CONTENT
En E r gy Sav i n g v o l . 8 5 i S S u E D E C E M B E r 2 0 1 5
22
22
18
08 10
12 15 18 22 25 28 32 34 36 38 40 42 4
Editor’s Note News Report
32
ปลัด ก.พลังงาน มอบ สนพ. จัดทัพนักวิจัย ตั้งศูนย์วิจัย 5 ภาค ปักหมุดแผนอนุรักษ์พลังงานและ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน
40
News Report
Eco Expo Asia ครบเครื่องเรื่องสิ่งแวดล้อม สยายปีกในฐานะเวทีนวัตกรรมสีเขียวแห่งเอเชีย
News Report
เดลล์ จุดพลุฉลอง 20 ปี ปีที่ 21 กางแผน “Dell 2020 Legacy of Good Plan” เน้นรักษ์โลก
Around the World
Gi FlyBike จักรยานไฟฟ้าเชื้อสายอาร์เจนฯ สุดฉลาด เก็บง่าย เดินทางสะดวก
Cover Story
มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ตอบโจทย์ลูกค้าตรงจุด กับธุรกิจพลังงานสะอาด
special scoop
ตามรอย...พระราชด�าริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
Green Building
SENA ชู Solar Roof Top ทางเลือกของคนรักบ้าน
Building Management
จ�าลองการใช้พลังงานของอาคาร (Building Energy Simulation)
Energy Management
48
46
โครงการเงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน โดยสถาบันการเงิน
เปิดบ้าน “เทรน” ผู้น�าด้านเครื่องปรับอากาศ การันตีเรื่องการประหยัดพลังงาน
ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ปล่อยแคมเปญ เบรกเกอร์กันไฟดูดตัวใหม่
อุปกรณ์ประหยัดพลังงานไฟฟ้าส�าหรับตู้แช่ ตู้เย็น (Freezer Saver)
48 50
กุญแจสู่ความส�าเร็จในการประหยัดพลังงาน (Energy saving as the key to success)
52
iWood ไม้ธรรมชาติกันปลวก
Product Showcase-Construction
54
Interview
Product Review-Construction
วาล์วประหยัดน�้า FILL PRO
Thai Nano House บ้านเล็ก คุณภาพล้น
Green Industrial
โรงงานสีเขียว สยามไฟเบอร์กลาส ผลิตภัณฑ์ลดโลกร้อน ใส่ใจพลังงาน E N E R G Y S AV I N G
Energy Focus
56 58
Open House
Product Review-Industrial
Product Showcase-Industrial
Interview
พรีโม่ เอ็นเนอร์จี บริษัทน้องใหม่ ลุยญี่ปุ่น สร้างโรงไฟฟ้าโซล่าร์ฟาร์ม
Green Logistics
ฮาลาล โลจิสติกส์ (Halal Logistics)
Renergy
56
กัมพูชากับปัญหาขยะ DECEMBER 2015
คุณมีโอกาส ในการลดการใชพลังงาน ในโรงงานไดอยางมาก
ตรวจ
นี้ รวี นั
บบปม ชเ ค็ ระ นำ้ ฟ
ให Energy Check ชวยหาโอกาสในการลดการใชพลังงาน 9 ใน 10 ของปมน้ำที่ติดตั้งอยูตามที่ตางๆ ในโรงงาน มีการใชพลังงานอยางสิ้นเปลือง ปมน้ำที่คุณใชงานไมไดประสิทธิภาพและปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) มากขึ้น รวมทั้งมีคาใชจายดานพลังงานมากขึ้นทุกๆ ป Energy Check Program จะชวยคุณหาโอกาสในการลด การใชพลังงาน ลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) และปมน้ำยังทำงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ดวยการใชเคร�องมือตรวจเช็คระบบปมน้ำจากผูเชี่ยวชาญดานพลังงานฟรี พรอมใหคำแนะนำ ติดตอ Energy Check Team ที่เบอร 0 2725 8999 หรืออีเมล info-th@grundfos.com
บริษัท กรุนดฟอส (ประเทศไทย) จำกัด 92 ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 แขวงดอกไม เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250
CONTENT
En Er gy Sav i n g v o l . 8 5 i S S u E D EC EM B Er 2 0 1 5
62
73
65
62
Product Showcase-Logistics
63
Environment Alert
65
0 Waste Idea
67
Greenhouse Gas Management
69
Product Showcase-Commercial
“1.9 Ddi Blue Power” เครื่องยนต์มลพิษต�่ำ ประหยัดน�้ำมันสูงสุด มองโลกอนำคตกับวิกฤติขยะในทะเล วิถีทำง “Zero Waste” เพื่อก้ำวสู่สังคมแห่งกำรรีไซเคิลขยะ
“ป่ำชุมชน” ส่งเสริมวิถีลดโลกร้อน โดยประชำชนมีส่วนร่วมบริหำรจัดกำร
Dell Vostro 5459 ที่สุดของโน้ตบุ๊ก สะท้อนควำมเรียบหรูด้วยสีทองและสีเงิน
ไดกิ้น วีอำร์วี โฟร์ ฮีท รีโคฟเวอรี่ ฮอท วอเตอร์ ระบบปรับอำกำศแบบรวมศูนย์ เย็นสบำย ลดค่ำใช้จ่ำยผลิตน�้ำร้อน
72
Product Review-Commercial
73
Interview
75
Energy Tip
ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ฯ เผยเคล็ด (ไม่) ลับ ส�ำหรับวิศวกร ใช้ลิฟต์อย่ำงไรให้ประหยัดพลังงำน
77
Green 4U
80
Green 4U
81
a piece(s) of paper กระดำษใช้ ษใช้ได้มำกกว่ำหนึ่งครั้ง
83
Energy Knowledge
85
Special Report
88
Energy Loan
90
Special Feature
Prefab นวัตกรรมบ้ำนกึ่งส�ำเร็จรูป ทนทำน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปี 59 ก.พลังงำนปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ย 3.5% วงเงินกู้เฟสแรก งบ 1,500 ลบ.
ออกแบบควบคุมอำคำรใหม่ บังคับประหยัดพลังงำน 20% เริ่มปี 59
93
Viewpoint
96
Energy Report
สวทช. จับมือ สถำปัตย์ มจธ. จัดสัมมนำ “กำรออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจเพื่อสุขภำวะที่ดี ในกำรอยู่อำศัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” (Eco-Design for Healthy and Environmental-Friendly Living)
กรมป่ำไม้ ร่วมกับ บริษัท ผลิตไฟฟ้ำรำชบุ ชบุรี โฮลดิ้ง จ�จ�ำกัด (มหำชน) ประกำศผลกำรประกวด (มหำชน) ประกำศผลกำรประกวด ป่ำชุมชน โครงกำร “คนรั ชน โครงกำร “คนรักษ์ป่ำ ป่ำรักชุมชน”
Green Society
Recycled Silk Chair เก้ำอี้จำกผ้ำไหมเก่ำ
Energy Invention
ไฟท้ำยพลังงำนลม ผลงำน นศ.วิทยำลัยกำรอำชีพสตึก
88 6
E N E R G Y S AV I N G
93
“กำกอุตสำหกรรม” ปัญหำใหญ่ที่ไม่ควรมองข้ำม
98
83
ลดขยะล้นโลก กับ นักวิจัย มจธ. “ค้นพบวิธีแยกอลูมิเนียมและกระดำษจำก กล่อง UHT ได้ส�ำเร็จ”
101 102 103 104 106
แบบสมัครสมาชิก แวดวงนักพลังงาน Energy Gossip Energy Movement Event Calendar
นิทรรศกำร งำนประชุม และอบรมสัมมนำด้ำนพลังงำนที่น่ำสนใจ ประจ�ำเดือนธันวำคม 2558
DECEMBER 2015
editor’s note คณะผู้จัดทำ� บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 200/7-14 ซ.ร�มคำ�แหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมห�นคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2717-2477 โทรส�ร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คอลัมนิสต์์ คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข อ.บัณฑิต ง�มวัฒนะศิลป์ ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ คุณรุ่งเรือง ส�ยพวรรณ์ ดร.ณัฐริก� ว�ยุภ�พ นิติพน คุณชน�ก�นต์ สันตย�นนท์
สภ�อุตส�หกรรมแห่งประเทศไทย บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จำ�กัด จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย มห�วิทย�ลัยร�ชภัฏธนบุรี จุฬ�ลงกรณ์มห�วิทย�ลัย กรมส่งเสริมคุณภ�พสิ่งแวดล้อม สถ�บันพลังง�นเพื่่ออุตส�หกรรม องค์ก�รบริห�รจัดก�รก๊�ซเรือนกระจก (องค์ก�รมห�ชน) สำ�นักง�นพัฒน�วิทย�ศ�สตร์และ เทคโนโลยีแห่งช�ติ
ทีมง�นฝ่�ยบริห�ร กรรมก�รผู้จัดก�ร คุณช�ตรี มรรค� รองกรรมก�รผู้จัดก�ร คุณศุภแมน มรรค� ฝ่�ยข�ยโฆษณ� Sales Representative
สุรัช เย็นชุม surat@ttfintl.com
ติดต่อฝ่�ยข�ยโฆษณ� โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 183 ติดต่อฝ่�ยสม�ชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 169, 171 ติดต่อฝ่�ยบรรณ�ธิก�ร โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ต่อ 108, 148, 226 ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร หัวหน้�กองบรรณ�ธิก�ร กองบรรณ�ธิก�ร
ศิลปกรรม
ปิยะนุช มีเมือง อภัสร� วัลลิภผล จีรพร ทิพย์เคลือบ ป�จรีย์ หลอดคำ� อังกฤษ ศรีสิริม�นิต พอดี ครีเอทีฟ
ตามรอยทาง...พลังงานไทย สวัสดีคะ่ คุณผูอ้ า่ นทีน่ า่ รักทุกท่าน กลับมานัง่ ทีร่ ายงานตัวกันเป็นประจ�าทุกเดือน ก้าวเข้าสู่ เดือนธันวาคมเดือนสุดท้ายของปี 2558 กันแล้ว ปีเก่าผ่านไป ปีใหม่เข้ามา ขออวยพร ให้ปหี น้าเป็นปีทดี่ อี กี ปีหนึง่ ของทุก ๆ ท่านนะคะ นอกจากนีเ้ ดือนธันวาคมยังมีวนั ส�าคัญ นั่นคือ วันที่ 5 ธันวาคม หรือ “วันพ่อแห่งชาติ” นั่นเอง ขอพระองค์ทรงพระเจริญ มีพระพลานามัยแข็งแรง เป็นมิง่ ขวัญของปวงชนชาวไทยตลอดไป ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า ทีมงานนิตยสาร Energy Saving หากเอ่ยถึงพระราชกรณียกิจด้านพลังงานของพระองค์ที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงทราบดี ว ่ า ประเทศไทยต้ อ งอาศั ย เชื้ อ เพลิ ง และพลั ง งานจาก ต่างประเทศเป็นหลัก จึงทรงเริม่ ศึกษาเรือ่ งของพลังงานทดแทนไว้เป็นการล่วงหน้าหลาย เรือ่ ง เช่น พลังงานลม พลังงานน�า้ หินน�า้ มัน พลังงานจากมวลชีวภาพ โดยพลังงานลม พระองค์ทรงสร้างและติดตัง้ กังหันลมไว้ ณ พระต�าหนักหลายแห่ง เช่น ทีพ่ ระต�าหนัก จิตรลดารโหฐาน ที่พระราชวังไกลกังวล หัวหิน ทางด้านพลังงานน�้า ทรงจัดให้ มีโครงการไฟฟ้าพลังน�้าขนาดเล็กในหลายท้องถิ่น เช่น โรงไฟฟ้าพลังน�้าบ้านยาง ทีอ่ า� เภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โรงไฟฟ้าพลังน�า้ ห้วยกุม่ ทีจ่ งั หวัดชัยภูมิ ด้านหินน�้ามัน ได้พระราชทานพระราชด�าริเกี่ยวกับวัตถุดิบชนิดนี้ให้มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์รับไปด�าเนินการ ส่วนด้านพลังงานจากมวลชีวภาพ พระองค์ได้ พระราชทานข้อแนะน�าให้คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศึกษาเรือ่ งแก๊ส ชีวภาพ ทรงศึกษาวิธนี า� วัสดุเหลือใช้มาท�าประโยชน์ดา้ นพลังงาน เช่น น�าแกลบมาอัด เป็นก้อนส�าหรับใช้เป็นเชื้อเพลิงที่โรงงานส่วนพระองค์สวนจิตรลดา นอกจากนี้ยังมี พระราชด�าริเกี่ยวกับธนาคารโคและกระบือ ซึ่งเป็นการใช้แรงงานสัตว์ท้องถิ่นแทน เครือ่ งยนต์ ทัง้ หมดทัง้ มวลล้วนเป็นทีม่ าของโครงการด้านพลังงานหลากหลายโครงการ ในประเทศไทยตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั นิตยสาร Energy Saving ฉบับนี้ ได้ตามรอยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั โดยการ น�าเสนอโครงการทีน่ า� เอาพระราชกรณียกิจด้านพลังงานของพระองค์มาเป็นแบบอย่าง ในการด�าเนินการอยู่ในปัจจุบัน อาทิ ไบโอดีเซล มอก.9999 และเอทานอล เป็นต้น ขอบอกว่าน่าสนใจไม่นอ้ ยเลยทีเดียว ติดตามอ่านได้ในสกูป๊ พิเศษประจ�าฉบับ นอกจากนี้ เรือ่ งเด่นประจ�าฉบับ เราจะพาไปเจาะลึกและท�าความรูจ้ กั กับหนึง่ ในบริษทั ชัน้ น�าด้าน โซล่าร์เซลล์ อย่าง “มิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค” ผ่านมุมมองการใช้งานของลูกค้าทีเ่ ป็นองค์กร ขนาดใหญ่ อย่าง บริษทั สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จ�ากัด ส่วนจะเจ๋งและคุณภาพ คับแก้วแค่ไหนนัน้ ติดตามอ่านได้ในฉบับ แล้วพบกันใหม่ปหี น้า...สวัสดีคะ่ ปิยะนุช มีเมือง หัวหน้ากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com
Where to find
8
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
จีอีส�าเร็จการซื้อกิจการ
ธุรกิจด้านพลังงานและกริด จากอัลสตอม จี อี [NYSE:GE] ประกาศความ ส� า เร็ จ ในการเข้ า ซื้ อ กิ จ การ ธุ รกิ จ ด้ า นพลั ง งานและกริ ด จาก อัลสตอม โดยก่อนหน้านี้กว่า 20 ประเทศ และภูมิภาค อาทิ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และบราซิล ได้อนุมัติทาง กฎหมายเกี่ยวกับการเข้าซื้อกิจการดังกล่าว เรียบร้อยแล้ว การเข้าซื้อกิจการด้านพลังงาน และกริดจากอัลสตอมครั้งนี้เป็นการเข้าซื้อ กิจการครั้งใหญ่ที่สุดของจีอี คุณเจฟฟ์ อิมเมลท์ ประธานและหัวหน้า เจ้าหน้าที่บริหาร จีอี กล่าวว่า ความส�าเร็จ ของการเข้าซื้อกิจการธุรกิจพลังงานและกริด ของอั ล สตอม เป็ น ก้ า วส� า คั ญ อี ก ก้ า วหนึ่ ง ในการปรับเปลี่ยนแนวทางธุรกิจของจีอี ทั้งนี้ เทคโนโลยีของอัลสตอมทีจ่ ะเข้ามาช่วยเสริมทัพ
ให้กับเทคโนโลยีของจีอี ขีดความสามารถของอัลสตอม ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ระดั บ โลกฐานลู ก ค้ า และความ เชี่ยวชาญของอัลสตอม จะเป็นส่วนผลักดันการเติบโต ในอุตสาหกรรมหลักของจีอีต่อไป เราพร้อมที่จะน�า เสนอและให้บริการเทคโนโลยีที่ครบวงจรมากที่สุดใน วงการพลังงานให้กับลูกค้าของเรา ทั้งนี้ จีอีได้บรรลุ ข้อตกลงกับอัลสตอมในการซื้อธุรกิจพลังงานและกริด ของอัลสตอมในวงเงิน 1.235 หมื่นล้านยูโรในปี2557 และหลังจากมีประกาศปรับรูปแบบการด�าเนินงานเป็นลักษณะบริษัทร่วมทุนเมื่อเดือนมิถุนายน 2557 (ด้านพลังงานหมุนเวียน กริด และนิวเคลียร์) ปรับเปลีย่ นโครงสร้างข้อตกลง ปรับราคาซือ้ ขาย เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย เงินสดสุทธิ ณ เวลาส่งมอบกิจการ และผลกระทบจากอัตรา แลกเปลี่ยนท�าให้มีราคาซื้อขายที่ 9.7 พันล้านยูโร (ประมาณ 1.06 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งวงเงินนี้ได้รวมถึงการใช้เงินทุนหมุนเวียนประมาณ 0.6 พันล้านยูโรในเดือนตุลาคม จีอีคาดว่า ข้อตกลงนี้จะสร้างรายได้ต่อหุ้น 0.05-0.08 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2559 และ 0.15-0.20 ดอลลาร์ สหรัฐ ในปี 2561 และก�าหนดค่าใช้จ่ายในการควบรวมการท�างานเข้าด้วยกันเป็นเงิน 3.0 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐในปีที่ห้าและคาดหวังผลตอบแทนที่ดีจากการซื้อกิจการครั้งนี้
ปส. เตรียมความพร้อมเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สร้างความรูค้ วามเข้าใจให้แก่ประชาชน เ มื่ อ ไม่ น านมานี้ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ส�านักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) เปิดเวทีแถลงข่าว “การเตรียมความพร้อมกรณี เหตุฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์และรังสี” เพือ่ เตรียม ความพร้อมรับมือ หากเกิดเหตุฉุกเฉินทาง นิวเคลียร์และรังสีขึ้น จะสามารถระงับเหตุได้ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และกลับสูส่ ภาวะปกติได้ อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล คุณกิตติศกั ดิ์ ชินอุดมทรัพย์ รองเลขาธิการ ส�านักงานปรมาณูเพือ่ สันติ เปิดเผยว่า ปส. ใน ฐานะหน่วยงาน ที่มีภารกิจหลักในการก�ากับ ดูแลความปลอดภัยทางด้านนิวเคลียร์และรังสี ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึง่ ในปัจจุบนั ได้มี การน�าวัสดุกมั มันตรังสีมาใช้ประโยชน์กนั อย่าง แพร่หลาย ทัง้ การแพทย์ อุตสาหกรรม ศึกษา วิจยั การเกษตรและอืน่ ๆ ซึง่ ในการปฏิบตั งิ าน อาจมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา ถึงแม้วา่ จะ มีมาตรการควบคุมความปลอดภัยอย่างรัดกุม แล้วก็ตาม ปส. เล็งเห็นว่าการเตรียมความพร้อม รับมือเหตุฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์และรังสีเป็นสิง่ ที่ส�าคัญอย่างยิ่ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และ VOLUME 7 ISSUE 85
เทคโนโลยี มีการเตรียมความพร้อม กรณี เ หตุ ฉุ ก เฉิ น ทางนิ ว เคี ล ยร์ แ ละ รังสี ทัง้ การก�ากับดูแลความปลอดภัย ทางด้านนิวเคลียร์และรังสี ให้เป็น ไปตามหลักสากล เพื่อให้ประชาชน มีความมั่นใจในความปลอดภัย การ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความเชือ่ มัน่ และทัศนคติที่ดีต่อส�านักงานปรมาณู เพือ่ สันติภาพ การใช้พลังงานปรมาณู ในทางสั น ติ ทั้ ง ในด้ า นแผนแม่ บ ท การป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย แห่งชาติ แผนปฏิบัติงาน, บุคลากร, การคิ ด ค้ น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ในการเก็บกู้ ทั้งนี้ ปัจจุบันได้มีการน�าเอาวัสดุกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน์อย่างเเพร่หลาย ทั้งด้าน การเเพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม ศึกษาวิจยั และอืน่ ๆ ซึง่ อาจมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา แม้จะมีการควบคุมความปลอดภัยอย่างรัดกุม นอกจากนี้ ยังได้มกี ารน�าเอาหุน่ ยนต์เก็บกู้ รวมถึงวีดโี อ พรีเซนเทรชัน่ เเสดงขัน้ ตอนการระงับเหตุฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์และรังสี เพือ่ เป็นการประชาสัมพันธ์ การเตรียมความพร้อมกรณีฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์เพือ่ ให้ประชาชนมีความเข้าใจมากขึน้ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.oaep.go.th , FB : atoms4peace หรือกลุม่ ส่งเสริม ฝึกอบรมและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ส�านักนโยบายและบริหารด้านพลังงานปรมาณู ส�านักงานปรมาณู เพือ่ สันติ โทร.0-2596-7600 ต่อ 1123-1124
E N E R G Y S AV I N G
11
จีอีส�าเร็จการซื้อกิจการ
ธุรกิจด้านพลังงานและกริด จากอัลสตอม จี อี [NYSE:GE] ประกาศความ ส� า เร็ จ ในการเข้ า ซื้ อ กิ จ การ ธุ ร กิ จด้ า นพลั ง งานและกริ ด จาก อัลสตอม โดยก่อนหน้านี้กว่า 20 ประเทศ และภูมิภาค อาทิ สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา จีน อินเดีย ญี่ปุ่น และบราซิล ได้อนุมัติทาง กฎหมายเกี่ยวกับการเข้าซื้อกิจการดังกล่าว เรียบร้อยแล้ว การเข้าซื้อกิจการด้านพลังงาน และกริดจากอัลสตอมครั้งนี้เป็นการเข้าซื้อ กิจการครั้งใหญ่ที่สุดของจีอี คุณเจฟฟ์ อิมเมลท์ ประธานและหัวหน้า เจ้าหน้าที่บริหาร จีอี กล่าวว่า ความส�าเร็จ ของการเข้าซื้อกิจการธุรกิจพลังงานและกริด ของอั ล สตอม เป็ น ก้ า วส� า คั ญ อี ก ก้ า วหนึ่ ง ในการปรับเปลี่ยนแนวทางธุรกิจของจีอี ทั้งนี้ เทคโนโลยีของอัลสตอมทีจ่ ะเข้ามาช่วยเสริมทัพ
ให้กับเทคโนโลยีของจีอี ขีดความสามารถของอัลสตอม ที่ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ระดั บ โลกฐานลู ก ค้ า และความ เชี่ยวชาญของอัลสตอม จะเป็นส่วนผลักดันการเติบโต ในอุตสาหกรรมหลักของจีอีต่อไป เราพร้อมที่จะน�า เสนอและให้บริการเทคโนโลยีที่ครบวงจรมากที่สุดใน วงการพลังงานให้กับลูกค้าของเรา ทั้งนี้ จีอีได้บรรลุ ข้อตกลงกับอัลสตอมในการซื้อธุรกิจพลังงานและกริด ของอัลสตอมในวงเงิน 1.235 หมื่นล้านยูโรในปี2557 และหลังจากมีประกาศปรับรูปแบบการด�าเนินงานเป็นลักษณะบริษัทร่วมทุนเมื่อเดือนมิถุนายน 2557 (ด้านพลังงานหมุนเวียน กริด และนิวเคลียร์) ปรับเปลีย่ นโครงสร้างข้อตกลง ปรับราคาซือ้ ขาย เพื่อวัตถุประสงค์ทางกฎหมาย เงินสดสุทธิ ณ เวลาส่งมอบกิจการ และผลกระทบจากอัตรา แลกเปลี่ยนท�าให้มีราคาซื้อขายที่ 9.7 พันล้านยูโร (ประมาณ 1.06 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) ซึ่งวงเงินนี้ได้รวมถึงการใช้เงินทุนหมุนเวียนประมาณ 0.6 พันล้านยูโรในเดือนตุลาคม จีอีคาดว่า ข้อตกลงนี้จะสร้างรายได้ต่อหุ้น 0.05-0.08 ดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2559 และ 0.15-0.20 ดอลลาร์ สหรัฐ ในปี 2561 และก�าหนดค่าใช้จ่ายในการควบรวมการท�างานเข้าด้วยกันเป็นเงิน 3.0 พันล้าน ดอลลาร์สหรัฐในปีที่ห้าและคาดหวังผลตอบแทนที่ดีจากการซื้อกิจการครั้งนี้
ปส. เตรียมความพร้อมเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี สร้างความรูค้ วามเข้าใจให้แก่ประชาชน เ มื่ อ ไม่ น านมานี้ กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย ส�านักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) เปิดเวทีแถลงข่าว “การเตรียมความพร้อมกรณี เหตุฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์และรังสี” เพือ่ เตรียม ความพร้อมรับมือ หากเกิดเหตุฉุกเฉินทาง นิวเคลียร์และรังสีขึ้น จะสามารถระงับเหตุได้ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และกลับสูส่ ภาวะปกติได้ อย่างมีประสิทธิภาพตามมาตรฐานสากล คุณกิตติศกั ดิ์ ชินอุดมทรัพย์ รองเลขาธิการ ส�านักงานปรมาณูเพือ่ สันติ เปิดเผยว่า ปส. ใน ฐานะหน่วยงาน ที่มีภารกิจหลักในการก�ากับ ดูแลความปลอดภัยทางด้านนิวเคลียร์และรังสี ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ซึง่ ในปัจจุบนั ได้มี การน�าวัสดุกมั มันตรังสีมาใช้ประโยชน์กนั อย่าง แพร่หลาย ทัง้ การแพทย์ อุตสาหกรรม ศึกษา วิจยั การเกษตรและอืน่ ๆ ซึง่ ในการปฏิบตั งิ าน อาจมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา ถึงแม้วา่ จะ มีมาตรการควบคุมความปลอดภัยอย่างรัดกุม แล้วก็ตาม ปส. เล็งเห็นว่าการเตรียมความพร้อม รับมือเหตุฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์และรังสีเป็นสิง่ ที่ส�าคัญอย่างยิ่ง กระทรวงวิทยาศาสตร์และ VOLUME 7 ISSUE 85
เทคโนโลยี มีการเตรียมความพร้อม กรณี เ หตุ ฉุ ก เฉิ น ทางนิ ว เคี ล ยร์ แ ละ รังสี ทัง้ การก�ากับดูแลความปลอดภัย ทางด้านนิวเคลียร์และรังสี ให้เป็น ไปตามหลักสากล เพื่อให้ประชาชน มีความมั่นใจในความปลอดภัย การ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ความเชือ่ มัน่ และทัศนคติที่ดีต่อส�านักงานปรมาณู เพือ่ สันติภาพ การใช้พลังงานปรมาณู ในทางสั น ติ ทั้ ง ในด้ า นแผนแม่ บ ท การป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย แห่งชาติ แผนปฏิบัติงาน, บุคลากร, การคิ ด ค้ น เครื่ อ งมื อ เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ในการเก็บกู้ ทั้งนี้ ปัจจุบันได้มีการน�าเอาวัสดุกัมมันตรังสีมาใช้ประโยชน์อย่างเเพร่หลาย ทั้งด้าน การเเพทย์ การเกษตร อุตสาหกรรม ศึกษาวิจยั และอืน่ ๆ ซึง่ อาจมีอบุ ตั เิ หตุเกิดขึน้ ได้ตลอดเวลา แม้จะมีการควบคุมความปลอดภัยอย่างรัดกุม นอกจากนี้ ยังได้มกี ารน�าเอาหุน่ ยนต์เก็บกู้ รวมถึงวีดโี อ พรีเซนเทรชัน่ เเสดงขัน้ ตอนการระงับเหตุฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์และรังสี เพือ่ เป็นการประชาสัมพันธ์ การเตรียมความพร้อมกรณีฉกุ เฉินทางนิวเคลียร์เพือ่ ให้ประชาชนมีความเข้าใจมากขึน้ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.oaep.go.th , FB : atoms4peace หรือกลุม่ ส่งเสริม ฝึกอบรมและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ส�านักนโยบายและบริหารด้านพลังงานปรมาณู ส�านักงานปรมาณู เพือ่ สันติ โทร.0-2596-7600 ต่อ 1123-1124
E N E R G Y S AV I N G
11
NEWs REpoRt TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
Eco Expo Asia ครบเครื่องเรื่องสิ่งแวดล้อม สยายปีกในฐานะเวทีนวัตกรรมสีเขียวแห่งเอเชีย ผ่านพ้นไปแล้วอย่างยิง่ ใหญ่และสมบูรณ์แบบ สมกับการฉลองครบรอบปีที่ 10 ส�าหรับงาน แสดงเพือ่ สิง่ แวดล้อม Eco Expo Asia เมือ่ วันที่ 28-31 ตุลาคม 2558 ทีผ่ า่ นมา ณ ศูนย์การ ประชุมและแสดงสินค้า Asia World Expo เขตการปกครองพิ เ ศษฮ่ อ งกง ภายในงาน น�าเสนอนวัตกรรมและเทคโนโลยีสเี ขียว ตัง้ แต่ ผลิตภัณฑ์ส�าหรับที่อยู่อาศัยเพื่อประชาชน ทั่วไป จนถึงผลิตภัณฑ์เพื่อการบริหารจัดการ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ โดยมีวัตถุประสงค์ ในการผลักดันให้เกิดการตระหนักและรับผิดชอบ ร่วมกัน เพื่ อ ปกป้ อ งดู แลและก่อให้เ กิดผล กระทบต่อธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมน้อยทีส่ ดุ การฉลองครบรอบทศวรรษของการจัดงาน ครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก นายเหลียงชุน อิง (Leung Chun-Ying) ผู ้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของ ฮ่องกง ร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดงาน ทัง้ นี้ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง ให้ความส�าคัญกับ การจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างชัดเจนผ่านทาง นโยบายส�าคัญต่าง ๆ ยกตัวอย่างเช่น ความ พยายามในการลดการบริโภคพลังงานลง 40% ภายในปี พ.ศ. 2568 รณรงค์การใช้พลังงาน ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่งเสริมการบริหาร จัดการขยะ ควบคุมคุณภาพอากาศและน�้า ตลอดจนให้ความรูใ้ นสถานศึกษา เป็นต้น โดย นายเหลี ย ง ได้ ก ล่ า วระหว่ า งพิ ธี เปิดงาน ตอกย�้าถึงความใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อม ของรั ฐ บาลอย่ า งจริ ง จั ง ว่ า รั ฐ บาลฮ่ อ งกง ให้การสนับสนุนเทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ และ การบริการเพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างกว้างขวาง เดิ น หน้ า สนั บ สนุ น อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว ในโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่มีความ ยัง่ ยืน ด้วยการเอือ้ ประโยชน์ดา้ นการเงินและ การลงทุนอย่างเต็มที”่ งาน Eco Expo Asia จั ด ขึ้ น โดย ความร่วมมือระหว่าง บริษทั Messe Frankfurt (HK) จ� า กั ด , องค์ ก ารสภาพั ฒ นาการค้ า ฮ่องกง (HKTDC) กระทรวงสิง่ แวดล้อมรัฐบาล ฮ่องกง (HKSAR) และได้รบั การสนับสนุนอย่าง เป็นทางการจากรัฐบาลกลางจีน ตลอดจน 12
E N E R G Y S AV I N G
หน่วยงาน และสมาคมทีเ่ กีย่ วข้องจากนานาประเทศ ภายในงานในปีนมี้ กี ารจัดแบ่งโซนผลิตภัณฑ์จาก หลายกลุม่ อุตสาหกรรม อาทิ คุณภาพอากาศและน�า้ (Air & Water Quality), ผลิตภัณฑ์เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-Friendly Product), อาคารเขียวและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ (Green Building & Energy Efficiency), การคมนาคมสีเขียว Green Transportation และการ บริหารจัดการขยะและการรีไซเคิล (Waste Management & Recycling) ซึง่ ครัง้ ล่าสุด มีผแู้ สดง สินค้า 320 ราย จาก 18 ประเทศทัว่ โลก และมีผชู้ มงานมากกว่า 73,000 ราย โดยผูจ้ ดั งานเปิดเผย กับนิตยสาร Energy Saving ว่า “กลุม่ ผูซ้ อื้ และผูช้ มงานจากภูมภิ าคอาเซียน อาทิ ประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลปิ ปินส์ ให้ความสนใจเดินทางเยีย่ มชมงานมากขึน้ กว่าทุกปีดว้ ย” ในส่วนของกิจกรรมที่น่าสนใจ ประกอบด้วย Green Vehicles เปิดโอกาสให้ผู้ชมงานได้ ร่วมทดสอบยานพาหนะขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า เพื่อสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาด โดยมี ร ถยนต์ ส ่ ว นบุ ค ลล e-Golf ขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยไฟฟ้ า เพี ย งอย่ า งเดี ย วอย่ า งสมบู ร ณ์ แ บบ คันแรกของ Volkswagen และรถแวนอเนกประสงค์ e-NV200 จากค่าย Nissan มาให้ ได้ร่วมขับขี่รอบ ๆ บริเวณด้านนอกอาคารจัดแสดง ส�าหรับรถขนาดใหญ่เพื่อการพาณิชย์ มีการจัดแสดงรถบัสโดยสารไฟฟ้า สามารถขับเคลือ่ นได้ไกล 500 กิโลเมตร ทีพ่ ฒ ั นาระบบโครงสร้าง และเครือ่ งยนต์โดยบริษทั สัญชาติฮอ่ งกงเอง อีกหนึง่ กิจกรรมคือ Green Building Tour น�าพาผูส้ นใจเดินทางไปศึกษาและชมอาคารสถานที่ ณ Hysan Place และ Holiday Inn Express SoHo ซึง่ ทัง้ สองแห่งได้รบั ใบประกาศระดับ BEAM Plus Platinum จากสภาอาคารเขียวฮ่องกง (Hong Kong Green Building Council) ในฐานะอาคาร ทีม่ คี วามโดดเด่นด้านความยัง่ ยืน และการจัดการด้านพลังงาน ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สูบ่ รรยากาศ ใช้ทรัพยากรน�้าและพลังงานอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด เลือกใช้วัสดุในการ ก่อสร้างทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม รวมถึงบรรยากาศการใช้สอยภายในอาคารอยูใ่ นระดับคุณภาพดี เยีย่ ม ทั้งหมดนี้ ไม่ว่าจะเป็นงานแสดงสินค้า การสัมมนาพิเศษในหัวข้อต่าง ๆ จากหน่วยงาน และบุคลากรผู้ทรงเกียรติ ตลอดจนกิจกรรมเปี่ยมคุณภาพที่จัดขึ้นภายในงาน ล้วนช่วยเสริม ศักยภาพให้ Eco Expo Asia เป็นงานแสดงด้านสิ่งแวดล้อม ที่มีศักยภาพในระดับแถวหน้าของ ภูมภิ าคเอเชีย DECEMBER 2015
NEWs REpoRt TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
เปิดตัว บริษัทด้านพลังงานทดแทน น้องใหม่ “SENA SOLAR ENERGY” เป็นที่ทราบกันดีว่า บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) หนึ่งในยักษ์ใหญ่แห่ง วงการอสังหาริมทรัพย์ในบ้านเรา เริ่มหันมาให้ความสนใจเกี่ยวกับระบบโซลาร์เซลล์ ที่ล่าสุดน�ามาใช้กับบ้านจัดสรร และโฮมออฟฟิศในโครงการของเสนา จนล่าสุดได้เปิดตัว บริษัทน้องใหม่ในเครือเสนา ซึ่งจะมาดูแลด้านพลังงานทดแทนโดยเฉพาะ
บริษัท SENA SOLAR ENERGY จัดงานเปิดตัวขึ้น น�าโดย ผศ.ดร. เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ กรรมการ บริหาร บมจ.เสนาดีเวลลอปเม้นท์ พร้อม ทีมผู้บริหารที่เพียบพร้อมด้วยประสบการณ์ ด้านพลังงานทดแทน โดย SENA SOLAR ENERGY มีวตั ถุประสงค์ ด�าเนินธุรกิจพลังงาน แสงอาทิตย์แบบครบวงจร ซึ่งบริษัทมีแผน ขยายการลงทุนโครงการโซลาร์ฟาร์ม โซลาร์รฟู อย่างต่อเนือ่ ง และอยูร่ ะหว่างเสนอราคารับงาน ติ ด ตั้ ง แผงโซลาร์ ใ ห้ ห น่ ว ยงานราชการ ตั้งเป้าหมายติดตั้งแผงโซลาร์ ขนาดก�าลังการ ผลิตรวม 100 MW ภายใน 3 ปี
“ศุภาลัย ริวา แกรนด์”
คอนโดประหยัดพลังงาน บนโค้งแม่น�้าเจ้าพระยา บริษัท ศุภาลัย จ�ากัด (มหาชน) ผู้เชี่ยวชาญ การสร้างสรรค์คอนโดมิเนียม ริมแม่น�้า เปิดตัวโครงการใหม่ “ศุ ภาลั ย ริ วา แกรนด์ ” รี สอร์ ท คอนโดฯ บนโค้งน�้าสวยที่สุด ของแม่น้�าเจ้าพระยา มู ล ค่ า โครงการ 6,800 ล้ า นบาท ดร.ประทีป ตั้งมติธรรม ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ศุภาลัย จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า ศุภาลัย ริวา แกรนด์ ซึง่ มีแนวคิดในการพัฒนาทีพ่ กั อาศัยให้เป็นมากกว่าคอนโดฯ แต่เป็นบ้านพักตากอากาศริมแม่น�้าที่อยู่ได้ทุกวัน โดย 1 อาคาร 3 ทาวเวอร์ Tower A สูง 37 ชั้น Tower B และ C สูง 36 ชั้น (รวมดาดฟ้า) ได้แรงบันดาลใจมาจากการไหลของน�้า ที่ผ่านหินธรรมชาติ จึงน�าลักษณะของหินกรวดแม่น�้า ที่มีลักษณะโค้งมนมาออกแบบตัวอาคาร ผสมผสานการใช้วัสดุโทนสีธรรมชาติ มองเห็นวิวแม่น�้า สะพานภูมิพล รวมถึงทิวทัศน์จากพื้นที่ อนุรกั ษ์บางกระเจ้า ซึง่ เป็นแหล่งผลิตโอโซนบริสทุ ธิ์ เปรียบเสมือนปอดกรุงเทพฯ และยังเป็นอาคาร 14
E N E R G Y S AV I N G
ประหยัดพลังงานด้วยการออกแบบห้องพัก ให้รับแสงและลมตามธรรมชาติ โดยวางแบบ ตัวอาคารช่องเปิดกว้าง เพื่อรับวิว 180 องศา รวมถึงการเลือกใช้กระจกประหยัดพลังงาน และหลอดไฟ LED DECEMBER 2015
NEWs REpoRt TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
เดลล์ จุดพลุฉลอง 20 ปี
ปีที่ 21 กางแผน “Dell 2020 Legacy of Good Plan” เน้นรักษ์โลก เดลล์ จุดพลุฉลองความส�าเร็จตลอด 20 ปีของการด�าเนินธุรกิจในประเทศไทย กับความ ส�าเร็จในการขยายธุรกิจทั้งในส่วนธุรกิจองค์กร (คอมเมอร์เชี่ยล) และธุรกิจในกลุ่ม คอนซูเมอร์อย่างต่อเนื่อง พร้อมประกาศการก้าวเข้าสู่ปีท่ี 21 ด้วยแผนงาน “Dell 2020 Legacy of Good Plan” ที่ไม่เพียงสานต่อพันธกิจเดลล์ในระดับโลก แต่ยังคืนกลับสิ่งที่ดี สู่ลูกค้าทั้งองค์กรธุรกิจและผู้บริโภคในประเทศ ผ่านนวัตกรรมทางเทคโนโลยีที่เดลล์ พัฒนาขึ้นไม่หยุดยั้งอย่างต่อเนื่อง
คุณอโณทัย เวทยากร กรรมการผู้จัดการ บริษัท เดลล์ คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ากัด และผู้จัดการทั่วไป ภาคพื้นอินโดจีน กล่าวว่า ตลอด 20 ปีที่ผ่านมา เดลล์ ประเทศไทย ได้ก่อร่างและขยายธุรกิจมาอย่างมั่นคงและต่อเนื่อง สามารถน�าเสนอ โซลูชนั่ ทางธุรกิจ รวมทัง้ ผลิตภัณฑ์ทตี่ อบโจทย์ความต้องการของผูใ้ ช้ในฝัง่ คอนซูเมอร์ ปรับบทบาท และภาพลักษณ์องค์กรจากการเป็นผู้ค้าคอมพิวเตอร์มาสู่การเป็นผู้ให้บริการโซลูชันด้านไอทีแบบ ครบวงจร (End-to-End Solution Provider) ขยายความร่วมมือ และเพิ่มสัดส่วนการท�าตลาด ผ่านพันธมิตรเพือ่ เสริมความแข็งแกร่งในการด�าเนินธุรกิจและการขยายตลาดให้แข็งแกร่งยิง่ ขึน้ ทัว่ ประเทศ ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพการบริการให้ดีมากยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองความคาดหวังและ ความต้องการของลูกค้าในทุกกลุ่มให้สมบูรณ์ที่สุด ส�าหรับในปีที่ 21 เดลล์ ประเทศไทยประกาศการเดินหน้าธุรกิจภายใต้แผนงาน “Dell 2020 Legacy of Good Plan” เพื่อสานต่อพันธกิจระดับโลกขององค์กร ในการผสานเทคโนโลยีและ ความเชีย่ วชาญทีเ่ ดลล์มที งั้ หมดเพือ่ ท�าให้องค์กรสามารถสร้างสิง่ ทีด่ ที สี่ ดุ คืนกลับผูค้ นและโลกใบนี้ โดยเป้าหมายหลักส่วนหนึ่งของแผนงานคือการท�าให้สายผลิตภัณฑ์มากกว่า 80% ของเดลล์ VOLUME 7 ISSUE 85
เป็นผลิตภัณฑ์ที่ประหยัดพลังงาน (Energy Efficient) พร้อมกับด�าเนินการให้บรรจุภัณฑ์ (Packaging) ทั้งหมดสามารถย่อยสลายหรือ น�ากลับมาใช้ได้ใหม่ทั้งหมด 100% (Wastefree) ที่ ส�า คั ญ คื อเป้ า หมายในการน� า เอา พลาสติกทีไ่ ด้จากกระบวนการรีไซเคิลมากกว่า 50 ล้านปอนด์เข้ามาใช้ในผลิตภัณฑ์ การประกาศแผน 2020 Legacy of Good ในครั้งนี้ เดลล์ ประเทศไทยจะเริ่มด�าเนินการ ในส่วนทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับสิง่ แวดล้อมในขัน้ เริม่ ต้น โดยนอกเหนื อ จากการน� า ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ สามารถช่วยลูกค้าลดปริมาณการใช้พลังงาน (Energy efficiency) รวมถึงวางจ�าหน่าย สินค้าที่มีส่วนประกอบเป็นวัสดุรีไซเคิลแล้ว เดลล์ ยั ง เตรี ย มพร้ อ มที่ จ ะประสานงานกั บ กระทรวงอุตสาหกรรมในส่วนของการเก็บขยะ อิเล็กทรอนิกส์ (e-waste) อีกด้วย ซึ่งเป็นไป ตามเป้าหมายขององค์กรแม่ในการลดจ�านวน ขยะอิเล็กทรอนิกส์ด้วยการน�ากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ให้มากยิ่งขึ้น ทั้ ง นี้ ประเด็ น ทางด้ า นสั ง คมและ สิ่งแวดล้อมก�าลังมีความส�าคัญเพิ่มมากขึ้นต่อ ลูกค้าของเราไม่ว่าจะเป็นในส่วนคอนซูเมอร์ หรือองค์กรธุรกิจ ทั้งในส่วนของการบริหาร จัดการ พนักงาน ไปจนกระทัง่ ภาพลักษณ์ของ แบรนด์ และผลลัพธ์จากการท�าธุรกิจ ลูกค้า ส่วนใหญ่ต้องการบริหารจัดการธุรกิจที่ยั่งยืน รวมถึงท�าธุรกิจกับองค์กรที่มีความรับผิดชอบ ที่มาพร้อมความสามารถในการพัฒนาอย่าง ยั่ ง ยื น ในทุ ก ภาคส่ ว นของการด� า เนิ น งาน ในภาพใหญ่ของ 2020 Legacy of Good Plan ของเดลล์ อิงค์. นั้น เรามองออกไปไกล ในการสร้างแรงบันดาลใจเพื่อก่อให้เกิดการ ด�าเนินการแบบยั่งยืนในระบบนิเวศของเรา ทั้งหมด เพื่อท�าให้การพัฒนาแบบยั่งยืนเป็น สิง่ ทีท่ า� ได้งา่ ยขึน้ ส�าหรับทัง้ ลูกค้าและพันธมิตร ของเรา รวมไปถึงชุมชนที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา
E N E R G Y S AV I N G
15
เอสโซ่ (ประเทศไทย) เปิดแคมเปญการตลาดใหม่ล่าสุด ส�าหรับผลิตภัณฑ์เอสโซ่ และโมบิล บริษัท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จ�ากัด (มหาชน) บริษัทชั้นน�าด้านปิโตรเลียมและปิโตรเคมี เปิดตัวแคมเปญการตลาดใหม่ รวมมูลค่าของรางวัลกว่า 5.5 ล้านบาท พร้อมน�าเสนอ ประสบการณ์ที่เหนือกว่าสู่ผู้บริโภค ด้วยผลิตภัณฑ์น�้ามันเชื้อเพลิงและน�้ามันหล่อลื่น คุณภาพสูงและบริการที่น่าประทับใจ ณ สถานีบริการน�้ามันเอสโซ่ และศูนย์บริการโมบิล 1 คุณยอดพงศ์ สุตธรรม กรรมการและผูจ้ ดั การการตลาดขายปลีก กล่าวว่า “กลุม่ ธุรกิจ การตลาดขายปลีกได้ให้ความส�าคัญกับการมอบประสบการณ์ทเี่ หนือกว่าในการให้บริการ แก่ลกู ค้า โดยมุง่ น�าเสนอน�า้ มันเชือ้ เพลิงคุณภาพซึง่ เพิม่ สมรรถนะให้กบั เครือ่ งยนต์ และ ช่วยประหยัดน�า้ มันได้มากขึน้ เช่น น�า้ มัน เอสโซ่ ซูพรีม ดีเซล พลัส และแก๊สโซฮอล์ ซูพรีม E20 รวมทัง้ ยกระดับการบริการทีส่ ถานีบริการน�า้ มันให้มคี วามสะดวกรวดเร็ว และการให้บริการทีเ่ ป็นมิตร นอกจาก นีเ้ รายังตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีแ่ วะเข้ามาใช้บริการในระหว่างเดินทาง โดยได้รว่ มกับพันธมิตร ในการพัฒนาร้านค้าและบริการทีค่ รอบคลุมความต้องการของผูข้ บั ขีใ่ นทุก ๆ ด้าน ทัง้ ร้านสะดวกซือ้ ร้าน กาแฟ ร้านอาหาร ศูนย์บริการล้างรถ บริการเปลีย่ นถ่ายน�า้ มันเครือ่ ง และคาร์แคร์” เอสโซ่ฯ ยังได้น�าเสนอโปรโมชั่นที่มุ่งมอบประสบการณ์ที่ประทับใจให้แก่ผู้บริโภค โดยลูกค้าที่ เติมน�้ามันเอสโซ่ทุกชนิดครบทุก 600 บาทต่อใบเสร็จ ตั้งแต่วันนี้ ถึง 31 มกราคม 2559 จะได้รับ
คูปองเพือ่ เลือกชิงรางวัลแพ็คเกจเทีย่ วสวนน�า้ การ์ตูนเน็ทเวิร์ค อเมโซน พร้อมที่พักส�าหรับ 4 ท่านและบัตรน�้ามัน จ�านวน 60 รางวัล หรือ บัตรก�านัลช้อปปิ้งเทสโก้ โลตัส ฟรีตลอดปี จ�านวน 60 รางวัล มูลค่ารางวัลละ 40,000 บาท รวม 120 รางวัล นอกจากนี้ยังสามารถ สะสมชิ้นส่วนท้ายคูปองสองใบเพื่อแลกซื้อ ไอศกรีมแมคโดนัลในราคาพิเศษได้อีกด้วย
กลุ่ม ปตท. ร่วมกับกลุ่มโรงกลั่นฯ ส.อ.ท. คาดการณ์ราคาน�้ามันปี 59
ส่องตลาดน�า้ มันปี 59 กลุม่ อุตสาหกรรมโรงกลัน่ ร่วมกับทีมนักวิเคราะห์ สถานการณ์นา�้ มันของกลุม่ ปตท. คาดการณ์ราคาน�า้ มันดิบดูไบ 53-56 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทั้งยังผันผวนต่อเนื่องจากเศรษฐกิจจีน ชะลอตัว สถานการณ์ความรุนแรงในตะวันออกกลางและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ
ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ www.tnews.co.th
16
E N E R G Y S AV I N G
ในงานสัมมนา “The Annual Petroleum Outlook Forum จับตาราคาน�า้ มันโลก รับมืออนาคตน�า้ มันไทย” ซึง่ ทีมนักวิเคราะห์สถานการณ์นา�้ มันของกลุม่ ปตท. หรือ PRISM (Petrochemicals and Refining Integrated Synergy Management) ได้รว่ มกับ กลุม่ อุตสาหกรรมโรงกลัน่ น�า้ มันปิโตรเลียม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย จัดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 5 เพือ่ น�าเสนอข้อมูลและมุมมองเกีย่ วกับราคาน�า้ มันเชือ้ เพลิง รวมถึงปัจจัย ต่าง ๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบกับราคาน�า้ มัน ตลอดจนแนวโน้มของทิศทางน�า้ มัน เชือ้ เพลิงในอนาคต คุณสุกฤตย์ สุรบถโสภณ ประธานกลุม่ อุตสาหกรรมโรงกลัน่ น�า้ มัน ปิโตรเลียม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เปิดเผยถึงทิศทางและ แนวโน้มสถานการณ์นา�้ มันของโลกในปี 2559 ว่า ทิศทางราคาน�า้ มัน ดิบในตลาดโลกในปีหน้า คาดว่าจะยังคงผันผวนและมีแนวโน้มปรับตัว เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยเมือ่ เทียบกับปี 2558 โดยราคาน�า้ มันดิบดูไบอยูใ่ นระดับ 53-56 เหรียญสหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ทัง้ นี้ จากการทีส่ หรัฐฯ สามารถผลิต น�า้ มันดิบได้อย่างต่อเนือ่ ง ท�าให้สามารถลดการพึง่ พาการน�าเข้าน�า้ มัน ดิบลงได้ ประกอบกับกลุม่ โอเปก เช่น ซาอุดอิ าระเบีย ทีย่ งั ผลิตน�า้ มัน อย่างต่อเนือ่ งจากซาอุดอิ าระเบีย และการกลับมาส่งออกน�า้ มันของ อิรกั และอิหร่าน ส่งผลให้มปี ริมาณน�า้ มันในตลาดค่อนข้างมาก อย่างไร ก็ตาม ราคาน�า้ มันดิบมีโอกาสเคลือ่ นไหวเกินกรอบทีค่ าดการณ์ไว้หากเกิด เหตุการณ์ทไี่ ม่คาดคิด เช่น ความขัดแย้งในกลุม่ ประเทศตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือหรือภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ อย่างไรก็ดี ซึง่ จะส่งผล กระทบต่อราคาน�า้ มันดิบในระยะเวลาสัน้ ๆ เท่านัน้ DECEMBER 2015
Around the world TEXT : อังกฤษ ศรีสิริมานิต
