ENERGY SAVING vol.84 ISSUU, November 2015

Page 1




CONTENT

E n Er gy Sav i n g v o l. 84 i S S u E n ov Em b Er 2 0 1 5

22

18

08 10

Editor’s Note News Report

40

มจธ. จับมือ 5 ประเทศลุ่มน�้ำโขง จัด MECON Project รองรับกำรใช้ไฟฟ้ำที่เพิ่มขึ้น SENA ส่งแคมเปญยักษ์ บ้ำนและโฮมออฟฟิศ ฟรี! โซลำร์รูฟ กกพ. ปรับอัตรำค่ำไฟฟ้ำขำยปลีกลดลง 1.05 สตำงค์/หน่วย สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง มุ่งสู่กำรก�ำกับ กิจกำรพลังงำนด้วยควำมเป็นธรรม

32

18

Around the World

40

Interview

22

Cover Story

42

Green Industrial

28

Green Building

46

Energy Focus

อังกฤษหัวใสแปรรูปกำกกำแฟเป็นเชื้อเพลิง ชีวภำพชั้นดี Waste to Energy สร้ำงทองจำกกองขยะ วิทยำลัยเทคโนโลยีจิตรลดำขึ้นแท่น GB แห่งแรกของ สถำบันกำรศึกษำ

รุ่งกิจ เรียลเอสเตท สร้ำงบ้ำนแนวคิดใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงำน อ�ำพลฟูดส์ สนองนโยบำยรัฐ ใช้พลังงำนชีวมวล และก๊ำซชีวภำพในกำรผลิตไฟฟ้ำ กำรอนุรักษ์พลังงำนในภำคขนส่ง

32

Building Management

48

Open House

34

Energy Management

50

Product Review-Industrial

36

Product Review-Construction

52

Product Showcase-Industrial

38

Product Showcase-Construction

54

Interview

4

Best Energy Management Practices ของอำคำรเขียว

ศูนย์บริกำรโตโยต้ำบัสส์ สำขำเกษตร-นวมินทร์ คว้ำวัลดีเด่น ด้ำนอนุรักษ์พลังงำน ประเภทอำคำร นอกข่ำยควบคุม Thailand Energy Awards 2015 และ ASEAN Energy Awards 2015 เปลี่ยนผนังเป็นไวท์บอร์ด ด้วย TOA Note & Clean ฉนวนยำง Aeroflex ผลิตจำกยำงสังเครำะห์ EPDM

E N E R G Y S AV I N G

เปิดบ้ำน DOS ผู้เชี่ยวชำญด้ำนอุปกรณ์ ประหยัดพลังงงำน

48

จีอี ชู เครื่องกังหันก๊ำซแบบแอโรเดริเวทีฟ ประหยัดพลังงำน ประสิทธิภำพสูง

เตำอุตสำหกรรมเผำเม็ดชีวมวล

มหำวิทยำลัยสีเขียว “ม.หัวเฉียวฯ ประหยัดพลังงำนด้วยคุณธรรม”

56

NOVEMBER 2015


CONTENT

E n Er gy Sav i n g v o l. 84 i S S u E n ov E m b E r 2 0 1 5

60

65

73

77

Green Logistics

ยุทธวิธีบริหารจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

58

Renergy

81

60

Product Review-Logistic

ครั้งแรกของโลก “สโตนแวร์โปร่งแสง” ผลงานเด่นมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

โมบาย พรินเตอร์ น�้าหนักเบา พกพาง่าย ใช้ไฟน้อย

83

Energy Knowledge

Product Showcase-Logistics

มช. เจ๋ง วิจัยนวัตกรรมใหม่ การบรรจุก๊าซไบโอมีเทนด้วยสารดูดซับ

56

62

สถานการณ์ EE และ RE ปัจจุบัน

Green 4U : ARTWORK BRAND กระเป๋ากระดาษคราฟท์

Energy Invention

Roller Drive รุ่น EC310 ลูกกลิ้งมอเตอร์ประหยัดพลังงาน 70%

85

Special Report

63

Environment Alert

88

Energy Loan

จากเหมืองทองค�าสู่โรงไฟฟ้า ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาชุมชน

65

0 Waste Idea : การใช้หลัก 3Rs ลดปริมาณ ขยะของเมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์

67

Greenhouse Gas Management

ปี 59 คนไทยเตียมเฮได้ใช้รถเมล์ไฟฟ้าชัวร์

ก.พลังงาน ขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงาน ปี 59 อัดฉีดงบกองทุนฯกว่าหมื่นลบ.

90

Special Feature

จับตา!! การเติบโตกระดาษลูกฟูก เน้น GO GREEN 80%

93

Viewpoint : กรมโรงงานฯ ลุยโครงการ Energy Report

โรงเรียน Green School คืนชีวิตวัยเรียนสู่วิถีธรรมชาติ (Green School Bali for sustainable living)

69

Product Showcase - Commercial LED SceneSwitch เพียงปิด-เปิด อารมณ์ก็เปลี่ยน

72

Product Review - Commercial

96

Interview

บ้านพลังงานแสงอาทิตย์ Solar Decathlon บ้านประหยัดพลังงานและเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม

98

Green Society

73

เครื่องซักผ้า LG Turbo Shot ประหยัดน�้าได้ 27%

SPS สร้างโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลขยะชุมชนกรีนเทค ตั้งเป้าก�าจัดขยะ 600 ตัน/วัน

75

Energy Tip

6

เตาไมโครเวฟ เครื่องเล็ก ๆ ที่ไม่ควรมองข้าม

E N E R G Y S AV I N G

83

85

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ก�าหนดกุญแจ 5 ระดับ ผลักดัน Eco Town ไทยเทียบชั้นญี่ปุ่น

ฟอร์ด ฉลองครบรอบ 10 ปี องค์กรอาสาสมัครของฟอร์ด เปิดตัว โครงการ Bill Ford Better World Challenge

101 102 103 104 106

แบบสมัครสมาชิก แวดวงนักพลังงาน Energy Gossip Energy Movement Event Calendar NOVEMBER 2015




editor’s note คณะผู้จัดทำ� บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 200/7-14 ซ.ร�มคำ�แหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมห�นคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2717-2477 โทรส�ร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คอลัมนิสต์​์ คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข อ.บัณฑิต ง�มวัฒนะศิลป์ ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ คุณรุ่งเรือง ส�ยพวรรณ์ ดร.ณัฐริก� ว�ยุภ�พ นิติพน คุณชน�ก�นต์ สันตย�นนท์

สภ�อุตส�หกรรมแห่งประเทศไทย บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จำ�กัด จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏธนบุรี จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย กรมส่งเสริมคุณภ�พสิ่งแวดล้อม สถ�บันพลังง�นเพื่​่ออุตส�หกรรม องค์ก�รบริห�รจัดก�รก๊�ซเรือนกระจก (องค์ก�รมห�ชน) สำ�นักง�นพัฒน�วิทย�ศ�สตร์และ เทคโนโลยีแห่งช�ติ

ทีมง�นฝ่�ยบริห�ร กรรมก�รผู้จัดก�ร คุณช�ตรี มรรค� รองกรรมก�รผู้จัดก�ร คุณศุภแมน มรรค� ฝ่�ยข�ยโฆษณ� Sales Representative

สุรัช เย็นชุม surat@ttfintl.com

ติดต่อฝ่�ยข�ยโฆษณ� โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 183 ติดต่อฝ่�ยสม�ชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 ติดต่อฝ่�ยบรรณ�ธิก�ร โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226 ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร หัวหน้�กองบรรณ�ธิก�ร กองบรรณ�ธิก�ร

ศิลปกรรม

ธุรกิจพลังงานทดแทน เตรียมเฮ !! สวัสดีค่ะคุณผู้อ่านทุกท่าน กลับมานั่งที่รายงานตัวกันเป็นประจำาทุกเดือน สำาหรับ แวดวงด้านพลังงานในช่วงเดือนที่ผ่านมานั้น มีประเด็นที่น่าสนใจและอยากหยิบยก มาเล่าสูก่ นั ฟัง ประกาศออกมาเป็นทางการแล้วว่า กระทรวงพลังงานเตรียมขับเคลือ่ น แผนอนุรกั ษ์พลังงานและพลังงานทดแทน พร้อมอัดฉีดงบประมาณปี 2559 จำานวนถึง 10,152 ล้านบาท เพือ่ เพิม่ ความเข้มข้นเรือ่ งการประหยัดพลังงานตามทีไ่ ด้ตงั้ เป้าหมาย ไว้ พร้อมสนับสนุนธุรกิจ SME ให้มีศักยภาพในการแข่งขันเพิ่มขึ้น ผ่านการลงทุนเพื่อ การประหยัดพลังงาน โดยสาระสำาคัญทีจ่ ะได้เห็นกันในปีหน้าอย่างแน่นอน คือ การเร่งเครือ่ งเดินหน้าหนุนการ ใช้พลังงานทดแทนอย่างเต็มที่ อาทิ โครงการสนับสนุนแบบให้เปล่า (Direct Subsidy) สำาหรับโรงงานอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการเปลีย่ นหัวเผา (Burner) จากหัวเผานำา้ มันเตา หรือ LPG มาเป็นหัวเผาชีวมวล (Biomass Pallet) รวมทัง้ การสร้างต้นแบบในการติดตัง้ ระบบ ผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในหน่วยงานต่าง ๆ โครงการติดตัง้ ระบบสูบนำา้ พลังงาน แสงอาทิตย์เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ห่างไกล การติดตั้งระบบโคมไฟส่องสว่าง พลังงานแสงอาทิตย์ ในพื้นที่เสี่ยงภัย 3 จังหวัดชายแดนใต้ และโครงการนำาร่องใช้ นำ้ามัน B20 ในรถบรรทุกขนาดใหญ่ ทั้งนี้คาดการณ์ว่าจะสามารถเพิ่มสัดส่วนการใช้ พลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.65 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศ ใน ปี 2558 เป็นร้อยละ 13.75 ในปี 2559 สำาหรับผูป้ ระกอบการ SME ทางรัฐบาลก็มโี ครงการส่งเสริมการประหยัดพลังงานเช่นกัน อาทิ โครงการเงินหมุนเวียน เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (Energy Saving Loan) เพื่อช่วยเหลือการลงทุนแก่ SME โดยมีลักษณะเป็นเงินกู้ดอกเบี้ยตำ่า 3.5% หรือ Soft Loan สำาหรับเป็นเงินทุนเปลี่ยนแอร์อินเวอร์เตอร์ และเปลี่ยนหลอด LED เป็นต้น นีเ่ ป็นเพียงสาระบางส่วนของแผนอนุรกั ษ์พลังงานและพลังงานทดแทนของรัฐบาล ยัง มีรายละเอียดยิบย่อยอีกเพียบที่น่าสนใจไม่แพ้กัน แต่ด้วยพื้นที่ที่มีจำากัดจึงไม่สามารถ นำามาบอกต่อได้หมด แต่ถ้าติดตามอ่านนิตยสาร Energy Saving ต่อไปเรื่อย ๆ รับรอง ว่าท่านจะไม่พลาดข่าวสารด้านพลังงานที่น่าสนใจอย่างแน่นอนค่ะ ปิดท้ายกันที่เรื่องเด่นประจำาฉบับนี้ คอลัมน์ Cover Story ได้หยิบยกเอาประเด็นร้อน เรื่องพลังงานจากขยะมานำาเสนอ ของไร้ค่าแต่กลับมีค่าด้านพลังงานอย่างไม่น่าเชื่อ นอกจากจะมีประโยชน์ในการนำามาผลิตพลังงานแล้ว ยังช่วยลดปริมาณขยะในบ้านเรา ลงได้เป็นอย่างดี ส่วนใครที่สนใจจะเข้าสู่ธุรกิจพลังงานจากขยะ ฉบับนี้มีกูรูและ ผู้เชี่ยวชาญในสายงานนี้ระดับแนวหน้าของประเทศไทยมาให้ข้อมูลและข้อคิดดี ๆ ให้กับผู้ที่สนใจ ส่วนรายละเอียดจะมีอะไรบ้างนั้นพลิกอ่านกันได้เลย แล้วพบกันใหม่ ฉบับหน้า สวัสดีค่ะ

ปิยะนุช มีเมือง อภัสร� วัลลิภผล จีรพร ทิพย์เคลือบ ป�จรีย์ หลอดคำ� อังกฤษ ศรีสิริม�นิต พอดี ครีเอทีฟ

ปิยะนุช มีเมือง หัวหน้ากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com Where to find

8

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015



NEWs REpoRt TEXT : Rainbow ice

มจธ. จับมือ 5 ประเทศลุ่มน�้ำโขง จัด MECON Project รองรับกำรใช้ไฟที่เพิ่มขึ้น นักวิจัยด้านพลังงาน JGSEE มจธ. จับมือ 5 ประเทศลุ่มน�้าโขงจัด MECON Project โครงการศึกษาข้อมูลเพื่อผลักดันสู่นโยบายด้านพลังงานที่สามารถรองรับปริมาณ การใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น จากการขยายตั ว ของประชากรในกลุ ่ ม middle-income ในอีก 10 ปีข้างหน้า

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้า ธนบุรี (มจธ.) ได้รบั ทุนวิจยั สนับสนุนจาก 3 หน่วยงานจากประเทศอังกฤษ ได้แก่ UK Research Council’s Energy Program, Department for International Development และ Department for Energy and Climate Change เพือ่ ท�าการศึกษาโอกาส และอุปสรรคของการอนุรกั ษ์พลังงานของครัวเรือนรายได้ตา�่ ในกลุม่ ประเทศลุม่ แม่นา�้ โขง หรือ Greater Mekong Sub-region (GMS) 5 ประเทศได้แก่ ไทย เวียดนาม กัมพูชา พม่า และ ลาว เพือ่ น�าไปสู่ การออกแบบนโยบายส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในภาคครัวเรือน โครงการดังกล่าวมี ชือ่ ว่า Effective Energy Efficiency Policy Implementation Targeting “New Modern Energy CONsumers” in the GMS หรือเรียกสัน้ ๆว่าโครงการ MECON Dr. Milou Beerepoot เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญเรือ่ งการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) และหนึง่ ในกลุม่ คนทีร่ ว่ ม ผลักดันเรือ่ งนีใ้ นเมืองไทยมาระยะหนึง่ ได้กล่าวในฐานะผู้ ริเริม่ และหัวหน้า โครงการ MECON ว่าในอีก 10-20 ปีขา้ งหน้า ภูมภิ าคอาเซียนจะมีกลุม่ ครัวเรือนทีม่ รี ายได้ปานกลาง มากขึน้ และมีความต้องการใช้พลังงานสูงขึน้ เช่นกัน ดังนัน้ จึงต้องรีบให้ความรูค้ วามเข้าใจ และกระตุน้ ให้เกิดความตระหนักในเรือ่ งการประหยัดพลังงานกับคนทีม่ รี ายได้ตา�่ ก่อนทีค่ นกลุม่ นีจ้ ะเข้าสูก่ ลุม่ รายได้ ปานกลางอย่างเต็มตัว รวมถึงต้องออกแบบนโยบายเพือ่ ให้ชว่ ยครัวเรือนเหล่านีก้ า้ วข้ามอุปสรรคต่อการ เพิม่ ประสิทธิภาพพลังงาน (Barriers to energy efficiency improvement) เช่น การขาดแคลนเงิน ทุนหรือไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ซึง่ จะช่วยให้ครัวเรือนเหล่านีส้ ามารถตัดสินใจลงทุนเกีย่ วกับ การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานได้ดยี งิ่ ขึน้ ก่อนทีค่ รัวเรือนเหล่านีจ้ ะเลือกใช้สนิ ค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ต�า่ และติด “กับดัก” ของการใช้พลังงานและเสียค่าไฟมากเกินความจ�าเป็นในระยะยาว จุดเริม่ ต้นของ โครงการนีจ้ งึ เป็นการป้องกันปัญหาของความต้องการทีจ่ ะเพิม่ ขึน้ ในอนาคตมากกว่าเป็นการแก้ปญ ั หา หลังจากเกิดขึน้ แล้ว 10

E N E R G Y S AV I N G

ทางด้าน คุณปัญญ์ ปิยะศิลป์ ผู้จัดการ โครงการกล่าวว่า เป้าหมายในการศึกษาอยูท่ คี่ รัว เรือนรายได้ตา�่ ทีเ่ รียกว่า “New Modern Energy CONsumers (MECON)” หรือผูบ้ ริโภคพลังงาน กลุ่มใหม่ ซึ่งถูกนิยามว่าเป็นครัวเรือนที่เข้าถึง ไฟฟ้าได้ และมีรายได้ประมาณ $2-5 ต่อวัน ถึงแม้วา่ ครัวเรือนเหล่านีบ้ ริโภคพลังงานน้อยกว่า ครัวเรือนรายได้สงู ในปัจจุบนั แต่ในอนาคตครัวเรือน เหล่านี้มีแนวโน้มที่จะยกระดับรายได้ไปเป็น ชนชัน้ กลาง มีกา� ลังเงินในการซือ้ อุปกรณ์ไฟฟ้า มากขึ้น และมีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้า มากขึน้ ไปด้วย การใช้พลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ นอกจากจะสามารถลดค่าใช้จา่ ยครัวเรือนและ เปิดโอกาศให้ครัวเรือนเพิม่ คุณภาพชีวติ ในด้าน อืน่ ๆได้แล้ว ยังสามารถช่วยลดภาระการจัดหา พลังงานของภาครัฐ เพิม่ ความมัน่ คงด้านพลังงาน ของประเทศและลดมลพิษจากการใช้พลังงาน ที่ไม่สะอาดต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย การเพิ่ม ประสิทธิภาพพลังงานจึงมักจะเป็นทางเลือกที่ ราคาถูกและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมมากกว่าการ สร้างโรงไฟฟ้าใหม่ NOVEMBER 2015


อีตั้น เจำะตลำดไทย น�ำเสนอโซลูชั่นจัดกำรพลังงำนประสิทธิภำพสูง

เมื่อไม่นานมานี้ บริษัท อีตั้น อิเล็คทริค (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัทจัดการพลังงานไฟฟ้าระดับโลก ได้น�าเสนอนวัตกรรมล่าสุด ทางด้านแอพพลิเคชั่นและโซลูชั่นเพื่อการจัดการพลังงานที่มุ่งเน้นและตอบโจทย์ลูกค้าชาวไทยโดยเฉพาะ ในงาน “เพิ่มประสิทธิภาพ พลังงาน เพิม่ โอกาสทางธุรกิจ” หรือ “The Power of Possibilities, Energizing Opportunities” ภายในงานมีการจัดสัมมนาให้ความรูโ้ ดยผูบ้ ริหารและทีมวิศวกรของอีตนั้ ตลอดหนึง่ วัน เต็ม สามารถดึงดูดผู้ที่สนใจและพันธมิตรธุรกิจเข้าร่วมงานกว่า 300 คน เนื้อหาหลัก ของงานเป็นการให้ข้อมูลเชิงลึกถึงปัญหาและความท้าทายต่าง ๆ ที่ลูกค้าของอีต้ัน เคยประสบมาก่อน และน�าเสนอกรณีตัวอย่างบางส่วนซึ่งแสดงให้เห็นว่าอีต้ันสามารถจัดการกับ ปัญหาเหล่านัน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพด้วยวิธกี ารใดบ้าง โดยมุง่ เน้นไปทีภ่ าคอุตสาหกรรมทีม่ อี ตั รา การเติบโตสูงที่สุดในประเทศไทย คุณพิชัย สุทธิจินตทิพย์ ผู้อ�านวยการภูมิภาคเอเชียตะวันออก ส่วนกลาง ส่วนธุรกิจไฟฟ้า บริษัทอีตั้น อิเล็คทริค (ประเทศไทย) จ�ากัด เผยว่า ประเทศไทย เปิดประตูสโู่ อกาสการเติบโตให้หลายภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ จากมาตรการช่วยเหลือทางด้าน ภาษีที่ช่วยกระตุ้นให้หลาย ๆ องค์กรในภาคธุรกิจเหล่านี้หันมาสนใจและตั้งส�านักงานใหญ่ใน ประเทศไทยกันมากยิง่ ขึน้ ทางอีตนั้ เองได้ทมุ่ เทเพือ่ ช่วยให้ลกู ค้าของเราสามารถรักษาประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในระดับที่ดีที่สุด ช่วยลดการใช้พลังงาน และช่วยลดต้นทุนการผลิตด้วยโซลูชั่น

เพือ่ การจัดการพลังงานด้วยนวัตกรรมทีย่ งั่ ยืน และในฐานะบริษทั ชัน้ น�าด้านการจัดการพลังงาน ไฟฟ้าระดับโลก อีตั้นยังมุ่งมั่นพัฒนาทุกส่วน ภาคธุรกิจในภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิกและสร้าง ความสั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ โอกาสที่ ห ลากหลาย ซึ่งได้รับจากภูมิภาคนี้อีกด้วย

มิตรผล คว้ำรำงวัล

“อุตสำหกรรมยอดเยี่ยม” ประจ�ำปี 58

บริษทั รวมเกษตรกรอุตสาหกรรม จ�ากัด สาขามิตรภูเวียง บริษทั ในเครือกลุม่ มิตรผล ได้รบั รางวัล “อุตสาหกรรมยอดเยี่ยม” (The Prime Minister’s Industry Award) ประจ�าปี 2558 โดยมี ดร. สมคิด จำตุศรีพิทักษ์ รองนำยกรัฐมนตรี เป็นผู้มอบโล่ในครั้งนี้ ซึง่ รางวัลนีถ้ อื เป็นรางวัลเกียรติยศสูงสุดทีม่ อบให้แก่องค์กรทีป่ ระสบผลส�าเร็จสูงสุดระดับประเทศ เพื่อเป็นแบบอย่างแก่สถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทัง้ ยังเป็นการยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมไทยให้มศี กั ยภาพการแข่งขันเทียบเท่าระดับสากล

VOLUME 7 ISSUE 84

คุณกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห ารและ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ กลุม่ มิตรผล กล่าวว่า กลุ่มมิตรผลมุ่งพัฒนาธุรกิจเพื่อเพิ่ม มูลค่าให้แก่อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากอ้อย โดยการน� า นวั ต กรรมทางเทคโนโลยี แ ละ การจัดการ รวมทั้งนวัตกรรมการผลิตที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาใช้ในการด�าเนินงาน เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่ระบบเศรษฐกิจ ของชุมชนและประเทศ ตามแผนแม่บทพัฒนา อุตสาหกรรมไทย ปัจจุบันกลุ่มมิตรผลเป็น ผูผ้ ลิตน�า้ ตาลอันดับ 4 ของโลก และเป็นผูผ้ ลิต พลังงานไฟฟ้าชีวมวลและเอทานอลอันดับ 1 ในภูมภิ าคอาเซียน เราพร้อมสนับสนุนภาครัฐใน การผลักดันอุตสาหกรรมไทยสูค่ วามมัน่ คงและ ยัง่ ยืน พร้อมกับการยกระดับความสามารถและ สนับสนุนภาคอุตสาหกรรมไทยให้มีศักยภาพ การแข่งขันทัดเทียมกับนานาชาติ E N E R G Y S AV I N G

11


NEWs REpoRt TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

SENA ส่งแคมเปญยักษ์ บ้านและโฮมออฟฟิต ฟรี! โซลาร์รูฟ บมจ.เสนาดีเวลลอปเม้นท์ (SENA) เปิดฉากลุยพลังงานทดแทน ส่งแคมเปญเขย่าวงการอสังหาฯ “บ้านและโฮม ออฟฟิตเสนา ฟรี!! โซลาร์รูฟ” เปิดตัว 8 โครงการ โดยบ้านเดี่ยว ซื้อบ้านเสนาแถมได้เงินจากการขายไฟฟ้าให้กับ กฟน. ตลอด 25 ปี และส�าหรับ โฮมออฟฟิต ให้ได้ใช้ไฟฟรีนาน 25 ปี และท�าธุรกิจฟรีอีก 1 ปี อีกทั้งพร้อมให้บริการลูกค้าแบบ 360 องศา ทั้ง “ก่อน-หลัง” ติดตั้ง ใช้ไฟฟรีนาน 25 ปี และท�าธุรกิจฟรีอีก 1 ปี ซึ่งแต่ละโครงการเป็นท�าเลคุณภาพเยี่ยมพร้อมลงทุน ลูกค้าทีซ่ อื้ บ้านเสนา และสิทธิการขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) จะได้รบั สิทธิพเิ ศษเป็น ผูข้ ายไฟในอัตรารับซือ้ 6.85 บาท/kw เป็นระยะเวลา 25 ปี (เฉลีย่ 3,200 บาทต่อเดือน หรือประมาณ 42,000 บาทต่อปี) ซึง่ กฟน.จะจ่ายค่าไฟฟ้าทีผ่ ลิตและขายได้ในแต่ละเดือน ให้แก่เจ้าของบ้านทีเ่ ป็น คูส่ ญั ญาซือ้ ขายไฟฟ้า โดยการโอนเข้าบัญชี และทางบริษทั เสนาฯ ได้ยนื่ ขอเป็นผูข้ ายไฟไว้ให้เรียบร้อย แล้ว ทัง้ นีโ้ ซลาร์รฟู ทีต่ ดิ ตัง้ ในโครงการจะมีขนาดก�าลังการผลิต 3.5 kw (525 หน่วย/เดือน) และลูกค้า ยังสามารถตรวจสอบปริมาณ ผลิตไฟฟ้าแบบ Real Time ผ่านอินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ได้ขอ้ มูลทีแ่ ม่นย�า เพือ่ ค�านวณรายได้จากการติดตัง้ โซลาร์รฟู ผศ.ดร.เกษรา ยังกล่าวอีกว่า “มัน่ ใจว่าแคมเปญนีจ้ ะสามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ทีซ่ อื้ บ้านยุคใหม่ทใี่ ส่ใจ สิง่ แวดล้อมได้อย่างลงตัว สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลทีส่ ง่ เสริมให้หน่วยงาน ภาครัฐ และประชาชนหันมาใช้พลังงานทดแทน ทีส่ า� คัญจุดเด่นทีส่ ร้างความแตกต่างให้กบั บ้านและ โฮมออฟฟิตของเสนา คือ แผงโซลาร์รฟู เป็นของแถมทีส่ ร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั บ้านและโฮมออฟฟิศ ในระยะยาว อีกทัง้ ทางเสนาก็มบี ริการหลังการขาย 360 องศา ซึง่ จะสร้างความมัน่ ใจเพิม่ ขึน้ ให้กบั ลูกค้า ทีส่ นใจติดตัง้ โซลาร์รฟู ว่าจะได้รบั การดูแลอย่างต่อเนือ่ งจากบริษทั ”

ผศ.ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ กรรมการบริหาร บริษัท เสนาดี เวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) (SENA) เปิดเผยว่า บริษัทจัดแคมเปญ “บ้าน และโฮมออฟฟิตเสนา ฟรี!! โซลาร์รูฟ” ซึ่ง มีแนวคิดเพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ลูกค้า โดย เปิดตัว 8 โครงการ แบ่งเป็นแบบบ้านเดี่ยว 4 โครงการ ซึง่ สามารถสร้างรายได้ให้กบั ผูซ้ อื้ บ้าน ด้วยการน�าเงินที่ได้จากการขายไฟฟ้า มาช่วยผ่อนบ้านได้นานถึง 25 ปี ส�าหรับลูกค้า โครงการ เสนาพาร์ค แกรนด์ รามอินทรา, เสนาวิลล์ รามอินทรา , เอสวิลล์ คลองหลวง, เอสวิลล์ รังสิต – ล�าลูกกา และแบบโฮมออฟฟิต 4 โครงการ คือ เสนาทาวน์ นวมินทร์,เสนาทาวน์ รามอินทรา, เสนาอเวนิว บางกะดี – ติวานนท์ , เสนาช็อป เฮ้าส์ ล�าลูกกา คลอง 2 ที่ให้ลูกค้าได้ 12

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


Yingli Solar

ผู้น�ำพลังงำนแสงอำทิตย์

รุกช่วยสังคม ควบพัฒนำเยำวชน บริษัท Yingli Solar ผู้น�ำด้ำนกำรผลิตแผงโซล่ำร์เซลล์ชั้นน�ำของโลก ได้รับ ควำมร่วมมือจำกหลำยภำคส่วนในกำรน�ำพลังงำนทดแทนเข้ำมำช่วยพัฒนำ สภำพควำมเป็นอยู่ของชุมชนลำวให้ดียิ่งขึ้น อำทิ องค์กร Earthlinks หรือ กลุ่มรักษำสิ่งแวดล้อมจำกมหำวิทยำลัย Nanyang Technological (Earthlinks NTU) องค์กร YMCA สิงคโปร์ หรือ The Young Men's Christian Association of Singapore ซึ่งเป็นองค์กรอำสำสมัครที่ค่อยให้บริกำรชุมชน และองค์กร Rezeca Renewables ผู้เชี่ยวชำญด้ำนระบบพลังงำนทดแทน ชั้นน�ำของประเทศสิงคโปร์ โดยมีบริษัท MyLaoHome Hotels & Villas จ�ำกัด เป็นผู้ประสำนงำนโครงกำร ซึ่งโครงกำรนี้จะท�ำกำรติดตั้งแผงโซล่ำร์เซลล์ให้กับโรงเรียนในหมู่บ้ำน ลำดค�ำม่วน (Lad Khammune) และหมู่บ้ำนพงสะหวัน (Phongsavang) ประเทศลำว เพื่อใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ำส�ำหรับกำรเรียนกำรสอนในเวลำกลำง คืน นอกจำกนี้ยังใช้กับพัดลม และเครื่องระบำยอำกำศภำยในห้องเรียน อีก ทั้งใช้กับเครื่องโปรเจคเตอร์ ล�ำโพง และอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้องกับกำรเรียน กำรสอน รองรับควำมต้องกำรของจ�ำนวนนักเรียนที่เพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งยังช่วย ส่งเสริมพัฒนำกำรกำรเรียนรู้ของนักเรียนให้ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมมำกขึ้น นอกจำกกำรช่วยเหลือชุมชนแล้วทำงโครงกำรยังได้ติดตั้งโซลำร์เซลล์ให้กับ สถำนีอนำมัยประจ�ำหมู่บ้ำนลำดค�ำม่วน (Lad Khammune) เพื่อรักษำ ผู้ป่วยจำก 7 หมู่บ้ำน รวมกว่ำ 3,000 คน

Ms. Angie Koh กรรมกำรผู้จัดกำรYingliสิงค์โปร์ กล่ำวว่ำ “บริษัท รู้สึกเป็นเกียรติอย่ำงยิ่งที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโครงกำรดี ๆ ในครั้งนี้ และ ดีใจที่ผลิตภัณฑ์และบริกำรของบริษัทสำมำรถช่วยเหลือและเป็นประโยชน์ แก่คนในชุมชนลำว ซึ่งเป็นตัวอย่ำงที่ดีในกำรใช้พลังงำนทดแทนเพื่อควำม ยั่งยืน สำมำรถช่วยพัฒนำวิถีชีวิตควำมเป็นอยู่ของคนในชนบทให้ดีขึ้นได้ ด้วยเทคโนโลยีสีเขียว” VOLUME 7 ISSUE 84

และนอกจำกกำรโครงกำรเพื่อชุมชนดังกล่ำวแล้ว Yingli Solar ยังได้ให้กำรสนับสนุนทีมเยำวชนสโมสรบำเยิร์นมิวนิคในกำรจัดกำร แข่งฟุตบอล Youth Cup ปี 2015 ซึ่งเป็นกำรแข่งขันฟุตบอลกำร กุศลที่รวบรวมทีมฟุตบอลชุดเยำวชนจำกทั่วโลก เข้ำมำแข่งขันเพื่อ หำทีมที่ดีท่ีสุดไปแข่งขันรอบชิงชนะเลิศที่ สนำม Allianz Arena สนำมเหย้ำของสโมสรบำเยิร์นมิวนิค และเพื่อสร้ำงทีมฟุตบอล ชุดเยำวชนในประเทศไทย Yingliจึงได้ร่วมมือกับ สมำคมฟุตบอล แห่งประเทศไทย ในพระบรมรำชูปถัมภ์ ท�ำกำรคัดเลือกนักเตะชุด เยำวชนที่มีทักษะด้ำนกีฬำฟุตบอลดีเยี่ยม จ�ำนวน 10 คน เข้ำร่วม แข่งขันในรำยกำรฟุตบอล Youth Cup ที่จัดขึ้นโดย สโมสรฟุตบอล บำเยิร์นมิวนิค และผู้สนับสนุนต่ำง ๆ อีกมำกมำย อำทิ บริษัท Yingli, สำยกำรบิน Lufthansa, รถยนต์ Audi, อุปกรณ์กีฬำ Adidas, ธนำคำร UniCredit, บริษัท Allianz, เครื่องดื่ม Coca Cola และ Bundesliga

Mrs. Judy Tzeng Lee รองประธำนฝ่ำยกำรตลำดบริษัท Yingliเปิดเผยว่ำ “บริษัทรู้สึกเป็นเกียรติที่ไ ด้เป็น พัน ธมิตรกับ สโมสรฟุตบอลระดับแนวหน้ำของโลกอย่ำงสโมสรบำเยิร์นมิวนิค ในกำรจัดกำรแข่งขันฟุตบอลเยำวชน Youth Cup ปี 2015 นับ เป็นกำรสร้ำงแรงบันดำลใจที่ดีให้กับนักกีฬำชุดเยำวชนทั้งในไทย และทั่วโลก ในฐำนะที่บริษัท Yingli ซึ่งเป็นผู้น�ำด้ำนพลังงำนแสง อำทิตย์ในระดับโลก อยำกเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยสร้ำงสรรค์สภำพ แวดล้อมในเชิงบวกให้กับสังคมและเยำวชนในอนำคต” ด้ำน Mr.Paul Breitner ในฐำนะ Brand Ambassador ของ สโมสรฟุตบอลบำเยิร์นมิวนิค กล่ำวว่ำ "ทำงสโมสรฯยินดีเป็น อย่ำงยิ่งที่ได้รับกำรสนับสนุนจำกบริษัทYingliSolarเพรำะกำร จัดกำรแข่งขันฟุตบอล Youth Cup จะช่วยให้เด็กและเยำวชนที่ ด้อยโอกำสได้มีโอกำสแสดงทักษะและจุดเด่นด้ำนกีฬำฟุตบอล ของพวกเขำออกมำ และสโมสรฟุตบอลบำเยิร์นมิวนิคยินดีต้อนรับ 3 ทีมที่ผ่ำนเข้ำสู่รอบสุดท้ำยจำก3 ประเทศทั้งไทย ญี่ปุ่น และจีน ที่จะมำเข้ำร่วมแข่งขันรอบชิงชนะเลิศในปีนี้ หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ กิจกรรมนี้จะช่วยส่งเสริมและพัฒนำทักษะด้ำนกีฬำฟุตบอลให้กับ เด็ก ๆ และเยำวชนในทวีปเอเชียต่อไป"

E N E R G Y S AV I N G

13


NEWs REpoRt TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

ปริญ เอนเนอร์จี จับมือมิตซูบิชิ ผลักดันโซล่าร์รูฟ บริษัท ปริ ญ เอนเนอร์จี จ�ากัด (PRIN ENERGY CO.,LTD.) ในเครื อบริ ษัท ปริ ญ สิ ริ จ� า กั ด (มหาชน) ร่ ว มกั บ พั น ธมิ ต รบริ ษั ท มิ ต ซู บิ ชิ อี เ ล็ ค ทริ ค กั น ยงวั ฒ นา จ� า กั ด ผลั ก ดั น “นวั ต กรรมทางธุ ร กิ จ ใหม่ เ พื่ อ ความยั่ ง ยื น ” กั บ โปรเจ็ ก ต์ โซล่ า ร์ รู ฟ ที่โ ครงการซิ ก เนเจอร์ รามอิน ทรา

ก.พลังงาน ขานรับแนวทาง

เตรียมพัฒนาระบบไฟฟ้าเน้นเขตเศรษฐกิจพิเศษ กระทรวงพลั ง งาน กฟผ. กฟน.และ PEA ร่ว มจัดท�า แผนระบบไฟฟ้ า รองรั บ การจั ด ตั้ ง เขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ที่ ค าดว่ า จะมี ค วามต้ อ งการใช้ ไ ฟฟ้ า สู ง สุ ด เพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 465 เมกะวัตต์ รองรับแนวคิดในการส่งเสริมการลงทุนภาคเอกชนในการผลิตไฟฟ้า จากพลั ง งานหมุ น เวี ย น คุณทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ้ า� นวยการส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวง พลังงาน ในฐานะประธานคณะท�างานจัดท�าแผนงานพัฒนาระบบไฟฟ้าในภาพรวมของ ประเทศ เพือ่ รองรับการเข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) เปิดเผยว่า กระทรวง พลังงาน โดยส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้รว่ มกับ 3 การไฟฟ้า คือ การไฟฟ้าฝ่าย ผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) และการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (PEA) ได้รว่ มกัน จัดท�า “แผนพัฒนาระบบไฟฟ้าเพือ่ รองรับการจัดตัง้ เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ” ซึง่ ถือว่าเป็นตัวชีว้ ดั 14

E N E R G Y S AV I N G

นายชั ย รั ต น์ โกวิ ท จิ น ดาชั ย ผูอ้ า� นวยการอาวุโส ส�านักกรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั ปริญสิริ จ�ากัด (มหาชน) (PRIN) เผยว่า บริษทั ปริญ เอนเนอร์จี เกิดขึน้ เพือ่ สนับสนุนเป้าหมายของ บมจ. ปริญสิริ ในการก้าวไปอีกขั้นของการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์ที่ย่ังยืน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ ดีขนึ้ ของลูกบ้าน ภายใต้สโลแกนThe Art of Livingด้วยการพยายามผลักดัน “นวัตกรรมทาง ธุรกิจใหม่เพือ่ ความยัง่ ยืน” (Business Model Innovation) มากว่า 5 ปี และได้มกี ารเร่งพัฒนา อย่างจริงจัง ในช่วง 2 ปีทผี่ า่ นมา โดยการน�า เทคโนโลยีโซล่าร์เซลล์บนหลังคาบ้านมาประยุกต์ใช้ เพื่อช่วยลดภาระให้แก่ลูกบ้าน ไม่ต้องช�าระ ค่าส่วนกลางในปีแรก ๆ และแบ่งเบาภาระค่าส่วน กลางระยะยาวในอีก 25 ปี ทัง้ นีก้ ารด�าเนินการ ดังกล่าว ลูกบ้านจะไม่เสียค่าใช้จา่ ยเพิม่ ในการ ติดตัง้ และไม่มภี าระในการดูแลระบบ นายปริญญา โกวิทจินดาชัย กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั ปริญ เอนเนอร์จี จ�ากัด กล่าว ต่อว่า “ส�าหรับโครงการซิกเนเจอร์ รามอินทรา เป็นทาวน์โฮม 3 ชัน้ ราคาเริม่ ต้น 3.39 ล้าน ติดตัง้ แผงโซล่าร์รฟู บนหลังคาได้จา� นวน 152 ยูนติ หรือ เกือบ 1 เมกะวัตต์ โดยปัจจุบนั ผ่านการคัดเลือก จากการไฟฟ้านครหลวงแล้ว และน่าจะสามารถ จ�าหน่ายไฟเข้าระบบได้ภายในสิน้ ปีน”ี้

งานของทัง้ 4 หน่วยงานในปี 2558 นี้ โดยระยะ แรกมีจา� นวน 6 พืน้ ที่ ได้แก่ อ.แม่สอด จ.ตาก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว อ.คลองใหญ่ จ.ตราด อ.เมือง จ.มุกดาหาร อ.สะเดา จ.สงขลา และ อ.เมือง จ.หนองคาย นอกจากนี้ ในแผนดังกล่าว ได้ประมาณการรวมไปถึงแนวทางการพัฒนา สายส่งทีจ่ า� เป็นต้องเชือ่ มโยงไปยังเมืองคูแ่ ฝดทาง ประเทศเพือ่ นบ้าน เพือ่ รองรับการซือ้ ขายไฟฟ้า ระหว่างประเทศอีกด้วย จากความร่วมมือระหว่าง ส�านักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) ร่วมกับ 3 การไฟฟ้า เพือ่ ต้องการสร้างระบบไฟฟ้าให้เกิดความมัน่ คง และสามารถรองรับการลงทุนในเขตเศรษฐกิจ พิเศษทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต เพือ่ ส่งเสริมให้เกิด การลงทุนของภาคเอกชน ให้เกิดการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ NOVEMBER 2015


NEWs REpoRt TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

กกพ. ปรับอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีก ลดลง 1.05 สตางค์/หน่วย สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง มุ่งสู่การก�ากับกิจการพลังงานด้วยความเป็นธรรม คณะกรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ได้เห็นชอบโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทยปี 2558 ที่สะท้อนต้นทุนที่เปลี่ยนแปลง ไปตามสภาพเศรษฐกิจ การลงทุนที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น รวมถึงการก�ากับประสิทธิภาพการด�าเนินงานและความต้องการรายได้ของ 3 การไฟฟ้า ตามหลักเกณฑ์การก�าหนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าที่คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้ให้ความเห็นชอบ ท�าให้สามารถลดค่าไฟฟ้าขายปลีกลงได้ 1.05 สตางค์/หน่วย เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2558 เป็นต้นไป

คุ ณ วี ร ะพล จิ ร ประดิ ษ ฐกุ ล กรรมการก�ากับกิจการพลังงาน ในฐานะโฆษกของ กกพ. เปิดเผย ถึงเรื่องการปรับโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าใหม่ ว่า ภายหลังจากทีไ่ ด้เปิดให้มกี ารรับฟังความคิด เห็นผ่านเว็บไซต์ของส�านักงาน กกพ. เมือ่ เดือน กันยายน ทีผ่ า่ นมา กกพ. ได้มมี ติเห็นชอบอัตรา ค่าไฟฟ้าปี 2558 ประกอบด้วย โครงสร้างอัตรา ค่าไฟฟ้าขายส่ง-ขายปลีก สูตรการปรับอัตรา ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ การชดเชยรายได้ระหว่าง การไฟฟ้า และแนวทางการก�ากับการด�าเนิน งานตามแผนการลงทุน โดยทั้งหมดนี้จะมีผล บังคับใช้ตงั้ แต่คา่ ไฟฟ้าประจ�าเดือนพฤศจิกายน VOLUME 7 ISSUE 84

2558 เป็นต้นไป ส�าหรับโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกในปัจจุบนั ได้มกี ารใช้มาตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายน 2555 เป็นเวลากว่า 3 ปี ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าฐานประมาณ 3.27 บาทต่อหน่วย และค่าไฟฟ้าตามสูตร การปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (เอฟที) ซึง่ จะมีการปรับเปลีย่ นทุก 4 เดือน โดยแนวทางการปรับ โครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกปี 2558 จะสอดคล้องกับมติ กพช. ทีก่ า� หนดให้สอดคล้องกับค่าเอฟที เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2558 เท่ากับ 49.61 สตางค์/หน่วย ดังนัน้ การปรับโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้า ปี 2558 นี้ จึงเป็นการรวมค่าไฟฟ้าฐานเดิมและค่าเอฟทีเดือนพฤษภาคม –สิงหาคม 2558 ไว้ดว้ ยกันเป็น อัตราค่าไฟฟ้าฐานใหม่ (3.7661 บาท/หน่วย) และ กกพ. ได้พจิ ารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องแล้ว เห็นว่าสามารถปรับลดค่าไฟฟ้าลงได้ 1.05 สตางค์/หน่วย ท�าให้คา่ ไฟฟ้าฐานใหม่จะอยูท่ ี่ 3.7556 บาท/หน่วย โดยสาระส�าคัญของการปรับปรุงโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าปี 2558 คือ 1) ปรับลดค่าไฟฟ้าขายปลีก เฉลี่ยลดลง 1.05 สตางค์/หน่วย ซึ่งเป็นผลมาจากการทบทวนความต้องการรายได้ของการไฟฟ้า ทัง้ 3 แห่ง (กฟผ. กฟน. และ กฟภ.) และการก�ากับดูแลแผนการลงทุนของการไฟฟ้าทัง้ 3 แห่ง ทีม่ เี งิน ลงทุนต�า่ กว่าแผนรวมเป็นเงินประมาณ 25,696 ล้านบาท โดย กกพ. ได้ปรับจากเงินลงทุนทีต่ า�่ กว่า แผนในช่วงปี 2555 – 2556 มาลดค่าไฟฟ้าได้จา� นวน 3,220 ล้านบาท หรือประมาณ 0.81 สตางค์/ หน่วย 2) ปรับอัตราค่าไฟฟ้าทีแ่ ตกต่างกันตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU) ให้สะท้อนต้นทุนการผลิต ทีแ่ ท้จริง 3) ทบทวนอัตราเงินอุดหนุนค่าไฟฟ้าฟรีสา� หรับผูใ้ ช้ไฟฟ้าบ้านอยูอ่ าศัยทีม่ รี ายได้นอ้ ย หรือ นโยบายค่าไฟฟ้าฟรี 50 หน่วย 4) ก�าหนดให้การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) รับภาระค่าธรรมเนียม หักบัญชีธนาคารให้กบั ผูใ้ ช้ไฟฟ้าในลักษณะเดียวกับการไฟฟ้านครหลวง เพือ่ ให้การไฟฟ้าฝ่ายจ�าหน่าย มีมาตรฐานเดียวกันในการด�าเนินงาน ส�าหรับการปรับค่าเอฟทีระหว่างเดือนกันยายน – ธันวาคม 2558 กกพ. ได้มมี ติให้ปรับลดลงจาก 49.61 สตางค์/หน่วย ลงเหลือ 46.38 สตางค์/หน่วย หรือลดลงจ�านวน -3.23 สตางค์/หน่วย ซึง่ มี การเรียกเก็บในเดือนกันยายน – ตุลาคม 2558 มาแล้วนัน้ เมือ่ มีการปรับอัตราค่าไฟฟ้าใหม่ กกพ. ได้ เห็นชอบให้มกี ารเรียกเก็บค่าเอฟทีรอบเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2558 จ�านวน -3.23 สตางค์/หน่วย ส�าหรับค่าเอฟทีรอบเดือน มกราคม – เมษายน 2559 เป็นต้นไป จะปรับตามต้นทุนทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป จากค่าไฟฟ้าฐานใหม่เท่านัน้ การปรับโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าปี 2558 ครัง้ นี้ เป็นไปเพือ่ ให้มกี ารก�าหนดอัตราค่าบริการไฟฟ้า ทีส่ อดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ เงินลงทุน โดยค�านึงถึงความเป็นธรรมต่อผูใ้ ช้ไฟฟ้าและผูป้ ระกอบกิจการ ไฟฟ้าเป็นส�าคัญ โดย กกพ. ได้แจ้งให้การไฟฟ้าด�าเนินการประกาศเผยแพร่อตั ราค่าบริการไฟฟ้าใหม่ นี้ ผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน ส�านักงานการไฟฟ้า การประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางต่าง ๆ รวมถึง เอกสารเผยแพร่ เพือ่ ให้ผใู้ ช้ไฟฟ้าทัว่ ประเทศได้รบั รูแ้ ละรับทราบข้อมูลอย่างทัว่ ถึง E N E R G Y S AV I N G

15


อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ประกาศชัด “พร้อมลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ” ทันที จากแผนการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐ โดยการตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมทั้งพื้นที่พิเศษ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 พื้นที่ในจังหวัดสงขลา โดยมีมาตรการลดหย่อนภาษีเพื่อจูงใจมากมาย ส่งผลให้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษตามที่ภาครัฐประกาศมีราคาที่ดินที่ ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น อย่ า งรวดเร็ ว จนภาครั ฐ ต้ อ งเร่ ง ก� า หนดแนวทางแก้ ไ ข ขณะเดี ย วกั น ยั ง พบปั ญ หาที่ จ ะไปลงทุ น ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษนั้ น คื อ มีความต้องการด้านสาธารณูปโภค น�้า ไฟฟ้า ถนน รวมทั้งระบบ Logistics ฯลฯ จึงส่งผลให้ การจูงใจด้านการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ ของแต่ละภาคส่วนที่ผ่านมายังไม่เอื้อต่อการลงทุนในแบบทันทีทันใด คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกลุม่ อุ ต สาหกรรมพลั ง งานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ถือ เป็นอุตสาหกรรมทีม่ คี วามพร้อมเข้าไปลงทุนใน เขตเศรษฐกิจพิเศษได้ทนั ที โดยไม่ตอ้ งรอระบบ สาธารณูปโภค เช่น น�า้ และไฟฟ้า โดยเฉพาะใน เขตเศรษฐกิจพิเศษ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และอีก 4 พืน้ ทีใ่ นจังหวัดสงขลา ซึง่ เป็นพืน้ ที่ ทีม่ ศี กั ยภาพด้านพลังงานทดแทน ทัง้ พลังงาน ลม พลังงานชีวมวล ก๊าซชีวภาพ รวมถึงชีวมวล อัดแท่งทีส่ ามารถผลิตได้ 10,000 ตันต่อปี และ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ชวี มวล เป็นเชื้อเพลิงไม่ว่าจะเป็น Wood chip หรือ

Wood pellet สามารถลงทุนในเขตเศรษฐกิจ พิ เ ศษได้ ทั น ที สามารถจ� า หน่ า ยไฟฟ้ า ได้ ณ แหล่งผลิตไฟฟ้า หากพูดถึงการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษนัน้

อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน เป็นอุตสาหกรรม ทีม่ คี วามพร้อมลงทุนได้ทนั ทีทไี่ ด้รบั ใบอนุญาต จากรัฐ (PPA) โดยไม่ตอ้ งรอน�า้ – ไฟ และยัง ถือเป็นอุตสาหกรรม New Wave และเป็น Green Industry ทีส่ ามารถอยูร่ ว่ มกับชุมชนได้อกี ทั้ ง วั ต ถุ ดิ บ ที่ น� า มาผลิ ต พลั ง งานทดแทนยั ง เป็นวัตถุดบิ ทีส่ ามารถหาได้จากท้องถิน่ อีกทัง้ นักลงทุนพร้อมทีจ่ ะลงทุนในเรือ่ งนีท้ นั ที โดยอยาก ให้ภาครัฐเข้ามาสนับสนุนอ�านวยความสะดวก ด้านใบอนุญาต และยกเว้นกฎระเบียบทีข่ ดั ต่อ การลงทุน รวมถึงจัดเตรียมสายส่งไฟฟ้าให้กบั โครงการ และดูแลราคาจ�าหน่ายไฟฟ้าตาม ประกาศของคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แห่งชาติ หรือ กพช. ด้วย ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ : http://biomassbrokerage.com

ปตท. เปิดสถานีการบริการเอ็นจีวีแห่งที่ 500

พร้อมเปิดตัวแอพฯ เช็คปริมาณก๊าซเอ็นจีวีบนสมาร์ทโฟน

ปตท. เปิ ด สถานี ก ารบริ ก ารเอ็ น จี วี แ ห่ ง ที่ 500 พร้อมเปิดตัวแอพฯ เช็คปริมาณก๊าซ เอ็นจีวีบนสมาร์ทโฟน เพื่อเพิ่มความสามารถ ใ น ก า ร ใ ห ้ บ ริ ก า ร แ ก ่ ผู ้ ใ ช ้ ร ถ เ อ็ น จี วี พร้อมน�าเสนอนวัตกรรมใหม่เพิ่มความสะดวก ในตรวจสอบข้ อ มู ล ปริ ม าณก๊ า ซฯ ได้ ด้วยตัวเองก่อนเข้ารับบริการ 16

E N E R G Y S AV I N G

คุณสุรงค์ บูลกุล ประธานเจ้า หน้ า ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ โครงสร้างพืน้ ฐาน บริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) เปิดเผยว่า สถานีบริการเอ็นจีวี ปตท. เอกสุขสวัสดิ์ แห่งใหม่นี้ตั้งอยู่บนถนน สุขสวัสดิ์ อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ โดย เป็นสถานีบริการเอ็นจีวีประเภทแนวท่อส่ง ก๊าซธรรมชาติ ด้วยก�าลังการผลิตก๊าซเอ็นจีวี 25 ตันต่อวัน รองรับความต้องการใช้กา๊ ซฯ ในพืน้ ที่ จ.สมุทรปราการ กรุงเทพมหานคร และจังหวัด ใกล้เคียงซึง่ จะตอบสนองความต้องการใช้กา๊ ซได้ ดียงิ่ ขึน้ เนือ่ งด้วยสามารถให้บริการเติมก๊าซได้ อย่างต่อเนือ่ ง อีกทัง้ ช่วยลดความเสีย่ งการเกิด อุบตั เิ หตุจากการใช้รถขนส่งก๊าซฯ ให้กบั สถานี นอกแนวท่ออีกด้วย และคาดว่าภายในสิน้ ปีนจี้ ะ สามารถขยายจ�านวนสถานีบริการเอ็นจีวไี ด้ครบ 501 แห่ง ครอบคลุม 54 จังหวัดทัว่ ประเทศ

ตามแผนงานเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ผูใ้ ช้รถเอ็นจีวี ซึง่ ขณะนีท้ มี่ ผี ใู้ ช้เอ็นจีวปี ระมาณ 470,000 คัน โดยข้อมูลเมือ่ สิงหาคม 2558 พบว่า มีปริมาณการใช้กา๊ ซเอ็นจีวี 8,280 ตันต่อวัน นอกจากการขยายจ�านวนสถานีบริการเอ็น จีวีเพื่ออ�านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้เอ็นจีวีแล้ว ปตท. ได้พฒ ั นานวัตกรรมใหม่ให้ผใู้ ช้รถเอ็นจีวี สามารถตรวจสอบปริมาณก๊าซฯ ในแต่ละสถานี บริการได้ดว้ ยตนเองผ่าน Application “PTT Life Station” บนมือถือแบบสมาร์ทโฟนทุก ระบบ โดยดาวโหลดผ่าน APP STORE หรือ PLAY STORE จากนั้นเลือกสถานีบริการเอ็น จีวีที่ต้องการใช้บริการ จะแสดงต�าแหน่งของ สถานีฯ ในแผนทีซ่ งึ่ จะมีการแสดงแถบสีระดับ ปริมาณก๊าซฯ ที่พร้อมให้บริการ เพื่อช่วยใน การตัดสินใจเลือกรับใช้บริการ NOVEMBER 2015



Around the world TEXT : อังกฤษ ศรีสิริมานิต

อังกฤษหัวใสแปรรูปกากกาแฟ เป็นเชื้อเพลิงชีวภาพชั้นดี ทุกวันนีธ้ รุ กิจร้านกาแฟก�าลังเป็นทีน่ ยิ ม เพราะผูค้ นสนใจบริโภคกาแฟกันมากขึน้ เนือ่ งจากรสชาติ ของกาแฟและร้านกาแฟเองล้วนเป็นองค์ประกอบส�าคัญ ร้านกาแฟเป็นสถานทีท่ ผี่ คู้ นสามารถ พบปะสังสรรค์กนั ได้ ในร้านเต็มไปด้วยบรรยากาศทีห่ อมกรุน่ กลิน่ กาแฟ แต่รหู้ รือไม่...การกินกาแฟถือ เป็นการสร้างขยะให้กับโลกทางหนึ่ง เพราะก่อนที่จะออกมาเป็นเครื่องดื่มสีน�้าตาลสวยอย่างที่เห็นกัน ต้องผ่านกระบวนการบดเมล็ดกาแฟจากเครือ่ งท�ากาแฟ เหลือกากกาแฟทิง้ ไว้เป็นของเสียจ�านวนมาก โดยมีสถิตวิ า่ ทุกภูมภิ าคทัว่ โลกมีการผลิตกาแฟเพือ่ ใช้ในการบริโภค กว่า 9 พันล้าน – 1.1 หมืน่ ล้านปอนด์ ในแต่ละปี ด้วยเหตุนี้ บริษทั Bio-bean ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ จึงเริม่ ต้นทีจ่ ะขับเคลือ่ นแนวความคิด การรีไซเคิลกาแฟ เพือ่ เปลีย่ นจากกากกาแฟทีถ่ กู ทิง้ โดยเปล่าประโยชน์ให้เป็นพลังงานทดแทน เนือ่ งจาก ประเทศอังกฤษมีการซือ้ กาแฟเพือ่ การบริโภคกว่า 1.7 พันล้านแก้วต่อปี เหตุผลส�าคัญทีเ่ ลือกกากกาแฟมาใช้ประโชยน์นนั้ เพราะกากกาแฟสามารถเปลีย่ นเป็นเชือ้ เพลิงชีวภาพได้ นับเป็นการสร้างแหล่งพลังงานทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจ โดยโครงการในครั้งแรกนั้นเริ่มจากการเก็บ กากกาแฟตามร้านกาแฟในเมืองกว่า 100 ร้าน ซึง่ กากกาแฟทีไ่ ด้นจี้ ะถูกน�าไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงชีวภาพ ช่วยสร้างความร้อนให้แก่บา้ นเรือนได้ประมาณ 1,000 หลัง โดยเป้าหมายสูงสุดของแปรรูปกากกาแฟคือ สามารถผลิตพลังงานเชือ้ เพลิงให้เพียงพอต่อบ้านเรือน 15,000 หลัง ซึง่ เป้าหมายต่อไปของบริษทั Bio-bean คือการหวังทีจ่ ะเปลีย่ นเศษอาหารทีเ่ หลือทุกประเภทให้กลายเป็นพลังงานเชือ้ เพลิงชีวภาพได้ในอนาคต ที่มาและภาพประกอบ: http://cleantechnica.com และ http://www.bio-bean.com แปลและเรียบเรียงบทความโดยCopyright: www.energysavingmedia.com

18

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


อีก 5 ปี เตรียมท่องโลก

ส�ารวจมหาสมุทร ด้วยเรือแห่งอนาคต “MARS” ในขณะนี้ มี ที ม นั ก วิ จั ย เรื อ เดิ น สมุ ท ร ได้ ท� า การสร้ า งเรื อ ที่ แ ตกต่ า งจาก เรื อ ปกติ โ ดยสิ้ น เชิ ง อย่ า งเรื อ Mayflower Autonomous Research Ship หรือ MARS ทีข่ บั เคลือ่ นอัตโนมัตดิ ว้ ยพลังงานลมและพลังงาน แสงอาทิตย์ แล่นได้ด้วยตัวเอง ไม่จ�าเป็นต้องมี กัปตันเรือ MARS เป็ น ผลผลิ ต จากโครงการความ ร่วมมือกันระหว่าง มหาวิทยาลัย Plymouth ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการขั บ เคลื่ อ นอั ต โนมั ติ และ มหาวิทยาลัย Shuttleworth ผูอ้ อกแบบ และผลิตเรือยอชท์ โดยทางผู้ผลิตได้ออกแบบ ให้ เรื อ ล� า นี้ มี รู ป ทรงพิ เ ศษแยกออกเป็ น สาม ส่วน ท�าให้สามารถแล่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวเรือมีความกว้าง 16.8 เมตร (55.1 ฟุต) และความยาว 32.5 เมตร (106.6 ฟุต) วัสดุทใี่ ช้ใน การผลิตมีหลายประเภทด้วยกัน เช่น แก้ว อะรามิด โฟม และคาร์บอน ซึง่ ส่วนประกอบแต่ละส่วนล้วน ช่วยปกป้องล�าเรือ เพิม่ ความทนทาน แข็งแกร่ง เพือ่ ต่อสูก้ บั อุปสรรคต่าง ๆ ภายในท้องทะเล ในทางเทคนิคนั้นเรือล�านี้จะใช้พลังงานลม

