นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 34 เดือน กันยายน 2554

Page 1

Energy#34_Cover Out_Pro3.indd 1

8/30/11 1:47 PM


Energy#34_Cover In_Pro3.indd 1

8/30/11 1:43 PM


Energy#34_p03_Pro3.ai

1

8/29/11

3:04 PM


Contents

Issue 34 September 2011

26

18

What’s Up 10 Energy News 24 Industrial Energy News 59 Environment News 70 Transport Energy 78 Energy Around The World 84 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : อสมท. หนุนนโยบายประหยัดพลังงานผานโครงการ MCOT Let’s GREEN สูความสําเร็จควารางวัล BEAT 2010 21 Special Report : ตามติดแผนพลังงาน 15 ป..แนวโนมสูความสําเร็จ 64 Special Scoop : ถา...NGV บริหารโดย เอกชน?? 89 Special Scoop : ชุมชนพอเพียง เลี้ยงตัว ดวยพลังงานทดแทน..ที่อัมพวา Interview 40 Energy Keyman : พิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน : 40 นโยบายขายใจ-ใหฝน ...และคํามั่นสัญญา 43 Energy Keyman : สุระ เกนทะนะศิล รองกรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท อสมท.จํากัด (มหาชน) : MCOT Let’s GREEN ไปสูอาคารอนุรักษ พลังงานอยางยั่งยืน 80 Energy Concept : เตาเผาถานชนิดอบ เรงประหยัดพลังงาน พรอมผลิตน้ําสมควันไม

43

High Light 14 Energy Focus : เสนทางรถยนตไฟฟา (EV) ในไทยสดใส หรือไมสวย 34 Energy Best Award : Reddot design award รางวัล การออกแบบผลิตภัณฑเพอสิ่งแวดลอม 52 Residential : คําแสด ริเวอรแคว รีสอรท สรางจิ๊กซอร พลังงานสู…Zero Energy 74 Energy Tezh : จระเขแหลงเชื้อเพลิงอนาคต... จริงหรือ??? 77 Energy In Trend : มะแตก พืชพลังงานอีกตัว ที่นาจับตามอง 93 Insight Energy : ลดเก็บเงินเขากองทุนน้ํามัน..นโยบาย ระยะสั้นไมเกิน 1 ป Commercial 38 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 54 Greenovation : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 83 Energy Loan : กองทุนพัฒนาไฟฟา สกพ. พรอมเดินหนาประกาศ 38 กองทุนทั่วประเทศ

52

4 l September 2011

Energy#34_p04,06_Pro3.indd 4

8/29/11 9:10 PM


Energy#34_p05_Pro3.ai

1

8/23/11

9:33 PM


Contents

Issue 34 September 2011

Industrial & Residential 26 Green Industrial : ศูนยการคาอยุธยาพารค เนนสรางจิตสํานึก ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีลดใชพลังงาน 30 Tools & Machine : Photovoltaic modules :สุดยอดอุปกรณเพิ่ม ประสิทธิภาพในการรับแสง 32 Saving Corner : การใชอุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบาย (Orifice Steam Trap: Orifice Condensate Discharge Trap : Orifice Condensate Discharge Trap) “ทางเลือกหนึ่งของการประหยัด พลังงานไอน้ํา” (ตอน 1) 46 Take a break : สัญญาณอันตราย สัตวตายปริศนา ทัว่ หลายประเทศ 50 Energy Design : แนวคิดในการออกแบบบานกรีน...แบบผสมผสาน 56 Charge & Change : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพอโลก Alternative Energy & Transportation 68 Alternative Energy : ขยะมีคา อยาทิ้ง อยาเผา โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 72 Vehicle Concept : Suzuki Kisashi EcoCharge ไฮบริดตัวจี๊ด จากเกาะซามูไร 75 Logistics Solution : ปจจัยในการเลือกใชผูใหบริการโลจิสติกส บุคคลที่ 3 โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก Environment Protection 60 Environment Alert : การพัฒนาเมืองแหงอนาคต..กับการปรับตัว กับสภาพแวดลอม โดย คุณรัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญ การพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

46

72 62 67

Green Space : การประกวดแผนองคกร “สํานักงานนี้ รีไซเคิล” (Love Your Office Let’s Recycle) Green Vision : “นก” นักปลูกปาในธรรมชาติ ตัวชี้วัด ทางธรรมชาติอยางยั่งยืน

FAQ 95 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 98 Energy Price 99 Energy Stat 100 Classified@Energy Saving 102 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : 8 วิธงายๆ กับการเขารวมเปนสวนหนึ่งใน โครงการ Green IT 87 Energy Exhibit : 8 Energy Cost Saving 2011 The Successful Case Studies of Thai Industries 92 Environment & Energy Legal : กองทุนน้ํามัน... สําคัญไฉน? 101 Life Style : : Running the Number งานศิลปะชุดใหม by Chris Jordan…บอกอะไรเรา?? 103 Members : สมาชิก 104 เสียงจากผูอาน 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange :ปรับเปลี่ยนเพอลดการใช ตามสไตลศรีไทยซูเปอรแวร

6 l September 2011

Energy#34_p04,06_Pro3.indd 6

8/25/11 10:45 PM


Energy#32_p09_Pro3.ai

1

6/25/11

12:19 AM


Editors’ Talk

คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ

นั่งลุนกอนจะปดเลมเดือนกันยายน 2554 อยูเสียนานสองนาน วาใครจะเปนผูมารับตําแหนง รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ในที่สุดเรา ก็ ไดตอนรับ คุณพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน คนที่ 7 ของประเทศไทยอยางเปนทางการ ตามธรรมเนียมตองมีเลี้ยงอําลาอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังงานคนกอน นพ.วรรณรัตน ชาญนุกลู ซึง่ งานนี้ ไมมกี ารฝากงานคนใหม เพราะทานบอกวารมว.พน.คนใหมนี้เปนบุคคลที่มีความรูความสามารถ รูงานเปนอยางดี ไมมีอะไรนาหนักใจ คุณพิชยั นริพทะพันธุ ในอดีตเคยเปนรัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวง การคลัง ในรัฐบาลของ นายสมชาย วงศสวัสดิ์ และคณะทํางานทีมเศรษฐกิจ ของพรรคเพื่อไทย สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร และระดับปริญญาโท ดานการบัญชี จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

พิพัฒน จันทรอดิศรชัย รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

บรรณาธิการสื่ออิเลคทรอนิกส

กมลวรรณ เจียมสกุล

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

จากการสัมภาษณ-ติดตามนโยบายดานพลังงานของพรรคเพื่อไทย มาไดสักระยะหนึ่ง ตองยอมรับวาทานเปนบุคคลที่มีจุดยืน ในเรื่องพลังงาน คอนขางชัดเจน เชน การเรงเจรจาพื้นที่ทับซอนทางทะเล ระหวางไทย กับกัมพูชาให้ ได้ข้อยุติ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะเป็นประโยชน์ต่อทั้งสองประเทศ โดยปริมาณกาซธรรมชาติในอาวไทย เทาที่มีสัมปทานอยูนั้น ในอนาคตจะมี ปริ ม าณที่ ล ดลง จํ า เป น ต อ งมี ก ารต อ อายุ สั ม ปทานเพิ่ ม หรื อ การได กาซธรรมชาติในแหลงพื้นที่ทับซอนเขามาเสริมความมั่นคงใหกับประเทศ

จันทรอําไพ แตตระกูล เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา นภาพร พิจารธนสมบัติ

สําหรับภารกิจแรกในระยะเริม่ ตนรับตําแหนง ทานรมว.ยืนยันวา เดือน ก.ย. นีจ้ ะไมขึน้ ราคาแอลพีจี เอ็นจีวี และจะทําใหราคาแกสโซฮอลถกู กวาราคา น้าํ มัน แมวา จะยกเวนการจัดเก็บเงินกองทุนน้าํ มันเชือ้ เพลิงเปนการชัว่ คราว 6 เดือนถึง 1 ป โดยจะใชเงินกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงกูเงินมาอุดหนุน สวน แอลพีจีอุตสาหกรรมที่ปรับราคาไปแลวยืนยันไมทบทวนนโยบาย… สวน พลังงานทดแทนก็เปนภารกิจอีกชิ้นสําคัญที่ทุกคนในแวดวงนักธุรกิจนัก ลงทุน ตั้งหนาตั้งตาคอยการบริหารจัดการของทานตอไป...จากนี้มารวม เปนแรงสนับสนุนและเสนอขอมูลเพื่อพัฒนาดานพลังงานไทยไปพรอมๆ กัน

วินัย แพงแกว

พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก สุทธิพล โกมลสิงห การเงิน ศิรินารถ แกวอุไร

ศิลปกรรม เพลท

บริษัท พี พี เพลทแอนดฟลม จํากัด

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l September 2011

Energy#34_p08_Pro3.indd 8

8/23/11 9:20 PM


Energy#30_p107_Pro3.ai

1

4/28/11

1:52 AM


Energy News เปดตัว รมว.พน.คนที่ 7

นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน จัดแถลงพบปะ สื่อมวลชน โดยในครั้งแรกวันที่ 16 สิงหาคม 2554 โดยกอนเขาประชุมกับผูบริหาร ระดับสูงในกระทรวงพลังงานและภาคเอกชน ไดเดินทางสักการะทาวมหาพรหม สิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจํากระทรวงฯ ที่ดานอาคาร Energy Complex (อาคาร B) และในวันที่ 22 สิงหาคม 2554 ก็ ไดจัดแถลงพบปะสื่อมวลชนแถลงนโยบายอีกครั้งเพื่อความ กระจางมากขึ้น โดยมีสื่อมวลชนใหความสนใจเขารวมงานเปนจํานวนมาก

เยี่ ย มชมสถานประกอบการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานดี เ ด น ควารางวัล TEA 2011

นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน นําคณะผูบริหารและสื่อมวลชนเยี่ยมชมสถานประกอบการที่ ได รับรางวัลอนุรกั ษพลังงานดีเดนจากการประกวด THAILAND ENERGY AWARDS 2011 ณ บริษัท ปภพ รีนิวเอเบิล จํากัด จังหวัดกาญจนบุรี และ บริษัท ดัชมิลล จํากัด ควารางวัลดานขนสงดีเดนไป โดยตั้งอยูที่จังหวัดนครปฐม

PTTAR จับมือ BCST ลงพืน้ ทีด่ นู กในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม มาบตาพุด

บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) รวมกับ สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย (BCST) นําคณะสื่อมวลชน ยุวฑูตสิ่งแวดลอมฯ และพนักงาน ทั้งสิ้นกวา 70 คน เขารวม กิจกรรมดูนก บานคน ปลายน้าํ ตามโครงการ “นก : ดัชนีวดั สิง่ แวดลอมในพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม” ณ คลอง ชากหมาก ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง เพื่อยืนยันความอุดมสมบูรณ ของระบบนิเวศ บริเวณปากคลองชากหมาก ซึ่งเปนคลองระบายน้ําที่ผานการบําบัดแลว จากโรงงานตางๆ ในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด กอนไหลลงสูทะเล

10 l September 2011

Energy#34_p10-13_Pro3.indd 10

8/24/11 9:46 PM


ประชุมการจัดตั้งเครือขายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน

นายทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน เปนประธานประชุมการจัดตั้งเครือขายพัฒนาพลังงานไฮโดรเจน “โครงการ วิจัย ทดสอบ ระบบผลิตไฮโดรเจนจากน้ําใชในรถยนตและกําหนด แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยี พลังงานไฮโดรเจนรองรับแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทน 15 ป” ณ หองประชุม บุญรอด-นิธิพัฒน อาคาร 7 ชั้น 11 (พพ.)

IRPC เปดโรงผลิตพลังไอน้ําและไฟฟารวมฯ

IRPC โดยนายไพรินทร ชูโชติถาวร กรรมการและรักษาการกรรมการ ผูจัดการใหญ จัดแถลงขาวเปดโรงผลิตพลังไอน้ําและไฟฟารวมจากกาซธรรมชาติ ขนาดกําลังผลิตไอน้ํา 408 ตันตอชั่วโมง และกําลังผลิตไฟฟาขนาดกําลังผลิต 220 เมกะวัตต วัตถุประสงคหลักสรางขึ้นเพื่อทดแทนการผลิตไอน้ําที่ ใชน้ํามันเตา คาดการณ วาโครงการนี้จะชวยลดการใชน้ํามันเตาในการผลิตไอน้ําและไฟฟาได 240,000 ตันตอป หรือชวยประหยัดตนทุนการผลิตได 5 ลานบาทตอวัน หรือ 150 ลานบาทตอเดือน และ งานนี้ ไดรับเกียรติจากนายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปนประธานในพิธีเปดฯดวย ณ เขตประกอบการอุตสาหกรรม ไออารพีซี จังหวัดระยอง

GIZ และ สวทช. รวมมือพัฒนาอุตสาหกรรมแปงมันสําปะหลัง

สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และ องคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประสบความสําเร็จในการ ดําเนินโครงการ “พัฒนาศักยภาพบุคลากรดานพลังงานและทรัพยากรสําหรับ อุตสาหกรรมแปงมันสําปะหลัง” มีโรงงานเขารวมโครงการฯ ทั้งสิ้น 28 แหง โดยมี 16 โรงงานนํารองเขารวมกิจกรรมปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานและทรัพยากร ซึง่ สามารถลดการใชนาํ้ ในกระบวนการผลิตลงไดรอ ยละ 14.5, ลดการใชพลังงานความรอน ในกระบวนอบแหงไดรอยละ 6.6, และ ลดการสูญเสียแปงระหวางกระบวนการผลิตได อีกอยางรอยละ 17 ทําใหตนทุนการผลิตลดลงรวมปละ 112 ลานบาท

September 2011 l 11

Energy#34_p10-13_Pro3.indd 11

8/24/11 9:46 PM


คิด ใช ฟนฟู อนุรักษ

กระทรวงพลังงาน เดินสายรณรงค แคมเปญ “คิด ใช ฟนฟู อนุรักษ” รวมพลังทําความดี ถวายพอ วางเปาจัด 4 แหงกรุงเทพฯ-ปริมลฑล หวังกระตุน และสรางจิตสํานึก “ใช”พลังงานอยางรูคา เชิญคนไทยรวมเทิดพระเกียรติ เขียน 1 ปณิธานทําความดีถวายพอ พรอมชื่นชมพระอัจฉริยภาพดานพลังงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ผานผลงานนิทรรศการภาพ และสนุกกับ กิจกรรมเพื่อลดโลกรอน โดยมี นายคุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวง พลังงานเปนประธานในพิธี ณ ลานดานหนา เซ็นทรัลเวิลด

มอบหลอดผอมศาลากลาง จ.สมุทรสาคร

นายประมวล จันทรพงษ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน เปนประธานในพิธีมอบหลอดผอมเบอร 5 ใหกับศาลากลาง จังหวัดสมุทรสาคร โดยมี นายสุริยะ ประสาทบัณฑิตย รองผูวาราชการ จังหวัดสมุทรสาคร เปนผูรับมอบ จํานวน 1,714 หลอด ณ หองประชุม ศาลากลางจังหวัดสมุทรสาคร

ปูนอินทรี-มูลนิธชิ ยั พัฒนา สรางถังน้าํ ชุมชน เพอโลกสีเขียว

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) รวมกับ มูลนิธิชัยพัฒนา เปดตัวโครงการ ถังน้ําชุมชน เพื่อโลกสีเขียว (Green Tank) ตานภัยแลงในพื้นที่ชนบท ทั่วประเทศ เพื่อนอมเกลาฯถวายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในวโรกาสทรงมี พระชมมายุครบ 84 พรรษา โดยมี นายฟลิป อารโต กรรมการผูจัดการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) และ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิ ชั ย พั ฒ นา ร ว มสร า งถั ง น้ํ า ถั ง แรกของโครงการ ณ วั ด มงคลชั ย พั ฒ นาราม อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี

12 l September 2011

Energy#34_p10-13_Pro3.indd 12

8/24/11 9:46 PM


อําลาตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน

นายณอคุ ณ สิ ท ธิ พ งศ ปลั ด กระทรวงพลั ง งานพร อ มคณะ นําผูบริหารของกระทรวงพลังงาน เขารวมงาน “อําลาตําแหนงรัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน” นพ.วรรณรัตน ชาญนุกูล ณ หองประชุม 9 ชั้น 15 ศูนย Energy Complex (อาคาร B) เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2554

“ชาวพิษณุโลกพอเพียง ลดการใชพลังงาน”

นายชุมพล ฐิตยารักษ ผูตรวจราชการกระทรวงพลังงาน และ นายปรีชา เรืองจันทร ผูว า ราชการจังหวัดพิษณุโลก ไดรว มกันเปดโครงการ “ชาวพิษณุโลกพอเพียง ลดการใชพลังงาน” ของจังหวัดพิษณุโลก ซึ่งเปน 1 ใน 4 จังหวัดที่รวมกับกระทรวงพลังงานในการนํารองดานการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพในปนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา และเพื่อสรางความ รูค วามเขาใจเกีย่ วกับการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมใหชาวพิษณุโลก และ สรางเยาวชนในการมีจิตอาสานํารองการประหยัดพลังงานเพื่อขยายผลไปยัง พื้นที่อื่นๆ ตอไป ณ ลานอเนกประสงคหนาศาลากลางจังหวัดพิษณุโลก

ซีเมนส ไดรับคําสั่งซื้อสรางโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 2 แหงจาก กฟผ.

กลุมธุรกิจพลังงานของซีเมนสและบริษัทมารูเบนิซึ่งเปนพันธมิตรการคา สัญชาติญีป่ ุน ไดรบั คําสัง่ ซือ้ จากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) สําหรับ การกอสรางโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 2 แหงในรูปแบบรับเหมาเบ็ดเสร็จ (EPC) ซึ่งไดแกโรงไฟฟาจะนะ ชุดที่ 2 ใน จ. สงขลา และโรงไฟฟาวังนอย ชุดที่ 4 ใน จ.อยุธยา โดยโรงไฟฟาแตละโรงจะมีกําลังการผลิตราว 800 เมกะวัตต ทั้งนี้ คาดวาโรงไฟฟา ทั้ ง สองแห ง จะเป ด ดํ า เนิ น การได ใ นป พ.ศ. 2557 โดยมี มู ล ค า การลงทุ น ประมาณ 1 พันลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งกวาครึ่งเปนการลงทุนในสวนที่เกี่ยวกับขอบเขตการจัดหา ของซีเมนส สวนการเซ็นสัญญางานซอมบํารุงระยะยาวของซีเมนสสําหรับโรงไฟฟา ทั้งสองนี้จะดําเนินการในลําดับตอไป จัดขึ้น ณ หองแอทธินี คริสตัลฮอล โรงแรมพลาซา แอทธินี รอยัลเมอริเดียน

September 2011 l 13

Energy#34_p10-13_Pro3.indd 13

8/24/11 9:46 PM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

มิตซูบิชิเตรียมทดสอบ i-MiEV ในประเทศไทย

บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด เปนหนึ่งคาย รถยนตที่ใหความสําคัญเรองรถยนตไฟฟา โดยในงาน Mitsubishi Motors Press Conference ไดกลาวถึงแผนการศึกษาความเปนไปไดในการใช รถยนตไฟฟาในสภาพการจราจรแบบประเทศไทย โดยใชรถยนตไฟฟารุน i-MiEV เปนตัวทดสอบ โดยอยูในชวงระหวางการเจรจาความรวมมือกับ หนวยงานตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ ไมวา จะเปนกระทรวงอุตสาหกรรม, การไฟฟา นครหลวง (กฟน.), บริษัท พีอีเอ เอ็นคอม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด และ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) เปนตน นายโอซามุ มาสุโกะ ประธานบริหาร บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส คอรปอเรชัน่ กลาววา “ผมมีความมัน่ ใจเปนอยางยิง่ วา กระแสความสนใจ ตอรถยนตไฟฟาในประเทศไทย ไมเพียงแตจะชวยลดปญหาสิ่งแวดลอม เท า นั้ น แต ยั ง เป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ จ ะช ว ยสนั บ สนุ น ความก า วหน า ของ อุตสาหกรรมยานยนตของไทยใหกาวไปอีกขั้นหนึ่งดวย”

เสนทางรถยนต ไฟฟา (EV) ในไทยสดใสหรือไมสวย

หลังจากในชวงปที่แลวเราไดตนตัวในเรองของรถยนตที่ ใสใจดาน พลังงานอยางรถยนตลูกผสมหรือที่รูจักในนาม “HYBRID” ที่ชวยลดการ ใชน้ํามัน โดยการใชประสิทธิภาพของมอเตอรเขามาชวย จนแมแตกลุมนํา เขารถยนตอิสระตองสั่งนําเขารถยนตกลุม HYBRID เขามาหลากหลาย รุ น แต ดู เหมื อ น HYBRID กํ า ลั งจะเจอคูแขงสํา คัญเมื่ อ รถยนต ไฟฟ า (Electric Vehicle - EV) เริ่มเคลอนไหวอยางจริงจัง น้ํามันในปจจุบันยังคงเปนพลังงานที่มีการใชอยางมากมาย แมวา ราคาจะมี แนวโน ม ขึ้ น สู ง เรื่ อ ยๆ แถมยิ่ ง เมื่ อ ได รั ฐ บาลใหม ที่ เข า มาถึ ง ก็ ประกาศลดการสงเงินเขากองทุนน้ํามันในกลุมน้ํามันเบนซินและดีเซลเพื่อ ใหราคาถูกลงลดผลกระทบตอคาครองชีพของประชาชน แตดูเหมือนจะ เปนการกระตุนใหผูบริโภคเกิดการใชน้ํามันแบบชนิดที่ลืมไปเลยวา มันเคย แพงถึงขนาดไหน รถยนตประหยัดพลังงานจึงเปนตัวเลือกหนึ่งในการชวยลดการใช น้ํามัน แตรถยนตที่เรียกวาประหยัดน้ํามันจริงๆ ก็เห็นจะมีแตกลุมรถยนต HYBRID ขณะที่กลุมอีโคคารแมจะเปนรถยนตขนาดเล็กที่มีการใชน้ํามัน นอย แตก็ยังใชน้ํามันในการขับเคลอน 100% ทวาดูเหมือนอนาคตจะไมได มีเพียงแครถยนต HYBRID เทานั้นที่ชวยลดการใชน้ํามัน

ในปที่ผานมาโครงการทดสอบรถยนตไฟฟา i-MiEV ไดเริ่มขึ้นเพอ เก็บขอมูลความเปนไปไดในการใชงานจริงในสภาพอากาศและการจราจร ในประเทศไทย รวมทั้งศึกษาพฤติกรรมและแนวโนมการใชงานของผูขับขี่ ในประเทศไทย นอกจากนี้ยังศึกษาถึงเรองสาธารณูปโภคพื้นฐานของ รถยนตไฟฟา เชน สถานีชารจไฟ, อุปกรณสําหรับชารจไฟและสิทธิพิเศษ ทางดานกฎหมายที่จะตองอาศัยความรวมมือจากภาครัฐ

14 l September 2011

Energy#34_p14,16_Pro3.indd 14

8/19/11 11:37 PM


Energy#16_p15-Pro1.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

3/4/10

2:01:35 AM


นิสสันหวังปน Leaf สูทองถนนประเทศไทย

นิสสันคายรถยนตใหญอีกคายก็พรอมสงรถยนตไฟฟาเขาสูตลาด ประเทศไทย โดยสง Leaf เขามาใหไดยลโฉมเปนครั้งแรกในประเทศไทยใน งาน Bangkok International Motorshow 2011 ที่ผานมา แมจะเปนเพียง การโชวโดยยังไมวางจําหนาย แตนิสสันก็เตรียมตอยอดดวยการทําแผน ประชาสัมพันธในดานเทคโนโลยีและยังเตรียมแผนใหลูกคาไดมีโอกาส ทดสอบขับรถยนตไฟฟาอีกดวย ที่สําคัญยังเปนการทดสอบความพรอม ของรถยนตตอสภาพภูมิอากาศของไทยดวย นายโทรุ ฮาเซกาวา ประธานบริหาร บริษัท นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) เผยวา “มีความเปนไปไดในการใชประเทศไทยเปนฐานการ ผลิตรถยนตไฟฟาเพอปอนสูตลาดในภูมิภาคอาเซียน สําหรับในเรองของ โครงสรางภาษีรถยนตนั้น เราคาดหวังใหรัฐสนับสนุนเพียงแคเทาเทียมกับ ประเทศเพอนบาน อยางเชน ประเทศมาเลเซียคิดภาษีรถยนตไฟฟาในอัตรา 0% นอกจากนี้เรายังศึกษาถึงสถานีหรือจุดชารจไฟฟาอีกดวย หากทุก อยางมีความพรอมคาดวาในอีก 3-5 ปนี้ โครงการรถยนตไฟฟาจะเกิดขึ้น ในไทยอยางแนนอน”

BMW ขอลุยรถยนต ไฟฟาดวยคน ดอดคุยภาครัฐชวยสนับสนุน

เมอมีการเล็งเห็นถึงความเปนไปไดทร่ี ถยนตไฟฟาจะเกิดขึน้ ในประเทศไทย และในภูมิภาคอาเซียน คายรถจากยุโรปอยาง BMW จึงตองรีบเขามาชวง ชิงพื้นที่วาง โดยผูบริหารของ BMW ไดเขาพบนายชัยวุฒิ บรรณวัฒน รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมในชวงนั้น เพอหารือใหรัฐบาล สนับสนุนนโยบายการผลิตรถยนตประหยัดพลังงานและมลภาวะในไทย นายกุ น เธอร ซี ม านน รองประธานภู มิ ภ าคเอเชี ย และ แอฟริกาใต BMW Group กลาววา “ประเทศไทยถือเปนฐานการผลิต รถยนตเพอสงออกไปในภูมิภาคเอเชียที่สําคัญของบริษัทฯ คาดวาในปนี้ โรงงานในไทยจะสามารถผลิตรถยนตไดราว 3,000 คันมากกวาปที่ผาน มา 1,000 คัน โดยกําลังการผลิตทัง้ หมดตอปของโรงงาน BMW ทีร่ ะยอง อยูที่ 6,000 คัน ซึ่งยังมีกําลังการผลิตเหลือเพียงพอที่จะใชเปนฐานการ ผลิตรถยนตพลังไฟฟาในอนาคต” มีการคาดการณวา BMW อาจจะนํารถไฟฟาในตระกูล i-Series เขา มาผลิตในไทยและจัดจําหนายในอาเซียน นอกจากนี้ BMW ยังหวังความ ชัดเจนเร องนโยบายสงเสริมการผลิตรถยนตประหยัดพลังงานและลด มลภาวะจากรัฐบาลไทย โดยเฉพาะเรองสิทธิประโยชนดานภาษี ทั้งนี้ BMW มีแผนทดลองใชรถยนตไฟฟาที่มีชอวา MINI-e ซึ่งอยูระหวางการทดลอง ใชงานจริงในแถบยุโรป กอนที่จะผลิตรถยนตไฟฟารุนดังกลาวในเชิง พาณิชยภายใตชอ Mega City ในป 2012 เห็นชัดเลยวาทิศทางและแนวโนมการเกิดรถยนตไฟฟาในประเทศไทย นาจะเกิดขึ้นในไมชานี้ ซึ่งตรงขามกับที่บริษัทนํามันยักษใหญของไทยที่เคย มองวา “รถยนตไฟฟานาจะเกิดยาก เนองจากประเทศไทยผลิตเอทานอล และไบโอดีเซลไดเอง จึงนาจะมีการสงเสริมใชเอทานอลและไบโอดีเซล มากกวารถยนตพลังงานไฟฟา” ขอ เคาะโตะ เลยวาทิศทางของรถยนตไฟฟาสดใสแนนอน ถา ไมถูกสกัดดาวรุงเสียกอน ซึ่งอันที่จริงแลวหากมองใหดีเอทานอลและไบโอ ดีเซลควรถูกนําไปใชในกลุมที่มีความจําเปนมากกวา เชน ไบโอดีเซลใชกับ ภาคขนสง, เอทานอลใชกบั จักรยานยนต เปนตน ขณะทีร่ ถยนตสว นบุคคล ควรหันมาใชรถยนตที่ประหยัดพลังงานมากกวา ซึ่งก็ตองขึ้นอยูกับวาภาค รัฐจะใหการสนับสนุนเพียงใด

16 l September 2011

Energy#34_p14,16_Pro3.indd 16

8/19/11 11:33 PM


Energy#25_p31_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

25/11/2010

2:06


Cover Story โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

อสมท หนุนนโยบายประหยัดพลังงาน ผ า นโครงการ MCOT Let’s Green สูความสําเร็จควารางวัล BEAT 2010

หากพูดถึง บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) นอกจากบทบาทหนาที่ ในฐานะองคกรสอสารมวลชน ซึง่ มีสว นสําคัญในการใหขา วสาร สาระความรู ตลอดจนกระตุนใหประชาชนและสังคมวงกวางตระหนักถึงการใชพลังงาน อยางรูคุณคา ดวยการใชสอในการขับเคลอนและสนับสนุนการดําเนินงาน โดยรวมรณรงคและปลุกจิตสํานึกใหหันมาสนใจเรองการใชพลังงานอยาง รูคณ ุ คามากขึน้ แลว บมจ. อสมท ยังเล็งเห็นถึงความสําคัญและประโยชนใน การรวมเปนสวนหนึ่งใน โครงการ BEAT 2010 เพอสรางใหเกิดกระแส

การอนุรักษพลังงานในอาคาร ให เปนที่รับรูในสังคมวงกวางตอไป “อาคารที่ ทํ า การ” ที่ บมจ. อสมท ได้ คั ด เลื อ กเพื่ อ เขารวมแขงขันในโครงการ BEAT 2010 นั บ ได ว า เป น อาคารที่ ทันสมัย สวยงาม แตขณะเดียวกัน ก็ ยั ง ช ว ยลดพลั ง งานเช น กั น กลาวคือ บริเวณโดยรอบอาคาร มีพื้นที่สีเขียวโดยรอบตัวอาคาร ชวยลดการสะทอนความรอนเขาสู ตั ว อาคาร, อุ ป กรณ ไ ฟฟ า แสงสว า งอยู ใ นโซนเดี ย วกั น สามารถจัดการหรือติดตัง้ อุปกรณ เพื่ อ ลดการใช้ พ ลั ง งานได้ ง่ า ย เห็นผลอยางรวดเร็วและชัดเจน ในการรวมโครงการ BEAT 2010 ครั้งนี้ บมจ. อสมท ได

นายธนวัฒน วันสม กรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน)

18 l September 2011

Energy#34_p18-20_Pro3.indd 18

8/27/11 1:40 PM


ใหความสําคัญและตระหนักถึงการดําเนินงานในดานตางๆ ขององคกรที่ มี ส วนผลั กดันองคกรสู เปาหมายอาคารอนุรั กษ พลังงานอย างยั่ งยื น ภายใตแนวคิด MCOT Let’s GREEN และไดเปดตัวอยางเปนทางการไป เมอเดือนกุมภาพันธที่ผานมา บมจ. อสมท ไดวางมาตรการลดการใชพลังงานอยางเปนระบบเพอ ใหเกิดผลอยางยั่งยืนกับองคกร โดยรวมกับบริษัทที่ปรึกษาดานการ อนุรักษพลังงานกําหนด 5 มาตรการอนุรักษพลังงานในอาคารอยาง รัดกุม เพื่อให้เกิดการวัดผลการประหยัดพลังงานในอาคารอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ บมจ. อสมท ไดมีการดําเนินงานเพอลดการใชพลังงาน ในอาคารอยางตอเนอง ผานกิจกรรมและมาตรการตางๆ ที่พนักงาน ทุ ก คนสามารถเข า มามี ส ว นร ว มได อาทิ การจั ด ตั้ ง คณะกรรมการ อนุรกั ษพลังงาน เพอชวยกันสอดสองดูแลการใชพลังงาน รวมทัง้ รณรงค

การใชพลังงานอยางรูคุณคา, การรณรงคใหพนักงานในองคกรมีสวน รวมลดใชพลังงาน โดยเผยแพรกิจกรรมการประหยัดพลังงานตางๆ ของพนักงานผานสอตางๆ ในองคกร, การจัดสภาพแวดลอมโดยรอบ อาคาร ดวยการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ซึ่งมีสวนชวยลดการดูดซับความรอน สูตัวอาคาร, การใชระบบควบคุมแสงสวางอัตโนมัติ ควบคุมการเปด-ปดไฟ อัตโนมัตติ ามเวลา เชน บริเวณพืน้ ที่ Land Scape ถนน และดวงไฟภายนอก อาคาร, การประหยัดไฟ ดวยการปดไฟในอาคารบริเวณที่ ไมจําเปนในเวลา พักเที่ยง, การปรับปรุงและติดตั้งอุปกรณประหยัดพลังงาน ดวยการเลือก ใชอปุ กรณประสิทธิภาพสูงในการประหยัดพลังงาน, การติดฟลม กรองแสง ที่ ผิ ว กระจกซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ใ นการสะท อ นความร อ นได สู ง ทํ า ให ช ว ย ลดความรอนเขาสูตัวอาคาร นายธนวัฒน วันสม กรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) กลาวถึงเปาของโครงการนี้วา บมจ. อสมท ได มุงเนนการรณรงคทั้งภายในองคกร รวมทั้งสรางจิตสํานึกในการใช พลังงานอยางรูคุณคาใหกับประชาชนทั่วไปอยางตอเนอง โดยใชจุดแข็ง ขององค์ ก รที่ มี สื่ อ ต่ า งๆ ครบวงจรในการเผยแพร่ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ในวงกวาง โดยเชอวาการเปนสวนหนึ่งในโครงการฯ จะสรางความรวมมือ รวมใจดานการอนุรักษพลังงานใหเกิดขึ้นกับบุคลากรในองคกร September 2011 l 19

Energy#34_p18-20_Pro3.indd 19

8/27/11 1:40 PM


“ทั้งนี้ บมจ.อสมท มีความพรอมที่จะรวมขับเคลอนการอนุรักษพลังงานใหเกิดขึ้นในสังคมอยางยั่งยืน และตั้งใจทําใหดีที่สุด ซึ่งตอง ยอมรั บ ว า การได เ ข า ร ว มโครงการครั้ ง นี้ องค ก รได รั บ ความรู ที่ เ ป น ประโยชนอยางยิ่ง เพอมาใชพัฒนาองคกรอยางมีประสิทธิภาพ ปจจุบัน มาตรการตางๆ โดยตั้งเปาวาจากการรณรงคปลุกจิตสํานึกในองคกร ควบคูกับการวางมาตรการและปรับปรุงเทคโนโลยี อุปกรณตางๆ จะ สามารถเห็นผลประหยัดลงไดปละประมาณ 620,000 บาท” “สิ่งสําคัญคือ จะทําอยางไรใหการพัฒนาดานเทคโนโลยี ซึ่งจะเปน ตัวชวยดานการประหยัดพลังงาน เดินควบคูไ ปพรอมๆ กับการพัฒนาคนใน องคกรได ซึ่งเปนกุญแจสําคัญที่จะทําใหงานอนุรักษพลังงานในองคกร สัมฤทธิ์ผล” นายธนวัฒนกลาว สําหรับในการรวมแขงขันโครงการ BEAT 2010 บมจ. อสมท ได วางมาตรการลดการใชพลังงานอยางเปนระบบเพอใหเกิดผลอยางยั่งยืน กับองคกร และเกิดการวัดผลการประหยัดพลังงานอยางเปนรูปธรรม โดย มีองคประกอบ 3 สวนหลัก คือ 1. การพัฒนาบุคลากร (People ware) โดยการจัดใหมีการฝก อบรมความรูดานการประหยัดพลังงาน ใหกับพนักงานหรือบุคลากรผูใช พลังงานภายในอาคารที่ทําการของ บมจ. อสมท โดยเนนหลักการ “เขาใจ งาย ฟงสนุก มีสาระ ไดประโยชน ใชงานไดจริง ไมจําเปนตองมี ความรูพื้นฐาน”

2. การพัฒนาระบบปฏิบัติการ (System ware) ไดมีการนํา มาตรการการจัดการพลังงาน 8 ขัน้ ตอน ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงานเขามาดําเนินการ เพอใหเกิดการตรวจสอบการใช พลังงานในอาคารอยางเปนระบบ 3. การพัฒนาเครองมือและอุปกรณ (Hard ware) มีการดําเนิน การปรับเปลี่ยนเครองมือและอุปกรณภายในองคกร โดยจัดหาเครองมือ และอุปกรณที่มีประสิทธิภาพสูงสุดมาทดแทนอุปกรณเดิมที่มีประสิทธิภาพ ต่ํา เพอใหปฏิบัติงานแลวเสร็จอยางรวดเร็วและมีคุณภาพ บมจ. อสมท ยังไดกําหนดมาตรการ เพอการอนุรักษพลังงาน สําหรับการรวมแขงขัน จํานวน 5 มาตรการ คือ มาตรการที่ 1 เปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต และหลอดฮาโลเจน เปนหลอด LED มาตรการที่ 2 การจัดกลุมแสงสวางอาคารที่ทําการ ชั้น 3 – 4 มาตรการที่ 3 การติดตั้งระบบปรับความเร็วรอบปมน้ําเย็น มาตรการที่ 4 การติดตั้งระบบ Chiller Plant Manager มาตรการที่ 5 การติดตั้งอุปกรณควบคุม FCU จากสวนกลาง บมจ.อสมท มุงหวังวาจะสามารถสรางความตนตัวในดานอนุรักษพลังงานใหกับบุคลากรในองคกรและประชาชนทั่วไป รวมทั้งเพอใหเกิด มาตรการประหยัดพลังงานทีด่ าํ เนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดผล ประโยชนกับองคกรอยางยั่งยืน ตลอดจนสรางใหเกิดกระแสการอนุรักษพลังงานในอาคารอนๆ ตอไปในอนาคต และเพอตอกย้ําภาพลักษณที่ดีของ บมจ. อสมท ในดานการมีสํานึกรับผิดชอบตอสังคม ผานกิจกรรมตางๆ ในโครงการ MCOT Let’s GREEN อีกดวย นอกจากนี้ ยังมีการประชาสัมพันธออกสูสังคมวงกวาง โดยผาน สอตางๆ ของ บมจ. อสมท ที่มีอยางครบวงจร อาทิ โทรทัศน เผยแพร สปอตประชาสั ม พั น ธ MCOT Let’s Green จํ า นวน 5 ตั ว โดยมี คณะนางสาวไทย ป 2553 เปนตัวแทนคนรุนใหมรวมรณรงคประหยัด พลังงาน, ประชาสัมพันธผานสอวิทยุ นอกจากนี้ สําหรับการสอสารและ รณรงคในองคกร ไดมีการประชาสัมพันธอยางตอเนอง อาทิ เสียงตาม สาย, หนังสือพิมพ อสมท วันนี้ (หนังสือพิมพภายใน / รายวัน), กิจกรรม ประกวดแขงขัน, กิจกรรมอบรม สัมมนา ฯลฯ สํ า หรั บ มาตรการประหยั ด พลั ง งาน ที่ ไ ด รั บ คํ า แนะนํ า จากที ม ที่ปรึกษาดานการอนุรักษพลังงาน อยาง บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัด นั้น บมจ. อสมท จะนํามาเปนแนวทางการพัฒนาและกําหนด มาตรการอนุรักษที่สงผลประโยชนอยางยั่งยืนกับองคกรตอไป

20 l September 2011

Energy#34_p18-20_Pro3.indd 20

8/27/11 1:40 PM


Special Report โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ตามติดแผนพลังงาน 15 ป.. แนวโนมสูความสําเร็จ

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป เริ่มดําเนินการมาตั้งป 2551 จนปจจุบันก็นับได 3 ปแลวซึ่งพลังงานทดแทนบางชนิดก็พัฒนาเกินเปาที่ วางไว บางชนิดก็ดําเนินการไมไดตามเปาหรือไดต่ํากวาเปาหมาย ซึ่งใน การพัฒนาพลังงานทดแทนนั้นที่ผานมามีหลากหลายแนวทางดวยกันไม วาจะเปนการสนับสนุนดานเงินลงทุน การยกเวนดานภาษี สนับสนุนคาแอด เดอร การสงเสริมพลังงานชุมชน เปนตน แตมาในยุคของรัฐมนตรีพลังงานคนใหมอยาง คุณพิชยั นริพทะพันธุ ที่ เ ข า มาทํ า หน า ที่ ต อ จากอดี ต รั ฐ มนตรี ค นเก า อย า ง นพ.วรรณรั ต น ชาญนุกูล นั้นอาจจะมีการปรับแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป ในบาง สวนหรือไมอยางไรนัน้ ตองติดตามทิศทางกันตอไปอยางใกลชดิ ENERGY SAVING จะนําทานไปแกะรอยแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป ถึงแนว โนมและขอจํากัดของการพัฒนาพลังงานทดแทนแตละชนิด เริ่มจากแสง อาทิตยหรือ Solar Cell ซึง่ เปนพลังงานทดแทนทีม่ ศี กั ยภาพเปนอันดับตนๆ ของไทย

Solar Cell

ปจจุบันนี้พลังงานแสงอาทิตยไดรับความนิยมจากผูประกอบการ และนักลงทุนขึ้นเรื่อยๆ สวนหนึ่งมาจากตนทุนเซลลแสงอาทิตยถูกลง 2 เทา ในชวง 2 ปทีผ่ า นมาทําใหมผี ูส นใจจัดตัง้ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย หรือโซลารฟารมเพิ่มขึ้น โดยมีผูยื่นความจํานงจัดตั้งโรงไฟฟาโซลารเซลล รวมประมาณ 2,800 เมกะวัตต มากกวาแผนถึง 6 เทาตัว ตามที่กระทรวง พลังงานเปดใหสัมปทานเพียง 500 เมกะวัตต เนื่องจากกระทรวงพลังงานไดใหการสนับสนุนในหลายดานที่เปน ปจจัยเกื้อหนุนใหผูประกอบการสนใจมาลงทุนมากขึ้น ซึ่งลาสุดมีกูรูดาน พลังงานออกมาบอกวา มีความเปนไปไดวารัฐบาลชุดใหมจะเขามาปรับ เปลี่ยนวงเงินอุดหนุนจากระบบ Adder ในราคา 6.50 บาทตอหนวยเปน

ระบบ Feed-in tariffs ซึ่งจะไดในราคา 7.50 ตอหนวย โดยจะไมผูกพันกับ คา เอฟที และคาไฟฟาฐานซึง่ จะคงที่ในราคานีต้ ลอดระยะเวลาของโครงการ สวนภาพรวมในปจจุบันนั้นประเทศไทยผลิตไฟฟาจากพลังงานแสง อาทิตยไดจริงประมาณ 60 เมกะวัตต และภายในสิ้นปนี้บุคคลในแวดวง พลังงานบอกวากําลังการผลิตจะเพิ่มขึ้นเปน 150 เมกะวัตตนั้นก็เนื่องจาก วาสิ้นปจะมีโรงไฟฟาแสงอาทิตยขนาดใหญที่สุดในโลกเกิดขึ้น 2 โครงการ โดยเปนโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยของบริษทั บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) ที่ อ.บางประอิน จ.อยุธยา และโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ของ บริษัท พัฒนาพลังงานธรรมชาติ จํากัด ที่ อ.โคกสําโรง จ.ลพบุรี จะ เริ่มผลิต 55 เมกะวัตต และจะขยายกําลังการผลิตเพิ่มเปน 73 เมกะวัตต ในปหนา และจากการลงทุนที่เพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่องนั้นคาดวากระทรวง พลังงานจะมีการปรับเปาในการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยเพิ่ม ขึ้นซึ่งจากแผนเดิมเปาอยูที่ 500 เมกะวัตตในแผนพลังงานทดแทน 15 ป

พลังงานลม

ประเทศไทยนั้นมีศักยภาพ ความเร็ ว ลมต่ํ า หรื อ มี ป ริ ม าณ ของลมไมสม่ําเสมอตลอดป จึง อาจจะเห็ น การผลิ ต ไฟฟ า จาก พลั ง งานลมในประเทศไทยใน เปอรเซ็นตที่ ไมมาก ในสวนของ อุปกรณกังหันลมก็มีราคาแพง ซึง่ เปนอุปสรรคอยางหนึง่ ตอการ พัฒนาการผลิตกระแสไฟฟาจาก พลังงานลมในประเทศไทย อีกทั้ง ขอจํากัดในเรื่องพื้นที่ติดตั้งบาง แหงเปนของ สปก. บางพื้นที่อยู ในเขตปาสงวนที่ ไมสามารถเขาไปพัฒนาติดตั้งกังหันลมได ในส ว นของการสนั บ สนุ น ด า นพลั ง งานลมในป จ จุ บั น กระทรวง พลังงานไดกําหนดในการรับซื้อไฟฟาพลังงานลมที่ Adder ละ 4.50 บาท ตอหนวยสําหรับกําลังผลิตต่ํากวา 50 กิโลวัตต และ 3.50 บาทตอหนวย ของสวนที่เกินกวา 50 กิโลวัตต เปนเวลา 10 ป และหากมีการลงทุนใน การผลิตไฟฟากังหันลมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตจะไดรับการสนับสนุน เพิ่มอีก 1.50 บาทตอหนวยเปน 5 บาทตอหนวย สําหรับการวิจัยและสํารวจพลังงานลมในประเทศไทยจากการทํา แผนที่ป 2553 ผลปรากฏวาศักยภาพลมในประเทศไทยถึงจะมีความเร็วลม ไมสูงมากแตก็สามารถใชผลิตไฟฟาได โดยเฉลี่ยประมาณ 5 – 6 เมตร September 2011 l 21

Energy#34_p21-23_Pro3.indd 21

8/24/11 9:58 PM


ตอวินาที และพื้นที่ที่มีศักยภาพนั้นสวนใหญอยูแถวภาคะวันออกเฉียงเหนือ เชน พื้นที่แถว จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดเพชรบูรณ ในส ว นของพื้ น ที่ ช ายฝ ง ทะเลโดยทั่ ว ไปแล ว มี ค วามเร็ ว ลมเฉลี่ ย ประมาณ 3 เมตรตอวินาที โดยเปนคาความเร็วลมที่ต่ํากวามาตรฐานและ มีศักยภาพนอยตอการผลิตกระแสไฟฟา แตก็มีบางพื้นที่ที่มีความเร็วลม ในระดับ 5 เมตรตอวินาทีในพื้นที่ อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราษฎร ปจจุบัน บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เตรียมแผนที่จะลงทุนติดตั้งกันหันลม 20 ตัวขนาดกําลังการผลิตไฟฟารวม 30 เมกะวัตต ปจจุบันมีผูประกอบการยื่นขอเปนผูผลิตไฟฟาพลังงานลมประมาณ 10 กว า เมกะวั ต ต ซึ่ ง ยั ง อยู ในการพิ จ ารณาของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงพลังงาน และจากการ สอบถามไปยัง พพ. นั้นคาดวาในป 2555 ผูประกอบการจะสามารเริ่ม ดําเนินการติดตั้งทุงกังหันลมได และตามแผนระยะสั้นภายในสิ้นปนี้จะมี กําลังในการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมที่ 110 เมกะวัตต เนื่องจากผู ประกอบการเขาไปสํารวจและพัฒนาพื้นที่ ไวแลวเหลือเพียงเขาไปดําเนิน การกอสรางเทานั้นเอง สวนป 2565 ภายใตแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ปนั้นกําหนดเปาหมายไวที่ 800 เมกะวัตต

BioGas

Biogas นัน้ เปนพลังงานทดแทนอีกชนิดหนึง่ ทีม่ ศี กั ยภาพอันดับตนๆ ของพลังงานทดแทนในประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศ ทางการเกษตรซึง่ จะมีวตั ถุดบิ ทีเ่ พียงพอตอการผลิต รวมถึงศักยภาพของ เทคโนโลยีก็มีความทันสมัยที่คนไทยสามารถผลิตเองได ทั้งนี้การสนับสนุน ใหผลิตเชือ้ เพลิงไบโอแกสสวนใหญนัน้ เปนการผลิตจาก น้าํ เสีย เศษอาหาร และมูลสัตว ในรูปแบบของการผลิตเปนเชื้อเพลิงสําหรับทําความรอนที่ ใช ภายในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม รีสอรท และใชสําหรับเปนกาซหุงตม ภายใตโครงการสงเสริมการผลิตกาซชีวภาพทีด่ าํ เนินงานมาตัง้ แตป 2550 และจากการเริ่มตนโครงการจนถึงปจจุบันมวลรวมของการผลิตเชื้อเพลิง จากกาซชีวภาพปจจุบันอยูที่ประมาณ 580,074,417 ลูกบาตรเมตร และ ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดไดประมาณ 4,896,990 ตัน CO2 อยางไร ก็ตามในการผลิตเชื้อเพลิงพลังงานจากไบโอแกสในรูปแบบพลังงานไฟฟา นั้นยังมีจํานวนไมมากนักเนื่องจากราคาคาแอดเดอรไมคุมคาตอการลงทุน ซึ่งเปนขอจํากัดที่สําคัญเลยทีเดียวสําหรับการผลิตไฟฟาจากเชื้อเพลิง ชนิดนี้ ฉะนั้นถาจะนําไบโอแกสมาใชในการผลิตไฟฟาอยางจริงจังตองเพิ่ม ค า แอดเดอร และขอให ก ารไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) ปรับขัน้ ตอนการอนุมตั กิ ารขอจําหนายไฟฟาใหมขี ัน้ ตอนทีส่ ัน้ ลง ซึง่ ปจจุบนั

ตองผานการอนุมัติจาก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เรกกูเรเตอร กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม กระทรวงพลั ง งาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยจะทําใหใชเวลานานในการยื่นขอจําหนาย ไฟฟา ซึ่งนี้ก็เปนขอจํากัดอยางหนึ่งของการผลิตพลังงานจากไบโอแกส และภายใตศักยภาพที่เพียงพอตอการผลิตโรงไฟฟาจากเชื้อเพลิง ไบโอแกสนั้นหากรัฐบาลรองรับดวยคาแอดเดอรที่สูงกวา 50 สตางค หรือ ปรับคาแอดเดอรขึ้นไปประมาณ 2 – 3 บาทตอหนวยในการนําพลังงาน ทดแทนจากไบโอแกสมาใชหรือการพัฒนาสูการผลิตไฟฟาก็จะทําใหนา สนใจในการลงทุนมากขึ้น

BioMass

ปจจุบันโรงไฟฟา ชี ว มวลในประเทศไทยมี กําลังการผลิตโดยรวม ประมาณ 800 กวาเมกะ วัตต ซึ่งกวา 80% นั้น เปนโครงการขนาดใหญ ที่ผลิตขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม เชน บริษัท มิตรผล ดับเบิ้ลเอ สวน การลงทุนสรางโรงไฟฟาขึ้นมาโดยเฉพาะนั้นมีจํานวนไมมาก เนื่องจากมีขอจํากัดในเรื่องของราคาคาแอดเดอรโดยที่การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศ (กฟผ.) นั้นใหราคารับซื้อไฟจากเชื้อเพลิงชีวมวล เพียง 50 สตางคตอหนวย สําหรับกําลังการผลิตไมเกิน 1 เมกะวัตต สวน กําลังการผลิตที่ 10 เมกะวัตตขึ้นไปนั้นอยูที่ 30 สตางคตอหนวย ซึ่งจะไม คุมคาตอการลงทุน ฉะนั้นจึงมีแนวคิดจากกลุมอุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน เสนอใหรัฐเพิ่ม Adder ใหจูงใจและดูแลใหทุกฝายปฏิบัติตาม กฎหมายอยางเครงครัด โดยราคาคาแอดเดอรทีเ่ หมาะสมสําหรับโรงไฟฟา ชีวมวลนัน้ ขนาดกําลังการผลิตไมเกิน 1 เมกะวัตตตอ งปรับเพิม่ คาแอดเดอร ที่ประมาณ 2 บาทตอหนวย กําลังการผลิตขนาดไมเกิน 10 เมกะวัตต ที่ 1.50 ตอหนวย และขนาดกําลังการผลิตขนาด 10 เมกะวัตตขึ้นไปอยูที่ 1 บาทตอหนวย ทั้งนี้จึงเชื่อวาหากรัฐบาลหรือกระทรวงพลังงานทําตามขอเสนอ ดังกลาวจะชวยใหภาคเอกชนหันมาลงทุนในพลังงานชีวมวลมากขึ้นและ สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ า จากเชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวลได ต ามเป า หมายของ กระทรวงพลังงานทีก่ าํ หนดไว 3,600 เมกะวัตตภายใตแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทน 15 ป อยางแนนอน

