MISCELLENEOUS 16 BUILDER NEWS 20 AROUND THE WORLD 26 LES MISCELLANEOUS ¾Ô¾Ô¸Àѳ± MUCEM 34 TALKING WITH ARCHAN MANOP ÃкºÃ¶ËÃ×ÍÃÒ§ (CAR VS RAIL) 35 BUILDING CODES & CONCEPT 70 A POINT OF VIEW ¨Ø´μÒÂʶһ¹Ô¡ä·Â: LOW FEE 86 UPDATE IT Video Editor 102 VIEWPOINT 10 ¤‹Ò¹ÔÂÁʶһ˜μ 104 HANG OUT CAFE ‘Town Tree’ Ìҹࡎæ ã¹àÁ×Í§μŒ¹äÁŒ 107 IN THE BOX 108 HANG OUT PLACE Venice Di Iris ¤ÍÁÁÙ¹ÔμÕéÁÍÅÅ ÊØ´à¡ŽÊäμÅ àǹÔÊ 112 ONCE UPON A TIME 114 PHOTOMANIAS 116 ÃͺÃÑéÇ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ 120 áǴǧÊÁÒ¤Á 126 BUILDER CLUB
8
72
DESIGN 72 COVER STORY HOME THEATER | «Ñº ÊзŒÍ¹ áʧÊÕàÊÕ§ 80 IN TREND äÍà´ÕÂμ¡á싧ÃÐàºÕ§¢¹Ò´àÅç¡ ´ŒÇ¢ͧμ¡áμ‹§áºº§‹ÒÂæ 90 TALK TO TALK μ‹ÍÂÍ´¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ‹ ¡ÒÃÊÌҧÊÃä ʶҹ¾ÂÒºÒÅ 94 DESIGNER HUB 98 DESIGNED BY Pedestrian Bridge ÊÔ觻ÅÙ¡ÊÌҧà¾×èͤ¹à´Ô¹à·ŒÒ
114
PRODUCT 44 PRODUCT REVIEW “«‹ÍÁ ÊÌҧ ÁŒÒ§ àÎç´” ʋͧ§Ò¹ “ʶһ¹Ô¡ÍÕÊÒ¹’58” 58 EDITOR’S CHOICE 60 SPECIAL SCOOP ¡Òû‡Í§¡Ñ¹Ê¹ÔÁãËŒ¡Ñºâ¤Ã§ÊÌҧàËÅç¡ ´ŒÇ¡Ò÷ÒÊÕà¤Å×ͺ 62 INNOVATION FOCUS ¹ÇÑμ¡ÃÃÁà¤Ã×èͧ´Ù´½Ø†¹äÃŒÊÒ¨ҡ Dyson 82 INNOVATIVE PRODUCTS 122 ࢌÒμÅÒ´ CONSTRUCTION 36 SMART BUILDER Leica DISTO S910 ·ÕèÊØ´¢Í§à¤Ã×èͧÇÑ´ÃÐÂдŒÇÂàÅà«Íà 40 THE SPECIALIST AheadAll μÑǨÃÔ§àÃ×èͧÃкºàμ×͹ áÅÐÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ 88 PROJECT IN PROGRESS PROPERTY 24 BUILDER REPORT ÍØμÊÒË¡ÃÃÁÅÇ´áÅÐà¤àºÔÅã¹»ÃÐà·Èä·Â 28 DEVELOPER TALK ᏴÕé âÎÁ ¡‹ÍÊÌҧÍ‹ҧÁդسÀÒ¾ ÃѺÊÌҧºŒÒ¹´ŒÇ¤ÇÒÁãʋ㨠32 PROPERTY FOCUS ºÒ§ãËÞ‹-ºÒ§ºÑǷͧ ö俿‡ÒÊÒÂÊÕÁ‹Ç§¨Ðໃ´ãªŒ 5 ¸.¤. 58 áÅÐ Sub-center àÁ×ͧÊíÒ¤ÑÞãËÁ‹áË‹§Í¹Ò¤μ (2/2)
10
44
GREEN 64 IDEA & INNOVATION Big Data à¾×èÍ¡ÒÃÍ͡Ẻ (1) 66 ECO GREEN ÇÔ¸Õ¡ÒÃÍ͡ẺÊÀÒÇй‹ÒʺÒ 㹾×é¹·Õè»ÃѺÍÒ¡ÒÈ 68 GREEN IDEA
36
2nd ANNIVERSARY คณะผู จัดทําฝ ายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮ าส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษา: ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา รศ.มานพ พงศทัต อ.ชวพงศ ชํานิประศาสน ศ.ดร.บัณฑิต จุลาสัย ผศ.รัชด ชมภูนิช ชวลิต สุวัตถิกุล สุกิจ ทรัพย เพิ่มพูน ผศ.ดร.จตุวัฒน วโรดมพันธ ทีมงานฝ ายบริหาร: กรรมการผู จัดการ รองกรรมการผู จัดการ รองกรรมการผู จัดการ Publishing Director ฝ ายขายโฆษณา: Sales Director
ในเดือนตุลาคมนี้ นิตยสาร Builder by TTF ก็จะครบรอบ 2 ป ซึง่ ตลอด เวลาทีเ่ ราได นาํ เสนอบทความและเรือ่ งราวอันหลากหลายแก กลุม ผูอ า น มาจนถึง 24 ฉบับแล วนัน้ ยังคงเป นสิง่ ทีท่ า ทายและก อให เกิดการเรียนรู ทีไ่ ม สน้ิ สุดสําหรับทีมงานเสมอ หวังว ากลุม ผูอ า นของเราจะได รบั เกร็ดความรู และความเพลิดเพลินไปด วยเช นกัน ส วนเรื่องราวของเราภายในนิตยสาร Builder ฉบับนี้ เราจะมาส องงาน สถาปนิกอีสาน’58 กันเสียหน อยก อนงานจะเริ่มขึ้น โดยเราได นําสินค า ที ่น่าสนใจภายในงานมารีว ิวให้อ่านกันก่อน หากใครสนใจตามไป “ซ อม สร าง ม าง เฮ็ด” กันต อภายในงานได เลย และเรายังมีเรื่องราวที่ น าสนใจสําหรับนักเล นโฮมเธียเตอร ในคอลัมน Cover Story ให ตดิ ตาม พร อมพบกับบทสัมภาษณ นกั พัฒนาอสังหาริมทรัพย รุ นใหม ไฟแรงแห ง แลนดี้ โฮม คุณพานิช มณีรัตนะพร ในคอลัมน Developer Talk และ บทสัมภาษณ ผู เชี่ยวชาญทางด านระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล ดร.ลภน โมกขะสมิต กรรมการบริหารบริษทั ซี.ไอ.กรุป จํากัด (มหาชน) ในคอลัมน Talk to Talk นอกจากนี้ยังมีเกร็ดความรู และบทความดีๆ จากคอลัมนิสต อีกหลายท าน ให ได ติดตามอ านกันอีกด วยค ะ และสุดท ายนี้ในโอกาสที่ครบรอบ 2 ป ทางทีมงาน Builder Magazine ขอขอบพระคุณผู มีอุปการะคุณทุกท านและกลุ มผู อ านของเราที่ให การ สนับสนุนนิตยสารของเราเรื่อยมา และหวังเป นอย างยิ่งว าท านจะ ติดตามและสนับสนุนเราต อๆ ไปนะคะ ทีมงานของเราก็จะไม หยุดนิ่ง พร อมที่จะหาเรื่องราวที่น าสนใจและไอเดียใหม ๆ มานําเสนอในฉบับ ต อๆ ไป….มาพร อมก าวเข าสู ป ที่ 3 ไปกับเรานะคะ
คุณชาตรี มรรคา คุณศุภแมน มรรคา คุณศุภวาร มรรคา คุณป ยะนุช มีเมือง คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com
ติดต อฝ ายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดต อฝ ายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดต อฝ ายบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 87716-9976
ณัชชา นันทกาญจน หัวหน ากองบรรณธิการ editor.buildernews@gmail.com
คณะผู จัดทําฝ ายกองบรรณาธิการ: บริษัท แท็งค ดีไซน แอนด โปรดักชั่น จํากัด 1104/31 หมู บ านโนเบิล คิวบ ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2 184 8431 โทรสาร (66) 2 184 8431
ทีมงานฝ ายกองบรรณาธิการ: หัวหน ากองบรรณาธิการ คุณณัชชา นันทกาญจน natcha.tank@gmail.com กองบรรณาธิการ
คุณหนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้ คุณปฏิทิน เวลา คุณภัณฑิรา มีลาภ คุณรักข อักษรา คุณนฤนาท เกรียงไกร คุณประพนธ ชํานาญ
แยกสี / เพลท โรงพิมพ
อาร ตไดเรคเตอร กราฟ กดีไซเนอร
คุณยิ่งยศ จารุบุษปายน คุณวิภาดา โมเลียโรว
12
บริษัท สุรศักดิ์ฟ ล ม จํากัด บริษัท กรังด ปรีซ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด
WHERE TO FIND
“«‹ÍÁ ÊÌҧ ÁŒÒ§ àÎç´” 仡Ѻ§Ò¹ “ʶһ¹Ô¡ ÍÕÊÒ¹ ’58”
“«‹ÍÁ ÊÌҧ ÁŒÒ§ àÎç´” 仡Ѻ§Ò¹ “ʶһ¹Ô¡ÍÕÊÒ¹ ’58” ã¹Çѹ·Õè 9-11 μØÅÒ¤Á 2558 ³ ÅÒ¹â»ÃâÁªÑ¹è ªÑ¹é 1 Èٹ ¡ÒäŒÒà«ç¹·ÃÑžÅÒ«‹Ò ÍشøҹÕ
งานสถาปนิ ก อี ส าน ’58 เป น งานแสดงสิ น ค า ประเภทวั ส ดุ แ ละ เทคโนโลยีก อสร าง และเป นเวทีเผยแพร กิจกรรมการอนุรักษ งาน สถาป ตยกรรมพื้นถิ่น ส งเสริมความรู การพัฒนาปรับปรุงมาตรฐาน อาชีพสถาป ตยกรรม และพัฒนาความเป นอยูข องท องถิน่ โดยเฉพาะ ในภาคอีสาน สําหรับแนวทางในการจัดงานภายใต กรอบความคิด “ESAN RENOVATION : ซ อม สร าง ม าง เฮ็ด” มุ งพาทุกคนกลับ ไปสูต น ทางของความคิด สํารวจภูมปิ ญ ญา และค นหาตัวตนทีอ่ าจจะ เคยหล นหายไป แล วนําความคิดเหล านั้นกลับมา ‘ซ อม’ ด วยความ ‘สร าง’ สรรค เป นการ ม าง (รื้อถอน) เพื่อ เฮ็ด (สร าง) สิ่งใหม จาก แนวคิดที่มีรากฐานจากอดีตเป นต นทุน โดยการทบทวนอดีตนั้น เปรียบเหมือนกับการได กลับเข าไปทําความรูจ กั ตัวเอง กลับไปสํารวจ สิง่ ทีม่ อี ยู สิง่ ทีย่ งั ใช ได และสิง่ ทีค่ วรจะถูกทิง้ ไปเพือ่ ประสิทธิภาพทีด่ ขี น้ึ ภายในงานรวมรวมนิทรรศการที่น าสนใจไว อย างหลากหลาย และครอบคลุมความสนใจทางด านสถาป ตยกรรม อาทิ การจัดนิทรรศการการอนุรกั ษ งานสถาป ตยกรรมพืน้ ถิน่ นิทรรศการกลุม สถาบันการศึกษา การแจกแบบบ าน สัมมนาพิเศษ รวมถึงการจัดประกวดแข งขันเพื่อส งเสริมความรู ด านสถาป ตยกรรม ในส วนของ “นิทรรศการหลัก” จะเป นพืน้ ทีจ่ ดั แสดงผลงานของสถาปนิกสมาชิกสมาคมฯ ในภาคอีสาน และบริษทั ผูร บั ออกแบบ งานสถาป ตยกรรม ฯลฯ “นิทรรศการสถาบันการศึกษา” จัดแสดงผลงานของกลุม สถาบันการศึกษาคณะสถาป ตยกรรมศาสตร จากสถาบันอุดมศึกษาในภาคอีสาน และผลงานจากสถาบันการศึกษาและองค กรจากต างประเทศ “นิทรรศการสถาปนิก” ผู มีคุโณปการต อสมาคมฯ บําเพ็ญประโยชน เพื่อสังคม แวดวงวิชาชีพสถาปนิก อันเป นแบบอย างดีต อคนรุ นหลัง กระตุ น ให เกิดผลงานที่มีคุณภาพ เพื่อให สังคมตระหนักถึงวิชาชีพสถาป ตยกรรมที่มีผลต อสังคมและประเทศชาติ
14
สําหรับเวทีหลัก นอกจากจะเป นพืน้ ทีห่ ลักในพิธเี ป ดแล ว ยังเป นเวทีสําหรับ “กิจกรรมสัมมนา” 3 หัวข อ ตลอดการจัดงาน 3 วัน 1.สัมมนาในหัวข อ “ซ อม สร าง ม าง เฮ็ด” ได รบั เกียรติจาก คุณนําชัย แสนสุภา กรรมการผู จัดการ บริษัท ฉมา และคุณปุยฝ าย คุณาวัฒน กรรมการผู จัดการ บริษัท สถาปนิก สมดุล จํากัด ร วมเป นวิทยากร 2.สัมมนาในหัวข อ “เปลี่ยนบ านเก าเป นบูติคโฮเต็ล” โดย คุณวรพันธุ คล ามไพบูลย และ 3.สัมมนาในหัวข อ “คุยกับราก” โดย คุณปฐมา หรุน รักวิทย ผูก อ ตัง้ CASE STUDIO
ในส วนของกิจกรรมไฮไลท ทนี่ า สนใจ ยกตัวอย างเช น “กิจกรรมสถาปนิกน อย” จัดประกวดวาดภาพในหัวข อ “บ านในฝ นทีฉ่ นั สรรสร าง” พืน้ ที่ “ASA CLUB” เป นจุดนัดพบของเหล าสมาชิกสมาคมฯ “กิจกรรมแจกแบบบ าน” มีการบรรยายแบบบ านตัวอย าง ในขนาด S, M, L และแจกแบบบ านแก ผู สนใจโดยไม เสียค าใช จ าย พร อมตอบสารพันป ญหาเกีย่ วกับบ านโดยกลุม สถาปนิกอาสาผูเ ชีย่ วชาญ ผ าน “กิจกรรมหมอบ าน” ซึง่ อยูค ก ู บั การจัดงานมาโดยตลอด เป นกิจกรรมทีใ่ ห บริการคําปรึกษาแก ประชาชนทัว่ ไป ในเรือ่ งการออกแบบก อสร าง และการซ อมแซมอาคาร รวมทั้งกิจกรรม “งานอาษาไนท ” (ASA’s Night) นอกจากจะมีนิทรรศการด านสถาป ตยกรรม การแสดงจัดผลงาน และการสัมมนาจากเหล าสถาปนิกระดับ แถวหน าแล ว หัวใจสําคัญที่ขาดไม ได คืองานแสดงสินค า วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีก อสร าง ให ผู ชมงาน ได ร วมอัพเดทผลิตภัณฑ ใหม ๆ เพื่อนําไปต อยอดงานก อสร างและออกแบบตกแต ง ให ทันสมัย สวยงาม และตอบโจทย ความต องการมากที่สุด โดยในป นี้บรรดาผู ประกอบการวัสดุก อสร างชั้นนํา ให ความสนใจ นําผลิตภัณฑ นวัตกรรมมานําเสนอกันอย างครบครันและหลากหลาย อาทิ เอสซีจี ซีเมนต -ผลิตภัณฑ กอ สร าง (SCG CEMENT-BUILDING MATERIALS) ผู นาํ ธุรกิจผลิตและจําหน ายผลิตภัณฑ ซเี มนต และสินค าวัสดุ ก อสร างครบวงจร, บริษัท พีซีซี โพสเทนชั่น จํากัด (PCC POST-TENSION) ผู ให บริการงานออกแบบ และติดตั้งโครงสร างพื้นและคานคอนกรีตระบบ POST-TENSION ของอาคารขนาดใหญ และตึกสูง, บริษทั พลังงานทดแทนเพือ่ คนไทย จํากัด (RENEWABLE ENERGY FOR THAI PEOPLE) ผูจ าํ หน ายและ ผูเ ชีย่ วชาญด านการติดตัง้ ระบบพลังงานแสงอาทิตย , บริษทั บลูสโคป บิลดิง้ ส (ประเทศไทย) จํากัด (BLUESCOPE BUILDINGS) ผูเ ชีย่ วชาญ ด านหลังคาเมทัลชีท ผลิตภัณฑ เหล็กเคลือบเพือ่ งานก อสร าง, บริษทั THAIPPR (SYLER GROUP) จํากัด ผู นํานวัตกรรมท อน้ํา, บริษัท PRECISION ENGINEERING จํากัด ผู นําผลิตภัณฑ สีย อมไม และ รั ก ษาเนื้ อ ไม ภายใต แ บรนด WOODTECT, บริ ษั ท เฮเฟเล (ประเทศไทย) จํากัด (HAFELE) ผู นําอุปกรณ ฮาร ดแวร อุปกรณ เฟอร นิเจอร เครื่องใช ไฟฟ าในบ านและครัวเรือน พร อมทั้งอุปกรณ สุขภัณฑ มาตราฐานจากประเทศเยอรมันนี, บริษทั บี แอล ที แอสโซซิเอทส จํากัด (B.L.T. ASSOCIATE) ผู ดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับระบบประตู อัตโนมัติ และสระว ายน้ํา และ บริษัท เบเยอร จํากัด (BEGER) ผู นํา ด านอุตสาหกรรมสี เป นต น
15
จอห นสัน คอนโทรลส โชว เครือ่ งลดอุณหภูมอิ ากาศก อนเข ากังหันก าซ YCP-2020 หลังคว ารางวัลเทคโนโลยีนวัตกรรมพลังไฟฟ าแห งป จอห นสัน คอนโทรลส ได นาํ ผลิตภัณฑ เครือ่ งลดอุณหภูมอิ ากาศก อนเข ากังหันก าซ (Gas Turbine Inlet Air Cooling หรือ GTIAC) จัดแสดงที่งาน Power Gen Asia โดยมี หนึ่งผลิตภัณฑ ที่ได รางวัลเทคโนโลยีนวัตกรรมพลังไฟฟ าแห งป (Innovative Power Technology) จากงาน Asian Power Awards 2015 ได แก “เครื่อง YCP-2020” รุน ใหม ซึง่ นับเป นโซลูชน่ั GTIAC ชนิดเครือ่ งกลทีบ่ รรจุในตูค อนเทนเนอร และพร อมใช งาน รุน แรกในตลาด มีขนาดกะทัดรัดและมีความยืดหยุน ประกอบด วย เครือ่ งทําความเย็น ภายใต แบรนด YORK® เครื่องสูบน้ําเย็นและเครื่องสูบน้ํา ความร อน ตัวสตาร ทไฟฟ า และระบบควบคุม Metasys® เอกสิทธิเ์ ฉพาะ พร อมออกแบบให ลดการบริโภคพลังงาน ด วยขนาดมาตรฐาน 20 ฟุต เท ากับตู คอนเทนเนอร จึงใช พื้นที่น อย มีความยืดหยุ น ในการจัดวางตําแหน งเครื่อง และลดต นทุนด านการขนส งได อย างมหาศาล
สยามไฟเบอร กลาสฯ เป ดตัววัสดุอะคูสติก ไซเลนซ ตราช าง คอลเลคชัน่ ใหม ลา สุด นายสลิล กันตนฤมิตรกุล ผู จัดการส วนการตลาด บริษัท สยามไฟเบอร กลาส จํากัด ในกลุ มธุรกิจเอสซีจี ซิเมนต -ผลิตภัณฑ ก อสร าง (SCG Cement-Building Materials) ผูผ ลิตผลิตภัณฑ ฉนวนกันความร อนสเตย คูล (STAY COOL), แผ นโปร งแสง ตราช าง และฉนวนกันเสียงวัสดุอะคูสติก ไซเลนซ (Cylence) ตราช าง ได เป ดตัว “แผ นอะคูสติก ไซเลนซ ตราช าง” คอลเลคชั่นใหม ล าสุด จากแรงบันดาลใจของดีไซเนอร ที่หลงใหล ในรูปทรงลายตารางสามเหลีย่ มเรขาคณิตของกระเป าถือ BAO BAO แบรนด ดงั จากเกาหลี ผนึกรวมกับสีสนั ธรรมชาติของเส นใยผ าทัง้ 17 สี ทีก่ รู ผู เู ชีย่ วชาญด านผลิตภัณฑ สงิ่ ทอ พาซาญ า (PASAYA) นํามาร วมถ ายทอดไว ในชุด Zandera Natura Collection ใหม ลา สุด ช วยเพิ่มระดับความทันสมัยให ผนังดูสวยเฉียบ พร อมคุณสมบัติฟ งก ชั่นการใช งาน ที่ช วยในการดูดซับเสียง ควบคุมเสียงสะท อน และลดเสียงก องที่เกิดจากภายนอก ไม ให เข ามาก อกวนภายในห อง เพือ่ สร างบรรยากาศการพักผ อนทีส่ นุ ทรียแ ละตอบสนอง ไลฟ สไตล ชีวิตการพักอาศัยเพิ่มมากขึ้น
อนันดาฯ ประกาศศักยภาพทางการเงินอันแข็งแกร ง ในงาน Opportunity Day ดร.จอห น มิลลาร ผู บริหารสูงสุดสายงานกลยุทธ ทางการเงิน และนักลงทุนสัมพันธ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม นท จํากัด (มหาชน) ได เข าร วมงาน Opportunity Day ที่ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย เพื่อนําเสนอข อมูลแก นักลงทุนพร อม ประกาศผลการดําเนินงานไตรมาส 2/58 ทีป่ ระสบความสําเร็จสูงเกินกว าเป าทัง้ ยอดขายและรายได โดยบริษทั ฯ สร างยอดขาย ในไตรมาส 2 ได เท ากับ 3,115 ล านบาท สูงกว าเป าหมาย 53% ทําให ครึ่งป แรก 2558 สามารถสร างยอดขายรวมกว า 12,500 ล านบาท คิดเป น 54% ของเป าหมายยอดขายทั้งป ที่ตั้งไว ในไตรมาส 1/2558 ในระดับ 23,000 ล านบาท โดยใน ครึ่งป หลัง 2558 มียอดขายรอรับรู รายได แล ว คิดเป น 70% ของเป าหมายรายได ในครึ่งป หลัง ทั้งนี้ในไตรมาส 2 บริษัทฯ มีรายได รวม 1,541 ล านบาท ซึ่งเป นรายได จากการขายอสังหาริมทรัพย 1,198 ล านบาท 16
ณุศาศิรฯิ เป ดตัว “The Ultimate Nusa One” การลงทุนรูปแบบใหม ธุรกิจอสังหาฯ แบบยั่งยืนและครบวงจร บริษัท ณุศาศิริ จํากัด (มหาชน) นําโดย นายวิษณุ เทพเจริญ ประธาน เจ าหน าที่บริหาร จัดงานเป ดตัวการลงทุนรูปแบบใหม ของธุรกิจ อสังหาริมทรัพย แบบยัง่ ยืนและครบวงจร กับ “NUSA ONE” ภายใต แนวคิด “ซือ้ 1 ได ถึง 8 ได เงิน ได เทีย่ ว ได อสังหาฯ” ผ าน 8 โครงการ คุณภาพ โดยการันตีรายได 6.5% นานถึง 9 ป ภายในงานพบกับ เหล าดาราชั้นนําของเมืองไทยรวมไปถึงเซเลบริตี้ที่เข าร วมงานกัน อย างคับคัง่ อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังได นาํ ทีมทีป่ รึกษาการลงทุนมาให ขอ มูล และคําแนะนํากับแขกผูม เี กียรติทเ่ี ข าร วมงานอีกด วย ซึง่ ได รบั การตอบรับ อย างดีเยี่ยม ณ ชั้น M Gallery ดิ เอ็มควอเทียร
ไรมอนแลนด ฯ ประกาศเป ดตัวโครงการลิมิเต็ด เอดิชั่น “มิวส เย็นอากาศ” อย างเป นทางการ บริษัท ไรมอนแลนด จํากัด (มหาชน) บริษัทผู พัฒนาอสังหาริมทรัพย ชัน้ นําของประเทศไทย ประกาศเป ดตัวโครงการใหม “มิวส เย็นอากาศ บาย ไรมอนแลนด ” โครงการบ านพร อมทีด่ นิ สุดหรู โดยเป นโครงการ แรกในกลุ มผลิตภัณฑ “ลิมิเต็ดเอดิชั่น” ของไรมอนแลนด ที่เน น ภาพลักษณ สะท อนให เห็นถึงความหรูหราและความเหนือระดับของ ทําเลและที่อยู ใจกลางเมืองในซอยเย็นอากาศ 2 บนพื้นที่ใช สอย ภายในและพื้นที่สถาป ตยกรรมภายนอกรวมกว า 750 ตารางเมตร เพื่อครอบครัวยุคใหม กับการใช ชีวิตกลางกรุง โดยโครงการดังกล าว ประกอบไปด วย บ านสไตล เซมิดิแทช โฮม ทั้งหมด 8 หลัง บนพื้นที่ หลังละ 79 ตารางวา และบ านเดี่ยวอีกหนึ่งหลัง ในราคาเริ่มต นที่ 75 ล านบาท มีบริษทั พรีบลิ ท จํากัด (มหาชน) เป นผูด แู ลการก อสร าง โครงการ โดยคาดว าจะทําการก อสร างแล วเสร็จภายในป พ.ศ.2559
คันทรี่ กรุ ป จับมือ ดีไซเนอร ระดับโลก ออกแบบโรงแรมโฟร ซีซั่นส ริมแม น้ําเจ าพระยา บริษทั คันทรี่ กรุป ดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) และ โรงแรมโฟร ซซี นั่ ส ประกาศร วมมือกับ เดนนิสตัน (Denniston) ทีป่ รึกษางานออกแบบนําโดย “ฌอง-มิเชล กาธีย” ดีไซเนอร ชอื่ ดังทีก่ ารันตีดว ยรางวัลด าน สถาปนิกและตกแต งภายในระดับโลกมากมาย มาร วมสร างสรรค งานออกแบบตกแต งภายในและดูแล งานโครงสร างทางภูมิทัศน ให แก โรงแรมโฟร ซีซั่นส กรุงเทพ ซึ่งเป นโรงแรมหรูสไตล รีสอร ทในรูปแบบ โลว ไรส ตั้งอยู บนพื้นที่ของโครงการเจ าพระยาเอสเตท หนึ่งในพื้นที่ที่ใหญ ที่สุดที่ถูกจัดสรรเป นโรงแรม เฉพาะด านหน าโรงแรมมีพนื้ ทีต่ ดิ ริมน้าํ ยาวกว า 200 เมตร ทีแ่ วดล อมด วยสนามหญ าสีเขียวแบบขัน้ บันได มีภูมิทัศน พื้นที่สีเขียวหนาแน นล อมรอบอาคาร มีห องจัดเลี้ยงและห องประชุมที่ทันสมัย รวมไปถึงห อง แกรนด บอลรูมริมน้าํ ทีใ่ หญ ทส่ี ดุ ในกรุงเทพฯ นอกจากนัน้ ยังมีความบันเทิงระดับเวิลด คลาสจากร านอาหาร และบาร ทเี่ รียงรายอยูบ นพรอมเมอนาดริมน้าํ ของโครงการอีกด วย นับเป นความร วมมือครัง้ แรกระหว าง ผู นําธุรกิจโรงแรมลักชัวรี และมัณฑนากรชื่อดังระดับตํานานหนึ่งในดีไซเนอร ที่ดีที่สุดในยุคนี้
17
สุดยอดผู ประกอบการอสังหาริมทรัพย ตบเท าเข ารับรางวัล “ไทยแลนด พร็อพเพอร ตี้ อวอร ดส ” ครั้งที่ 10 มร.เทอร รี่ แบล็คเบิรน ประธานกรรมการบริหาร บริษทั เอ็นไซน มีเดีย จํากัด ได จัดงานประกาศรางวัลเกียรติยศ “ไทยแลนด พร็อพเพอร ตี้ อวอร ดส 2015” ซึง่ ในป นถ้ี อื เป นการฉลองครบรอบ 10 ป ณ โรงแรมพลาซ า แอทธินี กรุงเทพฯ โดยภายในงานมีผู นําวงการอสังหาริมทรัพย อันดับต นของภูมภิ าค และผูเ ชีย่ วชาญต างๆ ตลอดจนผูช นะรางวัลเอเชีย พร็อพเพอร ตี้ อวอร ดส ทั้งในอดีตและป จจุบันเข าร วมอย างคับคั่ง พร อมทําพิธมี อบรางวัลเกียรติยศให กบั สุดยอดบริษทั อสังหาริมทรัพย ของไทย ทีช่ นะเลิศในประเภทต างๆ โดยผูไ ด รบั รางวัลชนะเลิศทัง้ หมด จะมีโอกาสเข าร วมแข งประกวดในระดับอาเซียน South East Asia Property Awards 2015 โดยเป นการประกวดครั้งใหญ ในรอบสุดท าย ซึ่งจะจัดขึ้นในวันพุธที่ 21 ตุลาคม 2558 ที่โรงแรมแชงกรี-ล า ประเทศสิงคโปร แสนสิริฯ รับอานิสงส เงินบาทอ อนค าต่ําสุดรอบ 6 ป ส งคอนโดกรุงเทพ-ภูเก็ต โรดโชว เมืองนอก ดันยอดขายอสังหาฯ ไทยกับลูกค าต างชาติโต นายอุทยั อุทยั แสงสุข รองกรรมการผูจ ดั การอาวุโส สายงานพัฒนาธุรกิจและพัฒนาคอนโดมิเนียม บริษทั แสนสิริ จํากัด (มหาชน) หรือ SIRI เป ดเผยว า ป จจุบันค าเงินบาทอ อนค าอย างต อเนื่อง โดยล าสุดทะลุ 36 บาท ต อดอลลาร สหรัฐ ซึ่งถือว าต่ําที่สุดในรอบ 6 ป 6 เดือน โดยเชื่อว าจะเป นการเอื้อให ต างชาติ ซื้ออสังหาฯ ไทยได ในราคาถูกลง ซึ่งบริษัทฯ เล็งเห็นโอกาสในการเพิ่มยอดขายจากกลุ มลูกค าต างชาติ ในช วงนี้ จึงวางแผนจัดโรดโชว โครงการคอนโดมิเนียม เดอะ เบส พาร คเวสท กรุงเทพฯ และ เดอะ เบส พาร คอีสต ในประเทศสิงคโปร และฮ องกง รวมทัง้ จัดโรดโชว โครงการในภูเก็ต คือบ านไม ขาว, เดอะ เดค ป าตอง, เดอะ เบส ไฮท ภูเก็ต และ เดอะ เบส อัพทาวน ภูเก็ต ในประเทศไต หวัน นอกจากนั้นได ทําการ เป ดตลาดป กกิง่ ประเทศจีน เพิม่ ขึน้ อีกตลาดหนึง่ เพือ่ นําโครงการคอนโดมิเนียมในภูเก็ตไปโรดโชว ดว ย ซึ่งบริษัทฯ เชื่อมั่นว า การไปโรดโชว ในตลาดต างประเทศอย างต อเนื่องจะสามารถช วยให บริษัทสามารถ เพิ่มสัดส วนกลุ มลูกค าต างชาติเป น 10% หรือคิดเป นมูลค าการขายกว า 3,000 ล านบาท ได ในป นี้
ไทคอนฯ ได รับการรับรองมาตรฐานอาคารสีเขียว LEED Certified แห งแรกในประเทศไทย นายวีรพันธ พูลเกษ กรรมการผู จัดการ บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จํากัด (มหาชน) ผู นําด านการพัฒนาโรงงานสําเร็จรูป และคลังสินค าคุณภาพสูงพร อมใช เพือ่ ให เช ารายใหญ ของประเทศไทย เป ดเผยว าบริษทั ฯ ได รบั การรับรองคุณภาพอาคารโรงงานทีเ่ ป นมิตร ต อสิ่งแวดล อมตามมาตรฐาน LEED หรือ Leadership in Energy and Environmental Design ของ U.S. Green Building Council (USGBC) โดยไทคอนนับเป นผู พัฒนาโรงงานและคลังสินค าให เช า รายแรกของประเทศไทย ที่ได รับการรับรอง LEED Certification นี้ โรงงานต นแบบดังกล าวตัง้ อยูบ นพืน้ ที่ 3,300 ตารางเมตร ในนิคมอุตสาหกรรมเอเชียสุวรรณภูมิ โดยสามารถใช พลังงานอย างมีประสิทธิภาพ ได ดขี นึ้ 32% ตามมาตรฐาน ASHRAE และลดค าใช จา ยในการใช พลังงานได ประมาณ 10,000 เหรียญสหรัฐต อป หรือประมาณ 356,000 บาท ต อป นอกจากนี้ยังสามารถลดการใช น้ําในอาคารได มากถึง 42% ซึ่งจะช วยประหยัดการใช น้ําได มากถึงประมาณ 750 ลูกบาศก เมตรต อป ตลอดจนคุณภาพสิง่ แวดล อมภายในอาคารได ถกู ออกแบบให มรี ะบบหมุนเวียนอากาศตามมาตรฐาน ASHRAE ซึง่ จะช วยให อาคารสามารถ ประหยัดพลังงานได อีกทั้งยังช วยส งเสริมคุณภาพชีวิตและสุขภาพของผู ปฏิบัติงานในอาคารให ดีขึ้นอีกด วย 18
เรื่อง: กองบรรณาธิการ
เริ่มต นด วยข าวที่น ายินดีกันบ าง เมื่อกระเบื้องคอตโต โชว ความสําเร็จของผลิตภัณฑ โมเสกแก ว รุน “Motion Facet” ทีส่ ามารถคว ารางวัลด านงานดีไซน ระดับโลก Reddot Design Award 2015 สาขาการออกแบบผลิตภัณฑ จากประเทศเยอรมนี โดยโมเสกแก ว Motion Facet ได รบั แรงบันดาลใจในการออกแบบมาจากคริสตัลสีดาํ อันเรียบหรูทถ่ี กู นํามา ถ ายทอดลงบนเนือ้ แก วทีอ่ อกแบบลวดลายการพิมพ ดว ยลักษณะพิเศษ Optical Illusion สามารถจําลองภาพความระยิบระยับเคลือ่ นไหวได เสมือนจริง งานนี้ คุณธนนิตย รัตนเนนย ในฐานะผูจ ดั การฝ ายการตลาด บริษทั เซรามิคอุตสาหกรรมไทย จํากัด เป นปลืม้ สุดๆ… เรียกว าหายเหนื่อยกันเลยทีเดียว Builder ก็ขอแสดงความยินดีด วยค า
นอกจากจะได รบั รางวัลการันตีผลงานแล ว คอตโต ยงั พัฒนาอย างไม หยุดยัง้ ด วยการเป ดตัว “แพทช เวิรค คอลเลกชัน่ ”(‘Paetchwork/Collection) ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ กระเบือ้ งเซรามิค สุขภัณฑ และก อกน้าํ คอลเลกชั่นใหม ล าสุดที่ได รับเกียรติจาก มร.ป เอโร ลิซโซนี่ (Piero Lissoni) ดีไซเนอร ชื่อดังระดับโลก ชาวอิตาลีมาออกแบบในสไตล Sophisticated Simplicity ที่มีความเรียบหรูสไตล อิตาเลียน งานนี้ คุณอนุวัตร เฉลิมไชย แบรนด ไดเร็กเตอร คอตโต บริษัท เซรามิคซิเมนต ไทย จํากัด มาร วมแนะนํา ผลิตภัณฑ อย างเป นกันเองเลยค า
ด วยความอาลัยแก รศ.ดร.วีระ สัจกุล แม วันนี้… รศ.ดร.วีระ สัจกุล จะลาจากโลกไปแล ว แต ชื่อเสียงและผลงานทางวิชาการ ทัง้ หลายของท านยังคงอยูแ ละถูกจารึกไว ในฐานะบุคคลสําคัญทีส่ ามารถยกระดับแวดวง ข าราชการและการศึกษาทางด านสถาป ตยกรรมของเมืองไทย ตัง้ แต เรียนจบสถาป ตยกรรมศาสตร บณ ั ฑิต ป พ.ศ.2512 รศ.ดร.วีระ สัจกุล ได รบั ราชการ ด วยความซื่อสัตย ทุ มเทมาโดยตลอด จนกระทั่งท านเกษียณอายุราชการ ถือเป นผู ที่ ใช เวลาทัง้ ชีวติ เพือ่ งานการศึกษาและงานราชการอย างต อเนือ่ ง ท านเป นทัง้ อาจารย และ เป นผูบ ริหารการศึกษาทีป่ ระสบความสําเร็จเป นทีย่ อมรับในสังคม ในอดีตได เคยดํารงตําแหน ง ผูท รงคุณวุฒทิ างด านการศึกษามามากมาย และในป จจุบนั ท านดํารงตําแหน งอธิการบดี สถาบันอาศรมศิลป ตลอดเวลาในชีวิตท านมีผลงานทางด านการวิจัยและงานทาง วิชาการที่หลากหลาย ทั้งการวิจัยด านทรัพยากรอาคาร โครงการอนุรักษ และฟ นฟู ชุมชน โครงการระบบจราจรและเมือง ผังแม บทหลายแห ง รวมถึงผลงานการออกแบบ สถาป ตยกรรมอีกหลายแห ง ในฐานะอาจารย รศ.ดร.วีระ สัจกุล ได ให คําสอนและ แนวคิดที่เป นประโยชน ต อสังคมเสมอ ในวาระครบรอบ 75 ป ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ รศ.ดร.วีระ สัจกุล ได รับการ เชิดชูเกียรติเป น ‘สถาปนิกดีเด นด านงานราชการ’ ซึ่งท านถือเป นข าราชการที่ซื่อสัตย และเป นที่ยอมรับ ทั้งด านวิชาการ ด านบริหาร และการเสียสละเพื่อสังคม เป นผู ที่มี วิสัยทัศน และใช วิสัยทัศน ด วยความพยายามเพื่อขับเคลื่อนระบบการศึกษาทางวิชาชีพ ให พัฒนาก าวไกล การจากไปของท านในเวลานี้ถือเป นการสูญเสียบุคคลต นแบบของ แวดวงวิชาชีพไปอย างสุดอาลัย 19
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้
‘Cloud Corridor’ อาคารที่อยู อาศัยแห งอนาคต บริษัทสถาป ตยกรรม MAD ได นําเสนอโครงการอาคารที่อยู อาศัย แห งอนาคต ‘Cloud Corridor’ ในเมืองลอสแองเจลิส ประเทศ สหรัฐอเมริกา ภายในโครงการประกอบด วยอาคารสูง 9 อาคาร ในคอนเซ็ปต ของการผสมผสานธรรมชาติเข ากับงานสถาป ตยกรรม ส งผลให ตัวอาคารมีรปู ทรงคล ายกับภูเขา ตกแต งด วยสวนแนวตัง้ หลากหลาย ระดับ แต ละอาคารจะเชื่อมต อกันด วยทางเดิน พื้นที่สาธารณะและ สวนต นไม โดยโครงการนีถ้ กู ออกแบบขึน้ เพือ่ จัดแสดงในนิทรรศการ ‘shelter: rethinking how we live in Los Angeles’ ทีจ่ ดั ขึน้ ที่ A+D Museum ซึ่งเป ดให เข าชมถึงวันที่ 6 พ.ย. 58 นี้ See more: https://www.youtube.com/watch?v=Oic0zEwTU6w / by Home Architecture Stories
วิดีโอจาก Zaha Hadid หลังจากเป นทีว่ พิ ากษ วจิ ารณ กนั อย างกว างขวางในเรือ่ งการออกแบบ สนามกีฬาแห งชาติญี่ปุ นของสถาปนิก Zaha Hadid ทั้งในเรื่อง งบประมาณการก อสร าง ขนาดทีไ่ ม เหมาะสมและความไม สอดคล อง กับบริบทของกรุงโตเกียว ทางทีมสถาปนิกจึงใช เวลากว า 2 ป ในการ ปรับแก และพัฒนารูปแบบของสนามใหม แต สุดท ายนายกรัฐมนตรี ญีป่ นุ ชินโซะ อาเบะ กลับยกเลิกแผนการก อสร างกลางคัน ด วยเหตุนี้ ทําให Zaha ตัดสินใจเผยแพร การออกแบบสนามกีฬาแห งชาติญี่ปุ น ฉบับแก ไข ความยาวกว า 20 นาที เพื่อชี้แจงรายละเอียดและเหตุผล ในการออกแบบส วนต างๆ ความยั่งยืนในระยะยาว รวมถึงการ วิเคราะห เปรียบเทียบความคุ มค าของการลงทุน See more: https://www.youtube.com/watch?v=QlhmLo8T0EE&list=PL LGb7ebVUI_qLzltmCyoc0NlM_-KpVP41 / by ArchDaily
20
โครงการอาคารมิกซ ยูสแห งใหม ของ Frank Gerhry สถาปนิกชือ่ ดัง Frank Gehry เผยแผนงานออกแบบโปรเจ็คอาคารมิกซ ยสู ที่ 8150 Sunset Boulevard ในเมืองลอสแองเจลิส ทางฝ ง ตะวันออก ของ Sunset Strip ภายในโครงการประกอบด วยโครงสร างอาคาร ที่มีลักษณะเฉพาะตัว 5 แบบ ที่โอบล อมลานสาธารณะส วนกลาง ประกอบด วยอาคารที่อยู อาศัย 2 อาคาร สูง 11 ชั้น และ 15 ชั้น รวมจํานวนห องพักทั้งสิ้น 249 ห อง, อาคารศูนย การค าสูง 3 ชั้น และพื้นที่สาธารณะสําหรับจัดกิจกรรมต างๆ ทั้งนี้คาดว าจะเริ่ม ก อสร างในป ค.ศ.2016 See more: http://www.dezeen.com/2015/08/27/gehry-unveilsdesign-mixed-use-development-8150-sunset-boulevard-striphollywood-hills-los-angeles/
สวนสาธารณะแห งใหม ใจกลางเม็กซิโกซิตี้ กลุ ม บริ ษั ท สถาป ต ยกรรมชาวเม็ ก ซิ กั น FR-EE , FRENTE arquitectura และ RVDG arquitectura + urbanismo เผยแผนงาน โปรเจ็ค “Cultural Corridor Chapultepec” ซึ่งเป นการปรับโฉม Avenida Chapultepec หนึ่งในถนนสายประวัติศาสตร ที่สําคัญ ที่สุดในเม็กซิโกซิตี้ ให กลายเป นสวนสาธารณะที่ประกอบไปด วย ต นไม นานาชนิด, ร านกาแฟ, ทางเดินยกระดับ, สระน้ํา รวมถึง การสร างเลนการเดินรถใหม อาทิ เลนรถประจําทาง, รถจักรยาน และรถเข็นวีลแชร ด วย เมืองไทยเราเองก็กําลังตื่นตัวกับกระแส พื้นที่สาธารณประโยชน อยู น าจะนําไอเดียนี้มาปรับใช กันบ าง
สระว ายน้ํากระจกใสลอยฟ าเชื่อม 2 อาคาร สูง 12 ชั้นในอินเดีย หลังจากที่ลอนดอนได เผยสระว ายน้ํา ‘Sky Pool’ ที่อยู กลางอากาศ บนชัน้ 10 ระหว างอาคารคอนโดมิเนียมสุดหรู 2 อาคารของโครงการ Embassy Gardens ไปแล ว สถาปนิกอินเดียก็ไม ยอมน อยหน า เผยการสร างสระว ายน้ําลอยฟ า ที่ก อสร างด วยกระจกใส ยาว 20 เมตร กว าง 7 เมตร เชื่อมต อระหว างอาคารที่พักอาศัยชั้น 12 ของ โครงการ ‘Twilight Star’ ในเมือง Surat รัฐ Gujarat ประเทศ อินเดียบ าง เรียกได ว าไม น อยหน ากัน โดยใช เทคโนโลยีการก อสร าง และรูปแบบเหมือนกับที่ลอนดอนเลยทีเดียว ซึ่งคาดว าจะแล วเสร็จ กลางป ค.ศ.2016
See more: https://www.youtube.com/watch?v=DojN9X5LF_U/by Dezeen
See more: https://www.youtube.com/watch?v=FoxWxAw8fNY/by 7 Star Company
‘OASIS’ บ านต นไม รูปแบบใหม ในอนาคต บ าน ‘OASIS’ เป นแนวคิดงานสถาป ตยกรรมรูปแบบใหม ทเ่ี ป นมิตร ต อสิ่งแวดล อม ด วยการออกแบบบ านที่ได แรงบันดาลใจมาจาก “ต นไม ” โครงสร างของตัวบ านใช ไม รีไซเคิล ภายนอกปกคลุมด วย ต นไม สีเขียว ตัวบ านมีทั้งหมด 4 ชั้น ใช หน าต างกระจก 3 ชั้น ติดกับแผงโซล า ภายในมีโถงระเบียงแก ว ช องกระจกรับแสง หน าต างขนาดใหญ และระเบียง ซึง่ เมือ่ บ านแต ละหลังมาอยูร วมกัน จะกลายเป นเมืองแห งป าสีเขียวขจีที่เป นมิตรต อสิ่งแวดล อม See more: https://www.youtube.com/watch?v=B3gbfDfjDto/by OAS1S
แคมป สสีเขียวแห งใหม ในโฮจิมินห บริษทั สถาป ตยกรรมเวียดนาม Vo Trong Nghia Architects เผยการ ออกแบบแคมป สแห งใหม ให กับมหาวิทยาลัย FPT ในเมืองโฮจิมินห ประเทศเวียดนาม แคมป สนีม้ าในรูปทรงของภูเขาป าทีส่ งู ต่าํ ลดหลัน่ กันไป โอบล อมลานสาธารณะทีเ่ ต็มไปด วยต นไม ตรงส วนกลางทีแ่ ผ กงิ่ ก าน และใบสีเขียวชอุม เข าหาตัวอาคาร ทีมสถาปนิกคาดว าแคมป สสีเขียว แห งใหม นจ้ี ะช วยลดมลพิษทางอากาศ และลดการใช เครือ่ งปรับอากาศได อีกทั้งยังช วยให เมืองโฮจิมินห กลับมามีสีเขียวอีกครั้ง See more: http://www.dezeen.com/2015/08/27/vo-trong-nghia-plantfilled-fpt-university-campus-ho-chi-minh-city-vietnam/ 21
‘Tentative’ ที่หลบภัยฉุกเฉินอัจฉริยะ ผลงานการออกแบบของนักออกแบบชาวตุรกี Hakan Gürsu ผู ก อตั้งบริษัท Designnobis ‘Tentative’ เป นที่พักหลบภัยฉุกเฉินขนาด กะทัดรัดใช งานได อเนกประสงค และใช เวลาในการประกอบขึ้นเพื่อใช งานเพียง 1 ชั่วโมงเท านั้น ทําจากไฟเบอร กลาสเชลล ป ดด วยผ าที่ทน ต อสภาพอากาศทีถ่ กู บุ 2 ชัน้ แทรกด วยฉนวนกันความร อน Perlite หลังคาเป นทีก่ กั เก็บน้าํ ให แสงสว างและช วยระบายอากาศ ส วนพืน้ จะใช วัสดุ Composite deck กันความร อนที่นํากลับมาใช ใหม ได ทั้งยังป องกันการสูญเสียความร อนโดยการยกระดับให สูงขึ้นจากพื้น สามารถ นําไปใช ได ในทุกพื้นที่และทุกสภาพอากาศ รองรับผู พักพิงที่เป นผู ใหญ ได 2 คน และเด็ก 2 คน See more: https://www.youtube.com/watch?v=AGiYleNJ1ns / by ArchitecTube
‘Allonge’ อุโมงค คนเดินชั่วคราวของ Zaha Hadid ในขณะทีค่ อนโดมิเนียม 520 West 28th Street ใกล กบั High Line ในนิวยอร ค ของสถาปนิก Zaha Hadid กําลังอยูร ะหว างการก อสร าง เธอจึงสร างชิ้นงานที่มีชื่อว า ‘Allonge’ ให เราได ยลโฉมกันไปก อน ชิน้ งานทีว่ า นีเ้ ป นโครงสร างชัว่ คราว ประกอบด วยโครงเหล็กทรงโค ง ปกคลุมด วยผ าสีเงินเมทัลลิก สูง 15 ฟุต ยาว 112 ฟุต ซึง่ ถ าดูให ดๆ ี ก็จะเห็นว ารูปทรงนั้นคล ายกับคอนโดมิเนียมที่กําลังก อสร างอยู นั่นเอง See more: http://inhabitat.com/nyc/zaha-hadid-unveils-temporarysilver-art-tunnel-near-her-in-progress-high-line-condos/
เมืองลอยน้ํารูปร างคล ายปลากระเบนแมนต า เมืองลอยน้ําแห งนี้มีชื่อว า ‘City of Meriens’ ผลงานการออกแบบ ของสถาปนิกชาวฝรั่งเศส Jacque Rougerie สร างขึ้นเพื่อเป น ศูนย วิจัยและทดลองเกี่ยวกับชีววิทยาในท องทะเล สามารถรองรับ นักวิจัย, อาจารย และนักเรียนได 7,000 คน ภายในประกอบไปด วย ห องแล็บ, ห องเรียน และพื้นที่ทํากิจกรรมต างๆ มากมาย เมืองนี้ สามารถหล อเลีย้ งตัวเองได โดยใช พลังงานของน้าํ ทะเล และยังไม กอ ให เกิดขยะใดๆ นอกจากนี้ในส วนขอบด านนอกของป กยังมีพื้นที่ สําหรับสวนพืชไฮโดรโปนิก และในส วนกลางก็จะมีลากูนสําหรับเพาะพันธุ สัตว น้ําอีกด วย See more: http://www.designboom.com/technology/jacques-rougeriecity-of-meriens-research-center-08-29-2015/
22
โครงการประกวดการออกแบบเฟอร นเิ จอร ไม หัวข อ Transformation ‘เปลีย่ นเพือ่ สิง่ ทีด่ กี ว า ไม ตกยุค (ไม มีเอาท )’ โครงการการออกแบบเฟอร นเิ จอร สาํ หรับนักธุรกิจและการตลาด โดยองค การอุตสาหกรรมป าไม ขอเชิญ นิสิต นักศึกษา ส งผลงานเข าร วมการประกวดออกแบบผลิตภัณฑ ไม ประเภทเฟอร นิเจอร ไม ในหัวข อ Transformation ‘เปลี่ยนเพื่อสิ่งที่ดีกว า ไม ตกยุค (ไม มีเอาท )’ ชิงรางวัลมูลค ารวมกว า 100,000 บาท พร อมคูปองที่พักสวนป าองค การอุตสาหกรรมป าไม และใบประกาศนียบัตร สามารถส งผลงานตั้งแต วันนี้ - 26 ตุลาคม 2558 ผู ที่สนใจติดต อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได ที่ สํานักธุรกิจและการตลาด โทรศัพท /โทรสาร 02 280 0472 หรืออีเมล ที่ market1417@hotmail.com
โครงการประกวดออกแบบเวที ‘MAYA Stage Creation 2016’ MAYA MUSIC festival ขอเชิญนิสติ นักศึกษา ส งผลงานเข าร วมการประกวด ออกแบบเวที LIVE Stage ‘MAYA Stage Creation 2016’ ภายใต แนวคิด ‘ยักษ ’ ชิงเงินรางวัลมูลค ารวม 130,000 บาท พร อม MAYA VIP PACKAGE สามารถส งผลงานตัง้ แต วนั นี้ - 31 ตุลาคม 2558 ผูท สี่ นใจติดต อสอบถามได ที่ Call Center : 085-2259225 หรือติดตามรายละเอียดที่ www.facebook.com/ mayamusicfest
โครงการประกวดถ ายภาพ I’m Park Community Mall ศูนย การค า I’m Park Community Mall ได จัดงานประกวดถ ายภาพศูนย การค าแอมพาร ค โดยเป น ภาพถ ายภายในอาคารหรือภายนอกอาคาร ที่ถ ายด วยกล องดิจิตอล ความละเอียดของภาพไม ต่ํากว า 8 ล านพิกเซล ส งไฟล ภาพต นฉบับในรูปแบบของไฟล มาตรฐาน Tiff หรือ JPEG เท านัน้ ผูส ง ภาพเข าร วม ประกวดจะต องส งภาพถ ายโดยมีคําบรรยายใต ภาพที่เกี่ยวกับเรื่องราวหรือความประทับใจที่ประมาณ 4-5 บรรทัด สามารถส งได ทา นละไม เกิน 3 ภาพ สามารถส งภาพได ภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 ผู ที่สนใจสามารถส งผลงานผ านช องทางต อไปนี้ อีเมล iampark.photocontest@gmail.com หรือ ส งด วยตัวท านเองที่ ชัน้ 4 ศูนย การค า I’m Park Chula หรือส งไปรษณียม ายัง ศูนย การค า I’m Park Chula เลขที่ 353 จุฬาฯ 5 ตัด 22 ถนนเจริญเมือง แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ดูรายละเอียด เพิ่มเติมได ที่ www.iampark.com
โครงการประกวดออกแบบพื้นที่แสดงสินค า THS Universal Design Contest 2015 บริษทั เตียวฮง สีลม จํากัด ได จดั งานโครงการประกวดออกแบบพืน้ ทีแ่ สดงสินค าของบริษทั ภายใต หวั ข อ “พืน้ ทีส่ อื่ วัสดุ ดีไซน เพือ่ ทุกคน” ขอเชิญนิสติ หรือนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ทีศ่ กึ ษาอยูใ นมหาวิทยาลัย คณะสถาป ตยกรรมศาสตร หรือคณะนิเทศศิลป หรือคณะทีเ่ กีย่ วข องกับการออกแบบ ผลงานชิงเงินรางวัล รวมมูลค ากว า 100,000 บาท ผูท ส่ี นใจสามารถสมัครเข าร วมตัง้ แต วนั นี้ - วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 และติดตามรายละเอียดของการประกวดได ที่ https://www.facebook.com/TeoHongSilomCMME หรือ โทร. 02-312-0045 ต อ 1651
23
เรื่อง: ปฏิทิน เวลา
ÍØμÊÒË¡ÃÃÁÅÇ´áÅÐà¤àºÔÅã¹»ÃÐà·Èä·Â ã¹»˜¨¨ØºÑ¹¤ÇÒÁμŒÍ§¡ÒÃμ‹ÍÍØμÊÒË¡ÃÃÁÅÇ´ ·‹Í áÅÐÊÒÂà¤àºÔÅ ÁÕá¹Ç⹌Á ·Õè¨ÐàμÔºâμÊÙ§¡Ç‹Ò 4.641 ŌҹŌҹºÒ·1 â´Â¡ÒâÂÒÂμÑÇʋǹãËÞ‹à¡Ô´¨Ò¡ ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤àºÔžÅѧ§Ò¹ «Ö§è ·‹ÍẺäÃŒÃÍÂμ‹Í¹Ñ¹é ¤Ò´Ç‹Ò¨ÐÊÒÁÒö·íÒÃÒÂä´Œ ÁÒ¡¶Ö§ 2.883 ¾Ñ¹ÅŒÒ¹ºÒ·1 ÀÒÂã¹»„¾.È.2563 â´Âä´ŒÃѺáç¢Ñºà¤Å×è͹ ¨Ò¡¸ØáԨ¹éÒí ÁѹáÅÐá¡ Ê·Õàè ¾ÔÁè ÁÒ¡¢Ö¹é ÃÇÁ¶Ö§¤ÇÒÁμŒÍ§¡Òâͧ·‹Í¾ÃÕàÁÕÂÁ·Õè à¾ÔÁè ÁÒ¡¢Ö¹é ´ŒÇ «Ö§è ¹Ñ¹è ¨Ð·íÒãËŒ»ÃÐà·Èä·ÂÁÕá¹Ç⹌Á㹡ÒâÂÒÂμÑǢͧ¸ØáԨ¹Õé ÊÙ§μÒÁઋ¹¡Ñ¹ ภายในป พ.ศ.2598 ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต กาํ ลังกลายเป นทางผ านของระบบ พลังงานพืน้ ฐานของทวีปเอเชีย (Pan-Asia) ทัง้ หมด ตัง้ แต ประเทศจีนไปจนถึงประเทศ ออสเตรเลีย โดยระบบพืน้ ฐานต างๆ นัน้ อาจประกอบไปด วย การเดินท อแก สธรรมชาติ, สายไฟฟ าแรงสูง และสายใยไฟเบอร ออฟติก เป นต น นอกจากนี้ยังมีการขยายตัวของ กลุม อุตสาหกรรมอืน่ ๆ อีกมาก อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมธุรกิจก อสร าง อุตสาหกรรมการบิน อุตสาหกรรมไฟฟ าวงจร อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร หรือแม แต อุสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม เป นต น อีกทั้งการก อตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะสร างโอกาสทางการตลาดใหม ๆ และการขยายตัวอย างรวดเร็วของการสร าง ระบบพื้นฐานในประเทศที่กําลังพัฒนา ต างก็เป นป จจัยสําคัญที่เป นแรงผลักดันใน อุตสาหกรรมนี้ ในภาพรวมของตลาดที่มีการเติบโตในเอเชียตะวันออกเฉียงใต พบได ว า หากกล าวถึง อุตสาหกรรมยานยนต ประเทศไทยถือเป นผู นําในการผลิตรถยนต จํานวนมาก ด วย โรงงานกว า 23 แห งทีก่ ระจายตัวอยูท วั่ ประเทศ ทําให สามารถผลิตรถยนต ได ประมาณ 3.1 ล านคันต อป2ี หรืออุตสาหกรรมการก อสร าง ซึง่ ขณะนีป้ ระเทศเวียดนามกําลังอยูใ น วงจรขาขึน้ มีโครงการทางด านระบบโครงสร างพืน้ ฐานเกิดขึน้ ใหม หลายโครงการภายใน ป พ.ศ.2558 หรืออุตสาหกรรมการไฟฟ าและผลิตภัณฑ ไฟฟ า ในประเทศฟ ลิปป นส ที่ได มีการคาดการณ ไว ว าธุรกิจการส งออกผลิตภัณฑ ไฟฟ าจะสามารถสร างรายได มาก ถึง 20.9 พันล านดอลลาร3 หรืออุตสาหกรรมการบิน ซึง่ คาดการณ วา ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในอีก 20 ป ข างหน า จะมีการนําเข าเครื่องบินกว า 3,000 ลํา โดยผู นําตลาดคือ อินโดนีเซีย, มาเลเซีย และไทย4 หรืออย างอุตสาหกรรมพลังงาน ในประเทศอินโดนีเซีย ทีค่ าดว าภายใน 12 ป ขา งหน า จะมีการลงทุนในการพัฒนาระบบพืน้ ฐานมากขึน้ หรือ 40% ของเงินทุนทัง้ หมดจะถูกนําไปสมทบกับการสร างโปรเจคในอุตสาหกรรมพลังงานต างๆ ซึง่ นัน่ ยิง่ เป นการตอกย้าํ ถึงการขยายตัวของอุตสาหกรรมลวดและเคเบิลอันเป นแกนหลัก ของอุตสาหกรรมต างๆ เหล านี้
มร.เกอร นอท ริงลิง่
ทัง้ นีบ้ ริษทั วิจยั Global Industry Analysts ได คาดการณ เอาไว วา การปรับปรุงการสือ่ สารโทรคมนาคมจะกระตุน การเติบโต ของอุตสาหกรรมลวดและสายเคเบิล ได กว า 11 เปอร เซ็นต ต อป (ตั้งแต ป นี้จนถึงป พ.ศ.2561) ทั้งนี้ ซึ่งการเติบโต ของอุตสาหกรรมสายเคเบิลจะมีมากที่สุด เนื่องจากเป นอุตสาหกรรมที่มีส วนแบ งทางการตลาดสูงที่สุด โดยคาดว า 24
