ENERGY SAVING Vol.90 ISSUU, May 2016

Page 1




CONTENT

E n Er gy Sav i n g v o l. 9 0 i S S u E m ay 2 0 1 6

18

08 10

22

Editor’s Note News Report

กระทรวงพลังงาน จับมือ IEA เปิด “ศูนย์ข้อมูลพลังงานไทย” สร้างฐานข้อมูลพลังงานไทยสู่มาตรฐานระดับโลก

SENA ตั้งเป้าขายไฟโซลาร์รูฟท็อป 100 MW

KEA ทุ่ม 6,300 ล้าน ปักหมุดสโตร์แห่งใหม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ดิจิตอลเทคโนโลยี แนวทางปฏิรูปเศรษฐกิจไทย

Roll-Array แผงโซลาร์เซลล์ม้วนได้ เก็บง่าย ใช้งานสะดวก

Solar Reflective Paint แต่งแต้มสีสัน ขานรับนวัตกรรมรักษ์โลก

Ritta Head Office กรีนด้วยดีไซน์ สู่ LEED GOLD

สินเชื่อเพื่อการประหยัดพลังงาน (Energy Saving Loan)

เทคนิคเบื้องต้นวิเคราะห์กระบวนการ และหลักคาร์บอนฟุตพริ้นท์ เพื่อการประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อมในระยะยาว

BSC glass กระจกคุณภาพ ได้มาตรฐาน

RET Solar Roof บ้านหลังคาผลิตไฟฟ้า

Eco Architect ออกแบบด้วยหัวใจสีเขียว

12 14 15 18 22 28 32 34

36 38

News Report News Report News Report

Around the World Cover Story

Green Building

Building Management Energy Management

42

Green Industrial

4

โรงไฟฟ้าสีเขียว ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ เจ้าของรางวัล Thailand Energy Awards และ ASEAN Energy Awards E N E R G Y S AV I N G

46

40

Energy Focus

48

ระบบบริ ง หารจัดการพลั งงานในภาคขนส่

เปิดบ้าน TPARK กับ ธุรกิจคลังสินค้ารักษ์โลก Product Review MEGAFAN นวัตกรรมพัดลมยักษ์สู้โลกร้อน

โรโบเทค มิ นิซีเอ็นซี ( ROBOTECH MINI CNC)

48

50

51

ยานยนต์ไฟฟ้า-ไฮโดรเจน VS เอทานอล-ไบโอดีเซล

Open House

Product Showcase - Industrial

54

Interview

56

Green Logistics

ซีเมนส์ รุกธุรกิจพลังงานด้วยเทคโนโลยี ที่เป็นมิ ตรกับสิ่งแวดล้ อม

ประชุมอย่างไร? ให้เกิดประสิทธิภาพ สร้างประสิทธิผล

58

Renergy

60

Product Review - Logistics

Product Showcase - Construction

Interview

Product Review - Construction

40

34

62

ว๊อกซ์ รุกตลาดฟิล์ม กรองแสงรถยนต์ คาดอากาศร้อนดันตลาดโต 30% Product Showcase ยาง ENASAVE EC300 + ้มค่า… ความสบายคุ ประหยัดน�้ามันได้มากกว่า

การด�าเนินงานด้านการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ในภาวะของความขาดแคลน

63

Environment Alert

54

62

m AY 2 0 1 6


速 速


CONTENT

E n Er gy Sav i n g v o l. 9 0 i S S u E m ay 2 0 1 6

65

73

65

0 Waste Idea

83

ขยะพลาสติก ปัญหาขยะสะสมในแหล่งน�้า

อบก.ยันพร้อมติดตามผลลดก๊าซเรือนกระจก จากมาตรการอนุรักษ์พลังงาน

นวัตกรรมหลอดไฟ LED รุ่น VINTAGE จาก แลมป์ตั้น

ไฮเออร์ส่งเครื่องปรับอากาศรุ่นใหม่ เจาะตลาดซัมเมอร์ ชูนวัตกรรมเย็นเร็ว..ประหยัดจริง

67 69 72 73

75

Greenhouse Gas Management

85

Product Showcase - Commercial Product Review – Commercial

Interview

ITE กวาดงานก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ตั้งเป้ารับรู้รายได้ 5,600 ล้านบาท

Energy Tip

88

90

Energy Knowledge

งานวิจัยโซแมท SOMAT ไอเดียนวัตกรรมใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนขยะอาหาร เป็นผงธุลี (ดิน) ชั้นดี

Special Report

เปิดบ้าน สวทช. ครบรอบ 25 ปี จัดประชุม วิชาการยิ่งใหญ่ คอนเซ็ป ต์ “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่ออนาคตเศรษฐกิจและสังคมไทย” Energy Loan ก.พลังงาน ปล่อยเงินกู้ 4 พันกว่าลบ. หวังเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน ภาคอุตสาหกรรม

83

85

Special Feature

การประหยัดพลังงานไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรม

Hom fragrances เทียนหอม คิดมาเพื่อโลก

ขวดพลาสติกจากสาหร่าย ย่อยสลายได้

“PEA” เดิ นหน้าจัด Thailand Lighting Fair 2016 ชูแนวคิด Smart Lights. Smart Life. Viewpoint อบก. เปิดตัวโครงการเตรียมความพร้อม ด้านกลไกตลาด เพื าซเรือนกระจก ่อสนั บสนุนการลดก๊

กังหันลมแบบใบพัดหมุนสวนทาง พลังงานลม พลังงานสะอาด

สวทช. จับมือ VGREEN เปิดรับสมัคร SME ไทย เดิ นหน้าก้าวสู ่ยุค INDUSTRY 4.0 : ยุคการด�าเนินธุรกิจลดโลกร้อน

พีแอนด์จี มอบ “ของขวัญสีเขียว” ให้เด็ก

77 80 81

Green 4U Green 4U

Energy Invention

93 96 98

Energy Report Green Society

90 93

101 102 103 104 106

6

E N E R G Y S AV I N G

แบบสมัครสมาชิก แวดวงนักพลังงาน Energy Gossip Energy Movement Event Calendar

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนาด้านพลังงาน ที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนพฤษภาคม 2559 m AY 2 0 1 6













Around the world TEXT : อังกฤษ ศรีสิริมานิต

Roll-Array แผงโซลาร์เซลล์ม้วนได้ เก็บง่าย ใช้งานสะดวก ต่อจากนีไ้ ปการติดตัง้ แผงวงจรไฟฟ้าโซลาร์เซลล์พลังงานแสงอาทิตย์จะกลายเป็นเรือ่ งง่ายกว่าเดิม อย่างแน่นอน ด้วยผลงานนวัตกรรมชิน้ ใหม่ลา่ สุดจากทีมงานบริษทั พลังงานทดแทน Renovagen ซึ่งน�ำทีมโดย Mr. John Hingley โดยพวกเขาได้ออกแบบ “Roll-Array” อุปกรณ์ส�ำหรับการ เปลีย่ นพลังงานแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้าทีส่ ามารถม้วนออกมาเพือ่ ใช้งานได้เหมือนกับพรมเลยทีเดียว นอกจากนัน้ ยั ง มี ค วามยื ด หยุ ่ น สู ง ปรั บ ได้ ต ามลั ก ษณะการท� ำ งาน สามารถเก็ บ และขนย้ า ยได้ อ ย่ า งง่ า ยดาย พร้อมส่งมอบประสิทธิภาพของพลังงานทางเลือกรูปแบบใหม่ทเี่ ข้าถึงได้ในทุกทีท่ ตี่ อ้ งการ ทัง้ นี้ Roll-Array สามารถพ่วงเข้ากับรถยนต์ขนาด 4x4 จ�ำพวก Land Rover ได้อกี ด้วย ซึง่ จะเชือ่ มต่อ ทางด้านหลังของตัวรถ โดยแผงโซลาร์เซลล์จะถูกดึงหมุนออกมาจากแกนกลางของอุปกรณ์และท�ำการ ปกคลุมทัว่ พืน้ ดิน พร้อมส�ำหรับใช้งานในระยะเวลาเพียงไม่กนี่ าที ด้วยอัตราการผลิตกระแสไฟฟ้าทีส่ ามารถ สร้างได้ถงึ 100 kWp ทีเ่ รียกได้วา่ มีกำ� ลังมากกว่าแผงโซลาร์เซลล์ชนิดอืน่ ๆ ทีว่ างขายอยูใ่ นท้องตลาด ปัจจุบนั ถึง 10 เท่า นอกจากนีเ้ มือ่ เปรียบเทียบระยะเวลาในการติดตัง้ ด้วยแรงงานคน ก็ยงั เร็วกว่าอย่าง เห็นได้ชดั เพราะการติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์แบบมาตรฐานจ�ำเป็นต้องใช้เวลาถึง 22 ชัว่ โมงกว่าจะแล้วเสร็จ ซึง่ แผงโซลาร์เซลล์แบบม้วนนีส้ ามารถท�ำได้ในเวลาเพียง 2 นาที และแค่ 5 นาทีสำ� หรับการท�ำงานด้วยคน งาน 2 คนเท่านัน้ แผงโซลาร์เซลล์กพ็ ร้อมเริม่ ด�ำเนินการ แถมยังทนทาน แข็งแกร่งและสามารถต้านทาน แรงลมได้มากกว่า 80 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมงเลยทีเดียว นับเป็นแนวคิดการพัฒนาทีส่ ร้างสรรค์และชาญฉลาดอย่างมาก เหมาะส�ำหรับสถานทีท่ มี่ พี นื้ ราบขนาด ใหญ่ เช่น ค่ายทหาร เป็นต้น ด้วยศักยภาพการจัดหาแหล่งพลังงานทีเ่ ป็นมิตรต่อธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดย Mr. John Hingley หัวหน้าโครงการได้เผยว่า “สิง่ นีก้ เ็ ปรียบเสมือนกับการมีขมุ พลังอยูใ่ นก�ำมือ ซึง่ คุณสามารถน�ำมันออกมาใช้ได้ตลอด 24 ชัว่ โมง” อย่างไรก็ตามในการเดินหน้าสูค่ วามส�ำเร็จ ขณะนีท้ าง บริษทั Renovagen ก็ได้สง่ Roll-Array เข้าน�ำเสนอในองค์กรระดมทุม Crowdcude พร้อมเชิญชวนให้ ผูค้ นช่วยกันร่วมสนับสนุน เพือ่ สานฝันให้ผลงานชิน้ นีเ้ กิดขึน้ มาเป็นรูปธรรม ที่มาและภาพประกอบ: http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดยCopyright: www.energysavingmedia.com

18

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6


มิลานเข็นจักรยานสู้มลพิษ นับตัง้ แต่ปี 2015 เป็นต้นมา เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ขณะนีด้ เู หมือนว่าก�ำลังจะ ต้องเผชิญกับปัญหามลภาวะทางอากาศครั้งใหญ่ซึ่งเลวร้ายที่สุดที่เคยมีมาในรอบ ประวัตศิ าสตร์เลยทีเดียว ทางการจึงตัดสินใจเริม่ หาหนทางการแก้ไขปัญหา ในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ ด้วยการรณรงค์ให้ประชาชนภายในประเทศลดการใช้รถยนต์ ส�ำหรับการเดินทางคมนาคมขนส่ง แล้วหันมาเลือกใช้จกั รยานแทน ทัง้ นีเ้ มือ่ ย้อนกลับไปในเดือนธันวาคม ปี 2015 ท่ามกลางงานเฉลิมฉลองวันขึน้ ปีใหม่ เมืองมิลาน ได้ทำ� การออกมาตรการขัน้ รุนแรง ด้วยค�ำสัง่ ห้ามมีการใช้รถยนต์บนท้องถนนเป็นระยะเวลา 3 วัน เพื่อยุติปัญหาหมอกควันที่เกินขึ้น โดยถือเป็นความพยายามครั้งใหญ่ของทางการอิตาลี เลยก็วา่ ได้ พร้อมสนับสนุนแผนการด้วยเงินทุนส�ำรองกว่า 35 ล้านยูโร ส�ำหรับขจัดมลพิษทาง อากาศแบบจริงจัง อย่างไรก็ตามปัญหามลภาวะทีผ่ ดิ ปกติเช่นนีไ้ ม่ใช่ครัง้ แรกทีป่ ระชาชนเมือง มิลานได้ประสบพบเจอ เพราะในปี 2008 เมืองมิลานก็ได้ถกู จารึกชือ่ ไว้วา่ เป็นเมืองทีม่ มี ลพิษ มากทีส่ ดุ ในทวีปยุโรปมาแล้ว และยังคงเป็นทีห่ นึง่ ตัง้ แต่นนั้ เป็นต้นมา การผลักดันแผนการใช้ รถจักรยานจึงถือก�ำเนิดขึน้ โดยยึดเอารูปแบบทีค่ ล้ายคลึงกันของระบบในประเทศฝรัง่ เศสมา ใช้ ซึง่ เรียกเก็บเงินในอัตรากิโลเมตรละ 25 เซนต์ นอกจากนีย้ งั ติดตัง้ แอพพลิเคชัน่ ส�ำหรับการ ยืนยันและตรวจสอบว่าผูข้ บั ขีน่ ำ� จักรยานไปใช้ในระยะทางตามจริง เพือ่ หลีกเลีย่ งปัญหาทีจ่ ะ เกิดขึน้ ในภายหลัง อย่างไรก็ตามในท้ายทีส่ ดุ แล้วแรงจูงใจทีจ่ ะเปลีย่ นรูปแบบการเดินทางของผูค้ นในเมืองก็ เป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญ ถึงแม้วา่ การก่อสร้างเส้นทางส�ำหรับปัน่ จักรยานก�ำลังเริม่ พัฒนาเพิม่ ขึน้ แต่บางครัง้ การสัญจรไปมาบนท้องถนนก็ไม่จ�ำเป็นต้องพึ่งพาอาศัยจักรยานตลอดเวลา เพราะสถานที่ แต่ละแห่งก็สามารถเข้าถึงได้โดยง่าย ด้วยเหตุนปี้ ญ ั หาทีเ่ ห็นได้ชดั เจนเลย คือ มิลานเป็นเมืองที่ มีสภาพอากาศแย่ที่สุดในทวีปยุโรป จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากมากที่จะปรับทัศนคติรวมถึง โน้มน้าวให้ผคู้ นสนใจออกก�ำลังกายและสูดอากาศในทีก่ ลางแจ้ง

ที่มาและภาพประกอบ : http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com

ขวดน�้ำสาหร่าย ย่อยสลายง่ายเป็นมิตรต่อโลก ข ว ด พ ล า ส ติ ก เ ป ็ น ป ั ญ ห า ใ ห ญ ่ ต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกินกว่าที่ มนุษย์ทุกคนจะสามารถคาดเดาหรือ ตระหนักรับรู้ได้ โดยจ�ำเป็นต้องใช้ระยะเวลา ยาวนานถึง 1,000 ปีเลยทีเดียว ก่อนทีพ่ ลาสติก เหล่ า นี้ จ ะสามารถเน่ า เปื ่ อ ยและบุ บ สลายลง ซึ่งเกือบครึ่งหนึ่งถูกใช้แค่เพียงครั้งเดียวเท่านั้น แล้วก็ทงิ้ น�ำไปสูผ่ ลลัพธ์อนั เลวร้ายของปริมาณขยะ ทีก่ ำ� ลังเพิม่ สูงมากยิง่ ขึน้ ด้วยเหตุนี้ Mr. Ari Jonsson ดีไซเนอร์นักออกแบบผลิตภัณฑ์จากประเทศ ไอซ์แลนด์ จึงตัดสินใจด�ำเนินการพัฒนาขวดน�ำ้ พลาสติกที่ผลิตมาจากสาหร่าย วัสดุซึ่งสามารถ ย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ ทั้งนี้ Mr. Ari Jonsson ได้กล่าวถึงความ มุง่ มัน่ ในการขับเคลือ่ นและเดินหน้าสังคมว่า “นีค่ อื เรือ่ งเร่งด่วนทีต่ อ้ งรีบค้นหาหนทางส�ำหรับวิธกี าร ปรับปรุงเปลีย่ นแปลงและแทนทีจ่ ำ� นวนรวมของ ขวดพลาสติกซึง่ มีการผลิต การใช้และการทิง้ อยู่ ตลอดในทุก ๆ วัน จนเกิดเป็นค�ำถามว่าท�ำไมเรา VOLUME 8 ISSUE 90

ถึงต้องเลือกใช้วัสดุที่มีระยะเวลาการย่อยสลาย ตามธรรมชาติเป็นพัน ๆ ปี เพือ่ การใช้งานครัง้ เดียว แล้วทิง้ ? “ โดยวิธกี ารของ Mr. Ari Jonsson ในการ หาทางออกและแก้ไขปัญหามลภาวะจากขยะ พลาสติก คือ การใช้วนุ้ ทีท่ ำ� ขึน้ มาจากสาหร่าย โดยการผสมผงวุ้นเข้ากับน�้ำซึ่งได้เป็นเยลลี่ที่มี ความเหนียวข้น ก่อนที่จะท�ำการเทบรรจุลงใน แม่พิมพ์หล่อเย็น รอให้จับตัวแล้วน�ำไปแช่แข็ง เพียงไม่กนี่ าทีขวดน�ำ้ ก็พร้อมส�ำหรับการใช้งาน ทัง้ นี้ ขวดน�ำ้ สาหร่ายจะรักษารูปร่างเอาไว้จนกว่าขวด จะว่ า งเปล่ า หลั ง จากนั้ น จึ ง ค่ อ ยเริ่ ม ต้ น การ

ย่อยสลายตัวเองลง นับเป็นวัสดุจากธรรมชาติ อย่างแท้จริง ช่วยสร้างทางเลือก รวมถึงหลีกเลีย่ งการ ใช้งานพลาสติกบนโลก นอกจากนีถ้ า้ อยากจะลองชิม รสชาติ ขวดน�้ำสาหร่ายก็สามารถกินได้อีกด้วย เหมาะสมส�ำหรับผู้รับประทานอาหารมังสวิรัติ อย่างแน่นอน ผลิตมาบนพืน้ ฐานทีด่ เี พือ่ ปกป้อง รักษาสิง่ แวดล้อมและมนุษย์ไปพร้อม ๆ กัน ที่มาและภาพประกอบ : http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com

E N E R G Y S AV I N G

19


นวัตกรรม 2 in 1 ทั้งเป็นที่ชาร์จและโคมไฟ “PowerLight Mini” หลังจากที่ประสบความส�ำเร็จและโด่งดังไปกับนวัตกรรมสุดสร้างสรรค์มากมาย ขณะนี้ทาง บริษทั BioLite ก็ได้กา้ วขึน้ มาอีกขัน้ หนึง่ แล้ว ส�ำหรับการเข้าช่วยเหลือและตอบสนองต่อความ ต้องการของผูบ้ ริโภคได้แบบมัลติฟงั ก์ชนั่ ทีค่ รบถ้วนสมบูรณ์ มอบกลเม็ดวิธกี ารแก้ไขปัญหา ด้วยรูปแบบ การชาร์จพลังงานในสถานทีอ่ นั ปราศจากสิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ พร้อมกันนัน้ ยังค�ำนึงถึงลักษณะ วิถชี วี ติ ของผูใ้ ช้งานยามค�ำ่ คืน โดยระบบไฟส่องสว่าง ซึง่ เหมาะสมกับการเดินทางท่องเทีย่ วอย่างแน่นอน บริษัทผู้ผลิต BioLite ได้เปิดตัวที่สุดของนวัตกรรมสุดแสนเอนกประสงค์ PowerLight Mini ซึง่ ตอบโจทย์การใช้งานถึง 2 รูปแบบ เป็นทัง้ โคมไฟและทีช่ าร์จแบตเตอรีแ่ บบพกพาด้วยจุดเชือ่ มต่อ USB ใน หนึ่งเดียว สร้างทางเลือกและวิธีที่มากกว่าของการท�ำงาน จากขนาดเพียง 85 x 51 x 15 มิลลิเมตร ซึง่ เรียกได้วา่ มีความกะทัดรัด บางเบากว่านวัตกรรมอืน่ ๆ เท่าทีเ่ คยมีมา สามารถเก็บใส่กระเป๋าได้แบบ สบาย ๆ เพราะมีนำ�้ หนักแค่ 2.82 ออนซ์ (80 กรัม) ตัดลดทอนสิ่งที่ไม่จำ� เป็นเพือ่ ประสิทธิภาพของการ ส่องสว่างสูงสุดที่ 135 Lumens นอกจากนั้นยังสามารถปรับค่าการแสดงผลได้มากถึง 4 โหมดอีกด้วย ทั้งนี้จากการใช้แบตเตอรี่ลิเธียม ไอออน ขนาด 1,350 mAh ส่งผลให้โคมไฟนี้สามารถเก็บสะสม พลังงานส�ำหรับให้หลอดไฟ LED ส่องสว่างได้นานถึง 52 ชั่วโมงเลยทีเดียว อีกทั้งยังมีช่องเสียบ USB ให้กับโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนทุกรุ่นที่รองรับไว้ชาร์จไฟไปพร้อม ๆ กัน บริหารจัดการลักษณะการ ท�ำงานได้ตามไลฟ์สไตล์ของแต่ละบุคคล ไม่ว่าจะแขวนบนเพดาน ตั้งโต๊ะ ผูกติดกับตัว หรือจะใช้เป็น สัญญาณไฟส�ำหรับรถจักรยานเพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัยก็ย่อมได้ มาพร้อมสีสันให้เลือกซื้อกว่า 4 แบบ สนนราคาเพียง 44.95 เหรียญดอลลาร์สหรัฐเท่านั้น

ที่มาและภาพประกอบ : http://www.gizmag.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com

หน่วยพิราบสแกนมลพิษ เหนือน่านฟ้าแดนผู้ดี นกพิราบเป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถพบเห็นได้โดยทั่วไปทุกหนทุกแห่งในกรุงลอนดอน ไม่ว่าบน ท้องถนนและตามสถานทีส่ ำ� คัญต่าง ๆ จนเสมือนกลายเป็นส่วนหนึง่ ของประเทศอังกฤษไปเสียแล้ว ทีมนักวิจยั จาก Plume Labs จึงคิดทีจ่ ะใช้ประโยชน์จากพวกนกพิราบเหล่านี้ ด้วยโครงการทีมนกพิราบ ลาดตระเวน ดูแลความปลอดภัยทางอากาศ เพือ่ ท�ำหน้าทีเ่ ป็นหูเห็นตาให้แก่ประชาชน พร้อมตรวจสอบ คุณภาพทางอากาศภายในเมือง หลังจากตระหนักรับรูถ้ งึ ภัยคุกคาม อันเป็นบ่อเกิดของปัญหาระดับมลพิษทางอากาศครัง้ ใหญ่ทอี่ าจ จะเพิม่ มากยิง่ ขึน้ ไปอีกในอนาคต โครงการนกพิราบจึงเกิดขึน้ มา โดยรูปแบบการเชือ่ มต่อประชาชนเข้ากับ นกพิราบ ด้วยอุปกรณ์ทผี่ กู ติดไว้กบั ตัวนก พร้อมท�ำงานสอดประสานผ่านทางระบบบัญชีผใู้ ช้งานทวิตเตอร์ เพือ่ รับทราบข้อมูลข่าวสารสภาพมลภาวะทางอากาศบริเวณต�ำแหน่งทีต่ งั้ ของคุณได้แบบ Real time ทัง้ นี้ อุปกรณ์ทตี่ ดิ ตัง้ ไว้กบั นกนัน้ ภายในได้บรรจุเทคโนโลยีเซ็นเซอร์ตรวจจับสภาพธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ซึง่ ไม่เป็นอันตราย แถมมีนำ้� หนักทีเ่ บา ไม่รบกวนหรือกีดขวางศักยภาพการกระพือปีกแต่อย่างใด ครอบคลุม ด้วยระบบ GPS ติดตามตัวนกในทุกเส้นทางของการบิน ช่วยระบุคณ ุ ภาพอากาศ รวมถึงเก็บข้อมูลเกีย่ วกับ ระดับสารพิษ ทัง้ ปริมาณสารระเหยและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์อกี ด้วย นอกจากนีท้ างบริษทั Plume Labs ยังได้เชิญชวนให้ประชาชนในกรุงลอนดอนเข้ามาเล่นและใช้งาน 20

E N E R G Y S AV I N G

ทวิตเตอร์กนั ซึง่ จะเป็นจุดศูนย์รวมในการน�ำเสนอ ข้อมูลข่าวสารแบบรวดเร็วและฉับไว เปิดโอกาส ให้แลกเปลีย่ นทัศนคติ แสดงความคิดเห็น โต้ตอบกัน โดยแค่ พิ ม พ์ @PigeonAir ตามด้ ว ยพื้ น ที่ ที่ ต้องการค้นหา เพียงเท่านีก้ ส็ ามารถศึกษาเรียนรู้ เพิม่ เกีย่ วกับมลพิษภายในท้องถิน่ จากมุมมองของ นกพิราบได้เลย ทัง้ นีไ้ ม่ตอ้ งกังวลเรือ่ งสวัสดิภาพ ของนกพิราบ เพราะเมือ่ ครบก�ำหนดการท�ำงาน และเสร็ จ สิ้ น ภาระกิ จ นกพิ ร าบเหล่ า นี้ จ ะ ถูกส่งกลับไปใช้ชวี ติ อยูอ่ ย่างปกติตามเดิม ที่มาและภาพประกอบ : http://inhabitat.com และ http://www.gizmag.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com M AY 2 0 1 6



cover story TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

แต่งแต้มสีสัน ขานรับนวัตกรรมรักษ์โลก 22

E N E R G Y S AV I N G

ปัจจุบนั กระแสธุรกิจอสังหาริมทรัพย์กำ� ลังกลับมาฟืน้ ตัว รวมไปถึง การคมนาคมที่มีโครงการเกี่ยวกับระบบรางผุดขึ้นมากมาย เหล่านี้กลายเป็นช่องทางให้ตลาดสีทาอาคารในประเทศไทย ซึ่ ง มี มู ล ค่ า สู ง กว่ า 20,000 ล้ า นบาท มี ก ารแข่ ง ขั น กั น อย่างดุเดือด โดยเฉพาะเหล่าผู้ผลิตสีหลายรายพร้อมใจกัน ใส่เทคโนโลยีล�้ำสมัยเข้าไปในเนื้อสี ท�ำให้สีไม่ได้เป็นเพียง การตกแต่ง แต่ยังสามารถปกป้องบ้านของเราจากมลภาวะ ภายนอก ยับยั้งเชื้อโรคภายใน สามารถสะท้อนความร้อน จากบ้านได้ เหมาะกับสภาพภูมิอากาศในประเทศไทยที่นับวัน ก็ จ ะยิ่ ง ร้ อ นเพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก ปี ที่ ส� ำ คั ญ ยั ง ใส่ ใ จสิ่ ง แวดล้ อ ม ด้วยการควบคุมเรื่องสารตะกั่ว ตั้งแต่กระบวนการผลิต สู่ตัวผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้อาศัยภายในบ้าน M AY 2 0 1 6


อุ ต สาหกรรมการผลิ ต สี ใ นประเทศไทย เริม่ มาตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2499 เป็นบริษทั เกีย่ วกับ สี เ คลื อ บ ต่ อ มาได้ ถู ก พั ฒ นาตามกาลเวลา จนปัจจุบันความต้องการของสีมีเพิ่มมากขึ้น ตามเศรษฐกิจของประเทศ โดยเฉพาะธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ ก่อสร้าง ที่เกิดขึ้นมากมาย ท� ำ ให้ มี โรงงานผลิ ต สี เ พิ่ ม ขยายขึ้ น ตั้ ง แต่ ขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ่ ส่งผลให้เกิดเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ใส่ลงไป เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสี แต่ละชนิด ตอบโจทย์ตามลักษณะการใช้งาน โดยสามารถจ� ำ แนกผลิ ต ภั ณ ฑ์ สี อ อกเป็ น 4 ประเภท ใหญ่ ๆ คือ 1. สีน�้ำพลาสติกหรือสีอะคริลิก เป็นสีที่ มีตัวประสาน (Binder) เป็นส่วนที่ไม่ระเหย ของสิ่งน�ำสี (Emulsion) ผสมอยู่กับผงสีและ วัตถุอนื่ ในสภาพที่เป็นของเหลว บางครั้งเรียก สีลาเท็กซ์ ตามลักษณะของเนือ้ สี ใช้ทาวัตถุทเี่ ป็น อิฐ คอนกรีต ฝาผนัง พื้นปูน และกระเบื้อง เพื่อ ให้เกิดสีสวยงาม และรักษาสภาพพื้นผิว 2. สีนำ�้ มันหรือสีเคลือบเงา เป็นสีทปี่ ระกอบ ด้วย น�้ำมันขัดเงา ผงสี ตัวเจือจาง และสารเพิ่ม เติมคุณสมบัติต่าง ๆ โดยกรรมวิธีการผสมชนิด ใช้ความร้อนช่วย สีนำ�้ มันใช้ทาหน้าวัสดุได้ทกุ ชนิด เพื่ อ ความทนทาน เมื่ อ แห้ ง จะมี ลั ก ษณะ เป็นฟิล์มแข็ง มีความเหนียวและเป็นเงามัน ซึ่งความเงามันนี้อาจจะปรับให้มากหรือน้อยได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้นำ�้ มันขัดเงา

3. น�้ำมันขัดเงาและเลคเกอร์ 4. สีส�ำเร็จรูปอื่น ๆ ซึ่งได้แก่ สีชนิดต่าง ๆ ที่ไม่ได้อยู่ในสามประเภทข้างต้น เช่น สีรองพืน้ เป็นสีทใี่ ช้ทาทับชัน้ แรกบนพืน้ ผิวที่ยังไม่เคยทาสี หรือทาบนพื้นผิวที่เคยทาสี แล้ว แต่ตอ้ งมีการท�ำความสะอาดพืน้ ผิวนัน้ ก่อน สีรองพืน้ นีม้ ปี ระโยชน์ในการท�ำให้สจี บั ติดพืน้ ผิว วัสดุได้แน่นสนิท สีรองพื้นมีหลากหลายชนิด เช่น สีรองพื้นไม้ สีรองพื้นปูน สีรองพื้นกันสนิม สี บิ ทู มิ นั ส เ ป ็ น สี เ ค ลื อ บ ผิ ว วั ส ดุ มีส่วนประกอบของ ยางมะตอย หรือน�ำ้ มันดิบ ใช้ทาวัสดุที่เป็นโลหะ คอนกรีต หรือพื้นต่าง ๆ มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม ใช้ได้ดที งั้ ในน�ำ้ และใต้ดิน รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมและใน บรรยากาศที่มีการกัดกร่อน สีชั้นล่าง เป็นสีที่ใช้ทาบนวัสดุที่ได้ทา สีรองพืน้ ไว้แล้ว เพือ่ ลบร่องรอยต�ำหนิและปกปิด สีชั้นล่างสุด องค์ประกอบหลักในสี มี 4 ชนิด คือ 1. ผงสี (Pigment) เป็นส่วนผสมที่ท�ำให้ เกิดสีปิดบังสีพื้นผิวเดิม มักใช้ผงสีที่เป็นสาร อินทรีย์ เช่น โมโนอะโซ พิกเม้นท์ (monoazo pigment) และส่วนผสมที่เป็นอนินทรีย์ เช่น ไททาเนียมไดออกไซด์ แคลเซียมคาร์บอเนต เป็นต้น

VOLUME 8 ISSUE 90

2. สารยึด (Binder) ท�ำหน้าที่เป็นตัวสร้าง ฟิล์มยึดเกาะบนพื้นผิวต่าง ๆ และประสานยึด ผงสีและสารต่าง ๆ ในเนื้อสีไว้ด้วยกัน ผลิตจาก ธรรมชาติ เช่น ยางไม้ หรือผลิตจากอุตสาหกรรม ปิโตรเคมิคอลก็ได้ ซึ่งในอุตสาหกรรมสีน�ำมา ใช้เรียกลักษณะการท�ำหน้าที่ของสารยึดทุกตัว เป็นพลาสติกชนิดหนึ่งทั้งสิ้น ซึ่งพลาสติก คือ สารประกอบใด ๆ ก็ตาม ที่ผลิตมาจากผลิตผล ของพืช หรือสัตว์ หรืออุตสาหกรรมปิโตรเคมี ซึ่งเห็นว่าวัตถุดิบกลุ่มนี้จะเป็นสารเชื้อเพลิง ทั้งสิ้น โดยสามารถแยกกลุ่มวัตถุดิบและการ ผลิตเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้ดังนี้ กลุ่มที่ได้จากพืชและสัตว์ เช่น น�้ำมัน และยางไม้ต่าง ๆ เช่น น�ำ้ มันสน น�้ำมันยางนา ยางจากต้นรัก เป็นต้น สารยึดเหล่านีถ้ กู มนุษย์นำ� มาใช้งานตั้งแต่สมัยโบราณ บางตัวยังใช้งาน กันจนถึงปัจจุบัน เช่น การยาเรือไม้ด้วยชัน และ น�้ ำ มั น ยางนา หรื อ การลงรั ก ปิ ด ทอง เป็นต้น วัตถุดิบกลุ่มนี้ใช้งานแพร่หลาย ผลิต เป็นระดับอุตสาหกรรม และกลุ่มที่ได้จากสัตว์ เช่น กาวหนัง แต่ที่น�ำมาใช้งานทางด้านสีที่ แพร่หลาย คือ Shellac ซึ่งได้มาจากมูลของ แมลงชนิดหนึ่งที่เรียกกันว่า “ครั่ง” โดยแมลง ชนิดนีจ้ ะดูดกินน�ำ้ เลีย้ งจากต้นไม้ และถ่ายมูลออก มาเป็นสารยึดแข็ง ซึง่ สามารถหลอมละลายด้วย ความร้อนหรือแอลกอฮอล์ เรียกกันว่า Shellac

E N E R G Y S AV I N G

23


คุณวรวัฒน์ ชัยยศบูรณะ รองประธานบริหาร กลุ่มบริษัทสีเบเยอร์

ใช้ทาไม้ แต่เนื่องจากคุณภาพของฟิล์มเปราะ ความเงาต�่ำ และอายุการใช้งานสั้น ปัจจุบันจึง ถูกทดแทนด้วยสารเคลือบประเภทอื่น ๆ ที่มี คุณสมบัติดีกว่า กลุม่ ทีผ่ ลิตจากก๊าซธรรมชาติและน�ำ้ มันดิบ (Petrochemical Products) คือ พลาสติก ชนิดต่าง ๆ ที่แวดล้อมตัว ทางวิชาการมักจะ เรียกว่า วัสดุสังเคราะห์ (Synthetic Material) ซึ่งหมายความว่า การท�ำเทียมหรือเลียนแบบ วัสดุทมี่ อี ยูต่ ามธรรมชาติ เช่น พลาสติกบางชนิด ที่นุ่ม ยืดหยุ่นตัว เราก็เรียกว่า ยางเทียมหรือ ยางสังเคราะห์ เนื่องจากเป็นยาง (พลาสติก) ที่คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ โดยการดัดแปลง จากวัตถุดิบที่เป็นสารเคมีต่าง ๆ จากน�ำ้ มันดิบ เป็นต้น พลาสติกที่ผลิตขึ้นมาใช้ในงานปัจจุบัน มี ม ากมายหลายชนิ ด และมี ชื่ อ แตกต่ า งกั น คุ ณ สมบั ติ ก็ ต ่ า งกั น แล้ ว แต่ ถู ก ออกแบบมา เพื่อการใช้งานอะไร เช่น PVAC (Polyvinyl Acetate Copolymer) เป็นสารยึดที่ใช้ในกลุ่ม ท�ำสีน�้ำพลาสติก EPOXY เป็นสารยึดอีกชนิด หนึง่ ที่มีฟิล์มแข็ง ทนสารเคมีได้ดี มักจะใช้เป็น สีทาโครงสร้างโลหะในบริเวณทีม่ สี ภาวะอากาศ

24

E N E R G Y S AV I N G

รุ น แรง FLUOROCARBON เป็ น สารยึ ด ที่ ทนความร้อนได้ดแี ละฝุน่ จะเกาะฝังตัวน้อย เครือ่ งใช้ ในบ้านที่ใช้ตัวนี้ คือ ภาชนะที่เคลือบสารด�ำ ที่เราเรียกว่า Teflon (เป็นชื่อทางการค้าของ พลาสติกชนิดนี้) เป็นต้น 3. ตัวท�ำละลาย (Solvent) เป็นสารที่ท�ำ หน้าที่เป็นตัวละลาย และเจือจางสารยึด และ ผงสี ถือเป็นส่วนประกอบที่มีมากที่สุดเพื่อช่วย ปรั บ ความหนื ด ที่ เ หมาะสมต่ อ การใช้ ง าน ตัวท�ำละลายส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ 4. สารเติมแต่ง (Additives) เป็นสารที่ ใช้ผสมในสีทาบ้าน โดยใช้เติมเพื่อให้สีทาบ้าน มีคุณสมบัติในด้านต่าง ๆ เพิ่มขึ้น เช่น ป้องกัน การเกิดฟองของสี ป้องกันการบูดเน่าของสี เพิม่ การกระจายตัวของสี เพิ่มแรงยึดเกาะพื้นผิวให้ ทนนาน เพิ่มความเรียบเนียน เพิ่มความมันเงา ช่วยป้องกันแสงแดด ป้องกันความชื้น ป้องกัน เชื้อรา เป็นต้น รายละเอียดปลีกย่อยของวัตถุดิบในเนื้อสี ของแต่ละบริษัทมีความแตกต่างกันตามสูตร เทคโนโลยี และชนิดของสี ท�ำให้แต่ละแบรนด์ แต่ ล ะรุ ่ น มี คุ ณ สมบั ติ ต ่ า งกั น ออกไป ราคาก็

แตกต่างกันตามไปด้วย เรียกได้วา่ นวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นในสีทาบ้าน มีการพัฒนาอยู่ตลอด เพื่อ ตอบโจทย์ให้กับผู้ใช้งานจริง คุ ณ วรวั ฒ น์ ชั ย ยศบู ร ณะ รองประธาน บริหาร กลุ่มบริษัทสีเบเยอร์ กล่าวว่า เบเยอร์ คือผูน้ ำ� นวัตกรรมสีรกั ษ์โลก รักคุณ พร้อมเดินหน้า กลยุทธ์ “Eco – Wellness Innovation” เน้น การเติบโตเชิงคุณภาพมากกว่าปริมาณอย่าง เป็นรูปธรรม ด�ำเนินธุรกิจตามพันธกิจ คือ การ รังสรรค์นวัตกรรมเพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น (Creating Practical Innovation for Better Living) ให้ความส�ำคัญด้านการพัฒนาคุณค่า สินค้าและบริการ แบบผู้บริโภคเป็นศูนย์กลาง ปรับตัวให้เข้ากับลูกค้าของยุคสมัยนี้ได้เข้าถึง สินค้าง่ายขึ้น กลยุทย์การตลาดเรายึดผู้บริโภคเป็นส�ำคัญ ในการคิดสินค้า แคมเปญต่าง ๆ เพื่อตอบโจทย์ ลูกค้าให้ได้มากขึ้น ภายใต้นโยบาย “Eco – Wellness Innovation” ซึง่ ด�ำเนินการมาตัง้ แต่ M AY 2 0 1 6


ปี พ.ศ. 2558 ต่อเนื่องมาถึงปีนี้ โดยค�ำว่า Eco หมายถึง เรือ่ ง Ecology ผลิตภัณฑ์ของเราปลอด สารพิษ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของ Low VOCs หรือเรียกว่า Volatile Organic Compounds คือ มีสารระเหยอินทรียต์ ำ�่ โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมาตรฐาน Low VOCs นั้นจะระเหยหรือระเหิดได้ง่าย มีค่าสารระเหย ต�่ำกว่า 50 กรัม/ลิตร ส่วนข้อก�ำหนดฉลากเขียว 40 กรัม/ลิตร โดยสาร VOC ในอากาศอาจจะท�ำ อันตรายต่อผิวหนัง หรือซึมผ่านเข้าสูร่ า่ งกาย ซึง่ โดยส่วนใหญ่จะเข้าทางการหายใจและซึมผ่าน เยื่อบุทางเดินหายใจ ก่อให้เกิดอาการคอแห้ง คลื่นไส้ อาเจียน ไตเสื่อม และอาจเป็นต้นเหตุ ของการเกิดมะเร็ง ส่วน Wellness เป็นเรื่อง เกี่ยวกับสุขภาพ ความเป็นอยู่ที่ใกล้ตัวผู้บริโภค และ Innovation นวัตกรรมที่หลายคนมองว่า เป็นเรื่องไกลตัว แต่นวัตกรรมของเราสามารถ ใช้งานได้จริง ซึง่ ทัง้ หมดนีม้ อี งค์ประกอบอยู่ 5 อย่าง เกี่ ย วกั บ กลยุ ท ธ์ใ นปีนี้ คือ ผลิต ภัณ ฑ์ที่เป็น smart choice โดยตอบโจทย์การใช้งานทุก รู ป แบบ ไม่ ว ่ า จะเป็ น การประหยั ด พลั ง งาน ประหยัดค่าใช้จ่าย เน้น e-commerce เริ่มที่ ผู้บริโภคสามารถหาสินค้าได้ง่ายจากเว็บไซต์ ปรับรูปแบบใหม่ มีบทความ โปรแกรมช่วยในการ ตัดสินใจ และยังท�ำ Color Marketing ท�ำให้สี เป็นเรื่องสนุกสนาน สามารถเลือกซื้อออนไลน์

VOLUME 8 ISSUE 90

ในเว็บไซต์ lazada ส่วนคูค่ า้ มีแอปพลิเคชันสัง่ ของ พร้ อ มจ่ า ยเงิ น ทางออนไลน์ ไ ด้ ต ลอดเวลา ใช้งานง่าย และยังตรวจสอบได้วา่ สินค้าก�ำลังเดินทาง ถึงไหนแล้ว ส่งถึงแล้วหรือยัง เรียกว่าระบบ paperless ลดการใช้กระดาษ อีกทัง้ ยกมาตรฐาน การผลิตด้วยการเข้าร่วมกับภาครัฐ และเอกชน ได้รบั มาตรฐานการันตี อย่าง ISO 14000 BegerCool ปีนี้ถูกเปิดตัวขึ้นในแง่ของการ เป็นสินค้าไลฟ์สไตล์ ที่ได้รับความนิยมสูงสุดใน กลุม่ สีกนั ร้อน มีการใช้งานกว่า 100 ล้านตารางเมตร ในประเทศไทย ทุ ่ ม งบประมาณโฆษณาใน ปีนี้ถึง 150 ล้านบาท มีการปรับ Packaging ท�ำการสื่อสาร on ground ณ จุดขาย ท�ำไวรัล คลิปเผยแพร่บนสื่อออนไลน์ สื่อโทรทัศน์และ วิทยุ เป็นต้น โดยชู รุ่น BegerShield AirFresh นอกจากทนทานต่อการเช็ดล้างแล้ว ส� ำคัญ ที่กลิ่นอ่อน ลดกลิ่นอับ ฆ่าเชื้อโรค เพราะการ ด�ำเนินชีวติ ของคนส่วนใหญ่กว่า 80% อยูภ่ ายใน บ้านหรืออาคาร สีย้อมไม้สูตรน�้ำ รุ่น Beger Aqua ไร้กลิน่ แห้งเร็ว สามารถทาเองได้เลย และ รุ่น BegerShield Art Effects สีสร้างลวดลาย เน้นจุดขายที่งาน DIY เจ้าของบ้านใช้เองได้ ปลอดสารฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) เบเยอร์ เ ป็ น รายแรกในอุ ต สาหกรรมสี ทีไ่ ร้สารปรอท สารตะกัว่ ซึง่ ค�ำนึงถึงช่างผูใ้ ช้งาน นอกจากห่วงใยเจ้าของบ้านแล้ว คนใช้งานก็ ส�ำคัญเช่นกัน เพราะสังคมหันมาใส่ใจสุขภาพ กันมากขึ้น เราก็ตอบโจทย์ส่วนนี้ กระบวนการ ผลิตสามารถ recycle waste ได้ถึง 90% เพราะปกติการผลิตสีจะมีน�้ำเหลือทิ้งมากมาย แต่เราแทบจะไม่มีน�้ำเสียออกมาเลย รวมถึง สารระเหยระหว่างกระบวนการผลิต ทุกอย่างจะถูก recycle ทัง้ หมด และผลิตภัณฑ์เองก็เป็นรายแรก อี ก เช่ น กั น ในการได้ ฉ ลากเขี ย ว คาร์ บ อน ฟุตปริ้น ตั้งแต่กระบวนการผลิต เพราะฉะนั้น ค�ำว่า Eco – Wellness ของเรา สามารถมั่นใจ

ได้ว่าสีทุกหยดที่ออกมาจากโรงงาน ไม่เพียงแค่ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ แต่เบื้องหลังก่อนที่จะมาเป็น สีแต่ละกระป๋องผ่านการคิด กลั่นกรอง ผลิต ด้วยเทคโนโลยีที่รักษ์โลกอย่างแท้จริง ไม่ว่า จะเป็นการใช้พลังงานที่น้อยลง การปล่อยสาร ระเหยที่เป็น อัน ตรายต่อ สิ่งแวดล้อ มน้อ ยลง เราคือผู้ผลิตของประเทศไทยรายแรกที่มุ้งเน้น ในการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ปั จ จุ บั น ทั่ ว โลกก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นกระแสของการ ลดโลกร้อน ดังนัน้ กระบวนการผลิตทีล่ ดโลกร้อนได้จะ มั่นใจได้ว่าสินค้าไปสู่มือผู้บริโภคได้เป็นสินค้าที่ ปลอดภัย ใส่ใจสิ่งแวดล้อมเป็นพิเศษ “นวั ต กรรมเพื่ อ ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ที่ ดี ขึ้ น สามารถใช้งานได้จริง” พันธกิจนี้ฟังดูเหมือน ไกลตัว แต่ทุกวันนี้เทคโนโลยีใกล้ตัวมากกว่าที่ เราคิด เช่น Photocatalytic (ปฏิกิริยาที่เกิด จากพลังงานแสงอาทิตย์เร่งให้เกิดปฏิกริยาทาง เคมีกบั สารเร่งปฏิกริยา โดยทีต่ วั สารไม่ถกู ท�ำให้ เปลี่ยนแปลงหรือท�ำให้หมดไปในกระบวนการ ที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยสารเร่ ง ปฏิ กิ ริ ย านี้ เรี ย กว่ า Photocatalyst) ปัจจุบันมีเคมีบางอย่างในสี สามารถดึงพลังงานจากไฟภายในบ้าน แล้วมาช่วย ท�ำความสะอาดห้องได้ มีการปล่อยประจุแร่เงิน (Silver ion) ในการก�ำจัดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา และไวรัสที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เมื่ออยู่ใกล้ ผนังก็จะรู้สึกสดชื่น เหมาะกับห้องที่ต้องการ ความสะอาดมีอนามัย และต้องล้างอยู่เสมอ ส่ ว นนอกบ้ า นก็ ส ามารถช่ ว ยกรองอากาศได้ เช่น อาคารหรือบ้านที่อยู่ใกล้แหล่งชุมชนที่มี มลภาวะ ปรากฏการณ์ Photocatalytic จะ สามารถท�ำความสะอาดโลกได้ด้วย แทนที่จะ ลอยขึ้ น ไปท� ำ ลายชั้ น บรรยากาศ เหมาะกั บ ชีวิตของคนยุคปัจจุบันที่ต้องเผชิญกับมลภาวะ มากมาย นวัตกรรมนี้ท�ำให้ผู้อยู่อาศัยมีคุณภาพ ชีวติ ดีขนึ้ และค�ำนึงถึงโลกด้วย แม้กระทัง่ สินค้าที่ เป็นตัวหลักของเบเยอร์กม็ นี วัตกรรมทีล่ ำ�้ หน้าไป อย่างสีย้อมไม้กันรอยขีดข่วน รักษาตัวเองได้ ทนต่ อ แรงกระแทกสู ง นวั ต กรรมภายนอก อาคารเน้ น ด้ า นการปกป้ อ งให้ กั บ ตั ว บ้ า น แทนที่ จ ะต้ อ งทาสี บ ่ อ ย ๆ เรามี เ ทคโนโลยี Diamond Bond ทีน่ ำ� โครงสร้างพันธะของเพรช มาใส่ในเนื้อสี ท�ำให้สามารถประสานโมเลกุล ของเนื้ อ สี เช่ น เดี ย วกั บ เพชรแท้ เพื่ อ ฟิ ล ์ ม สี แข็งแกร่ง เพิ่มแรงยึดเกาะระหว่างสีกับผนังปูน ถึง 15 ปี ทนทานการขัดถูดีกว่าสีทั่วไป 4 เท่า อีกทั้งยังลดอุณภูมิในบ้านด้วยเทคโนโลยี NIR Reflective Pigment และ Super Titanium สิ่งพิเศษอีกอย่างหนึ่ง คือ เนื้อสีมีการผสม สาร Microspheres Ceramic นวัตกรรมฉนวน ป้องกันความร้อนที่พัฒนามาจากพลังงานวิจัย E N E R G Y S AV I N G

25


5 ประเทศ มีแผนขยายตลาดอย่างจริงจังในอีก 3 ประเทศที่เหลือ ได้แก่ สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และบรูไน โดยวางกลยุทธ์การบริหารจัดการ กลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ต่ า งประเทศในโมเดลเดี ย วกั น กั บ ประเทศไทย คือ การรับรู้และการยอมรับใน แบรนด์ คุณภาพสินค้า และบริการ พลังความ ร่วมมือของพันธมิตรทางธุรกิจ พัฒนาศักยภาพ บุคลากรในประเทศต่าง ๆ ให้มวี ฒ ั นธรรมองค์กร เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อสร้างตลาดสู่การ เป็นผู้น�ำ Regional Brand เบอร์ 1 ด้านธุรกิจ สีในภูมิภาคนี้

คุณจตุภัทร์ ตั้งคารวคุณ รองประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัททีโอเอ

ในโครงการอวกาศนาซ่า ซึ่งใช้เป็นแผงป้องกัน ความร้ อ นด้ า นล่ า งของยานกระสวยอวกาศ เวลาที่พุ่งทะยานผ่านชั้นบรรยากาศ จะก่อให้ เกิดความร้อนสูงมาก ในเวลาต่อมาเทคโนโลยี ป้ อ งกั น ความร้ อ นนี้ ได้ น� ำ มาพั ฒ นาเป็ น ผลิตภัณฑ์ของโครงการแลกเปลี่ยนเทคโนโลยี กับภาคเอกชน ในอดีตราคาต้นทุนทีผ่ ลิตนัน้ สูงมาก ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาให้เหมาะสมกับ ทีพ่ กั อาศัย และอาคารบ้านเรือนทัว่ ไป แต่ทมี งาน ของบริษัทเบเยอร์ สามารถคิดค้นและพัฒนา เทคโนโลยีดงั กล่าวมาใช้กบั สีทาบ้าน เพือ่ ป้องกัน ความร้อน ให้แก่ อาคาร บ้านเรือนต่าง ๆ เป็น รายแรกของประเทศไทย สาร Microspheres Ceramic มีลักษณะเป็นทรงกลมกลวง ถูกผลิต มาให้ภายในอยู่ในสภาพใกล้เคียงสูญญากาศ โดยอากาศภายในทรงกลมมีปริมาณน้อยกว่า บรรยากาศทั่วไปถึง 1 ใน 3 จึงท�ำให้คุณสมบัติ การน�ำพาความร้อนนั้นน้อยลง เกิดภาวะความ เป็นฉนวนกันร้อนได้อย่างดีเยีย่ ม และเมือ่ ผสาน กับ ผงสีสะท้อนความร้อนพิเศษท�ำให้สี Beger Cool เป็นสีเซรามิกที่เป็นฉนวนกันความร้อน อย่างมีประสิทธิภาพสูง เหมาะส�ำหรับใช้งาน ในอาคารบ้านเรือนทั่วไป สะท้อนความร้อนได้ มากกว่า 94.2% ด้วยอนุภาคของลูกทรงกลม ที่มีความเรียบและขนาดสม�่ำเสมอ ท�ำให้สาร ตัวนี้สามารถไหลตัวได้ง่าย และเรียงตัวอัดแน่น เป็นระเบียบ ลดช่องว่างในชั้นฟิลม์สี และเมื่อ ฟิลม์สีแห้งอนุภาคเหล่านี้ จะถูกบีบเข้าหากัน จนท�ำให้เกิดฟิลม์สีที่มีความหนาแน่นด้วยชั้น ของฉนวนไมโครสเฟียร์เซรามิก ซึ่งท�ำหน้าที่ กันความร้อน และสะท้อนรังสี UV ออกไป ในเวลา ต่อมาเทคโนโลยีป้องกันความร้อนนี้ ได้น�ำมา พัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ของโครงการแลกเปลี่ยน เทคโนโลยีกับภาคเอกชน ในอดีตราคาต้นทุนที่ ผลิตนัน้ สูงมาก ซึง่ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาให้ เหมาะสมกับที่พักอาศัยและอาคารบ้านเรือน 26

E N E R G Y S AV I N G

ทัว่ ไป แต่ทีมงานของบริษัท เบเยอร์ สามารถ คิดค้นและพัฒนาเทคโนโลยีดังกล่าว มาใช้กับ สีทาบ้าน เพื่อป้องกันความร้อนให้แก่อาคาร บ้านเรือนต่างๆ เป็นรายแรกของประเทศไทย คุณวรวัฒน์ กล่าวทิ้งท้ายว่า เราพยายาม ที่จะน�ำเสนอนวัตกรรมที่สามารถประยุกต์ใช้ งานได้จริงสู่ผู้บริโภค ด้วยความมั่นใจที่อยู่คู่ กับคนไทยมากว่าครึ่งศตวรรษ ท�ำให้เราเข้าใจ คนไทยได้ดีและตรงจุด ฉะนั้นด้วยทุกก้าวย่าง ของเบเยอร์ มุ่งมั่นจะน�ำเสนอสิ่งดี ๆ ให้กับ ประเทศไทย และผู้บริโภคทุกคน เป็นสินค้า ที่ตอบโจทย์ผู้บริโภคได้อย่างแท้จริง พิสูจน์ได้ จากการใช้งานทัว่ ประเทศ ปีนอี้ ยากให้รอติดตาม เบเยอร์ต่อไป ด้านสีรายใหญ่ที่มีชื่อเสียงมากว่า 50 ปี อย่าง TOA ก็มุ่งก้าวสู่อันดับหนึ่งแห่งอาเซียน ตอนนี้ ยั ง คงครองตลาดเป็ น อั น ดั บ 1 ด้ ว ย ยอดขาย ในปีที่ผ่านมาถึง 1.65 หมื่นล้านบาท แบ่งเป็นในประเทศ 1.4 หมืน่ ล้านบาท และตลาด อาเซียน 2.5 พันล้านบาท เฉพาะสีทาอาคาร ในประเทศรายได้กว่า 4,800 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วนถึง 48% จากมูลค่ารวมของตลาดสีทาบ้าน ปี นี้ ไ ด้ ส ่ ง แคมเปญ “50 ปี ที โ อเอ สี สั น ความสุข คู่ชีวิตคนไทย” พร้อมปูทางความ ส� ำ เร็ จ สู ่ ร ะดั บ อาเซี ย น บนกลยุ ท ธ์ เ น้ น การ รับรู้แบรนด์ผ่านพันธมิตรทางธุรกิจ ด้วยการ วางแผนที่ จ ะพั ฒ นาแบรนด์ แ บบครบวงจร เพือ่ ก้าวสูก่ ารเป็น Regional Brand สะท้อนความ ปลอดภัยต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อม พร้อมกับ พัฒนานวัตกรรมของผลิตภัณฑ์ คุ ณ จตุ ภั ท ร์ ตั้ ง คารวคุ ณ รองประธาน กรรมการบริหารกลุ่มบริษัททีโอเอ กล่าวว่า ปัจจุบันธุรกิจสีในประเทศ มีมูลค่ารวมกว่า 46,000 ล้านบาท สีทาอาคาร (Decorative) มีสัดส่วนถึง 50% ตอนนี้เราท�ำตลาดอาเซียน ทัง้ หมด 7 ประเทศ รวมถึงประเทศไทย มีฐานการผลิต

