิดไอเดียในการเป ดร านที่เป นเหมือนไลฟ สไตล ช็อปที่มีทั้งส วนของ ร านกาแฟ ขนม อาหาร รวมถึงผลิตภัณฑ กลุ มหลักของทางร าน บรรยากาศภายในร านเน นกลิ่นอายของความเป นธรรมชาติ ให ความรู สึกอบอุ นเหมือนอยู ท ามกลาง บรรยากาศธรรมชาติแถบชานเมืองของฝรั่งเศส โดยเน นความเชื่อมโยงกันทั้งหมดระหว างการดีไซน ผลิตภัณฑ กลุ มของตกแต ง การตกแต งภายใน และการจัดรูปแบบในการเสริฟ เครื่องดื่ม ขนม และอาหาร ต างๆ ที่คงคอนเซ็ปต ของความเรียบง าย และผ อนคลาย เน นตกแต งด วยเฟอร นิเจอร วัสดุที่ทําจากไม และ สินค าจากทางร าน อาทิ กระเป าผ าฝ าย, กระเป าผ ากระสอบ และของตกแต งบ านอื่นๆ นอกจากนี้ยังมี ผลิตภัณฑ ออร แกนิคแบรนด ดงั จากอเมริกาอย าง Badger ทีเ่ น นพวกบาล มบํารุงผิวจากธรรมชาติ 100% เช น ลิปบาล ม ครีมกันแดด ฯลฯ และสําหรับใครที่ชอบบรรยากาศแบบธรรมชาติทางร านก็มีที่นั่งโซนเอาท ดอร เป นโซฟาบนลังไม ด วย

111


ในส วนของอาหารเน นเมนูงา ยๆ มีให เลือกทัง้ เมนูอาหารเช า, แซนด วชิ , พาสต าและซุป ทางด านเครื่องดื่ม ทีเด็ดอยู ที่ Fill’s Signature ลาเต ร อนๆ พร อมวิปครีม ส วนคอกาแฟแนะนําให ลอง Espresso จาก เมล็ดกาแฟตัว House Blend ของ Pacamara ทีเ่ ป นเมล็ดจากดอยช าง ผสมกับกัวเตมาลา บราซิล และอินโดนีเซีย และในส วนขนมหวาน ขอแนะนํา French Lemon Tart และ Apple Crumble ร าน Fill In the Blank ทีต่ ง้ั 28/10 ซอยสุขมุ วิท 61 แขวงคลองตันเหนือ วัฒนา กรุงเทพมหานคร 10110 โทร 02-390-1087, 086-535-8661

112



เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้ ภาพ: คาเมล รีพับบลิค

¶ŒÒ¾Ù´¶Ö§Ê¶Ò¹·Õ·è Í‹ §à·ÕÂè Ç·ÐàÅ·Õäè Á‹ä¡Å¨Ò¡¡ÃØ§à·¾Ï Íѹ´ÑºμŒ¹æ ·Õ¤è ¹¹ÔÂÁä»à·ÕÂè Ǿѡ¼‹Í¹ã¹ÇѹËÂØ´ ¡ç¤§¨Ð˹ÕäÁ‹¾¹Œ ¾Ñ·ÂÒ, ËÑÇËÔ¹ áÅЪÐÍíÒ â´Â੾ÒÐÍ‹ҧÂÔ§è à´ÕÂë Ç¹Õ¶é ¹¹ÊÒªÐÍíÒ-ËÑÇËÔ¹ ÁÕʶҹ·Õè ·‹Í§à·ÕèÂÇà»Ô´ãËÁ‹ÁÒ¡ÁÒ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ Santorini Park ËÃ×Í Swiss sheep farm áÅÐàÁ×èÍ àÃçÇæ ¹Õé ¡çà¾Ô觨ÐÁÕʶҹ·Õ跋ͧà·ÕèÂÇà»Ô´ãËÁ‹ «Ö觡ç¤×Í Camel Republic (¤ÒàÁÅ ÃվѺºÅÔ¤) ¹Ñè¹àͧ

114


Camel Republic (คาเมล รีพบั บลิค) เป นสถานทีเ่ ทีย่ วแห งใหม ในอําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี เป นคอมมูนติ ี้ มอลล ทีม่ ที งั้ เครือ่ งเล นและสวนสัตว บนพืน้ ทีก่ ว า 35 ไร ภายในตกแต งหรูหรา คลาสสิคด วยสถาป ตยกรรม รูปแบบโมร็อคโคผสมผสานกับศิลปะสีสันสดใส แบ งออกเป น 3 โซน ได แก โซนร านค า ประกอบไปด วย ร านขายของที่ระลึก และร านอาหาร ของว างและเครื่องดื่มที่สร างสรรค เมนูแปลกใหม ให ได เลือกอิ่มอร อย โซนเครือ่ งเล นประกอบไปด วย เครือ่ งเล นทันสมัยสไตล แปลกใหม หลากหลายชนิด อาทิ Sky Fly เครือ่ งเล น จําลองการโดดร มแห งเดียวในประเทศไทย, Zero Gravity เครือ่ งเล นไร การทรงตัวเหมือนอยูใ นสุญญากาศ หรือ Macaw เครื่องเล นที่พาคุณโฉบเฉี่ยวไปบนท องฟ าราวกับฝูงบินของนกมาคอร และโซนสุดท าย คือ โซนสวนสัตว ทีค่ ณ ุ จะได เพลิดเพลินไปกับสัตว นานาชนิดและได สมั ผัสอย างใกล ชดิ กับการป อนอาหารสัตว แสน น ารัก ไม ว าจะเป น อูฐ ยีราฟ อัลปาก า ฟลามิงโก พาตาโกเนียนมาร า ปลาคาร ฟ แพะแองโกร า นอกจากนี้ ยังเหมาะสําหรับเป นจุดแวะพักเดินเล น รับประทานอาหาร หรือถ ายภาพที่น าประทับใจอีกด วย 115


Camel Republic (คาเมล รีพับบลิค) สามารถรองรับนักท องเที่ยวได ไม ต่ํากว า 8,000 คนต อวัน ตั้งอยู บนถนนเพชรเกษม ตรงข ามกับ Santorini Park เป ดให บริการทุกวันจันทร -พฤหัสบดี 10.00-18.00 น. และวันศุกร -อาทิตย เวลา 09.00-19.00 น. และวันหยุดนักขัตฤกษ เวลา 09.00-19.00 น. สําหรับราคา ค าบริการและเข าชม ผู ใหญ ราคา 120 บาท และชาวต างชาติ 200 บาท (เด็กที่มีส วนสูงไม ถึง 100 ซม. เข าฟรี) สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได ที่ โทรศัพท 0 32890 860

116



เรื่อง: สุพิชชา โตวิวิชญ

After

เป นอีกโครงการทีน่ าสนใจในการปรับเปลีย่ นอาคารใช สอย จากอาคาร สํานักงานเดิมของสถาปนิกและศิลป นแห งชาติ คุณเมธา บุนนาค ซึ่งได ย ายออกจากที่ตั้งเดิมในย านทองหล อ-เอกมัย โดยอาคารได ถูก ปรับเปลีย่ นใหม ให เป น Showroom สําหรับ Outdoor Furniture ชือ่ ดัง แบรนด Kenkoon โดยฝ มือของสถาปนิก CHAT Architects แนวคิด ของการออกแบบนั้นมีความสอดคล องกับทั้งอัตลักษณ ของแบรนด Kenkoon ในสเกลเล็กที่ถูกถ ายทอดออกมาสู การวางผังและรูปทรง ทางสถาป ตยกรรม นอกจากนี้สถาปนิกยังใส ใจกับการพยายามสร าง ความเชื่อมโยงกับเมืองและถนนโดยรอบอีกด วย จากอัตลักษณ ของ แบรนด เฟอร นเิ จอร Kenkoon ซึง่ เน นการใช สอยกลางแจ ง โครงสร าง เฟอร นิเจอร เป นสแตนเลสและไม สัก รูปลักษณ มีความเป นไทยและ เอเชียร วมสมัยทีช่ ดั เจน นําไปสูก ารออกแบบ Showroom ทีม่ คี วามเป ด โล ง เน นพืน้ ทีก่ งึ่ กลางแจ ง และละเอียดอ อนกับความสัมพันธ ของพืน้ ที่ ภายในและภายนอกอย างมีมติ ิ ทีแ่ ม จะดูเป ดโล งแต ในขณะเดียวกันก็มี ความเป นส วนตัว 118

Before


Before

After

คุณฉัตรพงษ ชื่นฤดีมล จาก CHAT Architects เล าให ฟ งว าต องการ ออกแบบ Showroom ทีม่ คี วามน าสนใจและในขณะเดียวกันก็อยากให พื้นที่ของ Showroom เองมีประโยชน ต อถนนและบริบทโดยรอบด วย เช นกัน จากรั้วศิลาแลงที่หนาทึบแต เดิมที่ถูกสร างขึ้นเพื่อปกป องพื้นที่ ภายในออกจากความวุ นวายของถนนภายนอก เนื่องจากต องใช สอย เป นอาคารสํานักงานที่ต องการสมาธิในการทํางานสูง เพื่อสร างสวน สีเขียวทีส่ วยงาม ภายในเป นพืน้ ทีเ่ ฉพาะของอาคารสํานักงานได ถกู ปรับ เปลีย่ นใหม เป นรัว้ ทีโ่ ปร งใสสายตา เนือ่ งจากการใช สอยใหม คอื ร านค า ที่ต องการเป ดตัวเอง และเชื่อมต อกับภายนอกเพื่อการค าขาย การทํา รั้ ว ใหม ที่ โ ปร ง สายตานี้ ทํ า ให ผู ค นที่ เ ดิ น ผ า นไปมาได ม องเห็ น สวน เดิมที่มีความสวยงาม ร มรื่น และต นไม เดิมขนาดใหญ จํานวนมาก ซึง่ เป นภูมทิ ศั น ทหี่ าได ยากในซอยทองหล อนี้ โดยพืน้ ทีร่ มิ รัว้ นีเ้ องได ถกู ใช เป นพื้นที่จัดแสดงเฟอร นิเจอร อีกด วย ในขณะเดียวกันการเป ดโล งนี้ ยังคงความเป นส วนตัวให กับพื้นที่ใช สอยภายใน ด วยการออกแบบ รั้วที่มี 2 Layers โดยชั้นนอกเป นผนังกระจกใส ซึ่งมีคุณสมบัติทั้ง ความใสและการสะท อน ส วนผนังด านในเป นเส นสแตนเลสที่มีพื้นผิว มันวาวเหมือนกระจกเงาทําหน าที่บดบังและสะท อนเงาไปพร อมๆ กัน ทําให ผู ค นที่เ ดิ นผ านไปมาบนถนนเมื่อมองเข ามาที่ Showroom

