¼ÈÀĉÊ»²ÝËÕ¾ÈÂ´Ê » ¼ÈIJɳ¡É³Ô£¾ÏÅ Ü ²±Ð¼ ÌĶ°ĉŦ԰ͻ Ü À ¼ĉÀº£Ċ²Ãʵ¾Ìij¹É®čվȳ¼Ì ʼײ¦Ê² ï/HRBHMD &KNA@K ð L8.- $41$7/. ·½ĹĶÌ Ê»²
¼ÈÀĉÊ»²ÝË Õ¾ÈÂ´Ê ¯ÏÅÔ´Đ²Ã²Îܦײ³¼Ì ʼ¡Éݲ·Ïݲ¬Ê² °ÍܧĉÀ» ¼ÈijÐĊ²Õ¾ÈÔ·ÌܺÖÅ Ê ʼաĉ¦¡É²°Ê¦±Ð¼ ÌĶײÅÐijÂÊà ¼¼º ʼ°ĉŦ԰ÍÜ»À°ÉÜÀÖ¾ ²ÀÉij ¼¼ºÕ¾È£Àʺ ĊÊÀòĊʡŦÀ¦ ʼ¼ÈÀĉÊ»²ÝË Â´Ê ¼Àº°Éݦ ʼijÌIJijÉݦ ʼԾÏÅ Åд ¼®č£Ð®¹Ê· ij¾ÅIJĶ² ʼ³¼ÌÃʼĶÉIJ ʼ վȼȳ³ ʼ¨ĉź³Ë¼Ð¦°ÍÜØIJĊºÊij¼¬Ê² ¯ÏÅÔ´Đ²Ã²ÎܦÃÉÀ×ĶÃ¾É °ÍܵÑĊ´¼È ų ʼijĊŦ×ÃĊ£ÀʺÂˣɩ ¦Ê² /HRBHMD &KNA@K ® ĹѲ»č´¼È§ÐºÕ¾ÈÕÂIJ¦Â̲£ĊÊ $41$7/. ײԺÏŦ¾Í»¦ ´¼È԰Ŷ¼ÉܦÔĹ °ÍÜĶȺ͡Îݲ¼ÈÃÀĉʦÀɲ°ÍÜ ·½ĹĶÌ Ê»² ²ÍÝ ĶÎ¦Ô´Đ²ÔÀ°Í°ÍÜijųÖĶ°»čÀ¦ ʼ¼ÈÀĉÊ»²ÝË Â´Ê Å»ĉʦ»Ìܦ»ÀIJ °Éݦ ʼ²ËÔ²ŵ¾Ìij¹É®čվȳ¼Ì ʼ ĶÊ µÑĊµ¾ÌijÕ¾ÈijÉÀÕ°²ĶËòĉÊ»§Éݲ²Ë £À³£ÑĉØ´ ɳ ʼĶÉIJÂɺº²Ê ×ÃĊ¡ĊźѾ£Àʺ¼ÑĊ°Íܲĉʲ×Ķ ʼĶÉIJ¦Ê²ÕÂIJ¦Â̲£ĊÊ Õ¾È²ÀÉij ¼¼ºIJĊʲ¼ÈÀĉÊ»²ÝË Â´Ê Ô´¼Í»³Ô´Đ² ʼ²ËÔ²ŠʼԷÌܺºÑ¾£ĉÊ×ÃĊ ɳ±Ð¼ ÌĶ°ĉŦ԰ÍÜ»À ÅÍ °Éݦ»É¦Ô´Đ² ijÉÀ ËòIJ³¼¼°ÉIJ¬Ê²×ÃĊ ɳ ¾Ðĉº²É °ĉŦ԰ÍÜ»À ײ ʼԾÏÅ °ÍÜ·É °ÍܺÍÂÌܦÅ˲À»£ÀʺÂÈIJÀ վȼŦ¼É³ ÌĶ ¼¼ºÂɲ°²Ê ʼŻĉʦ£¼³£¼É² ÂËüɳ ʼĶÉIJ¦Ê²×²§ĉÀ¦´¾Ê»´ā °ÍÜĶȯΦ²ÍÝ µÑĊĶÉIJ¦Ê² /HRBHMD &KNA@K ØIJĊ ËòIJ òÀɲ·ÌÔĹÁó ײÀɲ·½ÃɳIJÍ°ÍÜ ·½ĹĶÌ Ê»² Ô·ÏÜÅÔÅÏÝÅ´¼ÈÖ»§²č ×ÃĊ ¾ÐĉºµÑĊÔ ÍÜ»À¡ĊŦײÅÐijÂÊà ¼¼ºIJɦ ¾ĉÊÀ ØIJĊ¼ĉÀº¨É ¯Êº¡ĊźѾÅÉ²Ô´Đ²´¼ÈÖ»§²č ÅÊ°Ì Åд ¼®čÕ¾ÈÔ£¼ÏÜŦºÏŠʼĶÉIJ ʼ ʼ¨ĉź³Ë¼Ð¦ Õ¾È Ê¼IJÑÕ¾£Ð®¹Ê·²ÝË Ô·ÏÜŲËØ´ijĉÅ»ÅIJײ ʼ·ÉĴ²Ê±Ð¼ ÌĶ°ÍÜÔ ÍÜ»À¡ĊŦ ÖIJ»ØIJĊ¼É³Ô Í»¼ijÌĶÊ µÑĊ³¼ÌÃʼּ¦Õ¼º µÑĊ×ÃĊ³¼Ì ʼIJĊʲ°ÍÜ·É ¼Ê»×éĉ ¼Àº¯Î¦µÑĊ×ÃĊ³¼Ì ʼÕþĉ¦°ĉŦ԰ÍÜ»ÀÅÏܲ Ú °ÍÜÔ ÍÜ»À¡ĊŦ Ô§ĉ² ÂÀ²²ÝË Ô´Đ²ijĊ² ²Å ĶÊ ²ÍÝ »É¦ºÍ ʼÂʱÌij Õ¾È ÌĶ ¼¼º°Íܲĉʲ×ĶÅÏܲ Ú ÅÍ ij¾ÅIJ°Éݦ ÀɲĶÉIJÕÂIJ¦ ÅÊ°Ì • Aqualie ²ËÔ²ŵ¾Ìij¹É®čվȳ¼Ì ʼ IJĊʲ¼ÈÀĉÊ»²ÝË Â´Ê °Éݦײ¼Ñ´Õ³³Âʱʼ®È Õ¾ÈÂĉÀ²³Ð££¾ ĶÊ µÑĊÕÂIJ¦Â̲£ĊÊºÊ ¯Î¦ ¼Ê» ·¼Ċź ɳ ʼĶÉIJÂɺº²Ê °ÍÜÔ²Ċ²×ÃĊ¡ĊźѾIJĊʲ£ÀʺÂÈÅÊIJ ª¼ÈԳͻ³¡Ċųɦ£É³ Õ¾È Ê¼ĶÉIJ ʼײ¬Ê²ÈµÑĊקĊ Ô´Đ²ijĊ² ÷ 3GD PT@ŰSMDRR %DRSHU@K ÔÀ°ÍÂʱÌijµ¾Ìij¹É®č °ÍÜĶÈÔ¡ĊʺʧĉÀ»Ô·ÌܺºÑ¾£ĉʱм ÌĶ°ĉŦ԰ÍÜ»À ÔÅÏÝÅ´¼ÈÖ»§²č×ÃĊµÑĊ°ÍÜÔ ÍÜ»À¡ĊŦ ײ¦Ê²³¼Ì ʼĶÉIJ ʼIJĊʲ¼ÈÀĉÊ»²ÝË Â´Ê ØIJĊÂɺµÉµ¾Ìij¹É®č Õ¾ÈØIJĊԼͻ²¼ÑĊ£Ð®Âº³ÉijÌijĉʦ Ú ×²Â¹ÊÀÈÕÀIJ¾ĊźĶ¼Ì¦ ÷ 3GD 2ODDC ,DDSHMFR ·Ïݲ°ÍÜÔĶ¼Ķʱм ÌĶ Õ³³ ¼È§É³ ²Ê°Í ĶÉIJijʼʦ ʼ·³´ÈÔĶ¼ĶÊ ÖIJ»µÑĊĶÉIJ¦Ê² /HRBHMD &KNA@K ºÍĶÐIJºÐĉ¦ÃºÊ»Ô·ÏÜÅÔÅÏÝÅÖÅ ÊÂ×ÃĊµÑĊ§º¦Ê² ØIJĊÃʼÏŰʦ±Ð¼ ÌĶÔ³ÏÝŦijĊ² ɳµÑĊÕÂIJ¦Â̲£ĊÊ Ã¼ÏŵÑĊĶËòĉÊ»ÖIJ»ij¼¦
µÑĊ²×Ķ§º¦Ê² /HRBHMD &KNA@K Âʺʼ¯ijÌIJijʺ¼Ê»¾ÈÔÅÍ»IJÔ·ÌܺÔij̺ØIJĊ°ÍÜ VVV OHRBHMD DWON BNL
Partners:
THE WORLD POOL AND SPA INDUSTRY SHOW
15-18 NOVEMBER 2016 EUREXPO LYON - FRANCE
RCS Lyon 380 552 976 - Document not contractually binding - Illustration: Cruschiform
THE SWIMMING POOL VENUE
YOUR VISIT STARTS AT WWW.PISCINE-EXPO.COM REQUEST YOUR BADGE USING THE CODE PPBNE In partnership with
OPEN OPEN OP EN OVERSEAS POOL
EXPORT NETWORK
CONTACT: Sommawan LOWHAPHANDU | +66 2650 9649 | promosalons@francothaicc.com
CONTENT
DESIGN 32
COVER STORY
OFFICE AT | GLASSHOUSE @ SINDHORN Stu/D/O architects | PAO HOUSE AYUTT & ASSOCIATES DESIGN | PK79
92
DESIGNER HUB
38
34 52
62 8
48 66
MISCELLENEOUS 12 16 20
28
CONSTRUCTION
BUILDER NEWS AROUND THE WORLD TALKING WITH ARCHAN MANOP
22
เมืองใหมกับเขตเศรษฐกิจพ�เศษ (New Town & Special Economic Zone)
90
METAL & STEEL
Steel Stud Wall: Eco-friendly & Energy Saving System (ตอนที่ 2) UNDER CONSTRUCTION
Terminal 21 Korat ประตูสูทาอากาศยานแหงการชอปป�ง
BUILDING CODES & CONCEPT
ปญหาสถาปนิกตางชาติกบั งานออกแบบกอสราง และควบคุมงานอาคาร ในประเทศไทย 30
LES MISCELLANEOUS
Rem Koolhaas 74 88
Google Maps 96
PRODUCT
IN THE BOX UPDATE IT HANG OUT CAFE
76
97
HANG OUT PLACE
About Work 98 100 104 106
84 108
PHOTOMANIAS
INNOVATIVE PRODUCTS
เขาตลาด
รอบรั�วการศึกษา แวดวงสมาคม BUILDER CLUB
GREEN 24
PROPERTY 18
PRODUCT REVIEW
เทรนดวัสดุยุคใหม ใชงายแตมากประโยชน
‘Baker Gonna Bake Café’
26
ECO GREEN
อาคารเข�ยว กับการจราจร IDEA & INNOVATION
ทําอาคารใหดูเข�ยว (2)
PROPERTY FOCUS
ทางแกรถไฟฟาสายนอกเมืองเจง
9
EDITOR’S NOTE
ANNIVERSARY & FAREWELL คณะผู้จัดทำ�ฝ่�ยบริห�ร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 200/7-14 ชั้น 7 อ�ค�รเออีเฮ้�ส์ ซ.ร�มคำ�แหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมห�นคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2717-2477 โทรส�ร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469
โดยนิตยส�รฉบับนี้ ซึ่งถือเป็นทั้งฉบับครบรอบ 3 ปี และฉบับอำ�ล� ส่งท้�ย ท�งทีมง�นจึงได้จัดทำ�เป็นฉบับพิเศษ ภ�ยใต้ธีม 3Years : 36Issues ซึ่งจะเป็นก�รรวบรวม 3 ผลง�นของ 3 สถ�ปนิกที่มีคว�ม โดดเด่น เป็นที่น่�จับต�มอง พร้อม 3 บทสัมภ�ษณ์ถึงแนวคิดในก�ร ทำ�ง�นออกแบบและก�รใช้ชีวิตของทั้ง 3 สถ�ปนิกเอ�ไว้ด้วย และ ภ�ยในเล่มยังคงมีบทคว�มทีเ่ ป็นเกร็ดคว�มรูโ้ ดยคอลัมนิสต์เจ้�ประจำ� ของเร�เช่นเคย
คณะที่ปรึกษ�: ดร.ปร�จิน เอี่ยมลำ�เน� รศ.ม�นพ พงศทัต อ.ชวพงศ์ ชำ�นิประศ�สน์ ศ.ดร.บัณฑิต จุล�สัย ผศ.รัชด ชมภูนิช ชวลิต สุวัตถิกุล สุกิจ ทรัพย์เพิ่มพูน ผศ.ดร.จตุวัฒน์ วโรดมพันธ์ ทีมง�นฝ่�ยบริห�ร: กรรมก�รผู้จัดก�ร รองกรรมก�รผู้จัดก�ร รองกรรมก�รผู้จัดก�ร ฝ่�ยข�ยโฆษณ�: Sales Director
ห�กนับย้อนหลังกลับไป ไม่น่�เชื่อเลยว่�หนังสือเล่มนี้ได้เดินท�งม� จนกระทั่งถึงฉบับที่ 36 แล้ว ตลอดระยะเวล�ที่ผ่�นม�ทั้งทีมง�นและ นักเขียนแต่ละท่�นได้ผลิตบทคว�มและเรื่องร�ว รวมทั้งเกร็ดคว�มรู้ ต่�งๆ ให้กับผู้อ่�นได้อ่�นกันม�กกว่� 1,000 บทคว�ม ซึ่งถือเป็นก�ร ร่วมง�นกันม�น�นทีเดียว
สุดท้�ยนีก้ �รทีท่ มี ง�นของเร�ได้ผลิตนิตยส�ร Builder ม�ตลอด 36 เล่ม ถือเป็นหนึง่ ในคว�มภูมใิ จทีไ่ ด้มสี ว่ นร่วมในก�รสร้�งสรรค์สงิ่ ดีๆ ให้แก่ ผู้อ่�นม�โดยตลอด และต้องขอขอบพระคุณผู้ที่ให้ก�รสนับสนุนและ ติดต�มนิตยส�รของเร�ม�ตลอด ณ ทีน่ ด้ี ว้ ย หวังว่�ทุกท่�นจะเพลิดเพลิน กับผลง�นฉบับสุดท้�ยจ�กเร�เล่มนี้นะคะ
คุณช�ตรี มรรค� คุณศุภแมน มรรค� คุณศุภว�ร มรรค� คุณศุภแมน มรรค� supaman@ttfintl.com
ณัชช� นันทก�ญจน์ หัวหน้�กองบรรณธิก�ร editor.buildernews@gmail.com
ติดต่อฝ่�ยข�ยโฆษณ� โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ติดต่อฝ่�ยสม�ชิก โทรศัพท์ (66) 2717-2477 ติดต่อฝ่�ยบรรณ�ธิก�ร โทรศัพท์ (66) 87716-9976
คณะผู้จัดทำ�ฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร: บริษัท แท็งค์ ดีไซน์ แอนด์ โปรดักชั่น จำ�กัด 1104/31 หมู่บ้�นโนเบิล คิวบ์ ถนนพัฒน�ก�ร แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพมห�นคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2 184 8431 โทรส�ร (66) 2 184 8431
ทีมง�นฝ่�ยกองบรรณ�ธิก�ร: หัวหน้�กองบรรณ�ธิก�ร คุณณัชช� นันทก�ญจน์ natcha.tank@gmail.com กองบรรณ�ธิก�ร
อ�ร์ตไดเรคเตอร์ แยกสี / เพลท บริษัท สุรศักดิ์ฟิล์ม จำ�กัด โรงพิมพ์ บริษทั กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำ�กัด กร�ฟิกดีไซเนอร์
10
คุณปฏิทิน เวล� คุณภัณฑิร� มีล�ภ คุณรักข์ อักษร� คุณนฤน�ท เกรียงไกร คุณประพนธ์ ชำ�น�ญ คุณยิ่งยศ จ�รุบุษป�ยน คุณวิภ�ด� โมเลียโรว์
WHERE TO FIND
BUILDER NEWS
อนันดาฯ จับมือ TCDC สร้าง TCDC COMMONS ทีโ่ ครงการ ไอดีโอ คิว จุฬาฯ-สามย่าน
กลุ่มบริษัทไทคอน เดินหน้าพัฒนามินิแฟคตอรี่ ตอบโจทย์ลูกค้าญี่ปุ่น หวังสัดส่วนเพิ่มขึ้น
นายชานนท์ เรืองกฤตยา ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จำากัด (มหาชน) เปิดเผยว่าอนันดาฯ ถือเป็นเอกชนรายแรกของประเทศไทย ที่ได้ ร่วมมือกับศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ TCDC จัดตั้งห้องสมุด เฉพาะด้านการออกแบบการสือ่ สาร (Communication Design Library) ด้วยการทุ่มงบกว่า 50 ล้านบาท รังสรรค์ห้องสมุด สุดทันสมัยภายใต้ชอื่ ‘TCDC COMMONS’ ขนาดพืน้ ทีก่ ว่า 351 ตารางเมตร บนชั้น 3 ของโครงการ ไอดีโอ คิว จุฬา-สามย่าน ซึง่ เป็นคอนโดมิเนียมทีม่ คี วามโดดเด่นทัง้ ด้านดีไซน์สวยงามทันสมัย และตัง้ อยูบ่ นทำาเลศักยภาพ โดยตัง้ เป้าให้เป็นพืน้ ทีพ่ บปะแลกเปลีย่ น ไอเดียและทำางานร่วมกัน (co-working space) รวมถึงเป็น แหล่งชุมนุมของกลุม่ ผูป้ ระกอบอาชีพทีเ่ กีย่ วข้องกับการออกแบบ การสือ่ สาร ครอบคลุม 21 สาขาด้านการออกแบบและการสือ่ สาร อาทิ สาขา Advertising สาขา Ambient media สาขา Animation สาขา Art direction สาขา Web design ฯลฯ รวมถึงผู้ที่สนใจ ให้สามารถเข้ามาทำางานและแลกเปลี่ยนความคิด ซึ่งจะนำาไปสู่ ความคิดสร้างสรรค์และโอกาสใหม่ทางธุรกิจ
นายวีรพันธ์ พูลเกษ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ไทคอน อินดัสเทรียล คอนเน็คชั่น จำากัด (มหาชน) ผู้นำาด้านการพัฒนาโรงงานสำาเร็จรูป และคลังสินค้าคุณภาพสูงพร้อมใช้เพือ่ ให้เช่ารายใหญ่ของประเทศไทย ได้กล่าวถึงแผนพัฒนาธุรกิจในครึง่ หลังปีพ.ศ. 2559 ว่าธุรกิจโรงงาน และคลังสินค้าให้เช่าจะยังคงเติบโตขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในพื้นที่แถบบางนา-ตราด บางพลี และวังน้อย จึงพร้อมเดินหน้า ขยายพื้นที่โรงงานและคลังสินค้าให้เช่าในโครงการต่างๆ ให้ได้ ตามเป้าหมาย โดยหนึง่ ในแผนพัฒนาคือการพัฒนาโรงงานขนาดมินิ ในโครงการ Yokohama Factory Zone ซึ่งเป็นโครงการต้นแบบ ของไทคอนทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอีจากประเทศญีป่ นุ่ โดยเฉพาะ ซึง่ เป็นเฟสที่ 2 ภายในนิคมอุตสาหกรรมเอเซียสุวรรณภูมิ โดยคาดว่าเมือ่ พัฒนาโครงการแล้วเสร็จจะมีสดั ส่วนของลูกค้าญีป่ นุ่ เพิ่มขึ้นอีก
เอคิวฯ เปิดตัวโครงการคอนโดมิเนียม ‘เอคิว เอลิคซ์’ ติด รพ.กรุงเทพ ขานรับนโยบาย Medical Hub นายภพ เพชรสุวรรณ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั เอคิว เอสเตท จำากัด (มหาชน) เปิดเผยว่าทางบริษทั ฯ ได้นาำ เสนอโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ เพือ่ เจาะตลาดนักลงทุน ภายใต้ชอ่ื โครงการ ‘เอคิว เอลิคซ์’ (AQ ALIX Residence I Soonvijai) พร้อมชูจุดขายเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ ตัวผูล้ งทุนเป็นหลัก โดยตัวโครงการอยู่ในทำาเลทีม่ ศี ักยภาพ ติดกับ โรงพยาบาลกรุงเทพ ซึ่งได้รับการยอมรับในระดับสากล เพื่อขานรับ
12
ตลาด Medical Hub ในประเทศไทย โดยบริษัทฯ มองเห็นโอกาส การเติบโตของตลาด Medical tourism ที่ปัจจุบันเกิดการขยายตัว แบบก้าวกระโดด ภายใต้แรงสนับสนุนอย่างเต็มทีข่ องภาครัฐ จึงพร้อม ที่จะขานรับนโยบายรัฐที่จะชูไทยให้เป็น Medical Hub เพื่อรองรับ นักลงทุนและผูบ้ ริโภครายย่อย โดยเปิดขายเพียง 2 วัน Sold out 100% จึงเป็นเครื่องยืนยันถึงความสำาเร็จในการพัฒนาโมเดลธุรกิจใหม่ ของเอคิวได้เป็นอย่างดี
WINDSOR ส่งระบบแฟรนไชส์ ‘WINDSOR Exclusive Fabricator Partner’ เจาะกลุ่มเจ้าของร้าน วัสดุก่อสร้างรายย่อย นายสัมพันธ์ ลู่วีระพันธ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท นวพลาสติกอุตสาหกรรม จำากัด ในเครือซิเมนต์ไทย (SCG) ผู้ผลิตและจัดจำาหน่ายประตูหน้าต่างไวนิล ภายใต้แบรนด์ WINDSOR เปิดเผยว่าบริษัทฯ มีแนวคิดในการขยายธุรกิจ และการสร้างพันธมิตร ในการขยายงานผ่านการรับตัวแทนประกอบและจำาหน่าย โดยผ่านระบบแฟรนไชส์ ‘WINDSOR Exclusive Fabricator Partner’ หรือตัวแทนประกอบและจัดจำาหน่ายสินค้า เนือ่ งจากมองว่าการต่อยอดธุรกิจของแบรนด์สนิ ค้าทีม่ คี วามแข็งแกร่งอยูแ่ ล้วให้เติบโต มากขึน้ นัน้ การได้พนั ธมิตรทางธุรกิจทีด่ กี จ็ ะยิง่ ขยายตลาดไปได้อย่างรวดเร็ว ซึง่ WINDSOR ใช้ความแข็งแกร่งในแบรนด์และความเป็นผู้นำาในตลาดประตูหน้าต่างไวนิลในการ ขยายพันธมิตรเพิม่ เน้นเจาะกลุม่ ผูป้ ระกอบการประตูหน้าต่างและวัสดุกอ่ สร้างรายย่อย ทัว่ ประเทศ โดยทางเราจะเป็นผูค้ วบคุมวัตถุดบิ และการผลิตจากส่วนกลาง เพื่อส่งมอบ ต่อไปยังแฟรนไชส์พาร์ทเนอร์ในการจัดจำาหน่ายและประกอบสินค้าภายใต้มาตรฐาน เดียวกัน สำาหรับช่วงแรกจะเน้นขยายในประเทศก่อน ส่วนเรือ่ งการไปลงทุนในประเทศ AEC น่าจะยังไม่เห็นในเร็วนีๆ ้ แต่กม็ โี อกาสเป็นไปได้หากแฟรนไชส์ของเราตัง้ อยูใ่ กล้ กับจุดเชือ่ มต่อ ซึง่ อาจจะได้รบั อานิสงส์จากลูกค้าในแถบประเทศ AEC บ้าง โดยลูกค้า จากประเทศเหล่านั้นอาจจะสั่งสินค้าโดยผ่านตัวแทนของเรา
เตียวฮง สีลม เฟ้นหาไอเดียสร้างสรรค์การออกแบบพืน้ ทีแ่ สดงสินค้า เพือ่ ตอบโจทย์ Universal Design ชิงเงินรางวัลรวมมูลค่า 100,000 บาท บริษัท เตียวฮง สีลม จำากัด ผู้นำาเข้าวัสดุและผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง แบรนด์ชนั้ นำาคุณภาพสูงระดับโลก ได้จดั โครงการประกวดออกแบบ พื้นที่แสดงสินค้าของบริษัทฯ โดยจะเน้นคุณสมบัติการเลือกใช้วัสดุ ของทางบริษัทในการออกแบบเพื่อทุกคน Universal Design (THS’s Materials for Universal Design) ภายใต้หวั ข้อ ‘พืน้ ทีส่ อ่ื วัสดุ ดีไซน์เพื่อทุกคน’ เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการออกแบบ ผลงานด้วยวัสดุที่น่าสนใจ ทัง้ นีจ้ งึ ได้จดั กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการประกวดออกแบบพืน้ ที่ แสดงสินค้า และการบรรยายพิเศษภายใต้หวั ข้อ ‘พืน้ ทีส่ อื่ วัสดุ ดีไซน์ เพื่อทุกคน’ พร้อมนำาเสนอข้อมูลผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ที่เหมาะสม สำาหรับการออกแบบเพือ่ ทุกคน หรือ Universal Design ให้แก่ นิสติ นักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ในระดับปริญญาตรี จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ และอืน่ ๆ ซึง่ กิจกรรมนีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของโครงการประกวด ออกแบบพืน้ ทีแ่ สดงสินค้า THS Universal Design Contest 2016 ทีจ่ ะจัดต่อเนือ่ งไปสูน่ ทิ รรศการแสดงสินค้าและวัสดุกอ่ สร้าง ภายใน งานสถาปนิก’60
13
AROUND THE WORLD
เรื่อง/ แปล: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้
Image Via: Dezeen.com
สะพานกระจกยาวที่สูงที่สุดในโลกถูกปิดชั่วคราว หลังเปิดได้เพียงสองอาทิตย์
สะพานกระจกจางเจียเจี้ย ซึ่งเป็นสะพานกระจกที่ยาวและสูงที่สุด ในโลก ต้องปิดลงชั่วคราวหลังจากที่เปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมไป ได้ประมาณสองอาทิตย์ (เปิดวันที่ 20 สิงหาคม 2559) เนื่องจากมี นักท่องเทีย่ วเดินทางมาชมสะพานอย่างหนาแน่นเกินกว่าทีค่ าดการณ์ไว้ สะพานนีไ้ ด้รบั การออกแบบโดย Haim Dotan นักออกแบบชาวอิสราเอล มีความยาวถึง 430 เมตร และสูงจากพืน้ ดินราว 300 เมตร ซึง่ แขวนอยู่ ระหว่างภูเขา 2 ลูกในอุทยานแห่งชาติจางเจียเจีย้ ของมณฑลหูหนาน ทางตอนใต้ของประเทศจีน ตัวสะพานกว้าง 6 เมตร ทำาขึ้นจาก กระจกหนา 99 ชั้น สามารถรองรับผู้คนได้ 800 คนในเวลาเดียวกัน แต่กระนั้นด้วยยอดของผู้เข้าชมที่มีจำานวนมากจึงต้องทำาการปิด ชั่วคราวไปก่อน
Via: www.dezeen.com/2016/09/05/zhangjiajie-grand-canyon-glassbridge-worlds-tallest-longest-closes-china/
© Weston Williamson + Partners
‘เมืองวิทยาศาสตร์’ แลนมาร์คแห่งใหม่ในกรุงไคโร บริษัทสถาปนิก Weston Williamson + Partners ได้ชนะ การแข่งขันเพื่อการออกแบบ “Science City” หรือ ‘เมือง วิทยาศาสตร์’ ที่จะตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของเมืองไคโร ประเทศ อี ยิ ป ต์ โดยภายในโครงการประกอบไปด้ ว ยพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท าง วิทยาศาสตร์, สถาบันด้านนวัตกรรมทางวิทยาสตร์, ท้องฟ้า จำาลอง, หอสังเกตการณ์, ศูนย์การประชุม รวมถึงพืน้ ทีจ่ ดั แสดง นิทรรศการ ตัวโครงสร้างมาในรูปทรงคล้ายกับดอกเห็ดที่ช่วย สร้างความเชือ่ มโยงกันระหว่างพืน้ ทีภ่ ายในและภายนอกได้อย่าง ลงตัว สามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม ที่น่าดึงดูดใจ อีกทั้งยังมีการนำาพลังงานสีเขียวมาใช้กับระบบ ภายในอาคารอีกด้วย Via: www.archdaily.com/794806
อาคารมิกซ์ยูสที่ ได้แรงบันดาลใจจากม้วนหนังสือ โบราณ
บริษัทสถาปนิก Aedas ได้เผยแผนการออกแบบโปรเจคมิกซ์ยูส Chongqing Xinhua Bookstore Group Jiefangbei Book City ในประเทศจีน ที่ประกอบไปด้วย อาคารสำานักงาน, ร้านค้าปลีก, ที่อยู่อาศัย, โรงแรม และร้านหนังสือ Xinhua โดยแนวคิดในการ ออกแบบอาคารได้แรงบันดาลใจมาจากม้วนหนังสือทีใ่ ช้เขียนกันใน สมัยโบราณ จึงส่งผลให้พนื้ ทีส่ ว่ นกลางอาคารถูกเปิดออกให้เห็นเป็น ระเบียงกลางแจ้งที่ลดหล่นกันเป็นแนวขั้นบันได ซึ่งสื่อความหมาย ถึงจิตวิญญาณของสติปัญญาและความรู้ อีกทั้งยังสะท้อนให้เห็นถึง ลักษณะภูมทิ ศั น์ของการเป็นเมืองแห่งภูเขาของ Chongqing อีกด้วย Via: www.archdaily.com/794033 © Aedas
14
เปิดตัวอลังการ ‘มหานคร’ อาคารทีส่ งู ทีส่ ดุ ในไทย
เปิดตัวไปเรียบร้อยแล้วด้วยการแสดงโชว์แสงสีเสียง อลังการกับอาคาร ‘มหานคร’ อาคารที่สูงที่สุด ในประเทศไทย ซึ่ ง ออกแบบโดย Buro Ole Scheeren ถือเป็นอาคารดีไซน์สดุ ล้าำ สูง 314 เมตร มี 77 ชั้น ด้วยอาคารที่มีรูปทรงเป็นแท่งตรง แต่มี ลวดลายคล้ายการแกะสลักเป็นแนวริบบิน้ สามมิติ หรือ ‘พิกเซล’ โอบล้อมตัวอาคาร และแนวริบบิน้ นี้ จะมี Sky Box ทีส่ ามารถมองเห็นวิวได้ 270 องศา ขณะทีพ่ น้ื ทีภ่ ายในอาคารจะแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ ที่พักอาศัย เริ่มต้นที่ราคา 62.5-235.5 ล้านบาท, โรงแรม, จุ ด ชมวิ ว 360 องศา บนชั้ น 77, ร้านอาหารชั้นนำาโดยเชฟมิชลินสตาร์ และลาน อเนกประสงค์ ไว้สำาหรับจัดกิจกรรม ทั้งนี้ในส่วน ของที่พักอาศัย โรงแรม และจุดชมวิว จะเปิดให้ บริการในปีพ.ศ. 2560 เป็นต้นไป Via: www.archdaily.com/794264 Image via: MThai.com
© Form4 Architecture
‘Sea Song’ คว้ารางวัลชนะเลิศ International Design Awards
โปรเจค ‘Sea Song’ ซึ่งเป็นผลงานการออกแบบของบริษัท Form4 Architecture ได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด International Design Awards ทีผ่ า่ นมา ซึง่ ถือเป็นการออกแบบทีพ่ กั อาศัยให้มรี ปู ทรงคล้ายกับการว่ายของปลากระเบน ราหู ซึ่งกลมกลืนไปกับสภาพแวดล้อมโดยรอบ โดยตั้งอยู่บริเวณ Big Sur บนชายฝั่งของรัฐแคลิฟอร์เนีย อีกทั้งโครงการ ยังถูกออกแบบให้ตอบโจทย์เพือ่ เป็นอาคารทีผ่ า่ นการรับรอง LEED ในระดับ Platinum ด้วยการเป็นโครงการทีอ่ ยูไ่ ด้ดว้ ย ตัวเองอย่างยัง่ ยืน (Self-sustaining) และการใช้พลังงานสุทธิเป็นศูนย์ (Net-Zero Energy) อาทิ แผงพลังงานแสงอาทิตย์, กระจกที่ทำาความสะอาดตัวเองได้ (Self-cleaning), ระบบกักเก็บน้ำาฝน และ Xeriscape เป็นต้น Via: www.archdaily.com/794091 15
© Marina Rubina / Photographer: Halkin Mason
บ้านสำาเร็จรูปที่สร้างเสร็จภายในวันเดียว
บ้านหลังนี้มีชื่อว่า Quarry House ตั้งอยู่ใจกลางเมือง Princeton ในรัฐ นิวเจอร์ซยี ์ สหรัฐอเมริกา เป็นบ้านสำาเร็จรูปทีม่ ลี กั ษณะโครงสร้างเป็นตัว L มี 2 ชัน้ สามารถสร้างเสร็จภายในเวลาเพียงหนึง่ วัน อีกทัง้ ยังเป็นบ้านประหยัดพลังงาน ที่ออกแบบโดยใช้หลักการ Solar-shading เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการใช้เครื่อง ปรับอากาศ การเปิดช่องแสงด้วยกระจกบานใหญ่เพื่อรับแสงธรรมชาติแทน การใช้แสงไฟ รวมไปถึงการใช้ระบบ HVAC ประสิทธิภาพสูงเพื่อการประหยัด พลังงาน โดยพืน้ ทีช่ นั้ ล่างจะเป็นห้องนัง่ เล่น, ห้องรับประทานอาหาร, ห้องครัว และห้องทำางาน ส่วนพื้นที่ชั้นบนจะเป็นห้องนอนและพื้นที่สำาหรับเด็ก Via: inhabitat.com/prefab-energy-smart-home-pops-up-in-just-one-day/ Video: https://youtu.be/QWH-gkQ3i3k by Youtube.com © Jacob Innovations Inc
โครงสร้างระบบรถลอยฟ้าแบบโปร่ง
© Ashish Thulkar/Tridika
‘Tridika’ ห้องที่เคลื่อนที่ได้
‘Tridika’ เป็นห้องสีเ่ หลีย่ มเล็กๆ ทีส่ ามารถเคลือ่ นทีไ่ ด้ ซึง่ เกิดจากแนวคิดของ Charles Bombardier วิศวกรชาวแคนาดา ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจมาจากลิฟต์ เคลื่อนที่ของ วิลลี วองก้า โดย ‘Tridika’ จะขับเคลื่อนด้วยพลังงานแม่เหล็ก ที่ยกให้ลอยอยู่บนราง (Maglev) จึงไม่ต้องใช้คนขับ สามารถจอดเทียบที่ผนัง อาคารสูงและใช้เป็นห้องอเนกประสงค์เพื่อประโยชน์เพิ่มเติมได้ อีกทั้งยัง สามารถปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามความเหมาะสมของการใช้งานอีกด้วย Via: inhabitat.com/tridika-is-a-self-driving-maglev-vehicle-that-would-doubleas-a-portable-living-room/ 16
ผู้ชนะการประกวดโครงการ MIT Climate CoLab ในครั้งนี้ ได้แก่ วิศวกรระบบรางรถไฟชาวอินเดีย ด้วยคอนเซ็ปต์การออกแบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ทีเ่ รียกว่า ‘cTrain’ ทีม่ าในรูปแบบโครงสร้างโค้ง ทีโ่ ปร่งตา สามารถมองเห็นทิวทัศน์โดยรอบ ซึง่ ต่างจากโครงสร้าง ทางรถไฟลอยฟ้าทั่วไปที่มักจะสร้างจากเสาคอนกรีต ขนาดใหญ่ซงึ่ จะบดบังทิวทัศน์โดยรอบ ด้วยโครงสร้าง นีส้ ามารถรองรับการเดินรถไฟได้ 2 ระดับ และสามารถ ก่อสร้างได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ต้นทุนต่ำา ซึ่งขบวน รถไฟฟ้าสามารถขับเคลือ่ นได้ทค่ี วามเร็ว 62 ไมล์ตอ่ ชัว่ โมง นอกจากนี้ยังได้ออกแบบแนวคิดของชานชาลาที่เอื้อ ความสะดวกแก่ผู้โดยสารอีกด้วย Via: inhabitat.com/elevated-caterpillar-trains-fly-overtraffic-without-blocking-out-the-cityscape/ Video: https://youtu.be/N6u7N7YJ0Tk by Youtube.com
© WOHA Architects
© Diller Scofidio + Renfro
อาคารทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูส้ งู อายุแห่งใหม่ในสิงคโปร์
เกาะรักษ์โลกในจีน
Via: inhabitat.com/this-nature-filled-community-is-a-smarthousing-solution-for-singapores-aging-population/
Via: inhabitat.com/diller-scofidio-renfro-wins-competition-to-designchinas-artificial-eco-island/
บริษัทสถาปนิก WOHA Architects ได้ออกแบบคอมเพล็กซ์ ขนาดใหญ่ เพือ่ เป็นอาคารต้นแบบสำาหรับทีอ่ ยูอ่ าศัยของผูส้ งู อายุ ในสิงคโปร์ โดยอาคารนี้มีชื่อว่า Kampung Admiralty ซึ่งจะ ประกอบไปด้วย พื้นที่สาธารณะ Open-air บริเวณส่วนกลาง ของอาคาร เพื่อใช้จัดกิจกรรมต่างๆ และเป็นพื้นที่สำาหรับพบปะ สังสรรค์ของผู้คนในชุมชน, พื้นที่เด็กเล่น, ศูนย์ทางการแพทย์, ศูนย์อาหาร, สวนหย่อม และที่พักอาศัยของผู้สูงอายุที่ประกอบ ไปด้วยห้องสตูดิโอ จำานวน 104 ห้อง
Diller Scofidio + Renfro บริษัทสถาปนิกจากนิวยอร์ก ได้ชนะการ แข่งขันเพือ่ การออกแบบ South Sea Pearl Eco-Island ซึง่ เป็นเกาะ รักษ์โลกรูปทรงพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวในอ่าว Hailou Bay ประเทศจีน ทีน่ ก่ี าำ ลังจะกลายเป็นศูนย์กลางการท่องเทีย่ วแห่งใหม่ ประกอบไปด้วย ที่อยู่อาศัย, โรงแรม, สวนสนุก, ท่าจอดเรือยอร์ช และท่าจอดเรือ ขนาดใหญ่ โดยกำาหนดแผนเริ่มก่อสร้างในปีค.ศ. 2017 และคาดว่า จะใช้เวลาในการก่อสร้างกว่า 10 ปี ด้วยงบประมาณการก่อสร้างที่ ราวๆ 1.25 พันล้านเหรียญสหรัฐ
อาคารโครงสร้างไม้ที่สูงที่สุดในโลก
อาคารหลังนีไ้ ด้รบั การออกแบบโดยบริษทั สถาปนิก Acton Ostry Architects เป็นอาคารสูง 53 เมตร สร้างขึน้ เพือ่ เป็นหอพักสำาหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัย University of British Columbia (UBC) ในเมืองแวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา รูปแบบการก่อสร้างเป็นการผสมผสานกันระหว่างคอนกรีต และโลหะสำาเร็จรูปเพื่อเพิ่มความมั่นคงให้กับเฟรมไม้ ในขณะที่เสาค้ำา Glulam และแผ่น CLT ได้ถูกตระเตรียมไว้ก่อนล่วงหน้า ทำาให้สามารถติดตั้งได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งคาดว่าจะสร้างเสร็จ กลางปีหน้านี้ Via: www.archdaily.com/794170 © Talk Shop Media
17
PROPERTY FOCUS
เรื่อง:
วสันต์ คงจันทร์ กรรมการผู้จัดการ / ที่ปรึกษาการลงทุน บจก. โมเดอร์น พร็อพเพอร์ตี้ คอนซัลแตนท์ www.m-property.co.th
ทางแก้รถไฟฟ้าสายนอกเมืองเจ๊ง ‘ข่าวรถไฟฟ้ามา ราคาตก’ เราเพิ่งจะเคยได้ยินกันเป็นครั้งแรกกับข่าวคอนโดมิเนียม ตามรถไฟฟ้าสายสีม่วงลดราคา 5 แสนบาท - 2 ล้านบาท เนื่องจากทุกอย่างไม่เป็น ไปตามคาด อย่างเรื่องรถไฟฟ้าสายนอกเมือง เช่น สายสีม่วงและสายสีอื่นๆ ว่ากัน ตามเหตุผลก็น่าจะต้องเจ๊ง เพราะเส้นทางไกลจึงทำาให้ค่ารถแพงเกินกำาลังจ่ายไหว และแพงกว่าทางเลือกอืน่ แถมคนใช้งานมีแค่ตอนเช้ากับตอนเย็นซึง่ ไม่ได้ ใช้งานตลอด ทั้งวัน เพราะไม่ได้เป็นย่านธุรกิจ...??? จึงกลายเป็นเรื่องเศร้าไป ซึง่ ทางแก้มคี รับก็คอื ต้องพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ รอบสถานี โดยแก้กฎหมายเวนคืน (หรือใช้ ม.44 ได้มย้ั ครับ) ให้เอาทีด่ นิ จากการเวนคืนมาพัฒนา เชิ ง พาณิ ช ย์ ไ ด้ เอาเงิ น จากการพั ฒ นา อสังหาริมทรัพย์มาสร้างรถไฟฟ้าเลยก็ยังได้ ไม่ ต้ อ งใช้ เ งิ น ภาษี จ่ า ยค่ า เวนคื น สู ง ๆ ก็ ไ ด้ อย่าปล่อยให้เจ้าของบริษทั มหาชนรวยเละกันอยู่ แค่ไม่กคี่ นเช่นทุกวันนี้ การนำาทีด่ นิ มาปล่อยเช่า พัฒนาอสังหาริมทรัพย์รอบสถานี (เช่น ค่าเช่า ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล พลาซ่า ลาดพร้าว ได้ตง้ั 30,000 กว่าล้านบาท นีแ่ ค่สถานีเดียว) และหา รายได้จากกิจการอืน่ ๆ เพิม่ อีก เช่น ค่าโฆษณา เป็นต้น แล้วให้นำาเงินมาอุดหนุนค่ารถไฟฟ้า โดยเก็บแค่ 20 บาทตลอดสาย คนก็ขนึ้ กันไม่มี ที่ยืนแน่ แถมยังแก้ปัญหาการจราจรได้ด้วย อีกทางแก้คือ ควรนำาที่ดินบางส่วนมาพัฒนา ทีอ่ ยูอ่ าศัยให้ผมู้ รี ายได้นอ้ ยสามารถซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ในใจกลางเมืองได้ เช่น ย่านบางซื่อ มักกะสัน สามารถทำาราคาขายไม่เกินล้านได้เลย (ไม่ตอ้ ง เหาะไปถึงรังสิต คลอง 10) ทีนี้มาดูกันครับว่า ทำาอย่างไรได้บ้าง
18
1. นำาที่ดินของรัฐให้เช่าพัฒนาคอนโดมิเนียม เพราะค่าเช่า ที่ดินเพียง 30-40% ของราคาซื้อขาย ที่ดินตารางวาละ 1.0 ล้านบาท ค่าเช่าแค่ 300,000 บาท (30 ปี) 2. ยกเลิกบังคับให้ก่อสร้างที่จอดรถ (จะสร้างหรือไม่สร้าง ให้เลือกเอา อย่าบังคับเช่นทุกวันนี้) โดยเฉพาะย่านสถานี เพราะเรามีรถไฟฟ้าใช้แล้ว ไม่จำาเป็นต้องใช้รถยนต์ 3. แถมด้วยอาคารเก่าทีม่ ที จ่ี อดรถ อนุญาตให้ดดั แปลงทีจ่ อดรถ ไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นได้เลย อันนี้เป็นการแก้ปัญหาจราจร ทางอ้อมแต่ได้ผลแน่ เพราะว่าหากไม่มที จี่ อดรถก็ขบั รถเข้ามา ในเมืองไม่ได้ โดยเฉพาะอาคารสำานักงานหรือศูนย์การค้าควร อนุญาตให้ดดั แปลงไปเลย คนจะได้หนั ไปใช้บริการสาธารณะ เช่น รถไฟฟ้า (ที่ราคาถูก) แทน 4. แก้ผงั เมืองย่านสถานีรถไฟฟ้า โดยเพิม่ FAR (พืน้ ทีก่ อ่ สร้าง ต่อพืน้ ทีด่ นิ ทีม่ )ี จาก 10 เท่า ให้เป็น 15-20 เท่า ก็จะก่อสร้าง อาคารบนทีด่ นิ ได้มากขึน้ ต้นทุนเฉลีย่ จะถูกลง ทำาให้สามารถ ใช้สอยที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่าห่วงว่าคนจะอยูใ่ นเมืองเยอะ เพราะถ้าคนอยูน่ อกเมืองเยอะ ปัญหาคือต้องขับรถเข้าเมือง ทำาให้เกิดปัญหาจราจร เสียทัง้ เวลา เสียทัง้ เงิน เสียค่าน้าำ มันจนต้องตกเป็นเบีย้ ล่างพวกขายน้าำ มันอีก แถมยังต้องพัฒนาสาธารณูปโภครองรับการออกนอกเมือง อีกมาก สิ้นเปลืองงบประมาณ
ตัวอย่างราคาขายคอนโดมิเนียมให้เช่าระยะยาว 30 ปี ราคา 1.0 ล้านบาท ย่านใจกลางเมือง แนวทางการพัฒนาที่อยู อาศัยผู มีรายได น อย ใจกลางเมือง กรณีป จจุบัน 1. ราคาที่ดิน ตารางวาละ 1.0 ล านบาท (400 ล านบาท/ไร ) ก อสร างได 16,000 ตารางเมตร (FAR 10) ขายได 50% = 8,000 ตารางเมตร เฉลี่ยค าที่ดิน ตารางเมตรละ (400/8,000) = 50,000 บาท/ ตารางเมตร 2. ค าก อสร าง ตารางเมตรละ 25,000 บาท เฉลี่ยต อพื้นที่ขาย 50% = 50,000 บาท/ ตารางเมตร 3. ค าดําเนินการ 10% = 10,000 บาท/ ตารางเมตร 4. ต นทุนรวม = 110,000 บาท/ ตารางเมตร 5. บวกกําไร 30% = 143,000 บาท/ ตารางเมตร 6. คอนโดมิเนียมขนาด 20-30 ตารางเมตร = 2.86-4.29 ล านบาท กรณีเสนอแนะใหม 1. ราคาที่ดิน ตารางวาละ 1.0 ล านบาท เช า 30% (120 ล านบาท/ไร ) ก อสร างได 32,000 ตารางเมตร (FAR 20) ขายได 70% เพราะไม ต องสร างที่จอดรถ = 22,400 ตารางเมตร เฉลี่ยค าที่ดิน ตารางเมตรละ (120/22,400) = 5,357 บาท/ ตารางเมตร 2. ค าก อสร าง ตารางเมตรละ 25,000 บาท เฉลี่ยต อพื้นที่ขาย 70% = 35,714 บาท/ ตารางเมตร 3. ค าดําเนินการ 10% = 4,000 บาท/ ตารางเมตร 4. ต นทุนรวม = 45,000 บาท/ ตารางเมตร 5. บวกกําไร 15% = 51,000 บาท/ ตารางเมตร 6. คอนโดมิเนียมขนาด 20-30 ตารางเมตร = 1.02-1.53 ล านบาท
จากตัวอย่างข้างต้น ตามกรณีปัจจุบันนี้บังคับให้สร้างที่จอดรถ และ FAR แค่ 10 เท่า (ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่ ไม่ถึง 10 เท่าอีก มีแค่สีลม สาทร เพลินจิต ที่ FAR 10 นอกนั้นไม่ถึงกัน ดังนั้น FAR ยิ่งน้อย ค่าที่ดิน จึงยิ่งแพง) ทำาให้ต้องขายคอนโดมิเนียมไม่ต่ำากว่าตารางเมตรละ 140,000-150,000 บาทข้างต้น แต่หากเพิ่ม FAR เป็น 20 เท่า (ไม่ต้องห่วงตึกสูง ปัจจุบันก่อสร้างกันเพียบแต่ปลอดภัย เพราะเราก็เพิ่ง เปิดตึกสูงสุดแห่งใหม่กนั ไป) ไม่ตอ้ งสร้างทีจ่ อดรถ ทำาให้พนื้ ทีข่ ายสูงขึน้ จาก 50% เป็น 70% เฉลีย่ ต้นทุน จะต่ำาลง ทำาให้พัฒนาคอนโดมิเนียมในใจกลางเมืองราคาถูกเหลือแค่ 1 ใน 3 เพียงตารางเมตรละ 50,000 บาท เอง ถ้าเป็นย่านบางซือ่ มักกะสันทีร่ าคาทีด่ นิ ต่าำ กว่านีค้ รึง่ หนึง่ ทำาราคาไม่เกิน 1.0 ล้านบาท ได้ด้วยครับ ตามความคิดเห็นข้างต้นนี้ ก็หวังว่าจะได้ทำานะครับท่านเพื่อประโยชน์ของชาวบ้านที่จะได้ใช้รถไฟฟ้า ราคาถูก (และไม่เจ๊ง) ได้ซื้อที่อยู่อาศัยราคาถูก ได้แก้ปัญหาจราจรที่ไม่เคยมีใครแก้ได้..ซึ่งต้องฝากถึง ท่านนายกฯ ล่ะครับงานนี้
BUILDING CODE “We keep moving forward, opening new doors, and doing new things, because we’re curious and curiosity keeps leading us down new paths.”