นโยบายหลั ก ของที โ อเอ “นวั ต กรรมสี เพื่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม (Greenovation)” มุ่งพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เป็น Green Technology ปลอดภัยจากสารโลหะหนัก ตะกั่ว ปรอท เพื่ อ สุ ข ภาพที่ ดี ข องผู ้ อ าศั ย และสิ่ ง แวดล้ อ ม อย่างยั่งยืน เน้นการบริหารในเชิงรุกที่มีการ ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องสม�่ำเสมอ ซึ่งจะเป็นการ สนับสนุน ส่งเสริม ให้การผลิต การขนส่ง รวมถึงการ จัดจ�ำหน่ายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความ สู ญ เสี ย และลดต้ น ทุ น การด� ำ เนิ น งานอย่ า ง ยั่งยืน ตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อม ISO 14001 ตลอดจนนโยบายด้ า นชี ว อนามั ย และความ ปลอดภัย มอก.18001/OHSAS 8800 โดยมี ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ บรนด์ TOA หลายชนิ ด ที่ เ ป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม เช่น สีนำ�้ อะคริลคิ ซุปเปอร์ชลิ ด์ อีโคพลัส สามารถฟอกอากาศและเพิ่มอากาศ บริสทุ ธิเ์ พือ่ สิง่ แวดล้อมทีด่ ขี นึ้ สีเคลือบเงาสูตรน�ำ้ ซุปเปอร์ชิลด์ อะควา กลอส ด้วยเทคโนโลยี ผลิตจากอะครีลิคโมดิฟายด์ 100% คุณภาพสูง M AY 2 0 1 6


จากยุโรป ด้วย H2Oil Technology สูตรพิเศษ เฉพาะของทีโอเอ ที่รวมคุณสมบัติของสีเคลือบ ผสานเข้ากับโมเลกุลของน�้ำ จึงเป็นสีรักษ์โลก ที่คุณภาพสูงกว่าเดิม ไม่ต้องใช้ทินเนอร์ Ultra Low VOCs สีโฟร์ซีซั่นส์ ก็เป็นอีกแบรนด์ในเครือของ ทีโอเอทีม่ ยี อดขายสูงสุด ครองตลาดระดับกลาง มา 25 ปี เดินหน้ารุกแคมเปญอย่างต่อเนื่อง เช่นกัน โดยชูจุดเด่นที่ทนทานนานกว่า 8 ปี ทนกว่ามาตรฐาน มอก. ถึง 2 เท่า ทนทุกสภาวะ ทุกฤดู ทนต่อการเช็ดล้าง สะท้อนความร้อน ด้วย คุณภาพและมาตรฐานเดียวกันกับทีโอเอ เช่น 4 SEASONS SUN BLOCK มีคุณสมบัติสามารถ สะท้อนความร้อนจากดวงอาทิตย์ จึงช่วยให้ บ้านเย็น อุณภูมิลดลง 2-3 อาศา ช่วยประหยัด การใช้กระแสไฟฟ้า สีน�้ำอะคริลิคส�ำหรับทา ภายนอก ภายใน สะท้อนความร้อนได้มากกว่า 95% ลดอุณภูมิพื้นผิว 12% ช่วยประหยัดค่าไฟ ถึง 38% เทคโนโลยี Ultra Low VOCs ไม่ผสม สารปรอท ตะกั่ว ปลอดภัยต่อผู้อยู่อาศัย นวั ต กรรมใหม่ เ กี่ ย วกั บ ความเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อมจากทีโอเอ เน้นการลดปริมาณสาร ระเหยอินทรีย์ (VOCs) ให้เหลือน้อยกว่าเดิม 4 เท่า เพราะสาร VOCs ในอากาศจะท�ำอันตรายต่อ ผิ ว หนั ง และระบบทางเดิ น หายใจ ด้ ว ยการ ซึมผ่านเยื่อบุทางเดินหายใจ อาจเป็นต้นเหตุ ของการเกิ ด มะเร็ ง และปลอดสาร APEO (Alkylphenol Ethoxylates) เป็นพิษต่อสิง่ มีชวิ ติ ในน�้ำ และถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็ง สารนี้หากมี ปริมาณสูงจะก่อให้เกิดการกลายพันธุ์ ผิดปกติ ทางพันธุกรรม เป็นพิษต่อระบบประสาท การ แพ้ และยังเน้นความคงทนของสีถงึ 15 ปี รวมถึง เทคโนโลยีฟลิ ม์ สีสามารถท�ำความสะอาดตัวเอง ได้ (Self-Cleaning Technology) สลายฝุน่ และ คราบ ที่เกาะบนแผ่นฟิล์มสีได้ด้วยฝนธรรมชาติ หรือการฉีดล้างด้วยน�ำ้ สีจงึ สวยสะอาดอยูเ่ สมอ โดยไม่ต้องเช็ดท�ำความสะอาด ด้ า น บริ ษั ท อั๊ ค โซ่ โนเบล เพ้ น ท์ ส (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูผ้ ลิตและจัดจ�ำหน่ายสีทาบ้าน ดูลักซ์ ล่าสุดได้เปิดตัวผลิตภัณฑ์สีทาภายใน เกรดพรีเมีย่ ม รุน่ ใหม่ ดูลกั ซ์ แอมเบียนซ์ โดดเด่น ในการสร้ า งลวดลายบนก� ำ แพงด้ ว ยตั ว เอง สะท้อนสไตล์ของเจ้าของบ้านได้อย่างแท้จริง โดยแบ่งออกเป็นสีพนื้ เนือ้ สีเข้มข้น ให้ความรูส้ กึ ลุ่มลึก น่าหลงใหล และสีสร้างลายพิเศษ ฟิล์มสี มีลกั ษณะเฉพาะให้ลวดลาย ผิวสัมผัสเสมือนจริง พร้อมมอบความหรูหราโดดเด่นสวยงามอย่าง มีเอกลักษณ์แก่ผนังบ้าน ประกอบด้วย 4 ลวดลาย ได้แก่ลายเมทัลลิก ลายก�ำมะหยี่ ลายลินิน และ ลายหินอ่อน VOLUME 8 ISSUE 90

Dulux มี แ นวคิ ด แพลเน็ ต พอสซิ เ บิ ล (Planet Possible) เป็นแนวคิดการอนุรักษ์ สิง่ แวดล้อม จากความร่วมมือกันของกลุม่ ลูกค้าและ กลุม่ ผูผ้ ลิต โดยการลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม และมอบผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพแก่กลุ่มลูกค้า มากขึน้ ขณะทีล่ ดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยลง ความยั่ ง ยื น คื อ ส่ ว นส� ำ คั ญ ในการด� ำ เนิ น งาน ของ บริษัท อั๊คโซ่ โนเบล โดยความยั่งยืนนั้น ผสมผสานอยูใ่ นทุกส่วนของภาคธุรกิจ ตัง้ แต่ขนั้ ตอน ปฏิบัติการจนถึงผลิตภัณฑ์ มีการต่อยอดความ ยัง่ ยืนผ่านแนวคิดแพลเน็ต พอสซิเบิล (Planet Possible) ซึ่งมุ่งมั่นที่จะเพิ่มมูลค่าจากการใช้ ทรัพยากรในการผลิตที่ลดลง ตลอดห่วงโซ่แห่ง คุณค่า (value chain) การด�ำเนินงานด้านความ ยัง่ ยืน รวมถึงในด้านเศรษฐศาสตร์ ทรัพยากร และ สังคม บริษทั อัค๊ โซ่ โนเบล ได้รบั การจัดให้อยูใ่ น อันดับหนึ่งในการจัดอันดับดัชนีความยั่งยืนของ ดาวโจนส์ตดิ ต่อกันเป็นปีที่ 4 ในปี 2015 (Dow Jones Sustainability Index) การเติบโตใน การเพิ่มมูลค่าจากการใช้ทรัพยากรในการผลิต ที่ลดลงสามารถวัดได้โดยดัชนีประสิทธิผลด้าน ทรัพยากร (Resource Efficiency Index) ซึง่ วัดจากก�ำไรหารด้วยทรัพยากรหรือพลังงานที่ ถูกใช้ไปกระบวนการทัง้ หมด (วัดจากการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกตัง้ แต่การจัดหาวัตถุดบิ จนถึงสิน้ สุด กระบวนการผลิตในโรงงาน) โดยให้ความส�ำคัญ กับ 3 ด้านดังนี้ ภาคธุรกิจทีย่ งั่ ยืน สร้างมูลค่าให้กบั ธุรกิจผ่าน ผลิตภัณฑ์และโซลูชั่น ซึ่งส่งผลดีในแง่ของการ ปฏิบตั กิ ารและความยัง่ ยืน ประหยัดค่าใช้จา่ ยจาก การปฏิบตั งิ าน โดยมีเป้าหมายอยูท่ ี่ 20% ของรายได้ จากการวัดความยั่งยืนและประสิทธิภาพของ ผลิตภัณฑ์ภายในปี 2020 ความยัง่ ยืนของทรัพยากร การเพิม่ ความยัง่ ยืน ในการใช้วัสดุและพลังงานในกระบวนการผลิต โดยมีเป้าหมายในการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตัง้ แต่การจัดหาวัตถุดบิ จนถึงสิน้ สุดกระบวนการ ผลิตในโรงงานที่ 25-30% ต่อตัน จากการขาย ระหว่างปี 2012-2020 ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งหน่ ว ยงาน ผู ้ ผ ลิ ต

และกลุ่มลูกค้าในการสร้างความเปลี่ยนแปลง จุดมุง่ หมายคือการเริม่ ต้นในภาคธุรกิจและระบบ ปฏิบตั กิ าร อัค๊ โซ่ โนเบล มีผลิตภัณฑ์มากมายทีบ่ ง่ บอกถึง การให้ความส�ำคัญกับนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์เคลือบผิว ส�ำหรับอาคารและสาธารณูปโภคพื้นฐานได้รับ การพัฒนาเพือ่ ให้อยูใ่ นมาตรฐานด้านความยัง่ ยืน ผลิตภัณฑ์ ดูลกั ซ์ ไลท์ แอนด์ สเปซ (Dulux Light & Space) เป็นผลิตภัณฑ์นวัตกรรม ซึ่งช่วย สะท้อนแสงมากกว่าสีทวั่ ไปถึง 2 เท่า ให้ความรูส้ กึ ว่าห้องกว้างขึน้ และช่วยประหยัดไฟ อีกทั้งยังเป็นผู้น�ำด้านผลิตภัณฑ์ที่มีปริมาณ สารอินทรียร์ ะเหยต�ำ่ (Low-VOCs) ซึง่ จะลดการ ปล่อยสารเคมีและมีความปลอดภัยกับธรรมชาติ บริษัท อั๊คโซ่ โนเบล ยังได้พัฒนาเทคโนโลยี พิเศษ “Keep CoolTM” ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ สีทาภายนอก โดยจะช่วยลดอุณหภูมพิ นื้ ผิวผนัง ภายนอกได้สงู สุดถึง 5 องศาเซลเซียส ด้วยเม็ด สีพิเศษที่สามารถสะท้อนรังสียูวีและลดการดูด ซับรังสีอินฟาเรด จึงช่วยป้องกันความร้อนจาก ภายนอก ช่วยประหยัดพลังงานและบ้านเย็น อยูส่ บาย คุณสมบัตนิ สี้ ามารถพบได้ในผลิตภัณฑ์ ดูลกั ซ์ เวเธ่อร์ชลี ด์ พาวเวอร์เฟล็กซ์ จะเห็นได้วา่ ในแต่ละบริษทั ผูผ้ ลิตสีทที่ กุ ท่าน ได้ยนิ ชือ่ เสียงกันมานาน ต่างก็มงุ่ ไปทีเ่ รือ่ งของการ ท�ำให้สีมีการสะท้อนความร้อนออกจากตัวบ้าน ช่วยให้บ้านเย็นขึ้น ทนทานต่อสภาพแวดล้อม ปัจจุบัน สอดรับกับภูมิอากาศในประเทศไทย เรียกได้วา่ ยิง่ ผูผ้ ลิตแข่งขันกันพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ ก็ยิ่งเป็นผลดีต่อ ผู้บริโภค ให้มีทางเลือกที่เหมาะสมกับการน�ำไป ใช้งานของตัวเองมากขึน้ ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่าตลาดสีใน บ้านเรานอกจากจะมีคณ ุ ภาพในระดับสากลแล้ว จะยังคงมีนวัตกรรมใหม่ ๆ ออกมาอีกให้เราได้ ติดตามกันอย่างแน่นอน ขอบคุณภาพประกอบจาก http://www.beger.co.th/ บริษัท อั๊คโซ่ โนเบล เดเคอเรทีฟ เพ้นท์ส http://www.toagroup.com/

E N E R G Y S AV I N G

27


Green Building TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

Ritta Head Office กรีนด้วยดีไซน์ สู่ LEED GOLD

ในวงการก่อสร้างคงไม่มีใครไม่รู้จักชื่อของ “ฤทธา” บริษัทรับเหมาก่อสร้างอาคารรายใหญ่ ที่ขึ้นชื่อเรื่องการก่อสร้างได้ รวดเร็ว ตรงเวลา ตามความหมายของชื่อบริษัท Ritta ที่ย่อมาจาก R-Responsibility คือ ความรับผิดชอบ I-Integrity คือ ความซื่อสัตย์ T-Technology คือ การมองหาเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในการท�ำงานก่อสร้าง T-Timing ต้องสร้างได้ทันเวลา และ A-Altruism คือ เห็นใจผู้อื่น เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สะท้อนออกมาสู่ Head Office ที่ตั้งใจสร้างขึ้นเพื่อการอนุรักษ์พลังาน Mr. BHARGAB MOHAN DAS หัวหน้า กลุม่ เจ้าหน้าทีพ่ ฒ ั นาธุรกิจและทีป่ รึกษา และกรรมการผู้จัดการ บริษัท ฤทธา จ�ำกัด เปิดเผยว่า เริ่มต้นจาก บริษัท ฤทธา จ�ำกัด ที่ท�ำงานด้านออกแบบ และก่อสร้างอาคาร เป็ น หลั ก ฉะนั้ น เรื่ อ งพลั ง งานในอาคารมี บทบาทส�ำ คั ญ ถึ ง 60-70% ประกอบกั บ มี ลูกค้าจากต่างประเทศเข้ามาเรื่อย ๆ ที่สนใจ งานบริการในส่วน Green Building บริษัท ฤทธา จ�ำกัด จึงตัดสินใจก่อตั้งบริษัทใหม่แยก ออกมา คือ บริษัท ไทย โกลบอล เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด (Thai Global Energy Co., Ltd. : TGE) เมื่อต้นปี ค.ศ. 2011 เพื่อเป็นบริษัทที่ปรึกษา สถาปนิก วิศวกร และบริหารงานก่อสร้าง

28

E N E R G Y S AV I N G

งานโซลาร์เซลล์ ดูแลทัง้ เรือ่ งพลังงาน ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน โซลาร์ Green Building ฯลฯ ให้ค�ำปรึกษาด้านการรับรองอาคารสีเขียว ทัง้ LEED TREES แบบ turn-key (การจ้าง เหมาแบบเบ็ดเสร็จ) ช่วงเริม่ แรกทีบ่ ริษทั เปิดให้ บริการยังมีไม่กี่บริษัทที่เริ่มท�ำ เพราะยังมี แนวคิดที่ว่าการท�ำอาคารลักษณะนี้มีความ ยุ่งยาก ใช้งบประมาณสูง ซึ่งเป็นความคิดที่ ไม่จริงเท่าไรนัก หากเรามองว่าหนึ่งอาคาร มีอายุการใช้งานได้ 20-30 ปี จุดคุม้ ทุนไม่เกิน 7 ปี เพราะความหมายของค�ำว่า Green Building ไม่ใช่เพียงแค่ท�ำเพื่อได้การรับรอง มาตรฐานเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการจัดการ ประสิทธิภาพพลังงานซึ่งส�ำคัญมาก

Ritta Head Office แห่งนี้ เริ่มออกแบบ ต้ น ปี ค.ศ. 2008 ตั้ ง แต่ ก ่ อ นจดทะเบี ย น บริษัทฯ มีพื้นที่ 7,221 ตารางเมตร ออกแบบ ด้วยทีมงานของตัวเอง ในช่วงแรกยังไม่ได้คิด จะท�ำเรื่อง Green Building เพียงแต่อยากจะ บริหารเรือ่ งประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้ดขี นึ้ เท่านั้น เพราะต้อ งท� ำความเข้า ใจถึงความ แตกต่างระหว่าง energy saving กับ energy efficiency คือ บางครั้งหากท�ำเรื่องประหยัด พลังงาน แต่ความสะดวกสบายของผูใ้ ช้อาคาร หายไป จึงมีความคิดว่าทุกอย่างจะต้องด�ำเนิน ไปตามปกติ ไม่ฝืนธรรมชาติ แต่จะต้องมีการ ใช้พลังงานลดลง เช่น ช่วงพักกลางวันจะต้อง ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นเวลา 1 ชั่วโมง แต่บาง

M AY 2 0 1 6


Mr. BHARGAB MOHAN DAS

ครั้งอาจจะไม่สะดวก เพราะฉะนั้นจึงตั้งใจท�ำ เรื่อง energy efficiency มากกว่า ระหว่าง การออกแบบอาคารหลังนีม้ กี ารศึกษาหาข้อมูล เปรียบเทียบกับอาคารที่ได้มาตรฐาน LEED ในต่างประเทศ แล้วพบว่าดีไซน์หลายส่วน ออกแบบมาดี เ ที ย บเท่ า ตามหลั ก เกณฑ์ จึงตัดสินใจจะขอการรองรับมาตรฐาน LEED ซึ่งได้รับในระดับ GOLD มา ขาดอีกเพียง 3 คะแนน ก็จะได้ถึงระดับ Platinum ส�ำหรับระบบเครือ่ งปรับอากาศภายในอาคารมี 3 ระบบ คือ เครื่องปรับอากาศธรรมดา ระบบ แอบซอร์พชัน่ ชิลเลอร์ : Absorption Chiller หรือเรียกอีกอย่างว่า ระบบท�ำความเย็นแบบ ดูดซึม (เป็นระบบท�ำความเย็นทีเ่ ป็นทางเลือก มีความคุ้มค่าด้านการใช้พลังงาน การทํางาน จะอยูใ่ นรูปของพลังงานความร้อ นเป็นส่วนใหญ่ สามารถใช้  ค วามร้  อ นได้  จ ากหลายแหล่  ง เช่  น ไอน�้ ำ จากหม  อ ไอน�้ ำ น�้ ำ ร้ อ นจาก VOLUME 8 ISSUE 90

พลังแสงอาทิตย์ ระบบนีน้ อกจากจะเป็นการประหยัด พลั ง งานแล้ ว ยั ง ช่ ว ยป้ อ งกั น และรั ก ษา สิง่ แวดล้อมอีกด้วย) และระบบกักเก็บพลังงาน : Ice thermal Storage (เป็นการใช้พลังงาน ไฟฟ้าในช่วงเวลาที่มีอัตราค่าไฟฟ้าต�่ำมาผลิต พลังงานเก็บเอาไว้ แล้วน�ำพลังงานนี้ออกมา ใช้งานในช่วงเวลาที่มีอัตราค่าไฟฟ้าสูงกว่า) โดยระบบนี้ น� ำ มาใช้ อ ยู ่ 2 ประเภท คื อ ประเภทเก็บพลังงานด้วยน�้ำเย็น (Chilled water storage system) และประเภทเก็บ พลังงานด้วยน�้ำแข็ง (Ice thermal storage system) ซึ่งจะใช้ช่วงกลางคืนที่ใช้กระแส ไฟฟ้าน้อยมาผลิตน�้ำแข็งเก็บไว้ เพื่อใช้ในการ ท�ำความเย็นในช่วงเวลากลางวัน เนื่องจาก มีการคิดอัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของวัน (Time of Day Rate : TOD) หรืออัตรา ค่าพลังไฟฟ้าตามช่วงเวลาการใช้ (Time of Use Rate : TOU) ทัง้ สองมีการแบ่งช่วงเวลาทีต่ า่ งกัน ท� ำ ให้ บ างช่ ว งเวลามี ค ่ า อั ต ราพลั ง ไฟฟ้ า ต่อหน่วยสูง และบางช่วงเวลามีค่าอัตราพลัง ไฟฟ้าต่อหน่วยต�่ำ มีระบบควบคุมการเปิด – ปิดไฟ ช่วงเลิกงาน

หลั ง 18.00 น. ไฟจะปิ ด ทั้ ง อาคาร แต่ หากมีพนักงานต้องการท�ำงานล่วงเวลาจะ ต้องมีการท�ำบันทึกไปยังฝ่ายโอเปอเรเตอร์ ก่อน 15.00 น. ต�ำแหน่งไฟของผูท้ ที่ ำ� งานต่อ ก็ จ ะไม่ ดั บ เรามองว่ า หากติ ด ตั้ ง เซ็ น เซอร์ เปิด-ปิดไฟในจุดต่าง ๆ บางครั้งก็เป็นการ สิ้นเปลือง เช่น หากเดินเข้าผิดห้อง ไฟและ เครื่ อ งปรั บ อากาศก็ จ ะเปิ ด อั ต โนมั ติ ไ ปอี ก ประมาณ 15 นาที ติดตั้ง solar tubes (แผง รับรังสีความร้อนชนิดหลอดแก้วสูญญากาศ ผิ ว ภายนอกหลอดชั้ น ในเคลื อ บด้ ว ยสาร พิเศษทึบแสงสีดํา สามารถดูดซับความร้อน เก็ บ รั ก ษาความร้ อ นได้ ดี ) เพราะสมั ย นั้ น Solar Cell มีราคาสูงกว่าปัจจุบันถึง 6 เท่า อี ก ทั้ ง แนวคิ ด Roof Top ยั ง ไม่ เข้ า มาใน ประเทศไทย และยังไม่เห็นเป็นรูปธรรมว่า โซลาร์เซลล์จะใช้งานได้จริงอย่างเต็มรูปแบบ แต่ ปัจจุบนั ก็มกี ารพัฒนาจนใช้งานกันอย่างแพร่หลาย โดยรวมแล้ ว อาคารหลั ง นี้ ห ากเปรี ย บ กั บ มาตรฐานของสหรั ฐ อเมริ ก า สามารถ ประหยั ด พลั ง งานลงได้ 27-30% และ ประหยัดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าได้ 15-20%

E N E R G Y S AV I N G

29


ค�ำว่า Green Building ไม่ใช่เพียงแค่ท�ำเพื่อ ได้การรับรองมาตรฐานเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของการจัดการ ประสิทธิภาพพลังงาน ซึ่งส�ำคัญมาก

คุณกฤษฎิ์ เทียนไชย

ด้าน คุณกฤษฎิ์ เทียนไชย รองประธาน กรรมการบริหาร บริษทั ไทย โกลบอล เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด กล่าวเพิ่มเติมว่า แนวคิดตอนแรกใน การสร้างอาคารหลังนี้ ทางผู้บริหารค�ำนึงถึง สภาพแวดล้อมจึงอยากจะแสดงความรับผิดชอบ ต่ อ สั ง คมด้ ว ยการสร้ า งอาคาร ลั ก ษณะนี้ ขึ้ น มา ซึ่ ง การสร้ า งอาคารแต่ ล ะหลั ง จะมี เรื่องของอาคารประหยัดพลังงานได้นั้น วัสดุ ของอาคารเป็นส่วนหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ ในการช่วยให้ อาคารประหยัดพลังงานมากขึน้ แต่อกี ส่วนหนึง่ คือต้องให้ความรูแ้ ก่คนทีอ่ ยูภ่ ายในอาคารด้วย ให้รจู้ กั คุณค่าของการใช้พลังงาน เมือ่ ได้ความ ร่วมมือกันก็จะได้ประโยชน์อย่างเต็มที่ พนักงาน ทุกคนทีท่ ำ� งานอยูใ่ นอาคารแห่งนีท้ ราบกันดีอยู่ แล้วว่า เราเป็น Green Building เขาก็จะทราบ ว่าควรท�ำอย่างไรบ้าง เช่น ไม่เปิดประตูอาคารทิง้ ไว้ ปิดไฟโต๊ะท�ำงานเมือ่ ไม่ได้ใช้งาน เพราะฉะนัน้ เรือ่ งค่าใช้จา่ ยในการดูแลพลังงานในอาคารจึง ไม่ได้สงู ขึน้ เลย ค่าใช้จา่ ยในการสร้างอาคารให้ได้มาตรฐาน LEED ใช้งบประมาณสูงขึน้ ไม่ถงึ 10% เพราะ มาตรฐานอาคารบ้านเราไม่เท่ากัน แต่กส็ งู ขึ้น มากจากเมือ่ ก่อน บางอาคารต้องการสร้างแบบ งบประมาณจ�ำกัด วัสดุตา่ ง ๆ ก็จะไม่สงู มาก แต่ บางอาคารใช้วสั ดุทดี่ ี ก็จะส่งผลถึงการประหยัด พลังงานเพิม่ เข้าไปด้วย ซึง่ วัสดุกอ่ สร้างต่าง ๆ ทีเ่ อือ้ ต่อการท�ำมาตรฐาน LEED ปัจจุบนั หาได้ ไม่ยาก แต่เราเน้นของในประเทศไทย เพือ่ ไม่ให้เกิด การสูญเสียค่าใช้จา่ ย และพลังงานในการขนส่ง ฉะนัน้ หากต้องการเพิม่ ความประหยัดพลังงาน เข้าไปอีก เพือ่ ให้ได้มาตรฐานรับรอง งบประมาณ 30

E N E R G Y S AV I N G

คุณตรีทิพย์ ประทุมมณี

จะเพิ่ ม ขึ้ น ไม่ ม าก และด้ ว ยดี ไซน์ ตั้ ง แต่ ต ้ น ที่ ตั้ ง ใจจั ด การเรื่ อ งการใช้ พ ลั ง งานภายใน อาคาร เราจึ ง แทบไม่ ไ ด้ เ พิ่ ม เติ ม อะไรมาก เพราะฉะนั้นต้นทุนในการสร้างอาคารของ เราถือว่าน้อยมาก ทางด้าน คุณตรีทพิ ย์ ประทุมมณี สถาปนิกอาวุโส กล่าวว่า ระบบที่เป็นจุดเด่นของอาคารนี้มีอยู่ หลายระบบด้วยกัน อย่างผนังที่เป็นกระจก 2 ชั้น มีการค�ำนวณระยะห่างระหว่างกระจก 1.7 เมตร ซึ่ ง เป็ น ระยะที่ ส ามารถป้ อ งกั น ความร้ อ นเข้ า สู ่ ตั ว เอาคารได้ ดี เพื่ อ ปล่ อ ย ไอเย็นที่ก�ำลังจะถูกปล่อยทิ้งออกนอกอาคาร เข้าสู่ช่องนี้ เมื่อความร้อนเข้ามาจากภายนอก อากาศเย็ น ที่ ไ หลอยู ่ ร ะหว่ า งช่ อ งกระจกนี้ จะถือเป็นฉนวนกันความร้อนได้อีกชั้นหนึ่ง

ท�ำให้อณ ุ ภูมภิ ายนอกกับภายในอาคารมีความ แตกต่างกันประมาณ 3-4 องศา อาคารโดยรอบ จะเป็นกระจกทั้งหมด บางวันที่แสงสว่างไม่ พอก็จ�ำเป็นจะต้องใช้ไฟ โต๊ะท�ำงานแต่ละ คนจะมีโคมไฟส่วนตัว เปิดเฉพาะช่วงท�ำงาน ส่งผลให้ใช้ไฟส่วนกลางน้อยมาก แม้ว่าเป็น กระจกรอบอาคารที่ใช้เป็นแบบธรรมดาก็มี ประสิทธิภาพที่ดีได้ด้วยการออกแบบ เวลาทีพ่ ดู ถึงเรือ่ ง Green Building ไม่ใช่วา่ รอบตึกต้องมีต้นไม้ แต่แท้จริงแล้วต้องเริ่มต้น ตั้งแต่พื้นที่ก่อสร้าง ต้องมีการก�ำจัดเรื่องของ เศษขยะต่าง ๆ น�ำไปรีไซเคิลหรือขาย ไม่ สร้างมลภาวะให้กับสภาพแวดล้อม น�้ำเสีย จากพื้นที่ก่อสร้างไม่ไหลลงพื้นที่สาธารณะ หรือแม้แต่สถานที่ตั้งควรอยู่ในแหล่งชุมชน เพราะไม่ต้องเดินสายไฟ หรือขุดท่อประปา เข้าไปใหม่ ก็จะไม่ไปท�ำลายสภาพแวดล้อม หัวใจส�ำคัญของความเป็น Green Building คือเรื่องของการประหยัดพลังงาน รวมถึงการ รักษาสภาพแวดล้อม คนที่อยากจะท�ำเรื่องนี้ จะต้องใส่ใจรายละเอียดต่าง ๆ ไม่ใช่เพียง ท� ำ เพื่ อ มาตรฐาน ต้ อ งดู ทั้ ง เรื่ อ งดี ไ ซน์ การก่อสร้าง และวัสดุที่เลือกสรรเข้ามา เช่น ต้นไม้ที่ปลูกรอบอาคาร หากใช้ต้นไม้ท้องถิ่น ก็จะมีการใช้น�้ำน้อยลงไม่ต้องดูแลมาก เวลา สร้ า งอาคารเกิ ด การซึ ม ซั บ น�้ ำ มาก เพราะ อาคารเป็นปูน เวลาน�้ำระบายออกไปก็เป็น ปัญหา จึงควรมีพนื้ ทีเ่ ก็บกักก่อนระบายออกไป ไม่สร้างปัญหาให้กับพื้นที่รอบข้าง

M AY 2 0 1 6



Building Management ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร DGNB คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย

สินเชื่อเพื่อการประหยัดพลังงาน (Energy Saving Loan)

สถานการณ์อสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยก�ำลังถึงจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญอย่างหนึ่ง ก็ คื อ การเดิ น หน้ า ของรู ป แบบการลงทุ น ใน ‘กองทรั ส ต์ เ พื่ อ สิ ท ธิ ก ารเช่ า ใน อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ’ หรื อ Real Estate Investment Trust (REIT) ด้ ว ยการ เปิดตัวอย่างอลังการของ กองทรัสต์ Golden Ventures REIT หรือ GVREIT ในตลาดหลักทรัพย์ เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2559 ที่ผ่านมา กองทรัสต์ Golden Ventures นี้ บริหารโดย สองบริษัทยักษ์ใหญ่อสังหาริมทรัพย์ที่พัฒนาอาคาร พาณิ ช ย์ เ กรดเอของกรุ ง เทพ ได้ แ ก่ Univentures ที่ พั ฒ นาโครงการ Park Ventures Ecoplex และ บริษัท Golden Land Development ที่พัฒนาโครงการ สาทรสแควร์ ซึ่ ง ทั้ ง สองอาคารนี้ จั ด ว่ า เป็ น ก้ า วแรกของการพั ฒ นาอาคาร ส�ำนักงานให้เช่าที่เน้นการประหยัดพลังงาน และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือ อาคารเขียว (Green Building) ที่ได้รับการรับรอง LEED ระดับพลาตินั่มส�ำหรับ โครงการ Park Ventures และระดับทองส�ำหรับโครงการสาทรสแควร์ ซึง่ ผลประกอบการ ของทั้งสองอาคารต่างเรียกได้ว่าประสบความส�ำเร็จเกินคาด ทั้งจากอัตราค่าเช่า พื้นที่ที่สูงที่สุดในประเทศ (1,200 บาทต่อตรม. ในกรณีของ Park Ventures) และจ� ำ นวนพื้ น ที่ เ ช่ า ที่ มี ผู ้ เ ช่ า เต็ ม ในขณะที่ อ าคารส� ำ นั ก งานที่ อ ยู ่ ใ กล้ ๆ กั น บางแห่งมีผู้เช่าเพียง 50% และหลายแห่งก็ถูกปล่อยปละละเลยให้เก่าเสื่อมโทรม ซึ่ ง นอกจากจะส่ ง ผลต่ อ ความสะดวกสบายและความปลอดภั ย จากอั ค คี ภั ย ของ ผู้เช่าแล้ว ยังส่งผลต่อภาพลักษณ์ของบริษัทที่มาเช่าด้วยว่าเขาไม่ได้ใส่ใจต่อชีวิต ความเป็นอยู่ของพนักงานอย่างเพียงพอ จึงมาเช่าตึกเก่าๆ โทรมๆ ไม่ปลอดภัย ให้พนักงานนั่งท�ำงานทุกวัน 32

E N E R G Y S AV I N G

ดังนั้น ในช่วงปีที่ผ่านมา จึงมีโครงการ อาคารส�ำนักงานให้เช่าใหม่ ๆ คุณภาพสูง เปิดตัวกันอย่างมากมาย และทุกโครงการล้วน พัฒนาปรับปรุงการออกแบบอาคารให้ประหยัด พลังงาน รักษาสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ น�ำอาคารเข้ารับ การรับรองมาตรฐานอาคารเขียว LEED กัน อย่างทัว่ หน้า จนเป็นข้อก�ำหนดเบือ้ งต้นของการ พัฒนาอาคารพาณิชย์ในวันนี้ที่ต้องได้รับ LEED Certificate เพราะไม่เพียงแต่ภาพลักษณ์ทดี่ ขี อง ผู้พัฒนาโครงการในด้านการประหยัดพลังงาน และสิง่ แวดล้อมแล้ว ยังมีเรือ่ งภาพลักษณ์ทดี่ ขี อง บริษทั ผูเ้ ช่าทางด้าน CSR (Corporate Social Responsibility) หรือความรับผิดชอบต่อสังคม ซึง่ องค์กรต่าง ๆ คงไม่สามารถพูดได้อย่างเต็มปากว่า รับผิดชอบต่อสังคม ในขณะทีป่ ล่อยปละละเลย ให้ อ งค์ ก รตั้ ง อยู ่ ใ นอาคารคุ ณ ภาพต�่ ำ ผลาญ พลังงาน และไม่สนใจสุขภาพความปลอดภัย ของพนักงานลูกจ้างขององค์กร นัน่ คือ ค�ำตอบ ของค�ำถามทีว่ า่ ‘ท�ำ green แล้วได้อะไร’ เพราะ Green Business is Good Business ; Green Building is Good Building แล้วอาคารเก่าจะท�ำอย่างไร ? ในขณะที่ กระแส CSR และภาพลักษณ์ของบริษทั ต่าง ๆ มีมูลค่าสูงกว่าค่าเช่าที่แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ระหว่างการเช่าส�ำนักงานใหม่ ๆ ทีเ่ ป็นอาคารเขียว และการเช่ า ส� ำ นั ก งานเก่ า ที่ ร าคาถู ก กว่ า แต่ไม่นา่ สบาย ไม่ปลอดภัย ค�ำตอบทีช่ ดั เจนในเวลานี้ ก็คือ ส�ำนักงานเก่า ๆ ต้องหาเงินมาปรับปรุ ง อาคารตนเองให้นา่ อยูน่ า่ สบาย ปลอดภัย และทันสมัย อยูต่ ลอดเวลา ให้เทียบเท่ากับอาคารใหม่ ๆ ให้ได้

M AY 2 0 1 6


ภาครัฐต้องช่วยเหลือ นักธุรกิจรายย่อยหรือปานกลาง โดยการให้เงินกู้อัตราพิเศษ ให้เจ้าของอาคารเก่า ๆ เพื่อน�ำไปใช้ปรับปรุง อาคารของตนให้มีมาตรฐาน ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ที่ดีขึ้น ทัดเทียมกับเจ้าของอาคาร ที่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่

มิฉะนั้น อัตราค่าเช่าก็จะต้องลดต�่ำลง หรือ ต้องยอมปล่อยให้ผู้เช่าย้ายออกไปอยู่อาคารอื่น ท�ำให้อาคารมีพนื้ ทีเ่ ช่าไม่เต็ม การลงทุนปรับปรุง อาคารก็จะยิง่ ยากล�ำบากมากยิง่ ขึน้ เพราะการที่ อาคารมีพื้นที่ว่างเหลือ เจ้าของอาคารก็จะเก็บ ค่าเช่าเพื่อน�ำเงินมาหมุนเพื่อปรับปรุงอาคารได้ น้อย และในทีส่ ดุ อาคารเก่าเหล่านัน้ ก็ตอ้ งถูกขายต่อ ให้นักลงทุนรายใหญ่กว่าที่มีเงินมากกว่าน�ำไป ปรับปรุงอาคารให้ดขี นึ้ และปล่อยให้เช่าในราคา ที่สูงต่อไป จนดูคล้ายกับธุรกิจปลาใหญ่กินปลา เล็ก ที่ในที่สุดอาคารพาณิชย์เกือบทั้งกรุงเทพฯ ก็อาจจะตกอยู่ในมือของมหาเศรษฐีเพียงไม่กี่ ตระกูล และท�ำให้เกิดการผูกขาดในธุรกิจขนาดใหญ่นี้ ดังเช่นทีเ่ กิดกับธุรกิจค้าปลีกมาแล้ว ภาครัฐจึงต้องช่วยเหลือนักธุรกิจรายย่อย หรื อ ปานกลาง และเหล่ า เจ้ า ของอาคารที่ ไม่ได้มีบริษัทยักษ์ใหญ่เป็นเจ้าของ โดยการให้ เงินกู้อัตราพิเศษให้เจ้าของอาคารเก่า ๆ น�ำไป ใช้ปรับปรุงอาคารของตนให้มีมาตรฐานด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้น ทัดเทียมกับ เจ้าของอาคารทีเ่ ป็นผูป้ ระกอบการรายใหญ่ทเี่ ป็น บริษัทในตลาดหลักทรัพย์ทสี่ ามารถระดมทุนทีม่ ี

ดอกเบีย้ ต�ำ่ มากมาได้อย่างง่ายดาย ซึง่ บริษทั มหาชน เหล่านี้ต่างก็มีธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ยัดเยียด สินเชื่อให้ที่อัตราดอกเบี้ยที่ต�่ำมาก เช่น 1-2% จนแทบจะกล่าวว่าบริษัทยักษ์ใหญ่เหล่านี้กู้เงิน ธนาคารหนึง่ แล้วน�ำมาฝากอีกธนาคารก็ยงั ก�ำไร ดอกเบีย้ เสียอีก ภาครัฐ โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรกั ษ์พลังงาน หรือ พพ. สังกัดกระทรวง พลังงาน จึงได้ริเริ่มโครงการกองทุนหมุนเวียน เพือ่ การประหยัดพลังงาน (Energy Efficiency Revolving Fund – EERF) มาตัง้ แต่กว่าสิบปีทแี่ ล้ว และน�ำมาใช้ใหม่ ตั้งแต่ มกราคม 2559 นี้เอง ซึง่ การทีเ่ รียกว่า กองทุนหมุนเวียน ก็เพราะไม่ใช่ เงินให้เปล่า แต่ให้กใู้ นอัตราดอกเบีย้ ต�ำ่ ที่ 3.5% ต่อปี

วงเงินกูร้ ายละไม่เกิน 50 ล้านบาท และต้องช�ำระ คืนภายใน 5 ปี เพื่อน�ำเงินกลับมาหมุนเวียน ให้โครงการอืน่ ๆ กูต้ อ่ ไป ซึง่ วงเงินโครงการใน ปีงบประมาณ 2559 จะอยูท่ ี่ 3,000 ล้านบาท กระจายให้ธนาคารพาณิชย์ในประเทศ 8 ธนาคาร น�ำไปปล่อยให้แก่ลกู ค้าประจ�ำของธนาคารนัน้ ๆ ซึ่งการกู้เงินก็ต้องมีข้อก�ำหนดที่ให้น�ำไปใช้กับ มาตรการประหยัดพลังงานทีค่ มุ้ ค่า มีระยะเวลา คืนทุนภายใน 7 ปี และต้องด�ำเนินการโดย บริษทั ทีป่ รึกษา ESCO ทีไ่ ด้มาตรฐาน รับรองโดย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และทีส่ ำ� คัญ ทีส่ ดุ เพือ่ ปกป้องเงินภาษีของประเทศ และปกป้อง ผลประโยชน์ของเจ้าของอาคารว่าได้จา่ ยดอกเบีย้ ไปแล้ว ผลทีไ่ ด้ตอ้ งมีการประหยัดพลังงานจริง โดยมีการรับรองท�ำสัญญาพลังงานกันจริงจังว่า ถ้าประหยัดไม่ได้จริง ทีป่ รึกษา ESCO จะต้องร่วม รั บ ผิ ด ชอบด้ ว ย หรื อ ที่ เรี ย กว่ า Guarantee Saving อย่างไรก็ดี ในที่สุดแล้วระบบสินเชื่อแบบนี้ คงไม่ เ หมาะกั บ ทุ ก คน อั ต ราดอกเบี้ ย เป็ น ตัวก�ำหนดทุกอย่าง ถ้าบริษทั คุณเครดิตดี คุณก็หา ดอกเบีย้ อัตราทีต่ ำ�่ กว่า 3.5% นี้ ได้งา่ ย ๆ อยูแ่ ล้ว ไม่ต้องมาใช้เงินกองทุนนี้ แต่ถ้าคุณเป็นบริษัท ไม่ใหญ่แบบบริษทั มหาชน ประวัตกิ ารเงินไม่ดเี ด่น มากนัก คุณก็คงหาสินเชื่อดอกเบี้ยต�่ำมาลงทุน ไม่ง่ายนัก ดังนั้น 3.5% จึงเป็นอัตราดอกเบี้ย ที่ จู ง ใจคนกลุ ่ ม นี้ ไ ด้ แต่ ค งไม่ มี ใ ครอยากเอา เงินลงทุนของบริษัท (Equity) มาลงทุนด้านนี้ ถ้าหากมีตวั เลือกเงินกูท้ ดี่ กี ว่า ซึง่ มักจะถูกกว่าเอา เงินลงทุนทีม่ คี า่ เสียโอกาสมาจ่าย

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ https://chopangphoto.files.wordpress.com/2014/05/park_venture004.jpg http://sv6.postjung.com/picpost/data/281/281577-5522dcd59bef8.jpg http://thinkofliving.com/wp-content/uploads/2014/07/16.jpg http://www.siamhowto.com/upload/article/sht-a19022015231203_906756_data.jpg http://www.chaniapost.eu/wp-content/uploads/2016/01/invest.jpg

VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

33


energy management TEXT : อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

เทคนิคเบื้องต้น วิเคราะห์กระบวนการ และหลักคาร์บอนฟุตพริ้นท์

เพื่อการประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมในระยะยาว การวิเคราะห์กระบวนการ (Process Analysis ; PA) เพื่อการประหยัดพลังงานและการน�ำหลักคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint ; CF) มาใช้ในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ถือเป็น 2 ประเด็นหลัก โดยเนื้อหารายละเอียดและกรณีตัวอย่าง ของทั้ง 2 หัวข้อจะได้มีการอธิบายตามล�ำดับ ดังต่อไปนี้ การวิเคราะห์กระบวนการจัดเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้ในการเสริมคุณค่าในหลาย ๆ มิติ ของการท�ำงานของท่านในชีวิตประจ�ำวันทั้งเรื่องของ 1. ประสิทธิภาพ (คุณภาพ) ในการท�ำงาน (ยังคงถูกต้องตามมาตรฐานวิชาชีพ แต่เพิ่มความ รวดเร็วขึ้น ลดภาระเพิ่มผลิตผลของงาน รวมทั้งมีความปลอดภัย ทั้งยังเพิ่มความพึงพอใจ ให้แก่ผู้รับบริการ และผู้ให้บริการ) 2. การมีฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการเช็คย้อนหลัง และการตัดสินใจปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ในอนาคต 3. ความสามารถในการอนุรักษ์พลังงานในระยะยาวด้วยตนเอง (จากรุ่นสู่รุ่น) โดยไร้ผลกระทบ ต่อคุณภาพของงาน 4. เพิ่มผลประหยัดทั้งต้นทุนด้านพลังงาน ค่าวัสดุ และอื่น ๆ อีกมากมาย 5. การได้มาซึ่งนวัตกรรมทั้ง (เชิงความคิด/หลักปฏิบัติและ/หรือในรูปของวัตถุ)

ความหมายของ “การวิ เ คราะห์ กระบวนการ” คือการพินิจพิจารณา กระบวนการท�ำงานประจ�ำของท่าน โดยให้ มองถึงองค์ประกอบให้ครบ “3P” (Place : สถานที่ แ ผนกผั ง ห้ อ งและอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ พลังงานทุกชนิด ; ไฟฟ้าเชื้อเพลิงความร้อน/ People : ผู้ใช้งานและทักษะ-พฤติกรรมของ ผูใ้ ช้งาน/ Process : รายละเอียดของเนือ้ งาน เช่นมีกขี่ นั้ ตอน ใช้เวลารวมในการให้บริการคน 1 คนเป็นเท่าใด ขั้นตอนไหนถือเป็นขั้นตอน ที่ มีนัยส�ำคัญนานที่สุด ใช้พลังงานมากที่สุด 34

E N E R G Y S AV I N G

และมีคนเข้ามาเกี่ยวข้องมาก) และเมื่อท่าน พิจารณาองค์ประกอบ “3P” ข้างต้นอย่าง ถี่ถ้วนแล้ว ให้ท�ำการคิดหาวิธีในการพัฒนา คุ ณ ภาพงานให้ ดี ขึ้ น ร่ ว มกั บ การประหยั ด พลังงานได้ โดยไร้ผลกระทบ อย่างไรก็ตาม “การวิเคราะห์กระบวนการ เพื่อประหยัดพลังงาน” มีความจ�ำเป็นต้อง มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งมื อ ที่ ไ ด้ ม าตรฐาน (ถู ก ต้ อ ง แม่นย�ำ) ในการตรวจวัดจริง เช่น การวัด คุณภาพการส่องสว่างของหลอดไฟควรใช้ ลักซ์มิเตอร์การวัดการใช้พลังงานไฟฟ้าของ

เครือ่ งมือแพทย์ขนาดเล็ก เตาไมโครเวฟหรือเครือ่ ง ปรับอากาศแบบแยกชิ้นฯลฯ ต้องใช้พาวเวอร์ มิเตอร์ หรือกระทัง่ เครือ่ งมือทีใ่ ช้พลังงานสูง เช่น ตูน้ งึ่ อบฆ่าเชือ้ อุปกรณ์ของหน่วยจ่ายกลางการ ตรวจวัดและเก็บข้อมูลแบบ Real-time ทั้งนี้ เพื่อจะน�ำเสนอได้อย่างมั่นใจว่า ค่าที่ตรวจวัด ได้สอื่ ถึงการกินพลังงานจริง ๆ ของอุปกรณ์นนั้ ๆ (ไม่ ไ ด้ อิ ง จาก nameplate) ซึ่ ง ผลก็ คื อ จะท�ำให้การค�ำนวณการใช้พลังงานสะท้อน ความเป็นจริงมากที่สุด

M AY 2 0 1 6


โดยการค้นหา SPA ของแต่ละหน่วยงาน ให้ใช้หลักคิด “สิ่งแรกที่นึกถึง (สัญลักษณ์) ถ้าเอ่ยถึงหน่วยงานนั้นและน�ำมาซึ่งการ R&D สิ่งที่เป็นสัญลักษณ์นั้น” ซึ่งสามารถ ยกตัวอย่างได้ดังตารางต่อไปนี้

ตัวอย่างการวิเคราะห์กระบวนการ ในแต่ละสาขาวิชาชีพของโรงพยาบาล

TRICK 1 ตั ว อย่ า ง โรงพยาบาลถื อ เป็ น อาคาร ประเภทหนึ่งที่มีสหสาขาวิชาชีพอยู่รวมกัน มากที่ สุ ด (ซึ่ ง ถื อ เป็ น ข้ อ ได้ เ ปรี ย บ) เมื่ อ เที ย บกั บ อาคารประเภทอื่ น (โรงแรม ห้างสรรพสินค้า มหาวิทยาลัย ธนาคารอาคาร ส�ำนักงานฯลฯ) ซึ่งหากน�ำหลักการวิเคราะห์ กระบวนการเข้าไปจับกับแต่ละสาขาวิชาชีพ ของคนในโรงพยาบาล หรือที่เรียกว่า “การ วิเคราะห์กระบวนการเชิงสัญลักษณ์/เฉพาะทาง” (Symbolic Process Analysis; SPA) ก็จะ สร้าง “ความหลากหลายด้านการอนุรักษ์ พลั ง งานเฉพาะทาง” ให้ ม ากยิ่ ง ขึ้ น ไปอี ก และผลก็คือ ท่านจะทิ้งองค์กรอื่นที่ขายเรื่อง “ปิดน�้ำปิดไฟปิดแอร์”ไว้ข้างหลังตลอดกาล เพราะการปิดน�้ำ-ไฟ-แอร์เป็นเรื่องธรรมดา ทีใ่ คร ๆ ก็สามารถท�ำได้ และมันเป็นเรือ่ งของ “จิตส�ำนึก” แต่ส�ำหรับ SPA จะเป็นเรื่อง “เทคนิค” ซึ่งสามารถตกทอดจากรุ่นสู่รุ่น ได้ง่ายกว่าเรื่องของจิตส�ำนึกและยังไม่ขึ้นกับ ความผันแปรของบุคลากร (เข้าใหม่ลาออก เกษียณ) ขององค์กรอีกด้วย

TRICK 2 การค้นหาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ของแต่ละ หน่ ว ยงานย่ อยๆ ตั ว อย่ า งโรงพยาบาลนั้ น จะเป็ นเรื่องที่ง่ายมากถ้าคุยกับผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะทางด้านนัน้ ๆ ซึง่ โปรดจ�ำไว้ว่า “ผู้ที่ สามารถกล่าวถึงเนือ้ งาน (เผยแพร่คณ ุ ค่าของงาน) เชิ ง ลึ ก ของตนเองและยั ง น� ำ เรื่ อ งอนุ รั ก ษ์ พลังงานเข้ามาผสมผสานได้อย่างลงตัว ถือเป็น คุณภาพขั้นสูงสุด” ทั้งยังเป็นการสร้างคุณค่า ให้กับหน่วยงานของตนเอง น�ำมาซึ่งความ ภาคภูมใิ จในฐานะเป็นฟันเฟืองทีส่ ำ� คัญ (มีคา่ ) และ ท�ำให้พวกเขามีก�ำลังใจที่จะพัฒนา SPA ใน ระดับก้าวหน้ามากขึ้น

VOLUME 8 ISSUE 90

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์

http://www.hospitalforsalelease.com/protected/views/hospital/maps/_ Photo_20150513051322_hospital-hallway.jpg http://vignette1.wikia.nocookie.net/zombie/images/1/18/Hospital.jpg/revision/latest?cb=20160329114824 http://i.huffpost.com/gen/1543344/images/o-EMPTY-HOSPITAL-facebook.jpg http://i.huffpost.com/gen/1483363/images/o-EMPTY-HOSPITAL-facebook.jpg

E N E R G Y S AV I N G

35


Product Review TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

BSC glass กระจกคุณภาพ ได้มาตรฐาน

ส�ำหรับอาคารที่ต้องการสร้างให้เป็นแบบประหยัดพลังงาน สิ่งส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ เรื่ อ งคุ ณ ภาพของวั ส ดุ ซึ่ ง กระจกก็ เ ป็ น วั ส ดุ ที่ เ ป็ น ตั ว น� ำ ทั้ ง แสงสว่ า งและความร้ อ น เข้าสู่อาคารโดยตรง ฉะนั้นหากได้กระจกที่มีคุณสมบัติในกระน�ำความร้อนเข้าสู่อาคาร ได้น้อยลงสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านไฟฟ้าลงไปได้มาก

คุณจิรัฏฐ์ เลียวกิจสิริ กรรมการผู้จัดการ Thai Techno Glass Co Ltd. (BSG GLASS)

คุณจิรฏั ฐ์ เลียวกิจสิริ กรรมการผูจ้ ดั การ Thai Techno Glass Co Ltd. (BSG GLASS) กล่าวว่า บริษทั ก่อตัง้ มากว่า 50 ปี เริม่ จาก กระจกรถยนต์แล้วเปลีย่ นมาท�ำกระจกอาคารเมือ่ ปี พ.ศ. 2547 เน้นสร้างความแตกต่างทีก่ ระจกดีไซน์ เช่น กระจก 2 ชัน้ ประกบกันโดยใช้ผา้ ทีม่ ลี วดลาย หรือวัสดุธรรมชาติตา่ ง ๆ อยูต่ รงกลาง โดยมีแผนก นวัตกรรม ที่ท�ำงานทั้งงานวิจัย เทคนิค ดีไซน์ เพือ่ ต่อยอดงานของบริษทั ออกไปได้ หนึง่ ในจุดมุง่ หมาย งานวิจยั ของบริษทั มีเกีย่ วกับกระบวนการรีไซเคิล วัสดุที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต เพื่อน�ำไป ใช้งานได้จริง ตลาดหลักคืองานก่อสร้างอาคาร

36

E N E R G Y S AV I N G

แบ่งสัดส่วน 60-70% ส�ำหรับงานพืน้ ฐานอาคาร 30-35% งานกระจกดีไซน์ 5% ส่งงานเฟอร์นเิ จอร์ BSG ได้รบั ฉลากประสิทธิภาพสูงส�ำหรับกระจก เพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน ซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ ป็นทัง้ ลด การส่งผ่านความร้อนจากภายนอก และสามารถ รับแสงสว่างเข้าสู่ภายในอาคารได้ดี โดยมีค่า สัมประสิทธิสง่ ผ่านความร้อนจากรังสีดวงอาทิตย์ ไม่ เ กิ น 0.55 และมี ค ่ า การส่ อ งผ่ า นของ แสงธรรมชาติตอ่ ค่าสัมประสิทธิการส่งผ่านความ ร้อนจากรังสีดวงอาทิตย์ ไม่นอ้ ยกว่า 1.20 ซึง่ ช่วยให้ ลดการใช้พลังงานของเครือ่ งปรับอากาศได้รอ้ ยละ 10-15 สามารถท�ำตามความต้องการของลูกค้าได้

