Supplement รพ.พญาไท By ES

Page 1



สาร รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ผมขอแสดงความยินดีกับ โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ที่ได้รับรางวัล ASEAN ENERGY AWARDS และ THAILAND ENERGY AWARDS 2010 ซึ่งนับว่าเป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ขององค์กรคนไทยที่แสดงให้เห็นถึงเจตนารมณ์ ความมุ่งมั่น ในด้านการอนุรักษ์พลังงานเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และเอกชนให้หัน มาให้ความสำคัญ กับการอนุรกั ษ์พลังงานมากยิง่ ขึน้ ซึง่ สอดคล้องกับภารกิจและเป้าหมายของกระทรวงพลังงานทีต่ อ้ งการสนับสนุน ส่งเสริม ให้มีการพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานในประเทศให้มากขึ้น เพื่อลดการสูญเสีย สูญเปล่าของทรัพยากร งบประมาณในการจัดหาพลังงานจากต่างประเทศ และผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ การจัดประกวดโครงการ THAILAND ENERGY AWARDS ถือเป็นกิจกรรมหลักรายการหนึ่ง ในมาตรการที่กระทรวงพลังงานได้ดำเนินการและยกระดับไปสู่ การประกวดในภูมิภาคอาเซียนเพื่อเผยแพร่ผลงานขององค์กรทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไทยที่มีความตั้งใจมุ่งมั่นในการ ใช้พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด อีกทัง้ ยังเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผูน้ ำด้านการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและประหยัดพลังงานในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งโรงพยาบาลพญาไท เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ได้แสดงผลงานให้เห็นเป็น ที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับในปีนี้ เนือ่ งในโอกาสทีโ่ รงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ได้จดั ทำวารสารเพือ่ เผยแพร่เจตนารมณ์ ความมุง่ มัน่ ตัง้ ใจ ในการ ดำเนินการด้านการอนุรกั ษ์พลังงาน และเพือ่ กระตุน้ ให้ผปู้ ระกอบการรายอืน่ ๆหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ตลอดจนช่วยให้เกิดค่านิยม ในเรื่องการประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานสะอาดทำให้ เกิดความคิดสร้างสรรค์และวิธกี ารประหยัดพลังงานในรูปแบบใหม่ๆ โดยเฉพาะพลังงานสะอาดทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ผมขอแสดงความชื่นชมอีกครั้ง และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลจากเจตนารมณ์และความตั้งใจดังกล่าว จะส่งเสริมให้กิจการ ของโรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ประสบความสำเร็จในการดำเนินกิจการให้ก้าวหน้าสืบไป

(นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน

3


สาร อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายจากกระทรวงพลังงานให้เป็นผู้รับผิดชอบการจัดประกวดโครงการ Thailand Energy awards 2010 นั้น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ต้องขอแสดงความยินดีกับ โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ที่ประสบผลสำเร็จอย่างสูงจากการส่งผลงานเข้าประกวดในปีนี้จนได้รับรางวัลดีเด่นทั้งใน ส่วนอาคาร และบุคลากรทัง้ ภาคผูบ้ ริหารและผูร้ บั ผิดชอบ และยังสร้างความภูมใิ จให้กบั ประเทศชาติอกี ครัง้ ในการประกวด การอนุรักษ์พลังงานระดับภูมิภาคกับการได้รับรางวัล ASEAN Energy Awards 2010 ซึ่งนับเป็นเกียรติประวัติอันยิ่งใหญ่ ขององค์กรภาคเอกชนไทยและเป็นตัวอย่างอันดีของความมุ่งมั่น ตั้งใจในด้านการอนุรักษ์พลังงานให้กับหน่วยงานอื่นๆ ทั้งในภาครัฐและเอกชน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พลังงานให้มากขึ้น ซึ่งเป็นวัตถุประสงค์สำคัญของการ จัดประกวด Thailand Energy Awards ทุกครั้งที่ผ่านมา ในการจัดทำวารสารพิเศษของโรงพยาบาลพญาไท ศรีราชาครั้งนี้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงานต้องขอแสดงความชื่นชมอีกครั้งในความมุ่งหมายของโรงพยาบาล และคณะผู้บริหารที่ต้องการส่งเสริมและ เผยแพร่ผลงาน ความสำเร็จให้เป็บแบบอย่างการอนุรักษ์พลังงานไปยังผู้ประกอบการ ผู้บริหารหน่วยงานในภาครัฐและ เอกชน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ได้รับวารสารฉบับนี้จะได้ใช้เป็นแนวคิด แนวทางในการอนุรักษ์พลังงานขององค์กร จนส่งผลสำเร็จอย่างเช่นโรงพยาบาลพญาไทศรีราชาต่อไป

(นายไกรฤกษ์ นิลคูหา) อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษ์พลังงาน

4


สารบัญ

Contents

8 18 สัมภาษณ์ พ�เศษ ED พญาไท ศรีราชา

6-7 พญาไท ศรีราชา… สุดยอดการบริหารจัดการ สู่ความเปนหนึ่ง

24 เกร็ดความรู้ ด้านพลังงาน

18-20 วิธีที่ง่ายและรวดเร็วที่สุดสำหรับการแก้ปญหาพลังงาน ณ ตอนนี้คือ “การลดการใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟ�อย และไม่มีประสิทธิภาพ”

สุดยอดความสำเร็จ พ่วง แชมป์ 4 รางวัล

8 โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา กับ 4 สุดยอดรางวัลระดับประเทศ และอาเซียน 10 เริ่มต้น..ทำต่อเนื่อง..สู่ความสำเร็จ 12 เดินหน้า..ไม่หยุดยั�ง..การพัฒนา 14 รับรองมาตรฐาน..หลากหลายรางวัล..การันตี ชนะใจ..ไม่แข่งขัน..มุ่งพัฒนา 16 งานบริการ..คู่ขนาน..อนุรักษ�พลังงานแบบยั่งยืน เปาหมาย..ความสำเร็จ..แห่งอนาคต

22

16

เกร็ดความรู้ สุขภาพ

22 อิมซี่เทคโนโลยีใหม่ ในการรักษาผู้มีบุตรยาก 23 ศูนยโรคหัวใจ มาตรฐานสากล ดูแลคุณตลอด 24 ชม. 24 Micro neuro sursery ผ่าตัดสมองและไขสันหลัง โดยใช้กล้องช่วยผ่าตัด 25 การรักษาข้อเข่าเสื่อม โดยการผ่าตัด 26 รากฟ�นเทียม Implant

22 23

25 5


สัมภาษณ์ พ�เศษ ED พญาไท ศรีราชา

พญาไท ศรีราชา

สุดยอดการบริหารจัดการ สู่ความเปนหนึ่ง การก้าวเข้าสู่การเป็นผู้นำในตลาดนั้นต้องคำนึงถึงหลัก การบริหารหลายด้านด้วยกันโดยเริ่มตั้งแต่การบริหารจัดการของ ผู้บริหารระดับสูง บุคลากรภายในองค์กร การบริหารจัดการองค์กร ให้มคี ณุ ภาพ และประสิทธิภาพด้านบริการตลอดจนด้านการบริหาร จัดการพลังงานซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ต้องมีการพัฒนา ควบคูไ่ ปพร้อมกับหลักการบริหารด้านอืน่ ๆ เพือ่ ก้าวสูค่ วามสำเร็จ ในการเป็นผูน้ ำ โรงพยาบาลพญาไทศรีราชานั้นเป็นอีกองค์กร หนึ่งที่มีการบริหารจัดการองค์กรที่ดีในทุกด้านด้วยกัน จนส่ ง ผลให้ โ รงพยาบาลก้ า วขึ้ น มาเป็ น โรงพยาบาล อันดับต้นๆ ในการรักษาพยาบาล และเป็นอันดับหนึง่ ของ โรงพยาบาลเอกชน ในด้านการบริหารจัดการพลังงาน จนส่งผลให้ได้รับรางวัลทั้งในระดับสากลและระดับ ประเทศรวมกัน ถึง 4 รางวัล ได้แก่ รางวัลชนะเลิศ ประเภทการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานดี เ ด่ น ใน อาคารขนาดใหญ่ จากโครงการ ASEAN Energy Awards 2010 และรางวัลดีเด่น 3 รางวัล คือ ประเภทอาคารควบคุม ด้านอนุรกั ษ์พลังงาน, ประเภทผูบ้ ริหารอาคารควบคุม และประเภท ผูร้ บั ผิดชอบด้านพลังงานอาคารควบคุม จาก โครงการ Thailand Energy Awards 2010 นายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ กรรมการ ผู้อำนวยการใหญ่โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา เล่าถึงวิสยั ทัศน์การบริหารจัดการโรงพยาบาลสู่ การเป็นผูน้ ำในตลาด และก้าวหน้าสูก่ ารเป็น โรงพยาบาลอันดับหนึง่ ว่า