Stack of blue pvc pipes for underground eletrical cables of infrastructure ©hskoken / 123RF.com
จะมีอตั ราการเติบโตประมาณ 9 เปอร เซ็นต ต อป นอกจากนีย้ งั พบว า อุตสาหกรรมท อและท อร อยสายจะมีปริมาณสูงถึง 70.5 ล านตัน ในป พ.ศ.2563 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของการสํารวจน้ํามันและก าซและ กิจกรรมการผลิต เช นเดียวกับความต องการทีเ่ พิม่ ขึน้ สําหรับท อร อยสาย ระดับพรีเมียม ซึง่ หลายๆ ประเทศในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก มีการพัฒนา โครงสร างพืน้ ฐานอย างต อเนือ่ ง จึงทําให ภมู ภิ าคเอเชียแปซิฟก ถือเป น ตลาดแหล งใหญ ที่สุดของโลกก็ว าได หากมองย อนกลับมายังประเทศไทย ความเจริญเติบโตทีก่ าํ ลังเกิดขึน้ ทัว่ ทุกภาคอุตสาหกรรมในส วนของการผลิต งานก อสร างและงานโครงสร าง พื้นฐาน รวมไปถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต และการสื่อสาร โทรคมนาคมเป นไปอย างรวดเร็ว ในเดือนกันยายนที่ผ านมานี้เอง ประเทศไทยได มีโอกาสจัดงานแสดงสินค า International Wire & Cable Trade Fair for Southeast Asia ครัง้ ที่ 11 และ International Tube and Pipe Trade Fair for Southeast Asia ครั้งที่ 10 ซึ่งเป น สุดยอดงานแสดงนวัตกรรมและโซลูชั่นสําหรับสินค าภาคธุรกิจที่มี ความน าเชื่อถือที่สุดในอุตสาหกรรมลวด เคเบิล ท อ และท อร อยสาย ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต ถือเป นการรวมตัวกันครัง้ ใหญ ของทุกภาคส วน ไม ว าจะเป น ผู ผลิต บริษัทแปรรูป และผู เชี่ยวชาญทางด านงานระบบ วิเคราะห และเครือ่ งมือวัด รวมไปถึงผูท อ่ี ยูใ นตลาดธุรกิจวัสดุ เครือ่ งมือ อุปกรณ และบริษัทในเครือจากบริษัทนานาชาติชั้นนําได มานําเสนอ นวัตกรรมและแลกเปลีย่ นความรูใ หม ๆ ร วมกัน โดยงาน Wire & Cable Trade Fair for Southeast Asia 2015 จัดขึ้นโดยผู จัดงานเดียวกัน กับ ไวเออร ดุสเซลดอร ฟ และ ทูป ดุสเซลดอร ฟ ในประเทศเยอรมนี
ลวด ท อ และสายเคเบิลในเมืองไทย จึงพร อมใจกันเข าร วมงานในครัง้ นี้ โดยภายในงานได มกี ารจัดเตรียมสินค าทีห่ ลากหลายตามความต องการ ของกลุม อุตสาหกรรมต างๆ ไว มากมาย ผูท เี่ ข าเยีย่ มชมงานจะพบกับ นวัตกรรมและโซลูชั่นการทํางานที่มีความอัจฉริยะ และเครื่องจักร ที่มาพร อมเทคโนโลยีอันล้ําสมัย โดยบริษัทชั้นนําในอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยั ง มี ง านสั ม มนาพิ เ ศษโดยวิ ท ยากรที่ มี ชื่ อ เสี ย งจาก วิศวกรรมสถานแห งประเทศไทย, สมาคมทองแดงนานาชาติ, สมาคม ส งเสริมเทคโนโลยี, TumCivil.com และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล าธนบุรี ทีใ่ ห ขอ มูลทางการตลาดและข อมูลเชิงลึกทางธุรกิจ ทีส่ าํ คัญสําหรับอุตสาหกรรมลวด สายเคเบิล ท อ และท ออุตสาหกรรม อีกทัง้ ยังมีการให บริการจับคูเ จรจาทางธุรกิจระหว างผูค า และผูเ ข าร วมงาน ทีส่ นใจ ได พบปะพูดคุยเพือ่ ต อยอดการทําธุรกิจกับกลุม ลูกค าเป าหมาย ผู จัดจําหน าย และสร างพันธมิตรที่อยู ในภาคอุตสาหกรรมเดียวกัน ทั้งก อนและระหว างการจัดงานอีกด วย” หากมองสถานการณ โดยรวมในประเทศไทยแล ว ถึงแม เราอาจจะยัง พัฒนาไปได ไม ไกลเท าไหร นกั ในอุตสาหกรรมลวด ท อ และสายเคเบิล แต การที่เมืองไทยกําลังก าวเข าสู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและ จะกลายเป นศูนย กลางของการขนส ง ย อมต องการสาธารณูปโภค พื้นฐานเพิ่มมากขึ้น พร อมกับการขยายตัวทางด านพลังงานและ อุตสาหกรรมก อสร างที่เพิ่มตามไปด วย ซึ่งจะเป นการผลักดันให อุตสาหกรรมลวด ท อ และสายเคเบิลขยายตัวอย างต อเนือ่ งด วยเช นกัน
แหล งข อมูลจาก: 1 Freedonia 2012 / Market Research & Data Services 2012, Global Industry Analysts, Inc. / Transparency Market Reports ทัง้ นี้ มร.เกอร นอท ริงลิง่ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เมสเซ ดุสเซลดอร ฟ 2 คณะกรรมการส งเสริมการลงทุนแห งประเทศไทย (BOI) เอเชีย จํากัด ได เผยถึงแนวทางการจัดงานแสดงสินค าในประเทศไทยว า 3 องค กร Semiconductor and Electronics Industries (SEIPI) 4 ธนาคารโลก
“ทางบริษทั คาดว าผูป ระกอบการอุตสาหกรรมต างเล็งเห็นศักยภาพใน การเติบโตทางธุรกิจ ความสําคัญและความต องการของอุตสาหกรรม
25
เรื่องชาวบ าน: ศ.ดร. บัณฑิต จุลาสัย
¾Ô¾Ô¸Àѳ± MUCEM ผลสําเร็จจากการก อสร างพิพิธภัณฑ กุกเกนไฮม ของ Frank Gehry ที่ช วยฟ นเศรษฐกิจเมืองบิลเบา ได ก อให เกิดกระแสการพัฒนาเมืองที่มีผู ลอกเลียนแบบไปทั่วโลก เหมือนกับมิวเซ็ม MUCEM พิพธิ ภัณฑ อารยธรรมยุโรปและเมดิเตอร เรเนียน (Musée des civilizations de l’Europe et de la MéditerranéTe) ที่รัฐบาลฝรั่งเศสและเทศบาลเมืองมาร เซย ร วมทุนก อสร าง โดยมุ งหวังที่จะดึงดูดนักท องเที่ยวให มาเยือนมาร เซย มากขึ้น มิวเซ็มเป นอาคารขนาดใหญ สูง 4-5 ชัน้ ตัง้ ตระหง านอยูร มิ ทะเล ภายในประกอบด วย พืน้ ทีจ่ ดั แสดงงาน ถาวรนิทรรศการชั่วคราว ร านอาหาร ร านหนังสือ และส วนบริการอื่นๆ รวมทั้งบาร บนชั้นดาดฟ า ภายนอกอาคารด านริมทะเลและทิศเหนือจะเป นผนังกระจกทัง้ หมด ส วนด านทีเ่ หลือจะเป นแผงคอนกรีตโปร ง ทีห่ ล อเป นลวดลายคล ายแหอวนจับปลา หรือกิง่ ก านของกัลป งหาใต ทะเล แผงคอนกรีตนีจ้ ะคลุมจากผนัง ไปจนถึงหลังคาชั้นดาดฟ า สถาปนิกเลือกใช คอนกรีตสีดํา เลยทําให อาคารเป นกล องกระจกที่มีตาข าย สีดําคลุม นอกจากจะช วยลดความร อนเข าสู อาคารแล ว ยังสร างความน าสนใจให กับอาคารอีกด วย พิพิธภัณฑ มิวเซ็มแห งนี้ ออกแบบโดย Rudy Ricciotti สถาปนิกเชื้อสายอิตาลี สถาปนิกผู มีเชื้อสาย แอลจีเรีย เติบโตในมาร เซย เป นสถาปนิกรุน ใหม ทมี่ คี วามสนใจทางด านเทคโนโลยี ด วยมีพนื้ ฐานความรู ทางด านวิศวกรรมด วย ทําให งานออกแบบมีความโดดเด น แปลกต าง ทัง้ เรือ่ งวัสดุและโครงสร าง โดยมี ผลงานออกแบบพิพิธภัณฑ หอศิลปะหลายแห งในฝรั่งเศสและเบลเยียม รวมทั้งส วนแสดงงานศิลปะ อิสลามในพิพิธภัณฑ ลูฟว
source from http://www.mucem.org/fr 26
แ ม ว า พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ม า ร เ ซ ย แ ล ะ บิ ล เ บ า จ ะ มี วัตถุประสงค เดียวกัน แต งานสถาป ตยกรรมกลับมี รู ป แบบต า งกั น ในขณะที่ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ บิ ล เบานั้ น เป นรูปทรงอิสระ ผนังด านนอกกรุแผ นไทเทเนียม บางเบาแวววาว บิ ด ไปมา พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ม าร เ ซย กลั บ เป น กล อ งรู ป ทรงสี่ เ หลี่ ย มธรรมดา ผนั ง ด านนอกกรุแผงคอนกรีตสีดําดูหนักแน น ทั้งที่มี ลวดลายคดโค ง แต ไม วา จะมีรปู ทรงใดก็ลว นทําให สถาป ตยกรรมน าสนใจเหมือนกัน และดึงดูดให นักท องเที่ยวมาเยี่ยมชมเหมือนกัน © Giancarlo Liguori /123rf
BUIDER QUOTE “A great building must begin with the unmeasurable, must go through measurable means when it is being designed and in the end must be unmeasurable.” Louis Kahn 27
เรื่อง นะโม นนทการ ภาพ กัณฑ ตนนท สุรัชต วิรากูล
ᏴÕé âÎÁ ¡‹ÍÊÌҧÍ‹ҧÁդسÀÒ¾ ÃѺÊÌҧºŒÒ¹´ŒÇ¤ÇÒÁãʋ㨠ËÒ¡à͋¶֧ª×èͺÃÔÉÑ·ÃѺÊÌҧºŒÒ¹·ÕèÁÕª×èÍàÊÕ§Íѹ´ÑºμŒ¹æ ¢Í§àÁ×ͧä·Â·ÕèÁÕÁÒ ÂÒǹҹ ¨ÐμŒÍ§ÁÕª×èͧ͢ ‘ᏴÕé âÎÁ’ ÃÇÁÍÂÙ‹ã¹¹Ñé¹ ´ŒÇª×èÍàÊÕ§ºÇ¡¡Ñº »ÃÐʺ¡Òó ·ÕèÊÑè§ÊÁÁÒÂÒǹҹ¨Ò¡ÃØ‹¹ÊÙ‹ÃØ‹¹ ᏴÕé âÎÁ ¨Ö§à¢ŒÒä»ÍÂÙ‹ã¹ã¨¢Í§ ¼ÙŒºÃÔâÀ¤´ŒÇÂÁÒμðҹ¡Ò÷íÒ§Ò¹·ÕèÁդسÀҾ໚¹μÑÇ¡ÒÃѹμռŧҹ ความท าทายบทใหม ในยุคทีค่ วามต องการบ านมีความหลากหลายมากขึน้ แลนดี้ โฮม ได เดินหน าเข ารุกตลาดระดับบนด วยการเป ดตัว แลนดี้ ลักซ ชัวรี่ (Landy Luxury) ซึ่ง คุณพานิช มณีรัตนะพร ผู อํานวยการฝ ายก อสร างและบริหารสํานักงาน ได เป นตัวแทน ของผู บริหารเลือดใหม ให โอกาสพูดคุยถึงแนวทางดําเนินงานของ แลนดี้ โฮม “ที่ผ านมาแลนดี้ โฮม ถือได ว าเป นผู นํารายแรกๆ ที่ใช โครงสร างกึ่งสําเร็จรูปในการก อสร างตั้งแต แรกเริ่ม จนถึงป จจุบัน เราก็ยังพัฒนาการทํางานด วยการนําเอานวัตกรรมเทคโนโลยีก อสร างใหม ๆ เข ามาใช ในการพัฒนาตัวโครงสร างขึ้นมา เรือ่ ยๆ ด วยการคํานวณทีม่ ีการอัพเดทอยูต ลอดเวลา พร อมด วยหลักวิศวกรรมใหม ๆ ทีเ่ ราเติมเต็มเข าไป แต ในช วงสองป ที่ผ านมา สิ่งที่เราให ความสําคัญมากที่สุดเพื่อให สามารถเข าไปอยู ในใจกลุ มผู บริโภคใหม ๆ ได มากขึ้น จะเน นในเรื่องของ การให บริการ และการสร างความประทับใจต อลูกค า อันทีจ่ ริงแล วการสร างบ านเป นเรือ่ งทีไ่ ม ยาก แต การจะสร างบ านให ลกู ค า รูส กึ มีความสุขและสบายใจ รวมถึงรูส กึ ได วา คุม ค าทีจ่ ะมาจ างบริษทั รับสร างบ านอย างเราสร างบ านให ดังนัน้ เราจึงต องให ความใส ใจ เน นการให บริการในทุกขัน้ ตอนอย างมาก บริษทั โดยทัว่ ไปอาจจะมีวศิ วกรเข าไปดูแลงาน แต จะเข าไปดูแลจริงใน ส วนใดบ าง ลูกค าก็ไม อาจทราบได แต สาํ หรับแลนดี้ โฮม นัน้ ในทุกขัน้ ตอนจะมีการมอร นเิ ตอร ทงั้ หมด เช น การให บริการ โดยนําระบบ Work Flow เข ามาช วยในการทํางาน ทําให สามารถเข าค นหาข อมูลได ทนั ทีวา สถานะของลูกค าทีด่ แู ลอยู ณ ขณะนัน้ มีช างก อสร างทํางานอยู กี่คน ความคืบหน าที่หน างานเป นอย างไรบ าง มีป ญหาหรือไม ผู บริหารต องเข าไปดูแลร วมด วย หรือไม เป นต น ซึง่ การนําระบบนีเ้ ข ามาดําเนินงาน ทําให เราสามารถดูแลและสามารถจัดการกับจุดทีอ่ าจเป นวิกฤติได ทนั เวลา ซึง่ ลูกค าเอง ก็จะไม เจอกับป ญหาหรือเรือ่ งปวดหัวจุกจิก และในการควบคุมมาตรฐานการสร างบ านนัน้ วิศวกรทีค่ วบคุมหน างานก อสร าง จะต องมี Check List ตามมาตรฐาน รวมถึงมีการอธิบายมาตรฐานหลายอย างให แก ลูกค าได ทราบ ซึ่งนั่นเป นการสร าง สแตนดาร ดที่ชัดเจนให กับลูกค า เช น การปูกระเบื้องคาดหวังอะไรได บ าง ซึ่งโดยทั่วไปการปูกระเบื้องนั้นจะต องมีการระบุ มาตรฐานความห างต อแผ นเอาไว หลายครั้งลูกค าเองก็ไม ทราบเรื่องนี้ เพราะฉะนั้นเราจึงมีหน าที่อธิบายให ลูกค าเข าใจ ตัง้ แต แรกเริม่ เพือ่ สร างความเข าใจระหว างกัน การเพิม่ การสือ่ สารในส วนนีก้ จ็ ะทําให ลกู ค าเข าใจและแฮปป ก บั การก อสร างยิง่ ขึน้ อย างที่กล าวมาแล วข างต นว าการรับสร างบ านนั้นเป นเรื่องง าย แต ความยากคือการสร างบ านให ลูกค าได อย างที่ต องการ และตรงใจของเขามากที่สุด ซึ่งเรื่องนี้เราเน นให ความสําคัญมาก รวมถึงเรื่องของมาตรฐานการควบคุมงาน ผู ที่มีหน าที่ รับผิดชอบดูแลหน างานจะต องเป นวิศวกรตัวจริง อย างน อยต องจบปริญญาตรีด านวิศวกรรมโยธา เพื่อที่จะสามารถดูแล เทคนิคการก อสร างที่ถูกต องและดีที่สุดสําหรับลูกค าได เป นอย างดี เพราะฉะนั้นลูกค าจึงมั่นใจได ว าบุคลากรที่ทําหน าที่ ควบคุมการก อสร างจะเป นมืออาชีพจริง
28
¤Ø³¾Ò¹Ôª Á³ÕÃÑμ¹Ð¾Ã ¼ÙŒÍíҹǡÒý†Ò¡‹ÍÊÌҧáÅкÃÔËÒÃÊíҹѡ§Ò¹ ºÃÔÉÑ· ᏴÕé âÎÁ (»ÃÐà·Èä·Â) ¨íÒ¡Ñ´ 29
อันที่จริงแล วการรับสร างบ านนั้นมีองค ประกอบร วมกันหลายอย าง แต สงิ่ ทีเ่ ราพบคือการสร างมาตรฐานใดมาตรฐานหนึง่ ขึน้ มาในระบบ การสร างบ านนัน้ เป นเรือ่ งยาก เนือ่ งจากลูกค าทีห่ ลากหลายก็มหี ลาก หลายความต องการ เช น ลูกค าบางท านที่ต อให แก ไขงานก อสร าง เล็กน อยก็รู สึกว าไม เป นไร ในขณะที่ลูกค าบางท าน ต อให เราคิดว า ก อสร างได อย างประณีตแล ว ก็ยงั สามารถหาจุดเล็กๆ ทีอ่ ยากจะแก ไข ได อกี เป นต น เพราะฉะนัน้ สิง่ ทีผ่ มเรียนรูไ ด จากการทําธุรกิจรับสร างบ าน คือการที่เราอยู ในธุรกิจบริการรับสร างบ านนั้น สิ่งที่เราต องทําก็คอื ‘บริการ’ เพือ่ ให ลกู ค ารูส กึ ประทับใจ และตลอดเวลา 20 กว าป ทผ่ี า นมา เรามีการเก็บข อมูลลูกค ามาโดยตลอดว าลูกค ากลุม ไหนต องการสิง่ ใด บ าง เพราะฉะนัน้ การสร างบ านของแลนดี้ โฮม จึงสามารถบริการคุณ ได ทกุ ระดับและทุกความต องการ เพราะเราสามารถเข าถึงทุกความต องการ ได อย างแท จริง ซึ่งอันที่จริงแล วจากการเก็บสถิติและทําความเข าใจ กลุม ลูกค า เราพบว าป ญหาส วนใหญ เกิดจากความไม เข าใจกันนัน่ จึงเป นเหตุ ว าทําไมเราถึงต องมีเจ าหน าที่ของเราเข าไปทําความเข าใจกับลูกค า ในทุกขั้นตอนการก อสร าง ทั้งนี้ก็เพื่อการสื่อสารที่เข าใจกัน
สําหรับ แลนดี้ ลักซ ชัวรี่ เริ่มต นขึ้นจากการที่เราเล็งเห็นการเติบโตในกลุ มตลาดระดับบนที่มีมากขึ้น ซึ่งการเติบโตของ แลนดี้ โฮม ณ ขณะนี้สวนทางกับเศรษฐกิจในป จจุบัน ลูกค าที่เข ามาหาใช บริการ เขามั่นใจว าทางเราจะสามารถสร างบ าน หลังใหญ ๆ มูลค าสูง 40-50 ล านบาท ได ตามความต องการ จึงเลือกใช บริการกันมากขึน้ เราจึงต องตอบโจทย ลกู ค าในกลุม นี้ ให มากขึ้น โดยเฉพาะอย างยิ่งในเรื่องของการบริการที่ดี ยิ่งเป นลูกค าในกลุ มระดับบนซึ่งเป นกลุ มที่มีความคาดหวังสูง เราจําเป นต องเข าใจถึงความคาดหวังที่มีมากขึ้นของลูกค ากลุ มนี้ การมีวิศวกรควบคุมงานประจําหน าไซต ก อสร างทุกวัน ทําให ลกู ค าสามารถติดตามความคืบหน าได แบบวันต อวันว าเกิดอะไรขึน้ บ าง และเนือ่ งจากการก อสร างเป นบ านหลังใหญ ทีต่ อ งมี Movement เร็ว เพราะฉะนัน้ จึงต องเข าถึงจุดวิกฤติให ทนั เวลา อีกทัง้ ทางผูบ ริหารก็สามารถมอร นเิ ตอร บา นหลังใหญ เหล านี้ด วยตัวเองอย างใกล ชิด เพื่อแสดงออกถึงความใส ใจอันดีของเรา” 20 ป แห งความภาคภูมิใจ กว า 20 ป ของแลนดี้ โฮม มาตรฐานของการสร างบ านจึงไม ใช เพียงแค การเนรมิตบ านหนึง่ หลังขึน้ มาให ตรงใจผูเ ป นเจ าของ แต ยังหมายถึงการให ความสําคัญกับการบริการมาเป นอันดับหนึ่งด วย และล าสุดเมื่อแลนดี้ โฮม เพิ่มทุนจดทะเบียนจาก 140 ล านบาท เป น 200 ล านบาท จึงเป นการตอกย้ําความมั่นใจของผู บริโภคได มากขึ้นอีกด วย ในแง ของการทํางานเมื่อลงสนามจริง คุณภัทรา มณีรัตนะพร ผู อํานวยการฝ ายการตลาดและออกแบบผลิตภัณฑ ในฐานะหนึง่ ในทีมผูบ ริหารทีเ่ ข ามาร วมผนึกกําลังบริการแก ลกู ค า ได กล าวเสริมถึงนวัตกรรมทีแ่ ลนดี้ โฮม นํามาประยุกต ใช เพือ่ เอือ้ ประโยชน ต อการทํางานว า “อันทีจ่ ริงแล วทีผ่ านมาด วยรูปแบบบ านของแลนดี้ โฮม มีหลากหลาย พร อมฟ งก ชั่น ทีส่ ามารถตอบโจทย ทกุ ไลฟ สไตล ของลูกค าได อย างแท จริง เราจึงเป น Trendsetter ในเรือ่ งการออกแบบทีอ่ ยูอ าศัย ซึง่ แลนดี้ โฮม มีการนําเสนอแบบบ านใหม ๆ อย างต อเนื่องถึง 2 ซีรี่ย ต อป โดยการศึกษาแนวคิดพร อมประยุกต เทรนด แบบบ านจาก นานาประเทศทั่วโลกมาผสมผสานกับฟ งก ชั่นความเป นอยู ที่เหมาะสมในแบบฉบับของครอบครัวไทย ทั้งนี้บ านทุกแบบ สามารถปรับแบบได ตามความต องการของลูกค า ผ านโปรแกรม BIM Archicad ซึ่งเป นการออกแบบบ านด วยระบบ 3D ที่จะทําให ลูกค าเห็นบ านในฝ นก อนก อสร างจริง อีกทั้งยังสามารถทําให การสร างสรรค แบบ หรือถอดราคามีความแม นยํา สูงสุด ด วยการคํานวณแบบ Automatic ซึ่งถือว าเป นเครื่องมือที่ช วยเพิ่มศักยภาพด านการออกแบบให สถาปนิกสามารถ ถ ายทอดแนวคิดได ตรงตามความต องการของลูกค าได อย างสูงสุด”
30
คุณพรรัตน มณีรัตนะพร ผู ช วยกรรมการผู จัดการและผู อํานวยการฝ ายขาย
คุณภัทรา มณีรัตนะพร ผู อํานวยการฝ ายการตลาดและออกแบบผลิตภัณฑ
คุณพานิช มณีรัตนะพร ผู อํานวยการฝ ายก อสร างและบริหารสํานักงาน
และความภูมใิ จอย างหนึง่ ของทีมงานแลนดี้ โฮม ณ วันนีก้ ค็ อื การสยายป กและขยายศักยภาพการทํางาน มากขึ้น ด วยทุนจดทะเบียนที่มากขึ้น หนึ่งในทีมผู บริหารอีกท าน คุณพรรัตน มณีรัตนะพร ผู ช วย กรรมการผูจ ดั การและผูอ าํ นวยการฝ ายขาย กล าวเน นย้าํ ถึงความสําเร็จนีข้ องแลนดี้ โฮม อย างภาคภูมใิ จว า “สําหรับภาพรวมของสถานการณ ตลาดและยอดขายของศูนย รบั สร างบ านแลนดี้ โฮม เป นไปตามเป าหมาย ที่วางไว สําหรับครึ่งป แรกบริษัทสามารถป ดยอดจองได แล วกว า 700 ล านบาท จากยอดจองของบริษัท ที่ตั้งไว ในป นี้ 1,100 ล านบาท ทั้งนี้บริษัทประสบความสําเร็จอย างมากจากกิจกรรม Landy Home Mid Year Sale ที่ผ านมา และสามารถป ดยอดจอง 3 วัน ได ถึง 200 ล านบาท ในงานเดียว ซึ่งความสําเร็จนี้ เรียกได ว าสวนทางอย างมากกับเศรษฐกิจในขณะนี้ ป จจุบันบริษัทมีปริมาณงานก อสร างบ านเพิ่มขึ้น อย างต อเนื่อง จึงมุ งมั่นพัฒนางานระบบการบริการ งานก อสร าง ตลอดจนการสร างความมั่นใจให แก ลูกค าด วยการเพิม่ ทุนจดทะเบียนจาก 140 ล านบาท เป น 200 ล านบาท เพือ่ เป นหลักประกันความมัน่ ใจว า บริษัทจะสามารถรับผิดชอบการก อสร างบ านลูกค าให แล วเสร็จได อย างแน นอน” ณ วันนีค้ วามสําเร็จของแลนดี้ โฮม จึงไม ได เป นเพียงการฝากชือ่ ไว ในธุรกิจอย างยาวนาน แต เป นการรักษา มาตรฐานและเติมความใส ใจในการทํางานทุกขั้นตอนในฐานะบริษัทบริการรับสร างบ าน ซึ่งคุณพานิช ได กล าวทิง้ ท ายว า “เพือ่ เป นการหลีกเลีย่ งการแข งขันทางด านราคา แลนดี้ โฮม จึงมุง มัน่ พัฒนามาตรฐาน การบริการที่สมบูรณ แบบ ตลอดจนงานก อสร างคุณภาพสูง วัตถุประสงค ก็เพื่อสร างความพึงพอใจของ ลูกค าอย างสูงสุด และมั่นใจได ว าลูกค าที่สร างบ านกับแลนดี้ โฮม จะได รับการดูแลเอาใจใส อย างใกล ชิด ตลอดทุกขั้นตอน ให สมกับที่ลูกค าเลือกใช บริการของเรา”
31
เรื่อง: วสันต คงจันทร กรรมการผู จัดการ บจก.โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท www.m-property.co.th
ºÒ§ãËÞ‹-ºÒ§ºÑǷͧ ö俿‡ÒÊÒÂÊÕÁ‹Ç§¨Ðໃ´ãªŒ 5 ¸¤.58 àÁ×ͧãËÁ‹ Sub-center ÊíÒ¤ÑÞáË‹§Í¹Ò¤μ (2/2) “·íÒàźҧãËÞ‹ ºÒ§ºÑǷͧ ã¹Í´Õμ ¹Ñºà»š¹·íÒàÅ»ÃÔÁ³±Å·Õèä´ŒÃѺ¤ÇÒÁ¹ÔÂÁ 㹡Òë×éÍ·ÕèÍÂÙ‹ÍÒÈÑÂ໚¹ÅíÒ´ÑºμŒ¹æ àÊÁÍÁÒ (ÊÅѺ¡Ñ¹à»š¹ÅíҴѺ˹Ö觡Ѻ‹ҹ ÃѧÊÔμ) áμ‹ËÅѧ¨Ò¡ÁÕ¡Òá‹ÍÊÌҧö俿‡ÒÊÒÂÊÕÁ‹Ç§ ·íÒãˌ‹ҹºÒ§ãËÞ‹ ºÒ§ºÑǷͧ ÃÇÁ¶Ö§àÁ×ͧ¹¹·ºØÃÕ ä´ŒÃѺ¤ÇÒÁ¹ÔÂÁÍ‹ҧμ‹Íà¹×èͧ ¨¹¡ÃзÑè§ Çѹ¹Õé áÅÐã¹Çѹ˹ŒÒ‹ҹ¹Õé¡íÒÅѧ¨Ð໚¹Èٹ ¡ÅÒ§ÃдѺÀÙÁÔÀÒ¤ ·Õè¨ÐÁÕâ¤Ã§¡Òà ¶¹¹ÁÍàμÍà àÇ ºÒ§ãËÞ‹-¡ÒÞ¨¹ºØÃÕ »ÃÐμÙÊÙ‹ÀÒ¤μÐÇÑ¹μ¡ μ‹Íà¹×èͧä»Âѧ ·ÐÇÒ¢ͧ¾Á‹Ò ·íÒàÅ‹ҹ¹Õ¡é Òí Åѧ¡‹ÍÊÌҧÈٹ ¡ÒäŒÒ¢¹Ò´ãËÞ‹ 2 áË‹§ ÁÕ¾¹×é ·Õè ÃÇÁ¡Ñ¹à¡×ͺŌҹμÒÃÒ§àÁμà (ãËÞ‹·ÕèÊØ´ã¹»ÃÐà·È) ¤×Í àÁ¡Ò ºÒ§ãËÞ‹ ¡Ñº à«ç¹·ÃÑÅ àÇÊ· à¡μ” ด านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ล าสุดยังมีโครงการเป ดขายกว า 60 โครงการ ประมาณ 44,959 หน วย มูลค าเกือบ 90,000 ล านบาท ยอดขายประมาณ 67% อุปทานคงเหลือในตลาดประมาณ 14,900 หน วย รวมทุกประเภท สําหรับคอนโดมิเนียม แบ งตามทําเล เช น ย านเตาปูน จุดเริ่มต นโครงการราคาขายตารางเมตรละ 80,000-120,000 บาท หรือห องละ 2.00-2.50 ล านบาท ส วนย านศูนย ราชการนนทบุรี มีขายตั้งแต ตารางเมตรละ 50,000-100,000 บาท หรือห องละ 1.50-2.00 ล านบาท ส วนย านสุดเส นทางในย าน ตลาดบางใหญ ขายตารางเมตรละ 50,000-60,000 บาท หรือห องละ 1.2-1.5 ล านบาท การพัฒนาในอนาคต หากพิจารณาด านข อกําหนดผังเมือง (หมดอายุ) จะเห็นว าย านใจกลางบางใหญ บางบัวทอง ผังเมืองค อนข างเอือ้ ให พฒ ั นา ส วนพืน้ ทีด่ า นในซอยลึกด านตะวันตก ส วนใหญ ยงั เป นพืน้ ทีส่ เี ขียว เขตเกษตรกรรมอยู (บ านจัดสรรพัฒนาได เฉพาะบ านเดีย่ ว) แต การปรับผังเมืองใหม รอบหน าอาจมีการขยาย พื้นที่เขตที่อยู อาศัยให กว างขึ้น ด านราคาที่ดิน แต เดิมที่ดินติดถนนรัตนาธิเบศร ถนนกาญจนาภิเษก ย านบางใหญ ก อนการก อสร าง รถไฟฟ าราคาเพียงตารางวาละ 5-60,000 บาทเท านัน้ (ทีด่ นิ ติดถนน) แต นบั จากมีโครงการฯ ราคาทีด่ นิ ขยับขึน้ ถึงตารางวาละ 100,000-150,000 บาท ในป จจุบนั โดยในเขตชุมชนบางใหญ ขยับไปถึงตารางวาละ 200,000-250,000 บาท ซึ่งนับว าสูงมากเมื่อเทียบระยะทางจากใจกลางเมือง ที่ดินบางบริเวณที่ใกล ใจกลางเมืองมากกว าราคายังต่ํากว านี้อีก
32
ตารางที่ 1 ราคาทีด่ นิ ตามแนวรถไฟฟ าสายสีมว ง ทีด่ นิ ติดถนนย านสถานี ไม เกิน 5 ไร
ที่มา: Modern Property Consultants
หากพิจารณาถึงโอกาสของการเพิ่มขึ้นของราคา ที่ดินในอนาคต ต องพิจารณาถึงการใช ประโยชน ของทีด่ นิ (Land use) หรือการซือ้ ทีด่ นิ ทีล่ งทุนแล วคุม ค า กรณีการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมริมถนนอาจจะ หาคนซื้อยากขึ้น ไปหาซื้อที่ดินในซอยไม ไกลจาก สถานีรถไฟฟ า ตารางวาละ 5-60,000 บาท (ที่ดิน ในซอย) จะคุ มค ากว าในการลงทุน เพราะซื้อมา พัฒนาทําคอนโดฯ ขายล านต นๆ ได ดังนั้นที่ดิน ในซอยใกล สถานีในอนาคตน าจะมีโอกาสเพิ่มขึ้น เพื่อรองรับตลาดคอนโดมิเนียม ส วนที่ดินติดถนน โอกาสซือ้ แพงกว านีต้ อ งเป นโครงการพาณิชยกรรม ประเภทศูนย การค า (มี 2 รายใหญ ดังทีก่ ล าวไปแล ว ส วนเจ าใหม คงแข งขันยาก หรือหากมีกแ็ ค สกั 1-2 ราย ซื้อที่ดิน 1-2 แปลง) การพัฒนาด านพาณิชยกรรม อืน่ ๆ เช น สํานักงาน โรงแรม ฯลฯ ยังคงต องรอตลาด ในอนาคต การพัฒนาหลักยังคงเป นการพัฒนา คอนโดมิเนียมใกล สถานีเป นส วนใหญ และบ าน จัดสรรในทําเลที่ห างออกไป
ส วนทีด่ นิ ด านในซอยลึกเข าไป ศักยภาพการพัฒนาเป นบ านจัดสรร ในวันนี้ ราคาทีด่ นิ น าจะชนเพดานทีซ่ อื้ ไหวแล ว (เช น ซือ้ ทีด่ นิ เปล าตารางวาละ 10,000 บาท พัฒนาบ านจัดสรรแล วต องขาย 3-40,000 บาท ราคาขาย ที่ดินบ านเดี่ยว 50 ตารางวา 1.5-2.0 ล านบาท ราคาขายบ านอีก 1.5-3.0 ล านบาท รวมราคาบ านเดีย่ วหลังหนึง่ 50 ตารางวา 3.0-5.0 ล านบาท แล วทีด่ นิ ในซอยทีม่ กี ารใช ประโยชน เพือ่ บ านจัดสรร หากราคาตารางวาละ 10,000-15,000 บาท อาจขยับเพิ่มได ไม มาก จนกว าจะมีศักยภาพ การพัฒนาในแนวตั้ง เช น อพาร ตเมนท คอนโดมิเนียม ราคาที่ดิน ก็จะเพิ่มเป นหลายหมื่นบาทได แต ที่สําคัญอุปทานทีด่ นิ ในซอยย าน บางใหญ บางบัวทอง มีอปุ ทานมาก ไม ได จาํ กัดเช นในเมืองชัน้ ในทีห่ ายาก การเพิ่มขึ้นของราคาที่ดินในซอยอาจไม หวือหวามากเท าที่ดินย าน สถานีติดถนนหรือใกล ๆ สถานี นอกจากนี้ศกั ยภาพของทีด่ นิ ยังขึน้ อยูก บั ข อกฎหมายว าสร างได มากน อย ความสะดวกในการคมนาคม สาธารณูปการทีม่ สี ภาพทางกายภาพทีส่ งู ทีต่ าํ่ น้าํ ท วม และสภาพตลาด อสังหาริมทรัพย ขาขึ้นขาลงอีก
33
เรื่อง: รศ. มานพ พงศทัต
ÃкºÃ¶ËÃ×ÍÃÒ§ (CAR VS RAIL) ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ãã¹ÍÕ¡ 10 »„¢ÒŒ §Ë¹ŒÒ ¡íÒÅѧ¨Ð»ÃѺà»ÅÕÂè ¹ä»Í‹ҧÁÒ¡ Í‹ҧ·Õè ¹Ñ¡¼Ñ§àÁ×ͧ¨ÐãËŒ¤íÒ¨íÒ¡Ñ´¤ÇÒÁÇ‹Ò¡ÃØ§à·¾Ï ¨Ðà»ÅÕ蹨ҡ “àÁ×ͧ¢Í§Ã¶ (Automobile City)” ä»à»š¹ “àÁ×ͧ¢Í§ÃÒ§ (Transit-Rail City)” กรุงเทพฯ ตัง้ แต ป 2502 ในยุคสมัยจอมพลสฤษดิ์ ได เชิญนักวางผังเมืองจากอเมริกา มาวางผังกรุงเทพฯ ป 2502 พร อมๆ กับการจัดตั้งสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห งชาติ ที่ได นําแนวคิดเปลี่ยนกรุงเทพฯ จากเมืองน้าํ ทีม่ คี คู ลองมากมายร วม 500-600 ลําคลอง มาเป น “เมืองแห งรถยนต (Automobile City)” เหมือนเมืองในอเมริกา ยุคหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 รถยนต คอื ผลิตภัณฑ ยคุ สมัยใหม ทุกเมืองใหญ ทกุ แห ง ในโลกได สร างเมืองหลังสงคราม ด วยการสร างถนนเพือ่ ให รถยนต วง่ิ “อุตสาหกรรมรถยนต ” โดยมีบริษทั Ford เป นหัวจักรเจ ายุทธจักรขับเคลื่อนทั้งวิถีชีวิตและพลังแห งเศรษฐกิจโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา ชิคาโก และแคลิฟอร เนีย ถือเป นเมืองชั้นนําของยุคสมัยที่รถยนต ครองโลก ทัง้ ๆ ทีน่ วิ ยอร กกลับเป นเมืองแห งรถราง ทีไ่ ด นาํ แนวคิดนีม้ าจากเมืองในยุโรป อย างเช น ลอนดอนและปารีส หรืออย างในประเทศเยอรมนีก็มีอีกหลายๆ เมืองที่ “ระบบรางเป นเจ าของการเดินทาง” แม ในนิวยอร ก เองก็มีชื่อชุมชน เช น New Amsterdam, New Hampshire ซึ่งได ชื่อมาจากเมืองในยุโรปทั้งนั้น เมือ่ คณะทีป่ รึกษาของอเมริกาได เข ามาแนะนําให กบั ประเทศไทย โดยเฉพาะกรุงเทพฯ ก็เสนอวิธกี ารเดินทาง สมัยใหม (Automobile by Private Car) เข ามา โดยคูคลองถูกถมเกือบหมดเพื่อสร างเป นถนนเพื่อ รองรับรถยนต เช น ถนนเพชรบุรีตัดใหม ถนนพญาไท ถนนสุขุมวิท ถนนสีลม ถนนสาทร ลําคลองเกือบ 40 สายหลักถูกถม และตั้งแต นั้นจนกระทั่ง 1-2 ป ที่ผ านมา ถนนในประเทศไทยเติบโตมาก มีถนนยาว 400,000 กม. แต มรี ะบบรางแค 4,000 กม. ในนัน้ มีการขนส งมวลชนตามเมืองใหญ แค 40 กม. เมืองไทย และกรุงเทพฯ ซึ่งได ชื่อว าเป นเมืองแห งเวนิส ก็กลายมาเป น Automobile Age City อย างแท จริง เมื่อเมืองใหญ ขึ้น โตขึ้น ประชากรก็มากขึ้นตามไปด วย ซึ่งขณะนี้กรุงเทพฯ และปริมณฑล มีประชากร หาหลัก ประมาณ 15 ล านคน (ประเมินโดย UN) หากจะสร างถนนให รถยนต วงิ่ เท าไรก็คงไม พอ เพราะมีปญ คือ “รถติด” ทําให สิ่งแวดล อมเสีย เกิดการเผาผลาญน้ํามัน สร างทําถนนมากั้นทางน้ําไหลทําให เกิด น้ําท วมเป นประจํา กลายเป นป ญหาหลักของเมืองใหญ เช น กรุงเทพฯ ที่มีรถป ายแดงวันละ 1,000 คัน มีจักรยานยนต ป ายแดงวันละ 1,500 คัน ทําให แนวคิดของการพัฒนาเมืองเริ่มเปลี่ยน ไม ใช เฉพาะ กรุงเทพฯ หรือในประเทศไทยเท านั้น แต เป นไปทั่วโลกทั้งอเมริกาและเอเชีย ที่จํานวนประชากรในเมือง เพิ่มมากขึ้น หากจะให ทุกคนมีรถขับคงไม ไหว ดังนั้นแนวคิดด าน “จะเอารถหรือราง (Car VS Rail)” จึงเริม่ ถูกคิดนํากลับมาทําใหม ระบบขนส งมวลชนในเมืองใหญ ทว่ั โลก อันเป นกระแสหลัก ระบบรถไฟใต ดนิ หรือ Mass Transit บนดิน จึงถูกนํามาใช ในทุกเมืองใหญ
34
เรือ่ ง: อ. ชวพงษ ชํานิประศาสน
¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμԤǺ¤ØÁÍÒ¤ÒéºÑº·Õè 5 (2558) ประกาศเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม 2558 รับสนองพระบรมราชโองการ โดยพลเอกประยุทธ จันทร โอชา นายกรัฐมนตรี โดยพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคารฉบับนี้เป นการแก ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติควบคุม อาคาร 2522 มีทั้งหมด 9 มาตรา สาระสําคัญมีดังนี้
3. อาคารทีต่ อ งให ความเห็นชอบรายงานวิเคราะห ผลกระทบสิง่ แวดล อม ต องแสดงเอกสารความเห็นชอบรายงานผลกระทบด วย หรือถ า อาคารนัน้ มิตอ งผ านการจัดทํารายงานผลกระทบต องมีเอกสารข อมูล และการแจ งสิทธิให บุคคลข างเคียง
มาตรา 3 ทีบ่ ญ ั ญัตใิ ห รฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย ออกประกาศ ในบทบัญญัติมาตรานี้ได บัญญัติให สถาปนิกและวิศวกรรมโยธาที่อยู เพิม่ เติมรายละเอียดทางด านเทคนิคก อสร างทีก่ าํ หนดเป นกฎกระทรวง ในวิชาชีพควบคุมสามารถบอกก อสร าง ดัดแปลงอาคารได ทกุ ระดับโดย ไว แล ว -วุฒิสถาปนิกหรือวุฒิวิศวกรโยธา ขอได ทุกระดับ -สามัญสถาปนิกหรือสามัญวิศวกรโยธา ขอก อสร างอาคารที่มิใช มาตรา 4 ก็คอื เรือ่ งเพิม่ เติมมาตรา 32 ตรี การประกันภัยความรับผิด อาคารสูง อาคารขนาดใหญ พิเศษ ตามกฎหมายต อชีวติ ร างกาย และทรัพย สนิ ของบุคคลภายนอกของเจ าของ -ส วนระดับภาคีสถาปนิกและภาคีวศิ วกร ขอก อสร างอาคารทีม่ เี ข าข าย หรือผู ครอบครองอาคาร หรือผู ดําเนินการ (ซึ่งเดิมมีบทบัญญัติ ในวิชาชีพควบคุม เช น บ านพักอาศัย ซึ่งมีพื้นที่รวมกันไม เกิน 150 ตามมาตรา 8 (16) ได กาํ หนดให รฐั มนตรีมอี าํ นาจออกกฎกระทรวง ตารางเมตร หรืออาคารทางราชการทีม่ พี นื้ ทีไ่ ม เกิน 400 ตารางเมตร กําหนดประเภทและชนิดของอาคารที ่จะต ้องจัดให ้ม ีการประกัน ความรับผิดชอบตามกฎหมายต อชีวติ ร างกาย แต ยงั ขาดรายละเอียด อย่างไรก็ตาม ในมาตรานี้ยังมีบทบัญญัติที่ไม่กําหนดระยะเวลา ในการให เจ าพนักงานท องถิ่นทักท วงก็คือ เรื่องเกี่ยวกับ ของวิธีการ 1. การรุกล้ําที่สาธารณะ ความรับผิดชอบต อชีวิต ร างกาย และทรัพย สินนั้น มีบทบัญญัติ 2. ระยะหรือระดับอาคารกับถนน ตรอก ที่ทางสาธารณะ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 227,228 บังคับใช อยู แต บงั คับเฉพาะ 3. กรณีทมี่ ขี อ กําหนดในการห ามก อสร างอาคารบางชนิด บางประเภท ผูป ระกอบอาชีพในการออกแบบและควบคุมการก อสร าง หาได ครอบคลุม ไปถึงเจ้าของหรือผู้ครอบครองอาคารหรือผ ู้ดําเนินการก ่อสร ้าง มาตรา 6 และมาตรา 7 เป นการเปลี่ยนแปลงบทลงโทษ ทั้งจําคุก อีกทัง้ มิได มบี ทบัญญัตทิ จ่ี ะต องรับผิดชอบทางสินไหมทดแทนแต อย างใด และปรับผูไ ม ปฏิบตั ติ ามมาตรา 32 ทวิ 32 ตรี และมาตรา 38 มาตรา บทบัญญัตมิ าตรานีก้ เ็ พือ่ กําหนดขอบเขตความชัดเจนในความรับผิดชอบ 39 มาตรา 39 ตรี ของเจ าของอาคารหรือผู ครอบครองอาคาร หรือผู ดําเนินการในทาง แพ งด วย ส วนมาตรา 8 ก็คือ การให ใช แบบการแจ งและการรับแจ ง การขอ อนุญาตที่ใช อยู จนกว าจะมีการเปลี่ยนแปลง มาตรา 5 เป นการแก ไขเพิ่มเติมรายละเอียดทางเอกสารในการ ก อสร าง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร โดยไม ยื่นคําขอรับใบอนุญาต มาตรา 9 ก็คือ บทเฉพาะกาลที่ให ผู ขออนุญาตตามพระราชบัญญัติ ได แก ควบคุมมาตรา 39 ทวิ ดําเนินการก อสร าง ดัดแปลง รื้อถอนอาคาร 1. หนังสือรับรองและยืนยันความถูกต องตามกฎหมายตนว าเป น ต อไปได ผู ออกแบบอาคารหรือควบคุมงาน ทั้งสถาปนิกและวิศวกร 2. หนังสือรับรองการตรวจสอบงานออกแบบและคํานวณอาคาร ที่ต องมีการตรวจสอบ
35
เรื่อง: รักข อักษรา
Leica DISTO S910 ·ÕèÊØ´¢Í§à¤Ã×èͧÇÑ´ÃÐÂдŒÇÂàÅà«Íà Leica ¶×Í䴌NjÒ໚¹¼ÙŒ¹íÒã¹μÅÒ´à¤Ã×èͧÇÑ´ÃÐÂзҧ´ŒÇÂàÅà«Íà ·Ñé§ã¹´ŒÒ¹ à·¤â¹âÅÂÕáÅйÇÑμ¡ÃÃÁ ·Ø¡»„¨ÐÁÕ¡ÒþѲ¹Òà¤Ã×Íè §ÇÑ´ÃÐÂÐÃع‹ ãËÁ‹æ ÍÍ¡ÁÒãˌ㪌 »„ÅÐËÅÒÂÃØ‹¹ ÊíÒËÃѺ㹻„¹Õé ºÃÔÉÑ· Ê»ÃÔ§ºÍ¡« ¨íÒ¡Ñ´ 㹰ҹмٌ¹íÒࢌÒáÅÐ ¨Ñ´¨íÒ˹‹ÒÂà¤Ã×èͧÇÑ´ÃÐÂзҧ´ŒÇÂàÅà«Íà áºÃ¹´ Leica Í‹ҧ໚¹·Ò§¡Òà 㹻ÃÐà·Èä·Â 䴌ໃ´μÑÇ Leica DISTO Ãع‹ S910 ·Õ¶è Í× à»š¹¡Òû¯ÔÇμÑ ¤Ô Ãѧé ãËÞ‹ ¢Í§¡ÒÃÇÑ´ÃÐÂзҧ´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕ P2P ¾ÃŒÍÁ´ŒÇÂÅÙ¡àÅ‹¹μ‹Ò§æ ·Õè¨Ð·íÒãËŒ ¡Ò÷íÒ§Ò¹§‹Ò¢Öé¹ Leica DISTO S910 จัดว าเป นเครือ่ งวัดระยะทางด วยเลเซอร แบบพกพาทีม่ คี วามล้าํ สมัยด านเทคโนโลยี การวัด ที่จะช วยให การทํางานวัดระยะและคํานวณพื้นที่ง ายขึ้นเพียงปลายนิ้วสัมผัส โดยเป นเครื่อง วัดระยะทางด วยเลเซอร รุ นแรกของโลกที่สามารถใช เทคโนโลยี P2P (Point to Point Technology) ซึง่ เป นการวัดระยะทางโดยใช การโยงจุดถึงจุด ทีส่ ามารถประยุกต การใช งานเพือ่ ตอบโจทย การวัดทีซ่ บั ซ อนได โดยที่ไม ต องมีความรู ทางด านงานสํารวจ
36
เทคโนโลยี P2P ที่อยู ใน S910 ช วยให การวัดระยะเพียงแค เล็งเครื่องไปจุดที่ 1 และ จุดที่ 2 ก็จะได ข อมูลมากมายออกมา โดยเครื่องจะคํานวณมุม แนวตั้ง แนวนอน และเพื่อให การใช งาน S910 เกิดประสิทธิภาพสูงสุด จะต องมีอะแดปเตอร และขาตั้ง รุน 360S ทีอ่ อกแบบมาสําหรับใช งานกับ S910 โดยเฉพาะฐานตัง้ อัจฉริยะ (Smart Base) นี้ ออกแบบมาเพือ่ ความแม นยําและเทีย่ งตรงในการใช งานแบบ P2P ช วยให วดั ได ไกลถึง 300 เมตร ในทุกสภาวะ แม แต การวัดไปยังวัตถุทม่ี กี ารสะท อนแสงทีไ่ ม ดเี ครือ่ งก็สามารถ วัดได อย างแม นยําและรวดเร็ว โดยสามารถทีจ่ ะหมุนตัวเครือ่ งในแนวราบได รอบตัวแบบ 360 องศา ส วนการหมุนตัวเครื่องในแนวดิ่ง มีมุมก ม 40 องศา และมุมเงย 80 องศา การวัดระยะโดยใช เทคโนโลยี P2P ของ S910 สามารถทีจ่ ะวัดระยะต าง ๆ ระหว างจุด 2 จุด รวมทั้งหามุมและความลาดเอียง ณ ตําแหน งที่วัด โดยไม ต องเข าถึงวัตถุที่จะ ทําการวัด จึงสามารถวัดค าต าง ๆ ที่ซับซ อน ซึ่งนอกจากจะช วยประหยัดเวลาในการ ทํางานแล ว ยังเกิดความปลอดภัยในการทํางาน และสามารถทํางานได เพียงคนเดียว และเมือ่ ต องนําข อมูลทีว่ ดั ได ไปใช งานต อในงานเขียนแบบ ก็สามารถเชือ่ มข อมูลการวัด กับโปรแกรม CAD ได ทันที
นอกจากนี้ S910 ยังมีระบบ Smart Area สามารถทีจ่ ะวัดพืน้ ทีไ่ ด ทกุ ประเภท สามารถวัดระยะได ถงึ 30 จุด แม แต ทางเดิน ทีเ่ ป นเส นโค งก็สามารถวัดและคํานวณพืน้ ทีไ่ ด อย างง ายดาย ส วนฟ งก ชนั่ การหามุม Smart Angle วิธใี ช เพียงเลือกฟ งก ชนั่ จากนั้นให วัด 3 จุด เครื่องก็จะคํานวณมุมให โดยอัตโนมัติ โดยเครื่องจะคํานวณความยาวของเส นแต และเส น และมุม แต ละมุมให ด วย โดยจะเก็บข อมูลในรูปของ VSX หลังจากเลือกเมนูแล ว ก็หาตําแหน งตั้งเครื่องที่สามารถเห็นได ทุกจุด แล วก็เริ่มทําการวัดเพื่อเก็บข อมูลของแต ละจุดได เลย การโอนถ ายข อมูลเพื่อนําไปใช งานต อก็เป นอีกจุดเด นที่น าสนใจของ S910 เพราะสามารถที่จะส งข อมูลเข าคอมพิวเตอร , แท็บเล็ต หรือ สมาร ทโฟน ด วยการโอนถ ายข อมูลทีห่ ลากหลาย สามารถส งผ าน USB, WLAN และ Bluetooth นอกจากนี้ ยังสามารถโอนถ ายข อมูลแบบ Real Time เพือ่ นําไปใช งานต อโดยผ านการเชือ่ มต อเครือข ายไร สายได ทนั ที ทําให สามารถ จัดทําและตรวจสอบและแก ไขข อมูลการวัดและรูปภาพจากจุดหลายจุดตามที่ต องการได อย างรวดเร็วและต อเนื่อง
37
อีกทัง้ ยังสามารถโอนถ ายข อมูลแบบเรียลไทม โดยสามารถใช S910 เชือ่ มกับจีพเี อส เพือ่ กําหนดค าโคออร ดเิ นตจากตัวเครือ่ งได สามารถ เชือ่ มกับคอนโทรลเลอร ของจีพเี อส และสามารถส งข อมูลเข าไปใช งาน ร วมกันได โดยต องเป นบูลทูธ เวอร ชั่น 4 ส วนการจัดเก็บข อมูลของ S910 สามารถจัดเก็บข อมูลการวัดในรูปของนามสกุล DXF ในรูปแบบ ของแปลนพื้น, ผนัง (Floor Plan, Wall Layout) หรือแม แต ในรูป ของข อมูลโปรแกรม 3 มิติ (3D Data) ซึ่งสามารถดาวน โหลดออกไป ใช งานในคอมพิวเตอร ผ านสายเชื่อมต อแบบ USB
ข ามสิ่งกีดขวาง มีฟ งก ชั่นเข็มทิศ สามารถคํานวณพื้นที่สี่เหลี่ยม ด านไม เท า การประมาณความสูง/ความกว างของวัตถุโดยใช รูป สามเหลี่ยม การประมาความสูง/ความกว างของวัตถุโดยใช การวัด มุมเอียง
คุณสมบัตมิ ากมายทัง้ หมดนี้ อัดแน นอยูใ น S910 ทีย่ งั คงเอกลักษณ ด านดีไซน ในแบบของ Leica ทีเ่ รียบง าย ดูแข็งแรงทนทาน พร อมด วย มาตรฐานการกันน้าํ และฝุน IP54 ส วนตัวเครือ่ งมีนาํ้ หนักเพียง 290 กรัม ขนาด 164 X 61 X 31 มิลลิเมตร ที่มาพร อมกับแบตเตอรี่ชาร จได S910 จะจัดเก็บรูปภาพ (นามสกุล JPG) และผลลัพธ การวัดบนเครือ่ ง แบบ Li-ion ทีใ่ ช เวลาในการชาร จเพียง 4 ชัว่ โมง และสามารถชาร จซ้าํ ในรูปแบบของไฟล ข อมูล DXF และดาวน โหลดออกไปใช งานผ าน ได ถึง 4,000 ครั้ง สายเชือ่ มต อ USB เพือ่ ไปใช ตอ ในโปรแกรม CAD ทําให ประหยัดเวลา ในการทํางาน โดยสามารถเอาค าทีว่ ดั ได ใส เข าไปในการใช เขียนเลย เอ าท สําหรับผูท กี่ าํ ลังมองหาเครือ่ งวัดระยะทางด วยเลเซอร ทีเ่ ป ย มไปด วย ข อมูลที่เก็บจะมีระยะมุมเอียงของตัวเครื่อง เรสโซลูชั่น และเมื่อต อง เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากผู ผลิตที่เป นผู นําด านเครื่องวัดเลเซอร ส งเมล ข อมูลพวกนี้จะไปด วยทั้งหมด โดยจะมี 2 ไฟล คือ PDF และ ระดับโลกอย าง ไลก า S910 น าจะเป นตัวเลือกที่ดีและคุ มค าสําหรับ นักออกแบบก อสร างมืออาชีพ เพราะคงไม สามารถหาเครื่องวัดที่มี CSV นอกจากนี้ยังมีฟ เจอร สําหรับขึ้นรูป 3D ด วย เทคโนโลยีล้ําหน า ที่จะช วยให การทํางานแม นยําและรวดเร็วแบบนี้ นอกจากฟ งก ชน่ั การทํางานทีส่ ดุ จะอัจฉริยะทีย่ กตัวอย างมาข างต นนีแ้ ล ว ได อีกแล ว S910 ยังมีความสามารถในการทํางานด านต างๆ อีกมาก ไม วา จะเป น ความสามารถในการหาค าต่าํ สุด/สูงสุด และวัดค าต อเนือ่ ง การกําหนด ช วงระยะที่ต องการ การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร การบวก/ลบ สนใจรายละเอียดเพิ่มเติมติดต อได ที่ ค าทีว่ ดั ได การคํานวณเกีย่ วกับห อง การวัดเส นแนวเอียง การคํานวณ บริษัท สปริงบอกซ จํากัด มุ ม อั จ ฉริ ย ะ และการคํ า นวณความกว้ า งจากภาพถ่ าย การหา 2922 / 160 อาคารชาญอิสสระทาวเวอร 2 ชั้น 4 ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เส นผ านศูนย กลางของวัตถุ การหาเส นรอบรูป สามารถวัดระยะแนวราบ เขตห วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท 0-2308-2994 โทรสาร 0-2308-2995 www.springbox.co.th www.facebook.com/laserdistancemeters
38
เรื่อง: รักข อักษรา
AheadAll μÑǨÃÔ§àÃ×Íè §Ãкºàμ×͹ÀÑÂáÅÐÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ¤§»¯ÔàʸäÁ‹ä´ŒÇ‹Ò...¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ㹪ÕÇÔμáÅзÃѾ ÊԹ໚¹ÊÔ觷ÕèàÃÒ·Ø¡¤¹ μŒÍ§¡Òà áÅдŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕ·Õè¡ŒÒÇ˹ŒÒ¢Öé¹·íÒãËŒ¡ÒôÙáÅáÅл¡»‡Í§ÊÔè§ÁÕ¤‹Ò ËÃ× Í ¤¹·Õè à ÃÒÃÑ ¡ ÊÒÁÒö·í Òä´Œ à ¾Õ Â §»ÅÒ¹Ôé Ç ÊÑ Á ¼Ñ Ê «Öè § μŒ Í §ÍÒÈÑ Â ¼ÙŒ ·Õè ÁÕ »ÃÐʺ¡Òó ¤ ÇÒÁªí Ò ¹ÒÞ੾ÒдŒ Ò ¹à¢Œ Ò ÁÒ¨Ñ ´ ¡Òà ṋ ¹ ͹Nj Ò ª×è Í ¢Í§ AheadAll ‹ÍÁ»ÃÒ¡®ã¹°Ò¹ÐÁ×ÍÍÒªÕ¾·Õè໚¹¼ÙŒºØ¡àºÔ¡μÅÒ´ÍØ»¡Ã³ Ãкº ÊÑÞÞÒ³àμ×͹ÀѼٺŒ ¡Ø ÃØ¡áÅÐÃкºÃÑ¡ÉÒ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ ÊíÒËÃѺÍÒ¤Ò÷ء»ÃÐàÀ· ก อนที่ AheadAll จะได รบั การยอมรับจากเจ าของโครงการหลายๆ แห ง อย างเช นทุกวันนี้ ก็เริม่ ต นจากจุดเล็ก ๆ เช นเดียวกัน โดย คุณสุภาภรณ จิตต มติ รภาพ Executive Director, AheadAll Co., Ltd. ในฐานะ ผูบ ริหารงาน ได เป ดเผยถึงความทุม เททีผ่ า นมาตลอดระยะเวลา 13 ป ของ AheadAll ที่ไม เคยหยุดนิ่งในการพัฒนาการนําเสนอสินค า และบริการในเชิงโซลูชน่ั ครบวงจรทีม่ ปี ระสิทธิภาพเต็มรูปแบบแก ลกู ค า ในกลุ มที่พักอาศัยทั้งแนวราบและแนวสูง อีกทั้งยังขยายธุรกิจเข าไป ในกลุม คอมเมอร เชียล อาทิ อพารต เม นท เซอร วสิ อพาร ทเม นท โรงแรม โรงเรียน ออฟฟ ศ ร านค า โชว รมู ร านอาหาร และยังพัฒนาศักยภาพในการ ให บริการ โดย AheadAll สามารถดูแลลูกค าตั้งแต เริ่มต น ร วมกับ ลูกค าในการออกแบบวางระบบ การจัดจําหน าย การทําโปรแกรม การติดตั้ง การส งมอบ และการดูแลหลังการขายให ลูกค าในกลุ ม ผู ประกอบการ ทั้งนี้เพื่อให ลูกค าได รับประโยชน อย างสูงสุด โดยคุณสุภาภรณ ได กล าวถึงจุดเริม่ ต นว า “เมือ่ 13 ป ทีแ่ ล วเราได เริม่ เป ดตลาด INTRUSION หรือตลาดระบบสัญญาณเตือนภัยผู บุกรุก และระบบรักษาความปลอดภัยครบวงจร ตัง้ แต วนั แรกเราก็มเี ป าหมาย ที่ชัดเจนว าจะทําตลาดบีทูบี ด วยการโน มน าวให ดีเวลอปเปอร ได มี ความเข าใจและเห็นถึงความสําคัญของระบบโฮมออโตเมชัน่ ทีท่ าํ งาน ร วมกับระบบเตือนภัยผูบ กุ รุก แก บริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย ชนั้ นํา อาทิ แสนสิร,ิ พร อพเพอร ต้ี เพอร เฟค, กรุงเทพบ านและทีด่ นิ และ ทีซซี ี แลนด เพื่อให บริษัทเหล านี้ได ติดตั้งระบบดังกล าวให เป นมาตรฐาน ให แก ลูกบ านทุกหลังในโครงการต างๆ ซึ่งได รับผลการตอบรับที่ดี มาอย างต อเนื่องจนถึงป จจุบัน
40
คุณสุภาภรณ จิตต มิตรภาพ Executive Director, AheadAll Co., Ltd.
