CoNtENt ENErGy sAviNG vol. 82 issuE sEptEMBEr 2015 8
Editor’s NotE
10
NEws rEport
12 15 18 22 28 32 34
ก.อุตฯ สานต่อนโยบายรัฐ ผลักดันใช้ข้าวผลิตไบโอพลาสติก NEws rEport
“สิงคโปร์” จัดสัปดาห์อาคารเขียวระดับพรีเมียร์ NEws rEport
ซีพีเอฟ เปิดตัวบรรจุภัณฑ์รักษ์โลก ย่อยสลายเองได้ ArouNd thE world
“Azura” นวัตกรรมเครื่องก�าเนิดพลังงานคลื่นชนิดใหม่ ผลิตไฟฟ้าเพื่อผู้คนในฮาวาย CovEr story
Sanitary ware สุขภัณฑ์สีเขียว บทสะท้อนด้านความประหยัด GrEEN BuildiNG
Yum Thailand มุ่งสู่มาตรฐาน LEED BuildiNG MANAGEMENt
Energy Benchmark ส�าหรับอาคารเขียว ENErGy MANAGEMENt
เทคนิคลดต้นทุนพลังงานในโรงพยาบาล
36
produCt rEviEw CoNstruCtioN
38
produCt showCAsE CoNstruCtioN
40 42 46 48 50 51 54 56 58
Greenup Highbay ระบบส่องสว่างของโลกธุรกิจ
ECO STONE งานดีไซน์ด้านสิ่งแวดล้อม iNtErviEw
สถาปนิกหัวใจสีเขียว บนวิถี “ภูมิทัศน์ทางวัฒนธรรม” GrEEN iNdustriAl
โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค เผยเคล็ดลับก้าวสู่โรงงานอันดับหนึ่งในอีสเอเชีย ENErGy FoCus
ปัจจัยแห่งความส�าเร็จในการอนุรักษ์พลังงานของภาคอุตสาหกรรม opEN housE
เยี่ยมชมศูนย์บริการซ่อมแซมเครื่องจักร “MRO Training and Application Center” produCt rEviEw iNdustriAl
Giada Technology F-Series มินิพีซีไร้พัดลม ส�าหรับงานอุตสาหกรรม (ประหยัดพลังงาน)
produCt showCAsE iNdustriAl
Infrared Heater อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน iNtErviEw
ผอ.สนพ. เดินหน้าแผนอนุรักษ์พลังงาน เร่งผลักดันโครงการพลังงานทดแทน GrEEN loGistiCs
อีเว้นท์ โลจิสติกส์ รับ AEC (1) rENErGy
SEPTEMBER 2015
ก๊าซชีวภาพพลังงานยิ่งใหญ่ ที่ไร้สายส่งไฟฟ้า เผาทิ้งวันละ 600,000 ลบ.เมตร หรือผลิตไฟฟ้าได้ 60 เมกะวัตต์ 4
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
content energy saving voL. 82 issue sePtember 2015 60
Product review Logistics :
“ลูม่าร์ ไพร์ม” ฟิล์มสมรรถนะสูง ลดความร้อนจากแสงแดด ถนอมสายตา ช่วยประหยัดพลังงาน
62
Product showcase Logistics :
63
environment aLert : โลกที่ไม่สะอาด
65
SKF ตลับลูกปืนเม็ดเรียว รุ่นประหยัดพลังงาน
0 waste idea : ปัญหาน�้าขาดแคลน…ถึงเวลาต้องตรึกตรองว่า
“น�้าคือชีวิต”
67
greenhouse gas management :
ราคาคาร์บอนตกต�่า : ยุโรปจะแก้ปัญหาอย่างไร ?
69
Product showcase commerciaL :
Huawei MediaPad X2 แท็บแล็ตรุ่นใหม่ พร้อมเทคโนโลยีช่วยประหยัดพลังงาน
72
Product review commerciaL :
“LG Mosquito Away” นวัตกรรมเครื่องปรับอากาศไล่ยุง เย็นสบาย ประหยัดพลังงานอย่างเหนือชั้น
73
75
interview :
บางจากฯ จัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รักษ์โลก สร้างสังคมสีเขียว energy tiP :
77
ความสะอาดของเครื่องยนต์ ส�าคัญกว่าที่คิด green 4u : กล่องใส่ไข่จากฟางและหญ้าแห้ง
81
energy invention :
83
มัลติโพเดียมประหยัดพลังงาน นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ฝีมือสารพัดช่างอุบลฯ energy KnowLedge :
88
พพ. ชู “บางกระทุ่มโมเดล” สานต่องานวิจัยพลังงานทดแทน sPeciaL rePort : กองทัพ กับ พลังงานทดแทน energy Loan : ทหารไทย ปล่อยสินเชื่อ Solar Rooftop วงเงินกู้สูงสุด 100 %
90
sPeciaL Feature : PEA presents EcoLightTech Asia 2015
85
93
96 98 101 102 103 104 106 6
โอกาสทองอุตสาหกรรมแสงสว่างแห่งอาเซียน
viewPoint :
กระทรวงอุตสาหกรรม ผลักดัน 7 ยุทธศาสตร์ ตั้งเป้ายกระดับผู้ประกอบการไทยสู่ผู้น�า AEC energy rePort : ยา 3 เม็ด กระตุ้นต่อมสร้างนวัตกรรม green society : กฟผ. จับมือพันธมิตร อาสาฯ อนุรักษ์ทะเลไทย 2558
แบบสมัครสมาชิก แวดวงนักพลังงาน
energy gossiP energy movement event caLendar
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
NEWS REPORT TEXT : กรีนภัทร์
ก.อตฯ สานต่ อ นโ บา รั ลักดันใช้ ้า ลิ เปน บ อพลาส ิก
ักรม าสก นิช อดีตรั มนตรี ่าการกระทร งอตสา กรรม เปดเผยว่า จากการที่ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี มีแนวคิด ให้กระทรวงอุตสาหกรรมน�าข้าวมาแปรรูปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ เช่น น�ามาผสม กับพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์ไบโอพลาสติก กระทรวงอุตสาหกรรมจึงได้หารือ ร่วมกับกลุ่มอุตสาหกรรมพลาสติก สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ถึงแนวทางส่งเสริมการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพที่มีส่วนผสมของ ข้ า ว โดยผู ้ ป ระกอบการพร้ อ มให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการใช้ ข ้ า วไปผลิ ต เป็ น ไบโอพลาสติก ได้มีการหารือกันถึงแนวทางในการผลิต โดยได้มอบหมายให้สถาบันพลาสติก ไปหารือ กับผู้ประกอบการถึงปริมาณข้าวที่จะใช้รวมทั้งรายละเอียดผลิตภัณ ์ที่จะผลิต และส่งข้อ สรุปมายังกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อน�าเสนอต่อนายกรัฐมนตรีในวันที่ 29 กรก าคมนี้ ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมหัวหน้าส่วนราชการระดับปลัด กระทรวง ก่อนน�าเสนอต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อให้เป็นนโยบายในการส่งเสริมการ ผลิตและการใช้ไบโอพลาสติกต่อไป ส�าหรับข้าวทีใ่ ช้ในการด�าเนินโครงการจะเป็นข้าวคุณภาพปราศจากเชือ้ รา ซึง่ ในเบือ้ งต้น ได้เตรียมไปเจรจากับทางกระทรวงพาณิชย์ ถึงการขอซือ้ ข้าวในสตอกของรัฐบาลประมาณ 10
E N E R G Y S AV I N G
10,000 ตัน ในราคาตลาดที่คาดว่าน่าจะมีราคาที่ไม่ สูงมากนัก โดยในการผลิตใช้สัดส่วนข้าวประมาณ ร้อยละ 20 2 ของผลิตภัณ ์ และมีแนวคิดในการ ติ ด ตราสั ญ ลั ก ษณ์ เพื่ อ บอกให้ ผู ้ บ ริ โ ภครั บ ทราบ ว่ า เป็ น ผลิ ต ภั ณ ์ พ ลาสติ ก ชี ว ภาพที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม โดยราคาและคุณภาพจะไม่แตกต่างไป จากผลิตภัณ พ์ ลาสติกใช้ในปัจจุบนั อาทิ ถุงหิว้ ใส่ของ ถุงใส่ขยะ แบร์รเิ ออร์ทใี่ ช้กน้ั แบ่งแนวถนน กรวยจราจร กระถางต้นไม้ เป็นต้น โดยจะไม่เป็นผลิตภัณ ท์ สี่ มั ผัส กับอาหารโดยตรง ทั้งนี้ กระทรวงอุตสาหกรรมจะเสนอขอรัฐบาล ก� า หนดเป็ น นโยบาย เริ่ ม ต้ น ที่ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ แ ล ะ ข อ ค ว า ม ร ่ ว ม มื อ ใ ห ้ กั บ ร ้ า น ส ะ ด ว ก ซื้ อ ห้างสรรพสินค้า ให้หันมาใช้ผลิตภัณ ด์ งั กล่าวซึง่ หาก ประสบความส�าเร็จอาจต่อยอดไปยังพืชอื่นๆ เช่น มันส�าปะหลัง แกลบ อ้อย เป็นต้น และจะสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับประชาชนต่อไป ขอบคุณภาพจาก : www. thaipublica.org.com
SEPTEMBER 2015
ปตท. ร่วมเ ้าปร มเปิดงาน อาเซี น พาวเวอร์ วีค 2015 อาเซียน พาวเวอร์ วีค ซึ่งจัดขึ้นโดยเพนน์เวลล์ คอร์ปอเรชั่น ผู้จัดงานประชุม ระดับโลก เป็นการรวมงาน “พาวเวอร์-เจน เอเชีย” ประจ�าปีที่ 23 และงาน “รีนวิ เวเบิล เอนเนอร์จี เวิลด์ เอเชีย” ครัง้ ที่ 8 โดยปีนจี้ ะมีงาน “พาวเวอร์-เจน เอเชีย ไ แนนเชียล อรัม” ร่วมด้วยเป็นครั้งแรก โดยทั้งสามงานจัดขึ้นภายใต้แนวคิด “การลงทุนเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน” และคาดว่าจะมีผู้เข้าร่วมงานกว่า 7,500 คน จากทั่วโลก ซึ่งผู้เข้าร่วมงานหลักมาจากประเทศไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ญี่ปุน และประเทศตะวันออกกลาง ร สวัส ิ อั ร นันท์ ร น รร ร ริ ัท ตท ั เผยว่า ได้มีบทบาท ส�าคัญในการแปรรูปองค์กรรัฐวิสาหกิจด้านพลังงานต่าง ๆ เช่น ปตท. ในระหว่างการด�ารง ต�าแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน ทัง้ ยังได้ดา� เนินการป ริ ปู ภาคพลังงานอย่างหลากหลาย รวมถึงการหยุดการอุดหนุนราคาน�้ามันและการจ่ายคืนหนี้มหาศาลของกองทุนรวมน�้ามัน จากโครงการอุดหนุนราคาของรัฐบาลชุดก่อน การด�าเนินนโยบายที่แข็งขันเพื่อสนับสนุน พลังงานหมุนเวียน เช่น เชื้อเพลิงชีวภาพ ระบบโคเจนเนอเรชัน (Cogeneration) คือการ ผลิตพลังงาน 2 รูปแบบได้แก่พลังงานไฟฟ้า (กระแสไฟฟ้า) และพลังงานความร้อน (ไอน�้า,
กฟ . ืน ันเปนสปอนเซอร์หลักงาน a na le nergy
e nology
a
การไ าฝายผลิตแห่งประเทศไทย (ก ผ.) เป็นรัฐวิสาหกิจและผูผ้ ลิตไ าราย ใหญ่ที่สุดของไทย สังกัดกระทรวงพลังงาน มีหน้าที่ผลิตและจัดส่งไ าไปยัง ทัว่ ประเทศ ด�าเนินกิจการโรงไ ารวม 40 แห่งทัว่ ประเทศ มีกา� ลังการผลิตไ า รวม 15,010.13 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย โรงไ าพลังความร้อน 3 แห่ง โรงไ า พลังความร้อนร่วม 6 แห่ง โรงไ าพลังน�้า 22 แห่ง โรงไ าพลังงาน หมุนเวียน 8 แห่ง และโรงไ าพลังดีเซล 1 แห่ง ล่าสุด กฟผ. ได้ยืนยันการเป็นผู้สนับสนุนหลัก ประเภท Dia ond Sponsors ip ให้กับการประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยี ที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2 9 (SETA 201 )” ที่จะจัดเป็นครั้งแรกในประเทศไทย ในวันที่ 2 2 มีนาคม 2 9 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ ถือเป็นเวทีส�าคัญที่จัดขึ้นส�าหรับองค์กรต่างประเทศ ภาครัฐและภาคอุตสาหกรรมในการ VOLUME 7 ISSUE 82
อากาศร้อน) จากแหล่งเชื้อเพลิงชนิดเดียว และการ ผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว (distri uted genera tion) รวมทัง้ น�ามาตรฐานและการสร้างแรงจูงใจด้าน ประสิทธิภาพพลังงานต่าง ๆ มาใช้ ผู้สนใจสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ : www.aseanpowerweek.com , www.powergenasia.com www.renewableenergyworld-asia.com , www.powergenasiafinance.com
อภิปรายและท�างานร่วมกันในการพั นานโยบาย ด้านพลังงานทีย่ งั่ ยืนส�าหรับการพั นาทางเศรษฐกิจ ของภูมิภาคอาเซียนในอนาคต อย่ า งไรก็ ต าม แม้ จ ะมี ก ารลงทุ น ในอาเซี ย น พาวเวอร์กริด และโครงการท่อส่งกาซธรรมชาติ ทรานส์อาเซียน แต่ประโยชน์ของการแข่งขันใน ตลาดที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ราคาของผู ้ บ ริ โ ภคที่ ล ดลงและ ความมั่นคงด้านพลังงานที่เพิ่มขึ้นกลับไม่ได้เกิดขึ้น เป็นรูปธรรม การด�าเนินการเพิม่ เติมจึงเป็นสิง่ จ�าเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าไฟฟ้าจะยังมีอยู่ โดยที่เศรษฐกิจของ ภูมิภาคสามารถที่จะเจริญเติบโต ในขณะที่ต้องให้ มั่นใจว่าความต้องการพลังงานที่เพิ่มขึ้นจะไม่ท�าให้ พลังงานราคาแพงขึ้น ทั้ ง นี้ นโยบายด้ า นพลั ง งานของประเทศใน ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แ ตกต่ า งกั น มาก สะท้อนให้เห็นถึงความแตกต่างกันในด้านทิศทาง ทางการเมือง การพั นาทางเศรษฐกิจ และการใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติของแต่ละประเทศ การประชุมวิชาการและนิทรรศการนานาชาติ “โครงการพลังงานและเทคโนโลยีที่ยั่งยืนแห่งเอเชีย 2 9” เหมาะส�าหรับผู้เข้าร่วมงานที่จะมาแบ่งปัน มุมมองและประสบการณ์ รวมถึงหารือเกี่ยวกับวิธี การป ิบัติเพื่อการใช้พลังงานที่ยั่งยืนในภูมิภาค รายละเอียดเพิ่มเติม กรุณาเยี่ยมชม www.seta.asia
E N E R G Y S AV I N G
11
NEWS REPORT TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
กระทร งพลังงาน แ ลงแ นงาน “ใส่เกี ร์ เดินหน้าพลังงาน ท ” ก ร ะ ท ร ว ง พ ลั ง ง า น แ ล ะ ห น ่ ว ย ง า น ความมั่นคง แถลงแผนงาน “ใส่เกียร์ เดิน หน้าพลังงานไทย” หลังจากได้รับการจัดสรร งบประมาณจากกองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ อนุรักษ์พลังงาน ประจ�าปี 2 2 8 ก็ได้ ด�าเนินการทั้งหมด ชุดโครงการหลัก ซึ่งมี บางโครงการที่ประสบความส�าเร็จอย่างเป็น รูปธรรมแล้วในการอนุรักษ์พลังงานและผลิต พลังงานทดแทน นายคุ รุ จิ ต นาครทรรพ ปลั ด กระทรวง พลังงาน เป็นประธานในการแถลงข่าวร่วมกับ ตัวแทนหน่วยงานมัน่ คง กล่าวว่า วัตถุประสงค์ โดยรวมของทุกโครงการ คือ เพือ่ ผลิตพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน โดยมีโครงการ ที่ ส� า เร็ จ และมี ค วามคื บ หน้ า อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ได้แก่ ชุดโครงการอนุรักษ์พลังงานและ ใช้ พ ลั ง งานทดแทนในพื้ น ที่ เ สี่ ย งภั ย จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งได้ท�าการติดตั้งเสาไฟ พร้อมโคมส่องสว่างแบบโซลาร์เซลล์ พั นา ระบบแสงสว่ า งด้ ว ยชุ ด โคมส่ อ งสว่ า งแบบ
แอลอีดี (LED) ซึ่งจะช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยงานและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 ล้านบาทต่อปี และชุดโครงการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในหน่วยงานความมั่นคง ส่วนกองทัพอากาศ กองทัพบก ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ และ กอ.รมน. จัดตั้งระบบผลิตไฟฟ้า ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ส�าหรับใช้งานระบบเรดาร์ภายในหน่วยงาน ควบคู่กับการติดตั้งเซลล์แสง อาทิตย์เพื่อใช้งานในสถานีถ่ายทอดโทรคมนาคมในส่วนที่ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง เป้าหมายด้านการใช้พลังงานทดแทนของประเทศกระทรวงพลังงานตั้งเป้าไว้ที่ 2 ปัจจุบัน ท�าได้แล้วประมาณ 12 การด�าเนินการของทุกชุดโครงการหวังให้เป็นต้นแบบให้กับประชาชน และหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในการตระหนักถึงคุณค่าของพลังงาน โดยสามารถติดต่อ เข้ามาศึกษาดูงานเพื่อขยายผลสู่การป ิบัติออกไปในวงกว้าง เพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงาน ของประเทศ
จุ า ชีแน ทาง ามมั่น งพลังงาน ทย คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย จั ด แลงข่ า ว “แนวทางการ สร้างคาวมมัน่ คงและความสมดุลทางพลังงาน ของประเทศไทยกับการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม อย่างมีประสิทธิภาพ” เน้นให้มกี ารสร้างความ มั่นคงทางด้านพลังงานอย่างจริงจัง พร้อมกับ หาจุดเหมาะในการพิจารณาปัจจัยแวดล้อม เพื่อเลือกใช้เชื้อเพลิงของการผลิตไฟฟ้าให้ เหมาะสมต่อความจ�าเป็นของประเทศไทย ร ิ น อาจารย์ ป ระจ� า ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม กล่าวว่า“ปัจจุบนั ประเทศไทยใช้กาซธรรมชาติ ในการผลิตไฟฟ้าเป็นหลักในสัดส่วนที่สูงถึง 0 ท� า ให้ เ กิ ด ความเสี่ ย งต่ อ ความมั่ น คง ด้านพลังงาน โดยเฉพาะทุกครั้งที่มีการหยุด ซ่อมแซมระบบจะส่งผลกระทบต่อการผลิต ไฟฟ้าที่จะหายไปจากระบบเป็นจ�านวนมาก ซึ่ ง หากไม่ ส ามารถค้ น หาแหล่ ง กาซส� า รอง เพิ่มเติมจากปัจจุบันได้ กาซธรรมชาติในอ่าว 14
E N E R G Y S AV I N G
ไทยอาจถูกใช้จนหมดภายใน 8ปีนี้ ดังนั้นจึงควรพิจารณาสร้างโรงไฟฟ้าหรือโรงไฟฟ้าหลักขึ้น เพือ่ เพิม่ เข้าไปในระบบการผลิตไฟฟ้าของประเทศ และควรจะเลือกพิจารณาจากข้อดี ข้อเสียของ แหล่งพลังงานทีน่ า� มาใช้ เทคโนโลยีทนี่ า่ ท�าความเข้าใจ คือ เทคโนโลยีถา่ นหินสะอาดทีใ่ ช้ในโรงไฟฟ้า” การเลือกใช้เชือ้ เพลิงหรือโรงไฟฟ้าใด ๆ ก็ตามล้วนเกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมแตกต่างกันไป ดังนั้นควรค�านึงว่าผลกระทบต้องอยู่ในเกณ ์ที่สังคมยอมรับได้ โดยไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ความเป็นอยูข่ องประชาชน ฉะนัน้ ผูบ้ ริหารประเทศต้องก�าหนดยุทธศาสตร์ดา้ นพลังงาน โดยควรมี ทางเลือกให้ประชาชนมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจ ซึง่ ต้องแสดงข้อดี ข้อเสียแยกตามประเด็น ต่าง ๆ คือ ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี ความมั่นคง เศรษฐศาสตร์ ก หมายและการบังคับใช้ เพื่อให้เกิด ความเข้าใจ การยอมรับกับภาระค่าไฟทีต่ อ้ งเกิดขึน้ กับทางเลือกนัน้ ๆ SEPTEMBER 2015
NEWS REPORT TEXT :จีรพร ทิพย์เคลือบ
ซี พ เ ี อฟ เปด ั บรรจุ ั รัก ลก ย่อยสลายเอง ด้
บริษทั เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จ�ากัด (มหาชน) หรือ ซีพเี อ สร้างมิตใิ หม่ให้ผบู้ ริโภคหันมาใส่ใจสิง่ แวดล้อม เปดตัวบรรจุภณ ั ฑ์รกั ษ์โลก “Poly actic cid” (P ) ในงาน “นวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ ความยัง่ ยืน” ( ustainable Packaging nnovation) นับเป็นครัง้ แรกทีซ่ พี เี อ ได้เลือกใช้นวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ของ บริษทั เนเจอร์เวิรค์ ส์ เอเชีย แปซิ ค จ�ากัด ผูผ้ ลิตเม็ดพลาสติกชีวภาพระดับโลก น�าบรรจุภณ ั ฑ์ P วัสดุธรรมชาติทที่ า� มาจากพืช สามารถย่อยสลายเองได้มาใช้กบั สินค้าแช่เย็นกลุม่ อาหารสด โดยน�าร่องผ่านผลิตภัณฑ์เนือ้ ไก่สดซีพี ผู้บริโภคจึงมั่นใจในความปลอดภัยและยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คุ ณ ุ ล ิ ร ผู ้ ช ่ ว ยกรรมการ ผู้จัดการ ส�านักระบบมาตรฐานสากล ซีพีเอฟ กล่าวว่า ที่ผ่านมาซีพีเอฟได้ด�าเนินโครงการ ผลิตภัณ ์ซีพีเอฟที่ยั่งยืน (C F s roduct Sustaina ility) อย่างหลากหลาย นอกจาก การมุ ่ ง พั นาผลิ ต ภั ณ ์ ที่ ยั่ ง ยื น เพื่ อ น� า เสนอผลิตภัณ ์ที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมให้แก่ผู้บริโภคแล้ว ซีพีเอฟยังให้ ความสนใจกับการออกแบบพั นาและเลือก ใช้บรรจุภณ ั เ์ พือ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม โดยน� า นวั ต กรรมบรรจุ ภั ณ ์ สี เขี ย วที่ ผ ลิ ต จากพืช Ingeo จาก เนเจอร์เวิร์คส์ ผู้ผลิต เม็ดพลาสติกชีวภาพระดับโลก ในชือ่ ทีเ่ รียกว่า oly Lactic Acid ( LA) มาใช้กับผลิตภัณ ์ เพื่ อ ให้ มั่ น ใจได้ ว ่ า ผลิ ต ภั ณ ์ มี ค วามยั่ ง ยื น ตลอดวั จักรชีวติ ( roduct Life Cycle) เป็น ทางเลือกให้ผบู้ ริโภคยุคใหม่ทใี่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม VOLUME 7 ISSUE 82
และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่ตลอดห่วงโซ่การผลิตคิดค้นมาเพื่อความยั่งยืน บรรจุภัณ ์ คือหนึ่งในสาเหตุส�าคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม ยิ่งเราบริโภคสินค้าเพิ่มมากขึ้น ก็ย่อมมีการใช้บรรจุภัณ ์ที่ห่อหุ้มสินค้าเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย บรรจุภัณ ์ที่เราใช้จากการบริโภค ทั้งหลายเหล่านี้ได้กลายเป็นขยะมากขึ้นทุกวัน ยิ่งไปกว่านั้นหากบรรจุภัณ ์ถูกก�าจัดผิดวิธี ก็จะ กลายเป็นแหล่งมลพิษและสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตามมา ซีพีเอฟ ตระหนักและห่วงใย ถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้พั นาบรรจุภัณ ์นวัตกรรมใหม่สามารถย่อยสลายเองได้ตามธรรมชาติ ผู้บริโภคจึงมั่นใจได้ว่า บรรจุภัณ ์ที่ใช้ นอกจากมีคุณภาพและปลอดภัยแล้ว ยังจะย่อยสลาย กลับคืนสู่ธรรมชาติ ไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแน่นอน ถือเป็นผลิตภัณ ์น�าร่องตัวแรก ของแบรนด์ซีพีที่ตั้งใจให้ผู้บริโภคได้มีส่วนร่วมในการสร้างเส้นทางสีเขียวไปด้วยกัน นวัตกรรมพลาสติกชีวภาพ LA ที่น�ามาใช้เป็นบรรจุภัณ ์เหมาะกับสินค้าแช่เย็น ซีพีเอฟจึง เลือกใช้ในกลุ่มอาหารสด ได้แก่ เนื้อไก่ เนื้อหมู โดยในช่วง 1 ปีแรก วางแผนจะใช้บรรจุภัณ ์ LA ประมาณ 9,000,000 ชิ้น คาดว่าจะมีการปล่อยค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์เหลือเพียง 2 ตัน (tonC 2e ) เมือ่ เทียบกับบรรจุภณ ั เ์ ดิมทีท่ �ามาจาก ET ซึง่ เป็นพลาสติกจากปิโตรเลียมทีม่ กี าร ปล่อยค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ประมาณ 2 ตัน (tonC 2e ) ช่วยลดการปล่อยกาซเรือนกระจก ได้ถึง 82 หรือ 2 ตัน(tonC 2e ) เทียบเท่ากับการปิดไฟจ�านวน 12 ล้านดวง เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เท่ากับว่าผู้บริโภคที่ได้เลือกใช้บรรจุภัณ ์นี้ ได้มีส่วนร่วมลดโลกร้อนด้วย
E N E R G Y S AV I N G
15
NEWS REPORT TEXT : กรีนภัทร์
กรม ุรกิจพลังงานปรับเพิ่มสัดส่ น บ อดีเ ลในน�ามันดีเ ล น วิ ร ์ ุ ล เ ริ วิ รั ต น์ อธิ บ ดี ก รมธุ ร กิ จ พลังงาน ได้เปิดเผยว่ากรมธุรกิจพลังงานได้ออก ประกาศปรับเพิม่ สัดส่วนผสมของไบโอดีเซลในน�า้ มัน ดีเซลหมุนเร็ว จากปัจจุบันไม่ต�่ากว่า และไม่สูง กว่า เป็นไม่ตา�่ กว่า . และไม่สงู กว่า โดย ปริมาตร มีผลใช้บงั คับตัง้ แต่สงิ หาคม 2 8 เป็นต้นไป ซึ่งการปรับเพิ่มสัดส่วนผสมขั้นต�่าของไบโอดีเซลขึ้น อีกร้อยละ 0. นี้ จะช่วยสนับสนุนน�้ามันปาล์มดิบ ได้เพิ่มขึ้นประมาณเดือนละ 8,000 ตัน คือ จากเดิม ใช้ประมาณเดือนละ ,000 ตัน เพิ่มเป็นเดือนละ 8 ,000 ตัน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์เป็นต้นมา สถานการณ์ ปาล์มน�า้ มันในประเทศได้เข้าสูฤ่ ดูกาล ท�าให้สนิ้ เดือน พฤษภาคมมีปริมาณสตอกน�า้ มันปาล์มดิบคงเหลือสูง ถึง .8 แสนตัน ประกอบกับราคาน�้ามันปาล์มดิบใน ตลาดโลกมีแนวโน้มลดต�่าลง ส่งผลให้ราคาผลปาล์ม และน�้ามันปาล์มดิบภายในประเทศตกต�่า กระทบ ต่อรายได้เกษตรกร ดังนั้น เพื่อเป็นการช่วยเหลือ
เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�้ามันและ บรรเทาปั ญ หาปาล์ ม น�้ า มั น ล้ น ตลาด คณะกรรมการนโยบายปาล์ม น�้ า มั น แห่ ง ชาติ จึ ง ได้ ม อบหมาย ให้กระทรวงพลังงาน โดยกรมธุรกิจ พลังงาน พิจารณาเพิ่มสัดส่วนผสม ขั้นต�่าของไบโอดีเซลในน�้ามันดีเซล จาก เป็น . เพื่อช่วยดูด ซับปริมาณน�้ามันปาล์มส่วนเกินที่ เหลือจากการบริโภค ซึ่ ง การปรั บ เพิ่ ม สั ด ส่ ว นผสม ขั้ น ต�่ า ของไบโอดี เ ซลในครั้ ง นี้ นอกจากจะเป็นการช่วยยกระดับราคาผลปาล์มดิบและน�้ามันปาล์มดิบ อันจะเป็นประโยชน์ โดยตรงต่อเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน�้ามันแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรภายใน ประเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ช่วยลดปริมาณการน�าเข้าน�้ามันดิบจากต่างประเทศ ซึ่งท�าให้ประเทศชาติมีความมั่นคงทางด้านพลังงานมากยิ่งขึ้น ขอบคุณภาพประกอบจาก
ttp
. atic on.co.t
เปด ั งาน ิจัยเส้นใยชี าพ
จาก ้า พดส่ ลิ ั
ส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. ร่วมกับ สถาบันพั นาอุตสาหกรรมสิง่ ทอ พั นา olylactic Acid ( LA) เส้นใยจากพืช สร้างสรรค์สู่สิ่งทอที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้ โครงการ Texio กระบวนการผลิตเส้นใยยาวและ ผลิตภัณ ์สิ่งทอจาก เส้นใยชีวภาพพอลิแล็กไทด์ใน เชิงพาณิชย์ ระยะที่ 2 เพือ่ พั นาการผลิตเส้นใยยาว จาก LA ทีไ่ ด้จากข้าวโพด เข้าสูห่ อ้ งป บิ ตั กิ ารและ พั นาสู่อุตสาหกรรม โดยน�าไปผลิตเป็นเส้นด้ายที่ มีคุณสมบัติเหมาะสมในการขึ้นรูปเป็นผืนผ้า พร้อม ปรับปรุงคุณสมบัตเิ พือ่ การตัดเย็บเป็นผลิตภัณ ต์ า่ ง ๆ ให้เหมาะสมกับการใช้งานของผูบ้ ริโภค โดยคุณสมบัติ ของ LA สามารถผลิตเป็นสิ่งทอได้เช่นเดียวกับ เม็ดพลาสติกจากปิโตรเคมี สามารถย่อยสลายได้เอง เมื่อน�าไปฝังกลบในดินหรือในโรงหมักปุ ยอินทรีย์ ช่วยลดการปล่อยกาซเรือนกระจก ถือเป็นครั้งแรก ของประเทศไทยและอาเซียนทีน่ า� นวัตกรรมการผลิต เส้นใยชีวภาพเข้ามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต 16
E N E R G Y S AV I N G
สิ่งทอ รังแรก อง ทยและ รังแรกในอาเ ียน ส�าหรับอุตสาหกรรมสิง่ ทอได้สา� เร็จ โดยผลิตเป็นครั้งแรก คือ เส้นด้าย ผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ ผ้าถัก เสือ้ สูท เสือ้ แจ็กเก็ต เสือ้ เชิต้ เสิอ้ กี า เสือ้ โปโล ถุงเท้า รวมทัง้ ผลิตภัณ เ์ คหะ สิง่ ทอ ผ้าปูทน่ี อน เป็นต้น ปัจจุบันเส้นใยโพลีเอสเตอร์ถือ เป็นวัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ในอุตสาหกรรม สิง่ ทอกว่าร้อยละ 2.8 รองลงมาคือ เส้นใยฝ้ายร้อยละ .1 และอืน่ ๆ เช่น ไนลอน อะคริลคิ พอลิพรอพิลนี ในขณะทีก่ ารใช้งานเส้นใย LA ใน ไทยยังเป็นเรื่องใหม่ท่ีต้องพั นา โดยคาดว่าเมือ่ น�าเส้นใย LA มาใช้ ในอุตสาหกรรมสิง่ ทอของไทยอย่างเต็มรูปแบบจะสามารถลดการใช้ปโิ ตรเคมีและยังช่วยเพิม่ มูลค่าวัตถุดบิ ทางการเกษตร โดยเฉพาะมันส�าปะหลังให้แก่เกษตรกรได้ พร้อมตัง้ เป้าสร้างไทย เป็นแหล่งผลิต LA เตรียมขับเคลือ่ นให้สกู่ ารเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพใน ภูมภิ าค ( ioplastic u ) ต่อไป SEPTEMBER 2015
AROUND THE WORLD TEXT : กองบรรณาธิการ
Azura
น ั กรรมเ รื่องก�าเนิดพลังงาน ลื่น ชนิดใ ม่ เปดท�าการ ลิ าเพื่อ ้ นใน า าย
ด้วยความร่วมมือจาก หน่วยงานของสหรัฐฯ ได้ให้กา� เนิดนวัตกรรมเครือ่ งก�าเนิดพลังงานคลืน่ รูปแบบใหม่ล่าสุด เปิดท�าการเป็นโครงการน�าร่องในเดือนที่ผ่านมา “ ort est Energy Innovations” ร่วมกับ บริษัทเทคโนโลยีพลังงานสะอาดจากโอรากอน และด้วยเงินสนับสนุนจากกองทัพเรือสหรัฐฯ ได้กอ่ ให้เกิดการพั นา “A ura” ต้นแบบเครือ่ งก�าเนิด ไฟฟ้าพลังงานคลื่นรูปแบบใหม่ล่าสุดของอเมริกา ซึ่งได้เปิดด�าเนินการเพื่อทดสอบถึงศักยภาพการ ผลิตไฟฟ้าใน าวาย ด้วยน�้าหนัก ตัน “A ura” จะให้การเก็บเกี่ยวพลังงานจากการเคลื่อนไหวขึ้นลงของน�้า ซึ่ง เครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้าทีถ่ กู ติดตัง้ ภายในเครือ่ งจักรจะแปลงพลังงานจลน์ทไี่ ด้รบั เป็นไฟฟ้า ก่อนส่งกลับ ไปยังระบบด้วยสายเคเลบิลใต้น�้า ให้ก�าลังการผลิตในระยะน�าร่องที่ 20 กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง และหากเทคโนโลยีก�าเนิดพลังงานคลื่นชนิดนี้ สามารถพั นาในระดับขนาดใหญ่ อาจท�าให้ าวายสามารถยืนหยัดพึ่งพาตนเองได้อย่างสมบูรณ์ภายใน ปี 20 โดยต่อไปจะเป็นขั้นตอนการ ประเมินผลของโคงการ เพือ่ พั นาการออกแบบ “A ura” ให้มปี ระสิทธิภาพในการดักจับพลังงาน ทีม่ ขี นาดใหญ่มากขึน้ รวมถึงสามารถด�านินการในระดับความลึกลงไป 1 0 ฟุต ตามความคาดหวัง ให้เครื่องก�าเนิดไฟฟ้าชนิดใหม่นี้ สามารถผลิตพลังงานได้ 1 เมกะวัตต์ ซึ่งสามารถตอบสนองความ ต้องการไฟฟ้าได้หลายร้อยครัวเรือน ที่มาและภาพประกอบ ttp in a itat.co แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyrig t
18
E N E R G Y S AV I N G
.energysaving edia.co
SEPTEMBER 2015
ECO ROTR
น ั กรรมกัง ันลม น ก น้ากาก ดม ดักจับพลังงาน ด้มาก น
กลุม่ บริษทั ในเครือ “General Electric” จากสหรัฐอเมริกา ได้พั นากังหันลม รูปแบบใหม่ ผนึกก�าลังกับโดมทรงกลมช่วยให้การดักจับพลังงานที่สูญเสียไปได้ มากขึ้น “General Electric” ได้พั นาความก้าวหน้าให้พลังงานลมด้วย “ecorotr” กังหันลมที่มีการเพิ่มโดมทรงกลมเข้าไป เพื่อการดักจับพลังงานที่สูญเสียไปจาก กังหันรูปทรงมาตรฐาน เพิ่มการท�างานได้อีกร้อยละ ส�าหรับกังหันลมขนาด ความสูง 0 ฟุต ที่ถูกสวมหน้ากากคล้ายยูเอฟโอเข้าไป โดยรูปทรงโดมดังกล่าว จะถูกติดตั้งเพิ่มเข้าไปยังจุดศูนย์กลางของกังหัน เบี่ยงเบนลมที่อาจผ่านเลยไปให้เข้าสู่ใบพัด ช่วยเพื่อประสิทธิภาพการดักจับ พลังงานลมได้มากขึ้น โดยนักวิทยาศาสตร์ผู้อยู่เบื้องหลังการออกแบบนี้ ได้สะดุด เข้ากับแนวความคิดในขณะที่เล่นบอลโฟมและไม้จิ้มฟัน ก่อให้เกิดวิธีการที่ง่าย ซึ่งกลับกลายมาเป็นศักยภาพในการผลิตพลังงานสะอาดเพิ่มขึ้น ที่มาและภาพประกอบ ttp in a itat.co แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyrig t
VOLUME 7 ISSUE 82
.energysaving edia.co
E N E R G Y S AV I N G
19
TevaGas
แจ เลย น ั กรรม มักเศ อา าร ร้กลิ่น เพื่อแปลง ปเปนกา ุง ้มส�า รับบ้าน
บริษัทพลังงานจากอิสราเอล ได้พั นานวัตกรรมพลังงานส�าหรับบ้าน ด้วยเทคโนโลยีที่ สามารถเปลี่ยนเศษอาหารกลับไปเป็นกาซชีวภาพส�าหรับหุงต้ม ตามข้อมูลจากองค์การอนามัยโลกระบุว่า ประชากรที่เป็นเด็กและผู้หญิงกว่า . ล้านคน ได้เสียชีวิตลงจากการใช้เชื้อเพลิงหุงต้มที่เป็นถ่านและไม้ ท�าให้บริษัทพลังงานจากอิสราเอล นามว่า o e ioGas ได้คิดค้น TevaGas นวัตกรรมถังหมักกาซชีวภาพขนาดครัวเรือน เพื่อเปลี่ยนเศษอาหารกลับไปเป็นกาซหุงต้มส�าหรับบ้าน รวมถึงยังสามารถเป็นพลังงานเพื่อให้ ความร้อน โดยไม่สร้างกลิ่นไม่พึงประสงค์ ส่วนของเหลวที่เหลือสามารถน�าไปเป็นปุยส�าหรับ สวนและพืชผักได้ ทั้งนี้หลักการพื้นฐานเทคโนโลยี A i A ir นั้น ผู้อ�านวยการฝ่ายการตลาด อธิบายว่า เชื้อแบคทีเรียหรือจุลินทรีย์ที่เจริญเติบโตในสภาพไร้อากาศ มีความสามารถในการย่อยสลาย สารอินทรีย์จนเกิดผลกลายเป็นกาซชีวภาพ ซึ่งเป็นการผสมผสานกันของกาซมีเทนและกาซ คาร์บอนไดออกไซด์ โดยตัวนวัตกรรมนั้นเป็นผลมาจากการวิจัยและพั นาที่มีอยู่ในประเทศจีนและอินเดีย ซึ่ง ทีมท�างานจากอิสราเอลได้พั นาจนมาถึงบทสรุป ในการสร้างสรรค์เทคโนโลยีที่พร้อมด้วย ประสิทธิภาพ สร้างประโยชน์ยิ่งส�าหรับพื้นที่ลาตินอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ที่ยังใช้ถ่านหรือ ไม้มาเป็นพลังงาน โดยตัวผลิตภัณ ์ได้รับการทดสอบครั้งแรกที่ชุมชนชาวเบดูอินในอิสราเอล และมีการขายที่ราคา 2, 00 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในขณะนี้ ที่มาและภาพประกอบ ttp interestingengineering.co แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyrig t .energysaving edia.co
20
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
COVER STORY TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
WARE สุ ั สีเ ีย
บทสะท้อนด้าน ามประ ยัด ชีวิตประจ�าวันของคนเราทุกคนคงไม่มีใครหนีพ้น “ห้องน�้า” นอกจากประโยชน์ใน การช�าระล้างที่ใช้กันอยู่ทุกวันแล้ว ยังมีเรื่องของเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องกับ สุขภัณฑ์ ทั้งในเรื่องของดีไซน์ให้สวยงามทันสมัยเข้ากับสรีระ และพฤติกรรมของ มนุษย์ รวมถึงหันมาให้ความส�าคัญกับการใช้น�้าลดน้อยลง เนื่องจากปริมาณ การใช้น�้าในสุขภัณฑ์แต่ละวันมีปริมาณสูงมาก ประกอบกับกระแสการอนุรักษ์ ทรัพยากรท�าให้หลายคนหันมาใช้สุขภัณฑ์แบบประหยัดน�้ากันเพิ่มมากขึ้น เพื่อลด ค่าใช้จ่ายในระยะยาว
22
E N E R G Y S AV I N G
“น�้ า ” คื อ ปั จ จั ย ส� า คั ญ ในการด� า รงชี วิ ต มนุษย์มีความต้องการในการใช้น�้าเฉลี่ย 110 2 0 ลิตร คน วัน โดยเฉพาะผู้คนที่มีวิถีชีวิต ในสังคมเมืองซึ่งมีการใช้น�้ากันมากโดยเฉพาะ ในระบบสุขภัณ ์ที่มีการใช้น�้าถึง 2 ต่อ วันกันเลยทีเดียว และเมื่อกล่าวถึงสุขภัณ ์ที่ กลายเป็นสิง่ จ�าเป็นทีท่ กุ คนไม่อาจหลีกเลีย่ งได้ จึงเกิดการพั นาสินค้าทั้งทางด้านเทคโนโลยี เพื่ อ ให้ เ กิ ด การตอบสนองต่ อ การใช้ ง าน และดีไซน์อันสวยงามทันสมัย ไม่ว่าจะเป็น อ่างล้างหน้า กอกน�้า ฟักบัวอาบน�้า นอกจาก จะมีความสวยงามแล้วยังเป็นอุปกรณ์ที่ท�าให้ สิ้นเปลืองทรัพยากรน�้ามากที่สุดอย่างหนึ่ง แต่ ปัจจุบันเหล่าผู้ผลิตหลายรายในประเทศไทย หันมาให้ความส�าคัญต่อการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อพั นาสู่การเป็นสุขภัณ ์ประหยัดน�้า
SEPTEMBER 2015
ลงไปอุดตันในท่ออีกด้วย ท่อน�้าทิ้งใต้อ่างมี 2 รูปแบบคือ ท่อน�า้ ทิง้ แบบกระปุก และท่อน�า้ ทิง้ แบบ Trap ซึง่ ลักษณะนี้ ใต้อ่างล้างหน้า อาจหลวมท�าให้น�้าหยดซึ่งสิ้นเปลืองน�้า ดังนัน้ ต้องหมัน่ ดูแลรักษา หากพบว่าข้อต่อท่อจุดใดมีปญ ั หา ควรรีบซ่อมแซม
อ ล น เป็นสิ่งที่เปรียบเสมือนด่านแรกของห้องน�้า ไม่เพียงแต่ใช้ช�าระ ล้างมือ ล้างหน้าแล้ว เรื่องดีไซน์ก็ถูกพูดถึงอยู่ไม่น้อย function การใช้งาน รูปทรง ขนาด ล้วนมีความหมายต่อพฤติกรรมการใช้งานของผูใ้ ช้ ไม่วา่ จะเป็นการ ใช้วางเครื่องส�าอางต่าง ๆ จ�าพวก โฟมล้างหน้า แชมพู แปรงสีฟัน ฯลฯ รวมไปถึง ข้อจ�ากัดของพื้นที่ในห้องน�้า โดยสามารถแบ่งตามประเภทของการติดตั้ง คือ 1. อ่างล้างหน้าแบบฝังในเคาน์เตอร์ สามารถตกแต่งหน้าเคาน์เตอร์ได้ เรียบร้อย และเก็บงานเดินท่อต่าง ๆ ได้เรียบร้อย แต่มีข้อเสีย คือ ต้องใช้วัสดุ ปูหน้าเคาน์เตอร์ขนาดใหญ่ และเมื่อใช้งานไปนาน ๆ อาจมีน�้าซึมด้านใน ท�าให้ เกิดเป็นคราบเขียว 2. อ่างล้างหน้าแบบวางบนเคาน์เตอร์ เป็นแบบที่นิยมโดยทั่วไป การบ�ารุง รักษาท�าได้ง่ายกว่า สามารถถอดซ่อมได้ ติดตั้งง่าย ไม่ต้องเจาะรู ส�าหรับติดตั้ง อุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ใต้เคาน์เตอร์ท�าเป็นตู้เก็บของได้ . อ่างล้างหน้าแบบฝังครึ่งเคาน์เตอร์ ฝังครึ่งแบบการฝังแบบแรก โดยจะฝัง อ่างเพียงครึ่งเดียว คือการฝังครึ่ง ด้านหนึ่งฝังข้างในเคาน์เตอร์ โดยจะเหลือของ อ่างส่วนหน้ายื่นออกมาจากเคาน์เตอร์ .อ่างล้างหน้าแบบแขวนผนัง และแบบมีขาตั้ง วัสดุมีชิ้นเดียวจึงเหมาะกับ ห้องน�้าขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ดูแลรักษาง่าย ราคาประหยัด แต่พื้นที่ใน การวางของน้อย ในกรณีแบบแขวนผนังต้องติดตั้งให้หนาแน่นคอยตรวจสอบ ไม่ให้เกิดสนิม นอกจากนี้อ่างล้างหน้ายังมีส่วนประกอบอื่น ๆ นอกจากตัวอ่าง นั้นคือ สะดืออ่าง ที่พบเห็นโดยทั่วไปมักจะเป็นแบบจุกยางที่มีสายโซ่ร้อยเอาไว้ การใช้ งานสะดวก แต่อาจเกิดการสูญหายง่าย เมื่อใช้นาน ๆ ไปจุกยางจะเสื่อมสภาพ และขังน�้าได้ไม่ดี สะดืออ่างอีกประเภทหนึ่งเป็นแบบ op p คือ มีกลไก ในการเปิด ปิดง่าย แต่มีปัญหาเรื่องการอุดตัน เนื่องจากเศษผง เส้นผม และ ฟองสบู่ลงไปจับตัวกันบริเวณก้านของ op p ต้องหมั่นขจัดสิ่งสกปรกบ่อย ๆ นอกจากสะดืออ่างแล้ว ยังมีท่อน�้าทิ้งใต้อ่างล้างหน้าที่นอกจากมีคุณสมบัติ ในการระบายน�้าแล้วยังเป็นอุปกรณ์กันกลิ่นย้อน และเป็นตัวดักเศษผงไม่ให้ VOLUME 7 ISSUE 82
อ น เป็นสิ่งส�าคัญที่มาคู่กับสุขภัณ ์ต่าง ๆ เสมอ ด้วยความหลากหลายดีไซน์และการใช้งานท�าให้มีราคา ตั้ ง แต่ ห ลั ก สิ บ ไปจนถึ ง หลั ก แสนบาท โดยสามารถแบ่ ง ประเภทตามลักษณะการใช้สอยได้ ดังนี้ 1. กอกเดีย่ ว ใช้สา� หรับงานทัว่ ไป เช่น ล้างรถ รดน�า้ ต้นไม้ 2. กอกส�าหรับอ่างล้างหน้า มี ชนิดคือ กอกเดี่ยว กอก ผสมรูเดี่ยว และกอกผสมเซ็นเตอร์ . กอกซิงค์ เป็นกอกส�าหรับอ่างล้างจานในครัว หรือตาม เคาน์เตอร์บาร์ มีให้เลือกแบบน�้าเย็นอย่างเดียว และแบบที่ ใช้ทั้งน�้าร้อนและน�้าเย็น . กอกอาบน�า้ และกอกน�า้ ทีใ่ ช้กบั อ่างอาบน�า้ ประกอบด้วย ฝักบัว วาล์วเปิดปิด . กอกน�้าช�าระ .ฟลัชวาล์ว เป็นกอกน�า้ ทีใ่ ช้ประกอบกับโถสุขภัณ ์ และ โถปัสสาวะ เป็นกอกที่ท�างานเกือบกึ่งอัตโนมัติ เมื่อเปิดน�้า โดยการเปิดฟลัช น�้าจะหยุดไหลเองโดยอัตโนมัติ