ทัง้ บ้านส่วนตัว หรืออาคารขนาดใหญ่ทตี่ อ้ งการ ขอมาตรฐาน LEED หรือ TREES โดยมีอยู่ หลายชนิดด้วยกัน คือ 1. กระจกอินซูเลท Solar X เป็นกระจกแผ่รงั สี ความร้อนต�ำ่ สามารถลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ ได้มากกว่ากระจกอินซูเลททัว่ ไปกว่า 60% ลดได้ มากกว่ากระจก Low-E ทัว่ ไปกว่า 40% เคลือบ ผิวด้วยเทคนิค Magnetron sputtering double silver แสงสามารถผ่านเข้ามาได้ 50% แต่ความ สว่างทีไ่ ด้เหมือนกระจกทัว่ ไป อีกทัง้ มีความสามารถ ในการตัดรังสี Infrared ซึง่ เป็นรังสีความร้อนได้ มากกว่าท�ำให้สามารถลดความร้อนทีผ่ า่ นเข้ามาได้ เป็นอย่างดี ท�ำให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายใน อาคารได้ ความหนา 6 มิลลิเมตร ไม่มกี ารเคลือบ โลหะ ท�ำให้ไม่มผี ลต่อคลืน่ การสือ่ สาร 2. กระจก REFLECTIVE เคลือบด้วยสาร เคลือบผิวโลหะสามารถปกป้องดวงตาจากแสงแดด ไม่สามารถมองเห็นจากภายนอก สร้างความเป็น ส่วนตัวได้ มีคณ ุ สมบัตหิ ลักในการสะท้อนความร้อน และรังสี ลดความผันผวนของอุณหภูมซิ งึ่ สามารถ ช่วยประหยัด ค่าใช้จา่ ยในการผลิตไฟฟ้า 3. กระจก Low-E ได้รบั ความความนิยมสูงสุด ของกระจกชนิดประหยัดพลังงาน เคลือบด้วยโลหะ ออกไซด์ซงึ่ ช่วยให้แสงผ่านเข้ามาในขณะทีค่ วาม ร้อนเข้ามาได้ตำ�่ M AY 2 0 1 6



Product Showcase Construction TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

RET Solar Roof

ประตูบานเลื่อนอัตโนมัติ

บริษัท พลังงานทดแทนเพื่อคนไทย จ�ำกัด ขอแนะน�ำ ระบบ โซลาร์รูฟผลิตภัณฑ์คุณภาพเยี่ยม เบอร์ 1 ของทวีปยุโรป เพื่อให้ ทุกครัวเรือน ทุกหน่วยงาน ได้ใช้พลังงานสะอาดที่ผลิตจากพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ ท� ำ ให้ ช ่ ว ยประหยั ด ค่ า พลั ง งานไฟฟ้ า ได้ ม ากถึ ง เกือบ 100% รวมทัง้ สามารถผลิตไฟฟ้าขายไฟให้กบั การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคได้ อั ต ราผลตอบแทน IRR 12-18% ต่อปี ระบบโซลาร์รูฟนอกจากจะช่วยให้ประหยัดค่าพลังงานไฟฟ้า หรือช่วยสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนและหน่วยงาน โซลาร์รูฟยังช่วย ลดการน�ำเข้าเชื้อเพลิงจากประเทศเพื่อนบ้าน ช่วยลดการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าประเภทที่ทำ� ลายสิ่งแวดล้อม

บริษัท ดี สมาร์ท โซลูชั่น จ�ำกัด ผู้จัดจ�ำหน่ายและน�ำเข้าระบบ ประตูอตั โนมัตมิ ที งั้ แบบใช้กบั บานเฟรมอลูมเิ นียม กระจก บานเปลือย บานประตูไม้ หรือบานเหล็ก เชื่อมต่อกับอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ ได้ หลากหลาย เช่น เครื่องสแกนลายนิ้วมือ เครื่องทาบบัตร หรือระบบ กดรหัส ที่จะระบุตัวตนในการผ่านประตูได้ตามช่วงเวลาที่ก�ำหนด หรือแม้ กระทั่งการตั้งค่าให้ระบบท�ำการเปิด-ปิด ใช้มอเตอร์แบบ ประหยัดพลังงาน DC 24V. ขนาด 55W กินไฟในขณะท�ำงานน้อย และช่วยประหยัดพลังงานโดยมีทั้งแบบ Brushless Motor และ แบบ Encode Motor (Brush Motor) ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั รูปแบบการ ท�ำงาน พร้อมทั้งมีก�ำลังให้เลือกใช้ได้เหมาะสมกับงานซึ่งสามารถรับน�้ำหนัก ของประตูและขับเคลื่อนได้สูงถึง 200 กิโลกรัม/บาน

ฉนวน Calcium Silicate บริษทั ท็อป อินซูเลชัน่ แอนด์ เทรดดิง้ จ�ำกัด จ�ำหน่ายวัสดุเกีย่ วกับฉนวนความ ร้อน ความเย็น ฉนวนป้องกันเสียง ขอแนะน�ำ Calcium Silicate เป็นฉนวนที่มี ลักษณะพรุน ผลิตจากทรายซิลิเซียส น�้ำปูนขาว และเส้นใยเพื่อเพิ่มการเสริมแรง แล้วจึงน�ำมาผ่านกระบวนการอบด้วยความร้อนสูง มีคณ ุ สมบัตไิ ม่เผาไหม้ ไม่ลามไฟ และ ไม่มีสารพิษ ไม่ผสมเส้นแร่ใยหิน Asbestos และเส้นใยสังเคราะห์อื่น ๆ ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย น�้ำหนักเบา แข็งแรงทนทาน ไม่เกิดการกัดกร่อน เหมาะกับงานเตาอบ เตาหลอมในโรงงานอุตสาหกรรม หรืองานที่มีอุณหภูมิ การใช้งานสูง ช่วยป้องกันการสูญเสียพลังงานได้เป็นอย่างดี

38

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6


Dri-Wall Adhesive ปูนกาวติดแผ่นยิปซัม ยิปรอค บริษัท ไทยผลิตภัณฑ์ยิบซั่ม จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทแรก ที่ด�ำเนินการผลิตแผ่นยิปซัมและปูนปลาสเตอร์ในประเทศไทย ขอแนะน�ำ ปูนกาวยิปซัมสูตรเฉพาะ ใช้งานง่าย สะดวกประหยัด เวลา และค่าใช้จ่าย สามารถติดแผ่นยิปซัมกับผนังเดิมที่มีอยู่ ไม่วา่ จะเป็นผนังก่ออิฐมอญ ผนังอิฐ บล็อค หรือผนังคอนกรีต โดยใช้ บริเวณด้านในของผนังภายนอก หรือบริเวณ ผนังภายในทั่วไป ใช้ทดแทนการฉาบปูนซีเมนต์ผสมทรายแบบดัง้ เดิม ตัดปัญหาความ เลอะเทอะจากการผสมปูนทราย ได้ผนังทีเ่ รียบ สวยงาม นอกจาก นี้ผนังที่ติดด้วยแผ่นยิปซัมยังเป็นฉนวนป้องกันความร้อนจาก ภายนอก ที่จะผ่านเข้ามาในอาคาร ช่วยท�ำให้อากาศภายใน เย็นสบาย เหมาะสมกับสภาพ อากาศในเมืองไทย ใช้เฉพาะภายใน อาคาร และบริเวณทีไ่ ม่สมั ผัสกับน�ำ้ หรือ ความชืน้ เป็นประจ�ำ

ระบบ Enviropanel ฉนวนเยื่อกระดาษระหว่างผนัง บริษัท Natural Insulation (2009) จ�ำกัด ผู้ผลิต จ�ำหน่ายและให้ บริการ ระบบ Enviropanel เป็นระบบที่มีการฉีดพ่นเยื่อกระดาษลงใน ช่องว่างระหว่างผนัง หนา13 มม. 2 ด้าน มีคณ ุ สมบัตเิ ป็นฉนวนกันความร้อน สามารถลดระดับเสียงลอดผ่านสูงถึง STC 55 ในระบบผนังเดียว และ สามารถออกแบบให้มคี า่ สูงถึง STC 81 เหมาะส�ำหรับห้องทีต่ อ้ งการควบคุม เสียงเป็นพิเศษ กันไฟไม่ให้ทะลุผ่านได้นาน 2 ชั่วโมง ด้วยแร่ที่น�ำมาใช้ใน เยือ่ กระดาษส่งผลให้แมลงไม่สามารถเข้าไปได้ โครงสร้างมีนำ�้ หนักเบา ไม่สง่ ผล ต่อโครงสร้างมากนัก ติดตั้งง่าย รวดเร็ว ช่วยประหยัดเงินในการติดตั้ง เมื่อเทียบกับก�ำแพงคอนกรีต

Cool Bua โฟมคิ้วบัว กลุม่ บริษทั ในเครือ โปลิโฟม ขอแนะน�ำ Cool Bua โฟมคิว้ บัว ประดับ น�ำ้ หนักเบา ใช้ได้ทงั้ ภายใน ภายนอกอาคาร มีความแข็งแรง เทียบเท่าคิ้วบัวปูน อายุการใช้งานยาวนาน เพราะภายนอก เคลื อ บปิ ด ผิ ว โฟมด้ ว ยซี เ มนต์ ช นิ ด พิ เ ศษ มี ก ารดู ด ซึ ม น�้ำ ต�่ ำ ช่วยลดค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้างและระยะเวลาท�ำงาน ตัวโฟมผลิต จาก Expanded Polystyrene Foam (EPS) เคลือบผิว 2 ชั้น ด้วยซีเมนต์ปลาสเตอร์และตาข่าย Reinforcement ติดตั้งง่าย โดยใช้ปูนกาวประหยัดค่าใช้จ่ายสามารถสั่งท�ำลวดลายได้ตาม ความต้องการคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อน VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

39


INTERVIEW TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

Eco Architect ออกแบบด้วยหัวใจสีเขียว

คอลัมน์ Interview ฉบับนี้พาท่านผู้อ่านไปท�ำความรู้จักกับสถาปนิกอีกหนึ่งคนที่ใส่ใจเรื่องพลังงาน สิ่งแวดล้อม แถมยังยืนยัน เสียงหนักแน่นว่า การท�ำบ้านให้ประหยัดพลังงานนั้นไม่จ�ำเป็นต้องใช้งบประมาณสูง สามารถท�ำได้ในราคาเริ่มต้นตั้งแต่ 500,000 บาท เรียกได้ว่าเป็น ราคาที่น่าสนใจอยู่ไม่น้อยส�ำหรับบ้านสักหลัง ซึ่งไม่เพียงสวยด้วยการออกแบบแต่ยังท�ำให้ผู้อาศัยอยู่กับสภาพแวดล้อมโดยรอบได้แบบสบาย ๆ ไม่ต้องใช้เครื่องปรับอากาศ คุณค�ำรน สุทธิ Manager Director of Eco Architect กล่าวว่า ก่อนหน้านีเ้ ป็นสถาปนิกประจ�ำ ออฟฟิศแห่งหนึง่ เมือ่ ท�ำงานไปสักระยะก็เริม่ สังเกตว่า บ้านทีอ่ อกแบบ เมือ่ เจ้าของบ้านผูอ้ าศัยจริงต้องปิดม่าน ตลอดเวลาเพือ่ กันแสงแดด เปิดเครือ่ งปรับอากาศเกือบ ตลอดเวลาไม่ได้เปิดออกไปรับอากาศบริสทุ ธิภ์ ายนอกเลย จึงรูส้ กึ ว่าเหมือนเป็นตราบาปทีต่ วั เองสร้างไว้ จากเดิม ชอบสไตล์โมเดิรน์ แต่ดแู ล้วไม่ตอบโจทย์กบั สภาพอากาศ ในประเทศไทยมากเท่าไรนัก เป็นจุดเปลี่ยนแนวทาง การออกแบบ พยายามหาแนวทางที่ทำ� ให้ผู้อยู่อาศัยมี คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ รวมถึงมีการประหยัดพลังงานรวม เข้าไปด้วย จากนั้นตัดสินใจออกไปเรียนต่อปริญญาโท สาขานวัตกรรมการออกแบบนิเวศสถาปัตย์ แล้วออกมา เปิดบริษทั เป็นของตัวเอง คือ Eco Architect ตัง้ อยูใ่ น จังหวัดภูเก็ต เมื่อ 5 ปีที่แล้ว บริษัทได้เริ่มก่อตั้งขึ้น เรามี แ นวทางการออกแบบโดยเริ่ ม จากตั ว เองก่ อ น คือ พอออกแบบบ้านตัวเอง ก็มีหลายคนเริ่มเห็นใน ความอยู่แบบเย็นสบาย ไม่ต้องเปิดเครื่องปรับอากาศ ช่วงเริม่ แรกคนไทยไม่คอ่ ยมีความเข้าใจเรือ่ งนี้ มากเท่า ทีค่ วร ลูกค้าทีเ่ ข้ามาหาส่วนใหญ่ตอ้ งมีการอธิบายเพิม่ เติม เกี่ยวกับการออกแบบบ้านลักษณะนี้ ยังยึดทัศนคติมี บ้านก็ตอ้ งติดเครือ่ งปรับอากาศ แต่ตอนนีด้ ว้ ยอากาศทีร่ อ้ น ค่าพลังงานสูงขึ้น จึงท�ำให้หลายคนหันมาศึกษา และ เริ่มเข้าใจกันมากขึ้น ช่วงหลังลูกค้าได้ท�ำการศึกษา เบือ้ งต้นมาพอสมควร เราก็ใส่เทคนิคเพิม่ เติมเข้าไปจาก

คุณค�ำรน สุทธิ Manager Director of Eco Architect

40

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6


ความต้องการ ท�ำให้เป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน ปัจจุบนั แบ่ง ลูกค้าออกเป็น 3 ระดับ คือ กลุม่ Hi-End ส่วน มากเป็นชาวต่างชาติ จากยุโรป กลุม่ อายุประมาณ 40 ขึน้ ไป งบประมาณไม่เกิน 10 ล้านบาท และกลุม่ สุดท้ายทีม่ งี บประมาณ 5,000,000 – 500,000 การออกแบบบ้านหากเราดูตั้งแต่ต�ำแหน่ง ที่อยู่ ทิศทางของแสงอาทิตย์ ลม ฝน เงาของ ต้นไม้ หากเราสามารถใช้ประโยชน์จากสภาพ แวดล้อมให้ได้มาก ก็จะช่วยประหยัดพลังงาน จากเทคโนโลยีที่น�ำมาใช้ภายในอาคารได้มาก ขึน้ ซึง่ ถ้าเราใส่ใจเรือ่ งนี้ งบประมาณการก่อสร้าง จะเหมื อ นบ้ า นทั่ ว ไป อาจจะถู ก กว่ า ด้ ว ยแต่ หากไม่ได้ดูเรื่องเหล่านี้ จะต้องพึ่งพาเทคโนโลยี มากขึน้ วัสดุตอ้ งดีขนึ้ หลังจากบ้านแต่ละหลังเสร็จ เรียบร้อย เราพยายามประเมินผลงาน ซึง่ ผลตอบ รับดีมาก เช่น จกาเดิมค่าไฟอยูท่ ี่ 10,000 บาท/เดือน เหลื อ เพี ย ง 5,000เดื อ น ทั้ ง ที่ พื้ น ที่ จ� ำ นวน ห้องมากกว่าหลังเดิม

เราพยายามสร้ า งบ้ า นให้ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมให้ เอื้อต่อกัน ควบคู่กับสร้างระบบนิเวศรอบบ้าน ใช้จุดนี้มาสร้างสภาวะความเป็นอยู่ที่ดีให้กับ ตัวบ้าน สิง่ ส�ำคัญในการออกแบบบ้านลักษณะนี้ อย่างแรก คือ ป้องกันบ้านจาก แสงแดดซึง่ เป็น สิ่งส�ำคัญท�ำให้บ้านร้อนมาก ต้องหาวิธีกันแดด ให้ กั บ ตั ว บ้ า น และเรื่ อ งการระบายอากาศ ถ้าบ้านทีร่ ะบบการระบายอากาศไม่ดี ลมไม่เข้า ก็ จ ะไม่ ส ามารถระบายความร้ อ นออกไปได้ บ้านจะร้อนอบอ้าว หลัก ๆ สองส่วนนี้ต้องมี ส่วนอืน่ เป็นเทคนิคต่าง ๆ ทีเ่ พิม่ เข้าไป บางพืน้ ทีจ่ ะ มีขอ้ จ�ำกัดทีแ่ ตกต่างกัน เช่น บางพืน้ ทีล่ มจะมา จากทิศตะวันตกเฉียงใต้ บางครัง้ มาจากตะวันออก เฉียงเหนือ บางพื้นที่ลมมาจากทิศเหนือเพียง ทิศเดียว บริเวณรอบมีอาคารบังลม ก็ต้องดูว่า ศักยภาพในแต่ละสถานทีม่ อี ะไรบ้างทีเ่ ราสามารถ หยิบขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ ตรงนี้เป็นตัวที่ต้อง แก้ปญั หาและน�ำมาเป็นกรอบความคิดหลักในการ VOLUME 8 ISSUE 90

ออกแบบ ประเทศไทย ร้อนก็จริงแต่สามารถท�ำให้ บ้านเย็นได้ดว้ ยระบบนิเวศ นอกจากออกแบบบ้านพักอาศัยแล้ว ยังมี งานออกแบบ ส�ำนักงาน โรงแรม รีสอร์ท โชว์รมู โรงงาน ฯลฯ เช่น รีสอร์ท จังหวัด ภูเก็ต จุดเด่น คือ ลมดี แต่แดดจัด ฝนตกชุก 8 เดือน เราต้องเข้าใจ ข้อเด่น ข้อด้อยตรงนี้เสียก่อน เมื่อเราออกแบบ จะใช้ศกั ยภาพตรงนี้ ต่อไปอย่างไร ต้องมี Solar shedding ป้องกันแดด ห้องนอนมีช่องเปิด 3 ด้าน เพือ่ ให้ลมเข้า-ออกได้ดี ลดการใช้เครือ่ ง ปรับอากาศ ผนังบ้านนอกจากกันแดด ฝนได้ดี ยัง ท�ำให้เป็นแบบหายใจได้แทนทีจ่ ะทึบทัง้ หมด เพือ่ ให้ระบายอากาศได้ ส่วนโรงงานอุตสาหกรรม อยูท่ พี่ นื้ ทีก่ ว้าง หลังคาใหญ่ ความร้อนโดยธรรมชาติ จะลอยตัวขึ้นสูง ดีไซน์ให้เป็นหลังคาสองชั้น เกิดการระบายได้เร็วขึน้ ชัน้ บนอาจเป็นวัสดุสดี ำ� เพือ่ เก็บความร้อน เมือ่ เกิดมวลความร้อนทีอ่ ยูบ่ น ยอดหลังคาให้ความร้อนนัน้ ลอยตัวดูดออกขึน้ ไปให้ ง่ายขึน้ ส�ำนักงานทีเ่ ป็นโฮมออฟฟิศของบริษทั เรา เองจะเปิดเครื่องปรับอากาศไม่เกิน 10 วัน/ปี เพื่อปลูกฝังให้พนักงงาน มีจิตส�ำนึกเรื่องเหล่านี้ แม้จะตั้งอยู่ในตัวเมืองภูเก็ตและมีปรากฏการณ์ เกาะความร้อน (Urban heat island: UHI คือ ปรากฏการณ์พื้นที่ในเมือง ที่มีอุณหภูมิสูง กว่าบริเวณโดยรอบ มีความแตกต่างของอุณหภูมิ ทีส่ งู กว่า จะชัดเจนในตอนกลางคืนมากกว่าตอน กลางวัน ในฤดูหนาวมากกว่าฤดูรอ้ นและเมือ่ ไม่มี ลมหรือมีลมพัดอ่อน สาเหตุส�ำคัญที่ท�ำให้เกิด เกาะความร้อนเมืองคือ การเปลี่ยนแปลงพื้นผิว ของแผ่นดินที่เกิดจากการพัฒนาเมืองซึ่งใช้วัสดุ ที่ท�ำให้เกิดการสะสมกันของความร้อนประกอบ กับความร้อนที่ปล่อยออกจากการใช้พลังงาน ตามอาคารสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของการ เพิ่มอุณหภูมิทั่วไปโดยเฉลี่ย) แต่ออฟฟิศเราใช้ หลักเกณฑ์ลมเข้ามาช่วย ด้วยการเคลื่อนที่ของ ลมก็มกี ารใช้พลังงาน ในการใช้พลังงานก็จะมีการ สูญเสียการใช้พลังงานออกไปด้วย จึงพยายามให้ ลมผ่านในส่วนทีต่ อ้ งการให้ความร้อนออกไป เช่น ให้ลมผ่านร่มเงาของต้นไม้ก่อนที่จะเข้าห้องเรา อุ ณ ภู มิ ที่ เ ข้ า มาถึ ง ในห้ อ งเราก็ จ ะลดลง เป็นเทคนิคของการดูดลมเข้า ให้ลมสูญเสียความ ร้อนจากสภาพแวดล้อมก่อน แม้จะเป็นบริษัทรับออกแบบบ้าน อาคาร โรงแรม รีสอร์ท หรือแม้กระทัง่ โรงงานอุตสาหกรรม แต่ช่วงก่อสร้างก็ยังคงดูให้เป็นไปตามแบบที่เรา ท�ำเอาไว้ ทัง้ ต�ำแหน่ง ทิศทาง วัสดุตา่ ง ๆ แม้ทาง บริษัทจะไม่ได้มีการโฆษณาใด ๆ แต่อาศัยปาก ต่อปากของลูกค้าก็ส่งผลให้ทุกวันนี้มีงานเข้ามา ประมาณ 40 งาน/ปี ผูส้ นใจสามารถเข้าไปติดตาม ผลงาน และติอต่อได้ที่ FB : Eco Architect E N E R G Y S AV I N G

41


green industrial TEXT ::อภัอภัสสราราวัวัลลลิลิภภผล ผล

โรงไฟฟ้าสีเขียว ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ เจ้าของรางวัล Thailand Energy Awards และ ASEAN Energy Awards กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) กระทรวงพลั ง งาน ได้ ส ่ ง เสริ ม ให้ ภ าคธุ ร กิ จ /อุ ต สาหกรรม ซึ่งประกอบด้วยโรงงานและอาคารควบคุมตามพระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 และที่อยู่นอกข่าย ควบคุม ซึ่งเป็นภาคที่ใช้พลังงานในปริมาณที่สูง และมีบุคลากร ที่เกี่ยวข้องเป็นจ�ำนวนมากทั้งเจ้าของกิจการ ผู้บริหาร วิศวกร และพนักงาน ตลอดจนองค์กรที่มีบทบาทส่งเสริมสนับสนุน การอนุรกั ษ์พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน เช่น สถาน ศึกษา สมาคม สื่อมวลชน เป็นต้น ส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวใน การอนุรักษ์พลังงาน และผลักดันให้เกิดการพัฒนาพลังงาน ทดแทนมากยิง่ ขึน้ โดยการจัดประกวดThailand Energy Awards ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา เพื่อเป็นการแสดงความชื่นชมและ ยกย่องโรงงาน อาคารบุคลากร และผู้มีส่วนส่งเสริม สนับสนุน ให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน ที่มีผลงานดีเด่น อันจะเป็นตัวอย่างที่

42

E N E R G Y S AV I N G

ดี แ ก่ อ งค์ ก รต่ า งๆ ทั้ ง ยั ง กระตุ ้ น ให้ เ กิ ด การมี ส่ ว นร่ ว มของบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ระดั บ ใน การประกวด Thailand Energy Awards นอกจากนี้ ยังได้คดั เลือก ผูช้ นะการประกวดเป็นตัวแทนประเทศไทย ไปประกวดในระดับอาเซียนต่อไปด้วย ดังนั้น เพื่อเป็น แรงผลักดันให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานและการพัฒนา พลังงานทดแทนอย่างยั่งยืน จึงได้ด�ำเนินการจัดประกวด Thailand Energy Awards ต่อเนื่องทุกปี ส่วน ASEAN Energy Awards เป็นการเข้าร่วมโครงการประหยัด พลังงานระดับอาเซียนนั่นเอง

m ay 2 0 1 6


ซึ่งทางโรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอ ยี่ โรงไฟฟ้าขนาดก�ำลังการผลิตติดตั้ง 36 MW ใช้วตั ถุดบิ จากชานอ้อยทีเ่ หลือจากกระบวนการ บีบสกัดน�้ำอ้อยของโรงงานน�้ำตาลทิพย์สุโขทัย เป็ น วั ต ถุ ดิ บ เชื้ อ เพลิ ง ส� ำ หรั บ ผลิ ต ไฟฟ้ า และ ไอน�้ำ น�ำมาผลิตไฟฟ้าและจ�ำหน่ายให้ กฟภ. และผลิตไอน�ำ้ จ�ำหน่าย ช่วยเสริมสร้างความมัน่ คง ด้านพลังงานให้กับโรงงานและระบบไฟฟ้าของ จั ง หวั ด สุ โขทั ย ได้ มี ก ารจั ด การกระบวนการ ผลิตจรสามารถคว้ารางวัล Thailand Energy Awards และ ASEAN Energy Awards มาได้ ทั้งสองรางวัลกันเลยทีเดียว คุ ณ กุ ศ ล ชี ว ากร รองอธิ บ ดี ก รมพั ฒ นา พลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลั ง งาน กล่ า วภายหลั ง การเยี่ ย ม ชมโรงไฟฟ้าทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ ว่า โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาด 36 MW ของ บริษัท ทิพย์สุโขทัย ไบโอเอนเนอยี่ จ�ำกัด เป็นการ

VOLUME 8 ISSUE 90

น� ำ วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ หลื อ ใช้ ท างการเกษตรมาเป็ น วัตถุดิบเชื้อเพลิงส�ำหรับการผลิตไฟฟ้า ส่งผลดี ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ในระดั บ ชุ ม ชนและประเทศ ซึ่ ง การด� ำ เนิ น งานของโรงไฟฟ้ามีการจัดหาและการใช้งาน เทคโนโลยีไม่ยุ่งยาก สามารถน�ำไปประยุกต์ ด�ำเนินการให้กับโรงงานในทุกพื้นที่มีวัตถุดิบ ชี ว มวลเพี ย งพอ โดยอาจมี ก ารปรั บ เปลี่ ย น

รายละเอียดและก�ำลังการผลิตให้มคี วามเหมาะสม จนสามารถคว้ า รางวั ล ดี เ ด่ น ด้ า นพลั ง งาน ทดแทน Thailand Energy Awards 2015 และรางวัลชนะเลิศ ASEAN Energy Awards 2015 ประเภทโครงการพลั ง งานความร้ อ น ร่วมจากพลังงานหมุนเวียน (Co-generation) ซึ่งเป็นแบบอย่างที่ดีแก่หน่วย งานอื่น ๆ ในการ ร่วมกันสร้างสรรค์พัฒนาพลังงานของประเทศ ให้มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน คุ ณ วิ ธั น ยา นามลี ผู ้ อ� ำ นวยการโรงงาน บริ ษั ท ทิ พ ย์ สุ โขทั ย ไบโอเอนเนอยี่ จ� ำ กั ด กล่าวถึงความส�ำเร็จในครั้งนี้ว่า โรงงานน�้ำตาล ทิพย์สุโขทัย มีชานอ้อยที่ได้จากกระบวนการ ผลิ ต น�้ ำ ตาลปริ ม าณมาก จึ ง ได้ อ อกแบบ จั ด ตั้ ง โรงไฟฟ้ า ชี ว มวลขนาดก� ำ ลั ง การผลิ ต ติดตั้ง 36 MW ภายในบริเวณโรงงานน�้ำตาล โดยมีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ น�ำชานอ้อยทีเ่ หลือจาก กระบวนการหีบสกัดน�้ำอ้อยของโรงงานน�้ำตาล

E N E R G Y S AV I N G

43


มาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดโดยน�ำมาเป็นวัตถุดบิ เชื้อเพลิงส�ำหรับผลิตไฟฟ้าและไอน�้ำเพื่อใช้ใน กระบวนการผลิตของโรงงานน�ำ้ ตาลและจ�ำหน่าย ให้การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) ช่วยเสริมสร้าง ความมั่ น คงด้ า นพลั ง งานให้ แ ก่ โรงงานและ ระบบไฟฟ้าในจังหวัดสุโขทัย การด� ำ เนิ น งานของโรงไฟฟ้ า จะมี ก าร ท� ำ สั ญ ญาซื้ อ เชื้ อ เพลิ ง ชานอ้ อ ยจากโรงงาน น�้ำตาลทิพย์สุโขทัย เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับ หม้อไอน�ำ้ ขนาด 150 ตันต่อชัว่ โมง จ�ำนวน 3 ชุด ใช้ ใ นการผลิ ต ไอน�้ ำ โดยไอน�้ ำ แรงดั น ต�่ ำ จะ จ� ำ หน่ า ยให้ โรงงานน�้ ำ ตาลทั้ ง หมดเพื่ อ น� ำ ไป ใช้ในกระบวนการผลิตน�้ำตาล ส่วนไอน�้ำแรง ดั น สู ง จะจ� ำ หน่ า ยให้ โรงงานน�้ ำ ตาลเพื่ อ ใช้ ขับเคลื่อนเครื่องจักรในการหีบอ้อยเพียงบาง ส่วน ส่วนทีเ่ หลือจะถูกส่งไปยัง Steam Turbine ทีเ่ ชือ่ มต่อกับเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าขนาด 18 MW จ�ำนวน 2 ชุด เพือ่ ผลิตไฟฟ้า ซึ่งการด�ำเนินงาน ของโรงไฟฟ้าจะแบ่งเป็น 4 ช่วง สอดคล้องกับ ฤดูกาลผลิตของโรงงานน�้ำตาล ได้แก่

44

E N E R G Y S AV I N G

เดือนตุลาคม-เดือนพฤศจิกายน เป็นช่วง ที่โรงงานน�้ำตาลหยุดการผลิตหรือนอกฤดูหีบ (Off Season) โรงไฟฟ้าจะผลิตไฟฟ้าจ�ำหน่าย ให้ กฟภ. เพียงอย่างเดียว เดื อ นธั น วาคม-เดื อ นมี น าคม เป็ น ช่ ว ง ฤดูหีบอ้อย (Crushing Season) ซึ่งโรงงาน น�้ำตาลต้องใช้พลังงานค่อนข้างมาก โรงไฟฟ้า จะผลิตไอน�้ำแรงดันสูงและไฟฟ้าจ�ำหน่ายให้ โรงงานน�้ำตาลและ กฟภ. โดยมีก�ำลังการผลิต สุทธิ 27 MW จ�ำหน่ายให้แก่โรงงานน�้ำตาล 15 MW, จ�ำหน่ายให้ กฟภ. 8 MW และน�ำมา ใช้เองภายในโรงไฟฟ้า 4 MW คิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 42%, 22% และ 16% ตามล�ำดับ เดือนเมษายน-เดือนสิงหาคม เป็นช่วงฤดู ละลายน�้ำตาล (Remelt Season) ซึ่งโรงงาน น�้ำตาลใช้พลังงานไม่มากนัก โรงไฟฟ้าจะผลิต ไอน�้ำแรงดันต�่ำและไฟฟ้าจ�ำหน่ายให้โรงงาน น�้ำตาลและ กฟภ. และ 4. เดือนกันยายน เป็นช่วงการหยุด เพื่อซ่อมบ�ำรุงรักษาเครื่องจักรของโรงไฟฟ้า

(Plant Shut down) โรงไฟฟ้าจะหยุดการ ผลิตไฟฟ้า และรับซื้อไฟฟ้าจาก กฟภ. เข้ามา ใช้ภายในโรงไฟฟ้าแทน ปั จ จุ บั น โรงไฟฟ้ า สามารถผลิ ต ไฟฟ้ า จ�ำหน่ายให้ กฟภ. ได้ประมาณ 61.4 MWh ต่อปี และผลิตไอน�้ำจ�ำหน่ายให้โรงงานน�้ำตาล ทิ พ ย์ สุ โขทั ย 818,919 ตั น ต่ อ ปี เที ย บเท่ า การลดการปล่ อ ยก๊ า ชเรื อ นกระจก 34,437 tCO2 ต่ อ ปี และ 188,251 tCO2 ต่ อ ปี (รวม 222,688 tCO2 ต่อปี) โรงไฟฟ้าใช้เงินลงทุน ประมาณ 1,663 ล้านบาท (ไม่รวมค่าที่ดินและ เงินหมุนเวียน) IRR 17.4% ระยะเวลาคืนทุน 5 ปี มีต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าเฉลี่ย 46 ล้านบาท ต่อ MW รายได้จากการขายไอน�้ำและไฟฟ้า ประมาณ 516 ล้านบาทต่อปี m ay 2 0 1 6



energy focus TEXT : คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม

ระบบบริหารจัดการพลังงานในภาคขนส่ง เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า ตลอดระยะเวลาที่ ผ ่ า นมานั้ น ประเทศไทย มี แ นวโน้ ม การใช้ พ ลั ง งานมากขึ้ น มาโดยตลอด ซึ่ ง ภาค อุ ต สาหกรรมและภาคขนส่ ง เป็ น ภาคส่ ว นที่ มี ก ารใช้ พ ลั ง งาน อยู ่ ใ นระดั บ สู ง ที่ สุ ด รวมกั น แล้ ว สู ง ถึ ง เกื อ บ 72% (ข้ อ มู ล ปี พ.ศ. 2556) ของการใช้พลังงานทั้งหมด ภาคส่วนที่เหลือ จะเป็ น ภาคที่ อ ยู ่ อ าศั ย ภาคธุ ร กิ จ การค้ า ภาคเกษตรกรรม รวมกันแล้วมีสัดส่วนการใช้พลังงานเพียง 28% และเนือ่ งจากประเทศไทยก�ำลังเร่งพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโต จึงท�ำให้การ ใช้พลังงานของภาคส่วนทางเศรษฐกิจสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตามไปด้วยเช่นกัน ปั ญ หาคื อ การเพิ่ ม ขึ้ น ของการใช้ พ ลั ง งานนั้ น เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หรือไม่ หรือเพิ่มขึ้นด้วยความรวดเร็วจนอาจขาดการควบคุมประสิทธิภาพที่ดี ค�ำตอบคือส�ำหรับภาคอุตสาหกรรมนั้น มักจะมีกลไกและโครงการส่งเสริม ประสิทธิภาพพลังงานทีห่ ลากหลายเพือ่ ควบคุมการใช้พลังงานให้มปี ระสิทธิภาพ อยู่เสมอ ในขณะที่ภาคขนส่งนั้น ยังขาดกลไกการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน อย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับภาคอุตสาหกรรม ที่ผ่านมาภาคขนส่งส่วนใหญ่ เมื่อเกิดวิกฤตราคาพลังงาน ก็ต้องดิ้นรนแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ด้วยวิธีต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยไม่มีแผนรองรับอย่างเป็น ระบบมากนัก ดังนั้นกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ส�ำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน จึงเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของการส่งเสริม ให้ภาคขนส่งมีโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อส่งเสริมให้ภาคขนส่ง มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ จึงสนับสนุนให้สถาบันพลังงานเพื่อ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ด�ำเนิน “โครงการสาธิตระบบ บริหารจัดการพลังงานในภาคขนส่ง” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ผู้ประกอบการ ขนส่ง หรือโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรถขนส่ง หันมาสนใจที่จะบริหารจัดการ 46

E N E R G Y S AV I N G

ที� มา : กระทรวงพลังงาน พ.ศ. 2556 78,000 75,214

76,000

73,316

74,000 72,000

70,248

70,000

75,804

70,562

68,000 66,698

66,000 64,000

65,890

62,000 60,000 2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

m ay 2 0 1 6


โครงการสาธิตระบบบริหารจัดการ พลังงานในภาคขนส่ง จัดขึ้นเพื่อส่งเสริม และผลักดันให้ผู้ประกอบการขนส่ง หรือโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรถขนส่ง หันมาสนใจบริหารจัดการต้นทุนด้านพลังงานของตน และให้ความส�ำคัญด้านการอนุรักษ์พลังงานมากขึ้น

ต้นทุนด้านพลังงานของตนเอง และให้ความส�ำคัญด้านการอนุรักษ์พลังงาน มากขึ้ น โดยอาศั ย แนวทางการส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานที่ ใช้ ใ นภาค อุตสาหกรรมหลาย ๆ ส่วน มาปรับประยุกต์ใช้กับผู้ประกอบการภาคขนส่งได้ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างต่อเนื่อง คือ การมีระบบจัดการ พลังงาน, การสนับสนุนเงินทุนเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน, การพัฒนา ความรู้ของพนักงานขับขี่, การจัดท�ำฐานข้อมูลเทคโนโลยีที่สืบค้นและศึกษา ได้ง่าย, ตลอดจนการส่งเสริมธุรกิจบริษัทจัดการพลังงานในภาคขนส่ง (Logistics ESCO) เพื่อเป็นทางเลือกในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานให้กับ ผู้ประกอบการ เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันภาคขนส่งยังไม่มีโครงการส่งเสริมการอนุรักษ์ พลังงานที่ครบวงจรที่จะช่วยผู้ประกอบการตั้งแต่เริ่มต้น คือ ตั้งแต่ยังไม่ทราบ แนวทางด้านการอนุรักษ์พลังงานมากนัก ให้สามารถเริ่มต้นวิเคราะห์การใช้ พลังงานของตนเอง และค่อย ๆ ปรับปรุงผ่านกลไกการสนับสนุนต่าง ๆ ให้การ อนุรักษ์พลังงานเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมได้ โดยโครงการดังกล่าวนี้ จะมี 3 กิจกรรมหลัก ที่จะเชิญชวนผู้ประกอบการ ขนส่งหรือโรงงานอุตสาหกรรมที่มีรถขนส่งเข้าร่วม ดังนี้

1. กิจกรรมการประยุกต์ใช้ระบบบริหารจัดการพลังงานในภาคขนส่ง

เป็ น การเผยแพร่ ร ะบบบริ ห ารจั ด การพลั ง งานในภาคขนส่ ง ให้ กั บ ผู ้ ป ระกอบการได้ รั บ ทราบและน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใช้ ร่ ว มกั บ ค� ำ แนะน� ำ ของ ทีมผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ครอบคลุมด้านต่าง ๆ 4 ด้าน คือ ด้านวิศวกรรม และเทคโนโลยี, ด้านบริหารจัดการขนส่ง, ด้านการขับขี่ยานพาหนะเพื่อ การประหยัดพลังงาน และด้านการสร้างทีมงาน เพื่อวางแผนงานปรับปรุง ประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างเป็นระบบ

2. กิจกรรมการส่งเสริมเงินลงทุน เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน

เป็นการส่งเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานของผูป้ ระกอบการ ด้ ว ยการสนั บ สนุ น เงิ น ลงทุ น ให้ ต ามผลการประหยั ด พลั ง งานที่ ส ามารถ ประหยั ด ได้ โดยก� ำ หนดอั ต ราการสนั บ สนุ น ให้ สู ง สุ ด ถึ ง 500,000 บาท ต่อผู้ประกอบการ

3. กิจกรรมส่งเสริมการขับขี่ยานพาหนะ เพื่อการประหยัดพลังงาน

ผู้ประกอบการสามารถส่งเสริมให้บุคลากรของตนเองมีความรู้ ความเข้ า ใจในการร่ ว มกั น ประหยั ด พลั ง งานจากการขั บ ขี่ ไ ด้ ช่ ว ยสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ ก และวิ ธี ก ารขั บ ขี่ เ พื่ อ การประหยั ด พลั ง งาน เพื่อร่วมกันประหยัดพลังงานภายในองค์กร โดยจัดให้มีการฝึก อบรม 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ “ข่าวดีที่ผมอยากจะเชิญชวนประชาสัมพันธ์ผู้ประกอบการ ที่สนใจเข้าร่วมโครงการสาธิตระบบบริหารจัดการพลังงานในภาค ขนส่ง คือ จะมีการจัดสัมมนาเปิดโครงการขึ้น ในวันพฤหัสบดี ที่ 19 พฤษภาคม 2559 นี้ ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด หากท่านใดสนใจสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม โทร 02-345-1252 ถึง 53 โทรสาร 02-345-1258 อีเมล ltmthailand.net@gmail.com เว็บไซต์ www.ltmthailand.net และ www.iie.or.th”

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://www.t-tc.co/wp-content/uploads/2015/06/heaven_inlandsevice.jpg http://www.yusen-logistics.com/sites/all/themes/custom/ylk/images/region/eu/rv_eu_top_01.jpg https://traccsolution.com/wp-content/uploads/2014/04/Logistics.jpg http://nebula.wsimg.com/4c97e68f578f7f29b664f5ebfbfa7272?AccessKeyId=47F3CC622C71D51A480F&disposition=0&alloworigin=1 http://news.touzila.com/uploads/allimg/150817/5-150QG41212911.jpg http://lists10.com/wp-content/uploads/2014/06/first-save-then-spend.jpg

VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

47


open house TEXT : อภัสรา วัลลิภผล

เปิดบ้าน TPARK กับ ธุรกิจคลังสินค้ารักษ์โลก

TPARK หรือ บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์ พาร์ค จ�ำกัด ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 ปัจจุบนั มีทนุ จดทะเบียนทัง้ สิน้ 2,500 ล้านบาท เป็นบริษัทในเครือ TICON หรือ บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ผู้ประกอบการให้เช่าโรงงาน ส�ำเร็จรูปรายใหญ่ที่สุดของประเทศ โดยบริษัท TPARK เป็นบริษัทแห่งแรกของไทย ที่ได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ให้ด�ำเนินธุรกิจพัฒนาเขตอุตสาหกรรมโลจิสติกส์อย่างเต็มรูปแบบ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาเขต อุตสาหกรรมโลจิสติกส์ (Logistics Parks) และคลังสินค้าคุณภาพสูงส�ำหรับเช่า ทั้งประเภทคลังสินค้าพร้อมใช้ (Ready Built Warehouses: RBW) เพื่อให้ผู้เช่าด�ำเนินกิจการได้ทันที และคลังสินค้าที่สร้างตามความต้องการที่เฉพาะเจาะจงของ ลูกค้า (Built to Suit: BTS) นอกจากนี้ ภายในโครงการของ TPARK ยังได้ออกแบบและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ตลอดจน โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่จ�ำเป็น ด้วยมาตรฐานระดับสูงเพื่อรองรับความต้องการของผู้ประกอบการด้านโลจิสติกส์ โดยมี “คุณปธาน สมบูรณสิน” กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไทคอน โลจิสติคส์พาร์ค จ�ำกัด หรือ TPARK เป็นหัวเรือหลักในการด�ำเนินธุรกิจนี้

ปัจจุบนั TPARK มีโครงการตัง้ อยูบ่ นท�ำเล ที่เป็นจุดยุทธศาสตร์ในการด�ำเนินงาน ด้านโลจิสติกส์ทงั้ สิน้ 30 แห่งบนทีด่ นิ รวม 5,589 ไร่ ซึ่งในจ�ำนวนนี้แบ่งเป็นพื้นที่ที่ถูกพัฒนาแล้ว ขนาด 1,430 ไร่ หรือคิดเป็น พืน้ ทีค่ ลังสินค้า ที่อยู่ภายใต้การบริหารจัดการ รวมกว่า 1.1 ตารางเมตร และภายในปี 2558 TPARK มีแผน ในการพัฒนาคลังสินค้าทัง้ แบบ Ready Built Warehouses และ Built to Suit เพิ่มอีก

48

E N E R G Y S AV I N G

200,000 ตารางเมตร ซึง่ กลุม่ ลูกค้าของบริษทั เป็นผูด้ ำ� เนินธุรกิจจากหลายอุตสาหกรรม อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้า และอิเล็คทรอนิกส์ ผูป้ ระกอบการด้าน โลจิสติกส์ และผูด้ ำ� เนินธุรกิจประเภทค้าปลีก และสินค้าอุปโภคบริโภค จ�ำนวนกว่า 99 บริษทั TPARK ถือเป็นผูน้ ำ� ในการพัฒนาโครงการ โลจิสติกส์ พาร์ค และ คลังสินค้าคุณภาพสูงเพือ่ ให้ เช่าของประเทศไทย ก�ำหนดมาตรฐานใหม่ใน

วงการคลังสินค้าส�ำเร็จรูปโดยจับมือกับบริษทั Twintec Industrial Flooring ทัง้ ยังเป็นผูน้ ำ� ด้านการก่อสร้างเพื่ออุตสาหกรรมจากสหราช อาณาจักรอังกฤษ น�ำเทคโนโลยีพื้นคอนกรีต เสริมใยเหล็กแบบไร้รอยต่อ หรือ Steel Fibre Reinforced Concrete (SFRC) ชั้นน�ำของ โลกมาใช้ในการก่อสร้างพื้นอาคารคลังสินค้า ในโครงการ TPARK Eastern Seaboard 3 แห่งใหม่ซงึ่ ตัง้ อยูบ่ นท�ำเลยุทธศาสตร์ของธุรกิจ

M AY 2 0 1 6


อุตสาหกรรมแถบอีสเทิรนซีบอร์ดและแวดล้อม ด้วยนิคมอุตสาหกรรมส�ำคัญหลายแห่ง Twintec ใช้เวลาเพียง 4 วันในการท�ำพืน้ โครงการ TPARK Eastern Seaboard 3 ซึง่ มีพนื้ ทีก่ ว่า 7,000 ตารางเมตร น้อยกว่าการ เทพืน้ คอนกรีตทัว่ ไปทีต่ อ้ งใช้เวลาถึง 3 สัปดาห์ ด้วยเทคโนโลยี SFRC ซึง่ เป็นการผสมผสานคอนกรีต และเส้นใยเหล็ก พืน้ ของ Twintec จึงไม่มรี อ่ งไม่ เกิดการแตกร้าวบริเวณรอยต่อ ท�ำให้แข็งแรงกว่า พืน้ คอนกรีต ถึงแม้จะหนาเพียง 160 มิลลิเมตร ซึง่ บางกว่าพืน้ คอนกรีตทัว่ ไป นอกจากนี้ พืน้ ของ Twintec ยังให้ความยืดหยุน่ ในการจัดวางสินค้า มีอายุการใช้งานที่ยาวนานเหมาะส�ำหรับการ รองรับน�้ำหนักสินค้าจ�ำนวนมากในคลังสินค้า และการเคลือ่ นย้าย ในประเทศไทย Twintec ได้รับการยอมรับจากผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีก รายใหญ่ อาทิ เทสโก้ โลตัส ในการก่อสร้างคลัง สินค้าในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ บนพืน้ ทีก่ ว่า 50,000 ตรม. มาแล้ว ความร่วมมือ ครั้ ง นี้ แ สดงถึ ง ความมุ ่ ง มั่ น ของ TPARK ในการยกระดับคลังสินค้าให้ได้มาตรฐานและ ตอบสนองการใช้งานของลูกค้าได้ดเี ยีย่ ม โดยการ แสวงหาผูร้ ว่ มงานและผูร้ บั เหมาทีม่ เี ทคโนโลยี ทันสมัย มีความช�ำนาญเฉพาะด้านมาร่วมเป็น พันธมิตรอย่างต่อเนือ่ ง และเมื่ อ ๆไม่ น านมานี้ บริ ษั ท ลอรี อั ล (ประเทศไทย) จ�ำกัดได้วางใจ TPARK ลงนาม ในสัญญา 10 ปี เช่าพืน้ ทีท่ พี าร์คบางนาเพิม่ เพือ่ ขยายพืน้ ทีศ่ นู ย์กระจายสินค้าแห่งใหม่ รองรับ การเติบโตในฐานะบริษัทความงามที่มีอัตรา

VOLUME 8 ISSUE 90

การเติบโตสูงที่สุดในประเทศไทย บนพื้นที่ 20,736 ตารางเมตร โดยพืน้ ทีแ่ ห่งใหม่นไี้ ด้รบั การก่อสร้างตามมาตรฐาน LEED® การก่อสร้าง ออกแบบระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อมใน อาคาร (LEED - Leadership in Energy and Environmental Design) ขององค์กรผูน้ ำ� ด้าน การก�ำหนดมาตรฐานอาคารสีเขียวในสหรัฐที่ ได้รบั การยอมรับระดับโลก ศูนย์กระจายสินค้า แห่ ง นี้ จ ะกลายเป็ น ศู น ย์ ก ระจายสิ น ค้ า สี เขี ย วแห่ ง แรกของลอรี อั ล ในประเทศไทย ซึ่ ง คุ ณ อู เ มช ฟั ด เค กรรมการผู ้ จั ด การ บริษทั ลอรีอลั (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดเผยว่า “ลอรีอัลในฐานะบริษัทความงามอันดับหนึ่ง ของโลก มุ่งมั่นสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน ควบคูไ่ ปกับการด�ำเนินธุรกิจให้บรรลุเป้าหมาย “Sharing Beauty With All” หรือ การแบ่งปัน ความงดงามให้ทกุ สรรพสิง่ คือ พันธะสัญญาว่า ด้วยความยัง่ ยืนเพือ่ สร้างการเปลีย่ นแปลงให้เกิด ขึน้ ภายในปี 2020 โดย “กระบวนการผลิตและ กระจายสินค้าอย่างยัง่ ยืน” เป็นหนึง่ ในพันธะ สัญญาที่เราต้องการท�ำให้สัมฤทธิ์ผลโดยมุ่งที่ จะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็น การลดการปล่ อ ยก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ ลดการใช้นำ�้ และลดปริมาณของเสียในกระบวนการ ผลิต ให้ได้รอ้ ยละ 60 เมือ่ เปรียบเทียบกับดัชนี ปี 2005 ซึง่ สอดคล้องกับการจับมือกับทีพาร์ค ในครัง้ นี้ เพือ่ สร้างศูนย์กระจายสินค้าทีก่ อ่ สร้าง และออกแบบระบบพลังงานและสิ่งแวดล้อม ในอาคารให้เป็นไปตามลอรีอัลเลือกทีพาร์ค ให้เป็นผู้พัฒนาศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่นี้ เนือ่ งจากเราเชือ่ มัน่ ในความสามารถของทีพาร์ค ในการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ตลอดจน โครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆ ด้วยมาตรฐานระดับสูง ซึ่งตอบโจทย์ความต้องการของผู้ประกอบกา รด้านโลจิสติกส์ได้เป็นอย่างดี พร้อมทั้งยังมี

ศักยภาพในการพัฒนาคลังสินค้าและมีทำ� เลทีต่ งั้ สะดวกต่อการปฎิบตั งิ านและมีพนื้ ทีร่ องรับการ พัฒนาศูนย์กระ ก่อนหน้านี้ ส�ำนักงาน ลอรีอลั ประเทศไทย ทีต่ งั้ อยูช่ นั้ 9 อาคารบางกอกซิตี้ ประหยัดพลังงานตามมาตรฐาน LEED® และ ปัจจุบนั ลอรีอลั ได้รบั รางวัลแห่งทัว่ โลกโดยศูนย์ กระจายสินค้าสีเขียวแห่งใหม่จะเป็นอีกตัวอย่าง ของความมุง่ มัน่ ของเราทีจ่ ะท�ำให้ศนู ย์กระจาย สินค้าแห่ง นี้เ ป็นศูนย์กระจายสิน ค้า สีเขียว แห่งแรกในประเทศไทยเลยทีเดียว ทั้งนี้ถือได้ว่า TPARK เป็นบริษัทที่ได้รับ มาตรฐาน LEED® เป็นแห่งแรกส�ำหรับการสร้าง คลังสินค้าให้เกิดการประหยัดพลังงาน คุณปธาน หวังว่าการท�ำธุรกิจรักษ์โลกนี้จะเป้นส่วนหนึ่ง ในการช่วยให้โลกน่าอยูย่ งิ่ ขึน้ ถึงแม้จะเป็นส่วน เล็ก ๆ แต่กถ็ อื ว่าเป็นจุดเริม่ ต้นทีน่ ี้ ทางทีมงาน Energy saving ต้องขอบขอบคุณ TPARK มาก นะคะ ทีเ่ ปิดบ้านให้เยีย่ มชมพร้อมทัง้ ให้ขอ้ มูล เกีย่ วกับธุรกิจนีค้ ะ่ และถ้าหากท่านผูอ้ า่ นสนใจ อยากจะสอบถามเกีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าวสามารถ ติดต่อได้ที่ 175 อาคารสาธรซิตี้ ทาวเวอร์ ถนน สาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กทม 10120 โทร. 0-2679-6565 หรือเข้าไปดูขอ้ มูลเพิม่ เติม ได้ที่ www.ticonlogistics.com

E N E R G Y S AV I N G

49


Product Review TEXT : Rainbow Ice

ในการพัฒนาแผนกลยุทธ์รกุ ธุรกิจในเวลาต่อมา ส่งผลให้แบรนด์ Karshine ได้รับความไว้วางใจ และเชื่อมั่นจากลูกค้าในระยะยาว ซึ่ ง ล่ า สุ ด ได้ ป ระกาศเดิ ม พั น ครั้ ง ใหม่ กั บ เป้าหมายสุดท้าทายในการปฏิวัติวงการธุรกิจ เพื่อต่อสู้กับปัญหาสภาวะโลกร้อน ฉีกกฎการ อนุรักษ์แบบเดิมด้วยการน�ำนวัตกรรมพัดลม ยักษ์ประหยัดพลังงาน MEGAFAN ที่ผลิตด้วย เทคโนโลยี จ ากประเทศเยอรมนี ม าสู ่ ค นไทย เป็นครั้งแรก โดยมองว่านี่คือเป็นภารกิจส�ำคัญ เพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมและส่งต่ออนาคตและ สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืนแก่คนรุ่นหลัง

MEGAFAN

นวัตกรรมพัดลมยักษ์สู้โลกร้อน คุณกฤษดา ธีรวรชัย ซีอีโอหนุ่มใหญ่ไฟแรง ผู้มองปัญหาโลกร้อนด้วยใจที่อยากจะ เปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้น่าอยู่มากยิ่งขึ้น จากที่เป็นผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จใน การบุกตลาดโลกของผลิตภัณฑ์ดูแลบ�ำรุงรักษารถยนต์แบรนด์ไทยที่เราคุ้นหูกันดีอย่าง “Karshine” (คาร์ชายน์) ที่เริ่มต้นจากศูนย์ ก่อนจะก้าวเป็นผู้น�ำในตลาด ด้วยวัยเพียง 20 ปีกว่า ๆ ล่าสุดพร้อมสะเทือนวงการธุรกิจด้วยนวัตกรรมพัดลมยักษ์รักษ์โลกครั้ง แรกในประเทศ ด้วยวิสัยทัศน์ที่ต้องการพลิกโฉมหน้าการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ในเมืองไทย

กว่ า จะมาเป็ น เมก้ า แฟนในทุ ก วั น นี้ เส้ น ทางการปฏิ วั ติ ว งการธุ ร กิ จ ด้ ว ย นวัตกรรมสีเขียวของกฤษดา ธีรวรชัย เรียกได้วา่ ไม่ธรรมดา หลังจบปริญญาตรีดา้ นการตลาดจาก สหรัฐฯ และกลับมาสัง่ สมประสบการณ์กบั ศูนย์ พ่นกันสนิมรถยนต์ “คาดูแลค” ซึ่งเป็นธุรกิจ ของครอบครัว กฤษดาในวัยเพียง 20 ปีต้นๆ ก็ตัดสินใจก้าวลงสู่สนามธุรกิจด้วยตัวเองเป็น ครั้งแรก โดยเริ่มจากศูนย์เพราะมองเห็นโอกาส ต่อยอดธุรกิจด้วยการสร้างแบรนด์ “Karshine” เพื่ อ ผลิ ต และจ� ำ หน่ า ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ บ� ำ รุ ง รั ก ษา รถยนต์อย่างเต็มตัว เน้นเจาะกลุ่มลูกค้าทั่วไป และศู น ย์ บ ริ ก ารคาร์ แ คร์ ทั่ ว ประเทศและ ก้าวเป็นผูเ้ ล่นระดับแถวหน้าในตลาดตลอดระยะ เวลากว่า 20 ปีที่ผ่านมา 50