สิง่ ทีเ่ ราทําก็คอื เอาโจทย ของลูกค าว าต องการอะไร ด วยงบประมาณเท าไหร เราก็จะดูว าโซลูชั่นควรจะเป นอย างไรจึงจะตอบโจทย ความต องการ ของลูกค าได โดยบริษทั จะทําหน าทีอ่ อกแบบให ลกู ค าสามารถต อยอดได วันนีล้ กู ค าอาจจะมีงบจํากัดเพียงเท านี้ ก็ทาํ ไว ใช ตามงบก อน หากวันหน า มีความพร อมมากขึน้ ก็สามารถเพิม่ เติมระบบเข าไปได โดยทีส่ ามารถ ใช งานเพิม่ จากระบบทีล่ งทุนไปแล วได ทนั ที โดยไม ตอ งทิง้ ระบบเก าทีไ่ ด ลงทุนไปแล ว” AheadAll แบ งโปรดักส เป น 2 กลุ ม ได แก กลุ มซิเคียวริตี้ หรือระบบ ความปลอดภัย สินค าหลักจะเป นระบบเตือนภัยผู บุกรุก ระบบเตือน เพลิงไหม กล องวงจรป ด ระบบควบคุมการเข าออก และวีดีโอโฟน ส วนอีกหนึ่งกลุ ม คือ กลุ มไลฟ สไตล เป นสินค าประเภทแสงสีเสียง มีระบบออโตเมชัน่ ไลท ตง้ิ ระบบออดิโอ ซึง่ ป จจุบนั ระบบนีไ้ ด รบั ความนิยม มากขึ้น นอกจากนี้ AheadAll ยังให ความสําคัญในเรื่องของการ ประหยัดพลังงานด วยเช นกัน อาทิ เรื่องของแสงสว างในอาคาร ประเภทบ านพักอาศัย คอนโดมิเนียม หรือโรงแรม ที่ในช วงเวลา กลางวันอาจไม มีความจําเป นในการใช ไฟส องสว างมากนัก สามารถ นําแสงสว างจากธรรมชาติเข ามาใช ได แต ในช วงเวลากลางคืนที่มี ความต องการไฟแสงสว างเพิ่มมากขึ้น เพื่อให ได ตามความต องการ ในการใช งาน รวมไปถึงระบบเป ด/ป ดไฟอัตโนมัตเิ มือ่ มีคนเข ามาใช งาน และออกจากห องไป ซึ่งทําให ช วยประหยัดพลังงานได เป นอย างดี ทั้งนี้ผลิตภัณฑ ที่ทาง AheadAll จัดจําหน ายนั้น ล วนเป นแบรนด ซึ่งเป นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเน นในเรื่องของคุณภาพและ โซลูชน่ั ทีส่ ามารถต อยอดได ในอนาคต และสิง่ ทีส่ าํ คัญคือ การให บริการ ทีด่ หี ลังการขายของแบรนด ผลิตภัณฑ นน้ั ๆ ด วย คุณสุภาภรณ ได เน นถึง นโยบายในเรือ่ งนีว้ า “ในการคัดเลือกผลิตภัณฑ เพือ่ จัดจําหน าย สิง่ ทีเ่ ราเน น มีอยู 3 ส วน คือ การคัดเลือกสินค าทีม่ คี ณ ุ ภาพ การให บริการทีเ่ ป นเลิศ และการประสานงานกันในทุกส วน โดยอาศัยการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี มีความโปร งใส เพราะเราต องการเติบโตอย างยัง่ ยืน ในการดําเนินธุรกิจ เราจึงเน นการให บริการทีด่ ี ต องมีความต อเนือ่ งและยัง่ ยืน และมองว า ตรงนีต้ า งหากคือความสําเร็จทีแ่ ท จริง ดังนัน้ หากแบรนด ผลิตภัณฑ นน้ั ๆ ไม มีการสนับสนุนในเรื่องการซ อมแซมและอะไหล แล ว ย อมส งผลให บริษทั ไม สามารถให บริการหลังการขายแก ลกู ค าต อได ซึง่ ในระยะยาว อาจส งผลกระทบต อผู ใช งาน” ในป จจุบนั ระบบออโตเมชัน่ และซีเคียวริตเี้ ป นกระแสทีก่ าํ ลังมา ระบบ ทัง้ สองนีจ้ ะเชือ่ มเข าหากัน โดยทีผ่ ใู ช สามารถดูและสัง่ งานระบบได จาก สมาร ทโฟนผ านแอพพลิเคชัน่ สามารถสัง่ งานระบบต างๆ ภายในบ านได ไม วา จะเป นระบบกล องวงจรป ด ระบบการแจ งเตือนเพลิงไหม ระบบควบคุม การเข า/ออก ซึง่ ทุกระบบจะเชือ่ มสัมพันธ ถงึ กันหมด มีบตั รเพียงใบเดียว สามารถผ านระบบได ตง้ั แต ทางเข า ระบบลิฟต ระบบเป ด/ป ดประตูตา งๆ ระบบเสียง ระบบเตือนเพลิงไหม ไปจนถึงระบบบันทึกภาพ
41
ซึ่งการที่ AheadAll ให บริการระบบโซลูชั่นที่ครบวงจร จึงเป นการเล็งเห็นถึงประโยชน ของการใช สอยใน ระบบต างๆ ได อย างมีประสิทธิภาพร วมกันอย างแท จริง ทัง้ นีค้ ณ ุ สุภาภรณ ได แสดงวิสยั ทัศน ในก าวต อไป ของ AheadAll ว า “ในระยะยาวเรามองว า AheadAll จะต องเป นผู นําระบบความปลอดภัยในหมู บ าน เราต องการเห็นความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย สินของคนมีบ านที่ต องการให ที่พักอาศัยปลอดภัย และ เรายังมองว าไม มบี า นไหนไม มคี นแก ทําอย างไรเมือ่ เราไม อยูบ า นแล วหากเกิดอะไรขึน้ กับคนแก ทไ่ี ม สามารถ ขอความช วยเหลือฉุกเฉินได โดยระบบที่ทําไว จะสามารถเชื่อมต อหน วยงานที่เกี่ยวข องได อย างทันที เราจะต องทําเรื่องนี้ให เกิดขึ้นจริงเพื่อเป นการตอบสนองสังคมผู สูงอายุที่กําลังจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยที่ผ านมาบริษัทเริ่มวางเครือข ายผู ใช ให ครอบคลุมให มากที่สุด ก อนที่จะเริ่มงานในขั้นต อไปคือสร าง ศูนย ชว ยเหลือ เพือ่ ทีจ่ ะประสานงานความช วยเหลือฉุกเฉินไปยังหน วยงานทีเ่ กีย่ วข อง เพือ่ ให ความช วยเหลือ ผูใ ช บริการของเราต อไป โดยจะเป ดให บริการได ในเร็ว ๆ นี้ สําหรับบริการทีผ่ ใู ช จะได รบั จากศูนย ให ความ ช วยเหลือ 24 ชั่วโมง จะทําหน าที่ประสานงานกับหน วยงานที่เกี่ยวข อง ไม ว าจะเป นสถานีตํารวจ สถานี ดับเพลิง หรือโรงพยาบาล เมื่อทําได ผู ใช บริการจะได ประโยชน สูงสุดจากการได ใช บริการที่สมบูรณ แบบ และในอนาคต AheadAll มีแผนจะร วมมือกับยักษ ใหญ ทางด านอินเทอร เนต เพื่อทําระบบการแจ งเตือน ที่สามารถดูกล องวงจรภายในที่พักอาศัย หรือแม แต การสั่งเป ด/ป ดไฟผ านทางสมาร ทโฟน ซึ่งคาดว า ไม เกิน 2 ป นี้จะเริ่มเห็นเป นรูปเป นร าง ทั้งนี้เพื่อให เป นไปตามนโยบายหลักของบริษัท ที่มุ งเน นในเรื่อง การให บริการ และมีเป าหมายทีช่ ดั เจนตัง้ แต วนั แรกทีท่ าํ ธุรกิจนีท้ ต่ี อ งการจะจัดหาโซลูชน่ั ทีด่ ใี ห กบั ลูกค าบวกกับ บริการที่เป นเลิศ ที่สามารถตอบโจทย ความเป นอยู ในบ านให มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย สิน” สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ บริษัท อะเฮดออล จํากัด 124/5-6 ถนนรัชดาภิเษก งามวงศ วาน บางซื่อ กทม. 10800 โทรศัพท 02-922-3467-70 โทรสาร 02-922-3472-73 www.aheadallgroup.com
42
เรื่อง: นฤนาท เกรียงไกร
“«‹ÍÁ ÊÌҧ ÁŒÒ§ àÎç´” ʋͧ§Ò¹ “ʶһ¹Ô¡ÍÕÊÒ¹ ’58” ã¹à´×͹μØÅÒ¤Á¹Õé¨ÐÁÕ§Ò¹áÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒ»ÃÐàÀ·ÇÑÊ´ØáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ¡‹ÍÊÌҧáÅР໚¹àÇ·Õà¼Âá¾Ã‹¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É §Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ¾×鹶Ôè¹ Ê‹§àÊÃÔÁ ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒþѲ¹Ò»ÃѺ»ÃاÁÒμðҹÍҪվʶһ˜μ¡ÃÃÁ áÅоѲ¹Ò¤ÇÒÁ ໚¹ÍÂÙ‹¢Í§·ŒÍ§¶Ôè¹â´Â੾ÒÐã¹ÀÒ¤ÍÕÊÒ¹ ÀÒÂãμŒ¡Ãͺ¤ÇÒÁ¤Ô´ “ESAN RENOVATION : «‹ÍÁ ÊÌҧ ÁŒÒ§ àÎç´” áÅÐÀÒÂ㹧ҹ¹Õé¡çÁÕ¡ÒùíÒàÊ¹Í ÊÔ¹¤ŒÒ ÇÑÊ´ØÍØ»¡Ã³ áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ¡‹ÍÊÌҧãˌ䴌μÔ´μÒÁ¡Ñ¹´ŒÇ Çѹ¹ÕéàÃÒ¨Ö§ÁÕ ¹éíÒ¨ÔéÁàÅç¡æ ¹ŒÍÂæ ÊÔ¹¤ŒÒ·Õ蹋Òʹã¨ÁÒ¹íÒàʹ͡ѹ CPS คอนกรีตหล อสําเร็จเพื่องานโยธา จากสภาพการก อสร างป จจุบัน การขาดแคลนแรงงานมักจะเป น ป ญหาหลักของงานโยธา ซึ่งทําให โครงการไม แล วเสร็จตามกําหนด ไม เป นไปตามแผนและทําให ต นทุนบานปลาย “สินค าหล อสําเร็จ” ที่ช วยประหยัดแรงงานในการก อสร าง โดยเน นการใช เครื่องจักร ทํางานแทนแรงงาน จึงเป นคําตอบของการก อสร างในสถานการณ ปจ จุบนั จากความเชี่ยวชาญและประสบการณ ในการผลิตสินค าคอนกรีต อันยาวนานกว า 30 ป CPS (บริษัท ซีซีพี เพวิ่ง สโตนส จํากัด) บริษทั ในเครือ CCP (บริษทั ผลิตภัณฑ คอนกรีตชลบุรี จํากัด (มหาชน) จึงได ถือกําเนิดขึ้นเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของสินค าในกลุ ม “สิ น ค า หล อ สํ า เร็ จ ” และตอบสนองต อ งานโยธาโดยเฉพาะด ว ย คุณสมบัติ ติดตั้งง าย รวดเร็ว แข็งแกร งเป นธรรมชาติ ทนทานต อ ทุกสภาวะ สําหรับผลิตภัณฑ คอนกรีตหล อสําเร็จของ CPS แบ งออกเป น 2 กลุม ใหญ คือ กลุม ที่ 1 Labor Saving Series เน นประโยชน การใช งานและการติดตั้งที่รวดเร็ว โดยออกแบบให ใช เครื่องจักรในการติดตั้งแทนการใช แรงงาน โดยสินค าในกลุ มนี้ ได แก บล็อกกําแพงกันดิน (Retaining Wall Block), บล็อกหญ า (Floor Grass Block) , บล็อกกันหน าดินริมน้ํา (Slope Protection Block) ส วนผลิตภัณฑ ในกลุม ที่ 2 คือกลุม Paving Block เป นผลิตภัณฑ ปพู นื้ ต างๆ ได แก แผ นทางเท า CPS, บล็อกประสานปูพื้น CPS และ ขอบคันหิน CPS และเนือ่ งจากป จจุบนั ป ญหาในด านอุทกภัย เป นป ญหาทีไ่ ม อาจคาดเดาได และก อความเสียหายต อพืน้ ทีท่ อ่ี ยูอ าศัยเป นอย างมาก การป องกันด วยการถมที่ ปรับพืน้ ทีใ่ ห สงู ขึน้ และการปรับภูมทิ ศั น จึงเป นแนวทางการแก ปญ หาทีไ่ ด ผล บล็อกกําแพงกันดิน (Retaining Wall Block) จึงเป นสินค าทีส่ ามารถแก ปญ หาดังกล าวได อย างตรงจุด นอกจากนีย้ งั ทําให ได พน้ื ทีใ่ ช งานกลับมาเพิม่ ก อสร างได รวดเร็ว แข็งแรงทนทาน และยังสามารถปลูกพืชและดอกไม เพื่อเพิ่มความสวยงามได อีกด วย
44
บล็อกหญ าเพื่อพื้นที่ลานอเนกประสงค (Grass Block) เป นอีก ผลิตภัณฑ ปพู นื้ ทีส่ ามารถรับน้าํ หนักได และยังคงสามารถปลูกหญ าได เพื่อความร มรื่นและความคงทน สวยงาม และยังป องกันความ เฉอะแฉะ และป องกันพื้นดินทรุดตัวในหน าฝนได อีกด วย คุณสมบัติ ของบล็อกหญ าที่สามารถระบายน้ําได อย างดีเยี่ยม ก อสร างได ง าย และรวดเร็ว จึงสามารถช วยลดค าใช จ าย สามารถปรับทัศนียภาพ ให กลมกลืนไปกับธรรมชาติ และสามารถปรับเปลี่ยนพื้นที่สําหรับ เดินเล นในสวนเล็กๆ ในบ าน หรือทางเท าได อิฐบล็อกหญ าเพือ่ ความ กลมกลืนเป นหนึง่ กับทัศนียภาพรอบข างและการปลูกหญ า เพือ่ ความ รู สึกถึงความงามอย างดีเยี่ยมด วยรูปทรงเสมือนหินที่ช วยปกป อง ภาวะโลกร อน และสามารถกลมกลืนเข ากับหินธรรมชาติได เป นอย างดี ช วยระบายน้ําและสามารถเข ากับพืชพันธุ ได เป นหนึ่งเดียว
แผ นทางเท าของ CPS มีนวัตกรรมใหม กับผิวหน าหยาบ ให สัมผัส สวยงามเหมือนพื้นหินธรรมชาติ เพิ่มประสิทธิภาพในการยึดเกาะ จึงปลอดภัยไม ลื่นล มง าย นอกจากนี้ยังแข็งแกร ง ทนทานต อทุก สภาพอากาศ สามารถออกแบบการจัดวางให มีรูปแบบและสีสันได หลากหลายสไตล ส วนขอบคันหินสําเร็จรูป CPS ซึง่ เป นองค ประกอบ สําคัญทีจ่ ะช วยให บล็อกยึดเกาะระหว างกันอย างมัน่ คง เรียบเสมอกัน ตลอดอายุการใช งาน
บล็อกประสานปูพื้น CPS จะช วยให งานสร างสรรค พื้นถนนและ ลานอเนกประสงค ของบ านเป นงานศิลปะด วยลวดลาย สีสนั โดดเด น กลมกลืน สมกับเป นงานศิลป ของมืออาชีพ ควบคู กับคุณสมบัติ แข็งแกร ง ทนทาน ตลอดอายุการใช งาน ติดตั้งได สะดวก ง ายดาย และรวดเร็ว มัน่ ใจในความแข็งแกร ง ทนทาน ด วยมาตรฐานอุตสาหกรรม บล็อกกันหน าดิน (Slope Protection Block) ช วยเสริมสร างความ สามารถรับน้าํ หนักได มากกว า 400 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร มีหลากสีสนั แข็งแรงให หน าดิน ช วยให กระแสน้าํ ไหลเวียนโดยหน าดินไม พงั ทลาย หลายรูปแบบ ให สร างสรรค ลวดลายได อย างอิสระ และสามารถ ป องกันน้ํากัดเซาะ เหมาะสําหรับใช ในบริเวณ ตลิ่ง ริมแม น้ําหรือ ซ อมแซม ปรับเปลี่ยนลวดลายใหม ได ด วยตัวเอง แหล งน้าํ หรือเขือ่ น ฝายกันน้าํ มีรปู ลักษณ เสมือนหินธรรมชาติ สวยงาม และยังสามารถให พืชพันธุ และสัตว น้ําอยู อาศัยร วมกับธรรมชาติได สําหรับผู ที่สนใจในผลิตภัณฑ คอนกรีตหล อสําเร็จรูป CPS ยินดีให และด วยเนื้อวัสดุเป นปูน ที่สามารถเชื่อมต อกันเป นผืน จึงสามารถ คําแนะนําและรับผลิตสินค าตามออเดอร ของลูกค าได ทกุ รูปแบบ ทุกขนาด ปลูกต นได เสริมได เมื่อรากของพืชเข าไปบนดินอิฐบล็อกและพืชจะ ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได ตามที่ลูกค าต องการ เป นเสมือนหนึ่งเดียว ป องกันการลื่นไหลของดินและช วยเสริมสร าง ความแข็งแรงให แก หน าดิน ส วนผลิตภัณฑ บล็อกประสานปูพนื้ จะช วยให งานสร างสรรค พนื้ ถนน และลานอเนกประสงค ของบ านให เป นงานศิลปะด วยลวดลาย สีสนั ที่ โดดเด น กลมกลืน สมกับเป นงานศิลป ของมืออาชีพ ควบคู กับ คุณสมบัติแข็งแกร ง ทนทาน ตลอดอายุการใช งาน ให สีสันที่สดใส สามารถติดตั้งได สะดวก ง ายดาย และรวดเร็ว มั่นใจในความ แข็งแกร ง ทนทาน ด วยมาตรฐานอุตสาหกรรม สามารถรับน้าํ หนักได มากกว า 400 กิโลกรัม/ตารางเมตร มีหลากสีสันหลายรูปแบบ และ สามารถซ อมแซม ปรับเปลี่ยนลวดลายใหม ได ด วยตัวเอง
สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ บริษัท ซีพีพี เพวิ่งสโตนส จํากัด 39/1 หมู 1 ถนนสุขุมวิท ตําบลห วยกะป อําเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท 038-265-400 , 085-155-3302 โทรสาร 038-265-400 ต อ 394 และ 038-275-894 Line ID: SDCPS http://www.ccp-pavingstone.com
45
108 HOME DESIGN ผลิตภัณฑ อลูมิเนียมนวัตกรรม บริษัท 108 โฮมดีไซน จํากัด ก อตั้งขึ้นเมื่อป 1991 ภายใต ปณิธาน “ผลิตสินค าที่มีคุณภาพ เพื่อการบริการที่มีคุณภาพ สร างความประทับใจไม รลู มื ” ด วยประสบการณ ของทีมวิศวกร และสถาปนิกของบริษทั ทีม่ งุ เน นการออกแบบผลิตภัณฑ ให เป นนวัตกรรม เริ่มตั้งแต การเตรียมผิวผลิตภัณฑ ด วยการใช เทคโนโลยีการเตรียมผิวด วย Nano ceramic technology system โดยร วมกับ Henkel จากเยอรมัน นําเทคโนโลยีนี้เข ามาใช เป นรายแรกๆ ของประเทศไทย นอกจากนี้ยังร วมมือ กับผู ผลิตสี JOTAN และ TOA อีกด วย สินค านวัตกรรมของ 108 HOME DESIGN ได ยื่นจดสิทธิบัตร, อนุสิทธิบัตร และแบบดีไซน อื่นๆ กับกรมทรัพย สินทาง ป ญญาโดยการคิดค นของทีมวิศวกรและสถาปนิกของบริษัท นอกจากนี้ยังได ผลิตสินค าเพื่อส งออกไปขายยังต างประเทศ โดยเน นการบริการที่เป นเลิศ สําหรับผลิตภัณฑ ของ 108 โฮมดีไซน มีอยู ด วยกัน 4 กลุ ม คือ Window-Frame (ประตูหน า ต างอลูมิเนียม), Alu-Net (ระบบมุ งลวดกันยุง), Safety-Jo (รั้ว-ประตู-หน าต าง เหล็กดัดยืดพับเก็บได ) และ G-Paradise (รางน้ําฝนอลูมิเนียม) WINDOW-FRAME เน นนําเสนอนวัตกรรมใหม ๆ สําหรับงานประตู-หน าต าง อลูมิเนียม ด วยรูปแบบ Profile ของ 108 Window Frame ทีอ่ อกแบบให งานอลูมเิ นียมมีความสวยงามมากยิง่ ขึน้ ด วยสไตล โค งมน สไตล ยโุ รป คุณภาพสูง ทันสมัย โดยสามารถสร างสรรค สนิ ค า ประตู, หน าต าง และสกายไลท อลูมเิ นียมทุกรูปแบบทุกชนิด เพือ่ ให บา นได เป นทีพ่ กั ทีด่ ที สี่ ดุ สินค าทุกตัวผลิตด วยช างผู ชํานาญงาน ใส ใจทุกรายละเอียดขั้นตอนการผลิต รวมทั้งได เลือกใช วัตถุดิบ และอุปกรณ ที่มี คุณภาพ ทนต อทุกสภาวะอากาศ เพือ่ อายุการใช งานทีย่ าวนาน ระบบประตู-หน าต าง 108 Window frame ใช ระบบการล็อค หลายจุด (Multi Point Lock) จึงทําให มั่นใจได ในเรื่องความปลอดภัย มีระบบป องกันน้ํารั่วซึมที่ออกแบบมาเฉพาะ อีกทั้ง สามารถป องกันเสียงรบกวนได เป นอย างดี และมีทีมงานวิศวกรและสถาปนิกที่พร อมให คําแนะนํา เพื่อให ได สิ่งที่ดีที่สุด ALU-NET หรือ ระบบมุ งกันแมลง จากอลูเน็ต ถูกผลิตขึ้นจากวัตถุดิบชั้นดี กล องราง มุ ง ผลิตขึ้นจากวัสดุอลูมิเนียม ฉีดขึ้นรูป ให ความโดดเด นและแข็งแรง พร อมการเคลือบอบสีที่เนียนสวยและเข ากับงานเฟรมประตูเป นอย างดี อุปกรณ ภายในรางผลิตขึน้ จากสแตนเลส เหล็กชุบซิงค และไนล อน ซึง่ มีนา้ํ หนักเบาและไม เป นสนิม ผืนผ าสําหรับระบบมุง กันแมลง จากอลูเน็ต ผลิตขึน้ จากวัสดุพเิ ศษ “โพลีเอสเตอร -ไฟเบอร กลาส” มีคณ ุ สมบัตโิ ดดเด นในเรือ่ งของความทนทาน ไม ฉกี ขาดง าย และมีนาํ้ หนักเบา ตามุง มีเส นผ าศูนย กลางที่ 1 มิลลิเมตร ช วยให การไหลผ านของอากาศเป นไปได อย างสะดวกและไม สญ ู เสีย วิสยั ทัศน ภายนอกบ าน ตัวผ ามุง เรียบตึงเสมอทัง้ ผืน ไม เป นคลืน่ ไม หดหรือย วยเมือ่ ถูกความร อน และเฉดสีไม ซดี จางเมือ่ ต องปะทะกับแสงแดดเป นระยะเวลานาน 46
อลูเน็ต ตระหนักถึงความหลากหลายในวัตถุประสงค การใช งาน จึงออกแบบสร างสรรค ระบบมุง กันแมลงหลากหลายแบบเพือ่ ให สามารถตอบสนองความต องการได ทกุ รูปแบบ อาทิ มุ งลวดแบบม วนเก็บได มุ งลวดแบบพับจีบ มุ งลวดบานเลื่อนและบานเป ด SAFETY-JO หรือ รั้วประตูหน าต างเหล็กดัดยืด-พับเก็บได เป นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ ทีพ่ ฒ ั นาและคิดค นโดยทีมวิศวกรของบริษทั 108โฮมดีไซน เป นการต อยอดความรูม าจาก ประตูยืดที่ใช อยู ตามบ านเรือนในอดีต โดยการออกแบบดีไซน ให มีการใช งานได อย าง หลากหลาย ไม เพียงแต เป นประตูยืดเท านั้น แต ยังเป นหน าต างหรือที่กั้นแผงโทรเล ย หรืออืน่ ๆ โดยการออกแบบให สามารถใช งานได อย างง าย สะดวก ประกอบและติดตัง้ ง าย มีอปุ กรณ ชว ยเสริมให มคี วามแข็งแรง ปลอดภัยกว าเดิม อุปกรณ หรือโครงสร างผสมผสาน ทัง้ วัสดุทเ่ี ป นเหล็กเหนียว อลูมเิ นียมโปรไฟล อุปกรณ มอื จับ อุปกรณ จบั ยึดชิน้ ส วนต างๆ ก็ผลิตจากสเตนเลส หรือการป มขึ้นรูปจากโลหะอื่นๆ ทั้งนี้ได มีการยื่นจดอนุสิทธิบัตร ในรูปแบบเทคนิคอุปกรณ พเิ ศษบางประการกับกรมทรัพย สนิ ทางป ญญาแล ว จึงไม ตอ งห วง ในเรื่องการลอกเลียนแบบ
เหล็กดัดยืด-พับเก็บได SAFETY-JO เลือกใช ระบบล อรางเลื่อน ทั้งรางบนและรางล าง เป นนวัตกรรมใหม ที่จะช วยให การยืดพับเก็บของประตูหน าต างลืน่ ไหลไปมาได อย างสะดวก ไม โยกเยก (ball bearing sliding door hanger: CITY300) และใช ระบบจับยึดด วยหมุดย้าํ จึงทําให แข็งแรงมากกว าการใช รเี วทหลายเท า นอกจากนี้ SAFETY-JO ยังผ านกระบวนการ เคลือบกันสนิม G-PARADISE หรือ ระบบรางน้ําฝนอลูมิเนียม ไม เพียงแต มีความงามที่เห็นได ชัด แต ยังมีอายุการใช งาน ทนทาน ค าใช จ ายของอลูมิเนียมเมื่อเทียบกับพีวีซี หรือไฟเบอร ซีเมนต แม จะมีราคาแพงกว าเล็กน อย แต เมื่อเทียบอายุการใช งาน ที่ยาวนานกว าแล วก็ถือว าเป นการลงทุนที่คุ มค า รางน้ําฝนอลูมิเนียม G-PARADISE เป นผลิตภัณฑ ที่ผลิตโดยใช เทคนิค การหล ออลูมิเนียมที่ทันสมัยและผลิตสําเร็จจากโรงงาน ระบบรางน้ําฝนอลูมิเนียม G-PARADISE มีความแข็งแกร งและทนทาน ติดตั้งง าย ช วยประหยัดเวลา เป นที่นิยมของ นักออกแบบ ผู รับเหมาก อสร าง และเจ าของโครงการ รางน้ําฝนอลูมิเนียมมีน้ําหนักเบาและราคาถูกกว าเหล็กหล อ แต แข็งแรงกว าระบบรางน้ําฝนอลูมิเนียม จะมีอายุถึง 40 ป กับการบํารุงรักษาที่ถูกต อง สําหรับผลิตภัณฑ ของ 108 HOME DESIGN เลือกใช อลูมเิ นียมในการผลิต เนือ่ งจากเป นโลหะทีเ่ บากว าเหล็กมาก แต กม็ ี ความแข็งแรงสูง และสามารถต านทานการกัดกร อนที่ดีเยี่ยม จึงเป นวัสดุที่มีความยั่งยืนทนต อทุกสภาพอากาศ อีกทั้งยัง ง ายต อการดูแลรักษา มีอายุการใช งานยาวนาน และสามารถรีไซเคิลได นอกจากนี้ผลิตภัณฑ ของ 108 HOME DESIGN ใช ระบบพ นสีฝุ น (Powder Coating) โดยโรงงานพ นสีของบริษัทพร อม ที่จะสร างสรรค เฉดสีให กับสินค าตามความต องการของลูกค า ด วยเครื่องจักรและอุปกรณ ที่ทันสมัย ทําให ได อลูมิเนียม ที่มีสีสวยงาม เนื้อสีหนาเงางาม ทนต อการขีดข วน ทนต อทุกสภาวะอากาศ ไม ว าจะเป นมลภาวะต างๆ สภาพอากาศ ชายทะเล หรือแสงแดดจัด อากาศร อนในแถบเอเชียก็ตาม โดยเลือกใช สีคุณภาพของ JOTUN ซึ่งเป นที่ยอมรับทั่วโลก ในเรื่องคุณภาพของสีที่มีมาตรฐาน และมีเฉดสีให เลือกมากกว า สนใจรายละเอียดตติดต อได ที่ บริษัท 108 โฮมดีไซน จํากัด 45/11 หมู 15 ถนนร มเกล า แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี กรุงเทพฯ 10510 โทรศัพท 02-737-7474 โทรสาร 02-737-4072 www.108homedesign.com 47
Dorken ประตู-หน าต างยูพีวีซีจากประสบการณ บริษัท บางกอก พีวีซี กรุ ป เป นอีกหนึ่งผู ผลิตและจําหน ายประตู-หน าต าง Dorken แบรนด ที่เป นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ ที่เกิด จากความตั้งใจของบางกอก พีวีซี กรุ ป ด วยประสบการณ ที่มียาวนานกว า 40 ป ทําให ค นพบนวัตกรรมการผลิตประตูหน าต างที่มีประสิทธิภาพ โดยระบบประตู-หน าต างผลิตขึ้นจาก uPVC (Unplasticised Polyvinyl Chloride) คุณภาพสูง ผ านเทคโนโลยีอนั ทันสมัย ผสมสาร Stabilizer เพือ่ ช วยให วสั ดุคงความขาว ไม จบั คราบดํา แต ไม มสี ว นผสมของสารตะกัว่ จึงสามารถมั่นใจได ในความปลอดภัย Dorken ผลิตจาก uPVC ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษทําให ผลิตภัณฑ มีความทนทาน แข็งแรง เหมาะสมกับภูมิอากาศใน ประเทศไทย ทั้งยังมีความสวยงาม ดีไซน ทันสมัย และสามารถทําความสะอาดได ง าย ประกอบกับโครงสร างพิเศษเสริม เหล็กชุบกันสนิม (Galvanized Steel) ที่ช วยเพิ่มความแข็งแรง ทนทาน และยืดอายุการใช งานให กับผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑ บานประตู-หน าต าง Dorken นอกจากจะสวยงาม ทนทานต อแรงกระแทก ไม มีน้ํารั่วซึม ทนต อแสงแดดแล ว ยังมีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษในการช วยประหยัดพลังงาน และไม ตดิ ไฟอีกด วย ทําให Dorken เป นทีน่ ยิ มอย างรวดเร็วในกลุม ผูบ ริโภค ระดับกลางและระดับบน ซึ่งมองหาผลิตภัณฑ คุณภาพที่มีทั้งคุณสมบัติที่ดีและความสวยงาม ประตู-หน าต าง Dorken มีให เลือกทัง้ บานเป ดและบานเลือ่ นหลากหลายขนาด พร อมมุง ช วยป องกันฝุน และแมลง เพือ่ ให เหมาะกับไลฟ สไตล ภายในบ าน นอกจากการออกแบบที่คํานึงถึงความสวยงามแล ว ประตู-หน าต าง Dorken ยังมาพร อม คุณสมบัติที่โดดเด น ไม ว าจะเป นช วยป องกันรังสียูวี ความร อน และเสียงรบกวนจากภายนอก ไม ลามไฟ แข็งแรง ทนต อ การรัว่ ซึมของน้าํ ฝน และการกัดกร อนของมลภาวะ มีอายุการใช งานยาวนาน ส วนวิธกี ารติดตัง้ เพือ่ ใช งานก็สะดวกไม ยงุ ยาก รวมถึงการดูแลรักษาที่ง ายเพียงใช ผ าเช็ดทําความสะอาดเท านั้น หากกําลังมองหาระบบประตู-หน าต าง uPVC ทีส่ วยงามทันสมัย มีคณ ุ ภาพและได มาตรฐาน รับรองได วา Dorken จะเป น ตัวช วยทีจ่ ะเข ามาเติมเต็มให บา นของคุณสมบูรณ แบบมากยิง่ ขึน้ สามารถชมสินค าตัวอย างได ทไี่ ทวัสดุทกุ สาขาทัว่ ประเทศ
สนใจรายละเอียดติดต อได ท่ี บริษัท บางกอกพีวีซี กรุ ป จํากัด 56/14 ซอยตากสิน12/1 ถนนตากสิน แขวงบุคคโล เขตธนบุรี กรุงเทพฯ 10600 โทรศัพท 02-890-4611-27 โทรสาร 02-890-4630 www.bangkokpvc.com www.facebook.com/bangkokpvc 48
PluzWood นวัตกรรมพื้นและผนังไม เทียม บริษทั สยามเดคโคเวิรค จํากัด เจ าของผลิตภัณฑ PluzWood พืน้ ไม เทียม และผนังไม เทียม ทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษคือการเคลือบผิวรอบ 4 ด าน 100% ด วยเทคโนโลยี +Plus Protex จากประเทศสหรัฐอเมริกา ทําให ไม มีความแข็งแรงทนทาน ไม แตกหักง าย และยังได ผิวสัมผัสที่เป น ธรรมชาติ เหมือนจริง พร อมลวดลายต างๆ ให เลือกอาทิ เช น ผิวเรียบ ผิวลายไม และผิวลอน โดยแกนวัสดุชั้นในของ PluzWood ผลิตจากเนื้อวัสดุสูตรเฉพาะที่มี ความแข็งแกร งทนทานไม ซึมซับน้ํา รวมทั้งมีส วนผสมของวัสดุ รีไซเคิล ซึ่งได แก พลาสติก เนื้อไม และใยไม โดยผ านกระบวนการที่ ทันสมัย ทนทาน ทนแรงกระแทกและการบิดงอ ทนน้ํา ทนความชื้น ไม บวมน้ํา อีกทั้งยังทนแดดและทนต อรังสี UV ไม ต องทาสีเพิ่มเติม มีให เลือกหลากสี ได แก สีสัก สีสักทอง สีโอ คเข ม และสีเทาโมเดิร น สําหรับพืน้ ไม เทียมรุน PFH (รุน มาตรฐาน Standard) เหมาะกับพืน้ ที่ ใช งานภายนอกและภายในทั่วไป ระเบียงทางเดินทั้งที่บ าน อาคาร สํานักงาน พลาซ า มีให เลือกใช งาน 2 พืน้ ผิว คือ รุน PFH-01 (ผิวลายไม +ผิวเรียบ) และ PFH-02 (ผิวลายไม +ผิวลอน) ขนาดพืน้ ไม 13.8 (±1.0) x 2.25 (± 0.5) x 240.00 เซนติเมตร/แผ น
ภายนอกเข าสู ภายในอาคาร จึงช วยประหยัดพลังงานภายในอาคาร ทั้งยังคงความสวยงาม ทนทาน ไม บิดโก งงอจนเสียรูปทรง ทนต อ รังสี UV ให สีสวยงามคงทน ซีดจางน อย ให ความสวยงามเป น ธรรมชาติ ช วยลดต นทุนในการดูแลรักษา PluzWood จึงเป นนวัตกรรมพืน้ ไม เทียมและผนังไม เทียมอย างแท จริง ความหนาและขนาดของ PluzWood เป นมาตรฐานเดียวกันทุกแผ น ลดการยืดหดตัวตามสภาวะแวดล อม ไม ทําให ไม ผุกร อนเสียรูปทรง ไม ทาํ ให เกิดเชือ้ รา ทนทานต อแรงกดและแรงเสียดสี เป นประโยชน ตอ การใช งาน ไม ทาํ ลายสิง่ แวดล อม เนือ่ งจากสามารถนํากลับมาใช ได ใหม ด วยวัสดุทม่ี คี วามคงทนมากเป นพิเศษ จึงทําให PluzWood ลดค าใช จา ย ในการบํารุงรักษาและซ อมแซม นอกจากนีย้ งั มีคณ ุ สมบัตทิ ไี่ ม ลามไฟ จึงไม เป นเชือ้ เพลิงในกรณีทเ่ี กิดเหตุเพลิงไหม และยังให การรับประกัน การใช งานยาวนานถึง 10 ป
คุณสมบัตพิ เิ ศษของ PluzWood ช วยป องกันคราบและเชือ้ รา ปลวกไม กนิ ทําให พนื้ ไม คงสภาพและมีอายุการใช งานทีย่ าวนาน แข็งแรงทนทาน ไม เปราะแตกหักง ายเนือ่ งจากผลิตจากวัสดุรไี ซเคิล ผ านกระบวนการ ทีท่ นั สมัย ผิวสัมผัสของไม ทเ่ี ป นธรรมชาติ PluzWood พัฒนาผิวสัมผัส ทีใ่ ห ความรูส กึ เป นธรรมชาติ ใกล เคียงไม จริงไม ตอ งทําสี บํารุงรักษาง าย ส วนพื้นไม เทียมรุ น PFS (รุ นใช งานหนัก Heavy Duty) เหมาะกับ จึงทําให มีต นทุนในการบํารุงรักษาต่ํา เป นมิตรกับสิ่งแวดล อม และ พืน้ ทีใ่ ช งานภายนอกและภายในทัว่ ไป ทีต่ อ งการความแข็งแรงเป นพิเศษ สามารถนํากลับมาผ านกระบวนการผลิตได ใหม 100% จึงไม เป น เช น ระเบียงทางเดิน สําหรับบ าน อาคารสํานักงาน ห างสรรพสินค า ภาระต อโลก พื้นที่สาธารณะที่ คงทนแข็งแรงและรับน้ําหนักได มากเป นพิเศษ มีให เลือกใช งาน 2 พื้นผิว คือ รุ น PFS-01 (ผิวลายไม +ผิวเรียบ) และ PFS-02 (ผิวลายไม +ผิวลอน) ขนาดพืน้ ไม 13.8 (± 1.0) x 2.25 (± 0.5) สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ x 240.00 เซนติเมตร/แผ น บริษัท สยามเดคโคเวิร ค จํากัด นอกจากนี้ PluzWood ยังมีผนังสําเร็จรูปผิวลายไม พลัสวูด PWS-01 ใช สําหรับงานผนังทั้งภายนอกและภายในบ าน อาคาร สํานักงาน พลัสวู ด PWS-01 ยังติดตั้งง าย ด วยการออกแบบเป นพิเศษที่ทําให ผนังมีชอ งระบายอากาศภายใน ทําให อากาศถ ายเทได สะดวก ไม เก็บ ความชื้น ช วยลดและป องกันการถ ายเทความร อนและเสียงจาก
283/1 ถนนสุคนธสวัสดิ์ แขวงลาดพร าว เขตลาดพร าว กรุงเทพฯ 10230 โทรศัพท 02- 004-1818 โทรสาร 02-004-1919 http://www.pluzwood.com/
49
จูร า สยาม ทรัส โครงหลังคาน้ําหนักเบา บริษทั จูรา สยาม ทรัส จํากัด เป นผูเ ชีย่ วชาญและมีประสบการณ จริงมากกว า 10 ป ในฐานะผูผ ลิตโครงสร างหลังคาเหล็ก และอุปกรณ ประกอบทีเ่ กีย่ วข องกับงานหลังคาเหล็กทุกชนิด ด วยกําลังการผลิต 15,000 ตัน/ป และมีระบบการผลิตทีไ่ ด รบั การรับรองมาตรฐานสากล ISO9001:2008 จาก URS และ Global ทั้งนี้ผลิตภัณฑ ทุกชนิดผลิตจากวัตถุดิบคุณภาพที่ได มาตรฐาน ผ านกรรมวิธีการขึ้นรูป “รีดเย็น” ปลอดสนิมตลอดอายุการใช งาน มีน้ําหนักเบา ทนต อการกัดกร อนของสนิม ได ดี ปลวกแมลงไม กิน ไม ติดไฟ ลดต นทุน ช วยยืดอายุการใช งานให ยาวนาน และให การรับประกัน 10 ป โครงหลังคาน้าํ หนักเบา หรือทีเ่ รียกว า “โครงทรัสหลังคา” ของบริษทั จูรา สยาม ทรัส มีคณ ุ สมบัตเิ ด นทีป่ ลอดสนิม น้าํ หนักเบา ประหยัดต นทุนโครงสร าง ติดตัง้ ได เร็ว มีคงทนแข็งแรง สามารถรองรับได ทกุ วัสดุมงุ พร อมการรับประกันยาวนานถึง 10 ป ุ ภาพได มาตรฐาน ไม วา จะเป นโครงการบ านจัดสรร บ านพักอาศัย อาคารพาณิชย เหมาะสําหรับลูกค าทีต่ อ งการสินค าทีม่ คี ณ อาคารโรงงาน อาคารโรงเรือน คอนโดมิเนียม และสิ่งปลูกสร างทุกชนิดที่ต องการหลังคาที่มีน้ําหนักเบา “จูร า สยาม ทรัส” ให บริการครบวงจร ตั้งแต การออกแบบโครงทรัส ผลิต และติดตั้ง โดยในส วนของการรออกแบบนั้น ใช ซอฟต แวร มาตรฐานออสเตรเลีย คํานวณระยะห างของจันทันและแป ให เหมาะสมกับวัสดุทม่ี งุ หลังคา ช วยบริหารงบประมาณ ให มีประสิทธิภาพ ลดต นทุนค าก อสร าง เพิ่มมูลค าให กับสิ่งปลูกสร าง ในส วนของกระบวนการผลิต บริษัทได รับการรับรองการผลิต และตรวจสอบคุณภาพ ตามมาตรฐาน ISO9001:2008 มีฐานการผลิตทีอ่ าํ เภอวังน อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ด านการติดตัง้ บริษทั มีทมี ช างทีม่ ปี ระสบการณ และผ านการอบรม อย างต อเนื่อง มีขั้นตอนการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ เริ่มตั้งแต ขั้นตอนการออกแบบ การคัดสรรวัตถุดิบ ไปจนถึง กระบวนการผลิต การจัดส งสินค า รวมถึงการติดตั้งเมื่อวัสดุส งถึงหน างาน ทีมงานติดตั้งจะทําการประกอบโครงทรัสขึน้ บนหลังคา ตรวจสอบความถูกต องของการติดตัง้ ทีห่ น างานอย างละเอียดโดยวิศวกร เพือ่ ให แน ใจว างานทีส่ าํ เร็จนัน้ เป นไปตาม Specification และแบบที่กําหนดไว หรือไม เพื่อป องกันข อผิดพลาดก อนที่จะส งมอบงานให กับลูกค า เนือ่ งจากผลิตภัณฑ เหล็กกล ากําลังสูงเคลือบสารกันสนิมเป นผลิตภัณฑ ทไ่ี ด เปรียบในเรือ่ งความแข็งแรง น้าํ หนักเบา ปลอดสนิม สะดวกในการขนย ายและติดตั้ง ไม หดตัวหรือโค งงอ ทนต อการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ทนการกัดกร อนของสนิม ได ดี ไม ติดไฟ หมดป ญหาเรื่องปลวก แมลงกินไม ช วยยืดอายุการใช งานของสิ่งปลูกสร างให ยาวนานกว าเดิม
50
ผลิตภัณฑ ของจูร า สยาม ทรัส ผลิตจากวัตถุดิบเหล็กชุบสารกันสนิม ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มีความสามารถในการ ป องกันการกัดกร อนของกรดเกลือและปลอดสนิมตลอดอายุการใช งาน มีความต านทานแรงดึงสูงสุด Tensile Strength มากกว า 550 MPa และมีความต านทานแรงถึงทีจ่ ดุ คราก (จุดล าของโลหะ) Yield Strength มากกว า 550 MPa ตามมาตรฐาน หลักสากล AS1397 และ JIS G3302 ทนทานต อการแตกหัก G=80x103 MPa ซึ่งต างจากเหล็กรูปพรรณทั่วไปที่มีความ ต านทานแรงดึงเพียง 240 MPa ผ านกรรมวิธกี ารขึน้ รูปแบบ “รีดเย็น” ด วยเครือ่ งจักรทีท่ นั สมัย ตัดเป นชิน้ ส วนตามขนาด ที่ใช จริงจากเครื่องจักร ไม มีเหลือเศษทิ้ง มีสติ๊กเกอร ชี้บ งทุกชิ้นส วนชัดเจนเพื่อความสะดวกในการติดตั้ง และยังติดตั้ง ด วยทีมงานที่มีประสบการณ ทั้งงานรัฐและเอกชนมากกว า 100,000 ยูนิต ได รับการฝ กอบรมอย างต อเนื่อง ควบคุมงาน และตรวจสอบโดยวิศวกรทําให งานติดตั้งเป นไปอย างรวดเร็ว ถูกต องและมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ บริษัทมีบริการออกแบบโครงหลังคาด วยโปรแกรมที่ทันสมัยจากประเทศออสเตรเลีย CAD-like ออกแบบ โดยวิศวกรผู ชํานาญงานมากกว า 10 ป เพื่อให ถูกต องตามหลักวิศวกรรมและสถาป ตยกรรม เพื่อให ได รูปแบบตัวถักที่มี ประสิทธิภาพสูงสุดในการรองรับน้าํ หนัก คํานวณระยะห างของจันทันและตัวแปให เหมาะสมกับวัสดุทใ่ี ช มงุ หลังคา ผลิตตามขนาด ที่ใช จริง ไม เหลือเศษทิ้งให สิ้นเปลือง ติดตั้งง าย ด วยการใช สกรู ชุบซิงก พร อมซีลยางป องกันการรั่วซึมในการยึด ใช เวลา ในการติดตั้งเพียง 3-7 วัน (ไม รวมงาน อะเส) รวดเร็ว ประหยัดเวลาและต นทุน โดยทีมช างผู ชํานาญงานผ านการอบรม จากประเทศออสเตรเลียอย างต อเนื่อง และมีการตรวจสอบงานโดยวิศวกร
สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ บริษัท จูร า สยาม ทรัส จํากัด 1772 ก.ม 4.5 ถนนบางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 02-399-2288 โทรสาร 02-399-2283 www.juara-siam.com
51
Onduline ผู นําหลังคาเบา บริษทั โอฟ ค (ประเทศไทย) จํากัด ผูน าํ เข าและจําหน ายแผ นหลังคาเบา Onduline ซึ่งเป นแผ นหลังคาเบาชนิดลอนเล็ก นําเข าจากยุโรปและ เอเชีย ผลิตจากเส นใยไฟเบอร ธรรมชาติและบิทูเมน ผ านกรรมวิธี การผลิตคุณภาพสูง พร อมเทคโนโลยีการย อมสีชนิดพิเศษที่เรียกว า “การย อมเป ยก” ด วยแร สีจากธรรมชาติ ซึ่งวิธีการดังกล าวจะทําให สีซึมเข าไปถึงเนื้อในของแผ น จึงช วยลดป ญหาการหลุดลอกของสี และได สีที่ดูเป นธรรมชาติ นอกจากนี้แผ นหลังคา Onduline ยังผ าน กระบวนการทดสอบทีไ่ ด รบั มาตรฐานระดับสากล และสามารถจัดจําหน าย ในกว า 100 ประเทศทั่ วโลก จึงมั่ นใจได ทั้งคุ ณภาพและความ ทนทาน หมดป ญหาการรั่วซึม
หลังคา Onduline มีความปลอดภัยและเป นมิตรต อสิ่งแวดล อม เพราะผลิตจากวัสดุธรรมชาติ ไม มสี ว นผสมของแร ใยหิน จึงปลอดภัย ต อ ผู อ ยู อ าศั ย ช ว ยเพิ่ ม ความปลอดภั ย ให แ ก ช า งและผู อ ยู อ าศั ย เนื่องจากแผ น Onduline ไม มีความคมของวัสดุและมีน้ําหนักเบา หลังคา Onduline ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล 48% Recycled Material ด วยเทคโนโลยีการผลิตทีเ่ ป นมิตรต อสิง่ แวดล อม Environmentally Efficient Manufacturing Plants ช วยลดปริมาณก าซเรือนกระจก (Carbon footprint) หลังคา Onduline มีค า Carbon ระดับต่ําเพียง 4 kg eq CO2/m2 จึงเป นวัสดุที่ช วยลดสภาวะโลกร อน
แผ นหลังคา Onduline มีความแข็งแรงทนทาน ทนต อแรงกระแทก มีความ ยืดหยุน ไม แตกหักง าย สามารถทนต อแรงลมได 195 กิโลเมตร/ชัว่ โมง เทียบเท ากับแรงลมในระดับพายุใต ฝุ น เมื่อติดตั้งแผ น Onduline ตามมาตรฐาน และยังทนต อการกัดกร อนของสารเคมี ไม มีป ญหา การผุกร อนของหลังคาทีเ่ กิดจากสนิม ทนต อสภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน ไม เกิดการแปรสภาพของแผ น จากผลทดสอบจากสถาบัน Yarsley Research Centre (UK) ทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู ถึง 70 องศาเซลเซียส ตัวแผ น ยังสามารถใช งานได อย างมีประสิทธิภาพ และสามารถป องกันน้ํา ได ดีเยี่ยม จากผลทดสอบจากสถาบัน Warrington Research นอกจากนี้ แผ นหลังคา Onduline ยังช วยป องกันความร อนและเสียง Laboratory Test (UK) ได เป นอย างดี สามารถช วยลดอุณหภูมิใต หลังคา มีค าสัมประสิทธิ์ การนําความร อน (ThermalConductivity) ที่ 0.099W/mK จากผลการ ทดสอบของสถาบัน LNE (France) Certificated No 7070616D MAT/1 หมดป ญหาเสียงดังทีเ่ กิดจากฝนตกกระทบบนหลังคา จากผล สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ ทดสอบแผ น Onduline สามารถดูดซับและกันเสียงส งผ านได ดี บริษัท โอฟ ค (ประเทศไทย) จํากัด Reverberation coefficient (max): 0.4 - 315Hz จากสถาบัน 55/604 หมู 9 สุโขทัยอเวนิว 99 ถนนบอนด สตรีท CEBTP และ Sound attenuation coefficient: Rw=28db จากสถาบัน ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท 02-503-2708 CSTB ทัง้ นีใ้ นการใช แผ น Onduline สําหรับผนัง จะสามารถลดเสียง โทรสาร 02-503-2709 ภายนอกได 7db จากผลการทดสอบโดยสถาบัน Wolfson unit www.ondulineth.com Southampton University (UK) No 2089 1592/BI: anti-noise wall with Onduline สําหรับคุณสมบัติของแผ นหลังคา Onduline มีน้ําหนักเบาเพียง 4 กิโลกรัม/ตารางเมตร หรือ 6.4 กิโลกรัม/แผ น จึงเพิม่ ความสะดวกสบาย ในการติดตั้ง ทําให ช างสามารถทํางานได รวดเร็ว ช วยประหยัดค าใช จ ายในการขนส ง และประหยัดโครงสร างของอาคาร ทัง้ งานสร างใหม และงานต อเติม ช วยลดป ญหาการทรุดตัวของอาคาร และสามารถ ใช ในการปูทับหลังคาเก าที่ทรุดโทรม โดยไม ตอ งรื้อหลังคาเดิมออก อีกทั้งยังเหมาะสําหรับการบูรณะซ อมแซมอาคารที่ต องการอนุรักษ รูปแบบเดิมของอาคาร
52
GRATIA สวิตซ ไฟสัมผัสอัจฉริยะ บริษัท กราเทีย อีเล็คทริค (ประเทศไทย) จํากัด ผู จดั จําหน ายอุปกรณ สวิตซ ไฟระบบสัมผัส (Touch Screen) และอุปกรณ อเิ ล็กทรอนิกส อน่ื ๆ จากประสบการณ ที่อยู ในวงการสินค าทางด านเทคโนโลยีมาอย าง ยาวนาน จนกลายเป นผูน าํ ทางด านการพัฒนานวัตกรรมให กบั สวิตซ ไฟ ระบบสัมผัส ภายใต แบรนด GRATIA (กราเทีย)