E N E R G Y S AV I N G
23
กอกน�้าในบ้านเรามีอัตราการไหลของน�้าเฉลี่ย 9 ลิตร นาที ดังนั้นหากเราเปิดน�้าทิ้งไว้ขณะแปรง ฟันเฉลี่ยประมาณ นาที ท�าให้สูญเสียน�้าไปมาก ถึง 2 ลิตร ดังนัน้ จึงเกิดกอกแบบประหยัดน�า้ ขึน้ มา โดยเน้นเพิ่มแรงดันในการผลักอากาศเข้าไปแทนที่ น�้า รวมไปถึงการควบคุมน�้าที่ออกมา เพื่อควบคุม อัตราการไหลของน�้า จนสามารถปรับให้เหลืออัตรา การไหลของน�้าที่ ลิตร นาที ัว อุปกรณ์อาบน�้าที่นอกจะช่วยช�าระล้าง ร่างกายแล้ว ยังส่งผลต่อความรู้สึกของผู้ใช้ ช่วยให้ ผ่อนคลาย หรือกระปรี้กระเปร่ามากขึ้น ส่วนราคา ขึน้ อยูก่ บั คุณภาพของวัสดุ และการออกแบบ ซึง่ ส่วน มากจะท� า จากสแตนเลส เพราะการใช้ ง านที่ มี ความทนทานมากกว่าแบบพลาสติก แต่ราคาก็สูง ตามไปด้วย โดยมีอยู่หลายประเภท คือ 1. and eld s o er eads ฝักบัวสายอ่อนที่ เห็นกันทั่วไป เน้นการอาบน�้าเฉพาะจุด 2. xed s o er ead มี ทั้ ง แบบติ ด ตั้ ง กั บ ฝาผนังและติดเพดาน ส่วนหัวสามารถหมุนปรับได้ 24
E N E R G Y S AV I N G
. rain s o er ฝักบัว แบบพิเ ศษติดตั้ง พร้อ มกับเครื่อ งท�าน�้าอุ่น ให้ความรู้สึก เหมือนอาบน�้าท่ามกลางสายฝน ช่วยผ่อนคลายความเครียด แต่มักติดตั้งคู่กับ and eld s o er eads . luxury s o er spa ฝักบัวชนิดพิเศษแบบหลายทิศทาง ให้ความรู้สึกเหมือนอยู่ใน สปา ด้วยการที่สามารถปรับแรงดันของน�้า เน้นเฉพาะจุดที่ต้องการผ่อนคลายได้มากขึ้น ปัจจุบันมีฟักบัวประหยัดน�้าเกิดขึ้นหลากหลายแบรนด์ ส่วนมากจะพั นาตัวหัวฉีด ที่ท�าให้น�้าเป็นละอองเล็ก ๆ ออกมา พร้อมกับมีแรงดันน�้ามากขึ้นเพื่อไม่ให้รู้สึกว่าได้ สัมผัสน�้าน้อยลง ส่งผลให้เกิดการช�าระล้างที่เร็วมากยิ่งขึ้น และยังน�าเอาความแรงดันน�้าที่ มากกว่าฝักบัวปกติมาเป็นจุดขายต่อว่าสามารถนวดตัวได้ดว้ ยแรงดันน�า้ นี้ แต่บางแบรนด์ใช้ วิธกี ารชะลอแรงดันน�า้ เพือ่ ลดปริมาณน�า้ ทีจ่ า่ ยลงฝักบัว ซึง่ ฝักบัวแบบประหยัดน�า้ นีส้ ามารถ ประหยัดน�้าได้มากกว่า 20 สุขภัณ ์ เรียกได้ว่าเป็นสิ่งส�าคัญที่สุดของอย่างหนึ่งของห้องน�้า ในปัจจุบันถึงขั้นกลาย เป็นเฟอร์นเิ จอร์ชนิ้ หนึง่ ของบ้านด้วยดีไซน์ทที่ นั สมัย ซึง่ ถูกคิดค้นมาพร้อมกับสรีระของมนุษย์ เพือ่ ความรูส้ กึ สบายทีส่ ดุ ขณะใช้พร้อม Function การใช้งานเพือ่ ความสะดวกสบาย ง่ายต่อ การรักษาความสะอาด รวมไปถึงการค�านึงถึงการใช้น�้าให้ลดน้อยลงด้วย สุขภัณ แ์ บ่งตามลักษณะของตัวโถได้ 2 ประเภท คือ แบบสองชิน้ ตัวโถจะแยกกับถังพัก น�า้ ทีต่ อ้ งใช้นอ็ ตในการยึดติดอุปกรณ์ในถังพักน�า้ เป็นพลาสติก และแบบชิน้ เดียว ตัวโถกับถัง พักน�า้ ติดกัน การผลิตยุง่ ยากกว่า อุปกรณ์ในถังพักน�า้ เป็นทองเหลืองจึงท�าให้ราคาสูงกว่า แต่ มีความทนทานมากกว่า นอกจากนีม้ กี ารแยกประเภทสุขภัณ ต์ ามระบบการช�าระล้าง ได้แก่
SEPTEMBER 2015
1. Was Do n ระบบน�้าใหม่ผลักดันแทนน�้าเก่า เหมือนกับการราดน�้าแบบเดิม แต่จะใช้น�้า ใหม่จากถังพักน�้าแทน 2. Sip on Was Do n ใช้ระบบเดียวกันกับแบบ Was Do n แตกต่างกันตรงคอห่านจะมี ลักษณะโค้ง เมื่อกดช�าระล้างน�้าจะเอ่อขึ้นมาและอั้นไว้ในคอห่านจนเกิดการดูดลงไป . Sip on et พั นาขึ้นมาจากระบบ Sip on Was Do n สังเกตจากรูที่อยู่ตรงคอห่าน เรียกว่า เป็นหัวฉีด et ole ท�าให้ช�าระสิ่งป ิกูลได้เร็วขึ้น แต่จะมีเสียงดังตามมา . Sip on ortex เป็นระบบที่ดีที่สุด และท�างานได้เงียบที่สุด แต่ใช้น�้ามากที่สุดประมาณ 9 ลิตร ครั้ง โดยจะปล่อยน�้าออกมาให้เป็นน�้าวน ระบบนี้ส่วนใหญ่จะอยู่ในสุขภัณ ์แบบชิ้นเดียว
. ลูกลอย ควบคุมปริมาณน�้าในถังพักน�้า เมื่อลูกลอยต�่าลง น�้าจะไหลออกจากชุดน�้าเข้า และเมื่อลูกลอยสูงขึ้นน�้าก็จะหยุด . ท่อน�้าล้น ช่วยป้องกันน�้าล้นจากถังพัก น�้า ในกรณีที่ชุดน�้าเข้าเกิดช�ารุด น�้าจะไหลลง ท่อน�้าล้น และไหลลงโถสุขภัณ ์ . ลูกยางปิด เปิดน�า้ ท�าหน้าทีป่ ดิ เปิดน�า้ จากถังพักน�้าลงสู่โถสุขภัณ ์
ในส่วนของถังพักน�้า ซึ่งเป็นส่วนส�าคัญของระบบน�้าที่ใช้ในสุขภัณ ์ ภายในมีอุปกรณ์ส�าคัญ คือ 1. ชุดมือกด ใช้ควบคุมการปิด เปิด ลูกยางที่ควบคุมท่อน�้า 2. ชุดน�้าเข้า จ่ายน�้าลงถังพักน�้า และสายน�้าเลี้ยงโถสุขภัณ ์ . ท่อน�้าออก เป็นตัวจ่ายน�้าจากถังพักน�้าลงสู่โถสุขภัณ ์ . สายโถน�้าเลี้ยง จ่ายน�้าเพื่อปรับปริมาณน�้าหล่อเลี้ยง หรือ Water Surface และช่วยป้องกัน กลิ่นย้อนกลับ
ระบบการท� า งานในการช� า ระล้ า งมี อ ยู ่ หลายขั้นตอน คือ เมื่อ กดท�า ความสะอาด ก้านของชุดมือกดจะดึงลูกยางให้เปิดน�า้ ซึง่ น�า้ ในถังพักน�้า ที่ปกติจะอยู่ระดับต�่ากว่าปากท่อ น�้าล้นประมาณ 2 เซนติเมตร จะไหลลงสู่ โถสุ ข ภั ณ ์ เ พื่ อ ช� า ระล้ า งสิ่ ง ป ิ กู ล ให้ ไ หล ไปตามคอห่าน เมื่อลูกลอยชุดน�้าเข้าตกลง น�้าจากสายน�้าเลี้ยงโถจะไหลลงโถเพื่อปรับ ปริมาณน�้าเลี้ยง และช่วยป้องกันกลิ่นย้อน กลับ เมือ่ ลูกยางปิดลง น�า้ ใหม่จากชุดน�า้ เข้าจะ ไหลลงถังพักน�า้ ลูกลอยจะลอยขึน้ ตามระดับน�า้ และเมื่อได้ระดับน�้าที่พอดี ชุดน�้าเข้าจะหยุด ไหลขณะเดียวกันกับน�้า จากสายน�้าเลี้ยงโถก็ จะหยุดไหลไปด้วย ระบบของน�้าที่ใช้ในถังสุขภัณ ์ มีทั้งหมด แบบหลัก อย่างแรกเป็นระบบแรงดึงดูด ของโลก ซึ่งนิยมกันอย่างแพร่หลายมากที่สุด จะอาศัยแรงดันที่มาจากความสูงของน�้า หรือ น�้าหนักน�้าในถังพักที่ท�าหน้าที่ผลักน�้า และ สิ่งป ิกูลผ่านท่อดักกลิ่นลงไป เมื่อถังพักน�้ามี ความสูงมากขึน้ ย่อมมีแรงดันกดลงมามากขึน้ ตามไปด้วย เหตุนจี้ งึ เป็นอีกสาเหตุหนึง่ ทีท่ า� ให้ สุขภัณ ป์ ระเภทประหยัดน�า้ นัน้ มีถงั พักน�า้ อยู่ สูงกว่าปกติ โดยมีวัสดุหลักอยู่ 2 ชิ้น คือ วาล์ว เติมน�้า ในถังพักที่มีหน้าที่ส่งน�้าให้เข้ามาใน ถังพัก และวาล์วช�าระที่ปล่อยน�้าจากถังพักไป ยังถังสุขภัณ ์ การท�างานไม่ซับซ้อน การดูแล รักษาง่าย อย่างที่สองเป็นระบบแรงดันเสริม ด้วยแรงดันน�้า เข้าไปอัดอากาศให้อยู่ในถังกัก เก็ บ อากาศที่ ท� า จากพลาสติ ก ทุ ก ครั้ ง ที่ มี การกดช�าระ อากาศทีอ่ ดั เก็บไว้จะถูกปลดปล่อย ออกมา ซึ่งช่วยในการช�าระล้างโถให้สะอาด โถสุขภัณ ์แบบนี้ ต้องการการซ่อมบ�ารุงที่ แตกต่างออกไปจากโถสุขภัณ ์ที่ใช้แรงดึงดูด เพราะมีระบบที่ยุ่งยากซับซ้อน สุดท้าย คือ ระบบช�าระแบบเก็บเสียงซึ่งเป็นระบบเก่าที่มี มาตัง้ แต่แรกเริม่ อีกทัง้ มีกลไลซับซ้อน ปัจจุบนั จึงไม่เป็นที่นิยมมากเท่าไหร่นัก สุขภัณ ์แ บบประหยัดน�้า ถูกคิดค้นขึ้น มาเพื่อลดการใช้ทรัพยากร บวกกับการน�า เทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามา เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ
VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
25
ในการท�างานให้มากขึ้น ช่วยลดค่าใช้จ่ายของผู้อยู่อาศัย จึงเป็นอีก หนึ่งทางเลือกที่ผู้คนหันมานิยมกันอย่างแพร่หลาย ทั้งในส่วนของ เจ้าของที่อยู่อาศัยเอง ภาคธุรกิจ กลุ่มอสังหาริมทรัพย์โรงแรม หรือ แม้กระทั่งห้างสรรพสินค้าที่เกิดขึ้นใหม่ C TT เป็นหนึ่งในผู้ผลิตสุขภัณ ์รายใหญ่ของประเทศไทย ซึ่งมุ่งมั่นพั นาสินค้าทั้งเรื่อง Function และดีไซน์อันโดดเด่น เป็นเอกลักษณ์ เพื่อตอบสนองความต้องการ หรือ Lifestyle ของ ผู้คนที่มีความแตกต่างกัน เรียกได้ว่าไม่ว่าลูกค้าจะมีรสนิยมแบบใด ทัง้ ความโมเดิรน์ ความคลาสสิก และความเรียบง่าย สินค้า C TT สามารถตอบโจทย์ได้ทงั้ หมด ในการออกแบบสุขภัณ ์ C TT ยัง ค�านึงถึงเรือ่ งของ Ergono ics หรือหลักสรีระศาสตร์ เพือ่ ตอบสนอง กลุ่มลูกค้าที่มีความแตกต่างในด้านของสรีระ เช่น ercules ส�าหรับ คนรูปร่างใหญ่ Forall ส�าหรับผู้สูงอายุ หรือผู้ป่วย Googai เป็ น สุ ข ภั ณ ์ ส� า หรั บ เด็ ก รวมทั้ ง ด้ า นเทคโนโลยี ใ นสุ ข ภั ณ ์ ถู ก ออกแบบเพื่ อ ตอบสนองรู ป แบบการใช้ ชี วิ ต และอ� า นวย ความสะดวกมากยิ่งขึ้นพร้อม ๆ กับการให้ความส�าคัญในเรื่อง สิ่งแวดล้อม จะเห็นได้จากการได้รับมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ฉลากเขียว SCG EC AL E และ Car on reduction la el ซึ่ง C TT เป็นสุขภัณ ์รายแรกในประเทศไทยที่ได้รับฉลาก ลดคาร์บอน ครบทุกผลิตภัณ ์ สิ่งส�าคัญอีกอย่าง คือ บริการ หลั ง การขายที่ มี ทั้ ง ที ม บริ ก ารเทคนิ ค ที่ เชี่ ย วชาญ ที ม ติ ด ตั้ ง ทีมซ่อมบ�ารุง คอยให้บริการครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ คุ ณ น ั ิ ส คริ นนท์ กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท สยามซานิทารีแวร์ จ�ากัด ในเครือเอสซีจี กล่าวถึงสุขภัณ ์ C TT ว่า สินค้าทีไ่ ด้รบั ความนิยมอย่างมากจะเป็นสุขภัณ แ์ บบประหยัดน�า้ เนือ่ งจากสามารถช่วยลูกค้าลดปริมาณการใช้นา�้ และยังช่วยลดการ ใช้ทรัพยากรของประเทศอีกด้วย สุขภัณ ์ชิ้นเดียว ( ne piece) รุ่นที่ได้รับความนิยมจะเป็นรุ่น Grand C loe, acc, iggo ส่วนสุขภัณ ์สองชิ้น (T o piece) ที่ได้รับความนิยมจะเป็นรุ่น Tetragon, Space solution เป็นต้น ซึง่ แต่ละรุน่ จะมี inspiration ในการดีไซน์ทแี่ ตกต่างกัน นอกจากนีส้ ขุ ภัณ ท์ ใี่ ช้ในพืน้ ทีส่ าธารณะ ทีม่ รี ะบบประหยัดน�า้ ก็ได้รบั ความนิยมมากเช่นกัน เช่น รุน่ unic II เป็นสุขภัณ ์ฟลัชวาล์วที่ใช้น�้าเพียง .8 ลิตร สุ ข ภั ณ ์ ป ระหยั ด น�้ า ของ C TT จะมี ป ริ ม าณการใช้ น�้ า ทีน่ อ้ ยกว่ามาตรฐานขัน้ ต�า่ ที่ มอก.ภาคบังคับก�าหนด หมายความว่า สามารถช่ ว ยลู ก ค้ า ประหยั ด ปริ ม าณการใช้ น�้ า มากกว่ า ระบบ การช�าระล้างแบบปกติ ซึง่ ประหยัดได้สงู สุดถึง เมือ่ เทียบกับ สุขภัณ ์แบบปกติ แต่ยังคงประสิทธิภาพการท�างานไว้อย่างเต็มที่ ในการพั นาระบบประหยัดน�้าของ C TT นั้น เราใช้เวลากว่า 20 ปี ในการพั นาอย่างต่อเนือ่ ง โดยค�านึงถึงความเหมาะสมของ ระบบสุขาภิบาลของประเทศ เพือ่ ให้สขุ ภัณ ข์ อง C TT ท�างาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ และลูกค้าเกิดความพึงพอใจสูงสุด ในปัจจุบนั สุขภัณ ท์ ใี่ ช้นา�้ น้อยทีส่ ดุ ของ C TT จะใช้นา�้ 2. ลิตร ความแตกต่างของสุขภัณ แ์ บบปกติกบั สุขภัณ แ์ บบประหยัดน�า้ จะแตกต่างในเรื่องของปริมาณการใช้น�้า และระบบการช�าระ ล้าง สุขภัณ ์แบบประหยัดน�้าจะมีทั้งแบบ Dual us การกด ช�าระโดยสามารถเลือกการใช้น�้าได้สองแบบ เช่น 2. ลิตร หรือ . ลิตร จะสังเกตได้จากสุขภัณ ์ที่มีปุ่มให้กดสองปุ่มนั่นเอง 26
E N E R G Y S AV I N G
น ักดิ สา ริกานนท กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามซานิทารีแวร์ จ�ากัด ในเครือเอสซีจี
ส่วนรุ่น C aris a, Tetragon และแบบ Single us การกดช�าระจะมี เพียงปุม่ เดียว เช่น รุน่ El ra, Forall ในระบบการช�าระล้างนัน้ สุขภัณ แ์ บบ ประหยัดน�้ามักจะใช้ระบบ Was do n จะใช้หลักการของน�้าใหม่แทนที่ น�้าเก่า ข้อดีคือ ใช้น�้าน้อย ในขณะที่ระบบปกติจะใช้ระบบการช�าระล้าง Sip on et, Sip onic as do n หรือ Sip on ortex เรือ่ งของวัสดุหลักทีใ่ ช้ในการผลิตสุขภัณ จ์ ะเป็นน�า้ และดิน ซึง่ มีสว่ นผสม จากทัง้ ดินขาวและดินด�า เป็นดินทีม่ าจากในประเทศไทยทัง้ หมด โดยในส่วน ของ C TT จะมาจากเหมืองดินของ SCG นอกจากนีย้ งั มีสเี คลือบสุขภัณ ์ ส่วนผสมหลักจะเป็นแร่เฟลด์สปาร์มาจากแหล่งวัตถุดิบภายในประเทศ เช่นกัน ซึ่งรวมแล้วประมาณ 90 ที่สามารถผลิตขึ้นได้เอง มีเพียงส่วน น้อยที่มีการน�าเข้าจากต่างประเทศ ส่วนใหญ่จะเป็นชิ้นส่วนภายในสุขภัณ ์ C TT มีโรงงานผลิตสุขภัณ ์อยู่สองแห่ง คือที่ อ.หินกอง จ.สระบุรี และ ที่นิคมอุตสาหกรรมหนองแค จ.สระบุรี การที่เราผลิตสินค้าเองนั้นท�าให้ สามารถควบคุมคุณภาพผลิตภัณ ์ และควบคุมกระบวนการผลิตได้เอง ทัง้ หมด ซึง่ ส่วนนีก้ ท็ า� ให้โรงงานได้รบั มาตรฐาน เช่น IS 9000 เป็นมาตรฐาน ด้านการจัดการ IS 1 000 เป็นมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อม IS 18000 เป็น มาตรฐานด้านสุขอนามัย เป็นต้น ตัวโถสุขภัณ ์ที่เป็นเซรามิกอายุการใช้งานของมันจะยาวนาน พูดง่าย ๆ คือใช้งานได้ตลอดจนกว่าจะมีใครท�าแตกนัน่ เอง แต่ทงั้ นีก้ ข็ นึ้ อยูก่ บั มาตรฐาน คุณภาพการผลิต ซึ่งในท้องตลาดก็จะมีความแตกต่างกัน C TT จึงให้ ความส�าคัญกับคุณภาพมาเป็นอันดับแรก สุขภัณ ์ทกุ ชิ้นต้องผ่านการตรวจ สอบคุณภาพหากไม่ได้มาตรฐานที่ก�าหนดไว้ก็จะน�าไปทิ้ง ไม่น�ามาขายต่อ SEPTEMBER 2015
เพราะไม่มีนโยบายในการขายสินค้าเกรดสอง เพราะฉะนั้นจะเป็นการสร้างความมั่นใจในตัวสินค้า C TT ที่ได้รับมาตรฐานคุณภาพทุกชิ้นซึ่งรับความไว้วางใจจากลูกค้าชาวต่างชาติอีกด้วย คุ ณ ธนศั ก ดิ สาคริ ก านนท์ กล่ า วเพิ่ ม เติ ม ว่ า ปั จ จุ บั น ตลาดสุ ข ภั ณ ์ มี ก ารพั นาระบบ Electronics มากขึ้น ทั้งในตัวสุขภัณ ์ อ่างล้างหน้า โถปัสสาวะ และการพั นาสินค้าระบบ Electronics เหล่ า นี้ นอกจากจะช่ ว ยเรื่ อ งการประหยั ด น�้ า แล้ ว ยั ง สามารถช่ ว ยลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติลงได้ดว้ ย เช่น สุขภัณ ์ Tunio ทีผ่ สานสุนทรียภาพในการใช้หอ้ งน�า้ ทีเ่ หนือระดับ ผ่านการน�าเสนอฟังก์ชันด้าน Tec nology ที่จะช่วยรักษาสมดุลด้านสิ่งแวดล้อมไปพร้อม ๆ กัน ซึ่ง Tunio จะมีฟังก์ชั่น Air dryer เป็นระบบการเป่าลม ท�าให้ลดการใช้กระดาษช�าระ อีกทั้งยังมี ระบบประหยัดพลังงานในตัว ส่วนแนวโน้มในการพั นา C TT ยังคงเน้นย�้าพั นาทั้งใน ด้าน ดีไซน์และเทคโนโลยีควบคู่กันไป เพื่อตอบสนองกลุ่มลูกค้าให้เกิดความพอใจสูงสุด ซึ่งลูกค้าของ C TT มีหลากหลายกลุ่ม ทั้งที่เป็นเจ้าของบ้านเองหรือกลุ่มนักออกแบบ สถาปนิก นอกจาก กลุ่มลูกค้าในประเทศแล้ว C TT ยังได้รับความสนใจจากลูกค้าต่างประเทศ ที่ C TT ได้ก้าว ขึ้นมาแข่งขันในตลาด Glo al rand ส่วนการตอบรับของลูกค้าต่อสุขภัณ ์ประหยัดน�้าถือว่าดี มาก เนื่องจากปัจจุบันเทรนด์ในการออกแบบการสร้างบ้านที่ใส่ใจในเรื่องของสิ่งแวดล้อมหรือการ ประหยัดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นเทรนด์ทไี่ ด้รบั ความนิยมเพิม่ มากขึน้ เรือ่ ย ๆ ซึง่ ถือเป็นเรือ่ ง ที่ดีต่อสังคมและโลกของเรา ส�าหรับตลาดสุขภัณ ์ในประเทศไทยอนาคตมีแนวโน้มที่จะเติบโตได้อีกมาก ซึ่งสามารถสังเกต ได้จากการเติบโตของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจการท่องเที่ยวภายในประเทศที่มีแนวโน้ม โตขึ้นเรื่อย ๆ ส่วนนี้เป็นผลต่อการขยายตลาดสุขภัณ ์ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้ตามต่างจังหวัดหรือ ตามชนบทต่าง ๆ ก็เป็นอีกหนึง่ โอกาสในการเติบโตของธุรกิจ จะเห็นได้จากพฤติกรรมการใช้หอ้ งน�า้ ของคนไทยตามต่างจังหวัดจ�านวนไม่น้อยที่ยังขาดการพั นาปรับเปลี่ยนสุขภัณ ์ให้มีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ ตรงส่วนนี้ถือเป็นโอกาสส�าคัญที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยให้ดีขึ้น และ เป็นผลท�าให้ธุรกิจเติบโตได้จากนโยบายการเปิดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนใน ปี 201 ท�าให้ การเข้าตลาดสุขภัณ ์ในประเทศเพื่อนบ้านมีโอกาสมากขึ้น อีกทั้งประเทศเพื่อนบ้านของไทยมีทั้ง ประเทศทีม่ กี า� ลังซือ้ สูงหลายประเทศ อย่าง มาเลเซีย และสิงคโปร์ เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีอกี หลาย ประเทศที่เป็นประเทศก�าลังพั นา ซึ่งมีการเติบโตของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่างต่อเนื่อง มีการ พั นาระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน มีการลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติเพิ่มขึ้น เหล่านี้ล้วนเป็นส่วน สร้างโอกาสในการเติบโตของตลาดสุขภัณ ์ทั้งสิ้น VOLUME 7 ISSUE 82
นอกจากนี้ คุณคุณธนศักดิ ยังได้กล่าวทิ้ง ท้ายเกี่ยวกับการแนะน�าวิธีเลือกซื้อ และดูแล สุ ข ภั ณ ์ ว ่ า “การเลื อ กซื้ อ สุ ข ภั ณ ์ เ ปรี ย บ เสมื อ นการลงทุ น อย่ า งหนึ่ ง หากเราเลื อ ก สุขภัณ ท์ ดี่ มี คี ณ ุ ภาพ ได้รบั มาตรฐานสุขภัณ ์ จะมีอายุการใช้งานได้ยาวนานเกิน 20 ปี หรือ อาจนานกว่านั้น เพราะฉะนั้นการเลือกซื้อ สุขภัณ ์ควรดูที่มาตรฐานสินค้า กระบวนการ ผลิต และการได้รับความไว้วางใจจากลูกค้า กลุ่มต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยการันตีคุณภาพของ สุขภัณ ์แบรนด์นั้น ๆ นอกจากนี้สิ่งที่ส�าคัญ มากส�าหรับลูกค้าอีกอย่างหนึ่งในการเลือกซื้อ สุขภัณ ์ คือ การดูแลลูกค้า และการบริการ หลังการขาย ซึง่ ถือเป็นปัจจัยทีท่ า� ให้การลงทุน ซือ้ สุขภัณ ข์ องลูกค้าเกิดความคุม้ ค่ามากยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ก ารดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภั ณ ์ เป็ น อี ก ปั จ จั ย หนึ่ ง ที่ ช ่ ว ยยื ด อายุ ก ารใช้ ง านของ สุขภัณ ์ ซึ่งการท�าความสะอาดควรใช้น�้ายา ทีม่ ฤี ทธิไม่แรงมาก และควรใช้ฟองน�า้ ผ้านุม่ ๆ หรือแปรงขนอ่อน ในสมัยก่อนเรามักจะเน้น ไปที่ ก ารท� า งานของตั ว สุ ข ภั ณ ์ อ ย่ า งเดี ย ว เป็ น หลั ก แต่ ป ั จ จุ บั น การท� า ความสะอาด สามารถยืดอายุ การใช้งานของสุขภัณ ์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพเช่นกัน” ขอบคุณข้อมูลจาก โครงการลดการใช้น�้าในถัง สุขภัณ ์ มหาวิทยาลัยมหิดล
E N E R G Y S AV I N G
27
GREEN BUILDING TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
Yum Thailand มุ่งส่มา ร าน
LEED
28
E N E R G Y S AV I N G
บริ ษั ท ยั ม เรสเทอรองตส์ อิ น เตอร์ เ นชั่ น แนล (ประเทศไทย) จ�ากัด เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะหนึ่งใน ผู้บริหารแบรนด์ร้านอาหารที่มีสาขาในประเทศไทย อันโด่งดังอย่าง มุง่ ท�า reen uilding มาตรฐาน EE ( eadership in Energy and Environmental esign เกณฑ์ ส� า หรั บ การประเมิ น อาคารเขี ย ว จากสหรัฐอเมริกา) โดยมีทั้งสาขาที่ได้การรับรอง มาตรฐาน EE ทัง้ ระดับ ertified กับระดับ old รวมแล้ว 9 สาขา และก�าลังด�าเนินการมุง่ ขยายสาขา อืน่ ๆ สูม่ าตรฐาน EE อีกต่อไปในอนาคต
SEPTEMBER 2015
เกณ ์การประเมินมาตรฐาน LEED นั้นสามารถแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ตามพฤติกรรมการใช้อาคาร ของมนุษย์ คือ รเ ท 1. LEED for e Construction (LEED C) ส�าหรับ อาคารสร้างใหม่ หรือ ปรับปรุงใหญ่ เน้นที่การออกแบบ อาคารส�านักงาน รวมไปถึงห้างสรรพสินค้า โรงงาน โรงแรม ฯลฯ 2. LEED for Co ercial Interior (LEED CI) ส�าหรับ อาคารที่ท�าเพียงการตกแต่งภายใน . LEED for Core and S ell (LEED CS) ส�าหรับอาคาร ที่ผู้ประกอบการจะสร้างแต่เปลือกอาคารคือ กรอบผนัง ภายนอกและหลังคา และส่วนที่เป็นแกนบริการของอาคาร ซึ่งส่วนใหญ่ คือ ลิฟต์ บันได และช่องท่อต่าง ๆ แล้วท�าการ ตลาดเพื่อขายหรือให้เช่าพื้นที่ภายใน โดยผู้เช่าจะเป็นผู้มา ตกแต่งกั้นพื้นที่ภายในเอง
. LEED for eig or ood Develop ent (LEED D) ส�าหรับงานวางผังชุมชน หมูบ่ า้ น การใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ร่วมกับพืน้ ทีพ่ าณิชยกรรม การเข้าถึงบริการขนส่งสาธารณะ . LEED for o es ส�าหรับบ้าน ที่พักอาศัย . LEED for Sc oolส�าหรับโรงเรียนตั้งแต่อนุบาลถึง มัธยมปลาย . LEED for ealt Careส�าหรับสถานพยาบาลต่าง ๆ รเ ท 1. LEED for Existing uildings for peration and aintenance (LEED E ) ส�าหรับอาคารที่สร้างเสร็จ แล้วที่ต้องการดูแลรักษาอาคารให้เป็นอาคารเขียว เน้น การบริหารจัดการ ร้ า น FC มี ก ารออกแบบร้ า นตามที่ ท างบริ ษั ท วาง เอาไว้ บนพื้นที่ต้องไม่ต�่ากว่า 00 ตารางมตร โดยรองรับ ความต้องการของลูกค้ายุคใหม่มากขึ้น เนื่องจากปัจจุบัน ผู้บริโภคมีความต้องการหลากหลายมากขึ้น โดยเฉพาะ ผู้ท่ีใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ เน้นความรวดเร็ว สะดวกสบาย ด้วยการเปิดร้านแบบ 2 ชั่วโมง พร้อมการให้บริการ drive VOLUME 7 ISSUE 82
t ru เน้นรูปแบบร้านสแตนด์อะโลน (Stand Alone) นอกห้างสรรพสินค้า กว่า 10 สาขาทั่วประเทศ และเตรียมขยายสาขาแบบ drive t ru เพิ่มอีก 1 สาขา เมื่อ เทียบกับต่างประเทศในการให้บริการแบบ drive t ru กับตามห้างสรรพสินค้า มีสัดส่วนอยู่ที่ 0 0 หรือบางประเทศ มากกว่าครึ่ง เช่น สหรัฐอมเริกา ออสเตรเลีย เป็นต้น แต่ในประเทศไทยยังมีเพียง 10 ในส่วนนี้จะสามารถดึงดูด ลูกค้าทีต่ อ้ งการ ความสะดวกในการมีพนื้ ทีจ่ อดรถ ลูกค้าทีเ่ ดินทางโดยรถสาธารณะ สามารถเดินทางได้ดดยสะดวก และความรวดเร็วในการซื้ออาหารยามเร่งรีบ ซึ่ง FCในประเทศไทยท�าการสร้างอาคาร รวมถึงปรับรายละเอียดต่าง ๆ ทั้ง ภายนอก ภายในร้านจนได้รบั การรับรองมาตรฐาน LEED อยู่ 2 ประเภท คือ LEED C และ LEED CI โดยร้านลักษณะนีใ้ ช้งบประมาณการลงทุนค่อนข้างสูง แต่มคี วาม คุม้ ค่าในระยะยาว ทัง้ ลดการใช้ทรัพยากร เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมไปถึงการลด ค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย สามารถเรียงล�าดับตามสาขาแรกที่ได้รับรองเป็นแห่งแรก คือ E N E R G Y S AV I N G
29
2. การใช้น�้าอย่างมีประสิทธิภาพ ทางร้านจะเน้นด้านนี้เป็น พิเศษ ตั้งแต่การเลือกใช้สุขภัณ ์แบบประหยัดน�้า ที่ใช้การ กดชักโครกแบบใช้เท้าเหยียบ แม้ระยะแรกลูกค้าที่เข้ามาใช้ บริการส่วนใหญ่จะยังไม่คุ้นเคย แต่สามารถลดการใช้น�้า และ ลดการสัมผัสเชื้อโรคได้ดี กอกน�้าแบบเซนเซอร์อัตโนมัติ ในครัว หันมาลดการใช้น�้าลง . พลั ง งานและบรรยากาศ การเปลี่ ย นมาใช้ ห ลอดไฟ LED ทั้งหมด แทนการใช้หลอดไฟแบบปกติ แสงสว่างภายนอก ส่องผ่านกระจกที่มีฉนวนกันความร้อนผ่านเข้ามาภายในอย่าง เพียงพอ คุณธีรวุทธิ วัตรกิจไพศาล ผุ้ช่วยผู้ว่าการวางแผนและพัฒนาระบบไ า การไ าส่วนภูมิภาค
1. บิกซี กาญจนบุรี LEED CI ระดับ Certi ed 2. เพียวเพลส ราชพฤกษ์ LEED C ระดับ Gold . T e p พระราม LEED CI ระดับ Certi ed . อยุธยา City ark LEED CI ระดับ Certi ed . เพชรเกษม o er Center LEED C ระดับ Gold . รามค�าแหง LEED C ระดับ Gold . โลตัส พั นาการ LEED C ระดับ Gold 8. มหิดล เชียงใหม่ LEED CI ระดับ Gold 9. เทพารักษ์ LEED C ระดับ Gold แม้จะมีขอ้ จ�ากัดในเรือ่ งของการหาท�าเลทีเ่ หมาะสม การขออนุญาติสร้าง การลงทุนในการก่อสร้างมากกว่า เฉพาะสาขาแบบ drive t ru งบสร้าง สาขาละ 0ล้านบาทโดย FC ยังเชื่อว่าการเปิดสาขาลักษณะนี้จะผลักดัน ให้แบรนด์เติบโตยิ่งขึ้นประมาณ 0 สัดส่วนของลูกค้าที่น่ังทานในร้านมี อยู่ประมาณ ลูกค้า drive t ru อีก 2 โดยมีเป้าหมายในการขยาย สาขาแบบ drive t ru ให้ครบ 100 สาขาภายในปี 2020 เนื้อหาการประเมิน LEED แบ่งออกเป็น หมวด (ซึ่งในแต่ละหมวด มีรายละเอียดข้อปลีกย่อยลงไป) ดังนี้ 1. สถานที่ตั้งโครงการเพื่อความยั่งยืน (Sustaina le Site) 2. การใช้น�้าอย่างมีประสิทธิภาพ (Water Ef ciency) . พลังงานและบรรยากาศ (Energy and At osp ere) . วัสดุและทรัพยากร ( aterial and Resources) . คุณภาพสภาพแวดล้อมในอาคาร (Indoor Environ ental uality) . นวัตกรรมในการออกแบบ (Innovation in Design) โดยคะแนนที่ FC ได้ ส่วนมากในแต่ละข้อ คือ 1. สถานที่ตั้งโครงการ เน้นให้อยู่บริเวณชุมชนที่รถขนส่งสาธารณะ ผ่าน เดินทางสะดวก มีพื้นที่จอดรถยนตร์เท่าที่ก หมายก�าหนดเท่านั้น เพื่อสนับสนุนการลดใช้รถยนตร์ส่วนตัว 30
E N E R G Y S AV I N G
. วัสดุและทรัพยากร ใช้วัสดุตั้งแต่การก่อสร้างที่ผลิตใน ประเทศไทย บางอย่างเป็นวัสดุที่มีส่วนผสมของรีไซเคิล มีการ จัดตั้งถังขยะทั่วไป กับขยะรีไซเคิล ทั้งส่วนของหน้าร้าน และ หลังครัว จัดสถานที่เก็บขยะแยกออกจากตัวร้านอย่างมิดชิด แม้กระทั่งการหันมาใช้จานกระดาษแบบใช้แล้วทิ้งเพื่อลดการ ใช้น�้าในการล้างจาน . คุ ณ ภาพสภาพแวดล้ อ มในอาคาร มี ก ารเอาอากาศ ภายนอกเข้ า มาหมุ น เวี ย นภายใน โดยมี ก ารผ่ า นกระบวน การดูดความชื้น รีดความร้อนออกไปก่อนที่จะน�าอากาศเข้า มาสู่ภายในร้าน วัสดุที่ใช้กาวยาแนว สี ฯลฯ ทุกอย่างใช้แบบ ลดกลิ่น C ภายในร้านให้เป็นพื้นที่ปลอดบุหรี่ . นวัตกรรมในการออกแบบ เฟอร์นิเจอร์ภายในร้าน และ อุปกรณ์ในครัวทั้งหมด ใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้ได้ มากที่สุด บริษทั ยัม เรสเทอรองตส์ อินเตอร์เนชัน่ แนล (ประเทศไทย) จ�ากัด มีนโยบายในการตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม รวมถึงลูกค้ามาโดยตลอด ด้วยความ เชื่อที่ว่าธุรกิจสามารถเติบโตตามมาตรฐานต่อไปได้พร้อม ๆ กับการลดผลกระทบที่เป็นการท�าลายสิ่งแวดล้อม และยังเป็น การตอบรับนโยบายของบริษัทแม่ในประเทศสหรัฐอเมริกาใน การสร้างร้านไก่ทอดชื่อดังอย่าง FC ให้เป็น Green uilding มาตรฐาน LEED ขอบคุณข้อมูลจาก : บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จ�ากัด SEPTEMBER 2015
BUILDING MANAGEMENT TEXT : ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร , TREE อาจารย์คณะสถาปตยกรรมศาสตร์ จุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย
ENERGY BENCHMARK ส�า รับอา ารเ ีย ปจจุบันเจ้าของอาคารและผู้บริหารอาคารส�านักงานเก่า ๆ จ�านวนมากก�าลัง เผชิญปญหาจากผู้เช่าอาคารที่เป็นบริษัทต่างชาติ เกี่ยวกับคุณภาพอาคารทาง ด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม บริษทั ข้ามชาติจากยุโรปและอเมริกาจะมีขอ้ ก�าหนด จากบริษัทแม่ในต่างประเทศ เกี่ยวกับลักษณะตัวอาคาร อุปกรณ์ประกอบอาคาร มาตรฐานการจัดการ และผลทีเ่ กิดขึน้ เช่น ดัชนีการใช้พลังงาน (ค่า E ในหน่วย k h/m2.yr) ที่เป็นเช่นนี้เพราะเจ้าของกิจการที่ต่างประเทศจะไม่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพอาคารในประเทศไทยที่เขาจะมาเช่าอยู่เลย เขาจึงต้อง อาศัยการตรวจเช็คข้อมูลดัชนีตา่ ง ๆ และใบรับรองทีไ่ ด้มาตรฐานเดียวกันทัว่ โลก เช่น เจ้าของกิจการที่อเมริกาก็จะนึกไม่ออกว่าอาคารที่ได้รับการรับรอง TREE ระดับ old จากสถาบันอาคารเขียวไทยจะเทียบกับอาคารทีไ่ ด้ EE ระดับ old จากสภาอาคารเขียวแห่งสหรัฐอเมริกาได้หรือไม่ ซึ่งปจจุบันก็พบว่าไม่ต่างกัน เพราะมีอาคารที่ได้รับการรับรอง EE ระดับ old และก็ยังได้ TREE ระดับ old เหมือนกันด้วย แสดงว่าความยากง่ายของเกณฑ์ทั้งสองนั้นไม่ต่างกัน ซึ่ง ก็จะท�าให้ผปู้ ระกอบการเห็นภาพง่ายขึน้ แต่ปญหาคือถ้าทัง้ สองเกณฑ์มคี วามยาก เท่ากัน เขาไปยื่นรับรอง EE ที่เป็นสากลจะไม่ดีกว่าหรือ ซึ่งเป็นค�าถามที่ สถาบันอาคารเขียวไทยต้องหาค�าตอบ ค�าถามที่เจ้าของอาคารมักจะมีเกี่ยวกับการน�าอาคารเข้ารับการประเมินความเป็น อาคารเขียว เช่น LEED DG TREES หรือ การน�าอาคารไปรับการรับรองมาตรฐาน การจัดการพลังงานระดับสากล เช่น IS 0001 (Energy anage ent Syste s) ก็คือ เขาควรจะได้รับรางวัลเหล่านี้ในทันทีเลยหรือไม่ เพราะเขาได้ท�าการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง อุปกรณ์ต่าง ๆ มาโดยตลอด เช่น เปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอด LED เปลี่ยนเครื่องท�าน�้าเย็น เป็นรุ่นที่ประสิทธิภาพสูง หรือติดตั้งอุปกรณ์ปรับรอบมอเตอร์พัดลม ปัมน�้าต่าง ๆ เป็นต้น ซึ่งค�าตอบก็คือ 1). ถ้าการปรับปรุงดัดแปลงอาคารดังกล่าวครอบคลุมครบทุกองค์ประกอบ อาคาร ได้แก่ ระบบเปลือกอาคาร ระบบปรับอากาศ และระบบไฟฟ้าแสงสว่าง และมี สัดส่วนพื้นที่ที่ท�าการปรับปรุงดัดแปลงมากกว่า 0 ก็ถือว่าเป็นการปรับปรุงใหญ่ หรือ a or Renovation ที่เข้าข่ายการประเมินอาคารใหม่ที่จะประเมินอุปกรณ์ที่ติดตั้งอาคาร ว่าได้มาตรฐานหรือไม่ และ 2). ถ้าการปรับปรุงอาคารไม่ครอบคลุมทุกระบบ (เช่น ไม่ ครอบคลุมเปลือกอาคาร) หรือ ไม่ครอบคลุมพื้นที่ส่วนใหญ่ของอาคาร การปรับปรุงนั้นก็ จะไม่เข้าข่ายอาคารใหม่ ซึ่งต้องเปลี่ยนไปประเมินอาคารประเภทอาคารเดิม หรือ E (Existing uilding peration aintenance) ปัจจุบันในประเทศไทยมีเพียง 2 อาคารเท่านั้น ที่ผ่านการประเมินอาคารเขียวแบบ E เพราะการประเมินแบบนี้จะยากกว่าการประเมินอาคารใหม่ ( e Construction a or Renovation) อย่างมาก เนื่องจากการประเมิน E นั้นจะเกี่ยวข้องกับ มาตรฐานการบริหารอาคาร วิธีการใช้งานอาคารอย่างยั่งยืน การจัดการขยะ น�้าเสีย 32
E N E R G Y S AV I N G
การท� า ความสะอาดอาคาร การดู แ ลสวน และ อื่น ๆ รวมทั้งการท�า Energy Benchmark หรือ เรี ย กว่ า รเ ร เท ส รร น น ร พลั น ซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ที่ ไ ม่ ใช่ ข อบเขตของการ ออกแบบก่อสร้างอาคาร แต่เป็นขอบเขตงานของ การบริหารทรัพยากรอาคาร หรือ Facility anage ent ซึ่งเป็นวิชาชีพใหม่ในประเทศไทยที่ยัง มีองค์กรที่ให้ความส�าคัญเรื่องนี้อยู่ไม่มากเท่าที่ควร การท� า Energy enc ark ไม่ ใ ช่ ส่ิ ง ที่ ซับซ้อนมากมาย เพียงแค่ต้องการให้ “รู้เขา” และ “รู้เรา” ซึ่งการจัดการพลังงานในอาคารจะเกิดขึ้น ไม่ได้เลย หากไม่แคร์เขา และไม่สนใจเรา ซึง่ การทีจ่ ะ “รู้เรา” ก็คือ ต้องท�าการ Audit การใช้พลังงานของ อาคารของเรา ซึ่งวิธีการก็มีระบุในหลายมาตรฐาน เช่น AS RAE Level 1 หรือ I (International erfor ance easure ent and eri cation rotocol) ซึง่ ระบุมากกว่าการดูบลิ ค่าไฟ แต่ตอ้ งดูถงึ จ�านวนคนในอาคาร จ�านวนชัว่ โมงการท�างาน จ�านวน เครื่องใช้ไฟฟ้า และตัวแปรอื่น ๆ เพื่อการวิเคราะห์ รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการใช้และค่าไฟ ที่เกิดขึ้น ครั้นข้อมูลและรูปแบบการใช้พลังงานของ อาคารของเราได้ถูกสร้างขึ้นแล้ว ขั้นตอนต่อไปของการท�า Energy enc ark ก็คือ การน�าเอาข้อมูลนี้ไปเทียบกับข้อมูลของอาคาร อื่นๆ ที่มีลักษณะรูปแบบการใช้พลังงานใกล้เคียง กับอาคารของเรา ซึ่งการเปรียบเทียบนี้จะไม่ใช่การ เปรียบแบบจับคู่เหมือนทั่ว ๆ ไป แต่เป็นการน�าเอา ข้อมูลของเราเข้าไปรวมอยู่ในฐานข้อมูลอาคารทั้ง ประเทศแล้วท�าการจัดอันดับตามค่า ercentile SEPTEMBER 2015
ว่าอาคารของเราอยู่ใน ercentile ที่เท่าไหร่ ซึ่งไม่ต่างจากการน�าคะแนนสอบของ นักเรียนมาเรียงกันตั้งแต่สูงสุดไปจนต�่าสุดแล้วอาจารย์ท�าการตัดเกรดแบบ “อิงกลุ่ม” ตัด Curve ให้เกรดนักเรียนว่าใครจะได้ A, , C ซึ่งเกณ ์อาคารเขียวก็อาจจะก�าหนด เกณ ์ขั้นต�่าเอาไว้ว่าอาคารที่จะเข้าข่ายเป็นอาคารเขียวได้ต้องได้เกรดอย่างน้อย หรืออยู่ในอันดับ ercentile ที่ t ขึ้นไป เป็นต้น ปัญหาที่จะพบในการท�า Energy enc ark ส�าหรับอาคารในประเทศไทย ก็คือ การขาดการเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ นั่นคือ มีการเก็บข้อมูลการใช้พลังงานรวม (End se) จากบิลค่าไฟ หรือจากมิเตอร์ของอาคารเอง แต่ไม่มีการเก็บข้อมูลปัจจัยที่ท�าให้ เกิดการใช้พลังงานแบบนั้น เช่น ไม่เคยเก็บข้อมูลจ�านวนชั่วโมงการใช้อาคารจริง ๆ ไม่มี
VOLUME 7 ISSUE 82
ข้อมูลจ�านวนผู้ใช้อาคารจริง หรือไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับ อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้งานจริง จึงไม่สามารถ วิเคราะห์ความสัมพันธ์อะไรได้เลยว่าท�าไมอาคาร จึงใช้พลังงานเท่านั้น รู้แต่เพียงว่าอาคารใช้เท่านั้น หรือในความหมายหนึ่ง ก็คือ “รู้เรา แต่รู้ไม่จริง” ซึ่ง เมื่อน�าไปรวบรวมเป็นฐานข้อมูลทั้งประเทศ ก็ได้แค่ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่เอาไปใช้ประโยชน์อะไรไม่ได้ นอกจากหาค่าเฉลี่ยว่าอาคารใช้พลังงานเท่าไหร่ ปัจจุบัน หน่วยงาน E A หรือ Environ ental rotection Agency ของรั ฐ บาลประเทศ สหรัฐอเมริกา มีการจัดท�าฐานข้อมูลเพื่อท�า Energy enc ark ที่ได้มาตรฐานที่อาคารต่าง ๆ สามารถ น� า ผลการใช้ พ ลั ง งานและข้ อ มู ล ประกอบอาคาร เข้ า ไปเปรี ย บเที ย บได้ และได้ พั นาจนเป็ น การ ให้คะแนนไว้ใช้อ้างอิงเปรียบเทียบกัน ซึ่งจะน�ามา เสนอในตอนต่อไป E N E R G Y S AV I N G
33
ENERGY MANAGEMENT TEXT : อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป
เทคนิ ค ลดต้นทนพลังงาน โรง ยา าล
หลักในการจัดการพลังงานส�าหรับอาคาร สิง่ ทีเ่ ราต้องให้ความส�าคัญประการหนึง่ คือ อาคารต้องมีการใช้พลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เนือ่ งจากอาคารโรงพยาบาลนัน้ จัดว่าเป็นอาคารทีม่ กี ารใช้พลังงานในปริมาณทีม่ ากกว่าอาคารทัว่ ไป เนือ่ งจาก อาคารโรงพยาบาลมี งก์ชนั่ ทีส่ ลับซับซ้อนมากมายและสิง่ ส�าคัญ โรงพยาบาล ต้องการความปลอดภัย สะดวก รวดเร็ว ในการให้บริการแก่ผปู้ วย ผูม้ าใช้บริการ ผู้บริหารโรงพยาบาลและบุคลากรทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องมีการท�างาน ทีส่ อดคล้องกันเป็นการให้บริการตลอด 24 ชัว่ โมง 365 วัน หรือตลอดเวลา ดังนัน้ การใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพจะท�าให้สามารถลดต้นทุนและ ค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่จา� เป็น โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ร เป็นระบบที่มีการเฝ้า ติดตามสังเกตพฤติกรรมการท�างานของเครื่องจักร อุปกรณ์ รวมไปถึงในการ operation เครื่องจักร ท�าให้ทราบถึงสิ่งที่เกิดข้อบกพร่องและข้อผิดพลาด หรือเมื่อไหร่ที่ถึงเวลาที่เครื่องจักรต้องบ�ารุงรักษา ท�าให้เราสามารถก�าหนดการวางแผนบ�ารุงรักษา เป็นการล่วงหน้าได้ทันกาล เป็นการท�า predictive aintenance ระบบจะบอกประสิ ท ธิ ภ าพและ ตรวจสภาพในการท�างานของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตลอดเวลาโดยผ่าน sensor ต่าง ๆ เช่น การติดตั้ง เครื่องมือวัดพลังงานไฟฟ้า เราก็สามารถพิจารณา ถึ ง แนวโน้ ม การเปลี่ ย นแปลงการใช้ พ ลั ง งานใน เครื่ อ งจั ก ร อุ ป กรณ์ เพื่ อ สามารถทราบหรื อ หา สาเหตุความรุนแรงในสิ่งที่ผิดปกติที่เริ่มเกิดขึ้นได้ ซึ่งเป็นที่มาของการสิ้นเปลืองพลังงาน หรือทราบ ข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าแต่ละหน่วยงานช่วยให้ บริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