Gi FlyBike จักรยานไฟฟ้าเชื้อสายอาร์เจนฯ
สุดฉลาด เก็บง่าย เดินทางสะดวก คนรักจักรยานต้องถูกใจไปตาม ๆ กัน เพราะขณะนีม้ รี ถจักรยานไฟฟ้าแห่งอนาคตทีใ่ ช้เวลาใน การพับเก็บเพียง 1 วินาที ออกแบบโดยทีมดีไซเนอร์จากประเทศอาร์เจนตินา ประกอบด้วย Mr.Lucas Toledo, Mr. Agustín Agostinoy และ Mr.Eric Sevilla โดยหลังจากท�าการศึกษาค้นคว้า มาอย่างมากมาย ในเรือ่ งคมนาคมขนส่งและการเดินทาง จึงเข้าใจและตระหนักดีวา่ จักรยานควรมีนา�้ หนักเบา และเรียบง่าย อีกทัง้ ยังเห็นถึงความจ�าเป็นของโทรศัพท์มอื ถือทีจ่ ะติดไว้ตรงแฮนด์จกั รยาน ซึง่ เป็นวิธที ดี่ ี ทีส่ ดุ ทีจ่ ะช่วยในการเชือ่ มต่อกับเส้นทางโดยรอบ ไม่วา่ จะอยูท่ เ่ี มืองใดก็ตาม จักรยาน Gi FlyBike ทีพ่ บั ได้นนั้ ดีไซน์ออกมาเพือ่ ให้งา่ ยต่อการเก็บ เหมาะส�าหรับผูค้ นทีอ่ าศัยอยูใ่ น บ้านหรืออพาร์ทเมนท์ขนาดเล็ก รถจักรยานคันนีท้ า� งานได้อย่างครบวงจรยิง่ ขึน้ เมือ่ ได้เชือ่ มต่อกับสมาร์ทโฟน เพือ่ แสดงผลให้ผขู้ จี่ กั รยานทราบเส้นทางทีด่ ที สี่ ดุ ในการเดินทาง ทัง้ ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยทีย่ อดเยีย่ ม ซึ่งเมื่อคุณลืมล็อครถจักรยาน แอพพลิเคชั่นของรถจักรยานจะท�างานแทนคุณโดยอัตโนมัติทันที เมือ่ ตรวจพบว่าคุณออกห่างจากตัวรถจักรยานไปเกินกว่า 5 เมตร และถ้าเพือ่ นของคุณต้องการยืมรถ จักรยาน คุณจ�าเป็นต้องบอกรหัสให้กบั เพือ่ นของคุณ เพือ่ ใช้ในการปลดล็อครถจักรยานอีกด้วย และถ้าเกิดแบตเตอรีโ่ ทรศัพท์ของคุณเกิดหมดขึน้ มากะทันหัน ก็สามารถทีจ่ ะชาร์จไฟได้โดยการปัน่ จักรยาน ซึง่ พลังงานทีไ่ ด้จากการปัน่ จักรยานยังสามารถใช้เป็นพลังงานในการขับเคลือ่ นจักรยานได้ดว้ ย ความเร็วสูงสุดที่ 25 กิโลเมตรต่อชัว่ โมงและขับเคลือ่ นได้ไกลกว่า 60 กิโลเมตร จากการชาร์จเพียงแค่ ครัง้ เดียว ท�าให้คณ ุ ไม่ตอ้ งหยุดพักและไปถึงทีห่ มายได้ทนั เวลา
Gi FlyBike สามารถรองรับการท�างานได้ทกุ ระบบ ทัง้ Android และ iOS ทีม่ รี ะบบน�าทาง GPS อีกทัง้ ผูอ้ อกแบบยังค�านึงถึงเรือ่ งของความ ปลอดภัยเป็นหลัก ทั้งไฟหน้าที่จะช่วยในการ ขับขีย่ ามค�า่ คืน และระบบป้องกันการโจรกรรม เมื่อเกิดการโจรกรรมขึ้นระบบช่วยในการค้นหา และติดตาม ขณะนี้สามารถสั่งซื้อจักรยานคัน นี้มาเป็นเจ้าของได้แล้ว สนนราคาเพียง 1,990 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ เท่านัน้
ที่มาและภาพประกอบ: http://interestingengineering.com แปลและเรียบเรียงบทความโดยCopyright: www.energysavingmedia.com
18
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
จักรยานผลิตพลังงานไฟฟ้า
ที่ประดิษฐ์ได้เองที่บ้าน การออกก�าลังกายในปัจจุบนั นัน้ มีอยูห่ ลากหลายรูปแบบด้วยกัน ล้วนแล้วแต่เป็นการฝึกฝนร่างกายให้แข็งแรง ทั้งสิ้น แต่ถ้าการออกก�าลังกายของคุณ นัน้ สามารถสร้างพลังงานไฟฟ้าได้ดว้ ยล่ะ จะเป็นอย่างไร ทีมนักออกแบบ ที่มีชื่อว่า KlockworkKevin ได้น�าอุปกรณ์ใกล้ตัวที่หา ได้จากภายในบ้านมาประดิษฐ์และสร้าง พลังงานไฟฟ้า โดยได้เลือกใช้รถจักรยาน และโต๊ะนัง่ เล่นริมระเบียงบ้านธรรมดา ๆ จะมีแค่อปุ กรณ์กกั เก็บประจุไฟฟ้าเท่านัน้ ทีท่ มี นักออกแบบได้ซอื้ มาเพิม่ เติม ใช้เวลา ประกอบเพียงไม่นานเท่านัน้ ก็กลายเป็น เครือ่ งผลิตพลังงานไฟฟ้าได้อย่างง่ายดาย ด้านการใช้งานนัน้ ท�าได้โดยการน�าล้อหน้า
จักรยานมาประกอบยึดติดไว้กบั ตัวโต๊ะ และให้ลอ้ หลังอยูบ่ น สายพานทีเ่ ชือ่ มต่อกับเครือ่ งเก็บประจุไฟฟ้า การสร้างกระแส ไฟจะท�าได้ด้วยการออกแรงถีบจักรยานเหมือนกับเวลาปั่น จักรยานแบบปกติทว่ั ไป
Smart Ped สกู๊ตเตอร์สุดเนี๊ยบ ยิ่งออกแรงยิ่งไปไกล
บริษทั “FlyKly” ผูอ้ ยูเ่ บือ้ งหลังความส�าเร็จครัง้ ยิง่ ใหญ่ของยนตรกรรม Smart Ped สกูต๊ เตอร์ ทีผ่ ลิตขึน้ ในเมืองมิลาน ประเทศอิตาลี โดยเจ้าสกูต๊ เตอร์เชือ้ สายอิตาลีนแี้ ตกต่างจากสกูต๊ เตอร์ ไฟฟ้าทั่วไป ตรงที่ไม่มีปุ่มสตาร์ทเพราะ Smart Ped จะสามารถใช้งานได้ก็ต่อเมื่อผู้ขับขี่ออกแรงดัน ท�าให้สกู๊ตเตอร์ขับเคลื่อนออกไปได้ และด้วยเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้าที่ถูก
ส�าหรับโครงการต่อไปของกลุ่มนักออกแบบ KlockworkKevin ตั้งใจจะเสริมส่วนประกอบ ของแผงวงจรโซล่าร์เซลล์ หรือบางทีอาจจะ เพิ่ ม กั ง หั น พลั ง งานลมเข้ า ไปอี ก เพื่ อ พั ฒ นา ประสิทธิภาพในการสร้างพลังงานไฟฟ้า ให้เพิม่ มากยิง่ ขึน้ อีกในอนาคต
ที่มาและภาพประกอบ: http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com
ติดตัง้ ในล้อหลัง ยิง่ ผูข้ บั ขีอ่ อกแรงดันมากเท่าไหร่ เจ้ า สกู ๊ ต เตอร์ คั น นี้ ก็ ยิ่ ง ขั บ เคลื่ อ นออกไปได้ ไกลมากขึ้นเท่านั้น และสามารถค้างอยู่ได้นาน ถึง 500 วินาทีเลยทีเดียว โดยมีความเร็วสูงสุด ถึง 25 กิโลเมตรต่อชั่วโมงเลยทีเดียว สกู๊ตเตอร์ Smart Ped มีขนาด 10 x 135 x 17 เซนติ เ มตร โดยองค์ ป ระกอบส่ ว นใหญ่ ท�ามาจากเหล็ก แต่ยังคงมีน�้าหนักที่เบาเพียง แค่ 11 กิโลกรัมเท่านั้น และสามารถพับเก็บได้ อีกด้วย ถือเป็นการลดขนาดตัวรถลงอย่างเห็น ได้ชดั ท�าให้ไม่เกะกะ ช่วยให้การเดินทางเป็นไป อย่างง่ายดายและสะดวกสบายยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ ยั ง มาพร้ อ มกั บ การเชื่ อ มต่ อ ผ่ า นทางระบบ แอพพลิเคชั่น รองรับกับอุปกรณ์สมาร์ทโฟนทั้ง ในระบบ iOS และ Android ช่วยค�านวณระยะทาง และบันทึกสถิติ ตอบสนองการใช้งานได้อย่าง เต็มรูปแบบ บริษทั FlyKly เปิดตัวสกูต๊ เตอร์ Smart Ped โดยสนนราคาส� า หรั บ การสั่ ง จองอยู ่ ที่ 699 ยูโร หรือประมาณ 790 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ ซึ่งขณะนี้มีเฉดสีให้เลือกเพียงแค่ 2 สีเท่านั้น คือ ขาวและด�า แต่ในอนาคตจะมีเฉดสีต่าง ๆ เพิ่มเข้ามาให้เลือกซื้อหากันอย่างแน่นอน
ที่มาและภาพประกอบ: http://www.gizmag.com แปลและเรียบเรียงบทความโดยCopyright: www.energysavingmedia.com
VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
19
สามล้อพลังไฮบริด ชาร์จครั้งเดียววิ่งได้ 100 ไมล์
Mr. Peter Ginzburg ออกแบบยานพาหนะทีม่ ชี อื่ ว่า “GinzVelo” หรือ human-electric hybrid vehicle (HEH) จักรยานสามล้อพลังงานไฮบริด ทีจ่ ะเปลีย่ นการเดินทางของประชากร ภายในเมืองไปตลอดกาล จุดขายของจักรยานสามล้อคันนี้ มีสงิ่ ทีท่ า� ให้ประทับใจ คือ สามารถขับเคลือ่ นได้ระยะทางมากกว่า 100 ไมล์ ในการชาร์จเพียงครัง้ เดียว ตัวเครือ่ งยนต์ใช้พลังงานไฟฟ้า 500 วัตต์ ท�าความเร็วได้กว่า 30 ไมล์ ต่อชัว่ โมง ส�าหรับท่าทางทีใ่ ช้ในการขับขีส่ ามล้อสุดเก๋คนั นี้ จะเป็นท่านัง่ สบาย ๆ ทีเ่ อนหลังจนเกือบจะ เหมือนท่านอน ท�าให้การขับขีใ่ นระยะทางไกลเป็นไปอย่างสบาย และทีมผูส้ ร้างได้ออกแบบให้จกั รยาน สามล้อคันดังกล่าวมีหลังคา เพือ่ เตรียมพร้อมรับมือกับทุกสภาพอากาศ สะดวกสบายต่อการขับขีใ่ นทุก สภาพแวดล้อม โดย GinzVelo เหมือนกับรถยนต์แทบทุกประการ ทัง้ ไฟหน้า ไฟเลีย้ ว ไฟเบรค และ กระจกมองข้าง แต่สงิ่ ทีแ่ ตกต่างกัน คือ GinzVelo จะประหยัดพลังงานมากกว่า และสามารถวิง่ ไปบน ทางเท้าหรือจะจอดบนทางเท้าก็ยอ่ มได้ ผูผ้ ลิตมีความหวังทีจ่ ะได้เห็นจักรยานสามล้อปฏิวตั กิ ารเดินทางของประชาชนทัง้ ในชุมชนขนาดเล็ก
ShareRoller มอเตอร์สุดเจ๋ง
แปลงร่างจักรยานธรรมดาให้เป็นจักรยานไฟฟ้าแบบเก๋ ๆ
ขณะนี้ได้มีการเปิดตัวนวัตกรรมสุดล�้า ภายใต้ ชื่ อ แบรนด์ ShareRoller ที่ จ ะมาเปลี่ ย น รูปแบบของการเดินทางโดยรถจักรยานให้สะดวกยิง่ ขึน้ ด้วยระบบมอเตอร์ไฟฟ้าขนาดเล็กทีท่ างผูผ้ ลิตได้คดิ ค้น ขึน้ มา ซึง่ จะช่วยเปลีย่ นสภาพของรถจักรยานธรรมดา ๆ ทั่วไป ให้กลายมาเป็นรถจักรยานไฟฟ้าได้เพียงแค่ 20
E N E R G Y S AV I N G
ติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวเข้ากับตัวรถจักรยาน เท่านั้น โดยนวัตกรรมชิ้นนี้สามารถรองรับ การใช้งานได้กับจักรยานแทบทุกรุ่นที่มีวาง ขายในท้องตลาด ด้ ว ยน�้ า หนั ก เพี ย ง 5.5 ปอนด์ หรื อ ประมาณ 2.5 กิโลกรัม ท�าให้มอเตอร์ไฟฟ้านี้ พกพาไปไหนมาไหนได้อย่างสะดวกสบาย นอกจากนี้ยังมีขนาดเล็กสามารถเก็บใส่ใน กระเป๋าได้อย่างง่ายดาย ส�าหรับการติดตั้ง เพียงแค่ติดอุปกรณ์เข้ากับล้อหน้าของตัวรถ จักรยาน ซึ่งใช้เวลาเพียง 10 วินาทีเท่านั้น ก็สามารถใช้งานได้แล้ว โดย ShareRoller ได้ผลิตมอเตอร์ออกมาหลากหลายรูปแบบ โดยในรุ่น 750 วัตต์ นั้น สามารถผลิตกระแส
และการเดินทางภายในเมือง ด้วยพลังแบตเตอรี่ GinzVelo สามารถวิง่ ได้ 75 - 100 ไมล์ และขับเคลือ่ น ได้ 20 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง โดยทีผ่ ขู้ บั ขีไ่ ม่ตอ้ งออกแรง ปั่น แต่ถ้าต้องการขับเคลื่อนให้เร็วกว่านั้นก็ สามารถที่ จ ะใช้ แรงปั ่ น เพิ่ ม ได้ Mr. Peter ได้ปล่อยแผนงานของเขาออกไปสู่ Kickstarter* และเมื่ อ แผนงานนี้ ป รากฎสู ่ ส าธารณะชน เพียงไม่กวี่ นั ก็มผี รู้ ว่ มระดมทุนมากมาย ยอดรวม บริจาคกว่า 6,000 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ ส่งผล ให้ผผู้ ลิตมีความมั่นใจว่าผลงานนีจ้ ะต้องประสบ ความส�าเร็จและสร้างยอดขายได้มากกว่า 50,000 เหรียญดอลล่าร์สหรัฐ หมายเหตุ Kickstarter* คือแหล่งระดมทุน ชื่อดังที่เปิดโอกาสให้ผู้ที่มีไอเดียเจ๋ง ๆ แต่ขาด เงินสนับสนุน โดยน�าเสนอแนวคิดผลงานผ่านทาง เว็บไซต์เพือ่ เชิญชวนให้ผคู้ นช่วยกันร่วมสนับสนุน เงินเพื่อท�าให้สิ่งของนั้นเกิดขึ้นมาเป็นรูปธรรม ซึง่ ทีผ่ า่ นมาก็มหี ลากหลายโครงการประสบความ ส�าเร็จ ที่มาและภาพประกอบ: http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com
ไฟฟ้าและสร้างก�าลังให้รถจักรยานขับเคลือ่ นไป ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 20 ไมล์ต่อชั่วโมง และวิ่ง ได้ระยะทางกว่า 14-20 ไมล์ โดยไม่ตอ้ งออกแรง ปั่นแม้แต่น้อย และส�าหรับมอเตอร์ในรุ่นที่ใหญ่ ขึ้นมาอีก ช่วยให้สามารถเพิ่มระยะทางการวิ่ง ไปได้ถึง 25-36 ไมล์ เลยทีเดียว ทั้งนี้ถ้าผู้ขับขี่ ต้ อ งการเลื อ กที่ จ ะออกแรงปั ่ น จั ก รยานด้ ว ย ตนเองก็ทา� ได้ดว้ ยการกดปุม่ เปิด-ปิด หรือแม้แต่ จะเลือกปริมาณของก�าลังไฟฟ้าที่จะปล่อยออก มาก็ท�าได้เช่นกัน ShareRoller สนนราคาอยู่ที่ 649 เหรียญ ดอลล่ า ร์ ส หรั ฐ และ 948 เหรี ย ญดอลล่ า ร์ สหัรฐ ซึง่ ดูเหมือนจะแพงเกินไป แต่ถา้ เปรียบเทียบ และพิ จ ารณาราคาของจั ก รยานไฟฟ้ า แล้ ว Shareroller ถือว่าเป็นตัวเลือกทีค่ มุ้ ค่าอย่างยิง่ ที่มาและภาพประกอบ: http://inhabitat.com แปลและเรียบเรียงบทความโดย Copyright : www.energysavingmedia.com
DECEMBER 2015
cover story TEXT : กองบรรณาธิการ
มิตซูบิชิ อีเล็ตอบโจทย์ คทริค ลูกค้าตรงจุด
กับธุรกิจพลังงานสะอาด
ในสถานการณ์ปัจจุบันการขาดแคลนพลังงานเป็นปัญหาใหญ่ที่หลายภาคส่วน ก�าลังจับตามอง และหาทางแก้ไขปัญหานี้อยู่ จึงท�าให้มีการคิดค้นเพื่อจะหาแหล่ง พลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ “แผงโซล่าเซลล์” ถือเป็นนวัตกรรมหนึ่ง ซึ่งได้มี การพัฒนาให้มีประสิทธิภาพส�าหรับการกักเก็บแสงอาทิตย์ เพื่อน�ามาเป็นพลังงาน ทดแทนในการผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า เนื่องจากเทคโนโลยีที่ใช้แปลงพลังงานจาก แสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้านั้น มีความสะดวก ง่ายต่อการใช้งาน อายุการ ใช้งานยาวนาน ไม่ต้องการการบ�ารุงรักษามากนัก ใช้ได้ในทุกสถานที่ที่มีแสงจาก ดวงอาทิตย์เพียงพอ รวมทั้งกระบวนการที่ผลิตพลังงานนั้นมีความสะอาดเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม และประการส�าคัญก็คือ แสงอาทิตย์เป็นพลังงานที่มีอยู่แล้ว ในธรรมชาติเพียงพอต่อความต้องการ ซึ่งเป็นหนึ่งในพลังงานที่มีความยั่งยืน ไม่มีที่สิ้นสุดอีกด้วย
22
E N E R G Y S AV I N G
บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์อตุ สาหกรรม จ�ากัด หรือ SCI เป็นบริษัทในเครือ บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศญี่ปุ่น) ซึ่งเป็นผู้ผลิต คอมเพรสเซอร์ระบบโรตารี และ SCROLL ส�าหรับ เครื่องปรับอากาศภายในบ้าน โดยมีส่วนแบ่งตลาด เป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย ได้รับรองมาตรฐานด้าน ระบบบริหารคุณภาพ (ISO 9001) ระบบการจัดการ ด้านสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) และระบบการจัดการ ด้านชีวอนามัย (มอก.18001) ตั้งอยู่บนพื้นที่ 105 ไร่ ณ นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี ด้วย ความเป็นโรงงานผู้ผลิตชั้นน�า และได้รับการถ่ายทอด เทคโนโลยี อั น เชี่ ย วชาญด้ า นการใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ประสิทธิภาพจากบริษทั แม่ ในระบบควบคุมการผลิตใน โรงงานตลอดกระบวนการผลิต ล้วนอยูภ่ ายใต้การค�านึงถึง การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ดั ง วิ สั ย ทั ศ น์ ด ้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม 2021 (Environmental Vision 2021) ที่เป็นวิสัยทัศน์ เกีย่ วกับการจัดการด้านสิง่ แวดล้อมระยะยาวของบริษทั ในกลุ่มมิตซูบิชิ อีเล็คทริค ปี ค.ศ.2021 ซึ่งนอกจาก จะเป็นปีเป้าหมายแล้ว ยังเป็นปีที่มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ครบรอบ 100 ปี ที่ บ ริ ษั ท มี เ ป้ า หมายในการขยาย ขอบข่ายการใช้เทคโนโลยีอนั ล�า้ สมัย พร้อมกับการรักษา สิ่งแวดล้อมโดยค�านึงถึงการ สร้างสังคมคาร์บอนต�่า ลดการปล่อยคาร์บอน สร้างสังคมที่มีการรีไซเคิลเป็นพื้นฐาน ค�านึงถึงความหลากหลายทางชีวภาพ ประสาน ความกลมกลืนกับธรรมชาติ และตระหนักถึงสิง่ แวดล้อม
DECEMBER 2015
มุ่งสู่ความเป็น Green Company
บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์อุตสาหกรรม จ�ากัด เป็นอีกหนึ่งบริษัทที่ให้ความส�าคัญใน เรื่องของสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน ซึ่งทางบริษัทมีการจัดท�าแผนแม่บทส�าหรับ การบริ ห ารจั ด การ ส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมด้ า น สิง่ แวดล้อม โดยการน�าหลักการของเทคโนโลยี สะอาด (Clean Technology) มาใช้ ซึ่งได้ก�าหนดไว้เป็นส่วนหนึ่งในแผนธุรกิจของ กิจการ มีการจัดเตรียมงบประมาณส�าหรับ โครงการด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ อาทิ โครงการติดตั้ง Solar PV system เพื่อน�า พลังงานแสงอาทิตย์มาใช้งาน โครงการก�าจัด Green House Gas หรือ GHG เพื่ อ ลดภาวะโลกร้ อ น (Global Warming) โครงการส่งเสริม กระตุ้น สร้างจิตส�านึก ด้านสิง่ แวดล้อมให้กบั บุคลากรโดยได้กา� หนด วัฒนธรรมสีเขียวขององค์กรขึน้ และรณรงค์ ส่งเสริมให้บุคลากรภายในองค์กรรับทราบ และยึดถือปฏิบตั กิ นั จนเป็นนิสยั ขณะเดียวกัน บริษทั ยังได้ให้ความร่วมมือ สนับสนุน การด�าเนิน กิ จ กรรมด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชนอย่าง ต่อเนือ่ งมาโดยตลอด คุณทาเคชิ ฟุชกิ ิ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จ�ากัด ได้ ก ล่ า วถึ ง นโยบายในการบริ ห ารจั ด การ สิง่ แวดล้อมของบริษทั ฯ ว่า SCI มีความมุง่ มัน่ เป็น Green Company โดยยึดหลักการด�าเนิน ธุรกิจให้เติบโต ควบคูไ่ ปกับการดูแลสิง่ แวดล้อม ของเราให้ยงั่ ยืน โดยบริษทั ได้กา� หนดนโยบาย การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมขึ้นอย่างชัดเจน และได้เผยแพร่สอื่ สารให้กบั ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้อง ได้รบั ทราบ อาทิ นโยบายในการด�าเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ของบริษทั จะต้องไม่กอ่ ให้เกิดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม มีความเคร่งครัดในการปฏิบตั ิ เพื่อให้สอดคล้องกับข้อก�าหนดของกฎหมาย มี ก ารส่ ง เสริ ม การออกแบบ พั ฒ นา วิ จั ย ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยการ พัฒนาวิจัยเพิ่มประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์
VOLUME 7 ISSUE 85
SCI มีความมุ่งมั่น เป็น Green Company โดยยึดหลักการด�าเนินธุรกิจ ให้เติบโต ควบคู่ไปกับ การดูแลสิ่งแวดล้อม ของเราให้ยั่งยืน
คุณทาเคชิ ฟุชิกิ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จ�ากัด
เพือ่ ให้ใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังมุ่งเน้นส่งเสริมให้บุคลากรขององค์กร มี ค วามตระหนั ก และใส่ ใ จรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สิง่ แวดล้อมโดยใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
พลังงานทดแทนทีส่ ะอาด ปราศจากมลพิษ
เพราะด้วยลักษณะของโรงงานที่ต้องใช้ พลังงานอย่างมากในการผลิตสินค้า การค้นหา พลังงานทดแทน เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ลง จึงเป็นสิง่ ทีเ่ ห็นผลเป็นรูปธรรมมากทีส่ ดุ การ ค้นหาแหล่งผลิตพลังงานเพื่อทดแทนพลังงาน ไฟฟ้า จึงเป็นข้อพิจารณาอันดับต้น ๆ นอกเหนือ จากกิจกรรมด้านอืน่ ๆ ทีส่ ามารถท�าได้ ซึง่ หลัง จากศึกษาความเป็นไปได้ทั้งหมดในหลาย ๆ ด้านแล้ว การเลือกน�าพลังงานจากแสงอาทิตย์ มาช่วยผลิตพลังงานไฟฟ้า ถือว่าเป็นสิง่ ทีเ่ หมาะสม ที่สุดส�าหรับที่นี่ โครงการติดตั้ง Solar PV system จึงได้ถูกบรรจุเข้ามาในแผนตั้งแต่ปี 2014 เป็นต้นมา โดยคาดหวังว่า เมื่อสิ้นสุด โครงการจะสามารถน�าพลังงานแสงอาทิตย์มา ผลิตพลังงานไฟฟ้าใช้ภายในโรงงานได้ไม่ตา�่ กว่า 9,929 MWh (เมกกะวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง) ต่อปี ปัจจุบันบริษัทได้มีการด�าเนินการติดตั้ง Solar PV system ไปแล้วประมาณ 1.3 MWp
(1,300 กิโลวัตต์) โดยระบบสามารถให้พลังงาน เทียบเท่ากับพลังงานไฟฟ้าปีละกว่า 2,004 MWh (เมกกะวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง) หรือสามารถลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ได้ปีละกว่า 1,194 ตัน อย่างไรก็ดบี ริษทั ยังคงมีแผนติดตัง้ ระบบดังกล่าวต่อไปในอนาคต โดยในปี 2016 บริษทั มีแผนทีจ่ ะด�าเนินการติดตัง้ ระบบเพิม่ เติม อีกขนาด 1.387 MWp (1,387 กิโลวัตต์) ซึง่ จะส่งผลท�าให้บริษทั มีกา� ลังติดตัง้ รวมเป็น 2.8 MWp(2,800 กิโลวัตต์) ซึง่ ขณะนีอ้ ยูร่ ะหว่างการ ออกแบบการติดตัง้ ระบบ ซึง่ การติดตัง้ ดังกล่าว คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในเดือนกันยายนของ ปี 2016 และบริษทั ยังคงมีแผนทีจ่ ะด�าเนินการ ติดตัง้ ระบบเพิม่ เติมในปีถดั ๆ ไปอีกด้วย ส�าหรับการเลือกบริษทั ทีเ่ ข้ามาดูแลในเรือ่ ง ของการติดตัง้ แผงโซล่าเซล์นนั้ ทาง SCI ได้เลือก บริษทั มิตซูบชิ ิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา จ�ากัด ซึง่ ถือว่าเป็นบริษทั ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญทางด้านนี้ โดยตรง คุณขจรศักดิ์ สุวฒ ั น์ธนากร กรรมการ รองผู้จัดการ บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์ อุ ต สาหกรรม จ� า กั ด ได้ ก ล่ า วถึ ง เหตุ ผ ลที่ เลือกใช้แผงโซล่าเซลล์ของมิตซูบิชิ อีเล็คทริค ว่า ประกอบด้วย 2 เหตุผล คือ เหตุผลแรก แผงโซล่ า เซลล์ ข องมิ ต ซู บิ ชิ อี เ ล็ ค ทริ ค เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ
E N E R G Y S AV I N G
23
ในเวลาที่ SCI มีก�าลังเพียงพอ ที่จะลงทุนเพื่อสิ่งแวดล้อม SCI ก็กล้าที่จะลงทุน โดยก�าหนดเป็นแผน ระยะยาว 5 ปี คุณขจรศักดิ์ สุวัฒน์ธนากร กรรมการรองผู้จัดการ บริษัท สยามคอมเพรสเซอร์ อุตสาหกรรม จ�ากัด
ในการผลิตไฟฟ้าสูงมาก ซึง่ หลังจากการติดตัง้ วัดผลแล้ว สามารถผลิตไฟฟ้าได้มากกว่าที่ คาดการณ์ไว้กว่า 10% นั่นท�าให้ระยะเวลา การคืนทุนสั้นลงอย่างชัดเจน และเหตุผลที่ สอง ก็คือ SCI เป็นบริษัทในเครือของ มิตซูบิชิ อีเล็คทริค การใช้สินค้าของบริษัทในเครือ เป็นการแสดงถึงความมั่นใจในคุณภาพสินค้า ของเรา และจากการติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ของ มิตซูบิชิ อีเล็คทริค ไปแล้ว 2 โครงการ มูลค่า ประมาณ 86,000,000บาท สามารถผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ ถึง 1,122 MWh (เมกกะวัตต์ตอ่ ชัว่ โมง) ต่อปี เมือ่ ติดตัง้ เสร็จสิน้ ยังสามารถผลิตไฟฟ้าได้เกินเป้าหมาย ที่วางไว้ตลอดมา และไม่มีปัญหาการขัดข้อง หรือการซ่อมบ�ารุงใด ๆ เลย ถือว่า แผงโซล่าเซลล์ ของ มิตซูบิชิ อีเล็คทริค นั้นมั่นใจได้ในเรื่อง ของคุณภาพ และคุ้มค่าจริง ๆ ทั้งนี้ทางบริษัท ยังมีแผนที่จะลงทุนโครงการที่ 3 ในปีหน้า ตามแผนงานของบริษัทต่อไป ซึ่งการติดตั้ง โซล่าเซลล์ของโรงงาน SCI ในปัจจุบนั ถือว่า เป็นโรงงานที่ติดตั้งแผงโซล่าเซลล์ เพื่อผลิต ก�าลังไฟฟ้าใช้ในอุตสาหกรรมของโรงงานทีม่ ี ก�าลังผลิตได้สูงที่สุดในประเทศไทย
วัฒนธรรมสีเขียวขององค์กร
และส� า หรั บ นโยบายในการมุ ่ ง มั่ น เป็ น Green Company นัน้ ยังมีรายละเอียดต่าง ๆ ในการบริหารจัดการด้านอื่น ๆ อีก โดยเราได้ แบ่งเป็นมุมมอง 5 ด้าน คือ 1. Greening of Company คือ ท�าให้ SCI เป็นบริษัทที่ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม จาก ภายในสูภ่ ายนอก (Inside Out) ซึง่ หมายถึง 24
E N E R G Y S AV I N G
2.
3.
4.
5.
การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมจากภายในบริษทั ให้ดีที่สุด และขยายขอบเขตไปสู่ภายนอก บริษัท นั่นคือ ชุมชน และสังคม Greening of Product คือการวิจัยและ พั ฒ นาสิ น ค้ า ให้ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ไม่ ใช้ ส ารเคมี หรื อ วั ส ดุ ต ้ อ งห้ า ม และ มุ ่ ง เน้ น การพั ฒ นาสิ น ค้ า ให้ เ ป็ น สิ น ค้ า ประหยัดพลังงาน มีประสิทธิภาพสูง และ ใช้ทรัพยากรให้น้อยและคุ้มค่าที่สุด Greening of Process คือการน�า Clean Technology เข้ามาใช้ในกระบวนการ ผลิต ให้เป็นโรงงานที่มีกระบวนการผลิตที่ สะอาด ไม่สร้างมลพิษต่อสังคม ประหยัด พลังงาน และ ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าทีส่ ดุ Greening of waste คือ การจัดการ ของเสียจากการด�าเนินงานให้ถูกต้องตาม หลักกฎหมายและสิง่ แวดล้อม ลดการฝังกลบ ซึ่ ง ถื อ เป็ น การปล่ อ ยของเสี ย โดยตรงสู ่ สิ่งแวดล้อม และสร้างนิสัยการแยกแยะ ขยะให้กับพนักงาน Greening of People คือ การตระหนักรู้ ถึงความส�าคัญของการดูแลสิง่ แวดล้อมและ ประหยัดพลังงาน และมุง่ มัน่ น�าพา SCI เป็น Green Company ให้เป็นจริงให้ได้
จะเห็นได้วา่ ในการน�าพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้ ถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของการท� า มุ ม มอง ด้าน Greening of Company ให้เกิดภาพ ชัดเจนว่าในเวลาที่ SCI มีก�าลังเพียงพอที่จะ ลงทุนเพื่อสิ่งแวดล้อม SCI ก็กล้าที่จะลงทุน โดยก� า หนดเป็ น แผนระยะยาว 5 ปี ที่ จ ะ ลงทุนด้านพลังงานแสงอาทิตย์อย่างต่อเนื่อง
เพื่ อ เพิ่ ม สั ด ส่ ว นการใช้ Renewable Energy ของบริษัทให้สูงขึ้น ซึ่งข้อดีของการ ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ คือ การน�าพลังงานที่ ไม่ท�าลายสิง่ แวดล้อมมาใช้ในกระบวนการผลิต การด�าเนินธุรกิจ แถมยังเป็นต้นแบบให้กับ บริษัทอื่น ๆ ในเครื อ มิ ต ซู บิ ชิ อี เ ล็ ค ทริ ค และ บริษัทอื่น ๆ ให้เห็นประโยชน์ และเกิด การลงทุนในระบบพลังงานแสงอาทิตย์มากขึน้ เรื่อย ๆ ส�าหรับข้อเสียคงเป็นในเรื่องของการ ลงทุนที่มีมูลค่าสูง การคืนทุนใช้ระยะเวลา นาน แต่ก็ไม่ใช่เหตุผลส�าหรับองค์กรที่มุ่งมั่น ในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมทีจ่ ะไม่ยอมลงทุน หากบริษัทใดมีก�าลังเพียงพอก็อยากขอเชิญ ชวนให้ ม าลงทุ น ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มของเรา เพื่อธุรกิจ และสังคมที่ยั่งยืนต่อไป นอกจากนี้ เ รายั ง ปลู ก จิ ต ส� า นึ ก ในการ รั ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ มให้ กั บ บุ ค ลากรทุ ก คน ภายในโรงงาน เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ จนเป็นกิจวัตรประจ�าวันของพนักงานทุกคน โดยการก� า หนดวั ฒ นธรรมองค์ ก รทางด้ า น สิ่ ง แวดล้ อ มของเรา คื อ 3R+1 ซึ่ ง ก็ คื อ Reduce การลดการใช้ การบริโภคทรัพยากรทีไ่ ม่ จ�าเป็นลง Reuse การใช้ทรัพยากรให้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ โดยการน� า สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ม าใช้ ซ�้ า และ Recycle การน� าหรื อ เลื อ กใช้ ท รั พ ยากรที่ สามารถน�ากลับมารีไซเคิล หรือน�ากลับมา ใช้ใหม่ ส่วนตัวสุดท้าย + 1 ก็คอื Replacement คื อ การทดแทน ปรั บ เปลี่ ย น เพื่ อ สิ่ ง ที่ ดี กว่ า เดิ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น การปรั บ เปลี่ ย น อุ ป กรณ์ ห รื อ เทคโนโลยี ที่ ท� า ให้ เ กิ ด การ ประหยัดพลังงาน หรือดูแลสิง่ แวดล้อมได้ดขี นึ้ วั ฒ นธรรมนี้ เราได้ ป ลู ก ฝั ง บุ ค ลากรของ SCI ตลอดเวลา ให้ เ ป็ น ผู ้ ม องปั ญ หา มองโอกาส ลงมือท�าโดยอัตโนมัติ เพื่อให้เกิด การรับรู้ของพนักงาน SCI ทุ ก คน เพื่ อ ให้ ลู ก ค้ า ผู ้ เ กี่ ย วข้ อ งทางธุ ร กิ จ และสั ง คม ภายนอก ตระหนักและรับรู้ว่า SCI เป็นบริษัท ที่มุ่งมั่นท�าธุรกิจ โดยยึดหลักการดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง และนี่ คื อ อี ก ก้ า วของการด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น เพราะมนุ ษ ย์ หรื อ ธุ ร กิ จ ไม่สามารถจะอยู่ได้เพียงล�าพัง แต่เราต้อง อยู่รอดไปพร้อม ๆ กัน การขับเคลื่อนธุรกิจ ด้ ว ยหั ว ใจสี เขี ย วจึ ง จะเป็ น ทางออกของ ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์ต้องเผชิญอยู่ใน ทุกวันนี้ได้มากที่สุด DECEMBER 2015
SPECIAL SCooP TEXT : กองบรรณาธิการ
ตามรอย...พระราชด�าริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 88 พรรษามหาราช ข้าพระพุทธเจ้าในนามนิตยสาร Energy Saving ขอน้อมน�าโครงการอันเนื่องมา จากพระราชด�าริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงพัฒนาพลังงานทดแทนรูปแบบต่าง ๆ อันเป็นรากฐานส�าคัญในการพัฒนาพลังงานทดแทน ของประเทศไทยในปัจจุบัน เพื่อเผยแพร่ให้เป็นแนวทางปฏิบัติให้กับประชาชนโดยทั่วกัน
ถ้าน�้ามันเชื้อเพลิงหมดแล้ว ก็ใช้เชื้อเพลิงอย่างอื่นได้ มีแต่ตอ้ งขยัน หาวิธที ที่ า� ให้เชือ้ เพลิงเกิดใหม่ เชือ้ เพลิง ที่เรียกว่าน�้ามันนั้นมันจะหมด ภายในไม่กี่ปีหรือไม่กี่สิบ ปีก็หมด...ถ้าไม่ได้ท�าเชื้อเพลิงทดแทน เราก็เดือดร้อน...” พระราชด�ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทาน แก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล ในโอกาส วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิตฯ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2548 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชด�าริให้น�า พืชผลทางการเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทน เพื่อให้ คนไทยพึง่ พาตัวเองได้ในด้านพลังงาน รวมทัง้ รองรับปัญหา ราคาพืชผลการเกษตรตกต�่าที่อาจจะเกิดขึ้น ทั้งนี้ได้มีการ พัฒนาพลังงานทดแทนทัง้ แก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล รวมถึง พลังงานทดแทนอืน่ ๆ ตามแนวพระราชด�าริในโครงการส่วน พระองค์ สวนจิตรลดา และเชือ้ เพลิงทีผ่ ลิตได้กใ็ ช้ในรถยนต์ ทุกคันของโครงการส่วนพระองค์ ด้วยสายพระเนตรอันยาว ไกลและความห่วงใยพสกนิกรชาวไทย ในเรื่องการพึ่งพา ตนเองด้านพลังงานทดแทน โดยทรงแนะแนวทางในการน�า ผลผลิตทางการเกษตร สิง่ ของใช้แล้วประเภทน�า้ มันต่าง ๆ น�า กลับมาผลิตไบโอดีเซลใช้ในชุมชนตนเอง เพื่อลดมลพิษ สิ่งแวดล้อมและยกคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนให้ดีขึ้น หน่วยงานภายใต้สงั กัดกระทรวงกลาโหมอย่าง กองบิน 46 จ.พิษณุโลก ได้มกี ารส่งเสริมให้มกี ารใช้พลังงานทดแทนตาม แนวทางพระราชด�าริ โดยได้เริ่มด�าเนินโครงการผลิตน�้ามัน ไบโอดีเซลมาตั้งแต่ ปี 2553 จากนั้นมีการพัฒนาปรับปรุง การผลิตให้มีคุณภาพ จนประสบความส�าเร็จใน ปี 2555 และได้ร่วมมือกับเทศบาลนครพิษณุโลก จัดหาวัตถุดิบใน การผลิตไบโอดีเซล พร้อมทัง้ จัด “โครงการชีวติ ปลอดภัยจาก น�า้ มันทอดซ�า้ เสือ่ มสภาพ” มีการแลกซือ้ น�า้ มันพืชเก่า 4 ขวด มาแลกเป็นน�้ามันพืชใหม่ 1 ขวด นอกจากนี้ได้ออกรับซื้อ ตามหมู ่ บ ้ า นและร้ า นค้ า ต่ า ง ๆ ที่ อ ยู ่ ใ นบริ เวณชุ ม ชน เพือ่ ตัดวงจรการน�าน�า้ มันทอดซ�า้ ไปใช้ ซึง่ ได้รบั ความร่วมมือ จากประชาชนในชุมชนเป็นอย่างดี การด�าเนินงานร่วมกันของกองบิน 46 และเทศบาลนคร พิ ษ ณุ โ ลก ได้ ร ณรงค์ ใ ห้ ป ระชาชนและผู ้ ป ระกอบการ ค้าอาหารมีความรับผิดชอบ และตระหนักรูถ้ งึ พิษภัยอันตราย ของการใช้ น�้ า มั น ทอดซ�้ า เสื่ อ มสภาพมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง VOLUME 7 ISSUE 85
โดยมีการให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารทอด ประชาสัมพันธ์การท�า ไบโอดีเซลจากน�้ามันทอดซ�้าเสื่อมสภาพ จัดนิทรรศการเกี่ยวกับพลังงานทดแทนรณรงค์ ลดโลกร้อน มีการน�าน�้ามันไบโอดีเซลมาจัดแสดงสาธิตการเติมน�้ามันกับรถยนต์จริง และตรวจหาสารโพลาร์ในน�้ามันทอดในตลาดสดเทศบาลทุกแห่ง ซึ่งเป็นสารพิษก่อให้เกิด โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง ร.อ.นิวัฒน์ กุลสวัสดิ์ เลขานุการโครงการผลิตไบโอดีเซล กองบิน 46 กล่าวว่า จาก ประสบการณ์การผลิตไบโอดีเซลมาได้ระยะหนึ่ง ได้ท�าการทดลองปรับปรุงกลิ่นของน�้ามัน ไบโอดีเซล แต่เดิมมีกลิ่นไก่ทอด น�้าปลา เครื่องปรุงรสต่าง ๆ ซึ่งมาจากการประกอบอาหาร จึงคิดค้นวิธีดับกลิ่นด้วยการน�าใบเตยมาใส่ในขั้นตอนการผลิต เพื่อดับกลิ่นไม่พึงประสงค์ E N E R G Y S AV I N G
25
ให้เป็นกลิ่นใบเตย จนกลายมาเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และยังมีมาตรฐานในการผลิต โดยได้รบั การตรวจสอบคุณภาพจาก บริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) มาจนถึงทุกวันนี้ อย่างไร ก็ตาม น�้ามันไบโอดีเซลที่ได้สามารถใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลที่ต�่ากว่าระบบคอมมอนเรล ลงมา โดยเติมผสมกับน�า้ มันดีเซล หรือทดแทนได้ 100% ส่วนภาคเกษตรกรรมสามารถ น�าไปใช้กับเครื่องสูบน�้า และเครื่องจักรเป็นอย่างดี นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต่อยอด เป็นโครงการพ่นหมอกควันด้วยไบโอดีเซล กลิ่นตะไคร้หอมปราบยุง ผลการด�าเนิน โครงการฯ เป็นทีน่ า่ พึงพอใจ เราสามารถใช้นา�้ มันไบโอดีเซลทดแทนน�า้ มันดีเซล ในการ พ่นหมอกควันก�าจัดยุง ซึง่ เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุข การพ่นหมอกควันด้วยน�า้ มัน ไบโอดีเซลกลิ่นตะไคร้หอม ช่วยลดมลภาวะทางอากาศได้ดีกว่าดีเซล อย่างไรก็ตามโครงการนี้ถือเป็นอีกหนึ่งแนวทางที่จะลดภาวะโลกร้อน ลดปัญหา มลภาวะ พร้อมทั้งพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้นยังเพิ่ม ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สร้างสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่ให้แก่ชุมชน รวมทั้งเป็นแหล่งการ เรียนรู้ การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยพร้อมที่จะเผยแพร่และถ่ายทอดแนวทาง ปฏิบัติการเรียนรู้วิธีการรับมือกับโลกร้อน สร้างองค์ความรู้ต่อชุมชนและสังคม เพื่อ ให้เข้าใจถึงความส�าคัญในการรักษาสมดุลธรรมชาติ และยังเป็นการสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้กับกองทัพอากาศและกองทัพไทย นอกจากนี้การใช้ไบโอดีเซลยังช่วยท�าให้การ เผาไหม้ของระบบเครื่องยนต์สะอาด ช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ที่ส�าคัญเราสามารถผลิต ไบโอดีเซลใช้ได้เองภายในประเทศ ช่วยลดการน�าเข้า และลดการรั่วไหลเงินตราออก นอกประเทศ ท�าให้ประเทศมีความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านพลังงานยิ่งขึ้น ด้าน บริษัท โอตานิ เรเดียล จ�ากัด ซึ่งเป็นบริษัทของคนไทยเป็นอีกบริษัทหนึ่งที่ได้ น�ามาตรฐานแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงสภาอุตสาหกรรม (มอก.9999) ไปใช้ใน สถานประกอบการจนประสบความส�าเร็จ พนักงานและชุมชนรอบข้างอยูร่ ว่ มกันอย่าง มีความสุข ส่งผลให้ธุรกิจมีการเติบโตอย่างยั่งยืน คุณธวัช ผลความดี เลขาธิการส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม กล่าวว่า กระทรวงอุตสาหกรรมได้นอ้ มน�าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั มาประยุกต์ใช้ในภาคอุตสาหกรรม โดยมอบหมายให้ ส�านักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) ด�าเนินการก�าหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม และ ประกาศใช้ มอก.9999 เล่ม 1-2556 แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม ขึน้ เมือ่ วันที่ 4 เมษายน 2556 เพือ่ ให้ภาคอุตสาหกรรมน�าไปใช้เป็นแนวทางในการด�าเนินงาน การ ประกอบธุรกิจ บนหลักการของความพอประมาณ ความมีเหตุมผี ล การมีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี มีความรูแ้ ละคุณธรรม เพือ่ ความสมดุล มัน่ คง ยัง่ ยืน และมีความสุข โดยองค์กรไม่จา� เป็น ต้องก�าหนดวิธปี ฏิบตั ทิ เี่ หมือนกันทุกองค์กร แต่สามารถคิดและท�าได้ดว้ ยตนเอง ทัง้ ในภาค การผลิต และการบริการ โดย มอก. 9999 สามารถตอบโจทย์ได้ในทุกมิติ หากได้มกี ารน�า ไปใช้อย่างจริงจัง ก็จะเกิดประโยชน์ตอ่ องค์กรอย่างยิง่ และเพือ่ ให้การขับเคลือ่ นการน�า มอก. 9999 ไปใช้อย่างเป็นรูปธรรมในทุกภาคส่วน สมอ. ได้ดา� เนินการส่งเสริมให้มกี ารน�า มาตรฐานแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรมไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ นภาคอุตสาหกรรม อย่างยัง่ ยืน ตัง้ แต่ ปี 2556 เป็นต้นมา โดยเผยแพร่ความรูเ้ รือ่ ง มอก. 9999 เพือ่ เสริมสร้าง ความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักแก่ทกุ ภาคส่วนอย่างกว้างขวางทัง้ ผูป้ ระกอบการ และหน่วยงานภาครัฐ ได้รบั ทราบความเป็นมาของ มอก.9999 รายละเอียด และขัน้ ตอน การด�าเนินการตามมาตรฐาน มอก.9999 นอกจากนีย้ งั ได้จดั ท�าโครงการฝึกอบรมและให้ ค�าปรึกษาแนะน�าการจัดท�า มอก.9999 (แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม) หรือ โครงการ TLC มอก.9999 เพือ่ ให้คา� ปรึกษาแนะน�าแก่ผปู้ ระกอบการในการจัดท�าระบบการ จัดการภายในองค์กรตาม มอก.9999 โดยผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ ซึง่ มีผู้ ประกอบการชัน้ น�าของประเทศไทยเข้าร่วมโครงการแล้วจ�านวน 20 ราย ส�าหรับ บริษทั ยางโอตานิ จ�ากัด เป็นหนึง่ ในผูป้ ระกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการดังกล่าวด้วย คุณเอกชัย ลิมปิโชติพงษ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โอตานิ เรเดียล จ�ากัด กล่าวว่า ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้น�าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาใช้บ้างแล้ว มีการน�า ของเหลือมาใช้ก่อให้เกิดประโยชน์ เพิ่มพื้นที่สีเขียวด้วยการปลูกไม้ยืนต้น ไม้กินได้ ประหยัดน�า้ ประหยัดพลังงานไฟฟ้า การใช้สงิ่ ของให้เกิดประโยชน์สงู สุด รณรงค์สง่ เสริม ให้พนักงานปลูกผักสวนครัว และส่งเสริมให้มีอาชีพเสริมในเวลาว่างจากการท�างาน เพื่อเป็นการเสริมรายได้เท่านั้น แต่เมื่อบริษัทฯ ได้เข้าร่วมโครงการกับ สมอ. ได้เรียนรู้ หลักการและวิธีการ โดยน�ามาประยุกต์ใช้ในการด�าเนินธุรกิจ และการด�าเนินชีวิตของ 26
E N E R G Y S AV I N G
เอกชัย ลิมปิโชติพงษ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โอตานิ เรเดียล จ�ากัด
พนักงาน ท�าให้เห็นได้ว่า หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น สามารถปรับใช้กับภาคธุรกิจ หรือภาคอุตสาหกรรม ตลอดจน การใช้ชีวิตประจ�าวันของพนักงานได้เป็นอย่างดี บริษทั ฯ ใช้หลักคิด คือ การหาโอกาส อุปสรรค และความเสีย่ ง ในการด�าเนินงาน ซึง่ ช่วยให้องค์กรสามารถเตรียมความพร้อม ทีจ่ ะผ่าฟันอุปสรรคได้ รวมถึงช่วยให้บริษทั ฯ สามารถวางแผน การด� า เนิ น งานล่ ว งหน้ า ทั้ ง ระยะสั้ น และระยะยาวขึ้ น มา อย่างเป็นระบบ ส�าหรับพนักงานสามารถวางแผนการใช้ชวี ติ การใช้เงิน และ การออม ตามปัจเจกบุคคลทีไ่ ด้กา� หนดขึน้ โดยก�าหนดเป็นแผนงาน การด�าเนินการกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ สิ่งหนึ่งที่บริษัทฯ เห็นผล ได้อย่างชัดเจน คือ เรือ่ งของการออมเงินทีม่ ผี รู้ ว่ มออมเงินมากขึน้ ถึง 45% โดยเลือกที่จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหกรณ์ และอีก ส่วนหนึ่ง คือ การหาหลักประกันชีวิตหลังเกษียณ (นับจากวัน ที่เริ่มโครงการเดือนธันวาคม 57 จนถึงเดือน กรกฎาคม 58) ซึ่งถือว่าประสบความส�าเร็จเป็นอย่างดีเยี่ยม ซึ่งในอดีตที่ผ่าน มาพนักงานจะสนใจแต่เพียงรายได้ที่มี ณ ปัจจุบันเท่านั้น ไม่ ได้มกี ารมองถึงความเสีย่ งในการด�าเนินชีวติ จึงขอเชิญชวนภาค อุตสาหกรรมน�าแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรมไป ใช้ ซึ่งจะช่วยให้อุตสาหกรรมของไทยเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ไปพร้อม ๆ กับพนักงาน ผู้มีส่วนได้เสีย และพร้อมกับชุมชน รอบข้างอย่างมีความสุข” dEcEMbER 2015
อนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท น�้าตาลบุรีรัมย์ จ�ากัด (มหาชน)
ส�าหรับ บริษทั น�า้ ตาลบุรรี มั ย์ จ�ากัด (มหาชน) ก็เช่น เดียวกัน ทีเ่ ล็งเห็นถึงความส�าคัญของพลังงาน และด�าเนิน รอยตามพ่อหลวงเกีย่ วกับเรือ่ งเอทานอล โดยน�าเอาวัตถุดบิ เหลือใช้อย่างอ้อย ซึ่งได้จากการผลิตน�้าตาลมาแตกไลน์ บริษทั เป็นโครงการผลิตเอทานอลซึง่ อยูใ่ นระหว่างด�าเนินการ อีกทัง้ ยังค�านึงถึงสิง่ แวดล้อมโดยรอบอย่างยัง่ ยืน คุณอนันต์ ตั้งตรงเวชกิจ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท น�้าตาลบุรีรัมย์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าวว่า แรกเริ่ม เป็นโรงงานน�้าตาลเพียงอย่างเดียว แน่นอนว่าจะต้อง อยู่กับเกษตรกร ใช้พื้นที่ในการปลูกอ้อยมาก ที่ส�าคัญ กลุ่มน�้าตาลบุรีรัมย์เน้นพื้นที่บริเวณรอบโรงงาน รัศมี 40 กิโลเมตร พื้นที่ประมาณเกือบ 2 แสนไร่ ซึ่งเป็นเจ้าของ พืน้ ทีด่ งั้ เดิม สมัยก่อนจะปลูกพืชหมุนเวียนตามราคาตลาด ทั้งมันสัมปะหลัง ข้าว ข้าวโพด เป็นต้น หลังจากโรงงานมี การขยายก็มกี ารออกไปให้ความรู้ เครือ่ งมือ รวมถึงเงินทุน แก่เกษตรกร ชาวไร่รอบ ๆ หันมาปลูกอ้อยกันเป็นส่วนใหญ่ เหตุผลหนึ่ง คือ เขาสามารถปลูกแล้วขายให้โรงงานได้ โดยตรง ต้นทุนค่าขนส่งก็น้อยลง ได้ดูแลเขาอย่างใกล้ชิด ฉะนั้นตัวเกษตรกรเองก็มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เมื่อมี เกษตรกรเข้าร่วมโครงการมากขึน้ ทางโรงงานเองก็ได้มกี าร ขยายตัว เพือ่ ให้สอดคล้องกับเกษตรกรทีเ่ พิม่ ขึน้ ช่วงเริม่ แรก ผลิตได้ที่ 3,000 ตัน/วัน ปัจจุบันช่วงฤดูหีบอ้อย (ฤดูการ ผลิตน�้าตาล ช่วงประมาณเดือนพฤศจิกายน – มีนาคม) เรามีก�าลังการผลิตที่ 23,000 ตัน/วัน ปริมาณอ้อยอยู่ที่ 2,300,000 ตัน และสามารถรองรับปริมาณอ้อยในอนาคต ได้กว่า 3,000,000 ตัน ทางบริษัทมีกระบวนการแบบ Zero Waste (การลด ขยะทีม่ ที งั้ หมดให้กลายเป็นศูนย์) จากชานอ้อยทีเ่ หลือจาก กระบวนการผลิตน�้าตาล น�ามาเป็นเชื้อเพลิงในการผลิต ไฟฟ้า ปัจจุบันมีโรงไฟฟ้า 2 โรง ที่ขายให้กับการไฟฟ้าแล้ว และก�าลังจะสร้างโรงที่ 3 และท�าเป็นปุย๋ อินทรียเ์ คมี โดยใช้ วัสดุเหลือใช้จากโรงงานน�้าตาล เพื่อลงดินในไร่ที่อยู่รอบ ๆ โรงงาน ให้มศี กั ยภาพทีด่ ี มีความสมบูรณ์ ต่อเนือ่ งในระยะยาว เราเอาจากธรรมชาติมาก็ต้องคืนไปด้วย VOLUME 7 ISSUE 85