ในการขับเคลือ่ น ซึง่ แล่นด้วยความเร็วประมาณ 20 นอต หรือ 23 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง และยังสามารถ เปลี่ยนไปใช้พลังงานแสงอาทิตย์แทนได้อีกด้วย โดยความเร็วจากพลังงานแสงอาทิตย์จะอยู่ที่ 12.5 นอต หรือ 14 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง นัน่ หมายความว่า MARS สามารถที่จะเดินทางข้ามมหาสมุทร ในเวลาเพียงหนึง่ สัปดาห์ หรือ 10 วัน เท่านัน้ แต่ทางทีมวิศวกรยังไม่รบี สรุปเช่นนัน้ เพราะความ เป็นจริงอาจใช้เวลายาวนานกว่านัน้ โดยเรือล�านีถ้ กู สร้างขึน้ มาเพือ่ ศึกษาและรวบรวมข้อมูลความ หลากหลายต่าง ๆ ของโลก ทัง้ การศึกษาเกีย่ วกับ มหาสมุ ท ร ด้ า นอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา และด้ า นภู มิ อากาศ

ที่มาและภาพประกอบ: http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright: www.energysavingmedia.com

โลกตะลึง ! หนอนกินโฟมได้? เป็นที่รู้กันว่าขยะพลาสติกและโฟมนั้นย่อยสลายยาก ซึ่งปัญหาขยะที่เกิดขึ้นบนโลกล้วน มาจากน�้ามือของมนุษย์อย่างเรา ๆ ท่าน ๆ ที่สร้างปริมาณขยะบนโลกกว่าล้านตันในทุกปี นี่ยังไม่รวมถึงขยะในมหาสมุทรที่ลอยอยู่เกลื่อนทะเล ปัจจุบันทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดได้ค้นพบวิธีการที่จะเพิ่มความเร็วในกระบวนการ ย่อยสลายขยะจ�าพวกโฟม ที่มีสาร Polystyrene (โพลิสไตรีน) ซึ่งเป็นสารโพลิเมอร์ชนิดหนึ่งซึ่งใช้ใน การผลิตโฟมหรือกล่องบรรจุอาหาร นั่นก็คือ mealworm หรือ หนอนนก ที่ทีมนักวิจัยได้ใช้ประโยชน์ จากหนอนเหล่านี้ในการช่วยย่อยสลายโฟม เนื่องจากหนอนเหล่านี้จะกินโฟมเป็นอาหารนั่นเอง โดยผลการวิจัยนี้ได้ตีพิมพ์ลงในวารสารทางวิทยาศาสตร์ ชื่อว่า Environmental Science and Technology Dr. Wei-Min Wu วิศวกรและนักวิจยั อาวุโสทีท่ า� งานที่ Department of Civil and Environmental Engineering เปิดเผยว่า หนอนนกจะมีจุลินทรีย์อยู่ในทางเดินกระเพาะอาหารของพวกมัน ท�าให้ สามารถกัดกินและย่อยสลายโฟมได้ ซึ่งการกินขยะพลาสติกที่เป็นพิษเหล่านี้ ไม่ส่งผลกระทบต่อตัว หนอนนก พวกมันยังสุขภาพดีและไม่ป่วยแต่อย่างใด ที่มาและภาพประกอบ: http://www.treehugger.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright: www.energysavingmedia.com

VOLUME 7 ISSUE 84

กระบวนการกินขยะของหนอนนกค่อนข้างช้า พบว่า หนอนนกปริมาณ 100 ตัว จะสามารถกิน ขยะได้ประมาณ 34-39 มิลลิกรัมต่อวัน เทียบเท่ากับ น�้าหนักของยาเม็ดขนาดเล็ก แต่กน็ บั เป็นความ ก้าวหน้าอย่างแท้จริงส�าหรับทีมนักวิจัยในการ จัดการกับขยะพลาสติกและโฟมด้วยวิธีการตาม ธรรมชาติ เนือ่ งจากสิง่ ทีส่ ามารถย่อยสลายขยะ เหล่านีห้ าได้ยากมาก E N E R G Y S AV I N G

19


Adidas ยักษ์ใหญ่เยอรมัน โชว์รองเท้ารักษ์ส่ิงแวดล้อม Adidas ประกาศเปิดตัวนวัตกรรมใหม่ “สปอร์ต อินฟินติ ”ี้ (Sport Infinity) ซึง่ จะเป็นมิติ ใหม่ของการผลิตอุปกรณ์กฬี าที่ ช่วยลดขยะให้โลก เพราะทุกอย่างจะถูกน�ากลับมาใช้ใหม่ได้ ทัง้ หมด จะปรับแต่งกีค่ รัง้ รีไซเคิลใหม่กรี่ อบก็ทา� ได้ดงั่ ใจ ด้วยการใช้วสั ดุรปู แบบใหม่ “ซูเปอร์แมททีเรียล” (super-material) ทีส่ ามารถน�ามาขึน้ รูปสามมิตไิ ด้อย่างทีต่ อ้ งการ ในทุกๆ ชิน้ ส่วนของอุปกรณ์กฬี า ไม่ว่าจะเป็นรองเท้า ก็สามารถน�ามาแยกส่วนและขึ้นรูปกลับมาเป็นอุปกรณ์ชิ้นใหม่ ไม่ต้องมีการ ใช้กาว ไม่ตอ้ งเพิม่ ขยะให้โลก ผูบ้ ริโภคสามารถปรับแต่งสิง่ ทีต่ นต้องการได้มากอย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน ในประวัตศิ าสตร์ ลีโอเนล เมสซี่ ผู้ครองรางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปี หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ ฟีฟ่า บาลงดอร์ (Ballon d’Or) ถึงสีส่ มัย ให้ความเห็นว่า “ผมภูมใิ จมากทีท่ าง Adidas พบแนวทางทีจ่ ะท�าให้เรามัน่ ใจ ได้ว่า รองเท้าทุกคู่ ซึ่งรวมถึงรองเท้าของผมด้วยนั้น จะถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีการที่จะช่วยปกป้องสภาพ แวดล้อมของโลกเรา ผมว่านีค่ อื อนาคตของฟุตบอลอย่างแท้จริง” สปอร์ต อินฟินติ ี้ เป็นโครงการวิจยั น�าร่องของ Adidas ทีไ่ ด้รบั เงินทุนสนับสนุนจากคณะกรรมาธิการ ยุโรป (European Commission) ที่จะรวมอัจฉริยภาพของเหล่าผู้เชี่ยวชาญในหลากหลายแวดวง อุตสาหกรรมและทุกสถาบัน โดยมีแนวคิดทีจ่ ะน�าอุปกรณ์กฬี ามารวมกับวัสดุเหลือใช้จากอุตสาหกรรม อื่นๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งอุปกรณ์ชิ้นใหม่ ดังนั้นรองเท้าฟุตบอลในอนาคตอาจจะเกิดมาจากอะไรก็ได้ ทั้งนั้น ตั้งแต่คาร์บอนที่ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตเครื่องบินไปจนถึงชิ้นส่วนไฟเบอร์ของรองเท้าซุป’ตาร์

ทีท่ า� ประตูคว้าชัยในการแข่งฟุตบอลโลก วัสดุใหม่ที่ เรียกว่าซูเปอร์แมททีเรียลนี้ จะเป็นสิ่งที่ช่วย พลิ ก โฉมแฟนกี ฬ าทุ ก คนให้ ก ลายมาเป็ น นักออกแบบผลิตภัณฑ์ เพราะอยากจะออกแบบ รองเท้าสักคูใ่ ห้เป็นแบบใดก็ได้ ไม่มขี ยะเหลือใช้ ให้ตอ้ งกังวล ไม่วา่ จะปรับรูปแบบให้ตามเทรนด์ หรือเพือ่ เติมเต็มความสามารถให้ใช้งานในสนาม ได้ตามต้องการ แฟนบอลในอนาคตก็สามารถ ท�าได้ ไม่ตอ้ งใส่รองเท้าซ�า้ ใครอีกต่อไป เกิร์ด มานซ์ รองประธานฝ่ายนวัตกรรม เทคโนโลยีแห่ง Adidas กล่าวว่า “การพัฒนา ครั้งนี้คือสิ่งที่จะพลิกโฉมหน้ากีฬาฟุตบอลอย่าง แท้จริง โดยในช่วงสามปีนี้ สปอร์ต อินฟินิตี้ ต้องการที่จะปิดฉากการน�าเอารองเท้าเก่าไป ทิ้ง เพราะว่าต่อไปนี้ รองเท้าทุกคู่ไม่เพียงแต่จะ ถูกน�ามารีไซเคิลใหม่ได้เท่านัน้ แต่ยงั สามารถปรับ รูปโฉมใหม่ให้ตรงใจคุณ” เรียบเรียงบทความโดย Copyright: www.energysavingmedia.com

ดีไซเนอร์ชาวฮ่องกง สร้างเก้าอี้ จากขยะสุดเท่ “Stool Zero” ทีมนักออกแบบชาวฮ่องกง KaCaMa ผู้เชี่ยวชาญในเรื่องการน�าวัสดุใช้แล้วน�ากลับมาใช้ใหม่ โดยทางทีมงานสร้างผลิตภัณฑ์ทไี่ ม่เพียงแต่ทา� ให้ผใู้ ช้งานได้รบั ความพึงพอใจเท่านัน้ แต่จะต้อง สร้างความตระหนักและช่วยปลูกฝังให้เห็นถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่ถูกใช้งานอย่างไร้ประโยชน์ด้วย ในแต่ละปีมีเครื่องมือเครื่องใช้รวมกว่า 1,000 เครื่อง จากแต่ละครัวเรือน เสียหายหรือแตกหักและ แก้ไขด้วยวิธกี ารง่าย ๆ คือการซือ้ เครือ่ งใหม่มาแทน ส่วนเครือ่ งใช้ทพี่ งั แล้วเหล่านัน้ สุดท้ายก็จะกลายเป็น ขยะที่มีจ�านวนมากขึ้นอย่างน่าตกใจ ทาง KaCaMa จึงได้หาวิธีแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ด้วยแนวคิด ที่จะท�าให้ขยะเหลือศูนย์ จึงออกแบบเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่ือว่า “Stool Zero” เก้าอี้ที่รีไซเคิลมาจาก ฝาครอบพัดลมและพลาสติกของเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในครัวเรือนที่ทิ้งแล้ว โดยทีมงาน KaCaMa ได้น�า ชิน้ ส่วนขยะทีแ่ ตกหักเหล่านีม้ าจากศูนย์กลางของแหล่งรีไซเคิล St.James Settlement โดยขยะชิน้ ส่วน ฝาครอบพัดลมจะเป็นส่วนประกอบของทีน่ งั่ ด้านบนของตัวเก้าอี้ และได้มกี ารน�าสายไฟมาพันและห่อหุม้ เข้ากับโครงของฝาครอบพัดลม เป็นเหมือนกับเบาะ ช่วยให้การนั่งเก้าอี้นั้นสบายมากขึ้น อีกทั้งยังเพิ่ม ความมั่นคงแข็งแรง และในส่วนของขาเก้าอี้จะท�ามาจากลังไม้ที่ใช้ในการขนส่งสินค้า นอกจากเรือ่ งของไอเดียความคิดการรีไซเคิลเฟอร์นเิ จอร์ขา้ วของเครือ่ งใช้ภายในบ้านทีถ่ กู มองข้ามแล้ว 20

E N E R G Y S AV I N G

KaCaMa ยั ง แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง ฝี มื อ การผลิ ต งานแฮนด์ เ มด ในการตั ด เย็ บ เบาะแต่ ล ะตั ว ท�าให้เกิดรูปแบบที่มีลักษณะเฉพาะไม่ซ�้ากัน จากแต่ละวัสดุที่ประกอบกัน จนเป็นเก้าอี้เพียง หนึ่งเดียว ที่มาและภาพประกอบ: http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดยCopyright: www.energysavingmedia.com

NOVEMBER 2015



cover story

Waste toสร้าenergy งทองจากกองขยะ

TEXT : อภัสรา วัลลิภผล

“ขยะ” ถือเป็นปัญหาใหญ่ระดับโลกที่นับวันยิ่งเพิ่มปริมาณมากขึ้น และถ้าหากย้อนกลับมองเมื่อ 10 ปีก่อน มีคนอาศัยอยู่ในเมืองเพียง 2,900 ล้านคน และโดยเฉลี่ยแล้วคนหนึ่งคนจะสร้างขยะประมาณวันละ 0.64 กิโลกรัม ซึ่งรวมแล้วคนเมืองจะท�าให้เกิดขยะปีละ 680 ล้านตัน และจากจ�านวนคนที่เพิ่มมากขึ้นใน แต่ละปีก็ยิ่งท�าให้จ�านวนขยะเพิ่มขึ้นตามไปด้วย นั่นคือ ขยะตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลกในปัจจุบันมีจ�านวนถึง 720,000 ล้านตันต่อปี เลยทีเดียว ด้วยเหตุนี้ ท�าให้หลายหน่วยงานทั่วโลกพยายามหาวิธีที่จะท�าอย่างไร ให้ปริมาณขยะลดลง และส่วนใหญ่ยังมีขยะจ�านวนมหาศาลที่ถูกจัดการอย่างผิดวิธี เช่น การเผาท�าลาย โดยไม่มีการควบคุม หรือ ปล่อยทิ้งไว้ตามสถานที่รกร้างเป็นการสร้างปัญหาต่อสภาพแวดล้อมอย่างมาก จนท�าให้เกิดปัญหาขยะล้นเมืองในหลายพื้นที่ หากเรารู้จักการคัดแยกขยะ และจัดการกับขยะแต่ละประเภท อย่างถูกต้องแล้ว ขยะที่ไร้ค่าก็จะกลายเป็น “พลังงาน” ที่มีคุณค่าได้ในทันที 22

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


และด้ ว ยปริ ม าณขยะที่ ม ากมายจึ ง ท�าให้สง่ ผลต่อสภาพแวดล้อมและความ เป็นอยู่ของคนในสังคม การคัดแยกขยะจึง มีส่วนช่วยลดปริมาณขยะในส่วนที่สามารถ น�ากลับมาใช้ใหม่ได้ ประหยัดทัง้ งบประมาณใน การท�าลาย รักษาทรัพยากร ประหยัดพลังงาน และช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นได้ โดยเฉพาะ ประเทศไทยนั้นมีปริมาณขยะชุมชนเพิ่มขึ้น เรือ่ ย ๆ ซึง่ ในปี 2558 มีปริมาณขยะต่อวันถึง 49,680 ตัน หรือ 17.8 ล้านตันต่อปี ทั้งนี้ ปั จ จุ บั น จึ ง ได้ มี ก ารคิ ด ค้ น เทคโนโลยี ก� า จั ด ขยะที่ ส ามารถแปลงขยะเป็ น พลั ง งานและ สามารถใช้ผลิตกระแสไฟฟ้าได้ คือ เทคโนโลยี การฝังกลบ และระบบผลิตก๊าซชีวภาพจาก หลุมฝังกลบขยะ (Landfill Gas to Energy) เทคโนโลยี ก ารเผาขยะ (Incineration) เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ก๊ า ชเชื้ อ เพลิ ง จากขยะ ชุมชน (Municipal Solid Waste or MSW) โดยการแปรสภาพเป็นแก๊ส (Gasification) เทคโนโลยี ย ่ อ ยสลายแบบไม่ ใช้ อ อกซิ เจน (Anaerobic Digestion) หรือด้วยวิธีการ หมัก เทคโนโลยีผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) โดยการท�าให้เป็นก้อน เชือ้ เพลิง เทคโนโลยีพลาสมาอาร์ก (Plasma Arc) ใช้ความร้อนสูงมาก ๆ และเทคโนโลยีการแปรรูป ขยะเป็นน�า้ มันเชือ้ เพลิง เช่น วิธกี าร pyrolysis (การกลัน่ และการสลายตัวของสารอินทรียใ์ นรูป ของของแข็งทีอ่ ณ ุ หภูมิ ประมาณ 370-870 องศา เซลเซียส ในภาวะไร้อากาศ) ทั้ ง นี้ กระทรวงพลั ง งาน ได้ ส นั บ สนุ น ส่ ง เสริ ม การน� า ขยะมาเปลี่ ย นเป็ น พลั ง งาน ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือก 25 % ใน 10 ปี (พ.ศ.2555-2564) หรือ AEDP (Alternative Energy Development Plan : 2012-2021) เพือ่ พัฒนาพลังงานทดแทน ให้ เ ป็ น หนึ่ ง ในพลั ง งานหลั ก ของประเทศ

VOLUME 7 ISSUE 84

การพัฒนาพลังงานขยะก็เป็นหนึง่ ในแผนงานทีก่ ระทรวงพลังงานได้มนี โยบายขับเคลือ่ น ไม่วา่ จะเป็น การส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น การผลิ ต พลั ง งานจากขยะในองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น (อปท.) การส่งเสริมให้เอกชนสามารถเข้าร่วมทุนกับ อปท. ในการผลิตพลังงานจากขยะทุกรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการบริหารจัดการขยะ ปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและ คุณสมบัติทางเคมีของขยะมูลฝอย เพื่อท�าให้กลายเป็นเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) แล้วน�ามาผลิตเป็นพลังงานความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ยังมีนโยบายแปลง ขยะเป็นไฟฟ้า และก�าหนดค่า Feed in Tariff (FiT) ให้กับผู้ประกอบการ รวมทั้งส่งเสริมการผลิต น�้ามันจากขยะพลาสติก ถือเป็นการพัฒนาแหล่งพลังงานทดแทน เพื่อลดการพึ่งพาการน�าเข้า พลังงานจากต่างประเทศ และลดการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล น�าไปสู่การผลิตพลังงานทดแทนจาก เชื้อเพลิงขยะของประเทศให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนา พลังงานทดแทนในปัจจุบนั และด้วยความส�าคัญดังกล่าว กองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน และส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน จึงได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการท�าวิจัยให้กับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี (มทส.) เพือ่ ศึกษาความเป็นไปได้ของการน�าขยะพลาสติกมาผลิต เป็นน�า้ มัน ภายใต้โครงการ “การศึกษาต้นแบบการบริหารจัดการเชือ้ เพลิงพลาสติก ส�าหรับใช้ใน การผลิตน�า้ มันจากขยะพลาสติกแบบครบวงจร” ซึง่ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงพลังงาน ตามมติการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ปี 2558 เรื่องการผลิตน�้ามัน จากขยะอุตสาหกรรมซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในแผนพัฒนาพลังงานทดแทนของประเทศ ส�าหรับเทคโนโลยีการกลั่น มทส.ได้ออกแบบหอกลั่นน�้ามันขนาดเล็ก ส�าหรับกลั่นน�้ามันจาก ขยะโดยใช้เทคโนโลยีการกลั่นแบบล�าดับส่วน (Fractional distillation) อัตราการผลิต 1,000 ลิตรต่อวัน โดยมีส่วนประกอบหลัก คือ ถังและหอกลั่น(Vessel and distillation tower unit) อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน (Shell and tube exchanger unit) และปั๊มสูบ (Pump unit) โดยมีรายละเอียดขั้นตอนการท�างานที่ไม่ซับซ้อนสะดวกต่อการเดินระบบขนส่ง และสามารถ ติดตัง้ ในพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ ได้งา่ ย อย่างไรก็ตาม การผลิตน�า้ มันจากขยะในปัจจุบนั ยังพบปัญหาอยูห่ ลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของวัตถุดิบ ซึ่งมีผลต่อ กระบวนการผลิตและคุณภาพของน�้ามันได้ เช่ น ไม่ ส ามารถคั ด แยกวั ส ดุ อื่ น ออกจาก พลาสติกให้ได้คณ ุ ภาพ ท�าให้ขยะมีความชืน้ สูง ถ้าต้องการคุณภาพทีเ่ หมาะสมจะต้องมีตน้ ทุน ในการเตรี ย มวั ต ถุ ดิ บ ที่ สู ง ขึ้ น ในด้ า นของ เทคโนโลยีที่น�ามาใช้ในประเทศไทยยังอยู่ใน ช่วงเริ่มต้น ต้องใช้เวลาในการด�าเนินการมาก พอสมควร จึงท�าให้ไม่คมุ้ ค่าต่อการลงทุน และ ด้านความคุม้ ทุนเชิงเศรษฐศาสตร์ จะเห็นได้วา่ งบประมาณการลงทุนด�าเนินโครงการมีราคา สูง ซึง่ ในปัจจุบนั รายได้ทจี่ ะได้รบั รวมถึงแหล่ง จ�าหน่ายผลิตภัณฑ์เองก็ยังไม่มีความชัดเจน E N E R G Y S AV I N G

23


คณพศ นิจสิริภัช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัทอีสเทิร์น เอเนอจี้ พลัส จ�ากัด

ทัง้ ด้านการบริหารจัดการและดูแลรักษาระบบ ล้ ว นเกิ ด จากการขาดความรู ้ ความเข้ า ใจ การควบคุมและปฏิบัติที่ถูกต้องหรือการซ่อม บ�ารุงเครื่องจักรอุปกรณ์กรณีช�ารุดเสียหายก็ เป็นส่วนหนึ่งของปัญหาเช่นกัน ด้ ว ยเหตุ นี้ จึ ง ท� า ให้ ภ าคเอกชนมี ค วาม สนใจที่จะน�าเอาขยะมาท�าให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น โดยการน�าเอาขยะมาแปรรูปในลักษณะต่างๆ โดยเฉพาะน�ามาเป็นพลังงานทดแทนอยู่ใน ลักษณะของ โรงไฟฟ้าพลังงานขยะนั่นเอง บริษัท อีสเทิร์น เอเนอจี้ พลัส จ�ากัด เป็น อีกบริษัทหนึ่งที่ใช้เวลารวบรวมข้อมูลเกี่ยว กับการใช้ประโยชน์จากขยะมานานกว่า 10 ปี เป็ น การรวมกลุ ่ ม ของผู ้ บ ริ ห ารที่ มี ค วาม เชีย่ วชาญด้านบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม และขยะชุมชนเป็นพลังงานทดแทน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ จั ด ตั้ ง และพั ฒ นาศู น ย์ บ ริ ห าร จัดการขยะชุมชนแปรรูปเป็นพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งในปัจจุบันได้ บริหารโครงการโรงไฟฟ้าขยะ (RDF) ทีบ่ ริเวณ บ่ อ ขยะในเขตองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต� า บล แพกษาใหม่ จังหวัดสมุทรปราการ และได้ พิจารณาเห็นช่องทางในการด�าเนินการด้าน บริ ห ารจั ด การขยะชุ ม ชน เพื่ อ แปรรู ป เป็ น พลั ง งานทดแทนที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การผลิตน�้ามันจาก ขยะพลาสติก โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปราศจากมลภาวะและเป็นมิตรสิ่งแวดล้อม และจั ด หาสถานที่ ตั้ ง โครงการที่ เ หมาะสม เป็ น ที่ ย อมรั บ ของชุ ม ชนในพื้ น ที่ ใ ห้ จั ด ตั้ ง โครงการแบบครบวงจร และคาดว่าโครงการนี้ จะแล้ ว เสร็ จ เดื อ นธั น วาคม 2559 ทั้ ง นี้ คุ ณ คณพศ นิ จ สิ ริ ภั ช ประธานเจ้ า หน้ า ที่ บริหาร กล่าวว่า โครงการโรงไฟฟ้าขยะ (RDF) 24

E N E R G Y S AV I N G

ทางเรามีการปรับปรุง พื้นที่ให้กระทบกับชุมชน น้อยที่สุด มีการท�าความเข้าใจ กับชุมชนก่อนที่จะ เริ่มโครงการฯ ซึ่งโครงการฯ ของเราเป็นแบบครบวงจร มีการน�าเอาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในกระบวนการผลิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ได้ มี ก ารลงนามซื้ อ ขายไฟฟ้ า กั บ การไฟฟ้ า นครหลวง (กฟน.) เพื่อผลิต และจ�าหน่าย กระแสไฟฟ้าเป็นที่เรียบร้อย โดยโรงไฟฟ้า แห่งนี้สามารถก�าจัดขยะมูลฝอยได้ประมาณ 600 – 800 ตันต่อวัน และก่อนที่บริษัทฯ จะเริม่ ท�าโครงการโรงไฟฟ้าขยะ (RDF) ทางเรา มีการปรับปรุงพื้นที่ให้กระทบกับชุมชนน้อย ที่สุด มีการท�าความเข้าใจกับชุมชนก่อนที่จะ เริ่มโครงการฯ ซึ่งโครงการฯของเราเป็นแบบ ครบวงจร มีการน�าเอาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ ในกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทางบริษัทฯ คาดว่าจะช่วยลดปริมาณขยะได้ อย่างรวดเร็ว ปัญหาทีเ่ กิดจากการไหม้ของขยะก็ จะหมดไปด้วย ทัง้ นีท้ างบริษทั มีความตัง้ ใจอย่าง แท้จริงทีจ่ ะเข้ามาช่วยลดปริมาณขยะและอยาก จะเป็นส่วนหนึง่ ในการช่วยประเทศไทยให้เป็น เมืองสีเขียวอีกด้วย ด้าน บริษทั เวสต์ททู ริซติ ี้ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จ�ากัด (W2T) เป็นบริษัทหนึ่งที่ ได้​้น�าระบบและเทคโนโลยี ในการเปลี่ยนของ เสียให้เป็​็นพลังงานมาใช้บริหารจัดการขยะ

NOVEMBER 2015


ตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง โดย คัดแยกขยะ และแปรรูปเป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงส�าหรับผลิตพลังงาน ไฟฟ้าอย่างเป็น็ มิตรต่อสิง่ แวดล้อ้ ม โดยใช้เทคโนโลยีพลาสมาก๊าซซิฟเิ คชัน่ (Plasma Gasification) ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์​์ขยะจากบ่อฝังกลบขยะแทนการปล่อยทิ้งไว้ (Energy from Waste -EFW) หรือใช้​้เตาเผาขยะแบบทั่วไป (Incinerator) ที่ก่อให้​้เกิดมลพิษ ในการเผาขยะแต่ละครั้งผลิตภัฑณ์ ที่ได้ คือ ก๊าซสังเคราะห์ หรือ Synthetic Gas เมื่อผ่านกระบวนการท�าความสะอาด และแยกก๊าซ แล้ว จะได้กา๊ ซทีม่ ปี ระโยชน์ใช้งานในภาคอุตสาหกรรม สามารถใช้ทดแทนก๊าซธรรมชาติและน�า้ มัน คือ ก๊าซไฮโดรเจน ซึง่ เป็นพลังงานสะอาดทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีกา้ วหน้าฟิวส์เซลล์ เอทานอล และไบโอดีเซล พลังงานความร้อนไอน�้าและไนโตรเจน และส่วนผสมปุ๋ย ส่วนผลพลอยได้ที่ได้จาก การเผาคือ ตะกรัน หรือ Vitrified Slag ที่มีความเสถียรซึ่งไม่​่เป็​็นอันตราย หรือมีความเป็นพิษ สามารถน�าไปใช้ในอุตสหกรรมก่อสร้างได้ ส่วนสารต่าง ๆ ที่ถกู ดักจับระหว่างกระบวนการท�าความ สะอาดก๊​๊าซสังเคราะห์ สามารถน�ามารีไซเคิล หรือก�าจัดท�าลายได้ ส�าหรับเทคโนโลยีพลาสม่าก๊าซซิฟิเคชั่นนั้น เป็นการ “หลอม” ขยะ แตกต่างจากการ “เผา” ขยะ เป็นกระบวนการสันดาปในระบบเปิด ดังนั้น จุดเริ่มต้นของการออกแบบเทคโนโลยีนี้มีข้ึน ด้วยแนวคิดที่ต้องการออกแบบมาเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ไม่ใช่เพื่อมาก�าจัดขยะเพียงแต่เป็นการน�า ขยะที่เป็นปัญหาอยู่ทั่วโลกขณะนี้มาเป็นเชื้อเพลิง ดังนั้นจึงต้องการใช้ก๊าซที่ได้จากการหลอมขยะ เป็นเชื้อเพลิงโดยตรง โดยมีโจทย์ เรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม ลดการปล่อยมลพิษสู่อากาศและน�้า ลดภาวะโลกร้อน และป้องกันสภาพอากาศเปลีย่ นแปลงเป็นตัวตัง้ ซึง่ ต่างจากเตาเผาขยะทีต่ อ้ งการ ก�าจัดขยะ และผลพลอยได้คอื น�าความร้อนจากการเผาไปปัน่ เครือ่ งผลิตกระแสไฟฟ้า ฉะนัน้ เมือ่ โจทย์ คือ การรักษาสิ่งแวดล้อม และลดการปล่อยมลพิษ พลาสมาก๊าซซิฟิเคชั่น คือ การหลอมขยะ ด้วย เตาพลาสมาความร้อนสูงตัง้ แต่ 1,250 องศาเซนติเกรดขึน้ ไปในระบบปิด ในสภาวะควบคุมออกซิเจน ซึ่งจะสามารถท�าลาย ไดออกซิน และฟิวแรนที่อยู่ในขยะเชื้อเพลิง ไม่ก่อให้เกิดการก่อตัวใด ๆ และ กระบวนการลดอุณหภูมิอย่างรวดเร็วของก๊าซสังเคราะห์ผ่านระบบ water quench จะป้องกัน การก่อตัวของไดออกซินและฟิวแรน เมือ่ อุณหภูมเิ ย็นลงกระบวนการหลอมด้วยความร้อนสูงมากนี้ จะไม่เหลือเถ้าถ่านจากการเผาไหม้ ไม่มีน้�ามันดิน ขี้เถ้​้า หรือเถ้​้าลอย นั่นเอง ในขณะเดียว กันเทคโนโลยีพลาสม่าก๊าซซิฟิเคชั่น ยังเป็นเทคโนโลยีก้าวหน้าเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดในการน�า มาผลิตกระแสไฟฟ้า และสามารถช่วยจัดการปัญหาขยะล้นเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด เป็​็นเทคโนโลยีที่พิสูจน์แล้​้วว่​่าสามารถใช้งานได้​้จริง ในเชิงพาณิชย์​์มีการพัฒนามาอย่างยาวนาน ซึ่งมีโรงงานที่ใช้​้เทคโนโลยีนี้ประสบความส�าเร็จมาแล้ว เช่น ญี่ปุ่น แคนนาดา อเมริกา อินเดีย จีน VOLUME 7 ISSUE 84

และอังกฤษ เป็นต้น้ ทีอ่ อกแบบใช้ส้ า� หรับ ขยะ ชุมชน และขยะอุตสาหกรรมแบบอันตราย และไม่​่อันตราย เรียกได้ว่าเทคโนโลยีดังกล่าว เป็นเทคโนโลยีทที่ นั สมัยสูงสุดในขณะนี้ (Best Available Technology) โดยสามารถแปลง เศษขยะทีไ่ ม่มคี า่ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้อ้ ย่า่ ง มีประสิทธิภาพสูงสุด (Highest Efficiency) ไม่ เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม (Environmentally Friendly) และเป็นการปลดปล่อ่ ยคาร์บอนต�า่ (Low Carbon Technology) อีกทางหนึง่ ด้วย ขยะที่น�าเข้าไปหลอมนั้นจะต้องผ่านการ คั ด แยก โดยขยะเปี ย กหรื อ ขยะอิ น ทรี ย ์ กระดาษ เหล็ก แก้ว ขวดแก้ว ขวดพลาสติกใส ที่รีไซเคิลได้ต่าง ๆ จะถูกแยกออกไป สิ่งที่ ต้องการคือ ขยะทีใ่ ห้พลังงานความร้อนสูง เช่น ขวดพลาสติกขุ่น ถุงพลาสติก ถุงไนลอน โฟม ฟอยล์ต่าง ๆ เช่น ถุงห่อขนมขบเคี้ยว ที่เรามัก เห็น ๆ กันอยูท่ กุ วัน ห่อยากันชืน้ ต่าง ๆ ซึง่ ขยะ เหล่านีไ้ ม่ยอ่ ยสลาย เผาก็มสี ารพิษ แต่สามารถ เป็นขยะที่มีประโยชน์มีค่ากับกับการหลอม ซึ่งแหล่งที่มาของขยะดังกล่าว คือ ขยะชุมชน (MSW) ขยะอุตสาหกรรม(IndustrialWaste) ขยะอันตราย (HazardousWaste) ยางรถยนต์​์ และพวกไบโอแมส (เศษพืชจากการเกษตร) ทั้งนี้โรงไฟ้าขยะสามารถใช้ประโยชน์​์จาก ขยะได้จากทั้งแหล่งบ่​่อฝั​ังกลบขยะที่อยู่รอบ โรงไฟฟ้ า และขยะชุ ม ชนที่ เ ก็ บ มาใช้ ใ หม่​่ได้​้ โดย การน�ามาคัดแยกเพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิง (RDF) และน� า มาส่ ง ให้ กั บ โรงไฟฟ้ า ขยะ ชุมชน ขยะเก่าในบ่​่อฝังกลบขยะจะถูกน�ามา คัดแยกโดยเครื่องคัดแยกกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งจะ คัดแยกวัสดุทใี่ ห้ความร้อน เช่น พลาสติก บรรจุ ภัณฑ์​์ ไม้ โฟม กระดาษ เป็​็นต้น ทั้งหมดนี้ถือ เป็นวัตถุดิบเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้​้า

E N E R G Y S AV I N G

25


(MSW- RDF) ซึ่งจะด�าเนินการคัดแยกที่บ่อฝังกลบขยะ หรือสถานที่คัดแยก วัสดุที่คัดแยกได้ นอกเหนือจากวัสดุเชือ้ เพลิง RDF เช่น ขวด PET อลูมเี นียม แก้ว และ เหล็ก จะถูกน�าไปขายเพือ่ รีไซเคิล และเศษวัสดุ อินทรีย์จะถูกน�าไปท�าปุ๋ย หรือเป็นดินฝังกลบ ในส่วนของเชื้อเพลิงเศษวัสดุคัดแยก (RDF) ที่ได้จะน�ามาอัดเป็นก้อนเชื้อเพลิง จะถูกขนส่งมาสู่โรงงาน โดยจะใช้เป็นวัตถุดิบเพื่อเป็น เชื้อเพลิงส�าหรับเตาพลาสมาก๊าซซิไฟเออร์​์ (Plasma Gasifier) ในการหลอมเปลี่ยนเป็นก๊​๊าซ และ ถูกส่งต่​่อไปท�าความสะอาด (Syngas Cleaning) เพื่อให้​้ได้มาซึ่งก๊​๊าซสังเคราะห์​์บริสุทธิ์ และส่งต่อ ไปผลิตกระแสไฟ้า้ โดยเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine) หรือกังหันก๊า๊ ซ (Gas turbine) และส่​่งขายให้กับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต (EGAT) หรือการไฟฟ้าส่​่วนภูมิภาค (PEA) ขึ้น อยู่กับขนาดของโรงไฟฟ้​้า ทั้งนี้ในการเผาไหม้แต่ละครั้งนั้นมีการใช้กระแสไฟฟ้าในการจุดหัวพลาสม่า (Plasma Torch) ครั้งแรก ซึ่งมีความร้อนสูงถึงกว่า 7,000 องศาเซนติเกรด หลังจากนั้นพลังงานที่ใช้จะเป็นพลังงาน ไฟฟ้าหมุนเวียนทีไ่ ด้จากการผลิตภายในโรงงาน ประโยชน์ทปี่ ระเทศไทยจะได้รบั จากการสนับสนุน เทคโนโลยีนก้ี ค็ อื เอกชนเป็นผูล้ งทุนในโครงการ และอาจร่วมกับหน่ว่ ยงานท้องถิน่ ด้านทีด่ นิ และขยะ สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเข้าสูร่ ะบบเพือ่ เพิม่ ความมัน่ คงด้านพลังงานมีการด�าเนินการคัดแยก ขยะอย่างถูกวิธี และสนับสนุนการ รีไซเคิล สามารถน�าขยะแต่ละชนิดมาใช้ประโยชน์ได้อ้ ย่า่ งเต็มที่ อย่างเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ทัง้ ยังสามารถก�าจัดขยะออกจากระบบโดยไม่กอ่ ให้เ้ กิดมลพิษ แถมยัง เป็นการสร้างงานให้กับชุมชนตลอดกระบวนการ และสร้างรายได้คืนสู่ท้องถิ่นอีกด้วย ส�าหรับเชื้อเพลิงขยะ (RDF) นั้น เป็นการปรับปรุงและแปลงสภาพของขยะมูลฝอยให้เป็น เชื้อเพลิงแข็งที่มีคุณสมบัติในด้านค่าความร้อน (Heating Value) ความชื้น ขนาด และความหนา แน่น เหมาะเป็นเชื้อเพลิงป้อนหม้อไอน�้าเพื่อผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน และมีองค์ประกอบทั้งทาง เคมีและกายภาพสม�่าเสมอ คุณลักษณะทั่วไปของเชื้อเพลิงขยะ ประกอบด้วย ปลอดเชื้อโรคจาก การอบด้วยความร้อน ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค ไม่มีกลิ่น มีขนาดเหมาะสมต่อการป้อน เตาเผา-หม้อไอน�้า (เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-30 มิลลิเมตร ความยาว 30-150 มิลลิเมตร) มีความ หนาแน่นมากกว่าขยะมูลฝอยและชีวมวลทั่วไป (450-600 kg/m3) เหมาะสมต่อการจัดเก็บ และ ขนส่ง มีค่าความร้อนสูงเทียบเท่ากับชีวมวล (~ 13-18 MJ/kg) และมีความชื้นต�่า (~ 5-10%) ลด ปัญหามลภาวะจากการเผาไหม้ เช่น NOx และไดออกซินและฟูราน การใช้ประโยชน์จากเชือ้ เพลิงขยะ สามารถใช้ได้ทงั้ ในรูปผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อน โดยที่ อาจจะมีการใช้ประโยชน์ในสถานที่ผลิตเชื้อเพลิงขยะ หรือขนส่งไปใช้ที่อื่น นอกจากนี้ยังสามารถ ใช้เผาร่วมกับถ่านหิน (Co-firing) เพื่อลดปริมาณการใช้ถ่านหินลงในอุตสาหกรรมบางประเภท เช่น อุตสาหกรรมซีเมนต์ โดยมีรูปแบบเตาเผาที่ใช้เปลี่ยนเชื้อเพลิงขยะให้เป็นพลังงานความร้อน ประกอบด้วย เตาเผาแบบตะกรับ (Stoker) เตาเผาแบบฟลูอดิ ไดซ์เบด (Fluidized Bed Combustor) หรือเตาเผาแก็สซิฟิเคชั่น (Gasification) หรือไพโรไลซิส (Pyrolysis) ด้านปริมาณของขยะเชื้อเพลิงในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป (European Union) มีประมาณ 3 ล้านตันต่อปี โดยมีประเทศที่ได้ศึกษาและพัฒนาการแปรรูปขยะเป็นขยะเชื้อเพลิงมาอย่าง 26

E N E R G Y S AV I N G

ต่อเนื่อง ได้แก่ ออสเตรีย ฟินแลนด์ เยอรมนี อิตาลี เนเธอร์แลนด์ และสวีเดน นอกจากนี้ ประเทศเบลเยี่ยมและสหราชอาณาจักรก�าลัง อยู่ระหว่างการพัฒนา และประเทศที่มีการ ศึ ก ษาและพั ฒ นาการแปรรู ป ขยะเป็ น ขยะ เชื้ อ เพลิ ง มากอี ก ประเทศ ได้ แ ก่ ประเทศ ญีป่ นุ่ โดยมีโรงงานแปรรูปขยะเป็นขยะเชือ้ เพลิง มีกา� ลังการผลิตตัง้ แต่ 2.5 ตัน/วัน ไปจนถึง 390 ตัน/วัน ขึน้ อยูก่ บั การวางแผนการจัดการขยะใน แต่ละพืน้ ที่ โดยทัว่ ไปแล้วโรงผลิตเชือ้ เพลิงขยะ จะมีกา� ลังการผลิตประมาณ 50 ตัน/วัน เมื่ อ ไม่ น านมานี้ ท างประเทศอั ง กฤษได้ ทุ่มงบสร้างโรงไฟฟ้าจากขยะใหญ่ที่สุดในโลก เปลี่ ย นขยะ 350,000 เมตริ ก ตั น ส์ ต ่ อ ปี เป็ น พลั ง งานสะอาดใช้ เ ทคโนโลยี ล ่ า สุ ด เตาหลอมขยะพลาสมาก๊าซซิฟเิ คชัน่ ก�าจัดขยะ ล้นเมือง ลดปล่อยมลพิษสูช่ มุ ชน อย่างทีก่ ล่าว ไปแล้วข้างต้นว่าวิกฤตพลังงานเป็นปัญหาใหญ่ ทีเ่ กิดขึน้ ทัว่ โลก ซึง่ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศอังกฤษ ทีเ่ คยได้ชอื่ ว่ามีอตุ สาหกรรมถ่านหินขนาดใหญ่ ทีส่ ดุ ในโลกและเคยเป็นแหล่งเชือ้ เพลิงหลักใน การผลิตไฟฟ้าป้อนระบบสายส่ง นอกจากนั้น การเผชิญการต่อต้านอย่างรุนแรงเรื่องการ ปล่อยมลพิษท�าลายสุขภาพและสิ่งแวดล้อม จากกลุม่ นักอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมและประชาชน ท�าให้อังกฤษต้องหาแนวทางในการจัดการ เรื่องพลังงานใหม่อย่างยั่งยืน เมื่อ 3 ปีที่ผ่าน มาอังกฤษ จึงได้ริเริ่ม 2 โครงการน�าร่องผลิต พลังงานจากขยะ (Energy-from-Waste) โดย ใช้เทคโนโลยีการหลอมขยะแบบพลาสมา ก๊าซ ซิฟิเคชั่น (Plasma Gasification) เทคโนโลยี ล่าสุดในการผลิตกระแสไฟฟ้าจากขยะด้วย การหลอมขยะด้วยพลาสมาที่ความร้อนสูงถึง 7,000 – 15,000 องศาเซนติเกรด ที่ไม่ท�าให้ เกิ ด ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและสุ ข ภาพ ชุมชน โครงการแรกเป็นโครงการที่อังกฤษ

NOVEMBER 2015


คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

บอกว่าเป็นโรงงาน “เปลีย่ นขยะเป็นพลังงาน” ด้ ว ยเทคโนโลยี ส ะอาดที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในโลก ทีเ่ มือง บิลลิงแฮม ทีสไซด์ (New Energy and Technology Business Park, near Billingham, Teesside) ผลิตกระแสไฟฟ้าจากการหลอม ขยะ ได้ถึง 50 เมกกะวัตส์ ป้อนสู่ชุมชนกว่า 50,000 หลั ง คาเรื อ น ก� า จั ด ขยะที่ ไ ม่ ย ่ อ ย สลายจากบ่อขยะเก่า ได้มากถึง 350,000 เมตริกตันส์ต่อปี อี ก โครงการหนึ่ ง เป็ น ขนาดที่ ย ่ อ มลงมา ใช้เงินลงทุนกว่า 70 ล้านปอนด์ หรือ 3,400 ล้านบาท อยู่ที่เขตอุตสาหกรรม บิลล์ธอร์ป เมืองนอร์ตงิ แฮมเชียร์ (Bilsthorpe Business Park, Nottinghamshire) คาดว่ า จะสามารถเปลี่ยนขยะจ�านวน 102,000 ตัน ต่อปีเป็นพลังงาน ไฟฟ้า 10.2 เมกะวัตส์ ให้กบั ประชาชนประมาณ 24,000 หลังคาเรือน ล่ า สุ ด รั ฐ บาลอั ง กฤษโดย กระทรวง สิ่ ง แวดล้ อ ม อาหาร และกิ จ การท้ อ งถิ่ น

VOLUME 7 ISSUE 84

ของสหราชอาณาจักร (The Department for Environment, Food and Rural Affairs-Defra) ก็ได้เพิกถอนการอนุมตั งิ บประมาณการลงทุนก่อสร้างเตาเผาขยะเพือ่ เปลีย่ นเป็นพลังงาน ของสภา เมืองนอร์ฟอล์ค (Norfolk County Council’s) เมื่อตรวจสอบพบว่า เตาเผาขยะเป็นอันตรายต่อ สุขภาพของมนุษย์ และไม่เป็นไปตามมาตรการสิง่ แวดล้อม ทัง้ ในด้านมลพิษ (errors in emissions modelling’) และเป้าหมายในการปรับลดพืน้ ทีบ่ อ่ ฝังกลบของอียู (EU’s 2020 landfill diversion targets) หลังจากประชาชนได้เข้าชื่อคัดค้านถึง 65,000 ชื่อ ซึ่งการเพิกถอนนี้ ไม่ใช่เป็นครั้งแรก ก่อนหน้านี้ Defra ก็ได้เพิกถอนการก่อสร้างเตาเผาขยะมาแล้ว 3 โครงการ ในฐานะผู้คลุกคลีกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษชุมชน คุณพลาย ภิรมย์ ที่ปรึกษา ด้านสิ่งแวดล้อม ของเวสต์ทูทริซิตี้ ประเทศไทย ให้ความคิดเห็นว่า เมื่อหันกลับมามองเมืองไทย มีความพยายามในหลาย ๆ จังหวัด รวมทัง้ กรุงเทพมหานคร ในการผ่านงบประมาณ และสัมปทาน ภาครัฐ เพื่อสร้างโรงงานเผาขยะ ซึ่งนอกจากจะเป็นเทคโนโลยีที่พิสูจน์มานานแล้วว่าสร้างปัญหา มลพิษรุนแรง ยังจะต้องใช้เงินภาษี ในการรับภาระการก�าจัดอีกด้วย การหาวิธีการก�าจัดขยะ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมที่สุด เริ่มจากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภค คัดแยกขยะ และหาก ต้องมีการจัดการขยะที่เหลือ ก็ควรหาเทคโนโลยีที่ดีที่สุด และถ้าต้องมีการลงทุนควรเป็นการร่วม มือจากทุกฝ่ายน่าจะดีที่สุด ด้าน คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ได้กล่าวถึงหลักในการเตรียมตัวในการท�าธุรกิจพลังงานขยะว่า ในเรื่องของธุรกิจ พลังงานขยะนัน้ ถ้าคนทีส่ นใจอยากจะมาลงทุนนัน้ มีหลักว่าจะต้องมีการศึกษาข้อมูลให้ดเี สียก่อน ลองดูว่าประสิทธิภาพของเราจะไปในแนวทางไหน ถ้าเรามีขยะไม่มากพอ อาจจะต้องเริ่มต้นการ คัดแยกขยะเพือ่ น�าไปขายก่อนก็ได้ แต่ถา้ มีเงินทุนมากหน่อย ขอท�าสัญญาระยะยาวในการผลิตไฟฟ้า และจะให้คมุ้ จริง ๆ จะต้องมีขยะ 300 ตัน /วัน มีการลงทุนต่อโครงการประมาณ 1,000 กว่าล้านบาท แต่ถ้ามองว่าเงิน 1,000 กว่าล้าน ไปลงทุนกับธุรกิจอื่นดีไหม ตอบได้เลยว่าได้ แต่ถ้าเราจะท�า เพื่อประเทศชาติก็น่าจะลองท�ากันดู ในระยะยาวผมมองว่าขยะน่าจะเป็นพลังงานทดแทนที่ดี ขยะบางคนอาจมองว่าไม่มีค่า แต่ถ้าเราท�าได้ถูกทางจะสามารถสร้างก�าไรให้กับเราได้ไม่น้อยเลย ถ้าผูท้ สี่ นใจอยากท�าธุรกิจเกีย่ วกับขยะ หรือ สร้างโรงไฟฟ้าขยะ อยากจะให้หาเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม และที่ส�าคัญผมไม่อยากให้มองไปที่ผลก�าไร อยากให้มองถึงประโยชน์ของชุมชน และประเทศชาติเป็นหลัก ส�าหรับแนวทางทีจ่ ะแก้ไขปัญหาแบบครบวงจรจ�าเป็นต้องมีหน่วยงานทีเ่ ป็นเจ้าภาพในการวาง กลยุทธ์การขับเคลือ่ นการผลิตไฟฟ้าจากขยะทีช่ ดั เจน มีขอบข่ายการดูแลปัญหาขยะครอบคลุมใน ทุกมิติ เช่น มิติด้านอุตสาหกรรม มิติสิ่งแวดล้อม มิติพลังงาน มิติการส่งเสริมการลงทุน และมิติเชิง สังคมที่สามารถประสานงานกับหน่วยงานระดับจังหวัด และท้องถิ่น โดยเทคโนโลยีการจัดการ ขยะชุมชนทีถ่ กู ตามหลักสุขาภิบาลจะส่งผลบวกต่อสิง่ แวดล้อม เป็นการเพิม่ ภาพลักษณ์ในเชิงบวก ของประเทศไทยที่มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยีสะอาดเกิดองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ โดยเชื่อมโยงกับการพัฒนาบนฐานการสร้างความมั่นคงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์พลังงาน แต่สิ่งที่ประเทศไทยต้องท�า คือการสร้างรูปแบบการบริหารจัดการขยะ ชุมชนเพื่อผลิตพลังงาน ที่ต้องเน้น คือ การคัดแยก การจ�ากัด และการน�ากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เพื่อผลิตพลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป

E N E R G Y S AV I N G

27


Green BuildinG TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา

ขึ้นแท่น GB แห่งแรกของสถาบันการศึกษา

วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี จิ ต รลดา เป็ น วิ ท ยาลั ย ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ที่ มี ค วามประสงค์ ใ นการแสดงความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ สิ่งแวดล้อมตามพระราโชบายของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทางวิทยาลัยจึงได้สร้างอาคาร 60 พรรษาราชสุดาสมภพ ซึ่งเป็น อาคารอนุรักษ์พลังงาน 4 ชั้น มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 8,200 ตารางเมตร ประกอบไปด้วยห้องเรียน ห้องพักอาจารย์ ห้องสมุด ส�านักงาน และห้องประชุมต่าง ๆ โดยอาคารแห่งนี้มุ่งเน้น การออกแบบและก่อสร้างให้เป็นอาคารอนุรักษ์พลังงาน เพื่อให้สอดคล้อง กับข้อก�าหนดมาตรฐานอาคารเขียวของประเทศไทย (TREES) ในระดับสูงสุด คือ Platinum ในประเภทอาคารสร้างใหม่ ที่ส�าคัญ ด้วยความตั้งใจของวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดาที่จะเป็นต้นแบบของ อาคารสถานศึกษาเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยที่ได้มาตรฐาน TREES เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ให้นักศึกษา และผู้ที่สนใจ ท่านผูห้ ญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ อธิการบดี เเละกรรมการสภาวิทยาลัย กล่าวถึงนโยบาย การอนุรกั ษ์พลังงานของวิทยาลัยว่า “เรามีแนวคิดอยากท�าอาคารให้ประหยัดพลังงาน ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ ตอบสนองพระราโชบายของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ องค์บริหารของวิทยาลัยฯ ตามทีท่ า่ นได้เสด็จดูงานในต่างประเทศ เพือ่ ให้เป็นตัวอย่างแก่ผทู้ มี่ ี ความสนใจทัว่ ไป ซึง่ สามารถขอเข้ามาศึกษาเยีย่ มชมอาคารได้ และเพือ่ ประหยัดพระราชทรัพย์ ของพระองค์ทา่ นให้ได้มากทีส่ ดุ เพราะเงินทุกบาททุกสตางค์ของทีน่ มี่ าจากพระราชทรัพย์สว่ น พระองค์ ฉะนัน้ ต้องใช้ให้คมุ้ ค่ามากทีส่ ดุ นอกจากนีไ้ ม่เพียงแต่การสร้างอาคาร แต่ยงั มีการ ปลูกจิตส�านึกในการอนุรกั ษ์พลังงานให้กบั นักเรียนตัง้ แต่ระดับชัน้ อนุบาล จนถึงระดับวิทยาลัย และบุคลากร โดยปัจจุบนั มีโครงการจะท�าอาคารแบบประหยัดพลังงานเพิม่ ขึน้ อีก 2 อาคาร พร้อมกับการพัฒนาอาคารหลังเก่าให้มคี วามสิน้ เปลืองทรัพยากรน้อยทีส่ ดุ ” พลตรีศยาม จันทรวิโรจน์ อุปนายกสมาคมนักเรียนเก่าโรงเรียนจิตรลดา และหัวหน้าคณะ 28

E N E R G Y S AV I N G

ท�างานโครงการออกแบบก่อสร้างอาคาร กล่าวต่อว่า “แรกเริม่ ส่วนหนึง่ คือเราอยากจะสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่ ช ่ ว งนั้ น ยั ง ไม่ มี ใ ครเริ่ ม ท� า อย่ า งจริ ง จั ง จึ ง ร่ ว มกั บ คณะท�างานโรงเรียนจิตรลดา และเริม่ ออกแบบก่อสร้าง อาคารและทดลองใช้จริงกันเองมาเรือ่ ย ๆ โดยไม่ได้คา� นึง ถึงมาตรฐานอะไร จนกระทัง้ มีการออกแบบอาคารใหม่ และได้ บริษทั ไอเอสอีที (ประเทศไทย) จ�ากัด เข้ามาช่วย ดูเรือ่ งหลักเกณฑ์ให้ถกู ต้องตามมาตรฐาน TREES บริษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ากัด (มหาชน)และบริษทั อิตัลไทยวิศวกรรม จ�ากัด เป็นผู้รับเหมาของโครงการ โดยสาเหตุท่ีเลือกท�ามาตรฐาน TREES เพราะอยาก NOVEMBER 2015


สนับสนุนสถาบันอาคารเขียวในประเทศไทยก่อน ขณะที่มาตรฐาน LEED ข้อก�าหนดจะต้องใช้วสั ดุทไี่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานต่าง ๆ จาก ต่างประเทศ แต่เรามองว่าวัสดุในประเทศไทย ก็มศี กั ยภาพท�าได้เทียบ เท่าเช่นกัน”

ท่านผู้หญิงอังกาบ บุณยัษฐิติ อธิการบดี เเละกรรมการสภาวิทยาลัย

พลตรีศยาม จันทรวิโรจน์ และคณะ

มาตรฐานอาคารเขียวประเทศไทย หรือ TREES NC (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability for New construction and Major Renovation) คือ การออกแบบอาคาร ให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมและก่อมลภาวะลดลง พร้อมทั้งคุณภาพชีวิตของผู้ใช้ อาคารเพิม่ ขึน้ ส่งผลเรือ่ งพลังงานในภาพรวมของประเทศต่อการพัฒนา สังคมและเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน โดยมีหน่วยงานทีค่ อยดูแล ตรวจสอบให้ คะแนนตามหลักเกณฑ์ตา่ ง ๆ คือ 1. BM Building Management การบริหารจัดการอาคาร 2. SL Site and Landscape ผังบริเวณและภูมทิ ศั น์ 3. WC Water Conservation การประหยัดน�า้ 4. EA Energy & Atmosphere พลังงานและบรรยากาศ 5. MR Material & Resource วัสดุและทรัพยากรในการก่อสร้าง 6. IE Indoor Environment Quality คุณภาพของสภาวะ แวดล้อมภายในอาคาร 7. EP Environmental Protection การป้องกันผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม 8. GI Green Innovation นวัตกรรม

อาคาร 60 พรรษาราชสุดาสมภพ สามารถท�าได้ที่ 64 คะแนน อยูใ่ นระดับ สูงสุด คือ Platinum เท่ากับทีต่ งั้ เป้าเอาไว้ลว่ งหน้าโดยด�าเนินการตัง้ แต่ออกแบบ ซึง่ เน้นความเรียบง่าย สอดคล้องกับอาคารเรียนข้างเคียง ประหยัดพลังงานไป พร้อมกับประหยัดงบประมาณด้วย โดยมีรายละเอียดตามเกณฑ์ทไี่ ด้คะแนน คือ เกณฑ์ BM มีปา้ ยประชาสัมพันธ์โครงการตัง้ แต่ชว่ งการก่อสร้าง เพือ่ ให้บคุ คล ภายนอกเห็นว่าเราท�าการก่อสร้างตามมาตรฐานอะไร จัดให้มกี ารเยีย่ มชมอาคาร พร้อมคูม่ อื แนะน�าอาคารการใช้งานของงานระบบต่าง ๆ ภายในอาคาร เช่น ระบบ ปรับอากาศ ระบบระบายอากาศ และระบบไฟฟ้า เป็นต้น เกณฑ์ SL ลดการใช้รถยนต์สว่ นตัว โดยส�ารวจพืน้ ทีบ่ ริเวณข้างเคียงระยะ 500 เมตร มีการจัดเตรียมพืน้ ทีป่ า้ ยรถเมล์ถงึ 5 ป้าย พนักงานหรือนักศึกษา ทีเ่ ข้ามาท�างานสามารถใช้ขนส่งมวลชนได้เยอะมากเท่าไร หมายถึงสามารถลด การใช้รถส่วนตัวได้มากขึน้ เท่านัน้ มีพนื้ ทีจ่ อดจักรยาน และมีหอ้ งอาบน�า้ แยก ชาย-หญิงส�าหรับผูท้ ปี่ น่ั จักรยานมาท�างาน รวมถึงล็อคทีจ่ อดของ รถประหยัด พลังงาน ซึ่งรถในแต่ละรุ่นจะมีมาตรฐาน Green Cars จาก 100 คะแนน ถ้าผ่าน 40 คะแนนจะถือว่าเป็นรถประหยัดพลังงานซึง่ มีอยูม่ ากมายไม่ใช่เพียงแค่ รถ ECO CAR เพียงอย่างเดียว รวมถึงเรือ่ งภูมสิ ถาปัตยกรรม ใช้พชื ทีเ่ หมาะกับ ภูมอิ ากาศเขตร้อนชืน้ ของประเทศไทย เน้นเป็นไม้ยนื ต้นทีก่ นิ น�า้ น้อยสามารถอยู่ ได้ดว้ ยตัวเอง เพือ่ ลดการใช้นา้� เกณฑ์ WC ติดตั้งสุขภัณฑ์ประหยัดน�้า โครงการนี้สามารถประหยัดได้ถึง 47.51% เกณฑ์ EA การใช้พลังงานของตัวอาคารภายในทั้งหมด สามารถประหยัด พลังงานได้ 38.97% มีการติดตัง้ ระบบโซล่าร์เซลล์ทสี่ ามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 26.03% ของพลังงานรวมของอาคาร โดยมีการติดตัง้ ทีบ่ ริเวณชัน้ ดาดฟ้า บริเวณ กันสาด ชัน้ 2 และมีการติดตัง้ แบบแนวตัง้ ทีบ่ ริเวณชัน้ 2 อีกด้วย ซึง่ นอกจาก

ในแต่ละข้อก็จะมีรายละเอียดย่อยเพือ่ ให้คะแนนระบุไว้อย่างชัดเจน ซึง่ คะแนนรวมทีไ่ ด้จะเป็นตัวบ่งชีว้ า่ มีความเป็น Green Building ใน มาตรฐาน TREES ระดับใด โดยแบ่งได้ 4 ระดับ คือ สูงสุด Platinum 61 คะแนนขึน้ ไป, Gold 46 - 60 คะแนน, Silver 38-45 คะแนน และ Certified 30 - 37 คะแนน VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

