นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 39 เดือน กุมภาพันธ์ 2555

Page 1



Energy#39_p3_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/26/12

10:07 PM


Contents

Issue 39 February 2012

26 18

What’s Up 10 Energy News 86 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : Thailand Best O Waste of ASEAN 93 Special Report : แนะเคล็ ด ลั บ การใช ก า ซหุ ง ต ม “ประหยั ด และปลอดภัย” 100 Special Scoop : มหันตภัยทรายน้ํามัน (Tar sands) Interview 38 Energy Keyman : คาเรน แคมเบล ทูตพาณิชยนิวซีแลนด ผูนํานักลงทุนพลังงาน สูเมืองไทย 41 Energy Keyman : พงษศักดิ์ ศิริคุปต ประธานกรรมการบริหารและกรรมการ 38 ผูจัดการ บริษัท เด็มโ ก จํากัด (มหาชน) (DEMCO) : ใชหลักการ “SWOT” พา เด็มโกฯ เติบโต 80 Energy Concept : เครองกรองน้ําพลังงาน แสงอาทิตย แกวิกฤติเรองน้ําสกปรก

41

High Light 14 Energy Focus : ทิศทางธุรกิจพลังงานทดแทน 2555 32 Energy Best Award : รางวัลโฮลซิม อวอรด เพอการกอสรางที่ยั่งยืน 46 Residential : ชนกนันท รีสอรทปาย...แบบพอเพียง... สูการอนุรักษพลังงาน 61 Energy Tezh : Zeolite ตัวกรองน้ํามันประหยัดพลังงาน 70 Energy Test Run : WD Green Power ฮารดดิสก พลังงานหลักคอมพิวเตอร 83 Energy In Trend : “ฉี่” นั้นมีคา..อยาไปทิ้ง!! 84 Energy Exhibit : BOI Fair 2011 Going Green for the Future 91 Insight Energy : เรียกเก็บคาทิ้งขยะ อิเล็กทรอนิกส? Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 48 Green4U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 88 Energy Loan : ธนชาติ รวมใสใจสิ่งแวดลอม พรอมอนุรักษพลังงาน

46

4 l February 2012

Energy#39_p4-6_Pro3.indd 4

1/27/12 11:43 PM


Energy#39_p5_Pro3.indd

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/25/12

11:15 PM


Contents

Issue 39 February 2012

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : ZETA ROD เทคโนโลยีบําบัดน้ํา เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม 26 Green Industrial : เทสโกโลตัส..ปลอดคารบอนฯ แหงแรกในไทย และภูมิภาคเอเชีย 30 Saving Corner : ลดคาใชจายในการดําเนินงานของซูเปอรมารเก็ต โดยการลดความชื้น โดย Nancy Banks เรียบเรียง : ชาติชาย วิศวชิต 44 Energy Design : บานรับลมชมวิว 48 Green4U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 51 Take a break : 11 สิ่งประดิษฐสุดล้ํา ที่ ไมควรคิดขึ้น จริงหรือ?? (ตอนจบ) Alternative Energy & Transportation 64 Renergy : ฟลิปปนสกับความนาลงทุนในโครงการพลังงานทดแทน โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 68 Vehicle Concept : Daihatsu Pico รถเล็กสุดนารักกับพลังงานไฟฟา 78 Logistics Solution : มุมมองความคิดลดความเสีย่ งการจัดการโลจิสติกส โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก Environment Protection 58 Green Space : Green Monkey ประกวดวีดีโอคลิปการจัดกิจกรรม ดานสิ่งแวดลอมในสถาบันอุดมศึกษา 60 Green Vision : “ธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอม” ธุรกิจที่ดีไปถึงเปลือก 62 Environment Alert : ถอดบทเรียน...ภัยพิบัติ โดย คุณรัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญ การพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

51

68 66

0 Waste Idea : การจั ด การของเสี ย ด ว ยแนวคิ ด “Zero Waste หรือของเสียเหลือศูนย” (ตอนจบ) โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนําน้าํ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : 10 วิธเี ลือกซือ้ บานประหยัดพลังงาน (ตอนที1่ ) 89 Environment & Energy Legal : กฎหมายเกี่ยวกับ รถยนตที่ ใช NGV 102 Life Style : ปนนักขาวเปนนักเขียน รุน ๕ 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : เสียงจากสวรรค? ...น้ําทวมยังไมจบ 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : แปลงของเสียเปลีย่ นเปน พลังงาน