After

จะเห็นเงาของตนเองซ อนทับอยูก บั สวนทีเ่ ขียวครึม้ ภายใน ในขณะทีค่ น ที่อยู ภายใน Showroom เมื่อมองออกมาก็จะเห็นเงาสะท อนของสวน สีเขียวทีซ่ อ นกับกับวิวถนนและบริบทของเมืองภายนอกทีถ่ กู บังอย างมี มิติจากเส นสแตนเลสมันวาวของรั้ว สถาปนิ ก ตั้ ง ใจให อ าคารบ า นเดิ ม ทํ า หน า ที่ เ ป น ฉากหลั ง ให กั บ เฟอร นเิ จอร แต ละชิน้ ชิน้ ไม ขนาดเล็กจํานวนมาก ขนาดหน าตัดประมาณ 15x20 มิลลิเมตร ความยาวประมาณ 32 เซนติเมตร ซึ่งเป นเศษไม ทีไ่ ม ใช แล วจากโรงงานทําเฟอร นเิ จอร ของ Kenkoon ได ถกู นํามาร อยเรียง ใหม เ ป น แผงผนั ง ระแนงไม ซี่ ที่ มี ค วามโปร ง และโชว ร อยต อ ของ ชิน้ ไม สาํ หรับทําเฟอร นเิ จอร ทชี่ ดั เจน เป นการนําเศษชิน้ ส วนเล็กๆ ของ เฟอร นเิ จอร มาแปลงให กลายเป นสถาป ตยกรรมทีส่ อดคล องกับพืน้ ทีต่ งั้ การใช สอย และอัตลักษณ ของแบรนด ได เป นอย างดี นับเป นการปรับปรุง อาคารเดิมที่สร างความแตกต างได อย างชัดเจนเพื่อตอบโจทย การ ใช สอยใหม โดยที่มีความเคารพต ออาคารเดิมและสวนต นไม ใหญ เดิม อย างน าชื่นชม 119


เรื่อง: สุพิชชา โตวิวิชญ

หลังจาก ธนารัช วังศิรไิ พศาล เรียนจบสาขาภาพยนตร จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ก็เดินทางไปศึกษาต อ วิชาภาพถ ายที่ Columbia College ทีเ่ มืองชิคาโก และใช ชวี ติ อยูท นี่ นั่ ราวสามป เศษ เมือ่ กลับมาเขาเริม่ อาชีพ ช างภาพอิสระทันที รับงานจากบริษทั ตัวแทนโฆษณาและนิตยสารต างๆ ทัง้ ไทยและเทศ เขาเคยมีชอื่ ร วมรับ รางวัล B.A.D Award 2 รางวัล รวมถึงเป นผู บรรยายพิเศษที่มหาวิยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล าฯ ลาดกระบัง ระยะหนึง่ ด วย ระหว างนัน้ เขาได จดั งานนิทรรศการภาพถ าย สองครัง้ คือ Ubiquitous ณ H Gallery เมือ่ พ.ศ. 2547 แสดงภาพเอกรงค (Monochrome) ขนาดใหญ เป น บันทึกอารยธรรมที่หลงเหลืออยู และการบูรณะสิ่งก อสร างต างๆ ในนครวัด ใน พ.ศ.2553 เขาแสดงผลงาน ภาพถ ายร วมกับเพื่อนช างภาพรวม 3 คน ภายใต ชื่อ Regret? ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห งกรุงเทพมหานคร โดยเป นส วนหนึ่งของเทศกาลออกแบบบางกอก สําหรับภาพถ ายในเซทนี้เป นส วนหนึ่งจากผลงานที่เขาได ร วมงานกับนักออกแบบเสียงชาวญี่ปุ น Koichi Shimizu เมื่อ พ.ศ.2551 ในงาน Pause & Play ซึ่งเป นหนึ่งในกิจกรรมเฉลิมฉลองความสัมพันธ การทูต ไทย-ญี่ปุ น ครบ 120 ป ณ หอศิลป สมเด็จพระนางเจ าสิริกิตติ์พระบรมราชินีนาถ โดยธนารัชตั้งคําถามว า “อะไรคือญี่ปุ น” ก อนเดินทางไปเยือน เมื่อไปถึงเขาตระเวนบันทึกภาพคําตอบเป นพันๆ ภาพ และเมื่อแยก หมวดหมู แล วพบว าชาวญี่ปุ นใส ใจเรื่องเสียงเป นพิเศษ พวกเขาใช ความเงียบร วมกันในที่สาธารณะ ภาพทีจ่ ดั แสดงจึงถ ายทอดความสงัดเหล านัน้ ในขณะทีโ่ คอิฉพิ าํ นักอยูใ นประเทศไทย เขาทยอยบันทึกเสียง นานาชนิดทั้งเสียงของธรรมชาติ เสียงของวัฒนธรรม เสียงของผู คน และเสียงสังเคราะห ต างๆ เขาคัดสรร เฉพาะเสียงทีม่ สี าํ เนียงไทยชัดเจนและไม ได ยนิ ในทีอ่ นื่ ๆ นํามาเรียงร อยใหม อกี ครัง้ และจัดแสดงในรูปแบบ สื่อผสม ในการถ ายรูปเซทนี้ ธนารัชใช กล อง Hasselblad X-Pan ติดเลนส 45 mm กับฟ ล ม Kodak T-MAX 100 สลับกับ 400 120


121


เรื่อง/ภาพ : อรวรรณ เสถียรเขต

¤ÍÅÑÁ¹ ÃͺÃÑÇé ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ©ºÑº¹Õ¢é ͹íÒàʹÍâ¤Ã§¡ÒôÕæ ¢Í§Ç§¡ÒÃÃͺÃÑÇé ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÁÒàÅ‹ÒÊÙ¡‹ ¹Ñ ¿˜§ ¡Ñº â¤Ã§¡Òà »ÃСǴÍ͡Ẻâç¨Í´Ã¶ »ÃШíÒ»Õ 2557 ËÃ×Í “Garage Life Design Award 2014” â´Â Fragrant Group «Öè§à»š¹â¤Ã§¡ÒôÕæ Íա˹Öè§â¤Ã§¡Ò÷Õè¨Ñ´¢Öé¹à¾×èÍà»Ô´âÍ¡ÒÊãËŒ¡Ñº¹ÔÊÔμ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒä´Œà»Ô´ÁØÁÁͧãËÁ‹¡Ñº¡Òà âªÇ äÍà´ÕÂ㹡ÒÃÍ͡Ẻâç¨Í´Ã¶ áÅÐä´ŒáÊ´§ÍÍ¡·Ò§¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÌҧÊÃä à¹×Íè §¨Ò¡¡ÒÃÍ͡Ẻâç¨Í´Ã¶ ã¹àÁ×ͧä·Â¹Ñé¹ ¹ÑºÇ‹Ò໚¹ÊÔ觷Õèá»Å¡ãËÁ‹ÊíÒËÃѺÊѧ¤Áä·ÂÍ‹ҧÁÒ¡ áμ‹ã¹μ‹Ò§»ÃÐà·È¡ÒÃÍ͡Ẻâç¨Í´Ã¶ ¡íÒÅѧ໚¹à·Ã¹´ ·Õè¹ÔÂÁáÅÐÁÒáçã¹ËÅÒ»ÃÐà·È·ÑèÇâÅ¡ การจัดการแข งขันครั้งนี้เกิดขึ้นจากการร วมมือกัน ระหว างนิตยสาร Garage Life Thailand ซึ่งได รับสิทธิ์การตีพิมพ ฉบับภาษาไทยจาก บริษัท เนโกะ พับบลิชชิ่ง ประเทศญี่ปุ น ในเครือบริษัท กรังด ปรีซ อินเตอร เนชัน่ แนล จํากัด กับ เฟรเกรนท กรุป บริษทั ผูพ ฒ ั นาโครงการอสังหาริมทรัพย ระดับไฮเอนด ภายใต แบรนด เซอร เคิล เพื่อเป ดโอกาสให นักศึกษาได โชว ไอเดียในการออกแบบโรงจอดรถในโครงการ “Garage Life Design Award 2014” เพือ่ ชิงรางวัล พร อมโล เกียรติยศ มูลค ากว า 3 แสนบาท คุ ณ พี ร ะพงศ เอี่ ย มลํ า เนา บรรณาธิ ก ารบริ ห าร หนุม รุน ใหม ไฟแรง นิตยสาร Garage Life Thailand ได กล าวถึงแนวคิดว า “เนือ่ งจากนิตยสาร Garage Life Thailand เป น นิ ต ยสารที่ นํ า เสนอเรื่ อ งราวของ คนรักรถที่ชื่นชอบการมีพื้นที่ส วนตัว เช น การสร าง โรงจอดรถให กบั รถทีต่ นเองรัก รวมทัง้ ไลฟ สไตล การใช ชีวิตของผู ชายที่นอกเหนือจากการดูแลรถ การซ อม บํารุงรถ การชีวิตในวันหยุด รวมถึงการแต งตัวที่ มีสไตล ซึ่งพฤติกรรมเหล านี้เป นวัฒนธรรมการใช ชี วิ ต ของชาวญี่ ปุ น และในอนาคตอั น ใกล จ ะกลั บ กลายมาเป นทีช่ น่ื ชอบของคนไทยในอีกไม นาน ซึง่ จะเห็น ได จากในช วง 2 ป ที่ผ านมา ประเทศไทยมียอดการ ออกแบบและสร างโรงจอดรถเพิ่มขึ้นอย างต อเนื่อง หลังจากได อ านนิตยสาร Garage Life Thailand และมีข อซักถามเข ามามากขึ้นเกี่ยวกับภาพโรงจอด รถสวยๆ และหายาก รวมทั้ ง ผู อ อกแบบและ ผูเ ชีย่ วชาญในการก อสร างโรงจอดรถ ซึง่ ค อนข างหา ยากในป จจุบนั เพือ่ เป นการตอบโจทย ไลฟ สไตล ของ ผู อ าน พร อมทั้งเป นการสนับสนุนและส งเสริมเป ด มุมมองความคิดสร างสรรค ให กับนักศึกษาได โชว ความคิดการออกแบบได เต็มที่จึงได จัดทําโครงการ ออกแบบโรงจอดรถขึน้ เพือ่ ตอบโจทย ความต องการ ของกลุ มผู อ านและเป นการเผยแพร ประชาสัมพันธ นิตยสาร Garage Life Thailand ให เป นที่รู จักอย าง แพร หลาย” 122