E N E R G Y S AV I N G

เหตุ ก ารณ์ ไ ฟไหม้ โ รงงานวอดทั้ ง หลั ง ธุรกิจเกือบล้มละลายต้องหยุดชะงักไปเกือบ 100% ท�ำให้กฤษดาเข้าใจสัจธรรมสูงสุดคืนสู่สามัญ อย่างแท้จริง แต่ด้วยหัวใจที่ไม่เคยมีข้อแม้และ หลักการท�ำธุรกิจที่มองว่าพนักงานทุกคนเป็น เหมือนคนในครอบครัว กฤษดาจึงไม่เคยคิด ตัดเงินเดือนหรือเลย์ออฟพนักงานเป็นการแก้ ปั ญ หา ในที่ สุ ด ด้ ว ยความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของ บรรดาซัพพลายเออร์และพนักงานทุกคน ท�ำให้ Karshine สามารถพลิกฟื้นกลับมาได้ภายใน เวลาเพียง 1 เดือน “ขยัน ซื่อสัตย์ เรียบง่าย” คือ กุญแจส�ำคัญ 3 ค�ำทีก่ ฤษดายึดถือเป็นหลักในการท�ำธุรกิจมา ตลอด ซึง่ ได้แรงบันดาลใจมาจาก ดร.เทียม โชควัฒนา แห่งเครือสหพัฒน์ และกลายเป็นกุญแจส�ำคัญ

ทัง้ ยังสร้างความแตกต่างในแบรนด์ ด้วยหลักการ มอบสิ่งที่ดีที่สุดให้ลูกค้า Highest Quality for the Right Value เมก้าแฟนจึงไม่ใช่แค่ พั ด ลมที่ มี ข นาดใหญ่ พิ เ ศษทั่ ว ไป มอเตอร์ เกียร์ ใบพัด และส่วนประกอบทุกชิ้นได้รับการ ออกแบบและผลิตด้วยความใส่ใจโดยค�ำนึงถึง ความปลอดภัยสูงสุดในการใช้งาน ให้กระแส ลมกว้างเบาสบายเสมือนลมธรรมชาติ สร้าง บรรยากาศผ่อนคลาย ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ การท�ำงาน และประหยัดงานพลังงาน กินไฟ เพียง 3 – 5 บาทต่อชั่วโมง ท�ำให้ในปัจจุบันมี ธุรกิจมากมายทีใ่ ห้ความไว้วางใจเมก้าแฟน อาทิ ศรีไทยซุปเปอร์แวร์ เอสบี เฟอร์นิเจอร์ ปตท. เดอะซีน ทาวน์ อิน ทาวน์ สุดท้าย คุณกฤษดา เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่ง ว่านวัตกรรมรักษ์โลกล่าสุดนีจ้ ะมีบทบาทส�ำคัญ ต่ อ การพลิ ก โฉมหน้ า การท� ำ ธุ ร กิ จ อย่ า งเป็ น มิตรต่อสิง่ แวดล้อมในอนาคต ซึง่ ไม่เพียงช่วยเพิม่ ยอดขายให้ผปู้ ระกอบการไทยได้ แต่ยงั ช่วยปลุก กระแสให้คนไทยหันมาตื่นตัวกับปัญหาภาวะ โลกร้อนยิ่งขึ้นอีกด้วย M AY 2 0 1 6


Product Showcase industrial TEXT : Rainbow Ice

โรโบเทค มินิซีเอ็นซี

ROBOTECH MINI CNC

เครื่องแกะสลักน้องใหม่จากค่าย ROBOTECH เปิดตลาด ครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปี 2012 แต่ผลิตขายทั่วโลกแล้ว กว่า 8 ปี โครงสร้างท�ำจากอลูมิเนียมอัลลอย (ALUMINIUM ALLOY) เกรดพิเศษจากต่างประเทศ แข็งแรง ทนทาน สวยงาม ดูบึกบึนเป็นพิเศษ ขนาดพื้นที่โต๊ะ 525 x 320 mm พื้นที่สลัก 390x280x55mm ขับเคลื่อนโดยใช้ STEP MOTOR คุณภาพดี (ของใหม่ทั้งหมด) ระบบยึดแกนเลือกใช้ Coupling แบบสปริง ของใหม่ ของแท้ จากต่างประเทศ ท�ำให้คุณภาพการหมุนของ Steping motor ไม่มีปัญหา เพราะมีการให้ตัวได้สูงซึ่งโดยปกติ มินซิ เี อ็นซี(MINI CNC) จะไม่เลือกใช้ เพราะราคาสูง ช่วยประหยัด พลังงานอีกด้วย

เอปสัน

เปิดตัว Epson ColorWorksTM C7510G

เครื่องพิมพ์ฉลากสีส�ำหรับงานอุตสาหกรรมรุ่นแรกที่มาพร้อมเทคโนโลยี PrecisionCore ของเอปสัน ซึง่ ถือเป็นนวัตกรรมทีพ่ ลิกโฉมวงการเครือ่ งพิมพ์ฉลาก Epson ColorWorksTM C7510G สามารถพิ ม พ์ ง านที่ มี ค วามแม่ น ย� ำ มีประสิทธิภาพ และสีสนั โดดเด่น ด้วยความละเอียด 600x1200 dpi และสามารถ พิมพ์ฉลากได้อย่างรวดเร็วด้วยความเร็วในการพิมพ์ที่เร็วถึง 300 มม.ต่อวินาที จึงเป็นเครือ่ งพิมพ์ฉลากสีทที่ ำ� งานได้เร็วทีส่ ดุ ในบรรดาผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน และ Epson ColorWorksTM C7510G สามารถพิมพ์ลงวัสดุที่หลากหลาย และ เปลี่ยนแบบฉลากได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน โดยที่ตัวเครื่องสามารถช่วย ลดความผิดพลาดในการสร้างชิน้ งานและค่าใช้จา่ ยในการพิมพ์ นอกจากนี้ Epson ColorWorksTM C7510G ยังเป็นเครื่องพิมพ์ประหยัดหมึก เพราะได้รับการ ออกแบบให้ง่ายต่อการเปลี่ยนตลับหมึกทั้ง 4 สี ช่วยให้ผู้ใช้งานไม่สูญเสียหมึกสี ที่ยังไม่หมดไปโดยเปล่าประโยชน์อีกด้วย VOLUME 8 ISSUE 90

EXTUBA TURBO TUBE ท่อเพิ่มสมรรถนะการถ่ายเทความร้อน เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ TGpro ภูมิใจน�ำเสนอ เพราะนอกจาก จะช่ ว ยประหยั ด พลั ง งานให้ โ ลกแล้ ว ยั ง ช่ ว ยให้ คุ ณ ประหยั ด ค่าใช้จ่าย แถมเพิ่มผลผลิตในอุตสาหกรรมด้วย นอกเหนือจาก การร่ ว มมื อ กั บ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี วิจัยเพื่อผลิต ผลิตภัณฑ์ใหม่แล้ว นอกจากนี้ยังได้ท�ำการทดลองใช้ จริง เพื่อยืนยันผลการวิจัยอีกครั้ง โดยได้ร่วมกับ ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมน�้ำตาล น�ำท่อ EXTUBA ไปใช้ในการผลิตน�้ำตาล ผลปรากฎว่า สามารถช่วยประหยัดพลังงาน และเพิ่มผลผลิตได้ จริงอย่างที่วิจัยไว้ด้วย E N E R G Y S AV I N G

51


เครื่องระบายความร้อนคุณภาพสูง คูลลิ่งทาวเวอร์เป็นเครื่องที่ช่วยหล่อเย็นและระบายความร้อน หรือเป็นงาน ปรับอากาศขนาดใหญ่แบบรวมศูนย์ จึงเป็นเครื่องที่ส�ำคัญมากหรือเป็นหัวใจ หลักของระบบ หลักการท�ำงานของคูลลิง่ ทาวเวอร์นมี้ ปี จั จัยหลายอย่างทีช่ ว่ ยเพิม่ การระบายความร้อนของน�้ำอุณหภูมิสูงได้ เพิ่มการแตกตัวของละอองน�้ำท�ำให้ พื้นที่ผิวของละอองน�้ำในการถ่ายเทความร้อนเพิ่มมากขึ้น เพิ่มพื้นที่แผงกระจาย ละอองน�้ำเพื่อท�ำให้น�้ำมีโอกาสสัมผัสกับอากาศมากขึ้น และเพิ่มปริมาณอากาศ เพื่อเพิ่มอัตราการถ่ายเทความร้อน

ถังบ�ำบัดน�้ำเสีย ไฟเบอร์กลาส(ทรงกลม) บริษทั เอส.เจ.เวิรค์ มาเก็ตติง้ โปรดักส์ จ�ำกัด เป็นผูผ้ ลิตและจ�ำหน่าย ถังบ�ำบัดน�้ำเสียที่ท�ำจากวัสดุไฟเบอร์กลาส ภายใต้แบรนด์ SJ คุณสมบัติของถังบ�ำบัดน�้ำเสียไฟเบอร์กลาส ตัวถังผลิตจากไฟ เบอร์กลาสเสริมแรง มาตรฐานวัสดุ มอก. 435-2548 จึงแข็งแรง มีอายุการใช้งานนาน 20 ปี ติดตั้งสะดวกรวดเร็ว ติดตั้งได้ทุกพื้นที่ ที่เหมาะสมหมดปัญหาเรื่องส้วมเต็มและส่งกลิ่นเหม็น ประหยัด ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ผนังมีความหนาพิเศษ 4-6 มิล แข็งแรง ทนทานพร้อมอุปกรณ์ ฝาปิดABS พร้อมแหวนรอง หรือเหล็กหล่อ ข้อต่ออ่อนพร้อมสายรัด หัวเชื้อ มีเดียตัวกรอง เพิ่มประสิทธิภาพ ในการบ�ำบัดสูง

Kikawa ปั๊มน�้ำรุ่นอินเวอร์เตอร์ ช่วยประหยัดไฟ ซีอาร์ กรุป๊ ผูน้ ำ� เข้าและจัดจ�ำหน่ายอุปกรณ์เครือ่ งมืออุตสาหกรรมและครัวเรือน รายใหญ่ของเมืองไทย ขอแนะน�ำปั๊มน�้ำคุณภาพ Kikawa รุ่นอินเวอร์เตอร์ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษของระบบอินเวอร์เตอร์ชว่ ยควบคุมแรงดันน�ำ้ ให้คงที่ การออกตัว และหยุดท�ำงานของปัม๊ น�ำ้ นิม่ ไร้เสียงรบกวนขณะปัม๊ ท�ำงาน สามารถตัง้ โปรแกรม ป้องกันมอเตอร์ทำ� งานเกินก�ำลังจึงช่วยประหยัดไฟ และป้องกันปัม๊ น�ำ้ เสียหายจาก น�้ำแห้ง เหมาะส�ำหรับบ้านพักอาศัยทั่วไป อพาร์ทเมนท์ ร้านเสริมสวย โรงแรม และสปา มีให้เลือก 3 รุ่น คือ KQ200IC/ KQ400IC/ KQ800IC (SIC) 52

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6



INTERVIEW TEXT: อภัสรา วัลลิภผล

ซีรุกเธุมนส์ รกิจพลังงาน ด้วยเทคโนโลยีที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ซีเมนส์ ประเทศไทยได้ยึดมั่นในด้านความ เป็นเลิศทางวิศวกรรมและนวัตกรรม คุณภาพและความน่าเชื่อถือ รวมไปถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นแรงขับเคลื่อนสู่อนาคต ทั้งยังถือเป็นผู้น�ำด้านโซลูชั่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและภูมิใจที่ สามารถส่งมอบผลลัพธ์ที่ยั่งยืนถาวรและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ให้ แ ก่ พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ และสิ่ ง นี้ เ องที่ ท� ำ ให้ ซี เ มนส์ ไ ด้ รั บ การ ยอมรั บ จากการจั ด อั น ดั บ ความยั่ ง ยื น ทางธุ ร กิ จ ของดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Index) โดยได้รับการจัดอันดับให้เป็น บริษัทที่มีความยั่งยืนที่สุดในโลกในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมเป็นระยะ เวลา 7 ปีติดต่อกัน

นวัตกรรมของซีเมนส์มีบทบาทส�ำคัญในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ให้กับประชาชนทั่วไปมานานกว่าศตวรรษ แน่นอนคนไทยทุกคนล้วน ได้สมั ผัสและเกีย่ วข้องกับผลิตภัณฑ์และโซลูชนั่ จากซีเมนส์ ถึงจะไม่ชดั เจนเท่า ไหร่นักแต่ซีเมนส์ได้สอดแทรกอยู่ในเทคโนโลยีหลาย ๆ ด้านของประเทศไทย ตั้งแต่ระบบขนส่งโดยสารมวลชน ไม่ว่าจะเป็นรถไฟฟ้า รถไฟใต้ดิน รถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน (Airport Rail Link) จนถึงแหล่งผลิตพลังงานไฟฟ้าทดแทน เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานลมภาคพืน้ ดินทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียกได้ว่าเทคโนโลยีของซีเมนส์สามารถสร้างประโยชน์และยกระดับคุณภาพ ชีวติ ของประชาชนในประเทศไทยได้ทงั้ สิน้ มร. มาร์คสุ ลอเรนซินี่ ประธาน และหัวหน้าฝ่ายบริหาร บริษทั ซีเมนส์ จ�ำกัด ประเทศไทย กล่าวว่า ด้วยจุดยืนของเราทีด่ ำ� เนินไปพร้อม ๆ กับห่วงโซ่ คุณค่าทางวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrification Value Chain) เราจึงมีความรู้ ความช�ำนาญ ตัง้ แต่กระบวนการผลิต การส่ง การแจกจ่ายพลังงานไฟฟ้า และ โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) ไปจนถึงการใช้พลังงานไฟฟ้าให้มี ประสิทธิภาพทีส่ ดุ นอกจากนีจ้ ดุ แข็งทีโ่ ดดเด่นของซีเมนส์ดา้ นเทคโนโลยีระบบ อัตโนมัตยิ งั ท�ำให้เราพร้อมก้าวสูอ่ นาคตแห่งยุคดิจติ ลั นอกจากนีเ้ รายังมุง่ มัน่ ใน การท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับพันธมิตรทางธุรกิจของเราเพื่อที่จะผลักดันขอบเขต ของอนาคตให้ไปได้มากกว่าการสร้างนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ และมี จุดมุง่ หมายในการสร้างสังคมทีย่ ง่ั ยืนและน่าอยูเ่ พือ่ เปลีย่ นแปลงและจุดประกาย ชนรุน่ หลังต่อ ๆ ไป 54

E N E R G Y S AV I N G

มร. มาร์คุส ลอเรนซินี่ ประธาน และหัวหน้าฝ่ายบริหาร บริษัท ซีเมนส์ จ�ำกัด ประเทศไทย

M AY 2 0 1 6


ซีเมนส์ เป็นองค์กรที่มีโซลูชั่นด้านการผลิต กระแสไฟฟ้าระดับสากลที่ใช้ความช�ำนาญทาง วิศวกรรมไฟฟ้าในการคิดค้นผลิตภัณฑ์ ระบบ และโซลูชนั่ ต่าง ๆ เพือ่ ให้เป็นไปตามกระบวนการ ทางห่วงโซ่คุณค่าของงานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า นับตั้งแต่การผลิตกระแสไฟฟ้าไปจนถึงการส่ง การจ่ายพลังงานไฟฟ้า และการสร้างโครงข่าย ไฟฟ้าอัจฉริยะโดยค�ำนึงถึงการใช้พลังงานไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นผู้น�ำตลาดโลกในการ ใช้เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ (automation) อีกทั้งยังมีความพร้อมที่จะช่วยสนับสนุนลูกค้า ของเราให้รับมือและก้าวทันไปกับโลกดิจิตัล ซีเมนส์ได้ยืนหยัดในการสร้างความเป็นเลิศทาง วิศวกรรมและนวัตกรรมใหม่ ๆ มาเป็นระยะเวลา นานกว่า 165 ปี ทัง้ นีเ้ พือ่ สร้างคุณภาพและความไว้ วางใจ เป็นแรงผลักดันให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ ทางมนุ ษ ยชน เป็ น การผนึ ก ความความมัน่ คง และความเข้มแข็งทางการเงิน และท้ายทีส่ ดุ แล้ว เพือ่ เป็นการด�ำรงความเป็นพลเมืองทีด่ ที างสังคม ต่อไป ในด้านของพลังงาน ซีเมนส์ชว่ ยสร้างพลังงาน แก่โลกด้วยการจัดหาโซลูชั่นเพื่อการผลิตอย่าง ยัง่ ยืน รวมถึงโซลูชนั่ ในการจ่ายพลังงานไฟฟ้าที่ ไว้วางใจได้โดยให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุดและ ให้เกิดการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้าน พลังงานไฟฟ้าและก๊าซ เป็นพันธมิตรทีไ่ ว้วางใจ ได้ส�ำหรับตลาดน�้ำมันและก๊าซ รวมถึงตลาด ด้านพลังงานไฟฟ้าและอุตสาหกรรม ซีเมนส์ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์และโซลูชั่นต่าง ๆ เพื่อการ ผลิตพลังงานไฟฟ้า ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและ ประหยัดทรัพยากรด้วยการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล และ/หรือเชือ้ เพลิงทดแทนเพือ่ การผลิตพลังงาน อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ อี ก ทั้ ง ยั ง จั ด การเรื่ อ ง ขนส่ ง น�้ ำ มั น และก๊ า ซได้ อ ย่ า งเป็ น ที่ ไว้ ว างใจ โดยลูกค้าของเราเป็นทั้งหน่วยงานที่ให้บริการ ด้านสาธารณูปโภค ผู้ผลิตไฟฟ้าอิสระ รวมถึง บริ ษั ท ด้ า นวิ ศ วกรรมที่ อ อกแบบ-จั ด หาและ ก่อสร้าง (EPC) รวมถึง องค์กรธุรกิจในภาค อุตสาหกรรมน�ำ้ มันและก๊าซ เป็นต้น ด้าน พลังงานลมและพลังงานทดแทน – ผูน้ ำ� VOLUME 8 ISSUE 90

ในตลาดโลกด้านโรงไฟฟ้าพลังงานลมภาคพืน้ ดิน ซีเมนส์เป็นผูผ้ ลิตชัน้ น�ำในด้านพลังงานทดแทนที่ เชือ่ ถือได้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และราคาคุม้ ค่า กับประสิทธิภาพที่ได้รับ โดยมีเป้าหมายส�ำคัญ ในการลดต้นทุนการผลิตไฟฟ้าพลังงานลมซึ่ง เป็น พลังงานทดแทนให้สามารถแข่งขันกับแหล่ง พลังงานแบบดั้งเดิมได้อย่างเต็มที่ และเพื่อการ บริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด อันเป็นปัจจัยหลักในอุตสาหกรรมนี้ เราได้บริหาร จัดการขั้นตอนการผลิตและระบบการขนส่ง อย่างดีที่สุดด้วยการใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ส�ำหรับโรงงานไฟฟ้า โดยเรามีความพยายามทีจ่ ะ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการให้เหมาะกับสภาพ แวดล้อมในแต่ละภูมภิ าคเพือ่ สนองตอบทุกความ ต้องการของลูกค้าให้ได้มากทีส่ ดุ ผลงานทีถ่ อื ว่าเป็นความส�ำเร็จและเป็นความ ภาคภูมใิ จของซีเมนส์ คือ โรงไฟฟ้าพลังงานความ ร้อนร่วมเปี่ยมประสิทธิภาพ 2 แห่ง ฝ่ายธุรกิจ พลังงานไฟฟ้าและก๊าซของซีเมนส์และบริษัท มารูเบนิ ซึ่งเป็นพันธมิตรการค้าสัญชาติญี่ปุ่น ได้ รั บ ค� ำ สั่ ง ซื้ อ จากการไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทยส�ำหรับการสร้างโรงไฟฟ้าความ ร้อนร่วม 2 แห่งในรูปแบบออกแบบ-จัดหาและ ก่อสร้าง (EPC) คือ โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ 2 ใน จ.สงขลา ซึ่งเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ร่วมแบบเพลาเดี่ยว (single-shaft) ที่มีก�ำลัง การผลิตราว 800 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้า วังน้อย ชุดที่ 4 ใน จ. พระนครศรีอยุธยา ซึง่ เป็น โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วมแบบเพลาผสม (multi-shaft) มีก�ำลังการผลิตประมาณ 800 เมกะวัตต์ โดยโรงงานทัง้ สองแห่งใช้กงั หันก๊าซรุน่ SCC5-4000F ที่มีประสิทธิภาพสูงของซีเมนส์ นอกจากนี้ ซีเมนส์ยงั ได้รบั สัญญางานซ่อมบ�ำรุง ระยะยาวส�ำหรับโรงไฟฟ้าทัง้ สองแห่ง ซึง่ กล่าวได้ ว่าซีเมนส์เป็นผูน้ ำ� ด้านเทคโนโลยีของกลุม่ กิจการ ร่วมทุนในสองโครงการดังกล่าว ทัง้ นี้ โรงไฟฟ้า จะนะ ชุดที่ 2 สร้างขึน้ เพือ่ เป็นส่วนขยายจากโรง ไฟฟ้าจะนะ ชุดที1่ ในขณะทีโ่ รงไฟฟ้าวังน้อย ชุด ที่ 4 เป็นส่วนขยายจากโรงไฟฟ้าวังน้อย ชุดที่ 1-3 นอกจากนี้ ซีเมนส์ยงั ได้เป็นผูจ้ ดั หาระบบควบคุม

ซีเมนส์ช่วยสร้างพลังงาน แก่โลกด้วยการจัดหาโซลูชั่น เพื่อการผลิตอย่างยั่งยืน รวมถึงโซลูชั่นในการ จ่ายพลังงานไฟฟ้าที่ไว้วางใจได้ โดยให้เกิดการสูญเสียน้อยที่สุด และให้เกิดการใช้งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ด้านพลังงานไฟฟ้าและก๊าซ เป็นพันธมิตรที่ไว้วางใจได้ ส�ำหรับตลาดน�้ำมันและก๊าซ รวมถึงตลาดด้านพลังงานไฟฟ้า และอุตสาหกรรม

โรงไฟฟ้าอัตโนมัติ (SPPA-T3000) และระบบ ส�ำรองต่าง ๆ ให้กบั โรงไฟฟ้าแห่งนี้ โรงไฟฟ้าทัง้ สองนี้ ถือเป็นการความส�ำเร็จอีกครั้งของความ ร่วมมือและความมุง่ มัน่ ร่วมกันระหว่างการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยกับกลุ่มบริษัทกิจการ ร่วมทุน และนับเป็นอีกหนึง่ เหตุการณ์สำ� คัญของ การเป็นพันธมิตรกับซีเมนส์ ด้าน พลังงานสะอาดจากลม ซีเมนส์เป็น ผูจ้ ดั หากังหันลม รุน่ SWT-2.3-101 จ�ำนวน 90 ตัว พร้ อ มด้ ว ยสั ญ ญาการให้ บ ริ ก ารระยะยาว ส�ำหรับโรงไฟ้ฟา้ พลังงานลมโคราช 1 และ 2 ที่ อ.ด่านขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ซึ่งมีก�ำลัง การผลิตทัง้ สิน้ 207 เมกะวัตต์ ถือเป็นโรงไฟฟ้า พลังงานลมแห่งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้โดยเป็นโครงการที่มียอดสั่งซื้อสูงสุดใน ภูมภิ าคของซีเมนส์จนถึงขณะนี้ โครงการทุง่ กังหัน ลมโคราช 1 นัน้ สร้างโดยบริษทั เค อาร์ ทู จ�ำกัด ในขณะทีโ่ ครงการทุง่ กังหันลมโคราช 2 ด�ำเนิน การโดยบริษทั เฟิรส์ โคราช วินด์ จ�ำกัด ซึง่ ทัง้ สองบริษัทเป็นบริษัทในเครือของบริษัท วินด์ เอนเนอร์ยี่ โฮลดิง้ จ�ำกัด โดยซีเมนส์รบั ผิดชอบ ครอบคลุมตั้งแต่การจัดหากังหันลม การติดตั้ง รวมถึงการควบคุมดูแลและทดสอบระบบการ ท�ำงานของกังหันลม ทัง้ นี้ ซีเมนส์ถอื ว่าเป็นบริษทั ทีม่ คี วามตัง้ ใจที่ อยากเป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยลดการใช้พลังงาน เลยพยายามคิดค้นหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาช่วย โลกให้นา่ อยูย่ งิ่ ขึน้ ถึงแม้จะเป็นเพียงแค่สว่ นเล็ก ๆ แต่ซเี มนส์กไ็ ม่เคยหยุดพัฒนาเลยไม่แต่นอ้ ย E N E R G Y S AV I N G

55


Green Logistics TEXT : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ประชุมอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพ สร้างประสิทธิผล

ฝ่ า ยจั ด ซื้ อ มั ก จะมี ก ารประชุ ม ร่ ว มกั บ แผนก/ฝ่ า ยอื่ น ๆ และกั บ ซั พพลายเออร์ อยู่เป็นประจ�ำ โดยวันหนึ่ง ๆ เวลาจะหมดไปกับ การ ประชุมอยู่ไม่น้อย ดังนั้นหากบริหารเวลาไม่ดีจะท�ำให้ต้องอยู่กับการ ประชุ ม ที่ ไ ร้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพและไร้ ผ ลงานตลอดทั้ ง วั น ซึ่ ง การประชุ ม วั น ละหลายชั่ ว โมงต่ อ สั ป ดาห์ นั้ น มั ก ท� ำ ให้ บ างคนเก็ บ งานไว้ ท� ำ ตอนหลังเลิกงาน หอบกลับไปท�ำที่บ้าน หรือบางคนหอบเข้าไปท�ำใน ห้ อ งประชุ ม 56

E N E R G Y S AV I N G

ส� ำ หรั บ เสี ย งสะท้ อ นของคนท� ำ งานต่ อ การ ประชุมที่ไร้ประสิทธิภาพ โดยบางคนก็บอกว่า เป็นการอูง้ านทีด่ ที สี่ ดุ โดยท�ำให้เวลาหมดไปดูเหมือน ตนเองมีคุณค่าในงาน ประชุมจนไม่มีเวลาท�ำงาน ประจ�ำ เดินสายประชุมทั้งวัน เรื่องเพียงเล็กน้อย สามารถคิดและตัดสินใจได้เลยมากกว่าต้องเรียกเข้า ประชุม บ่อยครัง้ ทีท่ งั้ ลูกค้าและซัพพลายเออร์จะต้อง มานั่งรอติดต่อกับบุคลากรที่ก�ำลังติดประชุม เป็นต้น ซึ่งจะเห็นได้ว่า บริษัทสูญเสียเวลามหาศาลไปในการ M AY 2 0 1 6


การประชุมมักเป็นการระดมความคิดเห็น น�ำปัญหามาหาทางแก้ไข วางแผนการตัดสินใจ และการมอบหมายงานให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง หากมีการจัดการประชุมอย่างมีประสิทธิภาพ จะก่อให้เกิดประสิทธิผลของงาน และยังก่อให้เกิด การประหยัดทรัพยากรต่าง ๆ ภายในองค์กรด้วย

ประชุมของบุคลากร ดังนัน้ เมือ่ การประชุมเป็น สิ่งส�ำคัญและเป็นความจ�ำเป็นในการท�ำงาน จึ ง ต้ อ งมี การก� ำ หนดแนวทางในการปฏิ บั ติ ที่จะท�ำให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการประชุมให้ เกิดประสิทธิภาพ หากน�ำแนวคิดการจัดการ โลจิ ส ติ ก ส์ ม าผนวกใช้ ใ นการประชุ ม ก็ จ ะ สามารถท� ำ ให้ ก ารประชุ ม ที่ กิ น เวลานาน จบลงด้ ว ยเวลาที่ เ หมาะสม และก่ อ ให้ เ กิ ด ประสิทธิภาพในการท�ำงาน ส่วนเทคนิคในการประชุมที่จะท�ำให้เกิด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ซึ่ ง จะไม่ ส ่ ง ผลกระทบต่อการท�ำงานและผลประกอบการ ของบริษทั รวมถึงท�ำให้ซพั พลายเออร์เกิดความ พึงพอใจในการท�ำงานร่วมกัน มีดังนี้ 1. ก�ำหนดเป้าหมายของการประชุมให้ ชัดเจนว่า มติหรือผลลัพธ์ของการประชุมกัน ในวันนี้ต้องการอะไร จะต้องการแก้ไขปัญหา ขอให้ ทุ ก คนช่ ว ยออกความคิ ด เห็ น หรื อ ต้ อ งการขอข้ อ มู ล จากแผนก/ฝ่ า ยอื่ น ๆ ประกอบการตั ด สิ น ใจ เช่ น การส่ ง มอบ สินค้าที่มีปัญหา วัตถุดิบขาดแคลน เป็นต้น 2. เชิญประชุมเฉพาะผูท้ เี่ กีย่ วข้อง บ่อยครัง้ ที่ มี ก ารประชุ ม จะต้ อ งเรี ย กทุ ก แผนก/ฝ่ า ย ทัง้ หมดเข้าร่วมประชุม ท�ำให้เกิดความสูญเสีย และเกิดความหงุดหงิดกับฝ่ายที่ไม่เกี่ยวข้อง ดังนั้นเมื่อมีการเชิญประชุมจะต้องทบทวนว่า เรื่องดังกล่าวนี้ฝ่ายใดที่เกี่ยวข้องบ้าง จึงจะ ด�ำเนินการเชิญประชุม

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์

3. น�ำเอกสารไปให้กบั ผูท้ เี่ กีย่ วข้องไปศึกษา ก่อนเข้าร่วมประชุม ซึง่ เมือ่ ถึงเวลาประชุมก็จะ สามารถจบได้ภายในเวลาทีก่ ำ� หนด/เหมาะสม โดยทุ ก คนที่ จ ะเข้ า ร่ ว มประชุ ม ต้ อ งเตรี ย ม ข้ อ มู ล ล่ ว งหน้ า ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ก ารประชุ ม เกิดประสิทธิภาพ ใช้เวลาได้น้อย และเกิด ประโยชน์กับทุกฝ่าย 4. ก่อนเริ่มเข้าสู่การประชุมจะต้องมีการ แจ้ ง ก� ำ หนดการ หั ว ข้ อ เวลาการประชุ ม และกฎกติกาให้ชัดเจน โดยปกติจะใช้เอกสาร ก�ำหนดวาระการประชุม (Agenda) เพื่อให้ ทุกคนเข้าใจและเกิดความร่วมมือ ตั้งแต่เริ่ม ประชุม รวมทั้งเห็นแนวทางการประชุมอย่าง ชัดเจน บางแห่งก�ำหนดให้แต่ละแผนก/ฝ่าย น�ำเสนอภายใน 10-15 นาที เป็นการป้องกัน การรายงานที่ เ ลื่ อ นลอย และไม่ ส ามารถ หาข้อสรุปได้ 5. การตรงต่อเวลาของผู้เข้าร่วมประชุม เมือ่ ทุกคนตรงต่อเวลาจะท�ำให้การเริม่ และจบ ในการประชุมครั้งนั้น สามารถก�ำหนดเวลา เสร็จสิ้นได้ อย่างไรก็ดี ประธานในที่ประชุม จะต้องมีทักษะที่ดีในการด�ำเนินการประชุม ไม่วา่ จะเริม่ ประชุม ตัดบท เร่งให้สรุป จนกระทัง่ เมือ่ เสร็จสิน้ การประชุมจะต้องมีการสรุปประเด็น และเน้นย�ำ้ ให้ชดั เจนว่าใครเป็นผูร้ บั ไปด�ำเนินการ รวมถึงก�ำหนดระยะเวลาการด�ำเนินการ 6. การน�ำเสนอรายงานการประชุมฉบับย่อ เมือ่ เสร็จสิน้ การประชุม โดยใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย

https://digitalmarketing.blob.core.windows.net/7082/files/shutterstock_16520041.jpg http://back-2-front.co.uk/wp-content/uploads/2015/08/Team-Meeting.jpg https://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&ved=0ahUKEwjUmJHQwP7LAhVDkY4KHS0rBEcQjBwIBA&url=ht tp%3A%2F%2Fiamdfish.com%2Fwp-content%2Fuploads%2F2014%2F09%2FHappy-Business-Meeting.jpg&psig=AFQjCNFDUiMTo0mHitenXbl Zf6Vuxu1CJA&ust=1460186155364169

VOLUME 8 ISSUE 90

เช่ น การน� ำ กระดานอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ คอมพิ ว เตอร์ ขึ้ น จอภายในห้ อ งประชุ ม เพือ่ ท�ำให้ทกุ คนได้เห็นพ้องต้องกันทันที อีกทัง้ จะ ท�ำให้ทุกคนสามารถน�ำข้อมูลจากการประชุม ไปด�ำเนินการต่อภายหลังจากออกนอกห้อง ประชุมได้ 7. ติ ด ตามผลการด� ำ เนิ น การประชุ ม สม�่ ำ เสมอ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ค วรท� ำ มากที่ สุ ด แต่ส่วนใหญ่เมื่อจบการประชุมแล้ว มักจบกัน ไม่ได้มีการติดตามความคืบหน้าของงานเลย ดังนั้นเพื่อป้องกันปัญหาความล่าช้าต่อการ ด�ำเนินงาน จึงควรมีแนวทางในการติดตามผล ภายหลังจากการประชุมสม�ำ่ เสมอ โดยอาจจะ มีการติดตามทุก ๆ เดือนก็ได้ อย่างไรก็ดี การประชุมนับว่าเป็นกิจกรรม หนึ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น ประจ� ำ กั บ ทุ ก บริ ษั ท ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจประเภทใดก็ตาม ส่วนใหญ่ ในการประชุมมักเป็นการระดมความคิดเห็น น�ำปัญหามาหาทางแก้ไข การวางแผนการ ตัดสินใจ การมอบหมายงานให้กบั ผูท้ เี่ กีย่ วข้อง เป็นต้น หากมีการจัดการการประชุมอย่างมี ประสิทธิภาพจะก่อให้เกิดประสิทธิผลของงาน แล้ว ยังก่อให้เกิดการประหยัดทรัพยากรต่าง ๆ ภายในองค์กรอีกด้วย E N E R G Y S AV I N G

57


renergy TEXT : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์ กลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ยานยนต์ไฟฟ้า-ไฮโดรเจน VS เอทานอล-ไบโอดีเซล ฤๅว่ายุคน�้ำมันก�ำลังจะผ่านไป ทั้ง ๆ ที่น�้ำมันยังมีเหลือใช้ เหมือนกับ ยุคหินที่ผ่านไป แต่เราก็ยังมีหินไว้ใช้อย่างมากพอถึงปัจจุบัน! วันนี้ เรามี Internet of Things ระบบไอทีอัศจรรย์ อาจท�ำงานแทนมนุษย์ได้ ช่วยคิด ช่วยสั่งการ...ขาดก็แต่หัวใจความเป็นมนุษย์...คุณอนันต์โทษมหันต์ รถยนต์หรือยานยนต์ไฟฟ้าและรถพลังไฮโดรเจนแทนที่ น�้ำมันก�ำลังจะเข้ามาแทนที่เชื้อเพลิงฟอสซิลและก๊าซธรรมชาติ จนส่ง ผลกระทบต่อเชื้อเพลิงชีวภาพ เชื้อเพลิงสะอาดที่ภาครัฐเคยผลักดัน เพื่อให้เกษตรกรมีโอกาสจ�ำหน่ายพืชผลได้อย่างมั่นคง

ในขณะทีน่ ำ�้ มันเชือ้ เพลิงในตลาดโลกดิง่ ลงอย่างมีนยั ส�ำคัญ และหาเหตุผลในการ ทีจ่ ะกลับมาราคาสูงเหมือนเดิมอีกแทบจะไม่ได้ ถึงแม้เกิดในทศวรรษหน้าก็ตาม จึงส่งผลกระทบโดยตรงทันทีกับเชื้อเพลิงชีวภาพ อย่างเอทานอลและไบโอดีเซลของ ไทย ซึ่งโดยปกติราคาก็สูงกว่าน�้ำมันจากซากดึกด�ำบรรพ์ (ฟอสซิล) อยู่แล้ว แต่ที่ยัง อยูก่ นั ได้กเ็ นือ่ งจากภาครัฐยังอุดหนุนอยู่ เมือ่ ราคาน�ำ้ มันต�ำ่ ลงทัว่ โลก ช่องว่างระหว่าง ราคาก็ยิ่งห่างมากขึ้น อาจจะเกินเยียวยาหรือไม่ ภาครัฐเท่านั้นที่จะตอบได้ ส�ำหรับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder) กับเชื้อเพลิงชีวภาพ คงต้องบอกว่าเกินกว่า ค�ำว่าน้อยใจ เมือ่ กระทรวงพลังงานกลัวตกกระแสรถเชือ้ เพลิงใหม่อย่างไฮโดรเจนและ รถไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ก็รีบประกาศแผนการส่งเสริมออกมาอย่างเป็นรูปธรรมทันที โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2559 – 2560 เตรียมความพร้อมและเน้นโครงการน�ำร่องใน ภาคบริการสาธารณะ อาทิ รถรับ-ส่ง ภายในโรงแรมและสถานศึกษา เป็นต้น

ระยะที่ 2 พ.ศ. 2561 – 2563 ก�ำหนดรูปแบบและมาตรการ จูงใจภาคเอกชนให้มีการลงทุนสถานีอัดประจุไฟ (Charging Station) ก�ำหนดโครงสร้างและค่าบริการ ระยะที่ 3 พ.ศ. 2564 – 2579 ก�ำหนดเป้าหมายจะให้มี ยานยนต์ไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน และสถานีอัดประจุไฟฟ้า ประมาณ 700 – 1,000 แห่ง ไปจนถึงเข้าสู่ EV Smart Charging และ V2G (Vehicle to Grid) นอกจากนีท้ าง 3 การไฟฟ้ายังมีแผนส่งเสริมยานยนต์ไฟฟ้าให้ สอดคล้องกับนโยบายรัฐอีกมากมาย จนอาจจะต้องมีภาพยนตร์ เรื่อง “รถเก๋งไฟฟ้า...มาหาแล้วเธอ” เร็ว ๆ นี้ก็อาจเป็นได้

รถยนต์พลังไฮโดรเจนเป็นมาเป็นไปอย่างไร... ม้ารองบ่อน หรือเสือซ่อนเล็บ

อันเนื่องมาจากยานยนต์ไฟฟ้ายังพัฒนาเพื่อปิดจุดอ่อนได้ ไม่หมด ถึงแม้จะเปลี่ยนแบตเตอรี่มาเป็น “ลิเธียมไอออน” แล้ว ก็ตาม ในด้านความคุ้มค่ายังคงมีค�ำถาม อีกทั้งหัวปลั๊กชาร์จไฟ คงต้องมีการก�ำหนดให้ทุกยี่ห้อใช้มาตรฐานเดียวกันหมด ดังนั้น รถพลังไฮโดรเจนจึงยังได้รับการวางตัวจากค่ายรถยนต์ระดับโลก ว่าเป็นเทคโนโลยีสุดท้ายในโลกของนวัตกรรมยานยนต์ ยิ่งมีการ เปิดตัวยานยนต์พลังไฮโดรเจนในเชิงพาณิชย์ของค่ายใหญ่ด้วย แล้ว รถพลังไฮโดรเจนอาจจะเป็นเสือซ่อนเล็บในวงการยานยนต์ ทีแ่ ท้จริงก็เป็นได้ เรามาดูรายละเอียดรถยนต์พลังไฮโดรเจนทีอ่ าจจะ พลิกประวัตศิ าสตร์ยานยนต์ เศรษฐีนำ�้ มันลองขับดูจะได้ทราบว่า ในโลกนี้สิ่งที่เราไม่เคยเห็น ไม่ได้หมายความว่าจะไม่เป็นจริง 1. Toyota Mirai รถยนต์ระบบ Fuel Cell เจนเนอเรชัน่ ใหม่ ทีใ่ ช้ไฮโดรเจนเป็นเชือ้ เพลิงในการขับเคลือ่ น สามารถวิง่ ได้ไกลถึง 700 กิโลเมตร วิ่งความเร็วสูงสุดได้ 175 กิโลเมตร/ชั่วโมง จาก การเติมไฮโดรเจนเพียงครั้งเดียว ในขณะที่การเติมไฮโดรเจนใช้

58

E N E R G Y S AV I N G

m ay 2 0 1 6


เวลาเพียง 3 นาที สามารถใช้เดินทางในระยะ ไกล โดยไม่ต้องแวะเติมเชื้อเพลิง มีที่นั่งส�ำหรับ ผู้โดยสาร 4 ที่นั่ง แรงดันถังประมาณ 700 บาร์ ความหนาแน่นของถังเก็บ 5.7 wt.% Tank Internal Volume 122.4 L และ Hydrogen storage mass ประมาณ 5 กิโลกรัม จุดเด่นของ รถไฮโดรเจน คือ ไม่มีการปล่อยมลพิษออกจาก ท่อไอเสียเลย ยกเว้นเพียงน�้ำบริสุทธิ์ที่เกิดจาก การท�ำปฏิกริ ยิ าระหว่างไฮโดรเจนและออกซิเจน ภายในเครือ่ งยนต์เท่านัน้ ทีป่ ระเทศญีป่ น่ ุ มียอดผลิต ปัจจุบนั ปีละ 3,000 คัน โดยขณะนีม้ ยี อดสัง่ จอง แล้ว 4,000 คัน มีสถานีอัดประจุไฟประมาณ 80 แห่ง ส่วนประเทศไทยยังอยู่ในแผนอนาคต 2. BMW Plugin Hybrid โดยน�ำร่อง ออกมาแล้วกับ BMW X5 รถยนต์อเนกประสงค์ รุน่ ดังของค่ายด้วยชือ่ BMW X5 xDrive40e ที่น�ำ มาโชว์ในงาน SETA Thailand 2016 โดยรุ่นนี้ มีการเพิ่มศักยภาพเทคโนโลยีไฮบริดจ์ใช้น�้ำมัน และไฟฟ้าร่วมกัน (การชาร์จไฟต้องใช้ปลั๊กของ BMW เท่านัน้ ) โดยรุน่ ทีม่ รี ะบบ plug in hybrid ออกมาได้แก่ i8 และ X5, BMW series 3 330e โดย BMW X5 xDrive40e ระบบขับเคลือ่ น 4 ล้อ จุดเด่นของ BMW X5 xDrive40e อยู่ที่ระบบ ขับเคลือ่ นซึง่ ผสานเอาขุมพลังเบนซิน 4 สูบ พร้อม เทอร์โบ (Twin Power Turbo) ขนาด 2.0 ลิตร 245 แรงม้า แรงบิดสูงสุด 350 นิวตันเมตร เข้ากับ มอเตอร์ไฟฟ้าก�ำลัง 113 แรงม้า แรงบิดสูงสุด 250 นิ ว ตั น เมตร ซึ่ ง ท� ำ ให้ ตั ว รถสามารถท� ำ อัตราเร่ง 100 กม./ชม. ในเวลาเพียง 6.8 วินาที แต่ ท� ำ ความเร็ ว ได้ สู ง สุ ด 210 กม./ชม. ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าสามารถขับได้ไกล ถึง 70 กิโลเมตร และจ�ำกัดความเร็วสูงสุดที่ 120 กม./ชม.

เทสล่า (Tesla) รถยนต์ไฟฟ้า 100%

เปิดตัวในไทยด้วยโซเชียลมีเดียค่อนข้างแรง ในช่วงเวลาที่มีข่าวรถยนต์ใช้พลังงานไฮโดรเจน และรถยนต์ไฮบริดจ์ไฟฟ้า กับน�้ำมันเบนซิน ของสองยักษ์ใหญ่ในประเทศไทย โดยเปิดตัว พร้อมกันทีเดียวหลาย ๆ รุ่น รถพลังงานไฟฟ้า เทสล่า เป็นรถยนต์ไฟฟ้าสมบูรณ์แบบ ไม่มี เครื่องยนต์ส่งเสียง หรือปล่อยควันพิษเหมือน รถทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์ แถมยังใช้ไฟจากแบตเตอรีข่ นาด ใหญ่ ขับเคลื่อนมอเตอร์ 2 ตัว (Dual Motors) ตามข้อมูลเทคนิคแจ้งว่า การชาร์จไฟ 1 ครั้ง สามารถขับได้ไกลกว่า 480 กิโลเมตร ด้วยอัตราเร่ง 0 – 100 กม./ชม. ภายใน 4.3 วินาที และ ในบางรุ่นใช้เวลาเพียง 2.4 วินาทีเท่านั้น ทั้ง สองรุ่นดังกล่าวสามารถติดตั้งระบบการขับขี่ อัตโนมัติ (Auto Pilot) ซึ่งจะมีโซนาร์ตรวจจับ VOLUME 8 ISSUE 90

สิ่งกีดขวาง เช่น รถยนต์ คน หรือ สิ่งของต่าง ๆ โดยเมื่อตรวจพบ ระบบจะท�ำการค�ำนวณระยะ และเส้นทางเพือ่ หลีกเลีย่ ง และจะเปลีย่ นเลนให้เอง อัตโนมัติ และยังมีระบบเรดาห์ที่จะช่วยตรวจ เส้นทางการวิ่งไปสู่จุดหมายอย่างแม่นย�ำ พร้อม ตรวจสอบถึงสถานะไฟแดงเพื่อหยุดรถ หรือ เร่งเครือ่ งอย่างเหมาะสม นอกจากนีย้ งั ช่วยอ�ำนวย ความสะดวกให้กับผู้ขับขี่ในการตรวจหาที่ว่าง และน�ำรถเข้าจอดได้อย่างปลอดภัยอีกด้วย BioFuel อย่างเอทานอลและไบโอดีเซล หลังจาก ปรับตัวกับการเปิดอาเซียนมาหมาด ๆ ไม่ทัน จะหายใจคล่องปอด ต้องมาปรับตัวกับนโยบายรัฐ ด้านยานยนต์ไฟฟ้า ภาครัฐเองก็คอยปลอบใจ พร้อมขูเ่ บา ๆ ว่า Biofuel คงต้องพัฒนาเทคโนโลยี ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง มากขึ้ น นั่ น หมายถึ ง การลงทุ น หากรั ฐ มี น โยบายที่ เข้ ม แข็ ง แล้ ว การลงทุนอาจไม่ใช่ปัญหาใหญ่ การเปลี่ ย นผ่ า นเทคโนโลยี ด ้ า นพลั ง งาน

ส�ำหรับยานยนต์ พลังงานที่มนุษย์ต้องอาศัย จากฟอสซิลน�้ำมันมาตลอดเวลาที่จ�ำความได้ โดยกว่า 30% ของพลังงานทีม่ นุษย์ใช้ไปกับการ ขนส่งโดยเฉพาะอย่างยิง่ ยานยนต์ การเปลีย่ นผ่าน ครัง้ นี้ ผูซ้ อ้ื เทคโนโลยีอย่างประเทศไทย ภาครัฐ คงต้ อ งคิ ด ให้ ห นั ก ว่ า “ไทยอยู ่ ต รงไหนของ เทคโนโลยีเหล่านี”้ หากเป็นการลงทุนของภาค เอกชน เรามักต้องพิจารณา IRR : Internal Rate of Return ส�ำหรับภาครัฐ แล้วงานนี้คง ต้องหาโมเดลทางเศรษฐกิจมาค�ำนวณว่าไทย ได้อะไรจากการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยี ในฐานะ ลูกค้าชั้นดีของเทคโนโลยี มีผลตอบแทนด้าน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างไร เมื่อ เปรียบเทียบกับ IRR ของภาคเอกชนแล้วต�ำ่ กว่าสิบ หรือไม่ ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์บ้าง ชุมชน ผูป้ ระกอบการ หรือใคร?...และนีค่ อื ค�ำถามเดียวกับ ที่ ภ าคเอกชนถู ก ถามเวลาน� ำ เสนอโครงการ ขอสัมปทานจากภาครัฐ

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์

https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/9/91/Ride_and_Drive_EVs_Plug’n_Drive_Ontario.jpg http://blogs-images.forbes.com/kenkam/files/2014/04/bigstock-electric-car-and-gasoline-car-47540728-small-e1395854469297.jpg http://trendmachines.com/wp-content/uploads/2016/01/Electric-Car.jpg

E N E R G Y S AV I N G

59


Product Review Logistics TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

ว๊อกซ์ รุกตลาดฟิล์มกรองแสงรถยนต์ คาดอากาศร้อนดันตลาดโต 30% FM รองรับการใช้ ระบบ Navigator และทีส่ ำ� คัญ ยังช่วยประหยัดเชือ้ เพลิง ลดภาระการท�ำงานของ ระบบปรับอากาศรถยนต์ เพราะมีชนั้ ฟิลม์ พิเศษ ในเนื้อฟิล์มที่ช่วยดูดความร้อนจากแสงอาทิตย์ รักษาอุณหภูมิภายในรถยนต์ให้เย็นสบายตลอด การเดินทาง

คุณพีรศักดิ์ ทองนรินทร์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ว๊อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ว๊อกซ์ (VOX UV 400 PROX) ผู้น�ำนวัตกรรมฟิล์มกรองแสงรายแรกของโลก และได้จดสิทธิบัตร อย่างถูกต้อง ด้วยนวัตกรรมที่สามารถป้องกันรังสี UV400 ได้ 100% และยังป้องกันความร้อนรวม สูงสุดถึง 89% และเทคโนโลยีตัดแสงสีฟ้า เผยผลการสร้างแบรนด์และท�ำตลาดด้วยการให้ความรู้ เกีย่ วกับฟิลม์ ป้องกันความร้อนจากแสงแดดอย่างต่อเนือ่ งส่งผลลูกค้าเป้าหมายมีความเข้าใจ และปรับเปลีย่ น พฤติกรรม บวกกับอุณหภูมิที่ร้อนผิดปกติในช่วงนี้ คาดจะส่งผลให้ ว๊อกซ์ โตขึ้น 30% ในปีนี้

คุณพีรศักดิ์ ทองนรินทร์ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษทั ว๊อกซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูจ้ ดั จ�ำหน่ายฟิลม์ กรองแสงรถยนต์ และฟิลม์ อาคาร เปิดเผยว่า ในปีนคี้ าดว่าตลาดฟิลม์ ติดรถยนต์ของ ว๊อกซ์ จะเติบโตอย่างต่อเนือ่ งสาเหตุหนึง่ มาจาก ความร้อนที่สูงผิดปกติ และว๊อกซ์ ได้มีการวาง ต�ำแหน่งทางการตลาดไว้อย่างชัดเจน โดยมุง่ เน้นไป ทีผ่ หู้ ญิงทีม่ คี วามห่วงใยในสุขภาพผิว และให้ความ ส�ำคัญกับการเลือกฟิลม์ มาติดรถยนต์ของตนเอง ทีไ่ ม่ใช่ฟลิ ม์ แถมทีต่ ดิ มากับรถ ซึง่ ฟิลม์ ว๊อกซ์ มีดว้ ย กัน 2 ซีรยี ์ ได้แก่ Luxury Series เป็นนวัตกรรม ชัน้ สูง ส�ำหรับยนตรกรรมหรู และ Lady Series เพือ่ ปกป้องผิวขาวใส สวยสมบูรณ์แบบด้วยนวัตกรรม ใหม่ลา่ สุดทีล่ ดความร้อนและ ปกป้องรังสี UV400/ UVA1 ได้ถงึ 100% ด้วยวิธกี ารผลิตแบบนาโน เทคโนโลยี ทัง้ ยังปกป้องแสงสีฟา้ ทีท่ ำ� ลายสายตา ทัง้ นี้ จากกลยุทธ์การตลาดของ ว๊อกซ์ ทีท่ ำ� มา อย่างต่อเนือ่ ง และปัจจัยด้านความร้อน ทีใ่ นปีนี้ 60

E N E R G Y S AV I N G

อากาศ ร้อนมากผิดปกติ เรามองว่าเป็นโอกาส ทีจ่ ะทดสอบให้เห็นถึงความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ ทีม่ ี จ�ำหน่ายในท้องตลาดได้อย่างชัดเจน ซึง่ ผูบ้ ริโภคจะสามารถรับรูไ้ ด้ และตัดสินใจเลือก ฟิลม์ ทีเ่ หมาะสมได้ดว้ ยตัวเอง ส�ำหรับฟิลม์ กรองแสงรถยนต์ Luxury Series นวัตกรรมฟิล์มชั้นสูงส�ำหรับยนตรกรรมหรูที่ สามารถป้องกันรังสี UV400/UV1ได้รอ้ ย 100% และป้องกันความร้อนรวมสูงสุด 86% สามารถ ตัดแสงสีฟา้ (BLUE LIGHT CUT) ได้สงู สุด 70% ปกป้องดวงตาขณะขับขีใ่ ห้ทศั นวิสยั ดีทสี่ ดุ เนือ้ ฟิลม์ มีชนั้ พิเศษช่วยป้องกัน ความร้อนและรังสีที่ เป็นอันตรายต่อผูข้ บั ขี่ หรือผูโ้ ดยสาร อีกทัง้ เนือ้ ฟิลม์ ยังมีลกั ษณะเหนียว แข็งแรง ทนทาน ลดอันตราย จากเศษกระจก กรณีเกิดอุบตั เิ หตุได้อย่างดี และท�ำให้ ทัศนวิสยั ในการขับขี่ คมชัดขึน้ ทัง้ ในเวลากลาง วันและกลางคืน นอกจากนี้ ไม่รบกวนสัญญาณ โทรศัพท์มอื ถือ Easy Pass สัญญาณ วิทยุ AM/

และในส่วนของฟิลม์ กรองแสงรถยนต์ Lady Series นัน้ เป็นนวัตกรรมส�ำหรับผูห้ ญิงโดยเฉพาะ ซึง่ สามารถป้องกันรังสี UV400/UVA1 ได้ 100% ช่วยปกป้องผิวของผูห้ ญิงไม่ให้หมองคล�ำ้ เหีย่ วย่น แก่กอ่ นวัย กระ ฝ้า มะเร็งผิวหนัง และลดความร้อนรวม จากแสงแดด (TESER) ได้ 86% โดยได้รบั การรับรอง จากสถาบันต่าง ๆ ทัง้ ในและต่างประเทศ เช่น ส�ำนัก วิจยั เทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ NANOTEC สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ Green Industry จากกระทรวงอุตสาหกรรม มาตรฐาน SGS, FITI Research & Laboratory

M AY 2 0 1 6



Product Showcase LOgistics TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