6 l February 2012

Energy#39_p4-6_Pro3.indd 6

27/1/2012 20:55


Energy#39_p7_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/25/12

11:22 PM


Editors’ Talk ความลับของฉบับนี้ก็คือวา... หลังจากที่เขียนบทบก. เสร็จไปแลว ตองรื้อใหม ทําใหม ..ใหเขากับรัฐบาลยิ่งลักษณ 2 หลังจากที่ ไดเห็นคณะ ทํางานใหมตามโผของวันที่ 17 ม.ค. 55 งานนี้..หลายคนรวมถึงผูนํา ฝานคานลงความเห็นวา เห็นใจ รมว.พลังงานคนกอน กอนนั้นผูสื่อขาวทําเนียบรัฐบาลไดรวมกันตั้งฉายาใหทานวา “ไอเดีย กระฉอก” โดยมีใจความวา “เปนเจาโปรเจกต สารพัดคิด หลายเรื่องยังไม ไดขอ สรุปในทีป่ ระชุม ก็เปนเจาตัวทีท่ าํ ใหกระฉอกออกมากอน อยางโครงการ นิวไทยแลนดที่เจาตัวออกมาเปดเผยวา รัฐบาลเตรียมกูเงิน 9 แสนลานบาท เพื่อมาฟนฟูประเทศ แตสุดทายนายกรัฐมนตรีกลับปฏิเสธวาไมมีโครงการ ดังกลาว หลายไอเดียที่เจาตัวคิดออกมาดังๆ แลวถูกติติงจากผูรูวาไมนา จะนําไปปฏิบัติไดจริง เพียงขามวันนายพิชัย ก็ออกมาปฏิเสธวา ไมใชไอเดีย ของตน เหมือนน้ําที่กระฉอกไป กระฉอกมา หาอะไรแนนอนไมได สุดทาย ผลงานเลยไมเปนไปตามเปา” ซึ่งเจาตัวก็ยิ้มรับบอกไมเปนไร ไมโกรธอะไร อยากทํางานใหดีที่สุด แตแอบฝากวา “หยิกแกมหยอกผมเบาๆ หนอย” ผลงานที่คุณพิชัย นริพทะพันธุ ไดสั่งการตั้งแตเขามารับตําแหนง เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2554 อาทิ การปรับโครงสรางพลังงาน เรียกเสียง ฮือฮาตอบรับในวงกวาง ดวยนโยบาย “ทําทันที” - การยกเลิกการเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันจากน้ํามัน 3 ชนิดคือ เบนซิน 91 95 และน้ํามัน ดีเซล ในอัตราลิตรละ 6.7 7.5 และ 2.8 บาท ตามลําดับ สรางความเห็นตางขึ้นในสังคมเปนวงกวาง เกี่ยวกับการขัด นโยบายพลังงานทดแทนตามแผน 15 ป ที่รัฐบาลเรงสนับสนุน บางก็บอก วาเปนนโยบายพรรคเพื่อรักษาเสียง - บัตรเครดิตพลังงานชวยเฉพาะกลุม ทานบอกวาเปนการชวยรถ สาธารณะที่หาเชากินค่ํา ก็ทําใหมีเสียงวิพากษวาเพราะเหตุใดจึงเลือกชวย เฉพาะกลุมรถสาธารณะ - ปรับขึ้นราคากาซ NGV รวดเดียว 6 บาท ใหครบในป 2555 ซึ่งก็ มีการรวมตัวกันเรียกรองประทวงคานการขึน้ ราคา แถมยังเรียกรองใหทา น พนจากตําแหนง จากกลุมสหพันธการขนสงทางบก 4 เดือนในการทํางานที่ผานมา นโยบายเหลานี้จะเดินหนาตอไปหรือไม อย า งไร ก็ ต อ งไปติ ด ตามที่ รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งานคนใหม ที่เขามาชวงนี้เลยอดได “ฉายา” ...

คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

พิพัฒน จันทรอดิศรชัย รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

จันทรอําไพ แตตระกูล เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก

สุทธิพล โกมลสิงห

การเงิน

ศิรินารถ แกวอุไร

ศิลปกรรม

วินัย แพงแกว

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l February 2012

Energy#39_p8_Pro3.indd 8

1/26/12 5:17 PM


Energy#39_p9_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/25/12

11:21 PM


Energy News

รับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนิน ติดตามความกาวหนาโครงการตามพระราชดําริที่ โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดน ทุติยะโพธิ์อนุสรณ บานจะนะ อ. แมอาย จ.เชียงใหม โดยมี นายธรรมยศ ศรีชวย รองอธิยดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน รับเสด็จ ตอจากนั้น รพพ.(ธรรมยศ) และคณะไดเดินทางไปตรวจราชการโครงการไฟฟาพลังน้ําระดับ หมูบาน นามะอื้น และโครงการดอยลาง จังหวัดเชียงใหม