คุณเฑียร จึงวิรฬุ โชตันท ผูอ าํ นวยการฝ ายพัฒนาโครงการ บริษทั เฟรเกรนท พร็อพเฟอร ตั้ จํากัด ได กล าวเสริมว า “ในฐานะผู นําด านการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย ภายใต แนวคิด Eco Living ตนเห็นด วยกับ โครงการดังกล าวและพร อมให การสนับสนุนอย างเต็มที่ โดยจะนํา ผลงานออกแบบของนักศึกษาไปประยุกต ใช กบั โครงการในอนาคตของ เฟรเกรนท เพือ่ ตอบโจทย ไลฟ สไตล ใหม ๆ ของวงการอสังหาริมทรัพย ไทย” ในการจั ด ประกวดออกแบบโรงจอดรถได รั บ การตอบรั บ จากคณะ สถาป ต ยกรรมศาสตร จ ากมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น นํ า มากมาย อาทิ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร และสถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล าเจ าคุณทหารลาดกระบัง เป นต น การจัดโครงการประกวดโรงจอดรถครัง้ นีไ้ ด มกี ารจัดอบรมและสัมมนาในวันที่ 15-30 ก.ย. 57 โดยเป ดรับผลงานของนักศึกษาในวันที่ 1-31 ต.ค. 57 ทําการตัดสินผลประกวดวันที่ 1 พ.ย. – 10 ธ.ค. 57 และประกาศ ผลรางวัลวันที่ 15-17 ธ.ค. 57 ส วนความคืบหน าของผูช นะการประกวด การออกแบบโรงจอดรถจะขอเสนอให ผอู า นได อา นอีกครัง้ ในฉบับต อไป


¢ÍàªÔުǹࢌÒËÇÁ»ÃСǴÊÔ觻ÃдÔÉ° â¤Ã§¡Òà DREMEL CREATIVE DIY CONTEST 2014

ขอเชิญชวนนิสิต นักศึกษา และผู สนใจทั่วไป เข าร วมประกวดสิ่งประดิษฐ ในโครงการ DREMEL CREATIVE DIY CONTEST 2014 ในหัวข อ ‘1 ชิ้นงาน ที่เป นได มากกว า 1 การใช งาน’ (เหมือนกับการใช เครื่องมือ Dremel เพียง 1 ตัว แต สามารถทํางานได หลาก หลายรูปแบบ ไม ว าจะเป น ตัด ขัด เจาะ เจียร และเซาะร อง) โดยผลงานที่เข าประกวด จะต องอยู ภายในแนวคิด Your Own DIY Workshop (ห องทํางาน DIY ในแบบของ คุณ) ซึ่งจัดโดย บริษัท โรเบิร ต บ อช จํากัด เพื่อชิงรางวัลรวมมูลค ากว า 100,000 บาท โดยรับส งผลงานเข าร วมแข งขัน ตั้งแต วันนี้ -15 ตุลาคม 2577 ผูส นใจสามารถสอบถามข อมูลเพิม่ เติมได ที่ โทร. 0-2639-8567, 0-2650-9090 ต อ 111 http://th.dremelasia.com www.facebook.com/dremelthailandofficial

¤³Ðʶһ˜ μ Â Ï ¾ÃШÍÁà¡ÅŒ Ò à¨Œ Ò ¤Ø ³ ·ËÒÃÅÒ´¡ÃÐºÑ § ËÇÁ¡Ô¨¡ÃÃÁâ¤Ã§¡Òà KTB NPA PLUS

สุชาติ เดชอิทธิรัตน ผู ช วยกรรมการผู จัดการใหญ ผู บริหารกลุ ม ทรัพย สินพร อมขาย ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) พร อมด วย คณาจารย แ ละนั ก ศึ ก ษาจากคณะสถาป ต ยกรรมศาสตร สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกล าเจ าคุณทหารลาดกระบัง ร วมกิจกรรมเป ดตัว โครงการ KTB NPA PLUS เพื่อส งเสริมและเป ดโอกาสให นักศึกษา แสดงความสามารถด านการออกแบบที่อยู อาศัยในกลุ มทรัพย พร อม ขายให สวยงามเสมือนบ านใหม รวมทั้งให ประชาชนและผู ที่สนใจ ซื้อทรัพย ได นําแนวคิดต างๆ ไปใช กับทรัพย สินของตนเองที่ซื้อไป

¤³Ðʶһ˜ μ Â Ï ÁËÒÇÔ · ÂÒÅÑ Â à·¤â¹âÅÂÕ ¾ ÃШÍÁà¡ÅŒ Ò ¾Ãй¤Ãà˹×Í ¨Ñ´§Ò¹¹Ô·ÃÃÈ¡Òà ‘àÊŒ¹ ÊÕ ´Õ䫹 2014’

ศ.ดร.ธี ร วุ ฒิ บุ ณ ยโสภณ อธิ ก ารบดี มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล าพระนครเหนือ (มจพ.) กล าวเป ดงานนิทรรศการ เส น สี ดีไซน 2014 ‘Container Arch. Exoprt’ เป นการนําเสนอผลงานการ ออกแบบสร างสิ่งประดิษฐ และนวัตกรรมใหม ๆ ด านการออกแบบของ 5 สาขาวิชา ได แก สาขาวิชาออกแบบภายใน สาขาสถาป ตยกรรม สาขา ออกแบบเซรามิกส สาขาศิลปประยุกต และการออกแบบผลิตภัณฑ และสาขาวิชาการออกแบบสํานักงานอัตโนมัติและการจัดการธุรกิจ ณ ลานอเนกประสงค อาคารอเนกประสงค มจพ.

ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂàªÕ§ãËÁ‹ à»Ô´¹Ô·ÃÃÈ¡Òà ‘50 »Õ 50 ʶһ˜μ¡ÃÃÁÈÒÊμà Áª.’

รศ.โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีฝ ายวิเทศสัมพันธ และนักศึกษาเก าสัมพันธ มหาวิทยาลัยเชียงใหม กล า วต อ นรั บ และร ว มพิ ธี เ ป ด นิ ท รรศการ 50 ป 50 สถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม (Project 50th year : 50Architectures of Chiang Mai University) โดยมี เจ าดวงเดือน ณ เชียงใหม เป นประธานเป ด และ ผศ.ดร. ชาญณรงค ศรีสวุ รรณ คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร กล าวรายงาน ณ ศูนย สถาป ตยกรรมล านนา สี่แยกกลางเวียง คุ มเจ าบุรีรัตน (มหาอินทร )

123


·Ø ¡ à Ã×่ Í § Ê ¶ Ò »˜ μ  ¡ à à Á ·Õ่ ¤Ø ³ ¤ Ò ´ ä Á‹ ¶Ö § §Ò¹áÊ´§·Ò§Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ áÅСÒÃÍ͡Ẻ¡‹ÍÊÌҧ ÊØ´ÂÔ่§ãËÞ‹áË‹§ÍÒà«Õ¹

28 April - 3 May 2015 IMPACT, MUANG THONG THANI Tel +66 2717 2477 www.ArchitectExpo.com



TCDC ¨Ñ´¹Ô·ÃÃÈ¡Òà ‘The Cooperation II: ¤ÙÊ‹ Ìҧ(ÊÃä ) »Õ·Õè 2’ นิทรรศการ The Cooperation II : คูส ร าง (สรรค ) ป ท่ี 2 เผยเรือ่ งราว การทํางานใหม ๆ ทีป่ ระสานพลังระหว าง 4 คู ผูผ ลิตวัสดุไทยและนักออกแบบ จากโครงการสร างเครือข ายผูผ ลิตวัสดุไทยกับนักออกแบบ โดยจับคูท าํ งาน “แบบลงลึก” เป นการแลกเปลีย่ นประสบการณ องค ความรูเ ฉพาะคูท ท่ี าํ งาน ร วมกัน และยังเป นการก าวข ามและเรียนรูก ารทํางานและแลกเปลีย่ นความ คิดเห็นของคูอ น่ื ไปพร อมกันอีกด วย ตัง้ แต การศึกษาข อมูลวัสดุ ทดลองเล น กับวัสดุและพัฒนาต นแบบ จนถึงสร างผลิตภัณฑ ตน แบบ ผ านเวิรค ชอป การทํางานร วมกันนาน 8 เดือน โดยมีเป าหมายทีจ่ ะพัฒนาผลิตภัณฑ ให มี ศักยภาพทัง้ ในเชิงพาณิชย ทส่ี ามารถผลิตได จริง ในระบบอุตสาหกรรม และ ง ายต อการนําไปใช งาน เข าชมฟรี ตัง้ แต วนั นี้- 17 พฤศจิกายน 2557 เวลา 10.30 - 21.00น. (ป ดวันจันทร ) ณ โถงทางเข า TCDC สอบถามข อมูลเพิม่ เติมได ท่ี โทร. 0-2664-8448 ต อ 213, 214

¡ÃÁ»† ÒäÁŒ Ë Ç Á¡Ñ º ÃÒªºØ ÃÕ â ÎÅ´Ôé § ÁͺÃÒ§ÇÑ Å »ÃСǴ â¤Ã§¡Òà ‘¤¹ÃÑ¡É »†Ò »†ÒÃÑ¡ªØÁª¹ »Õ 2557’ ฯพณฯ อําพล เสนาณรงค องคมนตรี เป นประธานในพิธีมอบรางวัล โครงการ “คนรั ก ษ ป า ป า รั ก ชุ ม ชน ประจํ า ป 2557” จั ด โดย กรมป าไม ร วมกับ บริษทั ผลิตไฟฟ าราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เพือ่ ส งเสริม การอนุ รั ก ษ ป า ไม แ บบยั่ ง ยื น และช ว ยลดโลกร อ น โดยมี ธี ร ภั ท ร ประยูรสิทธิ อธิบดีกรมป าไม และ พงษ ดษิ ฐ พจนา กรรมการผูจ ดั การใหญ บมจ. ผลิตไฟฟ าราชบุรีโฮลดิ้ง ร วมแสดงความยินดีแก ป าชุมชน บ า นแม กึ๊ ด หลวง จ.ตาก ที่ ไ ด รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ ระดั บ ประเทศ ถ วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ พร อมด วย ป าชุมชน บ านศรีสรรเพชญ จ.สุพรรณบุร,ี ป าชุมชนบ านอ าวอ ายยอ จ.นครศรีธรรมราช และป าชุมชนบ านภูขวาง จ.มุกดาหาร ที่ได รับรางวัลรองชนะเลิศ ณ โรงแรมเซ็นทรา ศูนย ราชการ