“เราก้าวเดินไปข้างหน้า เปิดประตูบานใหม่ๆ และทำาในสิ่งใหม่ๆ เพราะคนเป็นสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ ยากรูอ้ ยากเห็น และเจ้าความอยากรูอ้ ยากเห็น นี่เองที่นำาพาเราไปสู่หนทางใหม่ๆ” -วอลท์ ดิสนีย์(ผูส้ ร้างผลงานการ์ตนู ทีแ่ พร่หลาย และประสบความสำาเร็จมากทีส่ ดุ ของโลก) 19
TALKING WITH
ARCHAN MANOP
เรื่อง: รศ. มานพ พงศทัต
àÁ×ͧãËÁ‹¡Ñºà¢µàÈÃÉ°¡Ô¨¾ÔàÈÉ (New Town & Special Economic Zone) การกระตุ้นเศรษฐกิจของรัฐบาล คสช. ทำาได้ดีพอใช้ ในภาวะเศรษฐกิจโลกผันแปร ค่อนข้างมาก ซึ่งวิธีกระตุ้นไม่มีอะไรดีกว่า ‘รัฐบาลลงทุนด้านสาธารณูปโภค’ หรือ Infrastructure เพื่อเป็นโครงสร้างหลักให้ภาคธุรกิจอื่นๆ เติบโตตาม ในอดีต ปีพ.ศ. 2502 รัฐบาลตั้งสภาพัฒนาเศรษฐกิจ (NESDB) เพื่อวางแผนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ในยุคแรกก็ใช้วธิ กี ารสร้างสาธารณูปโภคคือระบบถนนทัว่ ประเทศ (สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์) ทำาให้ไทยเรามีระบบถนนที่ดีที่สุดใน AEC และหลังจากนั้นก็มีโครงการ Mega Project ท่าเรือขนาดใหญ่ โดย จะยกคลองเตยออกไปสู่แหลมฉบัง ให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมรอบ ท่าเรือ เรียกว่า ESB (Eastern Seaboard) นำาโดยหัวหอกสภาพัฒน์ เหมือนกับโมเดลของประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ มีโตเกียวและเมืองท่าโอซาก้า และทำาได้ดมี าก เป็นการกระจายความเจริญจากเมืองใหญ่คอื กทม. และมีเมืองรองอุตสาหกรรมอีก 1 เมือง การใช้โครงสร้างหลักโดยการนำาเอาระบบถนนมาใช้ ในอดีตประสบ ผลสำาเร็จมากจนลืมเสริมด้วยระบบอืน่ ๆ ทีส่ าำ คัญ เช่น ระบบราง Rail ซึ่งทั่วโลกให้ความสำาคัญกับระบบรางมากพอๆ กับถนน ยกเว้น อเมริกาทีก่ ว้างใหญ่ไพศาล ทำาให้ระบบรางไม่ตอบสนองการเชือ่ มต่อ ทัง้ ประเทศ อเมริกาจึงเป็นผูน้ าำ ระบบถนนดีทส่ี ดุ ในโลก และเป็นฐานให้ ‘อุตสาหกรรมรถยนต์’ เป็นสาขาธุรกิจทีก่ ระตุน้ เศรษฐกิจของอเมริกา ในอดีต ปัจจุบนั คนในโลกมากขึน้ เป็น 7,500 ล้านคน และมีผคู้ นจาก ระบบเกษตรกำาลังย้ายเข้าเมือง เป็นคลืน่ การเคลือ่ นย้าย (migration) ทีร่ นุ แรงทีส่ ดุ ในยุคศตวรรษที่ 21 นี้ ทำาให้เกิดเมืองใหญ่และใหญ่มาก ทัว่ โลก มีเมืองทีม่ ปี ระชากรมากกว่า 10 ล้านคน ทุกประเทศรวมแล้ว ร่วม 30 กว่าเมือง ยิ่งหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศในยุโรป หลายประเทศถูกสงครามสร้างความเสียหายแก่เมืองในยุโรปมากมาย จนเกิดเมืองใหญ่สุดที่มีประชากร 28 ล้านคน คือ โตเกียว และ นิวยอร์ก นวัตกรรมใหม่คอื การสร้าง ‘เมืองใหม่’ หรือ Newtown โดยมี อังกฤษเป็นแม่แบบ มีกฎหมายเวนคืนและสนับสนุนการสร้างเมืองใหม่ ร่วม 30 กว่าเมือง และนวัตกรรมนี้ก็กระจายจากยุโรปไปอเมริกา และประเทศอื่นๆ มีการสร้างเมืองหลวงใหม่ เช่นในบราซิลและ ออสเตรเลีย ปัจจุบันก็มีพม่าที่สร้างเมืองหลวงใหม่คือเนปีดอว์ ในขณะเดี ย วกั น เมื อ งเก่ า หลายเมื อ งที่ เ ป็ น ศู น ย์ ร าชการการค้ า พาณิชย์และอุตสาหกรรมก็ต้องการยกเครื่อง มีการปรับปรุงเมือง สร้างเมืองอุตสาหกรรม เมืองชายแดน โดยมีการกระตุ้นให้เป็น ‘เมืองที่มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ’ เป็น Special Economic Newtown 20
นำาเอาระบบยกเว้นภาษีมาใช้ เป็นการสร้างจุดเติบโตให้เป็นเมือง ศูนย์กลางการผลิต เช่น เมืองดีทรอยต์ เป็นศูนย์อตุ สาหกรรมรถยนต์ ไทยเราก็มี ESB ส่วนในจีนปัจจุบนั ก็สร้างเมืองฉงชิง่ ศูนย์กลางภาค อีสานของจีน เป็นหนึ่งใน 10 เศรษฐกิจพิเศษของจีน รัฐบาล คสช. ของไทยเรากำาลังนำาแนวคิดนี้มาใช้ มีการกำาหนดเขต เศรษฐกิจพิเศษ เอามาใช้กบั เมืองชายแดนเหมือนเซิน่ เจิน้ ของฮ่องกง เหมือนเมืองติดชายแดนเม็กซิโกของอเมริกา เป็นทั้งเขตเศรษฐกิจ และชะลอการย้ายข้ามถิ่นของประชากร โดยจะมีเมืองนำาร่องคือ ‘แม่สอด’ ทีช่ ายแดนตะวันตก และจะมีอกี หลายเมืองชายแดนทีส่ าำ คัญ ในภาคตะวันออกคือมุกดาหาร ภาคเหนือคือแม่สาย ภาคใต้คือ สุไหงโกลก มีพื้นที่พิเศษ มีนิคมอุตสาหกรรม มี BOI ยกเว้นภาษีให้ ขณะนี้ คสช. กำาลังรุกอีกโดยต้องการนำาแนวคิดสร้างเมืองใหม่ กับเขตเศรษฐกิจพิเศษ เป็น Key Factor ในการพัฒนาเมืองและ กระตุน้ เศรษฐกิจไปพร้อมกัน ก็มนี โยบายเร่งด่วนยกระดับ ‘Eastern Economic Corridor (EEC)’ กำาหนดให้ 5 เมืองชายฝั่งตะวันออก ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี พัทยา ศรีราชา และแหลงฉบัง (ESB) ระยอง เป็นเมืองแห่งเขตเศรษฐกิจพิเศษ เชื้อเชิญให้เอกชนมาร่วมลงทุน ในกิจการของรัฐ (PPP) โดยจะนำาระบบรางมาเป็นตัวนำา จะมีรถไฟทางคู่ รถไฟด่วนขนทัง้ คนและสินค้า จะมีสถานีทส่ี าำ คัญๆ ทุกแห่ง และกำาหนด ให้มีการพัฒนารอบสถานีรถไฟที่เรียกกันว่าเป็น TOD (Transit Oriented Development) ที่การรถไฟให้เริ่มนำาร่องที่สถานี Grand Central Station: บางซื่อแล้ว ‘เมืองใหม่และเขตเศรษฐกิจพิเศษ’ จะเป็น Key Concept ในการ พัฒนาประเทศ สร้างเมืองรองรับประชากรเมืองรุน่ ใหม่นาำ Key Success มาเป็นศูนย์กลางทุกเมือง และกระตุน้ เศรษฐกิจและสร้างงาน ทัง้ ยกระดับ ให้เป็นเมืองสากลของโลกไปพร้อมๆ กัน ก็ลองติดตามดูให้ดี ไม่รวู้ า่ รัฐบาลที่จะมีใหม่จะมีศักยภาพมองเห็นอนาคตต่อเนื่องจาก คสช. หรือไม่
METAL & STEEL
เรือ่ ง: ณัฐพล สุทธิธรรม
Steel Stud Wall: Eco-friendly & Energy Saving System (µÍ¹·Õè 2) จากความเดิมทีผ่ มกล่าวถึงระบบผนังทีม่ ลี กั ษณะกลวง โดยมี Air Gap หรือฉนวน Insulation ตรงกลาง ซึง่ จะช่วยให้ทา่ นประหยัดพลังงานภายในบ้านของท่านได้ เพราะจะช่วยทั้ง ‘ป้องกันความร้อน’ และ ‘ลดการสะสมตัวของความร้อน’ คราวนี้ผมจะมาอธิบายต่อนะครับ ว่าเกี่ยวข้องกับ Metal ได้อย่างไร การก่อสร้างระบบผนังทีม่ ลี กั ษณะกลวงนี้ จริงๆ แล้วในบ้านเรานำามา ใช้กบั ผนังกัน้ ห้องภายในอาคารมากพอสมควรนะครับ เป็นระบบผนัง ที่ใช้เหล็กรีดเย็นชุบสังกะสีมาพับขึ้นรูปเย็นให้เป็นหน้าตัดรูปตัวซี ทีเ่ รียกว่า Metal Stud มาวางในแนวตัง้ ห่างกัน 50 - 75 เซนติเมตร จากนั้นจึงใช้แผ่นยิปซั่มบอร์ดหรือซีเมนต์บอร์ดมากรุทั้งสองด้าน เรียกว่า Sheathing Stud Wall System ดังแสดงในรูปที่ 3 ซึง่ แน่นอน ครับว่า ผนังระบบนีส้ าำ หรับงานภายในกัน้ ห้อง ไม่จาำ เป็นต้องมีความ แข็งแรงมากนัก เพราะเป็นผนังทีไ่ ม่ตอ้ งรับแรงอะไร นัน่ อาจเป็นสิง่ ที่ ไปฝังในจิตใจของผู้ใช้อาคารบ้านเรือนก็เป็นได้นะครับ ว่าเวลาเรา สัมผัส เวลาเราเคาะมันจะรูส้ กึ กลวงๆ อันเป็นเหตุให้ความรูส้ กึ ดังกล่าว ไปฝังในจิตใจผู้ใช้บ้านใช้อาคารว่า มันต้องไม่แข็งแรงแน่ๆ อะไร ทำานองนี้ แน่นอนครับว่าหากนำาผนังประเภทนี้มาใช้สำาหรับการทำาเป็นผนัง ภายนอกอาคารแล้ว จะต้องมีการออกแบบให้เหมาะสม เพราะผนัง ภายนอกอาคารจะต้องมีคุณสมบัติที่สามารถต้านทานแรงลมที่มา ปะทะกับผนังอาคารได้อย่างปลอดภัย ระยะห่างระหว่าง Metal Stud ควรจะวางกันถี่ขึ้น เช่น 30 - 60 เซนติเมตร โดยมีตัวยึดระหว่าง Metal Stud ทีเ่ รียกว่า Bridging เพือ่ ลดระยะความชะลูด อันเป็นการ ช่วยเพิ่มความสามารถในการรับแรงลมให้ได้มากยิ่งขึ้น ตลอดจน สามารถกันน้าำ ฝนทีจ่ ะซัดสาดเข้ามาในตัวอาคาร หรือมีรายละเอียดทีด่ ี ทีส่ ามารถกันน้าำ ไหลซึมเข้าสูร่ อยต่อระหว่างแผ่นของผนัง และแม้วา่ จะมีน้ำาบางส่วนไหลซึมแทรกเข้ามาที่ด้านในของแผ่นผนังภายนอก อาคารได้บา้ ง แต่กม็ รี รู ะบายน้าำ (Weep Hole) เพือ่ ให้นาำ้ ส่วนนีไ้ หลออก ไปสู่ภายนอกได้
22
รูปที่ 3 ระบบผนังภายนอก Metal Stud Wall ที่มีการติดตั้งผนังให้ห่างออก มาจากโครงสร้างเหล็ก
โดยทั่วไปในบ้านเรานั้น การก่อสร้างผนังก่ออิฐภายนอกเข้ากับ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก จะเป็นการก่อให้ชดิ ติดกับโครงสร้างหลัก (เช่น เสา หรือคานคอนกรีตเสริมเหล็ก) โดยมีการฝังเหล็กเส้นเล็กๆ (ช่างเรียกกันว่า เหล็กหนวดกุง้ ) เพือ่ ให้ผนังอิฐมาเกาะ แต่อย่างไรก็ดี การทำาผนังที่ต้องมาเกาะกับโครงสร้างหลักที่เป็นโครงสร้างเหล็ก (Steel Structure) นัน้ จะต้องพิจารณาทัง้ การนำาความร้อนของเหล็ก โครงสร้าง (นึกภาพเหล็กเจอแสงแดดร้อนๆ จากภายนอก ก็จะนำา ความร้อนมาเข้าสู่ตัวอาคาร) และการยืดหดตัวของเหล็กโครงสร้าง จากผลของอุณหภูมิ (Temperature Effect) ซึ่งจะมีการยืดหดตัว มากกว่าแผ่นผนังค่อนข้างมาก (ตามค่า Thermal Expansion Coefficient นะครับ)
ซึ่งหากใช้วิธีการก่อผนังติดเข้ากับแนวขอบเสาเหล็กหรือคานเหล็กดังเช่นที่ผู้รับเหมา ทั่วไปคุ้นเคย ผลที่ตามมาคือ ความร้อนภายในบ้านที่เพิ่มสูงขึ้นจากการนำาความร้อน ของเหล็ก และการเกิดรอยแตกร้าวที่ผนังด้วยเหตุที่ผนังมีการยืดหดตัวที่น้อยกว่า โครงสร้างเหล็ก (เหล็กที่ยืดตัวมากไปเบียดผนังที่ยืดตัวน้อย) ดังนั้นในทางปฏิบัติ ในต่างประเทศ จึงมักออกแบบอาคารบ้านเรือนให้ประหยัดพลังงานโดยมีการนำา Sheathing Metal Stud Wall เข้ามาใช้ ‘คลุม’ ตัวโครงสร้างเหล็ก พร้อมกับมีการ ทำารายละเอียดการเกาะยึดผนังเข้ากับโครงสร้างเหล็กที่ดี (Good Wall-to-framing Connection Detailing) สามารถอำานวยให้ผนังภายนอก ซึ่งอาจเป็นระบบผนังก่ออิฐ หรือผนังสำาเร็จรูประบบ Sheathing Metal Stud Wall เป็นอิสระจากเสาและคานเหล็ก มิฉะนัน้ แล้วเราจะพบเห็นการแตกร้าวของผนังอันเกิดจากการเคลือ่ นตัวทีไ่ ม่เท่ากันได้งา่ ย ซึ่งด้วยวิธีการก่อสร้างในลักษณะนี้ ก็จะช่วยให้อาคารบ้านเรือนของเราประหยัด พลังงาน ลดยอดบิลค่าไฟฟ้า ลดการกัดกร่อนเสื่อมสภาพของเหล็กโครงสร้างอันเกิด จากการปะทะกับลมฝนภายนอก ลดความเสีย่ งต่อการเกิดการแตกร้าวของผนัง ส่งผล ให้ทั้งเหล็กโครงสร้างและผนังบ้านเรือนของเราอยู่ทนทานตราบเท่าอายุของตัวบ้าน กันเลยครับ
หรือแกรนิตโต้ผนัง มาติดเข้ากับแผ่นซีเมนต์บอร์ด ด้วยปูนกาวติดกระเบือ้ งหรืออาจใช้ระบบรางเหล็ก สำาเร็จรูป (ดังรูปที่ 5) อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยควร มีการติดตั้งแผ่นกันน้ำา หรือ Waterproofing Membrane เข้ากับแผ่นซีเมนต์บอร์ด จากนัน้ จึงทำา การติดแผ่นตะแกรงเหล็กฉีก หรือ Metal Lath ด้วยการใช้สกรู ตะแกรงเหล็กฉีกนีจ้ ะช่วยสร้างการ ยึดเกาะระหว่างแผ่นผนังภายนอก เช่น แกรนิตโต้ ให้ตดิ กับแผ่นซีเมนต์บอร์ดได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3) ติดตั้งฉนวนกันความร้อนในช่องว่างระหว่าง Metal Stud System และถ้ามีงานท่องานระบบ ก็เดินผ่านช่องว่างทีว่ า่ นี้ (4) ติดตัง้ โครงผนังเข้ากับ โครงสร้างอาคาร โดยให้โครง Metal Stud นีว้ างบน พื้นอาคาร (Slab) แผ่นซีเมนต์บอร์ดและแผ่นผนัง ภายนอกจะยืน่ เลยออกมาคลุมชิน้ ส่วนโครงสร้างหลัก โดยจะต้องมีการทำารายละเอียดเพื่อการป้องกัน น้ำาฝน และการระบายน้ำาที่อาจแทรกซึมเข้ามา ได้ดี เพื่อให้การใช้งานอาคารบ้านเรือนของเรา ยาวนานนะครับ
รูปที่ 4 ขัน้ ตอนการก่อสร้างผนังภายนอกด้วยการติดหินหรือแผ่นกระเบือ้ งด้วยปูนกาว และตะแกรง เหล็กฉีก
รูปที่ 5 ระบบผนังสำาเร็จรูปทีม่ าพร้อมกับโครงคร่าวเหล็ก
สำาหรับบ้านหรืออาคารประหยัดพลังงานในประเทศ ทีม่ กี ารนำาระบบ Sheathing Metal Stud Wall เข้ามาใช้กับผนังภายนอกอาคารนั้น อาจจะยังไม่ปรากฎให้เห็นกันมากนัก แต่พอจะมีตวั อย่างเช่นในประเทศญีป่ นุ่ (ดังแสดงในรูปที่ 1) นะครับ โดยในการประกอบ ติดตัง้ ผนังประเภทนีน้ น้ั สามารถทำาได้ (ดังรูปที่ 4) โดย (1) ติดตัง้ แผ่นซีเมนต์บอร์ดเข้ากับ Metal Stud System ด้วยสกรู (2) นำาแผ่นผนังภายนอก อาจใช้กระเบื้องเซรามิค
ทั้งนี้ หากมีข้อสงสัยหรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สามารถติดต่อเราผ่านเฟสบุ๊ค www.facebook. com/jtepasteelconstruction ได้นะครับ
23
ผศ.ดร. จตุวัฒน์ วโรดมพันธ์ LEED AP, TREES Founder และ อภินันท์ ปานสาย, วศ.ม., TREES-A
ECO GREEN
อาคารเขียว กับการจราจร
http://thba.or.th
จากสภาวการณ์ปัจจุบันที่สภาพการจราจรโดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ล่าสุดมีผู้ผลิตระบบจีพีเอสรายหนึ่ง ได้เผยผลการจัดอันดับเมืองที่มีการจราจรใน ชั่วโมงเร่งด่วนติดขัดมากที่สุดของโลก พบว่ากรุงเทพมหานครของไทยเรานี่เองที่ติด อันดับตามความคาดหมาย แถมรั้งเป็นอันดับหนึ่งของโลกอีกต่างหาก นำาโด่งเหนือ เมืองเม็กซิโกซิตี้ เมืองหลวงของประเทศเม็กซิโกที่เคยโด่งดังเรื่องรถติดมายาวนาน ซึ่งหน่วยงานภาครัฐก็ได้เตรียมออกมาตรการต่างๆ เพื่อมาบรรเทาสภาพการจราจร ให้กลับมาสู่สภาวะปกติ หรือให้ติดน้อยลงก็ยังดี ในครัง้ ก่อนผูเ้ ขียนได้มโี อกาสนำาเสนอมาตรการตามข้อกำาหนดอาคารเขียว ไม่วา่ จะเป็น ของ LEED หรือ TREES ก็ตาม ได้มีการระบุถึงการรณรงค์ส่งเสริมใช้ในรถยนต์ ประเภท Low Emitting and High Efficient Vehicle ซึง่ อย่างน้อยมาตรการนีน้ อกจาก จะเกิดผลดีตอ่ สิง่ แวดล้อมทีม่ กี ารส่งเสริมให้ใช้รถยนต์พลังงานทางเลือกทีไ่ ม่ใช่มาจาก น้าำ มันเชือ้ เพลิงแต่เพียงอย่างเดียว ยังเป็นการจำากัดประเภทของรถยนต์ทส่ี ามารถเข้ามา ในอาคารเขียวได้โดยสะดวกสบายทีส่ ดุ ในครัง้ นีผ้ เู้ ขียนจะกล่าวถึงมาตรการตามข้อกำาหนด อาคารเขียวประเด็นอืน่ ๆ ทีอ่ าจจะสามารถช่วยบรรเทาสภาพการจราจรดังกล่าวข้างต้นได้ ซึง่ หากพิจารณากันตามความเป็นจริงแล้วเรามักจะเห็นโครงการอาคารเขียวอยูใ่ กล้เคียงกัน กับระบบขนส่งมวลชนสาธารณะ โดยเฉพาะสถานีรถไฟฟ้า ไม่วา่ จะเป็นใต้ดนิ หรือบนดิน ตามข้อกำาหนดได้มีแบ่งประเภทของระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเอาไว้ ดังนี้ - โครงการอาคารเขียว มักจะเลือกตั้งอยู่บนทำาเลที่สามารถเข้าถึงสาธารณูปการ หรือ สิ่งอำานวยความสะดวก ไม่ว่าจะเป็น ร้านค้า, ร้านอาหาร, ศาสนสถาน, โรงพยาบาล, สถานที่ราชการ และโรงเรียน เป็นต้น ในระยะที่ไม่ต้องใช้รถยนต์ในการเดินทาง สามารถเดินเท้าไปถึงได้โดยสะดวกสบาย ก็จะทำาให้ผใู้ ช้อาคารเขียวนัน้ ลดอัตราการใช้ รถยนต์ได้ไปส่วนหนึ่ง - โครงการอาคารเขียว มักจะเลือกตัง้ อยูบ่ นทำาเลทีส่ ามารถเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ ได้งา่ ย ไม่วา่ จะเป็นเดินไปป้ายรถประจำาทาง รวมถึงระบบ BRT หรือสถานีรถไฟฟ้าทัง้ ประเภทใต้ดนิ MRT หรือลอยฟ้า BTS ทีส่ ามารถไปยังจุดหมายปลายทางสถานทีต่ า่ งๆ ได้งา่ ย โดยไม่ตอ้ งพึง่ รถยนต์สว่ นตัว และล่าสุดก็เพิง่ จะมีการเปิดรถไฟฟ้าส่วนต่อขยาย สายสีม่วง สายเตาปูน-บางใหญ่ ซึ่งน่าจะเป็นที่จับตามองว่าโครงการอาคารเขียวใด จะเลือกพืน้ ทีใ่ กล้เคียงกับรถฟ้าสายนี้ เนือ่ งจากรถไฟฟ้าสายอืน่ ๆ ทีใ่ ช้งานกันก่อนหน้านี้ ก็มโี ครงการอาคารเขียวก่อสร้างแล้วเสร็จไปเกือบทัง้ สิน้ ยังไม่นบั ไปถึงรถไฟฟ้าส่วนขยาย สายอื่นๆ ที่กำาลังจะรอเปิดให้บริการกันอีกในอนาคตอันใกล้
24
www.healthandtrend.com
- ในกรณีที่โครงการอาคารเขียว มีทำาเลที่ตั้งที่ไม่ สามารถเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะได้ หรือเข้าถึง แต่ไม่สะดวกสบาย ก็สามารถใช้ทางเลือกอื่นคือ การจัดรถรับ-ส่งระหว่างโครงการ และจุดจอด รถประจำาทางสาธารณะเพื่อทดแทนได้ โดยต้อง กำาหนดระยะทางและตารางเวลาทีช่ ดั เจน เพือ่ อำานวย ความสะดวกสูงสุดต่อผู้ใช้อาคาร หรือที่เรียกว่า Shuttle Bus Program นั่นเอง - อีกประเด็นหนึง่ ในกรณีทผ่ี ใู้ ช้อาคารเขียวไม่สามารถ ใช้ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะได้ ก็ยงั เปิดโอกาส ให้รถยนต์ที่ใช้ร่วมกัน หรือ Carpool สามารถใช้ อาคารเขียวได้อย่างสะดวกสบายผ่านการส่งเสริม ที่ดีของโครงการอาคารเขียว โดยจะจัดช่องจอด ทีส่ ะดวกสบายใกล้ทางเข้า และเก็บค่าจอดในราคา พิเศษในบางแห่งที่มีการเก็บค่าธรรมเนียมจอด ทั้งหมดนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งที่ข้อกำาหนดอาคาร เขียวได้เพิ่มเติมมา เพื่อเป็นส่วนหนึ่งที่คงจะช่วย ลดปัญหาและบรรเทาสภาพจราจรในปัจจุบันได้ บทความฉบับนี้อาจเป็นฉบับท้ายสุดที่จะเผยแพร่ ความรูต้ า่ งๆ เกีย่ วกับอาคารเขียว ตลอดระยะเวลา ทีผ่ า่ นมา ผูเ้ ขียนหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคงจะเป็นการ มอบความรูห้ รือมอบสิง่ ใหม่ๆ ให้กบั ผูอ้ า่ น และเพิม่ ความตระหนักรู้ในการพัฒนาโครงการ ทั้งส่วน ออกแบบและก่อสร้างไทยให้ทัดเทียมนานาชาติ และเป็นมาตรฐานในกับประเทศต่างๆ ในแทบ ภูมภิ าคอาเซียนบ้านเราต่อไป ขอบคุณทีต่ ดิ ตามกัน แล้วพบกันใหม่ครับ
IDEA & INNOVATION
เรื่อง: ดร.อรช กระแสอินทร์, LEED GA
ทำ�อ�ค�รให้ดเู ขียว (2) ต่อจากครัง้ ทีแ่ ล้ว ผมได้นาำ เอาผลงานวิจยั เล็กๆ ของผมที่ได้ทาำ แบบสอบถาม เพือ่ ถาม คนทั่วไปว่าอะไรที่ทำาให้คุณเข้าใจว่าอาคารที่คุณเห็นหรือเข้าไปอยู่นั้นเป็นอาคารเขียว โดยให้คุณสมบัติหรือส่วนประกอบของอาคารซึ่งถอดจากเงื่อนไขต่างๆ ตามเกณฑ์ อาคารเขียวอันได้แก่ LEED และ TREES กำาหนดไว้ ซึ่งผลที่ ได้จากการสอบถาม 10 อันดับแรกที่ทำาให้คนนึกถึงว่าอาคารนั้นเป็นอาคารเขียวมีอะไรบ้าง ซึ่งปรากฏว่าผลที่ได้จากการสอบถาม มีดังนี้ 1. แสงจากภายนอก (85 คน) 2. ใช้สุขภัณฑ์ประหยัดน้ำา (82 คน) 3. มีถังขยะสำาหรับแยกขยะ (81 คน) 4. ใช้หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน (79 คน) 5. มีต้นไม้ในพื้นที่รอบอาคาร (69 คน) 6. มีป้ายบอกแสดงความเป็นอาคารเขียว (67 คน) 7. ใช้ก๊อกน้ำาเปิดปิดอัตโนมัติ (65 คน) 8. การปรับ อากาศเย็นพอเหมาะ (61 คน) 9. ติดตั้งโซลาร์เซลล์หรือกังหันผลิตพลังงาน (60 คน) และ 10. ใช้วัสดุก่อสร้าง รีไซเคิล (59 คน) อย่างไรก็ตามในการสอบถามนั้น ได้ถามว่ารู้จักอาคารเขียวหรือไม่ มีผู้ตอบ 98 คนที่รู้จักอาคารเขียวในฐานะ อาคารอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ในขณะที่อีก 27 คนไม่รู้จัก ซึ่งอันนี้อาจเป็นเพราะผู้ตอบซึ่งเป็นเพื่อนๆ ของผมเอง ส่วนมากก็อยูใ่ นวงการออกแบบก่อสร้างอยูแ่ ล้ว แต่กม็ อี ยูห่ นึง่ ในสีท่ ไี่ ม่รจู้ กั สิง่ ทีเ่ รียกว่าอาคารเขียว เมือ่ นับเฉพาะกลุม่ ทีร่ จู้ กั อาคารเขียว คุณสมบัตหิ รือส่วนประกอบของอาคารทีท่ าำ ให้ผตู้ อบกลุม่ นีร้ บั รูถ้ งึ ความเป็น อาคารเขียว 5 อันดับแรก ได้แก่ 1. แสงจากภายนอก (70 คน) 2. ถังขยะสำาหรับแยกขยะซึง่ เท่ากันกับหลอดไฟฟ้า ประหยัดพลังงาน (65 คน) 3. สุขภัณฑ์ประหยัดน้ำา (64 คน) 4. ป้ายแสดงความเป็นอาคารเขียว (57 คน) และ 5. ก๊อกน้าำ ชนิดอัตโนมัติ (55 คน) ในขณะทีอ่ กี กลุม่ คือผูต้ อบทีไ่ ม่รจู้ กั อาคารเขียว ผลทีไ่ ด้คอื 1. สุขภัณฑ์ประหยัดน้าำ (18 คน) 2. ต้นไม้ในพื้นที่รอบอาคาร (17 คน) 3. ถังขยะสำาหรับแยกขยะ (16 คน) 4. แสงจากภายนอก (15 คน) และ 5. หลอดไฟฟ้าประหยัดพลังงาน (14 คน) เมื่อประมวลผลและวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นจากแบบสอบถาม ผมมีข้อสังเกตคือการออกแบบอาคารเขียวซึ่งราคา ค่าก่อสร้างแพงมากกว่าอาคารแบบทั่วไป แต่กลับไม่ได้มองว่าจะออกแบบอย่างไรให้คนนึกถึงความเป็นอาคาร เขียวตัง้ แต่สมั ผัสแรก ขณะทีห่ ากพิจารณาผลจากการสำารวจเพือ่ นำาไปใช้ในการออกแบบแล้ว เราก็ควรจะเลือกใช้ องค์ประกอบที่เห็นได้ชัดหรือจับต้องได้ ยกตัวอย่างเช่นหากเข้าไปในอาคาร ผู้ใช้อาคารย่อมสามารถเห็น แสงธรรมชาติจากภายนอกได้ เมื่อผู้ใช้อาคารเดินเข้าห้องน้ำา ก็ย่อมต้องเห็นหรือสัมผัสสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ ในห้องน้ำาและรับรู้ความประหยัดน้ำาจากป้ายหรือรูปแบบของอุปกรณ์เอง รวมถึงเมื่อจะทิ้งขยะก็เห็นถังขยะที่มี ช่องแยกขยะชัดเจน หรือเมือ่ มองเห็นหลอดไฟชนิดประหยัดพลังงาน เหล่านีส้ ะท้อนความพยายามในการอนุรกั ษ์ พลังงานและสิง่ แวดล้อมโดยตัวมันเอง ในขณะทีข่ อ้ ทีใ่ ห้คะแนนตามเกณฑ์อาคารเขียวได้กลับไม่ได้อยูใ่ นการรับรู้ โดยผู้ใช้อาคารเท่าใดนัก อาทิ ใช้วัสดุตกแต่งธรรมชาติเช่นไม้ หรือการนำาเอาอาคารเก่าปรับปรุงใหม่
26
ซึง่ ทีก่ ล่าวมาก็นาำ มาสูข่ อ้ สรุปของผมในงานวิจยั คือ ลักษณะขององค์ประกอบเพือ่ การออกแบบอาคารเขียวแบ่งเป็น 3 ประเด็น ได้แก่ 1. ออกแบบเพื่อให้รับรู้ได้ชัดเจน นั่นคือนักออกแบบหรือสถาปนิกที่ออกแบบอาคารเขียว ควรออกแบบให้ อาคารถูกรับรู้ได้ชัดเจน อาทิ การใช้แสงธรรมชาติ การมีพื้นที่และต้นไม้รอบอาคาร เหล่านี้จะทำาให้ผู้คนที่ผ่าน หรือใช้อาคาร รับรู้ความต้องการในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมไปด้วย 2. ออกแบบให้งา่ ยต่อการเข้าใจ สถาปนิกหรือนักออกแบบโดยส่วนมากไม่ชอบทีจ่ ะบอกหรือสือ่ สารอะไรตรงๆ การมีปา้ ยบอกนัน้ อาจจะดูไม่คอ่ ยเป็นงานออกแบบเท่าไหร่นกั ป้ายอาจจะช่วยให้ผสู้ ญ ั จรไปมาในอาคารทีผ่ า่ นได้ อ่านได้รับรู้ แต่การสื่อสารผ่านการใช้อุปกรณ์ที่แสดงถึงการประหยัดน้ำาและพลังงาน หรือใช้วัสดุรีไซเคิล ก็เป็น วิธีการสื่อสารที่แสดงความเป็นอาคารเขียวเช่นกัน 3. สร้างการมีสว่ นร่วมหรือการเข้าถึงจากผูใ้ ช้อาคาร ยุคสมัยนีเ้ ขาชอบใช้คาำ ว่า Engagement ซึง่ ผมเห็นว่า หากจะทำาการลดการใช้ทรัพยากรลง ประหยัดน้ำา-ไฟฟ้า ก็ย่อมต้องอาศัยความร่วมมือของทุกคนในอาคาร ซึง่ การทีเ่ ครือ่ งมือหรือวัสดุบางอย่าง สามารถทำาให้ผใู้ ช้อาคารได้เรียนรูก้ ารอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมไปด้วย พร้อมการใช้งาน อาทิ อุปกรณ์ประหยัดน้าำ ถังขยะทีม่ กี ารแยกขยะ หรือการใช้เครือ่ งไฟฟ้า หรือหลอดประหยัดไฟ ก็เป็นส่วนหนึ่งทำาให้เกิดการรับรู้ความเป็นอาคารเขียวด้วย ทัง้ หมดนีไ้ ม่ได้แปลว่าจะต้องใช้เฉพาะองค์ประกอบทีว่ า่ มาแล้วจึงจะดูเป็นอาคาร ‘อนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อม’ แต่ข้อมูลผลที่ได้จะเป็นตัวช่วยนักออกแบบมีตัวช่วยเมื่อต้องออกแบบอาคารเขียว และต้องการสื่อให้สังคม ได้เข้าใจถึงแนวคิดของตัวเองในการนี้
BUILDER GAGS Urban Rigger ที่พักอาศัยมิติใหม่ลอยน้ำา
‘Urban Rigger’ เป็นที่พักอาศัยลอยน้ำาแนวใหม่ ที่สร้างขึ้นจาก ตูค้ อนเทนเนอร์เหลือทิง้ นำากลับมารีไซเคิลใหม่ ซึง่ ได้รบั การออกแบบ โดยบริษทั สถาปนิกชือ่ ดัง BIG (Bjarke Ingels Group) ด้วยแนวคิด ในการออกแบบบ้านพักอาศัยอย่างยั่งยืนสำาหรับกลุ่มนักศึกษาใน เมืองโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก บนพื้นที่ 680 ตารางเมตร ซึ่งประกอบไปด้วย ที่พักจำานวน 15 ยูนิต ที่ตั้งอยู่ล้อมรอบลานพื้นที่ สีเขียว และครบครันไปด้วยสิ่งอำานวยความสะดวกและกิจกรรม ต่างๆ มากมาย ไม่วา่ จะเป็นท่าจอดเรือคายัค พืน้ ทีป่ ง้ิ บาร์บคี วิ ดาดฟ้า อเนกประสงค์ ห้องเก็บของ ห้องเครื่อง และห้องซักรีด ทัง้ นีใ้ นการออกแบบได้เลือกใช้ตคู้ อนเทนเนอร์มาเป็นวัสดุโครงสร้างหลัก เนือ่ งจากมีราคาประหยัด และด้วยขนาดมาตรฐานของตูค้ อนเทนเนอร์ ทำาให้การขนย้ายเป็นไปได้สะดวก ทั้งการขนส่งทางบก ทางน้ำา หรือ ทางอากาศ อีกทัง้ ในการออกแบบด้วยการนำาตูค้ อนเทนเนอร์กลับมา ใช้งานใหม่ยังตอบโจทย์การรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน รวมถึง การทำาความร้อนพลังน้ำา, พลังงานแสงอาทิตย์ และปั๊มน้ำาพลังงาน ต่ำาอีกด้วย
ตัวบ้านพักลอยน้าำ แห่งนีก้ อ่ สร้างขึน้ จากการนำาตูค้ อนเทนเนอร์สนิ ค้า จำานวน 9 ตู้ มาวางเรียนซ้อนทับไขว้กนั สามด้านบนโป๊ะลอยน้าำ โดยจะ เหลือพืน้ ทีส่ ว่ นกลางเป็นลานกว้างเปิดโล่งสำาหรับใช้สอยร่วมกัน ซึง่ มี พื้นที่ใช้สอยรวม 680 ตารางเมตร พร้อมแต่งเติมไปด้วยสิ่งอำานวย ความสะดวกอื่นๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ Urban Rigger ยังมีการ ติดตัง้ แผงโซล่าร์เซลล์เพือ่ ประยุกต์นาำ พลังงานแสงอาทิตย์มาใช้งาน และปั๊มน้ำาพลังงานต่ำา เพื่อประหยัดพลังงานอีกด้วย Source: www.designboom.com All images courtesy of urban rigger 27
BUILDING CODES & CONCEPT
เรื่อง: อ.ชวพงษ์ ชำ�นิประศ�สน์์
»˜ÞËÒʶһ¹Ô¡µ‹Ò§ªÒµÔ¡Ñº§Ò¹Í͡Ẻ¡‹ÍÊÌҧ และควบคุมงานอาคาร ในประเทศไทย ในเดือนสิงห�คมและกันย�ยน พ.ศ.2559 เป็นเดือน ของก�รปะทุปัญห�ก�รออกแบบก่อสร้�งอ�ค�รใน ประเทศไทย โดยสถ�ปนิกต่�งช�ติ ผู้มิได้รับอนุญ�ต ให้ประกอบวิช�ชีพสถ�ปัตยกรรมในประเทศ กรณี ปัญห�อ�ค�รมห�นครทีม่ คี ว�มสูง 77 ชัน้ หรือเท่�กับ 314 เมตร มีพื้นที่อ�ค�รรวม 13,500 ต�ร�งเมตร ริมถนนส�ธร ในระบบทุนนิยม ก�รเกิดขึน้ ตัง้ อยู่ ของอสังห�ริมทรัพย์ หรืออ�ค�ร หรือก�รก่อสร้�ง มักขึน้ อยูก่ บั วิธกี �ร หลักก�ร เหตุผล และบุคคล ดังต่อไปนี้ 1. บุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีเ่ ป็นเจ้�ของ เจ้�ของโครงก�ร หรือผู้ประกอบก�รธุรกิจอสังห�ริมทรัพย์ พร้อมที่ดิน ที่ตั้งโครงก�ร 2. เงินทุน หรือสถ�บันก�รเงิน ผู้สนับสนุนก�รลงทุน 3. ทีป่ รึกษ�หรือผูอ้ อกแบบทีเ่ รียกว่� สถ�ปนิก วิศวกร ที่ อ �จเป็ น บุ ค คลหรื อ นิ ติ บุ ค คลผู้ ป ระกอบวิ ช �ชี พ สถ�ปัตยกรรมหรือวิศวกรรม กรณีก�รว่�จ้�งสถ�ปนิก เข้�รับผิดชอบง�นออกแบบหรือควบคุมง�นจะม�จ�ก คว�มเชื่อถือของผู้ว่�จ้�งเป็นสำ�คัญ ขณะเดียวกัน สถ�บั น ก�รเงิ น ก็ มี ส่ ว นสำ � คั ญ ในก�รช่ ว ยคั ด เลื อ ก สถ�ปนิ ก ให้ กับ ผู้ว่� จ้ � ง ดั ง นั้น ในกรณี ท่ีมีก �รจ้ � ง สถ�ปนิกต่�งช�ติเข้�ม�เป็นผูอ้ อกแบบอ�ค�รทีร่ บั เงิน ทุนสนับสนุนจ�กสถ�บันก�รเงินต่�งประเทศ มักจะ ต้องใช้สถ�ปนิกทีส่ ถ�บันก�รเงินนัน้ แนะนำ�ด้วย นัน่ คือ ที่ม�ของก�รทำ�ง�นประกอบวิช�ชีพสถ�ปนิกต่�งช�ติ ในประเทศไทย 4. กฎหม�ย ที่ใช้ในก�รควบคุมก�รก่อสร้�ง 5. เจ้�พนักง�นท้องถิ่น ผู้ใช้อำ�น�จต�มกฎหม�ย 6. ผู้ก่อสร้�ง
28
ประเด็นปัญห� และข้อขัดข้องท�งสถ�ปัตยกรรม ที่จะ ปร�กฏขึ้นเมื่อมีก�รยื่นขออนุญ�ตก่อสร้�งอ�ค�รต่อ เจ้�พนักง�นท้องถิ่น และถือได้ว่�ก�รดำ�เนินก�รท�ง สถ�ปัตยกรรมหรือก�รออกแบบก่อสร้�งได้เสร็จสิ้น สมบูรณ์โดยเจตจำ�นงที่จะทำ�ก�รก่อสร้�งอ�ค�รนั้น เพร�ะฉะนั้ น ก�รปฏิ บั ติ วิ ช �ชี พ ของสถ�ปนิ ก หรื อ วิศวกรต่�งช�ติ ผู้มิได้มีใบอนุญ�ตประกอบวิช�ชีพใน ประเทศไทย จึงถือได้ว่�มีผลสมบูรณ์ต�มบทบัญญัติ ก�รประกอบวิช�ชีพของคนต่�งช�ติ (ซึง่ มีขอ้ ห้�มมิให้ ผูท้ มี่ ไิ ด้รบั อนุญ�ตประกอบวิช�ชีพสถ�ปัตยกรรม หรือ วิศวกรต�มพระร�ชบัญญัติสถ�ปนิก) แต่เนื่องจ�กสถ�ปนิกหรือวิศวกรต่�งช�ติ ซึ่งมิได้รับ อนุญ�ตในก�รประกอบวิช�ชีพ มิได้ลงน�มในเอกส�ร แบบแปลนในก�รขออนุญ�ตก่อสร้�งกับเจ้�พนักง�น ท้ อ งถิ่ น แต่ จ ะมี ส ถ�ปนิ ก ไทยผู้ ไ ด้ รั บ อนุ ญ �ตให้ ประกอบวิช�ชีพเป็นผู้ลงน�มรับผิดชอบก�รออกแบบ ก่อสร้�งในโครงก�รหรือง�นท�งสถ�ปัตยกรรมนั้น กรณีอำ�น�จหน้�ที่ของบุคคลหรือนิติบุคคลในกรณีท่ี เกีย่ วข้องกับอ�ค�รในภ�ครัฐก็คอื เจ้�พนักง�นท้องถิน่ เจ้�พนักง�นท้องถิ่นมีอำ�น�จหน้�ที่ต�มที่ได้บัญญัติไว้ ในพระร�ชบัญญัติควบคุมอ�ค�รคือ ออกใบอนุญ�ต ก่อสร้�งให้ผู้ขออนุญ�ตก่อสร้�งเมื่อเอกส�ร หลักฐ�น แบบแปลน ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น ต�มข้ อ บั ง คั บ ใน กฎหม�ยนั้นหรือมีอำ�น�จไม่ออกใบอนุญ�ตก่อสร้�ง อ�ค�รให้ ห�กเอกส�รหลักฐ�นหรือแบบแปลนในก�ร ขออนุญ�ตขัดต่อข้อบัญญัตหิ รือข้อกำ�หนดในกฎกระทรวง ต�มอำ�น�จของกฎหม�ย และมีอ�ำ น�จออกคำ�สัง่ แก้ไข ระงับก�รก่อสร้�ง หรือสั่งให้แก้ไขแบบแปลน และ ง�นก่อสร้�งให้ถูกต้องต�มข้อกำ�หนดกฎหม�ยหรือ ต�มแบบแปลนที่ได้รับอนุญ�ต
(ปัญห�และข้อขัดข้องอันสำ�คัญของก�รประกอบวิช�ชีพ สถ�ปัตยกรรมหรือวิศวกรรมจ�กสถ�ปนิกต่�งช�ติ ผูม้ ไิ ด้รบั อนุญ�ตให้ประกอบวิช�ชีพในประเทศไทยก็คอื คว�มไม่รเู้ ห็นหรือไม่อ�จตรวจสอบ ค้นห� หลักฐ�นในก�ร ประกอบวิช�ชีพของสถ�ปนิกต่�งช�ติ นอกจ�กค�ดคะเน เอ�จ�กเอกส�ร หลักฐ�น โดยเฉพ�ะแบบแปลนซึ่งมี ลักษณะของรูปแบบ รูปทรงของอ�ค�รทีม่ กั มิได้เกิดจ�ก คว�มเคยชินในรูปแบบนัน้ ของสถ�ปนิกไทย) ดังนัน้ เมือ่ เอกส�ร หลักฐ�น และแบบแปลน ในก�รขอ อนุญ�ตก่อสร้�งอ�ค�รถูกต้อง ครบถ้วนต�มกฎหม�ย เจ้�พนักง�นท้องถิน่ ต้องออกใบอนุญ�ตก่อสร้�งให้แก่ ผู้ขออนุญ�ต ไม่ว่�จะมีข้อสงสัยหรือไม่สงสัยในเรื่อง ก�รประกอบวิช�ชีพของสถ�ปนิกต่�งช�ติหรือด้วย เหตุผลอื่นใด ครั้นเมื่อเกิดมีข้อสงสัยในเรื่องของก�รออกแบบโดย สถ�ปนิกต่�งช�ติ อันมีลักษณะเป็นคว�มผิดต่อรัฐ เจ้ � พนั ก ง�นท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบในฐ�นะ เจ้�พนักง�นของรัฐ นำ�คดีคว�มขึน้ สูศ่ �ลสถิตยุตธิ รรม ได้ก็เป็นเฉพ�ะเรื่องของคว�มผิดต�มพระร�ชบัญญัติ ประกอบวิช�ชีพคนต่�งช�ติเท่�นัน้ จะดำ�เนินก�รไปถึง ก�รฟ้องร้องให้รื้อถอนอ�ค�รที่ได้รับอนุญ�ตก่อสร้�ง ถูกต้องก่อนแล้วไม่ได้ ขณะเดียวกันคณะกรรมก�ร สภ�สถ�ปนิกหรือคณะกรรมก�รสภ�วิศวกรรมก็มิใช่ ผูเ้ สียห�ยโดยตรงทีจ่ ะนำ�คดีดงั กล่�วขึน้ สูศ่ �ลเช่นเดียวกัน สิ่งที่คณะกรรมก�รสภ�สถ�ปนิกหรือคณะกรรมก�ร สภ�วิศวกรรมดำ�เนินก�รได้แต่เพียงพิจ�รณ�โทษ ท�งจรรย�บรรณต่อสถ�ปนิกหรือวิศวกรผูล้ งน�มเป็น ผู้รับผิดชอบในเอกส�ร หลักฐ�น แบบแปลน ว่�เป็น ผู้ออกแบบได้เท่�นั้น ส�ระสำ�คัญอีกประก�รหนึง่ ก็คอื อำ�น�จของเจ้�พนักง�น ท้องถิน่ ต�มกฎหม�ย ดังที่ได้กล่�วม�แล้วในตอนต้น ว่ � เจ้ � พนั ก ง�นท้ อ งถิ่ น มีอำ�น�จสำ�คัญในก�รออก ใบอนุญ�ตก่อสร้�ง รื้อถอนอ�ค�ร หรือคำ�สั่งแก้ไข ปรับปรุงอ�ค�รที่ก่อสร้�งผิดกฎหม�ย หรือสั่งระงับ ก�รใช้อ�ค�รทีม่ เี หตุสงสัยว่�จะเกิดอันตร�ยต่อทรัพย์สนิ และบุคคลเท่�นั้น