“No risk ,good service” เรียกได้วา่ เป็นวิสยั ทัศน์ทผ่ี มยึดมาโดยตลอด การบริการของโรงพยาบาลเป็นการขายความเชื่อมั่น และดำเนิน การอยู่บนชีวิต และวิถีชีวิตของคน ดังนั้นสิ่งที่จะทำให้ธุรกิจของ โรงพยาบาลอยูใ่ นใจของผูร้ บั บริการได้คอื การบริการทีด่ ี ซึง่ หมายรวม ถึงทั้งด้านคุณภาพและประสิทธิภาพ และต้องขจัดสิง่ ทีห่ ยุดยัง้ ความ ก้าวหน้าของโรงพยาบาลให้ได้คือ ทำอย่างไรที่โรงพยาบาลของเรา ต้องไม่มีความเสี่ยงในด้านการบริการ ซึ่งปัจจัยของเรื่องดังกล่าวนี้ ผมให้ความสำคัญ และเชื่อมั่นว่าจะนำเราไปสู่เป้าหมายทุกเรื่อง ผมคิดว่า Structure must support strategy ส่วน key success factors ที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ

7 Keys success factor ในการบริหารโรงพยาบาลของผมนั้นมี 7 ประการด้วยกัน คือ 1. Organization Structure อำนาจ และหน้าทีช่ ดั เจน, horizontal คล่องตัว 2. Doctor หมอคือบุคลากรทีส่ ำคัญ ทำอย่างไรทีจ่ ะ facilitate ให้เกิด ความร่วมมือจากหมอให้มากที่สุด เพราะหมอคือ Core Product (Service) ของธุรกิจโรงพยาบาล 3. Communication ต้อง effective ทั่วถึงกระจายได้ทั้งแนวกว้าง และแนวลึก ทุกคนในองค์กรต้องมีสว่ นร่วมในการรับรูค้ วามก้าวหน้าและ ปัญหาขององค์กรทีต่ อ้ งร่วมกันแก้ไขและเดินไปสูเ่ ป้าหมายพร้อมๆ กัน 4. Debt Collection วิเคราะห์ทกุ ปัจจัยทีท่ ำให้การติดตามหนีเ้ ครดิต ล่าช้า ต้องได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ในปัจจุบันเราก็พอใจกับผลที ่ได้รับเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ 5. Standard of Treatment หมายความว่าการบริการทางการแพทย์ ต้องได้มาตรฐาน และเรามีตวั ชีว้ ดั ชัดเจนในการควบคุมมาตรฐานซึง่ ผู้อำนวยการแพทย์ติดตามดูอย่างใกล้ชิดทุกวัน 6. Cost containment ทั้งเรื่องของ Utilization, เงินเดือน, OT ค่าใช้จ่ายทางการตลาด ทุกอย่างต้องสมเหตุสมผล มีประสิทธิภาพ และที่สำคัญมากคือ Power Conservation 7. Speedy Process เราตั้งเป้าจะเป็นโรงพยาบาลที่ดี หมายถึง คุณภาพดีราคาในการบริการสมเหตุสมผลไม่เอาเปรียบผู้บริโภค ไม่เอากำไรเกินควร การบริการด้วยความรวดเร็วและชัดเจน ทำยังไง ให้ลูกค้ารอแต่ละขั้นตอนไม่นาน เราได้จัดการทั้งด้าน Structure, Operation, และ เทคโนโลยี ใช้ระบบ HIS, Paperless ทั้งผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก ซึ่งเป็นที่พอใจของผู้ใช้บริการ

Structure must support straegy ถ้าถามโรงพยาบาลมีเทคนิคในการบริหารจัดการคนอย่างไร เพื่อให้ก้าวไปสู่ทิศทางเดียวกัน ทั้งในด้านการอนุรักษ์พลังงานและ การรักษามาตรฐานในการให้บริการ ก็ดังที่ได้กล่าวไปแล้วว่าผมเชื่อ มั่นในเรื่อง Structure must support strategy ผมจึงจัดการเรื่องของ

Organization Structure ก่อน เน้นความคล่องตัว และ Strong เรื่อง Communication ในด้านการอนุรักษ์พลังงาน เราเริ่มต้นที่ ให้ทกุ คนซึมซับจนเกิดจิตสำนึก ให้ความรูใ้ ห้เห็นข้อดีขอ้ เสีย และที่ สำคัญให้เห็นประโยชน์ใกล้ตวั สามารถนำไปปฏิบตั ทิ บ่ี า้ น และคนใน ครอบครัวได้ นอกจากนี้ยังได้ตงั้ กิจกรรมด้านอนุรักษ์พลังงานเป็น Indication ในการวัดประเมินผลพนักงานด้วย

Plan to the future ในอนาคตทางโรงพยาบาลได้วางแผนการดำเนินงานด้าน บริการ เพื่อให้คู่ขนานไปกับการอนุรักษ์พลังงานที่ยั่งยืน โดยใน ด้านการบริการนั้นเรากำลังดำเนินการไปสู่ IT base เป็นการช่วย เรื่องความถูกต้อง รวดเร็ว และลดทรัพยากรที่ทำลายสิ่งแวดล้อม มีการประเมินผล และนำมาสื่อสารอย่างสม่ำเสมอ แล้วความยั่งยืน ก็จะตามมาเองโดยอัตโนมัติ

Add Value for treatment ปัจจุบนั เราถือได้วา่ เป็นโรงพยาบาลทีเ่ ป็นหนึง่ ในเรือ่ งมาตรฐาน การรักษา ในอนาคตเราก็มีแผนที่จะขยายความเป็น Specialist ด้านต่างๆ ให้มากขึน้ โรงพยาบาลของเราเป็นโรงพยาบาลประเภท General Hospital ทีม่ คี วามหลากหลายด้านความเชีย่ วชาญเฉพาะทาง เราตัง้ ใจว่าจะเป็นโรงพยาบาลทีพ่ ง่ึ ได้ ทัง้ คุณภาพ ศักยภาพ เทคโนโลยี ไม่ตอ้ งเข้ากรุงเทพ และราคายุตธิ รรมทีป่ ระชาชนเข้าถึงได้ นอกเหนือ จากนั้นก็ยังมุน่ เน้นงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม โดยมีการลงทุนด้าน Hard ware ไปแล้ว ขณะนีเ้ รามุง่ เรือ่ ง People ware และกำลังมองไปถึงเรือ่ งเทคโนโลยีพลังงานทางเลือกมาใช้กบั ส่วนงานที่เหมาะสม ถือเป็นความมุง่ มัน่ และตัง้ ใจอันแน่วแน่ของโรงพยาบาลไทย ที่มีมาตรฐานระดับสากล ทั้งล้ำสมัยด้านเทคนิค แต่ก็ไม่ลืมให้ความ สำคัญในเรื่องของบุคลากรที่ต้องยอมรับว่ามีส่วนสำคัญในการจะ ประสบความสำเร็จในข้อต่างๆ ฉะนั้นการได้รับรางวัลทั้งในส่วน ผูบ้ ริหาร อาคาร และผชอ. ก็ถอื เป็นตัวการันตีความเพียบ พร้อมทุก ด้านของโรงพยาบาลได้อย่างไร้ข้อกังขา สุดท้ายนายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ ได้กล่าวถึงความ ภาคภูมิใจของรางวัลที่โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชาได้รับว่า สิ่งนี้จะ เป็นตัวกระตุน้ จิตสำนึกของพนักงานให้มกี ำลังใจที่จะ Maintain ความร่วมมือได้ดี โรงพยาบาลเป็นที่รู้จักขององค์กรต่างๆ ในมุมนี้ มากขึ้น ที่สำคัญเราได้แชร์ประโยชน์กับสังคมส่วนรวมในการเป็น โมเดลในการเรียนรู้เรื่องของพลังงานด้วย

7


สุดยอดความสำเร็จ พ่วง แชมป์ 4 รางวัล

รพ.พญาไท ศรีราชา “ไม่ธรรมดา”