การผลิตพลังงานจากขยะในโรงงาน

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน เปนประธานการสัมมนาเพื่อเผยแพรผลการดําเนินการ “การศึกษา ศักยภาพการผลิตพลังงานจากขยะในโรงงานอุตสาหกรรม” โดยมีผูแ ทนจากสวน ราชการ รัฐวิสาหกิจ ผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม ภาคเอกชนและนัก วิชาการที่เกี่ยวของทางดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ประมาณ 150 คนเขารวม สัมมนา ณ โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร กรุงเทพฯ

TBCSD จัดโครงการฟนฟูผูประสบอุทกภัย

คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิง่ แวดลอมไทย หรือ TBCSD จัดโครงการ ฟนฟูผูประสบอุทกภัย ณ วัดเทพจันทรลอย อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา เพื่อชวยเหลือพรอมเปนการจุดประกายใหแกภาคธุรกิจ ภาคเอกชนในการชวยฟน ฟู สถานที่ตางๆ ที่ ไดรับผลกระทบจากอุทกภัยที่เกิดขึ้น โดยวัดเทพจันทรลอย ถือเปนศูนยรวมจิตใจที่สําคัญของคนในชุมชน ซึ่งงานในครั้งนี้เปนการระดมความ ชวยเหลือจาก บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน), บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) และ ศูนยพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

10 l February 2012

Energy#39_p10-13_Pro3.indd 10

1/25/12 12:16 AM


สนพ.พาทัวรดูโรงแยกกาซ หนวยที่ 6

นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผน พลังงาน พาสื่อมวลชนเยีย่ มชมโรงแยกกาซ หนวยที่ 6 ของ ปตท.ทีจ่ งั หวัดระยอง พรอมกันนี้ยังไดเขารับฟงการบรรยายถึงการแยกกาซธรรมชาติ รวมไปถึงวิธี การคิดราคาตนทุนกาซธรรมชาติ จากผูเชี่ยวของ ปตท.พรอมกันนี้ยังไดเดินทาง เยี่ยมชมหองควบคุมการแยกกาซของโรงแยกกาซ หนวยที่ 6 อีกดวย

“กลุมบริษัทตะวันออกโปลิเมอรฯ” โชวนวัตกรรมในงาน “BOI FAIR 2011”

กลุมบริษัท ตะวันออกโปลิเมอรอุตสาหกรรม จํากัด รวมงาน “บีโอไอ แฟร 2011” โชวนวัตกรรมภายใตแนวคิด “Green Clean & Energy Innovation” พรอม แสดงศักยภาพนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอมและพลังงานทดแทน เปดตัวกังหันลม “วิน เทอรไบน” เทคโนโลยีผลิตพลังงานไฟฟาเพื่ออนาคตที่ยั่งยืน กังหันลมแนว ตั้ง 3 ใบพัดซึ่งเปนการเปดตัวครั้งแรกในประเทศไทย ณ ศูนยแสดงสินคาและการ ประชุม อิมแพค เมืองทองธานี

พิธรี บั มอบโครงการปองกันและพืน้ ฟูพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยดินถลม

คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิง่ แวดลอมไทย หรือ TBCSD จัดพิธรี บั มอบ โครงการปองกันและพืน้ ฟูพน้ื ทีเ่ สีย่ งภัยดินถลม ซึง่ เปนความรวมมือระหวางหนวยงาน ภาครัฐและเอกชน ในการดําเนินการจัดทําแนวทางปองกันพื้นที่เสี่ยงภัยดินถลม ณ บานหางทางหลวง ต.ภูฟา อ.บอเกลือ จ.นาน โดยมี นายอดิศกั ดิ์ ทองไขมกุ ต อดีตอธิบดีกรมทรัพยากรธรณี และ นายอดิศักดิ์ โรหิตะศุน ประธานกลุม Natural Disaster คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิง่ แวดลอมไทย และ ดร.อดิชาติ สุรนิ ทรคาํ ผูอ าํ นวยการสํานักทรัพยากรแร กรมทรัพยากรธรณี เปนผูส ง มอบ

February 2012 l 11

Energy#39_p10-13_Pro3.indd 11

1/25/12 12:16 AM


พพ. ใหคําปรึกษาดานพลังงานแกโรงงานและอาคารที่ ประสบอุทกภัย

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน เปนประธานเปดโครงการใหคําปรึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานแก โรงงานและ อาคารที่ประสบอุทกภัย โดยไดรับความรวมมือจากสถาบันการศึกษา 6 แหง หอการคาไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และมูลนิธอิ นุรกั ษพลังงาน แหงประเทศไทย ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด เซ็นทรัลพลาซา ลาดพราว กรุงเทพฯ