เจ้�พนักง�นในท้องถิ่นห�ได้มีอำ�น�จสั่งรื้อถอนอ�ค�รได้โดยตรง เจ้�พนักง�นท้องถิน่ ต้องยืน่ คำ�ร้องต่อศ�ลขอให้ศ�ลสัง่ ให้มกี �รรือ้ ถอน อ�ค�รนัน้ เสียก่อน เมือ่ ก�รออกใบอนุญ�ตก�รก่อสร้�งอ�ค�รนัน้ ไป โดยถูกต้องต�มกฎหม�ย ก�รไม่มเี อกส�ร หลักฐ�น ยืนยันว่�มีก�ร ประกอบวิช�ชีพของสถ�ปนิกหรือวิศวกรต่�งช�ติผมู้ ไิ ด้รบั อนุญ�ตให้ ประกอบวิช�ชีพ เจ้�พนักง�นท้องถิน่ จะฟ้องร้องให้ศ�ลสัง่ ให้รอื้ ถอน อ�ค�รนั้น ศ�ลก็ย่อมยกคำ�ร้องของเจ้�พนักง�นท้องถิ่น ประก�รสำ�คัญอีกประก�รหนึง่ ก็คอื ไม่ว�่ กรณีทมี่ กี �รก่อสร้�ง รือ้ ถอน หรือเคลือ่ นย้�ยอ�ค�รทีผ่ ดิ บทบัญญัติ ข้อกำ�หนด กฎหม�ย จะเกิดขึน้ โดยคว�มผิดพล�ดของเจ้�พนักง�นท้องถิ่นในลักษณะใดก็ต�ม เจ้�พนักง�นท้องถิ่นผู้ออกใบอนุญ�ตก่อสร้�งห�ได้มีคว�มผิดหรือ บทลงโทษท�งกฎหม�ยแต่อย่�งใด เช่น กรณีก�รออกใบอนุญ�ต ก่อสร้�งบ้�นสีด�ำ ก็ดี อ�ค�รพักอ�ศัยรวม 22 ชัน้ ซอยร่วมฤดี อ�ค�ร ศูนย์ก�รค้�นิวเวิลด์ บ�งลำ�พู ก็ดี หรืออ�ค�รอื่นอีกเป็นจำ�นวนม�ก จึงไม่มีก�รลงโทษเจ้�พนักง�นท้องถิ่นแต่ประก�รใด ก�รผิดกฎหม�ยก�รประกอบวิช�ชีพของคนต่�งช�ติกด็ ี คว�มผิดใน กรณีแสดงตนเป็นสถ�ปนิกโดยไม่มีใบอนุญ�ต ก�รประกอบวิช�ชีพ ห�ใช่เหตุที่ทำ�ให้อ�ค�รที่มีสถ�ปนิกหรือวิศวกรไทยผู้ได้รับอนุญ�ต ให้ประกอบวิช�ชีพนั้นผิดกฎหม�ยแต่อย่�งไร เมื่อก�รก่อสร้�งนั้น ถูกต้องต�มข้อกำ�หนด ก�รจะรื้อถอนอ�ค�รเนื่องจ�กมีสถ�ปนิก ต่�งช�ติจึงทำ�มิได้ สรุปก็คอื กรณีทปี่ รากฏมีสถาปนิกหรือวิศวกรต่างชาติประกอบ วิชาชีพโดยมิได้รับอนุญาตนั้น ดำาเนินการโดยมีลักษณะการมี อำานาจสิทธิสภาพนอกอาณาเขต จะทำาให้รัฐไทยที่ได้ยกเลิก สิทธิสภาพนอกอาณาเขตไปแล้ว โดยแลกกับการเสียดินแดน ที่ควบคุมหรือคุ้มครองไปเมื่อ 100 ปีนั้นสูญเปล่า ด้วยเหตุผล ของการลงนามในองค์การค้าโลกในเรื่องของการค้าเสรีหรือ AFTA ซึ่งหมายถึงการเปิดเสรีการลงทุน การเคลื่อนย้ายทุน และการค้าบริการ ประเทศไทยคงไม่อาจจะปิดกั้นการทำางาน ของสถาปนิกต่างชาติได้ ดังนัน้ เพือ่ มิให้ก�รใช้อ�ำ น�จสิทธิสภ�พนอกอ�ณ�เขตยังคงอยูต่ อ่ ไป สนช. หรือสภ�นิตบิ ญ ั ญัตแิ ห่งช�ติ ต้องปรับแก้ไขพระร�ชบัญญัตทิ เ่ี กีย่ วข้อง ในเรื่องโดยด่วน เพื่อให้สถ�ปนิกต่�งช�ติเหล่�นี้มีโอก�สได้รับ อนุญ�ตประกอบวิช�ชีพในประเทศไทย เพื่อจะได้มีส่วนรับผิดชอบ ต่อกฎหม�ยสำ�คัญต�มประมวลกฎหม�ยอ�ญ�ม�ตร� 227 และ 228 อีกทั้งเพื่อลดช่องว่�งอื่นอันได้แก่ ภ�ระภ�ษีร�ยได้บุคคลที่เกิดขึ้น หรือเกี่ยวข้องกับสถ�ปนิกหรือวิศวกรต่�งช�ติ
29
LES MISCELLANEOUS
ที่จริง อัลวิน ทอฟเลอร์ คาดการณ์ไว้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2500 ว่าโลกจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ กว้างขวาง แต่ดว้ ยผูเ้ ขียนยังเยาว์วยั จึงไม่ได้สนใจ และไม่ได้คิดอะไร จนเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น วัยหนุ่ม และ หนุม่ ใหญ่ จนกลายเป็นสมาชิก สว. ในปัจจุบนั ก็ได้ พานพบกับการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งตัวเอง และรอบๆ ตัวเอง เมื่อบิลเดอร์นิวส์ ถือกำาเนิดขึ้นมาในปีพ.ศ. 2547 ได้เปิดโอกาสให้ผู้เขียนได้เล่าขานเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและเมือง ด้วยความตั้งใจ อยากให้ตา่ งไปจาก ปริญญา ตรีนอ้ ยใส ทีเ่ ขียนเรือ่ ง มองบ้านมองเมืองในมติชนสุดสัปดาห์ ทีม่ ขี อบเขต แค่ในบ้านเมืองเรา จึงเป็นทีม่ าของ ‘เรือ่ งชาวบ้าน’ ที่ได้ขยายขอบเขตไปบ้านอื่นเมืองอื่น โดยเริ่มต้น ตอนแรกเรือ่ ง โถงกระจกเงาแห่งพระราชวังแวร์ซายส์ ครัน้ มีการปรับโฉมปรับรูปเล่มกลายเป็น ‘Builder Magazine’ ให้ตามสมัย จึงถือโอกาสเปลี่ยนชื่อ เรื่องเป็น Les Miscellaneous ซึ่งคงความเดิมไว้ แต่ดทู นั สมัยมากขึน้ โดยลอกเลียนชือ่ ภาพยนตร์ที่ ดัดแปลงจากละครเพลงอมตะ Les Miserables ไม่แน่ใจว่าเรือ่ งราวต่างๆ จากเรือ่ งชาวบ้าน ในอดีต และ Les Miscellaneous ในปัจจุบนั ทัง้ หมด 259 เรื่องนั้นจะมีสาระความรู้หรือก่อเกิดคุณประโยชน์ บ้างประการใด แต่ที่รู้แน่แก่ใจดีว่า ทุกๆ เรื่องราว ล้วนจุดประกายความคิด สำาหรับบทสนทนาในยาม ค่าำ คืน คำาบรรยายในชัน้ เรียน งานออกแบบทีน่ าำ ไป ก่อสร้าง และความคิดเห็นผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้ง แนวทางในการดำาเนินชีวิตของผู้เขียนตลอดมา สุดท้ายจึงขอถือโอกาสนี้ ขอบคุณ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำากัด พร้อมคณะผู้จัดทำาและ กองบรรณาธิการ โดยเฉพาะผู้อ่านทุกท่านที่ให้ โอกาสดีๆ ในช่วงชีวติ ทีเ่ ปลีย่ นไป ในโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง
30
เรื่องชาวบ้าน: ศ.ดร. บัณฑิต จุลาสัย
GLASS
HOUSE
PK79 AO
32
ANNIVERSARY
ARCHITECTS
PROJECTS
OFFICE AT | GLASSHOUSE @ SINDHORN
stu/D/O ARCHITECTS | PAO HOUSE
AYUTT & ASSOCIATES DESIGN | PK79
33
COVER STORY
เรื่อง: สิริฉัตร รัตน์มณี ภาพ: อเนก สีนาดี
‘OFFICE AT’ รางวัล จากความรักในการทำางาน ตลอดระยะเวลาสิบกว่าปีทผี่ า่ นมาด้วยผลงานและรางวัลต่างๆ ทีม่ มี าอย่างต่อเนือ่ ง ของ คุณสุรชัย เอกภพโยธิน และ คุณจุฑาทิพย์ เตชะจำาเริญ ผู้ก่อตั้ง OFFICE AT ล้วนเป็นผลจากความรักในอาชีพสถาปนิก กอปรกับปณิธานอันแน่วแน่ ความทุ่มเท และมุ่งมั่น เพื่อต้องการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า ร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ในการยกระดับวงการสถาปัตยกรรมของไทยให้ทัดเทียมสากลมากขึ้นนั่นเอง ผู้สร้างสรรค์นิยามใหม่ให้กับวงการสถาปัตยกรรมของไทย เรียกได้ว่า OFFICE AT คือ บริษัทสถาปนิกรุ่นใหม่รายแรกๆ ที่นำา ความเปลีย่ นแปลงมาสูว่ งการออกแบบสถาปัตยกรรมของไทย เพราะ หลังจากทั้งคู่ได้หาประสบการณ์ในต่างแดนอยู่หลายปี จึงตัดสินใจ กลับมาเปิดบริษัทขึ้นที่เมืองไทย ซึ่งแตกต่างกับสถาปนิกรายอื่นๆ ในขณะนั้นที่มักจะทำางานมาในเมืองไทยซักระยะหนึ่งจนมีคนรู้จัก หรือลูกค้าเจ้าประจำามากพอสมควรแล้วจึงค่อยก่อตั้งบริษัท “หลังจากเราเริ่มทำางานที่เมืองไทยได้ประมาณปีกว่าก็ตัดสินใจ ว่าต้องไปเรียนต่อเพื่อศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ที่ University of Michigan Ann Arbour หลังจากนั้นก็มีโอกาสได้ทำางานที่นิวยอร์ค ประมาณสามปีกว่า จนถึงจุดอิ่มตัว เราทั้งสองคนก็มีความรู้สึกว่า ถึงเวลาที่ต้องกลับมาเมืองไทยได้แล้ว ซึ่งตอนนั้นเป็นช่วงฟองสบู่ แตกพอดีและมีเหตุการณ์ 911 ด้วย หลายๆ คนอาจจะกลัวแต่เรา กลับมองว่าเป็นช่วงโอกาสทีด่ ที จี่ ะได้ทาำ งานออกแบบ เพราะสามารถ ให้เวลากับแต่ละโปรเจคได้อย่างเต็มที่ โดยงานในช่วงแรกๆ จะเป็น บ้านของคนรู้จักเสียส่วนใหญ่ สาเหตุที่ทำาให้มีคนรู้จัก OFFICE AT ได้เร็วอาจเป็นเพราะช่วงก่อนกลับมาเมืองไทยมีโอกาสได้สง่ ผลงาน การประกวดแบบ โครงการ Queens Plaza Design Ideas Competition ในปีค.ศ. 2001 ซึง่ ครัง้ นัน้ เราก็ชนะการประกวด โดยถือเป็นครัง้ แรก ที่เราสองคนทำาประกวดแบบด้วยกัน และตอนที่กลับมาเมืองไทย ก็ได้ร่วมการประกวดออกแบบของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ โครงการ Bangkok University International College and Art Gallery (BUIC & BUG) ซึ่งก็ได้รางวัลชนะเลิศ หากมองย้อนกลับไปตอนที่เริ่มเปิดบริษัท เราไม่ได้กดดันตัวเองว่า จะต้องมีการเติบโตแค่ไหนต้องเป็นไปในรูปแบบใด ทุกๆ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้
34
ค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไปของมันเอง เราเพียงแค่อยากทำางานที่เรารัก และตัง้ ใจทำามันให้ดที สี่ ดุ ต้องการสร้างสรรค์งานในรูปแบบใหม่ๆ ให้ เกิดขึน้ และเป็นจุดเปลีย่ นของวงการสถาปัตยกรรมของบ้านเรา นีจ่ งึ เป็นทีม่ าของชือ่ Office of Architetural Transition หรือ OFFICE AT ซึ่งเราทั้งคูค่ ดิ ว่าคงจะเป็นการดีหากเราได้เป็นส่วนหนึง่ ในการพัฒนา วงการออกแแบบสถาปัตยกรรมของไทย” ผลลัพธ์จากความรักในการทำางาน หลายๆ คนมองภาพ OFFICE AT เหมือนนักล่ารางวัล แท้จริงแล้ว รางวัลเหล่านั้นคือผลลัพธ์ของการใส่ใจในการทำางาน ด้วยรางวัลที่ การันตีผลงานมากมายและมีมาอย่างต่อเนือ่ งตัง้ แต่วนั แรกทีเ่ ริม่ ก่อตัง้ บริษัท จนถึงวันนี้นับเป็นเวลาสิบกว่าปีแล้ว สิ่งที่เป็นแรงบันดาลใจ และเป็นแรงผลักดันที่สำาคัญคือการรักในสิ่งที่ทำา “พูดถึงเรื่องสไตล์ ตั้งแต่เริ่มต้นเราไม่ได้ต้องการทำางานที่มีความ เฉพาะเจาะจงในเรือ่ งของรูปแบบทางสถาปัตยกรรม เช่น ผลงานของ Zaha Hadid หรือคนอืน่ ๆ แต่เราจะเริ่มจากการวิเคราะห์โปรแกรม และฟั ง ก์ ชั่ น การใช้ ส อยก่ อ น จากนั้ น จึ ง แปลงความต้ อ งการ (Requirement) ให้เป็นพื้นที่โดยการแสดงให้เห็นด้วยไดอะแกรม ที่เข้าใจง่าย และสิ่งสำาคัญที่ต้องคำานึงถึงอีกอย่างคือความต้องการ ของเจ้าของงานเป็นหลักว่าต้องการอะไร บางงานเจ้าของต้องการ ความหวือหวา บางงานก็ต้องการความเรียบ เและเราจะหาว่าอะไร ที่จะสามารถเป็นจุดเด่นให้กับตัวโครงการโดยสามารถสร้างความ พิเศษหรือเพิม่ มูลค่าให้กบั โครงการได้ เพราะฉะนัน้ ผลลัพธ์ทอี่ อกมา ในแต่ละงานมันก็จะไม่เหมือนกันเสียทีเดียว แต่จะยังคงกลิ่นอาย ของความเป็น OFFICE AT อยู่
35
ความต้องการของลูกค้าในแต่ละงานก็แตกต่างกันไป ยิง่ โครงการนัน้ ๆ มีโจทย์ที่ต้องแก้หรือมีข้อจำากัดเยอะก็จะยิ่งทำาให้เรามีความสนุก ในการออกแบบและการคิดงานมากขึ้น โจทย์อาจจะมาในรูปแบบ ของทีด่ นิ ทีม่ ขี อ้ จำากัดเยอะและมีความเป็นไปได้นอ้ ยทีจ่ ะทำาโครงการ เช่น ทีด่ นิ เป็นรูปสามเหลีย่ มมุมแหลม หรือโจทย์อาจจะมาในรูปแบบของ งบประมาณที่จำากัดก็เป็นได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เราจะไม่ได้มองว่ามันเป็น ข้อจำากัด เรากลับมองว่ามันท้าทายและน่าสนุกด้วยซ้ำา เพราะฉะนั้น สิ่งที่เจ้าของโครงการจะได้จากเรานั้นจะต้องเป็นสิ่งที่มีคุณค่าและ จะแตกต่างจากอาคารทั่วๆ ไปอย่างแน่นอน ในบางครัง้ เราก็จะนำาเสนอสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์นอกเหนือโปรแกรมการ ออกแบบลงไปด้วย ซึง่ ผลสุดท้ายแล้วสิง่ ทีไ่ ด้รบั ก็จะเป็นประโยชน์กบั เจ้าของโครงการเอง ทัง้ นีถ้ อื เป็นความโชคดีของเราเพราะในหลายๆ ครัง้ เราก็เจอกับเจ้าของโครงการที่มีวิสัยทัศน์่กว้างไกล มิฉะนั้นหลายๆ โครงการคงไม่ สามารถเกิดเป็น รูปเป็น ร่างขึ้น มาได้ ซึ่งก็ มีบ าง โครงการที่เราอาจต้องอธิบายทำาความเข้าใจถึงประโยชน์ที่ลูกค้า จะได้รับจริงๆ ในส่วนของขั้นตอนการคุยกับลูกค้าถือว่าเป็นศิลปะ อย่างหนึ่งเลยทีเดียว โดยจะแตกต่างกับเวลาที่เราสอนนักศึกษา ในส่ ว นนี้ เ ราต้ อ งแยกบทบาทให้ ไ ด้ เวลาเราสอนหรื อ บรรยาย นักศึกษาเค้าก็จะมาฟังด้วยระบบความคิดในลักษณะทีม่ าหาความรู้ ต่างกันกับลูกค้าที่ไม่ได้คิดว่าอยากจะสร้าง Great Architecture ซึ่งอาจมีบ้างแต่น้อยราย แต่ความต้องการของลูกค้าโดยส่วนใหญ่ คือต้องการให้ธุรกิจประสบความสำาเร็จหรือพออยู่ได้ ซึ่งเราก็จะ พยายามบอกลูกค้าเสมอว่าเราสามารถทำาตามสิ่งที่เขาต้องการได้ ในขณะเดียวกันเราก็ทำาให้อาคารหลังนี้มีคณ ุ ค่าในตัวได้ด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น โครงการ PTTEP-S1 งานนีท้ าง ปตท.สผ. ได้ให้เกียรติทาง OFFICE AT เข้าร่วมประกวดออกแบบ โดยลักษณะทีต่ งั้ โครงการคือ พื้นที่ขุดเจาะน้ำามันบนบก ซึ่งปกติแล้วโครงการลักษณะนี้มักจะเน้น ฟังก์ชนั่ อย่างเดียว คือมีแท่นขุดน้าำ มัน หอพักทีพ่ ออยูไ่ ด้ ห้องทำางาน ทีค่ อ่ นข้างแห้งแล้ง และนอกจากคอนเซ็ปต์หลักเรือ่ งการขุดเจาะน้าำ มันแล้ว เรายังนำาเสนอเรื่องการสร้างสรรค์คุณภาพชีวิตของพนักงานด้วย
ทัศนียภาพภายนอกโครงการ PTTEP-S1 36
การดีไซน์พื้นที่ทำาให้ไม่น่าเบื่อ จัดให้มีสวนและลาน กิจกรรม สำาหรับเล่นดนตรีหรือเล่นกีฬา แทรกไปกับ ตัวอาคาร มีพื้นที่สีเขียวเป็นที่ว่างไหลลื่นจากชั้นหนึ่ง ไปยังชั้นสองได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่มีในโจทย์ แต่เราคำานึง ถึงผู้ที่ใช้งานจริงๆ ว่าต้องการอะไร สิ่งใดที่สามารถ ทำาให้ความเป็นอยูข่ องผูค้ นทีใ่ ช้งานในอาคารนัน้ ๆ ดีขน้ึ ได้ เราก็จะเสริมในส่วนนั้นเข้าไป ทั้งนี้ต้องขอบคุณทาง โครงการด้วยทีเ่ ล็งเห็นคุณค่าทีจ่ ะเกิดขึน้ ในส่วนนีแ้ ละ นีค่ งเป็นเหตุผลที่ทำาให้เราชนะโครงการนี้ ซึ่งสิ่งที่เรา นำาเสนอไปนั้นจะกลายเป็นผลดีต่อองค์กรเอง ทำาให้ ประสิทธิภาพในการทำางานของพนักงานดีขนึ้ หรือหาก อาคารหลังนั้นได้กลายเป็นสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจ มีคนพูดถึง สิ่งนี้ก็เหมือนกับเป็นการประชาสัมพันธ์ โครงการไปในตัวได้อีกเช่นกัน ทุกๆ ความสำาเร็จนัน้ เกิดขึน้ จากหลายภาคส่วน ไม่เพียง แต่เจ้าของโครงการ แต่รวมถึงผูร้ ว่ มงานท่านอืน่ ๆ ด้วย ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรโครงสร้าง อินทีเรีย ซัพพลายเออร์ หรือผู้รับเหมาเองก็ตาม ล้วนมีส่วนทำาให้ง านนั้ น ๆ สำาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ทั้งนี้ในการทำางานเราไม่ได้ ใส่ใจเฉพาะงานประกวดเท่านัน้ แต่งานทุกๆ ชิน้ ที่เรา รับมาออกแบบนั้น เราตั้งใจสร้างสรรค์ทั้งหมดโดย รางวัลเหล่านั้นคือผลที่ตามมาในการทำางานมากกว่า ซึง่ ทัง้ หมดจะย้อนกลับไปถึงคอนเซ็ปต์และกระบวนการ ในการทำางานของเรา ไดอะแกรมทีเ่ ราเขียนขึน้ นัน้ ไม่่ใช่ แค่การจัดสรรพื้นที่ แต่มีความหมายมากกว่านั้นและ ล้วนเป็นประโยชน์สำาหรับลูกค้าและตัวโครงการเอง ไม่ใช่จดุ ประสงค์เพือ่ สร้างความฮือฮาใดๆ ไม่วา่ จะเป็น โครงการใหญ่หลายหมืน่ ตารางเมตร หรือบ้านหลังเล็กๆ เราก็จะยึดหลักเดียวกันนี้ในการทำางานเสมอ”
ทัศนียภาพภายในโครงการ PTTEP-S1
ส่วนเติมเต็มของกันและกันทั้งด้านคู่ชีวิตและการทำางาน ด้วยไลฟ์สไตล์ทเี่ หมือนกันจึงทำาให้ทงั้ คูม่ แี นวคิดและวิธกี ารใช้ชวี ติ ไปใน ทิศทางเดียวกัน ความเห็นต่างทีเ่ กิดขึน้ ในบางครัง้ นัน้ กลับช่วยให้แต่ละคน ต่างเปิดมุมมองของตนเองไปอีกด้านหนึ่ง “หลักการในการบริหารงานคือ เราช่วยกัน ในบางครัง้ อาจมีความขัดแย้ง หรือความเห็นที่ไม่ตรงกันหรือการให้น้ำาหนักความสำาคัญในแต่ละเรื่อง ไม่เท่ากัน ซึง่ สามารถเกิดขึน้ ได้เป็นเรือ่ งธรรมชาติ โดยทีเ่ ราจะมาคุยและ ถกปัญหากันว่าควรจะแก้ไขหรือดำาเนินการไปทิศทางใด แต่โดยส่วนใหญ่ แล้วเราจะมีแนวคิดทีค่ ล้ายคลึงกันและช่วยเติมเต็มซึง่ กันและกันอยูแ่ ล้ว โดยเฉพาะในขัน้ ตอนของการออกแบบ ถึงแม้วา่ ก่อนทีจ่ ะมาเปิดออฟฟิศ ด้วยกันนั้นยังไม่เคยทำางานด้วยกันมาก่อนเลยก็ตาม เมื่อยิ่งทำางาน มาด้วยกันนานๆ ก็ยิ่งเข้าใจกันมากขึ้นและรู้ใจกันว่าใครถนัดส่วนไหน มากกว่า แต่ในส่วนของขั้นตอนหลังการออกแบบก็มีบ้างบางโปรเจคที่ แบ่งกันบริหารจัดการเป็นโครงการไป ในส่วนการบาลานซ์การใช้ชวี ติ และการทำางานรวมทัง้ การหาแรงบันดาลใจ เราคิดว่ามันก็เป็นส่วนหนึง่ ของไลฟ์สไตล์อยูแ่ ล้ว ซึง่ การพักผ่อนหรือการ หาแรงบันดาลใจนัน้ อาจจะเป็นเรือ่ งเดียวกันก็ได้ เช่น การเปิดดูเว็บไซต์ ทีเ่ กีย่ วกับการออกแบบสถาปัตยกรรม ซึง่ เวลาศึกษางานเหล่านีเ้ ราจะลง ลึกถึงรายละเอียดและทีม่ าทีไ่ ป ถึงวิธคี ดิ ของสถาปนิกผูอ้ อกแบบ หรือถ้า มีงานสัมมนาเชิญสถาปนิกต่างชาติมาบรรยายเราก็มกั ไม่พลาดโอกาสที่ ดีเหล่านั้น ซึง่ หลังๆ มีแนวคิดใหม่ๆ ทีน่ า่ สนใจเกิดขึน้ มากมายและมีการ ปรับเปลีย่ นอยูเ่ สมอตามกาลเวลา หรือตามเงือ่ นไขของบริบท โดยในการ ใช้เวลาของเรามักจะแยกกันไม่ออกโดยสิน้ เชิงว่าส่วนไหนคือการพักผ่อน ส่วนไหนคือการทำางาน ทุกๆ อย่างมันหล่อหลอมกลายเป็นส่วนหนึง่ ของ ชีวติ ไปแล้ว ไม่วา่ จะเป็นการไปเทีย่ วพักผ่อนหรือไปทานอาหารตามสถานที่ ต่างๆ เราก็ดูการดีไซน์หรือองค์ประกอบรายละเอียดของสถานที่นั้นๆ ไปด้วย เราเลยไม่รู้สึกว่ามันเป็นงานและไม่รู้สึกว่ามันเป็นเรื่องที่รบกวน เวลาส่วนตัว เราคิดว่าคนที่เป็นนักออกแบบส่วนใหญ่แล้วก็เป็นแบบนี้ เช่นกัน มีการขวนขวายหาความรู้และไอเดียใหม่ๆ อยู่เสมอ
คนอื่นๆอาจจะใช้เวลาพักผ่อนไปกับการเดินห้าง ช้อปปิง้ สำาหรับเราก็เดินห้างช้อปปิง้ เหมือนกัน แต่เรา ดูรายละเอียดการออกแบบและดูงานไปด้วย เชือ่ ว่า คนทีไ่ ด้เจอสิง่ ทีท่ าำ แล้วชอบจริงๆ ถือเป็นความโชคดี เพราะเขาจะไม่เคยรูส้ กึ เลยว่ามันเป็นหน้าที่ เป็นสิง่ ที่ ถูกบังคับให้ตอ้ งทำา เค้าจะมีแรงกระตุน้ และความอยาก ทำางานนัน้ อยูต่ ลอดเวลาและเป็นไปโดยธรรมชาติเอง แต่ในช่วงที่งานเร่งต้องส่งโปรเจคก็อาจจะมีบ้าง ทีต่ อ้ งทำางานหนักกว่าปกติ นัน่ ก็เรือ่ งเป็นธรรมดา ที่ทุกอาชีพก็ต้องอดทนและฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ เช่นกัน แต่ถา้ เรารักในสิง่ ทีท่ าำ จริงๆเราจะไม่รสู้ กึ ว่า ต้องดิ้นรนเลย และผลจากการทำางานนั้นจะเจริญ เติบโตและงอกงามตามมาเอง สำาหรับเรือ่ งการเลีย้ งลูกอันนีต้ อ้ งแบ่งเวลาให้ชดั เจน ตอนที่ลูกยังเล็กๆ ยังไม่มีปัญหามากนักแต่พอ เด็กเริม่ โตขึน้ ก็จะมีคาำ ถามตามประสาเด็กว่าทำาไม ต้องไปดูตึกด้วย ซึ่งเราก็เข้าใจในความเป็นเด็ก ของเขา แต่ทง้ั นีไ้ ลฟ์สไตล์ของเราสองคนก็เริม่ ส่งผล ไปยังลูกเช่นกัน จนถึงวันนี้เค้าก็เริ่มจดจำาคำาพูด ของพ่อแม่ไปใช้บา้ งแล้ว เริม่ บอกได้แล้วว่า ตึกนีด้ ี รายละเอียดตรงนีส้ วย ซึง่ กลายเป็นความสนุกสนาน ของครอบครัวไปแล้ว มุมมองต่อวงการสถาปัตยกรรมในอนาคต วงการสถาปัตยกรรมในอนาคตก็คดิ ว่าน่าจะเป็นไป ในทางทีด่ ขี น้ึ เพราะมีการแลกเปลีย่ นความรู้ เผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ มากขึน้ ต้องขอบคุณหลายๆ สำานักพิมพ์ดว้ ย อย่างเช่น บริษทั ลายเส้น ทีต่ พี มิ พ์ เผยแพร่ผลงาน ความรู้เชิงสถาปัตยกรรมออกมา อย่างมากมายซึง่ ล้วนเป็นประโยชน์ทงั้ สิน้ และช่วง หลังๆ มานี้ อินเตอร์เนตเริม่ เข้ามามีบทบาทสำาคัญ ในชีวติ ประจำาวันซึง่ สามารถอำานวยความสะดวกได้ เยอะขึ้นกว่าก่อนมาก ทำาให้เราสามารถศึกษางาน ของสถาปนิกอีกซีกโลกนึงได้อย่างฉับไว เห็นงาน พร้อมกับคนอื่นๆ ได้เลย ไม่ต้องรออ่านหนังสือ แบบเมื่อก่อนแล้ว แต่ก็ต้องระวังเหมือนกันเพราะ ข้อมูลอะไรทีม่ ากมายและย่อยง่ายขนาดนี้ เราต้อง เลือกรับเฉพาะสิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์จริง อีกประเด็นหนึง่ คือเราจะเห็นได้วา่ สถาปนิกไทยเริม่ มีบทบาทก้าวสู่ ต่างประเทศมากขึ้น ซึ่งก็นับว่าเป็นสัญญาณที่ดี ของวงการเลยทีเดียว”
37
Glasshouse @ Sindhorn
38
ท่ามกลางหลากหลายโครงการทีม่ คี วามน่าสนใจพร้อมรางวัลการันตีมาแล้วมากมายของ OFFICE AT ยังมีอกี โครงการทีม่ คี วามโดดเด่นเป็นอย่างมากในเรือ่ งของโครงสร้าง ซึง่ ก็คอื โครงการ กลาสเฮาส์แอ๊ดสินธร โดยโครงการนี้ได้รับรางวัล The Special Mention Project in Annual Architizer A+Awards : Mixed Use Categories 2016 และ รางวัล สถาปัตยกรรมทีส่ มควรเผยแพร่ ของสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ประเภท อาคารพาณิชยกรรมและอาคารสำานักงาน ประจำาปี พ.ศ. 2559 นี้อีกด้วย “ตึกสินธรตั้งอยู่ในพื้นที่ที่เรียกว่าทำาเลทองของกรุงเทพฯเลยก็ว่าได้ พื้นที่รวมของอาคาร ประมาณ 30,000 ตารางเมตร ซึง่ ปัจจุบนั รูปลักษณ์ภายนอกของตึกสินธรเริม่ ล้าสมัยไปแล้ว หากเพียงแค่ปรับปรุงผนังอาคารก็อาจจะไม่เห็นผลทีช่ ดั เจนมากนัก ด้วยวิสยั ทัศน์อนั กว้างไกล ของเจ้าของโครงการ จึงตัง้ โจทย์ขน้ึ มาว่าถ้าหากสามารถสร้างพืน้ ทีต่ รงนีใ้ ห้เป็นแลนด์มาร์คได้ ก็คงจะดีไม่นอ้ ยและทำาให้พน้ื ทีน่ ก้ี ลับมามีชวี ติ ชีวาอีกครัง้ จึงเป็นทีม่ าของไอเดียในการสร้าง พืน้ ทีส่ ว่ นหน้าโครงการให้เป็นร้านอาหาร fine dining เพิม่ กิจกรรมและการสัญจรขึน้ มา ซึง่ ถ้า มองกันในเรื่องของจำานวนเม็ดเงินที่ลงทุนไปกับการทำาพื้นที่เป็นร้านอาหารนั้นเรียกได้ว่า ไม่มีทางคืนทุนในเร็ววันแน่นอน แต่หากมองในมุมที่ว่าพื้นที่บริเวณนี้จะสามารถเปลี่ยน identity ของตึกสินธรให้เข้ากับยุคสมัยมากขึน้ ได้ ซึง่ จะส่งผลต่อราคาค่าเช่าพืน้ ทีข่ องตึกสินธร ให้สูงขึ้นได้นั้นก็นับว่าคุ้มค่ามากเลยทีเดียว จากมุมมองของระดับสายตาปกติ อาคารที่กำาลังจะเกิดขึ้นใหม่นี้จะมีความสูงประมาณ 15 เมตร ซึ่งจะกลายเป็นหน้าตาของตึกไปโดยปริยาย เพราะฉะนั้นพื้นที่ส่วนนี้ก็จะมี ความสำาคัญมากเลยทีเดียว และมันจะเป็นเพียงแค่ร้านอาหารธรรมดาไม่ได้ ในตอนแรก โปรแกรมการออกแบบคือจัดพืน้ ทีโ่ ดยแบ่งเป็นร้านอาหารจำานวน 4 ร้าน ขนาดพืน้ ทีร่ า้ นละ 200 ตารางเมตร ถ้าเราจัดให้รา้ นติดกันหมดจะส่งผลให้แต่ละร้านมีความได้เปรียบเสียเปรียบ ไม่เท่ากัน ดังนัน้ เราจึงออกแบบให้ทงั้ 4 ร้านแยกออกจากกัน มีทางเข้าและมีผนังด้านข้าง เป็นของตัวเอง โดยเพิม่ ในส่วนของ CIGAR BAR ไว้ตรงกลาง ซึง่ มีพน้ื ทีป่ ระมาณ 50 ตารางเมตร และอีกจุดประสงค์หนึ่งที่แยกออกเป็น 4 ก้อนก็เพื่อให้มุมมองของคนจากหน้าโครงการ นั้นสามารถมองทะลุไปยังตึกสินธรที่อยู่ด้านหลังได้ 39
เมื่ อ แบ่ ง พื้ น ที่ อ อกเป็ น ร้ า นอาหาร 4 ร้ า นแล้ ว หากว่าเราจะทำาเป็นก้อนสีเ่ หลีย่ ม 4 ก้อนวางเรียงกัน มันคงไม่น่าสนใจเท่าไรนัก เราต้องการให้ก้อน ทัง้ หมดนีส้ ามารถเป็นไอคอนทีด่ งึ ดูดสายตาได้ จึง ทำาให้เป็นลักษณะเหมือนก้อนคริสตัล มีรูปทรงที่ น่าสนใจมีเหลีย่ มมุมเหมือนเพชร มีความแตกต่าง และโดดเด่นในตัวเอง โดยผนังทัง้ หมดเป็นกระจกใส และอีกสาเหตุหนึง่ ทีเ่ ลือกใช้กระจกคือเพือ่ ให้ไม่บงั อาคารเดิ ม ด้ ว ย แต่ ใ นสภาพภู มิ อ ากาศของ ประเทศไทยถ้าเราเอาก้อนกระจกเหล่านี้มาวางไว้ เฉยๆ มันคงจะไม่เหมาะสมอย่างยิ่ง วิธีแก้ปัญหา นี้คือ เราก็กลับมามองถึงอัตลักษณ์หรือความ โดดเด่นของถนนวิทยุนั่นก็คือ ต้นไม้ ซึ่งแทบจะ เป็นถนนสายเดียวในกรุงเทพฯเลยที่มีต้นไม้ใหญ่ และร่มรื่นมาก ดังนั้นถ้าเราทำาให้เกิดบรรยากาศ เหมือนนั่งทานข้าวใต้ต้นไม้ก็น่าจะดี จึงเป็นที่มา ของตัวหลังคาด้านบนทีม่ ลี กั ษณะหรือองค์ประกอบ ทีค่ ล้ายต้นไม้ ให้ความรูส้ กึ ร่มรืน่ สร้างร่มเงาทำาหน้าที่ บังแดดโดยที่ไม่รู้สึกว่าเป็นหลังคา โดยมีหลังคา กระจกด้านล่างทำาหน้าที่กันฝน และหากเราลองพิจารณาในเรื่องของสัดส่วนหรือ สเกลทีท่ าำ ให้เกิดความรูส้ กึ ว่าเรานัง่ อยูใ่ ต้ตน้ ไม้ใหญ่ การจะออกแบบโดยให้ มี เ สาเยอะๆมั น จะไม่ สามารถตอบโจทย์ในส่วนนัน้ ได้ เพราะโดยปกติแล้ว ต้นไม้ใหญ่ก็ต้องมีการแผ่กิ่งก้านสาขา ด้วยพื้นที่ ทั้งหมดนั้นมีความยาว 90 เมตร จึงออกแบบให้ มีเสาแค่เพียง 3 ต้น สแปน 25 เมตร หลังคาและ โครงสร้างยืน่ ยาว (cantileve) ออกจากเสาอีกข้างละ 20 เมตร ซึ่งจะคลุมทั้ง 4 ก้อนนี้ได้พอดี เพราะถ้า หากมีเสาถีก่ ว่านีก้ จ็ ะไม่ให้ความรูส้ กึ เหมือนนัง่ ใต้ ต้นไม้ใหญ่ และมันอาจจะไปทำาให้ความสวยงาม ของก้อนคริสตัลลดลงอีกด้วย ทางเราก็มกี ารปรึกษากับวิศวกรโครงสร้างด้วยถึง ความเป็นไปได้ตง้ั แต่เริม่ ออกแบบ ซึง่ เป็นวิศวกรทีม่ ี ประสบการณ์สูงและทำางานด้วยกันมานานได้ช่วย ออกแบบโครงสร้างในส่วนนีด้ ว้ ย การทำาโครงสร้าง ยืน่ ออกมาจากเสายาวถึง 20 เมตรนีเ้ ป็นเรือ่ งค่อนข้าง ท้าทายพอสมควรในเชิงวิศวกรรม
40
นอกจากนีข้ อ้ จำากัดทีส่ าำ คัญอีกอย่างหนึง่ คือ บริเวณ พืน้ ทีเ่ ดิมนัน้ มีตน้ ไม้ใหญ่อยูซ่ งึ่ ถ้าเราทำาโครงสร้าง ธรรมดา คานจะพาดไปโดนต้นไม้พอดีดังนั้นเพื่อ เก็บรักษาไว้ทั้งต้นไม้และโครงสร้างที่เราต้องการ จึ ง มี ก ารพลิ ก แพลงหาทางออก โดยเลื อ กใช้ โครงสร้างเหล็กนำามาประกอบกันเป็นหน้าตัดต่างๆ ซึ่งมีขนาดใหญ่เป็นพิเศษ โดยโครงสร้างหลักได้ วางทแยงเป็นรูปกากบาท เพื่อช่วยรับแรงบิดของ โครงสร้างและเพือ่ หลบต้นไม้ใหญ่ทเ่ี ราตัง้ ใจเก็บรักษา เอาไว้ด้วย และเพื่อให้รูปลักษ์ดูเป็นกิ่งก้านสาขาของต้นไม้ เราจึงทำาระแนงเหล็กหรือเหล็กประดับทีม่ รี ปู ลักษณ์ เหมือนกิ่งไม้ห้อยไว้กับตัวโครงสร้างหลังคาด้วย ซึง่ มันก็กลับไปตอบโจทย์ในด้านวิศวกรรมในแง่ของ การถ่วงน้าำ หนักด้วย โดยปกติการยืน่ ยาวลักษณะนี้ นอกจากเรือ่ งของการรับน้าำ หนักแล้ว ยังมีเรือ่ งของ แรงลมทีม่ ากระทำาจากด้านล่างของหลังคาอีกด้วย ในสภาพอากาศปกติอาจจะไม่เป็นปัญหา แต่หาก มีพายุฝนมา มันจะทำาให้ตวั หลังคากระพือหรือเกิด อุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดได้ โดยเหล็กที่มาประดับใน ส่วนนีจ้ ะช่วยเพิม่ น้าำ หนักให้กบั หลังคาเพือ่ ป้องกัน การกระพือเมื่อเจอแรงลมได้
41
ในส่วนของเหล็กประดับ เนื่องจากแต่ละชิ้นจะมีรูปฟอร์มเฉพาะตัว ดังนัน้ การตัดเหล็กแบบแฮนด์เมดตามปกตินนั้ จะเป็นไปได้ยากมาก จึงต้องใช้เครือ่ ง CNC เท่านัน้ ซึง่ ค่าตัดจะแพงมากโดยราคาค่าแรง จะคิดเป็นรายชั่วโมง วิธีประหยัดคือเราต้องจัดเรียงชิ้นงานด้วย โปรแกรม Auto Cad ไปให้ทางช่างตัดตามแบบ โดยเราก็จะคำานวณ ว่าทำาอย่างไรให้ประหยัดทีส่ ดุ เพือ่ ให้สามารถประหยัดทัง้ เหล็กและระยะ เวลาในการตัดชิน้ งานไปพร้อมกัน ซึง่ ผลสุดท้ายทีอ่ อกมาก็นา่ ประทับใจ เป็นอย่างมาก ทัง้ นีท้ างโครงการก็มที มี วิศวกรมาร่วมออกความเห็น และช่วยเหลืองานในส่วนนีด้ ว้ ยเช่นกัน ในขัน้ ตอนสุดท้ายแม้วา่ จะมีการ ปรับแบบให้หลังคาจะอยู่ในระดับที่สูงกว่าต้นไม้แล้ว แต่เราก็ยังคง คอนเซ็ปต์ในการออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรมไว้เช่นเดิมเพราะ โครงสร้างลักษณะนีจ้ ะช่วยเป็น bracing ไปในตัว ถ้าไม่มเี ราก็ตอ้ งไป หางทางเพิ่มด้วยวิธีอื่นอีกอยู่ดี โครงสร้างของก้อนคริสตัลก็เป็นโครงสร้างเหล็กเช่นกันและก็ไม่ใช่ เรือ่ งง่ายเนือ่ งจากผนังมีความเอียง เสาก็จะเอียงไปตามองศาของกระจก เพือ่ ให้สเปซด้านในมีมติ แิ ละเพือ่ การใช้พน้ื ทีใ่ ห้เกิดประโยชน์มากทีส่ ดุ ทัง้ นีต้ อ้ งยกความดีความชอบให้กบั ผูร้ บั เหมาของโครงการนีด้ ว้ ยเช่นกัน ซึ่งก็คือ ไทย โอบายาชิ ที่ทำาออกมาได้ดีพอสมควรเลยทีเดียว ส่วน เฟรมอะลูมเิ นียมเองก็มกี ารเสริมเหล็กด้านในเพือ่ เพิม่ ความแข็งแรง อีกด้วย สำาหรับขั้นตอนการก่อสร้าง เนื่องจากเป็นโครงสร้างเหล็ก 42
ทางโอบายาชิได้ทำามอคอัพเพื่อทดสอบการใช้งานจริงก่อน โดยมี การเทสต์และคำานวณค่าความแข็งแรงต่างๆแล้วจึงถอดประกอบตัว โครงสร้างนี้ย้ายมาติดตั้งที่ไซต์งาน ในส่วนของผนังนัน้ เนือ่ งจากเราต้องการใช้กระจกทีข่ นาดใหญ่ทสี่ ดุ คือขนาด 1.2 เมตร x 2.4 เมตร ซึ่งมักจะมีการ buckling เกิดขึ้น ทางวิศวกรเองก็ตอ้ งคำานวณว่าตรงไหนต้องเสริมซับเฟรมเป็นอย่าง ดีด้วย และต้องมีการเทสต์ค่าการรับแรงต่างๆ เช่นกัน โดยผนัง กระจกด้านข้างใช้เป็น Heat strenght ทัง้ หมด ในส่วนของหลังคาจะใช้ กระจก Ceramic frit เพื่อช่วยกันความร้อน และเนื่องจากมันเป็น ลายจุดจึงช่วยพรางตาบังฝุ่นที่มาเกาะได้อีกด้วย ในการออกแบบ ขัน้ ต้น ความตัง้ ใจเดิมคืออยากให้เป็นก้อนกระจกใสทัง้ หมด แต่มนั ก็ เลี่ยงไม่ได้ที่จะมีส่วนทึบที่เป็นงานระบบ ครัว ห้องน้าำ เพราะพื้นที่ ขนาด 200 ตารางเมตรนัน้ ไม่ได้กว้างขวางมาก ถ้าจัดให้สว่ นเซอร์วสิ อยูต่ รงกลางจะทำาให้พนื้ ทีท่ เี่ ป็นส่วนรับประทานอาหารนัน้ เหลือน้อย เกินไปเพราะต้องกลายเป็นทางเดินเสียส่วนใหญ่ พืน้ ทีร่ ะหว่างร้านเรา ก็จัดให้เป็น terrace มีพื้นที่นั่งภายนอกได้เกิดเป็นกิจกรรม มีผู้คน มาใช้งาน นัง่ ทานอาหาร พักผ่อน เป็นจุดนัดพบ และเป็นแลนด์มาร์ค ที่สำาคัญของถนนสาธร ตามเจตนารมณ์ท่ีได้ต้ังไว้ในตอนแรกของ เจ้าของโครงการครับ”
ชื่อโครงการ: ที่ตั้งโครงการ: เจ้าของโครงการ: พื้นที่ใช้สอย: ปีที่เริ่มออกแบบ: ปีที่ก่อสร้างเสร็จ: ทีมงานผู้ออกแบบ:
วิศวกรโครงสร้าง: วิศวกรงานระบบ: ผู้รับเหมา: ช่างภาพ:
Glasshouse at Sindhorn ถนนวิทยุ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ บริษัท สยามสินธร 1,650 ตารางเมตร 2014 2015 บริษัท ออฟฟิศ เอที จำากัด คุณสุรชัย เอกภพโยธิน, คุณจุฑาทิพย์ เตชะจำาเริญ, คุณนัทธี อนุโยธา, คุณชลธี มะยุระรักษ์ คุณสราวุธ ย่วนเต็ง บริษัท มิตรเทคนิคัลคอนซัลแท้นท์ จำากัด Thai Obayashi Corp.,Ltd. W workspace
43
โครงสร้างเหล็กในงาน GLASSHOUSE @ SINDHORN ดังที่เกริ่นไว้แล้วในตอนต้นคืออาคารหลังนี้มีความโดดเด่นเป็น พิเศษในเรื่องของโครงสร้าง ซึ่งมีการผสมผสานที่ลงตัวทั้งในด้าน วิศวกรรม สถาปัตยกรรม และการตกแต่งได้อย่างปราณีตและลงตัว เป็นอย่างมาก ด้วยเหตุผลทีต่ อ้ งการคงคอนเซ็ปต์เรือ่ งอัตลักษณ์ของ ถนนสีลมคือเป็นถนนทีร่ ม่ รืน่ มีตน้ ไม้ ใหญ่มากมาย โดยการดีไซน์พน้ื ที่ บริเวณนีใ้ ห้ผคู้ นทีม่ าเยีย่ มเยือนมีความรูส้ กึ เสมือนนัง่ รับประทานอาหาร อยูใ่ ต้ตน้ ไม้ ใหญ่ ด้วยพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามยาวถึง 90 เมตร กว้างเกือบ 20 เมตร แต่มเี สาเหล็กขนาด 400 x 1,000 มิลลิเมตร หนา 16 มิลลิเมตร (SB-11) แค่เพียง 3 ต้นเท่านั้น โดยมีช่วงเสา (span) กว้าง 25 เมตร 2 ช่วง และมีการยืน่ ยาวเป็นพิเศษ (Cantilever) ทัง้ 2 ข้าง อีกถึงข้างละ 20 เมตร ด้วยความยาวของหลังคาที่มากเป็นพิเศษนี้ผู้ออกแบบจึงเลือกใช้ โครงสร้างเหล็กวางทแยงเป็นรูปกากบาทหรือตัว X ซึ่งเป็นเหล็ก ขนาด 350 x 800 มิลลิเมตร หนา 16 มิลลิเมตร (SB-6) วางเป็นคานหลัก เพือ่ ช่วยรับน้�ำ หนักทัง้ หมดของโครงหลังคา ในขณะเดียวกันก็สามารถ รับแรงบิดของโครงสร้างได้ดว้ ยและอีกสาเหตุหนึง่ คือเพือ่ ให้คานหลัก หลบต้นไม้ใหญ่เดิมในพื้นที่ได้ โดยจุดที่เชื่อมต่อกับเสานั้น ได้มีการ ออกแบบให้ใช้โครงเหล็กเชือ่ มต่อจากเสาแล้วเอียงออกมารับน้�ำ หนัก จากคานตัว X โดยมีรปู ทรงทีเ่ รียวเล็กลงในส่วนปลาย ทำ�ให้มลี กั ษณะ เหมือนต้นไม้ทแ่ี ผ่กง่ิ ก้านสาขาออกมาจากลำ�ต้น โดยเหล็กชิน้ ดังกล่าว มีขนาด 350-400 มิลลิเมตร x 400-800 มิลลิเมตร หนา 16 มิลลิเมตร (SB-10)
44
รายละเอียดรอยเชื่อม ใช้รอยเชื่อมเป็นแบบการเชื่อมรอบทั้งหมด - ขนาดเหล็ก หรือ Plate หนา < 6 มม. ใช้รอยเชือ่ มเท่ากับขนาดเหล็ก หรือความหนา Plate - ขนาดเหล็ก หรือ Plate หนา 6 < T < 9 มม. ใช้รอยเชื่อม 6 มม. - ขนาดเหล็ก หรือ Plate หนา > 9 มม. ใช้รอยเชือ่ มเท่ากับขนาดเหล็ก หรือความหนา Plate -2 มม.