ความสำเร�จจากการคว้าแชมป จากเวที ASEAN & Thailand Energy Awards 2010 รวม 4 รางวัล บ่งบอกถึงความสมบูรณ์ ของตัวโรงพยาบาลแห่งนี้ ได้อย่างไม่มที ต่ี ิ

โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา กับ 4 สุดยอดรางวัลระดับประเทศ และอาเซียน ได้แก่

รางวัลชนะเลิศ ประเภทการบริหารจัดการพลังงานดีเด่น ในอาคารขนาดใหญ่ จากโครงการ ASEAN Energy Awards 2010 และรางวัลดีเด่น 3 รางวัล คือ ประเภทอาคารควบคุม ด้าน อนุรักษ์พลังงาน, ประเภทผู้บริหารอาคารควบคุม และประเภทผู้รับ ผิดชอบด้านพลังงานอาคารควบคุม จากโครงการ Thailand Energy Awards 2010 ไม่งา่ ยเลยทีโ่ รงพยาบาลแห่งหนึง่ จะสร้างความสำเร็จ ได้มากมายภายในปีเดียวกัน โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา (Phyathai Sriracha General Hospital) ถือเป็นโรงพยาบาลเอกชนระดับดีมาก ขนาดกลาง 250 เตียง สามารถรับผู้ป่วยนอก ได้วันละ 1,500 คน ตั้งอยู่กลางใจเมืองศรีราชา ใกล้ชุมชน จดทะเบียนในนาม บริษัทโรงพยาบาลศรีราชานคร จำกัด 8

(มหาชน) เกิดจากความร่วมมือ ของ 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ผู้ประกอบการ โครงการศรีราชานครกลุม่ แพทย์ทอ้ งถิน่ และบริษทั ประสิทธิพ์ ฒั นา จำกัด (มหาชน) โดยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 4,000,000 บาท ใช้งบ ประมาณการลงทุนทั้งสิ้น ประมาณ 740 ล้านบาท



สุดยอดความสำเร็จ พ่วง แชมป์ 4 รางวัล ต่อมาในปัจจุบันทุนจดทะเบียนอยู่ที่ 359,541,800 บาท โรงพยาบาลได้รับการรับรองคุณภาพระบบ ISO 9002 ในปี 2543 และได้รับรองคุณภาพ ISO 9001:2000 ในปี 2546 และได้รับการ รับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามมาตรฐาน HA และผ่านมาตรฐาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ HPH ในปี 2552 ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์สูงสุด ของผู้ใช้บริการ นอกจากนี้โรงพยาบาลยังให้ความสำคัญในระบบ คุณภาพอื่นๆ ทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อม (ISO 14001) อาชีวอนามัย (ISO18001) และอาหารสำหรับผู้ป่วย (HACCP) เพื่อเป็นโรงพยาบาล ที่ไว้ใจได้ทุกระบบ จำนวนบุคลากรของโรงพยาบาลฯ ทั้งหมดมี 1,202 คน แบ่งเป็น 9 ฝ่าย 81 แผนก มีแพทย์ประจำ 82 ท่าน โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ให้ความตระหนักและใส่ใจ ในเรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อมมาอย่างต่อเนื่อง จนผลงานเริ่มโดด เด่นเข้าตากรรมการจากทั้งสองเวที จึงได้รับการเสนอชื่อเข้าแข่งขัน และสามารถคว้ารางวัลมาเชยชมได้ตามความคาดหมาย

แนะนำ และช่วยวางแผนในการนำเทคนิคต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับ โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา โดยเริม่ จากการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย (Hardware) ตัง้ แต่การปรับเปลีย่ นเครือ่ งทำความเย็น (Chil er), การนำ เครื่องควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ (Inverter) สำหรับปัม๊ น้ำมาใช้งาน, การปรับเปลี่ยนระบบไฟฟ้าแสงสว่างเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ T5 และ LED เพราะนอกจากการประหยัดพลังงานแล้ว ยังได้คุณภาพ แสงสว่างตามมาตรฐานในการใช้งาน, การนำระบบควบคุมพลังงาน (Energy Management System) เข้ามาเพื่อช่วยบริหารจัดการการ ใช้ไฟฟ้าในแต่ละช่วง ให้เหมาะสมและได้ประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึง การปรับเปลี่ยนเครื่องระบายอากาศเป็นระบบ Lossnay เพื่อให้เกิด การประหยัดพลังงานในการถ่ายเทอากาศจากภายในสู่ภายนอก และเป็นการช่วยทำให้เกิดอากาศบริสทุ ธิ์ ปลอดเชือ้ มากขึน้ ซึง่ นอก จากจะเป็นการประหยัดพลังงานแล้ว ยังเป็นการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของผู้ที่มารับบริการอีกทางหนึ่งด้วย

เริ่มต้น..ทำต่อเนื่อง.. สู่ความสำเร็จ

การใช้พลังงานของโรงพยาบาล ในปี 2550-2552 มีแนวโน้ม ที่สูงขึ้น เมื่อสังเกตจากหน่วยการใช้พลังงานรวมที่เพิ่มสูงขึ้นในแต่ ละปี เนื่องจากปริมาณลูกค้าที่เพิ่มสูงขึ้น และอีกทั้งมีการปรับปรุง พื้นที่เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต ซึ่งทางโรงพยาบาลต้องการ ให้เกิดการใช้พลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ผูบ้ ริหารสูงสุดขององค์กรได้ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญ ในด้านการจัดการพลังงาน มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 นายแพทย์ธนาคม แมนธนานนท์ กรรมการผูอ้ ำนวยการใหญ่ ได้จดั คณะทีมงานไปดูงาน ที่โรงพยาบาลวิภาวดี ซึ่งในสมัยนั้น เป็นโรงพยาบาลที่ได้รับรางวัล การอนุรักษ์พลังงาน และถือเป็นโรงพยาบาลอันดับหนึง่ ทีม่ กี ารบริหาร จัดการด้านการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้พบกับ อ.บัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการ พลังงาน บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จำกัด ซึ่งต่อมาได้เป็นผู้ 10

นอกจากนี้ทางโรงพยาบาลยังเล็งเห็นถึงความสำคัญของ บุคลากร (People Ware) จึงได้มีนโยบายในการสร้างจิตสำนึก ใน การอนุรักษ์พลังงานให้กับพนักงานในองค์กรอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ การจัดอบรมให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานภายใน การส่งเสริม ให้พนักงานออกไปศึกษาดูงานจากทีต่ า่ งๆ ทีไ่ ด้การรับรองมาตรฐาน การให้ทุนการศึกษาพนักงาน เพื่อให้ไปศึกษาต่อด้านการอนุรักษ์ พลังงาน และนำกลับมาพัฒนาองค์กร รวมทั้งการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการกระตุ้นจิตสำนึกของพนักงานอย่างยั่งยืน นอกจากการจัดการทั้งด้าน Hardware และ People ware แล้ว ทางโรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา ยังมีการปรับเปลี่ยนระบบการ



สุดยอดความสำเร็จ พ่วง แชมป์ 4 รางวัล บริหารจัดการต่างๆ (System ware) เพื่อให้สอดคล้องเหมาะสม กับการทำงาน และเป็นการสร้างประสิทธิภาพในการให้บริการไป พร้อมกัน อาทิ การนำระบบ Discharge Planning เข้ามาใช้เพื่อ ให้คนไข้ที่ได้รับการอนุญาตให้กลับบ้านได้แล้ว สามารถออกจาก โรงพยาบาลได้ตั้งแต่เช้า ไม่ต้องรอจนถึงช่วงบ่าย การนำระบบ IPD Paperless มาใช้เพื่อลดความผิดพลาด เพิ่มความรวดเร็วและลด การใช้กระดาษเป็นต้น การดำเนินงานด้านการอนุรักษ์พลังงานของโรงพยาบาล พญาไท ศรีราชา เริม่ มาจากวิสยั ทัศน์ของผูบ้ ริหารระดับสูงสุดของ องค์ก รที ่ม ีม ุม มองในเรือ่ งความสำคัญ ของการจั ด การพลั ง งาน ซึง่ เป็นการควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่ายขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการ ดำเนินธุรกิจขององค์กร จนเป็นที่มาของการเริ่มดำเนินงานอนุรักษ์ พลังงานอย่างจริงจังตั้งแต่ มิถุนายน พ.ศ. 2546 เป็นต้นมา โดย ผู้บริหารสู งสุดขององค์กรได้ประกาศความมุ่งมั่นผ่านนโยบาย ประหยัดพลังงาน (ฉบับที่1) ที่กำหนดให้ทุกคนในองค์กรรับทราบ และให้ความร่วมมือในการใช้พลังงานทุกประเภทอย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ลดการสูญเสียพลังงานที่ไม่จำเป็นลงมากที่สุด และเพื่อให้การ ดำเนินงานอนุรกั ษ์พลังงานของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และต่อเนื่องจึงได้แต่งตั้งคณะทำงานได้แก่คณะกรรมการอนุรักษ์ พลังงาน พร้อมทั้งสมัครเข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พลังงานแบบมี ส่วนร่วมของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และ ได้ประกาศความมุง่ มัน่ ในการอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมของ พนักงานทั้งหมดในองค์กร ณ วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2549 (ฉบับที่2) เพื่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจของพนักงานทุกคน ที่เป็นส่วนช่วย ในการประหยัดพลังงาน ทั้งนี้ ผลจากการมีคณะกรรมการอนุรักษ์ พลังงาน นโยบาย กลยุทธ์เป้าหมายที่ชัดเจนแล้ว พนักงานจึงได้ รับทราบและนำไปปฏิบตั ิ มีการตรวจติดตามโดยคณะกรรมการ 5 ส พลังงานอย่างเคร่งครัด รวมถึงผูบ้ ริหารสูงสุดเป็นตัวอย่างในการเดิน ขึน้ ลงบันได ขึน้ 4 ชัน้ ลง 5 ชัน้ แทนการใช้ลฟิ ท์ตามมาตรการอนุรกั ษ์ พลังงานขององค์กรทีก่ ำหนดขึน้ มาเป็นวัฒนธรรมองค์กร (Phyathai way)