อีกหนึง่ โครงการทีก่ า� ลังจะเกิดขึน้ อย่างแน่นอน ในการน�าวัสดุเหลือใช้อย่างกากน�า้ ตาล มาผลิตเป็นเอทานอล ซึ่งเป็นพลังงานที่น�าไปผสมกับแก๊สโซฮอล์ 10% ตอนนี้โครงการ อยู่ในระหว่างการท�า EIA (Environmental Impact Assessment การประเมินผล กระทบจากโครงการพัฒนาที่มีผลต่อสุขภาพ หรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทาง บวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ และ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ) โดยจะเริ่มสร้างโรงงานประมาณกลางปีหน้า ก�าลังผลิตอยู่ที่ 150,000 ลิตร/วัน เราเรียกอุตสาหกรรมนี้ว่า Renewable Energy คือ พลังงานหมุนเวียน บ้านเราเป็นประเทศแห่งการเกษตร ฉะนั้นพลังงานไม่ใช่มาจาก fossil Oil เพียงอย่างเดียว พลังงานชนิดนี้เราเรียกว่า Carbohydrate energy อะไรก็ตาม ทีเ่ ป็นคาร์โบไฮเดรตสามารถเปลีย่ นเป็นพลังงานได้หมด ตรงนีไ้ ปสอดคล้องกับพระราชด�าริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวที่ทรงได้ท�ามาตลอด นั่นคือ โรงผลิตเอทานอลโดยใช้ จาก อ้อย, ข้าว, ข้าวโพด จริง ๆ มันเป็นภูมิปัญญาของเราอยู่แล้ว เอนานอล เดิมเรียกว่า เอทิลแอลกอฮอล์ สมัยก่อนเราเอาข้าวไปหมักเป็นสาโท ตรงนี้ก็คืออันเดียวกัน มันก็กลาย เป็นพลังงาน เมือ่ มีการทดลองอย่างจริงจังในวังสวนจิตรลดา อันนีเ้ ป็นสิง่ ทีท่ า่ นทรงเห็นมานาน มีไม่กปี่ ระเทศในโลกทีท่ า� แบบนีไ้ ด้ ดังนัน้ พลังงานทีม่ าจากการเกษตรมันงอกมาจากดินทุก ปีอยู่แล้ว ที่ส�าคัญเราไม่ต้องไปท�าลายสิ่งแวดล้อม ถ้าเราให้การสนับสนุนพลังงานเหล่านี้ และใช้ประโยชน์จากมัน ในสภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยที่ได้เปรียบให้เกิดประโยชน์ ไม่ต้องไปพึ่งใคร เราก็สามารถอยู่ด้วยตัวของเราเองได้แบบพอเพียง ในอนาคตเรือ่ งการขุดเจาะน�า้ มันจากใต้ดนิ จะมีปญ ั หากว่านีม้ าก เพราะมีฝา่ ยได้ประโยชน์ ขณะทีอ่ กี ฝ่ายเสียประโยชน์ และวันหนึง่ ก็คงหมดไป แต่ถา้ เป็นเรือ่ งของ Renewable Energy ผมมองว่ามันเป็นภูมติ า้ นทานอยูแ่ ล้วส�าหรับประเทศเราทีเ่ ป็นประเทศเกษตรกรรม ถ้าวันหนึง่ ต้องเผชิญกับวิกฤต อย่างน้อยในส่วนของเราก็ยงั คงพึง่ พาตัวเองได้พอสมควร E N E R G Y S AV I N G
27
SENA ชู Solar roof Top
Green BuildinG TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
ทางเลือกของคนรักบ้าน
ในช่ ว งไตรมาสสุ ด ท้ า ย วงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ต ่ า งมุ ่ ง ปรั บ กลยุ ท ธ์ เพื่อกระตุ้นยอดขายที่ได้รับผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจ อยู่ไม่น้อย ไม่ว่า จะเป็นมาตรการทางการเงิน หรือชูจดุ เด่นของตัวเองขึน้ มา สร้างความแตกต่าง ในการดึงดูดลูกค้ามากขึ้น บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) ก็เป็นหนึ่งในยักษ์ใหญ่ของวงการอสังหาฯ ในบ้านเรา ซึ่งเป็นโครงการแรก ๆ ในการน�าเอาโซลาร์เซลล์มาติดตั้งกับบ้านจัดสรร รวมถึงโฮมออฟฟิศใน โครงการ เพื่อประหยัดพลังงานไฟฟ้า และขายไฟให้ภาครัฐตามนโยบาย สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ และส่ ง เสริ ม การใช้ พ ลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ พร้ อ มดู แ ล ระบบให้ ฟรี! ผศ.ดร. เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ กรรมการและกรรมการบริหาร บริษทั เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) กล่าว่า “ ประเทศไทยแดดร้อนขนาดนี้ เราจะเสียเงินไปกับค่าไฟในการใช้เครื่องปรับอากาศ เยอะมาก ระหว่างทีเ่ ราไปท�างานแดดก็ออกท�าไมเราไม่ใช้ประโยชน์จากแสงอาทิตย์ แทนทีเ่ ราจะไปซือ้ ไฟจากรัฐเราก็หนั มาใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ซงึ่ เป็นพลังงานสะอาดและฟรีดว้ ย นัน่ คือสิง่ ทีบ่ า้ นเสนา ก�าลังท�ารัฐบาลเองก็ส่งเสริมให้หันมาใช้พลังงาน และยังเป็นการช่วยให้โลกร้อนน้อยลงที่ส�าคัญที่สุด สามารถสร้างรายได้ให้กับเจ้าของบ้านได้ด้วย” โซล่าร์เซลล์ที่ใช้กับบ้านจัดสรรของ SENA จะติดตั้งไว้บนหลังคาบ้าน หรือที่เรียกว่า Solar Roof Top เพือ่ เปลีย่ นแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า แล้วขายไฟฟ้าทีไ่ ด้ให้กบั การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ในราคา 6.85 บาท/หน่วย นานถึง 25 ปี ซึ่งตัวแผง มีก�าลังการผลิตอยู่ที่ 3.5 KW/หลัง เฉลี่ยปริมาณ 28
E N E R G Y S AV I N G
ผศ.ดร. เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน)
ไฟที่ผลิตได้ต่อวันประมาณ 4.5 ชั่วโมง ดังนั้น หากค�านวณรายรับจากการขายไฟต่อเดือน 3.5 KW x 6.85 บาท/หน่วย x 4.5 ช.ม./วัน x 30 วัน = 3,200/เดือน และเมือ่ ครบอายุสญ ั ญาทัง้ หมด 25 ปี สามารถ คิดเป็นรายได้รวมทัง้ หมด ประมาณ 970,000 บาท ทัง้ นีข้ น้ึ อยูก่ บั สภาพอากาศ และ สิง่ แวดล้อม DECEMBER 2015
โฮมออฟฟิศ มีการติดตั้ง Solar Roof ให้ทันที รับประกัน 25 ปี ตามอายุการใช้งานด้วยเช่นกัน แต่จะเป็นการติดตั้ง เพือ่ การใช้งานในช่วงกลางวัน เนือ่ งจากโฮมออฟฟิศมีการใช้ไฟฟ้า ทัง้ วัน ค่าไฟต่อเดือนจะอยูท่ ปี่ ระมาณ 3,000 – 4,000 บาท เมือ่ มี การใช้ไฟจากแผงโซล่าร์รว่ มด้วย จะท�าให้ประหยัดค่าไฟต่อเดือน ได้เพิ่มขึ้น เหลือเพียงประมาณ 1,000 บาท/เดือน ต่างจากบ้าน ที่ช่วงกลางวันไม่มีคนอยู่เพราะออกไปท�างาน จึงท�าแบบขายไฟ ให้รัฐบาล เพราะหากท�าแบบเก็บไฟไว้ใช้เองช่วงกลางคืนด้วย จะต้องท�าการติดตั้งแบตเตอรี่เพิ่มเติม ซึ่งส่วนนี้มีค่าใช้จ่าย เพิม่ สูงขึน้ กว่าราคาแผงโซล่าร์เซลล์ถงึ 3 เท่า ส่วนคอนโดมิเนียม ทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ของ SENA ก็ทา� การติดโซล่าร์เซลล์ดว้ ยเช่นกัน แต่ จะไฟฟ้าที่ได้ไปใช้กับส่วนกลางเท่านั้น เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ส่วนกลางลง เพราะข้อจ�ากัดของพื้นที่บนดาดฟ้าของคอนโด เช่นเดียวกับโครงการบ้านจัดสรรแนวราบที่น�าไปใช้กับส่วน กลางด้วย ส� า หรั บ ตั ว โซล่ า ร์ เซลล์ เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากบริ ษั ท First Solar จ�ากัด เป็นผู้น�าการผลิตโซล่าห์เซลล์รายใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลก จากประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ได้รับความไว้วางใจ จาก Apple Inc. ให้เป็นผู้ด�าเนินการก่อสร้าง บริหาร และ ซ่ อ มบ� า รุ ง ในโครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ข นาด ใหญ่ที่สุดในโลก คือ โครงการโซล่าร์ฟาร์มโทปาซ ซึ่ง SENA เป็นผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์รายเดียวในประเทศไทย ที่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิ์ ติ ด ตั้ ง แผงโซล่ า ร์ เซลล์ ข องบริ ษั ท นี้ โดยชนิ ด ที่ติดตั้งให้เป็นแบบ Thin Film นวัตกรรมใหม่ ผลิตไฟได้มาก ถึง 5 ชั่วโมง/วัน (แผงทั่วไปอยู่ที่ 4 ชั่วโมง/วัน) จุดเด่น คือ ทนความชื้น ไอน�้าไม่เกาะท�าให้มีประสิทธิภาพใน การผลิตไฟ เพิ่มมากขึ้น เหมาะกับสภาพอากาศร้อนชื้นของประเทศไทย ดีไซน์ไร้ขอบรอบตัวแผง มีความสวยงาม ทันสมัย เข้ากับบ้านยุค ใหม่ มีข้อเสียแค่ตรงที่ติดตั้งยากกว่าแผงแบบอื่น VOLUME 7 ISSUE 85
“ก่อนจะติดตัง้ โซล่าร์เซลล์ให้ลกู บ้านในโครงการใช้ เราได้เริม่ ทดลองใช้งานจริงก่อน ทีส่ า� นักงาน โครงการเอสวิลล์ รังสิต-ล�าลูกกา (คลอง 4) ขนาดก�าลังผลิต 3.5 KW แล้ว พบว่าค่าไฟก่อนติดตั้งอยู่ที่ 3,398.65 บาท หลังจากใช้พลังงานไฟฟ้าจากโซล่าร์เซลล์ First Solar ค่าไฟลดลงเหลือเพียง 912.66 บาท เท่านั้น เท่ากับว่าสามารถประหยัด ค่าไฟถึงประมาณ 2,500 บาท/เดือน” ไม่เพียงแต่การติดตั้งแผงโซล่าร์เซลล์ และมิเตอร์ให้ฟรี หลังจากท�าการโอนบ้าน แล้วเสร็จ ทาง SENA จะด�าเนินการยื่นเรื่องให้ลูกค้าเป็นผู้ผลิตไฟฟ้าเพื่อจ�าหน่ายเข้า ระบบ (PPA) ให้ทันที และยังมีโปรแกรมบริการหลังการขาย หลังจากวันที่ติดตั้งเสร็จ เรียกว่า O&M (Operation & Maintenance) คือ 1. การตรวจสอบการท�างานของอินเวอเตอร์ (Inverter) ทุกวันผ่านทางออนไลน์ (ส�าหรับการติดตั้งที่มี Wifi Logger) 2. ล้างท�าความสะอาดแผงปีละ 1 ครั้ง 3. เช็คระบบการเชื่อมต่อ เนื่องจากสภาพอากาศของประเทศไทยค่อนข้างร้อน จึงมีการคลายตัวได้ อาจท�าให้เกิดความไม่เสถียรของระบบ 4. ตรวจสอบตู้ไฟบ้าน MDB 5. ตรวจสอบเครื่องแปลงไฟ (Inverter) แบบรายปี 6. ตรวจสอบโครงสร้างการติดตั้ง (Mounting Structunes) 7. ตรวจสอบอุปกรณ์ปกป้อง (Circuit Breaker, ป้องกันฟ้าผ่า)
E N E R G Y S AV I N G
29
รวมถึงการรับประกันแผงโซล่าร์เซลล์ 10 ปี Inverter ABB อีก 5 ปี และสามารถซือ้ ประกันเพิ่มได้อีก 5 ปี เท่ากับทั้งระบบรับประกันอยู่ 10 ปี แต่ส�าหรับระบบการผลิต ไฟบริษัทผู้ผลิตรับประกันที่อายุ 25 ปี ผศ.ดร. เกษรา กล่าวเพิ่มเติมว่า “ความแตกต่างระหว่างบ้านทั่วไป กับบ้านที่ ติดตั้ง Solar Roof จะเห็นได้ว่าถ้าเป็นโครงการทั่วไปแน่นอนว่าซื้อบ้านจะต้องมีของ แถม แต่ถ้าซื้อบ้าน SENA ของแถมเรามีอยู่แล้วค่ะ แต่เพิ่มมากกว่านั้น คือ เรามีแผง Solar Roof พร้อมกับแคมเปญขายไฟให้รัฐ ซึ่งไม่มีการคิดค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิ่มเติม ถือเป็นการ Add On Product เพราะฉะนั้นแทนที่เราจะมีรายจ่าย ต้องผ่อนแบงค์ อย่างเดียว แต่เราจะมีรายได้จากการขายไฟให้รัฐประมาณ 3-4 พันบาท/เดือน ปกติเวลาซื้อบ้าน เราจะค�านึงถึงสถานที่ตั้ง และฟังชั่นที่ดี แต่ตรงนี้คือนวัตกรรมที่เพิ่ม ขึน้ มานีค่ อื การน�าเทคโนโลยี ด้านโซล่าร์เซลล์มาติดกับบ้าน เพือ่ ท�าให้ลกู ค้าทีม่ าซือ้ บ้าน กับ SENA ได้รบั ของแถมทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ มากกว่าทีอ่ นื่ จากนีไ้ ปหมูบ่ า้ นทุกโครงการทีก่ า� ลัง สร้างขึ้นใหม่จะติด โซล่าร์เซลล์ทั้งหมด โดยจะเน้นน�าไปใช้กับส่วนกลาง เพื่อลดค่าใช้ จ่ายเกี่ยวกับไฟที่เกิดขึ้น เพราะเกือบทุกหมู่บ้านค่าส่วนกลางกลายเป็นปัญหา ฉะนั้น บ้านโครงการใหม่ ๆ ของ SENA ค่าส่วนกลางจะน้อยกว่าที่อื่น แต่หากเป็นลูกค้าเก่า ซื้อบ้านเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยากจะติดตั้ง เราก็สามารถติดตั้งให้ได้ในราคาต้นทุน ประมาณ 200,000 บาท/หลัง แล้วแต่ขนาด” “ส่วนตัวเริ่มใจเรื่องโซล่าร์เซลล์มาตั้งแต่ช่วงน�้าท่วมใหญ่ พ.ศ. 2554แต่สมัยก่อน โซล่าร์เข้ามาในตลาดใหม่ ๆ ราคาสูงมาก บ้านที่จะติดได้ต้องเป็นบ้านที่มีราคาหลัก สิบล้าน แต่ปัจจุบันเราสามารถท�าราคาได้ เพราะต้นทุนลดลงมากถึง 60-70% บ้าน 2-3 ล้านบาท ก็สามารถติดตั้งแผงโซล่าร์เซลล์ได้ อยากจะให้หลาย ๆ ที่หันมาติด โซล่าร์เซลล์กนั เยอะ ๆ เพือ่ จะได้เป็นการช่วยกันพัฒนาด้านพลังงานสะอาดแบบนี้ เชือ่ ว่าในอนาคตจะมีเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพิม่ มากขึน้ เพือ่ การประหยัดพลังงาน ในชีวติ ประจ�า วัน ที่หลายประเทศหันมาให้ความสนใจกันมากขึ้น” 30
E N E R G Y S AV I N G
นอกจากนี้ SENA ยังเปิดบ้านสวย ๆ ให้สื่อได้เยี่ยมชม ในแนวคิด “Green Smart Design” ของโครงการ SANE Park Grand Ramindra ตั้งแต่ทิศทางการวางตัวบ้านให้ สอดคล้องกับทิศทางลมวางผังบ้านให้ลดปริมาณแสงที่จะ ส่ อ งเข้ า มาในตั ว บ้ า นให้ น ้ อ ยที่ สุ ด เพื่ อ ป้ อ งกั น ความร้ อ น ติ ด ตั้ ง ฉนวนกั น ความร้ อ นใต้ ห ลั ง คา พร้ อ มเพิ่ ม ช่ อ งลม ระบายความร้ อ น ส่ ว นหน้ า บ้ า นมี แ ผงบั ง แสงป้ อ งกั น แสงแดดที่จะกระทบกับกระจกโดยตรง รวมถึงวัสดุที่ใช้ใน การก่อสร้างล้วนเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น ผนังกระจก, สี, หลอดประหยัดไฟ, สุขภัณฑ์ประหยัดน�้า ฯลฯ ท่ามกลาง บรรยากาศร่ ม รื่ น ล้ อ มรอบไปด้ ว ยต้ น ไม้ ใ ห้ ร ่ ม เงาเพื่ อ ลดแสงสะท้อนจากภายนอกสู่ตัวบ้าน DECEMBER 2015
Building ManageMent TEXT : ผศ.ดร.อรรจน์ เศรษฐบุตร DGNB, TREES-F รองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย อาจารย์คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจ�าลอง การใช้พลังงานของอาคาร (Building Energy Simulation)
การจ�าลองการใช้พลังงานในอาคาร หรือ Building Energy Simulation เป็นสิ่งที่ทุกฝ่าย โดยเฉพาะที่ปรึกษาการออกแบบอาคาร ประหยัดพลังงานให้ความส�าคัญเป็นอันดับแรกเมื่อเข้าสู่กระบวนการออกแบบขั้นต้นจนไปถึงระหว่างการก่อสร้าง หากเป็นอาคาร ที่ต้องยื่นขอรับการรับรองการเป็นอาคารเขียว เช่น LEED ของ สหรัฐอเมริกา หรือ DGNB ของ เยอรมนี ยิ่งเป็นข้อบังคับที่ต้อง ด�าเนินการเพือ่ ประเมินค่าการใช้พลังงานของอาคารทีจ่ ะยืน่ ประเมิน ซึง่ เป็นสิง่ ทีห่ าผูเ้ ชีย่ วชาญในประเทศไทยท�าได้ยากยิง่ บางโครงการ ก็ต้องจ้างผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาช่วยท�าให้
หลายคนอาจจะไม่ทราบว่า การท�า Energy Simulation นั้น ที่จริงแล้วไม่ได้ เกิดขึ้นเพียงเพราะกระแสการตื่นตัวของการรับรองอาคารเขียว นักวิจัยทาง สถาปัตยกรรม วิศวกรรม วิทยาศาสตร์อาคาร ได้ใช้โปรแกรมเหล่านีก้ นั เป็นเรือ่ งปกติ มาตลอด แต่โปรแกรมเหล่านีไ้ ด้เจริญงอกงามเต็มทีจ่ ากกระแสการก่อสร้างอาคารเขียว ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา ประวัติความเป็นมาของการจ�าลองพลังงานในอาคาร เกิดขึ้นมาเป็นเวลายาวนานกว่า 50 ปีแล้ว เริ่มต้นจากการที่ผู้ออกแบบอาคาร รัฐบาลกลางในประเทศสหรัฐอเมริกา (Federal Government) ที่มักจะท�าแบบ อาคารมาตรฐานแบบเดียว แล้วน�าไปใช้ก่อสร้างทั่วประเทศ แล้วกลับประสบปัญหา มากมายจากสภาพแวดล้อมในอาคารทีไ่ ม่นา่ สบาย ร้อนเกินไป หรือหนาวเกินไป และ สิ้นเปลืองพลังงาน เนื่องจากสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศใหญ่ที่มีสภาพภูมิอากาศ แตกต่างกันอย่างมากมาย ตัง้ แต่เขตหนาวทางเหนือ ไปถึงเขตอบอุน่ ตอนกลางของประเทศ เขตร้อนแห้งแบบทะเลทรายทางตะวันตก ไปจนถึงเขตร้อนชื้นทางใต้ของประเทศ การออกแบบอาคารมาตรฐานแบบเดียวไปใช้ทว่ั ประเทศแบบอาคารศาลากลางของไทย จึงไม่สามารถตอบรับกับสภาพภูมิอากาศที่แตกต่างกันได้ดีพอ 32
E N E R G Y S AV I N G
ด้วยเหตุนี้ กระทรวงพลังงาน ของประเทศสหรัฐอเมริกา จึงได้ริเริ่มเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชื่อ DOE ขึ้นเป็น ครั้งแรกในทศวรรษ ที่ 60 (ซึ่งชื่อของโปรแกรมก็มาจากชื่อ Department of Energy หรือ กระทรวงพลังงาน นั่นเอง) ปัจจุบันก็ยังมีการใช้โปรแกรมนี้อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในการจ�าลองการใช้พลังงานของอาคารที่ต้องยื่น ประเมินอาคารเขียว LEED ทีก่ า� หนดให้อาคารทีก่ อ่ สร้างใหม่ จะต้องท�าการจ�าลองการใช้พลังงานรายชัว่ โมงตลอดทัง้ ปี โดย อาศัยฐานข้อมูลอากาศรายชัว่ โมงของเมืองทีอ่ าคารนัน้ ตัง้ อยู่ มาใช้เป็นสภาพอากาศในการจ�าลอง ปัจจุบันโปรแกรม DOE ได้ถูกพัฒนาต่อและถูกบรรจุเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในโปรแกรม Autodesk Revit ที่ท�าให้สถาปนิก วิศวกร สามารถสร้าง โมเดลอาคารและท�าการค�านวณการใช้พลังงานของอาคาร ได้อย่างรวดเร็วทันใจ แต่อย่างไรก็ดี ผูอ้ อกแบบอาคารจ�าเป็น ต้องทราบหลักการท�างานของการจ�าลองพลังงานด้วย เพือ่ ให้ สามารถเข้าใจผลที่ได้จากการจ�าลอง เพื่อน�าผลมาวิเคราะห์ ปรับปรุงการออกแบบอาคารให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
DECEMBER 2015
โดยทัว่ ไป โปรแกรมจ�าลองการใช้พลังงานจะใช้หลักการค�านวณภาระการท�า ความเย็น (Cooling load) รายชัว่ โมงของแต่ละห้องในอาคาร ซึง่ ก็คอื การรวม ปริมาณความร้อนจากปัจจัยภายนอก (External factor) เช่น ความร้อน จากรังสีอาทิตย์ อากาศร้อนที่ผ่านเปลือกอาคาร น�ามารวมกับความร้อนจาก ในอาคารเอง (Internal factor) ซึ่งได้แก่ ความร้อนจากร่างกายผู้ใช้อาคาร (People heat gain) ความร้อนจากหลอดไฟฟ้าแสงสว่าง (Lighting heat gain) และความร้อนจากเครื่องใช้ไฟฟ้า (Process heat gain) โดยแต่ละ ชัว่ โมงก็จะมีปริมาณความร้อนแปรเปลีย่ นไปตามเวลา อุณหภูมอิ ากาศภายนอก ความเข้มของรังสีอาทิตย์ และการใช้สอยภายในอาคาร เมือ่ รวบรวมภาระการท�า ความเย็นในแต่ละชัว่ โมง (ตันความเย็น) ได้แล้ว ก็จะทราบว่า แต่ละห้องต้องการ เครือ่ งปรับอากาศขนาดกีต่ นั ถึงจะเพียงพอปริมาณความร้อนสูงสุดทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ มักจะเกิดขึ้นในเวลาบ่ายของเดือนเมษายน
นั่นคือการค�านวณภาระการปรับอากาศรายชั่วโมง ซึ่งเมื่อใส่ข้อมูลค่า ประสิทธิภาพของเครือ่ งปรับอากาศเพิม่ เข้าไป ก็จะสามารถค�านวณหาปริมาณ พลังงานไฟฟ้าทีต่ อ้ งใช้ในการปรับอากาศห้องต่าง ๆ นัน้ ให้มคี วามน่าสบายตาม อุณหภูมหิ อ้ งทีต่ งั้ ไว้ และหากน�าพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ปรับอากาศ ไปรวมกับไฟฟ้า ทีใ่ ช้ให้ความสว่าง และไฟฟ้าทีอ่ ปุ กรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ ทีวี ตูเ้ ย็น ก็จะสามารถค�านวณพลังงานทีอ่ าคารจะต้องใช้ในแต่ละชัว่ โมง แต่ละวัน แต่ละเดือน จนถึงตลอดทั้งปีได้อย่างรวดเร็ว
VOLUME 7 ISSUE 85
อย่างไรก็ดี สิง่ ทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญด้านพลังงานต้องการจากการจ�าลอง พลังงานนั้น คงไม่ใช่แค่จะรู้ว่าอาคารที่ก�าลังออกแบบอยู่นั้นจะใช้ พลังงานเท่าไหร่ แต่คือความต้องการที่จะเปรียบเทียบผลว่า หาก ปรับเปลี่ยนทางเลือกวัสดุเปลือกอาคาร รูปทรงอาคาร ชนิดของ เครื่องปรับอากาศ หลอดไฟ ไปจนถึงรูปแบบการใช้สอยอาคาร หรือช่วงเวลาเปิดปิดอุปกรณ์งานระบบต่าง ๆ จะส่งผลต่อการใช้ พลังงานอย่างไร จะสามารถปรับลดค่าการใช้พลังงานลงได้สัก เท่าไหร่ และมีความคุ้มค่าหรือไม่ ซึ่งนั่นคือเป้าหมายส�าคัญของ การจัดการพลังงาน ซึ่งก็คือ ข้อมูลประกอบการตัดสินใจที่อยู่บน หลักการที่น่าเชื่อถือที่สุดเท่าที่มี
E N E R G Y S AV I N G
33
energy management TEXT : อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์
กุญแจสู่ความส�าเร็จ ในการประหยัดพลังงาน
Energy saving as the key to success กุ ญ แจสู ่ ค วามส� า เร็ จ ในการประหยั ด พลั ง งานนั้ น มี คี ย ์ ห ลั ก ที่สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ด้าน คือ การพัฒนาคนหรือสร้างคน การสร้างระบบ และการน�าเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาใช้งาน มีความ คุ้มค่าในการลงทุน ซึ่งเป็นกุญแจสู่ความส�าเร็จในการประหยัด พลั ง งานให้ กั บ องค์ก รอย่า งต่อ เนื่อ งและยั่งยืน
34
E N E R G Y S AV I N G
โดยเริ่ ม ต้ น จากการพั ฒ นาคนเป็ น อั น ดั บ แรก นั่นถือว่าเป็นสิ่งส�าคัญที่สุด ท�าโดยการสร้างทัศนคติ (Attitude) ที่ดี และต่อด้วยการคิดมุมบวก การมีจิตส�านึก ของบุคลากร การมีส่วนร่วมเพื่อส่วนรวมในการประหยัด พลังงาน ซึ่งสิ่งส�าคัญต้องเริ่มจากผู้บริหารที่เป็นผู้น�าเพื่อ น�าพาไปสูค่ วามส�าเร็จด้วยความมุง่ มัน่ ร่วมกับทุกคนในองค์กร ทีต่ อ้ งมีความรู้ (knowledge) และความเข้าใจในการประหยัด พลังงาน (ประหยัดในที่นี้ หมายถึง การใช้งานอย่างคุ้มค่า นะครับ) ซึ่งมีหลายเรื่องมากที่เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ จากการให้ความรู้ที่เราสามารถท�าได้จากสิ่งใกล้ตัว หรือการ ท�างาน หรือการใช้ชวี ติ ประจ�าวัน ตัวอย่างเช่น กรณีเครือ่ งปรับ อากาศ ตัง้ แต่ การเลือกซือ้ การติดตัง้ การใช้งาน และการบ�ารุงรักษา แต่ละอย่างจะมีรายละเอียดทีส่ า� คัญ เช่น การเลือกซือ้ คนส่วนใหญ่ มีความเข้าใจว่า ต้องซือ้ เครือ่ งปรับอากาศเบอร์ 5 แต่จริง ๆ เบอร์ 5 ทีก่ า� หนดนัน้ เป็นเพียงเกณฑ์หรือมาตรฐานขัน้ ต�า่ สุดทีท่ กุ ยีห่ อ้ ต้องผ่านการรับรอง หรือผ่านมาตรฐาน มอก. แต่ถา้ เรามีความ รูแ้ ละความเข้าใจให้มากกว่านีก้ จ็ ะเลือกซือ้ ได้อย่างคุม้ ค่ามากขึน้ ครับ เพือ่ ให้เห็นภาพทีช่ ดั เจน เรามาดูตวั อย่างกัน
DECEMBER 2015
เครื่องปรับอากาศยี่ห้อ A
รูปที่ 1
รูปที่ 2
เครื่องปรับอากาศยี่ห้อ B
รูปที่ 2
รูปที่ 1
จากรูปเครือ่ งปรับอากาศทัง้ 2 ยีห่ อ้ นัน้ ผ่านมาตรฐานมอก. และได้มาตรฐานผ่านเกณฑ์ เบอร์ 5 (แต่มีค่าประสิทธิภาพหรือ EER ที่แตกต่างกัน) คุณภาพที่แตกต่างกัน ราคาที่ แตกต่างกัน ดังนัน้ เราต้องมองความคุม้ ค่าให้ออกกันนะครับ เครือ่ งปรับอากาศยีห่ อ้ A มีคา่ EER ทีม่ ากกว่า ซึง่ จะท�าให้ประหยัดพลังงานมากกว่า เรามาดูตอ่ ทีเ่ รือ่ งคุณภาพของตัวเครือ่ ง จากรูปที่ 1 เปรียบเทียบกันระหว่าง ยี่ห้อ A และ ยี่ห้อ B ถึงการเชื่อมของคอยล์ที่มีความ ประณีต รวมถึงการประกอบยี่ห้อ A มีคุณภาพที่ดีกว่า อย่างเห็นได้ชัดเจนด้วยสายตาครับ ส่วนแผงวงจรควบคุมนัน้ ยิง่ ชัดเจนมากครับ ลองมาเปรียบเทียบง่าย ๆ เลยนะครับ ในกรณี ถ้าแผงควบคุมเสียยีห่ อ้ ไหนใช้เวลาในการตรวจเช็คหรือถอดเปลีย่ นนานและยุง่ ยากมากกว่า กัน ดังนัน้ ราคาก็มโี อกาสทีจ่ ะสูงกว่าเป็นเรือ่ งปกติครับ แต่ถา้ เราซือ้ เครือ่ งปรับอากาศยีห่ อ้ B ที่ราคาเท่ากันหรือแพงกว่า นี่แหละคือสิ่งผิดปกติ สาเหตุเพราะความไม่รู้ หรือไม่มีข้อมูลที่ เพียงพอยังไงครับ จริง ๆ มีรายละเอียดที่มากกว่านี้ครับ แต่ขอยกตัวอย่างเบื้องต้น ดังนั้น ความคุ้มค่ากับเงินที่ลงทุน เราจะต้องมีความรู้และเข้าใจอย่างละเอียดรอบคอบ สิ่งส�าคัญ ที่ช่วยได้ คือ การฝึกอบรมและท�าให้ทุกคนมีส่วนร่วม
ต่อมา คือ ทักษะ (skill) การใช้งานหรือการปฏิบตั งิ าน ต้องมีการฝึกฝน ยกตัวอย่างง่าย ๆ เช่น การเปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศ การใช้งานลิฟต์ หรือแม่บ้าน ท�าความสะอาดโดยการใช้เครือ่ งดูดฝุน่ ดูดฝุน่ อย่างไร แบบไหน ให้ประหยัดพลังงาน รวมถึงอุปกรณ์เครือ่ ง ใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ตลอดจนกระบวนการท�างานทุก กระบวนการทีใ่ ช้พลังงาน และในขณะเดียวกันสิง่ ทีจ่ ะ ต้องท�าขนานกันไป คือ การสร้างระบบ ระบบทีส่ ร้าง เราสามารถน�าไปสูก่ ารจัดการพลังงาน 8 ขัน้ ตอน ตาม กฎกระทรวง หรือการน�าระบบมาตรฐาน ISO 50001 มาด�าเนินการ เพื่อท�าให้เกิดการด�าเนินงานอย่าง เป็นระบบและมีมาตรฐาน เกิดความต่อเนือ่ งในการ พัฒนาทีย่ งั่ ยืนครับ สิง่ ทีเ่ ข้ามามีบทบาทส�าคัญและเป็น ปัจจัยหลักอีกอย่างหนึง่ ก็คอื เทคโนโลยี ณ วันนีโ้ ลก มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การน�ามาใช้ อย่างเหมาะสมเป็นสิง่ ส�าคัญ และสิง่ ส�าคัญคือความ คุ้มค่าในการลงทุนครับ ตัวอย่างอาคารและโรงงาน ที่ประสบความส�าเร็จที่ได้รับรางวัลในระดับอาเซียน ปี 2015 ณ ประเทศมาเลเซีย มีดงั นี้ Building Special Submission Category
Winner : Energy Saving During the Process of Patient – Admission/Discharge Bangkok Hospital Chanthaburi (BCH)
Small and Medium Building Category Winner : Bangchak Office Building 1, 4 Toyota Buzz Co., Ltd. (Kaset-Nawamin)
Large Building Category
Winner : Richmond Stylish Convention Hotel Chaophraya Yommarat Hospital
การรับรางวัลในระดับอาเซียน ขอบคุณภาพประกอบ http://www.xeroscleaning.com/hs-fs/hub/303944/file1963021225-jpg/blogs/energyefficiency.jpg
การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าที่องค์กร VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
35
Product review coNStructioN TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
iWood ไม้ธรรมชาติกันปลวก
บริษัท ลีโอวูด อินเตอร์เทรด จ�ากัด น�าเสนอนวัตกรรมใหม่ “iWood รุ่นไม้ใช้ภายนอก กั น ปลวก” รายแรกที่ผ ลิต ในประเทศไทย ใช้เทคโนโลยีด้านเอ็นจิเนียริ่งเข้ามาช่วยใน กระบวนการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานในไม้จริงจากธรรมชาติให้เหนือกว่าวัสดุ ทดแทนอย่าง WPC หรือไฟเบอร์ซีเมนต์ iWood จึงมีความทนทาน เป็นฉนวนชั้นดี คงทน ทุกสภาพอากาศ ตอบสนอง ทุกการใช้งานภายนอกอาคาร จุดเด่นของลีโอวูด คือ การท�าสี ส�าเร็จจากโรงงานด้วยสีคุณภาพสูง ท�าให้สินค้าโดดเด่น เหนือระดับ
คุณสมานชัย อธิพันธุ์อ�าไพ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ลีโอวูด อินเตอร์เทรด จ�ากัด
คุ ณ สมานชั ย อธิ พั น ธุ ์ อ� า ไพ ประธาน เจ้ า หน้ า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท ลี โ อวู ด อินเตอร์เทรด จ�ากัด กล่าวว่า “นับเป็นอีกหนึง่ ความภาคภูมใิ จของแบรนด์ลโี อวูด ทีไ่ ด้สร้างสรรค์ นวัตกรรมที่ผสมผสานระหว่างธรรมชาติและ เทคโนโลยี อย่ า งลงตั ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จนเกิดเป็น iWood รุ่นไม้ใช้ภายนอกกันปลวก นวัตกรรมเอกชิน้ ล่าสุด ไม้จริงทีเ่ หนือกว่าไม้จริง ตามธรรมชาติ ตอบสนองทุกการใช้งานภายนอก อาคาร ทั้งไม้แปรรูป ไม้ระเบียง ไม้ฝา ทั้งยัง สามารถน�ามาต่อยอด สร้างเป็นเฟอร์นิเจอร์ ที่สวยงามได้อีกด้วย โดยใช้ไม้ยางพาราที่เป็น ไม้ ป่ า ปลู ก และไม้ เ ศรษฐกิจ ในประเทศเป็น วัสดุหลัก” “ส�าหรับโอกาสทางธุรกิจ ไม้ใช้ภายนอกนี้ ทางลี โ อวู ด ได้ เ ล็ ง เห็ น ว่ า ในปั จ จุ บั น ลู ก ค้ า 36
E N E R G Y S AV I N G
ตระหนักดีแล้วว่า สินค้าทดแทนไม้ แท้จริงแล้ว ไม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการได้ โดยเฉพาะ เรื่ อ งคุ ณ ภาพสิ น ค้ า อายุ ก ารใช้ ง าน และ ความเป็นฉนวน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของ ผิวสัมผัส จึงท�าให้ iWood รุน่ ไม้ใช้งานภายนอก น่าจะมีโอกาสในการแชร์สว่ นแบ่งทางการตลาด กลับมาจากวัสดุทดแทนไม้ได้พอสมควร” นอกจากนี้ iWoodรุ่นไม้ใช้งานภายนอก ยังถูกพัฒนาให้เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้งานทีม่ า พร้อมกับกาวกันน�้าสูตรพิเศษ ท�าให้ได้ไม้จริงที่ ทนทานกว่าไม้ทั่วไป ลดการบิด โก่ง หด ขยาย แตกและการแยกตัวของชั้นไม้ เพิ่มขีดความ สามารถของไม้ รับประกันไร้ปลวก มอด สูงสุด ถึง 15 ปี ปลอดภัยกับผู้ใช้งานและเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ถือเป็นผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product) อย่างแท้จริง DECEMBER 2015
11.05-11.30 .
Product ShowcaSe conStruction TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
วาล์วประหยัดน�้า FILL PRO บริษัท ยิบอินซอยและแย๊คส์ จ�ำกัด บริษัทชั้นน�ำที่ด�ำเนินธุรกิจ อย่ำงมีประสิทธิภำพมำนำนกว่ำ 48 ปี ขอแนะน�ำ “วำล์ว ประหยัดน�้ำ ฟิลล์โปร” ผลิตภัณฑ์จำก FILL PRO ประเทศสหรัฐอเมริกำ ภำยใต้ คอนเซ็ปต์ The Quiet! Toilet Tank Fill Valve ซึง่ มำพร้อมจุดเด่น หลำยประกำร ไม่ ว ่ ำ จะเป็ น ควำมสำมำรถในกำรประหยั ด น�้ ำ ได้ ถึง 30% สำมำรถปรับระดับน�้ำสูง-ต�่ำ ได้ง่ำย ไม่มีเสียงรบกวน ผลิต จำกสแตนเลส 18-8 ทนต่อกำรกัดกร่อน จึงปลอดสนิมตลอดอำยุกำร ใช้งำน โดยชิน้ ส่วนยำงเป็นสูตรผสมพิเศษ EPR เพือ่ ใช้กนั น�ำ้ โดยเฉพำะ เนือ้ พลำสติกคุณภำพสูงชนิดพิเศษจึงสำมำรถน�ำมำใช้แทนระบบลูกลอย แบบเก่ำในสุขภัณฑ์ได้เป็นอย่ำงดีโดยไม่ตอ้ งเปลีย่ นสุขภัณฑ์ใหม่
EKOBLOK
กันความร้อน ประหยัดพลังงาน
Pro Lift Mini
แผ่นหลังคาโปร่งแสง
บริ ษั ท อี โ ค แมท จ� ำ กั ด ด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต คอนกรี ต บล็ อ ก น�้ำหนักเบำ จำกวัตถุดิบ ปูนซิเมนต์ ผงไม้ และเถ้ำจำกกำรเผำไหม้ เรียกว่ำ EKOBLOK มีคุณสมบัติ น�้ำหนักเบำ ท�ำให้สำมำรถประหยัด โครงสร้ำงและประหยัดเวลำก่อสร้ำง มีคำ่ สัมประสิทธิกำรน�ำควำมร้อน น้อยกว่ำผนังก่ออิฐมอญประมำณ 10 เท่ำ ทดสอบกำรทนไฟตำม มำตรฐำนของอังกฤษ โดยกำรเผำไฟที่อุณหภูมิ 1,100 องศำเซลเซียส เป็นเวลำนำน 4 ชั่วโมง ท�ำให้ควำมร้อนผ่ำนผนังเข้ำสู่ภำยในอำคำร น้อยกว่ำ จึงท�ำให้ประหยัดพลังงำนไฟฟ้ำในกำรปรับอำกำศภำยใน อำคำร ป้องกันเสียงได้ดีกว่ำผนังก่ออิฐมอญฉำบปูน
บริษทั ดู เบสต์ เทรดดิง้ จ�ำกัด ผูน้ ำ� เข้ำและจ�ำหน่ำย หลังคำไฟเบอร์ กลำสโปร่งแสง ผลิตได้มำตรฐำน AS4256.3:2006 (เป็นมำตรฐำน กำรผลิตหลังคำไฟเบอร์กลำสโปร่งแสง ที่ได้รับกำรยอมรับมำกกว่ำ 90 ประเทศทั่วโลก) ด้วยเทคโนโลยี ในกำรเคลือบป้องกันรังสียูวีได้ มำกกว่ำ 99% และรังสีอุลตร้ำไวโอเล็ตบนผิวของแผ่นหลังคำได้ดี เยี่ยม อีกทั้งช่วยยืดอำยุ แผ่นหลังคำไฟเบอร์กลำสโปร่งแสงให้คง สภำพปริมำณแสงที่ผ่ำนเข้ำมำ แต่สำมำรถป้องกันควำมร้อนได้ถึง 50% ช่วยให้ประหยัดค่ำไฟได้มำกขึ้น มียำงรองกันน�้ำคุณภำพสูง และสกรูที่รองรับกำรป้องกันน�้ำรั่วซึมนำนถึง 20 ปี 38
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
ฉนวนกันความร้อน ระบบเอนไวโรสเปรย์ 300
บริษัท Nutural Insulation จ�ำกัด แนะน�ำ ฉนวนกันควำมร้อน ระบบเอนไวโรสเปรย์ 300 แบบชิ้นเดียวไร้รอยต่อ ตัวเยื่อกระดำษ จะ ถูกพ่นลงบนวัสดุที่จะติดตั้งฉนวนกันควำมร้อนโดยตรง ไม่หลุดร่อน ควำมหนำ 25-30 มม. มีคุณสมบัติ ยืด-หดตัว ตำมชนิดของวัสดุก่อสร้ำง ประกอบไปด้วยโพรงอำกำศขนำดเล็ก ท�ำให้สำมำรถถ่ำยเทควำมร้อน ได้ดี ครอบคลุมกำรใช้งำนทุกอุณหภูมิ ในธรรมชำติ เหมำะกับห้องหรือ อำคำรที่ ต ้ อ งกำรควบคุ ม สภำพแวดล้ อ ม ช่ ว ยลดค่ ำ ใช้ จ ่ ำ ยกำรใช้ พลังงำนไฟฟ้ำของเครื่องปรับอำกำศในตัวอำคำรได้ และยังลดเสียง รบกวน ทั้งเสียงก้องภำยในอำคำร และเสียงจำกภำยนอก รับประกัน คุณภำพถึง 10 ปี
Forbo กระเบื้องยาง
บริษัท เตียวฮงสีลม จ�ำกัด ผู้น�ำเข้ำวัสดุตกแต่งอำคำรทั้งภำยใน และภำยนอก โดย Forbo ผู้ผลิตกระเบื้องยำงระดับโลกจำกประเทศ เนเธอร์ แ ลนด์ ผลิ ต จำกวั ส ดุ ธ รรมชำติ 100% ไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด สำรพิ ษ แบคทีเรีย ฝุน่ ละออง ทนทำนต่อกำรสึกหรอด้วยเทคโนโลยี Heterogenneous ผิวหน้ำเคลือบด้วย Polyuerthene (PUR) ท�ำให้ทำ� ควำมสะอำด ง่ำย ป้องกันรอยขูดขีด มีควำมยืดหยุ่นสูง โค้งงอได้มำกจึงง่ำยต่อกำร ติดตั้ง และยังคงรูปได้ดี ไม่ยืด-หดตัว ได้รับกำรรับรองเป็นผลิตภัณฑ์ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตำมมำตรฐำน LEED (The Leadership in Evironmental Design) VOLUME 7 ISSUE 85
ประตูไม้สักลาว มาตรฐาน FSC บริษัท ไพร์ซ ออฟ วู้ด อินดรัสทรีส์ จ�ำกัด ผู้ผลิตและ จ� ำ หน่ ำ ยผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ จ ริ ง ภำยใต้ สิ น ค้ ำ แบรนด์ CHALE’T ประสบกำรณ์ทำงด้ำ นธุรกิจค้ำ ไม้กว่ำ 30 ปี เป็ นไม้ จำกป่ ำ ปลูกที่ได้รับมำตรฐำนกำรรับรองระดับสำกลจำก The Forest Stewardship Council (FSC) องค์กรอิสระระหว่ำงประเทศ ที่ ไ ม่ แ สวงหำผลก� ำ ไร โดยมี จุ ด ประสงค์ ใ นกำรก่ อ ตั้ ง เพื่ อ วำง ระบบเครื่องหมำยรับรองสำกล ที่เป็นที่เชื่อถือได้ส�ำหรับไม้และ ผลิตภัณฑ์ต่ำง ๆ ประตูจำกไม้สักลำว ผ่ำนกำรอบแห้ง 10-12% เพื่อลดอัตรำกำรหดและขยำยตัว ประตูขอบตั้ง ใช้ไม้หน้ำกว้ำง 5 นิ้ว เหมำะส�ำหรับกำรใช้งำน ทั้งภำยในและภำยนอก E N E R G Y S AV I N G
39
INTERVIEW TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
THAI NANO HOUSE บ้านเล็ก คุณภาพล้น
ชาติชาย สุภัควนิช กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทยนาโน เฮ้าส์
หากพูดถึงเรื่องการก่อสร้าง คงจะหลีกเลี่ยงเรื่องการท�าลายสิ่งแวดล้อมลงไป ด้วยไม่ได้ ทั้งวัสดุ อุปกรณ์ ทั้งระบบ วิธีการก่อสร้าง แต่ บริษัท ไทยนาโน เฮ้าส์ ที่วิจัย และผลิตวัสดุก่อสร้างด้วยตัวเองให้มีความเป็น Eco ทุกชิ้น รวมถึงออกแบบ บ้านพักให้ประหยัดพลังงาน เวลา รวมถึงค่าใช้จ่ายให้ได้มากที่สุด ภายใต้แนวคิด พั ฒ นาเทคโนโลยี ใ ห้ สู ง สุ ด เพื่ อ ให้ ไ ด้ บ ้ า นที่ ต อบโจทย์ ผู ้ อ าศั ย ได้ ม ากที่ สุ ด สู่ธุรกิจที่ยั่งยืน 40
E N E R G Y S AV I N G
คุ ณ ชาติ ช าย สุ ภั ค วนิ ช กรรมการ ผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ไทยนาโน เฮ้ า ส์ เล่ า ว่ า ผมจบจากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า เจ้ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง ตอนเรี ย นท� า เกี่ ย วกั บ เรือ่ ง ไมโครคอมพิวเตอร์ ส�าหรับงานก่อสร้าง ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ.2528 – 2529 ตั้ ง แต่ นั้ น ก็ ผ่านงานออกแบบมาพอสมควร หลังจากนั้น ก็ ม าท� า เรื่ อ งซอฟแวร์ แล้ ว ไปเห็ น กราฟว่ า เทคโนโลยี ต่อไปจะเป็นเว็บเซอร์วสิ เว็บแอป ทั้งหมด ซึ่งมองว่าถ้าเป็นเช่นนี้ หากท�าเรื่อง เทคโนโลยี วันหนึ่งจะสูญพันธุ์ ซึ่งผมเห็นมา เกือบ 15 ปี ว่าธุรกิจซอฟแวร์พอมาวันหนึง่ ก็ จะหายไป เราจึงจ�าเป็นที่จะต้องมีเทคโนโลยี เป็นของตัวเอง เอาความรูเ้ ดิมในทางวิศวกรรม ของเราบวกเข้ากับเทคโนโลยีกลายมาเป็น สินค้าของเรานัน้ เอง ช่วงทีผ่ มสอน ป.โท คณะสถาปัตยกรรมศาตร์ มีลกู ศิษย์ถามว่า “ยังมีบา้ นทีด่ กี ว่านี้ ถูกกว่านี้ สร้างเร็วกว่านีอ้ กี ไหม” เป็นค�าถามง่าย ๆ แต่ เราตอบยาก เพราะส่วนใหญ่เราสอน เราเรียน ตามต�ารามาเป็นปกติ ท�าให้ผมต้องกลับมา ศึกษาใหม่ และมองว่า บ้านที่เราอยู่เป็นบ้าน ทีไ่ ม่ตอบโจยท์กบั การท�างาน หรืออยูอ่ าศัยใน ปัจจุบนั เพราะมีภยั พิบตั มิ ากขึน้ บ้านร้อนขึน้ แต่วสั ดุ กระบวนการก่อสร้างแบบเดิมไม่สามารถ ตอบสนองวิถชี วี ติ มนุษย์ได้ ผมจึงไปเรียนเพิม่ เติมที่รัฐแท็กซัส สหรัฐอเมริกา ในแบบการ สร้างบ้านโดม ทีป่ ระหยัดพลังงานมากกว่าด้วย รูปทรงทีใ่ ช้วสั ดุนอ้ ยลง อมความร้อนได้นอ้ ยลง แต่คนไทยไม่นยิ มเท่าทีค่ วร จึงมาปรับเปลีย่ นให้ เป็นบ้านทรงสีเ่ หลีย่ มเหมือนเดิม และท�าอย่างไร ให้สนิ ค้าเราขยายไปได้ทวั่ ประเทศ เลยคิดว่าถ้า มีขนาดเล็กถึงจะท�าได้ บริษทั ไทยนาโน เฮ้าส์ จัดตัง้ ขึน้ เนือ่ งจาก มองเห็นโอกาสในการพัฒนา แต่เราเป็นเพียง SMEs ผมมองว่ า ถ้ า จั บ ตลาดก็ ต ้ อ งท� า ใน สิง่ ทีย่ งั ไม่มคี นท�า เพือ่ ให้เราท�าธุรกิจได้งา่ ย ผมไป เห็นกราฟอีกอันหนึง่ บอกว่า ในโลกอนาคตบ้าน จะมีขนาดเล็กลง เรียกว่าเป็น ไมโครแฟมมิลี่ เรามาสังเกตว่าสมัยก่อนเป็นอาคารเรือนหมู่ ผ่านมา 30-40 ปี กลายเป็นบ้านปูนอาศัยอยูก่ นั 6-7 คน แต่โลก ในอนาคตบ้านจะเล็กลงกว่านี้ อีก ประมาณไม่เกิน 20 ตารางเมตร มีคนอาศัย เพียง 1-2 คน ส�าหรับคนโสด คนทีไ่ ม่ตอ้ งการ มี ลู ก มี เ พิ่ ม มากขึ้ น เรื่ อ ย ๆ ในต่ า งประเทศ คาดการณ์กนั ว่าอนาคตจะมีถงึ 72% เมือ่ โลกจะ เป็นไปในทางนี้ ต่อไปก็จะออกมาในเชิง โลว์คอส DECEMBER 2015
สุดท้ายถ้าทรัพยากรธรรมชาติ เหลือเพียงดินกับหิน แล้วชีวิตมนุษย์จะอยู่อย่างไร เพราะเราท�าลายมันไปหมดแล้ว ท�าไมไม่ช่วยกันรักษา
Eco และขนาดเล็ก จึงเป็นเหตุให้ตงั้ ชือ่ บริษทั ว่า ไทยนาโน เฮ้าส์ ซึง่ เราเป็น บริษทั เล็ก ๆ ทีผ่ ลิตทุกอย่าง เรียกได้วา่ เราคิดค้นสร้างขึน้ มาเองทัง้ หมด คอนเซปของบ้านอิฐบล็อคนาโน เป็นบ้านของผนังรับแรง ใช้แทนโครงสร้าง แบบเสาคาน โดย 1 ก้อนจ�าเป็นจะต้องมีความหนาตัง้ แต่ 12 ซม. ซึง่ สามารถ รับแรงได้ 15 ตัน/1 ก้อน แข็งแรงกว่าบ้านปกติถงึ 6 เท่า ขึน้ ไป และเป็นฉนวน กันความร้อนในตัว ท�าให้บ้านเย็นกว่า ข้างในตัวบล็อคกลวงสามารถร้อย สายไฟ ท่อประปาได้ ใช้วสั ดุนอ้ ยกว่าอิฐมอญ น�า้ หนักเบากว่า โครงสร้าง จะท�าให้ เกิดแรงอัด จะไม่เกิดแรงดึง มีรนุ่ ก้อนเต็ม กับครึง่ ก้อน เกาะสลับเป็นอินเตอร์ ล็อค เพือ่ ไม่ให้หลุดออกจากกัน เมือ่ ก่อผนังเรียบร้อยแล้ว สามาถใช้ปนู ฉาบทับ หรือจะปล่อยให้เป็นผนังเปลือยก็ได้ แม้แต่เอาโฟมมาหุ้มผนังจากภายนอก ทั้งบ้าน โดยมีปูนฉาบพิเศษที่ไม่เกิดการร่อน เพราะหลักการประหยัด พลังงานที่ดีที่สุด คือ ฉนวนกันความร้อนต้องอยู่ภายนอกอาคาร ท�าให้ ความร้อนเข้ามาได้นอ้ ย แทรกซึมเข้ามาเพียง 5% ถ้าฉนวนอยูภ่ ายในอาคาร นั่นหมายถึงความร้อนเข้ามาภายในอาคารแล้ว จะเกิดการแผ่รังสีออกมา ท�าให้ประสิทธิภาพเหลือไม่ถงึ 50% เรามีตวั แทนทีอ่ ยูต่ า่ งจังหวัดกว่า 50 สาขาทัว่ ประเทศ แต่การสร้างบ้านมี แค่คอนกรีตบล็อค ยังไม่สามารถสร้างบ้านทัง้ หมด จึงขยายผลิตภัณฑ์ออกไป อีกโดยแบ่งเป็น แบบระบบภายในบ้าน และแบบระบบภายนอกบ้าน ทีว่ างไว้ คือ มี 22 โซลูชนั่ แต่ละโซลูชนั่ มีประมาณ 5 เวอร์ชนั่ รวมทัง้ หมดมี 110 โซลูชนั่ ทีก่ า� ลังจะออกมาในอนาคตอีกไม่เกิน 4 ปี ซึง่ ทุกตัวจะเป็นผลิตภัณฑ์ Eco ทัง้ หมด ตอนนีม้ อี อกมาเพียง 4 ตัว ในปีหน้าจะออกมาอีก 20-30 ตัว และจะทยอยออกครบทัง้ หมดประมาณ ให้เป็นอีกทางเลือกของคนสร้างบ้าน ในรูปแบบทีไ่ ม่ไปกระทบกับองค์กรใหญ่ เพราะสเกลเราเล็กกว่า VOLUME 7 ISSUE 85
จุดเด่นของเรา คือ สามารถสร้างบ้านหลังเล็ก ๆ เสร็จภายใน 7 วัน ราคาเพียงหนึง่ แสนบาท ผมเน้นการขายความรูอ้ อกไปส�าหรับบ้านใน ต่างจังหวัด เพราะทุกวันนีม้ กี ารบวกค่าขนส่งเข้าไปในวัสดุกอ่ สร้างอีก 20-30% ถ้าวัสดุสามารถหาได้เองจากท้องถิน่ ก็จะลดค่าขนส่งลงได้ พยายามใช้วัสดุจากต่างถิ่นให้น้อยที่สุด เราจะมีราคาต�่ากว่าที่อื่นลง เรือ่ ย ๆ ตามทฤษฎีของผม จนวันหนึง่ แทบไม่ตอ้ งใช้เงินสร้างบ้านเลย ผมแบ่งบ้านทีด่ เี ป็น 4 ระดับ คือ Basic Standard Gold Platinum บ้านทัว่ ไปทีส่ ร้างให้เพียงแค่อยูไ่ ด้ แต่ผมต้องการท�าระดับ Platinum วิธีการคิดของผมไม่ได้ต้องการที่จะไปแข่งใคร แต่คิดเพื่อพัฒนา เทคโนโลยีของผมให้สงู สุด เพราะถ้าเทคโนโลยีสงู สุดได้ ผมก็ได้ราคา บ้านทีต่ า�่ สุด การทีม่ รี าคาบ้านได้ตา�่ สุด และตอบโจทย์ได้ทงั้ หมดจะเกิด ความยัง่ ยืนในการประกอบธุรกิจ ขณะเดียวกัน ในการประกอบการ ต้องมีความเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เป้าหมายหนึง่ ของเรา คือ ท�าให้ กับสังคม ผมจึงมองว่า บ้านจริง ๆ มันจะต้องมีครบทัง้ 6 มิตเิ สมอ แยกออกมาเป็น 3 บน ต้องเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ต้านภัยพิบตั ไิ ด้ และไม่สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพของผูอ้ ยูอ่ าศัย ส่วน 3 ล่าง ต้องมีความ แข็งแรง ทนทาน ประหยัดเวลา และราคาถูก เรามุง่ เน้นการออกแบบ เพือ่ ให้ตอบโจทย์ทงั้ หมด ผมต้องการเห็นบ้านถูกและดี ผมมีโครงการบ้านหลักหมื่น คือ มีเงินเพียงหลักหมื่นก็สามารถ มีบา้ นได้ ท�าไมคนจะต้องแห่จากต่างจังหวัดเข้ามาในกรุงเทพฯ แล้ว ซือ้ บ้าน สุดท้ายเป็นหนีอ้ กี 30 ปี ผมท�าเพือ่ ให้คณ ุ ภาพชีวติ คนดีขนึ้ ไม่ได้ทา� เพือ่ ลบล้างระบบเก่า เพราะผมต้องการให้ธรุ กิจเกิดความยัง่ ยืน ที่สุด สุดท้ายถ้าทรัพยากรธรรมชาติเหลือเพียงดินกับหิน แล้วชีวิต มนุษย์จะอยูอ่ ย่างไร เพราะเราท�าลายมันไปหมดแล้ว ท�าไมไม่ชว่ ยกัน รักษา เราทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ก็ตอ้ งมีการรณรงค์ ปลูกจิตส�านึก หรือท�าให้ ดูเป็นตัวอย่าง พวกที่ท�าลายทรัพยากร ธรรมชาติส่วนใหญ่ก็น�ามา สร้างบ้านทั้งนั้น ถ้าจะใช้ก็ใช้ได้ เพียงแต่อยากให้มองดูตัวอย่างใน ต่างประเทศ ก็คอื ต้องมีปา่ ปลูก และต้องปลูกทดแทนเพิม่ ให้มนั เสมอกัน เมืองไทยตรงนีย้ งั ไปไม่ถงึ E N E R G Y S AV I N G