รูปตัด R2
รูปตัด R3
ในส่วนของด้านกว้างนั้นมีเหล็กคาดเสริมการรับแรง จำ�นวน 19 ชิน้ วางเฉลีย่ ตลอดระยะความยาว 90 เมตร ซึ่งเหล็กในส่วนนี้ใช้คอนเซ็ปต์เดียวกับเหล็กในจุด เชื่อมต่อระหว่างเสากับคาน นั่นก็คือทำ�ให้ส่วนปลาย เรียวเล็กลงเปรียบเสมือนกิ่งของต้นไม้ โดยเหล็กมี ขนาด 350 x 700 มิลลิเมตร หนา 16 มิลลิเมตร ในส่วน ที่ติดกับคานหลัก และเรียวลงเหลือ 350 x 400 มิลลิเมตร หนา 16 มิลลิเมตร (SB-8) ในส่วนปลาย ด้านนอก ซึ่งด้านนอกของตัวเหล็กคาดเสริมแรงปิด ด้วยเหล็กขนาด 200 x 500 มิลลิเมตร หนา 9 มิลลิเมตร (SB-4) นอกจากทำ�หน้าที่เก็บความเรียบร้อยแล้วยัง ช่วยทำ�ให้โครงทั้งหมดแข็งแรง (rigid) ขึ้นด้วย
45
นอกจากโครงสร้างทีต่ อบโจทย์ทางวิศวกรรมแล้ว ในส่วนของระแนง หรือเหล็กประดับนัน้ ก็เป็นส่วนทีส่ ร้างจุดเด่นให้กบั โครงการอย่างมาก ด้วยการใช้ระแนงเหล็กขนาด 10 x 20 เซนติเมตร หนา 3.2 มิลลิเมตร พ่ น สี อุ ต สาหกรรมสี ข าว นำ า มาจั ด วางให้ มี ร ะดั บ ที่ แ ตกต่ า งกั น ตลอดแนวอาคาร จำานวน 31 แถว เพื่อสร้างความรู้สึกเคลื่อนไหว (Movement) เชื่อมติดกับโครงสร้างเหล็กด้านบนด้วยเหล็กกลม สร้างสรรค์เป็นบรรยากาศประหนึง่ ราวกับนัง่ อยูใ่ ต้รม่ ไม้ และระแนง เหล็กเหล่านีย้ งั ช่วยถ่วงน้าำ หนักในการต้านแรงลมทีพ่ ดั จากด้านล่าง ป้องกันการกระพือให้กับโครงสร้างหลังคาอีกด้วย
46
หลังคาด้านบนเป็น Metal Sheet วางบนแปเหล็ก รูปตัวซี โดยทำารางน้าำ ไว้ตรงกลาง และยกหลังคาเหล็ก บริ เ วณด้ า นข้ า งให้ สู ง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ยให้ มี ลั ก ษณะ เหมื อ นหลั ง คาปี ก ผี เ สื้ อ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ในเวลาที่ ฝ น ตกหนัก น้ำาฝนจะได้ไม่ไหลตกลงมามากเกินไปที่ บริเวณชายคา ซึ่งอาจทำาให้ไม่สวยงามและสร้าง ความไม่สะดวกให้กบั ผูท้ ม่ี าใช้งานในอาคารได้
นอกจากโครงสร้างทีต่ อบโจทย์ทางวิศวกรรมแล้ว ในส่วนของระแนง หรือเหล็กประดับนัน้ ก็เป็นส่วนทีส่ ร้างจุดเด่นให้กบั โครงการอย่างมาก ด้วยการใช้ระแนงเหล็กขนาด 10 x 20 เซนติเมตร หนา 3.2 มิลลิเมตร พ่ น สี อุ ต สาหกรรมสี ข าว นำ � มาจั ด วางให้ มี ร ะดั บ ที่ แ ตกต่ า งกั น ตลอดแนวอาคาร จำ�นวน 31 แถว เพื่อสร้างความรู้สึกเคลื่อนไหว (Movement) เชื่อมติดกับโครงสร้างเหล็กด้านบนด้วยเหล็กกลม สร้างสรรค์เป็นบรรยากาศประหนึง่ ราวกับนัง่ อยูใ่ ต้รม่ ไม้ และระแนง เหล็กเหล่านีย้ งั ช่วยถ่วงน้�ำ หนักในการต้านแรงลมทีพ่ ดั จากด้านล่าง ป้องกันการกระพือให้กับโครงสร้างหลังคาอีกด้วย
46
หลังคาด้านบนเป็น Metal Sheet วางบนแปเหล็ก รูปตัวซี โดยทำ�รางน้�ำ ไว้ตรงกลาง และยกหลังคาเหล็ก บริ เ วณด้ า นข้ า งให้ สู ง ขึ้ น เล็ ก น้ อ ยให้ มี ลั ก ษณะ เหมื อ นหลั ง คาปี ก ผี เ สื้ อ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ในเวลาที่ ฝ น ตกหนัก น้ำ�ฝนจะได้ไม่ไหลตกลงมามากเกินไปที่ บริเวณชายคา ซึ่งอาจทำ�ให้ไม่สวยงามและสร้าง ความไม่สะดวกให้กบั ผูท้ ม่ี าใช้งานในอาคารได้
COVER STORY
เรื่อง: ณัชชา นันทกาญจน์ ภาพ: กัณฑ์ตนนท์ สุรัชต์วิรากูล
‘stu/D/O’ สูก่ ารสร้างสรรค์อย่างยัง่ ยืน สถาปัตยกรรมเป็นสิ่งที่สนุกและก็เป็นความยากเช่นเดียวกัน ดังนั้นการเป็น สถาปนิกจึงไม่ ใช่เรื่องง่ายๆ เพราะต้องอุทิศตนเองเป็นอย่างมาก ทั้งยังต้อง เรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ แต่คนทีค่ น้ พบตัวเองและได้มโี อกาสทำ�ในสิง่ ที่ ตัวเองรักย่อมทำ�ได้ดี เช่นเดียวกับสองสถาปนิกรุน่ ใหม่ จาก stu/D/O architects ที่มีจุดมุ่งหมาย ความเชื่อ และแนวคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมอย่าง ยั่งยืน เพื่องานสถาปัตยกรรมอันมีคุณค่า บริษทั สตูดโิ อ อาร์คเิ ทคส์ จำ�กัด หรือ stu/D/O architects เริม่ ต้นจากการรวมตัวกันของเพือ่ นสองคน อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ (โอ๋ - Oh) และ ชนาสิต ชลศึกษ์ (ดิว - Dew) ซึง่ ทัง้ คูเ่ คยเป็นเพือ่ นร่วมงานกัน มาก่อน ก่อนทีจ่ ะแยกย้ายกันไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโท นัน่ จึงทำ�ให้ทงั้ คูร่ จู้ กั และคุน้ เคยถึงแนวทาง ในการทำ�งานของแต่ละคนเป็นอย่างดี อีกทัง้ สองคนนีย้ งั มีแนวคิด ความเชือ่ และจุดมุง่ หมายในการทำ�งาน สถาปัตยกรรมในทิศทางเดียวกันด้วย ดังนัน้ เมือ่ โอกาสมาถึงทัง้ สองคนจึงร่วมกันก่อตัง้ บริษัทแห่งนี้ขึ้น ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นจุดร่วมในการสร้างสรรค์ผลงานสถาปัตยกรรมของคนทั้งคู่ได้อย่างลงตัว “เราทั้งคู่มีโอกาสทำ�งานร่วมกันมาก่อนหน้านี้ ตัง้ แต่สมัยทำ�งานในบริษทั แห่งหนึง่ ทำ�ให้ทราบถึงแนวคิด และจุดมุง่ หมายในการออกแบบงานสถาปัตยกรรมของแต่ละคนเป็นอย่างดี ซึ่งเราทั้งคู่มีความเชื่อและ แนวคิดของการออกแบบในทิศทางเดียวกัน จึงอยากทีจ่ ะเปิดบริษทั ร่วมกันขึน้ มา เพือ่ ทำ�งานออกแบบที่ เป็นแนวทางของตัวเองดู ซึง่ จะต้องเป็นสถาปัตยกรรมทีเ่ ราเชือ่ มัน่ ว่าดีทสี่ ดุ ในมุมมองของเรา แต่ทงั้ คูก่ ็ แยกย้ายไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโทกันก่อน โดยผมไปศึกษาต่อทางด้าน Sustainable Design ที่ AA (The Architectural Association School of Architecture) ประเทศอังกฤษ ส่วนคุณโอ๋ไปศึกษาต่อ ทางด้าน Architecture and Urbanism ที่ MIT (Massachusetts Institute of Technology) ประเทศ สหรัฐอเมริกา พอเมือ่ ศึกษาจบกลับมาเมืองไทย จึงได้รว่ มกันเปิดสตูดโิ อ อาร์คเิ ทคส์ ขึน้ ตามทีไ่ ด้ฝนั เอาไว้” ซึ่งชื่อ stu/D/O นั้นมีอัตลักษณ์เป็นที่น่าจดจำ� ทั้งยังมีที่มาที่ไปและสื่อความหมายที่ดี เพราะเป็นการ เล่นคำ�จากการนำ�อักษรภาษาอังกฤษที่เป็นชื่อเล่นของทั้งคู่มาผสมเข้าด้วยกัน คือ D จาก Dew และ O จาก Oh ซึง่ ไปพ้องเสียงตรงกับคำ�ภาษาอังกฤษว่า ‘Studio’ อันหมายถึงห้องทำ�งานของศิลปินพอดี และ ด้วยรูปแบบการทำ�งานของบริษัทที่มีลักษณะคล้ายกับสตูดิโอ ซึ่งเป็นห้องโล่งแบบ Open-plan ที่เน้น การ Brainstorm หาไอเดียร่วมกันอยู่เสมอ ชื่อนี้จึงเป็นการสื่อถึงทั้งคาแรกเตอร์ของบริษัทและชื่อของ ทั้งคู่ไปพร้อมๆ กัน
48
49
สถาปั ต ยกรรมเป็ น สิ่ ง ที่ ส นุ ก และเป็ น ความยากด้ ว ยเช่ น กั น สถาปัตยกรรมที่ดีสามารถเปลีย่ น ชีวติ ของคนได้ เราจึงไม่ได้ออกแบบ แค่อาคารแต่เป็นการออกแบบชีวติ ให้กับผู้ใช้สอยอาคารอีกด้วย จุดร่วมของการสร้างสรรค์ รูปแบบของการทำ�งานของ stu/D/O เกิดจากการร่วมมือกันของ คนทั้งคู่ ที่ได้ประยุกต์องค์ความรู้ของแต่ละคนเข้าไว้ในผลงานการ ออกแบบอย่างลงตัว ทั้งด้าน Urban Design และ Sustainable Design ด้วยการทำ�งานทีม่ จี ดุ มุง่ หมายในแนวทางเดียวกัน ทัง้ ความ สนใจในเรือ่ งของการใช้พน้ื ที่ การออกแบบอย่างมีเหตุมผี ลทีต่ อบสนอง ต่อการใช้งานจริง ไม่ใช่เพียงแค่ความสวยงาม รวมไปถึงองค์ประกอบ ทางสถาปัตยกรรมอื่นๆ ซึ่งทั้งคู่ได้แสดงผ่านผลงานการออกแบบ สถาปัตยกรรมได้อย่างสร้างสรรค์ “หลักในการทำ�งานออกแบบของเราสองคนมีความคล้ายคลึงกันอยู่ เรามีความสนใจในเรือ่ งทีค่ ล้ายกัน อย่างเช่น เรือ่ งของพืน้ ที่ (Space) การดีไซน์ทตี่ อบสนองการใช้งานอย่างแท้จริง (Function) หรือการนำ� ธรรมชาติ (Environment) เข้ามาใส่ในการออกแบบพื้นที่ใช้สอย เป็นต้น แต่รายละเอียดและองค์ประกอบปลีกย่อยในการออกแบบของ แต่ละคนย่อมต่างกัน ซึ่งเราทั้งคู่ต่างไม่มีแนวทางที่เป็นรูปแบบ ตายตัว เพราะในการทำ�งานออกแบบแต่ละโครงการก็จะมีการปรับไป ตามบริบท หรือความต้องการของเจ้าของโครงการ และลักษณะการ ใช้สอยโครงการนั้นๆ ขึ้นกับว่าโครงการไหนเหมาะสมกับแนวทาง การทำ�งานแบบไหนมากกว่ากัน เราจะไม่ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เพราะการวิเคราะห์โครงการและการตีโจทย์ของแต่ละโครงการจะเป็น ตัวกำ�หนดความเหมาะสมที่แตกต่างกันออกมาเอง แต่สง่ิ หนึง่ ทีเ่ รายึดเป็นหลักในการทำ�งานตัง้ แต่ตน้ คือในการออกแบบ ทุกๆ โครงการ เราจะเน้นให้แต่ละโครงการมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว และเป็นผลงานการออกแบบคุณภาพทีผ่ า่ นกระบวนการคิดและหลักการ ออกแบบอย่างมีเหตุมีผล และที่สำ�คัญคือการสร้างสถาปัตยกรรม ที่ดีมีคุณค่า เพราะสถาปัตยกรรมที่ดีสามารถเปลี่ยนชีวิตของคนได้ เมื่อเจ้าของโครงการพึงพอใจ ทุกคนที่ใช้สอยอาคารนั้นมีความสุข ย่อมมีผลต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาเหล่านั้น นั่นจึงเหมือนกับว่า เราไม่ได้ออกแบบแค่อาคารแต่เป็นการออกแบบชีวิตให้กับผู้ใช้สอย อาคารอีกด้วย ซึง่ ถือเป็นความภูมใิ จของเราและรูส้ กึ ดีทไ่ี ด้ผลิตผลงาน สถาปัตยกรรมนั้นออกมา
50
หากมองถึงการออกแบบทีเ่ ป็นอัตลักษณ์ของเราทีส่ ร้างความโดดเด่นนัน้ ผมมองว่าน่าจะเป็นทีค่ วามสมดุลระหว่างปัจจัยต่างๆ ในการออกแบบ โครงการ โดยสถาปนิกแต่ละคนจะมีการให้น้ำ�หนักไปที่แต่ละปัจจัย ไม่เท่ากัน ผลงานของเราอาจเน้นไปทางด้านแนวคิดและการออกแบบ ทีย่ ง่ั ยืน (Sustainability) เยอะหน่อย ซึง่ อาจจะสือ่ ออกมาผ่านทาง สถาปัตยกรรมให้เห็นได้ชดั เจน จนเป็นเหมือนกับลายมือของเราบน สถาปัตยกรรมนัน้ ก็วา่ ได้” เรียนรู้จากประสบการณ์ สู่แนวคิดในการทำ�งาน จากประสบการณ์ทเี่ ก็บเกีย่ วระหว่างการทำ�งานทีผ่ า่ นมาหรือจากการ ศึกษาต่อในระดับปริญญาโทได้เปิดวิสยั ทัศน์และสร้างแรงบันดาลใจ ให้กบั ทัง้ สองคนในการสร้างสรรค์ผลงานและการบริหารองค์กรอีกด้วย “ในการจัดตั้งบริษัท เราสองคนเริ่มต้นลองผิดลองถูกมาเรื่อย และ ได้ใช้ประสบการณ์จากการทำ�งานที่ผ่านมาในบริษัทออกแบบอื่นมา ประยุกต์ใช้ตามแบบของเรา เช่น ‘การให้ความสำ�คัญกับทีมงาน’ ด้วยการยอมรับในไอเดียสร้างสรรค์ของน้องๆ ในทีม เมือ่ มีการระดม ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งจะทำ�ให้ได้ไอเดียใหม่ๆ อยู่เสมอ ให้โอกาส ไอเดียนัน้ เป็นหนึง่ องค์ประกอบสำ�คัญสำ�หรับผลงานออกแบบของบริษทั แต่ทง้ั นีใ้ นการรับทีมงานเข้ามาร่วมงานกัน เราจะถือว่าพวกเขาเหล่านัน้ ก็จะต้องมาเติมเต็มสำ�นักงานออกแบบแห่งนีด้ ว้ ยเช่นกัน และอีกปัจจัย ทีพ่ วกเรานำ�มาประยุกต์กบั การสร้างองค์กรคือ ‘การสร้างบรรยากาศ ในที่ทำ�งาน’ เพราะพวกผมเชื่อว่าการได้ทำ�งานในสถานที่ที่สบายๆ รีแลกซ์ ทุกคนมีความรู้สึกสนุกสนานกับการทำ�งาน ย่อมทำ�ให้เกิด การสร้างสรรค์ผลงานออกแบบทีด่ ขี น้ึ ได้ ซึง่ ปัจจัยเหล่านีล้ ว้ นตอบโจทย์ แนวคิดการเป็น stu/D/O ในแบบของเรา และจากการทีไ่ ด้บริหารจัดการองค์กรของเรามาระยะหนึง่ แล้ว ทำ�ให้ พบว่าการทำ�งานร่วมกันของสองคนเป็นการบาลานซ์ซึ่งกันและกัน เราทำ�งานแบบเป็นทีมเวิรค์ ทัง้ ในแง่การดีไซน์และการบริหาร ซึง่ ทำ�ให้ เราทัง้ คูต่ า่ งก็เสริมในส่วนทีข่ าดของอีกฝ่ายได้ดี อย่างเช่น ผมอาจจะ
ถนัดในส่วนของงานบริหารมากกว่า จึงรับผิดชอบงานทางด้าน บริหารสัก 70% และรับผิดชอบงานทางด้านดีไซน์สกั 30% ส่วนคุณดิว ทีม่ สี มองปลอดโปร่ง สามารถคิดงานสร้างสรรค์ได้มากกว่า ก็รบั ผิดชอบ งานดีไซน์ไป 70% และดูงานบริหารน้อยหน่อย ซึง่ ถือเป็นการทำ�งาน แบบเข้าใจและช่วยเหลือซึง่ กันและกัน นอกจากในการบริหารงานแล้ว เราทั้งคู่ยังบาลานซ์กันทางด้านบุคลิกภาพด้วย เนื่องจากผมจะมี บุคลิกทีด่ เู ป็นงานเป็นการมากกว่า มีแนวคิดบนพืน้ ฐานความเป็นจริง ส่วนคุณดิวก็จะมีบคุ ลิกทีส่ บายๆ เน้นดีไซน์เป็นหลัก เมือ่ มาประสานกัน จึงทำ�ให้เกิดความลงตัว ทั้งในแง่การสร้างสรรค์ผลงานที่มีดีไซน์ แต่อยู่บนพื้นฐานการก่อสร้างที่เป็นไปได้จริง และในแง่การบริหาร องค์กรทีเ่ ป็นทางการ แต่ยงั คงความเป็นแหล่งสร้างสรรค์ไอเดียแบบ สบายๆ เอาไว้อีกด้วย” มุมมอง สืบสาน วงการสถาปัตยกรรมไทย ด้วยผลงานทีผ่ า่ นมาของ stu/D/O ได้รบั เสียงชืน่ ชมและการกล่าวถึง ในวงกว้าง เนือ่ งจากมีความโดดเด่นทีแ่ ฝงอัตลักษณ์เฉพาะตัว อีกทัง้ ยังการันตีดว้ ยรางวัลการออกแบบจากหลายแห่ง ซึง่ ทัง้ สองคนถือเป็น สถาปนิกรุ่นใหม่ที่ได้สร้างเส้นทางของตนเอง และก้าวขึ้นมาประดับ วงการสถาปัตยกรรมไทยอย่างมีคุณภาพ “สถาปนิกไทยทีเ่ ก่งๆ มีอยูม่ าก แต่สง่ิ ทีว่ ชิ าชีพเราต้องเจอคือ ข้อจำ�กัด ทางด้านวิชาชีพที่ลูกค้าหรือคนทั่วไปมีต่อสถาปนิก ซึ่งพวกเขามัก ขาดความเข้าใจในวิชาชีพสถาปนิก แม้วา่ สถาปนิกรุน่ ใหญ่ๆ เองต่างก็ พยายามพัฒนาและส่งเสริมวิชาชีพสถาปนิกกันมาโดยตลอด แต่กย็ งั ไม่เพียงพอ ผมอยากให้คนทัว่ ไปเห็นความสำ�คัญในวิชาชีพเรามากขึน้ และทีส่ �ำ คัญอยากให้ผลงานของสถาปนิกไทยก้าวสูเ่ วทีระดับโลกมากขึน้ เป็นทีย่ อมรับในวงกว้างมากขึน้ อยากจะเห็นนักท่องเทีย่ วต่างชาติมา เทีย่ วชมสถาปัตยกรรม ตึกรามบ้านช่องของเราบ้าง เหมือนกับทีเ่ รา ไปเที่ยวชมตึกในบ้านเมืองเขา ซึ่งนั่นต้องอาศัยสถาปนิกผู้ออกแบบ
ดังนัน้ อย่างน้อยในส่วนของเราจึงพยายามเผยแพร่ผลงานการออกแบบ ของเราไปสู่ต่างประเทศให้มากขึ้น พัฒนาและสร้างสรรค์ผลงานที่ มีคุณภาพในระดับมาตรฐานสากล ไม่ดูถูกวิชาชีพตนเองโดยการ คิดค่าบริการออกแบบที่ถูก จนเกิดการเข้าใจคลาดเคลื่อนต่องาน บริการวิชาชีพของเรา แต่ในอนาคตเราทั้งสองคนเชื่อว่าสถาปัตยกรรมย่อมจะพัฒนาขึ้น อีกมาก เพราะเมื่อมีการเปิดการค้าเสรี FTA และการเปิดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน AEC ย่อมตามมาด้วยการแข่งขันที่สูงขึ้น สถาปนิ ก ไทยก็ ต้ อ งพั ฒ นาตั วเองขึ้ นตามไป เพื่อให้ผ ลงานการ ออกแบบของเรานัน้ สูก้ บั ต่างชาติได้ โดยในส่วนของเราก็เน้นพัฒนา และสร้างสรรค์การออกแบบผลงานที่มีคุณภาพออกมา แม้ไม่ใช่ การนำ�นวัตกรรมใหม่ๆ มาประยุกต์ใช้ในผลงานการออกแบบ เพราะ เราอาจจะยังไม่พร้อมขนาดนั้นเพราะในเมืองไทยเรายังก้าวข้ามไป ไม่ถึงการคิดค้นวัสดุใหม่ๆ และนำ�มาใช้ออกแบบอาคารทั้งหลังได้ อย่างเช่นที่ทำ�กันในต่างประเทศ แต่สิ่งที่เราทำ�ได้คือการนำ�วัสดุ ท้องถิ่นที่มีอยู่อย่างอิฐ คอนกรีต ไม้ ที่คุ้นชิน หรือการอยู่ร่วมกันกับ ธรรมชาติและบริบทท้องถิน่ นำ�มาคิดค้นสร้างเป็น Space แบบใหม่ หรือรูปลักษณ์แบบใหม่ ที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรมให้ยิ่งๆ ขึ้นไป ด้วยการเป็นสถาปนิกนัน้ เป็นเรือ่ งยาก และต้องอุทศิ ตนเป็นอย่างมาก ต้องเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น เพราะวิชาชีพเราต้องทำ�งาน ออกแบบไปเรือ่ ยๆ ดังนัน้ เราจึงต้องคิดทีจ่ ะผลิตผลงานทีด่ กี ว่าเดิม ให้ได้ ในวงการนี้ยังมีที่ให้ยืนอีกมาก อยู่ที่ว่าคุณถนัดและชอบงาน ประเภทไหน เช่น ชอบดีไซน์หรือชอบเขียนแบบ ชอบควบคุมงาน ก่อสร้างหรือชอบประสานงานโครงการ ชอบเป็นที่ปรึกษาหรือชอบ ทำ�งานวิจัย ไม่ว่าจะเก่งหรือไม่เก่งคุณสามารถมีที่ยืนได้ ตราบเท่าที่ คุณมีใจรักในงานสถาปัตยกรรมเท่านั้นเอง”
51
Pao House 52
ด้วยแนวคิดในการสร้างสรรค์ผลงานทีม่ อี ตั ลักษณ์อนั โดดเด่น ส่งให้ผลงานของ stu/D/O ได้รับเสียงชื่นชมและได้รับรางวัลการันตีแนวคิดอันสร้างสรรค์หลายแห่ง หนึ่งในนั้นได้แก่ ‘บ้านเปา’ โครงการที่ได้รับรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น (Gold Medal Award) ประเภท บ้านเดีย่ วพักอาศัย ประจำ�ปีพ.ศ. 2559 จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึง่ เป็นโครงการทีน่ า่ สนใจทัง้ ในแง่ของการออกแบบและการเลือกใช้วสั ดุได้อย่างสร้างสรรค์ และตอบโจทย์การอยูอ่ าศัยได้อย่างลงตัว จุดเริม่ ต้นของโครงการบ้านเปานัน้ เกิดจากการทีเ่ จ้าของบ้าน คุณไชยชุมพล วัฑฒกานนท์ ต้องการสร้างบ้านพักอาศัยส่วนตัวทีบ่ ง่ บอกถึงความเป็นตัวตน ซึง่ เป็นภูมสิ ถาปนิกทีม่ ใี จรัก ในการถ่ายภาพ โดยยังรับงานเป็นช่างภาพไปพร้อมกันด้วย และเนือ่ งจากทำ�เลของบ้านหลังนี้ ตัง้ อยูใ่ นชุมชนเมืองจึงมีเนือ้ ทีค่ อ่ นข้างจำ�กัด เจ้าของบ้านจึงต้องการให้พน้ื ทีภ่ ายในบ้านโล่ง โปร่งสบาย และมีความเป็นส่วนตัว ดังนัน้ ในการออกแบบจึงได้น�ำ 2 ปัจจัยนีม้ าเป็นโจทย์ทต่ี อ้ ง คำ�นึงถึงเป็นหลัก โดยในการออกแบบได้มีการวิเคราะห์และศึกษาการวางผังในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกิด ความลงตัว ทั้งทิศทางในการรับแสงแดด ลม และความร้อนที่จะเข้าสู่ตัวอาคาร รวมถึง ตอบสนองความต้ อ งการของเจ้ า ของบ้ า นให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด และผลลั พ ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ สถาปัตยกรรมก้อนสี่เหลี่ยมสีขาว รูปทรงแปลกตา ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘บ้านช่อง’ บรรยากาศที่ตั้งโดยรอบของบ้านเปา ซึ่งรายล้อมไปด้วย บ้านพักอาศัย ในทำ�เลที่ตั้งของชุมชนเมืองย่านห้วยขวาง ถึงแม้มีเนื้อที่ค่อนข้างจำ�กัด แต่บริบทโดยรอบก็ยังคงมี ความสงบและความร่มรื่นของต้นไม้อยู่
53
ตีโจทย์ด้วยแนวคิดของ ‘บ้านช่อง’ ด้วยการออกแบบทีต่ อบสนองทัง้ แนวความคิดสร้างสรรค์และพืน้ ทีก่ ารใช้สอย ผสานด้วยตัวตนและความชอบ ส่วนตัวของคุณไชยชุมพล จึงทำ�ให้บา้ นหลังนีไ้ ม่เป็นเพียงบ้านพักอาศัยเท่านัน้ แต่ยงั เปรียบเสมือนสตูดโิ อ ถ่ายภาพที่เต็มไปด้วยมิติของแสงและเงา ซึ่งจะเปลี่ยนไปตามแต่ละช่วงเวลาของวัน แนวคิดในการออกแบบภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘บ้านช่อง’ เป็นการตอบโจทย์เรื่องพื้นที่ใช้สอยกับข้อจำ�กัด ของขนาดที่ดินและสภาพแวดล้อมโดยรอบ ด้วยการเพิ่มพื้นที่ใช้สอยให้กับตัวอาคารในแนวตั้ง โดยมี ลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยมที่มีความสูง 4 ชั้น และมีการออกแบบพื้นที่ว่างโดยการเจาะคว้านพื้นที่ใน บางจุด เพื่อจะนำ�ความเป็นธรรมชาติจากภายนอกเข้าสู่ภายใน อีกทั้งยังช่วยเพิ่มความโปร่งสบายและ สร้างบรรยากาศที่ดีให้กับพื้นที่ใช้สอยภายในบ้านด้วย โดยเฉพาะบริเวณห้องนั่งเล่นที่ถูกออกแบบให้มี ลักษณะเป็นโถงเพดานสูง (Double Space) ต่อเนือ่ งกับส่วนรับประทานอาหาร ซึง่ พืน้ ทีว่ า่ งทีถ่ กู คว้านนี้ ยังเป็นจุดที่สร้างมุมมองร่วมกันสำ�หรับแต่ละห้องของบ้านอีกด้วย 54
จากมุมมองบน Rooftop ของพื้นที่ชั้น 4 ผ่านช่องเปิดที่ถูกเจาะไว้อย่างพอดี เพื่อ กำ�หนดกรอบของทัศนียภาพให้มองเห็น ภาพเรือนไทยที่อยู่ในระยะไกลโดยเฉพาะ
ส่วนการออกแบบของผนังเปลือกอาคารที่เป็นส่วนทึบโดยรอบ เริ่มต้นมาจากความสนใจของเจ้าของบ้านและบริบทโดยรอบ ของทีด่ นิ และยังช่วยสร้างความสมบูรู ณ์และต่อเนือ่ งให้กบั รูปทรง สีเ่ หลีย่ มของอาคาร โดยนำ�ไปสูแ่ นวคิดในการออกแบบเรือ่ งการ วางกรอบของมุมมองด้วยการเจาะช่องเปิดสี่เหลีย่ มขนาดใหญ่ ซึง่ คล้ายกับกรอบของภาพถ่ายหรือภาพวาดเพือ่ กำ�หนดมุมมอง ที่จะเกิดขึ้นให้เห็นทัศนียภาพที่ดีแก่พื้นที่ต่างๆ ภายในบ้าน ในขณะที่การเจาะช่องแสงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดเล็ก 60 x 60 เซนติเมตร บริเวณผนังภายนอกจะช่วยนำ�แสงเข้าสู่ภายใน อาคาร โดยช่องเปิดที่มองเห็นจากผนังด้านในจะถูกเจาะช่อง ให้มีขนาดเล็กกว่า ด้วยขนาด 40 และ 20 เซนติเมตร แตกต่าง กันไปตามจังหวะทีส่ วยงาม ซึง่ นอกจากจะทำ�ให้เกิดบรรยากาศ ที่แตกต่างกันในแต่ละพื้นที่แล้ว ยังสร้างมิติของแสงและเงาที่ น่าสนใจให้แตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงเวลาของวัน รวมทั้ง ยังเป็นช่องสำ�หรับระบายอากาศ ช่วยให้บ้านเย็นสบายอีกด้วย และนอกจากนีแ้ สงเงาทีเ่ กิดยังช่วยสร้างมิตทิ ส่ี วยงามให้กบั รูปแบบ สถาปัตยกรรมภายนอกเช่นกัน
55
จุดเด่นของบ้านเปา หากมองกันด้วยลักษณะภายนอกจะพบว่าบ้านเปามีความแตกต่างจาก บ้านพักอาศัยในรูปแบบเดิมๆ ทีม่ หี ลังคาจัว่ แบบทีห่ ลายคนคุน้ ชิน กลับเป็น สถาปัตยกรรมรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยมที่เรียบง่ายและนิ่งสงบ แต่จาก การออกแบบที่คำ�นึงถึงพื้นที่ใช้สอยเพื่อการอยู่อาศัยของเจ้าของบ้าน การนำ�สีเขียวของธรรมชาติเข้ามาสอดใส่ในอาคาร และการเลือกใช้วสั ดุ ได้อย่างลงตัว บ้านหลังนี้จึงเต็มไปด้วยความอบอุ่นเช่นเดียวกัน การออกแบบพื้นที่ใช้สอยภายใน 350 ตารางเมตร ซึ่งตอบสนองตาม ความต้องการของเจ้าของบ้านได้อย่างแท้จริง โดยบริเวณพื้นที่ชั้น 1 เมือ่ เข้าสูภ่ ายในบ้านจะพบกับโถงทางเข้าและคอร์ท ซึง่ เป็นสวนต้นไม้ทีเ่ ปิด เชือ่ มต่อไปยังห้องนัง่ เล่นทีอ่ ยูช่ ัน้ บน นอกจากนีย้ งั เป็นส่วนพืน้ ทีท่ �ำ งาน ของเจ้าของบ้าน และห้องนอนส่วนตัวของคุณแม่เจ้าของบ้านอีกด้วย บนพืน้ ทีช่ น้ั 2 จะถูกออกแบบให้เป็นของกิจกรรมส่วนกลาง เช่น ห้องนัง่ เล่น ห้องรับประทานอาหาร ห้องแพนทรี และห้องน้�ำ เมือ่ ขึน้ ไปยังพืน้ ทีช่ ัน้ 3 ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนพักผ่อน ซึ่งจะเป็นส่วนของห้องนอนใหญ่ ห้องนอน สำ�หรับเด็ก และห้องน้ำ� ส่วนบนพื้นที่ชั้น 4 จะเป็นสตูดิโอถ่ายภาพและ ห้องมืด ซึ่งเป็นอีกหนึ่งการทำ�งานที่ชื่นชอบของเจ้าของบ้าน
พื้นที่ชั้น 1
ทัง้ นีใ้ นฐานะของผูอ้ อกแบบทีเ่ ชือ่ ว่าคนเราย่อมอยากทีจ่ ะอาศัยอยูใ่ กล้ชดิ กับธรรมชาติ เพราะสีเขียวของธรรมชาติจะทำ�ให้รสู้ กึ ผ่อนคลายและสงบ ดังนัน้ ในการออกแบบจึงเกิดแนวคิดทีจ่ ะนำ�ธรรมชาติเข้าสูต่ วั บ้าน โดยการ เจาะคว้านพืน้ ทีว่ า่ งเพือ่ สร้างพืน้ ทีส่ เี ขียวเข้าสูภ่ ายใน เพือ่ ผูอ้ ยูอ่ าศัยจะได้ รู้สึกเหมือนกับอยู่ในบ้านที่โอบล้อมด้วยธรรมชาติเอาไว้ พื้นที่ชั้น 2
พื้นที่ชั้น 3
บริเวณโถงบันไดและสวนต้นไม้ ทีเ่ ปิดเชือ่ มต่อไปยังพืน้ ทีช่ นั้ บน ของบ้าน เป็นการนำ�ธรรมชาติเข้าสูภ่ ายใน เพือ่ สร้างบรรยากาศ ที่ร่มรื่นและผ่อนคลาย 56
พื้นที่ชั้น 4
นอกจากนัน้ บ้านหลังนีย้ งั คำ�นึงถึงเรือ่ งของการออกแบบ อย่างยั่งยืน ด้วยการใช้การออกแบบระบบธรรมชาติ (Passive Design) พร้อมด้วยการวิเคราะห์คำ�นวณ ค่าความร้อนที่จะเข้าสู่ตัวบ้านร่วมกัน จึงทำ�ให้การ ออกแบบก้อนของอาคารบางส่วนถูกเจาะคว้านให้เกิด ช่องว่าง เพื่อใส่ต้นไม้เข้าไปสร้างร่มเงาให้แก่ตัวบ้าน และการเพิ่มองค์ประกอบของผนังบางส่วน เพื่อการ ป้องกันแดดและกันความร้อนทีจ่ ะเข้าสูภ่ ายใน รวมทัง้ การเจาะช่องเปิดในตำ�แหน่งต่างๆ เพื่อช่วยนำ�แสง ธรรมชาติเข้าสู่บ้านและช่วยระบายความร้อนอีกด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้จะช่วยทำ�ให้บ้านหลังนี้อยู่สบายยิ่งขึ้น และสุดท้ายกับการเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม โดยการ เลือกใช้วัสดุที่เน้นให้เกิดความอบอุ่นและเรียบง่าย สำ�หรับวัสดุที่ใช้ตกแต่งภายจึงใช้ไม้ เพราะช่วยสร้าง บรรยากาศอันอบอุ่นได้ดี โดยนำ�มาปูพื้นในบริเวณที่ จำ�เป็น เช่น พื้นห้องนอน โถงบันไดที่เชื่อมต่อกันใน แต่ละชัน้ โถงหน้าห้องนอนบริเวณชัน้ บน และยังนำ�มา ตกแต่งเป็นองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมภายนอก อาคารในบางจุดอีกด้วย เพือ่ ให้เกิดบรรยากาศทีต่ อ่ เนือ่ ง ระหว่างภายในและภายนอกอาคาร
57
สำ�หรับวัสดุผนังภายนอกอาคารนัน้ เปรียบเสมือนตัวเอก ของบ้านหลังนี้ เพราะต้องสื่อให้บ้านมีลักษณะเป็น ก้อนสีเ่ หลีย่ ม ทัง้ ทีม่ กี ารเจาะคว้านพืน้ ทีว่ า่ งบางจุดออก แต่กต็ อ้ งคงลักษณะของความเป็นก้อนเดียวกันได้อยู่ จึงได้เลือกใช้ผนังฉาบเรียบและทำ�สีพ่น Texture ที่มี สีขาวพร้อมผิวสัมผัสหยาบ โดยทำ�เทคนิคในการพ่นสี ให้ไล่ระดับความหยาบแตกต่างกัน 3 ระดับ เมือ่ แสงแดด กระทบกับผนังจึงทำ�ให้เกิดมิตขิ องเงาทีไ่ ม่เท่ากัน สร้าง เฉดสีบนผนังที่ต่างกันไป ซึ่งถือเป็นการตอบโจทย์ แนวคิดในการสร้างมิตขิ องแสงและเงาให้กบั บ้านหลังนี้ อีกด้วย และเมือ่ รวมเข้ากับช่องเปิดที่ถูกเจาะเอาไว้ใน แต่ละตำ�แหน่งบนผนังด้วยแล้ว ยิง่ สร้างให้บา้ นหลังนี้ มีมิติของแสงในแต่ละช่วงเวลาแตกต่างกันไป ทั้งเช้า กลางวัน เย็น และกลางคืน
ผนังภายนอกเป็นงานฉาบเรียบทำ�สี พ่นหยาบ ไล่ระดับความหยาบ 3 ระดับ จึงทำ�ให้เกิดแสงเงาทีต่ กกระทบต่างกัน สร้างเป็นเฉดสีบนผนัง ให้ผนังแลดู มีมิติมากขึ้น
58
ช�่อโครงการ: ที่ตั้งโครงการ: เจ าของโครงการ: พื้นที่ใช สอย: ป ที่เร�่มออกแบบ: ป ที่ก อสร างเสร็จ: ทีมงานผู ออกแบบ: ว�ศวกรโครงสร าง: ว�ศวกรงานระบบ: ผู รับเหมา:
Pao House ซอยประชาราษฎร บําเพ็ญ 28 ถนนประชาราษฎร บําเพ็ญ ห วยขวาง กทม. คุณไชยชุมพล วัฑฒกานนท 350 sqm. 2014 2016 บร�ษัท สตูดิโอ อาร คิเทคส จํากัด คุณอภิชาติ ศร�โรจนภิญโญ และคุณชนาสิต ชลศึกษ คุณพนิต ศุภศิร�ลักษณ คุณพนิต ศุภศิร�ลักษณ คุณพรชัย พรพิช�ตโชคชัย
59
เทคนิคการทำาผนังพ่นสี Texture สำ�หรับผนังภ�ยนอกของบ้�นเป�นั้น ได้เลือกใช้ระบบฉ�บเรียบและทำ�สีพ่น เพื่อให้ได้ผืนผนังสีข�วที่ต่อเนื่องกัน สร้�งคว�ม รู้สึกที่เป็นรูปทรงของก้อนสี่เหลี่ยมได้อย่�งชัดเจน และสีพ่น Texture ยังทำ�ให้ผนังเกิดผิวสัมผัสหย�บ ช่วยสร้�งมิติย�มเมื่อ แสงแดดตกกระทบได้อย่�งดี ซึ่งระบบสีพ่น Texture ผลิตภัณฑ์ Bellart ที่ถูกเลือกม�ใช้นี้ มีลักษณะเป็นเนื้อทร�ยสังเคร�ะห์ ชนิดอะคริลิคซิลิโคน ส�ม�รถ ทำ�ลวดล�ยได้หล�กหล�ย และท�ทับหน้�ด้วยสีน�้ำ เกรดอะคริลคิ หรือซิลโิ คนได้ดว้ ย โดยในก�รออกแบบผนังภ�ยนอกบ้�นเป� ได้เลือกลวดล�ยของผิวสัมผัส เพือ่ สร้�งให้เกิดมิตขิ องเง�ทีจ่ ะเกิดขึน้ บนผนังในเฉดสีทแี่ ตกต่�งกัน 3 ระดับ ได้แก่ Flat ซึง่ เป็น ก�รพ่นผิวสัมผัสละเอียด, Lithin ก�รพ่นผิวสัมผัสหย�บ และ Stucco ก�รพ่นผิวสัมผัสขรุขระ ก�รทีล่ วดล�ย Flat มีผวิ ละเอียด เมือ่ แสงตกกระทบจึงไม่คอ่ ยเกิดเง�ขึน้ ในท�งกลับกันล�ย Stucco ซึง่ มีผวิ ขรุขระม�ก เมือ่ แสงตกกระทบก็จะทำ�ให้เกิดเง�ขึน้ ม�ก ดังนัน้ เมือ่ พ่นลวดล�ยต่�งๆ ลงบนผนังในตำ�แหน่งและแพทเทิรน์ ทีต่ �่ งกันไป จึงทำ�ให้ผนังเกิดมิตขิ องแสงและเง�ทีไ่ ม่เท่�กัน ทำ�ให้ผนังเกิดเฉดสีข�วที่ต่�งกัน และเง�ที่เกิดขึ้นยังทำ�ให้มุมมองภ�พผนังของบ้�นเปลี่ยนไปต�มช่วงเวล�ของวันอีกด้วย ส่วนขัน้ ตอนก�รใช้ง�นระบบสีพน่ Texture โดยทัว่ ไป เริม่ แรกต้องทำ�ก�รเตรียม พืน้ ผิวก่อน สำ�หรับผนังคอนกรีตปูนฉ�บเรียบ พืน้ ผิวต้องแห้ง สำ�หรับผนังปูนใหม่ ควรทิ้งไว้อย่�งน้อย 21 วัน หรือวัดคว�มชื้นได้ไม่เกิน 18% ก่อนลงระบบสีพ่น และต้องปร�ศจ�กคร�บสกปรก ฝุ่น น้ำ�มัน ไขมัน และสิ่งปนเปื้อน พื้นผิวที่ไม่ เรียบและรอยแตกร้�ว จ�กนั้นจึงทำ�ระบบสีพ่น Texture ในก�รทำ�ระบบสีพ่น Texture นั้น จะต้องทำ�สีรองพื้น (Primer) ก่อนด้วย ผลิตภัณฑ์ ซุปเปอร์ไปโอไฟน์ ซิลเลอร์ (Super Biofine Sealer) ซึง่ เป็นสีรองพืน้ เนื้อด้�นประเภทอิน-ออแกนนิค โพลีเมอร์ ขนิดสองส่วนผสม ซึ่งส�ม�รถใช้ได้ ทั้งภ�ยในและภ�ยนอกอ�ค�ร สำ�หรับพื้นผิวปูนเก่�ต้องลงรองพื้นปูนเก่�ด้วย Mirac#100 จำ�นวน 1 รอบก่อนทำ�สีรองพื้น และสำ�หรับพื้นผิวเหล็กต้องลง รองพื้นปูนเก่�ด้วย Mirac Bosei M จำ�นวน 1 รอบก่อนด้วย ส่วนวิธีก�รลง สีรองพื้นด้วยก�รกลิ้ง 1 รอบ ค่�คว�มถ่วงจำ�เพ�ะ 1.5 +/- 0.2 ให้เวล�ในก�ร ท�ทับประม�ณ 16 ชั่วโมง จ�กนั้นจึงทำ�สีพ่น Texture ด้วยผลิตภัณฑ์ Bellart โดยสร้�งลวดล�ยโดยก�ร ติดสติ๊กเกอร์ Groove Line ที่มีคว�มกว้�งเล็กสุด คือ 5 มิลลิเมตร พ่นทำ�ผิว 2 รอบ คว�มถ่วงจำ�เพ�ะ 1.7 +/- 0.2 ให้เวล�ในก�รพ่นทับประม�ณ 24 ชัว่ โมง และสุดท้�ยจึงท�ทับหน้� (Top Coat) ด้วยผลิตภัณฑ์ Biofine Matt (แบบด้�น) หรือ Super Biofine (แบบกึ่งเง�) ซึ่งเป็นสีท�ทับหน้�เกรดอะคริลิค 100% ทีไ่ ม่เป็นอันตร�ยต่อสภ�พแวดล้อม กันเชือ้ ร�และตะไคร่น�ำ้ มีฟลิ ม์ สีทเ่ี ก�ะตัวแน่น และมีคว�มหน�แน่นสูง ทำ�ให้ปอ้ งกันก�รขัดถู และทนท�นต่อสภ�วะอ�ก�ศได้ดี ส่วนวิธีก�รลงสีทับหน้�ให้เอ�สติ๊กเกอร์ Groove Line ออกก่อน แล้วจึงลง สีท�ทับหน้� จำ�นวน 2 รอบ ใช้ระยะเวล�ในก�รท�ทับประม�ณ 24 ชั่วโมง ในกรณีทต่ี อ้ งก�รทำ�คว�มสะอ�ดก็ส�ม�รถทำ�ได้ง�่ ย เพียงใช้แปรงขนอ่อนร่วมกับ น้�ำ สะอ�ด หรือน้�ำ ย�ทำ�คว�มสะอ�ดชนิดอ่อนๆ หรือห�กเป็นคร�บสกปรกฝังแน่น ให้ใช้เครือ่ งฉีดน้�ำ Water Jet โดยปรับแรงดันทีร่ ะดับเบ�ในก�รทำ�คว�มสะอ�ด ได้เช่นกัน
Flat
Lithin
Stucco ขอขอบคุณข้อมูลผลิตภัณฑ์จ�ก SK KAKEN (THAILAND) CO., LTD. Tel. 02-652-0600, 02-652-0585 Fax. 02-652-0639อ www.skk.co.th
60
COVER STORY
เรื่อง: ณัชชา นันทกาญจน์ ภาพ: อเนก สีนาดี
‘Ayutt & Associate Design’ ความสำ�เร็จของนักออกแบบกับการเลือกใช้วัสดุ การไม่หยุดนิ่งที่จะเรียนรู้และพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง ด้วยผลงาน การออกแบบและก่อสร้างทีต่ อบสนองความต้องการของผูค้ นทีม่ ฝี นั ในรูปแบบ ที่แตกต่างและตอบโจทย์การใช้ชีวิตมากขึ้น รวมทั้งการนำ�เสนอวัสดุก่อสร้าง ในมุมทีแ่ ตกต่างออกไปจากวิถเี ดิมทีเ่ ป็นอยู่ มีสว่ นสำ�คัญให้ คุณอยุทธ์ มหาโสม และ Ayutt and Associate Design กลายเป็นที่รู้จักและได้รับเสียงชื่นชม ในวงกว้าง สำ�หรับ คุณอยุทธ์ มหาโสม ผู้ก่อตั้ง AAD design Co.,Ltd. (Ayutt and Associate Design) แล้ว ความสำ�เร็จในเส้นทางของนักออกแบบมีจุดเริ่มต้นมาจากการได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และการ สร้างสรรค์ผลงานทีแ่ ตกต่าง กอปรกับการเป็นคนทีม่ งุ่ มัน่ ในการพัฒนาความสามารถด้านวิชาชีพของตนเอง รวมถึงการเป็นคนเข้าใจในรายละเอียดของสิง่ ต่างๆ รอบตัว คุณอยุทธ์จงึ เปรียบเหมือนสถาปนิกผูเ้ ติมเต็มฝัน ของผู้คน ที่ได้รับการยอมรับในวงกว้าง เส้นทางชีวิตนักออกแบบ สถาปนิกหนุม่ ท่านนีไ้ ด้เอ่ยถึงจุดเปลีย่ นครัง้ สำ�คัญในชีวติ นัน่ คือการได้ไปเริม่ ต้นทำ�งานกับบริษทั WOHA ประเทศสิงคโปร์ ซึง่ ทำ�ให้มโี อกาสรับผิดชอบโครงการใหญ่หลายโครงการ จึงได้เรียนรูแ้ ละมีประสบการณ์ โดยตรงนอกเหนือจากการเรียนตามตำ�รา จนเมือ่ บริษทั WOHA ประเทศไทย ถือกำ�เนิดขึน้ จึงได้เดินทาง กลับมาทำ�งานในเมืองไทยอีกครัง้ พร้อมองค์ความรูแ้ ละแนวคิดในการทำ�งานทีแ่ ข็งแกร่งขึน้ ก่อนจะเดินทาง มาถึงจุดเปลี่ยนครั้งสำ�คัญอีกครั้งหนึ่ง กับการเริ่มต้นก่อตั้งบริษัทของตนเอง “ช่วง 3-4 ปีทไ่ี ด้ท�ำ งานอยูใ่ นบริษทั ขนาดใหญ่ผมมีความสุขดีมาก จนถึงจุดหนึง่ ทีเ่ ราเริม่ รูส้ กึ ว่าการทำ�งาน โครงการขนาดใหญ่กม็ ขี อ้ จำ�กัดในการทำ�งานหลายอย่าง จึงอยากหันมาทำ�งานขนาดเล็กดูบา้ ง เลยเป็นทีม่ า ของการทำ�โครงการแรกซึง่ เป็นบ้านพักอาศัย ทีม่ ชี อื่ ว่า บ้านเย็นอากาศ (YAK) ตอนนัน้ ผมรับทำ�งานเป็น ฟรีแลนซ์ ค่าบริการวิชาชีพในการออกแบบอาจจะไม่มาก แต่ถอื ว่าได้รบั ประสบการณ์มากกว่า และเมือ่ จบ โครงการจึงได้น�ำ ผลงานไปลงเผยแพร่ในสือ่ ต่างๆ และหลังจากนัน้ ก็ได้ลงในนิตยสารและสือ่ ต่างประเทศ เลยทำ�ให้รู้สึกว่าเราเดินมาถูกทางแล้ว อีกอย่างผมค่อนข้างมีความสุขกับการทำ�งานมาก เพราะได้เจอ เจ้าของโครงการที่เข้าใจในความเป็นสถาปัตยกรรม ซึ่งแตกต่างจากการทำ�โครงการใหญ่ที่เน้นการ แสวงหาผลกำ�ไรเป็นหลัก แต่สำ�หรับโครงการที่เป็นบ้านพักอาศัย ผมรู้สึกว่าเป็นงานสถาปัตยกรรมที่ ตอบสนองผู้ใช้สอยขั้นรายละเอียดอย่างแท้จริง ตั้งแต่นั้นผมก็รับงานฟรีแลนซ์มาเรื่อย จนถึงจุดหนึ่ง จึงเริ่มก่อตั้งและจดทะเบียนบริษัทของตัวเองขึ้น ในชื่อว่า Ayutt and Associates Design หรือ AAd