ความภาคภูมใิ จของ “กราเทีย” ไม ได หยุดทีน่ วัตกรรมของผลิตภัณฑ เท านั้น แต ยังรวมไปถึงการให บริการด วยความเชื่อมั่นในตัวสินค า ทีผ่ ใู ช จะได รบั ประโยชน จากสินค าของกราเทียอย างเต็มที่ ด วยจุดเด น ของสินค าทีม่ คี วามทันสมัย สไตล โมเดิรน สวยงาม และคุณภาพระดับ พรีเมีย่ ม พร อมการบริการทุกขัน้ ตอนอย างใส ใจ ตัง้ แต ขน้ั ตอนการผลิต จากโรงงานจนไปถึงมือลูกค า โดยลูกค ามัน่ ใจได วา จะได รบั สินค าทีม่ ี GRATIA เป นสวิตซ ไฟระบบสัมผัส ทีจ่ ะช วยยกระดับคุณภาพชีวติ กับ ความปลอดภัย และคุ มค าที่สุด นวัตกรรมของสวิตซ เพือ่ ความสะดวกสบายในการใช งาน ด วยรูปลักษณ ทีโ่ ดดเด น ดีไซน ทนั สมัย โมเดิรน สไตล ผลิตด วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ด วยวิสัยทัศน และบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด าน และมี และคํานึงถึงสิ่งแวดล อม ติดตั้งง าย สามารถนําไปใช ได กับหลอดไฟ ประสบการณ ในการทํางาน บริษัทจึงมุ งมั่นที่จะพัฒนาองค กรให ทุกชนิด เช น หลอดไฟ LED, หลอดไฟมีไส เส นลวดคู, หลอดไฟนีออน เติบโต และเป นผู นําสินค าเทคโนโลยีที่ทันสมัย และสร างนวัตกรรม ออกมาตอบสนองการใช ชีวิตรูปแบบใหม ในยุคดิจิตอล ในราคาที่ และโคมไฟทังสเตน เป นต น แข งขันได ภายใต การบริหารที่ดีเยี่ยมได มาตรฐาน และจะพัฒนา สวิตซ ไฟระบบสัมผัสของกราเทีย ยังมีฟ งก ชั่นการใช งานใหม ล าสุด บุคลากรของบริษัทอย างต อเนื่องให มีความเชี่ยวชาญมากยิ่งขึ้น “Remote Function” เป นรูปแบบใหม ของการควบคุมการเป ด / ป ด เพือ่ แนะนําข อมูลสินค าและบริการให กบั ลูกค าทุกท านเป นอย างดี และ แสงไฟเพียงปลายนิ้วสัมผัส ผ านรีโมทคอนโทรล และสมาร ทโฟน บริษัทจะคัดสรรสินค าคุณภาพดี นวัตกรรมที่ทันสมัย และคํานึงถึง ที่รองรับทั้งระบบปฏิบัติการ iOS และ Android “กราเทีย” ยังถูก ความปลอดภัยให กับผู ใช เพื่อสร างความพึงพอใจสูงสุดแก ลูกค า ออกแบบแผงควบคุมเป นแบบซุปเปอร สลิม พร อมกับเลือกใช วสั ดุกระจก ทัฟกลาส ไม เพียงแต เป นรูปแบบทีอ่ อกแบบมาเพือ่ ความปลอดภัยแล ว ผลิตภัณฑ ของกราเทีย ผลิตด วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย และคํานึงถึง แต ยังสามารถใช งานได หากนิ้วเป ยกอีกด วย ซึ่งมีความปลอดภัยทั้ง สิง่ แวดล อม “กราเทีย” จึงภูมใิ จทีจ่ ะส งมอบสินค าทีด่ แี ละคุม ค า รวมถึง กับเด็กและผู ใหญ การใส ใจทุกขั้นตอน และการให บริการที่ดีทั้งก อนและหลังการขาย เพื่อให ลูกค ามั่นใจได ว า “กราเทีย” คือทางเลือกที่ดีที่สุด นอกจากนี้ ยังมี “GRATIA WIFI” อุปกรณ “WIFI Remote Control” สําหรับการเชื่อมต อกับอุปกรณ เครื่องใช ไฟฟ าภายในบ านได อาทิ สวิตซ ไฟฟ าระบบสัมผัส (Touch Screen), ทีวี, เครื่องปรับอากาศ, เครื่องเสียง และเครื่องเล น DVD เป นต น สามารถที่จะควบคุมได สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ ทุกที่ทุกเวลา แม อยู ข างนอก (โดยทํางานผ านระบบอินเตอร เน็ต) บริษัท กราเทีย อิเล็กทริก (ประเทศไทย) จํากัด ผลิตภัณฑ นวัตกรรมของกราเทีย ไม เพียงตอบสนองความต องการ ของผูใ ช ในป จจุบนั แต ยงั สามารถตอบสนองกับไลฟ สไตล การอยูอ าศัย ของคนรุ นใหม กับรูปแบบการใช ชีวิตที่เปลี่ยนไป ช วยให การใช ชีวิต ในแต ละวันสะดวกสบายยิ่งขึ้น ผู ใช ไม ต องพบกับป ญหาการมองหา สวิตซ ไฟตอนกลางคืนอีกต อไป ด วยหน าจอของสวิตซ เรืองแสงได มองเห็นได แม อยู ในที่มืด
99/28 หมู 11 ตําบลคูคต อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 12150 โทรศัพท 02-693-5700-2 http://www.gratiathailand.com/ https://www.facebook.com/GratiaThailand
53
Chair Maker หลากหลายเรื่องเฟอร นิเจอร บริษทั แชร เมคเกอร จํากัด ผูผ ลิตเฟอร นเิ จอร ทม่ี คี วามชํานาญในเรือ่ ง โต ะและเก าอี้ มายาวนานกว า 25 ป โดยสามารถสร างความพึงพอใจ ให กบั ลูกค า โดยเฉพาะในเรือ่ งการออกแบบเฟอร นเิ จอร ทเี่ ต็มไปด วย ความคิดสร างสรรค ในราคาทีส่ มเหตุสมผล จึงทําให ได รบั ความเชือ่ มัน่ และไว วางใจจากลูกค ากลุม ต างๆ มาอย างต อเนือ่ ง ไม วา จะเป นกลุม ธุรกิจโรงแรม, คอนโดมิเนียม, โรงเรียน, ร านอาหาร, ภัตตาคาร, ฟาสต ฟู ด, โรงพยาบาล, สถานที่ราชการ, สถานบันเทิง, ศูนย การค า และศูนย อาหารชั้นนําทั่วประเทศ ตลอดระยะเวลา 25 ป ในฐานะผูผ ลิตเฟอร นเิ จอร แชร เมคเกอร ได สะสม ประสบการณ และทักษะในการผลิตเฟอร นเิ จอร นํามาซึง่ ความชํานาญ และมาตรฐานในการผลิต จึงสามารถสร างความเชื่อมั่นและความ ไว วางใจจากลูกค า โดยเฉพาะในเรื่องของการออกแบบที่สามารถ ตอบสนองจินตนาการของนักออกแบบ ไม ว าจะเป นงานดีไซน ที่ ต องการความหรูหรา หรืองานที่เน นความเรียบง าย มีความคงทน แข็งแรง ไปจนถึงงานออกแบบที่เน นเรื่องฟ งก ชั่นการใช งาน บริษัท สามารถตอบสนองความต องการของลูกค าได อย างครบถ วน “แชร เมคเกอร ” มีแนวความคิดในการทําเฟอร นเิ จอร ทีม่ ง ุ เน นในเรือ่ ง คุณภาพและความทนทาน โดยสามารถออกแบบและผลิตเฟอร นเิ จอร ได หลากหลายประเภท ไม วา จะเป นเฟอร นเิ จอร เหล็ก, อลูมเิ นียม, สแตนเลส และไม นอกจากนี้ บ ริ ษั ท ยั ง ให บ ริ ก ารรั บ สั่ ง ทํ า ตามแบบที่ ลู ก ค า ต องการ โดยสามารถผลิตได ทงั้ โต ะ, เก าอี,้ ชุดโต ะรับประทานอาหาร, 54
เก าอี้จัดเลี้ยง, เก าอี้รับประทานอาหาร, สตูลบาร , เก าอี้กลางแจ ง, เก าอีบ้ รรยาย, โต ะข าง, โต ะรับประทานอาหาร, เก าอีท้ าํ งาน, เก าอีเ้ ลานจ , โต ะเก าอี้เด็ก รวมถึงโต ะเก าอี้สําหรับการประชุม บริษทั มีนโยบายมุง ตอบสนองความต องการของลูกค าเพือ่ สร างความ สําเร็จในธุรกิจ โดยพร อมทีจ่ ะเรียนรูแ ละปรับปรุงรูปแบบการผลิตและ ออกแบบ เพื่อให สามารถตอบโจทย ความต องการใช งานของธุรกิจ ประเภทต างๆ ด วยผลิตภัณฑ เฟอร นิเจอร ที่หลากหลาย สามารถ ครอบคลุมการใช งานได ในทุกกิจกรรม และในทุกสถานที่ ดังนั้น ทางบริษัทจึงใคร ขอความกรุณานําเสนอศักยภาพและความ สามารถในการเป นผู ผลิตเฟอร นิเจอร แบบสั่งทําตามแบบที่ท าน ต องการ และขอเรียนเชิญเยี่ยมชมเว็บไซต เพื่อดูตัวอย างรูปแบบ เฟอร นิเจอร มาตรฐาน ได ที่ www.chair-maker.com
สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ บริษัท แชร เมคเกอร จํากัด 199/1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-616-2711-3 โทรสาร 02-616-2715 www.chair-maker.com
สุขภัณฑ คริสตินา โชว อ างอาบน้ํา HYBRID PUMP บริษทั สุขภัณฑ คริสตินา (ประเทศไทย) จํากัด ก อตัง้ มา 20 ป โดยนักบริหาร ที่มีประสบการณ ด านสุขภัณฑ มายาวนาน ภายใต แบรนด “คริสตินา (Cristina) ” และ “ออนเซ็น (Onzen)” ผูผ ลิตอ างอาบน้าํ ระดับพรีเมีย่ ม รวมถึงตู อาบน้ํา, อ างล างหน า, โถสุขภัณฑ จากฝ มืออันปราณีตของ คนไทยโดยยึดหลักการออกแบบทีโ่ ดดเด นและสามารถใช งานได อย าง แท จริง รวมทัง้ การคัดสรรวัสดุอปุ กรณ , ก อกน้าํ , ฝ กบัว และอืน่ ๆ ครบวงจร จนได รบั ความไว วางใจจากโรงแรมชัน้ นํา, โครงการบ านจัดสรร, คอนโด, สปาหรูระดับแนวหน า ทั้งในและต างประเทศ บริษทั สุขภัณฑ คริสตินา มีสินค าและบริการครบทุกด านของสุขภัณฑ ในห องน้าํ โดยด านสินค าเรามีทง้ั อ างอาบน้าํ ฉากกัน้ อาบน้าํ อ างล างหน า ชักโครกแบบอัตโนมัตและแบบกดธรรมดา โถสุขภัฑณ เฟอร นิเจอร สําหรับห องน้าํ โดยเฉพาะ รวมถึงก อกน้าํ และอุปกรณ ตา งๆ ในห องน้าํ ที่มีดีไซน ที่สวยงาม ใช งานได อย างปลอดภัยและง ายต อการใช งาน รวมถึงการบริการด านการให คาํ แนะนําด านการเลือกสุขภัณฑ การออกแบบ ห องน้ําสําหรับลูกค า การติดตั้งสินค าที่ถูกต องและตรงตามแบบที่ ลูกค าต องการ ทั้งนี้เรามีศูนย บริการลูกค าถึง 4 ศูนย คือ ศูนย กรุงเทพฯ ศูนย ภูเก็ต ศูนย พทั ยา และศูนย อดุ รธานี และกําลังจะเป ดศูนย เชียงใหม ภายในป น้ี เพื่ อ ตอบโจทย ด า นงานบริ ก ารลู ก ค า ให เ กิ ด ความรู สึ ก มั่ น ใจและ สบายใจเมื่ อ เลื อ กใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ข องบริ ษั ท สุ ข ภั ณ ฑ ค ริ ส ติ น า (ประเทศไทย) จํากัด
สําหรับงานสถาปนิกอีสาน’58 ในป นี้ ทางบริษัท สุขภัณฑ คริสตินา ต องการไปเป ดตัวศูนย บริการภาคอีสาน ซึ่งตั้งอยู ที่จังหวัดอุดรธานี ให ลูกค าทางโซนอีสานได ทราบว าเรามีศูนย บริการและโชว รูมอยู ที่นี่ เพือ่ สร างความมัน่ ใจต อสินค าและบริการของเราต อพีน่ อ งชาวภาคอีสาน และพี่น องประเทศเพื่อนบ าน อย างพี่น องชาวลาวที่เป นลูกค าประจํา ของบริษัท สุขภัณฑ คริสตินา (ประเทศไทย) จํากัด สินค าที่น าสนใจที่จะแนะนําในป นี้ เรายังเน นที่อ างอาบน้ําที่มาพร อม HYBRID PUMP ซึง่ มีเพียงแบรนด เดียวในเอเชียทีม่ รี ะบบนีไ้ ด ประโยชน ของป ม HYBRID PUMP ตัวนี้จะประหยัดพลังงานสูงสุดถึง 60% ของป มน้ําทั่วไป และให แรงดันน้ําเพิ่มขึ้น 15% แต เสียงของการ ทํางานเงียบเพียง 5 เดซิเบล และยังได ผลที่ตามมาจากการใช HYBRID PUMP คือได น้ําอุ นตลอดการใช งานโดยไม ต องใช ระบบ อืน่ ๆ มาเกีย่ วข องเลย และยังมีสนิ ค าอืน่ ๆ เช น อ างล างหน าโปร งแสง สามารถเปลีย่ นสีได ถงึ 10 สี พร อมทัง้ อ างอาบน้าํ ฉากกัน้ อาบน้าํ และ ชักโครกไฟฟ า มาให ชาวอีสานเลือกชมในงานด วย
สนใจรายละเอีดยติดต อได ที่ บริษัท สุขภัณฑ คริสตินา (ประเทศไทย) จํากัด 1556 ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงห วยขวาง เขตห วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท 02-693-4046-9 โทรสาร 02-693-0430 www.cristina.co.th
55
SLOAN Flushometer ที่สุดของระบบฟลัชวาล ว บริษทั สุขกมลรัชดา จํากัด ได ดาํ เนินธุรกิจด านการนําเข าและจัดจําหน าย สินค าประเภทเครื่องสุขภัณฑ กระเบื้อง และอุปกรณ ตกแต งห องน้ํา อย างต อเนือ่ งทัง้ ในประเทศและต างประเทศ มานานกว า 56 ป โดยเริม่ จดทะเบียนก อตัง้ เมือ่ ป พ.ศ.2498 ในชือ่ ห างหุน ส วนจํากัด โค ว เฮง เส็ง ต อมาในป พ.ศ.2511 ได ย ายสถานที่ทําการและได เปลี่ยนชื่อเป น บริษทั สุขกมล จํากัด ซึง่ เป นผูร เิ ริม่ ดําเนินธุรกิจนําเข าสินค าประเภท สุขภัณฑ กระเบือ้ ง และอุปกรณ ตกแต งห องน้าํ จากต างประเทศ ทําให บริษัทเป นผู นําเข าและตัวแทนจําหน ายทั้งปลีกและส งที่ใหญ ที่สุดใน ประเทศไทย และมียอดขายอยูใ นอันดับหนึง่ ในสิบของผูแ ทนจําหน าย สิ น ค าจากโรงงานผู ผ ลิ ต ภายในประเทศติดต อกัน อย างต อ เนื่อ ง ยาวนานกว า 30 ป จนกระทั่งในป พ.ศ.2539 บริษัทได ย ายสถานที่ตง้ั มายังถนนรัชดาภิเษก จึงได จดทะเบียนบริษัทใหม และเปลี่ยนชื่อเป น บริษทั สุขกมลรัชดา จํากัด โดยเป นบริษทั แรกทีด่ าํ เนินธุรกิจจําหน าย เครือ่ งสุขภัณฑ กระเบือ้ ง และอุปกรณ ตกแต งห องน้าํ บนถนนรัชดาภิเษก
สําหรับโปรดักส ไฮไลท ในงานสถาปนิกอีสาน’58 ในป นี้ สุขกมลรัชดา มี Solis 8113 (Solar Powered Flushometer) สุดยอดแห งความ ล้ําสมัยและความประหยัดของฟลัชวาล วระบบเซ็นเซอร เบอร หนึ่ง ของโลก ที่สามารถแปลงพลังงานแสงสว างภายในห องน้ําทดแทน การทํางานของพลังงานไฟฟ าเพื่อความประหยัดได มีระบบอัจฉริยะ สําหรับสินค าต างประเทศทีบ่ ริษทั เป นตัวแทนจําหน ายแต เพียงผูเ ดียว สามารถคํานวณการใช งานโดยอัตโนมัติ ถึงความต องการถ ายหนัก มีหลายแบรนด ดว ยกัน แต ทจี่ ะแนะนําในทีน่ คี้ อื ผลิตภัณฑ ของแบรนด หรือเบาของผู ใช งาน SLOAN ซึ่งเป นผู คิดค นระบบ Flush valve บริษัทแรกของโลก และ เป นผู นําอันดับหนึ่งของโลกในเรื่องระบบ Flush valve จากอดีต และยังเป น FLUSHOMETERS ที่ใช ระบบ NON-HOLD เป นระบบ จนถึงป จจุบัน โดยมีผลิตภัณฑ ที่น าสนใจคือ SLOAN Flushometer กําหนดปริมาณการจ ายน้ําให ตรงตามความต องการของโถสุขภัณฑ ที่สามารถกําหนดปริมาณการจ ายน้ําที่แน นอน แม นยํา ได ตามสเปค สามารถหยุดการจ ายน้ําได อัตโนมัติเมื่อโถสุขภัณฑ ได รับการจ ายน้ํา ตามทีก่ าํ หนด ไม วา จะมีแรงดันแปรผันในการฟลัชแต ละครัง้ ทีต่ า งกัน ที่กําหนด ไม ว าแรงดันน้ําจะสูงหรือต่ําก็ตาม ก็ตาม ซึ่งป จจุบันเป นมาตรฐานความประหยัดและมีประสิทธิภาพ SLOAN Flushometer เป นระบบ Non-Hold ซึ่งสามารถกดแล ว สูงสุดของโลก ปล อยได เลย โดยไม จาํ เป นต องกดค างไว เพือ่ ให นาํ้ ไหล ทําให ประหยัดน้าํ และป องกันผู ใช ที่พยายามกดน้ําให ไหลอย างต อเนื่องโดยสิ้นเปลือง นอกจากนี้ ยังมีระบบสัมผัส เพียงแตะบนรูปหยดน้าํ เบาๆ ก็สามารถ นอกจากนี้ SLOAN Flushometer ทุกรุ นสามารถจะอัพเกรดจาก สัง่ การให ระบบฟลัชทํางานได มีระบบทําความสะอาดโถสุขภัณฑ อตั โนมัติ ระบบแมนนวลเป นระบบเซ็นเซอร ได อีกทัง้ ยังสามารถปรับปรุงระบบ ทุกๆ 72 ชั่วโมงหลังการใช งานครั้งสุดท าย มีระบบสํารองพลังงาน ทีใ่ ช อยูใ นป จจุบนั ให สามารถประหยัดน้าํ ได มากขึน้ ในอนาคต โดยไม ตอ ง ไฟฟ า ในกรณีทแี่ สงสว างในการแปลงพลังงานไม เพียงพอหรือไฟดับ เปลี่ยน Flush ทั้งชุด SLOAN Flushometer มีรุ นที่สามารถใช ร วม ด วยการใช งานได ถึง 4,000 ครั้ง/เดือน ระยะเวลานาน 2 ป กับน้ําทะเลได (น้ําทะเลไม ต องผ านกระบวนการ Reuse) และยังมีระบบป องกันน้าํ เสียไหลย อนเข าสูร ะบบน้าํ ดีเพือ่ ป องกันระบบ นอกจากนี้ SLOAN Flushometer ยังสามารถรับแรงดันน้ําได ประปาทั้งระบบ มีระบบเก็บเสียงให การทํางานของฟลัชวาล วเงียบ มากกว า Flush valve ยี่หอ อืน่ ถึงสองเท า และยังมีรนุ ทีส่ ามารถใช กบั กว าระบบการทํางานของฟลัชวาล วเซ็นเซอร ทั่วไป สามารถใช กับน้ํา แรงดันต่ํากว า 1.75 บาร ซึ่งยี่ห ออื่นไม สามารถทําได และเป นยี่ห อ REUSE ได 100% เพราะมีระบบ DUAL FILTER และ DIAPHRAGM เดียวทีม่ รี ะบบการทํางาน Piston และระบบ Diaphragm โดยมีอะไหล เป น Synthetic Rubber ซึง่ SLOAN VALVE COMPANY เป นหนึง่ เดียว สํารองทุกชิ้นส วน พร อมให บริการตลอดอายุการใช งาน สามารถ ในโลกทีใ่ ช ระบบดังกล าว สามารถรับแรงดันน้าํ ได ถงึ 15 BAR ซึง่ มากกว า เปลี่ยนชิ้นส วนที่ชํารุดหรือสึกหรอโดยไม จําเป นต องเปลี่ยนอะไหล ยี่ห ออื่นถึง 2 เท า แสดงถึงความคงทนของฟลัชวาล วได เป นอย างดี ส วนอื่นที่ไม สึกหรอ หรือเปลี่ยนใหม ทั้งชุด SLOAN Flushometer เป นสินค าที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งชุด จึงมีมาตรฐานและการผลิตที่สูงกว า มีวัตถุดิบ และคุณภาพ ที่ดีกว า เนื่องจากผลิตจากวัสดุที่มีคุณภาพ จึงกล ารับประกันสินค า ได นานถึง 3 ป (Service on site ไม มีค าใช จ าย) และยังเป น Flush valve ยี่ห อเดียว ที่สามารถทําสัญญาการบํารุงรักษาต อเนื่องได หลัง หมดการรับประกัน 56
สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ บริษัท สุขกมลรัชดา จํากัด 410/17-23, 410/58-62 ถนนรัชดาภิเษก แขวงสามเสนนอก เขตห วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท 02-541-5333 ต อ 28,29 โทรสาร 02-541-5330 http://sookkamol.co.th/ http://www.sloanthailand.com/
Other Event’s Highlight
+
today
Local Organizer
EDITOR’S CHOICE เรื่อง: ณัชชา นันทกาญจน
Libra Acoustic Image System àÁ×Íè ¤ÇÒÁÊǧÒÁ¼ÊҹࢌҡѺ¿˜§¡ ª¹èÑ ¡ÒÃ㪌§Ò¹ä´ŒÍ‹ҧŧμÑÇ àÁ×Íè ἧÍФÙÊμÔ¡ ´Ù´«ÑºàÊÕ§Ẻà´ÔÁæ ã¹Í´Õμ ¡ÅÒÂ໚¹¼Å§Ò¹ÈÔŻЪѹé àÅÔÈ áŌǧҹÃкºÍФÙÊμÔ¡ ¡ç¡ÅÒÂ໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö§è ÍѹÊÌҧÊÃä ¢Í§§Ò¹μ¡á싧ÀÒÂã¹·Õ§è ´§ÒÁä´Œ ´ŒÇÂÃкº Libra Acoustic Image System Libra Acoustic Image System ระบบแผงภาพอะคูสติก เป นสิทธิบตั ร การออกแบบทีช่ ว ยตอบสนองในการดูดซับเสียงตามความต องการของ พื้นที่ใช งานโดยเฉพาะ ทุกแผงภาพผลิตด วยคุณภาพตรงตามลักษณะ มาตรฐานที่ระบบการดูดซับเสียงได ระบุเอาไว Libra ถูกผลิตจากเฟรมอะลูมเิ นียมขนาด 3 นิว้ ทีแ่ ข็งแกร ง มีการเข ามุม อย างประณีตและคงทน กรอบอะลูมิเนียมถูกออกแบบมาเป นพิเศษ เพื่อรับแรงดึงจากแผ นภาพพิมพ ที่มีความละเอียดสูง ในส วนขั้นตอน การพิมพ จะใช เฉพาะหมึกพิมพ ทมี่ คี ณ ุ ภาพสูงสุดเพือ่ ความเสถียรของสี ความคมชัด ติดทนนาน และรายละเอียดของภาพ แม เวลาจะผ านไปนาน ก็ตาม โดยมีขนาดให เลือก 4 ขนาด ตัง้ แต 4 ฟุต x 5 ฟุต (1.21 เมตร x 1.5 เมตร) ไปจนถึงขนาด 10 ฟุต x 14 ฟุต (3.04 เมตร x 4.26 เมตร) หรือจะสั่งผลิตเป นขนาดพิเศษก็ได เช นกัน สามารถติดตามข อมูลสินค าเพิ่มเติมได ที่ www.meyersound.com/product/libra
58
เรื่อง: ณัฐพล สุทธิธรรม ที่ปรีกษาสถาบันเหล็กและเหล็กกล าแห งประเทศไทย และคณะอนุกรรมการโครงสร างเหล็ก สมาคมวิศวกรรมสถานแห งประเทศไทย
¡Òû‡Í§¡Ñ¹Ê¹ÔÁãËŒ¡Ñºâ¤Ã§ÊÌҧàËÅç¡ ´ŒÇ¡Ò÷ÒÊÕà¤Å×ͺ ¡Ò÷ÒÊÕ»‡Í§¡Ñ¹Ê¹ÔÁ ໚¹ÇÔ¸Õ·Õè¹ÔÂÁ㪌㹷ҧ»¯ÔºÑμÔ·ÑèÇä»ã¹§Ò¹¡‹ÍÊÌҧÀÒÂã¹ »ÃÐà·È à¾ÃÒÐ໚¹ÇÔ¸·Õ ÊÕè ÒÁÒö´íÒà¹Ô¹§Ò¹ä´Œâ´ÂÊдǡ äÁ‹«ºÑ «ŒÍ¹ã¹·Ò§»¯ÔºμÑ Ô áμ‹Í‹ҧäÃ¡ç´¤Õ ÇÒÁÃÙ¤Œ ÇÒÁࢌÒ㨷ҧ´ŒÒ¹ÃкºÊÕ (Painting System) à¾×Íè ãˌ䴌 ÊÁÃö¹ÐμÒÁÃдѺ¡ÒÃ㪌§Ò¹·Õè਌Ңͧ§Ò¹μŒÍ§¡Òà (ઋ¹ μŒÍ§¡ÒÃãËŒ â¤Ã§ÊÌҧÁÕÍÒÂØ㪌§Ò¹ä´Œ¡»èÕ „ ໚¹μŒ¹) ¼ÙÍŒ ͡Ẻ§Ò¹â¤Ã§ÊÌҧ㹻ÃÐà·Èàͧ ¡ç处 äÁ‹ÁÁÕ Òμðҹ§Ò¹ÊբͧʶҺѹËÃ×Í˹‹Ç§ҹ·Ò§ÇÔªÒ¡ÒÃã´ã¹»ÃÐà·Èä·Â ·ÕèÊÒÁÒö¹íÒä»ÍŒÒ§Íԧ㪌㹷ҧ»¯ÔºÑμÔä´Œ ความรู และความเข าใจทางด านสีป องกันสนิมให กับโครงสร างเหล็ก จึงยังเป นศาสตร ที่ค อนข างจํากัดอยู ในหมู นักวิชาการและผู ผลิต สีปอ งกันสนิมเฉพาะกลุม เท านัน้ อันเป นอุปสรรคสําคัญต อผูอ อกแบบ โครงสร างเหล็ก ที่จะเลือกใช ระบบสีได อย างถูกวิธีตามสมรรถนะ การใช งานที่ต องการ ทั้งยังส งผลต อเนื่องถึงความไม มั่นใจในความ ทนทานของการใช งานโครงสร างเหล็ก รวมไปถึงการเกิดคําถามและ ข อสงสัยมากมายทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับอายุการใช งานของโครงสร างเหล็กที่ ใช ระบบสีป องกันสนิมที่แตกต างกันออกไป ซึ่ง ณ ป จจุบันก็ยังคงมี คําตอบค อนข างคลุมเครืออยู ดังนัน้ หากพิจารณาทําความเข าใจกับระบบสีกนั สนิมได อย างครอบคลุม เพียงพอ ก็จะทําให สามารถนําไปใช งานได อย างมั่นใจ ผู ออกแบบ จึงควรทําความเข าใจกับลักษณะและองค ประกอบของสีกนั สนิมแต ละ ประเภทเสียก อน รวมไปถึงรูถ งึ มาตรฐานงานสีปอ งกันสนิมตามมาตรฐาน ต างประเทศที่เป นที่ยอมรับในระดับสากลด วย โดยองค ประกอบ ของสีเคลือบนั้น ประกอบไปด วย เนื้อสี (Pigment) ซึ่งประกอบไปด วย 1. Inhibitive Pigment มีหน าทีห่ ลัก คือ ไปสร างผิวเคลือบเชิงป องกัน (Passive Layer) บริเวณขัว้ แอโนด ซึง่ โดยส วนใหญ ผลิตจากส วนผสม ของโลหะธาตุบางประเภท เช น สังกะสี ตะกั่ว โครเมี่ยม อลูมิเนียม และสารเคมีทเ่ี ป นผลผลิตจากแร ฟอสฟอรัส ทัง้ นีก้ ารนําตะกัว่ และโครเมีย่ ม มาใช เป น Inhibitive Pigment มีจํากัด เพราะสาเหตุหลักทางด าน ความเป นมลภาวะที่ส งผลต อมนุษย นั่นเอง 2. Reinforcing Pigment มักถูกนํามาใช เพือ่ เพิม่ ความหนาแน นของ เนือ้ สี ทําให สามารถทาได หนาขึน้ และเพิม่ สมรรถนะของระบบเคลือบ 60
‘Color Pigment’ © teodora1/123rf.com
ป องกัน ทําให สีไม หลุดแตกง าย ไปเพิ่มความแข็งที่ผิว (Hardness) และกําลังรับแรงดึง (Tensile Strength) ของสี และยังมีหน าทีใ่ นการ ช วยในการประสานกับชั้นของสีที่ทารองพื้นหรือทาทับหน า 3. Color Pigment ทําหน าที่แต งเติมสีสันให พื้นผิวที่ทาเกิดความ สวยงามตามต องการ อีกทัง้ ยังช วยปกป ององค ประกอบของสีเคลือบ บางชนิดจากรังสีอัลตราไวโอเลตของแสงอาทิตย ได ด วย ตัวประสาน (Binder) ทําหน าที่เป นตัวประสานเนื้อสีชนิดต างๆ เข าด วยกัน และไปเพิ่มความสามารถในการยึดเกาะของเนื้อสีกับ พื้นผิวที่ทา อีกประการหนึ่งคือ Binder มีส วนผสมของตัวทําละลาย (Solvent) และสารเพิ่มไหล (Plasticizer) เพื่อให สามารถทาสีได ง าย ยิ่งขึ้น ตัวอย างของ Binder ที่ใช ทั่วไป ได แก 1. น้ํา ปกติจะไม มีกลิ่นฉุนรุนแรงและแห งเร็ว เหมาะสําหรับงานทาสี บ านพักอาศัยและอาคารทั่วไป 2. น้ํามัน (Enamel) ให สีที่มันวาวเมื่อแห ง การแห งตัวค อนข างช า ให ความคงทนถาวรกว าสีนาํ้ แต ตอ งให ความระมัดระวังสูงเมือ่ สีลอกออก เพราะอาจส งผลเสียต อสภาพแวดล อมได
3. อะคริลิก (Acrylic) สารประเภทอีมัลชั่น ที่สามารถผสมกับน้ําได แต มีคุณลักษณะที่ทนน้ําเมื่อสีแห ง ตัวลง การแห งตัวทําได เร็วกว าสีน้ํามัน 4. พีวีซี (PVC) หรือสีพลาสติกที่เรารู จักกันทั่วไป มีสมรรถนะทนกรด ทนด าง และทนน้ําได ดีพอสมควร สามารถให ความยืดหยุ นได ดี แต ไม ทนต อแสงแดด การขีดข วน และการกระแทก 5. บิทมู นิ สั (Bituminous) เป นสารประกอบไฮโดรคาร บอนประเภททีม่ คี วามหนาแน นสูง เช น ยางมะตอย (Asphalt) หรือน้ํามันดิบ (Coal Tar) ที่ผสมกับสารละลายอื่น เช น น้ํามันเบนซิน บิทูมินัสเป น Binder ที่มีความต านทานการกัดกร อนสูง สามารถทาได ค อนข างหนาเนื่องจากมีความหนาแน นสูง แต มีสีสัน และพื้นผิวไม สวยงาม 6. แลกเกอร หรือทินเนอร (Lacquer of Thinner) เป น Binder ที่มีสารประกอบอินทรีย ที่ระเหยได ง ายสูง (Volatile Organic Compound - VOC) เมื่อระเหยแล วจะเหลือส วนที่เป นของแข็ง (Solid) อยู น อย 7. Chlorinated Rubber Resin ผลิตจากน้ํามันยางธรรมชาติมาปรับสภาพผสมกับคลอรีน 8. อัลคิด (Alkyds) เป น Binder ที่ให ความเงาสูง สามารถทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ (Oxidization) เพือ่ ให เกิดการแข็งตัว สามารถผลิตได จากน้าํ มันพืชบางประเภท เช น น้าํ มันจากเมล็ดฝ าย (Linseed Oil) ส วนอีกประเภทหนึ่งเป นอัลคิดสังเคราะห ซึ่งผลิตจากน้ํามันระเหยที่ผ านปฏิกิริยาเคมี ที่สามารถเรียกอีกอย างหนึ่งว า Synthetic Resin 9. อีพอ็ กซี่ (Epoxy) หรือ โพลียรู เี ทน (Polyurethane) เป น Binder ประเภททีม่ ี Polymer มากกว า 1 ตัว มารวมกัน และเกิดการเปลี่ยนพันธะใหม จนไม อยู ในสถานะของ Polymer เดิม (เรียกว าการเกิด Cross Linkage) ทีม่ คี วามแข็งแกร งทนทานต อสภาวะแวดล อมได เป นอย างดี หรือกล าวอีกนัยหนึง่ ได วา อีพอ็ กซี่ หรือโพลียรู เี ทนนีจ้ ะไม สามารถคืนรูปให กลับสู Polymer ตัง้ ต นเดิมได ภายหลังจากทีเ่ กิดการประสานเป น พันธะใหม เรียบร อยแล ว และไม สามารถ Recycle หรือนํากลับมาใช ใหม ได ทัง้ นีแ้ ม วา อีพอ็ กซีแ่ ละโพลียรู เี ทน จะมีลกั ษณะกระบวนการของการแข็งตัวทีค่ ล ายคลึงกัน แต กม็ คี วามแตกต างด านการใช งาน คือ อีพอ็ กซี่ จะมีความสามารถในการต านทานการกัดกร อนได ดี แต ขอ เสียคือไม ทนต อแสงอัลตราไวโอเลต ซึง่ จะทําให สีของอีพอ็ กซีเ่ ปลีย่ นไปจากเดิม ในขณะทีโ่ พลียรู เี ทนจะทนต อแสงอัลตราไวโอเลต แต มคี วามทนทานต อ การกัดกร อนได ในระดับปานกลางเท านั้น ทั้งนี้ชนิดของ Binder ที่ใช คําเรียกระบบสีมาตรฐาน ISO12944 เช น Polyurethane Paint, Acrylic Paint, Epoxy Paint เป นต น ุ สมบัตติ าม Binder สําหรับคุณสมบัตพิ นื้ ฐานของสีแต ละประเภทนัน้ อาจกล าวได วา สีแต ละประเภทให คณ ทีม่ คี วามเด นและความด อยแตกต างกันไปตามลักษณะการใช งาน และตามราคาของผลิตภัณฑ ซึง่ ผูอ อกแบบ ควรทําการเลือกประเภทของสีที่จะนํามาทาให กับโครงสร างเหล็กในแต ละชั้น ให สอดคล องกับลักษณะ หรือสภาพแวดล อมในการรองรับการใช งานโครงสร าง เช น ส วนของโครงสร างนั้นอยู ภายในอาคารหรือ ภายนอกอาคาร สภาพความเป นกรด เป นเกลือ หรืออุณหภูมิการใช งานเป นอย างไร โครงสร างสัมผัส กับแสงอาทิตย หรือไม ตลอดจนความต องการ (Demand) ที่จะสงวนรักษาให โครงสร างเหล็กสามารถ คงสมรรถนะ (Performance) ได โดยไม จําเป นต องมีการซ อมบํารุงขนานใหญ (Major Repair Work) ซึ่งนอกจากประเภทสีที่ต องเลือกนํามาใช และความหนาที่ต องทา ซึ่งมักจะพิจารณาความหนาเมื่อแห ง (Dry Film Thickness - DFT) หรือความหนาระบุเมื่อแห ง (Nominal Dry Film Thickness - NDFT) ในหน วยไมโครเมตรในแต ละชั้นแล ว ยังมีบริบทของขั้นตอนการดําเนินการ การเตรียมพื้นผิว (Surface Treatment) และความสามารถในการเกาะยึดระหว างพืน้ ผิวของสีในแต ละชัน้ (Interface Bonding) เช น สีบางประเภทมีประจุไฟฟ าใกล เคียงกับสีบางประเภท ทําให มลี กั ษณะของการ ‘ผลักกัน’ มากกว าจะ ‘ยึดติดกัน’ อันส งผลต อความเสียหายที่เรียกว า การหลุดร อนระหว างชั้น (Delamination) และในคราวหน าเรามาทําความเข าใจและรู จักประเภทของสีเคลือบกันต อนะครับ
61
เรื่อง: ประพนธ ชํานาญ
¹ÇÑμ¡ÃÃÁà¤Ã×èͧ´Ù´½Ø†¹äÃŒÊÒ¨ҡ Dyson ã¹Í´Õμã¤ÃàŨФҴ¤Ô´Ç‹Ò...à¤Ã×Íè §ãªŒä¿¿‡Ò¸ÃÃÁ´ÒÍ‹ҧ “à¤Ã×Íè §´Ù´½Ø¹† ” ¨ÐÁÕ ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ·ÕÊè ÒÁÒöμͺʹͧ¡ÒÃ㪌§Ò¹´Ù´½Ø¹† ·ÕÊè дǡʺÒÂ䴌͋ҧ·Ø¡Çѹ¹Õé ÍÕ¡·Ñé§ÂѧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡Ò÷íÒ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´ÊÙ§ ´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕäÃŒÊÒ¾ÌÍÁ ¡Ñºáç´Ù´¨Ò¡ÁÍàμÍà Íѹ·Ã§¾Åѧ ·íÒãËŒ¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´ºŒÒ¹¡ÅÒÂ໚¹ àÃ×èͧ§‹ÒÂæ ·Õèã¤Ãæ ¡çªÍº
การประดิษฐ คดิ ค นนวัตกรรมเครือ่ งดูดฝุน ของ เจมส ไดสัน เริม่ ต นขึน้ ในป ค.ศ.1978 เนือ่ งด วยป ญหาทีพ่ บจากการใช งาน เครือ่ งดูดฝุน ในยุคนัน้ ทีม่ กั พบว าประสิทธิภาพในการทํางานดูดฝุน จะลดลงเมือ่ ใช งานไปนานๆ ซึง่ เกิดจากการทีถ่ งุ เก็บฝุน มีฝุ นอุดตันอยู เต็มไปหมด ทําให พลังแรงดูดเกิดลดลง ดังนั้น เจมส ไดสัน จึงได เริ่มพัฒนาเครื่องดูดฝุ นไร สายที่มาพร อม นวัตกรรมไซโคลน (Cyclone Technology) หลังจากที่ได ทดลองพัฒนาซ้าํ แล วซ้าํ เล ากับตัวต นแบบถึง 5,127 รุน ในเวลา กว า 5 ป ก็สามารถประดิษฐ เครือ่ งดูดฝุน แบบไร ถงุ เครือ่ งแรกของโลกเป นผลสําเร็จ และได มกี ารพัฒนาผลิตภัณฑ จําหน าย ในกว า 65 ประเทศทั่วโลก ภายใต แบรนด Dyson แบรนด ชั้นนําระดับโลก แต ไดสันก็ไม ได หยุดการพัฒนาอยู เพียงเท านั้น เพราะหัวใจของบริษทั คือ ทีมวิศวกรและนักวิทยาศาสตร ทมี่ าพร อมกับแนวความคิดและสิง่ ประดิษฐ ใหม ๆ ซึง่ ถูกสร างสรรค ขึ้นเป นจํานวนมาก การวิจยั ออกแบบ และพัฒนาเทคโนโลยีของไดสัน เหล าทีมงานวิศวกรได ทาํ งานกันอย างหนัก เพือ่ ค นหาวิธที าํ ให สงิ่ ต างๆ ทํางานได ดยี งิ่ ขึน้ อย างต อเนือ่ ง ผ านการปรับปรุงแนวคิดของตัวเองซ้าํ แล วซ้าํ เล า และเมือ่ การสร างต นแบบผลิตภัณฑ ทาํ ได เร็วขึ้นด วยวิธีที่ชาญฉลาดขึ้น ก็สามารถสร างต นแบบผลิตภัณฑ จํานวนมากขึ้นด วย เพื่อให ได ซึ่งผลิตภัณฑ ที่สมบูรณ แบบ ที่สุด และล าสุด มร.เอเดรียอาโน นีโร หัวหน าวิศวกรด านการพัฒนาสายผลิตภัณฑ ใหม และวิศวกรนักออกแบบของไดสัน ได นาํ นวัตกรรมเครือ่ งดูดฝุน ตัวต นแบบตลอดการพัฒนากว า 20 ป มาแสดงในประเทศไทย พร อมเป ดเผยถึงกระบวนการ การออกแบบและการคิดค นเทคโนโลยีของไดสัน 62
ไดสัน ดิจิตอล มอเตอร V6 หนึ่งในนวัตกรรมอันเป นขุมพลังหลัก ของเครื่องดูดฝุ นไร สายของไดสัน ซึ่งเป นมอเตอร ดิจิตอลรุ นใหม ที่ ทรงพลัง สามารถหมุนได เร็วและให พลังความหนาแน นสูง ด วยความเร็ว ในการหมุนสูงสุดถึง 110,000 ครั้งต อนาที ซึ่งเร็วกว ามอเตอร ของ เครือ่ งยนต Formula1 ถึง 5 เท า ทําให มปี ระสิทธิภาพในการทําความ สะอาดเหนือกว าเครื่องดูดฝุ นไร สายทั่วไป โดยดูดฝุ นและสิ่งสกปรก ได แรงเต็มพลัง อีกทั้งยังมีเทคโนโลยีพลังไซโคลน 2 Tier Radial™ Cyclone Technology ซึง่ เป นสิทธิบตั รเฉพาะของไดสัน มีประสิทธิภาพดูดฝุน สิ่งสกปรกหรือฝุ นผงขนาดเล็กที่มองด วยตาเปล าไม เห็น ไซโคลน มีหลักการทํางานใช แรงเหวีย่ งหมุนด วยความเร็ว เพือ่ กรองฝุน ให แยกออก จากอากาศก อนปล อยเข าไปในช องเก็บฝุ น นับเป นนวัตกรรมที่มี ประสิทธิภาพสูงและทําให เครือ่ งดูดฝุน ไดสันสามารถทําความสะอาด สิ่งสกปรก รวมถึงทําให อากาศที่คุณหายใจสะอาด มีคุณภาพอย าง แท จริงที่ ภายในระบบประกอบไปด วย ไซโคลนขนาดเล็ก 15 ชุด ทํางานคู ขนานกัน 2 ชั้น มาพร อมกับดีไซน ทันสมัยที่ไร ถุงดักฝุ น สําหรับนวัตกรรมเครื่องดูดฝุ นไร สายของไดสันที่น าสนใจ ได แก เครื่องดูดฝุ นไร สาย DC62 ด วยดีไซน ที่ทันสมัย ตัวเครื่องผลิตจาก ABS และโพลีคาร บอเนต ซึง่ เป นวัสดุเดียวกับทีใ่ ช ทาํ โล ปราบจลาจล และหมวกกันกระแทกของตํารวจ อีกทัง้ ยังผ านการทดสอบส วนประกอบ แต ละชิ้นอย างหนัก เพื่อให มั่นใจได ว าผลิตภัณฑ จะแข็งแกร งทนทาน ในการใช งานจริง หัวแปรงดูดฝุน พืน้ ของ DC62 ได รบั การออกแบบมา ให มนี า้ํ หนักเบาและดูดฝุน ขึน้ มาได ดยี งิ่ ขึน้ กลไกกระชับตัวเองช วยให แกนแปรงคงตัวอยูก บั ที่ และช องดักจับฝุน ช วยป องกันไม ให สงิ่ สกปรก ตกกลับสูพ นื้ อีกครัง้ ทําให การดูดฝุน ของ DC62 มีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ รวมทัง้ เส นใยคาร บอนและแถบขนแปรงไนลอนแบบใหม ยงั ช วยกําจัดฝุน และสิ่งสกปรกได สะอาดหมดจด ด วยหัวแปรง 4 แบบ ที่มใี ห เลือก ใช ได ตรงตามชนิดการใช งานไม วา งานพืน้ ประเภทไหน ส วนตัวถังเก็บฝุน ของเครื่องดูดฝุ นไดสัน ถูกออกแบบให ถูกสุขอนามัย สามารถนําฝุ น ออกจากถังเก็บได โดยกดปุม เพียงครัง้ เดียว ก็สามารถปล อยสิง่ สกปรก ลงมาข างล างได โดยไม ฟุ งกระจายเลอะเทอะ ใช งานได ง ายเหมาะกับ การทําความสะอาดของคนยุคใหม
และล าสุดทีมวิศวกรของไดสันได เปลี่ยนโฉมเครื่องดูดฝุ นแบบเดิมที่ เคยรู จักสู เทคโนโลยีใหม แห งเครื่องดูดฝุ นไร สายด วย ไดสัน ฟลัฟฟ หรือเครื่องดูดฝุ นไร สาย DC74 ที่สามารถกําจัดฝุ นและสิ่งสกปรก บนพืน้ ได ถงึ 98 เปอร เซ็นต อีกทัง้ ยังไม ทาํ ให เกิดรอยขีดข วนบนพืน้ ผิว ที่เราทําความสะอาดอีกด วย สามารถจัดการสิ่งสกปรกได ทุกขนาด ไม วา ป ญหาจะใหญ หรือเล็ก สามารถทําความสะอาดทุกความสกปรก ด วยเทคโนโลยีหัวทําความสะอาดซึ่งเป นสิทธิบัตรเฉพาะของไดสัน ทําให ไดสัน ฟลัฟฟ ทรงประสิทธิภาพเหนือเครือ่ งดูดฝุน ทัว่ ไป ด วยหัวแปรง ดักจับฝุน เป นลูกกลิง้ ขนาดใหญ ห อหุม ด วยแถบไนลอนสลับกับเส นใย ไฟเบอร ให สมั ผัสใหม ของหัวแปรงดักจับฝุน ทีอ่ อ นนุม แต ทรงประสิทธิภาพ ส วนของแถบไนลอนจะดักจับและดูดสิง่ สกปรกขนาดใหญ และเส นใยไฟเบอร จะช วยขจัดฝุน ผงและสิง่ สกปรกชิน้ เล็ก และยังมาพร อมกับหัวแปรง 8 แบบ ให เลือกใช ได ตรงตามชนิดการใช งาน จึงใช งานได ง าย สะดวกสบาย ไม ว าจะทําความสะอาดพื้น ผนัง เฟอร นิเจอร ต างๆ หรือว าเพดาน หรือแม แต พนื้ ทีท่ ยี่ ากจะเข าถึง อย างตามขัน้ บันได ซอกแคบ ซอกหลัง เฟอร นิเจอร หรือหลังตู ใบสูง รวมถึงสิ่งสกปรกที่ยากจะทําความ สะอาดได เพียงมีไดสัน ฟลัฟฟ ทุกการทําความสะอาดก็กลายเป น เรื่องง าย นอกจากเครื่องดูดฝุ นไร สายที่เป นนวัตกรรมล าสุดแล ว Dyson ยังมี ผลิตภัณฑ อน่ื ๆ ทีส่ ามารถตอบสนองการใช งานทีส่ ะดวก ด วยนวัตกรรม ที่ผ านการประดิษฐ คิดค นมาเป นอย างดี ไม ว าจะเป น เครื่องดูดฝุ น มาตรฐานแบบมีสายไฟ หรือพัดลมไม มีใบพัด ซึ่งทุกผลิตภัณฑ ล วน เกิดจากการทํางานหนักของวิศวกรของไดสัน ที่ทุ มเทอย างเต็มที่ ให กับการประดิษฐ คิดค น และพัฒนา
สนใจรายละเอียดติดต อได ที่ บริษัท เซ็นทรัลเทรดดิ้ง จํากัด 3388/25-37, 51-53 และ 82-85 อาคารสิรินรัตน ชั้น 8-11, 15 และ 23 ถนนพระราม 4 คลองตัน คลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท 0-2229-7190 http://www.dyson.co.th 63
เรื่อง: ดร. อรช กระแสอินทร , LEED GA
Big Data à¾×èÍ¡ÒÃÍ͡Ẻ (1) à·¤â¹âÅÂÕáÅйÇÑμ¡ÃÃÁà¾×èÍʶһ˜μ¡ÃÃÁ¹Ñé¹ ¶Ù¡¤Ô´¤Œ¹¢Öé¹ÁÒμÅÍ´àÇÅÒ à¾×Íè ÊÌҧÍÒ¤ÒÃ·Õ´è ¢Õ ¹éÖ äÁ‹ÇÒ‹ ¨Ðã¹ÁÔμ¢Ô ͧ¡ÒÃÍÂÙÊ‹ ºÒÂÁÒ¡¢Ö¹é ÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ÁÒ¡¢Ö¹é Å´¼Å¡Ãзºμ‹ÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ËÃ×ÍÍ×è¹æ ·Õè¨ÐÊ‹§»ÃÐ⪹ μ‹Í¡ÒÃŧ·Ø¹¢Í§ ÍÒ¤ÒÃàͧ ÃÇÁ¶Ö§μ‹ÍÊѧ¤Áâ´ÂÃÇÁ «Ö觷Õ輋ҹÁÒ¼Áä´Œ¹íÒàʹͶ֧»ÃÐà´ç¹ ´ŒÒ¹ÇÑÊ´Ø ¼ÅÔμÀѳ± ËÃ×ÍÃкº·Õèʶһ¹Ô¡ËÃ×ÍÇÔÈǡèйíÒä»ãªŒ¡ÑºÍÒ¤Òà ·Õè¡íÒÅѧÍ͡Ẻ ËÃ×ÍÍÒ¨¨Ð໚¹àÃ×èͧ¢Í§¡ÒûÃѺ»ÃاÍÒ¤Òà áμ‹ã¹¤ÃÑ駹Õé ¼Á¨Ð¢Í¹íÒàʹͻÃÐà´ç¹·Ò§´ŒÒ¹à·¤â¹âÅÂÕáÅйÇÑμ¡ÃÃÁ·Õè໚¹àÃ×èͧ¢Í§¡Òà Í͡Ẻâ´Âμç ทุกท านคงทราบแล วว าโลกของเราในทุกวันนีเ้ ดินไปด วยข อมูล เราเปลีย่ นทุกอย างเป นข อมูลเพือ่ ส งผ าน และแลกเปลี่ยนกัน เราถ ายรูปอาหารที่เรากินแล วส งต อไปทาง Facebook หรือ Instagram นั่นก็คือ การเปลีย่ นสิง่ ทีเ่ รารับประทานเป นข อมูลของภาพ เรา check-in ยังสถานทีต่ า งๆ ทีไ่ ด ไป ก็คอื ใส ขอ มูลทีอ่ ยูข องเรา เข าไป และเราก็ใส ขอ มูลแทบทุกอย างเข าไปในโลกของข อมูล ไม วา จะเป นการใช จา ย การเดินทาง สิง่ ทีช่ อบ สิ่งที่เกลียด ฯลฯ ทําให ข อมูลในโลกนี้มีอยู ทุกที่และมีจํานวนมากมายมหาศาลและมีแทบทุกรูปแบบ หากแต ว าเราจะหยิบเอามาใช อย างไร นี่เป นเรื่องของสิ่งที่เรียกว า Big Data ทีนี้ถามว า Big Data จะมาเกี่ยวข องกับการออกแบบสิ่งก อสร างและสถาป ตยกรรมต างๆ ได อย างไร ท านผูอ า นทีเ่ ป นสถาปนิกหรือนักออกแบบลองคิดถึงกระบวนการออกแบบนะครับ ว าเราต องการรูอ ะไรบ างเพือ่ ที่จะออกแบบให ได ในขณะเดียวกันการจะปรับปรุงแก ไขอาคารอะไรก็ต องเก็บข อมูลเพื่อที่จะหาประเด็น ป ญหาให ได ซึง่ ทีก่ ล าวมาทัง้ สองกรณีนนั้ คือการนําเอาข อมูลเพื่อมาสร างโจทย เพือ่ การออกแบบนั่นเอง ย อนกลับมาทีว่ ธิ กี ารทํางานของเราในการหาข อมูลเพือ่ การออกแบบ เราสามารถหาข อมูลได จากไหนบ าง ท านผูอ า นลองนึกดูนะครับ ก อนอืน่ ก็คงต องถามตัวเองว าต องการรูอ ะไรบ างเพือ่ ตอบจุดประสงค ของการ สอบถามนั้น เราต องการออกแบบห างสรรพสินค า เราก็คงต องการทราบว าลูกค าคือใคร มีพฤติกรรม แบบไหน ร านอะไรจะมาลงบ าง ข อมูลบางอย างเจ าของห างสรรพสินค าที่จ างนักออกแบบคงทราบ แต ถ าอยากรู จักลูกค ามากขึ้น เราก็คงต องทําการหาข อมูลเพิ่มเติม หรือทําวิจัยเพื่อการออกแบบ วิธีการเพื่อให ได ข อมูลมาก็มีหลายวิธี อาทิ การให กลุ มตัวอย างของลูกค ากรอกแบบสอบถาม การทํา Focus Group และการทํา In-Depth Interview เป นต น เหล านี้คือการนํามาซึ่งข อมูลแต ก็มีข อจํากัด และมีความคลาดเคลือ่ นสูง แบบสอบถามนัน้ ยิง่ หนาผูต อบก็ยงิ่ รําคาญและทําอย างไม ใส ใจ การสอบถาม จากการพูดคุยก็ได สงิ่ ทีเ่ ขาพูดออกมา แต กอ็ าจจะไม ตรงกับสิง่ ทีอ่ ยูใ นใจ การทีเ่ ราต องการจะรูพ ฤติกรรม ที่แท จริงของผู ใช งานอาคารโดยวิธีการที่กล าวมาก็เป นเรื่องที่ไม ง ายเลย
64
การนําเอาแนวทางการวิเคราะห โดยใช Big Data เพือ่ การออกแบบสถาป ตยกรรมเป นเรือ่ งทีค่ อ นข างใหม แต ก็เป นแนวทางของอนาคตที่จะประมวลข อมูลที่เกิดขึ้นจากความเป นจริงของการใช งานอาคารเลย ยกตัวอย างง ายๆ เช นการจะปรับปรุงระบบของอาคารเพือ่ การประหยัดพลังงาน หากว าอาคารมีเครือ่ งมือวัด อยู มากและเหมาะสม เช นมีมิเตอร หรือตัววัดการใช ไฟฟ า และตัววัดอุณหภูมิของภายนอกและภายใน อาคารที่ออนไลน ตลอดเวลาและส งข อมูลการใช ไฟฟ าของอาคารทุกๆ 10 นาที ก็จะช วยให เราสร างแบบ จําลองของการใช พลังงานกับตัวอาคารได ในเรื่องของพฤติกรรมของคนกันบ าง สมมุติว าต องออกแบบ Supermarket สักแห ง สถาปนิกทั่วไป จะเริม่ ต นจากคูม อื การออกแบบทีเ่ กีย่ วข อง ดูขนาด Shelf และอุปกรณ มาตรฐานในท องตลาด แต หากว า มีระบบติดตามการเดินของลูกค าที่เข ามาช็อปป งได และนําเอาข อมูลการซื้อของลูกค ามา เราจะทราบ พฤติกรรมที่แปลกๆ เช น สินค าบางอย างผู ซื้อเดินผ านเร็วแต ซื้อเยอะ บางอย างเดินผ านมากและช า แต มียอดขายน อยกว า ข อมูลดังที่กล าวมาเป นประโยชน ต อการออกแบบได มาก ตั้งแต การจัดพื้นที่ที่ให ประโยชน แก เจ าของ Supermarket ได มาก ในขณะเดียวกันก็เสริมประสบการณ ของการซือ้ ให แก ลกู ค าได เช นการจัดชัน้ วางลอยตัว แยกออกมาสําหรับสินค าที่ต องการการตัดสินใจซื้อนานเพื่อไม ให ไปรบกวนหรือกีดขวางลูกค ารายอื่นๆ ที่ซื้อของอย างอื่น แล วต องการเดินต อหรือไปจ ายเงินโดยไม ต องการแวะดูสินค าอื่นๆ แต อย างใด ในครัง้ หน า เราจะมาคุยกันต อในรายละเอียดของ Big Data เพือ่ งานสถาป ตยกรรม การนํามาใช ประโยชน และนักออกแบบจะเริ่มต นใช Big Data ได อย างไรบ าง