29


เมื่ อ การก่ อ สร้ า งเสร็ จ สิ้ น การใช้ ง านอาคารยั ง ต้ อ งมี กระบวนการตรวจวัดพลังงาน ทุกเดือนต้องเช็คว่าใช้พลังงาน ไปเท่าไร ถ้าใช้พลังงานเกินกว่าทีก่ า� หนดไว้ตอ้ งมีการปรับแผน บางเดือนอาจใช้พลังงานเกินกว่าทีก่ า� หนด ส่วนใหญ่เนือ่ งจาก พฤติกรรมการใช้พลังงาน จุดเด่นของทีน่ ี่ คือ กรอบอาคารท�าไว้ ค่อนข้างดี มีการติดตัง้ Shading และGreen wall บริเวณชัน้ 2-3 แสงแดดทีส่ อ่ งผ่านทะลุเข้ามานัน้ น้อยทีจ่ ะกระทบกับกระจก ท�าให้ประหยัดพลังงานได้มาก ส่วนข้อเสีย คือ แสงทีไ่ ม่คอ่ ยทะลุ ผ่านเข้ามาด้านในอาคาร ท�าให้ไม่มี Day light โซนทีแ่ สงส่องผ่าน เข้ามา แต่มกี ารแก้ปญ ั หาโดยการติดตัง้ sky ilght ด้านบน ท�าให้ แสงนัน้ สามารถส่องเข้ามาทะลุถงึ ใจกลางอาคารได้ จะเป็นการผลิตพลังงานมาใช้กบั ระบบไฟฟ้าของอาคารแล้วทางวิทยาลัยยังท�าการติดตัง้ เพือ่ ให้นกั ศึกษาได้ทา� การศึกษาการท�างานของระบบโซล่าร์เซลล์อกี ด้วย เกณฑ์ MR ขยะทีเ่ กิดจากการก่อสร้างในโครงการประมาณ 80.69 % น�าไป รีไซเคิล หรือ รียสู เพือ่ ใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด และน�าวัสดุรไี ซเคิลมาใช้ในโครงการ เพือ่ เป็นการลด ใช้วตั ถุดบิ ใหม่ ค�านึงถึงการใช้วสั ดุพนื้ ถิน่ หรือวัสดุภายในประเทศ เลือกใช้วสั ดุฉลากเขียว หรือฉลากคาร์บอนไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 10-20 เกณฑ์ IE มีการเติมอากาศสด (Fresh Air) เข้าไปในบริเวณทีม่ ผี ใู้ ช้งานประจ�าตาม มาตรฐาน ASHRAE 62.1เพือ่ คนทีอ่ ยูภ่ ายในอาคารได้รบั อากาศบริสทุ ธิต์ ลอดเวลา ซึง่ หาก มีแค่การปรับอากาศอย่างเดียวแต่ไม่มกี ารเติมอากาศสดเข้าไป ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ จะสูงขึน้ จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้งานอาคาร มีการออกแบบให้แสงสว่าง เพียงพอต่อการใช้งาน การออกแบบห้องเก็บสารเคมี มีการออกแบบอย่างมิดชิด ประตู ห้องเปิด-ปิดเองอัตโนมัติ และมีพดั ลมระบายอากาศ เพือ่ ระบายการรัว่ ซึมของสารเคมีออก ไปภายนอก รวมถึงตรวจสอบความดันอากาศของห้องเก็บสารเคมีเพือ่ สร้างความแน่ใจว่า ห้องดังกล่าว มีความดันเป็นลบ เป็นผลท�าให้ไอระเหยจากสารเคมีจะไม่รวั่ ไหลออกมาสูผ่ ใู้ ช้ งานอาคาร การควบคุมแหล่งมลพิษจากภายนอกเข้าสูภ่ ายในอาคารประตูทกุ ทางจะมีการ ติดตัง้ พรมดักจับฝุน่ มีความยาวไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร ซึง่ ผูใ้ ช้อาคารทุกคนต้องผ่าน ตะแกรง ดักฝุ่น ซึ่งจะช่วยให้ฝุ่นที่ติดมากับรองเท้าหลุดออกและกักเก็บในบริเวณนั้น และทั้ง บริเวณวิทยาลัยห้ามสูบบุหรี่ ซึง่ เป็นระเบียบของทางวิทยาลัยฯ บังคับใช้อยูแ่ ล้ว รวมถึงใช้ กาวยาแนว สี และวัสดุเคลือบผิว ทัง้ อาคาร เป็นชนิด Low VOC และพรมในห้องประชุม ก็เป็นพรมที่ได้รับการรับรอง CRI Plus ด้วย ซึ่งเป็นการลดค่าสารอินทรีย์ละเหยง่าย หรือทีเ่ รียกว่ากลิน่ ในอาคารสร้างใหม่ เกณฑ์ EP หลัก ๆ คือ การไม่สร้างมลภาวะให้กับชุมชนรอบข้างทั้งขณะก่อสร้าง และหลังก่อสร้างแล้วเสร็จ รถก่อสร้างทีจ่ ะออกจากนอกบริเวณจะมีการฉีดน�า้ ล้าง เพือ่ ไม่ให้ฝนุ่ ติดตามล้อรถ ตัวรถออกไป ส่วนถนนหน้าอาคารฉีดน�า้ ล้างทุกวัน รวมถึงดูแลเรือ่ ง การพังทลายของหน้าดิน การจัดการวัสดุอปุ กรณ์ให้เป็นทีเ่ ป็นทาง การจัดท�าทีเ่ ก็บขยะแบบ แยกประเภทเพือ่ ให้งา่ ยต่อการน�าไปรียสู หรือรีไซเคิล จัดท�าร่องน�า้ บริเวณรอบอาคาร เมือ่ ฝนตก มีเป็นการควบคุมให้น�้าไหลไปในทิศทางที่เราต้องการก่อนที่น�้าจะออกนอกโครงการมี การกรองตะกอนก่อนน�า้ ออกสูค่ ลองสาธารณะ ถนนภายในมีการพรมน�า้ ทุกวัน เพือ่ ไม่ให้เกิดฝุน่ ภายในโครงการ รวมถึงการออกแบบและติดตัง้ คอมเพรสเซอร์ของระบบปรับอากาศจะพยายาม ไม่ตดิ ด้านข้างอาคาร เพือ่ ไม่ให้ไปรบกวนอาคารข้างเคียง แต่จะติดตัง้ บริเวณดาดฟ้าอาคาร มีการ เลือกใช้กระจกภายนอกอาคาร ซึง่ มีคา่ SHGC ประมาณ 0.39 และมีคา่ การสะท้อนแสงไม่เกิน 15% เพือ่ ไม่ให้แสงสะท้อนส่งผลกระทบต่ออาคารข้างเคียง เกณฑ์ GI คือ เทคนิคอืน่ ๆ ทีต่ วั อาคารมี แต่ไม่ได้ระบุเอาไว้ในเกณฑ์ เช่น การออกแบบ กระจกให้ไม่ตอ้ งโดนแสงโดยตรง กระจกจึงไม่ตอ้ งสเปคดีมาก ใช้ Shading, Green wall เข้า มาช่วยในการออกแบบอาคาร นอกจากนีจ้ ดุ เด่นอีกอย่างก็คอื ระบบปรับอากาศ หากลงทุน เริม่ แรกอาจจะแพงแต่ payback ทีก่ ลับมาสูง การเลือกใช้แอร์เบอร์ 5 ประหยัดแล้ว แต่เลือกใช้ระบบปรับอากาศทีด่ กี ว่า เรียกว่า VRF หรือ VRV 30

E N E R G Y S AV I N G

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

คุณอนุชติ พึง่ กล่อม จากบริษทั ไอเอสอีที (ประเทศไทย) จ�ากัด ทีไ่ ด้เข้ามาเป็นทีป่ รึกษา ตวรจสอบมาตรฐาน TREES ให้ กับอาคารแห่งนี้ กล่าวว่า “ในประเทศไทยพยายามเน้นเรื่อง Green Building ซึง่ ถือว่าประสบความส�าเร็จมากทีส่ ดุ ประเทศ หนึง่ ในภูมภิ าคเอเชียแปปซิฟกิ โดยตลาด Green บ้านเราก�าลัง โตเมือ่ เทียบกับ 5 ปีทแี่ ล้ว ทีใ่ นแต่ละบริษทั มีโครงการอยูใ่ นมือ 2-3 โครงการ แต่ ณ ตอนนีแ้ ต่ละบริษทั มีโครงการเข้ามาเยอะ มาก โดยความต้องการของตัวอาคารมีมากกว่าหน่วยงานทีเ่ ป็น ทีป่ รึกษาด้านนี้ แม้ตอ้ งลงทุนสูง แต่อย่าลืมว่าสิง่ ทีล่ งทุนไปกับ ผลการประหยัดพลังงานทีเ่ ราได้กลับมาเป็นผลทีค่ มุ้ ค่ามาก ซึง่ ยัง ไม่รวมถึงคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องผูใ้ ช้งานอาคารประเมินค่าไม่ได้อกี ด้วย ทัง้ นีห้ ลายบริษทั เริม่ ตระหนักมากขึน้ ว่า ส่วนต่างทีล่ งทุนไป ประมาณ 5-6 ปีกไ็ ด้ทนุ คืนกลับมาขึน้ อยูก่ บั อาคารแต่ละประเภท ซึ่งตอนนี้มีบริษัทใหญ่ ๆ ที่พยายามปรับตัวเองขึ้นมาให้เป็น Green มากขึน้ ยกตัวอย่างเช่น อาคารให้เช่าแห่งหนึง่ เมือ่ ก่อน ลูกค้าเขาเยอะ แต่หา่ งออกไปประมาณ 3-4 บล็อค มีอาคาร Green Building สร้างใหม่ ลูกค้าชาวต่างชาติทเี่ คยเช่าอยูก่ ย็ า้ ย ออกไป เพราะบริษทั แม่บงั คับว่า บริษทั ในเครือในแต่ละประเทศ จะเข้าไปอยู่อาคารใหม่จะต้องเป็น Green Building เท่านั้น ซึ่งตอนนี้หลาย ๆ อาคารพยายามปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐาน Green Building มากขึน้ ” NOVEMBER 2015



Building ManageMent TEXT : ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร DGNB, TREES-F รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Best energy ManageMent Practices ของอาคารเขียว

เจ้าของอาคารหรือผู้จัดการพลังงาน ในอาคารมักจะคาดคิดว่าการประหยัด พลังงานในอาคารเขียวคือการเปลี่ยน ไปใช้อุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่าง ๆ เช่ น เปลี่ ย นเปลื อ กอาคาร ใส่ ฉ นวน กันความร้อน ติดฟิล์มกันแสง เปลี่ยน หลอดไฟ เปลี่ยนแอร์ เป็นต้น แต่ยัง มี ผู ้ ป ระกอบการจ� า นวนไม่ น ้ อ ยยั ง ไม่ทราบว่าการจัดการทรัพยากรอาคาร ทางด้านพลังงานที่ดีนั้นจะต้องประกอบ ไปด้วยอะไรบ้าง บ้างก็เน้นท�าเอกสาร ตามกฎกระทรวงอนุรักษ์พลังงาน บ้าง ก็ขยับไปท�าตามมาตรฐาน ISO 5001 บ้างก็สมัครเข้าร่วมโครงการ Green Office ของกรมส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพ สิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม หรื อ บางอาคารก็ ไ ป ใช้มาตรฐาน LEED ส�าหรับ Existing Operation and Maintenance หรือ LEED EBOM ซึง่ ดูเหมือนจะเป็นมาตรฐาน การจัดการอาคารเขียวที่เป็นที่รู้จักใน ระดับนานาชาติอันเดียวที่มีการใช้กันใน ประเทศ

LEED EBOM จะกล่าวถึง 5 มาตรการ ขั้ น ต�่ า ของกิ จ กรรมและการท� า เอกสารการ จัดการพลังงานในอาคารทีจ่ ะเรียกว่าเป็น Best Ma-nagement Practices ได้แก่ 1. แผนการใช้สอยอาคาร (Building Operating Plan) 2. ค�าอธิบายระบบอาคาร (Systems Narrative) 3. คู่มือส�าดับการเปิดปิดอุปกรณ์ (Sequence of Operation) 4. การบ�ารุงรักษาเชิงป้องกัน (PreventiveMaintenance) 5. การตรวจสอบอาคารเบื้องต้น (Walk-through Audit) 32

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


การเดินเครื่องอุปกรณ์เหล่านี้ต้องผ่านการทดสอบ การเดิ น เครื่ อ ง ตั้ ง แต่ ก ารท� า Commissioning ครั้ ง แรกเมื่ อ อาคารสร้ า งเสร็ จ และมี ก ารอั พ เดท ตามการเปลี่ยนแปลงการใช้งานอาคารต่อ ๆ มา

แผนการใช้สอยอาคาร (Building Operating Plan) คือ เอกสารข้อก�าหนดการ ใช้พื้นที่อาคารตามความต้องการของเจ้าของอาคาร โดยข้อก�าหนดนี้จะบ่งแสดงว่าพื้นที่ อาคาร ห้องต่าง ๆ จะถูกก�าหนดให้ใช้งานอย่างไร ผูใ้ ช้คอื ใคร กิจกรรมคือท�าอะไร อุณหภูมิ ความชื้น ระดับเสียง ค่าความส่องสว่าง อัตราการระบายอากาศ รวมไปถึงอุปกรณ์งาน ระบบต่าง ๆ ทีจ่ ะต้องมีในห้องต่าง ๆ เหล่านัน้ ว่าจะถูกใช้งาน และกินไฟอย่างไร เอกสารนี้ จะเป็นสิง่ แรกทีท่ า� ให้ทมี งานบริหารอาคารทุกฝ่ายมีความเข้าใจตรงกัน และก�าหนดเป้าหมาย ร่วมกันในการบริหารพื้นที่อาคารให้ประสบความส�าเร็จตามที่เจ้าของอาคารต้องการ ค�าอธิบายระบบอาคาร (Systems Narrative) คือ เอกสารอธิบายเกีย่ วกับงานระบบ ต่าง ๆ ที่ติดตั้งในอาคารทั้งหมดที่อัพเดทตลอดเวลา เปรียบเสมือน As Built Drawing ของอาคาร แต่เน้นเรือ่ งรายละเอียดของอุปกรณ์งานระบบอาคารทีน่ า� มารวบรวมเขียนไว้ ในเอกสารเล่มเดียว เอกสารนี้จะแตกต่างจากการน�า User Manual ของอุปกรณ์ต่าง ๆ มากองรวมกันในห้องช่าง ซึง่ บางครัง้ อาจจะตกหล่นสูญหาย ไม่อพั เดท หรือเปลีย่ นอุปกรณ์ ไปแล้ว แต่ยงั เก็บคูม่ อื อุปกรณ์ของเก่าเอาไว้ ท�าให้ผบู้ ริหารอาคารทีเ่ ข้ามาใหม่สบั สน และ ไม่ทราบแน่ชัดว่าระบบเป็นอย่างไร คู่มือส�าดับการเปิด-ปิดอุปกรณ์ (Sequence of Operation) คือ เอกสาร Stepby-step ให้ขอ้ มูลชุดค�าสัง่ (Instruction) ว่าช่างอาคารจะต้องเริม่ เปิด-ปิด เดินเครือ่ งอุปกรณ์ งานระบบ (System Startups) อาคารอย่างไรให้สอดคล้องกับกิจกรรมการใช้สอยอาคารตาม Building Operating Plan อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดด้านการประหยัดพลังงาน ซึ่งขั้นตอน

VOLUME 7 ISSUE 84

การบ� า รุ ง รั ก ษาเชิ ง ป้ อ งกั น (Preventive Maintenance) คือ แผนการบ�ารุงรักษาอุปกรณ์ระบบ อาคารแต่ละเครือ่ งเป็นระยะ ๆ เพือ่ ป้องกันการเสือ่ มถอย ของประสิทธิภาพ หรือป้องการความเสียหายจนใช้งาน ไม่ได้ (System Breakdown) น�าความสูญเสียมาสูอ่ ปุ กรณ์ และอาคารหรื อ พื้ น ที่ อ าคารไม่ ส ามารถใช้ ง านได้ ท�าความสูญเสียต่อธุรกิจหลักขององค์กร การตรวจสอบอาคารเบื้องต้น (Walk-through Audit) คื อ การตรวจสอบอาคาร และอุ ป กรณ์ ระบบอาคารเบือ้ งต้นตามมาตรฐาน ASHRAE Level 1 (ASHRAE-American Society of Heating, Refrigerating, and Air-conditioning Engineers) ซึ่งถึงแม้ว่าจะเรียกว่า Walk-Through Audit หรือ เดินส�ารวจ ตรวจสอบ แต่ที่จริงแล้วจะมีมากกว่า แค่เดินตรวจอาคาร เพราะจะประกอบไปด้วย การ วิเคราะห์บิลค่าไฟฟ้าฟ้าปัจจุบันเทียบกับค่าไฟย้อน หลัง 3 ปี การจัดท�าดัชนีการใช้พลังงาน (kWh/m2) การหาศักยภาพการประหยัดพลังงานทัง้ ด้านทีต่ อ้ งใช้ เงินลงทุนและไม่ตอ้ งใช้เงินลงทุน รวมทัง้ การประเมิน ความคุ้มค่าทางการลงทุนในเบื้องต้น การตรวจสอบ อาคารเบือ้ งต้นนี้ เจ้าหน้าทีข่ องอาคารสามารถท�าได้เอง หรื อ จ้ า งที่ ป รึ ก ษาภายนอกเข้ า มาช่ ว ยได้ โดย ไม่จ�าเป็นต้องเป็นบุคคลที่สามก็ได้ กิจกรรมและการจัดเตรียมเอกสารทั้ง 5 ประการ ของ LEED EBOM เป็นเพียงมาตรฐานเบื้องต้นระดับ ข้อบังคับ (Prerequisites) ของอาคารเก่าที่ต้องการ ปรับปรุงคุณภาพการจัดการพลังงานให้ได้มาตรฐาน อาคารเขียว ซึง่ หากอาคารใดสนใจจะเข้าร่วมประเมิน LEED EBOM คงจะต้องส�ารวจตนเองก่อนว่า 5 ข้อ ดังกล่าวนัน้ สามารถท�าได้หรือไม่ มีบคุ ลากรทีม่ คี วามรู้ ความสามารถหรือไม่ มีขอ้ มูลของอาคารเพียบพร้อม แค่ไหน ก่อนทีจ่ ะไปสูม่ าตรการการจัดการพลังงานขัน้ สูง ที่จะกล่าวถึงต่อไป

E N E R G Y S AV I N G

33


energy management TEXT : อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์

ศูนย์บริการโตโยต้าบัสส์ สาขาเกษตร-นวมินทร์

คว้าวัลดีเด่น ด้านอนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคารนอกข่ายควบคุม Thailand Energy Awards 2015 และ ASEAN Energy Awards 2015

จากปัญหาวิกฤติด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งจะสังเกตได้จากภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ ความรุ น แรงเพิ่ ม มากขึ้ น และใกล้ ตั ว เรามากขึ้ น ทุ ก ที จึ ง เป็ น ความส� า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ยวดที่ ทุ ก คนจะต้ อ งตระหนั ก และตื่ น ตั ว กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ดังนั้นทางศูนย์บริการโตโยต้าบัสส์ สาขาเกษตร - นวมินทร์ จึงเกิดความตระหนักที่จะร่วมเป็นฟันเฟือง เล็ก ๆ ที่จะช่วยลดการใช้พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อจะได้มีพลังงานให้ลูกหลานได้ใช้ต่อไปในอนาคต 34

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


โครงการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานของศู น ย์ บริการ เริ่มต้นตั้งแต่ ปี 2555 ซึ่งมาจาก แนวคิดของ คุณสุรพล โตวิวัฒน์ กรรมการ ผู้จัดการ หลังจากที่ได้ท�าการศึกษาวิเคราะห์ พบว่า ต้นทุนทางด้านพลังงานมีความส�าคัญ และมีสดั ส่วนสูง โดยเฉพาะค่าไฟฟ้า มีคา่ ใช้จา่ ย สู ง กว่ า 6 ล้ า นบาทต่ อ ปี โดยได้ รั บ ความ ร่วมมือเป็นอย่างดี จาก บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จ�ากัด ในการเป็นที่ปรึกษาด้าน พลังงานเพือ่ ด�าเนินการอนุรกั ษ์พลังงานให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ความส�าเร็จของงานอนุรักษ์พลังงานเกิด จากความมีส่วนร่วมของพนักงานทุกคนเป็น แรงขับเคลื่อน โดยมีผู้บริหารสูงสุดที่เอาจริง เอาจังกับการอนุรักษ์พลังงาน ได้มอบค�ามั่น สัญญาในการด�าเนินกิจกรรมอนุรักษ์พลังงาน และได้น�าหลักการบริหารจัดการทรัพยากร อาคาร (Facility Management in building : 3P) และ KAIZEN มาประยุกต์ใช้กับการ ประหยัดพลังงานอย่างยัง่ ยืนเพือ่ ให้สอดคล้อง กับวัฒนธรรมขององค์กร

VOLUME 7 ISSUE 84

1. People : มุง่ เน้นการฝึกอบรมและจัดกิจกรรมเสริมสร้างให้ความรูเ้ รือ่ งการอนุรกั ษ์พลังงาน รวมทัง้ จัดศึกษาดูงานและจัดสรรบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมเรือ่ งการอนุรกั ษ์พลังงานร่วมกับ หน่วยงานต่าง ๆ โดยพยายามให้พนักงานทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมทั้งภายในและภายนอก องค์กร เพื่อให้เกิดความตระหนักและเสริมสร้างจิตส�านึกการอนุรักษ์พลังงานที่ดีอย่าง ต่อเนื่องและยั่งยืน 2. Place : การลงทุนใด ๆ ก็ตามเกีย่ วกับการอนุรกั ษ์พลังงานจะเริม่ จาก “การลงทุนไม่มากก่อน” เช่น มาตรการเปลี่ยนหลอดไฟเป็นหลอดประหยัดพลังงาน (LED) และมาตรการลดการรั่ว ไหลของอากาศอัด ด้านพลังงานทดแทนมีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ แม้จะคืนทุนนานแต่ทางศูนย์บริการก็พร้อมส่งเสริมให้มีการหันมาใช้พลังงานสะอาด เพื่อตอบโจทย์ความต้องการเป็นศูนย์บริการสีเขียว 3. Process หรือ Kaizen : มีการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด (Continuous Improvement) เพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงานและความพึงพอใจในการให้บริการ สูงสุด เช่น ลดระยะเวลาการเช็คระยะจาก 60 นาที เหลือ 45 นาที โดยการออกแคมเปญ “ไม่ล้างรถ ลดให้ 100 บาท” หรือการจัดท�ากรวยแสดงสถานะของรถที่เข้ามาใช้บริการ เพื่อป้องกันความผิดพลาดในการให้บริการ เป็นต้น จากการด�าเนินการอนุรกั ษ์พลังงานอย่างต่อเนือ่ ง ท�าให้ในช่วง ปี 2555-2557 สามารถประหยัด พลังงานไฟฟ้าได้ 373,105 kWh คิดเป็นมูลค่า 1.62 ล้านบาท ใช้เงินลงทุน 2.06 ล้านบาท โดยมี ระยะเวลาคืนทุน 1.28 ปี ซึง่ ส่งผลให้ศนู ย์บริการโตโยต้าบัสส์ สาขาเกษตร-นวมินทร์ คว้ารางวัลดีเด่น ด้าน อนุรักษ์พลังงาน ประเภทอาคารนอกข่ายควบคุม Thailand Energy Awards 2015 และ ASEAN Energy Awards 2015 “การท�าโครงการอนุรกั ษ์พลังงานให้สา� เร็จ ไม่ใช่หน้าทีข่ องช่างหรือผูบ้ ริหารเพียงอย่างเดียว แต่เราทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจกัน ท�าให้บัสส์ของเราเป็นศูนย์บริการรถยนต์สีเขียว”

E N E R G Y S AV I N G

35


Product review TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

เปลี่ยนผนังเป็นไวท์บอร์ด ด้วย

TOA Note & Clean

กว่า 50 ปี ของบริษัท ทีโอเอ เพ้นท์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ผู้น�าด้านสีทาบ้านทั้งในประเทศไทย และต่างประเทศ และยังเป็นสีรายแรกที่ยกเลิกสารตะกั่วได้ส�าเร็จตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 จนถึงปัจจุบัน พร้อมมุ่งพัฒนา คิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ อยู่เสมอไม่ว่าจะเป็น สีทาภายนอก สีทาภายใน สีกันรา สีฟอกอากาศ ฯลฯ และล่าสุดกับผลิตภัณฑ์ TOA Note & Clean ที่จะเปลี่ยนจากผนังธรรมดาให้กลายเป็นกระดานไวท์บอร์ดขนาดใหญ่ในบ้านของคุณเอง

เวลาลบจะเป็นผงฝุ่นชอล์กกระจายฟุ้งทั่วห้อง ส่งผลเสียต่อระบบทางเดินหายใจทั้งตัวผู้สอน และนักเรียนในห้อง โดยสามารถท�าการทาสี ได้ด้วยตัวเอง ขั้นตอนไม่ยุ่งยากมากนักเพียงเท ส่วนผสม Part B (กระป๋องเล็ก) ลงใน Part A ให้ หมดกระป๋อง จากนัน้ เติมน�า้ สะอาดในขวด Part B ปิดผาขวด Part B พร้อมเขย่าให้เข้ากัน เทน�้าใน ขวด Part B ลงในกระป๋อง Part A จนหมด แล้ว กวนให้เข้ากัน ท�าการทาสีบริเวณทีต่ อ้ งการ รอให้ สีเซ็ตตัวเพียงว 4 วัน ก็พร้อมใช้งาน “TOA Note & Clean สีเขียนได้ ลบได้ เหมือนไวท์บอร์ด” สีทาอาคารโพลียรู เี ทน สูตรน�้า ชนิด 2 ส่วน ใช้ได้ทั้งภายนอก-ภายใน รายแรกของโลก มีให้เลือกกว่า 100 เฉดสี หรือ สามารถผสมสีผา่ นเครือ่ งผสมสีทโี อเอได้ เหมาะ ส�าหรับการใช้งานในทุกสภาพพื้นผิว เช่น ไม้, กระเบื้องแผ่นเรียบ, เหล็ก, โลหะ และพื้นผิว ปูนทุกชนิด ปราศจากส่วนผสมของสารตะกั่ว และสารปรอท เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดย น�าเทคโนโลยี Nano Crystal Glass ที่ได้จาก ประเทศเยอรมันนี ด้วยการวิจัยถึง 3 ปี ส่ง ผลให้โครงสร้างอณูสีเรียงตัวแน่น เสมือนผลึก คริสตัลและยืดหยุ่นสูง แม้พื้นที่โค้งงอก็สามารถ ทาเข้ามุมได้อย่างดี ด้วยคุณสมบัตพิ เิ ศษดังกล่าว ท�าให้ฟิล์มสีมีความทนทานนานสิบปี สามารถ ป้องกันการยึดเกาะของคราบปากกาเคมี ปากกา ไวท์บอร์ด ชา กาแฟ เบตาดีน ปากกาเมจิค สีชอล์ค สีเทียน คราบน�า้ ไหล คราบเขม่าควันจาก 36

E N E R G Y S AV I N G

ท่อไอเสีย หรือแม้คราบหนักอย่างสีเสปรย์ก็ สามารถลบออกได้อย่างง่ายดาย เพียงใช้ผ้าเช็ด ได้เลยทันที หรือในกรณีคราบหนักมาก อาจใช้ ทินเนอร์เป็นตัวช่วย ผนังจะกลับสูส่ ภาพเดิมโดย สีไม่หลุดร่อน หรือเป็นรอยด่าง ไม่ทิ้งร่องรอย ไว้ ใช้ได้กับทั้งบ้าน คอนโด ออฟฟิส โรงเรียน โรงแรม โรงพยาบาล ร้านอาหาร ร้านคาเฟ่ และอื่น ๆ เพื่อเป็นพื้นที่สร้างสรรค์จินตนาการ และต่อยอดงานธุรกิจ ได้อย่างไร้ขีดจ�ากัด ประโยชน์ ข องผนั ง ที่ ส ามารถเขี ย นได้ ลบได้ ไม่เพียงแต่ท�าให้เกิดงานสร้างสรรค์แบบ ไร้ขอบเขตแล้ว ยังสามารถท�าให้คราบมันในห้อง ครัวที่ผ่านการใช้งานเป็นระยะเวลาหนึ่ง หรือ รอยขีดเขียนจากเด็กเล็ก สามารถลบออกได้ อย่างง่ายดาย นอกจากนีย้ งั สามารถใช้ในออฟฟิส โรงเรียน แทนการติดตั้งกระดานไวท์บอร์ดที่มี ราคาสูงกว่าสีที่มีราคาเฉลี่ย 250 บาท/ตาราง เมตร ถึง 4 เท่า และแทนการใช้กระดานด�าที่ NOVEMBER 2015


11.05-11.30 .


Product ShowcaSe conStruction

ฉนวนยาง aeroflex ผลิตจากยางสังเคราะห์ EPDM TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

บริ ษั ท แอร์ โรเฟลกซ์ จ� ำ กั ด (AFC) ผู ้ ผ ลิ ต ฉนวนยำงภำยใต้แ บรนด์ Aeroflex ผลิตจำกยำงสังเครำะห์ EPDM มีลักษณะโครงสร้ำงเป็นแบบเซลปิด น�้ำหนักเบำ มีควำมยืดหยุ่นดี ออกแบบมำให้สำมำรถหุ้มท่อที่ล�ำเลียงสำรน�ำ ควำมเย็น และควำมร้อน ป้องกันควำมชื้น และไอน�้ำได้โดยไม่ต้องมีตัวกัน ควำมชื้น ทนต่อแสงอุลตร้ำไวโอเลต และสภำพอำกำศต่ำงๆ สำมำรถป้องกัน ไม่ให้เกิดควำมร้อนแฝง สำมำรถช่วยประหยัดพลังงำน ป้องกันกำรเกิดหยดน�้ำ ในระบบท่อน�้ำเย็นในระบบปรับอำกำศ และยังมีประสิทธิภำพควบคุมพลังงำน ควำมร้อนในกำรกำรสูญเสียในระบบท่อน�้ำร้อน

ลิฟต์บรรทุก และ ลิฟต์บรรทุกกึ่งโดยสาร

Freight elevator or Freight liFt บริษัท เจนคอมเอลิเวเตอร์ จ�ำกัด ผู้ผลิต ออกแบบ ติดตั้ง และ ซ่อมบ�ำรุงลิฟต์ขนำดเล็กไปจนถึงลิฟต์บรรทุกขนำดใหญ่ ใช้สำ� หรับบรรทุก สิง่ ของ มีขนำดให้เลือกตัง้ แต่ขนำดบรรทุก 1,000 กก. ขึน้ ไป ระบบประตู มีทงั้ ระบบ Manual, ระบบ Automatic รูปแบบประตูจะมีอยูห่ ลำยแบบ เช่น แสตนเลส, เหล็พน่ สี, และประตูบำนยืด ลิฟต์บรรทุกเป็นลิฟต์ทเี่ หมำะ ส�ำหรับใช้ภำยในโรงงำน คลังสินค้ำ หรือโกดังเก็บของแล้วแต่ลักษณะ กำรใช้งำนและสถำนที่

ระบบการควบคุมเข้า-ออก

hSg Sensor Barrier

บริษทั ครีเอตุส คอร์โปเรชัน่ จ�ำกัดน�ำเข้ำและจัดจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์ เชิงนวัตกรรมและโซลูชนั่ อย่ำงระบบทำงเข้ำ-ออก สำมำรถเข้ำได้พร้อม กระเป๋ำและสัมภำระ ออกแบบให้โปร่งใส สำมำรถรองรับกำรใช้งำน แบบต่อเนื่องแต่ยังคงอยู่ในระดับควำมปลอดภัยที่แม่นย�ำ สำมำรถ ตั้งค่ำโหมดกำรรักษำควำมปลอดภัยได้หลำกหลำยตำมกำรใช้งำน มีระบบModular system ส�ำหรับกำรติดตั้งในหลำกหลำยทิศทำง บำนประตูเปิดในทำงเข้ำของผู้ใช้งำน ระบบป้องกันกำรแอบคลำนเข้ำ แบบอัตโนมัตมิ เี สียงเตือนเมือ่ มีกำรใช้โดยไมได้รบั อนุญำติ ระบบตรวจ จับกำรใช้งำนของเด็ก 38

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


มาตรวัดน�้าชนิดใบพัด ขับเคลื่อนด้วยแม่เหล็ก บริษัท ยูเอสเอ็ม จ�ำกัด ผู้น�ำด้ำนสินค้ำและบริกำรด้ำน ระบบสุขภิบำล เช่น มำตรวัดน�ำ้ ขับเคลือ่ นด้วยระบบแม่เหล็ก ช่วงกำรวัดกว้ำง ควำมแม่นย�ำสูง ได้รบั กำรออกแบบให้แข็งแรง ทนทำน พร้อมทัง้ เลือกวัสดุทมี่ คี ณ ุ ภำพ ทนต่อกำรกัดกร่อนได้ดี อำยุกำรใช้งำนยำวนำน วงแหวนขั้วแม่เหล็ก 2 ขั้ว เคลือบ โพลิ เ มอร์ เพื่อป้องกันกำรติดเกำะ ชุดเครื่องบันทึกสำมำรถ ถอดออกจำกชุดตัวเรือนได้โดยง่ำย จึงสะดวกต่อกำรบ�ำรุงรักษำ สำมำรถป้องกันแม่เหล็กจำกภำยนอก อุณภูมิของน�้ำใช้งำน สูงสุดที่ 50 องศำเซลเซียส แรงดันใช้งำนสูงสุด 10Kg/Cm2 (1 เมกะปำสคำล)

กระจกเทมเปอร์

บริษัท ห้ำงกระจกตังน�้ำ จ�ำกัด จ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์กระจก และวัสดุ ก่อสร้ำงกว่ำ 60 ปี เช่น กระจกเทมเปอร์เป็นกระจกนิรภัยชนิดหนึ่ง โดย กำรน� ำ แผ่ น กระจกธรรมดำผ่ ำ นกระบวนกำรอบควำมร้ อ นที่ อุ ณ หภู มิ ประมำณ 700 องศำเซลเซียส จำกนั้นผ่ำนกระบวนกำรท�ำให้เนื้อกระจก เย็นลงอย่ำงรวดเร็วโดยใช้ลมเป่ำไปยังกระจกทั้ง 2 ด้ำน ท�ำให้ได้กระจกที่ มีควำมแข็งแรงมำกกว่ำกระจกธรรมดำ 3-5 เท่ำ ทนต่อแรงกระแทก แรงอัด ของลม และภำวะกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิได้ดีเมื่อเกิดกำรแตก จะแตกเป็น เม็ดเล็กๆ คล้ำยเม็ดข้ำวโพด ไม่มีคม จึงลดอันตรำยที่อำจเกิดขึ้นได้ เหมำะ ทั้งงำนติดตั้งภำยนอกอำคำรและกำรใช้งำนภำยใน

ระบบล็อค ประตูห้องพัก

บริษทั เกรท ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูผ้ ลิต จ�ำหน่ำย และติดตัง้ ระบบ กลอนประตูอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีระบบล็อค 2 ชั้น คือ ล็อคแบบปกติที่สำมำรถ ใช้บัตรผู้ใช้เปิดได้ กับแบบดับเบิ้ลล๊อค ที่ต้องใช้บัตรผู้ดูแลเปิดเพียงอย่ำงเดียว ตัวเครื่องหล่อจำก สแตนเลสชิ้นเดียว แข็งแรง ทนทำน มีไฟและเสียงแสดง สถำนะทีห่ น้ำจอเวลำอ่ำนค่ำ ใช้พลังงำนจำกถ่ำน AA 4 ก้อน สำมำรถใช้ได้นำน 12 - 18 เดือน ขึ้นอยู่กับกำรใช้งำน เมื่อประตูปิดไม่สนิท หรือเมื่อเกิดกำรงัด ประตูจะมีเสียงสัญญำณเตือน

VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

39


INTERVIEW TEXT : ปำจรีย์ หลอดค�ำ

วรยุทธ กิตติอุดม

รุสร้่งางบ้กิานแนวคิ จ เรีดใหม่ยลเอสเตท ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน

บริษัท รุ่งกิจ เรียลเอสเตท จ�ำกัด ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับอสังหำริมทรัพย์ ท�ำโครงกำร หมู ่ บ ้ ำ นจั ด สรรแนวรำบทั้ ง หมด ไม่ ว ่ ำ จะเป็ น บ้ ำ นเดี่ ย ว ทำวน์ เ ฮ้ ำ ส์ โฮมออฟฟิ ส และออฟฟิสบิวดิ้ง ซึ่งเน้นท�ำเลติดถนน ในบริเวณกรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก โดยมี “คุณวรยุทธ กิตติอุดม” ด�ำรงต�ำแหน่งกรรมกำรผู้จัดกำร 40

E N E R G Y S AV I N G

ปัจจุบันบริษัทฯ ยังคงเน้นพื้นที่เดิมซึ่ง ท�ำกันมำมำกกว่ำ 30 ปีแล้ว โดยเน้น เขตลำดกระบัง มีนบุรี รำมค�ำแหง สุวรรณภูมิ รำมอินทรำ ถือว่ำเป็นโซนที่มีอัตรำกำรเติบโต สูงไม่แพ้ในตัวเมือง ทั้งนี้บริษัทฯ ยังมีควำม ช�ำนำญในพื้นที่ และมียังรู้ควำมต้องกำรของ ลูกค้ำเป็นอย่ำงดี จึงท�ำให้สนิ ค้ำสำมำรถตอบ โจทย์ลูกค้ำได้ ส�ำหรับในส่วนของพลังงำน ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ห ลี ก หนี ไ ม่ ไ ด้ ใ นธุ ร กิ จ ก่ อ สร้ ำ ง เนื่องจำกมีกำรใช้พลังงำนค่อนข้ำงสูงเรียกได้ ว่ำใกล้เคียงกับอุตสำหกรรมประเภทโรงงำน เลยทีเดียว งำนก่อสร้ำงส่งผลต่อสิง่ แวดล้อมอยู่ หลำยด้ำน ทัง้ ไฟฟ้ำ น�ำ้ เสียง ฝุน่ มลภำวะต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่ำงเลี่ยงไม่ได้ ฉะนั้นทำงโครงกำร จึงพยำยำมใส่ใจและป้องกัน ให้ได้มำตรฐำน มำกกว่ำภำครัฐก�ำหนดไว้ และทีส่ ำ� คัญยังยืนยัน หลักกำรในกำรอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมอีกด้วย เรียกได้ว่ำมีกำรเริ่มต้นจำกกำรก่อสร้ำง ในส่วนของแคมป์คนงำนก่อสร้ำงให้มีที่อยู่ อำศัยก่อนถึงจะเริม่ ท�ำงำน ต่อมำ คือ กำรใช้ ไฟซึง่ ปกติจะต่อไฟใช้กนั โดยไม่คำ� นึงว่ำจะเกิน ควำมจ�ำเป็นหรือไม่ ส่งผลให้เกิดไฟช็อตหรือ ไฟดับ ด้วยเหตุนที้ ำงบริษทั ฯ จึงมีกำรจัดสรรไฟ ให้กับคนงำนได้ใช้อย่ำงถูกต้องตำมมำตรฐำน กำรอยูอ่ ำศัยจริง เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดอันตรำย เช่น กำรให้ใช้หลอดไฟแบบประหยัดพลังงำน ใช้ถงั แก๊สเพือ่ แทนกำรใช้กระทะไฟฟ้ำ ทัง้ หมด นี้ท�ำให้ลดกำรใช้ไฟฟ้ำไปได้มำก แถมยังลด ควำมเสี่ ย งจำกกำรเกิ ด อั ค คี ภั ย ได้ อี ก ด้ ว ย ส่วนเรื่องน�้ำทำงบริษัทฯ มีแทงค์น�้ำให้ รวม ถึงวำวล์หรือหัวก๊อกที่มีคุณภำพที่ดี ทนทำน ต่อกำรใช้งำน มีกำรควบคุมดูแลไม่ให้มีน�้ำรั่ว มีตดิ ตัง้ ฝักบัวอำบน�ำ้ และมีถงั บ�ำบัดน�ำ้ เสียหลัง จำกกำรใช้งำนด้วย ส�ำหรับวิธกี ำรก่อสร้ำงทำงบริษทั ฯ ยังคงใช้ วิธีกำรเดิม ๆ อยู่ ซึ่งเป็นโครงสร้ำง ก่ออิฐ ฉำบปูน จึงท�ำให้เกิดปัญหำอย่ำงมำกในเรื่อง ของฝุน่ ละออง อีกทัง้ ยังใช้แรงงำนจ�ำนวนมำกใน กำรก่อสร้ำง สิง่ ทีห่ ลีกเลีย่ งไม่ได้เลยในกำรก่อสร้ำง คือ ไม้แบบทีท่ ำ� จำกไม้ธรรมชำติ ไม่วำ่ จะเป็น ไม้กระบำกทีใ่ ช้ทำ� ไม้แบบสร้ำงอำคำร หรือเป็น ไม้เต็ง ไม้เนือ้ แข็งต่ำง ๆ ถัดมำรำคำไม้เริม่ หำ ยำกมำกขึน้ เมือ่ รำคำถูกลงก็มกี ำรเริม่ เปลีย่ น มำเป็นไม้จ๊อยท์ที่ท�ำจำกไม้ยำง ไม้ทุเรียน ซึง่ หำง่ำย มีมำให้ใช้มำกขึน้ ซึง่ ไม้แบบสำมำรถ ใช้งำนได้เพียง 2-3 ครัง้ เท่ำนัน้ ทำงบริษทั ฯ จึง มีควำมคิดเกีย่ วกับเรือ่ งสิง่ แวดล้อมว่ำระบบเก่ำ ทีท่ ำ� กันอยูใ่ ช้เวลำนำนในกำรก่อสร้ำง จึงน�ำวิธี กำรก่อสร้ำงแบบใหม่เข้ำมำ คือ “ระบบฟอร์ม เวิรค์ ” เป็นกำรประกอบแบบขึน้ มำทัง้ หลังทีละ NOVEMBER 2015


1 ชัน้ แล้วใส่เหล็ก เทคอนกรีตเข้ำไป หล่อเสร็จ 1 วัน/1หลัง วิธนี ใี้ ช้คนงำน น้อยลงไปประมำณ 50% และยังสำมำรถใช้ได้ถงึ 300 ครัง้ แต่ถงึ แม้ตน้ ทุน กำรก่อสร้ำงจะสูงขึ้นเล็กน้อยแต่ก็ถือว่ำช่วยลดกำรใช้ทรัพยำกรได้มำก เลยทีเดียว ในวิธกี ำรก่อสร้ำงแบบฟอร์มเวิรค์ เรำเลือกใช้อลูมเิ นียม เมือ่ หล่อ แบบเสร็จผิวจะเรียบมำก แต่งอีกเพียงเล็กน้อยก็สำมำรถทำสีได้เลย ฉะนัน้ ต้อง ลดขัน้ ตอนก่อสร้ำงแบบเดิม ตรงนีก้ ช็ ว่ ยในเรือ่ งกำรลดค่ำใช้จำ่ ย และพลังงำน ในกำรขนส่ง ส่งผลให้พื้นที่โดยรอบกำรก่อสร้ำง ได้รับผลกระทบด้ำนเสียง ฝุน่ ละอองก็จะลดน้อยลง ปกติระยะเวลำก่ออิฐ ฉำบปูนประมำณ 1 เดือน หลังจำกกำรเปลีย่ นมำใช้วธิ นี จี้ ะเหลือเพียง 2-3 วันเท่ำนัน้ ทำงบริษทั ฯ เริม่ ท�ำเกีย่ วกับกำรประหยัดพลังงำนมำตัง้ แต่ปี 2556 เพรำะ ปัจจุบนั เรำหลีกเลีย่ งเรือ่ งสิง่ แวดล้อมไม่ได้ ต้องส�ำนึกถึงสิง่ แวดล้อมรอบข้ำง ที่ต้องรับผิดชอบ หำกเรำเป็นส่วนหนึ่งของกำรเริ่มต้นที่ไปท�ำลำย สิง่ แวดล้อม ฉะนัน้ เรำจึงต้องตระหนักและหำวิธกี ำรปรับให้ทกุ อย่ำง ขับเคลือ่ นไปได้อย่ำงลงตัว โดยมีกำรเริม่ ต้นมำจำกสิง่ แวดล้อมมำก่อน “ทุกวันนี้โลกของเรำต้องกำรให้คนมำใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อมเพิ่ม มำกขึ้นทุกวัน ในอนำคตผมหวังว่ำบ้ำนในแต่ละหลังจะมีโซล่ำเซลล์ กับพลังงำนลมมำช่วยท�ำให้ประหยัดพลังงำน คำดว่ำจะเริม่ ประมำณ ปีหน้ำเป็นต้นไปในส�ำหรับโครงกำรใหม่ จะมีกำรช่วยลดกำรใช้ไฟฟ้ำ ท�ำให้ควำมเป็นอยู่ดีขึ้น และปัจจุบันทำงบริษัทฯ ได้มีกำรติดต่อ กับบริษัทต่ำงชำติที่มีควำมรู้และใช้โซล่ำเซลล์กับไฮโดรเจน ถือว่ำ เป็นกำรใช้พลังงำนของทัง้ สองอย่ำงมำรวมกับเพือ่ ประหยัดกำรบ�ำรุง รักษำแบตเตอร์รี่ ตัวไฮโดรเจนเหลวจะช่วยยืดอำยุกำรใช้งำนของ แบตเตอร์รี่ให้ช้ำลง จำกเดิม 5 ปีให้เป็น 7-10 ปี ตอนนี้อยู่ใน ขัน้ ตอนกำรศึกษำอยู่ ซึง่ ถือว่ำเป็นกำรพัฒนำธุรกิจของบริษทั ไปในตัว” คุณวรยุทธ กล่ำวทิง้ ท้ำย VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

41


green industrial TEXT : อภัสรา วัลลิภผล

อ�ำพลฟูดส์ สนองนโยบำยรัฐ

ใช้พลังงานชีวมวลและก๊าซชีวภาพ ในการผลิตไฟฟ้า โรงงานอุตสาหกรรมในปัจจุบันส่วนใหญ่ก�าลังให้ความสนใจและปรับปรุงโรงงานให้มีประสิทธิภาพด้านการผลิตกันมากขึ้น ทั้งยังมีแนวคิดที่จะท�าอย่างไรให้โรงงานของตัวเองเกิดการประหยัดพลังงานให้ได้มากที่สุด เพราะนอกจากจะเป็นการ ลดต้นทุนการผลิตแล้ว ยังเป็นการช่วยให้โลกของเราน่าอยู่ยิ่งขึ้นอีกด้วย บริษัท อ�าพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จ�ากัด ถือเป็นอีกหนึ่ง บริษัทที่มีแนวคิดริเริ่มจัดการกระบวนการผลิตให้เกิดการประหยัดพลังงาน โดยได้เข้าร่วมโครงการกับ กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ในการใช้พลังงานก๊าซชีวภาพและชีวมวลมาผลิตไฟฟ้า เพื่อเป็นลดต้นทุนได้ถึง 5 ล้านบาทต่อปีเลยทีเดียว

42

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


คุ ณ ธรรมยศ ศรี ช ่ ว ย อธิ บ ดี ก รม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ภาคอุตสาหกรรมนับเป็นภาคส่วนที่มีการใช้ พลังงานสูงสุดของประเทศ จึงมีความจ�าเป็น ต้องเร่งปรับตัวเพื่อหาเชื้อเพลิงจากพลังงาน ทดแทนมาใช้ เ พื่ อ ลดต้ น ทุ น ทางการผลิ ต ซึ่งเชื้อเพลิงก๊าซชีวภาพและก๊าซชีวมวลก็เป็น พลังงานทางเลือกหนึ่งที่ พพ. ส่งเสริมและ สนับสนุน โดยในแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก ได้ตงั้ เป้าหมายเดินหน้า เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ พ ลั ง งานทดแทนให้ ไ ด้ 25% ภายในปี 2564 โดยภาพรวมของ การพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนของประเทศ ในปี 2558 มีการใช้พลังงานทดแทนสูงถึง ร้อยละ 12 ของการใช้พลังงานขัน้ สุดท้ายหรือ มีก�าลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ในช่วงไตรมาส 1 ที่ผ่านมา (ม.ค.-เม.ย. 58) แล้วทั้งสิ้น 4,558 เมกะวัตต์ ทั้งนี้ ภาพรวม พลังงานทดแทนของประเทศไทย ปัจจุบัน มี ก ารผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แล้วประมาณ 1,303 เมกะวัตต์ พลังงานลม ประมาณ 225 เมกะวั ต ต์ พลั ง งานจาก ชีวมวลประมาณ 2,487 เมกะวัตต์ ก๊าซชีวภาพ ประมาณ 327 เมกะวัตต์ พลังน�้าขนาดเล็ก/ ชุมชน ประมาณ 142 เมกะวัตต์ นอกจากนี้ ยังมีพลังงานทดแทนจากขยะที่รัฐบาลให้การ สนับสนุนและส่งเสริม ปัจจุบันพบว่ามีความ ก้าวหน้าอย่างยิง่ โดยมีการผลิตไฟฟ้าจากขยะ แล้วประมาณ 75 เมกะวัตต์ ส�าหรับ บริษทั อ�าพลฟูดส์ โพรเซสซิง่ จ�ากัด ซึ่งมีการใช้พลังงานชีวมวลและก๊าซชีวภาพ VOLUME 7 ISSUE 84

ในการผลิตไฟฟ้านั้น นับเป็นหนึ่งในองค์กร ตั ว อย่ า งที่ มี ก ารจั ด การด้ า นพลั ง งานและ สิ่ ง แวดล้ อ มได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดย สามารถคว้ า รางวั ล ดี เ ด่ น การประกวด Thailand Energy Awards 2015 ด้ า นพลั ง งานทดแทน ประเภทโครงการ พลั ง งานหมุ น เวี ย นที่ ไ ม่ เชื่ อ มโยงกั บ ระบบ สายส่งไฟฟ้า (Off-Grid) และรางวัลรองชนะ เลิศอันดับ 2 การประกวด ASEAN Energy Awards 2015 ซึ่งถือเป็นตัวอย่างของภาค เอกชนในการลดต้นทุนด้านพลังงานด้วยการ หันมาใช้พลังงานทดแทน ด้ า น ดร.เกรี ย งศั ก ดิ์ เทพผดุ ง พร กรรมการผู ้ จั ด การ บริ ษั ท อ� า พลฟู ด ส์ โพรเซสซิง่ จ�ากัด กล่าวว่า จากความต้องการ ใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้น ท�าให้บริษัทฯ ตระหนัก ถึงความส�าคัญของการใช้พลังงาน และการ

การประหยัดพลังงาน นอกจากจะช่วยลด ค่าใช้จ่ายแล้ว ยังช่วยสร้าง รายได้เข้าบริษัทอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ จึงเกิดแนวคิด ในการน�าของเหลือทิ้งและ ของเสียดังกล่าวมาใช้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด หรือสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้วยการน�ามาผลิตไฟฟ้า เพื่อใช้ทดแทนการใช้ไฟฟ้าภาย ในบริษัทฯ ตามนโยบาย “ลดขยะให้เป็นศูนย์ (Zero waste)”

พัฒนาพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือก ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จากการที่ บริษัทฯ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตรเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร รู ป แบบต่ า งๆ โดยใช้ ม ะพร้ า วเป็ น วั ต ถุ ดิ บ หลั ก ประมาณ 40,000 ตั น /ปี ส่ ง ผลให้ มี

E N E R G Y S AV I N G

43


ของเหลือทิง้ ทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตเป็นจ�านวนมาก เช่น กะลา ใย ผิวทิว ฯลฯ รวมถึงน�า้ เสียที่ เกิดจากกระบวนการผลิตทีบ่ ริษทั ต้องก�าจัด ซึง่ การน�าของเสียและของเหลือทิง้ จากกระบวนการผลิต กลับมาใช้ประโยชน์ นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จา่ ยแล้ว ยังช่วยสร้างรายได้เข้าบริษทั อีกด้วย ด้วยเหตุนี้ จึงเกิดแนวคิดในการน�าของเหลือทิง้ และของเสียดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุดหรือสร้างมูลค่า เพิม่ ด้วยการน�ามาผลิตไฟฟ้าเพือ่ ใช้ทดแทนการใช้ไฟฟ้าภายในบริษทั ฯ ตามนโยบาย “ลดขยะให้เป็น ศูนย์ (Zero waste)” โครงการระบบผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพและก๊าซชีวมวล เป็นการน�าของเสียและของเหลือทิง้ จาก กระบวนการผลิตของบริษทั ฯ มาผลิตไฟฟ้า โดยจัดท�าระบบผลิตไฟฟ้า 2 ระบบ คือ ระบบผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ ใช้กา๊ ซชีวภาพทีไ่ ด้จากระบบบ�าบัดน�า้ เสียแบบ Modify Cover Lagoon ซึง่ รองรับปริมาณน�า้ เสียได้วนั ละ 2,000 ลูกบาศก์เมตร มาผลิตไฟฟ้าด้วยเครือ่ งยนต์กา๊ ซ ขนาดก�าลังการผลิตติดตัง้ 600 kW ส่วนความร้อนเหลือทิง้ น�าไปใช้กบั absorption chiller และ ระบบผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวมวลด้วยเทคโนโลยีแก๊สซิฟเิ คชัน่ ชนิด Open Top Downdraft Gasification มีวตั ถุประสงค์หลักเพือ่ แก้ไขปัญหาการจัดการขยะกะลามะพร้าวทีเ่ หลือทิง้ ปริมาณ มาก โดยน�ากะลามะพร้าวและใยมะพร้าวมาผลิตก๊าซเชือ้ เพลิงสังเคราะห์หรือก๊าซชีวมวล (Synthetic Gas หรือ Producer Gas) แล้วน�าไปผลิตไฟฟ้าด้วยเครือ่ งยนต์กา๊ ซ (Gas Engine) ขนาดก�าลังการ ผลิตติดตัง้ 250 kW ระบบนีม้ ี By-Product เป็นขีเ้ ถ้ากะลามะพร้าวซึง่ มีคณ ุ สมบัตเิ ป็นถ่านกัมมันต์ (activated carbon) ทีร่ าคาต�า่ กว่าท้องตลาดและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม (Eco Friendly) จึงสามารถ ขายสร้างรายได้เสริมให้แก่บริษทั ฯ ได้อกี ด้วย (เดิมขายกะลามะพร้าว 1 บาท/กิโลกรัม ถ่านกัมมันต์ มีมลู ค่า 10 บาท/กิโลกรัม) ปัจจุบนั บริษทั ฯ อยูร่ ะหว่างวิจยั พัฒนาเพือ่ เพิม่ คุณภาพถ่านกัมมันต์ให้ สูงขึน้ เพือ่ เพิม่ มูลค่าขึน้ อีก ไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้จากทัง้ 2 ระบบ สามารถใช้ทดแทนไฟฟ้าทีใ่ ช้ภายในบริษทั ฯ ได้ประมาณ 10% ของปริมาณไฟฟ้า ทีใ่ ช้ทงั้ หมด ระบบผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพสามารถผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 1,333 MWh ต่อปี คิดเป็นผลประหยัดประมาณ5 ล้านบาทต่อปี มูลค่าการลงทุนรวม 40.5 ล้านบาท (ได้รบั เงิน

44

E N E R G Y S AV I N G

สนับสนุนจากภาครัฐ 6 ล้านบาท) IRR 5.01% ระยะเวลาคืนทุน 6 ปี ส่วนระบบผลิตไฟฟ้าจาก ก๊าซชีวมวล ผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 48 MWh ต่อปี คิดเป็นผลประหยัดประมาณ 177,000 บาทต่อปี และยังมีผลพลอยได้เป็นถ่านกัมมันต์ 200 กิโลกรัมต่อวัน มูลค่าการลงทุนรวม 9.5 ล้านบาท (ได้รับเงินสนับสนุน จากภาครัฐ 592,220 บาท) IRR 9.74% ระยะเวลาคืนทุน 8 ปี ทัง้ 2 ระบบสามารถผลิตไฟฟ้าเทียบเท่าการ ลดการปล่ อ ย ก๊ า ซเรื อ นกระจก 740 ตั น คาร์บอนไดออกไซต์เทียบเท่า/ปี “โครงการระบบผลิตไฟฟ้าจากก๊าซชีวภาพ และก๊าซชีวมวลของ บริษัทฯ สามารถน�าไป ประยุกต์ใช้สา� หรับโรงงาน/ชุมชนทีม่ ศี กั ยภาพ วั ต ถุ ดิ บ เพี ย งพอ อาทิ โรงงาน/ชุ ม ชนที่ มี เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เศษไม้ ทางและทะลายปาล์ม แกลบ กะลามะพร้าว ซังข้าวโพด เหง้ามันส�าปะหลัง ฯลฯ โรงงานทีม่ นี า�้ เสียจากกระบวนการผลิตทีส่ ามารถน�ามาผลิต ก๊าซ ชีวภาพได้ ชุมชนทีม่ เี ศษอาหารหรือขยะเหลือทิง้ ทีส่ ามารถน�ามาผลิตก๊าซชีวภาพ เพือ่ ช่วยลดผล กระทบต่อชุมชนและสิง่ แวดล้อม” ดร.เกรียงศักดิ์ กล่าวทิ้งท้าย

NOVEMBER 2015



energy focus TEXT : คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู้อ�านวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม

การอนุรักษ์พลังงานในภาคขนส่ง จากแผนการอนุรักษ์พลังงานในช่วงปี พ.ศ. 2558 - 2579 ที่จะลดความเข้มการใช้พลังงาน (EI) ลง 30% ใน ปี พ.ศ. 2579 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2553 ซึ่งหมายถึงต้องลดการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ให้ได้กว่า 56,142 ktoe ของปริมาณการใช้พลังงาน ขั้นสุดท้ายทั้งหมดของประเทศใน ปี พ.ศ. 2579 โดยใช้ 3 กลยุทธ์ และ 10 มาตรการ คือ

ภาคบังคับ • บังคับใช้มาตรฐานการอนุรักษ์พลังงานในโรงงาน/อาคารควบคุม • บังคับมาตรฐานอาคารก่อสร้างใหม่เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (BEC) • ก�าหนดมาตรฐานและติดฉลากอุปกรณ์ เครื่องจักร และวัสดุเพื่อ การอนุรักษ์พลังงาน (HEPS/MEPS) • บั ง คั บ ใช้ เ กณฑ์ ม าตรฐานอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานส� า หรั บ ผู ้ ผ ลิ ต และ จ�าหน่ายพลังงาน (EERS)

ภาคความช่วยเหลือ • ช่วยเหลือ/อุดหนุน การด�าเนินงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน • ส่งเสริมการใช้แสงสว่างเพื่ออนุรักษ์พลังงาน (LED) • อนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง

ภาคสนับสนุน • วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมอนุรักษ์พลังงาน • พัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน • ประชาสัมพันธ์สร้างปลูกจิตส�านึกการอนุรักษ์พลังงาน