ʶҺѹʶһ¹Ô¡ÊÂÒÁ ¨Ñ´§Ò¹ÊÑÁÁ¹Ò ‘áʧÊÇ‹Ò§à¾×Íè ¡ÒÃÍÂÙÍ‹ ÒÈÑ Residential lighting’ สถาบั น สถาปนิ ก สยาม โดยสมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรม ราชูปถัมภ ขอเชิญชวน สมาชิกสมาคมสถาปนิก นิสิต นักศึกษา และ ผูส นใจทัว่ ไป เข าร วมงานสัมมนาแสงสัมมนา ครัง้ ที่ 6 ในหัวข อ ‘แสงสว าง เพื่ อ การอยู อ าศั ย Residential lighting’ โดยวิ ท ยากร 2 ท า น ได แก คุณเกียรติศักดิ์ เวทีวุฒาจารย สถาปนิก Architect 49 House Design Limited และคุณกริช มโนพิทักษ ที่ปรึกษาออกแบบแสงสว าง 49 Lighting Design Consultants Limited ในวันเสาร ที่ 18 ตุลาคม 2557 เวลา 14.00-17.00 น. ณ อาษาเซ็นเตอร ชัน้ 5 สยามดิสคัฟเวอรี่ (รับเพียง 80 ท าน) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม และลงทะเบียนล วงหน าได ที่ สถาบัน สถาปนิกสยาม ฝ ายจัดอบรม โทร. 0-2319-6555 ต อ 202, 206 www.asa.or.th

126


¡ÃÁ·Ò§ËÅǧ áÅÐ ÇÔ È Ç¡ÃÃÁÊ¶Ò¹Ï Å§¹ÒÁÊÑ Þ ÞÒ 3 ÊÁÒ¤ÁËÅÑ¡´ŒÒ¹ÍÊѧËÒÃÔÁ·ÃѾ ãËŒ¡ÒÃʹѺʹع¨Ñ´§Ò¹ ¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í´ŒÒ¹ÇÔÈÇ¡ÃÃÁ§Ò¹·Ò§ ÊÑÁÁ¹Ò¼Ñ§àÁ×ͧ ชั ช วาลย บุ ญ เจริ ญ กิ จ อธิ บ ดี ก รมทางหลวง กระทรวงคมนาคม และ ศ.ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายก วิศวกรรมสถานฯ (วสท.) ร วมลงนามในสัญญาความร วมมือด านวิชาการ เพื่อแลกเปลี่ยนและ ร วมพัฒนาความก าวหน าของวิชาการวิศวกรรมงานทาง เพื่อพัฒนา ศักยภาพทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ที่กําลังก าวสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

สมาคมอสังหาริมทรัพย ไทย สมาคมธุรกิจบ านจัดสรร และสมาคม อาคารชุดไทย ให การสนับสนุนการจัดงานสัมมนาผังเมือง ซึ่งจัดโดย หอการค าไทย และสภาหอการค าแห งประเทศไทย ภายใต ชื่องาน “เจาะลึกผังเมืองยุทธศาสตร พฒ ั นาประเทศ” ณ ศูนย การประชุมแห งชาติ สิริกิติ์

127


คานทับหลังสําเร็จรูป Q-CON งานเสร็จเร็วกว า ใช งานง าย ประหยัดกว า มีให เลือก หลายขนาด ทนไฟนานกว า 4 ชั่ ว โมง คุ ณ ภาพได มาตรฐาน ขนาด สูง 20 x ยาว 120 - 360 ซม. ขนาด ความหนาตัง้ แต 7.5 ซม. ขึน้ ไป จนถึง 25 ซม. เพิม่ ระยะ ทุกๆ 2.5 ซม. QUALITY CONSTRUCTION PRODUCTS CO.,LTD. www.qcon.co.th ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth C108

อิฐ Q-CON เป น ฉนวนกั น ความร อ น ช ว ยให บ า นเย็ น ประหยั ด พลังงาน ลดค าไฟได 30% ก อสร างเร็ว ทํางานได เร็ว กว าอิฐมอญ 2-3 เท า แข็งแรง ไม ตา งจากวัสดุผนังอืน่ ๆ ขนาด สูง 20 Xยาว 60 ซม. ขนาดความหนาตัง้ แต 7.5 ซม. ขึ้นไป จนถึง 25 ซม. เพิ่มระยะทุกๆ 2.5 ซม. QUALITY CONSTRUCTION PRODUCTS CO.,LTD. www.qcon.co.th ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth C108

สวิทซ -ปลั๊ก ซี่รี่ส QUATTRO “QUATTRO” (ควอตโทร) ภายใต คอนเซ็ปต “THE FOUR DIFFERENT COLORS DESIGN” (4 สีที่แตกต าง) 4 สี ทีท่ งั้ นักออกแบบ วิศวกร ได ยนื ยันว าเป นสีทไี่ ด รบั ความนิยม สูงสุด คือ WHITE, MATT BLACK, MATT DARK, MATT GREY รูปทรงทีส่ ร างความแตกต าง และโดดเด น สวยเรียบ เฉียบคม อย างมีเอกลักษณ ตอบรับการแต งบ านได อย าง ลงตัว เพื่อตอบโจทย ความต องการของผู บริโภคที่มี LIFE STYLE ได ตรงความต องการมากยิ่งขึ้น บริษัท ฮาโก อิเลคทริค (ประเทศไทย) จํากัด WWW.HACOTHAILAND.COM, HTTPS://WWW.FACEBOOK.COM/HACOELECTRIC OFFICIAL

บริการติดตัง้ และซ อมแซมระบบเคลือบพืน้ ผิวอุตสาหกรรม ดําเนินการให บริการติดตัง้ และซ อมแซมระบบเคลือบพืน้ ผิว อุตสาหกรรม งานเพิ่มความแข็งแกร งและความสวยงาม พื้นคอนกรีต และงานทาสีตัวอาคาร ด วยประสบการณ และความเชี่ยวชาญของวิศวกรและผู เชี่ยวชาญที่มีไม น อย กว า 15 ป จึงมั่นใจได ว าจะสามารถตอบสนองความ ต องการของลูกค าด วยการดูแลแก ไขป ญหาที่ถูกต องและ เกิดประสิทธิภาพสูงสุดของการทํางาน บริษัท ฟ นิก า พลัส จํากัด www.phenicaplus.com ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth D102

Solar ECO System ระบบผลิตไฟฟ าพลังงานแสงอาทิตย บนหลังคา จาก SCG Housing TECH ทีใ่ ห บริการเบ็ดเสร็จแบบครบวงจร ตัง้ แต การให คําปรึกษา สํารวจ ออกแบบ ประเมินราคา ยื่นขอ อนุญาต ติดตั้ง และการบริการหลังการขายโดยทีมงาน ผู เชี่ยวชาญ และด วยนวัตกรรม SolarFIX ระบบยึดแผง โซลาร เซลล ลขิ สิทธิเ์ ฉพาะของ SCG จึงหมดห วงเรือ่ งหลังคา รั่วจากการติดตั้งแผงโซลาร และสามารถติดตั้งตามรูป ทรงหลังคาเพื่อช วยเพิ่มความสวยงามได อีกด วย BUILDING MATERIALS CO.,LTD. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth D105

หลังคาตราช าง ซีแพคโมเนีย รุ น Oriental หลังคาซีแพคโมเนีย รุ น Oriental โฉมใหม มีความ คลาสสิกอย างมีสไตล สะท อนกลิ่นอายแห งอารยธรรม เอเชีย โดดเด นด วยมิติและเส นสายที่สะท อนความเป น ไทยได ชัดเจนยิ่งขึ้น รูปทรงใหม ให น้ําหนักที่เบากว า เดิม ช วยประหยัดโครงสร าง และนวัตกรรมป องกันการ รั่วซึมแบบใหม ไม ต องพึ่งพาลิ้นรางน้ําและแผ นรองใต หลังคา คงไว ซึ่งเฉดสีที่ตอบรับทุกสไตล การออกแบบได อย างลงตัว BUILDING MATERIALS CO.,LTD. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth D105

128

ไม ตกแต งผนัง ตราช าง สมาร ทวูด มีเอกลักษณ โดดเด น สวยเนีย้ บ ทนทานแข็งแรง หน าตัด ตื้นลึกในแผ นเดียว สามารถใช สีย อมไม ทาทับ หรือพ น Material อื่ น ๆ เช น หิ น เกร็ ด ลงบนพื้ น ผิ ว เพื่ อ ให เกิดสไตล เฉพาะตัวได มีขนาด 30 x150 ซม. เหมาะกับ Span ผนังที่ยาว การติดตั้งมีการบังใบทําให ชิ้นงานไร หัวสกรู เรียบร อย สวยงาม สามารถประยุกต ให เข ากับ งานโครงการได หลากหลาย BUILDING MATERIALS CO.,LTD. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth D105

Siam Born PE/FR Aluminum Composite Panel (ACP) เป นผลิตภัณฑ ที่ใช เทคโนโลยีประกบแผ นด วยอลูมิเนียม คุณภาพสูงทั้งสองด าน ด วยระบบความร อนและมีไส กลาง เป นพลาสติก PE หรือ FR (สําหรับกันไฟ) ตัวแผ นมีความ เรียบเนียน สวยงาม เหมาะแก งานสถาป ตยกรรมทีท่ นั สมัย มีสสี นั ให เลือกมากมาย มีความแข็งแรง น้าํ หนักเบา ขึน้ รูป ได ดเี ยีย่ ม มีความหลากหลายในการใช งานตามแบบดีไซน ตามความต องการ บริษัท ซี.เค.บี. เพลทสตีล จํากัด ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth D106