ยาง ENASAVE EC300+

ความสบายคุ้มค่า…ประหยัดน�้ำมันได้มากกว่า บริษทั ดันลอป ไทร์ (ไทยแลนด์) จ�ำกัด แนะน�ำยาง ENASAVE EC300+ อีกหนึง่ ทางเลือกใหม่ ของยางประหยัดพลังงาน ทีไ่ ด้รบั การยอมรับและไว้วางใจเลือกใช้ เหมาะส�ำหรับใช้เป็นยางทดแทน ยางติดรถเดิม โดยสามารถใช้กับรถยนต์นั่งขนาดเล็ก ครอบคลุมไปจนถึงรถยนต์นั่งขนาดใหญ่ ซึง่ ผูท้ ใี่ ฝ่หาความสะดวกสบายและความประหยัดทีใ่ ห้คณ ุ ได้มากกว่า มีให้เลือก ทัง้ สิน้ 21 ขนาด ตัง้ แต่ขอบ 14-17 นิว้ หน้ากว้าง 165-225 ในซีรสี แ์ ก้มยางขนาด 50-70 สนใจสัง่ ซือ้ ติดต่อร้านค้า ตัวแทนจ�ำหน่ายยางรถยนต์ดนั ลอปทัว่ ประเทศ

เผยข้อมูลเครื่องยนต์ดีเซล

ZIC XQ 5000

เมอร์เซเดส-เบนซ์เปิดเผยข้อมูลเพิม่ เติมของขุมพลัง 4 สูบ ดีเซลเทอร์โบ ขนาด 2.0 ลิตรทีจ่ ะขับเคลือ่ นอยูใ่ นรุน่ อี 220ดี โดยขุมพลังดีเซลรหัส OM 654 บล็อกนี้เป็นรุ่นแรกที่ใช้วัสดุอลูมิเนียมทั้งบล็อก และมีความประหยัดกว่า เครือ่ งยนต์ขนาด 2.1 ลิตรรุน่ เดิม โดยความจุถกู ลดลงไปเกือบ 0.2 ลิตร ท�ำให้ น�้ำหนักลดลงจาก 202.8 กก. เหลือ 168.4 กก. ขณะที่ขนาดของเครื่องยนต์ ก็เล็กลงด้วยเช่นกัน อีกทั้งมีการใช้เทคโนโลยีการประกอบใหม่ ระบบหัวฉีด เป็นแบบคอมมอนเรล เจนเนอเรชั่นที่สี่ ลูกสูบโลหะ และมีการเคลือบลูกสูบ แบบ NANOSLIDE เสียงรบกวนของขุมพลังบล็อกใหม่เบาลงและมีแรงสั่น สะเทือนน้อยลง ขณะที่พละก�ำลังของเครื่องยนต์ดีเซล 2.0 รุ่นนี้อยู่ที่ 192 แรงม้า ซึ่งเพิ่มจากเดิม 168 แรงม้าที่ 3,800 รอบ/นาที แรงบิดอยู่ที่ 400 นิวตันเมตรที่ 1,600 – 2,800 รอบ/นาที ส่งก�ำลังด้วยระบบเกียร์อัตโนมัติ แบบ 9 สปีด เมื่อวางอยู่ในอี 220ดี จะสามารถออกตัวจาก 0-100 กม./ชม. ได้ภายใน 7.3 วินาที ความเร็วสูงสุดอยูท่ ี่ 240 กม./ชม. อัตราบริโภคน�ำ้ มันราว 25 กม./ลิตร การปล่อยไอเสียอยู่ระหว่าง 102 – 112 กรัม/กม. เครื่องยนต์ บล็อกนี้เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องยนต์โมดูลาร์ตระกูลใหม่ที่จะถูกใช้ในรถยนต์ และรถแวนของเมอร์เซเดส-เบนซ์ทั้งหมด

บริษัท โอราโนส จ�ำกัด ผู้แทนจ�ำหน่ายนํ้ามันเครื่อง ZIC ในประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แนะน�ำ ZIC XQ 5000 เป็นน�ำ้ มัน หล่อลืน่ สังเคราะห์แท้ 100% มาตรฐานสูงสุด API CJ-4 ถูกพัฒนาขึน้ เฉพาะเพื่อใช้งานกับเครื่องยนต์ดีเซลที่ต้องการสมรรถนะในการ ขับขีส่ งู ซึง่ ผลิตจากน�ำ้ มันพืน้ ฐานคุณภาพสูงระดับโลก (YUBASE) มีเสถียรภาพในการรักษาความหนืดในทุกสภาวะอากาศ ท�ำให้ เครื่องยนต์ท�ำงานเบาขึ้น รถวิ่งลื่นขึ้น อัตราเร่งสูงขึ้น ประหยัด น�้ำมันเชื้อเพลิงและยังช่วยป้องกันการสึกหรอของเครื่องยนต์ได้ อย่างดีเยีย่ ม ZIC XQ 5000 15W-40 เหมาะส�ำหรับรถยนต์เครือ่ งยนต์ ดีเซลสมรรถนะสูงทุกชนิด ทัง้ ชนิดงานหนักและงานเบา และรองรับ เครือ่ งยนต์ทตี่ ดิ ตัง้ ระบบบ�ำบัดไอเสีย DPF และ SCR ด้วยคุณสมบัติ ทีโ่ ดดเด่นท�ำให้ ZIC XQ 5000 ได้รบั การรับรองและผ่านมาตรฐาน การทดสอบสูงสุด จากค่ายผูผ้ ลิตรถยนต์ดเี ซลชัน้ น�ำทัง้ ใน ยุโรป ญีป่ นุ่ เกาหลี และอเมริกา

บล็อกใหม่ใน “เมอร์เซเดส-เบนซ์ อี-คลาส”

62

E N E R G Y S AV I N G

น�้ำมันหล่อลื่นสังเคราะห์แท้ 100%

M AY 2 0 1 6


Environment Alert

การด�ำเนินงาน

TEXT : อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช�ำนาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ด้านการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ในภาวะของความขาดแคลน ก�ำหนดกรอบนโยบายและแผนที่ส�ำคัญต่อการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานภายในประเทศ ภายใต้กรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ โดยประเทศไทยมีนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในหลายระดับ แบ่งเป็นระดับประเทศ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนสู่เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 แผนแม่บทการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ พ.ศ. 2558-2593 ส�ำหรับเป็นกรอบการ จัดท�ำยุทธศาสตร์และการด�ำเนินการของหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง และการจัดท�ำแผนรองรับการปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ นอกจากนี้ยัง พบแผนในระดั บ กระทรวงและหน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้อง คือ แผนแม่บทด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศด้านการเกษตร การรองรับ การเปลี่ ย นแปลงของกรมอุ ท ยานแห่ ง ชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื ถึงแม้วา่ จะมีความตระหนัก ของภาคีเครือข่ายในการเตรียมความพร้อมใน การด�ำเนินการในประเทศ พบว่า กระบวนการ จั ด ท� ำ นโยบายและแผนด้ า นการปรั บ ตั ว ของ ประเทศมีข้อจ�ำกัดในสองด้าน คือ การขาด ประสิทธิภาพต่อความตระหนัก และขีดความ สามารถของภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนา เอกชน และองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นท้ อ งถิ่ น รวมทั้ ง การมี ส่ว นร่ว มต่อการด� ำเนินงานการ ปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระดับ ต่าง ๆ เป้าหมายของประเทศ มุ่งเน้นให้ความ ส� ำ คั ญ กั บ เศรษฐกิ จ ระดั บ มหภาค จนอาจ ท�ำให้เกิดการมองข้าม การด�ำเนินงานปรับตัว ของชุมชนหรือพืน้ ทีข่ นาดเล็กทีเ่ ผชิญกับความเสีย่ ง

VOLUME 8 ISSUE 90

และความเปราะบางต่ อ การเปลี่ ย นแปลง ของภูมอิ ากาศ เช่น เกษตรกรรมพืน้ ฐาน ชาวประมง พื้นบ้าน กลุ่มชาติพันธุ์ที่อาศัยสภาพแวดล้ อ ม ตามธรรมชาติในการประกอบอาชีพ ซึ่งตัวชี้วัด ที่ ส� ำ คั ญ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม คื อ ความ ยากจนที่เพิ่มขึ้น รายได้ลดลง การขาดแคลน อาหาร ซึง่ เคยเป็นแหล่งผลิตลดลง ศักยภาพของ ประชาชนในการประกอบอาชีพลดลง จากการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จากภาวะความแห้งแล้ง ที่รุนแรง เกิดการขาดแคลนน�้ำ การขาดแคลน แหล่งเพาะปลูก การเกษตรกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไปจากเดิม ส่งผลต่อความมั่นคงทางด้านอาหาร

วันนีห้ ลายภาคส่วนได้เห็นแล้วว่า ความรุนแรง ของความแห้ ง แล้ ง การขาดแคลนน�้ ำ ในการเพาะปลู ก เป็ น ภาวะถดถอยของการ พัฒนาทีไ่ ม่ยงั่ ยืน จากการส่งเสริมทีใ่ ช้ปจั จัยทาง ธรรมชาติช่วยเกื้อหนุน ได้เปลี่ยนแปลงไปอย่าง เห็นได้ชัด นอกจากนี้หากมองถึงระบบนิเวศ แล้วจะเห็นการเปลี่ยนแปลงตามมาในลักษณะ ที่ค่อนไปทางผลกระทบทางลบต่อระบบนิเวศ การสู ญ เสี ย พื ช พั น ธุ ์ สั ต ว์ ป ่ า การแก่ ง แย่ ง ทรั พ ยากรทางธรรมชาติ เ ป็ น ไปอย่ า งรุ น แรง และเห็นได้ชดั ว่า หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องจ�ำเป็นต้อง เข้ามาแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อย่างเร่งด่วน ในส่วน

E N E R G Y S AV I N G

63


ขององค์กรบริหารส่วนท้องถิน่ ต่อการด�ำเนินงาน ปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศของชุมชน หรื อ พื้ น ที่ ที่ มี ค วามเปราะบางต่ อ ผลกระทบ การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ รวมถึงการสร้างความ ร่วมมือและเสริมความเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย จ�ำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างจริงจัง การด�ำเนินการ เพือ่ เสนอนโยบายที่มาจากปัญหาส่วนใหญ่จะ เป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ไม่ยั่งยืน เช่น การขาดแคลนน�้ำ แล้ว จัด หาแหล่งน�้ ำ เพิ่ม ขึ้น แต่ยังไม่ค�ำนึงถึงปริมาณที่แท้จริงของน�้ำต้นทุน ที่จะน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ การขาดแคลนแหล่ง อาหารของสัตว์ปา่ แล้วไปสร้างแหล่งอาหารใหม่ ก็คงไม่ใช่ค�ำตอบที่ยั่งยืน ปัญหาต่อไปนี้จึงต้อง มองในระยะยาวและสร้างความเชื่อมโยงปัญหา ต่ า ง ๆ ให้ เ ป็ น ระบบมากขึ้ น มองที่ ต ้ น ทาง โดยเฉพาะการก�ำหนดนโยบายทีม่ องเฉพาะประเด็น ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นมามองในเชิ ง พื้ น ที่ ม ากขึ้ น และให้ภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีบทบาทในการก�ำหนด นโยบายและสะท้อนให้เห็นถึงต้นตอของปัญหา หน่ ว ยงานภาครั ฐ ในระดับ นโยบายกับ หน่ว ย ปฏิบตั ติ ้องให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน การป้องกันปัญหามากกว่าการตามแก้ไขปัญหา การเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ในขณะนี้เป็นการ สะท้อนถึงการแก้ไขปัญหาในอดีตที่ไม่ตรงจุด วันนี้เราต้องมองปัญหาอย่างเป็นระบบมากขึ้น และลองจัดระบบคิดต่อการปรับตัวในระดับ พื้นที่มากขึ้น ซึ่งลองคิดกลไกการขับเคลื่อนให้ เป็นไปตามความคิดเห็นทีพ่ จิ ารณาจากกลไกการ ปรับตัวจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศใน สถานการณ์ปัจจุบัน ดังนี้ 1.สร้ า งหรื อ เชื่ อ มโยงเครื อ ข่ า ยในพื้ น ที่ เพือ่ การพัฒนาร่วมกันในภาคส่วนต่าง ๆ ในระดับ พื้นที่ (Area base Approaches) การตัดสินใจ ให้สอดคล้องกับปัญหา โดยสร้างความเข้มแข็ง และภูมิคุ้มกันในระยะยาว โดยปรับใช้หลักการ เศรษฐกิจพอเพียง

64

E N E R G Y S AV I N G

การเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ในขณะนี้เป็นการสะท้อนถึง การแก้ไขปัญหาในอดีตที่ไม่ตรงจุด วันนี้เราต้องมองปัญหา อย่างเป็นระบบมากขึ้น และลองจัดระบบคิด ต่อการปรับตัวในระดับพื้นที่มากขึ้น 2.การพัฒนาเมืองหรือพื้นที่ต่าง ๆ ต้องมี การวางผังเมืองที่ชัดเจน ก�ำหนดกิจกรรมต่าง ๆ ในพืน้ ที่ หมายถึง การใช้ทรัพยากรในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ด้วย เช่น การจัดสรรน�้ำในพื้นที่เพื่อกิจกรรมต่าง ๆ 3.การก� ำ หนดกติ ก าทางสั ง คมในการมี ส่วนร่วมต่อการปรับตัว การพัฒนาทีค่ ำ� นึงถึงการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นของสภาพแวดล้อมที่ต้อง อาศัยการติดตามและการมีส่วนร่วมที่จะฟื้นฟู สภาพทางธรรมชาติที่สูญเสียไป 4.ภาคส่วนต่าง ๆ ทีม่ สี ว่ นร่วมในการวางแผน ต้องด�ำเนินการและให้ความร่วมมืออย่างจริงจัง ภาวะการณ์เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ที่เป็นภาวะ ของความขาดแคลนจ� ำ เป็ น ต้ อ งยอมรั บ การ

จัดสรรปันส่วน เพือ่ ให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่าง มีประสิทธิภาพ เช่น การใช้ระบบน�้ำหมุนเวียน การน�ำน�้ำกลับมาใช้ใหม่ เป็นต้น จากภาวะการณ์ ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปของ สภาพแวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ในขณะนี้ คงต้องยอมรับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และต้องตั้งค�ำถาม ว่าจะอยู่กันอย่างไรในภาวะคับขันเช่นนี้ การ สร้างภาระให้กับคนรุ่นต่อไปที่จะอยู่กันอย่าง ยากล�ำบากมากยิง่ ขึน้ หรือ จะเข้าสูย่ คุ Set Zero กันใหม่

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์

http://blogs.mcgill.ca/oss/files/2016/03/climate-change.jpg http://thedailyblog.co.nz/wp-content/uploads/2015/11/csm_melting-ice-polar-bear-on-2063111_16391916d7.jpg http://350.org.nz/files/2016/03/Carbon-pollution.jpg

M AY 2 0 1 6


0 Waste Idea TEXT : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ขยะพลาสติกเป็นพลาสติกที่ใช้แล้ว มัก ถูกทิ้งเป็นขยะในชุมชน ซึ่งบางส่วนมี การน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้ และบางส่วนถูกน�ำไป ก�ำจัดทิ้งโดยวิธีการต่าง ๆ การน�ำขยะพลาสติก ไปก� ำ จั ด ทิ้ ง โดยการฝั ง กลบและการทิ้ ง ขยะ กลางแจ้งเป็นวิธกี ารจัดการขยะทีพ่ บเห็นในหลาย ประเทศ จริ ง ๆ แล้ ว ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลเสี ย ต่ อ สิง่ แวดล้อมเป็นอย่างมาก เนือ่ งจากโดยธรรมชาติ พลาสติกจะถูกย่อยสลายได้ยากจึงทับถมอยู่ใน ดิน และนับวันยิ่งมีปริมาณมากขึ้นตามปริมาณ การใช้พลาสติก ส่วนการเผาขยะพลาสติกก็เสีย่ งต่อ การเกิ ด มลพิ ษ ทางอากาศและเป็ น อั น ตราย อย่างมาก ถ้าหากไม่มรี ะบบควบคุมมลพิษอากาศ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี เ พี ย งพอ ดั ง นั้ น การแก้ ไข ปัญหาขยะพลาสติกที่ได้ผลดีที่สุด คือ การลด การใช้ถุงพลาสติก การคัดแยกขยะเพื่อน�ำขยะ พลาสติกกลับมารีไซเคิลเพื่อใช้ประโยชน์ใหม่ ตามหลักการป้องกัน และลดมลพิษที่ต้นทาง อย่างไรก็ตาม ปัญหาขยะพลาสติกทีเ่ ป็นประเด็นร้อน ล่ า สุ ด ก็ คื อ การสะสมของขยะพลาสติ ก ที่ หลุดเข้ามาสูแ่ หล่งน�ำ้ ต่าง ๆ ทีม่ ปี ริมาณมหาศาล อย่างน่าตกใจ

ขยะพลาสติก ก� ำลังล้ นโลก… จริงหรือ ?

ขยะพลาสติก...

ปัญหาขยะสะสมในแหล่งน�้ำ จากรายงานของ World Economic Forum ได้ ก ล่ า วถึ ง ปริ ม าณผลิ ต ภั ณ ฑ์ พ ลาสติ ก ที่ถูกผลิตออกมา พบว่า กลายมาเป็นปัญหาขยะสะสมอยู่ตามแหล่งน�้ำต่าง ๆ บนโลก รวมถึง ในท้ อ งทะเลอี ก มากกว่า 32% และจากการคาดการณ์ปัญ หาในอนาคต ในกรณีที่ยัง ไม่มี แนวทางการจัดการขยะพลาสติกที่เ หมาะสม โดยปัญ หาใหญ่ที่ส�ำ คัญ ที่สุด คือ ผลิตภัณ ฑ์ พลาสติ ก แบบใช้ครั้งเดียว จะถูกเปลี่ยนให้กลายเป็นขยะได้อย่างรวดเร็ว ผลรวมของขยะ พลาสติ ก ภายในไม่เ กิน ปี 2050 อาจมีแ นวโน้มมากกว่าจ� ำ นวนปลาที่ว่ายอยู่ในมหาสมุทร VOLUME 8 ISSUE 90

จากรายงานการศึกษาวิจัยด้านการส�ำรวจ ขยะพลาสติ ก ในมหาสมุ ท รต่ า ง ๆ ได้ แ ก่ มหาสมุทรแปซิฟิกทั้งเหนือและใต้ มหาสมุทร แอตแลนติก และมหาสมุทรอินเดีย เป็นระยะเวลา 6 ปี ของทีมนักวิจัยจากสถาบัน 5Gyres ใน นครลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐฯ ได้มกี ารเปิดเผย และให้ข้อมูลว่า ได้พบปริมาณขยะพลาสติก ต่าง ๆ หลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นถุงพลาสติก ขวดพลาสติก ฝาขวดน�้ำ แปรงสีฟันของเล่น ประเภทตุ๊กตาและหุ่นยนต์พลาสติก ด้ามร่ม ที่นั่งพลาสติกบนชักโครก และอื่น ๆ ที่เป็นขยะ พลาสติก มีจ�ำนวนมากมายทั้งขนาดเล็กและ ใหญ่ ล่องลอยอยู่ในมหาสมุทร รวมแล้วน่าจะ มีน�้ำหนักถึงประมาณ 269,000 ตัน เลยทีเดียว เป็นปริมาณขยะพลาสติกทีก่ ำ� ลังจะล้นโลกจนน่า ตกตะลึง ซึง่ สามารถส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ต่อระบบนิเวศในทะเล รวมทั้งเป็นอันตรายต่อ ชีวิตสัตว์ทะเล อย่าง แมวน�ำ้ เต่าทะเล และสัตว์ ทะเลอื่น ๆ ที่กินพลาสติกขนาดเล็กเข้าไป และ ติดคอของพวกมัน

E N E R G Y S AV I N G

65


นอกจากนี้โครงการสิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ ร่วมกับ คณะกรรมการด้านมหาสมุทรของโลก และ โครงการเปิดเผยการใช้พลาสติก ได้ชี้แจงว่า ในหนึ่งปี มี ข ยะพลาสติ ก ถู ก ทิ้ ง ลงในมหาสมุ ท รและทะเล รวมแล้วอาจมีปริมาณมหาศาลถึงปีละ 8-20 ล้านตัน ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 80 จากจ�ำนวนขยะทั้งหมดใน มหาสมุทร รายงานดังกล่าวชี้ว่า การทิ้งขยะพลาสติก มหาศาลลงในทะเลและมหาสมุทร สร้างความเสียหาย เป็ น มู ล ค่ า ถึ ง 13 ล้ า นล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ ต่ อ ปี โดยขยะดังกล่าวมาจากตามบริเวณชายหาดและพื้นที่ ที่ขาดการจัดการดูแลขยะ และจากแหล่งอื่น ๆ โดย ขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งลงมหาสมุทรนั้น จะไม่ย่อยสลาย แต่จะแตกเป็นชิน้ เล็ก ๆ ล่องลอยอยูใ่ นผิวน�ำ้ มหาสมุทร

จากการศึกษาอย่างละเอียดของ Mr. Ellen MacArthur เขาได้ยกตัวอย่างให้ทุกคนสามารถมองเห็นภาพของ ปัญหาได้แบบชัดเจน โดยเปรียบเทียบถึงปริมาณขยะ พลาสติกขนาดเท่ากับกระบะรถบรรทุก 1 คัน จะถูก เพิม่ เข้ามาในท้องทะเลทุก ๆ 1 นาที และถ้าหากแนวโน้ม ปัญหาขยะยังคงลุกลามมากขึ้นอีก ภายใน ปี 2030 ปริมาณขยะพลาสติกทัง้ ในแหล่งน�ำ้ และมหาสมุทร อาจ พุ่งสูงขึ้นเป็นปริมาณกระบะรถบรรทุก 2 คัน ในทุก ๆ 1 นาที และคาดว่าจะด�ำเนินไปถึงปริมาณกระบะรถ บรรทุก 4 คัน ต่อ 1 นาที ภายในปี 2050 ส� ำ หรั บ ข้ อ มู ล ขยะพลาสติ ก ของประเทศไทย ที่ ไ ด้ รั บ การเปิ ด เผย จาก กรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิง่ แวดล้อม เกีย่ วกับขยะจากถุงพลาสติก ซึง่ มีการส�ำรวจ พบว่า ทุกวันนีค้ นไทยใช้ถงุ พลาสติกเฉลี่ยถึงวันละ 8 ใบ ดังนั้นขยะจากถุงพลาสติกมีปริมาณมหาศาล ทุกวันนี้ ประเทศไทยมีปริมาณขยะพลาสติกอาจสูงถึง 64 ล้านตัน ในแต่ละวันจะมีขยะเพิม่ ขึน้ ถึง 40,000-50,000 ตัน เป็น พลาสติกถึง 20% หรือวันละเกือบ 10,000 ตัน

แนวทางการจั ด การขยะพลาสติกมีอ ะไรบ้า ง

รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในเอเชียก�ำลังเริ่มเข้ามา ด�ำเนินการกับปัญหาขยะพลาสติก ฮ่องกงมีการเรียกเก็บ ภาษี ถุ ง พลาสติ ก ใส่ ข อง และรั ฐ บาลของอี ก 2–3 ประเทศ ก�ำลังศึกษาแนวทางการด�ำเนินงานแปรรูปขยะ พลาสติกให้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงโดยตรง นอกจากนี้ ยั ง มี ก ลุ ่ ม อนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มกลุ ่ ม หนึ่ ง กั บ บรรดา

66

E N E R G Y S AV I N G

ในหนึ่งปีมีขยะพลาสติก ถูกทิ้งลงในมหาสมุทรและทะเล รวมแล้วอาจมีปริมาณมหาศาล ถึง ปีละ 8-20 ล้านตัน ซึ่งคิดเป็น ร้อยละ 80 จากจ�ำนวนขยะ ทั้งหมดในมหาสมุทร

ผูป้ ระกอบกิจการจากฮ่องกง จากรัฐคาลิฟอร์เนีย ในสหรัฐ และจากกรุงลอนดอน ได้มกี จิ กรรม การจัดตัง้ โครงการ Kaisei ขึน้ มา เพือ่ ศึกษาเกีย่ วกับปัญหาความเป็นพิษของสารต่าง ๆ ทีม่ ผี ลต่อ สิ่งมีชีวิตในทะเล การเก็บกวาดขยะพลาสติกในทะเล ตลอดจนวิธีการก�ำจัดขยะพลาสติกใน บริเวณนั้น หาแนวทางแปรรูปขยะพลาสติกให้เป็นเชื้อเพลิง เป็นต้น โดยภาพรวมมาตรการทีใ่ ช้ในการจัดการขยะพลาสติกในต่างประเทศ ส่วนใหญ่มงุ่ สูก่ ารลดการใช้ พลาสติก โดยเฉพาะถุงพลาสติก ได้แก่ มาตรการเก็บภาษีถงุ พลาสติก การใช้พลาสติกทีผ่ ลิตจาก วัสดุยอ่ ยสลายได้ตามธรรมชาติ มาตรการลดการใช้ถงุ พลาสติกในห้างสรรพสินค้า เป็นต้น นอกจากนี้ การส่งเสริมแนวทางการรีไซเคิลขยะพลาสติกจึงเป็นกระบวนการหนึ่งที่มีส่วนช่วยแก้ไขปัญหา สิง่ แวดล้อมและช่วยลดปริมาณขยะ และยังเป็นการเพิม่ มูลค่าให้แก่ขยะพลาสติกได้อกี ด้วย การคัดแยก ประเภทขยะพลาสติกจึงมีความจ�ำเป็นอย่างมากต่อกระบวนการรีไซเคิล อย่างไรก็ดี ระบบการคัด แยกและการจัดการขยะพลาสติกของไทยในปัจจุบนั ทีย่ งั ไม่มปี ระสิทธิภาพเพียงพอ จึงก่อให้เกิดความยุง่ ยากต่อการคัดแยกประเภทขยะก่อนน�ำไปเข้าสูก่ ระบวนการรีไซเคิล ส่งผลให้ขยะพลาสติกในไทย ถูกน�ำไปรีไซเคิลเฉลีย่ เพียง ร้อยละ 34.2 ของขยะพลาสติกทัง้ หมด การรณรงค์สร้างความตระหนักรับรู้ในสังคม เช่น ให้มีการจัดเก็บภาษีสิ่งแวดล้อมขยะ พลาสติก การส่งเสริมการใช้พลาสติกชีวภาพส�ำหรับผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ เพือ่ ด�ำเนินการปรับเปลีย่ น วิถีชีวิตความเป็นอยู่ ปัจจัยความส�ำเร็จต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนที่จะช่วยกัน สร้างทางเลือกใหม่ เพื่อการใช้งานผลิตภัณฑ์พลาสติกในชีวิตประจ�ำวันอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นถึงเวลาที่สังคมไทยควรมองประเด็นขยะพลาสติกที่ก�ำลังล้นโลก ให้มีแนวทางแก้ไข ปัญหาที่ยั่งยืน ตามวิถีแห่งสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมนะครับ

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://www.lyndseyyoung.co.uk/wp-content/uploads/2012/06/plastic-bottle-waste.jpg http://brainskewer.com/sites/default/files/bs/plastic-bottles-in-ocean.jpg http://d1udmfvw0p7cd2.cloudfront.net/wp-content/uploads/2014/12/p20-trash-a-20141228.jpg http://www.plasticoceans.net/wp-content/uploads/2015/11/Diver-collecting-plastic-bottle.jpg http://i.dailymail.co.uk/i/pix/2014/09/30/1412067861951_wps_6_MANDATORY_BYLINE_PIC_FROM.jpg

may 2 0 1 6


Greenhouse gas management TEXT : นายรองเพชร บุญช่วยดี ผู้จัดการกลุ่มงานสนับสนุนวิชาการลดก๊าซเรือนกระจก องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

อบก.ยันพร้อมติดตาม ผลลดก๊าซเรือนกระจก จากมาตรการอนุรักษ์พลังงาน

จากการที่ประเทศไทยได้แสดงเจตจ�ำนงในการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศต่อส�ำนักเลขาธิการอนุสัญญา สหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือ UNFCCC (United Nations Framework Convention on Climate Change : UNFCCC) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557 โดยมีเป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจก ร้อยละ 7 ถึง 20 ในภาคพลังงานและภาคขนส่ง เมื่อเทียบกับระดับ การปล่อยในการด�ำเนินงานตามปกติ หรือ BAU (Business as Usual) ภายใน ปี พ.ศ. 2563 หรือทีเ่ รียกว่า NAMAs (Nationally Appropriate Mitigation Actions) (อ้างอิงข้อมูลจาก http://unfccc.int/files/meetings/cop_15/copenhagen_accord/application/pdf/thailandcphaccord_app2.pdf)

VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

67


ในการนี้ องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การ ก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์ ก ารมหาชน) หรือ อบก. จึงได้รว่ มมือกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทัง้ หน่วยงานภาครัฐ และหน่วยงานภาคเอกชน ในการเตรียมความพร้อม รวมถึงการพัฒนา แนวทางและกระบวนการติ ด ตามประเมิ น ผลการลดก๊ า ซเรื อ นกระจกจากมาตการ ภาคพลังงาน ซึ่งมาตรการหลักในภาคพลังงาน ได้ แ ก่ มาตรการด้ า นพลั ง งานทดแทน และ มาตรการด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน เพื่ อ ให้ เกิดการพัฒนาตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ หรือ MRV (Measurement, Reporting and Verification) ที่เป็นมาตรฐานในระดับสากล

โดยทีผ่ า่ นมา อบก.ได้รว่ มด�ำเนินการร่วมกับ หน่ ว ยงานต่ า ง ๆ อาทิ กระทรวงพลั ง งาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และศูนย์วจิ ยั พลังงานเพือ่ สิง่ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ในการจั ด ประชุ ม เชิงปฏิบตั กิ าร เพือ่ พัฒนามาตรฐานส�ำหรับแนวทาง และกระบวนการติ ด ตามประเมิ น ผลการลด ก๊าซเรือนกระจกร่วมกับหน่วยงานทีม่ ภี ารกิจหลัก ที่เกี่ยวข้องกับมาตรการด้านพลังงานทดแทน และมาตรการด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ มาตรการด้านการอนุรกั ษ์ พลังงาน นัน้ อบก. ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือ

อบก.ได้ลงนามบันทึกความร่วมมือทางวิชาการ ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย เพื่อพัฒนาวิธีการค�ำนวณ ส�ำหรับการลดก๊าซเรือนกระจก จากมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในการผลิตไฟฟ้า และมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกจากการเพิ่มประสิทธิภาพ ของระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์

ทางวิชาการ ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) และ องค์การกระจายเสียง และแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.) เพื่อพัฒนาวิธีการค�ำนวณ (Methodology) ส�ำหรับการลดก๊าซเรือนกระจกจากมาตรการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานในการผลิ ต ไฟฟ้ า และมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกจากการเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบส่งสัญญาณโทรทัศน์ โดย การเปลีย่ นจากระบบ Analog ไปสูร่ ะบบ Digital ตามล�ำดับ อบก. มัน่ ใจว่า ด้วยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทัง้ ภาครัฐ และภาคเอกชน ในการลดก๊าซเรือนกระจก จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมาย

การลดก๊าซเรือนกระจก ภายใต้ NAMAs ภายใน ปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) อย่างแน่นอน ซึ่งนอกจากประเทศไทยจะบรรลุเป้าหมายตาม ทีไ่ ด้แสดงเจตจ�ำนงไว้กบั นานาอารยประเทศแล้ว ยังเป็นการแสดงให้เห็นว่า ประเทศไทยมีความ ตัง้ ใจอย่างแน่วแน่ในการลดก๊าซเรือนกระจก เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยลดปัญหาภาวะโลกร้อน ร่วมกับประชาคมโลกอีกทางหนึง่ ด้วย

ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://www.jrmyprtr.com/wordpress/wp-content/uploads/2014/06/smoke-stacks.jpg https://i.ytimg.com/vi/sT6jtTtsG_M/maxresdefault.jpg http://thefederalist.com/wp-content/uploads/2015/03/climatechange.jpg

68

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6


Product Showcase Commercial TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

อินเนอร์จี พลิกโฉม การชาร์จพลังงาน รูปแบบใหม่ เอาใจผู้รักการเดินทาง

นวัตกรรมหลอดไฟ LED รุ่น VINTAGE จาก แลมป์ตั้น

หลอดไฟ LED รุ ่ น VINTAGE นวั ต กรรมจาก แลมป์ ตั้ น รู ป ลั ก ษณ์ ค ลาสสิ ค ถื อ เป็ น นวั ต กรรมใหม่ ค รั้ ง แรกกั บ งานดี ไซน์ สไตล์วินเทจ ควบคู่ไปกับประสิทธิภาพการใช้งาน จึงเป็นทางเลือก เพือ่ สนองตอบพฤติกรรมผูบ้ ริโภคยุคปัจจุบนั โดยเฉพาะกลุม่ คนเมือง รุ ่ น ใหม่ ผู ้ ชื่ น ชอบงานดี ไซน์ นิ ย มแต่ ง บ้ า นด้ ว ยตั ว เอง และ ยั ง ใส่ ใ จสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยนวั ต กรรมสิ น ค้ า รุ ่ น VINTAGE นี้ ให้ประสิทธิภาพการใช้งานสูงสุดด้วยก�ำลังไฟถึง 4 วัตต์ ช่วยลดการใช้ พลั ง งานไฟฟ้ า ได้ 80% เมื่ อ เที ย บกั บ หลอดไฟแบบคอมแพคท์ ฟลูออเรสเซนต์ (Compact Fluorescent Lamp) สามารถใช้งาน ยาวนาน 20,000ชั่วโมง หรือ 20ปี

“อินเนอร์จ”ี หนึง่ ในแบรนด์กลุม่ บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ บริษทั ยักษ์ใหญ่ และผูน้ ำ� ด้านอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ชนั้ น�ำระดับโลก พลิกโฉมการชาร์จพลังงาน รูปแบบใหม่ อะแดปเตอร์ PowerGear ICE65 แทนอะแดปเตอร์แปลงไฟ ที่มาพร้อมกับ LifeHub Plus ได้ ซึ่งนอกจาก จะช่วยประหยัดพื้นที่แล้ว ยัง ช่วยเพิ่มความสะดวกอย่างเหนือชั้นในการชาร์จแบตเตอรี่โน้ตบุ๊คและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์พกพาอื่น ๆ ได้พร้อมกันในระหว่างการเดินทาง PowerGear ICE65, WizardTip และ LifeHub Plus โดดเด่นด้วยดีไซน์หรูหรางดงาม อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ตามแบบฉบับของอินเนอร์จี เสริมความคล่องตัว ทุกการใช้งาน ตอบสนองตรงใจผูท้ ชี่ นื่ ชอบการเดินทางท่องเทีย่ ว ทัง้ นี้ อุปกรณ์ ชาร์จพลังงานของอินเนอร์จีไม่ได้มีเพียงแค่ประสิทธิภาพทรงพลัง แต่ยังช่วย ให้ชาร์จแบตเตอรี่ได้รวดเร็วทันใจ พกพาสะดวก นอกจากนี้ ด้วยมาตรฐาน และเทคโนโลยีการผลิตระดับโลก ผลิตภัณฑ์นี้ยังได้รับประกันคุณภาพจาก ผู ้ ผ ลิ ต ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในระดั บ โลก รวมถึ ง การออกแบบที่ ใ ส่ ใจต่ อ สิ่งแวดล้อมด้วยเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน GreenSense และเทคโนโลยี InnerShield ทีม่ าพร้อมกับ 5 ระบบป้องกันอันตรายจากไฟฟ้าภายในตัวเครือ่ ง เช่น ระบบป้องกันกระแสไฟเกิน ระบบป้องกันการจ่ายไฟเกิน ระบบป้องกันแรงดัน ไฟฟ้าเกิน ระบบป้องกันความร้อนสูงเกิน และระบบป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร

เครื่องล้างจานแบบติดตั้งใต้โต๊ะ ประหยัดน�้ำและประหยัดพลังงาน

โฮบาร์ท (HOBART) ประเทศไทยและอินโดไชน่า (CLMV) แนะน�ำผลิตภัณฑ์ ไฮเอนด์จากประเทศ เยอรมัน เครื่องล้างจานแบบติดตั้งใต้โต๊ะ (Under Counter) รุ่น FX-10A ประสิทธิภาพการท�ำงาน สูงสุดด้วยมาตรฐานการประหยัดน�ำ้ และประหยัดพลังงาน จนได้รบั ความไว้วางใจจากโรงแรมห้าดาว และร้านอาหาร หลายแบรนด์ดงั ระดับโลก เช่น แมคโดนัล สตาร์บคั ในยุโรป และอเมริกา ทีเ่ ลือกใช้ เพราะFX-10A สามารถท�ำความสะอาดภาชนะด้วยน�้ำร้อน ณ อุณหภูมิที่ฆ่าเชื้อโรคได้ตามหลัก โภชนาการสากล พร้อมกับโปรแกรมการล้าง ที่มีเทคโนโลยีใหม่ล่าสุดที่ถือเป็นสิทธิบัตรเฉพาะของ โฮบาร์ททีเ่ รียกว่า “จีเนียส เอ๊กซ์” (Genius X) ซึง่ จะท�ำงานโดยเซ็นเซอร์อจั ฉริยะตรวจจับความสกปรก พร้อมกับระบายเศษอาหารและไขมันทีเ่ ป็นภาระในระบบออกได้ดว้ ยตัวเอง โดยโปรแกรมจับความขุน่ จะส่งสัญญาณไป เพื่อท�ำการก�ำจัดเศษอาหาร ไขมันที่อาจจะมากหรือน้อย ขึ้นกับเซ็นเซอร์ตรวจวัด อัตโนมัติ ในทุกรอบการล้าง จึงท�ำให้เกิดการสมดุลในระบบ จนสามารถประหยัดน�ำ้ ไฟฟ้า และน�ำ้ ยาเคมี อีกทั้งเครื่องรุ่น FX-10A นี้มีการควบคุมการท�ำงานทุกโปรแกรมเพียงปลายนิ้วสัมผัสบนหน้าจอ ควบคุมอัจฉริยะทีเ่ รียกว่า “วิสโอโทรนิค”(Visiotronic) ซึง่ แสดงผลชัดเจนด้วย LED เรืองแสง หลากสี บอกสถานะบนปุม่ กดเพียงปุม่ เดียว เหมาะส�ำหรับติดตัง้ วางไว้ใต้โต๊ะ เคาท์เตอร์ พร้อมดีไซน์ทที่ นั สมัย ตอบโจทย์ธุรกิจโรงแรม บาร์ ภัตตาคารและ ร้านอาหาร ไฮเอนด์ ได้อย่างลงตัว VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

69


เดสก์ท็อป Dell OptiPlex ใหม่

เหมาะอย่างยิ่งส�ำหรับที่ท�ำงานอันทันสมัย

สตีเบล เอลทรอน ต่อยอดเครื่องกรองน�้ำคุณภาพด้วย ‘เนเจอร์’ (Nature) สตีเบล เอลทรอน ผู้ผลิตเครื่องท�ำน�้ำอุ่นชั้นน�ำจากประเทศเยอรมัน ส่งเครื่องกรองน�้ำไร้สาย NATURE ต่อยอดกลุ่มเครื่องกรองน�้ำคุณภาพ มาตรฐานวิศวกรรมเยอรมัน ด้วยรูปลักษณ์เรียบหรู สุดโมเดิรน์ เหมาะส�ำหรับ ท่ า นที่ ต ้ อ งการน� ำ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เข้ า สู ่ บ ้ า น โดย เครื่องกรองน�ำ้ ใหม่ล่าสุดรุ่น ‘เนเจอร์ (Nature)’ มีนวัตกรรมเทคโนโลยี Nano Alumina Fiber ซึ่งได้รับการจดสิทธิบัตรจากนาซ่า (NASA) ที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถคัดกรองและขจัดแบคทีเรียและไวรัส ได้มากถึง 99.99% ดังนั้นน�้ำที่กรองออกมาจึงมีความสะอาดบริสุทธิ์ เป็นอย่างมาก ด้วยดีไซน์สุดกะทัดรัดและความหนาเพียง 115 มิลลิเมตร จึงท�ำให้สามารถน�ำเครื่องกรองน�ำ้ เนเจอร์ ไปวางไว้ที่ใดในบ้านก็ได้ตั้งแต่ ห้องครัวไปจนกระทั่งห้องนอน นอกจากนี้แล้วเครื่องกรองน�้ำเนเจอร์ ยังสามารถท�ำงานได้โดยไม่ต้องพึ่งพาไฟฟ้าหรือแทงก์น�้ำท�ำให้การติดตั้ง ได้อย่างง่ายดาย

เดลล์ ประกาศเปิดตัวสายผลิตภัณฑ์ OptiPlex ที่ปรับปรุงใหม่ เป็น เดสก์ท็อปคอมเมอร์เชียลที่ให้ความสามารถด้านการจัดการและให้ ความปลอดภั ย มากที่ สุ ด ในโลก เปลี่ ย นภาพจ� ำ เกี่ ย วกั บ เดสก์ ท็ อ ป คอมเมอร์เชียล ด้วยการออกแบบในรูปของ มินิ ทาวเวอร์ รูปทรงขนาดเล็ก (Small Form Factor) และแบบเล็กมาก (Micro Form Factor) ที่ประหยัดพลังงานมากขึ้น ตัวเล็กลงแต่ให้ความเร็วมากขึ้น ซึ่งรูปแบบ การท�ำงานของคนท�ำงานพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ท�ำให้องค์กรธุรกิจต้อง ลงทุนเทคโนโลยีที่ช่วยให้พนักงานท�ำงานได้เร็วขึ้น ตัดสินใจได้ดีขึ้น และ ประสานการท�ำงานร่วมกันได้ดียิ่งขึ้น ให้ประสิทธิผลของงานมากขึ้น ซึ่งมินิ ทาวเวอร์ จะมีขนาดเล็กลงกว่ารุ่นก่อนหน้าถึง 43% และเมือ่ เปลีย่ นมาใช้ไมโคร เดสก์ทอ็ ป แทนเดสก์ทอ็ ปรุน่ เก่าทัง้ หมด 10,000 เครือ่ ง ก็จะสามารถประหยัดพื้น ที่ในสถานที่ท�ำงานซึ่งมีค่า ใช้จ่า ยแพง ได้ มากกว่า 7,700 ตารางฟุต เรื่องนี้นับเป็นเรื่องส�ำคัญในเวลาที่บริษัท ก�ำลังจินตนาการถึงสภาพแวดล้อมการท�ำงานที่พร้อมรับอนาคตและ รองรับการประสานงานร่วมกันได้ดียิ่งขึ้น สายผลิตภัณฑ์ที่อัพเดทใหม่นี้ ใช้โครงสร้างตัวเลขรุน่ ใหม่คอื 3000/5000/7000 เพือ่ ให้ลกู ค้าเปรียบเทียบ และเลือกผลิตภัณฑ์ได้ง่าย ได้แก่ OptiPlex 7040, OptiPlex 5040, OptiPlex 3040, OptiPlex 24 7000 Series All-In-One (7440) และ OptiPlex 22 3000 Series All-In-One (3240)

“ฮิตาชิ” เครื่องซักผ้าฝาบนความจุ 24 กิโลกรัม บริษัท ฮิตาชิเซลส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้น�ำด้านเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านคุณภาพเยี่ยมจากประเทศ ญีป่ นุ่ แนะน�ำเครือ่ งซักผ้ารุน่ “SF-240XWV” ทีส่ ดุ แห่งผูช้ ว่ ยด้านงานซักทีต่ อบโจทย์ทกุ ไลฟ์สไตล์ ชูจดุ เด่น ด้านความสะดวกสบาย และการประหยัดพลังงานที่เหนือกว่า ไม่ว่าจะเป็นการซักผ้าในปริมาณมาก หรือ การซักแบบน้อยชิ้นในโหมด Small load ที่ช่วยให้คุณประหยัดค่าไฟได้มากขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยี ระบบกระแสน�้ำพลังสูง (Ultra-Stream Wash) เพื่อความสะอาดและช่วยถนอมเนื้อผ้าได้อย่างดีเยี่ยม ทีม่ าพร้อมถังซักความจุมากทีส่ ดุ ในประเทศไทยถึง 24 กิโลกรัม ภายใต้แนวคิด 24/7 หรือ 24 กิโลกรัม/7วัน คือการที่เราสามารถซักผ้าที่ใช้ตลอดทั้งสัปดาห์ได้ภายในการซักเพียงครั้งเดียว จากการส�ำรวจของฮิตาชิ พบว่าอัตราเฉลี่ยการใช้เสื้อผ้าของสมาชิกในครัวเรือนต่อ 1 สัปดาห์ (เฉลี่ยจ�ำนวนสมาชิกต่อ 1 ครัวเรือน อยู่ที่ 4 คน) พบว่าในแต่ละวันเราใช้เสื้อผ้าประมาณ 0.8 กิโลกรัมต่อคน หากครอบครัวของเรามีสมาชิก ประมาณ 4 คน ใน 1 สัปดาห์จะมีการใช้เสื้อผ้าทั้งสิ้น 0.8 กก. x 4 คน x 7 วัน เท่ากับ 22.4 กิโลกรัม ซึง่ เครือ่ งซักผ้าฮิตาชิรนุ่ 24 กิโลกรัมนี้ จะสามารถซักผ้าของคนทัง้ ครอบครัวได้อย่างสะอาดหมดจดทัง้ หมด ภายในการซักเพียงครั้งเดียว หรือแม้แต่ผ้าชิ้นใหญ่อย่างผ้านวมขนาดคิงไซส์ก็สามารถซักได้อย่างง่ายดาย โดดเด่นด้วยเทคโนโลยีที่จะมาช่วยเพิ่มความประหยัดคุ้มค่า และเอื้อประโยชน์ด้านสุขอนามัยเพื่อ ความสะอาดอย่างแท้จริง 70

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6



Product REVIEW Commercial TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

ไฮเออร์ส่งเครื่องปรับอากาศรุ่นใหม่เจาะตลาดซัมเมอร์ ชูนวัตกรรมเย็นเร็ว..ประหยัดจริง ไฮเออร์ ชีต้ ลาดเครือ่ งปรับอากาศแข่งขันแรงรับอากาศร้อนจัดซัมเมอร์นี้ เตรียมส่ง เครื่องปรับอากาศรุ่น “Ultimate Cool” ที่มาพร้อมประสิทธิภาพความเย็นฉับไว 4 องศาใน 1 นาที และให้ความคุม้ ค่าได้มากกว่า ช่วยประหยัดไฟได้จริง คาดรายได้ ช่วงฤดูร้อนนี้เพิ่มขึ้น 15% คิดเป็นรายรับรวมทั้งหมดประมาณ 800 ล้านบาท

มร. หยาง เสี้ยวหลิน ประธานกรรมการบริหาร กลุ่มบริษัทไฮเออร์ ประเทศไทย

มร. หยาง เสี้ยวหลิน ประธานกรรมการ บริหาร กลุ่มบริษัทไฮเออร์ ประเทศไทย ผูผ้ ลิตและจัดจ�ำหน่ายเครือ่ งใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน แบรนด์ ไ ฮเออร์ กล่ า วว่ า “ไฮเออร์ ไ ด้ ทุ ่ ม งบประมาณการลงทุนกว่า 300 ล้านบาท ซึ่ง งบการลงทุนส่วนหนึ่งมีผลท�ำให้ก�ำลังการผลิต เครื่ อ งปรั บอากาศเพิ่ม อีก 30% เพื่อรองรับ ความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ แม้ ภ าพรวมสภาวะเศรษฐกิ จ ที่ ส ่ ง ผลให้ ก าร จับจ่ายของผูบ้ ริโภคมีการใช้จา่ ยอย่างระมัดระวัง มากยิ่งขึ้น แต่ด้วยอากาศที่ร้อนบวกกับความ ต้องการเครื่องปรับอากาศกลายเป็นสิ่งจ�ำเป็น ของคนไทยในยุคปัจจุบัน พร้อมการสนับสนุน จากภาครัฐเกี่ยวกับโครงการบ้านประชารัฐและ การลงทุนจากภาคเอกชน ซึ่งมีผลท�ำให้ตลาด เครื่ อ งปรั บ อากาศจะยั ง สามารถเติ บ โตได้ ดี ในปีนี้ราว 10-15% มากกว่าปีที่ผ่านมา” ในปีนจี้ ะมีสนิ ค้าใหม่ ๆ ออกสูต่ ลาดหลายรุน่ โดยเฉพาะหน้าร้อนนี้ได้ส่งเครื่องปรับอากาศ ไฮเออร์รุ่น “Ultimate Cool” แบ่งเป็น 4 โมเดล ได้แก่ HSU-10VNQ03T ขนาด 10,000 BTU, HSU-13VNQ03T ขนาด 13,000 BTU, HSU-18VNQ03T ขนาด 18,000 BTU และ 72

E N E R G Y S AV I N G

HSU-24VNQ03T ขนาด 24,000 BTU ซึ่งเป็น เครื่ อ งปรั บ อากาศไฮเออร์ รุ ่ น อิ น เวอร์ เ ตอร์ ที่ ม าพร้ อ มกั บ จุ ด เด่ น Fast Cooling : เทคโนโลยี Turbo Cool เย็นเร็วทันใจ 4 องศา ใน 1 นาที ระบบจะท�ำความเย็นเร็วขึ้นถึง 47% โดยอัตโนมัติ Healthy : เทคโนโลยี Blue Fin Clean System เคลือบสารลดความชื้น ลดการเกาะ ของฝุ่นละอองและหยดน�้ำบนแผงคอยล์ เ ย็ น เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและยื ด อายุ ก ารใช้ ง าน, Saving: เทคโนโลยี DC Inverter ช่วยให้ ประหยัดพลังงานสูงสุด 63% เมื่อเทียบกับ เครื่องปรับอากาศรุ่นธรรมดา, เครื่องท�ำงาน เงียบเพียง 22 dB และ Warranty: เป็นเครื่อง ปรับอากาศรายแรกทีก่ ล้ารับประกันตัวเครือ่ ง 5 ปี พร้อมการรับประกันคอมเพรสเซอร์ 5 ปี และ รับประกันอะไหล่ 5 ปี ซึ่งสามารถตอบโจทย์ ทุกความต้องการของผูบ้ ริโภค ทัง้ เรือ่ งนวัตกรรม ฟังก์ชั่นโดดเด่น ดีไซน์หรู เรียบง่าย สามารถ ติดตั้งในทุกห้องได้อย่างลงตัว เปรียบเสมือน เฟอร์นิเจอร์ชิ้นหนึ่งของบ้าน เพื่อตอบสนอง ความสะดวกสบายของการใช้ชีวิต สามารถ สร้างสีสนั ในตลาดเครือ่ งปรับอากาศในหน้าร้อน นี้ได้เป็นอย่างดี ประกอบกับแคมเปญส่งเสริม

การขาย Haier Hot Summer Hot Sale ที่น�ำสินค้ามาลดราคา พร้อมโปรโมชั่นผ่อน 0% นานสูงสุด 15 เดือน และ Cash Back สูงสุด 2,000 บาท มากระตุน้ ก�ำลังซือ้ ในช่วงหน้าร้อนนี้ ซึ่ ง คาดว่ า น่ า จะท� ำ ให้ ตั ว เลขรายได้ ข อง เครื่องปรับอากาศไฮเออร์เพิ่มขึ้นถึง 15% เมื่อ เทียบกับปีทผี่ า่ นมา หรือคิดเป็นรายรับรวมทัง้ หมด ประมาณ 800 ล้านบาท ส�ำหรับทิศทางการด�ำเนินงานในปี 2559 ไฮเออร์ยังคงเน้นในเรื่องการสร้างการรับรู้ของ แบรนด์ การจัดกิจกรรมทางการตลาด โฆษณา และการประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ เช่น การจัด กิ จ กรรมโรดโชว์ ต ามร้ า นตั ว แทนจ� ำ หน่ า ย ทัว่ ประเทศเพือ่ ส่งเสริมด้านการตลาดและสร้างการ รั บ รู ้ ใ ห้ แ ก่ ผู ้ บ ริ โ ภค ความร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก ร ทัง้ ภาครัฐและเอกชนในด้านต่าง ๆ การช่วยเหลือ สังคม รวมถึงการไปบรรยายตามสถาบันการ ศึกษาต่าง ๆ ทั่วประเทศซึ่งจัดมาเป็นปีที่ 3 เพือ่ เป็นการสร้างการรับรูใ้ ห้กบั แบรนด์อกี ทางหนึง่ ด้วย โดยวัตถุประสงค์หลักคือเพื่อผลิตสินค้าที่ สามารถตอบโจทย์ สร้างความพึงพอใจให้แก่ ผูบ้ ริโภค ซึง่ เป็นเป้าหมายอันดับหนึง่ ของไฮเออร์ ทั่ ว โลก ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ผู ้ บ ริ โ ภครู ้ จั ก ยอมรั บ และเลือกใช้สินค้าของไฮเออร์

M ay 2 0 1 6


INTERVIEW TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

กวาดงานก่อสร้าง โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน ตั้งเป้ารับรู้รายได้ 5,600 ล้านบาท Interview ฉบั บ นี้ พาท่ า นผู ้ อ ่ า นไป ฉลองความส� ำ เร็ จ ของ “อิ ตั ล ไทย วิ ศ วกรรม” ก่ อ สร้ า งโรงไฟฟ้ า พลั ง งานทดแทน ทั้ ง พลั ง งานแสง อาทิตย์และพลังงานลมได้ส�ำเร็จหลาย โครงการ โดยสามารถจ่ายไฟฟ้าและ ขายไฟฟ้าได้ทนั เวลาทีก่ ำ� หนด พร้อมตัง้ เป้าการรั บ รู ้ ร ายได้ ใ นปี 2559 ไว้ ที่ 5,600 ล้านบาท คุณสกล เหล่าสุวรรณ กรรมการผู้จัดการ บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จ�ำกัด

คุณสกล เหล่าสุวรรณ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม จ�ำกัด หนึง่ ใน บริษัทผู้น�ำตลาดทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้าง แบบครบวงจรด้ ว ยประสบการณ์ ที่ สั่ ง สมมา ตลอด 49 ปี ภายใต้ “อิตลั ไทย กรุป๊ ” เปิดเผยว่า บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจออกแบบ และก่อสร้างโรงไฟฟ้า พลั ง งานทดแทน (Renewable Energy) โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงาน ชี ว มวลและพลั ง งานจากขยะ โรงไฟฟ้ า พลั ง ความร้อน สถานีไฟฟ้าแรงสูง งานก่อสร้างระบบ สาธารณูปโภคส�ำหรับโรงกลั่นน�้ำมัน โรงงาน ปิโตรเคมี และโรงงานขนาดใหญ่ และงานระบบ ไฟฟ้าและเครือ่ งกลของอาคารสูง และในปี 2558 บริษทั ฯ ได้รว่ มงานกับ บริษทั โปรเซสเอ็นจิเนียริง่ เซอร์วสิ จ�ำกัด ก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ ให้กบั บริษทั โรงพยาบาลยันฮี จ�ำกัด บริษทั บี.กริม ยันฮี โซลาร์ เพาเวอร์ จ�ำกัด (ซึง่ เป็น บริษทั ร่วมลงทุนระหว่างบริษทั บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และบริษทั ยันฮี โซล่า เพาเวอร์ จ�ำกัด) VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

73


บริษัทอินเตอร์ ฟาร์อสี ท์ วิน อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด (iWIND) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ในเครื อ IFEC group มีกำ� หนดเสร็จในวันที่ 31 มีนาคม 2559 และปัจจุบนั ก็กำ� ลังก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานลม ภายใต้โครงการชัยภูมิวินด์ฟาร์ม ให้กับบริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) (EGCO) ขนาด 80 เมกะวัตต์ ซึง่ โครงการแล้วเสร็จไปกว่า 50% และ มีกำ� หนดจ่ายไฟภายในปี 2559 นี้