34
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
อุณหภูมิ มาตรฐานห้องควบคุมอยู่ระหว่าง ถึง 0 �c โดย อุณหภูมิ มาตรฐานของอุปกรณ์ IC หรือแผงวงจร ก�าหนด ที่ 0 �c ในขณะเปิดเครื่องปรับอากาศ 2 �c แผงวงจรมี อุณหภูมิเฉลี่ย 0 ถึง �c ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาวะต่าง ๆ ในการใช้งานมากน้อยเพียงใดของลิฟต์ และปัจจัยจาก ความร้อนภายนอกที่เกี่ยวข้อง (อุณหภูมิภายนอก) จาก กรณีดังกล่าวเราจะทราบได้ เมื่อมีการ onitor ก็จะได้ ข้อมูลมาท�าการควบคุม หรือ control เครื่องปรับอากาศ ให้ อุ ณ หภู มิ ที่ opti i ation และท� า ให้ เ กิ ด ควบคุ ม Autono ous เพื่อประหยัดพลังงานในการใช้เครื่องปรับ อากาศระบายความร้อนให้กับแผงวงจรควบคุม
น ร รอ รคว คุ เ นไ ต ์ ัน ล เ อนไข ในการ ป บิ ตั งิ านผ่าน soft are มีการควบคุมเครือ่ งจักร อุปกรณ์ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ จะ ท�าเกิดการควบคุมที่มีความปลอดภัย ถูกต้องแม่นย�า ในการวิเคราะห์และประมวลผล ท�าให้เกิดความรวดเร็วประหยัดเวลาให้กับองค์กร รวมทั้งประหยัดพลังงาน ประหยัด ค่าใช้จา่ ย ตลอดจนเกิดความเชีย่ วชาญในการควบคุมการป บิ ตั งิ าน ท เ นร เป็นการน�าระบบ onitoring และ control มาประยุกต์ร่วมกัน ภายใต้เงื่อนไขและฟังก์ชั่นต่าง ๆ ของการใช้งานที่สภาวะแวดล้อมที่ แตกต่างกันของอาคาร ทุกหน่วยงานมีการ operation การ service และ repair เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ เพอเข สร เป็นการน�าทัง้ ระบบ onitoring การ control และ opti i ation สู่เป้าหมาย autono ous ในการ operation และ service ที่เหมาะสม เพื่อประสิทธิภาพในการป ิบัติงานและใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า จากกรณีศึกษายกตัวอย่างอาคารสูงแห่งหนึ่งมีการใช้ลิฟต์ เพื่อการขนส่ง ซึ่งระบบ ลิฟต์ดังกล่าว มีห้องเครื่องอยู่ชั้นบนสุดของอาคาร ห้องดังกล่าวมีการติดตั้งเครื่องปรับ อากาศเพื่อระบายความร้อนให้กับแผงวงจรควบคุมระบบลิฟต์ เงื่อนไข คือ เจ้าของ อาคารต้องการประหยัดพลังงานในการใช้เครื่องปรับอากาศ บนพื้นฐานคือระบบมี ความปลอดภัยและไม่ส่งผลกระทบต่อการบริการ สู่การลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ จากข้อมูลเดิมห้องควบคุมลิฟต์ทา� งานทีอ่ ณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ ตลอดเวลา 2 c� จาการ onitor ผ่าน sensor วัดอุณหภูมิภายในห้อง และจากข้อก�าหนดของมาตรฐานผู้ผลิตก�าหนด VOLUME 7 ISSUE 82
ขอ าพ ระกอ ากเ ต : http://www.koratmemorial.com/ckfinder/userfiles/images/ben amas_ post_20_img_20120731103552. pg http://www.vibhavadi.com/photo/b12. pg http://www.coa.co.th/images/column_1297319664/ _0720. P http://www.siphhospital.com/attach/article/31-m. pg http://med.mahidol.ac.th/ent/sites/default/files/public/images/icons/ P E T1. pg http://dexpierta.com/wp-content/uploads/2014/07/web5. pg
E N E R G Y S AV I N G
35
PRODUCT REVIEW CONSTRUCTION TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
ระบบส่องส ่าง อง ลก ุรกิจ
Greenup Highbay ในโลกธุรกิจขนาดใหญ่ทตี่ อ้ งอาศัยแสงสว่างอยูต่ ลอดเวลา เช่น คลัง สินค้า, โรงพยาบาล หากไม่ค�านึงถึงการประหยัดพลังงานการใช้ ไ าแล้ว ก็อาจตามมาด้วยภาระค่าใช้จ่ายมากขึ้นเกินความจ�าเป็น ระบบส่องสว่าง ighbay จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่ผู้ประกอบการ หันมาให้ความสนใจ เนื่องจากสามารถควบคุมการใช้ไ อัตโนมัติ ด้วยเซ็นเซอร์ประสิทธิภาพสูง บวกกับหลอด E ยืดอายุการใช้งาน มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ท�าให้ลดการใช้พลังงานตามไปด้วย
Greenup ig ay รุ่น 0 จากฟิลิปส์ ที่โดดเด่น ด้วยการแยกส่วนควบคุม และเซ็นเซอร์ออกจากตัวโคมไฟ เพื่อจัดการใช้ไฟฟ้า คุณภาพแสงได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก ขึ้น ติดตั้งง่าย น�้าหนักเบาเพียง . กิโลกรัม ใช้ได้กับทั้ง โครงการใหม่และการเปลี่ยนแทนของเดิม ภายใต้ระบบที่ ไร้สาย ไม่จ�าเป็นต้องเดินสายไฟ จ่ายไฟฟ้าก็ใช้งานได้ทันที ( lug and play) ควบคุมได้ด้วยตัวเองผ่านคอมพิวเตอร์ สามารถจับกลุม่ โคมไฟแต่ละตัวให้เชือ่ มโยงกัน หรือปรับเปลีย่ น กลุม่ เพือ่ การควบคุมการใช้งาน ปรับตัง้ ค่าได้เองอย่างไม่ยงุ่ ยาก ผ่านเซนเซอร์แบบ Standalone, Wireless Ter inal และ ระบบการคุม ig ee (มาตรฐาน การสื่อสารแบบไร้สาย มี อัตราการรับส่งข้อมูลต�่า เน้นประหยัดพลังงาน ราคาถูก เพื่อ ให้สามารถสร้างระบบที่เรียกว่า Wireless Sensor et ork ได้) ได้ถึง 0 อุปกรณ์ ในโซนเดียวกัน ระบบ ccupancy Sensor ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพด้วย การลดแสงสว่างตอนกลางวัน กระจายแสงสว่างอย่างทั่วถึง สบายตา โดยควบคุมแสงสว่างให้คงทีจ่ ะช่วยลดการใช้พลังงาน สามารถปรับตัง้ การหน่วงเวลา ปรับระดับแสงสว่างอัตโนมัตใิ น การใช้งานได้ รวมถึงปรับการกระจายแสงได้ รูปแบบ คือ 36
E N E R G Y S AV I N G
1. ล�าแสงแคบ ให้แสงที่นวลตาเหมาะส�าหรับเพดานสูง 2. ล�าแสงกว้าง กระจายแสงได้แม่นย�า ได้พื้นที่ท�างานอย่างชัดเจน เหมาะ ส�าหรับเพดานต�่า และเพดานทั่วไป . ล�าแสงผสมทั้งแคบและกว้าง ส�าหรับความต้องการใช้งานที่หลากหลาย ช่วยให้กระจายแสงอย่างทั่วถึง ยืดหยุ่นต่อทุกสถานที่ในการติดตั้ง ทนทานต่อการใช้งานได้หลากหลายสภาพอากาศตั้งแต่อุณภูมิ 20 ถึง 0 องศา มีช่องถ่ายเทอากาศเพื่อระบาย ความร้อนออกได้เป็นอย่างดี ประหยัดพลังงานมากกว่าระบบส่องสว่างแบบเดิม ๆ ด้วยการใช้หลอด LED ทีอ่ ายุการใช้งานยาวนานถึง 0,000ชัว่ โมง ประสิทธิภาพสูง ประหยัดกว่าระบบ หลอดแบบ ID 00 วัตต์ ถึง และประหยัดกว่าระบบหลอด T x วัตต์ ถึง หากเลือกใช้ระบบ Intelligent ก็จะสามารถประหยัดไฟเพิม่ ขึน้ ไป อีกถึง 1 อีกทั้งยังลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ารุงได้อีกด้วย
SEPTEMBER 2015
today
+
PRODUCT SHOWCASE CONSTRUCTION TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
WINDSOR SHADING SYSTEM ECO STONE ริ ัท ได้ท�าการศึกษาวิจัย ดีไซน์ด้าน สิง่ แวดล้อม จนได้ผลิตภัณ เ์ ป็นหินฟองน�า้ ประดับตกแต่งสวน น�า้ หนักเบา ไม่เปราะ หรือหักง่าย ผลิตจากเศษวัสดุจากโรงงานผลิตกระจกทีเ่ หลือทิง้ จากกระบวนการ ผลิตกระจกของทางบริษัท มารีไซเคิลใหม่ ไม่มีอันตรายต่อพืชและต้นไม้ที่ปลูก มีการปรับปรุงและพั นาด้วยความใส่ใจให้ได้สินค้าเพื่อโลกสีเขียว เก็บกักน�้าได้ ถึง 1 สัปดาห์ ช่วยรักษาความชุ่มชื่นของหน้าดินได้มากกว่า 0 ทั้งยังช่วยลด การเติบโตของวัชพืช พร้อมเพิ่มประสิทธิภาพของปุยเม็ดให้คุ้มค่า ช่วยป้องกัน การกระเด็นของดินในกระถางเวลารดน�า้ ต้นไม้ อายุการใช้งานกว่า 2 ปี มีให้เลือก ถึง เฉดสี คือ สีฟ้า, สีขาว, สีด�า, สีเทา, สีชมพู, สีน�้าตาล
เบาะ
้าเทียม
คิดค้นผลิตภัณ ์ส�าหรับงานระแนง ไม้ และแผงบั ง ตาส� า หรั บ ตกแต่ ง ผนั ง เพื่ อ ความ สวยงาม พร้อมทัง้ ระบบการติดตัง้ เฉพาะตัวทีส่ ะดวก รวดเร็ว โดยตัววัสดุโพลิเมอร์คณ ุ ภาพสูงเข้ากับไม้จริง ตามธรรมชาติ มีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพภูมิ อากาศประเทศไทย ปราศจากปัญหา กรอบ แตก ผุ บวม ยืดหด บิดงอ แมลงกัดเจาะ ไม่บวมพองเมื่อ โดนฝน สีไม่ลอกง่ายแม้แสงแดดแรง เหมาะกับงาน ภายนอกโดยเฉพาะ ช่วยสร้างความเป็นส่วนตัวและ บรรยากาศที่ร่มรื่นให้กับบ้าน ดูแลรักษาง่าย เพียง ท�าความสะอาดด้วยน�า้ สบูจ่ ะท�าให้ดใู หม่อยูเ่ สมอ ดีไซน์ ได้มากกว่า 100 รูปแบบ มีสใี ห้เลือกใช้งานได้ 2 สี ได้แก่ สีขาวและสีโอค ให้อารมณ์เสมือนไม้จริงตามธรรมชาติ
ผูใ้ ห้บริการจัดจ�าหน่าย ติดตัง้ ให้คา� ปรึกษาเกีย่ วกับหญ้า เทียม รวมถึงเบาะหญ้าเทียม สามารถสั่งซื้อตามขนาดที่ต้องการได้ทางออนไลน์ ระยะเวลาในการสั่งท�าประมาณ วัน นั่งสบายเหมือนอยู่ท่ามกลางธรรมชาติ ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ตกแต่งสวนหรือนั่งเล่น ทนแดด ทนฝน สีไม่ซีด วัสดุเกรด A มีการรับรองคุณภาพ ไม่หลุดออกง่าย รับประกันคุณภาพ ถึง ปี หากหญ้าหลุดมีบริการเปลี่ยนให้ใหม่ ปลอกคลุมหญ้าเทียมสามารถถอด ออกได้ ภายในไส้เบาะท�าจากเม็ดพลาสติก โพลีสไตรีน อย่างดี รับน�า้ หนักได้มาก
38
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
อิ บลอก นา น ริ ัท ไท น น เ ส์ ั ผู้ผลิตอิฐบล็อก นาโน ที่จะช่วยประหยัดต้นทุนและเวลาในการ ในการ ก่อสร้าง อีกทัง้ ยังใช้แรงงานน้อย เนือ่ งจากรูปทรงของบล็อก ถูกออกแบบเป็นตัวต่อ ประกอบง่าย าย มีรู กลวงภายใน ท�าให้เป็นฉนวนกันความร้อนได้ดี สามารถใช้รอ้ ยสายไฟฟ้า ท่อประปา ท�าให้ไม่ตอ้ งเสีย เวลาสกัดผนังออกเหมือนกับอิฐประเภทอืน่ มีการเปิดอบรมเพือ่ น�าไปผลิตใช้เอง สามารถสร้างบ้าน ได้ดว้ ยตนเองในราคาประหยัด คุณภาพสูง คงทนถาวร สามารถใช้เศษวัสดุเหลือใช้มาเป็ เป็นส่วนผสม เช่น ซีเมนต์ ทรายหยาบบ หินเกร็ด น�า้ วัสดุอนื่ ๆ จึงเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม น�า้ หนักเพียง .00 กก. ก้อน (รุ่นคอนกรีตเบา) รับน�้าหนักได้มากกว่า 1 ตัน ก้อน
แ ่น พลี ารบอเน ริ ัท พล รุ ผู้น�าเข้าและจ�าหน่ายแผ่น โพลีคาร์บอเนต จาก ประเทศไต้หวัน เป็นพลาสติกที่มีความโปร่งใส และแข็งแรงสูง ต้านทาน รอยขีดข่วนได้ดี เคลือบสารกันแสงยูวี ( ) จึงมักใช้ผลิตภัณ ป์ ระเภทนี้ แทนแก้วหรือกระจก เพราะทนความร้อน ความเหนียวและความคงรูป ทีด่ ี ไม่เป็นวัสดุเชือ้ ไฟ ติดตัง้ ง่าย มีความยืดหยุน่ สูง น�า้ หนักเบา ดัดโค้งได้ ใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ ไม่เกิดคราบสกปรกในตัวแผ่น ไม่กอ่ ให้เกิด สารพิษต่อร่างกายมนุษย์ ทั้งภายนอกอาคารและภายในอาคารรับ ประกันคุณภาพสินค้านานถึง 10 ปี รับประกันความคงทนการแตกหัก ตามธรรมชาติ ปี VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
39
INTERVIEW TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
อา ารย ลพร นันทพานิช สถาปนิกและอาจารย์พิเศษ คณะสถาปตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ท่ า มกลางกระแส Green ของวงการ สถาปนิ ก ทั่ ว โลก ที่ หั น มาออกแบบอาคาร ประหยัดพลังงานให้ได้ตามมาตรฐาน LEED (ระบบประเมินความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ของอาคาร โดย .S. Green uilding Council สหรัฐอเมริกา) หรือ TREES (ระบบประเมิน ความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อมไทย โดยสถาบันอาคารเขียวไทย) ซึง่ มีความทันสมัย ด้านออกแบบพร้อม ๆ ไปกับความเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม แต่อาจารย์จลุ พร ยังคงยึดมัน่ แนวทาง Green ในแบบของตัวเองนั่นคือ การใช้วสั ดุธรรมชาติในพืน้ ถิน่ ทีห่ าง่าย ไม่ซบั ซ้อน ตอบรับกับสภาพแวดล้อมตามท้องถิ่นนั้น ๆ ดูเรือ่ งทิศทางของแดดและลมเป็นหลัก รวมถึง การใส่ใจในความรู้สึก สุขภาพร่างกายของ ผูอ้ ยูอ่ าศัย จุดเริม่ ต้นของความสนใจในสถาปัตยกรรม พื้นถิ่นมากจากการเริ่มสะพายเป้ออกเดินทาง ไปตามสันเขา แล้วได้พบกับงานสถาปัตยกรรม ตามหมูบ่ า้ นของชนเผ่าต่าง ๆ ทีร่ ถเข้าไปไม่ถงึ จึงรูส้ กึ ว่านีค่ อื ความน่าสนใจ มีความหมายจริง ๆ มนุษย์ควรอยู่กับธรรมชาติตามวิถีชีวิตแบบนี้ ไม่เบียดเบียนธรรมชาติ ไม่สนิ้ เปลืองทรัพยากร แต่ละทีม่ แี บบแผนการสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยตอบรับ ตามสังคม วั นธรรม ภูมศิ าสตร์แบบสงบสุข อยู่กันแบบพอดี ไม่ใช่แบบบ้านจัดสรรที่เรา เรียนมา เช่น อาข่ามักสร้างบ้านตามสันเขาที่ มี บ ่ อ น�้ า อากาศถ่ า ยเทดี ห่ า งจากผู ้ อื่ น ให้ ความรู้สึกปลอดภัย สร้างรั้วรอบหมู่บ้านเพื่อ ป้องกันผีและสิง่ ไม่ดี บ้านบางชิน้ ส่วนสามารถ ถอดออกแล้วน�าไปสร้างใหม่ได้ ส่วนกระเหรีย่ ง ชอบอยูใ่ กล้แม่นา�้ เพราะเป็นปัจจัยยังชีพ อาจารย์จลุ พร ใช้คา� ว่า “ปลูกเรือน” เพราะ ค�าว่าเรือนนัน้ มีชวี ติ มากกว่าค�าว่า “สร้างบ้าน” ในการออกแบบสถาปัตยกรรมไม่วา่ จะแบบใด สภาพแวดล้อมนั้นล้วนส่งผลต่อร่างกายและ จิตใจของผูอ้ ยูอ่ าศัย สั เ ตว เ คุ ออน อล เวล พ ล ิ เ์ นิ ขนเข ั
ส าปนิก ั ใจสีเ ีย บน ิ ี มิทัศนทาง ั น รรม
อา ารย ลพร นันทพานิช สถาปนิกและอาจารย์พิเศษ คณะสถาปตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะ นักปลูกปา นักออกแบบทีย่ ดึ มัน่ แนวทางของตัวเอง ในการรักษาเอกลักษณ์ทอ้ งถิน่ เรียบง่าย มีวถิ ชี วี ติ ระหว่างมนุษย์รว่ มกับธรรมชาติ อย่างยั่งยืน สามารถสอดแทรกแนวความคิดให้กับนักศึกษาด้วยการปฏิบัติให้เห็นเป็นกิจวัตร เริ่มจากการศึกษาวิจัยเมื่อศึกษาจบใน สถาบันพื้นถิ่นแล้วสามารถน�ามาใช้ได้จริงทั้งด้านการออกแบบสถาปตยกรรม และสิ่งแวดล้อมโดยรวม 40
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ด้วยเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เพราะอากาศในห้องแอร์ประจุไฟฟ้า เป็นลบ ไม่ดตี อ่ ร่างกาย อากาศไม่ถา่ ยเท ยิง่ ถ้าไม่ได้ทา� ความสะอาด ฝุน่ ก็จะวนอยูใ่ นนัน้ เมือ่ ร่างกายไม่ได้ระบายความร้อน เหงือ่ ไม่ออก ยูรกิ ไม่ถกู ขับออกมา ของเสียก็จะไปลงทีไ่ ตจนท�างานหนักขึน้ กินแต่ อาหารฝรั่งที่มีแต่ไขมัน นั่งท�างานในออฟฟิสทั้งวัน ถ้าคนไม่ได้ ออกก�าลังกายยิ่งไปกันใหญ่ เพราะเหงื่อคนเราเป็นตัวสร้างสมดุของ ร่างกาย ทุ วันน นั ร เ ล์ น น ั วั ล พนเข เ ลว น ั ร น ส นขนส อ เขตเพอไ ท น ว คุ ั พอค ค ทตล ไ เรอ สนุ ไ ไ รส เ นอ ขอเส ตร ควันร เอ วัน ร ขั ร ไ ท ั ตอนทข ั ร นเทอ น ร ั ไ เ น นเล ทส คั คอ ร ั ส พ ว ลอ ล่าสุด อาจารย์จลุ พร ได้รบั เป็นทีป่ รึกษาวางระบบนิเวศชุมชนเมือง ( r an Ecology) ของโครงการยูดไี ลท์ รัชวิภา ในการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว เพือ่ ปลูกป่ากว่า 2 ไร่ บริเวณรอบโครงการ สูงกว่าเกณ ข์ อ้ บังคับของ อีไอเอ (การวิเคราะห์ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม) ถึง 0 หรือคิดเป็น 2,2 0 ตารางเมตร โดยได้เริม่ ศึกษาตัง้ แต่ประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ นี้ จึงพบ ว่าแถบนีม้ ภี มู ปิ ระเทศเป็นทีล่ มุ่ มีพชื ท้องถิน่ อยูม่ าก เช่น ตะเคียนทอง ประดูป่ า่ มะกล�า่ ต้น มะเกลือ แคนา มะขามป้อม ฯลฯ และเพิม่ ชนิด อืน่ เพิม่ เติม
เดกยุ ใ ม่เกิดมาในส าพแ ดล้อมที่ท�าใ ้อ่อนแอ เราก ้องย้อนกลับมาด ่าส าป ยกรรมที่เปน ั บ่งชี ่า ุ อย่ในส าพแ ดล้อมแบบ น กจะท�าใ ้ นเปนอย่างนัน เ นอ ต ไ ทัน ทั ท อ ุ ว อ เพร เ คุ เ ิ น ส พ ว ลอ ทท ออน อ เร ตอ อน ลั ว ส ต รร ท เ นตัว ว คุณอ นส พ ว ลอ ไ น ท คนเ นอ นัน การออกแบบทีด่ ตี อ้ งไม่ทา� ให้ผอู้ ยูอ่ าศัยป่วย เหล่านีเ้ รียกกันว่าจิตวิทยา สภาพแวดล้อม ซึ่งคนไทยยังไม่ตระหนักกันมากนัก แต่สามารถเริ่มต้นได้ ไม่ยากนัก ตัง้ แต่วสั ดุกอ่ สร้าง เพราะทุกวันนีไ้ ม่วา่ จะเป็นจ�าพวก พลาสติก ไวนิล หินแกรนิต สีทาบ้าน ฯลฯ เหล่านีล้ ว้ นปล่อยสารเคมีออกมาทัง้ หมด บ้านทีด่ ี ไม่ควรมาจากวัสดุสังเคราะห์ เรือนไม้ให้ความรู้สึกร่มเย็นกว่า ฉาบผิวดิน แทนทีจ่ ะเป็นปูนทึบ ผิวสัมผัสดีกว่า ระบายความร้อนได้ดี เหมาะกับภูมอิ ากาศ เขตร้อนอย่างบ้านเรา สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมีจิตวิญญาณซ่อนอยู่ ถ้าเราใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ รอบ ๆ ตัว อย่างมีความเคารพ รูค้ ณ ุ ค่า ก่อนจะน�าอะไรมาใช้ ให้คดิ ก่อน ท�า อย่างไรให้คนอยูแ่ ล้วสบายทีส่ ดุ จะเปิดช่องลมรับแสงแดดอย่างไร ท�าด้วยใจ กุศล เจริญสติตอนท�างาน โลกกับเราก็จะมีความสัมพันธ์กนั เมือ่ เราเข้าไป อยูใ่ นบ้านนัน้ จิตอันเป็นกุศลก็จะถูกปล่อยออกมาสูผ่ อู้ ยูอ่ าศัย ตามความเชือ่ ด้านจิตวิญญาณของคนเอเชียทีเ่ คารพสภาพแวดล้อมทีต่ นเองอาศัยอยู่ ด้วย ภูมปิ ญ ั ญาของคนท้องถิน่ ในเชิงมานุษยวิทยา การด�ารงชีวติ สถาปัตยกรรม หรือสภาพแวดล้อมใด ๆ ทีม่ นุษย์สร้างขึน้ จะมีผลต่อความคิด จิตวิญญาณ ของคนทีเ่ ข้ามาอาศัยทันทีโดยไม่รตู้ วั เห็นได้ชดั อย่างเรือนไทยซึง่ สามารถถอด ฝาออกได้เป็นชิน้ ๆ เพือ่ น�าไปประกอบใหม่ทอี่ นื่ ได้ เช่น น�าไปประกอบใหม่ เป็นกุ พิ ระ เหล่านีเ้ กิดมาจากระบบความคิดด้านสิง่ แวดล้อมเชิงจิตวิญญาณ หากสถาปนิกเข้าใจหลักแง่นไี้ ด้ แม้แต่การคิดในแบบตึกสูงในเมืองหลวง ก็จะ สามารถเชือ่ มโยง ตอบโจทย์เรือ่ ง Green ได้ คนยุคใหม่เคยชินกับการอยูใ่ นห้องแอร์ แล้วเริม่ หันมาใช้เครือ่ งปรับอากาศ แบบประหยัดไฟ ซึ่งร่างกายมนุษย์ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่ออยู่ในห้องแอร์ VOLUME 7 ISSUE 82
ด้วยความหลากหลายทางพันธุ์ไม้ท้องถิ่นประมาณ 80 ชนิด ซึ่ง สามารถเติบโตได้เองในภูมลิ า� เนาได้ดโี ดยไม่ตอ้ งอาศัยสารเคมีแล้ว ยัง มีสรรพคุณทางยา เช่น ยางนา ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่เขียวชอุม่ ตลอดปี สามารถบ�ารุงโลหิต แก้โรคตับอักเสบ, อินทนิลน�า้ รักษาโรคความดัน โลหิตสูง ลดไขมันในเลือด, สมอไทย รักษาอาการท้องผูกเรือ้ รัง ช�าระ ล้างล�าไส้ เหล่านี้ล้วนทรงคุณค่าในตัวเองเกิดเป็นความงามเชิงนิเวศ เรียกได้วา่ เป็น “ภูมทิ ศั น์ทางวั นธรรม” ล คนอ อ ว ไ พน นเ ิ นอ ไรทเ ต ริ ลว ไ พนท นเ ิ นตัววั ท นิเว วิท เนส เอ ร ว ควร คุ ครอ ทิ ั น์ท วั น รร ขอ ตนเอ พนท คว ล ล ท ว พ คว ส ลุ น รอ อ ั ส ร เออ เ ิ สิ ั พัน ร์ ว พ สัตว์ ล นุ ์ ต ลั ไ ท เ นท ล ล เต น ุ ร นั เ นวิ ทรุน ร ั รร ติ นั คอ ร ท ล ร นิเว ทอ ินทิ ส นทไ เอ ตนไ พน ิน ออ ลว ล ล์ ต ร เท ทน ไ คว เ ส ั พนทเล เร ตนไ น เขตรอน เ อ นั เ น ร นิเว ทส ตอ ล ล นขอ เร อาจารย์จลุ พร ได้กล่าวทิง้ ท้ายว่า เ อว ทุ คนส ร ลั ไ อ ั รร ติไ เร ั ตนไ อ นว ร รร ติเ อน นั อันท ริ อนท นุ ์ เ น นุ ์ ตนไ เ ิ ขน ลว พอเร อร เ น วิต เร ตอ ไ รั อิท พิ ล รร ติ เพร นัน เร ตอ เ อ ล นั ล นั
E N E R G Y S AV I N G
41
GREEN INDUSTRIAL TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
รงงานช นเดอร อิเล ทริ
เ ยเคล ลั สร้าง ร ส า สโรงงา ั ั ง ีสเ เ ีย
โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ย่างก้าวแห่งความก้าวหน้า 25 ปี ตั้งเปามุ่งเดินหน้าสร้างโรงงานประสิทธิภาพสูง ประหยัด พลังงาน และใส่ใจสิ่งแวดล้อม โดยล่าสุดได้รับการจัดอันดับให้เป็นโรงงานอันดับ 1 ในภาคพื้นเอเชียตะวันออก จากกลยุทธ์จัดการ พลังงานด้วยเทคโนโลยีอัจฉริยะของชไนเดอร์ ส่งเสริมการประหยัดพลังงานแบบยั่งยืนทั้งโรงงาน พร้อมเดินหน้าในการใส่ใจสิ่ง แวดล้อมและสังคมรอบข้างอย่างต่อเนื่อง คว้ามาตรฐานสากลและรางวัลมากมาย น�าร่องโชว์เคสให้ผู้ผลิตจากประเทศอื่นได้ศึกษา เชิงเทคโนโลยี และการจัดการที่มีประสิทธิภาพ โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ตัง้ อยู่ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมบางปู เริม่ สายการผลิตในปี 2 มาจวบจนวันนี้ 2 ปี ได้มกี ารการพั นาประสิทธิภาพ ของโรงงานมาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้นวัตกรรมการ ผลิ ต ที่ ทั น สมั ย เพื่ อ ให้ เ กิ ด กระบวนการผลิ ต ที่ มี ประสิทธิภาพสูง โดยการน�าเทคโนโลยีตา่ ง ๆ เข้ามา ใช้งาน ทั้งในส่วนที่ให้พนักงานควบคุม และระบบ อัตโนมัติ ตั้งแต่กระบวนการตรวจสอบคุณภาพของ วัตถุดิบที่แม่นย�าในความละเอียดถึงหน่วยไมครอน เพือ่ ให้ได้มาตรฐานตามทีต่ อ้ งการ ทางด้านระบบสาย
42
E N E R G Y S AV I N G
การผลิต เราผสานทัง้ ในแบบก�าลังคนทีม่ คี วามเชีย่ วชาญพิเศษ และระบบอัตโนมัตทิ ใี่ ห้ความ แม่นย�า เพือ่ ช่วยในการประกอบผลิตภัณ ท์ ตี่ อ้ งการความแม่นย�าสูง เช่น การเชือ่ มสายไฟ ด้วยแสงเลเซอร์ การบรรจุชนิ้ ส่วนเล็ก ๆ ลงไปในผลิตภัณ ์ ไปจนถึงกระบวนการทดสอบ คุณสมบัติของผลิตภัณ ์ด้วยระบบอัตโนมัติ เพื่อความมั่นใจว่าผลิตภัณ ์ของเราทุกชิ้น ใช้งานได้จริงก่อนถึงมือลูกค้า ซึ่งให้ความแม่นย�าในการตรวจสอบผลถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ลูกค้าสามารถเชือ่ ใจได้วา่ ผลิตภัณ ข์ องชไนเดอร์มมี าตรฐานเช่นเดียวกันทัว่ โลก
SEPTEMBER 2015
มร เ ดริ ดารมั ผู้อ�านวยการโรงงาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย
ชาติชาย พ ิ ร ผู้จัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค
ร เ ริค ร์ วั อ นว ร ร น ไนเ อร์ อิเลคทริค ร เท ไท กล่าวว่า ในส่วน ของการจัดการพลังงาน เรายังคงเดินหน้าขับเคลือ่ นในทุกปี ควบคูก่ บั การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต ล่าสุดทางโรงงานฯ ได้ตดิ ตัง้ โซลาร์รฟู ทีห่ ลังคาลานจอดรถ ให้พลังงานไฟฟ้าได้ถงึ 20 กิโลวัตต์ ช่วยใน การประหยัดพลังงานในช่วงเวลากลางวันได้ถงึ 1 8,01 บาท ในช่วง 1 ปีทผี่ า่ นมา โดยภาพรวมล่าสุด โรงงานสามารถลดการใช้พลังงานทัง้ โรงงานเฉลีย่ ได้สงู ถึง 1 เปอร์เซ็นต์ เราประสบความส�าเร็จ ในการประหยัดพลังงานเฉลี่ยได้ถึง 221 เมกกะวัตต์ต่อปี เทียบเท่าการลดการปล่อยกาซ คาร์บอนไดออกไซด์ เฉลี่ย 128 ตันต่อปี ทั้งนี้โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ยังได้รับใบรับรอง อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ (Green Industry Level ) จากกระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ เป็นใบรับ รองภายใต้โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว จากความมุ่งเน้นในการพั นาและปรับปรุงกระบวนการ ผลิตและการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง พร้อมกับการประกอบกิจการด้วยความรับผิด ชอบต่อสังคมทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร รวมถึงสิง่ แวดล้อมภายนอกเพือ่ การพั นาอย่างยัง่ ยืน ด้าน คุณ ติ พ วิ ร ั ร นคว ลอ ั อ วอน ั ล สิ ว ลอ ร น ไนเ อร์ อิเลคทริค เผยว่า ความส�าเร็จของเราในวันนี้ มีสว่ นผสมหลักอยู่ ส่วนด้วยกัน ได้แก่ เทคโนโลยี วิสยั ทัศน์ในเชิงนโยบาย และทีส่ า� คัญทีส่ ดุ คือ ความเป็นทีมเวิรค์ ของพนักงานทุกคนทีผ่ ลัก
VOLUME 7 ISSUE 82
ดันให้โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย ได้เป็นโรงงานอันดับ 1 ในภาคพืน้ เอเชียตะวัน ออก ของโรงงานชไนเดอร์ฯ ทัง้ หมดในภูมภิ าค นี้ และได้รบั มาตรฐานสากลทีเ่ ป็นทีย่ อมรับทัว่ โลกต่าง ๆ มากมาย ไม่วา่ จะเป็น IS 9001 มาตรฐานสากลด้านบริหารจัดการคุณภาพ IS 1 001 มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม SAS 18001 มาตรฐานด้านระบบการจัดการ ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และ ล่าสุด IS 0001 มาตรฐานด้านการจัดการ พลังงาน รวมไปถึงรางวัลต่างๆ ที่เป็นรับรอง ถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพ และความเป็ น อั น หนึ่ ง อันเดียวกันของพนักงาน นอกจากนี้ ทางโรงงาน ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ยังได้ให้ความใส่ใจกับ ระบบความปลอดภัยเป็นเรื่องที่ส�าคัญยิ่งยวด ทางโรงงานฯ จะไม่มีการผ่อนปรนต่อเหตุอัน จะก่อให้เกิดความเสีย่ งในการป บิ ตั งิ าน ซึง่ ทาง โรงงานได้ดา� เนินการมาตรการหลัก คือ การใส่ ระบบป้องกันความปลอดภัยในเครื่องจักรทุก ตัว มีการสร้างจิตส�านึกเรือ่ งความปลอดภัยให้ กับพนักงานทุกคน รวมถึง การตรวจสอบระบบ รักษาความปลอดภัยตลอดเวลา เพราะทาง โรงงานมุ่งมั่นที่จะให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด ต่อพนักงานทุกคน จะเห็ น ได้ ว ่ า จากการด� า เนิ น การต่ า ง ๆ ท� า ให้ ท างโรงงานฯ ได้ รั บ รางวั ล ทั้ ง รางวั ล สากล และรางวัลในประเทศ รางวัลสากล ทีไ่ ด้รบั ประกอบด้วย รางวัล erfect Record A ard (201 ) เป็นรางวัลจากการประกอบ กิจการ โดยไม่เกิดอุบตั เิ หตุในช่วง 12 เดือนที่ ผ่านมา รางวัล illion ork ours A ard (201 201 ) เป็นรางวัลจากการป บิ ตั งิ าน
E N E R G Y S AV I N G
43
าม ังใจ อง ม ในการเพิ่มประสิท ิ าพ อง รงงานช นเดอร อิเล ทริ ม่ ด้มุ่งเน้นเพียงการเพิ่ม ล ลิ ที่เปน ลิ ั เพียงอย่างเดีย แ ่ ้องมีการเพิ่มประสิท ิ าพ ทังการ ลิ และการจัดการพลังงาน บ ่กัน ป ที่ส�า ั เรา ้องมีการ เพิ่ม ามมีจิ อาสา องพนักงาน ในการบ�าเพ ประ ยชน ่อสัง ม และใส่ใจสิ่งแ ดล้อม เพราะสิ่งเ ล่านี ม่ ด้ ท�าแ ่เพื่ออง กร แ ่เพื่อ ลก องเรา มากกว่า 1 ล้านชัว่ โมง และไม่เกิดอุบตั เิ หตุใด ๆ ทัง้ สิน้ และรางวัล ccupa tional Excellence Ac ieve ent A ard เป็นรางวัลด้านผลการป บิ ตั งิ าน ยอดเยีย่ มทางด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ซึง่ ได้จาก ational Safety Council ประเทศสิงคโปร์ ส�าหรับรางวัลในประเทศไทย ประกอบด้วย รางวัล CSR DIW A ards รางวัลมาตรฐานความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมต่อสังคม ประจ�า ปี 2 จากกรมโรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม รางวัลด้านความปลอดภัย ประกอบด้วย รางวัล ccupational ealt and Safety a ard และรางวัล ero Accident A ard จากส�านักความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน เป็นรางวัลที่สถานประกอบการด�าเนินการโดยไม่มีอุบัติเหตุ เกิดขึน้ จากความส�าเร็จเหล่านี้ ท�าให้โรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค บางปู เป็นโรงงาน ต้นแบบทีโ่ รงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค จากประเทศ อืน่ ๆ เข้ามาศึกษาเรือ่ งระบบ การผลิตอยูเ่ ป็นประจ�า รวมไปถึงลูกค้าหลายรายเดินทางมาศึกษาดูงานทีน่ ี่ และ เรียนรูด้ า้ นการจัดการพลังงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค อย่างต่อเนือ่ งทุกปี “ความตัง้ ใจของผมในการเพิม่ ประสิทธิภาพของโรงงานชไนเดอร์ อิเล็คทริค ไม่ได้มงุ่ เน้นเพียงการเพิม่ ผลผลิตทีเ่ ป็นผลิตภัณ เ์ พียงอย่างเดียว แต่ตอ้ งมีการ เพิ่มประสิทธิภาพทั้งการผลิตและการจัดการพลังงานควบคู่กันไป ที่ส�าคัญ เราต้องมีการเพิม่ ความมีจติ อาสาของพนักงานในการบ�าเพ็ญประโยชน์ตอ่ สังคม
44
E N E R G Y S AV I N G
และใส่ใจสิ่งแวดล้อม เพราะสิ่งเหล่านี้ไม่ได้ท�าแค่เพื่อองค์กร แต่เพือ่ โลกของเรา” มร.เซดริค กล่าวทิง้ ท้าย ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ พลังงานระดับโลกมีส�านักงานในกว่า 100 ประเทศ พร้อมน�า เสนอโซลูชนั แบบครบวงจรเพือ่ ธุรกิจในกลุม่ ต่าง ๆ เป็นผูน้ า� ทัง้ ใน กลุม่ ธุรกิจด้านสาธารณูปโภคและโครงสร้างพืน้ ฐานอุตสาหกรรม และเครือ่ งจักร อาคารเพือ่ การพาณิชย์ ดาต้าเซ็นเตอร์และระบบ เครือข่าย ไปจนถึงกลุม่ ทีพ่ กั อาศัย โดยเน้นไปทีก่ ารสร้างพลังงานที่ ปลอดภัย มัน่ ใจได้ มีประสิทธิภาพทีด่ ี ให้ผลิตผลสูง และเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม จนท�าให้พนักงานของเรากว่า 1 0,000 คน สามารถสร้างรายได้ประมาณ 2 พันล้านยูโร หรือประมาณ 1,000,000 ล้านบาท ในปี 2 ผ่านความมุง่ มัน่ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ช่วยให้บคุ คลและองค์กรบรรลุประโยชน์จากพลังงานได้อย่าง สูงสุด ข้อมูลเพิม่ เติม .sc neider electric.co t SEPTEMBER 2015
ENERGY FOCUS TEXT : คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู้อ�านวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม
ปัจจั แห่งความสาเร็จ
ในการอนุรัก พลังงาน อง า อุ สา กรรม
ตลอดหลายปีทผี่ า่ นมา กระทรวงพลังงานพยายามทีจ่ ะกระตุน้ ให้ภาคอุตสาหกรรม เล็งเห็นถึงความส�าคัญของการอนุรกั ษ์พลังงาน ซึง่ หลาย ๆ โรงงานก็เริม่ หันมา บริหารจัดการพลังงานเพื่อลดต้นทุนพลังงานกันมากขึ้น แต่ผู้ประกอบการ ส่วนใหญ่โดยเฉพาะโรงงานขนาดกลางและขนาดย่อม ( mall and edium Enterprise, E) ที่เพิ่งเริ่มสนใจลดต้นทุนพลังงานนั้น อาจเกิดความรู้สึกว่า ไม่รู้จะเริ่มต้นยังไงดี และเมื่อไม่สามารถหาค�าตอบได้ก็เลิกล้มความตั้งใจไปใน ที่สุด พร้อมกับตั้งก�าแพงด้วยแง่คิดเชิงลบต่าง ๆ ซึ่งทั้งหมดคือแนวคิดที่เป็น อุปสรรคต่อการเริม่ ด�าเนินการอนุรกั ษ์พลังงานทัง้ สิน้ ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการต้อง “ปรับทัศนคติ” ต้องมีความมุ่งมั่นจริงจังควบคู่ไปกับการศึกษาปจจัยที่จะท�าให้ สามารถลดต้นทุนพลังงานได้ และแน่นอนว่าผลประโยชน์สุดท้ายที่จะได้รับ คือ สามารถลดต้นทุนพลังงานได้ในที่สุด ซึ่งปัจจัยแห่งความส�าเร็จในการอนุรักษ์พลังงานมีอยู่ไม่มาก และสามารถท�าได้ไม่ยาก อีกเช่นกัน นั่นคือ ร ร เ ินส น ร พลั นขอ ตนเอ ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มักไม่ค่อยมี การเก็บข้อมูลการใช้พลังงานของตนเองมากนัก ท�าให้ไม่สามารถประเมินต้นทุน หรือปัญหา ด้านพลังงานของตนเองได้ จึงไม่รวู้ า่ จะเริม่ ด�าเนินการอนุรกั ษ์พลังงานจากตรงไหน การเริ่ม เก็บข้อมูลและประเมินตนเองจึงถือเป็นสิ่งส�าคัญล�าดับต้น ๆ เข ร ั คว ขอ รอนุรั ์พลั น การลดต้นทุนพลังงาน หรือ การอนุรักษ์พลังงานนั้น สามารถเริ่มท�าได้ตั้งแต่สิ่งง่าย ๆ ไม่ต้องลงทุนหรือลงทุนน้อยมาก ( ouse eeping) จากนั้นจึงเริ่มขยายผลด�าเนินการปรับเปลี่ยนกระบวนการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ( rocess C ange) ตลอดจนปรับใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้ เกิดการประหยัดพลังงาน ( ac ine C ange) โดยแต่ละระดับมีความยากง่าย และเงิน ลงทุนที่จะด�าเนินการแตกต่างกันไป ดังนั้นถ้าผู้ประกอบการที่ไม่พร้อมลงทุนสูง ๆ เพื่อการ อนุรักษ์พลังงานก็ยังสามารถด�าเนินกิจกรรมอนุรักษ์พลังงานด้วยวิธีง่าย ๆ ก่อนได้ 46
E N E R G Y S AV I N G
ท ท ล คว รว อขอ ุ ค ล รทั อ ค์ ร การอนุรักษ์พลังงานไม่ใช่กิจกรรมที่สามารถ ท�าได้ด้วยคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในองค์กร แต่ต้องได้ รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกระดับจึงจะประสบ ความส�าเร็จได้ เนื่องจากบุคลากรทุกคนถือเป็นเป็น ผู้ใช้พลังงานในองค์กร ซึ่งบุคลากรแต่ละระดับตั้งแต่ ผู้บริหาร ผู้จัดการ วิศวกร พนักงาน ฯลฯ ต่างมี บทบาทต่อการอนุรักษ์พลังงานแตกต่างกันไป คว รคว เข น รคว คุ เครอ ั ร อุ รณ์ต ท พลั น พนักงานที่ควบคุม เครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ต ่ า ง ๆ ที่ ใช้ พ ลั ง งาน ถื อ เป็ น ผู้ใช้พลังงานโดยตรง การใช้งาน และควบคุมให้เกิด ประสิทธิภาพจ�าเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจอย่าง ถูกต้อง รวมถึงหมั่นสังเกตความผิดปกติหากมีการ เสื่อมประสิทธิภาพหรือช�ารุด จะช่วยให้เกิดการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ ซึ่งถือเป็นบทบาท ส� า คั ญ ประการหนึ่ ง ของพนั ก งานต่ อ กิ จ กรรมการ อนุรักษ์พลังงาน
ตรว วิเ คร ์ ร สิท ิ พพลั นขอ เครอ ั รอุ รณ์ การจะทราบว่ า เครื่ อ งจั ก ร อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ง านอยู ่ นั้ น ท� า งานอย่ า งถู ก ต้ อ งมี ประสิทธิภาพอยู่หรือไม่ มีความจ�าเป็นต้องทราบ ถึงวิธีการตรวจวิเคราะห์เครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้งาน นั้ น ๆ เพื่ อ เปรี ย บเที ย บผลกั บ ค่ า มาตรฐานของ เครื่อ งจักรแต่ละชนิด เพื่อ ประกอบการตัดสิน ใจ จากนั้ น จึ ง พิ จ ารณาด� า เนิ น การปรั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ เครื่องจักรอุปกรณ์ท�างานอย่างมีประสิทธิภาพอย่าง สม�่าเสมอ รตั สิน เนิน รอนุรั ์พลั น ตขอ ลท ั เ น การตั ด สิ น ใจเพื่ อ ด� า เนิ น การ ปรับปรุง หรือการจะได้รบั เงินสนับสนุนจากผูบ้ ริหาร SEPTEMBER 2015
มาปรับปรุงการท�างานให้ดีขึ้นนั้นจ�าเป็นต้องมีข้อมูล ที่น่าเชื่อถือ และแสดงให้เห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับ อย่างชัดเจน เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้บริหาร ดังนั้นวิศวกรหรือผู้รับผิดชอบจ�าเป็นต้องมีความรู้ ในการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานเพื่ อ
เปรี ย บเที ย บผลก่ อ นปรั บ ปรุ ง และหลั ง ปรั บ ปรุ ง ออกมาเป็นผลประหยัดพลังงานที่จะได้รับเทียบกับ เงินที่ต้องลงทุน เทค น ล ท ว ส เสริ เ ิ ร ร ั พลั น ความรู ้ ด ้ า นเทคโนโลยี จ ะช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ผู ้ ป ระกอบการตั ด สิ น ใจได้ ง ่ า ยขึ้ น ในการปรั บ เปลี่ยน หรือปรับปรุง หากถึงเวลาที่ต้องปรับปรุง ท� า ให้ ส ามารถเปรี ย บเที ย บเลื อ กเทคโนโลยี ที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานสู ง มาทดแทนเครื่ อ งจั ก ร อุ ป กรณ์ เ ดิ ม ได้ อ ย่ า งเหมาะสม โดยอาจศึ ก ษา รายละเอียดเทคโนโลยีที่ได้รับการยอมรับได้จาก มาตรการมาตรฐาน 11 มาตรการ และเทคโนโลยี เชิงลึก มาตรการ ของกรมพั นาพลังงานทดแทน VOLUME 7 ISSUE 82
และอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) หรือเทคโนโลยีจากบริษัทจัดการพลังงาน (Energy Service Co pany ESC ) ที่ได้รับการรับรอง เป็นต้น รพิ รณ ล ทุนอ เ ส ต คว พรอ ขอ ตนเอ การปรับปรุงเพื่อ การอนุรักษ์พลังงานนั้นเริ่มด�าเนินการได้ตั้งแต่ไม่ต้องลงทุนเลย จนถึงต้องอาศัยเงินทุน เพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักรอุปกรณ์ ทั้งนี้ผู้บริหารต้องพิจารณาทางเลือกในการลงทุน และ การส่งเสริมสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ มาเปรียบเทียบ เพื่อตัดสินใจใช้แหล่งเงินทุนในการ ปรับปรุงที่ได้ประโยชน์สูงสุด อาทิ เงินสนับสนุนจากภาครัฐ, เงินกู้ดอกเบี้ยต�่า, บริษัท จัดการพลังงาน (ESC ), ลงทุนเอง ฯลฯ ล คว ร น รอนุรั ์พลั น ปัจจุบันเทคโนโลยีเริ่มมีบทบาท ด้านการศึกษาเรื่องต่าง ๆ มากขึ้น โดยสามารถศึกษาได้จากเว็บไซต์พื้นฐานจากหน่วยงาน ต่าง ๆ ของกระทรวงพลังงาน เช่น กรมพั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ( .dede.go.t ) ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน ( .eppo.go.t ) สถาบัน การศึกษา รวมถึงสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม ( .iie.or.t , .ienergycenter.net) ร ริ รตนทุนพลั น หลักการบริหารต้นทุนพลังงานนั้น เหมือนกับหลักการ บริหารทั่วไป คือ การพั นาอย่างต่อเนื่องตามหลักของ De ing Cycle คือ 1. ต้องมีการ วางแผน ( lan) 2. ด�าเนินการตามแผนงาน (Do) . ติดตามประเมินผลการด�าเนินงาน (C eck) . ทบทวนผล และด�าเนินการแก้ไข (Act) จากนั้นจึงวางแผนด�าเนินการ ลดต้นทุนพลังงานใหม่ เวียนไปอย่างต่อเนื่อง จะท�าให้สามารถอนุรักษ์พลังงานและ ลดต้นทุนพลังงานได้อย่างยั่งยืน และเป็นระบบมากยิ่งขึ้น ทร ทเ วขอ นพลั น ปัจจุบนั ก หมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการอนุรกั ษ์ พลังงาน คือ พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งก�าหนดให้ “โรงงานควบคุม” ต้องจัดท�ารายงานการจัดการพลังงาน เพื่อเป็นการควบคุมให้โรงงานขนาดใหญ่มีการ ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ ส่วน “โรงงาน นอกข่ายควบคุม” และอาคารธุรกิจนั้น ก หมายยังไม่มีการบังคับ แต่แนะน�าให้น�าระบบ การจัดการใน พ.ร.บ. การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานไปประยุกต์ใช้ เพื่อปรับลดการใช้ พลังงานได้ด้วยตนเอง คว คุ ร ิ ั ติ นขอ พนั น ล เครอ ั ร เนิ น นอ ร สิท ิ พอ เส อ หลังจากด�าเนินการปรับปรุงเพื่ออนุรักษ์พลังงานแล้วปัจจัยส�าคัญ อีกประการหนึ่ง คือ การรักษาสภาพการท�างานหลังปรับปรุง ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุง ทางด้านพฤติกรรมของพนักงาน หรือการปรับปรุงในด้านประสิทธิภาพของเครื่องจักร อุปกรณ์ให้คงอยู่ในสภาพที่ถูกต้องอยู่เสมอ หรือการท�าให้เป็นมาตรฐาน (Standardi e) จากปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าวมานั้น ต้องการสื่อให้ผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมรับรู้ถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่ต้องทราบและด�าเนินการเพื่อลดต้นทุนพลังงานในองค์กรด้วยตนเองได้ อย่างยั่งยืนและจริงจัง เพียงแต่ผู้ประกอบการต้องพิจารณาเลือกด�าเนินการปัจจัยต่าง ๆ ก่อน หลัง ตามความพร้อมของตนเอง แต่สิ่งแรกที่ควรท�าคือประเมินสถานะของตนเอง เสียก่อน เพื่อทราบถึงปัญหาของตนเองว่ามีจุดอ่อนที่ใดบ้าง จากนั้นจึงค่อย ๆ เลือก ด�าเนินการปรับปรุง และทบทวนประเมินตนเองอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากการลดต้นทุน พลังงานไม่ใช่กิจกรรมที่จะท�าให้ส�าเร็จเพียงชั่วข้ามคืนได้ และไม่ใช่กิจกรรมที่จะท�าเพียง ครั้งเดียวแล้วประสบความส�าเร็จได้ สิ่งส�าคัญของกิจกรรมลดต้นทุนพลังงานคือ “ต้องท�า อย่างต่อเนื่อง” หากเลิกท�าก็เหมือนกลับไปสู่จุดเดิมคือใช้พลังงานอย่างสิ้นเปลือง และ ไม่สามารถลดต้นทุนพลังงานได้ แต่สิ่งที่ยากกว่าท�าอย่างต่อเนื่องคือ การเริ่มท�า “ ou ill never in if you never egin.” elen Ro land ได้กล่าวไว้ เริ่มต้นท�าวันนี้ ก็ยังไม่สาย ส่วนรายละเอียดว่าแต่ละปัจจัยจะต้องด�าเนินการอย่างไรนั้น โปรดติดตาม ได้ในฉบับต่อ ๆ ไปครับ ขอบคุณครับ
ขอ
าพ ระกอ ากเ
ต:
http://www.energysavingmedia.com/news/images/detail/4025ffb4. pg, http://www.boonchuay.com/wp-content/uploads/2013/01/ nspection. pg E N E R G Y S AV I N G
47
OPEN HOUSE TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
เยี่ยมชมศนยบริการ ่อมแ มเ รื่องจักร “MRO Training and Application Center”
เมื่อไม่นานมานี้ ทาง Energy saving ได้มีโอกาสเข้าไปเยี่ยมชมศูนย์ R Training and pplication enter ณ จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นศูนย์ฝึกอบรมให้ความรู้และให้บริการบ�ารุงรักษา ซ่อมแซม อุปกรณ์และเครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมแห่งแรกประจ�าภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในประเทศไทย ศูนย์แห่งนี้เป็นการร่วมมือระหว่างบริษัทเ งเค็ล ประเทศไทย และ บริษัท พรีเมี่ยม อิควิปเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด ซึ่งทั้งสองบริษัทนี้มีความคิดเห็นที่ตรงกันที่ต้องการอ�านวยความสะดวกแก่ลูกค้า ทั้งยังต้องการเป็น ศูนย์กลางในการซ่อมบ�ารุงเครื่องจักรด้วย เ งเค็ลด�าเนินธุรกิจทั่วโลกด้วยการเป็นผู้น�าด้าน แบรนด์และเทคโนโลยีในสามกลุ่มธุรกิจคือ กลุ่ม ธุ ร กิ จ ผลิ ต ภั ณ ์ ซั ก ล้ า งและผลิ ต ภั ณ ์ ค รั ว เรื อ น กลุ่มธุรกิจผลิตภัณ ์เพื่อความงาม และกลุ่มธุรกิจ เทคโนโลยีกาว บริษัทเ งเค็ลก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2 19 และครองต�าแหน่งผู้น�าตลาดทั่วโลกในกลุ่ม ธุรกิจผลิตภัณ ์เพื่อผู้บริโภคและธุรกิจอุตสาหกรรม พร้ อ มแบรนด์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากล เช่น เพอร์ซิล ชวาร์สคอฟ และล็อคไทท์ มีการจ้างงานพนักงานกว่า 0,000 คน และสร้าง ยอดขาย 1 , 00 ล้ า นยู โร พร้ อ มก� า ไรจากการ ด�าเนินงานหลังการปรับปรุงรวม 2, 00 ล้านยูโรใน ปีงบประมาณ 2 และมีหนุ้ บุรมิ สิทธิทีจ่ ดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์ DAX ประเทศเยอรมนี ด้าน บริษัท พรีเมี่ยม อิควิปเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิ เนียริ่ง จ�ากัด เองก็เป็นผู้น�าด้านการให้บริการ และ จัดจ�าหน่ายอุปกรณ์เครื่องจักร ส�าหรับเพิ่มการผลิต ในโรงงานอุตสาหกรรม แอร์โซลูชั่น ส�าหรับโรงงาน ผลิตจ�านวนมาก ในหลายกลุ่มอุตส�าหกรรมทั้งใน ประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่เริ่มเปิด ให้บริการ บริษัท พรีเมี่ยม อิควิปเม้นท์ แอนด์ เอ็น จิเนียริ่ง จ�ากัด มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะให้ บริการกับลูกค�้าโดยการมอบบริการและผลิตภัณ ์ที่ มีคุณภาพดีเยี่ยม นอกจากนี้ บริษัท พรีเมี่ยม อิควิป เม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด ยังได้รับก�ารรับรอง มาตรฐาน IS 9001 ในปี 2 1 จากบริษัท เอส ซี จี (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึ่งเป็นหนึ่งในสมาคมที่ได้รับ การยอมรับและเชื่อถือแห่งหนึ่ง
48
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
เ งเค็ล ได้พั นายุทธศาสตร์การเป็น “ผู้น�าด้านการน�าเสนอ โซลู ชั่ น ” ในภู มิ ภาคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ด้ ว ยการเปิ ด ศู น ย์ ฝึกอบรมให้ความรู้และให้บริการบ�ารุงรักษา ซ่อมแซม อุปกรณ์ เครื่องจักรในงานอุตสาหกรรม หรือ R Training and Application Center ซึ่งในครั้งนี้ได้จับมือกับ บริษัท พรีเมี่ยม อิควิปเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด จัดตั้งศูนยนี้ขึ้น โดยพื้นที่การจัดตั้งศูนย์ เป็นพื้นที่ของ บริษัท พรีเมี่ยมฯ นอกจากศูนย์แห่งนี้จะเป็นศูนย์ ฝึกอบรมให้ความรู้และให้บริการบ�ารุงรักษา ซ่อมแซม อุปกรณ์และ เครื่องจักรในงานอุตสาหกรรมแล้ว ยังมีการให้บริการฝึกอบรมทาง ด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมพื้นผิว และการใช้ผลิตภัณ ์เพื่อการซ่อม สร้าง เคลือบผิวปกป้องการกัดกร่อนจากสารเคมี และการผุผังของ พื้นผิวโลหะจากสนิม อีกทั้งยังเป็นศูนย์บริการแบบครบวงจร (one stop s op) ในการให้บริการซ่อมบ�ารุงโดยใช้การเคลือบผิวด้วย วั ส ดุ ค อมโพสิ ต ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของเทคโนโลยี วิ ศ วกรรมพื้ น ผิ ว ภายใต้นวัตกรรมและผลิตภัณ ์จากแบรนด์ล็อกไทท์ (Loctite ) โดยการปกป้องพืน้ ผิวจะช่วยลดการใช้พลังงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพ และความมัน่ ใจในการใช้งาน นอกจากการให้บริการด้านเทคโนโลยีการ เคลือบพื้นผิวแล้ว เ งเค็ล ได้ก้าวล�้าไปข้างหน้าสู่การน�าเสนอโซลูชั่น โดยการผสมผสานเทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบเข้าด้วยกันอย่างสมบูรณ์ ไม่วา่ จะเป็น กาววิศกรรม ซีลแลนท์ และเคมีภณ ั เ์ พือ่ การเตรียมพืน้ ผิว เป็นต้น เพื่อรองรับการบริการงานซ่อมแซมแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ รวม ถึงงานซ่อมบ�ารุงทั่วไปให้กับลูกค้าภาคอุตสาหกรรม คุณเอริค อเ ล นน์ ั ร รุ ิ เทค น ล วเ เคล ร ร เท ไท เผยว่า ความร่วมมือระหว่าง เ งเค็ล กับ บริษทั พรีเมีย่ ม อิควิปเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด ผู้เชี่ยวชาญมืออาชีพด้านการ
ซ่อมบ�ารุงเครื่องสูบน�้า เครื่องอัดอากาศ และอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน อื่น ๆ จะท�าให้เราตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ดียิ่งขึ้น โดยเรา จะด�าเนินการผ่านการบ�ารุงรักษา ซ่อมสร้างพื้นผิวโลหะโดยการใช้โซลูชั่น ของล็อคไทท์ในรูปแบบที่เหมาะสม ศูนย์บริการ R Training and Application Center จะมีเครื่องมือที่ช่วยซ่อมแซมและฟนฟูพื้นผิวโลหะบน อุปกรณ์และเครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรมขึ้นมาใหม่อย่างครบวงจร รวม ถึงเครื่องมือในการทดสอบการประหยัดพลังงาน และลดการใช้ไฟฟ้าของ อุปกรณ์หลังผ่านการเคลือบผิวด้วยโซลูชั่นจากล็อคไทท์ พร้อมทั้งบริการ ให้ค�าแนะน�าโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญให้กับลูกค้าของเราอีกด้วย และด้วยเทคโนโลยีในการเคลือบพื้นผิวของล็อคไทท์ ลูกค้าสามารถ ซ่ อ มแซมและสร้ า งเสริ ม พื้ น ผิ ว โลหะขึ้ น มาใหม่ ด ้ ว ยวั ส ดุ ค อมโพสิ ต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อมั่นของการใช้งานอุปกรณ์เครื่องจักร ทั้งในโรงงานอุตสาหกรรมหนักหรืออุตสาหกรรมทั่วไป ช่วยลดต้นทุนใน การเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ ลดการใช้พลังงาน และลดเวลาในการปิดไลน์การ ท�างาน เพื่อซ่อมบ�ารุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ได้อีกด้วย ศูนย์แห่งนี้จะใช้ เพื่อแสดงให้ลูกค้าได้เห็นถึงวิธีการช่วยยืดอายุการท�างานของเครื่องจักร อุปกรณ์โดยเฉลี่ยก่อนการเสียหายแต่ละครั้ง ( ean Ti e et een Failure หรือ T F) ลดระยะเวลาโดยเฉลี่ยของอุปกรณ์ ตั้งแต่เกิดความ เสียหายจนกลับมาใช้งานได้ในแต่ละครั้ง ( ean Ti e To Repair หรือ TTR) และการเพิม่ ประสิทธิผลโดยรวมของเครือ่ งจักรอุปกรณ์ ( verall E uip ent Effectiveness หรือ EE) ผ่านแอพลิเคชั่นหลากหลาย รูปแบบ ในขณะที่มีการซ่อมบ�ารุงรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในโรงงาน นอกจากนั้น ศูนย์แห่งนี้ยัง จะใช้เพื่อฝึกอบรมแก่พันธมิตรที่ให้บริการด้าน งานวิศวกรรมอื่นๆ ทั่วทั้งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ศูนย์ R Training and Application Center บริษัท พรีเมี่ยม อิควิปเม้นท์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด ตั้งอยู่ที่ 10 9 หมู่ 1 ต.ตะพง อ.เมืองระยอง หรือสอบถามได้ที่โทร. 0 2919 8900 หากผู้อ่านสนใจ สามารถเข้าไปเยี่ยมชมศูนย์แห่งนี้ได้เลยค่ะ VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
49
PRODUCT REVIEW INDUSTRIAL TEXT : Rainbow Ice
Giada Technology F-Series ม ี ี ร้ ั ลม สา รั งา
สา กรรม ร ยั ลังงา
มินิพี ี
12 ร้พัดลมพร้อมขมพลัง 26 าง เ า ร้เสียงร ก น กัน น ละ ระ ยัดพลังงาน ด้วยขนาดที่หนากว่าหนังสือปกอ่อนเพียงเล็กน้อย Giada Tec nology F102D นั้นจะเป็นงานออกแบบที่กลมกลืนไปกับสมรรถนะและฟังก์ชั่น อันลงตัว และด้วยขนาดที่เล็กกระทัดรัด จึงท�าให้ประหยัดพลังงาน เรียกได้ ว่าเป็นโซลูชั่นที่เยี่ยมยอดที่สุดส�าหรับผู้ใช้ ตัวเคสท�าจากวัสดุโลหะที่แข็งแรง พอที่จะสามารถไปใช้งานในสภาพแวดล้อมอันโหดร้ายอย่างภายในโรงงาน อุตสาหกรรมได้ ตลอดจนในออฟฟิศทีต่ อ้ งการความเงียบ เพือ่ ให้แน่ใจถึงความ สามารถในเชิงสร้างสรรค์ผลงาน และสมาธิของผู้ป ิบัติงาน ก็สามารถน�าเอา มินิพีซีเครื่องนี้ไปใช้งานได้เช่นกัน นอกจากนี้มันยังสามารถใช้งานเป็นเครื่อง เซิฟเวอร์ขนาดเล็ก หรือเกตเวย์ ด้วยพอร์ตแลนที่มีมาให้ถึง 2 พอร์ตด้วยกัน ตลอดจนรองรับการติดตั้งเมาท์แบบ ESA ที่มีให้เลือกเป็นออฟชั่นส�าหรับ การติดตั้งด้านหลังหน้าจอได้อีกด้วย สามารถท�างานได้อย่างราบลื่นถึงแม้ว่าอุณหภูมิแวดล้อมจะสูงถึงกว่า องศาเซลเซียส หรือต�่าจนถึงระดับ 1 องศาเซลเซียส ด้วยขนาดที่เล็ก กระทัดรัดเพียง 190x1 9x2 (D W ) ท�าให้สามารถติดตั้งใช้งานได้ ในสถานที่ที่มีพื้นที่จ�ากัด และอัตราการใช้พลังงานที่ต�่าเพียงไม่เกิน 1 วัตต์ ท�าให้ไม่ต้องใช้พัดลมในการระบายความร้อนให้เกิดเสียงรบกวน ประกอบกับ ตัวเครือ่ งทีม่ อี ตั ราการปล่อยความร้อนต�า่ F102D นัน้ เป็นเครือ่ งพีซที ตี่ อบสนอง ความต้องการของเหล่าโรงงานอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี F102D ini C จาก Giada Tec nology นั้นมาพร้อม กับดีไซน์ไร้พัดลม ที่มีดีไซน์ที่มีขนาดเล็ก แต่แฝงไปด้วยความ อลังการในด้านเทคโนโลยีของโลก C ภายใน ด้วยหัวใจซีพียู Intel Ato 2 00 ที่ความเร็ว 1. G แบบดูอัลคอร์ บน พื้นฐานโครงสร้างของ Intel Cedar Trail F102D มาพร้อมกับพอร์ตเชื่อมต่อมากมายได้แก่ Giga it Et ernet ถึง 2 พอร์ต, in 1 Cardreader, luetoot , WLA 802.11n, พอร์ต S อีกห้าพอร์ต และ C ports อีกถึงสองพอร์ต พร้อมกับเมมโมรีแบบ DDR S DI ขนาด 2G ที่สามารถอัพเกรดเพิ่มได้เป็น G พร้อมทั้ง าร์ดไดร์ฟ ภายในขนาด 20G ที่สามารถเลือกเปลี่ยนขนาดได้สูงสุดถึง 1T หรือจะเป็นตัวเลือกแบบ SSD ก็ได้เช่นกัน นอกจากนี้ ini C ยังมาพร้อมกับพอร์ต D I และ GA ส�าหรับการเชื่อมต่อ หน้าจอที่สามารถใช้งานได้ พร้อม ๆ กันทั้งสองพอร์ต ส่วนการ ท�างานกับหน้าจอ D ก็ยังสามารถท�างานได้ทีละหลาย ๆ หน้า จอได้อีกเช่นกัน 50
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
PRODUCT SHOWCASE INDUSTRIAL TEXT : Rainbow Ice
INFRARED HEATER อุปกร ประ ยัดพลังงาน
Infrared eater หรือ IR eater ถูกพั นาขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทน and eater ทีใ่ ช้กบั lastic Extruder ต่าง ๆ เช่น เครือ่ งฉีดพลาสติก ( lastic In ection) เครื่องเป่า ( lo old) และเครื่องหลอมเม็ดพลาสติก ฯ มีประสิทธิภาพ สูงถึง 99.8 เมื่อเที่ยบกับ and eater เดิมซึ่งมีประสิทธิภาพประมาณ 0 0 แล้ว จะสามารถท�าให้มีโอกาสประหยัดพลังงานได้สูงถึง 0 มีการ ควบคุมอุณหภูมิความแม่นย�าสูง สามารถท�าความร้อนได้อย่างรวดเร็วและมี ประสิทธิภาพการถ่ายเทความร้อนสูง ติดตั้งง่ายเพราะสามารถเปลี่ยนเข้าไปแทน and eater ได้เลย และอุณหภูมพิ นื้ ผิวต�า่ ประมาณ 0 0 องศาเซลเซียส ท�าให้ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการท�างานของผู้ดูแลเครื่อง
WINDSOR SHADING SYSTEM WINDSOR คิดค้นผลิตภัณ ส์ า� หรับงานระแนงไม้ และแผงบังตาส�าหรับตกแต่งผนังเพื่อความสวยงาม พร้อมทั้งระบบการติดตั้งเฉพาะตัวที่สะดวก รวดเร็ว โดยตัววัสดุโพลิเมอร์คุณภาพสูงเข้ากับไม้จริงตาม ธรรมชาติ มีความแข็งแรง ทนทานต่อสภาพภูมอิ ากาศ ประเทศไทย ปราศจากปัญหา กรอบ แตก ผุ บวม ยืดหด บิดงอ แมลงกัดเจาะ ไม่บวมพองเมื่อโดนฝน สีไม่ลอกง่ายแม้แสงแดดแรง เหมาะกับงานภายนอก โดยเฉพาะ ช่วยสร้างความเป็นส่วนตัวและบรรยากาศ ทีร่ ม่ รืน่ ให้กบั บ้าน ดูแลรักษาง่าย เพียงท�าความสะอาด ด้วยน�้าสบู่จะท�าให้ดูใหม่อยู่เสมอ ดีไซน์ได้มากกว่า 100 รูปแบบ มีสีให้เลือกใช้งานได้ 2 สี ได้แก่ สีขาว และสีโอค ให้อารมณ์เสมือนไม้จริงตามธรรมชาติ VOLUME 7 ISSUE 82
ชุดอุปกร ประ ยัดพลังงาน ประ ยัดส�า รับอุ สา กรรม สามารถท�างานโดยการติดตั้งเพื่อเพิ่มการท�างานให้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าของคุณ สามารถเพิ่มประสิทธิภาพแรงดันไฟฟ้าในปัจจุบันและความต้องการ ดังนั้นจึง เป็นการลดพลังงานทีใ่ ช้งาน กิโลวัตต์ แรงดันไฟฟ้าจากการจัดเก็บพลังงานส�าหรับ การสูงสุดป้องกันไฟกระชาก ทัง้ ยังจะช่วยให้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าและมีประสิทธิผลมาก ขึ้น จึงท�าให้การใช้งานออกมาได้อย่างประสิทธิภาพประหยัดพลังงาน ช่วยลด ค่าไฟฟ้าได้ถึง 0 ช่วยลดไฟฟ้าความร้อนสูงเกินไป E N E R G Y S AV I N G
51
IMEC ระบบ บ ุมมอเ อร อัจ ริยะ
ENISCOPE ระบบจัดการพลังงาน แบบเรียล ทม
ระบบเรียลไทม์ของ Eniscope สามารถแสดงผลที่บิลค่าไฟฟ้า ไม่สามารถท�าได้ โดยจะแสดงให้เห็นถึงปริมาณไฟฟ้าที่ก�าลังถูกใช้ ไปแบบวินาทีต่อวินาที กราฟจะเปลี่ยนแปลงทันทีที่มีการเปิดหรือ ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยจะแปลงผลออกมาเป็นค่ากิโลวัตต์ (kW) ต้นทุนไฟฟ้า (Cost) หรือจ�านวนคาร์บอนที่ปล่อยออกมา (Caron) สามารถที่จะติดตามดูแลปริมาณการใช้ไฟฟ้าของอุปกรณ์ หรือเครื่องจักรแต่ละชนิด แยกรอยรั่วไหลของพลังงาน และทราบ ถึงเครื่องใช้ไฟฟ้าที่กินไฟเกินขนาด นอกจากนี้ Eniscope ยังช่วย ตรวจสอบได้ถึงประสิทธิภาพของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยประหยัด พลังงาน โดยทั้งหมดนี้ ท�างานในรูปแบบเรียลไทม์ เหมาะส�าหรับ อาคาร โรงงานอุตสาหกรรม
เ รื่องอัดลมในรุ่น
ระบบควบคุมมอเตอร์อจั ฉริยะของ Eniscopes (Intelligent otor Controllers,i EC) สามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าของมอเตอร์ ใช้เพื่อปรับปรุงคุณภาพการท�างานและเพิ่มความเสถียรของอุปกรณ์ ลดความร้อน เสียง และการสั่นสะเทือนที่ไม่พึงประสงค์ รองรับทั้ง ระบบไฟฟ้าแบบเฟสเดียว และสามเฟส ส�าหรับรายละเอียดของสินค้า ติดต่อตัวแทนจ�าหน่ายของบริษัทอีโค สโคปส์ จ�ากัด ประหยัดค่าใช้ จ่ายด้านพลังงานได้ถึง 0 ลดค่าไฟฟ้าในช่วงการใช้พลังงานไฟฟ้า สูงสุด ( eak De and) ปรับปรุงคุณภาพของพาวเวอร์แฟคเตอร์ ลดความร้อน เสียง และการสัน่ สะเทือนทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ ลดค่าใช้จา่ ย ในการบ�ารุงรักษายืดอายุการท�างานของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประ ยัดพลังงาน เป็นอัดลมoil freeแบบ scroll ทีเ่ ชือ่ ถือได้และมีขนาดเล็ก สามารถ ตอบโจทย์ ความต้องการของอุตสาหกรรมต่าง ๆ ด้วยประสิทธิภาพ ที่ไม่สิ้นเปลืองพลังงาน และมีคุณภาพที่มั่นคง เครื่องอัดลมแบบ scrolls ไม่จา� เป็นต้องใช้นา�้ มันเพือ่ การหล่อลืน่ เพราะไม่มกี ารกระทบ กันของชิ้นส่วนภายในเครื่องอัดลม นอกจากนี้เครื่องอัดลมนี้เป็น รุ่นสายพาน ไม่ใช่ gear ox จึงมั่นใจได้ว่าจะไม่มีน�้ามันหลุดออกไป นอกระบบ ด้วยการหมุนรอบที่ต�่าท�าให้มีเสียงรบกวนเพียงเล็กน้อย เหมาะส�าหรับทุกสภาพแวดล้อม นอกจากนี้ เครื่องอัดลมรุ่น SF ยังประหยัดพลังงานระบบควบคุมการเปิดปิดจากแรงกระชากไฟ จากการ unload ได้มากถึง 2
ขอบคุณข้อมูลและรูปภาพจาก : www.intechga.co.th/ , www.thai.alibaba.com, www.ecoscopes.com , www.cetia.co.th/ 52
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
INTERVIEW TEXT : กรีนภัทร์
อ สนพ เดิน น้าแ น อนุรัก พลังงาน เรง ลัก ั โครงการ ลังงา
หลั ง จากที่ ท ารั สู ต ะ ตร ู ้ อ าน ยการ น ม่ของ สานักงานน ย าย ละ นพลังงาน สนพ รับต�าแหน่งได้ไม่นาน คุณทวารัฐ สูตะบุตร ก็ได้มกี ารเตรียมความพร้อมในการท�างานเพือ่ สาน ต่อนโยบายของทางภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบ พร้อมทั้ง เตรียมลุยเดินหน้าสานต่อแผนงานการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งยังเร่ง ผลักดันโครงการพลังงานทดแทนอีกหลาย ๆ โครงการอีกด้วย
ท ารั สูตะ ตร ผู้อ�านวยการคนใหม่ ของส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน
54
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ที่มาภาพ: http://www.manager.co.th/asp-bin/ mage.aspx
2214793
คุณทว รั สต ุตร อ นว รส นั นน ล นพลั น สนพ เผยว่า หลังเข้ามารับต�าแหน่งมีเรื่องที่ต้องสานต่อ และมีเรื่องที่จะพั นามากมาย อย่าง นโยบายหลักในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ไฟฟ้า น�้ามัน อนุรักษ์พลังงาน เรื่องเหล่านี้ ต้องลงไปดูแลในแต่ละส่วน อย่างเรื่องไฟฟ้าในกรณีหยุดซ่อมบ�ารุงประจ�าปีของแหล่ง กาซธรรมชาติพื้นที่พั นาร่วมไทย มาเลเซีย ( DA A18) เมื่อวันที่ 21 2 กรก าคม ที่ผ่านมา จากการติดตามการใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้อย่างใกล้ชิดในช่วงที่มีการปิดซ่อม แหล่งกาซฯ แต่อย่างไรก็ตาม ภาคใต้ยังต้องมีการเผชิญกับวิกฤติแบบนี้อยู่เป็นประจ�าทุก ปี เพราะเป็นภาคที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้า ค่อนข้างมากมีผลมาจากการเจริญเติบโต ทางธุรกิจท่องเที่ยว ในจังหวัดใหญ่ ๆ เช่น ภูเก็ต สมุย และหาดใหญ่ โดยคาดว่าจะมี ความต้องการใช้ไฟฟ้าขยายตัวถึงปีร้อยละ และคาดว่าในปี 2 2 ความต้องการใช้ ไฟฟ้าสูงสุดจะอยู่ที่ ,0 2 เมกะวัตต์ กระทรวงพลังงานจึงต้องวางแผนการผลิตไฟฟ้าที่ มีสมดุลและเพียงพอกับความต้องการใช้ รวมทั้งบริหารจัดการความเสี่ยงด้านเชื้อเพลิง เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ ส�าหรับเรื่องของการอนุรักษ์พลังงาน ถือเป็นอีกหนึ่งภารกิจส�าคัญที่ต้องเร่งเดินหน้า คือ การจัดท�าแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2 8 2 9 (Energy Ef ciency lan EE 201 ) โดยทบทวนเป้าหมายแผนอนุรักษ์พลังงานระยะยาวให้สอดคล้องกับแผน D 201 ภายใต้สมมติฐาน GD เฉลี่ย ร้อยละ .9 ต่อปี และอัตราการเติบโตของ ประชากรเฉลี่ยร้อยละ 0.0 ต่อปี ซึ่งคาดว่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายรวมของทั้งประเทศ ในปี พ.ศ.2 9 จะเท่ากับ 18 ,1 2 toe (พันตันเทียบเท่าน�้ามันดิบ) โดยเป็นการใช้ ในภาคขนส่ง ภาคอุตสาหกรรม ภาคอาคารธุรกิจและบ้านอยู่อาศัย 2 และภาคอื่น ๆ การก�าหนดเป้าหมายแผนอนุรักษ์พลังงานยังคงใช้ ความเข้มการใช้พลังงาน (Energy Intensity EI) เป็นดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพเพื่อเป็นสากลตามค�าประกาศของผู้น�ากลุ่ม ประเทศ A EC เมื่อปี พ.ศ.2 0 ที่จะลด EI ลง 2 ภายในปี พ.ศ.2 เทียบกับ ปี พ.ศ.2 8 ซึ่งการทบทวนครั้งนี้ได้ปรับเป้าหมายแผนอนุรักษ์พลังงานเป็น EI ปี พ.ศ. 2 9 เทียบกับปี พ.ศ.2 จาก 2 เป็น 0 หรือลดลงประมาณ ,1 2 ktoe ณ ปีพ.ศ.2 9 แบ่งเป็นไฟฟ้า 20 หรือประมาณ 11,228 ktoe และเป็นด้านความร้อน 80 หรือประมาณ ,91 ktoe ตามสัดส่วนการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายรวมของทั้ง ประเทศ (ข้อมูลปีพ.ศ. 2 ) ทัง้ นี้ เมือ่ พิจารณาผลจากการด�าเนินการอนุรกั ษ์พลังงานใน โรงงานควบคุมและอาคารควบคุม การส่งเสริมเครือ่ งจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพ การยกเว้น ภาษีเงินได้จากกรมสรรพากร เป็นต้น ที่มีผลประหยัดถึง 1 ปีข้างหน้าตามอายุการ ใช้งานของแต่ละอุปกรณ์ คิดเป็นด้านไฟฟ้า 928 ktoe เป็นด้านความร้อน , 1 ktoe รวมเป็น , 2 ktoe จึงส่งผลให้เป้าหมายลดการใช้พลังงาน ณ ปีพ.ศ. 2 9 ประมาณ ,1 2 ktoe นั้น ต้องด�าเนินการเพิ่ม 1, 00 ktoe แบ่งเป็นไฟฟ้า 20 หรือประมาณ 10, 00 ktoe และเป็นด้านความร้อน 80 หรือประมาณ 10, 00 ktoe VOLUME 7 ISSUE 82
และอีกหนึ่งภารกิจส�าคัญที่กระทรวงพลังงาน เร่ ง ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น รู ป ธรรมให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด คือ การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับความ เดือดร้อนจากภัยแล้ง โดยได้ร่วมกับกรมพลังงาน ทหาร ศู น ย์ ก ารอุ ต สาหกรรมป้ อ งกั น ประเทศ และพลังงานทหาร ด�าเนินการจัดท�าระบบสูบน�้า และระบบผลิ ต ไฟฟ้ า ด้ ว ยเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบ เคลื่อนที่ ( o ile) ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับ การสนับสนุนจากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ พลัง งาน (ปีง บประมาณ 2 8) เพื่อผลิตไฟฟ้า และสูบน�้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบเคลื่อนที่ขนาด ไม่น้อยกว่า 1,200 วัตต์ จ�านวน 200 ระบบ เพื่อ น�ามาช่วยเหลือเกษตรกรที่ประสบปัญหาภัยแล้ง โดยเฉพาะเขตภาคกลาง และภาคเหนือตอนล่าง ซึ่งได้มีการน�าลงพื้นที่ไปทดสอบแล้ว ณ จังหวัด อยุธยา และสิงห์บุรี ผลคือสามารถใช้งานได้เป็น อย่ า งดี ส� า หรั บ ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสง อาทิตย์นี้ ได้รับการพั นามาจากระบบผลิตไฟฟ้า แบบอิสระ (Stand Alone) ซึ่งสามารถใช้งานได้ ในพื้นที่ห่างไกล ถิ่นทุรกันดาร หรือสถานที่ที่ไม่มี ไฟฟ้ า จากระบบสายส่ ง เข้ า ถึ ง และออกแบบให้ เคลื่อนที่ได้ โดยติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าไว้บนรถพ่วง แบบลากจูง จึงสามารถใช้งานได้ทุกที่ นอกจากนี้ ระบบผลิ ต ไฟฟ้ า แบบเคลื่ อ นที่ นี้ ไ ด้ อ อกแบบเพื่ อ ให้สามารถสูบน�้าได้ด้วย สามารถสูบน�้าได้ทั้งบ่อน�้า ผิวดิน และบ่อน�้าบาดาล จึงเหมาะกับการใช้เพื่อ ช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ห่างไกลเป็นอย่างมาก ทั้ ง นี้ เ ป็ น เพี ย งภารกิ จ หน้ า ที่ ส ่ ว นหนึ่ ง ของ ผู้อ�านวยการส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน คนใหม่ เท่ า นั้ น นอกจากนี้ ยั ง มี ภ ารกิ จ อื่ น ๆ ที่ ร อให้ พิ สู จ น์ ฝ ี มื อ อยู ่ เ ป็ น จ� า นวนมากที่ ต ้ อ งเร่ ง ขั บ เคลื่ อ น เพื่ อ ให้ ป ระเทศมี ค วามมั่ น คงด้ า น พลังงานต่อไป
E N E R G Y S AV I N G
55
GREEN LOGISTICS TEXT : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
อีเ ้นท ลจิส ิกส รับ 1
ปจจุบนั ในธุรกิจและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร ชิน้ ส่วน อุปกรณ์ อาหารและเครือ่ งดืม่ ท่องเทีย่ ว โลจิสติกส์ บริการด้านการแพทย์ ล มัก นิยมน�ารูปแบบการจัดงานอีเว้นท์มาใช้ในการจัดการโลจิสติกส์ เนือ่ งจากต้องการ จับคูท่ างธุรกิจ การหาพันธมิตรในการส่งต่อทัง้ เรือ่ งวัตถุดบิ ผลิตภัณฑ์สา� เร็จรูป การหาตัวแทนจ�าหน่าย-ตัวแทนขาย หรือต้องการจะระบายสต็อกสินค้า
อย่างไรก็ดีศูนย์วิจัยธนาคารกสิกรไทย (2 มีนาคม 2 8 กระแสทรรศน์ ฉบับที่ 2 08) กล่าวว่า โครงสร้างรายได้ของธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์น่าจะมีการเปลี่ยนแปลง ไป จากแต่เดิมเป็นการสร้างรายได้จากธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ภายในประเทศเป็นหลัก ไปสู่การกระจายไปยังการสร้างรายได้จากธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ในต่างประเทศมากขึ้น อีกทัง้ ยังมีการกระจายไปยังการสร้างรายได้จากธุรกิจอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งมากขึน้ นอกจากนี้ จ�านวนผู้ประกอบการธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ประกอบธุรกิจในตลาดเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ สถานการณ์การแข่งขันของธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ในประเทศไทยมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น รวมถึ ง ส่ ง ผลให้ โ ครงสร้ า งส่ ว นแบ่ ง การตลาดของธุ ร กิ จ รั บ จั ด งานอี เ ว้ น ท์ มี ก าร เปลี่ยนแปลงไป ที่แต่เดิมกระจุกอยู่กับผู้ประกอบการธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์เจ้าตลาด ไปสู่การกระจายไปยังผู้เล่นใหม่ ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการธุรกิจรายใหญ่ใน ธุรกิจอื่น ๆ ที่เข้ามาชิงส่วนแบ่งการตลาดมากขึ้น 56
E N E R G Y S AV I N G
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ยังประมาณการอีกว่า ธุรกิจ รับจัดงานอีเว้นท์ในประเทศไทยจะเติบโตขึ้นจาก มูลค่าประมาณ 1 ,000 ล้านบาท ในปี 2 ไปสู่ มูลค่า 1 , 00 1 ,800 ล้านบาท ในปี 2 8 หรือ เติบโต ร้อยละ .8 .2 โดยธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ น่าจะได้รับปัจจัยหนุนจากผู้จัดงานภายในประเทศ เป็นหลัก ทั้งการจัดงานอีเว้นท์ในรูปแบบการจับคู่ ทางธุรกิจในอุตสาหกรรมต่าง ๆ งานแสดงสินค้าเพื่อ เป็นตัวเลือกส�าหรับผู้บริโภคและมีการจัดโปรโมชั่น ต่าง ๆ ควบคู่กันไป รวมถึงยังได้อานิสงส์การจัดงาน อีเว้นท์จากภาครัฐ ส�าหรับในระยะข้างหน้านั้น ขีดความสามารถ ของผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ รั บ จั ด งานอี เ ว้ น ท์ ข อง ประเทศไทย ซึ่งมีศักยภาพเพียงพอในการรับจัดงาน อีเว้นท์ในระดับนานาชาติ รวมถึงขีดความสามารถ ของผู้ประกอบการธุรกิจสนับสนุนที่เกี่ยวเนื่อง จะ ดึ ง ดู ด ให้ ผู ้ จั ด งานอี เว้ น ท์ ใ นระดั บ นานาชาติ เ ลื อ ก จัดงานที่ประเทศไทย และสร้างขีดความสามารถใน SEPTEMBER 2015
การแข่งขันกับประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย ซึ่งเป็น คู่แข่งที่ส�าคัญได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในช่วงปลาย ปี 2 8 จะผลักดันให้เศรษฐกิจของ ประเทศสมาชิกอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม หรือกลุ่ม CL มีการขยายตัวยิ่งขึ้น ส่งผลให้มีความต้องการจัดงาน อีเว้นท์ขนาดใหญ่ ประกอบกับภาครัฐและเอกชน ของประเทศกลุ่ม CL นิยมใช้บริการผู้ประกอบ การธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ของประเทศไทยในการ จั ด งานอี เว้ น ท์ ข นาดใหญ่ อ ยู ่ แ ล้ ว จึ ง เป็ น โอกาส ส�าหรับผู้ประกอบการธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ของ ประเทศไทยในการเข้าไปให้บริการจัดงานอีเว้นท์ใน ประเทศกลุ่ม CL มากยิ่งขึ้น รวมถึงยังมีโอกาส สร้ า งพั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ กั บ ผู ้ ป ระกอบการของ ประเทศกลุ่ม CL มากยิ่งขึ้นอีกด้วย อีกทั้งการผลักดันให้ประเทศไทยเป็น ับของการ จัดงานอีเว้นท์ขนาดใหญ่ของอาเซียน รวมถึงการ VOLUME 7 ISSUE 82
ขยายตลาดการประชุมและงานแสดงสินค้าจากเมืองแห่งไมซ์ ได้แก่ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ ขอนแก่น พัทยา และภูเก็ต ไปสู่พื้นที่ชายแดนและเขตเศรษฐกิจพิเศษก็สามารถสะท้อน ถึงโอกาสของผู้ประกอบการธุรกิจรับจัดงานอีเว้นท์ด้วยเช่นกัน เช่น การสร้างสถานที่ จัดงานอีเว้นท์ใหม่ๆ ทั้งในพื้นที่ใจกลางเมืองและชานเมือง เพื่อรองรับการจัดงานอีเว้นท์ ในรูปแบบต่าง ๆ ผู้ประกอบการธุรกิจศูนย์ประชุมและศูนย์แสดงสินค้ารายใหญ่ที่ได้ ยกระดับการคมนาคมโดยรอบ และมีการขยายพื้นที่เพื่อรองรับการจัดงานอีเว้นท์ใน รูปแบบต่าง ๆ รวมถึงธุรกิจอื่น ๆ เช่น การคมนาคมขนส่ง การสื่อสารและโทรคมนาคม โรงแรมและที่พัก ร้านอาหาร ร้านค้าปลีก เป็นต้น ก็ยังมีการขยายตัวรอบ ๆ ศูนย์ประชุม และศูนย์แสดงสินค้า เพื่อรองรับการเติบโตของการจัดงานอีเว้นท์ด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็น ประเด็นต่อไปที่กล่าวถึงในฉบับหน้าครับ
ขอ
าพ ระกอ ากเ
ต
https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/7/76/ acworld-Expo-2006-01. pg https://veggiegrettie.files.wordpress.com/2011/03/exhibits. pg http://www.6revs.com/wp-content/blogs.dir/7/files/2014/01/imago-events. pg http://www.c17media.com/wp-content/uploads/2012/10/ _1645_edit. pg http://www.bitec.co.th/d/bitec/media/Event_ allery/ ay_15/P ER_ _EXP _2015/__thumbs_1260_785_crop/P ER_ EXP _22 ay2015_E -103-4-67. pg 1432500411
E N E R G Y S AV I N G
_
57
RENERGY TEXT : อ.พิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
กาซ ีว าพพลังงาน ิ่งให ่ที่ ร้สา ส่ง ฟฟา เ าทิง ันละ
ลบ เม ร รือ ลิ
า ด้
เมกะ ั
iogas หรือ กาซชีวภาพ คือ พลังงานทดแทนเดียวทีส่ ามารถทดแทนพลังงานได้แทบทุกชนิด ตัง้ แต่ ไ า P ธุรกิจ/ครัวเรือน ในภาคขนส่ง กาซชีวภาพสามารถผลิตจากหลากหลายวัตถุดบิ ทัง้ ขยะ ชีวมวล น�า้ เสีย และพืชพลังงาน ทีส่ า� คัญกาซชีวภาพส่วนใหญ่ ผลิตขึน้ จากภูมปิ ญญาคนไทย ผ่านการพัฒนามาจนมีการส่งออกไปยังประเทศพัฒนาแล้ว แต่ไม่มใี ครคาดคิดว่าประเทศไทยวันนี้ กาซ ชีวภาพอันยิง่ ใหญ่ของคนไทยจะประสบปญหาด้านสายส่งไ า ก�าลังจะต้องเผาทิง้ กว่าวันละ 600,000 ลูกบาศก์เมตร หรือเทียบเท่าไ า 60 เมกะวัตต์ (ซึง่ เท่ากับปริมาณการใช้ไ าของจังหวัดล�าปางทัง้ จังหวัด) eed- tock ของกาซชีวภาพเป็น ขยะ หรือ ของเสีย ทัง้ จาก ภาคเกษตรกรรมและจากชุมชน เป็น eed- tock ทีเ่ ก็บไว้รอสายส่งไ าอีกต่อไปไม่ได้แล้ว นอกจากนีย้ งั ไม่พร้อมทีจ่ ะเข้าสู่ ompetitive idding ซึง่ อาจส่งผลท�าลายภูมปิ ญญาไทยและคลัสเตอร์ iogas กว่า ปี ที่ สนพ. (ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน) ได้เพียรพยายามส่งเสริมให้โรงงาน อุตสาหกรรมน�าน�า้ เสียมาผลิตกาซชีวภาพ ด้วยงบประมาณ 2,2 0 ล้านบาท เอกชนลงทุนทัง้ สิน้ 19,010 ล้านบาท สามารถทดแทนพลังงานได้ ,18 ล้านบาท ส�าหรับโครงการกว่า 2 0 แห่ง โดยตัง้ เป้าหมายการผลิตกาซชีวภาพไว้ .2 ล้าน ลบ.ม. ต่อปี ถึงวันนีไ้ ด้ผลเกินกว่าเป้าหมาย แต่ ผลพลอยทีไ่ ด้มากกว่าการรักษาสิง่ แวดล้อมก็คอื 1) เกิดเทคโนโลยีในประเทศไทยด้วยภูมปิ ญ ั ญา คนไทย 2) สร้างเศรษฐกิจให้ชมุ ชน ) เกิดกลุม่ คลัสเตอร์กาซชีวภาพทีเ่ ข้มแข็ง ) ประเทศไทย กลายเป็นผูน้ า� การผลิตกาซชีวภาพจากน�า้ เสียในอาเซียนและภูมภิ าคนี้ 58
E N E R G Y S AV I N G
โครงการส่งเสริมการผลิตกาซชีวภาพในโรงงาน อุตสาหกรรมมพุง่ เป้าไปทีแ่ หล่งก�าเนิดน�า้ เสีย 11 แหล่ง นัน่ คือ 1) ฟาร์มสุกรขนาดเล็ก 2) ฟาร์มสุกรขนาดกลาง ใหญ่ ) โรงงานแป้งมันและกากมัน ) โรงงานปาล์ม ทัง้ จากน�า้ เสียและกากตะกอน ) โรงงานผลิตเอทานอล ) โรงน�า้ ยางข้น ) โรงงานผลิตอาหารกระปอง 8) โรง า่ สัตว์ โค สุกร 9) โรงช�าแหละและแปรรูปไก่ 10) ขยะเศษ อาหารในโรงแรม 11) น�า้ เสียและของเสียอืน่ ๆ SEPTEMBER 2015
รอสายส่งไ า 1.3
.
เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับผู้ประกอบการกาซชีวภาพ ให้มที างเลือกไม่ตอ้ งผลิตไฟฟ้าแต่เพียงอย่างเดียว จึงมี ข้อเสนอจากภาคเอกชนให้รฐั มีการส่งเสริมการผลิต C G (Co pressed io et ane Gas) ดังนี้ 1. แปลง FiT การรับซือ้ ไฟฟ้าทุกชนิดทีผ่ ลิตจากกาซ ชีวภาพ ให้เป็นการรับซือ้ C G 2. เสนอให้อุดหนุนค่าขนส่งระหว่างสถานีแม่กับ สถานีลกู ตามระยะทางไป กลับในอัตรา 1 สตางค์ กิโลกรัม C G ต่อกิโลเมตร . I ควรส่งเสริมการลงทุนประเภท C G โดยให้ เก็บภาษีเฉพาะ AT เพียงอย่างเดียว ตามอายุของ FiT นัน่ คือ 2 ปี VOLUME 7 ISSUE 82
. ระบบการจัดการและการจัดจ�าหน่าย ให้ ปตท.เป็นผูด้ า� เนินการ โดยรัฐหักค่าใช้จา่ ยการบริหารจัดการไม่เกิน ของราคา FiT ใช้ระบบคูปองส่วนลด โดยให้กบั ผูใ้ ช้เท่ากับส่วนต่างของราคาขายปลีก G ปรับขึน้ ราคา G ให้สะท้อนราคาต้นทุนทีแ่ ท้จริง เพือ่ ลดภาระการอุดหนุนลง . แก้ไขก ระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการพั นา C G เช่น ทุกแหล่งที่ผลิตต้องทดสอบการ ใช้งานก่อน 100,000 กม. ก่อนจ�าหน่าย การจ�ากัดขนาดการติดตัง้ ถังบรรจุเชือ้ เพลิง G เป็นต้น ทางกระทรวงพลังงานได้ตั้งคณะกรรมการที่มีทั้งภาครัฐและเอกชนช่วยกันท�างาน จนบัดนี้ เกิดความก้าวหน้าไประดับหนึ่งแล้ว อย่างไรก็ตามโครงการผลิต C G (Co pressed io et ane Gas) จากกาซชีวภาพ อาจต้องใช้เวลาอีกระยะหนึง่ แต่ความจ�าเป็นเร่งด่วนของน�า้ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ไม่สามารถรอได้ จึงมีความจ�าเป็นที่ภาครัฐจะต้องจัดหาสายส่งมารองรับโครงการกาซชีวภาพ จากโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถผลิตพลังงานทดแทนจากน�้าเสียมา ใช้ในโรงงาน และน�าส่วนทีเ่ หลือจ�าหน่ายให้กบั การไฟฟ้าฯ ช่วยลดต้นทุนการผลิต และสามารถ ซื้อผลผลิตของชาวไร่ในราคาที่สูงขึ้น เกือบ 10 ปีแล้วเห็นจะได้ ที่พลังงานทดแทนแจ้งเกิดในประเทศไทย ตลอดระยะเวลาอัน ยาวนาน ได้มกี ารสลับสับเปลีย่ นผูบ้ ริหารด้านพลังงานทดแทนระดับนโยบายหมุนเวียนกัน และ แต่ละรัฐบาลก็พยายามสร้างผลงานด้านพลังงานทดแทนให้เป็นเกียรติประวัตแิ ก่ตนเอง โดยการ ปรับเปลี่ยนนโยบายกันแบบปีต่อปี สร้างความร�่ารวยและยากจนให้ผู้อยู่ในธุรกิจนี้มากมาย จึง ขอวิงวอนว่า ท่านเป็นรัฐบาลควรจะหยุดพักนโยบายแล้วถามผูป้ ระกอบการว่า พลังงานทดแทน ควรจะเดินหน้าอย่างไรบ้าง จะดีไหม พวกเราวิ่งตาม A จนเหนื่อยมากแล้ว
E N E R G Y S AV I N G
59
PRODUCT REVIEW LOGISTICS TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
“ลม่าร์ พร์ม”
ลมสมรร นะสง ลด ามร้อนจากแสงแดด นอมสาย า ช่ ยประ ยัดพลังงาน
ที่ 12 ลดแสงจ้า และยังช่วยลดความร้อน จากแสงแดดสูงสุดถึง 8 ช่วยปกป้องสุขภาพตา ให้รู้สึกสบายทุกขณะขับขี่ โดยมีให้เลือกถึง 12 รุ่น ย่อยใน ซีรีส์ที่จ�าหน่ายในประเทศไทย ซึ่งสามารถ รองรับความต้องการของกลุม่ ลูกค้าเป้าหมายได้อย่าง ครบวงจร อย่างไรก็ตาม เทคโนเซลยังคงตั้งเป้าหมายที่จะ เติบโตเหนือตลาดให้ได้ 1 ในปีน้ี หรือคิดเป็น เป้าหมายการจ�าหน่าย 0 ล้านบาท แบ่งออกเป็น ธุรกิจฟิล์มกรองแสง 20 ล้านบาท และธุรกิจอื่น ๆ 0 ล้านบาท ซึ่งทั้งลามิน่าและลูม่าร์มั่นใจว่าจะ สามารถรักษาเป้าหมายส่วนแบ่งตลาด ในเชิง ปริมาณฟิล์มที่ติดตั้งเอาไว้ได้อย่างต่อเนื่องในปีนี้ แม้ภาพรวมตลาดจะยังหดตัวก็ตาม
“ลูม่าร์ ไพร์ม” ล์มสมรรถนะสูง มาพร้อมคุณสมบัติในการปองกันรังสี อัลตราไวโอเลตทั้ง , , ลดแสงจ้า และยังช่วยลดความร้อน จากแสงแดดช่วยปกปองสุขภาพตาให้รู้สึกสบายทุกขณะขับขี่ ช่วยให้ระบบ ปรับอากาศในรถยนต์ท�างานได้ดี และประหยัดพลังงานมากขึ้น พร้อมเปดตัว 12 รุน่ ย่อยใน 4 ซีรสี ท์ จี่ า� หน่ายในประเทศไทย ซึง่ สามารถรองรับความต้องการ ของกลุ่มลูกค้าเปาหมายได้อย่างครบวงจร วางราคาจ�าหน่ายพร้อมติดตั้งใน ราคา 21,000 36,000 บาท คุณ นั ทร์น ส ส ร รร ร ั ร ริ ทั เทค นเ ล เ ร ์ ั ผูน้ า� เข้า และจัดจ�าหน่ายฟิลม์ กรองแสงรถยนต์และอาคาร “ลามินา่ ” และฟิลม์ กลุม่ พิเศษ “ลูมา่ ร์” จากประเทศสหรัฐอเมริกา มาตรฐาน IS 9001 ที่มีเลขหมายก�ากับชัดเจนรายเดียวใน ประเทศไทย เปิดเผยว่า บริษัทฯ เตรียมเปิดตัวสินค้าใหม่เพื่อรองรับความต้องการของ ลูกค้ากลุ่มซูเปอร์คาร์และยานยนต์หรูลักชัวรี่ที่ต้องการความโดดเด่นของฟิล์มกรองแสง เป็นพิเศษ ลูม่าร์ ไพร์ม คือ ฟิล์มกรองแสงรุ่นใหม่ล่าสุดของโรงงานซีพีฟิล์ม อิงค์ โรงงานผลิต ฟิล์มกรองแสงที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีประวัติการผลิตยาวนานมากว่า 0 ปี และเป็นโรงงาน ผลิตฟิลม์ กรองแสงคุณภาพสูงของลามินา่ ทีจ่ า� หน่ายในประเทศไทยทัง้ หมด ซึง่ ฟิลม์ กรอง แสงรุ่นใหม่นี้ ได้รับการผลิตขึ้นมาด้วยเทคโนโลยีการผลิตระดับสูง ท�าให้ต้องใช้ช่าง ผู้ช�านาญเป็นพิเศษในการติดตั้งเท่านั้น ฟิล์มกรองแสงลูม่าร์ ไพร์ม รุ่นใหม่เน้นการเจาะกลุ่มลูกค้าซูเปอร์คาร์ รวมไปถึงกลุ่ม รถยนต์หรูหรา ซึง่ ถือเป็นฟิลม์ กลุม่ พิเศษในการท�าตลาดภายใต้ตราสินค้าลูมา่ ร์ ซึง่ จะเน้น การจ�าหน่ายในฟิลม์ กลุม่ พิเศษของเทคโนเซลมาโดยตลอด เช่น ฟิลม์ นิรภัย ฟิลม์ ปกป้องสี รถยนต์ เป็นต้น ทัง้ นี้ ลูมา่ ร์ ไพร์ม เป็นฟิลม์ กรองแสงคุณภาพสูงสุด ทีม่ าพร้อมคุณสมบัตใิ น การป้องกันรังสีอลั ตราไวโอเลตทัง้ A, , C ได้สงู สุด 99.9 มีคา่ การสะท้อนแสง 60
E N E R G Y S AV I N G
อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีต่ อ้ งการมุง่ เน้นคือการเดินหน้า ตอบสนองความต้องการของลูกค้าในทุกรูปแบบ ไม่ ว่าจะเรื่องการหาสินค้าใหม่ ๆ มาน�าเสนอ การให้ บริการทั้งก่อนการขาย ระหว่างการขาย และหลัง การขายอย่างเต็มรูปแบบ ซึ่งตลาดฟิล์มกรองแสง รถยนต์นั้นน่าจะกลับมาเติบโตได้อีกครั้งแน่นอน ตามการเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคต อันใกล้ ขอบคุณภาพประกอบจาก : http://www.grandprix.co.th SEPTEMBER 2015
PRODUCT SHOWCASE LOGISTICS TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
ตลับลกปนเม็ดเรี ว รุ่นประ ยัดพลังงาน ตลับลูกปนเม็ดเรียว (TR ) รุ่นประหยัดพลังงาน (S F Energy Ef cient หรือ E2) ผลิตภัณ ์จาก S F ที่ได้รับ การออกแบบมาโดยเฉพาะส�าหรับใช้งานกับเฟองท้ายของ รถบรรทุก ซึ่งสามารถช่วยลดความเสียดทาน จึงช่วยลด การใช้น�้ามันเชื้อเพลิงและการปล่อยกาซของรถบรรทุกหนัก ผลิตภัณ ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดผลิตภัณ ์ eyond ero ของ S F การใช้ตลับลูกปนรุ่นนี้ในเฟองท้ายของรถบรรทุก สามารถช่วยประหยัดพลังงานโดยทั่วไปได้ประมาณ 0.1 ลิตรต่อ 100 กิโลเมตร ส�าหรับรถที่ใช้วิ่งในเส้นทางขนส่ง ระยะทางไกล ประหยัดรวมได้ต่อปีประมาณ 1 0 ลิตรต่อปี จึ ง ช่ ว ยให้ ไ ด้ รั บ ผลตอบแทนจากการลงทุ น ที่ ร วดเร็ ว ขึ้ น รวมถึงลดต้นทุนรวมของการเป็นเจ้าของสินทรัพย์โดยรวม รายละเอียดเพิ่มเติม ttp .skf.co
นามันเครื่องสังเครา ห์ AMSOIL รุ่น ส รประ ยัดเชือเพลิง น�้ามันเครื่องสังเคราะห์ A S IL รุ่น Signature สามารถใช้ได้กับเครื่องยนต์ เบนซินทุกชนิด โดยการใช้เทคโนโลยี ขั้นสูงทางด้านการสังเคราะห์ พร้อม สารเติ ม แต่ ง ที่ ย อดเยี่ ย มเป็ น พิ เ ศษ ท�าให้เครื่องยนต์มีสภาพดีเยี่ยม และ ทนต่อความร้อนสูงกว่ามาตรฐานทั่วไป ทนแรงเค้นส�าหรับเครือ่ งยนต์ทมี่ กี า� ลังม้า สู ง มาก นอกจากนั้ น น�้ า มั น เครื่ อ ง สังเคราะห์ A S IL รุ่น Signature ให้ผลทดสอบด้านประสิทธิภาพดีกว่า และปกป้องเครื่องยนต์ได้ดีกว่า อีกทั้ง มี คุ ณ ประโยชน์ ที่ ส ามารถขยายเวลา การเปลี่ยนถ่าย ได้มากกว่าน�้ามันเครื่อง ทั่วไป เป็นสูตรการสังเคราะห์เฉพาะ เพื่อต้านทานการเกิดออกซิเดชั่น และ การลดความเป็ น กรดที่ เ กิ ด จากการ เผาไหม้ได้ระยะที่นานขึ้น และประหยัด เชื้ อ เพลิ ง สู ง สุ ด รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม .a soil.co
SKYACTIV-CHASSIS ช่ งล่างและระบบ บัง ับเลีย น�า นักเบา S ACTI C ASSIS ช่วงล่างและระบบบังคับเลี้ยว เป็นช่วงล่างเจเนอเรชั่นใหม่ ทีม่ าสด้าพั นาให้นา�้ หนักของแชสซีลดลง ได้ความคล่องตัวเพิม่ ขึน้ เกาะถนนและควบคุม รถดียิ่งขึ้น ขณะเดียวกันยิ่งได้ความนุ่มนวลในห้องโดยสารมากขึ้น โดยปรับทิศทางการ เคลื่อนที่ของ Trailing Link ที่ระบบรองรับการสะเทือนหลัง ให้ดูดซับแรงสะเทือนได้ดี และไม่กระจายเข้าห้องโดยสาร ระบบบังคับเลี้ยวสกายแอคทีฟใช้พวงมาลัยเพาเวอร์ ผ่ อ นแรงแบบไฟฟ้ า เพื่ อ การบั ง คั บ เลี้ ย วที่ แ ม่ น ย� า ว่ อ งไวกว่ า ระบบไ โดรลิ ค ทั่ ว ไป ช่วงล่างสกายแอคทีฟจึงเป็นหนึ่งในระบบช่วงล่างที่สมบูรณ์แบบและปลอดภัยที่สุดใน ปัจจุบัน “สกายแอคทีฟ แชสซี (S ACTI C ASSIS)” ยังคงไว้ซึ่งความแข็งแกร่งที่ เหนือกว่าจากการใช้เหล็กกล้าคุณภาพสูงแต่น�้าหนักเบา โดยลดน�้าหนักส่วนเกินของ โครงสร้างช่วงล่างลง 1 ช่วยให้ประหยัดพลังงานมากขึ้น รายละเอียดเพิ่มเติม . a da.co.t 62
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ENVIRONMENT ALERT TEXT : อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช�านาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ลก ที่ ม่สะอาด
จากปญหาการเปลี่ยนแปลงของโลกในปจจุบัน เป็นผลจากการปล่อยของเสียสู่สิ่งแวดล้อมมากมาย จนเกินกว่าที่จะเยียวยาโลกใบนี้ ที่พูดเช่นนี้เพราะพบว่า ทุกวันนี้เราใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ุมเ อยเพื่อประโยชน์ของมนุษยชาติ ที่ใช้ทรัพยากรตั้งแต่ แร่ธาตุ พลังงาน ตลอดจนทรัพยากรที่เคยมีมากมายอย่างปาไม้ ซึ่งก�าลังจะหมดไป หากพิจารณาถึงโครงสร้างของโลกใบนี้ ประกอบด้วย แร่ธาตุจ�านวนมากมายมหาศาล และอยู่อย่างสมดุลมานับหลายล้านปี เมื่อมีมนุษย์ที่ขุดพบคุณค่าน�ามาใช้ประโยชน์ในการผลิต การเปลี่ยนเป็นพลังงาน การแปรรูปต่าง ๆ ก่อให้เกิดมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิต และผลกระทบจากการใช้ประโยชน์ที่มีผลต่อ มนุษย์ซงึ่ เกิดขึน้ โดยเฉียบพลัน และทีส่ ะสมจนก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เช่น กรณีเหมืองแร่ทขี่ ดุ หาแร่ธาตุทมี่ รี าคา เหลือแต่กากแร่ ขยะอันตรายจากการถลุงแร่ จากกระบวนการผลิต ซึง่ ได้ผลิตภัณฑ์พร้อมทัง้ กากของเสียอุตสาหกรรมทีท่ า� ให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ อย่างรุนแรง เช่น กากอุตสาหกรรมที่ทิ้งตามแหล่งน�้า บ่อดินของชุมชนต่าง ๆ ที่เป็นปญหาในปจจุบัน
VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
63
นอกจากนี้อากาศเสียจากอุตสาหกรรมที่ปล่อย ออกสู่สิ่งแวดล้อม มีผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่าง รุ น แรง ในภาคส่ ว นการใช้ พ ลั ง งาน ซึ่ ง การเลื อ ก ใช้ เชื้ อ เพลิ ง ถ่ า นหิ น เป็ น การท� า ลายระบบนิ เวศ สุขภาพความเป็นอยู่ของมนุษย์อย่างรุนแรง อาศัย การลวงให้ เ ห็ น ความส� า คั ญ ของความมั่ น คงทาง พลังงาน ให้มีทางเลือกแค่ถ่านหินสกปรก อย่าง บางหน่วยงานมักจะใช้โ ษณาเกินจริง ทั้งที่มีทาง เลือกอื่น ๆ เช่น พลังงานทางเลือกที่สะอาดกว่า เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม เป็นต้น กลับไม่ เลือกใช้ ตัวอย่างที่ท�าให้โลกใบนี้สกปรกเห็นได้ชัด จากการเกิ ด หมอกควั น จากการถลุ ง แร่ การผลิ ต ไฟฟ้าจากถ่านหินที่มีปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ปล่ อ ยออกสู ่ บรรยากาศ เกิ ด ฝนกรด นอกจากนี้ อุตสาหกรรมปิโตรเคมียังปล่อยสารอินทรีย์ระเหย ที่ก่อให้เกิดมะเร็งทั้งในระยะสั้นและระยะยาว มี ผลต่ อ สุ ข ภาพประชาชน เช่ น การก่ อ ให้ เ กิ ด โรค มะเร็งของประชาชนจ�านวนมาก การเปลี่ยนแปลง ของการใช้ชีวิตของประชาชนในปัจจุบัน ส่งผลให้ เห็นว่า มนุษยชาติต้องปรับตัวอีกมากในเมื่อโลก ใบนี้สกปรกมากขึ้น อย่างไรก็ตามตัวการส�าคัญต่อ การเกิดโลกที่ไม่สะอาดในขณะนี้ คือ มนุษยชาติ นั่นเอง เพราะเป็นผู้บริโภคและผู้ผลิตมลพิษต่าง ๆ สู่สิ่งแวดล้อม เช่น ขยะ น�้าเสีย อากาศเสีย ทั้งทาง ตรงและทางอ้อม ปัญหาที่เกิดขึ้นส่งผลต่ออนาคต อย่างรุนแรง เห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงของสภาพ ภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล ความแห้ง แล้ง ตลอดจนมลพิษที่สะสมในสภาพแวดล้อมที่เห็น การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างชัดเจน ในวันเวลาที่ผ่านไป เห็นได้ชัดว่าผลกระทบที่ เกิดขึ้นเริ่มส่งผลที่รุนแรง มนุษย์เริ่มพูดคุยกัน มีการ ประชุมกัน และมีข้อตกลงมากมายระหว่างประเทศ แต่ผลที่เห็นคือ ความว่างเปล่า เพราะขาดความ จริงจังในการแก้ไขปัญหา การลงมือท�าอย่างจริงจัง ในวั น นี้ เ ป็ น สิ่ ง ที่ ต ้ อ งการให้ เ กิ ด ผลในทั น ที และ อยากให้เห็นว่าการกระท�าในวันนี้ส่งผลถึงลูกหลาน ในอนาคต ข้อตกลงต่าง ๆ จึงควรทบทวน และ ท�าอย่างจริงจัง ให้เห็นผลมากกว่าการพูดคุย การ ประชุมแล้วกลับมาท�าให้เห็นว่าผลประโยชน์ของ โลกใบนี้ส�าคัญกว่าที่มนุษย์จะมองแค่ผลประโยชน์ ของแต่ละประเทศ แนวคิดความร่วมมือ คือ มองให้เห็นถึงความเป็น จริง ปัญหาของโลกที่ก�าลังเกิดขึ้น ปัญหาที่ทุกคนได้ รับผลกระทบ ไม่ว่าการตัดไม้ท�าลายป่า การเผาป่า การผลิ ต ที่ ป ล่ อ ยมลพิ ษ จากที่ ก ล่ า วข้ า งต้ น ดิ น น�้า อากาศ ต่างเปลี่ยนแปลงทั้งสิ้น เมื่อพิจารณา ปัญหาแล้วให้มองถึงต้นตอของปัญหา การลงมือท�า การก�าหนดเป้าหมายที่ชัดเจน จึงเป็นความส�าคัญ ที่จะเห็นได้จากการคาดการณ์อนาคตของโลกใบนี้ 64
E N E R G Y S AV I N G
เช่น จากการประชุมว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีการคาดการณ์จากการ ก�าหนดมาตรการต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น มีความพร้อมที่จะแสดงให้เห็นถึงการลดกาซ เรือนกระจกในโลกใบนี้อย่างมีนัยส�าคัญ การลดของเสียอันตรายจากการผลิต จะเห็นได้ ถึงปัญหาการทิ้งกากของเสียตามแหล่งต่าง ๆ ที่ลดลงอย่างมาก การพั นาที่ย่ังยืน เป็นค�าพูดที่สวยหรู หากวิเคราะห์กันจะเห็นได้ว่า ค�านี้แบ่งสองส่วน ได้แก่ รพั น ซึ่งหมายถึง การใช้ทรัพยากรในการผลิต การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจาก การผลิตที่ดีขึ้น กับค�าว่า ั น ซึ่งหมายถึง การค�านึงถึงรุ่นลูกหลาน การอยู่ในภาวะที่ เหมาะสม และคงที่ตลอดกาล ซึ่งดูจะแตกต่างกัน การพั นาที่พูดถึงการเปลี่ยนแปลงที่ ดี ไม่น่าจะรวมกับความยั่งยืน โดยสัจธรรมแล้วการพั นากับความยั่งยืนดูจะสวนทางกัน แต่การพั นาควรจะเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่าความยั่งยืนที่ไม่รู้ทิศทางบวกหรือลบ ในภาวะปัจจุบันการพั นาจึงน�ามาคู่กับการปรับตัว (adaptation) ซึ่งเป็นการพั นา เพื่อให้เกิดการอยู่ร่วมกันในสังคมของชุมชน สิ่งแวดล้อม กับโครงการพั นาต่าง ๆ ที่จะ เกิดขึ้นในปัจจุบันกับอนาคต ความหวังของมนุษยชาติที่จะด�ารงชีวิตอย่างสุขสบาย ดูเหมือนจะห่างไกล เพราะแค่ออกมาหายใจก็ได้รับมลพิษแล้ว โดยเฉพาะเมืองใหญ่หรือ เมืองที่มีอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โลกที่ไม่สะอาดจึงเป็นการประเมินจากกระบวนการใช้ทรัพยากร การปล่อยมลพิษใน ปัจจุบันที่เกินขีดความ สามารถในการรองรับของโลกใบนี้ ซึ่งมนุษย์เองเป็นส่วนส�าคัญ ที่ท�าให้เกิดความสกปรกขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ต้องการการปรับตัวอย่างมาก และการ ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิดจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและรุนแรง เช่น จาก ภัยพิบัติที่กล่าวข้างต้น โดยเฉพาะเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่มีภาพความแห้งแล้ง ความร้อนจนประชาชนล้มตายอย่างมากมายในขณะนี้ คงเป็นค�าถามกับทุกฝ่ายว่า เรา จะอยู่กันอย่างไรต่อไปในอนาคต ใครจะเป็นผู้ก�าหนดอนาคตของมนุษยชาติ ใครจะ รับผิดชอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง เราคงได้แต่หวังและคิดเชิงบวกว่า คงจะมีการ เปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น และทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบัน มิฉะนั้นเราคงเห็นโลกใบนี้กดปุ่ม restart กันใหม่ ด้วยหายนะล้างโลกเป็นแน่แท้
เอกสารอ้ างอิง รัฐ เรืองโชติวทิ ย์ เอกสารการบรรยาย ระบบสิง่ แวดล้อม ประกอบการบรรยายนักศึกษาปริญญาโท สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์(นิดา้ ) 2558 ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทย 2556 กรุงเทพ 2557 ขอ าพ ระกอ ากเ ต http://cf.ltkcdn.net/greenliving/images/slide/88355-849x565-g52rubbishbeach. pg http://www. odutt.com/wp-content/uploads/2014/12/o-P TE - E -facebook. pg https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/2/24/Traffic amdelhi. pg http://i.huffpost.com/gen/1621413/images/o-P T - T R -facebook. pg http://www.tescoplc.com/assets/images/cms/pho_impact_environment. pg http://static.ddmcdn.com/gif/blogs/drought-flood-heat-130112-660x433. pg http://i120.photobucket.com/albums/o163/alira i/ ebruary2009/world 20pix/25-2/china-drought_1350575i. pg
SEPTEMBER 2015
0 WASTE IDEA TEXT : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ป าน�า าดแ ลน งเ ลาที่จะ ้อง รก รอง ่า
น�า ือชี ิ
น�้าคือชีวิต “หลักส�าคัญที่ว่า ต้องมีน�้าบริโภค น�้าใช้ น�้าเพื่อการเพาะปลูก เพราะว่าชีวิตอยู่ที่นั่น ถ้ามีน�้า คนอยู่ได้ ถ้าไม่มีน�้า คนอยู่ไม่ได้ ไม่มีไ า คนอยู่ได้ แต่ถ้ามีไ า ไม่มีน�้า คนอยู่ไม่ได้...” ข้อความนี้เป็นกระแสพระราชด�ารัสของพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ที่ พ ระราชทานไว้ เ มื่ อ วั น ที่ 1 มีนาคม 2 29 ณ พระต�าหนัก จิตรลดารโหฐาน มีความหมายชัดเจนถึงความส�าคัญของน�้าต่อชีวิต และการยังชีพของผู้คน เนื่องจากน�้าเป็นปัจจัยสี่ที่ จ�าเป็นต่อการด�ารงชีพของมนุษย์ รวมไปถึงพืชและ สัตว์ต่าง ๆ ถ้าขาดน�้าจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ และห่วงโซ่อาหารอย่างแน่นอน นักวิทยาศาสตร์เคยได้กล่าวเตือนอย่างหนักแน่น ว่า “มนุษย์จะต้องเผชิญกับการขาดแคลนน�้าอย่าง รุนแรง หากยังปล่อยให้เกิดปัญหาน�้าเน่าเสียจาก มลพิษทางน�้า และใช้น�้ากันอย่างฟุ่มเฟอยโดยไม่ ประหยัดน�้า ภายในช่วงอายุของคนรุ่นนี้หรืออีก 2 รุ่นนี้ ในปัจจุบันประชากรโลกประมาณ 1 ใน ของ ประชากรทั้งหมด ยังมีปัญหาการขาดแคลนน�้าจืด เพื่อการบริโภค ในอนาคตผู้คนอาจจะต้องมีชีวิต อยู่ภายใต้ความกดดันของการเสาะแสวงหาน�้าจืด เนื่องจากปัญหาการขาดแคลนน�้าจืด ซึ่งไม่เพียงพอ ต่อความต้องการใช้น�้าอย่างฟุ่มเฟอยแน่นอน โดย VOLUME 7 ISSUE 82
นักวิทยาศาสตร์ได้เปรียบเทียบให้ฟังว่า มนุษย์เราในปัจจุบันใช้พื้นที่ใหญ่โตเท่ากับ ทวีปอเมริกาใต้ทั้งทวีปในการท�าเรือกสวนไร่นา และใช้พื้นที่โตเท่ากับทวีปแอฟริกา ทั้งทวีปในการเลี้ยงปศุสัตว์”
สถานการ
านาขาด ลน น ระเท ทย
จากปัญหาสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดผลกระทบต่อวั จักรของน�้า อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ปัญหาหนึง่ ทีเ่ ห็นได้ชดั เจน คือ ปัญหาวิกฤตินา�้ แล้ง ซึง่ ส่งผลกระทบ ต่อทุกภาคส่วน ทั้งภาคครัวเรือน ภาคเกษตรกรรม ตลอดจนภาคอุตสาหกรรม ที่เผชิญ กับปัญหาน�้าขาดแคลน ไม่เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค และแหล่งน�้าดิบมีปริมาณน�้า ที่ ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ การน� า มาผลิ ต น�้ า ประปา ในอดี ต ถึ ง ปั จ จุ บั น เคยมี ห ลายพื้ น ที่ ใ น ประเทศไทยได้เคยประสบปัญหาน�้าขาดแคลน ตัวอย่างเช่น ในปี 2 กรณีของสถานการณ์ภัยแล้งในจังหวัดนครพนม ได้ส่งผลกระทบอย่าง ต่อเนื่อง หลังจากระดับน�้าของแม่น�้าโขงลดลงต่อเนื่องอย่างรวดเร็ว ท�าให้เกิดสันดอน ทรายเป็นบริเวณกว้างกลางแม่น�้าโขง ซึ่งส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตน�้าประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค ในพื้นที่ อ�าเภอท่าอุเทน อ�าเภอเมือง และอ�าเภอธาตุพนม เนื่องจากน�้าโขงแห้งขอด ท�าให้สถานีสูบน�้าที่น�าขึ้นไปผลิตประปา ไม่สามารถสูบน�้าได้ ต้องลดปริมาณการผลิตกว่า 0 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉพาะช่วงหน้าแล้งมีประชาชนใช้น�้า จ�านวนมาก ท�าให้เกิดปัญหาน�้าประปาไม่พอใช้ โดยส�านักงานการประปาส่วนภูมิภาค E N E R G Y S AV I N G
65
จังหวัดนครพนม ได้มีการแจ้งเตือนประชาชนให้ช่วย กันประหยัดน�า้ ป้องกันปัญหาการขาดแคลนน�า้ หาก ไม่สามารถผลิตน�้าประปาได้ ซึ่งหากระดับน�้าโขงยัง แห้งต่อเนื่อง อาจต้องลดแรงจ่ายน�้า และต้องส่ง จ่ายน�้าเป็นช่วงเวลา มีการแจ้งเตือนประชาชนผู้ใช้ น�้าให้ช่วยกันประหยัดน�้า ให้มีการใช้น�้าตามความ จ�าเป็น หรือช่วยกันตรวจสอบท่อส่งจ่ายน�า้ ว่ามีชา� รุด หรือไม่ นอกจากนี้ภัยแล้งยังส่งผลกระทบต่อการ เดินเรือของชาวบ้าน รวมถึงเรือโดยสารขนส่งสินค้า ซึ่งส่งผลกระทบที่ส�าคัญต่อเศรษฐกิจในพื้นที่อีกด้วย ซึ่งทางพื้นที่เชื่อว่าปัญหาขาดแคลนน�้าจะเป็นปัญหา ส� า คั ญ ในอนาคต ที่ จ ะสร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ ประชาชนเป็นอย่างมาก ปี 2 กรณีของสถานการณ์ภยั แล้งในจังหวัด บุรรี มั ย์ ทีไ่ ด้ประกาศเป็นพืน้ ทีป่ ระสบปัญหาภัยพิบตั ิ ภัยแล้งถึง 10 พื้นที่ ในหลายพื้นที่ได้ประสบปัญหา น�้ า ส� า หรั บ การอุ ป โภคบริ โ ภคไม่ เ พี ย งพอ ก่ อ ให้ เกิ ด ความเดื อ ดร้ อ น และส่ ง ผลกระทบต่ อ พื้ น ที่ ทางการเกษตรในพื้นที่ ทางจังหวัดได้แก้ปัญหาโดย การน�ารถบรรทุกสูบ ส่งน�้าระยะไกล มาท�าการสูบ และส่ ง น�้ า เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ และบรรเทาปั ญ หา ความเดือดร้อนของประชาชนในระดับหนึ่ง
จ�าเป็นที่ต้องจ่ายน�้าประปาเป็นเวลา และสุ่มเสี่ยงที่จะขาดแคลนน�้าในการผลิตน�้าประปา ส�าหรับพื้นที่ แห่งในจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ อ�าเภอธัญบุรี อ�าเภอหนองเสือและอ�าเภอ ล�าลูกกา ถูกประกาศเป็นเขตภัยพิบัติหลังน�้าในคลองแห้ง สูบมาผลิตน�้าประปาไม่ได้ ส่ง ผลกระทบต่อชาวบ้านเกือบ หมื่นหลังคาเรือน ทั้งนี้ได้มีการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าโดย การระดมรถน�้าออกแจกน�้า นอกจากนี้ปัญหาภัยแล้งยังได้ลุกลามใกล้กรุงเทพ โดยการ ประปานครหลวงได้มีการประกาศแจ้ง เรื่องน�้าประปาไหลอ่อน โดยระบุว่าจะด�าเนินการ บ�ารุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้าของโรงงานผลิตน�้าสามเสน เพื่อให้การสูบจ่ายน�้าของการ ประปานครหลวงเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และมีเสถียรภาพสูงสุด ส�าหรับกรณีของแม่นา�้ ยม บริเวณพื้นที่ที่ไหลผ่านจังหวัดสุโขทัย ตอนช่วงน�้าแล้งระดับน�้าได้ลดแห้งขอดเห็นพื้น ทราย ส่งผลให้ชาวไร่พริกไม่สามารถมีน�้ามาใช้ในการเพาะปลูกได้ เสียหายหนักต่อ การเกษตรกรรมกว่า 200 ครัวเรือน
น ทาง เพื่อการอนรัก ทรัพยากรนา
ปี 2 กรณีของเกาะบูโหลน จังหวัดสตูล เคยแล้งหนักขาดน�้าอุปโภคบริโภค 1 0 ครัวเรือน ประชากร 9 คน เดือดร้อน ชาวบ้านบนเกาะเริม่ จะ ขาดแคลนน�า้ ทีใ่ ช้ในการอุปโภค บริโภค เกาะบูโหลน เป็ น พื้ น ที่ ที่ ไ ม่ มี แ หล่ ง น�้ า ต้ น ทุ น เลย ที่ มี บ นเกาะ มีเพียงบ่อน�้าตื้นที่ขณะนี้กลายสภาพเป็นน�้ากร่อย และเค็มไปหมดแล้ว ได้มีความช่วยเหลือในการน�า ภาชนะเก็บน�้าไปแจกเพื่อเก็บน�้าไว้ใช้ แต่เนื่องจาก ฝนทิ้งช่วงไปนาน ท�าให้ชาวเกาะขาดแคลนน�้า หาก ไม่เร่งช่วยเหลือชาวเกาะก็จะเดือดร้อนอย่างหนัก
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีการเจริญ เติบโตทางด้านเศรษฐกิจสูง จึงมีความจ�าเป็นในการส่งเสริมให้ใช้หลัก Rs (Reduce, Reuse, and Recycle) ในการใช้ทรัพยากรน�้าอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพของ ทุกภาคส่วน ทั้งในเขตเมือง ชุมชน และภาคอุตสาหกรรม โดยส่งเสริมการลดการใช้น�้า การประหยัดน�้า การน�าน�้ากลับมาใช้ใหม่ การใช้น�้าอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อการ อนุรักษ์แหล่งน�้าและรักษาคุณภาพน�้าอย่างยั่งยืนต่อไป ส�าหรับประเทศเพื่อนบ้านของเรา เช่น ประเทศสิงคโปร์ เป็นตัวอย่างที่ดีมากในการ สร้างจิตส�านึกให้ประชาชนในการเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยชูหลัก การส�าคัญคือ หลักการ Rs ได้แก่ ลดการใช้ น�าไปใช้ซ�้า น�ากลับมาใช้ใหม่ ปัจจุบันนี้ สิงคโปร์ได้ใช้เทคโนโลยีผลิตน�้าขั้นสูงในการผลิตน�้าสะอาดจากน�้าเสียชุมชน รวมทั้งน�้า ทะเล เนื่องจากเป็นประเทศที่ขาดแคลนน�้าจืด โดยที่รอบ ๆ เกาะสิงคโปร์เป็นน�้าทะเล น�้าสะอาดที่ผลิตได้สามารถน�ามาใช้ดื่ม และน�าไปใช้เป็นน�้าใช้ทางอุตสาหกรรมได้ ถึงเวลาแล้วที่เราทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรน�้า เนื่องจากน�้าคือ ชีวิตของเราทุกคน เราสามารถด�ารงชีวิตได้เพราะน�้านะครับ ช่วยกันนะครับ
ในปี 2 8 นี้ ปัญหาภัยแล้งได้ส่งผลกระทบ ต่อน�้าที่ใช้อุปโภคบริโภคในหลายพื้นที่ มีการแจ้ง เตือนให้ทุกภาคส่วนเตรียมรับสถานการณ์ภัยแล้ง และมีการใช้น�้าอย่างประหยัด สถานการณ์ภัยแล้ง ได้ ส ่ ง ผลให้ ข าดแคลนน�้ า ประปาในหลายอ� า เภอ ของจังหวัดปทุมธานีอย่างวิกฤติ โดยมีหลายพื้นที่
ขอ าพ ระกอ ากเ ต http://www.crs.org/water-sanitation/img/ 2007001323.pg http://lovingonme.com/wp-content/uploads/2013/03/young-girl-drinking-water.pg http://extension.usu.edu/water uality/images/uploads/ omeowner/water 20testing/drinking 20glass 20 of 20water.pg http://blogs-images.forbes.com/netapp/files/2014/08/california-drought- nes-i tock.pg http://www.veteranstoday.com/wp-content/uploads/2011/09/Texas- ire- rought.pg http://america.ala eera.com/content/dam/aam/images/article_photos_feb2014/drought_labor_022514.pg
66
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
GREENHOUSE GAS MANAGEMENT TEXT : ดร.ธนสิทธิ ธรรมศิริโรจน์ องค์การบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
รา า ารบอน ก �่า ยโร ก้ า ยาง ร เมื่อพูดถึงกาซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นที่รู้กันทั่วไปว่าเป็นตัวการส�าคัญที่ท�าให้เกิดภาวะ เรือนกระจก มีผลท�าให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น และเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ ที่ก�าลังเป็นปญหาใหญ่ของโลกอยู่ในขณะนี้ ดังนั้น ท�าให้หลาย ประเทศ รวมถึงสหภาพยุโรป ได้น�าเอาแนวทางกลไกราคาคาร์บอนเข้ามาประยุกต์ ใช้ เพื่อเปลี่ยนวิกฤตให้เป็นโอกาส ส�าหรับองค์กรธุรกิจที่เต็มใจน�านวัตกรรมใหม่ที่มี ประสิทธิภาพมาใช้ ช่วยลดการเผาไหม้เชื้อเพลิง อสซิล และปล่อยกาซเรือนกระจก ลดลง ดังนั้นวันนี้เรามาท�าความรู้จักกับราคาคาร์บอนกันครับ VOLUME 7 ISSUE 82
ราคาคาร์บอน หรือ Car on price สะท้อนถึงแหล่งปล่อยกาซเรือนกระจก อาทิ โรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า ได้ รับอนุญาตให้ปล่อยกาซเรือนกระจกใน ปริมาณจ�ากัด หากโรงงานใดคาดว่าจะ ปล่อยเกินปริมาณที่ได้รับอนุญาต ก็จะ ไปขอซื้อใบอนุญาตการปล่อยของโรงงาน อื่ น โดยคิ ด ราคากั น ตามจ� า นวน “ตั น คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า” ซึ่งราคา ของการซื้อ ขายใบอนุญาตฯ ดังกล่าว ก็คอื ราคาคาร์บอน นัน่ เอง ส่วนราคาคาร์บอนจะ สูงหรือต�า่ ก็ขน้ึ อยูก่ บั ปริมาณความต้องการ ซือ้ และปริมาณความต้องการขาย ตามหลัก กลไกตลาดในทางเศรษฐศาสตร์
E N E R G Y S AV I N G
67
ทัง้ นี้ กาซเรือนกระจกแต่ละชนิด มีผลต่อการ เกิดภาวะเรือนกระจกไม่เท่ากัน จึงต้องมีการ แปลงค่าให้อยูใ่ นหน่วย ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า เพือ่ ให้เปรียบเทียบระหว่างกันได้ โดย ใช้กาซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นฐาน เช่น 1 ตัน ของกาซไนตรัสออกไซด์ เทียบเท่ากับ 298 ตัน ของกาซคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น โดยหลักการแล้ว หากราคาคาร์บอนสูง ภาคธุ ร กิ จ จะมี แ รงจู ง ใจในการลงทุ น น� า เทคโนโลยี ค าร์ บ อนต�่ า มาใช้ เพื่ อ ให้ ธุ ร กิ จ ของตนปล่อยกาซเรือนกระจกลดลง และมี ใบอนุญาตปล่อยกาซเรือนกระจกเหลือส�าหรับ น�าไปขายสร้างรายได้ สหภาพยุโรป ถือเป็นกลุม่ ประเทศแรกของ โลก ทีไ่ ด้นา� กลไกราคาคาร์บอน มาใช้ควบคุม ปริมาณการปล่อยกาซเรือนกระจกจากภาค อุตสาหกรรมของประเทศสมาชิกได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยรู้จักกันในชื่อ ร หรือ อย่างไรก็ตามปัจจุบันสหภาพยุโรปก�าลัง ประสบปัญหาราคาคาร์บอนตกต�่า เนื่องจาก วิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นต่อเนื่องมาตั้งแต่ ปี 2 1 เป็นผลให้ปริมาณการผลิตลดน้อยลง โรงงานต่าง ๆ ปล่อยกาซเรือนกระจกน้อย กว่าปริมาณที่รัฐก�าหนดให้ปล่อยได้ ท�าให้มี ใบอนุญาตปล่อยกาซเรือนกระจกเหลือค้าง สะสมอยู่จ�านวนมาก ในเมื่อใคร ๆ ก็ไม่อยาก ได้ จึงท�าให้ราคาตกต�่าลงเรื่อย ๆ ตามหลัก กลไกตลาด สหภาพยุ โรปไม่ ไ ด้ นิ่ ง นอนใจต่ อ ปั ญ หา นี้ จึงได้คิดหามาตรการที่จะผลักดันให้ราคา ใบอนุญาตปล่อยกาซเรือนกระจก ขยับสูงขึ้น จากปัจจุบนั ซึง่ คงตัวทีร่ าคา . ยูโร ต่อตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า โดยมาตรการ แก้ไขทีส่ หภาพยุโรปได้นา� มาใช้ มีดงั นี้
68
E N E R G Y S AV I N G
เลอน ร ล อนุ ต ลอ เรอน ร จ�านวน 900 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบ เท่า ออกไปจนถึงปี 2 2 และปี 2 เนือ่ งจากคาดการณ์วา่ ความต้องการใบอนุญาตฯจะเริม่ เพิม่ สูงขึน้ ในช่วงปีดงั กล่าว เพราะเศรษฐกิจยุโรปจะเริม่ ดีขนึ้ ร ั รล เรอน ร สหภาพยุโรปมีเป้าหมายภายใต้พธิ สี ารเกียวโต ที่จะลดการ ปล่อยกาซเรือนกระจกลง ร้อยละ 20 ภายใน ปี 2 เทียบกับระดับการปล่อยของ ปี 2 และเมื่อเร็ว ๆ นี้ในเดือนมีนาคม 2 8 ที่ผ่านมา สหภาพยุโรปได้ประกาศเจตจ�านงที่จะลดการ ปล่อยกาซเรือนกระจกลง ร้อยละ 0 ภายในปี 2 เทียบกับระดับการปล่อยของปี 2 มาตรการนี้จะจ�ากัดปริมาณการปล่อยกาซเรือนกระจกของภาคธุรกิจให้ลดลงจากเดิมอีก ซึ่งภาคธุรกิจที่ไม่สามารถลดได้จะมีความต้องการซื้อใบอนุญาตฯเพิ่มมากขึ้น ส รอ อนุ ต ลอ เรอน ร ไวเพอรั เส ร พขอ ตล หรือเรียกว่า มาตรการ arket Sta ility Reserve ( SR) จะมีผลบังคับใช้ตงั้ แต่เดือนมกราคม ปี 2 2 เป็นต้นไป โดยภายใต้มาตรการนี้ ปริมาณใบอนุญาตฯ ที่มีมากเกินไปในตลาดซื้อ ขาย จะถูกกันออกมาส่วน หนึ่ง เพื่อเก็บส�ารองไว้ และน�าออกสู่ตลาดอีกครั้งเมื่อเกิดความขาดแคลนขึ้น เป็นที่คาดกันว่า SR จะเป็นมาตรการที่มีประสิทธิภาพอย่างยิ่ง ในการยกระดับราคาคาร์บอน ของสหภาพยุโรปให้สูงขึ้น โดยจะท�าให้ราคาใบอนุญาตฯ ปรับสูงขึ้นเป็น 1 ยูโร ต่อตัน ภายในปี 2 และอาจปรับขึ้นไปถึง 0 ยูโร ต่อตัน ภายในปี 2 มาตรการต่าง ๆ เหล่านี้ สหภาพยุโรปเชือ่ ว่า จะมีสว่ นช่วยให้ราคาคาร์บอนปรับสูงขึน้ ซึง่ ก็จะส่งผล ให้ภาคธุรกิจมีแรงจูงใจที่จะด�าเนินการลดกาซเรือนกระจกอย่างเข้มข้นมากยิ่งขึ้นต่อไป ที่เล่าสู่กันฟังนี้ เป็นตัวอย่างเรื่องของราคาคาร์บอนในยุโรป ส่วนในประเทศไทยเอง ผมเชื่อ ว่า กลไกราคาคาร์บอนจะมีบทบาทอย่างมากต่อการลดกาซเรือนกระจกของภาคอุตสาหกรรมใน อนาคต ไว้โอกาสหน้าจะมาพูดคุยในเรื่องนี้ให้ฟังครับ แล้วพบกันใหม่ครับ SEPTEMBER 2015
PRODUCT SHOWCASE COMMERCIAL TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