DAT CONTROLER ระบบป องกันอันตรายจากฟ าผ า ประสิทธิภาพสูง สามารถ สร างลําประจุ Early Streamer Emission System เพื่อที่จะไป รับกับลําประจุทเี่ กิดจากฟ าผ าและนําลงสูพ นื้ ดินได อย างรวดเร็ว และปลอดภัย ไม มีชิ้นส วนที่เคลื่อนไหว และไม ต องใช แหล งจ าย ไฟใดๆ ทั้งสิ้น สามารถติดตั้งในแบบ Outdoor ทุกสภาพพื้นที่ ด วยวัสดุที่ใช ทําแบบ AISI 316L ที่มีความคงทนถาวร ไม เป น สนิม มีอายุการใช งานยาวนานกว า 10 ป ซึ่งผลิตภัณฑ Dat Controler ได ผา นการทดสอบและรับรองจากสถาบันทีม่ ชี อื่ เสียง ระดับโลกตามมาตรฐานดังนี้ 1. มาตรฐาน NFC 17-102:2011 2. มาตรฐาน AENOR ที่จะมีองค กรอิสระ (Third Party) สุ มตรวจคุณภาพสินค าทุกๆ ป 3. มาตรฐานการทดสอบการทํางานภายใต สภาวะฝนตกหนัก และต อเนื่อง (Raining Proved) สอบถามข อมูล : บริษัท เอวีร า จํากัด Tel : +662-681-5050 Website : www.avera.co.th

เครื่องทําน้ําอุ น Joven รุ น SA20e ได รับออกแบบมาภายใต แนวคิด Chromium Concept มีสีเทา-เงินทั้งชุด เพื่อเพิ่มคุณประโยชน ให เป นอุปกรณ ตกแต งห องน้ําที่สร างความหรูหราผสมผสานกับความ ทันสมัยของตัวเครื่องรูปทรงโค งมน โดดเด นด วยชุด ฝ กบัวดีไซน ใหม ทีอ่ อกแบบสอดคล องกับหลักกลศาสตร ทําให ได พลังน้าํ แรงทันใจ ปลอดภัยกว าด วย Safety pro ซึง่ เป นระบบเซฟตี้ 9 ชัน้ ทีส่ ร างความมัน่ ใจให กบั ผูใ ช ทงั้ ในประเทศไทย มาเลเซีย และสิงคโปร INDUSTRIAL ELECTRICAL CO.,LTD. ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth C102

วัสดุป ดผิว บริษัท กรีนแลม เอเชีย แปซิฟ ก (ประเทศไทย) จํากัด ผู นําตลาด High Pressure Laminate (HPL) เป นวัสดุ ป ดผิวคุณภาพสูง มีสสี นั ลวดลายทีส่ วยงาม หลากหลาย พื้ น ผิ ว สามารถตอบสนองความคิ ด สร า งสรรค ข อง ผู ออกแบบ เจ าของบ าน และเจ าของโครงการต างๆ ได เป นอย างดี บริษัท กรีนแลม เอเชีย แปซิฟ ก (ประเทศไทย) จํากัด

มือจับประตูใหญ ทองเหลืองแท FUSION มือจับประตูใหญ ทองเหลืองแท FUSION ทุกชิ้นเป น งานประกอบมือ จากประเทศสหรัฐอเมริกา วัสดุทําจาก ทองเหลืองแท ตลับกุญแจ Mortise Lockcase ระบบ Schlage Keyway บริษัท จาร ตัน แอนด ซันส จํากัด

อุปกรณ สวิตช ไฟฟ า และระบบโฮมออโตเมชั่น บริษัท จุง (ประเทศไทย) จํากัด นําเข าและจําหน ายสินค า อุปกรณ สวิตซ ไฟ, ปลั๊กไฟ, เต ารับ จากประเทศเยอรมันนี และทําระบบบ านอัจฉริยะตั้งแต ระบบเล็กๆ โดยใช คลื่น สัญญาณวิทยุในการควบคุม จนไปถึงระบบใหญ KNX System ที่ควบคุมแสงสว าง, ผ าม าน, แอร , มัลติมิเดีย, ออร ดิโอ/วีดีโอ แบบเต็มรูปแบบ และสามารถควบคุมผ าน แอพพลิเคชั่นบนระบบ IOS และ Android ได พร อมให คําปรึกษาเรื่องการออกแบบงานระบบบ านอัจฉริยะ “ฟรี” บริษัท จุง (ประเทศไทย) จํากัด

เครือ่ งลดอุณหภูมอิ ากาศ ชนิด อีแวโพเรทีฟ M KooL เป นเครื่องลดอุณหภูมิอากาศที่ใช ระบบ Evaporative Cooling เมื่ออากาศผ าน Cooling Pad ที่เป นม านน้ํา ทําหน าที่ดูดซับความร อนจากอากาศเพื่อไปใช ในการ เปลี่ยนสถานะจากน้ํากลายเป นไอเรียกว าการระเหย ทําให มีอุณหภูมิลดลงจากอุณหภูมิปกติ เฉลี่ย 5-10 ๐C ในขณะทีร่ ะบบ Anion จะช วยเพิม่ คุณภาพของอากาศให รู สึกเย็นสบายและสดชื่นขึ้น MMP CORPORATION CO.,LTD.

อาคารเหล็กสําเร็จรูป RANBUILD คือผู นํานวัตกรรมการผลิตโครงสร างเหล็ก ชุบสังกะสีขึ้นรูปเย็น สําหรับติดตั้งอาคารเหล็กสําเร็จรูป (Cold–formed Galvanized Steel Buildings) ที่เป น ส วนหนึ่งของ เอ็นเอส บลูสโคป (ประเทศไทย) บริษัท ชั้นนําด านอุตสาหกรรมเหล็ก ที่ได รับความไว วางใจจาก ออสเตรเลีย รวมถึงประเทศภูมิภาคเอเชียแปซิฟ กและ อเมริกาเหนือ เราเชี่ยวชาญด านนวัตกรรมอาคารเหล็ก สําเร็จรูปที่ตอบโจทย ทุกธุรกิจ ด วยเทคนิคการผลิตและ วัสดุที่ทันสมัยที่สุด ในราคาคนไทย NS BLUESCOPE (THAILAND) LTD.

STEP SAVER STAIRLIFT ได รับการออกแบบอย างยอดเยี่ยมระดับสากล ทันสมัย ทนทาน ปลอดภัย เลื่อนขึ้นอย างไม ติดขัด ไม มีเสียง รบกวน ส วนประกอบทางกลไกทัง้ หมดติดตัง้ ซ อนอยูใ นราง เป นระเบียบสวยงาม ที่นั่ง ที่วางแขน ที่วางเท า สามารถ พับเก็บได ทั้งหมด ขนาดกะทัดรัด มีระบบเบรกคู ทําให เป นเก าอี้เลื่อนขึ้นบันไดที่ปลอดภัยมากที่สุดในโลก ได รับ มาตรฐานจากหลายสถาบันทั่วโลก มีประสิทธิภาพและ ราคาที่เหมาะสม OMC SANYU ELEVATOR CO.,LTD. www.omcelevator.co.th

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth C104

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth B109

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth D301

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth C109

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth B107

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth B102

129


แผ นหลังคาเหล็กรีดลอน SUNTECH SPU เป นแผ นหลังคาเหล็กรีดลอน พร อมฉีดพ นฉนวน PU FOAM เป นเนื้อเดียวกันทั้งแผ น ผลิตด วยเครื่องจักร CNC แบบ Continuous สามารถควบคุมความหนาและ ความหนาแน นของโฟมได อย างสม่ําเสมอ ช วยป องกัน ความร อน ช วยป องกันการรบกวนจากเสียงทั้งภายใน ภายนอก และช วยให ประหยัดพลังงานและภาวะโลกร อน Facing Sheet มีให เลือกได แก Aluminium Foil, PVC Sheet และ Metal Sheet PERMSIN STEEL WORKS PLC.

วัสดุปูพื้น CrystalFloor เป นนวัตกรรมใหม ที่ได รับการพิสูจน และยอมรับอย าง กว างขวาง ทั้งในอเมริกาและยุโรป ด วยความแข็งแกร ง คงทนเหนื อ กว า วั ส ดุ เ คลื อ บพื้ น ประเภท Polymer มีความสวยงาม สะดวกในการติดตัง้ โดยเฉพาะอย างยิง่ ความง าย และประหยัดในการบํารุงรักษา นอกจากนี้ ยังมีความคุ มค าในการลงทุนที่มีราคาประหยัดกว าการ ลงทุนในวัสดุอื่น REP FLOOR CO.,LTD. www.repfloor.co.th

หญ าเทียม บริษัท เทิร ฟ อาร ต จํากัด เป นบริษัทนําเข าหญ าเทียม คุ ณ ภาพจากประเทศจี น มี ค วามสวยงามและหลาก หลายแบบ และจําหน ายพร อมบริการติดตั้งหญ าเทียม ขายส งหญ าปลอม จัดสวน ตกแต งร าน ติดผนัง ตกแต ง คอนโด ตกแต งบ าน ปูสนามหน าบ าน ปูสนามฟุตบอล สนามฟุตซอล รับเหมาจัดการโครงการ จัดงานอีเว นท และออแกไนท TURF ART CO.,LTD. www.หญ าเทียมหญ าปลอม.com

Movable Wall Systems นวั ต กรรมที่ ส ามารถปรั บ ใช ใ ห เ หมาะสมกั บ ทุ ก พื้ น ที่ ใช ส อย ช ว ยต อ เติ ม ความคิ ด และจิ น ตนาการของ นั ก ออกแบบ ให ส ามารถใช ง านพื้ น ที่ ไ ด อ ย า งเต็ ม ประสิทธิภาพ เช น โรงแรม, ห องประชุมหรือศูนย ประชุม, โรงเรียน, ร านอาหาร, ศูนย การค า และอาคารพาณิชย ต างๆ จุดเด นคือสามารถตอบสนองความต องการของ ลูกค า โดยเฉพาะผนังบานเลื่อน โดยมีความแข็งแรง คงทน ใช งานง าย และมีหลายขนาดให เลือก HAFELE (Thailand) Limited www.hafele.com

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth B101

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth A103

C/S LOUVER บานเกล็ดระบายอากาศอลูมิเนียม บานเกล็ดระบายอากาศชนิดกันน้ํา ผลิตจากอลูมิเนียม รีดขึ้นรูป Grade 606-T5 มีความหนาขั้นต่ํา 1.5 มม. เหมาะสํ า หรั บ อาคารที่ เ น น การระบายอากาศและกั น ไม ให น้ําฝนเข าสู ตัวอาคาร หมดป ญหาและความเสี่ยง เรื่องน้ําฝน รวมทั้งการระบายอากาศ เพราะได รับการ รับรองผลการทดสอบจากสถาบันที่ได มาตรฐานทั่วโลก AMCA และ BSRIA มีให เลือกทั้งแบบโชว เฟรม และ ซ อนเฟรมสําหรับงานออกแบบอันทันสมัย RASIKA INTERNATIONAL CO.,LTD. 130