Exclusive Hitachi BOI 2011 Pavilion Tour

บริษัท ฮิตาชิ เอเซีย (ประเทศไทย) จํากัด โดย มร.คาซูโอ คาราซาวา กรรมการผูจัดการ บริษัท ฮิตาชิ เอเซีย (ประเทศไทย) จํากัด นําสื่อมวลชนรวมชม “Hitachi Pavilion”ในงานมหกรรม “บีโอไอ แฟร 2011” ภายใตแนวคิด “Tomorrow Together” โดยอาคารแสดงนิทรรศการ Hitachi Pavilion จะจัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมล้ํายุคของฮิตาชิที่จะชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมเมืองให ดีขึ้นอยางยั่งยืน ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี

จุลินทรีย EM กับการฟนฟู รักษาสิ่งแวดลอม ปองกัน อุทกภัย

บริ ษั ท เอ็ ม โร เอเชี ย จํ า กั ด ผู ผ ลิ ต และจํ า หน า ยผลิ ต ภั ณ ฑ อี เ อ็ ม ในประเทศไทย โดย นายโทรุ โคะโชจิ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็มโร เอเชีย จํากัด รวมกับ พลตรี จุลเดช จิตถวิล หัวหนาศูนยการเรียนรูเศรษฐกิจ พอเพียง กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 สวนหนา และ นางสาววรนุช จิตธรรมสถาพร อดีตรองผูวาการ การเคหะแหงชาติ และ นายดนัย จันทรเจาฉาย ประธานสํานักงานทูตความดีแหงประเทศไทย จัดเสวนา “จุลินทรียอีเอ็ม กับการฟนฟู รักษาสิ่งแวดลอม ปองกันอุทกภัย” ใหความรูเ กีย่ วกับประโยชนและการนําอีเอ็มมาประยุกตใชในการฟน ฟูบา น และสภาพ แวดลอมจากน้ําทวม ไมมีสารเคมีตกคาง สามารถใชประโยชนในชีวิตประจําวัน พรอมเตรียมรับมือกับอุทกภัยในอนาคต ณ หอประชุมพุทธคยา อาคารอัมรินทร พลาซา ชั้น 22 12 l February 2012

Energy#39_p10-13_Pro3.indd 12

1/25/12 12:16 AM


THAILAND ESCO FAIR

นายประมวล จันทรพงษ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน เปนประธานเปดงาน “THAILAND ESCO FAIR ฝาวิกฤต พลังงานดวยบริการ ESCO” เพื่อใหขอมูลความรูสรางความเชื่อมั่นแกผูประกอบ การในการตัดสินใจเลือก อนุรักษพลังงานดวยบริการ ESCO ในงานมีการจัด สัมมนาวิชาการพรอมนิทรรศการสงเสริมธุรกิจบริษัทจัดการพลังงาน ณ ศูนย การประชุมแหงชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ

สมารท กรีน เอ็นเนอรจี เดินหนาโรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตย มูลคา 4,600 ลาน

เมื่อเร็วๆ นี้ ณ โรงแรมดิเอ็มเมอรัลด บริษัท สมารท กรีน เอ็นเนอรจี จํากัด ไดเซ็นสัญญาลงทุนโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย หลังจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) อนุมัติเงินกู ขนาด 27 เมกะวัตต เงินลงทุนมูลคารวม 4,600 ลานบาท ที่อําเภอบําเหน็จณรงค จังหวัดชัยภูมิ บนเนื้อที่ 700 ไร และคาดวาจะคืนทุน 500 ลานบาทภายใน 8 – 9 ป โดยโครงการนี้ ไดคัดเลือก บางกอกโซลาร พาวเวอร และ ดูปองท เขารวมโครงการ ในฐานะบริษัทผูผลิตและติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย

อิตลั ไทย สงมอบเครื่องกําเนิดไฟฟา ใหกบั กรมชลประทาน

กลุมธุรกิจพลังงานและการขนสง (ETG) บริษัท อิตัลไทยอุตสาหกรรม จํากัด สงมอบเครื่องกําเนิดไฟฟาเครื่องยนตดีเซล ขนาด 105 KW (Prime Rating) พรอมตูครอบเก็บสียง จํานวน 30 เครื่อง ใหกับกรมชลประทาน ปากเกร็ด นําไปติดตั้งใชงานในสวนภูมิภาค ตามแผนการพัฒนาและการบริหารจัดการน้ํา รวมถึงการปองกันและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ํา