และ บริษทั โซลาร์วา จ�ำกัด (ซึง่ เป็นบริษทั ร่วม ลงทุนระหว่างบริษทั บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด และ บริษทั เสนา โซลาร์ เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด) จ�ำนวน 12 โครงการ รวมก�ำลังผลิต 91.7 เมกะวัตต์ ในจังหวัด นครปฐมและพระนครศรีอยุธยา โดยสามารถจ่าย ไฟฟ้าและขายให้การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคได้ทนั เวลา ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ส�ำหรับโครงการต่าง ๆ ของ “บี.กริม ยันฮี โซลาร์ เพาเวอร์” และ “โซลาร์วา นครปฐม” มีทั้งหมด 12 โครงการ โดยมีรายละเอียดดังนี้ โครงการบี.กริม ยันฮี โซลาร์ เพาเวอร์ มีจำ� นวน 9 โครงการ ได้แก่ ไทรหลวง 1 (8 MW, 115 kV), ไทรหลวง 2 (8 MW, 115 kV), ไทรหลวง 3 (8 MW, 115 kV), ไทรหลวง 9 (7.2 MW, 115 kV), ไทรหลวง 10 (7.5 MW, 115 kV), ไทรใหญ่ หน้า (8 MW, 115 kV), ไทรมะนาว (8 MW, 115 kV), ไทรพุทรา (8 MW, 22 kV) และไทรเสนา 2 (5 MW, 22 kV) และ โครงการโซลาร์วา นครปฐม (B.Grimm–Sena Solar) มีจำ� นวน 3 โครงการ ได้แก่ ไทรแสบ (8 MW, 22 kV), ไทรลุย้ ริมน�ำ้ (8 MW, 115 kV) และไทรฉลวย (8 MW, 115 kV) ด้วยงบลงทุนกว่า 5,000 ล้านบาท โดยสามารถ จ่ายกระแสไฟฟ้าได้ตามเป้าหมาย ภายใต้ความส�ำเร็จทีเ่ กิดขึน้ อิตลั ไทยวิศวกรรม รับผิดชอบงานในส่วนของการออกแบบ จัดหา และก่อสร้าง พร้อมติดตัง้ ทดสอบ โรงไฟฟ้าแสง อาทิตย์ พร้อมสถานีไฟฟ้าย่อย 115/22 kV รวมทัง้ 74

E N E R G Y S AV I N G

ติดต่อประสานงานกับการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคและ คณะกรรมการกิจการพลังงาน (ERC) ในการท�ำ สัญญาจ�ำหน่ายไฟฟ้า (PPA) ให้กบั เจ้าของงาน และการขออนุมตั กิ อ่ สร้างและทดสอบจ่ายไฟใน แต่ละโครงการ จนสามารถต่อเชือ่ ม เพือ่ จ�ำหน่าย ไฟฟ้าให้กบั การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคครบทุกสัญญา ได้ในวันที่ 28 ธันวาคม 2558 ก่อนก�ำหนดเวลาที่ รัฐบาลก�ำหนดคือ 31 ธันวาคม 2558 ทัง้ นีใ้ นปี 2558 ทีผ่ า่ นมาถือเป็นปีแห่งการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน เพราะบริษทั สามารถก่อสร้างและจ่ายกระแสไฟฟ้าส�ำหรับ โรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์รวมกว่า 139 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังงานลมอีก 10 เมกะวัตต์ นอกเหนือจากโครงการดังกล่าวบริษทั ยังได้ดำ� เนิน การก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์อีก 2 โครงการ เสร็ จ ทั น เวลาตามก� ำ หนดเวลา คือ โครงการโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ของบริษทั ซุปเปอร์ เอนเนอร์ยอี่ ยูใ่ นเครือบริษทั ซุปเปอร์ บล๊อก จ�ำกัด (มหาชน)ขนาด 41 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์แบบหมุนตาม แสงอาทิตย์ของบริษทั SunEdison ขนาด 6.5 เมกะวัตต์ ทีจ่ งั หวัดลพบุรี ในขณะเดียวกันด้านโรงไฟฟ้าพลังงานลม บริษัทก็ได้ร่วมกับบริษัท โกลด์วินด์ ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน ก่อสร้างโรงไฟฟ้า พลังงานลม ขนาด 10 เมกะวัตต์ ที่อ�ำเภอ ปากพนั ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช ให้ กั บ

อิตลั ไทยวิศวกรรม ตัง้ เป้าการรับรูร้ ายได้ในปี 2559 ไว้ที่ 5,600 ล้านบาท ซึง่ ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีมลู ค่างานในมือ (backlog) กว่า 6,000 ล้านบาท โดยรายได้ดังกล่าว นอกเหนือจากรายได้จาก งานก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนแล้ว ยัง มาจากงานก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูงของการ ไฟฟ้าทั้ง 3 แห่ง งานก่อสร้างระบบประกอบ อาคารสูง งานก่อสร้างโรงงานและสาธารณูปโภค ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี น�้ำมัน และแก๊สและ งานก่อสร้างระบบจ่ายสาธารณูปโภคของนิคม อุตสาหกรรม และบริษทั ฯยังคงเดินหน้ารับงาน อย่างต่อเนื่องทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากความช�ำนาญและผลงานที่สามารถ ส่งมอบโครงการภายในก�ำหนดเวลาด้วยคุณภาพ และความพึงพอใจแก่ลกู ค้า บริษทั ฯ มีความมัน่ ใจ เป็นอย่างยิง่ ว่าจะสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่าง แน่นอน M AY 2 0 1 6


การประหยัดพลังงานไฟฟ้า ในโรงงานอุตสาหกรรม

ในยุคที่เศรษฐกิจฝืดเคืองเช่นนี้ การบริหารโรงงานอุตสาหกรรมจ�ำเป็นต้องค�ำนึง ถึงการผลิตที่มีค่าใช้จ่ายเป็นต้นทุนการผลิตที่ต�่ำลง หนทางหนึ่งที่จะช่วยลดต้นทุน การผลิต คือ การใช้พลังงานทุกประเภทอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพ การประหยัด พลังงานของโรงงาน หมายถึงการลดใช้พลังงานลงโดยการจัดการใช้พลังงานให้ เหมาะสมเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด โดยไม่ท�ำให้กระบวนการผลิตลดลงและไม่ท�ำให้ คุณภาพของผลิตภัณฑ์เปลี่ยนแปลง

พลั ง งานไฟฟ้ า เป็ น พลั ง งานที่ มี ค วาม จ�ำเป็นและการใช้ในการผลิตของทุกโรงงาน ความจ�ำเป็น และความส�ำคัญของการประหยัด พลังงานไฟฟ้า จึงไม่ใช่เพียงแต่เอือ้ ประโยชน์ตอ่ ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมเพียงเท่านัน้ แต่ยงั เป็นความจ�ำเป็นและมีความส�ำคัญต่อเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศด้วย เนื่องจากการผลิต ไฟฟ้าของประเทศไทยในปัจจุบัน ยังต้องพึ่ง เชือ้ เพลิงน�ำเข้าจากต่างประเทศ และมีแนวโน้มว่า จะต้องมีการน�ำเข้าเชื้อเพลิงเพิ่มมากขึ้นตาม ปริ ม าณความต้ อ งการใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ซึง่ เป็น สาขาทีม่ คี วามต้องการไฟฟ้าสูงสุด กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงานได้เสนอแนะ ว่าการประหยัดพลังงานในโรงงาน ควรมีการ ด�ำเนินเป็นขัน้ ตอนโดยเริม่ จากเทคโนโลยีทงี่ า่ ย VOLUME 8 ISSUE 90

Energy Tip TEXT : ไบโอ

การเปลี่ ย นแปลงอุ ป กรณ์ ห รื อ ระบบ (Major Change Equipment) เมือ่ การตรวจ วิเคราะห์ขนั้ ต้นชีใ้ ห้เห็นว่า สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานได้มาก โดยการเปลี่ ย นหรื อ เพิ่ ม อุ ป กรณ์ ทั้ ง นี้ จ ะ ต้องมีการประเมินผลตอบแทนทางการเงิน ที่ ไ ด้ จ ากการด� ำ เนิ น การมาตรการดั ง กล่ า ว ถ้าพบว่ามีความสอดคล้องเข้ากับเกณฑ์การ ลงทุนของฝ่าย บริหาร ก็จะเสนอขอความเห็นชอบ มาตรการนี้จะต้องมีการลงทุนสูงโดยมีระยะ เวลาคืนทุน 2-5 ปี ทั้ ง นี้ ก ารประหยั ด พลั ง งานไฟฟ้ า ใน โรงงานอุตสาหกรรม สามารถท�ำได้หลายวิธี เช่น การปรับปรุงต้นพลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยการ ผลิตการปรับปรุง Load Factor ให้สูงขึ้น การปรับปรุงค่า Power factor และการ ควบคุ ม ค่ า ก� ำ ลั ง ไฟฟ้ า สู ง สุ ด ของโรงงาน ซึง่ แต่ละวิธสี ามารถท�ำได้โดยการบริหารจัดการ การปรับปรุงการท�ำงาน การใช้เครื่องจักรที่มี ประสิทธิภาพการลดการสูญเสีย การบ�ำรุงรักษา ตลอดจนการใช้อปุ กรณ์ประหยัดพลังงานไฟฟ้า นัน่ เอง

ที่สุด และใช้เงินลงทุนน้อยที่สุดไปจนถึงงานที่ ต้องใช้เทคโนโลยีสูง และเงินลงทุนมากได้แก่ การบ�ำรุงรักษาและการดูแลเบื้องต้น (House Keeping) การประหยัดพลังงานโดย วิธีนี้ เป็นการปรับแต่งเครื่อง และการท�ำงาน ต่าง ๆ เช่น การก�ำหนดให้มกี รรมวิธดี แู ลรักษา ที่ถูกต้อง วิธีเหล่านี้โดยมากแล้วจะไม่ท�ำให้ ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น หรือเป้นมาตรการที่เสียค่า ใช้จ่ายน้อย แต่มีระยะคืนทุนสั้น ๆ คือน้อย กว่า 4 เดือน การปรับปรุงขบวนการเดิมเพื่อให้ได้ ประสิทธิภาพสูง ขึ้น หรือ ท� ำให้การสูญเสีย ต่าง ๆ ลดน้อยลง ซึ่งจะต้องอาศัยการตรวจ วิเคราะห์อย่างละเอียด โดยทั่วไปมาตรการ นี้จะต้องการเงินลงทุนปานกลาง โดยมีระยะ เวลาคืนทุน1 - 2 ปี E N E R G Y S AV I N G

75


เคล็ดลับว่าด้วยเครื่องดูดฝุ่น ที่ช่วยให้บ้านของคุณสะอาดเอี่ยม พร้อมประหยัดค่าไฟ การดูดฝุ่นของคุณเป็นมากกว่าท�ำความสะอาดตัวบ้าน แต่ยัง ท�ำให้คุณเปลืองค่าใช้จ่ายไปไม่น้อยใช่หรือไม่ ในขณะที่เครื่อง ดู ด ฝุ ่ น ท� ำ ให้ ก ารท� ำ ความสะอาดกลายเป็ น ง่ า ยดายยิ่ ง ขึ้ น แต่ว่าเจ้าเครื่องดูดฝุ่นนี่เองก็ยังอาจดูดพลังคุณไปไม่น้อย ทีเดียว โดยทั่วไปแล้วความสามารถในการประหยัดพลังงาน ของเครื่องดูดฝุ่นมักขึ้นอยู่กับปัจจัยสองสามข้อ ไม่ว่าจะ เป็ น ปริ ม าณพลั ง งานที่ ใ ช้ ประสิ ท ธิ ภ าพของพลั ง การดู ด รวมทั้งความสามารถในการกรองและจัดเก็บฝุ่น ทั้งนี้ เครื่อง ดูดฝุ่นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมยังมีคุณสมบัติในการประหยัด พลังงาน ไม่เพียงแต่ในการใช้งาน แต่ยังรวมถึงความรวดเร็ว ในการท�ำความสะอาดอีกด้วย

ส�ำหรับเคล็ดลับในการเลือกซื้อและรักษาเครื่องดูดฝุ่นที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมยิง่ กว่าเดิม ได้แก่

เครื่องดูดฝุ่นชนิดด้ามจับ vs เครื่องดูดฝุ่นชนิดวางใน แนวนอน (Canister)

การซือ้ รุน่ ทีป่ ระหยัดพลังงานทีเ่ หมาะกับความต้องการในการท�ำความ สะอาดของคุณทีส่ ดุ นับเป็นวิธกี ารทีด่ ที สี่ ดุ ในการเริม่ ต้นลดค่าไฟของคุณ โดยทัว่ ไปแล้วเครือ่ งดูดฝุน่ ชนิดด้ามจับ อย่าง ชุดผลิตภัณฑ์ Ergorapido 2 in 1 จะกินพลังงานน้อยกว่าเครือ่ งดูดฝุน่ ชนิดวางในแนวนอน (Canister) เพราะว่าเครือ่ งดูดฝุน่ ชนิดวางในแนวนอนต้องใช้พลังมากกว่าในการดูด เก็บฝุน่ เข้าไปในท่อเก็บ อย่างไรดี ข้อควรรูอ้ ย่างหนึง่ ก็คอื เครือ่ งดูดฝุน่ ชนิดวางในแนวนอนมัก จะมีมอเตอร์ขนาดใหญ่กว่า ซึง่ โดยทัว่ ไปแล้วนัน่ หมายถึงพลังการดูดทีม่ ี มากกว่า เครือ่ งดูดฝุน่ ชนิดวางในแนวนอน (Canister) อย่างเช่นรุน่ Ultra Active ยังมาพร้อมกับอุปกรณ์เสริมและหัวดูดฝุน่ ทีห่ ลายหลายมากกว่า ท�ำให้สามารถท�ำความสะอาดพืน้ ทีท่ เี่ ข้าถึงยากและซอกแคบ ๆ ได้แบบ อเนกประสงค์มากกว่า

รักษาความสะอาดอยู่เสมอ

การรักษาความสะอาดเครื่องดูดฝุ่นของคุณอยู่เสมอ จะท�ำให้เครื่อง ดูดฝุน่ ดีตอ่ สภาพแวดล้อมยิง่ ขึน้ โดยคุณควรน�ำถุงเก็บฝุน่ ออกมาเทฝุน่ ทิง้ เป็ น ประจ� ำ การสละเวลาท� ำ ความสะอาดเพี ย งเล็ ก น้ อ ยจะช่ ว ยให้ คุณไม่ต้องเดินเครื่องใช้งานเครื่องดูดฝุ่นซ�้ำจากจุดเดิมทุกครั้ง ขณะที่ เครื่องดูดฝุ่นของคุณพยายามเก็บฝุ่นผงและหาที่ว่างในการเก็บด้านใน ท้ายที่สุดการใช้งานที่นานขึ้นยังหมายถึงการใช้ไฟมากขึ้นอีกด้วย อีกทั้ง หมั่นเปลี่ยนตัวกรองของเครื่องดูดฝุ่นเป็นประจ�ำด้วย เพื่อให้ตัวกรองฝุ่น ไม่สกัดกัน้ ทางการไหลของอากาศในเครือ่ งดูดฝุน่ และสามารถเก็บฝุน่ ได้ ง่ายและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ตรวจสอบระดับการประหยัดพลังงานให้ดี

ในการเลือกเครือ่ งดูดฝุน่ ควรสังเกตฉลากระดับการประหยัดพลังงาน ที่อยู่บนตัวอุปกรณ์ เช่น ฉลาก Energy Star ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป ไต้หวัน และญีป่ นุ่ เป็นต้น ส่วนบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จะใช้ระบบการวัดระดับการประหยัดพลังงานของตนเอง เช่น ฉลาก Energy Label ในสิงคโปร์ ฉลาก Energy Rating ในมาเลเซีย หรือฉลาก China Energy ในจีน 76

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6


Hom fragrances เทียนหอม คิดมาเพื่อโลก

GREEN 4 U TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

หลายท่านคงจะรู้จักกันดีกับผลิตภัณฑ์ยอดนิยมทั้งในกลุ่มชาวไทย และกลุ่มชาว ต่างชาติ อย่าง เทียนหอม ที่ไม่เพียงแต่ให้ แสงสว่าง แต่ที่ส�ำคัญอยู่ที่กลิ่นตอนจุด สามารถช่วยให้ผ่อนคลาย หรือสดชื่นขึ้นได้ โดยเฉพาะสปาในประเทศไทยที่มีชื่อเสียง เลื่องลือไปทั่วโลก เทียนหอมกลายเป็นเอกลักษณ์ส�ำคัญซึ่งช่วยสร้างบรรยากาศ อย่างมากภายในร้าน หรือแม้แต่ภายในบ้านพักอาศัยก็เป็นที่นิยมไม่น้อยเช่นกัน เมือ่ กลิน่ เป็นสิง่ ส�ำคัญของเทียนหอม ฉะนัน้ ควันทีล่ อยออกมาหากมีสารพิษปนเปือ้ นจะมี ผลเสียตามมา เทียนหอมไขถั่วเหลืองจึงเกิดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญาเหล่านี้ คุณพีรพงษ์ ดวงรัตน์

คุณพีรพงษ์ ดวงรัตน์ และคุณศรสวรรค์ ปินะกาสัง Co founder แห่ง Hom fragrances กล่าวว่า เริม่ จากการอยากมีธรุ กิจ เล็ก ๆ เป็นของตัวเอง เริม่ มองมาทีผ่ ลิตภัณฑ์ที่ เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพราะเป็นสิง่ ทีเ่ ราชอบ อยู่แล้ว ด้วยความบังเอิญไปเห็นเทียนหอม ไขถั่วเหลืองในต่างประเทศ แม้ว่าผลิตภัณฑ์ ลักษณะนี้จะมีมานานแล้ว แต่เราใส่ความคิด สร้างสรรค์เฉพาะตัวเข้าไป ท�ำให้เกิดไอเดีย ใหม่ ๆ ขึน้ กับตัวเทียน จนเป็นรูปเป็นร่างขึน้ มา ได้ โดยเทียนแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ เทียนที่คงรูป อยู่ได้ด้วยตัวเอง กับเทียนที่ ต้องอาศัยภาชนะ โดยเทียนหอมไขถั่วเหลือง อยูใ่ นประเภทหลัง เนือ่ งจากมีขอ้ จ�ำกัดในเรือ่ ง ความแข็งแรง ไม่สามารถผลิตเทียนแท่งที่ต้อง ใช้ความแข็งในการก่อตัวได้ วัตถุดบิ น�ำเข้าจาก ต่างประเทศ เนือ้ เทียนทัว่ ไปท�ำจากไขพาราฟิน (Paraffin wax candle) เป็นสารไฮโดรคาร์บอนหนักที่ ผลิตมาจากน�ำ้ มันดิบ ซึ่งผลิตโดย การคัดแยก ไขออกจากน�้ำมันดิบ ก่อนที่จะส่งน�้ำมันดิบ ออกสู่ตลาดเพื่อน�ำมาเป็นพลังงานเชื้อเพลิง ในขั้นต่อไป เมื่อจุดจะปล่อยควนที่เป็นสาร พิษเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดและ หอบหืด ด้วยเนือ่ งดวยการเผาไหม้ของพาราฟิน ให้อณ ุ หภูมไิ ม่สงู เพียงพอทีจ่ ะเผาผลาญโมเลกุล

VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

77


ที่เป็นอันตราย เช่น toluene และ benzene ซึ่ ง เป็ น สารก่ อ มะเร็ ง จึ ง ถู ก ปล่ อ ยออกมา แต่ตวั เทียนของ Hom fragrances ท�ำจากน�ำ้ มัน สกัดถั่วเหลือง มีคุณสมบัติเด่นที่มีอุณหภูมิ การเผาไหม้ต�่ำกว่าเทียนไขพาราฟิน ไม่มีสาร พิษ จึงอันตรายน้อยกว่า เมื่อน�้ำตาเทียนหยด ถูกผิวหนังตามร่างกาย ไม่มีเขม่าด�ำหรือควัน เวลาสู ด ดมจะไม่ มี ผ ลอั น ตรายต่ อ ร่ า งกาย จุ ด ได้ น านกว่ า เที ย นพาราฟิ น ถึ ง 30-40% อีกทัง้ ไขถัว่ เหลืองเป็นทรัพยากรหมุนเวียนของ เกษตรกรได้อีกด้วย ด้ ว ยความที่ ชู จุ ด เด่ น ด้ า นความเป็ น ผลิตภัณฑ์ ECO ท�ำให้ไม่เพียงแต่ตวั เทียนทีเ่ ป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ได้คิดต่อยอด ไปจนภาชนะบรรจุ ใช้เป็นขวดเบียร์น�ำมา ตัดตกแต่งให้กลายเป็นขวดบรรจุเทียนหอม ตั ว ขวดมี 3 สี 3 ขนาด คื อ สี เขี ย ว กลิ่ น Peppermint Cream, Guava Fig, Lavender apple, Rosemary Mint, Spring Morning, Watermelon Lemonade สี น�้ ำ ตาล กลิ่น Blueberry Muffin, Coco Mango,

78

E N E R G Y S AV I N G

เราเชื่อว่า หากเรารักษ์โลก โลกก็จะรักเราด้วย Vanilla Pear, Hawaiian Pineapple, Apple Cinnamon, Red Currant, Moonlight Tuberose และสีขาว กลิ่น Mango Passion Fruit, Jasmine White Lily, Wild Hibiscus Champagne, Jasmine Papaya, White Gardenia, Georgia Peach มีวธิ กี ารใช้และเก็บดูแลรักษาจากการศึกษา มาเป็ น พิ เ ศษเพื่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด เช่ น ก่อนจุดทุกครัง้ ตัดใส้เทียนให้ เหลือ 5 มม. จุดครัง้ แรก ควรจุดให้น�้ำตาเทียนละลายจนถึงขอบ ภาชนะ หากเกิดเปลวไฟสูงเกินกว่า 2 นิ้ว และเขม่าสีด�ำ (แสดงว่าใส้เทียนยาวไป) ให้ดับ แล้วตัดใส้เทียนให้เหลือ 5 มม. จึงจุดอีกครั้ง

หากปลายใส้เทียนมีกอ้ นเขม่าคาร์บอนอยูม่ าก ให้ดับเทียนแล้วตัดใส้เทียนให้เหลือ 5 มม. แล้วจุดอีกครัง้ จุม่ ใส้เทียนลงในน�ำ้ ตาเทียนเพือ่ ดับ (การท�ำอย่างนี้จะท�ำให้น�้ำตาเทียนเคลือบตัว ใส้เทียน ท�ำให้ใส้เทียนไม่กรอบ และจุดติดง่าย ในครั้งต่อไป) ไม่ควรเป่าให้ดับ เพราะจะเกิด เขม่า และควรเก็บไว้ในที่เย็น หลีกเลี่ยงการ วางให้โดนแสงแดดโดยตรง เราเชื่อว่า หากเรารักษ์โลก โลกก็จะรัก เราด้ ว ย เหมื อ นกั บ กระแสตอบรั บ ที่ ดี ม าก จากลูกค้า มีการชื่นชมในวัตถุดิบที่มีคุณภาพ ซึ่งน�ำเข้าจากต่างประเทศ เพื่อคุณภาพของ วัสดุที่ดีกว่า ไม่ว่าจะเป็นเนื้อเทียน ไส้เทียน มีเพียงขวดที่เป็นของเหลือใช้ภายในประเทศ โดยลูกค้าที่เข้ามาหาเราส่วนมากจะเข้าใจใน ความเป็นผลิตภัณฑ์ ECO ว่าอาจมีราคาสูงกว่า ตลาดทัว่ ไปเพียงเล็กน้ย แต่เมือ่ เทียบกับวัสดุทดี่ ี มีคุณภาพกว่าแล้วนั้นลูกค้าก็พร้อมจะเข้าใจ โดยเฉพาะชาวต่างชาติที่มักจะถามแม้กระทั่ง วัตถุดิบที่น�ำมาท�ำ เพราะคนที่เป็นลูกค้าของ เราส่วนมากมีความรู้ ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ แบบนี้มาพอสมควรแล้ว ก�ำลังการผลิตอยู่ที่ ประมาณ 2,000 ชิน้ /เดือน ด้วยความทีเ่ ป็นงาน ใช้ฝีมือคนท�ำเป็นส่วนมากจึงท�ำตามออเดอร์ ทีเ่ ข้ามาทัง้ หมดไม่ได้มากนัก แต่ในอนาคตหาก ทุกอย่างลงตัวจะมีการขยายเพิ่มมากขึ้น ปัจจุบันผลิตภัณฑ์วางขายอยู่ที่โครงการ Think Park นิมมาน จังหวัดเชียงใหม่ และ ออกบูธตามงานต่าง ๆ ซึ่งสามารถติดตามได้ที่ FB : Hom fragrances ในอนาคตอาจมีการขยาย ผลิตภัณฑ์ในแบบอืน่ แต่ยงั คงยืนยันในแนวทาง ของความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพราะเชือ่ ว่า ยังเป็นกระแสทีม่ าแรงต่อไปเรือ่ ย ๆ M ay 2 0 1 6



GREEN 4 U TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�ำ

เครื่องประดับจากขยะ electronic

แนวคิดเครื่องประดับชิ้นนี้เกิดมาจากแนวคิดที่ทั่วโลกมีขยะ อิเล็ก ทรอนิกส์ กว่า 50 ล้านตัน /ปี โดยสถาปนิ กชาวชิ ลี ชื่ อ Marcela Godoy แต่ ล ะปี จ ะมี ก ารเลื อ กชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ ที่โรงงานรีไซเคิลอิเล็กทรอนิกส์ฝั่งตะวันออก ในเมื อ งบรู ค ลิ น ซึ่ ง เครื่ อ งประดั บ ท� ำ มาจากกสายไฟและ ปลั๊กอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด นอกจากนี้ยังมีโครงการ Marcela ที่พยายามจะส่งเสริมให้ทุกคนในการทดลองท�ำเครื่องประดับ ในรูปแบบของตัวเอง โดยใช้ขยะเหล่านี้เพื่อความสวยงามและ ใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม (ที่มา : http://inhabitat.com/)

ขวดพลาสติกจากสาหร่าย ย่อยสลายได้

นักศึกษาโรงเรียนศิลปะไอซ์แลนด์ ชื่อ Ari Jónsson มองเห็นว่าขวดน�้ำพลาสติกที่ ใช้กันเป็นประจ�ำนั้นใช้การย่อยสลายโดยการฝังกลบถึง 1,000 ปี และครึ่งหนึ่งของ ขวดน�้ำทั้งหมดถูกใช้เพียงครั้งเดียวท�ำให้ขยะมีมากขึ้น จึงคิดค้นการแก้ไขปัญหานี้ ด้วยการสร้างขวดพลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้ ด้วยการน�ำผงวุ้นสาหร่ายผสมน�้ำ จากนั้นน�ำไปท�ำให้ร้อน เทใส่พิมพ์ น�ำพิมนั้นไปแช่ในน�ำ้ เย็นจัดจนเซตตัวออกมาเป็น ขวดพลาสติกที่เนื้อขวดนิ่มเหมือนวุ้น แถมยังสามารถเคี้ยวขวดเล่น ๆ ได้ ปลอดภัย ส�ำหรับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม (ที่มา : http://inhabitat.com/)

Birdhouses จากเศษไม้รีไซเคิล

ศิลปิน Thomas Dambo ผู้นำ� เศษไม้รีไซเคิลมาจากสถานที่ก่อสร้าง หรือจากขยะ รีไซเคิลในเมืองมาท�ำเป็น Birdhouses มากกว่า 3,000 หลัง เพื่อหวังช่วยนกที่ อาศัยอยู่ในเมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก จึงเกิดโครงการนี้ขึ้น โดยน�ำเอา Birdhouses มาติดทีก่ ำ� แพงด้านนอกของ ห้องสมุดสาธารณะ Hvalsø เพือ่ เด็กในท้องถิน่ ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างจากถนนที่วุ่นวายเพื่อให้นกได้เข้ามาอาศัยได้จริง (ที่มา : http://inhabitat.com/)

Recycle to Reborn เปลี่ยนขวดน�้ำเป็นอาหารสุนัข

ประเทศตุรกี เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีปัญหาเรื่องสุนัขจรจัด บริษทั Pugedon จึงสร้างไอเดีย เชิญชวนให้คนน�ำขวดพลาสติก มารีไซเคิล ใช้ใหม่อีกครั้งให้คุ้มค่ากว่าเพียงการเก็บไปขาย ด้วยการรณรงค์ให้คนน�ำขวดรีไซเคิลใส่ในตูร้ บั ทิง้ ขวดน�ำ้ แล้วสักพัก ตูจ้ ะปล่อยอาหารเม็ดให้สนุ ขั โดยเราน�ำแค่ขวดเปล่าใส่ลงไปใน บริเวณทีร่ บั ขวด แล้วสักพักตูจ้ ะปล่อยอาหารเม็ดลงมาใส่จานที่ ข้างเครื่อง ส่วนจานอีกใบที่อยู่ข้าง ๆ จานอาหาร เราสามารถ เทน�ำ้ ทีด่ มื่ ไม่หมดใส่จานใบนัน้ ได้ เป็นการใช้ทรัพยากรให้คมุ้ ค่า และได้แบ่งปันให้เพื่อนร่วมโลก (ที่มา : http://www.iurban.in.th/)

80

E N E R G Y S AV I N G

S E P T E MM B Eay R 2 0 1 65


Energy Invention

กังหันลม แบบใบพัดหมุนสวนทาง TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

พลังงานลม พลังงานสะอาด

กระแสของพลั ง งานสะอาดยั ง คงได้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง หลายหน่ ว ยงาน พยายามมองหาช่องทางในการน�ำพลังงานสะอาดมาต่อยอดเพื่อพัฒนาธุรกิจให้มี ความก้าวหน้าและน่าสนใจ ในประเทศไทยนอกจากพลังงานแสงอาทิตย์แล้ว พลังงานลม ก็ เ ป็ น อี ก ทางเลื อ กที่ มี ค วามน่ า สนใจเช่ น กั น เพราะพลั ง งานลม เป็ น พลั ง งาน ธรรมชาติที่สะอาดและบริสุทธิ์ ใช้แล้วไม่มีวันหมดสิ้นไปจากโลก จึงท�ำให้พลังงาน ลมได้ รั บ ความสนใจในการศึ ก ษาและพั ฒ นาให้ เ กิ ด ประโยชน์ กั น อย่ า งกว้ า งขวาง ดร.นริ น ทร์ บุ ญ ตานนท์ จากศู น ย์ วิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ด ้ า นนวั ต กรรม เพือ่ สิง่ แวดล้อม คณะสิง่ แวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จึงได้คดิ ค้น “กังหันลมแบบใบพัดหมุนสวนทาง” ขึ้นมาเพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการผลิตกระแส ไฟฟ้าจากพลังงานลม ดร.นริ น ทร์ บุ ญ ตานนท์ เล่ า ถึ ง แรง บั น ดาลใจในการประดิ ษ ฐ์ กั ง หั น ลม แบบใบพั ด หมุ น สวนทาง ว่ า เริ่ ม จากเรื่ อ ง ของพลังงานไฟฟ้าที่ทุกวันนี้มีความต้องการ พลังงานสะอาดจากลมมากขึน้ แต่ประเทศไทย มีปริมาณลมค่อ นข้ า งน้ อ ย จึ ง ท� ำ ให้ ก ารได้ กระแสไฟฟ้ า จากพลั ง งานลมยั ง น้ อ ย เรือ่ งไฟฟ้าจากพลังงานลมจึงยังเป็นเรือ่ งทีส่ งั คม ไทยไม่คอ่ ยพูดถึง ถ้าเทียบกับการผลิตกระแส

VOLUME 8 ISSUE 90

ไฟฟ้ า จากพลั ง งานส่ ว นอื่ น ดั ง นั้ น จึ ง เกิ ด ความคิดขึน้ มาว่าจะท�ำอย่างไรให้สามารถผลิต กระแสไฟฟ้าได้ท่ามกลางพลังงานลมที่มีน้อย จนน�ำมาสู่กระบวนการเริ่มคิดวิเคราะห์และ ผลิตกังหันลมแบบใบพัดหมุนสวนทางขึ้นมา หลั ง จากที ม งานใช้ เวลาถึ ง 5 ปี ใ นการ ศึกษากังหันลมที่ใช้อยู่ทั่ว ๆ ไป มีโครงสร้าง การท� ำ งานที่ พ บว่ า กั ง หั น ลมจะมี ก าร เคลื่ อ นที่ แ ค่ โรเตอร์ คื อ ส่ ว นของเครื่ อ ง

ดร.นรินทร์ บุญตานนท์

ก� ำ เนิ ด ไฟฟ้ า ที่ ติ ด กั บ ใบพั ด อย่ า งเดี ย ว จึ ง ท� ำ ให้ เ วลาใบพั ด รั บ ลม (ซึ่ ง โดยทั่ ว ไป ความเร็ว ลมเฉลี่ยในบ้า นเราจะต�่ำอยู่แล้ว) จะเปลี่ยนเป็นกระแสไฟฟ้าได้ในปริมาณน้อย ทีมงานลองปรับกลไกการท�ำงานของกังหันลมใหม่ ด้วยการท�ำให้สเตเตอร์ คือ ส่วนของเครื่อง ก�ำเนิดไฟฟ้าที่เคยอยู่กับที่ เคลื่อนที่ไปพร้อม ๆ กับโรเตอร์ แต่ให้ทั้ง 2 อย่างเคลื่อนที่ไป ในทิ ศ ทางตรงกั น ข้ า มกั น ท� ำ ให้ ร ะยะทาง

E N E R G Y S AV I N G

81


หรือระยะเวลาในการเคลือ่ นทีต่ ดั กันของโรเตอร์ กับสเตเตอร์ สั้ น ลงเปรี ย บเสมื อ นกั ง หั น ลม ตัวเดิมรับลมที่ความเร็วลมสูงขึ้น ก็จะส่งผล ท�ำให้เครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้าตัวเดิม ทีค่ วามเร็วลม เท่าเดิม สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพิม่ ขึน้ กว่า 2 เท่าตัว โดยใช้พลังงานลมเท่าเดิม และได้มี การน�ำกังหันลมแบบใบพัดสวนทาง น�ำไป ใช้ได้จริงในชีวิตประจ�ำวันและภายในสถาน ประกอบการขนาดใหญ่แล้ว ปัจจุบนั มีการพัฒนากังหันลม 2 ขนาด คือ ขนาดเล็กนั้นจะติดตั้งตามอาคารบ้านเรือน ซึ่งเราจะเอาไว้หลังพัดลมแอร์เมื่อพัดลมแอร์ ด้านนอกมีการเคลือ่ นไหวพัดเอาลมออกมากังหันลม ตั ว นี้ ก็ จ ะท� ำ หน้ า ที่ เ ก็ บ พลั ง งานไฟฟ้ า และ ผูใ้ ช้สามารถน�ำไฟฟ้าทีไ่ ด้จากพลังงานลมไปใช้ได้ ทั น ที อย่ า งเช่ น ตอนกลางคื น สามารถปรั บ

82

E N E R G Y S AV I N G

มาเป็นไฟให้แสงสว่างไฟฟ้าได้เลยตามริมรัว้ และ กังหันลมขนาดใหญ่ ส�ำหรับกังหันลมตัวนี้เรา ได้นำ� ไปใช้กบั พัดลมในฟาร์มเกษตร เราจะเห็น ว่าเขาเปิดพัดลมตัวใหญ่เยอะมากและเขาจะ เปิ ด ตลอด 24 ชั่ ว โมงเราก็ จ ะน� ำ กั ง หั น ลม ตัวนีไ้ ปติดข้างนอกด้านทีเ่ ป่าลมทิง้ ออกมาแล้ว น�ำมาสร้างพลังงานไฟฟ้าได้ถงึ 600 วัตต์ตอ่ ชัว่ โมง นอกจากนี้ ผลงานกั ง หั น ลมแบบใบพั ด สวนทาง ยังสามารถคว้ารางวัลเหรียญเงิน ด้ า น Inventions ที่ ก รุ ง เจนี ว า ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ รางวัล Special Awards จาก ประเทศจีนและกาตาร์มาแล้ว และรางวัล Semi Grand Prize รางวัล Special Award จากประเทศอียิปต์ ที่สาธารณรัฐเกาหลีใต้ เมือ่ ปี 2014 และล่าสุด ยังได้รบั คัดเลือกให้เป็น ผลงานประดิษฐ์คดิ ค้นประจ�ำปี 2559 ระดับดี

สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย จากสภาวิจัยแห่งชาติ อีกด้วย ส�ำหรับ ผลงานดังกล่าวได้มีการน�ำร่องเข้า ติดตั้ง กังหันลมผลิตไฟฟ้าแบบใบพัดสวนทาง ขนาด 50 นิ้ว จ�ำนวน 2 เครื่อง ที่ฟาร์มหมู จังหวัดราชบุรี เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการ ผลิตกระแสไฟฟ้าของกังหันลมขนาดใหญ่นี้ ซึ่งผลปรากฏว่า กังหันลม 1 เครื่อง สามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้สงู ถึง 400 วัตต์ นัน่ เท่ากับ สามารถใช้เปิดไฟฟลูออเรนเซนต์ 40 วัตต์ ได้ 10 ดวง นาน 1 ชั่วโมง อย่ า งไรก็ ต าม ปั จ จุ บั น ได้ จ ดสิ ท ธิ บั ต ร ชิ้นงานนี้ในชื่อของมหาวิทยาลัยมหิดล และ มีบริษทั เอกชนทีร่ อรับถ่ายทอดเทคโนโลยีแล้ว ในขณะเดียวกัน ทีมวิจัยก็เตรียมทดสอบการ ใช้จริงในฟาร์มปศุสัตว์ จ.นครปฐม ที่ต้องการ ใช้พลังงาน 7.5 กิโลวัตต์ตอ่ วัน ขณะทีก่ งั หันลม แบบใบพัดสวนทางนี้ คาดว่าจะเข้าไปช่วย ผลิตพลังงานสะอาดได้ราว 60% ของความ ต้องการใช้งานจริง ซึ่งจากการค�ำนวณความ คุ้มทุนเบื้องต้นจะใช้เวลา 3 ปี นอกจากนี้ ยังเตรียมศึกษาความพร้อมส�ำหรับการใช้งาน กังหันลมนีก้ บั ทีอ่ ยูอ่ าศัยทัว่ ไป โดยศึกษาก�ำลัง ไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ รูปแบบการติดตัง้ การออกแบบ การติดตั้ง ฯลฯ สุ ด ท้ า ยนี้ ที ม งานได้ พ ยายามลดต้ น ทุ น ของนวัตกรรมเพื่อจูงใจให้เกิดการใช้งานจริง ผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานสะอาดจริง ๆ และ ผลลัพธ์ทไี่ ด้คอื ความส�ำเร็จทีค่ าดว่ากังหันลม แบบใบพัดสวนทางจะไปสูเ่ ชิงพาณิชย์ ในขณะที่ กังหันส�ำหรับครัวเรือนจะเปิดตัวในช่วงปลายปี 2559 รวมถึงมีบริษัทเอกชนอีกหลายรายที่ สนใจพลังงานลมและร่วมวิจยั พัฒนานวัตกรรม กับทีมของเราอีกด้วย การพัฒนากังหันลมฯ ชนิดนีข้ นึ้ มานัน้ สามารถใช้ได้จริงในชีวติ ประจ�ำวัน ขอเพียงแค่ผู้ใช้รู้ปริมาณลมคงที่ในแต่ละวัน กังหันลมตัวนี้ก็จะสามารถผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ตรงกับความต้องการพลังงานสะอาดในยุค แบบนี้อย่างแน่นอน may 2 0 1 6


Energy Knowledge TEXT : กรีนภัทร์

งานวิ จ ั ย โซแมท SOMAT ไอเดียนวัตกรรมใหม่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนขยะอาหาร เป็นผงธุลี (ดิน) ชั้นดี คงไม่ ดี นั ก หากขยะอาหารในแต่ ล ะวั น นั้ น มี ป ริ ม าณเพิ่ ม มากเกิ น ไป ทั้ ง ยากต่ อ การก� ำ จั ด สิ้นเปลืองเวลาไปโดยใช่เหตุ และที่ส�ำคัญมาพร้อมความเหม็นที่เกินจะรับได้ แต่คงดีกว่านี้ หากพวกเรามีนวัตกรรมที่คิดค้นมาเพื่อก�ำจัดสิ่งเหล่านี้ทิ้งไป และยังสามารถน�ำผลผลิตที่เหลือ ไปใช้พัฒนาต่อยอดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้อีกด้วย

ผลวิจยั จากองค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ ระบุว่า ปัญหาขยะอาหาร อยู ่ ใ นสถานการณ์ ที่ น ่ า เป็ น ห่ ว ง เพราะขยะ เหลือทิง้ นัน้ ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ อย่างมาก อีกทัง้ ยังเป็นการสูญเสียและทิง้ ขว้าง อาหาร และเป็นการสิน้ เปลืองทรัพยากรธรรมชาติ ทีใ่ ช้เพาะปลูกอาหารโดยไม่จำ� เป็น เช่น ดิน น�ำ้ และพลังงาน และทีส่ ำ� คัญขยะอาหารก่อเกิดก๊าซ ท�ำลายชัน้ บรรยากาศโลกหรือท�ำให้โลกร้อนขึน้ มาก

VOLUME 8 ISSUE 90

ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในสหรั ฐ อเมริ ก ามานาน มากกว่า 70 ปี เข้ามาเปิดตัวเป็นครัง้ แรกในเอเชีย ทีป่ ระเทศไทย โดยบริษทั โฮบาร์ท (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นผู้แทนในการด�ำเนินการในการท�ำตลาด และกระจายสินค้า เครื่องล้างจานและภาชนะ คุณภาพสูงจากประเทศเยอรมัน ที่ด�ำเนินการ ค้ น คว้ า วิ จั ย และพั ฒ นาเครื่ อ งล้ า งภาชนะ อย่างต่อเนือ่ ง อีกทัง้ เป็นบริษทั ด�ำเนินธุรกิจทีผ่ ลิต เครื่องล้างจานเครื่องแรกของโลก ณ ประเทศ สหรัฐอเมริกา แต่การขึน้ เป็นผูน้ ำ� ด้านนวัตกรรม เครื่องล้างจานไม่ใช่แค่การเป็นเจ้าแรกที่ผลิต หากแต่เป็นการผลิตนวัตกรรมทีใ่ ส่ใจเป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม คือ ให้ความส�ำคัญกับการประหยัด พลังงาน น�ำ้ ไฟ และเคมีสงู สุด จนได้รับความ ไว้วางใจจากโรงแรมห้าดาวและร้านอาหารแบรนด์ดงั ระดับโลก เช่น แมคโดนัล สตาร์บัค ในยุโรป และอเมริกา อีกทั้งได้ติดตั้งใช้งานที่ ซิซซ์เลอร์ หลายสาขาแล้ว ในประเทศไทย อีกด้วย ด้วยความสอดคล้องกับแนวความคิดของ บริ ษั ท ที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ เรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มแล้ ว ยังต้องอาศัยวิสยั ทัศน์ทกี่ ว้างไกลในการตัดสินใจ น� ำ นวั ต กรรมชนิ ด นี้ เข้ า มาในประเทศไทย ซึ่งการตัดสินใจครั้งนี้อาจเป็นการพลิกโฉมหน้า วงการเทคโนโลยีและสิง่ แวดล้อมไปเลยก็เป็นได้ SOMAT นั้ น ประกอบไปด้ ว ยส่ ว นประกอบ ของเครื่อง 3 แบบ ตัวแรก เรียกว่า Pulper เมื่ อ มี เ ศษอาหารที่ ถู ก คั ด แยกแล้ ว อาจจะ เป็นในครัว ในโกดัง ในจุดถ่ายสินค้าหรือว่า จุ ด ทิ้ ง ขยะ เอาขยะที่ เ ป็ น ขยะอาหารเข้ า ไป ใ น เ ค รื่ อ ง ตั ว นี้ ก็ จ ะ มี ร า ง ต ่ อ ม า เข ้ า กั บ

เฉลี่ยปีละ 3,300 ล้านตัน เพื่อเป็นตัวช่วยใน การจัดการกับปัญหาดังกล่าว จึงได้มีการคิดค้น นวัตกรรมใหม่ล่าสุดที่เข้ามาเปิดตัวเป็นครั้งแรก ในเอเชีย ณ ประเทศไทย ภายใต้การดูแลจาก บริษัท โฮบาร์ท (ประเทศไทย) กับ เครื่องอบบดขยะอาหาร (SOMAT Dehydrator) ภายใต้ชอื่ SOMAT ผูน้ ำ� ในอุปกรณ์จดั การเรือ่ งขยะ อาหาร ประกอบด้วย Food Pulper, Extractor, Waste Dehydrator ที่สามารถลดขยะอาหาร

E N E R G Y S AV I N G

83


เครือ่ งล้างจาน พอเข้าไปในนีจ้ ะมีใบพัดไว้สำ� หรับ กวนขยะ ดูดขยะเข้ามาในตะแกรงที่อยู่รอบข้าง ขณะที่มันกวนดูดเข้ามาก็จะตัดขยะเข้าไปด้วย เพราะมี ลั ก ษณะเป็ น ใบหมุ น พอได้ ข ยะที่ อนุ ภ าคเล็ ก แล้ ว ก็ จ ะดู ด เข้ า ไปใน ชู ต เตอร์ ที่เรียกว่า Extractor Extractor เป็นตัวสกัดให้นำ�้ ออกจากอนุภาค ของขยะ สมมุตเิ อาแอปเปิล้ ข้าวโพด เศษเนือ้ หมู กระดูกเข้าไป ก็จะถูกตัด ย่อยจนยุ่ย แล้วพ่น เข้าไปในชูตเตอร์ โดยชูตเตอร์ตัวนี้จะท�ำงาน โดยการขบและบีบ เพื่อให้เศษขยะก้อนเล็กๆ พ่นออกมา และมีถุงขยะรองรับ ผลสุดท้าย ที่ออกมาเป็นอนุภาคเล็กๆ เป็นก้อนๆ ที่เอา น�้ำออกแล้ว แต่ยังคงมีความชื้นอยู่บ้าง

84

E N E R G Y S AV I N G

ตัวสุดท้าย Dehydrator คือ ตัวขจัดความชืน้ ออกไปจากวั ต ถุ อิ น ทรี ย ์ ส าร จ� ำ พวกอาหาร แป้ง ข้าว ถ้าหากสาร อนินทรีย์เข้าไปยังเครื่อง เช่น พลาสติก ช้อน ฝาขวด เครือ่ งจะไม่ทำ� ปฏิกริ ยิ า กับสิ่งเหล่านั้น เครื่องจะมีเซ็นเซอร์ และจะ หยุ ด ท� ำ งานโดยอั ต โนมั ติ คุ ณ สมบั ติ ส� ำ คั ญ ของ SOMAT คือ สามารถบรรจุเศษขยะได้ ถึง 100 กิโลกรัม / ครั้งอุณหภูมิที่ใช้ในการ อบบดขยะ ใช้ อุ ณ หภู มิ 100 องศา ขึ้ น ไป หรือ ใช้เวลา 12 - 15 ชั่วโมง ในการบดอบ สามารถย่อส่วนขยะได้ 1/8 นั่นก็คือเศษอาหาร 8 ถุ ง เมื่ อ น� ำ มาใช้ กั บ เครื่ อ งนี้ จ ะเหลื อ เพี ย ง 1 ถุงเท่านั้น การแปรสภาพจะถูกแปรสภาพ ตั้งแต่ 10 นาทีแรก 1 ชม. ต่อมากลายเป็นน�ำ้ เข้ากระบวนการอบ จนแห้ง น�ำไปตาก 30 - 40 วัน กลายเป็นผงธุลี หรือก็คอื ดินทีส่ มบูรณ์แบบ โดย ดินดังกล่าวนี้สามารถน�ำกลับไปใช้ใหม่ น�ำไป ปลูกได้อีกครั้งหนึ่งได้ด้วยเช่นกัน ข้อส�ำคัญของการใช้เครือ่ งอบ-บดขยะอาหาร นี้ คือ ช่วยลดปริมาณขยะอินทรีย์และอนินทรีย์ ลดค่าใช้จ่ายการล�ำเลียง จัดเก็บ จัดส่งเศษขยะ อาหาร และลดโลกร้อนด้วยการลดกระบวนการ ถมดิน ลดการบ�ำบัดในระบบก�ำจัดขยะอาหาร ด้ ว ยการย่ อ ยสลาย อาจช่ ว ยในระบบบ� ำ บั ด น�้ำเสีย ให้ค่า BOD ดีขึ้นได้ และลดกลิ่นอันไม่ พึงประสงค์จากขยะอาหารได้อีกด้วย นอกจากจะมีส่วนช่วยในการจัดการปริมาณ เศษขยะอาหารให้หมดไปแล้ว SOMAT ยังเป็น กลุ่มผลิตภัณฑ์ กรีน อินโนเวชั่น เพราะสามารถ น�ำมาแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ได้และมีส่วนช่วย ในการประหยัดปริมาณการใช้น�้ำล้างภาชนะ

ลดการใช้พลังงาน รวมทั้ง เทคโนโลยีการแปร สภาพขยะอาหาร ทีจ่ ะสามารถแสดงผลของการ ลงทุนทีค่ มุ้ ค่า ต่อนวัตกรรมการประหยัด เพือ่ ช่วย การลดการอุปโภคน�้ำ ในภาคธุรกิจได้กว่า 30% อีกทัง้ ยังช่วยรักษ์โลก ท�ำให้โลกร้อนน้อยลงจาก การขจั ด ขยะอาหารไม่ ไ ปฝั ง กลบ Landfill หรือ ส่งกลิน่ เน่าอีกต่อไปแต่จะกลับมาเป็นผงธุลี (ดิน) ไว้ปลูกพืช สวน ให้โลกสวย ยั่งยืนได้ต่อไป SOMAT เป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่เข้าไปใช้ใน โรงเรียน โรงพยาบาล คาสิโน วิทยาลัย โรงอาหาร งานด้ า นการทหาร และอาคารพาณิ ช ย์ แม้คุณภาพของสินค้าจะเป็นตัวการันตีคุณค่า ของตัวมันเอง แต่ SOMAT ก็ยงั ได้รบั การรับรอง จาก LEED ย่อมาจาก Leadership in Energy and Environmental Designหรือ ความเป็นผูน้ ำ� การออกแบบด้ า นพลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม อีกด้วย ซึง่ ถือว่าเป็นนวัตกรรมทีไ่ ด้รบั การยอมรับ โดดเด่น และมีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมใหม่ทใี่ ส่ใจสิง่ แวดล้อมอย่างเครือ่ ง อบ-บดขยะอาหาร SOMAT ก�ำลังถูกจุดประกาย ขึ้นอย่างจริงจังในเมืองไทย และต่างต้องพึ่งพา อาศั ย กั น ระหว่ า งมนุ ษ ย์ นวั ต กรรม และ สิ่งแวดล้อม เป็นขาสามขาที่ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไปไม่ได้ต้องอยู่ด้วยกัน ช่วยเหลือกัน และเมื่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่งได้รับการพัฒนา อีกสองสิ่งที่เหลือ ก็จะได้ประโยชน์พร้อมกันไปด้วย ปัญหาเล็ก ๆ อย่างเศษขยะอาหาร อาจเป็นหน่วยเล็ก ๆ ของโลกใบนี้ หากแต่กเ็ ป็นสิง่ ส�ำคัญทีค่ วรแก้ไข เพราะบางครั้ง ปัญหาใหญๆ ก็อาจเกิดขึน้ จากปัญหาเล็ก ๆ และ นีอ่ าจเป็นค�ำตอบของค�ำถาม ว่าท�ำไมนวัตกรรม ชิ้นนี้ถึงมีความส�ำคัญ M ay 2 0 1 6


SPECIAL REPORT TEXT : Ê ¡s ¥ p

¤ É| Ó r l Ê p | r r i ¬o§ uÒ

l ¤s« }Ö Ä } Ö¥ ¤ l¦ ¦ ¤ ¬ l}¤ xi p¥ ol ¨ Å ¥ ­ ~Ô ¥} ¥ ­ Ó ² jp { ~ צ ¥ m§ § ¦ Óps ~ s q }p s¡ s j q² Ë -23# MMT@K "NMEDQDMBD - " k ® ¨ kÔ Å Ë s ~ צ ¥ m§ § ¥ ­ m~¥ yj q¦ pm © Æ Ô ¥ Ê} Ô ¨ Ô ¢ Ô j j ¦ ¢ Ô ­ ¨q¥kÔ Ó s p j p q k p Ó p ~Ó p « Ô p® ¥ ­ s Ô p x ~ j q ¦ Ù p j ¨ kÔ ~Ó p « ­ Ó ¨q | ¡ ~ × ¥ © q p } ¡ VOLUME 8 ISSUE 90

ÿüìß ǰ đðŨîĀîŠü÷ÜćîĀîċęÜĔîÖĞćÖĆï×ĂÜÖøąìøüÜüĉì÷ćýćÿêøŤĒúą đìÙēîēú÷Ċǰ ÝĆéêĆĚÜ×ċĚîêćöóøąøćßïĆââĆêĉóĆçîćüĉì÷ćýćÿêøŤĒúą đìÙēîēú÷Ċǰó ý ǰ ǰîĆïëċÜðŦÝÝčïĆîöĊÖćøéĞćđîĉîÖćøöćĒúšüǰ ǰðŘǰÿøšćÜ ñúÜćîüĉÝĆ÷ìĊęđóĉęööĎúÙŠćĔĀšÖĆïđýøþåÖĉÝĒúąÿĆÜÙöĕì÷Ă÷ŠćÜöćÖöć÷ǰ Ăćìĉǰ óĆîíčŤ×šćüéĂÖöąúĉǰ ǰ ìîîĞĚćìŠüö ǰ ßčéêøüÝĕךĀüĆéîÖ ǰ đÙøČęĂÜøïÖüî ÿĆââćèēìøýĆóìŤđÙúČęĂîìĊęđóČęĂðøąē÷ßîŤéšćîÙüćööĆęîÙÜ ǰđÙøČęĂÜđĂĘÖàđø÷Ť ÙĂöóĉüđêĂøŤǰ ǰöĉêĉǰÿĞćĀøĆïÖćøñŠćêĆéôŦîđÙøČęĂÜĒøÖ×ĂÜðøąđìýĕì÷ ǰôŗúŤö ïøøÝčõè Ć æŤđóČĂę ÷ČéĂć÷čñúĉêñúÿé ǰđÙøČĂę ÜÖøĂÜîĞćĚ óúĆÜÜćîĒÿÜĂćìĉê÷Ťéüš ÷ đìÙēîēú÷ĊĕÿšÖøĂÜîćēîǰđðŨîêšîǰ îĂÖÝćÖîĊĚ ǰ ÿüìß ǰ ÷Ć Ü öĊ ï ìïćìĀîš ć ìĊę Ĕ îÖćøóĆ ç îćÖĞ ć úĆ Ü Ùîǰ éšćîüĉì÷ćýćêøŤĒúąđìÙēîēú÷ĊĔîēÙøÜÖćøêćöóøąøćßéĞćøĉǰ ÿĞćĀøĆï îĆÖüĉÝĆ÷øčŠîĔĀöŠĒúąđ÷ćüßîìčÖߊüÜßĆĚîǰ øüöëċÜÖćøđÿøĉöÿøšćÜÖćøđøĊ÷î ÖćøÿĂîĔĀšĒÖŠđ÷ćüßîñĎšéšĂ÷ēĂÖćÿǰ ñĎšöĊÙüćöïÖóøŠĂÜìćÜøŠćÜÖć÷Ēúąǰ