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth B207

ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth C101

ฝาครอบบ อระบายน้ําไฟเบอร ผสมเรซิ่น มีคณ ุ สมบัตริ บั แรงได สงู น้าํ หนักเบา ไม เป นสนิม ไม แตก ผุ ก ร อ น ป อ งกั น กลิ่ น ได เ นื่ อ งจากฝาป ด ได ส นิ ท หมดป ญหาเรือ่ งการลักขโมย เนือ่ งจากไม สามารถนํามา หลอมใหม ได และนําไปใช งานได ทกุ ที่ เช น ใต นา้ํ ใกล ทะเล หรือโรงงานที่มีสารเคมี บริษัท พรฤกษ จํากัด

กาวยาแนว และกาวสําหรับงานก อสร าง เป นสินค าภายใต ผลิตภัณฑ SCI ที่ได รับการยอมรับทั้ง คุณภาพและมาตรฐานจากวิศวกรและสถาปนิกมากกว า 20 ป ผลิตจากวัตถุดิบจากแหล งผลิตชั้นนําที่มีมาตรฐาน และคุณภาพสูง ภายใต การพัฒนาผลิตภัณฑ อย างต อเนื่อง เพื่ อ รองรั บ ความต อ งการทางวิ ศ วกรรมที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ทั้งคุณสมบัติด านวิศวกรรมและความปลอดภัย SOUTH CITY POLY POLYCHEM CO.,LTD. www.southcitygroup.com ขอเชิญสัมผัสได ที่งานสถาปนิกอีสาน’57 Booth A102

พื้นยางสังเคราะห โพลียูรีเทน ได รับการออกแบบมาให เหมาะสมกับพื้นสนามกีฬาแทน ระบบอะคริลิคแบบเดิม มีความแข็งแรงทนทาน มีความ ยื ด หยุ น สู ง และเป น ระบบกั น ซึ ม ได ใ นตั ว มี วั ส ดุ เ คลื อ บ ผิ ว ป อ งกั น แสงยู วี จึ ง เหมาะสํ า หรั บ สนามกี ฬ าทั้ ง ในร ม และกลางแจ ง สามารถปรับระดับความแข็งได ตามประเภท ของสนามกีฬา เช น สนามฟุตซอล บาสเกตบอล แบดมินตัน ฯลฯ มีอายุการใช งานยาวนานกว าวัสดุประเภทอืน่ ถึง 3 เท า บริษัท ไนโช จํากัด www.nichofloor.com

กระจกตกแต ง White Glass เป น กระจกตกแต ง ที่ มี ดี ไ ซน ที่ แ ตกต า ง ไม ซ้ํ า แบบใคร บ งบอกรสนิยมของผู อยู อาศัย มีหลายหลายบรรยากาศ ทัง้ สเตนกลาส กระจกและลายมีมติ ิ และโมเสค สามารถนํา มาใช ประดับตกแต งผนังแทนภาพเขียน แทนม านบังตา ชิ้นส วนประกอบ กระจกเงา ฯลฯ โดยทีมงานมืออาชีพ พร อมบริการออกแบบและให คําปรึกษาฟรี ไม มีค าใช จ าย B.M. LAND AND HOUSE CO.,LTD. www.whiteglass.co.th


Super High Strength Glass (STG) กระจกนิรภัยแข็งแรงพิเศษ “STG” ใช ฟล ม พิเศษโดยเมือ่ เทียบกับกระจกลามิเนตทั่วไปแล วจะมีความเหนียวกว า ถึง 100 เท า และมีความแข็งแรงกว าถึง 5 เท า ซึ่งเป น ความแข็งแรงในระดับเดียวกับวัสดุงานก อสร างอาคาร จึงสามารถนํามาทําเป นขัน้ บันได พืน้ อาคาร หรือหลังคา ของอาคารได อย างปลอดภัย THAITECHNO GLASS CO.,LTD. www.bsgglass.com

กรรไกรเหล็กแบบมือโยก (Hand-Operated Cutter) เป นผลิตภัณฑ ที่ผลิตในประเทศไทย คุณภาพสูง ส งออก ทั่วโลก ใช งานง าย เคลื่อนย ายสะดวก สามารถตัดเหล็ก ข ออ อยได ชิ้นงานตัดคมสวย ไม ต องใช ไฟฟ า มีความ แข็งแรงทนทาน ช วยประหยั ดค าใช จ าย และต นทุน แรงงานเหมาะสําหรับนําไปใช ตดั เหล็กเส นในสถานทีท่ ไ่ี ฟฟ า ไม สามารถเข าถึงได BANGKOK TOOLS INDUSTRIAL CO.,LTD. www.bangkoktools.com, www.barcutter.com

แผ นยิปซัมกันร อน ฮีทชีลด เนื้อยิปซัมบุด วยแผ นอลูมิเนียมฟอยล ทําให สะท อนรังสี ความร อนได สูงถึง 95% ผิวเรียบเนียน ป องกันเสียง ได สูง 60 เดซิเบล เมื่อใช คู กับฉนวนกันเสียง เป นฉนวน กั น ความร อ น ไม ดู ด ซั บ ความร อ นและไม ติ ด ไฟ เหมาะสําหรับการติดตัง้ ฝ าเพดานบริเวณใต หลังคา และ บริเวณฝาผนังด านที่รับแสงแดดโดยตรง ตอบสนอง ทุกการออกแบบ บริษัท คนอฟ ยิปซั่ม (ประเทศไทย) จํากัด www.knauf.co.th

เครื่องพิมพ อิงค เจ็ท ระบบยูวี Flatbed เครือ่ งพิมพ องิ ค เจ็ท ระบบยูวี Flatbed รุน ใหม ลา สุดจาก HP มีความเร็วในการพิมพ สูงสุดถึง 625 ตารางเมตร/ ชั่วโมง นวัตกรรมการพิมพ ระบบ HDR ของ HP Scitex FB10000 ช วยให ได งานพิมพ ในระดับ High Quality เหมาะกับงาน Packaging และงาน Display ทีต่ อ งการความ ละเอียดสูง FERROSTAAL (THAILAND) CO.,LTD.

ระบบไฟ เซนซ าเซลล ระบบไฟแบบใหม สําหรับวงการออกแบบ มีแผงวงจรไฟ LED ที่นํามารวมกันกับเทคโนโลยีด านปฏิกิริยาการ เคลือ่ นไหว ทํางานโดยการจับเซ็นเซอร ไฟจะทํางานโดย การสัมผัสแล วระบบเซ็นเซอร ไฟจะเปลี่ยนสีแสงสว าง และแสดงออกมาเป น ลวดลายต างๆ เป น โปรแกรม สําเร็จรูปเหมาะสําหรับนํามาตกแต งเป นเฟอร นเิ จอร พืน้ ผนัง และงานป ายต างๆ SENSACELL LTD. www.sensacell.com

Viva Decor Stone Pattern ผลิตภัณฑ ใหม จากวีว า บอร ด ด วย Texture ลายหิน ให สัมผัสที่เป นธรรมชาติ จึงสามารถนําไปใช ตกแต งใน บริเวณและรูปแบบต างๆ อันหลากหลาย เช น ผนัง กําแพงรั้ว พื้น ติดตั้งง าย น้ําหนักเบา อายุการใช งาน ยาวนาน มี จํ า หน า ยในขนาด 1.2 x 2.4 เมตร ในสีธรรมชาติ เช นเดียวกับ วีว า บอร ด แบบมาตรฐาน VIVA INDUSTRIES CO.,LTD.

ระบบจอดรถอัตโนมัติ Samjung Tech ระบบจอดรถอัตโนมัติจากประเทศเกาหลีใต มีประโยชน สูงสุดของการใช พื้นที่ของโครงการ ทําให มีพื้นที่ขายได มากขึ้ น โดยสามารถเพิ่ ม จํ า นวนที่ จ อดรถได สู ง สุ ด ถึ ง 60% จากระบบจอดรถปกติ ช วยลดเวลาในการหาทีจ่ อดรถ ลดอุ บั ติ เ หตุ จ ากการจอดรถในที่ แ คบๆ และเพิ่ ม ความ ปลอดภัยจากการโจรกรรมในทีจ่ อดรถ มีให เลือก 3 ประเภท ได แก 1.Ele Parking 2.Cart Parking 3.Translator Parking นอกจากนีย้ งั มี Option อืน่ ทีใ่ ช ในระบบจอดรถ คือ 1.Stack parking 2.Turn Table 3.Parking Control System บริษัท เตียวฮงสีลม จํากัด

บริการด านการออกแบบก อสร างแบบครบวงจร ด วยการร วมทุนกับกลุม บริษทั คิงส เมน ทีม่ กี ว า 18 สาขาใน 13 ประเทศ ในภาคพื้นเอเซียแปซิฟ คและตะวันออกกลาง ในการให บริการด านการออกแบบ ตกแต ง และก อสร าง สําหรับอุตสาหกรรมการตกแต งภายใน การแสดงสินค า และการจัดงาน พิพิธภัณฑ รวมถึงกิจกรรมการสื่อสารการ ตลาดแบบครบวงจร มั่นใจในการให บริการด วยคุณภาพ พร อมสร างประสบการณ ที่ดีแก ลูกค าอย างสมบูรณ แบบ Kingsmen C.M.T.I. Co.,Ltd. www.kingsmen-cmti.com

ปูนซีเมนต สําเร็จรูป เสือ มอร ตาร ปูนซีเมนต สู ตรพิ เศษที่ผสมสํ าเร็จมาจากโรงงาน และ ส วนผสมที่คัดสรรพิเศษจาก “เสือ มอร ตาร ” ช วยเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานก อ งานฉาบ ทั้ ง ด า นความ รวดเร็วและความสวยงามได อย างดีเยี่ยม ทําให ได งานที่ สวยสมบูรณ แบบ ไม แตกร าว โดยมีให เลือกตามการใช งาน 11 สูตร อาทิ ปูนซีเมนต สําเร็จรูป ฉาบทั่วไป, ปูนซีเมนต สําเร็จรูป ฉาบอิฐมวลเบา, ปูนซีเมนต สําเร็จรูป ก อทั่วไป, ปูนซีเมนต สําเร็จรูป ก ออิฐมวลเบา ฯลฯ บริษัท สยามมอร ตาร จํากัด www.siammortar.com 131