41
green industrial TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
โรงงานสีเขียว สยามไฟเบอร์กลาส
ผลิตภัณฑ์ลดโลกร้อน ใส่ใจพลังงาน บริษัท สยามไฟเบอร์กลาส จ�ากัด เป็นบริษัทในกลุ่มธุรกิจเอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง (SCG Cement-Building Materials) ผู้ผลิตฉนวนกันความร้อนเอสซีจี รุ่น สเตย์ คูล (STAY COOL) แผ่นโปร่งแสงเอสซีจี และวัสดุอะคูสติกเอสซีจี และจัดจ�าหน่ายฉนวนกันความร้อนประเภทฉนวนใยแก้ว ภายใต้ยี่ห้อ “ฉนวนเอสซีจี” เพื่อน�าไปใช้งานในหลาย ๆ ประเภท เช่น อาคารบ้านพักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม ระบบหุ้มท่อปรับอากาศ และฉนวนเพื่องานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นต้น และนอกจากผลิตภัณฑ์ของบริษัทจะเป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยลดโลกร้อนแล้ว กระบวนการผลิตของโรงงานยังเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอีกด้วย
42
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
คุ ณ สั น ชั ย ห้ า งชั ย เจริ ญ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั สยามไฟเบอร์กลาส จ�ากัด กล่ า วถึ ง จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ว่ า บริษทั สยามไฟเบอร์กลาส จ�ากัด ก่อตัง้ มาตัง้ แต่ พ.ศ. 2534 โดยการร่วมทุนระหว่าง บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ากัด (มหาชน) กับ บริษัท OWENS CORNING ประเทศสหรัฐอเมริกาที่ เป็นผูน้ า� ด้านการผลิตฉนวนใยแก้ว มีคณ ุ สมบัติ ช่ ว ยในการกั น ความร้ อ นและดู ด ซั บ เสี ย ง ผลิตขึ้นภายใต้เทคโนโลยีการผลิตของโอเวนส์ คอร์นนิ่งไฟเบอร์กลาส ซึ่งเป็นผู้ผลิตฉนวน ใยแก้วรายแรกในสหรัฐอเมริกาควบคุมการ ผลิตด้วยระบบคอมพิวเตอร์เพื่อให้ได้เส้นใย ที่นุ่มและไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และเป็น มิตรต่อสิง่ แวดล้อม นับเป็นรายแรกและรายเดียว ในประเทศไทย ที่ น� า วั ส ดุ ป ระเภทแก้ ว และกระจก ซึ่งเป็นวัสดุรีไซเคิล ลดการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ มาหลอมละลายทดแทน การใช้ทรายในการผลิต โดยปกติแล้วการใช้ ทรายจะต้องใช้อุณหภูมิในการหลอมละลาย สูงถึง 1,400-1,600 องศาเซลเซียส แต่แก้ว รีไซเคิลใช้อุณหภูมิเพียง 1,200 องศาเซลเซียส เท่ า นั้ น จึ ง ช่ ว ยลดปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซ เรื อ นกระจกที่ เ ป็ น หนึ่ ง ในสาเหตุ ข องภาวะ โลกร้ อ น และสามารถลดปริ ม าณขยะจาก ขวดแก้วได้กว่าหลายพันตัน ภายใต้แนวคิด Green Product from Green Process อย่างแท้จริง ด้วยเหตุนเี้ อง ฉนวนเอสซีจี จึงเป็นผูผ้ ลิตฉนวน กันความร้อนรายแรกทีไ่ ด้รบั มาตรฐานรับรอง ฉลากเขียวจากสถาบันสิง่ แวดล้อมไทย และ ใบรับรองการใช้ฉลากคาร์บอนฟุตปริ้นท์ใน ฐานะผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ฉนวนประเภทใยแก้ว ทัง้ ฉนวนกันความร้อน “STAY COOL” และ ฉนวนกันเสียง “วัสดุอะคูสติกเอสซีจ”ี รายแรก และรายเดี ย วที่ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ ต่ อ การ
VOLUME 7 ISSUE 85
คุณสันชัย ห้างชัยเจริญ
คุณวรวิทย์ สุรีศรากร
รักษาสิ่งแวดล้อมในทุกขั้นตอนการผลิตที่ไม่ เป็นพิษ ปลอดภัยกับผู้บริโภคและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม จากองค์การบริหารจัดการ ก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) ไม่นับรวม รางวัลอืน่ ๆ ที่ เกีย่ วข้องกับการมีสว่ นร่วมรักษ์ สิ่งแวดล้อมอีกมากมาย
คุณสลิล กันตนฤมิตรกุล
โดยในส่วนการผลิต บริษัทฯตั้งอยู่ในเขต อุตสาหกรรมเครือซิเมนต์ไทย จ.สระบุรี ผลิต และจั ด จ� า หน่ า ยฉนวนใยแก้ ว ทั้ ง ประเภท กันความร้อน ทัง้ แบบม้วน (Blanket), แบบแผ่น (Batt and Board) และแบบหุ้มท่อ (Pipe Cover) และฉนวนกั น เสี ย ง ภายใต้ ยี่ ห ้ อ
E N E R G Y S AV I N G
43
“ฉนวนเอสซี จี ” เพื่ อ น� า ไปใช้ ง านในหลาย ๆ ประเภท เช่ น อาคารบ้ า นพั ก อาศั ย , โรงงานอุตสาหกรรม, ระบบหุม้ ท่อปรับอากาศ และฉนวนเพือ่ งานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นต้น ด้วย คุณสมบัติ ที่ไม่เพียงแต่ช่วยป้องกันหรือลดความร้อนเข้าสู่บ้านพักอาศัยหรืออาคารเท่านั้น แต่ยัง สามารถช่วยประหยัดพลังงานจากการใช้เครือ่ งปรับอากาศได้มากถึง 47% จึงเป็นฉนวนกันความร้อน ประเภทแรกทีไ่ ด้รบั “ฉลากประสิทธิสงู เบอร์ 5” ในการลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน จากกรมพัฒนา พลังงานทดแทน และอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน อีกทัง้ ยังเป็นวัสดุทมี่ คี วามปลอดภัยในการ ใช้งานสูง เพราะเป็นวัสดุทไี่ ม่ลามไฟ และปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยองค์การอนามัยโลกจัดให้ใยแก้ว เป็นสารไม่กอ่ ให้เกิดมะเร็ง นอกจากนีย้ งั เพิม่ คุณสมบัตพิ เิ ศษในการกันน�า้ และกันความชืน้ ด้วยสาร HydroProtecTM พร้อมหุ้มรอบด้านด้วยแผ่นอลูมิเนียมฟอยล์ชนิดเสริมแรง จึงมีอายุการใช้งาน ยาวนานกว่า นอกจากนีผ้ ลิตภัณฑ์ของทางบริษทั ฯ ยังได้รบั การรับรองมาตรฐานสินค้า จากสถาบัน ภายในประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ มอก. 486-2526, มอก. 487-2526, PSBTEST, LLOYD’s REGISTER, ASTM ท�าให้ผู้ออกแบบ หรือผู้ใช้งานมีความมั่นใจ และสามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ของ ทางบริษัทฯกับงานประเภทต่าง ๆ ได้ตามที่ต้องการ และมีประสิทธิภาพสูงสุด คุณสลิล กันตนฤมิตรกุล ผูจ้ ดั การส่วนการตลาดบริษทั สยามไฟเบอร์กลาส จ�ากัด กล่าวเสริมว่า นอกจากผลิตภัณฑ์ฉนวนกันความร้อนของทางบริษัทฯ จะผลิตจากวัสดุรีไซเคิลแล้ว เรายังมี ผลิตภัณฑ์ฉนวนดูดเสียง และฉนวนกันเสียงไซเลนส์ โดยมีอยู่ 2 ชนิด ได้แก่ ฉนวนกันเสียงและ ผลิตภัณฑ์ฉนวนดูดซับเสียง มีคณ ุ สมบัตเิ ด่นเหมาะกับสภาพสังคมและความเป็นอยูข่ องคนรุน่ ใหม่ ซึง่ ถือเป็นโซลูชนั่ ทีจ่ ะเข้ามาช่วยแก้ปญ ั หาให้กบั ทีพ่ กั อาศัยและส�านักงานยุคใหม่ สามารถป้องกันเสียง รบกวนได้เป็นอย่างดี ติดตัง้ ได้กบั ผนังไม้ ผนังยิปซัม หรือผนังไฟเบอร์ซเิ มนต์ ซึง่ ผลิตภัณฑ์ทงั้ 2 รุน่ ได้รับการออกแบบให้มีความสวยงามและทันสมัย เหมาะที่จะใช้ภายในบ้านพักอาศัย อาคาร ส�านักงาน หรือสถานที่ที่ต้องการความเงียบสงบ นอกจากบริษทั ฯ จะได้รบั รางวัลฉลากเขียว 10 ปีซอ้ นแล้ว เมือ่ ไม่นานมานี้ บริษทั ฯ ยังได้รบั รางวัล ESCO Project Award 2015 อีกด้วย คุณวรวิทย์ สุรศี รากร ผูจ้ ดั การโรงงาน กล่าวถึงทีม่ าของรางวัล นี้ว่า รางวัล ESCO Project Award 2015 ที่ทางเราได้มานั้น มาจากที่เราได้ร่วมโครงการกับทาง ESCO Information Center ทีถ่ อื เป็นศูนย์กลางข้อมูลให้คา� ปรึกษาและแนะน�าเกีย่ วกับกระบวนการ จัดการโรงงานอย่างไรเพือ่ ให้เกิดการประหยัดพลังงาน โดยบริษทั ESCO ให้การสนับสนุนการลงทุน การรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการด�าเนินการของธุรกิจ รวมทั้งเป็น ศูนย์กลางข้อมูลเพือ่ เชือ่ มโยงกันระหว่างบริษทั จัดการพลังงาน ผูป้ ระกอบการ และสถาบันการเงิน และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ประกอบการที่สนใจสามารถรับทราบข้อมูลรูปแบบการให้บริการและ ประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้บริการจากบริษัทจัดการพลังงานได้ง่ายยิ่งขึ้น และยังเป็นส่วนที่ รับปรึกษา แนะน�า ให้ความรู้ และข้อมูลเพิม่ เติมแก่ผสู้ นใจทีม่ ขี อ้ สงสัยและต้องการซักถามรายละเอียด ด้านพลังงาน การตัดสินใจเลือกลงทุนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานกับบริษัทจัดการพลังงานได้อย่าง เหมาะสม โดย ESCO Information Center จะให้ข้อมูลกับผู้ที่สนใจด้านการอนุรักษ์พลังงาน 44
E N E R G Y S AV I N G
และอีกสาเหตุหนึ่งที่เราร่วมโครงการกับทาง ESCO นั้นคือ เราต้องการประหยัดพลังงาน ในการกระบวนการผลิต เนื่องจากกระบวน การผลิตของเราใช้พลังงานมากพอสมควร ซึ่ง ทางบริษทั ESCO ทีเ่ ข้ามาดูแลจะให้คา� แนะน�า และหาวิธีต่าง ๆ เพื่อลดการใช้พลังงานใน กระบวนการผลิตภายในโรงงาน ซึ่งผลจากที่ เข้าร่วมโครงการท�าให้โรงงานของเราลดการ ใช้พลังงานไปได้มากเลยทีเดียว และท�าให้เรา ได้รับรางวัล ESCO Project Award 2015 ทั้ ง หมดนี้ คื อ สิ่ ง ส� า คั ญ ที่ ส ยามไฟเบอร์ กลาส ได้ทุ่มเทกับการวิจัยค้นคว้าเพื่อพัฒนา ประสิทธิภาพของบริษทั ฯ ให้บรรลุตามเป้าหมาย ทีว่ างไว้ ภายใต้โรงงานและกระบวนการผลิต ที่ ไ ด้ ม าตรฐานสากล โดยมี โรงงานตั้ ง อยู ่ ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมเครื อ ซิ เ มนต์ ไ ทย (SIL) อ�าเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นการ น� า แนวคิ ด ด้ า นการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละ กระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้มา ซึ่งนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่จะเข้ามาช่วยให้บ้าน อยูส่ บายไปพร้อม ๆ กับความตระหนักถึงความ เป็นมิตรต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และประหยัด พลังงาน DECEMBER 2015
energy focus TEXT : คุณรุ่งเรือง สายพวรรณ์ ผู้อ�านวยการสถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม
โครงการเงินหมุนเวียน
เพื่อการอนุรักษ์พลังงานโดยสถาบันการเงิน นับตั้งแต่ ปี 2546 จนถึงปัจจุบัน กระทรวงพลังงาน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ด�าเนินโครงการ เงินหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เนื่องจากสถาบันการเงินในประเทศยังไม่มั่นใจใน การให้สินเชื่อทางด้านพลังงาน ทั้งที่โครงการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนนั้น จะก่อให้เกิดผลดีต่อประเทศทั้งทางตรงและ ทางอ้อม เช่น การประหยัดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงาน การลดการน�าเข้าเชือ้ เพลิง การลดภาวะเรือนกระจก เป็นต้น โดยการด�าเนินโครงการ นั้น พพ. ได้รับการจัดสรรจากเงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน มาเป็นทุนหมุนเวียนในการปล่อยผ่านสถาบันการเงิน ที่เข้าร่วมโครงการ ไปยังผู้ประกอบการที่ประสงค์จะลงทุนทางด้านการอนุรักษ์พลังงานหรือพลังงานทดแทน ในอัตราดอกเบี้ยต�า่ ไม่เกินร้อยละ 4 โดยสถาบันการเงินจะต้องน�าเงินต้นที่ได้รับคืนแก่กองทุนฯ ตามระยะเวลาที่ก�าหนดไม่เกิน 7 ปี รวมเป็นเงินหมุนเวียน ที่ได้รับจากกองทุนฯ ทั้ง 5 ระยะ ประมาณ 7,500 ล้านบาท ปัจจุบนั คณะกรรมการกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน ได้มมี ติเห็นชอบให้กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงานด�าเนินงานโครงการเงินหมุนเวียนเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน โดยสถาบันการเงิน ซึง่ ถือเป็นโครงการเงินหมุนเวียนในระยะที่ 6 โดยมีวงเงินจ�านวน 1,489 ล้านบาท ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนด้านการอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งสร้างความเชื่อมั่น ให้กบั สถาบันการเงินทีเ่ ข้าร่วมโครงการในการปล่อยสินเชือ่ โดยใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่ โรงงาน อาคาร อาคารก่อสร้างใหม่ทผี่ า่ นเกณฑ์อนุรกั ษ์พลังงาน และบริษทั จัดการพลังงาน (ESCO) เป็นต้น นอกจากนี้ แล้วทางกองทุนฯ ยังเน้นให้สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการมีส่วนร่วมในการสมทบเงินลงทุนใน โครงการเพิ่มมากขึ้นด้วย
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
อายุเงินกู้ : ไม่เกิน 5 ปี และโครงการที่มีระยะเวลาคืนทุน ไม่เกิน 7 ปี ช่องทางปล่อยกู้ : ผ่านสถาบันการเงินทีเ่ ข้าร่วมโครงการโดยต้องรับผิดชอบเงินทีป่ ล่อยกูท้ งั้ หมด เช่น ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย ธนาคาร กรุงเทพ ธนาคารกรุงศรี ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ และธนาคารเพื่อการส่งออกและน�าเข้าแห่ง ประเทศไทย เป็นต้น
46
E N E R G Y S AV I N G
ผู้มีสิทธิ์กู้ : 1. อาคารและโรงงานควบคุมตาม พรบ. ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 2. โรงงาน/อาคารทัว่ ไป (นอกข่ายควบคุม) 3. อาคารก่ อ สร้ า งใหม่ ที่ ผ ่ า นเกณฑ์ อนุรักษ์พลังงาน 4. บริษัทจัดการพลังงาน (ESCO)
DECEMBER 2015
วงเงินกู้ : ไม่เกิน 50 ล้านบาทต่อโครงการ อัตราดอกเบี้ย : ไม่เกินร้อยละ 3.5 ต่อปี (ระหว่างสถาบันการเงินกับผู้กู้) โดยโครงการที่มีสิทธิขอรับการสนับสนุนต้องเป็นโครงการที่เข้าข่าย ดังนี้ โครงการอนุรก ั ษ์พลังงาน ตาม พรบ.ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 มาตรา 7 และ มาตรา 17 อาคารก่อสร้างใหม่ที่ผ่านเกณฑ์อนุรักษ์พลังงานตามกฎกระทรวงก�าหนด โครงการอนุรักษ์พลังงานโดยใช้บริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) ในการด�าเนินการ ทั้งนี้ค่าใช้จ่ายที่สามารถรวมในการลงทุนด�าเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานได้ เช่น ค่าอุปกรณ์ และค่าติดตั้ง ค่าที่ปรึกษาที่ใช้ในการออกแบบ ควบคุม และรับประกันผลการประหยัดพลังงาน (ESCO) ค่าใช้จา ่ ยทีจ่ า� เป็นในการติดตัง้ หรือจ�าเป็นในการใช้งานของอุปกรณ์เครื่องจักร เช่น ค่าก่อสร้างฐานรองรับเครื่องจักร เป็นต้น ค่าขนส่ง ค่ารื้อถอน ภาษีน�าเข้า ภาษีมูลค่าเพิ่มของค่าใช้จ่ายข้างต้น ค่าใช้จ่ายที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน พิจารณาว่าเหมาะสม ส่วนค่าใช้จ่ายที่ไม่เข้าข่ายในการลงทุนด�าเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานได้ เช่น ค่าที่ดิน ค่าปรับปรุงที่ดิน หรือค่าใช้จ่ายอื่นเพื่อที่ดิน
ค่าสิ่งก่อสร้างอื่นที่มิได้มีความจ�าเป็นโดยตรง กับการใช้หรือการติดตั้งอุปกรณ์/เครื่องจักร เพือ่ การประหยัดพลังงาน เช่น สถานีจา่ ยไฟฟ้า หม้อแปลงหลัก ค่าก่อสร้างอาคาร เป็นต้น ค่ า ใช้ จ ่ า ยที่ ก รมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ อนุรักษ์พลังงาน พิจารณาว่าไม่เหมาะสม
“ถื อ เป็ น โอกาสดี ที่ กองทุ น เพื่ อ การส่ ง เสริ ม การอนุรกั ษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน ได้เล็งเห็นถึง ความจ� า เป็ น และความส� า คั ญ ของการลงทุ น เพื่ อ ด�าเนินโครงการอนุรักษ์พลังงานของผู้ประกอบการ มาโดยตลอด และได้รับทราบเพิ่มเติมว่าตอนนี้ก�าลัง จะมีการเพิ่มวงเงินหมุนเวียนโครงการอีกกว่า 3,000 ล้านบาท อีกด้วย ดังนั้นผู้ประกอบการทราบแล้ว รีบ ใช้บริการได้เลยครับ”
VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
47
open house TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
เปิดบ้าน “เทรน”
ผู้น�ำด้ำนเครื่องปรับอำกำศ กำรันตีเรื่องกำรประหยัดพลังงำน
Open House ฉบับนี้ Energy Saving จะพาท่านผู้อ่านไปท�าความรู้จักกับ เทรน (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องเครื่อง ปรับอากาศประหยัดพลังงาน มีทั้งเครื่องปรับอากาศขนาดเล็กไปจนถึงภาคส่วนอุตสาหกรรมเลยทีเดียว โดยมี “คุณพัลลภ เตชะสุวรรณ์” ผู้จัดการทั่วไป ประจ�าประเทศไทย ที่ถือเป็นหัวเรือหลักในการด�าเนินงานของเทรนในประเทศไทยเลยก็ว่าได้ กว่า 100 ปีแล้วที่ เทรน ได้ประกอบธุรกิจด้าน เครือ่ งปรับอากาศ โดย เทรน เริม่ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี ค.ศ. 1885 จากธุรกิจระบบท่อประปาแบบครอบครั ว ในเมื อ ง ลาครอส รัฐวิสคอนซิน ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้ มีการพัฒนาธุรกิจมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้ร่วมกัน พัฒนาระบบท�าความร้อน พร้อมทั้งก่อตั้งบริษัท The Trane Company หลังจากนัน้ เทรนได้กา้ วขึน้ มา ในฐานะผู ้ บุ ก เบิ ก การควบคุ ม อุ ณ หภู มิ โดยได้ จดสิทธิบตั รเครือ่ งปรับอากาศเครือ่ งแรกในปีค.ศ.1931 และต่อมาได้เปิดตัว ‘Turbovac’ เครือ่ งท�าน�า้ เย็นที่ เปลี่ ย นแปลงรากฐานอุ ต สาหกรรมเรื่ อ งระบบ ปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ่ ในปีค.ศ. 2008 Ingersoll Rand ได้เข้าควบรวมกิจการกับเทรนท�าให้เทรนเป็น หนึง่ ในกลุม่ ธุกจิ ของ Ingersoll Rand ผูน้ า� ระดับโลก ในการให้บริการด้านระบบปรับอากาศครบวงจร และปัจจุบันเทรนได้มีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ อยู่เรื่อ ย ๆ เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของบริษัทสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด คุณพัลลภ เตชะสุวรรณ์ กล่าวว่า ธุรกิจของเทรน ไม่ได้มุ่งเน้นที่การขายสินค้าเพียงอย่างเดียว แต่เรา เป็น “HVAC Solutions Provider” เรามีทางออก ส�าหรับทุกปัญหาด้านระบบปรับอากาศ และค�านึงถึง การด�าเนินธุรกิจของลูกค้าเสมอ โดยแบ่งการท�างาน เป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ 1) Equipment เป็นส่วนของเครือ่ งปรับอากาศขนาดเล็ก ขนาด 1-5 ตัน ได้แก่ เครือ่ งปรับอากาศแบบติดผนัง แบบตัง้ ได้แขวน ได้ แบบฝังฝ้าเพดาน แบบซ่อนในฝ้า และแบบตู้ตั้ง เครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ ขนาด 5-2,500 ตัน ได้แก่ เครื่องมินิชิลเลอร์ เครื่องชิลเลอร์ และอะไหล่ ส�าหรับเครือ่ งปรับอากาศทัง้ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ครบวงจร 2) After-sales Services ได้แก่ Service & Maintenance แผนกบริการด้านเทคนิค และรับแจ้ง ซ่อมเครื่องปรับอากาศขนาด 1-50 ตัน และ 50 ตัน ขึ้นไป และ Services Sales ที่จะน�าเสนอบริการ ต่าง ๆ เพื่อยืดอายุการใช้งาน และเพิ่มประสิทธิภาพ การท�างานให้ระบบปรับอากาศ รวมทั้งการดูแลเชิง ป้องกัน เพือ่ ไม่ให้เกิดปัญหาซึง่ จะสร้างความเสียหาย 48
E N E R G Y S AV I N G
พัลลภ เตชะสุวรรณ์
ทีม่ ากกว่าในอนาคตได้ รวมทัง้ ยังมีสญ ั ญาบริการหลายรูปแบบให้เลือกใช้ได้ตามความต้องการ เพือ่ ท�าให้อาคารและระบบปรับอากาศสามารถท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และปราศจาก ปัญหา รวมทั้งยังมี HVAC Parts & Supplies เป็นการบริการอะไหล่แท้ส�าหรับเครื่องปรับ อากาศทัง้ ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ครบวงจร โดยมีการแต่งตัง้ ศูนย์อะไหล่อย่างเป็นทางการ ในทุกภูมิภาค ซึ่งช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ลูกค้าได้ว่าจะได้รับการบริการอย่างทั่วถึงใน ทุกพื้นที่ และ 3) Control, Contracting & Energy คือ Control ระบบคอนโทรลส�าหรับ ระบบปรับอากาศ ที่นอกจากจะช่วยให้การควบคุมเครื่องปรับอากาศมีความสะดวกสบาย มากขึ้นแล้ว ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการท�างานของระบบปรับอากาศได้ดว้ ย โดยช่วย ประหยัดเวลา แรงงาน พลังงาน รวมถึงค่าใช้จา่ ย โดยเทรนมีระบบทีส่ ามารถควบคุมระบบปรับ อากาศทัง้ อาคาร หรือหลาย ๆ อาคารได้ในระบบเดียว อีกทัง้ ยังสามารถควบคุมได้จากระยะไกล ผ่าน web base หรือ mobile application ได้อกี ด้วย Contracting เป็นการบริการให้คา� ปรึกษา ออกแบบระบบปรับอากาศ รวมทัง้ งานติดตัง้ และ commissioning ครบวงจร ส่วนด้าน Energy เทรนได้จดทะเบียนเป็น “บริษทั จัดการพลังงาน” หรือ Energy Service Company (ESCO) กับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยเทรนจะท�าการวิเคราะห์การใช้พลังงานใน DECEMBER 2015
ปัจจุบันอย่างเป็นระบบโดยผู้เชี่ยวชาญ เพื่อท�าการปรับปรุงการใช้พลังงาน ของอาคารส�านักงานต่าง ๆให้มปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ โดยสามารถสร้างความ เชื่อมั่นให้แก่ลูกค้าได้สูงสุด เนื่องจากเทรนมีการรับประกันผลงาน (Performance Guarantee) ที่สามารถวัดผลได้จริง รวมทั้งยังเป็นบริษัทจัดการ พลังงานที่เป็นผู้ผลิตสินค้าประสิทธิภาพสูง และประหยัดพลังงานได้เอง และมีคู่ค้าผู้ผลิตสินค้าประหยัดพลังงานอย่างครบวงจร และด้วยคุณสมบัติ ด้านประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน รวมถึงการใช้สารท�าความเย็นทีช่ ว่ ย อนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม ยังเป็นปัจจัยส�าคัญที่ช่วยให้ผู้ประกอบการได้รับการ รับรองมาตรฐานอาคารเขียว หรือ LEED Certified (Leadership in Energy and Environmental Design) อีกด้วย นอกจากเทรนจะเป็นผูน้ า� ในการผลิตเครือ่ งท�าน�า้ เย็นแล้ว ยังมี “เครือ่ งท�า น�้าร้อน” (Heat Pump) ซึ่งในปัจจุบันมีความต้องการใช้อย่างกว้างขวาง ในหลากหลายอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น โรงพยาบาล โรงแรม ภัตตาคาร/ ร้านอาหาร เป็นต้น ซึ่งเป็นการใช้ทดแทนหม้อต้มน�้า หรือหม้อไอน�้าที่ใช้ เชื้อเพลิงหรือไฟฟ้า หรือฮีทเตอร์ไฟฟ้าส�าหรับเครื่องท�าน�้าอุ่นโดยทั่วไป ซึง่ ประสิทธิภาพการท�างานต�า่ กว่า โดยเครือ่ งท�าน�า้ ร้อนของเทรนนัน้ นอกจากจะ เป็นอุปกรณ์ทมี่ ปี ระสิทธิภาพการท�างานสูงแล้ว ยังช่วยประหยัดพลังงาน และ มัน่ ใจได้เรือ่ งความปลอดภัยอีกด้วย ทัง้ นีใ้ นปัจจุบนั เทรนได้มโี ปรแกรมทีเ่ รียกว่า ‘Total Plant Guarantee’ ซึ่งลูกค้าที่ใช้บริการ จะได้รับการรับประกัน ค่าประสิทธิภาพพลังงาน หรือการรับประกันค่าไฟฟ้าในการใช้งานจริง โดยหากมีการใช้พลังงานสูงกว่าที่บริษัทฯรับประกันไว้ ทางลูกค้าจะได้รับ การชดเชยค่าใช้จ่ายตามอัตราที่มีการตกลงกันไว้ ส�าหรับจุดเด่นของผลิตภัณฑ์เทรนนั้น อยู่ที่ความน่าเชื่อถือในเรื่อง ประสิทธิภาพการท�างาน คุณภาพของสินค้า รวมถึงอายุการใช้งานทีย่ าวนาน โดยทั้งหมดผ่านการพิสูจน์มานานกว่า 100 ปีทั่วโลก ในส่วนของเครื่อง ท�าน�า้ เย็น หรือเครือ่ งชิลเลอร์เป็นเครือ่ งทีม่ ปี ระสิทธิภาพพลังงานสูงทีส่ ดุ ใน โลกเมือ่ เทียบกับชิลเลอร์ประเภทเดียวกัน ขนาดเท่ากัน และสภาวะแวดล้อม เดียวกัน โดยค่าประสิทธิภาพพลังงานที่ดีที่สุดคือ 0.4x กิโลวัตต์ ต่อตัน ส่วนในประเทศไทยเอง ขณะนี้สามารถท�าได้ที่ 0.5x กิโลวัตต์ ต่อตัน และ หากเปรียบเทียบกันในลักษณะ Total Plant (Chiller + Pump + Cooling Tower) ระบบท�าความเย็นของเทรน มีค่าประสิทธิพลังงานที่ 0.6 กิโลวัตต์ ต่อตัน โดยในประเทศไทยเอง สามารถท�าได้ที่ 0.7 กิโลวัตต์ ต่อตัน ทั้งนี้ เทรนยังมีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ทงั้ เครือ่ งปรับอากาศขนาดเล็กถึง VOLUME 7 ISSUE 85
ขนาดใหญ่ เพือ่ ตอบสนองต่อการใช้งานในทีพ่ กั อาศัย โรงงาน ส�านักงาน โรงแรม ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ โดยมีขนาดให้เลือกตั้งแต่ 1-2,500 ตันเลยทีเดียวและทางฝ่ายผลิต ยังสามารถรองรับลูกค้าที่ต้องการ ปรับเปลี่ยนคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับการใช้งาน ที่แตกต่างกันในแต่ละงานได้ โดยค�านึงถึงข้อจ�ากัดเรื่องพื้นที่การ ติดตั้งหน้างาน และความต้องการอื่น ๆ ของลูกค้าได้ เทรนพิ ถี พิ ถั น ในการเลื อ กใช้ ส ารท� า ความเย็ น ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิง่ แวดล้อม โดยเราได้เข้าร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ ทัง้ ภายในประเทศ และต่างประเทศเพื่อร่วมกันประเมินผลการใช้สารท�าความเย็น ประเภทต่าง ๆ เพือ่ เลือกใช้สารท�าความเย็นทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม มากที่สุด ซึ่งหน่วยงานภายในประเทศที่เข้าร่วม ได้แก่ กระทรวง พลังงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เป็นต้น รวมทัง้ เทรน ประเทศสหรัฐอเมริกา ยังได้รว่ มกับ ASHRAE ใน โปรแกรม AREP (AlternativeRefrigerants EvaluationProgram) ร่วมค้นหาสารท�าความเย็นชนิดใหม่ ๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม น้อยที่สุดด้วย นอกจากนี้เทรนยังมีบริการหลังการขายที่เป็นเลิศ ซึ่งลูกค้าสามารถมั่นใจได้จากทีมช่างผู้เชี่ยวชาญ และฝ่ายบริการที่ พร้อมให้บริการ มากกว่า 150 คนทั่วประเทศ ซึ่งมั่นใจได้ว่าจะได้ รั บ การบริ ก ารได้ ร วดเร็ ว และทั่ ว ถึ ง สมดั ง สโลแกนของเรา คือ “เทรน…เย็นใจไม่ทอดทิ้ง” ทั้งนี้เทรนยังผลิตเครื่องปรับอากาศ ทีใ่ ห้ความเย็นเต็มบีทยี เู ต็มในทุกรุน่ ทีเ่ ราออกสูต่ ลาด ซึง่ ท�าให้ลกู ค้า เชื่อมั่นได้ว่าเครื่องปรับอากาศที่เลือกซื้อไปจะท�าความเย็นได้ตามที่ ต้องการ นอกจากเทรนจะเป็นผู้ผลิตเครื่องปรับอากาศรายใหญ่ที่ค�านึง ถึงสิ่งแวดล้อมเป็นหลักแล้ว เทรนยังได้รับรางวัลด้านพลังงานและ สิ่งแวดล้อมอีกด้วย โดยเฉพาะ Trane CentraVac Centrifugal Chiller ถือเป็นเครื่องท�าน�้าเย็นแบรนด์เดียวที่ได้รับการรับรองจาก EPD® (Environmental Product Declaration) เพือ่ รับรองว่าเป็น ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามมาตรฐานสากล ISO14025 รวมทัง้ ยังได้รบั การรับรองและรางวัลอืน่ ๆ อีกมากมาย ได้แก่ LEED Certified, Green Seal (GS-31), The Future Build, 2007 Bestof-the-Best Stratospheric Ozone Protection Award, 1998 EPA Climate Protection Award และ 1992 EPA Stratospheric Ozone Protection Award ทัง้ ยังได้เข้าร่วมโครงการฉลากประหยัดไฟ เบอร์ 5 กับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในการ ส่งเครือ่ งปรับอากาศเข้าทดสอบประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน และได้รับฉลากประหยัดไฟเบอร์ 5 ตามเกณฑ์ที่กฟผ.ก�าหนดไว้ ส�าหรับรางวัลต่าง ๆ ที่ทางโรงงานได้รับมีดังนี้ สถานประกอบ กิจการดีเด่นด้านแรงงานสัมพันธ์และสวัสดิการแรงงาน ปี 2552 – 2554, ใบรับรองมาตรฐานแรงงานไทย 8001-2553 ระดับสมบูรณ์ กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน, สถานประกอบกิจการทีไ่ ม่มกี าร ประสบอันตรายถึงขั้นหยุดงาน (Zero – Accident Campaign) 4, 505, 695 ชั่วโมงการท�างาน, ISO 9001:2008 Certificate, ISO 14000:2008 Certificate และ OHSAS 18001:2007 Certificate นอกจากการผลิตเพือ่ จ�าหน่ายในตลาดเครือ่ งปรับอากาศภายใน ประเทศแล้ว เทรนยังเป็นฐานการผลิตเครื่องปรับอากาศแบบ แยกส่วน (Split Type) แห่งเดียวทีผ่ ลิตและส่งออกไปจ�าหน่ายทัว่ โลก โดยเฉพาะในตลาดกลุ่มตะวันออกกลางอีกด้วย E N E R G Y S AV I N G
49
Product review TEXT : กองบรรณาธิการ
50
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
Product ShowcaSe induStrial TEXT : Rainbow Ice
อุปกรณ์ประหยัดพลังงานไฟฟ้า ส�ำหรับตู้แช่ ตู้เย็น (Freezer Saver)
โดยส่วนใหญ่คอมเพรสเซอร์ (Compressor) เครื่องท�าความเย็น เช่น ตู้เย็นหรือตู้แช่จะ ท�างานตลอด 24 ชัว่ โมง จึงท�าให้ตอ้ งจ่ายค่าไฟมากกว่าปกติและยังท�าให้คอมเพรสเซอร์มอี ายุการ ใช้งานที่สั้นลงด้วย Freezer Save ของ Secure Power จะแก้ปัญหาดังกล่าวได้แบบเบ็ดเสร็จ โดยการใช้เทคนิคของการท�างานร่วมกันระหว่างตัวตรวจวัดอุณหภูมิเดิมและโปรแกรมควบคุม การท�างาน(ตัด-ต่อ) ของคอมเพรสเซอร์ใหม่ เพื่อให้เหมาะกับความเย็นภายในห้องเย็นจึงท�าให้ ลดการสิน้ เปลืองพลังงานและเสียค่าไฟฟ้าน้อยกว่าเดิม แต่อณ ุ หภูมภิ ายในห้องเย็นจะมีความเย็น เท่าเดิมและไม่ทา� ให้ของทีแ่ ช่เสียหาย ส�าหรับคุณลักษณะพิเศษ (Feature) คือ ประหยัดค่าไฟได้ สูงถึง 40% หมดความกังวลเรือ่ งคอมเพรสเซอร์ไม่ตดั มีปมุ่ ปรับระดับความเย็น (ความประหยัด) มีหลอดไฟแสดงสถานะการท�างาน ช่วยท�าให้จา่ ยค่าไฟฟ้าในอัตราทีล่ ดลง ไม่ตอ้ งซ่อมบ�ารุงและ มีอายุใช้งานนาน ติดตั้งง่ายและไม่มีผลกระทบต่อของเดิม ท�าให้คอมเพรสเซอร์มีอายุการใช้งาน นานขึน้ มีสวิทซ์บายพาส (bypass)ป้องกันคอมเพรสเซอร์เสียหายจากไฟกระพริบ มีระบบป้องกัน คอมเพรสเซอร์เสียหายจากไฟกระพริบ ไฟตกและไฟเกิน (option) นอกจากนีย้ งั สามารถต่อใช้งาน ได้กบั ตูเ้ ย็นหรือตูแ้ ช่ทกุ ขนาดและทุกชนิด แต่ไม่แนะน�าให้ใช้กบั ตูเ้ ย็นหรือตูแ้ ช่ระบบอินเวอร์เตอร์ สนใจติดต่อ บริษัท ซีเคียว เพาเวอร์ จ�ากัด โทร.0-2737- 7160
Airconmiser®
อุปกรณ์ประหยัดไฟแอร์อิเล็คทรอนิกส์ เครื่องประหยัดพลังงานแอร์อิเล็คทรอนิกส์ พร้ อ มซอฟต์ แวร์ ใ นตั ว โปรแกรมส� า เร็ จ จาก โรงงาน ประหยัดไฟ 30-45% โดยการตรวจจับ สภาวะอุณหภูมิลมจ่ายแล้วปรับการใช้พลังงาน ให้พอดีกับความต้องการความเย็นตลอดเวลา ไม่ตอ้ งซ่อมบ�ารุง ราคาถูก คุม้ ทุนเร็วใน 6-8 เดือน อายุใช้งานมากกว่า 15 ปี รับประกันคุณภาพ 3 ปี มีขนาดเล็ก ติดตั้งง่ายใน 20 นาที(ติดตั้งไว้ข้าง แอร์ในห้อง ไม่ต้องยุ่งกับชุดภายนอก) ใช้ได้กับ แอร์เก่า แอร์ใหม่ แอร์เบอร์ 5 ทุกขนาดไม่จ�ากัด บีทยี ู ทดสอบและใช้งานแล้วทีห่ น่วยงานราชการ เอกชนหลายแห่ง เช่นที่มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จ�านวน 600 เครื่อง ได้ผลการประหยัด 34-49% สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://market. onlineoops.com/392612 VOLUME 7 ISSUE 85
MMA/STICK Welding Machine
เครื่องเชื่อมไฟฟ้า
เครื่องเชื่อมไฟฟ้า ระบบอินเวอร์เตอร์ คุณภาพสูงกว่า เครื่ อ งเชื่ อ มทั่ ว ไป ด้ ว ยการออกแบบและการผลิ ต ที่ ทันสมัย และเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ท�าให้ตัวเครื่องคงทน และ มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน มีกระแสไฟที่คงที่ ท�าให้เชื่อม ต่อเนือ่ ง แนวเชือ่ มสวยงาม ไม่ตอ้ งตกแต่ง ประหยัดต้นทุน และประหยัดเวลาการท�างาน ด้วยคุณภาพของระบบ อินเวอร์เตอร์ ท�าให้ประหยัดไฟได้มากขึน้ เท่าตัวคุณสมบัติ ของเครื่องเชื่อมไฟฟ้า แบบอินเวอร์เตอร์ มีความทนทาน และ สูญเสียพลังงานน้อย ทนต่อความไม่คงทีข่ องแรงดันไฟ และ กระแสไฟเชื่ อ มที่ ไ ด้ อ อกมาเต็ ม ตรงตามสเป็ ค ใช้พลังงานไฟน้อยมาก ขณะยังไม่ได้ใช้งานท�าให้ประหยัด ต้นทุนค่าไฟฟ้าได้มากกว่า 50% เมื่อเทียบกับเครื่องเชื่อม แบบหม้อแปลง เป็นเครื่องเชื่อมที่มีเทคโนโลยีการผลิตที่ ทันสมัย ใช้งานง่ายและสะดวกในการเคลือ่ นย้ายเนือ่ งจาก มีขนาดกะทัดรัดและน�้าหนักเบา มีจอ LCD บอกค่าของ กระแสไฟเชื่อม ท�าให้ใช้กระแสไฟเชื่อมได้ตรงกับงานที่ เชื่อมจริง สามารถปรับกระแสไฟเชื่อมได้ตามต้องการ ควบคุมแนวเชือ่ มได้งา่ ย การอาร์คนิม่ นวล สะเก็ดไฟเชือ่ มน้อย มีแนวเชื่อมที่สวยงาม ซึมลึก ให้ความแข็งแรงสูงกระแสไฟ เชือ่ มคงที่ ท�าให้ได้แนวเชือ่ มคุณภาพ และสามารถใช้ได้กบั ลวดเชื่อมทุกชนิด และใช้เชื่อมได้กับชิ้นงานหลากหลาย ชนิด เช่น เหล็ก เหล็กคาร์บอนต�า่ สแตนเลสเหล็กอัลลอยด์ และอื่นๆ เหมาะส�าหรับงานทุกประเภท งานหนัก งานที่ ต้องออกนอกสถานที่ งานซ่อมบ�ารุงทัว่ ไป งานเฟอร์นเิ จอร์ อุตสาหกรรมรถยนต์ งานผลิตที่ต้องการท�างานต่อเนื่อง งานอุตสาหกรรมเคมี งานอุปกรณ์และอะไหล่ชนิ้ ส่วนรถยนต์ หรือเครื่องจักรต่าง ๆ หม้อน�้า อุตสาหกรรมงานก่อสร้าง งานโครงสร้าง ทัง้ ยังสามารถน�าไปใช้งานในการเชือ่ มระบบทิก (เชื่อมอาร์กอน) ได้ด้วย สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://www.b2bthai.com/Search/Product/Detail/ 30126/MMASTICKWeldingMachine E N E R G Y S AV I N G
51
อินพุเทอร์โม ควบคุมอุณหภูมิ ส�าหรับถังเก็บน�้า/ตู้เย็น
อุปกรณ์ประหยัดน�า้ มัน และก๊าช
พร้อมระบบปรับอากาศด้วยประจุไฟฟ้า ยืดอายุแบต เพิ่มประสิทธิภาพให้แก่รถยนต์พร้อมระบบปรับอากาศด้วย ประจุไฟฟ้า ช่วยปรับปรุงระบบไฟฟ้า ภายในรถยนต์ที่รัก ให้มีประสิทธิภาพมาก ขึ้น แสดงสถานะของแบตเตอรี่ โดยปรกติไฟจะแสดงสีเขียว เมือแบตเตอรี่เสื่อม จะแสดงสถานะไฟสีแดง ลดมลภาวะของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ ใช้เสียบเข้า กับช่องจุดบุหรี่ของรถยนต์ขนาด 12 โวลท์หรือ 24 โวลท์ ในกรณีรถยนต์รุ่นใหม่ อาจจะมีไฟเลี้ยงไว้เมื่อดับเครื่องแล้วให้สังเกตว่าไฟที่ตัวยังติดอยู่ ให้ดึงออกเล็ก น้อยพอให้ไฟดับ เมื่อจะใช้งานอีกครั้งก็เสียบเข้าไปใหม่ เพื่อยืดอายุการใช้งานได้ นานเป็น 10 ปีอายุการใช้งานมากกว่า 5 ปีทางคณะผู้ผลิตและผู้ท�าวิจัยค้นคว้า ได้พิสูจน์มานานแล้วหลายปี กับรถยนต์ทุกชนิดทั้งเก่าและใหม่ ยังไม่เคยประสบ ปัญหาเกี่ยวกับความเสียหายกับรถยนต์ที่ใช้ ทุกชนิด ทุกยี่ห้อ ทั้งรถยนต์ที่ผลิตใน ยุโรป และญีป่ นุ่ และรถขนส่งภาคอุตสาหกรรม ทดสอบในทุกสภาพถนนภูเขาทาง ราบใกล้ไกลและปรับแต่งจนได้ประสิทธิภาพทีย่ อมรับได้ สามารถดูขอ้ มูลเพิม่ เติม ได้ที่ http://thaitrade.tarad.com/product-th
ผลิตภัณฑ์นรี้ วบรวมความหลากหลายของการระบายความร้อน และเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีขนาดเล็ก การด�าเนินงานที่เรียบ ง่ า ย สามารถวั ด ค่ า ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลาย เหมาะส�าหรับตู้แช่แข็ง ถังเก็บน�้า ตู้เย็น เครื่องท�าความเย็น อุตสาหกรรม หม้อไอน�้า เรือกลไฟ อุปกรณ์อุตสาหกรรมและ ระบบควบคุมอุณหภูมิอื่น ๆ ประหยัดพลังงาน มีหน้าจอแสดง ผลแบบ lcd อ่านง่าย สามารถตั้งค่าทั้งสูงและต�่าจ�ากัดอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิเกินขีดจ�ากัดของเข็มทิศจะมีสัญญาณเตือนเสียง และไฟกะพริบเตือนเสมอ สามารถดูขอ้ มูลเพิม่ เติมได้ที่ http:// th.aliexpress.com/item/AC-90V-250V
เครื่องสูบน�้ำหมุนเวียน ประหยัดพลังงำน เครือ่ งสูบน�า้ หมุนเวียน มากับพร้อมมอเตอร์ในตัวชนิดประสิทธิภาพสูง ชนิดประสิทธิภาพสูง แบบปรับรอบการท�างานได้ เหมาะส�าหรับ สูบระบายน�้าหมุนเวียน ในระบบน�้าร้อน ปั๊มน�้าได้มากถึง 1916 ลิตร ต่อนาที ทางดูดและทางส่งแบบเกลียว ตัวเรือนปั๊มเหล็กหล่อ ท�างาน เงียบ ประหยัดพลังงาน ระยะเวลาใช้งานยาวนาน สนใจติดต่อ Calpeda (Thailand) Co. Ltd โทร.0-2275-0027
52
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
INTERVIEW TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
คุณอุกฤษฏ์ ตัณฑเสถียร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พรีโม่ เอ็นเนอร์จี จ�ากัด
54
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
พรี โ ม่ เอ็ น เนอร์ จ ี บริษัทน้องใหม่ ลุย ญี่ปุ่น สร้างโรงไฟฟ้าโซลาร์ฟาร์ม ในปัจจุบันมีผู้ประกอบหลายรายหันมาลงทุนในธุรกิจโรงไฟฟ้าโซลาร์ฟาร์ม ไม่เว้นแม้แต่ บริษัท พรีโม่ เอ็นเนอร์จี จ�ากัด ซึ่งมี “คุณอุกฤษฏ์ ตัณฑเสถียร” ด�ารงต�าแหน่งกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ เรียกได้ว่าเป็นผู้บริหารรุ่นใหม่ไฟแรงที่มีความตั้งใจในการท�าธุรกิจด้านนี้ เลยก็ว่าได้
บริษัท พรีโม่ เอ็นเนอร์จี จ�ำกัด เปิดบริษัทได้มำประมำณ 1 ปี มีควำมมุ่งหวังสร้ำงโครงกำร โซลำร์ฟำร์มที่ประเทศญี่ปุ่น ขำยไฟฟ้ำให้รัฐบำลญี่ปุ่น โดยอำยุสัมปทำน 20 ปี ก�ำลังกำรผลิต รวมขนำด 30 เมกะวัตต์ ลงทุนกว่ำ 3,000 ล้ำนบำท คุณอุกฤษฏ์ ตัณฑเสถียร กล่ำวว่ำ ธุรกิจ พลังงำนทดแทนในประเทศญีป่ นุ่ ถือว่ำมีโอกำสเติบโตได้อกี มำก เนือ่ งจำกภำครัฐให้กำรสนับสนุน ใน ขณะเดียวกันเป็นธุรกิจทีส่ ร้ำงรำยได้จำกกำรลงทุนได้อย่ำงต่อเนือ่ งและสม�ำ่ เสมอ บริษทั ฯ จึงสนใจ เข้ำมำลงทุนในธุรกิจดังกล่ำว โดยมอบหมำยให้กลุ่ม CHOW เป็นผู้พัฒนำโครงกำร เนื่องจำกเป็นผู้ เชีย่ วชำญในธุรกิจพลังงำนทดแทนเป็นอย่ำงดี ซึง่ โครงกำรแรกนีค้ ำดว่ำจะเริม่ รับรูร้ ำยได้ในไตรมำสที่ 1 ของปี 2016 เป็นต้นไป หลังจำกนีม้ คี วำมเป็นไปได้ทจี่ ะขยำยกำรลงทุนเพิม่ ขึน้ ในเฟสต่อไปหำกได้ โครงกำรทีเ่ หมำะสมสอดคล้องต่อแผนกำรลงทุนของบริษทั และเหตุผลทีเ่ ลือกลงทุนทีญ ่ ปี่ นุ่ เพรำะว่ำ ญีป่ นุ่ ถือเป็นตลำดด้ำนพลังงำนทดแทนทีม่ ศี กั ยภำพกำรเติบโตสูง โดยทีผ่ ำ่ นมำรัฐบำลญีป่ นุ่ ได้ให้กำร สนับสนุนด้วยกำรรับซื้อไฟในระบบให้เงินสนับสนุนตำมต้นทุนที่แท้จริง (Feed in Tariff) หรือ FiT จึงท�ำให้ธุรกิจโรงไฟฟ้ำพลังงำนแสงอำทิตย์ในญี่ปุ่นได้รับควำมสนใจจำกนักลงทุนเป็นอย่ำงมำก และสำเหตุที่เลือก บริษัท พรีเมียร์ โซลูชั่น จ�ำกัด ในเครือ บริษัท เชำว์สตีล อินดัสตรี้ จ�ำกัด (มหำชน) หรือ CHOW เป็นผู้รับผิดชอบโครงกำรทั้งหมด รวมทั้งด�ำเนินกำรก่อสร้ำง วำงระบบ และบ�ำรุงรักษำ เพรำะว่ำ CHOW เป็นz^hประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ำยผลิตภัณฑ์เหล็กแท่ง ยำว (Steel Billet) รำยใหญ่ของประเทศที่มีคุณภำพเป็นที่ยอมรับในระดับสำกล โดยเฉพำะธุรกิจ พลังงำนทดแทนประเภทพลังงำนแสงอำทิตย์ สำมำรถตอบโจทย์ได้ตรงจุด ในด�ำเนินธุรกิจด้ำนพลังงำนทดแทนนี้ จะเห็นได้วำ่ ทำงคุณอุกฤษฏ์มคี วำมตัง้ ใจอย่ำงมำก เพรำะ คิดว่ำธุรกิจด้ำนนี้เป็นกำรช่วยลดกำรให้พลังงำนอีกด้ำนหนึ่ง นอกจำกจะเป็นธุรกิจที่ไม่ท�ำลำย สิ่งแวดล้อมแล้วยังเป็นกำรน�ำเอำพลังงำนที่มีอยู่ในธรรมชำติกลับมำใช้งำนได้อีกด้วย แต่เหตุผล ที่ไม่เลือกลงทุนในประเทศไทยเพรำะอยำกจะไปสร้ำงสัมพันธไมตรีกับต่ำงประเทศ และอยำกให้ VOLUME 7 ISSUE 85
ต่ำงประเทศได้ทรำบถึงศักยภำพของคนไทย ว่ำ สำมำรถลงทุนในต่ำ งประเทศได้ เพรำะ บริษัท พรีโม่ เอ็นเนอร์จี จ�ำกัด เป็นบริษัท ของคนไทย 100% ทั้ ง นี้ ห ลำยคนอำจจะ มองว่ำบริษัทฯ เป็นบริษัทน้องใหม่แต่จริง ๆ ก่อนที่จะมำลงทุนธุรกิจด้ำนนี้ คุณอุกฤษฏ์ ใช้ เวลำหำข้ อ มู ล อยู ่ ไ ม่ น ้ อ ยเลย และที่ น ่ ำ สนใจไปกว่ำนัน้ คือคุณอุกฤษฏ์เป็นผูด้ ำ� เนินกำร เองทุกอย่ำ งไม่ว่ำ จะเป็นกำรไปดู พื้ นที่ ที่จะ ลงทุน กำรหำข้อมูลต่ำง ๆ เรียกได้ว่ำกว่ำ จะมำเป็ น โครงกำรดั ง กล่ ำ วคุ ณ อุ ก ฤษฏ์ ลุ ย ท� ำ งำนเพี ย งคนเดี ย ว ถื อ ว่ ำ เป็ น นั ก ธุ ร กิ จ น้องใหม่ไฟแรงทีน่ ำ่ ชืน่ ชมอีกคนหนึง่ เลยค่ะ
ขอบคุณภาพประกอบ
http://images.huffingtonpost.com/2015-07-07-14362557036200282-01_11415948084.jpg http://f.ptcdn.info/534/025/000/1415890822-0-o.jpg http://www.aljoumhouria.com/files/news/174/images/preview/ solar-energy.jpg
E N E R G Y S AV I N G
55
Green LoGistics TEXT : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ฮาลาล โลจิสติกส์ (Halal Logistics)
ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ฮ าลาลไม่ ใ ช่ จ� า กั ด เฉพาะอาหารแต่ เ พี ย ง อย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมสินค้าหลากหลายชนิด ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจ�าวัน รวมถึงการบริการต่าง ๆ ไม่ว่า จะเป็นธนาคาร โรงพยาบาล หรือโรงแรม ซึ่งผลิตภัณฑ์ ที่ได้รับตรารับรอง “ฮาลาล” ก็คือสินค้าที่เชื่อถือได้ด้าน สุขอนามัย กระบวนการผลิต ส่วนประกอบวัตถุดิบที่ไม่มี สิ่งปนเปื้อนสารต้องห้าม และมีประโยชน์ต่อร่างกาย