Huawei MediaPad X2 แทบแล รุ่นใ ม่ พร้อมเท น ลยีช่ ยประ ยัดพลังงาน
หัวเว่ย คอนซูมเมอร์ บิสสิเนส กรุป ขอแนะน�า edia ad X2 แท็บเล็ต รุ่นใหม่ล่าสุดที่มีตัวเครื่องบาง .18 มม. น�้าหนักเบาเพียง 2 9 กรัม ใช้เป็น โทรศัพท์มือถือได้ และมีระบบตัดเสียงรบกวนจากภายนอก หน้าจอแบบ LT S มาพร้อมความละเอียดแบบ Full D ที่เพิ่มสัดส่วนหน้าจอให้ใหญ่ขึ้นถึง 80 เมือ่ เทียบกับตัวเครือ่ ง การเชือ่ มต่อรวดเร็วทันใจด้วยเทคโนโลยี LTE Cat ทีเ่ พิม่ ความเร็วได้สงู สุดถึง 00 ps ระบบประมวลผล 8 core เชือ่ มต่อสัญญาณ Wi Fi ด้วยเสารับสัญญาณแบบคู่ สามารถแชร์อินเตอร์เน็ตให้อุปกรณ์อื่นได้ และยังใช้ งานได้ต่อเนื่องยาวนานด้วยแบตเตอรี่ขนาด 000 มิลลิแอมป์ พร้อมเทคโนโลยี ช่วยประหยัดพลังงาน รายละเอียดเพิ่มเติม ttp consu er. ua ei.co
เตารีด อนาแบบมอเตอร์ ประ ยัดพลังงาน
Stack ลอด อัจ ริยะ ประ ยัดพลังงาน
Stack นวัตกรรมทีเ่ หนือกว่า LED ไปอีกหนึง่ ขัน้ ด้วย ระบบเซ็นเซอร์ตรวจจับพฤติกรรมภายในบ้าน ท�างานอ้างอิง กับแสงภายนอกบ้าน และเวลา เช่น ถ้าเราดูหนังในเวลา กลางคืนไฟจะหรี่ให้เองอัตโนมัติ แต่ถ้าเราท�างานแสงจะ เพิม่ ความสว่าง และเปลีย่ นเป็นสีขาวให้ ถ้าเอาหลอดไฟไป ใช้บนหัวเตียง เมือ่ เราหลับไฟจะหรีจ่ นเหลือแค่พอมองเห็น หัวเตียงเท่านัน้ แต่เมือ่ เราตืน่ หรือมีการเคลือ่ นไหวต่าง ๆ ในห้อง ไฟก็จะสว่างขึน้ มาเองอีกระดับ และจะสว่างมากยิง่ ขึน้ เมือ่ มีการเคลือ่ นไหว อย่างเช่น การเดินในห้อง ช่วยให้ ประหยัดไฟได้เมือ่ ไม่มใี ครอยู่ หรือไม่มกี ารใช้งานอะไรเลย ซึ่งเราจะต้องท�าหน้าที่สอนให้หลอดไฟรู้จักเวลา รู้จัก จังหวะแสงทีเ่ ราต้องการ เพือ่ ให้การใช้งานต่อ ๆ ไปท�าได้ โดยอั ต โนมั ติ ขอบคุ ณ ข้ อ มู ล และภาพประกอบจาก ttp . atp one.tv
VOLUME 7 ISSUE 82
บริษัท บีเอสเอช โ ม แอ็พพลายแอ็นซ์ จ�ากัด ผู้น�าเข้าและจัดจ�าหน่าย ผลิตภัณ เ์ ครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้านระดับพรีเมีย่ ม ภายใต้แบรนด์ บอช ( SC ) จากประเทศเยอรมนี น�าเสนอเตารีดไอน�้าแบบมอเตอร์รุ่น Sensixx x TDI90 ถือเป็นเจ้าแรกในเมืองไทย ทีน่ า� เอาเทคโนโลยี otor Stea เข้ามาช่วยอ�านวย ความสะดวก ตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะกลุ่มวัยท�างานที่อยู่ อาศัยในคอนโดมิเนียม หรือเป็นครอบครัวใหม่ ทีต่ อ้ งการผลิตภัณ ท์ ใี่ ช้งานได้งา่ ย แต่ทรงประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการควบคุมระบบไอน�้าด้วยนิ้วของผู้ใช้งาน ผ่านระบบ SensorStea เพื่อความปลอดภัยในการใช้งานสูงสุด พร้อมฟังก์ชั่น i Te p Advanced ที่ช่วยควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ สามารถปรับอุณหภูมิของ เตารีดให้เข้ากับเนือ้ ผ้าได้ทกุ ประเภท และฟังก์ชนั่ AntiS ine เพือ่ ป้องกันคราบเงา ทีเ่ กิดบนเสือ้ ผ้า ไม่วา่ จะเนือ้ ผ้าสีเข้มหรือเนือ้ ผ้าทีล่ ะเอียด ทีส่ า� คัญยังมาพร้อมกับ ไซส์ทมี่ ขี นาดเท่าเตารีดทัว่ ไป แต่มปี ระสิทธิภาพเทียบเท่ากับเตารีดไอน�า้ แยกหม้อ ต้มขนาดใหญ่ รวมถึงยังประหยัดน�้าและพลังงานได้มากขึ้น รายละเอียดเพิ่มเติม . osc o e.co E N E R G Y S AV I N G
69
เปลี่ยนสาย ในบ้าน เปน รง ่ายอีเทอรเน ามเร สง ลดการใช้
VX2573-shw
VX2573-sg
ViewSonic จอมอนิเ อร
ประ ยัดพลังงาน
T LI น�าเทรนด์เปิดตัว TL A 020 it เพาเวอร์ไลน์รุ่นใหม่ที่เปลี่ยนสายไฟในบ้านให้เป็น โครงข่ายอีเธอร์เน็ต ความเร็วสูง ด้วยมาตรฐาน o e lug A ขัน้ สูงรองรับการส่งข้อมูลในความเร็ว 00 ps ครอบคลุมระยะส่ง สัญญาณผ่านสายไฟ ในบ้านความยาวถึง 00 เมตร ช่วยแก้ปัญหาการ เชื่อมต่อสัญญาณกับคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นเกมส์ หรืออินเทอร์เน็ตทีวี โดยไม่ตอ้ งเดินสายแลนให้ยงุ่ ยาก TL A 020 it ยังมีพอร์ตแลน 2 ช่อง รองรับการ ท�างานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้พร้อมกัน และมีช่อง เสียบปลักไฟแบบพิเศษ ส�าหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าอื่น ๆ มาต่อ พ่ว ง โดยไม่ส่ง ผลกระทบต่อ ประสิท ธิภ าพ การรับส่งสัญญาณ นอกจากนี้ ยังมี o er Saving ode ซึ่งจะท�างานโดยอัตโนมัติเมื่อไม่มีการรับส่ง ข้อมูล ช่วยลดการใช้ไฟได้ถึง 8
ie Sonic Corp., หนึ่งในผู้น�าผลิตภัณ ์ และ visual ได้ท�าการเปิดตัว จอมอนิเตอร์ขนาด 2 นิ้ว Full D ulti edia สีทอง ด�า รุ่น X2 sg และสีเงิน ขาว รุ่น X2 s จอมอนิเตอร์ท้ังสองรุ่น เป็นจอแบบไร้ขอบ ผิว glossy และดีไซน์ สีทอง เงิน ซึง่ สามารถใช้เป็นส่วนหนึง่ ของการตกแต่งแบบ conte porary ได้อกี ด้วย เหมาะส�าหรับผูใ้ ช้งาน LED display ขนาดกลาง ใหญ่ ซึง่ การออกแบบของจอภาพไร้กรอบ สี ทอง เงิน ทีเ่ งางาม จอมอนิเตอร์ X2 series สามารถเข้ากับสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ได้อย่างลงตัว นอกจากความสวยแล้ว ie Sonic X2 มีเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ช่วยถนอมสุขภาพ เช่น Lo E I e issions, eye care tec nologies พร้อมด้วย A I S display panel ที่ให้ มุมมองการรับชมภาพทีก่ ว้าง และ Eco ode เพือ่ ช่วยในการประหยัดพลังงาน
เม้าสรุ่นใ ม่ ร้สาย ประ ยัดพลังงาน
โลจิเทค ผูน้ า� ตลาดโลกด้านเม้าส์ เปิดตัวเม้าส์ในคอลเลคชัน่ การออกแบบประจ�า ปีที่ ภายใต้ชอื่ 201 โลจิเทค เพลย์ คอลเลคชัน่ (Logitec lay Collection) แรงบันดาลใจในการออกแบบครัง้ นีม้ าจากเทรนด์ลา่ สุดด้านแฟชัน่ การออกแบบ เฟอร์นิเจอร์และอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ โดยเม้าส์รุ่นใหม่ที่มีดีไซน์อันโดดเด่นนี้ มาในรูปลักษณ์ใบหน้าของคาเรคเตอร์ทเี่ ป็นมิตรและดูสนุกสนานร่าเริง อีกทัง้ ยัง มีรปู ทรงและลวดลายทีม่ สี สี นั ใสอีกด้วย นอกจากนี้ อายุการใช้งานของแบตเตอรี่ ที่ยาวนานของคอลเลคชั่นนี้ จึงเป็นเรื่องง่ายที่จะรักษาความสนุกให้อยู่กับคุณ ได้ยาวนานถึง 12 เดือน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับรุ่นผลิตภัณ ์ที่เลือกใช้งาน และที่ส�าคัญ เม้าส์ไร้สายเหล่านี้ สามารถใช้งานได้ในรัศมีทไี่ กลถึง 10 เมตร โดยทีย่ งั คงสามารถ เชื่อมต่อได้อย่างมีเสถียรภาพ 70
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
PRODUCT REVIEW COMMERCIAL TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
“LG Mosquito Away”
น ั กรรมเ รื่องปรับอากาศ ล่ยุง เยนสบายและประ ยัดพลังงานอย่างเ นือชัน
ริ ัท อล ี อีเล ทรอนิ ส ระเท ทย ากัด ตอกย�้าความเป็นผู้น�าระดับโลกด้านนวัตกรรมเครื่องปรับอากาศ เปดตัว “ os uito way” โดดเด่นด้วยนวัตกรรมไล่ยุงที่ได้รับการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้บริโภคชาวไทยให้ดียิ่งขึ้น พร้อมยังคงประสิทธิภาพการให้ความเย็นและการประหยัดพลังงานอย่างเหนือชั้นด้วยเทคโนโลยีอินเวอร์เตอร์ ( nverter)
สินเม อิ่มเอม หัวหน้ากลุ่มผลิตภัณฑ์เครื่องปรับอากาศ บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย)
คุณสินเ อิ เอ หัวหน้ากลุม่ ผลิตภัณ เ์ ครือ่ งปรับอากาศ บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด กล่าวว่า “ในฐานะผู้น�าตลาดเครื่องใช้ไฟฟ้าระดับโลก แอลจีให้ความ ส�าคัญต่อการพั นานวัตกรรมใหม่ ๆ ในผลิตภัณ ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความ ต้องการในการใช้งานของผู้บริโภคได้อย่างตรงจุด เครื่องปรับอากาศแอลจี os uito A ay นี้ นับเป็นนวัตกรรมใหม่ล่าสุดที่เปิดตัวครั้งแรกในประเทศไทย ตอกย�้าความมุ่งมั่น และความเชี่ยวชาญในเทคโนโลยีเครื่องปรับอากาศ ด้วยนวัตกรรมฟังก์ชั่นไล่ยุงภายในตัว เหมาะอย่างยิ่งกับสภาพอากาศในไทย โดยเฉพาะในช่วงหน้าฝนนี้และเรามั่นใจว่าจะได้รับ การตอบรับที่ดีจากผู้บริโภคอย่างแน่นอน” เครือ่ งปรับอากาศแอลจี os uito A ay ผ่านการทดสอบและรับรองจากสถาบันชัน้ น�า จากทั้งภายในประเทศและหน่วยงานระดับสากลผู้ใช้งานสามารถเปิดใช้งานฟังก์ชั่นไล่ยุง โดยไม่จา� เป็นต้องเปิดใช้งานเครือ่ งปรับอากาศ หมดกังวลเรือ่ งค่าไฟภายในบ้าน โดยฟังก์ชนั่ นีใ้ ห้ประสิทธิภาพในการไล่ยงุ ได้สงู ถึง . เปอร์เซ็นต์ ด้วยการปล่อยคลืน่ เสียงอัลตราโซนิค 72
E N E R G Y S AV I N G
ที่ช่วงความถี่สูงกว่า 0,000 เ ิร์ตซ์ ซึ่งสูงกว่าระดับ การได้ยินของมนุษย์และสัตว์เลี้ยงในบ้าน คลื่นเสียง อัลตราโซนิคอันเป็นลิขสิทธิเฉพาะจากแอลจีนี้จะ รบกวนประสาทสั ม ผั ส ของยุ ง และช่ ว ยลดความ สามารถของยุงในการตรวจจับลมหายใจที่ออกมา จากร่างกายมนุษย์ ผู้ใช้งานจึงมั่นใจได้ว่าสมาชิก ทุกคนภายในบ้านจะปลอดภัยไร้ยุงรบกวน และไม่ ส่งผลอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงภายในบ้านด้วย นอกจากนี้ แอลจี os uito A ay ยังมาพร้อม กั บ เทคโนโลยี อิ น เวอร์ เ ตอร์ ซึ่ ง โดดเด่ น ทางด้ า น การประหยัดพลังงานแบบเหนือชัน้ ด้วยระบบควบคุม พลังงานอัตโนมัติ (Active Energy Control) โดย ผู้ใช้งานสามารถเลือกควบคุมอุณหภูมิได้ถึง ระดับ ช่วยให้ประหยัดไฟฟ้าได้มากกว่าเครื่องปรับอากาศ ทั่วไปสูงถึง 0 เปอร์เซ็นต์ อีกทั้งยังช่วยปรับระดับ ความชื้ น และอุ ณ หภู มิ ภ ายในห้ อ งให้ เ หมาะสม ส่งผลให้ร่างกายรู้สึกเย็นสบายตลอดหน้าฝนด้วย ฟั ง ก์ ชั่ น Fres Dry และยั ง มอบการท� า งาน ด้วยระบบเสียงเงียบเพียง 19 เดซิเบลเท่านั้น เครือ่ งปรับอากาศแอลจี os uito A ay พร้อม จ�าหน่ายแล้ววันนี้ โดยมีให้เลือกหลากหลายขนาด ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ตัง้ แต่ขนาด 9,000 บีทยี ู จนถึง 2 ,000 บีทียู ทั้งรุ่นที่มาพร้อมกับเทคโนโลยี อินเวอร์เตอร์และรุ่นธรรมดา ราคา 19,900 8,900 บาท ผู ้ ที่ ส นใจสามารถสอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ณ ร้านค้าตัวแทนจ�าหน่ายของแอลจีทั่วประเทศ หรือเข้าชมได้ทศี่ นู ย์ขอ้ มูลแอลจี 0 28 8 หรือ .lg.co t และ .face ook.co t ailandlifesgood SEPTEMBER 2015
INTERVIEW TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
บางจาก จัดการสิ่งแ ดล้อมอย่างยั่งยืน รักษ์โลก สร้างสังคมสีเขียว ชัย ั น า สิ ารัช กรรมการ ู้ ดั การ ่ ริ ัท าง าก ตรเลียม ากัด ม าชน กล่ า ว ว่า บริษัท บางจาก มีมาตรการด้านการปฏิบัติการ ด้านสิง่ แวดล้อม โดยลงทุนน�าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ดา� เนิน โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงกลั่นอย่างต่อเนื่อง ด้วยการลดการใช้เชื้อเพลิง การลดการใช้ไ า และมี การหยุดซ่อมบ�ารุงประจ�าปี ปรับปรุงซ่อมแซมหน่วยกลั่น เพื่อรักษาคุณภาพและลดผลกระทบในด้านต่าง ๆ เช่น กลิ่นเหม็น น�้าเสีย กากของเสีย และท�าความสะอาด อุปกรณ์แบบใหม่เพื่อท�าให้อุปกรณ์ล้างได้ง่าย สะอาด และปลอดภัยต่อคนท�างานมากขึ้น รวมทั้งมีการปรับปรุง พัฒนาในแต่ละด้าน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การกลั่น น�้ามัน รวมถึงการเป็นส�านักงานสีเขียวที่ให้ความส�าคัญ ต่อการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อร่วมสร้างสังคมสีเขียวให้ น่าอยู่และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อสังคมรอบข้าง ด้ า นการบริ ห ารจั ด การน�้ า มี ม าตรการลดการใช้ น�้ า และ น�าน�้ากลับมาใช้ใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งในอาคารส�านักงานและ กระบวนการผลิต ได้ติดตั้งหน่วยปรับปรุงคุณภาพน�้าทิ้งเพิ่มเติม ด้วยเทคโนโลยีทันสมัย ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบ�าบัดให้ สามารถรับปริมาณและความแปรปรวนของคุณภาพน�้าได้เพิ่มขึ้น เพื่อลดปริมาณน�้าทิ้งและน�้าใช้ลง บ�าบัดน�้าทิ้งให้มีความสกปรก ลดลง สามารถผ่านเข้าระบบรีเวอร์สออสโมซิสท�าให้ได้น�้าที่ มีคุณภาพดีเทียบเท่าน�้าประปา น�ากลับมาใช้ในกระบวนการผลิต อีกครัง้ ลดกลิน่ จากระบบก�าจัดตะกอนและน�าน�า้ ทีผ่ า่ นการบ�าบัด มาใช้รดน�้าต้นไม้ภายในพื้นที่ โดยในปัจจุบัน บริษัท บางจากฯ สามารถน�าน�้ากลับมาใช้ในกระบวนการผลิตได้ในปริมาณ 2 และตั้งเป้าถึง 80 ในปี 2
VOLUME 7 ISSUE 82
ชัย ั น า ิสารัช กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจากปโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน)
E N E R G Y S AV I N G
73
ในการเปนส�านักงานสีเ ีย รือ บริ ัท บางจาก มีการบริ ารจัดการ และด�าเนินงาน ่านเก มา ร านส�านักงานสีเ ีย ในระดับดีเยี่ยม องกรมส่งเสริม ุ าพสิ่งแ ดล้อม
เมื่อปี 2 ที่ผ่านมา มีการใช้น�้า 2. 8 ล้าน ลูกบาศก์เมตร และมีการน�ากลับมาใช้ใหม่ ในแต่ละ กระบวนการกลั่นต่าง ๆ ท�าให้ประหยัดน�้าได้กว่า 1 ล้านลูกบาศก์เมตร เช่น ใช้หน่วยบ�าบัดน�้าด้วย ระบบกรองละเอียดระดับไมครอน ควบคู่กับระบบ รีเวอร์สออสโมซิส เพื่อบ�าบัดน�้าดิบเบื้องต้นก่อนเข้า ระบบผลิตน�้าปราศจากแร่ธาตุที่หน่วยพลัง โรงงาน น�าน�้าควบแน่นที่มีคุณภาพดีมาใช้แทนน�้า ส�าหรับ หม้ อ ต้ ม ไอน�้ า ที่ ห น่ ว ยกลั่ น และหน่ ว ยพลั ง โรงงาน น�าน�้าจากหน่วยก�าจัดก�ามะถันในน�้าและน�้าทิ้งจาก ระบบการไล่กาซเบาด้วยไอน�้าของหน่วยกลั่นต่าง ๆ มาใช้แทนน�้าประปาในหน่วยก�าจัดเกลือจากน�้ามัน ดิบ น�าน�้าควบแน่นที่ปนเปอนเล็กน้อย ในหน่วยกลั่น มาบ�าบัดเพื่อใช้ซ�้าในระบบผลิตไอน�้า ส่วนปี 2 8 มีการใช้น�้าประปาเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการกลั่นเต็ม ก�าลังการผลิต ประกอบกับคุณภาพน�้าประปาต�่าลง จากปัญหาภัยแล้ง
ด้านคุณภาพอากาศ บริษัท บางจากฯ ว่าจ้างบริษัทภายนอกท�าการตรวจวัดคุณภาพ อากาศเป็นประจ�าทุก เดือน และมีระบบการลดมลสารตัง้ แต่ตน้ ทางด้วยการใช้เชือ้ เพลิง ทีส่ ะอาดมาใช้ในกระบวนการผลิต รวมทัง้ มีปา้ ยแสดงคุณภาพอากาศแสดงอยูห่ น้าโรงกลัน่ น�้ามันบางจาก สุขุมวิท เพื่อรายงานถึงคุณภาพอากาศและน�้าในการด�าเนินงานของ โรงกลั่นว่าอยู่ในเกณ ์ที่มาตรฐานก�าหนด ส�าหรับการใช้พลังงาน บริษัท บางจากฯ มีแผนปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (Energy Saving) โดยการน�าความร้อนเหลือทิ้งกลับมาใช้ผลิตไอน�้า ผลิตไฟฟ้า เพื่อช่วย ลดการใช้เชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตลง รวมทั้งมีแผนทาสารเคลือบภายในผนังเตา ในกระบวนการผลิต ( eater Ef ciency I prove ent) ซึ่งสามารถลดการสูญเสีย ความร้อน และสะท้อนความร้อนดังกล่าวกลับเข้าระบบ อีกทั้งมีแผนหยุดเดินหม้อต้ม ไอน�า้ เก่า ( oiler) ซึง่ ใช้นา�้ มันเตา (Fuel il) เป็นเชือ้ เพลิงส่วนหนึง่ มาใช้โรงไฟฟ้าพลังงาน ร่วม (Co Generator) แทน ซึง่ มีประสิทธิภาพสูงกว่า และใช้กาซธรรมชาติ ( atural Gas) เป็นเชือ้ เพลิง ซึง่ แผนดังกล่าวนี้ สามารถช่วยลดการใช้เชือ้ เพลิงในระบบ และลดการปล่อย กาซเรือนกระจกสู่สิ่งแวดล้อม ในการเป็นส�านักงานสีเขียว หรือ Green f ce บริษทั บางจากฯ มีการบริหารจัดการ และด�าเนินงานผ่านเกณ ์มาตรฐานส�านักงานสีเขียวในระดับดีเยี่ยมของกรมส่งเสริม คุณภาพสิ่งแวดล้อม ทั้ง มิติ ประกอบด้วย การบริหารจัดการองค์กร การด�าเนินงาน Green f ce การใช้พลังงาน ทรัพยากร การจัดการของเสีย สภาพแวดล้อม การจัดซื้อ วัสดุอุปกรณ์ส�านักงาน และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ส�าหรับกิจกรรมการอนุรักษ์พลังงานในองค์กร บางจากฯ ร่วมมือร่วมใจลดใช้พลังงาน ทั้งองค์กร โดยเข้าร่วมการแข่งขันสุดยอดอาคาร ส�านักงาน รวมใจประหยัดพลังงาน หรือ S S Featuring Energy 201 ซึง่ บริษทั บางจากฯ มีการด�าเนินงานผ่านเกณ ค์ รบ ด้าน คือ การประหยัดไฟฟ้าในอาคาร การส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ประหยัดไฟ และการรณรงค์ สร้างจิตส�านึกอนุรักษ์พลังงาน และได้รับรางวัลดีเด่นประเภทอาคารประหยัดพลังงาน และพนักงานเกิดจิตส�านึกในการใช้พลังงานอย่างรู้คุณค่า ขอบคุณภาพประกอบจาก : http://www.bccommunication.net
74
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ENERGY TIP
ความส อาด องเครื่อง นต์ ส�า ั ก ่าที่ ิด
TEXT : ไบโอ
เครือ่ งยนต์ ถือเป็นหัวใจหลักของรถ เพราะการท�างานของเครือ่ งยนต์สง่ ผลโดยตรงต่อสมรรถนะการขับขีบ่ นท้องถนน ก่อนเลือกซือ้ รถ หลายคนเน้นดูทสี่ มรรถนะความแรงของเครือ่ งยนต์ โดยเปรียบเทียบกันจนได้ตวั เลือกทีถ่ กู ใจ อย่างไรก็ตามสมรรถนะของเครือ่ งยนต์ ถดถอยลงได้ตามกาลเวลา ซึง่ ส่วนหนึง่ มาจากความสกปรกทีก่ อ่ ตัวเพิม่ ขึน้ ในเครือ่ งยนต์นนั่ เอง การท�าให้เครือ่ งยนต์สะอาดก็เป็นการ ลดการใช้พลังงานไปได้ในตัวอีกด้วย ทาอย่าง ร ง ะช่ ย ก องเ รือ่ งยนต ากสิง่ สก รก แนวทางที่ง่ายที่สุดที่เจ้าของรถทุกคนสามารถ ท�าได้ เพื่อรักษาความสะอาดของเครื่องยนต์ก็คือ การใช้นา�้ มันทีม่ คี ณ ุ ภาพ ปราศจากสิง่ เจือปน เพือ่ ช่วย ให้การเผาไหม้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยหาก เจ้าของรถใหม่สามารถท�าได้ไปตลอด ก็จะช่วยยืดอายุ ความใหม่ของเครื่องยนต์ได้นานขึ้น ส่วนใครที่ขับ รถที่ใช้มาหลายปีแล้ว การหันมาเลือกเติมน�้ามันที่ดี
ความสกปรกในเครื่องยนต์มาจากไหน หลายคนเข้าใจว่า การมีสิ่งสกปรกเกิดขึ้น ในเครื่องยนต์ เป็นเรื่องปกติที่เลี่ยงไม่ได้ และไม่รู้ว่าเจ้าสิ่งสกปรกนี้คืออะไรหรือมาจาก ไหนกันแน่ เชลล์ E20 แกสโซ อล์ มีค�าอธิบายง่าย ๆ มาฝากกัน ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่า เครื่องยนต์ท�างานโดยกระบวนการเผาไหม้น�้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งแน่นอนว่าสามารถท�าให้เกิดเขม่าและคราบตะกรันในเครื่องยนต์ได้ และคราบตะกรัน นี่แหละที่ท�าให้สมรรถนะของเครื่องยนต์ลดลง เพราะเครื่องยนต์จะท�างานได้อย่าง เต็มสมรรถนะก็ต่อเมื่อน�้ามันและออกซิเจนที่ผ่านเข้าไปสู่ห้องเผาไหม้นั้น มีปริมาณที่ เหมาะสม ซึ่งรถใหม่ ๆ จะมีสภาพภายในที่เรียบและสะอาด จึงท�าให้ทั้งน�้ามันและ ออกซิเจนไหลผ่านได้ดี และผสมเข้าด้วยกันในปริมาณที่เหมาะสม แต่เมื่อเวลาผ่านไป โอกาสที่คราบตะกรันจะก่อตัวเพิ่มขึ้นก็มีมากตามไปด้วย ซึ่งคุณภาพของน�้ามันเชื้อเพลิง ที่เติมเป็นประจ�านั้นมีผลอย่างมาก ถ้าน�้ามันที่เติมเข้าไปมีคุณภาพต�่าหรือมีสิ่งเจือปน คราบตะกรันจะก่อตัวขึ้นเร็ว และสะสมอยู่ในบริเวณชิ้นส่วนส�าคัญของเครื่องยนต์ จนท�าให้การเผาไหม้ด้อยประสิทธิภาพลง และส่งผลต่อการท�างานของเครื่องยนต์ ท�าให้ รู้สึกได้ถึงการขับขี่ที่ไม่ลื่นไหล หรือเร่งเครื่องได้ไม่ทันใจ VOLUME 7 ISSUE 82
มีประสิทธิภาพการเผาไหม้สูง จะช่วยหยุดการก่อ ตัวเพิ่มขึ้นของคราบตะกรัน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ท�าให้ เครือ่ งยนต์อดุ ตัน ได้เป็นอย่างดี เชลล์ E20 แกสโซ อล์ ทีม่ ี แอดว้านซ์ คลีนซิง่ เทคโนโลยี ซึง่ เป็นสารท�าความ สะอาดพิเศษ เป็นน�้ามันที่ช่วยป้องกันการก่อตัวของ คราบตะกรันในเครือ่ งยนต์ เพือ่ ให้เครือ่ งมีประสิทธิภาพ การเผาไหม้สงู เครือ่ งยนต์เดินเรียบ และตอบสนองการ ขับขีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่ ง ที่ เรามองข้ า มอย่ า งความสะอาดของเครื่ อ ง ยนต์ อาจกลายเป็นสิ่งที่มีผลอย่างมากต่อสมรรถนะ ของเครื่องยนต์และประสบการณ์การขับขี่โดยรวม ได้ ดังนั้น น�้ามันหมดครั้งต่อไป ก่อนแวะเข้าปั ม น�า้ มัน ควรเลือกปัมทีม่ นี า�้ มัน E20 คุณภาพสูงทีม่ สี าร ท�าความสะอาดที่ช่วยลดการก่อตัวของคราบตะกรัน ท�าให้ประสิทธิภาพการเผาไหม้สูง และตอบสนอง การขับขี่ที่ดีกว่า ขอ ข้อมูล าก : บริษัทเชลล์แห่งประเทศไทย จ�ากัด ขอ ู รู าพ าก : http://f.ptcdn.info/306/016/000/ 1393852036-DSC00782-o.jpg http://i.ytimg.com/vi/tUscqUpYR7g/maxresdefault.jpg E N E R G Y S AV I N G
75
วิ ปี ร ห ัดพลังงานในบ้าน ด้ ยเ รื่อง ัก ้า เครื่องซักผ้า เป็นเครื่องทุ่นแรงที่ดีของคุณแม่สมัยใหม่ ที่ต้องรับมือกับเสื้อผ้ากองโตของสมาชิกในครอบครัว แต่การซักผ้าด้วยเครื่องซักผ้ามักใช้พลังงานในการซัก มาก และอาจส่งผลเสียแก่สงิ่ แวดล้อม คงจะดีมใิ ช่นอ้ ยหาก การซักผ้าของคุณสามารถช่วยให้ผ้าสะอาดพร้อมรักษา สิง่ แวดล้อม อีกทัง้ ยังประหยัดไ าในบ้าน เป็นการช่วย ลดค่าใช้จา่ ยภายในบ้านได้อกี ด้วย ซึง่ บรีสได้แนะน�าวิธใี ช้ เครือ่ งซักผ้าของคุณให้เป็นเครือ่ งใช้ไ าประหยัดพลังงาน ดังนี้
กางเกงยีนส์ หรือผ้าขนหนู เพราะการซักผ้าประเภทเดียวกันจะช่วยในการตั้ง โปรแกรมการซักและการปันแห้งทีเ่ หมาะสมได้งา่ ยกว่า อีกทัง้ ยังเป็นการถนอม เนื้อผ้าอีกด้วย . แช่ผ้าก่อนน�าไปซักเครื่อง การแช่ผ้าสักครึ่งชั่วโมงก่อนน�าไปเข้าเครื่อง ซักจะท�าให้เครื่องซักผ้าท�าความสะอาดผ้าได้ง่ายขึ้น วิธีนี้เป็นการช่วยผ่อนแรง เครื่องซักผ้า และประหยัดไฟฟ้าได้ดีอีกวิธีหนึ่ง . พลังงานไฟฟ้าส่วนใหญ่ที่ใช้ในการซักผ้านั้นสิ้นเปลืองไปกับการท�าให้น�้า มีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ ดังนัน้ การซักผ้าในน�า้ เย็น หรือด้วยโปรแกรมการซักทีอ่ ณ ุ หภูมิ 0 องศา จึงช่วยประหยัดไฟฟ้าได้ดีที่สุด คุณแม่จึงควรซักผ้าด้วยโปรแกรม น�้าร้อนโดยเฉพาะบางเวลาที่จ�าเป็นเท่านั้น เช่น เมื่อเสื้อผ้าสกปรกมากหรือ เปอนคราบน�้ามัน เป็นต้น การเลือกใช้อุณหภูมิการซักที่เหมาะสมกับเสื้อผ้า นั้นเป็นการประหยัดพลังงานเครื่องซักผ้าและช่วยลดปริมาณกาซเรือนกระจก ได้มากทีเดียว . ใส่ผงซักฟอกและปริมาณน�้าที่พอเหมาะกับผ้าที่ซัก เพราะหากใส่ ผงซักฟอกมากเกินไปอาจท�าให้ถงั ซักท�างานได้ยากขึน้ นอกจากนี้ คุณควรเลือก ใช้ผลิตภัณ ์ซักผ้าที่เหมาะสมกับเครื่องซักผ้า เช่น หากคุณใช้เครื่องซักผ้าแบบ ฝาหน้า คุณควรเลือกใช้ผงซักฟอกที่ออกแบบมากับการซักด้วยเครื่องฝาหน้า โดยเฉพาะ เพื่อป้องกันปัญหาฟองล้นเครื่องซึ่งอาจกระทบไปถึงประสิทธิภาพ การท�างานของเครื่องซักผ้าได้ . ปิดโหมดสแตนด์บาย (stand y) ของเครื่องซักผ้าเมื่อไม่ใช้งาน วิธีนี้ ควรน�าไปใช้กบั เครือ่ งไฟฟ้าทุกชนิดภายในบ้าน ซึง่ จะช่วยให้คณ ุ ประหยัดไฟฟ้า ในบ้านได้มากเลยทีเดียว
ิ ี ระ ยัด น ้าน การ น ้ง
เท นิ การ ช้เ รื่อง ัก ้าอย่าง ระ ยัด การ ัก ้า
1. เลือกซื้อเครื่องซักผ้าที่มีขนาดเหมาะสมกับปริมาณเสื้อผ้า ที่ต้องซักในครัวเรือน การซักผ้าด้วยเครื่องที่มีขนาดใหญ่เกินไป นั้น ท�าให้สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าในการซักโดยเปล่าประโยชน์ 2. ซักผ้าเฉพาะเมื่อจ�าเป็น ไม่ควรซักเมื่อมีเสื้อผ้าน้อยเกินไป และควรใช้เครื่องซักผ้าเมื่อมีปริมาณผ้าที่ต้องซักมากพอเหมาะ กับขนาดของถังซักโดยไม่ใส่เสือ้ ผ้าอัดแน่นจนเกินก�าลังของเครือ่ ง เพือ่ ให้การซักด้วยเครือ่ งมีประสิทธิภาพและคุม้ ค่ากับพลังงานทีใ่ ช้ . แยกเสื้อผ้าแต่ละชนิดออกจากกัน เช่น แยกซักผ้าเนื้อบาง 76
E N E R G Y S AV I N G
การปั นแห้งหรืออบแห้ง เป็นอีกหนึ่งขั้นตอนในกระบวนการซักผ้าที่ใช้ พลังงานอย่างมาก เทคนิคง่ายๆ ต่อไปนี้ จะช่วยให้คุณประหยัดพลังงานใน บ้านได้ 1. ท�าความสะอาดผ้ากรองฝุ่นเป็นประจ�า แผ่นกรองฝุ่นหรือผ้ากรองเป็น ตัวท�าให้อากาศผ่านเข้าไปในเครือ่ งปันแห้งได้ ซึง่ เมือ่ ผ้ากรองมีฝนุ่ เกาะมากเข้า จะท�าให้เครื่องปันผ้าท�างานได้ยากขึ้น ด้วยเหตุนี้ คุณแม่ควรท�าความสะอาด แผ่นกรองฝุน่ ทุกครัง้ หลังซักผ้า โดยเฉพาะหลังการซักผ้าขนหนูหรือผ้าปูทนี่ อน 2. ปันผ้าให้หมาดก่อนน�าไปปันแห้ง การอบผ้ามักใช้เวลานานกว่าผ้าจะ แห้ง ดังนั้นการปันผ้าในน�้าสุดท้ายด้วยความเร็วสูงสุด จะช่วยให้ผ้าหมาดและ แห้งง่ายขึ้นเมื่อน�าไปปันแห้ง . ตากผ้าในทีโ่ ล่งด้วยแสงแดด แสงแดดคือพลังงานความร้อนจากธรรมชาติ ที่ช่วยให้ผ้าแห้งได้ดี ยิ่งถ้าวันไหนอากาศดี ๆ ตากผ้าเพียงไม่นาน คุณก็จะได้ ผ้าที่แห้ง สะอาด และปราศจากกลิ่นอับชื้น วิธีนี้ช่วยคุณแม่ให้ประหยัดไฟฟ้า ได้ดีที่สุด เพราะคุณจะได้ไม่ต้องน�าผ้าไปปันแห้งให้เปลืองไฟ ขอ ข้อมูล ละ าพ ระกอ ากเ ต : https://www.breeze.co.th www.3mbuildingfilm.com
SEPTEMBER 2015
GREEN 4 U TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
กล่อง ส่ ข่ าก าง ละ ้า ้ง Happy Eggs กล่องใส่ไข่ ออกแบบโดย a a S c ypek นักศึกษาสาขานิเทศศิลป์ ในกรุงวอซอ ประเทศ โปแลนด์ ท�าจากฟางและหญ้าแห้ง โดยผ่านการบีบอัดเข้ารูปทรงด้วยความร้อน มีทงั้ แบบบรรจุ , , 10 ฟอง มีความเป็น eco friendly ตั้งแต่การเลือกวัสดุเหลือใช้จากฟาร์ม ไม่ต้องผลิตวัตถุดิบใหม่ต้นทุนจึงต�่า สามารถย่อยสลายได้เร็วกว่ากระดาษธรรมดา สามารถทิ้งให้เป็นปุ ยของพืชต่อไปได้อย่างเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นแพคเกจจิ้งที่สื่อความหมายถึงไข่ที่มีความสดใหม่จากฟาร์มได้เป็นอย่างดีอีกด้วย (ที่มา
ttp
.creative ove.co )
สเตอร ลูกต้น ม้ TAKE A GREEN BREAK โปสเตอร์งานดีไซน์รกั ษ์โลก ให้ความ รู้สึกใกล้ชิดธรรมชาติมากขึ้นด้วยการสามารถสัมผัสกับต้นไม้ จริงบนฝาผนัง เหมาะส�าหรับการสร้างแรงบันดาลใจให้กับชีวิต คนเมืองทีอ่ าศัยอยูใ่ นคอนโด หรือตามส�านักงาน ช่วยผ่อนคลาย พั ก สายตาจากการท� า งานหนั ก ๆ โดยสามารถปลู ก หญ้ า หรือต้นไม้เล็ก ๆ ที่ไม่ต้องดูแลรักษามาก ลงไปได้ตรงกลาง กรอบโปสเตอร์ (ที่มา
ttp
.creative ove.co )
เ รื่อง งขนม ง าก อนกรีต ลอก minimalist toaster เครือ่ งปิงขนมปังแบบแนว ๆ เรียบเท่ ท�าจากวัสดุ เหลือใช้เพียงไม่กี่ชิ้น คือ คอนกรีตบล็อก เหล็กเส้น 2 เส้น สายไฟ และ ไม้ชนิ้ เล็ก ๆ ปิดท้ายอีก 1แผ่น เหมาะเป็นอย่างยิง่ กับการปิงขนมปังแบบ ปิต้า (ขนมปังแบบกลม ๆ แบน ๆ ที่ทานในอาหารตะวันออกกลาง) จาก ผลงานการออกแบบโดย Adi affran ซึ่งส�าเร็จการศึกษาจาก e alel Acade y of Art and Design
ที่รอง ก้ าก ม้ อรก
(ที่มา
ttp
.greenistasociety.co )
OTAM (One Time After Meal) ที่รองแก้วรูปขนมปังปิงที่ค�านวณทั้งในเรื่องขนาดและน�้าหนักให้ใกล้เคียงกับสัดส่วนของขนมปังจริงมากที่สุด เพื่อให้ชิ้นงานสามารถใช้เป็นของตกแต่งภายในบ้านได้ด้วย ภายใต้แนวคิดของงานออกแบบอย่างยั่งยืน โดยวางระบบการจัดเก็บและการใช้เศษวัสดุ อย่างคุ้มค่า สามารถพลิกเศษวัสดุให้เป็นทรัพย์ ภายใต้แบรนด์ T AS ท�าจากไม้คอร์ก กับวัสดุโลหะ (แม่เหล็ก) (ที่มา
ttp
.tcdcconnect.co )
VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
77
GREEN 4 U TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
อนันต ล าส
นาฬิกาแผ่นเสียงฉลุ
Green Handmade
นา กาแขวนผนังตามบ้านทั่วๆ ไปที่คนส่วนใหญ่นึกถึง ก็คงจะเป็นลักษณะเรียบง่าย ทรงกลมธรรมดา ใช้ประโยชน์เพียงบอกเวลา เท่านัน้ แต่ดว้ ยไอเดียของนักกรา กดีไซน์ อย่าง อนันต ล าส สามารถพลิกนา กาแขวนธรรมดาให้กลายมาเป็นสินค้าแ นด์เมด ไม่เหมือนใคร ด้วยวัสดุสดุ คลาสสิกเหลือใช้ทปี่ จจุบนั ไม่คอ่ ยได้ใช้งานกันอย่างแผ่นเสียง บวกกับความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบลาย เป็นของตัวเอง จนกลายมาเป็นเจ้าของผลงานนา กาแผ่นเสียงฉลุ ซึ่งไม่เพียงแต่ใช้ประโยชน์ ในการบอกเวลาแล้ว ยังเป็นงานศิลปะ ชั้นดีสามารถเป็นของตกแต่งบ้านได้อีกด้วย คุณอนันต์ ล ส อดีตมนุษย์เงินเดือนด้านกราฟฟิกดีไซเนอร์ที่เกิดถึงจุดอิ่มตัวกับงานประจ�า ได้เล่าให้ฟังเกี่ยวกับจุดเริ่มต้นของการท�าธุรกิจนา ิกาแผ่นเสียงฉลุของตัวเองว่า ตั ต ว เ ร นทสวนลุ ไนท์ ร์ ร์ รเอ ร ตัวเอ ไ สไว นน ขวน เ อ คนเ น ลว น อ นคว ล ไ เ อน คร เริ ออ เพิ ขนเรอ ลวน ว ข ร ว ลตอ รั เ พ ั ลุ ล ค วต ติ ต ลั นันสวนลุ ไนท์ ร์ ร์ไ ตัวล ไ ุ น นน ลว ัน ว พ ท ร ร นเ ว ั รรั ท น รอ ร วัน น ไ สั เ ตเ นวัส ุเ ลอ น รท เ ลออ เ น ร เ น เ อ คริลิ ไ นเ ล สติ เ อร์ ล ลอ เอ วัส เุ ล นัน สไอเ ท ลอ ร ิ ข์ นเ น นิ น ล ว ข ทตล นั ร ไ ครั ทตล ั อ ท ว ตุ ั ร อน ไ ล คนสน ไ นอ หลังจากนัน้ ก็เริม่ หันมาลองใช้แผ่นเสียงเก่ามาเป็นวัสดุทา� นา กิ าแขวนอีกครัง้ จากการทีบ่ งั เอิญ เดินไปเห็นร้านแผ่นเสียงเก่าหรือเรียกว่าแผ่นไวนิลเก่า ที่ขายอยู่ในตลาดนัดรถไฟ แล้วเกิดไอเดีย น�ามาประยุกต์ เริ่มลองหาข้อมูลในอินเตอร์เน็ตก็พบว่าบ้านเรายังไม่มีใครท�าจึงเริ่มลงมือลองท�า ในช่ ว งแรกจะเน้ น การออกแบบลายที่ เ ป็ น ไทย ๆ เกี่ ย วกั บ การท่ อ งเที่ ย วหรื อ สั ญ ลั ก ษณ์ ที่ นักท่องเที่ยวจดจ�า และลายศิลปินสากลที่เป็นต�านาน ลองผิดลองถูกหลายครั้ง กว่าจะฉลุเป็นลาย ต่าง ๆ ได้พอดี โดยที่แผ่นเสียงไม่เสียหาย และออกมาสวยงามใช้เวลาอยู่พอสมควร 78
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ในการผลิตงานออกมาแต่ละชิ้นแม้ใช้วัสดุไม่มาก แต่คอ่ นข้างต้องใช้ความละเอียดอ่อน ตัง้ แต่การเลือก แผ่นเสียงที่จะน�ามาเป็นวัสดุหลัก บางแผ่นมีขอบ บิดแตก ก็อาศัยความคิดสร้างสรรค์ออกแบบลาย ให้เข้ากันกับรอยที่มีอยู่แล้ว ราคาของแผ่นเสียงนั้น ไม่แน่นอน แล้วแต่สภาพ แต่หลัก ๆ จะพยายาม หลีกเลี่ยงแผ่นเสียงที่นักสะสมนิยมกัน เพราะจะมี ราคาแพง ออกแบบแล้วน�ามาฉลุด้วยเลเซอร์ งาน บางชิน้ ต้องท�าสีสเปรย์เพิม่ ต้องเปลีย่ นลายตรงกลาง แผ่นเสียง เสร็จแล้วจึงน�าไปเคลือบเงาให้สวยงาม และ น�ามาประกอบเข้ากับเครือ่ งนา กิ า ส่วนต้นทุน ทั้งหมดอยู่ที่ประมาณ 10,000 บาท ส่วนใหญ่จะอยู่ ที่ค่าวัสดุ ขณะที่ทุนวัตถุดิบหรือวัสดุอยู่ที่ประมาณ 0 จากราคาขายตั้งแต่หลักร้อยถึงหลักพัน แล้ว แต่ความยากง่ายของแต่ละแบบ ข้อดีของนา กิ าแผ่นเสียงฉลุ คุณอนันต์ กล่าวว่า ว นวคิ เรอ รไ เคิล วัส คุ อนข ล ส รั น ขวน ว นเส ททุ วันน เริ ล คว รส คว เ น นตร สุนทร ์ นววินเท อ ทั ตัว นเส สวน ส เวล ขวน น นั สออน เน ต ขอเส ตร ทขอ ั ขอ รออ ลว ล ตอ เ ส เพร อ ข เวล ลุ รออ ค อ เพร นเส เ นวัส คุ อนข เ ร
80
E N E R G Y S AV I N G
ุ นั อ ท รข ลั คอ ท เ ส คุ เพร เ นพนท ไ ส ล น ส ร ส ตอ น น พ คุ ันไ ไ ตอ น ร น อ ทั สินค ลิตต ออเ อร์ ินตอ ิน ลวส ท พัส ุไ ร ณ ์ ไ สตอ สินค ร ั ค ไ ไ เ ั ุคส ั ุ ันทคนอ น ล ออนไลน์ ขน ร สตอ รั ล ค อ เพร ล นอ น ไ ต ต นไ ลว ั ส ร น ไ เ นขอ ขวั ไ ว เร ไ ว น ทสั ท พิเ ตล ิน เพ เรอนเ ว น ล อ ทั เร ส ร ล เอ ล ออ ต คว ตอ รขอ ล ค สินค ินอ เวล ท พอส ควร ว ลั ร ลิตไ ร ณ ิน วัน อ ทั เร ั ท น ร ลน ์ ร อ อน ว ในอนาคตช่องทาง การตลาดยังมอง ทางสื่อออนไลน์อยู่ ด้วยเรื่องความสะดวกรวดเร็วและต้นทุนค่าใช้จ่ายต่าง ๆ อาจขยายทาง เว็บไซต์ขายของ แ นด์เมด หรือตกแต่งบ้าน หลาย ๆ ที่ คุณอนันต์ ล ส ได้กล่าวทิง้ ท้ายเกีย่ วกับช่องทางสินค้าอืน่ ๆ ในอนาคตว่า คิ ว คว คิ สร สรรค์ไ วัน สิน วัส ุ ล อ ส ร น ร ุ ต์ ลิต ล นเ น สินค ไ ว ทิ ไ เ นข เร ตอ พั น ร ไ เรอ ไ ั คน
SEPTEMBER 2015
ENERGY INVENTION TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
มัล ิ พเดียมประ ยัดพลังงาน น ั กรรมสิ่งประดิ มือสารพัดช่างอุบล
เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ส�านักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) ร่วมกับส�านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และวิทยาลัยเทคนิค อุบลราชธานี จัดกิจกรรมการประกวดสิง่ ประดิษฐ์และนวัตกรรมสายอาชีวศึกษา ประจ�าปี 2558 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ วิทยาลัย เทคนิคอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี เปดโอกาสให้เด็กไทยได้แสดงความรูค้ วามสามารถในการคิดสร้างสรรค์ผลงาน และเป็นเวที ให้แก่ผลงานประดิษฐ์ทมี่ ศี กั ยภาพให้สามารถก้าวเข้าสูก่ ารแข่งขันในเวทีระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทัง้ ส่งเสริมและสร้างให้เกิดเครือข่าย ด้านการวิจยั และการประดิษฐ์ระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ในสถาบันอาชีวศึกษา
สกั
า ีระกูร เลิ รองเลขาธิการ วช.