62
63
แม้ช่วงเริ่มต้นบริษัทจะเกิดมาจากผมคนเดียวก็จริง แต่ผมมองว่า การทำ�งานต้องมีคนมาร่วมด้วยช่วยกัน อาจเป็นรุน่ น้องๆ คนรุน่ ใหม่ ไฟแรงทีม่ ฝี มี อื ดี เพราะผมถือว่าทีน่ เ่ี ป็นบริษทั ทีร่ วมกันของคนรุน่ ใหม่ ที่มคี วามสามารถ น้องๆ ที่จะเข้ามาทำ�งานร่วมกันก็ต้องเป็นคนที่มี แนวความคิดใกล้เคียงกัน ซึ่งผมมองว่าเด็กรุ่นใหม่มีศักยภาพสูง โดยเฉพาะความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี รวมถึงโปรแกรมการ ทำ�งานต่างๆ และอีกสิง่ หนึง่ ทีผ่ มมองเห็นนัน่ คือ คนรุน่ ใหม่ทมี่ คี วาม สามารถสูง เขาอาจจะไม่ได้อยากเป็นแค่สถาปนิกอย่างเดียว แต่เขามี พลังมากพอที่จะทำ�อย่างอืน่ ควบคูก่ ันไป เช่น เปิดร้านกาแฟ หรือทำ� ร้านจักรยาน ดังนัน้ เราจึงมองหาวิธที จี่ ะทำ�ให้คนเหล่านัน้ มาร่วมงาน กับเราได้อย่างสบายใจ นัน่ จึงทำ�ให้รปู แบบการทำ�งานของบริษทั เรา แตกต่างจากบริษัททั่วไป เพราะไม่จำ�กัดว่าต้องทำ�งานแบบเข้าเช้า เย็นออก ด้วยรูปแบบการทำ�งานของเราที่เป็นแบบไม่ต้องทำ�งาน ประจำ�ในออฟฟิศ จะไปทำ�ธุรกิจส่วนตัวด้วยก็ได้ แต่ต้องรับผิดชอบ งานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะเราเชื่อมั่นใน ความสามารถของคนรุน่ ใหม่ เพราะงานบางอย่างเราเองก็ตอ้ งพึง่ พา ศักยภาพของเขาในการสร้างผลงาน อย่างเช่น บางโปรแกรมคนรุน่ ผม ก็อาจทำ�ได้ไม่ดหี รือไม่สามารถทำ�ได้เท่ากับทีค่ นรุน่ ใหม่ท�ำ ดังนัน้ เราจึง ต้องพึ่งพาศักยภาพของเขา เพราะผมมองว่างานสถาปัตยกรรม เป็นงานที่ต้องทำ�กันเป็นทีมเวิร์ค ถ้าทีมเวิร์คของเราดีมีคุณภาพ ก็สามารถสร้างผลงานที่ดีๆ ออกมาได้”
“สไตล์การทำ�งานของผมจะมีเอกลักษณ์บางอย่างในการเลือกใช้วสั ดุ สมัยใหม่ แม้วา่ เราจะโฟกัสทีง่ านบ้านและทีอ่ ยูอ่ าศัยเป็นหลัก แต่เรา จะพยายามนำ�วัสดุทคี่ นอืน่ ไม่ใช้กบั งานบ้านพักอาศัยมาประยุกต์ใน การออกแบบให้มากขึน้ อย่างอะลูมเิ นียม หากสังเกตให้ดจี ะพบว่ากว่า 80% ในโครงการทีเ่ ราออกแบบ จะใช้วสั ดุหมุ้ ผิวอาคารด้วยอะลูมเิ นียม เป็นหลัก ซึ่งอันที่จริงผมไม่ได้มีสไตล์การออกแบบที่แน่ชัด แต่จะ ขึ้นอยู่กับโจทย์ความต้องการของเจ้าของบ้านและทำ�เลที่ตั้ง ซึ่งผม ถือว่าปัจจัยเหล่านัน้ คือส่วนผสม และผมมีหน้าทีน่ �ำ ส่วนผสมเหล่านัน้ ออกมาปรุงให้กลมกล่อม ซึ่งนับว่าเป็นแนวทางที่ไม่เหมือนใคร โดยเฉพาะเรือ่ งของวัสดุ ลูกค้าจึงรูส้ กึ เหมือนว่าเราเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ซึ่งเราเองก็ไม่ได้มองว่าเราต้องเป็นที่สุด เพราะสถาปนิกแต่ละท่าน ก็มีแนวทางของตนเองหรือเป็นที่สุดในด้านที่ต่างกันไป ผมมองว่า Final Product มันคือการทีเ่ ราทำ�งานตอบสนองแก่ผบู้ ริโภค เพราะฉะนัน้ ถ้าเราสามารถทำ�ให้คณ ุ ภาพชีวติ ของผูค้ นดีขนึ้ ได้ เราก็ยนิ ดีทจี่ ะเป็น อีกหนึ่งทางเลือกของเขา” คุณอยุทธ์มองอะลูมิเนียมเป็นมากกว่าแค่วัสดุที่หลายคนเคยรู้จัก การค้นหาศักยภาพทีแ่ ท้จริงของวัสดุนท้ี �ำ ให้ผลงานออกแบบของ AAd กลายเป็นความโดดเด่น และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของ เจ้าของโครงการได้เป็นอย่างดีและตรงใจด้วย โดยโครงการแรกทีเ่ ป็น จุดเริม่ ต้นทีเ่ สมือนใบเบิกทางสูค่ วามสามารถในการพัฒนาวัสดุอย่าง อะลูมิเนียมในเวลาต่อๆ ก็คือ โครงการบ้านเย็นอากาศ
อะลูมิเนียมกับสไตล์ของอยุทธ์ หลังจากค้นพบเส้นทางทีใ่ ช่ คุณอยุทธ์ทที่ �ำ หน้าทีท่ งั้ ในฐานะสถาปนิก และผูบ้ ริหารองค์กรก็เดินหน้าตามแนวทางทีว่ างไว้ พร้อมกับเรียนรู้ วิธีการและรายละเอียดในการทำ�งานใหม่ๆ ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่ความ สวยงามและความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบเท่านั้น แต่รวมถึง การค้นหาและเพิ่มศักยภาพของวัสดุในการออกแบบก่อสร้างด้วย ซึ่งวัสดุที่กลายมาเป็นความภาคภูมิใจและผลงานที่โดดเด่นของ สถาปนิกท่านนี้ก็คือ ‘อะลูมิเนียม’
“บ้านเย็นอากาศ มีจดุ เริม่ ต้นมาจากความต้องการของเจ้าของบ้าน ที่ต้องการบ้านที่มีลักษณะเป็นกล่อง และต้องไม่ร้อน แต่ความรู้สึก ของคนทัว่ ไปต่อบ้านทีม่ ลี กั ษณะเป็นกล่องคือจะต้องร้อน ดังนัน้ ในการ ทำ�งานของเราจึงพยายามมองโจทย์ในมุมกลับ บ้านหลังนีจ้ ะต้องเป็น บ้านกล่องที่ไม่ร้อน เราจึงมาคิดถึงการออกแบบโดยใช้ Façade ให้เป็นเช่นชายคา ด้วยการยืน่ แนวผนังทัง้ แผงออกมาเพือ่ ให้เกิดเงา บังแดด แล้วก็ใช้วัสดุปิดทึบทำ�ผนังในด้านที่รับแสงมาก ส่วนผนัง
บริเวณสวนที่เชื่อมต่อกับห้องนั่งเล่นของบ้านเย็นอากาศ ที่ลมสามารถพัดผ่านได้เย็นสบาย
ด้วยการออกแบบผนังอะลูมิเนียมให้ยื่นออกมาแนวเดียว กับชายคา เน้นมุมมองกล่องสี่เหลี่ยมให้แก่ตัวบ้าน
64
หาก Final Product มันคือการทีเ่ ราทำ�งาน ตอบสนองแก่ผบู้ ริโภค เพราะฉะนั้ น ถ้ า เรา สามารถทำ�ให้คุณภาพ ชีวิตของผู้คนดีขึ้นได้ เราก็ยินดีที่จะเป็นอีก หนึง่ ทางเลือกของเขา ฝัง่ ทีร่ บั แสงน้อยก็เลือกใช้กระจก การวางผังห้องนัง่ เล่นให้เปิดรับกับสวนสีเขียว ทำ�ให้ สามารถรับลมเข้าสูต่ วั บ้านได้มากขึน้ จึงเย็นสบาย ซึง่ เป็นการเรียนรูจ้ ากภูมปิ ญ ั ญาไทย เรื่องใต้ถุนบ้านที่มีลมถ่ายเทได้ดี แต่ในด้านที่ไม่สามารถบังแดดได้มาก เราจึง นำ�อะลูมิเนียมมาใช้ โดยพยายามดึงศักยภาพของตัววัสดุให้ถึงขีดสุด เนื่องจาก อะลูมเิ นียมเป็นวัสดุทเี่ มือ่ โดนแดดแล้วจะดูดความร้อนเร็วมาก บางคนอาจมองว่าเป็น ข้อเสียแต่เรากลับมองว่าเป็นข้อดี เพราะเมื่อรับความร้อนได้เร็วมากในช่วงกลางวัน ในช่วงเย็นและกลางคืนอะลูมิเนียมก็จะคายความร้อนได้เร็วและเก็บความเย็นได้เร็ว มากเช่นกัน ดังนัน้ บ้านจึงเย็นเร็ว โดยบ้านหลังนีม้ กี ารออกแบบผนังเป็น 2 ชัน้ ให้มี Air Gap ตรงกลางสำ�หรับการระบายอากาศ ผนังชัน้ นอกหุม้ ด้วยวัสดุอะลูมเิ นียม ส่วนผนังชัน้ ใน เป็นผนังทึบจึงทำ�ให้บ้านไม่ร้อน สำ�หรับข้อดีอีกอย่างของอะลูมิเนียมก็คือ เป็นวัสดุ ทีท่ �ำ ความสะอาดง่าย แค่ฉดี น้�ำ ก็ท�ำ ความสะอาดได้ คงทนอยูไ่ ด้หลายสิบปี และในแง่ของ ความสวยงามเมือ่ แสงตกกระทบกับตัวผิวของอะลูมเิ นียมก็จะทำ�ให้เกิดสเปกตรัมสีของ แสงแดดทำ�ให้สขี องบ้านเปลีย่ นไปตามแต่ละช่วงเวลาของวันด้วย” และในโครงการต่อๆ มายังได้มีการนำ�วัสดุอย่างอะลูมิเนียมเข้าไปมีบทบาทในการ ออกแบบมากยิง่ ขึน้ ไปอีก การออกแบบโดยมีอะลูมเิ นียมเข้ามาเกีย่ วข้องประสบความ สำ�เร็จมากขึ้นทั้งในแง่ความสวยงามและฟังก์ชั่นการใช้งานที่ตอบโจทย์ แต่คุณอยุทธ์ เองก็มองว่า อะลูมเิ นียมเป็นอะไรได้มากกว่านัน้ นัน่ จึงเป็นทีม่ าของโครงการในลำ�ดับ ต่อๆ มาและขั้นกว่าของอะลูมิเนียม
การตกกระทบของแสง และเกิดสีที่สะท้อนออก มาไม่เท่ากัน ซึ่งที่ผา่ นมาผนังของบ้านเย็นอากาศ และ PK79 ก็สามารถเปลีย่ นได้ตามแสงของแต่ละ ช่วงเวลา แต่บา้ นหลังนีแ้ ม้ในช่วงเวลาเดียวกันแสง ทีไ่ ด้ในแต่ละมุมก็จะแตกต่างกันไป เนือ่ งจากเราใช้ องศาของอะลูมเิ นียมช่วยในการหักเหแสงไม่เท่ากัน ดังนัน้ ในช่วงเวลาเดียวกันบ้านหลังนีจ้ งึ มีสมี ากกว่า หนึ่งเฉด ถือเป็นอีกหนึ่งความสวยงามที่แตกต่าง ออกไป” การไม่หยุดนิง่ มีสว่ นสำ�คัญให้ AAd และคุณอยุทธ์ เติบโตขึน้ อย่างเป็นรูปธรรม ทัง้ ในแง่ความก้าวหน้า ขององค์กร รวมถึงผลงานการออกแบบและก่อสร้าง ทีต่ อบโจทย์ความต้องการผูค้ นทีม่ ฝี นั ในรูปแบบที่ แตกต่าง โดดเด่น และตอบโจทย์ชีวิตมากยิ่งขึ้น ซึ่งนั่นคือภารกิจหนึ่งในฐานะสถาปนิก
“งานออกแบบของเราไม่ ไ ด้ อ ยู่ เ พี ย งแค่ ค วาม สวยงาม แต่เราใช้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ เข้ามาช่วยวิเคราะห์ เทคโนโลยีที่ไม่ได้หมายถึง “ผมรูส้ กึ ว่าตอนนีเ้ รากำ�ลังเดินทางมาถึงจุดเกือบจะสุดยอดของการใช้วสั ดุอย่างอะลูมเิ นียม เทคโนโลยีการก่อสร้างที่ซับซ้อน แต่ห มายถึง จากภายในช่วง 1-2 ปีทผี่ า่ นมา และตอนนีบ้ า้ นหลังล่าสุดทีก่ �ำ ลังทำ�อยู่ เราพยายามจะ เทคโนโลยีที่ช่วยในการออกแบบ รวมถึงใช้หลัก ดึงศักยภาพของวัสดุออกมาให้ได้มากขึน้ เรือ่ ยๆ อีกเช่นกัน ทีผ่ า่ นมาถ้าสังเกตจะพบว่า วิทยาศาสตร์มาประยุกต์กบั การใช้งานในอีกมุมหนึง่ อย่างบ้านเย็นอากาศ อะลูมิเนียมจะทำ�หน้าที่ประดับตกแต่งและช่วยลดความร้อน เพราะฉะนัน้ งานของเราจึงค่อนข้างแหวกแนวกว่า จนมาถึงบ้าน PK79 ที่สร้างให้วัสดุอะลูมิเนียมมีมิติมากขึ้น คือมีทั้งความสวยงาม คนอื่น ลูกค้าส่วนใหญ่ที่เข้ามาหาเราย่อมมีความ กันความร้อน กันแดดกันฝน จนถึงป้องกันขโมย กระทั่งมาถึงวันนี้อีกขั้นที่เราพัฒนา คาดหวังในสิง่ ทีจ่ ะได้รบั ส่วนหนึง่ แต่เมือ่ กลับออกไป ศักยภาพของวัสดุโดยทำ�ให้เหนือกว่านัน้ โดยอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เขาจะได้ รั บ ในสิ่ ง ที่ เ กิ น กว่ า ที่ ค าดหวั ง ไว้ อ ย่ า ง ในการออกแบบบ้านหลังหนึง่ ทีป่ ระจวบคีรขี นั ธ์ โดยเราใช้วสั ดุทเี่ ป็นอะลูมเิ นียมเช่นกัน แน่นอน” แต่ใช้เทคนิคการพับเป็นรูปทรงสามเหลี่ยมขนาดไม่เท่ากัน เพื่อให้เกิดเอฟเฟ็กต์ของ
65
PK79 House
66
มุมมองจากบริเวณทางเข้าด้านหน้าบ้าน ทีม่ องเห็นรูปทรง กล่องสี่เหลี่ยมสีขาว เด่นสะดุดตา ด้วยรูปแบบที่เรียบง่าย และนิ่งสงบ รื่นรมย์ด้วยต้นไม้สีเขียวโดยรอบ
บ้าน PK79 เป็นอีกหนึง่ ผลงานการออกแบบทีว่ สั ดุอย่างอะลูมเิ นียมเข้าไปมีบทบาทมากยิง่ ขึน้ โดยจุดเริ่มต้นของบ้านหลังนี้เกิดจากการที่เจ้าของบ้านต้องการได้บ้านที่มีรูปทรงแบบกล่อง แต่เย็นสบาย และเนื่องด้วยเจ้าของบ้านมักจะเดินทางไปต่างจังหวัดบ่อยๆ ในการออกแบบ จึงต้องการให้คำ�นึงถึงเรื่องการป้องกันการโจรกรรมอีกด้วย บ้านหลังนี้จึงกลายเป็นอีกหนึ่ง ความท้าทายของการตีโจทย์ที่ยากขึ้นกว่าเดิม นั่นคือการจะออกแบบอย่างไรให้ป้องกันการ โจรกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากความคุ้นชินในอดีต เมื่อกล่าวถึงเรื่องป้องกันการโจรกรรม ‘เหล็กดัด’ ถือเป็นวิธีที่ได้รับ ความนิยมและถูกนำ�มาใช้กันอย่างแพร่หลาย เพราะสามารถป้องกันการโจรกรรมหรือชะลอ การเกิดเหตุได้ตั้งแต่ต้นเหตุ แต่ขณะเดียวกันก็ให้ความรู้สึกเหมือนเป็นการกักขังผู้ที่อาศัย อยูใ่ นบ้านไปด้วย ดังนัน้ ในการออกแบบคุณอยุทธ์จงึ เสนอแนวคิดในการสร้างภาพลักษณ์ของ เหล็กดัดในมุมทีต่ า่ งออกไปได้อย่างน่าสนใจ ผนวกกับการประยุกต์องค์ความรูเ้ รือ่ งพืน้ ทีใ่ ช้สอย ของบ้านเรือนไทยสมัยก่อนและเรือ่ งของทิศทางของแดด ลม ฝน (Orientation) รวมทัง้ เมือ่ ผสานกับ ความเชีย่ วชาญในการนำ�วัสดุอะลูมเิ นียมมาใช้ในการออกแบบเพือ่ ตอบโจทย์ตามความต้องการ ของเจ้าของบ้านด้วยแล้ว บ้านหลังนีจ้ งึ มีคณ ุ ค่าทางสถาปัตยกรรมและทางจิตใจเป็นอย่างยิง่ 67
ตีโจทย์ด้วยแนวคิดแบบ Multi-function ด้วยแนวคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ทตี่ อบสนองต่อ ความต้องการของลูกค้าเป็นหลัก จึงนำ�มาสูแ่ นวคิดเรือ่ ง กล่องนิรภัย (Safe Box) ซึง่ เป็นการออกแบบบ้านให้มี ลักษณะเป็นกล่องสีเ่ หลีย่ มปิดทึบ และหุม้ ตัวบ้านด้วย อะลูมิเนียม เปรียบเสมือนกับการสร้างเหล็กดัดคลุม ด้านนอกเอาไว้เพื่อป้องกันการโจรกรรม และอีกหนึ่ง แนวคิดที่สำ�คัญ ซึ่งส่งผลให้การออกแบบบ้านหลังนี้ แตกต่างออกไป นั่นคือการสร้างสรรค์องค์ประกอบ ทางสถาปัตยกรรมขึน้ มาอย่างหนึง่ ให้สามารถตอบโจทย์ การใช้งานได้หลายฟังก์ชั่น เพราะฉะนั้นเหล็กดัดอาจ ไม่จ�ำ เป็นต้องเป็นเพียงเครือ่ งมือป้องกันการโจรกรรม เท่านั้น แต่อาจทำ�หน้าที่ใช้งานในแบบอื่นได้เช่นกัน ดังนัน้ ในการออกแบบผนังภายนอกอาคาร นอกจากจะ ทำ�หน้าที่ปอ้ งกันโจรกรรมแล้ว ยังถูกออกแบบเสมือน เป็นฉนวนกันความร้อนไปด้วย โดยผนังด้านหน้าบ้าน ซึง่ เป็นทิศใต้ จะได้รบั ความร้อนจากแสงแดดมากจึงถูก ออกแบบให้ปิดทึบ ส่วนผนังด้านอื่นจะถูกออกแบบ เป็นกระจกบานกว้างทีเ่ ปิดโล่งได้ โดยซ้อนทับด้านนอก ด้วยระแนงอะลูมิเนียม ซึ่งจะทำ�หน้าที่บังแดดและ ป้องกันความร้อนที่เข้าสู่บ้านโดยตรง และยังมีที่ว่าง (Buffer Zone) ระหว่ า งผนั ง กระจกกั บ ระแนง อะลูมิเนียม สำ�หรับการถ่ายเทระบายอากาศและช่วย นำ�พาความร้อนออกจากตัวบ้าน
68
จากมุมมองบริเวณด้านหลังบ้านจะพบว่าแผงอะลูมเิ นียมเจาะรู ทีอ่ ยูบ่ ริเวณชัน้ บนสามารถเลือกปิด-เปิดได้ตามความเหมาะสม ในแต่ละช่วงเวลา และพืน้ ท่วี า่ งซึง่ เป็น Buffer Zone ระหว่าง ผนังกระจกกับระแนงอะลูมเิ นียม ยังเป็นพืน้ ทีข่ องระเบียงทีช่ ว่ ย ถ่ายเทระบายอากาศได้ดว้ ย
จากการออกแบบชายคาให้ยนื่ ถึง 3.50 เมตร และแผง อะลูมเิ นียมผืนใหญ่ จึงเป็นเสมือนเกราะป้องกันทีช่ ว่ ย กันแดดและฝนได้เป็นอย่างดี เมื่อแสงอาทิตย์ส่ อ ง มายังตัวบ้านในด้านใดด้านหนึ่งก็สามารถปิดแผง อะลูมเิ นียมในด้านนัน้ แล้วเลือกเปิดโล่งอีกด้านแทนได้ หรือเมื่อฝนตกก็สามารถปิดแผงอะลูมิเนียมและเปิด กระจกบานเลื่อนออกเพื่อรับลมเย็นได้เช่นกัน เพราะ ฝนจะไม่สาดเข้ามาภายใน และระแนงอะลูมเิ นียมยังทำ�หน้าทีเ่ สมือนเป็นแผงบังตา ทีช่ ว่ ยสร้างความเป็นส่วนตัวให้กบั เจ้าของบ้านในยาม ที่อยู่อาศัยได้อีกด้วย โดยบริเวณด้านหน้าตัวบ้านที่ มีลักษณะเป็นกล่องสีขาว ระแนงอะลูมิเนียมจะถูก ออกแบบให้มีลักษณะที่เรียบง่าย เป็นเส้นตรงแนวตั้ง สีขาวที่มีขนาดเส้นไม่เท่ากัน ทำ�หน้าที่ประหนึ่งผนัง ด้านนอกของอาคารทีส่ ามารถพับเก็บได้ นอกจากจะช่วย บังสายตาจากคนภายนอกแล้ว ยังเพิม่ ความปลอดภัย เมือ่ ยามทีเ่ จ้าของบ้านอยูภ่ ายในบ้านอีกด้วย ส่วนบริเวณ ด้ า นหลั ง บ้ า นซึ่ ง มี ลั ก ษณะเป็ น กล่ อ งสี ดำ � ระแนง อะลูมเิ นียมจะถูกออกแบบให้เจาะเป็นรูพรุนและมีขนาด ที่ไม่เท่ากัน เพื่อช่วยในการบังสายตาและสร้างความ เป็นส่วนตัวให้แก่เจ้าของบ้าน ทั้งนี้ขนาดการเจาะรู จะขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้สอยของเจ้าของบ้าน
บริเวณพืน้ ทีน่ ง่ั เล่นของคนในบ้านถูกออกแแบบให้สามารถเปิดโล่งตามแบบใต้ถนุ ของเรือนไทย ทีส่ ามารถเชือ่ มต่อไปยังพืน้ ทีส่ วนทางด้านหลัง โดยด้านหน้าบ้าน ยังมีบานประตูไม้ขนาดใหญ่ ทีส่ ามารถเลือกปิดไว้ได้ยามทีเ่ จ้าของออกไปข้างนอก และหากเจ้าของบ้านอยูใ่ นบ้านก็สามารถเปิดโล่งรับลมได้อย่างเต็มที่ 69
สถาปัตยกรรมสร้างคุณค่าทางจิตใจ เนื่องด้วยความชอบส่วนตัวของเจ้าของบ้าน ซึ่งยังคุ้นชินกับวิถีชีวิต แบบไทยๆ การได้พักผ่อนท่ามกลางความสงบและเป็นธรรมชาติ จึงเป็นสิง่ ทีใ่ ฝ่หา แต่ดว้ ยบริบทของชุมชนเมืองอย่างในปัจจุบนั การจะ ใช้ชวี ติ แบบในวันวานคงเป็นไปได้ยาก ดังนัน้ การออกแบบบ้านหลังนี้ จึงสร้างสถาปัตยกรรมที่เน้นคุณค่าทางจิตใจอีกทางหนึ่งด้วย เริม่ ตัง้ แต่การออกแบบบริเวณชัน้ ล่างของบ้านให้มลี กั ษณะคล้ายกับ บ้านเรือนไทยทีจ่ ะมีใต้ถนุ สูงเพือ่ ใช้เป็นพืน้ ทีท่ �ำ กิจกรรมของคนในบ้าน โดยชัน้ ล่างจะเป็นส่วนของห้องนัง่ เล่น ห้องครัว และพืน้ ทีร่ บั ประทาน อาหาร ด้วยการออกแบบเป็นพืน้ ทีเ่ ปิดโล่งทีเ่ ชือ่ มต่อเนือ่ งกัน โดยเฉพาะ ห้องนัง่ เล่นทีอ่ อกแแบบให้ผนังทัง้ สองด้านสามารถเปิดเชือ่ มต่อไปยัง พืน้ ทีภ่ ายนอกได้ เสมือนเป็นใต้ถนุ โล่ง ยามทีม่ คี นอยูบ่ า้ นก็สามารถ เปิดรับลมได้อย่างเต็มที่ และสามารถปิดทึบเมือ่ ไม่มคี นอยูบ่ า้ น ซึง่ เป็น การตอบโจทย์เรื่องการป้องกันการโจรกรรมไปในตัว และด้วยความชอบที่ได้นอนเปิดหน้าต่างยามฝนตก การได้กลิ่นดิน ยามถูกฝนชะล้าง ทำ�ให้เจ้าของบ้านหวนคิดถึงชีวิตในวัยเด็ก ดังนั้น การออกแบบพื้นที่ชั้นบน ซึ่งเป็นห้องนอนและพื้นที่ทำ�งานจึงมี ลักษณะที่เปิดโล่ง ผนังเป็นกระจกบานกว้างที่สามารถเปิดรับลม และแสงธรรมชาติได้อย่างเต็มที่ และหุ้มผนังด้านนอกอีกชั้นด้วย 70
แผงอะลูมิเนียมเจาะรูที่สามารถเลือกปิดเปิดได้ตามต้องการ โดย ในเวลากลางวันยามที่ต้องการแสงธรรมชาติเข้าสู่ภายในก็สามารถ เปิ ด กว้ า งได้ หรื อ สามารถเลื อ กปิ ด ลงเพื่ อ ความเป็ น ส่ ว นตั ว ใน ยามกลางคืน หรือในยามที่มีฝนตกลงมาก็สามารถเลือกปิดแผง อะลูมิเนียมแล้วเปิดผนังกระจกบานเลื่อนออก เพื่อรับลมเย็นและ กลิน่ ไอดินได้ตามอย่างทีเ่ จ้าของบ้านต้องการ โดยไม่ตอ้ งกลัวฝนสาด ทั้งยังมีความปลอดภัยอีกด้วย โดยการเจาะรูบนของแผ่นอะลูมเิ นียมนัน้ ขนาดของแต่ละรูจะไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับการใช้สอยพื้นที่ภายในบ้าน อาทิ แผงอะลูมิเนียมที่บริเวณ ห้องนอนของเจ้าของบ้านจะถูกเจาะรูขนาดใหญ่ไว้ส่วนด้านบนและ เจาะรูขนาดเล็กไว้ด้านล่างของแผง เพื่อความเป็นส่วนตัวในเวลาที่ ล้มตัวลงนอน คนภายนอกก็จะไม่สามารถมองเข้ามาเห็นภายในบ้านได้ แต่ในบางพืน้ ทีก่ เ็ จาะให้มขี นาดใหญ่พเิ ศษเพือ่ ให้เกิดเป็นช่องทีส่ ามารถ มองเห็นวิวสวนได้พอดี ซึ่งเป็นการดึงศักยภาพของสภาพแวดล้อม เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของงานสถาปัตยกรรมได้อย่างลงตัว นอกจากนี้ ขนาดรูทมี่ ไี ม่เท่ากันเหล่านีย้ งั ให้ผลลัพธ์ในการสร้างมิตขิ องแสงและ เงาให้กบั บ้านด้วย ในเวลากลางวันเมือ่ แสงลอดผ่านรูขนาดทีต่ า่ งกัน เข้ามาตกกระทบลงบนพืน้ จะสร้างแสงเงาลงบนพืน้ ห้อง และในเวลา กลางคืนแสงสว่างจะทำ�ให้บ้านเรืองแสงคล้ายกับโคมไฟที่สวยงาม
71
นอกเหนือจากการเลือกนำ�วัสดุทแ่ี ตกต่างมาใช้งานแล้ว การออกแบบบ้านหลังนีย้ งั คำ�นึงถึงพืน้ ทีใ่ ช้สอยในรูปแบบ ใหม่ๆ และการสร้างบรรยากาศที่เชื่อมต่อระหว่าง ภายนอกและภายในได้อย่างลงตัว ทัง้ การเปิดช่องว่าง เพือ่ นำ�แสงธรรมชาติและสวนสีเขียวเข้าสูต่ วั บ้าน หรือ การสร้างพื้นที่ภายในบ้านที่แตกต่างจากรูปลักษณ์ ภายนอกซึ่งเห็นเป็นกล่องสี่เหลี่ยมที่เรียบนิ่ง จะสร้าง ความตื่นใจอย่างยิ่ง อาทิ การสร้างพื้นที่สวนสีเขียว ตรงกลางบ้าน และเพิ่มเติมลูกเล่นด้วยการติดกระจก ที่บานตู้เก็บของ เพื่อเพิ่มมิติของสวนให้สะท้อนภาพ ต้นไม้เป็นหลายๆ ต้น ราวกับทำ�ครัวอยูท่ า่ มกลางสวน ขนาดใหญ่ หรือการออกแบบฝ้าในห้องทำ�งานบริเวณ ชัน้ สองให้มลี กั ษณะเป็นทรงจัว่ ตามแบบความลาดเอียง ของหลังคาบ้าน ซึง่ ขัดแย้งกับรูปลักษณ์ภายนอกซึง่ เป็น กล่องสีเ่ หลีย่ มอย่างมาก แต่กย็ งั กลมกลืนกับตัวอาคาร ได้ในอีกรูปแบบหนึ่ง บ้านหลังนีถ้ กู ออกแบบให้เกิดความกลมกลืนและผสาน กันอย่างลงตัวและสมบูณณ์แบบ ผ่านองค์ประกอบ ทางสถาปัตยกรรม การออกแบบพืน้ ทีใ่ ช้สอยภายในและ งานภูมทิ ศั น์โดยรอบ นัน่ เพราะการออกแบบได้ค�ำ นึงถึง วิถีชีวิตและตอบโจทย์การอยู่อาศัยของเจ้าของบ้าน อย่างแท้จริงนั่นเอง
72
ชื่อโครงการ: ที่ตั้งโครงการ: เจ้าของโครงการ: พื้นที่ใช้สอย: ปีที่เริ่มออกแบบ: ปีที่ก่อสร้างเสร็จ: ทีมงานผู้ออกแบบ: ผู้รับเหมา: ช่างภาพ:
PK79 House ถนนเพชรเกษม 79 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพฯ คุณวาณี ชาติเศรษฐกานต์ และ คุณพิษณุ กุศลวงศ์ 450 ตารางเมตร 2556 2558 บริษัท เอ เอ ดี ดีไซน์ จำ�กัด บริษัท เอส เอ็น ที คอนสตรัคชั่น จำ�กัด คุณศุภกร ศรีสกุล
73
IN THE BOX
เรื่อง : ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ้วน)
HOBOT-188 หุ่นยนต์เช็ดกระจกอัจฉริยะ นับเป็นการปฏิวัติการทำาความสะอาดกระจกในรูปแบบใหม่ สุดลำ้ากับสุดยอด นวัตกรรม หุ่นยนต์เช็ดกระจกอัจฉริยะ HOBOT-188 นวัตกรรมที่ช่วย ในเรื่องการทำาความสะอาดและช่วยรักษาความปลอดภัยในตัว เดิมทีการเช็ดกระจกในแต่ละครั้งนั้นเราต้องยืน เช็ดและใช้เวลาค่อนข้างนาน ยิง่ กระจกอยูส่ งู ด้วยแล้ว ยิ่งทำาให้การทำางานค่อนข้างลำาบากและก็จะยิ่ง เป็นอันตราย หากต้องหาเก้าอี้มาช่วยในการปีน ทำาความสะอาด หรือปีนขึน้ ไปเพือ่ เช็ดกระจก อาจจะ ทำาให้ผู้ที่ทำาความสะอาดได้รับอุบัติเหตุระหว่าง การเช็ดกระจกได้ ปัญหาเหล่านี้จะหมดไปเมื่อใช้ หุ่นยนต์เช็ดกระจกอัจฉริยะ HOBOT-188 หุ่ น ยนต์ เ ช็ ด กระจกอั จ ฉริ ย ะ HOBOT-188 ควบคุมการเคลื่อนไหวด้วยระบบ AI และระบบ เซ็นเซอร์ ทำาให้สามารถคำานวณเส้นทางเคลื่อนที่ ไปเช็ดคราบสกปรกได้ละเอียด สามารถเช็ดเก็บฝุน่ ละอองได้สะอาดหมดจด ไม่สร้างรอยขีดข่วนบน พื้นผิว ไม่ทิ้งคราบเช็ดหรือรอยล้อหมุน สามารถ ปรับรูปแบบการเช็ดได้ผ่านรีโมท ทำาให้สะดวกต่อ การเช็ดทำาความสะอาดบนพื้นที่สูง สำาหรับผ้าเช็ด สามารถนำามาซักและเช็ดซ้ำาได้เรื่อยๆ ทำางาน ได้ต่อเนื่องยาวถึง 500 ชั่วโมง เมื่อไฟตกก็จะมี แบตเตอรีส่ าำ รองคอยประคองไม่ให้เครือ่ งตกลงสูพ่ น้ื นอกจากกระจกแล้วยังสามารถเช็ดได้ทุกพื้นผิว ทั้งกระจกผิวเรียบ กระจกลาย กระจกโมเสค ผนัง พื้น กระเบื้อง โต๊ะ เป็นต้น โดยจุดเด่นคือ สามารถทำางานต่อเนือ่ งได้ 500 ชัว่ โมง ไม่ตอ้ งหยุดพัก สามารถเช็ดทำาความสะอาดตึกสูง ขนาด 3 ชั้น หรือ 9 เมตร ได้อย่างสบาย และยัง
สามารถทำางานได้ทง้ั แนวดิง่ และแนวราบ กินไฟแค่ 80 วัตต์ ซึง่ ประหยัดไฟฟ้าอย่างมาก และใช้เวลาในการทำาความสะอาด 4 นาทีตอ่ ตารางเมตร นับเป็นนวัตกรรมทีถ่ กู พัฒนา ขึน้ มาเพือ่ ช่วยวงการทำาความสะอาด สอดรับปัญหาด้านแรงงานขาดได้เป็นอย่างดี และ ในปัจจุบันหุ่นยนต์เช็ดกระจกอัจฉริยะ HOBOT-188 ได้รับความสนใจจากผู้บริโภค เป็นอย่างมาก นับเป็นการปฏิวัติการทำาความสะอาดกระจกในรูปแบบใหม่สุดล้ำากับ สุดยอดนวัตกรรมจริงๆ ขอขอบคุณข้อมูล บริษัท วินนีย์กั๊ตเจ็ต จำากัด 1105/15 ซ. เพชรบุรี 31 มักกะสัน ราชเทวี กทม 10400 โทร. 084-696-4446
74
3 . 5â&#x20AC;? 5 â&#x20AC;?II n t e l l iig g e n t t o u c h pa n e l
C urr t a in co nt r o l
L ig roll i g h t i n g c o n t ro
Ca m e r a I P Came A i r c o n t ro l IR emitter
IP Camera R G B Li g ht ing con t ro l RG Light
5 â&#x20AC;? I n t e ll i g e n t t o u c h p an e l
TV co contro ntrol
Socket
do o r se n so r
W at e r iin ng system Intercom
D iigi g i t a l do o r l o c k SOS
B a c k g ro r o u n d mu s i c
Intercom
5â&#x20AC;?Intelligent Touch Panel
KNX Multifunction ultifunction Controller Switching
Lighting hting
Curtain
Air Conditioner
Wireless
' 8+2/'(2+ 93'8: .53+ 9?9:+3
¼²Â&#x153;Â&#x153;Â&#x153;n´Â&#x203A;ÂŻÂłÂ&#x160;Â&#x2039;¼œ¤²Â&#x2122;ž¡Ă&#x2020;Â&#x152;šĂ&#x2020;ÂŻÂŁÂłĂ&#x2020;Â&#x203A;Â&#x2122;¡Ă&#x2020;ÂŹÂşÂ&#x2013;Â&#x153;Â&#x203A;Ă&#x20AC;§Â&#x192;
Â&#x2122;¾à ÂnÂ&#x2020;ÂşÂ&#x2022;Â&#x2020;ŠÂ&#x153;Â&#x2020;º£¯ºÂ?Â&#x192;ÂĽÂ&#x2022;qÂ&#x2014;m´Â&#x2030;Ă&#x201E;¢´¤à Â&#x203A;Â&#x153;n´Â&#x203A;Ă&#x201A;Â&#x2013;n ¯¤m ´Â&#x2030;²Â&#x2013;ŠÂ&#x192;ÂŹÂ&#x153;´¤Ă&#x20AC;Â&#x2013;¤Â&#x17E;m´Â&#x203A;£´¼qÂ&#x2122;Ă&#x20AC;ÂĄÂ&#x203A;Â&#x201E;ÂŻÂ&#x2030;Â&#x2020;ÂşÂ&#x2022; žÂ&#x152;mÂ&#x203A; Ă&#x201A;ÂĄ ÂŁm´Â&#x203A; ¿¯¼q Â&#x2122;¡Š¡ Â?¼²Â&#x2014;Âť Â&#x192;§nÂŻÂ&#x2030; Â&#x2014;m´Â&#x2030;Ă&#x201E; £´Â&#x192;Â&#x192;Šm´Â&#x203A;ÂłĂ&#x2021;Â&#x203A; ¼²Â&#x153;Â&#x153;Â&#x153;n´Â&#x203A;¤³Â&#x2030;Â&#x2122;ÂľÂ&#x2030;´Â&#x203A;ž¯Â&#x2030;Ă&#x201A;Â&#x2013;nÂŻÂłÂ&#x2014;Ă&#x20AC;Â&#x203A;ÂŁÂłÂ&#x2014;Âś Â&#x2014;´£Â&#x2020;Š´£Â&#x2014;n ÂŻÂ&#x2030;Â&#x192;´¼Â&#x201E;ÂŻÂ&#x2030;žÂ&#x160;n´Â&#x201E;ÂŻÂ&#x2030;Â&#x153;n´Â&#x203A; Ă&#x192;Â?ÂŞrŒŸ¤ à ¨¸¼Â?Â&#x161;ÂľÂ&#x160;Â&#x2014;nÂŞÂ&#x153; Œ¾¤°¡Â&#x153;Â&#x161;ÂŚÂľ Â&#x2DC;šÂ&#x201E; -XKGZ +SVOXK /TZKXTGZOUTGR -XU[V )U 2ZJ TGZOUTGR -XU[V )U 2ZJ
7HO :HE ZZZ JHLJFO FRP =LS :HE ZZZ JHLJFO FRP =LS )D[ ( PDLO JHLJ FKHQ#JPDLO FRP PDLO JHLJ FKHQ#JPDLO FRP $GGUHVV 0RR 3KDQWDLQRUDVLQJ $ 0XHDQJ 6DPXWVDNKRQ 7KDLODQG QWDLQRUDVLQJ $ 0XHDQJ 6DPXWVDNKRQ 7KDLOD LODQG
CDC
M:0809090918 / 0881518888
K2
APP
PRODUCT REVIEWS
เรื่อง: นฤนาท เกรียงไกร
เทรนด์วัสดุยุคใหม่ใช้ง่ายมากประโยชน์ ปัจจุบนั ... เทคโนโลยีและนวัตกรรมวัสดุกอ่ สร้างและตกแต่งมีการพัฒนาอย่าง รวดเร็ว เพื่อที่จะตอบสนองการใช้งานของผู้บริโภคยุคใหม่ที่ต้องการความ สะดวก รวดเร็ว และประโยชน์ทเ่ี พิม่ ขึน้ Product Reviews ฉบับนีจ้ งึ ขอนำาท่าน ผูอ้ า่ นมาอัพเดทเทรนด์วสั ดุยคุ ใหม่ ทีส่ ามารถตอบโจทย์การใช้งานทีห่ ลากหลาย มาให้ได้ติดตามกัน
‘MasterEase’ สารผสมคอนกรีตลดความหนืด บริษทั บีเอเอสเอฟ (ไทย) จำ�กัด ได้นาำ เสนอนวัตกรรมสารผสมเพิม่ สำาหรับคอนกรีตตัวใหม่ลา่ สุด ‘MasterEase’ ซึง่ เป็นสารผสมเพิม่ สำาหรับคอนกรีตทีจ่ ะช่วยปรับปรุงคุณสมบัตคิ วามหนืดของคอนกรีตให้ มีประสิทธิภาพมากขึน้ โดยนวัตกรรมนีจ้ ะช่วยให้คอนกรีตมีสว่ นผสม เป็นเนื้อเดียวกันมากขึ้น จึงช่วยให้การทำางานเทหล่อคอนกรีตทำาได้ ง่ายขึน้ และมีความสม่าำ เสมอ สามารถนำาไปประยุกต์ใช้ในงานต่างๆ เช่น การปั๊มหล่อเทเข้าแบบ และการแต่งผิวคอนกรีตคุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์สารผสมเพิม่ สำาหรับคอนกรีต MasterEase ใช้เทคโนโลยี โพลิเมอร์รุ่นใหม่ล่าสุด ซึ่งเป็นแนวทางการแก้ปัญหาในการเทหล่อ คอนกรีตทีเ่ น้นด้านความรวดเร็วและประหยัด โดยจะช่วยลดความหนืด ของคอนกรีตได้ถงึ 30 เปอร์เซ็นต์ จึงช่วยลดเวลาและแรงงานในการ ปัม๊ และเทหล่อคอนกรีต ทำาให้การทำางานมีความง่ายและรวดเร็วขึน้
โดยถือเป็นผลิตภัณฑ์ทกี่ า้ วล้าำ ทีส่ ดุ ทีไ่ ด้รบั การรับรองจากทัว่ โลกและ ในประเทศไทย ซึ่งจะช่วยให้เจ้าของโครงการ วิศวกร และผู้รับเหมา ก่อสร้าง สามารถเอาชนะความท้าทายรูปแบบต่างๆ ในงานก่อสร้าง และทำาให้โครงการบรรลุผลสำาเร็จ โดยเฉพาะงานเทหล่อคอนกรีตใน อาคารสูงสามารถทำาได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ผู้ผลิตคอนกรีตและผู้ใช้คอนกรีตจะได้รับประโยชน์อย่างมาก จากเทคโนโลยีใหม่นี้ ซึ่งมีความยืดหยุ่นและสามารถปรับเข้ากับ สถานการณ์ทท่ี า้ ทายต่างๆ ได้ ทัง้ ในเรือ่ งของอุณหภูมิ และการผันแปร ของวัสดุ MasterEase จึงมีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งสำาหรับ คอนกรีตผสมเสร็จที่ได้รับการออกแบบ และเหมาะสมที่สุดสำาหรับ คุณสมบัติทางวิศวกรรมชั้นสูง อีกทั้งยังเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ทำาให้ได้คอนกรีตทีม่ คี า่ กำาลังอัดสูง ทีม่ อี ตั ราส่วนของน้าำ ต่อซีเมนต์ตาำ่ และผสมกับวัสดุทดแทนซีเมนต์ในปริมาณทีส่ งู ขึน้ ทำาให้คาร์บอนฟุตพริน้ ท์ ของคอนกรีตลดลง สนใจรายละเอียดติดต่อได้ที่ บริษัท บีเอเอสเอฟ (ไทย) จำากัด โทรศัพท์ 02 - 769 - 8560 โทรสาร 02 - 869 - 8501
76
‘PIC –PERF’ สุนทรียภาพแห่งการตกแต่ง ห้�งหุน้ ส่วนจำ�กัด เอกสย�มโลหะกิจ ผูผ้ ลิตและจำาหน่าย PIC-PERF (Pic-Perforated) ที่เป็นการผสมผสานเทคโนโลยีในการฉลุลายบน แผ่นเหล็ก โดยการเจาะเหล็กให้เป็นรูเล็กๆ หรือรูใหญ่หลายๆ รู ผสมผสานกันเพื่อให้เกิดเป็นภาพ สามารถเจาะลวดลายที่มีความ ต่อเนื่องบนแผ่นเหล็กหลายๆ แผ่น เพื่อให้เกิดภาพขนาดใหญ่ที่ดู เหมือนเป็นเหล็กแผ่นเดียวกัน ในเนื้อที่ที่เกินกว่าแผ่นเหล็ก 1 แผ่น สามารถทำาได้ พร้อมกับสร้างเรื่องราวต่อเนื่องของภาพและปรากฏ เป็นภาพทีแ่ สดงเรือ่ งราวต่างๆ และทีพ่ เิ ศษกว่าคือ สามารถออกแบบ ลวดลายเพียงนำารูปภาพที่ต้องการมาเป็นต้นแบบในการฉลุลาย จุดเด่นของตะแกรงเจาะรูรปู ภาพ PIC-PERF สามารถออกแบบและ สร้างสรรค์งานที่ไร้ขีดจำากัด สามารถสร้างงานดีไซน์ที่แปลกใหม่ ไม่ซา้ำ ใคร โดยควบคุมงบประมาณได้ตามต้องการ ด้วยราคาทีไ่ ม่แพง ไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการเปิดพิมพ์ใหม่ นอกจากนีย้ งั สามารถสร้างสรรค์ รูปภาพจากการเจาะรูจำานวนมากมารวมกัน เป็นการตกแต่งที่ สามารถสร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัว ด้วยกระบวนการสร้างภาพที่ สามารถมองเป็นภาพได้ชดั เจน มีอายุการใช้งานยาวนาน เมือ่ เทียบกับ ผนังรูปภาพทัว่ ไป และยังสามารถเจาะรูลงบนแผ่นโลหะและแผ่นอโลหะ ได้ทุกชนิด
สามารถนำาไปใช้สาำ หรับงานตกแต่งได้ทกุ ชนิด ทัง้ งานตกแต่งภายใน และงานตกแต่งภายนอกอาคาร นอกจากนีย้ งั มีคณ ุ สมบัตใิ นการช่วย กันเสียงสะท้อน และคุณสมบัติในการดูดซับเสียง เหมาะที่จะใช้เป็น ฝ้าเพดาน ผนังอาคาร ผนังหน้าอาคาร หรือจะใช้เป็นฉากแสดงสินค้า ฉากบังแสง ฉากกั้นห้อง ระเบียงทางเดิน พื้นทางเดิน ราวกันตก ตะแกรงกัน้ รัว้ ทำารัว้ ใช้ทาำ เป็นโลโก้และป้ายชือ่ ใช้ในงานเฟอร์นเิ จอร์ แผงและชั้นโชว์สินค้า ชั้นวางสินค้า โคมไฟ โต๊ะ เคาน์เตอร์ เก้าอี้ ของประดับตกแต่ง และตะแกรงสำาหรับงานตกแต่งต่างๆ และจุดเด่นที่สำาคัญอีกสิ่งหนึ่งคือ สามารถถ่ายทอดรูปภาพลงบน แผ่นเหล็กในรูปแบบภาพขาวดำา ด้วยเทคนิคการเจาะรูทท่ี าำ ให้ดรู าวกับ ภาพถ่ายจริง เป็นประติมากรรมงานออกแบบสร้างสรรค์โดยภาพที่ ปรากฏเกิดจากจุดพิกเซลเล็กๆ จำานวนมาก สามารถมองเห็นเป็น ผืนภาพอย่างชัดเจน สามารถนำามาประยุกต์ในงานด้านการจัดแสง ทีจ่ ะช่วยเติมความน่าสนใจให้กับภาพ ใช้สาำ หรับตกแต่งภายในและ งานเฟอร์นเิ จอร์ ตะแกรงเจาะรูรปู ภาพ PIC-PERF ยังเหมาะอย่างยิง่ ที่จะนำาไปใช้เป็นฉากกั้นห้อง ด้วยคุณสมบัติที่พิเศษคือ สามารถ ใช้ได้ทั้ง 2 ด้าน โดยสามารถเห็นรูปภาพตะแกรงเจาะรูทั้งด้านหน้า และด้านหลัง สนใจรายละเอียดติดต่อได้ที่ ห้างหุ้นส่วนจำากัด เอกสยามโลหะกิจ โทรศัพท์ 02 - 892 - 0826 - 9 โทรสาร 02- 892 - 0728 www.firstsiamperforation.com 77