12

เดินหน้า..ไม่หยุดยั้ง.. การพัฒนา

ในปัจจุบนั โรงพยาบาลได้ดำเนินการเกีย่ วกับโครงการใหญ่ๆ สำเร็จลุล่วงไปแล้วหลายประการ ซึ่งพอสรุปโดยสังเขปได้ดังนี้ ระบบการจัดการคุณภาพภายใน ในปัจจุบันโรงพยาบาลได้จดั ระบบควบคุมคุณภาพภายใน ทั้งในด้าน การบริหารจัดการองค์กรและการบริการทางการแพทย์ได้สมบูรณ์ แล้ว และได้มกี ารปฏิบตั งิ านเชือ่ มโยงเป็นโครงข่ายกันอย่างมีระบบ ทำให้ ผู้บริหารสามารถติดตามผลงานและรับทราบการป้องกันความเสี่ยง ได้ครบทุกภาคส ว่ นขององค์กร เรามีทมี คร่อมสายงานทีป่ ระสานโยงใย กันอย่างมีประสิทธิภาพทำให้การควบคุมคุณภาพของโรงพยาบาล ได้รับการสแกนอย่างถี่ถ้วน ซึ่งสามารถพิสูจน์ความสำเร็จนี้ได้จาก การตรวจสอบของหน่วยงานภายนอก ในปัจจุบนั โรงพยาบาลได้รบั การ รับรองมาตรฐานคุณภาพด้านการบริการจากองค์กรภายนอก ซึ่ง ครอบคลุมระบบที่สำคัญทั้งหมด ระบบการจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงพยาบาลได้ด ำเนิ น งานในรูป ของคณะกรรมการเพื ่อ พั ฒ นา คุณภาพและประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อรองรับกระบวนการ ให้บริการผู้ป่วย รวมไปถึงข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการองค์กร เราได้ตดิ ตัง้ ระบบไร้กระดาษ ทัง้ แผนกผูป้ ว่ ยนอกและผูป้ ว่ ยใน เป็น กลยุทธ์ทท่ี ำให้โรงพยาบาลสามารถบริหารจัดการได้อย่างรวดเร็ว ลด ความผิดพลาดในกระบวนการจากมือมนุษย์ได้เกือบร้อยเปอร์เซนต์ และความสำเร็จนี้ทำให้โรงพยาบาลสามารถรองรับผู้มารับบริการ ที่เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้เราได้รับความ ร่วมมือจากพนักงานทุกระดับ โดยเฉพาะกลุ่มแพทย์ แพทย์ของ โรงพยาบาลใช้การคียร์ ายละเอียดทุกอย่างลงในระบบ ทำให้ลดความ ผิดพลาดเรือ่ งการสัง่ ยา และการวินจิ ฉัยทีแ่ ต่ละหน่วยงานอ่านลายมือ แพทย์ไม่ออก และที่สำคัญ เมื่อทุกอย่างถูกบันทึกลงระบบ ทำให้ การตรวจสอบ การดึงข้อมูลเพื่อพัฒนา และการบริหารจัดการง่าย และรวดเร็วขึน้ มาก เพราะในปัจจุบนั นีเ้ ป็นยุคของการบริหารจัดการ บนข้อมูลทีเ่ ป็นจริง ซึง่ ขณะนีโ้ รงพยาบาลกำลังพัฒนามาตรฐานความ ปลอดภัยของระบบสารสนเทศ เพื่อขอรับรอง ISO 20007 ด้านศักยภาพทางการแพทย์ เราให้ความสำคัญเรื่องการพัฒนาศักยภาพด้านการแพทย์อย่าง จริงจังโดยมีเป้าหมายให้โรงพยาบาลมีศนู ย์การแพทย์เฉพาะทางหลาก หลายสาขา เพือ่ เป็นทีพ่ ง่ึ ของชาวตะวันออกและใกล้เคียง โดยไม่ตอ้ ง เดินทางเข้ามารักษาในกรุงเทพฯ การเปิดศูนย์การแพทย์เฉพาะทาง ของโรงพยาบาล มีนโยบายว่าเราต้องหาคน ซึ่งหมายถึงแพทย์ และทีมงานทีม่ คี ณุ ภาพทีเ่ ป็น Full time ให้ได้กอ่ น แล้วเราจะลงทุน ด้านเทคโนโลยีทันที เพราะเท่าที่ผ่านมาหลายๆ แห่ง เปิดศูนย์ เฉพาะทางโดยไม่มีแพทย์ประจำ ทำให้เกิดความไม่สะดวกของผู้รับ บริการ ในที่สุดจะมีแต่ชื่อศูนย์ไม่มีแพทย์ประจำ ศูนย์ดังกล่าวที่เรา พัฒนาได้สำเร็จและมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ดังนี้



สุดยอดความสำเร็จ พ่วง แชมป์ 4 รางวัล 1. ศูนย์รักษาผู้มีบุตรยาก ซึ่งในปัจจุบันมีอัตราความสำเร็จสูง ถึง 50% จัดได้ว่าเป็นศูนย์ฯ ที่มีความเชี่ยวชาญในระดับ ต้นๆ ของประเทศ 2. ห้องปฏิบัติการสวนหัวใจ 3. ศูนย์โรคสมอง 4. ศูนย์ทันตกรรม 5. ศูนย์ตรวจสุขภาพเคลื่อนที่

นอกจากนี้ โรงพยาบาลมีโครงการจะขยายศูนย์เฉพาะทางอีกหลาย ศูนย์ อย่างเช่น ศูนย์โรคระบบทางเดินอาหาร ศูนย์พัฒนาการและ การเจริญเติบโตของเด็ก และมีแผนการลงทุนในด้านเทคโนโลยีทาง การแพทย์ทุกปี เพื่อพัฒนาศักยภาพในการดูแลรักษาและให้บริการ แก่ผู้รับบริการ

• รางวัลดีเด่นด้านอนุรักษ์พลังงานระดับประเทศ 3 รางวัล คือ รางวัลผู้บริหารอาคารควบคุมดีเด่น รางวัลผู้บริหารควบคุมดีเด่น รางวัลผู้รับผิดชอบด้านพลังงานดีเด่น • มาตรฐานการบริการ ตามมาตรฐานวิชาชีพแต่ละสาขา • มาตรฐานการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล ดำเนินงานในรูปแบบของคณะกรรมการควบคุมการแพร่ กระจายเชื้อในโรงพยาบาล ทำหน้าที่ออกนโยบายควบคุม และตรวจสอบมาตรฐานการปฏิบัติของหน่วยงาน ในปัจจุบัน กำลังดำเนินการปรับปรุงกระบวนการรักษาความปลอดภัย ของสารสนเทศภายในองค์การเพือ่ ขอการรับรองมาตรฐาน ISO 20007

ชนะใจ..ไม่แข่งขัน.. รับรองมาตรฐาน..