䷤͹ áÅоѹ¸ÁÔμà ÁͺÍØ»¡Ã³ ·Ò§¡ÒÃá¾·Â ãËŒâç¾ÂÒºÒŹ‹Ò¹

ÅÅÔÅ ¾Ãç;à¾Íà μÕé ËÇÁ§Ò¹ Opportunity Day

วีรพันธ พูลเกษ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชัน่ จํากัด (มหาชน) ผูน าํ ด านการพัฒนาโรงงาน และคลังสินค าคุณภาพสูงเพือ่ ให เช าของประเทศไทย นําทีมผูบ ริหาร ร วมกับ บริษทั ฟอร จนู พาร ท อินดัสตรี้ จํากัด (มหาชน) และกลุ มใจใส มอบเครื่องติดตามสัญญาณชีพขณะ ผ าตัด จํานวน 1 เครื่อง มูลค า 600,000 บาท ให แก โรงพยาบาลน าน จ.น าน โดยมี นายแพทย พิษณุ ขันติพงษ ผู อํานวยการโรงพยาบาลน าน เป นผู รับมอบ เมื่อเร็วๆ นี้

กร ธนพิพัฒนศิริ ผู ช วยกรรมการผู จัดการ และ เสรี สินธุอัสว ผู จัดการฝ ายการเงิน บริษัท ลลิล พร็อพเพอร ตี้ จํากัด (มหาชน) ร วมให ข อมูลแก นักลงทุนและผู ถือหุ น ในงานบริษัทจดทะเบียน พบนักลงทุน (Opportunity Day) ณ อาคารตลาดหลักทรัพย แห ง ประเทศไทย เพื่อพบปะและนําเสนอข อมูลผลการดําเนินงานของ บริษัทฯ รายไตรมาส 2 ป 2557 มีกําไรสุทธิทั้งสิ้น 136.03 ล านบาท เดินหน าเตรียมเป ดโครงการใหม อกี กว า 5-7 โครงการ มูลค ารวมประมาณ 3,000 ล านบาท

áʹÊÔÃÔ ¨Ñ´á¤Áà»Þ ‘Let’s GROOVE with Sansiri Family’

ÍÔà¡Õ ©Åͧà»Ô´μÑÇ ‘á¤μμÒÅçÍ¡ÍÔà¡Õ 2015’

สมัชชา พรหมศิริ ผูอ าํ นวยการฝ ายการตลาดองค กร บริษทั แสนสิริ จํากัด (มหาชน) และ กัณตภณ ผานิชรัตน ผู อํานวยการอาวุโสฝ ายการตลาด ศูนย การค าเซ็นทรัลเวิลด จับมือร วมกันมอบความพิเศษสุดเอ็กซ คลูซีฟ ให กับครอบครัวแสนสิริ ในแคมเปญ ‘Let’s GROOVE with Sansiri Family’ กับส วนลดพิเศษมากมาย ทัง้ ร านอาหาร และร านแฟชัน่ แบรนด ดงั ณ กรู ฟแอทเซ็นทรัลเวิลด

ลาเซี ย เชอร ล็ อ ค ผู จั ด การ สโตร อิ เ กี ย ประกาศเป ด ตั ว ‘แคตตาล็ อ กอิ เ กี ย 2015’ เล ม ใหม ใ นประเทศไทย ในธี ม Where everyday begins and ends โดยจะให ความสําคัญกับ ห องนอนและห องน้ําเป นพิเศษ โดยการส งแคตตาล็อก กว า 1.2 ล านเล ม ถึงบ านคนไทยทั่วกรุงเทพฯ และสมุทรปราการ รวมถึง แคตตาล็อกดิจิตัล ที่เป ดดูออนไลน ผ านเว็บไซต หรือดาวน โหลด ผ านแอพพลิเคชัน่ แคตตาล็อกอิเกีย ทัง้ ระบบ iOS และแอนดรอยด

132


«Õ¤Í¹ âÎÁ Áͺà§Ô¹¾Ñ²¹Òˌͧ·Ñ¹μ¡ÃÃÁ þ. ¤‹ÒÂà¢μÍØ´ÁÈÑ¡´Ôì

àÍÊ«Õ¨Õ àÍç¡«¾ÕàÃÕ¹« á¶Å§¢‹ÒÇà»´Ô SCG SHOWCASE

ศุภชิ ชา ชัยพิพฒ ั น กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ซีคอน โฮม จํากัด ร วมบริจาค เงินเพื่อพัฒนาห องทันตกรรม รพ.ค ายเขตอุดมศักดิ์ อ.เมือง จ.ชุมพร โดยมี ร.ต.ทพ.ธนศักดิ์ ถัมภ บรรฑุ รก.หน.แผนกทันตกรรม รพ. ค ายเขต อุดมศักดิ์ และ ปณิธิ เลิศดําริห การ เป นผู รับมอบ ซึ่งเป นหนึ่งความดี ในโครงการ 50 ป ซีคอน โฮม 50 ความดีคืนสังคมไทย

นิธิ ภัทรโชคผู ช วยผู จัดการใหญ -ตลาดในประเทศบริษัท เอสซีจี ซิเมนต -ผลิตภัณฑ ก อสร าง จํากัด ร วมกับ ชัชวาลย เศรษฐบุตร กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ จํากัด พร อมด วย คณะผู บริหาร ร วมแถลงข าวเป ด SCG SHOWCASE นวัตกรรม การอยู อาศัยแนวคิดใหม เพื่อวันพรุ งนี้ เพื่อตอบสนองทุกความ ต องการในการดําเนินชีวิต ของคนทุกเพศทุกวัยในยุคป จจุบัน ณ เอสซีจี เอ็กซพีเรียนซ เลียบทางด วนเอกมัย-รามอินทรา

¾Òà¹Å ¾ÅÑÊ à»Ô´μÑǤÍÅàŤªÑè¹äÁŒà¤Å×ͺàÁÅÒÁÕ¹ 10 ´Õ䫹 ãËÁ‹

§Ò¹©Åͧ¤ÃºÃͺ 10 »Õ ÅÕ¿ÇÔè§ àÍç·à«··ÃŒÒ ¤Ò࿆ â¤-¤ÃÕàÍ·à·ç´ ºÒ ¾Ò á͹´ ÍÒÃÕÂÒ

ธน จงสืบธรรม รองผู อํานวยการด านการตลาด บริษัท พาเนล พลัส จํากัด เป ดตัวคอลเลคชั่นใหม ที่มาพร อมไม เคลือบเมลามีน 10 ดีไซน ในงาน ‘Panel Plus Trend & Design 2015: Revolution Look’ ชูแนวคิดปฏิวัติการออกแบบด วยดีไซน ที่เป นอิสระ จนเกิดเป นผลิตภัณฑ ที่ตอบโจทย ความต องการของลูกค าได อย างตรงใจ นับตั้งแต ลวดลาย ในโทนสีเข มน าหลงใหล และโทนสีกลางที่ผสานความคลาสสิคระดับโลก ไปจนถึงลวดลายที่สดใหม และนําเทรนด เหนือใคร

อรรถพล วิ บู ล ยานนท ผู จั ด การฝ า ยสถาป ต ยกรรมภายใน, ณภัฑชยา มาหานันทน ผูจ ดั การฝ ายการตลาด บริษทั ออกแบบ พาย จํ า กั ด และ ศิ ริ ว รรณ เต็ ม ผาติ บรรณาธิ ก ารบริ ห าร นิตยสารลีฟวิ่ง เอ็ทเซ็ททร า ร วมกันเป ดงานฉลองครบรอบ 10 ป ลีฟวิ่ง เอ็ทเซททร า คาเฟ โค-ครีเอทเท็ด บาย พาย แอนด อารียา ที่ชั้น 1 โซนกรู ฟ ณ ห างเซ็นทรัลเวิลด เมื่อเร็วๆ นี้

133


·ÕâÍàÍ ©Åͧá¤Áà»Þ ‘50 »Õ ·ÕâÍàÍ ÊÕÊѹ¤ÇÒÁÊØ¢ ¤Ù‹ªÕÇÔμ¤¹ä·Â’ จตุภัทร ตั้งคารวคุณ รองประธานกรรมการบริหาร กลุ มบริษัท ทีโอเอ และ พงษ เชิด จามีกรกุล กรรมการผู จัดการใหญ บริษัท ทีโอเอ เพ นท (ประเทศไทย) จํากัด และทีมผูบ ริหาร ร วมแถลงข าวในโอกาสครบรอบ 50 ป พร อมเผยโฉมแคมเปญ ‘50 ป ทีโอเอ สีสันความสุข คู ชีวิตคนไทย’ ปูทางความพร อมสูเ จ าตลาดอาเซียน มุง ขยายการรับรูแ บรนด และพัฒนา นวัตกรรมสินค าเพื่อชีวิตและสิ่งแวดล อม พร อมเสริมศักยภาพบุคลากร ควบคู ไปกับการจัดกิจกรรมส งมอบความสุขให แก สังคมไทย

à¿Ãà¡Ã¹· Ï μŒ Í ¹ÃÑ º ¤³Ðᢡ¡Ô μ μÔ Á ÈÑ ¡ ´Ôì àÂÕè  ÁªÁ¤Í¹â´ ‘à«Íà à¤ÔÅ ÅÔ¿ÇÔè§ â»Ãâμä·»Š’ เจมส ดูอัน ประธานเจ าหน าที่บริหาร เฟรเกรนท กรุ ป ให การต อนรับ คณะแขกกิตติมศักดิ์ นําโดย ธนวันต ชูศรี, ศุลีพร อินทรประสิทธิ์, ชูขวัญ มหาคุณ และ นันทกรณ รัตนพฤกษ ในโอกาสให เกียรติเยี่ยมชม โครงการคอนโดมิเนียมระดับไฮเอนด ‘เซอร เคิล ลิฟวิ่ง โปรโตไทป ’ บนถนนเพชรบุรตี ดั ใหม ทีโ่ ดดเด นด านการอนุรกั ษ พลังงาน พร อมชมห อง ตัวอย าง และโชว รูมการจัดแสดงวัสดุคุณภาพที่ครบครันด านนวัตกรรม เพื่อโลกสีเขียว