พลังงานขยะ

ประเทศไทยมีกําลังการผลิต ไฟฟ า จากขยะไม ม ากซึ่ ง ส ว นใหญ กําลังการผลิตในแตละโรงนัน้ มีกาํ ลัง การผลิ ต กระแสไฟฟ า ไม ถึ ง 6 เมกะวัตตและไมไดเซ็นสัญญาซื้อขาย ไฟ ซึ่ ง ในป จ จุ บั น มี โ ครงการผลิ ต ไฟฟาจากขยะที่ ไดเซ็นสัญญาซือ้ ขาย ไฟแลวมีขนาดกําลังการผลิตอยูที่ 6 – 8 เมกะวัตตแตอยูระหวางการ ติดตั้งเครื่องจักรซึ่งมี ในพื้นที่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดสงขลาที่หาดใหญ

22 l September 2011

Energy#34_p21-23_Pro3.indd 22

8/24/11 9:59 PM


จังหวัดนครศรีธรรมราษฎร จังหวัดขอนแกน และเชียงใหม ทั้งนี้ ในการผลิตไฟฟาจากพลังงานขยะขนาดโครงการ 6 – 8 เมกะวัตตนั้นตองมีสํารองปริมาณขยะถึง 200 ตันตอวันขึ้นไปถึงจะคุมตอ การลงทุนในเชิงพาณิชยหากยังไดราคาแอดเดอรอยูท ี่ 3.50 บาทตอหนวย และจากการสอบถามไปยังกูรูดานพลังงานทดแทนบอกวา ปจจุบันมี ปริมาณขยะขนาดกําลังการผลิต 50 – 100 ตันตอวันนั้นมีกระจายทั่ว ประเทศแตไมมีผูสนใจในการลงทุนเนื่องจากราคาคาแอดเดอรไมคุมคาตอ การลงทุน ซึ่งราคาคาแอดเดอรที่คาดวาจะคุมคาตอการลงทุนนั้นเฉลี่ยที่ 4.50 บาทตอหนวยในจํานวนปริมาณขยะที่ 50 – 100 ตันตอวัน โดย ปจจุบันผูประกอบการอยูระหวางพิจารณาเรื่องคาแอดเดอรเพื่อยื่นเสนอ ตอรัฐบาลชุดใหม สวนโครงการขนาดใหญตั้งแต 10 เมกะวัตตขึ้นไปนั้นมีขอจํากัดใน เรื่องของพระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการ ในกิจการของรัฐ หรือ พ.ร.บ. รวมทุน 2535 เนื่องจากมูลคาโครงการใน การลงทุน 1,000 ลานบาทนั้นจะตองผาน พ.ร.บ. รวมทุนซึ่งทําใหลาชา ในการสรางโรงไฟฟา เนื่องจากจะตองผานการพิจารณาจากหลายหนวย งานเห็น ชอบก อนถึ ง จะสามารถสรางโรงไฟฟ าได ซึ่ ง ต อ งใช ร ะยะเวลา ประมาณ 3 ป แตถา หากรัฐบาลชุดปจจุบนั เห็นดวยกับการปรับเพิม่ มูลคาโครงการ จาก 1,000 ลานบาทเปน 3,000 ลานบาทนั้นจะทําใหโครงการสรางโรง ไฟฟาจากพลังงานขยะทําไดเร็วขึ้นโดยไมตองผานขั้นตอนการพิจารณา มาก และคาดวาภายใน 3 ปก็จะสามารถผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานขยะ ไดประมาณ 400 เมกะวัตตในจํานวนขยะประมาณ 15 ลานตันตอปภายใต ศักยภาพปริมาณขยะยอดรวมประมาณ 41,991 ตันตอวันเปนขยะที่เกิด ขึ้นในกรุงเทพฯ ถึง 9,400 ตันตอวัน ซึ่งจํานวนขยะที่เกิดขึ้นสามารถนํา มาผลิตเปนพลังงานไดอยางมากมาย

พลังงานน้ํา

กระทรวงพลั ง งานวางเป า หมายเพิม่ การผลิตไฟฟาจากพลังน้าํ ขนาดเล็กจาก 44.33 เมกะวัตต ใน ปจจุบันเปน 156 เมกะวัตต ในป 2554 และจากศักยภาพพลังงานน้ํา ขนาดเล็กทายเขื่อนชลประทานทีม่ อี ยู 6,618 แห ง ทั่ ว ประเทศน า จะมี ประมาณ 294 แหงทีส่ ามารถพัฒนา เปน โครงการ Small Mini และ Micro Hydropower สรางกําลัง ผลิตไฟฟารวมประมาณ 115,945 กิโลวัตต แตปจจุบันมีโครงการพลังน้ํา ขนาดเล็กอยู 22 โครงการทั่วประเทศ กําลังผลิตติดตั้ง 43,318 กิโลวัตต สามารถผลิตกระแสไฟฟาเฉลี่ยปละ 80 ลานกิโลวัตต-ชั่วโมง ทดแทน น้ํามันเชื้อเพลิงไดประมาณ 24 ล านลิตรตอป เทียบเทากับน้ํามันดิบ 17.02 พันตัน นอกจากนี้ยังมีแผนการพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน้ําท้ายเขื่อน ชลประทาน อีก 14 เขื่อน ในป 2552 -2554 ขณะเดียวกันก็อยูระหวางการ ศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนาโครงการผลิตไฟฟาพลังน้าํ ลุม น้าํ โขงรวม กับ สปป.ลาว จํานวน 2 โครงการ โครงการแรกอยูที่จุด อําเภอปากชม

จังหวัดเลย กําลังผลิตประมาณ 1,326 เมกะวัตต และอีกโครงการอยูที่ ตําบลบานกุม อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี กําลังผลิต 2,330 เมกะวัตต ทั้งนี้สําหรับผูผลิตไฟฟารายเล็กที่ ใชพลังน้ํา ไดกําหนดสวนเพิ่ม ราคารับซื้อไฟฟาออกเปน 2 สวน หากผลิตไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็กต่ํากวา 50 กิโลวัตต จะใหสวนเพิ่มไมเกิน 80 สตางคตอหนวย แตหากเปนการ ผลิตไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็กตั้งแต 50-200 กิโลวัตต จะใหสวนเพิ่มไมเกิน 40 สตางคตอหนวย

ไบโอดีเซล

สวนพลังงานทดแทนทางดานการ พัฒนาใชเปนน้ํามันเชื้อเพลิงพลังงานนั้น แบงออกเปน 2 ชนิดดวยกัน คือ ไบโอ ดีเซล และเอทานอล โดยเชื้อเพลิงทั้ง 2 อยางนีถ้ กู พัฒนาขึน้ จากพืชพลังงาน เชน ปาลม สบูดํา มะพราว ทานตะวัน ถั่วเหลือ และน้ํ า มั น พื ช ที่ ผ า นการใช ง านแล ว ก็ สามารถนํามาผลิตเปนไบโอดีเซลไดเชนกัน ส ว นเอทานอลนั้ น พั ฒ นามาจากมั น

สําปะหลัง ออย เปนตน ไบโอดีเซลเรียกวา บี 100 แลวนํามาผสมน้ํามันดีเซลในสวน 5% เรียกวา บี5 และนํามาผสมน้ํามันดีเซลในสวน 3% โดยความตองการใช ไบโอดีเซล บี 100 โดยเฉลี่ย 3.02 ลานลิตรตอวันในป 2554 เปาป 2565 4.50 ลานลิตรตอวัน การใชน้ํามันดีเซลหมุนเร็วธรรมดา (บี 3) 53.0 ลานลิตร/วัน ลด ลงจากเดือนกอน 0.7% เนื่องจากเปนชวงหมดฤดูพืชผลทางเกษตรทําให มีการใชรถบรรทุกลดลง อยางไรก็ตามขณะนี้มีสต็อกของน้ํามันปาลมดิบ (CPO) เพิ่มขึ้นมากและเพื่อดูดซับน้ํามันปาลมดิบสวนเกินในตลาด กรม ธุรกิจพลังงานจึงปรับเพิ่มสัดสวนการผสม บี 100 ในน้ํามันดีเซลหมุนเร็ว จาก 3% มาอยูที่ 4% โดยมีผลตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 เปนตนมา

เอทานอล

สวนเอทานอลถูกผลิตขึน้ มาเพื่อ ผสมกับน้ํามันเบนซินเปนแกสโซฮอล 91 – 95 และแกสโซฮอล E85 ซึ่ง ป จ จุ บั น การใช แ ก ส โซฮอล ร วมอยู ที่ 12.7 ลานลิตรตอวัน เพิ่มขึ้น 3% โดย การใชแกสโซฮอล E85 ปรับตัวเพิม่ สูง ขึ้นจาก 0.024 ลานลิตรตอวัน มาอยู ที่ 0.026 ลานลิตรตอวัน หรือเพิ่มขึ้น 9% โดยในเดือนมิถุนายนมีสถานีบริการที่จําหนายแกสโซฮอล E85 เพิ่ม ขึ้นจากเดือนพฤษภาคมถึง 11 แหง เปน 21 แหง และการใชน้ํามันแกสโซ ฮอล 95 ปรับลดลง 6.6 ลานลิตรตอวันจาก 7.5 ลานลิตรตอวันในชวง เดือนเดียวกันของป 2553 เนื่องมาจากประชาชนเปลี่ยนไปใชเชื้อเพลิงอื่น ที่ถูกกวา สวนปริมาณการใชแกสโซฮอล 91 5.4 ลานลิตรตอวัน แกสโซ ฮอล E20 อยูที่ 0.65 ลานลิตรตอวัน โดยกรมธุรกิจพลังงานตั้งเปาความ ตองการใชเอทานอลภายในสิ้นปนี้ที่ 3 ลานลิตรตอวัน *หมายเหตุ ตัวเลขอาจมีการปรับขึ้น-ลงในแตละเดือน September 2011 l 23

Energy#34_p21-23_Pro3.indd 23

8/24/11 9:59 PM


Industrial Energy News

สกพ. เผยมีผูรับใบอนุญาตผลิตไฟฟา 180 รายพรอมนําสง

กองทุนฯ

“สกพ. เปดเผยถึงผูที่ ไดรับใบอนุญาตผลิตไฟฟา ณ ปจจุบัน 180 ราย มีเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา 1,202 ลานบาท เตรียมพรอมสรรหาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาไฟฟาฯ” นางสาวนฤภัทร อมรโฆษิต รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สกพ.) เปดเผยวา ขณะนี้ผูรับใบอนุญาตผลิตไฟฟาจํานวน 180 รายไดเริ่มนําสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟาสําหรับการ ผลิตพลังงานไฟฟาตั้งแตเดือนมกราคม 2554 เปนตนมาให สกพ. โดยเริ่มนําสงตั้งแตกลางเดือนมีนาคม 2554 เปนตนมา โดยมีเงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2554 ที่ สกพ.เก็บรักษาไวใหกับกองทุนพัฒนา ไฟฟาในพื้นที่ประกาศจํานวนประมาณ 1,202 ลานบาท สําหรับความคืบหนาของการดําเนินงานกองทุนพัฒนา ไฟฟานั้น ขณะนี้อยูระหวางดําเนินการสรรหาคณะกรรมการกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศตามระเบียบและประกาศของ กกพ. โดย คณะกรรมการ กองทุนพัฒนาไฟฟา (คพรฟ.) ที่กําหนดไวตามระเบียบของ กกพ. ระบุวา ตองมีจํานวน 15 - 35 คน”

พพ. ปลื้มโครงการสงเสริมวัสดุอุปกรณอนุรักษพลังงาน

“พพ. ปลื้มโครงการสงเสริมและวัสดุอุปกรณเพอการอนุรักษพลังงาน จูงใจกลุมอุตสาหกรรม อาคารธุรกิจ และภาคเกษตรเขารวมกวา 269 แหง” นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) เปดเผยวา ตาม ที่ พพ. ไดดําเนินโครงการสงเสริมและวัสดุอุปกรณเพอการอนุรักษพลังงาน เพอเปนการสงเสริมสนับสนุนและ กระตุนใหเกิดการใชเครองจักร วัสดุ และอุปกรณที่มีผลตอการประหยัดพลังงานใหกับกลุมโรงงานอุตสาหกรรม อาคารธุรกิจ และภาคเกษตรพรอมกับไดใหการสนับสนุนเงินทุนรอยละ 20 สูงสุดไมเกิน 3 ลานบาทตอราย และต่ํา สุด 50,000 บาทตอราย ซึ่งไดเริ่มตนโครงการนับตั้งแตวันที่ 20 กรกฎาคม 2553 ที่ผานมา “ผลการดําเนินการโครงการ ฯ ดังกลาว จนถึงปจจุบันนับเปนที่นายินดีวา การสนับสนุนใหเกิดการใช เครองจักร วัสดุ และอุปกรณที่กอใหเกิดผลการประหยัดพลังงานตามโครงการ โดยมีสถานประกอบการตางๆ ได ขอเขารวมโครงการมากถึง 269 โครงการ และปจจุบันมีจํานวนสถานประกอบการที่ ไดรับการอนุมัติโครงการแลว 231 แหง มีมาตรการลดใชพลังงาน แตละโครงการสูงถึง 315 มาตรการ และชวยใหเกิดผลประหยัดพลังงานรวมทั้งสิ้น 353 ลานบาทตอป”

โรงพยาบาลกลาง รับลูกกระทรวงพลังงานเปลี่ยน หลอดผอมเบอร 5

“โรงพยาบาลกลางเตรียมเปลี่ยนหลอดผอมเบอร 5 ลดการใชพลังงานสนองนโยบาย ของกระทรวงพลังงาน” นายแพทยชวู ทิ ย ประดิษฐบาทุกา ผูอ าํ นวยการโรงพยาบาลกลาง กลาววา ปจจุบนั การใชพลังงานในอาคารตางๆ ภายในศูนยฯ สวนใหญใชพลังงานไฟฟาเปนหลัก โดยในปที่ผาน มามี ก ารใช พ ลั ง งานไฟฟ า ประมาณ 7,320,000 หน ว ยต อ ป คิ ด เป น ค า ใช จ า ยประมาณ 25,800,000 บาทตอป อยางก็ตามในการดําเนินงานเรองการประหยัดพลังงานที่ผานมาโรงพยาบาลไดรับความชวยเหลือจากหนวยงานของกระทรวง พลังงาน ไดแก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน หรือ พพ. ในการเผยแพรความรูในเรองการใชไฟฟาอยางประหยัด การจัดทําแผนและ มาตรการอนุรักษพลังงาน เปนตน นอกจากนี้ยังไดรับความอนุเคราะหจากการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย หรือ กฟผ. เขามาปรับเปลี่ยนหลอดผอม แบบเดิมเปนหลอดผอมเบอร 5 จํานวนประมาณ 8,240 หลอด และจากขอมูลของทีมงาน กฟผ. ที่เขามาปรับเปลี่ยน พบวา สามารถลดกําลังไฟฟาที่ ใชใน หลอดลงได มากกวารอยละ 30 เปนผลประหยัดประมาณ 801,000 หนวยตอป เปนเงิน 2,720,000 บาทตอป 24 l September 2011

Energy#34_p24-25_Pro3.indd 24

8/25/11 10:43 PM


ราชบุรีโฮลดิ้ง จับมือ วิศวฯ ม.เกษตร ศึกษาและพัฒนา

แหลงพลังงาน

“ราชบุรีโฮลดิ้ง รวมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพอการผลิตไฟฟาและโรง ไฟฟา สงเสริมประสิทธิผล เสริมสรางประสิทธิภาพ” นายพีระวัฒน พุมทอง รองกรรมการผูจัดการใหญวางแผนและพัฒนาธุรกิจ บริษัท ผลิตไฟฟา ราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) กลาววา บริษัทฯ และหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยคณะวิศวกรรมศาสตร ตาง ก็ตระหนักถึงความสําคัญในการพัฒนาศักยภาพดานเทคนิควิศวกรรมและวิชาการที่เกี่ยวของ ตองานพัฒนาแหลง พลังงานเพอการผลิตไฟฟาและงานพัฒนาโรงไฟฟาใหประสบความสําเร็จตามเจตนารมณ คือการบรรลุเปาหมาย ตามภารกิจและวิสัยทัศนของบริษัทฯในการเปนผูผลิตไฟฟาชั้นนําในภูมิภาคที่เปนที่เชอถือของสาธารณชน “โดยโครงการนี้เปดโอกาสใหคณาจารย นักวิจัย และนิสิตนักศักษาไดเรียนรูจากกรณีศึกษาจริง นอกเหนือจากความรูทางภาคทฤษฎีในชั้นเรียน และเปนการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณเพอสรางสรรคองคความรูที่เปนประโยชนอยางอเนกอนันตและคาดวาโครงการนี้จะเปนสวนสําคัญในการ พัฒนาคุณคาทรัพยากรบุคคลและสงผลตอการพัฒนาการผลิตไฟฟา ซึ่งจะสรางการพัฒนาและความเจริญใหแกประเทศในทายที่สุด”

ปตท. จับมือ ไออารพีซี ศึกษาความเปนไปไดโครงการผลิต ไฟฟาจากแสงอาทิตย

“ไออารพีซี จับมือ ปตท. เซ็น MOU โครงการผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยขานรับแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของ ประเทศมุงสรางความมั่นคงดานพลังงานควบคูไปกับการดูแลสิ่งแวดลอม” นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) เปดเผยภายหลังพิธีลงนามความรวมมือวา ทั้ง 2 บริษัทฯ จะรวมมือกันในการศึกษาความเปนไปไดในการลงทุนพัฒนาดําเนิน โครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยขนาดประมาณ 50 – 90 เมกกะวัตต บนพื้นที่ประมาณ 1,000-1,800 ไร ทัง้ นีค้ าดวาจะใชเวลาประมาณ 6 เดือนในการศึกษาความเปนไปไดและนําเสนอเพอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ บริหารของทั้ง 2 บริษัท หลังจากนั้นจะรวมกันจัดทําและยนขอเสนอใหกับ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เพอ ขายไฟฟาเขาระบบตอไป ซึ่งหากขอเสนอไดรับการพิจารณารับซื้อก็จะมีการจัดตั้งบริษัทรวมทุนขึ้นเพอดําเนินการกอสราง และผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ในการผลิตและจําหนายไฟฟาในเชิงพาณิชย ซึ่งจะมีการศึกษาในรายละเอียดตอไป อยางไรก็ตามการดําเนินโครงการครั้งนี้ เปนการสนองตอบตอนโยบายดานพลังงานของประเทศ ทั้งในสวนของการสงเสริมพลังงานทดแทน และการเสริม สรางความมั่นคงใหกับระบบการผลิตไฟฟาของประเทศไทย สําหรับการดําเนินโครงการนี้ คาดวาจะใชงบประมาณ 6,000 ลานบาท โดยบันทึกความรวมมือฉบับนี้ จะมีกําหนดระยะเวลา 2 ป นับตั้งแตวันที่ลงนามฯ

เอ็กโก กรุป 6 เดือนแรกป 54 กําไรสุทธิ 2,973 ล.

“เอ็กโก กรุป ประกาศผลการดําเนินงาน 6 เดือนของป 2554 กําไรสุทธิ 2,973 ลานบาท สวนไตรมาส 2 โตกวาไตรมาส 1 รอยละ 43 พรอมเตรียม COD โรงไฟฟาลพบุรี 1 พ.ย นี้” นายวินิจ แตงนอย กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา ผล การดําเนินงานภาพรวมเปนไปตามเปาหมาย โดยผลประกอบการในไตรมาส 2 มีกําไรสุทธิ 1,749.15 ลานบาท เพิ่มขึ้น 525.21 ลานบาท หรือรอยละ 43 เมอเทียบกับไตรมาส 1 ของปเดียวกัน เนองมาจากการรับรูผลกําไรจาก กิจการรวมคาที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรงไฟฟาถานหินเคซอน ประเทศฟลิปปนส และโรงไฟฟาพลังงานน้ําเทิน 2 ใน สปป.ลาว ขณะที่ผลการดําเนินงาน 6 เดือนแรกของป 2554 มีกําไรสุทธิทั้งสิ้น 2,973 ลานบาท ลดลง 1,381 ลานบาท หรือรอยละ 32 เมอเทียบกับชวงเดียวกันของป 2553 สาเหตุหลักมาจากรายไดคาไฟที่ลดลงของโรงไฟฟา ขนอมและบีแอลซีพี รวมถึงตนทุนการขายที่เพิ่มขึ้นของโรงไฟฟาระยอง เนองจากการซอมบํารุงรักษา นอกจากนนี้แลวเอ็กโก กรุป ยังไดเตรียมความพรอมเดินเครองโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบฟลมบาง หรือ Thin Film Solar Cell ที่ ใหญ ที่สุดในโลก กําลังการผลิต 55 เมกกะวัตตในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2554 นี้ September 2011 l 25

Energy#34_p24-25_Pro3.indd 25

8/25/11 10:43 PM


Green Industrial โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ศู น ย ก ารค า อยุ ธ ยาพาร ค

เน น สร า งจิ ต สํ า นึ ก ปรั บ เปลี่ ย น เทคโนโลยีลดใชพลังงาน การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน และสิ่ ง แวดล อ มป จ จุ บั น ช ว ย อ า นิ ส ง ส ต อ ทั้ ง ใ น ด า น เศรษฐกิจ และประเทศชาติได เปนอยางดี ซึ่งนอกจากชวยให เกิดการประหยัดพลังงานแลว ก า ร อ นุ รั ก ษ พ ลั ง ง า น ยั ง สามารถพัฒนาเขาสูระบบการ ขายคาร บ อนเครดิ ต แปลเป น รายได อี ก ทางหนึ่ ง หรื อ เปนการเอื้อตอภาพลักษณที่ดี

คุ ณ ปราณี ด า นชั ย วิ โ รจน รอง กรรมการอํานวยการ ศูนยการคา อยุธยาพารค

26 l September 2011

Energy#34_p26-28_Pro3.indd 26

8/24/11 9:43 PM


ผังกําหนดเวลา เปด-ปด พัดลมระบายอากาศบริเวณลานจอดรถ Investor ควบคุมมอเตอร

ขององคกรนั้นๆ และเพื่อตอบสนองปจจัยดังกลาวผูประกอบการธุรกิจ ตางๆ ไดตระหนักถึงการประหยัดพลังงานพรอมไดปรับตัวและพัฒนาระบบ ประหยัดพลังงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตามการอนุรักษพลังงานของแตละองคกรอาจจะมีจุดเริ่ม ตนที่แตตางกันแตมีจุดหมายปลายทางที่เหมือนกัน คือ การลดตนทุนดาน พลังงาน ยกตัวอยาง ศูนยการคาอยุธยาพารค ซึ่งเปนสถานบริการที่มี การใชพลังงานเปนอยางมาก และหากคํานวณเปนตัวเลขกลมๆ แลว ศูนยการคาแหงนี้ตองเสียคาไฟฟาถึง 65 ลานบาทตอป ซึ่งเปนตนทุนหนึ่ง ที่สําคัญตอการบริหารองคกร และประกอบกับภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงทั่ว โลกประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงหลายตอหลายครั้งรวมทั้ง ประเทศไทยดวยที่ประสบอุทกภัยทั่วทุกภาค กอใหเกิดความเสียตอชีวิตและ ทรัพยสินเปนจํานวนมาก ซึ่งเหตุการณดังกลาวก็เปนการกระตุนใหทุกคน ตองหันมาใสใจเรื่องของการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมมากขึ้นเพื่อ ที่จะชวยลดโลกรอน ลดการใชพลังงานอยางฟุมเฟอยสรางความยั่งยืนให กับสภาวะแวดลอม จากปจจัยดังกลาวนั้นเปนจุดเริ่มตนในการหามาตรการประหยัด พลังงานเพื่อลดตนทุนดานพลังงาน โดยการควบคุมการใชพลังงานที่สูญ เสียไปโดยไมจําเปนรวมถึงสรรหาวิธีการประหยัดพลังงานในรูปแบบตางๆ ที่ ไมมีผลกระทบตอการบริการลูกคามาเปนแนวทางในการดําเนินโครงการ อนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมอยุธยาพารคโดยเริม่ โครงการตัง้ แตเดือน พฤศจิกายน 2553 เปนตนมา และภายใตพระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน (ฉบับ ที่2) พ.ศ.2550 คุณปราณี ดานชัยวิโรจน รองกรรมการอํานวยการ ศูนยการคาอยุธยาพารค ไดดาํ เนินงานดานการจัดการพลังงาน และมีการ กําหนดนโยบายวัตถุประสงคไวอยางชัดเจน กําหนดตัวบุคคล บทบาทและ

หนาทีก่ ารทํางานของแตละสวนงาน รวมทัง้ มีการกําหนดเปาหมาย วิธกี าร ทํางาน และการทวนสอบแผนงานของการดําเนินงานทุกขั้นตอน พรอม ทํ า การสื่ อ สารให้ ทุ ก คนในองค์ ก รได้ รั บ ทราบโดยการจั ด อบรมสร้ า ง จิตสํานึกการอนุรักษพลังงานใหกับเจาหนาที่เต็ม 100 % เพื่อกาวไปสูเปา หมายของการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ในการดําเนินงานอนุรักษพลังงานที่ผานมาจนถึงปจจุบันนั้น ศูนยการคาอยุธยาพารค สามารถดําเนินการลดการใชไฟฟาสวนกลางลง ได 10 เปอรเซ็นต คิดเปนเงิน 3 ลานบาท จากมาตรการประหยัดพลังงาน ที่ยังไมไดลงทุนอะไรมากนัก รวมถึงการมีสวนรวมของเจาหนาที่พนักงาน ทุกระดับที่ ใหความรวมมือในการประหยัดพลังงานผานมาตรการตาง ไม วาจะเปน การควบคุมการทํางานของเครื่องทําน้ําเย็น (Chiller)ใหเหมาะสม การติดตั้งเครื่องควบคุมความเร็วรอบ รวมกับปมน้ําหลอเย็น และ ปมน้ํา ระบายความรอน การทําความสะอาดทอน้ําระบายความรอนของเครื่องทํา น้ําเย็น การปรับตั้งอุณหภูมิเครื่องทําน้ําเย็น (Chiller) ใหเหมาะสม การ ควบคุมการทํางานของปมน้ําระบายความรอนใหเหมาะสม นอกจากนีย้ งั มีการควบคุมการเปด-ปด พัดลมระบายอากาศบริเวณ ลานจอดรถชั้นใตดินใหเหมาะสม และการควบคุมการเปด-ปด พัดลมระบาย September 2011 l 27

Energy#34_p26-28_Pro3.indd 27

8/24/11 9:43 PM


อากาศในหองเครื่องใหเหมาะสม การควบคุมระบบทํางานปมสูบน้ํางาน ระบบสุขาภิบาล และที่สําคัญ คือ การควบคุมการเปด-ปด ระบบแสงสวาง ภายในศูนยการคาใหเหมาะสมเพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ การดําเนินมาตรการประหยัดพลังงานของอยุธยาพารคนั้นได กําหนดเปาหมายของการประหยัดพลังงานในพื้นที่อาคารสวนกลางให สามารถลดลงต่ํากวาป 2553 อยางนอย 5% โดยมีแผนการใชพลังงาน ทุกประเภทอยางมีประสิทธิภาพและลดการสูญเสียพลังงานโดยไมจําเปนให นอยที่สุด และดําเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานโดยการปรับ เปลี่ยนวิธีการควบคุมการทํางานของเครื่องจักรและติดตั้งอุปกรณที่ ใชใน การควบคุ ม ไฟฟ า แสงสว า งและปรั บ อากาศ รวมทั้ ง การมุ ง เน น ไปที่ บุคคลากรภายในองคกรตองมี จิตสํานึกใหมีความกระตือรือรน ในการชวยกันประหยัดพลังงาน ภายในองคกร พรอมกันนี้ยังได จั ด อบรมให ค วามรู ถึ ง วิ ธี ก าร พลังงานอยางถูกวิธี การจัด ทําปายรณรงคดานการอนุรักษ พลังงานตางๆ นอกจากนี้แลว ยั ง มี แ ผนการใช พ ลั ง งานทาง เลื อ กใหม ๆ เช น พลั ง งาน ทดแทนจากแสงอาทิ ต ย และ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสรางความ ระบบ VSD

เครื่องคอนโทรลระบบความเย็น

รมรื่นใหแกภายในองคกร รวมทั้งการเขาไปยังกลุมรานคาภายในศูนยการ คาฯ กลุมผูที่เขามาใชบริการ ใหมากขึ้นโดยจะเริ่มจากการรณรงคสราง จิตสํานึกใหทุกคนรูถึงวิธีการประหยัดพลังงาน และนํากลับไปใชในชีวิต ประจําวันซึ่งเปนการสรางสังคมเครือขายการใหความรูกับประชาชนใน พื้นที่ ใกลเคียงใหเขารูจักการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้น อีกดวยเพื่อกาวไปสูเ ปาหมายอาคารทีเ่ ปนเลิศทางดานการอนุรกั ษพลังงาน และสิ่งแวดลอม นอกจากนีแ้ ลวเปาหมายดานพลังงานอีกอยางหนึง่ ของศูนยการคา อยุธยาพารคนั้นคือ การเขารวมโครงการประกวด Thailand Energy Award เพื่อเปนการการันตีถึงความสําเร็จในดานการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอม สวนการดําเนินงานดานอนุรักษพลังงานที่ผานมานั้นเปนไป ไดดว ยดีทัง้ นี้ ไดรบั การตอบสนองทีด่ เี ยีย่ มจากเจาหนาทีร่ ะดับบริหาร ระดับ ปฏิบัติการ รวมถึงกลุมรานคาและผูรับบริการ อยางไรก็ตามเบื้องหลัง การอนุรกั ษพลังงานทีน่ าํ ไปสูค วามสําเร็จอีกปจจัยหนึ่งมาจากทีมทีป่ รึกษา จาก บริษัทอินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัด ที่ชวยใหเกิดผลประหยัดไฟฟา จากโครงการตางๆ ถึง 10 % นีเ้ ปนอีกหนึง่ องคกรทีม่ ุง มัน่ ตอการอนุรกั ษ พลังงานและสิง่ แวดลอมเพื่อองคกรของตนเองสูก ารเปนเครือขายลดภาวะ โลกรอน

ระบบควบคุมเวลาการทํางานของปมเติมอากาศ ระบบบําบัดน้ําเสีย

28 l September 2011

Energy#34_p26-28_Pro3.indd 28

8/24/11 9:43 PM


Energy#29_p49_Pro3.ai

1

3/24/11

3:17 AM


Tools & Machine โดย : Mc. แกนคร

(Photovoltaic modules) แบบปรับตําแหนงได ซึ่งติดตั้งดวยระบบ ควบคุมรุนใหมของซีเมนสทําใหสามารถติดตามวิถีการเคลอนที่ของดวง อาทิตยไดอยางแมนยํา ทั้งนี้เปนผลจากวิธีการคํานวณแบบใหมที่อาศัย ขอมูลทางดานดาราศาสตรในการติดตามตําแหนงและการเคลอนที่ของ ดวงอาทิตยในแตละวัน ตามฤดูกาลของปรวมถึงสภาพทางภูมิศาสตรที่ ติดตั้งระบบแผงรับแสงอาทิตยไดอยางแมนยํา สงผลใหสามารถผลิต พลังงานไดมากกวารอยละ 35 เมอเทียบกับระบบแผงรับพลังงานแสง อาทิตยที่ ไมสามารถปรับตําแหนงได ปจจัยสําคัญทีส่ ง ผลตอประสิทธิภาพของระบบแผงรับพลังงานแสง อาทิตย (photovoltaic system) คือ มุมของแสงอาทิตยที่ตกกระทบกับ ผิวหนาของโมดุล ในกรณีที่แผงรับพลังงานแสงอาทิตยไมสามารถปรับ ตําแหนงได แสงอาทิตยจะตกกระทบเซลลแผนรับพลังงานแสงอาทิตย (solar cells) ในแนวเฉียงเปนสวนใหญในแตละวัน ในขณะที่ประสิทธิภาพ ของระบบแผงรับพลังงานแสงอาทิตยจะสูงสุดเมอแสงอาทิตยตกกระทบ ตั้งฉากกับแผนรับพลังงานแสงอาทิตย

Photovoltaic modules : สุดยอดอุปกรณเพิ่มประสิทธิภาพในการรับแสง ดั ง นั้ น วิ ธี แ ก ป ญ หาก็ คื อ การปรั บ ให โ มดุ ล แผงรั บ พลั ง งานแสง อาทิตยสามารถติดตามวิถีการเคลอนที่ของดวงอาทิตยไดอยางถูกตอง แมนยํา ถึงแมวาตําแหนงของดวงอาทิตยจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาใน แตละวัน ตามฤดูกาลของป รวมถึงสถานทีต่ ดิ ตัง้ ระบบพลังงานแสงอาทิตย ระบบควบคุม Simatic S7-1200 ของ ซีเมนสสามารถที่จะคํานวณและ ปรับตําหนงของโมดุลแผงรับพลังงานแสงอาทิตยไดอยางถูกตองและ แมนยําไมวาจะถูกติดตั้งที่ตําแหนงใดในโลกก็ตาม การคํานวณตาง ๆ จะอาศัยหลักอัลกอริทึมที่ชอวา Simantic Library for Solar Position Algorithm ซึ่งถูกติดตั้งไว ในตัวควบคุม โดยทางซีเมนสไดรับใบ อนุญาตสําหรับการคํานวณอัลกอริทึมที่แมนยํานี้จากหองปฏิบัติการ ทดลองพลังงานทดแทนแหงชาติ (National Renewable Energy

Laboratory - NREL) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ระบบควบคุมดังกลาว จะสามารถบอกตําแหนงของดวงอาทิตยไดอยางแมนยําโดยมีความคลาด เคลอนเพียง 0.0003° มอเตอรไฟฟากระแสสลับชนิด 3 เฟสถูกใชสาํ หรับการปรับตําแหนง ใน 2 แกนคือปรับโมดุลในแนวกวาด (azimuthal axis) ตามแนววิถีของ ดวงอาทิตยในแตละวันจากทิศ ตะวันออกไปยังทิศตะวันตก และ ปรั บ โมดุ ล ในแนวก ม -เงย (zenithal axis) ตามความสูง ของดวงอาทิ ต ย ไ ปตามเวลา ของวั น และป ทั้ ง นี้ ก ารปรั บ ตํ า แหน ง ดั ง กล า วยั ง ช ว ย ป อ งกั น การบดบั ง เงาของ กันเองของแตละโมดุลที่อยูในบริเวณใกลเคียง โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวง เวลาเชาและเย็นซึ่งเงาจะยาวเปนพิเศษ โดยซอฟทแวรจะคํานวณขอมูลเชิง ดาราศาสตรผานตัวแปรตางๆ อาทิเชน เสนรุง เสนแวง และเวลาที่ เที่ยงตรง นอกจากนี้ ระบบควบคุมยังคํานึงถึงสภาพภูมิอากาศดวย เชนเมอ ตองเผชิญกับสภาวะลมแรง โมดุลก็จะถูกปรับไปยังตําแหนงทีม่ แี รงตานนอย ที่สุด ซึ่งโมดุลเหลานี้สามารถรับแรงลมไดมากถึง 130 กิโลเมตรตอชั่วโมง ในขณะเดียวกันนั้นระบบควบคุมยังถูกออกแบบใหสามารถทํางานไดภายใต สภาพภูมอิ ากาศทีม่ หี มิ ะ ฟารอง หมอกหนาและมืด ทัง้ นีห้ ากผูท สี่ นใจขอมูล เพิ่มเติมสามารถเขาไปดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.siemens.com

30 l September 2011

Energy#34_p30_Pro3.indd 30

8/23/11 1:14 AM


Energy#30_p31_Pro3.ai

1

4/28/11

12:13 AM


Saving Corner

โดย : ธนกร ณ พัทลุง วิศวกรประสิทธิภาพ โรงไฟฟากระบี่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)

การใชอปุ กรณดกั ไอน้าํ แบบรูระบาย (Orifice Steam trap:Orifice Condensate Discharge Trap) “ทางเลือกหนึง่ ของ การประหยัดพลังงานไอน้าํ ” (ตอน 1)

ระบบการใชไอน้ําในอุตสาหกรรมตางๆ ที่ ใชกันอยูนั้นสามารถ อธิบายงายๆ ไดดังนี้ คือ เมอใหความรอนจากการเผาไหมเชื้อเพลิงแกน้ํา หรือการตมน้ํา น้ําจะกลายเปนไอน้ําในหมอไอน้ํา (Boiler หรือ Steam generator) ไอน้ําที่ ไดจะมีพลังงานความรอนในตัวเอง เมอไอน้ํานี้ ไหลผาน อุปกรณไอน้ํา เชน เครองแลกเปลี่ยนความรอนตางๆ ก็จะทําการถายเท ความรอนที่อยูในตัวกับของไหลทํางานอนๆ เชน น้ํามัน, อากาศ หรือ ผลิตภัณฑ เปนตน ซึ่งหลังจากที่ถายเทความรอนแลวไอน้ําจะสูญเสีย พลังงานไปทําใหกลั่นตัวเปนน้ําอีกครั้ง หรือที่เรียกวา “คอนเดนเสท” (condensate) คอนเดนเสทก็จะถูกแยกจากไอน้ําดวยอุปกรณระบายคอนเดนเสท และจะถูกนํากลับไปยังถังน้ําปอนของหมอไอน้ํา ทําใหลดปริมาณน้ําใหมที่ เติมในหมอไอน้ําและเปนการประหยัดพลังงานเพราะคอนเดนเสทมีอุณหภูมิ สูงทําใหน้ํากลายเปนไอลดลงโดยอุปกรณระบายคอนเดนเสทที่ ใชและรูจัก กันอยางกวางขวางจะถูกอยูในรูปของกับดักไอน้ําหรือที่เรียกวา Steam trap แบบตางๆ ไดแก แบบลูกลอย (Float type) ,แบบถวยคว่ํา (Bucket type), แบบเทอรโมสแตติกส (Thermostatic type),แบบเทอรโมไดนามิกส (Thermodynamic type) เปนตน ซึ่งเปนอุปกรณระบายคอนเดนเสทที่มีกลไกและชิ้นสวนเคลอนไหวใน การทํางานทั้งหมดโดยจะทํางานแบบเปด-ปดเปนจังหวะ คอนเดนเสทจึงมี การระบายแบบไมตอเนอง ซึ่งเมอใชงานไประยะหนึ่งกลไกก็จะเกิดการชํารุด สงผลใหเกิดการรั่วไหลของไอน้ําและเสียคาใชจายในการซอมบํารุงอยูเปน ระยะๆ ในบทความนี้จะกลาวถึงอุปกรณระบายคอนเดนเสทอีกรูปแบบหนึ่ง ที่แตกตางจากที่กลาวขางตนซึ่งนาสนใจ คือ อุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบาย (Orifice Steam trap) ซึ่งอุปกรณระบายคอนเดนเสทแบบหนึ่งที่ ไมมีชิ้น สวนเคลอนไหวในขณะทํางาน วามีลักษณะเปนอยางไร, มีการทํางานเปน อยางไร และสงผลใหประหยัดพลังงานไดอยางไร (ชอที่รูจัก ไดแก Steamgard ,Steam saver เปนตน)

1. อุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบาย (Orifice steam trap) เปนอยางไร

อุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบาย (Orifice steam trap) เปนอุปกรณ ระบายคอนเดนเสทแบบหนึ่ง (กับดักไอน้ํา) และแยกคอนเดนเสทออกจาก ไอน้ํ า จากความแตกต า งกั น ของความหนาแน น ของของไหลสองเฟส

(ระหวางน้ํารอนกับไอน้ํา) โดยออกแบบภายในประกอบดวยรูขนาดเล็กหรือ รูระบาย ที่เรียกวา “ออริฟส” (Orifice) เปนวัตถุมากีดขวางทางการไหล ของของไหล (Obstruction) ซึ่งจะทําใหเกิดความแตกตางของความดัน เพอควบคุมการไหลของคอนเดนเสท ดังแสดงในรูปที่ 1 โดยรูระบาย (Orifices) มีลักษณะเปนรูปแบบตางๆ เชน Sharp edged , Tubular หรือ Venturi ดังแสดงในรูปที่ 2 และขนาดรูระบาย (hole)ตางๆ เชน 4.0 mm ,4.5 mm หรือ 5.0 mm เปนตน และไมมีชิ้นสวนกลไกเคลอนไหวในขณะ ทํางาน (Without moving parts) ทําใหอายุการใชงานนาน มีการบํารุง รักษานอยหรือไมตองการการบํารุงรักษา ( free maintenance ) สงผล ใหประหยัดพลังงานไอน้ํา

รู ป ที่ 1 แสดง อุ ป กรณ ดั ก ไอน้ํ า แบบรู ร ะบาย (Orifice steam trap)

รู ป ที่ 2 แสดงรู ป แบบของ รูระบาย”ออริฟส” แบบตางๆ

2. การทํางานของอุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบาย

หลักการทํางาน คือใชหลักการทางวิศวกรรมเครองกลเกี่ยวกับ การวัดการไหลหรือควบคุมการไหล (Flow) โดยการที่นําวัตถุมากีดขวาง ทางไหลของคอนเดนเสท (Obstruction) ก็จะทําใหเกิดความแตกตางของ ความดัน (ความดันทางดานเขาและดานออกไมเทากัน) โดยมีผลตอ ความเร็วในการไหลของคอนเดนเสท คือเพิ่มความเร็วในการไหลของ คอนเดนเสทใหเปนแบบปนปวน (Turbulence) และจากความแตกตางกัน ของความหนาแนน (density) ของของไหลสองเฟส (ระหวางคอนเดนเสท กับไอน้ํา) ที่ความดันเดียวกัน คอนเดนเสทจะมีความหนาแนนสูงกวาไอน้ํา มากกวา 200 เทา (เชน ไอน้ําอิ่มตัวที่ 8.0 barg จะมีความหนาแนนของ

32 l September 2011

Energy#34_p32-33_Pro3.indd 32

8/23/11 1:40 AM


ไอน้ํา (density of steam) เทากับ 4.72 kg/m3 และน้ําอิ่มตัวที่ 8.0 barg จะมีความหนาแนนของน้ํา (density of water) เทากับ 988.4 kg/m3 ) จึงทําใหคอนเดนเสทที่มีความหนาแนนสูงกวามากเมอไหลผานรูระบาย (Orifice) คอนเดนเสทจะผนึกกั้น (hold back) ไอน้ําที่มีความหนาแนนนอย กวามากไวและคอนเดนเสทที่สะสมนั้นจะถูกระบายผานรูออกอยางตอเนอง ดวยแรงกระทําจากแรงดันของไอน้ํา ดังแสดงในรูปที่ 3

รูปที่ 3 แสดงสภาพการทํางานของอุปกรณดักไอน้ํา แบบรูระบาย (Orifice steam trap) ที่เหมาะสม

จากขางตนนั้นก็คือการทํางานของออริฟส (Orifice operation) และเหตุผลที่ตองทําใหเกิดการไหลแบบปนปวนเพราะเมอของไหลไหลแบบ ปนปวนภายในรูออริฟสจะทําใหเกิดความหนาแนน (อัดแนนภายในรู) ที่สูง กวาการไหลแบบราบเรียบทําใหปดกั้นไอน้ําไดดีกวาดังแสดงในรูปที่ 4

รูปที่ 4 แสดงรูปแบบการไหลราบเรียบและปนปวน รวมทั้งเปรียบความหนาแนน (อัดแนน)ของของไหล ในรูระบาย

3.ความสามารถและขีดจํากัดในการใชงาน

เนองจากขนาดของรูระบายมีขนาดคงที่ ไมแปรผันจึงสงผลใหการ ระบายจะมีทั้งคอนเดนเสทและไอน้ํา (live steam) ปะปนออกมาดวยเสมอๆ ซึ่งตัวอยางการตรวจวัดประสิทธิผลของอุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบาย (Orifice steam trap) หาอัตราการสูญเสียไอน้ํา(live steam) ภายใตภาระ การระบายคอนเดนเสทที่แตกตางกัน จะไดวา มีอัตราการสูญเสียไอน้ําใน ชวง 0.45 % จนถึง 53.41 % ดังแสดงในตารางที่ 1 และกราฟ ดังรูปที่ 5.1 และ 5.2 ตารางที่ 1 แสดงปริมาณไอน้ําสูญเสีย (steam loss) ที่ภาระ คอนเดนเสทตางๆ (Condensate load, kg/h) จากอุปกรณดักไอน้ําแบบ รูระบาย (Orifice steam trap) ที่ขนาดรูระบาย (Orifice size) 4.0 mm, 4.5 mm และ 5.0 mm

รูปที่ 5.1 และ 5.2 แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณไอน้ําสูญเสียกับ % ความสามารถการระบายคอนเดนเสท

ซึ่งจากรูปที่ 5.1 และ 5.2 จะเห็นไดวาปริมาณการสูญเสียไอน้ํา (live steam) ของอุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบายนั้นจะมีคานอยหรือเกือบ เปนศูนยที่ความสามารถการระบายสูงสุดหรือ 100 % แตจะมีปริมาณการ สูญเสียไอน้ํามากขึ้นเมอทํางานที่ภาระการระบายต่ําๆ และจากกราฟรูปที่ 5.2 จะเห็นไดชัดวาที่ความสามารถการระบายคอนเดนเสทของอุปกรณ ดักไอน้าํ แบบรูระบายเมอนอยกวา 25 % จะมีการสูญเสียไอน้าํ เพิม่ ขึน้ อยางมาก ดังนั้นการพิจารณาใชอุปกรณดักไอน้ําแบบรูระบายควรจะเลือกใชงานที่มี ภาระการระบายคอนเดนเสทในชวง 25 % ถึง 100 % ของความสามารถ ของอุ ป กรณ และจากข า งต น ก็ จ ะเห็ น ได ว า อุ ป กรณ ดั ก ไอน้ํ า แบบ รูระบายนั้นสามารถทํางานไดในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ คอนเดทเสท (vary load) เนองจากความดันหรืออุณหภูมิของระบบไอน้ํา เปลี่ยนไดเชนกัน และหลักเกณฑที่บอกถึงประสิทธิภาพของอุปกรณดัก ไอน้ําวาอยูในเกณฑที่ยอมรับไดหรือไมนั่นก็คือ จะตองมีการสูญเสียไอน้ํา ไมเกิน 10 % ในฉบั บ หน า เราจะพาไปเรี ย นรู จ ากตั ว อย า งอุ ป กรณ ดั ก ไอน้ํ า แบบรูระบายที่มีชอวา Steam saver (Steamgard) รวมไปถึงการประยุกต ใชงาน จะเปนอยางไรนั้นตองติดตามครับ.... อางอิงขอมูล : 1. http://www1.eere.energy.gov/industry/bestpractices/.../ orificetraps.pdf 2. http://eprints.utp.edu.my/2664/1/ICPER_Shakawi.pdf 3. http://www.forestprod.org/drying06lowe.pdf 4. http://www.steam-saver.com 5. http://www.steamgard.com 6. http://host.psu.ac.th/~s4810709/c5.htm 7. http://www.njheps.org/newsletters/december06 September 2011 l 33

Energy#34_p32-33_Pro3.indd 33

8/23/11 1:40 AM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

Reddot design award รางวัลการออกแบบผลิตภัณฑ เพอสิ่งแวดลอม

การใชชีวิตประจําวันของคนไมวาจะ เปนคนรวย คนยากจน ลูกจาง เจาของ กิจการ นัน้ เปนปจจัยสําคัญอันดับตนๆ ของ การชวยลดภาวะโลกรอน ซึ่งการลดโลก รอนนั้นมีวิธีการจัดการที่หลากหลายดวย กัน เริ่มตั้งแตวิธีการที่สามารถปฏิบัติไดงาย เชน การประหยัดไฟภายใน บานดวยการควบคุมการใชไฟฟาอยางประหยัด การนําสิ่งของกลับมาใช ใหม หรือ การรีไซเคิล (Recycle) การรียูส (Reuse) เปนตน สวนวิธกี ารลดการใชพลังงานทีอ่ ยากขึน้ อาจจะตองอาศัยเทคโนโลยี เขามาชวยในการประหยัดพลังงาน อยางไรก็ตามนอกจากการอาศัย เทคโนโลยีแลวการออกแบบไมวาจะเปนโปรดักส หรือการออกแบบบานก็ เปนอีกแนวทางหนึ่งที่ชวยใหสามารถลดใชพลังงานและลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมไดเปนอยางดี รางวัล Reddot design award เปนงานประกวดผลงานการ ออกแบบ ผลิตภัณฑ,Graphics, โฆษณา ที่มีผูสงผลงานเขาประกวดมาก ที่สุดและมีอายุยาวนานที่สุดในโลก โดยเริ่มจัดงานประกวดครั้งแรกตั้งแต ป 1955 หรือเมื่อกวา 50 ปทีผ่ า นมา วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและสนับสนุน ให้ นั ก ออกแบบหรื อ บริ ษั ท ต่ า งๆ คํ า นึ ง ถึ ง เรื่ อ งความสํ า คั ญ ของการ ออกแบบไมวาจะเปนทั้งงาน Concept design การออกแบบเพื่อลดการใช พลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมซึ่งจําเปนตองใหความสําคัญ 34 l September 2011

Energy#34_p34-36_Pro3.indd 34

8/24/11 9:40 PM


โดยรางวัลนี้ ไดรับเชิญคณะกรรมการกวา 10 ประเทศทั่วโลกมา ทําการตัดสินรางวัลซึ่งจัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนี โดยการตัดสินนั้นไดยึด หลักเกณฑที่กําหนดไว ซึ่งรางวัลที่มอบจะแบงออกเปน 3 กลุมใหญ คือ Best of the Best, Winner and Honorable mention

หลักเกณฑการสงผลงานเขาประกวด

สําหรับผูที่สนใจสงผลงานเขาประกวดนั้นจะตองปฏิบัติตามหลัก เกณฑการสงผลงานเขาประกวดดังนี้ 1. Degree of innovation ระดับของความเปนนวัตกรรม มีความ ใหมมากนอยแคไหนเมื่อเทียบกับสินคาที่มีอยูในทองตลาดปจจุบัน (รวมถึง คุณภาพ) 2. Functionality ประโยชนใชสอย มากนอยแคไหน มีคุณประโยชน ตอผูใชงาน สังคมและสิ่งแวดลอม 3. Ergonomics ลักษณะสินคามีความเหมาะสมตอกายภาพ หรือ การใชงาน (คน) ดีแคไหน 4. Self-explanatory quality ความเขาใจในตัวสินคา สินคา ออกแบบมาสามารถสื่อสารกับผูใชงานไดเหมาะสม? 5. Formal quality รูปรางหรือรูปทรงของสินคามีความเหมาะ สมกับการใช 6. Ecological compatibility ความสามารถในการแขงขันดาน การประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 7. Durability ความเหมาะสมดานวัสดุ ความคงทน life time การ ใชงาน 8. Symbolic and emotional content สามารถออกแบบให สอดคลองกับสัญญาลักษณและความรูสึก 9. Product periphery การคํานึงสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตามผูที่สนใจจะสงผลงานเขาประกวดนั้นสามารถสงผล งานเขาประกวดไดไมจํากัดไมวาจะเปนองคกร หรือผลงานเดี่ยวที่ ไมมี สังกัด แตผลงานตองเปนงาน Original ไมไดลองเลียนหรือดัดแปลงมา ทุกคนสามารถสงผลงานเขารวมประกวดไดหมด ทุกชาติ และที่สําคัญของ ผูที่จะสงผลงานเขาประกวดอีกอยางนั้นคือตองเปนงานออกแบบที่คิด ออกแบบเองไมไดลอกเลียนแบบหรือดัดแปลงจากใคร

September 2011 l 35

Energy#34_p34-36_Pro3.indd 35

8/24/11 9:36 PM


สั่นสะเทือนที่ผิดปรกติจากอุบัติเหตุภายในหองน้ําผาน Wristband เมื่อผู ใชประสบอุบัติเหตุภายในหองน้ํา อุปกรณจะสงสัญญาณเตือนในบริเวณ บานพรอมปลดลอคประตูหองน้ําอัตโนมัติ และยังสามารถสง SMS เตือน ไปยังโทรศัพทมือถือที่กําหนดไวได 5 บุคคล และลาสุดป 2011 เปนปที่ 4 ติดตอกันที่ ไดรับรางวัล Reddot design award จากผลิตภัณฑฝก บัว รุน I-TREE ชุดฝกบัวอาบน้าํ อัจฉริยะ ซึง่ เปนผลงานการออกแบบของบริษทั บาธรูม ดีไซน ทีม่ แี นวคิดในการผสม ผสานรูปแบบการใชงานหัวฝกบัวแบบ Rain Shower ทีต่ ดิ ตัง้ อยูฝ า เพดาน แบบเดิม, ซึ่งมีลักษณะและรูปแบบจํากัด (สี่เหลี่ยมหรือวงกลมเทานั้น) ใน