February 2012 l 13

Energy#39_p10-13_Pro3.indd 13

1/25/12 8:57 PM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

ทิศทางธุรกิจพลังงานทดแทน 2555

เมอเดือนที่ผานมามีการจัดสัมมนาในหัวขอ “พลังงานทดแทน ธุรกิจทีน่ า ลงทุน” ในงาน Innomart Technomart 2012 โดยเปนความ รวมมือของกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนและกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่งไดรับเกียรติจากวิทยากรดานพลังงานหลายทาน โดย หัวขอสัมมนาดังกลาวจะชี้ ใหเห็นเทรนดธุรกิจดานพลังงานทดแทนที่มีแนว โนมและโอกาสใหผลกําไรสูงสุด

พลังงานลมและแสงอาทิตย

ในปแหงความสุข 2555 พลังงานก็ยงั คงเปนทีน่ า จับตามอง โดย เฉพาะพลังงานทดแทนที่ดูเหมือนจะเริ่มเปนที่รูจักมากขึ้น จากการ พยายามแนะนําเรองของพลังงานทดแทนในรูปแบบตางๆ ของภาครัฐ รวมไปถึงการสรางแรงจูงใจในการลงทุนดานพลังงานทดแทน จนในป ทีผ่ า นมาธุรกิจในดานพลังงานทดแทนมีแนวโนมเติบโตสูงขึน้ และในปน้ี เรามาดูกนั วาพลังงานทดแทนชนิดใดทีม่ แี นวโนมในการทําธุรกิจทีส่ ดใส

กลาวไดวา พลังงานทัง้ ลมและพลังงานแสงอาทิตยไดรบั ความสนใจ อยางมากในปที่ผานมา เนองจากการกระตุนธุรกิจจากภาครัฐดวยการ อุดหนุนราคาสวนตางรับซื้อไฟฟาหรือที่เรียกกันวา Adder ซึ่งพลังงาน ลมและพลังงานแสงอาทิตยอยูในกลุม ที่ ไดรบั เงินสวนตางสูงอันดับตนของ จํานวนพลังงานทดแทนหลายชนิดจากภาครัฐ สงผลใหเกิดการลงทุนดาน พลังงานทดแทนทั้ง 2 ชนิดนี้อยางมากมาย ภาครั ฐ จึ ง ได ป รั บ เปลี่ ย นแผนการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ พลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป โดยเพิ่มเพดานการผลิตพลังงานแสง อาทิตยจากเดิมกําหนดไวไมเกิน 500MW เปลี่ยนเปน 2,000MW และ

14 l February 2012 Energy#39_p14-16_Pro3.indd 14

1/17/12 9:46 PM


Energy#39_p15_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/26/12

12:46 AM


เอทานอลและไบโอดีเซล

พลังงานลมจากเดิมที่กําหนดไวไมเกิน 800MW เปลี่ยนเปน 1,200MW ซึ่งเปนการเปดโอกาสใหภาคเอกชนเขามาลงทุนในธุรกิจพลังงานทดแทน ยอดฮิตทั้ง 2 ชนิดนี้

พลังงานชีวมวลและกาซชีวภาพ

พลังงานจากชีวมวลและกาซชีวภาพเปนพลังงานอีก 2 ชนิดที่ ไดรบั ความนิยมอยางมากในปที่ผานมาเชนกัน เนองจากสามารถหาวัตถุดิบใน การผลิตไดงายจากภายในชุมชน โดยเฉพาะชุมชนการเกษตรโดยใชแกลบ ชานออย เปนตน ทําใหมีการปลูกไมโตเร็วเพอนํามาใชเปนวัตถุดิบในการ ผลิตพลังงานชีวมวล ซึ่งจะทําใหมีกําลังการผลิตที่มากเกินไป ภาครัฐจึง มีการปรับแผนจากเดิมกําหนดไวไมเกิน 3,700MW ลดลงเหลือ 3,630MW ขณะที่กาซชีวภาพเริ่มเปนที่นิยมมากขึ้น เนองจากการหาวัตถุดิบที่ งาย ซึ่งสวนใหญผลิตมาจากขยะและยังเปนการชวยปญหาดานขยะลงอีก ด ว ย อี ก ทั้ ง กระบวนการผลิ ต ไม ซั บ ซ อ นและยั ง มี ค วามพร อ มในด า น เทคโนโลยีอีกดวย การลงทุนก็ ไมสูงมาก ภาครัฐจึงปรับเพิ่มจากเดิม กําหนดไวไมเกิน 120MW ขึ้นมาอยูที่ระดับ 600MW