หลากหลายรางวัล..การันตี

เราได้รับการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติการที่สำคัญครบ ทุกระบบที่เป็นการการันตีคุณภาพ ให้แก่ผู้รับบริการ อาทิ • HA & HPH รับรองคุณภาพการดูแลผู้ป่วย การบริหารองค์กร และการสร้างเสริมสุขภาพ • ISO 9001:2008 รับรองระบบบริหารคุณภาพ • ISO 9001:2008+HACCP & CODEX GMP รับรองระบบ การจัดการคุณภาพความปลอดภัยของอาหาร • ISO 15189:2007 รับรัองความสามารถห้องปฏิบตั กิ ารสาธารณสุข • รับรองความสามารถห้องปฏิบัติการตรวจสุขภาพคนหางาน ที่จะไปต่างประเทศ • OHSAS 18001:2007 รับรองระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัย • ISO 14001:2004 รับรองระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม • PM Award 2007 รางวัลผู้ส่งออกสินค้าและบริการดีเด่น ด้านธุรกิจรักษาพยาบาล จากนายกรัฐมนตรี • รางวัลชนะเลิศด้านอาคารอนุรักษ์พลังงานระดับอาเซียน 14

มุ่งพัฒนา

สำหรั บ มุ ม มองด้ า นการแข่ ง ขั น ของธุ ร กิ จ บริ ก ารของ โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา มีมุมมองด้านการแข่งขันที่สำคัญคือ เราแข่งกับตัวเอง พัฒนาตัวเองโดยยึดหลักให้องค์กรพัฒนาได้อย่าง ยั่งยืนทุกๆ ด้าน วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง และปรับตัว รองรับให้ได้ตลอดเวลา และมองการณ์ให้ก้าวหน้าไปอย่างน้อย 1-2 Step สำหรับอนาคต ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้โรงพยาบาลของ เราแข่งขันได้อย่างยั่งยืน คือ ทรัพยากรบุคคล ผู้บริหารต้อง Define ให้ได้ว่าบุคลากรกลุ่มใด เป็น Core Competency ของโรงพยาบาล การให้ความสำคัญที่เหมาะสม (Take balance) ให้ทุกคนในแต่ละ กลุ่ ม ทำงานอย่ า งมี ค วามสุ ข เพื่ อ ทุ่ ม เทขี ด ความสามารถให้ กั บ องค์กรได้อย่างเต็มที่ และการก่อเกิดพลังที่สำคัญ ในการผลักดันให้ โรงพยาบาลก้าวไปได้เรื่อยๆ ตามแผนของผู้บริหารคือความสามัคคี ของคนในองค์กร การเข้าใจในเป้าหมายเดียวกัน เป็นที่มาของความ ร่วมมือที่ไม่มีเงื่อนไขเพราะได้มาด้วยใจ การส่งเสริมศักยภาพของ บุคลากรแต่ละส่วนงานเพือ่ ให้เพิม่ ขีดความสามารถในการพัฒนางาน และให้โอกาสในการนำเสนอวิธีการหรือเทคโนโลยีใหม่ๆ การปิดความเสี่ยง ด้วยการสร้างจิตสำนึกให้พนักงานทุกภาคส่วน สนใจและให้ความสำคัญกับการป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นใน



สุดยอดความสำเร็จ พ่วง แชมป์ 4 รางวัล กระบวนการของตน ซึ่งยังผลไปสู่เป้าหมายปลายทางของงานนั้นๆ คือคุณภาพ ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้รับบริการต้องการ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การติดตามผลตัวชี้วัดมาตรฐานของแต่ละส่วนงานซึ่งตรวจสอบ และพัฒนาโดยการนำของทีมคร่อมสายงานของแต่ละงาน ทีม R&D และการจัดสรรงบประมาณสนับสนุน เพื่อให้มีการศึกษาและนำสิ่ง ใหม่เข้ามาในองค์การ โดยแต่ละฝ่ายในทีมต้องไปศึกษาสภาวะแวดล้อม และโอกาสในการพัฒนาเข้ามานำเสนอและศึกษาความเป็นไปได้ใน บริบทของโรงพยาบาล

งานบริการ..คู่ขนาน..

อนุรักษ�พลังงานแบบยั่งยืน

ในการบริการผู้ป่วยของโรงพยาบาล จะมีการสอดแทรก ความรู้เรื่องการอนุรักษ์พลังงานให้กับผู้มาใช้บริการและกลุ่มลูกค้า ของโรงพยาบาล รวมถึงตัวพนักงานเอง ซึ่งโรงพยาบาลเน้นในเรื่อง การให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงาน โดยทุกปีต้องมีการอบรม เรื่องการคิดค่าไฟฟ้าเพื่อเป็นพื้นฐานในการนำไปประหยัดพลังงานที่ บ้าน และหัวข้ออื่นๆ ที่จะเป็นประโยชน์ให้กับพนักงานในการนำไป ใช้เพื่อประหยัดพลังงานในการดำเนินชีวิต ซึ่งหากพนักงานสามารถ ประหยัดพลังงานที่บ้านและที่อื่นๆ นอกเหนือจากที่โรงพยาบาลแล้ว นั่นแสดงว่าโรงพยาบาลสามารถทำให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่าง ยั่งยืนได้ เนื่องจากเป็นการปลูกจิตสำนึกให้กับพนักงานและลูกค้า ให้ใส่ใจการอนุรักษ์พลังงานได้อย่างถาวร

เปาหมาย..ความสำเร�จ.. แห่งอนาคต

ในด้านการบริหารโรงพยาบาลด้านธุรกิจ อยู่ในอันดับ 1 ในสามของประเทศ ทั้งอัตราการเติบโตของรายได้ (REVENUE) และอัตราการทำกำไร (EBITDA) อีกทัง้ ยังเป็นโรงพยาบาลทีส่ ร้างสรรค์ 16

ประโยชน์ แก ่ ส ั ง คม ส ่ ว นแผนงานด้ านการอนุ ร ั กษ์ พ ลั ง งานใน อนาคตของโรงพยาบาลโดยส่วนใหญ่ จะมีการเลือกใช้เทคโนโลยี อนุรกั ษ์พลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ คุม้ ค่าการลงทุนโดยเน้นการมีระยะ เวลาคืนทุนที่ไม่นานเกินไป โดยการเลือกใช้เทคโนโลยีดังกล่าวต้อง คำนึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อมอันได้แก่ การใช้เทคโนโลยีโอโซนใน ระบบคูลลิ่งและระบบซักผ้า ที่มีส่วนช่วยในการประหยัดพลังงาน และยังลดการใช้สารเคมี ซึ่งส่งผลต่อการลดของเสียต่อสิ่งแวดล้อม การลงทุนในเทคโนโลยีสะอาด เช่น การพิจารณาลงทุนการใช้พลังงาน แสงจากโซลาร์เซลในทางเดินหรือพืน้ ทีจ่ อดรถ ทัง้ ยังตัง้ เป้าเป็นโรงพยาบาล ทีม่ แี พทย์เฉพาะทางในสาขาทีเ่ หมาะสมกับสภาพพืน้ ทีเ่ พือ่ ให้บริการ ประชาชนในภูมภิ าคได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป



เกร็ดความรูด้ า้ นพลังงาน

ครัน้ ทีน่ ำ้ มันข�น้ ราคา หรือค่าไฟฟาเพิม่ สูงข�น้ เราผูใ้ ช้ตา่ งก็เคร่งเครียด กันไปตาม ๆ กัน ไม่วา่ จะเปนในส่วนของ ผู้ประกอบการ ร้านค้า หรือแม้กระทั�ง ผู้ผลิตล้วนแล้วแต่มีผลกระทบ ด้วยกันทั้งนั้น แล้ววิธีที่จะลดต้นทุนพลังงานล่ะ ต้องปฏิบัติ อย่างไรบ้าง?

ในสภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบัน ที่มีการแข่งขันค่อนข้างสูง ค่าใช้จ่ายด้านพลังงานเป็นต้นทุนอย่างหนึ่ง ซึ่งมีผลกระทบโดยตรง กับผู้ผลิต “การลดต้นทุน = เพิ่มกำไร” การลดต้นทุนด้านพลังงาน อย่างยั่งยืน และเป็นรูปธรรมก็จะเป็นทางหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหา วิกฤติการพลังงานในปัจจุบันได้

วิ ธีท่ีง่า ยและรวดเร็ ว ที่สุด สำหรั บ การแก้ ปญ หา พลังงาน ณ ตอนนีค้ อื “การลดการใช้พลังงาน อย่างฟุม่ เฟ�อยและไม่มีประสิทธิภาพ” 18

H-Hard Ware

S-System Ware

P-People Ware

องค์ประกอบของการประหยัดพลังงานที่ยั่งยืน

ปจจัยที่มีผลต่อการประหยัดพลังงานในองค์กรให้เป็นไปอย่างยั่งยืน และนั้นมีอยู่ 3 ส่วนที่ต้องประกอบเข้าด้วยกัน ได้แก่ Hard Ware, System Ware และ People Ware


Hard Ware หมายถึง การจัดการบริหารอุปกรณ์หรือ เครื่องจักร ให้มีการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ อาจจะมีจุดเริ่มต้น จากการที่ ทำในสิ่งที่ง่ายก่อน เช่นการซ่อมแซมจุดรั่วไหล หรือการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักรทีม่ อี ยูใ่ ห้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด และการใช้งาน อย่างถูกต้อง

System Ware หมายถึงการวางกลยุทธ์ด้านบริหารจัดการพลังงาน อย่างมีประสิทธิภาพโดยต้องอาศัยหลักการและการดำเนินงานอย่าง เป็นขัน้ เป็นตอน ซึง่ ในแต่ละขัน้ ตอนต้องอาศัยจิตวิทยาและการสือ่ สาร ที่มีประสิทธิภาพ ประกอบไปด้วย • การกำหนดโครงสร้างการจัดการพลังงาน • การประเมินสถานะการจัดการพลังงานเบื้องต้น • การกำหนดนโยบายและประชาสัมพันธ์ • การประเมินศักยภาพ • การกำหนดมาตรการเป้าหมาย • การจัดทำแผนอนุรักษ์พลังงาน • การดำเนินการตามแผนปฏิบัติการ • การทบทวนผลการดำเนินการ

รูปการปรับตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสมกับการใช้งาน

• การบำรุงรักษาอุปกรณ์ เครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน และมีการควบคุมการทำงานทีถ่ กู ต้องเหมาะสม (Optimum Operation Control) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้งาน

รูปการจัดทำแผนอนุรักษ์พลังงานและค้นหารอยรั่วพลังงาน โดยมีตัวแทนของทุกหน่วยงานเข้าร่วม

รูปโครงการเปลี่ยนเครื่องทำน้ำเย็นประสิทธิภาพสูง และโครงการเปลี่ยน หลอดฟลูออเร็สเซ็นต์ T5

• การตรวจวัดและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน เพือ่ ประเมินประสิทธิภาพ ของอุปกรณ์โดยเฉพาะเครื่องจักรที่ใช้พลังงานสูงๆ เช่น เครื่องทำ น้ำเย็น (Chiller) เป็นต้น • การปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีการผลิต หรือเครือ่ งจักรทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทั้งนี้ก็พิจารณาระยะเวลาคืนทุน ซึ่งหาได้จากเงินลงทุน (บาท) หาร ด้วยผลประหยัดจากมาตรการอนุรักษ์พลังงาน (บาท/ปี) ควรมีระยะ เวลาคืนทุนน้อยหรือเร็วยิ่งดี และพิจารณาร่วมกับอายุโครงการหรือ ตัวอุปกรณ์ทป่ี รับปรุง ทัง้ นีใ้ นปัจจุบนั มีโครงการทีท่ างรัฐบาลสนับสนุน หลายโครงการ อาทิเช่นโครงการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์ พลังงาน (พพ.), โครงการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพือ่ การอนุรกั ษ์พลังงาน ฯลฯ

People Ware หมายถึงการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรทุกระดับ ให้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงาน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานอยู่ 3 ระดับดังนี้ • การสร้างทัศนคติทด่ี ใี นการทำงานร่วมกันและการสร้างจิตสำนึก ในการประหยัดพลังงาน สร้างความรูส้ กึ ถึงการเป็นเจ้าของใน ปัญหานั้นๆ เพื่อดึงทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา • เมือ่ มีการตอบสนองต่อปัญหาจากบุคลากรในองค์กร ผูบ้ ริหาร หรือผู้มีอำนาจในองค์กรต้องให้การสนับสนุนการมีส่วนร่วมนี้ และการปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดพลังในการขับเคลื่อนไปสู่การ แก้ปัญหาอย่างพร้อมเพรียงกัน • สร้างวัฒนธรรมในองค์กร ทำให้เกิดความยั่งยืนในการประหยัด พลังงาน ผูบ้ ริหารควรสร้างกลไกเพือ่ ให้พนักงานได้ซมึ ซับการ ประหยัดพลังงานเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานอย่างเป็น ประจำ ซึ่งการดำเนินการนี้อาจจะต้องใช้เวลาและการทำงาน อย่างสม่ำเสมอ 19


เกร็ดความรูด้ า้ นพลังงาน

ก. จัดโต๊ะทำงานให้มีแสง ธรรมชาติส่องถึง

ได้แก่ H – Hard Ware, S-System Ware และ P-People Ware จำเป็นจะต้องพัฒนาไปพร้อมๆ กันและทำอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิด การประหยัดพลังงานอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน ถึงตรงนี้แล้วการ ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานนั้นทำได้ไม่ยากอย่างที่คิด

ข. จัดเก็บและคัดแยกขยะ

ค. จัดระเบียบของในตู้เย็นและ ปรับตั้งอุณหภูมิให้เหมาะสม

เอกสารอ้างอิง

ง. การปรับตั้งวาล์วน้ำ ให้เหมาะสม

1. สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) http://www.eppo.go.th/info/5electricity_stat.htm 2. วารสารวิทยาการไฟฟ้าและระบบควบคุม ปีที่ 6 ฉบับที่ 34 “แนวทางการประหยัดพลังงานอย่างยั่งยืน” พศวีร์ ศรีโหมด และบัณฑิต งามวัฒนะศิลป์ 3. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน “คู่มือความรู้ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550 ในส่วนของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุม” 4. โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา “เอกสารโครงการเงินทุน หมุนเวียนเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน”

รูปตัวอย่างมาตรการในลักษณะ House keeping

การอนุรกั ษ์พลังงานทีจ่ ะประสพความสำเร็จได้นน้ั ไม่ได้มอง ว่าเป็นหน้าที่ของใครคนใดคนหนึ่ง ทั้งผู้บริหารและพนักงานทุกคน ทุกระดับมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน พัฒนา และปรับปรุงอย่าง ต่อเนือ่ ง การปรับโครงสร้างเพือ่ ให้เอือ้ ต่อการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ การวางแผนการดำเนินงานเป็นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจ และการ กำหนดนโยบายในการดำเนินการที่ชัดเจน องค์ประกอบทั้งสามส่วน 20

โดย: พยุงศักดิ์ ก้อนแก้ว (Pyungsak.k@gmail.com) ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จำกัด



มาตรฐานการรักษาระดับสากล

อิมซี่

เทคโนโลยีใหม่

ในการรักษาผู้มีบุตรยาก

การรักษาภาวะมีบุตรยากให้ได้ผลสำเร็จสูงสุดนั้นการใช้ เทคโนโลยีข้นั สูงที่ทันสมัยกับประสบการณ์ความเชี่ยวชาญของแพทย์ รวมทั้งความเอาใจใส่ทุกรายละเอียดเป็นเรื่องที่สำคัญ พญ.สุชาดา มงคลชัยภักดิ์ ผูอ้ ำนวยการศูนย์รกั ษาผูม้ บี ตุ รยาก โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา ซึง่ เป็น แพทย์ผเู้ ชีย่ วชาญสาขาเทคโนโลยี ช่วยการเจริญพันธุ์และผ่านการเทรนนิ่งในการเป็นนักวิทยาศาสตร์ ในห้องปฏิบตั กิ ารด้วยตนเอง กล่าวถึงปัญหาการรักษาภาวะมีบุตร ยากว่า ปัจจุบันปัญหามีบุตรยากที่เกิดจากทางฝ่ายชายนั้น พบใน คูส่ มรส ทีม่ บี ตุ รยากได้ประมาณ 30-40% จาก สาเหตุทง้ั หมด สาเหตุ ของภาวะมีบุตรยากทางฝ่ายชาย อาจเกิดจากขบวนการสร้างอสุจิ ที่ผิดปกติทำให้ปริมาณอสุจิน้อยกว่าปกติหรือทำให้การทำงานของ อสุจิเสียไปซึ่งพบได้ประมาณ 2 ใน 3 ของ สาเหตุทางฝ่ายชาย