บริษัท บาธรูมดี ไซน จํากัด นั้นเปนบริษัทของคนไทยบริษัทแรกที่ ไดรับรางวัล Reddot design award 4 ปซอน เริ่มตั้งแตป 2008 นั้นได รับรางวัลจากผลิตภัณฑอา งอาบน้าํ รุน IGLO และอางอาบน้าํ รุน Escalate รางวัล Reddot design award 2009 ไดรับรางวัลจากผลิตภัณฑ อางอาบน้ํา รุน NIRVANA ซึ่งเปนอางอาบน้ําที่ประหยัดน้ําที่สุดในโลกและ ป 2010 ไดรับรางวัลจากผลิตภัณฑ ราวจับนิรภัยอัจฉริยะ I-Zecure ซึ่ง รวมความโดดเดนทั้งดานการออกแบบที่ล้ําสมัยโมเดิรนเขากับหองน้ําทุก รูปแบบ ราวจับวัสดุพิเศษทําใหไมลื่นขณะยึดจับ อีกทั้งสามารถปรับองศา ไดอีกดวย ผสานกับเทคโนโลยี Motion Detector ระบบการตรวจวัดแรง

ทองตลาด และเกือบ 90% เปนสินคาที่นําเขามาจากตางประเทศเขากับรูป ทรงธรรมชาติกอเกิดเปนผลิตภัณฑที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว สามารถปรับ เปลีย่ นตอเติมเพิม่ ลดขนาดการใชงานไดอยางอิสระตามความตองการของ ผูใชงาน (Modular System) สวน Product ในอนาคตของ Bathroom design ที่จะพัฒนาตอไป ต อ งเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ต อบสนองต อ ความต อ งการของผู ใ ช ง าน, เป น นวัตกรรมใหมที่สรางความแตกตางใหกับตลาด และตองเปนมิตรตอสิ่ง แวดลอม ซึ่งที่สุดผลิตภัณฑของบริษัทตองสามารถครอบคลุมครบทุก ประเภทในหองน้ํา เปน “Total bathroom silution”

แนวคิดที่แตกตางกันในดานเทคโนโลยี รายการ

เทคโนโลยีท่ีใชในปจจุบนั

เทคโนโลยีใหม

การออกแบบ

1. รู ป แบบที่ จํ า กั ด มี เพี ย งรู ป ทรงสี่ เ หลี่ ย ม และวงกลมเท า นั้ น ใน ทองตลาด

1. พั ฒ นาระบบการ ประกอบเพื่อใหไดรปู ทรง ที่แตกตาง และเปนจุด ขายของผลิตภัณฑ

2. ไม มี ค วามแตกต า ง 2. สวยงามและงายตอการ ลักษณะคลายกันทัง้ ของ ใชงาน สามารถดัดแปลง นปท.และ ตปท. ตอเติมไดเองอิสระ วัตถุดิบ

1. มีทั้งโลหะ ทองเหลือง สแตนเลสและพลาสติก แ ต จํ า กั ด อ ยู ที่ ก า ร Finished ผิ ว ให เ ป น โครเมียมเพื่อใหดูเหมือน โลหะ

1. มี ก ารนํ า วั ต ถุ ดิ บ ประเภทพลาสติ ก มา ประยุกตใช โดยออกแบบ รู ป ทรงให เ ป น อิ ส ระ คลายกิ่งกานของตนไม

36 l September 2011

Energy#34_p34-36_Pro3.indd 36

8/24/11 9:37 PM


Energy#34_p37_Pro3.ai

1

8/23/11

10:24 PM


Energy Showcase Acer Slim LED S Series

เอเซอร คอลล เซ็นเตอร โทร 0-2685-4311

Acer Slim LED S0, S2 series ประหยัด พื้นที่กับความบางของหนาจอไมถึง 15 มม. หนาจอ widescreen 16:9 ความ ละเอี ย ดสู ง สุ ด ระดั บ Full HD 1080P ความเร็วตอบสนองสูงสุด 2 มิลลิวินาที ให เ ฉดสี ถึ ง 16.7 ล า นสี พร อ มด ว ย เทคโนโลยี white LED backlight ที่ ปราศจากสารปรอทชวยลดมลพิษเปนมิตร ตอสิง่ แวดลอมและประหยัดพลังงานสูงสุด ถึง 68% พรอมฉลากรองรับการประหยัด ไฟเบอร 5 เชอมตอความบันเทิงดวยชอง เชอมตอสัญญาณ VGA,DVI และ HDMI ในบางรุน

นิปปอนเพนต “แนกซ โอ-ดี เบส” “แนกซ โอ-ดี เบส” (Nax o-de base) ผลิตภัณฑสีพนซอมรถยนตสูตรน้ํานวัตกรรม ล้ําสมัย ดวยเทคโนโลยี e3 (e-cubed)ที่มี คุณสมบัติเดนงายตอการใชงานในการเทียบสี และผสมสีตรงความตองการไดอยางรวดเร็ว พรอมดวยเทคโนโลยีการพนเคลือบที่ ใหการ กลบตัวอยางมีประสิทธิผลที่เปนเอกลักษณ เฉพาะตัว ชวยใหรถยนตมีสีสันสดใส เงางาม อีกทั้งยังเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ดวยการลด ปริมาณการปลอยสาร VOCs หรือสารอินทรีย ไอระเหยสูบรรยากาศ สามารถตอบสนองการ ใชงานพนซอมรถยนตไดอยางลงตัว

ฝายขาย หนวยธุรกิจสีพนซอมรถยนต “นิปปอนเพนต” โทรศัพท 0-2463-0032, 0-2463-0116 ตอ 283

http://www.nipponpaint.co.th/

http://www.acer.co.th

เฮเฟเล อางอาบนําและอางลางหนาชุดสโตน เรซิ่น

อางอาบน้าํ และอางลางหนาชุดสโตน เรซิน่ เปน ชุด สุขภัณ ฑ ที่ มีเอกลัก ษณ ไม ซ้ํ า ใคร ดวยวัสดุการผลิตจากธรรมชาติ อยาง โพลีเอสเตอร อคริลิคและแรธรรมชาติ ที่ นํ า มาผ า นกระบวนการผลิ ต ขั้ น สู ง จน กลายเป น นขึ้ น รู ป ผ า นนวั ต กรรมใหม ที่ ผสมผสานกั น ได อ ย า งลงตั ว ทํ า ให ชุ ด สุขภัณฑดูบางไดรูป มีพื้นผิวเรียบเนียน และสวยกวาชุดสุขภัณฑที่ทําจากเซรามิก จุดเดนที่สําคัญ คือ ตัวผลิตภัณฑมีความ แข็งแรง ไมรั่วซึม ทนตอสารเคมี ที่สําคัญ วัสดุสามารถซอมแซมได และคงสภาพรูป ลัก ษณต ามเดิ ม แม จ ะไม ค อ ยได รั บ การ บํารุงดูแลรักษาก็ตาม

Air wash Mist Spray บมจ.ไอ.ซี.ซี.อินเตอรเนชั่นแนล ตัวแทน จําหนาย “Air wash” ผลิตภัณฑทําความ สะอาดอากาศ นําเขาจากประเทศญี่ปุน ขอ แนะนํา “Air wash Mist Spray” สเปรย หอมขจั ด กลิ่ น และละอองฝุ น ในอากาศ ทําความสะอาดไดทั้ง ภายในหองนอน , รถยนต , หองน้ํา ฯลฯ พรอมใหความหอม สดชน ขจัดกลิ่นไมพึงประสงค มี 4 กลิ่น ใหเลือก Floral rose, Aroma Chamomile, Mild Soap และ Mild Fruit Garden เปน มิตรตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม

บริษทั เฮเฟเล (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ไอ.ซี.ซี. อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)

“เอซุส” มาเธอรบอรด รุน F1A75

WD Scorpio Blue

http://www.hafele.co.th

Call Center โทร 0-2294-3974-5

เอซุส ผูนําดานการผลิตและพัฒนามาเธอ รบอรดชั้นนําระดับโลก เปดตัวมาเธอร บอรดใหมลาสุด F1A75 ที่มาพรอมการ เชอมตอ PCI Express แบบคู ตัวแรกของ โลก ผนึกพลังชิพเซ็ท AMD A75 และ FM1 Socket ชวยประหยัดพลังงาน โดดเดน ดวยเทคโนโลยีพิเศษ Dual Intelligent Processors 2 (DIP2) ลิขสิทธิ์เฉพาะของ เอซุ ส ที่ ม าควบคุ ม การจ า ยไฟได อ ย า ง แม น ยํ า เหมาะกั บ ผู ชื่ นชอบการโอเวอร คล็อกโดยเฉพาะ

ASUS Call Center โทร 02-401-1717

http://www.asus.co.th

WD Scorpio Blue เปนผลิตภัณฑฮารด ไดรฟ ที่ ได รั บ การออกแบบสํ า หรั บ คอมพิ วเตอร โนตบุ คและอุ ปกรณ พกพา อนๆ เพอใหสามารถจัดเก็บขอมูลขนาด ใหญไดอยางจุใจ ทนแรงสัน่ สะเทือนดีเยีย่ ม ใชพลังงานนอย สามารถยืดอายุการใช งานของแบตเตอรี่ ไดยาวนาน และมีความ เสถี ย รระหว า งการทํ า งาน นอกจากนี้ ฮารดไดรฟ WD Scorpio Blue ขนาด ความจุ 1TB ยังทํางานในอุณหภูมิต่ําและ ทํางานเงียบ

เวสเทิรน ดิจิตอล (WD)

http://www.westerndigital.co.th

38 l September 2011

Energy#34_p38-39_Pro3.indd 38

8/19/11 11:53 PM


Fortron Petrol e+Plus และ Fortron Diesel Total +Plus นวัตกรรม Eco Series

เตารีดไอนําระบบแรงดัน Philips GC6540

เตารีดไอน้ําระบบแรงดันรุนใหม Philips GC6540 ชวยลดเวลาในการรีดผาดวย พลั ง ไอน้ํ า ที่ ผ ลิ ต อย่ า งต่ อ เนื่ อ งมากถึ ง 110 กรัมตอนาที เพิ่มพลังไอน้ําพิเศษได ถึง 150 กรัมตอนาที และมีแรงดันไอน้ํา สูงถึง 4 บาร ชวยขจัดรอยยับที่รีดยากได อยางงายดาย และในขณะเดียวกัน ยังโดด เด น ด ว ยฟ ง ก ชั่ น การประหยั ด พลั ง งาน ฟงกชั่น ECO ที่สามารถประหยัดพลังงาน ถึง 20% และประหยัดการใชน้ําไดถึง 40%

Fortron Petrol e+Plus และ Fortron Diesel Total +Plus เทคโนโลยีแหงการทําความ สะอาดระบบเชื้อเพลิงทั้งระบบ 8 ขั้นตอน ตั้งแต ถังน้ํามัน ทอทางเดินนํามัน ทอรวมไอ ดี บาลิ้นหัวฉีด รางหัวฉีด เข็มหัวฉีด จนถึง หองเผาไหม เทคโนโลยีเฉพาะจาก Fortron Petrol e+Plus ชวยขจัดน้ํ า สนิมและสิ่ง สกปรกในระบบเชื้อเพลิงเบนซิน แกสโซฮอล และ Fortron Diesel Total +Plus ที่ชวยขจัด น้ํา และคราบไขมัน เชื้อราในระบบเชื้อเพลิง ไบโอดีเซล และ Fortron คือ ผลิตภัณฑหนึ่ง เดียวที่สามารถรองรับพลังงานแกสโซฮอล E10 ถึง E 85 และไบโอดีเซล B4 กับ B5

บริษัท ฟอรซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

ศูนยขอมูลผูบริโภคฟลิปส

ซิสโก “สวิตชลิงคซิส”

เหล็กเคลือบสี Zincalume Steel

โทร 0-2961-3717-8 ตอ 110

โทร 0-2652-8652

สวิ ต ช ลิ ง ค ซิ ส รุ น ใหม นี้ ป ระกอบด ว ย ฟเจอรตางๆ มากมายที่ชวยเพิ่มความ สะดวกรวดเร็วในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ โดยใชสายสัญญาณ รวมถึงการใชงาน แบบ Plug-and-Play โดยไมจาํ เปนตองตัง้ คาใดๆ นอกจากนี้ โหมดประหยัดพลังงาน ยั ง รองรั บ การลดระดั บ พลั ง งานโดย อัตโนมัติ โดยจะยกเลิกพอรตที่ ไมไดใชงาน และการเขาสูโหมดการนอน (Sleep) เมอ ทุ ก พอร ต ไม ไ ด ถู ก ใช ง าน และโหมด พลั ง งานอั จ ฉริ ย ะ (Smart Power) สําหรับการเชอมตอสายสัญญาณแบบสัน้

กลุมผลิตภัณฑซิสโกคอนซูมเมอร, ประจําภูมิภาคเอเชีย บริษัท พีซี แอนด แอสโซซิเอทส คอนซัลติ้ง จํากัด

บริษัท เลิศลอย เมทัลชีท จํากัด

ไมเรดิ ไพน

เครองปมนําอัตโนมัติ

โทร 0-2971-3711

โทร 0-28606936-7

http://www.lertloy.com

ไมเรดิไพน ไมจริง ปลวกไมกิน ไมผุ ไม จริ ง จากป า ปลู ก ผ า นการอบแห ง และ กระบวนการถนอมรักษาเนื้อไม ใหมีความ ทรทานตอการใชงานภายนอกอาคารที่ ตองเผชิญกับสภาวะแดแ ,ฝน อยางหนัก ด ว ยกรรมวิ ธี และเทคโนโลยี จ าก นิวซีแลนดตามมาตรฐาน ISO 9002 มี หลายเกรดเพื่ อ นํ า ไปใช้ ง านที่ เ หมาะสม ตั้งแตการนําไปใชงานทั่วไป ,ปกดิน,แชนํา หรือแช่อยู่ ในทะเล โดยไม่มีปัญหาเรื่อง ปลวก ผุ นานถึง 25 ป เหมาะสําหรับงาน ภายนอกอาคารทุกชนิด

หางหุนสวนจํากัด เรียว พลัส วัน เด็คคอรเรชั่น โทร 0-2923-3363, 0-2923-3369

http://www.realplusone.co.th

เหล็กเคลือบสี Zincalume Steel เปนเหล็ก เคลือบสีโลหะผสมระหวางอลูมิเนียม 55% สังกะสี 45% เหมาะสําหรับการใชงาน กอสราง (สวนหลังคาและผนัง) และผลิต ในอุตสาหกรรมทั่วไปที่ตองการคุณภาพ เหล็กที่ตองการการกัดกรอน มีสีติดสวย ทนนาน โดยผลิตตามมาตรฐาน AS2728 การเคลือบสีแบบพิเศษดวยเทคโนโลยีแบบ CLEAN ถู ก ออกแบบในการใช้ ง านเพื่ อ ปองกันคราบฝุนละอองที่สะสม ในแถบภูมิ อากาศรอนชื้น ทําใหผลิตภัณฑ มีอายุการ ใชงานที่ยาวนานและมีความงดงามคงทน

เครองปมน้ําแรงดันคงที่มอเตอร 300w. พลังแรง สะดวกเรองการใชงานและการ ดูแลรักษา ลดเสียงที่เกิดจากการทํางาน ของป ม ด ว ยโครงสร า งออกแบบพิ เ ศษ มอเตอรมีประสิทธิภาพสูง รับประกัน 5 ป ซีลปมมีอายุการใชงานนาน, เพิ่มพลังน้ํา ประปา ฝาครอบผลิตจากพลาสติกชนิด พิ เ ศษน้ํ า หนั ก เบา ยึ ด หยุ น สู ง ระยะดู ด สูงสุด 9 ม. ระยะสงสูงสุด 19 ม. อัตรา การไหลสูงสุด 37 ลิตร/นาที มีขนาด 340 x 340x 550 มม

บริษัท ฟูจิกา อิเลคทริค (ประเทศไทย) จํากัด

โทร 0-2749 5199

http://www.fujika-electric.com September 2011 l 39

Energy#34_p38-39_Pro3.indd 39

8/19/11 11:53 PM


Energy Keyman โดย : ลภศ ทัศประเทือง

นโยบายขายใจ-ใหฝน ...และคํามัน่ สัญญา

พิชัย นริพทะพันธุ

40 l September 2011

Energy#34_p40_Pro3.indd 40

8/25/11 10:04 PM


16 สิงหาคม 2554 ฤกษงาม..ยามดี ในการตอนรับ รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงานคนที่ 7 ของเมืองไทย คุณพิชยั นริพทะพันธุ จากนักธุรกิจสูเสนทางขาราชการเต็มยศ และบทบาทที่ตองเรียกวาหนัก อึ้งสําหรับกระทรวงพลังงานที่ตองเกี่ยวของทุกภาคสวน และมีความ สําคัญเปนอันดับตนๆ ของประเทศ กอนนําทานไปพูดคุยอยางเปนทางการ ขอเลาประวัติสักเล็กนอย ทานจบการศึกษาปริญญาตรีเศรษฐศาสตรบัณฑิต และปริญญาโทดาน บริหารธุรกิจคณะบัญชี จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และเคยดํารง ตํ า แหน ง รั ก ษาการรัฐมนตรีช วยวาการกระทรวงการคลั ง สมัยของ นายสมชาย วงศสวัสดิ์ เปนนายกรัฐมนตรีรวมทั้งเคยเปนกรรมการ ผูทรงคุณวุฒิของสํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) …. และจากนี้แนวโนม-ทิศทางการพลังงานไทยจะเปนอยางไร ไปพบกั บ บทสั ม ภาษณ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน กั น ได ณ บัดนี้ ครับ

ES : กาวแรกสูหนวยงานที่เรียกวาสําคัญและมี ความกดดันระดับชาติ มีความรูสึกอยางไรบางครับ? รมว. : โดยสวนตัวแลวรูสึกยินดีและเปนเกียรติอยางยิ่งที่ ไดเขา

มารับผิดชอบงานของกระทรวงพลังงาน เนองจากเปนงานทีม่ คี วามสําคัญ ในการขับเคลอนประเทศ ซึ่งก็พรอมจะใชความรูความสามารถอยางเต็มที่ เพอขับเคลอนนโยบายดานพลังงานของประเทศใหลุลวงและประสบผลสําเร็จไปไดดวยดี สวนงานบริหารจัดการพลังงานดานอนๆ ที่ตองการ การลงรายละเอียดในด้านทิศทางการขับเคลื่อนนั้นคงจะต้องมีการนํา นโยบายของรัฐบาลเขามาหารือขาราชการและเจาหนาทีก่ ระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวของในการกําหนดเปนแนวทางปฏิบัติตอไป ซึ่งถือวาเปนการเขามา รับทราบขอมูลการปฏิบัติงาน ตลอดจนขอรับทราบปญหาและอุปสรรค ของหนวยงานตางๆ

ES : ในเรองภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลเปน อยางไรบางครับ ? รมว. : รัฐบาลเตรียมพิจารณาจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามัน

ดีเซล 5.31 บาทตอลิตร หลังสิ้นสุดมาตรการวันที่ 30 กันยายนนี้ เพอให ประชาชนเกิดการประหยัดในการใชพลังงาน ขณะทีก่ รอบเดิมจะจัดเก็บภาษี สิน้ เดือนธันวาคม 2554 แตจากคาดการณตลาดหุน ในตางประเทศทีซ่ บเซา คาดวาจะทําใหราคาน้ํามันในตลาดโลกมีการปรับตัวลดลง โดยแนวทาง การจัดเก็บภาษีนั้น จะเปนขั้นบันได เพอไมใหกระทบประชาชน แตเปาหมาย สูงสุดคือทยอยจัดเก็บในอัตราเดิม ซึ่งคิดวาตองทยอยปรับขึ้นมากกวาคง ไมไดปรับทีเดียว 5.83 บาท/ลิตร

ES : แลวพลังงานตัวอนๆ แนวทางจะเปนอยางไร? รมว. : กรอบคิดขณะนี้จะทยอยลอยตัวราคากาซหุงตม (LPG)

กาซธรรมชาติสาํ หรับรถยนต (NGV) เนองจากเปนกลุม ที่ ไมมกี ารจายภาษี สรรพสามิ ต ให กับรั ฐ บาล อี กทั้ ง รั ฐ บาลต อ งใช เ งินจากกองทุนน้ํามัน เชื้อเพลิงไปอุดหนุนดวย ซึ่งภาษีน้ํามันก็คือการจายภาษีในการสรางถนน กาซ LPG NGV ภาคขนสงไมมีการจายภาษีสรรพสามิตดังกลาว และ รัฐบาลยังตองมีการอุดหนุนเรอยมา จึงตองการยกเลิกการอุดหนุนราคา กาซภาคขนสง ซึ่งเรองนี้คงจะตองหารือกันตอไป เพอทําใหประเทศเกิด ความสมดุล เพราะเมอเขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ในป 2558 ก็จะตองลอยตัวพลังงานทุกประเภท เพอปองกันไมใหประเทศเพอนบานไหล มาใชพลังงานของไทย ซึ่งมีราคาถูกกวาหลังจากเปดเสรีแลวนั่นเอง และ ชวงที่มีการลดการเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง อาจมีการออก พันธบัตรรัฐบาลเพอชดเชยราคากาซ LPG และ NGV กอน เมอสิ้นสุด มาตรการก็ทยอยเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงและใชหนี้ตอไป

ES : แนวทางลดเก็ บ เงิ น เข า กองทุ น น้ํ า มั น เชื้อเพลิง มีนักวิชาการออกมาบอกวามันจะไมจูงใจให คนหันไปใช ไปพลังงานทดแทน ทานมีความคิดเห็น อยางไร? รมว. : เรองนี้จริงๆ เปนเรองเรงดวนในภารกิจแรกที่เริ่มตนกับ

กระทรวงฯ การลดเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับน้ํามันเบนซิน September 2011 l 41

Energy#34_p41-42_Pro3.indd 41

8/26/11 10:03 PM


91 และ 95 และน้ํามันดีเซล เพอชวย บรรเทาคาครองชีพประชาชน โดย เฉพาะกลุม คนทีม่ รี ายไดนอ ยทีป่ จ จุบนั ใช ร ถจั ก รยานยนต 17 ล า นคั น รถยนตเกา และรถที่ ใชในการเกษตร แมวาหลังจากนั้นราคาน้ํามันเบนซิน 91 จะอยูที่ 35.24 บาท สูงกวาราคา แกสโซฮอล 91 อยูที่ 34.54 บาท หรือสูงกวาเพียง 0.70 บาท/ลิตร และราคาต่ํากวาราคาแกสโซฮออล 95 อยูที่ 37.04 บาท (ราคาปจจุบัน) ก็ จ ะดํ า เนิ น การเป น ระยะเวลาสั้ น ๆ 6-12 เดือนเทานัน้ อยางไรก็ดีในระยะ ยาวรั ฐ บาลมี แ ผนดํ า เนิ น การไว อยูแลว แตขอประกาศรายละเอียด อีกทีภายหลัง

ES : เรองบัตรเครดิตพลังงานมีแนวคิดอยางไร? รมว. : บัตรเครดิตพลังงาน ออกใหกับผูใชรถยนตสาธารณะ

ทั้งวินมอเตอรไซค รถตู รถกระปอ รถสามลอที่ควรไดรับราคาพลังงานที่ มีราคาถูกซึ่งบัตรเครดิตดังกลาวจะใชไปซื้อน้ํามันไดอยางเดียวในระยะแรก ซึ่งจะพยายามใหมีขึ้นภายใน 1 ป เพอชวยเหลือผูมีรายไดนอย และในระยะ ยาวจะเปนบัตรสวนลด สะสมแตมไดในอนาคตเอาไวใชในชวงหลังเกษียณ

ES : ทั้งเรองของ “กองทุนความมั่งคั่ง” ที่สอ ก็จับตามองวาทิศทางจะเปนอยางไร? รมว. : การเสนอใหนําเงินในกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบางสวนไป

จัดตั้งกองทุนมั่งคั่งและเลือกลงทุนสินทรัพยอน ไดแก ทองคํา น้ํามัน เพื่อสร้างผลตอบแทนที่ดีนั้น เป็นเพียงกรอบความคิด ซึ่งก่อนหน้านี้ ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล ประธานคณะกรรมการ ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) และ นายประสาร ไตรรัตนวรกุล ผูวาธปท.ไดสนับสนุนแนวคิดนี้ กอนเลือกตั้ง ดวยเห็นวาจีนไดนําเงินกองทุนสํารองฯ ไปลงทุนสินทรัพย อื่นและได้ผลตอบแทนที่ดี ขณะที่การลงทุนในน้ํามันเพื่อให้ ไทยมีแหล่ง พลังงานที่สรางความมั่นคงใหกับประเทศดวย ก็เปนเรองที่อยากใหชั่ง น้ําหนักวาเราจะถือดอลลารที่นับวันราคาจะตกลงเรอยๆ หรือนําไปลงทุน ใหมันงอกเงยหรือสรางความมั่นคงดานพลังงานใหประเทศเราตอไป

ES : แลวในเรอง “นิวเคลียร” ละครับ..กับ รัฐบาลชุดนี้จะมีความคืบหนาอยางไร? รมว. : ตัวนี้จะอยูในแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (พีดีพี) ใหม ซึ่งตองมีการทบทวนดู เพราะขณะนี้มีพลังงานหลายประเภทที่ ไมสามารถ ดําเนินการใหเปนไปไดตามที่วางไว เชน การสรางโรงไฟฟานิวเคลียรที่ยัง บรรจุในแผน และการสรางโรงไฟฟาถานหินก็ยังถูกตอตานจากประชาชน ในชุ ม ชน ขณะที่ ตั ว เลขการขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ สู ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ตอนนี้ประชาชนไมเอาอะไรเลย โรงไฟฟาถานหินก็ ไมเอา นิวเคลียรก็ ไมเอา ประเทศก็เดินตอไมได ขณะที่กาซธรรมชาติก็จะหมดไป ฉะนั้นถึงจุดที่ตอง เลือกกันแลวละวาจะเอาพลังงานชนิดไหน

ES : แนวโนม-ทิศทางพลังงานในอนาคตจะเปน อยางไร? รมว. : รัฐบาลชุดนี้มีจุดยืนในแนวคิดที่แนวแนวา อยากจะใหคน

ประหยัดการใชพลังงาน ตั้งเปาภายในป 2558 จะเปนปที่ขีดเสนตายวา ราคาพลังงานทุกประเภทจะลอยตัว เนองจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ACE) จะมีผลบังคับใช หากจะมีการอุดหนุนกันอยู ประเทศอนก็จะเขามา ซือ้ ขายพลังงานในประเทศไทย จึงจําเปนตองทําใหราคาเทาเทียมกับประเทศ อนๆ ในอาเซียน แตอยางไรก็ตาม ตองมีการพิจารณาวาประชาชนของ ประเทศมีรายไดเพียงพอที่จะรับภาระการลอยตัวดังกลาวหรือไม ถาดําเนิน การแลวมีปญหาก็อาจจะมีการทบทวนได และแนนอนที่สุด รัฐบาลจะผลัก ดันโครงการสะพานเศรษฐกิจเชอมชายฝง อันดามัน-อาวไทย (แลนดบริดจ) เพอรองรับการลงทุนของตางประเทศในอนาคต …. เมอสัมภาษณเสร็จ ผมก็นึกคําพูดขึ้นไดวา “นโยบายขายใจ ใหฝน และคํามั่นสัญญา” นาจะเหมาะในการจํากัดความกรอบคิดของทาน ไดดี ในการใหใจชวยเหลือประชาชนในทุกรูปแบบ ตอจากนี้ติดตามคํามั่น.. จากทานรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานคนที่ 7 ของประเทศไทย.. หวังยิ่งวาจะไมใชแคฝนไป...

นโยบายขายใจ….

• ยกเวนการเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง ชวยเหลือ ประชาชนรายไดนอย • บัตรเครดิตพลังงาน ชวยเหลืออาชีพผูขับขี่สาธารณะให มีรายจายนอยลง • สานตอ ใชไฟฟรี 90 หนวย แตอาจจะลดหนวยลงเพอให เกิดการประหยัดขึ้น • ผลักดันโครงการ “แลนดบริดจ” เพอรองรับการลงทุน ของตางประเทศ • คืนภาษีใหกับผูที่ตองการมีรถคันแรกในอัตรา 1 แสนบาท • ฯลฯ

42 l September 2011

Energy#34_p41-42_Pro3.indd 42

8/25/11 10:05 PM


Energy Keyman

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

MCOT Let’s GREEN สุระ เกนทะนะศิล

พรอมพา อสมท ไปสูอ าคารอนุรกั ษพลังงาน อยางยัง่ ยืน September 2011 l 43

Energy#34_p43-45_Pro3.indd 43

8/27/11 1:43 PM


สําหรับการเดินหนากิจกรรมอนุรกั ษพลังงานตางๆ นัน้ จะสําเร็จไมได หากไมไดรบั ความรวมมือจากทุกภาคสวนในองคกร ทีร่ ว มแรงรวมใจ ขับเคลอน นโยบายประหยัดพลังงานใหสาํ เร็จ ภายใตแนวคิด MCOT Let’s Green

กิจกรรมที่ทุกคนในองคกรมีสวนรวม

จากการที่ บริษัท อสมท จํากัด (มหาชน) ไดรับการคัดเลือกจาก สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ใหอาคารที่ทําการของ บมจ.อสมท เปน 1 ใน 17 อาคารที่เขารวมแขงขันปรับปรุงประสิทธิภาพ การใชพลังงานในอาคาร ตามโครงการสรางขุมกําลังบุคลากรดานการ อนุรกั ษพลังงาน Building Energy Awards of Thailand : BEAT 2010 โดยมีระยะเวลาการปฏิบัติการในโครงการ 1 ป ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2553-สิงหาคม 2554 เพอสนับสนุนนโยบายประหยัดพลังงาน ผาน โครงการ MCOT Let’s Green โอกาสนี้ คุณสุระ เกนทะนะศิล รองกรรมการผูอ าํ นวยการใหญ บริษทั อสมท จํากัด (มหาชน) ไดบอกเลาถึงความตัง้ ใจจริงในการรวมเปน สวนหนึง่ ในการอนุรกั ษพลังงานของ บมจ. อสมท ในโครงการ BEAT 2010 ซึง่ ดวยบทบาทของสอสารมวลชน บมจ.อสมท พรอมทีจ่ ะเปนสวนหนึง่ ในการ ใชพลังของสอสรางสรรคสงั คม ดวยการกระตุน เตือนใหประชาชนและสังคม วงกวางตระหนักถึงการใชพลังงานอยางรูคุณคา โดยใชสอขับเคลอนและ สนับสนุนการดําเนินงาน เมอมีโครงการนีเ้ กิดขึน้ บมจ. อสมท จึงไมรรี อ และ พรอมทีจ่ ะรวมผลักดันโครงการ BEAT 2010 อยางเต็มตัว

บมจ. อสมท ไดมีการดําเนินงานเพอลดการใชพลังงานในอาคาร อยางตอเนอง ผานกิจกรรมและมาตรการตางๆ ที่พนักงานทุกคนสามารถ เขามามีสวนรวมได อาทิ การจัดตั้งคณะกรรมการอนุรักษพลังงาน เพอ ชวยกันสอดสองดูแลการใชพลังงาน รวมทัง้ รณรงคการใชพลังงานอยาง รูคุณคา, การรณรงคใหพนักงานในองคกรมีสวนรวมลดใชพลังงาน โดย เผยแพรกิจกรรมการประหยัดพลังงานตางๆ ของพนักงานผานสอตางๆ ในองค ก ร, การประชาสั ม พั น ธ กิ จ กรรมของพนั ก งานที่ มี ส ว นช ว ย ลดการใชพลังงาน รวมทั้งใชพลังงานอยางคุมคาผานสอภายใน โดย ตองการสอใหเห็นวา เรองการประหยัดพลังงานเปนเรองงายๆ เปนเรอง ใกลตัวที่ ใครๆ ก็เริ่มทําได นอกจากนี้ยังมีการจัดกิจกรรมการแขงขัน เพอรณรงคการใช กระดาษใหคุมคา โดยกระดาษหนา 3 ที่ ไดจะรวบรวมไปทําเกาอี้เปเปอรมาเช และมอบให้ มู ล นิ ธิ ค นตาบอด เพื่ อ ทํ า หนั ง สื อ อั ก ษรเบลล์ ฯลฯ โดย กิจกรรมตางๆ ที่จัดขึ้นอยางตอเนองนั้น สรางความตนตัวในดานอนุรักษ พลังงานใหกบั พนักงานในองคกร รวมทัง้ ไดรบั การตอบรับเปนอยางดีจาก พนักงานทุกคน

แนวทางการดําเนินงานดานการอนุรักษพลังงาน

ในการรวมแขงขันโครงการ BEAT 2010 บมจ. อสมท เลือก บริษัท อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ทีป่ รึกษาดานการบริหารจัดการ พลังงานอันดับตนๆ ของประเทศ เขามาเปนผูรวมวางมาตรการและให คําแนะนําในดานการบริหารจัดการพลังงานใหเปนระบบและไดประสิทธิภาพ สูงสุด เพอใหลดการใชพลังงานอยางยั่งยืนกับองคกร และสามารถวัดผล การประหยัดพลังงานอยางเปนรูปธรรม ซึ่ง บมจ. อสมท ไดกําหนด มาตรการเพื่อการอนุรักษ์พลังงานสําหรับการร่วมแข่งขัน จํานวน 5 มาตรการ ไมวาจะเปนการเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต และหลอดฮาโลเจน 44 l September 2011

Energy#34_p43-45_Pro3.indd 44

8/27/11 1:43 PM


ประหยัดไดตอป

มาตรการ

เปนหลอด LED, การจัดกลุมแสงสวางอาคารที่ทําการ ชั้น 3-4, การติดตั้ง ระบบปรับความเร็วรอบปมน้ําเย็น, การติดตั้งระบบ Chiller Plant Manager และการติดตัง้ อุปกรณควบคุมชุดจายลมเย็นระบบปรับอากาศจากสวนกลาง (Fan Coil Unit) นอกจากมาตรการดานลดใชพลังงานแลว บมจ. อสมท ยังใหความรู พรอมๆ กับการปลูกฝงคานิยมดานการใชพลังงานอยางรูคุณคาใหกับ บุคลากรในองคกรอยางตอเนอง อาทิ การอบรมสัมมนาเพอสรางจิตสํานึก ด า นการประหยั ด พลั ง งาน ตลอดจนการประหยั ด พลั ง งานแบบ มีสวนรวม , นําคณะกรรมการอนุรักษพลังงานพรอมดวยบุคลากรศึกษา ดูงานนอกสถานที่ เพอใหเห็นถึงความสําเร็จของอาคารตางๆ ในการวาง มาตรการดานประหยัดพลังงาน และกิจกรรมเขาคายอนุรักษพลังงาน โดยหวังวาองคความรูเหลานี้จะเปนประโยชนตอบุคลากร เพอรวมกันผลัก ดันใหเกิดมาตรการอนุรักษพลังงานขึ้นในองคกรอยางยั่งยืน

การประหยัดพลังงานไม ใชเรองที่ ไกลตัวเมอเรารวมใจ

หากจะพูดถึงประโยชนทางตรงที่ บมจ. อสมท ไดรับจากการเปน แนวรวมของโครงการ BEAT 2010 นั้นคือ บุคลากรในองคกร ตระหนัก ถึงความสําคัญของการใชพลังงานอยางรูคุณคา พรอมทั้งไดเรียนรูถึง วิธีการประหยัดพลังงานแบบงายๆ ที่ทุกคนสามารถเริ่มตนไดดวยตนเอง และทําใหเห็นวาเรองของการประหยัดพลังงานไมใชเรองที่ ไกลตัวอีกตอไป นอกจากนี้ ยังกอใหเกิดมาตรการประหยัดพลังงานที่ดําเนินการได อยางมีประสิทธิภาพ และเกิดผลประโยชนกับองคกรอยางยั่งยืน ตลอดจน สรางใหเกิดกระแสการอนุรักษพลังงานในอาคารอนๆ ตอไปในอนาคต ทั้งนี้ บมจ. อสมท ในฐานะองคกรสอชั้นนําระดับประเทศ มีศักยภาพ ในการใชสอตางๆ ที่มีอยู เผยแพรประชาสัมพันธกิจกรรมการอนุรักษ

(kWh)

(TonCO2)

บาท

เปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต และหลอดฮาโลเจน เปนหลอด LED การจัดกลุมแสงสวางอาคาร ที่ทําการ ชั้น 3-4 การติดตั้งระบบปรับความเร็ว รอบปมน้ําเย็น การติดตั้งระบบ Chiller Plant Manager ควบคุมการทํางาน (ของระบบปรับอากาศ) การติดตั้งระบบควบคุม FCU จากสวนกลาง

69,494.15

35.37

248,094.12

36,042.73

18.35

128,672.55

31,358.57

15.96

111,950.09

27,278.68

13.88

97,384.89

9,277.53

4.72

33,120.78

รวม

173,451.66

88.29

619,222.43

มาตรการดานพลังงานและผลประหยัดของ บริษทั อสมท จํากัด (มหาชน) ในโครงการ BEAT 2010

พลั ง งานอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ดั ง จะเห็ น ได้ จ ากสื่ อ โทรทั ศ น์ วิ ท ยุ ที่ มี ก าร ประชาสัมพันธและรณรงคการประหยัดพลังงาน ภายใตแนวคิด MCOT Let’s Green

บมจ. อสมท พรอมปลุกจิตสํานึกคนไทยใส ใจพลังงาน

การประหยัดพลังงานเปนเรองสําคัญ ทีท่ กุ คนสามารถรวมมือกันได โดยอาจเริ่มตนที่ตนเองกอน บมจ. อสมท ในฐานะองคกรสอชั้นนําระดับ แนวหนาของประเทศ มีความพรอมที่จะสนับสนุนโครงการ BEAT 2010 ด้วยการใช้พลังของสื่อในการปลุกจิตสํานึกของคนให้หันมาสนใจเรื่อง การใชพลังงานอยางรูคุณคามากขึ้น ภายใตแนวคิด MCOT Let’s GREEN และพรอมผลักดันองคกรสูเปาหมายอาคารอนุรักษพลังงานอยางยั่งยืน

แผนดําเนินการในอนาคต

นอกเหนื อ จากมาตรการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานที่ ก ล า วมาแล ว ทาง บมจ. อสมท. ยังมีแผนงานโดยผูรับผิดชอบดานพลังงานอยาง คุณธนบดี วิเศษกุล ไดดําเนินการศึกษาวิธีปรับปรุงประสิทธิภาพของเคร องจักร เครองมือทีม่ ีใชอยูในอาคารใหมปี ระสิทธิภาพและประหยัดพลังงานอยางสูงสุด ไมวาจะเปนระบบแสงสวางที่จะมีแผนเพิ่มการใชงานหลอด LED แทนหลอด ฮาโลเจนที่มีทั้งหมด มาตรการในระบบปรับอากาศก็จะพิจารณานําเครอง ปรับอากาศประสิทธิภาพสูงมาใชทั้งระบบแยกสวน และระบบทําน้ําเย็น (Chiller) รวมไปถึงการนําระบบอัตโนมัติมาตรวจติดตามการใชพลังงาน และบริหารจัดการพลังงาน ซึ่งจะทําใหทางเราบริหารจัดการอาคาร ไดอยางเหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูงสุด September 2011 l 45

Energy#34_p43-45_Pro3.indd 45

8/27/11 1:43 PM


Take a Break

สัญญาณอันตราย!! สัตวตายปริศนา..หลายประเทศ กลายเป น ประเด็ น วิ พ ากษ วิจารณกันไปทั่วโลก สําหรับความ เปลี่ ย นแปลงของโลกที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชวง 2-3 ปที่ผานมา เมอหลาย พื้ น ที่ บ นโลกได เ ผชิ ญ กั บ ภั ย พิ บั ติ ครั้ ง ยิ่ ง ใหญ อ ย า งที่ ไ มเ คยเกิ ด ขึ้ น มากอน เผชิญกับความแปรปรวน ของสภาพอากาศทีเ่ อาแนเอานอนไมได อี ก ทั้ ง ยั ง มี เ ห ตุ ก า ร ณ แ ป ล ก ประหลาดเกิดขึ้นอีกมากมาย จึงไม แปลกทีจ่ ะเกิดคําถามทีว่ า สิง่ เหลานีค้ ลายกับจะเปนสัญญาณทีแ่ สดงใหเห็น วาโลกกําลังมาถึงจุดเปลี่ยนอยางเลี่ยงไมไดจริงๆ หรือเปลา และลาสุด เหตุการณแปลกประหลาดซึ่งไดกลายเปนปริศนาของคนทั่วโลกไปอีกหนึ่ง ประเด็น ในขณะนี้ ก็คือ เหตุการณสัตวในหลายพื้นที่ตายอยางหาสาเหตุ ไมได เริ่มจากที่มลรัฐอารคันซอส สหรัฐฯ มีนกแบล็กเบิรดกวา 5,000 ตัวตกลงมาตายเกลอนถนน ในชวงปใหมที่ผานมา ขณะที่ปลาดรัมฟชกวา 100,000 ตัว ก็ตายเกลอน บริเวณริมฝงแมน้ํา ในชวงเวลาเดียวกัน สรางความฉงนสงสัยใหกับ ชาวเมืองเปนอยางมาก เพราะมีเพียงนกแบล็กเบิรดกับปลาดรัมฟชเทานั้น ที่ตาย สวนปลาและนกชนิดอนไมไดมีรายงานแตอยางใด ขณะที่ ในเคนตั๊กกี้ ก็มีนกตายใหเห็นประปราย โดยไดรับการเปดเผยจาก หญิงสาวคนหนึ่งวา มีนกตกลงมาตายบริเวณบานของเธอ 10 กวาตัวเลยทีเดียว และที่ หลุยเซียนา นกแบล็กเบิรดปกแดง นกสตารลิ่ง และนกกระจอก รวมแลว

กวา 5,000 ตัว ก็ตกลงมาตายเกลอนในชวงปใหม และนอกจากนี้รัฐอนๆ ในสหรั ฐ ฯ ก็ มี น กและปลาตายเช น กั น ได แ ก อิ ล ลิ น อยส เทนเนสซี มิสซิสสิปป แมรรี่แลนด และมิสซูรี สวนในประเทศอนๆ ในแถบยุโรปก็ ไมตา งกัน โดยในประเทศอิตาลีไดมี นกพิราบตกมาตายหลายพันตัว และทางตอนใตของสวีเดนที่กําลังเผชิญ กับอากาศหนาวเย็น ก็มีนกตกลงมาตายบนกองหิมะอีกหลายรอยตัว ขณะ ที่ในประเทศบราซิล กอนชวงเทศกาลปใหมก็มีปลาซารดีน ปลาโครกเกอร และปลาดุก รวมกวา 100 ตันตายอยูในทะเลอยางไมทราบสาเหตุ โดยมีการ สันนิษฐานวาอาจเปนเพราะมลพิษทางสิ่งแวดลอมในทะเลก็เปนได สวนที่ นิวซีแลนด ปลากะพงหลายรอยตัวลอยแพกันมาตายเกยตื้นอยูบริเวณ ชายหาดเพนนินซูลา สรางความตกอกตกใจใหกบั บรรดานักทองเทีย่ วไมนอ ย นอกจากนี้ ยังมีอีกหลาย พืน้ ทีท่ ีม่ สี ตั วตายเกลอนมาตัง้ แต ชวงกอนเทศกาลปใหม เชน ใน เวียดนาม ไดมีปลาหลายพันตัว ลอยแพขึ้นเหนือน้ํา สรางความ ประหลาดใจใหกับชาวบาน และ พวกเขาไมสามารถจับปลาสดไป ขายไดอีก และกอนหนานั้น เมอ ประมาณเดือนสิงหาคมปทีแ่ ลว ก็ มีจระเข เตา ปลาโลมา และสัตว น้ําอีกหลายชนิดลอยตายเกลอน ในทะเลสาบและแมน้ําในประเทศ โบลิเวีย อยางไรก็ตาม การตาย ของสัตวตางๆ ยังอยูระหวางการชันสูตรเพอคนหาสาเหตุการตายที่แท จริง ซึ่งก็ยังไมมีคําตอบเกี่ยวกับเรองนี้ออกมาเลยแมแตนอย แตในชวงนี้ ก็มีขอสันนิษฐานเกี่ยวกับสาเหตุการตายของสัตวเหลานี้มากมาย บางก็วา เปนเพราะนกตกใจเสียงพลุและแสงสีชวงปใหม บางก็วาเกิดจากมลพิษใน อากาศและน้ํา แตก็ยังมีอีกหลายคนที่ตั้งคําถามขึ้นมาอีกวา ถาหากเปน เพราะเสียงพลุและแสงสีจากเทศกาลปใหมจริง เหตุใดจึงเพิง่ เกิดเหตุการณ นกตกลงมาตายเกลอนในปนี้ เมอเทศกาลปใหมก็จัดในรูปแบบเดียวกันกับ ทุกป และถาหากเกิดจากมลพิษในอากาศและน้ํา เหตุใดในอีกหลายพื้นที่ที่มี มลพิษมากกวาจึงไมเผชิญกับปญหาเดียวกัน

46 l September 2011

Energy#34_p46-48_Pro3.indd 46

8/26/11 9:58 PM


สิ่งที่เปนไปไดมากที่สุด ในตอนนี้ ที่เปนขอสันนิษฐานที่ ยั ง ไม มี คํ า ถามใดๆ ตามมา นั่นก็คือ เหตุการณที่เกิดขึ้นนี้ เปนผลจากการเปลี่ยนแปลง ของสนามแมเหล็กโลก ที่กําลัง กลับขั้วสลับตําแหนงกัน ซึ่ง การกลับขั้วของสนามแมเหล็ก โลกนัน้ จะสงผลใหความเขมขน ของแม เ หล็ ก โลกอ อ นแอลง จนทําใหเกิดปญหาตางๆ ดังนี้ 1. ภัยพิบัติบนผิวโลก เชน ภูเขาไฟระเบิด แผนดินไหว แผนดินถลม สึนามิ อันเนองมาจากการเคลอนที่ของเปลือกโลก และเกิดภัยธรรมชาติ อีกมากมาย เนองจากการกลับขั้วของแมเหล็กโลกจะทําใหทุกสิ่งบนโลก เปลี่ยนทิศทาง เชน กระแสน้ํา กระแสลม 2. เมอสนามแมเหล็กโลกออนแอลง การแผรังสีคลนแมเหล็กไฟฟาจากดวงอาทิตยก็เพิ่มปริมาณมากขึ้นถึงระดับอันตราย สงผลใหโลก มีอุณหภูมิสูงขึ้นจนสิ่งมีชีวิตบางประเภทปรับตัวไมทันและเกิดพายุสุริยะ 3. ระบบอิเล็กทรอนิกสทุกอยางบนโลกจะทํางานผิดปกติ 4. ระบบภูมคิ ุม กันในรางกายสัตวออ นแอลงอยางรวดเร็ว รวม ถึงมนุษยดวย ทําใหสัตวหลายชนิดออนแอและลมตายดังที่กําลังเกิดขึ้นใน ขณะนี้ 5. เมื่ อ สนามแม่ เ หล็ ก โลกอ่ อ นแอลง แรงดึงดูดของโลกจะ เปลีย่ นแปลงไป วัตถุตา งๆ ในหวงอวกาศจะเคลอนทีเ่ ขามาสูผ วิ โลกไดงา ยขึน้ ทั้งนี้ แมจะไมมีการยืนยันแนชัดวา การตายปริศนาของสัตวตางๆ จะเกิ ด ขึ้ น จากการที่ ส นามแม เ หล็ ก โลกกลั บ ขั้ ว แต ห ากพิ จ ารณาจาก เหตุการณที่เกิดขึ้นตลอดระยะเวลา 2-3 ปที่ผานมา ก็จะพบวามีภัยพิบัติ ครั้งใหญเกิดขึ้น สรางความเสียหายใหกับมนุษยอยางมากมาย อีกทั้งโลก ก็ยังมีอุณหภูมิสูงขึ้นทุกวันและเกิดพายุสุริยะในบางพื้นที่

ดังนั้น ก็อาจเปนไปไดวาการตายของสัตวที่เกิดขึ้นนี้ อาจเปน สั ญ ญาณอั น ตรายที่ แ สดงให เ ห็ น ว า โลกใบนี้ กํ า ลั ง เผชิ ญ กั บ ความ เปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ และกําลัง “เริ่มตน” นับถอยหลังสูจุดหายนะที่ เรียกวายุคโลกาวินาศอีกครั้งตามวัฏจักรของโลก หลังจากที่มันเคยเกิดขึ้น และทําใหสัตวจําพวกไดโนเสารสาบสูญไปมาแลวเมอหลายลานปกอน เรียบเรียงขอมูลโดยกระปุกดอทคอม ขอขอบคุณภาพประกอบจาก iwhale, travelstar1.com,space. net, firsthandweather.com, blippitt.com,fmft.net, uncoverage.net, wkdp.com, cellar.org, 4.bp.blogspot.com, newsfall.com

สวนผลกระทบอนๆ ก็มีออกมาใหเห็นดังนี้...