แปลงขยะใหกลายเปนพลังงาน

นอกจากการเปลีย่ นสภาพใหขยะกลายเปนพลังงานกาซชีวภาพแลว ขยะยังสามารถนํามาผลิตพลังงานไดโดยตรงอีกดวย โดยภาครัฐยัง กําหนดไวตามแผนเดิมคือ 160MW ซึ่งขยะที่นี้หมายถึงขยะกลุมที่ ไมใชขยะ จากธรรมชาติ แตเปนกลุมขยะจากการสังเคราะหเชน พลาสติก เปนตน โดยรัฐบาลพยายามผลักดันใหมีการผลิตพลังงานจากขยะเพิ่มมากขึ้น เนองจากมีปริมาณขยะโดยเฉลี่ย 40,000 ตันตอวัน ปริมาณดังกลาว สามารถผลิตไฟฟาไดราว 500MW ขยะพลาสติกก็สามารถนํามาผลิตเปนน้ํามันได โดยการสังเคราะห สารสกัดปโตรเลียมที่อยู ในพลาสติก ซึ่งน้ํามันที่ ไดสามารถนํามาใชกับ เครองยนตดีเซลในอุตสาหกรรมได และหากตองการความบริสุทธิ์ก็ยังมี ขั้นตอนและกระบวนการที่ชวยใหน้ํามันที่สังเคราะหที่ ไดจากขยะสามารถใช กับเครองยนตรถยนตดีเซลทั่วไปดวย โดยรัฐบาลมีการประกันราคารับซื้อ น้ํามันดังกลาวจากผูผลิตรายยอยอีกดวย

เป น ที่ ท ราบกั น ดี ว า น้ํ า มั น ที่ ใ ช ใ นรถยนต ป จ จุ บั น เริ่ ม มี ก ารผสม เชื้อเพลิงอนเขาไปในสัดสวนที่แตกตางกันทั้งในกลุมน้ํามันเบนซิน เชน แกสโซฮอล E10-E85 และกลุมน้ํามันดีเซลหรือที่เรียกกันวาไบโอดีเซล ซึ่งเปนการผสมสารเอทานอลลงไปในน้ํามันเชื้อเพลิง ซึ่งเอทานอลไดจาก ผลผลิ ต ทางธรรมชาติ ไ ม ว า อ อ ย มั น สํ า ปะหลั ง เป น ต น โดยป จ จุ บั น เอทานอลที่ ไดสกัดจากกากน้ําตาลหรือโมลาส สวนไบโอดีเซลก็สามารถผลิตไดจากผลปาลม ซึง่ ปลูกมากทางภาคใต นอกจากนีย้ งั มีเทคโนโลยีสมัยใหมทช่ี ว ยใหไบโอดีเซลมีความบริสทุ ธิม์ ากขึน้ งานนี้ขอ เคาะโตะ เลยวา พลังงานทดแทนที่กลาวมาทั้งหมด ลวนสามารถลงทุนไดผลกําไรทั้งสิ้น แตตองบอกวากลุมเอทานอลและ ไบโอดีเซลนาลงทุนมากที่สุด เนองจากเปนกลุมที่ยังสามารถเติบโตขึ้นได อีกในแงของปริมาณการใช เชน เอทานอลที่ ในปจจุบันหากผลิตเต็มกําลัง จะสามารถผลิตไดประมาณ 5 ลานลิตรตอวัน ขณะที่ปริมาณการใชจริง อยูที่ราว 1 ลานลิตรตอวันและมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้น ขณะที่ ไ บโอดี เ ซลมี แ นวโน้ ม เติ บ โตสู ง มาก เนื่ อ งจากไบโอดี เ ซล สามารถผลิตไดจากหลายรูปแบบไมไดจาํ กัดเพียงปาลมเทานัน้ ซึง่ สืบเนอง มาจากวิกฤติปาลมขาดตลาดในปลายป 2553 ทําใหมีการคิดคนวิธีผลิต ไบโอดีเซลไมวาจะเปนการผลิตจากผลสบูดํา, การใสสารเติมแตงจนได น้ํามัน ED95, การผลิตน้ํามันดีโซฮอล, การผลิตน้ํามัน BHD เปนตน สง ผลใหการลงทุนในธุรกิจดานนี้นาสนใจมากที่สุด ขณะที่กลุมพลังงานแสงอาทิตยและลมมีการลงทุนคอนขางมาก ประกอบกั บ ต้ น ทุ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ ถู ก ลง เมื่ อ ความต้ อ งการขาย (Supply) มากกวาความตองการซื้อ (Demand) จะสงผลใหตองลดกําไรลงเพอแยง ชิงการขายพลังงานและนั่นจะทําใหระยะเวลาคืนทุนยาวนานออกไปอีกดวย สวนพลังงานจากชีวมวลจําเปนตองมีการลงทุนสูง เนองจากใน อนาคตจําเป็นต้องมีการลงทุนในด้านของการปลูกไม้ โตเร็ว เพื่อเพิ่ม ศักยภาพและเพิ่มปริมาณในการผลิต เพราะการใชวัตถุดิบทางการเกษตร จะขึ้นอยูกับรอบของการผลิต สวนพลังงานกาซชีวภาพและพลังงานจาก ขยะ จะมีปญหาใกลเคียงกันคือเรองของปริมาณ เนองจากสามารถผลิต พลังงานไดคุมคาจําเปนตองมีปริมาณขยะราว 200 ตันในคราวเดียวถึง จะสามารถผลิตไฟฟาได 500MW แต ในความเปนจริงขยะมี การกระจายตั ว ทํ า ให ส ามารถ รวบรวมไดเต็มที่ 20 ตัน แมวา การผลิ ต พลั ง งานจากขยะจะ สามารถลดการปล อ ยก า ซ คาร บ อนฯ ได ต่ํ า กว า โรงไฟฟ า ถานหินถึง 5 เทา แตเมอดูในภาพ รวมแลว การลงทุนดานพลังงาน จากขยะยังเปนการลงทุนทีส่ งู และ ผลที่ ได ก็ ยั ง ไม คุ ม ค า กั บ การ ลงทุนอีกดวย