BUIDER GAGS Drone video documents construction progress at BIG’s New York Courtscraper
all images courtesy of brett landry / darkhorse video courtesy of brett landry / darkhorse https://www.youtube.com/watch?v=TJ-uIA1EXig
65
เรื่อง: ผศ.ดร.จตุวัฒน วโรดมพันธ , LEED AP, TREES Founder และ ศรุต วะน้ําค าง TREES-A
ÇÔ¸Õ¡ÒÃÍ͡ẺÊÀÒÇй‹ÒʺÒ 㹾×é¹·Õè»ÃѺÍÒ¡ÒÈ »˜¨¨Øº¹Ñ Á¹ØÉ àÃÒä´Œ¤´Ô ¤Œ¹à·¤â¹âÅÂÕμÒ‹ §æ ¢Ö¹é ÁÒà¾×Íè μͺʹͧ¤ÇÒÁμŒÍ§¡Òà μ‹Ò§æ 㹪ÕÇÔμ»ÃШíÒÇѹ à¤Ã×èͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ·Õè㪌¼ÅÔμ¤ÇÒÁàÂç¹ã¹Ê¶Ò¹·Õèμ‹Ò§æ ¡ç໚¹ÍÕ¡Ë¹Ö§è ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ·Õ¹è ºÑ Ç‹ÒÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒôíÒçªÕÇμÔ ¢Í§Á¹ØÉ àÃÒ à¾×Íè ·íÒãËŒ àÃÒÍÂÙ‹ã¹ÊÀÒ¾ÍÒ¡Òȹ‹ÒʺÒ áμ‹àÃÒ¨Ðṋã¨ä´ŒÍ‹ҧäÃÇ‹Ò¡ÒÃÍ͡Ẻ¾×é¹·Õè 㪌ÊÍ ÃÇÁ件֧¡ÒÃàÅ×͡㪌¢¹Ò´à¤Ã×èͧ»ÃѺÍÒ¡ÒȹÑé¹à¾×èÍμͺʹͧ¡Ñº ÊÀÒÇй‹ÒʺÒÂÊíÒËÃѺºØ¤¤Å·ÑèÇä» ASHRAE Handbook และ ASHRAE Standard 55 ได ระบุถึงสภาวะน าสบายไว ว าภายในพื้นที่ใปรับ อากาศจะต องมีอณ ุ หภูมแิ ละความชืน้ ทีพ่ อเหมาะ รวมถึงจะต องคํานึงในเรือ่ งของกิจกรรมและเครือ่ งนุง ห ม ของผูใ ช สอยพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ความเร็วลมทีไ่ หลผ านร างกายผูใ ช งานในพืน้ ทีก่ เ็ ป นอีกหนึง่ ป จจัยทีส่ ง ผลในเรือ่ ง การถ ายเทความร อนระหว างร างกายและอากาศ ซึง่ การทีจ่ ะระบุวา ผูใ ช งานพืน้ ทีน่ นั้ อยูใ นสภาวะน าสบาย หรือไม กไ็ ม ได ขนึ้ อยูก บั ความรูส กึ ของผูใ ช งานคนใดคนหนึง่ หากแต จะขึน้ อยูก บั ผูใ ช งานทัว่ ไปตามสากล มาตรฐานดังกล าวได กําหนดวิธีการต างๆ เพื่อที่จะประเมินสภาวะน าสบายเอาไว ดังนี้ Graphical Method for Typical Environmental วิ ธี ก ารนี้ จ ะเหมาะสมสํ า หรั บ ในพื้ น ที่ ใ ช ส อยที่ มี กิจกรรมอยู ระหว าง 1-3 met และค าความเป น ฉนวนจากเสือ้ ผ าของผูใ ช พนื้ ทีอ่ ยูร ะหว าง 0.5-1 clo ตามรูปภาพที่ 1 ด านบนจะมีพนื้ ทีแ่ รเงาอยู 2 ส วน สํ า หรั บ ความเป น ฉนวนแต ล ะค า พื้ น ที่ แ ละเรา สามารถเลื่อนขึ้นได ถ าหากภายในพื้นที่ใช สอย มีกระแสขึ้นกว า 0.2 m/s นั่นก็หมายความว า รูปภาพที่ 1 Acceptable range of operative temperature Operative Temperature จะสูงขึ้น ซึ่งมีผลต อ and humidity for spaces ภาระทําความเย็นจากเครื่องปรับอากาศที่น อยลง
66
Computer Model Method for General Indoor Application วิธกี ารนีเ้ หมาะสําหรับ การประเมินสภาวะน าสบายในพื้นที่ที่มีกิจกรรมอยู ระหว าง 1 และ 2 met และมีค า ความเป นฉนวนของเสื้อผ าต่ํากว า 1.5 clo ตามรูปภาพที่ 2 ค าในแนวแกนนอนจะสื่อถึงระดับสภาวะน าสบายของบุคคลทั่วไป (Predicted Mean Vote, PMV) โดยเรียงจาก -3 ไปถึง +3 ค าติดลบนัน้ หมายถึงพืน้ ที่ นัน้ อยูส ภาวะทีร่ อ นเกินไป ซึง่ สําหรับวิธกี ารนีไ้ ด มกี ารกําหนดสภาวะน าสบายอยูใ นช วง -0.5 ถึง +0.5
รูปภาพที่ 2 Predicted percentages dissatisfied (PPD) as function of predicted mean vote (PMV)
รูปภาพที่ 3 Acceptable Thermal Environments for General Comfort
ทั้งนี้ Center for the Built Environment (CBE) ได จัดทําเครื่องมือ เพือ่ ช วยเหลือในการประเมินสภาวะน าสบาย ผูท สี่ นใจสามารถเข าไป ใช เครือ่ งมือนีไ้ ด ฟรีทางเว็บไซต http://comfort.cbe.berkeley.edu/
รูปภาพที่ 4 ตัวอย างการออกแบบสภาวะน าสบาย
BUIDER QUOTE “Design is a funny word. Some people think design means how it looks. But of course, if you dig deeper, it's really how it works.” Steve Jobs
67
เรื่อง: กองบรรณาธิการ
‘Azura’ เครื่องกําเนิดพลังงานคลื่นรูปแบบใหม ของอเมริกา ป จจุบนั ทัว่ โลกต างให ความสําคัญกับการผลิตพลังงานสะอาดซึง่ เป นพลังงานธรรมชาติในรูปแบบต างๆ ที่เราสามารถนํามาใช ได ไม มีวันหมด และไม ก อให เกิดมลภาวะเป นพิษต อสิ่งแวดล อม เช น พลังงานจาก แสงอาทิตย , พลังงานจากลม แต ลา สุดกองทัพเรือสหรัฐ ฯ และ Northwest Energy Innovations (NWEI) บริษัทเทคโนโลยีพลังงานสะอาดในรัฐโอรากอน ได พัฒนา ‘Azura’ ต นแบบเครื่องกําเนิดพลังงานคลื่น รูปแบบใหม ล าสุดของอเมริกา ‘Azura’ จะเก็บเกีย่ วพลังงานจากการเคลือ่ นไหวขึน้ ลงของคลืน่ ในน้าํ เครือ่ งกําเนิดไฟฟ าทีต่ ดิ ตัง้ ภายใน เครื่องจะแปลงพลังงานจลน ที่ได รับเป นไฟฟ า ก อนส งกลับไปยังระบบโดยการผ านสายเคเบิลใต น้ํา แม ว าจากการทดสอบมันจะสามารถผลิตกระแสไฟฟ าได เพียง 20 กิโลวัตต ต อชั่วโมง แต ในอนาคต ถ าเทคโนโลยีเครื่องกําเนิดพลังงานคลื่นนี้ถูกพัฒนาในระดับที่ใหญ ขึ้น ฮาวายจะสามารถผลิตพลังงาน หมุนเวียนได 100 เปอร เซ็นต ภายในป 2045 เลยทีเดียว ขณะนีท้ มี นักออกแบบกําลังพยายามพัฒนาเครือ่ ง ’Azura’ รุน ใหม ทมี่ ปี ระสิทธิภาพในการดักจับพลังงาน ที่มีขนาดใหญ ขึ้น สามารถผลิ ตกระแสไฟฟ าจากคลื่นขนาดใหญ ที่อยู ลึกลงไปใต มหาสมุทร 150 ฟุต ซึ่งจะทําให ผลิตกระแสไฟได 1 megawatt เพียงพอต อการใช ไฟฟ าของหลายร อยครัวเรือน คาดว า เครื่องรุ นใหม นี้จะสามารถใช งานได อย างเร็วที่สุดในป 2017 Photo Credit: © Northwest Energy Innovations See more: http://inhabitat.com/45-ton-azura-generator-harvests-energy-from-hawaiis-waves/azura-wets/
68
‘C-Enduro’ ยานสํารวจพลังงานจากแสงอาทิตย และลม เตรียมลุย สํารวจ Celtic Deep ยานสํารวจทางทะเลมีหน าที่เก็บข อมูลจากน้ําในมหาสมุทร บางครั้ง จะถูกส งไปติดตามสัตว น้ําที่ใกล สูญพันธุ หรือทําแผนที่ของพื้นทะเล หรื อ ทดสอบระดั บ ความเค็ ม ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปจะมี รู ป ทรงคล า ยกั บ เครื่องร อนลําเล็กๆ แต ล าสุดได มีการพัฒนายานสํารวจรูปแบบใหม สไตล Catamaran หรือเรือใบน้ําตื้นที่มีชื่อว า ‘C-Enduro’ ที่ทํางาน ได ดว ยตัวเองโดยอาศัยพลังงานจากแสงอาทิตย , ลมและเครือ่ งยนต ดีเซลล สํารองในการขับเคลื่อน
ปลาโลมา และนกทะเล เพื่อหาสาเหตุว าทําไมบริเวณนี้ถึงสามารถ ดึงดูดสัตว ทะเลเหล านีไ้ ด โดยยานนีจ้ ะใช กล อง GoPro, เครือ่ งตรวจจับ คลื่นเสียงของสัตว ทะเลเลี้ยงลูกด วยนมและมีเซ็นเซอร ช วยค นหา สัตว ทะเลและรวบรวมข อมูลต างๆ เช น อุณหภูมิ, ความเค็มของน้ํา และความสมบูรณ ของแพลงก ตอนหรือเหยือ่ ปลา ด วยการใช พลังงาน จากธรรมชาติจงึ ทําให สามารถลอยอยูใ นทะเลเป นเวลาหลายเดือนต อ หนึ่งการสํารวจได และยังมีระบบป องกันการเฉี่ยวชนกับเรือลําอื่นๆ อี ก ด ว ย โดยที ม นั ก วิ จั ย จะรวมข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากยานสํ า รวจเข า กั บ ภาพถ ายจากดาวเทียม และทําการคาดการณ น้ําขึ้นน้ําลงเพื่อที่จะได ภาพทีส่ มบูรณ ของบริเวณทีท่ าํ การสํารวจและทําการศึกษาวิจยั ต อไป
ด วยความร วมมือกันของ National Oceanography Centre และ องค กร World Wildlife Fund ยานลํานี้จะถูกส งไปสํารวจบริเวณ Photo ะCredit: ©ASV ผิวน้ําของ Celtic Deep ซึ่งเป นบริเวณที่อยู อาศัยของสัตว ทะเล อาทิ See more: https://www.youtube.com/watch?v=TqJZUfbeIuU
สารเคลือบผิววัสดุทําจากกระจก ช วยลดความร อนภายในอาคารได นักวิจัยแห งมหาวิทยาลัย Johns Hopkins ในสหรัฐอเมริกา ได คิดค นวิธีการที่ทําให หลังคาเหล็กของอาคารเย็นลงและสามารถยืดอายุ การใช งานของโครงสร างเหล็กทุกชนิดได ซึง่ ก็คอื การเคลือบผิววัตถุดว ยกระจกอนินทรีย (inorganic glass) แทนการใช โพลิเมอร แบบดัง้ เดิมทัว่ ไป เนือ่ งจากสีสว นใหญ ทเี่ ราใช ไม วา จะเป นสีรถหรือสีทาบ านล วนแต มตี วั เชือ่ มประสานเป นโพลิเมอร ซึง่ มักจะเสือ่ มลงเมือ่ โดนรังสีอลั ตราไวโอเลต จากแสงอาทิตย อีกทั้งยังปล อยสารประกอบอินทรีย ที่เป นอันตรายต อสิ่งแวดล อม ทีมนักวิจยั จึงได ปรับเปลีย่ นโพแทสเซีย่ มซิลเิ คทให กลายเป นสารประกอบทีเ่ มือ่ สเปรย ลงบนพืน้ ผิวแล วยังคงความแข็งแรงและกันน้าํ ได เป น อย างดี นอกจากนี้อายุการใช งานก็ยาวนานกว าการใช สีเคลือบอื่นๆ ด วย เนื่องจากมันไม มีส วนประกอบของสารอินทรีย ใดๆ สารเคลือบนี้ จะถูกผสมกับสีขาวเพื่อสะท อนแสงอาทิตย กลับ ทําให พื้นผิวมีอุณหภูมิคงที่หรือเย็นลง ส งผลให ภายในอาคารมีอุณหภูมิที่เย็นลงและลด การใช เครื่องปรับอากาศน อยลงด วย ขณะนี้ทีมนักวิจัยกําลังพัฒนาสารเคลือบผิวชนิดนี้เพื่อใช กับเรือของกองทัพเรือก อน ซึ่งคาดว าจะเริ่ม ทําการทดสอบในอีก 2 ป ข างหน าต อไป Photo Credit: © American Chemical Society / Screen capture via YouTube/ See more: https://www.youtube.com/watch?v=xaaRzCcaArU 69
เรื่อง:
ผศ.รัชด ชมภูนิช คณบดี คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
¨Ø´μÒÂʶһ¹Ô¡ä·Â: LOW FEE ¤‹ÒẺËÃ×ͤ‹ÒºÃÔ¡ÒÃÇÔªÒªÕ¾¢Í§Ê¶Ò»¹Ô¡ã¹»ÃÐà·Èä·Â ¶×Íä´ŒÇÒ‹ ໚¹Íա˹֧è áË‹§ ·Õè¶Ù¡·ÕèÊØ´ã¹âÅ¡«Ö觤§à»š¹¡ÃÃÁà¡‹Ò·Õèμ¡·Í´¡Ñ¹ÁÒμÑé§áμ‹ÊÁѺÃþºØÃØɢͧ ʶһ¹Ô¡ä·ÂàÃÒ àËμؼŴѧ¡Å‹ÒÇÁÕÊÒàËμØÊÒí ¤ÑÞÁÒ¨Ò¡Êѧ¤Áä·ÂäÁ‹ (à¤Â) ࢌÒ㨠áÅÐäÁ‹ÍÂÒ¡·íÒ¤ÇÒÁࢌÒ㨡Ѻº·ºÒ·¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Í§Ê¶Ò»¹Ô¡ÁÒμѧé áμ‹ááàÃÔÁè ÁÕ ÇԪҪվʶһ¹Ô¡ ·Ñ駷ÕèàÃÒÁÕÊÁÒ¤Áʶһ¹Ô¡ÊÂÒÁÏ ÁÒμÑé§à¡×ͺ 75 »„ÁÒáÅŒÇ เมือ่ สังคมไม เข าใจหรือไม รจู กั บทบาทการทํางานของสถาปนิก ประชาชนก็จะไม รบั รูค วามยากลําบากในการทํางานของเรา ตัง้ แต การคิดแบบ การคิดโปรแกรม Concept และไม เข าใจขัน้ ตอนและวิธกี ารออกแบบ จัดทําแบบ เขียนแบบ และงานอืน่ ๆ ทีท่ าํ ให ความฝ นของลูกค ากลายเป นความจริงจนก อสร างแล วเสร็จได เพราะงานนามธรรมพวกนีล้ กู ค าจะไม สามารถมองเห็นได เนื่องจากเป นกระบวนการทางความคิดที่อยู ในหัวสมองของสถาปนิกเราเป นหลัก ดังนัน้ ค าแบบของสถาปนิกไทยเราจึงมักถูกประเมินผ านเพียงสิง่ ของรูปธรรม หรือเอกสารทีล่ กู ค าจับต องได กค็ อื แบบบ าน แบบอาคาร ภาพทัศนียภาพ หรือหุน จําลองก็ตาม ซึง่ เมือ่ ตีมลู ค าของงานออกแบบผ านกระดาษและแบบพิมพ เขียว ไปจนถึง เอกสารประกอบแบบทั้งหลาย ก็จะดูแปรเป นตัวเงินได ไม มากมายเท าใดนัก หรือบางทีก็นับแผ นแบบอาคารที่ทําให ลูกค า คูณออกมาเป นค าแบบของสถาปนิกเราเองเลยก็มีไม น อย เหตุเพราะลูกค ามองว ามันคือกระดาษธรรมดา ชั่งกิโลขาย ได ไม กี่สตางค เท านั้นเอง คําถามที่น าเศร าในประเด็นนี้ก็คือ สถาปนิกเป นแค คนขายกระดาษจริงหรือ ??? เมือ่ ย อนกลับมาดูการคิดค าแบบของสถาปนิกตามมาตรฐานของสมาคมสถาปนิกสยามฯ ทีเ่ ราคุน เคยกัน ถือเป นความฝ น อันสูงสุดของสถาปนิกชาวไทย ซึ่งเมื่อเป นความฝ นแล วจึงเป นสิ่งที่ไม เป นจริงในชีวิตของเราแต อย างใด และเมื่อเรา ดูให ไกลต อไปถึงมาตรฐานค าออกแบบอาคารราชการที่มีค าเท ากับร อยละ 1.75 ของมูลค าก อสร าง ก็เป นเรื่องเศร าที่อาจ เรียกได วา เป นโศกนาฏกรรมสําหรับสถาปนิกไทยเลยทีเดียว เพราะค าแบบจํานวนนี้ (ซึง่ ต องแบ งให วศิ วกร ช างเขียนแบบและ ที่ปรึกษาอื่นๆ อีกมากมาย) ก็ไม รู ว าสถาปนิกจะหลงเหลือทุนรอนใดให ใช สําหรับสร างสรรค งานให มีมาตรฐานเทียบเท า สากลได อย างไร นอกจากนีม้ คี วามน าสนใจเกีย่ วกับการคิดค าแบบของสถาปนิกไทยอีกประการคือ เราจะคิดแบบเหมาโดยรวมเอาค าออกแบบ ของวิศวกรผู เกี่ยวข องทุกอย างให มาอยู ในส วนของสถาปนิกทั้งหมด ซึ่งต างจากต างประเทศที่มีการจําแนกออกเป น Specialist ต างๆ ดังนั้นหากสถาปนิกต องการให งานของตนมีเนื้อหาครบถ วนสมบูรณ ขึ้นตามการใช สอยที่ซับซ อนขึ้น อาทิ การจ างผูเ ชีย่ วชาญด านพลังงาน ผูเ ชีย่ วชาญด านเสียง ด านการออกแบบแสงสว าง ฯลฯ เหล านี้ ค าใช จา ยทีเ่ พิม่ ขึน้ มา เหล านี้จะเป นคําถามว าใครจะเป นผู รับผิดชอบ หรือจะเป นภาระการเสียเงินของใคร ป ญหาทีส่ าํ คัญอีกประการคือ ในสังคมไทยมักใช ตรรกะหรือวิธกี ารตัดสินใจเลือกสินค าหรือบริการด วย Pricing เป นสําคัญ โดยไม สนใจว าสิง่ ใดต องใช ปจ จัยทางด านราคาเป นตัวตัดสิน หรือสิง่ ใดต องใช ปจ จัยด านคุณภาพมาใช ตดั สิน วิธคี ดิ แบบนี้ จึงหมายความว า สังคมเราจะตัดสินใจเลือกสถาปนิกหรือบริการของสถาปนิกด วยการดูราคาว าถูกหรือแพงเพียงป จจัยเดียว
70
เหมือนกับซือ้ ผักซือ้ หมูในตลาดนัด โดยไม สนใจว าคุณภาพหรืองานทีต่ นเองจะได รบั เป นอย างใด แต สงิ่ ที่ น าสนใจต อมาก็คอื ถ าสินค าหรือบริการนัน้ เป นเรือ่ งเกีย่ วกับความเป นหรือความตาย ความสวย ความหล อ หรือความอ วนความผอมของตนเองเมือ่ ใด เช น ค ารักษาพยาบาล รักษาสิว ไปจนถึงซือ้ คอร สลดความอ วน ที่ไม ว าแพงเท าไหร คนไทยก็ยินยอมจ ายโดยไม มีข อต อรองใดๆ ทั้งสิ้น ซึง่ แนวทางการแก ไขนัน้ ก็ไม ยากเลย โดยการสร างการรับรูถ งึ ความสําคัญของวิชาชีพ อันเป นสิง่ ซึง่ สถาปนิก ในระดับบุคคลและองค กรวิชาชีพต องกระทําอย างต อเนือ่ งอย างไม ทอ ถอย ควบคูไ ปกับการให บริการต อสังคม และลูกค าอย างเต็มประสิทธิภาพ เพือ่ ให สงั คมได รบั รูป ระโยชน และเข าใจถึงคุณภาพของงานทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการให บริการของสถาปนิก ในส วนขององค กรวิชาชีพก็คงต องผลักดันแนวคิดและนโยบายเรื่อง คุณภาพของงานสถาป ตยกรรมควบคู ไปกับค าใช จ ายที่เป นธรรมของสถาปนิกต อหน วยงานราชการที่มี หน าทีร่ บั ผิดชอบให มคี วามรูค วามเข าใจ และดําเนินการแก ไขป ญหานีใ้ ห ลลุ ว งอย างเป นรูปธรรมให จงได ต อไป และแล วผมก็ได นาํ เสนอ 10 จุดตายของสถาปนิกไทยมาจนครบต อเนือ่ งมาหลายฉบับ ตัง้ แต เรือ่ งการคิด ราคาค าก อสร าง, ข อกฎหมายและข อกําหนดที่เกี่ยวข องกับการออกแบบ, รายการประกอบแบบ, การทํา โปรแกรมการใช สอยอาคาร DOCUMENT PAPER, TEAM LEADER, CONSTRUCTION PROCESS, 2ND LANQUAGE : ENGLISH, NOT FOLLOW UP มาจนถึง LOW FEE ในฉบับนี้ หวังว าคงสร าง โอกาสในการพัฒนาตนเองและแนวทางการปรับปรุงแก ไขให แก สถาปนิกรุน ใหม ๆ ในการปฏิบตั งิ านตาม สายวิชาชีพ เพื่อพัฒนาวงการสถาป ตยกรรมไทยต อไปในภายหน านะครับ
BUIDER GAGS
Abyss table ผลงานการออกแบบโต ะของ Christopher Duff ซึ่งแสดงถึงลักษณะของหุบเหวใต ท องทะเลลึก โดยใช การซ อนแผ นของแผ นแก วและแผ นไม เพื่อสร างมิติความลึกของท องทะเล ด วยสนนราคาที่ค อนข างสูง (£ 6,960 หรือ US$ 11,900) จึงทําให งานชิน้ นีด้ งึ ดูดความสนใจและสร างความพิเศษขึน้ มา ด วยระยะเวลา กว าหนึ่งป ในการพัฒนาผลงานของผู ออกแบบ ซึ่งได รับแรงบันดาลใจจากช วงเวลาที่น าประทับใจใน โรงงานผลิตแก ว ได สร างสรรค งานแต ละชัน้ ของกระจกใสให เกิดเป นผลกระทบเชิงลึกได อย างน าประทับใจ ซึ่งถือได ว าเป นของตกแต งชิ้นเล็กๆ อีกหนึ่งชิ้นที่จะแต งเติมจิตวิญญาณให แก ห องนั่งเล นของคุณ….
71
เรื่อง: ปฏิทิน เวลา ภาพ: กัณฑ ตนนท สุรัชต สิรากูล
HOME THEATER | «Ñº ÊзŒÍ¹ áʧÊÕàÊÕ§ àÁ×èÍà·¤â¹âÅÂբͧÍØ»¡Ã³ à¤Ã×èͧ㪌俿‡Ò¡ŒÒÇ˹ŒÒÁÒ¡¢Öé¹ à¤Ã×èͧàÊÕ§áÅШÍÀÒ¾ ¡ÅÒÂ໚¹ÊÔ觷Õ褹·ÑèÇä»ÊÒÁÒö¨ÑºμŒÍ§ä´Œ§‹ÒÂμÒÁ ´ŒÇÂʹ¹ÃÒ¤Ò·Õè»ÃѺŴŧáÅÐ ¢¹Ò´ÍØ»¡Ã³ ·¡Õè зѴÃÑ´¢Ö¹é ¨Ö§à»š¹·Õ¹è ÂÔ Á¢Í§ã¤ÃËÅÒ¤¹·Õ¨è ФÃͺ¤ÃͧäÇŒà¾×Íè ¡Òþѡ¼‹Í¹Ë‹͹ã¨Ê‹Ç¹μÑÇÀÒÂ㹺ŒÒ¹ áμ‹¡ÒèÐàÅ×Í¡ÃкºàÊÕ§áÅÐÀÒ¾·Õè´Õæ äÁ‹ãª‹à¾Õ§ᤋàÅ×Í¡ÍØ»¡Ã³ ¤³ Ø ÀÒ¾ÊÙ§ ÃÒ¤Òᾧ෋ҹѹé áμ‹Â§Ñ μŒÍ§¤íÒ¹Ö§¶Ö§Í§¤ »ÃСͺ 㹡ÒÃÍ͡Ẻ¾×é¹·ÕèˌͧÍ‹ҧàËÁÒÐÊÁÍÕ¡´ŒÇ ¨Ö§¨Ðä´Œ¿˜§àÊÕ§áÅЪÁÀÒ¾·ÕèÁÕ ¤Ø³ÀҾ͋ҧ᷌¨ÃÔ§ หากย อนกลับไปกว า 20 ป ทแี่ ล ว คําว า ‘โฮมเธียเตอร ’ อาจยังไม เป นทีน่ ยิ มเหมือนเช นในป จจุบนั ในยุคนัน้ คนส วนมากจะนิยม ฟ งเสียงเพลงมากกว า แต สาํ หรับ คุณพีรพล เกษมสุทธิ์ ซึง่ ถือได วา เป นหนึง่ ในผูเ ชีย่ วชาญทางด านการออกแบบระบบเสียงและ ตกแต งโฮมเธียเตอร ของเมืองไทย เขาได เริ่มต นวิถีแห งเครื่องเสียงขึ้นในช วงเวลานั้นเอง ตลอดเวลาที่คร่ําหวอดในวงการ เครื่องเสียงอย างยาวนานจนกระทั่งป จจุบัน เขาได สั่งสมประสบการณ มากมายและได สร างสรรค ผลงานการออกแบบ โฮมเธียเตอร เอาไว หลายแห ง ในฐานะ กรรมการผู จัดการ บริษัท เธียเตอร เฮาส จํากัด จากความชอบสู ความเชี่ยวชาญ จากความชอบส วนตัวที่เริ่มด วยการเป นนักเล นเครื่องเสียง ทําให คุณพีรพลมีโอกาสได ศึกษาเครื่องเสียงแต ละรุ น และได ทําการซื้อขาย เปลีย่ นมือเครือ่ งเสียงมาแล วหลายรุน และด วยการเป นนักเล นเครือ่ งเสียง ตัวยง จึงเริ่มออกแบบและสร างห องสําหรับฟ งเครื่องเสียงของตัวเอง ขึน้ มา เพือ่ จะได มพี น้ื ทีส่ าํ หรับฟ งเสียงอย างมีคณ ุ ภาพ เมือ่ ทําการซือ้ ขาย เครื่องเสียงผ านร านค าหลายๆ แห ง จึงเป นเหตุให เขาเป นที่รู จักกันดี ในวงการ กอปรกับประสบการณ ทไ่ี ด สง่ั สมมากขึน้ จึงมีนติ ยสารมาขอให เขียนบทความรีวิวเครื่องเสียงให โดยมีการส งอุปกรณ ประเภทต างๆ มาให ทดลองอยูเ สมอ และนัน่ เป นเหตุให เขาได ฝก ทักษะและศึกษาเรือ่ ง เครื่องเสียงมากยิ่งขึ้น เมื่อเริ่มเขียนบทความรีวิวอุปกรณ ประกอบชุดเครื่องเสียงให นิตยสาร หลายเล มขึน้ ก็เริม่ มีเรือ่ งของระบบอะคูสติกเข ามาเกีย่ วข อง ซึง่ ถือเป น ส วนหนึง่ ของการจัดวางระบบเสียงภายในห องฟ งเพลงเช นกัน แต เดิม การออกแบบห องสําหรับฟ งเพลงอาจเน นแค สัดส วนของพื้นที่ห องให
72
เหมาะสม ซึ่งการนําระบบอะคูสติกเข ามาใช จะช วย ให เกิดการฟ งเสียงที่มีคุณภาพดียิ่งขึ้น เมื่อได ศึกษา และสืบค นข อมูลจากหนังสือและเว็บไซต ตา งประเทศ มากขึ้น เขาจึงเล็งเห็นถึงประสิทธิภาพของอุปกรณ ประกอบชุดเครื่องเสียงที่ดีเป นเช นไร รวมทั้งการนํา อุปกรณ เสริมชิ้นส วนเล็กๆ ในงานอะคูสติก ซึ่งเป น องค ประกอบในการแต งเสียงเข ามาใช ตกแต งภายใน ห องฟ งเพลงเพิ่มมากขึ้น ต อมาคุณพีรพลจึงได เริ่มต นเป ดบริษัทรับทํางาน ตกแต งภายใน และได นําแผนกระบบเสียงอะคูสติก เข าเป นส วนหนึง่ ในสายงานการออกแบบด วย เป ดให บริการรับออกแบบตกแต งภายในและระบบโฮมเธียเตอร จนกระทั่งเติบโตเป น เธียเตอร เฮาส ที่มีชื่อเสียง เช นในทุกวันนี้
“
ªÔ¹é ʋǹÍФÙÊμԡʋǹÁÒ¡¨Ð໚¹ äÁŒªÔé¹à«ÒÐËͧ ¤ÅŒÒ¡Ѻ¼Å§Ò¹ ·Ò§ÇÔ·ÂÒÈÒÊμà ÁÒ¡¡Ç‹Ò໚¹ §Ò¹ÈÔÅ»ÐËÃ×Í»ÃÐμÔÁÒ¡ÃÃÁ à¾ÃÒШÐ์¹àÃ×èͧ¡ÒÃ㪌§Ò¹ ´ŒÒ¹àÊÕ§໚¹ËÅÑ¡·Ñé§ ‘¡ÒÃÊзŒÍ¹’ áÅÐ ‘¡Òôٴ«Ñº’ ¼Á¨Ö§¾ÂÒÂÒÁÍ͡Ẻâ´Â¹íÒ ªÔ¹é ʋǹÍФÙÊμÔ¡àËÅ‹Ò¹ÕÁé Ò¼ÊÒ¹ ¡Ñºá¹Ç·Ò§¡ÒÃμ¡á싧ÀÒÂã¹ ãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁÊǧÒÁáÅÐŧμÑÇ ÁÒ¡·ÕèÊØ´
”
ต อมาเมือ่ นวัตกรรมระบบเครือ่ งเสียงและระบบภาพ ก าวหน ามากขึน้ โฮมเธียเตอร จงึ ได รบั ความนิยมมากขึน้ จากสมั ย ก อ นที่ มี แ ต ก ลุ ม นั ก เล น เครื่ อ งเสี ย งหรื อ กลุ มลูกค าระดับไฮเอนด เท านั้น ที่จะทุ มซื้ออุปกรณ ด วยสนนราคาหลักล านบาท แต เมื่อมีการปรับราคา ลดลงเหลือในหลักแสนหรือหลักหมื่นบาท รวมทั้ง นวัตกรรมจอภาพทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงมาพร อมกับขนาดที่ กะทัดรัดลง ทําให โฮมเธียเตอร ห องหนึ่งๆ คนทั่วไป สามารถจับต องได มากขึน้ และการออกแบบโฮมเธียเตอร จึงแพร หลายตามมา ป จจัยหลักในการออกแบบของ เธียเตอร เฮาส สําหรับการออกแบบโฮมเธียเตอร สิ่งที่ต องคํานึงถึง มี 3 ส วนหลักๆ ได แก ระบบภาพ ระบบเสียง และ การออกแบบตกแต งพืน้ ทีห่ อ ง ซึง่ การจะให นา้ํ หนัก ไปที่ส วนใดส วนหนึ่งมากกว ากันนั้น ขึ้นอยู กับความ ต องการของลูกค าเป นสําคัญ โดยทั่วไปหากเป น ลูกค ากลุ มระดับกลางที่มีงบประมาณในระดับหนึ่ง ส วนใหญ จะเน นไปทีร่ ะบบภาพหรือระบบเสียง หากเป น ลูกค ากลุ มระดับบนที่มีงบประมาณสูงก็จะเน นการ ตกแต งเติมเข าไป เช น ระบบ Lighting Design หรือ ระบบ Home Automation เป นต น
¤Ø³¾ÕþŠà¡ÉÁÊØ·¸Ôì ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ºÃÔÉÑ· à¸ÕÂàμÍà àÎÒÊ ¨íÒ¡Ñ´
แนวคิดในการออกแบบพื้นที่และตกแต งห อง มิติของห องถือเป นป จจัยสําคัญอย างหนึ่งในการออกแบบพื้นที่ห อง โฮมเธียเตอร หากเปรียบเทียบกับห องธรรมดาทั่วไปที่มีสัดส วนพื้นที่ ห องไม เหมาะสม เสียงทีไ่ ด ยนิ ก็อาจเพีย้ นไปจากแหล งกําเนิดได ดังนัน้ สิง่ ทีค่ วรคํานึงถึงในการออกแบบพืน้ ทีภ่ ายในห องโฮมเธียเตอร หลักๆ คือ 1. สัดส วนของพืน้ ทีภ่ ายในห องทีเ่ หมาะสม มิตขิ องห องต องสัมพันธ กนั ทัง้ ระยะความกว าง ความยาวและความสูง เพือ่ ให การวิเคราะห คาํ นวณ ค าเสียงความถี่ต่ําได กราฟที่เป นลักษณะเส นตรง (Linear) ที่สุด 2. การเลือกใช วัสดุตกแต ง นอกจากเพื่อความสวยงามแล ว ยังต อง สอดรับกับการออกแบบระบบเสียงคุณภาพสูงภายในห องนั้นด วย เช น การเลือกใช วสั ดุไม เพือ่ การกระจายของเสียง (Defuse) อย างชิน้ ไม ทจี่ ะ ช วยในการกระจายเสียงเบสให ดียิ่งขึ้น หรือพรมปูพื้นเพื่อช วยในการ ดูดซับเสียง (Absorb) เป นต น 3. การจัดวางตําแหน งผังในลักษณะสมมาตรกัน ทัง้ สองด านซ ายและขวา เพื่อให เกิดการสะท อนและดูดซับเสียงเข าสู หูซ ายและหูขวาที่เท ากัน ผนังด านซ ายและด านขวาต องถูกตกแต งให Mirror ซึ่งกันและกัน และ อุปกรณ ประกอบการตกแต งทุกอย างต องเหมือนกันไม วา จะเป น ผ าม าน หน าต าง หรือโคมไฟ ต องเหมือนกันและอยู ตําแหน งเดียวกันหมด
73
สําหรับวัสดุทเ่ี ลือกใช ในการตกแต งโฮมเธียเตอร อาจแบ งได ตามแนวกลุม ความชอบของผูใ ช สอย อาทิ กลุม Home Theater Mania ซึง่ เป นกลุม นักเล นเครือ่ งเสียงและภาพ จะเน นการใช วสั ดุอะคูสติกเป นหลัก ไม เน นทีค่ วามสวยงามจากการตกแต งภายในมากนัก ห องจึงไม เน นที่วัสดุสวยงามแต จะเน นไปที่ประโยชน ใช สอย เพื่อการฟ งเสียงที่สมบูรณ แบบและได คุณภาพสูงสุดมากกว า ส วนหากเป น กลุ ม Home User ซึ่งถือได ว าเป นกลุ มคนทั่วไป ซึ่งมีตลาดที่กว างกว านั้น จะเน นไปที่การตกแต งให ดูสวยงาม เป นหลัก จึงต องนําวัสดุอะคูสติกอย างอุปกรณ ดดู ซับเสียง (Absorber) ต างๆ แฝงเข าไปประกอบในการออกแบบ เช น ผ าม าน คิว้ ไม บัวไม เป นต น หรือนําอุปกรณ เสริมทางด านอะคูสติกผสานเข ามาใช ในการตกแต งเพือ่ สร างความสวยงามมากกว า อาทิ หมุดเลนส กระจายเสียง ชิ้นไม อะคูสติก โดยนํามาใช ร วมกับการออกแบบระบบเสียงอะคูสติก
แนวทางการออกแบบระบบเสียง การวิเคราะห และคํานวณ ภายในโฮมเธียเตอร ห องหนึ่งๆ นั้น ในการออกแบบระบบเสียงต อง คํานึงถึงการดูดซับ การสะท อน การกระจาย ให มคี วามสัมพันธ กนั ทัง้ สิน้ จุดที่จะกระจายสียงและจุดที่จะดูดซับเสียงต องผสานกันอย างลงตัว เพื่อให เกิดการรับฟ งสู โสตประสาทได อย างมีอรรถรสสูงสุด อย างเช น ห องสําหรับฟ งเพลงควรออกแบบให เกิดไดนามิกเสียงแบบ Live-end มากกว า เพราะต องการให เกิดเสียงก องสะท อนขึ้นมากกว า แต หาก เป นห องสําหรับชมภาพยนตร ก็จะเน นไดนามิกเสียงแบบ Dead-end มากกว า เพราะต องการให เกิดการซับเสียงมากกว า เป นต น
แก ชุดอุปกรณ ให เกิดความเสถียรของการใช งานเสียก อน ทั้งนี้รวมถึง ระบบภาพและระบบไฟส องสว างภายในห องด วยเช นกัน โดยทัว่ ไปจะถือ ระยะการใช งานที่ 100 ชั่วโมงขึ้นไป เป นระยะในการทดลองอุ นเครื่อง
หลังจากนัน้ จะต องมีการปรับแต งเสียงอีกครัง้ หนึง่ ซึง่ เรียกว า ‘Fine Tune’ โดยทีผ่ เู ชีย่ วชาญจะใช เทคนิคการฟ งผ านโสตประสาท ทําการปรับแต ง ค าเสียงด วยการใช อปุ กรณ อะคูสติกเสริมแต งเติมมาช วย จนได คณ ุ ภาพ เสียงที่สมบูรณ ซึ่งคอมพิวเตอร อาจวัดค าเสียงได แค ความถี่เท านั้น แต โสตประสาทของผู ที่เชี่ยวชาญจะทําการปรับแต งเสียงอะคูสติกด วย ในการออกแบบระบบเสียงและวิเคราะห ค าเสียงสามารถทําได โดยใช ความเข าใจในคาแรกเตอร ของเสียงแต ละประเภท แต ละย านความถี่ หลักการพืน้ ฐาน (Fundamental) อย างการวัดค าเสียงและวิเคราะห ดว ย ได ดีกว า ดังนั้นผู ทําหน าที่ปรับแต งเสียงจะต องมีความชํานาญสูง ระบบคอมพิวเตอร โดยให ออกแบบกําหนดตําแหน งในการจัดวางระบบ มีประสบการณ และต องมีหูที่เข าถึงเสียงได เป นอย างดี เสียงอะคูสติก เช น ต องใช ลําโพงกี่ตัว ช วงระยะการหน วงของเสียง นานเท าไหร หาตําแหน งจุดตกของเสียงภายในห อง หรือตําแหน ง ซึง่ ทาง เธียเตอร เฮาส ก็มบี ริการรับจ างทดลองอุปกรณ และอุน เครือ่ งเสียง การเดินทางของเสียงที่สัมพันธ กัน เป นต น ซึ่งในป จจุบันมีโปรแกรม พร อมทัง้ การดูแลระบบโฮมเธียเตอร แบบครบวงจร จนครบระยะการอุน เครือ่ ง ในการออกแบบให เลือกใช ที่จะสร างความสะดวกและรวดเร็วได ให แก ลูกค าด วย เนื่องจากลูกค าบางรายอาจใช เวลาในห องเหล านี้ ไม บอ ยเท าทีค่ วร กว าจะลองทดสอบอุปกรณ ครบร อยชัว่ โมงอาจใช เวลา แต เมือ่ ได ผลการออกแบบพืน้ ฐานเบือ้ งต นมาแล ว ในการติดตัง้ ย อมต อง นานเกินไป ดังนั้นการให บริการทดสอบระบบและดูแลหลังการติดตั้ง ให มืออาชีพและผู มีประสบการณ สูงเข ามาตั้งระบบ เพราะหลังจาก ระบบให ดว ยนัน้ จึงเป นการอํานวยความสะดวกให แก ลกู ค าอีกทางหนึง่ ติดตัง้ แล วเสร็จจะต องมีการทดลองใช เครือ่ ง เพือ่ ให เกิดระยะการอุน เครือ่ ง 74
ตัวอย างห องโฮมเธียเตอร ตัวอย างโฮมเธียเตอร หอ งแรกนี้ มีการคํานวณความลึก 5.9 เมตร กว าง 4.8 เมตร สูง 2.7 เมตร เมือ่ ทําการวัด และคํานวณค าเสียงเป นกราฟออกมา พบว าให กราฟ ในลักษณะเป นเส นตรง (Linear) ซึ่งถือได ว ามีมิติที่ เหมาะสมในการออกแบบโฮมเธียเตอร ได เป นอย างดี ซึง่ แนวทางในการออกแบบโฮมเธียเตอร หอ งนีจ้ ะเป น สไตล Living Room เหมาะสําหรับกลุม Home User ให ความรู สึกที่อบอุ นและใช งานง าย สามารถใช สอย พื้นที่เป นได ทั้งห องสําหรับชมภาพยนตร และห อง สําหรับฟ งเพลงได เช นกัน เพื่อการพักผ อนหย อนใจ ของครอบครั ว โดยเน น ไปที่ ก ารตกแต ง ให แ ลดู สวยงามเป นหลัก จึงมีการนําอุปกรณ เสริมเข ามา ประกอบการตกแต งมากกว าพวกวัสดุอะคูสติก และ การจัดวางอุปกรณ ภายในห องก็มลี กั ษณะสมมาตรกัน ทุกประการ
75
การออกแบบระบบเสียงภายในโฮมเธียเตอร หอ งนี้ คํานึงถึงการผสานกัน ของการดูดซับ การสะท อน การกระจายของเสียงให มากทีส่ ดุ โดยจุดที่ จะกระจายสียงและจุดทีจ่ ะดูดซับเสียงสัมพันธ กนั อย างลงตัว มีการวาง อุปกรณ ทชี่ ว ยในการปรับเสียงให ได คณ ุ ภาพอยูห ลายจุด อาทิ หมุดเลนส กระจายเสียง ซึง่ มีลกั ษณะคล ายหมุดป กอยูต ามผนัง ในตําแหน งทีเ่ ป น Point-source Node เป นตําแหน งท่ีเสียงจะมาตกกระทบ ณ จุดนี้ เลนส ตวั นีจ้ ะทําหน าทีก่ ระจายเสียงออกสูภ ายในห อง ทําให ได ค าแรกเตอร ของเสียงที่มีความสด มีคุณภาพเมื่อเข าสู โสตประสาท
76
นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ กระจายเสียงอื่นอีก ที่ทําจาก ชิ้นไม ขนาดเล็ก ซึ่งทําหน าที่ในการปรับแต งเสียงให เกิดการกระจายและกังวานสู ภายในห อง เพื่อเน น ให เกิดคุณภาพเสียงในแต ละความถีด่ ยี ง่ิ ขึน้ ทัง้ นีข้ น้ึ อยู กับตําแหน งที่ถูกกําหนดให วางไว ที่ต างกันด วย เช น แท งไม สําหรับช วยกระจายเสียงเบส เป นต น
ส วนอีกหนึ่งห องโฮมเธียเตอร เป นการตกแต งที่ เน นการชมภาพยนตร เป นหลัก เหมาะสําหรับกลุ ม Theater Mania อย างแท จริง การออกแบบจึงมี ลักษณะตามสไตล ของโรงภาพยนตร โดยมีมติ ขิ องห อง คือ กว าง 3.9 เมตร ลึก 5 เมตร และสูง 2.8 เมตร ซึ่งเป นอัตราส วนที่เหมาะสม เมื่อวิเคราะห ได กราฟ ค าเสียงในลักษณะเส นตรง (Linear) เช นเดียวกัน
ในการออกแบบระบบเสียงอะคูสติก เป นลักษณะการดูดซับเสียงเป นหลัก โดยวัสดุตกแต งผนังถูกออกแบบให เป นวัสดุผา บุ ทีเ่ น นการดูดซับเสียง มากกว าการกระจายเสียง และสร างไดนามิกเสียงแบบ Dead-end มากกว า อีกทัง้ ยังมีการเสริมด วยแผงไม รอ งเพือ่ ช วยในการกระจายเสียง ในบางตําแหน ง
ส วนการออกแบบแสงสว างจะเน นให บริเวณพืน้ ทีห่ น าจอมีแสงมืด เพือ่ ให เกิดความคมชัดของภาพสูง โดยเน นจัดแสงให เป น Indirect Lighting ในการออกแบบและตกแต งได เลือกใช วัสดุอะคูสติก เพือ่ แสงสว างจะได ไม สะท อนและกระทบเข าสู จอภาพโดยตรง อย างเต็มที่ โดยให ความสําคัญในเรื่องความคมชัด ของจอภาพและระบบเสียงมากกว า อีกทั้งยังเน น แผงจอภาพเป นจออะคูสติกแบบที่มีรูพรุนขนาดเล็ก โดยมีการติดตั้ง การออกแบบควบคุมไฟแสงสว างภายในห อง โดยนํา ระบบเครื่องเสียงซ อนไว ด านหลังของจอภาพ ปล อยเสียงออกมา เทคนิค Lighting Design ระบบภาพ และระบบเสียง ผ านหน าจอ ซึ่งเป นรูปแบบเดียวกับที่ใช กันตามโรงภาพยนตร ทั่วไป เข ามาสร างบรรยากาศภายในห องมากขึน้ เพือ่ ให เกิด นอกจากนีย้ งั มีการวางระบบเสียงเป นแบบ Derby Surround โดยการ ความรู สึกคล ายกับชมภาพยนตร ในโรงภาพยนตร ซ อนลําโพงเพื่อปล อยเสียงรอบทิศทางด วย
77
ในการออกแบบโฮมเธียเตอร นอกจากจะคํานึงถึงการออกแบบระบบเสียง ที่ดีแล ว ต องมีการออกแบบวางระบบไฟฟ าที่ดีด วยเช นกัน เพื่อให เกิดประสิทธิภาพในการแสดงศักยภาพของเครื่องเสียงได อย างเต็มที่ สําหรับคนที่อยากจะมีโฮมเธียเตอร สักห องภายในบ าน ควรจะต อง เตรียมระบบไฟฟ าภายในบ านให พร อม 1. ควรแยกการเดินสายไฟหลักจากหม อแปลงเข าสู ตัวบ านต างหาก รวมทั้งแยกสายดินสําหรับชุดโฮมเธียเตอร โดยเฉพาะ 2. หากในกรณีที่เป นบ านจัดสรร มีการเดินสายไฟหลักจากหม อแปลง เข าสูต วั บ านเรียบร อยแล ว ควรแยกเบรกเกอร ชดุ โฮมเธียเตอร ออกจาก ระบบไฟฟ าชุดอื่น เพื่อให เกิดการรบกวนภายในระบบการจ ายไฟน อย ที่สุด 3. ชุดปลัก๊ ไฟทีใ่ ช กต็ อ งเลือกระบบทีม่ คี ณ ุ ภาพ เหมาะกับการใช งานของ ระดับชุดเครื่องเสียงและจอภาพเช นกัน อีกทัง้ ยังมีองค ประกอบต างๆ และรายละเอียดเล็กๆ น อยๆ ทีต่ อ งคํานึง ถึงในการออกแบบโฮมเธียเตอร ด วยเช นกัน ซึ่งสิ่งเหล านี้ต องอาศัย ความเชี่ยวชาญและการสั่งสมประสบการณ เป นเวลานาน เราจึงเห็นได วา ในการออกแบบโฮมเธียเตอร สกั ห องหนึง่ จําเป นต องมีการพูดคุยสอบถาม ข อมูลและความต องการกับทางลูกค าตั้งแต แรกเริ่มให มากที่สุด เพื่อจะทําการวิเคราะห และคํานวณออกมาได อย างแม นยํา ให ได เป นระบบเสียงอะคูสติกที่สมบูรณ ที่สุด ในป จจุบนั ธุรกิจการออกแบบระบบเสียงอะคูสติกและการตกแต งห อง Home Theater นัน้ ค อนข างดีทเี ดียว เพราะความนิยมและความแพร หลายของตลาด Home Theater ในวงกว าง ซึ่งไม ได จํากัดแต เพียงบ านพักอาศัยเพียงเท านั้น แต เดี๋ยวนี้ตามโรงแรม โชว รูมรถระดับ ลักซูรี่ โรงภาพยนตร มินิเธียเตอร แม แต อพาร ทเม นท หรือหอพักขนาดใหญ ต างก็สร าง พื้นที่ห อง Home Theater ขึ้นมา เพื่อรับรองตามความต องการของลูกค ามากขึ้นนั่นเอง 78
ขอบคุณข อมูลจาก บริษัท เธียเตอร เฮ าส จํากัด CDC เฟส 2 อาคาร k1 ชั้น 2 ห อง 203,305,207,209 ถนนเลียบทางด วน เอกมัย-รามอินทรา โทร. 02-102-2218 โทรสาร 02-102-2219 Email. theater-house@hotmail.com website. www.theater-house.com
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้
äÍà´ÕÂμ¡á싧ÃÐàºÕ§¢¹Ò´àÅç¡ ´ŒÇ¢ͧμ¡áμ‹§áºº§‹ÒÂæ ¤¹Ê‹Ç¹ãËÞ‹Á¡Ñ ¤Ô´Ç‹ÒÃÐàºÕ§¢¹Ò´àÅç¡æ 㹤͹â´ËÃ×ͺŒÒ¹¹Ñ¹é 㪌»ÃÐ⪹ ÍÐäÃäÁ‹¤Í‹ Âä´Œ ¹Í¡¨Ò¡à»š¹·ÕèÊíÒËÃѺμÒ¡¼ŒÒªÔé¹àÅ硪Ôé¹¹ŒÍ ºÒ§·Õ¤Ô´ÍÂÒ¡¨Ð¨Ñ´ÊǹàÅç¡æ ¡çäÁ‹ÃÙŒ ¨Ð¨Ñ´Í‹ҧäà ÍÂÒ¡¨ÐμÑé§âμ Ð à¡ŒÒÍÕé ¹Ñ觨Ժ¡ÒῪÁÇÔÇÃͺæ ÃѺÍÒ¡ÒȺÃÔÊØ·¸Ôì ¡çäÁ‹ÃÙŒ¨ÐÇÒ§äÇŒμçä˹ à¾ÃÒо×é¹·ÕèÁѹ¨íÒ¡Ñ´«ÐàËÅ×Íà¡Ô¹ วันนี้เรามีไอเดียการออกแบบผลิตภัณฑ ตกแต งระเบียงเก ๆ ที่มีชื่อว า ‘Sigh’ ของดีไซเนอร ชาวสเปน Pola Clapes ซึ่งเป นซีรี่ส การออกแบบประกอบด วยอุปกรณ 5 ชิ้น ที่มีจุดเด นอยู ที่การใช ตะขอเกี่ยวและวัสดุที่เป น มิตรต อสิ่งแวดล อม สามารถทนทานต อทุกสภาวะอากาศ มาฝากคุณๆ ทั้งหลาย เพราะนอกจากจะช วย ประหยัดพืน้ ทีแ่ ล ว ยังทําให มพี นื้ ทีว่ า งในการวางของประดับอืน่ ๆ หรือทํากิจกรรมต างๆ ได ดว ย ซึง่ ผลิตภัณฑ ที่ว านี้ประกอบไปด วย ลวดโลหะดัด สําหรับแขวนกระถางต นไม ทีแ่ ขวนกระถางต นไม ซึง่ เป นลักษณะแบบตะขอเกีย่ วกับราวระเบียง แล วนํากระถางแขวนลงในช อง ซึง่ จะช วย ให เกิดกิจกรรมในพื้นที่จํากัดได เป นอย างดี
80
ลวดโลหะดัด สําหรับราวตากผ า ราวตากผ าที่สามารถแขวนได ทั้งด านในและด านนอกระเบียง ทํามาจากตะแกรงโลหะ สามารถพับเก็บได เมื่อไม ได ใช งาน จึงไม เกะกะและประหยัดพื้นที่
แผ นไม ทรงกลม สําหรับท็อปโต ะ แผ นท็อปโต ะทรงกลมจํานวน 3 ชิน้ ทีม่ ขี นาดแตกต างกัน ผลิตจากไม อดั ทีม่ าพร อมรูขนาดเล็ก เพือ่ ใช สาํ หรับ วางสิง่ ของต างๆ หรือใช สาํ หรับเกีย่ วกับลวดโลหะตรงมุมของราวระเบียง เมือ่ ไม ได ใช งานก็สามารถพับแขวน เก็บกับตะขอเกี่ยวได ด วย นอกจากนี้ยังมีการออกแบบผลิตภัณฑ เซรามิก สําหรับเครื่องตกแต งใช สอยที่เข าชุดกันมาอีกด วย ได แก ที่เขี่ยบุหรี่ เชิงเทียน โถ เป นต น อ างอิง: http://www.designboom.com/design/pola-clapes-sigh-collection-balconies-08-26-2015/?utm_ campaign=daily&utm_medium=e-mail&utm_source=subscribers 81
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้
เครื่องประดับจากหมอกควันพิษในอากาศ ศิลป นนักออกแบบชาวดัตซ Daan Roosegarde เชิญชวนผู คน ร วมสนันสนุนแคมเปญการก อสร างอาคาร ‘Smog Free Tower’ ซึ่ ง จะเป น อาคารฟอกอากาศบริ สุ ท ธิ์ ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ในโลกผ า นทาง เว็บไซต ระดมทุน Kickstarter โดยผู ที่สนับสนุนผ านทางเว็บไซต จะ ได รับเครื่องประดับที่ผลิตขึ้นจากอนุภาคของหมอกควันเป นที่ระลึก มีให เลือกทั้งที่เป นผลึกสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก, แหวน หรือคัฟลิ้งค ทั้งนี้ ก็เพื่อเป นการสร างความตระหนักเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศนั่นเอง
See more: http://inhabitat.com/smog-containing-jewelry-supports-theworlds-largest-air-purifier/
อุปกรณ วัด Golden Section ฉบับพกพา สตูดิโอออกแบบในเมืองชิคาโก ‘Parsons & Charlesworth’ ได ออกแบบ ‘Golden Section Finder’ ซึ่งเป นแผ นเลนส รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ าขนาดเล็กที่จําลอง template grid line ของ Golden Section (สัดส วนทองคํา) เพื่อช วยให คุณสามารถหาสัดส วนที่สมบูรณ แบบที่สุดในสภาพแวดล อมต างๆ รอบตัว ได นั่นเอง โดยอุปกรณ มีให เลือกสองสี คือ สีเหลืองและสีฟ าอ อน See More: http://design-milk.com/find-perfect-proportions-wherever-go
‘Lucy’ กระจกพลังงานแสงอาทิตย ผลงานการออกแบบของ ‘Solencia’ บริษทั ด านการออกแบบสัญชาติ อิตาเลียน ‘Lucy’ เป นกระจกพลังงานแสงอาทิตย ทท่ี าํ หน าทีเ่ ก็บสะสม แสงอาทิตย และสะท อนแสงสว างนั้นกลับเข าสู บริเวณที่คุณต องการ วิธกี ารใช งานก็งา ย เพียงผูใ ช นาํ เจ า ‘Lucy’ นีไ้ ปวางในห องทีต่ อ งการ เพิ่มแสงสว างบริเวณที่มีแสงอาทิตย ส องถึง จากนั้นปรับหันไปใน ทิศทางทีต่ อ งการ ‘Lucy’ ก็จะติดตามการเคลือ่ นไหวของแสงอาทิตย โดยอัตโนมัติ และก็จะสะท อนแสงสว างไปในจุดที่ต องการนั่นเอง โดยกําลังของความสว างที่ได นั้นมากถึง 7,000 ลูเมน เลยทีเดียว See More: https://www.youtube.com/watch?v=qnZZueB-fmE
82
‘GinzVelo’ จักรยานไฟฟ าสามล อดีไซน ทันสมัย ‘GinzVelo’ เป นจักรยานไฟฟ า ผลงานการออกแบบของนักประดิษฐ ชาวอเมริกัน Peter Ginzburg ที่มาในรูปทรงคล ายรถสามล อ ที่ดูทันสมัย โครงสร างทําจากไฟเบอร กลาส หลังคาเป นกระจก ทําให สามารถป นได ในทุกสภาพอากาศ หนักราว 39 กิโลกรัม ติดตัง้ มอเตอร ทลี่ อ แบตเตอรีล่ เิ ธียมโพลิเมอร 500 วัตต 48 โวลต ความจุไฟฟ า 20AH สามารถวิง่ ได ระยะทาง 100 ไมล ตอ การชาร จไฟ หนึ่งครั้ง อีกทั้งสามารถเลือกป นแบบธรรมดาหรือจะเสริมกันกับ พลังงานแบตเตอรี่ก็ได See More: https://www.youtube.com/watch?v=sNBw03PE5w0
