Builder Magazine Vol.28 issue , February 2016

Page 1










สุขภาพ และสถานพยาบาล คณะผู้จัดทำ�ฝ่�ยบริห�ร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 200/7-14 ชั้น 7 อ�ค�รเออีเฮ้�ส์ ซ.ร�มคำ�แหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมห�นคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2717-2477 โทรส�ร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษ�: ดร.ปร�จิน เอี่ยมลำ�เน� รศ.ม�นพ พงศทัต อ.ชวพงศ์ ชำ�นิประศ�สน์ ศ.ดร.บัณฑิต จุล�สัย ผศ.รัชด ชมภูนิช ชวลิต สุวัตถิกุล สุกิจ ทรัพย์เพิ่มพูน ผศ.ดร.จตุวัฒน์ วโรดมพันธ์ ทีมง�นฝ่�ยบริห�ร: กรรมก�รผู้จัดก�ร รองกรรมก�รผู้จัดก�ร รองกรรมก�รผู้จัดก�ร Publishing Director ฝ่�ยข�ยโฆษณ�: Sales Director

ในสภ�วะกระแสเรือ่ งของสุขภ�พกำ�ลังเป็นทีน่ �่ จับต�มอง รวมทัง้ กระแส ของก�รเข้�สูส่ งั คมผูส้ งู วัยทีก่ �ำ ลังจะเกิดในอน�คตแล้วด้วยนัน้ ธุรกิจที่ เกีย่ วข้องกับสุขภ�พและก�รดูแลร่�งก�ยจึงเติบโตสูงขึน้ ม�ก โดยเฉพ�ะ สถ�นพย�บ�ล ทีป่ จั จุบนั ต่�งก็มกี �รขย�ยตัวท�งธุรกิจเป็นจำ�นวนม�ก ทัง้ ขย�ยส�ข� หรือแตกแขนงออกเป็นศูนย์ก�รแพทย์เฉพ�ะท�ง คลินกิ เสริมคว�มง�ม หรือแม้แต่สถ�นพักฟื้นและดูแลผู้สูงวัยก็เป็นอีกหนึ่ง ธุรกิจทีก่ �ำ ลังเติบโตอย่�งเงียบๆ แต่ค�ดว่�จะม�แรงแน่นอนในอน�คต ดังนัน้ เรือ่ งร�วภ�ยในนิตยส�ร BuilderNews ฉบับนี้ เร�จะม�ว่�กันด้วย เรือ่ งของ Hospital โดยในคอลัมน์ Material of The Month เร�จะนำ�เสนอ วัสดุกอ่ สร้�งทีน่ �่ สนใจสำ�หรับสถ�นพย�บ�ล ส่วนในคอลัมน์ Cover Story เร�จะพ�ไปพบกับ Criticle Care Complex ศูนย์ก�รแพทย์ที่ล้ำ�สมัย ของโรงพย�บ�ลสมิตเิ วช สุขมุ วิท พร้อมทัง้ ในคอลัมน์ Builder of the Month คร�วนี้ เ ร�ยั ง ได้ สั ม ภ�ษณ์ คุ ณ สิ ท ธิ ภ�ณุ พั ฒ นพงศ์ ประธ�นและ กรรมก�รผู้จัดก�รบริษัท สินธ�นี กรุ๊ป จำ�กัด กับเรื่องร�วของก�ร ออกแบบและพัฒน�โรงพย�บ�ล สินแพทย์ และสัมภ�ษณ์คณ ุ ไพโรจน์ ไพศ�ล ผู้จัดก�รฝ่�ยว�งแผนและพัฒน�โครงก�ร โรงพย�บ�ลบำ�รุงร�ษฏร์ ในคอลัมน์ Talk to Talk นอกจ�กนีเ้ ร�ยังมีเรือ่ งร�ว เกร็ดคว�มรู้ รวมทัง้ บทคว�มดีๆ จ�กคอลัมนิสต์อกี หล�ยๆ ท่�น ให้ได้ตดิ ต�มอ่�นกันอีกด้วยนะคะ

คุณช�ตรี มรรค� คุณศุภแมน มรรค� คุณศุภว�ร มรรค� คุณปิยะนุช มีเมือง คุณศุภแมน มรรค� supaman@ttfintl.com

ณัชช� นันทก�ญจน์ หัวหน้�กองบรรณธิก�ร editor.buildernews@gmail.com

ติดต่อฝ่�ยข�ยโฆษณ� โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ติดต่อฝ่�ยสม�ชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ติดต่อฝ่�ยบรรณ�ธิก�ร โทรศัพท์ (66) 87716-9976 คณะผู้จัดทำ�ฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร: บริษัท แท็งค์ ดีไซน์ แอนด์ โปรดักชั่น จำ�กัด 1104/31 หมู่บ้�นโนเบิล คิวบ์ ถนนพัฒน�ก�ร แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมห�นคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2 184 8431 โทรส�ร (66) 2 184 8431

ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร: หัวหน้�กองบรรณ�ธิก�ร คุณณัชช� นันทก�ญจน์ natcha.tank@gmail.com กองบรรณ�ธิก�ร

คุณหนึ่งฤทัย ค�ทุสเซฟกี้ คุณปฏิทิน เวล� คุณภัณฑิร� มีล�ภ คุณรักข์ อักษร� คุณนฤน�ท เกรียงไกร คุณประพนธ์ ชำ�น�ญ

แยกสี / เพลท โรงพิมพ์

อ�ร์ตไดเรคเตอร์ กร�ฟิกดีไซเนอร์

คุณยิ่งยศ จ�รุบุษป�ยน คุณวิภ�ด� โมเลียโรว์

10

บริษัท สุรศักดิ์ฟิล์ม จำ�กัด บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด

WHERE TO FIND






เรื่อง: กองบรรณาธิการ

เริ่มต้นด้วยข่าวที่น่ายินดียิ่ง....ในโอกาสนี้นิตยสาร BuilderNews ต้ อ งขอแสดงความยิ น ดี กั บ ท่ า นกฤษฎา โรจนกร ซึ่ ง ได้ รั บ การยกย่ อ งเชิ ด ชู เ กี ย รติ เ ป็ น ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ สาขาทั ศ นศิ ล ป์ (สถาปัตยกรรม) ประจำาปีพทุ ธศักราช 2558 อันถือเป็นเกียรติอย่างยิง่ แก่วงการสถาปัตยกรรม

เปิดตัวกันไปอย่างเป็นทางการแล้วสำาหรับ ‘ผูบ้ ริหารเจน 2’ ของ แลนดี้ โฮม ศูนย์รบั สร้างบ้าน อันดับ 1 ของเมืองไทย งานนีส้ ามศรีพนี่ อ้ ง คุณพรรัตน์ มณีรตั นะพร ผูช้ ว่ ยกรรมการ ผู้จัดการและผู้อำานวยการฝ่ายขาย, คุณภัทรา มณีรัตนะพร ผู้อำานวยการฝ่าย การตลาดและออกแบบผลิตภัณฑ์ และ คุณพานิช มณีรตั นะพร ผูอ้ าำ นวยการฝ่าย ก่อสร้างและบริหารสำานักงาน ผนึกกำาลังพร้อมรุกก้าวใหม่ในการขับเคลื่อนธุรกิจ ผ่านแผนพัฒนาธุรกิจที่ครอบคลุมแบบครบวงจร...มุ่งมั่นอย่างนี้นี่เอง ปีที่ผ่านมา แลนดี้ โฮม จึงกวาดรายได้กว่า 1,000 ล้านบาท กันเลยทีเดียว

ประสบความสำาเร็จอย่างสวยงาม พร้อมวางศิลาฤกษ์ไปเรียบร้อยแล้วสำาหรับ ซุปเปอร์แนป (ประเทศไทย) ดาต้า เซ็นเตอร์ทม่ี คี วามล้าำ สมัยทีส่ ดุ ในภูมภิ าคเอเซียแปซิฟกิ และถือเป็นดาต้า เซ็นเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยปริมาณความจุสูงสุดกว่า 6,000 ตู้ โดยงานนี้ มร.เดวิด บลูมมานิส ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารกลุม่ งานพาณิชย์ ซุปเปอร์แนป อินเตอร์เนชัน่ แนล ได้เดินทางมาวางศิลาฤกษ์ด้วยตัวเอง พร้อม มร.ดีแพก ซาหรับ ประธานกรรมการ ซุปเปอร์แนป (ประเทศไทย) และ ดร.อมฤต เหล่ารักพงษ์ กรรมการผูจ้ ดั การ ซุปเปอร์แนป ได้รว่ มต้อนรับแขกผูม้ เี กียรติอกี หลายท่าน...เห็นอย่างนีแ้ ล้ว...BuilderNews ต้องขอ แสดงความยินดีด้วย

ในวันเด็กแห่งชาติทผ่ี า่ นมา บิก๊ บอสของ พฤกษา เรียลเอสเตท คุณทองมา วิจติ รพงศ์พนั ธุ์ พร้อมคณะผูบ้ ริหารบริษทั ใจป้าำ กันแบบสุดๆ ได้มอบเงินจำานวนเงิน 1 ล้านบาท ให้แก่ คุณสวภัทร์ มหัทธนกุล ประธานชมรมแม่บ้านตำารวจภูธร ภาค 1 เพื่อช่วยเหลือให้กับ บุตรข้าราชการตำารวจและครอบครัวที่มีความต้องการพิเศษ เพื่อเป็นการสร้างขวัญ กำาลังใจให้กบั ตำารวจทีป่ ฏิบตั หิ น้าทีร่ าชการด้วยความเสียสละเพือ่ ความสงบสุขของพีน่ อ้ ง ประชาชน การมอบเงินในครัง้ นีถ้ อื เป็นอีกหนึง่ กิจกรรม ตามนโยบายด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม ของพฤกษา เรียลเอสเตท เพือ่ เป็นการสร้างคุณค่าร่วมระหว่างธุรกิจและสังคม (CSV) เพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน....เรื่องดีๆ ที่ทำาเพื่อสังคมแบบนี้ เราก็ต้องเล่าสู่กันฟัง 15


เริ่มต้นศักราชãËม่กับ สถาปนิก’59 งานแสดงวัสดุและเทคâนâลยี ก่อสร้างทีย่ งิ่ ãËÞ่ทสี่ ดุ ãนอาเ«ียน âดยãนปืนถี้ อื เป็นอีกวาระสíาคัÞ ที่การจัดงานดíาเนินมาจนครบรอบปืที่ 30 แล้ว ทั้งยังได้รับการ รับรองมาตรฐานสากล ‘UFI Approved Event’ จากสมาคม อุตสาËกรรมการจัดงานแสดงสินค้าâลก การันตีศักยภาพงาน สถาปนิก’59 เทียบชั้นนานาชาติ ทั้งด้านคุณภาพการจัดงาน ผู้เข้าร่วมแสดงสินค้า และจíานวนผู้ชมงาน งานสถาปนิก’59 จัดขึ้นโดยความร่วมมือระหว่าง สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม ราชูปถัมภ์ และบริษทั ทีทเี อฟ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำากัด โดยปีนมี้ กี าำ หนดจัดขึน้ ระหว่าง วันที่ 26 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2559 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1-3 ศูนย์การแสดงสินค้า และการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี พร้อมชูแนวคิด “Back to Basic: สู่สามัญ” ทีจ่ ะพาบรรดาสถาปนิกนักออกแบบ ย้อนกลับไปสูพ่ น้ ื ฐานของสถาปัตยกรรม อันเป็นจุดเริม่ ต้น ในการพัฒนางานออกแบบทีม่ ที ศิ ทางชัดเจน และตรงประเด็นทีส่ ดุ ในการนำาเสนอผลงาน

• พานักออกแบบกลับไปตั้งต้น ด้วยแนวคิด “Back to Basic: สู่สามัÞ” สมาคมสถาปนิกสยามฯ นำาเสนอแนวคิด “Back to Basic: สูส่ ามัญ” เป็นการพาบรรดาสถาปนิกนักออกแบบ ย้อนกลับไปสู่พื้นฐาน จุดบริสุทธิ์มีทิศทางชัดเจน และตรงประเด็นที่สุดในการนำาเสนอผลงาน ตลอดจน มุ่งนำาเสนอรูปแบบของการตีความในแง่ของ Basic ทางสถาปัตยกรรมที่คนทั่วไปสามารถรับรู้ได้ แนวคิดดังกล่าวยังเชื่อมโยงและนำาไปสู่การออกแบบเรขศิลป หรือตราสัญลักษณ์ประจำาปีนี้ที่นำาเสนอว่า Basic ของสถาปัตยกรรม คือการออกแบบพืน้ ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์ใช้สอย โดย Basic ทีส่ ามารถสือ่ ความหมาย ทำาให้คนเข้าใจ จนเกิดเป็นสถาปัตยกรรมได้นนั้ คือภาพร่าง Drawing ทีม่ อี ะไรซ่อนอยูม่ ากมาย และจับเอา Element เหล่านั้นมาสร้างให้เกิด Typeface ใหม่ๆ โดยพัฒนามาจาก Plan ทางสถาปัตยกรรม ทีค่ วามหนักเบาของเส้นแสดงให้เห็นเป็น Circulation /Wall /Void และสามารถพัฒนามาเป็น Diagram ต่างๆ ได้ โดยมีทงั้ Positive/Negative Space ประกอบกันเป็น Key Visual ใหม่ๆ ซึง่ ในแต่ละ Key Visual ก็จะมี Process ของ Diagram ที่เป็นเรื่องของตัวเอง โดยต้องการสื่อสารให้เห็นว่า Basic ของสถาปัตยกรรม สามารถพัฒนาต่อยอดไปได้อย่างไม่รจู้ บ และไม่มรี ปู แบบตายตัว ซึง่ สอดคล้องกับแนวคิดการจัดงานในปีน้ี

16


• ยอดจองพืน้ ทีค่ กึ คักสวนกระแสเศรษฐกิจ ผูแ้ สดงสินค้าจากต่างชาติเพิม่ ขึน้ หลังจากงานสถาปนิก’58 ปิดฉากลงอย่างสวยงามได้เพียงไม่นาน กลุม่ ผูป้ ระกอบการ ทัง้ ผูผ้ ลิต ตัวแทน จำาหน่ายผลิตภัณฑ์วสั ดุกอ่ สร้างจากในประเทศและต่างประเทศจำานวนหลายราย ต่างยืน่ เจตจำานงเพือ่ เข้าร่วม แสดงสินค้าภายในงานสถาปนิก’59 อย่างต่อเนื่อง ด้วยความเชื่อมั่นว่างานสถาปนิก’59 จะสามารถ เป็นสื่อกลางในการส่งสารไปถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างยอดเยี่ยมและตรงกับวัตถุประสงค์ ยืนยันได้จาก ยอดจองพืน้ ทีช่ ว่ งสิน้ ปี 2558 ทีผ่ า่ นมา ทีถ่ กู จองไปแล้วกว่า 75% ของพืน้ ทีท่ งั้ หมด โดยมีทงั้ ผูแ้ สดงสินค้า รายเดิมทีม่ อบความไว้วางใจ และผูแ้ สดงสินค้ารายใหม่ทต่ี อ้ งการเข้ามาเปิดตลาด และสร้างการรับรูใ้ ห้กบั แบรนด์ตนเองมากยิ่งขึ้น อีกประการหนึง่ คือพืน้ ทีแ่ สดงสินค้าของผูป้ ระกอบการต่างชาติทเ่ี พิม่ มากขึน้ กว่าทุกปี โดยในปีนป้ี ระมาณการ พืน้ ทีจ่ ดั แสดงในส่วนนีท้ ปี่ ระมาณ 10% ของพืน้ ทีท่ ง้ั หมด เพิม่ จากปีกอ่ นหน้าทีอ่ ยูร่ ะหว่าง 6-7% โดยทาง คุณแกรี่ หนิว (Mr. Gary Niu) ผูจ้ ดั การโครงการ ฝ่ายงานแสดงสินค้า บริษทั CHINA BUILDMAN FAIRS INTERNATIONAL จำากัด เปิดเผยว่า “รู้สึกพึงพอใจกับผลตอบรับที่ได้ร่วมงานสถาปนิก’58 ที่ผ่านมา จึงตัดสินใจที่จะร่วมงานสถาปนิก’59 อีกครั้ง โดยเล็งเห็นว่างานสถาปนิก มีศักยภาพในการนำาเสนอ ผลิตภัณฑ์วสั ดุกอ่ สร้าง และคาดหวังให้บริษทั ต่างชาติได้พบกับกลุม่ ลูกค้า และตัวแทนจำาหน่ายในประเทศ” นอกจากนี้ผู้แสดงสินค้ารายเดิม ยังแสดงความมั่นใจและเชื่อมั่นในงานสถาปนิก’59 ด้วยการขยาย พื้นที่บูธแสดงสินค้า เพื่อรองรับจำานวนผู้ชมงานและพื้นที่ในการจัดแสดงผลิตภัณฑ์ อาทิ บริษัท เฮเฟเล่ (ประเทศไทย) จำากัด เพิ่มการใช้พื้นที่เป็น 193.5 ตร.ม. บริษัท จีโอ โฮม คิทเช่น จำากัด เพิ่มพื้นที่เป็น 139.5 ตร.ม. บริษทั ลิกซิล (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) เพิม่ พืน้ ทีเ่ ป็น 103.5 ตร.ม. และ บริษทั ซีคอน โฮม จำากัด เพิ่มพื้นที่เป็น 85.5 ตร.ม. เป็นต้น

• งานสถาปนิก’59 สนับสนุนผลิตภัณฑ์สีเขียว เพื่อความยั่งยืนเป็นมิตร µ‹ÍÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ในปัจจุบันทุกวงการล้วนให้ความสำาคัญกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกับวงการก่อสร้าง ออกแบบตกแต่ง ทีไ่ ม่ละเลยความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และให้ความสนใจผลิตภัณฑ์และวัสดุสเี ขียว มากขึน้ โดยในงานสถาปนิก’59 ทีจ่ ะถึงนีม้ กี ารเปิดพืน้ ทีโ่ ซน ‘Green Building Material : การจัดแสดง ผลิตภัณฑ์กอ่ สร้างสีเขียว’ ขึน้ เป็นปีแรก เพือ่ ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการ ทีม่ คี วามยัง่ ยืนเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อม ตลอดจนเปิดโอกาสให้ผชู้ มงานได้มคี วามรู้ ความเข้าใจในวัสดุและเทคโนโลยีกอ่ สร้างสีเขียว มากขึน้ รวมถึงส่งเสริมการพัฒนางานในวิชาชีพสถาปัตยกรรมและวิชาชีพทีเ่ กีย่ วข้อง ในการเลือกใช้วสั ดุ ในการออกแบบก่อสร้าง เพือ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดด้านการใช้งาน และส่งผลกระทบต่อธรรมชาตินอ้ ยทีส่ ดุ ในขณะเดียวกัน นอกจากนีย้ งั มีการจัดทำาทำาเนียบอาคารและวัสดุกอ่ สร้างสีเขียว ‘Green Building Buyer’s Guide 2015/2016’ เพื่อรวบรวมผลงานอาคารเขียว และรายการวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้าง ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและช่วย ประหยัดพลังงาน ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินอาคารเขียวสหรัฐอเมริกา (LEED) และมาตรฐานสถาบัน อาคารเขียวไทย (TREES) เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับสถาปนิก วิศวกร นักออกแบบ มัณฑนากร ผู้รับเหมา ก่อสร้าง นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ฯลฯ ในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทีส่ าำ คัญคูม่ อื ดังกล่าวจัดทำาขึน้ เพือ่ แจกภายในงานสถาปนิก’59 และจัดมอบให้กบั สมาคมฯ และหน่วยงาน ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงวางจำาหน่ายตามร้านหนังสือชัน้ นำาทัว่ ไป เรียกได้วา่ เป็นคูม่ อื รวบรวมข้อมูลอาคารเขียว และวัสดุอุปกรณ์ก่อสร้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างแน่นอนและแท้จริง สำาหรับผู้ประกอบการที่สนใจร่วมแสดงสินค้าภายในพื้นที่โซน Green Building Material หรือแนะนำา วัสดุก่อสร้างสีเขียวในทำาเนียบ ‘Green Building Buyer’s Guide 2015/2016’ สามารถติดต่อได้ที่ sukanya@ttfintl.com

17


• สัมมนาทีถ่ กู จับตามากทีส่ ดุ ASA International Forum 2016: SANAA ในทุกปีกจิ กรรมสัมมนาพิเศษซึง่ จัดโดยสมาคมสถาปนิกสยามฯ จะได้รบั ความนิยมและ ความสนใจอย่างล้นหลาม เนือ่ งจากมีการเชิญวิทยากรพิเศษ หรือ Keynote Speaker ชือ่ ดังเป็นทีร่ จู้ กั และได้รบั การยอมรับในระดับโลก มาร่วมบรรยายแลกเปลีย่ นองค์ความรู้ และจุดประกายไฟในตัวสถาปนิก ให้เกิดการนำาไปพัฒนาต่อยอดการทำางาน โดยในปีนี้ ได้รบั เกียรติจาก 2 สถาปนิกมือฉมัง คาซูโย่ เซจิมะ (Kazuyo Sejima) และ เรียว นิชซิ าว่า (Ryue Nishizawa) จากบริษัทสถาปนิกชื่อดัง SANAA มาร่วมพูดคุยด้วย บริษัท SANAA หรือชื่อเต็ม Sejima and Nishizawa and Associates ก่อตั้งเมื่อ ปี 1995 มีสำานักงานอยู่ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น บริษัทดังกล่าวมีผลงานโดดเด่น มากมายและเคยได้รบั รางวัลมาแล้วหลายครัง้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในปี 2010 คาซูโย่ เซจิมะ (Kazuyo Sejima) และ เรียว นิชิซาว่า (Ryue Nishizawa) ได้รับรางวัล Pritzker Prize ซึ่งถือเป็นรางวัลสูงสุด เทียบเท่ากับรางวัลโนเบลแห่งวงการสถาปัตยกรรม จากความ สามารถทีถ่ า่ ยทอดออกมาเป็นผลงานมากมาย อาทิ Toledo Museum of Art’s Glass Pavilion ในเมืองโทเลโด รัฐโอไฮโอ สหรัฐอเมริกา, New Museum of Contemporary Art ในนครนิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา, Rolex Learning Center ณ สถาบัน เทคโนโลยีโลซานน์, Serpentine Pavilion ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ, Christian Dior Building ในย่านโอโมเตะซันโดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, 21st Century Museum of Contemporary Art ในเมืองคะนะซาว่า จังหวัดอิชิกะวะ ประเทศญี่ปุ่น, Ryue Nishizawa & Kazuyo Sejima Louvre-Lens Museum ในเมืองล็องส์ ประเทศฝรั่งเศส เป็นต้น

• ร่วมปะทะไอเดียและประชันฝืมือ กับกิจกรรม เพ้นท์สุขภัณฑ์ ครั้งที่ 6 กิจกรรมประกวดเพ้นท์สุขภัณฑ์ ในงานสถาปนิก’59 ดำาเนินมาเป็น ปีที่ 6 แล้ว ถือเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างยิ่ง มีผสู้ มัครเข้าร่วมปะทะไอเดียและประชันฝีมอื มากขึน้ ในทุกๆ ปี โดยเป็น เวทีทเี่ ปิดกว้างให้ทงั้ นิสติ นักศึกษา และบุคคลทัว่ ไป ได้แสดงผลงาน ความสามารถและความคิดสร้างสรรค์กันอย่างเต็มที่ นอกจากนี้ ยังถือเป็นการร่วมกิจกรรมเพื่อประโยชน์ต่อสังคม เพราะผลงาน การประกวดทั้งหมดจะนำาไปมอบให้กับมูลนิธิหรือองค์กรการกุศล เพื่อสร้างประโยชน์แก่สังคมต่อไป โดยขณะนี้กำาลังอยู่ระหว่างการเปิดรับสมัคร ผู้สนใจร่วมแข่งขัน สามารถดูรายละเอียด ดาวน์โหลดใบสมัคร และสมัครออนไลน์ได้ที่ www.architectexpo.com หรือส่งใบสมัครมาที่ Trong@ttfintl.com จำากัดจำานวนผู้เข้าแข่งขันเพียง 35 ทีมเท่านั้น งานนี้ใครสมัครก่อน มีสิทธิ์ลุ้นเงินรางวัลรวม 28,000 บาทก่อน เตรียมตัวให้พร้อม แล้วพบกับงานสถาปนิก’59 “Back to Basic : สูส่ ามัญ” ระหว่างวันที่ 26 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2559 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1-3 ศูนย์การแสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี หรือ ติดตามรายละเอียดและความคืบหน้าของการจัดงานสถาปนิก’59 เพิ่มเติมได้ที่ www.architectexpo.com และ www.facebook. com/architectexpo 18



เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

แผนการสร้างเทวรูปใหม่ ‘Colossus of Rhodes’ ณ เกาะโรดส์ ในทะเลอีเจียน ประเทศกรีซ ได้มกี ารวางแผนทีจ่ ะสร้าง ‘Colossus of Rhodes’ (มหารูปแห่งโรดส์) ซึง่ เป็นเทวรูปขนาดใหญ่ ของเทพฮีลอิ อส ทีม่ คี วามสูงประมาณ 100 ฟุต ตัง้ อยูบ่ นฐานสองข้าง ของปากอ่าวทางเข้าท่าเรือของเกาะโรดส์ ซึง่ เมือ่ 226 ปีกอ่ นคริสตกาล ได้มีการพังทลายลงมาด้วยแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ โดยล่าสุดมีข่าวว่า การสร้างมหารูปแห่งโรดส์ขน้ึ ใหม่นม้ี ขี นาดใหญ่และสูงกว่าเดิมถึง 4 เท่า และสร้างให้เป็นอาคารขนาดใหญ่ ทีม่ พี นื้ ทีใ่ ช้สอยภายในเป็นห้องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ทจ่ี ะเก็บรักษาวัตถุโบราณและพืน้ ทีจ่ ดั แสดง ซึง่ คาดว่าจะใช้ เวลาในการสร้างราว 3-4 ปี Read the full story on http://www.archdaily.com/779577/will-a-newcolossus-of-rhodes-get-the-green-light? YouTube: https://www.youtube.com/watch?v=voBCtRv026A by Colossus of Rhodes

แปลงโฉมโรงกลัน่ เบียร์อายุกว่า 100 ปี ในเบอร์ลนิ บริษทั สถาปนิก David Chipperfield ได้เผยถึงแผนการรีโนเวทฟืน้ ฟู โรงกลัน่ เบียร์ Botzow ซึง่ เก่าแก่ในศตวรรษที่ 19 ขึน้ ใหม่ หลังจากที่ โดนระเบิดทำาลายไปบางส่วนในช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 โดยแผนการ ปรับปรุงครัง้ นี้ ประกอบไปด้วยการสร้างกลุม่ ของอาคารใหม่ 3 อาคาร เพื่อใช้เป็นแกลลอรี่ ร้านอาหาร ลานเบียร์ โรงแรม สปอร์ตคลับ และ ศูนย์ทางการแพทย์ โดยอาคารทั้งหมดจะอยู่ล้อมรอบลานสาธารณะ ขนาดใหญ่ ในขณะเดียวกันก็จะมีการซ่อมแซมอาคารที่หลงเหลืออยู่ เพือ่ ทำาให้บริเวณนีก้ ลายเป็นจุดหมายปลายทางแห่งใหม่ของคนเมือง โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จในปีค.ศ.2019 Read the full story on http://www.dezeen.com/2015/12/29/davidchipperfield-architects-botzow-brewery-alexanderplatz-berlinmasterplan-gallery-restaurants

แลนด์มาร์กแห่งใหม่ใน Altalya บริษทั สถาปนิก 1+1 Architects ได้รบั รางวัลชนะเลิศการประกวดแบบสำาหรับการสร้าง แลนด์มาร์กแห่งใหม่ในเมือง Altalya ประเทศตุรกี โดยผลงานได้นาำ เสนอการพัฒนาพืน้ ที่ ให้กลมกลืนกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ ในรูปแบบของสวนสาธารณะทีป่ ระกอบไปด้วย สิ่งอำานวยความสะดวกมากมาย อาทิ พื้นที่จัดแสดง สำานักงาน ร้านอาหาร ร้านกาแฟ และจุดชมวิว อีกทั้งยังมีการใช้ระบบแบบยั่งยืน อาทิ การกักเก็บน้ำาฝนและพลังงาน จากแสงอาทิตย์ด้วย Read the full story on http://www.archdaily.com/779374/1-plus-1-architects-creates-newlandmark-for-antalya-turkey Image Courtesy of 1+1 Architects 20


หอบังคับการบินทรงดอกทิวลิป Pininfarina สตูดิโอด้านการออกแบบสัญชาติอิตาเลียน และ AECOM บริษัทด้าน วิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ได้ถูกรับเลือกให้ทำาการออกแบบหอบังคับการบินแก่ ท่าอากาศยานแห่งใหม่ในกรุงอิสตันบูล ประเทศตุรกี โดยได้รบั แรงบันดาลใจในการออกแบบ อาคารรูปทรงโค้งคล้ายกับดอกทิวลิป ซึ่งแสดงถึงสัญลักษณ์ของเมืองอิสตันบูล และ สะท้อนให้เห็นถึงการออกแบบสถาปัตยกรรมทีด่ โู ดดเด่น ทันสมัย เพือ่ เป็นแลนด์มาร์ก อีกแห่งหนึง่ ของเมือง ซึง่ เมือ่ สร้างเสร็จสนามบินแห่งใหม่นจี้ ะได้ชอื่ ว่าเป็นสนามบินทีม่ ี เทอร์มินัลภายใต้หลังคาเดียวที่ใหญ่ท่ีสุดในโลกด้วย โดยคาดว่าเฟสแรกจะเปิดให้ บริการในปีค.ศ.2018 นี้ Read the full story on http://www.dezeen.com/2015/12/24/pininfarina-and-aecom-wincompetition-for-air-traffic-control-tower-at-istanbul-new-airport/

โครงการอาคารอเนกประสงค์ที่ดีที่สุดในโลก โครงการ Mapletree Business City Shanghai and VivoCity Shanghai ได้ถูกเลือกให้เป็น “สถาปัตยกรรมอาคารอเนกประสงค์ ที่ดีที่สุดในโลก” แห่งปีค.ศ.2015 จากงาน International Property Awards ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ซึ่งโครงการนี้ประกอบ ไปด้วยร้านค้า ร้านอาหาร ศูนย์รวมความบันเทิง รวมถึงสำานักงาน เกรดเอ เพือ่ สร้างสภาพแวดล้อมผสมผสานด้านธุรกิจและความบันเทิง ในเมืองเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน Read the full story on http://www.archdaily.com/779611/aedasdesigned-project-in-shanghai-deemed-worlds-best-mixed-use-project Image Courtesy of Aedas

‘Holedeck’ ระบบโครงสร้างคอนกรีตแบบใหม่ Holedeck เป็นระบบโครงสร้างคอนกรีตที่ใช้คอนกรีตน้อยกว่าพื้น คอนกรีตธรรมดาทั่วไปถึง 55% ด้วยความหนาของแผ่นพื้นที่ลดลง ช่วยทำาให้อาคารสูงๆ มีจาำ นวนชัน้ เพิม่ มากขึน้ ได้ อีกทัง้ ยังเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมอีกด้วย Holedeck เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาจากระบบ Waffle Slab ที่เจาะรูบนคอนกรีตระหว่างช่องว่างเพื่อสร้างช่องเปิด ภายในโครงสร้างของพื้น ช่วยให้สามารถเดินสายไฟ ท่อและอุปกรณ์ ต่างๆ โดยรอบโครงสร้างได้ ส่งผลให้การบำารุงรักษาหรือการปรับปรุง อาคารทำาได้งา่ ยขึน้ ซึง่ Holedeck เพิง่ ได้รบั รางวัล CTBUH’s 2015 Tall Building Innovation Award เมื่อปีที่ผ่านมา Read the full story on http://www.archdaily.com/779340/this-innovativeconcrete-slab-system-uses-up-to-55-percent-less-concrete YouTube: https://www.youtube.com/watch?v=DrgTqv3cnpw by HOLEDECK 21


เกิดเหตุไฟไหม้ส่งท้ายปีที่ ‘The Address Downtown’ ในดูไบ เมื่อคืนวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2558 ได้เกิดเหตุไฟไหม้ที่ ‘The Address Downtown’ โรงแรมหรูระดับห้าดาว สูง 63 ชั้น ที่มีความสูง 302 เมตร อาคารได้รับการออกแบบ โดยบริษทั สถาปนิกชือ่ ดัง Atkins ในรัฐดูไบ ของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ โดยโรงแรมแห่ง นี้ตั้งอยู่ไม่ไกลจากตึก ‘เบิร์จ คาลิฟา’ ตึกระฟ้าที่สูงที่สุดในโลก ในขณะที่กำาลังจะจัด งานเคาท์ดาวน์และจุดพลุไฟส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ 2559 ด้วย โดยไฟได้ลุกไหม้ พื้นที่หลายส่วนของโรงแรม ทำาให้เกิดซากปรักหักพังตกลงมาด้านล่างอาคาร ส่งผล ให้มีผู้บาดเจ็บกว่า 14 ราย Read the full story on http://www.dezeen.com/2015/12/31/fire-breaks-out-at-atkinsdesigned-dubai-skyscraper-the-address-hotel/ YouTube: https://www.youtube.com/watch?v=_oGHFBzO0lM by RBC NEWS TV