‘READYSPACE ’ อาคารสำาเร็จรูปติดตั้งง่ายพับเร็ว READYSPACE อาคารสำาเร็จรูปที่สามารถประกอบและพับเก็บได้ง่าย เหมาะที่จะ เคลือ่ นย้ายไปในทุกทีท่ ตี่ อ้ งการ และรูปแบบการใช้งานให้เลือกหลากหลาย โดยเฉพาะ ในรูปแบบของ FLIP HOUSE เป็นบ้านพับพร้อมประกอบสำาเร็จรูป ทีม่ คี วามสะดวกใน การติดตัง้ ประหยัดเวลา คุม้ ค่า แข็งแรง ทีส่ าำ คัญคือสามารถเคลือ่ นย้ายได้ตามต้องการ มี 2 ขนาดให้เลือกใช้คือ FLIP HOUSE L SERIE ขนาดพื้นที่เมื่อพับเก็บกว้างเพียง 0.35 เมตร ยาว 3.00 เมตร และสูง 2.75 เมตร ส่วนขนาดเมือ่ ติดตัง้ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จะมีความกว้าง 3.25 เมตร ยาว 3.00 เมตร สูง 2.75 เมตร ส่วน FLIP HOUSE M SERIE จะมีขนาดเมือ่ พับเก็บ กว้างเพียง 0.75 เมตร ยาว 3.00 เมตร สูง 2.75 เมตร ขนาดเมื่อติดตั้งเสร็จ กว้าง 3.00 เมตร ยาว 3.00 เมตร และสูง 2.75 เมตร FLIP HOUSE เหมาะสำาหรับผูต้ อ้ งการความสะดวกและความรวดเร็วในการเพิม่ พืน้ ที่ ใช้สอย เช่น ผู้ที่ต้องการบ้านหรือที่พักอาศัย ผู้ที่ต้องการพื้นที่ใช้สอยในพื้นที่ห่างไกล และต้องโยกย้ายไปตามพืน้ ทีต่ า่ งๆ ซึง่ จะช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยในการติดตัง้ และโยกย้าย ประหยัดค่าแรง และเพิม่ ความคุม้ ค่าในการใช้งานสูงสุด สามารถใช้แทนตูค้ อนเทนเนอร์ ซึง่ มักจะประสบปัญหาความร้อนภายในตูค้ อนเทนเนอร์ ในขณะที่ FLIP HOUSE ไม่มี ปัญหาดังกล่าว เพราะออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่ช่วยลดอุณหภูมิได้ นอกจากความสะดวกในการเคลื่อนย้าย FLIP HOUSE ยังถูกออกแบบให้มีความ ทนทานต่อความชื้นและแรงกระแทก หมดปัญหาเรื่องการก่อสร้าง ง่ายต่อการใช้งาน โดยใช้เวลาในการติดตัง้ เพียง 15 นาทีเท่านัน้ และใช้คนเพียง 2 คนสำาหรับการประกอบ และติดตั้ง ด้วยคู่มือที่มีมาให้ FLIP HOUSE เลือกใช้วัสดุที่มีมาตรฐานและได้รับการ รับรองจากสถาบันชั้นนำา โดยมีอายุการใช้งานมากกว่า 15 ปี
78
อาคารสำาเร็จรูปอีกรูปแบบของ READYSPACE คือ ร้านค้า กับ FOLDING SHOP เป็นร้านค้าพับได้ พร้อมประกอบสำาเร็จรูป สะดวกในการติดตั้ง ประหยัดเวลา คุ้มค่า แข็งแรง และสามารถเคลือ่ นย้ายได้ตามความต้องการ ติดตัง้ ง่ายใช้เวลาเพียง 15 นาที ด้วยคนเพียง 2 คน ด้วยคูม่ อื ที่แนบมา วัสดุที่เลือกใช้มมี าตรฐานและได้รับการรับรอง จากสถาบันชั้นนำา โดยมีอายุการใช้งานมากกว่า 15 ปี FOLDING SHOP เหมาะสำาหรับผูท้ ตี่ อ้ งการความสะดวก และความรวดเร็วในการเปิด ร้านค้า เช่น ผูท้ ตี่ อ้ งการเปิดร้านกาแฟ ขยายร้าน หรือต้องโยกย้ายร้านไปในพืน้ ทีต่ า่ งๆ ประหยัดค่าติดตั้งและค่าแรง สามารถใช้แทนตู้คอนเทนเนอร์ซึ่งมักจะประสบปัญหา ความร้อนภายในตู้ ในขณะที่ FOLDING SHOP ถูกออกแบบและใช้วัสดุที่ช่วยลด อุณหภูมิ ด้วยการเลือกใช้หลังคาและแผ่นบอร์ดของ X-SHIELD ที่สามารถสะท้อน ความร้อนออกไปถึง 40 เปอร์เซ็นต์ ทัง้ ยังทนทานต่อความชืน้ และแรงกระแทก เย็นกว่า ร้านค้าทีท่ าำ จากตูค้ อนเทนเนอร์ หมดกังวลเรือ่ งช่างฝีมอื สะดวก รวดเร็วในการเคลือ่ นย้าย และขนส่ง ทำาให้ประหยัดงบประมาณในการโยกย้ายสาขา เพราะปกติร้านค้ากึ่งถาวร ทั่วไปไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ แต่ FOLDING SHOP สามารถย้ายไปติดตั้งที่ใหม่ได้ ทัง้ ร้านค้า มีขนาดและพืน้ ทีเ่ มือ่ ทำาการพับเก็บไม่มาก ด้วยความกว้างเพียง 0.55 เมตร ยาว 1.50 เมตร และความสูง 2.35 เมตร ส่วนขนาดพื้นที่เมื่อทำาการติดตั้งเสร็จ เรียบร้อยแล้ว จะมีความกว้าง 2.80 เมตร ยาว 1.50 เมตร และสูง 2.35 เมตร
สนใจรายละเอียดติดต่อได้ที่ READYSPACE โทรศัพท์ +66 - 2579 - 5635, 089 - 699 - 2296 แฟกซ์ +66 - 2940 - 8176 www.facebook.com/readyspace.th/
79
‘X-Shield Product’ วัสดุยุคใหม่สารพัดประโยชน์ บริษัท อคิลิส อ�ร์คิเทคเจอร์ แอนด์ ซัพพล�ย จำ�กัด ในฐานะผู้ค้นคว้า วิจัย และ พัฒนาผลิตภัณฑ์กอ่ สร้างรูปแบบต่างๆ ด้วย X-Shield Product วัสดุกอ่ สร้างทีม่ คี วาม รับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและประหยัดพลังงาน ที่น่าสนใจคือผลิตภัณฑ์ X-SHIELD ROOF เป็นแผ่นหลังคาลอนคู่ ที่ผลิตจากการหลอมรวมระหว่างพลาสติก PE และ อลูมิเนียมฟอยล์เป็นเนื้อเดียวกัน ทำาให้มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการ ทั้งการกันน้ำา กันไฟ (มีคณ ุ สมบัตไิ ม่ลามไฟ) สามารถป้องกันการกระแทก เนือ่ งจากตัววัสดุเองมีความ ยืดหยุ่นและความเหนียว ไม่แตกหักง่าย สามารถเก็บความเย็น ป้องกันความร้อน สะท้อนยูวี ไม่เกิดเชื้อรา มีคุณสมบัติดูดซับเสียงได้ดี มีน้ำาหนักเบา และติดตั้งง่าย โดยขนาดของ X-SHIELD ROOF ใหญ่กว่าแผ่นหลังคาลอนคูป่ กติถงึ 4 เท่า ทำาให้ลด ปริมาณการทับซ้อนของแผ่นหลังคาได้ จึงประหยัดในเรือ่ งโครงสร้าง ค่าแรง และระยะ เวลามุงหลังคา อีกทั้งมีคุณสมบัติเป็นฉนวน จึงไม่จำาเป็นต้องติดฉนวนกันความร้อน ใต้แผ่นกระเบื้องให้สิ้นเปลือง การติดตั้งระยะแปที่แผ่นหลังคาสามารถวางได้ตาม มาตรฐาน สามารถใช้แประยะ 60-100 เซนติเมตร แต่หากต้องการเพิ่มระยะแป ก็สามารถเพิ่มได้มากที่สุด ประมาณ 1-1.15 เมตร อีกผลิตภัณฑ์ทมี่ คี วามน่าสนใจไม่แพ้กนั คือ X-SHIELD BOARD เป็นแผ่นบอร์ดทีใ่ ช้ใน งานออกแบบก่อสร้างทีม่ คี ณ ุ สมบัตพิ เิ ศษมากมาย จึงสามารถนำาไปใช้งานได้หลากหลาย สามารถใช้เป็นผนังเบากัน้ ห้อง ผนังตกแต่งภายในทีส่ ามารถโชว์ผวิ ผนังได้ หรือแม้แต่ จะใช้เป็นผนังภายนอกอาคารก็สามารถทำาได้ ใช้ปูพื้น ทำาฝ้าเพดาน หรือแผ่นรอง ใต้หลังคาก็ได้
เนื่ อ งจากเป็ น แผ่ น บอร์ ด ที่ ผ่ า นการหลอมรวม ระหว่างพลาสติก PE และอลูมเิ นียมฟอยล์ ภายใต้ แรงบี บ อั ด ความดั น สู ง (High Density & Compression PE & Aluminium foils board) ทำาให้มีคุณสมบัติที่โดดเด่น สามารถกันน้ำา กันไฟ กันกระแทก ช่วยเก็บกักความเย็น ป้องกันความร้อน สะท้อนยูวี ดูดซับเสียง ไม่เป็นสนิม ป้องกันปลวก ซ่อมแซมได้ง่าย และยังช่วยลดการใช้ทรัพยากร ทางธรรมชาติได้อีกทางหนึ่งด้วย X-SHIELD BOARD มีให้เลือกใช้งาน 2 ขนาด คือ ขนาด 5 มม. และ ขนาด 10 มม. โดยทั้งสองแบบ มีขนาด 1.20 X 2.40 ม. มีคุณสมบัติและลักษณะ การใช้งานเหมือนกันทุกประการ เพียงแต่แผ่นทีม่ ี ขนาดความหนา 10 มม. จะมีความทนทานสูงกว่า ขนาด 5 มม. เหมาะที่จะนำาไปใช้ในงานภายนอก อาคาร หรื อ เพื่ อ ความแข็ ง แรงในการยึ ด เกาะ สิ่ ง ของที่ มี น้ำ า หนั ก มากๆ ให้ เ ป็ น พื้ น หรื อ ผนั ง กั น ความร้ อ นในห้ อ งเย็ น และสามารถนำ า ไป ประยุกต์ใช้งานในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะกับ งานเฟอร์นิเจอร์ สนใจรายละเอียดติดต่อได้ที่ บริษัท อคิลิส อาร์คิเทคเจอร์ แอนด์ ซัพพลาย จำากัด โทรศัพท์ 091 - 747 - 5470 โทรสาร 02 - 718 - 1452 www.achilles-th.com
80
‘Philips LED SceneSwitch’ นวัตกรรมหลอดไฟปรับความสว่างได้ บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ได้เปิดตัว หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch - Brightness Change หลอดไฟแอลอีดรี นุ่ ใหม่ ทีม่ าพร้อมกับคุณสมบัตกิ ารปรับความสว่าง ของแสงได้ 3 ระดับในหลอดเดียว โดยสามารถใช้สวิตซ์ไฟตัวเดิม โดยไม่ต้องมีอุปกรณ์ใดๆ เพิ่มเติม ช่วยตอบโจทย์ความต้องการ ที่หลากหลายของผู้บริโภค ด้วยการช่วยสร้างบรรยากาศและปรับ อารมณ์ให้เหมาะสมสำาหรับกิจกรรมต่างๆ ภายในบ้าน ไม่ว่าจะเป็น การแต่งหน้า การทำาอาหาร และการพักผ่อน หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch - Brightness Change เป็นหลอดไฟแอลอีดีที่สามารถปรับระดับความสว่างได้ถึง 3 ระดับ โดยสามารถใช้สวิตซ์เดิมแบบเปิด-ปิด ในการปรับระดับความสว่าง ได้โดยไม่จำาเป็นต้องใช้สวิตซ์หรี่ไฟ หรือดิมเมอร์ การใช้งานก็ง่าย เพียงกดเปิด-ปิดสวิตซ์ไฟปกติ แทนการหรี่ไฟด้วยสวิสซ์ดิมเมอร์ ซึ่งกดสวิตซ์ปิด-เปิด เป็นการปรับระดับความสว่าง โดยไล่จาก 100 เปอร์เซ็นต์, 40 เปอร์เซ็นต์ และ 10 เปอร์เซ็นต์ หรือหากปิดสวิตซ์ ทิง้ ไว้ 5 วินาที และเปิดใหม่อกี ครัง้ จะเป็นการรีเซทความสว่างให้อยู่ ที่ระดับ 100 เปอร์เซ็นต์ Philips LED SceneSwitch - Brightness Change มีโทนสีให้เลือก สองแบบ ได้แก่ คูลเดย์ไลท์ หรือแสงขาว (6500K) และโทนแสงวอร์มไวท์ หรือแสงเหลืองนวล (3000K) มาในหลอดขนาด 9 วัตต์ และสามารถ
ปรับความสว่างของแสงได้ 3 ระดับ ตามความ ต้องการในการใช้งานของผูบ้ ริโภค ตัง้ แต่ Bright light (6500K/800Lm) ที่มีระดับความสว่างเต็ม 100 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสำาหรับช่วงเวลาทีต่ อ้ งการแสงสว่าง ในการทำางาน Normal light (6500K/320Lm) มีระดับ ความสว่างของแสง 40 เปอร์เซ็นต์ ใกล้เคียงกับ แสงธรรมชาติ และ Low light (6500K/80Lm) มีระดับ ความสว่างของแสง 10 เปอร์เซ็นต์ เหมาะกับช่วงเวลา ทีต่ อ้ งการใช้แสงน้อย เช่น เวลาชมภาพยนตร์ โดยมี ค่าความถูกต้องของสี (CRI) ที่ 80 ให้แสงทีด่ สู มจริง นอกจากการติดตัง้ และการใช้งานทีง่ า่ ยแล้ว หลอดไฟ Philips LED SceneSwitch - Brightness Change ยังช่วยให้ประหยัดพลังงานได้สงู สุดถึง 87 เปอร์เซ็นต์ พร้อมกับความทนทานที่สามารถใช้งานเปิด-ปิด ได้มากกว่า 100,000 ครั้ง และมีอายุการใช้งาน ที่ยาวนานถึง 15 ปี สามารถใช้ได้กับโคมไฟและ ดาวน์ไลท์ ที่ใช้ขั้วหลอด E27 มีวางจำาหน่ายแล้ว ตามห้ า งสรรพสิ น ค้ า ชั้ น นำ า ทั่ ว ไป และร้ า นค้ า ตัวแทนจำาหน่ายหลอดไฟฟิลิปส์ทั่วประเทศ
สนใจรายละเอียดติดต่อได้ที่ บริษัท ฟิลิปส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำากัด โทรศัพท์ 02 - 268 - 8522 www.philips.co.th/
81
‘AkzoNobel ’ ผู้นำานวัตกรรมสี บริษทั อั๊คโซ่ โนเบล เพ้นท์ส (ประเทศไทย) จำ�กัด ผู้ผลิต และจัดจำาหน่ายสีทาอาคารชั้นนำา ภายใต้ตราสินค้า Dulux ‘ดูลกั ซ์’ ได้แนะนำาผลิตภัณฑ์ใหม่ลา่ สุด ดูลกั ซ์ อินสไปร์ ชนิดกึง่ เง� สีนา้ำ อะครีลคิ สำาหรับทาภายในระดับ พรีเมีย่ มทีป่ ระกอบด้วยกาวอะครีลคิ คุณภาพสูง จึงทำาให้สมี คี ณ ุ สมบัตใิ นการยึดเกาะผนังดีเยีย่ ม ไม่หลุดล่อนง่าย โดดเด่นด้วยเทคโนโลยีโครมาไบรท์ (Chroma Bright) ช่วยให้สีสวยคงทนยาวนาน ไม่ซดี จางไว ช่วยปกป้อง สีผนังภายในให้สวยสดใสทนทาน เช็ดล้างทำาความสะอาดง่าย ช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพในการกลบมิด และป้องกัน ฤทธิ์ด่างเกลือและเชื้อราได้อย่างดีเยี่ยม นอกจากนีส้ สี ตู รกึง่ เงาจากดูลกั ซ์ อินสไปร์ ยังทำาให้ผนังบ้านมีความหรูหราสวยงามมากยิง่ ขึน้ โดยผลิตภัณฑ์ ดูลกั ซ์ อินสไปร์ ชนิดกึ่งเงานี้มาพร้อม 9 พาเลทท์สีใหม่จาก ‘คัลเลอร์ ออฟ เดอะ เวิลด์’ (Colours of the World) ทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจมาจากสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วอันสวยงามจากทัว่ โลก เพือ่ สร้างแรงบันดาลใจในการตกแต่งบ้าน โดยสามารถเลือกเติมสีสนั ภายในบ้านด้วยสีทาภายในดูลกั ซ์ อินสไปร์ ได้ทง้ั ฟิลม์ สีชนิดด้านและใหม่ลา่ สุดชนิดกึง่ เงา ดูลักซ์ ยังมีผลิตภัณฑ์สีทาภายในเกรดพรีเมี่ยม Dulux Ambiance (ดูลักซ์แอมเบียนซ์) มิติใหม่ของสีสร้างลาย พิเศษทีส่ ะท้อนสไตล์ของเจ้าของบ้านได้อย่างแท้จริง เป็นผลิตภัณฑ์สที าภายในทีป่ ระกอบด้วยสี 2 ส่วน คือสีพนื้ และสีสร้างลายพิเศษ ซึง่ ในส่วนแรกทีเ่ ป็นสีพน้ื ทาภายใน เป็นสีนาำ้ อะคริลคิ ระดับซูเปอร์พรีเมีย่ มชนิดกึง่ เงาทีม่ าพร้อม พาเลทท์สคี ณ ุ ภาพสูง เนือ้ สีเข้มข้น ให้ความรูส้ กึ ลุม่ ลึก น่าหลงใหล ส่วนสีสว่ นทีส่ องคือ สีสร้างลายพิเศษ เป็นผลิตภัณฑ์ ที่สร้างสรรค์ขึ้นมาเพื่อให้ฟิล์มสีมีลักษณะพิเศษ มีลวดลายและผิวสัมผัส หรูหรา โดดเด่น สวยงามอย่างมี เอกลักษณ์ ได้แก่ ลายเมทัลลิก (Metallic), ลายกำามะหยี่ (Velvet), ลายลินนิ (Linen), และ ลายหินอ่อน (Marble)
82
Dulux Ambiance ผลิตขึน้ ด้วยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย สร้างสรรค์เป็น เฉดสีทสี่ วยงามและให้ลวดลายพิเศษ ช่วยให้เจ้าของบ้านสร้างสรรค์ ทุกแรงบันดาลใจได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งทางผู้เชี่ยวชาญด้านสีสัน และการตกแต่งภายในจากดูลักซ์ได้สร้างเทรนด์การตกแต่งภายใน ด้วยดูลกั ซ์แอมเบียนซ์ออกมาถึง 5 คอลเลคชัน่ ประกอบด้วย คลาสสิค ลักซ์ชัวรี่ (Classic Luxury), แอลลิแกนท์ โรแมนซ์ (Elegant Romance), ครีเอทีฟเอ็กซ์เพรสชัน่ (Creative Expression), โมเดิรน์ คอนเทมโพรารี่ (Modern Contemporary) และคอลเลคชั่นจาก นาเดียฮูทากาลัง (NadyaHutagalung) แบรนด์แอมบาสเดอร์ของ ดูลักซ์แอมเบียนซ์ นอกจากนีย่้ งั มี Dulux Visualizer (ดูลกั ซ์ วิชวลไลเซอร์) แอพพลิเคชัน่ ล่ า สุ ด ในแวดวงสี ท าอาคาร ที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ภ าพเสมื อ นจริ ง (Augmented Reality Technology) ทีส่ ามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุม่ คนรักบ้านยุคใหม่ โดยดูลกั ซ์ยงั คงมุง่ มัน่ ในการสร้างสรรค์ นวัตกรรมใหม่ๆ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีห่ ลากหลาย เพราะเชือ่ ว่าสีสนั มีอทิ ธิพลมากกว่าตามองเห็น นอกเหนือไปจากการ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในผลิตภัณฑ์
Dulux Visualizer เป็นเทคโนโลยีใหม่ลา่ สุดทีจ่ ะช่วย ให้ลกู ค้าสามารถจำาลองการออกแบบสีหอ้ งได้แบบ เรียลไทม์ ด้วยเทคโนโลยีการใส่สีเสมือนจริงที่มี เอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร เพียงแค่สมั ผัสบนหน้าจอ โดยสามารถเลือกเฉดสีทช่ี น่ื ชอบได้กว่า 2,000 เฉดสี ตามสไตล์ของแต่ละคน นอกจากนี้ยังมีฟีเจอร์ที่ ช่วยออกแบบสีผนังให้เข้ากับเฟอร์นิเจอร์ และยัง สามารถค้นหาร้านขายสีที่อยู่ใกล้บ้านได้อีกด้วย จึงเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่จะช่วยให้การออกแบบ ตกแต่ ง ห้ อ ง เป็ น เรื่ อ งง่ า ยภายในไม่ กี่ วิ น าที สามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคชัน่ Dulux Visualize ซึง่ ใช้งานได้ทงั้ บนสมาร์ทโฟนและแท็บเลต ได้ฟรีที่ Apple Store และ Google Play
สนใจรายละเอียดติดต่อได้ที่ บริษัท อั๊คโซ่ โนเบล เพ้นท์ส (ประเทศไทย) จำากัด โทรศัพท์ 02 - 572 - 8888 www.dulux.co.th
83
INNOVATIVE PRODUCTS
เรือ่ ง/แปล: หนึง่ ฤทัย คาทุสเซฟสกี้
© Netatmo
อุปกรณ์ทำ�ความร้อน สั่งงานได้ด้วยเสียง
Philippe Starck นักออกแบบชื่อดัง ได้ร่วมกับบริษัท Netatmo ออกแบบอุปกรณ์วาล์วอัจฉริยะควบคุมการทำ�ความร้อนที่สามารถ สั่งงานได้ด้วยเสียง ผ่านโปรแกรม Siri ของ Apple ซึ่งช่วยให้ เจ้าของบ้านสามารถควบคุมอุณหภูมิความร้อนในแต่ละห้องได้ โดยอุปกรณ์ถูกออกแบบให้เป็นรูปทรงกระบอก วัสดุภายนอกผลิต จาก Plexiglass โปร่งแสง มาพร้อมกับหน้าจอ e-ink เพื่อแสดง อุณหภูมิ นอกจากนี้ยังสามารถวิเคราะห์ คำ�นวณจำ�นวนคนที่อยู่ ภายในห้องและอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้งานอยู่ และจะหยุดการ ให้ความร้อนโดยอัตโนมัติได้ด้วย Via: www.dezeen.com/2016/09/05/philippe-starck-design-voicecontrolled-smart-radiator-valves-netatmo Video: https://youtu.be/yTXzqsnryVk via Youtube.com
© Gi FlyBike’
‘Gi FlyBike’ จักรยานที่พับได้ ใน 1 วินาที
‘Gi FlyBike’ เป็นจักรยานไฟฟ้าแบบพับได้ ออกแบบโดยทีม นักออกแบบจากประเทศอาร์เจนตินา โดย Lucas Toledo, Agustín Agostinoy และ Eric Sevilla ซึ่งจุดเด่นของจักรยาน คันนี้คือ ระบบพับเก็บอัจฉริยะที่ช่วยให้พับเก็บได้ภายในเวลา ไม่ถงึ 1 วินาที อีกทัง้ ยังใช้พลังงานไฟฟ้าทีส่ ามารถวิง่ ได้ทค่ี วามเร็ว สูงสุด 25 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ด้วยระยะทางไกล 60 กิโลเมตร ต่อการชาร์จ 1 ครัง้ นอกจากนีจ้ กั รยานยังสามารถเชือ่ มต่อกับ สมาร์ทโฟน เพื่อแสดงผลเส้นทางอีกด้วย โดยที่บริเวณแฮนด์ จักรยานจะมีแท่นสำ�หรับวางสมาร์ทโฟน ซึง่ แท่นนีจ้ ะทำ�หน้าที่ เป็นทีช่ าร์จแบตเตอรีไ่ ด้ รองรับการทำ�งานได้ทัง้ Android และ iOS อีกทั้งยังมาพร้อมระบบล็อคสุดล้ำ� ที่จะล็อคจักรยานให้ อัตโนมัตเิ มือ่ เจ้าของออกห่างจากตัวรถจักรยานเกินกว่า 5 เมตร จักรยานคันนี้สนนราคาอยู่ที่ 1,990 เหรียญสหรัฐ Via: www.dezeen.com/2016/09/03/gi-flybike-electric-biketransport-design-kickstarter/ Video: https://youtu.be/IGaR7QTRdyo via Youtube.com
© Dezeen.com
‘Tyra’ โต๊ะที่ผลิตจากขยะพลาสติก
Brodie Neill ดีไซเนอร์ชาวออสเตรเลีย ได้ออกแบบโต๊ะที่มีชื่อว่า ‘Tyra’ ซึ่งเป็นโต๊ะที่สร้างขึ้นจากขยะพลาสติกชิ้นเล็กๆ ที่รวบรวมมาจากชายหาดทั่วโลก โดยพลาสติกแต่ละชิ้นจะถูกนำ�มาแยกสีก่อนนำ�ไปผ่านกระบวนการทำ�ให้เป็นพลาสติก สังเคราะห์ หรือ Plastic Composite เกิดเป็นโต๊ะโทนสีฟ้าน้ำ�ทะเลที่มีพื้นผิวคล้ายกับพื้นหินขัดที่ผลิตจากหินอ่อนหรือ แกรนิต ที่ดูสวยงามและคลาสสิกมากทีเดียว Via: www.dezeen.com/2016/09/03/gyro-table-brodie-neill-recycled-ocean-plastic-first-london-design-biennale/ 84
© Morpholio
ฟีเจอร์ ใหม่ลา่ สุดของแอพ Morpholio Trace
Morpholio เผยฟีเจอร์ใหม่ของแอพพลิเคชัน่ Trace ทีม่ ชี อ่ื ว่า ‘Stencil’ ซึง่ ก็คอื เครือ่ งมือทีจ่ ะช่วยให้วาดภาพ สเก็ตซ์ภาพต่างๆ ได้รวดเร็วยิง่ ขึน้ โดยทำ�หน้าที่เหมือนเป็นแผ่นเทมเพลท ที่มาพร้อมลายมากมายให้ เลือกใช้ แถมยังสามารถนำ�รูปภาพและข้อความต่างๆ มาทำ�เป็น เทมเพลทได้อีกด้วย วิธีใช้ก็เพียงเลือกฟีเจอร์นี้ขึ้นมา แล้วเลือก เทมเพลททีต่ อ้ งการ จากนัน้ ก็ลงสีตามใจชอบ นับว่าเป็นฟีเจอร์ทชี่ ว่ ย อำ�นวยความสะดวกด้านการออกแบบได้มากทีเดียว Via: www.archdaily.com/794772/morpholio-stencil-app-gives-youcustom-stencil-tools-digital-drawing Video: https://youtu.be/h5k6_zvumeo via Youtube.com
© Solight Design
‘SOLARPUFF’ โคมไฟพลังงานแสงอาทิตย์พบั ได้ ‘SolarPuff’ เป็นโคมไฟหลอด LED พลังงานแสงอาทิตย์ ซึง่ เป็น ผลงานการออกแบบของ Solight Design โคมไฟมีขนาดเล็ก กระทัดรัด น้ำ�หนักเบา พกพาสะดวก แถมยังพับได้ตามสไตล์ ออริกามิของญีป่ นุ่ สามารถให้แสงสว่างได้นาน 8-12 ชัว่ โมง โดยจะ ชาร์จพลังงานผ่านแผงโซล่าร์เซลล์ ตัวโคมผลิตจากผ้าชนิดพิเศษ กันน้ำ�ได้ และมีอายุการใช้งานนาน 3 ปี โดยวิธีการใช้งานเพียง ดึงขึ้นจากการพับไฟก็จะติดอัตโนมัติ จึงเหมาะทั้งการใช้งาน ในสถานการณ์ฉุกเฉินและการใช้งานทั่วๆ ไป Via: design-milk.com/solarpuff-collapsible-solar-powered-led-lightfor-emergencies-and-disasters Video: https://youtu.be/1KBYaGm08vs via Youtube.com
© mettle-studio
อุปกรณ์ติดตามสำ�หรับผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม
mettle-studio บริษัทออกแบบผลิตภัณฑ์ในลอนดอน ได้พัฒนา เทคโนโลยีที่เรียกว่า ‘Proximity Button’ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็ก ใช้สำ�หรับติดตามผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ที่ถูกออกแบบมาในดีไซน์ อันทันสมัย มีลกั ษณะคล้ายกระดุมเสือ้ ใช้เหน็บกับปกเสือ้ ของผูป้ ว่ ย ผลิตจากวัสดุอลูมิเนียม พลาสติก ABS และยาง โดยกระดุมนี้ จะเชือ่ มต่อกับแอพ Proximity ผ่านทางบลูทธู ซึง่ เมือ่ ผูป้ ว่ ยเดินออกห่าง จากรัศมีเกิน 20 เมตร ตัวเครือ่ งจะส่งสัญญาณเตือนไปยังสมาร์ทโฟน ของผู้ดูแลให้ทราบทันที Via: design-milk.com/proximity-button-mettle-studio/
© design-milk.com
‘Shaper Origin’ เครือ่ ง CNC router ฉบับพกพา เครื่องแรกของโลก
‘Shaper Origin’ เป็นเครือ่ ง CNC router สำ�หรับตัด, เจาะ, ฉลุ ขนาดพกพาที่ให้ผู้ใช้งานเป็นผู้ควบคุมการเคลื่อนที่ มาพร้อม กล้องในตัวและจอคอมพิวเตอร์ทัชสกรีนที่จะช่วยนำ�ทางและ ทดค่าความคลาดเคลื่อนให้ สามารถใช้ตัดวัสดุได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นไม้, พลาสติก, คาร์บอนไฟเบอร์ หรือไวนิล อีกทั้ง ยังสามารถเชื่อมต่อ Wi-fi เพื่อส่งและแชร์ไฟล์งานออกแบบได้ เหมาะมากสำ�หรับการใช้ท�ำ เฟอร์นเิ จอร์ตน้ แบบ และงาน Art & Craft โดยราคาจำ�หน่ายอยู่ที่ 2,099 เหรียญสหรัฐ Via: design-milk.com/shaper-origin-worlds-first-hand-heldaugmented-reality-aided-cnc-machine/ Video: https://youtu.be/Xo0CiJjTGJE via Youtube.com 85
© Levitation Works
แท่นชาร์จ Smart Watch สุดล�ำ้ ชาร์จได้กลางอากาศ
บริษัท Levitation Works พัฒนาแท่นชาร์จที่สามารถชาร์จ Smart Watch ได้กลางอากาศ มาในดีไซน์เรียบหรู ที่ได้แรงบันดาลใจจาก Apple และ Porch Design ผลิตจากวัสดุอลูมิเนียมเกรดสูงและ ใช้เซรามิคเกรดมาตรฐานทางการแพทย์สำ�หรับระบบเหนี่ยวนำ� สามารถใช้ได้กบั Smart Watch คุณภาพสูง อาทิ Apple watch และ Pebble นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานเป็นโคมไฟได้ในขณะที่ไม่ได้ ชาร์จ Smart Watch โดยการนำ� The Orb ซึ่งเป็น Smart Lamp ไร้สาย มาวางไว้บน Pad และปล่อยให้มันลอยขึ้นไปในอากาศและ ส่องแสงเป็นโคมไฟสุดล้ำ� Via: design-milk.com/lift-anti-gravity-levitating-smartwatch-chargerlamp-apple-watch/ Video: https://youtu.be/fZnTP4MtSkY via Youtube.com
© Wobbleworks
‘3Doodler Pro’ ปากกา 3 มิตริ นุ่ ใหม่ สร้างผลงาน 3 มิตไิ ด้กลางอากาศ บริษัท Wobbleworks เปิดตัวปากกา 3 มิติรุ่นใหม่ล่าสุด ‘3Doodler Pro’ ที่มาพร้อมคุณสมบัติในการสร้างสรรค์ไม้ ทองแดง และประติมากรรมสำ�ริด ให้ออกมาเป็นรูปทรง 3 มิติ ได้ ก ลางอากาศ เจ้ า ปากกานี้ มี ห ลั ก การทำ � งานคล้ า ยกั บ เครื่องพิมพ์ 3 มิติ และปืนยิงกาวร้อน โดยขณะใช้งานปากกา จะปล่อยพลาสติกที่ได้รับความร้อนออกมา จากนั้นพัดลมที่อยู่ ด้านในจะทำ�ให้พลาสติกเย็นลง จนเกิดเป็นรูปร่างที่ต้องการ โดยสามารถวาดได้กับวัสดุที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นไนลอน โพลีคาร์บอเนต รวมไปถึงวัสดุคอมโพสิทประเภท ไม้ ทองแดง และประติมากรรมสำ�ริด นอกจากนี้ยังมาพร้อมหน้าจอ LCD แสดงผลอุณหภูม,ิ ด้ามจับคาร์บอนไฟเบอร์ และแบตเตอรีพ่ กพา
Via: inhabitat.com/new-3doodler-pro-pen-draws-wood-copperand-bronze-sculptures-in-mid-air/ Video: https://youtu.be/e_Dd2naDEkk via Youtube.com
© Harvard University
‘Octobot’ หุน่ ยนต์นม่ิ รูปร่างเหมือนปลาหมึก
ทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Harvard ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนา ‘Octobot’ ซึ่งเป็น Soft Robot หรือหุ่นยนต์นิ่มที่รูปร่าง หน้าตาเหมือนปลาหมึก ที่สามารถทำ�งานได้อัตโนมัติ ทำ�จาก Silicone Gels ด้วยเทคโนโลยีเครื่องพิมพ์ 3 มิติ และใช้ไฮโดรเจน เปอร์ออกไซด์เป็นเชือ้ เพลิง โดยมันจะทำ�ปฏิกริ ยิ าทางเคมีท�ำ ให้เกิด แก๊สซึ่งจะถูกส่งไปตามท่อภายในตัวและหนวดของ Octobot ตาม แบบแผนทีโ่ ปรแกรมไว้ ส่งผลให้หนวดปลาหมึกสามารถเคลือ่ นไหว ด้วยตนเองโดยไม่ตอ้ งใช้ Battery หรือการบังคับด้วยเครือ่ งมืออืน่ ๆ ในอนาคตอาจสามารถนำ�หุน่ ยนต์แบบนิม่ ทีเ่ คลือ่ นไหวด้วยพลังงาน ในตัวเองเช่นนี้ ไปใช้กับการผ่าตัดภายในร่างกายมนุษย์ หรือใช้ใน ปฏิบัติการกู้ภัยในพื้นที่ที่เข้าถึงได้ยาก Via: inhabitat.com/the-octobot-is-the-worlds-first-autonomous-soft-bodied-robot/
Video: https://youtu.be/1vkQ3SBwuU4 via Youtube.com 86
© Studio Nucleo
อุปกรณ์ DIY ‘TERRA’ ช่วยให้สนามหญ้ากลายเป็น เก้าอีน้ ง่ั แบบเก๋ๆ ‘TERRA’ เป็นอุปกรณ์ DIY ผลงานการออกแบบของ Studio Nucleo ทีช่ ว่ ยให้คณ ุ มีเก้าอีน้ ง่ั ทีป่ กคลุมด้วยหญ้าในสนามหน้าบ้าน คุณได้งา่ ยๆ อุปกรณ์นท้ี �ำ จาก cardboard ทีถ่ กู นำ�มาตัดออกเป็น แผ่นๆ ด้วยเครือ่ งเลเซอร์ ผูใ้ ช้สามารถนำ�มาประกอบเป็นรูปทรง เก้าอีไ้ ด้งา่ ยๆ จากนัน้ ก็น�ำ ฟางมาใช้เป็นฐาน แล้วนำ�ดินมาถมไว้ ด้านบน นำ�เมล็ดหญ้าโปรยลงไป และหมัน่ รดน้�ำ ทุกวัน ไม่นานเกินรอ คุณก็จะได้เก้าอีน้ ง่ั ทีเ่ ป็นหญ้าจริงๆ ไว้นง่ั รับลมในสนามแล้ว
Via: inhabitat.com/brilliant-diy-kit-lets-you-grow-your-own-grasscovered-armchair/
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
UPDATE IT
เรื่อง: กฤษณ์ นาคะชาต
Google Maps เมือ่ ไม่นานมานีม้ โี อกาสได้อบรมพนักงานขับรถและส่งเอกสารเกีย่ วกับ Google Maps ซึ่งเป็นแอพพลิเคชั่นที่ ไม่ยุ่งยาก ใช้งานง่าย ได้ประโยชน์มากมาย แต่ต้องมีติดตัว ไว้ตลอด สิ่งที่ยากสำ�หรับการแนะนำ�ให้แก่ผู้ ใช้ที่ยังไม่เคยใช้ หรือมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อ Google Maps แล้ว คือความเข้าใจที่ถูกต้องนี่ละครับ เมือ่ พูดถึง Google Maps แล้วทัง้ คนทีย่ งั ไม่เคยใช้ หรือคนทีเ่ คยใช้แล้ว แต่ไม่ประทับใจมักมีแง่มุมเกี่ยวกับ Google Maps ในด้านลบเป็น ส่วนใหญ่ เช่น มันจะพาไปหลงนะ มันพาเข้าป่า เห็นมั้ยในโซเซียล มันพารถไปตกน้ำ� หรือจะเป็นว่ามันเชื่อไม่ได้ มันพาไปรถติด บลาๆ ส่วนตัวผู้เขียนอยากให้มองอย่างนี้ครับ หลักของ Google Maps คือแผนทีซ่ งึ่ ประกอบไปด้วยข้อมูล แผนที่ ตำ�แหน่ง สภาพการจราจร การจะใช้งานนัน้ ก็ตอ้ งรวมไปกับวิจารณญาณของผูใ้ ช้ดว้ ย เพราะถึงแม้ Google Maps จะมีลักษณะของ AI (Artificial Intelligence) แต่ Google Maps ก็ยังต้องการการมีส่วนร่วมของผู้ใช้เป็นหลักด้วย ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจเลือกเส้นทาง การช่วยป้อนข้อมูลเพิ่มเติม เป็นต้น บางท่านอาจจะทราบและหลายท่านอาจไม่ทราบว่า Google Maps API (Application Programing Interface) นัน้ ถูกใช้ในแอพพลิเคชัน่ และการพัฒนาเว็บไซต์มากมาย อะไรที่เกี่ยวกับแผนที่ ตำ�แหน่ง ข้อมูลสถานที่ มักเกี่ยวข้องกับ Google Maps API ทั้งนั้นล่ะครับ เพราะมันเป็นสากลและฟรีนั่นเอง ดังนั้นถึงจะไม่ชอบหรือมีทัศนคติ ไม่ดยี งั ไง ก็ไม่สามารถปฏิเสธมันได้แน่ๆ เช่นนัน้ เรามาทำ�ความรูจ้ กั กันดีกว่า เริ่มที่ Google Maps Application บน Android ก่อนเลย ก่อนหน้านีส่ กั ปีสองปี ถ้าจะแนะนำ�ให้ใครลองใช้ Google Maps บน โทรศัพท์ ก็ตอ้ งชำ�เลืองมองก่อนว่าโทรศัพท์ของเขาเป็นสมาร์ทโฟน หรือยัง แต่ปัจจุบันในยุคที่ 3G-4G เป็นเรื่องที่ทุกคนต้องใช้เพราะ ระบบมันเปลีย่ น ค่ายมือถือแจกโทรศัพท์ฟรีกนั เป็นว่าเล่น หรือหาซือ้ ได้ ตาม 7-11 ในราคาไม่ถงึ พันบาท การใช้งาน Google maps จึงไม่ใช่ เรื่องไกลตัวอีกต่อไป ทีนี้เรามาเข้าสู่การใช้งาน Google Maps แบบง่ายๆ กันนะครับว่ามีอะไรให้เราใช้งานบ้าง ซึง่ ก็ไม่ได้ยงุ่ ยากซับซ้อน อะไร ซึง่ ผูเ้ ขียนจะขอไล่ล�ำ ดับคำ�สัง่ ตามเมนูของตัวแอพพลิเคชัน่ เลย นะครับ โดยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนของเมนูหลัก ส่วนของ การปรับแต่งออฟชัน่ การแสดงข้อมูล และส่วนของคำ�แนะนำ�ช่วยเหลือ เรามาเริ่มที่เมนูหลักก่อนเลยครับ
88
เมนูหลัก สถานที่ของคุณ คือเมนูเริม่ ต้นของเรา ซึง่ เราสามารถกำ�หนดพิกดั ของบ้านและทีท่ �ำ งาน เพื่อประเมินผลการเดินทาง และเตือนเราเสมอว่าตอนนี้ถ้าจะไป ทำ�งานหรือกลับบ้านต้องใช้เวลาประมาณเท่าไหร่ ก็สะดวกดีครับ แต่ส�ำ หรับบางท่านคงรูส้ กึ ว่ามายุง่ อะไรกับความเป็นส่วนตัว แล้วแต่ มุมมองนะครับ นอกจากนีเ้ รายังสามารถบันทึกสถานทีต่ า่ งๆ ไว้เพือ่ ใช้ในครัง้ ต่อไป จะได้ไม่ตอ้ งเสียเวลาค้นหาอีก และยังสามารถบันทึก แผนที่ไว้ดูได้ว่าเราไปที่ไหนมาบ้าง แล้วระบบก็จะมีการบันทึกไว้ให้ ด้วยครับ ไทม์ไลน์ของคุณ ส่วนนี้เมื่อครั้งอบรมพนักงาน หลายท่านถึงกับแซวกันว่าอย่าให้ คุณแม่บา้ นรูเ้ ชียว เพราะไทม์ไลน์จะมีการบันทึกการเดินทางของคุณ ทุกวัน โดยสามารถย้อนกลับไปดูได้ หากมองข้ามเรือ่ งความเป็นส่วนตัว ซึง่ เราสามารถลบบันทึกได้ แล้วเอามาใช้ในการทำ�งาน เช่น พนักงาน ขับรถสามารถใช้ยนื ยันการปฏิบตั งิ านของตนเองได้วา่ ไปไหนมาบ้าง ใช้เวลาเท่าไหร่ อยูท่ ไี่ หนเป็นเวลาเท่าไหร่ หรือพนักงานทีต่ อ้ งออกไป ปฏิบัติงานข้างนอกในบ้างครั้งก็สามารถนำ�มาใช้อ้างอิงได้เช่นกัน นอกจากนีเ้ รายังใช้สถิตกิ ารเดินทางมาลองประเมินเส้นทาง ไม่วา่ จะเป็น สภาพการจราจร หรือการเลือกเส้นทางทีแ่ ตกต่างกันตามแต่ชว่ งเวลา ได้ด้วยครับ การมีส่วนร่วมของคุณ Google Maps เปิดส่วนนี้เพื่อรับข้อมูลจากผู้ใช้เกี่ยวกับสถานที่ ต่างๆ เปิดโอกาสให้เรารีวิวสถานที่ และเพิ่มเติมรูปภาพประกอบ ช่วยให้ผู้ใช้คนอื่นๆ เข้าถึงข้อมูลสถานที่นั้นได้ชัดเจนมากขึ้น ซึ่งเรา ก็ต้องช่วยกันครับเพื่อข้อมูลที่ดีขึ้น