56
E N E R G Y S AV I N G
ปั จ จุ บั น ผู ้ บ ริ โ ภคหั น มาใส่ ใจต่ อ การเลื อ กบริ โ ภคอาหารที่ มี ประโยชน์ตอ่ สุขภาพ ถูกหลักอนามัย มีคณ ุ ภาพ น่าเชือ่ ถือ และจะ ต้ อ งมี ม าตรฐาน รวมถึ ง พฤติ ก รรมของผู ้ บ ริ โ ภคในการเลื อ กซื้ อ ผลิตภัณฑ์อาหารมีการศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มีการ พลิกอ่านฉลากผลิตภัณฑ์ก่อนเลือกซื้ออีกด้วย ดังนั้นอาหารที่ผ่าน การรับรองมาตรฐานฮาลาล จึงเป็นอาหารที่มีความสะอาด ปลอดภัย และเป็นประโยชน์กับผู้บริโภคอย่างแท้จริง จึงท�าให้สามารถส่งออก ไปขายได้ทั่วโลก นอกจากนี้การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC จะท�าให้ ประตูการค้าเปิดกว้างมากขึ้น โอกาสของผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาล โดยเฉพาะประเทศในแถบอาเซียนที่นับถือศาสนาอิสลามที่มีจ�านวน มาก ซึ่งตลาดอินโดนีเซียและมาเลเซียนับว่าเป็นตลาดที่น่าสนใจ โดย อาจสามารถเจาะตลาดหรือท�าความร่วมมือกัน หรือเป็นเครือข่ายใน การท�าธุรกิจร่วมกันไปสู่ตลาดโลก ซึ่งการเพิ่มขึ้นของประชากรที่เป็น มุสลิมทั่วโลกกว่า 1,800 ล้านคน ใน 150 ประเทศ
DECEMBER 2015
จากสภาพแวดล้อมภายนอกดังกล่าว ท�าให้มองเห็นโอกาสทาง ธุรกิจทีเ่ อือ้ ประโยชน์ให้กบั ผลิตภัณฑ์อาหารฮาลาลเติบโตเพิม่ สูงขึน้ แต่ความท้าทายของผู้ประกอบการธุรกิจอาหารฮาลาล ก็คือ จะ ท�าอย่างไร ? ให้ผู้บริโภคเกิดความมั่นใจและเชื่อถือได้ว่า ธุรกิจมี ระบบการจัดการโลจิสติกส์ฮาลาลตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงผู้บริโภคที่ ได้มาตรฐานและถูกต้องตามหลักศาสนา ส�าหรับความหมายของ ฮาลาล โลจิสติกส์ ในธุรกิจผลิตภัณฑ์ อาหาร หมายถึง กระบวนการจัดการตั้งแต่แหล่งวัตถุดิบ (ต้นน�้า) กระบวนการผลิตภายในโรงงาน (กลางน�้า) ไปจนถึงมือผู้บริโภค (ปลายน�้า) ที่ได้มาตรฐาน บริสุทธิ์ จะต้องเป็นไปตามหลักศาสนา อย่างถูกต้อง และได้มาตรฐานการรับรองเครื่องหมายฮาลาล อย่างไรก็ดี ฮาลาล โลจิสติกส์ (Halal Logistics) ถูกน�ามาใช้ ในกระบวนการจัดการผลิตผลิตภัณฑ์ โดยจะเริ่มต้นจาก วัตถุดิบ (Raw Materials) ---->กระบวนการการผลิต(Production) ----> ผลิตภัณฑ์ส�าเร็จรูป (Product) ---->การจัดเก็บในคลังสินค้า (Warehouse) การกระจายและการขนส่ง (Transport and Distribution) ----> ไปสู่ผู้บริโภค (Consumer) ส�าหรับต้นทาง คือ วัตถุดิบ (Raw Materials) โดยเส้นทาง ของวัตถุดิบและส่วนประกอบทุกชิ้นทุกชนิดที่ไม่มีการปนเปื้อน สิ่งสกปรก และสิ่งต้องห้ามที่น�ามาใช้ในการผลิตอาหารฮาลาล อย่ า งเคร่ ง ครั ด เข้ ม งวดตามหลั ก ศาสนาอิ ส ลาม ไม่ ว ่ า จะ เป็ น ซากสั ต ว์ เลื อ ด เนื้ อ หมู และสั ต ว์ ที่ เชื อ ดโดยไม่ ไ ด้ ก ล่ า ว นามพระเจ้ า รวมไปถึ ง วั ต ถุ ดิ บ อื่ น ๆ ที่ ศ าสนาไม่ อ นุ ญ าตให้ รับประทาน กระบวนการการผลิต (Production Process) นับตั้งแต่เริ่ม น�าวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิตทุกขั้นตอนจะต้องปฏิบัติด้วย ความสะอาดถูกสุขลักษณะอนามัย ซึ่งในธุรกิจอาหารจะเห็นได้ว่า หากเป็นอาหารฮาลาลแท้จริงนั้นจะมีการใช้น�้าในการช�าระล้าง เพื่ อ ความสะอาดทุ ก ขั้ น ตอนไปจนถึ ง เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ส� า เร็ จ รู ป (Product) ที่ ผู ้ บ ริ โ ภคจะได้ รั บ ประโยชน์ จ ากการรั บ ประทาน อาหารฮาลาล
การจั ด เก็ บ ในคลั ง สิ น ค้ า (Warehouse) เมื่ อ เป็ น สิ น ค้ า ส� า เร็ จ รู ป ก็ จ ะมี ก ารติ ด ฉลากสิ น ค้ า ฮาลาลให้ ชั ด เจน ซึ่ ง การจั ด เก็ บ จะมีการแยกสินค้าฮาลาลและไม่ใช่ฮาลาลไม่ปนกัน รวมทัง้ เก็บไว้หอ้ งเย็น ควบคุมอุณหภูมิ หากเป็นธุรกิจอาหารฮาลาลแท้การปฏิบัติการจัดเก็บ จะเข้มงวดถูกต้องอยู่แล้ว และหากเป็นบางกิจการที่ผลิตสินค้าฮาลาล และไม่ ใช่ ฮ าลาลสองสายการผลิ ต จะต้ อ งมี ค วามเข้ ม งวดในการ ป้องกันการปนเปื้อนและความผิดพลาด เพื่อให้แน่ใจได้ว่าปฏิบัติตาม หลักการศาสนา การกระจายและการขนส่ง (Transport and Distribution) นับว่า เป็นความส�าคัญอย่างยิ่งที่จะต้องท�าการแยกผลิตภัณฑ์ฮาลาลออกมา มิ ใ ห้ ป นกั น อย่ า งเคร่ ง ครั ด เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจและเชื่ อ มั่ น ให้ แ ก่ ผู้ บริโ ภคมุสลิม โดยหลั กการ คือ การแยกสิน ค้ าฮาลาลและฮารอม (สินค้าที่ไม่ใช่ฮาลาล) ไม่ให้มีการปะปนกัน ตลอดจนการกระจายสินค้า และขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นการวางสินค้ารวมกันบนพาเลท ตู้คอนเทนเนอร์ เดียวกัน พาหนะที่ใช้บรรทุกคันเดียวกัน จนกระทั่งน�าไปสู่ผู้บริโภค (Consumer) หลักส�าคัญของการจัดการ ฮาลาล โลจิสติกส์ ในธุรกิจผลิตภัณฑ์ อาหารฮาลาล คือ ตั้งแต่แหล่งวัตถุดิบ (ต้นน�้า) กระบวนการผลิตภายใน โรงงาน (กลางน�้า) ไปจนถึงมือผู้บริโภค (ปลายน�้า) จะต้องเป็นไปตามหลัก ศาสนาอย่างถูกต้อง และได้มาตรฐานการรับรองเครื่องหมายฮาลาล ซึ่ ง จะท� า ให้ ผู ้ บ ริ โ ภคมุ ส ลิ ม เกิ ด ความเชื่ อ มั่ น และมั่ น ใจต่ อ การจั ด การ ฮาลาล โลจิสติกส์
ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์
http://www.hoteliermiddleeast.com/pictures/halalfood-1-web.jpg http://jto.s3.amazonaws.com/wp-content/uploads/2013/06/nn20130621b2a.jpg http://cdn.muslimvillage.com/wp-content/uploads/2012/11/Halal-makeup1-biyokulule.com_.jpg http://halalrt.com/uploads/Krasota3.jpg http://sparksheet.com/wp-content/uploads/2012/02/halal-grocer.jpg
VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
57
renergy TEXT : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
กัมพูชา
กับปัญหาขยะ
ประเทศในอาเซียนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar and Vietnam) โดยมีประเทศไทยเป็นศูนย์กลางได้หลอมรวมกันจนแทบจะหาความ แตกต่างได้ยาก ไม่ว่าจะเป็นสภาพภูมิประเทศ วัฒนธรรม สังคม และการเมือง อันเนือ่ งมาจากประชากรส่วนใหญ่ดทู วี ชี อ่ งเดียวกับคนไทย อาหารแบบไทย ๆ รวมทัง้ อาหารเวียดนาม อ่านหนังสือแบบเดียวกัน หน้าตาเหมือน ๆ กัน แล้วก็ถกู DE : Digital Economy ล้างสมองจนกลายเป็นสังคมก้มหน้าเหมือน ๆ กันแล้วเช่นกัน นอกจากนี้ ก็ยังมีการบริโภคและทิ้งขยะไม่เป็นที่เหมือน ๆ กันอีกด้วย
ศักยภาพพลังงานทดแทนในประเทศกัมพูชา ที่ ม า: กระทรวงพลั ง งานประเทศกั ม พู ช า 2558
ชนิด ต้นยางพารา แกลบ ชานอ้อย ต้นปาล์ม เปลือกมะม่วงหิมพานต์ สบู่ด�า เอทานอล ก๊าซชีวภาพ (ถังหมักก๊าซแบบชุมชน) ขยะชุมชน
58
E N E R G Y S AV I N G
ปริมาณ 250,000 ตัน/ปี 1 ล้านตัน/ปี 100,000 ตัน/ปี 25,000 ไร่ 10,000 ตัน/ปี ประมาณ 6,250 ไร่ 36,000 ตัน/ปี 20,000 แห่ง (4-12 ลบ.ม./แห่ง) > 1,000 ตัน/วัน
การใช้ หม้อต้ม, เตาเผาอิฐ, ครัวเรือน,… หม้อต้ม, เตาเผาอิฐ, Gasifier 3,970 กิโลวัตต์ ต่อ 20 โรงสีข้าว ส�าหรับโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ 9.1 เมกะวัตต์ โรงงานน�้าตาลจากอ้อย 250,000 ไร่
ภาพทีล่ งในบทความนีเ้ ป็นภาพทีถ่ า่ ยจริง จากกรุ ง พนมเปญ เมื่ อ เดื อ นตุ ล าคม 2558 จะเห็ น ได้ ว ่ า วั น นี้ พ นมเปญเติ บ โต แบบก้ า วกระโดด จนไม่ ส ามารถก� า หนด ทิศทางได้ อันเนื่องมาจากภาครัฐขาดแคลน งบประมาณ แต่พนมเปญคอยไม่ได้ รัฐจึงเปิด โอกาสให้เอกชนมาลงทุนในกิจการของรัฐ หาก ขาดการควบคุมที่ดีอาจเป็นแบบมือใครยาว สาวได้สาวเอา กัมพูชาเปรียบเสมือนสาวงาม อยูท่ า่ มกลางสงครามกลางเมืองมาตัง้ แต่วยั เยาว์ เธอบริสุทธิ์เกินกว่าจะรู้เท่าทันนักลงทุนและ บรรดานายหน้าที่วิ่งขายโครงการ เรามาเรียน รูเ้ รือ่ งพลังงานทัว่ ไปของกัมพูชาก่อนทีจ่ ะเข้าสู่ เรื่องของพลังงานทดแทน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่อง “พลังงานขยะ”
ใช้มันส�าปะหลังเป็นวัตถุดิบ 7,000 แห่ง (น�าไปใช้ไม่ผลิตไฟฟ้า) ก๊าซจากบ่อฝังกลบในกรุงพนมเปญ DECEMBER 2015
กัมพูชามีประชากรประมาณ 14.8 ล้านคน นับถือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท และเป็น ศาสนาประจ�าชาติ เมืองหลวงอย่างกรุงพนมเปญ มี ป ระชากรประมาณ 2 ล้ า นคน สั ด ส่ ว น การผลิ ต ไฟฟ้ า ของกั ม พู ช า โดย EDC (Electronic Data Capture) ซึง่ เป็นรัฐวิสาหกิจ ใน ปี 2555 กรุงพนมเปญผลิตไฟฟ้าประมาณ 2,478 GWh เพิ่มขึ้น 2 เท่า เมื่อเทียบกับ ปี 2551 ที่มีการผลิตในปริมาณ 1,276 GWh ส่วนในต่างจังหวัด ปี 2555 มีการผลิตไฟฟ้า ประมาณ 841 GWh เพิม่ ขึน้ มากกว่า 2 เท่า เมือ่ เทียบกับ ปี 2551 ที่มีการผลิตไฟฟ้าปริมาณ
VOLUME 7 ISSUE 85
350 GWh เมือ่ แยกประเภทตามแหล่งพลังงาน แล้ว การน�าเข้าพลังงานไฟฟ้าใน ปี 2555 มีการน�าเข้าปริมาณ 2,000 GWh เพิ่มขึ้น เกือบ 8 เท่า เมือ่ เทียบกับ ปี 2551 ทีม่ กี ารน�าเข้า เพียง 268 GWh ในส่วนของน�้ามัน HFO (Heavy Fuel Oil) ใน ปี 2555 มีการผลิต พลังงานไฟฟ้าจากน�้ามันเตาประมาณ 746 GWh ลดลงจาก ปี 2551 ที่มีการผลิตไฟฟ้า ในปริมาณ 1,182 GWh พลังงานน�้า (Hydro) ใน ปี 2555 มีการผลิตพลังงานไฟฟ้าจาก พลั ง งานน�้ า ประมาณ 516 GWh เพิ่ ม ขึ้ น มากกว่า 10 เมือ่ เทียบกับ ปี 2551 ทีม่ กี ารผลิต
ในปริมาณ 46 GWh เท่านั้น สัดส่วนใน การใช้ ไ ฟฟ้ า ของกั ม พู ช า ภาคที่ มี ก ารใช้ ไฟฟ้ามากที่สุดใน ปี 2555 ได้แก่ ภาคธุรกิจ 32% ของการใช้พลังงานไฟฟ้าทั้งประเทศ รองลงมา คือ ครัวเรือน 28% ภาคอุตสาหกรรม 18% และภาครัฐบาล 5% ส�าหรับอัตราค่าไฟฟ้าที่ยังสูง เมื่อเทียบกับ ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคนั้น นอกจากจะมา จากก�าลังการผลิตที่ยังไม่เพียงพอต่อความ ต้องการแล้ว สืบเนื่องมาจากนโยบายที่แตก ต่ า งกั น ของแต่ ล ะประเทศ เช่ น ประเทศ เวียดนามมีนโยบายในการชดเชยราคาถ่านหิน จากภาครัฐ เพื่อน�ามาผลิตไฟฟ้า ส่งผลให้มี อัตราค่าไฟฟ้าที่ต�่ากว่าความเป็นจริง อย่างไร ก็ ต ามปั จ จุ บั น การใช้ ไ ฟฟ้ า ในปริ ม าณมาก ของอุ ต สาหกรรมรายใหญ่ ที่ มี ก ารเชื่ อ มต่ อ แบบ High Voltage และ Medium Voltage โดยตรงจากสถานีไฟฟ้า (Sub-Station Grid) หรือจากสถานีย่อยในรัศมี 20 กิโลเมตร นั้น EDC สามารถให้บริการไฟฟ้าได้ในราคา 0.1270 – 0.1700 USD/kWh เนื่องจากเป็น กลุ่มที่รัฐบาลให้ความส�าคัญ
E N E R G Y S AV I N G
59
การพัฒนาพลังงานทดแทน ในกัมพูชา
ก็ ค งไม่ แ ตกต่ า งจาก CLMV และใน ประเทศไทยมากนั ก คาถาประจ� า ใจ ก็ คื อ “ไม่โลภ ไม่รีบ ไม่จ่าย” ในยามที่โลภ จน ทนไม่ ไ หว ให้ ท ่ อ งคาถานี้ บ ่ อ ย ๆ วั น ไหน ลืมท่อง ทุกข์จะอยู่กับเรา เงินจะอยู่กับเขา... จากข้อมูลทีไ่ ด้รบั การอนุเคราะห์จากกระทรวง พลั ง งานของกั ม พู ช าที่ ท ่ า นเห็ น อยู ่ ท� า ให้ ได้ ท ราบข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ว่ า โครงการ Bio Ethanol นั้ น เป็ น นั ก ลงทุ น ไทยที่ เข้ า ไป ลงทุน ส�าหรับพลังงานขยะยังเป็นการเจาะ ก๊าซใต้หลุมฝังกลบมาใช้ กัมพูชามีการปลูก ยางเหมือนภาคตะวันออกของไทย รวมทั้ง ปาล์มน�้ามัน อ้อย และข้าว เรียกว่า เหมือน ภาคตะวันออกของเราทุกประการ นอกจากนี้ ยังมีการปลูกมะม่วงหิมพานต์ แต่ที่น่าสนใจ ก็คอื “ต้นสบูด่ า� ” ซึง่ ประเทศไทยตัดทิง้ ไปเกือบ หมดแล้ว เนื่องจากการวิจัยของมหาวิทยาลัย แห่งหนึง่ ระบุวา่ ยังไม่คมุ้ ค่าการลงทุน ส�าหรับ กัมพูชายังเชื่อว่า “สบู่ด�า” หรือ Jatropha มี ศั ก ยภาพเป็ น ทั้ ง เชื้ อ เพลิ ง พลั ง งานและ สมุนไพร ประเทศกัมพูชาจะเข้าสู่การพัฒนา ความเป็นเกษตรพลังงานได้ง่ายและรวดเร็ว กว่าไทย เรามาเสาะหาแนวทางการลงทุน พลังงานขยะในกรุงพนมเปญกันดีกว่า Waste to Energy ในกรุงพนมเปญ ข้อมูล จากภาครัฐประเมินว่า มีการจัดเก็บขยะได้ไม่ น้อยกว่า 1,000 ตันต่อวัน แต่สา� หรับนักพัฒนา โครงการมีตัวเลขมากถึง 2,000 ตันต่อวัน อัตราจ�าหน่ายไฟฟ้า หน่วยละ 8-10 บาท
60
E N E R G Y S AV I N G
(0.23-0.35 USD) ซึ่งสูงกว่าเมืองไทยในอัตรา FIT ใหม่ (ประมาณ 5.78-7.04 บาทต่อหน่วย) ข้อเท็จจริง ก็คอื ราคาทีเ่ ราจะขายให้กบั ภาครัฐของกัมพูชาได้เพียง 4 บาทกว่าต่อหน่วย คือ ประมาณ 0.14 USD แต่ราคาทีภ่ าครัฐน�าไปจ�าหน่ายต่ออาจจะสูงจริงตามข่าว กล่าวคือ ประมาณ 0.35 USD โดยแต่ละเมืองราคาอาจแตกต่างกันไป ประเทศกัมพูชาได้แยกกลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.โรงงานอุตสาหกรรม และพาณิชยกรรม 2. หน่วยงานรัฐ 3.ประชาชน โดยกลุ่มแรกต้องรองรับ ค่าไฟในราคาสูงสุดเรียงตามล�าดับ ชาวบ้านจะเป็นผู้ใช้ไฟฟ้าถูกที่สุด ในประเทศนี้ยังไม่มีโปรโมชั่น ใช้ฟรีเหมือนเมืองไทย ส่วนการจัดเก็บภาคเอกชนเป็นผู้รับจ้างเก็บขยะราคาจึงไม่สูงนัก ถ้าบ้าน ไหนไม่ช�าระค่าจัดเก็บ ก็จะไม่เก็บขยะให้ หากมาตรการนี้น�ามาใช้กับเมืองไทย มีหวังขยะกองกัน เต็มบ้าน เต็มเมือง ขยะกองเดียวกันในกรุงพนมเปญ แต่มีผู้รับสมอ้างว่าได้รับมอบหมายจากผู้มีอ�านาจสูงสุด นับสิบคน ท่านนักลงทุนต้องท่องคาถาดี ๆ ค่าพัฒนาโครงการพลังงานขยะที่พนมเปญแพง มาก ๆ นอกจากนีท้ ดี่ นิ รอบ ๆ พนมเปญ ราคาไร่ละกว่า 4 ล้านบาท ขนาดแอบถามไม่ผา่ นนายหน้า แต่ที่เหมือนคนตาบอดในวันนี้ ก็คือ ถ้าไปลงทุนจริง ๆ พันกว่าล้านบาท ใครคือลูกค้า ภาครัฐ หรือเอกชน อะไรเป็นหลักประกัน เนื่องจากผู้พัฒนาโครงการจะหายหน้าไปทันที เมื่อเขารับ ค่าตอบแทนครบถ้วน ท่านผู้มีอ�านาจตัวจริงหากได้อ่านข้อมูลนี้ รบกวนให้ความกระจ่างด้วย จะได้ Win Win วันนีน้ กั ลงทุนไทยตัวจริง “เทคโนโลยีพร้อม เงินพร้อม ประสบการณ์พร้อม” ใครสนใจและเป็น ตัวจริง ไม่เทีย่ วหลอกลวงเก็บค่าหุน้ ก่อน ควรรีบศึกษารายละเอียดเพิม่ เติมโดยด่วน ก่อนทีห่ น่วยงานรัฐ ในกัมพูชาจะตั้งก�าแพงเหมือนเมืองไทย เริ่มตั้งแต่ รง.4, PPA, ผังเมือง, พ.ร.บ. ร่วมทุนฯ, สายส่ง กว่า 10 หน่วยงาน 20 ใบอนุญาต
DECEMBER 2015
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Product ShowcaSe LogiSticS TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
1.9 Ddi Blue Power
เครื่องยนต์มลพิษต�่ำ ประหยัดน�้ำมันสูงสุด ISUZU ส่ง D-MAX รุน่ ใหม่ทมี่ าพร้อมเครือ่ งยนต์ “1.9 Ddi Blue Power” มาตรฐานใหม่สา� หรับ รถปิกอัพระดับโลก โดยมีเป้าหมายส�าคัญสูงสุด 3 ด้านในการคิดค้นและพัฒนา คือ ก�าลังเครือ่ งยนต์ สูงสุด ค่ามลพิษต�า่ สุด ประหยัดน�า้ มันสูงสุดเมือ่ เทียบกับเครือ่ งยนต์รนุ่ เดิมขนาด 2,500 ซีซี ทีม่ ี ขนาดใหญ่กว่า และมีชอื่ เสียงในเรือ่ งพลังจัดและประหยัดน�า้ มันเป็นเยีย่ มอยูแ่ ล้ว ซึง่ เครือ่ งยนต์ “ISUZU D-MAX 1.9 Ddi Blue Power” รุน่ RZ4E-TC ขนาด 1,900 ซีซี ถูกพัฒนาให้มกี า� ลังสูงสุด 150 แรงม้าที่ 3,600 รอบ/นาที ขณะทีแ่ รงบิดสูงสุด 350 นิวตัน-เมตรที่ 1,800-2,600 รอบ/นาที เรียกได้วา่ เครือ่ งยนต์ตวั นีล้ า�้ หน้าทีส่ ดุ ด้วยคุณสมบัตอิ นั โดดเด่น ได้แก่ เครือ่ งยนต์นา�้ หนักเบาทีส่ ดุ (LESS Weight) ค่าแรงเสียดทานต�า่ สุด (LESS Friction) ระดับเสียงเครือ่ งยนต์ตา�่ สุด (LESS Noise) ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ตา�่ สุด (LESS CO2) รวมถึงค่าบ�ารุงรักษาต�า่ สุด (LESS Maintenance) แต่กลับให้สมรรถนะทีย่ อดเยีย่ มในทุก ๆ ด้าน ทัง้ แรงม้าสูงสุด แรงบิดสูงสุด ทนทานสูงสุด ประหยัด น�า้ มันสูงสุด และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมสูงสุดอีกด้วย
ZIC XQ 5000 น�้ำมันหล่อลื่น เพื่อเครื่องยนต์ดีเซล บริษทั โอราโนส จ�ากัด ผูแ้ ทนจ�าหน่ายน�า้ มันเครือ่ ง ZIC ใน ประเทศไทยอย่างเป็นทางการ แนะน�า ZIC XQ 5000 นวัตกรรม น�้ามันหล่อลื่นที่พัฒนาขึ้นส�าหรับเครื่องยนต์ดีเซลที่ต้องการ สมรรถนะในการขับขี่สูง ซึ่งผลิตจากน�้ามันพื้นฐานคุณภาพสูง ระดับโลก (YUBASE) ซึง่ มีเสถียรภาพในการรักษาความหนืดใน ทุกสภาวะอากาศ ท�าให้เครือ่ งยนต์ทา� งานเบาขึน้ รถวิง่ ลืน่ ขึน้ อัตราเร่ง สูงขึ้น ประหยัดน�้ามันเชื้อเพลิงและยังช่วยป้องกันการสึกหรอ ของเครื่องยนต์ได้อย่างดีเยี่ยม ซึ่ง ZIC XQ 5000 15W-40 เหมาะส�าหรับรถยนต์เครือ่ งยนต์ดเี ซลสมรรถนะสูงทุกชนิด ทัง้ ชนิด งานหนักและงานเบา และรองรับเครือ่ งยนต์ทตี่ ดิ ตัง้ ระบบบ�าบัด ไอเสีย รายละเอียดเพิม่ เติมที่ http://www.zic-oranoss.com 62
E N E R G Y S AV I N G
หัวเทียนแพลตตินั่ม และดับเบิ้ลอีรีเดียม บ๊อช ผูน้ า� ระดับโลกในการผลิตชิน้ ส่วนประกอบรถยนต์เปิดตัวผลิตภัณฑ์ หัวเทียนแพลตตินมั่ และดับเบิล้ อีรเี ดียม โดยสามารถใช้งานกับรถยนต์ทผี่ ลิตจาก ประเทศญีป่ นุ่ และประเทศอืน่ ๆ ในทวีปเอเชีย โดยหัวเทียนกลุม่ ใหม่นรี้ งั สรรค์ ขึน้ จากเทคโนโลยีการเชือ่ มแกนกลางด้วยเลเซอร์ 360 องศา ซึง่ คิดค้นโดยบ๊อช เพือ่ ประสิทธิภาพการท�างานทีย่ อดเยีย่ ม ประหยัดพลังงานได้สงู สุด และมีความ ปลอดภัยและอายุการใช้งานทีย่ าวนานขึน้ กว่าเดิม นอกจากนี้ การติดตัง้ ใช้งาน ยังสะดวกและรวดเร็วกว่าเดิมด้วยการออกแบบระยะห่างเขีย้ วทีต่ ดิ ตัง้ มาจาก โรงงาน ลดภาระในการปรับแต่งระยะเขีย้ วแบบเดิม ๆ DECEMBER 2015
EnvironmEnt AlErt TEXT : อ.รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมช�านาญการพิเศษ ศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
มองโลกอนาคต กับวิกฤติขยะในทะเล ในช่วงปลายปีที่ผ่านมามีเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นว่า โลกอนาคตก�าลังสู่ภาวะวิกฤติสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าการขาดแคลนน�้า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกอย่างรุนแรง ภัยพิบัติทางธรรมชาติ โลกต้องการตัวอย่างของผู้เสียสละ เช่น เหตุการณ์ ของชายไทยช่วยนักท่องเที่ยวติดโคลนที่จังหวัดกระบี่ ถูกน�าไปเผยแพร่เป็นข่าวทั่วโลก หลังจากนั้นมีเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ทั่วโลกที่แสดงถึงการเสียสละของผู้คนที่ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเต็มใจ โดยไม่หวังผลตอบแทน แสดงให้เห็นว่าโลกใบนี้มองเรื่อง การเสียสละ การมีจิตใจที่เอื้อเฟื้อ มีเมตตาต่อผู้อื่น เป็นตัวอย่างให้คนบนโลกได้ทบทวนการอยู่ร่วมกัน สะท้อนออกไปสู่เวทีโลกใน หลายเวทีที่ประเทศมหาอ�านาจบางประเทศเริ่มเปลี่ยนบทบาทจากการเอาเปรียบชาติอื่น หันมาช่วยเหลือประเทศที่ยากจนมากขึ้น เกิดความร่วมมือในภาคส่วนต่าง ๆ มากขึ้น วันนีโ้ ลกตระหนักแล้วว่าความร่วมมือต่าง ๆ ทีไ่ ด้ดา� เนินการ ในการประชุมต่าง ๆ ทีจ่ ดั ขึน้ ทัง้ ข้อตกลงต่าง ๆ ทีแ่ ต่ละประเทศ น� า ไปปฏิ บั ติ ใ นการแก้ ไขปั ญ หาสิ่งแวดล้อม ปัญหาสภาพ ภูมอิ ากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง ภัยพิบตั ทิ เี่ มือ่ เร็ว ๆ นีเ้ กิดขึน้ ในแถบ เอเชีย มีความรุนแรงและบ่อยครั้งมากขึ้น โลกจึงต้องเตรียม พร้อมในการด�าเนินการแก้ไขปัญหาและป้องกันปัญหาอย่างจริงจัง ข้อตกลงต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ คงต้องหยิบยกมาท�าอย่างเป็นรูปธรรม ในรอบปีที่ผ่านมามีการประชุมของสหประชาชาติว่าต้องการ พัฒนา และแสดงให้เห็นถึงการประเมินผลในรอบ 10 ปี พบว่า ปัญหาต่าง ๆ ยังคงหมักหมม ทัง้ เรือ่ งของสุขภาพ ความขาดแคลน อาหาร น�า้ ตลอดจนปัญหาสิง่ แวดล้อม ล้วนแต่เพิม่ ความรุนแรง มากขึ้น กระบวนการพัฒนาที่ยิ่งอาศัยเทคโนโลยีมากเท่าไร ปัญหาผลกระทบต่อคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อมทีต่ ามมาจาก VOLUME 7 ISSUE 85
การลงทุนในการพัฒนาด้านต่าง ๆ มากขึ้นเท่านั้น ในการที่จะเดินต่อไปส�าหรับอนาคต โลกใบนี้เริ่มโหยหาความร่วมมือที่ต้อง เสียสละเพื่อการอยู่ร่วมกันบนโลกอย่างมาก หลายประเทศจับมือกันเพื่อแก้ไข ปัญหา เห็นได้ชัดว่าทุกปี ปัญหาหมอกควันไฟป่าที่กระทบกับกลุ่มประเทศ ในอาเซียน เกิดจากประเทศอินโดนีเซียถูกหยิบยกมาเป็นกรณีหนึ่งที่ต้องการ แก้ไขปัญหาร่วมกัน ทั้งบทลงโทษต่อภาคเอกชนที่มีส่วนส่งเสริมการเผาป่า หรือการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศที่แสดงถึงความเข้มข้นของฝุ่นละออง และการประเมินทิศทางมลพิษทางอากาศที่ทุกประเทศต้องให้ความร่วมมือ จาก บทเรียนดังกล่าวปัญหาสิ่งแวดล้อมจึงเป็นปัญหาที่ไร้พรมแดน ประเทศที่เป็น ต้ น เหตุ ข องการเกิ ด มลพิ ษ ต้ อ งเสี ย สละในการจั ด การอย่ า งเด็ ด ขาด ปั ญ หา หนึ่งที่เป็นปัญหาร่วมกันในอนาคตที่จะยกตัวอย่างของการไม่มีพรมแดนของ ปัญหา คือ ขยะในทะเล (marine debris) เป็นวัสดุแข็งที่ถูกทิ้งจากอุตสาหกรรม หรื อ กระบวนการผลิ ต โดยการจงใจทิ้ ง หรื อ การปล่ อ ยปละทิ้ ง ขว้ า งสู ่ E N E R G Y S AV I N G
63
ที่มา : กราฟจากทีมวิจัย ของ เจนน่า เจมแบ็ค แสดงอันดับประเทศติดชายฝั่งทะเลที่ทิ้งขยะลงสู่ทะเล 20 อันดับแรก
สภาพแวดล้อมทางทะเลและชายฝัง่ ขยะในทะเล ประกอบด้วย สิง่ ของทีถ่ กู ท�าขึน้ หรือถูกใช้โดยมนุษย์ และเจตนาทิ้งลงสู่ทะเล แม่น้�า หรือบนชายหาด ซึ่งทิ้งลงไป โดยตรงสู่ทะเลโดยแม่น�้า แหล่งน�้าโสโครก กระแสน�้าที่เชี่ยวกราด หรือกระแสลม รวมทั้ ง วั ต ถุ ที่ สู ญ หายในทะเล ในขณะที่ ส ภาพอากาศเลวร้ า ย (เครื่ อ งมื อ ประมง สินค้าในเรือขนส่ง) หรือการเจตนาทิ้งโดนมนุษย์บนชายหาดและชายฝั่ง ขยะในทะเลอาจจะพบใกล้ แ หล่ ง ที่ เ กิ ด แต่ เ กื อ บทั้ ง หมดสามารถถู ก พั ด พา ไปได้ในระยะทางไกล ๆ ด้วยกระแสน�้าในมหาสมุทรและกระแสลม ดังนั้นขยะใน ทะเลจึงถูกพบในพื้นที่ทะเลทั่วโลก ไม่เพียงแต่บริเวณชายฝั่ง แต่ยังสามารถพบได้ ในสถานที่ห่างไกลจากแหล่งก�าเนิดอย่างชัดเจน (เช่น บนเกาะกลางมหาสมุทรและ บริเวณขัว้ โลก สามารถพบขยะในทะเลลอยอยูบ่ ริเวณผิวน�า้ กลางมวลน�า้ และจมลงสู่ พืน้ ท้องทะเลทีร่ ะดับความลึกแตกต่างกัน ต้นก�าเนิดขยะในทะเลมาจากแหล่งส�าคัญ 2 แหล่ง คือ 1. ต้นทางของขยะในทะเลทีอ่ ยูบ่ นแผ่นดิน ได้แก่ หลุมฝังกลบขยะชุมชน ระบบการ เก็ บ รวบรวมและขนย้ า ยขยะ (ทางบกและทางน�้ า) น�้ า ที่ เ อ่อ ล้นไหลบ่าในช่ว ง ฝนตกหนักสามารถพัดพาขยะลงทะเล ภาคอุตสาหกรรมและการผลิต การจัดการ ขยะมูลฝอยที่ไม่เหมาะสม และปรากฏการณ์ธรรมชาติ 2. ต้นทางของขยะในทะเลที่อยู่ในมหาสมุทร อาจมาจากทั้งในทะเลและชายฝั่ง เช่น การขนส่งทางเรือ เรือส�าราญและเรือท่องเที่ยว การประมงทะเลและชายฝั่ง แท่งขุดเจาะน�้ามันและก๊าซธรรมชาติ การท่องเที่ยวบริเวณชายฝั่ง กิจกรรมการ เพาะเลี้ยงสัตว์น�้า เป็นต้น ซึ่งจาก 2 แหล่งส�าคัญเป็นสิ่งที่ต้องค�านึงถึงการจัดการร่วมกัน มิฉะนั้นทะเลจะ กลายเป็นแหล่งสะสมขยะและพัดพากลับมาสูแ่ ผ่นดิน ในหลายประเทศจึงต้องมีการ ตกลงร่วมกันในการจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ ในอนาคตปริมาณขยะในทะเล นับวันจะมีมากขึ้น โดยเฉพาะขยะที่ย่อยสลายยาก เช่น พลาสติก ที่จะเข้าสู่ระบบ นิเวศทางทะเล เกิดปัญหากับสัตว์ทะเล และสะสมในทะเล ซึ่งมีความคงทนถาวร
ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์
http://www.motherjones.com/ http://media2.s-nbcnews.com/i/newscms/2014_16/330056/140417-ocean-garbage-main_ac9af9440fc0113f87390b7385c84927.jpg https://middleofthepacific.files.wordpress.com/2010/12/pacific-garbage-patch.jpg http://scubadiverlife.com/wp-content/uploads/2013/11/iStock_000012865220Large.jpg http://www.wastewiseproductsinc.com/wp-content/uploads/2014/04/ocean-trash-impact-on-sea-turtles.jpg
64
E N E R G Y S AV I N G
ตัวอย่างขยะพลาสติกจ�านวนมหาศาลที่ลอยอยู่บนผิว ทะเลนัน้ เป็นมลพิษต่อสิง่ แวดล้อมในทะเลอย่างใหญ่หลวง ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั ก็คอื แพขยะขนาดยักษ์ในมหาสมุทร แปซิ ฟ ิ ก ซึ่ ง กิ น เนื้ อ ที่ อ ย่ า งน้ อ ยสองเท่ า ของพื้ น ที่ รั ฐ เท็กซัส หรือใกล้เคียงกับพื้นที่ของประเทศไทย มลพิษ นี้ เ ป็ น ภั ย ต่ อ สั ต ว์ ทุ ก ชนิ ด ตั้ ง แต่ แ พลงตอนตั ว เล็ ก ๆ ไปจนถึงสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดอย่างวาฬ และไม่ใช่แค่ สัตว์ทะเลเท่านัน้ นกก็เป็นหนึง่ ในกลุม่ สัตว์ทเี่ สีย่ งอันตราย ด้วย และหากคิดว่าโลกของเรามีแพขยะขนาดเกือบเท่า ประเทศหนึง่ นัน้ ถือเป็นเรือ่ งร้ายแรงแล้ว ยังมีเรือ่ งร้ายแรง กว่านี้อีก เพราะขยะพลาสติกมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นกว่า 10 เท่า ในอีก 100 ปี ข้างหน้า หมายความว่า ถ้าเรา ไม่เริ่มปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค แพขยะก็จะมี ขนาดใหญ่ขึ้นอีก เว้นแต่ว่าเราจะพบวิธีการจัดการขยะที่ ดีกว่าเดิม การจัดการทีเ่ หมาะสมจึงต้องอาศัยการมีสว่ นร่วม ตั้งแต่ชุมชนชายฝั่งทะเลในการมีส่วนร่วมกันเก็บขยะ ชายฝั ่ ง ทะเล กลุ ่ ม เรื อ ประมงที่ ไ ม่ ทิ้ ง ขยะลงแหล่ ง น�้ า หน่วยงานภาครัฐต้องจัดระบบการจัดการขยะที่แหล่ง ก�าเนิดอย่างมีประสิทธิภาพ การท่องเที่ยวที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม หรือการก�าหนดนโยบายที่จะลดปริมาณขยะ ในทะเลของแต่ละประเทศอย่างจริงจัง ในปีหน้านี้หวังว่าปัญหาเช่นขยะในทะเลหรือปัญหา อืน่ ๆ ด้านสิง่ แวดล้อมจะได้รบั การหยิบยกอย่างจริงจัง และ ตั้งใจในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบบนฐานคิดความ ร่ ว มมื อ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ไม่ ใช่ ก ารประชุมแสดง วิสยั ทัศน์สวยหรูแล้วเลิกรากันไป โดยไม่ทา� อะไรอย่างจริงจัง วันนีต้ อ้ งท�าเพือ่ อนาคตให้รนุ่ ลูกหลานทีจ่ ะต้องด�ารงอยูต่ อ่ ไป อย่างมีความสุข หวังเป็นอย่างยิ่งว่าในปีใหม่นี้ทุกท่าน จะมีโอกาสทีจ่ ะร่วมมือกันในการรักษาสภาพแวดล้อม และ อยู่ร่วมกันบนโลกใบนี้อย่างมีความสุข
DECEMBER 2015
0 Waste Idea
วิถีทางของ
TEXT : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
“Zero Waste” เพื่อก้าวสู่สังคมแห่งการรีไซเคิลขยะ
ปัญหาขยะล้นเมืองกับ แนวคิดการลดปริมาณขยะ
ปัญหาขยะล้นเมืองเป็นอีกหนึง่ ปัญหาทีก่ า� ลัง ทวีความรุนแรงมากยิง่ ขึน้ ท�าให้หลายเมืองจาก ทุกมุมโลกได้เปลี่ยนแนวคิดการจัดการขยะมา เป็นการน�ากลับและใช้ประโยชน์จากขยะอย่าง คุม้ ค่า แนวคิดของเสียเหลือศูนย์จงึ ถูกน�ามาเผยแพร่ ในหลาย ๆ เมื อ ง เช่ น มลรั ฐ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งได้ประกาศเป้าหมาย “แคลิฟอร์เนียขยะเป็นศูนย์” โดยทุกคนร่วมกัน ด้ ว ยการปฏิ บั ติ ก าร Reduce (ลดการใช้ ) Reuse (การใช้ซ�้า) และ Recycle (การน�าไป แปรรูปกลับมาใช้ใหม่) ไม่ทิ้งให้เป็นขยะ ต้อง เป็ น ภาระในการก� า จั ด เน้ น ให้ ป ระชาชน รูจ้ กั ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุม้ ค่า การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ตอ้ งค�านึงถึงสิง่ แวดล้อมและศักยภาพ ในการน�ามาใช้ใหม่เสมอ เพือ่ เป็นการลดปริมาณ
VOLUME 7 ISSUE 85
ขยะมูลฝอยทีต่ อ้ งน�าไปฝังกลบ มีเป้าหมายในการ ส่งเสริมการพัฒนาตลาดการประมูลสินค้ารีไซเคิล การเพิม่ ช่องทางการซือ้ ขายในคลังสินค้ารีไซเคิล ด�าเนินการวิจยั เทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง มีศูนย์เก็บรวบรวมขยะพิษหรือขยะอันตราย จัดตัง้ ศูนย์ขอ้ มูลเพือ่ เป็นศูนย์ประสานการใช้ขยะ ก่อสร้างไว้บริการประชาชน
ตัวอย่างของชุมชนวิถี “Zero Waste” ต�าบลคามิคัทสึ ประเทศญี่ปุ่น
เป็นชุมชนเล็ก ๆ ในประเทศญีป่ นุ่ เป็นตัวอย่าง ทีด่ ขี องการรักษาสิง่ แวดล้อม ได้ชอื่ ว่าเป็นชุมชน แบบไร้ขยะ เพราะไม่มีการเก็บขยะออกจาก หมู่บ้านเลย ทุกคนในชุมชนมีส่วนร่วมอย่าง เต็มที่ คนญี่ ปุ ่ น ในชุ ม ชนพยายามจะท� า หน้ า ที่ รับผิดชอบขยะของตนอย่างเต็มที่ ก่อนที่จะ
ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล มูลฝอย หรืออะไรก็ตามที่ ประสงค์จะทิ้งนั้น ผู้ทิ้งจะต้องรู้จักลักษณะและ ธรรมชาติของขยะแต่ละชิน้ และจ�าแนกแยกแยะ อย่างละเอียดถีถ่ ว้ น เริม่ ตัง้ แต่ประเภทใหญ่ ๆ คือ • ขยะเผาได้ (burnable garbage/ combustible) • ขยะเผาไม่ได้ (unburnable garbage/incombustible)
E N E R G Y S AV I N G
65
นอกจากนี้แต่ละครัวเรือนยังมีความรับผิดชอบหน้าที่ของตนในการน�าเศษอาหาร ไปหมักปุ๋ยหมัก และมีการคัดแยกประเภทขยะรีไซเคิล 34 ชนิด ขายให้ร้านที่มาซื้อ สร้างรายได้ให้แก่ครัวเรือนได้อีกทางหนึ่ง และเป็นการร่วมกันรักษาสิ่งแวดล้อมใน ชุมชนให้น่าอยู่
ตัวอย่างของชุมชนเกตุไพเราะ 3,4,5 ชุมชนวิถี “Zero Waste” ของกรุงเทพมหานคร
ชุมชนเกตุไพเราะ 3,4,5 เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร เป็นชุมชนที่การขยายตัว ของชุมชนได้ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะจากการทิ้งลงใต้ถุนบ้าน และการระบายน�้าไม่ดี น�า้ ในคลองเน่าเสีย ท�าให้นา�้ ใต้ถนุ บ้านเน่าเสียส่งกลิน่ เหม็น สร้างความร�าคาญและเป็น แหล่งเพาะพันธ์ยุง ผู้น�าชุมชนและประชาชนจึงได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาของชุมชนโดย น้อมน�าแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนสู่ชุมชนพอเพียง ซึ่งส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม โดยได้ด�าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้
การท�าน�้าหมักชีวภาพ
การหมักขยะอินทรีย์
การน�าปุ๋ยอินทรีย์มาปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้ผล พืชสวนครัว
การรณรงค์คัดแยกขยะในครัวเรือน
1. จัดการขยะเหลือศูนย์ ในชุมชนเพื่อลดโลกร้อน เป็นการจัดการขยะ โดยการ น�ากลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด เหลือขยะส่งให้กรุงเทพมหานครไปก�าจัดน้อยที่สุด ประกอบด้วย คัดแยกขยะในครัวเรือน โดยคัดแยกขยะรีไซเคิลให้รถรับซื้อที่เข้ามารับซื้อถึง ในชุมชนหรือคัดแยกบริจาคให้แก่เพื่อนบ้านที่อาสาเข้ามาท�าหน้าที่เก็บรวบรวมขยะ และชักลากไปยังจุดที่ก�าหนดไว้เป็นจุดรวมขยะของชุมชน โดยจัดกิจกรรมทอดผ้าป่า สามัคคีขยะรีไซเคิล รับบริจาคขยะรีไซเคิลจากคนในชุมชน และจัดตั้งกองทุนผ้าป่า สามัคคีขยะรีไซเคิล คัดแยกขยะอินทรีย์ ทีเ่ กิดขึน ้ ทุกวัน เนือ่ งจากพืน้ ทีห่ น้าชุมชนเป็นตลาดสด โดย น�าไปใช้ประโยชน์ทหี่ ลากหลาย เช่น การน�าไส้ปลาไปเลีย้ งปลาดุก น�าไปหมักน�า้ จุลนิ ทรีย์ ชีวภาพ เพื่อใช้ประโยชน์ในรูปของปุ๋ยอินทรีย์ น�้ายาอเนกประสงค์เพื่อน�าไปหยดลง น�้าที่เสียเพื่อบ�าบัดน�้าเสีย ส่วนเปลือกผลไม้น�าไปเลี้ยงสัตว์ ขยะทัว ่ ไป ทีต่ อ้ งให้สา� นักงานเขตจัดเก็บจะถูกคัดแยกอัดใส่ถงุ พลาสติก เตรียมส่ง ให้รถจากโรงงานปูนซีเมนต์ ซึ่งบริษัทน�ารถบรรทุกเข้ามารับขยะเชื้อเพลิงบริเวณหน้า ชุมชน เนื่องจากถนนในชุมชนแคบจึงใช้รถกระบะบรรทุกออกมาจากชุมชนแล้ว จึงขนย้ายใส่รถบรรทุกอีกครั้งหนึ่ง สามารถก�าจัดขยะได้เฉลี่ยสัปดาห์ 1-2 ตัน ผลจากความร่วมมือกันด�าเนินการของชาวชุมชนเกตุไพเราะ ส่งผลให้ขยะในชุมชน ลดลงมา จาก 1,200 กิโลกรัมต่อวัน เหลือเพียงประมาณ 100 กิโลกรัมต่อวันเท่านัน้ 66
E N E R G Y S AV I N G
และยังสามารถเก็บถังหน้าบ้านน�าเข้าไปไว้ในบ้าน ท�าให้ถนน ปลอดถั ง ขยะ ปลู ก ไม้ ด อก ไม้ ป ระดั บ ไม้ ผ ล พื ช สวนครั ว หรือพืชสมุนไพรในกระถางและตัง้ วางแทนทีท่ เี่ คยตัง้ ขยะ ท�าให้ ถนนปลอดถังขยะ หน้าบ้านเขียวขจีไปด้วยต้นไม้ 2. การติดตั้งถังดักไขมันในครัวเรือน เพื่อดักไขมันและ เศษอาหารจากอ่ า งล้ า งจานไหลลงไปในน�้ า ใต้ ถุ น บ้ า น ซึ่ ง จะท�าให้น�้า เสียมากยิ่งขึ้น และรณรงค์ให้ทุก บ้า นไม่ทิ้งขยะ ทุกชนิดลงใต้ถุนบ้านอีก ส่งผลให้น�้าที่เคยเน่าเสีย ส่งกลิ่นเหม็น รบกวนกลั บ มาใสสะอาด ไม่ มี ก ลิ่ น เหม็ น ชาวบ้ า นที มี พื้ น ที่ ว ่ า งข้ า งบ้ า น สามารถประกอบอาชี พ เลี้ ย งปลาดุ ก โดยอาศัยเศษอาหารจากตลาดสดทุกวัน สร้างรายได้เป็นกอบ เป็นก�า 3. ปรับวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรม ปลูกพืชผักสวนครัวรั้วกินได้ ส�ารวจต้นไม้ยืนต้นในชุมชน และ จัดท�าทะเบียนข้อมูลต้นไม้ใหญ่ นอกจากนี้ยังได้มีการปลูกต้นไม้ เพิม่ เติม โดยเน้นเป็นไม้ให้รม่ เงา และพืชผักสวนครัว โดยน�าวัสดุ เหลือใช้มาเป็นภาชนะการปลูก เช่น เข่งขนมจีน ยางรถยนต์ และ น�าปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิตได้มาใช้บ�ารุงต้นไม้ที่ปลูก นอกจากนั้นยังจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนตระหนักและ ร่วมกันปรับเปลีย่ นพฤติกรรมร่วมลดภาวะโลกร้อน เช่น จัดกิจกรรม หิว้ ถุงผ้าถือตะกร้าไปตลาด รณรงค์ให้ผจู้ บั จ่ายซือ้ ของในตลาดนัด ชุมชนใช้ถงุ ผ้าตะกร้าแทนถุงพลาสติก และผูค้ า้ หันมาใช้วสั ดุจาก ธรรมชาติ ลดการใช้พลังงาน โดยจัดตลาดชุมชนร่วมใจเปลีย่ นหลอด ไฟ ลดใช้พลังงาน ซึง่ ผูค้ า้ ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมมีทงั้ หมด 95 แผง ชุมชนเกตุไพเราะ 3, 4, จึงสามารถเรียกได้วา่ เป็นชุมชนวิถี “Zero Waste” เพราะน�าไปใช้ทงั้ รีไซเคิล เศษอาหาร กิง่ ไม้ใบไม้ และขยะทัว่ ไป เหลือเพียงขยะทีเ่ ผาไหม้ไม่ได้ และขยะอืน่ ๆ เช่น กระดาษทิชชู ผ้าอนามัย ฯลฯ และยังได้ชอื่ ว่าเป็นชุมชนทีร่ ว่ มลด โลกร้อนอีกด้วย ดังนัน้ แนวทางการมีสว่ นร่วมของชุมชนสูว่ ถิ ที างของสังคมแห่ง การรีไซเคิลขยะในการพัฒนาสังคมน่าอยู่ มีส่วนส�าคัญส�าหรับ การพัฒนาชุมชนของตนเองให้เป็นชุมชนที่สะอาด สวยงาม ถูกสุขลักษณะ และน่าอยู่อย่างยั่งยืน เอกสารอ้างอิง
เอกสาร “การจัดการขยะและน�้าสียด้วยชุมชน” ส�านักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555
ขอขอบคุณรูปประกอบจากเว็บไซต์
http://www.c40.org/blog_posts/expert-voices-melanie-nutter-director-of-san-francisco-department-of-the-environment https://www.flickr.com/photos/maynard/47686781 http://serc.berkeley.edu/cssc-launches-zero-waste-mini-grant-program-2/
dEcEMbER 2015
Greenhouse Gas manaGement
“ป่ส่งเสริาชุมมวิถีลชน” ดโลกร้อน
TEXT : ดร.ณัฐริกา วายุภาพ นิติพน รองผู้อ�านวยการ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน)
โดยประชาชนมีส่วนร่วมบริหารจัดการ หลายท่ า นอาจเข้ า ใจว่ า โลกร้ อ นและการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ดูเป็นเรื่องใหญ่ระดับ โลกที่เหมือนจะไกลจากตัวเรา แต่อันที่จริงแล้ว การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุของ ปัญหาโลกร้อน ตลอดจนวิถีทางที่จะช่วยกัน ลดโลกร้อนได้ กลับเป็นเรื่องที่ใกล้ตัว และอยู่ ในชีวิตประจ�าวันของพวกเราทุกคน องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์การมหาชน) จึงจะชวนท่านไปสัมผัสกับ เรื่องราวใกล้ตัวแห่งหนึ่งในภาคอีสาน การจัดการ “ป่าชุมชนเขาน้อย-นาแพง” อ�าเภอเวียงเก่า จังหวัด ขอนแก่น ที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้าน วัด โรงเรียน ตลอดจนผูน้ า� ชุมชน และองค์การบริหาร ส่วนต�าบล ที่มีความเข้มแข็งและสมัครสมานสามัคคี ดูแลรักษาและใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าชุมชนอย่าง เหมาะสม สร้างเป็นแหล่งอาหารของชุมชน ท�าให้ ชุมชนพึง่ ตนเองได้ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ง การลดการคุกคามพื้นที่ป่า การปลูกป่าเพิ่ม รวมทั้ง ฟืน้ ฟูสภาพป่าให้ดขี นึ้ นัน้ ให้ผลในด้านการเพิม่ แหล่ง ดูดซับกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทเ่ี ป็นก๊าซเรือน กระจก จึงนับได้ว่า การจัดการ “ป่าชุมชน” เป็นอีก หนึ่งวิถีทางลดโลกร้อน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ของประชาชนที่ ส มควรได้ รั บ การส่ ง เสริ ม และ สนับสนุนเพิ่มเติม ก่อนไปเยือนถิ่นอีสานนั้น เรามาท�าความรู้จัก กั บ ค� า ว่ า “ป่ า ชุ ม ชน” สั ก เล็ ก น้ อ ย ก่ อ นดี ก ว่ า คุณประลอง ด�ำรงค์ไทย รองอธิบดีกรมป่าไม้ ได้ อธิบายค�านิยามของป่าชุมชนว่า หมายถึง “ป่าหรือ ที่ดินอื่นใด ซึ่งเป็นพื้นที่ด�าเนินการภายใต้โครงการ ป่ า ชุ ม ชนที่ ก รมป่ า ไม้ ไ ด้ อ นุ มั ติ ใ ห้ ด� า เนิ น การตาม แนวทางที่ก�าหนด โดยประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม จัดการพื้นที่ของชุมชน ร่วมกับ พนักงานเจ้าหน้าที่ ภายใต้กฎหมาย เพื่อการอนุรักษ์และประชาชนได้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน” VOLUME 7 ISSUE 85
คุณประลอง ด�ำรงค์ไทย รองอธิบดีกรมป่ำไม้
รองอธิบดีฯ ประลอง กล่าวต่อไปว่า การส่งเสริมการจัดการป่าชุมชนของกรมป่าไม้นนั้ นั บ ว่ า มี ส ่ ว นส� า คั ญ ในการส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี ส ่ ว นร่ ว มบริ ห ารจั ด การป่ า ขนาด เล็ ก ให้ เ ป็ น แหล่ ง อาหารของชุ ม ชน ซึ่ ง กรมป่ า ไม้ ไ ด้ ส ่ ง เสริ ม การจั ด ท� า โครงการป่ า ชุมชน มานับตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน กรมป่ำไม้ ได้อนุมัติจัดตั้งป่ำชุมชน แล้วทั้งสิ้น 9,492 แห่ง รวมเป็นพื้นที่ป่ำชุมชนในประเทศไทยประมำณ 4 ล้ำนไร่ ปั จ จั ย ความส� า เร็ จ ในการด� า เนิ น งานที่ ส� า คั ญ ที่ สุ ด คื อ การมี ส ่ ว นร่ ว มของชุ ม ชน ซึ่งรวมถึงผู้น�าชุมชน ก�านัน ผู้ใหญ่บ้าน โรงเรียน และวัด ร่วมด้วยการสนับสนุนจาก E N E R G Y S AV I N G
67
นันทนำ บุณยำนันต์ ผู้อ�ำนวยกำร ส�ำนักจัดกำรป่ำชุมชน กรมป่ำไม้
เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ที่ส่งเสริมงานด้านป่าชุมชน ตลอดจนการสนับสนุนความร่วมมือ จาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อ�าเภอ จังหวัด ภาคเอกชน และหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง คุณนันทนำ บุณยำนันต์ ผูอ้ า� นวยการส�านักจัดการป่าชุมชน กรมป่าไม้ กล่าวเสริม ถึงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทีไ่ ด้จากการด�าเนินงานป่าชุมชน โดยระบุวา่ ได้เคยศึกษา ถึงมูลค่าของการเก็บหาของป่าเพือ่ บริโภคในครัวเรือน พบว่า ชาวบ้านจะมีรายได้จาก การเก็บหาของป่า เพื่อบริโภคในครัวเรือน และขายเป็นรายได้เสริม มีมูลค่าเฉลี่ยใน บางพืน้ ทีป่ ระมาณ 6,000 บาทต่อครัวเรือนต่อปี นอกจากนีก้ รมป่าไม้ยงั ได้มกี ารศึกษา การเก็บคาร์บอนในป่าชุมชน จ�านวน 12 แห่ง พบว่า มีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ ถูกกักเก็บในป่าชุมชน เฉลี่ยเท่ากับ 6.5 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ต่อไร่ ในกรณีนี้ รองอธิบดีฯ ประลอง ได้เสริมความเห็นว่า ป่าชุมชน ถือเป็นพืน้ ทีท่ มี่ าจาก กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาสู่โครงการลดก๊าซ เรือนกระจก และที่ส�าคัญ คือ ควรได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ภาคเอกชน อย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งหากป่าชุมชนใดมีศักยภาพสูง ก็อาจต่อยอดไปสู่การพัฒนาเป็นโครงการ คาร์บอนเครดิต ส�าหรับซื้อขายคาร์บอนเครดิตให้กับภาคเอกชน ที่สนใจซื้อคาร์บอน เครดิตเป็นการสนับสนุนป่าชุมชนของไทยได้ในอนาคต จากนัน้ กรมป่าไม้จงึ ได้นา� คณะขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกลงพืน้ ที่ ป่าชุมชน เขาน้อย-นาแพง อ�าเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น ซึ่งเป็นป่าชุมชนที่ได้ขึ้น ทะเบียนกับกรมป่าไม้ เมื่อ ปี พ.ศ. 2549 โดยได้พบกับ คุณเวียงศักดิ์ เปี่ยมสังวำลย์ นายก อบต. ต�าบลเขาน้อย ซึ่งเล่าให้ฟังว่า ป่าชุมชน เขาน้อย-นาแพง มีชื่อเดิมว่า “ป่าโคกม่องนาฮี” มีพื้นที่ 545 ไร่ พื้นที่นี้มีประชากรอยู่ประมาณห้าพันคน เป็น เกษตรกร มีพนื้ ทีล่ อ้ มรอบด้วยป่าไม้ ป่าชุมชน ป่าสงวน และเขตอุทยานแห่งชาติภเู วียง ป่าที่ล้อมรอบอยู่นี้ให้ประโยชน์ต่อชุมชนเกษตรมานาน ชาวบ้านส่วนใหญ่ล้วนอาศัย พึ่งพิงป่า อาศัยผลผลิตจากป่า แหล่งสมุนไพร เพื่อสร้างรายได้ยังชีพ คุณหำญ กองทุม อดีตก�านันต�าบลเขาน้อย ได้กล่าวเสริมว่า ในช่วงปี 2511 – 2515 ป่าไม้ถูกท�าลายจากการลักลอบตัดไม้ และถูกบุกรุกเพื่อเป็นพื้นที่ท�าการเกษตร จึงได้ มีการประชุมชาวบ้านกัน จัดตัง้ “องค์กรป่าชุมชนเขาน้อยนาแพง” โดยมี ท่านพ่อหาญ เป็นแกนน�านั่นเอง ซึ่งป่าชุมชนได้รับการดูแลจากชาวบ้านนาแพง หมู่ที่ 4 และบ้าน เขาน้อย หมูท่ ี่ 8 ต�าบลเขาน้อย อ�าเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น จ�านวน 278 ครัวเรือน ชุมชนจึงร่วมกับแกนน�าส�ารวจป่าและจัดประชาคม รวมทั้งขอฉันทามติร่วมกัน “ก็ชว่ ยกันมำขอคืนพืน้ ที่ ปิดป่ำ และตัง้ กติกำข้อห้ำมประจ�ำหมูบ่ ำ้ น ทีม่ ไี ม่กขี่ อ้ 68