Hutong ในอนาคตจากมุมมองของ MVRDV บริษทั สถาปนิกสัญชาติดชั ท์ MVRDV ได้นาำ เสนอแนวคิดการฟืน้ ฟู Xianyukou Hutong (Hutong คือตรอกซอกซอยทีม่ มี าแต่โบราณ ทีม่ เี ครือข่ายเชือ่ มโยงกันไปทัว่ เมืองและเป็น เอกลักษณ์อย่างหนึง่ ของสถาปัตยกรรมเมืองปักกิง่ ) ซึง่ ตัง้ อยูใ่ กล้กบั จัตรุ สั เทียนอันเหมิน ใจกลางเมืองปักกิง่ สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยการนำาเสนอการพัฒนายังคงกลิน่ อาย ของวัฒนธรรมเก่าแก่และการดำาเนินชีวติ ของชาวปักกิง่ เอาไว้ แต่แฝงไว้ซง่ึ ความทันสมัย สิ่งอำานวยความสะดวก และพื้นที่สีเขียว เพื่อทำาให้ Hutong แห่งนี้กลายเป็นย่านที่มี ชีวิตชีวา และตอบสนองต่อการเจริญเติบโตของเมืองในปัจจุบันได้อย่างสมบูรณ์แบบ Read the full story on http://www.archdaily.com/779706/the-next-hutong-mvrdv Image Courtesy of MVRDV

เมืองยั่งยืนใต้น้ำาในอนาคตที่สร้างจากขยะในทะเล สถาปนิก Vincent Callebaut ได้นำาเสนอแนวคิดของการสร้างเมือง ใต้น้ำาแห่งอนาคตที่ชื่อว่า “Aquarea” ในมหาสมุทรบริเวณชายฝั่ง ของเมืองริโอ เดอ จาเนโร โดยสร้างจากขยะที่ลอยอยู่ในมหาสมุทร นำามาสร้างเป็นแพขยะจากเครื่องพิมพ์สามมิติ เมืองนี้มีโครงสร้าง เหมือนกับแมงกะพรุน สามารถเคลื่อนที่ได้เหมือนกับเรือดำาน้ำาและ เรือทัว่ ไป สามารถรองรับผูอ้ ยูอ่ าศัยได้ 20,000 คน ทีใ่ นระดับความลึก สูงสุด 1,000 เมตร มีทั้งหมด 250 ชั้น ประกอบไปด้วยห้องแล็บทาง วิทยาศาสตร์ สำานักงาน โรงแรม สนามกีฬา และฟาร์ม โดยน้ำาทะเล จะผ่านกระบวนการแยกเกลือออกเพือ่ นำามาใช้บริโภค สาหร่ายขนาดเล็ก จะช่วยรีไซเคิลขยะอินทรีย์ และใช้แสงไฟจากสารเรืองแสงทางชีวภาพด้วย Read the full story on http://inhabitat.com/futuristic-oceanscapers-arefloating-villages-3d-printed-from-algae-and-plastic-waste Image Courtesy of Vincent Callebaut

22


‘The Moganshan’ ภูเขาเขียวขจีกลางเมืองเซี่ยงไฮ้ บริษัทสถาปนิก Heatherwick Studio เปิดเผยถึงแผนการสร้าง โครงการ ‘The Moganshan’ ซึ่งเป็นการสร้างอาคารคอมเพล็กซ์ ทีป่ ระกอบไปด้วยทีอ่ ยูอ่ าศัย สำานักงาน ร้านค้า โรงแรม และโรงเรียน ในบริเวณใกล้ๆ กับย่านศิลปะ ‘M50’ ในนครเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน โดยจุดเด่นของโครงการนีอ้ ยูต่ รงทีก่ ารสร้างอาคาร 2 หลัง ให้มรี ูปทรงคล้ายกับภูเขาและนำาต้นไม้มาปลูกแซมกับเสาโครงสร้าง กว่า 1,000 ต้น ทำาให้ดูโดดเด่นสะดุดตา กลายเป็นอาคารสีเขียวที่ เปรียบเสมือนภูเขาอันสูงตระหง่านอยูใ่ จกลางเมืองเซีย่ งไฮ้เลยทีเดียว Read the full story on http://inhabitat.com/heatherwick-studio-unveilsprawling-mountain-shaped-moganshan-development-in-china Image Courtesy of Heatherwick Studio

เชิญชวนร่วมโครงการประกวด European Prize for Urban Public Space 2016 ขอเชิญชวนผูส้ นใจส่งผลงานเข้าประกวด European Prize for Urban Public Space หรือการประกวดออกแบบพืน้ ทีส่ าธารณะในเขตชุมชนแห่งยุโรป ซึง่ ในปีนน้ี บั ว่าเป็นปีท่ี 9 ของการประกวดที่จะจัดขึ้นทุกๆ สองปี เพื่อสนับสนุน ส่งเสริม และเผยแพร่ผลงาน การออกแบบพืน้ ทีส่ าธารณะในเมืองของยุโรปทีต่ อบโจทย์ในด้านต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์แบบ สามารถฟืน้ ฟูหรือพัฒนาพืน้ ทีใ่ นเขตเมืองทีก่ าำ ลังเผชิญกับปัญหาต่างๆ อาทิ ปัญหาด้านการ แบ่งแยกสีผิว ความไม่เสมอภาคได้ ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียนเข้าประกวดได้จนถึง วันที่ 22 ก.พ. 59 นี้ Read the full story on www.publicspace.org Image Courtesy of the Center of Contemporary Culture of Barcelona (CCCB)

เชิญชวนส่งผลงานร่วมการประกวด ‘Re-Ball!’ องค์กร Dupont Underground ขอเชิญชวนผูท้ ส่ี นใจจากทุกสาขาอาชีพ ส่งผลงานเข้าร่วมการประกวด ‘Re-Ball!’ ซึง่ เป็นการประกวดการแสดง ผลงานทางศิลปะที่ใช้ลูกบอลพลาสติกขนาด 3 นิ้ว จำานวนกว่า 650,000 ลูก มาจัดแสดงบนพื้นที่ขนาด 14,000 ตารางฟุต บริเวณ ชานชาลาฝัง่ ตะวันออกของ Dupont Underground ในกรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ให้กับผู้มาเยือนภายใต้ แนวคิดที่สร้างสรรค์ โดดเด่น สอดคล้องกับบริบทพื้นที่ในกรอบ งบประมาณที่เหมาะสม ผู้สนใจสามารถส่งผลงานและดูรายละเอียด เพิ่มเติมได้ที่ www.re-ball.org Read the full story on www.re-ball.org

23


เรื่อง: นะโม นนทการ ภาพ: กัณฑ์ตนนท์ สุรัชต์วิรากูล

ก้าวย่างนักออกแบบ สู่ธุรกิจสถานพยาบาล ในอนาคตธุรกิจสถานพยาบาลถือเป็นอีกหนึง่ กลุม่ ธุรกิจทีก่ าำ ลังมีการขยายตัว อย่างสูง ยิ่งในสภาวะเมืองไทยกำาลังก้าวเข้าสูงสังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ แล้วด้วยนั้น การรักษาพยาบาลและการดูแลสุขภาพ จึงเป็นเรื่องใกล้ตัวยิ่งขึ้น การพัฒนาสร้างสถานพยาบาลแห่งหนึง่ ขึน้ นัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่าย เพราะมีความซับซ้อน มากมาย ทัง้ เรือ่ งของการออกแบบ การก่อสร้าง การจัดการและการบริหารงาน รวมถึงการให้บริการทีอ่ บอุน่ และเป็นมิตร ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลในปัจจุบนั จึงให้ความรู้สึกที่แตกต่างจากอดีตโดยสิ้นเชิง การพัฒนาโครงการและดูแลงานออกแบบโรงพยาบาลมานานหลายปี ทำาให้ทั้งคุณสิทธิ ภาณุพัฒนพงศ์ ประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัท สินธานี กรุ๊ป จำากัด, ประธานกรรมการบริษัท สินแพทย์ จำากัด และคุณพิชญ์ธดิ า ภาณุพฒ ั นพงศ์ บุตรสาวคนโต ผูด้ แู ลฝ่ายบริหารธุรกิจ โครงการในเครือ สินธานี กรุป๊ และ บริษทั เออาร์คเิ ทค จำากัด ได้เก็บเกีย่ ว ประสบการณ์จนสามารถเรียกได้วา่ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านนีอ้ ย่างแท้จริง รวมทัง้ ยังเปีย่ มไปด้วยวิสยั ทัศน์ในการพัฒนาผลงานให้เป็นมากกว่าแค่ สิง่ ปลูกสร้าง แต่หมายถึงอาคารทางการแพทย์ทเ่ี ชือ่ มโยงผูค้ นเข้าด้วยกัน

เมือ่ 25 ปีทแี่ ล้ว โรงพยาบาลสินแพทย์เป็นตึกทีส่ งู ทีส่ ดุ คือสูง 18 ชัน้ ตัง้ อยูบ่ นถนนรามอินทรา สมัยก่อนรูปร่างของเราเรียกได้วา่ แตกต่างจาก โรงพยาบาลอืน่ ๆ ในยุคเดียวกันอยูพ่ อสมควร สินแพทย์เป็นโรงพยาบาล ไม่ใหญ่ เริม่ ต้นประมาณ 120 เตียง แต่ในปัจจุบนั เรามีทงั้ หมด 4 ตึก จำานวน 380 เตียง มีโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านเด็กเกิดขึน้ เหล่านีค้ อื จุดเริม่ ต้นของการเริม่ ทำาโรงพยาบาลเอกชน ซึง่ เป็นหนึง่ ในโครงการ ในเครือบริษทั สินธานี ต่อมา สินแพทย์ รามคำาแหงและกลุม่ โรงพยาบาล วิภาวดีได้ร่วมมือกัน จึงเป็นที่มาของโรงพยาบาลวิภาราม โดยมี กลุ่มเป้าหมายเป็นทัง้ คนไข้ทว่ั ไปและคนไข้ประกันสังคม กลุม่ นีน้ บั ว่ามี จุดเริ่มต้นและย่างก้าวสำาคัญ การเติบโตอย่างรวดเร็ว เราจึงมีการขยายสาขาออกไปในหลายทำาเล ความเชีย่ วชาญในฐานะนักออกแบบทีม่ ปี ระสบการณ์ ประกอบกับอยูใ่ น ของกลุ่มโรงพยาบาลวิภาราม ธุรกิจโรงพยาบาลมามากกว่า 25 ปี ทำาให้คณ ุ สิทธิ ภาณุพฒ ั นพงศ์ มองเห็น แนวทางการพัฒนาโครงการทีเ่ ป็นรูปธรรม ซึง่ ไม่ใช่เพียงแค่การเติบโต ในขณะเดียวกันในส่วนของโรงพยาบาลสินแพทย์เอง ด้วยความทีเ่ รา ในแง่ธรุ กิจ แต่หมายถึงการพัฒนาคุณภาพสำาหรับคนไข้และผูม้ าใช้บริการ ประสบความสำาเร็จมาตลอดระยะเวลากว่า 25 ปี เราจึงเล็งเห็นว่าจาก ซึ่งคุณสิทธิได้เล่าถึงความเป็นมาและย่างก้าวสำาคัญในขั้นต่างๆ ว่า มาตรฐาน JCI (Joint Commission International) ทีเ่ ราได้รบั ซึง่ เป็น International Standard เทียบเท่าโรงพยาบาลเกรดเอราคาแพง “โดยส่วนตัวผมจบการศึกษาทางด้านสถาปัตยกรรมและได้มาทำางาน ทำาให้เรามองว่าถ้าเราทำาโรงพยาบาลในคุณภาพดีเทียบเท่า แต่ในราคาที่ ทางด้านดีเวลล็อปเมนท์ โดยเริม่ ทีโ่ ครงการบ้านจัดสรรมาก่อนหลาย เหมาะสมกับคนชานเมืองน่าจะเป็นแนวทางที่ดี ที่ผ่านมาในกลุ่มเรา โครงการภายใต้ชอ่ื สินธานี จากนัน้ ก็มโี อกาสทำาร้านค้า โฮมออฟฟิศ นับได้วา่ มีโรงพยาบาลทีต่ งั้ อยูใ่ นใจกลางเมืองเพียงแห่งเดียว นัน่ คือ คอนโดมิเนียม อพาร์ทเม้นท์ จนกระทั่งเรามีทำาเลหนึ่งที่เราตั้งใจ โรงพยาบาลสุขมุ วิท ซึง่ เป็นโรงพยาบาลทีด่ าำ เนินกิจการมาอยูก่ อ่ นแล้ว พัฒนาเป็นโครงการโฮมออฟฟิศ ซึ่งเป็นกึ่งๆ คอมเพล็กซ์ขนาดเล็ก ทางสินแพทย์และรามคำาแหงได้มีโอกาสร่วมงานในภายหลัง ซึ่ง โดยเราตัดแบ่งถนนเส้นหนึ่งใช้ช่อื ว่า ‘สินธานีอเวนิว’ ในโครงการ โรงพยาบาลสุขุมวิทมุ่งเน้นบริการในระดับสูง และพร้อมให้ความ ประกอบด้ ว ยโฮมออฟฟิ ศ และคอนโดมิ เ นี ย ม ด้ ว ยทำาเลนี้มีท่ีดิน สะดวกแก่ผู้รับบริการทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ส่วนโรงพยาบาล ติดถนนหลักอย่างถนนรามอินทรา ซึง่ ณ เวลานัน้ เมือ่ 25 ปีทแ่ี ล้ว สินแพทย์เอง เรามีการขยายสาขาไปทีม่ นี บุรี ในชือ่ โรงพยาบาลเสรีรกั ษ์ รามอินทรายังไม่ได้เป็นชุมชนทีห่ นาแน่นอย่างทุกวันนี้ เราจึงเล็งเห็นว่า ทัง้ นีโ้ รงพยาบาลสินแพทย์มแี ผนทีจ่ ะขยายต่อไปอีกหลายๆ แห่ง ซึง่ ยังอยู่ น่าจะมีโรงพยาบาลขึน้ สักแห่งหนึง่ เพือ่ เสริมสำาหรับคนย่านนีใ้ นราคา ในขั้นตอนของการออกแบบ ที่ไม่แพงแต่เน้นคุณภาพ ประกอบกับเราได้พาร์ทเนอร์ที่ดีมาก คือ กลุ่มรามคำาแหง จำากัด (มหาชน) ก็เลยเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการ โรงพยาบาลสินแพทย์ 24


คุณสิทธิ ภาณุพัฒนพงศ์ ประธานและกรรมการผู้จัดการ บริษัท สินธานี กรุ๊ป จำากัด ประธานกรรมการ บริษัท สินแพทย์ จำากัด คุณพิชญ์ธิดา ภาณุพัฒนพงศ์ ฝ่ายบริหารธุรกิจโครงการในเครือ สินธานี กรุ๊ป 25


นอกจากนีเ้ รายังมีบริษทั เอ อาร์คเิ ทค ซึง่ เป็นบริษทั ในเครือของบริษัทสินธานี กรุ๊ป โดย เอ อาร์คิเทค จะทำาการออกแบบโครงการโรงพยาบาลแทบทัง้ หมด โดยเรามีวัตถุประสงค์เพื่อทำางานด้านโรงพยาบาล เป็นหลัก เนือ่ งจากการออกแบบโรงพยาบาลนัน้ ต้องใช้ เวลาพอสมควร เพราะต้องขอ EIA (Environmental Impact Assessment) จึงต้องใช้เวลาเตรียมการใน การออกแบบโรงพยาบาลไม่ตาำ่ กว่า 1-2 ปี กว่าจะได้ ลงมือก่อสร้าง เพราะฉะนัน้ ในระหว่างนีจ้ นกว่าได้รบั ใบอนุญาตรวมกับเวลาก่อสร้างอีกประมาณ 2 ปี รวมระยะเวลาในการเปิดให้บริการของโรงพยาบาลใหม่ แห่งหนึ่งจึงต้องใช้เวลาประมาณ 4-5 ปีเลยทีเดียว ดังนัน้ หากมองในรายละเอียดของการใช้วสั ดุ เราจึง ต้องให้ความสำาคัญกับการเลือกโดยมองถึงเทรนด์ ในอนาคตซึ่งสำาคัญไม่แพ้กันว่าในอีก 3-4 ปีข้างหน้าเทรนด์จะเป็นอย่างไร นี่แค่ในส่วนของตัวอาคาร ส่วนที่ยากกว่านั้น จะเป็นเรื่องเครื่องมือทางการแพทย์ที่จะนำาเข้ามาใช้ในโรงพยาบาล เนื่องจากสิ่งเหล่านี้ก็ขึ้นอยู่กับเทคโนโลยีด้วยเช่นกัน ดังนั้นจากประสบการณ์ที่ได้ออกแบบโรงพยาบาลมาหลายแห่งของเราจึงเป็นข้อดีในแง่ของการจัดซื้อจัดจ้าง และการหา บุคลากร รวมถึงหาคนที่จะเข้ามาสนับสนุนการทำางาน โดยเฉพาะงานระบบ M&E (Mechanical & Engineering) ซึ่ง ทำาให้ต้นทุนในการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลสูงกว่าการก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ประเภทอื่นๆ เนื่องจากงานระบบมี มากกว่าทั้งระบบภายในอาคาร รวมถึงระบบของเครื่องมือทางการแพทย์ ด้วยเหตุนี้ปัจจุบัน เอ อาร์คิเทค จึงลงไปศึกษาหรือสร้างอาคารที่จะต้องประหยัดพลังงานมากขึ้น ด้วยการให้ความสำาคัญ กับการเลือกระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้า รวมถึงระบบทำาน้าำ ร้อนต่างๆ ซึง่ ต้องลงลึกไปจนถึงการใช้โซล่าเซลล์เข้ามาช่วย ในการใช้ระบบไฟฟ้า รวมถึงใช้โซล่าฮีต (Solar Heat) เข้ามาช่วยในระบบทำาน้าำ อุน่ และใช้นาำ้ ทีเ่ ป็นระบบรีไซเคิล ดังนัน้ ตึกใหม่ๆ ของเราจึงให้ความสำาคัญกับเรือ่ งนีม้ าก อีกทัง้ ให้ความสำาคัญกับการออกแบบสิง่ แวดล้อมภายในเพือ่ การประหยัดพลังงาน และเริม่ นำาเข้ามาใช้กบั อาคารบางอาคาร อย่างสินแพทย์เราเริม่ ใช้มากขึน้ ผมเชือ่ ว่ามันจะเป็นแนวโน้มทีม่ ากขึน้ ต่อไปในอนาคต ถ้ามองในแง่ของคุณภาพในการรักษาและคุณภาพของความปลอดภัยของทั้งคนไข้และคนทำางานภายใน จริงๆ สินแพทย์ เรากำาลังจะขอ LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ที่ผ่านมาเราจึงมีการออกแบบอาคารเด็ก เน้นไปที่การเป็นอาคารประหยัดพลังงาน” บริษัทออกแบบตัวจริงสำ�หรับโรงพย�บ�ล ปัจจุบันคุณสิทธิ และกลุ่มบริษัทสินแพทย์จึงเป็นทั้งนักลงทุน นักออกแบบ และผู้ร่วมทุน ซึ่งคุณสิทธินิยามตัวเองอย่าง อารมณ์ดีให้เราฟังว่าเขาคือสถาปนิกที่ทำาโรงพยาบาล โดยมีบริษัท เอ อาร์คิเทค รับหน้าที่สำาคัญนี้ พร้อมกับมีคนรุ่นใหม่ อย่างคุณพิชญ์ธิดาเข้ามาช่วยเสริมทัพให้แข็งแกร่งมากขึ้น ซึ่งถือเป็นความโดดเด่นที่ทำาให้หนึ่งในบริษัทในเครืออย่าง เอ อาร์คิเทค แตกต่างจากบริษัทออกแบบอื่นๆ “ถ้าสังเกตจะเห็นว่าอาคารประเภทโรงพยาบาลที่สร้างใหม่นั้นจะมีความสวยงามไม่แพ้โรงแรมเลยทีเดียว เนื่องจาก มีการนำาส่วนประกอบอืน่ ๆ เข้าไปผสมผสาน ไม่วา่ จะเป็นเลาจ์หรือมุมกาแฟ รวมทัง้ การตกแต่งทีอ่ บอุน่ ให้ความสบายตาและ สบายใจ เพราะอย่าลืมว่าคนทีเ่ จ็บป่วยนัน้ มีหลายประเภท หลายแผนก ซึง่ การตกแต่งก็จะเป็นไปในลักษณะทีแ่ ตกต่างกันไป ในด้านของบรรยากาศ ซึง่ เราในฐานะนักออกแบบก็มหี น้าทีส่ ร้างบรรยากาศเหล่านัน้ ตามกลุม่ ของคนไข้ทเี่ ข้ามาใช้บริการใน โรงพยาบาล ดังนั้นเมื่อพูดถึงดีไซน์ของโรงพยาบาลแล้วจึงมีรายละเอียดค่อนข้างเยอะ และยิง่ เมือ่ มองถึงรายละเอียดของ บุคลากรทีใ่ ช้งานภายในด้วยแล้ว ซึง่ ก็คอื แพทย์และพยาบาล เราจึงมีหน้าทีท่ จ่ี ะต้องออกแบบให้ผใู้ ช้งานทำางานได้อย่างสะดวก และมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันทีฝ่ า่ ยอินทีเรียก็มหี น้าทีใ่ นการสร้างบรรยากาศทีเ่ หมาะสม โดยมีรายละเอียดในแง่ของ การเลือกใช้วัสดุที่ต้องดูดี ดูแลรักษาง่ายและมีราคาที่เหมาะสม”

26


อนาคตว่า “ปัจจุบนั คอนเซ็ปต์การดีไซน์โรงพยาบาลนัน้ ค่อนข้างกว้าง บางโรงพยาบาลมี ข นาดค่ อ นข้ า งเล็ ก มากก็ จ ะเป็ น Specialist Hospital เช่นโรงพยาบาลเด็กบางแห่งที่เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง สำาหรับเด็กเพียงอย่างเดียว บางแห่งอาจจะเป็นโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ที่มีหลายส่วนประกอบเข้าไปเพื่อเป็นโรงพยาบาล อย่างโรงพยาบาล ที่ เ รากำ า ลั ง พั ฒ นาจั ด ได้ ว่ า เป็ น เมดิ คั ล คอมเพล็ ก ซ์ (Medical Complex) มีพื้นที่ 4-5 หมื่นตารางเมตร ในขณะที่บางโรงพยาบาล มีพื้นที่กว่าแสนตารางเมตร ทั้งนี้เนื่องจากในโรงพยาบาลนั้นไม่ได้มี แค่พนื้ ทีท่ างการแพทย์เท่านัน้ แต่ยงั มีพนื้ ทีอ่ นื่ ๆ ประกอบกันอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นพลาซ่า อาคารจอดรถขนาดใหญ่ รวมถึงเรสซิเดนส์ (Residence) ทีใ่ นอนาคตจะเป็นชุมชนกลุม่ ผูส้ งู วัย (Aging Community) เป็นต้น ในแง่ของการออกแบบก่อสร้างโรงพยาบาล ถ้าเป็นไปได้ผมจะเลือก โรงพยาบาลทีส่ ร้างใหม่มากกว่าการปรับปรุงโรงพยาบาลเดิม เพราะ เราสามารถคิดและสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เข้าไปได้มากกว่าโดยที่มี ข้อจำากัดน้อย แต่ที่ผ่านมาก็มีโรงพยาบาลหลายแห่งที่บริษัทในเครือ ของเราเข้าไปร่วมกิจการ จะมีตวั อาคารเดิมอยูแ่ ล้ว ซึง่ นัน่ ก็มขี อ้ ดีเช่นกัน คือการเข้าไปแบบนีถ้ อื เป็นประโยชน์ในเชิงธุรกิจ เนือ่ งจากโรงพยาบาล เหล่านีม้ บี คุ ลากรและคนไข้อยูแ่ ล้ว แต่ขอ้ เสียคือตัวอาคารมักจะโทรม เนื่องจากถูกออกแบบและก่อสร้างมานานแล้ว ที่ผ่านมาก็มีหลาย โครงการทีเ่ ราทำา ฝ่ายอินทีเรียเองก็จะต้องทำางานมากขึน้ นอกจากนี้ โดยผู้เข้ามาดูแลการออกแบบตกแต่งภายในอย่างคุณพิชญ์ธิดาได้ ในความเป็นจริงแล้วแพทย์หรือบุคลากรทีท่ าำ งานอยูก่ จ็ ะเคยชินกับพืน้ ที่ กล่าวเสริมว่า “ในแง่ของการออกแบบตกแต่งเราให้ความสำาคัญกับ ทีเ่ คยใช้ตอ่ เนือ่ งมายาวนาน เมือ่ เราเข้าไปปรับเปลีย่ นก็จะกลายเป็นว่า โรงพยาบาลในแต่ละกลุม่ ตามกลุม่ ลูกค้าและ Positioning ของแต่ละ เราอาจจะลดความสะดวกสบายในการทำางานของบุคลากรเหล่านัน้ ได้ โรงพยาบาล ซึง่ แตกต่างกันออกไป ดังนัน้ บรรยากาศจึงออกมาในลักษณะ ทีไ่ ม่เหมือนกัน แต่นอกจากในแง่ของการดีไซน์แล้ว สิง่ ทีเ่ ราคำานึงถึง ยกตัวอย่างโรงพยาบาลวิภาวดี เมื่อเข้าไปร่วมกิจการเราก็บอกว่า คือการเลือกใช้วสั ดุทม่ี คี วามปลอดเชือ้ ทัง้ ในแง่ของการทำาความสะอาด ถ้าต้องการเปลีย่ นแปลงตึกใหม่เราก็สามารถออกแบบใหม่ได้ ส่วนตึกเก่า รวมถึงความปลอดภัยสำาหรับผูป้ ว่ ยทีเ่ ข้ามาใช้ การออกแบบโรงพยาบาล เราก็มโี จทย์วา่ จะทำาอย่างไรให้ Podium เชือ่ มต่อกันได้ ทำาอย่างไรให้มี จึงมีข้อจำากัดในการเลือกวัสดุที่เราใช้ในส่วนของการตกแต่งภายใน Open Wall ระหว่างชัน้ 1 และชัน้ 2 แก้ไขพืน้ ทีล่ าดเอียง พืน้ ทีท่ เ่ี ข้าถึงยาก ยกตัวอย่าง การใช้กระเบือ้ งยางปูพน้ื ของ Forbo ซึง่ มีขอ้ ดีตรงทีพ่ น้ื นัน้ ในสมัยก่อน เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีโรงพยาบาลอืน่ ๆ ทีเ่ รากำาลังทำาอยู่ เราไม่จาำ เป็นต้องเป็นกังวลเรือ่ งการทำาความสะอาด ทุกวันนีพ้ น้ื รุน่ ใหม่ ในขณะนี้ อย่างทีแ่ หลมฉบัง เราก็พบว่าทีผ่ า่ นมาโรงพยาบาลแบบเดิมนัน้ ก็จะมีความปลอดเชื้อมากขึ้น ซึ่งเราเลือกใช้ทั้งกับห้องตรวจ OPD จะไม่คาำ นึงถึง Open Space และ Double Volume เท่าไหร่นกั เราจึง และห้องพักผูป้ ว่ ย รวมถึงโถงทางเดินและห้องให้บริการอืน่ ๆ ส่วนในแง่ ไปแก้ไขตรงจุดนัน้ โดยการเพิ่มหรือทุบบางพื้นที่ใช้สอยใหม่ ทีผ่ า่ นมา ของความสวยงาม ทุกวันนีบ้ ริษทั ผูผ้ ลิตเองก็มตี วั เลือกให้เราได้เลือก การแก้ไขเหล่านีอ้ าจเป็นสิง่ ทีผ่ อู้ อกแบบและบุคลากรมักมองเห็นไม่ตรงกัน มากขึ้น อาจจะเป็นลายไม้ หรือลวดลายอื่นๆ ที่สามารถนำาไปใช้ได้ จึงมีความจำาเป็นทีใ่ นฐานะผูอ้ อกแบบต้องเข้าไปอธิบายเพือ่ ทำาความเข้าใจ กับหลายแผนก ซึ่งลูกค้าเราก็ค่อนข้างรู้สึกดี รวมถึงคนทำางานเอง เช่นว่าถ้าเราเพิม่ Space ให้ดี อีกหน่อยคนไข้เยอะก็ไม่อดึ อัด หรือการทำา ก็รู้สึกว่าแฮปปี้ เพราะง่ายต่อการทำาความสะอาดมาก และลดทอน ห้องตรวจให้ใหญ่ขนึ้ และมีแสงมากขึน้ ก็จะเป็นผลดีกว่าสำาหรับแพทย์ เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันสิ่งเหล่านี้หลายโรงพยาบาลก็ค่อยๆ ยอมรับ และ อุบัติเหตุซึ่งอาจเกิดขึ้นได้” เตรียมจะปรับปรุงกันมากขึน้ การเปลีย่ นแปลงเหล่านี้ เราเองก็เชือ่ ว่า ในฐานะที่อยู่กับงานออกแบบโรงพยาบาลมาจนสามารถกล่าวได้ว่า ในอนาคตเราจะได้เห็นภาพลักษณ์ใหม่ของโรงพยาบาลทีก่ า้ วไกลและ เป็น ‘ตัวจริง’ ด้านนี้ คุณสิทธิและคุณพิชญ์ธดิ ามีมมุ มองทีน่ า่ สนใจต่อ ทันสมัยมากขึ้นอย่างแน่นอน” การออกแบบและเติบโตของโรงพยาบาลในปัจจุบนั จนถึงแนวโน้มใน

27


เรื่อง: วสันต์ คงจันทร์ กรรมการผู้จัดการ บจก. โมเดอร์น พร็อพเพอร์ตี้ คอนซัลแตนท์ www.m-property.co.th

11 ทำ�เลเด่น กรุงเทพฯ และปริมณฑล ปืพ.ศ. 2559 ราคาที่ดินกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ล่าสุด (ตอนที่1) “ทำ�เลเด่นด้านราคาที่ดินที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงในปืพ.ศ. 2559 ในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล ส่วนใหญ่กต็ ามแนวเส้นทางรถไฟฟ้า โดยเฉพาะจุดเชือ่ มต่อสายทีเ่ ปึดใช้อยู่ กับสายก่อสร้างใหม่ สายที่กำ�ลังจะเปึดประมูลในปืพ.ศ.2559 โดยเฉพาะในเขต ชั้นกลางที่มีศักยภาพในการพัฒนาคอนโดมิเนียม ส่วนเขตชั้นในราคาที่ดินสูง มากแล้ว ทั้งนี้ ข้อสำ�คัญอีกประการก็คือว่าทำ�เลเด่นด้านราคาที่ดิน อาจไม่ได้ สัมพันธ์ทางตรงกับทำ�เลเด่นในการลงทุนซือ้ คอนโดมิเนียม เนือ่ งจากการลงทุน คอนโดมิเนียมนอกจากดูราคาเพิม่ ขึน้ แล้ว ยังต้องดูวา่ มีผลตอบแทนจากการให้เช่า หรือไม่ เพราะบางทำ�เลผลตอบแทนการให้เช่าอาจได้น้อยหรือไม่ได้เลย” เรือ่ งใหญ่กว่าทำ�เลคือทิศทางเศรษฐกิจ หากเกิดวิกฤติขน้ึ ทำ�เลทีว่ า่ ดีกอ็ าจย่อยยับได้ นอกจากนีใ้ นรายงานนีย้ งั แถมราคาทีด่ นิ ล่าสุดในต่างจังหวัด สำ�คัญไว้ด้วย แต่สถานการณ์ยามนี้ตลาดหัวเมืองใหญ่ไม่ค่อยดีนักราคาที่ดินเพิ่มน้อย (ในตัวเมืองย่านคอนโดมิเนียม) อย่างไรก็ตาม บางเมืองที่วันนี้แย่ แต่วันหน้าอาจพุ่งกระฉูดได้เพราะกำ�ลังซื้ออาจเพิ่มขึ้น 2 เท่า จากการขยายสนามบินหรือโครงการขนาดใหญ่ที่ไปถึง แต่ตอ้ งรอสถานการณ์ทด่ี ขี น้ึ หรือโครงการขนาดใหญ่เหล่านัน้ เกิดขึน้ ได้จริง ระยะนีห้ ลายๆ แห่งยังต้องรอความชัดเจน ราคาทีข่ น้ึ มาอาจเป็นภาพลวง หากโครงการไม่มาก็มว้ ยได้ แต่ตอ้ งมีหมายเหตุตวั โตๆ ว่าไม่เห็นกระรอกอย่างโก่งหน้าไม้ ต้องรอให้โครงการมีเงินเปิดประมูล เซ็นสัญญา ผูร้ บั เหมาก่อนก็ยงั ทัน และทีส่ �ำ คัญทีด่ นิ แต่ละแปลงศักยภาพแตกต่างกันตามกฎหมายทีจ่ ะก่อสร้างได้มากน้อยอีกต่างหาก แปลว่าอาจไม่ได้ แพงทุกแปลง” ทำ�เล 1 กรุงเทพฯ ชั้นใน สีลม สาทร เพลินจิต สุขุมวิท กับทิศทางการพัฒนาคอนโดมิเนียมระดับพรีเมียม ราคาที่ดินในเมืองแพงเวอร์ ตารางวาละ 1.9 ล้านบาท ทำ�อะไรได้บ้าง ราคาจะเพิ่มไปได้แค่ไหน “ที่ดินตารางวาละ 1.9 ล้านบาท พัฒนาอะไรได้??? ข่าวการซื้อขายราคาที่ดินในใจกลางเมืองแพงเวอร์ ตารางวาละ 1.9 ล้านบาท หลายคน คงมีค�ำ ถามว่าราคาแพงขนาดนีเ้ อาไปพัฒนาเป็นอะไรได้บา้ ง แล้วต่อไปราคายังจะเพิม่ ไปถึงตารางวาละเท่าใด นับจากปีพ.ศ. 2548 ก่อนยุค คอนโดมิเนียมครองเมือง ราคาที่ดินในใจกลางเมืองตารางวาละ 500,000 บาทเท่านั้น ผ่านมา 10 ปีเพิ่มสูงขึ้นเกือบ 4 เท่า แล้วอีก 10 ปี ข้างหน้าจะเป็นตารางวาละ 3.5-4.0 ล้านบาท หรือไม่” ศักยภาพการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ใจกลางเมืองและการไปต่อของราคาที่ดิน การพัฒนาคอนโดมิเนียมขายตารางเมตรละ 250,000350,000 บาท คงต้องเป็นคอนโดมิเนียมระดับพรีเมียม กลุม่ เป้าหมายระดับ high-end ทัง้ คนไทยและชาวต่างชาติ โดยหากเทียบกับราคาขาย ในภูมิภาคนับว่ายังต่ำ�กว่าชาวบ้านอยู่พอสมควร ไม่ต้องเทียบกับในฮ่องกง สิงคโปร์ เอาแค่ในเวียดนาม คอนโดมิเนียมบ้านเราก็ยังต่ำ�กว่า โอกาสการซื้อคอนโดมิเนียมพรีเมียมในบ้านเราสำ�หรับชาวต่างชาติย่อมมีสูงแต่ทั้งนี้คอนโดมิเนียมระดับนี้คงมีจำ�นวนน้อยอาจจะแค่ หลักไม่กพี่ นั หน่วย เทียบกับคอนโดมิเนียมตลาดคนไทยทีป่ หี นึง่ เกิน 50,000-70,000 หน่วย ประกอบกับทีด่ นิ ในเมืองหาซือ้ ได้ยาก ราคาสูง 28