E N E R G Y S AV I N G

85


ÿêĉðŦââćǰĂĊÖìĆĚÜ÷ĆÜĕéšÿøšćÜóČĚîåćîĔîÖćøÖŠĂêĆĚÜ ĀîŠü÷ÜćîìĊęöĊóĆîíÖĉÝđÞóćąìćÜǰ Ăćìĉǰ ÿëćïĆî ĂćĀćøǰ ÿëćïĆîÿćøÿîđìýìøĆó÷ćÖøîĞĚćĒúą ÖćøđÖþêøǰ ÿĞćîĆÖÜćîÙèąÖøøöÖćøîē÷ïć÷ üĉì÷ćýćÿêøŤǰđìÙēîēú÷ĊǰĒúąîüĆêÖøøöĒĀŠÜßćêĉǰ ÿĞćîĆÖÜćîüĆêÖøøöĒĀŠÜßćêĉǰ ÿĞćîĆÖÜćîøĆåïćú ĂĉđúĘÖìøĂîĉÖÿŤǰ ÿĞćîĆÖÜćîóĆçîćíčøÖøøöìćÜ ĂĉđúĘÖìøĂîĉÖÿŤǰ ýĎî÷ŤđìÙēîēú÷ĊìćÜìĆîêÖøøö ßĆĚîÿĎÜǰïøĉþĆìǰĂĉîđìĂøŤđîĘêǰðøąđìýĕì÷ǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî ǰïøĉþĆìǰđúĉøŤîđìÙǰÝĞćÖĆéǰĒúąǰïøĉþĆìǰ ìĊ đîĘêǰÝĞćÖĆéǰđðŨîêšîǰ ÿĞćĀøĆïĔîðŘÜïðøąöćèǰ ǰ ìĊęñŠćîöćǰ ÿüìß ǰ ÷ĆÜÿøšćÜñúÜćîìĊęđðŨîĂÜÙŤÙüćöøĎšĂĂÖöć ÝĞćîüîöćÖǰĂćìĉǰÿĉÜę êĊóöĉ óŤǰìøĆó÷Ťÿîĉ ìćÜðŦââćǰ ĒúąñúÜćîìĊĕę éšøïĆ ÖćøëŠć÷ìĂéđßĉÜóćèĉß÷ŤĒúą ÿćíćøèðøąē÷ßîŤǰ àċęÜöĊöĎúÙŠćÖćøúÜìčîÝćÖ ÖĉÝÖøøö×ĂÜǰÿüìß ǰ ǰúšćîïćìǰàċÜę đÖĉéñúǰ ÖøąìïÖĆïđýøþåÖĉÝĕì÷ǰ ǰúšćîïćìǰĒúąǰǰ ÿüìß ǰ ÷ĆÜĕéšéĞćđîĉîÖćøñúĆÖéĆîîē÷ïć÷øąéĆï

86

E N E R G Y S AV I N G

ßćêĉìÿĊę ćĞ ÙĆâǰėǰǰĂćìĉǰ öćêøćÖćøìćÜõćþĊǰ ǰ ĒúąïĆ â ßĊ î üĆ ê Öøøöĕì÷ǰ đóČę Ă ÿøš ć ÜĒøÜÝĎ Ü ĔÝ ĔĀš õ ćÙđĂÖßîÿîĔÝĒúąĀĆ î öćúÜìč î üĉ ÝĆ ÷ǰ ĒúąóĆçîćöćÖ×ċĚî ìĆĚ Ü îĊĚ ǰ ÖćøÝĆ é Öćøðøąßč ö üĉ ß ÖćøìĊę đ Öĉ é ×ċĚ îǰ öĊ üĆ ê ëč ð øąÿÜÙŤ đ óČę Ă îĞ ć đÿîĂñúÜćîüĉ ÝĆ ÷ Ēúąǰ ÖćøóĆçîćìĊǰę ÿüìß ǰÿîĆïÿîčîĒúąéĞćđîĉîÖćøēé÷ǰ îĆÖüĉÝĆ÷×ĂÜǰÿüìß ǰìĆĚÜǰ ǰýĎî÷ŤĒĀŠÜßćêĉǰ ĕéšĒÖŠǰ ýĎî÷ŤóĆîíčüĉýüÖøøöĒúąđìÙēîēú÷ĊßĊüõćóĒĀŠÜ ßćêĉǰýĎî÷ŤđìÙēîēú÷ĊēúĀąĒúąüĆÿéčĒĀŠÜßćêĉǰýĎî÷Ť đìÙēîēú÷ĊĂĉđúĘÖìøĂîĉÖÿŤĒúąÙĂöóĉüđêĂøŤĒĀŠÜ ßćêĉǰĒúąýĎî÷ŤîćēîđìÙēîēú÷ĊĒĀŠÜßćêĉǰøŠüöÖĆïǰ ýĎî÷ŤïøĉĀćøÝĆéÖćøđìÙēîēú÷Ċǰ đÙøČĂ׊ć÷õćÙøĆåǰ đĂÖßîǰĒúąßčößîǰĔîÖćø×ĆïđÙúČęĂîĒúąóĆçîć ðøąđìýĔĀšÿćöćøëĒ׊Ü×ĆîĔîđüìĊēúÖĕéšǰìĆÜĚ õćÙ đÖþêøÖøøöǰõćÙĂčêÿćĀÖøøöǰĒúąõćÙÖćøñúĉêǰ ĒúąïøĉÖćøǰ ÿĞ ć ĀøĆ ï ïøø÷ćÖćýõć÷ĔîÜćîðøąßč ö üĉ ß ćÖćøÙøĆĚ Ü îĊĚ ǰ îĂÖÝćÖÖćøðøąßč ö ÿĆ ö öîćǰ

ìćÜüĉ ß ćÖćøǰ ĒúąÖćøĒÿéÜîĉ ì øøýÖćøĒúš üǰ õć÷ĔîÜćî÷ĆÜöĊÖĉÝÖøøöđðŗéïšćîǰÿüìß ǰìĊęđðŗéǰ ēĂÖćÿĔĀš ñĎ š ð øąÖĂïÖćøĕéš đך ć öćđ÷Ċę ÷ ößöǰ ĀšĂÜðäĉïêĆ Öĉ ćøüĉÝ÷Ć ĒúąüĉđÙøćąĀŤìéÿĂïǰøüöìĆÜĚ ÖćøøĆïÿöĆÙøÜćîéšćîüĉì÷ćýćÿêøŤĒúąđìÙēîēú÷Ċ ÖüŠćǰ ǰ ĂĆêøćǰ ÝćÖĀîŠü÷ÜćîõćÙøĆåĒúą ïøĉþĆìđĂÖßîßĆĚîîĞćÖüŠćǰ ǰ ĒĀŠÜǰ àċęÜõć÷Ĕî ÜćîÙøĆĚÜîĊĚöĊñúÜćîüĉÝĆ÷éšćîóúĆÜÜćîëĎÖîĞćöć ÝĆéĒÿéÜîĉìøøýÖćøéšü÷đߊîÖĆîǰĂćìĉǰ ÖćøóĆçîćǰ ÖĆ Ü ĀĆ î úöĒîüêĆĚ Ü đóČę Ă Ĕßš Ĕ îÖćøñúĉ ê ĕôôŜ ćǰ ñúÜćîüĉÝ÷Ć ×ĂÜǰÙčèýõÖĉÝǰüøýĉúðşß÷Ć ǰÝćÖǰĀîŠü÷ǰ üĉÝ÷Ć üĆÿéčÿćĞ ĀøĆïóúĆÜÜćîǰ đðŨîìĊìę øćïÖĆîéĊÖüŠćǰ ÖĆÜĀĆîúöĒîüîĂîĀøČĂÖĆÜĀĆîúö×îćéĔĀâŠÝą öĊøąïï÷ĂìĊęÙúšć÷øąïïđÖĊ÷øŤǰ ìĞćÜćîÙüïÙĎŠÖĆï đàĘîđàĂøŤüĆéúöǰ đóČęĂéĎüŠćìĉýìćÜúöĕðìćÜĕĀîǰ ĀúĆ Ü ÝćÖîĆĚ î Ýċ Ü ÝąìĞ ć ÖćøðøĆ ï øąïï÷ĂđóČę Ă ĀĆîĀîšćđךćĀćúöǰ ĒêŠĔîïćÜóČĚîìĊęúööĊÙüćö ĒðøðøüîöćÖĒúąđðúĊ÷ę îìĉýìćÜïŠĂ÷ǰÖĆÜĀĆîúöǰ ×îćéĔĀâŠĕöŠÿćöćøëðøĆïĀĆîĀîšćđךćĀćúö ĕéšìîĆ ǰ ÿŠÜñúĔĀšðøąÿĉìíĉõćóĔîÖćøìĞćÜćîúéúÜǰ Ĕî×èąìĊęÖĆÜĀĆîúöĒîüêĆĚÜĕöŠêšĂÜÙĞćîċÜëċÜđøČęĂÜ ìĉýìćÜúöìĊęđךćöćǰ ĒêŠöĊךĂéšĂ÷Ă÷ĎŠìĊęÖćøđøĉęöêšîǰ Āöč î Ýą÷ćÖÖüŠ ć ǰ ÿćđĀêč đ ðŨ î đóøćąüŠ ć đüúć ĀöčîĔïóĆéïćÜĔïÝąüĉęÜđךćĀćúöǰ ĒêŠïćÜĔïÝąǰ

M AY 2 0 1 6


üĉęÜĀîĊúöǰóĎéÜŠć÷ǰėǰÙČĂǰĔïóĆéĒêŠúąĔïÝąĕöŠĕéš ßŠü÷ÖĆîđÿøĉöĒøÜĀöčîđĀöČĂîÖĆÜĀĆîúöĒîüîĂî ìĆüę ĕðǰĔîÖøèĊîÝĊĚ Üċ ĕéšÿøšćÜēöđéúÖĆÜĀĆîúöĒîüêĆÜĚ ×ċĚîöćǰ óøšĂöêĉéÿêøĊöđöĂøŤĕüšìĊęðúć÷Ĕïǰ đóČęĂ ĒÿéÜĔĀšđĀĘîüŠćǰúöđךćöćìĉýìćÜĕĀîǰÝćÖîĆîĚ ÝċÜ ëŠć÷øĎðÖĆÜĀĆîúöìĊĀę öčîĔîÙüćöđøĘüøĂïêŠćÜǰėǰÖĆîǰ ìĞćĔĀšìøćïüŠćǰúöđךćöćêĊĔïóĆéĂ÷ŠćÜĕøǰđÖĉéĒøÜ Ă÷ŠćÜĕøïšćÜǰ àċęÜìĞćÙüïÙĎŠĕðÖĆïÖćøÿøšćÜĒïï ÝĞ ć úĂÜđßĉ Ü êĆ ü đú×ǰ đóČę Ă éĎ ü Š ć úĆ Ö þèąÖćøĕĀú ×ĂÜúöđðŨîĂ÷ŠćÜĕøïšćÜǰ ÝćÖîĆĚîÝċÜÿøšćÜēöđéú ÖĆÜĀĆîúöĔî×îćéêŠćÜǰ ėǰ ÖĆîǰ đóČęĂìĞćÖćøýċÖþćǰ üĉÝĆ÷ǰ ÝîìøćïüŠćǰ ×îćé×ĂÜÖĆÜĀĆîúööĊñúĔî ÖćøđøĉęöêšîĀöčî×ĂÜÖĆÜĀĆîǰ ĔîĂîćÙêÙÜÝąöĊǰ ÖćøóĆ ç îćÖĆ Ü ĀĆ î úöĒîüêĆĚ Ü êš î ĒïïĔîÖćøǰ ñúĉêĕôôŜćêŠĂĕð öćêŠ Ă ÖĆ î ìĊę Ü ćîüĉ ÝĆ ÷ ǰ *OOPWBUJPOǰ POǰǰ 1SPEVDUJPOǰBOEǰ"VUPNPUJWFǰ6UJMJ[BUJPOǰ PGǰ#JPGVFMTǰ'SPNǰ/POǰ ǰ'PPEǰ#JPNBTTǰ ñúÜćîüĉÝ÷Ć ×ĂÜǰÙčèöćîĉéćǰìĂÜøčèǰÝćÖǰĀîŠü÷ üĉÝ÷Ć üĆÿéčÿćĞ ĀøĆïóúĆÜÜćîǰǰìĊęñŠćîöćðøąđìýĕì÷ ĕéšöĊÖćøìéúĂÜñúĉêĕïēĂéĊđàúÝćÖÿïĎŠéĞćǰ ĀøČĂǰ VOLUME 8 ISSUE 90

# ǰ×ċĚîöćĔßšÜćîǰēé÷ĔßšüĆêëčéĉïìĊęđðŨîÖćÖÝćÖ ÖøąïüîÖćøĀĊïǰ ĒúąĕéšîĞćöćìéÿĂïĔßšÝøĉÜ Ĕîøë÷îêŤĒúšüǰ ēé÷üĉęÜĔîøą÷ąìćÜðøąöćèǰ ǰ Öĉēúđöêøǰ ñúðøćÖãüŠćǰ ðøąÿïÙüćö ÿĞćđøĘÝđðŨîĂ÷ŠćÜéĊǰ ĒêŠđóČęĂóĆçîćĂĆóđÖøéĔĀšǰ ĕïēĂéĊđàúÙčèõćóÿĎÜ×ċîĚ ǰÝċÜĕéšêĂŠ ÷ĂéÝćÖÿïĎéŠ ćĞ öćĔßšðćúŤöĔîÖćøñúĉêĕïēĂéĊđàúĒìîǰđîČĂę ÜÝćÖ ðøąđìýĕì÷öĊ Ö ćøðúĎ Ö ðćúŤ ö ÝĞ ć îüîöćÖǰǰ ĀúĆÜÝćÖìĊęĕéšîĞćðćúŤööćìéúĂÜĂĆóđÖøé×ċĚîĕðǰǰ

ñúðøćÖãüŠćǰîĞĚćöĆîÙčèõćóéĊ×ċĚîǰÝċÜîĞćĕðñÿö ÖĆïîĞĚćöĆîéĊđàúÖúć÷đðŨîǰ # ǰ ēé÷ĕéšîĞćöćǰ ìéúĂÜĔßšÝøĉÜĔîøë÷îêŤĒúšüǰñúðøćÖãüŠćøë÷îêŤ ÿćöćøëìĞćÜćîĕéšêćöðÖêĉǰ ĔîĂîćÙêĂĊÖĕöŠîćî đÖĉîøĂđøćÙÜÝąĕéšĔßšîĞĚćöĆîǰ# ǰĒúąǰ# ǰĂ÷ŠćÜ ĒîŠîĂîǰ ðŗéìšć÷ìĊęÜćîüĉÝĆ÷ǰ ÖøąÝÖđðúĊę÷îÿĊ ĂĆÝÞøĉ÷ąđóČęĂÖøĂÜĒÿÜĒúąÙüćöøšĂîǰ ñúÜćî üĉÝĆ÷×ĂÜǰéø ÙöÿĆîêŤǰ ÿčìíĉÿĉîìĂÜǰÝćÖǰýĎî÷Ť îćēîđìÙēîēú÷ĊĒĀŠÜßćêĉǰ ÖćøìéúĂÜéĆÜÖúŠćüǰ đðŨîÖćøđÙúČĂïÿćøïćÜĂ÷ŠćÜúÜĕðïîÖøąÝÖǰ àċęÜÿćøêĆüîĊĚÿćöćøëđðúĊę÷îÙüćöđךö×ĂÜöĆî ĕéšêćöÙüćöđךö×ĂÜĒÿÜĂćìĉê÷Ťǰ đóøćąÞąîĆĚî đüúćêĉéêĆĚÜÿćøîĊĚïîÖøąÝÖÖĘݹߊü÷ÖøĂÜĒÿÜ ĒúąðúŠĂ÷ĒÿÜđךćÿĎĂŠ ćÙćøĕéšĂ÷ŠćÜđĀöćąÿöǰàċÜę êŠćÜǰ ÝćÖôŗúöŤ ÖøĂÜĒÿÜìĆüę ĕðìĊĕę öŠÿćöćøëðøĆïÙüćö đךö×ĂÜöĆîĕéšĂĆêēîöĆêĉđĀöČĂîÖĆïÖøąÝÖìĊęêĉé êĆĚÜÿćøßîĉéîĊĚĒúšüǰ ݹߊü÷ðøąĀ÷ĆéÖćøĔßšĕôôŜćǰ ĔîïšćîđøČĂîĒúąĂćÙćøĕéšđðŨîĂ÷ŠćÜéĊǰ ðŦÝÝčïĆî ēÙøÜÖćøîĊĂĚ ÷ĎĔŠ îߊüÜ×ĂÜÖćøìéúĂÜÿøšćÜêšîĒïï đóČęĂñúĉêĔßšÝøĉÜĔîĂîćÙê đøĊ÷ÖĕéšüćŠ ÜćîðøąßčöüĉßćÖćøĔîÙøĆÜĚ îĊǰĚ ĂĆéĒîŠîǰ ĕðéšü÷ÜćîüĉÝĆ÷ÙčèõćóöćÖöć÷ǰ ĔÙøìĊęĕéšöćǰ đéĉîßöÜćîêšĂÜĕéšĕĂđéĊ÷ĒúąÙüćöøĎĔš ĀöŠǰėǰìĊđę ðŨî ðøąē÷ßîŤĔîÖćøîĞćĕðóĆçîćĔîĂîćÙêǰߊü÷đóĉöę ×ĊéÙüćöÿćöćøëĔĀšñðšĎ øąÖĂïÖćøĕì÷ĕðĒ׊Ü×Ćî ĔîđüìĊēúÖĕéšĂ÷ŠćÜđêĘöõćÙõĎöǰĉ ǰ

E N E R G Y S AV I N G

87


energy loan TEXT : กรีนภัทร์

ก.พลังงาน ปล่อยเงินกู้ 4 พันกว่าลบ. หวังเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภาคส่วนอุตฯ

กระทรวงพลังงาน เตรียทพร้อมรุกขับเคลือ่ นเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานภาคอุตสาหกรรม พร้อมปล่อยเงินกู้ 4,489 ล้านบาท หนุ น ธุ ร กิ จ ห้ อ งเย็ น โรงน�้ ำ แข็ ง เปลี่ ย นเครื่ อ งจั ก รอุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ พ ลั ง งานสู ง คาดเกิ ด ผลประหยั ด 4,404 ล้ า นบาทต่ อ ปี ยันเดินหน้าวางระบบส่งเสริมผ่านหอการค้า สภาอุตฯ พลังงานจังหวัด พร้อมระบบจับคู่ทางธุรกิจ หวังภาคอุตสาหกรรมลดใช้ พลังงานอย่างยั่งยืน

พลเอกอนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรี ว่ า การกระทรวงพลั ง งาน ได้ เ ป็ น ประธานเปิดกิจกรรม Road show โครงการ เงิ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานโดย สถาบันการเงิน พร้อมเยี่ยมชมอุตสาหกรรม ห้องเย็น ณ จังหวัดสมุทรสาคร เพือ่ ขยายผลการ ส่งเสริมการปล่อยเงินกูใ้ ห้แก่กลุม่ ธุรกิจห้องเย็น อุตสาหกรรมผลิตน�้ำแข็งปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ เพื่อการประหยัดพลังงาน โดยมีผู้บริหารระดับ สู ง ของกระทรวงพลั ง งานและหน่ ว ยงานที่ เกี่ยวข้องเข้าร่วม พลเอกอนันตพร กล่าวว่า ภาคอุตสาหกรรม ถื อ เป็ น ภาคส่ ว นที่ มี ก ารใช้ พ ลั ง งานสู ง สุ ด ของประเทศ นโยบายหลั ก ของกระทรวง พลังงานจึงเร่งส่งเสริมให้เกิดการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูง โดยต้องการให้ภาค อุ ต สาหกรรมปรั บ เปลี่ย นเครื่องจักรอุป กรณ์ และพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ช่วยประหยัด พลังงานยิ่งขึ้น โดยขณะนี้กระทรวงพลังงาน มีมาตรการเงินทุนดอกเบี้ยต�่ำ (Soft loan) ดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3.5 ต่อปี วงเงินกู้สูงสุด ไม่ เ กิ น 50 ล้ า นบาทต่ อ ข้ อ เสนอโครงการฯ ผ่านโครงการเงินหมุนเวียนเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน ซึ่งพร้อมปล่อยกู้ผ่านสถาบันการเงิน จ�ำนวน 4,489 ล้ า นบาท โดยคาดว่ า จะก่ อ ให้ เ กิ ด ผลประหยั ด พลั ง งาน 4,404 ล้ า นบาทต่ อ ปี หรือลดการน�ำเข้าน�้ำมันดิบได้ประมาณ 248 ล้านลิตรต่อปี ทั้งนี้ วงเงินกู้ดอกเบี้ยต�่ำดังกล่าว กระทรวง พลั ง งานจะได้ ร ่ ว มกั บ สภาหอการค้ า ไทย สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (สอท.) พลังงานจังหวัดและกลุ่มผู้ประกอบการ รวมทั้ง การจัดระบบการจับคู่ทางธุรกิจ เพื่อให้เกิดการ วางระบบสนั บ สนุ น โดยจะมี ก ารจั ด กิ จ กรรม ประชาสัมพันธ์ Road show ไปตามภูมิภาค 88

E N E R G Y S AV I N G

ต่างๆ พร้อมทั้งการสนับสนุนเครื่องมือด้านการเงินให้ผู้ประกอบการเห็นถึงความจ�ำเป็นในการลงทุน เพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงานในระยะยาว เช่น การลงทุนติดตัง้ อุปกรณ์ใหม่ การปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ทใี่ ช้พลังงาน สูง อาทิ เครือ่ งท�ำความเย็น (Chiller) หม้อไอน�ำ้ (Boiler) เครือ่ งอัดอากาศ (Air compressor) เป็นต้น “หัวใจส�ำคัญของโครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยสถาบันการเงิน เพื่อผลักดัน และส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและสร้างจิตส�ำนึกที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาค อุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในส่วนของผู้ประกอบ การที่จะได้ก�ำไรเพิ่มขึ้นเองแล้ว ยังมีส่วนส�ำคัญที่จะช่วยลดการใช้พลังงานของประเทศในภาพรวม ทีก่ ระทรวงพลังงานได้ตงั้ เป้าหมายลดการใช้ให้ได้รอ้ ยละ 30 ตามแผนอนุรกั ษ์พลังงาน ภายในปี 2579” ด้าน คุณอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า โครงการเงินหมุนเวียนฯ นี้ กระทรวง พลังงานจะได้เน้นไปที่กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตน�้ำแข็งและธุรกิจห้องเย็น ซึ่งเบื้องต้นได้ส�ำรวจแล้วมี ประมาณ 2,466 แห่ง ซึง่ ถือเป็นกลุม่ ยุทธศาสตร์ทมี่ กี ารใช้พลังงานสูง และควรมีการปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูง รวมไปถึงกลุม่ ผูป้ ระกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม(SME) ในธุรกิจอืน่ ๆ ทีม่ กี ารใช้ เครืองจักรอุปกรณ์อายุเกิน 10 ปี รวมไปถึงกลุ่มอาคารก่อสร้างใหม่ (Building Code)ตลอดจนบริษัท จัดการพลังงาน (ESCO) เป็นต้น M AY 2 0 1 6



Special Feature TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

PEA

เดินหน้าจัด Thailand Lighting Fair 2016 ชูแนวคิด Smart Lights. Smart Life.

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) เดินหน้าสู่ “การไฟฟ้าแห่งอนาคต - The Electric Utility of the Future เร่งส่งเสริมและสนับสนุน การอนุรักษ์พลังงาน และให้บริการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) ร่วมกับ บริษัท เมสเซ่ แฟรงค์เฟิร์ต จ�ำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดงานแสดงสินค้าจากประเทศเยอรมนี และ บริษัท ดิ เอ็กซ์ซิบิส จ�ำกัด เดินหน้าจัดงาน Thailand Lighting Fair 2016 (THLF 2016) งานแสดงสินค้านานาชาติที่รวบรวมสินค้านวัตกรรมไฟฟ้าแสงสว่างที่สมบูรณ์แบบที่สุด ในอาเซียน ภายใต้แนวคิด “Smart Lights. Smart Life.” หรือ “นวัตกรรมไฟฟ้าแสงสว่างอัจฉริยะ นวัตกรรมเพื่อชีวิต” ขานรับ เทรนด์โลก และตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ผู้ใช้ไฟฟ้าแสงสว่างยุคใหม่ และชูนวัตกรรม เทคโนโลยี และโซลูชั่นไฟฟ้าแสงสว่างอัจฉริยะ เพื่อการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ในระหว่างวันที่ 1 –3 กันยายน 2559 ณ ฮอลล์ 101 –102 ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา คุ ณ เสริ ม สกุ ล คล้ า ยแก้ ว ผู ้ ว ่ า การ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (PEA) กล่าวว่า “PEA มุ ่ ง มั่ น ในการให้ บ ริ ก ารไฟฟ้ า อย่ า งมี ประสิทธิภาพ มั่นคง และปลอดภัย ไปจนถึง การส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานทดแทน ในส่ ว น ของธุรกิจและอุตสาหกรรมนั้นเป็นส่วนหนึ่ง ที่ PEA ให้ความส�ำคัญในการให้บริการด้าน ไฟฟ้าและพลังงานไม่นอ้ ยไปกว่าภาคส่วนอืน่ ๆ อันเป็นปัจจัยหลักในการให้การสนับสนุนการ จัดงาน Thailand Lighting Fair 2016 ต่อ 90

E N E R G Y S AV I N G

เนื่ อ งเป็ น ปี ท่ี ส อง ด้ ว ยการสนั บ สนุ น ของ ผู ้ ซื้ อ ผู ้ ข าย สมาคมต่ า ง ๆ และผู ้ มี ส ่ ว น เกี่ ย วข้ อ งในทุ ก ภาคส่ ว น PEA เล็ ง เห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพและโอกาสเติ บ โตของการจั ด งาน Thailand Lighting Fair ในอนาคต ซึ่งการ เติบโตของการจัดงาน Thailand Lighting Fair ไม่เพียงแต่จะช่วยเพิม่ มูลค่าการซือ้ ขายภายในงาน แล้ ว แต่ ยั ง ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ป ระเทศไทย เป็นศูนย์กลางด้านนวัตกรรมไฟฟ้าแสงสว่าง ส�ำหรับภูมิภาคอาเซียนผ่านการแลกเปลี่ยน M AY 2 0 1 6


คุณเสริมสกุล คล้ายแก้ว

คุณพาขวัญ เจียมจิโรจน์

องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ถูกน�ำ มาจัดแสดงในงานจากนานาประเทศ ด้าน คุณพาขวัญ เจียมจิโรจน์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ดิ เอ็กซ์ซิบิสจ�ำกัด ผู้จัดงาน THLF 2016 กล่าวว่า งาน Thailand Lighting Fair 2016 จัดขึ้นภายใต้แนวคิด Smart Lights. Smart Life. บนพืน้ ทีก่ ารจัดงานกว่า 10,000 ตารางเมตร เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 30 จากปี ที่ ผ ่ า นมา โดยมี ผู้ประกอบการไฟฟ้าแสงสว่างชั้นน�ำจากทั่วโลก กว่า 350 บริษัทเข้าร่วมเสนอสุดยอดนวัตกรรม ดีไซน์ และโซลูชนั่ ด้านไฟฟ้าแสงสว่างทีค่ รบวงจร ที่สุดในอาเซียน ซึ่งคาดว่าจะมีผู้เข้าชมงานเพื่อ ร่วมเจรจาธุรกิจกว่า 10,000 รายจากทั้งในและ ต่างประเทศ ส�ำ หรั บ สถานการณ์ต ลาดไฟฟ้าแสงสว่าง ในระดั บ โลก มี ก ารเติ บ โตขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เนือ่ งจากการเติบโตของประชากรและการขยาย ของเมือง จากผลการศึกษาของ McKinsey & Company คาดการณ์ว่าภายในปี 2563 ตลาด ไฟฟ้ า แสงสว่ า งทั่ ว โลกจะมี มู ล ค่ า สู ง ถึ ง 4.4 ล้านล้านบาท โดยตลาดไฟฟ้าแสงสว่างในภูมภิ าค เอเชียมีการเติบโตสูงที่สุด และคาดการณ์ว่า ในปี 2559 ตลาดเอเชียจะมีสดั ส่วนถึง 35% และ คาดว่าจะเพิ่มสัดส่วนเป็น 45% ภายในปี 2563 โดยตลาดของ LED มีสัดส่วนมากที่สุด คาดว่า จะมีมลู ค่ามากถึง 870,000 ล้านบาท ในปี 2563 ส� ำ หรั บ รู ป แบบของเทคโนโลยี จ ะถู ก พั ฒ นา ไปในรูปแบบของการใช้พลังงานให้เกิดประโยชน์ สูงสุด (Energy Efficiency) เนื่องจากปัญหา สภาวะโลกร้อน และปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น และกฎหมายในการประหยั ด และ อนุรักษ์พลังงานของรัฐบาลในแต่ละประเทศ ทางด้านตลาดไฟฟ้าแสงสว่างอัจฉริยะ ทัว่ โลก มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตอย่ า งเด่ น ชั ด โดยมี ปัจจัยจากความต้องการของผู้บริโภคที่มุ่งเน้น ผลิตภัณฑ์เพื่อการประหยัดงาน และโซลูชั่นที่ สามารถใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จากผลการศึกษาของ MarketsandMarkets ในหัวข้อ “Smart Lighting Market - Global

Forecast to 2020” คาดการณ์ว่าตลาดไฟฟ้า แสงสว่างอัจฉริยะจะมีมูลค่าสูงถึง 244,000 ล้านบาท ในปี 2563 เติบโตเพิ่มขึ้นจากปี 2558 ถึง 22.07% นอกจากนี้ ภ ายในงาน THLF 2016 ยั ง มี ก ารสั ม มนาให้ ค วามรู ้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบการ และผู ้ ร ่ ว มชมงานในเรื่ อ งเทคโนโลยี แ ละ การออกแบบแสงจากผู ้ เชี่ ย วชาญระดั บ โลก โดยกิจกรรมไฮไลท์ของงาน THLF 2016 ประกอบ ด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1.) “Lighting Design Showcase” การออกแบบแสงภายใต้คอนเซ็ปต์ ดีไซน์ +ฟังก์ชั่น เพื่อความงามและประโยชน์ ใช้สอย โดยนักออกแสงรุ่นใหม่ไฟแรงของไทย 2.) “Decorative Lighting Zone” โซนไฟตกแต่ง และโคมไฟหัตถกรรมดีไซน์ทันสมัย มาตรฐาน

VOLUME 8 ISSUE 90

สากล และ 3.) “งานสัมมนาและเวิร์คช็อปทาง ด้านเทคโนโลยีและการออกแบบแสง” ที่ได้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นไฟฟ้ า แสงสว่ า ง และ นั ก ออกแบบแสงระดั บ โลก มาร่ ว มแบ่ ง ปั น ข้อมูลและให้ความรู้ ในหัวข้อต่าง ๆ ทีน่ า่ สนใจ และเป็นประโยชน์สำ� หรับน�ำไปพัฒนาและต่อยอด ทางธุรกิจ อาทิ SOLAR energy, Smart Ligthing, City lighting / Urban lighting, Trends of Intelligent Lighting Technology Development, LED Intelligent Lighting Solutions, Global Lighting Trends 2016 ส�ำหรับงาน ในปีนี้จัดขึ้นพร้อมกับงานสัมมนา SMARTECH ซึ่ ง เป็ น งานสั ม มนาใหญ่ ท างด้ า นเทคโนโลยี อั จ ฉริ ย ะเพื่ อ การใช้ ชี วิ ต และการพาณิ ช ย์ ที่ จ ะเป็ น ประโยชน์ ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการ ในทุกภาคส่วน ทั้งนี้สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ www.thailandlightingfair.com

E N E R G Y S AV I N G

91


‘โตโยต้า’ มุ่งผลักดัน “ยุคยานยนต์ใช้ไฮไดรเจน” แชร์เทคโนโลยีไม่เกี่ยงคู่แข่งพัฒนาต่อ โตโยต้าโชว์ยานยนต์แห่งอนาคตใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน “MIRAI” หรือ “มิรัย” ตั้งเป้าผลิตเพื่อจ�ำหน่าย 30,000 คัน ในปี 2020 พร้อมแบ่งปันเทคโนโลยีเปิดให้เกิดการเข้าถึงและการใช้เทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงสิทธิบัตรของโตโยต้าฟรี ไม่เกี่ยงแม้ว่า คู่แข่งจะน�ำไปพัฒนาต่อเพื่อผลิตและจ�ำหน่ายเชิงพาณิชย์ เพื่อต้องการให้เกิดการช่วยผลักดันสร้างสังคมยานยนต์ไฮโดรเจน ให้เกิดขึ้นอย่างแพร่หลายมากขึ้น

มร.โยชิคาซุ ทานากะ

มร.โยชิคาซุ ทานากะ หัวหน้าวิศวกร ในโครงการพัฒนายานยนต์เพื่ออนาคต ของบริษทั โตโยต้า มอเตอร์ คอร์ปอเรชัน่ กล่าวว่า โตโยต้าได้ใช้เวลากว่า 20 ปี ในการพัฒนายานยนต์ ใช้เซลล์เชือ้ เพลิง (Fuel Cell Vehicle - FCV) จนประสบความส� ำ เร็ จ โดยได้ น� ำ ‘MIRAI’ รถยนต์ใช้เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell Vehicle) และได้จำ� หน่ายเป็นครัง้ แรก ที่ประเทศญี่ปุ่นในปี 2014 ที่ผ่านมา ปีนี้คาดว่า จะผลิตได้ประมาณ 2,000 คัน ส่วนปี 2017 ตั้ง เป้าการผลิตเพิม่ ขึน้ เป็น 3,000 คัน และคาดหวัง จะผลิตได้ถึง 30,000 คันในปี 2020 เนื่ อ งจากก� ำ ลั ง การผลิ ต MIRAI ยั ง มี ข ้ อ จ� ำ กั ด เนื่ อ งจากต้ น ทุ น การผลิ ต ที่ ยั ง สู ง อยู ่ อีกทั้งสาธารณูปโภคที่รองรับยังไม่ครอบคลุม 92

E N E R G Y S AV I N G

โตโยต้ า จึ ง ยั ง ไม่ ไ ด้ เริ่ ม จ� ำ หน่ า ยมายั ง ตลาด เอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมถึงประเทศไทย ท� ำ ให้ ก ารพั ฒ นาการผลิ ต เพื่ อ จ� ำ หน่ า ยและ ส่งออก MIRAI จึงเป็นแผนระยะยาว ส�ำหรับ ราคาจ�ำหน่ายในตลาดญี่ปุ่นปัจจุบันอยู่ที่คันละ 7 ล้านเยนหรือประมาณ 2.5 ล้านบาท ทั้งนี้ โตโยต้า มุ่งหวังผลักดันให้เกิดการ พั ฒ นายานยนต์ ใช้ เซลล์ เชื้ อ เพลิ ง ให้ ม ากขึ้ น จึ ง เปิ ด โอกาสให้ นั ก วิ จั ย และพั ฒ นาจาก ต่างองค์กรหรือต่างบริษทั สามารถน�ำเทคโนโลยี เซลล์ เชื้ อ เพลิ ง ของโตโยต้ า มี อ ยู ่ ก ว่ า 5,680 สิทธิบัตรของโตโยต้าไปพัฒนาต่อได้ โดยไม่เสีย ค่ า ใช้ จ ่ า ยใด ๆ แม้ จ ะน� ำ ไปเพื่ อ ใช้ ผ ลิ ต เพื่ อ จ� ำ หน่ า ยเชิ ง พาณิ ช ย์ ก็ ต าม เพราะหากจะ ผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด สั ง คมยานยนต์ ไ ฮโดรเจนได้

ทุกคนต้องช่วยกัน ดังนั้น โตโยต้ายินดีอย่างยิ่ง หากจะมีผู้น�ำเทคโนโลยียานยนต์เซลล์เชื้อเพลิง ไปต่อยอดต่อไป ส�ำหรับรถ ‘MIRAI’ ในภาษาญี่ปุ่น แปลว่า “อนาคต” ซึ่งต้องการสื่อให้เห็นถึงทิศทางของ คนรุ่น ใหม่ในอนาคตที่ต้องพัฒนาและพึ่งพา ยานพาหนะที่ ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยเชื้ อ เพลิ ง ที่ เ ป็ น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยลดปัญหาการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุของ ภาวะโลกร้ อ น โดย MIRAI ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ย เครื่องยนต์ที่ใช้ไฟฟ้าที่เกิดจากปฏิกิริยาทาง เคมีของไฮโดรเจน และทีส่ ำ� คัญ MIRAI ไม่ปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ แต่ปล่อยน�้ำออกมา เท่านั้น และนอกจากจะมีเสถียรภาพแห่งการ ควบคุ ม ขั บ ขี่ ป ลอดภั ย และสะดวกสบายแล้ว รถรุน่ นีย้ งั สามารถขับได้ในระยะทางไกล และใช้ เวลาในการเติมพลังงานเชือ้ เพลิงไฮโดรเจนเพียง ประมาณสามนาทีเท่านั้น รวมทั้งยังมีระบบ การท�ำงานที่สามารถส�ำรองที่พลังงานภายนอก นอกเหนือจากการขับเคลื่อนโดยพลังงานทีไ่ ด้ จากเซลล์เชื้อเพลิง และระบบที่สามารถเก็บ ส�ำรองพลังงานไว้ได้ยาวนานหลายเท่ากว่ายานยนต์ ไฟฟ้าทัว่ ๆ ไป ซึง่ จะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ หาก เกิดเหตุการณ์ภยั พิบตั ิ หรือเหตุฉกุ เฉินอืน่ ๆ

M AY 2 0 1 6


VIEWPOINT 3$73 ¡Ôp

i ¤ É|} ¦l oi ¤} l Ó |Ó i ¨i} |

¤ ¬ i |iÔ s¤ i pi 2F?GJ?LB .?PRLCPQFGN DMP +?PICR 0C?BGLCQQ .+0 ¥ ­ © Ó ® pm×j q }j jÕ t¥ j qj pm×j s j ² §} m¡| ¥ y ¡k q ¢Ô ² j pm×j q }j jÕ t¥ j qj m¡| p × Ó ¢ |× p ¢Ô ² j pm×j q }j jÕ t¥ j qj ¦ m¡| pjs j ~~ × ¢ Ô ² j ² j ¥ m × ¦ ~ } ~ ¥ ¥ Ê } ~ §m pj Å¥~ m Ô }Ô j ©j~ } ¥ ­ ¡ j }jÕ t¥ j qj 3G@HK@MC /@QSMDQRGHO ENQ ,@QJDS 1D@CHMDRR /,1 Æ §} ©}Ô ¥j ~ q j m ¡ ©}Ô¦jÓ m¡| sÓ } j { pp }¦ ¦ ¡ j × pp m¡| q k ~ m| j j }Ô ­ p ¦ } Ô m ~¥ ¦ Ó p ¥ © ¦ m¡ | |× v { × ¢ Ô ¥ s ­ s v}Ô ­ p ¦ } Ô ¡ § m § j

VOLUME 8 ISSUE 90

Ùčèíøøö÷ýǰ ýøĊߊü÷ǰ ĂíĉïéĊÖøöóĆçîć óúĆ Ü ÜćîìéĒìîĒúąĂîč øĆ Ö þŤ ó úĆ Ü Üćîǰ óó ǰ ÖúŠćüüŠćǰ ĶÖøąìøüÜóúĆÜÜćîÖĞćĀîé ÷čìíýćÿêøŤēé÷öĊđðŜćĀöć÷ĔĀšöĊÖćøĔßšóúĆÜÜćî ×ĂÜðøąđìýĂ÷Š ć ÜöĊ ð øąÿĉ ì íĉ õ ćóǰ Ēúąĕéš ÖĞ ć ĀîéÖú÷č ì íŤ é š ć îÖćøĂîč øĆ Ö þŤ ó úĆ Ü Üćîǰ ēé÷öĊ Ö ú÷č ì íŤ ìĆĚ Ü ìćÜéš ć îøąđïĊ ÷ ïÖãĀöć÷ǰ ÖćøÿŠÜđÿøĉöÿîĆïÿîčîǰ ÖćøÿøšćÜÙüćöêøąĀîĆÖǰ ÖćøÿŠÜđÿøĉöÖćøóĆçîćđìÙēîēú÷ĊĒúąîüĆêÖøøöǰ ĒúąÖćøóĆçîćÖĞćúĆÜÙîǰ đóČęĂÖĞćÖĆïéĎĒúĒúą ÿŠ Ü đÿøĉ ö ĔĀš đ Öĉ é ÖćøĔßš ó úĆ Ü ÜćîĂ÷Š ć ÜöĊ ðøąÿĉìíĉõćóǰ ēé÷đðŜćĀöć÷êćöĒñîĂîčøĆÖþŤ óúĆÜÜćîǰ ĕéšÖĞćĀîéĔĀšúéÙüćöđךöךîÖćøĔßš óúĆÜÜćîúÜǰ ǰ ĔîðŘǰ ǰ đöČęĂđìĊ÷ïÖĆï ðŘǰ ǰàċÜę ǰóó ǰĔîåćîąĀîŠü÷ÜćîìĊöę ĀĊ îšćìĊÙę üćö øĆïñĉéßĂïēé÷êøÜǰ ĕéšéĞćđîĉîÜćîĔîēÙøÜÖćø ÿŠÜđÿøĉöÖćøĂîčøÖĆ þŤóúĆÜÜćîĔĀšĒÖŠēøÜÜćîÙüïÙčö ĒúąĂćÙćøÙüïÙčööćĂ÷ŠćÜêŠĂđîČęĂÜǰ

E N E R G Y S AV I N G

93


¥ y ¡k q

éĆÜîĆĚîÖćøìĊęǰ óó ǰ Ēúąǰ ĂïÖ ǰ ĕéšöĊÙüćö øŠüööČĂéĞćđîĉîÖĉÝÖøøöêŠćÜėǰ õć÷Ĕêšǰ ēÙøÜÖćø óĆçîćÖćøúéÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖĔîĂćÙćøÙüïÙčö ĒúąēøÜÜćîÙüïÙčöǰǰēé÷ĔßšÖúĕÖêúćéǰ&OFSHZǰ 1FSGPSNBODFǰ $FSUJųDBUFǰ 4DIFNFǰ &1$ ǰ õć÷Ĕêšǰ1.3ǰđóČęĂÿŠÜđÿøĉöÖćøđóĉęöðøąÿĉìíĉõćó ÖćøĔßšóúĆÜÜćîǰ ×èąđéĊ÷üÖĆî÷ĆÜߊü÷úéÖŢćà đøČĂîÖøąÝÖĕéšǰÝċÜîĆïđðŨîēĂÖćÿĂĆîéĊìĊęÝąöĊÖćø êŠ Ă ÷Ăéך Ă öĎ ú éš ć îóúĆ Ü ÜćîÿĎ Š × š Ă öĎ ú Öćøúé ÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖ×ĂÜðøąđìýķǰ éšćîǰÙčèðøąđÿøĉåÿč×ǰÝćöøöćîǰñĎšĂĞćîü÷ Öćøǰ ĂïÖ ǰ ÖúŠćüêĂîĀîċęÜüŠćǰ Ķðøąđìýĕì÷ ĕéšĒÿéÜđÝêÝĞćîÜÖćøéĞćđîĉîÜćîúéÖŢćàđøČĂî ÖøąÝÖìĊę đ Āöćąÿö×ĂÜðøąđìýǰ /"."T ǰ ߊü÷ÙüïÙčöĕöŠĔĀšĂčèĀõĎöĉ×ĂÜēúÖđóĉęöÿĎÜ×ċĚîĕöŠ đÖĉîǰ ǰĂÜýćđàúđàĊ÷ÿǰēé÷ÝąúéðøĉöćèÖćøðúŠĂ÷ ÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖøąĀüŠćÜøšĂ÷úąǰ ı ǰ õć÷Ĕî ðŘǰ ǰ đöČęĂđìĊ÷ïÖĆïðŘǰ ǰ Ēúąõć÷Ĕêšǰ

*/%$ǰ ðøąđìýĕì÷ĕéšĒÿéÜđÝêÝĞćîÜĔîÖćøúé ÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖøšĂ÷úąǰ ǰõć÷ĔîðŘǰ ǰ đóČęĂĔĀšÿćöćøëïøøúčđðŜćĀöć÷îĊĚĕéšǰ ÝċÜÝĞćđðŨî êšĂÜöĊÖćøýċÖþćĒúąóĆçîćÖúĕÖǰ øüöìĆĚÜđÙøČęĂÜ öČĂêŠćÜėǰ öćÿîĆïÿîčîĔĀšéĞćđîĉîöćêøÖćøúé ÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖĕéšĂ÷ŠćÜđĀöćąÿö ìćÜéšćîǰ íîćÙćøēúÖĕéšđúĘÜđĀĘîëċÜÙüćö ÿĞćÙĆâ×ĂÜÖúĕÖêúćéǰ ÝċÜĕéšÝĆéêĆĚÜēðøĒÖøöǰ 1.3ǰ ēé÷öĊ üĆ ê ëč ð øąÿÜÙŤ đ óČę Ă ÿîĆ ï ÿîč î Öćø đêøĊ÷öÙüćöóøšĂöéšćîÖúĕÖêúćéĔîðøąđìý ÖĞ ć úĆ Ü óĆ ç îćǰ øüöìĆĚ Ü ÖćøìĞ ć ēÙøÜÖćøîĞ ć øŠ Ă Ü ĒúąìéÿĂïđÙøČę Ă ÜöČ Ă ĔĀöŠ ė ǰ ìćÜÖćøêúćéǰ õć÷Ĕêšǰ 1.3ǰ öĊðøąđìýÖĞćúĆÜóĆçîćđךćøŠüö

94

E N E R G Y S AV I N G

ēÙøÜÖćøøüöǰ ǰ ðøąđìýǰ ×èąîĊĚöĊðøąđìýìĊę ĕéšøĆïÖćøđĀĘîßĂïךĂđÿîĂēÙøÜÖćøǰ ĒúąĕéšøĆï ÖćøĂîčöĆêĉđÜĉîÿîĆïÿîčîĒúšüǰ ǰ ðøąđìýǰ øüö ëċÜðøąđìýĕì÷éšü÷ǰ ēé÷ĕéšøĆïÙüćöđĀĘîßĂï ÝćÖìĊęðøąßčöǰ 1BSUOFSTIJQǰ "TTFNCMZǰ 1" ǰ ĔĀšÖćøÿîĆïÿîčîđÜĉîÝĞćîüîǰ ǰúšćîđĀøĊ÷âÿĀøĆåǰ đóČĂę öćéĞćđîĉîÖĉÝÖøøöêŠćÜėǰõć÷ĔêšēÙøÜÖćøǰàċÜę ÝćÖÖćøðøąßčöÙèąøĆåöîêøĊöđĊ öČĂę üĆîìĊǰę ǰöÖøćÙöǰ ǰöĊöêĉđĀĘîßĂïøŠćÜĀîĆÜÿČĂךĂêÖúÜøĆïÙüćö ߊü÷đĀúČĂĒïïĔĀšđðúŠćÝćÖíîćÙćøēúÖǰ ēé÷öĂïĀöć÷ĔĀšÖøąìøüÜÖćøÙúĆÜđðŨîñĎš úÜîćöĔîîćöøĆåïćúĒĀŠÜøćßĂćèćÝĆÖøĕì÷ǰ ĒúąúÜîćöĀîĆÜÿČĂךĂêÖúÜēé÷øĂÜðúĆéÖøąìøüÜ ÖćøÙúĆÜǰđöČĂę üĆîìĊǰę ǰÖčöõćóĆîíŤǰ ǰìĊęñŠćîöć

M AY 2 0 1 6


ÖúĕÖêúćéìĊǰę ĂïÖ ǰđÿîĂđóČĂę éĞćđîĉîÖćøõć÷ Ĕêšǰ1.3ǰðøąÖĂïéšü÷ǰ ǰÖúĕÖǰĕéšĒÖŠǰ &OFSHZǰ 1FSGPSNBODFǰ $FSUJųDBUFǰ 4DIFNFǰ &1$ ǰĀøČĂǰÖúĕÖđóČĂę ÿŠÜđÿøĉöÖćøđóĉöę ðøąÿĉìíĉõćóÖćøĔßšóúĆÜÜćîǰ ÖćøúéÖŢćàđøČĂî ÖøąÝÖĔîĂćÙćøÙüïÙčöǰĒúąēøÜÜćîÙüïÙčöǰ -PXǰ $BSCPOǰ $JUZǰ 1SPHSBNǰ -$$

ÿĞ ć ĀøĆ ï ÿŠ Ü đÿøĉ ö ÖćøéĞ ć đîĉ î ÖćøúéÖŢ ć à đøČĂîÖøąÝÖǰöčŠÜÿĎŠđöČĂÜÙćøŤïĂîêĞęć×ĂÜđìýïćú ĒúąßčößîǰàċęÜöĊÙüćöÿĂéÙúšĂÜÖĆïĒñîóĆçîć đýøþåÖĉÝĒúąÿĆÜÙöĒĀŠÜßćêĉǰ ÞïĆïìĊęǰ ǰĒúą ÷č ì íýćÿêøŤ ð øąđìýǰ ĂĊ Ö ìĆĚ Ü đðŨ î ÿŠ ü îĀîċę Ü Ĕî ÖćøÿîĆïÿîčîđðŜćĀöć÷×ĂÜÖøąìøüÜóúĆÜÜćîǰ ĕéšĒÖŠǰ ĒñîĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćîǰ ĒúąĒñîóĆçîć óúĆ Ü ÜćîìéĒìîĒúąóúĆ Ü ÜćîìćÜđúČ Ă ÖÖćø éĞćđîĉî ÜćîĒïŠÜĂĂÖđðŨ î ǰ ǰ øą÷ąǰ ÙČĂøą÷ą ĒøÖđðŨîߊüÜđêøĊ÷öÖćøǰÙČĂîĆïÝćÖðŦÝÝčïîĆ ǰıǰó ý ǰ ǰ đêøĊ ÷ öÙüćöóøš Ă öéš ć îÖúĕÖêúćéĔî ÿŠüî×ĂÜǰ&1$ǰ4DIFNFǰĒúąǰ-$$ǰ1SPHSBNǰ éšü÷øĎðĒïïĒïïÿöĆÙøĔÝǰĒúąøą÷ąìĊęÿĂÜǰđðŨî ߊüÜÖćøéĞćđîĉîēÙøÜÖćøîĞćøŠĂÜǰ đøĉęöõć÷ĀúĆÜ ìĊę ĕ éš × š Ă ÿøč ð ÿĞ ć ĀøĆ ï øĎ ð Ēïïǰ ĒúąĒîüìćÜìĊę đĀöćąÿöĔîÖćøéĞćđîĉîÖćø ñúÝćÖÖćøýċÖþćĒúąÖćøéĞćđîĉîÖĉÝÖøøö êŠ ć Üǰ ėǰ õć÷Ĕêš ē ÙøÜÖćøêúĂéߊ ü Üøą÷ą

đüúćǰ ǰðŘîĆïÝćÖîĊĚǰÙćéüŠćݹߊü÷ðøąđìýĕì÷ ĔîÖćøđêøĊ÷öÙüćöóøšĂöđóČęĂîĞćÖúĕÖêúćé öćĔßšĔîÖćøÿîĆïÿîčîÖćøúéÖŢćàđøČĂîÖøąÝÖ ×ĂÜðøąđìýǰ Ēúą×Ă×ĂïÙč è ÖøöóĆ ç îć óúĆÜÜćîìéĒìîĒúąĂîčøĆÖþŤóúĆÜÜćîǰ ĔîÖćø öĊÿŠüîÿîĆïÿîčîĔîÖćøÝĆéìĞćךĂđÿîĂēÙøÜÖćøǰ ñĎšĒìîÝćÖĂÜÙŤÖøêŠćÜǰėǰìĊęđúĘÜđĀĘîÙüćöÿĞćÙĆâ ĔîÖćøđêøĊ ÷ öÙüćöóøš Ă öéš ć îÖćøúé ÖŢ ć àđøČ Ă îÖøąÝÖǰ ĒúąĀüĆ Ü đðŨ î Ă÷Š ć Ü÷ĉę Ü üŠ ć ĔîÖćøéĞćđîĉîēÙøÜÖćøÝąĕéšøĆïÙüćöøŠüööČĂ ĒúąÖćøÿîĆïÿîčîÝćÖìčÖõćÙÿŠüîǰǰ

×ĂïÙčèõćóðøąÖĂïǰ

IUUQ JNBHF CBOHLPLCJ[OFXT DPN NFEJB JNBHFT TJ[F FKBCDDFC IILCH HBJ GK KQH IUUQ KJOHSP DPN XQ DPOUFOU VQMPBET 0CBNBT QPTUFS DIJME GPS HMPCBM XBSNJOH KQH IUUQ NQJDT NBOBHFS DP UI QJDT *NBHFT +1&( IUUQ TUBUJD WPWXPSME WO X 6QMPBEFE NJOIOHVZFU @ @ [LJCYS3 KQH IUUQ XXX EBJMZOFXT DP UI JNBHFT T Y

VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

95


Energy Report TEXT : คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

สวทช. จับมือ VGREEN เปิ ด รั บ สมั ค ร SME ไทย เดินหน้าก้าวสู่ยุค INDUSTRY 4.0 : ยุคการด�ำเนินธุรกิจลดโลกร้อน ต้ อ นรั บ ฤดู ร ้ อ นที่ ม าพร้ อ มกั บ ลมร้ อ น และสีสนั แจ่มใสกับเทศกาลสงกรานต์ทเี่ พิง่ ผ่านไป ด้วยเรื่องเกี่ยวกับ “การลดโลกร้อน” กันดีกว่านะคะ.. ฉบั บ นี้ ผู ้ เขี ย นภู มิ ใจน� ำ เสนอคุ ณ ผู ้ อ ่ า นให้ รูจ้ กั กับ ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มัง่ คัง่ ผูอ้ ำ� นวยการ VGREEN ซึง่ เป็นหัวหน้าคณะผูเ้ ชีย่ วชาญโครงการ “พั ฒ นาผู ้ ป ระกอบการไทยเพื่ อ การด� ำ เนิ น ธุรกิจอย่างยัง่ ยืนและลดโลกร้อน” ซึง่ โปรแกรม ITAP ภายใต้ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) หรือเรียกว่าเป็น “กูรดู า้ นคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ระดับชาติและสากล” และที่ส�ำคัญคือ ท่านเป็นผู้ริเริ่มด�ำเนินงานวิจัย และพัฒนาด้านคาร์บอนฟุตพริ้นท์เป็นครั้งแรก ในประเทศไทยเมือ่ ปี ค.ศ. 2008 และมีผลงาน เด่นเชิงประจักษ์จากการได้รบั รางวัลนักวิจยั ดีเด่น จากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และรางวัลงานวิจยั ผลกระทบสูง จาก ส�ำนักงาน วิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาให้กับบริษัทเอกชนมาแล้ว กว่า 100 ราย จากภารกิจของโปรแกรม ITAP ภายใต้ ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ทีจ่ ะสนับสนุนผูป้ ระกอบการ SMEs เพือ่ พัฒนา ศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจ ดังนั้น โครงการ “พัฒนาผู้ประกอบการไทยเพื่อการด�ำเนินธุรกิจ อย่างยัง่ ยืนและลดโลกร้อน” ทีโ่ ปรแกรม ITAP ได้ ริเริม่ ขึน้ ร่วมกับ ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มัง่ คัง่ ผูอ้ ำ� นวย การ VGREEN จึงช่วยตอบโจทย์ผปู้ ระกอบการไทย ในการให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคและการเงิน อันเป็นการส่งเสริมและกระตุน้ ให้เกิดการประเมินและ จัดการก๊าซเรือนกระจก อีกทัง้ ยังช่วยเตรียมความ พร้อมในการตอบสนองต่อความต้องการของ ตลาดทีค่ ำ� นึงถึงความเป็นมิตรต่อสภาพภูมอิ ากาศ ซึง่ ข้อมูลจาก ดร.รัตนาวรรณ ต่อจากนีอ้ าจท�ำให้ ท่านผูอ้ า่ นเข้าใจถึงผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ และน้อมใจเข้ามาร่วมกันตระหนัก ถึงการร่วมแรงร่วมใจกันเพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการ “ลดโลกร้อน” ไปด้วยกัน 96