แบตเตอรี่สมาร ทโฟนชนิดใหม ใช พลังงานไฮโดรเจน Intelligent Energy บริษทั สัญชาติองั กฤษ ได คดิ ค นแบตเตอรีส่ มาร ทโฟน ชนิดใหม ใช พลังงานไฮโดรเจนทีส่ ามารถใช งานได นานถึง 1 สัปดาห ต อการชาร จ 1 ครัง้ โดยได พฒ ั นาให แบตเตอรีม่ ขี นาดเล็กจนสามารถ ใส แทนแบตเตอรี่แบบ lithium-ion ของ iPhone ได แถมการเติม ไฮโดรเจนก็สามารถทําได โดยไม ตอ งถอดแบตเตอรีอ่ กี ด วย หลักการ ทํางานของแบตเตอรี่ชนิดนี้จะให กําเนิดไฟฟ าผ านปฏิกิริยาทางเคมี ทีม่ าจากไฮโดรเจนและออกซิเจน ซึง่ จะมีอายุการใช งานยาวนาน เก็บประจุ ได น านกว า แบบ lithium-ion และใช เ วลาในการเติ ม พลั ง งาน (ไฮโดรเจน) เข าไปได รวดเร็วกว าการชาร จไฟจากปลั๊ก อีกทัง้ ยังเป น พลังงานสะอาดอีกด วย See more: https://www.youtube.com/watch?v=g56pchxdNFs
แบตเตอรี่พลังงานน้ําเค็มจาก Aquion Energy หลังจากที่แบตเตอรี่ที่สามารถเก็บพลังงานจากแสงแดดและลม ได ออกจําหน ายในท องตลาด ทีมนักวิจัยจากบริษัทด านพลังงาน Aquion Energy ก็ได พัฒนาแบตเตอรี่ชนิดใหม ‘Saltwater battery’ ซึง่ เป นแบตเตอรีพ่ ลังงานน้าํ เค็มทีส่ ามารถผลิตพลังงาน สะอาด ใช งานได ยาวนานและราคาไม แพง
See more: http://inhabitat.com/researchers-develop-a-battery-cleanenough-to-eat/
‘WalkCar’ สเก็ตบอร ดไฟฟ า ‘WalkCar’ เป นสเก็ตบอร ดไฟฟ า ผลงานสร างสรรค ของบริษัท Cocoa Motors ประเทศญี่ปุ น ที่มีลักษณะเป นแผ นอะลูมิเนียมทรง สี่เหลี่ยมที่มาพร อมล อเล็กๆ 4 ล อติดอยู ด านล าง เมื่อต องการให อุปกรณ เคลื่อนที่ไปข างหน า ก็แค ขึ้นไปยืนด านบน และเมื่อต องการ จะหยุดก็ก าวเท าลงมา สามารถควบคุมทิศทางด วยการทรงตัว ทําความเร็วสูงสุดได ที่ 10 กิโลเมตรต อชัว่ โมง แบตเตอรีใ่ ช งานได ราว 3 ชั่วโมง หรือระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตรต อการชาร จหนึ่งครั้ง และสามารถชาร จผ านสาย USB ได เลย See more: https://www.youtube.com/watch?v=XvG_356itPs
83
แขนเทียมจากเครื่องพิมพ สามมิติ แขนเทียมนี้เป นผลงานการออกแบบของบริษัทเป ดใหม Open Bionics ที่มีจุดมุ งหมายเพื่อผลิตแขนเทียมราคาย อมเยา ให กับผู พิการ โดยผลิตจากเครื่องพิมพ สามมิติ ด วยวัสดุพลาสติกน้ําหนักเบา ยืดหยุ นได มาพร อมเซ็นเซอร ที่ใช ตรวจจับ ความเคลือ่ นไหวของกล ามเนือ้ และใช ในการควบคุมมือ รวมถึงระบบนิว้ อัจฉริยะทีส่ ามารถควบคุมน้าํ หนักการสัมผัสวัตถุ และที่สําคัญใช เวลาผลิตเพียง 40 ชั่วโมงเท านั้น ซึง่ ทางบริษทั กล าวว าแขนเทียมนีจ้ ะมีประสิทธิภาพการใช งานไม ตา งจาก แขนเทียมระดับไฮเอนด ในท องตลาด ซึง่ คาดว าจะผลิตออกจําหน ายภายในป 2016 ในราคาไม เกิน 1,000 ปอนด (55,000 บาท) แถมผู ใช ยังสามารถออกแบบแขนเทียมในแบบที่ต องการได อีกด วย Source: http://www.openbionics.com/ See more: https://www.youtube.com/watch?v=VujEQ29dC-I
เปลญวนอ างอาบน้ํา นวัตกรรมที่เป นมิตรกับสิ่งแวดล อมและยั่งยืนนี้มีชื่อว า ‘Hydro Hammock’ คิดค นขึน้ โดย Benjamin H. Frederick ทีไ่ ด ผสมผสาน ความเป นเปลญวนและอ างอาบน้าํ เข าด วยกัน ตัวเปลผลิตจากวัตถุดบิ ที่มีความคงทนสูง สามารถจุน้ําไว ในเปลได มากถึง 50 แกลลอน และรับน้าํ หนักได กว า 700 ปอนด สามารถติดตัง้ อุปกรณ เสริมเพือ่ ทําน้าํ อุน ด วยแก ส LPG หรือไฟฟ า สามารถพับเก็บได สะดวก โดยทีมนักออกแบบ หวังว าจะสามารถพัฒนารุ นที่สามารถทําน้ําร อนจากพลังงานจาก แสงอาทิตย ได ในเร็วๆ นี้ See more: https://www.youtube.com/watch?v=73XETHWcVdw
แบตเตอรี่รูปทรงหัวใจสุดน ารัก นักวิจัยในเกาหลีใต ได ทําการทดลองพัฒนาแบตเตอรี่รุ นใหม เพื่อใช กับอุปกรณ เทคโนโลยีแบบพกพา โดยแบตเตอรีน่ จ้ี ะใช อเิ ล็กโทรไลต แข็ง ทําให สามารถพัฒนาเป นรูปทรงต างๆ และใช เครื่องพิมพ ออกมาได ตามความต องการ อย างไรก็ตามขณะนี้ยังอยู ในขั้นตอนการพัฒนา เพราะแบตเตอรีท่ ไ่ี ด ทดลองพิมพ ออกมายังคงมีปญ หาในการนํามาใช งาน รวมถึงการพัฒนาในส วนของกําลังและอายุการใช งานแบตเตอรีใ่ ห ยาวนาน ขึ้นด วย See more: http://inhabitat.com/researchers-develop-printable-flexiblelithium-ion-batteries-shaped-like-hearts/
84
เรื่อง: กฤษณ นาคะชาต
Video Editor ‘¶‹Ò´ŒÇ iPhone’ »ÃÐ⤹Õ餧¤ØŒ¹¾Í¤ÇùФÃѺ à¹×èͧ¨Ò¡à»š¹»ÃÐ⤠â¦É³Ò·Õè iPhone 㪌à¾×Íè ์¹¡Òö‹ÒÂÃÙ»áÅÐÇÔ´âÕ Í áŌǨº´ŒÇ»ÃÐ⤠¶ŒÒäÁ‹ãª‹ iPhone Âѧ䧡çäÁ‹ãª‹ iPhone (If it’s not iPhone, It’s not an iPhone) áËÁ äÁ‹ä´Œ¨ÐÁÒàªÕÂà ¡Ñ¹ãˌ㪌 iPhone ¹Ð¤ÃѺ Çѹ¹ÕéᤋÍÂÒ¡¨ÐÁÒ áªÃ »ÃÐʺ¡Òó 㹡Ò÷íÒ¤ÅÔ»´ŒÇ iPhone ᤋ¹Ñé¹àͧ บังเอิญว าช วงทีผ่ า นมีโอกาสทีจ่ ะต องทํา Video Clip เพือ่ เป ดในงาน สัมมนา งานกิจกรรมต างๆ ของบริษทั ทัง้ ยังใช ในการประชาสัมพันธ กิจกรรมในองค กรด วย ซึ่งโดยปกติก็จัดทําเป นโปสเตอร โน นนี่นั่น โพสต บนโซเซียลกรุ ปบ าง แต อยากให ดูตื่นตามากกว าอะไรนิ่งๆ คลิปก็เลยเป นทางเลือกทีน่ า จะลงตัว เมือ่ คิดได เช นนัน้ แต กม็ าติดทีว่ า แล วจะทําด วยโปรแกรมอะไร ทํายังไง ใช เวลามากไหม ใครจะทํา คิดไปมา จนยุง เหยิงไปหมด เพราะดูเหมือนว าการทําคลิปไม ใช เรือ่ งง ายซะแล ว Mac video Thailand: https://www.youtube.com/watch?v=L_InAJc7Rt0
แต ดว ยเวลาทีม่ จี าํ กัด และผมต องทําคลิปประชาสัมพันธ งานสัมมนา ของบริษัท คลิปบทสัมภาษณ คลิป คลิป คลิป เยอะแยะไปหมด ทุกอย างต องเร็วพอ ง าย สะดวก ไม ต องเสียเวลาในการเรียนรู ใหม เมือ่ ครัง้ แรกผมก็นกึ ถึงโปรแกรมประเภท Movie Maker ที่ตดิ มากับ Windows คิดว าน าจะง ายไม ต องหามาติดตั้งอะไรด วย แต พอลอง ใช งานก็เป นอันไม สะดวก ลองหันดูโปรแกรมอย าง Adobe Premiere ที่ครั้นจะเรียนรู ใหม แต เห็นหน าตาโปรแกรมก็รู ว าไม ทันเวลาแน บังเอิญผมไปสะดุดตากับเจ าแอพพลิเคชั่น iMovie ที่ติดมากับ iPhone 6 (บอกตามตรงครับเพิ่งเคยใช iPhone จึงไม ทราบว าในรุ น
ก อนหน ามี iMovie ติดมาให ดว ยหรือไม ) หลังจากลองใช งานดูเล นๆ ก็ตอ งตะลึงในความง าย เร็ว สะดวก และได งานทีเ่ ป ดให ใครดูกส็ นใจ อยากรูว า ทําจากโปรแกรมอะไร ผมจึงเริม่ โครงการทําคลิปโดยถ ายด วย iPhone ตัดต อด วย iPhone ซะเลย หลังจากทีท่ าํ มา 2-3 งาน ก็ลองหา แอพพลิเคชัน่ มาเพิม่ เติมเพือ่ ให เกิดความแปลกใหม หลากหลายในชิน้ งาน ซึ่งส วนใหญ แล วผมก็เน นเร็วไว ก อน แอพพลิเคชั่นราคาหลักร อย แต ชว ยเราประหยัดเวลาได มากมายเลยนะครับ มาดูกนั ครับว ามีอะไรบ าง และมันดีอย างไร
iMovie เนื่องจากมากับเครื่องอยู แล ว ก็สามารถเริ่มใช งานได ทันที การสร างโปรเจค ของ iMovie นั้นมีอยู 2 ประเภทครับ คือ 1. Trailer ก อนดูหนังก็จะมีการฉายตัวอย างหนังก อน ตัดฉับ ตัดฉับ ให นา สนใจ Trailer ของ iMovie ก็อย างนัน้ เลยครับ เราเพียงแค เลือกธีมทีต่ อ งการ ซึง่ ก็มใี ห เลือกอยูส ัก 14 ธีม เห็นจะได ครับ หลังจากได ธีมที่ต องการแล ว แอพพลิเคชั่นก็จะให เรากรอกรายละเอียด Title และ credit ของหนัง หลังจากกรอกเสร็จเราก็เลือกคลิปสั้นๆ ที่เราถ ายไว หรือ รูปภาพมาจัดวางตาม Storyboard ทีเ่ ตรียมไว ให ภายในเวลาอันรวดเร็วก็จะได Trailer ทีเ่ ราสร างไปใช งานได ทนั ที จะแชร YouTube, Facebook หรือจะบันทึกเก็บไว ดกู ท็ าํ ได ครับ ตัวอย างวิดีโอที่ทําจาก iMovie Trailer https://www.youtube.com/watch?v=6-RW_ZyDVq0 86
2. Movie คราวนีม้ าในส วนทีเ่ ราต องสร างเองครับ เมือ่ เข าเลือกสร าง Movie ก็จะมีธมี ให เลือกอยู ประมาณ 8 ธีม ซึ่งก็จะเป นการปรับสีสันรูปแบบของ Movie และใส เพลง ของธีมมาให ครับ ซึ่งถ าเราไม ชอบก็สามารถเปลี่ยนในภายหลังได เมื่อเลือกธีมแล ว ก็เข าสูข นั้ ตอนการทําคลิปได เลยครับ ครัง้ แรกเมือ่ ยังไม รจู ะหยิบจับอะไร ก็กด? ก อนเลย แอพพลิเคชั่นจะอธิบายตัวมันเองอย างง าย แล วก็ง ายจริงนะครับ ส วนถ าต องการ รู รายละเอียดมากกว าทีแ่ สดงก็สามารถเลือก Learn more เมือ่ เข าไปจะอธิบายขัน้ ตอน การทํางานต างๆ อย างละเอียด ในที่นี้ขอไม อธิบายการใช งานนะครับ แต อยากให ลอง เพราะว ามันง าย สะดวก จนคาดไม ถึงจริงๆ นอกจากจะทําคลิปจากวิดีโอที่เราถ ายมา ซึ่งส วนใหญ เราก็มักจะไม ได ถ ายวิดีโออะไรกันเยอะใช ไหมครับ เพราะฉะนั้น เราสามารถใช เทคนิคการนํารูปถ ายมาจัดเรียงใส Effect ใส Transition ระหว างภาพ ใส เสียงเพลง เติมตัวอักษรลงไป ก็ทําให เราได คลิปง ายๆ ไว เป ดดูกัน หรือจะทําคลิปงานแต งงานก็ยังได สบายๆ เลยครับ GoPix เมือ่ ผมเริม่ ทําคลิปจากรูปภาพต างๆ นํามาเรียบเรียงแล วก็ใส เสียงดนตรีเข าไป ก็เกิดอยากหาอะไร ทีง่ า ย เร็ว สะดวกกว า iMovie เผือ่ อยากจะทําคลิปไว โชว ในเฟสบุค เล นๆ รูปครอบครัว รูปเพือ่ น ก็ลองหา แอพพลิเคชั่นประเภทที่มีรูปแบบกึ่งสําเร็จคือเลือกรูปเลือกเพลงเลือกธีมแล วก็จบเลย ก็มาเจอ GoPix ซึ่งถึงแม จะเป นแอพพลิเคชั่นที่ต องเสียเงินแต ก็หลักร อยเท านั้น สําหรับผมแล วคุ มค ามากครับ โดยตัว แอพพลิเคชัน่ ไม ซบั ซ อน เด็กใช ได ผใ ู หญ ใช ดเี ลยครับ เมนูนอ ยมากจับลาก เลือกจบเลย เมือ่ เป ดแอพพลิเคชัน่ มา ก็จะพบ My Movie ก็คือคลิปของเราที่ทําไว นั่นเอง สําหรับ Discovery ก็จะเป นตัวอย างงานครับ เมือ่ เรากด + เพือ่ สร างงานใหม แอพพลิเคชัน่ ก็จะให เราเลือกรูปจาก Library 6-9 รูปเลือกเสร็จ กด Start แล วก็เลือกธีมเลือกเพลง Save หรือ Share จบสิน้ กระบวนการ เห็นไหมครับง ายนิดเดียว แต มขี อ จํากัดอยูว า ได 6-9 รูปเท านั้นครับ เกินนั้นไม ได และยังต องเป นรูปเท านั้นด วยนะครับ ตัวอย างวิดีโอที่ทําจาก GoPix https://www.youtube.com/watch?v=DGxaW2cW-TM https://www.youtube.com/watch?v=7RbPtuFgPTc
Replay หลังจากที่ได ลองใช เครื่องมือดีๆ อย าง iMovie แล วก็ลองหาเครื่องมือเร็วๆ อย าง GoPix แต ก็มีข อจํากัด ผมก็เลยลองหาเครือ่ งมือทีเ่ ร็วเหมือน GoPix แต มขี อ จํากัดน อย ใส วดิ โี อได ภาพได เสียงได แต มี Template ให เราจับวาง ได เลยเหมือน GoPix แต แก ไขได ลึกกว าเหมือน iMovie แหม โลภมากจังนะครับ (ฮ า) และในที่สุดผมก็ได พบกับ เจ า Replay Video Editor เมื่อเข าสู แอพพลิเคชั่น เราจะพบกับ My movies โดยจะเลือกเป ดดูหรือเป ดมาแก ไข ก็ได แต หากเราเลือกสร างใหม แอพพลิเคชั่นก็จะให เลือก Media ซึ่งไม ต องเลือกเยอะ นะครับ ค อยเพิ่มในภายหลังได เอาตาม Minimum ของแอพพลิเคชั่นคือ 5 ชิ้นก อน ก็พอ หลังจากนั้นแอพพลิเคชั่นก็จะให เราเลือกธีม เพลง ความเร็ว สัดส วนของคลิป 16:9 แบบจอภาพ หรือ Square ไม กก็ ลับไปแก ไข Media หรือเพิม่ เข ามา เมนูมอี ยูแ ค นี้ เองครับ จิ้ม ลาก เลือก Save แล วก็ Share ต องบอกว ามันค อนข างลงตัวเลยครับ แต มี ข อ เสี ย อย า งเดี ย วซึ่ ง อั น ที่ จ ริ ง แล ว ก็ ไ ม ใ ช ข อ เสี ย หรอกครั บ เพราะน า จะเป น วัตถุประสงค ของแอพพลิเคชัน่ คือถึงแม วา จะใส วดิ โี อได แต เป าหมายของแอพพลิเคชัน่ ยังเป นการแสดงงานรูปแบบสไลด นั่นเอง เพราะฉะนั้นรูปแบบ Trailer ของ iMovie ก็ยังคงมีความน าสนใจกว าเยอะ ในใจยังนึกว า iMovie น าจะทําธีมออกมาขายอีก เยอะๆ นะครับ อ านแล วอย าลืมไปลองใช นะครับ แล วจะรูว า ง าย ใครก็ทาํ ได จะใช ทาํ งาน ตัวอย างวิดีโอที่ทําจาก Replay https://www.youtube.com/watch?v=fCB5unUsVHs หรือใช เพื่อความบันเทิงภายในครอบครัวก็เหมาะ สําหรับวันนี้สวัสดีครับ 87
เรื่อง: กองบรรณาธิการ
¤ÃÖ§è »„áá·Õ¼è Ò‹ ¹ÁÒ ÁÕâ¤Ã§¡Ò÷չè Ò‹ ʹ㨼ش¢Ö¹é ÃÒǡѺ´Í¡àËç´ËÅÒÂáË‹§ â´Â੾ÒÐâ¤Ã§¡ÒÃÈٹ ¡ÒäŒÒ áÅÐˌҧÊÃþÊÔ¹¤ŒÒ ´Ñ§¹Ñé¹ Project in Progress 㹩ºÑº¹Õé àÃÒ¨ÐμÒÁ´Ùâ¤Ã§¡ÒÃÈٹ ¡ÒäŒÒãËÁ‹æ ·Õ蹋Òʹ㨠NjҨÐÁÕâ¤Ã§¡ÒÃã´ºŒÒ§·Õè¡íÒÅѧÍÂÙ‹ÃÐËÇ‹Ò§¡ÒþѲ¹Òâ¤Ã§¡Òà ¡ÒÃÍ͡Ẻ ËÃ×ÍÃÐËÇ‹Ò§ ¡Òá‹ÍÊÌҧ¡Ñ¹ ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ พื้นที่ใช สอย เจ าของโครงการ เริ่มก อสร างปี คาดว าแล วเสร็จป ความคืบหน าโครงการ
เดอะ มาร เก็ต บาย แพลทินัม ถนนราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 20 ไร 280,000 ตารางเมตร บริษัท แพลทินัม มาร เก็ต จํากัด ป 2559 ป 2560 อยู ระหว างขั้นตอนเตรียมการก อสร าง
เดอะ มาร เก็ต บาย แพลทินัม เป นโครงการตลาดนัดติดแอร ใจกลางเมืองแห งแรก บริเวณย านราชประสงค อาคารสูง 12 ชั้น และชั้นใต ดิน 1 ชั้น ซึ่งประกอบด วยพื้นที่ พลาซ า ประมาณ 70,000 ตารางเมตร ร านค ากว า 3,000 ร านค า มีสินค าหลากหลาย ครบวงจร ทีส่ ามารถตอบสนองความต องการของกลุม ลูกค าทุกไลฟ สไตล และศูนย อาหาร ขนาด 2,000 ที่นั่ง โดยโครงการดังกล าวคาดว าจะใช เงินลงทุนรวมทั้งสิ้นประมาณ 8,000 ล านบาท โดยคาดว าจะเริม่ ก อสร างในป พ.ศ. 2557 แล วเสร็จพร อมเป ดดําเนินการ ได ประมาณป พ.ศ. 2560
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ พื้นที่ใช สอย เจ าของโครงการ เริ่มก อสร างป คาดว าแล วเสร็จปี ความคืบหน าโครงการ
ห างมาบุญครอง ปทุมธานี ตรงข ามเขตอุตสาหกรรม บางกะดี อ.เมือง จ.ปทุมธานี 32 ไร 268,000 ตารางเมตร บริษัท มาบุญครอง จํากัด ป 2558 ป 2560 อยู ระหว างขั้นตอนการเตรียมเอกสารโครงการ
ศูนย การค ามาบุญครอง ปทุมธานี พัฒนาบนทีด่ นิ ริมถนนติวานนท ใกล กบั นิคมอุตสาหกรรมบางกะดี อําเภอเมือง จังหวัด ปทุมธานี โดยแบ งเป นพื้นที่ก อสร าง 268,000 ตารางเมตร และพื้นที่ค าขาย 130,000 ตารางเมตร ด วยงบประมาณ การลงทุนกว า 8,000 ล านบาท โดยจะเป นอาคารห างสรรพสินค า สูง 8 ชั้น ประกอบด วย ชั้น 1 สินค าตลาดคลองถม และสินค ามือสอง เครื่องใช ไฟฟ า เฟอร นิเจอร ฟ ตเนส, ชั้นที่ 2 เป นส วนซุปเปอร มาร เก็ต สินค า OTOP บริเวณส วนกลาง สําหรับจัดงานกิจกรรมต างๆ, ชั้นที่ 3-5 สินค าแฟชั่น เครื่องหนัง ไอที ธนาคาร, ส วนชั้นที่ 6 เป นศูนย อาหาร ร านอาหาร เพือ่ สุขภาพและร านอาหารนานาชาติ, ในชัน้ ที่ 7 เป นโรงภาพยนตร จํานวน 7 โรง, โรงเรียนกวดวิชา สถานเสริมความงาม และชั้นที่ 8 เป นห องประชุมอเนกประสงค และห องจัดเลี้ยงรับรองที่สามารถรองรับได ถึง 5,000 คน ศูนย การค าดังกล าว มีพื้นที่จอดรถได 2,500 คัน 88
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ บนเนื้อที่โครงการ พื้นที่ใช สอย เจ าของโครงการ เริ่มก อสร างป คาดว าแล วเสร็จปี ความคืบหน าโครงการ โครงการเดอะ สตรีท (The Street) เป นไลฟ สไตล มอลล ขนาดใหญ ตัง้ อยูบ นถนนรัชดาภิเษก ศูนย กลางธุรกิจแห งใหม ของกรุงเทพมหานคร (New CBD) โดดเด นด วยทําเลที่ตั้งเพียง 200 เมตร จากสถานี รถไฟฟ าใต ดนิ (MRT) ศูนย วฒ ั นธรรมแห งประเทศไทย พร อมเชือ่ มต อ ถนนสายหลักหลายเส นทาง ภายในโครงการเน นการตกแต งแนว Industrial Loft กับบรรยากาศในแนวสตรีท ไลฟ สไตล ทพี่ ร อมให คณ ุ แชร บรรยากาศฮิปๆ ในทุกมุม แฝงไว ด วยความทันสมัย และสะดวก สบาย ตัวอาคารสูง 5 ชัน้ และชัน้ ใต ดนิ 1 ชัน้ ประกอบด วยร านค ากว า 500 ร านค า เพื่อตอบโจทย สตรีท ไลฟ สไตล ได อย างสมบูรณ แบบ ไม ว า จะเป น ร า นแฟชั่ น เครื่ อ งแต ง กายหลากหลายแบรนด ชั้ น นํ า
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่ใช สอย เจ าของโครงการ เริ่มก อสร างป คาดว าแล วเสร็จป ความคืบหน าโครงการ
เดอะ สตรีท ถนนรัชดาภิเษก เขตห วยขวาง กทม. 16 ไร 69,900 ตารางเมตร บริษัท ยูนิเวนเจอร จํากัด (มหาชน) ป 2557 ป 2558 อยู ระหว างขั้นตอนการก อสร าง
ธนาคารต างๆ ร านสุขภาพและความงาม พร อมเต็มอิม่ กับร านอาหาร และเบเกอรี่หลากสไตล หรือจะเลือกแฮงก เอาท กับกลุ มเพื่อนด วย ร านเครือ่ งดืม่ พร อมบรรยากาศสุดชิลได ทกุ วัน นอกจากนีย้ งั มีโซนเอาท ดอร พลาซ าทีเ่ ป นลานกิจกรรมขนาด 4,000 ตารางเมตร ถือเป นลานกิจกรรม ที่ใหญ ที่สุดบนถนนรัชดาภิเษก อีกทั้งลานจอดรถสามารถรองรับ จํานวนรถได กว า 850 คัน “เดอะ สตรีท” (The Street) ถือเป น ไลฟ สไตล มอลล แห งใหม ทจี่ ะสร างประสบการณ และเติมสีสนั ของชีวติ ให แก ผู คนย านรัชดาภิเษกที่ต องการ “Third Place” ที่ที่สามารถมา SIP,WALK,TALK,SHARE กันตัง้ แต เช ายันค่าํ ตอบโจทย ทกุ สตรีทไลฟ
คิง พาวเวอร ภูเก็ต คอมเพล็กซ อ.เมือง จ.ภูเก็ต 33,000 ตารางเมตร บริษัท คิงพาวเวอร อินเตอร เนชั่นแนลกรุ ป จํากัด ป 2559 ป 2559 อยู ระหว างขั้นตอนการก อสร าง
ห างดิวตี้ฟรี คิง เพาเวอร ในเขตดาวน ทาวน แห งแรกของจังหวัดภูเก็ต ตั้งอยู ในเขตอําเภอเมือง บนเนื้อที่ 35 ไร พืน้ ทีใ่ ช สอย 20,000 ตารางเมตร ใช งบประมาณลงทุนมากกว า 2,000 ล านบาท เตรียมเป ดให บริการได ในปลายเดือน ตุลาคมนี้ เพือ่ รองรับตลาดนักท องเทีย่ วนานาชาติ เพราะทีส่ นามบินนานาชาติภเู ก็ต มีพน้ื ทีร่ า นค าดิวตีฟ้ รีไม เพียงพอ กับความต องการจับจ ายของนักท องเที่ยวจํานวนมาก
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ พื้นที่ใช สอย เจ าของโครงการ เริ่มก อสร างป คาดว าแล วเสร็จปี ความคืบหน าโครงการ
IKEA Pick-up Point at Phuket อ.เมือง จ.ภูเก็ต 1,000 ตารางเมตร บริษัท อิคาโน (ประเทศไทย) จํากัด ป 2557 ป 2558 อยู ระหว างขั้นตอนการก อสร าง
บริษทั อิคาโน (ประเทศไทย) ผูด าํ เนินธุรกิจ IKEA (อิเกีย) มีแผนจะเป ด สําหรับลูกค าสามารถมาชมตัวอย าง หรือสัง่ ซือ้ จากเว็บไซต ของ IKEA ให บริการ “pick-up point” ปลายป พ.ศ 2558 ซึง่ จะเป นโชว รมู แล วค อยมารับของเองที่ pick-up point เพือ่ รองรับกลุม ลูกค าทีอ่ ยูไ กล จําหน ายสินค าของ IKEA ใน จ.ภูเก็ต บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 1,000 ตารางเมตร จาก กทม. และเป นการขยายฐานลูกค าให ครอบคลุมทัว่ ประเทศยิง่ ขึน้ โดยจะเป นโว รูมในลักษณะที่ใช พื้นที่จํากัด เพื่อโชว สินค าบางส วน 89
เรื่อง: นะโม นนทการ ภาพ: กัณฑ ตนนท สุรัชต วิรากูล
μ‹ÍÂÍ´¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ‹¡ÒÃÊÌҧÊÃä ʶҹ¾ÂÒºÒÅ Í‹ҧ·Õè·ÃÒº¡Ñ¹´ÕÇ‹Ò¡ÒÃÍ͡Ẻʶҹ¾ÂÒºÒŹÑé¹ÁÕ¤ÇÒÁ«Ñº«ŒÍ¹Í‹ҧÁÒ¡ ·Ñ駡ÒÃÍ͡Ẻ¾×é¹·Õè㪌ÊÍ 仨¹¶Ö§ÃкºÇÔÈÇ¡ÃÃÁáÅÐÃкº¡ÒÃÊÑިà ÀÒÂã¹ÍÒ¤Òà áÅÐà¹×Íè §¨Ò¡·Ø¡Çѹ¹Õâé Å¡ÁÕ¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§ÍÂÙà‹ ÊÁÍ ÁÕâäμÔ´μ‹Í ÍغÑμÔãËÁ‹à¡Ô´¢Öé¹ã¹·Ø¡æ »„ ´Ñ§¹Ñé¹ËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡ẺÍÒ¤ÒÃã¹Í´Õμ¨Ö§μŒÍ§ »ÃѺà»ÅÕè¹ä»à¾×èÍãËŒ·Ñ¹âä «Öè§à»š¹àËμØÊíÒ¤ÑÞ·Õè·íÒãËŒàÃÒμŒÍ§ÃÙŒ¨Ñ¡àÃÕ¹ÃÙŒáÅÐ ¾Ñ²¹Òá¹Ç·Ò§ÍÂÙ‹àÊÁÍ à¾×èÍãËŒ·Ñ¹μÒÁÂؤÊÁÑÂઋ¹¡Ñ¹ สําหรับ ดร.ลภน โมกขะสมิต แล วการเรียนรู ไม มีวันสิ้นสุด ทุกวัน จึงมีเรื่องใหม ให ต องศึกษาและพัฒนาศักยภาพของตัวเองเสมอ ประกอบกับแนวคิดโดยส วนตัวที่ให ความสําคัญเรื่องการสร างสรรค เพื่อสังคมและส วนรวม จึงได ศึกษาและพัฒนาความรู ความสามารถ ที่มีจากการเป นที่ปรึกษาด านระบบปรับอากาศในอาคารทั่วไป สู การ เป นผูเ ชีย่ วชาญด านระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล ซึง่ โดยภาพรวม แล วเป นสิ่งที่สร างประโยชน มหาศาลสําหรับผู คนและสังคมโดยรวม
ระบบทีจ่ ะสร างโรงพยาบาลทีส่ ามารถตอบรับความต องการของผูใ ช สอย ได อย างหลากหลายและเหมาะสมที่สุด ทุกวันนี้ผมว ายังไม มีใครที่ สามารถออกแบบงานระบบได ดีที่สุด เราพยายามใช มาตรฐานจาก ต างประเทศ ก็ถอื เป นความสําเร็จระดับหนึง่ แต กย็ งั ไม ใช สิ่งทีด่ ที สี่ ุด ดังนั้นเราจึงต องศึกษาและพัฒนากันต อไป” ต อยอดความรู สู สังคม ก อนที่ ดร.ลภน จะเข ามาดูเรื่องงานระบบปรับอากาศภายในอาคาร ประเภทสถานพยาบาลอย างจริงจังเช นทุกวันนี้ ในครั้งแรกท านได มี โอกาสดูแลงานเรือ่ งคุณภาพอากาศภายในอาคารทัว่ ไป ทัง้ อาคารพาณิชย โรงแรม โรงเรียน แต ในที่สุดก็ได เล็งเห็นว า ความรู เหล านี้จะเป น ประโยชน ต อภาพรวมของผู คนและสังคมมากยิ่งขึ้น หากพัฒนาและ ต อยอดนํามาใช กับโรงพยาบาล ซึ่งท านได เล าเท าความให ฟ งว า
สําหรับบุคคลทัว่ ไปในฐานะผูใ ช สอยอาคารแล ว น อยคนนักจะทราบถึง เบื้องลึกของระบบวิศวกรรมภายในอาคาร ซึ่งได ส งผลต อการใช งาน มากกว าแค ความสะดวกสบายหรือความราบรื่นที่เกิดขึ้น ในฐานะ ผูเ ชีย่ วชาญงานด านระบบปรับอากาศภายในอาคาร ดร.ลภน ได นยิ าม เอาไว ว า ระบบวิ ศ วกรรมภายในที่ ผ า นการให ค วามสํ า คั ญ และ ออกแบบมาอย างดีนนั้ ไม ได มผี ลดีตอ แค ความรูส กึ แต หมายถึงความ จําเป นเรือ่ งความปลอดภัยด วย โดยเฉพาะอย างยิง่ ระบบปรับอากาศ “เมื่อผมเล็งเห็นความเป นไปได ของโอกาสในการขยายองค ความรู ภายในอาคารประเภทสถานพยาบาล ที่การก อสร างยุคใหม เริ่มให ที่มีอยู ให เกิดประโยชน สูงสุดต อสังคมแล ว ผมจึงเริ่มศึกษาเรื่องนี้ ให มากขึน้ ประกอบกับทีผ่ า นมาการทํางานในฐานะทีป่ รึกษาของโรงพยาบาล ความใส ใจมากขึ้น ทั่วไปมากว า 10 ป จึงทําให เห็นถึงป ญหาของโรงพยาบาลต างๆ ว า หากกล าวถึงระบบปรับอากาศภายในอาคาร ดร.ลภน ได อธิบายไว วา โรงพยาบาลทีเ่ ราออกแบบไว ในอดีตนัน้ เริม่ ไม สอดคล องกับกิจกรรม “ระบบปรับอากาศภายในอาคาร คือ ระบบวิศวกรรมระบบหนึ่ง การให บริการรักษาในสมัยนีแ้ ล ว การให การรักษาและให บริการผูป ว ย ซึ่งควบคุมสิ่งแวดล อมที่อยู ภายในพื้นที่ที่หนึ่งให เป นไปตามความ ในป จจุบันเปลี่ยนไป เดิมทีคนไข น อย โรคต างๆ ติดต อกันได น อย ต องการของผู ใช งาน เช น ผู ใช งานต องการให พื้นที่นั้นๆ ใช สําหรับ รวมถึงในอดีตเรายังไม มกี ารนําระบบปรับอากาศมาใช ในโรงพยาบาล พักผ อนหย อนใจ เราจะจัดระบบปรับอากาศให อยูใ นช วงทีค่ นสามารถ มากเท าไหร นกั ดังนัน้ เราจึงไม เคยคิดว า คนไข ทเี่ ข ามารักษาด วยการ เข ามาใช งานได ตามอุณหภูมิที่ต องการ และมีความชื้นที่พอเหมาะ เป นโรคบางชนิดจะสามารถติดต อกันได ผ านทางระบบปรับอากาศ แต หากพื้นที่นั้นเป นห องสําหรับผ าตัด ก็ต องปรับสภาพแวดล อม เหตุนี้เมื่อเล็งเห็นความจําเป นที่แท จริงทางด านนี้มากขึ้น ผมจึงใช ภายในห องนัน้ ให เหมาะสมกับการผ าตัด ซึง่ จําเป นต องทําให ถกู ต อง ความรูด า นนีม้ าพัฒนาว าการออกแบบระบบปรับอากาศภายในอาคาร ตามหลักวิชาการทางด านการแพทย เป นต น เพราะฉะนัน้ ระบบปรับอากาศ ประเภทโรงพยาบาลสมัยใหม ควรเป นอย างไร กอปรกับกรณีศึกษา ในโรงพยาบาลจึงมีความซับซ อน เนื่องจากในโรงพยาบาลมีห องที่ ที่มีมากขึ้น ทําให เข าใจได ว าความต องการที่แท จริงของคนใช สอย หลากหลายการใช งาน มีฟ งก ชั่นที่แตกต างและหลากหลายเช นกัน พืน้ ทีจ่ ริงๆ นัน้ คืออะไร ทําให ทราบความจําเป นในการใช งานของเขา ซึง่ ในแง ของการทํางานเป นความท าทายอย างมากของผูอ อกแบบงาน ก อนที่เราจะทําการออกแบบ 90
ดร.ลภน โมกขะสมิต ผู เชี่ยวชาญด านระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล ที่ปรึกษาโรงพยาบาลศิริราช / โรงพยาบาลรามาธิบดี / โรงพยาบาลธรรมศาสตร เฉลิมพระเกียรติ / โรงพยาบาลเลิศสิน ที่ปรึกษาด านงานระบบ มหาวิทยาลัยนิด า อาจารย พิเศษ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรรมการบริหารบริษัท ซี.ไอ.กรุ ป จํากัด (มหาชน) ผู พัฒนาระบบปรับอากาศที่เกี่ยวข องกับโรงพยาบาล
91
ÃкºÇÔ È Ç¡ÃÃÁÀÒÂã¹·Õè ¼‹ Ò ¹¡ÒÃãËŒ ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞáÅÐÍ͡ẺÁÒÍ‹ҧ´Õ¹Ñé¹ äÁ‹ä´ŒÁ¼Õ Å´ÕμÍ‹ ᤋ¤ÇÒÁÃÙÊŒ ¡Ö áμ‹ËÁÒ¶֧ ¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹àÃ×èͧ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ´ŒÇ â´Â੾ÒÐÍ‹ Ò §ÂÔè § Ãкº»ÃÑ º ÍÒ¡ÒÈ ÀÒÂã¹ÍÒ¤ÒÃâç¾ÂÒºÒÅ·Õ¡è Òá‹ÍÊÌҧ ÂؤãËÁ‹àÃÔèÁãËŒ¤ÇÒÁãÊ‹ã¨ÁÒ¡¢Öé¹ หลังจากที่ทํางานด านนี้มากขึ้น ผมมองว าสิ่งที่เราควรจะเข ามาพัฒนาอย างจริงจัง คือ สถานพยาบาล เพราะพื้นที่เหล านี้ คือสิง่ ทีจ่ ะได ประโยชน ในภาพรวมทีม่ ากกว า และเป นจุดเริม่ ต นทีผ่ มคิดถึงระบบปรับอากาศชนิดพิเศษทีท่ าํ ให โรงพยาบาล ประหยัดงบประมาณมากขึ้น เช น แทนที่จะใช งบประมาณในการก อสร างเท านี้สร างห องผ าตัดได ห องเดียว เราก็จัดการ สร างระบบขึน้ มาเพือ่ หาส วนต างสําหรับสร างห องผ าตัดให เพิม่ มากกว าหนึง่ และมีประโยชน มากขึน้ โดยการนําส วนต างใน การลงทุนทีไ่ ด นไี้ ปพัฒนาในส วนอืน่ ๆ แทน ผูอ อกแบบยุคใหม จาํ เป นต องคิดอะไรมากขึน้ กว ายุคก อน ทีผ่ า นมาผูอ อกแบบ มักจะคิดแทนแพทย และบุคลากร เช นว า โรงพยาบาลต องการคลีนรูม แต ความจริงแล วโรงพยาบาลไม ได ตอ งการคลีนรูม แต โรงพยาบาลต องการทิศทางการระบายอากาศที่ถูกต อง กล าวคือการนําอากาศจากผู ป วยออกไปทิ้งด านนอกอาคาร แล วไม วนกลับเข าสู ภายในอาคารอีกครั้ง เป นต น ดังนั้นหลักการทํางานของระบบปรับอากาศในโรงพยาบาลจึงเป นระบบ One Way คือไม มีการย อนกลับหรือสวนกลับซึ่งอาจนําเชื้อกลับมาแพร สผู ู อื่นได ถ าไม ทําเช นนี้ผู ที่ไม ป วยก็อาจกลายเป น ผู ป วยกันหมด หรือป วยโรคหนึ่งอยู แล วก็สามารถติดเชื้ออีกโรคหนึ่งเพิ่มขึ้นได ด วย อันที่จริงสิ่งนี้เป นสิ่งที่ในอดีตไม ค อย มีคนพูดถึงกันนัก แต ป จจุบันเราจะเห็นความสําคัญของเรื่องระบบปรับอากาศภายในอาคารมากขึ้น และต องปรับปรุง ระบบเหล านี้ให ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ความจริงอย างหนึ่งของโรงพยาบาล คือ เป นสถานที่ที่คนเข ามาใช งานมากที่สุดแห งหนึ่ง ดังนั้นเมื่อก อสร าง จึงจําเป นต องใช วสั ดุทดี่ ที สี่ ดุ เพือ่ ความทนทาน และสิง่ สําคัญทีค่ วรตระหนักถึง คือ โรงพยาบาลไม ใช สถานทีท่ จี่ ะมาแข งกัน ประหยัดพลังงาน เนือ่ งจากเป นสถานทีท่ มี่ กี ารควบคุมสภาพแวดล อมภายในอาคารในลักษณะทีแ่ ตกต างกันออกไปหลาย พืน้ ทีแ่ ละหลากหลายความต องการ เช น บางห องมีอปุ กรณ ทต่ี อ งการเครือ่ งมือควบคุมความเย็นตลอดเวลา บางพืน้ ทีต่ อ งเป น สถานทีท่ ตี่ อ งมีความสะอาดสูง ซึง่ จําเป นต องมีระบบการปรับอากาศอีกแบบหนึง่ บางพืน้ ทีม่ คี วามจําเป นต องเป ดให บริการ แก ผป ู ว ยตลอด 24 ชัว่ โมง เพราะฉะนัน้ งานระบบปรับอากาศทีร่ องรับการทํางานก็จะเป นอีกแบบหนึง่ ดังนัน้ จึงมีความต องการ ที่หลากหลายในแต ละพื้นที่ใช สอย ทําให งานระบบปรับอากาศในแต ละจุดก็แตกต างกันตามไปด วย” ประสบการณ และความคิดสร างคน ความรู ที่เกิดขึ้นจากทั้งการศึกษาที่ไม มีวันสิ้นสุด รวมกับประสบการณ ที่เกิดจากการนําตัวเองเข าไปสัมผัสความเป นจริง ทําให องค ความรูข อง ดร.ลภน มีประโยชน อย างยิง่ สําหรับนักออกแบบรุน ใหม ทจี่ ะเข ามาร วมกันสานต อแนวคิดนีเ้ พือ่ พัฒนา สังคมร วมกัน “หลักการในการออกแบบของผมคือ เราต องเข าใจคนที่จะเข ามาใช งานในอาคารที่เราออกแบบ นี่คือสิ่งสําคัญมาก ดังนั้น การออกแบบในป จจุบนั เรามักจะขอสิง่ ทีเ่ รียกว า Requirements เพราะนัน่ คือสิง่ แรกทีจ่ ะทําให เราเข าใจว าจริงๆ แล วเขาใช ชีวิตอย างไร ความสนใจของคนแต ละคนไม เหมือนกัน ดังนั้นบ านหนึ่งหลังจึงไม จําเป นต องมีส วนที่เหมือนกันเสมอไป การออกแบบไม ใช เรื่องตายตัว อย างการออกแบบโรงพยาบาล นักออกแบบจะต องรู วา แผนกที่จะออกแบบนั้นมีความ ต องการอะไร อย างไร เราต องรูล ะเอียดกระทัง่ ว าคนทีท่ าํ งานอยูใ นพืน้ ทีน่ น้ั เช น พยาบาลทีใ่ ช พน้ื ทีจ่ ริงๆ เขาทํากิจกรรมใดบ าง ทํางานอะไร และต องใช เครื่องมือใดบ าง ห องควรจะเป นอย างไร ประตูควรจะมีไหม เป นต น เราต องเข าใจความจริง ในเรื่องนี้ให ได และจําเป นต องรู เรื่องพวกนี้ก อน จึงจะสามารถจัดองค ประกอบของห องได เมื่อรู แล วสิ่งที่ต องทําต อมาคือ การจัดระบบวิศวกรรมต างๆ ตั้งแต ระบบน้ํา ระบบไฟ ระบบปรับอากาศ ให สอดคล องกับการใช งานทั้งหมด 92
สําหรับสิ่งที่ผมได ออกแบบ คือ การจะทําอย างไรให โรงพยาบาลลดการติดเชื้อ เนื่องจากทุกวันนี้เราสู กับโลกที่เปลี่ยนไป มีโรคติดต ออุบตั ใิ หม เกิดขึน้ ทุกป ดังนัน้ หลักการออกแบบอาคารจึงต องเปลีย่ นไปด วย การออกแบบอาคารจะต องดูทงั้ การ ใช พลังงานที่เหมาะสม การออกแบบที่มีการใช พลังงานธรรมชาติมากขึ้น หรือนําเทคโนโลยีสีเขียวมาใช มากขึ้น แต สิ่งที่ จะขาดไม ได คือการออกแบบโดยระลึกถึงรายละเอียดในปลีกย อย อย างในโรงพยาบาล เราต องมองแยกเป นส วนๆ เช น พืน้ ทีน่ เี้ ป นส วนทีค่ วบคุมการติดเชือ้ พืน้ ทีน่ เี้ ป นพืน้ ทีท่ ใี่ ช งานทัว่ ไป เพราะนัน่ คือสิง่ ทีใ่ นการออกแบบโรงพยาบาลต องทราบ เนื่องจากเมื่อออกแบบงานระบบวิศวกรรมตามเข าไปจะมีความสําคัญมาก เพื่อให สามารถแบ งแยกออกเป นโซนๆ ได ซึ่งผมถือว าเป นสิ่งที่สําคัญที่สุด เพราะหากไม สามารถแบ งโซนได เราก็จะควบคุมการกระจายของเชื้อโรคไม ได เลย ซึง่ ก็หวังว าอนาคตจะมีนกั ออกแบบหน าใหม ทเ่ี ข ามาทํางานด านนีม้ ากขึน้ แต ทง้ั นีก้ ต็ อ งเกิดจากการศึกษาและเข าใจอย างถ องแท ด วยจึงจะทํางานออกมาได ดี” และในฐานะ ‘อาจารย ’ ดร.ลภน เองก็มองว ายังมีอกี หลายส วนทีน่ กั ศึกษาไทยทีก่ าํ ลังจะก าวขึน้ มาเป น ‘เลือดใหม ’ ในสังคม ต องปรับเปลีย่ นเพือ่ ค นหาศักยภาพทีแ่ ท จริง “การเป นอาจารย พเิ ศษทําให ผมมองเห็นจุดทีเ่ ป นข อด อยในระบบการเรียนการสอน ของเรา ป ญหาของนักเรียนนักศึกษาไทยคือไม ยอมอ านแต รอให ถูกป อน ความรู ก็เหมือนอาหาร ถ ากินโดยถูกป อน คุณจะไม มที างรูด ว ยซ้าํ ไปว าจริงๆ แล วคุณกินอะไรอยู หลักการสอนของผมคือให นกั ศึกษาไปอ านหนังสือแล วกลับมาคุยกัน ครูผู สอนไม ได ทําหน าที่แค สอนในตํารา แต ต องมีความรู ความเข าใจในตําราเพียงพอที่จะสามารถบอกเขาได ว าคุณต อง ไปอ านไปศึกษาสิง่ ใดเพิม่ เติมอย างไร ถ าคุณเรียนด วยความเข าใจ คุณจะเรียงลําดับความรูเ ป น และสิง่ เหล านัน้ มันจะอยูใ นหัวคุณ ไปตลอดชีวิต แต ป ญหาของระบบการศึกษาไทยก็ยังคงเป นการสอนให เด็กท องจําความรู เพื่อที่จะมาสอบ ครูอาจารย ในป จจุบนั เองก็มคี วามเป น ‘อาจารย ’ ลดลง ผมว าการเป นอาจารย นน้ั ยาก เพราะต องทุม เทและอาศัยหลักจิตวิทยาเยอะมาก ในการจะทําให เด็กหนึ่งคนพยายามที่จะมีความคิดที่อยากเรียน ผมเชื่อว าครูอาจารย ทุกคนมีความคิดว าเราจะทําอย างไร ให นักเรียนนักศึกษาทุกคนที่อยู ในห องเรียนมีความรู สึกอยากจะเรียน กระสันใคร รู ในสิ่งที่จะเรียน และไม กลัวการสอบ อาจารย เองก็ต องหาจุดนี้ของตัวเองให เจอ แต สิ่งที่พบในป จจุบันอาจารย ส วนใหญ ก็มีสิ่งนี้ในตัวเองน อยไปนิด หลายคน ก็ทาํ แค เพียงหน าที่ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในป จจุบนั คือนักเรียนนักศึกษาเองก็ไม ได มองครูอาจารย วา เป นผูม อบวิชา มองแค เพียงว า เขาทําตามหน าที่ เราเล นกันคนละบทเท านัน้ เอง แต ถา ต างฝ ายต างเปลีย่ นความคิด ณ จุดนีไ้ ด สังคมเราจะพัฒนาก าวไกล ไปได อีกมาก”
93
¾×é¹·Õèໃ´¡ÇŒÒ§ãˌᡋ¹Ñ¡¤Ô´ ¹Ñ¡Í͡ẺËÇÁÊ‹§¼Å§Ò¹à¢ŒÒÁÒà¾×èÍà¼Âá¾Ã‹ÊÙ‹ÊÒÂμҼٌ͋ҹ ໚¹¡ÒùíÒàÊ¹Í ¼Å§Ò¹·Õ蹋Òʹ㨠·Ñé§ã¹ÁØÁ¢Í§¡ÒÃÍ͡Ẻ§Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ §Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁμ¡á싧ÀÒÂã¹ §Ò¹ÀÙÁÔʶһ˜μ¡ÃÃÁ 仨¹¡ÃзÑ觧ҹÍ͡ẺÇÑÊ´Ø ÊÔ¹¤ŒÒ §Ò¹Í͡Ẻ»‡ÒÂáÊ´§ÊÑÞÅѡɳ ËÃ×Í §Ò¹Í͡Ẻ¡ÃÒ¿¿ƒ¡áÅÐÊ×èÍÊÔ觾ÔÁ¾ ·Ñé§ËÅÒ ÊÒÁÒöʋ§¼Å§Ò¹à¢ŒÒËÇÁä´Œ áÅÐÊͺ¶ÒÁ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàμÔÁ ä´Œ·Õè www.designerhub.in.th ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
ม านั่งไม ซูโม ม านั่งไม ซูโม
ข อมูลงาน: ม านัง่ ไม ซูโม ถือกําเนิดมาด วยความคิดสร างสรรค บวกกับความอยากทีจ่ ะทําเฟอร นเิ จอร ไว ใช สาํ หรับนัง่ ง ายๆ เหมาะสําหรับเด็ก วัยรุ น และคนทํางานนั่งเล น ขนาดกระทัดรัด น้ําหนักเบา พกพาสะดวก แต มีรูปทรงที่แตกต างจากม านั่งในรูปแบบเดิมๆ ที่เห็นโดยทั่วไป มีเอกลักษณ เฉพาะตัวทีล่ งตัวกับการใช งานทีค่ รบถ วน เป นงานแฮนด เมด ออกแบบให ลงตัว ดัดแปลงจากรูปร างของตัวนักซูโม กีฬาประจําชาติญป่ี น ุ ที่ตัดทอนให สมัยใหม ลดทอนให โค งมน แต ยังคงเอกลักษณ เดิมเอาไว ด วย หรือมองอีกมุมของเด็กๆ จะบอกว าคล ายกับลิงกอริลลา จึงกลายเป นความลงตัวและเฉพาะตัวของแบรนด ZOO+MO+SEAT ม านัง่ ไม ทดี่ ดั แปลงมาจากรูปสัตว ไว สาํ หรับให เด็กนัง่ เล น ซึง่ จะสามารถ ตอบโจทย และสร างการจดจําได เป นอย างดี โดยในแบบต อๆไป ก็จะใช รูปทรงของสัตว นานาชนิดในการทําต อไป จึงเป นที่มากับการใช วัสดุ คลาสสิคที่ทําจากไม อัดยางเกรด A กับ ไม MDF เคลือบเมลามีน เพิ่มการใช งานด วยการให ตัวเก าอี้พับได แบนราบเรียบด วยไม แผ นเดียว เวลากางนั่งจะทํามุมและองศา ขัดล อค ลงร อง อย างมั่นคงและลงตัวตามวิถีชีวิตชาวญี่ปุ น เพิ่มความแข็งแรงด วยคลิปจับไม 4 จุด เพื่อให รองรับน้ําหนักได ดียิ่งขึ้น พร อมเมื่อยามพับเก็บก็เพิ่มปุ มล็อคข าง 4 จุดเพื่อกันไม ตก นําไปนั่งเล นในสวน ระเบียงบ าน หรือคอนโดมิเนียม เก็บง าย ประหยัดไม เปลืองเนื้อที่ แถมยังนําไปแขวนเป นของตกแต งผนังได เป นอย างดีอีกด วย ติดต อ:
94
622 ม.1 ม.บางปูนคร 2 ต.เทพารักษ อ.เมือง จ.สมุทรปราการ 10270 โทร: 086-758-1064 อีเมล: melinedee@gmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/zoomoseat
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
บ านอยุธยา inNasmall design studio
ข อมูลงาน: บ านพักอาศัย 2 ชัน้ พืน้ ทีใ่ ช สอยรวม 285 ตารางเมตร ซึง่ เป นบ าน แห งความสุขของครอบครัวใหญ ที่ต องการให บ านใหม มีความร วมสมัย โดยได รับ แรงบันดาลใจจากลักษณะการใช ชีวิตของคนรุ นเก าที่ผูกพันกับสายน้ํา รูปทรงบ าน ทีอ่ อกแบบให มเี ส นสายทีเ่ อียงรับบริเวณระเบียงชัน้ สอง คล ายกับรูปทรงของเรือส งสินค า ยุคก อน บรรยากาศภายในเป ดที่ว างให เกิดความเชื่อมต อระหว างชั้นล างและชั้นบน ทําให อากาศถ ายเทและแสงสว างเพียงพอ ติดต อ:
109/235 ม.รติรมย 2 ต.มหาสวัสดิ์ อ.บางกรวย จ.นนทบุรี 11130 โทร: 081-713-9478 อีเมล: innasmall.studio@yahoo.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/innasmall
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
Planet Communication Head Office Bahdee Maleenant
ข อมูลงาน:
เจ าของโครงการ P & T Asset Co.,Ltd. พื้นที่ใช สอย 3,000 ตาราวเมตร ที่ตั้งโครงการ รามอินทรา กรุงเทพมหานคร งบประมาณค าก อสร าง 45,000,000 บาท
ติดต อ:
12/261 หมู บ านฟายน โฮม 3 ซอยรามอินทรา 58 แยก 6 ถนนรามอินทรา เขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร 10230 โทร: 097-924-9393 อีเมล: kidmarkatelier@gmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/kidmark
เสือ้ ยืด ถูกนําเสนอผ านเรือ่ งราวโดยได แรงบันดาลใจ ข อมูลงาน: มาจากผีเสือ้ Betterfly มาจากความประทับใจการ Butterfly หลงใหล ในสีสนั การเคลือ่ นไหว รูปทรง และลวดลายของผีเสือ้ ความสวยงาม ของมันมีระยะเวลาตามอายุขัยอันสั้นที่จะอยู ให เราได เชยชมการ โบยบินที่มีเสน ห สิ่งเหล านั้นจึงเป นแรงบันดาลใจอันสําคัญในการ นําไปสู การออกแบบในสไตล ที่เป นเอกลักษณ เราให คํานิยามใน Bettefly ว ามันคือ การโบยบินทีม่ นั อาจจะไม ดที สี่ ดุ แต มนั จะโบยบิน ได ดีขึ้น บินสูงขึ้นเรื่อยๆ สวยงามขึ้นเรื่อยๆ Butterfly by Betterfly ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
ผีเสื้อ ความงดงามที่ไม มีวันสิ้นสุด ศิราพร เชียงนา
ติดต อ:
1 ต.หนองสาหร าย อ.ปากช อง จ.นครราชสีมา 30130 โทร: 084-929-8506 อีเมล: vespa_of_dad@hotmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/Fingerprint 95