และเหลือน้อยแปลงแล้ว แม้อปุ ทานจะมีนอ้ ยแต่อปุ สงค์กจ็ ะน้อยลงมาก เทียบกับทีผ่ า่ นมาทีอ่ ปุ ทานทีด่ นิ มีนอ้ ยแต่อปุ สงค์ ความต้องการทีด่ นิ มีมากทำ�ให้ราคาทีด่ นิ ขึน้ พรวดพราดในรอบ 10 ปีทผ่ี า่ นมา ในวันหน้าแม้วา่ ราคาทีด่ นิ จะมีโอกาสเพิม่ ขึน้ แต่อตั ราการเพิม่ อาจไม่ได้สงู เช่นทีผ่ า่ นมา เพราะราคาสูงพัฒนาแล้วไม่คมุ้ สำ�หรับตลาดใหญ่ทเ่ี ป็นกลุม่ คนไทย ตลาดคนไทย คงต้องขยับออกไปยังเขตชั้นกลางแทน ทำ�เล 2 ถนนรัชดาภิเษก ศูนย์ธรุ กิจแห่งใหม่ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งใหม่ อาคารซุปเปอร์ทาวเวอร์ มักกะสันคอมเพล็กซ์ รถไฟฟ้าสายสีน้ำ�เงิน รถไฟฟ้าสายใหม่สายสีส้ม ศูนย์วัฒนธรรม-มีนบุรี และสายสีเหลือง ลาดพร้าว-สำ�โรง “ศูนย์กลางธุรกิจแห่งใหม่ อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งใหม่ อาคารซุปเปอร์ทาวเวอร์ 125 ชั้น ที่สูงสุดในอาเซียนกำ�ลัง ก่อสร้าง โครงการมักกะสันคอมเพล็กซ์ของการรถไฟ รถไฟฟ้าเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงก์ ในปัจจุบนั และรถไฟฟ้า สายสีส้ม (ศูนย์วัฒนธรรม-รามคำ�แหง-มีนบุรี) โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง ลาดพร้าว-บางกะปิ-พัฒนาการ ในอนาคต” สภาพตลาดอสังหาริมทรัพย์และแนวโน้มราคาที่ดิน ในย่านถนนรัชดาภิเษก นับเป็นศูนย์ธุรกิจแห่งใหม่ที่ส�ำ คัญที่คาดว่า จะมีการขยายตัวสูง เนือ่ งจากความเป็นทัง้ แหล่งงานกลางวันและแหล่งบันเทิงของคนกลางคืน (โซนนิง่ แหล่งบันเทิง 1 ใน 3 แห่ง ของกรุงเทพฯ) มีทง้ั อาคารสำ�นักงาน โรงแรม ศูนย์การค้า (เซ็นทรัลลาดพร้าว ยูเนียนมอลล์ สวนลุมไนท์แห่งที่ 2 เอสพลานาด เซ็นทรัลพระราม 9 ฟอร์จนู ) รวมถึงสถานบันเทิงอีกเพียบ ทำ�ให้มกี จิ กรรมคึกคักตลอดเวลาทัง้ ในช่วงกลางวันและกลางคืน แทบกล่าวได้ว่าถนนสายนี้ไม่เคยหลับ ในอนาคตอาคารสำ�นักงานใหญ่ตลาดหลักทรัพย์กก็ �ำ ลังก่อสร้างทีน่ ี่ คาดว่าอีก 3 ปีกแ็ ล้วเสร็จ เป็น Magnet ของศูนย์ธรุ กิจ แห่งนีใ้ นอนาคต การสร้างอาคารซุปเปอร์ทาวเวอร์ทท่ี บุ สถิตสิ งู ทีส่ ดุ ในอาเซียน 125 ชัน้ ของกลุม่ จีแลนด์ เป็นต้น การทีเ่ ป็นแหล่งงาน ทีม่ อี ปุ สงค์จ�ำ นวนมากดังกล่าว และปัจจัยด้านราคาทีด่ นิ ยังต่�ำ เพียงครึง่ หนึง่ ของเขตธุรกิจชัน้ ใน ทีป่ จั จุบนั ราคาตารางวาละ 1.5-1.9 ล้านบาทเข้าไปแล้ว แต่ย่านนี้ตารางวาละ 500,000-600,000 บาทเท่านั้น โอกาสของราคาที่ดินตารางวาละ 1.0 ล้านบาท น่าจะได้เห็น เนื่องจากศักยภาพทำ�เลไม่ด้อยไปกว่าเขตกรุงเทพฯ ชั้นใน ยิ่งในอนาคตมีโครงการสำ�คัญๆ เช่น อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งใหม่ อาคารซุปเปอร์ทาวเวอร์ 125 ชั้นสูงสุดในอาเซียน โครงการมักกะสันคอมเพล็กซ์ของ การรถไฟฯ ดังกล่าวแล้ว ทำ�เล 3 ย่านพหลโยธิน หมอชิต บางซือ่ ห้าแยกลาดพร้าว จุดรวมรถไฟฟ้า 7 สาย โดย 2 สายปัจจุบนั เป็นรถไฟความเร็วสูง รถไฟทางคู่ สถานีบางซื่อ กับอีก 5 สายในอนาคต ทำ�เลคอนโดมิเนียมขายวันเดียวเกลี้ยง “จุดรวมรถไฟฟ้าถึง 7 สาย มีอยูแ่ ล้ว 2 สาย กับ 5 สายในอนาคต คือ รถไฟฟ้าสายสีมว่ ง บางซือ่ -บางใหญ่ โครงการสายสีน�ำ้ เงินต่อขยาย บางซือ่ -ท่าพระ โครงการสายสีแดง (บางซือ่ -รังสิต และ บางซือ่ -ตลิง่ ชัน) และโครงการสายสีเขียว หมอชิต-สะพานใหม่ อนาคตจุดเชือ่ มต่อ ที่ใหญ่ที่สุดในเขตเมือง ” สภาพตลาดอสังหาริมทรัพย์และแนวโน้มราคาทีด่ นิ สภาพตลาดอสังหาริมทรัพย์ในย่านพหลโยธิน นับว่าคึกคักอย่างมาก ในรอบหลายปีทผ่ี า่ นมา ล่าสุดผูป้ ระกอบการรายใหญ่ยงั สามารถปิดการขายได้ภายในวันเดียว (ในขณะทีส่ ถานการณ์โดยรวม ไม่สู้ดีนัก) เดิมย่านนี้ถือเป็นย่านที่อยู่อาศัย โดยมีที่ดินแปลงใหญ่ของการรถไฟฯ กรมธนารักษ์ แต่ในช่วงหลังจากการมี รถไฟฟ้าบีทีเอสตั้งแต่ปีพ.ศ.2542 เป็นต้นมา ได้มีการพัฒนาด้านพาณิชยกรรมมากขึ้น ทั้งประเภทอาคารสำ�นักงาน ศูนย์การค้า เช่น อาคารสำ�นักงานใหญ่ธนาคารทหารไทยฯ อาคาร ปตท. สำ�นักงานใหญ่ อาคารเอ็นเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ ศูนย์การค้ายูเนี่ยนมอลล์ รวมทั้งเซ็นทรัลพลาซ่าที่ปรับปรุงใหม่ ตลาดนัดสวนจตุจักรในปัจจุบันที่ได้รับความนิยมสูง มีการลงทุนในการพัฒนาอาคารร้านค้าต่างๆ เพิม่ ขึน้ จำ�นวนมาก ปัจจุบนั ราคาขายคอนโดมิเนียมในย่านนี้ ตารางเมตรละ 120,000-170,000 บาท เข้าไปแล้ว ราคาทีด่ นิ โดยรอบทำ�เลย่านนีใ้ นปัจจุบนั ทีด่ นิ ติดถนนพหลโยธิน ถนนลาดพร้าว ถนนวิภาวดีรงั สิต จากเดิมเมือ่ ปี 4-5 ปีกอ่ น ตารางวาละ 100,000-150,000 บาท ปัจจุบันราคาปรับเพิ่มเป็นตารางวาละ 300,000-400,000 บาท ในอนาคตคาดว่า จะมีศักยภาพสูงยิ่งขึ้นไปอีกเนื่องจากมีโครงการต่างๆ ดังกล่าว 29


เรื่อง: รศ. มานพ พงศทัต

ปัจจัยบวก ในปืพ.ศ. 2559 ขึ้นปีใหม่แล้วทั่วโลกต่างมองหาปัจจัยบวกในปีนี้ ต่อจากปีที่ผ่านมา ซึ่งมีทั้งปัจจัยบวกและปัจจัยลบ มีทั้งต่างประเทศและในประเทศ ปัจจัยเชิงบวกคือรัฐบาลทุกประเทศมุง่ หวังจะกระตุน้ เศรษฐกิจด้วยกัน ทัง้ นัน้ วิธกี ระตุน้ ก็ใช้มาตรการด้านการเงิน เช่น ปัม๊ เงินเข้ามาในเศรษฐกิจ ทัง้ อเมริกา ญีป่ นุ่ และยุโรป ให้มกี ระแสเลือดเศรษฐกิจหมุนเวียนมากขึน้ ที่เรียกกันว่า “QE” และมาตรการคลังคือการลด “TAX” ให้ทั้งธุรกิจ และประชาชนมีเงินใช้จ่าย มีเงินลงทุนมากขึ้น เช่น ประเทศไทยเรา ก็ลดภาษีการโอนและจำ�นองอสังหาริมทรัพย์ปลายปี ทัง้ ยังมีนโยบาย ลดภาษีในเขตเศรษฐกิจ เช่นที่ อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก และยังมี BOI ลดภาษีการลงทุนต่อเนื่อง แต่ถงึ กระนัน้ เศรษฐกิจก็ยงั ไม่กระเตือ้ งดีเท่าทีค่ วร ทัว่ โลก GDP ยังอยู่ ในระดับต่ำ� โดยเฉพาะยักษ์ใหญ่ อย่างเช่น อเมริกา หรือจีน ที่มีค่า GDP อยู่แค่ +-2% มิหนำ�ซ้ำ�ยังมีแนวโน้มว่าจะลดต่ำ�ลงไปอีก เพราะ เครือ่ งจักรเศรษฐกิจ 4 ตัว คือ การส่งออก การลงทุนภาครัฐ การลงทุน ภาคเอกชน และการบริโภคของประชาชนลดต่ำ�ลง โดยเครื่องมือ ซึ่งรัฐหวังพึ่งก็คือ “การลงทุนภาครัฐ” โดยเฉพาะในประเทศไทย ทีร่ ฐั บาลลงทุนด้านสาธารณูปโภคและการขนส่งมวลชนเป็นการใหญ่ และต่อเนือ่ ง แต่ผลก็ยงั ไม่เป็นทีป่ ระจักษ์ ซึง่ คงจะต้องใช้เวลาพอควร หันมาดูปจั จัยบวกของไทยในปีวอกกันบ้าง ก็ตอ้ งหวังให้ปจั จัยเชิงบวก มีมากและหนักแน่นพอ ในด้าน “ความสงบ” เป็นปัจจัยหลัก แม้การเมือง จะมีแนวโน้มรุนแรง เพราะกำ�ลังมีการเลือกตัง้ ทัง้ ผูว้ า่ ฯ กทม. และ ส.ก. ของกรุงเทพมหานคร และรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของประเทศ โดยรัฐบาล คสช. ก็พยายามจะควบคุมให้อยู่ ทั้งปัญหาภาคใต้ และความรุนแรง ข้ามชาติอย่างกรณีผู้ก่อการร้าย แต่วิธีควบคุมก็ต้องใช้กำ�ลัง ซึ่งทั้ง ภาคประชาชนและภาคต่างชาติไม่ค่อยจะเห็นด้วยนัก รองลงมาคือ เศรษฐกิจที่จำ�ต้องเดินก้าวหน้า ซึ่งหวังว่าจะต่อเนื่องให้ค่า GDP 3% ต่อจากปีนี้ ด้วยแรงกระตุน้ จาก Infrastructure การขนส่งต่างๆ การเปิดให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนร่วม ทั้งจีนและญี่ปุ่นที่ดูจะแจ่มใส แต่สำ�หรับจีนก็อาจยังมีปัญหาภายในอยู่

30

วิธีที่ดีที่สุดก็คือต้องหันมาช่วยเหลือตัวเองให้มากกว่านี้อีก จากทั้ง 4 เครื่องจักรสำ�คัญต้องอย่าพึ่งการส่งออกให้มากนัก จะเหลือก็แต่ “การท่องเทีย่ ว” ซึง่ นับว่าเป็นสินค้าส่งออกทองคำ�คือลงทุนน้อยมาก และประเทศเราก็เก่งด้านนี้และมีทรัพยากรมาก รัฐเองก็กำ�ลังลงมา ดูแลใกล้ชิด เช่นการตั้งเป้านักท่องเที่ยวต่างชาติให้อยู่ที่ 50 ล้านคน (ปีนี้ 30 ล้าน) ภายใน 5 ปี จะได้ไหม หรือนักท่องเที่ยวไทยเที่ยวไทย ซึง่ ปีนอ้ี ยูท่ ่ี 110 ล้านเทีย่ ว จะเพิม่ ขึน้ อีกเป็น 150 ล้านเทีย่ ว ในอีก 5 ปี ได้ไหม และเป้าเช่นนี้จะเป็นทั้งการกระตุ้นรายได้และกระจายรายได้ ไปพร้อมกัน อันดับสองไม่หนีเรือ่ งการลงทุนภาครัฐ 2.5 แสนล้านบาท ของโครงข่าย คมนาคมที่ต้องมิใช่แค่ทำ�ให้เสร็จแต่ต้องรีบทำ� โดยวิธีก็คือการขจัด ข้อแม้ต่างๆ ทางกฎหมาย เช่น พรบ.ร่วมทุน หรือ EIA ที่ต้องทำ�เป็น One Stop เหมือนนิคมอุตสาหกรรมให้ได้ โดยตัง้ Priority ให้ชดั เจน ระบบรางในเมืองใหญ่เช่นกรุงเทพฯ และเมืองท่องเทีย่ ว ต้องดึงท้องถิน่ ให้เข้ามาร่วมลงทุน เช่น สายสีเทา สีทอง และสีย่อยๆ ในกรุงเทพฯ หรือทีพ่ ทั ยา หรือ Monorail ทีภ่ เู ก็ต เชียงใหม่ ลองกระตุน้ ให้ทอ้ งถิน่ ร่วมกับภาคเอกชนเข้ามาทำ�ก็จะช่วยเสริมการกระตุ้นสู่ภูมิภาค มิใช่ รวบมาไว้ที่กระทรวงส่วนกลางอย่างเดียว ซึ่ง สนข. และสภาพัฒน์ ก็ต้องลงมาช่วยกันดูด้วย เหลือเครื่องจักรด้าน “บริโภค” จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่าคนไทย มีรายได้เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะ “คนชัน้ กลางในเมืองใหญ่” เช่น กรุงเทพฯ สมุทรปราการ ชลบุรี ซึ่งยิ่งเข้ามาใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ก็ยิ่งเป็นแรง กระตุ้นการบริโภค โดยเฉพาะปัจจัย 4 ตัวนำ� คือ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค โดยวิธีที่ต่างชาติอย่าง เกาหลี ญี่ปุ่น และจีน นำ�มาเป็นแนวทาง คือการจัดระบบเมืองชัน้ ใน เมืองชัน้ กลาง โดยเพิม่ ความหนาแน่นเพือ่ รองรับเมืองทีท่ นั สมัย ร่นไล่ขน้ึ ทางแนวตัง้ ด้านสูง และเปิด Open Space ด้านล่างให้คณ ุ ภาพชีวติ ในเมืองดีขนึ้ ก็เป็นวิธีการพัฒนาเมืองด้านกายภาพ กระตุ้นการใช้ชีวิตเมืองใหญ่ และสร้างเศรษฐกิจแบบกระจุกตัวได้ดีขึ้นครับ


เรือ่ ง: อ. ชวพงษ์ ชำ�นิประศาสน์​์

ลดอุปสรรคในการขายทอดตลาดอสังหาริมทรัพย์ วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2558 มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา เรื่องแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ 29) พ.ศ. 2558 โดยมีสาระสำ�คัญคือ การเพิม่ เติมมาตรา 39 จัตวา เพือ่ ลดอุปสรรคในการซือ้ ขายอสังหาริมทรัพย์ทถ่ี กู คำ�พิพากษาให้ขายทอดตลาด เรือ่ งการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ทีม่ กี ฎหมายกำ�หนดไว้ให้จดทะเบียน (ได้แก่ อสังหาริมทรัพย์ทตี่ อ้ งมีการ จดทะเบียนการครอบครอง เช่น พืน้ ทีห่ รือทรัพย์สนิ ส่วนบุคคลในอาคารชุด หรือบ้านจัดสรรทีไ่ ด้จดทะเบียน การจัดสรรที่ดิน) โดยที่มีกรณีปัญหาจากการซื้อขาย โอนกรรมสิทธิ์การครอบครองอสังหาริมทรัพย์ บ้านจัดสรรก็ดี หรือ พืน้ ทีก่ รรมสิทธิห์ อ้ งชุดก็ดี ภายใต้พระราชบัญญัตกิ ารจัดสรรทีด่ นิ และพระราชบัญญัตอิ าคารชุด บัญญัตใิ ห้ ต้องมีภาระการชำ�ระค่าใช้จา่ ยส่วนกลางให้ครบถ้วนก่อน จึงจะมีการโอนกรรมสิทธิไ์ ด้ แต่หากมีการค้างชำ�ระ ค่าใช้จา่ ยดังกล่าว ผูซ้ อื้ จะต้องเป็นผูร้ บั ภาระในการชำ�ระค่าใช้จา่ ยส่วนกลางนัน้ ทำ�ให้การขายทอดตลาด ของอสังหาริมทรัพย์ทถี่ กู คำ�พิพากษาให้ขายทอดตลาดไม่เป็นทีน่ า่ สนใจของผูจ้ ะซือ้ เพราะต้องแบกภาระ ในการชำ�ระค่าใช้จ่ายส่วนกลางที่ค้างชำ�ระ การประกาศพระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพิม่ เติมประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความแพ่ง ฉบับที่ 29 พ.ศ.2558 จึงเป็นทางออกของการแก้ไขอุปสรรคดังกล่าว และเป็นการใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ในส่วนของการซือ้ ขายโอนกรรมสิทธิแ์ ทนการแก้ไขพระราชบัญญัตจิ ดั สรรทีด่ นิ และพระราชบัญญัตอิ าคารชุด แต่อย่างไรก็ตามเรือ่ งนีเ้ ป็นการยกเว้นให้เฉพาะผูซ้ อื้ อสังหาริมทรัพย์ทเี่ กิดจากการขายทอดตลาดเท่านัน้ ที่มิต้องให้ผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวรับภาระการชำ�ระค่าใช้จ่ายส่วนกลางดังที่เคยดำ�เนินการมา ทัง้ นีก้ ารซือ้ ขายอสังหาริมทรัพย์ทว่ั ไปทีม่ ใิ ช่การซือ้ ขายโดยการขายทอดตลาด หากมีการค้างชำ�ระส่วนกลางอยู่ ผู้ซื้อก็ยังต้องรับภาระชำ�ระค่าส่วนกลางที่ค้างไว้ทั้งหมด ในส่วนของการซือ้ ขายโดยการขายทอดตลาด ภาระค่าใช้จา่ ยส่วนกลางทีค่ า้ งชำ�ระนัน้ บทบัญญัตจิ ากการ แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมาย วิธีพิจารณาความแพ่งฉบับนี้ยังให้นิติบุคคลอสังหาริมทรัพย์นั้นได้รับ ชำ�ระค่าใช้จา่ ยส่วนกลางโดยหักออกจากราคาซือ้ ขายทีเ่ จ้าหนีผ้ รู้ บั จำ�นอง เช่น สถาบันการเงิน ก่อนด้วย การแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติของกฎหมายฉบับนี้ น่าจะทำ�ให้อสังหาริมทรัพย์ทั้งหลายที่ถูกเจ้าหนี้หรือ สถาบันการเงินต่างๆ เป็นผู้รับจำ�นองเป็นจำ�นวนมากนั้นได้รับความสะดวก และน่าจะได้รับความสนใจ จากผู้ต้องการที่อยู่อาศัย หรือพื้นที่เพื่อประกอบธุรกิจในการโอนกรรมสิทธิ์ได้มากขึ้น (ซึ่งในข้อสังเกต เชือ่ ว่าราคาของอสังหาริมทรัพย์ในส่วนนีน้ า่ จะมีราคาต่�ำ กว่าราคาของอสังหาริมทรัพย์ทกี่ �ำ ลังจะเกิดขึน้ )

31


เรื่อง: ปฏิทิน เวลา

ที่สุดของ 5 ตึกระฟ้า ที่กำาลังจะก่อสร้างแล้วเสร็จในปืนี้ ในแต่ละปืจะมีอาคารสูงและตึกระฟ้าก่อสร้างแล้วเสร็จเป็นจำานวนมาก หากกล่าวถึง จำานวนตึกทีส่ งู ทีส่ ดุ ในโลกทีก่ าำ ลังจะก่อสร้างแล้วเสร็จในปืค.ศ.2016 ก็เห็นจะมี อยูห่ ลายอาคารทีเดียว ทัง้ นีร้ วมไปถึงอาคารสำานักงานทีข่ น้ึ ชือ่ ว่าสูงติดอันดับโลก อีกด้วย วันนีจ้ งึ นำาเสนอ 5 ตึกระฟ้าทีส่ งู ทีส่ ดุ ติดอันดับโลก ทีก่ าำ ลังก่อสร้างแล้วเสร็จในปีนก้ี นั โดยอ้างอิงข้อมูลของ CTBUH จาก skyscraperpage.com ซึ่งพบได้ว่าตึกระฟ้าที่ก่อสร้างแล้วเสร็จและที่กำาลังจะแล้วเสร็จในปีค.ศ.2016 ส่วนใหญ่นั้นจะตั้งอยู่ในโซนเอเชียเสียส่วนมาก โดยเฉพาะ ในสาธารณรัฐประชาชนจีน นัน่ อาจเป็นผลจากการพัฒนาความเจริญและลงทุนทางด้านเศรษฐกิจในหลายๆ เมืองของประเทศจีน จึงทำาให้มี อาคารสูงเกิดขึน้ มากมาย และตึกสูงในทวีปยุโรปและทวีปอเมริกามีการพัฒนาน้อยลง แต่ทง้ั นีท้ ง้ั นัน้ ในสภาวะเศรษฐกิจโลกทีก่ าำ ลังเป็นอยูข่ ณะนี้ ก็คงต้องลุ้นและจับตามองกันต่อไปว่าอีกสิบกว่าเดือนข้างหน้าตึกระฟ้าดังกล่าวจะแล้วเสร็จตามกำาหนดหรือไม่ และเมื่อเปิดใช้งานแล้ว จะประสบความสำาเร็จอย่างไรบ้าง 1. Ping An Finance Center, Republic of China ตึกระฟ้าแห่งนีม้ คี วามสูงถึง 600 เมตร ซึง่ เมือ่ ก่อสร้างแล้วเสร็จในปีค.ศ.2016 อาคาร หลังนี้จะกลายเป็นอาคารที่สูงสุดเป็นอันดับที่ 5 ของโลก ด้วยผนังกรอบอาคารรูปทรง สีเ่ หลีย่ มมุมตัดคล้ายแท่งหินแนวตัง้ ทีส่ งู กว่า 115 ชัน้ พืน้ ทีใ่ ช้สอยภายในประกอบไปด้วย อาคารสำานักงากว่า 100 ชั้น ร้านค้าและร้านอาหารที่ด้านล่างของอาคารอีก 5 ชั้น Architect Structural Engineer Construction Dates Floor Count Building uses Architecture Style

Kohn Pedersen Fox Associates (KPF) Thomton Tomasetti Start 2010 / Completion 2016 115 Office, Parking garage, Restaurant, Retails Modern

Image Courtesy of Kohn Pedersen Fox Associates (KPF)

2. Lotte World Tower, Republic of Korea ตึกระฟ้าที่ได้ชื่อว่าสูงที่สุดในสาธารณรัฐเกาหลีใต้ ซึ่งกำาลังจะแล้วเสร็จภายในปีค.ศ.2016 นี้เช่นกัน ด้วยความสูงอาคารถึง 555 เมตร พื้นที่ใช้สอยภายในอาคารประกอบไปด้วย ร้านค้า สำานักงาน และ โรงแรมสุดหรูระดับ 7 ดาว ซึ่งสะท้อนภาพลักษณ์ทางด้านศิลปะของเกาหลีใต้เป็นอย่างดี Architect Construction Dates Floor Count Building uses Architecture Style 32

Kohn Pedersen Fox Associates (KPF) Start 2011 / Completion 2016 123 Hotel, Office, Parking garage, Residential, Restaurants, Retails Post-modern

Image Courtesy of Kohn Pedersen Fox Associates (KPF)


3. CTF Finance Center, Republic of China อีกหนึง่ ตึกระฟ้าทีก่ าำ ลังจะแล้วเสร็จภายในปีค.ศ.2016 นี้ ด้วยความสูงอาคารถึง 530 เมตร กับพื้นที่ใช้สอยกว่า 111 ชั้น ซึ่งประกอบไปด้วย สำานักงาน โรงแรม ศูนย์ประชุม ศูนย์การค้า และจุดชมวิวดาดฟ้า Architect

Image Courtesy of Kohn Pedersen Fox Associates (KPF)

Construction Dates Floor Count Building uses Architecture Style

Kohn Pedersen Fox Associates (KPF) / Dennis Lau & Ng Chun Man Architects & Engineers Start 2010 / Completion 2016 111 Hotel, Office, Residential, and Shopping Center Modern

4. Wuhan Center Tower, Republic of China ตึกระฟ้าที่มีผนังกรอบอาคารทรงโค้งที่ขนาบอยู่ 2 ด้าน สร้างให้อาคารหลังนี้โดดเด่น ที่สุดในย่านธุรกิจของเมือง โดยผนังทรงโค้งนี้ได้แรงบันดาลใจมาจากส่วนของใบเรือ และด้วยความสูงถึง 438 เมตร พื้นที่ใช้สอยภายในประกอบไปด้วย อพาร์ทเม้นท์ สำานักงาน และโรงแรมหรู Architect Construction Dates Floor Count Building uses Architecture Style

ECADI Start 2012 / Completion 2016 88 Hotel, Office, Residential, Observation Modern

Image Courtesy of ECADI

5. Marina 101, United Arab Emirates อีกหนึง่ ตึกระฟ้าทีต่ ง้ั อยูใ่ นนครดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ด้วยความสูง 426.5 เมตร อาคารหลังนี้ประกอบไปด้วยพื้นที่ 101 ชั้น ซึ่งเป็น โรงแรมหรูขนาด 324 ห้อง ห้องชุดพักอาศัย 506 ยูนติ ในปีค.ศ.2011 ได้มีการหยุดก่อสร้างไปชั่วคราว และต่อมาจึงได้ดำาเนินการสร้างต่อ โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปีนี้ Architect Construction Dates Floor Count Building uses Architecture Style

National Engineering Bureau Start 2006 / Completion 2016 101 Hotel, Residential and Parking Garage Islamic-postmodern

Image Courtesy of ECADI

นอกจากนั้นภายในปีนี้ยังมีอาคารสูงอีกหลายแห่งที่กำาลังจะก่อสร้างแล้วเสร็จด้วยเช่นกัน อาทิเช่น 432 Park Avenue ในนิวยอร์กซิตี้ สหรัฐอเมริกา ที่มีความสูง 425 เมตร Capital Market Authority Headquarters ในซาอุดิอาราเบีย ที่มีความสูง 384 เมตร Federation Tower ในมอสโคว ประเทศรัสเซีย ที่มีความสูง 374 เมตร Dalian International Trade Center ในต้าเหลียน สาธารณรัฐประชาชนจีน ทีม่ คี วามสูง 370 เมตร และ The Address The BLVD ในนครดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ที่มีความสูง 368 เมตร เป็นต้น 33


เรื่องชาวบ้าน: ศ.ดร. บัณฑิต จุลาสัย

เพลงลามาร์เซย์แยส หลายคนโดยเฉพาะชาวธรรมศาสตร์ คงคุน้ เคยกับเพลงมาร์ช ม.ธ.ก. ทีม่ เี นือ้ ร้องว่า ...อันธรรมศาสตร์สบื นามความสามัคคีรว่ มรักในสิทธิ ศรี เสรีชยั ... แต่อาจไม่รู้ว่า ทวีป วรดิลก ดัดแปลงมาจากเพลงลามาร์เซย์แยส (La Marseillaise) ที่ปัจจุบันเป็นเพลงชาติของประเทศฝรั่งเศส เพลงนี้ Claude Joseph Rouget de Lisle เป็นผู้ประพันธ์มาช้านานแล้ว แต่มาเป็น ที่รู้จักกันเมื่อตอนเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส ในปีพ.ศ. 2335 ด้วยระหว่างที่ประชาชน รวมพลังต่อต้านพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ยังถูกกล่าวหาว่าลุ่มหลงในความหรูหราอลังการ ปล่อยให้ประชาชนอดอยากยากจน โดยอาสาสมัครจากเมืองมาร์เซย์ ที่ได้เดินทางเข้า มาสมทบกับกองกำาลังประชาชน ในปารีสนั้นมักจะร้องเพลงนี้ เพื่อสร้างขวัญและกำาลังใจที่อยู่ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส โดยปรับเนื้อร้องใหม่ดังนี้ …Allons enfants de la Patrie Le jour de gloire est arrivé! Contre nous de la tyrannie L’étendard sanglant est levé… …มา มาเถิด พวกเรา ยุวชนแห่งพรรค วันแห่งชัยชนะ กำาลังจะมาถึง มาช่วยกันต่อต้านเหล่าทรราช ด้วยเลือดเนื้อของพวกเรา… หลังจากปฏิวตั สิ าำ เร็จ ชาวฝรัง่ เศส (ตอนเหนือ) จึงให้เกียรติชาวใต้ โดยยกเพลงดังกล่าว ให้เป็นเพลงแห่งการปฏิวัติ และเรียกขานเพลงนี้ว่า มาร์เซย์แยส ที่หมายถึงคนจาก เมืองมาร์เซย์ และเป็นเพลงชาติฝรั่งเศสในเวลาต่อมา ใครที่มีโอกาสไปเยือนมาร์เซย์ หรือปารีส หากคิดสนุกก็ให้ร้องเพลงมาร์ช ม.ธ.ก. เข้ามา (ซ้ำา) จะช้าอยู่ใน (ซ้ำา) ร่วมใจ (ซ้ำา) ร่วมใจ (ซ้ำา) เชิดชัยเหลืองแดง ร่วมแรง (ซ้ำา) เที่ยวไปในปารีส (ฮา) แม้ชาวบ้านจะฟังเนือ้ เพลงไม่ออก แต่รบั รองได้วา่ จักตกใจ ลุกขึน้ ยืนเคารพทันที (ฮา) 34

