แมน้ําในแคนาดา สองประกายสีเขียว

ประชาชนผูรักธรรมชาติ ณ อุทยานโกลดสตรีม โพรวินเชียล ในเมืองวิคตอเรีย รัฐบริติชโคลัมเบียของแคนาดา ถึงกับงงงวยกับสิ่งที่ พบเห็น เมอแมน้ําโกลดสตรีม กลายเปนสีเขียวสองแสงประกาย สายน้าํ สีเขียวเรืองรองเริม่ ปรากฎใหเห็นราว 500 เมตรจากทางเขา อุทยานฝงเมืองวิคตอเรีย และใชเวลาราว 1 ชั่วโมง กอนที่มันจะคอยๆ ไหล ลงสูบริเวณปากแมน้ํา ทั้งนี้ ณ เวลาประมาณ 17.30 น. แมน้ําสายนี้ซึ่ง September 2011 l 47

Energy#34_p46-48_Pro3.indd 47

8/25/11 10:00 PM


เป น แหล ง พึ่ ง พิ ง ของปลา แซลมอน นกอินทรีและสัตวปา อนๆ ก็กลับสูภาวะปกติ กระทรวงสิ่ ง แวดล อ ม แคนาดา ไดสงทีมผูเชี่ยวชาญ ลงพื้ น ที่ เ พื่ อ ทํ า การตรวจสอบทั น ที แ ละได้ มี ก ารเก็ บ ตั ว อย่ า งน้ํ า นํ า มา วิเคราะหเพอหาสาเหตุของปรากฏการณอันแปลกประหลาดนี้ตอไปดวย เหตุที่ ไมพบปลาและสัตวใดๆ ตายสืบเนองจากปรากฏการณนี้ ทางกระทรวง สิ่งแวดลอมจึงสันนิษฐานวาน้ําสองแสงเรืองรองอาจเกิดจากฝมือมนุษย พวกเขาบอกวาพบสิง่ บงชีว้ า การเปลีย่ นสีของน้าํ อาจมีสาเหตุมาจาก การสะสมของสารสีเขียว ที่ ใชสําหรับตรวจหารองรอยสิ่งปนเปอนในระบบ ระบายน้าํ ทัง้ นีห้ ากเปนจริงตามความคาดการณของกระทรวงสิง่ แวดลอม ความวิตกตอปญหามลพิษก็นาจะผอนคลายลงไป เนองจากสารดังกลาว ไมมีสารพิษเจือปนอยู ขอมูล : ASTVผูจัดการออนไลน

หิมะหนาปกคลุมอังกฤษทามกลางอุณหภูมิสุดโหด

เผยอังกฤษตองผจญฤดูหนาวที่หนาวเหน็บที่สุดนับตั้งแตป 1638

แถมยังมีคําพยากรณวาชวงตนปหนาอุณหภูมิอาจดําดิ่งเย็นสุดขั้วที่สุดใน รอบกวา 1,000 ปเลยทีเดียว จากขอมูลลาสุดพบวาอุณหภูมิเฉลี่ยของ อังกฤษนับตั้งแตวันที่ 1 ธันวาคม อยูที่ลบ 1 องศาเซลเซียส ซึ่งถือวา หนาวเย็นที่สุดตลอดกาลเปนอันดับ 2 นับตั้งแตมีการจดบันทึกเมอป 1659 ทั้ ง นี้ ฤ ดู ห นาวที่ เ ย็ น ยะเยื อ กที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร ข องอั ง กฤษคื อ ใน ป 1683/84 ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ เฉลี่ ย อยู ที่ ล บ 1.17 องศา เซลเซียส จนทําใหแมน้ําเทมส จับตัวเปนน้ําแข็งยาวนานกวา 2 เดือน อยางไรก็ตามในเดือน มกราคมและกุ ม ภาพั น ธ ที่ จ ะ ถึ ง นี้ คาดหมายกั น ว า ชาว อั ง กฤษอาจต อ งผจญกั บ สภาพอากาศอันหนาวจัดที่สุด ในรอบ 1,000 ปก็เปนได ดวย เจ า หน า ที่ ศู น ย อุ ตุ นิ ย มวิ ท ยา บอกวา “มันเปนสภาพอากาศ หนาวอันยืดเยื้อยาวนานที่ ไม พ บ เ จ อ กั น บ อ ย นั ก ด ว ย อุณหภูมิก็ยังลดต่ําลงเรอยๆ” เจาหนาที่รายนี้บอกตอ อีกวา “พยากรณวาอุณหภูมิ นาจะลดลงไปอีก โดยกลางคืน สภาพอากาศจะหนาวเหน็ บ ส ว นกลางวั น อุ ณ หภู มิ เ ฉลี่ ย อยู ที่ 3 ถึ ง 5 องศาเซลเซี ย ส ขณะเดียวกันเราคาดหมายวาตอไปอุณหภูมิจะดําดิ่งต่ํากวาคาเฉลี่ยถึงลบ 2 หรือ 3 องศาเซลเซียส” แมวา มีการจดบันทึกสภาพอากาศอยางเปนทางการยอนไปเพียงถึง ป 1695 แตผูเชี่ยวชาญดานสภาพอากาศบอกวายุคทศวรรษระหวางป 1100 ถึง 1550 เปนชวงอากาศอุน ดังนั้นจึงไมนามีหิมะตกหรือมีสภาพ อากาศที่หนาวเหน็บอยางเชนวันนี้ ดังนั้นป 2011 นาจะเปนฤดูหนาวที่เย็น สุดขั้วที่สุดในรอบ 1,000 ป ขอมูล : เดลีสตาร

48 l September 2011

Energy#34_p46-48_Pro3.indd 48

8/25/11 10:00 PM


ES#29_Ad Mitsu_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

3/23/11

2:17 AM


Energy Design

โดย : ศิริทิพย หาญทวีวงศา, LEED AP BD+C

แนวคิดในการออกแบบบาน กรีน...แบบผสมผสาน

ทุกวันนี้การออกแบบอาคารเขียวไมไดเปนเพียงกระแสอีกตอไปแลว หากแตเปนปจจัยที่เพิ่มขึ้นสําหรับสถาปนิกและเจาของโครงการมากไปกวา ปจจัยเรองความสวยงาม การใชงานที่ลงตัว และราคาคากอสราง ซึ่งใน อนาคตอันใกลการทําอาคารเขียวจะกลายเปนเรองตองทํามากกวาควรทํา เพราะในปจจุบันทั้งสภาพแวดลอม เทคโนโลยีทําใหการเขาถึงขอมูลเรอง การออกแบบและกอสรางเปนไปไดโดยงาย ผูบริโภคสนใจสินคาที่มีการ แสดงออกดานสิ่งแวดลอมและพลังงาน อาคารก็เชนกัน อยางไรก็ตาม การออกแบบอาคารเขียวก็มีหลากหลายแนวทาง ซึ่ง ลวนขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของอาคารและความตองการของเจาของ โครงการ เชน โรงงานหนึ่งนําการใชพลังงานทดแทนมาใชเพอลดการใช

ไฟฟาของโรงงาน เพอการประหยัดพลังงานในการผลิตสินคาเปนการลด ตนทุน หรือบานที่ถูกออกแบบมาเพอใหประหยัดพลังงานจากการใชเครอง ปรับอากาศไดดี ก็เปนปจจัยหนึ่งของอาคารเขียว อาคารเขียวที่จริงนั้นมี ความหมายมากไปกวาแคเรองการประหยัดพลังงาน แตรวมไปถึงความ อยูสบายของผูอยูอาศัยหรือผูใชอาคาร ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมหรือ เพอนบาน อาคารขางเคียง และอาจขยายไปถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้นวันนี้จึงอยากนําเสนอตัวอยางของบานที่แสดงแนวคิดในการ ออกแบบอาคารเขียวที่เปนแนวผสมผสานเราจะใชบานตัวอยางที่เปนแบบ บานมาตรฐานมาอธิบายแนวคิดคะ หัวขอหลักๆสําหรับบานแนวคิดสีเขียว หลังนี้เปนดังนี้คะ

50 l September 2011

Energy#34_p50-51_Pro3.indd 50

8/25/11 10:17 PM


3. Site-Specific | sun-wind-rain-light

การออกแบบที่ตอบรับกับลักษณะและบริบทของพื้นที่ การวาง ทิศทางของตัวอาคารที่เหมาะสมกับทิศทางแดด ลม ของแตละที่ตั้ง ซึ่งใน ปจจุบันมีโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ชวยในการออกแบบในขั้นตนไดอยางมี ประสิทธิภาพ ทําใหเกิดขอบกพรองเรองลมไมเขาบาน แดดเขาบานมาก เกินไปลดนอยลงไปไดมาก โดยบานหลังนี้ ได ใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ทดสอบการรับแดด วารูปแบบอาคารสามารถบังแดดไดมีประสิทธิภาพใน ชวงเวลาตางๆของวัน และฤดูกาล

4. Custom-Made | sense of belongingflexibility-adaptation-future needs

1. User-Focused | comfort – choice – passive/active

การออกแบบที่คํานึงถึงผูอยูอาศัยเปนหลัก วาผูอยูอาศัยสามารถ เลือกที่จะสรางความนาสบายภายในบานไดดวยตัวเอง เชน การจะเลือก เปดหนาตางรับลม ตองสามารถรับลมไดจริงๆ หรือปดหนาตางเพอเปด เครองปรับอากาศก็ควรประหยัดแอรไดจริง หรือตัวบานที่สามารถทําให เกิดความหลากหลายในการเลือกใชชีวิตในบาน ตามเวลาที่แตกตางกัน ฤดูกาลที่แตกตางกัน ตอบโจทยดวยการมีพื้นที่ ใชสอยกึ่งภายในภายนอกอาคารที่ชวยใน การบังแดดใหกับพื้นที่ ในสวนที่ติดแอร โดยเปนพื้นที่ซึ่งออกแบบใหอยูใน รมเกือบตลอดวัน และสามารถเปดเชอมตอกับหองอนๆเกิดเปนพืน้ ที่ใชสอย ที่มีขนาดใหญขึ้นได

2. Climate-Specific | hot and humid climate

การออกแบบทีต่ อบรับกับสภาพภูมอิ ากาศ ของพื้นที่โครงการนั้นๆ เชน อากาศรอนชื้นของ ประเทศไทย การออกแบบมีการตอบโจทยแตก ตางจากอากาศหนาว การออกแบบที่คํานึงถึง เรองการปองกันความรอนกอนที่จะเขาสูอาคาร ที่เหมาะสมกับทิศทางขององศาพระอาทิตยตาม ทิศตางๆ และการออกแบบเพอลดการสะสมความ ร อ นที่ ตั ว อาคาร บ า นหลั ง นี้ อ อกแบบสํ า หรั บ ทิศทางของพื้นที่โครงการที่หันไปทางทิศตะวัน ออก-ตะวันตก จึงมีการออกแบบตัวอาคารใหรับ แดดนอย หันดานยาวไปทางทิศเหนือและใต โดย ผนังทิศที่รับแดดมากจะมีการใชการบังเงาจาก อาคารขางเคียงหรือแผงบังแดดมาชวยลดความ รอนเขาสูเปลือกอาคาร

การออกแบบทีเ่ ฉพาะเจาะจงตอบรับกับผูอ ยูแ ตละรายใหเหมาะลักษณะ การใชชวี ติ และนิสยั ของคนในบาน เชน การออกแบบบานใหคนทีช่ อบเปดแอร นอนกับไมชอบเปดแอรนอนยอมควรจะมีความแตกตางกันในดานดีไซนอยาง มาก ตลอดจนมีความยืดหยุนสามารถปรับเปลี่ยนเพอตอบรับกับความ ตองการที่เปลี่ยนไป เชน การใชงานในอนาคตเมอมีผูสูงอายุ หรือ การที่มี สมาชิกในเพิ่มขึ้นเมอมีบุตร โดยบานหลังนี้ ไดกําหนดใหมีพื้นที่ที่ใชประโยชน ไดหลายอยาง เปนสวนกลาง ซึ่งสามารถเผอการเปลี่ยนแปลงการใชสอย ในอนาคตไดหากตองมีการใชหองเพิ่มเติมและมีพื้นที่มากเพียงพอ

5 Performance-Assessed | simulationlabeling-data exposure

การออกแบบที่มีการตรวจสอบสมรรถนะของบานหรืออาคารนั้นๆ ที่เกี่ยวกับดานพลังงานและสิ่งแวดลอม เชน การจําลองการใชพลังงาน การตรวจวัดจากอาคารจริงและเปดเผยขอมูลของอาคาร เชน การใชน้ํา ใชไฟ เพอเปนฐานขอมูลใหกับเจาของโครงการได โดยบานหลังนี้ ไดมีการ คํานวณวิเคราะหขั้นตนถึงการใชทรัพยากรดานตางๆ เพอเปนขอมูลใหกับ เจาของบาน เชน พื้นที่สีเขียว การประหยัดน้ําใน และนอกบาน การใชพลังงานที่ลดลงจากวิธีการ ประหยัดพลังงานตางๆ และการเลือกวัสดุที่ดี โดยหากการกอสรางแลวเสร็จจะมีการตรวจวัด และนําขอมูลที่ ไดมาใชพฒ ั นาแบบบานทีม่ ลี กั ษณะ ใกลเคียงกันตอไป สรุปการออกแบบอาคารเขียวโดยวิธผี สม ผสานนั้น คือ การผสานการออกแบบเขากับการ วิ เ คราะห ด า นพลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มของ อาคาร ทํ า ให เ กิ ด ความสมดุ ล ระหว า งความ ตองการดานอนๆ ของการออกแบบกับแนวทาง ของอาคารเขียว เชน พื้นที่ ใชสอย หรือมูลคา การกอสราง เปดทางใหผอู ยูอ าศัยสามารถเลือก การอยูอาศัยที่สบายและเหมาะสมได และเปด โอกาสให มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นได ง า ยหากมี ก าร เปลี่ยนแปลงความตองการในอนาคต September 2011 l 51

Energy#34_p50-51_Pro3.indd 51

8/25/11 10:18 PM


Residential โดย : รังสรรค อรัญมิตร

คําแสด ริเวอรแคว รีสอรท

สรางจิก๊ ซอรพลังงานสู… Zero Energy

ผู ป ระกอบการณ โ รงแรม รีสอรทหรือทีพ่ กั ทีอ่ ยูอ าศัยหลายแหง นัน้ มีแนวทางการอนุรกั ษพลังงานและ สิ่งแวดลอมที่แตกตางกันออกไปตาม แตงบประมาณและความพอเพียงของ แตละหนวยงาน และสําหรับเรองราวของที่พัก ที่อยูอาศัยประหยัดพลังงานในเลมนี้ เราเดิ น ทางไปเยี่ ย มชม รี ส อร ท อนุรกั ษพลังงานที่ จังหวัดกาญจนบุรี คําแสด ริเวอรแคว รีสอรท เปน รีสอรทที่มีความโดดเดนดานการพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ พลังงาน โดยการนําสิ่งแวดลอม และวัตถุดิบที่มีอยูรอบขางมาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุดควบคูกับการพัฒนาเทคโนโลยีมารองรับการใชพลังงาน ทดแทนสู Zero Energy ภายใน 3 ปขางหนา ภายใตแนวคิดเศรษฐกิจพอ เพียงและการพึ่งพาตนเองเปนหลักในการพัฒนาพลังงานทดแทนเพอให ธุรกิจเจริญเติบโตและมีความยั่งยืนใหเปนที่ยอมรับของคนทั่วไปซึ่งจะ ประกอบดวย ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุมกันในตัว ที่ดี สูการพัฒนาเทคโนโลยีและพลังงานทดแทนที่จะนํามาใชในรีสอรท โดยเริ่มจากการพัฒนาระบบการจัดการขยะแบบครบวงจรเพอใชใน รีสอรทโดยเนนการแปลงขยะใหเปนพลังงาน เพอเปนการนําสิ่งเหลือทิ้ง มาใชใหเกิดประโยชน เพอลดปริมาณขยะ และลดคาใชจายในการทิ้งขยะจน ไดระบบการจัดการขยะแบบครบวงจรที่เหมาะสมในการใชงานในคําแสดฯ ไมวาจะเปนการนําเศษอาหาร หรือขยะชีวภาพ มูลสัตว มูลคน น้ําเสีย นํา มาแปลเปน ไบโอแกส ที่สามารถใชสําหรับเปนแกสหุงตม และเปนเชื้อเพลิง

สําหรับรถยนต ไบโอแมส ที่ ได จากใบไมแหง กิ่งไม พืชลมลุก ตางๆ ที่ ไดนําไปตากแหงแลวนํา มาเป น พลั ง งานสํ า หรั บ ผลิ ต ไฟฟ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย พลั ง งานลม น้ํามั นพืช ที่ผาน การใชงานแลว และพืชสาหราย สํ า หรั บ ผลิ ต ไบโอดี เ ซล ขยะ พลาสติกสําหรับการผลิตเปนนํามันเบนซิน การใชเทคโนโลยีแลกเปลี่ยน ความรอนจากระบบ boiler ระบบ chiller และเครองยนตผลิตไฟฟาแลว นําพลังงานกลับมาใชใหม การใชแรงวัวในการปมน้ําเก็บไวใช และนี้เปน เพียงบางสวนของการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมที่มีอยูภายในรีสอรทให เกิดประโยชนสูงสุดในการพัฒนาพลังงานทดแทนสูการเปน Zero Energy หรือการใชพลังงานใหเทากับศูนย

52 l September 2011

Energy#34_p52_Pro3.indd 52

8/23/11 1:44 AM


นอกจากการพัฒนาดานพลังงานทดแทนแลวรีสอรทแหงนี้ยังไดมี การสงเสริมและเผยแพรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแกพนักงาน โดยให ปฏิบตั ติ ามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงอยางจริงจัง เชน ใหดาํ เนินชีวติ อยาง ประหยัด รอบคอบ และชวยตนเองได เปนการเตรียมความพรอมใหกับ พนักงาน และสรางจิตสํานึกเพออยูอยางพอเพียง เปนการสรางภูมิคุมกัน ใหกับพนักงานไดเปนอยางดี ตลอดจนลดปญหาการเปลี่ยนงานบอยครั้ง ของพนักงาน อยางไรก็ตามเพอใหการพักผอนเติมเต็มบนเนื้อที่กวา 100 ไรของ รีสอรทแหงนี้ถูกรอบลอมไปดวยความรมรนของแมกไมนานาพรรณ และ ขุนเขากับสายน้ําแหงแมน้ําแควใหญชวยสรางบรรยากาศและสีสันใหกับ ความผอนคลายไดเปนอยางดี

ส ว นกิ จ กรรมที่ นี้ เ ขามี ใ ห เ ลื อ ก ตั้งแตแนวผจญภัยอยาง รถ ATV รถ จักรยาน โรยตัวขามบึงน้ําหนาน้ําตก รถ ภูเขาทีเ่ คลอนตัวลงจากเนินสูง และสนาม ฝกสอนยิงธนู พรอมกับสิ่งอํานวยความ สะดวกครบครัน สะวายน้ํา 3 สระ มีสระ น้ําตก น้ําพุ สปา เซาวนา สนามเทนนิส และจักรยานไวคอยบริการ นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมทีเ่ กีย่ วกับ พลั ง งานทดแทน การทํ า ไบโอแก ส การทําไบโอดีเซล การทําน้ํามันเบนซิน การทําน้ําสมควันไม การทําปุยชีวิภาพ พรอมกับจัดสัมมนาเกี่ยวกับการพัฒนา พลังงานทดแทนในรูปแบบของความพอ เพียง และการพึ่งพาตนเอง สัมผัสกับการทําบุญตักบาตรซึ่งทุกวันจะมี พระสงฆมารับบาตรทุกเชา และไดสัมผัสกับวิถีไทย เชน การดํานา การสี ขาว การใชโคเทียมเกวียน เรียกไดวาเปนการพักผอนที่เติมเต็มรูปแบบเลย ที่เดียว หากผูที่สนใจเขามาพักผอน ณ คําแสด ริเวอรแคว รีสอรท รีสอรท แนว Boutique Hotel นั้นมีหองพักหลากหลายสไตลใหไดเลือกพักกันไม วาจะเปน River Wing ที่สามารถมองเห็นวิวของแมน้ําแคว Villa Wing และ Garden Wing ที่ลอมรอบดวยสวนสีเขียวชะอุม Mountain Wing ลักษณะเปนบังกะโลสวยแปลกตา แตก็ยังแวดลอมไปดวยปาไมเขตรอนที่ เขี ย ว The Family Home ประกอบด ว ยห อ งนอนที่ ทั น สมั ย และ หรู ห ราถึ ง 3 ห อ ง และสามารถเข า ไปดู ร ายละเอี ย ดได ที่ www. comsaedriverkwairesort.com หรือ (662)186-3186

September 2011 l 53

Energy#34_p53_Pro3.indd 53

8/23/11 1:45 AM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ไมแปลกใจที่ ไดเห็นสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมออกมาวงขายกันหลากหลายประเภท ทั้งอุปกรณไอที อุปกรณ ใชในสํานักงาน จนกระทั่งชิ้นสวนที่ประกอบยานยนต ทั้งนี้ก็เนองจากความใส ใจและวิสัยทัศนของบริษัท ชั้นนําทั้งหลายที่คํานึงถึงเรองสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะบริษัทใหญๆ ที่นับไดวาเปนผูกระตุนกระแสในตลาดและ เปนแนวทางในการผลิตสินคาใหมๆ ของคูแขงตอไปอีกดวย จิมมี่ และใหเสียงโดยซูฉี ซึ่งนอกจากจะผลิต และใชบรรจุภณ ั ฑทที่ าํ จากวัสดุ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลว ผลกําไรจากการจําหนายไดรฟ USB รุน Earth Angel ยังจะนําไปสมทบทุนใหกบั องคการกองทุนสัตวปา โลกสากล (World Wildlife Fund for Nature หรือ WWF) เพอตอกย้ําความมุง มั่นของคิงสตันในการปกปอง และคุมครองโลกไปพรอมกับทุกคนอีกดวย ดวยดีไซนรปู ตุก ตาลูกโลกฝมอื ของจิมมี่ ไดรฟ USB รุน Earth Angel จะชวยย้ําเตือนใหผูใชตระหนักถึงการเอาใจใสสิ่งแวดลอมบนโลกดวยน้ําใส ใจจริง ทุกวันนี้โลกเราบอบช้าํ จากการทําลายสิง่ แวดลอม และระบบนิเวศมา มากแลว สงผลใหผูคนทั่วโลกตางไดรับผลกระทบจากภัยธรรมชาติตางๆ ที่นับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น และเพอสรางจิตสํานึกดานการดูแลและ ฟน ฟูสงิ่ แวดลอมทางชีวภาพ และการดํารงชีวติ โดยกําไรจากการจําหนาย ไดรฟรุนดังกลาวจะนําไปสมทบทุนใหกับองคการกองทุนสัตวปาโลกสากล ทั้งหมด ไดรฟ USB รุน Earth Angel มาพรอมแนวคิดเพอการอนุรักษสิ่ง แวดลอม และการสอสารขอความเพอสรางความตระหนักในการคุมครอง โลกใหกับทุกคน โดยไดรฟรุนดังกลาวใชบรรจุภัณฑทําจากกระดาษรีไซเคิล พิมพดวยหมึกที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

Kingston ตอกย้ําแนวคิดรักษโลก ดวยไดรฟ USB รุน Earth Angel

ปจจุบันสภาพแวดลอมทั้งทางกายภาพ และชีวภาพกําลังถูกทําลาย อยางหนักอันเปนผลจากการเพิ่มจํานวนประชากร และความกาวหนาทาง เทคโนโลยี สภาพอากาศบนโลกกําลังเปลี่ยนแปลงอยางที่ ไมเคยเปนมากอน อันเนองมาจากภาวะโลกรอน ภัยธรรมชาติหลากหลายรูปแบบไมวาจะเปน คลนความรอน น้ําทวม ภูเขาไฟระเบิด พายุไตฝุน พายุหิมะ ดินถลม แผน ดินไหว และความแหงแลงไดคราชีวิตผูคนไปอยางนอย 250,000 คนในป 2010 อั น เป น ป ที่ มี จํ า นวนผู เ สี ย ชี วิ ต จากภั ย ธรรมชาติ ม ากที่ สุ ด เป น ประวัติการณ เพอสรางความตระหนัก และจิตสํานึกในการดูแสสิ่งแวดลอมตาม ธรรมชาติของโลก บริษัท คิงสตัน เทคโนโลยี ประเทศไทย ผูผลิต จึงได รวมมือกับ ซูฉี (Shu Qi) ซูเปอรสตารสาวชาวไตหวัน และจิมมี่ นักวาด ภาพชาวไตหวัน ในการสรางสรรคไดรฟ USB รุน Earth Angel (Part Number:DTEA/4GB) โดยไดรฟขนาด 4GB รุน ดังกลาวซึง่ จะวางจําหนาย ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกมาพรอมการตูนอนิเมชั่นฝมือการสรางสรรคของ

54 l September 2011

Energy#34_p54_Pro3.indd 54

8/25/11 9:55 PM


Fuji Xerox DocuPrint CM205 / M205 f/fw การใชอุปกรณที่เปนมิตร ตอสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืนนับวา มี ค วามสํ า คั ญ อย า งมากต อ องคกรธุรกิจขนาดเล็กและผูใช ตามบานที่ตองการทํางานอยาง มีประสิทธิภาพ ควบคูไปกับการ อนุรักษสิ่งแวดลอมและลดคาใช จายในระยะยาว ฟูจิ ซีร็อกซได ปรับใชเทคโนโลยีหมึกพิมพ EA-Eco Toner ไวในเครองพิมพ DocuPrint CM205 / M205 f/fw เพอลดการใชพลังงาน 20 เปอรเซ็นต และลด ปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดถึง 35 เปอรเซ็นต เมอเทียบ กับหมึกพิมพรุนเกา นอกจากนี้ เครองพิมพ DocuPrint CM205 / M205 f/ fw ยั ง เป น ไปตามข อ กํ า หนด Energy Star® ที่เขมงวด ในแง ของการลดการใชพลังงาน ซึ่ง

นอกจากจะชวยใหผูใชลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนแลว ยังชวยลด คาใชจายไดอีกดวย เครองพิมพรุนใหมนี้ ใชเทคโนโลยีหัวพิมพ S-LED ซึ่ง ชวยใหสามารถออกแบบตัว เครองใหมีขนาดเล็กกะทัดรัด และใช พ ลั ง งานน อ ยกว า ใน การขับเคลอนเครองพิมพ ฟเจอรอนๆ ที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ไดแก ‘โหมด ประหยัดหมึกพิมพ’ ซึ่งชวยให ผูใชสามารถประหยัดหมึกได ถึง 30 เปอรเซ็นต จึงชวยยืด อายุการใชงานและลดการสิ้นเปลืองหมึกโดยไมจําเปน เครองพิมพ DocuPrint CM205 / M205 f/fw ใชตลับหมึกพิมพเพียงตลับเดียว จึงลดคา ใชจายในการใชงาน และนอกจากนี้ ไมจําเปนตองใชวัสดุสิ้นเปลืองอนๆ ซึ่งมีอยู ในเครองพิมพเลเซอรทั่วไป เชน ดรัม จึงชวยลดคาใชจายได อีกทางหนึ่ง

GS Battery Q-85 For ECO-CAR

จ า ก แ น ว โ น ม ข อ ง ตลาดรถยนตในอนาคตกําลัง เปลีย่ นไป เนองจากปจจัยโดย รวมทั้ ง ราคาน้ํ า มั น อั น เป น ตั ว แปรสํ า คั ญ ที่ ส ง ผลต อ พฤติ ก รรมของผู บ ริ โ ภคใน การเลือกใชรถยนตมากขึน้ ผู บริ โ ภคส ว นใหญ จ ะเลื อ กใช รถยนตนั่งมากกวารถยนต เพอการพาณิชย โดยคํานึง ถึงเรองการประหยัดพลังงาน ความคลองตัว ชวยลดมลพิษ และเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ดังนั้น รถยนต ECO-CAR กลายเปนอีกหนึ่งทางเลือก สําคัญทีเ่ หมาะสําหรับผูบ ริโภคทําใหคา ยผูผ ลิตรถยนตในประเทศหลายราย มุง เนนในการผลิตรถยนต ECO-CAR ซึง่ เปนรถยนตนัง่ ขนาดเล็ก เพอตอบ โจทยความตองการของผูบริโภค GS Battery รุน Q-85 นับเปนสุดยอดนวัตกรรมใหมลาสุด ที่มีการ พัฒนาแผนธาตุพิเศษสูตรใหมลิขสิทธิ์เฉพาะ GS Japan ทําใหการหลุด รวงของผงตะกัว่ นอยกวาสูตรปกติ แบตเตอรีส่ ามารถชารจไฟกลับในขณะ ที่รถยนตเคลอนตัวไดมากขึ้น และดวยการผลิตแผนธาตุพิเศษ ซึ่งเปน

Knowhow จากประเทศญี่ปุน ทําใหโครงสรางแผนธาตุมีคุณลักษณะทน ตอการกัดกรอนไดสูงขึ้น มีผลตออายุการใชงานของแบตเตอรี่ยาวนาน ขึ้น ซึ่งแบตเตอรี่ Q-85 ไดผลิตตามมาตรฐาน SBA S 0101-2006 ของ สมาคมแบตเตอรี่ญี่ปุน (BAJ : Battery Association of Japan) และได ผานการรับรองดานคุณภาพจาก GS ประเทศญี่ปุน จุดเดนของ GS Battery รุน Q-85 คือ กําลัง (Capacity) ของ แบตเตอรี่ที่สูง เพอสามารถรองรับการทํางานของเครองยนตในขณะที่ เครองยนตดับ และรีสตารทใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่การจราจรติด ขัดมากๆ โดยแบตเตอรี่ รุน Q-85 นิ้ ยังสามารถชารจไฟกลับเขาตัว แบตเตอรี่เต็มที่ ไดมากกวา และยังมีแรงสตารทที่สูงกวาแบตเตอรี่ทั่วไป นอกจากนี้ Q-85 จะเปนแบตเตอรี่ที่ ใชกับรถยนต ECO CAR สเปค ISS [Idling Stop System] ในตลาดเมืองไทยแลว ยังใชกับรถยนตนั่งในรุน อนๆ ไดอีกดวย เนองจากเปนแบตเตอรี่ที่มีสเปคสูง ทําใหอายุการใชงาน ยาวนาน ผูบริโภคใชรถคุมคา ประหยัด และชวยลดมลพิษเปนมิตรกับสิ่ง แวดลอมไดอีกทางดวย อีกทั้ง แบตเตอรี่กลายเปนหัวใจหลักสําคัญ ซึ่ง แบตเตอรี่รุนนี้จําเปนตองมีความจุที่ ใหญขึ้นเพราะตองจายพลังไฟมากขึ้น กวาปกติ ในการทําหนาที่จายพลังไฟสงไปยังอุปกรณไฟฟาตางๆ ของ รถยนตในขณะที่รถยนตหยุด

September 2011 l 55

Energy#34_p55_Pro3.indd 55

8/25/11 9:56 PM


Charge & Change โดย : SuKiYaKi

Oxygenated Notebook Plantbook หรือ โนตบุคออกซิเจน ถูกออกแบบโดย Seunggi Baek และ Hyerim Kim โดย Plantbook เปนแล็ปท็อปที่มีเทคโนโลยีที่ ไดรับแรงบันดาลใจสวนใหญมาจากพืชจําพวกไมไผที่เจริญเติบโต ดวยการแชน้ํา ซึ่งการออกแบบของ Plantbook นั้นเปนที่นาอัศจรรยและมีแนวคิดที่ ไมซ้ําใคร เพราะมัน ประกอบไปดวยโครงสรางรูปทรงกระบอก มีหนาจอ 2 หนาจอ โดยแบงเปนแปนพิมพและจอภาพ ซึ่งสี เขียวของโนตบุคนั้นเปนตัวแทนของ ‘ความสามารถสีเขียว’ โดยคุณไมจําเปนตองชารจโนตบุคดวยไฟฟา อีกตอไป โดยเพียงแคคุณใชไฮโดรเจนที่แปลงกระแสไฟฟามาจากนําซึ่งเปนแหลงพลังงานของโนตบุคตัว นี้นั่นเอง แบตเตอรี่ของ Plantbook อยูในรูปทรงกระบอก ซึ่งหากเรานํามันไปวางในถวยที่เต็มมีนํา มันจึงสรางไฮโดรเจนผานกระบวนการของอิเล็กโทรและ ปลอยออกซิเจนออกมา โดยจะมีแผนความรอนแสงอาทิตยที่ติดอยูที่ดานบนของอุปกรณเหมือนพืชที่ ใชแสงอาทิตยในการสังเคราะหแสงเพอทําการผลิต พลังงานออกซิเจนออก นอกจากนี้ Plantbook ยังมีวงแหวนที่ติดอยูบนรูปรางใบไม เปนไฟ LED สีเขียวนั้นบงบอกถึงสถานะของแบตเตอรี่อีกดวย นับได วาเปนโนตบุคที่นาทึ่งและนาสนใจอยางมากหากสามารถสรางขึ้นมาใชไดจริง

FREEcharge is a kinetic energy charger FREEcharge คือเครื่องชาร์จพลังงานกลที่ถือได้ว่าเป็นพลังงานสะอาดที่ทดแทนการใช้ พลังงานไฟฟา โดยไดนาํ เอาแมเหล็กมาใชในการผลิตไฟฟา ซึง่ ภายในมีขดลวดประมาณ 2500 ขด เพอใชสรางพลังงานไฟฟานั่นเอง (อยูในรูปของขดลวดโซลินอยด) เครองชารจนี้สามารถใชไดกับ โทรศัพทมือถือ กลองดิจิตอล ไฟฉาย สะดวกในการพกพา เหมาะสําหรับนักเดินทางไกล หรือคนที่ ตองการเครองชารจพลังงานสะอาดมาใชในยามฉุกเฉิน นอกจากนี้ FREEcharge และยังเปนเครองชารจแบบ zero carbon อีกดวยดวย

56 l September 2011

Energy#34_p56,58_Pro3.indd 56

8/19/11 11:55 PM


Energy#31_ad SAWAYA_Pro3.ai

1

5/26/11

11:29 PM


Solar Powered Desk Fan Kit ในทุกวันนี้การออกกําลังกายกลางแจงนับวาไดรับความนิยมมากขึ้นทุกวันๆ แลวมันจะ ดีแคไหนที่เรานําเอากีฬายอดนิยมเหลานั้นมาผสานเขากับการสรางพลังงานจากแสงอาทิตย โดยนํารองดวยกีฬาอยางเทนนิสนั่นเอง Future Player’s Bench ที่ออกแบบโดย Geoffrey Graven นับเปนการรวมระหวาง เครองทําความเย็นและมานั่งเขาดวยกัน ซึ่งแนนอน วาใชคอนเซปตเปนรักษสิ่งแวดลอมเปนหลัก โดย เครื่องทําความเย็นขนาดเล็กนี้จะขับเคลื่อนด้วย พลังงานแสงอาทิตย และจะใชสําหรับเก็บพวกขวด และพวกถุงขนม และเพอเพิม่ ประสิทธิภาพในการเปน มิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้เพิ่มขึ้น กลไกของเครื่อง ทําความเย็นเมอถูกแสงสวาง มันจะ slide ประตูได เองอั ต โนมั ติ และมากกว า นั้ น ระบบจะควบคุ ม อุณหภูมิภายในไดอีกดวย สวนโครงสรางของมานั่ง แบงการทํางานเปนสองสวน โดนสวนกลางจะเปนเครองทําความเย็น ทางดานซายจะเปนสวนที่ ใหญซึ่งผูคนสามารถนั่งได สวนทางดานขวาไวสําหรับวางสิ่งของได ซึ่งองค ประกอบที่ ใชในการผลิตจะเปนไมที่เหลือรวมเขากับดามจับ โดยทั้งหมดทั้งมวลแลว คอนเซปทของมันก็เพอความสะดวกสบายของผูคน และสิ่งแวดลอมที่ ยั่งยืนนั่นเอง

iYo Yo-Yo Charger for Power Without Solar and Wind นักออกแบบชาวสวีเดนที่ชอ Peter Thuvander ไดทําการออกแบบ เครองชารจ iYo Yo-Yo ขึ้นมาสําหรับชารจอุปกรณของคาย Apple ซึ่ง เขามองวาถึงแมจะมีที่ชารจพลังงานแสงอาทิตย หรือแมกระทั่งพลังงาน ลมสําหรับ iPhone ออกมาแลวก็ตาม แตนั่นก็ยังไมเพียงพอ โดย iYo Yo-Yo นั่นจะสามารถมาทดแทนขอจํากัดนั้นได เพราะสามารถใชไดไมวาจะ ในเวลามืด ในชวงฤดูหนาวก็ตาม นอกจากนี้ยังสรางความสนุกสนานได อีกดวย iYo Yo-Yo นั้นประกอบดวย แบตเตอรี่ Li-ion ขนาดเล็กภายใน ซึ่งจะทําการเก็บพลังงานในระหวางที่เราเลนเพอนําไปใชชารจอุปกรณ ตางๆ โดยแนนอนวากลุมเปาหมายของ iYo Yo-Yo นั้นจะเปนผูใชอุปกรณ อยาง iPhone และ iPod นั่นเอง

58 l September 2011

Energy#34_p56,58_Pro3.indd 58

8/19/11 11:06 PM


Environment News

‘ประเสริ ฐ ’ พร อ มนํ า นั ก ธุ ร กิ จ ไทยพั ฒ นาสั ง คมสู “Green and Low Carbon Society”

นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในฐานะ ประธานคณะกรรมการนักธุรกิจเพอสิ่งแวดลอมไทย (Thailand Business Council for Sustainable Development : TBCSD) เปดเผยถึงนโยบายในการดําเนินงานของ TBCSD ในปชวง 3 ปขางหนา วา ยังคงสานตอการดําเนินงานที่ผานมาในการรณรงคและสรางความตระหนักตอภาคธุรกิจและสังคมเพอมุงไปสู การนําสังคมสูการพัฒนาที่ยั่งยืน “สังคมคารบอนμèíÒ” หรือ “Green and Low Carbon Society” ซึ่งครอบคลุม การดําเนินงานเพอสงเสริมสังคมคารบอนμèíÒ การปองกันและบรรเทาภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารจัดการ¹éíÒ เพอตอบสนองตอสภาวการณดานสิ่งแวดลอมและ สังคมของประเทศ และแสดงบทบาทในการเปนผูนําภาคธุรกิจในการนําสังคมสูการพัฒนาที่ยั่งยืน กาวตอจากนี้ TBCSD ตั้งเปาหมายที่จะเพิ่มจํานวนของสมาชิกใหครอบคลุมในทุกกลุมธุรกิจ เพอยกระดับของกลุมธุรกิจและอุตสาหกรรม ใหกาวไปสูการพัฒนา อยางยัง่ ยืน โดยจะรวมมือกับสถาบันสิง่ แวดลอมไทยในการประเมิน ตรวจสอบและติดตามการดําเนินงานของสมาชิกและองคกรภาคธุรกิจ ภายใต “การรับรองมาตรฐาน องคกรภาคธุรกิจ เพอการพัฒนาที่ยั่งยืน” โดยการตรวจประเมินในดานตางๆ ซึ่งจะทําใหเห็นบทบาทที่ชัดเจนของ TBCSD ในการนําพาทั้งสมาชิกและภาคธุรกิจของ ประเทศสูการพัฒนาอยางยั่งยืน ตลอดจนเพอยกยององคกรที่แสดงความหวงใยตอสิ่งแวดลอมและทรัพยากรของประเทศ อยางยั่งยืนในระดับตางๆ

เปดตัวงาน BEX Asia 2011 พรอม แอลจี สานตอแคมเปญ “กรีน เฮลธ มุง เนนวิธกี ารแกปญ  หาเพออาคารทีย่ ง่ั ยืน พลัส” ปที่ 3

งาน BEX Asia 2011 ครัง้ ที่ 4 นี้ จะจัดขึน้ ทีป่ ระเทศสิงคโปร ระหวาง วันที่ 14 -16 กันยายน 2554 ณ ซันเทค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร ซึ่งถือเปน งานใหญระดับแนวหนาของภูมิภาค ซึ่งเนนความสําคัญที่สถาปตยกรรม อาคารสีเขียว, การออกแบบ, ผลิตภัณฑ, การปฏิบัติและเทคโนโลยีเพอสิ่ง แวดลอมที่ยั่งยืน โดยในปนี้กวา 90% ของทั้งหมด 230 บริษัทที่เขารวม งานทั้ ง ระดั บ นานาชาติ แ ละภู มิ ภ าค พร อ มการแสดงพิ เ ศษทางด า น เทคโนโลยีอาคารที่ยั่งยืนเพอ อนาคตสีเขียว ซึ่งจํานวนผูรวมงานในปนี้ เพิ่มขึ้น 15% จากปที่ผานมามีบริษัทเขารวมถึง 200 บริษัท หลุยส ชู ผูอ าํ นวยการโครงการการจัดนิทรรศการ BEX Asia 2011 นําเสนอความพิเศษของงาน BEX Asia 2011 กอนที่จะเปดตัวงาน นิทรรศการอยางเปนทางการ ณ ประเทศสิงคโปร โดยกลาวเนนที่สิ่งที่เพิ่ม ขึ้นมาใหมและองคประกอบหลักจากพันธมิตรที่ประเทศไทย “BEX Asia เปนแบบแผนธุรกิจสําหรับภูมภิ าคเพอแลกเปลีย่ นความ รูสรางอนาคตสีเขียวที่ยั่งยืน ผูประกอบการอุตสาหกรรมสามารถหาผู รองรับงาน ไดจาก 30 ประเทศทั่วโลกที่มารวมงานในปนี้ โดยในงานยังมี วัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและผลิตภัณฑที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ พลังงาน เชน วัตถุอาคาร, ระบบวัด, ระบบเครองปรับอากาศ, วัสดุตกแตง ภายในและอนๆใหผูซื้อเลือกชม ทางผูประกอบการสามารถเรียนรูเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑสเี ขียวที่ ไดรบั การรับรอง รวมไปถึงโครงการตางๆทีท่ างองคกร อาคารและการกอสรางแหงประเทศสิงคโปรและสภาอาคารสีเขียวแหง ประเทศสิงคโปร” คุณหลุยส ชูกลาว

มร. ชิน ฮัก (เจฟ) เช กรรมการผูจัดการ บริษัท แอลจี อีเลค ทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “ในฐานะที่เปนแบรนดชั้นนํา ระดับโลก แอลจีมีความมุงมั่นในการยกระดับคุณภาพชีวิตของผูบริโภคให ดียิ่งขึ้น ทุกผลิตภัณฑของแอลจีจึงผสมผสานเทคโนโลยีที่ลําสมัยควบคู กับดีไซนที่สวยงาม ซึ่งสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภค เอเชียและในประเทศไทย สงผลใหแอลจีไดรับรางวัลยอดขายอันดับหนึ่งใน เอเชียโดยจีเอฟเค ในผลิตภัณฑเครองซักผา ตูเย็น, ไมโครเวฟ และเครอง ปรับอากาศ” “แคมเปญนี้นับเปนการตอบรับนโยบายของแอลจีสํานักงานใหญ ‘แอลจี กรีน 2020’ ที่มุงพัฒนาเทคโนโลยีและระบบการดําเนินงานที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมสูงสุด ภายใตแนวคิดหลัก 3 ประการ คือ การพัฒนา อยางยั่งยืน มีความรับผิดชอบตอสังคม และการสรางสรรคผลิตภัณฑที่ ตอบสนองความตองการของลูกคาอยางแทจริง แอลจีมั่นใจวาดวย เทคโนโลยีที่สมบูรณแบบของผลิตภัณฑกลุมกรีน เฮลธพลัส จะสามารถ ตอบโจทยของผูบริโภคไดครบทุกดาน และตอกÂéíÒความเปนผูนําตลาด เครองใชไฟฟาภายในบานของแอลจีอีกดวย”มร.เช กลาว

September 2011 l 59

Energy#34_p59_Pro3.indd 59

8/20/11 1:33 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

ของความตองการอาหาร และ ความตองการทรัพยากรพลังงาน ความ ตองการพื้นที่ ในการดํารงชีวิตของประชากรที่เพิ่มมากมหาศาล เปนโจทย สําคัญในปจจุบนั และอนาคต จึงจําเปนตองกําหนด ทิศทางการพัฒนาเมือง ที่ชัดเจน สรางมาตรฐานการรองรับประชากรอยางเปนระบบ ที่มีความ ยัง่ ยืน ประเทศไทยจึงเปนประเทศหนึง่ ทีม่ ปี ระชากรเพิม่ มากขึน้ อยางรวดเร็ว พรอมกับการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอม ทีเ่ ลวราย ภาวะโลกรอนทีค่ กุ คาม ชีวิตมนุษยมากมายมหาศาล คงตองเตรียมพรอมที่จะปรับตัวใหอยูบนโลก ใบนี้ ซึง่ หมายถึงรุน ของประชาชนในปจจุบนั และอนาคตอันใกลนี้ เมืองใหญ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจึงตองออกแบบดังนี้

การพัฒนาเมืองแหงอนาคต กับ การปรับตัวกับสภาพแวดลอม จากการพัฒนาเมืองในอดีตที่ ไรระเบียบ มีการวางผังเมืองตามแต สภาพที่เปนอยู จึงเห็นสภาพที่คละกันทั้งภาพบานเรือนอยูรวมกับโรงงาน อุตสาหกรรมหองแถว ความขัดแยงกันในการใชระบบสาธารณูปโภคไมวา น้ําประปา ตลอดจนสภาพชุมชนแออัดที่แมจะปรับเปลี่ยนไปอยูตึกสูงหลาย สิบชัน้ แตคณ ุ ภาพชีวติ ของคนยังคงเดิม ปจจัยของการเปลีย่ นแปลงสภาพ แวดลอม เชน ความรอนในเขตเมืองที่สูงขึ้นจนเกิดการเจ็บปวย ที่หลาย เมืองใหญเผชิญอยูขณะนี้ มีคลื่นความรอนสูงในเขตเมืองจนตองอพยพ หาทีอ่ ยูใหมหรือใกลแหลงน้าํ เปนตน และเมื่อบางครัง้ มีนาํ้ ทวมระบบระบายน้าํ ไมเพียงพอก็จะเกิดภาวะน้ําทวมขัง สิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดคือการระบาด ของโรคในเขตเมื อ ง โดยเฉพาะโรคร า ยแรงต า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ เด็ ก และคนชรา อยางไรก็ตามพื้นที่เขตเมืองตอไปแมจะขยายมากขึ้น จากการเพิ่ม ขึ้นของประชากรโลกอยางรวดเร็ว แตโลกใบนี้มีพื้นที่จํากัด สวนใหญเปน พื้นน้ํามากกวาพื้นดิน จึงตองคิดกันวาเมืองในอนาคตที่จะพัฒนาจะตอง ปรับตัวกันอยางไร ในอนาคต หลายคนตั้งคําถามวามนุษยชาติจะมีชีวิตอยูหรือไม ในเมื่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมในปจจุบันเลวรายยิ่งขึ้น ทั้งสภาพ ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง สงผลตอปริมาณอาหารที่ลดลงทั้งพืชผักและ เนือ้ สัตวทีเ่ ปนอาหารของมนุษย จนมีโจทยทีต่ ัง้ ขึน้ เพื่อใหเมืองใหมทีจ่ ะสราง ขึ้นตองวางแผนงานรองรับความมั่นคงทางอาหารเพื่อรองรับการเพิ่มขึ้น

1. สรางความพรอมในการเตรียมอาหารสําหรับอนาคต ทั้ง เตรียมการรองรับปญหาเหลานี้ ตองเตรียมความพรอมในการผลิตอาหาร และสรางความเปนอยูและคุณภาพชีวิตที่ตองคํานึงถึงการดํารงอยูของ ประชาชนชาวเมืองที่แออัด 2. ตองสรางอากาศที่ ใสสะอาดโดยเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวในเขตเมือง ใหพอเพียงกับประชากรในเขตเมือง ทั้งผูสูงอายุและเด็กเล็กใหอยูได

60 l September 2011

Energy#34_p60-61_Pro3.indd 60

8/24/11 9:50 PM


3. ตองสรางพื้นที่ ใหเพียงพอกับความหนาแนนประชากรที่ เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะพื้นที่ ใชสอย นอกจากปญหาการรองรับความตองการประชากรของเมืองให สามารถดํารงชีวิตอยูไดแลว ตองคํานึงถึงของเสียที่จะเกิดขึ้นทั้งขยะ น้ําเสียและสิ่งปฏิกูลที่เพิ่มขึ้น จากปญหาหลายสวนที่เกิดขึ้นจากการเพิ่มประชากรและสภาพ แวดลอมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต การออกแบบนาจะมีคําตอบ เพื่อการ หลีกเลี่ยงการเกิดปญหาในอนาคตในหลายประเทศ จึงเปนการออกแบบ เพื่อใหเกิดวงจรแหงความยั่งยืน และเปนอาคารที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มากขึ้น การออกแบบเมืองใหอยูในน้ําได เชนรูปแบบเกาะลอยได โดยอาศัย พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลมและมีเครื่องเปลี่ยนน้ําทะเลเปนน้ําจืด การออกแบบเมืองที่มีการระบายอากาศและความรอนถายเทได อยางรวดเร็ว แนวคิดเมืองที่ลอยอยูในทะเลจึงนาจะเปนคําตอบที่นาสนใจ เชนกัน ยิ่งกระแสความเชื่อน้ําทวมโลกในอนาคต จึงเปนความเหมาะสม สําหรับอนาคต การออกแบบเมืองในอนาคตอีกดานหนึ่งจะตองเปนระบบเมือง รีไซเคิลนั้นหมายถึงตอบโจทยการลดการเกิดของเสีย การหมุนเวียนของ เสียใหเกิดประโยชนยอมจะลดปญหาการปลอยของเสียนอกระบบ จากการนําเสนอแนวคิดการออกแบบเมืองในอนาคต นาจะตอง คํานึงถึงการจัดการ กติกาการอยูรวมกันของสังคมเมือง ที่ตองเขมงวด ในการใชชีวิตที่เหมาะสม สําหรับการเพิ่มขึ้นของประชากรที่หนาแนนขึ้น อยางรวดเร็ว การใชทรัพยากรอยางคุมคา โดยเฉพาะพลังงานทางเลือก ที่มีอยูอยางจํากัดสําหรับชีวิตในอนาคต โลกใบนี้มีความพิเศษ คือมีน้ําเปน ส ว นประกอบที่ ม ากกว า แผ น ดิ น ต อ มามี นั ก ออกแบบเมื อ งเน น ความ ปลอดภัยจากภัยธรรมชาติ เชน พายุ หรือ สึนามิ โดยเนนโครงสรางที่ แข็งแรง จึงเนนโครงสรางที่แข็งแรงและปลอดภัยมากกวาความสวยงาม ในขณะนี้จึงตองเริ่มคิดกอนที่จะสายเกินไป เห็นไดจากการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอมของเมืองทีเ่ กิดขึน้ อยางรวดเร็วจากความไรระเบียบของเมือง เริ่มมีการวางแผน วางระบบการสรางเมือง อยางเปนขั้นตอนพรอมกับ จินตนาการการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคต ประเทศไทยมีแนวคิด สรางเมืองใหมดวยการถมทะเล จําเปนตองคิดอยางรอบคอบโดยเฉพาะ

ผลกระทบสิ่งแวดลอมที่จะเกิดขึ้นจากการถมทะเล จริงอยูการสรางเมือง ใหมโดยการถมทะเล เปนการเพิ่มพื้นที่เมืองอยางรวดเร็วและชัดเจน แต ผลกระทบยอมสงตอไปยังพื้นที่ ใกลเคียง เชนเดียวกับการสรางทาเรือ ขนาดใหญ กอใหเกิดผลกระทบการกัดเซาะชายฝงในแนวชายฝงดานอื่น อยางรุนแรง นอกจากนี้ยังตองคํานึงการเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิต ประชาชนในแนวชายฝง ในเวลานี้คงตองรีบหาคําตอบสําหรับการวางแผนรองรับประชากร เมืองที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว สรางระบบระเบียบที่เหมาะสมและรองรับ การใชทรัพยากรในอนาคตที่ยั่งยืน และคงตองมองถึงประชากรโลกที่ตอง ปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงในอนาคต มองการพัฒนา เมืองที่ใชทรัพยากรอยางคุม คา ทีส่ าํ คัญ ทีต่ งั้ เมืองใหมตอ งรองรับประชากร ทีม่ คี วามหนาแนนสูง ระบบสาธารณูปโภคทีจ่ าํ เปนรองรับประชาชนดังกลาว การสรางระบบการใชชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม หรือที่ ใหความสนใจ สร างเมื อ งให เ ป นเมื อ งสั ง คมคารบอนต่ํ า การสรางจิ ตสํานึกอยางมี สวนรวมของทุกภาคสวนในการพัฒนาเมืองอยางยั่งยืน

อางอิงขอมูล : - เอกสารขาว กลุมประชาคมยุโรป เมืองใหม ในอนาคต EU Forum 2010 บรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม - กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม คูมือการสงเสริมคุณภาพ สิ่งแวดลอม การพัฒนาเมือง กรุงเทพฯ 2552 September 2011 l 61

Energy#34_p60-61_Pro3.indd 61

8/24/11 9:50 PM


Green Space โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

การประกวดแผนองคกร “สํานักงานนีร้ ไี ซเคิล”

(Love Your Office Let’s Recycle)

การจัดการวัสดุรีไซเคิล เปนแนวทางหนึ่งที่องคกร หลายหนวยงานใหความสนใจ เนองจากสถานที่ทํางานนับ เปนแหลงกําเนิดวัสดุรีไซเคิลที่สําคัญแหลงหนึ่ง ดังนั้น ขยะที่ เกิดจากสํานักงานเหลานีจ้ งึ มีเปนจํานวนมาก จึงมีความจําเปน ที่ตองไดรับการจัดการตั้งแตตนทาง โดยเฉพาะกระดาษ วัสดุ ที่มีการใชงานมากที่สุดในสํานักงาน จากขอมูลการวิจัยพบวา กระดาษ 1 ตันผลิตจากตนไม 17 ตน ดังนั้น หากมีการคัดแยก ตัง้ แตตน ทางก็จะสามารถลดการตัดตนไมและประหยัดพลังงานได สถาบั น การจั ด การบรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละรี ไ ซเคิ ล เพื่ อ สิ่ ง แวดลอม (TIPMSE) สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ขอเชิญ ชวนหนวยงานภาคเอกชน และภาครัฐ ที่มีหัวใจสีเขียว สมัครเขารวม ประกวดแผนองคกร “สํานักงานนี้ รี ไซเคิล” ซึ่งเปนกิจกรรมภายใต โครงการ 84 พรรษา 84 ลานกิโลกรรม รวมรี ไซเคิลเพอพอ