E N E R G Y S AV I N G

ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง ผู้อ�ำนวยการ VGREEN VGREEN : Centre of Excellence on environmental strategy for GREEN business สังกัดคณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่มา : https://www.themedicalbag.com/article/the-effectsof-climate-change-part-i

ไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไปกับปัญหาภาวะ โลกร้อน เพราะเราเริ่มเห็นผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศอย่างชัดเจน ดังเช่น การทีอ่ ณ ุ หภูมขิ องโลกสูงขึน้ ท�ำให้นำ�้ แข็งทีข่ วั้ โลกละลาย ส่งผลให้ระดับของน�ำ้ ทะเลเพิม่ สูงขึน้ เป็นเหตุให้เกิดน�ำ้ ท่วมเกาะหลายแห่งในประเทศ ปาปัวกินี นอกจากนีท้ ำ� ให้เกิดการระบาดของเชือ้ โรค ท�ำให้เกิดพายุไซโคลน ท�ำให้เกิดวาตภัย พันธกรณีในการลดก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gases : GHGs) ภายใต้ พิธสี ารเกียวโต สิน้ สุดลง ในปี 2012 พบว่า เป้าหมายทีจ่ ะลด GHGs ลงให้ได้เฉลีย่ ประมาณ 5% นัน้ ยังไม่สามารถลด

ประเทศไทยเข้าร่วมประชุม ประชุมสมัชชารัฐภาคีฯ ครัง้ ที่ 21 (COP21) ที่มา : http://www.cop21.gouv.fr/en และ http://unfccc6.meta-fusion.com/cop21/

ได้ตามเป้าหมาย อีกทัง้ ยังไม่สามารถรักษาระดับ การปล่อย GHGs ให้อยูใ่ นระดับคงทีไ่ ด้ โดยในปี 1990 ความเข้มข้นของ GHGs ในบรรยากาศมีคา่ อยูท่ ปี่ ระมาณ 350 ppm ปัจจุบนั ปี 2015 มีคา่ เฉลีย่ อยูท่ ี่ 400 ppm ซึง่ ความเข้มข้นสูงขึน้ เฉลีย่ ประมาณ 2 ppm ต่อปี และจากความตกลงปารีส (Paris Agreement) การประชุมสมัชชารัฐภาคีฯ ครัง้ ที่ 21 (COP21) ณ กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรัง่ เศส เมือ่ วันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 2015 ได้มกี ฎกติกาใช้ บังคับกับทุกรัฐภาคี ส�ำหรับการด�ำเนินงานจาก ปี ค.ศ. 2020 เป็นต้นไป โดยตัง้ เป้าหมายจ�ำกัดการ เพิม่ ขึน้ ของอุณหภูมโิ ลกเฉลีย่ ไม่ให้เกิน 2 องศา เซลเซียส จากยุคปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม และจะจ�ำกัด ไม่ให้เกิน 1.5 องศาเซลเซียส หากเป็นไปได้, ลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้ภายในครึง่ หลัง ของศตวรรษนี้ นอกจากนีไ้ ด้กำ� หนดกระบวนการ เพือ่ ประเมินความคืบหน้าในการบรรลุจดุ ประสงค์ และเป้าหมายของความตกลงฯ ในปี ค.ศ. 2023 โดยจะมีการทบทวนความคืบหน้าทุก ๆ 5 ปี M AY 2 0 1 6


คงจะปฏิเสธไม่ได้วา่ ประเทศไทยอยูร่ ะหว่างการเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจ และโครงสร้างพื้นฐานภาคอุตสาหกรรม และก�ำลังได้รับการกระตุ้นให้มี การพัฒนาแบบก้าวกระโดด เพือ่ เร่งขยายและเพิม่ ฐานการผลิตให้เท่าเทียมกับ ประเทศอืน่ ๆ ในภูมภิ าคอาเซียน ทีจ่ ะส่งผลให้มกี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพิม่ ขึน้ นอกจากนีป้ ระเทศไทยยังถือเป็นประเทศทีม่ คี วามเสีย่ งสูงเป็นล�ำดับ ที่ 9 ของโลก ในการได้รบั ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ นี้ด้วย เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพิงภาคเกษตรกรรม นั่นคือ การแปรปรวนของสภาวะอากาศตามธรรมชาติทสี่ งั เกตได้ในช่วงระยะเวลา เดียวกัน ได้แก่ อุณหภูมิ ความชืน้ ปริมาณน�ำ้ ฝน ฤดูกาล ซึง่ เป็นปัจจัยส�ำคัญ ในการด�ำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตที่จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศใน บริเวณทีส่ งิ่ มีชวี ติ นัน้ อาศัยอยู่ ซึง่ ปัจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ บ่อยขึ้น เนื่องจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็น ผลมาจากความเข้มข้นของก๊าซเรือนกระจก (greenhouse gas) ในบรรยากาศ เพิม่ ขึน้ ก่อให้เกิดปราฏการณ์เรือนกระจก (greenhouse effect) หรือภาวะ โลกร้อน (global warming) เมือ่ ประเทศไทยก�ำลังอยูใ่ นกระแสของการขับเคลือ่ นไปในทิศทางของ การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืนที่มีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยจึงแสดงเจตจ�ำนงในการมีส่วนร่วมในการลดก๊าซเรือนกระจก หรือ GHGs (Intended Nationally Determined Contribution : INDC) โดยเสนอเป้าหมายทีร่ ะดับร้อยละ 20 จากกรณีปกติ (Business-as-usual) ให้ได้ ในปี ค.ศ.2030 อ้างอิงจากปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในปี ค.ศ. 2008 นีเ่ อง คือเหตุผลทีท่ ำ� ให้ผปู้ ระกอบการไทยได้รบั ผลกระทบจาก ความตกลงดังทีก่ ล่าวไปแล้วข้างต้น ด้วยภาคอุตสาหกรรมถือเป็นภาคส่วน ทีม่ กี จิ กรรมการผลิตและขนส่งทีป่ ล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึง่ ผูป้ ระกอบการ ควรที่จะต้องทราบถึงปริมาณและแหล่งปล่อยปล่อยก๊าซเรือนกระจกว่ามี จ�ำนวนเท่าไหร่ และมาจากกิจกรรมอะไรบ้าง เพื่อที่จะได้วางแผนด�ำเนิน การเพือ่ ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเหล่านัน้ หากเมือ่ ถูกก�ำหนด ให้มสี ว่ นร่วมกับกิจกรรมการลดก๊าซเรือนกระจก ไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม โดยจะเห็นได้จากปัจจุบันกระแสของตลาดเริ่มที่จะมีความต้องการสินค้า ช่วยลดโลกร้อน หรือ มีการสนับสนุนการค้ากับผูผ้ ลิตทีใ่ ส่ใจลดโลกร้อน ซึง่ หากผูป้ ระกอบการไทยสามารถจับกระแสนีไ้ ด้ทนั ท่วงที จะสามารถเข้าสูย่ คุ ของการด�ำเนินธุรกิจลดโลกร้อน ซึง่ ก�ำลังเป็นประเด็นร้อนของโลก ก�ำลังทวี ความส�ำคัญและเป็นประเด็นการแข่งขันของการก้าวเข้าสูย่ คุ INDUSTRY 4.0 เพราะหากผูป้ ระกอบการก้าวไม่ทนั กับสภาวการณ์ของโลกทีก่ ำ� ลังเปลีย่ นแปลง หรือไม่รู้วิธีที่จะด�ำเนินธุรกิจที่ต้องค�ำนึงถึงปัจจัยผลักดันที่ส�ำคัญของโลก ในการแก้ไขปัญหาภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จะท�ำให้เสียกระบวนท่าในการท�ำธุรกิจเชิงกลยุทธ์จนถึงขัน้ สูญเสียโอกาสใน การแข่งขันไปเลยทีเดียว ท่านผูอ้ า่ นทราบหรือไม่วา่ ปัจจุบนั ประเทศไทยเป็นผูน้ ำ� ในภูมภิ าคอาเซียน ด้านคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ โดยเป็นประเทศเดียว ณ ขณะนี้ ทีม่ กี ารพัฒนาและ ด�ำเนินการด้านคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ ทัง้ ทีเ่ ป็นการประเมินปริมาณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกขององค์กร (“คาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร”) รวมทั้งการ ประเมินปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผลิตภัณฑ์ (“คาร์บอนฟุตพริน้ ท์ ผลิตภัณฑ์”) อีกทัง้ มีการพัฒนาระบบรับรองและฉลากคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ นอกจากนี้ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งเดียวจากกลุ่มประเทศก�ำลังพัฒนาของ โลกทีม่ กี ารพัฒนาระบบรับรองและฉลากคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ โดยมีขอ้ มูลทีน่ า่ สนใจ คือ ปัจจุบนั สินค้าของไทยมีการติดฉลากคาร์บอนฟุตพริน้ ท์สงู สุดในโลก คือมีจำ� นวนทัง้ สิน้ 927 ผลิตภัณฑ์ จาก 236 บริษทั ซึง่ ถือเป็นการมีภาพพจน์ ทีด่ ตี อ่ ตลาดโลก และหากผูป้ ระกอบการรายใดต้องการจะขอรับการสนับสนุน เพือ่ ให้ โปรแกรม ITAP ภายใต้ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี VOLUME 8 ISSUE 90

แห่งชาติ (สวทช.) และ ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มัง่ คัง่ ผูอ้ ำ� นวยการ VGREEN (ศูนย์ เชีย่ วชาญเฉพาะทางด้านกลยุทธ์ธรุ กิจทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม) เพือ่ พัฒนา ศักยภาพการแข่งขันทางธุรกิจสามารถสมัครเพือ่ ขอรับการสนับสนุนในการ เข้าร่วมโครงการ “พัฒนาผูป้ ระกอบการไทยเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืน และลดโลกร้อน” ทีโ่ ปรแกรม ITAP ได้ ซึง่ ร่วมมือกับ VGREEN โดยทีผ่ า่ นมา โครงการฯ ได้ให้การสนับสนุนผูป้ ระกอบการไปแล้วจ�ำนวน 8 ราย หากท่าน ผูอ้ า่ นสนใจ ฉบับต่อไปผูเ้ ขียนจะน�ำเสนอประสบการณ์และผลความส�ำเร็จ ของผูป้ ระกอบการเหล่านี้ เพือ่ แชร์ขอ้ มูลว่าบริษทั เหล่านัน้ มีแนวคิดอย่างไร เกี่ยวกับเรื่องโลกร้อน มีมาตรการในการเตรียมรับมืออย่างไร ได้พบกับผู้ เชีย่ วชาญโครงการได้อย่างไร มีวธิ กี ารท�ำงานร่วมกันอย่างไร มีอปุ สรรคอะไร เกิดขึน้ บ้างและก้าวข้ามผ่านพ้นมาได้อย่างไร ท�ำแล้วได้อะไร

ภาพการจัดสัมมนาร่วมกันระหว่างโปรแกรม ITAP ได้ริเริ่มขึ้นร่วมกับ VGREEN เมื่อวันที่ 10 มี.ค 59

ภาพการจัดสัมมนาร่วมกันระหว่างโปรแกรม ITAP ได้ริเริ่มขึ้นร่วมกับ VGREEN เมื่อวันที่ 31 มี.ค 59

หากท่านสนใจทีจ่ ะมาเป็นส่วนหนึง่ ของกิจกรรมดี ๆ เพือ่ พัฒนาศักยภาพ การแข่งขันทางธุรกิจสามารถสมัครเพื่อขอรับการสนับสนุนในการเข้าร่วม โครงการ “พัฒนาผูป้ ระกอบการไทยเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนและ ลดโลกร้อน” ซึง่ โปรแกรม ITAP, สวทช. จับมือกับ VGREEN โดยเริม่ เปิดรับสมัคร SME ไทย เพือ่ ร่วมกันก้าวเข้าสูย่ คุ INDUSTRY 4.0 : ยุคการด�ำเนินธุรกิจลดโลกร้อน ตัง้ แต่วนั นีเ้ ป็นต้นไป ติดต่อสอบถาม ข้อมูลได้ที่ คุณชนากานต์ สันตยานนท์ โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@nstda.or.th ขอบคุณ ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มัง่ คัง่ ผูอ้ ำ� นวยการ VGREEN ส�ำหรับข้อมูล ด้านเทคนิคและข้อมูลโครงการฯ E N E R G Y S AV I N G

97


Green Society TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

พีแอนด์จี มอบ “ของขวัญสีเขียว” ให้เด็ก

ภายใต้โครงการสนามเด็กเล่นรีไซเคิลเฉลิมพระเกียรติ 88 พรรษา

มูลนิธพิ แี อนด์จปี ระเทศไทยเพือ่ สังคม และ บริษทั พรอคเตอร์แอนด์แกมเบิลเทรดดิง้ (ประเทศไทย) จ�ำกัดหรือพีแอนด์จี ประเทศไทยได้จดั กิจกรรมอาสาสมัครมอบของขวัญเพือ่ การเรียนรูค้ รัง้ ที่ 24 ณ ศูนย์การศึกษาพิเศษส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร โดยครัง้ นีไ้ ด้มอบ “ของขวัญสีเขียว” (Green Gift of Learning) สนามเด็กเล่นรีไซเคิลจากขวดแชมพูของพีแอนด์จี อาทิ แพนทีน เฮดแอนด์โชว์เดอร์ รีจอยส์ และเฮอร์บลั เอสเซ้นส์ ในโครงการสนามเด็กเล่นรีไซเคิลเฉลิมพระเกียรติ 88 พรรษา โดยมีจดุ ประสงค์เพือ่ ส่งเสริมศักยภาพ ทางอารมณ์ การเคลือ่ นไหวร่างกาย การพัฒนาทักษะ ทีจ่ ำ� เป็นในการเรียนรู้ และสุขอนามัยทีด่ ใี ห้แก่กลุม่ เด็ก ทีม่ คี วามต้องการพิเศษ รวมถึงรณรงค์ปลูกฝังจิตส�ำนึกให้มสี ว่ นร่วมในการรักษาสิง่ แวดล้อม คุณกรรณิการ์ จรัสอุไรสิน ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายองค์กรสัมพันธ์ พีแอนด์จี ประเทศไทย และเลขาธิการมูลนิธิ พีแอนด์จปี ระเทศไทยเพือ่ สังคม กล่าวเพิม่ เติมว่า“พีแอนด์จมี คี วามมุง่ มัน่ ทีจ่ ะเข้าถึงและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูค้ นในทุก ๆ วัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ เด็กเยาวชนทีม่ คี วามต้องการพิเศษ ซึง่ เป็นกลุม่ ทีถ่ กู ทอดทิง้ และ ขาดโอกาสมากทีส่ ดุ โครงการนี้ นอกจากจะช่วยให้เด็ก ๆ มีสขุ ภาพแข็งแรง ช่วยเหลือตนเองได้ แล้ว ยังได้ปลูกฝัง จิตส�ำนึกเรือ่ งอนุรกั ษ์ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอีกทัง้ การเล่นด้วยกัน จะเป็นจุดเริม่ ต้นทีจ่ ะช่วยท�ำให้เกิด การเรียนรู้ เข้าใจกัน ไม่เลือกปฏิบตั แิ ละสร้างการยอมรับผูพ้ กิ ารให้อยูร่ ว่ มกันในสังคมได้ด”ี ส�ำหรับกิจกรรมมอบของขวัญเพือ่ การเรียนรู้ (Gift of Learning) ได้ดำ� เนินการต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2555 ภายใต้โครงการรักเรียน เรียนอย่างเป็นสุข ซึง่ เป็นการท�ำงานร่วมกันกับหน่วยงานทีค่ มุ้ ครองพิทกั ษ์สทิ ธิเด็ก จากทัง้ ภาครัฐ องค์กรไม่แสวงหาก�ำไร และพันธมิตรทางธุรกิจ โดยได้เดินทางสัญจรเยีย่ มเด็กด้อยโอกาสจาก กลุม่ ต่าง ๆ อาทิ เด็กก�ำพร้า เด็กเร่รอ่ น เด็กติดเชือ้ เอชไอวี เด็กทีม่ คี วามต้องการพิเศษ เด็กเยาวชนในสถาน พินจิ ฯ เป็นต้น โดยมีจดุ ประสงค์ทจี่ ะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาด้านสุขภาพและอนามัยทีด่ ี ผ่านผลิตภัณฑ์ ในเครือของพีแอนด์จี

98

E N E R G Y S AV I N G

ด้าน ดร.ชูศกั ดิ์ จันทยานนท์ ประธานมูลนิธิ ออทิสติกไทยและนายกสมาคมผูป้ กครองบุคคล ออทิซมึ (ไทย) กล่าวว่า “ กลุม่ เด็กพิเศษ ถือว่าเป็นกลุม่ ที่ ยังได้รบั ความสนใจ และความช่วยเหลือจากสังคม ไม่มากนัก เพราะหลายคนยังมีความเข้าใจที่ไม่ ถูกต้องเกีย่ วกับเด็กกลุม่ นี้ จริง ๆ แล้วเด็กกลุม่ นีก้ ็ เหมือนกับเด็กทัว่ ๆ ไป แต่อาจจะมีพฒ ั นาการที่ ช้ากว่าเด็กปกติ แต่เราก็สามารถฝึกให้มพี ฒ ั นาการ ที่ดีขึ้นได้ ซึ่งการพัฒนาที่ดี เริ่มต้นจากการเล่น ดังนั้นสนามเด็กเล่นรีไซเคิลจากขวดแชมพูนี้ จะช่วยกระตุน้ พัฒนาการของเด็ก ๆ ได้อย่างดีเยีย่ ม นอกเหนือไปกว่านัน้ การใช้วสั ดุรไี ซเคิลทีม่ คี ณ ุ ภาพ มาเป็นวัสดุในการสร้างสนามเด็กเล่นนี้ ยังช่วย สิง่ แวดล้อม ไม่ให้มขี ยะส่วนเกินมากเกินไป ซึง่ ถือว่า เป็นการรักษาโลกของเราได้อกี ทางหนึง่ ทัง้ ยังช่วย ปลุกจิตส�ำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับเด็ก และประชาชนในสังคมอีกด้วย” ทัง้ นี้ มูลนิธฯิ มีเป้าหมายทีจ่ ะส่งมอบสนามเด็ก เล่นรีไซเคิลจากขวดแชมพู ให้เด็กกลุม่ ทีม่ คี วาม ต้องการพิเศษเพิม่ เติมให้ครบ 88 สนาม มูลค่า รวม 15,000,000 บาท ภายในปี 2560 พร้อมทัง้ ผลิตภัณฑ์สง่ เสริมสุขอนามัยของบริษทั พีแอนด์จี เช่น สบู่ แปรงสีฟนั แชมพู เป็นต้น โดยคาดว่าเด็กไม่ น้อยกว่า 20,000 คน ทีจ่ ะได้รบั ประโยชน์ทางด้าน ส่งเสริมด้านสุขภาพอนามัย การพัฒนากล้ามเนือ้ ส่วนต่าง ๆ การพัฒนาการด้านอารมณ์ รวมทัง้ ได้ ปลูกฝังจิตส�ำนึกอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสิง่ แวดล้อม เพือ่ ถวายเป็นพระราชกุศลใน โอกาสทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงเจริญพระชนมายุครบ 88 พรรษา สนามเด็กเล่นพลาสติกรีไซเคิลจากขวดแชมพู ของแบรนด์ผลิตภัณฑ์พีแอนด์จี อาทิ แพนทีน เฮดแอนด์โชว์เดอร์ รีจอยส์ และเฮอร์บลั เอสเซ้นส์ ซึง่ สนามเด็กเล่นถูกออกแบบมาเสริมสร้างพัฒนาการ ต่าง ๆ ส�ำหรับเด็กทัว่ ไป และ มีความพิการ มี 2 รูปแบบ ส�ำหรับกลางแจ้ง และ ในร่ม ตามความเหมาะสม ของช่วงวัย มีรปู ทรงและสีสันสดใส โดยทุกองค์ ประกอบถูกควบคุมและดูแลให้ได้มาตรฐานสากล จากผูผ้ ลิตและผูเ้ ชีย่ วชาญ เพือ่ ความปลอดภัยของ เด็กอันเป็นส�ำคัญ ดังนัน้ สนามเด็กเล่นจากพลาสติก รีไซเคิล จึงสามารถใช้ได้จริงเพราะผลิตจาก เม็ดพลาสติกรีไซเคิล 50 เปอร์เซ็นต์ และเม็ด พลาสติกใหม่ 50 เปอร์เซ็นต์ M AY 2 0 1 6



Green Society TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

PEA แถลงข่าวเปิด 4 โครงการเฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษามหาราชินี

เ นื่ อ ง ใ น โ อ ก า ส ม ห า ม ง ค ล เ ฉ ลิ ม พระชนมพรรษา 84 พรรษา 12 สิงหาคม 2559 การไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภ าคหรื อ PEA น้อมร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถและแสดงออก ถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ จึ ง ได้ จั ด ท� ำ โครงการส� ำ คั ญ ประกอบด้ ว ย 4 โครงการ ได้แก่ 1. โครงการ PEA ใส่ใจทุกชีวิต บริจาค โลหิ ต 8.4 ล้ า นซี ซี เพื่ อ สนั บ สนุ น โลหิ ต ให้ กับศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย โรงพยาบาลต่าง ๆ ประจ�ำจังหวัดทั่วประเทศ ด้วยการเชิญชวนให้พนักงานลูกจ้างและครอบครัว พนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคร่วมกันบริจาค โลหิต เป้าหมายรวม 8.4 ล้านซีซี 100

E N E R G Y S AV I N G

2. โครงการ PEA รักษ์น�้ำ สร้างฝายถวาย แม่ของแผ่นดิน จ�ำนวน 84 ฝาย การไฟฟ้าส่วน ภูมภิ าคร่วมกับชุมชนในพืน้ ทีส่ ร้างฝายชะลอน�ำ้ ด้วยการน�ำวัสดุคอนกรีตที่ช�ำรุด เช่น เสาไฟฟ้า เสาตอม่อ คอนกรีต น�ำมาเป็นวัสดุในการสร้างฝาย เป็ น โครงการที่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด Community Partnership การเติบโตอย่างยัง่ ยืนร่วมกับท้องถิน่ ชุมชนและสังคมในการสร้างแหล่งเก็บกักน�้ำ เพื่อใช้ในการอุปโภค บริโภคและเกษตรกร 3. โครงการ 84 ชุมชน ปลอดภัยใช้ไฟ PEA เป็นโครงการที่ก ารไฟฟ้าส่วนภูมิภ าคจัดท�ำ ขึ้นเพื่อยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยใน การใช้ไฟฟ้าของประชาชน โดยเข้าไปตรวจสอบ ปรั บ ปรุ ง อุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ในชุ ม ชนให้ มี ค วาม ปลอดภัยครอบคลุมพืน้ ที่ 74 จังหวัดทัว่ ประเทศ

รวมถึ ง การส่ ง เสริ ม และปลู ก จิ ต ส� ำ นึ ก ให้ ประชาชนใช้ไฟฟ้าอย่างถูกต้อง ปลอดภัยและ ประหยัดลดอุบัติภัยจากการใช้ไฟฟ้า 4. โครงการคืนช้างสู่ป่าเฉลิมพระเกียรติ เป็นอีกโครงการหนึ่งที่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ให้ ก ารสนั บ สนุ น มู ล นิ ธิ คื น ช้ า งสู ่ ธ รรมชาติ ที่ ก่อตั้งขึ้นเพื่อสนองตามพระราชด�ำริของสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ด้านการ อนุรักษ์ช้างไทย โดยปล่อยช้าง จ�ำนวน 8 เชือก ในวันที่ 12 สิงหาคม 2559 ซึ่งเป็นวันช้างโลก (World Elephant Day) ณ เขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ ดอยผาเมือง จังหวัดล�ำปาง ซึ่งเป็นสถานที่ ทรงปล่อยช้างเลี้ยงคืนสู่ธรรมชาติเป็นครั้งแรก อี ก ทั้ ง ได้ จั ด ท� ำ โป่ ง เที ย ม จ� ำ นวน 12 แห่ ง เพือ่ เป็นเพิม่ สารอาหารแร่ธาตุทจี่ ำ� เป็นส�ำหรับสัตว์ปา่ ส�ำหรับโครงการทั้ง 4 โครงการ การไฟฟ้า ส่วนภูมิภ าคหรือ PEA ในฐานะรั ฐวิ สาหกิ จ สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ให้บริการพลังงาน ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพแก่ผู้ใช้ไฟฟ้าจ�ำนวน กว่า 18 ล้านราย รูส้ กึ ภาคภูมใิ จและยินดีทไี่ ด้รว่ ม เป็นส่วนหนึง่ ในการแสดงออกถึงความจงรักภักดี ต่อสถาบันพระมหากษัตริยแ์ ละเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ เนือ่ งในปี มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา 12 สิงหาคม 2559 นี้ M AY 2 0 1 6


สมัครสมาชิกนิตยสาร

Free!

สมัครสมาชิกนิตยสาร ENERGY SAVING 1 ปี (12 ฉบับ) ราคา 1,200 บาท

พิเศษเหลือเพียง 1,000 บาท (พิเศษ! จะได้รับเสื้อ HINO จ�ำนวน 1 ตัว)

สมัครสมาชิกนิตยสาร ENERGY SAVING 2 ปี (24 ฉบับ) ราคา 2,400 บาท

พิเศษเหลือเพียง 1,900 บาท (พิเศษ! จะได้รับเสื้อ HINO จ�ำนวน 1 ตัว + หมวก HINO 1 ใบ)

ชือ่ .………………………................................ นามสกุล…………………………........…..........อาชีพ............................................................................................. บริษทั /หน่วยงาน.......................................................................................................โทรศัพท์……………………...........…………….......................………..... มือถือ……………….....................................โทรสาร.....................................................อีเมล…………………......................................................................... สถานะ สมัครใหม่ ต่ออายุ สมาชิกเริม่ ต้นเล่มที.่ ...........................ถึง...................................... ทีอ่ ยูใ่ นการจัดส่งนิตยสาร เลขที่ …………..….......หมู…่ ….............อาคาร/หมูบ่ า้ น……………...........……………......ซอย………………………................ถนน............................................ แขวง/ต�ำบล................................................เขต/อ�ำเภอ.............................................จังหวัด.......................................รหัสไปรษณีย.์ ............................. ออกใบเสร็จรับเงินในนาม ชือ่ / ชือ่ บริษทั ………………………………………............................................................เลขทีป่ ระจ�ำตัวผูเ้ สียภาษี................................................…….....… เลขที่ …………..….......หมู…่ …..............อาคาร/หมูบ่ า้ น………………............…………....ซอย………………………..…...........ถนน............................................ แขวง/ต�ำบล................................................เขต/อ�ำเภอ............................................จังหวัด.......................................รหัสไปรษณีย.์ ..............................

วิธีการช�ำระเงิน 1. เงินสด 2. โอนเงินเข้าบัญชีสะสมทรัพย์ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขทีบ่ ญ ั ชี 180-7-22396-9 3. บัตรเครดิต (โปรดระบุ) VISA MASTER อืน่ ๆ..............................................ธนาคาร................................................................... หมายเลขบัตร - - - บัตรหมดอายุ / ชือ่ ผูถ้ อื บัตร.........................................................................ลายมือชือ่ ผูถ้ อื บัตร..............................................................................

กรุณาส่งส�ำเนาหลักฐานการช�ำระเงินและใบสมัครสมาชิก มาที่ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด เลขที่ 200 / 7-14 ตึกเออีเฮ้าท์ ชัน้ 6 ซอยรามค�ำแหง 4 ถนนรามค�ำแหง แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 Tel. 0-2717-2477 Ext. 169,171 Fax: 0-2318-4758 E-mail: maneerat.bd@ttfintl.com สนใจสมัครสมาชิก หรือสัง่ ซือ้ หนังสือ ติดต่อได้ที่ ฝ่ายสมาชิก โทร.0-2717-2477 ต่อ 169 ,171 หมายเหตุ : ราคาตามข้างต้นเป็นราคารวม VAT 7% และค่าจัดส่งนิตยสารแล้ว / ของสมนาคุณอาจมีการเปลีย่ นแปลงโดยมิตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้า หากนิตยสารทีท่ า่ นได้รบั เกิดการช�ำรุดหรือเสียหาย กรุณาแจ้งฝ่ายสมาชิกโทร. 0-2717-2477 ต่อ 169 ,171


แวดวงนักพลังงาน TEXT : ไบโอ

ประวัติการบริหารงาน • • • • • •

พ.ศ. 2552 - 2557 เลขาธิการส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) พ.ศ. 2557 ประธานคณะกรรมการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2546 - 2552 ผู้อ�ำนวยการสถาบันคลังสมองของชาติ พ.ศ. 2547 - 2548 ผู้อ�ำนวยการศูนย์นวัตกรรมนโยบาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2542 - 2544 ผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2536 - 2540 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ

ประวัติการศึกษา

• • •

นายพิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ ต�ำแหน่งปัจจุบัน : รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่อยู่ : 75/47 กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (วท.) ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2-333-3700 โทรสาร : 0-2-333-3833 อีเมล : webmaster@most.go.th

ปริญญาเอก นโยบายและการจัดการสาธารณะ (Public Policy and Management), Wharton School, University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2529 - 2534) Dissertation Topic “Effects of Rate of Return and Environmental Regulations on the Productivity Performance in the U.S. Electric Utility Industry” ปริญญาโท นโยบายและการจัดการสาธารณะ (Public Policy and Management), Wharton School, University of Pennsylvania, ประเทศสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2527 - 2529) ปริญญาโท วิทยาการพลังงานแสงอาทิตย์ (Applied Solar Energy), Trinity University, Texas, ประเทศสหรัฐอเมริกา (พ.ศ. 2525 - 2527) Thesis Topic “Estimating the Performance of a Photovoltaic Pumping System” ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์สาขาไฟฟ้า (Electrical Engineering), University of New South Wales, ประเทศออสเตรเลีย (พ.ศ. 2517 - 2522)

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ • •

ตริตาภรณ์ มงกุฎไทย 5 ธันวาคม 2535 จัตุรถาภรณ ช้างเผือก 5 ธันวาคม 2528

รางวัลแห่งเกียรติยศ • • •

Research Fellowship, Wharton School, University of Pennsylvania. Research Fellowship, Trinity University. Colombo Plan Scholarship to the University of New South Wales.

ประวัติการศึกษา • • • • •

ปริญญาเอก : วิทยาลัยพลังงานทดแทน มหาวิทยาลัยนเรศวร ปริญญาโท : บริหารธุรกิจ จาก George Washington University, U.S.A อนุปริญญา : การจัดการการตลาด, UC Berkeley Extension ปริญญาตรี : วิศวกรรมศาสตร์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อุดมศึกษา : โรงเรียนเซนต์คาเบรียล

ประวัติการท�ำงาน ดร.วรวัฒน์ ชัยยศบูรณะ ต�ำแหน่งปัจจุบัน : รองประธานบริหาร กลุ่มบริษัทสีเบเยอร์ และนายกสมาคมผู้ผลิตสีไทย ที่อยู่ 90,92 ถนนบรรทัดทอง แขวงถนน เพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2611-3434 โทรสาร : 0-2215-7320

102

E N E R G Y S AV I N G

• • •

2552 - 2555 รองกรรมการผู้จัดการ 2551 - 2552 ผู้อ�ำนวยฝ่ายการตลาด 2539 - 2552 ผู้อ�ำนวยการสายปฏิบัติการ

m ay 2 0 1 6


Energy Gossip เมื่อไม่นานมานี้ กรมส่งเสริมอุตฯ ได้พา นักข่าวเข้าเยี่ยมชมอุตสาหกรรมชิ้นส่วน อากาศยานไทย บริษัท ซี.ซี.เอส. แอดวานซ์ เทค จ� ำ กั ด โดยมี คุ ณ บุ ญ เจริ ญ มโนบู ร ชั ย เลิ ศ ประธานกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู ้ อ ธิ บ ายและ พาเยี่ ย มชมโรงงานด้ ว ยตั ว เอง แถมยั ง เดิ น กั น แบบไม่มีบ่นกันสักค�ำ และเมือ่ จบการเยีย่ มชมแล้ว ทางคุณเจริญ ก็มีเค้กอร่อย ๆ ฝีมือลูกสาวไว้คอยให้ นักข่าวทานแก้เหนื่อยกันด้วย แหม๋ รู้ใจนักข่าว จริงๆ เลยนะคะ

ถึงแม้จะเป็นชาวต่างชาติที่เข้ามาอยู่ใน ประเทศไทย แต่หวั ใจของเขาเรียกได้วา่ เป็นคนไทยไปแล้ว อย่าง Mr. Sebastian-Justus Schmidt ผู้ริเริ่มแนวคิดท�ำโครงการบ้านผีเสื้อ ที่น�ำเสนอการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ควบคู่ไป กั บ เทคโนโลยี ก ารเก็ บ รั ก ษาและแปรเปลี่ ย น พลังงานออกมาในรูปของก๊าซไฮโดรเจนได้ตลอด 24 ชั่วโมง Mr. Sebastian เป็นผู้บริหารที่มี ใจรักในธรรมชาติ และต้องการเป็นนักอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและพลังงานตัวยง โดยโครงการ บ้านผีเสือ้ นีน้ า่ จะเป็นตัวพิสจู น์ได้วา่ ถึงแม้จะเป็น ชาวต่างชาติทเี่ ข้ามาท�ำงานในไทยก็ตาม แต่หวั ใจ ของเขาเต็มเปี่ยมไปด้วยการอนุรักษ์พลังงาน จริง ๆ ต้องขอปรบมือให้ดัง ๆ เลยค่า

คุณชัยรัตน์ โกวิทจินดาชัย ผู้อ�ำนวย การอาวุ โ ส ส� ำ นั ก กรรมการผู ้ จั ด การ บริษทั ปริญสิริ จ�ำกัด (มหาชน) (PRIN) ขยันออก แคมเปญใหม่ ๆ ให้ได้ตื่นตาตื่นใจกันอยู่ตลอด ล่าสุดกับการชูคอนเซ็ปต์ “Oxygen Community” กั บ บ้ า น ทาวน์ โ ฮม และคอนโดมิ เ นี ย ม ทุกท�ำเล บนสภาพแวดล้อมที่เน้นให้ผู้อยู่อาศัย ได้พกั ผ่อนอย่างเต็มทีท่ า่ มกลางธรรมชาติสเี ขียว สูดอากาศบริสทุ ธิอ์ ย่างเต็มปอด กับป่าในเมืองที่ เราเลือกปลูกขึ้นเอง บอสใหญ่แห่งสีเบเยอร์ คุณวรวัฒน์ ชัยยศบูรณะ จัดงานแถลงข่าวเปิดแผนธุรกิจปี 2559 แบบคูล ๆ พร้อมเดินหน้ากลยุทธ์ “Eco-Wellness Innovation” เน้นการเติบโตเชิงคุณค่ามากกว่า ปริ ม าณ ยื น ยั น มั่ น ใจในคุ ณ ภาพของสี เ บเยอร์ ที่ลดอุณหภูมิในบ้าน ช่วยให้บ้านเย็น ประหยัด ค่าไฟได้อย่างมีประสิทธิภาพ แถมกระบวนการ ผลิตก็ยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่สร้างมลภาวะ สู่ภายนอก เรียกได้ว่าใส่ใจทุกรายละเอียดขนาดนี้ แล้วคุณภาพของสีเบเยอร์จะดีขนาดไหน

VOLUME 8 ISSUE 90

TEXT : ไบโอ

ช่วงนี้เป็นนาทีทองของบริษัท อิตัลไทย วิศวกรรม จ�ำกัด ที่ล่าสุดตอกย�้ำความ เป็ น ผู ้ น� ำ ด้ า นวิ ศ วกรรม ร่ ว มมื อ กั บ บริ ษั ท โปรเซสเอ็นจิเนียริ่งเซอร์วิส จ�ำกัด (PESCO) และบริษัท โซลาร์คอน จ�ำกัด (Solarcon) ฉลองความส� ำ เร็ จ ในการพั ฒ นาโครงการ “บี.กริม ยันฮี โซลาร์ เพาเวอร์” และ “เสนา โซลาร์” จ�ำนวนทั้งสิ้น 12 โครงการ รวมก�ำลังการผลิต 91.7 เมกะวัตต์ รวมมูลค่าลงทุนมากกว่า 5,000 ล้านบาท พร้อ มส่งมอบโครงการดังกล่า ว โดยใช้เวลา ก่อสร้างเพียง 10 เดือน และสามารถจ�ำหน่าย ไฟฟ้ า ภายในวั น ที่ 31 ธั น วาคม 2558 ทีผ่ า่ นมา งานนี้ คุณสกล เหล่าสุวรรณ กรรมการ ผู ้ จั ด การ บริ ษั ท อิ ตั ล ไทยวิ ศ วกรรม จ� ำ กั ด ตั้งเป้ารายได้ในปี 2559 ไว้ที่ 5,600 ล้านบาท ซึง่ ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีมลู ค่างานในมือ (backlog) กว่า 6,000 ล้านบาท

เมื่อไม่นานมานี้ บอร์ด FER ไฟเขียว ทุ่มงบลงทุน 77 ล้านบาท ถือหุ้น 60% ใน “บจ.พระแสง กรี น พาวเวอร์ ” ลุยธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานชีวภาพ ขนาดก�ำลัง การผลิต 2 เมกะวัตต์ คาดสร้างผลตอบแทน จากการลงทุ น ไม่ ต�่ ำ กว่ า 15% COD ภายในเดื อ น เม.ย.นี้ ด้ า นผู ้ บ ริ ห ารไฟแรง ดร.ประสิทธิ์ ศรีสวุ รรณ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษัท เฟอร์รั่ม จ�ำกัด (มหาชน) (FER) ยังย�้ำ สร้างความโปร่งใส ยึดหลักธรรมาภิบาลสามารถ ตรวจสอบได้ พร้อมมัน่ ใจผลประกอบการปีนจี้ ะ กลับมาสดใสแถมยังให้ผลตอบแทนทีด่ กี บั ผูถ้ อื หุน้ อีกด้วย ทัง้ มัน่ ใจ และมีความพร้อมแบบนีร้ บั รอง เลยสิง่ ทีค่ าดหวังไว้ตอ้ งผ่านฉลุยแน่นอนเลยค่า E N E R G Y S AV I N G

103


Energy movement TEXT : กองบรรณาธิการ

บี.กริม ร่วมฉลองความส�ำเร็จโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์

คุ ณ นพเดช กรรณสู ต รองกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ แ ละประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหารด้านการเงิน ร่วมเป็นเกียรติในงาน ประกาศความส�ำเร็จโครงการสร้าง โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บี.กริม ยันฮี โซล่า เพาเวอร์ และ เสนา โซล่าร์ พร้อมด้วย นายแพทย์สพุ จน์ สัมฤทธิวาณิชชา ประธานบริษทั ยันฮี เพาเวอร์ จ�ำกัด คุณวิรชั ชาญพานิชย์ กรรมการผูจ้ ดั การบริษทั โปรเซสเอ็นจิเนียริง่ ซัพพลาย จ�ำกัด ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษทั เสนาโซล่า เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด คุณสกล เหล่าสุวรรณ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อิตลั ไทย วิศวกรรม พร้อมด้วย คุณเสริมสกุล คล้ายแก้ว ผูว้ า่ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ร่วมเฉลิมฉลองความส�ำเร็จ ในครัง้ นี้ ณ ห้องเลิศวนาลัย โรงแรมสวิสโฮเต็ล ปาร์คนายเลิศ กรุงเทพฯ เมือ่ เร็ว ๆ นี้

สตาร์แอร์ฉลองครบรอบ 30 ปี คืนก�ำไรผู้บริโภค

สตาร์แอร์ เปิดฉากรุกตลาดรับซัมเมอร์ ด้วยการคลอดแคมเปญสุดคุ้มเจาะกลุ่ม ลูกค้าคนรุ่นใหม่ผ่านเฟสบุคกับแคมเปญ “เปลี่ยนแอร์รับหน้าร้อนกับสตาร์แอร์ 30 วัน 30 เครื่อง” ในโอกาสฉลองครบรอบ 30 ปี พร้อมสร้างสรรค์ Viral clip และภาพยนตร์ โฆษณาชุด “ท้าเย็น จัดเต็มกับสตาร์แอร์” 2 เรื่อง ชูจุดขายเย็นทน เย็นนานผ่านช่องทาง ออนไลน์และฟรีทีวีส�ำหรับผู้สนใจเข้าร่วมแคมเปญ “เปลี่ยนแอร์รับหน้าร้อนกับสตาร์แอร์ 30 วัน 30 เครื่อง” สามารถร่วมสนุกได้ง่าย ๆ เพียงถ่ายภาพแอร์ตัวเก่าที่บ้านแล้วโพสต์ ลงหน้าแฟนเพจเฟสบุค www.facebook.com/starairethai เขียนค�ำอธิบายเหตุผลการ เปลี่ยนแอร์สั้น ๆ แล้วโพสต์และ Hashtag มาที่ #Staraire #Staraire30th ค�ำตอบไหน โดนใจรับทันทีส่วนลด 30% พร้อมติดตั้งและประกันอะไหล่ 3 ปี

ไดกิ้นมอบรางวัลผู้แทนจ�ำหน่ายยอดเยี่ยมประจ�ำปี

เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณทากาโยชิ มิกิ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท สยามไดกิ้นเซลส์ จ�ำกัด พร้อมด้วยนายบัณฑิต ศรีวัลลภานนท์ กรรมการผู้จัดการ ร่วมกันมอบรางวัลให้แก่ ตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยเครื่ อ งปรั บ อากาศไดกิ้ น ที่ มี ผ ลประกอบการยอดเยี่ ย มประจ� ำ ปี 2558 ในงาน Daikin Award 2016 เพื่อเป็นแรงผลักดันตัวแทนจ�ำหน่ายและตอกย�้ำความเป็น อันดับ1ในด้านระบบปรับอากาศของไทย โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงของ บริษทั ไดกิน้ อินดัสทรีส์ (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด น� ำ โดย คุ ณ ฮิ โรคาสุ ฮิ ร าโอะ ประธาน และคุ ณ โชโกะ อั น โด ผู้อ�ำนวยการร่วมแสดงความยินดีกับตัวแทนจ�ำหน่าย และคุณณเดชน์ คูกิมิยะ นักแสดงแล พรีเซ็นเตอร์ไดกิน้ คนล่าสุด ร่วมสร้างสีสนั ในงาน ณ ห้องรอยัล จูบลิ บี่ อลรูม อาคารชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี

ปตท.สผ. ได้รับรางวัล Asia’s Best CFO จากนิตยสาร the Corporate Treasurer

คุณพรรณนลิน มหาวงศ์ธิกุล รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงานการเงินและ การบัญชี บริษัท ปตท.ส�ำรวจและผลิตปิโตรเลียม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. น�ำทีม ผู้บริหารและพนักงานร่วมแสดงความยินดีกับ คุณเพ็ญจันทร์ จริเกษม อดีตรองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ กลุ่มงานการเงินและการบัญชี ในโอกาสได้รับรางวัล Corporate Treasurer Marquee Award, Asia’s Best CFO ประจ�ำปี 2015 จากนิตยสารธุรกิจและการเงิน ชั้นน�ำของอังกฤษ The Corporate Treasurer

104

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6


TPCH ร่วมงาน Opportunity Day คาดรายได้ปี 59 โต 150%

คุณไชยณรงค์ จันทร์พลังศรี ประธานกรรมการบริหาร คุณเชิดศักดิ์ วัฒนวิจิตรกุล กรรมการผู้จัดการใหญ่ และคุณสมพิศ แสนเรือง รองกรรมการผู้จัดการบัญชีและการเงิน บมจ. ทีพีซี เพาเวอร์โฮลดิ้ง (TPCH) ถ่ายภาพร่วมกันในโอกาสน�ำเสนอข้อมูลบริษัทต่อนักลงทุน ในงานบริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน(OpportunityDay)ประจ�ำไตรมาส4/2558โดยคาดว่า แนวโน้มรายได้ในปี 2559 จะเติบโต 150% เมื่อเทียบกับปี 2558 หลังเดินเครื่องจ่ายไฟฟ้า โรงไฟฟ้าชีวมวลเพิ่มอีก 2 แห่ง คือโรงไฟฟ้าชีวมวล มหาชัย กรีน เพาเวอร์ และโรงไฟฟ้าชีวมวล ทุง่ สัง กรีน ส่วน 3-5 ปีขา้ งหน้า คาดว่าจะมีกำ� ลังการผลิตของโรงไฟฟ้าอยูท่ ี่ 150-200 เมกะวัตต์

ปตท. เชิญชวนตรวจสภาพรถยนต์ฟรี กับ PTT Engine Tune Up

เมื่อเร็ว ๆนี้ พลเอก อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน เป็นประธานในพิธีเปิดตัวโครงการตรวจเช็คเครื่องยนต์เพื่อประหยัดพลังงาน PTT Engine Tune Up 2016 พร้อมด้วย พลเอก ธนา วิทยวิโรจน์ เลขานุการรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงพลังงาน คุณสรัญ รังคสิริ ประธานเจ้าหน้าทีป่ ฏิบตั กิ ารกลุม่ ธุรกิจปิโตรเลียมขัน้ ปลาย บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) คุ ณ อรรถพล ฤกษ์ พิ บู ล ย์ รองกรรมการผู ้ จั ด การใหญ่ หน่ ว ยธุ ร กิ จ น�้ ำ มั น บริ ษั ท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และ ดร.อกนิษฐ์ คลังแสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพื่อรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกในการลดใช้พลังงาน และเพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้ใช้รถใช้ถนน จากการตรวจเช็คเครื่องยนต์ให้พร้อมตามมาตรฐานก่อนการเดินทาง

กฟผ. ร่วมกับ โฮมโปร ลดไฟหน้าร้อน เปลีย่ น...เครือ่ งใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5

คุ ณ สหรั ฐ บุ ญ โพธิ ภั ก ดี รองผู ้ ว ่ า การกิ จ การสั ง คม การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย หรือ กฟผ. พร้อมด้วย คุณวรรณี จันทามงคล ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ กลุม่ การตลาด บริษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมแถลงข่าวโครงการ “ลดไฟหน้าร้อน เปลีย่ น... เครื่องใช้ไฟฟ้าเบอร์ 5” เชิญชวนประชาชนลดโลกร้อน เปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้าจากเดิมเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ติดฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ลดค่าไฟ รวมทั้งเปลี่ยนหลอดไฟเดิมเป็น หลอด LED เบอร์ 5 รูปแบบกล่อง กฟผ. เพื่อสนองตอบนโยบายของภาครัฐในการรณรงค์การ ประหยั ด พลั ง งาน และใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยมี คุ ณ ศิ ริ จิ ต เกษม คุณธาตรี ริ้วเจริญ คุณสถิตย์ สุขอนันต์ ร่วมงาน ณ กฟผ.

โฉมหน้าทีมทีค่ ว้าแชมป์ Palladium Music Battle ครัง้ ที่ 1

หลังจากเดอะ พาลาเดียม เวิลด์ ช้อปปิง้ ศูนย์การค้าใหญ่แห่งย่านประตูนำ�้ เปิดพืน้ ทีใ่ ห้ คนรักดนตรีได้ขบั เคีย่ วฝีมอื กันแบบสุดมันส์ ในการประกวด Palladium Music Battle ทีท่ างเดอะ พาลาเดียม เวิลด์ ช้อปปิง้ จัดขึน้ เป็นครัง้ แรก ในทีส่ ดุ ก็ได้วงดนตรีทมี่ ฝี มี อื โดดเด่นชนะ ใจกรรมการ ได้แก่ วง Rocket คว้ารางวัลชนะเลิศ ตามด้วยรองชนะเลิศอันดับ 1 วง Mr. joker และรองชนะเลิศอันดับ 2 วงพาราเซตามอล ซึ่งทั้งสามวงจะได้รับเงินรางวัลและของรางวัลรวม มูลค่ากว่า 60,000 บาท โดยการประกวดครัง้ นีไ้ ด้รบั เกียรติ 2 นักดนตรีฝมี อื ฉกาจขวัญใจเด็กแนว สอง-จักรพงษ์ มือเบสวง Paradox และอั้ม-สิทธิชน มือคีย์บอร์ด วงซุปเปอร์ซับ ร่วมด้วย บก.กรด มัตโิ ก บรรณาธิการนิตยสารเดอะกีตา้ ร์ แม็ก เป็นกรรมการตัดสินพร้อมเผยเทคนิคการเล่น ดนตรีขั้นเทพให้น้องๆ ที่เข้าประกวดแบบไม่มีกั๊ก ปิดท้ายด้วยฟรีมินิคอนเสิร์ตจากหนุ่มเสียงดี ลีลาโดนใจ บิว จรูญวิทย์ เดอะ วอยซ์ ซีซนั่ 3 เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ของ เดอะ พาลาเดียม เวิลด์ ช้อปปิง้ ได้ท่ี https://www.facebook.com/PalladiumWorld/ VOLUME 8 ISSUE 90

E N E R G Y S AV I N G

105


Event Calendar

MAY

TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

2016

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�ำเดือนพฤษภาคม 2559

4 พฤษภาคม 2559

ชื่องาน : อบรมหัวข้อ เทคนิคการลดค่าไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมด้วยการใช้ข้อมูลเชิงสถิติ รายละเอี ย ด : สถาบั น พลั ง งานฯ จั ด กิ จ กรรมอบรมเรื่ อ ง เทคนิ ค การลดค่ า ไฟฟ้ า ในโรงงานอุ ต สาหกรรมด้ ว ยการใช้ ข ้ อ มู ล เชิ ง สถิ ติ เพื่อให้บุคลากรในภาคอุตสาหกรรมได้รับความรู้ ความเข้าใจ พร้อมทั้งสามารถวิเคราะห์สถิติการใช้ไฟฟ้า เพื่อหาแนวทางการลดต้นทุนและ การใช้ไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ บรรยายโดยอาจารย์ไชยะ แช่มช้อย จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นผู้ที่มีความช�ำนาญและเชี่ยวชาญ ด้านไฟฟ้าของโรงงานอุตสาหกรรม สถานที่ : ณ ห้องพาโนราม่า 1 ชั้น 4 โรงแรมอมารี บูเลอวาร์ด ถนนสุขุมวิท ซอย 5 ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.iie.or.th

11 พฤษภาคม 2559

ชื่องาน : สัมมนา “มาตรฐาน เทคนิค และเครื่องวัดที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางไฟฟ้าและสิ่งแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม” รายละเอียด : บริษัท เมเชอร์โทรนิกซ์ จ�ำกัด ร่วมกับ บริษัท อีเลคทรอนิคส์ ซอร์ซ จ�ำกัด จัดสัมมนาเรื่อง “ มาตรฐาน เทคนิค และเครื่องวัด ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางไฟฟ้าและสิ่งแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม” ท่านที่สนใจเข้าฟังสัมมนาครั้งนี้สามารถสมัครได้โดยกรอก แบบตอบรับแล้วส่งกลับมาที่ inthiporn@measuretronix.com ทั้งนี้ไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียน กรุณาสมัครก่อนวันที่ 6 พฤษภาคม 2559 สถานที่ : ณ ห้องสัมมนา โรงแรมเอเซียแอร์พอร์ต ดอนเมือง (เซียร์รังสิต) ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://metrelthailand.com

12-13 พฤษภาคม 2559

ชื่องาน : อบรมทางวิชาการ ในหัวข้อ “การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้พลังงานด้วยเทคนิคการจินตภาพข้อมูล (Data Visualization) รายละเอียด : เพื่อให้ผู้ผ่านการอบรมเข้าใจ สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในขั้นตอนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การวิเคราะห์ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน ก�ำหนดเป้าหมาย ตรวจสอบติดตามผลลัพธ์ ของมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ติดตาม ควบคุม พฤติกรรมการใช้พลังงาน ตลอดจนแปลความหมายของข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏใน Feedback Report ฉบับใหม่ สถานที่ : ณ ห้องสุโขทัย โรงแรมนารายณ์ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.cept.eng.chula.ac.th

19 พฤษภาคม 2559

ชื่องาน : อบรมหลักสูตร Highlight กฎหมายสิ่งแวดล้อม พลังงาน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รายละเอียด : เพื่อให้เข้าใจถึงรายละเอียดต่าง ๆ การตรวจประเมินและการปฏิบัติให้สอดคล้องข้อก�ำหนดของกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ที่เกี่ยวข้องกับโรงงานอุตสาหกรรม และสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องโดยเป็นแนวทาง ในการปฏิบัติให้สอดคล้องเพื่อหลีกเลี่ยงการถูกปรับหรือถูกสั่งปิดโรงงาน สถานที่ : โรงแรมมิราเคิล สุวรรณภูมิ แอร์พอร์ต จ.สมุทรปราการ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://mainsite.aimconsultant.com

24 - 25 พฤษภาคม 2559

ชื่องาน : อบรมเรื่อง Lifetime metric of LED products รายละเอี ย ด : เพื่ อ ให้ ผู ้ เ ข้ า อบรมทราบข้ อ เท็ จ จริ ง เชิ ง ลึ ก เรื่ อ งอายุ ใ ช้ ง านของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ อลอี ดี ทั้ ง ระดั บ มอดู ล ระดั บ หลอดไฟและ โคมไฟฟ้า และเพิ่มองค์ความรู้ทางเทคนิคเชิงลึกเกี่ยวกับอายุใช้งานของผลิตภัณฑ์แอลอีดีเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้อง สถานที่ : ณ ห้องประชุม 3 ชั้น 3 อาคาร วสท. (ซอยรามค�ำแหง 39) ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://www.tieathai.org

106

E N E R G Y S AV I N G

M AY 2 0 1 6




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.