เริ่มขับรถ คือโหมด Navigator สำ�หรับนำ�ทางเวลาขับรถนัน่ เอง ระบบจะให้คณ ุ เลือกจุดเริ่มต้นซึ่งค่าเริ่มต้นจะเป็นตำ�แหน่งที่เราอยู่ขณะนั้น แต่เรา ก็สามารถเปลีย่ นได้ครับเผือ่ ในกรณีของการศึกษาเส้นทาง เมือ่ เราได้ เป้าหมายก็สามารถเลือกได้อกี ด้วยว่าจะขับรถ เดิน ใช้ขนส่งมวลชน หรือล่าสุดเลือก Grab Taxi ได้ด้วย แถมคำ�นวณเวลาและค่าใช้จ่าย ได้ด้วยสำ�หรับในบ้านเรา พื้นที่ออฟไลน์ คือการใช้งาน Google Maps ในโหมดออฟไลน์หรือไม่มอี นิ เตอร์เน็ต นั่นแหละ แต่สำ�หรับบ้านเราต้องเสียใจด้วยครับยังไม่เปิดให้บริการ ส่วนปรับแต่งออฟชั่นและการแสดงข้อมูล การจราจร เราสามารถเลือกเปิดหรือปิดข้อมูลการจราจรได้ ซึ่งจะเป็นข้อมูล เรียลไทม์ บางท่านสงสัยว่ามันถูกต้องแค่ไหน ส่วนตัวผู้เขียนเอง มองว่ามันเทีย่ งตรงทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้แล้ว จากข้อมูลหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นจากผู้ที่อยู่บนท้องถนนในขณะนั้นเอง การเคลื่อนที่ ตำ�แหน่ง แต่สงิ่ ทีต่ ามมาคือมันเป็นปัจจุบนั นัน่ แหละ ดังนัน้ มันพร้อม จะเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา บางครัง้ เราจึงพบว่าเส้นทางทีบ่ อกว่าไม่ตดิ แต่พอเราไปถึงมันติดก็ไม่แปลกครับ เพราะระบบบอกสภาพขณะนัน้ ที่เราดู ซึ่งเป็นคนละเรื่องกับสภาพขณะนี้ที่เราอยู่ครับ ขนส่งสาธารณะ และเส้นทางจักรยาน เป็นที่น่าเสียดายครับสำ�หรับบ้านเรา เพราะมันน้อยมากเห็นแล้ว ใจหายเลย จึงไม่คอ่ ยจะได้ประโยชน์มากนัก ผูเ้ ขียนเคยออกไปสำ�รวจ โลกที่โอซาก้าด้วย Google Maps ซึ่งมันยอดมาก บอกเส้นทาง สถานี สายรถไฟ ค่าเดินทาง เวลาเดินทาง เวลารถเข้าสถานีตรงเป๊ะ เอาเป็นว่าไม่มหี ลง สนุก ง่าย มีประโยชน์มากเพราะขนส่งมวลชนทีน่ น่ั เยอะมาก ถ้าดูแค่แผนที่ทั่วไปอาจจะงงได้ครับ ดาวเทียม และภูมิประเทศ ก็แสดงภาพถ่ายดาวเทียมและภูมิประเทศนั้นเอง การเปิดโหมดนี้ ก็จะทำ�ให้ช้าลงหน่อยนะครับ ถ้าเครื่องแรงก็ไม่ค่อยเห็นผล แล้วก็ เปลืองเน็ตขึน้ ถ้าเน็ตช้าก็อาจแสดงผลไม่ทนั แต่ปจั จุบนั ผูเ้ ขียนใช้งาน อยูต่ ลอดก็ไม่คอ่ ยพบปัญหาครับ จะมีกเ็ รือ่ งแบตเตอรีเ่ พราะการใช้งาน Google Maps เครื่องต้องทำ�งานหลายด้านจึงค่อนข้างเปลือง พลังงานพอควร Google Earth ถ้าข้อมูลใน Google Maps ไม่พอก็ต้องไปศึกษาต่อใน Google Earth ครับ เข้าไปโหลดได้เลย
ส่วนคำ�แนะนำ�และช่วยเหลือ เคล็ดลับและคำ�แนะนำ� เมือ่ คลิกเข้าไปก็จะอธิบายการใช้งานเกือบ ทัง้ หมด ซึง่ มีการจัดเตรียมเป็นหมวดหมู่ ส่วนใหญ่กจ็ ะเป็นทีเ่ ราต้อง ใช้งานบ่อยๆ เพิม่ ธุรกิจทีข่ าดหาย ถ้าคุณเปิดร้านก๋วยเตีย๋ วใหม่แล้วอยากให้มนั ไป โผล่ใน Google Maps ก็ตรงนี้ละครับเพิ่มเข้าไปเลย ฟรีนะ ไม่เสีย ค่าโฆษณา ถ้าอร่อยเดี๋ยวคนก็แชร์กันออกไปก็ดังเอง ลองดูนะครับ การตัง้ ค่า คือการตัง้ ค่าของแอพพลิเคชัน่ และอุปกรณ์ครับ อย่างหนึง่ ทีแ่ นะนำ�เลยคือไปกำ�หนดตำ�แหน่งทีต่ งั้ ในโหมด ความแม่นยำ�สูงคือ ใช้ทงั้ เครือข่ายมือถือ GPS และ wi-fi เรียกง่ายๆ คืออ้างอิงตำ�แหน่ง จากทุกอย่างทุกระบบที่มีเลย ความคลาดเคลื่อนก็จะอยู่ประมาณ 50-100 เมตร ในสภาพอากาศปกตินะครับ ถ้าวันไหนฟ้าปิดก็อาจ คลาดเคลื่อนมากกว่านั้น ความช่วยเหลือ คือฐานข้อมูลคูม่ อื การใช้งานครับ ซึง่ สามารถค้นหาได้ มีข้อมูลมากมาย ส่งข้อเสนอแนะ เราสามารถรายงานปัญหาการใช้งาน แสดงความ คิดเห็น ความต้องการ เพิม่ สถานทีท่ ขี่ าดหายไป เพือ่ เป็นส่วนช่วยใน การพัฒนาระบบให้ดีขึ้นครับ ข้อกำ�หนดในการให้บริการ จะเป็นเรือ่ งเงือ่ นไขทางกฎหมายในการ ใช้งาน Google Maps ครับ เป็นอย่างไรกันบ้างครับท่านผูอ้ า่ น เมนูนอ้ ยมากไม่ตอ้ งเรียนรูอ้ ะไรมากมาย ลองใช้บ่อยๆ ก็จะคุ้นเคยไปเอง มีเทคนิคอีกนิดหน่อยที่ผู้เขียน ใช้บอ่ ยๆ คือเมือ่ เราขับรถไปยังทีท่ เี่ ราไม่คนุ้ เคย เมือ่ เข้าใกล้จดุ หมาย ข้อมูลเส้นทางอาจไม่ละเอียดพอ ให้เราเปลีย่ นจากการขับรถเป็นเดินดูครับ ระบบจะรายงานได้ละเอียดขึ้น แต่ต้องดูจากสภาพจริงด้วยเพราะ ถนนเส้นนั้นๆ จะมีการบังคับใช้เส้นทางซึ่งอาจมีการปรับเปลี่ยน ตามช่วงเวลาหรืออะไรก็แล้วแต่ ยิง่ โดยเฉพาะในบ้านเราแล้ว ขึ้นอยู่กับ คุณตำ�รวจด้วยครับ บทความนีอ้ าจไม่ได้สอนการใช้งานอะไรมากมาย แต่อยากให้ทา่ นผูอ้ า่ นได้ลองใช้งาน และช่วยกันอัพเดทข้อมูลเพือ่ อนาคต ที่ดีขึ้นครับ 89
UNDER CONSTRUCTION
เรือ่ ง: รักข์ อักษรา
Terminal 21 Korat »ÃеÙÊÙ‹·‹ÒÍÒ¡ÒÈÂÒ¹áË‹§¡ÒêŒÍ»»ƒœ§ หากยังพอจำากันได้ ในครัง้ ทีเ่ ทอร์มนิ อล ทเวนตีว้ นั เปิดให้บริการเป็นครัง้ แรกทีย่ า่ นอโศก ได้สร้างปรากฏการณ์ ใหม่ให้กบั วงการศูนย์การค้า ให้กลายเป็นสถานทีถ่ า่ ยเซลฟี่ ภายใต้ บรรยากาศหลากหลาย ด้วยการจำาลองเมืองสำาคัญต่างๆ จากทั่วโลกมาให้ได้สัมผัส กันอย่างใกล้ชิด โมเดลการพั ฒ นาโครงการในลักษณะดังกล่าว ได้ถูกทำาซ้ำา แต่คราวนี้ได้ถูกเลือกให้ปักหมุดลง ที่จังหวัดนครราชสีมา หรือโคราช ประตูสู่ภาค อีสาน โดยนักพัฒนารายเดิม บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จำากัด บริษทั ในเครือแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์ ดี เ วลลอปเปอร์ ร ายใหญ่ ข องไทย ที่ เ ป็ น เจ้าของห้างแฟชั่นไอส์แลนด์, เดอะ พรอมานาด, ไลฟ์ เซ็นเตอร์ และ เทอร์มินอล ทเวนตี้วัน (อโศก) ‘เทอร์มินอล 21 โคราช’ ถือเป็นโปรเจคที่สำาคัญ ของกลุ่มนี้ ด้วยการลงทุนขนาดใหญ่ระยะยาว ก้าวแรกของเครือแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ในการออก สู่ตลาดภูมิภาค ด้วยมูลค่าการลงทุนสูงถึง 6,000 ล้านบาท โดยยึดแนวคิดในการพัฒนาโปรเจค แบบเดียวกับสาขาต้นฉบับที่อโศก ด้วยการสร้าง บรรยากาศการช้อปปิ้งจาก 7 มหานครทั่วโลก แต่สำาหรับที่สาขาโคราช จะมีพื้นที่ใหญ่กว่าสาขา อโศกถึง 3 เท่า ด้วยพื้นที่อาคารรวม 200,000 ตารางเมตร แบ่งเป็นพืน้ ทีใ่ ช้เช่า 70,000 ตารางเมตร พร้ อ มด้ ว ยพื้ น ที่ จ อดรถยนต์ 2,500 คั น และ รถจักรยานยนต์ อีก 1,800 คัน
ไฮไลท์เด็ดที่สามารถสร้างความตื่นเต้นและหวาดเสียวให้กับผู้ไปเยือน ก็เช่นเดียวกับสาขาอโศก คือบันไดเลือ่ นยาว 36 เมตร ซึง่ เป็นบันไดเลือ่ น ในศูนย์การค้าทีย่ าวทีส่ ดุ ในประเทศไทย และยังมีหอไอเฟลจำาลอง ความสูง 72 ฟุต เท่ากับตึก 5 ชั้น ให้ได้เซลฟี่กันอีกด้วย และด้วยเอกลักษณ์ของ Terminal 21 คือ การเนรมิตบรรยากาศแบบ มาร์เก็ตสตรีท จาก 7 มหานครแห่งการช้อปปิ้งระดับโลก แต่มาคราวนี้ ได้มีการปรับเปลี่ยนรายละเอียดบางอย่างและส่วนผสมร้านค้า เพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการของคนในพืน้ ทีใ่ ห้ได้มากทีส่ ดุ ซึง่ แน่นอนว่า พฤติกรรมและไลฟ์สไตล์จะมีความแตกต่างไปจากคนในย่านอโศก - สุขมุ วิท แต่อารมณ์ของการช้อปปิง้ ภายใต้บรรยากาศทีน่ า่ ตืน่ ตาตืน่ ใจยังคงมีอยู่ แน่นอน ภายใต้ช้อปปิ้งมอลล์ ความสูง 7 ชั้น ในแต่ละชั้นมีรายละเอียด การออกแบบและตกแต่งทีไ่ ม่ซา้ำ กัน โดยในแต่ละชัน้ จะถูกออกแบบมาใน ธีมของแต่ละประเทศ เสมือนว่าเรากำาลังเข้าสูท่ า่ อากาศยานเพือ่ เดินทาง สู่ประเทศต่างๆ
ด้ า นโลเกชั่ น โปรเจคนี้ ถื อ ว่ า อยู่ ใ นย่ า นสำ า คั ญ ของเมืองโคราช ริมถนนมิตรภาพ ใกล้สามแยก ขอนแก่น หรือที่คนท้องที่เรียกกันว่า ‘แยกบิ๊กซี’ โดยตัวอาคารศูนย์การค้า ความสูง 7 ชัน้ ถูกสร้างขึน้ บนเนือ้ ทีข่ นาด 32 ไร่ จุดเด่นของอาคารทีม่ องเห็น มาแต่ไกล พอที่จะเป็นแลนด์มาร์กได้คือ หอคอย ชมเมืองทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของอาคาร ซึง่ จะมีลกั ษณะ เริ่มจากชั้น LG จะเป็นบรรยากาศของหมู่เกาะ Caribbean เป็นที่ตั้ง คล้ายหอบังคับการบินที่มีความสูงเทียบเท่าตึก ของซุปเปอร์มาร์เก็ตและร้านค้า ขยับขึ้นมาที่ชั้น G เป็นการจำาลอง บรรยากาศของปารีส เป็นส่วนหน้าทางเข้าห้างทีต่ ดิ กับถนนมิตรภาพ ตกแต่ง 30 ชั้น
90
ในบรรยากาศแบบถนนฌอง-เชลิเซ่ส์ ประกอบด้วยร้าน แฟชั่น เครื่องประดับ เครื่องสำาอาง กระเป๋า และมี แลนด์มาร์กอย่างหอไอเฟลจำาลองให้ได้ถ่ายรูปด้วย เมือ่ ขึน้ ไปทีช่ นั้ 1 จะเป็นบรรยากาศกรุงลอนดอน ทีย่ ก บรรยากาศเมืองผูด้ อี งั กฤษ แบบถนนอ๊อกซ์ฟอร์ดสตรีท มีรถเมล์แดงสองชั้น และร้านค้าสำาหรับสุภาพบุรุษ อุปกรณ์กฬี า นาฬิกา เมือ่ ขึน้ ไปทีช่ น้ั 2 มาในอารมณ์ของ เมืองอิสตันบูล เป็นมาร์เก็ตสตรีท มีธนาคาร ศูนย์สขุ ภาพ ความงาม ร้านหนังสือและเครื่องเขียน ขึ้นไปที่ชั้น 3 จำาลองโตเกียวมาไว้ด้วยการยกความชิคสไตล์เจป๊อป เป็นศูนย์รวมเทคโนโลยีเครือ่ งใช้ไฟฟ้า ไอที มือถือ และ ร้านค้าย่อย มาถึงชัน้ 4 เป็นการจำาลองซานฟรานซิสโก บรรยากาศของเมืองท่าชือ่ ดัง ทีม่ รี า้ นอาหาร เครือ่ งดืม่ ฟู้ดคอร์ท อย่าง Pier 21 ขนาด 800 ที่นั่ง นอกจากนี้ ยังมีสวนสนุก และฮอลล์รองรับกิจกรรมต่างๆ ขึ้นไป ต่อทีช่ น้ั 5 มาในบรรยากาศของ Hollywood ถูกกำาหนด ให้เป็นศูนย์รวมความบันเทิงระดับโลก ด้วยโรงภาพยนตร์ SFC Cinema 8 โรง, ฟิตเนส และลานไอซ์สเกต ทราบรายละเอียดในเรื่องธีมคอนเซ็ปต์การตกแต่ง ไปคร่าวๆ แล้ว มาดูที่รายละเอียดด้านการออกแบบ ก่อสร้างกันบ้าง โปรเจคนี้เป็นการทำางานร่วมของมือ อาชีพด้านงานออกแบบและก่อสร้าง โดยผู้ออกแบบ งานสถาปัตยกรรมและงานภูมสิ ถาปัตยกรรม รับผิดชอบ โดยบริษัท แปลน สตูดิโอ จำากัด สำาหรับผู้ออกแบบ งานวิศวกรรมโครงสร้าง คือ บริษัท เค ซี เอส แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำากัด มีบริษทั บิวคอน จำากัด เป็นผูอ้ อกแบบ งานระบบวิศวกรรมประกอบอาคาร งานนีม้ ผี บู้ ริหารและ ควบคุมโครงการคือ บริษทั สโตนเฮ้นจ์ อินเตอร์ จำากัด ส่วนผูร้ บั เหมางานโครงสร้าง-สถาปัตยกรรม คือบริษทั ฤทธา จำากัด บริษัทรับเหมาก่อสร้างขนาดใหญ่อีกราย ที่ชื่อเสียงในการสร้างผลงานคุณภาพ สำาหรับรายละเอียดด้านงานก่อสร้าง เริม่ ลงมือปรับหน้าดิน กันมาตัง้ แต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 ก่อนทีจ่ ะลงมือ ตอกเสาเข็มอาคารศูนย์การค้า โครงสร้างคอนกรีต เสริมเหล็ก ความสูง 7 ชัน้ ชัน้ ใต้ดนิ 1 ชัน้ จำานวน 1 อาคาร ตัวอาคารด้านหน้าทีต่ ดิ กับถนนเป็นทางเข้า เป็นฟาซาด กระจกขนาดใหญ่ตดิ ตัง้ ตลอดความสูงของอาคาร ทำาให้ มองเห็นกิจกรรมต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ภายในมอลล์ งานก่อสร้าง อีกส่วนคือ งานสร้างอาคารจอดรถความสูง 9 ชั้น
มีชน้ั ใต้ดนิ 2 ชัน้ อีก 1 อาคาร รวมพืน้ ทีก่ อ่ สร้าง 240,000 ตารางเมตร ขณะนี้การดำาเนินงานก่อสร้างคืบหน้าไปมากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ คาดว่างานก่อสร้างจะแล้วเสร็จภายในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 นี้ และมีกำาหนดเปิดให้บริการภายในสิ้นปีน้ี ส่วนกำาหนดแล้วเสร็จ สมบูรณ์แบบ เป็นเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560
91
DESIGNER HUB
พื้ น ที่ เ ป ด กว า งให แ ก นั ก คิ ด นั ก ออกแบบ ร ว มส ง ผลงานเขามาเพื่อเผยแพรสูสายตาผูอาน เปนการ นําเสนอผลงานที่นาสนใจทั้งในมุมของการออกแบบ งานสถาปตยกรรม งานสถาปตยกรรมตกแตงภายใน งานภูมสิ ถาปตยกรรม ไปจนกระทัง่ งานออกแบบวัสดุ สินคา งานออกแบบปายแสดงสัญลักษณ หรืองาน ออกแบบกราฟกและสื่อสิ่งพิมพทั้งหลาย สามารถ สงผลงานเขารวมได และสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.designerhub.in.th
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
อาคารห้องประชุม โรงแรมเลิศนิมติ ร พงษ์ศักดิ์ ชีวาสุขถาวร
ข้อมูลงาน: โครงการออกแบบนีเ้ ป็นอาคาร สาธารณะทีม่ กี ารออกแบบเพือ่ ให้มคี วามสอดคล้อง กั บ กลุ่ม อาคารเดิ ม การออกแบบเน้ น รู ป แบบ MODERN TROPICAL และเน้นความโดดเด่นทัง้ ทางสถาปัตยกรรมทั้งภายในและภายนอก อีกทั้ง ยังมุ่งสู่ความเป็นโรงแรมอันดับ 1 ของจังหวัด ชัยภูมิด้วย
ชื่อผลงาน: ออกแบบโดย:
หน้าผาจำาลอง ณัฐกร เขียวสิรยากร
ข้อมูลงาน: งานออกแบบหน้ า ผาจำ า ลอง สำาหรับออกกำาลังกาย หรือจัดการแข่งขันภายใน อาคารหรือสนามกีฬา รวมถึงเป็นสถานทีฝ่ ก ซ้อม ส่วนตัว สำาหรับผู้ที่ชื่นชอบการออกกำาลังกายกีฬา ประเภทนี้
92
ติดต่อ: 390/2 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ชัยภูมิ 36000 โทร: 044-811-151, 084-299-5599, 089-845-7760 อีเมล: abook_design@hotmail.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ chorfar-studio-design
ติดต่อ: โทร: 087-042-1609, 081-496-5600 อีเมล: natthakornk@yahoo.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ natthakorn
ชื่อผลงาน: ออกแบบบูธ ออกแบบโดย: ภัทรพล อิศรางกูร ณ อยุธยา ข้อมูลงาน: การออกแบบบูธสไตล์อนิ ดัสเทรียล และเป็นอีกหนึง่ งานทีผ่ อู้ อกแบบได้รบั เกียรติรบั รางวัล รองชนะเลิศ อันดับที่ 1 การประกวดออกแบบ ตกแต่งบูธสวยงาม (ประเภทบูธขนาดใหญ่)
ติดต่อ: 167/6 ถ.พิบลู ละเอียด ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทร: 044-074-652, 081-551-9516 อีเมล: yuwadee3@gmail.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ designkorat
ติดต่อ: 1/7-9 ซอยศาลาแดง 1 สีลม บางรัก กทม. 10500 โทร: 02-235-2500 อีเมล: info@whitesp-ce.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ Whitesp-ce
ชื่อผลงาน: TRUE COFFEE TO GO COWORKING SPACE ออกแบบโดย: Whitespace Co.,Ltd. True Coffee to Go ร้านกาแฟที่มาในคอนเซ็ปต์ Coworking Space ตั้งอยู่ใน ข้อมูลงาน: โครงการ ไอดีโอ สาทร-ท่าพระ เริ่มต้นจากแนวคิดของ Ananda ผู้เป็นเจ้าของโครงการนี้ ที่ต้องการ ตอบโจทย์ของลูกบ้านให้มีพื้นที่สำ�หรับพบปะสังสรรค์ ผ่อนคลาย หรือไว้เป็นพื้นที่สำ�หรับทำ�งานเพื่อจะ ได้ไม่ต้องเจอกับปัญหารถติดเวลาเข้าเมือง ไม่มีที่จอดรถ หรือบางทีก็เจอปัญหาร้านเต็มคนแน่น ทำ�ให้ ที่นี่สามารถตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ลูกบ้านได้เป็นอย่างดี รวมไปถึงเพื่อนๆ ของลูกบ้าน และคนในย่านนั้น ด้วยเช่นกัน
ชื่อผลงาน: KPN MUSIC ACADEMY ออกแบบโดย: N-Plus Deco Design Co.,Ltd. ข้อมูลงาน: งานออกแบบและตกแต่ ง โรงเรียน KPN งามวงศ์วาน เป็นงานรีโนเวท ทำ�สี ตกแต่งใหม่ทั้งหมด แปลงโฉมให้สวยงามและ ใหม่ขึ้น
ติดต่อ: 73/376 ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140 โทร: 02-193-0550, 061-541-6929 อีเมล: n-plusdecodesign@ hotmail.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ N-PlusDecoDesign
93
ติดต่อ: 93/21 อาคารฮอลลีวดู สตรีท ถ.พญาไท ถนนเพชรบุรี ราชเทวี กทม. 10400 โทร: 02-656-6776, 095-367-0722 อีเมล: info@medesignandi.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ MEDESIGNANDI-MDI
ชื่อผลงาน: PRIVATE NIRVANA ออกแบบโดย: ME DESIGN AND I CO.,LTD. ออกแบบและตกแต่งภายในให้กบั โครงการ Private Nirvana ในซอยมัยลาภ พืน้ ทีใ่ ช้สอย ข้อมูลงาน: 250 ตร.ม. ลักษณะโครงการเป็นบ้านพักอาศัย
ติดต่อ: 9/234 ซ.พหลโยธิน 54/1 แยก 3 (หมู่บ้านนภาวัลย์) สายไหม สายไหม กทม. 10220 โทร: 081-762-2265, 085-199-5725 อีเมล: myimage-studio@hotmail.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ MyimageStudio
ชื่อผลงาน: SHOWROOM TOYOTA CHA-AM BRANCH ออกแบบโดย: My Image Studio ข้อมูลงาน: งานออกแบบโครงการ โตโยต้า สาขาชะอำ� ออกแบบภายใต้แนวความคิดที่ต้องการ ฉีกรูปแบบการดีไซน์โชว์รูมแบบมาตรฐาน โชว์รูมออกแบบให้ดูโอ่โถง และโซนรับรองลูกค้าที่ให้ความ รู้สึกสบายอบอุ่นเหมือนอยู่บ้าน
ชื่อผลงาน: WHAT IS THEIR STUFF ออกแบบโดย: Zlapdashstudio ข้อมูลงาน: งานแสดงอินโฟกราฟิกด้วยเทคนิควาดภาพด้วย Illustrator เป็นการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลที่เป็นฟรีแลนซ์ ในอาชีพต่าง ๆ ว่าพวกเขามีการพกอะไรติดตัวที่แสดงถึงไลฟ์สไตล์ ของพวกเขาอย่างไรบ้าง
94
ติดต่อ: 88/185 ชั้น 17 ฟิวส์สาทร-ตากสิน ถ.กรุงธนบุรี บางลำ�ภูล่าง คลองสาน กทม. 10600 โทร: 093-979-4442, 080-441-6544 อีเมล: zlapdash@gmail.com เว็บไซต์: www.designerhub.in.th/ zlapdashstudio
HANG-OUT CAFÉ
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้ ภาพ: Baker Gonna Bake Café
‘Baker Gonna Bake Café’ ถ้าใครเคยแวะเวียนไป K-Village คอมมิวนิตี้มอลล์ย่านสุขุมวิท 26 คงจะเคยเห็น คาเฟ่ขนมหวานสไตล์โฮมมีเ่ ล็กๆ น่านัง่ ทีม่ ชี อ่ื เก๋ ไก๋อย่าง ‘Baker Gonna Bake Café’
'Baker Gonna Bake Café' เป็นคาเฟ่เปิดใหม่ที่ให้บริการ ขนมหวานและเครื่องดื่ม ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากความชอบในการ ทำาขนมของเมย์-สุไรลักษณ์ งามขำา และ ยู-นภสร สุจติ ธรรมวงศ์ ทีไ่ ด้เรียนทำาขนมมาจาก Le Cordon Bleu ร่วมกับความหลงใหล ในการชงกาแฟของจักร-วริศพันธ์ อัคริมาธนาฉัตร ทีอ่ ยากให้รา้ นนี้ เป็นทั้งร้านขายขนม เครื่องดื่ม และโรงเรียนสอนทำาขนมเล็กๆ สำาหรับผู้ที่อยากเรียนทำาขนมสไตล์โฮมเมด
เมนูขนมแนะนำาของทีน่ ไ่ี ด้แก่ Mango Sticky Rice Tart ทาร์ตข้าวเหนียว มะม่วงที่มีข้าวเหนียวมูนอัดแน่นในแป้งทาร์ต และจัดเรียงมะม่วงสุก เป็นช่อดอกไม้อยูบ่ นมูสมะม่วง, Granola Bowl กราโนล่าทีท่ างร้านทำาสด ใหม่วนั ต่อวัน กรุบกรอบและหวานมันเข้ากันดีกบั โยเกิรต์ รสมะพร้าว เพิม่ รส เปรีย้ วอมหวานนิด ๆ ด้วยสตรอเบอร์รส่ี ด เสิรฟ์ มาในถ้วยใสทรงกลมน่าทาน หรือ Banoffee Toast ขนมปังโทสต์ชิ้นหนา สอดไส้ด้วยกล้วยหอมและ ครีมคาราเมล ด้านบนเป็นวิปปิง้ ครีม โรยด้วยผงโกโก้ นอกจากนีย้ งั เพิม่ ความเก๋ไก๋ให้ขนมด้วยการตกแต่งด้วยผักสวนครัวอย่างใบมะกรูด แรงบันดาลใจในการตกแต่งร้านได้มาจากความเป็นธรรมชาติ โหระพา สะระแหน่ ผักชีลาวด้วย ส่วนเมนูเครื่องดื่ม ขอแนะนำากาแฟ กึง่ ในเมือง ทีไ่ ด้หยิบยกบรรยากาศอบอุน่ ของเมืองเชียงใหม่มาตัง้ เฮ้าส์เบลนด์พเิ ศษของทางร้าน ทีไ่ ด้เมล็ดกาแฟมาจากหลากหลายแห่ง ได้แก่ ไว้ที่นี่ ภายในตกแต่งด้วยโทนสีที่ดูอบอุ่น โดยเลือกใช้ไม้สีอ่อน Colombia Supremo Tolina, Ethiopia Yirgacheffe และ Laos Bolovens เป็นวัสดุหลัก ผสมผสานกับการใช้สเี หลืองในส่วนของชัน้ วางของ นอกจากนี้ยังมีชาหอมๆ จากแบรนด์ Rustic & Blue จากเชียงใหม่ เพื่อช่วยเพิ่มบรรยากาศที่ดูสดใสมีชีวิตชีวายิ่งขึ้น โต๊ะและเก้าอี้ ให้บริการ อาทิ Sakura Iced Tea ชากลีบดอกซากุระทีใ่ ห้กลิน่ หอมแบบ ทัง้ หมดทำาจากไม้ตกแต่งด้วยลูกเล่นของการเพ้นท์ดว้ ยข้อความต่างๆ ผ่อนคลาย หรือ Rose soda ที่เป็นการผสมผสานรสชาติของลิ้นจี่กับ สีขาว ในส่วนของผนังจะทาด้วยสีขาวและเพ้นท์ด้วยคำาพูดและ กุหลาบเข้าด้วยกัน และเพิ่มความสดชื่นด้วยโซดา สร้างแรงบันดาลใจต่างๆ มีดอกไม้แห้งประดับอย่างสวยงามอยู่ ทัว่ ร้าน แม้วา่ ภายในร้านจะมีโต๊ะอยูไ่ ม่มาก แต่กย็ งั มีโต๊ะด้านนอก ถ้าใครเป็นคอกาแฟและขนมหวานสไตล์โฮมเมด ลองแวะมาได้ที่ 'Baker สำาหรับนั่งรับลมด้วย Gonna Bake Café' ตั้งอยู่ในโครงการ K Village (ซอยสุขุมวิท 26) เปิดให้บริการเวลา 10.00 - 22.00 น. เบอร์ติดต่อ 09-2651-6463
96
HANG-OUT PLACE
เรื่อง: หนึ่งฤทัย คาทุสเซฟกี้ ภาพ: About Work
About Work หลายคนคงอาจจะนึกไม่ถงึ ว่าย่านท่องเทีย่ วทีค่ กึ คักในยามราตรีอย่างซอยนานา จะมีสถานที่ซึ่งสร้างแรงบันดาลใจและจุดประกายไอเดียใหม่ๆ ให้เราได้ สถานที่ ที่ว่านี้ก็คือ ‘About Work’
About Work คือ Co-working Space สำาหรับคนรุน่ ใหม่ทตี่ อ้ งการ ทำางานในบรรยากาศที่สามารถสร้างแรงบันดาลใจและรู้สึกสนุก กับการทำางาน เกิดจินตนาการ ได้ไอเดียจากคนรอบข้าง ส่งผลให้ สามารถสร้างผลงานที่มีคุณค่าได้ โดยการปรับเปลี่ยนทาวน์เฮ้าส์ หลังใหญ่ในย่านนานาให้กลายเป็นสถานทีท่ าำ งานทีอ่ บอุน่ มีชวี ติ ชีวา เหมือนกับอยู่บ้าน ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘สถานที่ที่คุณมาทำางานแล้ว เหมือนไม่ได้ทำางาน’ จุดเด่นของทีน่ อี่ ยูท่ ก่ี ารปรับเปลีย่ นสระว่ายน้าำ ทีป่ ล่อยทิง้ ร้างให้กลาย เป็นห้องสารพัดประโยชน์ โดยการต่อเติมหลังคาและผนังกระจกใส ทีส่ ามารถมองเห็นต้นไม้ภายนอก ให้ความรูส้ กึ ร่มรืน่ และสดชืน่ รวมถึง การตกแต่งด้วยโคมไฟและหญ้าเทียม และด้วยความทีส่ ระนีม้ คี วามลึก ถึง 3 เมตร จึงเหมาะมากสำาหรับการใช้เป็นสตูดโิ อถ่ายภาพ นอกจากนี้ ของตกแต่งในห้องต่างๆ ก็เป็นการมิกซ์แอนด์แมทช์ระหว่างของเก่า ที่มีอยู่แล้วกับของใหม่ บางชิ้นก็เอาของเก่ามาซ่อมแซม ทาสีใหม่ ที่นี่จึงไม่มีคอนเซ็ปต์การตกแต่งที่ชัดเจน แต่จะเป็นการผสมผสาน เพื่อให้เกิดอะไรใหม่ๆ ขึ้นมา
About Work มีห้องหลากหลายรูปแบบให้เลือกตามความต้องการ ไม่ว่าจะเป็นห้องสัมมนา (ไม่เกิน 50 คน) ห้องประชุม (20 คน) พื้นที่ จัดแสดงงานศิลปะ สตูดิโอถ่ายภาพ พร้อมอุปกรณ์อำานวยความ สะดวกในห้องประชุม ได้แก่ Flipchart, White Board, TV LED 55”, CCTV, Projector, Speaker, Mike และ Office Equipment พร้อม wi-fi ฟรี โดยแต่ละห้องจะถูกตัง้ ชือ่ จากลักษณะทางกายภาพของห้อง อาทิ ‘ห้องลึก’ เป็นชื่อห้องที่เนรมิตจากสระว่ายน้ำาซึ่งมีความลึก สามารถใช้เป็นห้องสัมมนา ห้องจัดแสดงโชว์ หรือสตูดิโอถ่ายภาพ, ‘ห้องริม’ เป็นชือ่ ห้องริมสระว่ายน้าำ สามารถใช้เป็นสตูดโิ อถ่ายพรีเวดดิง้ หรือถ่ายแฟชัน่ ได้ มีของประดับตกแต่งสวยๆ พร้อมบริการ, ‘ห้องลับ’ เป็นชื่อห้องประชุมที่อยู่ในซอกลึกลับของบ้าน, ‘ห้องโล่ง’ เป็นห้องที่ เหมาะสำาหรับการนัง่ ทำางานเป็นกลุม่ ส่วน ‘ห้องเรา’ จะเป็นห้องที่ให้ ความรู้สึกเหมือนนั่งทำางานอยู่ที่บ้าน เหมาะสำาหรับผู้ที่มาคนเดียว นอกจากนีร้ ะหว่างนัง่ ทำางานก็มขี นม ชา กาแฟ บริการเป็นอาหารว่าง และมีอาหารกลางวันทั้งแบบจานเดียวและบุฟเฟต์อีกด้วย About Work ตั้งอยู่ที่ 20/3 สุขุมวิท ซอย 3 (ใกล้ BTS นานา) โทรศัพท์: 086 369 1510 เฟสบุค๊ : www.facebook.com/aboutwork เว็บไซต์: www.about-work.com 97
PHOTOMANIAS เรื่อง: กฤษณ์ นาคะชาต
อัครเดช ปลัดขวา (น็อต) จากการเริม่ ต้นสนใจถ่ายภาพตัง้ แต่เรียนอยูช่ นั้ มัธยมศึกษา ด้วยกล้องฟิลม์ ฟูจิ แบบง่ายๆ จนเกิดติดใจในการถ่ายภาพมาตลอดจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ซึง่ การเริม่ ต้น ของคนรักการถ่ายภาพหลายๆ คนก็คงไม่ต่างกัน “จริงๆ ผมก็จาำ ไม่ได้หรอกครับว่าเริม่ ถ่ายรูปตัง้ แต่ ตอนไหน ทราบเพียงแต่ว่าเริ่มสนใจการถ่ายรูป และเริม่ มีกล้องถ่ายรูปฟิลม์ ตัง้ แต่อยูช่ น้ั ม.3 ซึง่ เป็น กล้องฟูจิแบบง่ายๆ ตัวละไม่กี่พันบาท และก็ใช้ ติดตัวมาโดยตลอด ทีผ่ มชอบถ่ายรูปก็คงมาจากผม ต้องการที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว และเก็บเป็น ความทรงจำามากกว่าสิง่ อืน่ ๆ และด้วยเหตุนกี้ ล้อง จึงถูกหยิบออกมาใช้บ่อยๆ จนกลายเป็นของที่ ต้องพกพาไว้ในกระเป๋าโดยปริยาย ไม่ต่างกับ กุญแจบ้าน จนกลายเป็นคำาว่าชอบตามมาในทีส่ ดุ จากมัธยมต้นถึงมัธยมปลาย ไปจนกระทัง่ เข้าเรียน มหาวิทยาลัยนัน่ เอง และอย่างทีท่ ราบกันดีวา่ คนที่ เรียนในคณะสถาปัตยกรรมนัน้ เวลาทีม่ ี 7 ใน 10 ส่วน ของการเรียนในคณะนีค้ อื การทำาโปรเจค เสียงการ ลัน่ ชัตเตอร์จงึ เริม่ เบาลงกลายเป็นเสียงรูด T-slide ชั ด ขึ้ น ทุ ก ที ๆ และผมได้ ก ลั บ มาเริ่ ม ถ่ า ยรู ป อย่างเอาจริงเอาจังอีกครั้งตอนซื้อกล้องดิจิตอล 350d-Canon ในช่วงใกล้เรียนจบมหาวิทยาลัย ประมาณชั้นปีที่ 5 98
หากถามว่ า ผมมี แ นวการถ่ า ยรู ป สไตล์ไหน คงต้องบอกว่าผมไม่มี แนวไหนตายตัว ถ่ายตามอารมณ์ ที่ยืนตรงนั้นล้วนๆ ไม่ได้มีเทคนิค อะไรพิเศษแค่ถา่ ยเยอะๆ ถามคนทีร่ ู้ เยอะๆ เพราะหลักในการถ่ายรูปของ ผมก็จะคิดก่อนว่าการถ่ายสิ่งที่เป็น วัตถุหรือภาพรวมนั้นๆ เราอยาก ให้ภาพที่ออกมาเป็นอย่างไร เพราะ ภาพเดียวกันร้อยคนพันคนถ่ายออก มาก็ไม่เหมือนกัน ซึง่ ผมก็ชอบดูภาพ ทีค่ นอืน่ ๆ ถ่ายกัน แต่กไ็ ม่ได้สนใจภาพ ของใครเป็นพิเศษนะครับ ชอบคละๆ กันไปตามแต่ช่วงเวลานั้น สำาหรับ ภาพของตัวเองก็คิดว่าไม่น่าเบื่อดี เมือ่ กลับมาย้อนมอง คล้ายๆ คิดถึง เรื่องของเล่นเก่าๆ ตอนเด็ก ซึ่งผม คิดว่าทุกคนน่าจะเป็นนะครับ
ปั จ จุ บั น ผมใช้ ก ล้ อ ง 5Dmark2 Canon, Nikon F2s, IPhone 6 เลนส์ มีรวมๆ กันทัง้ หมด ประมาณ 8 ตัว ซึง่ เอาจริงๆ ตอนนีร้ ู้สึกแก่ขึ้น แบกกล้องใหญ่ไม่คอ่ ยจะไหว ก็อยากจะได้กล้อง คอมแพคดีๆ เล็กๆ อีกสักตัวหนึ่งด้วยครับ เป็ น ยั ง ไงครั บ ...ต้ น เรื่ อ งของเรา หากใคร สนใจผลงานติดตามกันได้ที่ https://www. facebook.com/notsumoto.nosumotot เลยครับ
99
รอบรั้วการศึกษา
เรื่อง: ภัณฑิรา มีลาภ (หมูอ้วน)
WoodWalk ไม้เท้าเพื่อผู้สูงอายุรุ่นใหม่ คอลัมน์รอบรั้วการศึกษาฉบับนี้ ขอนำ�เสนอข่าวของวงการรอบรั้วการศึกษามาเล่า สูก่ นั ฟังอีกเช่นเคยกับ ผลงานวิจยั ของอาจารย์ และนักศึกษาทีส่ ร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ออกสู่สายตาประชาชน จากนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ที่ประยุกต์องค์ความรู้จากวิชาดี ไซน์ สร้างสรรค์ WoodWalk งานออกแบบเพื่อผู้สูงอายุรุ่นใหม่ WoodWalk คือการเปลี่ยนภาพลักษณ์ของไม้เท้าซึ่งเป็นอุปกรณ์ ทางการแพทย์ให้เป็นงานดีไซน์ เพือ่ แก้ไขจุดบกพร่องทีผ่ ใู้ ช้งานไม้เท้า แบบสีข่ าสะท้อนให้เห็นด้วยลักษณะทางกายภาพ ซึง่ ทำ�ให้เกิดลักษณะ การเดินทีไ่ ม่ปกติและเมือ่ เวลาก้าวเดินยังมีความเสีย่ งทีผ่ สู้ งู อายุอาจ พลาดล้มได้อกี ด้วย ดังนัน้ นายศิลา เศวตาภรณ์ นักศึกษาชัน้ ปีท่ี 3 จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ทำ�การออกแบบ WoodWalk ไม้เท้าสำ�หรับช่วยพยุงเดินแบบสี่ขาที่มีลกั ษณะคานที่ จะทำ�ให้ผใู้ ช้งานสามารถก้าวเดินได้สะดวกมากกว่าเดิม โดยศิลาได้อธิบายถึงโครงการวิจยั ครัง้ นีว้ า่ “ร่างกายของคนเรามีการ เสือ่ มสภาพไปตามช่วงเวลา คนส่วนใหญ่มกั จะพูดว่าอายุยงิ่ มากก็ยงิ่ ต้องต่อสู้กับแรงโน้มถ่วงของโลกมากขึ้น และเมื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ หรือวัยชราจึงต้องพึง่ พาอุปกรณ์ทช่ี ว่ ยพยุงร่างกายให้สามารถเดินเหิน ได้อย่างคล่องแคล่ว และ Walker หรือไม้เท้าชนิดต่างๆ ก็เป็น อุปกรณ์ทเี่ รียกได้วา่ เป็นขาทีส่ ามของชีวติ ในยามแก่เฒ่าได้เลยทีเดียว และจากการทีไ่ ด้สงั เกตเห็นถึงปัญหาในการใช้ไม้เท้าจากผูส้ งู อายุทบ่ี า้ น ประกอบกับได้รับโจทย์จากวิชาเรียนให้ท�ำ การออกแบบผลงานเพื่อ คนพิการทางสายตา จึงได้ทำ�การศึกษาค้นคว้าและพบว่าไม้เท้า สำ�หรับผูพ้ กิ ารทางสายตานัน้ มีรปู แบบทีร่ องรับและใช้งานได้ดอี ยูแ่ ล้ว แต่ถ้าเป็นผู้พิการทางสายตาและเป็นผู้สูงอายุด้วยนั้นยังไม่ค่อยมี อุปกรณ์ที่รองรับการใช้งานได้อย่างเหมาะสม จึงได้พัฒนาผลงาน ที่ ชื่ อ ว่ า WoodWalk ขึ้ น มา ซึ่ ง เป็ น การคิ ด ต่ อ ยอดไปจากการ ออกแบบเพื่อผู้พิการทางสายตาอีกขั้น ถ้าหากเป็นผู้สูงอายุที่พิการ ทางสายตาด้วยแล้วอุปกรณ์ที่จะช่วยรองรับที่เหมาะกับการใช้งาน ควรเป็นอย่างไร โดยผมเริ่มทำ�การศึกษาข้อมูล ด้วยการสอบถามจากผู้ใช้งานจริง สรุปออกมาได้ 3 หัวข้อหลักๆ คือ 1. ทางกายภาพและการใช้งาน 2. ความรู้สึก และ 3. ทางสังคม ซึ่งวัตถุประสงค์ในการออกแบบ
100
WoodWalk นั้นเพื่อแก้ไขจุดบกพร่องสำ�หรับผู้ใช้งาน ไม้เท้าแบบสีข่ า โดยในการออกแบบปัจจัยแรกทีค่ �ำ นึงถึง คือ ลักษณะทางกายภาพ เนื่องจากไม้เท้าแบบสี่ขา ทีใ่ ช้อยูน่ น้ั จะมีคานขวางตรงกลางซึง่ จะขวางเวลาก้าวเดิน ทำ�ให้เกิดลักษณะการก้าวเดินทีไ่ ม่ปกติ และเวลาก้าวเดิน ลำ�ตัวของผู้ใช้งานจะไม่อยู่ตรงกลางของไม้เท้าจึงมี ความเสี่ยงที่ผู้สูงอายุอาจพลาดล้มได้ ดังนั้นในการ ออกแบบ WoodWalk จึงมีลักษณะคานที่ยื่นออกไป ข้ า งหน้ า เล็ ก น้ อ ยเพื่ อ ให้ ผู้ ใ ช้ ง านสามารถก้ า วเดิ น ได้สะดวก และลำ�ตัวของผู้ใช้จะอยู่ตรงกลางไม้เท้า พอดีทำ�ให้มีความมั่นคงไม่ว่าจะหมุนตัวหรือก้าวเดิน นอกจากนัน้ ยังเพิม่ ทีจ่ บั ส่วนล่างเพือ่ เป็นฟังก์ชนั่ เสริม สำ�หรับช่วยพยุงในขณะที่ผู้สูงอายุกำ�ลังลุกขึ้นยืนจาก ที่นั่งได้ง่ายขึ้น
ปัจจัยต่อมาคือ เรื่องของความรู้สึก เนื่องจาก ไม้เท้าส่วนมากทำ�จากอะลูมิเนียมซึ่งผู้ใช้บอกว่า ขณะใช้มีความรู้สึกว่าตัวเองกำ�ลังป่วยและต้องใช้ เครื่องมือแพทย์ทุกวัน ซึ่งเป็นความรู้สึกที่หดหู่ ดังนั้นผมจึงเลือกวัสดุที่ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย และสบายตาอย่างวัสดุไม้มาช่วยในการออกแบบ WoodWalk และปัจจัยสุดท้ายคือเรื่องทางสังคม เนือ่ งจากผูใ้ ช้งานส่วนมากไม่ตอ้ งการทีจ่ ะถือไม้เท้า แบบสีข่ าอันใหญ่ๆ ไปในทีส่ าธารณะ เพราะไม่อยาก ถูกมองว่าเป็นผู้ป่วยหรือคนแก่มากๆ ในสายตา คนอื่นตลอดเวลา ดังนั้น WoodWalk จึงถูก ออกแบบมาเพื่อลบภาพเหล่านี้ออกไป โดยการ ออกแบบให้เป็นไม้เท้าทีส่ ามารถถอดออกจากกันได้ จาก 4 ขา เหลือ 2 ขา หรือใช้ถอื เพียงข้างเดียวก็ได้ ทำ�ให้มีความกระฉับกระเฉงคล่องตัวมากขึ้น และ สามารถพกพาไปในทีส่ าธารณะได้สะดวก เสริมให้ ผู้ใช้ดูสง่าและสดใสมากขึ้น เพราะหัวใจของงานออกแบบชิน้ นีน้ อกจากจะทำ�ให้ เป็นอุปกรณ์ที่มีฟังก์ชั่นใช้งานตอบสนองผู้สูงอายุ มากขึ้นแล้ว ผมยังให้ความสำ�คัญกับรูปลักษณ์ ของอุปกรณ์ทสี่ อื่ ถึงตัวตนของผูใ้ ช้งานซึง่ ถึงแม้จะ เป็นคนพิการทางสายตาหรือผูส้ งู อายุ ก็สามารถใช้ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เป็นงานดีไซน์ได้เช่นกัน”
BUILDER NEWS เปิดตัว ‘Fili d’Erba’ คลังสินค้าอัตโนมัติในอิตาลี
Pedrali แบรนด์ผผู้ ลิตเฟอร์นเิ จอร์ชอ่ื ดัง ได้เปิดตัว ‘Fili d’Erba’ คลังสินค้า อัตโนมัติขึ้น ซึ่งเป็นผลงานที่ได้รับการออกแบบโดยสถาปนิก Cino Zucchi ซึ่งจะตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศอิตาลี ด้วยบริบทอัน เป็นพื้นที่ทางการเกษตร อาคารหลังนี้จึงถูกตั้งชื่อขึ้นโดยมีความ หมายถึง ‘Blade of Grass’ หรือใบมีดดายหญ้า ดังนั้นในการ ออกแบบได้นำ�แนวคิดนี้มาประยุกต์ตกแต่งบนผนังด้านหน้าอาคาร คลังสินค้าด้วย โดยเลือกใช้วสั ดุอลูมเิ นียมขึน้ รูปทีม่ รี ปู ทรงแพทเทิรน์ ในแนวตัง้ และแนวเฉียง เสมือนกับทรงของใบมีดดายหญ้าขนาดใหญ่ ที่สร้างจังหวะของระยะและสัดส่วนได้อย่างลงตัว โดยผนังดังกล่าว จะคลุมพื้นที่คลังสินค้ากว่า 7,000 ตารางเมตรนี้ไว้ ภายในโครงการจะมีการเชื่อมต่อกันโดยรถรางไฟฟ้าและรถรับส่งที่ เชื่อมโยงไปยังพื้นที่อุตสาหกรรมเดิม โดยคลังสินค้านี้จะเปิดการใช้ งานตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งจะมีความจุในการจัดเก็บ 16,880 พาเลท
ของทั้งผลิตภัณฑ์สำ�เร็จรูปและผลิตภัณฑ์กึ่งสำ�เร็จรูป ด้วยปริมาณ และขนาดของอาคารอัตโนมัติหลังนี้จึงสามารถตอบสนองต่อการ ผลิต การจัดเก็บ และการขนถ่ายสินค้าได้ทงั้ ในปัจจุบนั และในอนาคต โดยพาเลทที่ มี เ ข้ า มาที่ ค ลั ง สิ น ค้ า จะถู ก ลำ � เลี ย งไปจั ด เก็ บ โดย เครือ่ งจักรอัตโนมัติ จำ�นวน 5 ตัว ทีม่ คี วามสามารถในการเคลือ่ นย้าย ทัง้ แนวตัง้ และแนว ซึง่ ระบบอัตโนมัตนิ ส้ี ามารถประมวลผล 150 พาเลท ต่อชั่วโมง ด้วยความเร็วสูงสุดถึง 14 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