คุณสุ ั ร รณ์เลิ รองเลขาธิการ คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวว่า กิ จ กรรมดั ง กล่ า วเป็ น การสร้ า งเสริ ม และ พั นาศั ก ยภาพขี ด ความสามารถด้ า นการ วิ จั ย และพั นาการประดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ของ อาจารย์ แ ละนั ก ศึ ก ษาในสถาบั น การศึ ก ษา สังกัด สอศ. ให้มีความรู้ ความสามารถ และ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ด ้ า นการวิ จั ย และการ ประดิษฐ์คิดค้นอย่างต่อเนื่อง มีแบบแผน และ เป็นรูปธรรมเพื่อก้าวสู่การเป็นนักวิจัยและ นักประดิษฐ์คิดค้นที่ดีมีคุณภาพ และสามารถ เผยแพร่ผลงานสูส่ าธารณชนได้อย่างกว้างขวาง ขึ้น โดยแบ่งการประกวดออกเป็น 2 ประเภท VOLUME 7 ISSUE 82
ได้แก่ การประกวดการเขียนรายงานสิ่งประดิษฐ์โดนใจ และการประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นที่ สร้างมูลค่าเพิ่ม มีผลงานเข้าร่วมประกวด จ�านวน 2 ผลงาน จาก 11 สถาบันการศึกษา ทั้ ง นี้ ผลงานที่ น ่ า สนใจอย่ า ง มั ล ติ โ พเดี ย มประหยั ด พลั ง งาน ของ นายวิ ท ยา พั่ ว พั น ธ์ นายศิริศักดิ ภูผา นายกิตติศักดิ แก่นศรี นายเกียรติศักดิ ประเสริฐจันทร์ และนายจตุรงค์ บุญจอง นั ก ศึ ก ษาจากวิทยาลัยสารพัดช่างอุบลราชธานี ได้รับรางวัลประกาศเกียรติคุณในกิจกรรม การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมสายอาชีวศึกษา ประจ�าปี 2 8 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น ิริ ั ิ นักศึกษาวิทยาลัยสารพัดช่างอุบลราชธานี กล่าว่า ปัจจุบันการจัดกิจกรรม การแสดงต่าง ๆ ของหน่วยงาน มักจัดภายในอาคาร นอกอาคาร ไม่เว้นแม้แต่สถานที่กลางแจ้ง ซึ่งโพเดียมและเครื่องเสียงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เพราะเป็นช่องทางส�าคัญในการติดต่อสื่อสาร เช่น การประชุม สัมมนาโอกาสต่าง ๆ รวมไปถึงการบรรยายหรือน�าเสนอผลงาน ที่ต้องการน�าเสนอ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากสภาพปัญหาที่กล่าวมานั้น ท�าให้เกิดแนวคิดและแรงบันดาลใจ ในการสร้างผลงานสิ่งประดิษฐ์ “มัลติโพเดียมประหยัดพลังงาน”
E N E R G Y S AV I N G
81
มัลติโพเดียมประหยัดพลังงาน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต พลัง งาน เพิ่ม ประสิทธิภาพและลดการใช้พ ลัง งาน โดยแก้ไข ปัญหาและอ�านวยความสะดวกให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ให้สามารถ ใช้ได้ทุกสถานที่ทั้งภายในและภายนอกอาคาร มีการออกแบบ ให้มีขนาดที่เหมาะสม สามารถเคลื่อนย้ายได้ มีแบตเตอรี่ส�ารอง สามารถปรับระดับความสูง ต�่า ตามความสูงของผู้ใช้ได้หลาก หลายรูปแบบ มีไฟส่องแสงสว่างบริเวณแท่นวางโพเดียม ซึ่ง มัลติโพเดียม มีการใช้พลังงานได้ 2 ทางเลือก คือ จากพลังงานทดแทน หรือพลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีแผงโซลาร์เซลล์เป็นตัวชาร์จไฟ เข้าแบตเตอรี่ และการใช้ไฟฟ้ากระแสสลับชาร์จเข้าแบตเตอรี่ โดยมีชุดชาร์จแบตเตอรี่อยู่ในโพเดียมท�าให้ใช้งานได้สะดวก ใน กรณีไฟที่จ่ายจากแบตเตอรี่หมด อุปกรณ์ที่ประดิษฐ์ขึ้น สามารถ ใช้พลังงานโดยการจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง (DC) เข้าเครื่องเสียง ของโพเดียมและไมค์ลอย โดยไม่มีชุดหม้อแปลงจ่ายไฟ ซึ่งชุด หม้อแปลงจ่ายไฟประกอบไปด้วยขดลวด แกนเหล็กท�าให้เกิด การสูญเสียของพลังงาน เพราะต้องมีไฟใช้เลี้ยงวงจรจ่ายเข้ากับ เครื่องเสียงและไมค์ลอย
ทั้งนี้ กิจกรรมภายใต้โครงการส่งเสริมการวิจัยสิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมสายอาชีวศึกษา เป็นแรงกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจ ให้เยาวชนได้เข้าใจการเขียนข้อเสนอโครงการ เพื่อสร้างสรรค์ ผลงานในเชิงนวัตกรรมที่สามารถพั นาต่อยอด ร่วมทั้งเป็นการ สร้างเครือข่ายด้านการวิจัยและการประดิษฐ์คิดค้น ซึ่งได้ก�าหนด จัดกิจกรรมใน จังหวัด ภูมิภาค ส�าหรับสิ่งประดิษฐ์และ นวัตกรรม ที่ผ่านกิจกรรมบ่มเพาะนักประดิษฐ์สายอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดแบ่ง กลุ่ม ได้ กลุ่ม คือ กลุ่ม สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรม กลุ่มสิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรมเพื่อสังคม กลุ่มสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมเพื่อ พั นาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ และกลุ่มจินตนาการส�าหรับ อนาคต
82
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ENERGY KNOWLEDGE TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
พพ ช “บางกร ท่มโมเดล” สาย ่องาน ิจัยพลังงานทดแทน เมือ่ พูดถึงงานวิจยั ด้านพลังงานทดแทนในปจจุบนั จะเห็นได้วา่ หน่วยงานภาครัฐ หลาย ๆ หน่วยงานหันมาให้ความใส่ใจกันไม่นอ้ ย ไม่เว้นแม้แต่ กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ที่น�าเอางานวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์มา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างไม่นา่ เชือ่
VOLUME 7 ISSUE 82
ทัง้ นี้ ทางกรมพั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ พลังงาน (พพ.) ได้จัดตั้งโครงการ บางกระทุ่มโมเดล เพื่ อ หวั ง สร้ า งชุ ม ชนอุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่ ใช้ พลังงานทดแทน โดยการน�าร่องโครงการส่งเสริม ระบบอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ ผลิตกล้วยตาก บางกระทุ ่ ม เป็ น สิ น ค้ า โอทอป รสชาติ อ ร่ อ ยขึ้ น แถมลดต้นทุนด้านพลังงาน สร้างรายได้ให้ชุมชนปี ละกว่า ล้านบาทต่อปี และเตรียมขยายผลไปยัง ชุมชนอื่น ๆ เช่น ชุมชนผลิตข้าวแตน และอาหาร ทะเลตากแห้ง เป็นต้น คุณ รร ร ว อธิบดีกรมพั นาพลังงาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) เล่ า ถึ ง ที่ ม า ของการจัดตั้งโครงการฯ ว่า พพ. ได้ร่วมมือกับ กลุ่มวิจัยพลังงานแสงอาทิตย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พั นาระบบอบแห้งพลังงาน แสงอาทิตย์มาประมาณ ปีแล้ว จนได้ต้นแบบ ที่เ หมาะสมกับการอบกล้ว ยในเชิงพานิชย์ จึงได้ ด� า เนิ น โครงการส่ ง เสริ ม ระบบอบแห้ ง ดั ง กล่ า ว ที่ ชุ ม ชนกล้ ว ยตามบางกระทุ ่ ม โดยในโครงการ E N E R G Y S AV I N G
83
ENERGY ENERGYKNOWLEDGE KNOWLEDGE
ดังกล่าวได้จัดสร้างระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ให้กับชุมชน จ�านวน 0 ระบบ ให้แก่ผู้ที่ได้ เข้าร่วมโครงการ ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของชุมชนและจัดตั้งกลุ่ม “บางกระทุ่มโมเดล” และเบื้องต้นผู้เข้าร่วมโครงการฯ จะออกค่าใช้จ่ายร้อยละ 0 ในการติดตั้งเพื่อสร้าง ระบบอบแห้งดังกล่าว และพพ. ได้ให้การสนับสนุนส่วนหนึ่ง โดยขณะนี้โครงการ บางกระทุ่มโมเดล ที่ได้ใช้ระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ด�าเนินการติดตั้งเรียบร้อย และได้ ผลสัมฤทธิเป็นที่น่าพอใจอย่างยิ่ง ซึ่ง พพ. คาดว่าจะมีการขยายผลระบบอบแห้งแสง อาทิตย์นี้ ไปยังชุมชนอื่น ๆ ที่สนใจต่อไป ทั้งนี้ รูปแบบชุมชนบางกระทุ่มโมเดลแห่งนี้ ได้น�าระบบอบแห้งแสงอาทิตย์มาใช้ ในการผลิตกล้วยตาก ซึ่งเป็นสินค้าที่มีชื่อเสียงของอ�าเภอบางกระทุ่ม หรือที่รู้จักกันใน ชื่อว่า “กล้วยตากบางกระทุ่ม” โดยกล้วยตากจะมีรสชาติหอมหวานอร่อย โดยการ ติดตั้งระบบอบแห้งแสงอาทิตย์ ได้ช่วยให้ชุมชนสามารถผลิตกล้วยตากที่มีคุณภาพได้ เพิ่มขึ้น ลดความเสียหายจากการผลิตกล้วยตากที่เกิดจากการเปียกฝน แก้ปัญหาการ รบกวนจากแมลงและสัตว์ต่าง ๆ สามารถสร้างรายได้ให้ชุมชนสูงถึงกว่า ล้านบาท ต่อปี และการติดตั้งระบบอบแห้งแสงอาทิตย์จะสามารถคืนทุนได้ภายใน 2 ปี จากการส�ารวจ พพ. พบว่า ระบบอบแห้งทีส่ มาชิกชุมชนได้รบั จากโครงการ ฯ นี้ จะช่วย ให้ผู้ผลิตกล้วยตากสามารถผลิตได้ทั้งปี ซึ่งจะช่วยให้ชาวสวนกล้วยซึ่งเป็นอาชีพหลัก ของชุมชนบางกระทุ่ม ขายกล้วยได้ราคาดีตลอดทั้งปีอีกด้วย นอกจากนี้ยังช่วยท�าให้ คนในหมู่บ้านมีงานท�าตลอดทั้งปีเช่นกัน จากกิจกรรมที่ต่อเนื่องของการผลิตกล้วยตาก เช่น การปอกกล้วย และการแบนกล้วย เป็นต้น โดยโครงการนี้นอกจากจะท�ารายได้ ให้กับชุมชนแล้ว ยังจะช่วยให้เกิดการสืบสานวั นธรรมของชุมชนในการสร้างอาชีพ ให้ยั่งยืนอีกด้วย ส�าหรับแนวทางการขยายผลของโครงการส่งเสริมระบบอบแห้งแสงอาทิตย์รูปแบบ เดียวกับบางกระทุ่มโมเดลแห่งนี้ เบื้องต้น พพ. จะได้มีโครงการขยายผลไปยังชุมชน กล้วยตากในพื้นที่ข้างเคียง และชุมชนอื่น ๆ เช่น ชุมชนข้าวแตน และชุมชนผลิตอาหาร ทะเลตากแห้ง เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้เกิดการสร้างรายได้ที่ยั่งยืนควบคู่ไปกับการสร้าง ชุมชนที่เข้มแข็งด้วยการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนต่อไปในอนาคต 84
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
SPECIAL REPORT TEXT : ปยะนุช มีเมือง
กองทัพ กับพลังงานทดแทน พลตร ต ส ค ค พิ สุ ท ์ รองเจ้ า กรมการพลังงานทหาร ให้ข้อมูลกับนิตยสาร Energy Saving ว่า กรมการพลังงานทหารนัน้ มีภารกิจหลักด้านพลังงานอยู่ 2 ส่วน ด้วยกัน ได้แก่ 1) ด้านปิโตรเลียม และ 2) ด้านพลังงาน ทดแทน ส�าหรับด้านปิโตรเลียมนัน้ ทางกรมฯ ท�ามานานกว่า 2 ปี เป็นการท�าแบบครบวงจร เริม่ ตัง้ แต่การส�ารวจน�า้ มันดิบในพืน้ ทีข่ องทหาร ทางภาคเหนือ เมื่อส�ารวจพบก็จะท�าการขุด เจาะ และส่งน�า้ มันดิบเข้าสูโ่ รงกลัน่ น�า้ มันฝาง ซึ่งโรงกลั่นนี้เรียกได้ว่าเป็นโรงกลั่นน�้ามันแห่ง แรกของประเทศไทยก็ว่าได้ แต่เนื่องจากเป็น โรงกลัน่ ขนาดเล็กจึงผลิตได้วนั ละ 200 บาร์เรล ต่อวัน โดยจะน�าไปจ�าหน่ายให้กับหน่วยงาน ทหารในภาคเหนือ เพราะการขนส่งสะดวก ส่วนทีเ่ หลือก็จะน�าไปจ�าหน่ายให้กบั หน่วยงาน ราชการ และภาคเอกชนต่อไป ซึง่ การจ�าหน่าย น�้ามันที่ผลิตได้ ไม่ได้ท�าเพื่อการพาณิชย์เป็น หลัก แต่ท�าเพื่อหาทุนส�าหรับการส�ารวจและ การขุดเจาะของกองทัพในอนาคต
พลตรีก ต าส ง าพิสท รองเจ้ากรมการพลังงานทหาร
“พลังงานทดแทน” เป็นเรื่องที่หลายภาคส่วนต่างให้ความส�าคัญ ทั้งศึกษาค้นคว้าและ พัฒนาความรู้ให้ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อน�าพลังงานที่ได้มาใช้ทดแทนพลังงาน อสซิลที่ก�าลังจะหมดไปจากโลก ซึ่งหน่วยงานหนึ่งในบ้านเราที่ศึกษาวิจัย พัฒนา และ ประดิษฐ์นวัตกรรมพลังงานทดแทน เพื่อน�ามาใช้งานในหน่วยงาน และยังน�าบางส่วนไป ช่วยเหลือประชาชนทีเ่ ดือดร้อนในถิน่ ทุรกันดารด้วย ซึง่ หน่วยงานทีว่ า่ นี้ ก็คอื “กรมการ พลังงานทหาร” นั่นเอง VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
85
โครงการติดตั้งระบบผลิตไ าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แบบ mini grid
ที่ผ่านมาเคยมีบริษัทเอกชนเข้ามาลงทุนส�ารวจปิโตรเลียมในพื้นที่ของกองทัพ แต่เมื่อท�าการ ส�ารวจไปแล้วพบว่าไม่มีศักยภาพในการผลิตเชิงพาณิชย์ ทางเอกชนจึงถอนตัวไป เพราะไม่คุ้มค่า กับการลงทุน แต่ส�าหรับกองทัพแล้ว การวิจัยหรือการทดลองผลิตปิโตรเลียมท�าขึ้นเพื่อพั นา บุคลากรให้มีความรู้เรื่องการส�ารวจ การขุดเจาะ การผลิต และการกลั่นปิโตรเลียม เพราะถ้าหาก เกิดวิกฤตต่าง ๆ ในประเทศ ทหารกลุ่มนี้สามารถเข้าไปส�ารวจ ขุดเจาะ ในแหล่งพลังงานต่าง ๆ ของประเทศได้ทันที ดังนั้นรายได้ที่ได้กลับมาจากการจ�าหน่ายน�้ามันก็จะน�าไปพั นาการขุดเจาะ ปิโตรเลียมของกองทัพต่อไป ซึง่ ผลิตภัณ ท์ ไี่ ด้จากการกลัน่ ปิโตรเลียม จะมีอยูด่ ว้ ยกัน ชนิด ได้แก่ น�า้ มันดีเซล น�า้ มันเตา และ แนพทา ซึง่ แนพทาจะน�าไปผสมเพือ่ ผลิตเป็นน�า้ มันเบนซินต่อไป และผลิตภัณ ท์ กี่ รมฯผลิตได้มาก ทีส่ ดุ คือ น�า้ มันเตา ซึง่ ส่วนใหญ่จะน�าไปใช้ในการท�าความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เนือ่ งจาก เป็นโรงกลั่นขนาดเล็ก น�้ามันเตาที่ได้สามารถน�าไปผลิตเป็นน�้ามันดีเซลได้ในโรงกลั่นขนาดใหญ่ ทีม่ เี ทคโนโลยีทนั สมัย ซึง่ ทางกรมฯไม่ได้ลงทุนในส่วนนี้ เนือ่ งจากต้องใช้เงินลงทุนสูง และด้วยแหล่ง ปิโตรลียมของทหารไม่สามารถผลิตน�้ามันในเชิงพาณิชย์ได้ จึงไม่คุ้มค่าที่จะลงทุน ส่วนเรื่องของพลังงานทดแทนนั้น ทางกรมฯเริ่มต้นท�าตั้งแต่ ปี 2 8 โดยมีแผนยุทธศาสตร์มา ตั้งแต่ปี 2 ซึ่งเป็นแผนของกระทรวงกลาโหม จะเห็นได้ว่าการผลิตพลังงานทดแทนในแต่ละ พื้นที่จะมีศักยภาพไม่เหมือนกัน บางแห่งแดดดี ลมดี หรือบางแห่งไบโอแมสดี หรือบางแห่งมีน�้าดี ก็จะได้พลังงานทดแทนออกมาแตกต่างกัน ปัจจุบนั กระทรวงกลาโหมเริม่ หันมาผลิตและใช้พลังงาน ทดแทนในทุกหน่วยงาน โดยในช่วงแรกการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนจะท�าให้กับทหารตาม แนวชายแดนที่ไฟฟ้าเข้าไปไม่ถึง เงินลงทุนที่ใช้ในการผลิตจะมาจาก 2 แห่ง ด้วยกัน คือ กระทรวง พลังงาน และกองทัพ ส�าหรับพลังงานทดแทนที่กองทัพผลิตจะเน้นไปที่พลังงานแสงอาทิตย์เป็น หลัก เพราะเหมาะกับบ้านเรา และมีศักยภาพในการผลิตสูง ที่ส�าคัญไม่ต้องดูแลมาก ซึ่งไฟฟ้าที่ ผลิตได้จะน�าไปใช้ในกองทัพ และส่วนที่เหลือจะน�าไปขายต่อให้กับการไฟฟ้าฯ เนื่องจากปัจจุบัน นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนทุกตัวจะมีราคาสูงกว่าพลังงาน ไฟฟ้าที่ได้จากถ่านหินและกาซธรรมชาติ ดังนั้นการขายไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนให้กับการ ไฟฟ้าฯจึงค่อนข้างคุ้มค่า 86
E N E R G Y S AV I N G
ล่ า สุ ด กรมการพลั ง งานทหาร ได้ ผ ลิ ต รถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ หรือ “ o ile” ออกมาใช้งาน เป็นรถเทรลเลอร์ทใี่ ช้รถลากจูง อีกทีนงึ รถคนนีจ้ ะติดตัง้ โซลาร์กา� ลังผลิต 1.2 กิโลวัตต์ มีโซลาร์ปัมส�าหรับสูบน�้า สามารถ ออกไปช่วยบรรเทาสาธารณภัยได้เป็นอย่างดี งบประมาณอยูท่ คี่ นั ละ 1 ล้านบาทเศษ โดย รถต้ น แบบคั น นี้ ใช้ ง บประมาณของกองทั พ ในการผลิ ต และมี แ ผนจะผลิ ต ออกมาใช้ งานอีก 200 คัน ซึ่งทางกองทัพได้ท�าเรื่อง ของบประมาณจากทาง สนพ. (ส�านักงาน นโยบายและแผนพลังงาน) และผ่านการอนุมตั ิ เรียบร้อยแล้ว ส�าหรับรถต้นแบบคันแรกนี้ ได้นา� ไปใช้งานที่ หน่วยรบกองพันทหารปนใหญ่ ที่ 2 จังหวัดปราจีนบุรี ประมาณ 1 ปี ผลตอบรับ ดีมาก ส�าหรับรถทีก่ า� ลังจะผลิตออกมาจะน�าเอา ข้อบกพร่องจากรถต้นแบบมาพั นาให้ดขี นึ้ อาทิ ใส่โชคเพื่อให้รถนิ่มขึ้น ใส่ไ โดรลิกเข้าไปเพื่อ สะดวกในการปรับองศาแผนโซลาร์เซลล์ในการ รับแสงแดด โดยรถจ�านวน 200 คัน ทีก่ า� ลังผลิต จะส่งให้ทหารตามแนวชายแดนทีม่ คี วามจ�าเป็น SEPTEMBER 2015
จัดท�าระบบผลิตไ าและสูบน�้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบลากจูง (P obile) ขนาดก�าลังการผลิต 1,200 วัตต์ จ�านวน 1 ชุด และสนับสนุนระบบ ดังกล่าว (ให้ยืม) แก่ ป.พัน. รอ. จ.ปราจีนบุรี
ความจ�าเป็นต้องใช้ไฟฟ้าก่อนเป็นหลัก นอกจากนี้ ท างกรมฯยั ง มี โ ครงการที่ จ ะ สร้างรถไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ต้นแบบที่ เป็นแบบ 2 คัน ขึ้นมาอีก โดยเน้นการใช้งาน ตามหลักวิศวกรรม รถคันแรกจะมีโซลาร์ปัม และโซลาร์เซลล์กา� ลังผลิต กิโลวัตต์ และรถ คันที่ 2 จะมีโซลาร์เซลล์ ก�าลังผลิต กิโลวัตต์ พร้อมแบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน เพื่อการใช้ งานทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ถ้าออกไปท�างาน พร้อมกันทั้งสองคันจะใช้งานไฟฟ้าได้ถึง กิโลวัตต์ สามารถเข้าไปช่วยเหลือชาวบ้านใน ถิ่นทุรกันดารได้ง่ายขึ้น คันแรกใช้สูบน�้า ส่วน คันที่สองใช้ในเรื่องแสงสว่าง ซึ่งเวลาป ิบัติ งานก็จะต้องออกไปพร้อมกัน เป็นนวัตกรรม ใหม่ที่จะได้เห็นในอนาคตอย่างแน่นอน นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารคิ ด ต่ อ ยอดในการ VOLUME 7 ISSUE 82
กักเก็บพลังงานไฟฟ้าทีเ่ หลือเอาไว้ใช้ในยามจ�าเป็น เพือ่ ให้หน่วยงานทหารมีความต่อเนือ่ งในการใช้ พลังงานเมื่อเกิดไฟดับ จึงเกิดเป็นนวัตกรรมที่ชื่อว่า “ attery ack up” เพื่อเก็บไฟฟ้าส�ารองไว้ ใช้งาน ส่วนไฟฟ้าที่เหลือก็จะส่งเข้า grid เพื่อขายให้กับการไฟฟ้าฯ ต่อไป หลังจากที่คิดคอนเซ็ปต์ ได้แล้ว ก็นา� เอาไอเดียดังกล่าวไปให้บริษทั เอกชนผลิตให้ ซึง่ เครือ่ ง attery ack up จะเก็บไฟฟ้า ได้ 0 ถึง 90 กิโลวัตต์ หากเกิดไฟฟ้าดับ ไฟในห้องที่จ�าเป็นจะไม่ดับ เช่น ห้องยุทธการ และห้อง สื่อสาร ที่ไฟฟ้าดับไม่ได้ กรณีที่ผลิตไฟฟ้าได้มาก การไฟฟ้าฯรับซื้อไม่หมด และไฟไม่ดับ ก็จะส่ง ไฟฟ้าดังกล่าวเข้าระบบเพื่อประหยัดไฟฟ้าของหน่วยงาน ท�าให้มิเตอร์หมุนช้าลงหรือมิเตอร์หมุน กลับแล้วแต่กรณี ซึ่งเครื่อง attery ack up ต้นทุนจะอยู่ที่ 1 กิโลวัตต์ต่อ ล้านบาท และใน อนาคตข้างหน้าทางกรมฯก็ยังจะคิดพั นาต่อยอดนวัตกรรมพลังงานทดแทนต่อไปเรื่อย ๆ เพื่อ ความมั่นคงด้านพลังงานของทหารต่อไป ส�าหรับเรื่องของพลังงานทดแทนนั้น ในกองทัพของต่างประเทศก็จะมีความคิดคล้าย ๆ กันกับ ของไทย แต่ต่างกันที่คอนเซ็ปต์การใช้งานว่าต้องการใช้ไฟฟ้าเพื่ออะไร อย่างประเทศออสเตรเลียก็ จะมีการท�า ini grid คล้าย ๆ กับของไทย แต่เนื่องจากต่างประเทศเขาพั นาไปไกลแล้ว และมี งบประมาณในการผลิตมากกว่า นวัตกรรมที่ได้ก็จะทันสมัยและมีขนาดใหญ่ ส่วนของประเทศไทย จะคิดบนพื้นฐานที่เหมาะสม เน้นใช้งานได้เหมือนกัน แต่ใช้งบประมาณในการสร้างไม่มากนัก หากเอ่ยถึงกองทัพในต่างประเทศแล้ว ตัวอย่างเช่น กองทัพสหรัฐอเมริกา เรื่องของพลังงาน ทดแทนมีสาระส�าคัญที่น่าสนใจอยู่ไม่น้อย ทั้งเพื่อการลดใช้พลังงานของกองทัพ และเพื่อสร้างงาน ให้กบั ทหารผ่านศึกทีม่ อี ตั ราการว่างงานสูง โดยในปี 201 กองทัพสหรัฐใช้เงินถึง พันล้านดอลล่าร์ เป็นค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน ซึง่ ถือเป็นค่าใช้จา่ ยทีส่ งู มาก กระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกาจึงออก มาให้ค�ามั่นว่า ภายในปี 202 กองทัพจะใช้พลังงานทดแทนอย่างน้อย 2 ของการใช้พลังงาน ทั้งหมด นอกจากนี้อุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์ในสหรัฐเอง ก็มีความมุ่งมั่นที่จะจ้างงาน เพิ่มถึง ,000 อัตรา จากทหารผ่านศึกและคู่สมรสของพวกเขาภายในปี 2020 ความมุ่งมั่นนี้เป็นข่าวดีส�าหรับทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�าหรับทหารผ่านศึกและครอบครัว ในฐานะทีเ่ ป็นกลุม่ คนทีป่ ระสบอัตราการว่างงานสูง เป็นหนึง่ ในความยากล�าบากส�าหรับพวกเขาเมือ่ ต้องกลับไปใช้ชีวิตพลเรือน ซึ่งการท�างานในอุตสาหกรรมพลังงานแสงอาทิตย์นับเป็นตัวเลือกที่ดี เนื่องจากมีอัตราการขยายตัวสูงมาก มีต�าแหน่งงานรองรับกว่า 81,000 อัตรา ในช่วงสี่ปีที่ผ่านมา เป็นอุตสาหกรรมทีม่ กี ารเติบโตสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ และในเกือบ ทุกรัฐของสหรัฐอเมริกา E N E R G Y S AV I N G
87
ENERGY LOAN TEXT : กรีนภัทร์
ทหาร ท ปล่อ สินเ ื่อ Solar Rooftop งเงินก้สงสุด
ด้วยสภาพเศรษฐกิจปจจุบันที่มีการแข่งขันค่อนข้างสูงเกือบจะในทุก ๆ ประเภทอุตสาหกรรม ธนาคารทหารไทย หรือ T มองเห็นความส�าคัญ ของการลดต้นทุนการผลิต ซึ่งเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยเพิ่ม ศักยภาพในการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการได้จึงได้จัดท�าโครงการสินเชื่อ ประหยัดพลังงาน olar Rooftop ขึ้นมา เพื่อตอบสนองความต้องการ ของผู้ประกอบการทุกประเภทอุตสาหกรรมที่ต้องการลดต้นทุนค่าใช้ไ า Solar Rooftop เป็นหนึง่ ในทางเลือกทีน่ า่ สนใจ นอกจากจะช่วยลดต้นทุนค่าไฟฟ้า ได้ไม่นอ้ ยกว่า แล้ว ยังเป็นเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรกับธรรมชาติ และเป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยประเทศชาติลดการน�าเข้าพลังงาน นอกจากนีช้ ดุ อุปกรณ์ Solar Rooftop เองมีอายุการใช้งานได้ยาวนานเกินกว่า 2 ปี มีการดูแลรักษาไม่ซบั ซ้อน แค่เพียงติดตัง้ ในจุดทีม่ แี สงแดดตกกระทบ ซึง่ ประเทศไทยอยูใ่ น Sun elt one อยูแ่ ล้ว จึงมีความ ได้เปรียบเป็นอย่างยิง่ ในการลงทุนติดตัง้ อุปกรณ์ Solar Rooftop นอกจากนี้ เป็นที่ ทราบกันดีวา่ ค่าไฟฟ้าต่อหน่วยนัน้ มีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ทุกปี “ผลิตเอง หรือ ซือ้ ใช้ ... คุณเลือกได้” จึงเป็นสโลแกนของโครงสินเชือ่ ประหยัดพลังงาน Solar Rooftop ทีท่ าง
88
E N E R G Y S AV I N G
ธนาคารฯ สนับสนุน อัตราการประหยัดไฟฟ้าจริงขึน้ อยูก่ บั ช่วงเวลาใน การใช้ไฟฟ้าของกิจการ หากเดิมมีการใช้ไฟฟ้าในช่วง กลางวันเป็นหลัก อัตราการประหยัดไฟฟ้าอาจเกิน กว่า อัตราการประหยัดดังกล่าวไม่รวมสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีสา� หรับกิจการทีอ่ ยูใ่ นเกณ เ์ ข้าร่วม โครงการลดหย่อนภาษีของ I โครงการสินเชือ่ ประหยัดพลังงาน Solar Rooftop นีส้ นับสนุนการลงทุนติดตัง้ ชุดอุปกรณ์ Solar Roof top เพือ่ ลดต้นทุนค่าใช้ไฟฟ้าของกิจการ เท่านัน้ โดย ธนาคารฯ สามารถพิจารณาอนุมัติวงเงินกู้ได้สูงสุด 100 ของมูลค่าการลงทุน ระยะเวลาสินเชื่อนาน สูงสุด 12 ปี อัตราดอกเบีย้ คงทีส่ า� หรับ ปีแรก สุดท้ายทางธนาคารฯ ฝากทิ้งท้ายไว้ว่า ภาครัฐ สามารถส่งเสริมให้ภาคเอกชนลงทุนในเทคโนโลยี Solar Rooftop อย่างแพร่หลายได้ เช่น จัดท�า โครงการชดเชยภาระอัตราดอกเบี้ยบางส่วนให้แก่ ผูล้ งทุนติดตัง้ Solar Rooftop ซึง่ นโยบายสนับสนุน ในรูปแบบดังกล่าวนี้ เป็นรูปแบบการสนับสนุนปกติท่ี รัฐบาลใช้กบั การส่งเสริมภาคเกษตรอยูแ่ ล้ว ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็นการกระตุน้ ให้ผปู้ ระกอบการหันมาสนใจในการใช้ พลังงานสะอาด และพลังงานหมุนเวียน (Rene a le Energy) ซึง่ เป็นการช่วยชาติประหยัดพลังงานและลด ต้นทุนการน�าเข้าพลังงานอย่างยัง่ ยืน ผู้ประกอบการที่สนใจโครงการดังกล่าว จะต้อง มีอายุกิจการเกินกว่า ปี และมีอัตราส่วนสถานะ ทางการเงิ น เป็ น ไปตามที่ ธ นาคารก� า หนด สนใจ โครงการสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ T Call Center 0 2828 2828 ขอ คุณ พ ttp .kiatnakin.co.t upload ackground 201 091 122 2 2 1. pg
SEPTEMBER 2015
SPECIAL FEATURE TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
PEA Presents
EcoLightTech Asia 2015 อกาสทองอุ สา กรรมแสงส ่างแ ่งอาเ ียน
ภาพรวมตลาดแสงสว่าง E ทัว่ โลก ในปี พ.ศ. 2558 มีมลู ค่าถึง 25.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยส่วนแบ่งตลาดแสง สว่าง E เพิม่ ขึน้ 31 ขณะทีต่ ลาดแสงสว่างโดยรวมเติบโต 82.1 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยประเทศแถบยุโรปเป็นตลาด แสงสว่าง E ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ เป็นอันดับ 1 คิดเป็น 23 ประเทศจีนเป็นอันดับ 2 คิดเป็น 21 ประเทศในแถบอเมริกาเหนือ เป็นอันดับ 3 คิดเป็น 19 ประเทศในแถบเอเชียแปซิ ค เป็นอันดับ 4 คิดเป็น 13 และส่วนทีเ่ หลือ 24 ประกอบด้วย ญีป่ นุ ตะวันออกกลาง แอ ริกา และอเมริกาใต้
90
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
แนวโน้มในการเติบโตในปีนยี้ งั คงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง อันเนือ่ งมาจากการเขิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วของจ�านวนประชากร การสนับสนุนด้านนโยบายจากภาครัฐ และการเพิม่ ขึ้นของโครงการแสงสว่างประหยัดพลังงานจากภาคเอกชน ขณะที่ ด้านตลาดแสง สว่าง LED ในประเทศไทย มีการเติบโตขึน้ เป็นอย่างมาก มีมลู ค่าสูงถึง 80,000 บาท หรือ 2. พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ และเมื่อเปรียบเทียบกับปีก่อน พ.ศ. 2 สัดส่วนตลาดของ LED มีเพียงร้อยละ จากตลาดแสงสว่างทั้งหมด แต่คาดการณ์ ว่าจะมีสดั ส่วนตลาดเพิม่ สูงขึน้ เป็น 0 ในปี พ.ศ. 2 โดยจะมีอตั ราเติบโตของ ตลาด LED อยู่ประมาณ 10 1 ต่อปี นอกจากนี้ อัตราการเติบโตเฉลี่ยส�าหรับ ตลาด LED ในโครงการของภาครัฐ คาดว่าจะสูงถึง 0 ในอีก ปีข้างหน้า คิดเป็นมูลค่าตลาดทั้งหมดจากเดิม 29,000 ล้านบาท กลายเป็น ,000 ล้านบาท
ทั้งนี้ ผู้ประกอบการจากต่างประเทศ เช่น จีน ญี่ปุ่น และ เกาหลีใต้ ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของประเทศไทย ในการ เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ การค้า และการคมนาคมในตลาด อาเซียน ได้เริ่มเข้ามาลงทุนในภาคอุตสาหกรรมแสงสว่างใน ประเทศไทยเพิม่ มากขึน้ นับตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2 โดยจับตลาด ลูกค้ากล่มอุตสาหกรรมภายในประเทศและภูมิภาคอาเซียน ท�าให้เกิดการพั นา การแข่งขัน ส่งผลให้ราคาหลอดแสง สว่าง LED ปรับลงทุกปี โดยเฉลีย่ 20 0 และมีผลิตภัณ ์ ใหม่ ๆ ตอบสนองต่อการใช้งาน ประหยัดพลังงาน และเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
คุณโ เวิร์ด หวัง กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีพี าโล จ�ากัด
คุณ เวิร์ วั รร ร ั ร ริ ัท ทพ ล ั ลิต ล น ร ร ขอ ร เท ไท เปิดเผยว่า บริษัทได้เล็งเห็นโอกาสทาง ธุรกิจในประเทศไทย จึงได้เข้าลงทุนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2 9 โดย เริม่ ต้นจากตลาดภายในประเทศ แต่ปจั จุบนั ได้ขยายธุรกิจไป ยังประเทศต่าง ๆ ในแถบอาเซียน เช่น ลาวพม่า กัมพูชา และ เวียดนาม เป็นต้น มุง่ เน้นผลิตภัณ ์ LED c ip ระดับมาตรฐาน สากล เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคภาคครัว เรือนและอุตสาหกรรมภายในประเทศ มีสัดส่วนรายได้ LED c ip 80 มาจากตลาดต่างประเทศและอีก 20 มาจากตลาดในประเทศ จากการเติบโตของอุตสาหกรรม แสงสว่าง คาดว่าในปี พ.ศ. 2 9 จะมีรายได้เพิ่มขึ้น 0 บริษทั ฯ ให้บริการผลิต LED packing c ip ส่งไปยังผูผ้ ลิต อุปกรณ์แสงสว่างในประเทศ อาทิใช้ประกอบการผลิตโคมไฟ ถนน หลอดไฟใช้ในโรงงานและบ้านเรือน ทั้งนี้ แผงติด LED เลือกใช้แผงคุณภาพสูงจาก E ISTAR และจากแหล่งต่างๆ ตามความต้องการของลูกค้า ส่วนกาวทีใ่ ช้ในกระบวนการผลิต น�าเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น ในขณะที่ใช้สายทองค�าในการ เชื่อมต่อ ซึ่งจะท�าให้มีความเสถียรและคงทนต่อการใช้งาน มากกว่าสายแบบอื่น ทั้งนี้ บริษัทฯ มี LED c ip ที่ให้กลุ่ม ลูกค้าเลือกใช้มากมายหลายแบบ อาทิ หลอด LED 28 , 28, 0 0, 120 , 080 และ 0 0 ซึ่งจะเปิดตัวในปี นี้ และในปีหน้า บริษัทฯ มีแผนเปิดตัว LED c ip ส�าหรับ VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
91
การใช้งานเฉพาะด้าน อย่างเช่น หลอด LED ส�าหรับ การไล่ยุงหรือแมลง อีกด้วย ทั้ ง นี้ หลอด LED มี จุ ด เด่ น หลายอย่ า ง คื อ ใช้พลังงานต�่าแต่ให้ประสิทธิภาพการส่องสว่างที่ สูงมาก ไม่มีแสง ไม่กระพริบขณะเปล่งแสง การเปิด ปิดหลอดไฟ LED สามารถเปิด ปิดได้อย่าง รวดเร็ว โดยไม่ต้องเสียเวลารอนานเป็นหลอดไฟที่ ประหยัดพลังงานมากกว่าหลอดไฟประเภทอืน่ ๆ ทีม่ ี อยู่ในตลาด และการประหยัดเงินค่าไฟฟ้าจากการใช้ หลอดไฟ LED ตั้งแต่ 1 โดยเฉลี่ยแล้วมีอายุ การใช้งาน สูงสุดถึง 0,000 ชั่วโมง หรือประมาณ ปี ขึ้นไป
แม้ในปัจจุบนั ราคาของหลอดไฟ LED จะมีราคาสูง กว่าหลอดทัว่ ไป แต่ถา้ เปรียบเทียบเรือ่ งระยะเวลาการ ใช้งาน นับว่าเป็นการลงทุนทีค่ มุ้ ค่า ซึง่ พอจะสรุปข้อดี ของหลอดไฟชนิดนีไ้ ด้ในด้านต่าง ๆ เช่น ความประหยัด เพราะใช้พลังงานน้อยมาก แต่ให้ประสิทธิภาพในการ ส่องสว่างสูง ด้านความสว่าง ที่สามารถส่องสว่าง ได้ ทั น ที โ ดยไม่ ต ้ อ งกระพริ บ ก่ อ น ทั้ ง ยั ง ไม่ ป ล่ อ ย รังสี ด้านความคงทน โดยสามารถท�างานได้ ยาวนานที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับหลอดชนิดอื่น ๆ 92
E N E R G Y S AV I N G
และด้านสิ่งแวดล้อม ถือได้ว่าหลอดชนิด นี้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพราะนอกจาก ความประหยั ด ด้ า นพลั ง งานและความ คงทนทีส่ ามารถใช้ได้อย่างยาวนาน ท�าให้ ปริมาณขยะจากหลอดไฟลดลงด้วย การ รณรงค์ส่งเสริมให้เปลี่ยนมาใช้อุปกรณ์ ประหยัดไฟประเภทต่าง ๆ ถือเป็นอีก วิธีการหนึ่งเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน แค่ เปลี่ยนมาใช้หลอด LED ก็ช่วยลดการใช้ พลังงานได้แล้ว อย่างไรก็ตาม LED ได้ถูกน�ามาใช้ทั้ง บนสมาร์ ทโฟนและโทรทัศน์ เพื่อน�ามา คุณธีรวุทธิ วัตรกิจไพศาล ผุ้ช่วยผู้ว่าการวางแผนและพัฒนาระบบไ า ทดแทนเทคโนโลยี LCD เป็นหลอดไฟ การไ าส่วนภูมิภาค ขนาดจิว สี คือ แดง เขียวและน�้าเงิน และแค่ 1 หลอดก็สามารถเปล่งแสงสีได้ มากมายตามการผสมสีของแม่สที งั้ สาม ซึง่ หลอด LED นีม้ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษก็คอื กินไฟน้อย แต่กลับให้สีสันที่ชัดเจนมีความสว่างสูง ให้สีด�าที่ด�าสนิท และมีอัตราการตอบสนอง รวดเร็ว ข้อเสียมีแค่อย่างเดียวคือราคาแพง แต่เรื่องราคาแพงแต่ได้ด้วยภาพคุณภาพ สูง LED จึงได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน นีค่ อื สิง่ ทีส่ ะท้อนให้เห็นถึงการเติบโตของอุตสาหกรรมแสงสว่างในตลาดอาเซียน โดย ผู้ประกอบการไทยและเทศ พิจารณาเลือกประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการเปิดตลาด แข่งขัน เตรียมความพร้อมเมือ่ เปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิง่ หนึง่ ใน ช่องทางการตลาดส�าคัญของการเข้าร่วมงาน EA presents EcoLig tTec Asia 201 คุณ รวุท ิ วัตร ิ ไพ ล ุ ว ว รว น ล พั น ร ไ รไ สวน ิ ค เปิดเผยว่า การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ พีอีเอ เป็นหน่วยงานของรัฐ ที่มีภารกิจหลักในการจัดหาและจ�าหน่ายพลังงานไฟฟ้าในพื้นที่ จังหวัดทั่วประเทศ นอกเหนือเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ มีการด�าเนินการ มากกว่า ปี มีวิสัยทัศน์และความมุ่งมั่นในการให้บริการพลังงานไฟฟ้าอย่างมี ประสิทธิภาพ เชื่อถือได้ เพื่อคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมที่ยั่งยืน เพื่อตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าให้เกิดความพึงพอใจ ทั้งด้านคุณภาพและบริการ โดยมีความมุ่ง มั่นที่จะพั นาระบบไฟฟ้าของพีอีเอ ให้เป็น “ EA S art Grid” หรือ “โครงข่ายไฟฟ้า อัจฉริยะ ของ พีอเี อ” โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และสือ่ สารมาบริหารจัดการ ควบคุม การผลิตส่งและจ่ายพลังงานไฟฟ้า รองรับการเชือ่ มต่อของระบบไฟฟ้าจากแหล่งพลังงาน ทางเลือกที่สะอาด การใช้รถยนต์ไฟฟ้า และการบริหารจัดการการใช้ไฟฟ้าผ่านมิเตอร์ อัจฉริยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�าหรับแนวคิดการจัดงานในปีนี้ คือ “นวัตกรรมและเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน เพื่อผู้ประกอบการ” เกิดขึ้นจากความต้องการของกลุ่มผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรม ที่ต้องการประหยัดพลังงานในส่วนต่าง ๆ ของการด�าเนินงาน น�าไปสู่การลดต้นทุนการ ผลิต ซึ่งค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่ด้านพลังงานนั้นมาจากการใช้พลังงานในแสงสว่าง การใช้ พลังงานในการปรับอากาศและระบบท�าความเย็นในการผลิตหรือท�างาน และการใช้ พลังงานในเครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ขณะเดียวกัน สอดคล้องกับแนวทางระดับสากล องค์การ สหประชาชาติ ซึ่งได้ประกาศให้ปี พ.ศ. 2 8 เป็นปีแห่งแสงสว่างและเทคโนโลยีระดับ นานาชาติ หรือ International ear of Lig t and Lig t ased Tec nologies เพื่อ กระตุ้นให้ประชาคมโลกตระหนักถึงความส�าคัญของเทคโนโลยีด้านแสงสว่างส�าหรับ การด�ารงชีวิตปัจจุบันและอนาคต รักษ์สิ่งแวดล้อมและโลก ขอ รู าพ ากเ ต www.adafruit.com www.instructables.com http://steeph-k.deviantart.com http://energy.gov http://mic-led.eu www.kdmled.com http://powaplus.com www.okledlighting.co.th SEPTEMBER 2015
VIEWPOINT TEXT : สายลม
กระทร งอุ สา กรรม
ลั ก ดั น ังเปายกระดับ
้ประกอบการ ทย ส่ ้น�า
กระทรวงอุตสาหกรรมเดินหน้าผลักดัน 7 ยุทธศาสตร์ พัฒนาวงการ อุตสาหกรรมไทย โดยสะท้อนออกมาจาก 7 ประเภท รางวัลอุตสาหกรรม ซึ่ ง สอดคล้ อ งตามแนวทางพั ฒ นาและยกระดั บ ขี ด ความสามารถ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไทยให้สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่ง ได้อย่างทัดเทียม อันประกอบไปด้วย ยุทธศาสตร์การเพิ่มผลผลิต ยุทธศาสตร์การรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม ยุทธศาสตร์การบริหารความ ปลอดภัย ยุทธศาสตร์การบริหารงานคุณภาพ ยุทธศาสตร์การจัดการ พลังงาน ยุทธศาสตร์การจัดการโลจิสติกส์ และยุทธศาสตร์การพัฒนา อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ทัง้ นี้ เชือ่ ว่ายุทธศาสตร์ขา้ งต้น จะสามารถยกระดับอุตสาหกรรมไทยสู่การเป็นผู้น�าประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ( E ) อีกทั้งยังช่วยท�ารายได้เข้าสู่ประเทศได้มากขึ้น จากการ ส่งสินค้าและผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมไปขายใน E ซึง่ ถือเป็นตลาดใหญ่ ทีม่ กี า� ลังซือ้ มากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ของโลก เพราะมีจา� นวนประชากรรวมกว่า 600 ล้านคน และมีมลู ค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม 10 ประเทศสมาชิก รวมกัน สูงถึง 2 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 62 ล้านล้านบาท
VOLUME 7 ISSUE 82
ท าสตร์ ร อรร ส ุ เรอ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรม เผยว่า ในปี 2 9 ประเทศไทยและ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะรวมตัว เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) อย่างเต็ม ตั ว ถื อ เป็ น ทั้ ง โอกาสและความท้ า ทายต่ อ วงการ อุตสาหกรรมไทย ในการน�ารายได้เข้าสู่ประเทศจาก การส่ ง สิ น ค้ า และผลิ ต ภั ณ ์ อุ ต สาหกรรมออกไป ขายในตลาดอาเซียน ซึ่งเป็นหนึ่งในตลาดที่มีก�าลัง ซื้ อ มากที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ ง ของโลก เพราะมี จ� า นวน ประชากรรวมกว่า 00 ล้านคน มีมูลค่าผลิตภัณ ์ มวลรวม 10 ประเทศสมาชิก รวมกันสูงถึง 2 ล้าน ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือราว 2 ล้านล้านบาท ดังนั้น เพื่อยกศักยภาพและขีดความสามารถผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมไทย ในการก้าวขึ้นสู่การเป็นผู้น�ากลุ่ม ประเทศอาเซียนและเวทีโลก กระทรวงอุตสาหกรรม จึ ง ได้ เ ดิ น หน้ า ผลั ก ดั น ยุ ท ธศาสตร์ ส� า คั ญ อันสะท้อนมาจากรางวัลอุตสาหกรรม ประเภท ที่ ม อบให้ แ ก่ ส ถานประกอบการที่ มี ร ะบบบริ ห าร จั ด การผ่ า นเกณ ์ ก ารประเมิ น ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค์ กระตุ้นและสร้างแรงจูงใจผู้ประกอบการไทย ไม่ให้ หยุดนิ่งในการพั นา ซึ่งประกอบไปด้วย
E N E R G Y S AV I N G
93
การใส่ใจ ลกระทบ ุ าพสิ่งแ ดล้อม ม่เพียงช่ ยสร้าง ามมั่น ง และการยอมรับจากนานาชา ิ เท่านัน แ ่ ะเดีย กัน ยังท�าใ ้ส านประกอบการ สามาร อย่ร่ มกับชุมชน และสัง มรอบ ้าง ด้อย่างยั่งยืน
ดร อรรชกา สี เรือง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
ุท สตร์ รเพิ ล ลิต โดยการเน้นปรับปรุงกระบวนการ ป ิบัติงาน เพื่อให้ได้สินค้าและบริการที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความ ต้องการของลูกค้า ภายใต้การควบคุมต้นทุนการผลิต ลดการสูญเสียใน ทุกรูปแบบ โดยผนวกเอาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเข้ามาใช้ ควบคู่ไปกับ การพั นาศักยภาพพนักงานอย่างต่อเนื่อง ุ ท สตร์ รรั คุ ณ พสิ ว ลอ โดยการก� า หนด นโยบายลดผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจน เพื่อน�าไปสู่การป ิบัติ จริงทั้งกระบวนการบริหารจัดการและการผลิต ซึ่งการใส่ใจผลกระทบ คุณภาพสิ่งแวดล้อม ไม่เพียงช่วยสร้างความมั่นคงและการยอมรับจาก นานาชาติเท่านั้น แต่ขณะเดียวกันยังท�าให้สถานประกอบการสามารถ อยู่ร่วมกับชุมชนและสังคมรอบข้างได้อย่างยั่งยืน 94
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ุท สตร์ ร ริ รคว ลอ ั โดยการสร้างระบบ การจัดการความปลอดภัยอย่างเข้มงวด เพราะความปลอดภัยใน การป ิบัติงานนั้น ส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของพนักงาน เมื่อ การท�างานมีระบบจัดการอันตรายที่ดีและมีประสิทธิภาพ ก็ย่อม จะท�าให้ผลิตผลการท�างานดีขึ้นตามไปด้วย ุท สตร์ ร ริ ร นคุณ พ โดยการจัดการระบบ บริหารงานให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งถือเป็นหัวใจส�าคัญสู่ ความส�าเร็จ ทั้งนี้การที่สถานประกอบการใดจะสามารถบริหาร งานได้อย่างมีคุณภาพ จ�าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ป ิบัติ งานทุกคน ในการรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ตนได้รับมอบหมายอย่าง เต็มก�าลังความสามารถ ุท สตร์ ร ั รพลั น โดยการตั้งเป้าหมายใน การใช้พลังงานทุกประเภทให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลดปริมาณ การใช้พลังงานที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ ซึ่งการวางนโยบายลดใช้ พลังงานอย่างจริงจังนั้น ไม่เพียงส่งผลดีต่อการลดอัตราสิ้นเปลือง พลังงานของประเทศ แต่ในขณะเดียวกันยังช่วยลดต้นทุนการผลิต ให้น้อยลงอีกด้วย