การประกวดแผนองคกร “สํานักงานนีร้ ีไซเคิล” (Love Your Office Let’s Recycle) เปนหนึ่งในหลายกิจกรรมที่ทางสถาบันฯ ดําเนินการ โดย มีเปาหมายที่จะจุดประกายใหสํานักงานตางๆ สนใจที่จะดําเนินกิจกรรมเพอ จัดการวัสดุรีไซเคิลในสํานักงาน ซึ่งภายหลังจากการประกวดแผน แตละ สํานักงานจะดําเนินการและมีการประเมินผลเพอตัดสินหาสํานักงานทีม่ ผี ลการ ดําเนินงานดีเยี่ยมเพอรับรางวัล โดยหลักเกณฑของการพิจารณาตัดสินแผนงานทีเ่ ขารอบที่ 1 ประกอบ ดวย ตองมีเปาหมายในการลดปริมาณขยะ โดยเนนที่การจัดการวัสดุรีไซเคิล, ตองกําหนดตัวชี้วัด เปาหมายไวอยางชัดเจน, ตองมีแนวทางการรายงานผล ในเชิงปริมาณ (ขยะแยกประเภท), สรางสรรคและเปนแนวทางยั่งยืน สวนคุณสมบัติของผูที่จะเขาสมัครในโครงการนั้น 1. เปนพื้นที่สํานักงานของหนวยงานภาคเอกชน หรือภาครัฐที่ตั้งอยู ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2. ไมเคยไดรับรางวัลในการจัดการสิ่งแวดลอมจากหนวยงานใดๆ มากอน โดยสถาบันจะประกาศผลการตัดสินในชวงปลายเดทอนพฤศจิกายน โดยผูเขารอบ 5 รางวัลจะไดรับรางวัลดังนี้ - รางวัลชนะเลิศ เงินรางวัล 30,000 บาท พรอมโลประกาศเกรียรติคุณ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เงิน รางวัล 20,000 บาท พรอมโลประกาศเกรีย รติคุณ - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 เงินรางวัล 10,000 บาท พรอมโลประกาศ เกรียรติคุณ - รางวัลชมเชย 2 รางวัล เงินรางวัล 5,000 บาท พรอมโลประกาศเกรียรติคุณ *ผูเขารอบที่ ไมไดรับรางวัลทั้งหมด รับ ประกาศนียบัตร หมดเขตรับสมัครและสงแผนภายในวันที่ 15 กันยายน 2554 สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร. 0 272 1552-3, 0 26188251-2 ตอ 15 หรือ www.tipmse.or.th มารวมเปน 1 องคกรที่สรางความดี และปลูกฝงคานิยมในการจัดการ วัสดุรีไซเคิลอยางยั่งยืน เพอสิ่งแวดลอมและตัวคุณเอง

62 l September 2011

Energy#34_p62_Pro3.indd 62

8/25/11 9:51 PM


PTTAR ชวน “ดูนก บานคนปลายน้ํา” ดวยพื้นที่มาบตาพุดนับได วาเปนพืน้ ทีย่ ทุ ธศาสตรสาํ คัญดาน การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมของ ประเทศไทย เปนที่ตั้งของโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาด ใหญเปนจํานวนมาก ทําใหทีผ่ า นมา พื้ น ที่ ม าบตาพุ ด ถู ก จั บ ตามองว า เปนแหลงที่สรางผลกระทบใหกับ สิ่งแวดลอม ไมนอยไปกวาเมืองใหญๆ อยางกรุงเทพ ดวยเหตุนี้ บริษัท ปตท. อะโรเมติกสและการกลั่น จํากัด (มหาชน) (PTTAR) จึงรวมกับ สมาคมอนุรักษนกและธรรมชาติแหง ประเทศไทย (BCST) นํา คณะสอมวลชน ยุวฑูตสิง่ แวดลอมฯ และพนักงาน ทั้งสิ้นกวา 70 คน เขารวม กิจกรรมดูนก บานคนปลายน้ํา ตาม โครงการ “นก : ดัชนีวัดสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุตสาหกรรม” ณ คลอง ชากหมาก ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง เพอยืนยันความ อุดมสมบูรณของระบบนิเวศ บริเวณปากคลองชากหมาก ซึ่งเปนคลอง

ระบายน้ําที่ผานการบําบัดแลว จากโรงงานตางๆ ในนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด กอนไหลลงสูทะเล โดยกิจกรรมนี้ ถือเปนสวนหนึ่งของโครงการดูแลผูมีสวนไดเสีย (Stakeholders Caring Project) ของ PTTAR ไดแก สิ่งแวดลอม ระบบ นิเวศและสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ บริเวณพื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง โดยกิจกรรมมุงปลูกฝงใหเยาวชนและพนักงานในพื้นที่ผลิต มีความรู และจิตสํานึกดานการอนุรักษธรรมชาติ ขณะเดียวกันยังมุงสงเสริมให พนักงานมีความรูและความเขาใจวา ตัวชี้วัด (Indicator) ทางธรรมชาติ ถือเปนตัวชี้วัดสภาพแวดลอมรอบโรงงานที่สําคัญ และพนักงานสามารถ ประเมินคุณภาพของสภาพแวดลอมในเบื้องตนได อันจะสงผลใหเกิดความ ระแวดระวังและรวมกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในอนาคต กิจกรรมนีย้ งั จะเปนชองทางหนึง่ ในการเผยแพรภาพลักษณทีด่ ขี อง พื้นที่มาบตาพุด จังหวัดระยอง ซึ่งเปนที่ตั้งของโรงงานอุตสาหกรรม ทั้งนี้ เนองจาก หากมีการพบสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศรอบๆ โรงงาน เปนจํานวน มาก ยอมสะทอนใหเห็นวา สภาพแวดลอมนั้น มีความสะอาดและสิ่งมีชีวิต ตาง ๆ ในระบบนิเวศสามารถอาศัยอยูไดอยางสมดุลนั่นเอง

ถั ง น้ํ า ชุ ม ชน เพื่ อ โลกสีเขียว (Green Tank)

ปูนอินทรี รวมกับ มูลนิธิชัยพัฒนา สรางถังน้ําชุมชน เพอโลก สีเขียว ตานภัยแลงในพื้นที่ชนบททั่วประเทศ เพอนอมเกลาฯถวายพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว เนองในวโรกาสทรงมีพระชมมายุครบ 84 พรรษา พรอมเผยแพรความรูเกี่ยวกับการทําบล็อกประสานดินซีเมนต และความ รูในการสรางถังน้ําดินซีเมนตใหกับชุมชน อันจะนําไปสูโอกาสในการสราง งาน สรางอาชีพในอนาคต โครงการถังน้ําชุมชน เพอโลกสีเขียว (Green Tank) เปนความ รวมมือในการสรางถังเก็บน้ําขนาดใหญ (เสนผาศูนยกลาง 3.00อ เมตร x สูง 3.50 เมตร) จํานวน 252 ถัง ใหแลวเสร็จภายในระยะเวลา 3 ป ใน พื้นที่ชนบททั่วประเทศ พรอมสนับสนุนเงินใหกับโครงการจํานวน 3 ลาน บาท และมอบปูนซีเมนตจํานวน 300 ตันตอป

ซึ่ ง โครงการนี้ ต อ ยอดมาจากโครงการ “80 พรรษา 880 ฝาย อินทรีสรางถวายในหลวง” โดยหลังจากทําโครงการฝายมาหลาย ปก็ ไดรับทราบขอมูลมาจากชุมชนตางๆ วามีความตองการภาชนะกักเก็บ น้ําไวใชในหนาแลง ความรวมมือในครั้งนี้จึงไดเกิดขึ้น โดยจะเปนการสราง ถังน้ําดินซีเมนตขนาดใหญที่สรางขึ้นโดยชุมชนเพอประโยชนของชุมชน เอง ซึ่งมูลนิธิชัยพัฒนาจะเปนผูกําหนดพื้นที่เปาหมายในการกอสราง ถังน้ําในแตละป September 2011 l 63

Energy#34_p63_Pro3.indd 63

8/25/11 9:52 PM


Special Scoop โดย : ลภศ ทัศประเทือง

http://www.dit.go.th/cbwm14/

ถา...NGV บริหารโดย เอกชน?? ปญหาการขาดแคลน NGV ที่ยืดเยื้อมานาน ยังคงรอวันไดรับการ แกไข ฉบับนี้ ENERGY SAVING พาไปคุยกับ คุณสุรชัย กนกปณฑะ ที่ ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการพัฒนา สงเสริม ตรวจสอบการพลังงาน และเรื่องประชาชน การเมือง เพื่อความเปนธรรม ในคณะกรรมาธิการ การพลังงาน วุฒสิ ภา ทีม่ ภี ารกิจรับเรื่องรองเรียนดานพลังงานทุกแขนง และเรื่องของ NGV ก็เปนปญหาที่มีการรองเรียนมากที่สุด...

ประชุม 3 ครั้ง...ไมคืบหนา

ตลอดป 53 ที่ ผ า นมาจนกระทั่ ง มาถึ ง เดื อ น ธั น วาคม 2553 กลุ่มสหพันธ์ขนส่งทางบกได้ ไปยื่นเรื่องต่อปลัดกระทรวงพลังงานใน ประเด็นที่วา จะทําอยางไรให NGV ไมขาดแคลน หลังจากนั้น ก็ ไดมีการ เรียกประชุมถึง 3 ครัง้ โดยเริม่ ตนประชุมครัง้ แรกเดือนเมษายน พฤษภาคม

และมิถนุ ายน ตามลําดับ แตผลการประชุมก็ ไดวนเวียนกันอยูอ ยางนัน้ NGV ที่ขาดแคลนก็เพราะไมมีการขยายสถานี เนื่องจากราคาขาดทุน พอขาดทุน แลวก็ ไมอยากขยาย จนมาถึงเดือนสิงหาคม ทางคณะอนุกรรมาธิการ พัฒนา สงเสริม ตรวจสอบการพลังงาน และเรื่องประชาชน การเมือง เพื่ อ ความเป็ น ธรรม ในคณะกรรมาธิ ก ารการพลั ง งาน วุ ฒิ ส ภา ได้ เ ข้ า มาดู แ ล และได้ เ รี ย กหน่ ว ยงานภาครั ฐ ในการดู แ ลเรื่ อ ง NGV มาชี้แจงไมวาจะเปน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ในฐานะผูที่ดูแลราคาเนื้อกาซ ตั้งแตผู ใหสัมปทานกาซ ตั้งแตหลุมกาซในทะเล,สํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน ในฐานะดูแลเรื่องนโยบายและแผนเรื่องการใชกาซ NGV, กรมธุรกิจพลังงาน ซึ่งเปนผูควบคุมการเปดปดสถานีกาซ ดูแลธุรกิจ ความปลอดภั ย ของก า ซ, กกพ. ซึ่ ง มี ห น า ที่ ดู แ ลราคาค า ขนส ง กาซจากทอ

64 l September 2011

Energy#34_p64-66_Pro3.indd 64

8/24/11 9:53 PM


http://paknamtruck.com/news.php?id=8

พบสาเหตุหลักการขาดทุนของกาซ NGV

ปตท. ไมสามารถขึ้นราคากาซไดตามมติ ครม. และก็ปญหา ความไมเสถียรของรัฐบาลเปนเหตุใหรัฐบาลไมสามารถเขามาดูแลเรื่องนี้ ไดอยางจริงจัง ตั้งแตเรื่องรถเมล 4,000 คัน รถแทกซี่ที่เปลี่ยนจาก กาซ LPG มาเปน NGV ไมสามารถทําอะไรไดเลยที่ผานมา จนมาถึงวันนี้ รั ฐ บาลใหม เ ริ่ ม เข า มาทํ า งานแล ว เราก็ มี ค วามหวั ง ว า จะแก ป ญ หา หาทางออกของ NGV ใหลุลวงไปดวยดี และหลังจากไดมกี ารประชุมหารือแลว ไดขอ สรุปจากกลุม ผูป ระกอบการ ที่ ใช NGV มากที่สุด นั่นก็คือกลุมผูประกอบการขนสง โดยสหพันธ การขนสงทางบก ก็ ไดมีการเสนอวาทางสหพันธฯ จะเอามาบริหารจัดการ กาซ NGV เอง จากปตท. ทั้งหมด นั่นเปนมาตรการแรก สวนมาตรการ ที่ 2 คือ รับสมัครเปน MEMBER ยืนยันที่ราคา 8.50 บาท แบงสถานีกัน คนละครึ่ง ซึ่งสถานีตอนนี้มีอยูทั้งหมด 444 สถานี (ณ 1 ส.ค. 54) ผูใดสนใจก็มาลงขันทํากิจการ สวนปตท.มีหนาที่เอากาซในทอมาขายเรา เหมือนกับ ปตท.ขายกาซใหโรงไฟฟา ซึ่งแนวทางของการซื้อกิจการจาก ปตท.มีความเปนไปไดในเชิงบริหารที่จะทําใหเกิดสภาพคลองของกาซ NGV ที่ขาดแคลน ณ ปจจุบัน โดยประมาณการราคากิจการ NGV ไวอยูที่ 3 หมื่นลานบาท

ความเปนไปได?

ทางปตท.ตอบมาแลววา เรื่องขายนั้นยินดีจะขายใหกับทางกลุม สหพั น ธ ฯ แต ต อ งขอดู ตั ว เลขก อ น อย า งไรก็ ต ามก็ จ ะต อ งรอเจรจา รัฐบาลใหม และโฟกัสเรื่อง NGV ตั้งแตเริ่มตน บริหารจัดการอยางไร ปญหาอุปสรรค ขอเสนอแนะแนวทางแกไข ซึ่งตองบอกวาเราหนีไมพนที่

คุณสุรชัย กนกปณฑะ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการพัฒนา ส่ ง เสริ ม ตรวจสอบการพลั ง งาน และเรื่ อ งประชาชน การเมือง เพื่อความเป็นธรรม ในคณะกรรมาธิการการ พลังงาน วุฒิสภา

จะตองตอบวามันเปนเรื่องการเมือง เปนเรื่องความมั่นคงดานพลังงาน และมีหลายหนวยงานเขามาเกี่ยวของ สําหรับ NGV นั้นตองบอกวามันไม เคยอยู ในระบบเลย ไมเคยมีการจะนําเขาเปนวาระที่ตองแกไขเรงดวน เรื่ อ งปิ ด เงี ย บกั น หมด ฉะนั้ น คิ ด ว่ า ถ้ า เราให้ โ อกาสเอกชนเข้ า มา บริหารจัดการ ความกระตือรือรนในการแกปญหา และที่สําคัญอยูใกลชิด ปญหา การแกไขก็จะตรงจุดตรงเปาหมาย

ปญหา อุปสรรค

สําหรับปญหา อุปสรรคที่แทจริงคือการที่ปจจุบันมีสถานีแมอยู 17 สถานี หลอเลี้ยงสถานีลูก 400 กวาสถานี ดูจากสัดสวนก็ ไมใชสิ่งที่จะรับ กันไดอยูแลว ไหนจะสถานีนอกแนวทอที่จะตองใชรถขนสงกาซไปแจกจาย ตามสถานีตาง ๆ สถานีแฝงที่ผุดขึ้นมาแบบไมเขาระบบ ก็มาดูดกาซออก ไปหมด จายเทาไหรก็ ไมพอ ปญหาเหลานี้เปนปญหาที่แฝงมาโดยตลอด ของ NGV สัดสวน 17 สถานีแม ควรจะหลอเลี้ยงลูกไมเกิน 140 สถานีก็ เหมาะสมที่สุด ฉะนั้นเห็นยอดชัด ๆ แลววามัน OVER แลวจะทําอยางไรเพื่อ แกปญหานี้ ทัง้ สถานีแมใชเวลา 8 – 10 เดือนในการกอสราง แตบางตัวมีปญ  หา เพราะตองเดินทอ ตอนนี้การทํา EIA ทอกาซใชเวลา 2 ปกวาหรือเกือบ 26 เดือนถือวาเร็วที่สุด เพราะกฏหมายบางฉบับที่คางอยู ก็หวังพึ่ง รัฐบาลใหมนี้วาจะมีการทํา EIA ไดเร็วกวานี้ เพราะฉะนั้นการที่มี พรรคการเมืองที่เขมแข็งเปนพรรคเดียว จะสามารถทํา EIA ใหเร็วขึ้นได ยอเวลาทําประชาพิจารณใหเร็วขึ้น ลดขั้นตอนของกฏหมายลง โปรดติดตามความคืบหนาไดในฉบับตอไปครับผม... September 2011 l 65

Energy#34_p64-66_Pro3.indd 65

8/24/11 9:54 PM


! ! น อ ื คำเต

เกีย่ วกับหลอดไฟประหยัดพลังงาน จาก ก.สาธารณสุขอังกฤษ กระทรวงสาธารณสุขของประเทศอังกฤษ เผยแพรคําเตือนที่ เป น ประโยชน เกี่ ย วกั บ อั น ตรายจากหลอดไฟประหยั ด พลั ง งาน โดยรายงานวา หลอดไฟประหยัดพลังงานหรือหลอดกินไฟนอย ทั้งหลายนั้น ถามันเกิดแตกขึ้นมาละก็ อันตรายอยาบอกใคร สิ่งแรกที่จะตองทําหลังจากที่หลอดไฟเกิดแตกอยางกะทันหันนั้น คือควรจะรีบอพยพทุกคนทีอ่ ยูภ ายในหองนัน้ ออกมาใหหมด และไมควรเขาไป อีกเปนเวลาอยางนอย 15 นาที เพราะจะมีสารปรอท (สารพิษ) ที่อยูใน หลอดไฟ ฟุงกระจายออกมาทั่วบริเวณ ซึ่งหากสูดดมสารปรอทเขาสู รางกายจะทําใหเกิดอาการปวดหัวไมเกรน วิงเวียนศีรษะได และสําหรับคน ที่เปนภูมิแพ หากสัมผัสหรือสูดดมสารนี้เขาไป อาจทําใหผิวหนังเกิดผด ผื่นคันและแพอยางรุนแรงได นอกจากนี้ทางกระทรวงฯ ยังแนะนําอีกวา หากจะทําความสะอาด หลอดไฟทีแ่ ตก ก็ ไมควรทําความสะอาดเศษของหลอดไฟดวยเครื่องดูดฝุน เพราะมันจะทําใหสารพิษแพรกระจายไปยังหองอื่นๆ ได เมื่อใชเครื่องดูดฝุน เครื่องเดียวกันในครั้งตอไป ฉะนั้นควรจะทําความสะอาดดวยไมกวาดหรือ แปรง และเก็บเศษหลอดไฟและอุปกรณทาํ ความสะอาดที่ใชนัน้ ในถุงปดผนึก และนําไปทิ้งนอกอาคารในถังประเภทสําหรับทิ้งวัตถุอันตราย

Australia

Japan

รวมฮิต “ONLY IN” Téhéran

Iraq

66 l September 2011

Energy#34_p64-66_Pro3.indd 66

8/24/11 9:54 PM


Green Vision

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“นก” นั ก ปลู ก ป า ในธรรมชาติ ตัวชี้วัดทางธรรมชาติอยางยั่งยืน

มีโอกาสไดเขารวมกิจกรรมดูนกบานคนปลายน้ํา โครงการ “นก : ดัชนีวัดสิ่งแวดลอมในพื้นที่อุตสาหกรรม” ที่ทาง สมาคมอนุรักษนก และธรรมชาติแหงประเทศไทย (BCST) รวมกับ บริษทั ปตท. อโรเมติกส และการกลั่น จํากัด (มหาชน) PTTAR ทาง ENERGY SAVING จึงไมพลาดโอกาสที่จะขอเชิญตัว คุณอมร ลิ่วกีรติยุตกุล นายกสมาคม อนุรักษนกและธรรมชาติแหงประเทศไทย (BCST) มาใหสัมภาษณถึง ธรรมชาติซึ่งเปนแหลงที่อยูอาศัยของ นกในปจจุบันวาเปนอยางไรบาง

คุณอมรเลาถึงเหตุผลทีม่ กี ารใชนกเปนหนึง่ ในตัวชีว้ ดั ทางธรรมชาติ วา เราสามารถใชนกเปนตัวเชอมโยงธรรมชาติได วาหากนกแบบนี้อยูใน สภาพปาแบบนี้ แสดงวาเขามีอาหารมีความปลอดภัยของเขาอยู นกนอก เหนื อ จากจะเป น บ ง ชี้ สิ่ ง แวดล อ มแล ว มั น ยั ง เป น ตั ว ที่ ส ามารถกระจาย พืชพันธุโดยการกินผลไมและเวลาที่นกไปถายที่อนก็จะเกิดเปนตนกลา และ ตอไปจะกลายเปนตนไม จนอาจจะกลายเปนปาไดในอนาคต นกไมใชเพียง แคสัตวที่บินไดแตวามันคือนักปลูกปาในธรรมชาติ “ผมคาดหวังวาเด็กรุนใหมจะมีความรูทางธรรมชาติโดยการสอ ผานตัวนกเพิ่มมากขึ้น เพราะผมเชอวาเมอเรามีความรูทางเรองสัตวและ ธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น ก็จะทําใหเราเกิดความรักและความหวงแหน เราก็จะ ไมอยากใหสิ่งนี้ถูกทําลายไปจะปกปองรักษา ถามีคนจํานวนมากเขาใจ ธรรมชาติ การลานก การคานก การจับสัตวมากักขังก็จะไมเกิดขึ้นตอไป” “อยากจะบอกเลยวาถาชอบนก รักนก รักธรรมชาติ อยาเลี้ยงเขา อยาซื้อเขามา อยาลาเขา เพราะนั่นคือการสงเสริมใหมีการไปจับนกใน ธรรมชาติ จับสัตวจากธรรมชาติมาอีก เพราะฉะนั้นมันจะเกิดวงจรที่สง เสริมใหคนไปจับสัตวจากธรรมชาติเพิ่มขึ้นเรอยๆ อันดับแรกเลยคือเราจะ ไมซื้อ ไมเลี้ยง ไมลา ไมกักขังเขา เราไปดูในธรรมชาติ มีความเปนอิสระ มี ความเปนธรรมชาติ มากกวาที่จะมาดูเขาอยูในกรง สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ สําคัญ” คุณอมรกลาวทิ้งทาย

September 2011 l 67

Energy#34_p67_Pro3.indd 67

8/25/11 9:53 PM


Alternative Energy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิก์ ลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ขยะมีคา อยาทิ้ง อยาเผา ทานคงเคยไดยินหลายๆ วลี ที่พูดถึงขยะในเชิงมีคุณคา เชน ขยะ เปนทอง ขยะขุมทองของผูมองการณไกล แลววันนี้ก็มีเพิ่มคําวา “ขยะ มีคา อยาทิ้ง อยาเผา” ความจริงมีอยูวา ขยะยังคงเปนปญหาทั่วโลก ผูที่บอกวาขยะเปนทอง เปนขุมทองก็เพราะวา มองจากธุรกิจคัดแยกขยะ ไปขาย ซึ่งไมมีตนทุนเนองจากใชแรงงานและความสามารถเฉพาะตัวในการ คัดแยกประเภทขยะ แลวทานทราบหรือไมวา ขยะอีกกวารอยละ 90 ที่ ไมได รับการคัดแยกไปขายอยูที่ ไหน? แนนอนที่สุดก็กลับไปเปนภาระของภาครัฐ ผูเปนเจาของขยะตามกฏหมายเหมือนเดิม และขยะจํานวนรอยละกวา 90 ที่เหลือเปนภาระนี่แหละ คือเรองที่เราจะมาเจาะลึกกันวา มีคาจริงหรือไม ทําไมตอง อยาทิ้ง อยาเผา! กระทรวงพลังงานและกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดลงนาม ใน MOU เมอวันที่ 13 มกราคม 2554 โดยมีเปาหมายจะรวมกันพัฒนา พลังงานทดแทน โดยใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) พัฒนาพลังงานทดแทนใหไดตามแผน 15 ป ของกระทรวงพลังงาน การใช วทน. กับการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลนับวามีความสําคัญ อยางยิ่ง ทั้งนี้เพอใหผูที่เกี่ยวของกาวพนจากวิธีการเดิมๆ ดวยการฝง

กลบขยะแลวรอขุดเจาะกาซมีเทนจากบอฝงกลบมาใชประโยชน หรือใชการ เผาดวยเตาเผาขยะ โดยจะมีผลพลอยไดในการผลิตไฟฟาจากพลังงาน ความรอนที่เกิดขึ้น ซึ่งจะมีคําถามมากมายจากชุมชนและนักวิชาการวาได มีการใชประโยชนจากขยะคุมคาหรือยัง ชุมชนไดอะไร และยังคงมีขยะกลับ สูบอฝงกลบเปนจํานวนเทาไร เปนตน

แนวทางดําเนินการ (พลังงานขยะ) โดยใช วทน.

เนองจากองคประกอบของขยะมีขยะอินทรียจํานวนกวารอยละ 50 จําเปนตองคัดแยกขยะอินทรีย ขยะที่รีไซเคิลได รวมทั้งขยะที่เผาไหมได ออกจากกัน โดยนําขยะอินทรียและ¹éíÒเสียจากขยะไปหมักเพอผลิตกาซ ชีวภาพ สวนขยะที่ติดไฟได ใหนําไปผลิตเชื้อเพลิงขยะ (RDF: Refuse Derived Fuel) จากแนวทางของการใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ นวัตกรรมมองไกลไปถึงการนํา RDF คุณภาพดีที่ผลิตไดไปผลิตขยะ เชื้อเพลิงแบบอัดแทงที่เราเรียกวา Densified RDF เพอใหไดเชื้อเพลิงอัด แทงซึ่งมีคาความรอนสูง สะดวกในการขนสง สามารถนําไปใชรวมกับเชื้อ เพลิงชนิดอื่นๆ ในโรงไฟฟ้าและโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ขยะ

68 l September 2011

Energy#34_p68-69_Pro3.indd 68

8/20/11 12:07 AM


พลาสติกก็ยังสามารถนํามาผลิตเปน¹éíÒมันเชื้อเพลิงได ในอนาคต RDF ที่ มีคุณภาพดีก็จะคุมคาในการผลิตเปนนํามันเชื้อเพลิงเชนเดียวกัน พอสรุป ไดวา การเริม่ ตนกระบวนการจัดการขยะ โดยเฉพาะอยางยิง่ ขยะชุมชน ควร เริ่มตนจากการผลิต RDF เพอนําไปสูธุรกิจตอเนองอีกมากมายตั้งแต ปุย หมัก น้ําหมักชีวภาพ ฮอรโมนเรงการเจริญเติบโตของพืช และกาซชีวภาพ เพอใชผลิตความรอนและกระแสไฟฟาไปจนถึงเชื้อเพลิงคารบอนμèÒí สําหรับ ภาคอุตสาหกรรม

กระบวนการผลิต RDF: Refuse Derived Fuel ในประเทศไทย

ประเทศไทยมี เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต RDF เข า มาหลายต อ หลาย เทคโนโลยี เชนระบบ SRF หรือ RRF ขึ้นอยูกับการเรียกของเจาของ เทคโนโลยี และความแตกตางของคุณภาพ RDF เนองจากคําวา RDF ใช เรียกเชื้อเพลิงขยะทุกชนิด โดยไมไดแยกระดับชั้นคุณภาพ ปจจุบันใน ประเทศไทยมีโรงงานผลิต RDF ที่ ใหญที่สุดในประเทศไทย และอาจจะใหญ ที่สุดในโลก สามารถรองรับขยะไดกวา 3,000 ตันตอวัน ตั้งอยูในจังหวัด สระบุรี ผลิต RDF คุณภาพดีที่เจาของเทคโนโลยีเรียกชอวา SRF: Solid Recovered Fuel เปนระบบที่สามารถคัดแยกขยะอินทรียออกไดถึงรอยละ 80 มีระบบคัดแยกโลหะที่เปนเหล็กและไมใชเหล็ก รวมทั้งเศษแกว หิน ดิน ทรายออกจากเชื้อเพลิงขยะ จากการทดสอบกับขยะในประเทศไทย ที่มี ความชื้นสูงและไมมีการคัดแยกกอนทิ้ง ผลปรากฎวาขยะชุมชน 100 ตัน สามารถแยกขยะอินทรียและนําเสียออกไดประมาณรอยละ 40 และขยะที่ ใช เปนเชื้อเพลิงขยะไดประมาณรอยละ 30 สวนที่เหลือประกอบดวยขยะที่ รีไซเคิลไดกับขยะที่ ไมยอยสลาย (Inert waste) ประเภทเศษแกว หิน อีก จํานวนหนึ่ง ป จ จุ บั น มี ผู ล งทุ น ผลิ ต ไฟฟ า จากขยะ โดยเริ่ ม ต น จาก RDF อีกหลายรายทยอยลงทุนในธุรกิจนี้ สวนใหญเปนการผลิตจําหนายไฟฟา แบบ VSPP ขนาด 6-9.9 MW ขอดีของ RDF สําหรับนักลงทุนมีหลาย ขอ เชน มีความยืดหยุนสูง สามารถผลิต RDF ไดตั้งแต 200-500 ตัน ตอวันในเครองจักรชุดเดียวกัน ขึ้นอยูกับระยะเวลาการทํางาน เชน 10 ชั่วโมง 16 ชั่วโมง หรือ 20 ชั่วโมงตอวัน RDF ที่ผลิตไดหากเกินความ ตองการในการใชกับโรงไฟฟา ก็สามารถนําไปขายใหกับอุตสาหกรรมอน หรือผลิตเปนแทงเชือ้ เพลิงขยะ (Densified RDF) และจากกระบวนการผลิต RDF ที่สมบูรณแบบนี้ ขยะอินทรียและ¹éíÒเสียจากขยะกลายเปนวัตถุดิบอัน มีคาในการผลิตกาซชีวภาพ อาจสรุปโดยสังเขปไดวา ถาขยะเริ่มตนดวย RDF จะคืนทุนไดเร็วกวา ชุมชนยอมรับมากกวา จะมีขอเสียบางก็คือ

มีกระบวนการผลิตที่ยาวกวา ตั้งแตปุยหมักไปจนถึงโรงไฟฟา แตถาคิดวา เพอสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้นและใชทรัพยากรอยางคุมคาก็นาจะคุมเหนอย

ปญหา VS ความสําเร็จ

พลังงานจากขยะเปนพลังงานทดแทนที่เรียกวา “ปราบเซียน” ไมวา ทานจะมีเทคโนโลยีที่ดี หรือมีเงินลงทุนมากมายสักเพียงใด หากทานฝาฟน สิ่งเหลานี้ ไมได ความสําเร็จก็ยังไมเกิด 1. ประชาชนขาดความเขาใจในเรองโรงไฟฟาจากขยะ 2. ขาดการประสานงานที่ดีระหวางหนวยราชการที่เกี่ยวของ 3. ป ญ หาการเมื อ งภายในองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ที่ เ ป น เจาของขยะ 4. พ.ร.บ.รวมทุนป 2535 ในกรณีทีโ่ ครงการลงทุนมากกวา 1,000 ลานบาท ตองผานขั้นตอนยาวไกลกวา 3 ป และอาจไมไดรับอนุมัติในที่สุด 5. พ.ร.บ.ผังเมือง ในบางพื้นที่สรางพลังงานจากขยะไมได 6. สถาบันการเงินในประเทศยังไมมั่นใจในโครงการแปลงขยะเปน พลังงาน 7. การขออนุญาตจําหนายไฟฟามีขั้นตอนซับซอน ตองผานหลาย หนวยงาน 8. นโยบายกระทรวงพลังงานไมเอื้อตอการลงทุน เชน จากการ สนับสนุน Adder ที่อยูดีๆ ก็จะขอเปลี่ยนเปน Feed in Tariff โดยไมถาม ความคิดเห็นภาคเอกชนซึ่งเปนผูลงทุน

ทิศทางและความสําเร็จของการแปลงขยะเปน พลังงาน (Waste to Energy)

เมอวันที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2554 กลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดเชิญประชุมผูท ีเ่ กีย่ วของกับการแปลง ขยะเปนพลังงานจากหลายองคกร กวา 20 ทาน โดยเสนอใหภาครัฐสง เสริมการผลิตไฟฟาจากขยะชุมชนขนาดเล็กไมเกิน 1.5 MW ดวยเทคโนโลยี การใชพลังงานความรอน ซึ่งใชขยะประมาณ 50-100 ตันตอวัน โดยการ เพิ่ม Adder จาก kWh ละ 3.50 บาท เปน 4.50 บาท สวนกาซมีเทนจาก บอฝงกลบและ Biogas ที่ ไมเกิน 1.5 MW ใหปรับ Adder ไปที่ 3.50 บาท โดยทางกลุมฯมั่นใจวา หากมีการปรับ Adder ตามที่เสนอนี้ รวมทั้ง ปรับปรุงกฎระเบียบของภาครัฐใหเอื้อตอการลงทุน จะสามารถผลิตไฟฟา ไดถึง 500 MW ในป พ.ศ.2565 ซึ่งปจจุบันทางกระทรวงฯ ตั้งเปาหมาย ไวที่ 160 MW ในป พ.ศ. 2565 โดยมีผูจําหนายไฟฟาเขาระบบจริงๆ ใน ขณะนี้ ไมถึง 10 MW ขยะมีคา อยาทิ้ง อยาเผา จริงหรือ? ทานคงจะมีคําตอบอยูแลว ลองคํ านวณดู ก็จ ะทราบว ารั ฐ ต อ งนํ าเงินภาษีมาลงทุนจั ดการขยะนับ หมื่ นล้ า น ถึ ง แม้ การแปลงขยะเป็ นพลั ง งานจะดู คุ้มค่าที่สุดแล้ว ก็ ตาม แตทางที่ดีที่สุดก็ยังคงตองยึดหลัก 3R ชวยกันใชนอย ใช«éíÒ และนํากลับ มาใชใหมจะยั่งยืนกวา ขอบคุณ : - กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน - กลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย - http://www.zerowaste.co.th September 2011 l 69

Energy#34_p68-69_Pro3.indd 69

8/20/11 12:07 AM


Transport Energy

กรมธุรกิจแถลงสถาการณพลังงาน

นายวีระพล จิรประดิษฐกุล อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กลาววา “จากราคา¹éíÒมันดิบเวสตเท็กซัสเฉลี่ย อยูที่ระดับ 102 ดอลลารสหรัฐฯ ตอบารเรล ทําใหประชาชนหันมาใชกาซ NGV และกาซ LPG เพิ่มมากขึ้น โดยใน ชวง 6 เดือนที่ผานมา ยอดการใช NGV เพิ่มขึ้นมาอยูที่ระดับ 6,342 ตันตอวัน เมอเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน อยูที่ระดับ 4,697 ตันตอวัน สวนยอดการใชกาซ LPG ในภาคขนสงชวง 6 เดือนแรกของปเพิ่มมาอยูที่ระดับ 2,333 ตันตอวัน เมอเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนอยูที่ระดับ 1,795 ตันตอวัน” หากราคานํามันดิบทรงตัว ทางกรมฯ คาดวา ยอดการใชกาซเอ็นจีวีจะปรับตัวเพิ่มขึ้นถึงระดับ 7,000 ตัน ตอวันไดในปลายปนี้ โดยอยูระหวางการหารือกับ ปตท.เพอรับมือภาวะขาดแคลน สวนการใชกาซ LPG คาดวายอด การใชจะเพิ่มขึ้นในระดับ 5%-6% สําหรับภาพรวมการใช¹éíÒมันเชื้อเพลิงในชวง 6 เดือนที่ผานมา นํามันดีเซลมีการ ใชเพิ่มขึ้น 3.7% จาก 52.2 ลานลิตรตอวัน มาอยูที่ 54.1 ลานลิตรตอวัน เมอเทียบชวงเดียวกันกับปกอน ดาน กลุม¹éíÒมันเบนซินก็ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.5% จาก 20.1 ลานลิตรตอวัน มาเปน 20.4 ลานลิตรตอวัน อยางไรก็ตามชวง 6 เดือนหลังของปนี้ คาดวายอดการนําเขา LPG จะยังสูงตอไป โดยเฉลี่ยอยูที่ 140,000 ตันตอเดือน เนองจากความตองการ ที่เพิ่มขึ้น แมวาทางรัฐบาลจะมีการปรับราคากาซแอลพีจีในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น 3 บาทตอกิโลกรัมตอไตรมาส แตไมสามารถลดปริมาณการใชลงได เนองจากมีราคาถูกเมอเทียบกับการใชเชื้อเพลิงชนิดอน

กรมสรรพสามิ ต ปดกลโกงนํามัน จากสถานการณราคา¹éíÒมันพุงสูงขึ้น สงผลใหเกิดการลักลอบคา¹éíÒมันและยังเปนการเลี่ยงภาษี

อีกรูปแบบหนึ่ง สงผลกระทบตอรายไดของประเทศ ดวยเหตุนี้กรมสรรพสามิตจึงเตรียมมาตรการใน การปองกันการลักลอบคา¹éÒí มันผิดกฎหมาย โดยการใชระบบการควบคุมและติดตามการขนสง (Global Positioning System: GPS) ในเรือ Tanker และกําหนดใหสารละลายประเภทไฮโดรคารบอนตองมีใบขน กํากับติดไปกับรถขนดวย นายพงษภาณุ เศวตรุนทร อธิบดีกรมสรรพสามิต เปดเผยวา “กรมสรรพสามิตไดจัดตั้ง ศูนยปฏิบตั กิ ารปองกันและปราบปรามการกระทําผิดเกีย่ วกับปโตรเลียมคูข นานไปกับการจัดสงเจาหนาที่ ของกรมทํางานประจําที่โรงกลั่น พรอมทั้งวางระบบการควบคุม¹éíÒมันฯ ทั้งที่ตนทาง, ระหวางทางและปลายทาง เชน การควบคุมดวยระบบมิเตอร, การ เติมสารมารกเกอรใน¹éíÒมันสงออกและการเติมสารสีเขียวและมารกเกอรสําหรับ¹éíÒมันที่นําไปจําหนายในเขตตอเนองของราชอาณาจักร” แนวทางดังกลาวเปนการแกปญหาโรงกลั่น¹éíÒมันหลบเลี่ยงภาษี กรมสรรพสามิตจึงตองมีการเพิ่มมาตรการคุมเขมทุกระยะขนสง¹éÒí มัน เกรงลักลอบ ขาย¹éíÒมันผิดวัตถุประสงคแลวยอนมาขอภาษีคืน โดยนายพงษภาณุกลาวเสริมวา “เพอใหมั่นใจวา¹éíÒมันที่ออกจากโรงกลั่นจะเสียภาษีอยางถูกตองครบถวน อีกทั้งประชาชนยังไดใช¹éíÒมันที่มีคุณภาพ ขณะเดียวกัน¹éíÒมันที่ ไดรับการยกเวนภาษีหรือคืนภาษีจะเปน¹éíÒมันที่นําไปใชตามวัตถุประสงคนั้นจริงๆ”

พลังงานเตรียมลดเงินเขากองทุนฯ

ภายหลังการแตงตั้งรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานอยางเปนทางการ รมว.พลังงานคนใหมเดินเครอง เตรียมนโยบายแรกดวยการลดเงินเขากองทุน¹éíÒมัน ซึ่งสามารถทําไดทันทีหลังการแถลงนโยบายของรัฐบาลตอ สภาเรียบรอยแลว โดยเริ่มไดภายในเดือนกันยายนนี้ จะสงผลใหรายไดของกองทุน¹éíÒมันจะลดลงถึง 3,000 ลาน บาทตอเดือน นายพิชัย นริพทะพันธุ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน กลาววา “นโยบายการลดการจัดเก็บเงินเขา กองทุนฯ จําเปนตองมีการปรับลดการจัดเก็บเงินในระยะสั้น เพอชวยเหลือคาครองชีพใหกับประชาชน สวนมาตรการ ระยะยาวตองมีการพิจารณาในภาพรวมของโครงสรางราคาพลังงานทั้งระบบ ซึ่งเปนนโยบายที่จะทําทันที โดยจะลด การจัดเก็บในสวนของ¹éíÒมันเบนซินและ¹éíÒมันดีเซล คาดวาจะสามารถเริ่มนโยบายดังกลาวไดภายในเดือนกันยายน” ดานสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ไดเตรียมขอมูลเสนอ รมว.พลังงานคนใหมเกี่ยวกับการยกเลิกการเก็บเงินเขากองทุน¹éÒí มันชั่วคราว เบนซิน 91 และ 95 ซึ่งปจจุบันมีการเก็บเงินเขากองทุน¹éíÒมันฯ โดย¹éíÒมันเบนซิน 91 จัดเก็บอยูที่ 6.70 บาทตอลิตร, ¹éíÒมันเบนซิน 95 จัดเก็บอยูที่ 7.50 บาทตอลิตร ขณะที่¹éíÒมันดีเซลจัดเก็บอยูที่ 2.80 บาทตอลิตร 70 l September 2011

Energy#34_p70-71_Pro3.indd 70

8/20/11 12:37 AM


เอกชนเกรงกระทบพลังงานทดแทน

จากนโยบายลดเงินเขากองทุนของ รมว.พลังงาน สงผลใหหลายภาคสวนหวั่นจะมีปญหากับการสงเสริม พลังงานทดแทนและทําใหคนไทยไมประหยัด นักวิชาการแนะนําใหลดการเก็บเงินกองทุนฯ ในกลุม¹éÒí มันเบนซินไมเกิน 6 เดือนและไมควรลดทั้งหมด ขณะที่กาซ LPG และกาซ NGV สอแววเตรียมขยายเวลาการตรึงราคาออกไปอีก นายอนุสรณ แสงนิ่มนวล กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) กลาววา “การปรับลดอัตราจัดเก็บเงินกองทุนฯ รัฐบาลตองคํานึงถึงการสงเสริมดานพลังงานทดแทน โดยเฉพาะ ¹éíÒมันแกสโซฮอล E10, E20 และ E85 เพราะหากลดเก็บเงิน¹éíÒมันเบนซิน95 และ 91 ราคาขายปลีกจะใกลเคียงกับ ¹éíÒมันแกสโซฮอลทันที และจะตองมีการบริหารจัดการเรองสวนตางราคาใหเหมาะสมดวย” ดานนักวิชาการพลังงานเห็นวา ควรลดการเก็บเงินกองทุนฯ ในกลุมนํามันเบนซิน 91, ¹éíÒมันแกสโซฮอล 91 และ¹éíÒมันแกสโซฮอล 95 ลง 2.40 บาทตอลิตร สวน¹éíÒมันดีเซลไมตองทําอะไรจนถึงเดือนกันยายน เพอสะสมเงิน กองทุนไวเมอถึงเวลาตองขึ้นภาษีสรรพสามิต นอกจากนี้รัฐบาลอาจตองเลอนเวลาในการตรึงกาซ LPG และกาซ NGV ในภาคขนสงไปอีกระยะหนึ่ง

เชลลเชลลขแหอรั ฐลดประเภทนํามัน งประเทศไทยขอรัฐบาลปรับโครงสรางพลังงาน รัฐบาลควรเลือกชนิดพลังงานที่ตองการสงเสริม

และอุดหนุนกอนปลอยใหเปนไปตามกลไกของตลาด เพอใหเกิดการใชอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งชี้ ไทยมีประเภท นํามันกลุมเบนซินมากถึง 6 ประเภท ซึ่งมากเกินไปทําใหเกิดภาระตอผูประกอบการ แนะรัฐบาลควรปรับลดเหลือเพียง 3-4 ประเภทเทานั้น นางพิศวรรณ อัชนะพรกุล ประธานกรรมการ บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด เผยวา “ปจจุบัน ไทยเปนประเทศที่มีการจําหนาย¹éíÒมันเชื้อเพลิงหลายชนิดมาก ยกตัวอยางกลุม¹éíÒมันเบนซินมีถึง 6 ประเภทดวยกัน เชน นํามันเบนซิน 91, ¹éíÒมันเบนซิน 95, นํามันแกสโซฮอล 91, ¹éíÒมันแกสโซฮอล 95, นํามันแกสโซฮอล E20 และ ¹éíÒมันแกสโซฮอล E85 ขณะที่กลุม¹éíÒมันดีเซลยังมีอีก 2-3 ประเภท จึงอยากใหรัฐมนตรีพลังงานคนใหมพิจารณา ชนิดของ¹éíÒมันใหลดลง” นอกจากนีย้ งั อยากใหรฐั พิจารณานโยบายพลังงานวาตองการสงเสริมการใชพลังงานชนิดใด หากรัฐสงเสริม การใชกา ซ LPG และกาซ NGV ในภาคขนสงก็ตอ งพิจารณาวาใครจะรับผิดชอบการชดเชย ขณะเดียวกันก็ไมยตุ ธิ รรมในการนําภาษี¹Òíé มันชนิดอนมาอุดหนุนการ ใชกา ซ LPG และกาซ NGV เนองจากมีเชือ้ เพลิงชนิดอนทีส่ ามารถใชแทนกาซ LPG ทีต่ อ งนําเขามาแลวจําหนายในราคาควบคุมทําใหรฐั ตองอุดหนุน

เรงสํารวจรถใช LPG กอนขึ้นภาษีปาย

กรมการขนสงทางบกเตรียมเรงสํารวจขอมูลและจํานวนรถยนตที่ใชแกสเปนเชือ้ เพลิงทุกประเภท ทั้งรถยนตสวนบุคคลและรถโดยสารสาธารณะ หากพบปริมาณรถที่ใชใชแกส LPG เปนเชื้อเพลิงมีเพียง 1%-2% จากปริมาณรถทั้งหมด กระทรวงคมนาคมอาจเสนอไมขึ้นภาษีปายทะเบียนรถยนต ตามที่คณะ กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) เสนอมา นายศรศักดิ์ แสนสมบัติ รองปลัดกระทรวงคมนาคม กลาววา “ไดสั่งการใหกรมการขนสง ทางบกสํารวจปริมาณรถที่ ใชกาซหุงตม (LPG) เปนเชื้อเพลิง ซึ่งเปนไปตามมติของคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ที่ ใหศึกษาแนวทางการจัดเก็บภาษีปายทะเบียนรถยนตที่มีการใชกาซ LPG เปนเชื้อเพลิง เพอตองการชะลอการใชกาซ LPG ในภาคขนสง โดยใหรายงานกลับมาภายในสิ้นเดือนนี้ จากนั้นจะนําขอมูลไปหารือกับกระทรวงการ คลังตอไป” มติของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) กอนหนานี้ ตองการใหศึกษาแนวทางการจัดเก็บภาษีปายทะเบียนรถยนตและเห็นวา หาก จะจัดเก็บภาษีปายทะเบียน LPG ประจําปของรถยนตควรเก็บในอัตราที่สูงกวารถยนตที่ ใชนํามันเชื้อเพลิงทั่วไปประมาณ 37,133 บาทตอป และจะตองแกไข เพิ่มเติมกฎหมาย 2 ฉบับที่เกี่ยวของ September 2011 l 71

Energy#34_p70-71_Pro3.indd 71

8/20/11 12:37 AM


Vehicle Concept โดย : Save Driver

Suzuki Kisashi EcoCharge

ไฮบริดตัวจี๊ดจากเกาะซามูไร

เมองานมอเตอรโชวที่ผานมา บูธของซูซูกิดูเหมือนจะฉีกแนว สําหรับคายรถยนตขนาดเล็ก โดยการนํารถยนตตนแบบไฟฟาที่ ใช เครองยนตขนาดเล็กเปนตัวกําเนิดไฟฟา แตนั่นยังไม ใชการพัฒนา ขั้นสูงสุดของซูซูกิ เพราะลาสุดซูซูกิเปดตัวรถยนต ไฮบริดรุนแรก ของคายมาใหไดยลโฉมกัน และมีแนวโนมที่นําออกมาจําหนายจริง

มหกรรม New York Motor Show 2011 นับเปนอีกหนึง่ มหกรรมดานยานยนตทีย่ ิง่ ใหญ โดย ในงานนี้ มี ก ารนํ า รถยนต ต น แบบ หลากหลายรุน โดยเฉพาะรถยนตที่ เกี่ยวกับพลังงานทางเลือก และคาย รถยนตเล็กๆ อยาง Suzuki ดูเหมือน จะเปดตัวรถยนตไฮบริดรุนแรกของคาย ชนิดที่สะกดสายตาผูเขาชมงาน ใหหันมามองเจารถยนตไฮบริดคันนี้ Suzuki Kisashi EcoCharge คือชอรุนอยางเปนทางการของ รถยนตไฮบริดตนแบบ โดยใชโครงสรางพื้นฐานจากรถยนตรุน Kisashi ทั่ ว ไป แต่ เ พิ่ ม สมรรถภาพทางด้ า นการขั บ เคลื่ อ นด้ ว ยมอเตอร์ ไฟฟ้ า นอกจากจะชวยสรางอัตราเรงที่เกิดจากแรงขับเคลอนของเครองยนต เบนซินและมอเตอรไฟฟาแลว ยังเปนตัวชวยลดการใชนํามันเมอเทียบกับ รถยนตในรุนเดียวกันที่ ใชเครองยนตสันดาปเปนหลัก

72 l September 2011

Energy#34_p72-73_Pro3.indd 72

8/19/11 11:11 PM


สวนภายในหองโดยสารของ Suzuki Kisashi EcoCharge จะเนน แนวคิดดานการอนุรักษสิ่งแวดลอม ดวยการใชวัสดุที่เปนธรรมชาติมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งเปนสวนที่ทําใหลดการใชพลังงานในดานการผลิตลงถึง 80% นอกจากนีก้ ารผลิตรถยนตรุน ดังกลาวยังมีสว นชวยลดมลพิษลงถึง 84% อีกดวย เปนอีกหนึ่งคายรถที่เขามาดูแลเอาใจใสเรองของพลังงานและสิ่ง แวดลอม แวววาอาจไดยลโฉม Suzuki Kisashi EcoCharge ในเมืองไทย ที่งานมอเตอรเอ็กซโปชวงปลายปนี้ สวนเรองการออกวางจําหนายทาง ซูซูกิยังคงอุบไตไว

ความพิเศษของรถยนตรุนนี้อยูที่ระบบขับเคลอน ที่ ใชเครองยนต เบนซินแบบ 4 สูบแถวเรียง ขนาดความจุกระบอกสูบ 2.0 ลิตรสามารถ เรียกกําลังไดถึง 144 แรงมา นอกจากนี้ยังมีมอเตอรไฟฟาแบบระบาย ความรอนดวย¹éíÒและสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดขนาด 15 กิโลวัตต โดย มีแหลงเก็บประจุไฟฟาแบตเตอรี่แบบลิเธียมไออน ซึ่งมีขนาดแรงดัน 115 โวลท ดานซูซูกิยืนยันวารถยนตรุนนี้สามารถประหยัดนํามันไดมากกวารุน ทั่วไปถึง 25% นอกจากนี้รถยนตรุนดังกลาวยังเปนตนแบบของเทคโนโลยี EcoCharge โดยหลักการทํางานของเทคโนโลยีดังกลาวนั้นจะเนนลดการ ทํางานของเครองยนตในการใชรอบเครองยนตสูง เชน การใชกําลังจาก มอเตอรไฟฟาเขามาชวยในการเพิ่มอัตราเรง, การตัดระบบจายนํามันใน ชวงผอนคันเรง และการนําความรอนในขณะเบรกกลับไปชารจไฟฟาอีก ครั้ง รวมไปถึงระบบ Start/Stop Engine ซึ่งจะชวยดับเครองยนตอัตโนมัติ เมอจอดรถนิ่ง Suzuki Kisashi EcoCharge ยังมีระบบเกียรอัตโนมัติแบบ 6 สปด ชวยใหการทํางานของเครองยนตไหลลนขึ้น สวนภายนอกมีการตกแตง ทําใหดทู นั สมัยมากขึน้ โดยใชสขี าวซาตินรองพืน้ ดานในเปนไฟสีฟา ออนชวย ใหดูลําสมัย นอกจากนี้ยังมาพรอมกับไฟตัดหมอกแบบ LED ที่ชวยลดการ ใชไฟฟาจากแบตเตอรีแ่ ละใหแสงสวางทีเ่ พียงพอ พรอมทัง้ ยางลดแรงตาน ชวยใหประหยัดนํามันมากยิ่งขึ้นดวย