all images by f.romano source: www.designboom.com 101
รอบรั้วการศึกษา นักศึกษาคณะวิศวฯ พระจอมเกล้าฯ ลาดกระบัง นำาหุ่นยนต์ GRUBBOT คว้ารางวัลชนะเลิศ ในงานวันนักประดิษฐ์ ปี 2559 นายเอกพัฒน์ เอกนรพันธ์, นายธารินทร์ ยุทธนาการ และ นายธิตพิ งษ์ สุหัตถาพร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาควิชาวิศวกรรมการวัดและควบคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) ได้รับรางวัลชนะเลิศจากเวทีประกวดนวัตกรรม ในงานวันนักประดิษฐ์ ปี 2559 จัดโดยสำานักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ (วช.) จากผลงาน ‘หุ่นยนต์กรั๊บบอต (Grubbot)’ หุ่นยนต์ จอมช้อป เพือ่ นคูค่ ดิ ชีวติ ยุคไทยแลนด์ 4.0 ซึง่ เป็นนวัตกรรมทีต่ อบโจทย์ ไลฟ์สไตล์และออฟฟิศในยุคไทยแลนด์ 4.0 และยังเพิ่มสีสันให้งาน บริการค้าปลีกและสรรพสินค้าอีกด้วย
โครงการประกวดออกแบบ ‘Asia Young Designer Award 2016’
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดโครงการประกวด ‘Thailand Green Design Awards 2017’
ขอเชิญชวนนิสติ นักศึกษา สาขาวิชาสถาปัตยกรรมและออกแบบ ภายใน ส่งผลงานเข้าร่วมการประกวดออกแบบ ‘Asia Young Designer Award 2016’ ในหัวข้อ Be Bold. Be Free. Be You. จัดโดยบริษัท นิปปอนเพนต์ เดคโคเรทีฟ โคทติ้ง (ประเทศไทย) จำากัด เพื่อชิงเงินรางวัลสูงสุดกว่า 100,000 บาท และโอกาสได้ เป็นหนึ่งในตัวแทนจาก 15 ประเทศ เข้าร่วมกิจกรรม Learning Program ทีเ่ กาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย โดยกำาหนดส่งผลงาน ได้ตั้งแต่วันนี้ - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2559
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอเชิญนักเรียน นิสติ นักศึกษา นักออกแบบ วิสาหกิจชุมชน บริษัทเอกชน และประชาชนทั่วไป ส่งผลงานเข้าร่วม ประกวดในโครงการ ‘Thailand Green Design Awards 2017’ การประกวดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประจำาปี 2560 (TGDA 2017) เพื่อชิงเงินรางวัลพร้อมโล่เกียรติยศมูลค่ารวมกว่า 600,000 บาท โดยกำาหนดเปิดรับสมัครแล้วตัง้ แต่วนั นี้ - 15 ตุลาคม พ.ศ.2559
ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 02-462-5299 ต่อ 364 www.facebook.com/youngdesignerthailand
ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่ www.tgda.ku.ac.th หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ โทร. 092-557-3022 Email. tgda.kapi@gmail.com www.tgda.ku.ac.th
102
แวดวงสมาคม
สมาคมสถาปนิกสยามฯ กำาหนดจัดงานสถาปนิก’60 ภายใต้แนวคิด ‘บ้าน บ้าน:BAAN BAAN’ ในวันที่ 2-7 พฤษภาคม พ.ศ.2560 นายอัชชพล ดุสิตนานนท์ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายชาตรี มรรคา กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอร์เนชัน่ แนล จำากัด ผูจ้ ดั งาน สถาปนิก’60 พร้อมด้วย นายนันทพล จั่นเงิน ประธานจัดงานสถาปนิก’60 ร่วมกัน กำาหนดการจัดงานสถาปนิก’60 ซึง่ ดำาเนินอย่างต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 31 อย่างเป็นทางการ ภายใต้แนวคิด ‘บ้าน บ้าน:BAAN BAAN’ เพือ่ นำาเสนอผลงานความก้าวหน้าทางด้าน
วิศวกรรมสถานฯ ร่วมกับ ทาทา สตีล จัดสัมมนา ‘เหล็กข้ออ้อยกับงานก่อสร้างก่อสร้างประเทศไทยยุค 4.0’ คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) จัดงานสัมมนา ‘เหล็กข้ออ้อยกับงานก่อสร้าง ประเทศไทยยุค 4.0’ สนับสนุนโดย บริษทั ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน) วัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้แก่วิศวกร หน่วยงาน ราชการ เอกชน และผูป้ ระกอบการในพืน้ ทีจ่ งั หวัดสงขลาและใกล้เคียง เตรียมพร้อมก้าวสู่ประเทศไทย 4.0 โดยมี รศ. ดร.วัชรินทร์ กาสลัก อุปนายกวิศวกรรมสถานฯ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด ซึ่งการ จัดงานในครั้งนี้มีผู้สนใจเข้าร่วมอย่างคับคั่ง ณ โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 104
สถาปัตยกรรม พร้อมนิทรรศการวัสดุกอ่ สร้างอย่าง ยิ่งใหญ่ บนพื้นที่ 75,000 ตารางเมตร ของอาคาร ชาเลนเจอร์ 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ในระหว่าง วันที่ 2-7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ สมาคม สถาปนิ ก สยามฯ ประสงค์ เ ชิ ญ ชวนผู้ ป ระกอบ การวั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง เข้ า ร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ใน ความสำ า เร็ จ กั บ งานสถาปนิ ก ’60 เพื่ อ ร่ ว มกั น สร้างสรรค์กจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชน์แก่วงการโดยรวม และกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวทางด้านการตลาด ของวัสดุก่อสร้าง-การตกแต่งให้มากยิ่งขึ้น อีกทั้ง ยังเป็นช่องทางในการขยายส่วนแบ่งทางการตลาด และการเผยแพร่ข้อมูลผลิตภัณฑ์-บริการได้อย่าง รวดเร็ ว และคุ้ ม ค่ า มากที่ สุ ด อี ก ทางหนึ่ ง ด้ ว ย สำาหรับผูป้ ระกอบการวัสดุกอ่ สร้างทีส่ นใจสามารถ สอบถามข้อมูลเพิม่ เติมและสำารองพืน้ ทีก่ ารจัดงาน ได้ที่ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำากัด โทร. 0-2717-2477 Email:Supaman@ttfintl.com, www.ArchitectExpo.com และ www. Facebook.com/ArchitectExpo
สมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ลงนามความร่วมมือกับ JTA และ iforce จากญี่ปุ่น นายพิชติ อรุณพัลลภ นายกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ได้ลงนาม ความร่วมมือขั้นต้นกับ Mr. Yasuhiro Tamaki President of JTA (Japan Traditional Wooden Home Association) และ Mr.Kimito Higuchi CEO of iforce (Innovative Organization Human Resource Cultivation and Encouragement) โดยการลงนามครั้งนี้จะมีความร่วมมือในหลายๆ ด้าน อาทิ การแลกเปลี่ยนเทคโนโลยีวิธีการก่อสร้าง การแลกเปลี่ยนเรื่อง จัดการด้านคุณภาพ ต้นทุน การออกแบบ การประหยัดพลังงาน และการปรับสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็นต้น
สภาสถาปนิก จัดสัมมนา ‘การประกันความเสียหาย ในวิชาชีพและการประนอมข้อพิพาทในการประกอบ วิชาชีพ’ สภาสภาปนิก ขอเชิญสมาชิกที่สนใจเข้าร่วมงานสัมมนาวิชาชีพ ในหัวข้อ ‘การประกันความเสียหายในวิชาชีพ เเละการประนอม ข้อพิพาทในการประกอบวิชาชีพ’ ในวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ตัง้ เเต่เวลา 12.00-17.00 น. ณ โรงเเรมบุรศี รีภู ถนนศรีภวู นารถ อำาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รับจำานวนจำากัด 80 ที่นั่ง (ฟรีไม่มีค่าใช้จ่าย) ผูส้ นใจสามารถลงทะเบียนผ่าน www.facebook.com/ArchitectCouncil-of-Thailand-ACT-สภาสถาปนิก-162809063731733/ หรือสอบถามเพิม่ เติมได้ท่ี โทร. 02-318-2112 ต่อ 140
สภาอุตสาหกรรมฯ จัดประกวดออกแบบตราสัญลักษณ์ ครบรอบการก่อตั้ง 50 ปี สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ขอเชิญนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ส่งผลงานเข้าร่วมโครงการประกวดออกแบบ ตราสัญลักษณ์ (Logo) ของสภาอุตสาหกรรมฯ ในโอกาสครบรอบ 50 ปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำาตราสัญลักษณ์ที่ชนะเลิศไปใช้ในสื่อและ กิจกรรมต่างๆ ของสภาอุตสาหกรรมฯ ตลอดปีพ.ศ. 2560 กำาหนด เปิดรับผลงานตั้งแต่วันนี้ - 21 ตุลาคม พ.ศ. 2559 ผู้ ส นใจสามารถสอบถามเพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ ฝ่ า ยประชาสั ม พั น ธ์ สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย โทร. 0-2345-1013, 0-2345-1017 Fanpage: https://www.facebook.com/ TheFederationOfThaiIndustries และ Line@ Official: @fti_line
สมาคมนักประเมินราคาอิสระไทย จัดงานเสวนา ‘พ.ร.บ.หลักประกันทางธุรกิจ มิติใหม่ SMEs ไทย’ สมาคมนักประเมินราคาอิสระไทย จัดงานเสวนาพิเศษในหัวข้อ ‘พ.ร.บ. หลักประกันทางธุรกิจมิตใิ หม่ของ SMEs ไทย’ โดยความร่วมมือของ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง เนื่องในโอกาสครบรอบ 20 ปีของสมาคมฯ และเพื่อสนับสนุน นโยบายของรัฐบาลเกีย่ วกับ พ.ร.บ. หลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 รวมทัง้ เพือ่ ให้ผเู้ ข้าร่วมเสวนาได้เห็นทิศทางการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ ในระดับ SMEs และโอกาสขององค์กรธุรกิจจากการใช้ พ.ร.บ. นี้ ณ ห้องบอลรูม โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขมุ วิท
105
BUILDER CLUBS
อิมแพ็ค จัดงานใหญ่ด้านอุตสาหกรรมก่อสร้าง ‘Asian Construction Week 2016’
ออริจน้ิ ฯ ผนึกกำาลังกับนักพัฒนาอสังหาฯ มือทอง บริหารโครงการใหม่
บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมนเนจเม้นท์ จำ�กัด จัดง�นด้�น อุตส�หกรรมก่อสร้�ง ‘Asian Construction Week 2016’ ที่รวม บริษัทด้�นอุตส�หกรรมก่อสร้�ง 3 ง�นไว้ในที่เดียว ได้แก่ ง�น BMAM Expo Asia 2016, GBR Expo Asia 2016 และ Concrete Asia 2016 เป็นก�รจัดแสดงสินค้�และก�รประชุมสัมมน�ระดับ น�น�ช�ติ เพื่อช่วยส่งเสริมให้ผู้ประกอบก�รได้เจรจ�ธุรกิจ รวมทั้ง ขย�ยเครือข่�ยท�งธุรกิจไปยังประเทศอื่นๆ ในภูมิภ�คอ�เซียนได้ ง่�ยขึ้น ณ อ�ค�ร 5-6 อิมแพ็ค เมืองทองธ�นี
พีระพงศ์ จรูญเอก ประธ�นเจ้�หน้�ที่บริห�ร บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จำ�กัด (มห�ชน) ร่วมลงน�มพันธมิตรท�งธุรกิจ กับ ยงยุทธ ชัยพรหมประสิทธิ์ นักพัฒน�อสังห�ริมทรัพย์ชื่อดัง ที่มีประสบก�รณ์ม�กว่� 20 ปี เข้�ผนึกกำ�ลังในฐ�นะที่ปรึกษ� แนวคิดก�รพัฒน� รวมถึงง�นบริห�รท�งด้�นตล�ดและก�รข�ย โครงก�รคอนโดมิเนียมใหม่ที่ว�งแผนจะเปิดตัวในปี 2560
แสนสิริ จับมือ ธนาคารไทยพาณิชย์ จัดแคมเปญ ‘SCB Home Loan Plus UP’
เมโทรซิสเต็มส์ฯ จัดงานฉลองบริษัทครบรอบ 30 ปี
เมธ� อังวัฒนพ�นิช รองกรรมก�รผู้จัดก�รอ�วุโสส�ยง�นพัฒน� ธุรกิจและพัฒน�โครงก�รแนวร�บ บริษัท แสนสิริ จำ�กัด (มห�ชน) ร่วมกับ กนกวรรณ ใจศรี ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั ก�รใหญ่ ผูบ้ ริห�รส�ยสินเชือ่ เพือ่ ที่อยู่อ�ศัย ธน�ค�รไทยพ�ณิชย์ จัดแคมเปญ ‘SCB Home Loan Plus UP’ สินเชือ่ ทีอ่ ยูอ่ �ศัยสำ�หรับลูกค้�พนักง�นประจำ�ทีท่ �ำ ง�นใน บริษัทที่ใช้สินเชื่อสวัสดิก�รกับธน�ค�รไทยพ�ณิชย์ เมื่อซื้อบ้�นหรือ คอนโดมิเนียมคุณภ�พในโครงก�รของแสนสิริทุกแห่งทั่วประเทศ
ธวิช จ�รุ วจนะ กรรมก�รผู้ จั ดก�ร บริ ษั ท เมโทรซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชัน่ จำ�กัด (มห�ชน) จัดง�นฉลองครบรอบ 30 ปี ให้กบั พนักง�นและบริษัทในเครือ ณ Event Hall 107 ไบเทค บ�งน� โดยภ�ยในง�นมีก�รบรรย�ยพิเศษจ�กวิทย�กรรับเชิญ และ คอนเสิรต์ จ�กศิลปินชือ่ ดัง โดยมีพนักง�นและผูบ้ ริห�ร ตลอดจน แขกรับเชิญพิเศษเข้�ร่วมง�นครั้งนี้เกือบหนึ่งพันคน
106
มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สนับสนุนโครงการ ‘วัดสร้างสุข’ วัดระเวิงรังสรรค์ และโรงเรียน บ้านระเวิง จังหวัดชลบุรี มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย นำ�โดย ชินโกะ ท�นิโมะโตะ ประธ�นบริษัท มิตซูบิชิ อิเลคทริค ไทย ออโต้-พ�ร์ท จำ�กัด และ กริช ทองน�ค ผู้จัดก�รทั่วไป บริษัท มิตซูบิชิ อิเล็คทริค เอเชีย (ประเทศไทย) จำ�กัด พร้อมทีมพนักง�นจิตอ�ส�กว่� 400 คน เข้�ร่วมกิจกรรมในโครงก�ร ‘วัดสร้�งสุข’ ณ วัดระเวิงรังสรรค์ และโรงเรียนบ้�นระเวิง จังหวัดชลบุรี
ยิปรอค คว้ารางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่น 4 ปี ติดต่อกัน บริษัท ไทยผลิตภัณฑ์ยิบซั่ม จำ�กัด (มห�ชน) นำ�โดย ไมค์ เอ็มสัน ผู้อำ�นวยก�รด้�นก�รปฏิบัติก�ร ภูมิภ�คเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขึน้ รับร�งวัล ‘สถ�นประกอบกิจก�รดีเด่นระดับประเทศ ด้�นแรงง�น สัมพันธ์และสวัสดิก�รแรงง�น’ จ�กกระทรวงแรงง�นเป็นปีท่ี 4 ติดต่อกัน โดยร�งวัลนี้มอบให้แก่ โรงง�นยิปรอค แหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี ณ ห้องแกรนด์ ไดมอนด์ บอลรูม อิมแพค เมืองทองธ�นี
ชีวาทัย เปิดโครงการ ‘ชีวาทัย เพชรเกษม 27’ ให้ลูกค้าคนพิเศษร่วมชมวันแรก
โคนิกา้ มินอลต้า สนับสนุนการจัดงานประกวดสิง่ พิมพ์ แห่งชาติครั้งที่ 11
บริษทั ชีว�ทัย จำ�กัด (มห�ชน) เปิดห้องตัวอย่�งโครงก�ร ‘ชีว�ทัย เพชรเกษม 27’ ให้กับลูกค้�กลุ่มที่ลงทะเบียนร่วมชมโครงก�ร ครัง้ แรก กับคอนโดมิเนียมสูง 26 ชัน้ รวม 652 ยูนติ ทีม่ �พร้อม Community Mall ภ�ยในโครงก�ร ตรงกับไลฟ์สไตล์คนรุน่ ใหม่ และถือโอก�สมอบของทีร่ ะลึกให้กบั ผูท้ จี่ องห้องในวันแรกอีกด้วย ณ โครงก�ร ชีว�ทัย เพชรเกษม 27
อุกฤษฎ์ ตั้งอุทัยสุข ผู้จัดก�รฝ่�ยส่วนง�นผลิตภัณฑ์แท่นพิมพ์ ดิจิตอล บริษัท โคนิก้� มินอลต้� บิสสิเนส โซลูชันส์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ร่วมเป็นเกียรติในพิธมี อบร�งวัลก�รประกวดสิง่ พิมพ์แห่งช�ติ ครั้งที่ 11 (Thai Print Awards 2016) ในฐ�นะที่ โคนิก้� มินอลต้� เป็นผู้สนับสนุนหลักของก�รจัดประกวดสิ่งพิมพ์แห่งช�ติครั้งที่ 11 และยังเป็นผู้สนับสนุนในส�ข�ร�งวัล BEST IN CREATIVE USE OF DIGITAL TECHNOLOGY ท่�มกล�งผู้เข้�ร่วมประกวดอย่�ง คับคั่ง 107
เข้าตลาด กล้อง Typhoon H เป็นหนึ่งในตระกูล Typhoon ที่มีขนาดเล็กที่สุดและ ฉลาดทีส่ ดุ เป็นตัวเลือกทีด่ ที ส่ี ดุ สำาหรับนักบินและช่างภาพ ทางอากาศทีม่ ที กั ษะ สามารถบินได้นาน 22 นาที ถ่ายภาพ และวิดีโอผ่านกล้อง CGO 3+ มีความละเอียดวิดีโอ ระดับ 4K ตัวเครื่องบินเปิดใช้งานง่าย รีโมทควบคุม การทำางานรุ่น ST16 มาพร้อมจอภาพขนาด 7 นิ้ว และ Android Touchscreen ดูภาพถ่ายได้ทันที ENTECH ASSOCIATE CO.,LTD. www.entech.co.th สินค้าหล่อสำาเร็จ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการ ผลิตสินค้าคอนกรีตยาวนานกว่า 30 ปี มีคุณสมบัติติดตั้งง่าย สะดวก แข็งแรง เป็นธรรมชาติ ทนทานต่อทุกสภาวะ ช่วยประหยัด แรงงานในการก่อสร้าง โดยเน้นเครื่องจักรทำางานแทนแรงงาน จึงทำาให้งานเป็นไปตามแผน ประหยัดเวลา และลดต้นทุนในการ ก่อสร้าง บริษัท ซีซีพี เพวิ่งสโตนส์ จำากัด www.ccp-pavingstone.com
กล้อง Typhoon Q500 4K กล้องถ่ายภาพมุมสูงพร้อมใช้งาน บินง่ายแม้เป็นนักบิน มือใหม่ ด้วยโหมดการบินนิ่งด้วย GPS และโหมดบิน อัตโนมัติ Follow me ซึ่งเป็นโหมดการบินอัจฉริยะ สามารถบินติดตามผู้ถือวิทยุบังคับได้โดยไม่ต้องบังคับ มีโหมด Watch me ติดตามพร้อมกับการจับภาพผู้ถือ วิทยุบังคับ และโหมด Return Home ส่วนวิทยุบังคับ มาพร้อมจอภาพ Touch Screen Android ดูภาพถ่าย และวิดีโอขณะบินได้ทันที ENTECH ASSOCIATE CO.,LTD. www.entech.co.th
รับเหมาก่อสร้างครบวงจร บริษัทฯ รับเหมาก่อสร้าง บ้าน คอนโด อาคาร งานก่อสร้างครบ วงจร โดยทีมงานสถาปนิกและวิศวกรวิชาชีพ อีกทั้งยังมีวัสดุที่ใช้ นวัตกรรม High Technology เป็นอิฐชนิดพิเศษที่ช่วยประหยัด พลังงาน ลดภาวะโลกร้อน ระบายความร้อนได้ดี และทำาให้บ้าน มีความเย็น ก่อสร้างง่ายด้วยระบบ Interlock ทำาให้มคี วามแข็งแรง ทนทาน ไม่ซึมน้ำา ไม่แตกร้าว
กล้อง Avigilon 7k HD Pro เป็นการปฏิวตั นิ วัตกรรมระบบกล้องความละเอียดสูงขึน้ ไป อีกระดับหนึง่ โดย Avigilon 7k HD Pro เป็นกล้องตัวแรก ในโลกที่ให้ความละเอียดคมชัดถึง 7k (30 Megapixel) เมื่อเปรียบเทียบความละเอียดของกล้อง VGA แล้ว กล้อง 7k ตัวนี้สามารถทดแทนกล้อง VGA เดิมได้ถึง 1:99 ตัว และยังสามารถใช้งานได้ในทุกสภาวะแสง ENTECH ASSOCIATE CO.,LTD. www.entech.co.th
บริษทั แกรนด์ แอสเสท คอนสตรัคชัน่ จำากัด
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ Flashforge Finder เครือ่ งมีขนาดกะทัดรัด สีสนั สดใส สามารถพิมพ์ชนิ้ งานออกมาใช้ได้จริงตามแบบ 3 มิติ ใช้งานง่ายด้วยหน้าจอสัมผัส สามารถพิมพ์ชิ้นงานที่ซับซ้อนได้ ชิ้นงานกลไกเช่นประแจเลื่อน ที่พิมพ์ออกมาเพียงครั้งเดียวได้ไม่ต้องประกอบ สามารถเลือ่ นและใช้งานได้จริง หรืองานโมเดลทีพ่ มิ พ์เพียงครัง้ เดียวไม่ตอ้ งมาประกอบแล้วขยับแขนขาได้ พร้อมรางวัล การันตีโดย IF Award จากผลงานออกแบบยอดเยี่ยม NEOTECH CO.,LTD. www.Print3Dd.com
108
FullScale Max 3D printer เครื่องพิมพ์ 3 มิติ สำาหรับสร้างชิ้นงานต้นแบบ ใช้ได้ทั้งในเชิงอุตสาหกรรมการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์ งานสถาปัตยกรรม สามารถนำาไปใช้เป็นชิน้ ส่วนในเครือ่ งจักร เหมาะกับแผนก R&D แผนกออกแบบและผลิต มีให้เลือกหลายขนาด ตั้งแต่เล็กๆ จนไปถึงขนาดครึง่ เมตร แข็งแรง ทนทาน การดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก DAVID HD 3D Scanner เครื่องสแกนเนอร์ 3 มิติ จากเยอรมัน ใช้สแกนชิ้นงานจริงให้ ออกมาเป็นไฟล์ 3 มิติ เพื่อไปใช้งานต่อในคอมพิวเตอร์ ใช้ได้ กับหลากหลายวงการ เช่น งานวิศวกรรม Reverse Engineer งานศิลปกรรมและประติมากรรม งานเพื่อการวิจัย ไฟล์ที่ได้ สามารถนำาไปใช้ต่อกับเครื่อง CNC หรือ 3D Printer ได้เลย เหมาะแก่การแปลงชิ้นงานวัตถุเป็นข้อมูลทาง Digital CAD/ CAM ไม่ต้อง Draft งานขึ้นมาใหม่ทั้งหมด
NEOTECH CO.,LTD. www.Print3Dd.com
Miicraft+Jewelry and Dental Printer 3D Printer ระบบเรซิ่น DLP/SLA Printer สำาหรับงานต้องการความละเอียดและแม่นยำาสูง เช่น งาน Jewelry งานเครือ่ งประดับและอัญมณี งานทันตกรรม ครอบฟัน สะพานฟัน ตัวเครือ่ ง เสถียร ต้องการซ่อมบำารุงน้อย ใช้งานง่าย ผ่าน Software มีเรซิน่ ให้เลือกหลากหลายชนิด ทั้งแบบแข็ง และแบบ Wax ซึ่งสามารถนำาไป หล่อโลหะได้เลย เป็นต้น
NEOTECH CO.,LTD. www.Print3Dd.com
NEOTECH CO.,LTD. www.Print3Dd.com
เครื่องพิมพ์ GUV16 เครือ่ งพิมพ์หน้ากว้างขนาด 1.60 เมตร มาพร้อม กั บ นวั ต กรรม UV LED ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่งแวดล้อม Eco Friendly สามารถพิมพ์ได้ ทัง้ บนวัสดุแบบม้วนและแผ่น เช่น ผ้าแคนวาส วอลเปเปอร์ พลาสวูด วัสดุโปร่งใส อะคริลคิ ใส อะคริลคิ สี ไม้ โฟมบอร์ด ฟิวเจอร์บอร์ด โดยที่ ไม่ต้องเคลือบผิว มีสีสันสดใส ภาพละเอียด และคมชัดด้วยหัวพิมพ์ที่เหมาะกับงานพิมพ์ แบบอุตสาหกรรม Ricoh Gen5 EPIC COMPUTER CO.,LTD. www.epic.co.th
STL1325 Laser cutter เครื่องเลเซอร์คัตที่ถูกออกแบบอย่างทันสมัย ใช้สาำ หรับงานตัดและแกะสลักบนวัสดุ เหมาะกับ การทำางานอุตสาหกรรมขนาดเล็กและกลาง ด้วย งบลงทุนทีไ่ ม่สงู มากกับคุณภาพงานทีด่ เี ยีย่ ม สามารถตัดได้ทั้งวัสดุ เช่น ไม้ อะคริลิค หนัง ผ้า ยาง สามารถรองรับไฟล์งานออกแบบ ได้จากซอฟต์แวร์ Illustrator, Photoshop Coreldraw, CAD และอื่นๆ
เครื่อง CNC รุ่น STR1325 plus มาพร้อมกับซอฟต์แวร์ทจ่ี ะช่วยให้งานออกแบบทำางานง่ายยิง่ ขึน้ มีโต๊ะ Vacuum Table ช่วยในการยึดเกาะวัสดุ ทำาให้งานตัด เจาะ และแกะสลักมีความเทีย่ งตรง สามารถใช้ได้กบั วัสดุทง้ั ไม้ อลูมิเนียม อะคริลิค พีวีซี แกะสลักลายประตูไม้ ประตูเหล็ก ป้าย ตัวอักษร หน้าต่าง โต๊ะ ด้วยหัว Spindle ที่มีแรงหมุน มากทำาให้แกะงานได้ห ลากหลายวั ส ดุ และได้ ชิ้ น งานที่ มี ความละเอียด EPIC COMPUTER CO.,LTD. www.epic.co.th
EPIC COMPUTER CO.,LTD. www.epic.co.th
109
แผ่นเคาน์เตอร์ครัวสำาเร็จรูป Q-CON (Q-CON Counter) มีความแข็งแรง ทนทานต่อการใช้งาน มีหลากหลายรูปแบบ ดีไซน์ได้ตามต้องการ งานเสร็จไว หน้างานไม่เลอะเทอะ สามารถใช้ได้ทั้งห้องครัวและห้องน้ำา บริษทั ควอลิตคี้ อนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ จำากัด (มหาชน) www.qcon.co.th
ระบบราวกันตกอะลูมิเนียม Frame Serie ระบบราวกันตกอะลูมเิ นียมจากอัลเน็กซ์ มาพร้อมกระจก นิรภัยลามิเนต สวย เนี๊ยบ ทนทานทุกสภาพอากาศ ทนรับแรงลม (wind load) สำาหรับอาคารสูง แข็งแรงและ ปลอดภัย ติดตัง้ ด้วยระบบแห้งจึงทำาให้ตดิ ตัง้ ได้รวดเร็ว ง่ายต่อการบริหารจัดการงานก่อสร้าง บริษัท ไทยเม็ททอล อลูมิเนียม จำากัด www.alnexthailand.com
อิฐ Q-CON Extra Cool ด้วยเทคโนโลยีโครงสร้างผลึกทีแ่ ข็งแกร่งสูตรเฉพาะของ Q-CON ทำาให้สามารถกันความร้อนได้มากกว่าอิฐมอญ ถึง 10 เท่า กันความร้อนดีกว่าอิฐมวลเบาในท้องตลาด ถึง 2 เท่า ประหยัดค่าไฟได้ประมาณ 5,000 บาท/หลัง บริษทั ควอลิตคี้ อนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ จำากัด (มหาชน) www.qcon.co.th
แผ่นผนังสำาเร็จรูป Q-CON ถูกพัฒนาขึน้ เพือ่ รองรับการใช้งานสำาหรับงานผนังอาคาร โครงการต่างๆ มีคณ ุ สมบัตเิ หมือนเนือ้ ALC เช่น น้าำ หนักเบา กันความร้อน และเป็นฉนวนกันความร้อนได้ดี กันเสียง และลดเสียงรบกวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ กันไฟจาก เพลิงไหม้ได้นานกว่า 4 ชั่วโมง มีความทนทานต่อทุก สภาวะ อายุการใช้งานยาวนาน ทำางานง่าย สามารถ ตอกยึดเฟอร์นิเจอร์ได้อย่างมั่นใจ บริษทั ควอลิตคี้ อนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ จำากัด (มหาชน) www.qcon.co.th
เครื่องพิมพ์สี SureColor SC-B6070 และ SC-B7070 เครื่องพิมพ์สีหน้ากว้าง 2 รุ่นแรกที่มาพร้อมตลับหมึกขนาดใหญ่ ตัวเครื่องได้รับการออกแบบมาให้สามารถ ทำางานได้อย่างรวดเร็ว ให้งานพิมพ์คุณภาพสูง ด้วยต้นทุนในการเป็นเจ้าของที่น้อยกว่า ตอบสนองการทำางาน ได้สมบูรณ์แบบ เพื่อรองรับธุรกิจงานพิมพ์สื่อขนาดใหญ่ ไม่ว่าจะเป็นแบนเนอร์ โปสเตอร์ P.O.P ป้ายไฟ และ อื่นๆ อีกมากมาย บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย) จำากัด www.epson.co.th 110
ผนังห้องน้ำาสำาเร็จรูป ELITE EL-103 LIGHT EMISSION รูปแบบใหม่ของประตูหอ้ งน้าำ ชนิดกันน้าำ ทีท่ าำ ให้คณ ุ เข้าถึง จุดหมายได้อย่างรวดเร็ว สะดวก ทันสมัย และน่าใช้มากขึน้ ด้วยหลอดไฟบอกความเคลือ่ นไหวของห้องน้าำ ว่ามีคนอยู่ หรือไม่โดยที่ไม่ต้องไป ณ จุดนั้น โดยหลอดไฟฟ้า LED จะสว่างขึน้ เมือ่ ปิดประตู ซึง่ บ่งบอกถึงสถานะการใช้งาน ของห้องน้ำา ELITE TOILET PARTITION CO.,LTD. www.elitetoiletpartition.com
Stretch Ceiling System ฝ้าเพดานระบบขึงตึงจากประเทศฝรั่งเศส ผลิตจาก PVC ที่มีคุณภาพสูง สามารถตอบสนองจินตนาการและ สร้างสรรค์ผลงานของการออกแบบฝ้าเพดานได้หลากหลาย เหมาะกับการใช้งานไม่ว่าจะเป็น ห้างสรรพสินค้า โรงแรม ภัตตาคาร ร้านอาหาร อาคารสำานักงาน และที่พักอาศัย เป็นต้น บริษัท เตียวฮง สีสม จำากัด www.teohong.com หลังคากันสาดไวนิล กรีนวูด ด้วยน้ำาหนักที่เบาทำาให้ไม่ต้องกังวลถึงโครงสร้าง ตัวบ้านทีท่ าำ การยึดติด มีความแข็งแรง ผิวหน้าสัมผัส ทนต่อแรงกระแทกและการขูดขีด อายุการใช้งาน ยาวนาน ทนต่อทุกสภาอากาศ ทนน้ำา ทนแดด และความร้อน ง่ายต่อการติดตั้งด้วยระบบล็อค แบบพิเศษ น้ำาไม่รั่วซึม ปลอดภัยจากมอด รา และ แมลงทุกชนิด
ไม้พื้นสังเคราะห์ Bwood เป็นไม้ผสมพลาสติกที่ทำาจากผงไม้เนื้อแข็งผสมผสาน กับเม็ด PVC เกรด A สามารถนำาไปใช้งานได้ในทุก สภาวะอากาศ ทั้งงานภายในและภายนอกที่ต้องเผชิญ กับอุณหภูมิ ความชื้น และแสงแดด ทนต่อแรงกระแทก และการรับน้าำ หนัก ด้วยโครงสร้างทีแ่ ข็งแรง ติดตัง้ ได้งา่ ย ด้วยชุดติดตั้งพิเศษ มีให้เลือก 4 สี ได้แก่ สีเหลือง สีเทา สีโกโก้ และสีช็อคโกแล็ต
บริษัท ไซน์ ดีไซน์ จำากัด www.signdesign.co.th
BANGKOK PVC GROUP CO.,LTD. www.bangkokpvc.com
LANNA PLASTWOOD แผ่นพีวีซีสำาหรับทดแทนไม้ธรรมชาติ (Rigid PVC Form Sheet) โดยผ่านกระบวนการ Celuka Process มีความ ยืดหยุ่นสูงดัดโค้งได้ดี เป็นฉนวนกันความร้อนและเสียงได้ดี ทนต่อสารเคมี เช่น กรด ด่าง ได้ดี ผิวเรียบ ทำางานง่าย โดยตัด ไส เลื่อย เจาะ ฉลุ ได้เหมือนงานทั่วไป และพิมพ์สีหรือทำาสีบนแผ่นพลาสวู้ดได้ บริษัท สุขสวัสดิ์ไม้อัดไทย จำากัด www.suksawadplywood.co.th
ประตู DoorTech มีความสวยงามทั้งพื้นผิวสัมผัส คงทนแข็งแรง ไม่เกิดสนิม และไม่เกิดการหดงอของบานประตู สามารถทนไฟได้นานกว่า 2.3 ชั่วโมง และช่วย ลดเสียงรบกวนจากภายนอก เพิ่มความปลอดภัย จากการโจรกรรม เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและลด การใช้วัตถุดิบจากธรรมชาติ บริษัท ซันกิ ควอลิตี้ โปรดักส์ จำากัด www.sonkimetal.com
สระว่ายน้ำา HYBRID POOLS สระคอนกรีตผนังไฟเบอร์กลาส น้าำ หนักเบา ติดตัง้ ได้งา่ ย ทั้งบนพื้นดินและบนอาคาร มาพร้อมระบบกรองน้ำา มาตรฐานโอลิมปิก และนาฬิกาตัง้ เวลาควบคุมอัตโนมัติ มีระบบฆ่าเชื้อโรคด้วยเกลือ มีไฟใต้น้ำา LED 8W/12V สีขาว และอุปกรณ์บำาบัดน้ำาและอุปกรณ์อำานวยความ สะดวกครบครัน รวมถึงบันไดและที่นั่ง พร้อมระบบ ธาราบำาบัด POOL & SPA CO.,LTD. www.poolspa.co.th
111
ÃÈ.ÁÒ¹¾ ¾§È·Ñµ อาจารย ผู ทรงคุณวุฒิ ประจําภาคว�ชาเคหการ คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย
È.´Ã.ºÑ³±Ôµ ¨ØÅÒÊÑ อาจารย ผท ู รงคุณวุฒิ และอดีตคณบดี คณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย และทีป่ ร�กษา บร�ษทั สถาปนิกจุลาสัย จํากัด
Í.ªÇ¾§È ªíÒ¹Ô»ÃÐÈÒʹ อดีตนายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ป พ.ศ. 2541-2543 และ กรรมการผูจ ดั การ บร�ษทั สํานักงานสถาปนิกทว�ธา จํากัด
¼È.´Ã.¨µØÇѲ¹ ÇâôÁ¾Ñ¹¸ LEED AP, TREES FA
¤Ø³ÇÊѹµ ¤§¨Ñ¹·Ã กรรมการผู จัดการ บร�ษทั โมเดอร น พร็อพเพอร ต้ี คอนซัลแตนท จํากัด
¼È.ÃѪ´ ªÁÀÙ¹Ôª คณบดี คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเกษตรศาสตร
อาจารย ประจําคณะสถาป ตยกรรมศาสตร และการผังเมือง มหาว�ทยาลัยธรรมศาสตร และผู จัดการศูนย ว�จัยนวัตกรรม เทคโนโลยีสิ่งแวดล อมสรรค สร าง ผู เช�่ยวชาญทางด าน อาคารเข�ยวและเกณฑ การประเมิน LEED
¤Ø³³Ñ°¾Å ÊØ·¸Ô¸ÃÃÁ ผู จัดการโครงการ Downstream และ Business Development บร�ษทั สหว�รย� าสตีลอินดัสตร�้ จํากัด (มหาชน) และที่ปร�กษา บร�ษัท แปซ�ฟ กไพพ จํากัด (มหาชน) ทีป่ ร�กษาคณะอนุกรรมการโครงสร างเหล็ก ว�ศวกรรมสถานแห งประเทศไทยฯ
´Ã.Íê ¡ÃÐáÊÍÔ¹·Ã จบการศึ ก ษาด า นการออกแบบ จากคณะสถาป ต ยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาว�ทยาลัย ป จจุบนั เป น อาจารย คณะสถาป ตยกรรมศาสตร มหาว�ทยาลัยเกษตรศาสตร
¤Ø³¹ÐâÁ ¹¹·¡Òà นะโม หร�อ ธนสันติ นนทการ อดีตบรรณาธ�การบร�หารนิตยสาร ด านสุขภาพ ที่ผันตัวเองมาเป น นักเข�ยนอิสระ ป จจุบนั ร วมงานกับ นิตยสารหลากหลายฉบับ
¤Ø³Ë¹Öè§Ä·Ñ ¤Ò·ØÊà«¿Ê¡Õé จบการศึกษาจากคณะศิลปศาสตร มหาว�ทยาลัยธรรมศาสตร และปร�ญญาโทจากคณะการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล าเจ าคุณทหารลาดกระบัง อดีตนัก Marketing ทีป่ จ จุบนั ผันตัวเองมาเป นนักเข�ยนและ นักแปลอิสระให กับนิตยสารและบร�ษัทต างๆ
¤Ø³¡Äɳ ¹Ò¤ÐªÒµ Head of IT Department จาก บร�ษัท สถาปนิก 49 อดีตหนุ ม สถาปนิกที่ค นพบสิ่งที่ตัวเองรัก และสนใจด านคอมพิวเตอร เพื่อ การออกแบบงานสถาป ตยกรรม 112
BUILDER MAGAZINE Product Knowledge Provider Questionnaires ชาย ช่วงอายุ 20-24 ปี
หญิง 25-34 ปี
อาชีพ ________________________________________ 35-44 ปี
45-60 ปี
60 ปีขึ้นไป
ท่านมีความสนใจในด้านใดมากที่สุด โดยให้ใส่ลำาดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน้อย 5) การออกแบบและก่อสร้าง อสังหาริมทรัพย์ โครงการหรืออาคารที่น่าสนใจ ข่าวสารการก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง การบริหารจัดการอาคาร นวัตกรรมเทคโนโลยี อนุรักษ์พลังงานและเพื่อสิ่งแวดล้อม ไลฟ์สไตล์และการท่องเที่ยว ข่าวแวดวงในวงการต่างๆ ท่านมีความสนใจในสินค้า ผลิตภัณฑ์ประเภทใดมากที่สุด โดยให้ใส่ลำาดับ 1-5 (เรียงจากมาก 1 ไปหาน้อย 5) Lighting Innovation & Technology Door & Window Roofing Wall Covering Floor Covering Wooden Glass Steel & Metal Natural & Recycle Content Security & BAS ท่านชอบอ่านคอลัมน์ประเภทไหน เชิงวิชาการ ที่ประกอบด้วยเนื้อหาสาระ แหล่งข้อมูลในด้านต่างๆ เชิงเกร็ดความรู้ ที่เป็นเนื้อหาสาระทั่วไป ไม่เน้นเชิงวิชาการ เชิงแนะนำาโครงการที่น่าสนใจ เชิงไลฟ์สไตล์ ที่เน้นท่องเที่ยว พักผ่อน หรือการใช้ชีวิต เชิงคู่มือ ที่เป็นเรื่องของการให้คำาแนะนำาและให้คำาปรึกษา เชิงปฏิบัติ ที่เน้นการเล่าหรือแชร์ประสบการณ์โดยตรง แบ่งปันให้กับผู้อ่าน จำานวนความยาวหน้าที่เหมาะสมสำาหรับการอ่านของท่าน ประมาณ 1 หน้า ประมาณ 2-3 หน้า ประมาณ 4 หน้า ประมาณ 6-8 หน้า ในนิตยสารท่านมีความสนใจในคอลัมน์ใดมากที่สุด _____________________________________________ หากมีการจัดทำา Application Multi-media ภาพเคลื่อนไหว ร่วมในคอลัมน์เพื่อนำาเสนอข้อมูลเพิ่มเติม ท่านอยากให้มีในคอลัมน์ใดมากที่สุด _____ _____________________________________________________________ คำาแนะนำา / ความคิดเห็น ______________________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________________________________ ______________________________________ โดยผู้ที่ร่วมตอบคำ�ถ�ม 100 ท่�นแรกจะได้รับ เสื้อโปโล ง�นสถ�ปนิก ’59 คนละ 1 ตัว โปรดให้ที่อยู่ที่ติดต่อ ชือ่ – น�มสกุล (ตัวบรรจง) ______________________________________________________________________________________________ อีเมล์ _________________________________________________________________________________________________________________ ทีจ่ ดั ส่งของร�งวัล________________________________________________________________________________________________________ และส่งกลับม�ที่ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด เลขที่ 200/7-14 อ�ค�ร เอ.อี.เฮ้�ส์ ชั้น 7 ซอยร�มคำ�แหง 4 ถนนร�มคำ�แหง แขวง/เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
113
114