ุท สตร์ รพั น อุตส รร ขน ล ล ขน อ โดยการพั นาและส่งเสริมผู้ประกอบการในทุกๆ ด้าน ทั้งการวิเคราะห์ ตลาดความต้องการของผู้บริโภค การบริหารจัดการ การผลิต และช่องทาง การตลาดและการจัดจ�าหน่าย เพื่อช่วยให้กิจการ S Es ซึ่งถือเป็นแหล่ง จ้างงานที่ส�าคัญ เพราะมีสัดส่วนทั่วประเทศมากกว่า ร้อยละ 9 สามารถ ด�าเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืน ทั้ ง นี้ เชื่ อ ว่ า หากผู ้ ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมไทย สามารถพั นา ศักยภาพการบริหารจัดการและการผลิตสินค้าเข้าไปตีตลาดอาเซียนได้ เป็นผลส�าเร็จ ในภาพรวมไม่เพียงสามารถยกระดับขีดความสามารถการ แข่งขันได้ทัดเทียมกับนานาชาติเท่านั้น แต่ขณะเดียวกันยังถือเป็นการช่วย กระตุ้นเศรษฐกิจไทยให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน ส�าหรับผู้ประกอบการที่สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ทั้ง ด้าน ได้ที่ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0 2202 1 18 หรือเข้าไปที่ .dip.go.t หรือ .face ook.co dip.pr ขณะเดียวกันกระทรวงอุตสาหกรรม จะจัดพิธีมอบรางวัลอุตสาหกรรมประจ�าปี 2 8 ในวันที่ 2 ก.ย. 2 8 ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ บอลรูม อิมแพค เมืองทองธานี
ุท สตร์ ร ั ร ล ิสติ ส์ โดยการบริหารจัดการ ระบบการขนส่งสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ลดต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนเวลา และต้นทุนค่าเสียโอกาส ซึ่งหากผู้ประกอบการมีระบบ ขนส่งสินค้าที่ดี นอกจากจะท�าให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ ยังช่วย สร้างโอกาสในการขายสินค้าได้มากขึ้นด้วยเช่นกัน
ขอบคุณรูปภาพประกอบจาก ttps sutta at ai 1. les. ordpress.co 201 02 8. pg ttp .p uketanda anne s.net 201 i ages ne s eac gist.org . pg ttp click.senate.go.t p content uploads 201 0 p01022202 p1. pg ttp c andra eet.co p content uploads 201 01 201 112 1 20 02. pg ttp upupgradetutor.co p content uploads 201 0 102. pg .tpa.or.t
VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
95
ENERGY REPORT TEXT : ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ยา เมด
กระ ุ้น ่อมสร้างน ั กรรม ฉบับนี้ขอน�าเสนอ ยา 3 เม็ด กระตุ้นต่อมสร้างนวัตกรรม เพื่อใช้กระตุ้นผู้ประกอบการที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการ น ัตกรรม ลิต ั ทางสถา ตยกรรม ละระ ระกอ อา ารเพื่อการอยู่อา ัยอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นโครงการที่ส�านักงานพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. โดย iT P ร่วมกับ คณะสถาปตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยมี อ ราลัก ่นส รร เป็นหัวหน้าคณะผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้การส่งเสริมผู้ประกอบการที่ ต้องการพัฒนาเทคนิคการผลิตและต่อยอดธุรกิจรับสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย หรือเป็น supplier ให้กบั อุตสาหกรรมก่อสร้างหรือรับสร้างบ้าน
ยาเมดที่ 1 : การลด ย่อน า ี เมื่อเดือนธันวาคม 2 คณะรัฐมนตรีได้ผ่านความเห็นชอบ เรื่อง มาตรการยกเว้น ภาษีเงินได้นิติบุคคลส�าหรับค่าใช้จ่ายด้านการวิจัยและพั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยให้บริษัทเอกชนสามารถน�าค่าใช้จ่ายที่ลงทุนในการวิจัยพั นามาลดหย่อนภาษีเงินได้ นิติบุคคลได้ถึง 00 หรือ เท่า ของรายจ่ายจริง จากเดิมให้สิทธิไว้ท่ี 200 มีผลตั้งแต่ ปีภาษี 2 8 ส�าหรับบริษัทที่เข้าเงื่อนไข มีดังนี้ 1). เป็นบริษัทที่ท�าวิจัยและพั นานวัตกรรมด้วยตนเอง หรือด�าเนินการวิจัยร่วมกับ มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยต่าง ๆ ที่ขึ้นทะเบียนการวิจัยกับกรมสรรพากร 2). เป็นบริษัทที่เคยผ่านการรับรองโครงการวิจัยฯ จาก สวทช. มาแล้ว เมื่อบริษัทที่มี คุณสมบัติดังกล่าวได้รับการตรวจรับรองระบบงานวิจัย โดย สวทช. แล้ว บริษัทสามารถ รับรองโครงการวิจยั ทีม่ คี า่ ใช้จา่ ยไม่เกิน ล้านบาท ด้วยตนเอง และยืน่ เอกสารประกอบการ ช�าระภาษีประจ�าปีได้โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการ pre approve นอกจากนี้ยังเตรียมการ ที่จะหารือกับกรมสรรพากรเพื่อออกมาตรการลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและ นิติบุคคลส�าหรับการบริจาคเงินเข้ากองทุนที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพั นาเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่อไป
ยาเมดที่ 2 : น ย าย เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2 8 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีนโยบาย Talent o ility ซึง่ เป็นกลไกส�าคัญทีจ่ ะเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม ไทย ที่จะช่วยให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากการเป็นประเทศรายได้ปานกลาง โดยหนึ่งใน นโยบายของรัฐบาล คือ มาตรการ สนับสนุนการลงทุนด้านการวิจัยและ พั นา สู ่ เ ป้ า หมาย 1 เปอร์ เซ็ น ต์ ของจีดีพี หรือคิดเป็นสัดส่วนลงทุน ของภาคเอกชนกับภาครัฐ 0 0 นโยบาย Talent o ility เป็นการ 96
E N E R G Y S AV I N G
สนับสนุนให้นกั วิจยั จ�านวนมาก ซึง่ ปัจจุบนั กระจุกตัว อยูใ่ นภาครัฐและภาคอุดมศึกษาถึง 8 สามารถเข้า มามีส่วนร่วมในการพั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ของสถานประกอบการภาคเอกชนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันให้กับผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ประกอบการในกลุ่มวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม ที่ยังไม่มีหน่วยงานวิจัย และพั นาผลิตภัณ ์เป็นของตนเอง ความร่วมมือ ดั ง กล่ า วนอกจากจะเป็ น ประโยชน์ โ ดยตรงต่ อ ผูป้ ระกอบการแล้ว ยังเป็นการเชือ่ มโยงภาคเอกชน กับ มหาวิทยาลัย และหน่วยงานภาครัฐ ให้เกิดการแลก เปลีย่ นองค์ความรู้ รวมทัง้ การสร้างองค์ความรูใ้ หม่
SEPTEMBER 2015
ยาเมดที่ : การ ้สิท ิพิเ ก่น ัตกรรม ทยกั ตลาด า รั เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2 8 คณะกรรมการพั นาระบบนวัตกรรมของประเทศ ได้ เสนอให้มีการปรับปรุงระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. เพื่อให้ สามารถจัดซื้อจัดจ้างสินค้าหรือบริการตามรายการบัญชีนวัตกรรมของไทยผ่านวิธีพิเศษ ได้ เพื่อเป็นการสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมภายในประเทศและเป็นการลดการน�าเข้า สินค้าจากต่างประเทศทีม่ รี าคาแพง ทัง้ นี้ รายการนวัตกรรมไทยทีป่ ราก ในบัญชีฯ ดังกล่าว ต้องได้คุณภาพและผ่านการทดสอบว่ามีคุณสมบัติผ่านเกณ ์การใช้งาน ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม ซึ่งจากข้อมูลของอุตสาหกรรมวัสดุและการก่อสร้าง บริบททางเศรษฐกิจและสังคม ของโลกในปัจจุบันและแนวโน้มในการพั นา ท�าให้เรื่องนวัตกรรมเกี่ยวกับวัสดุก่อสร้าง และการออกแบบระบบอาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมกลายเป็นสิ่งจ�าเป็นที่หลีกเลี่ยง ไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�าหรับตลาดภายในประเทศ ดังจะเห็นได้จากปัจจุบันบริษัท ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้างรายใหญ่ของประเทศได้มีความตื่นตัวในเรื่องดังกล่าว ด้วยการตั้ง หน่วยงานหลักเพื่อท�าวิจัยและพั นาผลิตภัณ ์ อันมีภารกิจหลักเพื่อมุ่งเน้นการสร้าง นวัตกรรม รวมถึงเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณ ์ ดังนั้น จึงถึงเวลาแล้วที่ผู้ผลิตและผู้ประกอบการต่าง ๆ ในประเทศจะต้องเริ่มให้ ความส�าคัญกับการท�าวิจัยและสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างจริงจัง อาทิ ผลิตภัณ ์ที่จะ ช่วยประหยัดพลังงาน หรือการน�าเสนอวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการวิจัย เพื่อยกระดับคุณภาพการอยู่อาศัย ก่อนที่ประเทศไทยจะตกขบวน Green Econo y ฉบับนี้ผู้เขียนขอยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่ สวทช. และผู้เชี่ยวชาญได้ด�าเนินกิจกรรม การเข้าเยี่ยมและวินิจฉัยปัญหาเบื้องต้นให้กับ บริษัท โดยจะขอถ่ายทอดและแบ่งปัน แบบสรุปโดยย่อ ดังนี้ 1. ผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นผูร้ บั ซือ้ ขยะรีไซเคิล ซึง่ มีความต้องการจะสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั วัสดุเหลือใช้ที่รับซื้อมา ด้วยการท�าความสะอาด คัดแยก และน�าไปขายต่อให้กับโรงงาน ผลิตวัสดุต่าง ๆ ผู้ประกอบการรายนี้มองเห็นว่า การท�าวิจัยและพั นาสามารถที่จะช่วย สร้างมูลค่าเพิ่มที่สูงขึ้นให้กับเศษวัสดุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัสดุจ�าพวกพลาสติก C และ E ซึ่งมีจ�านวนมาก และเป็นพลาสติกชนิดที่ใช้กันมากในอุตสาหกรรมก่อสร้าง ซึ่งคณะ ผู้เชี่ยวชาญของโครงการฯ สามารถให้ค�าปรึกษากับบริษัทฯ เพื่อพั นาผลิตภัณ ์ใหม่ จากเศษขวดพลาสติกดังกล่าว เช่น น�ามาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตไม้เทียม ซึ่งก�าลัง เป็นที่นิยมในตลาดวัสดุก่อสร้าง เป็นต้น 2. ผู้ประกอบการที่เป็นผู้น�าเข้าวัสดุ E S คอนกรีตชนิดพ่นจากต่างประเทศ ข้อดี ของคอนกรีตชนิดพ่นนี้ คือ เป็นคอนกรีตที่มีน�้าหนักเบาเนื่องจากมีการใช้โฟม E S เป็น ส่วนผสม สามารถพ่นลงบนโครงเหล็กเบา เพื่อก่อสร้างผนังในเวลาอันรวดเร็ว ประหยัด เวลาและแรงงานในการก่อผนังตามวิธีการก่อสร้างที่ใช้กันทั่วไปในปัจจุบัน บริษัททราบ ถึงจุดแข็งของผลิตภัณ ์และเล็งเห็นถึงโอกาสทางการตลาดที่จะสามารถพั นาต่อย
อดผลิตภัณ ์ E S คอนกรีต เช่น น�าไปประยุกต์ใน การท�าห้องน�้าส�าเร็จรูป เพื่อจ�าหน่ายให้กับบริษัท รับเหมาก่อสร้าง และบริษัทพั นาอสังหาริมทรัพย์ ในประเทศ ซึ่ ง คณะผู ้ เชี่ ย วชาญของโครงการฯ สามารถให้ค�าปรึกษากับบริษัทฯ เพื่อพั นาห้องน�้า ส�าเร็จรูปที่ตอบสนองความต้องการของตลาด โดย เริ่มตั้งแต่การออกแบบ กระบวนการผลิต และการ ควบคุมคุณภาพผลิตภัณ ์ เป็นต้น . ผูป้ ระกอบการทีผ่ ลิตชิน้ ส่วนคอนกรีตส�าเร็จรูป เพือ่ ใช้ในการก่อสร้าง เช่น เสา คาน พืน้ ผูป้ ระกอบการ รายนี้เล็งเห็นโอกาสทางการตลาด ซึ่งเกิดจากภาวะ ขาดแคลนแรงงาน จึงต้องการพั นาห้องน�า้ คอนกรีต ส�าเร็จรูปส�าหรับหอพักและคอนโดมิเนียมในตลาด ระดับล่างถึงกลาง โดยเป็นการต่อยอดจากผลิตภัณ ์ และเทคโนโลยีการผลิตที่บริษัทมีอยู่แล้ว ซึ่งคณะผู้เชี่ยวชาญของโครงการฯ สามารถให้ ค�าปรึกษากับบริษัทฯ เพื่อช่วยบริษัทตั้งแต่ขั้นตอน ของการท�าวิจัยตลาด เพื่อหารูปแบบห้องน�้าที่เหมาะ สมกับกลุม่ เป้าหมาย การออกแบบรายละเอียดข้อต่อ ต่าง ๆ การเดินท่อน�้า ท่อไฟ รวมทั้งการออกแบบ กระบวนการผลิ ต โดยค� า นึ ง ถึ ง เรื่ อ งเครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจั ก รที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม จาก เทคโนโลยีและความเชี่ยวชาญที่มีอยู่
หากผู ้ อ ่ า นสนใจจะขอรั บ การสนั บ สนุ น จาก สวทช. ส� า หรั บ การเข้ า ร่ ว มโครงการฯ หรื อ หาก ต้องการสอบถามเกี่ยวกับการพั นาธุรกิจเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการแข่งขันด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม สามารถสอบถามข้อมูลเพื่อขอรับการสนับสนุนได้ที่ คุณชนากานต์ สันตยานนท์ โทรศัพท์ 0 2 000 ต่อ 1 81 หรือ ทางอีเมล c anag an nstda.or.t ฉบับหน้าผู้เขียนจะน�าเสนอกิจกรรมที่เกิดขึ้น หลังการสมัครเข้าร่วมโครงการของผู้ประกอบการที่ ให้ความสนใจ โปรดติดตามอ่านในฉบับหน้าค่ะ
ขอบคุณ อ.วราลักษณ์ แผ่นสุวรรณ ส�าหรับข้อมูลจากการจัดอบรมสัมมนา ในวันเปดตัวโครงการ ที่มาข้อมูล : http://www.most.go.th/main/index.php/org/4366.html sthash. yo7 Ed .dpuf http://www.prachachat.net/news_detail.php newsid 1421652909 http://www.innovation.go.th/sites/default/files/images/2c-press-release.pdf VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
97
GREEN SOCIETY TEXT : กองบรรณาธิการ
กฟ . จับมือพัน มิตร อาสาฯ อนรักษ์ท เล ท
างบ้านปลาปะการังเทียมจากลก ้ ย น น มุ่ง น ทรัพยากรแน ชาย งทะเล
า ร่ มเ ลิมพระเกียร ิ
กฟผ. ร่วมกับพันธมิตรอาสาฯ อนุรกั ษ์ทะเลไทย 2 8 (อ่าวสยาม) วางบ้านปลาปะการังเทียม จากลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้า 00 ชุด บริเวณทะเลเกาะทะลุ จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ เพือ่ ฟนฟูทรัพยากร สัตว์น�้าตามแนวทะเลชายฝัง เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุ ราชกุมาร พลเอ สุร ุท ์ ุล นนท์ อ ค นตร อาสาสมัครกิตติมศักดิและเป็นประธานในพิธีวาง บ้านปลาปะการังเทียมจากลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้า ภายใต้โครงการ “อาสาฯ อนุรักษ์ทะเลไทย 2 8 (อ่ า วสยาม)” โดยความร่ ว มมื อ หลั ก ระหว่ า ง กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กระทรวงการท่องเที่ยวและกี า จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กองทัพเรือ และ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ซึ่งมีคุณสุธน บุญประสงค์ รองผู้ว่าการระบบ ส่ง เป็นผู้แทน พร้อมด้วยอาสาสมัคร และสื่อมวลชน ร่วมพิธีและร่วมกิจกรรมจิตอาสาอย่าง พร้อมเพรียงกัน ณ บริเวณเกาะทะลุ อ.บางสะพานน้อย จ.ประจวบคีรีขันธ์ คุณสุ น ุ ร ส ค์ รองผู้ว่าการระบบส่ง กฟผ. กล่าวว่า กฟผ. ยินดีเป็นอย่างยิ่ง ที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการอาสาฯ อนุรักษ์ทะเลไทย 2 8 (อ่าวสยาม) ซึ่งจัดขึ้น เพื่อเฉลิมพระเกียรติฉลองพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ พระบรมราชินีนาถ 8 พรรษา และสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุ ราชกุมาร พรรษา โดย กฟผ. ให้การสนับสนุนโครงสร้างบ้านปลาปะการังเทียมจากลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้า จ�านวน 00 ชุด ส�าหรับน�าไปวางบริเวณทะเลเกาะทะลุ จ.ประจวบคีรีขันธ์ เพื่อให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของ สัตว์ทะเลและปะการัง ทั้งนี้ สืบเนื่องจากพระราชเสาวนีย์ของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ให้ความ ช่วยเหลือชาวประมงขนาดเล็กที่ได้รับความเดือดร้อนจากความเสื่อมโทรมของทรัพยากร ชายฝั ง ซึ่งการวางปะการังเทียมเพื่อเป็นแหล่งอาศัยของสัตว์ทะเล ถือเป็นกิจกรรมหนึ่ง 98
E N E R G Y S AV I N G
ที่ช่วยแก้ปัญหานี้ กฟผ. ซึ่งมีภารกิจในการรับ ส่งจ่าย กระแสไฟฟ้าทั่วประเทศ และต้องมีการปลดลูกถ้วย ฉนวนไฟฟ้าออกจากระบบ เมื่อหมดอายุการใช้งาน เพื่อให้เกิดความมั่นคงในระบบอย่างต่อเนื่อง ท�าให้ มีลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าที่ถูกปลดออกจากระบบและไม่ สามารถน�ากลับมาใช้งานได้อีกจ�านวนมาก เพื่อสนอง พระราชเสาวนีย์ดังกล่าว กฟผ. จึงได้ร่วมกับหน่วย บัญชาการนาวิกโยธิน กองทัพเรือ น�าลูกถ้วยฉนวน ไฟฟ้ามาท�าเป็นบ้านปลาปะการังเทียม กฟผ. ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากมหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร ในการตรวจสอบลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าทีน่ า� มาท�า เป็ น บ้ า นปลาปะการั ง เที ย มแล้ ว ว่ า ไม่ เ ป็ น พิ ษ ต่ อ สิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด และได้รับอนุญาตจากหน่วย งานทีเ่ กีย่ วข้อง ให้วางโครงสร้างบ้านปลาปะการังเทียม จากลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้าใต้ทะเลในหลายพื้นที่ ตั้งแต่ปี 2 เป็นต้นมา และเมื่อเวลาผ่านไปได้มีการส�ารวจ และติดตามผลพบว่า เกิดประโยชน์เพิ่มขึ้นทั้งในเชิง เศรษฐกิจ การสร้างรายได้ให้ชุมชน และการส่งเสริม การท่องเที่ยวมากขึ้น ซึ่งจะได้น�าไปขยายผลสู่พื้นที่ อื่น ๆ ต่อไป เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของการรักษา ระบบนิเวศทางทะเล SEPTEMBER 2015
GREEN SOCIETY TEXT : กองบรรณาธิการ
D ปร เท ท ร่ มปลกปาเพื่อสัง ม และสิ่งแ ดล้อม
ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ชั้นน�าของโลก ร่วมมือกับส�านักงานกองทุน สิ่งแวดล้อม ภายใต้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น�า เมล็ดพันธุ์ไม้มาแจกจ่ายให้แก่พนักงานกลุ่มบริษัท eutsche Post ในประเทศไทย ซึง่ ประกอบด้วยบริษทั Express nternational (Thailand), lobal orwarding (Thailand) และ upply hain (Thailand) ในวันสิง่ แวดล้อมโลกทีผ่ า่ นมา ภายใต้โครงการปลูกปา ต้นกล้า
เมล็ดพันธุไ์ ม้ทไี่ ด้รบั การอนุเคราะห์จากกรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม อาทิ มะค่าโมง กัลปพฤกษ์ คูน ขีเ้ หล็กบ้าน และนนทรี ได้ถกู แจกจ่ายให้ พนักงาน D L ในวันสิง่ แวดล้อมโลก หลังจากพนักงานของ D L ได้นา� เมล็ดพันธุเ์ หล่านี้ ไปปลูกจนครบก�าหนด เดือน ต้นกล้าจะถูกน�าไปปลูกบนพืน้ ที่ 19 ไร่ ของโครงการ ความร่วมมือปลูกป่าเพือ่ สังคมและสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีป่ า่ สงวนแห่งชาติ ป่ายางน�า้ กลัด เหนือและป่ายางน�า้ กลัดใต้ จังหวัดเพชรบุรี ในเดือนกันยายนนี้ นับเป็นหนึง่ กิจกรรม ของวันอาสาสมัครโลกประจ�าปีของ D L โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้พนักงานในบริษทั สร้างความผูกพันและรณรงค์ความส�าคัญของต้นไม้ คุณ ร ทั ร ร รสิท ิ อธิบดีกรมป่าไม้ กล่าวว่า “กรมป่าไม้มคี วามยินดี ทีไ่ ด้รว่ มมือ กับบริษทั D L ในกิจกรรม ต้นกล้า ซึง่ สอดคล้องกับเป้าหมายของกรมป่าไม้ในการลด การตัดไม้ทา� ลายป่า การลุกล�า้ พืน้ ทีส่ าธารณะ รวมถึง การป้องกันการสร้างความเสียหาย ให้กับผืนป่าและปรับปรุงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยกรมป่าไม้มี เป้าหมายทีจ่ ะเพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ไม้ในประเทศไทย จากในปัจจุบนั มีเพียง 2 ของพืน้ ที่ ประเทศไทย เพิม่ ขึน้ เป็น 0 ภายในปี 202 ” “โดย 20 ของปัญหากาซเรือนกระจกระดับโลกนัน้ มาจากการตัดไม้ทา� ลายป่า นโยบายทีเ่ กีย่ วกับการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศทีไ่ ด้ผล จึงต้องรวมถึงมาตรการ ต่อสู้กับการท�างานผืนป่าด้วยการปลูกต้นไม้เพื่อสร้างคุณประโยชน์นานัปการให้กับ สังคม ทัง้ การฟนฟูความสมดุลของระบบนิเวศ การขยายและชุบชีวติ ทรัพยากรธรรมชาติ การบรรเทาความเสียหายจากภัยพิบตั ิ และการพั นาโอกาสทางเศรษฐกิจ เรามีความ
100
E N E R G Y S AV I N G
ยินดีทบี่ ริษทั ดีเอชแอล ในฐานะองค์กรด้านการขนส่งชัน้ น�า ของโลก เล็งเห็นความส�าคัญของการปลูกต้นไม้ และ เจตจ�านงทีช่ ว่ ยส่งเสริมพนักงานทุกคนของบริษทั ได้มสี ว่ น ร่วมช่วยเหลือประเทศไทย” ด้าน คุณ นั รั ์ เพ ร์รตั น์ กรรมการผูจ้ ดั การ ดีเอชแอล เอกซ์เพรส ประเทศไทย และภาคพืน้ อินโดจีน กล่าวว่า การประสานความร่วมมือกับกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และความมุง่ มัน่ ของอาสาสมัคร จากดีเอชแอลทุกคน ท�าให้เราสามารถให้การสนับสนุน โครงการปลูกป่าของกรมป่าไม้ ซึง่ รวมถึงแผนการทีจ่ ะบ�ารุง รักษาผืนป่าให้คงอยูต่ อ่ ไปด้วย “โครงการต้นกล้า คือจุดเริม่ ต้นของการท�าสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ขนึ้ ซึง่ ในปีนี้ เรามุง่ เสริมสร้างจิตส�านึกของความร่วมมือในการ ท�าความดีของพนักงานดีเอชแอล และเรายังเชือ่ ว่าโครงการ นี้จะน�ามาซึ่งผลประโยชน์อันยิ่งใหญ่ให้กับประเทศไทย ที่เกิดจากชุมชนในสังคม และการร่วมแรงร่วมใจกันอย่าง ยัง่ ยืน” ทัง้ นี้ การร่วมมือปลูกป่า เป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมเพือ่ ช่วยเหลือและตอบแทนสังคมของกลุ่มบริษัทในเครือของ ดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล ที่มีสาระส�าคัญ ประการ คือ การปกป้องสิ่งแวดล้อม (GoGreen) การให้บริการด้าน โลจิสติกส์เพือ่ บรรเทาสาธารณภัย (Go elp) และการพั นา โอกาสทางการศึกษาและการท�างานของเยาวชน (GoTeac ) ซึง่ ในแต่ละปี กลุม่ บริษทั ในเครือของดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอลจะ ระดมพนักงานทีม่ อี ยูท่ วั่ โลก ให้มสี ว่ นร่วมในกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ เนือ่ งในวันจิตอาสาโลก โดยภายในปี 2 กลุ่มบริษัทดอยช์ โพสต์ ดีเอชแอล ตั้งเป้าที่จะพั นาประสิทธิภาพในการเก็บกักคาร์บอนได ออกไซด์ในเครือ รวมถึงคู่ค้าที่ท�าธุรกิจกับกลุ่มบริษัท ให้ลดลง 0 เมื่อเทียบกับปี 2 0 ซึ่งในปีที่ผ่านมา บริษัทได้พั นาไปมากกว่าครึ่งทาง คือสามารถเพิ่มอัตรา การเก็บกักคาร์บอนฯ ถึง 2 เมื่อเทียบกับฐานข้อมูล ปี 2 0
SEPTEMBER 2015
ด งพลังงาน TEXT : กองบรรณาธิการ
รรมย
รีช่ ย
ต น ุ นั อธิบดีกรมพั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน ทร 0 222 0021 9 ทอ กรมพั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เลขที่ 1 ถนนพระรามที่ 1 เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10 0
ระ ัติการ ก า
สาขาวิศวกรรมศาสตร์ไฟฟ้าก�าลัง สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
ระส การ การทางาน
พ.ศ. 2 0 รองอธิบดีกรมพั นาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2 8 ผูอ้ า� นวยการส�านักก�ากับและอนุรกั ษ์ พ.ศ. 2 หัวหน้ากลุม่ ก�ากับการอนุรกั ษ์พลังงาน 2 ส�านักก�ากับและอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2 ผูอ้ า� นวยการส่วน (วิศวกร 8) ส�านักก�ากับและอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2 2 วิศวกรรมไฟฟ้า 8 วช ส�านักก�ากับและอนุรกั ษ์พลังงาน
ชัย ั น
า ิสารัช
ต น ุ นั กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ทร 0-2140-8999 ทรส ร 0-2140-8900 ทอ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จ�ากัด (มหาชน) ศูนย์เอนเนอร์ยคี่ อมเพล็กซ์ อาคาร A ชัน้ 10 เลขที่ 1 ถ.วิภาวดีรงั สิต จตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900
ระ ัติการ ก า
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณ ติ สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) บริหารธุรกิจมหาบัณ ติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตรบัณ ติ (เกียรตินยิ ม) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง Invest ent anking, ellogg usiness Sc ool, ort estern niversity Director Certi cation rogra (DC 1 8 201 ) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย Role of t e o ination and Governance Co ittee (R G 201 ) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย
ระส การ การทางาน
พ.ศ. 2 0 2 ทีป่ รึกษา บริษทั อวานการ์ด แคปปิตอล จ�ากัด พ.ศ. 2 2 9 กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั เทิรน์ อะราวด์ จ�ากัด พ.ศ. 2 9 2 กรรมการ บริษทั SG Securities (Singapore) TE.LTD. พ.ศ. 2 2 กรรมการ ชมรมวาณิชธนกิจ สมาคมบริษทั หลักทรัพย์ พ.ศ. 2 2 9 วาณิชธนากร บริษทั หลักทรัพย์ แอสเซท พลัส จ�ากัด พ.ศ. 2 0 2 วิศวกร บริษทั ปูนซีเมนต์ไทย จ�ากัด (มหาชน)
การดารงตา น่งกรรมการ อื่น
น
ัน
กรรมการ ido etroleu Li ited กรรมการ บริษทั เอเชียประกันภัย 19 0 จ�ากัด อนุกรรมการ กองทุนบ�าเหน็จบ�านาญข้าราชการ กรรมการ สมาคมศิษย์เก่าสวนกุหลาบ ในพระบรมราชูปถัมภ์
102
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015
ENERGY GOSSIP TEXT : ไบโอ
เมื่อเร็ว ๆ นี้ ได้มีโอกาสไปร่วมพิธีเปิดงานสัมมนาด้านการจัดการพลังงาน “S art Energy 201 ” ณ อาคารอนุรกั ษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ ปทุมธานี จัดโดย ส�านักพั นาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน (สพบ) ร่วมกับ บริษทั อินโน เวชัน่ เทคโนโลยี จ�ากัด โดยมี คุณ รร ร ว อธิบดีกรมพั นาพลังงาน ทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) เป็นประธานเปิดงาน ซึง่ ในงานวันนัน้ ท่าน ได้ให้สอื่ มวลชนขึน้ บนเวที แล้วท่านก็ลงจากเวทีเพือ่ ถ่ายภาพร่วมกับผูเ้ ข้าร่วม สัมมนา เรียกได้ว่า “เป็นภาพที่น่ารักมากเลยทีเดียว”
ไม่นานมานี้ได้มีโอกาสเข้าฟังการสัมมนา พั นา olylactic Acid ( LA) เส้นใยจากพืช สร้างสรรค์สู่สิ่งทอที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ภายใต้ ความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง ส� า นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (องค์ ก ารมหาชน) หรื อ สนช. กั บ สถาบั น พั นาอุ ต สาหกรรมสิ่ ง ทอ ท�า ให้ ไ ด้ เ ห็ น ถึ ง การ เตรี ย มตั ว ของภาครั ฐ ขั บ เคลื่ อ นให้ สู ่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรม พลาสติกชีวภาพในภูมิภาค ( ioplastic u ) แต่จะเป็นไปได้หรือไม่ เรื่องนี้เป็นประเด็นที่ต้องคอยจับตาดู
วงในแอบกระซิ บ มาว่ า บมจ.โซลาร์ตรอน (S LAR) เปิ ด เครื่ อ งจั ก รไลน์ ใ หม่ ยั ง ไม่ทนั ติดตัง้ เสร็จก็มลี กู ค้าจอง ซื้ อ แผ่ น โซลาร์ เซลล์ Fully ook แล้ว แถมเมื่อสัปดาห์ ที่ผ่านมาผู้บริหารหญิงคนเก่ง พอุ ท ว ์ ว ทอ บินลัดฟ้าไปเซ็น ขาย แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ให้กับ ลูกค้าเต็มก�าลังการผลิตเครื่องจักร 200 W เรียบร้อยแล้ว และยังได้อานิสงค์รายได้เป็นเงินดอลล่าร์ ก�าไร 2 เด้งกันไปเลย นอกจากนี้ กระแสโซลาร์ยังมาแรงส์ หลังจากที่ “บารัค โอบามา” ประธานาธิบดีสหรัฐฯ ประกาศแผนพลังงานสะอาดโดยมีเป้าหมาย ลดการปล่อยกาซคาร์บอนลงจากโรงงานไฟฟ้าถ่านหินให้ได้เกือบ 1 ใน หรือ 2 จากระดับเมื่อปี 2 8 ภายในปี 2 แถม ท้ายด้วย ิลลารี คลินตัล ประกาศนโยบาย หากได้รับเลือกเป็น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา จะติดแผงโซลาร์เซลล์ ไม่น้อยกว่า 00 ล้านแผง ก่อนหมดวาระแรก เห็นแบบนี้ต้องขยายก�าลังการ ผลิตเพิ่มอีกหรือเปล่านี่ โรงไฟฟ้ า พลั ง งานก าซ ธรรมชาติ ขนาดก�าลังการ ผลิ ต 20 W (เฟส 1) ทีป่ ระเทศเมียนมาร์ ของบริษทั อั น ดามั น เพาเวอร์ แอนด์ ยู ทิ ลิ ตี้ จ� า กั ด (A ) เดิ น เครื่องจ่ายไฟฟ้าได้ดีตามแผน ไม่มีสะดุด สร้างรายได้ให้กับ A อย่างต่อเนือ่ ง และช่วย สนับสนุนให้ผลประกอบการ ในอนาคตมี โ อกาสเทิ ร ์ น อะราวด์ ธุรกิจพลังงานก็เดินหน้าไปได้ฉลุย ตรงตามเป้าหมาย ที่บริษัทวางไว้ทุกประการ และพร้อมขยายธุรกิจโรงไฟฟ้าใน เมียนมาร์ เฟสต่อไป เตรียมผุดอีก 1 0 220 W และ 00 W ตามล�าดับ เห็นธุรกิจเดินหน้าได้ดแี บบนีก้ อ็ ดอีใจแทนไม่ได้เลยจริง ๆ
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ร่วมกับ บริษัท เบ็ทเทอร์ เท็กไทล์ จ�ากัด ร่วมกันแถลงข่าวเปิดต้นแบบS Esไทย ที่มีการ รัดเข็มขัด จัดการ “น�้า” แบบประหยัด งานนี้ คุณ ั ตรนุ ร กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เบ็ทเทอร์ เท็กไทล์ จ�ากัด เปิดโรงงานต้อนรับสื่อ เป็ น อย่ า งดี พร้ อ มพาเยี่ ย มชมการฟอกย้ อ ม ย้ อ มสี แ บบ ประหยัดน�้า ทั้งอธิบายขั้นตอนการท�างาน พร้อมเปิดให้ซักถาม อย่างละเอียดแบบไม่มีกักกันเลยทีเดียว
VOLUME 7 ISSUE 82
E N E R G Y S AV I N G
103
ENERGY MOVEMENT TEXT : กองบรรณาธิการ
วันอนรักษ์เสือโคร่งโลก “ a or ger”
พพ.เปิดงานจัดการพลังงาน “ ar nergy 01 ”
คุณ รร ร ว อธิบดีกรมพั นาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลั ง งาน (พพ.) ได้ ใ ห้ เ กี ย รติ เ ป็ น ประธานเปิ ด งานสั ม มนาด้ า น การจัดการพลังงาน “S art Energy 201 ” ณ อาคารอนุรักษ์ พลังงานเฉลิมพระเกียรติ ปทุมธานี จัดโดย ส�านักพั นาทรัพยากร บุคคลด้านพลังงาน (สพบ) ร่วมกับ บริษัทอินโนเวชั่น เทคโนโลยี จ�ากัด มีผู้เข้าร่วมงานกว่า 1 00 คน
กรอ.หนนการลดต้นทนการ ลิต
คุณ คล พ ์วั น รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็น ประธานเปิ ด การสั ม มนาเผยแพร่ ค วามรู ้ น� า เสนอกรณี ศึ ก ษาที่ ประสบความส�าเร็จและผลการด�าเนินงาน “โครงการลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพอุตสาหกรรมอาหารด้วยการเพิ่มศักยภาพ การผลิต” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยมี คุณบุญโชค คงสุริยะภิญโญ ผู้อ�านวยการส�านักงานโรงงาน อุตสาหกรรมรายสาขา 1 รองศาสตราจารย์ชัยพร วงศ์ไพศาล อาจารย์ภาควิชาวิศวกรรมขนถ่ายวัสดุและโลจิสติกส์ และหน่วยงาน อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมเป็นสักขีพยานในครั้งนี้ด้วย 104
E N E R G Y S AV I N G
คุณพ ์ ั ิ ั ุเว ประธาน บี.กริม เทรดดิ้ง คอร์เปอเรชั่น ตัวแทน บี.กริม ผู้สนับสนุนการท�างานของ WWF ประเทศไทย (กองทุนสัตว์ปา่ โลกสากล) ร่วมเสวนาในงาน วันอนุรกั ษ์เสือโคร่งโลก “T ais for Tiger” โดยมี คุณอดิศร นุชด�ารงค์ รองอธิบดีกรมอุทยาน แห่งชาติสตั ว์ปา่ และพันธุพ์ ชื ดร.โรเบิรต์ สไตน์เมทช์ นักชีววิทยาจาก WWF ประเทศไทย คุณเยาวลักษณ์ เธียรเชาว์ ผูอ้ า� นวยการ WWF ประเทศไทย คุณติก เจษ าภรณ์ ผลดี ศิลปินทีไ่ ด้เผยแพร่เรือ่ งราว จากผืนป่าให้คนทัว่ ไปได้รบั ทราบ คุณนัชญ์ ประสพสิน ผูก้ อ่ ตัง้ เฟสบุค แฟนเพจ “ทูนหัวของบ่าว” Social edia In uencer ทีส่ นับสนุน งานอนุรักษ์เสือโคร่งผ่านการแชร์ข้อมูลงานอนุรักษ์ให้สมาชิกกว่า 2 ล้านคน โดยมี คุณนัชญ์ ประสพสิน ด�าเนินการเสวนาตลอดงาน ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ โซน อีเดน เมือ่ เร็ว ๆ นี้
บ้านปฯ เสริมแกร่ง รกิจ ฟฟา รกลงทนโซลาร์ฟาร์มใน ี่ป่น
ริ ัท น ั น เผยผลประกอบการ ครึง่ ปีแรก 2 8 รายได้จากการขายรวมคิดเป็น 1,291 ล้านเหรียญ สหรัฐ หรือราว 2, ล้านบาท พร้อมกางแผนยุทธศาสตร์สกู่ าร เติบโตอย่างยัง่ ยืนครอบคลุมธุรกิจพลังงานหลากรูปแบบในภูมภิ าค เอเชีย แปซิฟกิ เน้นสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกกลุม่ ผนึกจุดแข็งธุรกิจถ่านหิน พั นาสินค้าทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงตอบโจทย์ลกู ค้า ตลาดพรีเมีย่ ม เสริมความแข็งแกร่งธุรกิจไฟฟ้า รุกลงทุนโซลาร์ฟาร์ม ในญีป่ นุ่ หลายโครงการ ขยายธุรกิจโรงไฟฟ้าในจีน พร้อมมองโอกาส ลงทุนโครงการไฟฟ้าอืน่ ๆ ในภูมภิ าค ขณะทีโ่ รงไฟฟ้าหงสาเริม่ สร้าง ผลก�าไรซึง่ จะเข้ามาเต็มเม็ดเต็มหน่วยในไตรมาส 2 2 9 เป็นต้นไป SEPTEMBER 2015
ปันรักให้น้อง
คุณไรวินท์ เลขวรนันท์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร พร้อมด้วยคณะ ผู้บริหาร บริษัทบูรพาเทคนิคอล เอ็นจิเนียริ่ง จ�ากัด (มหาชน) และ บริษัทในเครือ Eastern Group ร่วมแบ่งปันความรักให้กับน้อง ๆ มูลนิธิบ้านนกขมิ้น เนื่องในโอกาสครบรอบ 18 ปีในการก่อตั้ง บริษัทฯ ซึ่งบรรยากาศในงานเต็มไปด้วยความสุขและเสียงหัวเราะ นอกจากนี้ยังได้มอบสิ่งของจ�าเป็น อาทิ อุปกรณ์การเรียน ของใช้ ของเล่น มากมาย พร้อมเลี้ยงอาหารกลางวันให้แก่น้อง ๆ อีกด้วย ณ มูลนิธิบ้านนกขมิ้น ย่านเสรีไทย เมื่อเร็ว ๆ นี้
เปิดงาน “วันเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าโลก (World Ranger Day)”
เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณสุนันต์ อรุณนพรัตน์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นประธานในพิธีเปิดงาน “วันเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่าโลก (World Ranger Day)” เพื่อเดิน หน้ า ปกป้ อ งผื น ป่ า เพื่ อ แผ่ น ดิ น พร้ อ มมอบโล่ เ กี ย รติ คุ ณ และ ยุทโธปกรณ์เพื่อสนับสนุนงานลาดตระเวนแก่เจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า โดยมี คุณนิพนธ์ โชติบาล อธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช คุณ สมฤกษ์ บัวใหญ่ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี คุณธีรภัทร ประยูรสิทธิ กรมป่าไม้ และ คุณสมหมาย กิตยากุล รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เข้าร่วมเป็น เกียรติในงาน ณ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ VOLUME 7 ISSUE 82
ฟอร์ด ร่วมกับ จส. 100 จัดโครงการฝึกอบรม
เมื่อเร็ว ๆ นี้ ฟอร์ด ประเทศไทย ร่วมกับ สถานีวิทยุข่าวสารและการ จราจร หรือ จส. 100 จัดโครงการฝึกอบรม Driving Skills for Life (DSFL) หรือ “ฉลาดขับ ประหยัด ปลอดภัย” อย่างต่อเนื่องขึ้นเป็น ปีที่ 8 ณ เมโทร ไลฟ์ พาร์ค พระราม 9 โดยมีผเู้ ข้าร่วมอบรมประมาณ 200 คน Driving Skills For Life เป็นโครงการเพื่อสังคมของ ฟอร์ด ทั่วโลก ส�าหรับประเทศไทย ฟอร์ดได้มีการจัดอบรมโครงการ นี้ต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 8 โดยจัดอบรมให้กับผู้สนใจทั้งหน่วยงาน ภาครัฐและเอกชน และประชาชนทั่วไป รวมแล้วกว่า 8,000 ราย โดยผู้เข้าอบรมไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ในการเข้าอบรม
เซสน่าฉลองส่งมอบเครื่องบิน แกรนด์ คาราวาน อีเอกซ์ ล็อตแรก แก่กรมฝนหลวงฯ
เมื่อเร็ว ๆ นี้ บริษัท เซสน่า แอร์คราฟท์ จ�ากัด (Cessna Aircraft) บริษัทในเครือ เท็กซ์ตรอน เอวิเอชั่น อิงค์ (Textron Aviation Inc.) ประกาศว่า บริษัทได้ส่งมอบเครื่องบินรุ่น เซสน่า แกรนด์ คาราวาน อีเอ็กซ์ (Cessna Grand Caravan EX) แบบเครื่องยนต์ เดี่ยว จ�านวนสองล�าให้แก่กรมฝนหลวงและการบินเกษตรภายใต้ รั ฐ บาลไทย นั บ เป็ น การส่ ง มอบเครื่ อ งบิ น รุ ่ น นี้ เ ป็ น ครั้ ง แรกใน ประเทศไทย กรมฝนหลวงและการบินเกษตรจะใช้งานเครื่องบิน แกรนด์ คาราวาน อีเอ็กซ์ จากสนามบินนานาชาติหัวหินทางตอน เหนือของจังหวัดประจวบคิรีขันธ์ E N E R G Y S AV I N G
105
EVENT CALENDAR
2015
SEPTEMBER
TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
นิทรรศการงานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนกันยายน 2558
4-5 กันยายน 2558
ชื่องาน : อบรมหลักสูตรพลังงานส�าหรับผู้บริหาร Executive Energy Program (EEP) ประจ�าปี 2015 รุ่นที่1 รายละเอียด : กระบวนการอบรมของหลักสูตรมุง่ ให้ความรูด้ า้ นการบริหารจัดการและพัฒนาด้านพลังงาน มีการเรียนรูท้ หี่ ลากหลาย ทัง้ จากการ บรรยายโดยวิทยากร ผูเ้ ชีย่ วชาญและผูท้ รงคุณวุฒจิ ากภาครัฐและเอกชน การระดมสมอง การให้ขอ้ มูล การแลกเปลีย่ นประสบการณ์และกิจกรรม ร่วมกัน รวมทั้งการศึกษาดูงานสถานที่จริง สถานที่ : ณ กรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ จ.นครราชสีมา ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.fti.or.th สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โทร. 0-2345-1247-48 โทรสาร 0-2345-1258, 0-2229-4283
11 กันยายน 2558
ชื่องาน : สัมมนา “การพัฒนาขีดความสามารถผู้รับผิดชอบพลังงานในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพ วัสดุ เครื่องจักร อุปกรณ์ในโรงงาน/อาคาร ควบคุม (Refresh PRE)” รายละเอียด : การจัดโครงการนีข้ นึ้ เพือ่ ต้องการให้ผรู้ บั ผิดชอบด้านพลังงาน ได้มโี อกาสพัฒนาขีดความสามารถผ่านรูปแบบการสัมมนา และการ ถ่ายทอดความรู้โดยตรงจากผู้ที่มีประสบการณ์ในการอนุรักษ์พลังงานที่ประสบผลส�าเร็จ ตลอดจนเป็นโอกาสที่ดีในการสร้างเครือข่ายระหว่าง ผู้รับผิดชอบด้านพลังงานในแต่ละหน่วยงาน ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรม คลาสสิค คามิโอ จ.ระยอง ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th
16 กันยายน 2558
ชื่องาน : อบรมหลักสูตร “การจัดการพลังงานส�าหรับผู้บริหารโรงงานและอาคารควบคุม” รายละเอียด : ทาง สพบ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้ให้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด�าเนินการอบรมหลักสูตรการจัดการ พลังงานส�าหรับผู้บริหารโรงงานและอาคารควบคุมโดยมุ่งเน้นให้ความรู้ผ้บู ริหารองค์กรในด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการพลังงานอย่างเป็น ระบบ โดยครอบคลุมทัง้ การจัดการองค์กรเพือ่ สร้างความพร้อมในการบริหารการใช้พลังงาน การจัดการบุคลากรทีต่ อ้ งเป็นผูด้ า� เนินการเกีย่ วกับ การใช้พลังงานและการจัดการให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมเดอะ ทวิน ทาวเวอร์ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th
22-24 กันยายน 2558
ชื่องาน : อบรมหลักสูตร การอนุรักษ์พลังงานในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมโลหะมูลฐาน และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ รายละเอียด : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์ พลังงาน เพื่อพัฒนาบุคลากร ของภาคอุตสาหกรรมที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตให้สามารถน�าความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และเพื่อให้เกิดการเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานให้กับโรงงานอุตสาหกรรมโลหะมูลฐาน อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมโกลเด้นซิตี้ จ.ระยอง ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th
22-25 กันยายน 2558
ชื่องาน : การฝึกอบรมหลักสูตร “การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน (ภาคปฏิบัติ) รุ่นที่ 5” รายละเอียด : จัดฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในนามของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จ�านวนไม่น้อยกว่า 400 คน จ�านวนผู้เข้าฝึกอบรมรุ่นละประมาณ 40 คน ประกอบด้วย เป็นบุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม เครื่องจักรอุปกรณ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.mitr.com บริษัท มิตรเทคนิคัลคอนซัลแท้นท์ จ�ากัด คุณทองเพียร เทียนด้วง โทร. 0-2679-9079 ต่อ 84 อีเมล : mitr_trainingoutlook.com 106
E N E R G Y S AV I N G
SEPTEMBER 2015