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
Retail shop_schematic design ณรงค เดช รักกลาง
ข อมูลงาน:
ร านค าขนาดย อมในห างสรรพสินค า
ติดต อ:
18/88 ซอยจุฬาเกษม ถ.งามวงศ วาน ต.บางเขน อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร: 089-159-6376 อีเมล: arkdesign_07@hotmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/ARKDESIGN
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
คอลเลคชั่นแมว บริษัท ยังซี้ด จํากัด
ข อมูลงาน: นําแมวแต ละตัวแต ละสายพันธุม าใส คาแรคเตอร ให เข ากับบุคลิกลักษณะภายนอก ใช เทคนิคสีไม สีนาํ้ และปากกาดํา ติดต อ:
96
132/2 เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800 โทร: 02-585-3857, 084-663-5962 อีเมล: tassanee.addple@gmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/tassanee
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
Level Architect Group รณรงค นิรันดรประเสริฐ
ข อมูลงาน:
Level Architect Group
ติดต อ:
โทร: 083-124-4166 อีเมล: space_2008@hotmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/space2008
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
ออกแบบโลโก ทัศนีย พฤกษการ
ข อมูลงาน: รับออกแบบโลโก บริษทั องค กร และสินค า และรับ ออกแบบ Corporate Identity สําหรับใช ในองค กร เพื่อสร างความ เป นเอกลักษณ สร างแบรนด ให เป นทีจ่ ดจํา บ งบอกถึงตัวตนทีแ่ ท จริง ดูผลงานออกแบบโลโก้ เพ่ิมเติมได้ที่ www.youngseed.com หรือ www.logoceleb.com ติดต อ โทร: 086-991-1812 อีเมล: youngseed.tan@gmail.com เว็บไซต : www.designerhub.in.th/ youngseed
เรื่อง: กองบรรณาธิการ
Pedestrian Bridge ÊÔ觻ÅÙ¡ÊÌҧà¾×èͤ¹à´Ô¹à·ŒÒ Ê׺à¹×èͧ¨Ò¡¡ÒÃμ×è¹μÑÇàÃ×èͧ¡ÒþѲ¹Ò¾×é¹·ÕèÊÒ¸ÒóÐã¹àÁ×ͧ áÅÐâ¤Ã§¡Òà Footbridge ÊÔ§è »ÅÙ¡ÊÌҧà¾×Íè ¤¹à´Ô¹à·ŒÒ㹩ºÑº·Õ¼è Ò‹ ¹ÁÒ ¤ÃÒǹÕàé ÃÒ¨Ö§¹íÒàÊ¹Í Íա˹Öè§â¤Ã§¡Ò÷Õ蹋Òʹ㨠«Öè§à»š¹ÊÔ觻ÅÙ¡ÊÌҧÊÒ¸Òó»ÃÐ⪹ à¾×èͪØÁª¹ Íաઋ¹¡Ñ¹ à¾×Íè ໚¹Íա˹֧è á¹Ç·Ò§·Õ¨è ÐÊÌҧáçºÑ¹´ÒÅã¨ã¹¡ÒÃÍ͡Ẻãˌᡋ ËÅÒÂæ ¤¹ Tabiat Predestrian Bridge เป นส วนหนึ่งของชุมชนในกรุงเตหะราน ประเทศอิหร าน เป นโครงการ ออกแบบเพื่อปรับปรุงการเข าถึงระหว างสวนสาธารณะสองแห งที่ถูกแบ งโดยถนนไฮเวย ที่พลุกพล าน เพื่อให คนเดินเท าสามารถเดินข ามถึงกันได สะดวก สะพานทางเดินเท าแห งนี้ได รับการออกแบบโดย Diba Tensile Architecture บริษัทสถาปนิกชั้นนําของประเทศอิหร าน ซึ่งเชี่ยวชาญทางด าน Tensile Structure และ Membrane Structure ที่มีการนําผู เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีใหม ล าสุดมาประยุกต ใช ในการออกแบบก อสร าง และติดตัง้ Membrane และโครงสร างน้าํ หนักเบา ทัง้ นีไ้ ด สร างผลงานมากมาย ในเมืองต างๆ ทั่วประเทศอิหร าน
98
สะพานทางเดินเท า Tabiat Predestrian Bridge ไม เพียงแต จะเชื่อมระหว างสวนสาธารณะจากจุดหนึ่ง ไปยังอีกจุดหนึ่งเท านั้น ผู ออกแบบมีแนวคิดในการวางผังด วยการสร างเส นทางหลายๆ แนว ภายใน สวนสาธารณะทัง้ สองแห งเพือ่ เป นการนําผูค นให เดินสูส ะพาน โดยสะพานแห งนีไ้ ม ได เป นเพียงแค ทางเดินผ าน เท านัน้ แต ผอู อกแบบยังสร างให ทนี่ เี่ กิดกิจกรรมขึน้ ภายในพืน้ ทีใ่ ช สอย อาทิ พืน้ ทีน่ งั่ เล นและพืน้ ทีส่ ีเขียว ในแต ละช วงของสะพาน รวมทั้งที่เชิงสะพานทั้งสองด านยังเป นที่ตั้งของร านอาหารด วย เพื่อให ผู ใช สอยทํากิจกรรมบนสะพานได หลากหลายยิ่งขึ้น 99
ส วนแนวคิดในการออกแบบโครงสร างสะพาน ผู ออกแบบได สร างให เป นเส นทางโค ง เพื่อเลี่ยงมุมมอง ที่เป นทัศนียภาพเดียวเท านั้น ซึ่งจะเป นการกระตุ นให ผู ที่ใช สอยเดินต อไปเรื่อยๆ โดยเส นทางโค งจะถูก ออกแบบให มีหลายความกว างและหลายระดับลาดเอียง เพื่อช วยให ผู ใช สอยค อยๆ เดินช าๆ เมื่อเดิน ลงจากสะพาน อีกทั้งยังเป นการสร างความรู สึกลึกลับ น าค นหาไปยังจุดหมายปลายทางด วยเช นกัน 100
เนือ่ งจากบริเวณทีต่ งั้ ถูกปกคลุมด วยต นไม เสาแต ละต นจึงได รบั การออกแบบให ตงั้ อยูต ามแนวทีว่ า งเลีย่ ง การตัดต นไม ทิ้ง เพื่อให เกิดผลกระทบกับสิ่งแวดล อมน อยที่สุด ผู ออกแบบจึงได ออกแบบเป นเสา 3 ต น ทีม่ ลี กั ษณะคล ายกับต นไม ด วยรูปทรงทีแ่ ผ กว างด านบน โครงสร างถูกออกแบบให เป นโครงขนาดใหญ พอ ทีส่ ามารถสร างพืน้ ทีใ่ ช สอยและพืน้ ทีท่ างสถาป ตยกรรมให เกิดขึน้ ภายในได โดยมีลกั ษณะเป นโครงทรัสไดนามิก 3 มิติ ที่มีดาดฟ า 2 ระดับเชื่อมกันวางอยู ด านบนเสา จุดที่โครงทรัสวางบนหัวเสาจะเป นจุดที่สูงที่สุด และกว างที่สุดของสะพาน ซึ่งทําเป นจุดสําหรับนั่งชมวิวที่มีอยู 3 ระดับ ทุกระดับมีการเชื่อมต อกัน ด วยบันไดและทางลาดเอียงถึงกัน การสร า งเส น ทางบนสะพานให เ กิ ด ความหลากหลายจากระดั บ หนึ่ ง ไปยั ง อี ก ระดั บ หนึ่ ง จะสร า ง ประสบการณ ทแ่ี ตกต างกันไปเมือ่ ได เดินอยูบ นสะพาน เป นการกระตุน และท าทายผูท เ่ี ดินเท าให เกิดความสนใจ อีกด วย นอกจากเป นประโยชน ต อคนเดินเท าทั้งหลายแล ว ด วยรูปแบบการดีไซน ที่แปลกตาจึงสร างให สะพานแห งนี้ให กลายเป นอีกหนึ่งแลนด มาร กของเมืองไปด วย แม สะพานส วนใหญ อาจถูกมองว าเป น โครงสร างวิศวกรรม แต Tabiat Predestrian Bridge ได พยายามแสดงให เห็นว าสะพานก็มีความเป น สถาป ตยกรรมด วยเช นกัน ข อมูลโครงการ ชื่อโครงการ: ที่ตั้ง: ก อสร างแล วเสร็จป : สถาปนิกผู ออกแบบ: Photo Credit:
Tabiat Predestrian Bridge กรุงเตหะราน ประเทศอิหร าน ค.ศ.2014 Diba Tensile Architecture http://www.dibats.com Mohammad Hassan Ettefagh
แหล งข อมูลจาก: http://architizer.com/projects/tabiat-pedestrian-bridge/#
101
เรื่อง: ผศ.รัชด ชมภูนิช คณบดี คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
¤‹Ò¹ÔÂÁʶһ˜μ NjҴŒÇ ‘¡ÒùíÒàʹͧҹ’ (Oral Presentation) ¡Ãкǹ¡ÒùÕé¶×Í໚¹ÊÔè§ÊíÒ¤ÑÞÍ‹ҧÂÔè§ã¹¡Ò÷íÒ§Ò¹ÇԪҪվʶһ˜μ¡ÃÃÁ à¹×Íè §¨Ò¡¶×Í໚¹¢Ñ¹é μ͹㹡ÒÃÊ‹§¶‹Ò¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÌҧÊÃä ¨Ò¡μÑÇʶһ¹Ô¡ä»ÊÙ‹ ¡ÒÃμÑ´ÊԹ㨫×Íé ¼Å§Ò¹ªÔ¹é ´Ñ§¡Å‹ÒǢͧÅÙ¡¤ŒÒ à¾×Íè ¹íÒä»ÊÙ¡‹ Ãкǹ¡Òá‹ÍÊÌҧ ໚¹ÍÒ¤ÒèÃÔ§μ‹Íä» §Ò¹Ê¶Ò»˜μ¡ÃÃÁ´Õæ ËÅÒªԹé ÍÒ¨¶Ù¡ÅÐàÅÂÁͧ¢ŒÒÁä» à¹×èͧ¨Ò¡Ê¶Ò»¹Ô¡¼ÙŒ¹íÒàÊ¹Í ¢Ò´·Ñ¡ÉФÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒùíÒàʹͧҹáÅР⹌Á¹ŒÒÇã¨ÅÙ¡¤ŒÒ เช นเดียวกับในกระบวนการเรียนการสอนสถาป ตยกรรม ที่นิสิต นักศึกษาสถาป ตย ล วนแล วแต ต อง ใช การนําเสนอผลงานและไอเดียการออกแบบ ตลอดจนการตอบคําถามที่เกี่ยวข องกับงานของตนเอง (Defend งาน) ต ออาจารย ผู สอน ตั้งแต เริ่มชีวิตการเรียนชั้นป แรก ยันการนําเสนอผลงานวิทยานิพนธ ในการเรียนป สดุ ท า ย หรือในเวทีแข งขันประกวดแบบ หรือแนวความคิดทางสถาป ตยกรรมก็มกั มีขนั้ ตอน การนําเสนองานปากเปล าในช วงการตัดสินผลงานรอบสุดท ายอีกด วย ทําให ทักษะการนําเสนองานและ การโน มน าวใจผูฟ ง ให คล อยตาม เป นสิง่ ทีย่ วุ สถาปนิกจําเป นต องฝ กฝนและพัฒนาอย างต อเนือ่ งเช นกัน ในป จจุบนั ถึงแม เราจะมีเทคโนโลยีและเครือ่ งมือช วยในการนําเสนองานสถาป ตยกรรมทีก่ า วหน ามากขึน้ ทําให ภาพงานสถาป ตยกรรมในจินตนาการของผูอ อกแบบถูกสร างสรรค ได งดงามยิง่ กว าความเป นจริงเสียอีก แต สงิ่ ทีข่ าดหายไปของเหล านิสติ นักศึกษาสถาป ตย และยุวสถาปนิก ในป จจุบนั คือศิลปะในการเล าเรือ่ ง การสร างความจดจํา และการโน มน าวใจให ผู ฟ งคล อยตาม รวมทั้งการตอบคําถามอย างชัดเจนและ ตรงประเด็น พี้นฐานสําคัญและเป นสิ่งที่ไม สามารถเกิดขึ้นเพียงอาศัยการดูคนที่มีทักษะ ความสามารถ หรืออ านหนังสือ How to แต ต องอาศัยการฝ กฝนอย างตั้งใจ ปฏิภาณไหวพริบและชั่วโมงบินที่ยาวนาน มากพอควร พื้นฐานสําคัญของนัก Present ผลงาน หรือนักเล าเรื่องที่ประสบความสําเร็จคือ ต องมีต นทุนที่ดีซึ่งเกิด จากการสะสมด วยการอ าน การฟ ง การเขียน และการเรียบเรียงอย างเป นระบบ ผนวกกับการต อเติมเสริม จินตนาการให เรือ่ งราวทีน่ าํ เสนอมีความน าสนใจมากขึน้ ด วยศิลปะแห งการผูกเรือ่ ง บุคลิกภาพ น้าํ เสียง จังหวะในการเล าเรื่อง การลําดับเรื่อง การสร าง Climax ของเรื่อง การสรุปท ายเรื่อง การควบคุมเวลา การให ความสนใจกับปฏิกริยาผู ฟ ง และการตอบคําถาม
102
ขั้นตอนแรกในการนําเสนองานที่ดี ควรเริ่มต นจากการวางเค าโครงเรื่องตั้งแต เริ่มต นจนถึงบทสุดท าย เช นเดียวกับการเล าเรื่องหรือนําเสนอบทความต างๆ โดยควรประกอบด วย “ส วนนํา” เพื่อเกริ่นนําเรื่อง และดึงดูดความสนใจผูฟ ง “ส วนเนือ้ หา” เพือ่ นําเสนอเรือ่ งราวแต ละประเด็นจนครบถ วน และ “บทสรุป” เพื่อสรุปเรื่องราวให ผ ูฟ งเข าใจและสร างความประทับใจทิ้งท าย ทั้งนี้การเล าเรื่องและการนําเสนออย าง เป นระบบและเป นขัน้ ตอน โดยมีการจําแนกประเด็นนําเสนอหรือการเล าเรือ่ งให ชดั เจนพร อมภาพประกอบ จะช วยทําให ผู ฟ งติดตามเนื้อหาได ทัน ไม เกิดความเบื่อหน าย และสามารถจดจําเรื่องราวที่สําคัญของ เนื้อหาได มากขึ้น การสร างความจดจําในการนําเสนองานจําเป นต องมีพื้นฐานความคิดที่เป นระบบ (การใช Mindmap ประกอบการคิด สามารถช วยเรียบเรียงให ความคิดเป นระบบมากขึ้นได ) และการเล าเรื่องโดยใช Keywords และภาพประกอบที่มีความเชื่อมโยงกับเนื้อหาก็เป นสิ่งจําเป นอีกเช นกัน ดังจะเห็นได จาก ตัวอย างการนําเสนอของผู มีชื่อเสียงโดยเฉพาะในต างประเทศที่มักใช ภาพประกอบเป นตัวเชื่อมโยง เนื้อหาและเนื้อเรื่องในการนําเสนอสู ผู ฟ งมากกว าการใช ตัวหนังสือจํานวนมาก เพราะธรรมชาติมนุษย จะสามารถจดจําภาพได ง ายและเร็วกว าการจดจําตัวอักษร นอกจากนี้ กลยุทธ แห งความสําเร็จในการนําเสนองานและการโน มน าวใจคนฟ ง ควรเริ่มต นจากการ ทําความเข าใจกับความต องการของลูกค าหรือผูฟ ง ว า ลูกค า ต องการรับฟ งข อมูลหรือเรือ่ งราวใดทีจ่ ะนํา ไปสูก ารตอบโจทย หรือวัตถุประสงค นนั้ ๆ ข อมูลใดทีจ่ ะสร างความพึงพอใจให กบั ลูกค าได บา ง และข อมูล หรือคําพูดใดที่จะนําไปสู การป ดการขายงานได บ าง การนําเสนอทีด่ จี ะต องตัง้ อยูบ นมุมมองและประโยชน ของลูกค าให ได มากทีส่ ดุ ผนวกกับการมีอารมณ ขนั และเป นผูม มี นุษย สมั พันธ ทด่ี ยี อ มนํามาซึง่ การนําเสนองานทีม่ ปี ระสิทธิภาพได อย างแน นอน และนอกจากนี้ ผลประโยชน ทางอ อมจากการนําเสนองานอย างมีระบบ และขัน้ ตอนข างต นจะช วยให ผน ู าํ เสนอได มโี อกาส ทบทวนเนื้อหาและประเด็นในการนําเสนอมิให ตกหล นได และเป นการสร างความเข าใจในเนื้อหาได ดี ยิ่งขึ้น อย างไรก็ตามถึงแม ว าศาสตร และศิลป ในการ Present จะมีความสําคัญ แต วิธีการ ‘ตอบคําถาม’ อย าง ฉลาดก็ไม ควรถูกมองข าม เพราะสถาปนิกทีด่ มี ใิ ช จะคํานึงถึงเพียงป จจัยในการออกแบบให วจิ ติ รพิสดาร แต เพียงอย างเดียว แต ควรมีวธิ ใี นการทีจ่ ะนําเสนอการสือ่ สาร และการอธิบายให ผฟู ง กับเจ าของโครงการ เข าใจเนือ้ หา วิธคี ดิ และผลงานการออกแบบของเราให ชดั เจนผ านการซักถามอีกคํารบหนึง่ ซึง่ ทัง้ หมดนี้ เป นเรือ่ งของเชาว ปญ ญา ไหวพริบ การควบคุมอารมณ และศักยภาพส วนตัวทีต่ อ งผ านการฝ กฝน การพัฒนา สะสมมาอย างต อเนือ่ งในชีวติ การทํางาน เพราะในเบือ้ งต นการทีจ่ ะทําให งานออกแบบทีต่ วั เราคิดว าเป นผลงาน ที่ดีสามารถผ านกระบวนการก อสร างจริงจนปรากฏออกสู สายตาสังคม ต องผ านการนําเสนองานหรือ ขายงานที่ดีมาแล วทั้งสิ้น ประเด็นสุดท ายสําหรับการพัฒนาทักษะการเสนองานคือ การฝ กฝนอย างตัง้ ใจและไม ยอ ท อเพราะบุคคล ทีม่ ที กั ษะความสามารถในการนําเสนอผลงาน ล วนแล วแต ตอ งอาศัยการเพาะบ มประสบการณ และการทําซ้าํ อย างมากมายจนมีความมัน่ ใจ เพราะทักษะเหล านีไ้ ม สามารถทําให เกิดขึน้ ได ในระยะเวลาอันสัน้ ได ตอ งอาศัย ความตั้งใจในการเรียนรู การพัฒนา และการเพาะบ มประสบการณ อย างต อเนื่องและยาวนาน
103
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้ ภาพ: Vivarium by Chefs Ministry
‘Town Tree’ Ìҹࡎæ ã¹àÁ×Í§μŒ¹äÁŒ ã¤Ã·ÕèÍÂÒ¡ËÅա˹դÇÒÁÇØ‹¹ÇÒÂã¹»†Ò¤Í¹¡ÃÕμ ËÒʶҹ·ÕèʺÒÂæ ¹Ñ觴×èÁ¡Òá¿ áÅÐÃѺ»ÃзҹÍÒËÒÃ㹺ÃÃÂÒ¡ÒȪÔÅæ ·‹ÒÁ¡ÅÒ§¸ÃÃÁªÒμÔẺ Slow Life Hang Out Cafe ©ºÑº¹ÕéàÃÒ¢Íá¹Ð¹íÒÌҹ ‘Town Tree’ Ìҹ¹ŒÍ§ãËÁ‹ ºÃÃÂÒ¡ÒÈÊǹÊÕà¢ÕÂÇ º¹¶¹¹à¡ÉμÃ-¹ÇÁÔ¹·Ã ร าน ‘Town Tree’ เป นร านที่ถูกก อตั้งขึ้นโดยคุณศยามล เนตรประภา และคุณวิทย ศิริวิทย ริ้วบํารุง พีช่ ายผูเ ป นนักจัดสวนระดับแนวหน า และเจ าของร าน Little Tree (นครชัยศรี) โดยการเนรมิตผับเก าทีม่ ี โครงสร างเดิมเป นปูนเปลือยสไตล ลอฟท ให กลายเป นสวนสไตล อังกฤษ ร านแบ งออกเป น 3 ส วนคือ ส วนอินดอร ส วนกลาสเฮ าส (เรือนกระจก) และส วนที่เป นสวนเอ าท ดอร
104
ในส วนอินดอร ภายในร านจะตกแต งด วยผนังอิฐสีขาว พื้นลายตารางหมากรุก และเคาน เตอร ปูนเปลือย ที่แฝงกลิ่นอายความเป นอินดัสเทรียล เพิ่มเติมความหวานให พื้นที่ด วยเฟอร นิเจอร ไม เนื้อด าน และการ ประดับประดาด วยของกระจุกกระจิกกลิ่นอายวินเทจอย างรูปป นสัตว เล็กๆ กับความสดใสของพรรณไม สีเขียวที่แทรกตัวอยู ทุกมุมของร าน ไม ว าจะเป นโคมไฟที่ห อยประดับด วยเคราษี หรือเพดานที่มีต นไม ห อยระย าลงมาอย างสวยงามน ามอง ในส วนเอ าท ดอร จะเป นสวนสไตล อังกฤษ ตกแต งด วยกําแพง ธรรมชาติจากไทรเกาหลี เพิม่ ลูกเล นด วยการปูพนื้ ด วยแผ นซีเมนต สลับกับหญ าเป นลายตารางหมากรุก และโต ะสไตล วินเทจ
105
ในส วนของอาหารมีให เลือกทัง้ อาหารไทย และอาหารตะวันตกหลากหลาย เมนู อาทิ สลัด Town Tree สดชื่นด วยผักสด ปลาเส นอบกรอบ หนวดปลาหมึกชุบแป งทอด ดอกอัญชันและไข กง ุ ราดด วยน้าํ สลัดวาซาบิ สปาเกตตีต้ ม ยํากุง ใหญ สปาเกตตีผ้ ดั แบบน้าํ ขลุกขลิกรสชาติเข มข น หอมเครือ่ งต มยํา ข าวผัดปาปริกา แซลมอนย าง ข าวผัดคลุกกับผงปาปริกา และปลาแซลมอน เสิรฟ เคียงมากับสเต็กแซลมอน ราดซอสสูตรเฉพาะ ของร าน สําหรับเครื่องดื่ม แนะนํา Lychee Blue ค็อกเทลสีสวยที่ ใช ทั้งเนื้อลิ้นจี่และน้ําลิ้นจี่ผสมกับไซรัป เย็นชื่นใจ 106
สําหรับผูท ต่ี อ งการเสพความงามของธรรมชาติกลางเมือง โดยไม ตอ ง เดินทางออกนอกเมืองไปให ไกล รับรองว าร าน ‘Town Tree’ จะไม ทาํ ให คุณผิดหวังอย างแน นอน! ทีต่ ง้ั ถนนเกษตรนวมินทร ตอม อ 240 บึงกุม กรุงเทพมหานคร 10240 โทรศัพท 09-5595-2945 เวลาเป ดบริการ 11.30-23.00 น. Website https://www.facebook.com/pages/TownTree/828913283861774
IN
THE BOX เรื่อง: นะโม
àÃÕ¹¸ÃÃÁªÒμÔ ÃÙŒ¨Ñ¡ªÕÇÔμ ¡ÒÃÁÕªÇÕ μÔ ÍÂÙ¡‹ ºÑ à·¤â¹âÅÂÕ·¡Õè ÒŒ Ç˹ŒÒ¢Ö¹é ª‹ÇÂà¾ÔÁè ¤ÇÒÁÊдǡʺÒÂãËŒªÇÕ μÔ ä´ŒÁÒ¡ ¢Ö¹é ¨ÃÔ§ áμ‹ÀÒÂãμŒ¤ÇÒÁʺÒ·ÕÁè Ò¡à¡Ô¹ä» Á¹ØÉ ¡àç ÃÔÁè àÃÕ¹ÃÙ·Œ ¨Õè Ъ‹ÇÂàËÅ×ÍμÑÇàͧ ä´Œ¹ÍŒ Âŧ à¾ÃÒÐμÃÐ˹ѡ¶Ö§ÊÔ§è ¹Õé ¼Ù㌠ËÞ‹ËÅÒ¤¹¨Ö§ËÇѧÍÂÒ¡ãËŒà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ â´Â੾ÒФ¹àÁ×ͧ ä´ŒÊÑÁ¼ÑʸÃÃÁªÒμÔ¼‹Ò¹Êǹà¡ÉμÃà¾×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ â´ÂËÇѧ ÍÂÒ¡ãËŒ¾Ç¡à¢Òä´ŒàËç¹á§‹ÁØÁ·Õèáμ¡μ‹Ò§à¾×èÍÊÌҧÀÙÁÔ¤ÇÒÁ¤Ô´·Õèá¢ç§áç ความจริงอย างหนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ กับคนเมืองคือ เราเริม่ มีความแข็งกระด าง ในชีวติ มากขึน้ แม เราจะสะดวกสบายยิง่ ขึน้ จากการมีเทคโนโลยีต างๆ เข ามาสนับสนุนการใช ชีวิต ซึ่งเข าใกล โลกแห งอนาคตที่เราเฝ าฝ นถึง อย างในนวนิยายวิทยาศาสตร แต ‘ความง าย’ แบบนัน้ ก็ทาํ ให หลายครัง้ เราเห็นคุณค าของชีวติ และการมีชวี ติ น อยลง รวมถึงมีความเข าใจสรรพสิง่ รอบตัวเราลดลงทุกทีๆ เหตุนี้เองผู มีศักยภาพหลายคนจึงเลือกที่จะมี ชีวติ บางส วนนอกเมือง ทีไ่ ม ใช แค การหลบออกจากเมืองไปพักช วงสุดสัปดาห ในแหล งท องเที่ยว แต หมายถึงการสร างพื้นที่ชีวิตบางส วน เอาไว เพื่อ เรียนวิชาชีวิตจากธรรมชาติ แม บางคนจะบอกว าการที่คนเมืองส วนหนึ่งออกไปทําฟาร มและเรียนรู การทําเกษตรมากขึน้ จะเป นเทรนด ของการใช ชวี ติ รูปแบบหนึง่ และเป น เรือ่ งของผูม อี นั จะกินทีม่ ศี กั ยภาพเพียงพอต อการเป นเจ าของทีด่ นิ ใกล เมือง แต ความจริงแล ว จากแนวคิดและลงมือปฏิบตั จิ ริงก็ทาํ ให พวกเขาเข าใจ และเคารพในวิถีแห งธรรมชาติ ซึ่งด วยแนวคิดแบบเดียวกันนี้ ป จจุบัน จึงได ตอ ยอดสร างเป นฟาร มแห งการเรียนรูเ พือ่ เด็กและเยาวชนขึน้ ด วย เพราะคงไม่ใช่เรื่องดีที่วันหนึ่งเทคโนโลยีต่างๆ ตั้งแต่เทคโนโลยี การสือ่ สารและสิง่ อํานวยความสะดวกจะเริม่ ทําให เด็กๆ ของเราอ อนแอ มากขึ้น รวมถึงขาดภูมิต อการมีชีวิตภายใต ความยากลําบาก ป จจุบันจึงเริ่มมีฟาร มแห งการเรียนรู ใกล เมืองเป ดตัวขึ้นโดยแนวคิด ของผู ใหญ ที่ปรารถนาจะปลูกแนวคิดที่ดีสําหรับเด็กเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งอยู ไม ห างจากกรุงเทพฯ นัก อาทิ Farm De Lek ย านคลอง 15 ต.คลองใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก ฟาร มหมอปอ ต.หมูสี อ.ปากช อง จ.นครราชสีมา ไร ปลูกรัก อ.บางแพ จ.ราชบุรี เป นต น….บางทีการที่ เด็กๆ ได ‘เรียนธรรมชาติ’ พวกเขาก็อาจจะ ‘รูจ กั ชีวติ ’ มากขึน้ ก็เป นได
ขอบคุณภาพจาก Farm De Lek 15 ต.คลองใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก 107
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้ ภาพ: Venice Di Iris & กองบรรณาธิการ
Venice Di Iris ¤ÍÁÁÙ¹ÔμÕéÁÍÅÅ ÊØ´à¡ŽÊäμÅ àǹÔÊ àÁ× Í §àÇ¹Ô Ê »ÃÐà·ÈÍÔ μ ÒÅÕ à»š ¹ àÁ× Í §Áô¡âÅ¡·Õè ÁÕ ¤ ÇÒÁ§´§ÒÁ·Ò§´Œ Ò ¹ ʶһ˜μ¡ÃÃÁÍѹ໚¹àÍ¡Åѡɳ ´ŒÇÂÍÒ¤ÒúŒÒ¹àÃ×͹áÅÐÌҹ¤ŒÒÊÕÊ¹Ñ Ê´ãÊ·Õμè §éÑ ÍÂÙ‹ ÃÔÁÊͧ½˜§› ¤Åͧ ·íÒãËŒÁ¼Õ ¤ÙŒ ¹ÁÒ¡ÁÒÂÍÂÒ¡¨ÐáÇÐàÇÕ¹ä»ÊÑÁ¼ÑÊÊÑ¡¤Ãѧé Ê‹§¼ÅãËŒ ã¹»˜¨¨Øº¹Ñ ʶҹ·Õ·è Í‹ §à·ÕÂè ÇÁÒ¡ÁÒ¨íÒÅͧºÃÃÂÒ¡ÒÈàÁ×ͧàǹÔÊÁÒμѧé äÇŒã¹àÁ×ͧä·Â áÅÐÅ‹ÒÊØ´¡Ñºâ¤Ã§¡Ò÷ÕèÁÕª×èÍÇ‹Ò “Venice Di Iris” (àǹÔÊ ´Õ äÍÃÔÊ)
108
“Venice Di Iris” (เวนิส ดี ไอริส) เป็นคอมมูนิตี้มอลล์แห่งใหม่ ย านวัชรพล ที่จําลองเมืองเวนิสมาไว บนพื้นที่กว า 14 ไร อาคารถูก ออกแบบให มีสีสันและกลิ่นอายของความเป นเมืองเวนิส ด วยการใช รูปแบบสถาป ตยกรรมยุคเรอเนซองส ของอิตาลี ล อมรอบด วยการจัดวาง ภูมทิ ศั น ทง่ี ดงาม ดอกไม นานาพรรณ และงานประติมากรรม ทีบ่ ง บอก ความเป นเวนิสอย างแท จริง ไม วา จะเป นหอคอย Campanario de San Marcos, Venice สะพาน Rialto Bridge พร อมทัง้ มีบริการเรือกอนโดล า ล องไปตามคลองโดยรอบโครงการ ในบรรยากาศเสมือนอยู ในเมือง เวนิส ประเทศอิตาลี จริงๆ
ภายในแบ งออกเป น 2 โซน คือ Piazza mall ซึ่งจะเป นโซนร านค า ไลฟ สไตล ตา งๆ บนพืน้ ที่ 9,200 ตารางเมตร ประกอบด วยซูเปอร มาร เก็ต 24 ชัว่ โมง, ร านอาหาร, ร านกาแฟ, ร านอาหาร, ร านขายของตกแต งบ าน, สถาบันสอนพิเศษ, คลินิก, สถาบันความงาม สปา ร านขายเสื้อผ า, ธนาคารและอื่นๆ อีกมากมาย โซนที่สองคือ Canale Shop House เป นอาคารทีเ่ น นการดีไซน ในสไตล เวนิส พืน้ ทีใ่ ช สอยกว า 160 ตารางเมตร สามารถใช เป นร านค าและที่อยู อาศัยได
109
นอกจากนีท้ น่ี ย่ี งั มีตลาดนัดศิลปะภายใต คอนเซ็ปต “The Art-Mosphere Flea Market at Venice Di Iris” ซึง่ เป นตลาดนัดทีร่ วบรวมสินค าสุดเก ไก อาทิ ของสะสม ของเล น ของตกแต งบ าน เสือ้ ผ าแฟชัน่ ให ขาช อป ได เลือกกันแบบจุใจ พร อมกิจกรรมน าตืน่ ตาตืน่ ใจมากมาย ไม วา จะเป น สตรีท เธียร เตอร ดนตรีเป ดหมวก และอีกหลากหลายการแสดงสดบนถนนสายศิลปะ ท ามกลางบรรยากาศชวนฝ นของเมืองเวนิส อาทิ การแสดงโบโซ (Bozo), หุ นนิ่ง Statue, จักกลิ้ง (Juggling), สตรีท เพนติ้ง (Street Painting), Installation art พร อมชมรถคลาสสิกหลากหลายสไตล โครงการ เวนิส ดี ไอริส ที่ตั้ง ถนนวัชรพล แขวงท าแร ง เขตบางเขน กรุงเทพฯ เว็บไซต www.venicediiris.com เฟซบุ ก Venice Di Iris 110
เรื่อง: นะโม นนทการ
¾Ô¾Ô¸Àѳ± ÇѧÊǹ¼Ñ¡¡Ò´ ÃÍÂÍ´Õμã¹àÁ×ͧãËÞ‹ º¹¾×¹é ·Õ¡è Ç‹Ò 6 äË ÃÔÁ¶¹¹ÈÃÕÍÂظÂÒ·Õàè μçÁä»´ŒÇÂμÖ¡ÊÙ§ «Ö§è μÃÐ˧‹Ò¹ÍÂÙã‹ ¹°Ò¹Ð ÍÒ¤ÒÃÊíҹѡ§Ò¹ âçáÃÁ áÅзÕè¾Ñ¡ÍÒÈÑÂã¹á¹Ç´Ôè§ ÂѧÁÕÍÒ¤ÒÃËÁÙ‹àÃ×͹ä·Â àÅç¡æ ·ÕÇè Ò§μÑÇÍÂÙÍ‹ ‹ҧʧºà§ÕºÀÒÂãμŒáÁ¡äÁŒáÅÐÊǹà¢ÕÂÇ ·Õ¹è ¤Õè Í× ‘¾Ô¾¸Ô Àѳ± ÇѧÊǹ¼Ñ¡¡Ò´’ Í´ÕμÇѧ·Õ»è ÃзѺ¢Í§à¨ŒÒ¹Òªѹé ÊÙ§·Õáè ½§äÇŒ´ÇŒ ¤ÇÒÁ·Ã§¨íÒ áÅл˜¨¨ØºÑ¹à»ƒ´ãˌࢌҪÁ㹰ҹоԾԸÀѳ± ·ÕèàμçÁä»´ŒÇ¤س¤‹Ò·Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁ จากอดีต ก อนจะเป ดให บุคคลภายนอกให เข าชมอย างเป นทางการในป พ.ศ.2495 เดิมที ‘วังสวนผักกาด’ เป นตําหนักที่ประทับใน พลตรีพระเจ าวรวงศ เธอ พระองค เจ าจุมภฏพงษ บริพัตร กรมหมื่นนครสวรรค ศักดิพินิต หรือ เสด็จในกรมฯ พระนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว (รัชกาลที่ 5) และชายา ‘หม อมราชวงศ พันธุท พิ ย บริพตั ร’ หรือ ‘คุณท าน’ เดิมที ทีด่ นิ บริเวณนีเ้ คยเป นสวนผักกาดเก าของคนจีน จนเมือ่ ท านตัดสินพระทัยจะย ายมาพํานักบริเวณนี้ จึงได สร างตําหนักและ ใช เรือนไทยทีไ่ ด รบั ตกทอดเป นมรดกมาจากบรรพบุรษุ ทีม่ อี ายุกว า 100 ป ซึง่ หมูเ รือนไทยเหล านัน้ ก็ยงั คงอยูเ ป นส วนหนึง่ กับที่ดินผืนนี้มาจนป จจุบัน ในช วงสงครามโลกครั้งที่ 2 วังแห งนี้ได รับการขนานนามว า ‘วังสวนผักกาด’ ตามย านเดิม ที่เคยเป นสวนผักกาดของคนจีน
112
สู ป จจุบัน ในอดีตวังสวนผักกาดแห งนีเ้ คยต อนรับรองแขกและบุคคลมีชอ่ื เสียง มากมาย พร อมทัง้ จัดแสดงของสะสมสวยงามทีห่ ลายชิน้ เป นมรดกตกทอด มาจากพระบิดา คือ ‘จอมพลเรือ จอมพล สมเด็จพระเจ าบรมวงศ เธอ เจ าฟ าบริพตั รสุขมุ พันธ กรมพระนครสวรรค วรพินติ ’ หรือ ทูลกระหม อม บริพัตรฯ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว (รัชกาลที่ 5) และสมเด็จพระนางเจ าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี จนเมือ่ เวลาผ าน ‘คุณท าน’ เล็งเห็นว าโบราณวัตถุทส่ี ะสมไว ไม ได เป นเพียง ทรัพย สินของท าน แต เป นโบราณวัตถุที่มีคุณค าต อวัฒนธรรมไทย ทั้งยังเป นมรดกตกทอดสําหรับมวลมนุษยชาติ ท านจึงไม ปรารถนา จะเก็บโบราณวัตถุเหล านัน้ ไว แต เพียงผูเ ดียว แต เป ดโอกาสให บคุ คลอืน่ เข าเยี่ยมชมบ านของท านได และถือว าเป นบ านแห งแรกที่เป ดให คนภายนอกเข าชมในขณะที่เจ าของบ านยังมีชีวิตอยู หากคุณหวังอยากใช วนั หยุดพักผ อนของคุณให เป ย มด วยคุณค ามากขึน้ การแวะมาสัมผัสกลิน่ อายแห งอดีตทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ วงั สวนผักกาดแห งนี้ ก็เป นทางเลือกทีด่ สี ดุ อย างหนึง่ ป จจุบนั นอกจากหมูเ รือนไทยในอดีต จะยังคงถูกเก็บรักษาอย างดีและคอยต อนรับผู มาเยือนที่หลงใหล ในภาพสะท อนของอดีตแล ว พิพิธภัณฑ วังสวนผักกาดแห งนี้ยังได มี สิง่ ปลูกสร างเพิม่ เติมเพือ่ ใช สาํ หรับจัดแสดงศิลปวัตถุ อาทิ ศิลปาคาร จุมภฏ-พันธุ ทิพย ซึ่งเป ดใช ในป พ.ศ.2539 โดยห องโถงบริเวณชัน้ 2 ใช เป นสถานที่จัดแสดงโบราณวัตถุในวัฒนธรรมบ านเชียง ส วนห อง ศิลปนิทรรศการมารศรี ในลําดับถัดมาใช เป นห องแสดงงานศิลปะที่ ศิลป นมากความสามารถหมุนเวียนกันมาแสดงผลงาน
เมือ่ เดินผ านตึกแสดงงานศิลปะมาถึงสวนเขียวด านหลัง คุณจะได พบกับ ‘หอเขียน’ อยูบ ริเวณสนามหญ าทางทิศใต ของวังสวนผักกาด และหมู เรือนไทยซึง่ เป นเรือนไทยเดิมตะหง านอยูอ กี ฟากหนึง่ ของสนามหญ า ภายใต เงาไม รม รืน่ สําหรับ ‘หอเขียน’ นัน้ สมเด็จในกรมฯ ได ผาติกรรม มาจากวัดบ านกลิง้ จ.พระนครศรีอยุธยา ในป พ.ศ.2501 โดยมีวตั ถุประสงค เพื่ออนุรักษ งานสถาป ตยกรรมของไทยให คงอยู เนื่องจากมีกําหนด อายุอยูใ นช วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ภายหลังเมื่อซ อมแซมเรียบร อย เสด็จในกรมฯ ได มอบเป นของขวัญวันเกิดแก ชายาของท านเนือ่ งใน อายุครบรอบ 50 ป ป จจุบนั เป ดโอกาสให ผม ู าเยือนขึน้ ชมภายในหอเขียน ซึง่ มีภาพลายรดน้าํ เรือ่ งพุทธประวัติ และรามเกียรติ์ ส วนหมูเ รือนไทย โดยเฉพาะเรือนไทยหลังที่ 4 นอกจากจัดแสดงศิลปะวัตถุแล ว ป จจุบนั ก็ยังคงเป ดใช ในงานโอกาสสําคัญต างๆ อีกด วย เสน ห อย างหนึ่งของพิพิธภัณฑ วังสวนผักกาดแห งนี้คือ การตกแต ง โดยมอบความรูส กึ ถึงความเป นบ านมากกว าพิพธิ ภัณฑ เป ดให เข าชม ทุกวันเวลา 09.00. - 16.00 น. (ค าเข าชม ท านละ 50 บาท) ป จจุบัน อยู ในความดูแลของมูลนิธิจุมภฏ-พันทิพย อันเป นองค กรการกุศลที่ ‘คุณท าน’ ก อตัง้ ขึน้ ในป พ.ศ.2511 เพือ่ ส งเสริมการศึกษา การอนุรกั ษ และศิลปวัฒนธรรม
113
เรือ่ ง: กฤษณ นาคะชาต
àªÒÇÄ·¸Ôì ¾Ù¹¼Å (¢ÇÑÞ) ถึ ง แม ข วั ญ จะเป น รุ น น อ งจากรั้ ว มหาวิ ท ยาลั ย รั ง สิ ต ในคณะ สถาป ตยกรรมศาสตร แต ด วยรุ นและวัยแล วทําให เราสองคนไม ได รู จักกันมาก อน ผู เขียนมารู จักกับขวัญเมื่อได ร วมงานกันที่บริษัท สถาปนิก 49 จํากัด ด วยขวัญเป นน องใหม ไฟแรง กอปรกับมีความ สนใจการถ ายภาพอยู ในตัว จึงได รับมอบหมายให ถ ายงานกิจกรรม ต างๆ เสมอ จนพัฒนาฝ มอื ขึน้ เรือ่ ยๆ ก็เริม่ ได รบั มอบหมายให ถา ยรูป ผลงานการออกแบบสถาป ตยกรรมของบริษัท และถ ายภาพให กับ สํานักพิมพ ลายเส นอยู บ อยครั้ง จนได มีโอกาสร วมบันทึกภาพลง หนังสือ Destination Bangkok จากงานอดิเรกเริ่มกลายเป นงานที่ จริงจังมากขึ้น และสร างรายได ในอีกสายงานหนึ่งขึ้นมา วันนี้เรามา ทําความรู จักกับขวัญกันดีกว าครับ จุดเริ่มต นกับการจับกล องครั้งแรก จังหวะในการเริ่มต นถ ายภาพของขวัญค อนข างต อเนื่อง หากเมื่อ เทียบกับหลายๆ คน คงด วยเพราะอยู ในช วงยุคสมัยที่กล องดิจิตอล เริม่ เป นทีน่ ยิ มแล ว จึงไม ตอ งเจอภาวะค าฟ ลม กับค าล างอัดรูปจนเป น เหตุให ต องหยุดถ ายภาพ แล วค อยกลับมาถ ายรูปใหม ในยุคของ กล องดิจติ อลอีกครัง้ โดยขวัญเล าให ฟง ว า “ผมเริม่ สนใจการถ ายภาพ ตอนเรียนที่คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ชั้นป ที่ 2 เพราะจะมีวิชาเลือกเสรีอยู ผมเลือกที่จะลงเรียนวิชา “ถ ายภาพเพื่อ การสือ่ สาร” ซึง่ เป นวิชาทีเ่ ด็กนิเทศเรียนกัน ตอนทีเ่ รียนวิชานีเ้ ป นแบบ Old School มากๆ ผมถ ายภาพจากกล อง Nikon FM2 (ซึง่ ยืมเพือ่ นมา) ใช ฟ ล มขาวดํา ต องล างฟ ล มเอง อัดภาพเองด วย ในสตูดิโอของทาง มหาวิทยาลัย ตอนนัน้ ทีเ่ รียนคือรูส กึ ว าสนุกมากๆ พอผมเรียนวิชาจบ ก็ตัดสินใจซื้อกล องดิจิตอล Nikon D80 ตัวแรกเป นของตัวเองเลย แล วโลกของการถ ายภาพของผมก็เริ่มตั้งแต นั้นเป นต นมา”
114
แนวที่ใช สไตล ที่ชอบ ขวัญได กล าวถึงแนวการถ ายภาพทีต่ วั เองชอบและสนใจเป นพิเศษว า “ด วยผมเป นคนทีเ่ ทีย่ วบ อยมาก ออกไปเดินป าขึน้ เขาลงห วยไปหมด รูปส วนใหญ จะเป นรูปธรรมชาติ (Landscape) มีรูปชีวิตผู คน (Life) ตามสถานที่ที่ผมไปพบเจอ และก็ได บันทึกสิ่งที่อยู ตรงหน าเราลงมา เป นภาพถ าย ผมไม ได เป นคนทีจ่ ดอะไรลงไดอารีบ่ อ ยๆ แต การถ ายภาพ ของผมนัน้ เปรียบเสมือนไดอารีใ่ นหัวของผมเลย เพราะเมือ่ มองภาพถ าย ผมจะจําได ทันทีว าเราถ ายที่ไหน ตอนเวลากี่โมง บรรยากาศช วงนั้น เป นอย างไร ทําให ผมรูส กึ มีความสุขทุกๆ ครัง้ ทีไ่ ด กดชัตเตอร จริงๆ ครับ
เหมือนกัน เพราะการถ ายภาพสถาป ตยกรรมนั้น มัน “เหนื่อย” กว า ทีผ่ มคิดเอาไว มาก การจะได เฟรมหนึง่ เฟรมนัน้ ต องคิดเยอะมาก เช น มุมมองควรเป นอย างไร องค ประกอบและพร็อพลงตัวไหม ต องรีทัช อะไรเพิ่มเติม แสงเงาดีหรือยัง นี่ยังไม นับเรื่องต องรอแดดรอฝนอีก ซึง่ มันเป นงานทีต่ อ งการความประณีตในการถ ายมากจริงๆ และเมือ่ ถ ายเสร็จแล วก็ต องเข าสู การทําไฟล ภาพอีก (Digital Darkroom) ทัง้ ปรับสี ปรับแสง ถือเป นช วงทีใ่ ช เวลามากกว าตอนถ ายภาพเสียอีก และก็มคี วามสําคัญมากด วย เพราะเป นเรือ่ งของรสนิยมจริงๆ อีกทัง้ เราและลูกค าก็ต องพูดคุยถึงแนวคิดของภาพที่ต องการ เพื่อให แต อาจต างจากแนวที่ผมรับจ างถ ายภาพ ซึ่งเป นธรรมดาของคน ผลลัพธ สุดท ายได เป นภาพที่ออกมาดูดีที่สุดด วย” เริ่มถ ายภาพใหม ๆ น ะครับ ที่อยากจะมีรายได จากการถ ายภาพบ าง เพราะอุปกรณ แต ละอย างมีราคาค อนข างแพง ก็เลยเริ่มรับงานจ าง จากที่ได พูดคุยกับขวัญในวันนี้ จึงเห็นได ว างานถ ายภาพสําหรับเขา ถ ายภาพ ในช วงแรกๆ ผมก็เริม่ ถ ายภาพงานรับปริญญา ต อมาก็เริม่ คืองานที่มีความเป น Professional มากขึ้นเรื่อยๆ ด วยความตั้งใจ ถ ายภาพงานแต งงานบ าง ในช วงหลังเริ่มรู สึกว าตัวเรานี่เวลาถ าย ที่จะพัฒนาฝ มือและการทุ มเทอย างจริงจัง ก็ขอให น องประสบความ ภาพคนแล วรูส กึ ไม คอ ยสนุกเท าไหร เลย ก็พยายามลองหาการถ ายภาพ สําเร็จใจงานถ ายภาพมากขึ้นเรื่อยๆ ตามความตั้งใจ และขอให มี รูปแบบใหม ๆ ดู จากทีเ่ ราเรียนทางด านสถาป ตยกรรมมาและทํางาน โอกาสได เดินทางไปเก็บภาพความทรงจําตามแนวทีช่ อบมาถ ายทอด เป นสถาปนิก จึงได ลองหัดถ ายภาพสถาป ตยกรรมดูบา ง โดยเริม่ ด วย ให พวกเราได ชมกันนะครับ หากใครอยากติดตามผลงานถ ายภาพของ การถ ายงานของออฟฟ ศที่ผมทํางานประจําอยู (A49) ซึ่งงานแรก ขวัญสามารถตามได ที่ Facebook Page www.facebook.com/ ทีไ่ ด ลองถ ายก็ทาํ อะไรไม คอ ยถูก และมีความยุง ยากกว าทีผ่ มคิดเอาไว มาก chaovarith และเว็บไซต chaovarith.wordpress.com นะครับ 115
เรื่อง : ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ วน)
“¾Ô¹¨Ô -¾Ô¾¸Ô Àѳ± -ʶҹ»¯ÔºμÑ ¡Ô ÒÃàËÁ×ͧá˷ͧ¤íÒ” ¤ÇŒÒÃÒ§ÇÑŪ¹ÐàÅÔÈ THESIS OF THE YEAR AWARD 2015 ¤ÍÅÑÁ¹ ÃͺÃÑéÇ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ©ºÑº¹Õé¢Í¹íÒàʹÍâ¤Ã§¡ÒôÕæ ¢Í§Ç§¡ÒÃÃͺÃÑéÇ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÁÒàÅ‹ÒÊÙ‹¡Ñ¹¿˜§Íաઋ¹à¤Â ¡Ñºâ¤Ã§¡ÒûÃСǴÇÔ·ÂÒ¹Ô¾¹¸ ·Ò§ ʶһ˜μ¡ÃÃÁÈÒÊμà ´Õà´‹¹áË‹§»„ «Öè§â¤Ã§¡Òôѧ¡Å‹ÒÇ໚¹¡ÒûÃÐÊÒ¹ ¤ÇÒÁËÇÁÁ×͡ѹÃÐËNjҧʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒμ‹Ò§æ ã¹àªÔ§ÇÔªÒ¡Òà ¡ÅØÁ‹ ÊÒ¢Ò‹Í ʶһ˜μ¡ÃÃÁËÅÑ¡¨Ö§àËç¹¾ŒÍ§·Õ¨è ШѴ¡ÒûÃСǴÇÔ·ÂÒ¹Ô¾¹¸ ´àÕ ´‹¹áË‹§»„¢¹Öé ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ เป นการสร างเวทีสาํ หรับนักศึกษาแต ละสถาบัน ในเรือ่ งของ การจัดทําวิทยานิพนธ ให ได สัมฤทธิผ์ ล อีกทัง้ สร างให เกิดแรงกระตุน กับนักศึกษาทีจ่ ะทําวิทยานิพนธ ในป ตอ ไปให ผลิตผลงานให ทดี่ ยี งิ่ ขึน้ พร อมเป นแนวทางให กบั นักศึกษารุน ต อไปเพือ่ ส งเสริมความสัมพันธ และความร วมมือระหว างคณะสถาป ตยกรรมศาสตร แต ละสถาบัน ทั่วประเทศ ซึ่งเป นโครงการต อเนื่องประจําทุกป
ซึง่ สังคมไทยยังคงมีทศั นคติกบั “เหมืองแร ทองคํา” ว าเป นตัวการร าย ในการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ กระบวนการทําเหมืองนีไ้ ด กอ ให เกิด ข อวิพากษ ถกเถียงและนําไปสูข อ ขัดแย งในสังคมไทยมาเป นเวลานาน แม วา ในมุมหนึง่ “เหมืองแร ทองคํา” จะถูกอธิบายว าเป นเพียงกิจการ ทางอุตสาหกรรมเพือ่ ค นหาสายแร และสกัดแร ทองคํา แต กระบวนการ เพิ่มมูลค าให กับทองคํานี้กลับไม เคยนับรวมต นทุนทางสิ่งแวดล อม ที่สูญเสียไปจากการใช สารเคมีในกระบวนการสกัดแร ทองคํา ทั้งนี้ สําหรับโครงการ THESIS OF THE YEAR AWARD 2015 (รางวัล ผลกระทบจากกระบวนการดังกล าว ทําให พื้นที่เหมืองและบริเวณ วิ ท ยานิ พ นธ ดี เ ด น แห ง ป ส าขาภู มิ ส ถาป ต ยกรรม) นั้ น เป น ของ โดยรอบมีสภาพเสื่อมโทรมและปนเป อนสารพิษเป นระยะเวลานาน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซึ่งสร างความปลื้มป ติให มหาวิทยาลัย เป นอย างยิ่ง กับผลงาน พินิจ-พิพิธภัณฑ -สถานปฏิบัติการเหมือง แร ทองคํา (Gold Mining Operation Museum: Rethinking the Infrastructure of Modern Mining) ของนายศุภราช หวังจินดามณี (ฮัดเช ย) นักศึกษาคณะสถาป ตยกรรมศาสตร ภาควิชาภูมสิ ถาป ตยกรรม ชั้นป ที่ 5 นายศุภราชได เล าถึงวิทยานิพนธ ดเี ด นนีว้ า “วิทยานิพนธ นเี้ ป นความ พยายามที่จะถ ายทอดเรื่องราวกระบวนการทําเหมืองแร ทองคําผ าน การออกแบบและวางผังภูมิสถาป ตยกรรม รวมทั้งแสดงให เห็นถึง ความพยายามในการเยียวยาสภาพแวดล อมให กลับคืนสูส มดุลโดยเร็ว ทัง้ นีเ้ พือ่ สร างความเข าใจพืน้ ฐานของการเกิดกิจการเหมืองแร ทองคํา และยอมรับถึงความจําเป นในการเกิดอุตสาหกรรมเหมืองแร อันจะนํา ไปสูก ารลดข อขัดแย งจากการทําเหมืองแร ทองคําและการขอประทาน บัตรเพิ่มเติมในอนาคต
116
ป จจุบันเหมืองแร ทองคําจังหวัดพิจิตร เป นหนึ่งในสองเหมืองแร ทองคําที่ใหญ ที่สุดในประเทศไทย จากเป าหมายสําคัญในการลด ผลกระทบทางสิ่งแวดล อมอันเกิดขึ้นจากกระบวนการทําเหมืองแร เหมืองแห งนี้จึงได นําระบบการทําเหมืองแบบป ด (Zero Discharge Operation Process) จากโครงการต นแบบที่ประเทศนิวซีแลนด ซึ่งประสบความสําเร็จในการฟ นฟูเหมืองให กลับกลายมาเป นพื้นที่ สีเขียวในระยะเวลาเพียง 5 ป มาประยุกต ใช กับพื้นที่ในโครงการ ระบบการทําเหมืองแบบป ดนีน้ อกจากจะทําให การซึมผ านของสารพิษ ออกสู พื้นที่ภายนอกมีปริมาณน อยมากแล ว ยังเป นระบบที่มีความ มัน่ คงและได รบั การยอมรับอย างกว างขวางในวงการเหมืองแร อกี ด วย” วิทยานิพนธ ดงั กล าว มีความโดดเด นในด านการวิเคราะห คาดการณ การใช ประโยชน ทด่ี นิ และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต เนื่องจากพื้นที่เหมืองแร ทองคําแห งนี้มีระยะเวลาการประทานบัตรในช วงที่แตกต างกัน โดยฝ งใต จะเป นพื้นที่ที่เสร็จสิ้น กระบวนการก อนในป พ.ศ. 2557 และฝ ง เหนือยังต องดําเนินการต อไปอีกจนถึงป พ.ศ.2571 อย างไรก็ตามโรงงานซึง่ ตัง้ อยู ในฝ ง ใต ยงั คงต องใช งานต อไป การสรุปการใช ประโยชน ทด่ี นิ ในช วงป ตา งๆ จะช วยให ผอู อกแบบสามารถวางผังในตําแหน ง ที่ไม มีสารพิษอันตรายและเสนอแนะการบําบัดฟ นฟูพื้นที่ต างๆ ได อย างเหมาะสม โดยโครงการแบ งออกเป น 4 ส วน ตามลักษณะทางกายภาพและขัน้ ตอนการทําเหมืองประกอบด วย ส วนที่ 1 อยูใ นบริเวณ บ อเหมืองที่ป ดแล วและกลายมาเป นอ างเก็บน้ําในโครงการ ประกอบด วย อาคารต อนรับ พื้นที่นิทรรศการภายในอาคาร ซึ่งจัดแสดงขั้นตอนการทําเหมืองและความเป นมาของเหมืองแห งนี้ อาคารนี้ถูกออกแบบให ฝ งอยู ในผนังชั้นต างๆ ของ บ อเหมืองเพื่อให กลมกลืนกับสภาพแวดล อม ภายนอกประกอบด วย ระเบียงชมทิวทัศน ของบ อเหมือง ทางเดินไต ระดับ เลียบบ อเหมือง และประติมากรรมลอยตัวรูปแท งขุดเจาะเหมือง ส วนที่ 2 อยูใ นบริเวณหลุมเหมืองทีม่ ขี นาดลึกทีส่ ดุ ภายใน ห องจัดแสดงประติมากรรมลอยตัวรูปแท งขุดเจาะเหมือง ซึ่งแสดงปริมาณและตําแหน งของสายแร ที่ขุดค นใต ดินระดับ ชัน้ ต างๆ ทัง้ นี้ ทางเดินลาดเอียงไปสูห องจัดแสดงใต ดนิ ซึง่ เชือ่ มต อกับทางเดินเลียบบ อเหมือง จะช วยสร างประสบการณ การรับรูถ งึ ความพิเศษของพืน้ ทีเ่ หมืองในระดับต างๆ รวมทัง้ ได อรรถรสในการชมนิทรรศการมากขึน้ ส วนที่ 3 เป นทางลาด ไต ระดับบนกองมูลดินขนาดใหญ จนไปถึงจุดสูงสุด ซึ่งเป นจุดที่จะสามารถชมวิวโดยรอบของโครงการได ผู ชมจะได เห็น ความแตกต างของพืน้ ทีป่ ระเภทต างๆ ในเหมือง อันประกอบด วย พืน้ ทีธ่ รรมชาติดง้ั เดิม พืน้ ทีเ่ หมือง และพืน้ ทีท่ ถ่ี กู คืนสภาพ โดยความพยายามของมนุษย อีกทัง้ ยังได เห็นเส นทางปฏิบตั กิ ารลําเลียงกองหินและดินเข าสูโ รงงานอีกด วย และ ส วนที่ 4 เป นทางเดินรอบบ อกักเก็บไซยาไนด ซึ่งเป นบริเวณที่มีการบําบัดสารพิษโดยใช บ อพักและพืชบําบัด ซึ่งวิทยานิพนธ ดังกล าวเป นตัวอย างของการประยุกต ใช งานออกแบบภูมิทัศน และศิลปกรรมในการร อยเรื่องราวของพื้นที่ เหมืองในอดีตที่ยังอยู ในสภาพสมบูรณ กับป จจุบันที่อยู ในระหว างกระบวนการทําเหมืองไปสู อนาคตภายหลังการบําบัด ฟ น ฟูแล ว ผูช มจะได สมั ผัสบรรยากาศเหมืองหลากหลายรูปแบบผ านประสบการณ การสัมผัสกับพืน้ ทีจ่ ริง ซึง่ เป นสิง่ ทีห่ าได ยากยิง่ ในการเข าชมพิพธิ ภัณฑ เหมืองทองคํา ผูอ อกแบบมุง หวังว าโครงการนีจ้ ะช วยการสร างความน าเชือ่ ถือในการประกอบ กิจการเหมืองแร ทองคําในประเทศไทยและช วยสร างโอกาสสําหรับการขอประทานบัตรเพิ่มเติมในอนาคต เนื่องจากยังมี สินแร ปริมาณสํารองทองคําที่มีคุณค าในเชิงพาณิชย ที่ยังคงไม ได นําขึ้นมาใช อีกมากมาย ทั้งนี้นายศุภราชได กล าวทิ้งท ายถึงการชนะการประกวด THESIS OF THE YEAR AWARD 2015 ในครั้งนี้ด วยความ ภูมใิ จว า “เนือ่ งจากผมศึกษาค นคว าค อนข างหนักเพือ่ ทําความเข าใจเกีย่ วกับเหมืองทองคําให มากทีส่ ดุ โดยได ศกึ ษาค นคว า ทั้งจากประเทศและในประเทศ เพื่อนําเสนอออกมาให ผู คนเข าใจได ง าย ด วยการนําเสนอให คนได พินิจ ได คิดตาม ได เห็น พิพธิ ภัณฑ ทมี่ กี ารจัดการอยู (มีการทํางานจริง) เพือ่ ให เห็นภาพทีช่ ดั เจนจึงใช การสือ่ สารด วยงานศิลปะ เพือ่ สือ่ ความหมาย และกระตุ นให คนที่เข ามาชมเข าใจได ง าย และมีการนําแท นขุดเจาะมาโชว ให เห็น เพื่อสร างการรับรู ที่เข าใจได ง ายขึ้น และ ล าสุดก็มีเจ าของเหมืองหลายแห งเข ามาคุยและให ความสนใจด วย”