เรื่อง: กองบรรณาธิการ

HOLEDECK นวัตกรรมโครงสร้างพื้นคอนกรีต นวัตกรรมระบบโครงสร้างพืน้ คอนกรีต Holedeck ได้รบั รางวัลการันตีจาก CTBUH’s 2015 Tall Building Innovation Award ว่าเป็นระบบพื้น คอนกรีตทีส่ ามารถช่วยลดปริมาณการใช้คอนกรีตได้กว่า 55% เมือ่ เทียบกับ พื้นคอนกรีตทั่วไป จึงเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดความ หนาของแผ่นพื้น จึงมีผลต่อความสูงของอาคาร สามารถเพิ่มจำานวนชั้นของ อาคารสูงให้เพิ่มมากขึ้นได้ นี่จึงถือเป็นอีกหนึ่งนวัตกรรมที่น่าสนใจมากทีเดียว Holedeck เป็นระบบพืน้ คอนกรีตเปลือยทีถ่ กู ออกแบบมาให้สามารถวางระบบไฟ ท่อร้อยสาย อุปกรณ์ระบบและการสือ่ สาร ทัง้ หลาย เข้าไปอยูใ่ นโครงสร้างพืน้ ได้ ด้วยนวัตกรรมแบบหล่อคอนกรีตทีส่ ร้างพืน้ คอนกรีตให้มลี กั ษณะคล้ายวาฟเฟิลคือ มีลกั ษณะเป็นพืน้ ทีถ่ กู เจาะเป็นช่องเปิดคล้ายตะแกรง โดยระหว่างช่องแต่ละอันจะสร้างให้เกิดโครงข่ายทีว่ า่ งในโครงสร้าง พื้นขึ้นสำาหรับติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ได้ นอกจากนั้นแบบหล่อที่เป็นระบบโมดูล่าร์ยังสามารถออกแบบสำาหรับเจาะช่องเปิด บนโครงสร้างพื้นคอนกรีต เพื่อใช้เดินท่องานระบบวิศวกรรมให้ต่อเนื่องกันได้ทั้งในแนวนอนและแนวตั้ง ระบบพื้นคอนกรีต Holedeck ถือเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้การเข้าถึงงานระบบวิศวกรรมทำาได้ง่ายขึ้น ทั้งการบำารุง ซ่อมแซมและดูแลอุปกรณ์งานระบบที่อยู่เหนือฝ้าเพดานทั้งหมด เนือ่ งจากระบบพืน้ คอนกรีต Holedeck ไม่จาำ เป็นต้องใช้ ระบบฝ้าเพดานทำาการตกแต่งปิดบังความไม่เรียบร้อยของงานระบบเหล่านัน้ อีกทัง้ ยังเป็นการช่วยลดพืน้ ทีเ่ หนือฝ้าเพดานลง ซึง่ ต่างจากระบบพืน้ คอนกรีตทัว่ ไปในอดีต ผลทีต่ ามมาคือสามารถตอบโจทย์ในเรือ่ งของการปรับปรุงตกแต่งหรือเปลีย่ น รูปแบบการใช้สอยพื้นที่ได้ง่ายยิ่งขึ้น รวมไปถึงเรื่องความสะอาด เพราะจะช่วยลดปัญหาสิ่งสกปรกสะสมเหนือฝ้าเพดาน อันเป็นเหตุก่อให้เกิดโรค ‘ออฟฟิศ ซินโดรม’ (Sick Building Syndrome – SBS) ได้ ในขณะที่รูปทรงวาฟเฟิลของพื้น คอนกรีตยังช่วยส่งผลต่อคุณภาพเสียงภายในอาคารอีกด้วย

50


ข้อดีของการออกแบบด้วย Holedeck • ทำ�ให้สร้�งอ�ค�รทีม่ คี ว�มสูงลดลง รวมทัง้ ช่วยลดพืน้ ทีผ่ วิ เปลือกอ�ค�ร ผนัง และองค์ประกอบอ�ค�รแนวตัง้ ทัง้ หล�ย ซึ่งหม�ยถึงก�รประหยัดวัสดุก่อสร้�งลง พร้อมลดค�ร์บอนฟุตปริ้นท์ของอ�ค�ร • ไม่จำ�เป็นต้องใช้ฝ้�เพด�นแบบแขวน จึงช่วยลดวัสดุก่อสร้�งลง พร้อมลดค�ร์บอนฟุตปริ้นท์ของอ�ค�รด้วยเช่นกัน • ช่วยลดปริม�ณก�รใช้คอนกรีตในง�นก่อสร้�ง เนื่องจ�กพื้นคอนกรีต Holedeck มีช่องว่�งจำ�นวนม�ก • ช่วยลดน้ำ�หนักของโครงสร้�งอ�ค�ร รวมทั้งเหล็กเสริมแรงและค�ร์บอนฟุตปริ้นท์ ข้อดีของการก่อสร้างด้วย Holedeck • แม่พิมพ์ของ Holedeck ส�ม�รถนำ�กลับม�ใช้ซ้ำ�ได้ใหม่ สำ�หรับก�รก่อสร้�งพื้นคอนกรีตชั้นต่อๆ ไป แม้บริเวณพื้นที่ ขน�ดใหญ่ก็ส�ม�รถสร้�งพื้นคอนกรีตขึ้นโดยใช้แม่พิมพ์จำ�นวนน้อยๆ ได้ • แม่พิมพ์ของ Holedeck ผลิตจ�กโพลีพรอพีลีน จึงส�ม�รถนำ�ม�รีไซเคิลได้ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ดังนั้นเมื่อจบสิ้นวงจรชีวิต (Life-cycle) แล้ว แม่พิมพ์จะถูกนำ�กลับม�ใช้เพื่อเป็นวัตถุดิบในผลิตแม่พิมพ์อันใหม่ • Holedeck เป็นเทคโนโลยีก�รหล่อคอนกรีตในสถ�นที่ก่อสร้�ง ที่ส�ม�รถใช้แรงง�นทั่วไปในท้องถิ่นได้เพร�ะสะดวก และไม่ซับซ้อน อีกทั้งยังเป็นวิธีก�รที่ช่วยลดต้นทุนก�รขนส่งลงด้วย เทคโนโลยีนี้สร้�งคว�มหล�กหล�ยและส่งผลต่อก�รพัฒน�อ�ค�ร อย่�งยัง่ ยืน โดยเฉพ�ะอย่�งยิง่ เมือ่ ถูกนำ�ม�ใช้กบั อ�ค�รสูง เนือ่ งจ�ก แนวคิดของระบบโครงสร้�งพืน้ คอนกรีต Holedeck ได้รบั ก�รออกแบบ ให้จัดก�รกับมวลคอนกรีตที่ไม่ได้รับแรงเฉือนออกไป ซึ่งช่วยลด น้�ำ หนักโดยรวมของโครงสร้�งได้ม�ก โดยทีไ่ ม่ท�ำ ให้สญ ู เสียคว�มส�ม�รถ ในก�รรับน้�ำ หนักระหว่�งช่วงเส�ทีม่ รี ะยะห่�งกัน จึงเหม�ะสำ�หรับก�ร ออกแบบอ�ค�รที่ต้องก�รระยะห่�งระหว่�งเส�ม�กเป็นพิเศษ เช่น อ�ค�รสำ�นักง�น โรงพย�บ�ล โรงเรียน และอ�ค�รส�ธ�รณะ เป็นต้น Source from: www.archdaily.com/779340/this-innovative-concreteslab-system-uses-up-to-55-percent

51


เรื่อง: ดร.อรช กระแสอินทร์, LEED GA

Big Data เพื่อการออกแบบ (5) จากทีไ่ ด้เขียนเรือ่ งของ Big Data มาร่วม 4 ตอนแล้ว มาถึงตอนนี้ ผมคิดว่า จะนำ�เสนอแนวทางของการปฏิบตั ิ ในการเตรียมอาคารเพือ่ การเก็บข้อมูลสำ�หรับ Big Data หรือน่าจะเรียกตอนนีว้ า่ “ออกแบบเพือ่ Big Data” มากกว่า ทัง้ นี้ ก็อย่างที่ได้เล่าไปแล้วว่าข้อมูลพฤติกรรมของคนนั้นมีอยู่มากมายและเกิดขึ้น ตลอดเวลา แต่ทำ�อย่างไรที่จะแปลพฤติกรรมของคนที่ใช้อาคารมาเป็นข้อมูล เก็บและบันทึกเพื่อการศึกษาวิเคราะห์ต่อไป ก็เป็นสิ่งที่นักออกแบบควรจะรู้ไว้ บ้างนะครับ หลักคิดง่ายๆ คือเราต้องมีขอ้ มูลทีจ่ ะเอาเข้าไป (Input) ให้ระบบทำ�งานประมวลด้วย Learning Algorithm และมีการแสดงผล หรือมี Output เป็นการตอบสนองของอาคาร ในขณะเดียวกันก็เก็บข้อมูลทั้งหมดที่ได้เข้าไปสู่ Data Bank เพื่อนำ�มา วิเคราะห์ในภายหลัง อย่างแรกอาคารทีค่ ณ ุ ออกแบบจะต้องมี Sensor หรือตัววัดต่างๆ มากมาย หากคุณต้องการจะรูข้ อ้ มูลอะไรก็ตอ้ งมีตวั วัด เช่นนัน้ อาทิ ต้องการจะวัดการใช้ไฟฟ้าหรือการใช้น�้ำ ก็ตอ้ งมี meter ต้องการจะดูการเดินทางของคนก็ใช้ Access Control หรือระบบควบคุมการเข้าออกของผูค้ นในอาคาร หรือต้องการจะวัดสภาพอากาศในอาคาร ก็ตอ้ งมีทง้ั ตัววัดอุณหภูมิ ความชืน้ และแสงสว่าง เป็นต้น และถ้าต้องการจะให้ทราบข้อมูลทีล่ ะเอียดเช่นแยกเป็นส่วนของอาคาร หรือทีละชัน้ ทีละห้อง ก็ตอ้ งติดตัง้ ตัววัดทั้งหลายอย่างถี่ยิบไปด้วย นอกจากนี้ก็ต้องคิดเผื่อถึงการเชื่อมโยงตัววัดต่างๆ เข้ากับระบบของอาคารเพื่อนำ�เอา ข้อมูลไปประมวล ไม่วา่ จะเป็นการเดินสายการสือ่ สาร หรือใช้ระบบไร้สายต่างๆ หลายๆ อาคารทีไ่ ม่ได้เตรียมเรือ่ งนีก้ จ็ ะต้อง เดินสายอย่างวุ่นวายภายหลังนั่นเอง

Learning Algorithin

Input

52

Data Bank

Output


เมือ่ ได้ขอ้ มูลมาแล้ว ระบบประมวลผลจะพิจารณาข้อมูลเพือ่ ทีด่ าำ เนินการสองอย่าง คือ อย่างแรกระบบจะสัง่ การให้อปุ กรณ์ตา่ งๆ ในอาคารทำางานต่างๆ เช่นการปรับเพิ่มหรือลดอุณหภูมิ การเปิดปิดไฟฟ้าแสงสว่าง ทั้งนี้การออกแบบอาคารก็จะต้อง พิจารณาว่าจะต้องการให้มกี ารควบคุมอุปกรณ์ตา่ งๆ ครอบคลุมอะไรบ้าง และมีกาำ หนดขอบเขตของการควบคุมอย่างไร ตัวอย่าง เช่นหากอาคารดำาเนินการตามเกณฑ์อาคารเขียว ก็จะต้องมีการแยกการควบคุมแสงสว่างแทบจะเฉพาะรายบุคคลเลยทีเดียว ซึง่ การเป็นอาคารอัจฉริยะหรือ Smart Building นัน้ ต้องวางแผนการวางระบบ การเลือกอุปกรณ์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้าต่างๆ ทีส่ ามารถควบคุมผ่านคอมพิวเตอร์ได้เป็นสำาคัญ และในประเด็นของการใช้ระบบประมวลผลและสัง่ การ ก็มใี ห้เห็นอย่างมากมาย แล้วสำาหรับอาคารที่ทำาการติดตั้งระบบ Building Automation System หรือระบบควบคุมอาคาร เพียงแต่ซอฟต์แวร์ ที่ทำาการควบคุมจะมีความสามารถแตกต่างกันไปตามแต่ละผู้ผลิตนั่นเอง สำาหรับอย่างที่สองซึ่งเป็นใจความสำาคัญของการเป็น Big Data คือการที่ระบบจะทำาการบันทึกข้อมูลซึ่งเป็นผลมาจาก พฤติกรรมการใช้อาคารของผู้คนแล้วทำาการเก็บไว้ในฐานข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นการใช้พลังงาน การใช้ไฟฟ้า ค่าแสงสว่าง ค่าอุณหภูมภิ ายในภายนอก ฯลฯ แล้วแต่จะวางแผน และระบบก็จะเรียนรูข้ อ้ มูลทีผ่ า่ นเข้ามา มองหาความสัมพันธ์ของข้อมูล ที่เราอาจจะละเลยหรือไม่คิดว่าจะเป็นไปได้ แล้วชี้ให้เราเห็นได้ว่าอาคารมีข้อบกพร้องทางด้านต่างๆ เพื่อให้เราสามารถ ปรับปรุงได้ รวมถึงนำาไปเป็นกรณีศึกษาเพื่อการออกแบบอาคารใหม่ได้ด้วย ผมเองก็ไม่สามารถบอกได้ชดั เจนว่าเราจะเจออะไรจากการใช้ Big Data สำาหรับอาคารของคุณ แต่จากกรณีศกึ ษาทีไ่ ด้กล่าวไป ครัง้ ก่อน เช่น กรณีของมหาวิทยาลัยบราวน์ และอืน่ ๆ สามารถทำาให้ผมพอบอกอย่างคร่าวๆ ได้วา่ เราจะระบบจะชีข้ อ้ สังเกต หรือข้อผิดปกติได้ หรือมองเห็นพฤติกรรมทีซ่ า้ำ ๆ ของผูใ้ ช้อาคาร ซึง่ ทัง้ หมดนีเ้ ป็นผลต่อการดูแลรักษาอาคาร และสามารถ นำาไปใช้กับการออกแบบอาคารต่อๆ ไปได้ คุณอาจจะคิดว่ามันก็ดีนะ แต่คงแพงมากเพราะต้องติดตั้งตัววัด สายสื่อสาร และระบบต่างๆ มากมาย แต่ผมอยากให้ ท่านผู้อ่านลองคิดดูว่า 1. ถ้าท่านมีอาคารที่กำาลังออกแบบและต้องลงทุนในระบบ Building Automation อยู่แล้ว ลองพิจารณาต่อยอด เรียกทีป่ รึกษาด้าน Big Data มานัง่ คุยดูกอ่ นก็ได้ เพราะอย่างไรก็ตอ้ งจ่ายค่าอุปกรณ์มากมายอยูแ่ ล้ว ก็อาจจะเพิม่ อีกไม่มากเพือ่ ให้ทาำ Big Data ได้ และ 2. ลองพิจารณาทางเลือกอืน่ ๆ เช่นการใช้ Application ในมือถือ ทีใ่ ห้ ผูใ้ ช้อาคารโหลดไป แล้วลองสังเกตพฤติกรรมการใช้อาคารผ่าน App เหล่านัน้ หรือการเลือกติดตัง้ ตัววัดและระบบทัง้ หมด ในระดับทีน่ อ้ ยและใช้ประโยชน์อน่ื ๆ ไปด้วย เช่นระบบ Access Control และใช้เปิดปิดไฟจาก key card เป็นต้น ซึง่ จะทำาให้ การลงทุน Infrastructure ของระบบลดลงไปด้วย ถึงตรงนี้ผมคิดว่าผู้อ่านหลายท่านคงมีความรู้เรื่อง Big Data ที่เกี่ยวข้องกับอาคารมากขึ้นบ้าง หรือบางท่านอาจจะ มากกว่าผมอยูแ่ ล้วตัง้ แต่ตน้ แต่หากว่าไม่ได้ลองพิจารณาศึกษาและทำาการทดลองจริงๆ ก็คงบอกไม่ได้วา่ ผลลัพธ์ทอี่ อกมา จะเป็นอย่างไร

BUIDER GAGS ซีรส่ี โ์ ปรเจคการวาดแบบแปลนขนาด 1:1 เท่าของจริง

Sketch of “Mountain Hill Cabin” project Image © Vardehaugen

บริษทั สถาปัตยกรรม Vardehaugen จากกรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์ ได้สร้างซีรี่ส์โปรเจคสุดสร้างสรรค์ ด้วยการวาดแบบแปลนอาคาร ในขนาดอัตราส่วน 1:1 ที่เท่ากับของจริง ลงบนลานที่ว่างด้านหลัง บริษัท โดยได้แรงบันดาลใจจากแนวคิด “การรับรู้ผ่านทางร่างกาย ถึงขนาดพื้นที่ หรือการรับรู้ขนาดพื้นที่ด้วยการเดินผ่านห้อง ซึ่งเป็น ประสบการณ์ทหี่ าไม่ได้จากการสร้างภาพแบบ 3 มิติ หรือแบบจำาลอง” ซึ่งการจำาลองแบบแปลนขนาด 1:1 จะทำาให้มีความเข้าใจเกี่ยวกับ ระยะและลำาดับเชิงพื้นที่ได้ดีขึ้น หรือแม้แต่ทำาเป็นแบบจำาลองเพื่อให้ สถาปนิกได้ศึกษาก่อนที่โครงการจะถูกสร้างจริง ตลอดจนเป็นการ สื่อสารแนวคิดและถ่ายทอดวิธีการ ให้คนทั่วไปเข้าใจงานออกแบบ สถาปัตยกรรมมากขึ้น Source from: www.archdaily.com/780236/ 53


เรื่อง: ผศ.ดร.จตุวัฒน์ วโรดมพันธ์, LEED AP, TREES Founder และ สุขสันติ์ ยงวัฒนานันท์ LEED Green Associate, TREES Associates Executive Green Building Service, ISET (Thailand) Ltd.

การประเมินและปรับปรุงคุณภาพอากาศ ก่อนการใช้งานอาคาร วัสดุทใี่ ช้ภายในอาคารในช่วงการก่อสร้างมีสารทีก่ อ่ ให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ ซึ่งนอกจาก สารอันตรายเหล่านั้น กิจกรรมก่อสร้างก็สามารถ นำ�สารปนเปือ้ นอืน่ ๆ เข้ามาสะสมในสภาพแวดล้อม ในอาคารเช่นกัน โดยสารอันตรายเหล่านั้นได้แก่ ฟอร์มนั ดีไฮด์ สารอินทรียร์ ะเหยง่าย ฝุน่ ละออง โอโซน แก๊สทีเ่ ผาผลาญจากอุปกรณ์ทใี่ ช้น�้ำ มัน และอากาศ ภายนอกจากอาคารรอบข้างมีกลิน่ หรือสารอันตราย อืน่ ๆ ดังนั้นการลดสารอันตรายเหล่านั้นก่อนการ เข้าใช้งานอาคารเป็นส่วนสำ�คัญ สำ�หรับการเพิ่ม คุณภาพชีวิตของผู้ใช้งานอาคาร ซึ่งส่งผลให้เกิด การเจ็บป่วยจากสภาพแวดล้อมในอาคารที่ไม่มี คุณภาพลดน้อยลง และทำ�ให้ประสิทธิภาพการทำ�งาน ดีมากขึ้น ซึ่งเป็นผลดีต่อองค์กรที่เข้ามาใช้งาน ภายในอาคาร กลยุทธ์ทด่ี ที ส่ี ดุ สำ�หรับแสดงว่าคุณภาพภายในอาคาร นั้นมีคุณภาพที่ดี คือ การทดสอบระดับมลภาวะ ภายในอาคาร จากการตรวจสอบคุณภาพอากาศ ภายในอาคารหลังจากการก่อสร้างเสร็จสิน้ และเป็น ระยะเวลาก่อนการเข้าใช้งานอาคาร ซึง่ การตรวจสอบ ต้องตรวจวัดอากาศในสภาพตามที่มีการใช้งาน อาคารตามปกติ เครื่องทดสอบระดับมลภาวะภายในอาคาร

54


สารปนเปื้อนที่ควรดำ�เนินการตรวจสอบ และความเข้มข้นในอากาศสูงสุดของแต่ละชนิดสารปนเปื้อน ขึ้นอยู่กับมาตรฐาน ที่ใช้ในการอ้างอิง สำ�หรับมาตรฐาน LEED 2009 จะให้ดำ�เนินการตรวจสอบสารปนเปื้อนตามตารางด้านล่าง สารปนเปื้อน

ความเข้มข้นในอากาศสูงสุด

Formaldehyde Particulates (PM10) Total volatile organic compounds (TVOCs) 4-Phenylcyclohexene (4-PCH) Carbon monoxide (CO)

EPA Compendium method 27 parts per billion IP-6 50 micrograms per cubic meter IP-10 500 micrograms per cubic IP-1 meter 6.5 micrograms per cubic IP-1 meter 9 parts per million and no IP-3 greater than 2 parts per million above outdoor levels

ISO method ISO 16000-3 ISO 7708 ISO 16000-6 ISO 16000-6 ISO 4224

ซึง่ ในกรณีทพ่ี บพืน้ ทีท่ ม่ี คี า่ ความเข้มข้นของสารปนเปือ้ น ชนิดใดสูงกว่าค่าสูงสุด ควรพิจารณาการดำ�เนินการเป่า อากาศที่หมุนเวียนในพื้นที่นั้น ให้เกิดระบายออกไป สู่ภายนอกอาคาร ด้วยการดูดอากาศจากภายนอก อาคารเข้ามาแทนทีอ่ ากาศทีห่ มุนเวียนอยูภ่ ายใน เราเรียก การดำ�เนินการนี้ว่าการ Flush-out

พัดลมปรับอากาศภายในอาคาร

ในกรณีที่ประเมินว่าอากาศภายในอาคารมีการปนเปื้อนสารอันตรายจากวัสดุและกิจกรรมการก่อสร้าง ในปริมาณที่สูง เนื่องจากการเลือกใช้วัสดุ หรือการดำ�เนินแผนการจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคาร ระหว่างการก่อสร้างมีประสิทธิภาพต่�ำ ให้ด�ำ เนินการปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคารด้วยกลยุทธ์การ Flush-out ภายในอาคารทั้งหมดก่อนการตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร โดยควรจะดำ�เนินการ นำ�อากาศภายนอกเข้ามาแทนที่อากาศภายในอาคารในปริมาณ 3.55 ลิตรต่อวินาทีต่อตารางเมตร (0.7 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาทีต่อตารางฟุต) เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 24 ชั่วโมง ตลอดเวลา 2 สัปดาห์ ซึ่งเป็น ปริมาณที่เกณฑ์ประเมินอาคารเขียวของสหรัฐอเมริกา หรือ LEED ประเมินว่าเป็นปริมาณที่พอเพียงต่อ การปรับปรุงคุณภาพอากาศภายในอาคาร (เป็นทีม่ าของตัวเลขปริมาณ 14,000 ลูกบาศก์ฟตุ ของปริมาณ อากาศภายนอกต่อตารางฟุตของพื้นที่ภายในอาคาร โดยในหน่วย SI จะประมาณเท่ากับ 4,270 ลิตร ของปริมาณอากาศภายนอกต่อตารางเมตรของพื้นที่ภายในอาคาร) นอกจากนั้นต้องควบคุมสภาวะ อากาศภายในให้มีอุณหภูมิระหว่าง 15-27 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ�กว่า 60% (สำ�หรับ เพดานอุณหภูมิภายในอาคารที่ 27 องศาเซลเซียส ถูกกำ�หนดในเกณฑ์ประเมินอาคารเขียว LEED Version 4) เพื่อป้องกันความเสียหายต่อวัสดุในอาคารที่เกิดจากความชื้น และการเกิดแหล่งกำ�เนิด เชื้อราขึ้นภายในอาคาร

55


เรื่อง : กองบรรณาธิการ

สิงคโปร์เตรียมแผนเปลี่ยนทางรถไฟสายเก่าให้เป็นสวนสาธารณะ ระยะทาง 24 กิโลเมตร หน่วยงาน Urban Redevelopment Authority (URA) ของสิงคโปร์ ได้มอบหมายให้บริษทั สถาปนิกญีป่ นุ่ Niken Sekkei ร่วมกับ Tierra Design และ Arup Singapore ปรับปรุงเส้นทางรถไฟสายเก่าทีไ่ ม่ได้ใช้งาน ให้เป็นสวนสาธารณะอเนกประสงค์ตามแนวทางรถไฟ รวมระยะทาง 24 กิโลเมตร โดยแผนการดังกล่าวมาในชื่อว่า “Lines of Life” ที่มาพร้อมวัตถุประสงค์และกลยุทธ์การออกแบบที่จะ ทำาให้เส้นทางรถไฟนี้เป็นพื้นที่สาธารณะอเนกประสงค์ที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ให้ความรู้สึกที่ผ่อนคลาย น่าจดจำาและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ประกอบไปด้วยจุดเข้าถึง (access point) 122 จุด ชานชาลาพร้อม สิ่งอำานวยความสะดวก 21 ชานชาลา ทางเดินเท้าและเส้นทางจักรยาน นอกจากนี้ยังมีพื้นที่จัดกิจกรรม อาทิ พืน้ ทีฉ่ ายภาพยนตร์กลางแจ้ง พืน้ ทีจ่ ดั แสดงงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม พืน้ ทีอ่ อกกำาลังกาย รวมถึง จุดชมวิวและเดินชมธรรมชาติโดยรอบอีกด้วย ซึ่งขณะนี้ทางทีมนักออกแบบกำาลังศึกษาความเป็นไปได้ และออกแบบเส้นทางเริ่มแรก ระยะทาง 4 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสถานีรถไฟ Bukit Timah ไปยังบริเวณ Hillview ในขณะเดียวกันทางหน่วยงาน URA ก็ได้เผยแพร่แผนการออกแบบเพื่อรับฟังข้อเสนอแนะและ เสียงตอบรับจากประชาชนเกี่ยวกับการออกแบบดังกล่าวไปจนถึงสิ้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 นี้ See more: http://inhabitat.com/singapore-to-transform-disused-railways-into-a-15-mile-park-spanningthe-entire-nation/

56


รูปแบบใหม่ของโครงสร้างธาตุคาร์บอนที่แข็งแรงกว่าเพชร ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย North Carolina State ได้ค้นพบ โครงสร้างรูปแบบใหม่ของคาร์บอนทีม่ คี วามแข็งกว่าเพชร โดยวัสดุนี้ ถูกเรียกว่า Q-carbon ที่ต่างจากเพชรสังเคราะห์อื่นๆ ตรงที่ไม่ต้อง ใช้ ค วามร้ อ นสู ง ในกระบวนการผลิ ต แต่ ส ามารถสร้ า งขึ้ น รู ป ได้ ภายในห้องแล็บโดยการใช้แสงเลเซอร์ นอกจากนี้ยังเปล่งประกาย หรือสะท้อนแสงได้ดีแม้จะอยู่ในภาวะที่มีแสงน้อย ดังนั้นจึงมีความ เป็นไปได้สูงในการนำาวัสดุชนิดนี้ไปใช้สร้างหน้าจอสำาหรับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ส่วนขั้นตอนการผลิต Q-carbon เริ่มจาก การเลือกพืน้ ผิว เช่น พืน้ ผิวซัฟไฟร์ กระจก หรือพลาสติก จากนัน้ เคลือบทับ

ด้วยคาร์บอนที่มีโครงสร้างโมเลกุลแบบไม่แน่นอน จากนั้นจะฉาย แสงเลเซอร์ ล งไปบนตั ว คาร์ บ อนที่ เ คลื อ บผิ ว ด้ ว ยความแรงของ เลเซอร์ที่ 5 ล้านครั้งต่อวินาที จนทำาให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 3,727 องศาเซลเซียส แล้วจึงปล่อยให้คาร์บอนดังกล่าวเย็นตัวลงไปเอง อย่างไรก็ตามยังคงต้องใช้เวลาอีกมากกว่าที่วัสดุชนิดนี้จะสามารถ นำามาใช้งานจริงได้ เพราะในเวลานี้ทีมนักวิจัยเองก็ยังไม่มั่นใจว่าจะ มีวิธีจัดการกับ Q-Carbon ที่ผลิตได้นี้อย่างไรและสามารถนำาไปใช้ ประโยชน์ในด้านใดบ้าง แต่กน็ บั ว่าเป็นการเริม่ ต้นทีด่ สี าำ หรับการค้นพบ วัสดุใหม่ๆ ในครั้งนี้ See more: http://inhabitat.com/new-form-of-carbon-is-harder-than-diamonds

เฟอร์นิเจอร์เทอร์โมอิเล็คทริคของ IKEA สามารถชาร์จโทรศัพท์ได้ด้วยความร้อนจากกาแฟในแก้ว สิง่ ต่างๆ รอบๆ ตัวเรา ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งใช้ไฟฟ้าโคมไฟ คอมพิวเตอร์ หรือแม้กระทัง่ กาแฟร้อนในแก้วต่างก็กระจายความร้อนสูอ่ ากาศทัง้ นัน้ ซึง่ ถ้าเราสามารถนำาพลังงานเหล่านีม้ าเปลีย่ นให้เป็นพลังงานไฟฟ้าได้ ก็คงจะดีไม่ใช่น้อย...ล่าสุด Sergey Komardenkov และ Vihanga Gore สองนักศึกษาด้านการออกแบบจากสถาบัน Institute of Interaction ในกรุงโคเปนเฮเก้น ประเทศเดนมาร์ก ก็ได้ทาำ ให้ความคิดนี้ กลายเป็นเรือ่ งจริงขึน้ มาได้ เมือ่ พวกเขาได้นาำ เสนอไอเดียในการติดตัง้ เทคโนโลยีเทอร์โมอิเล็คทริคบนเฟอร์นิเจอร์ประเภทโต๊ะของ IKEA โดยเทคโนโลยีนี้สามารถเปลี่ยนความร้อนจากจานที่ใส่อาหารร้อน หรือแก้วกาแฟร้อนทีว่ างบนโต๊ะให้เป็นพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ประโยชน์ได้

ไอเดียนี้ถูกเรียกว่า “Heat Harvest” ถูกพัฒนาขึ้นในแล็บของ IKEA อาศัยหลักการของความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างพื้นผิวของ วัตถุสองชิ้นที่สามารถสร้างกระแสไฟฟ้าได้ โดยโต๊ะ Heat Harvest จะดึงความร้อนจากวัตถุที่วางบนแผ่นกักเก็บความร้อนที่ฝังไว้บน พืน้ ผิวของโต๊ะส่งผ่านความร้อนไปยังตัวเครือ่ งกำาเนิดเทอร์โมอิเล็คทริค จากนั้ น จะส่ ง พลั ง งานกลั บ ไปที่ เ ครื่ อ งชาร์ จ แบบไร้ ส ายเพื่ อ ชาร์ จ โทรศัพท์นนั่ เอง การพัฒนาดังกล่าวนับว่าเป็นโอกาสทีด่ สี าำ หรับ IKEA เนื่องจากทาง IKEA เองก็ได้จำาหน่ายอุปกรณ์ชาร์จไฟไร้สายอยู่แล้ว ซึ่งการที่จะพัฒนาและนำาเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้ก็คงจะไม่ยากนัก อีกทัง้ ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีนาโนในปัจจุบนั ก็ทาำ ให้ไอเดีย ต่างๆ กลายเป็นจริงขึ้นมาได้

See more: http://inhabitat.com/singapore-to-transform-disused-railways-into-a-15-mile-park-spanning-the-entire-nation/ 57


เรื่อง / ภาพ: กองบรรณาธิการ

¡ÒÃÊÌҧº‹ÍºíҺѴ¹éíÒàÊÕ·Ѻ¾×é¹·ÕèÊÕà¢ÕÂÇ º¹¾×¹é ·ÕÊè àÕ ¢ÕÂÇ¡Ç‹Ò 21 äË ¢Í§Êǹà©ÅÔÁ¾ÃÐà¡ÕÂÃµÔ 80 ¾ÃÃÉÒ ¾ÃкҷÊÁà´ç¨ พระเจ้าอยูห่ วั ฯ ในบริเวณบางขุนนนท์ ถือเป็นสวนสาธารณะเพือ่ ประชาชนของ ย่านบางกอกน้อย ที่นอกจากจะเป็นสถานที่สำาหรับออกกำาลังกายแล้ว ยังมี สนามเด็กเล่น ศาลาพักผ่อน และท่าน้ำาริมคลอง ให้ได้เข้ามาพักผ่อนหย่อนใจ ที่นี่จึงถือเป็นอีกหนึ่งในความสุขของคนในย่านนี้ก็ว่าได้ เดิมพื้นที่ย่านบางกอกน้อยเป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ ถือเป็น แหล่งเกษตรกรรมของเมืองและเป็นที่อยู่อาศัยดั้งเดิมของคนใน ชุมชนมายาวนานหลายร้อยปี แต่ปัจจุบันเมื่อประชากรเพิ่มขึ้น รวม ถึงการคมนาคมทีส่ ะดวกขึน้ เมืองก็ขยายตัวรุกพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมและ ทำาลายพืน้ ทีต่ ามธรรมชาติทมี่ อี ยู่ ประกอบกับชาวชุมชนบางกอกน้อย ยังขาดแคลนพืน้ ทีส่ เี ขียว เพือ่ กิจกรรมนันทนาการและพักผ่อนหย่อนใจ กรุงเทพมหานครจึงมีแนวคิดสร้างสวนสาธารณะระดับย่าน (District Park) ขึ้นในบริเวณนี้ขึ้นมา แนวความคิดนี้ตรงกับทางกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ และกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง ที่ต้องการจะปรับปรุง พื้นที่ดินราชพัสดุ แปลงเลขที่ 0136 ตั้งอยู่ที่ถนนบางขุนนนท์ แขวง บางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย ซึง่ เดิมถูกใช้เป็นสถานีทดลองพืชสวน บางกอกน้อยให้เป็นสวนสาธารณะเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในปีพ.ศ.2551 ดังนั้นทางกรุงเทพมหานคร โดยสำานักสิ่งแวดล้อม จึงได้เข้าไปมีส่วนร่วมกับทั้งสองหน่วยงานดังกล่าวในการก่อสร้าง และดูแลรักษาสวนสาธารณะแห่งนี้ แต่แล้วในวันนี้บนพื้นที่สีเขียวแห่งนี้กำาลังจะถูกแบ่งให้กลายเป็นบ่อ บำาบัดน้าำ เสียของกรุงเทพมหานครเสียแล้ว โดยทับบนพืน้ ทีก่ ว่า 25% ของสวนสาธารณะ พร้อมกับทีเ่ สียงคัดค้านของชาวบ้านทีอ่ ยูใ่ นชุมชน เกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง แม้จะอ้างว่ามีการเปิดรับฟังความคิดเห็น จากประชาชนแล้ว แต่เสียงประชาชนทีไ่ ม่เห็นด้วยก็ยงั มีอยูไ่ ม่ขาดสาย เนือ่ งจากแนวทางการสร้างบ่อบำาบัดนีอ้ าจขัดต่อหลักวัตถุประสงค์ทดี่ ี ของการจัดตั้งสวนสาธารณะแห่งนี้แต่แรก