“จักรยาน” ถือเปนยานหานะที่ลดการปลอยกาซเรือนกระจก รวมไปถึงลดการใชพลังงานมากที่สุด หลายประเทศมีการรณรงคใหใช จักรยานแทนการใชรถยนต แตทวาประเทศทีม่ กี ารรณรงคใหใชจกั รยาน ก็ยังเกิดอุบัติเหตุขึ้นกับนักปนจักรยานเชนกัน ซึ่งอุบัติเหตุของรถ จักรยานครั้งแรกในรัฐนิวยอรค ประเทศสหรัฐฯ เกิดขึ้นในป 1986 เมอ รถยนตชนเขากับผูขับขี่รถจักรยานบนทองถนน อุบัติเหตุดังกลาวกอใหเกิดการผลิตอุปกรณลดอุบัติเหตุของ จักรยานขึ้นตั้งแตหมวกกันน็อก แผนสะทอนแสงและไฟสองสวางใน เวลากลางคืน แตก็ยังมีเหตุอีกมากที่กอใหเกิดอุบัติเหตุกับรถจักรยาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงเวลากลางคืน อุปกรณ LightLane จึงถูก คิดคนขึ้น โดยการใชเลเซอรสรางเลนจักรยานสําหรับจักรยานเสมือน จริงบริเวณดานหลังและรอบตัวของจักรยาน 2 หนุมนักออกแบบ Alex Tee และ Evan Gant จากบริษัทรับ ออกแบบ Altitude Inc. โดยอุปกรณ LightLane จะถูดติดตั้งใตเบาะที่ นั่งและสามารถฉายภาพจําลองเลนจักรยานดานหลังไดไกลถึง 10 ฟุต ชวยใหผูที่ ใชรถยนตสามารถเห็นจักรยานไดอยางชัดเจนในเวลากลาง คืน อุปกรณดังกลาวมีการวางแผนจะออกมาจําหนายในเชิงพาณิชย เร็วๆ นี้ September 2011 l 73

Energy#34_p72-73_Pro3.indd 73

8/20/11 12:39 AM


Energy Tezh โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย

จระเขแหลงเชื้อเพลิงอนาคต... จริงหรือ??? ในชวงเวลาที่พลังงานอยางน้ํามันมีอัตราที่ลดลงจนสามารถคาด คํานวณถึงปริมาณทีเ่ หลืออยูไ ด ทําใหหลายคนเริม่ ตระหนักถึงการหาแหลง พลังงานใหม โดยเฉพาะกลุม พลังงานทดแทนอยางไบโอดีเซล มีการคนควา วิจัยหลายรูปแบบตั้งแตการใชน้ํามันเกาหรือน้ํามันที่ ใชแลวมาสกัด หรือ แมแตการใชพืชมาสกัดอยางปาลมหรือลาสุดที่มีการวิจัยคือสาหราย แต ทวามีการวิจัยแลวคนพบวาสิ่งมีชีวิตจากยุคดึกดําบรรพอยางจระเขก็สา มารถใหไบโอดีเซลไดเชนเดียวกัน คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยหลุยเซียนา ไดเผยแพรรายงานที่มี บทสรุปวา ไขมันของจระเขมีศักยภาพที่ดีสําหรับการผลิตไบโอดีเซล และมี ความเปนไปไดที่อาจจะมีการนําไขมันจากจระเขมาผลิตไบโอดีเซลในเชิง พาณิชย เนื่องจากมีการเก็บไขมันจากจระเขในอุตสาหกรรมฟารมจระเข ซึ่งมีไขมันจากจระเขกวา 15 ลานปอนดที่ถูกทิ้งเสียเปลา โดยเปนจระเขที่ ถูกฆาเพื่อใชเฉพาะเนื้อและหนังเทานั้น การวิจัยผลการศึกษาในครั้งนี้ คือการเขาใจลักษณะของไขมันจาก จระเขและเปนการตรวจสอบถึงกระบวนการกรรมวิธีในการนํามาผลิตไบโอ ดีเซล ซึง่ กลุม นักวิจยั ดังกลาวพบวา ไขมันจระเขมศี กั ยภาพมากในการผลิต ไบโอดีเซลและดีกวาไขมันที่ ไดจากหมูหรือสัตวอื่นๆ การฝงกลบจระเขใน อุตสาหกรรมฟารมจระเขจึงเปนเรื่องที่ทําใหมูลคาของจระเขเสียไป นอกจากนี้กลุมนักวิจัยยังพบอีกวา การใชไขมันจระเขยังชวยลด ความตองการใชถั่วเหลืองในการผลิตไบโอดีกศล ซึ่งถั่วเหลืองถือเปน วัตถุดิบหลักในการผลิตไบโอดีเซลของสหรัฐอเมริกา โดยถั่วเหลืองกวา 21% ของผลผลิตที่ ไดจะถูกนําไปผลิตเปนไบโอดีเซล และกอใหเกิดความ กั ง วลอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในเรื่ อ งของราคาด้ า นอาหารที่ เ พิ่ ม ขึ้ น จากความ

ตองการนําถัว่ เหลืองมาผลิตไบโอดีเซลมากขึน้ และอาจสงผลกระทบตอการ บริโภค ไขมั น จระเข ก ว า 15 ล า น ปอนด ที่ ถู ก ทิ้ ง เสี ย เปล า มี ก าร คํ า นวณว า อาจจะสามารถนํ า มา ผลิตไบโอดีเซลไดกวา 1.25 ลาน แกลลอน ศาสตราจารย Rakesh Bajpai อาจารย ป ระจํ า ภาค วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยหลุยเซียนากลาววา “จากผลการวิจยั ทําให คาดไดวา คาใชจายดานพลังงานของไขมันจากจระเขจะอยูที่ราว 2.40 ดอลลารสหรัฐฯ ตอแกลลอน” ศาสตราจารย Rakesh Bajpai ยังสรุปวา “แมวาอัตราการบริโภค น้ํามันในปจจุบัน จะทําไบโอดีเซลที่ ไดจากไขมันจระเขเปนเพียงแคสวนนอย แตในฐานะที่เปนนักวิจัย แมวาไขมันจระเขจะนํามาผลิตไบโอดีเซลในปริมาณ ที่นอยมาก แตไขมันจระเขก็มีคุณสมบัติเหมาะสมอยางมากในการผลิต ไบโอดีเซล ซึ่งดีกวาการนําไปทิ้งโดยที่ ไมเกิดประโยชนอะไร”

74 l September 2011

Energy#34_p74_Pro3.indd 74

8/24/11 9:56 PM


Logistics Solution ในชวง 5-10 ปที่ผานมาพบวา มีจํานวนบริษัทใหบริการโลจิสติกส รายใหม และผูประกอบการตางชาติเขาสูตลาดเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะ จํานวนบริษัทใหบริการโลจิสติกสชั้นนําของโลก ทําใหสภาพการแขงขันใน ตลาดปรับเปลี่ยนไป และมีการขยายตัวของธุรกิจบริการโลจิสติกสเพิ่มขึ้น อีกดวย ซึ่งนับวาสถานการณดังกลาวทําใหผูประกอบการไทยเริ่มสนใจ ดําเนินธุรกิจบริการโลจิสติกสใหบริการกับบริษัทในเครือตนเองและให บริการกับลูกคาภายนอกดวย สําหรับผูประกอบการรายเล็ก หรือ SME’s ที่ ไมมีศักยภาพในการดําเนินการกิจกรรมโลจิสติกสของตนเองก็จะตอง ตัดสินใจเลือกใชบริการโลจิสติกสจากภายนอก ซึ่งนอกเหนือไปจากราคา คาบริการ และคุณภาพการใหบริการแลว ยังมีปจจัยอนๆ ที่ ใชใน การพิ จ ารณาในการเลื อ กใช บ ริ ก ารทางโลจิ ส ติ ก ส

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

ป จ จั ย ในการเลื อ กใช ผู ใ ห บริการโลจิสติกสบคุ คลที่ 3

การประเมินและคัดเลือกมีตัวแปรและมีความซับซอนหลายอยาง ซึ่งผูเลือก ใชบริการตางใหความสําคัญถึงการพิจารณาเลือกผูใหบริการตามปจจัย หลักๆ ดังนี้ 1. ความเชอถือได (Reliability) ประกอบดวย ประวัติการให บริการและความนาเชอถือของบริษัท ในปจจุบันพบวา บริษัทที่เลือกใช บริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส จะให ค วามสํ า คั ญ กั บ ประวั ติ ก ารทํ า งานของบริ ษั ท ชอเสียงในธุรกิจ และความมัน่ คง/สถานะทางการเงินของบริษทั ซึง่ ถือวาเปน ปจจัยสําคัญที่บริษัทตางๆ ใหน้ําหนักในการเลือกใชบริการ ทุนจดทะเบียน รายนามลูกคาที่เคยใหบริการ ฐานะทางการเงิน รวมถึงจํานวนรถบรรทุก ทีมงานหรือจํานวนบุคลากร รวมทั้งความสม่ําเสมอวงจรเวลาสั่งซื้อ การสงมอบทีถ่ กู ตองตามใบสัง่ ซือ้ และความปลอดภัยการสงมอบสินคา เชน ความถูกตองในการใหบริการ การตรงตอเวลาในการใหบริการมีความ ชํานาญ และเชี่ยวชาญทางธุรกิจ การสงมอบสินคาถูกตองตามใบสั่งซื้อ ความปลอดภัยในการสงมอบสินคา ระบบคุณภาพมาตรฐานในการทํางาน เชน ISO, KPI ของบริษัทผูใหบริการ รวมถึงมีระบบรักษาความปลอดภัย และระบบปองกันอัคคีภัยตามมาตรฐานสากล เชน กลองวงจรปด CCTV เป็นต้น และความสามารถในการลงทุนเพื่อพัฒนาและตอบสนองการ

ปรับปรุงและขยายการทํางานในอนาคต ถือวาเปนสวนหนึ่งที่บริษัทตางๆ พิจารณาประกอบในการตัดสินใจขั้นแรก 2. การส ง มอบสิ น ค า หรื อ บริ ก ารที่ ต รงเวลา (On Time Delivery) ลูกคาเมอสั่งซื้อของก็ตองการไดสินคาเร็ว การไดสินคาเร็ว ลูกคาไมตองสินคาคงคลังมาก เวลาตั้งแตลูกคาสั่งซื้อจนไดรับของเรียก วาวงจรเวลาสั่งซื้อ (Order Cycle Time) เชน ความรวดเร็วในการจัดสง เอกสารใหกับลูกคา ความรวดเร็วในการติดตอประสานงาน ความรวดเร็ว ในการสงมอบสินคาหรือบริการตรงเวลา หรือความรวดเร็วในการแกไข ปญหาของพนักงานที่ ใหบริการ 3. ราคาและความคุมคาในการใชบริการ บริษัทสวนใหญจะ พิจารณาราคาคาบริการ ในหลากหลายลักษณะ ทั้งในแบบเหมารวม หรือ แยกตามรายการการใหบริการ ทั้งนี้ จะใหความสําคัญกับ ความคุมคาใน การใชบริการมากขึ้น โดยจะพิจารณาถึงคุณภาพของบริการ และความ สะดวกรวดเร็วในการใชบริการเปนสําคัญ ถึงแมวา ราคาจะเปนปจจัยสําคัญ ในการคัดเลือกผูใหบริการโลจิสติกส หรือตัดสินใจเลือกใชบริการรายใด รายหนึ่ง แตเริ่มมีความสําคัญนอยลงและมีความยืดหยุนมากขึ้น โดยราคา คาบริการสวนมากที่ ใชในปจจุบัน จะไมใชการกําหนดตายตัว แตจะมีการ September 2011 l 75

Energy#34_p75-76_Pro3.indd 75

8/23/11 1:47 AM


เปดโอกาสใหมีการปรับขึ้นปรับลงได ในกรณีที่มีตนทุนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง เชน กรณีที่เกี่ยวของกับการขนสง ก็จะสามารถปรับราคาได เมอราคา น้ํามันปรับตัวสูงขึ้นหรือลดลง 4. การสอสาร (Communication) การสอสารสองทางทีเ่ ชอมโยง ระหวางผูซื้อและผูขาย ชวยในการติดตามและตรวจสอบสถานะการสั่งซื้อ การส่ง มอบ การขนส่ง และเชื่ อมโยงด้านการวางแผน การจั ด การ การขนสง งานเอกสาร และบริหารคลังสินคาใหแกลูกคา โดยมีระบบ เทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ มี ค วามทั น สมั ย ของเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ และ เครือขายการใหบริการที่ครอบคลุมหลากหลายพื้นที่ ความมั่นคงและความ สามารถในการใหบริการในระยะกลางและระยะยาว ความสามารถในการให คําปรึกษาในการปรับปรุงและเพิม่ ประสิทธิภาพใหดขี ึน้ เชน การใชเทคโนโลยี RFID ในกระบวนการขนสงและคลังสินคา การใชระบบติดตามสินคาทาง อินเตอรเน็ต (Cargo Track & Trace by Internet) เปนตน นอกจากนี้ ระบบเทคโนโลยีตางๆ ที่รองรับการใหบริการบริษัท จํานวนมาก เขาใจและตองการระบบสนับสนุนและชวยเหลือใหการทํางาน โลจิสติกสตางๆ ที่ยุงยากเสียเวลา มีความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยและ งายตอการปฏิบัติงานมากขึ้น ดังนั้น ผูใหบริการโลจิสติกสจะตองนํามา ประยุ ก ต ใ ช กั บ งานของตนให เ หมาะสมและรองรั บ ความต อ งการของ ลูกคาได ซึ่งในปจจุบันจะใหความสําคัญกับ ระบบจีพีเอส (GPS) หรือระบบ เอสเอ็มเอส (SMS) ในงานดานการขนสง และระบบซอฟแวรที่ชวยในการ บริหารงาน เชน ระบบ WMS ที่ ใชในงานคลังสินคา รวมถึงยังใหความ สําคัญกับระบบบารโคด หรือ อารเอฟไอดี (RFID) ที่ ใช ในการรับสง ตรวจเช็คสินคาตางๆ ดวยเชนกัน และประเด็นสุดทายในเรองของการ สอสารก็คือ การใหขอมูล การแกไขปญหาในปจจุบันและอนาคต การให ขอมูลใหมๆ กับผูใชบริการของผูใหบริการโลจิสติกสบุคคลที่สาม 5. ความสะดวก (Convenience) ลูกคาตองการความสะดวกใน การสงมอบสินคาบางราย การตองการใหสงมอบสินคาหลังเวลาปดราน บางรายการตองการใหสงมอบเวลาเชากอนเปดราน อยางไรก็ตาม บริษัท จําเปนตองการใหบริการทีม่ คี วามหยุน ตัว บริษทั อาจตองจําแนกลูกคาตาม ความสําคัญและใหบริการที่แตกตางกันไป เชน สถานที่ตั้งของผูใหบริการ มีเสนทางคมนาคมขนสงทีส่ ะดวก เชน อยูใกลสนามบิน ทาเรือ ฯลฯ มีความ สามารถในการขยายการใหบริการไปตามภูมิภาคตางๆ เชน ศูนยกระจาย สินคา เปนตน ความยืดหยุนในการใหบริการ เชน สามารถใหบริการไดโดย ไมจํากัดเวลา หรือ ใหบริการตลอด 24 ชั่วโมง สามารถแกไขปรับเปลี่ยน ขอตกลงในสัญญาบริการไดภายหลัง สามารถใหบริการแบบครบวงจร (ดานพิธีการศุลกากร ดานการขนสงสินคา ดานคลังสินคา/ดานการจัด เก็บสินคา และการกระจายสินคา) และมีบริการการขนสงหลายรูปแบบ เชน การขนสงทางถนน การขนสงทางน้ํา และการขนสงทางอากาศ 6. บริการเพิ่มคุณคา (Value-Added Service) บริษัทตางๆ ยังมองถึงความสามารถในการใหบริการ รูปแบบและเครือขายการให บริการในลักษณะของการใชหลายหลายบริการดานโลจิสติกสทเ่ี กีย่ วเนองกัน (Intergraded Services) ไมวาจะเปนการขนสง การจัดเก็บดูแลสินคา การตรวจสอบคุณภาพสินคา หรือการนําเขาสงออก บริษัทตองการใช หลากหลายบริการกับผูใหบริการรายเดียวมากขึ้น ดังนั้น การใหความ สําคัญกับรูปแบบและบริการที่ผูใหบริการโลจิสติกสนําเสนอ นอกจากนี้ยัง เริ่มใหความสําคัญกับเครือขายในการใหบริการไปยังแหลงผลิตและแหลง บริโภคตางๆ โดยมุงไปที่ขีดความสามารถในการใหบริการในภูมิภาคตาง

จังหวัด และในตางประเทศเปนสําคัญ และการใหบริการภายหลังจากการ บริการ (After sale service) ซึ่งผูใชบริการสามารถขอคําปรึกษาหรือรับ บริการหลังจากที่มีการทําสัญญาใชบริการของผู ใหบริการโลจิสติกส บุคคลที่สาม สํ า หรั บ บริ ก ารเสริ ม ต า งๆ ที่ ช ว ยให บ ริ ษั ท ดํ า เนิ น งานอย า งมี ประสิทธิภาพมากขึ้น พบวา บริษัทจํานวนมากจะใหความสําคัญกับบริการ เสริมอนๆ ที่ผูใหบริการโลจิสติกส สามารถชวยเหลือ หรือ ดําเนินการแทน บริษทั ได โดยเฉพาะอยางยิง่ ในเรองทีเ่ กีย่ วของกับการบริหารงานโลจิสติกส เช น การรวบรวมข อ มู ล การปฏิ บั ติ ง าน การทํ า ธุ ร กรรมผ า นทาง อินเตอรเน็ต รายงานการปฏิบัติงาน รายงานความเคลอนไหวของสต็อก หรื อ รายงานที่ เ กี่ ยวข อ งกั บประสิทธิ ภ าพ ดั ช นี ชี้วัดการทํ างานตางๆ ซึ่งบริการเสริมเพิ่มเติมเหลานี้นับวันจะเปนเงอนไขที่จําเปนสําหรับงานดาน โลจิสติกสมากขึ้นดวย อยางไรก็ตาม จะเห็นไดวาปจจัยเหลานี้ เปนความตองการของ บริษทั ตางๆ (ลูกคา) โดยเฉพาะผูป ระกอบการ SME’s ไทย ทีเ่ ปนผูใหบริการ โลจิสติกสบุคคลที่สาม นาจะตองนํามาพิจารณาตั้งรับ-รุกในการวาง กลยุทธทางการตลาดบริการดานโลจิสติกส รวมทั้งในอนาคตผูใหบริการ โลจิสติกสบุคคลที่สามคงจะไมใชผูทําหนาที่ ใหบริการแบบเดิม แตจะเปลี่ยน บทบาทเปนผูบูรณาการที่ชวยบริหารทรัพยากร ความสามารถ และ เทคโนโลยีขององคกรตัวเอง และเชอมโยงกับองคกรอนๆ เพอออกแบบ สราง และดํ า เนิ น งานวิ ธี ก ารแก ไ ขป ญ หาที่ ค รอบคลุ ม ทั้ ง โซ อุ ป ทาน รวมถึ ง มีสวนเกี่ยวของทั้งในการออกแบบและการจัดการระบบโลจิสติกสของ บริษัทตางๆ โดยจะทําหนาที่เปนผูประสานงานการบริการหลายๆ ชนิด จากผูใหบริการโลจิสติกสตางๆ อาจจะรวมถึงบริการการกระจายสินคา ระบบขอมูลสารสนเทศ บริการดานการเงินอีกดวย ดังนั้น ผูประกอบการ ไทยจะตองปรับตัวรับความเปลี่ยนแปลงดังกลาวที่จะเกิดขึ้น

76 l September 2011

Energy#34_p75-76_Pro3.indd 76

8/23/11 1:47 AM


Energy in Trend โดย : ลภศ ทัศประเทือง

มะแตก พืชพลังงานอีกตัวทีน่ า จับตามอง...

มะแตก พืชพลังงาน บนพื้ น ที่ สู ง นํ า มาสกั ด เป น น้ํามันได ถือเปนพืชพลังงาน ตัวใหมที่นาสนใจอีกหนึ่งตัว.. หลังจากที่เราไดรูจักคุนหูเปน อย า งดี กั บ สบู ดํ า ปาล ม น้ํามัน มะเยาหิน ฯลฯ สถาบันวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีส่ งู (องคการมหาชน) เปนหนวยงานหนึง่ ที่มีบทบาทหนาที่ ในการนําความรูจากมูลนิธิโครงการหลวงไปถายทอดแก เกษตรกร ชาวไทยภูเขา ทั้งในดานสงเสริมอาชีพการเกษตร ดานสังคม ดานอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รวมไปถึงบทบาทตางๆ ของแตละ สํานัก ตามโครงสรางของสถาบันฯ ทั้งนี้ ในดานการศึกษาวิจัยพืชพลังงาน ทดแทนนัน้ นายสุทศั น ปลืม้ ปญญา ผูอ าํ นวยการสถาบันฯ ไดมอบหมาย ให ดร.จารุณี ภิลุมวงค และ น.ส.กมลทิพย เรารัตน จัดทําโครงการ วิจัยพืชพลังงานทองถิ่นบนพื้นที่สูง ที่เปนภูมิปญญาทองถิ่นในการนําพืช ทองถิ่นมาใชใหเกิดประโยชนของการเปนพลังงานน้ํามันในชุมชน พืชทองถิ่นไดรับการฟนฟู ศึกษาวิธีการปลูกและการปฏิบัติดูแล รักษาทีเ่ หมาะสมและการจัดการเพิม่ ผลผลิต ใหมคี ณ ุ ภาพ ปริมาณเพียงพอ เผยแพร่แก่ผู้สนใจเพื่อนําไปปลูกทดลองและนําไปใช้เป็นน้ํามันสําหรับ ใชในชุมชน มีพืน้ ทีด่ าํ เนินงานทีจ่ งั หวัดเชียงใหม เชียงราย นาน แมฮอ งสอน พิษณุโลก อุตรดิตถ และจังหวัดกาญจนบุรี ทําการสํารวจ รวบรวม ภูมิปญญาทองถิ่นของเกษตรกรชาวไทยภูเขาเผากะเหรี่ยง เมี่ยน อาขา มง ลัวะ ไทยใหญ ปะหลอง และคนพืน้ เมือง จากการสํารวจและเก็บรวบรวม พันธุพืชพลังงานทองถิ่น ทั้งจากในปาและจากภายนอกปารวมกับชุมชน พบวามีพืชพลังงานที่สามารถเจริญเติบโตไดดีบนที่สูง ไดแก มะกิ้ง มะมื่น คอ มะเคาะ มะเยาหิน และมะแตก ลักษณะทัว่ ไปของมะแตก หรือกระทงลาย ภาษาทองถิน่ ชาวไทยภูเขา เรียก “ซิเประซะ” เปนไมเถาขนาดใหญ สูงประมาณ 2-10 เมตร เลื้อยพัน ไปตามตนไมอื่น เนื้อไมสีน้ําตาลแดง ใบเปนใบเดี่ยวรูปไขหรือรูปรี โคนใบ สอบเขาหากัน ปลายใบแหลมหรือมน หลังใบมีพื้นผิวเรียบ ดอกเปนชอแยก แขนงออกตามปลายกิ่ง ดอกสีขาวอมเหลือง ดอกเพศผูและเพศเมียแยก กันคนละตน ผลมีลักษณะคอนขางกลม เมื่อแกจะมีสีเหลือง ผลแตกออก เปน 3 หอง ภายในผลมี 2-6 เมล็ด เมล็ดเปนรูปไขมีเยื่อสีแดงสดหุมรอบ มะแตกเปนพืชที่ขึ้นในพื้นที่โลงในปาผลัดใบ ปาเบญจพรรณ และปาละเมาะ พื้นที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,400 เมตร ชอบดินรวนปนทราย แสงแดดปานกลาง ออกดอกระหวางเดือนเมษายน-พฤษภาคม ติดผลชวง เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม ผลแกสุกสามารถเก็บเกี่ยวไดประมาณเดือน สิงหาคม-ตุลาคม ขยายพันธุไดหลายวิธี เชน เพาะเมล็ด ปกชํากิ่ง และ การตอนกิ่ง

ประโยชน ข องมะแตก ด า นอาหาร ด ว ยการนํ า ยอดมาลวก ตม หรือนึ่งรับประทานเปนผักจิ้มกับน้ําพริก ดานสมุนไพร ลําตนใชเปนยา แกวัณโรค แกไขมาลาเรีย ใบใชเปนยาโรคบิด กระตุนประสาท ใชเปนยา ถอนพิษจากฝน วิธีใชดวยการตมหรือคั้นน้ํากิน เปลือกใชเปนยาทําแทง เมล็ดนํามาตําใหละเอียดใชพอกหรือกิน เปนยาแกโรคอัมพาต และโรคปวด เมื่อยตามกลามเนื้อ ยาแกไข เมื่อคั้นเอาน้ํามันจากเมล็ด ใชเปนยาแกโรค เหน็บชา ขับเหงื่อ ผลใชแกลมจุกเสียด บํารุงเลือด และใชเปนยาถอนพิษงู รากใชแกไขมาลาเรีย ดานพลังงาน ใชเมล็ดสกัดเปนน้าํ มันเชือ้ เพลิงสําหรับ ใสตะเกียงได น้ํามันมะแตก เมล็ดมะแตกที่นํามาสกัดเปนน้ํามันมะแตก จะมีสี เหลืองเขม มีกลิ่นหอม สามารถนํามาใชเปนพลังงานที่ ใหความรอนได เหมือนกับน้ํามันเชื้อเพลิงอื่นๆ นอกจากใชเปนน้ํามันจุดตะเกียงแลว พบวา น้ํามันจากมะแตกใชเปนยานวดผูปวยที่เปนอัมพาตและอัมพฤกษไดดวย ปจจุบนั ภูมปิ ญ  ญาจากการสกัดน้าํ มันพืชทองถิน่ ทีเ่ คยมีในอดีตเริม่ หดหายไป เพราะมีการนําเอาวัสดุอุปกรณเทคโนโลยี ใหมๆ และมีราคาแพงเขามา ใชทดแทน สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องคการมหาชน) จึงไดรวม กับชุมชนบานหวยเปา ตําบลทุงขาวพวง อําเภอเชียงดาว จังหวัด เชียงใหม นําโดยนายชน เสารแกว นายคํา ขัตหลง และผูสูงอายุในชุมชน ทําการรือ้ ฟน ภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ดัง้ เดิม เพื่อสกัดเอาน้าํ มันมะแตกและน้าํ มันงา ธรรมชาติแบบพื้นบาน หรือที่เรียกวาเปนวิธีการ “อีดน้ํามัน” คือเปนการ สกัดหรือบีบน้ํามันจากเมล็ดพืชที่ ไมแข็งมากนัก เชน งา ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ทานตะวัน และมะแตก ชาวบานจะทําการสานภาชนะที่ทําดวยไมไผ รูปทรง คลายหวดนึง่ ขาว กอนทีจ่ ะหีบน้าํ มันตองตากเมล็ดพืชใหแหงในทีร่ ม ทําการ คัดเลือกเปลือกทิ้ง นําใสในกลองมัดปากใหแนน นําไปนึ่งประมาณ 30 นาที นําเมล็ดบรรจุในภาชนะเพื่อสกัดน้ํามัน ใชไมมวนขอบภาชนะจากสวนปาก เขาหาสวนกนภาชนะ น้ํามันก็จะไหลลงทางกนภาชนะ ใชผาขาวกรอง ใช วัสดุหรือกะละมังรองรับน้ํามันที่หีบไดแลวบรรจุลงขวด จากการทดลอง ใชผลมะแตก 15 กิโลกรัม สกัดน้ํามันได 1.6 ลิตร สนใจติดตอสอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดทีส่ ถาบันวิจยั และพัฒนา พื้ น ที่ สู ง (องค ก ารมหาชน) โทร. 0-5332-8496-8 หรื อ www.hrdi.or.th

September 2011 l 77

Energy#34_p77_Pro3.indd 77

8/24/11 10:02 PM


Energy Around The World Asia

South America

http://www.yomiuri.co.jp/dy/national/T110809005443.htm

ชาวนางาซากิเรียกรองลดใชนิวเคลียร

ชาวเมืองนางาซากิออกมาเรียกรองใหมีการใชพลังงานหมุนเวียน แทนพลังงานนิวเคลียร เนองในวันรําลึกครบรอบ 66 ปในการทิ้งระเบิด ปรมาณูของสหรัฐฯ ที่เมืองนางาซากิในสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยมีตัวแทน จาก 44 ประเทศเขารวมพิธีและนับเปนครั้งแรกที่สหรัฐฯ สงเจาหนาที่ ไป รวมงานที่เมืองนางาซากิ หลังเมอปที่แลวสงทูตประจํากรุงโตเกียวไปเขา รวมพิธีที่เมืองฮิโรชิมา นายโทมิฮิสะ ทาอูเอะ นายกเทศมนตรีเมืองนางาซากิ กลาววา “ญี่ปุนตองพัฒนาพลังงานทางเลือกที่ปลอดภัยกวา เชน พลังงานแสง อาทิตย, ลม เปนตน หลังเกิดอุบัติเหตุนิวเคลียรที่โรงไฟฟาฟูกูชิมะ ไดอิจิ ไมวาจะใชเวลานานเทาไหรก็ตองสงเสริมการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนมา แทนที่ พ ลั ง งานนิ ว เคลี ย ร์ ชาวเมื อ งนางาซากิ ว อนขออย่ า ให้ มี เ หยื่ อ กัมมันตภาพรังสีเหมือนในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 อีก” ญี่ปุนเปนประเทศที่มีการใชพลังงานนิวเคลียรมากเปนอันดับ 3 ของ โลกรองจากสหรัฐฯ และฝรั่งเศส ซึ่งกอนเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ ญี่ปุน ตองพึ่งพาพลังงานนิวเคลียรถึง 30% ของความตองการใชพลังงาน ทั้งหมด และในอนาคตยังเตรียมวางแผนที่สงเสริมการพัฒนาพลังงาน เพิ่มขึ้นไปถึง 50% ภายในป 2030 แมจะมีนักเคลอนไหวดานสิ่งแวดลอม ออกมาเรียกรองใหทบทวนแผนดังกลาวก็ตาม

Middle East

http://www.zawya.com/story.cfm/ sidGN_14082011_150824/No_increase_in_ utility_tariffs_for_two_years

http://www.chinadaily.com.cn/xinhua/2011-07-29/content_3346556.html

เวเนฯ เตรียมพัฒนาแหลงนํามันดิบ

จากภาวะปริมาณ¹éÒí มันทีร่ อ ยหรอลงไปเรอยๆ สงผลใหหลายประเทศเรง หาแหลงพลังงานใหมเพิ่มเติม เวเนซูเอลาหนึ่งในประเทศผูผลิตนํามันโลกจาก อเมริกาใต ประกาศแผนการพัฒนาแหลงนํามันดิบที่มีขนาดใหญที่สุดที่ The Orinoco Oil Strip ทางตะวันออกของประเทศ คาดวาแผนดังกลาวจะชวยเพิ่ม การผลิต¹éÒí มันในบริเวณดังกลาวอีก 146,000 บารเรลตอวันในปนี้ จากปจจุบัน ที่ผลิตไดประมาณ 3 ลานบารเรลตอวัน นายราฟาเอล รามิเรซ รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานและนํามันของ เวเนซูเอลา กลาววา “แผนการการพัฒนาแหลง¹éíÒมันดิบดังกลาว จะถูกนํามา ประยุกตใชกับบอ¹éíÒมัน Ayacucho, Carabobo และ Junin โดยพื้นที่นี้มีบอ¹éíÒมัน มากกวา 600 บอและมีแทนสกัดนํามันดิบกวา 30 แทน เราตั้งเปาที่จะเพิ่มการ ผลิต¹éíÒมันใหไดถึง 4.1 ลานบารเรลตอวันภายในป 2558 และจะเพิ่มขึ้นเปน 6 ลานบารเรลตอวันในป 2562” เมอชวงกลางเดือนกรกฎาคมที่ผานมา กลุมประเทศผูสงออก¹éíÒมัน (OPEC) ประกาศใหประเทศเวเนซูเอลาเปนแหลง¹éíÒมันแหงแรกในโลกที่มีกําลัง การผลิตถึง 296,500 ลานบารเรล โดยแหลง¹éíÒมันสวนใหญของประเทศถูก คนพบในบริเวณ The Orinoco Oil Strip และเมอปที่แลวบริษัทเอกชนเกือบ 30 แหงจาก 20 ประเทศไดดําเนินการผลิต¹éíÒมันในบริเวณดังกลาว

ดูไบประกาศงดเพิ่มคาพลังงาน 2 ป

จากการคาดการณวาภูมิภาคตะวันออกกลางจะมีการใชพลังงานเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะไฟฟา สงผลใหมี การออกมาตรการเพอเพิ่มประสิทธิภาพการใชไฟฟา รวมไปถึงการจัดหาแหลงพลังงานทดแทนที่สามารถ ตอบสนองความตองการใชไฟฟา โดยสภาสูงของดูไบที่พิจารณาดานพลังงานมีมติ ไมมีการเก็บคานําและ คาพลังงานเพิ่มขึ้นเปนเวลาอยางนอย 2 ป นายนาจีป อัล ซาฟรานี เลขาธิการใหญและหัวหนาสภาสูงของดูไบที่พิจารณาดาน พลังงาน กลาววา “รัฐบาลไมสามารถรับประกันไดวา ราคาพลังงานจะไมเพิม่ ขึน้ ในระยะยาว ซึง่ ราคาพลังงาน จะขึ้นอยูกับปริมาณความตองการใชและราคานํามันเชื้อเพลิง โดยในชวงระยะเวลาที่ผานมาประเทศดูไบยังคง อัตราการใชพลังงานไฟฟาและนําเทาเดิม และยังไมมีแนวโนมเพิ่มขึ้น” สภาสูงของดูไบที่พิจารณาดานพลังงานเปนผูมีอํานาจที่รับผิดชอบในดานการกําหนดอัตราคา พลังงาน โดยสามารถเปลี่ยนแปลงได แตตองมีการศึกษาที่ครอบคลุมโดยคํานึงถึงองคประกอบทั้งหมดที่จะ ไดรับผลกระทบจากกระบวนการดังกลาว เชนเดียวกับกับการทํางานของ UAE โดยเมอชวงตนปนี้มีการปรับ อัตราคานําและคาสาธารณูปโภคเพิ่มขึ้นราว 15%

78 l September 2011

Energy#34_p78_Pro3.indd 78

8/20/11 12:43 AM


Europe

http://www.reuters.com/article/2011/08/16/us-shell-leak-idUSTRE77F19L20110816

เชลลเรงแกปญหาน้ํามันรั่วทะเลเหนือ

บริษัท รอยัล ดัทช เชลล ระบุเกิดเหตุ¹éíÒมันรั่วไหลปริมาณ 216 ตัน หรือเทากับ 1,300 บารเรลบริเวณทะเลเหนือเมอกลางเดือนที่ผานมา โดยระบุวา เกิดขึ้นที่แทนขุดเจาะแกนเน็ท อัลฟา ซึ่งมีเชลลและเอ็กซอนเปนเจาของรวม แทน ขุดเจาะดังกลาวอยูหางออกไปจากเมืองอเบอรดีน ประเทศสกอตแลนดราว 180 กิโลเมตร นับเปนสถานการณ¹éíÒมันรั่วไหลครั้งเลวรายที่สุดของอังกฤษในรอบ กวา 10 ป นายเกลน แคลีย ผูอํานวยการฝายเทคนิคของสวนการผลิตและ สํารวจในยุโรป บริษัท รอยัล ดัทช เชลล กลาววา “การรั่วไหลของนํามันลด ลงมาเหลือไมเกิน 2 บารเรลตอวัน ซึ่งการรั่วไหลครั้งนี้เกิดขึ้นบริเวณในสวน ของโครงสรางฐานขุดเจาะใตทะเลซึ่งมีความซับซอน ทําใหตองมั่นใจในขอมูลจึง จะเผยแพรขาวออกไปได ทําใหเราตองเผยแพรขาวลาชาถึง 2 วัน” อยางไรก็ตาม เชลลยงั ไมสามารถคาดการณวา จะหยุดการรัว่ ไหลไดเมอไร ทั้งนี้การผลิต¹éíÒมันในทะเลเหนือ เปนอุตสาหกรรมที่สําคัญของสกอตแลนด สําหรับแทนขุดเจาะ¹éíÒมันแกนเน็ท อัลฟามีกําลังการผลิต¹éíÒมันสูงสุดที่ 13,500 บารเรลตอวันในชวงระหวางเดือนมกราคมถึงเมษายนที่ผานมา ทั้งนี้เชลลยัง มั่นใจวา¹éíÒมันที่รั่วไหลออกไป จะไมลอยไปถึงชายฝง นอกจากนี้ยังมีคลนและ กระแสลมชวยสลายคราบ¹éíÒมันอีกดวย

เกาหลี ใตเรงพัฒนารถยนตไฟฟา

Africa

http://ae-africa.com/read_article.php?NID=3157

UN เรียกรองระงับสรางเขอน

เอธิโอเปยยังคงตองเผชิญหนากับปญหาการกอสรางโรงไฟฟาพลัง¹éÒí โดย ลาสุดเมอสหประชาชาติ (UN) ในสวนของคณะกรรมการมรดกโลกไดสงคํารองขอ ใหเอธิโอเปยหยุดการดําเนินงานกอสรางเขอนในโครงการโรงไฟฟาพลัง¹éíÒ Gibe III ซึ่งผลจากการสํารวจพบวา มีความเปนไปไดที่เขอนในโครงการดังกลาวอาจสงผล กระทบตอระบบนิเวศของทะเลสาบ Turkana และอาจคุกคามการดํารงชีวิตโดยเฉพาะ เรองของการใช¹éíÒ การกอสรางเขอนในโครงการโรงไฟฟาพลัง¹éÒí Gibe III ดําเนินการโดยบริษทั จากอิตาลี Salini Construction แตความสัมพันธสิ้นสุดเมอหลังโครงการโรงไฟฟา พลัง¹éíÒ Gibe II ลม บริษัทกอสรางจากประเทศจีน Dongfang Electric Corp. เขา ซื้อหุนของ Salini ในโครงการ Gibe III โดยการลงทุนกวา 459 ลานดอลลารใน โครงการดังกลาว ทําใหเอธิโอเปยอาจจะปฏิเสธเงินทุนจากธนาคารเพอการลงทุน ของยุโรป (European Investment Bank - EIB) และธนาคารเพอการพัฒนาแอฟริ กัน (African Development Bank - AfDB) ซึ่ง EIB ประกาศชัดวาไมไดมีสว นรวมในโครงการ Gibe III ขนาด 1,800 เมกะ วัตต โดยไดดําเนินการศึกษาดานสิ่งแวดลอมและสังคม ซึ่งมุงเนนในดานผลกระทบ ของโครงการในพื้นที่ รวมถึงทะเลสาบ Turkana ซึ่งเปนทะเลสาบกลางทะเลทรายแหง เดียวในโลก คณะกรรมการมรดกโลกไดยนคํารองขอตอประเทศเอธิโอเปยและประเทศ จีนในการหยุดโครงการ คาดวาหากโครงการดําเนินตอจะแลวเสร็จในป 2012

เกาหลีใตหนึ่งในประเทศผูผลิตรถยนตรายใหญ เตรียมพัฒนารถยนตไฟฟาโดยเปนโครงการภาครัฐ รวมมือกับเอกชน โดยเลอนกําหนดการดําเนินโครงการพัฒนาจากในป 2560 เปนป 2557 ภายใตโครงการ สนับสนุนเงินทุนจากภาครัฐโดยมีฮุนได มอเตอรผูผลิตรถยนตยักษใหญเปนผูนํา โครงการดังกลาวจะทําให เกาหลีใตเปนหนึ่งในผูผลิตรถยนตที่กําลังเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันในตลาดรถยนตไฟฟา กระทรวงเศรษฐกิจของเกาหลีใต มีแถลงการณออกมาวา “รัฐบาลไดเลือกบริษัทคอนซอเตี้ยม ซึ่งนํา โดยฮุนได มอเตอรเขามาพัฒนารถยนตดังกลาว ซึ่งจะสามารถเดินทางไดมากกวา 200 กิโลเมตรหรือราว 124 ไมลดวยการชารจแบตเตอรี่ครั้งเดียว ทั้งนี้จะไดรับเงินทุนจากภาครัฐเปนจํานวนเงินราว 70,000 ลาน วอนหรือราว 64.6 ลานดอลลารสหรัฐฯ” กอนหนานี้เกาหลีใตเตรียมแผนพัฒนายานยนตรภายในป 2560 แตการแขงขันที่รุนแรงทําใหตองปรับ กําหนดการใหม โดยฮุนไดเผยโฉมรถยนตไฟฟาแบบเต็มสปดเปนครัง้ แรกหรือบลูออน (BlueOn) ซึง่ สามารถเดิน ทางได 140 กิโลเมตจากการชารจครัง้ เดียว และยังมีแผนจําหนายรถยนตรนุ ดังกลาวจํานวน 2,500 คันภายในสิน้ ปหนา ขณะทีเ่ กีย มอเตอร บริษทั ในเครือฮุนไดก็มแี ผนผลิตรถยนตไฟฟาขนาดเล็กในปนด้ี ว ยเชนกัน

Asia

http://articles.economictimes.indiatimes. com/2011-08-10/news/29872174_1_ electric-vehicles-electric-cars-hyundai-motor

September 2011 l 79

Energy#34_p79_Pro3.indd 79

8/20/11 12:53 AM


Energy Concept โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย

เตาเผาถานชนิดอบ

ชุดเตาเผาถานชนิดอบเรงพรอมผลิตน้ําสมควันไม

เรงประหยัดพลังงาน พรอมผลิตน้ําสมควันไม

ปฏิเสธไมไดวา ในชุมชนทองถิน่ ตามจังหวัดตางๆ ยังคงนิยมใชถา นที่ ผลิตกันเองอยู โดยเฉพาะถานไมทส่ี ามารถหาไดงา ยกวาถานไฟฉาย แตทวา การผลิตถานไมดังกลาวยังคงนิยมใชกระบวนการกรรมวิธีเดิมอยู ซึ่ง นอกจากจะเปนตัวกอใหเกิดมลพิษแลว ถานที่ ไดยงั มีคณ ุ ภาพต่าํ เนองจาก เปนกระบวนการใชความรอนในสภาพที่ ไมสามารถควบคุมได ดวยเหตุนี้ อาจารยประเสริฐศิลป อรรฐาเมศร อาจารยประจํา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อําเภอ องครักษ จังหวัดนครนายก จึงมีแนวคิดในการประดิษฐเครองเผาถาน ไม ที่นอกจากจะชวยใหไดถานที่มีคุณภาพสูง ยังชวยลดมลพิษทางอากาศ

ลงไดอยางมาก ที่สําคัญเครองมือดังกลาวยังชวยใหไดน้ําสมควันไมเปน ผลพลอยได ซึ่งเกษตรกรไทยนิยมใชอยางมาก

เตาเผาถานชนิดอบเรงเปนอยางไร

ปกติ ก ารเผาถ า นทั่ ว ไปจะก อ ให เ กิ ด มลพิ ษ โดยเฉพาะก า ซ คารบอนไดออกไซด และยังใชเวลานานมากกวาจะไดถาน ที่สําคัญถานไม ที่ ไดกลับมีคุณภาพที่ต่ํา สําหรับเตาเผาถานชนิดนี้จะใชการเผาแบบอบเรง โดยมีอุปกรณที่สําคัญคือตัวเตาที่มีขนาด 0.2 ลูกบาศกเมตร โดยภายใน ตัวเตานั้นจะทําหารบุดวยอิฐทนไฟคุณภาพสูง ที่สามารถทนความรอนได

80 l September 2011

Energy#34_p80_Pro3.indd 80

8/25/11 10:39 PM


สูงในอุณหภูมิที่ 1,200-1,400 องศาเซลเซียส นอกจากนี้เตาเผาถาน แบบดังกลาวยังมีผลพลอยได เปนน้ําสมควันไม ซึ่งน้ําสมควัน ไ ม นี้ จ ะ ถู ก ผ ลิ ต ขึ้ น ที่ มี ห อ ควบแนนจํานวน 2 คูดวยกัน โดยคู แ รกจะทํ า หน า ที่ เ ป น ตั ว ควบแน่ น น้ํ า มั น ดิ น เพื่ อ แยก ส ว นที่ เ ป น น้ํ า มั น ดิ น ออกมา อาจารยประเสริฐศิลป อรรฐาเมศร ในขณะหอคู ที่ ส องก็ จ ะทํ า การ ควบแน น จนได น้ํ า ส ม ควั น ไม โดยหลักการดังกลาวเปนการดึงเอาควันที่ ไดจากการเผานํากลับมาผลิต เปนน้ําสมควัน ที่สําคัญในชุดควบแนนมีระบบน้ําหลอเย็นและมีวาวน้ํานิรภัยเพอ ปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได โดยวาลวดังกลาวจะเปนลิ้นนิรภัยปองกัน การระเบิดในกรณีที่เกิดไฟฟาขัดของโดยเฉพาะในสวนของเครองปม

จุดเดนของเตาเผาถานชนิดนี้คืออะไร

ถามองในแงของดานสิ่งแวดลอม เตาเผาถานชุดนี้ก็เปนตัวชวยลด การปลอยกาซคารบอนฯ ออกสูชั้นบรรยากาศ เพราะอยางที่บอกไวแลว วา ระบบของเตาเผาชุดนี้จะสามารถนําควันไฟที่ ไดจากการเผา นํากลับมา ควบแนนจากไดน้ําสมควัน แมวาจะยังคงมีควันไฟออกมาอยูแตก็มีปริมาณ ที่นอยกวาการเผาถานธรรมดาปกติ หากมองในแงของความคุมคาแลว อุปกรณดังกลาวสามารถเผาไมขนาดเล็กประมาณ 1-4 นิ้ว โดยสามารถ บรรจุไมไดครั้งละ 80-90 กิโลกรัม ขณะที่ ใชเวลาในการเผาเพียง 3-4 ชั่วโมงตอรอบเทานั้นและยัง สามารถเผาตอเนองได 3-4 รอบกับไมที่มีความชื้น 25% ขึ้นไป ซึ่งจะ

หลักการในการเผาถาน

สามารถผลิตน้ําสมควันไมได 15-20 ลิตรตอถาน 10-15 กิโลกรัม และ ถานที่ ไดสว นใหญจะเปนถานขาวซึง่ เปนถานทีม่ รี าคาสูง ในแงของพลังงาน เมอมีการใชเวลานอยก็ทําใหใชพลังงานนอยลงดวย หรือหากมองในแง ของการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ อุปกรณดังกลาวก็สามารถตอบ ไดอยางชัดเจน

การบํารุงรักษาควรทําอยางไร

สําหรับการบํารุงดูแลรักษาอุปกรณดังกลาวสามารถทําไดงายและ สะดวก เนองจากอุปกรณหลักทีต่ อ งดูแลบอยจะเปนตัวเตาทีต่ อ งผานความ รอนบอยและหอควบแนน โดยเฉพาะหอควบแนนคูที่หนึ่ง เนองจากเปนหอ ควบแนนที่ ใชแยกน้ํามันดิน เพียงแคนํามาทําความสะอาด ก็สามรถนํากลับ ไปใชงานไดดังเดิม ซึ่งจากการทดลองใชงานมีการเสียคาใชจายเฉลี่ยตอ วันอยูที่ 10 บาทเทานั้นเอง

คาดหวังอยางไรกับอุปกรณดังกลาว

กอนอนมักจะมีคําถามวาสามารถเผาอยางอนไดหรือไม ก็ตองบอก วาเราออกแบบมาเพอการเผาถานไมโดยเฉพาะ ซึ่งก็จะมีการถามวาไมชนิด ใดควรนํามาทํา ก็ตองบอกวาไมธรรมชาติทุกชนิดสามารถทําได ยกเวนไม ที่ผานการแปรรูปแลว เนองจากมีกระบวนการทางเคมีเขามาเกี่ยวของ นอกจากถานจะไมมีคุณภาพยังเปนอันตรายตอผูใชและผูผลิตอีกดวย สํ า หรั บ อนาคต มองว า อุ ป กรณ ดั ง กล า วเหมาะสํ า หรั บ ใช ใ น อุตสาหกรรมครัวเรือน, อุตสาหกรรมขนาดเล็ก, กลุม แมบา น อบต. เปนตน เพื่อใช้ ในการเผาถ่านและการผลิตน้ําส้มควันไม้ ซึ่งเหมาะสําหรับใช้ ใน การเกษตรและการปศุสัตว อีกทั้งน้ําสมควันไมยังเหมาะสําหรับการใชใน ครัวเรือนและใชเปนวัตถุดิบเครองสําอาง

ดําเนินการเผาถาน

September 2011 l 81

Energy#34_p81_Pro3.indd 81

8/25/11 10:40 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

8 วิธงี า ยๆ กับการเขารวมเปน

สวนหนึ่งในโครงการ Green IT เนองจากกระแสของ Green IT นั้นมีบทบาทอยางมาก ดังนั้นใน การที่ จ ะเริ่ ม ต น เป น ส ว นหนึ่ ง ของ โครงการ Green IT มี ขั้ น ตอน อยางไรนั้น ขอสรุปประเด็นหลักๆ ดังนี้ ขั้ น ต อ น ที่ 1 กํ า ห น ด แนวทางปฏิบัติดานสิ่งแวดลอม สี เ ขี ย ว: สร า งกฏระเบี ย บและ ขอบเขตดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมสีเขียวใหกับองคกรของทาน ขัน้ ตอนที่ 2 พัฒนาและวางแผนการ จัดการดานสิ่งแวดลอม: คือการใสใจและ ดําเนินธุรกิจที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การ วางแผนระบบการจัดการกอนการใชงานจะ ชวยใหลดการใชทรัพยากรที่สิ้นเปลืองได รวมทั้งตองสงเสริมและสนับสนุนใหองคกร เปนองคกรสีเขียวที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ขั้ น ตอนที่ 3 ร ว มสร า งองค ก ร สีเขียว : ถาองคกรของทานกําลังขยายธุรกิจ ควรตรวจสอบวาองคกร ของทานติดตั้งพลังงานความรอนที่มีประสิทธิภาพแลวหรือไม เชน ระบบ เครองปรับอากาศ หรือ ระบบแผงไฟฟา ขั้นตอนที่ 4 ซื้อหรือใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม : พิจารณาการจัดซื้อผลิตภัณฑ, อุปกรณและใชไฟฟาที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม เชน ผลิตภัณฑที่สามารถนํากลับมาใชใหมไดหรือทําจากวัสดุ รีไซเคิล ผลิตภัณฑที่ปราศจากสารพิษ

ขั้นตอนที่ 5 ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ : การบริหาร จัดการกับการใชพลังงานนั้น ถือเปนการดําเนินธุรกิจที่ดี ทานควรใช พลังงานที่มีอยูอยางรอบครอบและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งวิธีนี้ถือเปน วิธีที่จะชวยประหยัดพลังงานไดงายที่สุดเชนกัน ผลลัพธที่จะไดอาจไมนา เชอคือลดคาใชจายแตยังทําผลกําไรไดมากขึ้นอีกดวย ขั้นตอนที่ 6 ลด, นํากลับมาใช«éíÒ, รี ไซเคิล : องคกรสวนมาก สามารถประหยัดคาใชจายไดจากการลดปริมาณสิ่งของที่ ไมไดใชประโยชน นอกจากนี้ยังทําใหลดคาใชจายในการกําจัดของเสีย และคาใชจายในการ จัดซื้อวัตถุดิบรวมถึงอุปกรณสํานักงานตางๆดวย ขั้นตอนที่ 7 การสรางกลยุทธตลาด สีเขียว : ในการเริ่มดําเนินธุรกิจใหองคกรเปน ธุรกิจสีเขียวนั้น ทานควรประชาสัมพันธองคกร ของทานและสรางกลยุทธการตลาดที่จะชวยสง เสริมภาพลักษณขององคกรเชน การทําฉลาก หรือสัญลักษณของการรณรงคสิ่งแวดลอม เพอ นําไปใชกับผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมใน องคกรของทานตอไป และเปนตัวอยางที่ดีกับองคกรอน ขั้นตอนที่ 8 รวมสรางความสัมพันธกับเจาของธุรกิจอนๆ (Partnership) : การสรางความสัมพันธกับ Partner อนๆที่มีความใสใจ ดาน Green IT เหมือนกันนั้น จะชวยสรางความนาเชอถือของธุรกิจของ องคกรทานและยังแสดงถึงการใสใจตอสิ่งแวดลอมอีกดวย สุดทายนี้ ในการเริ่มตนกับ Green IT คงไมใชเรองยากอีกตอไป ทานอาจจะเริ่มจากตัวเองกอนก็เปนได โดยคิดถึงสิ่งแวดลอมและการใช พลังงานอยางคุมคาเพอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.ksc.net/greenit/8steps.htm