ภาพขยายตัวอสุจกิ ำลังขยาย 640 เท่าในกล้องทีใ่ ช้ทำอิกซี่ สามารถ เห็นตัวโครงสร้างอสุจไิ ด้ในระดับหนึง่ แต่ไม่สามารถมองเห็นรายละเอียด บริเวณส่วนหัวของอสุจิ ซึง่ เป็นทีอ่ ยูข่ องสารพันธุกรรมได้

การรักษาปัญหาทางฝ่ายชายด้วยวิธีการทำเด็กหลอดแก้ว โดยการช่วยผสมแบบอิกซี่ (Intracytoplasmic sperminjection ICSI) เป็นวิธีท ี่ใช้แ ก้ไขปัญหาทางฝ่า ยชายที ่ ได้ ร ั บ การ ยอมรับว่า สามารถช่วยทำให้มีบุตรได้ดีกว่าการทำเด็กหลอดแก้ว แบบธรรมดาเพราะในกรณีที่ฝ่ายชายมีปัญหาเรือ่ งของน้ำเชือ้ อ่อน การทำเด็กหลอดแก้วธรรมดา (IVF) อาจจะทำให้เราได้จำนวนตัวอ่อ นน้อยกว่าทีค่ วร หรืออาจจะไม่ได้ตวั อ่อนเลย โดยเฉพาะในกรณีทอ่ี สุจิ มีปัญหามากเนื่องจากอสุจิขาดความสามารถในการผสมกับไข่เอง ตามธรรมชาติ เทคนิคการช่วยผสมแบบอิกซีจ่ ะทำภายใต้กล้องจุลทรรศน์ท่ี ต่อกับอุปกรณ์ช่วยผสมไข่กับอสุจิ ซึ่งปลายด้านหนึ่งยึดไข่ส่วนปลาย 22

ภาพขยายตัวอสุจขิ นาด 16000 เท่า สามารถมองเห็นส่วนหัวของอสุจิ ได้วา่ มีโครงสร้างคล้ายหยดน้ำอยูภ่ ายใน (vacuole) ซึง่ สาเหตุเกิดจาก การทีส่ าร พันธุกรรมมีการแตกหัก (DNA fragmentation)

อี ก ด้า นหนึ ่ง จะใช้เ ข็ม ขนาดเล็ ก ทำการจั บ อสุ จิ ฉ ีด เข้า ไปในไข่ เพื่อให้ผสมกันเป็นตัวอ่อนมนุษย์ อย่างไรก็ตามแม้ว่าคู่สมรสบางราย จะใช้วิธีช่วยผสมแบบอิกซี่แล้วก็ยังไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ แม้ว่าฝ่าย หญิงจะสมบูรณ์ก็ตาม เนื่องจากคุณภาพของอสุจิที่ถูกเลือกเข้าไป ผสมกับไข่ยังไม่สมบูรณ์พอ เพราะโครงสร้างทางพันธุกรรมหรือที่ เราเรียกว่าดีเอ็นเอของตัวอสุจนิ น้ั มีการแตกหัก (DNA fragmentati on) ซึ่งเราจะพบว่า ตัวอสุจิที่มีการแตกหักของสารพันธุกรรมซึ่งอยู่ที่ ส่วนหัวนั้น จะมีรูปร่างของส่วนหัวผิดปกติไป บางรายอาจมีโครง สร้างคล้ายหยอดน้ำหรือ ถุงน้ำ (Vacuole) ภายในส่วนหัวของอสุจิ แต่เราไม่สามารถมองเห็นรายละเอียดของหัวอสุจิได้ด้วยกล้อง จุลทรรศน์ทเ่ี ราใช้ทำอิกซี่ เนือ่ งจากกำลังขยายของกล้องอิกซีป่ กติ นัน้ สามารถขยายได้มากที่สุด 640 เท่า เท่านั้น ทำให้เราเลือกอสุจิที่ ไม่สมบูรณ์พอ โดยตัวอสุจินั้นอาจมีการแตกหักของสารพันธุกรรม ซ่อนอยู่ เมื่อฉีดเข้าไปในไข่จึงทำให้ตัวอ่อนที่ผสมได้นั้นไม่สมบูรณ์ พอ จึงไม่สามารถฝังตัวได้ ในปัจจุบนั ได้มีการผลิตกล้องกำลังขยายสูงขึ้น ซึ่งสามารถ ขยายได้ถงึ 16000 เท่า ซึง่ ทางโรงพยาบาลพญาไทศรีราชาได้นำเข้า มาใช้ในห้องปฏิบัติการของศูนย์รักษาผู้มีบุตรยากเป็นรายแรกและ รายเดียวในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในขณะนี้ จึงทำให้เรามองเห็น โครงสร้างบริเวณส่วนหัวของอสุจิได้ชัดเจนขึ้น เราเรียกวิธกี ารตัดอสุจิ ด้วยกล้องกำลังขยายสูงนี้ว่า อิมซี่ (intracytoplasmic morphologically selected sperm injection IMSI) ซึ่งทำให้เราสามารถเลือกอสุจิที่ สมบูรณ์ได้ดียิ่งขึน้ ทำให้อัตราการตัง้ ครรภ์จากการทำเด็กหลอดแก้ว โดยวิธชี ว่ ยผสมแบบอิมซี(่ IMSI) นัน้ มีอตั ราการตัง้ ครรภ์ทส่ี งู กว่าการทำ อิกซี่โดยเฉพาะสาเหตุนั้นเกิดจากฝ่ายชาย สอบถามรายละเอียดได้ที่ ศูนย์รักษาผู้มีบุตรยาก โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา โทร. 0-3877-0200-8 ต่อ 2391 , 3300 หรือ โทร.08-1000-7500


ศูนย์โรคหัวใจ มาตรฐานสากล

ดูแลคุณตลอด 24 ชม.

ขยายหลอดเลือดหัวใจใน 90 นาที ลดอัตราการเสียชีวิต

โรคหลอดเลือดหัวใจตีบเกิดจากไขมันและหินปูนสะสมใน หลอดเลือดหัวใจทำให้เลือดไหลเวียนไปเลีย้ งกล้ามเนือ้ หัวใจลดลง ซึง่ จัด ได้ว่าเป็นอีกโรคหนึ่งที่อันตราย แต่สามารถป้องกันและรักษาได้ ซึ่ง ปัจจุบนั มีนวัตกรรมทีท่ นั สมัยมารองรับในการรักษาโรคหลอดเลือด หัวใจตีบ ที่มีมาตรฐาน โรงพยาบาลพญาไทศรีราชานั้นเป็นอีกโรงพยาบาลหนึ่งที่ มีศูนย์ปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งเป็นห้องสำหรับการ สวนหัวใจ วินิจฉัยและรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เนื่องจากมีทีม แพทย์พร้อมตลอด 24 ชั่วโมง การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ - การใช้ยา - การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วย บอลลูนและขดลวด - การผ่าตัด

ปฏิบัติการสวนหลอดเลือดหัวใจ

• ใช้สายสวนเล็กสอดใส่เข้าหลอดเลือดทางขาหนีบหรือข้อมือ ย้อนขึ้นไปที่เส้นเลือดหัวใจ • ฉีดสารทึบแสง • ใช้เครื่องเอ็กซเรย์ความเร็วสูง • ตรวจลักษณะของหลอดเลือดหัวใจ ขั้นตอนในการขยายเส้นเลือดด้วยบอลลูนและขดลวด 1. นำบอลลูนใส่ไว้ภายในจุดนี้ตีบแดงของหลอดเลือด 2. ขยายบอลลูนเพื่อเปิดหลอดเลือดที่ตีบแดง 3. ใส่ขดลวดเพื่อค้ำยันไม่ให้หลอดเลือดกลับมาตีบแดงอีก การตรวจสวนหลอดเลือดหัวใจ • เป็นการรักษาที่ไม่ต้องผ่าตัด,ไม่ต้องดมยาสลบ • ใช้เวลาเพียง ½ -1 ชั่วโมง • มีความเสี่ยงน้อยเพียง 1% • ใช้เวลาพักฟื้นเพียง 1-2 วัน ก็สามารถกลับสู่ชีวิตประจำวัน ได้ตามปกติ สอบถามรายละเอียดได้ที่ ศูนย์หัวใจ โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา โทร. 0-3877-0200-8 ต่อ 4135 , 4136 หรือ โทร.08-0091-9009 23