134

ÊÂÒÁÂÔ»«ÑÁÏ ¨ÑºÁ×Í ÂÙàÍÊ¨Õ ºÍÃÍÅ à»Ô´μÑÇἋ¹ÂÔ»«ÑÁ μÃÒªŒÒ§¾ÅÑÊ บริษัท สยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จํากัด ผู ผลิตและ จําหน ายแผ นยิปซัม ‘ตราช าง’ จับมือกับ ยูเอสจี บอรอล เป ดตัว แผ นยิปซัมตราช างพลัส ทีใ่ ช เทคโนโลยีของชีตร็อคแบรนด สูต ลาด ก อสร างในประเทศไทย ย้ําจุดเด นน้ําหนักเบากว า แข็งแกร งและ ติดตั้งง าย จุดกระแสใหม ให อุตสาหกรรมตลาดวัสดุก อสร างทั่ว ภูมิภาค เป นการสร างมิติใหม ของอุตสาหกรรมตลาดแผ นยิปซัม เพิม่ ประสิทธิภาพทัง้ คุณภาพและประหยัดเวลาในการติดตัง้ ระบบ ผนังและฝ าเพดานสําเร็จรูป

͹ѹ´ÒÏ à»Ô´ 4 â¤Ã§¡ÒÃãËÁ‹ º¹Â‹Ò¹Ê¶Ò¹Õö俿‡Ò ชานนท เรืองกฤตยา ประธานเจ าหน าที่บริหาร และกรรมการ ผู จัดการใหญ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม นท จํากัด (มหาชน) ประกาศเดินหน าเป ดตัว 4 โครงการใหญ บน 4 ทําเลศักยภาพที่ ดีที่สุด ได แก แอชตัน อโศก, ไอดีโอ คิว สยาม-ราชเทวี, ไอดีโอ โมบิ สุขุมวิท อีสท เกต และ ไอดีโอ โมบิ วงศ สว าง อินเตอร เชนจ โดยมี แอชตัน อโศก และ ไอดีโอ สยาม-ราชเทวี เป นความร วมมือ ภายใต การร วมทุนกับ บริษทั มิตซุย ฟูโดซัง เรสซิเดนท เชียล จํากัด บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย ขนาดใหญ ที่สุดในประเทศญี่ปุ น



ÃÈ.ÁÒ¹¾ ¾§È·Ñμ

อาจารย ผู ทรงคุณวุฒิ ประจําภาควิชาเคหการ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

È.´Ã.ºÑ³±Ôμ ¨ØÅÒÊÑÂ

อ า จ า ร ย ผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ อดีตคณบดี คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และ ทีป่ รึกษา บริษทั สถาปนิกจุลาสัย จํากัด

Í.ªÇ¾§È ªíÒ¹Ô»ÃÐÈÒʹ

อดี ต นายกสมาคมสถาปนิ ก สยามฯ ป พ.ศ.2541-2543 และ กรรมการผู จัดการ บริษัท สํานักงานสถาปนิกทวีธา จํากัด

¼È.´Ã.¨μØÇѲ¹ ÇâôÁ¾Ñ¹¸

LEED AP, TREES FA อาจารย ป ระจํ า คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการผั ง เมื อ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และผู จั ด การศู น ย วิ จั ย นวั ต กรรม เทคโนโลยีสงิ่ แวดล อมสรรค สร าง ผูเ ชีย่ วชาญทางด านอาคารเขียว และเกณฑ การประเมิน LEED ¼È.³Ñ°¸Ã ¸ÃÃÁºØμÃ

อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต และ Creative Director บริษัท Aesthetic Architect จํากัด และ อาจารย พิเศษในหลายสถาบัน

´Ã.ÊؾԪªÒ âμÇÔÇÔªÞ

อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร

¤Ø³Ë¹Öè§Ä·Ñ ¤Ò·ØÊà«¿Ê¡Õé

จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และปริญญาโทจากคณะการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง อดี ต นัก Marketing ทีป่ จ จุบนั ผันตัวเองมาเป นนักเขียนและนักแปลอิสระ ให กับนิตยสารและบริษัทต างๆ ¤Ø³¤³Ô¹³Ñ®° âÍÌÒÃÇ§È Ê¡ØÅ

จบการศึกษาจากคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตศาสตร สาขาสถาป ตยกรรม มีความสนใจด านการพัฒนาสิ่งแวดล อม และงานออกแบบเพื่อสร างเสริมสุนทรียและสุขภาวะ ป จจุบันได ร วมทํางานวิจยั ในโครงการสิง่ แวดล อมสรรค สร างเพือ่ สุขภาวะ ซึง่ เป นความ ร วมมือระหว าง สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 136

¼È.ÃѪ´ ªÁÀÙ¹Ôª

คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

¤Ø³ÇÊÑ¹μ ¤§¨Ñ¹·Ã

กรรมการผู จัดการ บริษัท โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท จํากัด ¤Ø³Íê ¡ÃÐáÊÍÔ¹·Ã

จบการศึกษาด านการออกแบบ จากคณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ป จ จุ บั น ดํ า ร ง ตํ า แ ห น ง Director of Technical Marketing ที่ Wisdom Consulting and Solution Co.,Ltd. ¤Ø³¡Äɳ ¹Ò¤ÐªÒμ

Head of IT Department จากบริ ษั ท สถาปนิ ก 49 จํ า กั ด อดี ต หนุ ม สถาปนิ ก ที่ ค น พบสิ่ ง ที่ ตั ว เ อ ง รั ก แ ล ะ ส น ใ จ ท า ง ด า น คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ การออกแบบ สถาป ตยกรรม ¤Ø³ªÇÅÔμ ÊØÇÑμ¶Ô¡ØÅ

ที่ ป รึ ก ษ า ฝ า ย ลู ก ค า สั ม พั น ธ บริษัท เบเยอร จํากัด จบปริญญาตรีสถาป ตยกรรมศาสตร จุ ฬ า ล ง ก ร ณ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เป นผูท เี่ ชีย่ วชาญและได ทาํ งานสนับสนุนข อมูลทางเทคนิค เรื่องสีแก สถาปนิก วิศวกร ตั้งแต ป 2522 จนถึงป จจุบัน


BUILDER MAGAZINE Product Knowledge Provider Questionnaires ชาย ช วงอายุ 20-24 ป

หญิง 25-34 ป

อาชีพ ________________________________________ 35-44 ป

45-60 ป

60 ป ขึ้นไป

ท านมีความสนใจในด านใดมากที่สุด โดยให ใส ลําดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน อย 5) การออกแบบและก อสร าง อสังหาริมทรัพย โครงการหรืออาคารที่น าสนใจ ข าวสารการก อสร าง วัสดุก อสร าง การบริหารจัดการอาคาร นวัตกรรมเทคโนโลยี อนุรักษ พลังงานและเพื่อสิ่งแวดล อม ไลฟ สไตล และการท องเที่ยว ข าวแวดวงในวงการต างๆ ท านมีความสนใจในสินค า ผลิตภัณฑ ประเภทใดมากที่สุด โดยให ใส ลําดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน อย 5) Lighting Innovation & Technology Door & Window Roofing Wall Covering Floor Covering Wooden Glass Steel & Metal Natural & Recycle Content Security & BAS ท านชอบอ านคอลัมน ประเภทไหน เชิงวิชาการ ที่ประกอบด วยเนื้อหาสาระ แหล งข อมูลในด านต างๆ เชิงเกร็ดความรู ที่เป นเนื้อหาสาระทั่วไป ไม เน นเชิงวิชาการ เชิงแนะนําโครงการที่น าสนใจ เชิงไลฟ สไตล ที่เน นท องเที่ยว พักผ อน หรือการใช ชีวิต เชิงคู มือ ที่เป นเรื่องของการให คําแนะนําและให คําปรึกษา เชิงปฏิบัติ ที่เน นการเล าหรือแชร ประสบการณ โดยตรง แบ งป นให กับผู อ าน จํานวนความยาวหน าที่เหมาะสมสําหรับการอ านของท าน ประมาณ 1 หน า ประมาณ 2-3 หน า ประมาณ 4 หน า ประมาณ 6-8 หน า ในนิตยสารท านมีความสนใจในคอลัมน ใดมากที่สุด _____________________________________________ หากมีการจัดทํา Application Multi-media ภาพเคลื่อนไหว ร วมในคอลัมน เพื่อนําเสนอข อมูลเพิ่มเติม ท านอยากให มีในคอลัมน ใดมากที่สุด ________ ___________________________________________________________ คําแนะนํา / ความคิดเห็น ________________________________________________________________________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________________ _________________________________ โดยผู ที่ร วมตอบคําถาม 100 ท านแรกจะได รับ เสื้อโปโล งานสถาปนิก ’57 คนละ 1 ตัว โปรดให ที่อยู ที่ติดต อ ชื่อ – นามสกุล (ตัวบรรจง) ______________________________________________________________________________________________ อีเมล _________________________________________________________________________________________________________________ ทีจ่ ดั ส งของรางวัล________________________________________________________________________________________________________ และส งกลับมาที่ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด เลขที่ 200/7-14 อาคาร เอ.อี.เฮ าส ชั้น 7 ซอยรามคําแหง 4 ถนนรามคําแหง แขวง/เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

137


BAS – Building Automation System เรือ่ งราวของระบบอาคารอัจฉริยะ

สมัครสมาชิก 6 เดือน จายเพียง 600 บาท พรอมรับของมูลคา 1,100 บาท

- นิตยสาร Builder จํานวน 6 เลม มูลคา 600 บาท - หนังสือ Architect Expo Buyer’s Guide มูลคา 500 บาท จํานวน 1 เลม

สมัครสมาชิก 1 ป จายเพียง 1,000 บาท พรอมรับของมูลคา 2,050 บาท

- นิตยสาร Builder จํานวน 12 เลม มูลคา 1,200 บาท - หนังสือ Architect Expo Buyer’s Guide จํานวน 1 เลม มูลคา 500 บาท

สมัครสมาชิก 2 ป จายเพียง 1,900 บาท พรอมรับของมูลคา 4,200 บาท

- นิตยสาร Builder จํานวน 24 เลม มูลคา 2,400 บาท - หนังสือ Architect Expo Buyer’s Guide จํานวน 1 เลม มูลคา 500 บาท - หนังสือ Framing Architect จํานวน 1 เลม มูลคา 950 บาท (จํากัดเฉพาะ 50 ทานแรกเทานั้น)

ÍÍ¡ãºàÊÃç¨ ÃѺà§Ô¹ã¹¹ÒÁ

138

พบกับคอลัมน สัมภาษณ ผบ ู ริหาร บริษทั วังทอง กรุป จํากัด สัมภาษณ นกั ออกแบบรุน ใหม ไฟแรง N7A พบกับเรือ่ งของวัสดุและอุปกรณ ควบคุมจัดการระบบอาคาร




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.