82 l September 2011

Energy#34_p82_Pro3.indd 82

8/20/11 12:54 AM


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

กองทุนพัฒนาไฟฟา สกพ. พรอม เดินหนาประกาศ 38 กองทุนทั่วประเทศ

กองทุ น พั ฒ น า ไ ฟ ฟ า ภายใต ก ารกํ า กั บ ดู แ ลของ คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ไดกําหนดพื้นที่ ประกาศและประเภทการบริหารเงินกองทุนพัฒนาไฟฟาในเขตพื้นที่ ประกาศเรียบรอยแลว โดยแยกเปนกองทุนขนาดใหญ หรือประเภท ก จํานวน 10 กองทุน และกองทุนขนาดกลางหรือประเภท ข จํานวน 28 กองทุน โดยมี สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สกพ.) ทําหนาที่บริหารจัดการเงินกองทุนฯ เพอใหการปฏิบัติงาน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ชัดเจนและโปรงใสจึงกําหนดใหมีการ สรรหา คณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา (คพรฟ.) จํานวน 15 -35 คนประกอบดวยผูแทนภาคประชาชนไมนอยกวา 2 ใน 3 ผูแทนจากหนวยงานภาครัฐ และผูทรงคุณวุฒิอีกไมเกิน 1 ใน 3 ทั้งนี้เพอ เปนการเปดโอกาสใหประชาชนรอบโรงไฟฟามีสวนรวมในการบริหารงาน กองทุนฯ โดย คพรฟ.จะมีบทบาทและหนาที่ ในการจัดทําและเสนอแผนงาน ยุทธศาสตร แผนงานประจําปเพอใชในการพัฒนาและฟนฟูทองถิ่นตอผูวา ราชการจังหวัดใหความเห็นชอบและนําเสนอ กกพ. เพออนุมัติในการ นําเงินกองทุนไปใชใหบรรลุเปาหมายตามความจําเปนและความตองการ ที่แทจริงของชุมชนตอไป การกําหนดพื้นที่ประกาศวา พื้นที่ใดที่จะไดรับการจัดสรรเงินกอง ทุนฯ นั้น ใชหลักการพิจารณาจากแผนการผลิตไฟฟาของแตละโรงไฟฟา จากศูนยกลางโรงไฟฟาครอบคลุมถึงตําบลโดยรอบโรงไฟฟาที่อยูในรัศมี ของพื้นที่ประกาศ โดยกองทุนประเภท ก จะมีรัศมี 5 กิโลเมตร ปริมาณ การผลิตไฟฟามากกวา 5,000 ลานหนวยตอป จํานวนเงินที่จะไดรับ มากกวา 50 ลานบาท กองทุนประเภท ข รัศมี 3 กิโลเมตร ปริมาณการ ผลิตไฟฟาไมเกิน 5,000 ลานหนวยตอป จํานวนเงินที่จะไดรับ 1 ลานบาท แตไมเกิน 50 ลานบาท ซึ่งทั้งสองประเภทนี้จะอยูภายใตการบริหารกองทุน ของ คพรฟ. สวนกองทุนประเภท ค จะมีรัศมี 1 กิโลเมตร ปริมาณการ ผลิตไฟฟาไมเกิน 100 ลานหนวยตอป จํานวนเงินที่จะไดรับนอยกวา 1 ลานบาทนั้นเปนหนาที่ของผูแทน อบต. หรือเทศบาลในพื้นที่เปนผูอนุมัติ

โครงการชุ ม ชนที่ ไ ด ผ า น การประชาคมระดับตําบล แลว ซึ่งในเดือนสิงหาคม นี้ สกพ. จะไดประสานงาน ไปยั ง กระทรวงมหาดไทย เพื่ อ ขอความร่ ว มมื อ จาก นายอําเภอในพื้นที่ตางๆ ที่ มีกองทุนขนาดใหญและขนาดกลางเพอจัดเวทีประชาคมหมูบานในการ สรรหาตัวแทนจากภาคประชาชนจากหมูบานและชุมชนตางๆ เพอเขามาทํา หนาที่เปนคณะกรรมการพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟา โดยจะมีการ ประกาศรับสมัครผูมีคุณสมบัติเขามาเปนคณะกรรมการฯ ของกองทุนฯ และการคัดเลือกผูแทนในเวทีประชาคมหมูบาน สําหรับที่มาของเงินของกองทุนพัฒนาไฟฟาที่จะจัดสรรใหกองทุน ในพื้นที่ตางๆ นั้น กกพ. กําหนดใหผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการผลิต ไฟฟานําสงเงินเขากองทุนพัฒนาไฟฟาตามนโยบายของคณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ โดยจําแนกตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ ใชในการ ผลิตไฟฟาในอัตราตางๆ คือ 1) อัตราการสงเงินเขากองทุนฯ 1 สตางคตอหนวยสําหรับผูผลิต ไฟฟาที่ ใชเชื้อเพลิงจากกาซธรรมชาติ กาซชีวภาพ ชีวมวล พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย กากและเศษวัสดุเหลือใช ขยะชุมชนและอน ๆ 2) อัตราการสงเงินเขากองทุน 1.50 สตางคตอหนวยสําหรับผูผลิตไฟฟาที่ ใชเชื้อ เพลิงประเภทนํามันเตา และนํามันดีเซล 3) อั ต ราการส ง เงิ น เข า กองทุ น 2 สตางคตอหนวยสําหรับผูผลิตไฟฟาที่ ใชเชื้อ เพลิงจากถานหินหรือลิกไนต นอกจากนี้ โรง ไฟฟาที่ ไดรับใบอนุญาตผลิตไฟฟาซึ่งอยูระหวางการกอสรางโรงไฟฟาจะ ตองนําเงินสงเขากองทุนพัฒนาไฟฟาจํานวน 50,000 บาท/เมกะวัตต/ป ดวย อนึ่ง เปาหมายของการจัดตั้งกองทุนพัฒนาไฟฟาเพอเปนเงินทุน ในการสงเสริมสนับสนุนการพัฒนาและฟนฟูทองถิ่นที่ ไดรับผลกระทบจาก การดําเนินงานของโรงไฟฟาในดานตางๆ เชน การพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนและสิ่งแวดลอมในพื้นที่รอบโรงไฟฟา การพัฒนาศักยภาพ ชุมชนการสรางงานและอาชีพเพอสรางความเจริญใหกับชุมชนเพอใหมี ชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้นโดยเนนการบริหารงานแบบมีสวนรวมของชุมชน เปนหัวใจสําคัญ September 2011 l 83

Energy#34_p83_Pro3.indd 83

8/19/11 11:08 PM


Energy Movement ผูเขียน: ตนสม...รายงาน

สวัสดี สวีดัส คะทานผูอาน ยางเขาสูเดือนเกากันอีกแลว เวลาผาน ไปไวเหมือนโกหก อีกไมกี่เดือน นิตยสาร ENERGY SAVING ก็จะยางเขา สูปที่ 4 อยางเปนทางการ ตองขอขอบคุณแฟนหนังสือทุกทานที่ชวยกัน ผลักดัน เปนกําลังใจดวยดีตลอดมา แหมเขาเรองขาวรอน....ปอนชาว ประหยัดพลังงานกันเลยดีกวาคะ เริ่มตนขาวแรกจะไมกลาวแสดงความ ยินดีกับรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานคนที่ 7 ของประเทศไทยไปไดอยางไรคะ ...ขอแสดงความ ยิ น ดี กั บ คุ ณ พิ ชั ย นริ พ ทะพั น ธุ หรื อ ที่ ค นใน แวดวงนักธุรกิจเรียกกันวา “เสี่ยแดง” แหมๆ อยากรู เรองราวของทานตองไปตามอานในหนา พิชัย นริพทะพันธุ Energy Keyman นะเจาคะ ในการต อ นรั บ การเข า มาทํ า งานใน กระทรวงพลังงานวันแรกของรัฐมนตรีพลังงานคน ใหม งานนี้เลนเอาชางภาพเหนอยไปตามๆ กัน ก็ตอง ไปรอทานที่บริเวณศาลทาวมหาพรหมสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประจํ า กระทรวง แถมพอท่ า นมาถึ ง เพื่ อ สั ก การะ ชางภาพแตละคนก็ตองการไดภาพสวยๆ ทิ้งทาย ตอนที่ทานขึ้นอาคารเพอเขาประชุมกับขาราชการระดับสูงและผูบริหาร บริษัทเอกชน ชางภาพหลายทานตางชวงชิงโอกาสในการขึ้นอาคารเพอ จับจองพื้นที่ ในการถายภาพที่ดีที่สุด แตคนที่เหนอยเห็นจะเปนเจาหนาที่ ประชาสัมพันธของอาคาร ที่ตองคอยแลกบัตรชนิดมือไมสะบัดกันระวิง ไปหมดแถมอยูคนเดียวดวย งานนี้มีมือระบมแนนอนเลยเจาคะ ยั ง คงอยู ใ นงานต อ นรั บ รัฐมนตรีพลังงานคนใหม ซึ่งทานใจดี อนุญาตใหสอมวลชนไดสัมภาษณทานใน เรองของนโยบายกอนที่ทานจะตองเขา หองประชุม งานนีเ้ หยีย่ วขาวไมพลาดคําถาม เด็ดๆ ชนิดใสกันไมเลี้ยง ซึ่งทานก็ตอบไดอยางคลองแคลว แมวาทานจะ ยังไมมีขอมูลมากนักเพราะเพิ่งเขากระทรวงฯ วันแรก แตก็ทําใหนักขาว สนุกกับการถาม จนเจาหนาที่ ไมรูจะแทรกตัวฝากองทัพนักขาวเพอจะไป บอกทานวา “ไดเวลาประชุม” อยางไรดี สุดทายพอทานเสร็จการสัมภาษณ นักขาวทีวี ทานยังตองพบกับทัพนักขาวสิ่งพิมพอีก เลนเอาเจาหนาที่ทอใจ กันเลยทีเดียวใชไหมคะ ถัดจากนั้นไปอีกสัปดาหหนึ่ง ทานก็นัด นักขาวแถลงนโยบายอีกครั้ง แหมวันแรกใหเวลา คุยหนาหองประชุมโดยรวมประมาณ 15 นาที จึง ตองมีภาคสองตามมาคะ บรรยากาศเปนกันเอง ในหองประชุม ตางฝายตางแนะนําตัวเอง นักขาว แนะนําตัวตอผูบริหาร ผูบริหารก็แนะนําตัวตอผู ณอคุณ สิทธิพงศ สอขาว เพราะงานนี้ ใหญก็เลยมีนักขาวหลายสาย ที่ ไมคุนเคยผูบริหาร อยางหนังสือพิมพญี่ปุนก็เขารวมงานนี้ ทานปลัด กระทรวงพลังงานคุณณอคุณ สิทธิพงศ เลยโชวพูดญี่ปุนแนะนําตัวเอง ซะเลย เรียกเสียงฮาอยางชนชมไปเต็มหองคะ

สวนทาน รมว.ไมนอยหนา ถึง คิวทานแนะนําตัวตอหนานักขาว มีอาการ ประหม า เล็ ก น อ ย แต ก็ แ ก เ ก อ นั ก ข า ว สัน้ ๆ วา ผมเปนคนพูดนอย แตจริงใจ ใคร มีคาํ ถามถามตรงๆ เลยนะครับ ผมจะตอบ ตรงๆ สวนนักขาวที่โทรหาผมแลวผมไมไดรับ อยาคิดอนใด ผมอาจติด ประชุ ม นะครั บ เดี๋ ย วผมติ ด ต อ กลั บ แหม !! น า รั ก ตั้ ง แต แ ว บ แรก เลยนะเจาคะ ถัดมาอีกวัน ณ ตึกเหลืองกระทรวง พลังงานเดิม ก็มีการแถลงความรวมมือระหวาง พพ.- ปตท.- ทบ. ในการจัดตั้งโครงการพัฒนา พลั ง งานความร อ นใต พิ ภ พอย า งจริ ง จั ง โดย คุ ณ ไกรฤทธิ์ อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน กลาววา ความรวมมือ ครั้ ง นี้ จ ะได ร ว มกั น ประเมิ น ศั ก ยภาพของแหล ง พลังงานทีม่ ีในประเทศ และศึกษาเทคโนโลยีตา งๆ เพอพัฒนาแหลงพลังงาน ความรอนใตพิภพที่เหมาะสมที่สุดภายในระยะเวลา 2 ป และเพอพัฒนาใหได โรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพภิ พของไทย ซึง่ ในเบือ้ งตน พพ. จะสนับสนุน ดานนโยบาย และมาตรการสงเสริมตางๆ จากภาครัฐ กรมทรัพยากรน้าํ บาดาล จะรวมสนับสนุนในดานการสํารวจ ประเมินศักยภาพและพัฒนาแหลงทรัพยากรน้ําบาดาล และ ปตท. ผูรวมจัดตั้ง จะดําเนินโครงการในขั้นการ พัฒนาแหลงและเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ซึ่งหากศึกษาและพบวาเหมาะสม จะดําเนินการพัฒนาตอไปใหเปนโรงไฟฟาตนแบบเจาคะ ทั้งนี้แหลงพลังงานความรอนใตพิภพ ถือเปนพลังงานทดแทน ที่ ไดจากแหลงหิน (source rock) หรือแหลงน้าํ ใตดนิ ทีม่ อี ณ ุ หภูมสิ งู มากกวา 150 องศาเซลเซียส ที่เคยคนพบไดในประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ ของประเทศ เป็นแหล่งน้ําพุร้อนที่มีอุณหภูมิของน้ําเมื่อขึ้นมาถึงผิวดิน สูงประมาณ 80 องศาเซลเซียส ซึง่ พลังงานทีม่ นี า้ํ เปนตัวพาขึน้ มา สามารถ นํามาเปลี่ยนใหเปนกระแสไฟฟาได ดวยเทคโนโลยี ในปจจุบัน คาดวาจะ สามารถทํ า ให แ หล ง พลั ง งานใต พิ ภ พในประเทศไทยให พ ลั ง งานไฟฟ า ไดมากกวาที่เคยทําการศึกษามาในอดีตอีกดวย ดานคุณปราณีต รอยบาง อธิบดี กรมทรัพยากรน้ําบาดาล ได ใหความเห็นวา น้ําบาดาลเปนทรัพยากรที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ และมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของประชาชน ในประเทศไทยอยางมาก เพราะเปนแหลงน้าํ สะอาด ทีป่ ระชาชนสามารถนํามาใชประโยชนในการอุปโภค ปราณีต รอยบาง บริโภค และยังมีเพียงพอที่จะนําไปใชเพอ กิจกรรม อน ๆ เชน อุตสาหกรรม เกษตรกรรม หรือการปศุสัตว สําหรับน้ําบาดาล ที่กักเก็บอยูใตดินในระดับลึกมาก ที่มีศักยภาพเปนแหลงพลังงานความรอน ใตพภิ พ สามารถพัฒนาขึน้ มาใชประโยชนทดแทนแหลงพลังงานจากฟอสซิล ในอนาคตไดเปนอยางดี ….. ตนเตนเจาคะ พลังงานชนิดนีต้ น สมอยากรูอ ยาก เห็นมานานแลว

84 l September 2011

Energy#34_p84-86_Pro3.indd 84

8/25/11 10:10 PM


ดาน กรีนพีซ เรียกรองรัฐบาลใหมให มุงสูการปฏิวัติพลังงาน โดยอาสาสมัครกรีนพีซ ไดบรรทุกหนังสือ ก ข ค ปฏิวัติพลังงานภาค พิสดาร จํานวน 700 เลมในรถตุกตุกพลังงาน แสงอาทิตย ไปยังอาคารรัฐสภา และมอบใหแก รองประธานสภาผูแทนราษฎร โดยมีวัตถุประสงค เพอเปนขอมูลพื้นฐานดานพลังงานไทยและใหสภา ผูแทนราษฎรและวุฒิสภาไดทําความเขาใจ โดยกลาวถึงสถานการณและ ขอมูลสําคัญของระบบพลังงานในประเทศไทย เรียงตามลําดับพยัญชนะ “ก” ถึง “ฮ” หนังสือแบบเรียนดังกลาวนีเ้ ปนคูม อื นําทางสูอ นาคตพลังงานสะอาด ในประเทศไทย ที่จะสงผลดีตอความมั่นคงทางพลังงาน เปนอิสระจากความ ผันผวนของราคาเชื้อเพลิงในตลาดโลก และเพิ่มการจางงานที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมอีกหลายตําแหนง แต่งานนี้ กรีนพีซต้องปลื้มใจ เมื่อ ปตท.-ไออารพีซี จับมือกันศึกษาความเปนไปได โครงการผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย โดยคุ ณ ประเสริ ฐ บุ ญ สั ม พั น ธ ประธานเจ า หน า ที่ บริหารและกรรมการผูจ ดั การใหญ บมจ.ปตท. เปดเผยวา ทั้ง 2 บริษัทจะรวมกันศึกษาความ ประเสริฐ บุญสัมพันธ เปนไปไดในการลงทุนพัฒนาโครงการโรงไฟฟา พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ข นาด 50-90 เมกะวั ต ต บนพื้ น ที่ ป ระมาณ 1,000-1,800 ไร คาดวาจะใชเวลาประมาณ 6 เดือนในการศึกษาความ เปนไปได และนําเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารของทั้ง 2

อะ..ชวยดูหนอย..ลูกไหนดํา??

บริษทั หลังจากนัน้ จะรวมกันจัดทําและยนขอเสนอใหกบั การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย (กฟผ.) เพอขายไฟฟาเขาระบบ หากขอเสนอไดรับการ พิจารณารับซื้อ จะมีการจัดตั้งบริษัทรวมทุนขึ้นเพอดําเนินการกอสรางและ ผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยในเชิงพาณิชยตอไปเจาคะ แตโรงไฟฟานิวเคลียรยงั นิง่ .. คุณธวัช วัจนะพรสิทธิ์ รองผูว า การกิจการสังคมและสิง่ แวดลอม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ใหความเห็นวา รัฐบาลและรมว.พลังงาน ตองเปนผูน าํ ในการตัดสินใจในการเลือกใชเชือ้ เพลิง ในการผลิ ต ไฟฟ้ า เพื่ อ สร้ า งความมั่ น คงด้ า น ธวัช วัจนะพรสิทธิ์ พลังงานในอนาคต เชนเดียวกับเกาหลีหรือญี่ปนุ โดยทาง กฟผ.พรอมทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามนโยบาย และทําความเขาใจกับประชาชน ในพืน้ ทีอ่ ยูแ ลว เพราะปจจุบนั ไทยมีปริมาณกาซธรรมชาติในอาวไทยทีจ่ ะใชได ประมาณ 18 ปเทานัน้ ทัง้ นีจ้ ากแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (พีดพี )ี ที่ใหมี การเลอนสรางโรงไฟฟานิวเคลียร 5 โรง ขนาด 5,000 เมกะวัตต ออกไปอีก 3 ป เปนป 2566 ทําใหรฐั บาลมีการตัดสินใจยากขึน้ วาจะใชเชือ้ เพลิงอะไรมาแทน โดยคาดวาตัวเลือกที่ดีสุดในขณะนี้คงหนีไมพนโรงไฟฟาถานหินสะอาด เพราะตนทุนต่าํ และราคาของเชือ้ เพลิงไมมคี วามผันผวนมากนัก มากั น ที่ ง านสั ม มนาด า น พลังงานของ GTO Corp.บริษัทที่ปรึกษา ดานพลังงานระดับสากล โดยงานนี้ ไดรับ เกียรติจากตัวแทนของบริษัทและองคกร ที่มีการดําเนินแผนประหยัดพลังงานจน ประสบความสําเร็จในแงลดคาใชจา ย งานนี้ ไดรบั ความสนใจจากผูป ระกอบการ หลากหลายแหง โดยในงานมีทงั้ การเสนอแนวทางและแผนการการประหยัด พลังงานตางๆ มากกมาย แตก็ยังไมวายเจอเหตุการณไฟฟาดับ จนผูเขา รวมสัมมนาหลายคนตางอุทานออกมาวา “สงสัยวานี่จะเปนอีกมาตรการ หนึ่งของการประหยัดพลังงาน” แหงมๆ งานเสวนาเรองผลกระทบเชิง นโยบายบริหารจัดการพลังงาน อันเนอง มาจากกรณีโรงไฟฟาฟูกุซิมะ ซึ่งเจาภาพ งานคือ สนพ. งานนี้ ไดรับเกียรติจาก NGO มารวมสัมมนาดวยตอนแรกก็กลัว วาจะเกิดปญหาการประทวงกันจนทําใหตองยกเลิกงานเสวนา แตการ เสวนาในครัง้ นีผ้ า นไปดวยดีเนองจากตางฝายรับฟงความคิดเห็นกันดวยดี (แตหลังจากสัมมนามีเขียนปายประทวงกันเล็กนอย หุหุ) ในอนาคตหากมี การดําเนินการสรางโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรจริงๆ ก็คาดเดาไมถกู เลย วาจะเกิดอะไรรายแรงหรือเปลา ? “โครงการตนแบบชุมชนบน วิถีพลังงานทดแทน” ที่ ต.ปลายโพงพาง อ.อั ม พวา จ.สมุ ท รสงคราม เป น อี ก โครงการหนึ่ ง ภายใต แ ผนพั ฒ นา พลังงานทดแทน 15 ป ของกระทรวง พลังงาน งานนี้ ไดรับเกียรติ์จาก ทานณอคุณ สิทธิพงศ ปลัดกระทรวง พลังงาน เปนประธานเปดงาน และก็เปนธรรมเนียมที่ประธานจะตองเดิน September 2011 l 85

Energy#34_p84-86_Pro3.indd 85

8/25/11 10:10 PM


จาก Facebook ของ EnergySavingMedia.com มี Fanpage ของ ES คลิกโหวดแสดงความคิดเห็นวา “อยากเห็น รมว.พลังงาน คนใหม (คุณพิชัย นริพทะพันธุ) จัดการเรองอะไร เปนอันดับแรก???” ผลการจัดอันดับออกมา ดังนี้ อันดับ 1 สงเสริมพลังงาน ทดแทน 2 แกไขโครงสรางราคาพลังงาน 3 มาคือ จัดการ คอรัปชั่นในกระทรวง 4 แกไขการจัดเก็บเงินเขากองทุนน้ํามัน 5 ผลิตรถใชพลังงานทดแทน 6 ฟนฟูความสัมพันธกับประเทศ เพอนบานในแงพลังงาน 7 และจัดการแผนพัฒนาโรงไฟฟา นิวเคลียร ตามลําดับ ซึง่ หากคุณสนใจใหรฐั บาลเรงสงเสริมดานพลังงานทดแทน ดังนั้น คุณคิดวาประเทศไทยควรจะใชอะไรมาผลิตเปนพลังงาน ทดแทนมากที่สุด 1. แสงอาทิตย 2. ลม 3. น้ํา 4. ชีวมวล 5. ขยะ 6. ความรอนใตพิภพ เยี่ยมชมบูธตางๆ ในขณะที่เยี่ยมชมที่บูธขายขนมพื้นบานชนิดหนึ่งมีผู ติดตามทานหนึ่งเอยวา “ทานรับไปกินบานสักหอมั้ยครับ” ทานปลัดเลย ตองรีบควักตังค หารูไมมีเจาหนาที่เตรียมขนมไวใหเรียบรอยแลว แตดวย สปริตเมอควักตังคออกแลวก็เลยตองจายตามระเบียบนะเจาคะ ยังอยูที่ “โครงการตนแบบ ชุมชนบนวิถีพลังงานทดแทน” ทานปลัด ไดแวะเยี่ยมชมทุกบูธไมวาจะเปนบูธโชว ผลิตภัณฑเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และ บูธอาหารที่แวะเปนตองชิมโดยเฉพาะราน ขายไกอบพลังงานแสงอาทิตยที่ลงมือสับเองชิมเองดูแลวทะมัดทะแมง ราวกับเคยเปนพอคามากอนเชียว พอมาถึงบูธจักรยานสูบน้ํานักขาว บอกใหทานชวยขึ้นไปปนจักรยานเพอจะถายรูป แตดูอุปกรณจะไมแข็งแรงทานปลัดเลยไมกลาขึ้น ไปปนเลยตองใชมือปนแทน (อุปกรณไมแข็งแรง หรือน้ําหนักเยอะคะงานนี้ คิคิ) ต องปรบมือดังๆ ให คุ ณ ชานนท เรืองกฤตยา ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเมนท จํากัด ผูนําคอนโดติด รถไฟฟาไอดีโอ (Ideo) ที่ลาสุด ปรับเปลี่ยนการ ใชชีวิตเพอสิ่งแวดลอม ยืนยันเต็มสองตาเพราะ

เห็นซีอีโอหนุมถอย “นิสสัน ลีฟ” รถยนตพลังงานไฟฟา 100% ไมมี ทอไอเสีย มาครอบครองเปนคนแรกๆ ของไทย ทั้งที่เพิ่งจอดโชวที่โชวรูม ได 2 วันเทานั้นเอง!!! มีโอกาสไปเดินชมงาน INSEE Green Factory Exhibition ที่ทาง บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ไดนํานวัตกรรม ดานการจัดการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมมาจัดแสดงภายในบริเวณโรงงาน ปูนซีเมนตนครหลวง สระบุรี ซึ่งคึกคักไปดวยพนักงานที่เขารวมกิจกรรม แนนทุกบูธ แสดงใหเห็นถึงความใสใจของพนักงานในทุกภาคสวนเกี่ยวกับ สิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งจริ ง จั ง แบบนี้ ต้ อ งขอชื่ น ชมวิ สั ย ทั ศ น์ ข องบรรดา ผูบริหารจริงๆ คะ กอนจากกันไป ตองขอแอบแซวหนอย ถึ ง พิ ธี เ ป ด งานที่ ดั ง ประชิ ด ติ ด หู จ ริ ง ๆ ทํ า เอา คุณฟลิป อารโต กรรมการผูจัดการ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปน ประธานในพิธีเปดงาน รวมถึงผูบริหาร ผูนํา ฟลิป อารโต ชุ ม ชน น อ งพริ้ ต ตี้ หรื อ แม แ ต นั ก ข า วต ก กะใจ ไปตามๆ กันกับเสียงประทัดไฮไลทของพิธีเปด ขวัญเอย...ขวัญมานะคะ ลากันไปกอน ฉบับหนาแซบกันใหมเจาคะ!!

ชานนท เรืองกฤตยา

86 l September 2011

Energy#34_p84-86_Pro3.indd 86

8/25/11 10:11 PM


Energy Exhibit

Energy Cost Saving 2011 :

The Successful Case Studies of Thai Industries GTO Corporation บริษัทผูเชี่ยวชาญใหคําปรึกษาดานพลังงาน ระดับโลก จัดงานสัมมนาดานการประหยัดพลังงานขึ้นที่โรงแรมดุสิต ปริ๊นเซส ศรีนครินทร โดยงานสัมมนาในครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อเนนใหผูบริหาร และผูมีสวนเกี่ยวของดานพลังงาน เรียนรูตัวอยางการดําเนินการดาน อนุรักษพลังงานที่ประสบความสําเร็จจากการปฎิบัติจริงในธุรกิจ รวมถึง วิธีการรับมือความทาทายตางๆ ที่เกิดขึ้น โดยในงานนี้ ไดรับเกียรติจากตัวแทน 4 หนวยงานทั้งภาครัฐและ เอกชน ไมวาจะเปนบริษัท เครือเจริญโภคภัณฑ จํากัด, บริษัท ศรีไทยซุป เปอรแวร จํากัด (มหาชน), การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และบริษัท สหวิริยาเพลทมิล จํากัด (มหาชน) ในการถายทอดความรูดานวิธีการ ประหยัดพลังงาน ซึ่งมีทั้งการเปลี่ยนอุปกรณที่ประหยัดพลังงาน, การ สรางจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงาน รวมไปถึงการใหผลตอบแทนจาก การใสใจในเรื่องของการอนุรักษพลังงาน นอกจากนีย้ งั มีการจัดบูธในดานการประหยัดพลังงานดานหนาหอง สัมมนา โดยเฉพาะในเรื่องของการวางแผนการอนุรักษพลังงาน รวมไป

ถึงขอมูลขาวสารความเคลื่อนไหวในแวดวงพลังงาน ซึ่งแตละบูธไดรับ ความสนใจเปนอยางดีจากผูเขารวมสัมมนา และทางนิตยสาร ENERGY SAVING ยังไดมีโอกาสประชาสัมพันธนิตยสารและขยายฐานสมาชิกพรอม กันนี้ดวย

September 2011 l 87

Energy#34_p87_Pro3.indd 87

8/24/11 10:00 PM


CTC’2011 : การเปลี่ยนกระบวน

ทัศนสูเศรษฐกิจสีเขียว องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) เปนเจาภาพจัดการ ประชุมวิชาการระดับชาติ ขึ้นเปนครั้งที่ 2 ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก : CTC 2011 ในหัวขอเรอง การเปลี่ยนกระบวนทัศนสูเศรษฐกิจสีเขียว โดย มีวัตถุประสงคเพอระดมความรูพัฒนากลไกตลาดรูปแบบใหม ในการลด คารบอน และเพอเปนเวทีในการนําเสนอแนวคิดการจัดตั้งศูนยฝกอบรม ของอาเซียนดานการจัดการกาซเรือนกระจกและการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ นําเสนอองคความรูท างวิชาการทีม่ กี ารวิจยั ในประเทศไทย เกีย่ วกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกลไกที่เกี่ยวของ และนําไปสูการ พัฒนาเพอแลกเปลีย่ นกระบวนทัศนสเู ศรษฐกิจสีเขียว รวมไปถึงการเผยแพร องคความรูในการลดกาซเรือนกระจกและการปรับตัวตอผลกระทบจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของภาคสวนตางๆ ที่เกี่ยวของ เปนตน ในสวนการสัมมนาประกอบดวยการบรรยายพิเศษจากวิทยากรผูมี ประสบการณทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยแบงเนื้อหาเปน 2 ดาน คือ 1. ดานการลดกาซเรือนกระจก (Mitigation) การมีสว นรวมของประชาชนในการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวเพอลดภาวะโลกรอน (People Participation in Green Areas Development for Reducing Global Warming) by JAFT โดยมีหัวขอที่นาสนใจ อาทิ การออกแบบอันมีคนเปนศูนยกลาง ,แนวทางการสงเสริมการมีสวนรวมของชุมชน ในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใน ชุมชนเมืองเพอลดภาวะโลกรอน,ไบโอชาร: เทคโนโลยีขับเคลอนพลังงาน สีเขียว ฯลฯ 2. ดานการปรับตัวตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (Adaptation) จากกระแสโลกทีต่ อ งการลดกาซเรือนกระจกเพอบรรเทาความรุนแรง ของผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก การประชุมฯ ครั้งนี้จัดขึ้นภายใตแนวคิดที่จะนําขอมูลจากตางประเทศมาใหสังคมไทยได รับทราบถึงความเคลอนไหวที่จะสะทอนแนวโนมของมาตรการและกลไก

ต า งๆ ตลอดจนภาวะภู มิ อ ากาศที่ อ าจส ง ผลกระทบต อ ประเทศไทยได ทั้งในดานบวกที่สามารถชวยสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและ สิ่งแวดลอม ใหกาวไกลและทันตอสถานการณโลก และผลกระทบในเชิงลบ ที่อาจมีตอการพัฒนา การคา การประกอบอาชีพและวิถีชีวิตของประชาชน ในอนาคต โดยมีประเด็นที่นาสนใจดังนี้ 1. มุมมองของสหภาพยุโรปวาจะเปนไปไดมากนอยประการใดที่จะ รักษาใหอุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นไมเกิน 2°C 2. มาตรการและกลไกตลาดทุกอยาง รวมทัง้ คํามัน่ สัญญาทีป่ ระเทศ พัฒนาอยางญี่ปุน จะดําเนินการตอไปหลังป 2012 3. กลไกทางการเงินที่ธนาคารโลกไดริเริ่ม ดูแล และจะใหการ สนับสนุนตอการพัฒนาเพอลดกาซเรือนกระจกและการปรับตัวตอการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. แนวคิดจากนานาชาติในการสงเสริมการปลูกปา และการจัดการ ปลูกปาในเมือง 5. กลไกตลาดคารบอนรูปแบบใหมทัง้ ระดับทองถิน่ และระดับระหวาง ประเทศทีเ่ ชอมโยงกับกลไกการถายทอดเทคโนโลยี การรับรองและทวนสอบ ที่มีกลไกปฏิบัติไดไมซับซอน และกลไกตลาดที่เชอมโยงกับการพัฒนาเมือง 6. การคาระหวางประเทศที่มีมาตรการการลดคารบอนสอดแทรก อยูในการนําเขาและสงออก นอกจากนี้ การประชุม CTC 2011 จะเปนเวทีการนําเสนอผลงาน วิจัยที่เกี่ยวของกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ หรือภาวะโลกรอนใน ประเทศไทย และในการประชุมประจําปนี้ จะเปนเวทีนําเสนอ “การ ประเมินตนเองครั้งแรกของประเทศไทยเกี่ยวกับภาวะ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดยผูเ ชีย่ วชาญไทยที่ ไดรบั รางวัล Nobel Laureates ซึ่ ง จะสะท อ นให เ ห็ น โอกาสและทิ ศ ทางของ ประเทศไทยในการพัฒนาสูเศรษฐกิจสีเขียว”

88 l September 2011

Energy#34_p88_Pro3.indd 88

8/29/11 9:14 PM


Special Report โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ชุมชนพอเพียง เลี้ยงตัวดวย พลังงานทดแทน..ที่ อัมพวา

จะวาไปแลวพลังงานทดแทนนั้นมีมานานตั้งแตสมัยบรรพบุรุษของ เราเลยก็วาได ยกตัวอยาง เชน การหุงขาวโดยใชเตาถาน การใชแสงแดด ในการตากแหง การใชลมในการวิดน้ําหรือใชกังหันลมในนาเกลือ การใช น้ําในการใชเปนแรงดันน้ําหรือระหัดวิดน้ํา ซึ่งเปนการใชในชีวิตประจําวัน แตยังไมมีการใชประโยชนในรูปแบบผลิตไฟฟา หลังจากเกิดวิกฤตการณราคาน้ํามันแพง ภาวะโลกรอน (Global Warming) ทําใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงความสําคัญดังกลาวพรอมกับ ออกมารณรงค คิดคนสงเสริมใหเกิดการใชพลังงานทดแทน เพอทดแทน พลังงานเชื้อเพลิงธรรมชาติที่กําลังจะหมดไปในอนาคตอันใกล และเพอ เปนการบรรเทาภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง (climate change) ภายใตแผนพลังงานทดแทน 15 ป ของกระทรวงพลังงาน และ หนวยงานในสังกัดสนับสนุนใหทุกภาคสวนไดพัฒนาคิดคนการใชพลังงาน ทดแทนรวมถึงการอนุรักษพลังงาน โดยมีมาตรการและนโยบายหลายๆ ออกมา และลาสุด สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) September 2011 l 89

Energy#34_p89-90_Pro3.indd 89

8/23/11 1:50 AM


ไดทําโครงการ “ตนแบบชุมชนบนวิถีพลังงานทดแทน” โดยจัด นํารองขึ้นที่ ต.ปลายโพงพาง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม โดยไดกําหนดเปนนโยบายหลักในการบริหารจัดการดานพลังงาน เพอสรางความมั่นคงดานพลังงานของประเทศใหมีเสถียรภาพทั้งดาน เศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม พรอมทั้งมีความรับชอบตอสังคม ดังนั้น จึงไดกําหนดกิจกรรมโครงการตนแบบชุมชนบนวิถีพลังงานทดแทน เพอ รองรับนโยบายดังกลาว และกําหนดนโยบายดานผูปฏิบัติงาน ไดกําหนด นโยบายหลักในการมุงมั่นสงเสริมใหบุคลากรเปนคนเกง คนดี พัฒนา บุคลากรใหมีความรู ความสามารถ อยางเปนระบบและตอเนอง โดยจะจัด ใหมีเวทีและชองทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู รวมทั้ง เปดโอกาสใหบุคลากร แสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะในการพัฒนาองคกรหรือชุมชนนั้นๆ

ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ให้ ค วามรู้ ความเข้ า ใจ ในเรื่ อ งพลั ง งานทดแทนที่ สอดคล อ งกั บ วิ ถี ชุ ม ชน เป น การสร า งจิ ต สํ า นึ ก เกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ พลังงาน และพลังงานทดแทนใหมกี ารใชพลังงานอยางเหมาะสม และยัง่ ยืน ตอไปในทองถิ่น ดวยการประยุกตวัสดุเหลือใชทางการเกษตร และวัชพืช ในชุมชนมาผลิตเปนเชื้อเพลิงเพอใชในชีวิตประจําวัน และสรางการมีสวน รวมกับประชาชนในการบริหารจัดการพลังงานทดแทนที่มีอยู ในทองถิ่น อยางยั่งยืน การสนับสนุนการขับเคลอนนโยบายและยุทธศาสตรพลังงาน สูวิถีการพึ่งพาตนเองของชุมชนดวยการใหความรู ความเขาใจดาน พลังงานทดแทนของชุมชนจากการปฏิบัติจริง และนําไปสูการยอมรับ เทคโนโลยีพลังงานทดแทนทีส่ ะอาดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ยังเปนการ

สรางทัศนคติและเกิดภาพลักษณที่ดีของชุมชนสูการเปนชุมชนสีเขียวเพอ ลดโลกรอน อยางไรก็ตามแหลงขาวจาก สนพ. ยังบอกอีกวาสาเหตุที่เลือก ต.ปลายโพงพาง อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม เปนพื้นที่ ในการนํารอง โครงการนั้นก็เนองจากวา ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน ทําสวนมะพราว สมโอ กลวย และมีวิสาหกิจชุมชนกระจายอยูรอบๆ อาทิ โรงงานทําน้ําตาลมะพราว โรงงานแปงร่ํา โรงนึ่ง (ตม) ปลาทู ฯลฯ ซึ่งสามารถนําของเหลือทิ้งจากสิ่งเหลานี้มาใชประโยชนไดเปนอยางดี นอกจากนี้ กระทรวงฯยังสนับสนุนเตาประสิทธิภาพสูง ซึ่งเปนหนึ่ง ในเทคโนโลยีพลังงานทดแทนทีเ่ หมาะสมตอชุมชน โดยใหชมุ ชนนําไปทดลอง ใช และมีการจัดเก็บขอมูลเปรียบเทียบใหเห็นอยางชัดเจนระหวางการใช พลังงานของเตาแบบเดิมและเตาประหยัดพลังงาน วาแตกตางกันอยางไร และนําไปสูการยอมรับของชุมชนในที่สุด และในสวนของแผนโครงการ นํารองครั้งตอไปก็จะเปนทางภาคใต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค เหนือตามลําดับ นี่เปนการเริ่มตนที่ดีสําหรับโครงการตนแบบชุมชนบนวิถีพลังงาน ทดแทนซึ่งเปนอีกศาสตรหนึ่งของวิถีพอเพียงหรือเศรษฐกิจแบบพอเพียง และถาหากมีการพัฒนาอยางตอเนองไปสูทุกชุมชนในผืนแผนดินไทย เชอ วาจะชวยใหแตละชุมชนลดคาใชจายดานพลังงานและภาวะโลกรอนไดเปน อยางดี

90 l September 2011

Energy#34_p89-90_Pro3.indd 90

8/23/11 1:50 AM


Energy#32_p94_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/25/11

12:03 AM


Energy Legal โดย : ทนายเหนง

มา ไดรวมกองทุนทัง้ 2 เขาไวดว ยกันตามคําสัง่ นายกรัฐมนตรีท่ี 206/2521 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2521 และเรียกวา “กองทุนน้าํ มันเชือ้ เพลิง” กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายจึงถูกตั้งขึ้นเพอ กําหนดหลัก เกณฑสําหรับการคํานวณราคาและกําหนดราคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่ผลิตใน ราชอาณาจักรหรือนําเขามา, กําหนดคาการตลาดน้าํ มันเชือ้ เพลิง, กําหนด คาขนสงกาซและคาใชจายในการเก็บรักษากาซ ตลอดจนกําหนดราคาขาย กาซใหเปนราคาเดียวกัน, กําหนดอัตราเงินสงเขากองทุนหรืออัตราเงิน ชดเชย, กําหนดชนิดของน้ํามันเชื้อเพลิงที่ ไมตองสงเงินเขากองทุนหรือไม ใหไดรบั เงินชดเชย, กําหนดราคาขายสงหนาโรงกลัน่ และคํานวณราคาขาย ปลีก, พิจารณากําหนดอัตราภาษีใหอยูในระดับไมต่ํากวาอัตราภาษีต่ําสุด และไมสูงกวาอัตราภาษีสูงสุดและกําหนดใหโรงกลั่นแจงราคาขายสงหนา โรงกลั่นตอคณะกรรมการ

กองทุนน้ํามัน…สําคัญไฉน? หลั ง จากที่ ได รั ฐ มนตรี วาการกระทรวงพลังงานคนใหม ทานก็ประกาศทันทีเรองลดเก็บเงิน กองทุ น น้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ในกลุ ม น้ํ า มั น เบนซิ น และน้ํ า มั น ดี เ ซลลง อยางนอย 6-12 เดือน หลังจากที่ กองทุนดังกลาวฯ มีผลตอราคาขายตามปมน้ํามันตางๆ อยางหลีกเลี่ยงไม ได กลาวคือการจัดเก็บเงินกองทุนฯ ทําใหราคาน้าํ มันในประเทศไมลดลง ใน ยามที่ราคาน้ํามันตลาดโลกลดลง แตขณะเดียวกันเงินกองทุนฯ ก็ชวยตรึง ราคาน้ํามันในประเทศใหคงที่ ในยามที่ราคาน้ํามันตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้น เรามาดูกันวากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงตามกฎหมายคืออะไร? แลว วัตถุประสงคจริงๆ ของกองทุนฯ มีไวเพออะไร? ในยุคที่นายธานินทร กรัยวิเชียรเปนนายกรัฐมนตรี รัฐบาลไดใช วิธีลดภาษีที่เก็บจากน้ํามันเบนซินมากกวาตนทุนที่เพิ่มและกันเงินสวนนี้ ไว ในกองทุน โดยไดอาศัยอํานาจตามพระราชกําหนดแกไขและปองกันภาวะ ขาดแคลนน้ํ า มั น เชื้ อ เพลิ ง พ.ศ. 2516 ออกคํ า สั่ ง นายกรั ฐ มนตรี ที่ 178/2520 ลงวันที่ 19 กันยายน 2520 เรองการกําหนดใหผูคาน้ํามันสง เงินเขากองทุนรักษาระดับราคาน้ํามันเชื้อเพลิงและการจายเงินชดเชยให แกผูคาน้ํามัน โดยใหโรงกลั่นน้ํามันและผูนําเขาสงเงินเขากองทุน เพอเงิน กองทุนนี้นําไปชดเชยใหผูคาน้ํามันเตา ตอมาในสมัยพล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันทเปนนายกรัฐมนตรี ได ประกาศเพิ่มคาเงินบาทรอยละ 1 ทําใหผนู ําเขาไดกําไรเนองจากอัตราแลก เปลีย่ น จึงมีคาํ สัง่ นายกรัฐมนตรีท่ี 206/2521 ลงวันที่ 29 ธันวาคม 2521 จัดตั้งกองทุนรักษาระดับราคาน้ํามันเชื้อเพลิง (เงินตราตางประเทศ) และ กําหนดใหผูนําเขาน้ํามันเชื้อเพลิงสงกําไรที่เกิดจากการเพิ่มคาเงินบาทเขา กองทุนดังกลาว เพอเก็บไวใชทดแทนเมอราคาน้าํ มันดิบสูงขึน้ และในเวลาตอ

โดยกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงมีคาใชจายในการบริหารกองทุนน้ํามัน เชื้อเพลิง ตามหมวดรายจายภายในวงเงินงบประมาณการจายประจําปที่ คณะกรรมการอนุมัติ เชน คาจางชั่วคราว, คาตอบแทนใชสอยและวัสดุ, คาครุภัณฑ, คาใชจายอนๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ, คาใชจายในการ ดําเนินการใดๆ เพอแกไขและปองกันภาวะขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง, คาใช จายในการดําเนินการใดๆ เพอใหการเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง หรือการจายเงินชดเชยจากกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงเปนไปอยางครบถวน และมีประสิทธิภาพ และคาใชจายอนๆ ตามที่คณะกรรมการเห็นชอบ ดังนั้นกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง จึงเปนกองทุนที่ถูกจัดตั้งขึ้นมาโดย กฎหมาย ซึ่งหากจะมีการออกคําสั่งใดๆ ที่เกี่ยวกับกองทุนฯ ดังกลาวตอง ผานความเห็นชอบและออกคําสั่งโดยนายกรัฐมนตรี อยางไรก็ตาม ตามที่ กฎหมายกําหนดไว จะเห็นไดวา กฎหมายจัดตัง้ กองทุนน้าํ มันฯ ดวยตองการ สรางความมั่นคงดานพลังงานเพอไมใหเกิดวิกฤติดานพลังงานเหมือนใน อดีตที่ผานมา

92 l September 2011

Energy#34_p92_Pro3.indd 92

8/23/11 1:53 AM


Insight Energy

ผูเขียน : ลภศ ทัศประเทือง

ลดเก็บเงินเขากองทุนน้ํามัน.. นโยบายระยะสั้นไมเกิน 1 ป

หลังจากเราไดตอ นรับรัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงานคนใหม นายพิชัย นริพทะพันธุ แนนอนวาทุกทานตองจับตามองการเขามาแกไข ปญหาพลังงานที่ถือเปนวาระแหงชาติ มีความสําคัญมากเปนอันดับตนๆ ของประเทศ สําหรับหัวขอที่ ไดรับความสนใจมากที่สุด ตองเปนเรองการลดการ เก็บเงินเขากองทุน¹éíÒมัน เปนนโยบายระยะสั้น 1 ป โดยนายพิชัย นริพทะพันธุ รมว.พลังงาน กลาววา กระทรวง พลังงานจะชะลอการเก็บเงินเขากองทุน¹éíÒมันเชื้อเพลิง ในสวนของ¹éíÒมัน เบนซิน 95 เบนซิน 91 และดีเซล ในระยะสั้นไมเกิน 1 ป ซึ่งเปนนโยบายที่จะ ทําทันที หลังจากแถลงนโยบายตอรัฐสภา เนองจากเปนนโยบายที่ชวย ลดความเดือดรอนของประชาชนจากคาครองชีพทีส่ งู ขึน้ เพราะการลดการ เก็บเงินเขากองทุน¹éíÒมันฯ จะสงผลใหราคา¹éíÒมันขายปลีกในตลาดลดลงทันที ทั้งนี้ ในสวน¹éíÒมันเบนซิน 95 มีการเก็บเงินเขากองทุนอยูที่ 7.50 บาทตอลิตร เบนซิน 91 เก็บที่ 6.70 บาทตอลิตร และดีเซลเก็บอยูที่ 2.80 บาทตอลิตร จะสงผลใหกองทุน¹éíÒมันฯ สูญเสียรายไดไปประมาณเดือนละ 3,000 ลานบาท โดยรัฐบาลก็อยูระหวางการพิจารณาที่จะหารายไดมา ชดเชยควบคูไปดวย ซึ่งก็มีหลายแนวทาง เชน การกู การออกพันธบัตร เปนตน “นโยบายนี้จะเปนนโยบายระยะสั้นใชไมเกิน 1 ป จึงเชอวาจะไมสงผล กระทบตอการใชพลังงานทดแทน หรือแกสโซฮอลแนนอน โดยเหตุผลทีเ่ ลือก ลดการเก็บเงินเขากองทุนฯ ใน¹éíÒมัน 3 ชนิดนี้ เนองจากดีเซลเปน¹éíÒมันที่ คนใช เ ยอะ ส ว นเบนซิ น 95 และ 91 ผู ขั บ ขี่ ร ถจั ก รยานยนต ใ ช ม าก เชนเดียวกัน” สวนมาตรการในระยะยาว ตองมีการพิจารณาภาพรวมโครงสราง ราคาพลังงานทั้งระบบวา สอดคลองกับความตองการใชพลังงานของ ประชาชนในปจจุบันหรือไม การใชเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาที่เหมาะสม และการ แสวงหาพลังงานชนิดใหมๆ เขามาทดแทน หรือ เสริมระบบการผลิตไฟฟา

ของประเทศในอนาคต เพื่อลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติ ทั้งนี้การปรับ โครงสรางราคาพลังงานใหเปนไปตามกลไกราคาตลาดโลกแบบคอยเปน คอยไป ไมใหสงผลกระทบตอคาครองชีพประชาชน เมอประชาชนมีรายได เพิ่มขึ้น กระทรวงพลังงาน จะกลับมาจัดเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันฯ อีกครั้ง ดานนายมนูญ ศิริวรรณ นักวิชาการดานพลังงาน ใหความเห็น เสนอวา รัฐบาลไมควรยกเลิกหรือลดการเก็บเงินเขากองทุนน้าํ มันเชือ้ เพลิง ในขณะนี้ เนองจากสถานการณราคา¹éíÒมันในตลาดโลกไดปรับตัวลดลง ตอเนอง แตหากรัฐบาลตองดําเนินการตามที่หาเสียงไวก็ควรลดการเก็บ เงินลงเพียงบางสวน เชน เบนซิน 91 ควรลดเพียง 2.30 บาทตอลิตรจาก ปจจุบันที่เก็บอยู 6.7 บาทตอลิตร สวนแกสโซฮอล 91 อาจลด 10 สต. ตอลิตร จากปจจุบันที่เก็บ 10 สต. และแกสโซฮอล 95 ลดลง 2.40 บาท ตอลิตรจากที่เก็บอยู 2.40 บาท “แนวนโยบายที่จะลดการเก็บเงินเขากองทุน¹éíÒมันฯ ใหเหลือศูนยนั้น จะตองแกปญหาการอุดหนุนราคากาซหุงตม (แอลพีจี)และกาซธรรมชาติ สําหรับรถยนต (เอ็นจีวี) กอน และหากจะไมมีการเก็บเงินเขากองทุนฯ แลว รัฐบาลจะมีการอุดหนุนพลังงานทดแทนอยางไร เพราะหากไมมสี ว นตางของ ราคาก็จะไมจูงใจใหประชาชนไปใชพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้น ” นอกจากนี้ สิง่ ทีร่ มว.พลังงาน ตองเรงตัดสินใจคือการผลิตไฟฟาวา จะใชเชื้อเพลิงชนิดใด ซึ่งรัฐบาลใหมเคยประกาศไมเอาโรงไฟฟานิวเคลียร แลวจะพึ่งพาพลังงานประเภทไหน โรงไฟฟาถานหิน หรือจะเปนการนําเขา กาซเหลวธรรมชาติ (แอลเอ็นจี) ซึ่งมีราคาแพง เพราะหากเปนเชนนั้นก็จะ สงผลตอคาไฟฟาใหปรับตัวสูงขึ้นและกระทบคาครองชีพประชาชน ขณะเดียวกันจะตองพิจารณาการสงเสริมพลังงานทดแทน และดูวา ที่ผานมามีอุปสรรคใดบางที่ทําใหการผลิตไมเปนไปตามเปาหมาย เชน ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรไมเพียงพอทั้งปาลมน้ํามัน มันสําปะหลัง เปนตน และการประสานแผนงานกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของตองเปน หนึ่งเดียวกันมากขึ้นดวย September 2011 l 93