E N E R G Y S AV I N G
(1) ห้ำมบุกรุกเขตพืน้ ทีป่ ำ่ สำธำรณะ (2) ห้ำมตัดไม้ทำ� ลำย ป่ำสำธำรณะ (3) ผู้ใดกระท�ำผิด ปรับต้นละ 500 บำท (4) เงินทีป่ รับได้จะหักเข้ำกองทุนรักษำป่ำไม้และดูแลป่ำ ทัง้ สองหมูบ่ ำ้ น (5) กำรใช้ประโยชน์ปำ่ สำธำรณะเป็นไปตำม มติคณะกรรมกำรรักษำป่ำ (6) หำกคณะกรรมกำรท�ำควำมผิด ในพืน้ ทีป่ ำ่ ปรับเป็นสองเท่ำ คือ ต้นละ 1,000 บำท จำกนัน้ ก็ขอให้ผู้ใหญ่บ้ำนทั้ง 11 หมู่ มำร่วมประชุม และให้ช่วย กันประกำศทำงหอกระจำยข่ำว เพื่อสร้ำงให้เกิดควำม เข้ำใจถึงกฎกติกำ และรู้เหตุรู้ผล” ด้วยความมุ่งมั่นรักษา ป่าด้วยใจจริง ใน ปี พ.ศ. 2540 ผืนป่าชุมชนแห่งนี้ จึงได้รับ พระราชทานธง “พิทกั ษ์ปา่ เพือ่ รักษาชีวติ ” จากสมเด็จพระ นางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ โดยการขอพระราชทานจาก กองทัพภาค ซึ่งนับเป็นความภาคภูมิใจสูงสุดของชาวบ้าน ในผืนป่าชุมชนแห่งนี้ ปั จ จุ บั น องค์ ก ารบริ ห ารจั ด การก๊ า ซเรื อ นกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. ได้เล็งเห็นความส�าคัญของ ป่าชุมชน ซึ่งมีบทบาทช่วยลดโลกร้อน และสนับสนุนการ พัฒนาที่ยั่งยืนในระดับชุมชน จึงได้ร่วมมือกับกรมป่าไม้ จัดท�าโครงการสนับสนุนป่าชุมชน ลดโลกร้อน เพื่อแสวงหา การมีส่วนร่วมของภาคเอกชน มาสนับสนุนชุมชนที่ดูแล รักษาป่า ในลักษณะ Public-Private-People Partnership ซึง่ ดร.ณัฐริกำ วำยุภำพ นิตพิ น รองผูอ้ า� นวยการ อบก. เห็นว่า การริเริ่มโครงการนี้ใน ปี 2558 จะประสบความส�าเร็จ ได้ ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ คือ (1) กรมป่าไม้ (2) อบก. ภาคประชาชน และท้องถิ่น คือ (3) ป่าชุมชน (4) อบต. และภาคีสนับสนุน (5) ภาคเอกชน ซึ่งอาจเรียกได้ว่าโครงการนี้จะเป็น “โมเดลความร่วมมือ แบบเบญจภาคี” ที่ปัจจุบันเริ่มเดินหน้าไปได้แล้วหลายส่วน ทั้งนี้ความร่วมมือเบญจภาคีป่าชุมชนลดโลกร้อน จะมีผล สัมฤทธิ์เป็นอย่างไร จะน�ามาเล่าสู่กันฟังต่อไปในอนาคต นะคะ DECEMBER 2015
Product ShowcaSe commercial
Dell Vostro 5459
TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
ที่สุดของโน้ตบุ๊กที่สะท้อนความเรียบหรูด้วยสีทองและสีเงิน บริษทั เดลล์ คอร์ปอเรชัน่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เผยโฉม Dell Vostro 5459 คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊กที่สุดแห่งคุณภาพเพื่อนักธุรกิจยุคใหม่ Dell Vostro 5459 ได้รับการดีไซน์ให้สวยหรู บางเฉียบเพียง 18.45 มิลลิเมตร และน�้าหนักเพียง 1.67 กิโลกรัมเท่านั้น บางเบาพกพาได้ สะดวก สวยงามด้วย Brushed aluminum สองเฉดสีสองสไตล์ให้เลือกคือ Era Grey กับ Jingle Gold อัจฉริยะด้วยหน่วยประมวลผลล่าสุด 6th generation Intel Core processors ที่มีประสิทธิภาพสูงและประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ Hard drive แบบ hybrid ยัง สามารถช่วยให้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว และมีหลากหลายความจุให้เลือกตามต้องการ อัดแน่นความสามารถด้วยการ์ดจอแยก NVIDIA(R) GeForce 930M 4GB GDDR3 พร้อม ภาพสวยคมชัดด้วยหน้าจอ 14 นิ้ว ความละเอียดระดับ Full HD สีสันสดสวยด้วย IPS technology ทั้งยังสามารถเลือกให้หน้าจอ Touch Screen ได้อีกด้วย Dell Vostro 5459 ช่วยให้ทุกการเชื่อมต่อเป็นเรื่องง่าย เพราะให้พอร์ต เชื่อมต่อมาอย่างจุใจทั้ง USB 3.0 สามพอร์ต, HDMI 1.4, Ethernet, SD card reader หรือการเชื่อมต่อแบบไร้สายกับความเร็ว Wireless แบบ 802.11 ac technology และนวัตกรรมสุดยอดความปลอดภัยของข้อมูลด้วย Fingerprint reader และ Windows 10 Hello biometric recognition ที่มาพร้อมกับระบบปฏิบัติการล่าสุด Windows 10
ตู้เย็นระบบอินเวอร์เตอร์
เครื่องฟอกอากาศ ประสิทธิภาพสูง บริษทั ฟิลปิ ส์อเิ ล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด แนะน�า เครือ่ งฟอกอากาศฟิลปิ ส์ใหม่ Philips AC4025 ระบบกรอง อากาศประสิทธิภาพสูง ช่วยก�าจัดอันตรายจากเชือ้ แบคทีเรีย และดักจับฝุ่นละอองขนาดเล็ก ง่ายต่อการใช้งาน สามารถ ตัง้ เวลาเครือ่ งได้ตงั้ แต่ 1 4 และ 8 ชัว่ โมง และสามารถเลือกแรงลม ได้ 2 ระดับ โดดเด่นด้วยระบบช่วยแจ้งเตือนเมือ่ ถึงเวลาเปลีย่ น แผ่นกรอง ซึ่งหากไม่ได้เปลี่ยนแผ่นกรองตามก�าหนดเวลา เครือ่ งจะท�าการล็อคการท�างานเพือ่ ให้ คุณมัน่ ใจว่า อากาศที่ คุณหายใจจากเครือ่ งฟอกอากาศฟิลปิ ส์นนั้ จะบริสทุ ธิป์ ราศจาก ฝุน่ และเชือ้ โรคต่าง ๆ เหมาะส�าหรับห้องทีม่ ขี นาดประมาณ 30 ตารางเมตร และยังมี Sleep Mode โหมดลดระดับเสียง การท�างานของเครือ่ ง เพือ่ ให้คณ ุ มัน่ ใจได้วา่ จะสามารถนอน หลับสนิทและได้รับอากาศที่สะอาดบริสุทธิ์สดชื่นอยู่เสมอ เพือ่ สุขภาพดีของทุกคนในครอบครัว VOLUME 7 ISSUE 85
บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด แนะน�าตูเ้ ย็นระบบอินเวอร์เตอร์ รุน่ GN-B272SLCL มาพร้อมระบบฟอกอากาศ ภายในตูเ้ ย็น Hygiene Fresh+ ประกอบไป ด้วยแผ่นกรองก�าจัดเชือ้ โรค กลิน่ อับถึง 4 ชัน้ สามารถก�าจัดเชื้อรา แบคทีเรีย เชื้อโรค ได้สูงถึง 99.99% รวมถึงระบบกระจาย ความเย็นรอบทิศทาง Multi Air Flow ท�าให้ ส่งผ่านความเย็นอย่างรวดเร็วและทัว่ ถึง ช่วย คงความสดใหม่ของอาหารให้ยาวนาน อีกทัง้ Moist Balance Crisper ซึง่ เป็นถาดส�าหรับ เก็บความชุม่ ชืน้ ในกล่องเก็บผัก ช่วยถนอม และยืดอายุของผักผลไม้ที่แช่อยู่ภายในให้ นานยิง่ ขึน้ นอกจากนี้ การท�างานด้วยระบบ คอมเพรสเซอร์แบบอินเวอร์เตอร์ และ การออกแบบระบบแสงสว่างภายในเป็น แบบ LED ที่ ท นทาน จึ ง ช่ ว ยประหยั ด พลังงานกว่าระบบไฟแบบทัว่ ไป
E N E R G Y S AV I N G
69
เครื่องซักผ้าระบบ Active Foam พลังซักขจัดคราบ Dyson Fluffy (DC74)
ที่สุดของนวัตกรรม เครื่องดูดฝุ่นไร้สายประสิทธิภาพสูง Dyson Fluffy เครื่องดูดฝุ่นไร้สายประสิทธิภาพสูง ถูกทีมวิศวกรพัฒนา เทคโนโลยีหัวแปรงดักจับฝุ่นแบบใหม่ ซึ่งเป็นลูกกลิ้งขนาดใหญ่แบบอ่อนนุ่ม ห่อหุม้ ด้วยแถบไนลอนสลับกับเส้นใยไฟเบอร์ มีการหมุนเคลือ่ นไหวด้วยความเร็วสูง ดักจับสิ่งสกปรกได้ดีเยี่ยม ด้วยการท�างานของไดสัน ดิจิตอล มอเตอร์ V6 เป็นขุมพลังหลัก มีความเร็ว ในการหมุนสูงสุดถึง 110,000 ครั้งต่อนาที เร็วกว่ามอเตอร์ของเครื่องยนต์ Formula 1 ถึง 5 เท่า จึงท�าให้มีประสิทธิภาพในการท�าความสะอาดเหนือกว่า เครื่องดูดฝุ่นไร้สายทั่วไป โดยดูดฝุ่นและสิ่งสกปรกได้แรงเต็มพลังอย่างต่อเนื่อง ยาวนาน ด้วยแบตเตอรี่ที่ผลิตจากโคบอลต์ แมงกานีส นิคเกิล ท�าให้สามารถ ใช้ทา� ความสะอาดได้ตอ่ เนือ่ งถึง 20 นาที อีกทัง้ ยังมีเทคโนโลยีพลังไซโคลน 2 Tier Radial™ cyclone technology เพิ่มประสิทธิภาพในการท�างาน เป็นสิทธิบัตร เฉพาะของไดสัน มีประสิทธิภาพดูดฝุ่นสิ่งสกปรกหรือฝุ่นผงขนาดเล็ก ไซโคลน มีหลักการท�างานใช้แรงเหวี่ยงหมุนเร็วมาก เพื่อกรองฝุ่นให้แยกออกจากอากาศ ก่อนปล่อยเข้าไปในช่องเก็บฝุ่น นับเป็นนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพสูงและ ท�าให้เครื่องดูดฝุ่นไดสันสามารถท�าความสะอาดสิ่งสกปรก รวมถึงท�าให้อากาศ ที่คุณหายใจสะอาดมีคุณภาพอย่างแท้จริง นอกจากนี้ อุปกรณ์ชาร์จประจุไฟฟ้า แบตเตอรี่ของเครื่องได้ผ่านการรับรองด้านการประหยัดพลังงาน
บริษทั พำนำโซนิค เอ. พี. เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด แนะน�า เครือ่ งซักผ้าถังเดีย่ วอัตโนมัติ ภายใต้คณ ุ ภาพ Japan Quality รุน่ NA-F135X1 ทีม่ าพร้อมกับเทคโนโลยี Active Foam ระบบตีโฟม เข้มข้นเพิม่ ประสิทธิภาพให้ผงซักฟอกสามารถแทรกซึมเข้าไปใน เนือ้ ผ้า ขจัดคราบเลอะฝังลึกต่าง ๆ ได้หมดจด ช่องใส่ผา้ Easy Wide Opening มีขนาดกว้าง ช่วยให้การใส่ผ้าและการน�าผ้าออกง่าย สะดวกสบาย แผงควบคุมดีไซน์ใหม่ พร้อมจอแสดงผลดิจิตอล ขนาดใหญ่อยูด่ า้ นหลัง มองเห็นและควบคุมได้งา่ ยแม้ขณะเปิดฝา พร้อมการประหยัดพลังงานด้วยระบบ Econavi ที่มีเซ็นเซอร์ ตรวจวัดสิง่ สกปรก ปริมาณผ้า และชนิดของผ้าเพือ่ ปรับการท�างาน ให้เหมาะสม ท�าให้การซักผ้าของคุณสะอาดอย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.panasonic.com
เตารีดไอน�้า แบบแยกหม้อต้ม ใช้งานง่าย น�้าหนักเบา บริษัท กรุ๊ป เอสอีบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้น�าเข้าและจัดจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ขนาดเล็กใน ครัวเรือนจากประเทศฝรั่งเศส แนะน�า เตารีดไอน�้าแบบแยกหม้อต้ม “TEFAL Steam Generator” (ทีฟาล์ว สตีม เจนเนอเรเตอร์) รุน่ TEFAL Effectis Easy GV6770E0 มาพร้อมพลังไอน�า้ แรงดันสูงจาก หม้อต้มสแตนเลสภายในตัวเครือ่ ง ไอน�า้ จะแทรกซึมลึกถึงเส้นใยผ้า ท�าให้ผา้ รีดได้เรียบและรวดเร็วยิง่ ขึน้ นอกจากนั้นยังมีหม้อต้มร้อนเร็วพร้อมใช้งานภายใน 2 นาที มาในขนาดกะทัดรัด ไม่เปลืองพื้นที่ ในการใช้สอยและการจัดเก็บ หน้าเตารีดยังเป็นแบบ Ultragliss Diffusion พร้อมเส้น Active Line ช่วยให้ รีดลืน่ ผ้าไม่ขนึ้ เงาและยังรีดได้ทงั้ แบบแนวตัง้ และแนวนอน ตัวหม้อต้มท�าจากสแตนเลสจึงสร้างแรงดัน ไอน�า้ ได้สงู และมีระบบท�าความสะอาดป้องกันการเกิดตะกรันทีช่ ว่ ยลดคราบตะกรันทีจ่ ะเกิดบนหน้าเตา และอาจเลอะบนเสือ้ ผ้า ช่วยยืดอายุการใช้งานทีย่ าวนานขึน้ มีระบบ Eco mode ช่วยประหยัดพลังงาน ได้ถงึ 20% และระบบตัดไฟอัตโนมัตเิ พือ่ ความปลอดภัยในการใช้งาน นอกจากนี้ ยังมาพร้อมกับ Smart Technology ใช้งานง่ายเพียงปลายนิ้วสัมผัส พร้อมพลังไอน�้าต่อเนื่อง 100 กรัม และพลังไอน�้าพิเศษ 230 กรัม แทงค์น�้าความจุ 1.5 ลิตร เติมน�้าได้ต่อเนื่อง มีที่ล็อกหน้าเตารีดกับแท่นวางสะดวก ในการเคลื่อนย้าย ขนาดกระทัดรัดจัดเก็บสะดวก และน�้าหนักเบา 70
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
Product review commercial TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
ไดกิ้น วีอาร์วี โฟร์ ฮีระบบปรั ท รีบอากาศแบบรวมศู โคฟเวอรีนย์่ ฮอท วอเตอร์ เย็นสบายและลดค่าใช้จ่ายผลิตน�้าร้อน บริษัท สยามไดกิ้นเซลส์ จ�ากัด ผู้น�ำนวัตกรรมระบบปรับอำกำศจำกญี่ปุ่นขอแนะน�ำ วีอำร์วี โฟร์ ฮีท รีโคฟเวอรี่ ฮอท วอเตอร์ (VRV IV Heat Recovery Hot Water) ที่ได้รับกำรพัฒนำจำกแนวควำมคิดที่มุ่งเน้นกำรใช้ทรัพยำกรให้เกิดประโยชน์สูงสุด มอบทั้งควำมเย็นสบำย จำกเครื่องปรับอำกำศและผสำนนวัตกรรมระบบท�ำน�้ำร้อนเพื่ออุปโภคและบริโภคโดยน�ำพลังงำนที่สูญเสียไปกลับมำใช้ใหม่
คุณบัณฑิต ศรีวัลลภานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท สยามไดกิ้นเซลส์ จ�ากัด กล่าวว่า “ปกติแล้ว อาคารและที่พักอาศัยประเภทต่าง ๆ จะมีระบบปรับ อากาศและระบบท�าน�้าร้อนแยกกัน ซึ่งท�าให้สิ้นเปลืองพลังงานและมีค่าไฟฟ้าสูงมาก และระบบท�าน�้าร้อนมีความจ�าเป็นในภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจต่าง ๆ รวมทั้งภาค อสังหาริมทรัพย์ ร้านค้า โรงแรม โรงพยาบาลและที่พักอาศัย เราจึงคิดค้นและพัฒนา ระบบ วีอาร์วี โฟร์ ฮีท รีโคฟเวอรี่ ฮอท วอเตอร์ที่เป็นทั้งระบบปรับอากาศและระบบ ท�าน�้าร้อนเพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน” ทั้งนี้ ชุดภายนอกหรือคอนเดนซิ่งหนึ่งชุดของระบบปรับอากาศวีอาร์วีจะสามารถ เชื่อมต่อชุดภายในหรือแฟนคอยล์เครื่องปรับอากาศได้สูงสุดถึง 64 เครื่อง ผสาน เทคโนโลยี VRT (Variable Refrigerant Temperature) ที่สามารถปรับ “อุณหภูมิของ น�้ายา” ตามสภาวะอากาศ จึงช่วยให้ประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้น พร้อมระบบควบคุม ส่วนกลางอัจฉริยะ ITM (Intelligent Touch Manager) ที่ช่วยควบคุมและตรวจสอบ การท�างานของระบบปรับอากาศวีอาร์วี ซึ่งถูกติดตั้งไปทั่วทั้งอาคาร ให้ผู้ใช้งานควบคุม การเปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศได้ตามต้องการ ก�าหนดอุณหภูมิแต่ละห้อง ตั้งค่า การท�างานรายสัปดาห์ รวมถึงรายงานข้อมูลการใช้พลังงานและข้อมูลความขัดข้องของ ระบบได้อย่างแม่นย�า 72
E N E R G Y S AV I N G
นอกจากความเย็นสบายทั่วทั้งอาคารแล้ว ยังเป็น ครั้งแรกที่ระบบปรับอากาศ วีอาร์วี สามารถผลิต น�้าร้อนได้ โดยการน�าความร้อนที่ระบายออกจาก การใช้งานเครื่องปรับอากาศและสูญเสียไปโดยเปล่า ประโยชน์ไปผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนความร้อน ท�าให้ได้น�้าร้อนไว้ใช้ สามารถตั้งอุณหภูมิของน�้าได้ ตามต้องการผ่าน Convertible remote controller รีโมทควบคุมการท�างานของระบบแลกเปลี่ยนความ ร้อน วีอาร์วี โฟร์ ฮีท รีโคฟเวอรี่ ฮอท วอเตอร์ จึงมอบทั้งความเย็นสบายจากเครื่องปรับอากาศและ ผลิตน�า้ ร้อนเพือ่ ใช้อปุ โภคได้ ทัง้ ยังเป็นการลดค่าใช้จา่ ย ในการผลิตน�้าร้อนซึ่งปัจจุบันมีความจ�าเป็นในทุก ภาคส่วน ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจ อาคาร โรงแรม โรงพยาบาล ตลอดจนครัวเรือนที่อยู่อาศัย วีอาร์วี โฟร์ ฮีท รีโคฟเวอรี่ ฮอท วอเตอร์ (VRV IV Heat Recovery Hot Water) ยังมาพร้อมกับ คุ ณ สมบั ติ ต ่ า ง ๆ อี ก มากมาย อาทิ ฟี เ จอร์ Anti-bacteria ที่ท�างานอัตโนมัติทุกวันจันทร์ช่วง 02.00 น. โดยเพิ่มอุณหภูมิน�้าในถัง ที่กักเก็บไว้ให้ สูงขึ้น 60 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 10 นาทีเพื่อก�าจัด เชือ้ แบคทีเรียในน�า้ โหมด Vacation ปิดการท�างานของ ระบบทั้งหมดในช่วงที่ไม่อยู่บ้านเป็นระยะเวลานาน ยกเว้นโหมด anti-bacteria ที่ยังคงท�างานต่อเนื่อง และยังมีฟีเจอร์ Auto Restart ที่ช่วยให้ระบบปรับ อากาศเริ่มท�างานใหม่ตามการตั้งค่าการใช้งานล่าสุด หลังจากกรณีไฟดับ
DECEMBER 2015
INTERVIEW
ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ฯ
TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
เผยเคล็ด (ไม่) ลับ ส�ำหรับวิศวกร คุ ณ สยาม แช่ ม ชื่ น กรรมการผู ้ จั ด การ บริษัท ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ แมชชินเนอรี่ จ�ากัด เล่าให้ฟงั ว่า สายอาชีพด้านช่างเปรียบเสมือน แรงบันดาลใจที่จุดประกายความคิดในการ ก้ า วเข้ า สู ่ ส ายงานวิ ศ วกร ใช้ เ วลาสั่ ง สม ประสบการณ์ด้วยการเป็นมนุษย์เงินเดือน เรียนรูเ้ กีย่ วกับเครือ่ งจักร เครือ่ งยนต์ กลไก ต่าง ๆ เกือบ 20 ปี จนกลายเป็นเจ้าของธุรกิจ ผลิตเครือ่ งจักรกล จากนัน้ เมือ่ ประมาณ 3-4 ปี ที่ผ่านมา ตลาดเมืองไทยยังไม่ค่อยมีใครท�า เครื่องจักร wood pellet จึงมีความสนใจ เริม่ ศึกษาอย่างจริงจัง ในทีส่ ดุ ได้เริม่ เซ็ตแผนก แยกจากโรงงานเดิมเพื่อท�าเครื่องจักรผลิต wood pelle
คุณสยาม แช่มชื่น กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไบโอ เอ็นเนอร์ยี่ แมชชินเนอรี่ จ�ากัด VOLUME 7 ISSUE 85
ทั้ ง นี้ การจะท� า อะไรแต่ ล ะอย่ า งต้ อ ง ศึ ก ษาอย่ า งจริ ง จั ง ถ้ า ไม่ ศึ ก ษาอย่ า ง จริงจังและลึกซึ้ง หากไม่รู้แจ้ง ไม่รู้จริง ท�าให้ การลงทุนมีความเสี่ยง ที่ผ่านมาใช้เวลาเป็น ปีในการศึกษาเรื่องกระบวนการผลิต ทั้ง 4 ระบบหลัก คือ ระบบย่อยวัตถุดิบ ระบบอบ ระบบอัดแท่งชีวมวล และระบบระบายความร้อน โดยต้ อ งศึ ก ษาอย่ า งจริ ง จั ง เพื่ อ ให้ ไ ด้ กระบวนการผลิตที่เหมาะสมที่สุด ศึกษาจน ได้ค�าตอบว่าอะไรเหมาะสมกับอะไร ดีที่สุด ขนาดไหน เครื่องย่อยเป็นแบบไหน เครื่องอบ เป็นอย่างไร แม้แต่เครื่องอัดที่มีหลายรูปแบบ แตกต่างกันออกไป มีทั้งแนวตั้งแนวนอน และ ต้องดูว่าแบบใดที่จะได้ประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วจึงเริ่มลงมือปฏิบัติ จนได้เครื่องจักรที่เหมาะสมที่สุดที่สามารถ ท�าแล้วประหยัดที่สุด เหมาะกับการปฏิบัติ งานของพนักงานในประเทศไทย ออกแบบ เครื่องจักรให้ใช้งานง่าย ภายใต้กรอบที่วางไว้ คือ ไม่ใช่ราคาถูกที่สุด แต่ต้องเหมาะสมที่สุด แล้วสามารถน�าไปสู่ผลก�าไรได้จริงหรือไม่ ถ้า เครื่องจักรราคาถูกจะท�าให้กระบวนการผลิต ใช้ต้นทุนที่สูงกว่า เมื่อน�ามาผลิตต้นทุนกับ ต�่ากว่าที่ผลิตได้ ท�าให้แทบไม่ได้ต้นทุนและ ก�าไร ส่งผลให้ธรุ กิจด�าเนินไปอย่างยากล�าบาก ซึ่ ง เราเองพยายามเน้ น ประหยั ด พลั ง งาน E N E R G Y S AV I N G
73
กำรจะท�ำอะไรแต่ละอย่ำง ต้องศึกษำอย่ำงจริงจัง หำกไม่รู้แจ้ง ไม่รู้จริง ท�ำให้กำรลงทุนมีควำมเสี่ยง ใช้แรงงานน้อย แม้ว่าจะลงทุนสูงกว่าปกติ แต่สามารถลดการใช้จ่ายไฟฟ้า ให้น้อยลงถึง 2 เท่า ซึ่งเป็นการส่งผลดีต่อการด�าเนินธุรกิจ การประหยัดพลังงาน คือ เราต้องใช้พลังงานจากไฟฟ้า เพราะว่าเครือ่ งจักร ใช้มอเตอร์ เพราะฉะนั้น มอเตอร์ส่งถ่ายก�าลังไปเป็นผลิต ดังนั้น การส่งถ่าย ก�าลังในแต่ละพาร์ทต้องให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งนั่นหมายความว่า บางครั้งเราไปประหยัดมันก็ไม่ได้ จึงต้องหาจุดที่เหมาะสมและสมดุลที่สุด เพือ่ ให้ได้เครือ่ งจักรทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากทีส่ ดุ และตอบโจทย์ธรุ กิจพลังงาน มุ ม มองในการท� า งานของผมคื อ ตอนที่ เ ป็ น มนุ ษ ย์ เ งิ น เดื อ นมี ค วาม รับผิดชอบไม่มากนัก ท�าหน้าที่อย่างเต็มที่แต่ธุรกิจจะเป็นอย่างไรนั้น ไม่ได้มีความกังวลเพราะมีเงินเดือนประจ�า พอผันตัวเองมาเป็นเจ้าของ กิ จ การ สิ่ ง ที่ ต ามมา คื อ ภาระเพิ่ ม ขึ้ น ความรั บ ผิ ด ชอบต้ อ งมากขึ้ น หลายคนมองว่าเจ้าของธุรกิจท�างานโดยไม่ต้องตอกบัตร แต่จริง ๆ แล้ว ความรั บ ผิ ด ชอบบั ง คั บ ให้ เราต้ อ งขยั น มากขึ้ น ท� า ธุ ร กิ จ ให้ ป ระสบ ความส�าเร็จให้ได้ ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นพนักงานบริษัทหรือเจ้าของธุรกิจ มีความเหมือนกันคือ การไม่หยุดนิ่งเพื่อความก้าวหน้าของตนเอง ศึกษา หาความรู ้ ม ากก็ ยิ่ ง มี โ อกาสมาก การรู ้ จั ก บริ ห ารเวลาให้ ดี จะท� า ให้ ทุกอย่างมีความชัดเจน หากอยากประสบความส�าเร็จต้องทุม่ เท จริงจัง ศึกษา ให้ลกึ ซึง้ ความรับผิดชอบส�าคัญ และประสบการณ์จะตามมาเอง คนเรียนเก่ง ใช่ว่าจะท�างานเก่งเสมอไป เก่งปานกลาง แต่ตอนท�างานมีความรับผิดชอบสูง และขยัน ถ้าเจอปัญหาต้องสู้ ล้มแล้วต้องลุก เพราะทุกคนเผชิญปัญหาทีแ่ ตกต่าง กันไป ซึ่งปัญหาจะเป็นบทพิสูจน์ว่าเราแข็งแกร่งมากน้อยแค่ไหน 74
E N E R G Y S AV I N G
dEcEMbER 2015
EnErgy Tip
ใช้ลิฟต์อย่างไร ให้ประหยัดพลังงาน สิง่ อ�ำนวยควำมสะดวกของวิถชี วี ติ มนุษย์ในยุคปัจจุบนั มีอยูม่ ำกมำย ทว่ำสิง่ เหล่ำนัน้ กลับ ถูกใช้กันอย่ำงไม่ช่วยกันดูแลรักษำ ไม่ว่ำจะเป็นสภำพของตัวอุปกรณ์ หรือทรัพยำกรที่ เสียไป หนึ่งในสิ่งอ�ำนวยควำมสะดวกที่ก�ำลังจะพูดถึงครั้งนี้ คือ ลิฟต์ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ เลยว่ำ เป็นสิ่งที่ท�ำให้ชีวิตคนในเมืองใหญ่สะดวกสบำย แถมประหยัดเวลำขึ้นมำก แต่จะ ดีมำกไปกว่ำนั้น หำกทุกวันช่วยกันหันมำประหยัดค่ำไฟที่มำจำกกำรใช้ลิฟต์ ที่หลำยคน อำจคำดไม่ถึงเลยทีเดียว
ลิฟท์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าล�าดับต้น ๆ ที่ ใช้ไฟฟ้าค่อนข้างมาก รองจากไฟแสงสว่างและเครื่อง ปรับอากาศ ลิฟต์จะใช้พลังงานมากทีส่ ดุ ขณะทีม่ อเตอร์เริม่ สตาร์ท เพือ่ วิง่ รับ – ส่งในแต่ละครัง้ โดยลิฟต์ที่มีมอเตอร์ขับเคลื่อน ขนาด 7.5 KW (ขนาดบรรทุก 550 kg, ส�าหรับผู้โดยสาร 8 คน ความเร็ว 60 M/min) ไฟปุ่มกด 5W (กรณีไฟปุ่มกดเป็นหลอดไฟ ไม่ใช่ LCD) ดังนั้นการใช้ลิฟต์ เฉพาะเท่าที่จ�าเป็นถือว่าเป็นการประหยัดได้ส่วนหนึ่ง พัดลมระบายอากาศในห้องโดยสาร 45W มอเตอร์ขบั เคลือ่ นประตู ขนาด 80W ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาพลังไฟฟ้าทีใ่ ช้ในแต่ละจุด ถ้าค่าไฟฟ้าทีจ่ า่ ย เท่ากับ 4 บาท/หน่วย เพราะค่าไฟฟ้าต่อการกดลิฟต์ 1 ครั้ง จะเป็น 0.13409 x 4 = 0.5364 บาท ซึ่งส่วนใหญ่ค่าไฟจากลิฟท์ส่วนมากจะเริ่มต้นที่เกือบแสนบาท (ประมาณการจากอาคาร 8 ชั้น)
วิธีการประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากลิฟต์
1. แบ่งการใช้งานลิฟต์ที่ใช้ส�าหรับขนของออกจากลิฟต์โดยสารและมีป้ายบอกให้ชัดเจน 2. ควรตั้งโปรแกรมให้ลิฟต์หยุดเฉพาะชั้นคี่หรือชั้นคู่ เนื่องจากลิฟต์ใช้ไฟฟ้ามากในขณะออกตัว
VOLUME 7 ISSUE 84
TEXT : ไบโอ
3. การควบคุมความเร็ว ความเร็วของลิฟต์ สามารถตั้งได้ตามระดับการใช้งานของลิฟต์ และตามความต้องการเพือ่ ป้องกันการอนุรกั ษ์ พลังงานเมื่อลิฟต์ยังมีเพียงพอที่ จะให้บริการ ความเร็วของลิฟต์ จะปรับลดลงได้โดยวิธีการ เปลี่ยนแปลงความถี่เพื่อลดพลังงานที่ใช้ ซึ่ง ท�าได้โดยควบคุมความถี่ของมอเตอร์ไฟฟ้า โดยอัตโนมัติ 4. หลีกเลี่ยงการตกแต่งและติดตั้งวัสดุท่ีมี น�้าหนักมากโดยไม่จ�าเป็น 5. เลือกใช้หลอดแสงสว่างและอุปกรณ์ ไฟฟ้าประสิทธิภาพสูงจะช่วยลดการสูญเสีย 6. บริหารจ�านวนลิฟต์ที่ใช้งานพิจารณา จากสภาวะปริมาณการขนส่ง โดยสามารถ ปรับความเร็วและจ�านวนลิฟต์ที่ใช้บริการให้ เหมาะกับสภาวะปริมาณการ ขนส่งและความ ต้องการ ใช้งานหลังจากได้ปรับความเร็วของ ลิฟต์แล้วโดยใช้เครื่องควบคุมความเร็วรอบ ถ้าจ�านวนลิฟต์ยังมีเพียงพอกับการใช้งานก็ สามารถลดจ�านวนลิฟต์ที่ใช้อยู่เพื่อลดการใช้ พลังงานได้ 7. หลีกเลี่ยงการกดปุ่มค�าสั่งการใช้ลิฟต์ ซ�้า ๆ กัน เพื่อรักษาระบบการท�างานของลิฟต์ 8. ขึ้นลงชั้นเดียว หรือสองชั้น ไม่ควรใช้ ลิฟต์ 9. บ�ารุงรักษา ปรับแต่งชิน้ ส่วนและอุปกรณ์ อยู่สม�่าเสมอ โดยช่างผู้ช�านาญ
ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://www.elevatordesigner.com/ https://www.gotoknow.org http://www2.dede.go.th/ www.dis-sid.com www.an-empire.com
E N E R G Y S AV I N G
75
ซื้อตู้เย็นให้คุ้มค่า ควรพิจารณาอะไรบ้าง? กำรเลือกซือ้ ตูเ้ ย็นเพือ่ ใช้ประจ�ำบ้ำนไม่ใช่เรือ่ งยำก เพียงเรำรูจ้ ำ� นวนคนในบ้ำนกับปริมำณ กำรกินในแต่ละวัน กำรหำอำหำรมำเก็บตุนไว้เพื่อรอประกอบอำหำร เรำก็พอจะคิดในใจ ได้ว่ำจะต้องซื้อตู้เย็นใหญ่หรือเล็กจึงจะเหมำะกับครอบครัวตัวเอง
สิ่งอ�านวยความสะดวก ช่วยประหยัดไฟ
ตู้เย็นในปัจจุบันได้ถูกออกแบบมาให้ใช้ พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ อย่างเช่น ระบบกดน�้าเย็นให้ดื่มจากนอกตู้เย็น ที่ช่วย ประหยัดพลังงานของการใช้งานตู้เย็นมากขึ้น เพราะเราไม่จา� เป็นต้องเปิดตูเ้ ย็นหาขวดน�า้ ทีแ่ ช่ ไว้ หรือตูเ้ ย็นบางรุน่ จะมีฟเี จอร์ทสี่ ามารถแบ่ง โซนควบคุมอุณหภูมใิ นตูไ้ ด้อย่างเร่งด่วน ท�าให้ เราสามารถละลายน�้าแข็ง หรือแช่เครื่องดื่ม ที่ต้องการให้เย็นโดยเร็วได้สะดวกขึ้น และ ประหยัดพลังงานมากขึ้นด้วยเพราะไม่จ�าเป็น ต้องปรับอุณหภูมิทั้งตัวเครื่อง
การประหยัดไฟคือเป้าหมายหลัก
เครือ่ งใช้ไฟฟ้าจ�าเป็นต้องใช้พลังงานหล่อเลีย้ งตลอดเวลา สิง่ ทีค่ วรค�านึงถึง คือ ความสามารถใน การให้ความเย็นตลอด 24 ชัว่ โมง แต่ตอ้ งช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานทีเ่ ราต้องจ่ายทุกเดือน ด้วย และที่ส�าคัญต้องเลือกตู้เย็นที่สามารถประหยัดไฟที่สุด โดยมีหลักการ ดังนี้
ให้ความเย็นคงที่สม�่าเสมอ
หลายคนมีความเชื่อว่าถ้าตู้เย็นมีของเต็มตู้นั้น จะกินไฟมากกว่าตู้เย็นที่ไม่ค่อยมีของ แต่ความ เป็นจริงกลับไม่ใช่อย่างนัน้ เพราะตูเ้ ย็นทีม่ ขี องเต็มพอดี ๆ ไม่อดั แน่นจนหยิบไม่ได้ เวลาเราเปิดตูเ้ ย็น อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงน้อยกว่า เนื่องจากมีสิ่งของอยู่ภายในความเย็นจึงไหลออกมาภายนอกได้ ยากกว่า แต่ถา้ เป็นตูเ้ ย็นทีโ่ ล่งจนเกินไป ความเย็นทีค่ วรจะหมุนเวียนภายในก็จะไม่ถกู อะไรขวางกัน้ เอาไว้ ท�าให้เวลาเปิดประตูตู้เย็น ความเย็นก็จะระเหยออกไปข้างนอกจนหมด ซึ่งจะส่งผลให้ตู้เย็น ต้องท�างานหนักขึน้ กินไฟมากขึน้ เพราะฉะนัน้ การเลือกซือ้ ตูเ้ ย็น ขัน้ แรกจะต้องค�านึงว่าเราสามารถ ใช้งานตู้เย็นนั้น ๆ ได้เต็มที่แบบพอดีๆ กับครอบครัวของเรา นอกจากนั้นหากเป็นตู้เย็นที่มีระบบ ช่วยปรับการท�างานของคอมเพรสเซอร์ ให้สามารถปรับก�าลังการท�าความเย็นตามระดับความชืน้ และ รูปแบบการใช้งานช่องแช่ตา่ ง ๆ ได้อย่างอัตโนมัติ ไม่ดบั เครือ่ งอย่างปุบปับเมือ่ ไฟดับหรือไฟกระชาก ก็จะท�าให้ตู้เย็นเครื่องนั้นสามารถรักษาระดับอุณหภูมิได้ต่อเนื่องยิ่งขึ้น 76
E N E R G Y S AV I N G
ส�าคัญที่สุดคือระยะเวลารับประกัน และความคงทน
สิง่ ทีค่ วรพิจารณาข้อส�าคัญในการเลือกตูเ้ ย็น ก็คือความแข็งแรงคงทนและการรับประกัน เพราะตู้เย็นจัดเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ ทีซ่ อื้ ครัง้ หนึง่ ก็ตอ้ งใช้กนั เป็น 10 ปีเลยทีเดียว ดังนั้นความคงทน จึงเป็นข้อควรพิจารณาว่า ตูเ้ ย็นนีม้ กี ารรับประกับชิน้ ส่วนต่าง ๆ รับประกัน ในตัวท�าความเย็นนานเพียงใด นัน่ คือความอุน่ ใจ ระยะยาวที่คุณสามารถเลือกได้ด้วยตนเอง ดั ง นั้ น ควรเลื อ กตู ้ เ ย็ น ที่ มี ร ะยะเวลาการ รับประกันทีย่ าวนานครอบคลุมระยะเวลาตาม ทีเ่ ราวางแผนใช้งานเอาไว้ ขอบคุณข้อมูลและภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://www.samsung.com
NOVEMBER 2015
GREEN 4 U
aof piece(s) paper
TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
กระดาษใช้ได้มากกว่าหนึ่งครั้ง ใกล้ช่วงเทศกาลแห่งความสุขเข้ามาทุกที ไม่ว่าจะเป็นคริสต์มาส หรือปีใหม่ สิ่งที่หลายคนมองหาคงหนีไม่พ้นเรื่องของขวัญชิ้นพิเศษที่มอบให้กัน แน่นอน ว่าของขวัญแต่ละชิ้นจะได้รับการห่ออย่างดีด้วยกระดาษห่อของขวัญสวย ๆ แต่หากคุณก�าลังมองหากระดาษห่อของขวัญดีไซน์ไม่ซ�้าใคร แถมยังน�าไป ต่อยอดใช้ประโยชน์อื่น ๆ ได้อีกด้วย ลองมารู้จักกับ a piece(s) of paper กัน
คุณรัตนิน สุพฤฒิพานิชย์ และคุณธนเวทย์ สิรวิ ฒ ั น์ธนกุล เจ้าของแบรนด์ a piece (s) of paper เล่าว่า อยากเริม่ ท�าสินค้าที่ เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม เพราะเราเชื่อว่านักออกแบบ เป็ น อาชี พ ที่ ใช้ ท รั พ ยากรของโลกไม่ น ้ อ ย ดังนั้นนักออกแบบควรดีไซน์สิ่งของ รวมถึง ดี ไซ น ์ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ใช ้ ข อ ง ไ ด ้ ด ้ ว ย การออกแบบจึงต้องใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า แล้ ว ต้ อ งออกแบบอะไรก็ ไ ด้ ที่ เ ปลี่ ย นแปลง พฤติกรรมของผู้ใช้ให้รักษ์โลกด้วย ประกอบ กับเป็นคนชอบงานห่อของขวัญ งานประดิษฐ์ เลยมองไปที่งานกระดาษลวดลายสวย ๆ หรือ กระดาษห่อของขวัญนัน่ เอง เราพบว่าในท้องตลาด ตอนนั้น ยังไม่ค่อยมีลายที่โดนใจ เราจึงสนใจ ประกอบการไปหาข้อมูล มาแล้วพบว่ากระดาษ ห่อของขวัญในปีหนึ่ง ๆ จะมีต้นไม้หลายพัน ล้านต้น ถูกใช้ไปกับอุตสาหกรรมกระดาษห่อ ของขวัญ และกระดาษห่อของขวัญก็มีอายุสั้น มาก ทันทีที่ถึงมือผู้รับก็โดนฉีกทิ้ง จึงได้ไอเดีย ว่าท�าไมไม่ฉกี แล้วเอาไปใช้ตอ่ เราเลยดีไซน์รอย ปรุลงไปทัว่ แผ่นกระดาษเพือ่ ทันทีทไี่ ด้ของขวัญ เราฉีกเอาส่วนที่ไม่ยับหรือยังใช้ได้ออกแล้ว ก็นา� เอาไปใช้ตอ่ ได้เลย ในกระดาษ ทุก ๆ แผ่นก็ สามารถรียสู ต่อไปเป็นกระดาษโน๊ต ใส่ปกสมุด ใส่เคสโทรศัพท์ใส หรือใส่แก้วน�้า tumbler
VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
77
ค�าว่า ECO มันไม่ใช่กระแส หรือเทรนด์ แต่มันเป็นสิ่งจ�าเป็น ที่ควรท�าเพราะการออกแบบที่ดี จะท�าให้ผู้บริโภคได้ใช้สิ่งของ หรือสินค้าที่ช่วยกันรักษ์โลก
ดังนั้นจาก A Piece of Paper ก็จะกลายเป็น A Piece (s) of Paper เพราะคุณค่าของมัน ไม่ได้มแี ค่หนึง่ หรือใช้เพียงครัง้ เดียว แต่ทกุ ๆ คน ที่จะเป็นคนเติม s ให้กับกระดาษของเรา และ หลังจากนั้น เราก็เริ่มท�าสินค้าตัวอื่น ๆ ออก มาค่ะ เช่น แพคเกจจิ้งใส่ของขวัญ อุปกรณ์ ตกแต่ ง ของขวั ญ สมุ ด สมุ ด ปกใสที่ ใ ห้ เ อา กระดาษมารียูสได้ แรงบันดาลใจในการออกแบบ โดยหลัก จะเป็นเรือ่ งการรียสู กระดาษ จากมองเห็นปัญหา รอบตัว ว่าเราเสียดายกระดาษมันมีคณ ุ ค่า กว่าจะ ผลิตมาได้ น่าจะมีการใช้งานทีค่ มุ้ ค่ากว่านัน้ จึง เอาเรือ่ งนีก้ ลับมาคิดจริงจังและน�ามาออกแบบ เป็นกระดาษห่อของขวัญ ที่รียูสได้ ส่วนเรื่อง แรงบั น ดาลใจจากลวดลายก็มาจากมุมมอง รอบ ๆ ตัว และความชอบส่วนตัว เช่น สัตว์ ดอกไม้ หรือ object อืน่ ๆ บวกกับสิง่ ทีถ่ นัด คือ graphic on product เป็นงานออกแบบลวดลาย น่ารัก ๆ บนผลิตภัณฑ์ ด้วยภาพวาดลายเส้น (Illustration) ด้วยเทคนิคที่แตกต่างกันไป ทัง้ สีนา�้ ลายเส้นหมึก สีโปสเตอร์ ฯลฯ จุดเด่นของแบรนด์ คือการเป็น Reusable Wrapping Paper สินค้าที่สามารถใช้ซ�้าได้ วั ส ดุ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ไม่ ว ่ า จะเป็ น กระดาษรีไซเคิล และหมึกพิมพ์ที่ใช้ท�ามาจาก ถั่วเหลือง รวมถึงรอยปรุบนกระดาษที่จะใช้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ใช้กระดาษ ห่ อ ของขวั ญ ให้ ส ามารถน� า มาใช้ ต ่ อ เป็ น กระดาษโน้ต ปกสมุด ปกหนังสือ เคสมือถือ 78
E N E R G Y S AV I N G
จากกระดาษ น�าไปพับออริกามิ หรือแม้กระทัง่ น�าไปใช้ในงานฝีมอื หรืองาน DIY ต่าง ๆ มันจึง สามารถกลายเป็นอะไรก็ได้อกี หลายอย่างตาม แต่คุณจะจินตนาการ ช่ อ งทางการตลาดในปั จ จุ บั น สามารถ หาได้งา่ ยบนห้างสรรพสินค้า และร้าน design shop ต่าง ๆ เช่น Be Trend สยามพารากอน, Be Trend เอ็มโพเรี่ยม, B2S เซ็นทรัลเวิลด์, เซ็นทรัลชิดลม, เซ็นทรัลลาดพร้าว, เซ็นทรัล พระราม 3, เซ็ น ทรั ล ศาลายา, เซ็ น ทรั ล ปิน่ เกล้า, เซ็นทรัลบางนา, เซ็นทรัลเวสต์เกท, สี ล มคอมเพล็ ก ซ์ , CPN หาดใหญ่, LOFT จามจุ รี ส แควร์ , ร้ า น Another Story เอมควอเทียร์ ร้าน Booksmith เชียงใหม่, ร้าน Propaganda ท่ามหาราช รวมถึงการขาย ออนไลน์ใน เฟซบุค facbook.com/apiecesof-
paper และ Instagram : apiecesofpaper และ ปัจจุบนั มีสง่ ออกไปร้าน design shop ที่ สิงคโปร์ จีน ไต้หวันด้วย คุณรัตนิน ได้กล่าวทิง้ ท้ายว่า “อยากให้ทกุ ๆ แบรนด์สนใจท�าสินค้า ECO เยอะ ๆ เพราะจริง ๆ แล้วค�าว่า ECO มันไม่ใช่กระแสหรือเทรนด์ แต่ มั น เป็ น สิ่ ง จ� า เป็ น ที่ ค วรท� า เพราะการ ออกแบบทีด่ จี ะท�าให้ผบู้ ริโภคได้ใช้สงิ่ ของ หรือ สินค้าทีช่ ว่ ยกันรักษ์โลก ซึง่ ผูบ้ ริโภคจะเป็นพลัง ทีท่ า� ให้ใช้ทรัพยากรได้คมุ้ ค่ามากยิง่ ขึน้ เราอาจ จะออกแบบให้ลดการบริโภค หรือใช้ให้คุ้มค่า ยัง่ ยืนยิง่ ขึน้ นอกจากนีต้ วั ผูผ้ ลิตเองก็นา่ จะต้อง คิดการลดทรัพยากรในช่วงการผลิต แต่ตอ้ งยัง เป็นของที่มีคุณภาพ เพราะนอกจากช่วยลด ต้นทุนแล้วก็ยังเป็นการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่า เช่น การใช้ซ�้า การออกแบบให้เหลือเศษให้ น้อยที่สุด การออกแบบให้ขนส่ง ได้ง่ายขึ้น การใช้วตั ถุดบิ ทีไ่ ม่เป็นพิษต่อสิง่ แวดล้อม”
S DE P EC TEMBER 2015
GREEN 4 U TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
Hempcrete อิฐจากใบกัญชา Hempcreteเป็ น วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า งทางเลื อ กใหม่ ส� า หรั บ ผู ้ ที่ ต้ อ งการบ้ า นที่ มี ค ่ า carbon footprint น้ อ ยกว่ า วั ส ดุ อุตสาหกรรมเดิม โดยใช้วัสดุจ ากต้นกัญชาหรือป่า นที่มี เส้นใยช่วยยึดเกาะเนือ้ หินปูนทีเ่ ข้ามาผสม มีคณ ุ สมบัตกิ นั น�า้ เป็นฉวนวนกันความร้อน ยืดหยุน่ ต่อแรงแผ่นดินไหวด้วยลักษณะ การยึดต่อกันของแต่ละก้อนบล็อค และตัวต้นป่านหรือกัญชา ทีเ่ ป็นวัสดุหลักทีเ่ ติบโตได้รวดเร็ว เพียง 14 สัปดาห์ เพือ่ น�ามา ใช้เป็นก้อนบล็อค ปราศจากเชือ้ ราและป้องกันปลวก ที่มา : http://www.creativemove.com/
Recycled Silk Chair เก้าอี้จากผ้าไหมเก่า
ดีไซน์เนอร์เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี ชือ่ Meb Rure เจ้าของผลงาน Recycled Silk Chair เกิดไอเดียจากความเสียดายในผ้าไหมเก่า หรือฉีกขาดที่ยังคงสวยงาม และทรงคุณค่า จึงกลายมาเป็นเก้าอี้สีสันสดใสทั้งแบบ Ottoman และ Stool ด้วยผ้าไหมลูกกลม ๆ เหมือนลูกบอลที่ใส่ฟองน�้าไว้ภายใน โดยมีโครงเป็นไม้โอ๊ค เรียบง่าย แต่สวยงาม ที่มา : http://www.iurban.in.th/
เครื่องดูดฝุ่นจากกระดาษรีไซเคิล หลายครั้งที่มักจะเห็นการน�ากระดาษรีไซเคิลมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ECO ไม่ว่า จะเป็นของใช้ เฟอร์นิเจอร์ หรือแม้กระทั่งเครื่องใช้ไฟฟ้า นักศึกษามหาวิทยาลัย Loughborough ชื่อ Jake Tyler ได้สร้างเครื่องดูดฝุ่น Vax EV ภายนอกท�าจาก กระดาษแข็งรีไซเคิล ชิ้นส่วนภายในก็ท�ามาจากวัสดุรีไซเคิลด้วย เช่น พลาสติก ไนลอน ผู้ใช้สามารถวาดรูปลงบนตัวเครื่องได้อย่างอิสระ หากตัวเครื่องภายนอก เสียหายก็สามารถหาวัสดุมาแทนได้ง่าย ที่มา : http://www.ecofriend.com/
Packaging ที่ใส่ถั่วแระ Edamame คือแบรนด์ถั่วแระที่ออกขายเป็นทางเลือกใหม่ แทนอาหารประเภท junk-food โดยแบรนด์ได้ตอกย�้า ความเป็นธุรกิจรักษ์โลกด้วยการท�า Packaging ที่ใส่ถั่วแระ ซึ่งทางร้านได้จัดที่ทิ้งเปลือกถั่วไว้ และใช้เปลือกถั่วแระนั้น มาท�าเป็นกล่องกระดาษ ใส่ถั่ว แถมหมึกพิมพ์บนตัวกล่อง ใส่ถวั่ นีย้ งั ท�ามาจากผักอีกด้วย เจ้าของแบรนด์เชือ่ ว่าหลายครัง้ ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อ เพราะ Packaging และพร้อมอยู่แล้วที่ จะซื้อ Green Product เช่นนี้ ที่มา : http://marketeer.co.th/
80
E N E R G Y S AV I N G
S DE P EC TEMBER 2015
EnErgy InvEntIon TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
ไฟท้ายพลังงานลม
ผลงาน นศ.วิทยาลัยการอาชีพสตึก จากประสบการณ์และความช่างสังเกตของนักประดิษฐ์รุ่นใหม่ ที่สังเกตพฤติกรรมการขนสินค้าของพ่อค้าแม่ค้าตามท้องตลาด พบว่า จักรยานยนต์พ่วงท้ายส่วนใหญ่ไม่มีไฟท้าย ซึ่งอาจจะเป็น สาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดอันตรายขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ในเวลา กลางคืน สาเหตุข้างต้นนี้จึงเป็นประกายความคิดในการประดิษฐ์ “ไฟท้ายพลังงานลม” เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อชีวิตและ ทรัพย์สิน
VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
81
ไฟท้ายพลังงานลม ผลงานของ นางสาวทัศนีย์ บุญเศรษฐ์ นายอรรถพล เพ็งสอน นักศึกษาสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยการอาชีพสตึก จ.บุรรี มั ย์ โดยมีนางพนิดา บุญจงนุเคราะห์กลุ และนางสาวธนัฐดา วิลยั เกษ เป็นครูที่ปรึกษา ทั้งนี้ ไฟท้ายพลังงานลม เป็นสิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมา ด้วยการน�าความรูพ้ นื้ ฐานทางอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้งาน ร่วมกับ การน�าพลังงานทดแทนจากพลังงานลมมาแทนแหล่งพลังงานจาก แบตเตอรี่ สามารถก�าเนิดกระแสไฟฟ้า เพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ในเรื่อง ของการให้แสงสว่าง โดยการต่อกับหลอดแอลอีดีใช้ส�าหรับเป็นไฟท้าย ของรถพ่วงที่พ่วงด้านท้ายของรถจักรยานยนต์ นอกจากนั้นยังช่วย ประหยัดค่าใช้จา่ ยในเรือ่ งของแบตเตอรี่ เพราะใช้พลังงานลมมาใช้สร้าง กระแสไฟฟ้านั่นเอง
นายอรรถพล เพ็งสอน นักศึกษาสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัย การอาชีพสตึก กล่าวว่า เคยพบเห็นแม่คา้ ทีข่ ายของตามตลาด ขนสินค้า ด้วยรถจักรยานยนต์ มักจะมีรถพ่วงท้ายของรถจักรยานยนต์ไม่มี ไฟท้าย หากบรรทุกของจนเต็มรถพ่วง จะไม่สามารถมองเห็นไฟท้าย จากรถจักรยานยนต์ได้ ซึง่ อาจจะเป็นสาเหตุกอ่ ให้เกิดอันตรายหากขับขี่ รถจักรยานยนต์ในเวลากลางคืน รถทีต่ ามหลังมาอาจมองไม่เห็นรถพ่วง และอาจท�าให้เกิดอุบตั เิ หตุ ทีจ่ ะน�ามาซึง่ ความเสียหายมากมาย ถ้าหาก เราต้องการมีไฟท้ายติดรถพ่วง โดยใช้วิธีลากสายไฟต่อจากแบตเตอรี่ รถมาด้านหลัง ซึ่งจะท�าให้ยุ่งยาก หรือถ้าหากใส่แบตเตอรี่ก้อนเล็กที่ หลอดไฟ ก็จะต้องคอยเปลีย่ นแบตเตอรีอ่ ยูเ่ รือ่ ย เป็นการสิน้ เปลืองค่าใช้ จ่าย จึงเกิดแนวความคิดที่จะดัดแปลงเอาพลังงานทดแทน คือลมที่มา ปะทะรถจักรยานยนต์ขณะขับขี่ น�ามาใช้ประโยชน์ในการก�าเนิดแสงไฟ ท้ายรถพ่วงทดแทนการใช้แหล่งพลังงานจากแบตเตอรี่ อย่างไรก็ตาม สิง่ ประดิษฐ์ดงั กล่าว ได้รบั ความสนใจจากบรรดาพ่อค้า แม่ค้าเป็นอย่างดี และมีการสั่งจอง สั่งซื้อเพื่อน�าไปใช้จริงแล้ว และ ในอนาคตนักศึกษากลุ่มนี้จะพัฒนาให้สามารถเก็บพลังงานได้ยาวนาน และสามารถเก็ บ พลั ง งานไว้ ใ นแบตเตอรี่ เ พื่ อ น� า ไปใช้ ป ระโยชน์ อย่างอื่นได้อีกด้วย 82
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
EnErgy KnowlEdgE
ลดขยะล้นโลก กั“ค้นบพบวินัธีแกยกอลูวิมจิเนีัยยมและกระดาษจากกล่ แห่ง มจธ. อง UHT ได้ส�าเร็จ” TEXT : กรีนภัทร์