16 l February 2012 Energy#39_p14-16_Pro3.indd 16

1/17/12 9:46 PM


Energy#28_p31_Pro3.ai

1

2/22/11

4:24 AM


Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

Thailand Best 0 Waste of ASEAN ปจจุบัน ประเทศไทยมีปริมาณขยะประมาณ 15 ลานตันตอป หรือ 40,000 ตันตอวัน โดยอยูใน กรุงเทพมหานคร 10,000 ตัน ปทุมธานี 1,000 ตัน สมุทรปราการ 1,000 ตัน และ กระจายทั่วประเทศ โดยเมือง ทองเที่ยวและ เขตอุตสาหกรรมก็จะมีขยะมากกวาเมืองที่เปน เกษตรกรรม นักวิชาการคาดวาคนไทยผลิตขยะตอคนวันละ 0.67 กิโลกรัม ถาเปน ประเทศพัฒนาแลวจะผลิต ขยะตอคนวันละ 1 กิโลกรัม ขยะในประเทศไทย จะมีคา ความชืน้ สูงราว 60-70% มีองคประกอบของขยะอินทรียค อ นขางสูง คือประมาณ 60% และที่สําคัญคือเปนขยะพลาสติกประมาณ 15-20% ซึ่ ง ในอดี ต ขยะพลาสติ ก สร า งป ญ หาให กั บ ประเทศไทยเป น อย า งมาก แต ป จ จุ บั น ด ว ยเทคโนโลยี ก ารผลิ ต น้ํ า มั น สั ง เคราะห จ ากขยะพลาสติ ก ซึ่งคนไทยทําไดเอง ทําใหขยะพลาสติกกลายเปนของมีราคา แลวคุณเชื่อหรือไมวาประเทศเรานี่แหละเปนประเทศผูนําใน 10 ประเทศอาเซียนนําหนาในดานการจัดการขยะมากที่สุด ปจจุบันประเทศไทย