58


เดิมทีแนวความคิดในการออกแบบ คือ พัฒนาสวนให้มขี นาดเล็กลง และให้กระจายอย่างทัว่ ถึงในชุมชน แทนทีจ่ ะเป็นสวนสาธารณะขนาดใหญ่ อันเนือ่ งจากข้อจำากัดด้านพืน้ ที่ รวมทัง้ แนวคิดการคงไว้ซงึ่ สภาพ ธรรมชาติและระบบนิเวศดั้งเดิม แต่เสริมในด้านภูมิสถาปัตยกรรมให้มีความสวยงามขึ้น ซึ่งหากมีการ สร้างบ่อบำาบัดน้ำาเสียทับพื้นที่สีเขียวก็อาจไม่ตรงประเด็นนี้นัก นอกจากนีห้ ากมีการสร้างบ่อบำาบัดน้าำ เสียขึน้ ย่อมไม่ตอบโจทย์ตามแนวคิดการผสานการใช้ประโยชน์จาก สวนตามทีต่ อ้ งการจะให้เป็น ทัง้ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วเชิงเกษตร (Agri-culture Tourism) และเชิงวัฒนธรรม วิถชี วี ติ ชาวบางกอกน้อย และการใช้ประโยชน์เป็นสวนสาธารณะทีม่ สี งิ่ อำานวยความสะดวกตามมาตรฐาน รวมทัง้ การสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนในเขตบางกอกน้อยเห็นถึงความสำาคัญและประโยชน์ของพืน้ ทีส่ เี ขียว และสวนสาธารณะ ตลอดจนการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีสว่ นร่วมในการดำาเนินการ เช่น การแสดง ความคิดเห็นในรูปแบบสวนที่ต้องการ เพื่อให้สถาปนิกได้ออกแบบได้เหมาะสมตรงตามความต้องการ ของประชาชน การสร้างความรู้สึกความเป็นเจ้าของและการร่วมดูแลรักษา สิ่งที่ประชาชนในชุมชนต่างกังวล ก็คือ การเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชนที่ผ่านไปแล้วนั้น เป็นการ จัดประชุมแบบเปิดสาธารณะแค่ไหน? มีการคัดสรรบุคคลทีเ่ ป็นตัวแทนของผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบโดยตรงหรือไม่ รวมถึงการจัดประชุมดังกล่าวเป็นไปตามหลักการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่ถูกต้องจริงหรือ? ดังนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ เสียงสะท้อนจากประชาชนในพื้นที่และผู้ใช้สวนที่ไม่เคยเห็นประกาศหรือ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นมาก่อนเลย เหตุนี้เสียงคัดค้านจึงลอยมาเป็นระยะๆ อีกหนึง่ ประเด็นทีห่ ลายคนกังวล คือ การทีส่ วนแห่งนีเ้ ป็นศูนย์อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชกรุงเทพมหานครตาม โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชดำาริ สมเด็จพระเทพฯ ดังนัน้ การก่อสร้างโครงการ บ่อบำาบัดขึน้ มานัน้ ย่อมส่งผลต่อพืชพันธุต์ า่ งๆ อย่างแน่นอน การทีก่ รุงเทพมหานครจะสร้างบ่อบำาบัดน้าำ เสีย ทับพืน้ ทีส่ เี ขียวจึงเป็นข้อกังขาของหลายคน นอกจากจะเสียงบประมาณไปหลายล้านเพือ่ สร้างสวนสีเขียว ขึน้ มาแล้ว ยังจะต้องเสียงบประมาณอีกหมืน่ ล้านเพือ่ สร้างบ่อบำาบัดในพืน้ ทีเ่ ดียวกัน ทัง้ ทีไ่ ม่ได้ศกึ ษาถึง ผลกระทบต่อชุมชนอย่างแท้จริง หลายๆ ฝ่ายจึงอยากให้ทางกรุงเทพมหานครทำาประชาพิจารณ์อย่างจริงใจ เพื่อสร้างสังคมคุณภาพให้แก่คนในชุมชนอย่างแท้จริง อย่างไรก็ตามปัญหาเรื่องพื้นที่สาธารณประโยชน์ในเมืองใหญ่ก็ยังเป็นปัญหาที่แก้ไม่ตกของสังคมไทย ทั้งโครงการพื้นที่เลียบแม่น้ำาเจ้าพระยา ระยะทาง 14 กม. หรือแม้แต่พื้นที่ก่อสร้างทับซ้อนพื้นที่สีเขียว แต่หากว่าพื้นที่เหล่านั้นถูกสร้างขึ้นเพื่อสาธารณประโยชน์ของชุมชนแล้ว หลายฝ่ายก็ควรจับมือกัน เพือ่ หาทางออกร่วมกัน บางครัง้ การสิน้ เปลืองงบประมาณกว่าร้อยล้านพันล้านก็ไม่สามารถแก้ปญ ั หาได้ การขอความร่วมมือร่วมใจจากคนในชุมชนก็นา่ จะเป็นแนวทางทีส่ ร้างสังคมคุณภาพในเมืองใหญ่ได้ตรง ประเด็นกว่า

ข้อมูลอ้างอิงจาก 1 www.change.org 2 สำานักงานสวนสาธารณะ สำานักสิง่ แวดล้อม กรุงเทพมหานคร www.office.bangkok.go.th/publicpark

59


เรื่อง: ณ้ชชา นันทกาญจน์ ภาพ: โรงพยาบาลสมิติเวช

State of The Art ความลงตัวของศาสตร์และศิลป์ที่ Critical Care Complex โรงพยาบาลสมิติเวช การออกแบบศูนย์การแพทย์แห่งหนึง่ ทีด่ พี ร้อมนัน้ จะต้องให้ความใส่ใจและให้ความ สำ�คัญอย่างมาก เพราะนอกจากจะมีความซับซ้อนทางด้านเทคนิคสูงแล้ว ยังเป็น การแสดงถึงความร่วมมือร่วมใจของทีมงานทุกคน ทั้งศัลยแพทย์ ทีมงาน ทางการแพทย์ พยาบาล รวมไปถึงสถาปนิก วิศวกร ผู้ให้ค�ำ ปรึกษา และบริษัท เทคโนโลยีชั้นนำ�มากมาย ถึงได้ชื่อว่าพร้อมให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพและ มอบการรักษาที่ดีที่สุดให้แก่ผู้ป่วย ศูนย์การแพทย์แห่งใหม่ Critical Care Complex (CCC) ของโรงพยาบาลสมิติเวช เป็นอีกหนึ่งผลงานที่ แสดงให้เห็นถึงความก้าวล้�ำ ทางการแพทย์และมาตรฐานของห้องผ่าตัดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ทีพ่ ร้อมไปด้วย เทคโนโลยีทางการแพทย์รนุ่ ใหม่อนั ทันสมัย และพร้อมให้บริการด้วยความมุง่ มัน่ เพือ่ จะมอบการรักษาทีด่ ที ส่ี ดุ สำ�หรับผูป้ ว่ ยทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ ซึง่ ปัจจุบนั เป็นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไปว่าโรงพยาบาลสมิตเิ วชเป็นหนึง่ ในกลุ่มโรงพยาบาลเอกชนชั้นนำ�ในประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้บริการด้วยมาตรฐาน ทางการแพทย์ทไ่ี ด้รบั การรับรองคุณภาพจาก Joint Commission International หรือ JCI ประเทศสหรัฐอเมริกา 60


นอกจากความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์แล้ว ศูนย์การแพทย์ Critical Care Complex (CCC) ยังผสานการออกแบบพืน้ ทีใ่ ช้สอยและการใช้งานได้อย่างสอดคล้องและ ลงตัว อันเป็นแรงบันดาลใจสำ�คัญในการสร้างศูนย์แห่งนี้ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพและมาตรฐาน ทางการรักษาและการผ่าตัดให้ดียิ่งขึ้น โดยความร่วมมือจากทีมศัลยแพทย์ซึ่งได้เข้ามา มีส่วนร่วม ตั้งแต่กระบวนการออกแบบศูนย์ไปจนกระทั่งการเลือกสรรวัสดุและอุปกรณ์ จึงทำ�ให้หอ้ งผ่าตัดแต่ละห้องในศูนย์การแพทย์แห่งนี้ มีความเฉพาะเจาะจงเหมาะสำ�หรับ การผ่าตัดแต่ละประเภท และส่งเสริมการรักษาของศัลยแพทย์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด พร้อมก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ของเอเชีย (Medical Hub) และสนับสนุน การพัฒนาความสามารถของการแพทย์ไทยให้ทัดเทียมเป็นที่ยอมรับในระดับสากลด้วย

(ภาพบน) ภาพภายในห้องผ่าตัดทีพ่ ร้อม ด้วยเทคโนโลยีอันทันสมัย (ภาพล่าง) ภาพจำ�ลองขณะปฏิบตั กิ ารผ่าตัด โดยมีแสงสีน�ำ้ เงินจากหลอดไฟ LED ทีม่ ี คุณสมบัตชิ ว่ ยให้ทมี ศัลยแพทย์มองเห็น ภาพจากจอแสดงผลได้ ชั ด เจนยิ่ ง ขึ้ น ขณะผ่าตัด

61


การออกแบบศูนย์การแพทย์ Critical Care Complex (CCC) ได้รับ แรงบันดาลใจจากแนวคิด ‘State of Art’ ซึ่งเป็นแนวคิดหลักที่จะนำ� ศาสตร์แห่งศิลป์มาผสานกับศาสตร์ทางการแพทย์อนั ทันสมัย โดยคำ�นึงถึง ความปลอดภัย ปลอดเชื้อ และความปลอดกังวลของคนไข้เป็นหลัก อาทิ การออกแบบทางเดินที่มีความกว้าง เพดานที่โค้งมน และการใช้ แสงสีน�้ำ เงินสร้างบรรยากาศให้เกิดความรูส้ กึ ผ่อนคลาย ลดความกังวล ของคนไข้ที่จะต้องเข้ารับการผ่าตัด รวมทั้งการเลือกใช้วัสดุที่ก้าวล้ำ� สูอ่ นาคตในห้องผ่าตัด เช่น ผนังห้องทำ�จากวัสดุชนิดพิเศษเป็นกระจกนิรภัย ทีม่ คี วามแข็งแรงทนทาน มีการออกแบบลวดลายทีส่ วยงามโดยไร้รอยต่อ จึงทำ�ความสะอาดง่าย และป้องกันเชื้อโรคสะสม เป็นต้น ศูนย์การแพทย์ Critical Care Complex (CCC) ถูกออกแบบวางผัง โครงสร้างอย่างพิถีพิถัน โดยทีมศัลยแพทย์จะเข้ามามีส่วนร่วมใน การออกแบบพื้นที่ใช้สอยในส่วนต่างๆ อย่างใกล้ชิดตั้งแต่เริ่มต้น กระบวนการออกแบบ โดยพื้นที่ห้องต่างๆ จะถูกออกแบบมาให้อยู่ใน

พืน้ ทีบ่ ริเวณเดียวกัน เพือ่ ความสะดวกในการเคลือ่ นย้าย ผูป้ ว่ ย และจำ�กัดการเคลือ่ นย้ายนัน้ ให้อยูพ่ น้ื ทีท่ เ่ี ชือ่ มต่อ ถึงกันได้ ซึ่งเป็นการเพิ่มความปลอดภัยให้แก่ผู้ป่วย และลดความเสีย่ งซึง่ อาจเกิดขึน้ ระหว่างการเคลือ่ นย้าย ผูป้ ว่ ย อาทิเช่น ห้องปฏิบตั กิ ารสวนหัวใจ (Cath Lab) ถูกออกแบบให้อยู่ติดกับห้องผ่าตัดหัวใจ ส่วนห้อง ผ่าตัดทางสูตินรีเวชจะเชื่อมต่อกับห้องปฏิบัติการ ผสมเทียม (Assisted Reproductive Technology Laboratory) เพือ่ ให้สตู นิ รีแพทย์สามารถเก็บไข่สง่ ตรง เข้าห้องปฏิบตั กิ ารได้ทนั ที หากลดระยะเวลาเคลือ่ นย้ายไข่ และอสุจิลงได้ การผลิตตัวอ่อนก็จะมีโอกาสประสบ ความสำ�เร็จเพิม่ มากขึน้ ตามไปด้วย นอกจากนีท้ งั้ ห้อง ผ่าตัดทางสูตินรีเวชและห้องปฏิบัติการผสมเทียม ยังควรอยู่ใกล้กับห้องคลอดธรรมชาติ เพื่อพร้อม รองรับกรณีทค่ี ณ ุ แม่จ�ำ เป็นต้องผ่าคลอดฉุกเฉินอีกด้วย

ซึง่ ภายในศูนย์การแพทย์แห่งนี้ จะประกอบไปด้วยพืน้ ทีใ่ ช้สอย อาทิ ห้องผ่าตัดใหม่ จำ�นวน 8 ห้อง ทีไ่ ด้รบั การออกแบบพิเศษร่วมกันของแพทย์ส�ำ หรับการผ่าตัดเฉพาะด้าน ทีพ่ ร้อมเครือ่ งมือแพทย์ อันทันสมัย โดยทุกห้องตรงตามมาตรฐานของคลีนโซน อันได้แก่ OR 1: ห้องผ่าตัดหัวใจ OR 2: ห้องผ่าตัดกระดูก และห้องผ่าตัดสมอง OR 3: ห้องผ่าตัดกระดูก OR 4: ห้องผ่าตัดส่องกล้อง 3 มิติ OR 5: ห้องผ่าตัดส่องกล้อง 3 มิติ OR 6: ห้องผ่าตัดทัว่ ไป OR 7: ห้องผ่าตัดทัว่ ไป และห้องผ่าตัดทางสูตนิ รีเวช OR 8: ห้องผ่าตัดทางสูตนิ รีเวช และการผสมเทียม

62


63


ภาพภายในห้องคลอดทีพ่ ร้อมด้วยสิง่ อำ�นวยความสะดวกรองรับการคลอด

แบบธรรมชาติ และมีอา่ งน้�ำ อุน่ สำ�หรับการคลอดบุตรในน้�ำ ภายในห้องด้วย

ห้องคลอด (Birth Unit) จำ�นวน 5 ห้อง ทีถ่ กู ออกแบบให้มคี วามสวยงาม ในบรรยากาศผ่อนคลายและอบอุน่ เสมือนบ้าน ทัง้ ยัง เพียบพร้อมด้วยสิง่ อำ�นวยความสะดวกรองรับการคลอดแบบธรรมชาติ อาทิ อุปกรณ์บรรเทาอาการเจ็บท้องคลอด รวมถึงอ่างน้�ำ อุน่ สำ�หรับการคลอดบุตรในน้ำ� ซึ่งน้ำ�ที่ใช้ก็เป็นน้ำ�ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยรังสีอุลตร้าไวโอเล็ตมาแล้ว จึงมั่นใจได้ว่ามีความสะอาด ปลอดภัยแก่คณ ุ แม่และลูกน้อย นอกจากนีใ้ นแต่ละห้องยังได้รบั การออกแบบให้เป็นได้ทงั้ ห้องรอคลอดและห้องคลอดภายใน ห้องเดียวกัน เตียงนอนพักสามารถปรับเปลี่ยนให้เป็นเตียงสำ�หรับคลอดบุตรได้ทันทีเมือ่ คุณแม่พร้อมโดยไม่จ�ำ เป็นต้องย้าย จากห้องหนึ่งไปยังอีกห้องหนึ่ง และหากยังไม่ถึงเวลาคลอด คุณพ่อคุณแม่สามารถพักผ่อนหรือติดต่อกับครอบครัวได้อย่าง สะดวกสบายผ่านระบบอินเตอร์เน็ตและหน้าจอโทรทัศน์ขนาดใหญ่ที่มีบริการภายในห้องอีกด้วย ห้องปฏิบตั กิ ารผสมเทียม (Embryology Laboratory) ทีม่ มี าตรฐานในระดับนานาชาติและมีเทคโนโลยีทลี่ �้ำ สมัย เพือ่ ช่วย สร้างสภาวะแวดล้อมของตัวอ่อนให้ใกล้เคียงธรรมชาติได้มากทีส่ ดุ และช่วยเพิม่ โอกาสประสบความสำ�เร็จในการตัง้ ครรภ์ให้มี มากขึน้ ซึง่ เป็นอีกหนึง่ ในความท้าทายของการสร้างห้องปฏิบตั กิ ารแห่งนี้ ด้วยมุง่ เน้นเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถด้านการรักษา ให้สงู ขึน้ โดยยังคงไว้ซงึ่ มาตรฐานทางการแพทย์อย่างดีเยีย่ ม โดยมีลกั ษณะพิเศษคือ การใช้ระบบไฟชนิดไม่เรืองแสงซึง่ ปลอดภัย สำ�หรับตัวอ่อน ห้อง Air Shower สำ�หรับทำ�ความสะอาดร่างกายของเจ้าหน้าทีด่ ว้ ยลมก่อนเข้าไปภายในห้องปฏิบตั กิ าร การเก็บรักษา ไข่ไว้ใน Pass Box ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 37 องศาเซลเซียส ซึง่ เป็นอุณหภูมเิ ดียวกับภายในร่างกายของแม่ ก่อนนำ�ส่งเข้าห้องปฏิบตั กิ ารเพือ่ ให้ ทีมแพทย์เริม่ ขัน้ ตอนการผสมเทียม รวมทัง้ ระบบกรองอากาศแบบ HEPA filters (High-efficiency particulate Arrestance Filters) ซึง่ ถูกติดตัง้ ไว้บนเพดาน มีหน้าทีป่ ล่อยอากาศสะอาดเข้าสูภ่ ายในห้อง เพือ่ สร้างสภาพแวดล้อมบริสทุ ธิแ์ ละปราศจากแบคทีเรีย นอกจากนีเ้ ครือ่ งมือและอุปกรณ์จะถูกคัดสรรโดยเลือกทีผ่ ลิตจากวัสดุทเ่ี อือ้ ต่อการผลิตตัวอ่อนให้มสี ภาพทีส่ มบูรณ์ทส่ี ดุ รวมไปถึง มาตรการควบคุมความชืน้ ภายในห้องปฏิบตั กิ ารอย่างเคร่งครัด เนือ่ งจากความชืน้ ทีม่ ากเกินไปอาจส่งผลให้เกิดราขึน้ ในบริเวณ ห้องเครือ่ งมือ/อุปกรณ์ หรือแม้กระทัง่ ไข่ได้ ห้องพักฟื้นหลังการผ่าตัด (Recovery Room) ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ด้วยระบบ Central Monitor ที่ได้รับ การเอาใจใส่ดูแลตลอด 24 ชั่วโมง จากเจ้าหน้าที่พยาบาลหนึ่งคนต่อผู้ป่วยหนึ่งคน โดยทุกเตียงจะมีปุ่มให้ผู้ป่วยกดเรียก พยาบาลประจำ�ตัวได้เมื่อต้องการ นอกจากนี้เรายังมีห้องพักฟื้นสำ�หรับทารกแรกเกิดภาวะวิกฤติ และผู้ป่วยเด็กโดยเฉพาะ แยกต่างหากอีกด้วย 64


ห้องไอซียู และซีซยี ู (ICU and CCU) จำ�นวน 16 ห้อง โดยจะมีแพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญเฉพาะทางคอยให้การดูแลผูป้ ว่ ยหลังเข้ารับ การผ่าตัดตลอด 24 ชั่วโมง ภายในจะประกอบด้วย ห้องพักผู้ปว่ ยที่ถูกออกแบบมาด้วยหน้าต่างกระจกบานใหญ่ ทำ�ให้ผู้ป่วย สามารถมองเห็นวิวภายนอก และรับรูว้ นั และเวลาได้ ซึง่ เป็นการช่วยลดความเครียดและป้องกันภาวะเพ้อคลัง่ ระหว่างพักในห้อง ไอซียู (ICU Psychosis) ให้แก่ผู้ป่วยได้ในคราวเดียวกัน มีชั้นวางอุปกรณ์รูปแบบใหม่ ที่ประหยัดพื้นที่ในการทำ�งาน แต่เป็น ประโยชน์อย่างยิง่ เมือ่ เกิดกรณีฉกุ เฉินหรือเมือ่ แพทย์ตอ้ งการใช้อปุ กรณ์จ�ำ นวนมากในการรักษาผูป้ ว่ ย โดยเฉพาะสำ�หรับผูป้ ว่ ย ภาวะวิกฤติที่ต้องการความรวดเร็วในการรักษา การติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ประจำ�อยู่หน้าห้องพักผู้ป่วยทุกๆ ห้อง เพื่อให้ แพทย์และพยาบาลรับหรือส่งข้อมูลของผู้ป่วยแต่ละรายได้อย่างเฉพาะเจาะจงและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นผลตรวจ ทางห้องปฏิบัติการ ผลอัลตร้าซาวนด์ หรือแม้กระทั่งการสั่งยา หรือสั่งตรวจเพิ่มเติมก็สามารถทำ�ได้ทันที รวมทั้งการเตรียม พื้นที่ห้องน้ำ�ขนาดเล็กในทุกห้องพัก เพื่ออำ�นวยความสะดวกแก่ผู้ป่วยกรณีต้องการเข้าห้องน้�ำ ด้วยตนเอง แต่พยาบาลยังคง ให้การดูแลอย่างใกล้ชิดได้เช่นกัน

(ภาพบน) ภาพภายในห้ อ งปฏิ บั ติ การผสมเทียม ที่สร้างให้เกิดสภาวะ

แวดล้อมของตัวอ่อนที่ใกล้เคียง ธรรมชาติได้มากที่สุด แต่ยังคง รักษามาตรฐานในระดับนานาชาติ อันพร้อมด้วยเทคโนโลยีที่ล้ำ�สมัย

(ภาพล่าง) ภาพบริเวณหน่วย ICU และ CCU ที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ประจำ�อยูห่ น้าห้องพักผูป้ ว่ ยทุกๆ ห้อง

โดยมีทีมพยาบาลสามารถให้การ ดูแลอย่างใกล้ชดิ ตลอด 24 ชัว่ โมง

65


ด้วย Critical Care Complex (CCC) มีแนวคิดของการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีทางการแพทย์และการออกแบบพื้นที่ ใช้สอยให้สอดคล้องกัน เพือ่ ให้ทนี่ กี่ ลายเป็นคอมเพล็กซ์ทคี่ รบวงจรอย่างลงตัว โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีทมี่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ อยู่หลายประการ อาทิ เขตปลอดเชื้อ ทุกห้องผ่าตัดจะมีระบบกรองอากาศลามินาร์ (Laminar Airflow) ติดตั้งอยู่บนเพดาน เพื่อฟอกอากาศด้วย การปล่อยม่านอากาศบริสุทธิ์ลงมาสร้างเป็นโซนอากาศสะอาดบริเวณพืน้ ที่ผ่าตัด ซึง่ โซนอากาศสะอาดนี้จะช่วยป้องกันไม่ให้ อากาศทีอ่ าจปนเปือ้ นฝุน่ ผงหรือเชือ้ แบคทีเรียจากภายนอกผ่านเข้ามาในห้องผ่าตัดได้ นับเป็นการลดความเสีย่ งเรือ่ งการติดเชือ้ ซึ่งถือเป็นหัวใจสำ�คัญของการผ่าตัดทุกชนิด ผนังห้องป้องกันแบคทีเรีย ห้องผ่าตัดใหม่ที่มาพร้อมกับผนังแก้วแห่งแรกในประเทศไทย ซึ่งเป็นนวัตกรรมทางการแพทย์ ล่าสุดในฝั่งยุโรป ผนังทุกด้านภายในห้องผ่าตัดถูกเคลือบและสร้างเป็นแผ่นเดียวกันโดยไร้รอยต่อ จึงง่ายต่อการทำ�ความ สะอาดและสามารถป้องกันการสะสมของเชื้อโรค ซึ่งช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อได้เป็นอย่างดี พื้นที่และชุดชั้นวางอุปกรณ์ ห้องผ่าตัดใหม่มีพื้นที่กว้างขวางเพียงพอสำ�หรับจัดวางเครื่องมือทางการแพทย์ที่จำ�เป็นทุกชิ้น อีกทัง้ ชุดชัน้ วางอุปกรณ์ผา่ ตัดลักษณะเป็นแขนกลถูกติดตัง้ ให้สามารถดึงลงมาจากเพดานได้ ทำ�ให้ไม่มสี ว่ นสัมผัสพืน้ ด้านล่าง ซึง่ ห้องผ่าตัดดีไซน์ใหม่นน้ี อกจากจะช่วยลดจำ�นวนสายไฟแล้ว ยังเป็นการช่วยลดความเสีย่ งของอุบตั เิ หตุทอี่ าจเกิดขึน้ ภายใน ห้องผ่าตัดด้วย กำ�แพงตะกัว่ การผ่าตัดประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ จะต้องตรวจดูอวัยวะภายในด้วยเครือ่ งเอ็กซเรย์พเิ ศษ (Fluoroscope) โดยใช้ สารทึบรังสีรว่ มกับการถ่ายภาพเอ็กซเรย์ เพือ่ ป้องกันอันตรายจากรังสีทใี่ ช้ในการผ่าตัด ศัลยแพทย์ พยาบาล และผูป้ ว่ ยทุกคน ต่างใส่ชุดป้องกันรังสี แต่กระนั้นเพื่อความปลอดภัยขั้นสูง กำ�แพงห้องผ่าตัดใหม่ของเราจึงถูกฝังด้วยตะกั่วเพื่อป้องกันรังสี รั่วไหลออกสู่ภายนอกห้องผ่าตัด เพราะสมิติเวชเราใส่ใจและดูแลทุกคน มิใช่แค่เฉพาะทีมผู้ปฏิบัติงานเท่านั้น ห้อง Positive Pressure เพื่อความสะอาดสูงสุด ความดันอากาศภายในห้องผ่าตัดจำ�เป็นต้องสูงกว่าความดันอากาศ ภายนอก ดังนัน้ ห้อง Positive Pressure จึงถูกออกแบบมาเพือ่ ทำ�หน้าทีผ่ ลักดันฝุน่ และเชือ้ โรคทีป่ นเปือ้ นในอากาศออกจาก ห้องผ่าตัด และป้องกันไม่ให้เชื้อโรคผ่านเข้าสู่ห้องเมื่อมีการเปิดประตู ห้องปลอดเชื้อมาตรฐานระดับสากล ทุกห้องปฏิบัติการภายในศูนย์ Critical Care Complex มีการควบคุมความสะอาด ให้ตรงตามมาตรฐานสากล โดยแบ่งระดับความสะอาดภายในห้องตามลักษณะการใช้งาน คือ ห้องปฏิบตั กิ ารสวนหัวใจ (Cath Lab) ต้องมีอนุภาคฝุ่นแขวนลอยในอากาศขนาด 0.5 ไมครอนขึ้นไปไม่เกิน 100,000 อนุภาคต่อ 1 ลูกบาศก์ฟุต ห้องผ่าตัดต้อง มีอนุภาคขนาด 0.5 ไมครอนขึ้นไปไม่เกิน 10,000 อนุภาคต่อ 1 ลูกบาศก์ฟุต และห้องปฏิบัติการผสมเทียม (Assisted Reproductive Technology Laboratory) ต้องมีอนุภาคขนาด 0.5 ไมครอนขึ้นไปไม่เกิน 1,000 อนุภาคต่อ 1 ลูกบาศก์ฟุต

(ภาพซ้าย) ภาพจำ�ลองขณะปฏิบัติ การผ่าตัด พร้อมอุปกรณ์ผ่าตัดแบบ ส่องกล้อง 3 มิติ พร้อมระบบควบคุม ความสว่าง 66


อุปกรณ์ใหม่ทางการแพทย์ ที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีทางการแพทย์แบบใหม่ล่าสุด อันได้แก่ อุปกรณ์ผ่าตัดแบบส่องกล้อง 3 มิติ พร้อมระบบควบคุมความสว่าง อุปกรณ์การผ่าตัดแบบส่องกล้องรุ่นใหม่มาพร้อม กับระบบควบคุมความสว่างสั่งการด้วยเสียง ทำ�ให้การผ่าตัดถูกต้องและแม่นยำ�มากขึ้น นอกจากนี้ทีมแพทย์สามารถตั้งค่า ความสว่างของแสงไฟและปรับอุณหภูมิให้เหมาะสมกับทุกขั้นตอนของการผ่าตัดได้ล่วงหน้า เพื่อเพิ่มคุณภาพและลดเวลา ในการผ่าตัด หลอดไฟ LED สีน้ำ�เงิน ที่ถูกติดตั้งอยู่ภายในห้องผ่าตัด มีคุณสมบัติช่วยให้ทีมศัลยแพทย์มองเห็นภาพจากจอแสดงผล ได้ชดั เจนยิง่ ขึน้ ขณะผ่าตัด ซึง่ ส่งเสริมให้ใช้เวลาการผ่าตัดสัน้ ลง มีผลให้ผปู้ ว่ ยสามารถฟืน้ ตัวได้เร็วมากยิง่ ขึน้ หน้าจอแสดงผล 3 มิติ ความคมชัดระดับ HD หน้าจอแสดงผลแบบ 3 มิติ ทีเ่ ป็นประโยชน์เป็นอย่างมากสำ�หรับทีมศัลยแพทย์ เนือ่ งจากภาพทีป่ รากฏมีความตืน้ ลึก จึงช่วย ให้แพทย์กะระยะภายในร่างกายของเราได้งา่ ยขึน้ ประกอบกับระบบลดเงาสะท้อนและการแสดงสีได้สดเสมือนจริงมากกว่าเดิม ยิ่งทำ�ให้ศัลยแพทย์และทีมงานเห็นภาพระหว่างการผ่าตัดได้ชัดเจนและละเอียดมากขึ้น

67


ภาพจำ�ลองห้องผ่าตัด ขณะปฏิบัติการ ผ่ า ตั ด ที่ มี พื้ น ที่ ก ว้ า งขวางเพี ย งพอ พร้อมชุดชั้นวางอุปกรณ์ผ่าตัดลักษณะ เป็นแขนกลถูกติดตั้งให้สามารถดึงลง มาจากเพดานได้

นอกจากนี้ Critical Care Complex ยังถือเป็นอีกหนึง่ โครงการทีโ่ รงพยาบาลสมิตเิ วชได้มี โอกาสดำ�เนินการตามนโยบายที่ต้องการเพื่อให้เป็นโรงพยาบาลสีเขียว การใช้พลังงาน สะอาดจึงเป็นหนึ่งในเป้าหมายแรกๆ ตั้งแต่เริ่มต้นออกแบบศูนย์การแพทย์แห่งใหม่นี้ และด้วยความร่วมมือกับทางมหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในการ ออกแบบจึงให้สว่ นหนึง่ ของศูนย์การแพทย์นใ้ี ช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ โดยแผงโซล่าเซลล์ นอกจากจะผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ถงึ 150 กิโลวัตต์ตอ่ ชัว่ โมงแล้ว เมือ่ ผนวกกับโพลียรู เี ทนโฟม (Polyurethane Foam) ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อน ที่ติดตั้งภายในกำ�แพง เพดาน และหลังคา จึงช่วยทำ�ให้อณ ุ หภูมภิ ายในห้องผ่าตัดเย็นลงได้มาก ลดเสียงรบกวน ในกรณีทมี่ ฝี นตก และเพิม่ คุณภาพของสภาพแวดล้อมในห้องทีต่ อ้ งมีการควบคุมอุณหภูมิ อย่างเคร่งครัด เช่น ห้องเก็บไข่และห้องเก็บอสุจิ ส่งผลให้เกิดการประหยัดการใช้ไฟฟ้า ได้ถึง 20% ดังนั้นจึงถือได้ว่าศูนย์การแพทย์ Critical Care Complex สามารถช่วย สนับสนุนให้โรงพยาบาลแห่งนี้ให้เป็นโรงพยาบาลสีเขียว ที่สามารถอนุรักษ์และประหยัด พลังงานได้อย่างยั่งยืนอีกด้วย 68


IN

THE BOX เรื่อง: นะโม ภาพ: http://www.bustler.net/index.php/article/this_sbid_awardwinning_childrens_hospital_eases_those_jitters_with_a_play