46

E N E R G Y S AV I N G

การขนส่งทางถนน มีสัดส่วนถึง 86 % ของการขนส่งในประเทศ และหนึ่งในมาตรการที่ส�าคัญมากที่สุด ซึ่งมีเป้าหมายการลด การใช้พลังงานมากที่สุดถึง 58.4% หรือคิดเป็นหน่วยพลังงาน ได้ 30,213 ktoe คือ มาตรการอนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง โดย เน้นประเด็นต่าง ๆ ดังนี้ • การทบทวนการอุ ด หนุ น ราคาพลั ง งานเพื่ อ สะท้ อ น ราคาพลังงานที่แท้จริง • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในยานยนต์ • ส่งเสริมการบริหารจัดการใช้รถบรรทุกและรถโดยสาร • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบคมนาคม

NOVEMBER 2015


โดยสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากกองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ส� า นั ก นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ให้ด�าเนิน "โครงการพัฒนา ปรั บ ปรุ ง และส่ ง เสริ ม การใช้ ง านโปรแกรมบริ ห ารจั ด การขนส่ ง เพื่ อ การ ประหยัดพลังงาน ระยะที่2 (Enhancement and Encouragement of Logistics and Transport Management Application ; LTMA2)" โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ จั ด ท� า โปรแกรมบริ ห ารจั ด การขนส่ ง ที่ เ ป็ น ระบบ ออนไลน์ ให้กับผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมและภาคการขนส่ง เพื่อ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่งให้กับผู้ประกอบการจ�านวน 5 คลัสเตอร์ ดังนี้ 1. กลุ่มสินค้าทั่วไป เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า เฟอร์นิเจอร์ และสินค้าบริโภค เป็นต้น 2. กลุ่มผลิตผลการเกษตร เช่น ข้าว ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ยางพารา เป็นต้น 3. กลุ่มวัสดุก่อสร้าง เช่น เหล็ก อลูมิเนียม เป็นต้น 4. กลุ่มอาหาร เช่น อาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารแช่แข็ง เป็นต้น 5. กลุ่มเคมีภัณฑ์ เช่น ปุ๋ย แร่ธาตุ เป็นต้น นอกจากนั้น โครงการมีการจัดท�าระบบ Backhaul และส่งเสริมการ สร้างเครือข่ายต้นแบบของผู้ประกอบการที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพการ บริหารจัดการขนส่งด้วยระบบสารสนเทศในภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรม เพื่อเป็นแนวทางศึกษาการลดการจัดส่งสินค้าเที่ยวเปล่า (Backhaul) ที่มี ประสิทธิภาพ รวมถึงการให้ความรู้และแนะน�ามาตรการประหยัดพลังงาน ให้กับผู้ประกอบการเพื่อท�าการปรับปรุงในมาตรการที่มีความพร้อมให้เกิด การประหยัดพลังงานต่อไป VOLUME 7 ISSUE 84

“แน่นอนว่าประโยชน์ที่จะได้จากการใช้โปรแกรมดังกล่าว อาทิ การสรุป Report รายวัน/สัปดาห์/เดือน หรือระบุเป็น รายคัน (รถยนต์) เพื่อให้ผู้บริหารสามารถวางแผนและตัดสินใจ และทราบถึ ง ต้ น ทุ น ขนส่ ง ของตนเองพร้ อ มทั้ ง ฟั ง ก์ ชั่ น ต่ า ง ๆ ในโปรแกรมที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่ง รวมถึงการ ซ่อมบ�ารุง และมาตรการประหยัดพลังงานในภาคขนส่งอีกด้วย จะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ มากขึ้นได้” โดยผู ้ ป ระกอบการท่ า นใดต้ อ งการสอบถามรายละเอี ย ด เพิ่มเติม หรือสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการฯ สามารถติดต่อได้ที่ สถาบันพลังงานฯ ที่ คุณเมธี ไชยโย หรือ คุณรัตนาภรณ์ สุริเจย์ โทรศั พ ท์ 02-345-1256 โทรสาร 02-345-1258 E-mail: rattanapornsurijay@gmail.com

ขอบคุณภาพประกอบ http://www.neotranslogistics.com/wp-content/themes/twentytwelve/images/ Kalmar-empty-container-handler.jpg http://www.pantherpremium.com/images/WarehouseWithScanner.jpg http://www.imvoracking.com/uploads/images/logistika_v_ukaine.jpg http://airfreight-logistics.com/wp-content/uploads/2015/07/yusenlogistics.jpg

E N E R G Y S AV I N G

47


open house TEXT : อภัสรา วัลลิภผล

เปิ ด บ้ า น DOS ผู้เชี่ยวชาญด้านอุปกรณ์ประหยัดพลังงงาน

Open Houseฉบับนี้จะพาได้ผู้อ่านไปท�าความรู้จักกับ บริษัท ธรรมสรณ์ จ�ากัดหรือ DOS GREENOVATION ซึ่งถือว่าเป็นบริษัท ที่ปรึกษาด้านพลังงานอีกบริษัทหนึ่งที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของ ระบบจัดการขยะ ถังบ�าบัดน�้าเสีย และถังเก็บน�้า ซึ่งนอกจาก จะเป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านพลังงานแล้ว ยังจ�าหน่ายอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความเชี่ยวชาญของบริษัทอีกด้วย

บริษัท ธรรมสรณ์ จ�ำกัด ก่อตั้งในปี 2534 บุคลำกรส่วนใหญ่เป็นคนไทยทั้งหมด โดยมี คุณธิติ โตวิวฒ ั น์ และกลุม่ เพือ่ นวิศวกรรวมถึงนักสิง่ แวดล้อมรวมตัวกัน ซึง่ วัตถุประสงค์ที่จะด�ำเนินธุรกิจ อันมีส่วนช่วยเหลือ บรรเทำปัญหำสิ่งแวดล้อมของ ประเทศไทย ในระยะเริ่มต้นบริษัทด�ำเนินธุรกิจใน แวดวงของน�้ำและน�้ำเสีย จนได้รับควำมไว้วำงใจ ให้บริษัทได้ช่วยเป็นส่วนหนึ่งของควำมส�ำเร็จ ของ โครงกำรต่ำง ๆ มำกมำยทัง้ ภำครัฐและเอกชน ภำยใต้ Concept Total Water Management และ ผลิตภัณฑ์เครื่องหมำยกำรค้ำ DOS บริษัทเริ่มได้รับ ควำมไว้วำงใจ จำกลูกค้ำมำกขึ้น จึงได้ขยำยธุรกิจ จำกทำงด้ำนน�้ำและน�้ำเสีย สู่ธุรกิจสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ข้ำงเคียง เช่น ระบบจัดกำรขยะ ถังบ�ำบัดน�ำ้ เสีย และ ถังเก็บน�้ำ โดยเพิ่มเตำเผำขยะ เครื่องคัดแยก ระบบ จัดกำรขยะครบวงจรที่มำกขึ้น ภำยหลังบริษัทจึง เปลีย่ น Concept จำกเพียง Total water management มำเป็น Total environment management เพื่อให้ครอบคลุมกำรบริกำรมำกยิ่งขึ้น และปัจจุบนั บริษทั ธรรมสรณ์ จ�ำกัด ยังมีนโยบำย มุ่งพัฒนำตอบสนองควำมต้องกำรให้กับลูกค้ำสูงสุด โดยครอบคลุม กำรบ�ำบัดรักษำน�้ำเสีย กำรเก็บน�้ำ รวมทั้งในครัวเรือน และอุตสำหกรรม รวมถึงธุรกิจ ทำงด้ำนสิ่งแวดล้อมต่ำง ๆ ซึ่งปัจจุบันได้ขยำยบริษัท โดยแบบเป็นประเภทธุรกิจดังนี้ บริษัท ธรรมสรณ์ จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์กลุ่มถังเก็บน�้ำและถังบ�ำบัดน�้ำเสียและ กำรพัฒนำระบบกำรท�ำงำน (Think Tank) และ ถังน�้ำขนำดใหญ่ บริษัท ธรรมสรณ์ เอ็นจิเนียริง จ�ำกัด เป็นผู้ผลิตและติดตั้งระบบ Bio-Gas ตั้งแต่ ขนำดเล็กถึงขนำดใหญ่ บริษัท สยำมเวสท์แมเนจเม้นท์ คอนซัลแตนท์ จ�ำกัด เป็นบริษัทให้ค�ำปรึกษำเกี่ยวกับกำรจัดกำร ของเสียครบวงจรบริษัท เรโปร เฮ้ำส์ จ�ำกัด ด�ำเนิน 48

E N E R G Y S AV I N G

ธุรกิจทำงด้ำนประตู รั้ว (Technocraft) และหน้ำต่ำง (Lynn) บริษัท ธรรมสรณ์จัดกำร พลังงำนและสิ่งแวดล้อม จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับเทคโนโลยีกำรผลิตพลังงำนสะอำด และพลังงำนทดแทน และบริษัท ธรรมสรณ์ นำโนโซลูชั่นส์ จ�ำกัด ด�ำเนินธุรกิจเกี่ยวกับ ซิลเวอร์ นำโน ตอบสนองควำมต้องกำรของลูกค้ำในเรื่อง Antibacteria คุณธิติ โตวิวัฒน์ เล่ำถึงจุดเด่นของบริษัทว่ำ ส�ำหรับจุดเด่นที่แตกต่ำงบริษัทอื่น คือบริษัทเรำมีควำมเชี่ยวชำญด้ำนระบบจัดกำรขยะ ถังบ�ำบัดน�้ำเสีย และถังเก็บน�้ำ มีทีม งำนที่มีประสิทธิภำพ สำมำรถดูแลลูกค้ำได้ตรงจุด และเมื่อลูกค้ำสนใจที่จะใช้บริกำรของ บริษัท ทำงเรำจะมีกำรตรวจสอบค�ำนวณผลประหยัดก่อนและหลังกำรให้บริกำรเสมอ ถ้ำ หำกลูกค้ำไม่พอใจทำงเรำยินดีรับผิดชอบ NOVEMBER 2015


คุคุณณธิธิตติ โตวิ ิ โตวิววัฒัฒน์น์

และนอกจำกเรำจะรั และนอกจำกเรำจะรับบปรึ ปรึกกษำทำงด้ ษำทำงด้ำำนกำรจั นกำรจัดดกำรพลั กำรพลังงงำนแล้ งำนแล้วว สิสินนค้ค้ำำทีที่ ่ ถืถืออว่ว่ำำเป็เป็นนจุจุดดเด่เด่นนของเรำก็ ของเรำก็มมอี อี ยูยูอ่ อ่ ย่ย่ำำงตังตัววด้ด้ววยกั ยกันนไม่ไม่ววำ่ ำ่ จะเป็ จะเป็นนDOS DOSECO ECOGAS GASเป็เป็นน อุอุปปกรณ์ กรณ์ปประหยั ระหยัดดพลั พลังงงงำน งงำนLPG LPGทีทีท่ ท่ ำ� ำ� ให้ให้กกระบวนกำรเผำไหม้ ระบวนกำรเผำไหม้มมปี ปี ระสิ ระสิททธิธิภภำพ ำพ ลดกำรใช้ ลดกำรใช้เชืเชือ้ อ้ เพลิ เพลิงงแก๊ แก๊สสลงได้ ลงได้110-20% 0-20%เหมำะส� เหมำะส�ำำหรั หรับบทุทุกกอุอุตตสำหกรรมที สำหกรรมทีใ่ ช้ใ่ ช้หหม้ม้ออ ต้ต้มมไอน� ไอน�้ำ้ำ(Boiler) (Boiler)เตำเผำ เตำเผำเตำอบและ เตำอบและเตำหลอม เตำหลอมทุทุกกชนิ ชนิดดDOS DOSECO ECOGAS GAS จะลดกำรรวมกลุ จะลดกำรรวมกลุ่ม่มของโมเลกุ ของโมเลกุลลแก๊ แก๊สสทีที่เ่กิเกิดดจำกไฟฟ้ จำกไฟฟ้ำำสถิ สถิตตย์ย์เมืเมื่อ่อแก๊ แก๊สสวิวิ่ง่งผ่ผ่ำำนน แคทตำลิ แคทตำลิสส จะท� จะท�ำำให้ให้เกิเกิดดกำรถ่ กำรถ่ำำยเทอิ ยเทอิเล็เล็กกตรอนให้ ตรอนให้แแก่ก่กกลุลุ่ม่มโมเลกุ โมเลกุลลของแก๊ ของแก๊สส ช่ช่ววยให้ ยให้โโมเลกุ มเลกุลลเกิเกิดดกำรแตกตั กำรแตกตัวว เมืเมื่อ่อโมเลกุ โมเลกุลลของแก๊ ของแก๊สสมีมีชช่อ่องว่งว่ำำงมำกขึ งมำกขึ้น้นจะ จะ ท�ท�ำำให้ให้กกำรแลกเปลี ำรแลกเปลี่ย่ยนควำมร้ นควำมร้ออนและกำรเผำไหม้ นและกำรเผำไหม้สสมบู มบูรรณ์ณ์ขขึ้นึ้น และค่ และค่ำำควำม ควำม ร้ร้ออนเพิ นเพิ่ม่มขึขึ้น้น ถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียยDos DosCompact Compactถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียยทีที่ร่รวมหลั วมหลักกกำรเกรอะ กำรเกรอะ และกำรกรองไร้ และกำรกรองไร้ออำกำศไว้ ำกำศไว้ใในถั นถังงใบเดี ใบเดียยวกั วกันนจึจึงงเหมำะสมส� เหมำะสมส�ำำหรั หรับบใช้ใช้บบ�ำ�ำบับัดดน�น�้ำ้ำ เสีเสียยทุทุกกชนิ ชนิดดในบ้ ในบ้ำำนคุ นคุณณทัทั้ง้งจำกกำรช� จำกกำรช�ำำระล้ ระล้ำำงในครั งในครัววเรืเรืออนนหรื หรืออจำกสิ จำกสิ่ง่งปฏิ ปฏิกกูลูล จำกกำรขั จำกกำรขับบถ่ถ่ำำยให้ ยให้ไได้ด้คคุณุณภำพน� ภำพน�้ำ้ำทิทิ้ง้งทีที่ด่ดี ีก่ก่ออนทิ นทิ้ง้งระบำยสู ระบำยสู่ท่ท่อ่อสำธำรณะ สำธำรณะ ถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียย Super Super Sept Sept Compact Compact ถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียย ทีที่ร่รวมหลั วมหลักก กำรเกรอะ กำรเกรอะ และกำรกรองไร้ และกำรกรองไร้ออำกำศไว้ ำกำศไว้ใในถั นถังงใบเดี ใบเดียยวกั วกันน จึจึงงเหมำะสมส� เหมำะสมส�ำำหรั หรับบ ใช้ใช้บบ�ำ�ำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียยทุทุกกชนิ ชนิดดในบ้ ในบ้ำำนคุ นคุณณ ทัทั้ง้งจำกกำรช� จำกกำรช�ำำระล้ ระล้ำำงในครั งในครัววเรืเรืออนหรื นหรืออ VVOOLLUUMMEE 77 I ISSSSUUEE 8844

จำกสิ จำกสิ่ง่งปฏิ ปฏิกกูลูลจำกกำรขั จำกกำรขับบถ่ถ่ำำยให้ ยให้ไได้ด้คคุณุณภำพน� ภำพน�้ำ้ำทิทิ้ง้งทีที่ด่ดี ก่ี ก่ออนทิ นทิ้ง้งระบำย ระบำย สูสู่ท่ท่อ่อสำธำรณะ สำธำรณะ ถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียย Sure Sure Compact Compact ถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียยชนิ ชนิดดไม่ไม่เติเติมม อำกำศ อำกำศเหมำะส� เหมำะส�ำำหรั หรับบบ�บ�ำำบับัดดน�น�ำ้ ำ้ เสีเสียยทุทุกกชนิ ชนิดดในบ้ ในบ้ำำนนทัทัง้ ง้ จำกกำรช� จำกกำรช�ำำระระ ล้ล้ำำงในครั งในครัววเรืเรืออนน และสิ และสิ่ง่งปฏิ ปฏิกกูลูลจำกกำรขั จำกกำรขับบถ่ถ่ำำยย เพืเพื่อ่อให้ให้ไได้ด้นน�้ำ�้ำทิทิ้ง้งทีที่ม่มี ี คุคุณณภำพดี ภำพดีพพอที อที่ร่ระบำยลงสู ะบำยลงสู่ท่ท่อ่อน�น�้ำ้ำสำธำรณะ สำธำรณะ ถัถังงเกรอะ เกรอะ SEPTIC SEPTIC (ST-07) (ST-07) ถัถังงบ�บ�ำำบับัดดน�น�้ำ้ำเสีเสียยส�ส�ำำเร็เร็จจรูรูปปแบบถั แบบถังง เกรอะขั เกรอะขั้น้นแรก แรก Primary Primary Package Package Treatment Treatment Tank Tank ช่ช่ววยลดค่ ยลดค่ำำ ควำมสกปรก ควำมสกปรก (BOD) (BOD) ของน� ของน�้ำ้ำเสีเสียยก่ก่ออนปล่ นปล่ออยเข้ ยเข้ำำสูสู่ร่ระบบบ� ะบบบ�ำำบับัดดขัขั้น้นทีที่ ่ สอง สอง(Secondary (SecondaryTreatment) Treatment)โดยเฉพำะอย่ โดยเฉพำะอย่ำำงยิงยิ่ง่งเพืเพื่อ่อใช้ใช้กกักักเก็เก็บบ น�น�้ำ้ำปัปัสสสำวะและกำกอุ สำวะและกำกอุจจจำระก่ จำระก่ออนเข้ นเข้ำำสูสู่ ่(Dos (DosFilter) Filter)ต่ต่ออไปไป ส�ส�ำำหรั หรับบผูผู้ส้สนใจสำมำรถติ นใจสำมำรถติดดต่ต่ออขอใช้ ขอใช้ออุปุปกรณ์ กรณ์ไได้ด้ฟฟรีรีใในลั นลักกษณะ ษณะ โครงกำร โครงกำรShare ShareSaving Savingคืคืออติติดดตัตัง้ ง้ และบ� และบ�ำำรุรุงงรัรักกษำฟรี ษำฟรีตตลอดโครงกำร ลอดโครงกำร โดยช� โดยช�ำำระค่ ระค่ำำใช้ใช้บบริริกกำรเป็ ำรเป็นนจ�จ�ำำนวนเงิ นวนเงินนครึ ครึ่ง่งนึนึงงของผลประหยั ของผลประหยัดดจริจริงง ติติดดต่ต่ออเข้เข้ำำร่ร่ววมโครงกำรได้ มโครงกำรได้ทที่ ี่ บริ บริษษั ทั ท DOS DOS GREENOVATION GREENOVATION โทร โทร02-611-0290 02-611-0290หรื หรืออ081-170-8934 081-170-8934 EENNEERRGGYY SSAV AVI INNGG 44 99


Product review

จีอี

TEXT : Rainbow Ice

ชูเครื่องกังหันก๊าซ แบบแอโรเดริเวทีฟ ประหยัดพลังงาน ประสิทธิภาพสูง

จีอี (NYSE: GE) เปิดตัว the LM6000-PF+ เครื่องกังหันก๊าซแบบแอโรเดริเวที ฟรุ่นล่าสุด ที่เป็นการน�าเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่จีอีมีอยู่มารวมกัน เพื่อตอบสนอง ความต้องการของตลาดในการผลิตพลังงานไฟฟ้าที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ มากขึน้ กว่าในอดีตทีผ่ า่ นมา และได้รบั ค�าสัง่ ซือ้ LM6000-PF+ (PF+) จ�านวน 6 เครือ่ ง จาก บริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ากัด (GED) และมิตซุย คอร์ปอเรชั่น ภายใต้สัญญารับเหมาโครงการแบบงานวิศวกรรม-จัดหา-ก่อสร้าง (EPC) กับโตโย เอ็นจีเนียริ่ง คอร์ปอเรชั่น ซึ่งนับเป็นค�าสั่งซื้อครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ในด้านเทคโนโลยีดิสทริบิวเต็ด เพาเวอร์ (DP) ความส�าเร็จนี้ประกาศอย่างเป็น ทางการในงาน POWER-GEN Asia conference ปีนี้ ซึ่งจัดขึ้นที่กรุงเทพฯ

PF+ เป็นเทคโนโลยีเครือ่ งกังหันก๊าซรุน่ ล่าสุดของจีอที มี่ สี มรรถนะ และความยืดหยุน่ สูงขึ้น สามารถติดตั้งได้อย่างรวดเร็ว เพื่อให้สามารถคงประสิทธิภาพความพร้อมใน การผลิตไฟฟ้าที่ยอดเยี่ยมเหมือน LM6000 รุ่นก่อน ๆ ที่ผ่านมาจีอีได้น�าชิ้นส่วนกว่า 90% จาก LM6000 รุ่นเดิมมาปรับปรุงและดัดแปลงเพื่อพัฒนาเป็น PF+ ทั้งนี้ ทางทีมงาน ผูพ้ ฒ ั นายังได้นา� เทคโนโลยีชนั้ น�าใหม่ๆ ของจีอี เพือ่ สร้างสรรค์เครือ่ งกังหันก๊าซรุน่ PF+ ให้ มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ สามารถติดตัง้ ได้รวดเร็วมากขึน้ สามารถพูดได้วา่ LM6000-PF+ จะเป็นการรวบรวมเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ยอดเยี่ยมของแต่ละกลุ่มธุรกิจของจีอี รวมถึง เทคโนโลยีกังหันก๊าซจากกลุ่มอะวิเอชั่น ระบบควบคุมจากกลุ่มบริหารจัดการพลังงาน 50

E N E R G Y S AV I N G

อุปกรณ์ gearbox จากกลุ่มออยล์แอนด์แก๊ส และ การออกแบบและวิ ศ วกรรมที่ ย อดเยี่ ย มส� า หรั บ แพ็กเกจของเครื่องกังหันก๊าซ จากกลุ่มเพาเวอร์ แอนด์วอเตอร์ จากการน�าเทคโนโลยีของกลุ่มธุรกิจต่างๆ ในจี อีมาท�างานร่วมกัน ท�าให้ PF+ เป็นกังหันก๊าซที่มี ความสามารถในการผลิตไฟฟ้าสูงขึน้ (52-58 เมกกะวัตต์) และมีประสิทธิภาพในการผลิตพลังความร้อนร่วม (56 เปอร์เซ็นต์) มากกว่าผลิตภัณฑ์อน่ื ๆ ในระดับเดียวกัน เทคโนโลยีลา่ สุดประกอบด้วย super polished compressor airfoils และเตาเผาเชือ้ เพลิงคูท่ ใี่ ช้เทคโนโลยี เผาไหม้แบบ Dry Low Emissions (DLE) ซึง่ เป็นเตา เผาเชื้อเพลิงแบบไม่ใช้น�้าเพื่อควบคุมการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกเช่น NOx และ CO เป็นต้น เครื่องกังหันก๊าซ LM6000 ออกสู่ตลาดครั้งแรก เมือ่ ต้นปี 2533 จากนัน้ ได้รบั การปรับปรุงและพัฒนา อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรมและ ความต้องการของลูกค้า เครื่องกังหันก๊าซ LM6000 ทุกรุ่น รวมถึง PF+ สร้างด้วยหลักการเดียวกับ CF6 jet engine ซึ่งเป็นเครื่องยนต์เครื่องบินที่ผลิตโดย จีอี และเป็นเครื่องยนต์ที่ได้รับการน�าไปใช้กับเครื่อง บินมากที่สุดทั่วโลก ทั้งนี้ CF6 ยังคงเป็นหนึ่งใน เครื่องยนต์ที่ใช้กับเครื่องบินล�าตัวกว้างที่ขายดีที่สุด ในโลกจนถึงทุกวันนี้ NOVEMBER 2015


Product ShowcaSe induStrial TEXT : Rainbow Ice

เตำอุตสำหกรรมเผำเม็ดชีวมวล ทดแทนน�้ามันเชื้อเพลิงจากน�้ามันดีเซลหรือก๊าซของหม้อไอน�้า สามารถเดินเครื่องได้ อย่างมีคุณภาพสูง ประหยัดค่าใช้จ่ายและการป้องกันสิ่งแวดล้อม ง่ายส�าหรับต่อการ เปลี่ยนน�้ามันเดิม, หม้อไอน�้าดีเซลหรือก๊าซธรรมชาติของอุปกรณ์ความปลอดภัยและ มีระบบการควบคุม tempreture มีประสิทธิภาพสูง สามารถปรับแต่งเตาให้ขึ้นอยู่ กับหม้อไอน�้าที่ดีได้ ประหยัดค่าใช้จ่ายเป็น 50- 60% เมื่อเทียบกับน�้ามัน, น�้ามัน ดีเซลหรือก๊าซของความแตกต่างเป็นเทคโนโลยีการเผาไหม้ที่มีลมกรดที่เกิดจากการ เผาใหม้ได้ สามารถเดินเครื่องได้ต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง สนใจดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://grandlinkchina.en.alibaba.com

เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ ไฮโดรเจน เป็นเครื่องใช้อุณหภูมิสูงเปลวไฟคริลิคที่จะท�าให้ ขอบเรียบและสดใสของความร้อนขัดกับคริลิคพื้นผิวที่ ขรุขระสามารถท�าได้ตราบใดที่ผ่านเปลวไฟ มีน�้าหนัก เบา ประหยัดพลังงาน เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ปลอดภัย และเชื่ อ ถื อ ได้ สามารถบั น ทึ ก มากกว่ า ค่ า ใช้ จ ่ า ย 30% เมื่ อ เที ย บกั บ วิ ธี ก ารอื่ น ๆ ที่ ใช้ วั ส ดุ เ ดี ย วกั น สนใจดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.sign-inchina.com

MV DriVe AltiVAr 1200 ไดร์ฟรุ่นใหญ่ ประหยัดไฟ นวั ต กรรมใหม่ เ พื่ อ การจั ด การพลั ง งานที่ ใช้ กั บ มอเตอร์ ร ะดั บ Medium voltage ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ประหยัดพลังงาน มีประสิทธิภาพ และเสถียรภาพสูง ติดตั้งง่าย ลดต้นทุนในการ ซ่อมบ�ารุง มีบริการหลังการขายด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญ สามารถสอบถามหรือ ตรวจสอบข้อมูลเพิม่ เติมได้ตามช่องทางของบริษทั ฯ ดังต่อไปนี้ แผนก บริการลูกค้า โทร 0-2617-5555

E N E R G Y S AV I N G

51


Product ShowcaSe induStrial TEXT : Rainbow Ice

เตำอุตสำหกรรมเผำเม็ดชีวมวล ทดแทนน�้ามันเชื้อเพลิงจากน�้ามันดีเซลหรือก๊าซของหม้อไอน�้า สามารถเดินเครื่องได้ อย่างมีคุณภาพสูง ประหยัดค่าใช้จ่ายและการป้องกันสิ่งแวดล้อม ง่ายส�าหรับต่อการ เปลี่ยนน�้ามันเดิม, หม้อไอน�้าดีเซลหรือก๊าซธรรมชาติของอุปกรณ์ความปลอดภัยและ มีระบบการควบคุม tempreture มีประสิทธิภาพสูง สามารถปรับแต่งเตาให้ขึ้นอยู่ กับหม้อไอน�้าที่ดีได้ ประหยัดค่าใช้จ่ายเป็น 50- 60% เมื่อเทียบกับน�้ามัน, น�้ามัน ดีเซลหรือก๊าซของความแตกต่างเป็นเทคโนโลยีการเผาไหม้ที่มีลมกรดที่เกิดจากการ เผาใหม้ได้ สามารถเดินเครื่องได้ต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง สนใจดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://grandlinkchina.en.alibaba.com

เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้ำ ไฮโดรเจน

C

M

เป็นเครื่องใช้อุณหภูมิสูงเปลวไฟคริลิคที่จะท�าให้ ขอบเรียบและสดใสของความร้อนขัดกับคริลิคพื้นผิวที่ ขรุขระสามารถท�าได้ตราบใดที่ผ่านเปลวไฟ มีน�้าหนัก เบา ประหยัดพลังงาน เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ปลอดภัย และเชื่ อ ถื อ ได้ สามารถบั น ทึ ก มากกว่ า ค่ า ใช้ จ ่ า ย 30% เมื่ อ เที ย บกั บ วิ ธี ก ารอื่ น ๆ ที่ ใช้ วั ส ดุ เ ดี ย วกั น สนใจดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.sign-inchina.com

Y

CM

MY

CY

CMY

K

MV DriVe AltiVAr 1200 ไดร์ฟรุ่นใหญ่ ประหยัดไฟ นวั ต กรรมใหม่ เ พื่ อ การจั ด การพลั ง งานที่ ใช้ กั บ มอเตอร์ ร ะดั บ Medium voltage ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ประหยัดพลังงาน มีประสิทธิภาพ และเสถียรภาพสูง ติดตั้งง่าย ลดต้นทุนในการ ซ่อมบ�ารุง มีบริการหลังการขายด้วยผูเ้ ชีย่ วชาญ สามารถสอบถามหรือ ตรวจสอบข้อมูลเพิม่ เติมได้ตามช่องทางของบริษทั ฯ ดังต่อไปนี้ แผนก บริการลูกค้า โทร 0-2617-5555

E N E R G Y S AV I N G

51



INTERVIEW TEXT: อภัสรา วัลลิภผล

มหาวิทยาลัยสีเขียว

ม.หัวเฉียวฯ ประหยัดพลังงานด้วยคุณธรรม พลังงานเป็นทรัพยากรส�าคัญของสังคม และของโลกเป็ น ปั จ จั ย ที่ จ� า เป็ น มาก ที่ สุ ด ในการด� า เนิ น กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ความต้ อ งการใช้ พ ลั ง งานจึ ง เพิ่ ม มาก ขึ้ น เรื่ อ ย ๆ จากปั ญ หาวิ ก ฤติ ด ้ า น พลั ง งานจึ ง เกิ ด ขึ้ น อยู ่ บ ่ อ ยครั้ ง จึ ง ท� า ให้ ก ารรู ้ จั ก บริ ห ารจั ด การพลั ง งาน เป็ น เรื่ อ งจ� า เป็ น ที่ บุ ค ลากรทุ ก ระดั บ ตั้งแต่ผู้บริหารสูงสุดลงไปต้องตระหนัก และพั ฒ นาให้ ส มาชิ ก ในองค์ ก รให้ เ กิ ด จิ ต ส� า นึ ก การใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ “มหาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย ว เฉลิมพระเกียรติ” เป็นมหาวิทยาลัยหนึ่ง ที่มีนโยบายมุ่งเน้นการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ภายใต้คา� ขวัญทีว่ า่ “ม.หัวเฉียวฯ ประหยัด พลังงานด้วยคุณธรรม” โดยมุ่งมั่นที่จะ สร้ า งวั ฒ นธรรมจิ ต ส� า นึ ก บุ ค ลากรใน การประหยั ด พลั ง งานที่ มี ก ารปรั บ ปรุ ง การด�าเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การ ใช้ ท รั พ ยากรพลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ ม เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

รศ.ดร.ประจักษ์ พุ่มวิเศษ อธิการบดีมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ 54

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


รศ.ดร.ประจั ก ษ์ พุ ่ ม วิ เ ศษ อธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย หั ว เฉี ย วเฉลิ ม พระเกี ย รติ เล่าถึง จุดเริม่ ต้นของกิจกรรมหรือโครงการทุกอย่างทีเ่ กีย่ วข้องกับการประหยัดพลังงาน ว่า มหาวิทยาลัยที่ของเรานั้นเกิดจากการน้อมน�ากระแสพระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั ทีพ่ ระราชทานแก่มหาวิทยาลัย ไว้วา่ “ขอให้ทา� มหาวิทยาลัยแห่งนีใ้ ห้ด”ี ครัง้ เมือ่ ทรงเสด็จพระราชด�าเนินเปิดมหาวิทยาลัย เมือ่ วันที่ 24 มีนาคม 2537 ด้วยเหตุนมี้ หาวิทยาลัย จึงมุง่ มัน่ พัฒนาให้เป็นมหาวิทยาลัยทีด่ ตี ามทีท่ รงรับสัง่ ซึง่ จะต้องดีดว้ ยความรู้ และด้วยคุณธรรม จริยธรรม หรือทัง้ กาย วาจา ใจ โดยได้บม่ เพาะคุณธรรมให้แก่บคุ ลากรและนักศึกษามาอย่าง ต่อเนื่องยาวนานนับแต่ก่อตั้งมหาวิทยาลัย และก�าหนดเป็นคุณธรรม 6 ประการ อันได้แก่ ขยัน อดทน ประหยัด เมตตา ซือ่ สัตย์ และกตัญญู เพือ่ มุง่ สูก่ ารเป็น “มหาวิทยาลัยคุณธรรม” มหาวิทยาลัยจึงได้นา� คุณธรรม 6 ประการ มาเป็นหลักในการบริหารงาน สอดแทรกในการเรียน การสอน รวมทัง้ กิจกรรมและโครงการต่าง ๆมหาวิทยาลัยมีแนวโน้มการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ รวมทัง้ พลังงานเพิม่ ขึน้ ทุก ๆ ปี ทางมหาวิทยาลัยได้เริม่ ด�าเนินการโครงการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ รวมทัง้ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเป็นผลให้ชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยลงได้อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ ปี 2551 ทัง้ นีย้ งั ได้มกี ารเพิม่ กิจกรรมโครงการอนุรกั ษ์พลังงานมากขึน้ เรือ่ ย ๆ รวมทัง้ การสร้าง จิตส�านึกในการรับผิดชอบการใช้พลังงานซึง่ เป็นทรัพยากรของสังคม ด้วยการน�าคุณธรรมมาเป็น หลักในการด�าเนินการ จึงเกิดค�าขวัญ “ม.หัวเฉียวฯ ประหยัดพลังงานด้วยคุณธรรม” ขึน้ นัน่ เอง โดยส่ ว นตั ว ของอธิ ก ารบดี นั้ น ให้ ค วามส� า คั ญ ในเรื่ อ งการรู ้ จั ก ใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ไม่สรุ ยุ่ สุรา่ ย โดยเฉพาะยึดถือการอนุรกั ษ์พลังงานเป็นหลัก รวมทัง้ ได้นา� ระบบ การจัดการพลังงาน 8 ขัน้ ตอนของกระทรวงพลังงานมาปฎิบตั อิ ย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง พร้อม กับการก�าหนดเป้าหมายทีช่ ดั เจน คือ ลดการใช้พลังงานอย่างเป็นรูปธรรม 10 % โดยเปรียบ เทียบกับข้อมูลของปีท่ีผ่านมา และเพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานของกลุ่ม อาคารประเภทมหาวิทยาลัยในโซนภาคตะวันออก โดยมุง่ เน้นการพัฒนาหลัก 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านการพัฒนาคน (People ware) คือ จัดให้มกี ารอบรมความรูแ้ ละสร้างจิตส�านึก ด้านการ อนุรักษ์พลังงานให้กับบุคลากรและนักศึกษาทุกปี การสร้าง และจัดกิจกรรมส่งเสริมภายใน มหาวิทยาลัยและสังคม พร้อมกับก�าหนดมาตรการหลัก 6 ประการ ให้บคุ ลากรทุกท่านร่วมกัน น�าไปปฏิบตั ใิ ช้ ได้แก่ เปิดหน้าต่างทุก ๆ เช้าวันจันทร์เพือ่ การระบายอากาศก่อนการเปิดเครือ่ ง ปรับอากาศ รณรงค์ลดการใช้พลังงานในช่วงเวลา (On Peak) รณรงค์การใช้บนั ไดแทนการใช้ ลิฟท์ มีการปรับตัง้ อุณหภูมิ 25 C ปรับตัง้ โหมด Stand by คอมพิวเตอร์ และ ปิดระบบเครือ่ ง ปรับอากาศและระบบแสงสว่างในช่วง เวลา 12.00 – 13.00 น. ด้านการสร้างระบบ (System ware) คือ การร่วมกันสร้างระบบและมาตรการต่าง ๆ ในการอนุรกั ษ์พลังงานเพือ่ ให้เกิดความ ต่อเนือ่ งและยัง่ ยืน โดยใช้แนวทางของกระทรวงพลังงานพร้อมด�าเนินการจัดท�าระบบมาตรฐาน การจัดการพลังงานแบบสากล ISO 50001 ด้านการเน้นประสิทธิภาพ (Hardware) คือ การ ประเมินศักยภาพในการใช้พลังงานของอุปกรณ์แลเครือ่ งจักรเป็นระยะ ก�าหนดการใช้งานเพือ่ ให้ เกิดการประหยัดพลังงาน รวมทัง้ การดูแลบ�ารุงรักษาอุปกรณ์เครือ่ งจักรอย่างถูกวิธแี ละเหมาะสม และที่ส�าคัญการปรับปรุงเครื่องจักรโดยการพิจารณามาตรการที่มุ่งเน้นประสิทธิภาพและมี ระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 3 ปี เช่น การใช้หลอดไฟ LED และการใช้เครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงแบบ Inverter จากการสนับสนุนการด�าเนินงานในทุก ๆ ด้าน ซึง่ ทางมหาวิทยาลัยได้ให้ความส�าคัญ ในส่วนของ

VOLUME 7 ISSUE 84

เจ้าหน้าที่และกลุ่มคณาจารย์เป็นอย่างมาก เพราะ เป็นส่วนส�าคัญที่ต้องขับเคลื่อนงานให้ส�าเร็จ จึงต้องมี การสร้างทัศนคติที่ดีในเรื่องของการอนุรักษ์พลังงาน จึงจัดการอบรม 100 % และจัดตั้งทีมงานอนุรักษ์ พลังงาน โดยมุ่งเน้นให้มีบุคลากรจากทุกภาคส่วน เป็นคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการนี้ พร้อมกับ การจั ด สรรงบประมาณให้ ที ม งานอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ได้ศึกษาดูงานอาคารที่ประสบความส�าเร็จด้านการ จัดการพลังงานและสิง่ แวดล้อมต่าง ๆ เพือ่ เปิดมุมมอง ใหม่ในการทีมงาน ถือได้ว่าการปรับเปลี่ยนมาใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ประหยัดพลังงานเป็นการด�าเนินการที่ท�าให้เกิดขวัญ ก�าลังใจและการขับเคลื่อนในส่วนของ People และ System จากผลลัพธ์ดา้ นผลประหยัดพลังงานทีช่ ดั เจน และคุณภาพชีวติ ภายในมหาวิทยาลัยทีด่ ขี นึ้ เช่น หลอด LED ทีป่ ระหยัดพลังงานมากกว่าแล้วยังมีแสงสว่างทีด่ ี และปลอดภัยมากขึ้น สาเหตุส่วนหนึ่งที่มหาวิทยาลัย ตัดสินใจลงทุนด้านเทคโนโลยี เกิดจากการศึกษาข้อมูล ทัง้ ยังได้รบั การแนะน�าจากผูเ้ ชีย่ วชาญจากทีมทีป่ รึกษา อย่าง บริษทั อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จ�ำกัด ทีเ่ ข้ามา ช่วยจัดการด้านพลังงานอีกทางหนึง่ เรียกได้ว่า ม.หัวเฉียวฯ ถือเป็นมหาวิทยาลัยที่ ใส่ ใจพลั ง งานตั ว ยง ถ้ า หากมหาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ไหน อยากที่จะท�าโครงการประหยัดพลังงานสามารถน�า แนวคิดของ ม.หัวเฉียวฯ ไปใช้กันได้ ท่านอธิการบดี แอบกระซิบมาว่า ไม่หวง แถมยังพร้อมให้ค�าแนะน�า อีกด้วยค่ะ

E N E R G Y S AV I N G

55


Green LoGistics TEXT : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ยุโลจิทสติธวิ ธ ี บริหารจัดการ กส์และซัพพลายเชน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจบริการด้านโลจิสติกส์ ผู้ให้บริการขนส่ง สินค้า ผู้ให้บริการคลังสินค้า ผู้ให้บริการในการจัดการ ขนส่ง พิธีการศุลกากร และผู้ให้บริการโลจิสติกส์แบบ ครบวงจร นับว่ามีบทบาทส�าคัญอย่างยิ่งในการขับเคลื่อน ธุรกิจการค้าทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ แต่อย่างไรก็ดี ปัจจุบันประเทศไทยมีต้นทุนโลจิสติกส์อยู่ที่ประมาณ 14% ของจีดีพี ถือว่าเป็นต้นทุนที่สูง ซึ่งหากภาครัฐเร่งด�าเนิน นโยบายส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการด้าน โลจิสติกส์ ก็จะเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันได้

56

E N E R G Y S AV I N G

นอกจากนี้ จ ะเห็ น ได้ ว ่ า ด้ ว ยสภาพเศรษฐกิ จ ที่ ช ะลอตั ว การขายที่ซบเซา ประกอบกับเป็นช่วงโลซีซั่น จึงท�าให้ธุรกิจ และอุตสาหกรรมต่าง ๆ พยายามจะงัดกลยุทธ์ทกุ วิถที างทีห่ ลากหลาย น�ามาใช้บริหารจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน เพื่อรักษาการ เติบโตและเป้าหมายตามรายได้ที่ก�าหนดไว้ ซึ่งสิ่งที่ธุรกิจมักด�าเนิน การอยู่ขณะนี้ ผู้เขียนมักพบเห็นจึงน�ามาฝาก 4 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นแรก ความเคลื่อนไหวในการจัดท�าการส่งเสริมการขาย (Sales Promotion) ซึ่งประกอบด้วย การลด แลก แจก แถม ส่งคูปองชิงโชคมีกันเกลื่อนตลาด ณ เวลานี้ โดยกระท�าอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นการจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภค กลับกลายเป็นว่าจะใช้ “ราคา” จากส่วนที่ลดลงเป็นตัวก�าหนดในการท�าตลาด หรือเข้าข่าย ลักษณะสงครามราคา “Price War” แต่จะใช้การส่งเสริมการขายที่ เป็นส่วนลดเป็นอาวุธ จากที่เคยใช้ส่วนลด 20-70% จะกลายเป็นการ ให้ ส ่ ว นลดถึ ง 80% นอกจากนี้ สิ่ ง ที่ ผู ้ ป ระกอบการธุ ร กิ จ เริ่ ม ท� า ควบคู่กับการส่งเสริมการขาย ก็คือ ความพยายามลดต้นทุนในการ บริหารสต็อก เพื่อให้สอดคล้องกับการกระตุ้นก�าลังซื้อของผู้บริโภคที่ ขาดหายไป โดยผ่านการส่งเสริมการขาย และแต่ละธุรกิจยังจะต้อง รักษาคุณภาพมาตรฐานของสินค้าอีกด้วย

NOVEMBER 2015


เมื่อมีการจัดท�าการส่งเสริมการขาย ดังนั้นการควบคุมสต็อกให้ใกล้เคียงกับยอดขายแล้ว ยังก่อให้เกิดก�าไรอีกด้วย เพราะหากบริหารสต็อกไม่ดี ปริมาณสินค้าก็จะเพิ่มขึ้นเป็นจ�านวน มาก ยิ่งมีการจัดการส่งเสริมการขายอย่างต่อเนื่อง และลดราคาอย่างแรง จะท�าให้ผู้บริโภค เกิ ด ความต้ อ งการซื้ อ เพิ่ ม ขึ้ น หากบริ ห ารสต็ อ กไม่ ดี ก็ จ ะส่ ง ผลต่ อ การด� า เนิ น งานทางด้ า น โลจิสติกส์และซัพพลายเชน อนึ่งการบริหารสต็อกมีความส�าคัญอย่างมากท่ามกลางสภาวะที่ ไม่แน่นอนของตลาด จึงต้องควบคุมการผลิตให้สอดคล้องกับก�าลังซื้อและยอดขายที่หายไป ซึ่งบางแห่งก็ใช้วิธี Outsource หรือจ้างผลิต 80% บางแห่งก็ใช้วิธีการลดความถี่ในการออก สินค้าใหม่ลง ก็จะท�าให้สามารถบริหารสต็อกสินค้าได้ดียิ่งขึ้น ประเด็นที่สอง นอกจากหันมาดูแลเรื่องสต็อกเพื่อให้กระแสเงินหมุนเวียนที่ดีแล้ว ยังมีการท�า ควบคู ่ ไ ปกั บ การปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต เพื่ อ ลดความสู ญ เสี ย ต่ า ง ๆ ที่ เ กิ ด จาก กระบวนการผลิต ซึ่งจะท�าให้ต้นทุนต�่าลง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อีกวิธีการ หนึ่งที่นิยมท�ากันในขณะนี้ บางบริษัทมีการปรับลดก�าลังการผลิตให้สอดคล้องกับยอดการ สั่งซื้อที่ลดลง โดยการลดโอที แล้วหันมาท�ากิจกรรมทางการตลาดในลักษณะ Event Logistics ให้มากขึ้น รวมทั้งการเจรจาราคาวัตถุดิบแบบระยะยาวกับซัพพลายเออร์ ประเด็นที่สาม ผู้ประกอบการบางแห่งได้สร้างจุดเด่นในการให้บริการ โดยการน�าเทคโนโลยี ทีท่ นั สมัยใหม่มาใช้ในการบริหารจัดการคลังสินค้าให้มปี ระสิทธิภาพ ซึ่งระบบ Mobile Racking จะท�าให้สามารถเคลื่อนย้ายอุปกรณ์จัดเก็บสินค้าได้ด้วยระบบอัตโนมัติ จึงช่วยลดระยะเวลา ในการค้นหาและเคลื่อนย้ายสินค้า รวมทั้งเพิ่มความสามารถในการบริหารพื้นที่คลังสินค้าได้ อย่างเต็มประสิทธิภาพ และช่วยลดต้นทุนการบริหารจัดการในระยะยาว นอกจากนี้ยังมีการ วางแผนพั ฒ นาองค์ ก รโดยใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เข้ า มาตอบสนองความต้อ งการของลูกค้า และระบบการบริหารจัดการสามารถเชื่อมโยงข้อมูลกับลูกค้าและหน่วยงานแต่ละฝ่ายภายใน องค์กรได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นจึงท�าให้ประสิทธิภาพการท�างานการจัดการขององค์กรธุรกิจ เพิ่มมากยิ่งขึ้น

ขอบคุณภาพประกอบ

ประการสุดท้าย ธุรกิจบางแห่งต้องการ การวางระบบการจัดการโลจิสติกส์ให้ครบ วงจรในช่วงที่ภาวะเศรษฐกิจซบเซา เพื่อว่า หากอีก 1-2 ปี ข้างหน้าสภาวะเศรษฐกิจ พลิ ก ฟื ้ น ดี ขึ้ น จะท� า ให้ ธุ ร กิ จ เกิ ด ความได้ เปรียบทางการแข่งขันทันที โดยไม่ต้องรอ เวลาให้ ส ภาพเศรษฐกิ จ ฟื ้ น ตั ว ก่ อ น ไม่ ว ่ า จะเป็ น เรื่ อ งการวางระบบลดต้ น ทุ น ในทุ ก รู ป แบบ ตั้ ง แต่ ล ดของเสี ย ในกระบวนการ ผลิ ต การ คลั ง สิ น ค้ า รั ก ษาคุ ณ ภาพสิ น ค้ า วางระบบการรั ก ษาความปลอดภั ย ความ รวดเร็ว และการประหยัดพลังงาน รวมถึง การบริการจะต้อ งสร้างความประทับใจทั้ง ลูกค้าภายในและภายนอก อย่างไรก็ตามการจัดการโลจิสติกส์และ ซั พ พลายเชนจะต้ อ งเป็ น ความร่ ว มมื อ กั น อย่ า งเหนี ย วแน่ น ทั้ ง ภายในและภายนอก ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐกับภาคเอกชน หรือภาค เอกชนกั บ ภาคเอกชน ซึ่ ง จะต้ อ งยกระดั บ ท� า ให้ ร ะบบโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละซั พ พลายเชน ไต่เ พดานถึง ระดับสากลอย่า งเป็น รูปธรรม อย่างแท้จริง จึงจะเกิดความสามารถทางการ แข่งขันได้

http://blogs-images.forbes.com/samsungbusiness/files/2015/02/SAM-8-Logistics.jpg http://atlaslogistics.co.in/images/home-bg.jpg https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/a/a2/Modern_warehouse_with_pallet_rack_storage_system.jpg http://www.pantherpremium.com/images/WarehouseWithScanner.jpg http://www.oceangradeslogistics.com/air%20logistics.jpg VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

57


renergy TEXT : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสหกรรมแห่งประเทศไทย

สถานการณ์ EE และ RE ปัจจุบัน ท่ามกลางบรรยากาศครึ้มฟ้าครึ้มฝนของพลังงานทดแทนมากว่า 1 ปีแล้ว ที่ไม่มีการรับซื้อไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงอื่น ๆ ยกเว้นโซล่าเซลล์ ซึ่งเป็นนโยบายของรัฐ ก็คงต้องเข้าเวรรอว่าเมื่อไหร่จะถึงคิวเชื้อเพลิงอื่น ๆ บ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ชาวสวนชาวไร่พืชพลังงานรอคอย มานานแล้ว เมื่อสบู่ด�าแท้ง ก็หันมาปลูกหญ้าเนเปียร์บ้าง กระถินยักษ์บ้าง เผื่อจะเข้าตา คสช. เพื่อเกาให้ถูกที่คัน หากท่านเป็นแฟนพันธุ์ แท้พลังงานทดแทน ตัดเก็บหรือ save ข้อมูลต่อไปนี้ไว้ ช่วยวางแผนการตลาดในอนาคตได้เลย ไม่ว่าท่านจะอยู่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ หรือ Super Cluster หรือในเขตที่ กฟผ. ประกาศว่าไม่มีสายส่งก็ตาม ข้อมูลต่อไปนี้มีประโยชน์แน่นอน

แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 (AEDP 2015) และแผนอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2558 - 2579 (EEDP 2015)

เป็นนโยบายรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทน จากค�าแถลง นโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เมื่อวันศุกร์ที่ 12 กันยายน 2557 ความว่า “การเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศนัน้ ให้ด�าเนินการสร้างโรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้น โดยหน่วยงานของรัฐและเอกชน ทั้งการใช้ฟอสซิลเป็นเชื้อเพลิงและการใช้พลังงานทดแทนทุกชนิด ด้วยวิธีการที่เปิดเผย โปร่งใส เป็นธรรม และเป็นมิตรต่อสภาวะ แวดล้อม ส่วนการพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจยั และพัฒนานวัตกรรมนัน้ ส่งเสริมให้มโี ครงการลงทุน ขนาดใหญ่ของประเทศ อาทิ ด้านพลังงานสะอาด ฯลฯ”

แผนพัฒนาก�าลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย พ.ศ. 2558 - 2579 (PDP 2015)

เพิม่ สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนในปี 2579 ให้มคี า่ เท่ากับ ร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย

สถานการณ์พลังงาน

การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 จ�านวน 75,804 ktoe การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจ�าแนกตามสาขาเศรษฐกิจ ดังนี้ 1. บ้านอยู่อาศัย 11,459 พันตัน เทียบเท่าน�้ามันดิบ (15.1%) 2. ธุรกิจการค้า 5,477 พันตัน เทียบเท่าน�้ามันดิบ (7.2%) 3. เกษตรกรรม 3,957 พันตัน เทียบเท่าน�้ามันดิบ (5.2%) 4. ขนส่ง 26,801 พันตัน เทียบเท่าน�้ามันดิบ (35.4%) 5. อุตสาหกรรม 28,110 พันตัน เทียบเท่าน�้ามันดิบ (37.1%)

การบูรณาการแผนพลังงานของประเทศไทย • • •

58

แผนพั ฒ นาก� า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศไทย (Power Development Plan) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) เห็นชอบ วันที่ 14 พฤษภาคม 2558 แผนอนุรกั ษ์พลังงาน (Energy Efficiency Development Plan) กพช. เห็นชอบ วันที่ 13 สิงหาคม 2558 แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (Alternative Energy Development Plan) กพช. เห็นชอบ วันที่ 17 กันยายน 2558

E N E R G Y S AV I N G

สถานการณ์พลังงานทดแทน

การใช้พลังงานทดแทน ณ สิ้นปี 2557 จ�านวน 11.91 %

แนวคิดในการก�าหนดเป้าหมายพลังงานแต่ละประเภท

ความต้องการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายเมื่อด�าเนินมาตรการตามแผน อนุรักษ์พลังงาน (EE-Base)

ความต้องการไฟฟ้า ความต้องการพลังงานภาคขนส่ง ความต้องการความร้อน

สัดส่วน RE ณ ปี2557 ประมาณร้อยละ

สัดส่วน RE ณ ปี2557 ประมาณร้อยละ

9% 7% 17%

20% 20-25% 30-35%

พลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้า

ข้ อ มู ล ตาม “แผนพั ฒ นาก� า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศไทย พ.ศ. 2558 – 2579 (PDP 2015)” จากมติกพช. วันที่ 14 พฤษภาคม 2558 เป้าหมายของแผนคือ “เพิม่ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงาน ทดแทนจากปัจจุบันร้อยละ 9 เป็นร้อยละ 20 ของปริมาณความ ต้องการไฟฟ้ารวมของประเทศในปี พ.ศ. 2579”

ประเภทเชื้อเพลิง 1. พลังงานแสงอาทิตย์ 2. พลังงานชีวมวล 3. พลังงานลม 4. พลังงานน�้าขนาดใหญ่ 5. ก๊าซชีวภาพ (พืชพลังงาน) 6. ก๊าซชีวภาพ (น�้าเสีย/ของเสีย) 7. พลังงานจากขยะ (ชุมชน) 8. พลังงานจากขยะ (อุตสาหกรรม) 9. พลังงานน�้าขนาดเล็ก รวม สัดส่วนผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน (%)

สถานภาพ ณ สิ้น ปี 2557 (เมกะวัตต์)

1,298.51 2,451.82 224.47 311.50 65.72 142.01 4,494.03 9.87%

เป้าหมาย พ.ศ. 2579 (เมกะวัตต์)

6,000 5,570 3,002 2,906.40 680 600 500 50 376 19,684.40 20.11%

NOVEMBER 2015


แนวทางด�าเนินการทีส่ า� คัญ •

• • • •

ก�าหนดเป้าหมายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเชิงพื้นที่ให้สอดคล้องกับ ศักยภาพของเชื้อเพลิง (RE Grid Capacity) พั ฒ นาและส่ ง เสริ ม ให้ น� าวั ต ถุ ดิบ ที่ ยั ง ไม่ มี ก ารใช้ ป ระโยชน์เช่นวัสดุเ หลือ ใช้จ ากภาค การเกษตรของเสียจากภาคอุตสาหกรรมหรือการปลูกไม้โตเร็ว สนับสนุนการซื้อขายไฟฟ้าด้วยวิธีการประมูลแข่งขัน (Competitive bidding) ส่งเสริมให้มีการผลิตไฟฟ้ารูปแบบระบบซื้อขายไฟฟ้าแบบ Net metering และการใช้ งานเอง (Self consumption) สร้างความร่วมมือหรือสนับสนุนเครือข่ายด้านพลังงานทดแทนในระดับชุมชน

พลังงานทดแทนเพือ่ การผลิตความร้อน

เป้าหมายของแผน “เพิ่มสัดส่วนการผลิตความร้อนด้วยพลังงานทดแทนจากปัจจุบันร้อยละ17 เป็นร้อยละ 30 - 35 ของปริมาณความต้องการความร้อนรวมของประเทศ สถานภาพ ณสิ้นปี 2557(ktoe)

ประเภทเชื้อเพลิง 1. พลังงานแสงอาทิตย์ 2. พลังงานชีวมวล 3. ก๊าซชีวภาพ 4. พลังงานจากขยะ 5. พลังงานความร้อนทางเลือกอื่น รวม สัดส่วนผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน (%)

5.12 5,184 488.10 98.10 5,775.32 17.28%

เป้าหมาย พ.ศ. 2579 (ktoe)

1,200 22,100 1,283 495 10 25,088 36.67%

พลังงานทดแทนเพือ่ ใช้เชือ้ เพลิงชีวภาพ

เป้าหมายของแผน “เพิ่มสัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพจากปัจจุบันร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 20 - 25 ของปริมาณความต้องการเชื้อเพลิงของประเทศใน ปี 2579”

ประเภทเชื้อเพลิง 1. เอทานอล 2. ไบโอดีเซล 3. Pyrolysis-Oil 4. CBG (ตัน/วัน) 5. เชื้อเพลิงทางเลือกอื่น รวม สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน (%)

สถานภาพณสิ้น ปี2557 ล้านลิตร / วัน ktoe

3.21 2.89

872.88 909.28

1,782.16 6.65%

เป้าหมายพ.ศ. 2579 ล้านลิตร / วัน ktoe

11.3 14.0 0.53 4,800

2,103.50 4,404.82 170.87 2,023.24 10 8,712.43 25.04%

สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน

เป้าหมายของแผน “เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนจากปัจจุบันร้อยละ 12 เป็น ร้อยละ 30 ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายในปี 2579”

สัดส่วน RE ในแต่ละภาคส่วน รายการ สัดส่วนผลิตไฟฟ้าจาก RE สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงชีวภาพ สัดส่วนผลิตความร้อนจาก RE

VOLUME 7 ISSUE 84

สถานภาพปัจจุบัน (ธ.ค.57)

เป้าหมายปี2579

9.41% 6.65% 17.28%

20.11% 25.04% 36.67%

แผนอนุรกั ษ์พลังงาน 20ปี (EEDP 2015) พ.ศ. 2558 – พ.ศ. 2579

ลด Energy Intensity ลง 30 เปอร์เซ็นต์ ภายในปี 2579 เมื่อเทียบกับ ปี 2553

3 กลยุทธ์ 10 มาตรการ 1. กลยุทธ์ภาคบังคับ (Compulsory Program)

1. มาตรการการจัดการโรงงาน และอาคารควบคุม 2. มาตรการใช้เกณฑ์มาตรฐานอาคาร (BEC,LEED,TREES) 3. มาตรการใช้เกณฑ์มาตรฐาน และติดฉลากอุปกรณ์ 4. มาตรการบังคับใช้เกณฑ์มาตรฐานประหยัด พลังงานกับผู้ผลิตและจ�าหน่ายพลังงาน

2. กลยุทธ์ภาคความร่วมมือ (Voluntary Program)

5. มาตรการสนับสนุนด้านการเงิน 6. มาตรการส่งเสริม LED 7. มาตรการอนุรักษ์พลังงานภาคขนส่ง

3. กลยุทธ์สนับสนุน (Complementary Program)

8. มาตรการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีอนุรักษ์ พลังงาน 9. มาตรการพัฒนาบุคลากรด้านอนุรักษ์พลังงาน 10. มาตรการประชาสัมพันธ์สร้างปลูกจิตส�านึก การอนุรักษ์พลังงาน

ดู เ หมื อ นว่ า ปั ญ หาการผลิ ต ไฟฟ้ า จาก พลังงานทดแทนในปัจจุบันจะมีมากมาย แต่ ที่แก้ไขได้ยากที่สุดก็คงจะเป็นเรื่องของสายส่ง ที่ไม่เพียงพอ อันอาจเนื่องมาจากการเติบโต อย่างรวดเร็วของการลงทุนจากภาคเอกชน หรือเกิดจากการบริหารงานก็ตาม แต่ผลทีเ่ กิด นัน้ ก็คอื พลังงานทดแทนแทบจะหยุดทัง้ ระบบ มากว่า 1 ปี แล้ว ชาว RE ก็เลยฝากความหวัง กับท่าน รมว.พลังงานจากค่าย คสช. ว่าน่าจะ เป็นค�าตอบสุดท้ายของปัญหานี้ E N E R G Y S AV I N G

59


Product review Logistics TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

โมบำย พรินเตอร์

น�้ำหนักเบำ พกพำง่ำย ใช้ไฟน้อย ส�ำหรับภำคกำรขนส่ง โลจิสติกส์ กำรผลิต และภำครัฐบำล