มาตรฐานการรักษาระดับสากล

Micro neuro sursery ผ่าตัดสมอง และไขสันหลัง

โดยใช้กล้องช่วยผ่าตัด

ประสาท-เยือ่ หุม้ สมองได้ดขี น้ ึ ภาวะแทรกซ้อนน้อยลงทำให้ผลการรักษา ดีขน้ึ สำหรับการผ่าตัดโดยใช้กล้องช่วยผ่าตัดนัน้ ต้องใช้อปุ กรณ์ดงั นี้ 1. Bipaler Cozgulation Tectnologyg เครือ่ งจีห้ า้ มเลือดชนิด 2 นิว้ 2. Suetion Sustem ระบบดูด 3. Protective Veetvctia devices อุปกรณ์ปอ้ งกัน และยึดรัว้ สมอง 4. Vessel and Ancuvgsm Clip คลิปหนีบเส้นเลือด 5. Neuro Navigation ศูนย์โรคระบบประสาทและสมองโรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา มีความพร้อมสำหรับภาวะอันตรายฉุกเฉิน โดยแพทย์ผ่าตัด สมอง 24 ชั่วโมง ทั้ง 7 วัน และอายุรแพทย์ระบบประสาท รวมทั้ง เครื่องมือช่วยวินิจฉัย CT , MRI , ตรวจคลื่นสมอง

โรคของสมองและไขสันหลังบางครัง้ มีความจำเป็นต้องผ่าตัด ซึง่ การผ่าตัดในปัจจุบันมีเทคโนโลยีใหม่ที่ช่วยให้การรักษาง่ายและ ปลอดภัยขึน้ เนือ่ งจากการผ่าตัดใดๆ ก็ตามจะเกิดผลกระทบต่อเนือ้ เยื่อในบริเวณผ่าตัด และบริเวณใกล้เคียงไม่มากก็น้อย ดังนั้นการ ผ่าตัดทีส่ มองและไขสันหลังจึงเป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งให้ความสำคัญอย่าง มาก โดยจะต้องคำนึงถึงผลกระทบกระเทือนต่อเส้นประสาทไขสันหลัง หรือบอบช้ำต่อเนื้อเยื่อสมองส่วนดีให้น้อยที่สุด โดยการผ่าตัดสมองและไขสันหลังนั้นเป็นการผ่าตัดผ่าน ช่องทางธรรมชาติของสมอง (Cistern) โดยหลักการ คือเอาออก เฉพาะรอยโรค ไม่ทำลายเนื้อสมองรอบๆ หรือเสียหายน้อยที่สุดทำ ให้ห้ามเลือดได้ดีเสียเลือดน้อย อาจซ่อมแซมเส้นเลือด หรือ เส้น สอบถามรายละเอียดได้ท่ี ศูนย์โรคระบบประสาทและสมอง โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา โทร. 0-3877-0200-8 ต่อ 4117 , 4118 หรือ โทร.088-5000-207 , 089-270-3000 24


การรักษา ข้อเข่าเสื่อม โดยการผ่าตัด

การรักษาข้อเข่าเสื่อมในสมัยก่อนโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้ ยาแก้ปวด เช่น ยาพาราเซตามอล แต่ถ้ายังไม่สามารถลดการใช้งาน ข้อ ยังมีน้ำหนักมาก ซึ่งเป็นส่วนที่ทำให้ข้อเสื่อมต่อไปจนต้องได้รับ การรักษาส่วนจะทำการผ่าตัดใส่ขอ้ เข่าเทียม ดังนัน้ ถ้าเป็นเมือ่ 10 ปีกอ่ น ผู้ที่เป็นข้อเข่าเสื่อมคงมีแต่การรอผ่าตัดใส่ข้อเทียม แต่ปั จ จุ บั น นั ้น มีเ ทคโนโลยี ส มัย ใหม่ใ นการรัก ษาโรค ข้อเข่าเสื่อม เช่น การผ่าตัดรักษาข้อเข่าเสื่อม โดยการส่องกล้อง (Arthroscopic Joint Debridement) คือการส่องกล้องเข้าไป ในข้อเข่าเพื่อล้างทำความสะอาด จุดประสงค์เพื่อกำจัดสารต่างๆ ในข้อที่ระคายเคืองและเป็นสาเหตุของการปวดเข่า นอกจากนี้ยัง สามารถสอดเครื่องมือ เพื่อเข้าไปตัดหรือตกแต่งผิวข้อ ตลอดจน หมอนรองกระดูกข้อเข่าที่มีการฉีกขาดหรือชำรุดออกเพื่อทำให้ผิว ข้อเรียบและเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น

การรักษาข้อเข่าเสื่อมโดยวิธีตัดกระดูกและจัดแนวกระดูก ใหม่ (High Tibial Osteotomy) คือ การผ่าตัดโดยวิธีการตัดกระดูก หน้าแข้งส่วนบน เพื่อจัดแนวกระดูกใหม่ โดยใช้โลหะดามกระดูก โดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ให้นำ้ หนักทีล่ งบนผิวข้อกระจายอย่างสมดุลย์ ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยหายจากอาการปวดเข่า การรักษาข้อเข่าเสื่อมโดยวิธีเปลี่ยนข้อเข่าเทียม (Total Knee Arthroplasty) คือ การผ่าตัดทำผิวข้อขึ้นใหม่ โดยตัดเจียรผิว ข้อเดิมออก แล้วใส่ผิวข้อเทียมใหม่ ซึ่งเป็นโลหะผสมและพลาสติก เพื่อทำให้การเคลื่อนไหวของข้อกลับคืนมาเป็นปกติสามารถงอเข่า และเหยียดเข่าได้สุดโดยไม่เจ็บปวดอีกต่อไป อายุการใช้งานของ ข้อเทียม เกิน 15 ปี มากกว่า 90%

สอบถามรายละเอียดได้ท่ี ศูนย์โรคกระดูกและข้อ โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา โทร. 0-3877-0200-8 ต่อ 2174 , 2178 หรือ โทร..08-0012-0009 25


มาตรฐานการรักษาระดับสากล

รากฟันเทียม Implant

รากเทียม

อวัยวะในร่างกายที่พบเห็นการสูญเสียได้ง่ายและบ่อย ที่สุดก็คือ ฟัน การสูญเสียฟัน มีผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการเคี้ยวอาหาร แต่ในกรณีผ้สู ูญเสียฟันหมดทั้งปาก บุคลิกภาพจะไม่ค่อยดี สูญเสียความสวยงาม เคี้ยวอาหารได้ไม่ถนัด พูดจาไม่ค่อยชัด ซึ่งปัญหาดังกล่าวส่งผลทำให้ขาดความมั่นใจใน การใช้ชีวิต ปัจจุบนั เทคโนโลยีทท่ี นั สมัย สามารถทดแทนฟันทีส่ ญู เสียไป ดีที่สุดคือการทำรากฟันเทียม ทั้งนี้รากฟันเทียม (Implant) นั้นเป็น วิทยาการใหม่ทเ่ี ป็นทางเลือกสำหรับผูท้ ส่ี ญู เสียฟันไป เป็นการทดแทน ฟันที่ใกล้เคียงฟันธรรมชาติมากที่สุด โดยการใช้รากเทียมที่ทำจาก โลหะไททาเนียม ซึ่งได้รับการออกแบบและวิจัยมาตลอด 20 ปี ทำให้เซลล์กระดูกของ มนุษย์สามารถมายึดเกาะกับรากเทียมได้ เหมือนรากฟันธรรมชาติ และสามารถรับแรงบดเคี้ยวได้ดี

สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได้ท่ี ศูนย์ทนั ตกรรม โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา โทร. 0-3877-0200-8 ต่อ 2334 , 2335 , 2336 หรือ โทร.088-5000-203 26

ข้อดีของรากเทียม • ความสวยงามและประสิทธิภาพในการใช้งานใกล้เคียงกับฟัน ธรรมชาติมากที่สุด • ไม่จำเป็นต้องมีการกรอเนื้อฟันข้างเคียง เมื่อเทียบกับการทำ สะพานฟัน • รากเทียมมีการฝังอยู่ในกระดูกขากรรไกร จึงทำให้มีการคง สภาพของกระดูกขากรรไกร เกิดการละลายตัวของกระดูก ขากรรไกรใกล้เคียงกับฟันธรรมชาติ ข้อเสียของรากเทียม • ใช้เวลาในการรักษาประมาณ 3-4 เดือน เพื่อรอระยะเวลาให้ กระดูกมาเกาะติดกับรากเทียมสมบูรณ์เพื่อประสิทธิภาพใน การใช้งาน • ค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.