º·ãËÁ‹âç¾ÂÒºÒÅ ÀҾࡋÒæ ¢Í§âç¾ÂÒºÒÅ·ÕÁè ÃÕ »Ù ẺÃÒºàÃÕº·Öº·ÖÁ 仨¹¶Ö§ºÃÃÂÒ¡ÒÈà§ÕºàË§Ò äÃŒÊÊÕ ¹Ñ ÍÒ¨¨Ð໚¹à¾Õ§ʹյ¢Í§âç¾ÂÒºÒÅä»áÅŒÇ à¾ÃÒÐâç¾ÂÒºÒÅãËÁ‹æ ÁÑ¡ ถูกเติมแนวคิดเรือ่ งการออกแบบทีม่ คี วามโดดเด่นและน่าจดจำาเข้าไปเป็นส่วนหนึง่ ของอาคารด้วย อย่าง Juliana’s Children’s Hospital ทีไ่ ด้รบั รางวัลชนะเลิศ การออกแบบ SBID International Design Excellence Awards ประจำาปื 2015 ·Õ輋ҹÁÒ

Juliana’s Children’s Hospital แห่งนี้เป็นโรงพยาบาลเด็กที่ตั้งอยู่ใน กรุงเฮก (Hague) ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึง่ ออกแบบโดยบริษทั สถาปนิก Tinker Imagineer ความน่าสนใจอยู่ที่การเติมสีสันผ่านตัวการ์ตูน ทีน่ าำ มาใช้เป็นส่วนหนึง่ ของการออกแบบตกแต่งภายใน ซึง่ ช่วยลบภาพ ความน่ากลัวของการเข้ามาโรงพยาบาลในสายตาของเด็กๆ ได้เป็นอย่างดี เผลอๆ อาจจะทำาให้อยากมาโรงพยาบาลบ่อยๆ ก็เป็นได้ ด้วยสีสัน ของโรงพยาบาลที่ไม่ต่างอะไรกับโลกแสนสนุกที่ช่วยให้การรอคอยใน โรงพยาบาลแบบเดิมๆ หายไปอย่างสิ้นเชิง

สำาหรับรางวัลชนะเลิศการออกแบบ SBID International Design Excellence Awards จัดโดย Society of British and International Design ซึ่งเป็นหนึ่งในสถาบันมอบรางวัลด้านการออกแบบที่ได้รับ ความสนใจและเริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2011 โดย Juliana’s Children’s Hospital ได้รับรางวัลผ่านการคัดเลือกผลงานที่ผ่านเข้ารอบทั้งหมด 198 ผลงาน จาก 41 ประเทศ ใน 14 ประเภทผลงาน นี่อาจถือเป็น อีกหนึ่งบทใหม่ของโรงพยาบาล และเชื่อว่าเราจะได้เห็นโรงพยาบาล ในอนาคตที่ดีไซน์เข้าไปมีบทบาทและความสำาคัญมากขึ้น 69


เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟสกี้

ไฟจักรยานดีไซน์เก๋ที่เสียบเข้ากับแฮนด์จับ ดีไซเนอร์ชาวเยอรมัน Fabian Ludwig เผยโครงการระดมทุนผ่าน ทางเว็บไซต์ Kicstarter.com เพื่อผลิตไฟส่องสว่างดีไซน์เก๋สำาหรับ จักรยานที่มีชื่อว่า ‘STiKK’ ที่สามารถเสียบเข้ากับแฮนด์มือจับ จักรยานได้ โดยมาในเคสอลูมิเนียมสีดำาและเทา สามารถกันน้ำาได้ และสามารถหมุนปรับทิศทางแสง ปรับระดับความสว่างได้ 3 ระดับ พร้อมโหมดไฟกระพริบ การติดตั้งก็ง่ายเพียงแค่ติดตั้งช่องเสียบ เข้าไปในแฮนด์จบั (ในครัง้ แรกเท่านัน้ ) จากนัน้ คุณก็แค่เสียบไฟเข้าไป เพือ่ ใช้งาน แถมยังมีแม่เหล็กทีช่ ว่ ยยึดติดให้แน่น โดยไม่ตอ้ งกังวลว่า มันจะหลุดหรือตกหล่นในยามขับขี่อีกด้วย Read the full story on http://www.dezeen.com/2015/12/29/stikk-bikelight-fabian-ludwig-inserted-into-handlebars-cycling-accessories

แอพฯ ที่ทำาให้คุณมองเห็นคลื่นสัญญานต่างๆ ในอากาศ ดีไซเนอร์ชาวดัชท์ Richard Vijgen ได้พฒ ั นาแอพพลิเคชัน่ บนโทรศัพท์ มือถือ ‘The Architecture of Radio’ ที่ทำาให้สามารถมองเห็น สิ่ ง ที่ เ รามองไม่ เ ห็ น รอบๆ ตั ว ได้ โดยมาในลั ก ษณะของแอพฯ Augmented Reality ที่จะจำาลองภาพคลื่นวิทยุ สัญญาณไฟฟ้า ต่างๆ รอบตัวเราให้เป็นกราฟิก ทำาให้เห็นมองเห็นสัญญาณ Wifi GPS และอื่นๆ ด้วย ปัจจุบันแอพฯ นี้มีให้ดาวน์โหลดเฉพาะระบบ ปฏิบัติการ iOS เท่านั้น ในราคา 2.99 ดอลล่าร์สหรัฐ Read the full story on http://www.archdaily.com/779683/mobile-apprenders-the-infosphere-in-realtime-to-reveal-a-hidden-world Image courtesy of Juuke Schoorl YouTube link: https://www.youtube.com/watch?v=wYBg_y1-bdw by nemiymis com

เก้าอี้สุดกรีน ที่ผลิตจากพลาสติกชีวภาพ Terrefore ONE ร่วมกับ Genspace ออกแบบ เก้าอีพ้ ลาสติกชีวภาพขึน้ มา 2 ตัว ได้แก่ เก้าอีส้ ไตล์ Chaise Lounge และเก้าอี้นั่งระดับต่ำาสำาหรับเด็ก โดยเก้าอีท้ ง้ั สองตัวนีท้ าำ จาก Mycoform ซึง่ เป็นวัตถุ ทีป่ ระกอบด้วย Mycelia Substrate หุม้ ด้วยผิวด้านนอก ที่เป็น Bacterial Cellulose โดยการผสมผสานกัน ของวัตถุ 2 ชนิดดังกล่าว จะทำาให้เกิดสารประกอบ พลาสติกทีม่ คี วามแข็งแรงทนทาน สามารถนำามาใช้

70

ผลิ ต เฟอร์ นิ เ จอร์ ไ ด้ ดี ในส่ ว น กระบวนการผลิตก็ใช้เทคโนโลยีนอ้ ย พลังงานต่าำ และไม่กอ่ ให้เกิดมลพิษ ใดๆ ซึ่งเมื่อเฟอร์นเิ จอร์หมดอายุ การใช้งาน ก็สามารถกำาจัดทิง้ ได้งา่ ยๆ ในสภาพแวดล้ อ มทางชี ว ภาพ เนื่องจากมันสามารถย่อยสลายได้ Read the full story on http://www.archdaily.com/779655/ terreform-ones-biological-benches-question-traditionalด้วยตัวเอง manufacturing-methods Image courtesy of Terrefore ONE


‘Boncho’ เสื้อกันฝนรุ่นใหม่สำ�หรับคนปั่นจักรย�น Vanmoof บริษทั ผลิตจักรยานชือ่ ดังจากประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้เผยถึง โครงการระดมทุนผลิตเสือ้ กันฝนรุน่ ใหม่ทมี่ ชี อื่ ว่า ‘Boncho’ ผ่านทาง เว็บไซต์ Kickstarter.com ซึ่งเป็นเสื้อกันฝนที่ช่วยป้องกันฝนให้กับ ผู้ขับขี่ขณะกำาลังปั่นจักรยาน ที่มาพร้อมความพิเศษคือ มันสามารถ คลุมร่างกายช่วงบน รวมถึงบริเวณแฮนด์จกั รยาน ซึง่ จะช่วยให้ชว่ งขา ของผู้ขับขี่ไม่เปียกฝน ตัวเสื้อผลิตจากวัสดุคุณภาพสูง น้ำาหนักเบา ทีส่ ามารถระบายอากาศได้ดี อีกทัง้ ยังพับเก็บได้ จึงพกพาสะดวก โดยมี ให้เลือก 2 ขนาด 2 สี คือ สีเขียวมิ้นท์และสีเทา Read the full story on http://www.dezeen.com/2015/12/31/vanmoof-bonchorain-mac-poncho-covers-cyclist-and-bike-wet-weather-city-commuting YouTube link: https://www.youtube.com/watch?v=IGEYf8zJmow by VANMOOF

‘Sponge’ ชุดว่�ยน้ำ�รักษ์โลก ช่วยดูดส�รพิษจ�กทะเล ‘Sponge’ เป็นผลิตภัณฑ์ตน้ แบบของชุดบิกนิ ท่ี เ่ี ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ เป็นผลงานของ Pinar Guvenc, Inanc Eray, Gonzalo Carbajo และ Marco Mattia Cristofori ทีผ่ ลิตขึน้ จากเครื่องพิมพ์สามมิติ ใช้วัสดุน้ำาหนักเบาที่ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อม โดยมาพร้อมคุณสมบัติในการดูดซับสารพิษ สารเคมีต่างๆ ในน้ำาทะเล ซึ่งสามารถ ดูดซับได้มากถึง 25 เท่าเมื่อเทียบกับปริมาตร ทั้งนี้สารพิษต่างๆ ที่ดูดเข้ามาจะถูก ปล่อยออกจากชุดบิกินี่เมือ่ ให้ความร้อนที่อณ ุ หภูมิ 1,000 องศาเซลเซียส และสามารถ นำากลับมาใช้ใหม่ได้เรื่อยๆ Read the full story on http://www.dezeen.com/2015/12/31/sponge-bikini-absorb-sea-pollutionsustainable-eco-friendly-design-university-of-california YouTube link: https://www.youtube.com/watch?v=0w888oLSnhU by Univ. of California, Riverside

‘Oree’ คีย์บอร์ดไม้ไร้ส�ย ‘Oree’ เป็นคียบ์ อร์ดผลิตจากไม้เมเปิล้ หรือต้นวอลนัททัง้ ชิน้ ผ่านการ ออกแบบและผลิตขึ้นอย่างพิถีพิถันจากประเทศฝรั่งเศส โดยมีขนาด 29.3 x 13.7 x 2 เซนติเมตร น้ำาหนัก 400 กรัม สามารถสั่งงาน แบบไร้สายและเชือ่ มต่อกับอุปกรณ์ตา่ งๆ ได้มากถึง 5 เครือ่ งในเวลา เดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นแท็ปเล็ต สมาร์ทโฟน หรือเครื่องพีซีที่มาพร้อม บลูทูธ โดยจะใช้งานได้ทั้งระบบปฏิบัติ iOS และ Window อีกทั้งผู้ใช้ สามารถเลือกสัญลักษณ์ตวั อักษรบนปุม่ ได้ตามความต้องการอีกด้วย

‘Apple’ กับเครื่องพิมพ์ส�มมิติแห่งอน�คต หลังจากทีม่ ขี า่ วเกีย่ วกับการยืน่ จดสิทธิบตั รของเครือ่ งพิมพ์สามมิติ ของค่าย ‘Apple’ ออกมา ดีไซเนอร์อย่าง Martin Hajek เลยลอง จินตนาการเครือ่ งพิมพ์สามมิตใิ นอนาคตของ ‘Apple’ ว่าน่าจะถูก ออกแบบมาในลักษณะของเครื่องแบบ DLP 3D Printer หรือแบบ ที่ใช้เรซิ่น ซึ่งเป็นการผสมผสานกันระหว่าง Classic Power Mac G4 Cube และ iDevice ทีเ่ ป็นจอทัชสกรีน โดยมีระบบ iOS อยูด่ า้ นบน อีกทั้งยังมี Online Store Platform ด้วย

Read the full story on http://www.designboom.com/shop/design/ wireless-keyboard-constructed-entirely-from-wood-07-23-2015/

Read the full story on http://www.designboom.com/technology/ martin-hajek-apple-3d-printer-concept-12-24-2015/ 71


เรื่อง: กฤษณ์ นาคะชาต

CES 2016 Innovation Awards (1) à¾Ô觨ºä»äÁ‹¡ÕèÇѹ¡Ñº§Ò¹ CES 2016 ·Õè¨Ñ´¢Öé¹·Ø¡»„ã¹àÁ×ͧÅÒÊàÇ¡ÑÊ »ÃÐà·È สหรัฐอเมริกา ในช่วงต้นเดือนมกราคมที่ผ่านมา และจะมีงาน CES Asia อีกในเดือนพฤษภาคม 2016 ที่เมืองเซี่ยงไฮ้ สาธารณรัฐประชาชนจีน สำาหรับงาน CES ในปีนี้มีนวัตกรรมใหม่เกิดขึ้นมากมาย โดยส่วนตัวผมว่าน่าตื่นเต้นกว่าปี 2015 เสียอีก มีเรื่องน่าสนใจ มากมายให้ตดิ ตามทัง้ Blog, Facebook และในปีนผ้ี มได้ลองใช้ App ของงาน CES ก็รายงานสดตลอดจนอ่านไม่ทนั ทีเดียว เอาละเรามาดูกนั แบบเน้นๆ นะครับ ผมขอเจาะไปทีผ่ ลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รางวัลเป็นหลัก และต้องขอเจาะลงไปทีร่ างวัล Best of innovation อย่างเดียวนะครับ เนือ่ งจากมีอะไรให้ดแู ละติดตามมากมายจนนำามาเล่าไม่หมด เฉพาะรางวัลก็มกี ารแบ่งหมวดหมูไ่ ว้มากมาย ซึ่งท่านผู้อ่านยังสามารถติดตามผ่านเว็บไซต์ของงานในปีนี้ได้ที่ CES 2016: https://www.cesweb.org BEST OF INNOVATION BeoLab 90 Bang & Olufen: http://www.bang-olufsen.com/en เป็นลำาโพงตัวเก่งจากแบรนด์ B&O ทีใ่ ห้ระดับของการควบคุมคุณภาพ ของเสียงอย่างทีค่ ณ ุ จะคาดไม่ถงึ อีกทัง้ ด้วยรูปลักษณ์ทสี่ วยงามจาก การออกแบบให้นา่ สนใจ และมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำางาน ของอะคูสติกน้อยที่สุด น่าเสียดายนะครับที่เราไม่ได้ลองฟังเสียง จากเจ้าลำาโพงตัวนีจ้ งึ ไม่ทราบว่ามันดีจริงขนาดไหน แต่ดจู ากภาพแล้ว สวยงามแปลกตาดี เหมือนหน่อไม้ไหมครับ

Charge Dock for Apple Watch and iPhone Belkin International: http://www.belkin.com/us/p/p-f8j191 ผลิตภัณฑ์ที่ชาร์จ iPhone และ Apple Watch ในตัวเดียวกัน ทำาได้ ค่อนข้างสวยงาม เหมาะกับวางบนโต๊ะหรือข้างเตียงมาก คงถูกใจ ใครหลายคนทีถ่ อย Apple Watch มาเชยชมแล้ว โดยส่วนตัวน่าเสียดาย ที่ iPhone ยังไม่สามารถชาร์จไร้สายได้ ซึ่งถ้าสนใจผมขอแนะนำาให้ เลือกซือ้ ทีช่ าร์จ Apple Watch อย่างเดียว เพราะถูกกว่า ส่วน iPhone ชาร์จด้วยสายเหมือนเดิมเถอะครับ Deeper-Smart Fishfinder Deeper:https://buydeeper.com เหมาะกับเพือ่ นรักนักตกปลามากสำาหรับอุปกรณ์ชนิดนี้ ก็คอื อุปกรณ์โซน่านัน่ เอง แต่ทเี่ จ๋งก็คอื Deeper จะทำางานร่วมกับ App ในสมาร์ทโฟน ของคุณ เพียงแค่หย่อนเจ้า Deeper ลงน้ำา คุณก็จะได้ทั้งข้อมูลความลึก เส้นทางน้ำา อุณหภูมิ ฝูงปลา ใครทีเ่ คยเล่นเกมจำาพวกเกมตกปลาคงนึกภาพออกนะครับ เหมาะสำาหรับ นักตกปลาทั้งสมัครเล่นและอาชีพ แต่ทางที่ดีควรมีเรือก่อนนะครับ (ฮ่าๆ) 72


DietSensor, pioneer in automatic nutrient tracking Airspek: http://www.dietsensor.com ปกติเรามักจะคุ นเคยกับ App ทีช่ ว ยคํานวณแคลอร�ก่ นั อยูแ ล ว แต DeitSenor มันเหนือชัน� กว า นั�นครับ เพราะมันมีเซ็นเซอร ตรวจวัดสารอาหารนั�นเอง ซ�่งนอกจาก จะช วยให เราคํานวณแคลอร�ไ่ ด เทีย่ งตรงยิง่ ข�น้ แล ว ยังเหมาะกับผูป ว ย ที่ต องควบคุมอาหารอีกด วย และที่สะดวกมากก็คือใช ร วมกัน App ในสมาร ทโฟนอีกเช นกัน แหม อยากได สักอันเผื่อจะผอม

ECO USBCELL Rechargeable Battery Pilot เป นอีกหนึ่งผลิตภัณฑ ที่ไอเดียเก มากครับ ก็ไม มีอะไรมาก แค อยากบอกว ามันคือถ านชาร จนัน่ แหละครับ เพียงแต วา มันชาร จด วย USB ไม ตอ งเสียเง�นไปซ�อ้ แท นชาร จให วนุ วายแต อย างใด (น าจะคิด ซะตั�งนานแล ว) จบเลยครับ อีกหน อยอาจจะมีขายตามเซเว นก็ได

Lily Camera https://www.lily.camera บางท านอาจจะเคยเห็นคลิปกันมาแล วนะครับ สําหรับเจ าโดรน ติดตามตัวที่ช�่อว า Lily ซ�่งหลักการของมันคือการทํางานร วมกันระหว างคอมพิวเตอร GPS โดรน และกล อง เพียงคุณโยนมันไปในอากาศ Lily ก็จะตามถ ายภาพคุณอย างอิสระ จะเร�ยกว าเป น Action Camera ที่บินได ก็ใช ครับ นอกจากนี้มันยังมีความทนทานสูง กันน�ํา และใช งานง ายมาก เร�ยกได ว าเป นอีกผลิตภัณฑ หนึ่งที่มียอดจองถล มทลาย

Ecoisme https://ecois.me/en/Indiegogo เป นอุปกรณ ตรวจสอบการใช พลังงานภายในบ าน เพียงต อ Ecoisme เข าสว�ตช หลักภายในบ าน และเข าใจว าต องเช�่อมต ออินเตอร เน็ตด วยนะครับ เพราะระบบทํางานเข าข าย IoT (Internet of things) เมือ่ มีใครใช งานเคร�อ่ งไฟฟ าอยู ระบบก็จะแจ งเตือนไปยังสมาร ทโฟน และถ ามีใคร ลืมป ดเคร�่องใช ไฟฟ าระบบก็จะตรวจสอบได ว ามีการเป ดทิ้งไว นานก็จะแจ งเตือนอีกเช นกัน ถ ายังมองไม ค อยเห็นภาพเท าไหร ลองไปดูคลิปกันนะครับ YOGA Tab 3 Pro Lenovo: https://www.youtube.com/watch?v=miPOZkkPwcU Tablet ในฝ นของใครหลายคน เพราะเป นแท็บเล็ตกับมัลติมีเดียโปรเจคเตอร ในตัว มันแปลงผนังหร�อเพดานให กลายเป นหน าจอ 70” เพลิดเพลินไปกับประสบการณ ความบันเทิงทีย่ อดเยีย่ มด วยจอแสดงผล 10.1” QHD และบูรณาการระบบ เสียงด วยลําโพง JBL® 4 ตัว ส วนแบตเตอร ร�่ใช งานได ถึง 18 ชั่วโมงของการใช งานทั่วไปต อการชาร จ หนึ่งครั�ง ขอกลืนน�ําลายก อนนะครับ งาน CES ป นยี้ งั มีอะไรทีน่ า สนใจอีกมากจนเล าให ฟง กันได ไม หมดในฉบับนี้ แต จากการสังเกตโดยรวมแล วท านผูอ า นอาจจะเห็นได คอ นข าง ชัดเจนว าในป นี้ IoT มาแรงมาก แล วจะมีผลิตภัณฑ ใดที่น าสนใจอีกบ าง…..ฉบับหน าผมจะกลับมาเล าสู กันฟ งต อครับ รับรองว าหลายคน คงอยากได มาใช งานกันบ างแน ๆ

73


เรื่อง: กองบรรณาธิการ

ã¹»˜¨¨Øº¹Ñ ¸ØáԨʶҹ¾ÂÒºÒÅ¡íÒÅѧ໚¹·Õ¨è ºÑ µÒÁͧ ÁÕ¡ÒâÂÒµÑÇ·Ò§¸ØáԨ อย่างสูง โดยเฉพาะโครงการโรงพยาบาล และสถานพักฟืน้ และดูแลผูส้ งู วัย ดัง นั้น Project in Progress ในฉบับนี้ เราจะตามดูโครงการสถานพยาบาลที่ กำาลังอยูร่ ะหว่างการพัฒนาโครงการ การออกแบบ หรือระหว่างการก่อสร้าง กัน ว่าจะมีโครงการใดที่น่าสนใจบ้าง ชือ่ โครงการ ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ พื้นที่ช้าสอย เจ้าของโครงการ เริ่มก่อสร้างปี คาดว่าแล้วเสร็จปี ความคืบหน้าโครงการ

โรงพยาบาลเสริมความงามบริษทั วอนจิน บิวตี้ เมดิคอล กรุป๊ (ประเทศไทย) จำากัด ถนนเอกมัย-รามอินทรา กทม. 1-3-50 ไร่ 5,000 ตารางเมตร บริษัท วอนจิน บิวตี้ เมดิคอล กรุ๊ป (ประเทศไทย) จำากัด ต้นปี 2559 ปลายปี 2559 อยู่ระหว่างขั้นตอนการออกแบบ

โรงพยาบาลศัลยกรรมและความงามครบวงจร ขนาดพื้นที่ 3,500 ตารางเมตร ที่ให้บริการด้านศัลยกรรมและความงาม ตามมาตรฐานเดียวกับโรงพยาบาลวอนจินในประเทศเกาหลี ประกอบด้วยแผนกศัลยกรรม ดูแลผิวพรรณ ดูแลและรักษาฟัน และเอนไทร์เอจจิ้ง

ชื่อโครงการ ทีต่ ง้ั โครงการ พื้นที่ใช้สอย เจ้าของโครงการ เริ่มก่อสร้างปี คาดว่าแล้วเสร็จปี ความคืบหน้าโครงการ

โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กทม. 58,000 ตารางเมตร สำานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ปี 2559 ปี 2561 อยู่ระหว่างขั้นตอนการประมูล

โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ มีโครงการก่อสร้างอาคารใหม่ ซึง่ ประกอบไปด้วย อาคารศูนย์เวชศาสตร์การกีฬา สูง 2 ชัน้ ชัน้ ใต้ดนิ 2 ชั้น อาคารศูนย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู สูง 7 ชั้น ชั้นใต้ดิน 2 ชั้น อาคาร หอพักพยาบาล สูง 8 ชัน้ ชัน้ ใต้ดนิ 2 ชัน้ อาคารหอพักแพทย์ สูง 7 ชัน้ ชั้นใต้ดิน 2 ชั้น อาคารจอดรถยนต์ สูง 8 ชั้น

74


ชื่อโครงการ

โครงการศูนย์เวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ โรงพยาบาลผูส้ งู อายุ บางขุนเทียน ที่ตั้งโครงการ ถนนชายทะเลบางขุนเทียน กม.10 เขตบางขุนเทียน กทม. เนื้อที่โครงการ 34-1-80 ไร่ พื้นที่ใช้สอย 100,000 ตารางเมตร เจ้าของโครงการ สำานักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เริ่มก่อสร้างปี ปี 2559 คาดว่าแล้วเสร็จปี ปี 2562 ความคืบหน้าโครงการ อยู่ระหว่างขั้นตอนการประมูล ศูนย์เวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ ขนาด 300 เตียง โดยรูปแบบของศูนย์จะมี 2 ส่วน คือ ส่วนของ การรักษา และส่วนของการดูแลฟื้นฟูก่อนส่งกลับบ้าน ภายในโครงการประกอบด้วย โรงพยาบาลและศูนย์เวชศาสตร์ผู้สูงอายุ หอพักผู้ป่วย สถานพักฟื้นผู้สูงอายุ หอพัก บุคลากร อาคารบริการ อาคารซ่อมบำารุง และสถานีสูบน้ำา ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ พื้นที่ใช้สอย เจ้าของโครงการ เริ่มก่อสร้างปี คาดว่าแล้วเสร็จปี ความคืบหน้าโครงการ

โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ ถนนเพชรบุรี ถนนเพชรบุรี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กทม. 5 ไร่ โดยประมาณ 65,000 ตารางเมตร บริษัท โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ จำากัด (มหาชน) ปี 2558 ปี 2560 อยู่ระหว่างขั้นตอนการเตรียมเอกสาร

โครงการโรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ บนถนนเพชรบุร ี จะเป็นโรงพยาบาลขนาด 150-200 เตียง โดยจะย้ายบริการทางการแพทย์สว่ นหนึง่ จาก โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ สุขุมวิท มาที่นี่ ในเบื้องต้นคาดว่าจะเป็นศูนย์ดูแลผู้หญิงและเด็ก นอกจากนี้ยังจะประกอบด้วยส่วนสำานักงานและ หอพักสำาหรับพยาบาลด้วย ซึ่งคาดว่าจะใช้เวลาดำาเนินการและก่อสร้าง 3-4 ปี ชื่อโครงการ โรงพยาบาลสินแพทย์ บางนา ที่ตั้งโครงการ แขวงบางนา เขตบางนา กทม. พื้นที่ใช้สอย 10,000 ตารางเมตร เจ้าของโครงการ บริษัท สินแพทย์ บางนา จำากัด เริ่มก่อสร้างปี ปี 2560 คาดว่าแล้วเสร็จปี ปี 2561 ความคืบหน้าโครงการ อยูร่ ะหว่างการออกแบบ โรงพยาบาลสินแพทย์ บางนา ประกอบไปด้วย แผนก ผู้ป่วยนอก แผนกผู้ป่วยใน แผนกฉุกเฉิน สำานักงาน ธุรการ ห้องตรวจโรค แผนกไอซียู แผนกจ่ายยา

ชื่อโครงการ

ศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ของ โรงพยาบาลลาดพร้าว ที่ตั้งโครงการ ถนนลาดพร้าว แขวงคลองเจ้าคุณสิงห์​์ เขตวังทองหลาง กทม. พื้นที่ใช้สอย 5,000 ตารางเมตร เจ้าของโครงการ บริษทั โรงพยาบาล ลาดพร้าว จำากัด (มหาชน) เริ่มก่อสร้างปี ปี 2559 คาดว่าแล้วเสร็จปี ปี 2562 ความคืบหน้าโครงการ อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ โรงพยาบาลลาดพร้าวต้องการพัฒนาศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง เพือ่ ก้าวสู ่ ‘ความ เป็นเลิศทางการแพทย์’ (Excellent Center) โดยประกอบด้วย 5 ศูนย์ทางการแพทย์ ได้แก่ ศูนย์ระบบทางเดินอาหารและตับ ศูนย์ตา ศูนย์ศัลยกรรมกระดูกและข้อ ศูนย์สมองและระบบประสาท และศูนย์ผวิ หนังและความงาม เพือ่ รองรับการเติบโต ของกลุ่มประชากรผู้สูงวัยที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 75


เรื่อง: นะโม นนทการ ภาพ: กัณฑ์ตนนท์ สุรัชต์วิรากูล

ก้�วที่ท้�ท�ย กับก�รพัฒน�สถ�นพย�บ�ลชั้นนำ� ‘บำ�รุงร�ษฏร์’ โรงพย�บ�ลแห่งนี้ ถือได้ว�่ เป็นหนึง่ ในธุรกิจบริก�รด้�นก�รแพทย์ ที่ครบวงจร และดีที่สุดแห่งหนึ่งในภูมิภ�คเอเชียก็ว่�ได้ ด้วยชื่อเสียงอันเป็นที่ ยอมรับในระดับส�กล ก�รพัฒน�โรงพย�บ�ลและก�รบริห�รจัดก�รโครงก�ร โรงพย�บ�ลนัน้ ไม่ใช่เรือ่ งง่�ยๆ ทัง้ คว�มซับซ้อนของก�รทำ�ง�นท�งก�รแพทย์ คว�มปลอดภัยของผู้ใช้สอย รวมทั้งคว�มสะดวกในก�รใช้สอยพื้นที่บริก�ร ส่วนต่�งๆ ในก�รทำ�ง�นอันเปรียบเสมือนผู้ประส�นและที่ปรึกษ�ในก�รดูแล สถ�นพย�บ�ลชั้นนำ� จึงน่�สนใจเป็นอย่�งยิ่ง หากเอ่ยถึงในแง่รายละเอียดของการทำางานแล้ว การพัฒนา ก่อสร้าง และปรับปรุง อาคารประเภทโรงพยาบาลก็ยงั มีความน่าสนใจให้เราได้ เรียนรูอ้ กี มากมาย เนือ่ งจากเป็นกลุม่ อาคารทีต่ อ้ งให้ความสำาคัญกับ ความจำาเป็นในการใช้งานจริง เพื่อตอบสนองคนหลายกลุ่ม สำาหรับ โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์นนั้ เป็นโรงพยาบาลชัน้ นำาของประเทศและใน ภูมภิ าคนี้ และก็มแี นวคิดในการพัฒนาอาคารทีน่ า่ สนใจเป็นอย่างยิง่ คุณไพโรจน์ ไพศาล ในฐานะ ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและพัฒนา โครงการ จึงได้ให้โอกาสเล่าถึงประสบการณ์ในการทำางานทีท่ าำ ให้เรา ได้ทราบถึงอีกแง่มุมหนึ่งในการออกแบบ และพัฒนาอาคารประเภท สถานพยาบาล

ส่วนงานในแผนกวางแผนและพัฒนาในโครงการโรงพยาบาลบำารุงราษฏร์ นั้นจะเป็นการดูแลในส่วนของการบริหารจัดการโครงการต่างๆ ใน โรงพยาบาล โดยในทีมนั้นจะมีทีมงานที่มีพื้นฐานทางการศึกษาและ ความถนัดทีห่ ลากหลายและแตกต่างกันไปเสมือนเราทำางานเช่นเดียวกับ ทีมคอนซัลแตนท์ที่คอยบริหารโครงการย่อยๆ หนึ่งทีม บุคลากร บางท่ า น ก็ สำ า เร็ จ การศึ ก ษาทางด้ า นวิ ศ วกรรม หรื อ ทางด้ า น สถาปัตยกรรม ซึ่งมีหน้าที่ในการดูแลงานโครงการและงานในส่วน ออกแบบ บางท่านก็จะดูแลงานในด้านงาน QS (Quantity Surveyor) ซึง่ จะเกีย่ วข้องกับการจัดซือ้ -จัดจ้าง การประมูล รวมถึงทำาสัญญาต่างๆ ทีมเราจึงเปรียบเหมือนทีมพัฒนาโครงการ ที่มีบุคลากรที่มีความรู้ รอบด้านและมีเป้าหมายในการบริหารงานก่อสร้างให้มคี วามสมบูรณ์ “เดิมก่อนทีจ่ ะมาร่วมงานกับทางโรงพยาบาล ผมทำางานในฐานะอินทีเรีย ในทุกๆ ด้าน ดีไซเนอร์มาก่อน เมือ่ ประมาณ 7-8 ปีทแี่ ล้วได้มโี อกาสออกแบบให้กบั โรงพยาบาลบำารุงราษฎร์ ซึง่ ในตอนนัน้ กำาลังมีการปรับปรุงพื้นที่ และ ในเบือ้ งต้นอย่างทีห่ ลายคนทราบดีวา่ การทำางานพัฒนาและออกแบบ หลังจากนัน้ ประมาณ 3-4 ปี ผมได้มโี อกาสเริม่ ต้นทำางานกับโรงพยาบาล โครงการอย่ า งโรงพยาบาลจะมี ค วามซั บ ซ้ อ น หน้ า ที่ ข องเราจึ ง บำารุงราษฎร์ ในฝ่ายวางแผนและพัฒนาโครงการ เป็นการทำาให้เรื่องซับซ้อนเหล่านั้นให้ง่ายขึ้น โดยเริ่มตั้งแต่การนำา นโยบายของผู้บริหารมาดำาเนินการ ทั้งการบริหารจัดการเรื่องของ สำาหรับเหตุผลทีต่ ดั สินใจมาร่วมงานกับทางโรงพยาบาลนัน้ เพราะคิดว่า เวลาและคุณภาพมาประกอบกัน เนือ่ งจากการดูแลในช่วงทีม่ กี ารก่อสร้าง งานออกแบบโรงพยาบาลนัน้ ค่อนข้างใกล้เคียงกับความถนัดของผม นั้นจำาเป็นอย่างมาก เราต้องพยายามป้องกันไม่ให้คนไข้หรือผู้ที่มา ที่เคยมีประสบการณ์ได้ทำามาก่อนหน้านี้ซึ่งเป็นงานออกแบบที่ต้องมี ใช้บริการต้องรับผลกระทบทีอ่ าจเกิดจากการก่อสร้างทีไ่ ม่เอือ้ อำานวย วิธคี ดิ ทีล่ ะเอียด เป็นระบบแบบแผนและมีเหตุมผี ลในการออกแบบดีไซน์ ต่อการใช้งานและการให้บริการของทางโรงพยาบาล ดังนั้นหน้าที่ใน ซึ่งจะต้องให้ความสำาคัญทั้งทางด้านฟังก์ชั่น และความสวยงาม การบริหารจัดการงานก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลจึงมีความสำาคัญ ในคราวเดียวกัน อย่างมาก”