ซีบรา เทคโนโลยีส์ คอร์ปอเรชัน่ ผูน้ ำ� ผลิตภัณฑ์และกำรบริกำรทีใ่ ห้ควำมสำมำรถในกำรสอดส่องสินทรัพย์ บุคลำกร และธุรกรรม ต่ำง ๆ ในองค์กรได้แบบเรียลไทม์ เปิดตัวโมบำย พรินเตอร์ ใหม่ รุ่น ZQ500 รองรับกำรใช้แอพพลิเคชั่นในภำคสนำม โดยพรินเตอร์ ZQ510 ขนำด 3 นิ้ว และ ขนำด 4 นิ้ว เป็นอุปกรณ์พกพำที่สำมำรถสั่งพิมพ์ได้ทุกเมื่อตำมต้องกำร (print-on-demand) ได้รับ กำรออกแบบให้มีประสิทธิภำพในกำรท�ำงำนในระดับเดียวกับเกรดอุปกรณ์ของทหำร เพื่องำนด้ำนกำรพิมพ์แบบง่ำย ๆ ส�ำหรับ กำรใช้งำนในภำคธุรกิจต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็นภำคกำรขนส่ง โลจิสติกส์ ภำคกำรผลิต และภำครัฐบำล

ไรอัน โกห์ รองประธำนและผู้จัดกำรทั่วไป ซีบรำ เทคโนโลยีส์ ประจ�ำภำคพื้นเอเชียแปซิฟิก

คุณไรอัน โกห์ รองประธานและผูจ้ ดั การ ทั่วไป ซีบรา เทคโนโลยีส์ ประจ�าภาค พื้นเอเชียแปซิฟิก กล่าวว่า โมบาย พรินเตอร์ รุ่น ZQ500 มีน�้าหนักเบา ใช้กับแอพพลิเคชัน โมบายได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการออก ใบสั่งในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ออกบัตรจอด รถ ออกใบเสร็จส�าหรับการขายและให้บริการ ณ จุดนั้น ๆ ออกตั๋วรถโดยสาร ออกใบเสร็จ เวลาคืนรถเช่า ใช้ออกใบยืนยันการส่งของ รวมถึง ใบแจ้งค่าสาธารณูปโภคทั้งหลายและ ใบแจ้ ง หนี้ ต ่ า งๆเป็ น พริ น เตอร์ ที่ ติ ด ตั้ ง ง่ า ย ในดีไซน์เรียบง่าย มีจอแสดงผลคุ้นตาที่มา พร้อมปุ่มใหญ่เพียงแค่ 3 ปุ่ม ไม่มีปุ่มเมนู อีก ทัง้ ยังช่วยเพิม่ ความแม่นย�าในการใช้งาน ทัง้ ใน เวลาที่สวมถุงมืออยู่และใช้นิ้วกด ZQ500 ออกแบบมาเพื่อให้ความสมบุก สมบั่ น ในเกรดทหาร ให้ ค วามทนทาน ความน่าเชือ่ ถือแม้ในสภาพการใช้งานหนัก โดยมา พร้อมกับความสามารถในการปกป้องฝุน่ หรือ 60

E N E R G Y S AV I N G

น�า้ ทัง้ ในระดับ IP54 หรือ IP65 ทีม่ าพร้อมทางเลือกเคสโครงเหล็กแข็งแรงในลักษณะ Exoskeleton Case) เหมาะส�าหรับการป้องกันฝุน่ และของเหลว รวมทัง้ คุณสมบัตทิ างการทหาร กันการกระแทก แรงสัน่ สะเทือนและอุณหภูมทิ ผี่ ดิ ปกติ มีระบบชดเชยอุณหภูมเิ ย็นแบบอัตโนมัติ ทีจ่ ะช่วยปรับระบบ และสร้างสมดุลในเรื่องของความเร็วและให้คุณภาพการพิมพ์ที่ดี แม้ในภาวะการใช้งานที่อุณหภูมิ หนาวเย็น ซึง่ เป็นระบบในอุดมคติสา� หรับการส่งมอบของถึงมือลูกค้าโดยตรงแม้ตอ้ งขนส่งในสภาพ ที่หนาวเย็นกว่าปกติ ZQ500 ให้มาตรฐานการเชื่อมต่อผ่านเทคโนโลยีบลูทูธล่าสุด Smart Ready 4.0 ที่ใช้พลังงาน น้อยมี Print Touch เพื่อช่วยจับคู่อุปกรณ์ที่ใช้งานและรองรับระบบปฏิบัติการของแท็ปเล็ตและ สมาร์ทโฟนหลักๆ ทั้งหมด ซึ่งเป็นครั้งแรกที่พรินเตอร์เหล่านี้ของซีบราสามารถรองรับการเชื่อม ต่อบลูทูธได้หลายตัวเพื่อการใช้งานพร้อมๆ กันได้ ช่วยให้ผู้พัฒนาสามารถสร้างโซลูชันใหม่ใน การบริหารจัดการอุปกรณ์ได้ และยังเป็นการช่วยเพิ่มผลิตผลให้กับคนท�างาน อย่างไรก็ตาม ซีบรา ได้เสริมศักยภาพให้กับคนท�างาน ช่วยให้ธุรกิจมีเครื่องมือที่สามารถเข้า ถึงพร้อมจับภาพข้อมูลส�าคัญได้ ไม่ว่าจะอยู่ในสภาพอากาศหรืออุณหภูมิอย่างไรก็ตาม พนักงานที่ ท�างานแบบโมบาย ต้องท�างานภายใต้เงื่อนไขทุกรูปแบบและต้องการอุปกรณ์ที่ใช้งานและบริหาร จัดการได้ง่ายในขณะที่ต้องท�างานลงพื้นที่ ทั้งนี้ ZQ500 ซึ่งเป็นพรินเตอร์ โมบายใหม่ของซีบรา นับเป็นพรินเตอร์ที่ทนทานที่สุดในอุตสาหกรรมและออกแบบมาโดยเฉพาะ สามารถรองรับแรง กระแทก ตกหล่น หรือในสภาพการใช้งานหนักซึ่งเป็นสภาวะการท�างานปกติส�าหรับการลงพื้นที่ และจากการที่มีจอดิสเพลย์ส�าหรับผู้ใช้ และมี Link-OS® รุ่นล่าสุด ท�าให้ ZQ500 สามารถตั้งค่า การใช้งาน บริหารจัดการและดูแลรักษาได้อย่างง่ายดาย

NOVEMBER 2015



Product ShowcaSe LogiSticS TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

Bosch Mega Power Lite

แบตเตอรี่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Roller Drive รุ่น EC310 ลูกกลิ้งมอเตอร์ ประหยัดพลังงาน 70% หัวใจหลักของสายการผลิตในอุตสาหกรรมคือ ประสิทธิภาพ ความเร็วในการผลิต ประหยัดพลังงาน และลดแรงงานคน บริษัท Interroll Thailand สร้างอุปกรณ์ Roller หรือลูกกลิ้ง เพื่อตอบสนอง กับความต้องการอุตสาหกรรมที่มีความหลากหลาย ในกระบวนการผลิต จากความแข็งแกร่งของบริษัท แม่ที่ตั้งอยู่ที่สวิตเซอร์แลนด์ และความเชื่อมั่นของ ลูกค้าในภาคอุตสาหกรรม น�ามาสูก่ ารพัฒนา Roller Driver รุน่ EC310 เป็นลูกกลิง้ มอเตอร์ทมี่ ขี นาดเส้น ผ่าศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร ท�างานควบคู่กับการ์ด ควบคุม (Control card) มีลกั ษณะเด่นคือ เมือ่ อยูใ่ น สายพานการผลิตเดียวกัน จะสามารถก�าหนดให้ทา� งาน แยกเป็นโซน ๆ ได้ เมือ่ มอเตอร์ตวั แรกขับเคลือ่ นสินค้า ไปเสร็จสิน้ แล้วจะส่งต่อไปยังมอเตอร์ตวั ทีส่ องให้เป็น แรงขับเคลือ่ นสินค้าต่อไป จนกว่าจะมีสนิ ค้าใหม่เข้ามา มอเตอร์ตวั แรกจึงจะท�างานต่อ การท�างานในลักษณะ นีจ้ ะท�าให้ผใุ้ ช้งานสามารถประหยัดพลังงานได้ 70% และช่วยเพิม่ ความรวดเร็วในการท�างาน 2-3 เท่าตัว และ ลดจ�านวนแรงงานคนได้

นวัตกรรม พาเลทไม้รีไซเคิล เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

62

E N E R G Y S AV I N G

Bosch ออกแบบและผลิตแบตเตอรีม่ าเพือ่ ให้มกี า� ลังสตาร์ทเต็มทีแ่ ละมีประสิทธิภาพ ในการท�างานทีเ่ ชือ่ ถือได้เหมาะกับรถรุน่ ใหม่ ๆ Bosch แนะน�า Mega Power Lite แบตเตอรีป่ ระสิทธิภาพสูงทีร่ องรับการสตาร์ทเครือ่ งยนต์ รวมถึงการท�างานของกระจก ไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ ABS และถุงลม มีความทนทานกว่าแบตเตอรีท่ วั่ ไป 10% โดยอาศัยแผ่นธาตุเคลือบเงินและ active material เกรนละเอียด ซึง่ “แผ่นธาตุ เสริมเคลือบเงิน” ลิขสิทธิเ์ ฉพาะช่วยลดการกัดกร่อนได้เป็นอย่างดี นอกจากนีย้ งั เป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม ทัง้ ในส่วนของบรรจุภณ ั ฑ์สนิ ค้าและตัวเรือนแบตเตอรีซ่ งึ่ ท�าจาก พลาสติกและกระดาษรีไซเคิล อีกทัง้ ส่วนประกอบทีซ่ ลี กันรัว่ กึง่ สมบูรณ์แบบไม่ตอ้ ง มีการดูแลรักษา ท�าให้อายุการใช้งานยาวนาน มีนา�้ หนักเบา ได้มาตรฐานและเงือ่ นไข ทางเทคนิคของผูผ้ ลิตอย่างครบถ้วน

บริษัท JS International มีแนวคิดหลักในการร่วมแสดงสินค้าและบริการ คือ โลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อม (Green Logistics) ซึ่งมุ่งเน้นการรักษาและให้ ความส�าคัญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมมากขึ้น โดยการลดพลังงานในขั้นตอนการผลิต การขนส่ง การบริหารด้านโลจิสติกส์ และการใช้วัสดุต่าง ๆ ส�าหรับบรรจุภัณฑ์ เมือ่ เร็ว ๆ นี้ บริษทั JS International ได้เปิดตัวพาเลทใหม่ทผี่ ลิตจากไม้รไี ซเคิล ซึง่ มีความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม (Nature-friendly) โดยเป็นสินค้าทีม่ คี วามทนทาน ในระดับเดียวกับพาเลทไม้และพาเลทพลาสติกทัว่ ไป สามารถรองรับสินค้าหนักและ เรียงซ้อนกันได้หลายชั้น นอกจากนี้ พาเลทชนิดใหม่ยังมีจุดเด่น คือ น�้าหนักเบา สะดวกต่อการขนย้าย และราคาที่ไม่แพงจนเกินไป อีกทั้งยังสามารถลดพื้นที่จัด เก็บภายในคลังสินค้าและช่วยประหยัดพื้นที่ในการขนย้ายสินค้าได้ถึง 70% โดย พาเลทไม้รีไซเคิลนี้ได้ผ่านกระบวนการผลิตด้วยความร้อนและผ่านมาตรฐาน ระหว่างประเทศส�าหรับมาตรการสุขอนามัย (ISPM 15) จึงสามารถใช้งานได้กับ สายพานทุกประเภท NOVEMBER 2015


EnvironmEnt AlErt TEXT : อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช�านาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

จากเหมืองทองค�า สู่โรงไฟฟ้า ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เป็นปัญหาชุมชน

ประเด็นส�ำคัญที่เป็นปัญหำ คือ ควำมเชื่อมั่น ศรัทธำ ต่อกำรก�ำหนดมำตรกำรต่ำง ๆ เพื่อเยียวยำหรือชดเชย ให้กับชุมชน สังคม ตลอดจนกำรป้องกันปัญหำผลกระทบ ต่อสุขภำพ หลำยครั้งกำรประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ด้วยรำยงำนกำรศึกษำผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่เป็นกำรคำด กำรณ์ ไม่สำมำรถด�ำเนินกำรได้ตรงกับผลกระทบที่เกิดขึ้น ด้วยสำเหตุหลำยประกำร เช่น กำรเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี กำรผลิต กำรเปลี่ยนแปลงสภำพพื้นที่ กำรขยำยตัวของชุมชน ซึ่งล้วนแล้วต้องมำพิจำรณำปรับเปลี่ยนมำตรกำรตำมควำม เหมำะสมในสภำพควำมเป็นจริง ทันต่อสถำนกำรณ์ปัจจุบัน ซึ่งจะเห็นได้จำกหลำยโครงกำรที่ผ่ำนกำรพิจำรณำมำตรกำร ลดผลกระทบและติดตำมตรวจสอบคุณภำพสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังมีปัญหำตำมมำเมื่อเริ่มด�ำเนินโครงกำร เช่น ในหลำยกรณี ที่เกิดเหตุร้องเรียนในหลำยพื้นที่ อย่ ำ งไรก็ ต ำมปั ญ หำผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มจำก โครงกำรขนำดใหญ่ทจี่ วั่ หัวข้ำงต้น คือ โครงกำรเหมืองทองค�ำ สูโ่ รงไฟฟ้ำ เป็นกรณีที่น่ำศึกษำถึงกำรหำมำตรกำรที่เหมำะสม

VOLUME 7 ISSUE 84

บทความนี้ ไ ม่ ไ ด้ เ ขี ย นเพื่ อ ต่ อ ต้ า นกระแสการพั ฒ นาที่ มี โครงการขนาดใหญ่หลายโครงการอยู่ในภาวะการต่อต้าน จากภาคประชาชน ไม่ว่ากระแสการไม่เอาถ่านหินเพื่อผลิต ไฟฟ้าที่มาจากภาพลักษณ์ของโรงไฟฟ้าถ่านหินที่แม่เมาะ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนจนถึงทุกวันนี้

ในกำรรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ซึ่งควำมส�ำคัญอยู่ที่กำรอยู่ร่วมกับชุมชน กำรเยียวยำ หรือกำรป้องกันผลกระทบทำงสุขภำพ ซึ่งน่ำจะมีกำรถอดบทเรียน จำกปัญหำเหล่ำนั้น ในกระแสของกำรพัฒนำที่มีกำรลงทุนขนำดใหญ่ในระดับ พื้นที่ เช่น โครงกำรพัฒนำพื้นที่ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ กำรก่อสร้ำงเส้นทำงหลัก กำรคมนำคมขนส่งรถไฟควำมเร็วสูง ตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 ได้ให้ควำมส�ำคัญกำรลงทุนโครงกำรขนำดใหญ่ ซึ่งหมำยถึงยังมี โครงกำรขนำดใหญ่อกี หลำยโครงกำรตำมมำ ทัง้ ทีเ่ ป็นโครงกำรหลักในกำรพัฒนำ กับโครงกำรที่มีส่วนสนับสนุนที่เป็นวัตถุดิบต้นน�้ำ เช่น โครงกำรเพื่อพัฒนำแหล่ง พลังงำน โครงกำรเพื่อวัตถุดิบกำรก่อสร้ำง คือ กลุ่มโครงกำรเหมืองหินประเภท ต่ำง ๆ เป็นต้น กำรค�ำนึงถึงกำรพัฒนำที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม จึงต้องหำ ทำงออกด้วยกำรก�ำหนดมำตรกำรที่เหมำะสมในกำรรองรับ ดังนี้ 1.กำรประเมินผลกระทบทำงด้ำนกำยภำพ ต้องศึกษำสภำพแวดล้อมทำงด้ำน อำกำศ น�้ำ กำรรองรับสำธำรณูปโภคที่เหมำะสมรองรับได้ทั้งโครงกำรและชุมชน ที่อยู่รอบข้ำง ดังนั้นกำรคำดกำรณ์ ในหลำยเรื่องไม่ว่ำมลพิษทำงอำกำศ มลพิษ ทำงน�้ำ ที่จะเกิดขึ้นต้องประเมินในลักษณะที่เป็นกรณีเลวร้ำย และกำรด�ำเนิน กำรที่เต็มประสิทธิภำพ เพื่อรองรับกับปัญหำที่อำจจะเกิดขึ้น จำกบทเรียนของ โรงงำนปิโตรเคมีในนิคมอุตสำหกรรมที่ผ่ำนมำ ประเมินผลกระทบทำงกำยภำพ

E N E R G Y S AV I N G

63


ในลักษณะแต่ละโรงงำน แต่ยงั ขำดกำรประเมินในระดับพืน้ ทีอ่ ย่ำงแท้จริง นัน่ หมำยถึง กรณีกำรรั่วไหล หรือระเบิดของโรงงำนสำรเคมีต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้น จะเป็นปัญหำที่ ขำดแผนกำรรองรับอย่ำงเป็นระบบ และมองทั้งพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ เห็นได้จำก โครงกำรในพื้นที่นิคมอุตสำหกรรมขนำดใหญ่ หรือท่ำเรือน�้ำลึก เป็นต้น หรืออย่ำง ในกรณีถ่ำนหิน แม้ในอดีตถ่ำนหินจะมีควำมส�ำคัญต่อยุคปฏิวัติอุตสำหกรรม และ น�ำพำซึง่ ประโยชน์ตำ่ ง ๆ ให้กบั มวลมนุษยชำติ แต่กต็ อ้ งแลกมำด้วยมูลค่ำทีส่ งู เช่นกัน ทั้งในด้ำนสุขภำพ และก๊ำซเรือนกระจกปริมำณสูง ยังไม่รวมถึงอุบัติเหตุจำกเหมือง ถ่ำนหิน ผู้คนในท้องถิ่นต้องย้ำยถิ่นฐำนอย่ำงไร้ทำงเลือก เพรำะต้องหลีกทำงให้กับ เหมืองถ่ำนหิน ฝนกรด และหมอกควันพิษ ซึ่งนั่นเป็นสำเหตุที่เรำกล่ำวว่ำ เรำผ่ำน ยุคของถ่ำนหินมำแล้ว และถึงเวลำที่ต้องปลดระวำงถ่ำนหินเสียที ถ่ำนหินถือเป็น พลังงำนที่สกปรกที่สุดในโลก และเป็นสำเหตุหลักของกำรปล่อยมลพิษจำกก๊ำซ คำร์บอนไดออกไซด์ โดยมีปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ประมำณ 1 หมื่นล้ำนตัน ที่เกิดขึ้นจำกโรงไฟฟ้ำถ่ำนหินในทุกปี ซึ่งเป็นสัดส่วนมำกถึง ร้อยละ 30 ของกำร ปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ของพลังงำนฟอสซิลทั้งหมด ทว่ำถ่ำนหินไม่ได้เป็นพลังงำนที่สกปรกที่สุดเท่ำนั้น แต่ยังโชคร้ำยที่เป็นพลังงำน ที่ถูกที่สุดอีกด้วย จึงเป็นพลังงำนที่น่ำสนใจส�ำหรับกลุ่มประเทศที่ต้องกำรเปลี่ยน เป็นประเทศอุตสำหกรรมอย่ำงรวดเร็ว เพือ่ ก้ำวตำมประเทศกลุม่ ทีพ่ ฒ ั นำแล้วให้ทนั ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วใช้พลังงำนถ่ำนหินเป็นตัวขับเคลื่อน ในช่วงทศวรรษที่ผ่ำนมำ ปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ของโลกที่เพิ่มสูงขึ้นนั้น ครึ่งหนึ่งเกิดจำกกำร พึ่งพำถ่ำนหินของประเทศจีน รำคำที่ถูกของถ่ำนหินนั้นต้องแลกมำด้วยมลพิษทำง อำกำศที่รุนแรง และคร่ำชีวิตประชำกรกว่ำ 1 ล้ำนชีวิตในทุกปี ซึ่งสำเหตุหลักนั้น เกีย่ วโยงกับกำรเผำผลำญเชือ้ เพลิงถ่ำนหิน จึงต้องให้ควำมส�ำคัญต่อกำรประเมินผล กระทบทำงกำยภำพ 2.กำรประเมินผลกระทบต่อวัฏจักรชีวิตของชุมชน ดูเหมือนจะเป็นเรื่องใหม่ แต่ บ ทเรี ย นจำกเขื่ อ นปำกมู ล ที่ มี ก ำรเรี ย กร้ อ งให้ ค� ำ นึ ง ถึ ง วั ฏ จั ก รชี วิ ต ของ ประชำชนที่อำศัยแหล่งน�้ำ ด้วยเป็นไปตำมวิถีทำงธรรมชำติมำช้ำนำน แต่ต้อง เปลี่ยนแปลงด้วยโครงกำรเขื่อนขนำดใหญ่ ซึ่งหมำยถึงกำรเยียวยำประชำชนที่ ได้รับผลกระทบจำกเขื่อนอย่ำงมำก ในประเด็นนี้หมำยถึง กำรศึกษำวงจรของ ขอบคุณภาพประกอบ

1. http://proof.nationalgeographic.com/files/2013/12/03_Coal-plant_sRGB.jpg 2. http://www.thehindu.com/multimedia/dynamic/01582/china_pollution_1582097f.jpg 3. https://radio.adelaide.edu.au/wp-content/uploads/2013/09/water-pollution-555x416.jpg 4.http://www.slate.com/content/dam/slate/articles/health_and_science/coal/2012/11/121120_COAL_ChinaPlant.jpg. CROP.rectangle3-large.jpg 5. http://www.greenpeace.org/eastasia/Global/eastasia/photos/air-pollution/lostinthehaze/GP026JH.jpg 6. http://www.marketforces.org.au/wp-content/uploads/2014/02/Hezelwood-Greenpeace-Hunt-1024x682.jpg

เอกสารอ้างอิง

ระบบนิ เวศที่ เ ปลี่ ย นแปลง ทั้ ง ระบบกำรลดลงของ สิ่งมีชีวิตที่เป็นควำมหลำกหลำยทำงธรรมชำติ ตลอดจน กำรใช้ประโยชน์ของธรรมชำติทมี่ กี ำรเปลีย่ นแปลง ต้องหำ มำตรกำรเหมำะสม 3. กำรประเมินผลกระทบทำงสุขภำพ จำกบทเรียนหลำยบท ส�ำหรับโครงกำรขนำดใหญ่ที่ด�ำเนินกำรอยู่ในปัจจุบัน มีผลกระทบทีส่ ง่ ผลต่อสุขภำพ เห็นได้จำกกำรประเมินที่ จัดท�ำกำรศึกษำไว้ในรำยงำน ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลกระทบต่อ สุขภำพดังกล่ำว จนเป็นปัญหำในปัจจุบันที่เห็นได้ชัดเจน จำกกรณีเหมืองแร่ทองค�ำที่มีกำรตรวจพบสำรไซยำไนด์ ในเลือดของประชำชนและคนงำนที่ท�ำงำนในเหมืองแร่ ดังกล่ำว เป็นผลจำกกำรสะสมในระยะเวลำหนึ่งซึ่งอำจ ไม่ได้ก�ำหนดในขอบเขตกำรศึกษำ อย่ำงไรก็ตำมควำม ส�ำคัญด้ำนผลกระทบทำงสุขภำพจึงต้องเน้นมำตรกำร ในกำรเฝ้ำระวัง โดยเฉพำะกับประชำชนกลุ่มที่มีควำม เสี่ยงต่อกิจกรรมของแหมืองแร่หรือของโรงไฟฟ้ำถ่ำนหิน ทีเ่ ห็นได้จำกำรติดตำมสถำนกำรณ์โรคทำงเดินหำยใจของ ประชำชนในพื้นที่ใกล้เคียง บทสรุปของบทเรียนจำกเหมืองแร่ทองค�ำสู่โรงไฟฟ้ำ ถ่ำนหิน เพรำะผลกระทบต่ำง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จำกกำรด�ำเนินกำร และมีควำมพยำยำมให้เห็นว่ำ เมือ่ ผ่ำนกำรศึกษำรำยงำน ผลกระทบสิ่งแวดล้อมน่ำจะเชื่อได้ว่ำเพียงพอแล้วนั้น คงเป็นค�ำตอบทีใ่ ช้ไม่ได้ จึงต้องมีกำรทบทวนอย่ำงใกล้ชดิ โดยเฉพำะหน่วยงำนผูอ้ นุญำตต้องท�ำหน้ำทีใ่ นกำรติดตำม และป้องกันปัญหำทีจ่ ะเกิดขึน้ ตลอดจนต่อมส�ำนึกรับผิดชอบ ของโรงงำนอุ ต สำหกรรมเหมื อ งแร่ ต ้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ ต่อสังคม และเยียวยำผลกระทบที่จะเกิดขึ้นเมื่อด�ำเนิน กำรแล้ว โดยต้องยอมรับว่ำสิ่งต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้น มีผล มำจำกกิจกรรมที่ได้ด�ำเนินกำรจริง ไม่ใช่อยู่แค่ตัวหนังสือ ในรำยงำนเท่ำนั้น วันนี้ปมปัญหำควำมขัดแย้งของชุมชน กับโครงกำรพัฒนำขนำดใหญ่จะด�ำเนินกำรต่อไป และผล กระทบจะยำกยิ่งในกำรเยียวยำ หำกไม่เริ่มเปลี่ยนวิธีคิด และยอมรั บ ต่ อ กำรปรั บ เปลี่ ย นมำตรกำรที่ เ หมำะสม ในกำรด�ำเนินกำรกับสังคม ชุมชน อย่ำงมีประสิทธิภำพ แก้ไขปัญหำได้ตรงจุด ทั้งนี้เชื่อว่ำหำกเปลี่ยนแปลงวิธี กำร มำตรกำรทีเ่ หมำะสมแล้ว ผลกระทบต่ำง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะนี้น่ำจะเบำบำงลง เรำเชื่อว่ำจุดนี้รัฐบำลน่ำที่ จะก� ำ หนดนโยบำยสำธำรณะต่ อ โครงกำรขนำดใหญ่ ที่จะมีกำรพัฒนำได้ ค�ำนึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน ขณะด�ำเนินกำรมำกขึ้น

ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คู่มือการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ 2556 ส�านักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ คู่มือการประเมินผลกระทบทางสุขภาพส�าหรับประชาชน นนทบุรี 2557

64

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


0 Waste Idea TEXT : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การใช้หลัก 3Rs ลดปริมาณขยะ ของเมืองดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศไอร์แลนด์ เป็นประเทศหนึ่งที่มีนโยบายสิ่งแวดล้อมที่ดี และมีการรักษาความสะอาดตามถนนหนทางต่าง ๆ เป็นอย่างดี เมืองดับลินเป็นเมืองหลวงของประเทศไอร์แลนด์ มีถนนมากกว่า 3,500 สาย และมีความยาวของถนนประมาณ 1,200 กิโลเมตร จึงต้องมีการท�าความสะอาดประมาณ 6 ครั้งต่อวัน โดยใช้รถ เก็บขน รวมทั้งเก็บกวาดขยะจ�านวน 36 คัน ส�าหรับเส้นทาง ที่เป็นที่พักอาศัย รวมทั้งบริเวณย่านอุตสาหกรรมจะมีการเก็บ กวาดและขนขยะระหว่างเวลา 11.00 - 16.00 น. เพื่อหลีกเลี่ยง ช่วงเวลาเร่งด่วนที่มีปัญหาของการจราจรติดขัด ทั้งนี้กิจกรรม การเก็บกวาดรักษาความสะอาดของเมืองมีการติดตามผลโดยใช้ ระบบ GPS และมีการบันทึกข้อมูลสรุปเป็นรายงาน เพื่อให้สามารถ ก�ากับดูแลภารกิจด้านการรักษาความสะอาดและการเก็บขนขยะที่ มีประสิทธิภาพ แนวทางกิจกรรมด้าน 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle)

เมืองดับลินได้มีการรณรงค์ส่งเสริมนโยบาย 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) ในการลดปริมาณของเสียและประหยัดการใช้ทรัพยากร ทั้งนี้ สภาของเมืองดับลินตั้งเป้าการรีไซเคิลขยะให้ได้ 59% ภายใน ปี 2011 ส�าหรับตัวอย่างของโครงการด้านการจัดการของเสียที่เด่นของเมือง ได้แก่

บรรยกาศและสภาพแวดล้อมในเมืองดับลิน

โปรแกรม Green School หรือโรงเรียนสีเขียว

เป็นโปรแกรมที่ส่งเสริมการพัฒนาแบบยั่งยืน เพื่อส่งเสริม การสร้างจิตส�านึกในการรักษาสิง่ แวดล้อม โดยเริม่ ต้นทีโ่ รงเรียน มีการรณรงค์ให้ความรูแ้ ก่นกั เรียน เพือ่ ให้การรักษาสิง่ แวดล้อม เป็นส่วนหนึง่ ของการปลูกฝังการศึกษาและจริยธรรมให้กบั เด็ก ซึง่ กิจกรรมนีป้ ระสบความส�าเร็จเป็นอย่างดี และก้าวข้ามไปยัง ชุมชนอย่างกว้างขวางในหลายภาคส่วน พ่อแม่ผู้ปกครองของ นักเรียน ธุรกิจในท้องถิ่น รวมทั้งกิจกรรมของชุมชนในการ รักษาสิ่งแวดล้อม ส�าหรับโปรแกรมนี้ เด็กนักเรียนได้เรียนรู้หัวข้อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ และการมีทัศนคติที่ดีต่อการรักษา สิ่งแวดล้อมรอบข้างในชุมชน และการส่งเสริมให้เด็กนักเรียน เข้ า ใจว่ า สิ่ ง แวดล้ อ มรอบตั ว เป็ น สมบั ติ ข องทุ ก คนที่ ต ้ อ ง หวงแหนและอนุรักษ์ไว้

โปรแกรมการประกวดให้รางวัล ส�าหรับภาคส่วนของชุมชนด้านการลดของเสีย

โปรแกรมนี้เป็นการจัดประกวดแข่งขันประจ�าปีในการลด ของเสียส�าหรับชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานธุรกิจ โดยทาง สภาของเมืองดับลินจะเป็นผู้จัดการแข่งขัน โดยมีการมอบ รางวัลให้กับผู้ชนะการประกวดจาก 3 ภาคส่วน ได้แก่ ชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานธุรกิจ เป็นจ�านวนเงินรางวัลโดยรวม 75,000 ยูโร ซึง่ ถือได้วา่ เป็นความพยายามของสภาเมืองดับลิน ในการรณรงค์สร้างจิตส�านึกการมีส่วนร่วมให้กับทุกภาคส่วน ในการจัดการของเสียแบบ 3Rs และการลดของเสียให้น้อย ที่สุด ทั้งนี้บางชุมชนมีการจัดตั้งธนาคารขยะ (Bring bank) ของตนเองในการช่วยรับซื้อขยะรีไซเคิลประเภทขวดแก้ว กระป๋อง และเสื้อผ้าใช้แล้ว เพื่อเป็นการส่งเสริมการคัดแยก รีไซเคิลขยะในชุมชนของตนเอง VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

65


โปรแกรมการส่งเสริมให้บริการคัดแยกรีไซเคิลขยะ

ขยะที่พักอาศัยจะมีการเก็บขนไปจัดการแบบผสมผสานต่อไป ทั้งการคัดแยก รีไซเคิล การก�าจัดในขั้นตอนสุดท้าย ทั้งนี้ผู้อยู่อาศัยสามารถน�าขยะมาทิ้งที่บริเวณ ขอบถนน โดยแยกออกเป็นถังสีเขียวหรือฟ้าส�าหรับขยะแห้งที่รีไซเคิลได้ และถัง สีน�้าตาลของศูนย์รีไซเคิลขยะ ส�าหรับบางอาคารมีการจัดท�าถังขยะที่มีการคัดแยก ขยะออกเป็น ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะอินทรีย์ เพื่อให้สามารถคัดแยกขยะ ต้นทางของหน่วยงานตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ศูนย์รีไซเคิลริงเซ็น (Ringsend Recycling Center) ภายในเมืองดับลิน รับขยะรีไซเคิลจากที่พักอาศัยเป็นหลัก ไม่รับขยะจากสถานประกอบการ โดยเปิด ท�าการวันจันทร์ถึงวันเสาร์ ส�าหรับประเภทขยะที่รับฟรี ไม่ต้องจ่ายค่าก�าจัด ได้แก่ กระดาษ กระป๋อง ขวดพลาสติก เสือ้ ผ้าใช้แล้ว ขยะอิเล็กทรอนิกส์ แบตเตอรี่ เป็นต้น อย่างไรก็ตามขยะบางประเภท เช่น ขยะอินทรีย์ น�้ามันใช้แล้ว เฟอร์นิเจอร์ ขยะพิษ ประเภทกระป๋องสี ยาฆ่าแมลง รับก�าจัด โดยมีค่าใช้จ่ายในการก�าจัด • • • • • ศูนย์รีไซเคิลขยะริงเซ็น (Ringsen Recyeling Center)

ตัวอย่างรูปแบบการคัดแยกขยะประเภทต่าง ๆ ของชุมชนภายในเมืองดับลิน • • • •

ขยะประเภทย่อยสลายได้ ได้แก่ เศษอาหาร กระดาษย่อยสลายง่ายที่ท�า มาจากฟักทอง ไม้ เปลือกผลไม้ tea bag ขยะประเภทรีไซเคิล ได้แก่ กระดาษหรือบรรจุภัณฑ์ที่ห่ออาหาร กระดาษ ถ้วยกระดาษ พลาสติก กล่อง กระป๋องโลหะ ขยะพิษต้องแยกและส่งก�าจัด ได้แก่ กระป๋องสี ยาฆ่าแมลง ขยะทั่วไป ได้แก่ ขยะอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ขยะทั้ง 3 ประเภท ข้างต้น

โปรแกรมการบังคับใช้กฎหมายในการจัดการขยะ

หน่วยงาน Waste regulation office ของประเทศไอร์แลนด์ ได้ด�าเนินการ ออกกฎหมายด้านการจัดการของเสีย เพื่อช่วยบังคับใช้ในการจัดการขยะต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ส�าหรับกฎหมายที่ออกมาตั้งแต่ ปี พศ. 2539 จนถึง ปัจจุบัน มีดังนี้ 66

E N E R G Y S AV I N G

กฎหมายด้านการเก็บขนขยะ กฎหมายด้านบรรจุภัณฑ์ กฎหมายด้ า นการเคลื่ อ นย้ า ยของเสี ย อันตราย กฎหมายด้ า นการจั ด การซากรถหรื อ ยานพาหนะใช้แล้ว หรือ ELVs (End Of Life Vehicles) กฎหมายด้านขยะอิเล็กทรอนิกส์ (WEEE หรือ Waste Electrical and Electronic Equipment) กฎหมายด้านการจัดการยางรถยนต์ใช้แล้ว (Tyres & Waste tyres)

ทัง้ นีร้ ปู แบบการจัดการเพือ่ ส่งเสริมการลด คัดแยก รีไซเคิลขยะ ของเมืองดับลิน เป็นตัวอย่างทีด่ ขี องการมี ส่วนร่วมของหลายภาคส่วน ทั้งหน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ที่สามารถน�ามา ดั ด แปลงประยุ ก ต์ ใช้ กั บ เมื อ งไทยได้ เ ป็ น อย่ า งดี เพื่อก้าวเข้าสู่สังคม “ 0 Waste ” ต่อไป ขอบคุณภาพประกอบ http://www.dublincity.ie/sites/default/files/content/WaterWaste Environment/Waste/Documents/Ringsend%20information%20 leaflet%20(PDF).pdf http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://images.thaiza.com http://www.riverridgerecycling.com/news-stories/page/4/

NOVEMBER 2015


Greenhouse Gas manaGement

โรงเรียน Green School

TEXT : นายธวัชชัย สมนาม นักวิชาการช�านาญการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)

คืนชีวิตวัยเรียนสู่วิถีธรรมชาติ Green School Bali for sustainable living เมื่อไม่นานมานี้ ผมมีโอกาสได้ไปศึกษาดูงานเกี่ยวกับโรงเรียนสีเขียว หรือ Green School ซึ่งเป็นนวัตกรรมด้านการศึกษาเพื่อมุ่งเน้นการศึกษาที่ผสม ผสานกับการใช้ชวี ติ ร่วมกับธรรมชาติอย่างกลมกลืน และเป็นโรงเรียนคาร์บอนต�า่ ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ผมจึงอยากจะแบ่งปันและเผยแพร่สิ่งดี ๆ ให้ กับผู้อ่านทุกท่าน เพื่อเป็นแนวคิดไปปรับใช้ครับ

VOLUME 7 ISSUE 84

โรงเรียนทีผ่ มไปมานีช้ อื่ Green School เป็ น โรงเรี ย นที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล โรงเรี ย น สีเขียวที่สุดของโลก ปี ค.ศ.2012 “2012 Greenest School on Earth” จาก The USGBC Center for Green Schools โรงเรี ย นนี้ มุ ่ ง เน้ น การสร้ า งผู ้ น� า เยาวชน ผู้อนุรักษ์ธรรมชาติ สร้างความเป็นธรรมชาติ แบบองค์ ร วม สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู ้ ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางที่จะช่วยสร้าง แรงบันดาลใจให้นักเรียนจะพัฒนาเป็นผู้น�า สีเขียวในอนาคต เปิดรับนักเรียนตั้งแต่ระดับ อนุบาลจนถึงมัธยมปลาย ซึ่งรายล้อมด้วย ต้นไม้และธรรมชาติ โรงเรียน Green School แห่งนี้ เกิดขึ้น โดย John Hady ซึ่ ง ย้ า ยถิ่ น ฐานมาจาก ประเทศอังกฤษ มาตัง้ รกรากทีเ่ กาะบาหลี เขา มองว่าการศึกษาไม่ควรอยู่แต่ในห้องแคบ ๆ ควรมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ด้วย จึงก่อตั้งโรงเรียนขึ้นตามมาตรฐานของ อังกฤษ เปิดสอนมาตั้งแต่ ปี 2008 มีนักเรียน นานาชาติประมาณร้อยกว่าคน รวมถึงมีการ สนับสนุนทุนให้กับนักเรียนท้องถิ่นที่มีฐานะ ยากจน จ�านวนอย่างน้อยร้อยละ 20 ของ นั ก เรี ย นทั้ ง หมด จากค่ า เรี ย นของนั ก เรี ย น นานาชาติและทีโ่ รงเรียนรับบริจาคจากผูใ้ จบุญ โดยจะสลักชื่อผู้ท่ีบริจาคเงินไว้บนล�าไม้ไผ่ที่ เป็นโครงสร้างของโรงเรียนขั้นต�่าประมาณ 3,000 บาท ที่โรงเรียนเน้นให้นักเรียนได้ท�ากิจกรรม มากกว่าทฤษฎี โดยเฉพาะกิจกรรมเสริมเกีย่ วกับ ธรรมชาติศึกษา โดยให้เรียนรู้และสัมผัสกับ ธรรมชาติอย่างแท้จริง ในหลักสูตรสิ่งที่เห็น เด่นชัดเมื่อมองเห็นครั้งแรกคือ อาคารเรียนที่ ท�าจากไม้ไผ่ ตัง้ อยูท่ า่ มกลางความเขียวขจีของ หมู่แมกไม้กลมกลืนกับธรรมชาติ รวมถึงส่วน อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องน�้า โรงเรือน สะพาน เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ และอื่น ๆ

E N E R G Y S AV I N G

67


โรงเรียนนีม้ กี ารอนุรกั ษ์ธรรมชาติ โดยส่วนการใช้พลังงานในโรงเรียนมีการใช้พลังงานหมุนเวียน จากพลังงานแสงอาทิตย์เป็นส่วนใหญ่ เฉพาะกรณีที่ไม่มีแสงอาทิตย์จึงจะใช้พลังงานไฟฟ้า จากสายส่ง หรือเลือกใช้วัสดุธรรมชาติที่หาได้จากท้องถิ่นที่ไม่ท�าให้เกิดขยะตกค้างสู่ธรรมชาติ มีการปลูกผักสวนครัวและสมุนไพรรอบ ๆ โรงเรียน โดยใช้ปุ๋ยออแกนิคที่ท�าจากการหมักมูลสัตว์ กับซากพืชที่อยู่รอบโรงเรียน และน�าผักสด ๆ ท�าอาหารให้แก่นักเรียน ห้องเรียนไม่มีก�าแพงหรือ ฝาผนังให้นักเรียนได้สัมผัสกับธรรมชาติ ในโรงเรียนยังมีแคมป์สีเขียว เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่เด็กในโรงเรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก มีการสอนท�าว่าว วาดเขียน และท�าสิ่งประดิษฐ์มากมายจากวัสดุธรรมชาติ ทั้งยังมีกิจกรรม กลางแจ้งหลายชนิดที่เปิดโอกาสให้เด็กอื่น ๆ ที่ยังไม่ได้เข้าเรียน ลองมาสัมผัสบรรยากาศการเป็น นักอนุรักษ์ธรรมชาติด้วยกัน โรงเรียน Green School เป็นแบบอย่างการอยูก่ บั สิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน มีชมุ ชนและชาวบ้าน เริ่มสร้างบ้านที่มีลักษณะอนุรักษ์ธรรมชาติรอบ ๆ โรงเรียน สร้างร้านอาหาร จนกลายเป็นชุมชน (green community) เริ่มมีอาสาสมัครจากประเทศต่าง ๆ ใประเทศไทยเท่าที่ผมทราบก็มีโรงเรียนสีเขียวที่จังหวัดเชียงใหม่ คือ โรงเรียนปัญญาเด่น (Panyaden School) ตัง้ อยูใ่ นใจกลางวัฒนธรรมทางภาคเหนือของประเทศไทยในจังหวัดเชียงใหม่ รวมแนวคิดทางพุทธศาสนาและสิ่งแวดล้อมที่มีหลักสูตรสองภาษาที่ทันสมัย เตรียมความพร้อม ให้กับนักเรียนส�าหรับการศึกษาต่อในไทย โรงเรียนนานาชาติ หรือในต่างประเทศ ปัญญาเด่นเป็น โรงเรียนสีเขียวทีส่ ร้างขึน้ มาจากดินและไม้ไผ่ และตัง้ อยูอ่ ย่างสงบสุขในหมูน่ าข้าวเพียงแค่ 15 นาที จากใจกลางเมือง นักเรียนที่ส�าเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนี้ ไม่เพียงมีทักษะที่เข้ากันได้ในระดับนานาชาติในการ

อ่าน การเขียน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ แต่ยังมีทักษะชีวิตที่จ�าเป็น เช่น วิธีการปลูก ข้ า วและผั ก ซ่ อ มแซมเสื้ อ ผ้ า และมี ค วาม รับผิดชอบต่อสังคม ขอจบการแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ กั บ ผู้อ่านในครั้งนี้ หวังว่าผู้อ่านจะได้แนวคิดและ สิ่งดี ๆ จากบทความนี้ไปเป็นไอเดียส�าหรับ การด�าเนินชีวติ ไม่มากก็นอ้ ย และขอให้ตดิ ตาม ต่อไปว่าจะมีอะไรที่น่าสนใจและสิ่งใหม่ ๆ มาแลกเปลี่ยนกันครับ

ขอบคุณภาพประกอบจาก : www.lostininternet.com/learning-among-nature-green-school-in-bali

68

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


Product ShowcaSe commercial

LED SceneSwitch เพียงปิด-เปิด อารมณ์ก็เปลี่ยน

TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

ฟิลิปส์ แนะน�ำ หลอดไฟแอลอีดี ซีน สวิตซ์ (SceneSwitch) นวัตกรรมใหม่ล่ำสุด ที่จะสร้ำงประสบกำรณ์แสงสว่ำงแบบใหม่อย่ำงที่คุณไม่เคยพบมำก่อน ด้วยคุณสมบัติ กำรเลือกโทนสีแบบ 2in1 ที่สำมำรถปรับเปลี่ยนโทนแสงคูลเดย์ไลท์และวอร์มไวท์ ได้ในหลอดเดียวด้วยกำร “ปิดและเปิด”สวิตซ์ไฟตัวเดิม เพียงเท่ำนี้ก็สำมำรถเปลี่ยน บรรยำกำศในห้องได้อย่ำงง่ำยดำยเพียงปลำยนิว้ มำพร้อมกับอำยุกำรใช้งำนทีย่ ำวนำน กว่ำ 15,000 ชม. และรองรับกำรเปิด-ปิดสวิตซ์กว่ำ 50,000 ครัง้ กำรเปลีย่ นมำใช้หลอด LED จะช่วยให้คุณประหยัดมำกขึ้นกว่ำ 30% เมื่อเทียบกับหลอดประหยัดชนิดอื่น อีกทั้งมีอำยุกำรใช้งำนยำวนำนมำกกว่ำหลอดประหยัดถึง 2 เท่ำ นอกจำกนี้ยังให้ แสงสว่ำงที่สบำยตำ ไร้รังสีอัลตรำไวโอเลต และรังสีอินฟรำเรด

Lenovo TAB 2 A8-50 การเชื่อมต่อที่ขาดกันไม่ได้

ระบบควบคุม การเข้าออกประตูรุ่นใหม่ บำร์โค้ดดีดีดอทคอม แนะน�ำเครื่องควบคุมกำรเข้ำออกประตูด้วย ลำยนิ้วมือและบัตรรุ่น ZKTeco SF300 X8 สำมำรถเก็บลำยนิ้วมือ ได้ถึง 1,500 ลำยนิ้วมือ 5,000 บัตร เก็บข้อมูลกำรลงเวลำได้มำกถึง 80,000 รำยกำร หัวสแกนแบบ CMOS สำมำรถอ่ำนลำยนิ้วมือภำยใน 2 วินำที พร้อมเทคโนโลยีแป้นพิมพ์แบบสัมผัส Touch Screen หน้ำจอ สี TFT ขนำด 2.8 นิว้ ล�ำ้ หน้ำด้วยเทคโนโลยีกำรเชือ่ มต่อแบบ TCP/IP ที่ สำมำรถก�ำหนด IP Address ให้กบั เครือ่ งเพือ่ เชือ่ มต่อระบบอีเธอร์เน็ต (Ethernet) ได้ นอกจำกนีม้ ชี ดุ กล่องควบคุมทีส่ ำมำรถต่อเข้ำกับระบบ ล็อกประตูไฟฟ้ำ เพื่อใช้เป็นเครื่องควบคุมกำรเข้ำ-ออกประตู Access Control Systems ได้อีกด้วย ซึ่งตัวเครื่องมีคุณสมบัติพิเศษที่สำมำรถ ระบุได้ว่ำลำยนิ้วมือใดที่สำมำรถเปิดประตูในกำรเข้ำ-ออกได้หรือเป็น แค่กำรบันทึกเวลำแต่ไม่สำมำรถเปิดประตูได้ และด้วยคุณสมบัติของ โปรแกรม Attendance Management เวอร์ชั่นภำษำไทยที่แสดง รำยงำนกำรมำท�ำงำนของพนักงำนแต่ละคนหรือจะเลือกส่งข้อมูลออก เป็น Text File เพือ่ ใช้งำนร่วมกับโปรแกรมคิดเงินเดือนยีห่ อ้ ต่ำง ๆ ก็ได้ อีกทั้งยังประหยัดพลังงำนโดยใช้ไฟเพียง 12 โวลต์ VOLUME 7 ISSUE 84

เลอโนโวแท็บแล็ต TAB 2 A8-50 มำพร้อมกับเทคโนโลยีระบบเสียง แบบ Dolby® Digital Plus เพื่อตอบโจทย์กำรใช้งำนที่เน้นควำมบันเทิงทั้ง กำรชมภำพยนตร์และวิดีโอด้วยคุณภำพเสียงรอบทิศทำงให้ประสบกำรณ์ เสียงสมจริง ด้วยกล้องทีม่ คี วำมละเอียดถึง 5 ล้ำนพิกเซลจึงช่วยให้ถำ่ ยภำพ ได้อย่ำงคมชัด นอกจำกนี้ Lenovo TAB 2 A8-50 ยังถูกออกแบบมำเพื่อ กำรตอบสนองทุกกำรใช้งำนด้วยระบบปฏิบัติกำร Android 5.0 Lollipop และประมวลผลแบบ MediaTek 64-bit Quad Core รองรับกำรเพิ่ม หน่วยควำมจ�ำด้วยด้วย microSD ได้สูงสุด ถึง 32 GB รองรับกำรใช้งำน 2 ซิมกำร์ดส�ำหรับกำรโทรและกำรเชือ่ มต่ออินเตอร์เน็ตควำมเร็วสูง ประกอบ กับตัวเครื่องมีน�้ำหนักเพียง 330 กรัม จึงพกพำได้อย่ำงสะดวก และในส่วน ของแบตเตอรี่นั้นมีควำมทนทำนสำมำรถใช้งำนได้ยำวนำนถึง 8 ชั่วโมง

E N E R G Y S AV I N G

69


Logi Circle

กล้องถ่ายวิดีโอ ติดตามชีวิตคนในบ้าน

Cosmotor อุปกรณ์ช่วยประหยัดพลังงาน บริษัท จัดการด้านพลังงาน คอสมอเตอร์ จ�ากัด องค์กรชั้นน�ำด้ำนธุรกิจ กำรจัดกำรพลังงำนไฟฟ้ำ กำรอนุรักษ์พลังงำนไฟฟ้ำและเพิ่มควำมปลอดภัย ในระบบไฟฟ้ ำ ส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ำรใช้ พ ลั ง งำนไฟฟ้ ำ อย่ ำ งมี ป ระสิ ท ธิ ภ ำพโดย ไม่ลดประสิทธิภำพของเครือ่ งใช้ไฟฟ้ำ แนะน�ำอุปกรณ์ “Cosmotor” ขึน้ มำเพือ่ ช่วยใน เรือ่ งกำรปรับปรุงกระแสไฟฟ้ำให้เสถียร ก่อนทีจ่ ะป้อนเข้ำไปยังโหลดเพือ่ ลดกำร กระชำกของกระแสไฟ ซึง่ เป็นต้นเหตุของค่ำไฟฟ้ำทีส่ งู ขึน้ ทัง้ นี้ หลักกำรท�ำงำนของ Cosmotor จะใช้วธิ ปี รับปรุงรูปคลื่นแรงดันและรูปคลื่นกระแสไฟฟ้ำให้ดียิ่งขึ้น ส่งผลให้สำมำรถลดกระแสไฟฟ้ำที่สูญเสียไปในเครื่องใช้ไฟฟ้ำและสำยส่งไฟฟ้ำ รวมถึงกำรช่วยลดควำมร้อนในสำยส่ง โดยไม่ลดแรงดันไฟฟ้ำ (Volts) และยังช่วย ปรับปรุงค่ำประกอบก�ำลังฟ้ำ (Power Factor) ท�ำให้ระบบไฟฟ้ำของท่ำนเสถียร มำกขึน้ ช่วยลดแรงดันกระชำก (Surge & Spikes) ระงับแรงดันเกินชัว่ ขณะทีเ่ ป็น อันตรำยเนือ่ งจำกแหล่งจ่ำยภำยนอกหรือจำกฟ้ำผ่ำ และช่วยแก้ปญ ั หำแรงดันตก ปลำยทำง ลดค่ำควำมต้องกำรพลังงำนไฟฟ้ำ (Peak demand) รำยละเอียด เพิ่มเติมที่ http://www.cosmotorworld.com

Logitech เปิดตัว “Logi Circle” กล้องบันทึกติดตำมชีวติ คนในบ้ำนทีจ่ ะท�ำหน้ำทีถ่ ำ่ ยวิดโี อบรรยำกำศกำรใช้ชวี ติ ของคนใน บ้ำน พร้อมทั้งสตรีมวิดีโอไปยังสมำร์ทโฟนด้วยควำมละเอียด ระดับ HD ให้คนทีอ่ ยูน่ อกบ้ำนหรืออยูห่ ำ่ งใกลสำมำรถชมวิดโี อ ในบ้ำนได้และยังสำมำรถพูดคุยกับคนในบ้ำนผ่ำนกล้องด้วยฟีเจอร์ 2-Way Talk & Listen ได้อกี ด้วย ทัง้ นี้ กล้อง Logi Circle ยังมี ฟีเจอร์ 30-second Daily Brief ทีจ่ ะรวบรวมช่วงเวลำส�ำคัญ ๆ มำให้ดเู ป็นคลิปสัน้ ๆ 30 วินำที โดยจะใช้เทคโนโลยี Scene Intuition เพื่อติดตำมและเรียนรู้ไลฟ์สไตล์ของคนในบ้ำน คัดเลือกเก็บเฉพำะกิจกรรมเด่น ๆ ทีน่ ำ่ สนใจเอำไว้เป็นควำมทรงจ�ำ ส�ำหรับ Logi Circle ผลิตจำกวัสดุทมี่ นี ำ้� หนักเบำ สำมำรถเคลือ่ น ย้ำยไปไว้ในห้องต่ำงๆ ภำยในบ้ำนได้สะดวกพร้อมแบตเตอรี่ที่ สำมำรถสตรีมวิดโี อได้นำนต่อเนือ่ ง 3 ชม.และหำกเลือกโหมด ประหยัดพลังงำนจะสำมำรถใช้งำนได้ยำวนำนถึง 12 ชม.