Energy#34_p93_Pro3.indd 93

8/23/11 1:04 AM


Energy#33_p94_Pro3.ai

1

7/21/11

11:58 PM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : อยากทราบสถานการณแนวโนม ราคา¹éí Ò มั น ในช ว งครึ่ ง หลั ง ของป 2554 ครับ A : ไทยออยลคาดวา ปริมาณอุปทาน ¹éíÒมันในตลาดที่ปรับเพิ่มขึ้นจากการปลอย นํามันสํารองทางยุทธศาตร ความกังวลตอ วิกฤตหนีย้ โุ รปและเศรษฐกิจโลกทีจ่ ะขยายตัว ชาลงในชวงครึ่งปหลัง จะเปนปจจัยหลัก กดดั น ราคา¹éí Ò มั น ดิ บ ในชวง 2-3 เดือน ขางหนานี้ ใหมรี าคาเฉลีย่ อยูท ปี่ ระมาณ 105110 เหรียญฯ จากนั้นคาดวา ราคาจะปรับ ตัวสูงขึน้ อีกครัง้ ในชวงไตรมาส 4 จากความ ตองการใชในชวงฤดูหนาวทีป่ รับสูงขึน้ ซึง่ จะสงผลใหอปุ ทาน¹éÒí มันของโลก ตรึงตัวมากขึ้น เศรษฐกิจ : เศรษฐกิจโลกโดยรวมในชวงครึง่ ปหลังจะยังคงขยายตัว แตมีแนวโนมชะลอตัวลงจากชวงครึ่งแรกของป โดยมีปจจัยเสี่ยงตางๆ ดังนี้ ปญหาการวางงานในสหรัฐฯ ที่ยังอยูในระดับสูง การสิ้นสุดของ มาตรการอัดฉีดเงิน (QE2) ของสหรัฐฯ ในเดือน มิ.ย. มาตรการรัดเข็มขัด ในประเทศที่ประสบปญหาหนี้สาธารณะในยุโรป การอนุมัติแผนชวยเหลือ กรีซฉบับใหมหลังรัฐบาลกรีซผานมติแผนลดรายจายในประเทศไดสําเร็จ รวมทั้ง การที่รัฐบาลจีนและอินเดียมีการใชมาตรการทางการเงินที่เขมขน ขึ้นเพอควบคุมปญหาเงินเฟอที่อยูในระดับสูง อยางไรก็ตามกองทุนการ เงินระหวางประเทศ ยังคงคาดการณวา เศรษฐกิจโลกในปนี้จะขยายตัวอยู ที่ 4.3% ซึ่งใกลเคียงกับที่ ไดคาดไวในชวงตนปที่ 4.4% ความตองการใชนํามัน : การใช¹éíÒมันของโลกมีแนวโนมปรับตัว สูงขึ้นในชวงครึ่งปหลัง ตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก นอกจากนี้ยัง มีความตองการเพิ่มขึ้นมาจากภาคไฟฟาในชวงฤดูรอน โดยเฉพาะ จีน ที่กําลังประสบปญหาขาดแคลนไฟฟาอยางรุนแรงในขณะนี้ ขณะที่ญี่ปุน ต อ งใช ¹éí Ò มั น เตาในการผลิ ต ไฟฟ า แทนกํ า ลั ง การผลิ ต จากโรงไฟฟ า นิวเคลียรที่มีปญหา สงผลใหการใชนํามันของโลกในชวงไตรมาส 3 นี้ อาจปรับเพิ่มขึ้นมาทําสถิติสูงสุดที่ระดับ 90 ลานบารเรลตอวันได สวนใน ชวงไตรมาส 4 ก็จะมีการใช¹éíÒมันดีเซลเพอทําความรอนเพิ่มขึ้นดวย อุปทาน¹éÒí มัน : ปริมาณการผลิต¹éÒí มันดิบของลิเบียทีข่ าดหายไปจะ ยังไมกลับคืนมาอยางเต็มที่ เนองจากสถานการณความไมสงบในลิเบียยัง คงดําเนินตอไป สวนเหตุการณความรุนแรงในประเทศใกลเคียงอนๆ คาด วาจะไมสง ผลกระทบตอการผลิต¹éÒí มันดิบอยางมีนยั สําคัญ และปริมาณการ ผลิต¹éíÒมันดิบจากกลุมนอกโอเปกขยายตัวไมมากนักในปนี้ ทําใหโอเปก โดยประเทศสมาชิกรายใหญอยาง ซาอุดิอาระเบีย ตองผลิตออกสูตลาด เพิ่มเติม สงผลใหโควตาการผลิตสวนเกินของโอเปกปรับลดลงมาอยูที่ 3.5 ลานบารเรลตอวัน จาก 5.1 ลานบารเรลตอวัน ในชวงตนป

เพียงพอ”

บทบาทของ IEA และ โอเปก : การ เขามาแทรกแซงตลาด¹éíÒมันของสํานักงาน พลังงานสากล หรือ IEA โดยการปลอย ¹éíÒมันสํารองทางยุทธศาสตรที่ปริมาณ 2 ลานบารเรลตอวัน ภายในชวงเวลา 30 วันนัน้ นาจะทําใหราคา¹éíÒมันปรับตัวลดลงในชวง สั้นๆ แตหาก IEA ปลอย¹éíÒมันสํารองออก มาเพิ่มขึ้นอีก ก็จะเปนปจจัยที่จะกดดันราคา ¹éíÒมันตอไปได อยางไรก็ตาม เชอวาโอเปก จะยังคงมีบทบาทในการคุมปริมาณ¹éíÒมัน ดิบในตลาด เพอรักษาราคา¹éíÒมันดิบไวให อยูในระดับเปาหมายที่ 90-100 เหรียญฯ การเขามาเก็งกําไร : กองทุนและเฮดจฟนดจะยังเขามาลงทุนใน ตลาด¹éíÒมันเพอเก็งกําไรและปองกันความเสี่ยงจากการออนคาของเงิน ดอลลารสหรัฐฯและอัตราเงินเฟอที่เพิ่มขึ้น จากปจจัยเสี่ยงของเศรษฐกิจ สหรัฐฯ ที่มีแนวโนมขยายตัวลดลง และการคาดการณอัตราดอกเบี้ยของ สหรั ฐ ฯ ที่ จ ะยั ง คงอยู ใ นระดั บ μèí Ò ต อ ไปอี ก ระยะหนึ่ ง อย า งไรก็ ต าม ผลกระทบจากบทบาทของ IEA จะสงผลกระทบตอการเก็งกําไรในระยะสั้น เนองจาก นักลงทุนตางก็รอความชัดเจนของสถานการณกอน ปญหาการเมืองระหวางประเทศ : ความวุน วายทางการเมืองใน ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ ไดแก ลิเบีย บาหเรน เยเมน และซีเรีย จะยังคงดําเนินตอและไมมีทีทาจะจบลงในเร็วๆ นี้ และมีความเสี่ยงที่อาจจะ ลุกลามตอไปยังประเทศอนๆ ซึ่งจะสงผลในทางจิตวิทยาตอความกังวลใน แงของปริมาณการผลิต¹éÒí มันดิบและความปลอดภัยของเสนทางการขนสง ภูมิอากาศ : ความตองการใช¹éíÒมันจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ฤดูรอนจะมีความตองการใช¹éíÒมันเบนซินเพิ่มขึ้นในภาคขนสงของสหรัฐฯ และมีความตองการใช¹éíÒมันดีเซลในภาคไฟฟาของจีน สวนในฤดูหนาวจะมี การใช¹éíÒมันดีเซลมากขึ้นเพอทําความรอนในสหรัฐฯ และยุโรป รวมทั้ง ¹éíÒมันกาดและ¹éíÒมันเตาในญี่ปุน นอกจากนี้ มีการคาดการณวา ในปนี้จะมี การกอตัวของพายุเฮอริเคนในมหาสมุทรแอตแลนติกสูงกวาระดับคาเฉลี่ย ซึ่งอาจจะสงผลกระทบตอการผลิต¹éíÒมันดิบในบริเวณอาวเม็กซิโก ภัยธรรมชาติและเหตุการณที่ ไมคาดฝน : จะสงผลกระทบ โดยตรงตอการใช¹éíÒมันและอุปทาน¹éíÒมัน ดังเชนเหตุการณแผนดินไหวและ สึนามิในญี่ปุน เมอเดือน มี.ค. ไดสงผลกระทบตอกําลังการผลิตของ โรงกลั่น¹éíÒมันและมีการปดโรงไฟฟานิวเคลียร เถาละอองจากเหตุการณ ภูเขาไฟระเบิดในไอรแลนดและชิลี สงผลใหมีการยกเลิกเที่ยวบินและกระทบ การใช¹éíÒมันอากาศยาน ตลอดจนการรั่วของทอสง¹éíÒมันดิบและการปด ซอมโรงกลั่นชั่วคราว สงผลตอปริมาณ¹éíÒมันในตลาด ขอขอบคุณขอมูลดีดีจาก บริษัท ไทยออยล จํากัด

September 2011 l 95

Energy#34_p95-96_Pro3.indd 95

8/23/11 12:51 AM


Q : อยากทราบที่ ม าของกองทุ น พั ฒ นาไฟฟ า และการใช ประโยชนจากกองทุนนี้ครับ A : กองทุนพัฒนาไฟฟา เปนกองทุนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 (มีผลบังคับใชเมอวันที่ 11 ธันวาคม 2550) โดยมีวัตถุประสงคเพอเปนทุนสนับสนุนใหมีการใหบริการ ไฟฟาไปยังทองที่ตางๆ อยางทั่วถึง เพอกระจายความเจริญไปสูทองถิ่น พัฒนาชุมชนในทองถิ่นที่ ไดรับผลกระทบจากการดําเนินงานของโรงไฟฟา สงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยีในการประกอบกิจการไฟฟา ที่ มี ผ ลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มน อ ยโดยคํ า นึ ง ถึ ง ความสมดุ ล ของ ทรัพยากรธรรมชาติและสรางความเปนธรรมใหกับผูใชไฟฟา พระราชบั ญ ญั ติ ดั ง กล า วกํ า หนดให รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวง พลังงาน มีอํานาจหนาที่เสนอนโยบายการนําสงเงินและการใชจายเงิน กองทุนพัฒนาไฟฟาตอคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) เพอใหคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ซึง่ เปนองคกรกลางใน การกํากับดูแลกิจการพลังงาน ใชเปนแนวทางในการออกระเบียบ หรือ ประกาศกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงอนไขการนําสงเงินและการใชจาย เงินกองทุนพัฒนาไฟฟา ใหสอดคลองกับนโยบายของ กพช.ดังกลาวตอไป เมอ กพช. สงมอบนโยบายการนําสงเงินและจายเงินของกองทุน พัฒนาไฟฟาให กกพ. แลว กกพ. จะดําเนินการจัดทํารางระเบียบตางๆ ให สอดคลองกับนโยบายของ กพช. ดังกลาว แลวนํารางระเบียบดังกลาวไป รับฟงความคิดเห็นจากผูที่เกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสีย เพอนําความ คิดเห็นทีเ่ ปนประโยชนมาปรับปรุงรางระเบียบใหมคี วามเหมาะสมยิง่ ขึน้ กอน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพอบังคับใชตอไป เงินกองทุนใหใชจายเพอกิจการ ดังตอไปนี้ (1) เพอการชดเชยและอุดหนุนผูร บั ใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟา ซึ่งไดใหบริการแกผูใชไฟฟาที่ดอยโอกาส หรือเพอใหมีการใหบริการไฟฟา อย่างทั่วถึง หรือเพื่อส่งเสริมนโยบายในการกระจายความเจริญไปสู่ ภูมิภาค (2) เพอการชดเชยผูใชไฟฟาซึง่ ตองจายอัตราคาไฟฟาแพงขึน้ จาก การที่ผูรับใบอนุญาตที่มีศูนยควบคุมระบบไฟฟาสั่งใหผูรับใบอนุญาต ประกอบกิจการไฟฟา ดําเนินการผลิตไฟฟาอยางไมเปนธรรมหรือมีการ เลือกปฏิบัติ (3) เพอการพัฒนาหรือฟนฟูทองถิ่นที่ ไดรับผลกระทบจากการ ดําเนินงานของโรงไฟฟา (4) เพอการสงเสริมการใชพลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยีที่ ใช ในการประกอบกิจการไฟฟาที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอย (5) เพอการสงเสริมสังคมและประชาชนใหมีความรู ความตระหนัก และมีสวนรวมทางดานไฟฟา (6) เปนคาใชจายในการบริหารกองทุนพัฒนาไฟฟา Q : อยากไดขอมูลเกี่ยวกับเทคนิคการติดตั้ง Solar Home จะ ตองพิจารณาเรองอะไรบาง A : ระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่อยูอาศัยเปนวิธีที่ดีเพราะ

สามารถลดคาใชจายไฟฟาของคุณได หากคุณมีความสนใจในการจัดตั้ง ระบบที่บานของคุณเอง มีเคล็ดลับสําคัญที่ตองจําไวดังนี้ครับ 1 : รูวาใชพลังงานครัวเรือนไปเทาใด รูการบริโภครวมของเครองใชในครัวเรือนของคุณทุกวันเปนสิ่ง สําคัญ ซึ่งจะชวยใหคุณตรวจสอบความสามารถในการกําหนดเปาหมาย การพึ่งตัวเอง (เชน 50% เปน 100% ดวยระบบไฟฟาแบบพอเพียง) ทําได โดยการสังเกตกําลังไฟเครองใชไฟฟาทั้งหมดของคุณและจํานวนชั่วโมงที่ แตละเครองใช คูณดวยชั่วโมงกําลังไฟ (วัตตตอชั่วโมง) จากนั้นจะไดรับ ผลรวมของทุกเครองการใชงานของคุณ วัตตตอ ชัว่ โมงสําหรับวันสัปดาห เดือนหรือแมกระทั่งป 2 : เริ่มตนขนาดเล็ก หลายคนเริ่มตนดวยขนาดเล็กระบบพลังงานแสงอาทิตยที่ติดแลว สามารถประหยัดคาไฟอยางมีนัยสําคัญ เริ่มตนดวยโครงการขนาดเล็ก ครั้งแรกจะชวยใหคุณเรียนรู รายละเอียดของการสรางระบบดังกลาวใน ขณะที่การหลีกเลี่ยงความผิดพลาดคาใชจายสูง 3 : ซื้ออุปกรณพลังงานแสงอาทิตย Online โดยการชอปปงออนไลนเพิ่มความสามารถในการหาอุปกรณไฟฟา ที่มีคุณภาพสูง คุณสามารถเปรียบเทียบซัพพลายเออรเพอคัดเลือกได สะดวกมากขึ้น 4 : Do - It - Yourself Solar ชุดถูกกวา แทนการจายคาติดตั้งพลังงานแสงอาทิตยที่เปนมืออาชีพทําไมไม ทําดวยตัวเอง? สามารถติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตยที่ดีดวยความ ชวยเหลือของชุด Do - It - Yourself แสงอาทิตย 5 : รับชางไฟฟาที่ผานการรับรอง เลือกผูรับเหมาไฟฟาที่มีคุณภาพมีพื้นฐานในการเดินสายไฟฟาไม เชนนั้นคุณจะเสี่ยงตอการเผาไหมบานของคุณเอง 6 : ใหมีที่วางสําหรับขยายงานในอนาคต เมื่อคุณวางแผนการติดตั้งระบบที่บ้านของคุณแล้วโครงการใน อนาคตและการขยายตัวจะสามารถขยายเขาไปในระบบไดเพียงพอตอ ความตองการใชไฟฟาในครัวเรือนของคุณไดเปนอยางดี อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพอเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรองพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

96 l September 2011

Energy#34_p95-96_Pro3.indd 96

8/23/11 12:51 AM


โครงการสัมมนาเผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัดพลังงานสัญจรสําหรับ SME ครั้งที่ 4/2554 ปจจุบันการอนุรักษพลังงานเปนปจจัยที่ 5 ในการใชชีวิตของ ผูคนเนองจากเชื้อเพลิงพลังงานนั้นมีราคาที่สูงขึ้น ประกอบกับภาวะ อากาศเปลีย่ นแปลงซึง่ สงผลกระทบโดยตรงกับการดํารงชีวติ ของคน เรา และหลายหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน รวมถึงภาคประชาชนทัว่ ไป ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้เป็นอย่างดีและได้ดําเนินการหาแนวทางการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง สํ า หรั บ แนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของแต ล ะองค ก รนั้ น สวนใหญมีวิธีจัดการดานพลังงานที่ ไมแตกตางกัน และเพอเปนการ สงเสริมใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานไดอยาง ทั่วถึง ในการนี้หอการคาไทยจึงไดจัดงานโครงการสัมมนาขึ้นเพอ เผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัด พลั ง งานสั ญ จรสํ า หรั บ SME ขึ้ น โดยได สั ญ จรไปทั่ ว ทุ ก ภาค ซึ่งครั้งลาสุดไดจัดขึ้นที่ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ในงานนี้นอกจากจะไดรับเกียรติจากกูรูดานการจัดการ พลังงานจากทั้งหนวยงานภาคเอกชน และจากหนวยงานของภาครัฐ มาให ค วามรู ด า นการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานภายในองค ก รแล ว ในงานยั ง มี ก ารจั ด บู ท แสดงสิ น ค า อุ ป กรณ เทคโนโลยี ป ระหยั ด พลังงานใหผูเขารวมฟงสัมมนาในแตละครั้งไดชมกันอีกดวย

ESCC Energy Call Center 0-2622-1860-76 ต อ 3 1 2 , 5 2 1 แ ล ะ 5 3 5 “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ใช พ ลั ง งานอย า งเพี ย งพอ” Energy#34_p97_Pro3.indd 97

8/25/11 10:47 PM


Energy Price

98 l September 2011

Energy#34_p98_Pro3.indd 98

8/20/11 1:39 AM


Energy Stat โดย : Grapher

พลังงานที่ ใชกันอยูในโลกใบนี้ ตองบอกวาเกิดจากความตองการของมนุษยเปนหลัก ไมวาจะเปนเรองของความสะดวกสบายและเรองของการ ดํารงชีวติ ดังนัน้ มนุษยจงึ เปนสิง่ มีชวี ติ ที่ใชทรัพยากรธรรมชาติมากทีส่ ดุ ในโลกเพอการผลิตพลังงาน ซึง่ ตัวเลขพลังงานจะสัมพันธกบั จํานวนประชากร โลกในแนวทางตรงกันขามกัน กลาวคือเมอมนุษยมีมากขึ้นความตองการใชพลังงานก็มีมากขึ้น ปริมาณทรัพยากรธรรมชาติที่นํามาผลิตพลังงานก็ ลดนอยลง ขอมูลจํานวนประชากรโลกใบนี้ลาสุดมีจํานวนราว 6.98 พันลานคน ซึ่งมีการคาดการณวาประชากรคนที่ 7 พันลานจะถือกําเนิดในวันที่ 31 ตุลาคมที่ประเทศอินเดีย โดยสาเหตุเกิดจากเทคโนโลยีดานการแพทยที่ชวยลดอัตราการตายของประชากรโลก อีกทั้งเทคโนโลยีการแพทยใหมๆ เริ่ม เขาถึงประเทศกําลังพัฒนามากขึ้นและคาดวาภายในป 2593 ประชากรโลกจะแตะ 9.3 พันลานคน โดยรอยละ 97 มาจากประเทศกําลังพัฒนา จากกราฟจะเห็นวา จีนยังคงครองแชมปจํานวนประชากรมากที่สุดในโลกกวา 1.3 พันลานคน โดยมีอินเดียจอทายที่ 1.1 พันลานคน และมีแนว โนมแซงหนาจีนในอนาคต แตเมอมองดูการบริโภคพลังงานแลว ประเทศที่มีประชากรมากลําดับ 3 อยางสหรัฐฯ กลับมีการใชพลังงานมากที่สุด โดย แบงเปนการใชŒ¹éíÒมันราว 18.69 ลานบารเรลตอวันและไฟฟาที่ 3.87 ลานลานกิโลวัตตชั่วโมงตอป ขณะที่จีนบริโภคพลังงานอันดับที่ 2 โดยใชŒ¹éíÒมันราว 8.2 ลานบารเรลตอวันและไฟฟาที่ 3.43 ลานลานกิโลวัตตชั่วโมงตอป และอินเดียใชŒ¹éíÒมัน เปนอันดับ 4 ราว 2.98 ลานบารเรลตอวัน ขณะที่การใชไฟฟาอยูในอันดับ 5 ราว 5.68 แสนลานกิโลวัตตชั่วโมงตอป ดานประเทศไทยมีการใชŒ¹éíÒมัน เปนอันดับ 35 ราว 356,000 บารเรลตอวันและมีการใชไฟฟาอยูในอันดับ 23 ราว 1.34 แสนลานกิโลวัตตชั่วโมงตอป

September 2011 l 99

Energy#34_p99_Pro3.indd 99

8/20/11 1:28 AM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร

รับสมัคร เจาหนาที่ประสานงานโครงการ (Project Co-ordinator) เพศชาย อายุไมเกิน 30 ป / โสด สามารถเดินทางไปตางจังหวัดได อาทิเชน ลําปาง, นครราชสีมา มีประสบการณจะพิจารณาเปนพิเศษ มี รถยนตสวนตัว พรอมใบอนุญาตขับขี่ ติดตอ บริษัท สเตพไวส จํากัด 0-2101-1617

รับสมัคร วิศวกรอนุรกั ษพลังงาน เพศชาย/หญิง อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี วศบ. พลังงาน หรือ วทบ. สาขาพลังงาน การจัดการพลังงาน หรือสาขาอนที่ เกี่ ย วข อ ง มี ป ระสบการณ ด า นการจั ด การอนุ รั ก ษ พลังงาน จะไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท บางกอกโพลีบัลค จํากัด 0-2420-4700-2 ตอ 302

รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอมและประชาสัมพันธ เพศ หญิง อายุ 22-30 ป วุฒปิ ริญญาตรีสาขา วิทยาศาสตร สิง่ แวดลอม หรือทีเ่ กีย่ วของ สามารถใชภาษาอังกฤษใน การติดตอสอสารได มีทักษะในการติดตอประสานงาน ทั้งภายในและภายนอก สัมภาษณผาน เริ่มงานทันที ติดตอ บริษทั งวนเชียงอุตสาหกรรมอาหาร จํากัด 0-2463-0117 ตอ 1301- 1304 รับสมัคร Sefety Officer เพศชาย/หญิง อายุ 26 - 33 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ ผานการฝกอบรมหลักสูตรเจา หนาที่ความปลอดภัยระดับวิชาชี (ตามกระทรวงฯ พ.ศ. 2549) มีประสบการณในตําแหนงงานอยางนอย 2 ป ติดตอ บริษัท ไอเอสเอส ซัพพอรต เซอรวิส จํากัด 0-2552 -5015 ตอ 159, 160, 162 ,171 รับสมัคร เจาหนาที่ชุมชนสัมพันธ เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ถึง ปริญญาตรี มีประสบการณดานชุมชนสัมพันธ สิ่ง แวดลอม ความปลอดภัย การพัฒนาชุมชน เปนตน ติดตอ บริษทั เอเชียกรีน เอนเนอจี จํากัด (มหาชน) 0-2415-0054 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย/หญิง อายุไม เกิน 30 ป เรียนรูงานเร็ว และทํางานเปนทีมได วุฒิ ปริญญาตรีขึ้นไป รักงานบริการ และอัธยาศัยดี มอง โลกในแงดีและมนุษยสัมพันธที่ดี ขยัน อดทน มีความ กระตือรือรนในการคนหาสิ่งใหมๆ สามารถทํางานใน สภาวะกดดันไดดี ติดตอ บริษัทแลมปตัน ไลทติ้ง เทคโนโลยี จํากัด 0-2897-2321-2 ตอ 161-163 รับสมัคร เจาหนาทีส่ งิ่ แวดลอม (สมุทรสาคร) อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีวิศวกรรมศาสตรหรือวิทยา ศาสตรฺ ด า นสิ่ ง แวดล อ มหรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ใ บ ประกาศเปนผูค วบคุมมลพิษดานนาํ หรืออากาศหรือกาก ของเสีย หากสามารถบริหารโครงการไดจะพิจารณา เปนพิเศษ ติดตอ Tong - Siang Co.,Ltd. 0-2810-1433, 0-2429-1408

รับสมัคร วิศวกรไฟฟา (ดวนมาก!!!) เพศชาย อายุ 22-25 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา เดิน ทางปฏิบตั งิ านนอกสถานที่ ได รายละเอียดงาน วางแผน งานระบบไฟฟา รับผิดชอบโครงการประหยัดพลังงาน ติดตอ บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) 0-2677-9000 ตอ 1719,1726 รับสมัคร วิศวกรพลังงาน เพศ ชาย/หญิง อายุไมเกิน 30 ป วุฒปิ ริญญาตรีสาขาวิศวกรรมเครองกล / ไฟฟา มีใบประกอบวิชาวิศวกรรมควบคุม อยางนอยระดับภาคี วิศวกร (หรือมีโอกาสที่จะไดรับใบอนุญาตภาคีวิศวกร) จากสภาวิศวกร ติดตอ บริษัท มิตรเทคนิคัลคอนซัลแทนท จํากัด 0-2679-9079-84 รับสมัคร Utility Maintenance Engineer (ฉะเชิงเทรา) เพศชายอายุ 25 ป -30 ป วุฒิปริญาตรี วิศวกรรม อุ ตสาหการ หรื อสาขาที่ เกี่ ยวของ มีประสบการณ Utility 2 ป ขึ้นไป รับผิดชอบงานดาน Safety , Healthy & Environment รับผิดชอบงานดานโครงการอนุรักษ พลังงานของบริษัทฯ ติดตอ บริษัท คอมบีแพ็ค จํากัด 038-571350-5 รับสมัคร นักวิชาการ เพศชาย/หญิง อายุ 22 ปขึ้นไป วุ ฒิปริ ญญาตรีสาขา วิ ศวกรรมศาสตร (ไฟฟ า/ อิเล็กทรอนิกส/) ประสบการณ 1 – 3 ปในดานการจัด ทํา ISO, การทดสอบเครองใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ติดตอ สถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 0-2280-7272, 0-2709-4860-8 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม (โรงงานมหาชัย) วุฒิ ปริญญาตรี ประสบการณ 1 ถึง 3 ป รายละเอียดงาน พิจารณาตรวจสอบชนิด ประเภทของเชื้อเพลิงและ วัตถุดิบที่ใชในกระบวนการผลิตของโรงงาน ตองจัดทํา รายงานผลวิเคราะหปริมาณสารมลพิษใหเปนไปตามวิธี การที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ติดตอ บริษัท หยั่น หวอ หยุน จํากัด 0-2674-7990-9ตอ 243(สนญ.), 034-822-201-3 (โรงงาน) รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 21-30 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ราย ละเอียดงาน ดูแลสภาพแวดลอมของโรงงาน ดูแลความ ปลอดภั ย ของพนั ก งาน และทรั พ ย สิ น ของโรงงาน ควบคุมงานบริการอํานวยความสะดวกกับแผนกตางๆ ติดตอ บริษัท บางกอกแรนช จํากัด (มหาชน) 0-2752-0401-3 ตอ 110 หรือ 220

รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม อายุ 24 - 30 ป วุฒิ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมสิ่ง แวดลอม มีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุม (ใบ กว.) มีใบประกาศนียบัตร ผูควบคุมระบบ มลพิษทางนํา ประสบการณ 5 ปขึ้นไป ติดตอ บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ จํากัด 0-2789-3232 รับสมัคร ผูจ ดั การดานการผลิต เพศชาย อายุ 35-42 ป วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี ขึ้ น ไป ด า น วิ ศ วกรรมการผลิ ต เครองกล ไฟฟา และดานเทคโนโลยี่ยาง มีประสบการณ ดานธุรกิจยางพารา มีความเขาใจการวางแผนและ ควบคุมการผลิตที่โรงงานมาแลว 7 ป ขึ้นไป ติดตอ บริษัท ไทยฮั้วยางพารา จํากัด (มหาชน) 0-2274-0471-7 ตอ 32 รั บ สมั ค ร เจาหนาที่ความปลอดภัยวิชาชีพ ประจํา สํานักงานมาบตาพุด เพศชาย อายุ 25-35 ป วุฒิ ปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และ สิ่ง แวดลอม หรือ สาขาที่เกี่ยวของ ผานการอบรม หลัก หลักสูตรเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับ วิชาชีพ ติดตอ บริษัท บริหารและพัฒนาเพอการอนุรักษ สิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน) 0-2502-0900 ตอ 301,302 รับสมัคร เจาหนาที่ความปลอดภัย อาชีวะอนามัยและ สิ่งแวดลอม เพศชาย/หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิ ปริ ญ ญาตรี ด า นอาชี ว ะอนามั ย และสิ่ ง แวดล อ ม มี ประสบการณดานสายงานอยางนอย 1 ปขึ้นไป หากมี ประสบการณ 3-5 ปจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เจดับเบิ้ลยูดี อินโฟโลจิสติกส จํากัด 0-2379-5246-7 ตอ 603 รับสมัคร ผูชวยหัวหนาแผนกสิ่งแวดลอม เพศชาย – หญิ ง อายุ 22 ป ขึ้ น ไป วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี สาขา วิทยาศาสตรทางเคมี/วิทยาศาสตรเทคโนโลยีการยาง/ วัสดุศาสตรสาขาอุตสาหกรรมการยาง ไมจาํ เปนตองมี ประสบการณ ติดตอ บริษัท ไทยฟลาเท็กซ จํากัด (มหาชน) 0-2627-3949 รับสมัคร เจาหนาที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ (R&D) อายุ 21 ปขึ้นไป วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี สาขาเคมี มีความคิดสรางสรรค มีความรับผิดชอบ อดทน มีความ ตั้งใจในการทํางานสูง สนใจดานการวิจัยพัฒนาและ คิดคนผลิตภัณฑใหม ๆ ติดตอ บริษัท แอนเทียร กรุป จํากัด 0-2814-0291-4 รับสมัคร นักวิชาการสิ่งแวดลอม (Monitoring) เพศ ชาย อายุ 26 ปขึ้นไป ปวุฒิปริญญาตรี สาขาดานสิ่ง แวดลอม สามารถใชเรียนรูการใชงานเครองมือตรวจ วัดไดเปนอยางดี มีประสบการณ 2 ถึง 5 ป ติดตอ บริษัท เอ็นไวแล็บ จํากัด 0-2802-3982 ตอ 222

100 l September 2011

Energy#34_p100_Pro3.indd 100

8/19/11 11:03 PM


LifeStyle

Running the Number

งานศิลปะชุดใหม by Chris Jordan…บอกอะไรเรา??

งานศิลปะชุดใหมเอี่ยมอองของคริส จอรแดน ( Chris Jordan) ชอ วา Running the Number เปนงานภาพถายที่มีการโจษขานอยางมากใน หมูน กั เคลอนไหวดานสิง่ แวดลอมในรอบหลายปทผี่ า นมา ซึง่ ไมบอ ยนักทีง่ าน ภาพถายจะถูกนักสิ่งแวดลอมนําไปตอยอดกันอยางมากมายขนาดนี้ งานภาพถายซีรยี่ น เี้ ปนบิก๊ ไอเดียทีเ่ ริม่ ตนตัง้ แตป 2006 จนถึงปจจุบนั Chris Jordan เรียกงานของเขาวาเปน An American Self-Portrait เปนการ มองวัฒนธรรมรวมสมัยของอเมริกาผานคมเลนสที่ฉาบไวดวยขอมูลทาง สถิติ หัวใจของงานชุดนีก้ ค็ อื การแปลงตัวเลขเกือบนามธรรมใหกลายเปน ภาพทีแ่ สนจะเปนรูปธรรม ซึง่ เขามองวา ปญหาสิง่ แวดลอมทุกวันนีเ้ กิดจาก การที่พวกเรารวมมือรวมใจกันสรางปญหาคนละไมคนละมือโดยไมรูตัว ผลกระทบเล็กๆ ทีเ่ รากอทิง้ ไวนนั้ ไมมีใครคิดวามันเปนเรองใหญโตเพราะเรา เห็นแตผลกระทบที่เกิดขึ้นจากมือเรา แตเราไมเคยรูเลยวา เมอมันถูกนําไป รวมกับผลกระทบเล็กๆ จากมือคนอนแลวสุดทายมันยิ่งใหญขนาดไหน ขอมูลอยาง คนอเมริกันใชถุงพลาสติก 60,000 ใบทุก 5 วินาที ถึง จะฟงดูใหญยงิ่ แตมนั ก็เปนเพียงตัวเลขบนกระดาษทีย่ ากจะจินตนาการตาม วามันมากมายแคไหน เชนนั้น เขาจึงเปลี่ยนตัวเลขเหลานั้นใหเปนภาพถาย ขนาดใหญยักษ ใหเห็นกันไปเลยวาถุงพลาสติก 60,000 ใบมันเยอะ ขนาดไหน ดูแลวไมช็อกก็ ไมรูจะวายังไงแลว ความสนุกของการดูงานชุดนีก้ ค็ อื การตัง้ คําถามกับภาพขนาดใหญ กอนวา มันคืออะไร ?

จากนั้นก็คอยๆ ซูมเขาไปทีละนิด ทีละนิด แลวเดากันไปเรอยวาภาพ ที่เห็นตรงหนาคืออะไร พอรองออ... ก็รับขอมูลกันไปวามนุษยเราบริโภคทรัพยากรกัน มากมายเพียงใด นอกจากนีก้ ย็ งั มีภาพอีกมากมายหลายประเด็น อาทิ ภาพ แกว¹éíÒพลาสติก 1,000,000 ใบ ซึ่งเทากับจํานวนแกว¹éíÒพลาสติกที่ใชใน เครองบินในสหรัฐอเมริกาทุก 6 ชั่วโมง ภาพของกระดาษที่ใชในสํานักงาน 30,000 รีม ซึ่งเทากับจํานวนที่ใชในสํานักงานในสหรัฐอเมริกา ทุก 5 นาที ภาพยูนฟิ อรมของนักโทษ 2.3 ลานตัว ซึ่งเทากับจํานวนผูถ กู จองจํา ในคุกของสหรัฐอเมริกาในป 2005 ถือวาสหรัฐอเมริกาเปนประเทศทีม่ นี กั โทษ ถูกคุมขังมากที่สุดในโลก ภาพของธนบัตรใบละ 100 ดอลลาร จํานวน 125,000 ใบ ซึง่ เทากับงบประมาณทีร่ ฐั บาลสหรัฐอเมริกาใชในสงครามอิรกั ในแตละชัว่ โมง ภาพขอมูลของคริสเปนสิง่ ทีน่ า ตกใจ แตสงิ่ ทีน่ า ตกใจยิง่ กวา ก็คือ นี่เปนแคขอมูลของประเทศสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวเทานั้น ¶ŒÒNjҡѹ·Ñé§âÅ¡ ¢ŒÍÁÙŨй‹Òμ×è¹μÐÅÖ§¡Ç‹Ò¹Õéà¾Õ§㴠ÊÔ觷ÕèàÃÒ¤Ô´Ç‹Ò໚¹ เรองเล็ก อาจไมไดเล็กอยางที่คิดก็ ได….

ตองขอบคุณ Chris Jordan ที่ทําใหเรองเล็กกลายเปนเรองใหญ ติดตามผลงานของเขาแบบเต็มๆ ไดที่ www.chrisjordan.com September 2011 l 101

Energy#34_p101_Pro3.indd 101

8/23/11 12:54 AM


Directory Energy Consult บริษัท พี เอส เอ็ม ซี จํากัด โทรศัพท : 0-2559-2621-2 โทรสาร : 0-2559-2049 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท เอ็นเนอรยี โปร เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2559-2418 โทรสาร : 0-2530-8309 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท เอ็นโซล จํากัด

โทรศัพท : 0-2613-0521-2 โทรสาร : 0-2613-0520 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท เบสท เอ็นเนอรยี่ เซอรวิส จํากัด โทรศัพท : 0-2944-5655 โทรสาร : 0-2944-6437 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท เอ็มอี โซลูชั่นส จํากัด โทรศัพท : 0-2275-4080 โทรสาร : 0-2275-4080 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท พีพีอี คอนซัลแตนทส จํากัด โทรศัพท : 0-2539-1719 โทรสาร : 0-2539-1716 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท ไทยสตีมเซอรวิส แอนด ซัพพลาย จํากัด โทรศัพท : 0-2332-8246-7 โทรสาร : 0-2311-4840 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท อีโค เทคโนโลยี อินโนเวชั่น จํากัด โทรศัพท : 0-2722-9644 โทรสาร : 0-2722-9645 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท ควอลิตี้ แอสโซซิเอทส โทรศัพท : 083-811-1818 โทรสาร : 0-2992-8357 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท อะคูเท็คท โกลบอล จํากัด

โทรศัพท : 0-2391-4520 โทรสาร : 0-2391-4521 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท โปร เอ็นเนอรยี แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2991-3213 โทรสาร : 0-2991-3213 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท ทริเนอรยี จํากัด

โทรศัพท : 0-2996-5691 โทรสาร : 0-2996-5760 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท เบอรตั้น เทคนิคอลโซลูชั่น จํากัด โทรศัพท : 0-2965-8001 โทรสาร : 0-2965-8002 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท สงวนพันธ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2870-7545 โทรสาร : 0-2870-7763 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท ซี โอ ยู จํากัด

โทรศัพท : 0-2731-0555 โทรสาร : 0-2375-1132 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริษัท เทคโนโลยีอัลไลแอนซ จํากัด โทรศัพท : 0-2644-4733 โทรสาร : 0-2354-4735 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริ ษั ท เอส ซี เวิ ล ด เอ็ น ไวรอนเม็ น ท จํากัด โทรศัพท : 0-2508-2082-3 โทรสาร : 0-2508-2100, 0-2948-5005 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท แอ็ดวานซ กรีนเทค จํากัด

บริษัท แอพโก อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โทรศัพท : 0-2274-2981-2, 0-2744-4592-3 โทรสาร : 0-2274-2496,0-2274-4102 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท บิวตี้ ไลฟ (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2948-6130 โทรสาร : 0-2948-6131 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

โทรศัพท : 0-2521-2346, 0-2972-9070-3 โทรสาร : 0-2972-9074 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษทั สมารท แอนด แพรคทิเคิล เอ็นจิเนีย ริ่ง จํากัด

บริษัท แอรคอน-เอ็มเอฟจิ จํากัด

บริษัท บีแอลยูนิตี้ จํากัด

บริษัท บิวเดอร คอนซัลแตนทส จํากัด

บริ ษั ท ฮานาบิ ชิ อิ เ ลคทริ ค คอร ป อเรชั่ น จํากัด

บริษั ท บุ ญ สูงเนิน ป ม แอนดวาลว (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2968-6676 โทรสาร : 0-2968-6675 สินคาและบริการ : Energy Consult

โทรศัพท : 0-2745-6294-7 โทรสาร : 0-2745-6027 สินคาและบริการ : Energy Consult

บริ ษั ท ดี บั ก เทอไมท แอนด เพสท คอนโทรล (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2321-4397 โทรสาร : 0-2321-4398 สินคาและบริการ : Energy Consult

ระบบอุปกรณ์ทําความเย็น บริ ษั ท เย็ น ทรั พ ย อิ น ดั ส ทรี 1993 (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2420-3203,0-2420-1646 โทรสาร : 0-2810-3359 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท เลิศลอย เวนติเลเตอร จํากัด โทรศัพท : 0-2992-3122 โทรสาร : 0-2992-3121 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท วอเตอร-ซีบีโอ (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2261-4843-4,0-2662-5190-2 โทรสาร : 0-2259-8120 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท สยามไดกิ้นเซลส จํากัด

โทรศัพท : 0-2721-7670, 0-1438-2756 โทรสาร : 0-2721-7607-8 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท สยามอินซูเลชั่น จํากัด

โทรศัพท : 0-2215-0863-6 โทรสาร : 0-02215-4537 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริ ษั ท สิ ริ พ งศ์ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งเย็ น จํากัด โทรศัพท : 0-2318-2476-7 โทรสาร : 0-2319-6680 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

โทรศัพท : 0-2753-5371-5,0-2383-3521 โทรสาร : 0-2753-5376,0-2383-3579 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

โทรศัพท : 0-2877-0285-7 โทรสาร : 0-2877-0288 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท ฮิตาชิเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2381-8381 โทรสาร : 0-2391-0021 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท แพนสยามเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2526-1985,0-2525-0805-6 โทรสาร : 0-2526-1277 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

เรด กรีน แอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2809-2145 โทรสาร : 0-2444-2134 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริ ษั ท เอ็ น เนอร ค อร ฟ (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2372-3004-6 โทรสาร : 0-2372-3007 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท ลาโก มารเก็ตติ้ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2517-5727 โทรสาร : 0-2517-5730 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท อีมิเเนนทแอร (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2744-6777 0-2974-98460 โทรสาร : 0-2749-3034 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท ฮาตาริ อิเลคทริค จํากัด

โทรศัพท : 0-2896-2390 โทรสาร : 0-2896-2380-1 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

บริษัท เอส.พี.ที. แอรเซอรวิส จํากัด โทรศัพท : 0-2199-5136 โทรสาร : 0-2199-5131 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

เครองปมนํา

โทรศัพท : 0-2898-7240-4 โทรสาร : 0-2898-7245 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

โทรศัพท : 0-2525-8630 โทรสาร : 0-2525-8695-6 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท บอรเนียว สยาม จํากัด โทรศัพท : 0-2668-9049 โทรสาร : 0-2668-7659 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท คาลปดา (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2275-0027 โทรสาร : 0-2276-2892 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท อี.ซี.ไอ.เอเซียเทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2416-3030, 0-2416-4149 โทรสาร : 0-2416-3367 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท เอกไทย เทคนิเคิล จํากัด

โทรศัพท : 0-2214-2390, 0-2215-5350 โทรสาร : 0-2215-5350 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท เอฟ เอช พี เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2261-4843-4, 0-2258-7364 โทรสาร : 02-259-8120, 02-662-7457 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท เจนคอน เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2726-2688-9 โทรสาร : 0-2328-1187 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท เฮปตา เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2971-6925 โทรสาร : 0-2522-2270 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท ไอดี โซลูชั่น จํากัด

โทรศัพท : 0-2908-1929 โทรสาร : 0-2908-1933 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท แสงชัย แอร ควอลิตี้ จํากัด

บริษัท เทคโนปม จํากัด

บริษัท ทอนําสากล จํากัด

บริษัท อาทิตยจักรกล จํากัด

หางหุนสวนจํากัด เอ ที ซี ไอ

บริษัท อิชิคาวา โชจิ จํากัด

บริษัท เอ พี เนชั่นแนล เซลล จํากัด

บริษัท เอเชี่ยนเคมีคัล แอนด เอ็นยิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2628-2600 โทรสาร : 0-2628-2622 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

โทรศัพท : 0-2510-1339,0-2509-2884 โทรสาร : 0-2943-1814 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น โทรศัพท : 0-2312-7148, 0-2312-7148 โทรสาร : 0-2312-7165-7, 0-2312-7165-7 สินคาและบริการ : ระบบเครองทําความเย็น

โทรศัพท : 0-2946-1740 โทรสาร : 0-2946-1743 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา โทรศัพท : 0-246-2607, 0-2246-7612 โทรสาร : 0-2246-7612 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

โทรศัพท : 0-2759-7530, 0-2759-7540 โทรสาร : 0-2385-5211 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

โทรศัพท : 0-2737-8283-7 โทรสาร : 0-2326-9711 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา โทรศัพท : 0-2235-2206-10 โทรสาร : 0-2235-2209 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

บริษัท เจริญมิตร จํากัด

โทรศัพท : 0-2807-1044-8 โทรสาร : 0-2807-1044-8 สินคาและบริการ : เครองปมน้ํา

102 l September 2011

Energy#34_p102_Pro3.indd 102

8/23/11 1:54 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

September 2011 l 103

Energy#34_p103_Pro3.indd 103

8/20/11 1:22 AM


เสี ยงจากผูอาน โดย : กองบรรณาธิการ

เรียน กองบรรณาธิการนิตยสาร ENERGY SAVING

ผมสนใจในเรองของ Solar Cell อยากจะนํามาใชแบบ Solar Home μŒ Í §àÃÔè Á μŒ ¹ Í‹ Ò §äúŒ Ò §¤ÃÑ º àËç ¹ ¹Ô μ ÂÊÒùí Ò àʹÍã¹àÃ×è Í §¹Õé º‹ Í Âæ ในประเทศไทยแสงแดดมากถาเรามาสนับสนุนรวมมือรวมใจกันใชพลังงาน แสงแดดในประเทศก็จะชวยใหประเทศไทยไมตองไปพึ่งพาการนําเขา¹éíÒมัน จากตางประเทศไดเปนจํานวนมาก ฉะนั้นผมขอถามคําถามที่เกี่ยวกับโซลารเซลล ดังนี้ครับ หวังวาทาง นิตยสารฯ จะสามารถหาคําตอบ ไขความกระจางใหผมดวยนะครับ ขอ ขอบคุณลวงหนาเลยครับ 1. ตอนฝนตก แสงแดดออน หรือกลางคืนแผงโซลารทํางาน หรือไมอยางไร 2. อายุการใชงานนานเทาใด 3. ถามีสิ่งสกปรกจะตองลางอยางไร และ ไฟจะตกหรือไม 4. ราคาและขนาดของเซลลแสงอาทิตยสําหรับการใชงานตอ บานเปนอยางไร สุขใจ รูรักษา

เรียน คุณสุขใจ รูรักษา

ต อ งขอขอบคุ ณ ในการสละเวลาเขี ย น จดหมายเขามาคุยกัน สําหรับคําถามที่คุณ สุขใจ สงสัยนั้นทีมงานไดไปเฟนหาคําตอบมา ใหแลว เปนขอ ๆ ดังนี้เลย 1. พลังงานไฟฟาที่เซลลแสงอาทิตยผลิตนั้นจะแปรผันตรงกับ พลังงานของแสงที่สองกระทบสําหรับเซลลแสงอาทิตยตัวเดียวกัน ถา พลังงานแสงเขาเพิม่ หรือลดเปน 2 เทา พลังงานที่ ไดจากเซลลแสงอาทิตย ก็จะเพิ่มหรือลดเปน 2 เทา เชนกัน ในชวงกลางวันทีอ่ ากาศโปรงใส ความเขมของพลังงานแสงอาทิตย จะเปนประมาณ 1,000 W/ตารางเมตร ถาพูดเปนหนวยของความสวางก็ จะเทากับ 100,000 - 120,000 ลุกซ จะเห็นไดวา วันที่มีเมฆ พลังงานจากเซลลแสงอาทิตยจะตกอยูระดับ 1/10 ครึ่งหนึ่งของวันที่อากาศดี ถาหากฝนตก ก็จะตกอยูในระดับ 1/20 - 1/5 ของวันอากาศดี นีค่ อื จุดออนหนึง่ ในการใชงานของเซลลแสงอาทิตย 2. ด ว ยเทคโนโลยี แ ละเหตุ ผ ลทางต น ทุ น ในการสร า งเซลล แสงอาทิตยในปจจุบนั นัน้ ทําใหอายุการใชงานของเซลลแสงอาทิตยอยูร ะดับ ประมาณ 20 - 25 ป ในอนาคตนาจะสามารถสรางระบบโดยใชวัสดุที่คงทน ไดมากขึ้นเพอใหอายุการใชงานยาวเกินกวา 30 ปขึ้นไป 3. แผงของโมมูลจะเปนแผนแกวจะปกปองตัวเซลลภายใน ถาหาก มีสิ่งสกปรก มีสี หรือมีอะไรติดจะทําใหปริมาณแสงที่ถูกตัวเซลลจะนอยลง ทําใหมีการ Outputs นอยลง เมอฝนตกชวยลางแผงใหเปนอยางดี และ อาจจะใชŒ¹éíÒลางทําความสะอาดไดดวยเพอทําใหแผนแกวสะอาดและแสงจะ สองผานถึงเซลลอยางเต็มที่ 4. ปจจุบันราคาเซลลแสงอาทิตยจะ 150 บาท/W มีประสิทธิภาพ ในระดับ 100 W/ตารางเมตร สามารถจายไฟได 3kW เพอใชภายในบาน จะตองใชแผงเซลลแสงอาทิตยขนาด 30 ตารางเมตร คาใชจายประมาณ 450,000 บาท รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนและสงเสริมการใชไฟฟาแสง อาทิตยโดยคาใชจา ยประมาณครึง่ หนึง่ ของคาติดตัง้ จะทําใหราคาตอหนวย ลดลงถึง 4 บาท เปนประมาณสองเทาของคาไฟฟาปจจุบัน ขอขอบคุณ : http://www.solarpower.co.th/th/ เอื้อเฟอขอมูล

104 l September 2011

Energy#34_p104_Pro3.indd 104

8/23/11 12:48 AM


September 2011 l 105

Energy#34_p105_Pro3.indd 105

8/23/11 2:00 AM


Experience Interchange

ปรับเปลีย่ นเพื่อลดการใช ตามสไตล

ศรีไทยซุปเปอรแวร

นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งระบบ Inverter ในระบบทําความเย็น สามารถลดการใชพลังงานไดถึง 273,945.6kWh ตอปหรือคิดเปนเงิน กวา 821,836.80 บาทตอป ขณะที่มีการใชเงินลงทุนเพียง 500,000 บาท เทานั้นสามารถคืนทุนไดภายในระยะเวลา 0.6 ป ในสวนของกระบอกฉีดพลาสติดขึ้นรูปของบริษัทก็มีการหุมฉนวน กันความรอน ซึ่งจากการทดลองพบวาเครื่องดังกลาวจะทนความรอนใน ระดับหนึ่งเทานั้น โดยเครื่องที่ ไมมีฉนวนหุมจะมีอุณหภูมิผิวนอกเครื่องอยู ที่ 200 องศาเซลเซียส และเมื่อหุมฉนวนแลวจะมีอุณหภูมิผิวนอกเครื่อง อยูเฉลี่ย 80 องศาเซลเซียส ชวยลดการใชพลังงานได วิธีการดังกลาว ชวยประหยัดไฟฟาถึง 118,420kWh ตอปหรือคิดเปนเงินกวา 355,260 บาทตอป

ชื่อ ศรี ไทยซุปเปอรแวร นี้คนไทยรูจักมาอยางยาวนาน โดยมี สั ญ ลั ก ษณ เ ป น รู ป นก เพนกวิน ดวยความที่เปนบริษัท เก่ า แก่ ทํ า ให้ เ ครื่ อ งจั ก รต่ า งๆ มีอายุการใชงานที่ยาวนานและ เ ป น ส า เ ห ตุ ห นึ่ ง ใ น ก า ร ใ ช พลังงานอยางสิ้นเปลือง โดยใน งานสั ม มนาด า นการประหยั ด พลังงานทีจ่ ดั ขึน้ โดย GTO Corp. บริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษาด า นพลั ง งาน ระดับโลก ทางศรีไทยซุปเปอร แวรจึงสงตัวแทนมาเผยถึงการดําเนินการลดการใชพลังงาน คุณภูวศิ โพธิ์ ใหญ ในฐานะหัวหนาทีมการจักการดานพลังงาน ของ บริษัท ศรี ไทยซุปเปอรแวร จํากัด (มหาชน) กลาววา “ทาน ประธานบริษัทให้วิสัยทัศน์ ในเรื่องพลังงานไว้ว่า เราจะเป็นผู้นําในการ พัฒนาระบบการจัดการและอนุรักษพลังงานที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน” ทางคุณภูวิศเห็นวาพลังงานโดยทั่วไป 100% เราสามารถใชได เพียง10% ขณะที่อีก 90% จะเปนพลังงานที่ถูกทิ้งไป จึงมีการปรับเปลี่ยน เพื่อใหใชพลังงานไดถึง 75% และเหลือพลังงานที่ถูกทิ้งเพียง 25% เทานั้น หนึ่งในกระบวนการเหลานั้นคือการติดตั้งระบบ Inverter ในมอเตอรปม พรอมการเปลี่ยนปมจากขนาด 55kW เปน 22kW ซึ่งสามารถลดการใช พลังงานได 285,120kWh ตอปหรือคิดเปนเงินกวา 855,360 บาทตอป

ที่ สํ า คั ญบริ ษัทยั ง มี การรณรงคประชาสัมพันธถึงการประหยัด พลังงานในแตละหนวยงานของบริษัท ซึ่งมีการจัดทําควบคูไปกับกิจกรรม 5ส. และยังรวมไปถึงการจัดกิจกรรมประชาสัมพันธดานการอนุรักษ พลั ง งานภายนอกบริ ษัทอี กด้ ว ย และเพื่ อ ช่ ว ยกระตุ้นให้มีการอนุรักษ์ พลังงานมากขึน้ จึงมีการรวมมือกันของทุกระดับการทํางานตัง้ แตประธาน บริษัทจนถึงพนักงานฝายผลิต โดยจะชวยกันดูแลใหเกิดการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ หากจะใหกลาวถึงโครงการการอนุรักษพลังงานทั้งหมดของบริษัท ศรีไทยซุปเปอรแวร จํากัด (มหาชน) คงจะกลาวไมหมดดวยเนื้อที่เพียงเทา นี้ แตหากตองการศึกษาแนวทางการอนุรักษพลังงานของบริษัทนี้ ก็นาจะ สามารถสอบถามได คุณภูวิศไมนาจะหวงวิชาอยาแนนอน

106 l September 2011

Energy#34_p106_Pro3.indd 106

8/24/11 9:55 PM


Energy#33_Cover In_Pro3.indd 1

7/22/11 9:54 PM


Energy#33_Cover Out_Pro3.indd 1

7/29/11 2:48 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.