117
คณะสถาป ตยกรรมศาสตร 8 สถาบัน รับใบประกาศเกียรติคุณผลงานวิจัย ในมหกรรมงานวิจัยแห งชาติ 2558 ผู ช วยศาสตราจารย ดร.พีรศรี โพวาทอง เข ารับมอบใบประกาศเกียรติคุณจากการนําผลงานวิจัย เรื่อง “เส นทางวัฒนธรรมสองฝ งโขง : สถาป ตยกรรมที่ได รับอิทธิพลตะวันตก ตั้งแต เชียงรายและท าทราย จนถึงเมืองจําปาศักดิ์และอุบลราชธานี” โดยได รบั ทุนสนับสนุนการวิจยั จากสภาวิจยั แห งชาติ เข าร วมจัดแสดงนิทรรศการในงานมหกรรมงานวิจัยแห งชาติ 2558 โดยผลงานดังกล าวเป นผลงานทีศ่ าสตราจารย กิตติคณ ุ ผุสดี ทิพทัส พร อมคณาจารย จากคณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยแม โจ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยขอนแก น มหาวิทยาลัยวงษ ชวลิตกุล มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี และ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได ร วมกันนําเสนอผลงานในงานมหกรรมงานวิจยั แห งชาติ 2558 โครงการประกวด “นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม ในอุตสาหกรรมการบิน” ครั้งที่ 2
นักศึกษาสถาป ตย ฯ มหาวิทยาลัยแม โจ ร วมกับปูนซีเมนต นครหลวง ส งมอบศูนย เรียนรูภ มู พิ ญาบ าเก า จังหวัดลําพูน นักศึกษาคณะสถาป ตยกรรมศาสตร และการออกแบบสิง่ แวดล อม มหาวิทยาลัยแม โจ ร วมกับ บริษทั ปูนซีเมนต นครหลวง จํากัด (มหาชน) ส งมอบอาคาร “ศูนย เรียนรูภ มู พิ ญาบ าเก า” ณ โรงเรียนบ านศาลา แม ทาและวัดทาศาลา ต.ทาสบเส า อ.แม ทา จ.ลําพูน ให เป น สาธารณประโยชน สําหรับชุมชนบ านแม ทา โดยอาคารศูนย เรียนรู หลังนี้เป นผลงานการออกแบบและก อสร าง โดยนักศึกษาคณะ สถาป ตยกรรมศาสตร ฯ มหาวิทยาลัยแม โจ ในโครงการสถาบัน อินทรีสร างสรรค ที่สนับสนุนให นิสิตได เรียนรู จากประสบการณ ออกแบบและก อสร างจริงด วยตนเอง
118
บริษทั การบินไทย จํากัด (มหาชน) ร วมกับ บริษทั แอร บสั อินดัสตรี ขอเชิญชวนนิสติ นักศึกษา ส งผลงานเข าร วม การประกวด “นวั ต กรรมเพื่ อ สิ่ ง แวดล อ มใน อุตสาหกรรมการบิน” ครั้งที่ 2 : TG Travel Green Innovation #2 โดยแบ งเป น 3 ประเภท ได แก 1. การออกแบบทางวิศวกรรมสําหรับอากาศยานเพื่อการพาณิชย Engineering Design for the Commercial Aircraft 2. การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละสิ่ ง อํ า นวยความสะดวกภายใน อากาศยานเพือ่ การพาณิชย Product and Facilitating Convenience Design in the Aircraft 3. การออกแบบการบริการในธุรกิจสายการบิน Service Provision Design for Airline Business เพือ่ ชิงบัตรโดยสารเครือ่ งบิน พร อมทัศนศึกษาโรงงานผลิตเครือ่ งบิน บริษทั แอร บสั ฯ สาธารณรัฐฝรัง่ เศส และประกาศนียบัตร โดยกําหนด รับสมัครพร อมส งแนวคิดผลงานได ตั้งแต วันนี้ - 31 ตุลาคม 2558 ผู สนใจสามารถสมัครได ที่ www.thaiairways.com/tginnovation หรือสอบถามเพิม่ เติมได ท่ี คุณรืน่ ฤดี เอีย่ มจันทร ฝ ายภาพลักษณ องค กรฯ บริษัทการบินไทย จํากัด (มหาชน) โทร. 0-2545-4578 email: tgcsr@thaiairways.com
กรมโยธาธิการและผังเมือง ร วมสัมมนาวิชาการด านสถาป ตยกรรม ครัง้ ที่ 8 ข าราชการและพนักงานกรมโยธาธิการและผังเมือง จํานวน 30 คน ได เข าร วมอบรมวิชาการครัง้ ที่ 8 ในเรือ่ ง “ทีม่ าของสถาป ตยกรรมวันนี้ และซี เ มนต ์ ข าวในงานออกแบบสถาปั ต ยกรรม” ซึ ่ ง จั ด ขึ ้ น โดย คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย โดยได รบั เกียรติจาก อาจารย ชยั บูรณ ศิรธิ นะวัฒน วิทยากรจากบริษทั ปูนซิเมนต ไทย จํากัด ร วมให ความรู ความเข าใจในเรื่องการออกแบบสถาป ตยกรรม และ เทคนิคตกแต งพื้นและผนังในรูปแบบต างๆ
สมาคมอาคารชุดไทย คว ารางวัล “สมาคมการค าดีเด น ประจําป 2558” นายประเสริฐ แต ดลุ ยสาธิต นายกสมาคมอาคารชุดไทย เข ารับรางวัล “สมาคมการค าดีเด น ประจําป 2558” จากนางสาวชุตมิ า บุณยประภัศร ปลัดกระทรวงพาณิชย ในการประกวดสมาคมการค าดีเด น พร อมกันนี้ ยังได รบั รางวัล “ผูบ ริหารสมาคมการค าดีเด น” ในฐานะนายกสมาคม อาคารชุดไทย รวมทัง้ สิน้ 2 รางวัล สะท อนถึงศักยภาพและความสามารถ ในการบริหารจัดการงานสมาคมอาคารชุดไทยที่เป นเลิศ อนึ่งรางวัล สมาคมการค าดีเด นจัดโดยกรมพัฒนาธุรกิจการค าและสภาหอการค า แห งประเทศไทย เพื่อเชิดชูเกียรติสมาคมการค าดีเด นในการสร าง ต นแบบสมาคมการค าไทยสู เกณฑ มาตรฐานสากล
กลุ มอุตสาหกรรมเฟอร นิเจอร ฯ จับมือ สมาคมอุตสาหกรรม เครื่องเรือนไทย จัดงาน “TFIC Furniture Outlet 2015” นายไชยยงค พงษ สุทธิมนัส ประธานกลุ มอุตสาหกรรมเฟอร นิเจอร สภาอุตสาหกรรมแห งประเทศไทย พร อมด วย นายอารักษ สุขสวัสดิ์ นายกสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย ร วมกันจัดงาน “TFIC Furniture Outlet 2015” ณ Hall 1-4 อิม แพค เมืองทองธานี ซึ่งมีผู ส งออกและผู ผลิตเฟอร นิเจอร โรงงานตัวจริงกว า 100 บริษัท ขนทัพเฟอร นเิ จอร แบรนด ชน้ั นําคุณภาพดีมาให เลือกซือ้ ในราคาโรงงาน พร อมสิทธิพิเศษต างๆ อีกมากมาย เมื่อวันที่ 23-27 กันยายน 2558 ที่ผ านมา
120
วิศวกรรมสถานฯ จัดแข งขันวิง่ มินมิ าราธอน ในวาระครบ 6 รอบ 72 ป วิศวกรรมสถานแห งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ขอเชิญชวนวิศวกร และผูร กั สุขภาพทีส่ นใจ เข าร วมในการแข งขันวิง่ มินมิ าราธอน ชิงถ วย พระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนือ่ งใน วาระครบ 72 ป ของ วสท. ณ สวนหลวง ร.9 ในวันอาทิตย ท่ี 8 พฤศจิกายน 2558 โดยการแข งขันมีให เลือก 3 ระยะ แบ งเป น 12 กิโลเมตร 6 กิโลเมตร และ FUNRUN 3 กิโลเมตร เป ดรับจํากัดทุกระยะวิง่ รวมเพียง 2,000 ท าน เท านัน้
ผูส นใจสามารถสอบถามเพิม่ เติมได ท่ี Refill Marathon (Organized) โทร. 0-2678-3712, 086-339-3020 หรือ Inbox สอบถามโดยตรงที่ EIT mini Marathon Fanpage : https://www.facebook.com/pages/ EIT-mini-Marathon/1609769399277260?fref=ts
สมาคมนายหน ้าอสังหาริมทรัพย ์ไทย จัดอบรมจรรยาบรรณ นายหน าอสังหาฯ ใหม นายแพทย สมศักดิ์ มุนพี รี ะกุล นายกสมาคมนายหน าอสังหาริมทรัพย ไทย พร อมด วยกรรมการสมาคมฯ ให การต อนรับสมาชิกใหม นายหน า อสังหาริมทรัพย ทั้งนี้ เป นการเป ดโอกาสให นายหน าทั้งบุคคล ธรรมดาและนิติบุคคลเข าพบคณะกรรมการเพื่อพิจารณาการเป น สมาชิกของสมาคมนายหน าอสังหาริมทรัพย ไทย และอบรมเพื่อ เรียนรู ขั้นตอนการทํางานที่เป นไปตามกฎระเบียบและจรรยาบรรณ ของสมาคมฯ สมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดโครงการประกวด “รางวัลอนุรักษ ศิลปสถาป ตยกรรม ประจําป 2559” สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ ขอเชิญผูท ส่ี นใจส งรายชือ่ และข อมูลอาคาร ชุมชน บุคคล องค กร เพือ่ พิจารณาโครงการ “รางวัล อนุรักษ ศิลปสถาป ตยกรรม ประจําป 2559” เพื่อเข ารับพระราชทาน รางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี แบ งเป น 3 ประเภท ได แก 1. อาคาร 2. ชุมชน และ 3. บุคคลหรือองค กร โดยกําหนดให ส งผลงานได ตั้งแต วันนี้ - 30 ตุลาคม 2558 ผู สนใจสามารถสอบถามข อมูลเพิ่มเติมได ที่ คุณกัลยาพร จงไพศาล เจ าหน าที่ประสานงานรางวัลอนุรักษ ศิลปสถาป ตยกรรม โทร. 0-2319-6555 ต อ 107 Email : ann001_design@hotmail.com และดาวน โหลดรายละเอียดโครงเพิ่มเติมได ที่ www.asa.or.th หรือ facebook : asafanpage 121
LED Omni เป นหลอดไฟแอลอีดีขั้วเกลียว E27 แบบใหม ดีไซน เฉพาะของจีอี โดยครีบรอบตัวหลอดจะช วยกระจายแสง ที่ส องออกมา ให มีองศาของแสงที่กว างขึ้น สามารถนํา ไปใช งานแทนหลอดไส หรือหลอดประหยัดไฟขัว้ เกลียวได ทันที และสามารถหรีแ่ สงได เหมาะสําหรับการใช งานกับ โคมไฟตัง้ โต ะ ในสถานทีห่ ลากหลาย ทัง้ บ าน ร านอาหาร หรือโรงแรม เป นต น GE LIGHTING (THAILAND) CO.,LTD. ขอเชิญสัมผัสได ทง่ี านสถาปนิกอีสาน ’58 Booth B03
เฟอร นิเจอร แชร เมคเกอร รับผลิตเฟอร นเิ จอร สงั่ ทําตามแบบมากว า 10 ป รับผลิตเฟอร นิเจอร คุณภาพดี คงทน ผลิตได ทั้ง เฟอร นิเจอร เหล็ก ไม อลูมิเนียม สแตนเลส ตามดีไซน สําหรับโครงการโรงแรม คอนโดมิเนียม ร านอาหาร มหาวิทยาลัย โรงเรียน โรงพยาบาล บริษัท แชร เมคเกอร จํากัด www.chair-maker.com
Flexi อุปกรณ แขวนเครือ่ งมือช างทีไ่ ด รบั รางวัลการออกแบบดีเด น Design Excellence Award 2014 (Denmark) ประจําป 2557 จากกระทรวงพาณิชย เป นชุดอุปกรณ ทอี่ อกแบบและพัฒนา อย างพิถีพิถัน โดย Product Designer ประสบการณ สูง ทุกชิน้ ผ านทดสอบการรับแรงกดสูงสุด (AG-15 100 KN) จากสถาบันยานยนต แห งประเทศไทย JENBUNJERD CO.,LTD. www.jenbunjerd.com
ปูนฉาบรอยต อสูตรพิเศษ K Joint เป นผลิตภัณฑ ใหม ลา สุดด วยเทคโนโลยีการผลิตภายใต มาตรฐานเยอรมัน ใช สาํ หรับงานฉาบรอยต อแผ นยิปซัม งานฉาบป ดหัวสกรู ตลอดจนงานซ อมแซมรอยชํารุดบน พืน้ ผิวระบบงานยิปซัมทุกประเภท เพือ่ การตกแต งผิวให เรียบ ก อนทาสีหรือติดวอลล เปเปอร โดยใช เนือ้ ปูนในการผสม ทีน่ อ ยกว าเพียง 2 : 1 เท า เนือ้ ปูนมีคณ ุ ภาพสูง ฉาบง าย เรียบเนียน ช วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน KNAUF GYPSUM (THAILAND) LTD.
วัสดุปูพื้นไวนิล LG Hausys เป นวัสดุปพู นื้ ไวนิลคุณภาพสูงนําเข าจากประเทศเกาหลี มีลกั ษณะเป นแบบม วน ง ายต อการติดตัง้ ไม ตอ งใช กาว ในการติดตั้ง สามารถติดตั้งได ด วยตนเอง ทําความ สะอาดง า ยเนื่ อ งจากผิ ว หน า เคลื อ บ Easy Clean UV ไม กลัวความชื้น ไม เกิดเชื้อรา ใช งานได ยาวนาน สีสัน ลวดลาย สวยงาม เหมาะกับบ านพักอาศัยทั่วไป คอนโดมิเนียม ห องชุด อาคาร สํานักงาน ร านค าต างๆ หรือแม กระทั่งปูบนรถตู โดยสารก็สามารถใช งานได บริษัท เอ็น อาร ดี ซี จํากัด
เน็คท -วู ด นวัตกรรมพื้นไม เทียม ผลิตด วยเทคโนโลยี “พลัสโปรเทค” จากสหรัฐอเมริกา ที่เคลือบผิวรอบทั้ง 4 ด าน เพื่อเพิ่ม ความแข็งแกร งจากภายนอก ป องกันการขูดขีดและรังสียูวี ได ดี สีไม ซีดจาง ให ผิวสัมผัสที่เป นธรรมชาติไม เหมือนใคร เนื้อวัสดุชั้นในทนทาน ไม ซึมน้ํา ทนต อแสงแดด ไม เปราะ แตกง าย SIAM DECO WORK CO.,LTD.
โรงจอดรถ รุ น Pro-Flex โรงจอดรถอลูมเิ นียมดีไซน เรียบเท ห มีคณ ุ ภาพสูง ปลอดสนิม ตลอดอายุการใช งาน ประกอบจาก 3 โครงสร างหลัก เสา คาน และหลังคา ด วยระบบ interlock เพื่อเพิ่มความแข็ง แรงทนทานต อแรงลม ฝน ทุกสภาพภูมิอากาศ อิสระ ในการปรับขนาดองศา และทิศทางของหลังคาให เข ากับ บ านหรืออาคารที่มีข อจํากัดแตกต างกัน วัสดุมุงหลังคา ผลิ ต จากเรซิ น แท 100% แผ น โพลี ค าร บ อเนตตั น มาตรฐานเยอรมันนี กรองความร อนและ UV สูงสุด ถึง 90% THAI METAL CO.,LTD.
ผ าม านห องน้ํา เป นผูผ ลิตผ าม านห องน้าํ ชัน้ นําด วยคุณภาพสูง สวยทันสมัย รวมถึงแบบและลายทีม่ ใี ห เลือกมากมายทัง้ พลาสติกและ เนือ้ ผ าต างๆ ทัง้ ราวแขวน ผ าม านสําเร็จรูป พรมยางพีวซี ี กันลืน่ ฝ กบัวอาบน้าํ ฉีดชําระก อกน้าํ อ างล างมือ ตูอ าบน้าํ ตะแกรงชั้นวางในครัว/ห องน้ํา และชุดตกแต งห องน้ํา ต างๆ THAI WELLTEX INTERPRODUCTS CO.,LTD. www.wspbath.com
มุ งกันยุงกันแมลงและอุปกรณ บังแดด วินเดคคอร เป นผู นําด านมุ งกันยุงกันแมลงและอุปกรณ บังแดดภายนอก-ภายในบ านและอาคารสํานักงาน สําหรับ ลูกค าที่กําลังสร างและตกแต งบ าน ตลอดจนนักออกแบบ มัณฑนากร และสถาปนิก ด วยความโดดเด นของบริการ ที่ครบวงจร เพื่ออํานวยความสะดวก และประหยัดเวลา ให กับลูกค า ภายใต คอนเซ็ปต “The Window Covering Products Companay” ด วยประสบการณ การทํางานที่ มากกว า 20 ป บริษัท วินเดคคอร จํากัด
122
เก าอี้เพื่อสุขภาพ Officeintrend รุ น Dual เป นเก าอี้สํานักงานเพื่อสุขภาพจาก OfficeIntrend ผลิตที่ประเทศเกาหลี ได รับการออกแบบตามหลักการ Ergonomic ให เหมาะสําหรับคนทีน่ ง่ั ทํางาน/อ านหนังสือ เป นเวลานาน เพื่อช วยลดป ญหาเรื่องปวดเอวและหลัง ขณะนัง่ ทํางาน/อ านหนังสือ ทีไ่ ม ถงึ ชัว่ โมงก็เริม่ ปวดหลัง ไม มสี มาธิขณะนัง่ ทํางาน หรืออ านหนังสือเพราะปวดหลัง MP Synergy Co.,Ltd.
แผ นกั้นเสียงอะคริลิคโปร งใส PLEXIGLAS® แผ นกั้นเสียงอะคริลิคโปร งใส PLEXIGLAS® สวย ทนทาน ทนแรงกระแทกสูง ลดเสียง ได อย างมีประสิทธิภาพ เสริมไนล อนป องกันอันตรายจากการตกหล น รับประกันไม เหลือง EVONIK (THAILAND) CO.,LTD.
ตู ไซด บอร ดเตี้ย PRIME-SB 180 เป นตู ที่มีขนาดกว าง 1800 x ลึก 400 x สูง 850 มม. ประกอบด วยแผ นท อปตู ไม MDF.Board หนา 25 มม. ด า นบนป ด และขอบป ด ด ว ยแผ น High Pressure Laminate พ นสี Polyester ขัดผิวเงา ส วนด านล างพ นสีดาํ ชนิดผิวด าน เจาะช องร อยสายไฟ ไม มีขนแปรง บานผับ เป นแบบลูกถ วย 35 มม. พร อมกลอนล็อคอัตโนมัติ กุญแจบานเป ดเป นแบบล็อคด านหน าพร อมกลอนล็อค บานประตูทําจากโลหะ ขารองตู เป นไม MDF. Board หนา 19 มม. พ นสี Polyester [PE] ชนิดสีด าน บริษัท เพอร เฟ คท ออฟฟ ศ เฟอร นิเจอร จํากัด
ฟ ล มกรองแสง Generation || เป นการคิดค นสารเคลือบกระจก 10 ชัน้ ของ IQUE 53G II ซึง่ เป นทีห่ นึง่ และผู นาํ ของโลกที่ได พฒ ั นามากกว า 10 ป โดย Dr.Gene Woodard นักวิทยาศาสตร ที่มีความ เชี่ยวชาญเรื่องฟ ล มกรองแสงโดยเฉพาะ ที่คิดค นฟ ล ม ติดกระจก 10 ชั้น ที่ป องกันการแตกกระจายของกระจก ได เป นอย างดี เหมาะสําหรับผูใ ช ทต่ี อ งการเพิม่ ความทันสมัย ให กับบ านหรืออาคาร ทั้งยังให แสงส องผ านอย างเป น ธรรมชาติ V-KOOL Corporation Thai Co.,Ltd. www.v-koolcorp.com
SOLID SURFACE BASIN อ า งล า งหน า หิ น สั ง เคราะห Charmer เอกลั ก ษณ เฉพาะตัวชั้นเลิศ สําหรับผู ชื่นชอบห องน้ําที่มีรูปลักษณ ไม เหมือนใคร ดีไซน เรียบหรู เสริมบรรยากาศสร าง จินตนาการอย างไร ขอบเขต ผลิตจากวัสดุหนิ สังเคราะห ที่ผ านกระบวนการผลิตคุณภาพสูง จึงให ความทนทาน ตลอดอายุการใช งาน บริษัท ชาร มเมอร ซานิทารีแวร จํากัด www.charmer.co.th
ชุดป มน้ําเพิ่มแรงดันถังทรงตั้ง เป นป มน้ําที่มีประสิทธิภาพสูง ใช เพิ่มแรงดันน้ําภายใน บ านเรือนทีพ่ กั อาศัย ห องชุด โฮมออฟฟ ศ อพาร ทเม นท คลับเฮ าส สปาทีต่ อ งการใช นา้ํ ปริมาณมากๆ เสียงเงียบ ตู ควบคุมป มและ Pressure Switch คุณภาพสูง ใช ถัง แรงดันขนาดใหญ เพื่อช วยลดความถี่ในการทํางานของ มอเตอร จึงช วยให ประหยัดพลังงาน Low Pressure Sensor จะช วยตัดการทํางานเมื่อไม มีน้ําในระบบเพื่อ ป องกันความเสียหายที่อาจเกิดกับตัวป ม บริษัท ซูโมโต คอร ปอเรชั่น จํากัด www.sumotocorp.com
Innovative Steam Cabin ฉากกั้นอาบน้ําและตู สตีมไอน้ํามัลติฟ งค ชั่น โดยระบบ ควบคุ ม ตู ส ตี ม ไอน้ํ า สามารถปรั บ เปลี่ ย นอุ ณ ภู มิ ไ ด ต าม ความต องการ มีระบบการบําบัดด วยแสงทีส่ ามารถเปลีย่ น ได 256 เฉดสี พร อมโปรแกรมแสงโทนร อน-โทนเย็น สําหรับระบบมาสซาจเจ็ท จําเป นต องใช แรงดันน้าํ ไม ตาํ่ กว า 3 บาร มีขนาด 105 * 105 * 225 ซม. มีทวี่ างเท านวดบําบัด ปลายเท าโดยเฉพาะ พร อมรับประกัน shower screen 3 ป BATHROOM DESIGN CO.,LTD. www.bathroomtomorrow.com
ถังเก็บน้ําบนดินไฟเบอร กลาส D-TANK ถังเก็บน้ําไฟเบอร กลาสรุ นพิเศษ ราคาประหยัด รูปลักษณ เข า กั บ ทุ ก สถาป ต ยกรรม แข็ ง แรงทนทาน ทนต อ การ กัดกร อน ทําความสะอาดง าย ปราศจากสารที่ก อให เกิด สนิม ปลอดภัย เหมาะสําหรับการบรรจุน้ําดื่มเพื่อบริโภค มีให เลือกทั้งแบบทรงถ วยและทรงแอปเป ล ตัวถังเหมาะ สําหรับอาคาร สํานักงาน โรงงานอุตสาหกรรม บริษัท พรีเมียร โพรดักส จํากัด (มหาชน) www.premier-products.co.th
123
ชุดครัว Hood ผลิตจากวัสดุสเตนเลสคุณภาพสูง ลดป ญหาการผุพัง ของพื้ น ผิ ว และความชื้ น ที่ ก อ ให เ กิ ด การสะสมคราบ สกปรกฝ งแน น ดูแลรักษาและทําความสะอาดง าย มีความ แข็งแรงทนทาน โดดเด น สวยงาม มีเอกลักษณ เฉพาะตัว สามารถออกแบบได ทงั้ โมเดิรน และร วมสมัย ตอบโจทย ทุกประเภทงานครัว และตอบสนองทุกไลฟ สไตล ได อย างลงตัว บริษัท มักกะสันสเตนเลสสตีล จํากัด www.hooth.co.th
Paster Wall Paint งานศิลปะบนพื้นผนังที่สร างสีสัน ลวดลาย และพื้นผิวที่ เป นเอกลักษณ เปรียบประดุจศิลปะชิ้นเอก ป จจุบันเป น ทีน่ ยิ มกันอย างแพร หลายมากขึน้ ตามบ านเรือน โรงแรม ร านอาหาร คอนโด หรือแม แต อาคารสํานักงานแบบโมเดิรน ทีต่ อ งการการตกแต งผนังทีม่ สี ไตล และแสดงถึงรสนิยม ของเจ าของบ าน บริษัท ยูโร วอล เดคคอร จํากัด www.eurowalldecor.co.th
ปลั๊กจ ายไฟฟ านิรภัย DATA i Series ได รับการพัฒนาให มี USB แบบ 2 แอมป สําหรับใช ชาร จ แบตเตอรี่ โทรศัพท มือถือแท็บเล็ต และแก็ดเจ็ตต างๆ พร อมม านนิรภัยเพิม่ ความปลอดภัยสําหรับเด็ก สวิตซ เป น แบบอัจฉริยะสามารถตัดไฟได อัตโนมัติเมื่อมีการลัดวงจร หรือกระแสไฟฟ าเกิน เต ารับแบบ Universal socket สามารถรองรับเต าเสียบได ทั่วโลก วัสดุใช ทองเหลืองแท 100% มีให เลือก 2 รุน ได แก รุน WL 122i USB ยาว 2 หลา และรุ น WL 15i USB ยาว 3 หลา บริษัท ดาต า เพาเวอร จํากัด
Grohtherm 1000 New นวัตกรรมวาล วผสม และปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ หรือ เทอร โมสตัทรุน ใหม ลา สุด ดีไซน เรียบหรู ทันสมัย จับแล ว ไม ร อน และจับได ถนัดมือแม มือเป ยกน้ําหรือเป อนสบู ก านจับประกอบด วยปุ มกดนิรภัย SafeStop ช วยล็อค การปรับอุณหภูมิไม ให สูงกว า 38๐C และรักษาอุณหภูมิ ของน้ําให คงที่ตลอดระยะเวลาการอาบน้ํา และที่สําคัญ ก านจับยังมีปมุ ประหยัดพลังงาน EcoButton ทีช่ ว ยลด ปริมาณการไหลของน้ําได ถึง 50% Grohtherm บริษัท โกรเฮ (ประเทศไทย) จํากัด
เก าอี้ LEIFARNE เป นเก าอี้คอลเล็คชั่นที่ให คุณสนุกกับการ “มิกซ แอนด แมตช ” ทั้งแบบและสีเก าอี้ ให ลงตัวกับเฟอร นิเจอร ชิ้นอื่นๆ ในสไตล ที่ชื่นชอบ ทั้งที่บ าน ออฟฟ ศ หรือ อพาร ตเมนต มี 3 สี ได แก สีฟา อ อน สีไม เบิรช และสีขาว ทีน่ งั่ มีให เลือกถึง 3 แบบ ตามความชอบ แถมยังมีโครง เก าอี้ให เลือกได จุใจถึง 9 แบบ คุณจึงสามารถออกแบบ เก าอี้ในฝ นที่เข ากับทุกมุมห องได เองง ายๆ อิเกีย ประเทศไทย www.IKEA.co.th
Sectional Garage Door ประตูโรงรถอัตโนมัตินําเข าจากประเทศเยอรมัน เป ด/ป ด โดยรี โ มทหรื อ สวิ ต ซ สามารถเลื อ กสี แ ละลายบาน ประตู ไ ด ห ลากหลายรู ป แบบ ทํ า ให โ รงจอดรถของคุ ณ ดูโดดเด น ทันสมัย และมีความปลอดภัยสูง AUTOGATE TECHNOLOGY CO.,LTD. www.autogatetechnology.com
ม านกั้นห องกันแอร ผลิตจากไม ไผ ที่ผ านกรรมวิธีป องกันมอด สามารถแบ ง สัดส วนพืน้ ทีใ่ ช สอยตามประโยชน การใช งาน มีลวดลาย ให เลือกสรรมากกว า 30 ลาย FASTTECHNO CO.,LTD. www.fasttechno.com
เครือ่ งสร างระดับด วยเลเซอร Leica LINO รุน L2G+ เป นนวัตกรรมใหม ของทาง Leica มาพร อมเลเซอร แสง สีเขียว ทําให สามารถมองเห็นได ชัดเจน ทั้งในที่มืดและ ในทีส่ ว าง มุมกว างของเลเซอร ได ถงึ 180 องศา สามารถสร าง ระดับได ทั้งแนวตั้งและแนวนอน สามารถล็อคเลเซอร เพือ่ ปรับใช มมุ เอียง มาพร อมบรรจุภณ ั ฑ 2 แบบให เลือก มีทั้ง Pro Case และ Standard Case SPRINGBOX
Softlon® เป น งานวั ส ดุ ปู พื้ น ที่ ใ ช เ ทคนิ ค และการเล็ ง เห็ น งานที่ มี คุณภาพสูง มีโครงสร างเป นแบบผิวป ด และมีการเชื่อมต อ เป นร างแหเพื่อความแข็งแรง มีผิวเรียบเนียนทั้งสองด าน เป นแบบม วน โดยสามารถตอบสนอง 3 หน าทีส่ าํ คัญ ได แก ดูดซับความเรียบของรอยต องานพืน้ ป องกันไอน้าํ และเป น ฉนวนกันเสียงจากการกระแทก บริษัท ไทย เซกิซุย โฟม จํากัด
124
อุปกรณ ต อพ วงสําหรับเครื่องจักร เป นอุปกรณ ต อพ วงสําหรับเครื่องจักรทั่วไป ที่รู จักกัน โดยทั่วไปคือ “ปลั๊กเหลี่ยม” มีตั้งแต ขนาด 4-48 Pins ขึ้นอยู กับการใช งานของเครื่องจักรแต ละประเภท TITANENGINEERING CO.,LTD.
พื้นไม สักจริงสําเร็จรูป Bluehouse Flooring ผลิตจากไม สัก หน ากว าง 6 นิ้ว ยาว 1.00 เมตร อบไล ความชื้นแล วติดตั้งด วย Click Lock ทําสีจากโรงงาน ด วยระบบ UV-Coating ติดตัง้ เองได งา ยด วยระบบแห ง ไม มีสี ไม มีฝุ น ไม มีกลิ่น ทนทานเท าอายุไม บริษัท บลูเฮาส จํากัด www.bluehouse.co.th
KITS Showcase LCD เทคโนโลยีจอ LCD ใส ที่แสดงความคมชัดของภาพระดับ HD ทําให ภาพสีสันสดใส สะดุดตา เสมือนจริง จุดเด นคือ สามารถแสดงสินค าจริงทีด่ า นหลัง พร อมแสดงโฆษณาหรือ Digital Content ของสินค าทีจ่ อ LCD ด านหน าในเวลาเดียวกัน KIT SOLUTION AND TECHNOLOGY CO.,LTD.
Fiber Optic Light สายไฟเบอร ออฟติกไล ท ใช ตดิ ตัง้ ในสระน้าํ ฝ าเพดาน ทางเดิน ห องดูหนังฟ งเพลง สร างบรรยากาศเสมือนอยูใ นท องฟ าทีม่ ี ดวงดวงระยิบระยับ ทัง้ ในน้าํ และฝ าเพดาน ให ความรูส กึ ฟ นๆ ชิวๆ ในทุกมุมโปรดของบ าน จึงเหมาะสําหรับ ต อนรับกลุ มเพื่อนๆ เมื่อจัดงานปาตี้ตามแบบฉบับของ คุณทีไ่ ม เหมือนใคร TWO Y LIGHTING CO.,LTD.
Silvan (BLACK & WHITE) เป นโคมไฟทีเ่ รียบหรู เกิดจากการผสมผสานวัสดุ 2 ชนิด เข าไว ด วยกันอย างลงตัวคือ เหล็กทําสี และคริสตัลที่ ส องประกายระยิบระยับอยู ตรงกลางเป นรูปวงแหวน นอกจากนี้คริสตัลยังช วยให แสงสว างจากหลอด LED ไม แยงตาอีกด วย LIGHTING HOUSE (THONGLOR) CO.,LTD.
บัวประดับฝ าเพดาน Cornice Mouldings บัวประดับฝ าเพดานโพลียรู เี ทน “โพลีเดค” มีลวดลายทีค่ มชัด สามารถทําสีได ทุกประเภท น้ําหนักเบา ติดตั้งง ายใช ได ทั้ง ภายในและภายนอก ทนทุกสภาพอากาศ หมดป ญหาเรื่อง ปลวกและแมลง บริษัท ไทย ยูเนี่ยน พี.ยู. จํากัด www.polydec.co.th
หลอดไฟ LED ThinkLite เป นผู นําด านเทคโนโลยีหลอดไฟ LED จาก ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยได ร วมมือกับ SAMSUNG ในการพัฒนาและผลิต LED Chips ลิขสิทธิ์เฉพาะเรา ด วยคุณภาพที่รับประกันความสว างที่สม่ําเสมอตลอด 50,000 ชั่วโมง แสงลดลงไม เกิน 5% คุ มค าทุกบาท ประหยัดตั้งแต เริ่มใช งาน THINKLITE (THAILAND) CO.,LTD.
ORBOT นวัตกรรมใหม ที่ปฏิวัติวงการทําความสะอาดพื้น ด วย เทคโนโลยีการรวม 2 ระบบ Orbital ทีห่ มุน 1725 รอบตัว และขยับตัวรอบแกนแบบ Rotational ที่ 80 รอบต อนาที สะดวก สะอาด ประหยัด และรักษ สภาพแวดล อม ด วยเสียง และฝุน ควันทีน่ อ ยลง และใช นาํ้ และสารเคมีเพียงเล็กน อย มีขนาดกะทัดรัด ผ อนแรงในการใช และพับเก็บได สะดวก WAP SYSTEM CO.,LTD.
LED HIGHBAY JENKO ไฟ LED สําหรับส องสว างจากที่สูงมาตรฐาน CE Rosh หลอด Cree chip และ Meanwell Driver สําหรับงาน Project ทีต่ อ งการความแน นอนสูง เหมาะสําหรับส องสว าง ภายในอาคาร ไฟโรงงาน ไฟโกดังเก็บสินค ามีให เลือกทั้ง กําลังไฟขนาด 100w, 150w และ 200w บริษัท แอลอีดี ออนโฮม เทรดดิ้ง จํากัด www.ledonhome.com
125
ดาร วิดฯ เซ็นสัญญาบริหารงานขายโครงการ “บ านรัก 9 คลอง 9-หนองจอก”
ออริจิ้นฯ ชวนลูกค าโครงการบีลอฟท สุขุมวิท 109 ร วมทริป “เยือนกรุงเก า-อยุธยา”
ดรุณี รุง เรืองผล กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ดาร วดิ พร อพเพอร ต้ี เซอร วสิ จํากัด รับมอบสัญญาแต งตั้งให เป นผู บริหารงานขายกับ ศุกร ชัย ไอศูรย พิศาลศิริ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท มีนทอง จํากัด ผูด าํ เนินโครงการ “บ านรัก 9 คลอง 9-หนองจอก” บ านเดีย่ วพร อมอยู บนที่ดิน 76 ตารางวา พื้นที่ใช สอย 130 ตารางเมตร ราคาเริ่มต น 3.24 ล านบาท เน นการออกแบบในสไตล หรูหรา บนทําเลที่สามารถ เดินทางเข าสู ใจกลางเมืองได สะดวกสบาย
กันต นริศย บุณยหิรญ ั กุล ผูจ ดั การแผนกลูกค าสัมพันธ บริษทั ออริจน้ิ พร็อพเพอร ตี้ จํากัด (มหาชน) หรือ (ORI) จัดทริป “อิ่มบุญ อิ่มสุข อิ่มใจ เยือนกรุงเก า-อยุธยา” พาลูกบ านโครงการบีลอฟท สุขุมวิท 109 กว า 60 ท าน ร วมท องเที่ยวทําบุญไหว พระ และสัมผัส ประสบการณ เที่ยวกรุงเก า จ.พระนครศรีอยุธยา เพื่อสร างความ สัมพันธ อันดีกับลูกค า ตามโครงการ “Origin Family” ท ามกลาง บรรยากาศอบอุ นเป นกันเอง
ยิปรอคฯ ร วมยินดีกับเมกา โฮม ฉลองเป ดสาขาที่ 6 มีนบุรี
สัมมากรฯ มอบแพ็กเกจท องเทีย่ วให ลกู บ านสัมมากร เอสเก า คอนโดมิเนียม
ปธพัฒน ถือสัตย ผูจ ดั การฝ ายขาย บริษทั ไทยผลิตภัณฑ ยบิ ซัม่ จํากัด (มหาชน) ผูผ ลิตนวัตกรรมยิปซัมคุณภาพสูง ภายใต แบรนด “ยิปรอค” ร วมแสดงความยินดีกับ อนันต อัศวโภคิน ประธานกรรมการ บริษัท โฮม โปรดักส เซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) พร อมด วย อนุชา จิตจาตุรนั ต กรรมการผู จัดการ และ สุพรศรี นาคธนสุกาญจน ผู อํานวยการฝ าย ปฏิบัติการและบริหารกลุ มสินค าและส วนราชการ บริษัท เมกา โฮม เซ็นเตอร จํากัด เนื่องในโอกาสฉลองเป ดสาขาที่ 6 เมกา โฮม สาขา มีนบุรี 126
กิตติพล ปราโมช ณ อยุธยา กรรมการผูจ ดั การ บริษทั สัมมากร จํากัด (มหาชน) มอบรางวัลแพ็กเกจท องเทีย่ วกรุงเทพฯ-ภูเก็ต บัตรโดยสาร สายการบินไทย พร อมห องพัก Renaissance Phuket Resort & Spa 3 วัน 2 คืน ให กบั อังคณา วิรนนท ผูโ ชคดีในกิจกรรม Like&Share กับ สัมมากร เอสเก า คอนโดมิเนียม สําหรับท านทีพ่ ลาดโอกาสโปรดติดตาม กิจกรรม และร วมสนุกได ท่ี facebook.com/SammakornS9Condo
สยามคูโบต า จับมือ กรมพัฒนาฝ มอื แรงงาน มอบใบรับรอง มาตรฐานฝ มอื แรงงานฯ
สยามยิปซัมฯ มอบรถโฟล คลิฟท ให ตัวแทนจําหน ายยอดขาย ทะลุเป าฯ
สมศักดิ์ มาอุทธรณ ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ การจัดการโครงการ พร อมด วยคณะผู บริหาร บริษัท สยามคูโบต าคอร ปอเรชั่น จํากัด ร วมกับกรมพัมนาฝ มือแรงงาน กระทรวงแรงงาน เข าร วมในพิธี มอบใบรับรองมาตรฐานฝ มอื แรงงานของผูป ระกอบวิชาชีพผูข บั รถ ขุดขนาดเล็กคูโบต า รายแรกของประเทศไทย ให แก ผเู ข าร วมอบรม โครงการ “โรงเรียนฝ กขับรถขุดขนาดเล็ก คูโบต า” โดยได รบั เกียรติ จาก วินัย ลู วิโรจน รองปลัดกระทรวงแรงงาน เป นประธานในพิธี มอบใบรับรองฯ ณ ห องรัตนโกสินทร โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ
ชาย สังขบุณย ผูอ าํ นวยการฝ ายขาย บริษทั สยามอุตสาหกรรมยิปซัม (สระบุรี) จํากัด ผู ผลิตแผ นยิปซัมตราช าง เป นตัวแทนมอบรางวัล “รถโฟล คลิฟท ” ในรายการส งเสริมการขายสําหรับผูแ ทนจําหน ายรายหลัก (Target Setting Program) ให แก ณรงค ประไพทอง กรรมการ ผูจ ดั การ บริษทั เฟอร รงิ ไลน ควอลิตี้ จํากัด ตัวแทนจําหน ายผลิตภัณฑ สยามยิปซัม ทีส่ ามารถจําหน ายผลิตภัณฑ ยปิ ซัม “ตราช าง” ได ทะลุเป า ณ ร านยิปซัม เอ็กซ เพลส สาขา (ใหม ) ราชพฤกษ
ไดกิ้นฯ มอบประกาศนียบัตร “ผู ผลิตเครื่องปรับอากาศไทย ใช สารทําความเย็นอาร 32”
ดาว ประเทศไทย ร วมใจทาสีบ านหลังที่ 26 ภายใต โครงการ “บ านดาวอาสา”
บัณฑิต ศรีวลั ลภานนท กรรมการผูจ ดั การ บริษทั สยามไดกิน้ เซลส จํากัด และ ม.ล.ปุณฑริก สมิติ อธิบดีกรมพัฒนาฝ มือแรงงาน ร วมกัน มอบประกาศนียบัตรแก ผู แทนจากบริษัทผู ผลิตเครื่องปรับอากาศ ของไทยทีผ่ า นการฝ กอบรมใน “โครงการสนับสนุนด านเทคนิคให กบั ผู ผลิตเครื่องปรับอากาศไทยในการใช สารทําความเย็น R32” จํานวนทัง้ สิน้ 9 บริษทั โดยมีผบ ู ริหารจากหน วยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วข อง ร วมเป นสักขีพยาน ณ สถาบันพัฒนาฝ มอื แรงงานภาค 1 สมุทรปราการ
กลุม บริษทั ดาว ประเทศไทย นําโดย จิตติมา ดีประเสริฐวงศ ผูจ ดั การ โรงงานเลเท็กซ สังเคราะห อีมัลชั่น โรงงานอะคริลิก อีมัลชั่น และ โรงงานโพลิอะคริลกิ แอซิด และกลุม ดาวอาสา ร วมกันทาสีบา นหลังที่ 26 ภายใต โครงการ “บ านดาวอาสา” เพือ่ ส งมอบให กบั ครอบครัวของ พรพิมล มหาจินดามนตรี ทีไ่ ด รบั การคัดเลือกให ได รบั ความช วยเหลือ ให มีบ านหลังใหม โดยทางโครงการฯ ได รับการสนับสนุนผลิตภัณฑ สีทาบ านจาก บริษทั เบเยอร ประเทศไทย จํากัด เพือ่ ช วยแต งเติมสีสนั ให กบั ชุมชนในจังหวัดระยอง 127
ÃÈ.ÁÒ¹¾ ¾§È·Ñμ
อาจารย ผู ทรงคุณวุฒิ ประจําภาควิชาเคหการ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย
Í.ªÇ¾§È ªíÒ¹Ô»ÃÐÈÒʹ
อดี ต นายกสมาคมสถาปนิ ก สยามฯ ป พ .ศ.2541-2543 และ กรรมการผู จัดการ บริษัท สํานักงานสถาปนิกทวีธา จํากัด
¼È.´Ã.¨μØÇѲ¹ ÇâôÁ¾Ñ¹¸
อ า จ า ร ย ผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ อดีตคณบดี คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และ ทีป่ รึกษา บริษทั สถาปนิกจุลาสัย จํากัด ¼È.ÃѪ´ ªÁÀÙ¹Ôª
คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
LEED AP, TREES FA อาจารย ป ระจํ า คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการผั ง เมื อ ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และผู จั ด การศู น ย วิ จั ย นวั ต กรรม เทคโนโลยีสงิ่ แวดล อมสรรค สร าง ผูเ ชีย่ วชาญทางด านอาคารเขียว และเกณฑ การประเมิน LEED
¤Ø³ÇÊÑ¹μ ¤§¨Ñ¹·Ã
¼È.³Ñ°¸Ã ¸ÃÃÁºØμÃ
´Ã.Íê ¡ÃÐáÊÍÔ¹·Ã
อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต และ Creative Director บริษัท Aesthetic Architect จํากัด และ อาจารย พิเศษในหลายสถาบัน
128
È.´Ã.ºÑ³±Ôμ ¨ØÅÒÊÑÂ
กรรมการผู จัดการ บริษัท โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท จํากัด
จบการศึกษาด านการออกแบบ จากคณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ป จ จุ บั น เป น อาจารย ป ระจํ า คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษรศาสตร
¤Ø³Ë¹Öè§Ä·Ñ ¤Ò·ØÊà«¿Ê¡Õé
¤Ø³¡Äɳ ¹Ò¤ÐªÒμ
จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และปริญญาโทจากคณะการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง อดี ต นัก Marketing ทีป่ จ จุบนั ผันตัวเองมาเป นนักเขียนและนักแปลอิสระ ให กับนิตยสารและบริษัทต างๆ
Head of IT Department จากบริ ษั ท สถาปนิ ก 49 จํ า กั ด อดี ต หนุ ม สถาปนิ ก ที่ ค น พบสิ่ ง ที่ ตั ว เ อ ง รั ก แ ล ะ ส น ใ จ ท า ง ด า น คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ การออกแบบ สถาป ตยกรรม
¤Ø³¹ÐâÁ ¹¹·¡ÒÃ
¤Ø³³Ñ°¾Å ÊØ·¸Ô¸ÃÃÁ
นะโม นนทการ หรือ ธนสันติ นนทการ เป นอดีตบรรณาธิการ บริหารนิตยสารเกี่ยวกับสุขภาพ ที่ผันตัวเองมาเป นนักเขียนอิสระ ป จจุบันร วมงานกับนิตยสารหลากหลายฉบับ
อาจารย ป ระจํ า โครงการ วิศวกรรมศาสตร และการจัดการ เชิงธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และทีป่ รึกษาศูนย ให คาํ ปรึกษางาน โครงสร างเหล็ก สถาบันเหล็ก และเหล็กกล าแห งประเทศไทย
BUILDER MAGAZINE Product Knowledge Provider Questionnaires ชาย ช วงอายุ 20-24 ป
หญิง 25-34 ป
อาชีพ ________________________________________ 35-44 ป
45-60 ป
60 ป ขึ้นไป
ท านมีความสนใจในด านใดมากที่สุด โดยให ใส ลําดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน อย 5) การออกแบบและก อสร าง อสังหาริมทรัพย โครงการหรืออาคารที่น าสนใจ ข าวสารการก อสร าง วัสดุก อสร าง การบริหารจัดการอาคาร นวัตกรรมเทคโนโลยี อนุรักษ พลังงานและเพื่อสิ่งแวดล อม ไลฟ สไตล และการท องเที่ยว ข าวแวดวงในวงการต างๆ ท านมีความสนใจในสินค า ผลิตภัณฑ ประเภทใดมากที่สุด โดยให ใส ลําดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน อย 5) Lighting Innovation & Technology Door & Window Roofing Wall Covering Floor Covering Wooden Glass Steel & Metal Natural & Recycle Content Security & BAS ท านชอบอ านคอลัมน ประเภทไหน เชิงวิชาการ ที่ประกอบด วยเนื้อหาสาระ แหล งข อมูลในด านต างๆ เชิงเกร็ดความรู ที่เป นเนื้อหาสาระทั่วไป ไม เน นเชิงวิชาการ เชิงแนะนําโครงการที่น าสนใจ เชิงไลฟ สไตล ที่เน นท องเที่ยว พักผ อน หรือการใช ชีวิต เชิงคู มือ ที่เป นเรื่องของการให คําแนะนําและให คําปรึกษา เชิงปฏิบัติ ที่เน นการเล าหรือแชร ประสบการณ โดยตรง แบ งป นให กับผู อ าน จํานวนความยาวหน าที่เหมาะสมสําหรับการอ านของท าน ประมาณ 1 หน า ประมาณ 2-3 หน า ประมาณ 4 หน า ประมาณ 6-8 หน า ในนิตยสารท านมีความสนใจในคอลัมน ใดมากที่สุด _____________________________________________ หากมีการจัดทํา Application Multi-media ภาพเคลื่อนไหว ร วมในคอลัมน เพื่อนําเสนอข อมูลเพิ่มเติม ท านอยากให มีในคอลัมน ใดมากที่สุด _____ _____________________________________________________________ คําแนะนํา / ความคิดเห็น ______________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________ โดยผู ที่ร วมตอบคําถาม 100 ท านแรกจะได รับ เสื้อโปโล งานสถาปนิก ’57 คนละ 1 ตัว โปรดให ที่อยู ที่ติดต อ ชือ่ – นามสกุล (ตัวบรรจง) ______________________________________________________________________________________________ อีเมล _________________________________________________________________________________________________________________ ทีจ่ ดั ส งของรางวัล________________________________________________________________________________________________________ และส งกลับมาที่ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด เลขที่ 200/7-14 อาคาร เอ.อี.เฮ าส ชั้น 7 ซอยรามคําแหง 4 ถนนรามคําแหง แขวง/เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
129
GARDEN & LANDSCAPE พบกับเรื่องราวสินค าที่น าสนใจ ของผลิตภัณฑ ที่ใช ในงานภูมิสถาป ตย ทั้ง Hard-scape และ Soft-scape พร อมทั้งวัสดุอุปกรณ ตกแต งสวน และพบกับบทสัมภาษณ ผูเ ชีย่ วชาญและทีป่ รึกษาด านอสังหาริมทรัพย จาก โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท คุณวสันต คงจันทร และบทสัมภาษณ สถาปนิก นักปลูกป า อาจารย จุลพร นันทพานิช อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และนอกจากนี้ยังมีเกร็ดความรู และบทความอีกมากมาย ในฉบับเดือนพฤศจิกายน
130