76


คุณไพโรจน์ ไพศาล ผู้จัดการฝ่ายวางแผนและพัฒนาโครงการ โรงพยาบาลบำารุงราษฏร์ 77


ความท้าทายของการพัฒนาโครงการโรงพยาบาล ความยากอย่างหนึ่งของการพัฒนาโครงการของโรงพยาบาล นอกจากจะเป็นเรื่องรายละเอียดปลีกย่อยของความจำาเป็น และความต้องการในเรื่องการใช้งานสำาหรับบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ภายในแล้ว ยังหมายถึงความปลอดภัยของคนไข้ และบุคลากรเจ้าหน้าที่ด้วยเช่นกัน เนื่องจากโครงการของโรงพยาบาลส่วนใหญ่มักเป็นงานปรับปรุงอาคารในพื้นที่เดิม (Renovation) เพื่อให้ตอบสนองการใช้สอยได้มากขึ้นตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป “ความยากของการพัฒนาโครงการโรงพยาบาลทีส่ าำ คัญทีส่ ดุ คือ เรือ่ งของความปลอดภัย ซึง่ เป็นปัจจัยอันดับหนึง่ ทีเ่ ราต้อง คำานึงถึง อันทีจ่ ริงแล้วการทำาโครงการอาคารสาธารณะที่มีคนร่วมใช้งานหมูม่ ากนั้นถือว่าเป็นเรื่องยาก การทำาโครงการที่ ก่อสร้างตึกใหม่ขนึ้ มาก็จะเป็นความยากในเชิงการก่อสร้าง แต่ไม่ได้ยากในเชิงการจัดการ หากเป็นโครงการทีต่ อ้ งก่อสร้าง หรือปรับปรุงตกแต่งในขณะที่มีคนอื่นๆ ร่วมใช้งานอยู่ ก็จะมีความซับซ้อนในเรื่องการจัดการมากขึ้นไปอีก เป็นต้นว่าเราจะทำาอย่างไรที่จะทำาให้บุคลากรภายในอาคารนั้น ไม่ว่าจะเป็นแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ หรือคนไข้สามารถ ที่จะทำางานหรือดำาเนินกิจกรรมไปพร้อมๆ กันในขณะที่มีการก่อสร้างและได้รับผลกระทบให้น้อยที่สุด หากจะถามว่าเรา ทำางานในช่วงกลางคืนไม่ได้หรือ คำาตอบคือ ก็อาจจะได้แต่ต้องขึ้นอยู่กับพื้นที่ที่จะทำาการปรับปรุง เพราะโรงพยาบาลก็ยัง เป็นอาคารทีถ่ กู ใช้งานตลอด 24 ชัว่ โมง ในเวลากลางคืนก็มคี นไข้นอนพักผ่อนอยู่ ส่วนในเวลากลางวันก็มกี ารให้บริการด้าน การรักษา ในบางกรณีเราก็ไม่สามารถย้ายอุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือเคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้ออกห่างจากพื้นที่ก่อสร้างแล้ว ทำาการก่อสร้างกันเป็นชัน้ ๆ ได้เหมือนกับงานโรงแรม เนือ่ งจากอุปกรณ์เครือ่ งมือต่างๆ ทางการแพทย์นนั้ จะถูกเซ็ตระบบ เอาไว้เพือ่ ให้เหมาะกับพืน้ ที่ใช้สอยในครั้งแรกที่ทำาการออกแบบ หรือต่อให้สามารถที่จะย้ายคนไข้ไปบริเวณอื่นได้ บางครั้ง เราก็ไม่สามารถย้ายเครื่องมือหรือระบบทางการแพทย์ตามไปใช้งานได้เช่นกัน ซึ่งทำาให้เกิดข้อจำากัดในการบริหารงาน ก่อสร้าง ดังนั้นจึงมีความซับซ้อนในการวางแผนในการทำางานก่อสร้างเป็นอย่างมาก ในอดีตงานเรื่องการรีโนเวชั่น (Renovation) จะเป็นงานหลักของเรา แต่ก็จะเป็นการตกแต่งหรือการปรับปรุงแผนกหนึ่ง แผนกใด เพราะแผนกต่างๆ ในอาคารโรงพยาบาลนัน้ ส่วนใหญ่จะถูกสร้างกันมานานมากเป็นเวลา 10-15 ปี เมือ่ เวลาผ่าน ไปถึงจุดหนึ่ง ถึงจะเริ่มมีการตกแต่งปรับปรุงใหม่ ซึ่งหลายครั้งอาจจะมีการปรับตำาแหน่งของพื้นที่ โดยอาจจะย้ายไปอยู่ ในพืน้ ทีท่ มี่ คี วามเหมาะสมกว่า เพราะเนือ่ งจากเมือ่ ใช้งานจริงไปแล้วสักระยะหนึง่ เราอาจจะทราบว่าว่าพืน้ ทีข่ องแผนกไหน ควรจะอยู่บริเวณไหนจึงจะมีความเหมาะสมในแง่ของความสะดวกในการใช้งานมากที่สุด เป็นต้น” ปัจจุบันและอนาคตของอาคารโรงพยาบาล ในแง่ของอาคารนัน้ หากสังเกตให้ดจี ะพบว่า รูปแบบดีไซน์ของอาคารโรงพยาบาลบำารุงราษฎร์สว่ นใหญ่จะเน้นความเรียบง่าย ซึ่งคุณไพโรจน์กล่าวว่าการออกแบบให้มีลักษณะที่เป็นแบบร่วมสมัย (Contemporary) และมีกลิ่นอายของความทันสมัย กับความเรียบง่ายนั้นค่อนข้างจะลงตัวและตอบโจทย์กับความหลากหลายทางเชื้อชาติของกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ 78


คนทำางานก็ต้องมาใส่ใจรายละเอียดเรื่องนี้มากขึ้น ตัวอย่างเช่น เรื่องของข้อกำาหนด ในการออกแบบห้องน้ำาที่ควรจะเป็นไปตามมาตรฐาน ดังนั้นเมื่อนึกถึงการออกแบบ ห้องน้ำาเราก็ควรคิดต่อไปอีกว่ามีเรื่องใดที่ควรจะคำานึงถึงเพิ่มเติมเข้าไปอีก อย่างเช่น เรื่องการป้องกันพื้นลื่น ซึ่งก็ควรจะเลือกวัสดุที่มีค่าการป้องกันการลื่น (Slipped Resistance) ทั้งกระเบื้องเซรามิคหรือกระเบื้องยางให้ได้ตามมาตรฐานสากล ซึ่งจะมี ค่าตัวเลขมาตรฐานกำาหนดไว้ท่ี R8- R9 โดยบริษทั ผูผ้ ลิตเองก็จะทราบเรือ่ งนีแ้ ละนำาเสนอ ข้อมูลให้กับเราตั้งแต่ครั้งแรก อย่าง บริษัท เตียวฮง สีลม ก็มีการนำาเสนอผลิตภัณฑ์ ประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมกับการใช้งานสำาหรับโรงพยาบาลกับเรา ซึ่งเราก็เลือกใช้ วัสดุเหล่านั้นเช่นกัน โดยคอนเซ็ปต์คือ เราควรทราบข้อกำาหนดมาตรฐานสำาหรับการออกแบบในบริเวณ ต่างๆ ทีจ่ ะมีการปรับปรุง ดังนัน้ เราถึงจะสามารถไปเลือกวัสดุทต่ี อ้ งการมาใช้งานได้ถกู ต้อง และเหมาะสม เป็นต้น หรืออย่างเช่นห้องผ่าตัด เราก็จะเลือกวัสดุกระเบื้องยางที่มี คุณสมบัติ ซึง่ เรียกว่า Anti-static Material โดยเราก็ตอ้ งทราบว่าค่าดังกล่าวมีกรี่ ะดับ และควรต้องใช้ในระดับไหนกับห้องผ่าตัด โรงพยาบาลในปัจจุบัน ดังนั้นความเรียบง่ายที่ไม่ หวือหวาหรือไม่ลาำ้ สมัยจนเกินไป ก็จะเป็นลักษณะ อาคารทีต่ อบโจทย์กบั ความหลากหลายด้านรสนิยม ของผู้ใช้บริการ ซึ่งจะสามารถคงอยู่ร่วมสมัยและ คงอยู่ใช้งานได้ยาวนาน อีกทั้งการก่อสร้างหรือ ปรั บ ปรุ ง อาคารในปั จ จุ บั น ก็ เ ริ่ ม ให้ ค วามสำ า คั ญ กั บ แนวคิ ด เรื่ อ งการออกแบบอาคารเพื่ อ ทุ ก คน (Universal Design) และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Environmental Friendly) มากขึ้น “ทุกวันนีอ้ าจจะมีการพูดถึงแนวอาคารรูปแบบใหม่ๆ มากขึน้ อย่างเช่นอาคารเขียว ผมมองว่าคงต้องดูกนั ทีห่ ลายปัจจัยหลายองค์ประกอบ รวมถึงความเป็นไปได้ ซึง่ คงต้องดูกนั ตัง้ แต่การจัดการในครัง้ แรก ว่าอาคาร ทีเ่ ราพูดถึงนัน้ เป็นอาคารแบบไหน เป็นอาคารสร้างใหม่ หรืออาคารทีส่ ร้างอยูแ่ ล้ว หากเป็นอาคารสร้างใหม่ ก็คงต้องดูในทุกๆ เรื่องเพื่อจะให้สอดคล้องกับ มาตรฐานต่างๆ เป็นต้น เรือ่ งเหล่านีส้ าำ หรับโรงพยาบาลเราเอง ก็มกี ารพิจารณา แบบค่อยเป็นค่อยไป ส่วนใหญ่เราจะดูในเรื่องการ ประหยัดพลังงานของอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงระบบ ทางวิศวกรรมต่างๆ เช่น การใช้ระบบอัตโนมัติมา ควบคุมอาคารให้มากขึ้น การใช้เทคโนโลยีเข้ามา ช่วยเพือ่ การประหยัดพลังงานอย่างทีเ่ ราทราบเรือ่ งนี้ กันมานาน เพียงแต่เรามองว่าจุดไหนคือจุดคุ้มทุน ที่เราควรจะนำามาใช้งานได้จริง

ปกติแล้วทางโรงพยาบาลจะมีการว่าจ้างผูอ้ อกแบบในการแต่ละโครงการ ซึง่ เราก็คาดหวังว่า ผู้ออกแบบควรจะมีความรู้มคี วามเข้าใจ รวมถึงต้องคอยช่วยดูแลในเรื่องเหล่านี้ให้แก่ เราในเบือ้ งต้น อย่างไรก็ตามโดยหน้าทีร่ บั ผิดชอบแล้วทีมงานของเราก็จะเป็นทีมทีต่ รวจ สอบเรือ่ งทัง้ หมดอีกครัง้ หนึง่ ก่อนการก่อสร้าง เพือ่ ช่วยป้องกันความผิดพลาด และด้วย ความทีท่ มี เราอยูก่ บั ธุรกิจของโรงพยาบาลมานานพอสมควร จึงทราบรายละเอียดและ ข้อมูลที่จะต้องคำานึงถึงในการเลือกวัสดุ ดังนั้นทีมงานเราจึงเปรียบเหมือนเป็นทีมที่ ปรึกษาคอยให้คำาแนะนำาเพื่อให้งานออกมาสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในอนาคตแนวทางการพัฒนาพืน้ ทีเ่ พือ่ ผูส้ งู วัยน่าจะมีมากขึน้ และคงจะไม่ใช่เพียงแค่เฉพาะ ในอาคารของโรงพยาบาลเท่านัน้ แต่หมายถึงบ้านและทีอ่ ยูอ่ าศัยส่วนบุคคลด้วย ตัวอาคาร โรงพยาบาลเองนัน้ โดยทัว่ ไปทางวิศวกรและสถาปนิกก็จะต้องคำานึงเรือ่ งนีต้ ง้ั แต่ครัง้ แรก ทีท่ าำ การออกแบบ ซึง่ พืน้ ทีส่ ว่ นกลาง (Public Area) นัน้ ควรจะสามารถใช้งานได้ทง้ั คนทัว่ ไป และผู้สูงวัย ซึ่งตอนนี้ทางโรงพยาบาลเราได้ร่วมมือกันกับ SCG ซึ่งมีความเชี่ยวชาญ ด้านนี้อยู่ ให้เข้ามาออกแบบและจัดแสดง Exhibition ในพื้นที่ของโรงพยาบาลเพื่อ แนะนำาพื้นที่การใช้งานสำาหรับผู้สูงอายุที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานในบ้าน ให้สอดคล้อง กับผลิตภัณฑ์ทค่ี นสูงอายุทว่ั ไปสามารถปรับใช้ได้ ขณะนีอ้ ยูใ่ นช่วงของการพูดคุย ซึง่ อนาคต ถ้าเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น โรงพยาบาลก็อาจจะมีการปรับปรุงพื้นที่และสร้างให้เป็น แผนกสำาหรับผู้สูงวัยเพื่อให้สอดคล้องกับเรื่องนี้มากขึ้น โดยที่ผ่านมาพื้นที่ส่วนใหญ่ เราก็คาำ นึงถึงเรือ่ งนีอ้ ยูแ่ ล้ว เพราะโดยกฎหมายอาคารจะต้องคำานึงถึงการใช้งานสำาหรับ คนในทุกๆ กลุ่ม ในโรงพยาบาลนั้นเวลาที่คนไข้หรือญาติมาพบแพทย์หรือใช้บริการ ในโรงพยาบาล ก็ไม่ใช่ว่าทุกคนจะเดินมา บางท่านก็นั่งรถรถเข็น อย่างนี้เป็นต้น ซึ่งกฎหมายอาคารก็เอื้อในสิ่งเหล่านี้

หน้าที่เราจึงเป็นการเข้าไปดูในส่วนที่เป็นรายละเอียดมากขึ้น เช่น ทางเดินหรือประตู ก็ควรจะมีความกว้างทีเ่ พียงพอ หรือคำานึงว่าผูส้ งู วัยทีม่ าด้วยรถเข็นจะเข้าถึงพืน้ ทีไ่ ด้อย่างไร เข้าลิฟต์ได้ไหม อยูใ่ นลิฟต์แล้วสามารถกดปุม่ ลิฟต์เองได้หรือไม่ เป็นต้น ทัง้ นีใ้ นโรงพยาบาล เองก็ค่อนข้างให้ความสำาคัญกับการช่วยเหลือคนไข้หรือผู้มาใช้บริการด้วยเสมอ นอกเหนือจากการจัดเตรียมพื้นที่เพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน สำาหรับโรงพยาบาล อันทีจ่ ริงแล้วการสร้างอาคารทุกคนสามารถใช้งานร่วม บำารุงราษฎร์ เราจะมีหน่วยบริการทีเ่ ข้าไปช่วยเหลือคนไข้ได้ทนั ที ทีผ่ า่ นมาเราสอนเรือ่ ง กันได้ก็เป็นแนวทางหนึ่งที่สนับสนุนแนวคิดเรื่อง การช่วยเหลือคนไข้ในทุกหน่วยงานและเจ้าหน้าทีท่ กุ คนก็ตอ้ งให้ความสำาคัญ เรือ่ งเหล่านี้ Universal Design อยู่แล้ว เพียงแต่เราในฐานะ เป็นสิง่ ทีค่ วรต้องสนับสนุนกัน ไม่ใช่แค่เพียงเรือ่ งของการจัดเตรียมตัวอาคารเพียงอย่างเดียว” 79


เรื่อง: กองบรรณาธิการ ภาพ: สถาปนิก 49

Hospice, a House for Elderly Care สถานพักฟืน้ สำาหรับผูส้ งู วัย หรือบ้านพักพิงทีค่ อยดูแลผูส้ งู วัย เป็นอีกสถานพยาบาล ที่กำาลังเป็นกระแสนิยมในประเทศไทย เพราะเนื่องจากในปัจจุบันสังคมไทย กำาลังก้าวเข้าสูส่ งั คมผูส้ งู วัยอย่างสมบูรณ์ ประชากรผูส้ งู วัยกำาลังเพิม่ สูงขึน้ ดังนัน้ การให้บริการทางการแพทย์และการดูแลสุขภาพของผูส้ งู วัยจึงเป็นสิง่ จำาเป็น ในอนาคต ศูนย์พกั พิงและบ้านพักสำาหรับผูส้ งู วัยจึงเป็นอีกหนึง่ โครงการสถานพยาบาล ที่เราอยากจะนำาเสนอขึ้นมา บ้านพักสำาหรับผู้สูงวัยแห่งนี้ มีชื่อว่า ‘Age-Free House Takarazuka-Nakayama’ ตั้งอยู่ที่เมือง ทะกะระซุกะ จังหวัดเฮียวโงะ ทีน่ เี่ ป็นเสมือนบ้านพัก อาศัยที่คอยดูแลผู้สูงวัยแบบครบวงจร ออกแบบ และก่อสร้างโดย Panasonic Comheart Co.,Ltd. ซึง่ เป็นหนึง่ บริษทั ในเครือ Panasonic Group รวมทัง้ ยังบริหารงานบ้านพักแห่งนี้ด้วย

80

ภายในบ้านพักสำาหรับผูส้ งู วัยนี้ ครบครันไปด้วยสิง่ อำานวยความสะดวก จากพานาโซนิค ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื่องใช้ภายในบ้าน รวมทั้งการดำาเนินงานและบริการดูแลผู้สูงวัย เพื่อให้สถานที่แห่งนี้ ตอบสนองวิถกี ารอยูอ่ าศัยสำาหรับผูส้ งู ได้อย่างเหมาะสมและลงตัวทีส่ ดุ นอกจากนีท้ น่ี ย่ี งั ให้บริการดูแลผูส้ งู วัย ทัง้ ช่วงกลางวันและช่วงกลางคืน รวมถึงการดูแลตามบ้านอีกด้วย ซึ่งเป็นการให้บริการอย่างใกล้ชิด ผูด้ แู ล 1 คน ต่อ 1 ผูพ้ กั อาศัยทีเ่ ป็นผูส้ งู วัย ตลอด 24 ชัว่ โมง ทัง้ 365 วัน พร้อมมีระบบวางแผนการดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงวัยอย่างครบวงจร


แนวคิดในการสร้างบ้านพักสำ าหรั บ ผู้ สู งวั ยแห่ งนี้ ต้ องการสร้ าง บรรยากาศของการพักอาศัยทีอ่ บอุน่ และเป็นกันเอง พร้อมทัง้ สิง่ อำานวย ความสะดวกอั น ทั น สมั ย โดยการผสานระหว่ า งเทคโนโลยี แ ละ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องพานาโซนิ ค กั บ การออกแบบที่ เ ป็ น สากล หรื อ Universal Design โดยพื้นที่ใช้สอยภายในประกอบไปด้วย Living/ Dining Room ภายในบ้านพักอาศัยสำาหรับผู้สูงวัย พื้นที่ชั้นล่างจะถูกจัดให้มีพื้นที่ โถงต้อนรับ เพื่อใช้เป็นพื้นที่รองรับกิจกรรมของผู้พักอาศัย อีกทั้ง ยังเป็นที่พบปะระหว่างครอบครัวและเพื่อนฝูงกับผู้พักอาศัย ให้ได้ใช้ เวลาร่วมกัน โดยการตกแต่งภายในถูกออกแบบให้อยูใ่ นบรรยากาศที่ อบอุ่น ด้วยวัสดุไม้เป็นหลักคล้ายกับบ้านพักอาศัยโดยทั่วไป

Lounge บนพื้นที่ชั้น 2 และ 3 ซึ่งเป็นส่วนของห้องพักอาศัย เป็นหลัก สามารถเชือ่ มถึงกันในแต่ละระดับชัน้ ด้วย ลิฟท์โดยสารทีเ่ หมาะกับการใช้งานของรถเข็น ซึง่ ใน แต่ละชั้นจะมีพื้นที่นั่งเล่นสำาหรับให้ผู้พักอาศัยได้ มาใช้ทำากิจกรรมหรือใช้เวลาร่วมกันได้ พร้อมกับมี พืน้ ทีส่ ว่ นเตรียมอาหารเล็กๆ สำาหรับให้ผดู้ แู ลเตรียม อุน่ อาหารให้แก่ผพู้ กั อาศัยได้ดว้ ย โดยพืน้ ทีด่ งั กล่าว จัดวางอยู่ใกล้กับส่วนพักอาศัย เพื่อความสะดวก ในการเข้าถึง เป็นการส่งเสริมให้เกิดการปฏิสมั พันธ์ ระหว่างผู้พักอาศัยด้วยกัน

(ภาพบน) โถงต้อนรับสำาหรับรองรับ กิจกรรมสันทนาการของผู้พักอาศัย กับครอบครัวหรือเพื่อนฝูง (ภาพล่าง) พืน้ ทีห่ อ้ งนัง่ เล่น ทีช่ น้ั 2 และชัน้ 3 สำาหรับนัง่ เล่น และพักผ่อน หย่อนใจใกล้ๆ ห้องพัก

81


Residential Room ห้ อ งพั ก แต่ ล ะห้ อ งถู ก ออกแบบมาด้ ว ยแนวคิ ด “Private and Watched” เพือ่ ให้ผพู้ กั อาศัยซึง่ เป็น ผู้สูงวัยทุกคนใช้ชีวิตอยู่ด้วยความรู้สึกปลอดภัย ห้องพักทุกห้องจึงออกแบบให้มีรูปทรงสี่เหลี่ยม จัตุรัส เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถเตรียมการดูแลและ เข้าถึงตัวผู้สูงวัยได้ง่ายและรวดเร็วจากทั้ง 3 ด้าน นอกจากนี้การตกแต่งภายในทุกห้อง จะเน้นการ ออกแบบโดยปราศจากสิ่งกีดขวาง เช่น พื้นที่เรียบ ประตูทมี่ ขี นาดกว้าง และราวมือจับเพือ่ การพยุงตัว เป็นต้น Bathroom ห้องอาบน้าำ จะถูกออกแบบให้อยูใ่ นพืน้ ทีข่ องชัน้ ล่าง ทีม่ าพร้อมด้วยอุปกรณ์เก้าอีเ้ ลือ่ นอัตโนมัติ สำาหรับยก ผู้สูงวัยที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษลงอ่างอาบน้ำา อย่างปลอดภัย โดยการออกแบบพื้นที่ห้องอาบน้ำา จะเน้นให้เกิดความปลอดภัยสูงด้วยอุปกรณ์ในการ อำานวยความสะดวกและอุปกรณ์สำาหรับใช้อาบน้ำา ผูส้ งู วัย วัสดุพนื้ ปูทสี่ ะดวกต่อการเข็นรถและมีพน้ื ที่ กว้างขวางเพียงพอกับการใช้งานของรถเข็น อีกทัง้ ยังต้องคำานึงถึงสภาพแวดล้อมทีส่ อดคล้องระหว่าง การใช้สอยและสิง่ อำานวยความสะดวกให้เหมาะสม อีกด้วย

82


นอกจากนี้ภายในบ้านพักผู้สูงวัยแห่งนี้ยังมีพื้นที่อื่นๆ อีก อาทิ โถงรับประทานอาหาร พื้นที่ซัก-รีดผ้า ห้องสันทนาการ สำานักงาน ห้องพักสำาหรับทีมพยาบาลและผู้ดูแล ห้องสุขาที่พร้อมด้วยอุปกรณ์สำาหรับ ผู้สูงวัย เป็นต้น นอกจากการเตรียมพื้นที่ใช้สอยแล้ว ที่นี่ยังมีบริการเสริมสำาหรับการดูแลสุขภาพและ การใช้ชวี ติ อย่างมีคณ ุ ภาพอีกด้วย โดยมีทงั้ การดูแลทำาความสะอาด บริการซัก-รีดเสือ้ ผ้า การดูแลความ ปลอดภัยของชีวิต การดูแลให้คำาปรึกษาการใช้ชีวิตประจำาวัน และการดูแลจัดการด้านสุขภาพร่างกาย ทางการแพทย์ ในอนาคตบ้านพักผู้สูงวัยอาจไม่ใช่สถานที่ที่น่ากลัวหรือเป็นสถานที่สุดท้ายที่จะถูกลูกหลานนำาไปฝาก เอาไว้เหมือนในอดีตอีกต่อไป แต่จะกลายเป็นสถานที่ที่ผู้สูงวัยทั้งหลายอยากที่จะเข้าไปอยู่และพร้อมที่ จะเข้าไปใช้ชีวิตอยู่ในสังคมของผู้สูงวัยได้อย่างมีความสุขอีกด้วย

ข้อมูลโครงการ ชื่อโครงการ: ที่ตั้ง: เจ้าของโครงการ:

Age-Free House Takarazuka-Nakayama เมืองทะกะระซุกะ จังหวัดเฮียวโงะ Panasonic Comheart Co.,Ltd. บริษัทในเครือ Panasonic Group ลักษณะอาคาร: อาคารโครงสร้างเหล็ก สูง 3 ชั้น พื้นที่ใช้สอย: 993 ตารางเมตร จำานวนห้อง: 20 ยูนิต ก่อสร้างแล้วเสร็จ: มิถุนายน พ.ศ.2558 ออกแบบและก่อสร้างโดย: PanaHome Corporation บริหารงานโดย: Panasonic Comheart Co., Ltd. แหล่งรูปภาพ: Panasonic Group Photographer © Natcha Nantakarn

ขอขอบคุณข้อมูลโครงการจาก: Public Relations & External Relations Department, PanaHome Corporation Shinsenri-nishimachi, Toyonaka, Osaka, Japan www.panahome.jp

83


¾×é¹·Õèໃ´¡ÇŒÒ§ãˌᡋ¹Ñ¡¤Ô´ ¹Ñ¡Í͡Ẻ ËÇÁÊ‹§¼Å§Ò¹à¢ŒÒÁÒà¾×èÍà¼Âá¾Ã‹ ÊÙ‹ÊÒµҼٌ͋ҹ ໚¹¡ÒùíÒàʹͼŧҹ·Õ蹋Òʹ㨷Ñé§ã¹ÁØÁ¢Í§¡ÒÃÍ͡Ẻ §Ò¹Ê¶Ò»˜µÂ¡ÃÃÁ §Ò¹Ê¶Ò»˜µÂ¡ÃÃÁµ¡áµ‹§ÀÒÂã¹ §Ò¹ÀÙÁÔʶһ˜µÂ¡ÃÃÁ 仨¹¡ÃÐ·Ñ§è §Ò¹Í͡ẺÇÑÊ´Ø ÊÔ¹¤ŒÒ §Ò¹Í͡Ẻ»‡ÒÂáÊ´§ÊÑÞÅѡɳ ËÃ×Í §Ò¹Í͡Ẻ¡ÃÒ¿ƒ¡áÅÐÊ×Íè ÊÔ§è ¾ÔÁ¾ ·§Ñé ËÅÒ ÊÒÁÒöʋ§¼Å§Ò¹à¢ŒÒËÇÁä´Œ áÅÐ Êͺ¶ÒÁ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè www.designerhub.in.th ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

PILYQ // L*SPACE SHOP AT SIAM PARAGON Behold Architect and Interior Design Co.,ltd

ข อมูลงาน: ยิ่งไม เป ดเผย ยิ่งน าค นหา :: ครัง� นีเ้ ราได รบั โจทย เป นงานออกแบบช็อป Swimwear ในห างฯ Siam Paragon เมือ่ ได ตัวอย างสินค ามาในมือ เป นชุดว ายน�ํา/เดินหาด ดีไซน เกรดพร�เมียมจากต างประเทศ ภายใต ช�่อแบรนด ไพลีคิว/แอลสเปซ ทําให เรามานั่งคิดว าช็อปที่ดิสเพลย ชุดเหล านี้ ควรมีบคุ ลิกลักษณะยังไง ยิง่ ดูดไี ซน ให ดๆ ี ยิง่ เห็นความเนีย้ บของชุด ในความเร�ยบหรู แอบเห็ น ดี เ ทลเล็ ก ๆ ที่ เ ป น ลู ก เล น ให ชุ ด ไม เ ร� ย บจนน า เบื่ อ …นั่ น คื อ “modern architecture” ชัดๆ คํานีผ้ ดุ ข�น้ มาในหัว เพราะมันสะท อนกันและกันได อย างดี บางครัง� ดูเร�ยบมากแต กลับโดดเด น เหมือนอาคารโมเดิรน เร�ยบๆ บวกดีเทลเล็กๆ ทีผ่ า นการคิด อย างดีทมี่ กั สะกดสายตาเราได เสมอ เป นความเนีย้ บหรูทไี่ ม นา เบือ่ และไม ซา�ํ ใคร เราจ�ง นําแรงบันดาลใจนี้มาออกแบบช็อปที่เน นสีขาวผสานไม สีอ อนสะอาดตา ราวแขวน display สินค าทําจากสเตนเลสและไม ประกอบกัน partition ของดิสเพลย สีขาวทึบ กลับมีเจาะช องให มองทะลุไปเห็นสินค าได เล็กๆ น อยๆ ยิ่งไม เป ดโล งให เห็นทั�งหมด กลับยิ่งดึงดูดให เข ามาค นหาดูใกล ๆ ตัวอักษรช�่อแบรนด และโลโก ทําจากไม สักที่เป น งานทํามือ 100% ราวแขวนช�น้ อืน่ ๆ มีลกั ษณะเป นแท นทรงวงร�เหมือนหินแม นาํ� ดูโมเดิรน แต องิ รูปทรงจากธรรมชาติ เพือ่ ความกลมกลืนของสินค าและ lifestyle ของผูใ ช ช วยสร าง จ�นตนาการในการใช งานให กบั ลูกค า เมือ่ แท นวางดูเร�ยบและลดทอน กลับขับให สนิ ค า ที่มีสีสันโดดเด นและรูปแบบหลากหลายเป นตัวดึงดูดสายตาด วยตัวสินค าเอง ติดต อ:

84

35 Nawamin 14 Lane 25 Khlongchan, Bangkapi, Bangkok 10240 โทร: 02-116-9995, 087-548-5200 อีเมล : panupongtoumsiri@gmail.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/beholdthailand


ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

โครงการ WORLD CITY MASTER PLAN DESIGN103international

ข อมูลงาน: อาคารทีพ่ กั อาศัย (Residential Towers) Low Rise Residential, Beach Side Villa, อาคารสํานักงานอเนกประสงค และศูนย การค า, Entertainment Complex ตลอดแนวชายหาด โดยมีแนวคิดของการพัฒนาโครงการ คือ การเช�อ่ มต อพืน้ ที่ แต ละส วนของโครงการด วยทางสัญจรยกระดับ อันได แก ทางเดินเท า ทางจักรยาน ส งผล ให เกิดการเช�อ่ มต อภายในพืน้ ทีช่ มุ ชน ธรรมชาติ และความเป นอยูภ ายในโครงการ ติดต อ:

ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

219/28-31 อโศกทาวเวอร สุขุมว�ท 21 วัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทร: 02-260-0160, 089-177-5937 อีเมล : wanrapa@d103group.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/DESIGN103

“THE TRUSS” PUB & RESTAURANT พิลาสเตอร สตูดิโอ ดีไซน

ข อมูลงาน: โครงการออกแบบปรับปรุงภายใน ร านอาหาร The Truss ในรูปแบบ Loft chic โดยใช สภาพเดิมของอาคารผนวกกับเติมองค ประกอบลูกเล นลงไปใหม เพือ่ ประหยัดงบประมาณ สร างแบรนด ใหม เพื่อดึงกลุ มลูกค าใหม ให เข าใช บร�การ ติดต อ:

90/6 อาคารเพ็ญศิร�เพลส ซอยพหลโยธ�น 32 (เสนานิคม 1 ซอย 2) ถ.พหลโยธ�น จันทรเกษม จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทร: 02-941-9942, 084-140-7791 อีเมล : contact@pilasterstudio.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/PilasterStudio

ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

KRABI HEARTEL : THE PAINTING ROOMS ไอแฮปสตูดิโอ

ข อมูลงาน: Concept hotel in Krabi Thailand where inspired from owner that was an artist. ติดต อ:

5 รามคําแหง 2 ซอย 23 แยก 4 ดอกไม ประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร: 085-129-7009 อีเมล : ihapstudio@yahoo.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/ihapstudio

85


ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

ส วนหนึ่งของผลงานออกแบบ ว�สัยทัศน ชลวานิช

ข อมูลงาน: งานกราฟ กดีไซน ในป จจุบนั ค อนข างมีบาทบาทมาก อาจเป นเพราะการเติบโตของการสื่อสารและเทคโนโลยี จ�งทําให การนําเสนอสิ่งของต างๆ จําเป นต องใช งานกราฟ กเข ามาช วยสร าง ความโดดเด นให กบั งานกราฟ กดีไซน ไม ใช จะนํามาเพือ่ ใช งานด านสือ่ สิ่งพิมพ -งานดิจ�ตอลกราฟ ก แต กราฟ กดีไซน ยังสามารถนําไปใช ด านอืน่ ๆ อีกหลายหลาย ทัง� ด านเซรามิค, เฟอร นเิ จอร , เท็กซ ไทล ฯลฯ ครัง� หนึง่ ได นาํ เสนองานออกแบบแก วเซรามิค เรานํางานกราฟ กเข าไป ผสมผสานงานออกแบบได อย างลงตัว รูปแบบของงานจ�งออกมา สวยงามและโดดเด น ติดต อ:

10/22 ซ.มัยลาภ ถ.เกษตร-นวมินทร จรเข บัว ลาดพร าว กรุงเทพฯ 10230 โทร: 084-566-6299, 099-249-6529 อีเมล : oharr2012@hotmail.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/ohastudio

ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

WEBSITE ABBEY UK รุ งนภา อัศวสันติชัย

ข อมูลงาน: ออกแบบเว็ บ ไซต Abbey UK เป น เว็ บ ไซต จําหน าย Locket นําเสนอเว็บไซต ตามสไตล Vintage ให ดูคลาสสิก หวาน และย อนยุค ติดต อ:

86

89/83 ม.จ�นดาทาวน 2 บางชัน คลองสามวา กรุงเทพฯ 10510 โทร: 081-567-5906 อีเมล : kungrungnapa@gmail.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/ openthinkstudio

ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

ตุ กตาป นล อเลียน น ารัก น าล อ คู รักในสวนสตรอเบอร�่ วราภรณ รัตนโอภาส

ข อมูลงาน: ตุ กตาป �นล อเลียน น ารัก น าล อ คู รักในสวน สตรอเบอร�่ ขนาดความสูง 5” นัง่ บนกล องดนตร�ทาํ จากไม หรู หมุนได ตกแต งด วยสตรอเบอร�ท่ เ่ี สมือนจร�ง ป น� ด วยดินสังเคราะห ตกไม แตก ใบหน าของตุ กตาเน นล อเลียนคล ายใบหน าต นฉบับ ซ�่งเน นคล าย ไม เน นเหมือนจร�ง มีความน ารัก มีเอกลักษณ เฉพาะตัวจร�งๆ ไม มซี าํ� แน นอน เคลือบเงา ทําให เพิม่ ความทนทาน และสวยงาม ถูกตาผูใ ห ถูกใจผู รับ ติดต อ:

360/11 ต.คุง สําเภา อ.มโนรมย จ.ชัยนาท 17110 โทร: 094-626-2969 อีเมล : tonparodydoll@gmail.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/ TONPARODYDOLL

ช�่อผลงาน: ออกแบบโดย:

THE 1091 “VISUAL ROCK” อรรคพล ซ�่อตรงเกียรติ

ข อมูลงาน: ผลงานการออกแบบเสือ้ ผ า-เคร�อ่ งแต งกายผูห ญิง ที่ได แรงบันดาลใจหลากหลายทั�งจากนิตยสารและหนังสือการ ตูน ญี่ปุ น อิทธ�พลของงานส วนใหญ ได จากทั�งมังงะ แฟชั่นในโตเกียว และวงดนตร�เจ-ร็อค ใช สีที่จัดจ าน บวกกับ silhouette ที่ชัดเจน ในท วงท า และสามารถนําไปใช ได จร�ง ติดต อ:

1091 แขวงตลาดพลู เขตธนบุร� กรุงเทพฯ 10600 โทร: 086-899-2078 อีเมล : lekon44@gmail.com เว็บไซต : http://www.designerhub.in.th/ 1091Designer





เรื่อง: นะโม นนทการ

มูลค่าแห่งความทรงจำา ณ บ้านจิม ทอมป์สัน ในบรรดาเรือนโบราณบ้านเก่าที่ซ่อนตัวอยู่ในเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพมหานคร มีหลายแห่งเป็นหมุดหมายในการมาเยือนของนักท่องเทีย่ วชาวต่างชาติทห่ี ลงใหล ศิลปวัฒนธรรมไทย ซึ่งสร้างมูลค่าทางการท่องเที่ยวให้แก่ประเทศได้มากมาย และหนึง่ ในนัน้ คือ ‘บ้านจิม ทอมป์สนั ’ สถานทีท่ ท่ี าำ ให้ได้เห็นว่าอดีตและความทรงจำา มีทั้งคุณค่าและมูลค่าในตัวเอง

จากอดีต ชื่อของจิม ทอมป์สัน เป็นที่รู้จักมาช้านาน ในฐานะนักธุรกิจชาวอเมริกันผู้หลงเสน่ห์งานผ้าไหมไทย และเข้ามาทำาธุรกิจ ด้านนีใ้ นเมืองไทยอย่างจริงจัง โดยภายหลังได้ซอื้ ทีด่ นิ บริเวณซอยเกษมสันต์ 2 (ในยุคทีย่ งั ไม่ยกเลิกกฎหมายการถือครอง ที่ดินโดยชาวต่างชาติในราชอาณาจักรไทย) คนยุคหลังรู้จักชื่อของ จิม ทอมป์สัน ผ่านชื่อของแบรนด์ผ้าไหมอย่าง JIM THOMPSON รวมถึงสารคดีทางโทรทัศน์ในยุคหลังเกีย่ วกับการหายตัวไปอย่างลึกลับของเขาในปีพ.ศ. 2510 ในป่า บริเวณคาเมอรอน ไฮแลนด์ ทางตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย จิม ทอมป์สัน เป็นสถาปนิกชาวอเมริกัน เกิดที่เมืองกรีนวิลล์ รัฐเดลาแวร์ สหรัฐอเมริกา ปีพ.ศ. 2449 ในช่วงสงครามโลก ครัง้ ที่ 2 เขาได้สมัครเป็นอาสาสมัครในกองทัพอเมริกาและย้ายมาประจำาการในประเทศไทย ปีพ.ศ. 2488 โดยเป็นส่วนหนึง่ ของกองกำาลังวางแผนปลดปล่อยอิสระประเทศไทย แต่สงครามได้จบลงก่อนที่จะดำาเนินการ จิม ทอมป์สัน เดินทางมาถึง กรุงเทพฯ และหลงรักวิถแี ห่งตะวันออกในดินแดนนี้ โดยเฉพาะการทอผ้าไหมด้วยมือ อันเป็นอุตสาหกรรมครัวเรือนทีถ่ กู เพิกเฉย มาเป็นเวลานาน หลังจากลาออกจากราชการจึงได้ตัดสินใจกลับมาอยู่เมืองไทยเป็นการถาวร และอุทิศตัวเองฟื้นฟู ศิลปหัตถกรรมนี้ ซึ่งประสบความสำาเร็จและเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก เดิมทีบ้านของจิม ทอมป์สัน บริเวณซอยเกษมสันต์ 2 นั้นเกิดขึ้นจากความหลงใหลในสถาปัตยกรรมไทยเช่นกัน เขาจึง ก่อสร้างบ้านไทย ซึ่งประกอบด้วยเรือนไม้สัก 6 หลัง ที่มีความงดงามทางด้านสถาปัตยกรรมไทย บ้านส่วนใหญ่มีอายุ ไม่ต่ำากว่า 200 ปี เนื่องจากรื้อถอนเรือนโบราณและนำามาปลูกไว้ในบริเวณปัจจุบัน โดยบางส่วนนำามาจากเมืองหลวงเก่า อย่างอยุธยา ตัวบ้านถูกยกขึน้ หนึง่ ขัน้ เหนือพืน้ ดินเพือ่ ป้องกันน้าำ ท่วมในหน้าฝน เนือ่ งจากตัง้ อยูร่ มิ คลองแสนแสบ และใช้ กระเบือ้ งมุงหลังคาซึง่ เป็นทีน่ ยิ มกันมากในสมัยอยุธยา ด้านในผสมผสานความเป็นไทยเข้ากับรสนิยมร่วมสมัย โดยมีโคมระย้า ซึ่งเป็นของเก่าในช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19 ให้แสงสว่าง ซึ่งได้ปรับให้เหมาะสมกับการใช้งาน 90


สู่ปัจจุบัน เมื่อปีพ.ศ. 2502 จิม ทอมป์สัน ได้ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้านหลังนี้อย่างเป็นทางการ โดยถือฤกษ์งามยามดีตามโหราศาสตร์ ความที่เป็นคนชื่นชอบการสะสมศิลปะและโบราณวัตถุ จึงทำาให้บ้านหลังนี้เป็นที่สนใจของผู้คนในอีกแง่มุมหนึ่ง ต่อมา เขาจึงได้ตดั สินใจเปิดให้สาธารณะเข้าชม โดยนำาเงินทีไ่ ด้ไปบริจาคให้แก่การกุศลและโครงการต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการรักษา วัฒนธรรมไทย ภายหลังจากการหายตัวไปอย่างลึกลับในปีพ.ศ. 2519 ผู้จัดการกองมรดกของจิม ทอมป์สัน ซึ่งแต่งตั้ง โดยอำานาจศาล ได้รบั อนุมตั โิ ดยทางการไทยให้กอ่ ตัง้ มูลนิธภิ ายใต้ชอ่ื ของ จิม ทอมป์สนั โดยศาลมีคาำ สัง่ ให้โอนทรัพย์สนิ ต่างๆ เป็นของมูลนิธิ ศิลปวัตถุต่างๆ จึงได้รับการขึ้นทะเบียนเพื่อให้เป็นไปตามข้อบังคับของกฎหมายและเจตนารมณ์ของ จิม ทอมป์สัน ปัจจุบันเรือนไทยหลังนี้จึงอยู่ภายใต้การดูแลของมูลนิธิเจมส์ เอช. ดับเบิลยู. ทอมป์สัน ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การเดินทางมาเยี่ยมเยือนบ้านอันเป็นที่รักของจิม ทอมป์สัน หลังนี้ไม่ยากเย็นเลย ความที่ซ่อนตัวอยู่ในย่านใจกลางเมือง ที่รถไฟฟ้าพาดผ่าน เพียงแค่โดยสารรถไฟฟ้าบีทีเอสมาที่สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ แล้วเดินเข้าไปในซอยเกษมสันต์ 2 อีกนิดหน่อยก็จะได้พบกับหมูเ่ รือนไทยใต้รม่ ไม้เขียว ซึง่ อดไม่ได้ทจี่ ะชืน่ ชมถึงการคงอยูข่ องสถานทีแ่ บบนีภ้ ายใต้ปา่ คอนกรีต อย่างในปัจจุบัน ที่สำาคัญยังเป็นสถานที่ที่ไอรักในศิลปวัฒนธรรมไทยของชายชาวต่างชาตินามจิม ทอมป์สัน ยังคงอยู่ แม้ว่าตัวจะจากไปแล้วแสนไกล ข้อมูลเพิ่มเติม www.jimthompsonhouse.com 91




เรื่อง : ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ้วน)

นวัตกรรมคอนกรีตบล็อกฟางข้าวเสริมลำาไผ่ (White Cement Block from Rice Straw and Reinforced Bamboo Culms) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คว้า 2 รางวัล เหรียญเงิน และ Special Award: จาก Korea Invention News (KINEWS) จากงานประกวดนวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ์และแสดงนิทรรศการ (The 1st World Invention Innovation Contest (WiC2015) จากสาธารณรัฐเกาหลี อาจารย์ ดร. โสภา วิศิษฏ์ศักดิ์ ประธานหลักสูตร “นวัตกรรมอาคาร” (ระดับปริญญาโท) ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้เปิดเผยถึงโครงการวิจัย ‘นวัตกรรม คอนกรีตบล็อกฟางข้าวเสริมลำาไผ่’ ว่า งานวิจยั ครัง้ นี้ นำาทีมโดย อาจารย์ ดร.โสภา วิศษิ ฏ์ศกั ดิ์ นางสาววริษา สายะพันธ์ (นิสิตป.โท สาขาวิชานวัตกรรมอาคาร) และ ศาสตราจารย์ ดร.โจเซฟ เคดารี (ผู้ทรงคุณวุฒิ) ร่วมกันทำาการวิจัย “เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ทำาให้วัสดุเหลือทิ้ง ทางด้านเกษตรกรรมเกิดขึ้นมากมาย ส่งผลกระทบด้านมลภาวะ ต่างๆ ตามมาอันเนือ่ งมากจากปัญหาการเผาเศษวัสดุจากการเกษตร และก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ จึงมีแนวคิดในการนำาวัสดุเหลือทิง้ มา ใช้งานแบบรีไซเคิลขึ้น เพือ่ ช่วยลดปัญหาในการเผาเศษวัสดุเหลือทิง้ ซึ่งเกิดปัญหาในปัจจุบัน หลั งจากที่ ไ ด้ ทำ าการศึ กษาเศษวัส ดุทางการเกษตรมาหลายชนิ ด ผลิตภัณฑ์ไม้ไผ่จึงเป็นวัสดุที่ถูกเลือกมาทำาการวิจัยในครั้งนี้ ด้วย คุณสมบัตปิ ลูกง่าย โตไว ปลูกได้ทกุ พืน้ ทีท่ วั่ ทุกภูมภิ าคในประเทศไทย อีกทัง้ ยังเป็นวัสดุพนื้ ถิน่ ทีห่ าง่ายอีกด้วย ทีมวิจยั จึงนำาวัสดุดงั กล่าวมา รวมกัน ประกอบด้วย ไม้ไผ่ ปูนชีเมนต์ขาว ฟางข้าว ทราย และน้ำา โดยการนำาปูนชีเมนต์ขาว ฟางข้าว ทราย และน้ำามาคลุกเคล้าและ ทำาการนวดให้เป็นเนือ้ เดียวกันแล้วนำาไปใส่บล็อกทีจ่ ดั เตรียมไว้ พร้อมทำาการ จัดเรียงบ้องไม้ไผ่ไว้ด้านในบล็อกอีกทีเพื่อช่วยรับแรง แล้วนำาไปผ่าน การอบ จนกระทั่งได้วัสดุก่อผนังสำาหรับภายในและภายนอก ที่ผลิต จากวัสดุพื้นถิ่นและภูมิปัญญาของคนยุคปัจจุบัน “คอนกรีตบล็อก ฟางข้าวเสริมลำาไผ่” นับเป็นครั้งแรกที่คิดค้นโดยคนไทย นับเป็น

94

นวั ต กรรมที่ ส ร้ า งความภู มิ ใ จให้ กั บ คนไทยและมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์เป็นอย่างยิง่ อีกทัง้ ยังได้รบั รางวัลเหรียญเงิน และรางวัล Special Award การันตีจากประเทศเกาหลีอีกด้วย” จุ ด เด่ น ของนวั ต กรรมคอนกรี ต บล็ อ กฟางข้ า วเสริ ม ลำ า (White Cement Block from Rice Straw and Reinforced Bamboo Culms) เป็นนวัตกรรมวัสดุก่อผนังตกแต่งภายในและภายนอกล่าสุด ที่ผลิต จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มีน้ำาหนักเบา ใช้เป็นวัสดุดูดซับ ความชื้น ช่วยกันความร้อนได้ดีเยี่ยม มีน้ำาหนักเบา คล้ายหินอ่อน ไม่ต้องฉาบ เนื่องจากมีความสวยงามตามธรรมชาติ เหมาะสำาหรับ ใช้เป็นวัสดุก่อผนังทั้งภายในและภายนอก


นวัตกรรมคอนกรีตบล็อกฟางข้าวเสริมลำาไผ่ดังกล่าวนี้ เกิดจากการพัฒนาต่อยอดจากภูมิปัญญาพื้นถิ่นในอดีต เป็นการ พัฒนาจากภูมิปัญญาการสร้างบ้านดินในอดีตที่มีการนำาเอาไม้ไผ่ โคลน หรือดินมาฉาบ และนำาจึงไม้ไผ่มาทำาเป็นผนัง ซึง่ เทคนิคการทำาคอนกรีตบล็อกฟางข้าวเสริมลำาไผ่จะคล้ายกับการทำาผนังบ้านดิน ซึง่ ปัจจุบันบ้านดินได้รับการอนุรักษ์ให้ เป็นมรดกโลก ดังนัน้ ทีมวิจยั จึงมีความคิดทีอ่ ยากจะอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาพืน้ ถิน่ และต้องการพัฒนาต่อยอดภูมปิ ญ ั ญาของคน ยุคปัจจุบันเช่นกัน จึงเป็นที่มาของนวัตกรรมคอนกรีตบล็อกฟางข้าวเสริมลำาไผ่ ซึง่ ถูกพัฒนาขึน้ มาเพือ่ ให้สะดวกต่อการใช้งานในยุคปัจจุบนั โดยใช้เทคโนโลยีทสี่ ามารถผลิตได้เอง มีตน้ ทุนไม่สงู มากนัก เพราะวัสดุหาได้งา่ ยจากพืน้ ถิน่ ไม้ไผ่ ปูน ทราย น้าำ และฟางข้าง จึงเป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรทีล่ งตัวและเหมาะสมทีส่ ดุ คอนกรีตบล็อกฟางข้าวเสริมลำาไผ่ จึงเป็นบล็อกเสริมแรงแนวใหม่ที่มีความแข็งแรง สวยงามตามธรรมชาติคล้ายหินอ่อน ลดค่าแรงฉาบ มี 2 ขนาดให้เลือกคือ ขนาด 7 x 19 x 39 เซนติเมตร และขนาด 10 x 19 x 39 เซนติเมตร ซึ่งสามารถ โชว์ผิวได้เลยไม่ต้องฉาบ คาดว่าจะนำามาใช้ทดแทนคอนกรีตบล็อกทั่วไปได้ เพราะมีน้ำาหนักที่ได้ใกล้เคียงกัน ดีต่อสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยังสามารถนำาไปทดแทนหินอ่อนได้อีกด้วย และยังช่วยเสริมรายได้ให้กับครัวเรือนได้อีกด้วย “ทัง้ นีก้ ารอนุรกั ษ์ภมู ปิ ญ ั ญาพืน้ ถิน่ นับเป็นเรือ่ งทีด่ แี ละควรสืบสานต่อไป แต่นวัตกรรมปัจจุบนั ก็มคี วามสำาคัญเช่นเดียวกัน ฉะนั้นเมื่อมีการอนุรักษ์ภมู ิปัญญาพื้นแล้ว ภูมิปญ ั ญาปัจจุบันก็ควรมีการต่อยอดเช่นกัน เพื่อในอนาคตข้างหน้าเด็กจะได้ เรียนรู้ว่าเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับยุคสมัยควรเป็นเช่นไร เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับยุคปัจจุบันจึงเป็นภูมิปัญญาพื้นถิ่น ที่ควรให้ความสำาคัญ” อาจารย์ ดร. โสภา กล่าวทิ้งท้าย

95


ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รับแต่งตั้งเป็น ราชบัณฑิตประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรม สำานักศิลปกรรม อาจารย์ภราเดช พยัฆวิเชียร นายกสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ร่วมแสดงความยินดีแก่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม กรรมการสภามหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสได้รบั พระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตัง้ เป็น “ราชบัณฑิต ประเภทวิชาสถาปัตยศิลป์ สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม สำานักศิลปกรรม” เมื่อวันที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมา โครงการประกวดเทคโนโลยีชมุ ชน เพือ่ การปรับปรุงสภาพแวดล้อม สำาหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงหรือพิการ 2559 หน่วยวิจัยและออกแบบเพื่อคนทั้งมวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มสผส.) และ สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) ขอเชิญชวนผูท้ สี่ นใจส่งผลงาน เข้ า ร่ ว มประกวดในโครงการประกวดเทคโนโลยี ชุ ม ชนเพื่ อ การ ปรับปรุงสภาพแวดล้อมสำาหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงหรือพิการ 2559 (CTED Award 2016) ซึ่งแบ่งการประกวดเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. สิ่งประดิษฐ์ เครื่องมืออุปกรณ์ 2. บ้าน หรือส่วนประกอบ ของบ้านหรือสภาพแวดล้อม โดยเปิดรับสมัครและส่งผลงานได้ตง้ั แต่ วันนี้จนถึงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หน่วยวิจัยและออกแบบเพื่อคน ทั้งมวล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทร. 092-603-6559 หรือ ดาวน์โหลดแบบฟอร์มและใบสมัครและแบบแสดงคุณลักษณะผลงาน ได้ที่ http://www.facebook.com/ud.tham2558 คณะวิศวฯ พระจอมเกล้าลาดกระบัง จัดประชุมเทคโนโลยีอวกาศไอโอโนสเฟียร์ นานาชาติ IRI 2015 รศ.ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป็นประธานพิธเี ปิดงานประชุมเทคโนโลยีอวกาศไอโอโนสเฟียร์ นานาชาติ 2015 หรือ International Reference Ionosphere 2015 (IRI 2015) ซึ่งจัดโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. ร่วมกับ คณะกรรมการวิจัยทางด้านอวกาศ (COSPAR) องค์กรสากลระดับโลก ภายใต้ธีม “พัฒนาความก้าวหน้าของภาคพื้น เขตศูนย์สูตรและเทคโนโลยี IRI แบบเรียลไทม์” โดยมีนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และ บุคลากรชัน้ นำาด้านอวกาศและโทรคมนาคม จาก 30 ประเทศทัว่ โลก จำานวนกว่า 100 คน มาระดมความคิดและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีอวกาศใหม่ล่าสุด ทั้งนี้ ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล. มีแผนงานโครงการที่จะเปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรม 96

ดาวเทียม อวกาศ และภูมสิ ารสนเทศ ในอนาคตอันใกล้ ปีพ.ศ. 2559-2560 นอกจากนีย้ งั มีโครงการทีจ่ ะทำา ดาวเทียมขนาดเล็ก และเปิดศูนย์วจิ ยั ด้านวิศวกรรม ดาวเทียมและอวกาศอีกด้วย



เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้ ภาพ: Toby’s คาเฟ่

Toby’s คาเฟ่ brunch สบายๆ สไตล์ออสเตรเลี่ยน

หากคุณเป็นคนที่ชอบทาน breakfast หรือ brunch ในคาเฟ่บรรยากาศดีๆ ต้องไม่พลาดทีจ่ ะมาเยือนร้าน Toby’s คาเฟ่แห่งใหม่ในซอยสุขมุ วิท 38 แห่งนี้ บ้านอิฐสีแดงโดดเด่นอยูท่ า้ ยซอยสุขมุ วิท 38 เป็นทีต่ ง้ั ของร้าน Toby’s ทีม่ จี ดุ เริม่ ต้นจากการทีค่ ณ ุ เต้ คุณฟอร์ด คุณเคลลี่ และคุณณัฐ ชอบหาของอร่อยทานในสถานที่บรรยากาศดีๆ ผสมผสานกับความประทับใจ ต่อประเทศออสเตรเลีย ทำาให้ทนี่ ถี่ อื กำาเนิดขึน้ เป็นคาเฟ่ทมี่ กี ลิน่ อายของออสเตรเลีย ในบรรยากาศสบายๆ เป็นกันเอง เหมือนกับการได้มานั่งพักผ่อน ดื่มกาแฟ และทานอาหารที่บ้านเพื่อน 98


การตกแต่งร้านเป็นผลงานการออกแบบของ PlayAlong Studio ทีเ่ นรมิตบ้านหลังเล็กๆ ให้เป็นบ้านสไตล์ยโุ รป ภายนอก เป็นบ้านปูนตกแต่งด้วยไม้ และมีส่วนที่เป็นผนังอิฐทรงสูง ภายในเน้นการตกแต่งที่ดูสะอาดตาด้วยโทนสีขาว ผสมผสาน กับเฟอร์นิเจอร์สีขาว ฟ้า เทา และน้ำาตาล ให้ความรู้สึกอบอุ่น อีกทั้งยังเน้นการให้แสงจากธรรมชาติผ่านทางหน้าต่างและ ช่องเพดานอีกด้วย ที่นั่งภายในร้านมีหลายมุมให้เลือกนั่ง ทั้งเคาน์เตอร์บาร์เล็กๆ โต๊ะตัวใหญ่ หรือโซฟาริมหน้าต่างที่ให้ อารมณ์เหมือนนั่งอยู่ในบ้าน อีกทั้งยังมีพื้นที่นั่งด้านนอกให้นั่งชิลในช่วงเวลาแดดร่มลมตกอีกด้วย เมนูอาหารที่นี่จะเน้นเมนู breakfast และ brunch แบบออสเตรเลี่ยนสไตล์ที่เน้นความสดของวัตถุดิบที่คัดสรรมาอย่างดี เมนูอาหารแนะนำาอาทิ Fresh Corn Fritter ข้าวโพดทอดทานพร้อมกับเบคอนกรอบ, Baked Eggs ที่เสิร์ฟไข่ 2 ฟอง ไส้กรอกโชริโซ่ แฮม มะเขือเทศ และเห็ดในกระทะร้อน, Smashed Avocado ขนมปังปิ้งกรอบๆ ทานกับ Guacamole เพิม่ ความเข้มข้นด้วยไข่ลวก ไส้กรอกรสชาติจดั เล็กน้อย และผักสด นอกจากนีย้ งั มีเมนูเบาๆ อาทิ Fresh Fruit & Granola ทีท่ าำ จากกรีกโยเกิรต์ ทานคูก่ บั เบอร์รสี่ ด หรือ Quinoa & Yogurt ทีม่ ชี นิ นามอนโยเกิรต์ ควินวั แอปเปิล้ เขียวซอยและเบอร์รี่ สำาหรับเมนูเครื่องดื่มขอแนะนำา Australian Iced Cafe Latte กาแฟเย็นเสิร์ฟพร้อมกับไอศกรีมวานิลลา, Piccolo Latte กาแฟร้อนใส่นม ส่วนขนมแนะนำา Crispy French Toast ขนมปังกรอบนอก นุ่มใน ราดด้วยเมเปิ้ลไซรัป ตัดรสเปรี้ยว จากเบอร์รี่สด เสิร์ฟกับไอศกรีมวนิลา ร้าน Toby’s ตั้งอยู่ในซอยสุขุมวิท 38 เปิดวันอังคาร-อาทิตย์ เวลา 9:00-18:00 น. โทร: 0-2712-1774 99














ÃÈ.ÁÒ¹¾ ¾§È·Ñµ

อาจารย ผู ทรงคุณวุฒิ ประจําภาคว�ชาเคหการ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย

Í.ªÇ¾§È ªíÒ¹Ô»ÃÐÈÒʹ

อดี ต นายกสมาคมสถาปนิ ก สยามฯ ป พ .ศ.2541-2543 และ กรรมการผู จัดการ บร�ษัท สํานักงานสถาปนิกทว�ธา จํากัด

¼È.´Ã.¨µØÇѲ¹ ÇâôÁ¾Ñ¹¸

อ า จ า ร ย ผู ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ อดีตคณบดี คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย และ ทีป่ ร�กษา บร�ษทั สถาปนิกจุลาสัย จํากัด ¼È.ÃѪ´ ªÁÀÙ¹Ôª

คณบดีคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเกษตรศาสตร

LEED AP, TREES FA อาจารย ป ระจํ า คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการผั ง เมื อ ง มหาว� ท ยาลั ย ธรรมศาสตร และผู จั ด การศู น ย ว� จั ย นวั ต กรรม เทคโนโลยีสงิ่ แวดล อมสรรค สร าง ผูเ ช�ย่ วชาญทางด านอาคารเข�ยว และเกณฑ การประเมิน LEED

¤Ø³ÇÊѹµ ¤§¨Ñ¹·Ã

¼È.³Ñ°¸Ã ¸ÃÃÁºØµÃ

´Ã.Íê ¡ÃÐáÊÍÔ¹·Ã

อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยรังสิต และ Creative Director บร�ษัท Aesthetic Architect จํากัด และ อาจารย พิเศษในหลายสถาบัน

112

È.´Ã.ºÑ³±Ôµ ¨ØÅÒÊÑÂ

กรรมการผู จัดการ บร�ษัท โมเดอร น พร็อพเพอร ตี้ คอนซัลแตนท จํากัด

จบการศึกษาด านการออกแบบ จากคณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาว� ท ยาลั ย ป จ จุ บั น เป น อาจารย ป ระจํ า คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเกษรศาสตร

¤Ø³Ë¹Öè§Ä·Ñ ¤Ò·ØÊà«¿Ê¡Õé

¤Ø³¡Äɳ ¹Ò¤ÐªÒµ

จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร มหาว�ทยาลัยธรรมศาสตร และปร�ญญาโทจากคณะการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง อดี ต นัก Marketing ทีป่ จ จุบนั ผันตัวเองมาเป นนักเข�ยนและนักแปลอิสระ ให กับนิตยสารและบร�ษัทต างๆ

Head of IT Department จากบร� ษั ท สถาปนิ ก 49 จํ า กั ด อดี ต หนุ ม สถาปนิ ก ที่ ค น พบสิ่ ง ที่ ตั ว เ อ ง รั ก แ ล ะ ส น ใ จ ท า ง ด า น คอมพิ ว เตอร เ พื่ อ การออกแบบ สถาป ตยกรรม

¤Ø³¹ÐâÁ ¹¹·¡ÒÃ

¤Ø³³Ñ°¾Å ÊØ·¸Ô¸ÃÃÁ

นะโม นนทการ หร�อ ธนสันติ นนทการ เป นอดีตบรรณาธ�การ บร�หารนิตยสารเกี่ยวกับสุขภาพ ที่ผันตัวเองมาเป นนักเข�ยนอิสระ ป จจุบันร วมงานกับนิตยสารหลากหลายฉบับ

ผู จัดการโครงการ Downstream Business Development บร�ษัท สหว�รย� าสตีลอินดัสตร�้ จํากัด (มหาชน) ทีป่ ร�กษา บร�ษทั แปซ�ฟก ไพพ จํากัด (มหาชน) ทีป่ ร�กษาคณะอนุกรรมการ โครงสร างเหล็ก ว�ศวกรรมสถาน แห งประเทศไทยฯ


BUILDER MAGAZINE Product Knowledge Provider Questionnaires ชาย ช่วงอายุ 20-24 ปี

หญิง 25-34 ปี

อาชีพ ________________________________________ 35-44 ปี

45-60 ปี

60 ปีขึ้นไป

ท่านมีความสนใจในด้านใดมากที่สุด โดยให้ใส่ลำาดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน้อย 5) การออกแบบและก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ โครงการหรืออาคารที่น่าสนใจ ข่าวสารการก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง การบริหารจัดการอาคาร นวัตกรรมเทคโนโลยี อนุรักษ์พลังงานและเพื่อสิ่งแวดล้อม ไลฟ์สไตล์และการท่องเที่ยว ข่าวแวดวงในวงการต่างๆ ท่านมีความสนใจในสินค้า ผลิตภัณฑ์ประเภทใดมากที่สุด โดยให้ใส่ลำาดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน้อย 5) Lighting Innovation & Technology Door & Window Roofing Wall Covering Floor Covering Wooden Glass Steel & Metal Natural & Recycle Content Security & BAS ท่านชอบอ่านคอลัมน์ประเภทไหน เชิงวิชาการ ที่ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ แหล่งข้อมูลในด้านต่างๆ เชิงเกร็ดความรู้ ที่เป็นเนื้อหาสาระทั่วไป ไม่เน้นเชิงวิชาการ เชิงแนะนำาโครงการที่น่าสนใจ เชิงไลฟ์สไตล์ ที่เน้นท่องเที่ยว พักผ่อน หรือการใช้ชีวิต เชิงคู่มือ ที่เป็นเรื่องของการให้คำาแนะนำาและให้คำาปรึกษา เชิงปฏิบัติ ที่เน้นการเล่าหรือแชร์ประสบการณ์โดยตรง แบ่งปันให้กับผู้อ่าน จำานวนความยาวหน้าที่เหมาะสมสำาหรับการอ่านของท่าน ประมาณ 1 หน้า ประมาณ 2-3 หน้า ประมาณ 4 หน้า ประมาณ 6-8 หน้า ในนิตยสารท่านมีความสนใจในคอลัมน์ใดมากที่สุด _____________________________________________ หากมีการจัดทำา Application Multi-media ภาพเคลื่อนไหว ร่วมในคอลัมน์เพื่อนำาเสนอข้อมูลเพิ่มเติม ท่านอยากให้มีในคอลัมน์ใดมากที่สุด _____ _____________________________________________________________ คำาแนะนำา / ความคิดเห็น ______________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________ โดยผู้ที่ร่วมตอบคำ�ถ�ม 100 ท่�นแรกจะได้รับ เสื้อโปโล ง�นสถ�ปนิก ’57 คนละ 1 ตัว โปรดให้ที่อยู่ที่ติดต่อ ชือ่ – น�มสกุล (ตัวบรรจง) ______________________________________________________________________________________________ อีเมล์ _________________________________________________________________________________________________________________ ทีจ่ ดั ส่งของร�งวัล________________________________________________________________________________________________________ และส่งกลับม�ที่ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด เลขที่ 200/7-14 อ�ค�ร เอ.อี.เฮ้�ส์ ชั้น 7 ซอยร�มคำ�แหง 4 ถนนร�มคำ�แหง แขวง/เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250

113


OFFICE BUILDING พบกับเร�อ่ งราวผลิตภัณฑ ทใ่ ี ช ในงานออกแบบ สํานักงาน พร อมทัง� อุปกรณ เคร�อ่ งใช สาํ นักงาน ที่น าสนใจ และพบกับบทสัมภาษณ คุณพรรณวดี ลดาวัลย ณ อยุธยา ผูช ว ยผูจ ดั การ กลุม งานสือ่ สารและบร�การกลาง ตลาดหลักทรัพย แห งประเทศไทย และบทสัมภาษณ คุณปราการ จันทรสมบูรณ ผู จัดการฝ ายวางแผนและพัฒนาธุรกิจ บร�ษทั อาคิเตคส แอนด แอสโซซ�เอท จํากัด และนอกจากนีย้ งั มีเกร็ดความรูแ ละบทความ อีกมากมายในฉบับเดือนมีนาคมนี้

114




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.