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

เครื่องฟอกอากาศ Oxygen ไม่ท�าลายโอโซน อีเลคโทรลักซ์ ประเทศไทย แนะน�ำ เครื่องฟอกอำกำศ Oxygen ที่จะดักจับอนุภำคทั้งขนำดใหญ่และเล็ก สำรก่อภูมิแพ้ และแบคทีเรียออกจำกอำกำศ มอบอำกำศที่สะอำดและสดชื่นแก่ครอบครัว โดยเครื่องฟอกอำกำศ Oxygen ได้รบั กำรออกแบบมำพร้อมกับระบบกรองอำกำศทีล่ ำ�้ สมัยและเทคโนโลยีกำรฟอกอำกำศขัน้ สูง ทีส่ ำมำรถขจัด อนุภำคฝุน่ ละอองและสำรก่อภูมแิ พ้ได้สงู สุดถึงร้อยละ 99.98 ให้สมำชิกในครอบครัวได้รบั อำกำศสะอำดอย่ำงไร้ควำม กังวล ทัง้ ยังมีเทคโนโลยี PLASMAWAVE นวัตกรรมใหม่ลำ่ สุด ทีถ่ กู คิดค้นมำเพือ่ ดักจับอนุภำคไวรัส แบคทีเรีย ไอระเหย จำกสำรเคมีและมลพิษให้กลำยเป็นโมเลกุลอำกำศทีไ่ ม่เป็นอันตรำยต่อกำรสูดหำยใจอีกต่อไป นอกจำกนี้ PLASMAWAVE ไม่มกี ำรผลิตโอโซนใด ๆ จึงเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอีกด้วย อีกทัง้ ยังช่วยขจัดปัญหำเสียงดังรบกวนกำรนอนด้วยระบบ 3 เซ็นเซอร์อจั ฉริยะ ทีม่ เี ซ็นเซอร์ Smart Sleep ทีจ่ ะตรวจจับและปรับกำรท�ำงำนของเครือ่ งฟอกอำกำศให้เงียบลง และปรับควำมสว่ำงของจอแสดงผลให้ลดลง ประหยัดพลังงำนมำกขึ้นโดยอัตโนมัติ นอกจำกนี้ ยังมีเซ็นเซอร์กลิ่น ทีค่ อยตรวจจับสำรเคมีทเี่ ป็นต้นเหตุของกลิน่ ไม่พงึ ประสงค์ตำ่ ง ๆ และยังมีเซ็นเซอร์อนุภำค คอยตรวจสอบสภำพแวดล้อม รอบข้ำงอย่ำงต่อเนือ่ ง คงสภำวะแวดล้อมทีป่ รำศจำกอนุภำคและฝุน่ ละอองทีเ่ ป็นอันตรำยต่อสุขภำพ 70

E N E R G Y S AV I N G

C

NOVEMBER 2015



Product review commercial TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

เครื่องซักผ้า LG Turbo Shot

ประหยัดน�้ำได้ 27% บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้น�ำตลำด เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ ำ ภำยในบ้ ำ นขนทั พ เครื่ อ งซั ก ผ้ ำ 6 รุ ่ น ชู เ ทคโนโลยี LG Turbo ShotTM พร้ อ มโปรแกรม ออโต้พรี-วอช (Auto Pre-Wash) ขจัดครำบฝังลึกเพียง แค่กดปุ่มเดียว ตอกย�้ำประสิทธิภำพกำรซักที่เหนือระดับ ส่ ง ตรงถึ ง ผู ้ บ ริ โ ภคด้ ว ยสื่ อ กำรตลำดครบวงจร โดยใน ไตรมำสที่ 4 ตั้งเป้ำเติบโต 10% คำดว่ำทั้งปีเติบโต 5% ครอง ส่วนแบ่งกำรตลำดอันดับ 1 ต่อเนื่อง 15 ปีซ้อน

คุณนิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู้อ�ำนวยกำรฝ่ำยกำรตลำด บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่ำวว่ำ ในฐำนะ แบรนด์เครื่องใช้ไฟฟ้ำภำยในบ้ำนระดับโลกแอลจีมีควำมมุ่งมั่นใน กำรพัฒนำเทคโนโลยีทลี่ ำ�้ สมัยควบคูไ่ ปกับดีไซน์ทสี่ วยงำม ประหยัด พลังงำน และควำมทนทำนของผลิตภัณฑ์ทไ่ี ว้ใจได้เพือ่ สร้ำงรอยยิม้ แห่ง ควำมสุขให้แก่ผบู้ ริโภคแอลจียงั เน้นเรือ่ งกำรให้ควำมส�ำคัญต่อควำม คิดเห็นและควำมต้องกำรของผูบ้ ริโภคชำวไทยผ่ำนกำรท�ำวิจยั ทำงกำร ตลำดอยูเ่ สมอ และได้พฒ ั นำผลิตภัณฑ์ทตี่ อบโจทย์ของผูบ้ ริโภคได้อย่ำง ตรงจุด ท�ำให้ผลิตภัณฑ์เครือ่ งซักผ้ำแอลจีได้รบั กำรตอบรับและเชือ่ มัน่ ในคุณภำพจำกผูบ้ ริโภคชำวไทยเป็นอย่ำงดี ทั้งนี้ เพื่อคงควำมเป็นผู้น�ำด้ำนเครื่องใช้ไฟฟ้ำภำยในบ้ำนแอลจี น�ำเสนอ เครือ่ งซักผ้ำ LG Turbo Shotจ�ำนวน 6 รุน่ สูต่ ลำด เพือ่ ตอบ สนองกำรใช้งำนของผูบ้ ริโภคทุกควำมต้องกำร เครือ่ งซักผ้ำฝำบน LG Turbo Shot มำพร้อมเทคโนโลยี TurboShotTM ที่มอบพลังซัก

72

E N E R G Y S AV I N G

นิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู้อ�ำนวยกำรฝ่ำยกำรตลำด บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

ทรงประสิทธิภำพ เนื่องจำกมอเตอร์ต่อตรงระบบอินเวอร์เตอร์ ไดเร็ค ไดร์ฟ (Inverter Direct Drive)ทีช่ ว่ ยให้ถงั ซักหมุนได้อย่ำงรวดเร็วทรงพลังและด้วยกำร ท�ำงำนที่สร้ำงน�้ำวนอันทรงพลังภำยในถังซัก ท�ำให้สำมำรถขจัดครำบฝังลึกใน เนือ้ ผ้ำได้อย่ำงมีประสิทธิภำพประหยัดน�ำ้ ได้ถงึ 27% (ทดสอบจำกสถำบัน KATRI : Korea Apparel Testing and Institute) นอกจำกนี้ ยังมำพร้อมเทคโนโลยีซกิ ส์ โมชัน่ ไดเร็ค ไดร์ฟ อันเป็นลิขสิทธิเ์ ฉพำะจำกแอลจี ด้วยถังซักทีส่ ำมำรถเคลือ่ นที่ ได้ถงึ 6 ทิศทำง ช่วยถนอมผ้ำเสมือนซักด้วยมือ ทัง้ ยังช่วยขจัดครำบผงซักฟอกไม่ ให้ตกค้ำงบนเนือ้ ผ้ำ ประหยัดพลังงำนและอัตรำกำรใช้นำ�้ ยิง่ ขึน้ อีกทัง้ ยังมีฟงั ก์ชนั่ Tub Clean ทีช่ ว่ ยท�ำควำมสะอำดถังซักให้ถงั ซักสะอำดหมดจดเพือ่ สุขอนำมัยทีด่ ี ของผูใ้ ช้งำน และยิง่ ไปกว่ำนัน้ มีโปรแกรม Auto Pre-Wash ทีช่ ว่ ยเพิม่ กำรพลัง กำรซัก 1 ครัง้ ก่อนกำรซักปกติภำยในเวลำเพียง 8 นำทีอำ� นวยควำมสะดวกให้กบั ผูใ้ ช้ให้ไม่ตอ้ งซักมือและเพิม่ ประสิทธิภำพในกำรซักอย่ำงเหนือชัน้ ในส่วนของแผนกำรตลำดเพือ่ เข้ำถึงผูบ้ ริโภคอย่ำงทัว่ ถึง แอลจีได้จดั กิจกรรมทัง้ Above the line และBelow the line และในส่วนของ In store ยังได้มกี ำรปรับปรุง ให้ดูทันสมัยสอดรับกับกลุ่มเป้ำหมำยที่ตัดสินใจเลือกซื้อโดยเน้นนวัตกรรมอย่ำง แท้จริง และเพือ่ ตอบรับควำมสนใจของผูบ้ ริโภคในกำรใช้สอื่ ออนไลน์แอลจีให้ควำม ส�ำคัญในกำรท�ำกำรตลำดผ่ำนเว็บไซต์ โซเชีย่ ลมีเดีย หรือแคมเปญออนไลน์ รวมถึง กิจกรรม CSR เพือ่ ตอกย�ำ้ คุณค่ำของแบรนด์เครือ่ งซักผ้ำแอลจี ทีม่ อบประสิทธิภำพ กำรท�ำงำนทีค่ มุ้ ค่ำส�ำหรับผูบ้ ริโภค ตลอดระยะเวลำ 5 ปีทผี่ ำ่ นมำ แอลจีประสบควำมส�ำเร็จด้วยยอดขำยเครือ่ งซัก ผ้ำกว่ำ 20 ล้ำนเครือ่ งทัว่ โลก ส�ำหรับประเทศไทยเรำเป็นผูน้ ำ� อันดับหนึง่ ในตลำด เครือ่ งซักผ้ำ ด้วยสัดส่วนกำรตลำด 32%และในโค้งสุดท้ำยปีนเี้ รำมัน่ ใจว่ำกำรเปิด ตัวเครือ่ งซักผ้ำฝำหน้ำ LG Turbo Shot ทัง้ 6 รุน่ จะสร้ำงกำรเติบโตได้ 10% และ ครองส่วนแบ่งกำรตลำดอันดับ 1 อย่ำงต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 15 แน่นอน เครือ่ งซักผ้ำฝำหน้ำ LG Turbo Shot มีขนำดตัง้ แต่ 11-20 กิโลกรัมรำคำเริม่ ตัง้ แต่ 14,900-34,900 บำท พร้อมวำงจ�ำหน่ำยแล้ววันนีท้ รี่ ำ้ นค้ำตัวแทนจ�ำหน่ำยของแอลจี ทัว่ ประเทศ สอบถำมรำยละเอียดเพิม่ เติมทีศ่ นู ย์ขอ้ มูลแอลจี 0-2878-5757 หรือ www.lg.com/th NOVEMBER 2015


INTERVIEW TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

SPS สร้ า งโรงไฟฟ้ า พลังงานชีวมวลขยะชุมชนกรีนเทคตั้งเป้าก�าจัดขยะ 600 ตัน/วัน คุ ณ ชยั น ต์ พิ สิ ฐ สมานสวน ประธาน กรรมการบริ ห ารบริ ษั ท เสริ ม ทรั พ ย์ ไพศาล กรุ๊ป 1999 จ�ากัด กล่าวว่า บริษัทฯ เป็นผู้ด�าเนินงานโครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน ขยะชุมชน กรีนเทค เพื่อแก้ไขปัญหาขยะให้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และพลังงาน ทดแทนทั่ ว ประเทศ ซึ่ ง โครงการโรงไฟฟ้ า พลังงานขยะชุมไพศาลี กรีนเทค ใช้เวลาใน การก่อสร้างโครงการประมาณ 22 เดือน เมื่อแล้วเสร็จจะเป็นโรงไฟฟ้าพลังงานขยะ ชุมชนกรีนเทคที่ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย และเอเชีย ซึ่งสามารถเผาก�าจัดขยะที่สร้าง ปัญหาด้านมลพิษต่อธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และชุมชน ได้ถึงวันละ 600 ตัน และสามารถ น�าความร้อนจากการเผาก�าจัดขยะไปผลิต กระแสไฟฟ้าเป็นพลังงานสะอาดทดแทนได้ ถึงวันละ 9.5 เมกกะวัตต์

คุณชยันต์พิสิฐ สมานสวน ประธานกรรมการบริหารบริษัท เสริมทรัพย์ไพศาล กรุ๊ป 1999 จ�ากัด VOLUME 7 ISSUE 84

กระบวนการท� า งานของโรงไฟฟ้ า พลังงานขยะชุมชน ของบริษัท เสริม ทรัพย์ไพศาล กรุป๊ 1999 จ�ากัด สามารถก�าจัด ขยะแบบไร้มลพิษได้ 600 ตัน/วัน โดยระบบ การท�างานของโรงงานเป็นแบบปิด จึงไม่มี กลิน่ รบกวน ไม่มคี วัน ไม่มขี เี้ ก้าลอย ด้วยระบบ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย ภายใต้แนวคิดเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อมและชุมชนเป็นหลัก ซึง่ ได้รว่ มมือกับ พันธมิตร คือ บริษทั อูส๋ หี กู วง บอยเลอร์ จ�ากัด กับ บริษทั วานตง เพาเวอร์ อีควิปเมนท์ จ�ากัด จากประเทศจีน ซึ่งเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ CFB TECHNOLOGY ของ FOSTER WHEELER จากประเทศสหรัฐอเมริกา และบริษัท ลาวี เอ็นจีเนียริง่ (ประเทศไทย) จ�ากัด โดยบริษทั ดั ง กล่ า วเป็ น ผู ้ พั ฒ นาค้ า คว้ า วิ จั ย และเป็ น ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีพลังงานไฟฟ้าที่ ทันสมัยทีส่ ดุ ในโลก และยังเป็นผูผ้ ลิตเครือ่ งจักร อุปกรณ์ไฟฟ้า ระบบการเผาไหม้ต่าง ๆ ที่มี ประสิทธิภาพดีที่สุดจนเป็นที่ยอมรับจากแถบ ทวีปยุโรป อเมริกา และเอเชีย E N E R G Y S AV I N G

73


ระบบการขนส่งขยะเข้าสู่โรงไฟฟ้าฯ เพื่อ เป็นการลดจ�านวนรถขนส่งขยะที่จะวิ่งเข้า สู่โรงไฟฟ้าฯ ด้วยระยะทางที่ไกล ซึ่งอาจจะ ท�าให้ประชาชนบริเวณทีต่ งั้ โครงการเดือดร้อน ทางบริษัทฯ ได้ออกแบบรถขนส่งขยะขนาด ใหญ่ เพือ่ ไปรับขยะในแต่ละอ�าเภอ อ�าเภอละ 1 จุด ซึง่ รถขยะในอ�าเภอนัน้ น�าขยะมาเทลงใน รถคอนเทนเนอร์ขนาดใหญ่ทจี่ ดุ รับขยะ ท�าให้ ประหยัดงบประมาณ เวลาในการขนส่งและ ก�าจัดขยะ ท�าให้ไม่มขี ยะตกค้าง และมีขยะส่ง เข้าสูโ่ รงไฟฟ้าฯ อย่างสม�า่ เสมอ นอกจากนีไ้ ด้ มีการออกแบบอาคารรับขยะให้มีขนาดใหญ่ ให้รองรับขยะได้ถงึ 5,000 – 6,000 ตัน เพือ่ เป็นการเก็บเชือ้ เพลิงได้อย่างเพียงพอในแต่ละ เดือน อีกทัง้ โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลขยะชุมชน กรีนเทคสามารถใช้เชือ้ เพลิงเสริมได้ไม่เกินร้อย ละ 25 ของปริมาณการก�าจัดขยะตามระเบียบ ของการไฟฟ้า เชือ้ เพลิงเสริมเหล่านี้ เช่น เศษ ซากพืชไร่ทุกชนิดที่ชาวบ้านต้องการก�าจัดทิ้ง โดยการรั บ ซื้ อ จากชาวบ้ า นดี ก ว่ า ปล่ อ ยให้ ชาวบ้านเผาทิง้ แบบผิดวิธที า� ให้เกิดมลพิษส่งผล กระทบต่อสิง่ แวดล้อมและชุม ประกอบกับเศษ ซากจากพืชไร่ตา่ ง ๆ เหล่านีเ้ ป็นเชือ้ เพลิงเสริม อย่างดีสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพิม่ มากขึน้ ระบบดักจับมลพิษก่อนจะระบายอากาศ ออกภายนอก ด้วยการใช้ Multi Cyclones ในการดักก�าจัดฝุ่นหนักที่อาจหลุดลอด แล้ว ผ่านมาที่ Dry Absorption เพือ่ คอยตรวจจับ ไอมลพิษทีอ่ าจหลงเหลือจากการเผาขยะ และ ใช้ Bag Filter คอยดักจับอนุภาคขนาดเล็ก ก่อนระบายอากาศออกสูภ่ ายนอกโรงงาน โดย มีระบบ CEMS คอยตรวจวัดคุณภาพอากาศ ซึ่งระบบ CEMS ซึ่งระบบนี้จะเชื่อมข้อมูล เข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมการท�างาน ของเครื่องจักรอุปกรณ์ เพื่อคอยรายงานผล อากาศทีจ่ ะปล่อยออกสูภ่ ายนอกโรงงาน และ ถ้าอากาศไม่ได้มาตรฐาน ระบบ CEMS จะ 74

E N E R G Y S AV I N G

เศษซากพืชไร่ทุกชนิดที่ชาวบ้าน ต้องการก�าจัดทิ้งโดยการรับซื้อ จากชาวบ้านดีกว่าปล่อยให้ชาวบ้าน เผาทิ้งแบบผิดวิธีท�าให้เกิดมลพิษ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และชุมประกอบกับเศษซากจาก พืชไร่ต่าง ๆ เหล่านี้เป็นเชื้อเพลิง เสริมอย่างดีสามารถผลิตกระแส ไฟฟ้าได้เพิ่มมากขึ้น

ไม่ อ นุ ญ าตให้ ป ล่ อ ยอากาศออกและจะสั่ ง ให้ระบบควบคุมดูดอากาศที่ไม่ได้มาตรฐาน กลับไปเผาซ�า้ ใหม่จนกว่าจะได้มาตรฐานตามที่ กรมควบคุมมลพิษก�าหนด จากนัน้ จึงจะถูกปล่อย อากาศออกทางปล่องระบายอากาศ ด้วยระบบ นีจ้ งึ สามารถสร้างคาร์บอนเครดิต อากาศดี ได้ จึงมัน่ ใจได้วา่ อากาศทีถ่ กู ปล่อยออกสูภ่ ายนอก นั้นไร้มลพิษไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และชุมชน ทัง้ นี้ ประโยชน์ทอี่ งค์การบริหารส่วนต�าบล ไพศาลี รวมถึงประชาชน และประเทศชาติจะ ได้รบั จากการด�าเนินโครงการ 11 ข้อมีดงั นีค้ อื ข้อ 1. แก้ไขปัญหาการฝังกลบขยะ ขยะ ล้นเมือง และปัญหาที่ดินในการฝังกลบขยะ เนื่องจากไม่มีที่ดินใช้ในการฝังกลบขยะของ จังหวัดนครสวรรค์

ข้อ 2. แก้ไขปัญหามลพิษที่เกิดจากบ่อฝัง กลบขยะ เช่น กลิ่นเหม็นขยะ แหล่งเพาะพันธุ์ เชือ้ โรค และแหล่งเพาะพันธุแ์ มลงและสัตว์ตา่ ง ๆ ที่เป็นพาหะน�าโรค ข้อ 3. แก้ไขปัญหาน�้าเสียจากบ่อฝังกลบ ขยะ และน�้าเสียใต้บ่อฝังกลบขยะซึมซับและ ไหลลงสู่แหล่งน�า้ ใต้ดนิ และแหล่งน�้าธรรมชาติ เช่น บ่อน�้า สระน�้า อ่างเก็บน�้า และแม่น�้า ล�าคลองต่าง ๆ ข้อ 4. องค์กรปกครองส่วนต�าบลไพศาลี ซึ่งเป็นคู่สัญญาร่วมมือก�าจัดขยะ กับ บริษัท เสริมทรัพย์ไพศาล กรุ๊ป 1999 จ�ากัด มีรายได้ จากการเป็นผู้รวบรวมขยะตันละ 30 บาท เป็นเงินเดือนละ 540,000 บาท หรือปีละ 6,480,000 บาท ข้อ 5.ท�าให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ร่วมโครงการประหยัดเงินงบประมาณใน การจ่ายค่าฝังกลบขยะ (ตันละ 350-550 บาท) ข้อ 6. ชุมชนโดยรอบโรงไฟฟ้าพลังงาน ขยะชุมชนได้รับเงินกองทุนจากการจ�าหน่าย กระแสไฟฟ้าประมาณ 1 ล้านบาท/ปี เพือ่ จัดตัง้ เป็นกองทุนพัฒนาชุมชน ข้อ 7. องค์กรบริหารส่วนต�าบลไพศาลี มี ร ายได้ จ ากการเก็ บ ภาษี ใ นการจ� า หน่ า ย กระแสไฟฟ้าปีละประมาณ 28 ล้านบาท) ซึ่ง ด้วยรายได้จ�านวนมากขนาดนี้ท�าให้ องค์กร บริหารส่วนต�าบลไพศาลี มีเงินรายได้ เพื่อน�า กลับมาพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ เช่น ด้าน การกีฬา ด้านศาสนาการศึกษา ด้านอุปโภค บริโภค และด้านสาธารณะประโยชน์ อื่น ๆ โดยไม่ต้องรองบประมาณจากภาครัฐ ข้อ 8. เป็นการสร้างงานสร้างรายได้ให้กับ ประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบโครงการ ข้อ 9. บริษัท เสริมทรัพย์ไพศาล กรุ๊ป 1999 จ�ากัด สนับสนุนเงินกองทุนในการจัดตัง้ สหกรณ์ ชุ ม ชนโรงไฟฟ้ า กรี น เทค เพื่ อ เป็ น กองทุ น เงิ น กู ้ ยื ม ให้ กั บ ประชาชนโดยรอบ โครงการปีละ 2 ล้านบาท เป็นเวลา 7 ปี ข้อ 10. แก้ปัญหาเรื่องทัศ นียภาพและ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กิ ด จากปั ญ หาขยะ คื น พื้ น ที่ สี เขียวและธรรมชาติสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม กลับมา ให้น่าอยู่ตลอดไป และเพื่อสุขภาพ อนามัยที่ดีของประชาชน ข้ อ 11. เป็ น การสร้ า งพลั ง งานสะอาด ทดแทน และความมั่นคงด้านพลังงานให้กับ ท้ อ งถิ่ น และประเทศชาติ ท� า ให้ ป ระเทศ ชาติประหยัดเงินตราในการชื้อเชื้อเพลิงจาก ต่างประเทศเพือ่ มาผลิตกระแสไฟฟ้า เช่น แก๊ส ก๊าซ และน�้ามัน

NOVEMBER 2015


EnErgy Tip

เตาไมโครเวฟ

TEXT : ไบโอ

เครื่องเล็ก ๆ ที่ไม่ควรมองข้าม เตาไมโครเวฟ เครื่องใช้ไฟฟ้าประจ�าห้องครัวของคนยุคใหม่ที่เหมือนจะขาดไปเสียไม่ได้ เพราะความสะดวกรวดเร็วในการอุ่นอาหาร เครื่องดื่ม หรือการปรุงอาหารให้สุก ด้วยขนาดที่ไม่ใหญ่มากนัก และความง่ายต่อการใช้งาน จึงเป็นที่นิยมอย่างมากในทุก ครัวเรือน และยังมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานความร้อน ได้ดีกว่าเตาอบไฟฟ้าธรรมดาถึง 50%

วิธีการง่าย ๆ ในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าที่เกิดจากเตาไมโครเวฟ คือ 1. อย่าวางเตาไมโครเวฟไว้ใกล้กับเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ เพราะคลื่น ไมโครเวฟจะรบกวนระบบการท�างานของเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่น และควรวางด้านหลังเตา ให้ห่างจากผนังอย่างน้อย 7.5 เซนติดเมตร เพื่อการระบายความร้อนที่ดี 2. ระหว่างที่อุ่นอาหารในภาชนะพลาสติก แม้จะเป็นชนิดที่เข้าเตาได้ แต่ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้ เพราะอาจเกิดการลุกไหม้ได้ และควรท�าความสะอาดทุกครั้งหลังการใช้งาน เพราะเศษ อาหารที่กระเด็นไปติดผนังจะไปลดประสิทธิภาพของเตา รวมถึงหลีกเลี่ยงการน�าภาชนะ ที่เป็นโลหะ อลูมิเนียมฟอยด์เข้าไป อาจก่อให้เกิดประกายไฟได้ 3. ภาชนะทีน่ า� เข้าไปในเตาไม่ควรปิดจนมิดชิดมากเกินไป ควรท�าให้มรี รู ะบายไอน�า้ ทีเ่ กิดจาก ความร้อน มิเช่นนั้นอาจเกิด การสะสมของแรงดันและท�าให้เกิดการระเบิดได้ 4. อาหารที่มีปริมาณน้อยหรือความชื้นต�่า มีไขมัน น�้าตาลมาก อาจเกิดไฟลุกหรือเกาะติดกัน ในเวลาปรุงอาหาร หรืออุ่นอาหารนาน ๆ จึงต้องปรุงอาหารโดยใช้เวลาสั้นที่สุด 5. ควรตรวจสอบอย่าให้เครื่องท�างานเมื่อไม่มีอาหารอยู่ภายใน เพราะเครื่องจะปล่อยคลื่น ไมโครเวฟออกมาท�าให้ตัวเครื่องช�ารุดเสียหายได้ 6. ไม่ใช้เตาไม่โครเวฟในห้องที่มีการปรับอากาศ

VOLUME 7 ISSUE 84

เพี ย งเท่ า นี้ ก็ จ ะช่ ว ยสามารถประหยั ด พลังงาน รวมถึงรักษาเตาไมโคเวฟของคุณ ให้มีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น นอกจากนี้ ควรเลือกซื้อเตาไมโครเวฟที่มีขนาดความจุ ก�าลังไฟทีเ่ หมาะสมกับปริมาณการใช้งาน และ เลือกรุ่นที่เมื่อเปิดเตาแล้วจะมีระบบ ตัดไฟ อัตโนมัติ เพือ่ ความปลอดภัยในการใช้งาน

ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจากเว็บไซต์ www.samsung.com www.akibkk.com www.technolomo.com

E N E R G Y S AV I N G

75


แก้ปัญหาแบต สมาร์ทโฟน หมดเร็ว

ปัจจุบัน “สมาร์ทโฟน” ถูกบรรจุเข้าไว้กับด�าเนินชีวิตประจ�าวันของเรา อย่างแยกไม่ออก ปัญหายอดฮิตที่ไม่อาจปฏิเสธได้ คือ “แบตเตอรี่ ไม่พอใช้” ดังนัน้ จ�าเป็นต้องพกพา “Powerbank” ไว้ชาร์จแบตระหว่างวัน ซึ่งนอกจากจะก่อให้เกิดความหงุดหงิดร�าคาญใจให้กับหลาย ๆ คน โดยเฉพาะผู้ที่ไม่ชอบพกพากระเป๋าใบใหญ่ให้หนักมือ ทาง หัวเว่ย คอนซูมเมอร์ บิสสิเนสกรุ๊ป (ประเทศไทย) มีเคล็ดไม่ลับแก้ปัญหาแบต หมดเร็ว โดยสามารถน�าไปใช้ได้ทั้งแอนดรอยด์ iOS และ Windows Phone ดังนี้

1. ลดความสว่างของหน้าจอลง หน้าจอเป็น ตัวดูดพลังงานมากที่สุดในสมาร์ทโฟน ซึ่งบาง ครัง้ เราก็เปิดหน้าจอสว่าง เกินความจ�าเป็นโดย เฉพาะในเวลากลางวันซึ่งมีแสงสว่างมากเพียง พออยู่แล้ว ดังนั้นควรลดความสว่างของหน้า จอให้อยู่ในระดับกลางที่สามารถอ่านข้อความ ได้ อ ย่ า งสบายตาไม่ มื ด หรื อ สว่ า งจนเกิ น ไป ซึ่งนอกจากจะช่วยประหยัดแบตเตอรี่แล้วยัง ช่วยถนอมสายตาของเราได้อีกด้วย 2. ปิดแอปพลิเคชั่นที่ไม่ได้ใช้งาน การเรียก ใช้งานแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ในเวลาเดียวกัน นอกจากจะเปลื องแบตเตอรี่ แ ล้ ว ยั ง ส่ ง ผล กระทบให้การท�างานของสมาร์ทโฟนให้ชา้ ลงอีก ด้วย ดังนัน้ การปิดการใช้งานแอปพลิเคชัน่ ทีไ่ ม่ ส�าคัญทิ้งไปช่วยยืดการใช้งานของสมาร์ทโฟน ให้มากขึน้ อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั สมาร์ทโฟน บางยีห่ อ้ ก็ได้มกี ารพัฒนาให้มคี วามฉลาดมากขึน้ เช่น การพัฒนาชิปเซ็ตประมวลผลที่มีความ สามารถในการจัดการการใช้พลังงานได้อย่าง ชาญฉลาด ช่วยในการประหยัดแบตเตอรี่โดย อัตโนมัติ ให้คณ ุ มัน่ ใจได้วา่ แบตไม่หมดระหว่าง วันแน่นอน

76

E N E R G Y S AV I N G

3. ปิดการท�างานของ GPS และ Location Service ในแอปพลิเคชั่น การเปิดใช้งาน GPS ตลอดเวลานั้นเป็นการน�าพลังงานของเครื่อง มาใช้โดยไม่จ�าเป็น ดังนั้นควรเลือกเปิดใช้งาน เฉพาะเมือ่ จ�าเป็นจะดีกว่า นอกจากนัน้ การปิด Location Service จากแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ก็ จ ะช่ ว ยยื ด อายุ ข องแบตเตอรี่ ใ ห้ ย าวนาน ยิ่งขึ้น เพราะแอปพลิเคชั่นบางตัวจะมีการ ส่ ง ข้ อ มู ล Location ผ่ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต อยู่เรื่อย ๆ โดยไม่จ�าเป็น 4. ปิดการท�างานของ 3G, 4G, Bluetooth หรือ WiFi เมื่อไม่ได้ใช้งาน ปกติในการใช้งาน สมาร์ทโฟน เราไม่สามารถเลือกเชื่อมต่อผ่าน ระบบช่องสัญญาณต่าง ๆ พร้อมกัน ดังนั้น เมื่อเลือกเชื่อมต่อสมาร์ทโฟนด้วยช่องทางใด ช่องทางหนึง่ ควรมีการปิดสัญญาณอืน่ ๆ ทิง้ ไป เช่น เมื่ออยู่ในที่ ๆ มีสัญญาณ WiFi ไม่ต้อง เปิดการใช้งาน 3G, 4G หรือ Bluetooth ทิง้ ไว้ เพราะจะเป็นการสิน้ เปลืองพลังงานของเครือ่ ง 5. เลือกสมาร์ทโฟนที่มีแบตเตอรี่ใหญ่ อีก หนึ่งทางเลือกส�าหรับผู้ที่ใช้งานสมาร์ทโฟน

อย่างหนักหน่วง คือ การเลือกใช้สมาร์ทโฟน ทีม่ แี บตเตอรีใ่ หญ่เหมาะสมกับการใช้งานของคุณ เพี ย งเท่ า นี้ ก็ จ ะสามารถช่ ว ยตั ด ปั ญ หา แบตเตอรี่หมดเร็วให้เพียงพอต่อการใช้งานใน แต่ละวัน

NOVEMBER 2015


ART WORK กระเป๋ า กระดาษคราฟท์ BRAND GREEN 4 U

TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

สินค้าแนว ECO ในปัจจุบันมีให้เห็นกันมากขึ้นในประเทศไทย ซึ่งเป็นที่น่ายินดีว่า เจ้าของแบรนด์สินค้าแนวนี้เป็นกลุ่มวัยรุ่น วัยท�างานยุคใหม่ที่หันมาให้ความส�าคัญต่อสิ่งแวดล้อม ประกอบกับแนวคิดการออกแบบเฉพาะตัว ท�าให้ผลิตภัณฑ์ มีความสวยงาม ทันสมัย ตอบโจทย์การใช้งานยิ่งขึ้น อย่างกระเป๋ากระดาษคราฟท์จาก ARTWORK แบรนด์ในคอนเซปต์ eco lifestyle

คุณสิริวรรณ ชิวารักษ์ เจ้าของ ARTWORK BRAND กล่ า วถึ ง จุ ด เริ่ ม ต้ น ของแบรนด์ ว ่ า “ส่วนตัวเป็นคน eco พอสมควร ซื้อของก็จะเอาถุง ไปเอง ไม่ค่อยอยากได้ถุงพลาสติก บางคนซื้อน�้าขวด เดียวก็ต้องใส่ถุงกินเสร็จก็ทิ้งเลย ส�าหรับเราถ้าต้อง ซื้อของแล้วไม่มีถุงผ้าหรือถุงกระดาษ เรามักจะเอา ถุงพลาสติกนั้นพับเก็บไว้ใช้ เพื่อไว้ใช้ใส่ของในครั้ง ต่อไป หรือเก็บไว้ใส่ขยะ ไม่ทงิ้ เพราะมันยัง ใช้ประโยชน์ ได้อีก หรืออย่างตอนที่เข้าห้องน�้าตามห้าง แล้ว บางคนถึงกับต้องใช้ทิชชู่ถึง 2-3 แผ่นเพื่อแค่เช็ดมือ ให้แห้ง ความจริงสะบัดมือในอ่างก่อนแค่แผ่นเดียว ก็แห้งแล้ว รู้สึกเสียดายมากกับการที่ทิชชู่ผืนใหญ่ถูก ใช้เพื่อเช็ดน�้าสะอาดบนมือที่ล้างสบู่มาแล้วทิ้งเลย VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

77


คุณอนันต์ โลภาส

มันดูเสียพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติมาก ความจริงแล้วทุกคนควรพกผ้าเช็ดมืดไว้ เพือ่ จะได้ลดการใช้ทรัพยากรในส่วนนี้ไป จึงคิดว่าการออกแบบสามารถช่วยเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้งานเพื่อให้โลกดีขึ้นได้ แต่ถ้าคนทั่วไปยังไม่คิดถึงส่วนรวม โลกคงพังไปเรื่อยๆ” ด้วยเหตุนี้ ARTWORK BRAND จึงเกิดขึ้นภายใต้แนวคิดออกแบบสินค้า eco lifestyle ที่ดูเรียบง่าย แต่เก๋ เท่ มีความเป็น street เข้าถึงคนรุ่นใหม่ โดยผลิตภัณฑ์หลักตอนนี้ คือ กระเป๋า ARTWORK ท�ามาจากกระดาษคราฟท์แบบเหนียวพิเศษ ซึ่งเป็นวัสดุเดียวกันกับ การท�าป้ายกางเกงยีนส์ ทีท่ นต่อแรงฉีกได้มากกว่ากระดาษธรรมดาหลายเท่า จึงมีอายุการใช้ งานนาน ข้อดีคอื รีไซเคิลและย่อยสลายได้เหมือนกระดาษทัว่ ไป กันฝนได้ดกี ว่าถุงผ้า ต่อมามี การพัฒนาให้กระเป๋าทนขึ้นและรับน�้าหนักได้มากขึ้นถึง 10 กิโลกรัม โดยใช้กระดาษไทเวค มาช่วยรับน�า้ หนักและท�าให้กนั น�า้ เข้าสูก่ ระเป๋าด้านในได้ 100% และปรับปรุงสายให้แข็งแรง 78

E N E R G Y S AV I N G

ขึ้น หนา 4 ชั้น ซึ่งกระดาษไทเวค คือ กระดาษกันน�้า ฉีกไม่ขาด ประกอบด้วยเส้นใยโพลียูรีเทน สามารถ น�ากลับไปรีไซเคิลได้ ดีต่อสิ่งแวดล้อม การดีไซน์เน้น ความเรียบง่ายเพื่อโชว์ธรรมชาติของวัสดุ และแสดง ให้เห็นถึงความแข็งแรงของวัสดุ โดยใช้แค่กระดาษ ไม่มีผ้าผสม อีกทั้งยังได้รับรางวัล Good Design Award 2013 (G-mark) from Japan institute of Design Promotion (JDP) 2013 และ Design Excellence Award 2013 อีกด้วย “ยอมรับว่าวัสดุนคี้ อ่ นข้างใหม่ ท�าให้สนิ ค้ารุน่ แรก ๆ มีปัญหาอยู่บ้าง แต่ทางเราได้มีการปรับปรุงใหม่ ซึ่งแก้ปัญ หาจุ ด ด้ อ ยของวั ส ดุ ไ ด้ ห มดแล้ ว รวมถึ ง การดีไซน์เรื่องรับน�้าหนักที่มากเป็นพิเศษส�าหรับ กระดาษด้ ว ย กลุ ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ชื่ น ชอบ มี ห ลายกลุ ่ ม แต่สว่ นมากจะเป็นเด็กวัยรุน่ ชอบของแปลกไม่เหมือน คนอื่ น ไม่ เ น้ น ของแบรนด์ เ นม ซึ่ ง บางครั้ ง จะได้ ลูกค้าที่เป็นบริษัท หรือองค์กรที่ท�า CSR เกี่ยวกับ สิง่ แวดล้อม มอบหมายงานให้ออกแบบกระเป๋ากระดาษ เพื่อท�าเป็นของพรีเมียมแจกในงานอีเว้นท์ต่าง ๆ เพราะลูกค้ารู้สึกว่า กระเป๋าผ้ามันธรรมดาไป และ ลูกค้าต่างประเทศสนใจ คือ คนญี่ปุ่นสั่งไปขายใน ประเทศเขา ซึ่งคนญี่ปุ่นมักชอบสินค้าแนวนี้อยู่แล้ว และตอนนี้มีลูกค้าฮ่องกงสนใจติดต่อไปวางขายที่ ฮ่องกงอยู่ค่ะ” ช่องทางการตลาดของ ARTWORK จะเน้นที่ การฝากขายตามร้านต่าง ๆ คือ ร้าน happening shop ทีห่ อศิลป์ตรงข้ามมาบุญครอง, ที่ TCDC shop เอ็มโพเรียม, the gallery ตึกเอ็มไพร์ สี่แยกสาทร และเข้าร่วมกับ Demark Concept Store ของ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เวลาทีม่ งี านจัดโดย กรมฯ และช่องทางการออนไลน์ www.facebook.com/ loveartwork ในอนาคตอยากพัฒนาแบรนด์ให้ดูสนุก ด้วยการ collaborate กับศิลปินให้วาดภาพลงบนกระเป๋า กระดาษ หรือครีเอท เป็นของขวัญเฉพาะบุคคล โดย วาดรูป เขียนข้อความที่อยากบอกลงไปบนกระเป๋า ให้เราเป็นสื่อในการส่งความรู้สึก ผู้ได้รับน่าจะชอบ เพราะมี ชิ้ น เดี ย วในโลก ไม่ อ ยากให้ เ ป็ น กระเป๋ า กระดาษเปล่า แต่มีเรื่องราวอยู่บนนั้นด้วยเพื่อปรับ perception ใหม่ ให้คนทัว่ ไปรูส้ กึ ว่าสินค้า eco ไม่ได้ น่าเบื่อ แต่เราสนุกกับมันได้ “เราต้องการให้เราเป็นแบรนด์ที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ด้วยการเลือกน�าเอาวัสดุที่ย่อยสลายได้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม หรือเลือกเส้นใยที่สามารถน�าไปรีไซเคิล แล้วน�ามาใช้ใหม่ได้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งยัง ต้องการเป็นแบรนด์ทที่ า� เพือ่ เอาใจคนรัก eco ด้วย คือ จะต้องไม่มีการใช้วัสดุที่ท�ามาจากหนังสัตว์เลย” NOVEMBER 2015



GREEN 4 U TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า

ecoTruck ของเล่นจากเศษขี้เลื่อย บริษทั Luke’s Toy Factory มุง่ มัน่ ในการพัฒนาของเล่นทีม่ ี ประโยชน์กบั เด็ก ทัง้ เล่นสนุก ได้เรียนรู้ เสริมสร้างจินตนาการ และที่ ส� า คั ญ เป็ น ของเล่ น ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม คื อ EcoTruck Dump Truck, EcoTruck Fire Truck และ EcoTruck Cargo Truck ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจจากของเล่น รถยนต์สมัยเก่า โดยใช้วัสดุจากเศษผงขี้เลื่อยกลับมาใช้ใหม่ จากโรงงานไม้ 30% และเม็ด พลาสติกที่สามารถรีไซเคิลได้ 70% สีบนตัวของเล่นเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ไม่เป็นอันตราย (ที่มา : http://www.creativemove.com/)

LIa ชุดทดสอบการตั้งครรภ์กระดาษ

ชุดทดสอบการตั้งครรภ์ ท�าจากวัสดุกระดาษที่ใช้แล้วทิ้งชักโครกได้ สามารถย่อย สลายไม่อดุ ตัน และออกแบบมาเป็นชิน้ เดียว วิธใี ช้ คือ พับให้เข้ากับสรีระการใช้งาน โดยมีเทคโนโลยีทดสอบและแสดงผลฝังอยู่ด้านบน เมื่อปัสสาวะซึมขึ้นไปสู่ ตัวทดสอบด้านบนก็จะแสดงผลเป็นลวดลายใบไม้ ถ้าขึน้ ใบสีฟา้ ด้านขวาแสดงว่าไม่ ตัง้ ครรภ์ แต่ถา้ เป็นใบสีแดงด้านซ้ายหมายถึงตัง้ ครรภ์ และยังได้รบั รางวัลนวัตกรรม Temple’s Innovative Idea Competition ซึ่งก�าลังอยู่ในช่วงพัฒนาผลิตภัณฑ์ จริง ก่อนออกวางขายในปีหน้า (ที่มา : http://www.creativemove.com/)

eco-amp ล�าโพงส�าหรับสมาร์ทโฟน

eco-amp ล�าโพงส�าหรับสมาร์ทโฟนหลายรุ่น เช่น ซัมซุง, โซนี่, ไอแพด, ไอโฟน 4,4s,5 และ6 ผลิตในลอสแอนเจลิส สหรัฐอเมริกา จากกระดาษรีไซเคิล 100% ได้รับมาตรฐาน FSC และ Green Seal™ ใช้ตัวล็อคแท็บแทนการใช้กาว สามารถถอดชิ้นส่วนแล้วประกอบใหม่ได้เพื่อสะดวกต่อ การพกพา มีการพิมพ์ลวดลายทั้งหมด 24 ลาย โดยหมึกที่ใช้ พิมพ์ท�าจากถั่วเหลือง ย่อยสลาย ตามธรรมชาติได้ (ที่มา : http://www.eco-made.com/)

Samarreda เก้าอี้ไม้อัดรีไซเคิล เฟอร์นเิ จอร์ในปัจจุบนั ท�าจากไม้ หรือไม้อดั มีให้เห็นกันอยูท่ วั่ ไป แต่ Samarreda เก้าอี้ไม้อัดรีไซเคิลจากวัสดุเหลือใช้ มีการออกแบบให้ดูทันสมัย แปลกตาออกไป โดย Philip Mambretti จากแนวคิดการใช้วัสดุให้คุ้มค่า เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม โดยใช้ Clean Technology มีความแข็งแรง ทนทาน เทียบเท่าไม้จริงทั่วไป (ที่มา : http://www.trendir.com/)

80

E N E R G Y S AV I N G

SNEO PV TEMBER 2015


EnErgy InvEntIon TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

ครั้งแรกของโลก สโตนแวร์โปร่งแสง

ผลงานเด่นมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ผลงานชิน้ นีเ้ กิดจากการสังเกตเรือ่ งใกล้ตวั ในท้องถิน่ ทีม่ ดี นิ เหนียว เหลือทิ้งจากโรงงานเป็นจ�านวนมาก และชาวบ้านในท้องถิ่นเอง มีอาชีพท�าเซรามิกกันอยู่แล้ว นวัตกรรมนี้คือการท�าให้เซรามิก ทึบแสงมีน�้าหนักมาก มาทดลองโดยใช้ส่วนประกอบของดิน เหนียวประเภทดินด�า นาโนตัวเคลือบเซรามิก หินฟันม้า ขี้เถ้า และ หินปูน ขึน้ รูปแล้วน�าไปเผาทีอ่ ณ ุ หภูมิ 1,150 องศาเซลเซียส ท�าให้ได้เซรามิกเนื้อหินที่โปร่งแสงได้ มีความยืดหยุ่น แข็งแรง มากกว่าเดิมถึง 2 เท่า จากการคิดค้นนวัตกรรมนีท้ า� ให้เป็นการ สร้างงานในท้องถิน่ และเพิม่ มูลค่าให้กบั สินค้า อีกทัง้ ยังสามารถ พัฒนาต่อยอดในอนาคตได้ โดยเฉพาะในงานประดับตกแต่ง

VOLUME 7 ISSUE 84

ทีมงานวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี น�าโดย ผศ.ดร. อนิรทุ ธิ์ รักสุจริต อาจารย์ประจ�าภาควิชา ฟิสิกส์และวิทยาศาสตร์ทั่วไป อาจารย์ อรทัย ค�าสร้อย อาจารย์ประจ�าภาควิชา ชีววิทยา และนักศึกษาภาควิชาฟิสิกส์ และวิ ท ยาศาสตร์ ทั่ ว ไป สามารถคว้ า ผศ.ดร.อนิรุทธิ์ รักสุจริต ร า ง วั ล ช น ะ เ ลิ ศ จ า ก เว ที ป ร ะ ก ว ด อาจารย์ประจ�าภาควิชาฟิสิกส์ นวั ต กรรมนาโนเทคโนโลยี ระดั บ และวิทยาศาสตร์ทั่วไป ประเทศ ครัง้ ที่ 6 จากผลงานวิจยั คิดค้น นวั ต กรรม “การผลิ ต สโตนแวร์ ” หรื อ “เซรามิ ก เนื้ อ หิ น โปร่ ง แสง” ได้ส�าเร็จครั้งแรกของโลก ซึ่งเดิมมีคุณสมบัติทึบแสง นอกจากนี้ยังช่วย ลดต้นทุนในการผลิต น�าไปสูก่ ารต่อยอดและเกิดการสร้างงานในท้องถิน่

E N E R G Y S AV I N G

81


ดินนาโนยังช่วยให้ผลิตภัณฑ์มนี า�้ หนักเบาลง ช่วยลดต้นทุนในการ ขนส่งได้ จึงเป็นจุดขายทีช่ ว่ ยให้รายได้ของชุมชนสูงขึน้ ทัง้ นี้ หัวใจ ส�าคัญ คือ การน�าหัตถกรรม เทคโนโลยี และศิลปวัฒนธรรมของ เชียงใหม่มาประยุกต์รว่ มกัน อย่างไรก็ตามการน�าดินปั้นเซรามิกเหลือใช้มาบดเป็นดินนาโน แล้วผสมกับดินขึน้ รูปและเผาตามกระบวนการ กระทัง่ ได้ผลิตภัณฑ์ สโตนแวร์โปร่งแสงครัง้ แรกในโลก ซึง่ มีความทนทาน แข็งแรง ลดการใช้ พลังงานในการเผาไหม้เหลือเพียง 6-7 ชัว่ โมงเท่านัน้ นับเป็นการ น�านวัตกรรมนาโนที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาสร้างประโยชน์สูงสุด และ เพิม่ มูลค่าสร้างรายได้ให้ชมุ ชนมากขึน้ ทัง้ นี้ มีโครงการทีจ่ ะต่อยอด เชิงพาณิชย์ภายใต้แบรนด์รักสุจริต ด้วยการขอทุนสนับสนุนจาก ส�านักงานนวัตกรรมแห่งชาติจากโครงการคูปองนวัตกรรม

ผศ.ดร.อนิรทุ ธิ์ รักสุจริต อาจารย์ประจ�าภาควิชาฟิสกิ ส์และวิทยาศาสตร์ ทัว่ ไป คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เจ้าของ ผลงาน “สโตนแวร์โปร่งแสง” ได้เล่าถึงทีม่ าของผลงานว่า ใน จ.เชียงใหม่มกี าร ท�าเซรามิกมากว่า 100 ปี ช่างฝีมอื จะท�าเองขายเอง ผลิตภัณฑ์ทมี่ ชี อื่ เสียงทีส่ ดุ ของเชียงใหม่ คือ “เครือ่ งเคลือบศิลาดล” เป็นเครือ่ งปัน้ ดินเผาทีใ่ ช้ความร้อนสูง เคลือบด้วยขีเ้ ถ้าไม้ผสมดินหน้านาท�าให้เคลือบเป็นสีเขียวเหมือนหยก เป็นการ เคลือบธรรมชาติไม่ใช้สารเคมี ผิวเคลือบจะราน ( แตกลายงา crack ) สีเขียวที่ เกิดขึน้ ท�าได้โดยไม้กอ่ ไม้ฮกฟ้ามาเผาเอาขีเ้ ถ้า แล้วน�ามาผสมกับดินหน้าผิวนา แล้วเผาเคลือบด้วยวิธลี ดออกซิเจน ( reducing ) เผาด้วยความร้อนสูง ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์เครือ่ งเคลือบศิลาดลกลายเป็นสินค้า GI หรือสิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์ จากกรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ การเข้าไปใช้ชวี ติ ร่วมกับช่างในชุมชนท�าให้พบเห็นปัญหาหลาย ๆ อย่าง เช่น ความผันผวนทัง้ ค่าแรง ค่าเชือ้ เพลิง และค่าวัตถุดบิ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ท�าให้ตอ้ งมีการปรับ ราคาเพิม่ ขึน้ เช่นกัน ส่งผลให้รายได้เริม่ น้อยลง จึงเป็นจุดประกายความคิดทีจ่ ะ ช่วยให้ผลิตเซรามิกง่ายขึน้ ราคาถูกลง และเพิม่ มูลค่าให้สงู ขึน้ โดยน�าเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ เดิมทีสโตนแวร์หรือ ผลิตภัณฑ์เซรามิกทีท่ า� จากดินทีน่ า� มาขึน้ รูป แล้วเผาในอุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส โดยมักใช้เป็นจานชาม แก้วน�า้ แจกัน ฯลฯ แต่เมือ่ ทดลองน�า้ ดินมาบดเป็นระยะเวลา 24 ชัว่ โมง ให้มคี วามละเอียดใน ระดับนาโน หรือเรียกว่า “ดินนาโน” มาผสมเข้ากับดินปกติในสัดส่วน 1 : 4 จึง ท�าให้เซรามิกทีไ่ ด้แข็งแรงขึน้ ไม่แตกง่าย สามารถขึน้ รูปได้บาง น�า้ หนักจึงเบาลง ด้วย ทีส่ า� คัญยังเผาได้ในอุณหภูมทิ ตี่ า�่ ลง เหลือเพียง 1,150 องศาเซลเซียส จน ก่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์เซรามิกทีม่ คี ณ ุ สมบัตโิ ปร่งแสง นับเป็นครัง้ แรกของโลกที่ เปลีย่ นนิยามของสโตนแวร์ จากทีป่ กติตอ้ งทึบแสงและเคยใช้เป็นเพียงภาชนะ ก็สามารถยกระดับมาสูก่ ารเป็นของประดับบ้านอย่างโคมไฟได้ อีกทัง้ การผสม 82

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


EnErgy KnowlEdgE

มช.เจ๋ง วิจัยนวัตกรรมใหม่

TEXT : กรีนภัทร์

การบรรจุก๊าซไบโอมีเทน ด้วยการดูดซับ สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิจัยนวัตกรรมการ บรรจุก๊าซไบโอมีเทนด้วยสารดูดซับประสิทธิภาพสูง พร้อมทั้งส่งเสริมนวัตกรรมระบบ ผลิตก๊าซชีวภาพอัดเพือ่ ในครัวเรือน ยานยนต์ และภาคอุตสาหกรรม ทัง้ ยังเตรียมขยายผล ในเชิงพาณิชย์อย่างเป็นรูปธรรมอีกด้วย ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ได้รับการสนับสนุนเงิน จากกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน และ ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (สนพ.) จ�านวนเงินกว่า 10 ล้านบาท

ผศ.ดร. พฤกษ์ อักกะรังสี ผู้อ�ำนวยกำร สถำบันวิจยั และพัฒนำพลังงำนนครพิงค์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ เปิดเผยว่ำ สถำบันฯ ได้ด�ำเนินกำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรม เพื่อ ต่ อ ยอดและขยำยผลงำนวิ จั ย ด้ ำ นอนุ รั ก ษ์ พลังงำนและพลังงำนทดแทน เพื่อให้เกิดเป็น ผลเชิงประจักษ์ หนึ่งในหลำยๆ โครงกำรที่ ประสบควำมส�ำเร็จ คือ งำนวิจัยพัฒนำด้ำน ไบโอมีเทน ซึง่ ปัจจุบนั ประเทศไทย มีศกั ยภำพ ด้ ำ นกำรผลิ ต ก๊ ำ ซชี ว ภำพทั้ ง ภำคปศุ สั ต ว์ โรงงำนอุตสำหกรรม และชุมชน ที่มีมำกถึง 1,406 ล้ำนลูกบำศก์เมตรต่อปี โดยสำมำรถน�ำ มำผลิตเป็นไบโอมีเทนได้ถงึ 703 ล้ำนกิโลกรัม ซึ่งมีรำคำต้นทุนกำรผลิตอยู่ที่ 12.28 บำทต่อ กิโลกรัม สำมำรถน�ำไปทดแทนก๊ำซปิโตรเลียม เหลว (LPG) ได้ถึง 598 ล้ำนกิโลกรัม คิดเป็น มูลค่ำ 13,319 ล้ำนบำทต่อปี (คิดที่รำคำ LPG 22.29 บำทต่อกิโลกรัม เมื่อเดือนกันยำยน 2558) โดยรัฐบำลได้ตั้งเป้ำหมำยกำรผลิต ไบโอมีเทนไว้ในแผนพัฒนำพลังงำนทดแทน และพลังงำนทำงเลือก พ.ศ. 2558 – 2579 เพือ่ ผลักดันสัดส่วนกำรใช้พลังงำนทดแทนให้ได้ 30% ของปริมำณควำมต้องกำรพลังงำนรวม ของประเทศ อย่ ำ งไรก็ ต ำมจำกผลกำรศึ ก ษำพบว่ ำ ปั จ จุ บั น ยั ง มี อุ ป สรรคในกำรจั ด เก็ บ ก๊ ำ ซซึ่ ง ต้องใช้ควำมดันสูงถึง 200 บำร์ ท�ำให้ต้อง ใช้ถังบรรจุที่มีควำมหนำมำกและต้นทุนสูง ทำงกองทุนเพื่อส่งเสริมกำรอนุรักษ์พลังงำน VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

83


จึงได้สนับสนุนทุนวิจัยกว่ำ 10 ล้ำนบำท ให้กับสถำบันวิจัยและพัฒนำ พลังงำนนครพิงค์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ท�ำกำรศึกษำวิจัยในโครงกำร พั ฒ นำต้ น แบบกำรจั ด เก็ บ ก๊ ำ ซไบโอมี เ ทนด้ ว ยกระบวนกำรดู ด ซั บ เพื่อศึกษำหำประสิทธิภำพกำรจัดเก็บก๊ำซไบโอมีเทนในกำรบรรจุและ กำรปล่อยของกำรดูดซับบนสำรดูดซับ และพัฒนำไปสู่ต้นแบบกำรจัด เก็บเป็นพลังงำนทดแทนก๊ำซปิโตรเลียมเหลวในเชิงพำณิชย์ภำคครัวเรือน และภำคอุตสำหกรรมต่อไป ทั้งนี้ทำงกองทุนเพื่อส่งเสริมกำรอนุรักษ์พลังงำน และ ส�ำนักงำน นโยบำยและแผนพลังงำน กระทรวงพลังงำน (สนพ.) ได้สนับสนุนให้ สถำบันฯ ศึกษำวิจัยด้ำนไบโอมีเทนมำตั้งแต่ ปี 2551 และล่ำสุดจำก ผลงำนวิจัยพบว่ำ กำรเพิ่มควำมเข้มข้นของมีเทนในก๊ำซชีวภำพได้ด้วย กระบวนกำรดูดซึมด้วยน�้ำ จนมีคุณสมบัติเทียบเท่ำก๊ำซเอ็นจีวีส�ำหรับ ยำนยนต์จนเป็นผลส�ำเร็จ และได้ทดสอบในยำนยนต์จริงมำเป็นระยะ ทำงมำกกว่ำ 80,000 กิโลเมตร นอกจำกนี้ยังได้มีกำรพัฒนำแบบร่วมกับ ปตท. เพื่ อ เตรี ย มขยำยผลเชิ ง พำณิ ช ย์ ต ่ อ ไป ทั้ ง นี้ เ พื่ อ สนองควำม ต้องกำรของผู้ใช้รถยนต์ก๊ำซธรรมชำติ ประมำณ 248,571 ตันต่อเดือน” ผศ.ดร. พฤกษ์ กล่ำว ด้ำน ผศ.ดร.สิริชัย คุณภาพดีเลิศ รองผู้อ�ำนวยกำร และหัวหน้ำคณะ นักวิจัยโครงกำรฯ สถำบันวิจัยและพัฒนำพลังงำนนครพิงค์ มหำวิทยำลัย เชียงใหม่ ได้เผยว่ำ ในกำรวิจัยครั้งนี้ ได้มีกำรเลือกใช้สำรดูดซับหลำก หลำยชนิด เน้นทีพ่ นื้ ทีผ่ วิ สูงและมีขนำดรูพรุนขนำด 1.0 – 1.5 นำโนเมตร ที่เหมำะกับขนำดโมเลกุลของก๊ำซมีเทน พบว่ำ ถังก๊ำซไบโอมีเทนที่มีสำร ดูดซับ สำมำรถบรรจุก๊ำซได้มำกกว่ำ 2 เท่ำ เมื่อเปรียบเทียบกับถังที่ไม่มี สำรดูดซับที่ควำมดัน 50 บำร์ ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำรจัดเก็บ

84

E N E R G Y S AV I N G

และลดควำมหนำของถัง โดยสำมำรถลดต้นทุนถังบรรจุก๊ำซไบโอ มีเทนได้มำกกว่ำ 65% จำกผลส�ำเร็จของกำรพัฒนำนวัตกรรมกำร จัดเก็บก๊ำซไบโอมีเทนประสิทธิภำพสูงนี้ สำมำรถน�ำไปประยุกต์ใช้ กับกำรจัดเก็บและขนส่งก๊ำซไบโอมีเทนในภำคยำนยนต์ และภำค อุตสำหกรรม ซึ่งเป็นของที่มีคุณภำพดี มีประสิทธิภำพสูง รำคำถูก กว่ำท้องตลำด และเป็นฝีมือของคนไทย ทั้งนี้ประเทศไทยมีควำม ต้องกำรใช้ก๊ำซปิโตรเลียมเหลวสูงถึงปีละ 7.5 ล้ำนตัน โดยต้อง น�ำเข้ำจำกต่ำงประเทศมำกกว่ำ 21% และมีควำมต้องกำรก๊ำซ ธรรมชำติส�ำหรับยำนยนต์สูงถึง 248,571 ตันต่อเดือน แต่ปริมำณ ส�ำรองก๊ำซธรรมชำติที่มีอยู่ในอ่ำวไทยกลับมีปริมำณลดลงเรื่อยๆ จึงจ�ำเป็นต้องมีกำรเตรียมพลังงำนทำงเลือกเพื่อตอบสนองควำม ต้องกำรดังกล่ำว ทั้งนี้ สถำบันฯ ได้มีกำรประเมินควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐศำสตร์ ในกำรใช้สำรดูดซับในกำรจัดเก็บไบโอมีเทน ส�ำหรับกำรใช้งำนใน ภำคครัวเรือนและอุตสำหกรรม ส�ำหรับกำรน�ำก๊ำซไบโอมีเทนอัด มำใช้เป็นเชือ้ เพลิงทำงเลือกเพือ่ ทดแทนก๊ำซปิโตรเลียมเหลวในภำค ครัวเรือน เทียบเท่ำอัตรำกำรใช้ก๊ำซ LPG มำกกว่ำ 15 กิโลกรัม ต่อเดือน มีควำมคุ้มค่ำในกำรลงทุน ส�ำหรับในภำคอุตสำหกรรม (อุตสำหกรรมเซรำมิก) ที่อัตรำกำรใช้ก๊ำซไบโอมีเทนเทียบเท่ำอัตรำ กำรใช้ก๊ำซ LPG มำกกว่ำ 48 กิโลกรัมต่อวัน สำมำรถคืนทุนได้ก่อน ระยะเวลำ 2 ปี ในกำรวิจยั และพัฒนำนวัตกรรมด้ำนพลังงำนทดแทน โดยเฉพำะ เทคโนโลยีของคนไทยที่เชื่อมโยงกับอุตสำหกรรมเกษตร ถือเป็น หัวใจส�ำคัญในกำรเสริมสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนพลังงำนของประเทศ และสร้ำงควำมเป็นอยู่ที่ดีให้กับประชำชน ซึ่งทำงสถำบันฯจะได้ ท�ำกำรวิจัยและพัฒนำนวัตกรรมด้ำนพลังงำนทดแทน เพื่อผลักดัน ให้เกิดกำรใช้ประโยชน์อย่ำงเป็นรูปธรรมต่อไป NOVEMBER 2015


SPECIAL REPoRt TEXT : ปิยะนุช มีเมือง

ปี 59 คนไทยเตรียมเฮ! ได้ใช้รถเมล์ไฟฟ้าชัวร์ ปัจจุบนั ทัว่ โลกให้ความสนใจและตระหนักถึงเรือ่ งของการประหยัดพลังงานกันมากขึน้ และเป็นปัจจัยส�าคัญประการหนึง่ ในการด�าเนินชีวติ ของคนเรา รวมไปถึงการบริหารจัดการภายในองค์กรให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ไม่เว้นแม้แต่ภาคขนส่งทีถ่ กู มองว่า เป็นภาคส่วนที่ใช้พลังงานมากอีกภาคส่วนหนึ่ง ที่ผ่านมาผู้เขียนได้ติดตามข่าวสารด้านพลังงานจากต่างประเทศมาพอสมควร พบว่า หลาย ๆ ประเทศต่างคิดค้นนวัตกรรมที่ช่วยในการประหยัดพลังงานออกมาใช้งานกันอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งรถยนต์ไฟฟ้าที่ถูก คิดค้นและพัฒนาขึ้นมา เพื่อตอบรับกับการใช้งานของผู้บริโภคที่หันมาให้ความส�าคัญกับเรื่องของความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น รวมถึงเรื่องของการประหยัดพลังงานไปในคราวเดียวกัน

VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

85


ปราณี ศุกระศร กรรมการบริหารกิจการองค์กร รักษาการในต�าแหน่ง ผู้อ�านวยการ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.)