กล่อง UHT ทีบ่ รรจุผลิตภัณฑ์ นม น�ำ้ ผลไม้ ฯลฯ เรียกได้วำ่ เป็นขยะที่พบได้มำก หำกก�ำจัดไม่ถูกวิธีจะกลำยเป็นแหล่ง เพำะเชื้อโรคโดยเฉพำะไข่แมลงวัน และที่ผ่ำนมำกำรก�ำจัด กล่ อ งUHTที่ ใ ช้ แ ล้ ว เป็ น เพี ย งกำรน� ำ ไปแปรรู ป เป็ น แผ่ น กรีนบอร์ด หรือ น�ำไปท�ำเป็นสิ่งประดิษฐ์อื่น ๆ เช่น กระดำษ สมุด หรือหมวกรีไซเคิล เป็นต้น แต่วิธีเหล่ำนั้นยังคงไม่ สำมำรถลดปริ ม ำณขยะจำกกล่ อ งUHTที่ มี ป ริ ม ำณเพิ่ ม มำกขึน้ ได้ ประกอบกับร้ำนรับซือ้ ของเก่ำจะไม่รบั ซือ้ กล่อง UHT เพรำะไม่ ส ำมำรถขำยต่ อ ให้ กั บ โรงงำนรี ไ ซเคิ ล ได้ เพรำะ ส่ ว นประกอบของกล่ อ ง UHTนั้ น มี ก ระดำษ พลำสติ ก และอลูมิเนียมฟอยล์ รวมกันหลำยชั้น ท�ำให้ไม่สำมำรถน�ำไป รีไซเคิลได้แต่ล่ำสุดคณะนักวิจัยจำกบัณฑิตวิทยำลัยร่วมด้ำน พลังงำนและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหำวิทยำลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้ำธนบุรี (มจธ.) น�ำโดย ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกจิ หัวหน้ำโครงกำรวิจยั “กรรมวิธกี ำรแยกอลูมเิ นียมและกระดำษ ออกจำกกล่องบรรจุอำหำรเหลวประเภทยูเอชที โดยใช้วธิ กี ำร สกัดด้วยตัวท�ำละลำย” เป็นวิธีกำรช่วยลดขยะและลดมลพิษ จำกกล่อง UHT ใช้แล้วได้ส�ำเร็จเป็นรำยแรก ศ.ดร.นวดล เหล่าศิริพจน์ อาจารย์จากบัณฑิตวิทยาลัย ร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เป็นหนึ่งในคณะผู้วิจัย เผยว่า จากส่วนประกอบของกล่อง UHT ที่นอกจากกระดาษ และพลาสติกแล้ว ยังมีแผ่นอลูมิเนียมในบรรจุภัณฑ์ที่มีมูลค่า หากเราสามารถแยกอลูมิเนียมออกมาได้ก็จะสามารถน�ากลับ มาใช้ ป ระโยชน์ ใ หม่ ไ ด้ อี ก ซึ่ ง ในปั จ จุ บั น ยั ง ไม่ มี ก ารน� า อลู มิ เนียมกลับมาท�าอะไรได้นอกจากเผาท�าลายทิ้งในโรงก�าจัดขยะ เป็นที่มาว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะสามารถเอาอลูมิเนียมออกจาก กล่องภายใต้โจทย์ที่ว่าต้องเป็นอลูมิเนียมบริสุทธิ์เท่านั้น เริ่ ม จากหาวิ ธี ก ารที่ จ ะแยกอลู มิ เ นี ย มออกจากกระดาษ เราจึงต้องหาตัวท�าละลายทีเ่ หมาะสมเพือ่ มาละลายกาว ส�าหรับ ตัวท�าละลายที่เหมาะสมนั้น เราได้เลือกน�ามาศึกษาวิจัยหลาย กลุ่มเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสม พบว่าตัวท�าละลายที่เหมาะสม ที่ สุ ด คื อ กลุ ่ ม ที่ มี ส ารประกอบจ� า พวก “โทลู อี น ” เพราะมี คุณสมบัติเป็นตัวท�าละลายกาวที่ติดอยู่ระหว่างกระดาษกับ VOLUME 7 ISSUE 85
ศ.ดร.นวดล เหล่ำศิริพจน์
E N E R G Y S AV I N G
83
อลูมิเนียมได้ดีที่สุดเมื่อเทียบกับตัวท�าละลายในกลุ่มอื่นๆ จาก การทดลองพบว่าเมื่อเราสามารถหาตัวท�าละลายที่เหมาะสม ในระดับอุณหภูมิที่เหมาะสม และระยะเวลาที่เหมาะสมก็จะ สามารถแยกอลูมิเนียมที่บริสุทธิ์ออกจากกระดาษได้ ขั้นตอนท�าไม่ยุ่งยาก ตัดกล่อง UHT ที่ใช้แล้วเป็นชิ้น ๆ ใส่ ลงถังรีแอคเตอร์ และใส่ตัวท�าละลายที่เหมาะสมลงไปต้มด้วย อุณหภูมิ 70-80 องศาเซลเซียส ใช้ระยะเวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง ก็สามารถแยกอลูมิเนียมบริสุทธิ์ออกจากกระดาษได้ ซึง่ กระบวนการเพียงเท่านี้ สามารถท�าให้อลูมิเนียมบริสุทธิ์หลุด แยกออกจากกระดาษไปคนละชัน้ ไม่ตอ้ งยุง่ ยากในการคัดแยกอีก โดยอลูมิเนียมบริสุทธิ์จะหลุดออกจากกระดาษและตกลงไป รวมกันอยู่ด้านล่างถัง ส่วนกระดาษจะลอยขึ้นด้านบนอย่าง ชัดเจน ขณะที่พลาสติกละลายไปกับตัวท�าละลาย ซึ่งข้อดีของ ตัวท�าละลาย “โทลูอีน” คือ มีจุดเดือดต�่า เมื่อใช้แล้วสามารถ ระเหยทิ้งด้วยวิธีการควบแน่นและน�ากลับมากลั่นใช้ได้เรื่อย ๆ ท�าให้กรรมวิธีที่ใช้นี้มีจุดเด่น คือ ง่าย ต้นทุนค่าพลังงานต�่า และไม่มีของเสียตกค้างในกระบวนการผลิตเพราะไม่ต้องใช้น�้า และท�าในระบบปิด โดยอลูมิเนียมบริสุทธิ์ท่ีแยกออกมาได้นั้น สามารถน�าไปใช้ต่อในภาคอุตสาหกรรมเพื่อท�าประโยชน์อื่น ๆ หรือขายให้กับโรงงานผลิตอลูมิเนียมได้ ส่วนกระดาษก็สามารถ น�าไปเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานในโรงงานหรือสามารถ น�าไปท�าประโยชน์อื่น ๆได้อีกซึ่งถือได้ว่าเป็นวิธีการก�าจัดขยะที่ ดีวิธีหนึ่งแม้อาจดูง่าย ๆ แต่ที่ผ่านมายังไม่มีใครท�า
84
E N E R G Y S AV I N G
งานวิจัยบางอย่างไม่จ�าเป็นต้องเป็นใช้เทคนิคลึกหรือยาก ซึ่งการค้นพบวิธี การดังกล่าว จะส่งผลดีตอ่ สิง่ แวดล้อมเพราะไม่กอ่ ให้เกิดขยะและมลพิษเพิม่ ขึน้ เป็นวิธีที่มีประโยชน์ สามารถใช้ซ�้าได้เรื่อย ๆ และได้ราคาดีกว่าการน�าไป เผาท�าลายทิง้ ท�าให้งานวิจยั ชิน้ นีไ้ ด้รบั การจดอนุสทิ ธิบตั รเรียบร้อยแล้ว ถึงแม้วา่ “โทลูอีน” จะเป็นสารท�าละลายกลุ่มหนึ่งที่ใช้กันในโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไป โดยเฉพาะอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ แต่ที่ผ่านมายังไม่เคยมีใครใช้กรรมวิธีการ แยกอลูมิเนียมบริสุทธิ์และกระดาษออกจากล่อง UHT โดยวิธีการสกัดด้วยตัว ท�าละลายดังกล่าว นอกจากกล่อง UHT ที่บรรจุนม หรือ น�้าผลไม้ต่าง ๆ แล้ว วิธีนี้ยังสามารถน�าไปใช้แยกอลูมิเนียมบริสุทธิ์ออกจากถุงบรรจุขนมขบเคี้ยว หรือถุงฟอยล์ ก็สามารถท�าได้เช่นเดียวกัน ส�าหรับผูป้ ระกอบการเอกชนทีม่ คี วามสนใจต้องการน�างานวิจยั หรือกรรมวิธี การแยกอลูมเิ นียมและกระดาษ ออกจากกล่องบรรจุอาหารเหลวประเภทยูเอชที โดยใช้วิธีการสกัดด้วยตัวท�าละลายเพื่อน�าไปต่อยอดทางธุรกิจ สามารถติดต่อ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 0-2470-8309-10
DECEMBER 2015
SPECIAL REPoRt
PREFAB นวัตกรรมบ้านกึ่งส�าเร็จรูป
TEXT : อภัสรา วัลลิภผล
ทนทาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
บ้านกึง่ ส�าเร็จรูป หรือ Prefab ในปัจจุบนั ถือเป็นทีน่ ยิ มกันอยูไ่ ม่นอ้ ย โดยเฉพาะในต่างประเทศ ได้มกี ารน�านวัตกรรมต่าง ๆ มาใช้ในการสร้างบ้าน รวมไปถึงการน�าเทคโนโลยีด้านการประหยัดพลังงานเข้ามาใช้งานอีกด้วย
อย่างเช่น “NOEM’” สตูดโิ อผูร้ บั ออกแบบทีพ่ กั อาศัยขนาดใหญ่แห่งเมืองบาร์เซโลน่า ได้ออกแบบ บ้านไม้สา� เร็จรูปพลังงานแสงอาทิตย์ทที่ นั สมัย โดยตัง้ ชือ่ บ้านว่า “Studio Go” ใช้ระยะเวลาใน การก่อสร้างเพียง 10 สัปดาห์เท่านัน้ ซึง่ ตัวบ้านมีขนาดแค่ 29 ตารางเมตร สามารถจัดสรรพืน้ ทีใ่ ช้สอย ได้อย่างลงตัว โดยแบ่งพื้นที่ 23 ตารางเมตรแรกเป็นส่วนของที่อยู่อาศัย และอีก 5.9 ตารางเมตร ส�าหรับจุดศูนย์รวมของระบบเทคโนโลยีภายในบ้าน การออกแบบใช้ไม้สโี ทนอ่อน เน้นความเรียบง่าย ตัวบ้านทีส่ ร้างก็ไม่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมแต่อย่างใด เมือ่ เทียบกับบ้านทีม่ ขี นาดใกล้เคียงกัน บ้าน หลังนีช้ ว่ ยประหยัดพลังงานได้มากถึง 90% ซึง่ ประหยัดกว่าอย่างเห็นได้ชดั ส�าหรับการขนย้ายตัวบ้านนัน้ ก็แสนจะง่าย ใช้รถบรรทุกเพียงแค่คันเดียวในการขนย้าย นอกจากนี้ชิ้นส่วนตัวบ้านสามารถถอด ประกอบสร้างใหม่ได้อย่างง่ายดาย DOM Arquitectura บริษัทสถาปนิกแห่งเมืองบาร์เซโลน่า ได้สร้างบ้านส�าเร็จรูปขนาดกะทัดรัด แต่พรั่งพร้อมไปด้วยสิ่งอ�านวยความสะดวกอย่างครบครัน และเป็นตัวอย่างที่ดีส�าหรับการออกแบบ บ้านในอนาคตอีกด้วย โดยหลังจากที่ได้ศึกษามาอย่างละเอียด ทางทีมงานไม่ต้องการให้บ้านหลังนี้ กลายเป็นเครือ่ งมือทีจ่ ะสร้างผลกระทบต่อโลก ด้วยการเลือกใช้วสั ดุในการสร้างบ้านทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ช่วยลดมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นกับระบบนิเวศทั้งทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งส่วนประกอบ อื่น ๆ ของวัสดุยังสามารถน�ากลับมาใช้ซ�้าได้ และการวางระบบจัดการพลังงานภายในบ้านที่ ถูกออกแบบมาอย่างดี ทั้งระบบกักเก็บน�้าฝน แผงโซล่าร์เซลล์ ส่งผลให้บ้านหลังนี้ใช้พลังงานได้อย่าง มีประสิทธิภาพสูงสุด บ้านหลังนีส้ ร้างมาจากไม้สนแดงทีม่ กี ารวัดขนาดมาเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ง่ายต่อการน�ามาประกอบ และยังใส่ใจในทิศทางและท�าเลทีต่ งั้ ของตัวบ้าน เมือ่ ถึงช่วงหน้าหนาวบ้านจะสามารถเปิดรับแสงแดด ได้ดี ส่วนในช่วงหน้าร้อนบ้านจะช่วยป้องกันความร้อนและรังสียูวีจากดวงอาทิตย์ได้เช่นกัน โดยได้ VOLUME 7 ISSUE 85
ฉนวนกันความร้อนมาเป็นตัวช่วยอีกแรง ท�าให้ บรรยากาศภายในบ้านหลังนี้ร่มเย็นและอบอุ่น ตามฤดูกาลทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป แต่สงิ่ ทีน่ า่ จับตามอง นอกจากตัวบ้านแล้ว คงจะเป็นสวนครัวขนาดเล็ก ข้างตัวบ้าน ที่ช่วยให้เจ้าของบ้านสามารถเพาะ ปลูกพืชผักผลไม้นานาชนิดไว้ใช้บริโภคได้อย่าง เพียงพอ และยังช่วยลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อีกทางหนึง่ ด้วย เนือ่ งจากพลังงานไฟฟ้าภายใน บ้านทัง้ หมดได้มาจากแสงอาทิตย์ นอกจากนีย้ งั มีแทงค์น�้าจ�านวน 7 แทงค์ ซ่อนอยู่ใต้พื้นบ้าน สามารถเก็บกักน�้าฝนไว้ใช้สอยได้มากกว่า 10 ลูกบาศก์เมตรทีเดียว นับเป็นการสร้างทางเลือก ในการใช้งานทีห่ ลากหลาย และการใช้ทรัพยากร แบบรูค้ ณ ุ ค่าอย่างแท้จริง และส�าหรับคนที่ชื่นชอบบรรยากาศความ สวยงามของประเทศญี่ ปุ ่ น คงต้ อ งถู ก ใจไป ตาม ๆ กัน เพราะขณะนีไ้ ด้มโี ครงการ “Muji Hut” โครงการล่ า สุ ด ของบริ ษั ท แบรนด์ ดั ง อย่ า ง MUJI ทีเ่ พิง่ ได้เปิดตัวไปในงาน Design Touch จัดขึ้นที่ Midtown Garden ในกรุงโตเกี ย ว E N E R G Y S AV I N G
85
ซึ่ ง ภายในงานได้ มี ก ารจั ด แสดงคอลเลกชั่ น บ้ า นส� า เร็ จ รู ป ขนาด กะทัดรัดที่เพียงพอต่อการอยู่อาศัยหลากหลายรูปแบบ ด้วยผลงาน ศิลปะที่แสดงแนวคิดออกมาอย่างง่าย ๆ ด้วยการใช้วัสดุท่ีน้อยชิ้น ซึ่งล้วนแฝงไปด้วยความหมายของการใช้ชีวิตบนความเป็นอยู่อย่าง ยั่งยืนทั้งสิ้น โดยงานนี้ MUJI รับความร่วมมือจากเหล่าดีไซเนอร์ชั้นน�า อย่าง Mr. Naoto Fukasawa, Mr. Jasper Morrison และ Mr. Konstantin Grcic เข้ามาช่วยรังสรรค์ผลงานกันอย่างสุดความสามารถ โดยทาง MUJI ได้อธิบายถึงโครงการบ้านส�าเร็จรูปไว้ว่า เป็นการ หลบหนีออกจากความวุน่ วายภายในเมือง ทัง้ นีบ้ า้ นส�าเร็จรูปถูกออกแบบ มาเป็น 3 ผลงานด้วยกัน ซึ่งแตกต่างกันไปคนละแบบ แต่ทั้งหมดได้ ผสมผสานประเพณีและวัฒนธรรมของประเทศญี่ปุ่นแบบดั้งเดิมเข้ากับ ศิลปะสมัยใหม่ได้อย่างลงตัว ผลงานชิน้ แรกของ Mr. Naoto Fukasawa ทีช่ อื่ ว่า “Hut of Wood” บ้านซึง่ แสดงเอกลักษณ์ออกมาได้ละม้ายคล้ายคลึงกับกระท่อมไม้แบบ โบราณของญีป่ นุ่ อย่างชัดเจน ด้วยมุมมองทีส่ วยงามของทัศนียภาพและ แสงทีผ่ า่ นเข้ามาในตัวบ้านสร้างความสว่างให้แก่บา้ นทัง้ หลังได้อย่างวิจติ ร บรรจง รวมถึงการประดับตกแต่งภายในห้องน�า้ ทีไ่ ด้อา่ งน�า้ แบบพืน้ เมือง ของญี่ปุ่นสร้างลักษณะที่โดดเด่นให้กับบ้านไม้ได้อย่างสมบูณณ์แบบ ผลงานชิ้นต่อไปเป็น “Hut of Cork” ของ Mr. Jasper Morrison ซึ่งแตกต่างจากบ้านหลังแรกอย่างสิ้นเชิง เพราะบ้านหลังนี้สร้างขึ้นมา จากวัสดุอย่างจุกไม้กอ๊ ก กลายเป็นบ้านทีส่ วยงานและแปลกตาอย่างมาก โดยจุกไม้กอ๊ กนอกจากจะเป็นวัสดุรไี ซเคิลทีน่ า่ สนใจแล้ว ยังมีคณ ุ สมบัติ ช่วยดูดซับเสียงภายนอกได้ดีอีกด้วย บ้านหลังสุดท้ายมาในชื่อ “Hut of Aluminum” ออกแบบโดย Mr. Konstantin Grcic เป็นผลงานที่เรียบง่ายที่สุดและแปลกใหม่ไป ด้วยรูปทรงของบ้านและการตกแต่งภายในที่จัดให้ห้องใต้เพดานกลาย เป็นห้องนอน จะเห็นได้ว่าต่างประเทศนั้นมีการตื่นตัวเรื่องของบ้านส�าเร็จรูป กันอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว ด้านประเทศไทยเราเองก็มีการพัฒนาด้านนี้ 86
E N E R G Y S AV I N G
ด้วยเช่นกัน ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. เป็นอีกหน่วยงานหนึ่งที่เป็นผู้ริเริ่มโครงการนวัตกรรมการพัฒนาที่พัก อาศัยกึ่งส�าเร็จรูป ซึ่งเริ่มโครงการในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เนื่องจากวงการ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ มี อั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ท� า ให้ ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์ของไทยมีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เพื่อแย่งชิงส่วนแบ่งทาง การตลาด และสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ส่งผลกระทบทัง้ บริษทั ใหญ่ จนมาถึงธุรกิจรับเหมาก่อสร้างเล็ก ๆ ที่อยู่ใน Chain ต้องมีการปรับตัวเพื่อ รับมือ รวมทัง้ จากการติดตามข้อมูลจาก Social Media ต่าง ๆ ท�าให้ทราบว่า ผู้บริโภคที่ซื้อบ้าน คอนโดมิเนียม หรือทาวน์เฮ้าส์ มีความคาดหวังในด้าน คุณภาพที่สูงมาก จึงมีการร้องเรียนปัญหาต่าง ๆ เป็นจ�านวนมาก เทคโนโลยีการก่อสร้างบ้านแบบ Prefabrication เป็นทีน่ ยิ มอย่างแพร่หลาย เนื่องจากมีความรวดเร็วในการก่อสร้าง สามารถควบคุมการผลิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ใช้แรงงานน้อย มีเศษเหลือจากการก่อสร้างน้อย รวมทั้งยัง เป็นบ้านที่ประหยัดพลังงานอีกด้วย และเป็นระบบที่ได้รับการรับรองและ เป็นที่นิยมสูงทั้งในประเทศญี่ปุ่น ยุโรป และสหรัฐอเมริกา แต่ข้อเสียก็มีบ้าง ในด้านการออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรมที่ต้องใช้ความแม่นย�าสูง แต่ใน ปัจจุบันมีปัญหาขาดแคลนบุคลากรทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม และ กระบวนการก่อสร้างก็คอ่ นข้างช้า ท�าให้การด�าเนินธุรกิจไม่สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าได้ทัน ในส่วนของโครงการ iTAP, สวทช. ในฐานะองค์กรทีท่ า� หน้าทีใ่ นการส่งเสริม ผู้ประกอบการด้านการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการ แข่งขันของผู้ประกอบการกลุ่ม SMEs นั้น ได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าว จึง ได้ริเริ่มโครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาที่พักอาศัยกึ่งส�าเร็จรูป” ขึ้น โดยได้ รับความร่วมมือจากทีมผู้เชี่ยวชาญจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการ ผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ในการ ด�าเนินโครงการ เพือ่ เป็นช่องทางให้กบั ผูป้ ระกอบการในธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง ได้รบั รู-้ รับทราบข้อมูลเกีย่ วกับการก่อสร้างบ้านระบบ Prefabrication รวมทัง้ การให้ค�าปรึกษาในเชิงลึกโดยผู้เชี่ยวชาญ ทั้งในด้านเทคโนโลยีที่ใช้ในการ ออกแบบ เทคโนโลยีการประกอบและการเลือกใช้วัสดุ จนถึงการประเมิน โครงสร้างและราคาด้วย และสิ่งส�าคัญที่อยากให้เกิดขึ้นในวงการอสังหาริมทรัพย์ คือ มีการพัฒนา คุณภาพ และประสิทธิภาพการก่อสร้างระบบ Prefabrication โดยการต่อยอด จากฐานการผลิตเดิมให้เกิดคุณค่าในเชิงพาณิชย์ เพือ่ ตอบสนองความต้องการ ของผู้บริโภค และตอบโจทย์ทางธุรกิจของผู้ประกอบการด้วยการสร้าง นวัตกรรมการพัฒนาทีพ่ กั อาศัยกึง่ ส�าเร็จรูป และจากทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วในข้างต้น จะเห็นว่าการที่จะท�าให้โครงการประสบผลส�าเร็จได้นั้น ไม่ใช่เป็นการไปบอก วิธีการในการก่อสร้างระบบ Prefabrication ให้กับผู้ประกอบการเท่านั้น แต่จะต้องเริ่มตั้งแต่การจัดอบรมสัมมนา เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการ ทัง้ ทางด้านการออกแบบ เทคโนโลยีการผลิต เทคโนโลยีการประกอบ รวมทัง้ ความส� า คั ญ และประโยชน์ ข องบ้ า น Prefabrication จากนั้ น จะมี ก าร เข้าวิเคราะห์ปัญหาของบริษัทโดยผู้เชี่ยวชาญ และจึงตามมาด้วยการเข้า ให้ค�าปรึกษาในเชิงลึกแก่โรงงานโดยทีมผู้เชี่ยวชาญ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรม ที่จะช่วยเปิดโลกทัศน์ให้กับผู้ประกอบการด้วยการพาไปศึกษาดูงานทางด้าน เทคโนโลยีการออกแบบและการผลิตบ้าน Prefabrication อีกด้วย สุดท้าย ผลงานที่ออกมาจะน�าเสนอเป็นรูปธรรม สิง่ เหล่านีเ้ ป็นกิจกรรมที่ iTAP , สวทช. ร่วมกับผูเ้ ชีย่ วชาญด�าเนินการภายใต้ โครงการฯ ทีม่ งุ่ หวังให้เมือ่ โครงการนีส้ นิ้ สุดลง ผูป้ ระกอบการทีร่ ว่ มโครงการกับ ทาง iTAP และ สวทช. จะสามารถพัฒนาองค์ความรู้ และต่อยอดองค์ความรูท้ ี่ ได้รบั จากการเข้าร่วมโครงการไปประยุกต์ใช้ให้สามารถอยูร่ อด และเพิม่ ความ ได้เปรียบทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนได้ ส�าหรับสิง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการทีเ่ ข้าร่วมโครงการจะได้รบั การพัฒนานวัตกรรม ด้านที่พักอาศัยกึ่งส�าเร็จรูปหรือบ้าน Prefabrication เพื่อตอบรับกระแส dEcEMbER 2015
การออกแบบและการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังได้รับการพัฒนาด้าน การวางระบบบริษัท รวมถึงการบริหารโครงการด้านการผลิต เพื่อการปรับปรุงให้มี นวัตกรรมทางเทคโนโลยีสูงขึ้น สามารถเพิ่มโอกาสทางการค้า และโอกาสทางธุรกิจจาก การพัฒนานวัตกรรม ส�าหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดและสมัครได้ที่ สวทช. โทร. 0-2564-7000 ต่อ 1381,1301 คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ด้าน คุณคมวิทย์ บุญธิรงกิจ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ไพร์ซ ออฟ วูด้ อินดัส ทรีส์ จ�ากัด หนึ่งในผู้ประกอบการที่มีความุ่งมั่นในการประกอบธุรกิจด้านนี้ ซึ่งเป็นอีกคนหนึ่งที่ได้เข้า ร่วมโครงการกับสวทช. เพื่อน�าเอาข้อมูลที่ได้มาพัฒนาธุรกิจของตัวเอง คุณคมวิทย์กล่าวว่า เริ่มรู้จักกับทาง สวทช. เมื่อ12 ปีที่แล้ว ตอนนั้นมีความสนใจที่จะพัฒนาธุรกิจไม้ให้ก้าวหน้า ซึง่ ขณะนัน้ บริษทั ได้ทา� การค้าแบบซือ้ มาขายไป จึงท�าให้องค์ความรูด้ า้ นไม้มนี อ้ ยมาก เรียกได้วา่ บริษัทไม่ได้มีเทคโนโลยีอะไรเลย และไม่รู้ว่าจะพัฒนาธุรกิจไม้ไปทางไหน จนได้มาพบกับ คุณชนากานต์ หรือ คุณหลิน ท�าให้ได้มีโอกาสเดินทางไปต่างประเทศ และไปเสาะหา เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องไม้ต่าง ๆ ซึ่งท�าให้ได้รับทราบเกี่ยวกับเทคโนโลยีและความรู้ เช่น การอบไม้ การอัดน�า้ ยาไม้ การท�าให้ไม้ทนทานไม่บดิ โก่งงอ และ เทคโนโลยีดา้ น wood Engineering สรุปสั้น ๆ คือ ได้น�าความรู้มาเป็น Core values ของบริษัทในสามด้าน คือ wood technologies, wood engineer และ wood architecture ซึ่งทางบริษัทได้น�า Core values เหล่านี้มาพัฒนาบริษัท ส�าหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ทเี่ ป็นนวัตกรรมของทางบริษทั จะมี MCQ treated + color pigment ไม้ อั ด น�้ า ยากั น ปลวกได้ ถึ ง 20-50 ปี โดยน�้ า ยาที่ ไ ม่ เ ป็ น อั น ตรายต่ อ ผู ้ ใช้ ซึ่ ง ทั่ ว โลก ให้การยอมรับ และสามารถอัดเม็ดสี color pigment เข้าไปในเนื้อไม้ได้ ท�าให้เปลี่ยน สีไม้สนจากไม้สีขาวเป็ สีต่าง ๆ ได้ Customized Prefab house ระบบการสร้างบ้านด้วย ไม้ ซึ่งสามารถออกแบบ ตาม ความต้องการของลูกค้า ปรับเปลี่ยนรูปแบบบ้านได้ ตามใจลูกค้าและสามารถสร้างเสร็จ ภายใน 15-30 วัน ด้วย concept S ยกก�าลัง5 Speed, Strong, Safe, Science, Sanctuary Curve glulam beam ไม้ประกบโครงสร้างดัดโค้งขนาดใหญ่ ทีส่ ามารถน�ามาใช้ทา� เป็น โครงสร้างอาคารขนาดใหญ่ได้ prefinised Nail-Hidden Weather groove siding ระบบฝาไม้อัดน�้ายา ที่ติดตั้ง ได้ง่าย และไม่เห็นตะปู หรือ max ติดตั้งได้รวดเร็ว ท�าสีเสร็จจากโรงงาน Customised Genotruss ระบบโครงสร้างหลังคาส�าเร็จรูป สร้างหลังคาได้ทกุ รูปแบบ ที่ลูกค้าต้องการ บริษัท ไพร์ซ ออฟ วู้ด อินดัส ทรีส์ จ�ากัด เป็น 1 ใน 5 บริษัทที่ได้รับรางวัล “นักไต่เขา เทคโนโลยี” จากโปรแกรม iTAP , สวทช. เนื่องจากบริษัทมีการไต่ระดับเทคโนโลยีจากขั้น ของการใช้แรงงานและทักษะแบบเข้มข้นไปเป็นการท�าวิจยั และพัฒนาอย่างเข้มข้น ( From Labor/Skill to R&D Intensive) โดยเกณฑ์พิจารณารางวัลจากการพัฒนาเทคโนโลยีของ บริษทั ซึง่ เริม่ ต้นจากบริษทั ได้รจู้ กั กับ iTAP จนถึง Level ณ ปัจจุบนั Start Trading Simple sawmill and planner Prefinished products: Floorings, sidings Truss Glulam Treated wood from CCA to ACQ to MCQ to MCA+ pigment Customized prefab house Biomass Power plants ในเรื่องของมุมมองการท�าธุรกิจบ้านกึ่งส�าเร็จรูปนั้น คุณคมวิทย์ กล่าว่า การก่อสร้าง บ้านไม้ในปัจจุบนั ยังเป็นระบบการจ้างช่างไม้สร้างบ้าน ขาดข้อมูลทางด้านการค�านวณ และ ทางวิศวกรรมเองก็ไม่มกี ารค�านวณ ท�าให้บา้ นทีไ่ ด้ไม่ได้มาตรฐานเท่าทีล่ กู ค้า ต้องการลูกค้า อยากสร้างบ้านไม้ทสี่ วยงามคุณภาพ 5 ดาว ซึง่ แบบเมืองนอกอาจต้องใช้เวลานานหาช่างยาก เสียเวลาคุมงาน และไม่ทนทาน ไม่มีใครการันตีได้ ซึ่งองค์ความรู้ที่บริษัทพัฒนามาไม่ว่าจะ เป็น Wood engineering, wood technology และ wood architect น่าจะตอบโจทย์ ตรงนี้ได้ และระบบที่เราสร้างขึ้นมาเป็นแบบ Customoize ตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้ไม่จ�าเป็นต้องเลือกแบบ Fixed ที่บริษัทออกแบบมา ในส่ ว นการน� า เอานวั ต กรรมจากต่ า งประเทศมาพั ฒ นาธุ ร กิ จ นั้ น จะมี ใ นส่ ว นของ Genotruss ระบบโครงหลังคาไม้ส�าเร็จรูป น�ามาต่อยอดในการท�าธุรกิจบ้านไม้ prefab house MCQ + color pigment มาท�าให้ไม้ทนทานอยู่ได้นานถึง 20-50 ปี ไม่เป็นพิษต่อ สิง่ แวดล้อม ซึง่ สามารถตอบโจทย์ Architect ได้ และยังเป็นสีได้หลายสีตามทีล่ กู ค้าต้องการได้ ในด้านของ Energy saving นั้น การออกแบบบ้าน Chalet prefab house ส่วนใหญ่ จะใช้ไม้เป็นวัตถุดิบ เพราะเราทราบดีอยู่แล้วว่าไม้เป็นฉนวนกันความร้อนที่ดีกว่าคอนกรีต VOLUME 7 ISSUE 85
คมวิทย์ บุญธิรงกิจ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไพร์ซ ออฟ วู้ด อินดัส ทรีส์ จ�ากัด
หลายเท่า ค่า K สัมประสิทธิก์ ารน�าความร้อนของไม้จะดีกว่า คอนกรีตประมาณ 10 เท่าคิดง่าย ๆ ไม้ความหนา 25 mm จะมี ค่า K เท่ากับผนังคอนกรีต 110 mm อีกทั้งช่องว่าง ระหว่างผนังไม้เรามีการใส่ฉนวนกันความร้อนเพิ่มเข้า ไปอีก ท�าให้ผนังบ้านไม้ Chalet prefab house มีคา่ การน�า ความร้อนต�่ากว่า การก่ออิฐ ฉาบปูน หรือเทคอนกรีต บ้าน Chalet prefab house คือ การ Customized design ให้เข้ากับทิศทางลม และทิศทางแดดได้ง่าย ส่วนนี้ช่วย ประหยัดพลังงงานได้ทั้งระบบ ส่วนประตู หน้าต่าง เรา มี Seal ยางกันความร้อน กันเสียง เป็นการ design เพื่อ ประหยัดพลังงาน อีกรูปแบบหนึ่งคือระบบ หลังคา ซึ่ง เป็นส่วนที่โดนแดดตลอดเวลา เราก็ใช้โครงสร้างหลังคาไม้ Chalet Genotruss ออกแบบด้วย Software Mitek จาก USA โครงสร้างหลังคาไม้ช่วยลดการน�าความร้อนเข้าสู่ ตัวบ้านได้เพราะไม้มีค่า K ดีกว่า เหล็กประมาณ 400 เท่า บนโครงสร้างหลังคา Chalet Genotruss ยังปูด้วยแผ่นไม้ OSB 15 mm ซึ่งเป็นการช่วยลดความร้อนเข้าสู่ตัวบ้านได้ ลูกค้าสามารถเลือกแผ่นหลังคาแบบแผ่นไม้ Shingle ได้ จะเห็ น ได้ ว ่ า บ้ า นกึ่ ง ส� า เร็ จ รู ป ถื อ เป็ น นวั ต กรรมอี ก อย่างหนึ่งที่ช่วยผู้อาศัยลดค่าใช้จ่ายในการปลูกสร้าง ทั้ง ยังเป็นการช่วยในเรื่องของการประหยัดพลังงานได้อีกด้วย ถ้าท่านผูอ้ า่ นก�าลังมีความคิดอยากจะสร้างบ้านสักหลังหนึง่ ลองน� า เอานวั ต กรรมบ้ า นกึ่ ง ส� า เร็ จ รู ป ไปท� า กั น ดู ไ ด้ ไม่หวงกันค่ะ
E N E R G Y S AV I N G
87
energy loan TEXT : กรีนภัทร์
ปี 59 ก.พลังงาน ปล่อยสินเชื่อดอกเบี้ย 3.5%
วงเงินกู้เฟสแรก งบ 1,500 ลบ. เดื อ นหน้ า ก็ จ ะก้ า วสู ่ ป ี ใ หม่ แ ล้ ว ซึ่ ง เหมาะส� า หรั บ การที่ จ ะปรั บ เปลี่ ย นอะไรใหม่ ๆ แต่การที่จะปรับเปลี่ยนอะไรใหม่ ๆ นั้นจะต้องอาศัยเงินทุนเป็นหลักอยู่แล้ว ทั้งนี้ทาง กระทรวงพลังงานเป็นอีกหน่วยงานที่ส่งเสริมเรื่องเงินทุนส�าหรับการปรับเปลี่ยน อุปกรณ์ต่าง ๆ
คุณอารีพงศ์ ภูช่ อุม่ ปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยถึงแนวทางการขับเคลือ่ นแผนบูรณาการ พลังงานระยะยาว ว่า ในปี 2559 จะมุง่ เน้นให้ความส�าคัญเรือ่ งการประหยัดพลังงาน และการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเป็นหลัก โดยจัดโครงการรณรงค์ลดใช้พลังงานในทุกภาคส่วน ตัง้ แต่ภาค ประชาชน ขนส่ง และอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในภาคส่วนอุตสาหกรรมมีการใช้พลังงานค่อนข้างสูง โดยได้เตรียมมาตรการสนับสนุนด้านการเงิน เพือ่ สร้างแรงจูงใจให้แก่ผปู้ ระกอบการในการลงทุนใน ด้านการอนุรกั ษ์พลังงานเพิม่ ขึน้ อาทิ เงินทุนหมุนเวียนดอกเบีย้ ต�า่ เพือ่ สนับสนุนกลุม่ ผูป้ ระกอบการ SME เป็นต้น ทัง้ นีเ้ พือ่ กระตุน้ ให้เกิดการลดใช้พลังงานตามเป้าหมาย ปี 2559 จะมุง่ เป้าการประหยัดพลังงาน และการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานไปทีอ่ ตุ สาหกรรมห้องเย็นและโรงน�า้ แข็ง ซึง่ จากการส�ารวจ ของกรมพัฒนาพลังงานและพลังงานทดแทน (พพ.) พบว่า ปัจจุบนั มีหอ้ งเย็น-โรงน�า้ แข็งขนาดใหญ่ และขนาดย่อมรวมกันทัว่ ประเทศเกือบ 2,500 แห่ง ซึง่ ส่วนใหญ่ยงั ใช้เครือ่ งจักรและอุปกรณ์เก่า กินไฟ ค่อนข้างสูง จึงมีแนวคิดที่จะให้ผู้ประกอบการเปลี่ยนมาใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์รุ่นใหม่ที่มี ประสิทธิภาพสูงและประหยัดพลังงาน เพือ่ ทดแทนเครือ่ งจักรเดิม โดยการออกมาตรการสนับสนุน เงินกู้ดอกเบี้ยต�่า (Soft Loan) ดอกเบี้ยไม่เกิน 3.5% วงเงินกู้เฟสแรกภายใต้งบประมาณ 1,500 ล้านบาท ตัง้ เป้าห้องเย็น-โรงน�า้ แข็งน�าร่องปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักร-อุปกรณ์ใหม่ในปี 2559 จ�านวน 200 แห่ง ประหยัดพลังงานได้เป็นมูลค่า 90 ล้านบาท 88
E N E R G Y S AV I N G
ส่วนมาตรการสนับสนุนการเปลี่ยนหลอด ไฟ LED เพื่อช่วยลดการใช้ไฟฟ้าในอาคาร ภาครัฐต่าง ๆ อย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่ปี 2556 นัน้ ในปี 2559 คณะกรรมการกองทุนอนุรักษ์ พลังงาน ได้อนุมตั กิ รอบวงเงินกว่า 500 ล้านบาท เพือ่ สนับสนุนการเปลีย่ นหลอดไฟ ทัง้ ในอาคาร และไฟส่องสว่าง ส�าหรับพืน้ ที่ 3 จังหวัดชายแดน ภาคใต้ อาคารภาครัฐ โรงพยาบาล มัสยิดและอาคาร ภาครัฐ รวม 10 โครงการ เพือ่ เปลีย่ นหลอดไฟ ทีม่ จี า� นวนชัว่ โมงการใช้งานมากกว่า 8 ชัว่ โมง ต่อวัน หรือหลอดไฟเก่าทีป่ ระสิทธิภาพต�า่ โดย การปรับเปลีย่ นให้เป็นหลอด LED ประเภทต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับพื้นที่ที่ติดตั้ง เช่น หลอดโคม LED ทางถนนในพืน้ ที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ไฟทางตามท้องถนน หลอด LED แบบตะเกียบ และไฟ LED แบบหลอด เป็นต้น รวมจ�านวน กว่า 280,000 หลอด ซึง่ จะทยอยปรับเปลีย่ น ซึ่งคาดว่าผลประหยัดจะเกิดขึ้นโดยรวม และ จะสามารถคืนทุนจากการประหยัดได้ราว 2-3 ปี ส�าหรับด้านการส่งเสริมพลังงานทดแทนนัน้ จะมุง่ เน้นเรือ่ งการลดการพึง่ พาการน�าเข้าน�า้ มัน และสร้างความมัน่ คงด้านพลังงานให้กบั ประเทศ ในราคาทีเ่ ป็นธรรมและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม รวมทั้งลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึง่ เป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน โดยตัง้ เป้าการ ใช้พลังงานทดแทนจากปัจจุบันใช้อยู่ประมาณ 12% เพิ่มเป็น 30% ภายในปี 2579 การ ขับเคลือ่ นแผนบูรณาการพลังงาน นอกจากจะ เป็นการขับเคลือ่ นการด�าเนินการของกระทรวง พลังงานให้กา้ วสูอ่ นาคตอย่าง มัง่ คง มัง่ คง ยัง่ ยืน ตามกรอบนโยบายรัฐแล้ว คาดว่าจะช่วยให้ ประเทศเกิดความมัน่ คงทางพลังงาน ลดความ เสีย่ งในการผลิตไฟฟ้าด้วยการกระจายเชือ้ เพลิง ราคาค่าไฟฟ้าเพิ่มขึ้นไม่มากจนเกินไป และ คาดว่า จะลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลงได้ประมาณ 37% ซึง่ เป็นผลมาจากการเพิม่ สัดส่วนพลังงานหมุนเวียน ซึ่งนับเป็นก้าวที่ มั่นคงของเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตที่ดีของ ประชาชนตลอดไป
DECEMBER 2015
Special Feature TEXT : ปาจรีย์ หลอดค�า
ออกแบบควบคุม อาคารใหม่ บังคับประหยัดพลังงาน 20% เริ่มปีหน้า
ตามนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการลดใช้ พลังงาน ส่งผลให้หลายภาคส่วนทั้งรัฐ และเอกชน ตอบสนองด้ ว ยการออก มาตรการ การรณรงค์ และหั น มาให้ ความสนใจเกีย่ วกับพลังงานทดแทนกันมาก ขึน้ อีกโครงการหนึง่ ทีถ่ กู เผยออกมาล่าสุด ภายใต้แผนอนุรกั ษ์พลังงาน (EEP) ทีก่ า� ลัง จะเริ่มถูกบังคับใช้ในปีหน้า คือ มาตรฐาน การออกแบบควบคุมอาคารใหม่ เรียกได้ ว่าเป็นสิ่งที่น่าจับตามองส�า หรับวงการ ก่อสร้างอยู่ไม่น้อย
90
E N E R G Y S AV I N G
คุณอารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า “การติดตามความก้าวหน้าของการ จัดท�าแผนอนุรักษ์พลังงาน 2558 - 2579 หรือ EEP 2015 ซึ่งถือเป็นหนึ่งใน 5 แผนหลักของ แผนบูรณาการพลังงานของประเทศ เพื่อลดการพึ่งพา การน�าเข้าพลังงาน สร้างความมั่นคงทางด้าน พลังงานให้กับประเทศ และส่งเสริมให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตอนนี้ทางกระทรวง พลังงาน และกระทรวงมหาดไทย ก�าลังเร่งหารือด้านการควบคุมการใช้พลังงานในอาคารใหม่อกี ครัง้ แม้ ปัจจุบนั เกณฑ์มาตรฐานอาคารดังกล่าวยังไม่ถกู ก�าหนดเป็นกฎหมาย แต่เพือ่ ให้เกิดการประหยัดพลังงาน มากขึน้ และตอบสนองนโยบายหลักของกระทรวงพลังงาน ซึง่ ด�าเนินมาตรการทีส่ า� คัญทัง้ สิน้ 59 โครงการ พร้อมส่งเสริม งบประมาณ 7,125 ล้านบาท เช่น โครงการจัดการอาคาร ด้วยการผลักดันให้อาคารลด การใช้พลังงานลง 20% โดยใช้เกณฑ์มาตรฐานอาคาร (Building Energy Code) ก�าหนดมาตรฐาน การออกแบบอาคารขนาด 2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป ต้องให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่วา่ จะเป็นการถ่ายเทค่าความร้อน แสงสว่าง เครื่องปรับอากาศในอาคาร รวมถึงการใช้เกณฑ์มาตรฐาน ติดฉลากอุปกรณ์ และเพิ่มการติดฉลากใน 3 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ปั๊มความร้อน เครื่องอัดอากาศ และ สีทาผนัง” มาตรฐานการควบคุมอาคารใหม่ จะทยอยบังคับใช้ภายใน 2 ปีแรก ช่วงปี พ.ศ.2559-2560 จะบังคับ อาคารใหม่ทมี่ พี น้ื ที่ 10,000 ตารางเมตรขึน้ ไป และปี พ.ศ.2561-2562 บังคับใช้อาคารใหม่ทมี่ พี นื้ ที่ 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป และตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 จะบังคับใช้ส�าหรับอาคารที่มีพื้นที่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ซึ่งคาดว่าในปี 2579 จะมีอาคารใหม่ด�าเนินการตามหลักเกณฑ์ทั้งสิ้น 4,000 อาคาร พร้อมเป้าหมาย ลดการใช้พลังงานของประเทศได้ร้อยละ 30 DECEMBER 2015
อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ปลัดกระทรวงพลังงาน
นินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานสถาบันอาคารเขียวไทย และรองประธานกรรมการ บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ากัด
คุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานสถาบันอาคาร เขียวไทย และรองประธานกรรมการ บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ� า กั ด กล่ า วถึ ง เรื่ อ งนี้ ว ่ า “ทางสถาบันติดตามเรือ่ งนีม้ านานพอสมควร เรามีสว่ นใน การร่วมผลักดัน ร่วมกับกระทรวงพลังงาน จริง ๆ กฏหมาย ของกระทรวงพลั ง งานออกมาหลายปี แ ล้ ว แต่ ยั ง ไม่สามารถบังคับเรือ่ งการก่อสร้างอาคารได้ ผูท้ มี่ หี น้าที่ คือ กรมโยธาธิการ ทางกรมฯ จึงต้องรับเรื่องจาก กระทรวงฯ เอาไปออกเป็นกฏหมายบังคับ ส่วนตัวผม คิดว่าเป็นเรื่องดี เพราะสิ่งที่ทางสถาบันท�าเป็นเรื่อง ของปลายน�า้ ซึง่ จริง ๆ ต้องท�าให้ครบวงจร โดยเริม่ ต้น ตั้ ง แต่ ต ้ น น�้ า คื อ สิ่ ง ที่ เราหวั ง ว่ า นโยบายรั ฐ บาล จะออกมาบังคับ การออกแบบหรือการสร้างอาคาร ในปี ห น้ า จะต้ อ งมี ก ารประหยั ด พลั ง งานถึ ง 20% ตรงนีเ้ ป็นเรือ่ งดี ส่งผลท�าให้เป็นจุดเปลีย่ นผันความคิด ของเจ้าของอาคาร ให้หันมาใส่ใจเรื่องของอนุรักษ์ พลังงาน และรักษาสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิง่ ช่วงนี้ ราคาน�า้ มันถูกลงประมาณ 50% เรือ่ งแบบนีจ้ งึ หมดความ สนใจไป ฉะนัน้ การทีเ่ ริม่ บังคับในปีหน้าก็ถอื เป็นเรือ่ งดี เราจะได้ทา� กันได้ครบวงจรด้วย”
VOLUME 7 ISSUE 85
กฏหมายของกระทรวงพลังงาน ออกมาหลายปีแล้ว แต่ยังไม่สามารถ บังคับเรื่องการก่อสร้างอาคารได้ ผู้ที่มีหน้าที่ คือ กรมโยธาธิการ ทางกรมฯ จึงต้องรับเรื่องจากกระทรวงฯ เอาไปออกเป็นกฏหมายบังคับ ส่วนตัวผมคิดว่าเป็นเรื่องดี เพราะสิ่งที่ทางสถาบันท�าเป็นเรื่อง ของปลายน�้า ซึ่งจริง ๆ ต้องท�าให้ ครบวงจร โดยเริ่มต้นตั้งแต่ต้นน�้า
ส่วนหน้าทีห่ ลักของการตรวจสอบ และรับรองมาตรฐานอาคารเขียวไทย หรือทีเ่ รียกกันว่า TREES คุณนินนาท ได้เล่าต่อว่า เรามีเกณฑ์ประเมินอยู่ 2 ประเภทที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน คือ เกณฑ์อาคารใหม่ (NC) และเกณฑ์ที่ใช้กับโบนัสผังเมืองของ กทม. มีอีก 2 ประเภทที่ก�าลัง จะท�า ได้แก่ Core & Shell (CS) เป็นเกณฑ์เฉพาะเรื่องของเปลือกอาคาร โครงสร้าง เช่น คอนโดมิเนียม ที่การตกแต่งภายในเป็นเรื่องของลูกค้า ซึ่งจะท�าภายหลัง และ Existing Buildings เกณฑ์อาคารเก่าที่สร้างแล้วมาปรับปรุง เพื่อให้ประหยัดพลังงาน คาดว่าใช้เวลา อีกประมาณ 1 ปี จึงจะออกเป็นเกณฑ์ประเภทใหม่ได้ ตอนนีอ้ ยูใ่ นระหว่างการฟังความคิดเห็น ของผู้ประกอบการ เพื่อปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้น เกณฑ์การประเมิน TREES เกิดขึ้นได้ประมาณ 5 ปี เราก็ทราบปัญหาว่า การก่อสร้างมี การหาวัสดุที่จะได้คะแนนตามเกณฑ์ได้ไม่ครบ บางอย่างไม่มีฉลากเขียว เพราะวัสดุนั้นยัง ไม่เคยไปยืน่ กับ ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) เราก็จะไปบอกทางสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย ให้พยายามดูแลเรื่องของวัสดุให้มีฉลากเขียวเพิ่มมากขึ้น เราค่อย ๆ ช่วยกัน ท�าอยู่หลายหน่วยงาน ส�าคัญคือ ต้องเปลี่ยนทัศนคติของ เจ้าของอาคารก่อน พยายามให้ ความรู้สถาปนิก และวิศวกร เพื่อให้ไปอธิบายท�าความเข้าใจกับเจ้าของอาคาร
E N E R G Y S AV I N G
91
โครงการ การจัดการอาคารใหม่นี้ คาดว่าน่าจะ ได้ผล เนื่องจากเป็นการทยอยบังคับโดยก�าหนดพื้นที่ ลงไปเรื่อย ๆ หากเป็นเพียงการรณรงค์ หรือแบบ อาสาสมัคร เจ้าของอาคารอาจไม่รบั ทราบเรื่อง สิง่ หนึง่ ที่ ส ถาบั นก� าลั ง ท� า ตอนนี้ คือ พยายามให้สถาปนิก วิศวกร และเจ้าของอาคาร ไปดูงานของผู้ที่ยื่นขอรับ รองมาตรฐาน TREES ว่าใช้วสั ดุอะไร มีวธิ กี ารออกแบบ ก่อสร้างอย่างไรให้ประหยัดพลังงาน เพื่อสามารถน�า ไปประยุกต์ใช้ในอาคารของตัวเองได้ อีกทั้งยังเป็น มาตรการสร้างแรงจูงใจของสถาบันฯ ไปด้วยในตัว โดยในช่วงเดือนธันวาคมจะมีโครงการพาไปดูงานโรงเรียน จิตรลดา ทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐานอาคารเขียว TREES ในระดับ Platinum ซึง่ เรียกได้วา่ เป็นโรงเรียนทีม่ คี วามคิด สร้างสรรค์ และระบบการจัดการดีมาก หลายคนตั้งค�าถามกันมากก็คือ ท�าอาคารเขียว ไปแล้วได้อะไร ผมจะตอบว่า ได้อยู่ 2 อย่าง อย่าง แรกได้ ป ระโยชน์ จ ากตั ว ผู ้ ป ระกอบการเองในการ ประหยัดพลังงาน เช่น หากเปลี่ยนเป็นหลอดไฟ LED ก็จะประหยัดค่าไฟลงได้อีก 20 – 30% ส่วนโซล่าร์รูฟ ประหยัดลงได้ 10 – 20% อย่างทีส่ องจากประสบการณ์ ของสถาบันอาคารเขียวไทย ซึ่งมีผู้มายื่นขอมาตรฐาน TREES เราก็พดู คุยว่าสิง่ ทีท่ า� มีการลงทุนเพิม่ ประมาณ 7 – 10% ต้นทุนสูงขึ้นจากการก่อสร้างก็จริง แต่ สามารถได้ทนุ คืนได้ในเวลา 2 – 3 ปี อีกสิง่ หนึง่ ทีห่ ลาย คนคาดหวังจากรัฐบาลว่า ควรจะมีสิ่งจูงใจ อย่างใน ต่างประเทศจะมีการช่วยเหลือค่าใช้จา่ ยด้าน technical existent, Consultant ด้านสิ่งแวดล้อม การประหยัด พลังงาน ทางเหล่าผู้ประกอบการจึงอยากให้รัฐช่วย สัก 50% แต่ต้องใช้เวลาเจรจา อีกอย่างเราอยากท�าให้
รัฐบาลเห็นก่อนว่า สิ่งที่เราท�าได้ผลจริง ซึ่งเหล่านี้เป็นนโยบายของสถาบันอาคารเขียวไทย ที่เรามีประสบการณ์จากการพูดคุยกับทางกระทรวงพลังงานว่า เบื้องต้นเราอยากจะท� าให้ enjoy privilege ที่เขาได้ประโยชน์ไป พัฒนาการของการประหยัดพลังงานภายในอาคารของประเทศไทย มีความเปลี่นแปลง ไปในทิศทางที่ดีขึ้นตามล�าดับ เช่น จากหลอดไฟนีออนไส้ตะเกียบมาเป็น LED ขณะเดียวกัน ในเรื่องของโซลาร์รูฟจะช่วยให้รัฐบาลยืดเวลาการสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ไปได้เยอะทีเดียว การใช้ระบบเครื่องปรับอากาศ ที่มีประสิทธิภาพสูงก็จะช่วยได้ และการออกแบบตัว อาคารมีผนังฉนวนกันความร้อนจากภายนอก หรือการสร้าง Vertical Green ที่ส�าคัญ อีกอย่างหนึ่งเป็นระบบ Fresh Air ที่ใช้กับระบบ เครื่องปรับอากาศ ปกติเวลาอยู่ในห้อง ตัวเราเองคายคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาจึงต้องมีอากาศใหม่เติมเข้าไป สิง่ ต่าง ๆ ทัง้ หมดอยู่ ในเกณฑ์การประเมินของเรา เพราะฉะนั้นไม่เพียงแต่ประโยชน์ในการประหยัดพลังงาน ยัง จะท�าให้สุขภาพของผู้ที่อาศัยในตัวอาคารดีขึ้นด้วย ส่วนนโยบายของ บริษทั โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ากัด ให้ 1 ตัวแทนจ�าหน่าย โชว์รมู จะต้องเป็น Eco Dealership อย่างน้อย 1 แห่ง จากตัวแทนทั้งหมด 130 ราย ทั่วประเทศ ซึ่งตอนนี้ท�าการยื่นขอมาตรฐานแล้วกว่า 50 สาขา นอกจากนี้ จะโยงไปท�า ISO 14001 อีกด้วย รวมเข้ากับเรื่องของสถาบันฯ ประกอบกัน ในอนาคตก�าลังจะใส่เรื่อง universal design บางท่านเรียกว่า friendly design เอือ้ อ�านวยกับผูใ้ ช้วลี แชร์ ทัง้ ทางลาด และห้องน�า้ ที่ส�าคัญเราต้องการสร้างภาพลักษณ์องค์กรของแบรนด์โตโยต้าด้วย
ขอบคุณภาพประกอบจากเว็บไซต์ www.tgbi.or.th, www.excise.go.th, www.itmx.co.th
92
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
Viewpoint
“กากอุตสาหกรรม”
TEXT : ปลายรุ้ง
ปัญหาใหญ่ที่ไม่ควรมองข้าม
กากอุตสาหกรรม ถือว่าเป็นขยะอีกประเภทหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิต การเก็บวัตถุดบิ จนเสือ่ มสภาพ ผลิตภัณฑ์ทไี่ ม่ได้คณ ุ ภาพหรือเสือ่ มสภาพ ภาชนะบรรจุที่มีของปนเปื้อน และของเหลือใช้ต่าง ๆ ที่เกิดจากการ ใช้งานในภาคส่วนอุตสาหกรรม ประเภทของกากอุตสาหกรรมมีอยู่ 2 ประเภท คือ กากอุตสาหกรรมไม่อันตราย หมายถึง สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่มีองค์ประกอบหรือปนเปื้อนสารอันตรายหรือมีลักษณะเช่น เดียวกับมูลฝอยชุมชน เช่น เปลือกไม้ เศษเหล็กจากการตะไบ บรรจุภัณฑ์ ที่เป็นกระดาษ และของเสียที่ไม่ติดเชื้อ เป็นต้น และกากอุตสาหกรรมที่เป็น อันตราย หมายถึง สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่มีองค์ประกอบหรือ ปนเปื้อนสารอันตรายหรือมีคุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังนี้ สารไวไฟ สารกัดกร่อน สารพิษ สารที่มีองค์ประกอบของสิ่งเจือปน ทีเ่ ป็นอันตรายเกินค่ามาตรฐานที่กา� หนดไว้ เช่น กรดก�ามะถัน กรดซัลฟูรัส บรรจุภัณฑ์ที่ปนเปื้อนหรือสารอันตรายตกค้าง สารเคมีที่มีอันตราย และกากตะกอนก้นกรองที่มีสารอันตราย เป็นต้น
VOLUME 7 ISSUE 85
ส�ำหรับในส่วนของกำรก�ำจัดกำกอุตสำหกรรมนั้น ส�ำนักบริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม กรมโรงงำน อุตสำหกรรม กระทรวงอุตสำหกรรม เป็นหน่วยงำนที่ เข้ำมำดูแลในส่วนของกำรออกมำตรกำรในกำรก�ำจัดกำก อุตสำหกรรม พร้อมทั้งให้ค�ำแนะน�ำที่เป็นประโยชน์แก่ ผู้ประกอบกำรที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ ดร.จุลพงษ์ ทวีศรี ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนักบริหำรจัดกำร กำกอุตสำหกรรม กล่ำวถึง จ�ำนวนของกำกอุตสำหกรรม ในปัจจุบันที่มีอยู่ในประเทศไทยว่ำ ในปัจจุบันจำกข้อมูล กำรแจ้งขนส่งน�ำของเสียออกไปบ�ำบัด/ก�ำจัด ในปี 2557 และ ปี 2558
E N E R G Y S AV I N G
93
ยอดเก็บรวมกับขนส่ง (สก.1+Manifest) พ.ศ.
กากอันตราย (ล้านตัน)
กากไม่อันตราย (ล้านตัน)
รวม (ล้านตัน)
2557 (ม.ค.-ธ.ค.)
1.21 0.92
17.90 20-97
19.11 21.71
2558 (ม.ค.–30 ก.ย.)