ในส่วนของภาคขนส่งเองก็มีการผลิต รถโดยสารไฟฟ้าหรือรถโดยสารทีใ่ ช้พลังงาน ทางเลือกออกมาใช้งานกันมากขึน้ อาทิ ประเทศจีน ทีป่ จั จุบนั มีรถโดยสารไฟฟ้าทีส่ ามารถชาร์จไฟได้ เร็วทีส่ ดุ ในโลกออกมาให้บริการแล้ว ที่ มลฑล หนิงโป ซึ่งใช้ระยะเวลาในการชาร์จไฟเพียง 10 วินาที เท่านั้น โดยวิ่งให้บริการ 24 สถานี เป็นระยะทางกว่า 11.2 กิโลเมตร รอบตัวเมือง หนิงโป ตัวรถโดยสารจะติดตัง้ อุปกรณ์ชาร์จไฟ ไว้ บ นหลั ง คา ขณะที่ รั บ -ส่ ง ผู ้ โ ดยสารตาม สถานีตา่ ง ๆ รถโดยสารจะถูกชาร์จไฟไปในตัว ซึ่งจุดชาร์จไฟจะถูกติดตั้งอยู่ในทุกสถานี ช่วย แก้ปัญหาแบตเตอรี่หมดระหว่างทาง ซึ่งการ ชาร์จไฟแต่ละครัง้ รถโดยสารไฟฟ้าจะสามารถ วิ่งได้ระยะทาง 4.8 กิโลเมตร นั่นแสดงให้เห็นว่า เรื่องของการพัฒนา ระบบขนส่ ง สาธารณะโดยใช้ พ ลั ง งานทาง เลือกอื่น ๆ ก�าลังได้รับความสนใจจากทั่วโลก ไม่ เว้ น แต่ ป ระเทศเพื่ อ นบ้ า นของเราอย่ า ง ประเทศจี น หากลองย้ อ นกลั บ มามอง ประเทศไทยของเรากั น บ้ า ง เรื่ อ งการใช้ รถโดยสารพลังงานไฟฟ้าก็มีข่าวออกมาให้ เห็นเป็นระยะ ๆ ส่วนจะมีความเป็นไปได้ มากน้ อ ยแค่ ไ หนนั้ น คุ ณ ปราณี ศุ ก ระศร กรรมการบริหารกิจการองค์กร รักษาการ ในต�าแหน่ง ผู้อ�านวยการ องค์การขนส่ง มวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) เปิดเผยกับทีมงาน นิตยสาร Energy Saving ว่า ภาคขนส่งเป็น ภาคส่วนหนึ่งที่ใช้พลังงานค่อนข้างสูง รวมทั้ง ขสมก.ก็ เช่ น กั น ที่ ผ ่ า นมาเรามี น โยบาย เรื่ อ งการประหยั ด พลั ง งานหรื อ การใช้ 86

E N E R G Y S AV I N G

พลั ง งานทดแทนในองค์ ก รอยู ่ แ ล้ ว และมี ก ารด� า เนิ น งานในเรื่ อ งนี้ ม านาน เริ่ ม ตั้ ง แต่ ช ่ ว ง ที่ ก ๊ า ซ NGV ได้ รั บ ความนิ ย ม ตอนนั้ น ขสมก. มี ค วามคิ ด ว่ า จะใช้ พ ลั ง งานอะไรดี ส� า หรั บ รถโดยสารจ�านวน 3,000 คันของเรา เพื่อน�ามาใช้ทดแทนน�้ามันดีเซลที่ต้องน�าเข้าและมี ราคาแพงขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งในขณะนั้นบ้านเราผลิตก๊าซ NGV ได้แล้ว จึงคิดว่าน่าจะใช้ก๊าซ NGV แทนดี ไ หม แต่ จ ะใช้ กั บ รถโดยสารได้ ห รื อ เปล่ า จึ ง เกิ ด เป็ น โครงการจั ด หารถโดยสาร NGV เข้ามาใช้งาน เพราะนอกจากจะประหยัดพลังงานแล้ว ยังประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย นับเป็นอีกหนึ่งพลังงานขับเคลื่อนรถโดยสารของ ขสมก. ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน นอกเหนือจาก น�้ามันดีเซล จากวันนั้นจนถึงวันนี้ผ่านมา 10 ปี มีทางเลือกใหม่ ๆ เกิดขึ้นส�าหรับรถโดยสารในปัจจุบัน ในต่างประเทศมีการใช้งานรถโดยสารไฟฟ้ากันมากขึน้ ปัจจุบนั ทาง ขสมก. ก็มโี ครงการทีจ่ ะน�ารถ โดยสารไฟฟ้าเข้ามาใช้งานเช่นกัน ซึง่ เป็นไปตามแนวนโยบายของท่าน พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่ต้องการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้ผลิตได้ในบ้านเรา ไม่แน่ในอนาคตข้างหน้า เพือ่ นบ้านของเรายังต้องการใช้งานอีกมาก ถ้าบ้านเราลงมือผลิตได้กอ่ น ประเทศไทยอาจจะกลาย เป็นผูผ้ ลิตและผูส้ ง่ ออกรถโดยสารไฟฟ้ารายหนึง่ ก็ได้ แต่กอ่ นทีจ่ ะไปถึงวันนัน้ อยากให้ลองผลิตรถ โดยสารไฟฟ้าให้ ขสมก. ใช้งานก่อน ขณะนี้ ขสมก.ก�าลังเขียนโครงการจัดหารถโดยสารไฟฟ้ามาใช้ งาน จ�านวน 500 คัน แต่มีข้อแม้อย่างหนึ่งว่าต้องเป็นรถที่น�าเข้ามาผลิตในประเทศไทย แต่เนื่องจากเรื่องนี้เป็นเรื่องใหม่ รายละเอียดลึก ๆ จึงยังไม่มีใครตอบได้ ต้องใช้เวลาในการ ศึกษาพอสมควร ทาง ขสมก. จึงได้ประสานงานไปยัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) เพือ่ เชิญมาเป็นทีป่ รึกษาในโครงการนี้ เนือ่ งจาก สจล. เป็นสถาบันทีม่ กี ารศึกษา วิจัยในเรื่องของรถยนต์ไฟฟ้ามานาน มีการสร้างรถโดยสารไฟฟ้าขนาดเล็กใช้งานในมหาวิทยาลัย แต่ส�าหรับรถโดยสารไฟฟ้าของ ขสมก.นั้น อย่างน้อยต้องมีคุณสมบัติที่ส�าคัญคือ แบตเตอรี่ต้อง เก็บพลังงานได้นานเพียงพอทีจ่ ะสามารถวิง่ ได้ 250 -300 กิโลเมตรต่อวัน ถ้าเป็นรถโดยสารไฟฟ้าที่ น�าเข้ามาราคาจะอยู่ที่ประมาณคันละ 15 ล้านบาท แต่ถ้าผลิตในประเทศไทย หลัก ๆ คงเป็นการ ประกอบตัวรถ แต่ในส่วนของตัวแบตเตอรี่ไทยยังไม่สามารถผลิตได้เอง และส่วนที่แพงที่สุดของ รถไฟฟ้า ก็คือ ตัวแบตเตอรี่ หากต้องวิ่งให้ได้วันหนึ่ง 250 - 300 กิโลเมตร อาจต้องใช้แบตเตอรี่ ขนาดใหญ่ 1 หรือ 2 ลูก ขึ้นไป ที่ผ่านมามีภาคเอกชนน�ารถโดยสารไฟฟ้ามาให้ ขสมก. ทดลองวิ่งให้บริการ โดยให้บริการ ในเส้นทาง ประตูน�้า – วัดธาตุทอง, แคราย-อนุสาวรีย์ชัย, พระราม 9 - สะพานแขวน แต่การวิ่ง จะไม่ได้วิ่ง 8 - 10 ชั่วโมง เหมือนรถโดยสารของ ขสมก. จึงยังวัดไม่ได้ว่า หากสภาพการจราจร ติดขัด ไฟจะหมดระหว่างทางหรือไม่ เรื่องนี้คือสาระส�าคัญที่ต้องศึกษาโดยละเอียด หากวิ่งได้ไม่ ตลอดเส้นทาง จะต้องมีการสร้างสถานีชาร์จไฟไปตามแนวเส้นทางเดินรถด้วยหรือไม่ ขสมก.ก็ตอ้ ง จัดเส้นทางการเดินรถให้สอดคล้องกับสถานีชาร์จไฟด้วย เพื่อป้องกันปัญหาไฟหมดระหว่างทาง ที่ส�าคัญรถโดยสารไฟฟ้าต้องสามารถเข้าเติมไฟได้ตลอดเวลาด้วย

NOVEMBER 2015


ศ.ดร.สุ ชัชชวีัชรวี์ รสุ์ วสุรรณสวั สดิส์ ดิ์ ศ.ดร.สุ วรรณสวั อธิอธิ การบดี นเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าา การบดีสถาบั สถาบั นเทคโนโลยี พระจอมเกล้ เจ้าเจ้คุาณคุทหารลาดกระบั ง (สจล.) ณทหารลาดกระบั ง (สจล.)

นอกจากนี ้รถโดยสารที ่เคยใช้ งานและมี นอกจากนี ้รถโดยสารที ่เคยใช้ งานและมี สภาพค่ อนข้ างเก่ า าเรายั งไม่งไม่ สามารถน� าออก สภาพค่ อนข้ างเก่ เรายั สามารถน� าออก จากระบบได้ ประชาชนจะเดื อ ดร้ อ น โดยทาง จากระบบได้ ประชาชนจะเดือดร้อน โดยทาง ขสมก.มี แผนจะน� ารถเก่ าประมาณ ขสมก.มี แผนจะน� ารถเก่ าประมาณ1,000 1,000คันคัน มาปรั บ ปรุ ง ให้ เ ป็ น รถใหม่ โดยเริ ่ ม จากรถที ่ ่ มาปรับปรุงให้เป็นรถใหม่ โดยเริ่มจากรถที มีอมีายุอายุ การใช้ งานอี กไม่กไม่ ถงึ ถหนึ ง่ ปีง่ จปีา� จนวน การใช้ งานอี งึ หนึ า� นวน100 100คันคัน เข้เข้ าท�าาท�การปรั บ ปรุ ง ให้ เ ป็ น รถใหม่ และจะ าการปรับปรุงให้เป็นรถใหม่ และจะ ทยอยน� า ออกไปให้ บ ริบกริารประชาชนก่ อ นอ น ทยอยน� า ออกไปให้ ก ารประชาชนก่ ส่วส่นรถเอกชนร่ ว มบริ ก าร การลงทุ น เป็ น เรื วนรถเอกชนร่วมบริการ การลงทุนเป็นอ่ เรืงอ่ ง ของเขาเอง ย่ นจากรถโดยสาร ของเขาเองทีผ่ ทีา่ ผ่ นมาเขาเปลี า่ นมาเขาเปลี ย่ นจากรถโดยสาร ที่ใทีช้่ในช้�้านมั�้านมัไปเป็ น รถโดยสารที ่ใช้่ใกช้๊ากซ๊าซNGV นไปเป็นรถโดยสารที NGV ช่วช่ยประหยั ดค่ดาค่ใช้าใช้ จา่ จยลงได้ พอสมควร วยประหยั า่ ยลงได้ พอสมควรขสมก. ขสมก. ไม่ไม่ สามารถเข้ าไปก้ าวล่าวล่ วงในส่ วนนี ไ้ ด้ไ้ ท�ด้าท�ได้าได้ แค่แค่ สามารถเข้ าไปก้ วงในส่ วนนี ควบคุ มให้ รถร่รถร่ วมบริ การมี การบริ หารจั ดการ ควบคุ มให้ วมบริ การมี การบริ หารจั ดการ ที่มที​ีป่มระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า นั น ้ ีประสิทธิภาพเท่านั้น ปัจปัจุจบจุันบการให้ บริบกริารรถไฟฟ้ ามีากมีารขยาย ันการให้ การรถไฟฟ้ การขยาย เส้เส้ น ทางหลายสายตามที ่ ส ่ ื อ ได้ เ สนอข่ า วา ว น ทางหลายสายตามที่ สื่ อ ได้ เ สนอข่ ออกไป รับรผลกระทบโดยตรง ออกไปทางทางขสมก.ได้ ขสมก.ได้ ับผลกระทบโดยตรง แต่แต่ ท าง ขสมก.เล็ ง เห็ น ว่ า ว มมื อ เป็ นน ท าง ขสมก.เล็ ง เห็ น ว่การร่ า การร่ ว มมื อ เป็ พันพัธมิ ตรในการให้ บริบกริารประชาชนน่ าจะเป็ นน นธมิ ตรในการให้ การประชาชนน่ าจะเป็ ทางออกที ด ่ ท ี ส ่ ี ด ุ โดย ขสมก.จะท� า หน้ า ที เ ่ ป็ ทางออกที่ดีที่สุด โดย ขสมก.จะท�าหน้าที่เนป็น คนรั บผูบ้โผูดยสารมาส่ งให้งให้ กับกรถไฟฟ้ า าและจะ คนรั ้โดยสารมาส่ ับรถไฟฟ้ และจะ เป็เป็ นคนรั บ ผู ้ โ ดยสารจากรถไฟฟ้ า ไปส่ ง นคนรับผู้โดยสารจากรถไฟฟ้าไปส่บ้งาบ้นาน แทน งมีงกมีารปรั บปรุ งเส้งนเส้ทางการ แทนทางทางขสมก.จึ ขสมก.จึ การปรั บปรุ นทางการ เดินเดิรถ โดยการเดิ น รถวงแหวนชั น ้ ในจะเชื อ่ มต่ ออ นรถ โดยการเดินรถวงแหวนชัน้ ในจะเชื อ่ มต่ กับกัระบบขนส่ งทางรางเป็ นหลั ก ส่กวส่นวงแหวน บระบบขนส่ งทางรางเป็ นหลั วนวงแหวน ชั้นชันอกก็ จ ะรั บ ผู ้ โ ดยสารมาส่ ง ให้ ก ั บ ้นนอกก็จะรับผู้โดยสารมาส่งให้กวงแหวน ับวงแหวน ชั้นชัในเพื ่อเดิ่อเดิ นทางต่ อไป ้นในเพื นทางต่ อไป ส�าส�หรั บแนวทางในอนาคตข้ างหน้ าด้าาด้นาน าหรั บแนวทางในอนาคตข้ างหน้ การประหยั ดพลั งงานที ่นอกเหนื อจากเรื ่อง่อง การประหยั ดพลั งงานที ่นอกเหนื อจากเรื ของรถโดยสารไฟฟ้ า ก็ ค อ ื การปรั บ ปรุ ง เส้ น ทาง ของรถโดยสารไฟฟ้า ก็คอื การปรับปรุงเส้นทาง V OVLOULMUEM E7 7I S ISSUSEU E8 48 4

การเดิ นรถให้ สั้นสลง นเวีนเวี ยนง่ ายขึ ้น ้นประชาชนเห็ นประโยชน์ ของรถโดยสารสาธารณะ การเดิ นรถให้ ั้นลงรถหมุ รถหมุ ยนง่ ายขึ ประชาชนเห็ นประโยชน์ ของรถโดยสารสาธารณะ ก็จก็ะเลิ กใช้กใช้ รถยนต์ ส่วสนตั ว วหันหัมาใช้ รถโดยสารสาธารณะกั นมากขึ ้น ้นสะดวกสบาย แพง จะเลิ รถยนต์ ่วนตั นมาใช้ รถโดยสารสาธารณะกั นมากขึ สะดวกสบายราคาไม่ ราคาไม่ แพง นี่คนีือ่คเป้ือเป้ าหมายต่ อ ไปของเรา และเพื ่ อ อ� า นวยความสะดวกให้ ก ั บ ประชาชนในการเดิ น ทาง ขสมก. าหมายต่อไปของเรา และเพื่ออ�านวยความสะดวกให้กับประชาชนในการเดินทาง ขสมก. มีแมีอพลิ เคชัเคชั น่ ส�น่ าส�หรัาหรั บค้บนค้หาเส้ นทางการเดิ นรถ โหลดได้ แล้แวล้ทีว่ App แอพลิ นหาเส้ นทางการเดิ นรถทีช่ ทีอื่ ช่ ว่อื่ าว่“BMTA” า “BMTA”สามารถดาวน์ สามารถดาวน์ โหลดได้ ที่ AppStore Store และ Play Store โดยแอพฯนี จ ้ ะบอกผู โ ้ ดยสารได้ ว า ่ จุ ด ที ต ่ อ ้ งการเดิ น ทางไปนั น ้ มี ร ถโดยสารสายใดผ่ านาน และ Play Store โดยแอพฯนีจ้ ะบอกผูโ้ ดยสารได้วา่ จุดทีต่ อ้ งการเดินทางไปนัน้ มีรถโดยสารสายใดผ่ บ้าบ้งางใช้เใช้วลาในการเดิ นทางเท่ าไหร่ งสถานี ในเวลากี โ่ มงโ่ มงนับนัเป็บเป็ นการพั ฒนาการให้ บริบกริารการ เวลาในการเดิ นทางเท่ าไหร่และรถจะมาถึ และรถจะมาถึ งสถานี ในเวลากี นการพั ฒนาการให้ ทีใ่ ทีช้เใ่ ทคโนโลยี เ ข้ า มาช่ ว ยให้ ก ารบริ ก ารมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ น ้ แต่ ย ง ั คงให้ ค วามส� า คั ญ ในเรื อ ่ งของการ ช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การบริการมีประสิทธิภาพมากขึน้ แต่ยงั คงให้ความส�าคัญในเรือ่ งของการ ประหยั ดพลั งงาน นอีนกอีหนึ ง่ นโยบายส� าคัาญคัในการด� าเนิาเนิ นงานของ ประหยั ดพลั งงานซึง่ ซึถืง่ อถืเป็อเป็ กหนึ ง่ นโยบายส� ญในการด� นงานของขสมก. ขสมก. หลัหลั งจากที ่ ไ ด้ ท ราบแนวนโยบายของ ขสมก. ไปแล้ ว แขกคนส� า งคงไม่ ได้ได้ งจากที่ได้ทราบแนวนโยบายของ ขสมก. ไปแล้ว แขกคนส�คัาญคัทีญ่ไทีม่​่ไกม่ล่กาล่วถึ าวถึ งคงไม่ นั่นนัคื่นอคือสถาบั นเทคโนโลยี พระจอมเกล้ าเจ้าาเจ้คุาณคุทหารลาดกระบั ง ทีง ่ปทีรึ่ปกรึษาในการจั ดหารถโดยสาร สถาบั นเทคโนโลยี พระจอมเกล้ ณทหารลาดกระบั กษาในการจั ดหารถโดยสาร ไฟฟ้ า ของ ขสมก. ศ.ดร.สุ ช ั ช วี ร ์ สุ ว รรณสวั ส ดิ ์ อธิ ก ารบดี สถาบั น เทคโนโลยี พ าา ไฟฟ้าของ ขสมก. ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีระจอมเกล้ พระจอมเกล้ เจ้เจ้ าคุาณคุณ ทหารลาดกระบั ง ง(สจล.) ข้อขมู้อลมูกัลบกัทีบมทีงาน ่องจาก ทหารลาดกระบั (สจล.)ให้ให้ มงานEnergy EnergySaving Savingว่าว่าเนืเนื ่องจากสจล. สจล. โดยเฉพาะคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ ได้ ท � า การศึ ก ษาวิ จ ั ย เกี ่ ย วกั บ เรื ่ อ งของพลั ง งานไฟฟ้ า มานานและ โดยเฉพาะคณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้ท�าการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องของพลังงานไฟฟ้ามานานและ เป็เป็ นสถาบั นการศึ กษาที ่มีส่มาขาวิ ศวกรรมพลั งงานไฟฟ้ าเป็าเป็ นทีน่แทีรกของประเทศไทย นภาค นสถาบั นการศึ กษาที ีสาขาวิ ศวกรรมพลั งงานไฟฟ้ ่แรกของประเทศไทยและเป็ และเป็ นภาค วิชวิาเดี ย วในประเทศที ่ โ ดดเด่ น ทั ้ ง ทางด้ า นบั ณ ฑิ ต และผลงานทางวิ ช าการในระดั บ โลก ที ่ ผ ่ า นมา ชาเดียวในประเทศที่โดดเด่นทั้งทางด้านบัณฑิตและผลงานทางวิชาการในระดับโลก ที่ผ่านมา มีกมีารใช้ พลัพงลังานไฟฟ้ าจากโซล่ าร์าเซลล์ ไฟฟ้ า าแบตเตอรี ่ ที่ ่เทีราพั ฒนามานาน การใช้ งงานไฟฟ้ าจากโซล่ ร์เซลล์ไฮโดรเจน ไฮโดรเจนมอเตอร์ มอเตอร์ ไฟฟ้ แบตเตอรี ่เราพั ฒนามานาน ซึง่ ซึเรามี ค วามเชี ย ่ วชาญทางด้ า นนี ม ้ าก โดยหลั ง จากที ไ ่ ด้ ห ารื อ กั บ ทาง ขสมก. มี ค วามคิ ด เห็ นตรงกั นน ง่ เรามีความเชีย่ วชาญทางด้านนีม้ าก โดยหลังจากทีไ่ ด้หารือกับทาง ขสมก. มีความคิดเห็ นตรงกั ว่าว่าควรจะเปลี ่ยนไปใช้ ระบบไฟฟ้ าทัา้งทัหมด ลงนามความร่ วมมื อ อ(MOU) ่องรถโดยสาร ควรจะเปลี ่ยนไปใช้ ระบบไฟฟ้ ้งหมดจึงจึได้งได้ ลงนามความร่ วมมื (MOU)ในเรื ในเรื ่องรถโดยสาร ไฟฟ้ า ระหว่ า งสององค์ ก รขึ น ้ มา ไฟฟ้าระหว่างสององค์กรขึ้นมา หากต้ องน� าเข้าาเข้รถโดยสารไฟฟ้ าเข้าาเข้มาามาต้อต้งถามตั วเองก่ อนว่ าต้าอต้งการได้ รถแบบไหนถึ งจะเหมาะ หากต้ องน� ารถโดยสารไฟฟ้ องถามตั วเองก่ อนว่ องการได้ รถแบบไหนถึ งจะเหมาะ สมกั บ ประเทศไทยทั ้ ง ในเรื ่ อ งของเทคโนโลยี ท ่ ี น � า มาผลิ ต ไฟฟ้ า มอเตอร์ หรื อ แบตเตอรี ่ ที สมกับประเทศไทยทั้งในเรื่องของเทคโนโลยีที่น�ามาผลิตไฟฟ้า มอเตอร์ หรือแบตเตอรี่ ่มที​ีร่มะยะ ีระยะ การใช้ งานได้ นานที ่สุด่สุดซึ่งซึกระบวนการจั ดซืด้อซืควรจะมี การส่ งเสริ มอุมตอุสาหกรรมภายในประเทศ การใช้ งานได้ นานที ่งกระบวนการจั ้อควรจะมี การส่ งเสริ ตสาหกรรมภายในประเทศ ตามไปด้ วยวจะได้ เป็เนป็การพั ฒนาความรู ใ้ นเรื อ่ งของแบตเตอรี ่ มอเตอร์ ซงึ่ ซเป็งึ่ เป็ นหันวหัใจส� าคัาญคัของรถโดยสาร ตามไปด้ ย จะได้ นการพั ฒนาความรู ใ้ นเรื อ่ งของแบตเตอรี ่ มอเตอร์ วใจส� ญของรถโดยสาร ไฟฟ้ า าและเรื อ่ งของราคาที เ่ หมาะสม จ่ ะเสนอขายรถให้ กบั กบั ขสมก.จะถ่ ายทอดความรู ้ ้ ไฟฟ้ และเรื อ่ งของราคาที เ่ หมาะสมผูป้ ผูระกอบการที ป้ ระกอบการที จ่ ะเสนอขายรถให้ ขสมก.จะถ่ ายทอดความรู ให้ให้ กบั กคนของเราหรื อ ไม่ การศึ ก ษาไทยจะได้ ป ระโยชน์ อ ะไรบ้ า งในการจั ด ซื ้ อ ไม่ ใ ช่ ม ุ ่ ง แต่ จ ะซื ้ อ จาก บั คนของเราหรือไม่ การศึกษาไทยจะได้ประโยชน์อะไรบ้างในการจัดซื้อ ไม่ใช่มุ่งแต่จะซื้อจาก ต่าต่งประเทศเพี ยงอย่ างเดี ยวยเหล่ านีา้คนีือ้คสิือ่งสิที่ง่ ทีสจล.ช่ วยดู แลอยู ่ ่ างประเทศเพี ยงอย่ างเดี ว เหล่ ่ สจล.ช่ วยดู แลอยู ในการพิ จ ารณาตั ด สิ น ใจจั ด ซื ้ อ รถโดยสารไฟฟ้ า ของ ขสมก.นั ้น ้นขสมก.จะเป็ นคนตั ดสิดนสิใจเอง ในการพิจารณาตัดสินใจจัดซื้อรถโดยสารไฟฟ้าของ ขสมก.นั ขสมก.จะเป็ นคนตั นใจเอง สจล.เป็ นเพี ยงพี ่เลี่เ้ยลีงคอยดู แลให้ เท่เาท่นัา้นนั้นโดยหลั กเกณฑ์ ส�าสคั�าญคัในการพิ จารณาจั ดหารถโดยสาร สจล.เป็ นเพี ยงพี ้ยงคอยดู แลให้ โดยหลั กเกณฑ์ ญในการพิ จารณาจั ดหารถโดยสาร ไฟฟ้ า าคือคือเรื่อเรืงของแบตเตอรี ่และมอเตอร์ ่จะถู กพักฒพันาให้ ดีขดึ้นีขไปเรื ่อย่อยๆ ๆ ไฟฟ้ ่องของแบตเตอรี ่และมอเตอร์ในอนาคตแบตเตอรี ในอนาคตแบตเตอรี ่จะถู ฒนาให้ ึ้นไปเรื เปรีเปรี ยบเสมื อนแบตเตอรี ่สมาร์ ทโฟนที ่ถูก่ถพัูกฒพันาให้ ใช้ใงช้านได้ นานขึ ้น ้นและมี การชาร์ จไฟในระยะ ยบเสมื อนแบตเตอรี ่สมาร์ ทโฟนที ฒนาให้ งานได้ นานขึ และมี การชาร์ จไฟในระยะ เวลาอั น รวดเร็ ว สามารถถอดเปลี ่ ย นแบตเตอรี ่ ไ ด้ ซึ ่ ง ปั จ จุ บ ั น เรื ่ อ งแบตเตอรี ่ ใ นรถโดยสารไฟฟ้ าา เวลาอันรวดเร็ว สามารถถอดเปลี่ยนแบตเตอรี่ได้ ซึ่งปัจจุบันเรื่องแบตเตอรี่ในรถโดยสารไฟฟ้ ยังยัมีงขมีอ้ ขจ�อ้ าจ�กัาดกัอยู ด่ ว้ ด่ ยขนาดที ใ่ หญ่ และมี ราคาแพง รถโดยสารไฟฟ้ าจะมี ราคาแพงกว่ ารถโดยสาร ดอยู ว้ ยขนาดที ใ่ หญ่ และมี ราคาแพงถึงถึแม้งแม้ รถโดยสารไฟฟ้ าจะมี ราคาแพงกว่ ารถโดยสาร NGV 2-3 เท่ า ตั ว แต่ อ ก ี ไม่ น านก๊ า ซ NGV ก� า ลั ง จะหมดไปรถโดยสารไฟฟ้ า จึ ง น่ า จะเป็ น ่ ่ NGV 2-3 เท่าตัว แต่อีกไม่นานก๊าซ NGV ก�าลังจะหมดไปรถโดยสารไฟฟ้าจึงน่าจะเป็ค�นาค�ตอบที าตอบที ดีทดี​ี่สทุดี่สในการให้ บริบกริารประชาชนในอนาคต าชุาดชุแรกจะได้ ใช้ใบช้ริบกริารกั นในปี หน้หาน้า ุดในการให้ การประชาชนในอนาคตซึ่งซึรถโดยสารไฟฟ้ ่งรถโดยสารไฟฟ้ ดแรกจะได้ การกั นในปี (ปี(ปี2559) างแน่ นอน 2559)อย่อย่ างแน่ นอน E NEENREGRYG YS AV I NIGN G8 87 S AV

7


energy loan TEXT : กรีนภัทร์

ก.พลังงาน ขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์พลังงาน ปี 59 อัดฉีดงบกองทุนฯกว่าหมื่นลบ.

ในปัจจุบันหลายภาคส่วนหันมาให้ความสนใจในการสนับสนุนเงินทุนให้แก่ผู้ประกอบการที่ต้องการปรับเปลี่ยนหรือพัฒนาธุรกิจให้ มีการประหยัดพลังงาน ทั้งนี้ ทางกระทรวงพลังงาน เป็นอีกหน่วยหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นหน่วยงานหลักที่จะช่วยขับเคลื่อนแผนอนุรักษ์ พลังงาน และพลังงานทดแทน ดังนั้น ในปี 2559ได้มีการอัดฉีดงบประมาณจ�านวน 10,152 ล้านบาท เพื่อเป็นการเพิ่มความเข้ม ข้นการประหยัดพลังงานของประเทศให้ได้ตามเป้า พร้อมช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ทั้งยังสนับสนุน SME ให้มีศักยภาพการแข่งขัน เพิ่มขึ้น ผ่านกลไกการลงทุนเพื่อการประหยัดพลังงานอีกด้วย พล.อ.อนันตพร กาญจนรัตน์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน เปิดเผยภาย หลั ง การประชุ ม คณะกรรมการกองทุ น ฯ เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2558 ทีผ่ า่ นมา โดยมี พลอากาศเอก ประจิน จัน่ ตอง เป็นประธาน กรรมการกองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พลังงาน (กทอ.) ว่านับตั้งแต่คณะกรรมการ นโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ได้เห็น ชอบแผนอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2558-2579 (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) กระทรวงพลังงานได้นา� แผน EEP มาเร่งด�าเนิน การเดินหน้าอย่างเต็มที่ โดยใช้กองทุนเพื่อ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน เป็นกลไกในการขับ เคลือ่ นการด�าเนินงานตามแผน ซึง่ ได้รบั ทราบ ว่าในช่วงปี 2555 – 2558 ทีค่ ณะกรรมการได้ อนุมตั จิ ดั สรรเงินไปแล้วเป็นจ�านวนเงิน 23,946 ล้านบาท ได้มีการใช้จ่ายผ่านโครงการต่าง ๆ รวมเป็นเงิน 21,344 ล้านบาท ได้กอ่ ให้เกิดผล ประหยัดรวม 31,150 ล้านบาท ผ่านโครงการ ทีส่ า� คัญ ๆ เช่น การก�ากับดูแลการใช้พลังงานใน อาคารภาครัฐกว่า 10,000 แห่ง การใช้พลังงาน ในภาคเอกชนทีเ่ ป็นอาคารควบคุม 2,250 แห่ง และโรงงานควบคุม 5,500 แห่ง และจาก มาตรการช่วยเหลือด้านเงิน เช่น สนับสนุนด้าน การลงทุนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โครงการน� า ร่ อ งใช้ ร ะบบท่ อ ก๊ า ซจ� า นวน 100 ครัวเรือน การติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทิตย์ 733 ระบบ เป็นการใช้งาน ในพืน้ ทีห่ า่ งไกลชุมชนทีไ่ ม่มไี ฟฟ้าใช้ 343 แห่ง นอกจากนี้ คณะกรรมการกองทุนฯ ยังได้ พิจารณาจัดสรรเงินกองทุนฯ เพือ่ เดินหน้าตาม Road Map แผนอนุรักษ์พลังงาน และแผน พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก โดยได้ เห็นชอบอนุมตั งิ บปี 2559 ในวงเงินรวม 10,152 ล้านบาท จ�าแนกเป็น แผนเพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน จ�านวน 8,146 ล้านบาท แผน

88

E N E R G Y S AV I N G

พลังงานทดแทน จ�านวน 1,854 ล้านบาท และ แผนบริหารกลยุทธ์ จ�านวน 150 ล้านบาท โดยใช้ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาตามแนวทางปี 2558 ในส่วนการด�าเนินงานตามแผนพลังงานทดแทนในปี 2559 คาดว่าจะก่อให้เกิดการจัดตัง้ ระบบ ผลิตในรูปแบบการน�าร่องพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น 4.18 MW ใช้พลังงานทดแทนด้านความร้อน คิดเป็น 65 ktoe/ปี ซึง่ จะเป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะช่วยกระตุน้ ท�าให้สดั ส่วนการใช้พลังงานทดแทนเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 12.65 ของการใช้พลังงานขัน้ สุดท้ายของประเทศ ณ ปี 2558 เป็นร้อยละ 13.75 ในปี 2559 โดยเป็นผลมาจากโครงการส�าคัญ ๆ เช่น โครงการสนับสนุนแบบให้เปล่า (Direct Subsidy) ส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการเปลีย่ นหัวเผา (Burner) จากหัวเผาน�า้ มันเตา หรือ LPG มา เป็นหัวเผาชีวมวล (Biomass Pallet) รวมทัง้ การสร้างต้นแบบในการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์ แสงอาทิตย์ในหน่วยงานต่าง ๆ เช่น อุทยานราชภักดิ์ ศูนย์การเรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพียง และหมูบ่ า้ น ห่างไกลตามแนวพระราชด�าริ โครงการติดตัง้ ระบบสูบน�า้ พลังงานแสงอาทิตย์ชว่ ยเหลือเกษตรกรใน พืน้ ทีห่ า่ งไกล การติดตัง้ ระบบโคมไฟส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์ ในพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย 3 จังหวัดชายแดน ใต้ และโครงการน�าร่องใช้นา�้ มัน B20 ในรถบรรทุกขนาดใหญ่ ทีค่ าดว่าจะทดลองในระดับการท�างาน จริง (Field Scale Test) โดยจะมีปริมาณน�า้ มัน B20 (ผสมพิเศษ) ทีม่ าทดลองทัง้ สิน้ 28 ล้านลิตร การอนุมตั งิ บประมาณปี 59 เป็นการขับเคลือ่ นการประหยัดพลังงานให้มปี ระสิทธิภาพ และส่งเสริม การใช้พลังงานทดแทน มุง่ เน้นการกระตุน้ เศรษฐกิจ ช่วยเหลือผูป้ ระกอบการรายย่อย SME รวมถึง ช่วยเหลือเกษตรกร ชุมชนในพืน้ ทีห่ า่ งไกล และพืน้ ที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ เพือ่ ก่อให้เกิดความมัน่ คง ด้านพลังงาน อีกทัง้ จะสามารถช่วยบรรเทาการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานลงได้ ถึง 3.62 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เลยทีเดียว NOVEMBER 2015



Special Feature TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

จัการเติบบตา!! โต

กระดาษลูกฟูก เน้น GO GREEN

80%

อั ต ราการเติ บ โตของกล่ อ งกระดาษลู ก ฟู ก ที่ ยั ง คงขยายตั ว ตามอุตสาหกรรมFood & Beverage, Consumers Product, Automotive ที่ยังต้องใช้กล่องบรรจุอยู่ ซึ่งเดิมทีอุตสาหกรรม กระดาษจะเติบโตคู่ไปกับจีดีพีของประเทศ ปัจจุบันฐานการผลิต กระดาษในไทยกลายเป็นฐานการผลิตเพื่อการส่งออกมากขึ้น เป็นที่รู้จักในตลาดอาเซียน ซึ่งความส�าคัญของอุตสาหกรรม ประเภทนี้ กั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศ เนื่ อ งจาก เกื อ บ 90% ของผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละสิ น ค้ า ล้ ว นต้ อ งใช้ ก ล่ อ ง เป็ น บรรจุ ภั ณ ฑ์ ทั้ ง สิ้ น และจะเห็ น ได้ ว ่ า ดั ช นี ก ารเติ บ โต ของอุ ต สาหกรรมกล่ อ งกระดาษนั้ น เป็ น สั ด ส่ ว นตามการ ขยายตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยและของโลก

คุณระวิ เกษมศานติ์ (ซ้ายสุด) คุณจารุวรรณ สุวรรณศาสน์ (ที่ 2 จากซ้าย) ไมเคิล วิลตัน (ที่ 3 จากซ้าย) คุณมนตรี มหาพฤกษ์พงศ์ (ที่ 4 จากซ้าย) 90

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


กระดาษลูกฟูกเป็นผลิตภัณฑ์สา� หรับใช้ในการผลิต และ การจัดส่งสินค้า มีความทนทานสามารถใช้ประโยชน์ ได้หลากหลาย น�้าหนักเบา เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทันสมัย สามารถปรับเปลี่ยนให้ตรงกับความต้องการได้ สามารถปกป้อง สินค้า สามารถ พิมพ์ลวดลายเพื่อให้ข้อมูลและท�าให้เกิดความ สวยงามราคาประหยัด ในแถบอเมริกาเหนือ กล่องกระดาษลูกฟูกได้รบั ความนิยมใช้ ในการบรรจุสินค้า เพื่อการจัดส่งส�าหรับสินค้าแทบทุกชนิด ด้วยเหตุผลต่างๆมากมาย เช่น ความสามารถใน การปกป้องรักษา สินค้าที่ดีเยี่ยม ต้นทุนต�่า สามารถจัดหาได้ง่าย ต้นทุนในการ ออก แบบเพื่อให้ตรงกับความต้องการของสินค้าแต่ละชนิดต�่า นอกจากนั้นยังมีคุณสมบัติอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น • สามารถป้องกันสินค้าระหว่างการจัดส่งและสามารถ ปรับเปลีย่ น ให้ตรงกับความต้องการของผูใ้ ช้ ในกรณีที่ สินค้ามีความต้องการพิเศษ เช่น น�้าหนักมาก แตกง่าย หรือเป็นวัตถุอันตราย • ถู ก ออกแบบให้ ส ามารถน� า มาเรี ย งซ้ อ นกั น ได้ มันสามารถทน ต่อแรงกด ทัง้ ด้านบนและด้านข้าง รวม ถึงมีการทดสอบความสามารถในการทนต่อ แรงดันทะลุ • สามารถน�ามาออกแบบในแบบต่างๆได้หลากหลาย โดย สามารถ ตัดและพับเป็นขนาดและรูปแบบต่าง ๆ ได้ มากมาย รวมถึงสามารถน�ามาพิมพ์ให้มีรูปแบบ สีสัน สวยงามด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ที่ทันสมัยได้ • เป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีความแข็งแรงและสามารถพิมพ์ ข้อความและ รูปภาพลงบนตัวกระดาษได้ • ผ่านการทดสอบแรงกระแทก ความทนทานต่อการ ตกจากที่สูงและความทนทานต่อการสั่นสะเทือนและ ถือได้ว่าเป็นบรรจุภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติ เพียงพอส�าหรับ ใช้ในการขนส่งสินค้า ขณะที่ในประเทศไทยมีการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการใน อุตสาหกรรมผลิตกระดาษลูกฟูก ก่อตั้ง “สมาคมบรรจุภัณฑ์ กระดาษลูกฟูกไทย” ขึน้ เนือ่ งจากเกือบร้อยละ 90 ของผลิตภัณฑ์ และสินค้าล้วนต้องใช้กล่องบรรจุภัณฑ์ลูกฟูกในการบรรจุและ ขนส่งสินค้า และจะเห็นได้ว่าดัชนีการเติบโตของอุตสาหกรรม บรรจุ ภั ณ ฑ์ ลู ก ฟู ก นั้ น สอดคล้ อ งกั บ ดั ช นี ก ารขยายตั ว ทาง เศรษฐกิจของประเทศไทยและของโลก ซึ่งการท�า งานของ สมาคมฯ มุง่ ภารกิจช่วยเหลือ ส่งเสริมผูป้ ระกอบการเพือ่ เตรียม เข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปลายปีนี้อย่าง สมบูรณ์แบบ คุณระวิ เกษมศานติ์ นายกสมาคมบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษลูกฟูก ไทย กล่าวว่า จุดประสงค์ของสมาคมส่งเสริมการเติบโตทางการค้า และการลงทุนของผู้ประกอบการที่อยู่ในอุตสาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์กระดาษลูกฟูกให้มีช่องทางการตลาดใหม่ ๆ มีเวทีในการ ซื้อขาย และการเจรจาระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ เพื่อสร้างโอกาส ในการลงทุน รวมทั้งรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมใน รูปแบบของงานสัมมนา การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ซึ่งการ จัดงานดังกล่าว สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของสมาคมฯ ทีต่ อ้ งการ ส่งเสริมผู้ประกอบการวิสาหกิจประเภทที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก ให้มีปริมาณการผลิตเพียงพอแก่ VOLUME 7 ISSUE 84

ความต้องการของตลาดทั้งภายใน และภายนอกประเทศ รวมทั้งส่งเสริมคุณภาพ ของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกที่สมาชิกเป็นผู้ผลิตหรือจ�าหน่ายให้ได้ มาตรฐานที่ดี และตอบสนองแนวโน้มความต้องการของผู้ใช้บรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้ สมาคมยังพร้อมทีจ่ ะร่วมมือกับรัฐบาลในการส่งเสริมอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษ ลูกฟูกให้อยู่ในมาตรฐานที่ดี สอดคล้องกับนโยบายของทางราชการ ขณะที่คุณสุรชัย โสตถีวรกุล ที่ปรึกษาสมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย เปิดเผยว่า บรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม คือ เอาเศษกระดาษมาขึ้นรูป พยายามใช้ นวัตกรรมการออกแบบเพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อม ซึง่ กระดาษสีนา�้ ตาลทีพ่ บเห็นในปัจจุบนั เป็นกระดาษรีไซเคิล 100% เรียกได้ว่ากล่องกระดาษลูกฟูกเน้น GO GREEN อย่าง แน่นอน โดยเฉพาะในประเทศไทยมีการหันมาใช้กระดาษสีน�้าตาลเกือบ 80% ที่เป็น รีไซเคิล ยกเว้นลูกค้าบางส่วนทีม่ าจากยุโรป ทีย่ งั คงต้องการกระดาษทีม่ เี ยือ่ 100% ดังนัน้ หากพูดโดยภาพรวมแล้ว ประเทศไทย GO GREEN เกือบทั้งหมดของผู้ประกอบการ นอกจากนี้ กระดาษลูกฟูกมีข้อดีอย่างเห็นได้ชัด เพราะปัจจุบันสามารถพัฒนาขึ้น มาให้แข็งแรง ใช้ทดแทนไม้และโฟมได้ในระดับหนึ่ง ท�าให้ลดการใช้ส่ิงเหล่านี้ลดลง ช่ ว ยให้ ส ามารถขนส่ ง สิ น ค้ า ในน�้ า หนั ก ที่ เ บาขึ้ น ในอนาคตกระดาษลู ก ฟู ก จะ ถูกน�ามาใช้อย่างกว้างขวางมากขึน้ ซึ่ ง แต่ ล ะประเทศมี ก ารพั ฒ นา ไปในแนวทางของตัวเอง ดังนั้น หากเปิ ด ประชาคมอาเซี ย นจะมี ผู ้ หั น มาใช้ ก ระดาษลู ก ฟู ก อย่ า ง แพร่หลาย และมีอัตราการเติบโต ที่ดีขึ้นอย่างแน่นอน E N E R G Y S AV I N G

91


ทางด้าน คุณมนตรี มหาพฤกษ์พงศ์ อุปนายกฝ่ายต่างประเทศ สมาคมบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก ไทย กล่าวว่า อัตราการเติบโตของธุรกิจบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทยในช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา เติบโต ในอัตราเฉลี่ย 4% โดยในปี 2557 มูลค่าตลาดรวมของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์อยู่ที่ 53,000 ล้าน บาท และในปีนี้มีการเติบโตใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา เนื่องจากจากสภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ของไทยและภูมภิ าคชะลอตัวลง และคาดว่าแนวโน้มการเติบโตของอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ลกู ฟูกใน 3 ปี ข้างหน้า อยูใ่ นระดับ 2.5-3% อุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์กระดาษลูกฟูก เติบโตตามอุตสาหกรรมการผลิต ทีไ่ ทยยังคงมีศกั ยภาพการเติบโตและขยายตัวสูง ทัง้ Food & Beverage, Consumers Product, Automotive โดยมีอุตสาหกรรมหลักอย่าง Food & Beverage ซึ่งไทยยังคงรักษาต�าแหน่งการ เป็นฐานการผลิตเพื่อการส่งออกได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไทยเป็นฐานผลิตวัตถุดิบหลักของภูมิภาค อีกทั้งยังมีความพร้อมตลอดห่วงโซ่อุปทานเชื่อมโยงอุตสาหกรรมจากต้นน�้า-ปลายน�้าอย่างสมบูรณ์ ไทยมีแหล่งทีม่ าของวัตถุดบิ ตลอดจนการสรรหาวัตถุดบิ อย่างเป็นระบบ มีผผู้ ลิตกระดาษบรรจุภณ ั ฑ์คณ ุ ภาพ ภายในประเทศและผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกจ�านวนมาก ที่มีศักยภาพในการผลิตบรรจุภัณฑ์ คุณภาพทีพ่ ร้อมส�าหรับใช้บรรจุสนิ ค้า สามารถตอบสนองความต้องการได้ในหลากหลายอุตสาหกรรม การเปิด AEC ที่ก�าลังจะมาถึง ท�าให้มีการส่งเสริมศักยภาพการขยายตัวของการค้าชายแดนและ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการขนส่ง ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งเสริม

92

E N E R G Y S AV I N G

อุตสาหกรรมและการค้าของไทย ซึง่ จะเชือ่ มโยง สู ่ ก ารเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ์ กระดาษลูกฟูกด้วย ยิ่งไปกว่านั้นโรงงานผลิต กระดาษบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ด้ มี ก ารขยายก� า ลั ง การ ผลิตเพิ่มขึ้นทั้งในไทยและเวียดนาม ก�าลังการ ผลิตกระดาษที่เพิ่มสูงขึ้นนี้ เป็นส่วนหนึ่งในการ ขยายเพื่ อ รองรั บ การเติ บ โตของโรงงานผลิ ต แผ่นลูกฟูกและบรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูกที่จะ ก้าวไปแข่งขันในตลาด AEC ได้อย่างมั่นใจ และ ในปี 2559 จะมีการจัดงานแสดงสินค้านานาชาติ และเทคโนโลยีชั้นน�าของอุตสาหกรรมบรรจุ ภัณฑ์กระดาษลูกฟูกไทย “CCE South East Asia - Thailand 2016” มีก�าหนดจัดขึ้นใน วันที่ 21 - 23 กันยายน 2559 ณ ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค โดยเป็นการรวบรวม นวัตกรรมและเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมตัง้ แต่ ต้นสายของการผลิตถึงปลายทางของการขึ้นรูป บรรจุภณ ั ฑ์กระดาษลูกฟูก เพือ่ เปิดโอกาสให้แก่ ผู้ประกอบการ และ ตัวแทนจ�าหน่ายของสาย งานการผลิตได้มีโอกาสเจรจาการค้าตลอดจน การต่อยอดทางธุรกิจ จึงถือเป็นโอกาสส�าหรับผู้ ประกอบการในอุตสาหกรรมกระดาษและบรรจุ ภัณฑ์กระดาษลูกฟูก ที่จะพบช่องทางใหม่ ๆ ทางธุรกิจได้อย่างมากมาย ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ : www.ttcarton.com www.balancepacking.co.th www.pingidea.com www.mcp-pack.com www.sumplao.com www.corrugatedboxs.blogspot.com www.noahpack.com www.ffis.co.uk www.scgexperience.co.th www.tarad.com www.papersthai.com www.greenerpackage.com www.coroflot.com www.cboxd.com

NOVEMBER 2015


Viewpoint

กรมโรงงานฯ ลุยโครงการ

TEXT : ปลายรุ้ง

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ก�าหนดกุญแจ 5 ระดับ ผลักดัน Eco Town ไทยเทียบชั้นญี่ปุ่น กรมโรงงานอุ ต สาหกรรมเผยกุ ญ แจส� า คั ญ สู ่ ก ารผลั ก ดั น เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ไทยเทียบชั้นญี่ปุ่น โดยก�าหนดความเป็น เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Town) ไว้ 5 ระดับ เทียบเท่าระดับสากล ได้แก่ การปฏิบัติตามกฎหมาย การรักษามาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและ ความปลอดภัย การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ การยกระดับเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของชุมชน และการก้าวเข้าสู่เมืองสังคมคาร์บอนต�่า ซึ่งผลการเตรียมความพร้อมอุตสาหกรรมไทย 4 จังหวัด ได้แก่ ปทุมธานี ชลบุรี พระนครศรีอยุธยา และ สระบุรี ภายใต้โครงการ “เมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ 2558” ได้ผลักดันโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการฯ ให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระดับต่าง ๆ รวม 155 โรงงาน คิดเป็น 52.7% จากโรงงานทีอ่ ยูใ่ นกลุม่ เป้าหมาย 4 จังหวัดทัง้ หมด 294 โรง สู่การเป็นเมืองสังคมคาร์บอนต�่าอย่างยั่งยืน

VOLUME 7 ISSUE 84

คุณอาทิตย์ วุฒิคะโร ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เล่าถึงโครงการนี้ว่า กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) มุง่ หวังทีจ่ ะยกระดับอุตสาหกรรมไทยสูเ่ มืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศให้ทัดเทียมกับต่างประเทศที่ประสบความส�าเร็จ เช่น ประเทศญีป่ นุ่ เป็นผูน้ า� สังคมทีใ่ ช้เชือ้ เพลิงคาร์บอนต�า่ ที่ใช้เทคโนโลยีเชื้อเพลิงและพลังงานใหม่ ๆ มาทดแทน คาร์บอน แต่ยังคงมีการเติบโตทางเศรษฐกิจและคุณภาพ ชีวิตที่ดี ซึ่งถือได้ว่าเป็นแบบอย่างที่ดีของการพัฒนา Eco town ประเทศหนึง่ ในโลก ขณะเดียวกันประเทศเดนมาร์ก ก็ มี ก ารจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มในระดั บ แนวหน้ า ของโลก ในด้ า นการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศและเป็ น ต้นแบบของอุตสาหกรรมพึ่งพาซึ่งกันและกัน (Industrial Symbiosis) ส� า หรั บ การพั ฒ นาเมื อ งอุ ต สาหกรรม เชิงนิเวศในประเทศไทย ที่ก�าลังได้รับความสนใจอย่าง กว้างขวาง โดยมีบทเรียนจากนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จั ง หวั ด ระยอง กระทรวงอุ ต สาหกรรมจึ ง ผลั ก ดั น และ ให้ความส�าคัญกับการประกอบกิจการที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมน้อยที่สุดหรือไม่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมเลย ซึ่งกุญแจส�าคัญในการพัฒนา

E N E R G Y S AV I N G

93


อาทิตย์ วุฒิคะโร ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ถูกก�าหนดไว้เป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับที่ 1 การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ระดับที่ 2 การรักษาระดับมาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อมและความ ปลอดภัยในการประกอบการอุตสาหกรรม ระดับที่ 3 การใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ระดับที่ 4 การยกระดับเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของชุมชน ระดับที่ 5 การก้าวเข้าสู่เมืองสังคมคาร์บอนต�่า 94

E N E R G Y S AV I N G

ทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่ความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่าง สมบูรณ์และสามารถยกระดับให้ทัดเทียมระดับสากลได้ หัวใจส�าคัญใน การขับเคลือ่ นคือ ความร่วมมือกันของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทุกภาคส่วน เนือ่ งจาก เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป็นการพัฒนา และ บริหารโดยเน้นการมีสว่ นร่วม ของชุมชน พร้อมทัง้ ประสาน สนับสนุนการพัฒนาชุมชนทีอ่ ยูโ่ ดยรอบพืน้ ที่ อุตสาหกรรมให้เข้มแข็ง เพือ่ การอยูร่ ว่ มกันอย่างยัง่ ยืนของภาคอุตสาหกรรมและ ชุมชน ครอบคลุมทุกพื้นที่ใน 5 มิติ ได้แก่ ด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการ ด้าน ดร. พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม เผยว่า กรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) ได้รบั มอบหมายจากกระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) ให้เป็นหน่วยงานหลักในการประสานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ ในเรื่องการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศผ่านการด�าเนินโครงการ ต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม ตัง้ แต่ปี 2555 โดยโครงการหนึง่ ทีส่ า� คัญในปี 2558 นี้ คือโครงการ “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” (Eco Town Center) ได้พฒ ั นา พื้นที่ประกอบการอุตสาหกรรม 4 แห่ง 4 จังหวัด ได้แก่ สวนอุตสาหกรรม บางกะดี จังหวัดปทุมธานี สวนอุตสาหกรรมเครือสหพัฒน์ศรีราชา จังหวัด ชลบุรี เขตประกอบการอุตสาหกรรมโรจนะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี จังหวัดสระบุรี มุ่งเน้นให้ NOVEMBER 2015


องค์ความรู้แก้ผู้ประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมเป้าหมาย ว่าด้วยการบริหารจัดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ลดการ ปลดปล่อยของเสียให้เหลือน้อยที่สุด ปรับโครงสร้างการผลิต ของประเทศ การปรับพฤติกรรมการบริโภค ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ อาทิ การฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและแนวทางการ พัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การจัดกิจกรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ระหว่างสมาชิกเครือข่ายอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Network) การศึกษาดูงานโรงงานที่ได้รับการรับรองอุตสาหกรรม สีเขียวระดับที่ 4 และระดับที่ 5 การฝึกอบรมเตรียมความ พร้อมสู่ CSR-DIW (Corporate Social Responsibility) พร้อมทัง้ ได้คดั เลือกโรงงานอุตสาหกรรมทีเ่ หมาะสม 3 โรงงาน ให้ เข้าร่วมกิจกรรมการเพิม่ มูลค่าและประโยชน์ของกากอุตสาหกรรม ทั้งนี้มีผู้ประกอบการเข้าร่วมการพัฒนาโรงงานอุตสาหกรรม สู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระดับต่าง ๆ รวม 155 โรงงาน คิ ด เป็ น 52.7% จากโรงงานที่ อ ยู ่ ใ นกลุ ่ ม เป้าหมาย 4 จังหวัดทั้งหมด 294 โรง นอกจากนี้ กรอ. ได้เตรียมการในการจัดตัง้ ศูนย์บริหารจัดการกากอุตสาหกรรม ประจ�าเขตประกอบการอุตสาหกรรมหรือสวนอุตสาหกรรม โดยเริม่ ด�าเนินการตัง้ แต่การให้ความรู้ ส�ารวจข้อมูลการจัดการ กากอุตสาหกรรม คัดเลือกโรงงานเป้าหมายที่สามารถแลก เปลี่ยนกากอุตสาหกรรมซึ่งกันและกัน รวมถึงการวิเคราะห์ การไหลของสารโดยใช้ Material Flow Analysis (MFA) ซึ่งผลจากการด�าเนินการดังกล่าวจะถูกน�าไปพิจารณาร่วมกับ การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และ ภัยคุกคาม เพื่อน�า ไปก�าหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ ส�าหรับการบริหารจัดการกาก อุตสาหกรรมในพื้นที่นั้น ๆ

ทั้งนี้ โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนจะได้รับประโยชน์จากโครงการฯ โดยเฉพาะผู ้ ป ระกอบการโรงงานอุ ต สาหกรรม มี ก ารด� า เนิ น การพั ฒ นา เชิ ง พื้ น ที่ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มน้ อ ยที่ สุ ด หรื อ ไม่ มี ก าร ปล่อยมลพิษ (Zero Emission) มีการลดการใช้พลังงานในการผลิตหรือ การบริ ก าร มี ก ารใช้ ท รั พ ยากรร่ ว มกั น และมี ก ารแลกเปลี่ ย นของเสี ย ก่ อ ให้ เ กิ ด การใช้ ป ระโยชน์ ร ่ ว มกั น ตามหลั ก การ 3R ได้ แ ก่ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ ซ�้ า (Reuse) และแปรรู ป น� า กลั บ มาใช้ ใ หม่ (Recycle) อันเป็นการเสริมสร้างศักยภาพการแปรใช้ใหม่ของวัสดุของผู้ประกอบการ ก่อให้เกิดสังคมของการใช้วัสดุหมุนเวียน (Material-cycle Society) สังคม คาร์บอนต�่า มีการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (Low Carbon Society) และสังคมของการบริโภคอย่างยัง่ ยืน (Sustainable Consumption) เป็นการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างยัง่ ยืน ส�าหรับผูป้ ระกอบการ ประชาชนทัว่ ไป สามารถสอบถามข้อมูลเพิม่ เติมได้ที่ สายด่วนกรมโรงงานอุตสาหกรรม 1564 หรือ www.diw.go.th

ภาพประกอบจาก : studio-gz.com

VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

95


EnErgy rEport TEXT : ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

บ้านพลังงานแสงอาทิตย์

Solar Decathlon บ้านประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เชื่อว่า ค�าว่า เซลล์แสงอาทิตย์ หรือ โซล่าร์ เซลล์ (Solar Cell) คงเป็นค�าที่ผู้อ่านรู้จักกันแล้ว ฉบับนี้ผู้เขียนจะน�าเสนอเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีนี้ เพื่อเพิ่มอีกมุมมองหนึ่งให้กับท่านเกี่ยวกับ “เซลล์แสงอาทิตย์” ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์อิเล็กทรอนิกส์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็น พลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง โดยการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ที่ท�ามาจากสารกึ่งตัวน�าเป็นตัวดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์แล้วเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยที่เซลล์แสงอาทิตย์เป็นอุปกรณ์ผลิตพลังงานไฟฟ้าที่ไม่ต้องใช้เชื้อเพลิงอื่นใดนอกจากแสงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพลังงานที่ได้เปล่า ไม่มีของเสียที่ จะท�าให้เกิดมลพิษขณะใช้งาน เป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ ไม่มีการเคลื่อนไหวใด ๆ ขณะท�างาน จึงไม่มีปัญหาด้านความสึกหรอ หรือต้องการ การบ�ารุงรักษาเหมือนอุปกรณ์ผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบอื่น ๆ เช่น เครื่องก�าเนิดไฟฟ้าด้วยน�้ามันดีเซล นอกจากนี้เซลล์แสงอาทิตย์ยังมีน�้าหนักเบา จึงท�าให้ได้อัตราส่วนระหว่างก�าลังไฟฟ้าต่อน�้าหนักได้ดีที่สุด

โดยทั่วไประบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคาบ้าน ประกอบด้วย แผงเซลล์ แสงอาทิตย์ (ติดตั้งบนหลังคา) ซึ่งภายในจะมีชุดแปรงกระแสไฟฟ้า (อินเวอร์เตอร์) ซึง่ จะผลิตกระแสไฟ้ฟา้ ตรง ผ่านระบบควบคุมเข้าอินเวอร์เตอร์ไปสูไ่ ฟฟ้ากระแสสลับ เพือ่ จ่าย เข้าระบบไฟฟ้าภายในบ้าน ทัง้ นีผ้ ใู้ ช้ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคาบ้าน คือ ผู้ที่ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน เพื่อจ่ายพลังงานไฟฟ้าเสริมกับระบบไฟฟ้า ปกติภายในบ้าน ท�าให้ประหยัดค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายให้กับการไฟฟ้าฯ รวมถึงลดผลกระทบจาก สิง่ แวดล้อม อันเนือ่ งมาจากการผลิตไฟฟ้าด้วยรูปแบบอืน่ เช่น การผลิตไฟฟ้าจากน�า้ มันหรือ ถ่านหิน ซึง่ เชือ้ เพลิงเหล่านีม้ สี ว่ นท�าลายสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทงั้ สิน้ นับเป็นการส่งเสริมและ ปลูกจิตส�านึกให้รับรู้ถึงเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าที่สะอาด ถือเป็นการร่วมกันใช้พลังงานไฟฟ้า อย่างประหยัดในอีกทางหนึ่ง เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียนที่ใช้แล้วเกิดขึ้น ใหม่ได้ตามธรรมชาติ เป็นพลังงานที่สะอาด ปราศจากมลพิษ และเป็นพลังงานที่มีศักยภาพ สูง โดยสามารถใช้พลังงานแสงอาทิตย์ได้ทั้ง 2 รูปแบบ คือ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้า และการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพือ่ ผลิตความร้อน ซึง่ ประโยชน์และคุณค่า ทีไ่ ด้จากเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ดงั กล่าว จะท�าให้ทกุ ภาคส่วนในทุกภูมภิ าคของโลกให้ ความสนใจและส่งเสริมการน�าสิ่งดี ๆ นี้ มากระตุ้นให้เกิดความตระหนักถึงความส�าคัญและ 96

E N E R G Y S AV I N G

ประโยชน์ที่ได้รับสูงสุด ซึ่งปัจจุบันมีการส่งเสริมเรื่อง นี้ตั้งแต่ในภาคการศึกษาซึ่งถือเป็นพื้นฐานส�าคัญใน การจะต่อยอดองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยีและนวัตกรรม ทีม่ คี วามคิดเชิงสร้างสรรค์ เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทงั้ ด้าน รูปแบบการดีไซน์และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพือ่ เพิม่ มูลค่ากับเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ โดยจะเห็น ได้จากการจัดประกวดออกแบบก่อสร้างบ้านพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ ที่ ที ม จากมหาวิ ท ยาลั ย ต่ า ง ๆ ทั่ ว โลก เข้าร่วมงาน Solar Decathlon 2014 ทีจ่ ดั ขึน้ ในเดือน มิถนุ ายน - กรกฎาคม ทีเ่ มือง Versailles ประเทศฝรัง่ เศส โดยหลักเกณฑ์ในการจัดประกวดออกแบบก่อสร้าง บ้านพลังงานแสงอาทิตย์ในงาน Solar Decathlon 2014 คือ มีการน�าไปใช้จริง และบ้านต้องตอบโจทย์ ทัง้ ในเรือ่ ง ความสวยงาม ราคาทีซ่ อื้ หาได้ และมีการใช้พลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งงานดังกล่าวจัดขึ้นครั้งแรกใน ปี ค.ศ. 2002 โดย Department of Energy (D.O.E.) ประเทศสหรัฐอเมริกา และต่อมาทุก2 ปี ใน ปี ค.ศ. 2005, 2007, 2009, 2011 จุดประสงค์เพือ่ ให้ความรู้ แก่นกั ศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และสาธารณชน เรือ่ งการออกแบบบ้านทีใ่ ช้พลังงานสะอาด ช่วยประหยัด ค่าไฟฟ้า และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นตัวอย่างให้ สาธารณชนได้เห็นถึงความสะดวกสบายในการอยูอ่ าศัย ภายในบ้านที่ถูกออกแบบโดยค�านึงถึงการก่อสร้าง และการเลือกเครื่องใช้ภายในบ้านที่ให้ความส�าคัญกับ การประหยัดพลังงาน รวมทัง้ ระบบพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และสร้าง โอกาสในการท�างานให้แก่นกั ศึกษา และเป็นการเตรียม นักศึกษา เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ในการผลักดันวงการพลังงาน สะอาดในอนาคต โดยบ้านทีถ่ กู ส่งเข้าประกวดจะต้องได้ รับการประเมินและทดสอบใน 10 หัวข้อ ซึง่ เป็นทีม่ า ของชือ่ “Solar Decathlon” แต่ละหัวข้อมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน รวมทัง้ สิน้ 1,000 คะแนนครอบคลุมหลาย ประเด็น อาทิเช่น NOVEMBER 2015