จำกตัวเลขจะเห็นได้วำ่ ปริมำณกำกอุตสำหกรรมในปี 2558 (ยอด 9 เดือน สูงกว่ำ ปี 2557 มำกถึง 3 ล้ำนตัน) แต่ถำ้ หำกจะมองเน้นไปทีข่ องเสียอันตรำย ในปี 2558 กลับมีปริมำณลดลง ซึ่งกระทรวงอุตสำหกรรมได้สั่งกำรให้ กรมโรงงำนอุตสำหกรรมตรวจสอบว่ำ มีกำรน�ำกำกอันตรำยไปบ�ำบัดในรูป กำกไม่อนั ตรำยหรือไม่ ส�ำหรับตัวเลขกำกอุตสำหกรรมจำกกำรประเมินล่ำสุด ของ กรอ. มีกำรปรับแก้ไขแรงม้ำเครือ่ งจักรให้ถกู ต้องตำมสภำพทีเ่ ป็นจริง คือ ประเทศไทยมีแรงม้ำเครื่องจักรที่ประกอบกำรแล้วรวมประมำณ 220 ล้ำนแรงม้ำ (จำกเดิม 440 ล้ำนแรงม้ำ) 2.84 ล้ำนตัน และ กำกไม่อนั ตรำย 34.57 ล้ำนตัน ส�ำหรับด้ำนนโยบำยในกำรควบคุมดูแลกำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม พร้ อ มแผนสนั บ สนุ น กำรน� ำ เทคโนโลยี ม ำประยุ ก ต์ ใช้ ใ นกำรก� ำ จั ด กำกอุตสำหกรรมนัน้ ทำงกรมโรงงำนอุตสำหกรรมได้เสนอแผนกำรจัดกำร กำกอุตสำหกรรม 5 ปี (พ.ศ. 2558 – 2562) เข้ำสู่ ครม. และ ครม. ได้รบั ทรำบเมือ่ วันที่ 26 พ.ค. 2558 ทีผ่ ำ่ นมำ เพือ่ เร่งรัดกำกอุตสำหกรรมเข้ำสู่ ระบบ มีกำรจัดกำรอย่ำงเป็นระบบครบวงจรและมีประสิทธิภำพ โดยด�ำเนิน กำรแนวทำงยุทธศำสตร์ 4 ด้ำน ได้แก่ 94
E N E R G Y S AV I N G
ยุทธศาสตร์ที่ 1 บังคับใช้กฎหมำยอย่ำงจริงจังกับผูไ้ ม่ปฏิบตั ติ ำม กฎหมำย จะพิจำรณำโทษเฉพำะเรือ่ งกำรต่ออำยุใบอนุญำต ร.ง.4 ของ โรงงำนจ�ำพวกที่ 3 ทุก 5 ปี โดยลงโทษผูก้ ระท�ำควำมผิดอย่ำงเป็น ขัน้ ตอน และช่วยเหลือผูป้ ระกอบกำรทีป่ ระสงค์จะปฏิบตั ติ ำมกฎหมำย อย่ำงถูกต้อง ขณะเดียวกันก็นำ� เทคโนโลยีมำช่วยส่งเสริมกำรอ�ำนวย ควำมสะดวกให้ผปู้ ระกอบกำรสำมำรถลงทะเบียนขออนุญำต สก. 1 สก. 2 ได้ ผ่ำนระบบอนุญำตแบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-license) พร้อม พัฒนำระบบ Smart form เข้ำมำช่วยผูป้ ระกอบกำร และจัดสร้ำง ระบบฐำนข้อมูลและติดตำมกำรขนส่งกำก (GPS) ทั้งนี้มีรถบรรทุก กำกอันตรำยทีไ่ ด้ขนึ้ ทะเบียนกับกรมโรงงำนอุตสำหกรรมและจะต้อง ติดตัง้ GPS จ�ำนวน 3,426 คัน ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้ำงควำมร่วมมือและแรงจูงใจกับผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย เพื่อให้มีควำมตระหนัก ควำมรู้และควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับ กำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม และมีระบบฐำนข้อมูลทีม่ ปี ระสิทธิภำพ สำมำรถรองรับปริมำณงำนและใช้งำนได้โดยสะดวก รวมทัง้ กำรเพิม่ รำงวัลสินบนน�ำจับส�ำหรับประชำชนผูแ้ จ้งเบำะแส ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้ำงเครือข่ำยกับหน่วยงำนภำครัฐและเอกชน ทัง้ ภำยในและต่ำงประเทศ เพือ่ สนับสนุนด้ำนวิชำกำร เทคโนโลยี กำร จัดหำพืน้ ทีร่ องรับกำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรมในอนำคต และตรวจ สอบกำรขนส่งกำกอุตสำหกรรม
DECEMBER 2015
ยุทธศาสตร์ที่ 4 แก้ไข/ปรับปรุงกฎหมำย กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรค เพิ่มบท ลงโทษ อ�ำนวยควำมสะดวกให้แก่ผปู้ ฎิบตั ติ ำมกฎหมำย และออกระเบียบให้พนักงำน เจ้ำหน้ำทีม่ วี ธิ ปี ฏิบตั งิ ำนทีช่ ดั เจน หำกกำรด�ำเนินงำนของกรมโรงงำนเป็นไปตำมยุทธศำสตร์ทงั้ 4 ข้อนี้ เชือ่ มัน่ ว่ำกำร บริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรมจะเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ เพียงพอต่อกำรรองรับ กำกอุตสำหกรรมทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนำคต สำมำรถผลักดันโรงงำนทัว่ ประเทศเข้ำระบบ จัดกำรกำกฯ ได้ไม่นอ้ ยกว่ำ 90% ภำยใน 5 ปี เป็นกำรช่วยส่งเสริมรักษ์สงิ่ แวดล้อม ได้อย่ำงยัง่ ยืนอีกทำงหนึง่ ถ้ำให้มองในมุมของสถำนกำรณ์กำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรมในปัจจุบัน ซึ่งจำก ข้อมูลในระบบกำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม ณ ปัจจุบนั (เมือ่ วันที่ 30 ก.ย. 58) โรงงำน ผูก้ อ่ ก�ำเนิดกำกอุตสำหกรรม (Waste Generator) ได้ลงทะเบียนแสดงควำมประสงค์ที่ จะเป็นผูข้ ออนุญำตจัดกำรกำกอุตสำหกรรมของตนเองทำงระบบอินเตอร์เน็ต ในระบบ กำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ของกรมโรงงำนอุตสำหกรรมแล้ว รวม 27,085 โรงงำน คิดเป็น 39% ของโรงงำนผูก้ อ่ ก�ำเนิดกำกอุตสำหกรรม (จ�ำพวก 3) ทัง้ หมดจ�ำนวน 69,735 โรง จะเห็นได้วำ่ มีผปู้ ระกอบกิจกำรยังไม่ได้เข้ำสูร่ ะบบกำร จัดกำรกำกอุตสำหกรรมอีกจ�ำนวนมำก ทั้งยังมีปัญหำร้องเรียนกำรลักลอบทิ้งกำก อุตสำหกรรมตำมทีส่ ำธำรณะต่ำง ๆ รวมทัง้ ทีด่ นิ ส่วนบุคคล หรือทีด่ นิ ทีร่ กร้ำงว่ำงเปล่ำ และจำกปัญหำกำรลักลอบทิ้งกำกอุตสำหกรรมในปัจจุบัน ที่รัฐบำลได้บรรจุ ประเด็นกำรแก้ไขปัญหำดังกล่ำวให้เป็นวำระเร่งด่วน และมอบหมำยให้กระทรวง อุตสำหกรรมหำแนวทำงมำตรกำรกำรด�ำเนินกำรเกี่ยวกับกำกอุตสำหกรรม จำก แผนกำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม 5 ปี (พ.ศ. 2558 – 2562) ภำยใต้ยุทธศำสตร์ ที่ 3 กรมโรงงำนอุตสำหกรรม ได้รบั กำรสนับสนุนจำกเครือข่ำยโดยได้รบั ควำมร่วมมือ จำกรัฐบำลญี่ปุ่น ผ่ำนกระทรวงเศรษฐกิจ กำรค้ำ และอุตสำหกรรม (METI) ใน ลักษณะกำรสนับสนุนผูเ้ ชีย่ วชำญและองค์ควำมรูต้ ำ่ ง ๆ ในกำรศึกษำเพือ่ จัดหำพืน้ ทีท่ ี่ มีศกั ยภำพในกำรพัฒนำเป็นนิคมอุตสำหกรรมบริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรม 6 แห่ง VOLUME 7 ISSUE 85
ตำมภูมิภำคต่ำง ๆ ทั่วประเทศ โดยกำรคัดเลือกพื้นที่ที่มี ศักยภำพทีเ่ หมำะสมในกำรรับรองอุตสำหกรรมทีจ่ ะขยำยตัว ในอนำคต 20-30 ปีขำ้ งหน้ำ เพือ่ ให้กระทรวงอุตสำหกรรม สำมำรถวำงแผนในกำรบริหำรจัดกำรกำกอุตสำหกรรมใน แต่ละพืน้ ทีอ่ ย่ำงเหมำะสม ลดปัญหำกำรลักลอบทิง้ อันเนือ่ ง มำจำกต้นทุนกำรขนส่ง/กำรจัดกำรทีเ่ หมำะสม ไม่เป็นภำระ จนเกินควรแก่ผปู้ ระกอบกำร จำกปัญหำดังกล่ำว ท�ำให้ปจั จุบนั มีกำรน�ำระบบกำรจัดซือ้ จัดจ้ำงสินค้ำและบริกำรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Purchasing) หรือ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่ำ สิ น ค้ ำ อื่ น บริ ก ำรอื่ น ที่ ท� ำ หน้ ำ ที่ อ ย่ ำ งเดี ย วกั น โดยกำร พิจำรณำตลอดวัฏจักรชีวติ ของสินค้ำหรือบริกำรนัน้ ๆ เริม่ ตัง้ แต่ กำรจัดหำวัตถุดบิ กำรผลิต กำรบรรจุหบี ห่อ กำรขนส่ง กำรใช้งำน และกำรจัดกำรซำกผลิตภัณฑ์หลังหมดอำยุกำรใช้งำน ส� ำ หรั บ แนวคิ ด ในกำรจั ด ซื้ อ จั ด จ้ ำ งที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อมนั้น มีวัตถุประสงค์หลัก ๆ คือ ช่วยกันอนุรักษ์ พลังงำน ประหยัดทรัพยำกร ประหยัดวัตถุดบิ ลดปริมำณขยะ ไม่ใช้สำรประกอบหรือสำรเคมีอนั ตรำยหรือใช้นอ้ ยลง ลดกำร ปล่อยมวลสำรออกสูส่ งิ่ แวดล้อม และใช้วตั ถุกบิ ทีส่ ำมำรถย่อย สลำยได้งำ่ ย ซึง่ ประชำชนผูเ้ ป็นผูบ้ ริโภคสำมำรถเลือกทีจ่ ะได้ ใช้สนิ ค้ำทีช่ ว่ ยรักษำสิง่ แวดล้อม มีผลต่อสุขภำพทีด่ ี และรักษำ สิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ช่วยปลูกฝังค่ำนิยมให้สงั คมร่วมกันอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อมไปด้วย โดยกระบวนกำรผลิตของธุรกิจตั้งแต่ ลดกำรใช้ทรัพยำกร สำรที่เป็นพิษต่อมนุษย์ และไม่ท�ำลำย สิง่ แวดล้อม และลดปริมำณขยะทีเ่ กิดขึน้ ได้ และอย่ ำ งที่ ก ล่ ำ วไปข้ ำ งต้ น ว่ ำ กำกอุ ต สำหกรรมมี ทั้งกำกอุตสำหกรรมที่เป็นอันตรำยและไม่อันตรำย ทั้งนี้ กำกอุตสำหกรรมมีทงั้ ส่วนทีส่ ำมำรถน�ำกลับมำใช้ประโยชน์ได้ เช่น กำรน�ำมำท�ำเป็นเชือ้ เพลิงทดแทน ท�ำเชือ้ เพลิงผสม เผำ เพือ่ เอำพลังงำน น�ำเป็นวัตถุดบิ ทดแทนในเตำเผำปูนซีเมนต์ รวมถึ ง กรมโรงงำนอุ ต สำหกรรมยั ง ได้ ด� ำ เนิ น กำรในแนว ส่งเสริมผู้ประกอบกำรโรงงำน โดยด�ำเนินงำนผ่ำนโครงกำร ส่งเสริมกำรใช้ประโยชน์กำกของเสียเพือ่ ส่งเสริมและกระตุน้ ควำมรู้ควำมเข้ำใจของภำคอุตสำหกรรมในกำรใช้ประโยชน์ กำกอุตสำหกรรม และกำรหมุนเวียนใช้ประโยชน์ของเสีย และลดปริมำณของเสียที่ต้องก�ำจัด โดยเฉพำะกำรฝังกลบ น�ำระบบ 3Rs มำใช้ในกำรบริหำรจัดกำรของเสีย ตัวอย่ำงเช่น ผลิตเชือ้ เพลิงอัดแท่งจำกกำกตะกอนจำกระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย เศษผัก ผลไม้ทเี่ ป็นวัตถุดบิ ของโรงงำนผลิตผัก และเศษพริก กระเทียม ตะไคร้ ของโรงงำนผลิตน�้ำจิ้ม พริกแกง ผลิต ปุย๋ อินทรียจ์ ำกกำกตะกอนจำกระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียของโรงงำน ผลิตผัก ผลไม้อบแห้ง และจำกกำกปูนขำวจำกโรงงำนผลิต เยือ่ กระดำษ ในส่วนของกำกอุตสำหกรรมบำงส่วนทีไ่ ม่สำมำรถน�ำกลับ มำใช้ประโยชน์ใหม่ได้นนั้ มำจำกคุณสมบัตขิ องตัวผลิตภัณฑ์ นั้น ๆ เอง และรวมถึงในประเทศไทยยังไม่มีเทคโนโลยีที่ สำมำรถน�ำไปรีไซเคิลได้
E N E R G Y S AV I N G
95
EnErgy rEport TEXT : คุณชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
สวทช. จับมือ สถาปัตย์ มจธ. จัดสัมมนา การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจเพื่อสุขภาวะที่ดี ในการอยู่อาศัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Eco-Design for Healthy and Environmental-Friendly Living
Green growth หรือ การพัฒนาสีเขียว เป็นนโยบายเพื่อผลักดันเศรษฐกิจของโลก ให้เติบโตไปในทิศทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน ซึ่งเป็นแนวคิดที่ริเริ่มจาก ภูมิภาคเอเชีย โดยก�าหนดเป็นนโยบายเชิงบังคับส�าหรับประเทศในกลุ่มภูมิภาคเอเชีย แปซิฟิกในการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อบรรเทาปัญหาความยากจนและบรรลุเป้าหมาย ในทางสังคม อย่างไรก็ตามความรุนแรงของปัญหาการเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม การเปลี่ ย นแปลงของสภาพภู มิ อ ากาศ และการลดลงของทรั พ ยากรธรรมชาติ ต้องการแนวทางใหม่ส�าหรับการขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภูมิภาคนี้ 96
E N E R G Y S AV I N G
ในช่วงศตวรรษที่ 21 นี้ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีการ เติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจัยที่ส่งผล ต่อการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้สืบเนื่องจาก ปริมาณการส่งออกที่มากขึ้น ส่งผลให้มีการเติบโตในภาค การผลิตอย่างรวดเร็ว การเติบโตนี้เองเป็นการเพิ่มภาระ ทางสิ่งแวดล้อมให้กับหลายประเทศในภูมิภาคนี้ ปัจจุบัน ประเทศเหล่านี้กลายเป็นผู้รับผิดชอบภาระทางสิ่งแวดล้อม ที่เกิดจากการเป็นฐานการผลิตเพื่อผู้คนทั่วทั้งภูมิภาคและ ทั่วโลก ผลกระทบเหล่านี้เป็นแรงขับเคลื่อนหลักที่จะน�าไปสู่ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการบริโภค ซึ่งจ�าเป็นจะต้องมี นโยบายรองรับควบคู่ไปกับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิต เพื่อให้มั่นใจว่าการพัฒนาเหล่านี้จะส่งผลให้เกิดความยั่งยืน ทางสิ่งแวดล้อม ความเชื่อเดิม ๆ ที่ว่า “สร้างก่อน..เก็บกวาด ทีหลัง (Grow first, clean up later)” เป็นแนวคิดทีไ่ ม่สามารถ ใช้กับภูมิภาคนี้ได้แล้ว เนื่องจากการมีอยู่อย่างจ�ากัดของ ทรัพยากรธรรมชาติ และการเพิ่มของประชากรอย่างรวดเร็ว ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อปริมาณทรัพยากรธรรมชาติใน สภาพปัจจุบนั พลังงาน อาหาร และวิกฤตการเงิน เป็นปัจจัยที่ มีผลให้ประเทศเหล่านัน้ ต้องประเมินวิถกี ารพัฒนาประเทศใน รูปแบบใหม่ การเปลี่ยนแปลงแนวความคิดในการพัฒนาจาก รูปแบบ “สร้างก่อน..เก็บกวาดทีหลัง” มาเป็นแนวความคิด ทีเ่ พิม่ ความรับผิดชอบในระยะยาวเป็นปัจจัยหนึง่ ทีจ่ ะส่งเสริม ให้แนวคิดการพัฒนาสีเขียวประสบผลส�าเร็จ รัฐบาลสามารถ ผลักดันนโยบายนี้ด้วยการส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจ พร้อมกับการมุ่งเน้นความห่วงใยสิ่งแวดล้อมและสังคม ซึ่งมี หลักในการด�าเนินการการพัฒนาสีเขียว คือ การบริโภคและ การผลิตอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption and Production : SCP) ซึ่งการน�าแนวคิดเกี่ยวกับการบริโภค และการผลิตอย่างยั่งยืน มาปรับใช้เป็น การเพิ่มโอกาสให้ ประเทศนั้นปรับปรุงประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Ecoefficiency) ของการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ แนวคิดดังกล่าว เป็นแนวคิดที่มองว่า ระบบนิเวศของโลกนั้นมีขีดจ�ากัดในการ รองรับมลพิษและจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ วิธีการเดียวที่ จะช่วยรักษาระดับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว โดยไม่ให้เกิดผลกระทบจนถึงขีดจ�ากัดที่ว่า คือ การแบ่ง DECEMBER 2015
แยกการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจออกจากความเสื่อมโทรมของ สิง่ แวดล้อม ในทางปฏิบตั หิ มายถึง “การใช้ประโยชน์ให้มากขึน้ และ ใช้ในปริมาณที่น้อยลง (Getting more from less)” ซึ่งรวมถึง การผลิตที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลที่มากขึ้น โดยใช้วัตถุดิบ น้อยลง การเปรียบเทียบผลประโยชน์ การเพิ่มมูลค่าให้สินค้า ด้วย กระบวนการที่ก่อให้เกิดขยะและมลภาวะน้อยลง รวมถึงการเพิ่ม จ�านวนผู้บริโภคที่มีแนวคิดในการลดการใช้พลังงาน ทรัพยากรน�้า และการสร้างขยะ นวัตกรรมหลักซึ่งเป็นจุดแข็งของการบริโภคและการผลิตอย่าง ยั่งยืน คือการส่งเสริมทัศนคติแบบองค์รวม ซึ่งพิจารณาวัฏจักรชีวิต ของผลิตภัณฑ์และบริการ ร่วมกับ กระบวนการผลิตและวิถีการ บริโภคที่เกี่ยวข้อง รวมถึงผลลัพธ์สุดท้ายในมุมมองทั้ง 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และสังคม โดยภาครัฐมีหน้าทีส่ ร้างสิง่ แวดล้อมที่ น�าไปสูก่ ารลงทุนทีจ่ า� เป็นส�าหรับการจัดสรรทางเลือกในการบริโภค อย่างยั่งยืน และด้วยภารกิจหลักของโปรแกรม iTAP ภายใต้ ส�านักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ สวทช. คือการ ส่งเสริมผู้ประกอบการในการสร้างนวัตกรรมหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์ โดยใช้เทคโนโลยี จึงจัดอบรมสัมมนาในหัวข้อ “การออกแบบเชิง นิเวศเศรษฐกิจเพื่อสุขภาวะที่ดีในการอยู่อาศัยและเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม” (Eco-Design for Healthy and EnvironmentalFriendly Living) ซึ่งค�าว่า Eco-Design (Ecology + Economy Design) หรือ การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ คือ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์และบริการโดยค�านึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Ecology) รวมทัง้ ปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์ (Economy) ไปพร้อม ๆ กับมิตดิ า้ น สิ่งแวดล้อมจะถูกบูรณาการ ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ โดยพิจารณาตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (Product Life Cycle) ตัง้ แต่การได้มาซึง่ วัตถุดบิ ในการผลิต การผลิตการขนส่ง การน�าไปใช้ ไปจนกระทัง่ การก�าจัดทิง้ หลังการใช้งาน โดยมุง่ ลดการ เกิดกากของเสีย การยืดระยะเวลาการใช้งาน รวมไปถึงการเพิ่ม สัดส่วนการน�ากลับมาใช้ใหม่ ท�าให้การออกแบบผลิตภัณฑ์นอกจาก ต้องตอบโจทย์ดา้ นการใช้งาน ประสิทธิภาพในการผลิต และคุณภาพ แล้ว จ�าเป็นทีจ่ ะต้องให้ความส�าคัญต่อมิตทิ างด้านสิง่ แวดล้อมเพิม่ ขึน้ เพื่อน�าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development) ในการผลิตสินค้าหรือบริการ ผู้ประกอบการ หรือผู้ผลิตสินค้า จ�าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้าใจบริบทต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ พฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป อาทิ 1). ภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งรัฐและเอกชน : มีการเผยแพร่ความรู้ ในเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อม ให้แก่ ประชาชนอย่างทั่วถึง ประชาชน ให้ ค วามใส่ ใจเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มเพิ่ ม มากขึ้ น โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในประเทศในสหภาพยุโรปที่ผู้บริโภคมีความตระหนักในปัญหา สิ่งแวดล้อมในระดับที่สูงมาก ความต้องการมีส่วนรับผิดชอบในการ แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ท�าให้ผู้บริโภคให้ความใส่ใจกับผลิตภัณฑ์ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บสิ่ ง แวดล้อม รวมไปถึงการออกแบบที่ค�านึงถึงสิ่ง แวดล้อม (Eco-Design) มากขึ้น 2). การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี 3). การเปลี่ยนแปลงรูปแบบด้านเศรษฐศาสตร์และสังคม Eco-Design Strategy หรือ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม มีกลไกเชิงกลยุทธ์ 7 ข้อหลัก ที่ผู้ประกอบการสามารถ น�าไปพัฒนาสินค้าและบริการที่มีอยู่ ดังต่อไปนี้ VOLUME 7 ISSUE 85
ขอบคุณ อ.วราลักษณ์ แผ่นสุวรรณ ส�าหรับข้อมูลจากการจัดอบรมสัมมนา ในวันเปิดตัวโครงการฯ
1. ลดการใช้วัสดุที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2. ลดปริมาณและชนิดของวัสดุที่ใช้ 3. ปรับปรุงกระบวนการผลิต 4. ปรับปรุงระบบการขนส่งผลิตภัณฑ์ 5. ปรับปรุงขั้นตอนการใช้ผลิตภัณฑ์ 6. ปรับปรุงอายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ 7. ปรับปรุงขั้นตอนการทิ้งและการท�าลายผลิตภัณฑ์ ผูป้ ระกอบการทีส่ นใจจะเรียนรูเ้ พิม่ เติมเกีย่ วกับการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-Design) สามารถสมั ค รเข้ า ร่ ว มการอบรมสั ม มนา “การออกแบบเชิ ง นิเวศเศรษฐกิจเพื่อสุขภาวะที่ดีในการอยู่อาศัยและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” (Eco-Design for Healthy and Environmental-Friendly Living) ซึง่ ให้การ สนับสนุนโดยโปรแกรม ITAP และ Future Living Lab คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มจธ. ที่จะจัดขึ้นในวันพฤหัสที่ 17 ธันวาคม 2558 อาคาร Knowledge Exchange (KX); สถานีรถไฟฟ้า BTS วงเวียนใหญ่ ในงานสัมมนาท่าน จะได้เรียนรู้จากผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายสาขา ทั้งที่เป็นนักวิชาการ นักวิจัย และ ผูป้ ระกอบการตัวจริง ในเรือ่ งราวต่าง ๆ ทีท่ า่ นสามารถน�าไปพัฒนาต่อยอดธุรกิจ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมงานสัมมนายังสามารถสมัคร เข้ารับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญ ในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ ตามแนวทาง Eco-Design เช่น อนาคตของการอยูอ่ าศัย (Future of Living), บ้านนาโน, กระเบือ้ ง ฟอกอากาศลดมลภาวะ, นวัตกรรมจากเศษขยะ (Innovation from Trashes) เช่น การพัฒนาเศษขยะถ่านไฟฉายสู่ทางเดินแม่เหล็กเพื่อคนพิการ รวมถึงการน�าเสนอ กรณีศึกษาการต่อยอดจาก OEM สู่ OBM ด้วยนวัตกรรม เช่น การพัฒนาร้านค้า ส�าเร็จรูปเพื่อลดเศษวัสดุก่อสร้าง (Instant Retail), กรณีศึกษาการสร้างสรรค์ ต่อยอดเศษวัสดุจากกระบวนการผลิต เช่น การพัฒนาฟิลม์ ผ้าส�าหรับตกแต่งกระจก (Restickable Decorative Film) เป็นต้น หากท่านมีความสนใจจะขอรับการสนับสนุนเพือ่ วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ ต้องการเข้ารับฟังการอบรมสัมมนาในวันพฤหัสที่ 17 ธันวาคม 2558 ที่อาคาร Knowledge Exchange (KX); สถานีรถไฟฟ้า BTS วงเวียนใหญ่ สามารถสอบถาม ข้อมูลเพือ่ ขอรับการสนับสนุนได้ที่ คุณชนากานต์ สันตยานนท์ โทรศัพท์ 0-2564-7000 ต่อ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@nstda.or.th แหล่งอ้างอิงข้อมูล https://en.wikipedia.org/wiki/Eco-innovation http://www.thaiecoproduct.com/index.php/knowledge2/13-knowledge-ecodesign.html http://www.nstda.or.th/news/419-ecodesign E N E R G Y S AV I N G
97
Green Society TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
กรมป่าไม้ ร่วมกับ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ากัด (มหาชน)
ประกาศผลการประกวดป่าชุมชนตัวอย่าง โครงการ “คนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน” พลเอกสุรศักดิ์ กาญจนรัตน์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า การด�าเนินการด้านป่าชุมชน ได้มีการขยาย และเพิ่ ม โอกาสให้ ชุ ม ชนร่ ว มจั ด ตั้ ง ป่ า ชุ ม ชนมาก ยิ่งขึ้น ดังเห็นได้จาก ปัจจุบันมีการจัดตั้งป่าชุมชน จ�านวน 9,470 หมู่บ้าน รวมพื้นที่ป่าชุมชน จ�านวน 4,067,128 ไร่ และเมือ่ เทียบข้อมูลการจัดตัง้ ป่าชุมชน ที่ผ่านมาในอดีต เทียบกับปี พ.ศ. 2551 ถึงปัจจุบัน มีการจัดตั้งป่าชุมชน เพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ กล่าวคือ ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. 2551 ถึ ง ปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง มากกว่า จ�านวน 3,534 หมู่บ้าน เป็นพื้นที่ป่าชุมชน จ� า นวน 1,956,549 ไร่ อั น เป็ น ผลสื บ เนื่ อ งจาก การได้รับการสนับสนุนการด�าเนินการจากบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ากัด (มหาชน) ตามโครงการ “คนรักษ์ป่า ป่ารักชุมชน” ซึ่งเริ่มด�าเนินการในปี พ.ศ.2551 เป็นต้นมา ด้านคุณรัมย์ เหราบัตย์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ากัด (มหาชน) เปิดเผยว่า โครงการ “คนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน” เป็นความ ร่วมมือระหว่างบริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ากัด (มหาชน) และกรมป่าไม้ซึ่งได้เริ่มด�าเนินการอย่าง ต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2551 และถือเป็นโครงการหลัก ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ CSR ของบริษทั ฯ ซึง่ ตอบสนองเจตนารมณ์และความมุง่ มัน่ ของบริษทั ฯ ที่จะด�าเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการสร้างการเติบโตของ องค์ ก รอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ภายใต้ แ นวคิ ด “คนอยู ่ ดี ธรรมชาติอยูไ่ ด้” ซึง่ หมายถึงการอยูร่ ว่ มอย่างเกือ้ กูลกัน ระหว่ า งคนกั บ ธรรมชาติ บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความส� า คั ญ และความจ� า เป็ น ของการอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้าน ป่าไม้ ซึ่งเป็นแหล่งอาหารของชุมชน และเป็นที่อยู่ อาศัยของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ และที่ส�าคัญคือเป็นแหล่ง กักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทางธรรมชาติที่มี ประสิทธิภาพ ช่วยบรรเทาภาวะโลกร้อนได้เป็นอย่างดี การด�าเนินงานโครงการในปี 2558 ทีผ่ า่ นมา นับได้วา่ ประสบความส� า เร็ จ เป็ น ที่ น ่ า พอใจยิ่ ง ที่ เ ห็ น เป็ น รูปธรรมชัดเจนคือป่าชุมชนจดทะเบียนทีส่ มัครเข้าร่วม โครงการของเรามีจา� นวนถึง 1,204 แห่ง เพิม่ ขึน้ จาก 98
E N E R G Y S AV I N G
ปีที่ผ่าน ๆ มาเป็นอย่างมาก แสดงถึงความตระหนักและตื่นตัวในเรื่องการดูแลรักษาป่าไม้ ของชุมชน สามารถขยายผลเพื่อให้สังคมได้รับรู้และเข้าใจแนวคิดของป่าชุมชนมากขึ้น เกิดความตระหนักในความส�าคัญและคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการประกวดป่าชุมชนตัวอย่าง โครงการ “คนรักษ์ปา่ ป่ารักชุมชน” ประจ�าปี 2558 มีป่าชุมชนที่ได้รับรางวัล รวม 137 ป่าชุมชน ดังนี้ • รางวัลชนะเลิศระดับประเทศ ประจ�าปี พ.ศ 2558 ได้แก่ ป่าชุมชนบ้านต่อแพ หมู่ที่ 1 ต.แม่เงา อ.ขุนยวม จ.แม่ฮ่องสอน ได้รับรางวัลถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ป้ายประกาศเกียรติคุณ และเงินกองทุนอนุรักษ์ป่าชุมชน 200,000 บาท • รางวัลป่าชุมชนรองชนะเลิศระดับประเทศ ประจ�าปี พ.ศ 2558 ได้แก่ ป่าชุมชน สวนสมเด็จเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ หมูท่ ี่ 2,3,5,7 ต.ชะอวด อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช ป่าชุมชนบ้านตะเกราทอง หมู่ที่ 6 ต.บ้านแลง อ.เมืองระยอง จ.ระยอง และ ป่าชุมชนบ้านหัวบึง หมูท่ ี่ 9 ต.ทรายมูล อ.น�า้ พอง จ.ขอนแก่น รับถ้วยรางวัล และ เงินกองทุนอนุรักษ์ป่าชุมชน รางวัลละ 100,000 บาท • รางวัลป่าชุมชนดีเด่นด้าน “เยาวชนคนรักษ์ปา่ ” ประจ�าปี 2558 ได้แก่ ป่าชุมชน โนนใหญ่ หมู่ที่ 3 ต.เสียว อ.โพธิ์ศรีสุวรรณ จ.ศรีสะเกษ รับถ้วยรางวัล และ เงินกองทุนอนุรักษ์ป่าชุมชน 100,000 บาท • รางวัลรองชนะเลิศ ป่าชุมชนดีเด่นด้าน “เยาวชนคนรักษ์ป่า” ประจ�าปี 2558 ได้แก่ ป่าชุมชนบ้านปางงุน้ หมู่ 6 ต.สรอย อ.วังชิน้ จ.แพร่ ป่าชุมชนบ้านพุตมู หมูท่ ี่ 5 ต.ห้วยลึก อ.บ้านลาด จ.เพชรบุรี และ ป่าชุมชนบ้านต้นตาล หมู่ที่ 2 ต.จอเบาะ อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส รับถ้วยรางวัล และเงินกองทุนอนุรักษ์ป่าชุมชน 25,000 บาท นอกจากนี้ ยังมีรางวัลป่าชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด จ�านวน 65 รางวัล จะได้รับ โล่ประกาศเกียรติคุณ และเงินกองทุนอนุรักษ์ป่าชุมชนแห่งละ 25,000 บาท และรางวัล ชมเชย จ�านวน 64 รางวัล ได้รบั โล่ประกาศเกียรติคณ ุ และเงินกองทุนการอนุรกั ษ์ปา่ ชุมชน แห่งละ 10,000 บาท DECEMBER 2015
Green Society TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
แอลจี
บริษทั แอลจี อีเลคทรอนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด น�าโดย คุณนิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู ้ อ� า นวยการฝ่ า ยการตลาด จั ด กิ จ กรรม “Life’s Good…Life’s Bright เติมแสงไฟ ให้ชมุ ชน” มอบจักรยานพลังงานและแบตเตอรี่ แก่ชาวบ้านในหมูบ่ า้ นเชิงเขาคีรี อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์ เพื่อน�าไปใช้ประโยชน์ในด้าน พลังงาน โดยเฉพาะการให้แสงสว่างในยาม กลางคืน โดยมี ว่าที่ ร.ต.ปรีชา พลับน้อย นายอ�าเภอโกรกพระ เป็นตัวแทนรับมอบ ในปีทผี่ า่ นมา แอลจีได้มกี ารจัดคาราวาน โรดโชว์เพื่อน�าเสนอข้อมูลและสาธิตการใช้ ผลิตภัณฑ์แก่ลูกค้าทั่วประเทศ โดยหนึ่งใน กิจกรรมหลักของคาราวานนี้ คือการเชิญชวน ให้ ลู ก ค้ า ปั ่ น จั ก รยานพลั ง งานเพื่ อ แปลง 100
E N E R G Y S AV I N G
มอบจักรยาน พลังงานเพือ่ แสงสว่าง
พลังงานจากการปั่นมาเป็นไฟฟ้าบรรจุลงใน แบตเตอรี่ ซึ่ ง กิ จ กรรมดั ง กล่ า วได้ รั บ การ ตอบรับเป็นอย่างดี คุณนิพนธ์ วงษ์แสงอรุณศรี ผู้อ�านวย การฝ่ายการตลาด กล่าวว่า “แอลจียังคง มุ่งมั่นสานต่ อ เจตนารมณ์ ที่ต ้ องการสร้ า ง คุณภาพชีวิตที่ดีตามสโลแกน Life’s Good ของแอลจี เราจึงขอมอบจักรยานพลังงาน และแบตเตอรี่ให้แก่ชาวบ้าน หมู่บ้านเชิงเขา คีรี อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์ เพือ่ น�าจักรยาน เหล่านี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์โดยเฉพาะด้าน แสงสว่ า งภายในครั ว เรื อ นต่ อ ไป อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การให้ ค วามรู ้ แ ก่ นั ก เรี ย นและ ประชาชนได้ ถึ ง ที่ ม าและเข้ า ใจต้ น ก� า เนิ ด ของพลังงานอีกด้วย” DECEMBER 2015
แวดวงนักพลังงาน TEXT : ไบโอ
การศึกษา
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (อุตสาหการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติส่วนตัวและประวัติการท�างาน
วิศวกรตรวจโรงงาน ผู้อ�านวยการส�านักบริหารยุทธศาสตร์ ผู้อ�านวยการส�านักงานทะเบียนเครื่องจักรกลาง ผู้อ�านวยการส�านักเทคโนโลยีความปลอดภัย
ผลงานด้านพลังงานที่ภาคภูมิใจ
คุณประสงค์ นรจิตร์ ต�ำแหน่งปัจจุบนั : รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ทีอ่ ยู่ : 22 ซอยสุขสวัสดิ์ 20 แยก 2 เขตราษฎร์บรู ณะ กรุงเทพฯ โทรศัพท์ : 0-2202-4105, 08-1919-4276 โทรสำร : 0-2202-4053 อีเมล : prasong.n@diw.mail.go.th
เป็นผู้ด�าเนินโครงการประหยัดพลังงานส�าหรับโรงงานขนาดเล็ก เป็นประธานกรรมการประหยัดพลังงานของหน่วยงาน เป็นกรรมการตัดสินรางวัล Thailnad Energy award
งานอดิเรก
เล่นกีฬา อ่านหนังสือ
ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต ปริญญาโท สถาบันราชภัฏธนบุรี หลักสูตรการตลาด MMM รุ่น 45 จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย หลักสูตร การบริหารความมั่งคั่งของ ธนาคาร TISCO รุ่นที่ 2 TISCO Wealth Enhancement Program (TISCO WEP) #2
ประสบการณ์ท�างาน
คุณวรยุทธ กิตติอุดม ต�ำแหน่งปัจจุบัน : กรรมการผู้จัดการ บริษัท รุ่งกิจเรียลเอสเตท จ�ากัด ที่อยู่ : 290/43-44 ซอยรามค�าแหง 122 ถนนรามค�าแหง โทรศัพท์ : 0-2906-5656
102
E N E R G Y S AV I N G
2540-ปัจจุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท รุ่งกิจเรียลเอสเตท จ�ากัด เป็นบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในแถบกรุงเทพฯตะวันออก ท�าโครงการบ้านจัดสรร TOWN HOME และ Home Office มากกว่า 20 โครงการ ผลงานด้านพลังงานที่ภาคภูมิใจ ในการสร้างบ้านแต่ละหลัง บริษัทค�านึงถึงสิ่งแวดล้อมเริ่มตั้งแต่การคัดสรรวัสดุก่อสร้าง เรียกได้ว่า ทุกตารางนิ้วของบ้านแต่ละหลังบริษัทใส่ความตั้งใจเข้าไปด้วยเสมอ
งานอดิเรก
เดินทางท่องเที่ยว, สะสมกาน�้าชาและใบชา, ด�าน�้า, ดูหนัง, ร้องเพลง
DECEMBER 2015
EnErgy gossip TEXT : ไบโอ
เมือ่ ไม่นานมานี้ มูลนิธริ ว่ มทางฝัน ก่อตัง้ โดย บริษทั เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ากัด (มหาชน) มอบรถพยาบาลพร้อมอุปกรณ์ ช่วยชีวติ ตามมาตรฐาน ให้แก่โรงพยาบาลรามาธิบดี น� า ที ม โดย คุ ณ ธี ร วั ฒ น์ ธั ญ ลั ก ษณ์ ภ าคย์ ประธานกรรมการบริหารและกรรมการผู้จัดการ คุ ณ ปฐมพร ตี ร ณสวั ส ดิ์ กรรมการบริ ห าร พร้ อ มด้ ว ย คุ ณ อุ ม าพร ธั ญ ลั ก ษณ์ ภ าคย์ กรรมการ เรียกได้วา่ เป็นบริษทั ยักษ์ใหญ่แถมยัง ใจบุญอีกต่างหาก คุณทวารัฐ สูตะบุตร ผู้อ�านวยการ ส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) หลั ง จากรั บ ต� าแหน่ ง ผู ้ อ� า นวยการ ของ สนพ.ได้ไม่นาน ก็ตั้งหน้าตั้งตาท�างาน อย่างหนักไม่ว่าจะเป็นการออกงานตามงาน แถลงข่าวต่าง ๆ การคิดนโยบายใหม่ ๆ ดู จากงานไม่น่าจะมีเวลาพักผ่อนเลยนะคะเนี่ย ยังไงหาเวลาพักผ่อนบ้าง ทีมงาน ES แอบ เป็นห่วงอยู่ค่า
คุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธาน สถาบั น อาคารเขี ย วไทย และรอง ประธานกรรมการ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ� า กั ด ได้ เ ปิ ด โอกาสให้ ท าง ทีมงาน Energy saving ได้เข้าไปสัมภาษณ์ ถึ ง โต๊ ะ ท� า งาน ณ ส� า นั ก งานใหญ่ กั น แบบ ตั ว ต่ อ ตั ว เลยที เ ดี ย ว บอกได้ เ ลยว่ า ให้ สัมภาษณ์แบบเป็นกันเอง เคลียร์ทุกข้อสงสัย
รศ.ดร.ประจักษ์ พุม่ วิเศษ อธิการบดี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ นอกจากจะเป็นผู้บริหารที่เป็นที่รักของเหล่า บรรดาบุคลากรแล้ว รศ.ดร.ประจักษ์ ยังเป็น บุคคลตัวอย่างในเรื่องของความคิดริเริ่มด้าน การประหยั ด พลั ง งานอี ก ด้ ว ย เรี ย กได้ ว ่ า มีความสามารถเพียบพร้อมไม่แพ้เด็กรุ่นใหม่ เลยนะคะ ความสงสั ย จากหลายฝ่ า ยที่ ม องว่ า ช่ ว งฤดู ฝ น บริ ษั ท ด้ า นพลั ง งานโรง ไฟฟ้า จะเก็บแดดมาเป็นพลังงานโซ ลาร์ได้อย่างไร ...งานนี้หัวเรือใหญ่อย่าง “คุณ ยุทธ ชินสุภัคกุล” ประธาน บมจ.โรงพิมพ์ ตะวันออก หรือ EPCO ก็เลยออกมาชี้แจง แถลงไขว่า ฝนตก ฟ้าร้อง ไม่ใช่ปัญหาใหญ่ เพราะโรงไฟฟ้าบ่อพลอยและลพบุรีสามารถ เก็บแดดได้เต็มพิกัดทุกวัน...แถมบางวันได้ แดดเกิ น ปริ ม าณที่ ตั้ ง ไว้ อี ก ต่ า งหาก ดั ง นั้ น สบายใจหายห่วงได้...เรื่องขายไฟฟ้าเต็มเม็ด เต็มหน่วยเน้น ๆ !!!!
VOLUME 7 ISSUE 85
คุ ณ จอมทรั พ ย์ โลจายะ ประธาน คณะกรรมการ บมจ.ซุปเปอร์บล๊อก (SUPER) ลุยโครงการโซลาร์ฟาร์ม เต็มสูบ! หลังที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นอนุมัติ ซื้อกิจการโซลาร์ฟาร์มเพิ่ม 5 แห่ง รวมก�าลัง การผลิต 290 เมกะวัตต์ เหตุได้มาในราคา เหมาะสมและช่วยหนุนธุรกิจในอนาคต ดัน รายได้และก�าไรเติบโตอย่างยั่งยืน เอื้อจ่าย ปันผลเร็วขึ้น แผนการเงินแข็งแกร่ง-แบงก์ พร้ อ มซั พ พอร์ ต พร้ อ มเดิ น หน้ า ตามแผน ยืนยัน COD ภายในสิ้นปีนี้ ได้ครบตามเป้า 500 เมกะวัตต์ อย่างแน่นอน
E N E R G Y S AV I N G
103
EnErgy movEmEnt TEXT : กองบรรณาธิการ
เชลล์ เฮลิกส์ ให้คุณเตรียมพร้อมทุกสถานการณ์
บริษทั เชลล์แห่งประเทศไทย จ�ำกัด ส่งโปรโมชัน่ ใหม่ลำ่ สุด เพียงซือ้ และเปลีย่ นถ่ำย น�ำ้ มันเครือ่ งเชลล์ เฮลิกส์ อัลตร้ำ ขนำด 4 ลิตร หรือ เชลล์ เฮลิกส์ อัลตร้ำ ดีเซล ขนำด 6 ลิตร รับฟรีทนั ที ถังดับเพลิง อิมพีเรียล ขนำด 2 ปอนด์ มูลค่ำ 890 บำท และ รับฟรี ทันทีชดุ ไขควงอเนกประสงค์ มูลค่ำ 499 บำท เมือ่ ซือ้ และเปลีย่ นถ่ำยน�ำ้ มันเครือ่ งในกลุม่ เชลล์ เฮลิกส์ 5 รุน่ ซึง่ ได้แก่ เชลล์ เฮลิกส์ HX8 ขนำด 4 ลิตร เชลล์ เฮลิกส์ HX8 ดีเซล ขนำด 6 ลิตร เชลล์ เฮลิกส์ HX7 ขนำด 4 ลิตร เชลล์ เฮลิกส์ HX7 ดีเซล ขนำด 6 ลิตร และ เชลล์ เฮลิกส์ HX7G ขนำด 4 ลิตร ตัง้ แต่วนั นีจ้ นถึง 15 กุมภำพันธ์ 2559 หรือจนกว่ำของจะหมด สอบถำม รำยละเอียดเพิม่ เติมได้ทปี่ ม๊ั เชลล์ทรี่ ว่ มรำยกำร
ไดกิ้นเปิดตัวระบบปรับอากาศเพื่อการพาณิชย์ ในงาน VRV One Step Ahead
เมือ่ เร็ว ๆ นี้ คุณประณิธาน พรประภา กรรมกำร บริษทั สยำมไดกิน้ เซลส์ จ�ำกัด น�ำทีมผูบ้ ริหำรระดับสูงของบริษทั ฯ ได้แก่ คุณทากาโยชิ มิกิ ผูจ้ ดั กำรใหญ่ และ คุณบัณฑิต ศรีวลั ลภานนท์ กรรมกำรผูจ้ ดั กำร ร่วมเปิดตัวนวัตกรรมระบบปรับอำกำศ วีอำร์วี โฟร์ ฮีท รีโคฟเวอรี่ ฮอท วอเตอร์ (VRV IV Heat Recovery Hot Water) ซึง่ เป็นอัจฉริยะระบบ ปรับอำกำศแบบรวมศูนย์ทมี่ อบทัง้ ควำมเย็นสบำย และยังสำมำรถน�ำควำมร้อนมำผลิตน�ำ้ ร้อน ใช้ภำยในอำคำร ช่วยลดค่ำใช้จำ่ ยด้ำนพลังงำนและรักษำสิง่ แวดล้อม กำรเปิดตัวดังกล่ำวจัด ขึน้ ในงำนแสดงเทคโนโลยีวอี ำร์วรี นุ่ ใหม่ภำยใต้ชอื่ VRV One Step Ahead ณ ห้องบอลรูม 2 ชัน้ 5 โรงแรม เอส 31
TPCH เปิดโรงไฟฟ้าชีวมวล MWE ให้นักลงทุนเยี่ยมชม
คุณเชิดศักดิ์ วัฒนวิจิตรกุล กรรมกำรผู้จัดกำรใหญ่ พร้อมด้วยคณะผู้บริหำร และพนักงำน บริษัท ทีพีซี เพำเวอร์ โฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหำชน) ถ่ำยภำพร่วมกับนักลงทุน สถำบันที่ บริษทั หลักทรัพย์ ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำเข้ำเยีย่ มชมโรงไฟฟ้ำชีวมวล แม่วงศ์ เอ็นเนอยี่ (MWE) ทีจ่ งั หวัดนครสวรรค์ โดยโรงไฟฟ้ำดังกล่ำวท�ำสัญญำซือ้ ขำยไฟฟ้ำกับ กำรไฟฟ้ำส่วนภูมภิ ำค (กฟภ.) ก�ำลังกำรผลิตไฟฟ้ำเสนอขำย 8 เมกะวัตต์ เดินเครือ่ งจ�ำหน่ำย ไฟฟ้ำเรียบร้อยแล้วในช่วงทีผ่ ำ่ นมำ โดยใช้ระบบขำยไฟฟ้ำในรูปแบบใหม่ คือระบบ Feed in Tariff (FiT)
สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย เดินหน้าสานต่อ แผนยุทธศาสตร์สนับสนุนกลุ่ม SMEs
คุณจุฬาพร กรธรทรัพย์ ประธำนกรรมกำร บริษทั ไทยสมำร์ทไลฟ์ จ�ำกัด ในฐำนะ ประธำนสภำอุตสำหกรรมจังหวัดยโสธร และประธำนคลัสเตอร์อตุ สำหกรรมเกษตรอินทรียไ์ ทย ของสมำพันธ์เอสเอ็มอีไทย ร่วมลงนำมในบันทึกข้อตกลงควำมร่วมมือทำงกำรค้ำ กับทำงผูบ้ ริหำร บริษทั บรอนสัน แอนด์ จำคอบส์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จ�ำกัด โดยมี คุณสนธิรตั น์ สนธิจริ วงศ์ ทีป่ รึกษำ รัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวงอุตสำหกรรม ในฐำนะประธำนสมำพันธ์เอสเอ็มอีไทย พร้อมด้วย คุณสมชาย หาญหิรญ ั อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสำหกรรม กระทรวงอุตสำหกรรม และคุณสมประสงค์ พยัคฆพันธ์ ประธำนกลุม่ คลัสเตอร์เครือ่ งส�ำอำง สมำพันธ์เอสเอ็มอีไทย เข้ำร่วมในพิธลี งนำม บันทึกควำมเข้ำใจระหว่ำงคลัสเตอร์เครือ่ งส�ำอำงไทย ในครัง้ นี้ ซึง่ จัดขึน้ ภำยในงำนแถลงข่ำว ยุทธศำสตร์บรู ณำกำร SMEs อุตสำหกรรมเครือ่ งส�ำอำงไทยสูต่ ลำดโลก 104
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
กฟผ. เสริมศักยภาพโรงไฟฟ้า
กฟผ. อัพเกรดเครื่องกังหันก๊ำซรุ่น GE 9F จ�ำนวนสี่เครื่องที่ใช้อยู่ที่โรงไฟฟ้ำ พระนครเหนือและพระนครใต้ ด้วยเทคโนโลยี Advanced Gas Path ของจีอี ซึง่ จะช่วย เพิม่ ประสิทธิภำพให้กบั เครือ่ งกังหันผลิตไฟฟ้ำ ทัง้ นีโ้ ซลูชนั่ DLN2.6+ และ OpFlex* AutoTune ของจีอีจะเพิ่มศักยภำพกำรผลิตไฟฟ้ำให้สำมำรถเดินเครื่องได้อย่ำงมั่นคง ช่วยควบคุมระดับ กำรปล่อยก๊ำซเรือนกระจก มีควำมยืดหยุน่ ในกำรใช้พลังงำนโดยสำมำรถใช้กำ๊ ซได้ทงั้ ก๊ำซจำก ภำคตะวันตกและภำคตะวันออกของประเทศไทย รวมถึงกำรใช้กำ๊ ซธรรมชำติเหลว (LNG) ทีน่ ำ� เข้ำมำ ซึง่ เป็นกำรเพิม่ ควำมมัน่ คงด้ำนพลังงำนให้กบั ประเทศ
เอสโซ่ (ประเทศไทย) เปิดแคมเปญการตลาดใหม่ล่าสุด
บริษทั เอสโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหำชน) บริษทั ชัน้ น�ำด้ำนปิโตรเลียมและปิโตรเคมี เปิดตัวแคมเปญกำรตลำดใหม่ รวมมูลค่ำของรำงวัลกว่ำ 5.5 ล้ำนบำท พร้อม น�ำเสนอประสบกำรณ์ทเี่ หนือกว่ำสูผ่ บู้ ริโภค ด้วยผลิตภัณฑ์นำ�้ มันเชือ้ เพลิงและน�ำ้ มันหล่อลืน่ คุณภำพสูงและบริกำรทีน่ ำ่ ประทับใจ ณ สถำนีบริกำรน�ำ้ มันเอสโซ่ และศูนย์บริกำรโมบิล 1 ยิง่ ไปกว่ำนัน้ เอสโซ่ฯ ยังได้นำ� เสนอโปรโมชัน่ ทีม่ อบประสบกำรณ์ทปี่ ระทับใจให้แก่ผบู้ ริโภค โดย ลูกค้ำทีเ่ ติมน�ำ้ มันเอสโซ่ทกุ ชนิดครบทุก 600 บำทต่อใบเสร็จ ในระหว่ำงวันนีถ้ งึ 31 มกรำคม 2559 จะได้รบั คูปองเพือ่ เลือกชิงรำงวัลแพ็คเกจเทีย่ วสวนน�ำ้ กำร์ตนู เน็ทเวิรค์ อเมโซน พร้อมทีพ่ กั ส�ำหรับ 4 ท่ำน และบัตรน�ำ้ มัน จ�ำนวน 60 รำงวัล หรือบัตรก�ำนัลช้อปปิง้ เทสโก้ โลตัส ฟรีตลอดปี จ�ำนวน 60 รำงวัล มูลค่ำรำงวัลละ 40,000 บำท รวม 120 รำงวัล นอกจำกนีย้ งั สำมำรถสะสม ชิน้ ส่วนท้ำยคูปอง 2 ใบเพือ่ แลกซือ้ ไอศกรีมแมคโดนัลในรำคำพิเศษได้อกี ด้วย ส�ำหรับข้อมูลเกีย่ ว กับกิจกรรมและโปรโมชัน่ จำกผลิตภัณฑ์เอสโซ่ และโมบิล สำมำรถเข้ำชมได้ที่ www.Esso.co.th และ www.Mobil.co.th
แบ่งปันประสบการณ์เพาะเห็ด
คุณมนตรี บุญจรัส ประธำนชมรมเกษตรปลอดสำรพิษ ได้รบั เกียรติเป็นวิทยำกร บรรยำย ในงำน “ตลำดคลองผดุงกรุงเกษม” เพือ่ ให้ควำมรูด้ ำ้ นกำรเพำะเห็ดยุคใหม่ แบบปลอดภัยไร้สำรพิษ และกำรเพำะเห็ดฟำงในตะกร้ำ รวมถึงแนะน�ำกำรปลูกผักแบบปลอด สำรพิษด้วยเทคนิคพิเศษทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจริง ซึ่งมีผู้สนใจเข้ำร่วมงำนเป็นจ�ำนวนมำก ณ ตลำด อ.ต.ก. สุวรรณภูมิ ประเวศ กรุงเทพมหำนคร เมือ่ เร็ว ๆ นี้
สมอ. เยี่ยมสถานประกอบการ น�าร่อง มอก.9999 เล่ม 1-2556 ไปใช้ประสบความส�าเร็จ
เมือ่ เร็ว ๆ นี้ คุณนพดล จรรยาอดิศยั ผูอ้ ำ� นวยกำรกลุม่ พัฒนำผูป้ ระกอบกำรด้ำนกำร มำตรฐำน ส�ำนักงำนมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อตุ สำหกรรม (สมอ.) เข้ำเยีย่ มชมสถำนประกอบกำร บริษทั โอตำนิเรเดียล จ�ำกัด ทีน่ ำ� มอก.9999 เล่ม 1-2556 มำตรฐำนด้ำนแนวทำงเศรษฐกิจพอเพียง ภำคอุตสำหกรรมไปใช้แล้วประสบควำมส�ำเร็จ ส่งผลให้ธรุ กิจมีกำรเติบโตอย่ำงยัง่ ยืน ซึง่ กำร เยีย่ มชมมี คุณเอกชัย ลิมปิโชติพงษ์ กรรมกำรผูจ้ ดั กำร บริษทั โอตำนิเรเดียล จ�ำกัด พร้อมด้วย ทีมงำนบริษทั ร่วมให้กำรต้อนรับ ณ จ.นครปฐม
VOLUME 7 ISSUE 85
E N E R G Y S AV I N G
105
EvEnt CalEnDaR
DECEMBER
TEXT : จีรพร ทิพย์เคลือบ
2015
นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือนธันวาคม 2558
2-4 ธันวาคม 2558
ชื่องาน : โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานจากกรณีตัวอย่างในอุตสาหกรรมที่ประสบความส�าเร็จ รุ่นที่ 12 (กระดาษ) รายละเอียด : ผู้เข้ารับการอบรมต้องเป็นผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้พลังงาน หรืออนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์กระดาษ หรือผลิตภัณฑ์อโลหะ โดยมีวุฒิการศึกษาไม่ต�่ากว่า ปวช. สาขาใดสาขาหนึ่ง คือ ไฟฟ้า เครื่องกล ช่างยนต์ อุตสาหการ อิเล็กทรอนิกส์ ช่างกลโลหะ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมเซ็นทรัลเพลส จ.สมุทรสาคร ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th
15-17 ธันวาคม 2558
ชื่องาน : อบรมหลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรด้านการอนุรักษ์พลังงานจากกรณีตัวอย่างในอาคารที่ประสบความส�าเร็จ” รุ่นที่ 10 รายละเอียด : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้เล็งเห็นถึงความจ�าเป็นในการอนุรักษ์พลังงานในภาคอาคารธุรกิจ โดยมีมาตรการสนับสนุนในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นองค์ความรู้ เงินทุนสนับสนุนในการปรับเปลี่ยนเครื่องจักรและอุปกรณ์ รวมถึงมาตรการ ด้านภาษี ทั้งนี้ เพื่อให้การด�าเนินมาตรการด้านอนุรักษ์พลังงานในภาคอาคารธุรกิจประสบผลส�าเร็จอย่างเป็นรูปธรรม สถานที่ : โรงแรมปริ้นตันส์ พาร์ค กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th
15-18 ธันวาคม 2558
ชื่องาน : การฝึกอบรมหลักสูตร “การประเมินศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน (ภาคปฏิบัติ) รุ่นที่ 10” รายละเอียด : ผู้เข้ารับการอบรมต้องเป็นผู้รับผิดชอบด้านพลังงานจากโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม หรือผู้มีหน้าที่ท�าการประเมิน ประสิทธิภาพเครื่องจักร (ขั้นตอนที่ 4) ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : อาคารอนุรักษ์พลังงานเฉลิมพระเกียรติ จ.ปทุมธานี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th
17-18 ธันวาคม 2558
ชื่องาน : การฝึกอบรมหลักสูตร “การจัดท�าระบบการจัดการพลังงานตาม ISO 50001” รุ่นที่ 1 รายละเอียด : มาตรฐานระบบการจัดการด้านพลังงาน (Energy management systems – Requirements with guidance for use) โดยความร่วมมือระหว่างส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กับองค์การพัฒนาอุตสาหกรรม แห่งสหประชาชาติ (UNIDO) ภายใต้โครงการการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งการฝึกอบรมบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการพลังงาน ในโครงการ IEE สถานที่ : โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://cotton.tisi.go.th
21-23 ธันวาคม 2558
ชื่องาน : อบรมหลักสูตร การอนุรักษ์พลังงานในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักรและอุปกรณ์ รุ่นที่ 8 รายละเอียด : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน เพื่อพัฒนา บุคลากรของภาคอุตสาหกรรมที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตให้สามารถน�าความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้พลังงาน และเพื่อให้เกิดการเผยแพร่ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานให้กับโรงงานอุตสาหกรรมโลหะมูลฐาน และอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องจักร และอุปกรณ์ ไม่เสียค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น สถานที่ : โรงแรมริชมอนด์ จ.นนทบุรี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : http://bhrd.dede.go.th 106
E N E R G Y S AV I N G
DECEMBER 2015
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K