ภาพบรรยากาศการประกวดบ้ านพลัางนพลั งานแสงอาทิ ตย์ในงาน SolarSolar Decathlon 20142014 ภาพบรรยากาศการประกวดบ้ งงานแสงอาทิ ตย์ในงาน Decathlon ที่เมืองที่เมืVersailles ประเทศฝรั ่ ง เศส อง Versailles ประเทศฝรั่งเศส

ภาพ ภาพ RhOME for density ภาพ ภาพ Adaptive HouseHouse RhOME for density Adaptive ผลงานการออกแบบของที มนักศึมกนัษาจาก มนักศึมกนัษาจาก ผลงานการออกแบบของที กศึกษาจาก ผลงานการออกแบบของที ผลงานการออกแบบของที กศึกษาจาก มหาวิมหาวิ ทยาลัทยยาลั Theย Roma Tre University ทยาลัทยยาลั เทคโนโลยี พระจอมเกล้ าธนบุารธนบุ ี รี The Roma Tre University มหาวิมหาวิ ยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ ผู้ได้รผูับ้ไรางวั ลชนะเลิ ศ จากงาน ผู้ได้รผูับ้ไรางวั ล Popular vote vote จากงาน ด้รับรางวั ลชนะเลิ ศ จากงาน ด้รับรางวั ล Popular จากงาน SolarSolar Decathlon 20142014 Europe SolarSolar Decathlon 20142014 Europe Decathlon Europe Decathlon Europe

1. การออกแบบสถาปั ตยกรรม (Architecture) คือ มีคืแอนวคิ ในการออกแบบ 1. การออกแบบสถาปั ตยกรรม (Architecture) มีแดนวคิ ดในการออกแบบ ทีช่ ดั เจน โดยมีโดยมี ความเชื อ่ มโยงระหว่ าง สถาปั ตยกรรม โครงสร้ าง งานระบบอาคาร ทีช่ ดั เจน ความเชื อ่ มโยงระหว่ าง สถาปั ตยกรรม โครงสร้ าง งานระบบอาคาร รวมถึรวมถึ งการออกแบบภู มิทัศมน์ิทเพื นบ้เป็านที ามารถสร้ างแรงบั นดาลใจ และ และ งการออกแบบภู ัศน์่อให้ เพืเ่อป็ให้ นบ้่สานที ่สามารถสร้ างแรงบั นดาลใจ ความรื น ่ รมย์ แ ก่ ผ อ ้ ู ยู อ ่ าศั ย ความรืน่ รมย์แก่ผอู้ ยูอ่ าศัย 2. ความน่ าสนใจในเชิ งการตลาด (Market appeal) คือ ให้ าคัญเรืาคัอ่ ญง เรือ่ ง 2. ความน่ าสนใจในเชิ งการตลาด (Market appeal) คือความส� ให้ความส� ความปลอดภั ย ความสะดวกสบาย ความน่ า สนใจ ซึ ง ่ จะท� า ให้ บ า ้ นเป็ น ที ต ่ อ ้ ความปลอดภัย ความสะดวกสบาย ความน่าสนใจ ซึง่ จะท�าให้บา้ นเป็นงการของ ทีต่ อ้ งการของ ตลาดตลาด (marketability) (marketability) 3. การออกแบบวิ ศวกรรม (Engineering) คือ การออกแบบระบบด้ านวิศาวกรรม 3. การออกแบบวิ ศวกรรม (Engineering) คือ การออกแบบระบบด้ นวิศวกรรม จะต้อจะต้ งสามารถท� า งานได้ จ ริ ง อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ แสดงให้ เ ห็ น ถึ ง นวั ต กรรม และมีและมี องสามารถท�างานได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ แสดงให้เห็นถึงนวัตกรรม การบัการบั นทึกข้นอทึมูกลข้อย่ อมูาลงถูอย่กาต้งถูองกต้อง 4. การออกแบบการสื อ่ สารอ่ สาร (Communications) คือ มีคืกอารออกแบบก่ อสร้าองสร้าง 4. การออกแบบการสื (Communications) มีการออกแบบก่ ที่มีการออกแบบวิ ธ ก ี ารสื อ ่ สารแนวคิ ด และข้ อ มู ล รายละเอี ย ดต่ า ง ๆ ของโครงการ ที่มีการออกแบบวิธีการสื่อสารแนวคิดและข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการ ให้แก่ให้ผเู้ แข้ก่าเยี รวมทัรวมทั ง้ ช่องทาง socialsocial media อืน่ ๆอืน่ เช่ๆน เช่facebook ผเู้ ข้ย่ ามชมผลงาน เยีย่ มชมผลงาน ง้ ช่องทาง media น facebook หรือ หรื instagram อ instagram 5. ราคาที ซ่ อื้ หาได้ (Affordability) คือ ควรมี งบประมาณไม่ เกิน 250,000 USDUSD 5. ราคาที ซ่ อื้ หาได้ (Affordability) คือ ควรมี งบประมาณไม่ เกิน 250,000 จึงจะได้ 100 100 คะแนนเต็ ม ม จึงจะได้ คะแนนเต็ 6. ภาวะน่ าสบาย (Comfort zone)zone) คือ เป็คืนอบ้เป็านที ส่ บายควรจะมี อณ ุ หภู ิ ละมแิ ละ 6. ภาวะน่ าสบาย (Comfort นบ้อ่ ายูนที อ่ ยูส่ บายควรจะมี อณ ุ มแหภู ความชื น้ ทีส่ ม�น้ า่ทีเสมอ (รักษาอุ หภูณมหภู แิ ละความชื น้ ให้มน้ คี ให้วามเปลี ย่ นแปลงน้ อยทีส่ อดุ ยที) ส่ ดุ ) ความชื ส่ ม�า่ เสมอ (รักณษาอุ มแิ ละความชื มคี วามเปลี ย่ นแปลงน้ 7. ประสิ ทธิภาพของเครื อ่ งใช้อ่ ภงใช้ ายในบ้ าน (Appliances) คือ บ้คืาอนต้บ้อางมี 7. ประสิ ทธิภาพของเครื ภายในบ้ าน (Appliances) นต้กอารงมีการ เปิดใช้เปิเครื อ ่ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที ม ่ อ ี ยู ต ่ ามปกติ โดยจะมี ก ารวั ด ค่ า ต่ า ง ๆ เพื อ ่ เที ย บกั บ เกณฑ์ ดใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีมอี ยูต่ ามปกติ โดยจะมีการวัดค่าต่าง ๆ เพือ่ เทียบกั บเกณฑ์ มาตรฐานที ค่ วรจะเป็ น น มาตารฐานที ค่ วรจะเป็ 8. มีค8.วามเป็ นบ้าน บ้(Home Life)Life) คือ สามารถใช้ งานในการด� ารงชีาวรงชี ติ อย่วาติ งสมบู รณ์ รณ์ มีความเป็ าน (Home คือ สามารถใช้ งานในการด� อย่างสมบู ทัง้ ในเรื งการใช้ สอย สความสะดวกสบาย และการใช้ ชวี ติ การสั งสรรค์งสรรค์ ภายในครอบครั ว ว ทัง้ อ่ ในเรื อ่ งการใช้ อย ความสะดวกสบาย และการใช้ ชวี ติ การสั ภายในครอบครั 9. รองรั บการชาร์ จไฟรถยนต์ ไฟฟ้าไฟฟ้ (Mobility) คือ รถยนต์ ไฟฟ้าไทีฟฟ้ ช่ าร์าทีจช่ ไฟจาก 9. รองรั บการชาร์ จไฟรถยนต์ า (Mobility) คือ รถยนต์ าร์จไฟจาก บ้านจะต้ องสามารถวิ ง่ ได้ 25 น้ ไปขึน้ ภายในเวลา 2 ชัว่ 2โมงชัว่ เป็โมงนจ�เป็านวน 8 ครั8ง้ ครัง้ บ้านจะต้ องสามารถวิ ง่ ได้ไมล์ 25 ขึไมล์ ไป ภายในเวลา นจ�านวน V O LV UO MLEU7M EI S S7 UIES S8U4E 8 4

10. ความสมดุ ลด้านพลั งงานงงาน (Energy Balance) คือ การแบ่ ง ง 10. ความสมดุ ลด้านพลั (Energy Balance) คือ การแบ่ เป็น 2เป็ส่นว2น ส่ได้วนแก่ได้แก่ 1). การผลิ ตพลังตงาน (จะได้(จะได้ คะแนนเต็ ม 50คะแนน หากระบบ 1). การผลิ พลังงาน คะแนนเต็ ม 50คะแนน หากระบบ สามารถผลิ ต พลั ง งานได้ เ พี ย งพอต่ อ การใช้ ง านภายในบ้ า น ดผล ดผล สามารถผลิตพลังงานได้เพียงพอต่อการใช้งานภายในบ้โดยวั าน โดยวั ตลอดช่ วงเวลาของการจั ดนิทรรศการ) ตลอดช่ วงเวลาของการจั ดนิทรรศการ) 2). การใช้ พ ลั ง งาน (จะได้ ค ะแนนเต็ ม 50คะแนน หากการใช้ 2). การใช้พลังงาน (จะได้ คะแนนเต็ ม 50คะแนน หากการใช้ พลังงานภายในบ้ านต�า่ ากว่ บ า175 kWhkWh วัดตลอดช่ วง วง พลังงานภายในบ้ นต�าา่ หรื กว่าอเท่หรืาอกัเท่ กับ 175 วัดตลอดช่ ระยะเวลาของการจั ดนิทรรศการ) และในปี ค.ศ. ค.ศ. 20142014 มีการมีการ ระยะเวลาของการจั ดนิทรรศการ) และในปี ก�าหนดกรอบแนวคิ ดเพิม่ ดเติเพิมม่ โดยค� านึงถึางนึประเด็ นต่อไปนี ก�าหนดกรอบแนวคิ เติม โดยค� งถึงประเด็ นต่อ้ ไปนี้ 1. ความหนาแน่ น (Density) คือ ลดผลกระทบต่ อสิง่ แวดล้ อม อม 1. ความหนาแน่ น (Density) คือ ลดผลกระทบต่ อสิง่ แวดล้ ด้วยการออกแบบบ้ า นที ่ ส ามารถอยู ่ ร วมเป็ น กลุ ่ ม ได้ (Collective ด้วยการออกแบบบ้านที่สามารถอยู่รวมเป็นกลุ่มได้ (Collective housing) housing) 2. การเคลื อ่ นย้าอ่ ยนย้(Mobility) คือ มีคืนอวัตมีกรรมใหม่ ๆ ในการ 2. การเคลื าย (Mobility) นวัตกรรมใหม่ ๆ ในการ บูรณาการการออกแบบที อ ่ ยู อ ่ าศั ย และระบบการขนส่ ง คมนาคม บูรณาการการออกแบบทีอ่ ยูอ่ าศัย และระบบการขนส่งคมนาคม 3. ความมี สติในเรื งการใช้ พลังงาน (Sobriety) คือ ออกแบบ 3. ความมี สติอ่ ในเรื อ่ งการใช้ พลังงาน (Sobriety) คือ ออกแบบ โดยลดความจ� าเป็นาในการใช้ พลังงานภายในบ้ าน าน โดยลดความจ� เป็นในการใช้ พลังงานภายในบ้ 4. นวั4.ตกรรม (Innovation) คือ นวั ง้ แต่กง้ ารออกแบบ นวัตกรรม (Innovation) คือตกรรมตั นวัตกรรมตั แต่การออกแบบ บ้าน บ้ไปจนถึ งเครือ่ งเครื งใช้อต่ างใช้ ่ ง ๆตา่ ภายในบ้ าน าน าน ไปจนถึ ง ๆ ภายในบ้ 5. ราคาที ซ่ อื้ หามาใช้ ได้ (Affordability) คือ ราคาที เ่ หมาะสม 5. ราคาที ซ่ อื้ หามาใช้ ได้ (Affordability) คือ ราคาที เ่ หมาะสม เพือ่ ใช้เพืกอ่ บั ใช้แนวคิ ด เรื อ ่ งการออกแบบยั ง ่ ยื น กบั แนวคิดเรือ่ งการออกแบบยัง่ ยืน 6. บริ6.บทของท้ องถิน่ องถิ(Local context) คือ ต้คือองตอบรั บกับบกับ บริบทของท้ น่ (Local context) ต้องตอบรั บริบทของที ต ่ ง ้ ั ทั ง ้ ในด้ า นสภาพภู ม อ ิ ากาศ สั ง คม และวั ฒ นธรรม บริบทของทีต่ งั้ ทัง้ ในด้านสภาพภูมอิ ากาศ สังคม และวัฒนธรรม ในปี ในปี ค.ศ.2014 ทีผ่ า่ นมาเป็ นครัง้ นแรกที ท่ มี จากประเทศไทยได้ มี มี ค.ศ.2014 ทีผ่ า่ นมาเป็ ครัง้ แรกที ท่ มี จากประเทศไทยได้ โอกาสเข้ าร่วมแข่ ขันในเวที SolarSolar Decathlon โดยมีโดยมี มหาวิมทหาวิ ยาลัทยยาลัย โอกาสเข้ าร่วงมแข่ งขันในเวที Decathlon เทคโนโลยี พระจอมเกล้ าธนบุารธนบุ ี ร่วรมกั หน่บวยงานเอกชนที ่อยู่ใน่อยู่ใน เทคโนโลยี พระจอมเกล้ ี ร่บวมกั หน่วยงานเอกชนที ธุรกิจธุการก่ อสร้าองสร้เช่านง เช่กลุน่ม กลุSCG, กลุ่ม กลุSchneider electric รกิจการก่ ่ม SCG, ่ม Schneider electric ได้สง่ ได้ ผลงานเข้ า ร่ ว มประกวด ในนาม “Adaptive House” หรื สง่ ผลงานเข้าร่วมประกวด ในนาม “Adaptive House”อ หรือ “บ้านชาน” และได้ รับรางวั ล Popular VoteVote จากผูจากผู ้เข้าชมบ้ น าน “บ้านชาน” และได้ รับรางวั ล Popular ้เข้าาชมบ้ ต้นแบบที ถ่ กู จัดถ่ แสดงในงานนิ ทรรศการ ต้นแบบที กู จัดแสดงในงานนิ ทรรศการ และด้และด้ วยภารกิ จ หลั ก ของโครงการ iTAPiTAP ภายใต้ภายใต้ ส�านักส�งานพั ฒนาฒนา วยภารกิจหลักของโครงการ านักงานพั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แห่งชาติ หรือ หรื สวทช. คือ การส่ งเสริมงเสริม วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แห่งชาติ อ สวทช. คือ การส่ ผู้ประกอบการในการสร้ างนวัาตงนวั กรรมหรื อพัฒอนาผลิ ตภัณตฑ์ภัโณดยฑ์โดย ผู้ประกอบการในการสร้ ตกรรมหรื พัฒนาผลิ ใช้เทคโนโลยี จึงสนัจึบงสนั สนุบนสนุ งบประมาณเพื ่อด�าเนิ ่อ ่อ ใช้เทคโนโลยี นงบประมาณเพื ่อด�นาโครงการในชื เนินโครงการในชื “นวัต“นวั กรรมผลิ ตภัณตฑ์ภัทณางสถาปั ตยกรรมและระบบประกอบอาคาร ตกรรมผลิ ฑ์ทางสถาปั ตยกรรมและระบบประกอบอาคาร เพือ่ การอยู อ่ าศัยอย่อ่ าาศั งยัยง่ ยือย่ น”างยัซึง่ ง่ ยืสวทช. มกับ คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ เพือ่ การอยู น” ซึง่ ร่วสวทช. ร่วมกับ คณะสถาปั ตยกรรม และการออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี า ศาสตร์และและการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ โดยมีธนบุ อ.วราลั กษณ์ แผ่นกสุษณ์ วรรณแผ่นเป็สุนวหัรรณ วหน้เป็าคณะผู วชาญเ้ ชีอัย่ นวชาญ รี โดยมี อ.วราลั นหัวหน้เ้ ชีาย่ คณะผู เป็นการส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ผู ้ ป ระกอบการที ่ ต ้ อ งการพั ฒนาฒนา อันเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนผู้ประกอบการที่ต้องการพั ผลิตภัผลิณตฑ์ภัใหม่ าแนะน� าเพือ่ าพัเพืฒอ่ นาหรื อต่อยอดธุ รกิจ รกิจ ณฑ์หรื ใหม่อต้หรืองการค� อต้องการค� าแนะน� พัฒนาหรื อต่อยอดธุ ส�าหรัส�บาผูหรั้ปบระกอบการทั ้งในอุ้งตในอุ สาหกรรมการก่ อสร้าองที ผู้ประกอบการทั ตสาหกรรมการก่ สร้่อายูงที่อาศั ่อยูย่อาศัย หรือเป็ ให้กับให้อุตกสาหกรรมก่ อสร้าองหรื รับสร้ หรืนอเป็supplier น supplier ับอุตสาหกรรมก่ สร้าองหรื อรัาบงบ้ สร้าานงบ้าน หากท่หากท่ านมีคาวามสนใจจะวิ จยั และพั ฒนาผลิ ตภัณตฑ์ภัทณมี่ ฑ์อี ยูทข่ มี่ องบริ ษทั ษทั นมีความสนใจจะวิ จยั และพั ฒนาผลิ อี ยูข่ องบริ เพือ่ สร้เพืาอ่ งมูสร้ลาค่งมูาเพิลค่ม่ าให้เพิกม่ บั ให้ผลิกตบั ภัผลิณตฑ์ภัดณว้ ยนวั กรรมที อ่ นุรกั อ่ ษ์นุพรลักั งษ์งาน ฑ์ดว้ ตยนวั ตกรรมที พลังงาน และเป็ นมิตนรกัมิบตสิรกั่งแวดล้ อม สามารถสอบถามข้ อมูลเพื และเป็ บสิ่งแวดล้ อม สามารถสอบถามข้ อมู่อลขอรั เพื่อบขอรับ การสนั บสนุนบได้ สันตยานนท์ โทรศัโทรศั พท์ 0-2564-7000 การสนั สนุทน่ี คุได้ณทชนากานต์ ่ี คุณชนากานต์ สันตยานนท์ พท์ 0-2564-7000 ต่อ 1381 หรื อ ทางอี เ มล chanaghan@nstda.or.th ต่อ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@nstda.or.th ขอบคุณ ขอบคุ อ.วราลั ษณ์ แผ่กนษณ์ สุวรรณ ณ กอ.วราลั แผ่นสุวรรณ ส�าหรับข้ส�อามูหรั ลจากการจั ดอบรมสัดมอบรมสั มนา ในวัมมนา นเปิดในวั ตัวโครงการฯ บข้อมูลจากการจั นเปิดตัวโครงการฯ แหล่งอ้าแหล่ งอิงงข้อ้อามูงอิ ล งข้อมูล http://www.solardecathlon.gov/index.html http://www.solardecathlon.gov/index.html http://www.allenergysolar.com/blog/considering-climate-designing-home/ http://www.allenergysolar.com/blog/considering-climate-designing-home/ http://www.schneider-electric.co.th/sites/thailand/en/company/events/SolarDecathlon.page http://www.schneider-electric.co.th/sites/thailand/en/company/events/SolarDecathlon.page ขอบคุณภาพประกอบ ขอบคุณภาพจาก http://www.taitem.com/wp-content/uploads/Yellow-And-Brown-Solar-House.jpg http://www.taitem.com/wp-content/uploads/Yellow-And-Brown-Solar-House.jpg http://1t2src2grpd01c037d42usfb.wpengine.netdna-cdn.com/wp-content/uploads/ http://1t2src2grpd01c037d42usfb.wpengine.netdna-cdn.com/wp-content/uploads/ sites/2/2011/09/solar-panels.jpg sites/2/2011/09/solar-panels.jpg http://www.supernamai.lt/wp-content/images/rswx359tile-roofed-home-with-solar-panels.jpg http://www.supernamai.lt/wp-content/images/rswx359tile-roofed-home-with-solar-panels.jpg

ENER G EY RSGAV G I9 EN Y ISNAV N G7 9

7


Green Society TEXT : กองบรรณาธิการ

บราเดอร์ ร่วมกับ บุ๊คสไมล์ และส�านัก เลขานุการสมเด็จพระสังฆราช

จัดโครงการ “ถวายเครื่องพิมพ์บราเดอร์และอุปกรณ์การศึกษา ให้แก่ส�านักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช และโรงเรียนในพระอุปถัมภ์”

คุณธีรวุธ ศุภพันธุภ์ ญ ิ โญ และ คุณค�ำภีร์ เมตตำ

บราเดอร์ ร่วมกับ บุค๊ สไมล์ และ ส�านักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช จรรโลงพุทธศาสนา อย่างยัง่ ยืนด้วยการสนับสนุนการเรียนการสอนด้านพระพุทธศาสนาขอเชิญชวนผูม้ จี ติ ศรัทธา ร่วมถวายเครือ่ งพิมพ์บราเดอร์เลเซอร์ขาว-ด�า มัลติฟงั ก์ชนั่ รุน่ DCP-1610W ในโครงการ “ถวาย เครือ่ งพิมพ์บราเดอร์และอุปกรณ์การศึกษาให้แก่สา� นักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช และโรงเรียนใน พระอุปถัมภ์” ผ่านทาง www.booksmile.co.th หรือ ร่วมสมทบทุนผ่านเคาน์เตอร์เซอร์วสิ ของเซเว่น อีเลฟเว่น ทุกสาขาทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่วนั นีถ้ งึ 15 ธันวาคม ศกนี้ คุณธีรวุธ ศุภพันธุภ์ ญ ิ โญ ผูอ้ า� นวยการ ฝ่ายขายและการตลาด บริษทั บราเดอร์ คอมเมอร์เชีย่ ล (ประเทศไทย) จ�ากัด เปิดเผยว่า การจัดโครงการ “ถวายเครือ่ งพิมพ์บราเดอร์และอุปกรณ์การศึกษา ให้แก่สา� นักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราช และโรงเรียนในพระอุปถัมภ์” ในครัง้ นี้ ถือเป็นปีที่ 3 ติดต่อ กันทีท่ างบราเดอร์ได้สร้างสรรค์โครงการดี ๆ เพือ่ ร่วมส่งเสริมพุทธศาสนาด้วยการสนับสนุนการเรียน การสอนด้านพุทธศาสนาผ่านสถาบันการศึกษาในด้านดังกล่าวเป็นการเฉพาะ ซึง่ ตลอด 2 ปีทผี่ า่ นมา มีจา� นวนผูม้ จี ติ ศรัทธาเข้าร่วมในโครงการของบราเดอร์เพิม่ ขึน้ มาก ดังนัน้ จึงเป็นทีม่ าทีใ่ ห้เราสานต่อ การจัดโครงการในปีนี้ข้ึน ซึ่งได้กระจายแรงบุญไปสู่หน่วยงานส่งเสริมการศึกษาด้านพุทธศาสนา นัน่ ก็คอื ส�านักเลขานุการสมเด็จพระสังฆราชและโรงเรียนในพระอุปถัมภ์ และทีต่ อ้ งขอบคุณอย่าง มากคือทางด้านบุค๊ สไมล์ (BookSmile) ทีเ่ ป็นแนวร่วมหลักทีช่ ว่ ยผลักดันให้โครงการในครัง้ นีเ้ กิดขึน้ ได้ เพราะถือเป็นช่องทางหลักทีเ่ ปิดโอกาสให้ผมู้ จี ติ ศรัทธาสามารถเข้าร่วมโครงการได้อย่างสะดวกยิง่ ขึน้ ซึง่ บราเดอร์หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าพลังและความตัง้ ใจทีจ่ ะร่วมส่งเสริมพระพุทธศาสนาในครัง้ นีข้ องเรา จะสามารถเป็นอีกหนึง่ ทางทีจ่ ะช่วยจรรโลงพระพุทธศาสนาในสังคมไทยได้อย่างยัง่ ยืน ด้านคุณค�าภีร์ เมตตา ผูจ้ ดั การทัว่ ไปอาวุโส หน่วยงานบุค๊ สไมล์ (BookSmile) ธุรกิจในกลุม่ ของ บริษทั ซีพี ออลล์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือกับบราเดอร์ในครัง้ นีว้ า่ ในปีนถี้ อื เป็น ปีที่ 2 แล้วทีท่ างบุค๊ สไมล์ได้รว่ มมือกับบราเดอร์จดั โครงการพิเศษเพือ่ ส่งเสริมการเรียนการสอนด้าน พุทธศาสนา โดยเราเองรับหน้าทีใ่ นการเป็นช่องทางในการอ�านวยความสะดวกให้แก่ผมู้ จี ติ ศรัทธา ทีต่ อ้ งการเข้าร่วมโครงการในครัง้ นี้ ซึง่ ในปีทผี่ า่ นมาถือว่าเป็นอีกหนึง่ โครงการทีป่ ระสบความส�าเร็จ อย่างมาก และเราเชือ่ มัน่ ว่าในปีนโี้ ครงการดังกล่าวก็จะประความส�าเร็จดังเช่นทีผ่ า่ นมา ซึง่ บุค๊ สไมล์ยนิ ดี ในการสนับสนุนอย่างเต็มที่ โดยผูส้ นใจสามารถเข้าร่วมโครงการดังกล่าวได้ทบี่ คุ๊ สไมล์ เซเว่นอีเลฟเว่น ทุกสาขาทัว่ ประเทศ 100

E N E R G Y S AV I N G

ในขณะที่ พระราชรัตนมงคล ผู้ช่วยเจ้า อาวาสวัดบวรนิเวศวิหารและประธานกรรมการ โครงการฯ ได้กล่าวแสดงความเห็นเกีย่ วกับการ จัดโครงการในครัง้ นีว้ า่ การสร้างสรรค์โครงการ ร่วมกันระหว่างบราเดอร์และบุ๊คสไมล์ในครั้ง นี้ ถือเป็นตัวอย่างอันดีในฐานะภาคเอกชนทีม่ ี แรงศรัทธาในการส่งเสริมการศึกษาด้านพุทธ ศาสนาให้ได้ดา� เนินต่อไปอย่างยัง่ ยืน เพราะพุทธ ศาสนานัน้ เป็นศาสนาทีอ่ ยูค่ ชู่ าวไทยมาช้านาน เป็นแหล่งทีป่ ลูกฝังความรูใ้ ห้แก่เยาวชนมาหลาย ต่อหลายรุน่ และยิง่ ขยายตัวกว้างยิง่ ขึน้ ในปัจจุบนั ดังนั้นความต้องการในเรื่องการพิมพ์เอกสาร การถ่ายส�าเนาเอกสาร และ ความสะดวกใน การจัดส่งเอกสารเพื่อการศึกษาจึงเป็นเรื่อง ที่ต้องขยายตามไปเหมือนเงาตามตัวเช่นกัน โครงการในครั้งนี้จึงเปรียบเสมือนแสงเทียน เล่มใหม่ที่จะมาช่วยส่องให้เส้นทางการศึกษา ด้านพุทธศาสนาสว่างไสวยิ่งขึ้น และขอเป็น ก�าลังใจให้แก่บราเดอร์และบุค๊ สไมล์ให้ประสบ ความส�าเร็จในการด�าเนินงานโครงการในครัง้ นี้ และเป็นตัวแทนในการกล่าวค�าขอบคุณทีท่ ง้ั 2 องค์กรเล็งเห็นถึงความส�าคัญของพุทธศาสนา และช่วยจรรโลงให้พทุ ธศาสนาด�าเนินอยูต่ อ่ ไป ผ่านโครงการในครัง้ นี้

NOVEMBER 2015



Green Society TEXT : กองบรรณาธิการ

ฟอร์ด ฉลองครบรอบ 10 ปี องค์ ก รอาสาสมั ค รของฟอร์ ด เปิดตัว โครงการ Bill Ford Better World Challenge

มร. บิล ฟอร์ด ประธานบริหาร ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี

ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี และ มร. บิล ฟอร์ด ประธานบริหาร ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี เปิด ตัว “โครงการ Bill Ford Better World Challenge” โครงการให้ทนุ กับอาสาสมัครทัว่ โลก ส�าหรับโครงการอาสาสมัครต่าง ๆ จากพนักงานของฟอร์ด โดยโครงการดังกล่าวซึง่ มีเงินทุนสนับสนุน 500,000 เหรียญต่อปี จากฟอร์ด และเงินทุนส่วนตัวของ มร. บิล ฟอร์ด นี้ จะท�างานควบคูไ่ ปกับองค์กร อาสาสมัครของฟอร์ด ทีม่ เี ครือข่ายอาสาสมัครนานาชาติกว่า 30,000 คน พร้อมเปิดตัวในโอกาสการ ฉลอง 10 ปี แห่งความส�าเร็จนี้ มร. บิล ฟอร์ด ประธานบริหาร ฟอร์ด มอเตอร์ คัมปะนี กล่าวว่า “การออกไปบริการช่วยเหลือ ชุมชนเป็นอีกหนึง่ ธรรมเนียมปฏิบตั สิ า� คัญทีบ่ ริษทั รวมถึงครอบครัวฟอร์ดได้ยดึ ถือสืบต่อกันมา ในโอกาส ทีเ่ ราได้รว่ มกันฉลองความส�าเร็จจากองค์กรอาสาสมัครของฟอร์ด เราจึงมองหากิจกรรมสร้างสรรค์ ต่าง ๆ เพือ่ สนับสนุนและช่วยเหลือเยาวชนรุน่ หลัง และช่วยให้เขาเหล่านีเ้ ป็นผูน้ า� ชุมชนทีส่ ามารถดูแล โลกใบนีส้ บื ต่อจากเราต่อไป” อย่างไรก็ตาม องค์กรอาสาสมัครของฟอร์ด ได้กอ่ ตัง้ ขึน้ หลังจากภัยพิบตั สิ นึ ามิถล่มมหาสมุทรอินเดีย เมือ่ ปี 2548 ซึง่ ในครัง้ นัน้ อาสาสมัครบรรเทาทุกจากฟอร์ด ประเทศไทย ได้เข้าร่วมช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย พิบตั สิ นึ ามิดว้ ยเช่นกัน โดยร่วมแรงร่วมใจกัน เดินทางกว่า 14 ชัว่ โมง บนรถบัส และใช้เวลากว่า 1 สัปดาห์ ลงพืน้ ทีป่ ระสบภัย ในการช่วยเหลือซ่อมแซม คืนสภาพ และก่อสร้างบ้าน หลังคา และก�าแพง เพือ่ ฟืน้ ฟูสภาพความเป็นอยูข่ องคนในหมูบ่ า้ นอีกครัง้ การช่วยเหลือจากองค์กรอาสาสมัครในครัง้ นัน้ ท�าให้ฟอร์ดได้เข้ามามีสว่ นร่วมกับชุมชนอย่างแท้จริง และสามารถขยายเครือข่ายจนมีอาสาสมัครนานาชาติกว่า 30,000 คน เพือ่ ร่วมกันช่วยเหลือโครงการ ต่าง ๆ ทีด่ า� เนินงานอยูก่ ว่า 1,600 โครงการ ใน 6 ทวีปทัว่ โลก อาทิ การช่วยเด็ก ๆ ในเรือ่ งการอ่าน การช่วยเหลือผูอ้ ดอยากหิวโหย หรือการจัดหาแหล่งน�า้ สะอาดให้กบั ชุมชน ปัจจุบนั นี้ อาสาสมัคร จ�านวนหลายพันคนของฟอร์ด ได้รว่ มกันช่วยเหลือโครงการต่าง ๆ ไปแล้วกว่า 9,000 โครงการ จาก 40 ประเทศ ซึง่ อาสาสมัครของฟอร์ดได้รว่ มกันสละเวลามากกว่า 1 ล้านชัว่ โมง เพือ่ การช่วยเหลือชุมชน โครงการ Bill Ford Better World Challenge ซึง่ เริม่ จัดตัง้ ขึน้ ในปีนี้ จะช่วยขยายขีดความ 98

E N E R G Y S AV I N G

สามารถขององค์กรอาสาสมัครของฟอร์ดที่มี อยูแ่ ล้ว ด้วยการให้ทนุ กับอาสาสมัครทัว่ โลกใน พืน้ ทีท่ พี่ นักงานของฟอร์ดท�างานและอาศัยอยู่ โดยโครงการจะเน้นไปที่ 3 ส่วนส�าคัญ ในการ ช่วยเสนอแนวทางทีย่ งั่ ยืนให้กบั ความต้องการ ของชุมชน ได้แก่ การสัญจร ความต้องการ ขัน้ พืน้ ฐาน อาทิ อาหาร และทีอ่ ยูอ่ าศัย เรือ่ งที่ เกีย่ วกับน�า้ เช่น การเข้าถึงแหล่งน�า้ และเรือ่ ง สุขอนามัย โดยคาดว่าจะสามารถมอบเงินทุน สนับสนุนได้กลางปี 2558 นอกจากนี้ กิจกรรม Global Week of Caring ขององค์ ก รอาสาสมั ค รของฟอร์ ด ซึง่ เดิมจะเป็นการเข้าร่วมอาสาสมัครเป็นเวลา 1 สัปดาห์นน้ั จะมีการขยายระยะเวลาเป็น 1 เดือน ตลอดเดือนกันยายนนี้ เพือ่ ให้พนักงาน ของฟอร์ดได้มีเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม จิตอาสา และเปิดวิสัยทัศน์ในเรื่องการช่วย เหลือชุมชน ซึง่ เป็นอีกสิง่ ทีฟ่ อร์ดให้ความส�าคัญ เรือ่ ยมา โดยฟอร์ดคาดว่า จะมีพนักงานอาสาสมัคร กว่า 20,000 คน เข้าร่วมกิจกรรมเพือ่ ช่วยเหลือ และสานต่อโครงการ 360 โครงการทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นการท�าความสะอาดชายหาดใน แองโกล่า การฟืน้ ฟูสถานรับเลีย้ งเด็กพิการใน สหราชอาณาจักร และส�าหรับในประเทศไทยใน ช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมา มีพนักงานฟอรด์ได้เข้าร่วม กิจกรรม Global Week of Caring เพือ่ ช่วย เหลือชุมชนในประเทศไทยแล้วกว่า 4,000 คน

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

จากผลการส�ารวจโดยนีลสัน จากผู้ตอบ แบบสอบถามอายุมากกว่า 18 ปี พบว่า ร้อยละ 63 ของคนกลุม่ มิลเลนเนียล (Millennials) รูส้ กึ ว่างานอาสาสมัครเป็นงานส�าคัญ เมือ่ เทียบกับ อีกร้อยละ 58 ของผูต้ อบแบบสอบถาม นอกจาก นี้ มากกว่าครึง่ ของเยาวชนกลุม่ มิลเลนเนียลอย ากจะเข้าร่วมงานอาสาสมัครมากกว่าให้เงินช่วย เหลือ ในขณะที่ อีกร้อยละ 17 ระบุวา่ อยาก เพียงแค่บริจาคเงิน NOVEMBER 2015



แวดวงพลังงาน TEXT : ไบโอ

การศึกษา

• ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (PH.D.) in Economics Claremont Graduate University, USA • ปริญญาโท Master of Art (M.A.) in Economics Claremont Graduate University, USA • ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต (บช.บ) สาขาการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติส่วนตัวและประวัติการท�างาน

ผศ.ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ ต�ำแหน่งปัจจุบนั : กรรมการและกรรมการบริหาร บริษทั เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) ทีอ่ ยู่ : บริษทั เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) 524 อาคาร ที.เทรเชอรี ่ ถนนรัชดาภิเษก ซอย รัชดาภิเษก 26 แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10320 โทรศัพท์ : 0- 2541-4642, 08-1855-6793 โทรสำร : 0-2938-9874 อีเมล : kessara@senadevelopment.com

• 2541-ปัจจุบัน อาจารย์ประจ�า ภาควิชาการธนาคาร และการเงิน คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • 2541-2542 อาจารย์พิเศษ คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • 2547-ปัจจุบัน กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) • 2549-ปัจจุบัน กรรมการ สมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร • 2543-ปัจจุบัน กรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะพาณิชย์ศาสตร์ และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • 2552-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาด้านการเงินและลงทุน ส�านักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • กรรมการที่ปรึกษาเพื่อปรับปรุงพื้นที่อาคารจามจุรีสแควร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นโยบายและอุดมคติในการท�างาน

เวลาท�างานจะตั้งใจท�าให้เต็มที่ สู้ให้ครบ 10 ยก ถ้าส�าเร็จอย่างน้อยต้องได้ประสบการณ์เพื่อใช้ในการท�างานต่อไป

งานอดิเรก

อ่านหนังสือ ว่ายน�้า เทนนิส แบดมินตัน โยคะ

ประวัติการศึกษา

• จบการศึกษา ปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาโยธา สาขาวิศวกรรมการก่อสร้าง (เกียรตินิยมอันดับ2) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

ประสบการณ์การท�างาน

• ปี 2544-2552 บมจ. ชิโน-ไทย เอ็มจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น ต�าแหน่ง วิสวกรโยธาและวิศวกรโครงการ

โครงการ

คุณสิทธิพร สุวรรณสุต ต�ำแหน่งปัจจุบนั : ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั พีดเี ฮ้าส์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ากัด ทีอ่ ยู่ : 471 ถ.รังสิต-นครนายก ต.ประชาธิปตั ย์ อ.ธัญบุร ี จ.ปทุมธานี 12130 โทรศัพท์ : 0-2996-0940 อีเมล : sitiporn@pd.co.th

102

E N E R G Y S AV I N G

• • • • • •

โรงไฟฟ้า BLCP (จังหวัดระยอง) โรงกลั่นน�้ามัน TOC (จังหวัดระยอง) INDORAMA (จังหวัดระยอง) โรงไฟฟ้าจะนะ (จังหวัดสงขลา) วัดพระธรรมกาย (หลังคาวิหารคต, จังหวัดปทุมธานี) ปี 2552-ปัจจุบัน : เริ่มกิจการ ขนมบ้านโกไข่ ปัจจุบันมี 9 สาขา

การเข้าร่วมโครงการกับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

• โครงการพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (คพอ.) ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (คพอ.247) • อุปนายกสมาคม ล�าดับที่ 2 ATSME จังหวัดสงขลา • โครงการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการเพื่อรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

NOVEMBER 2015


EnErgy gossip TEXT : ไบโอ

ชั่วโมงนี้คงต้องยกนิ้วให้กับบริษัท พลัส พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ผู้เชี่ยวชำญด้ำนบริหำรและ จัดกำรอสังหำริมทรัพย์ครบวงจร คุณชาญ ศิริรัตน์ ผู้ช่วยกรรมกำรผู้จัดกำรสำยงำน บริหำรทรัพยำกรอำคำร เผยเคล็ดลับมัดใจลูกค้ำ ผลงำนต้องดี กำรันตีคุณภำพ ทั้งเบื้องหน้ำ และเบื้องหลัง ท�ำงำนลงลึกด้วยทีมคุณภำพ ใส่ใจถึงรำยละเอียดวัฒนธรรมองค์กรของลูกค้ำ แต่ ล ะรำย และที่ส�ำคัญต้อ งใส่ใจสิ่งแวดล้อ ม ....ล่ำสุดตลำดหลักทรัพ ย์แ ห่ง ประเทศไทยก็ได้ ต่อสัญญำให้บริหำรอำคำรต่อไปอีก และยังขยำยขอบเขตงำนเพิ่มอีก 1 อำคำรซึ่งเป็นอำคำรใหม่ ที่อนุรักษ์พลังงำน โดยได้รับรำงวัล LEED จำกสภำอำคำรเขียวสหรัฐอเมริกำในระดับ Gold เป็น เครื่องกำรันตีควำมส�ำเร็จได้อย่ำงดีเลยทีเดียว

จำกควำมพยำยำมสร้ำงสรรค์นวัตกรรม กระเบื้องจนกวำดรำงวัลจำกสถำบัน ชั้นน�ำทั้งไทยและต่ำงประเทศมำแล้วมำกมำย แต่ทำงด้ำน คุณธนนิตย์ รัตนเนนย์ ผู้บริหำร คอตโต้ ก็ไม่เคยหยุดนิ่งในกำรพัฒนำ ล่ำสุด เพิ่งประกำศศักดำในฐำนะแบรนด์กระเบื้อง ไทยรำยแรก ที่ได้รับเครื่องหมำยสิ่งแวดล้อม EU Flower ของสหภำพยุโรป กำรันตีมำตรฐำน กำรผลิตกระเบือ้ งเกลซ พอร์ซเลนของคอตโต้ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มในทุ ก ขั้ น ตอน ตอบโจทย์ทั้งคุณภำพและควำมปลอดภัยต่อ ผูใ้ ช้งำน ควบคูไ่ ปกับกำรดูแลสิง่ แวดล้อม สมกับ เป็นผูน้ ำ� นวัตกรรมสีเขียวจริง ๆ

เมือ่ ไม่นำนมำนีท้ ำง บริษทั ผลิตไฟฟ้ำ รำชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหำชน) ได้ ประกำศเปลี่ยนผู้น�ำองค์กรคนใหม่ และผู้ที่ เข้ำมำรับต�ำแหน่งคือ คุณรัมย์ เหราบัตย์ ทีม่ ำ รับท�ำหน้ำที่แทน คุณพงษ์ดิษฐ พจนำ ทั้งนี้ คุณรัมย์ จะเข้ำมำสำนต่อโครงกำรต่ำง ๆ ทีม่ อี ยู่ ให้กำ้ วหน้ำตำมแผนของบริษทั พร้อมทัง้ ผสำน ควำมร่วมมือกับพันธมิตรทำงธุรกิจเพื่อสร้ำง ควำมได้เปรียบในกำรแข่งขัน นอกจำกนี้ยัง เตรียมพร้อมเดินหน้ำขยำยธุรกิจพลังงำนครบ วงจรในเอเชียแปซิฟิกดันอัตรำผลตอบแทน ผูถ้ อื หุน้ ให้ถงึ 11.3% เทียบชัน้ บริษทั พลังงำน ชัน้ น�ำในเอเชียแปซิฟกิ อีกด้วย ทำงนิตยสำรขอ แสดงควำมยินดีกับคุณรัมย์ด้วยค่ะ ผูบ้ ริหำรรุน่ ใหม่ไฟแรง คุณอุกฤษฏ์ ตัณฑเสถียร กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั พรีโม่ เอ็นเนอร์จี จ�ำกัด ที่ก�ำลังมีแผนสร้ำงโรงไฟฟ้ำโซลำร์ฟำร์ม ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น โดยขำยไฟฟ้ ำ ให้ รั ฐ บำลญี่ ปุ ่ น คำดว่ำประมำณปีหน้ำน่ำจะแล้วเสร็จ แถมได้อำยุ สัมปทำนถึง 20 ปีเลยทีเดียว ถือเป็นผู้บริหำร ที่ มี ค วำมมั่ น ใจคนนึ ง เลยก็ ว ่ ำ ได้ ยั ง ไงขอให้ ด�ำเนินธุรกิจไปได้ด้วยดีนะคะ

VOLUME 7 ISSUE 84

SENA เปิ ด บ้ ำ นโครงกำร SENA PARK GRAND รำมอินทรำ ให้สื่อ ได้เยี่ยมชมบ้ำนสวย ๆ พร้อมติดตั้งโซลำร์รูฟ โดยมี ผศ.ดร. เกษรา ธั ญ ลั ก ษณ์ ภ าคย์ กรรมกำรบริหำร บริษัท เสนำดีเวลลอปเม้น ท์ จ�ำกัด (มหำชน) ให้กำรต้อนรับและพูดคุย ตอบค�ำถำมสื่ออย่ำงเป็นกันเอง ท่ำมกลำง บรรยำกำศอันร่มรื่นของโครงกำร

ในงำนแถลงข่ำวโครงกำร แผนพัฒนำ เมื อ งอุ ต สำหกรรมเชิ ง นิ เวศ (Eco Town) คุณอาทิตย์ วุฒิคะโร ปลัดกระทรวง อุตสำหกรรม หลังจำกขึ้นกล่ำวเปิดงำน และ พู ด คุ ย กั บ เหล่ ำ ผู ้ ป ระกอบกำรในเขตพื้ น ที่ อุตสำหกรรมทีเ่ ข้ำร่วมโครงกำรแล้ว ยังครีเอท มุ ม กำรถ่ ำ ยภำพด้ ว ยตั ว เองให้ นั ก ข่ ำ วได้ ภำพสวย ๆ กลับไปกันอีกด้วย E N E R G Y S AV I N G

103


EnErgy movEmEnt TEXT : กองบรรณาธิการ

“คอตโต้” ร่วมลดก๊าซเรือนกระจก ลดโลกร้อน

คุณบัณฑูรย์ ปรปักษ์ขาม ผู้จัดการโรงงาน บริษัท สยามซานิทารีฟิตติ้งส์ จ�ากัด ผู้ผลิตและจ�าหน่ายก๊อกน�้าคอตโต้ (COTTO) รับประกาศนียบัตรจาก พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในฐานะทีเ่ ข้าร่วมเป็น ผูป้ ระกอบการคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint Product) โดยบริษทั ฯ ได้เข้าร่วมโครงการนีม้ าตัง้ แต่ปี 2556 มีผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรอง แล้ว 7 ผลิตภัณฑ์ ซึง่ การแสดงฉลากคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ของผลิตภัณฑ์ นับเป็นการแสดงออก ถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในการให้ขอ้ มูลแก่ผบู้ ริโภคและบริหารจัดการการปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่เกิดจากผลิตภัณฑ์ โดยองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ได้จดั พิธมี อบประกาศนียบัตรดังกล่าวขึน้ ในงานร้อยดวงใจ ร่วมใจลดโลกร้อน ประจ�าปี 2558 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ เมือ่ เร็ว ๆ นี้

ไดกิ้นรับโล่ผู้ท�าคุณประโยชน์ด้านแรงงาน

เมื่อเร็ว ๆ นี้ คุณนคร ศิลปอาชา ปลัดกระทรวงแรงงาน มอบโล่ประกาศ เกียรติคุณผู้ท�าคุณประโยชน์ด้านแรงงานให้กับ คุณบัณฑิต ศรีวัลลภานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามไดกิ้นเซลส์ จ�ากัด จากการที่บริษัทฯ ได้สนับสนุนค่าใช้จ่าย และเครือ่ งปรับอากาศไดกิน้ อินเวอร์เตอร์ อาร์ 32 สไมล์ จ�านวน 14 เครือ่ งให้แก่กรมพัฒนา ฝีมอื แรงงานในการจัดฝึกอบรมพัฒนาฝีมอื แรงงานช่างเครือ่ งปรับอากาศภายใต้ชอื่ โครงการ “ช่างแอร์ดีดี” ซึ่งเป็นหลักสูตรยกระดับฝีมือช่างเทคนิคเพื่อพัฒนาทักษะความรู้ในการติด ตั้งเครื่องปรับอากาศที่ใช้สารท�าความเย็นอาร์ 32 (R32) พร้อมเพิ่มพูนสาระความรู้ใหม่ ๆ ด้านระบบปรับอากาศใน 13 จังหวัด ทั่วประเทศ โดยมีผู้ผ่านการอบรมทั้งสิ้น 690 คน พิธีมอบโล่ประกาศเกียรติคุณฯ จัดขึ้นในวันคล้ายวันสถาปนากระทรวงแรงงานประจ�าปี 2558 ณ ห้องประชุมจอมพล ป.พิบูลสงคราม กระทรวงแรงงาน

พีทีสานต่อ โครงการ CSR พีทีเติมพลังสัมมาชีพ ปีที่ 3

บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ากัด (มหาชน) ผู้ให้บริการสถานีบริการน�้ามันพีที เดินหน้าจัดท�าโครงการ “พีทเี ติมพลัง สัมมาชีพ ปีที่ 3” ร่วมกับมูลนิธพิ ระดาบส จาก ความส�าเร็จของโครงการพีที เติมพลังสัมมาชีพ สองปีทผี่ า่ นมา ด้วยการบริจาคเงินทุนให้กบั โรงเรียนพระดาบส ให้ศษิ ย์พระดาบสมีวชิ าชีพสามารถเลีย้ งตนและครอบครัวได้ดว้ ยปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการนี้เริ่มต้น ในปี พ.ศ. 2556 พีทีจีมอบเงินทุนตั้งต้น 2 ล้านบาท และประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้รถใช้ถนนได้ ร่วมสมทบทุน จนได้เงินทั้งสิ้น 17 ล้านบาท ในปีนี้ โครงการได้เข้าสู่ปีที่ 3 ภายใต้แนวคิด “การเรียนรูไ้ ม่ได้จา� กัดเพียงแค่ในโรงเรียน แต่เป็นการเรียนรูช้ วี ติ ด้วยการลงมือปฎิบตั จิ ริง”

5 ผลิตภัณฑ์จาก ดาว ประเทศไทย รับฉลากคาร์บอนฟุตพริน้ ท์

กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ได้รบั การรับรองการใช้เครือ่ งหมายคาร์บอนฟุต พริ้นท์ส�าหรับผลิตภัณฑ์ 5 รายการจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ผลิตภัณฑ์ทงั้ 5 รายการของ ดาว ประเทศไทย ทีไ่ ด้รบั การขึน้ ทะเบียน ฉลากคาร์บอนฟุตพริ้นท์ ประกอบด้วย เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลีนชนิดความหนาแน่นต�่า เชิงเส้น จากบริษทั สยามโพลิเอททีลนี จ�ากัด เม็ดพลาสติกโพลิเอทิลนี ชนิดความหนาแน่นต�า่ เชิงเส้นชนิดยืดหยุน่ พิเศษ ภายใต้ตราสินค้า ENGAGETM จากบริษทั สยามเลเทกซ์สงั เคราะห์ จ�ากัด โพลิออลส�าหรับท�าโฟมชนิดแข็ง เกรด RA440 และโมโนโพรพิลีน ไกลคอล จาก บริษทั ดาว เคมิคอล ประเทศไทย จ�ากัด และโพรพิลนี ออกไซด์ จากบริษทั เอ็มทีพี เอชพีพีโอ แมนูแฟคเจอริ่ง จ�ากัด 104

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015


“สมคิด” มอบรางวัลอุตสาหกรรมประจ�าปี 2558

ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีมอบรางวัล อุตสาหกรรมประจ�าปี 2558 (The Prime Minister’s Industry Award 2015) รางวัลเกียรติยศสูงสุดของวงการอุตสาหกรรมไทยที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 23 ซึ่งในปีนี้มี สถานประกอบการได้รับรางวัลทั้งสิ้น 31 แห่ง รวม 33 รางวัล โดยรองนายกรัฐมนตรีได้ แนะแนวทางยกระดับอุตสาหกรรมไทย และเน้นย�้าถึงความส�าคัญของการลงทุนวิจัยและ พัฒนานวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะสามารถน�าพาประเทศไทยไปสู่ความยั่งยืน ทั้งนี้ พิธี มอบรางวัลอุตสาหกรรมประจ�าปี 2558 จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ ห้องรอยัล จูบิลี่ บอลรูม อาคาร ชาเลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี

“เซนเตอร์ พอยต์” ร่วมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คืนปะการังสู่ท้องทะเลที่หาดเตยงาม

คุณมัลลิกา ทัศนนิพันธ์ ผู้อ�านวยการอาวุโสฝ่ายการตลาดองค์กร กลุ่มโรงแรม เซนเตอร์พอยต์ พร้อมด้วย คุณพนารัตน์ นุตค�าแหง ผู้อ�านวยการฝ่ายพัฒนาคุณภาพงาน บริการ และ คุณศิริพงศ์ เผ่าหฤหรรษ์ ผู้อ�านวยการงานสื่อสารการตลาด น�าทีมผู้บริหาร พนักงาน ลูกค้า และพันธมิตรทางธุรกิจ จัดโครงการ “ปลูกปะการังเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ใต้ท้องทะเลไทย” ณ หาดเตยงาม อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี สถานที่ท่องเที่ยวในความรับผิดชอบ ของหน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน กองทัพเรือ ซึ่งโครงการดังกล่าวเป็นหนึ่งในกิจกรรมเพื่อ สังคมที่กลุ่มโรงแรมเซนเตอร์พอยต์ ด�าเนินการมาโดยตลอดควบคู่ไปกับการด�าเนินธุรกิจ

ซิมโฟนี่ฯ ยกทัพผู้น�าธุรกิจบรอดคาซท์ บุกงาน IBC 2015

บริษทั ซิมโฟนี่ คอมมูนเิ คชัน่ จ�ากัด (มหาชน) ผู้น�าด้านธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม น�าคณะผู้บริหารจากกลุ่มบริษัทผู้ให้บริการธุรกิจบรอดคาซท์ชั้นแนวหน้าของ เมืองไทย ร่วมสัมผัสประสบการณ์ทางเทคโนโลยีแห่งโลกอนาคต ในงาน The International Broadcasting Convention 2015 หรือ IBC 2015 งานแสดงนวัตกรรมสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีแพร่ภาพกระจายเสียงระดับโลก ณ RAI Amsterdam Convention Center กรุ ง อั ม สเตอร์ ดั ม ประเทศเนเธอร์ แ ลนด์ งานนี้ ถื อ ได้ ว ่ า เป็ น มหกรรมเทคโนโลยี ก าร แพร่ภาพกระจายเสียงที่ทุกคนตั้งตารอชม ภายในงานได้จัดแสดงองค์ความรู้ เทคโนโลยี รวมถึงอุปกรณ์อันทันสมัยที่ได้รับการพัฒนา เพื่อเพิ่มศักยภาพให้วงการโทรคมนาคมและ การแพร่ภาพกระจายเสียง โดยผู้ให้บริการชั้นน�ากว่า 170 ประเทศทั่วโลก เพื่อเป็นแนวทาง การเรียนรู้ พัฒนาและถือเป็นการอีกก้าวส�าคัญให้กับธุรกิจในวงการโทรคมนาคมของไทย ไปสู่ระดับสากล

แอลจี รับมอบโล่จากกระทรวงพลังงาน

บริษทั แอลจี อิเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด โดยคุณนิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู้อ�านวยการฝ่ายการตลาด รับมอบโล่จาก ดร.คุรุจิต นาครทรรพ ปลัดกระทรวง พลังงาน เนื่องในโอกาสที่โทรทัศน์แอลจี ผ่านมาตรฐานประสิทธิภาพสูงเบอร์ 5 โครงการ ฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ในงาน “5 SAVING FORWARD ร่วมมือ ใส่ใจ ประหยัดไฟฟ้า เพื่ออนาคต” จัดโดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ แอลจีมีความภูมิใจเป็นอย่าง ยิ่งที่ได้รับโล่เกียรติบัตรการผ่านมาตรฐานประสิทธิภาพสูงเบอร์ 5 จากการไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย ในหมวดเครื่องรับโทรทัศน์ แอลจีมุ่งมั่นน�าเสนอนวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อ ตอบโจทย์การใช้งานแก่ผู้บริโภคอย่างไม่หยุดยั้ง ภายใต้แนวคิด Innovation for a Better life หรือนวัตกรรมเพื่อชีวิตที่ดีกว่า

VOLUME 7 ISSUE 84

E N E R G Y S AV I N G

105


EVENt CalENdaR

NOVEMBER

TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ

2015

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนพฤศจิกายน 2558

17 พฤศจิกายน 2558

ชื่องาน : อบรมหลักสูตร “การจัดการพลังงานส�าหรับผู้บริหารโรงงานและอาคารควบคุม” รุ่นที่ 7 รายละเอียด : ทาง สพบ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้ให้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ด�าเนินการอบรมหลักสูตรการจัดการ พลังงานส�าหรับผู้บริหารโรงงานและอาคารควบคุมโดยมุ่งเน้นให้ความรู้ผู้บริหารองค์กรในด้านการอนุรักษ์พลังงานและจัดการพลังงาน อย่างเป็นระบบ โดยครอบคลุมทั้งการจัดการองค์กรเพื่อสร้างความพร้อมในการบริหารการใช้พลังงาน การจัดการบุคลากรที่ต้องเป็นผู้ด�าเนิน การเกี่ยวกับการใช้พลังงานและการจัดการให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน จ.ชลบุรี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th

17-19 พฤศจิกายน 2558

ชื่องาน : อบรมหลักสูตร การอนุรักษ์พลังงานในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมโลหะมูลฐาน และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและอุปกรณ์ รุ่นที่ 6 รายละเอียด : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อพัฒนาบุคลากร ของภาคอุตสาหกรรมที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตให้สามารถน�าความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน และเพื่อให้เกิดการเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานให้กับโรงงานอุตสาหกรรมโลหะมูลฐาน และอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จ.พระนครศรีอยุธยา ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th

17-20 พฤศจิกายน 2558

ชื่องาน : โครงการพลังงานทดแทนในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ รุ่นที่ 8 (หลักสูตรเคมี) รายละเอียด : สพบ. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้ให้ บริษัท ไบร์ท แมเนจเม้นท์ คอนซัลติ้ง จ�ากัด ด�าเนินการอบรม โครงการพลังงานทดแทนในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ ให้กับผู้บริหาร วิศวกร ช่างเทคนิค ที่เป็นบุคลากรจากโรงงานอุตสาหกรรม และอาคารธุรกิจ ได้แก่ กลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม กลุ่มอุตสาหกรรมเคมี กลุ่มอุตสาหกรรมทั่วไป กลุ่มอาคารธุรกิจ เช่น โรงแรม โรงพยาบาล ศูนย์การค้า ส�านักงาน สถานศึกษา และอาคารประเภทอื่น ๆ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมเดอะคัลเลอร์ ลิฟวิ่ง จ.สมุทรปราการ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th

24-26 พฤศจิกายน 2558

ชื่องาน : อบรมหลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานจากกรณีตัวอย่างในอาคารที่ประสบความส�าเร็จ” รุ่นที่ 9 รายละเอียด : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เล็งเห็นถึงความจ�าเป็นในการอนุรักษ์พลังงานในภาคอาคารธุรกิจ โดยมีมาตรการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อให้การด�าเนินมาตรการด้านอนุรักษ์พลังงานในภาคอาคารธุรกิจประสบผลส�าเร็จอย่างเป็น รูปธรรม ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมแกรนด์โชเล่ พัทยา จ.ชลบุรี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th

24-27 พฤศจิกายน 2558

ชื่องาน : การฝึกอบรมหลักสูตร “การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน (ภาคปฏิบัติ) รุ่นที่ 8” รายละเอียด : จัดฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในนามของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน จ�านวนไม่น้อยกว่า 400 คน จ�านวนผู้เข้าฝึกอบรมรุ่นละประมาณ 40 คน ประกอบด้วย เป็นบุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับ การควบคุมเครื่องจักรอุปกรณ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ จ.ปทุมธานี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th 106

E N E R G Y S AV I N G

NOVEMBER 2015




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.