มีบอฝงกลบขยะทั่วประเทศราว 150 แหง สวนใหญเปนการเทกอง (Open Dump) จะมีบอฝงกลบขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) อยูบ า งแตนอ ยมาก ปจจุบนั ขยะทัว่ ประเทศประมาณกวา 90% ก็ยงั เปนการ จัดการโดยการฝงกลบ จะมีการเผาบางบางแหง และมีบางสวนที่นําไป ผลิตเปนพลังงาน สัดสวนของ Waste Energy ของภาพรวมเฉลี่ยทั้งประเทศ 63.57% เปนเศษอาหาร/อินทรียสาร สวนพลาสติก 16.83% กระดาษ 8.19% แกว 3.47% โลหะ 2.10% ผา 1.37% ไม 0.74% ยาง/ หนัง 0.50% อื่นๆ 3.23% อยางไรก็ตามการนําขยะมาผลิตเปนพลังงาน น า จะเป น วิ ธี ก ารจั ด การขยะต อ จากการคั ด แยก การลดปริมาณขยะ การนําขยะมาใชใหม หรือจะ ใชซ้ําก็ตามนั่นยังไมเทากับจะทําอยางไรใหคนไทย ชวยกันคัดแยกขยะจากบานเรือน และลดการสรางขยะ นั่นคือโจทยที่ตอบยากของทุกรัฐบาล ฉะนั้ น Waste Energy ในความหมายของ ENERGY SAVING คือการแปลงของเสียใหเหลือศูนย หรื อ ใช อ ย า งคุ ม ค า มากที่ สุ ด และวิ ธี ก ารจั ด การขยะที่ นอกจากจะกํ า จั ด ทิ้ ง แล ว เราสามารถนํ า มาแปรรู ป เป น พลังงาน ปุย หรือผลิตภัณฑรีไซเคิล ที่นํามาสรางให ตัวมันเองไดอกี และตัวแปรสําคัญอีกหนึง่ ขอคือ “การสนับสนุน ใหเกิดการลงทุน” นําขยะมาแปลงเปนพลังงานจากนักลงทุน ที่ตางๆ การสนับสนุนในรูปของอัตราสวนเพิ่มการขายไฟฟา ที่ผลิตจากขยะ (Adder) มีผลตอการจัดการขยะ อยางเปน

18 l February 2012

Energy#39_p18-23_Pro3.indd 18

27/1/2012 21:06


รูปธรรม โดยในปจจุบันไดมีนักลงทุนทั้งในและตางประเทศ ไดหันมาลงทุน นําขยะมาแปลงเปนเชื้อเพลิงพลังงาน (RDF: Refuse Derived Fuel) แลว ใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาเพื่อจําหนายใหการไฟฟาฯ โครงการผลิต ไฟฟาจากขยะก็จะมีมากขึ้น และเริ่มรับขยะจากเทศบาลตางๆ ทั่วประเทศได

คุ ณ พิ ชั ย ถิ่ น สั น ติ สุ ข ป ร ะ ธ า น กิ ต ติ ศั ก ดิ์ ก ลุ ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม พ ลั ง ง า น ทดแทน สภาอุ ต สาหกรรม แหงประเทศไทย ใหความเห็น Waste Energy ในบานเราวา สามารถแยกไดเปน 1. ขยะอุตสาหกรรม ที่ เป น อั น ตราย (Hazardous Waste) และไม เ ป น อั น ตราย (Non-Hazardous Waste) และ ขยะอิเล็กทรอนิกส (E-waste) 2. ขยะชุมชน ก็มีทั้งแบบขยะทั่วไป และ ขยะติดเชื้อ 3. เศษเหลือทิ้งและวัสดุเหลือใชจากภาคการเกษตร “แนวคิด ขยะเหลือศูนย จากประเทศที่เจริญมีมานานแลว แตผู คิดก็ยังทําไมได สวนประเทศไทยก็นําแนวคิดนี้มาปรับใชจนมีบริษัทที่ชื่อ Zero Waste มากมาย ความแตกตางระหวางไทยหรือประเทศกําลังพัฒนา กับประเทศพัฒนาแลวประการหนึ่งก็คือ ไทยมีคาแรงถูก การคัดแยกดวย มือจึงทําไดดี และมีบริษทั ทีร่ ่าํ รวยจากการคัดแยกขยะอีกมากมาย เชน กลุม วงษพาณิชย มีสาขากวา 900 แหงทั่วประเทศ แตเปนการแยกขยะดีๆ ไปขาย สวนขยะเสียๆ ยังคงกลับไปที่บอฝงกลบ (landfill) ถาจะมาพัฒนา Zero Waste ตองเขาใจพืน้ ฐานของคนกอน ประเทศพัฒนาแลว (สวนใหญ) คัดแยกขยะตนทาง ประเทศกําลังพัฒนาจะคัดแยกขยะปลายทาง ดังนั้น เทคโนโลยีที่นํามาใชอาจตองมีการปรับปรุงใหเหมาะสมกับขยะ การขยาย แนวคิด 0 Waste แบบยั่งยืนควรมองแบบ 3 มิติ โดยมองจาก เทคโนโลยี ความคุมคาทาง เศรษฐศาสตร และการยอมรับจากชุมชน”

ตัวอยางเชน ถาเราจะนําเทคโนโลยีมากําจัดใหขยะ เหลือศูนยนั้นไมยาก มีมากมาย แตถาลงทุนสูงเกินไป หนวยงานไหน? จะรับผิดชอบ เนื่องจากขยะตองกําจัด ทุกวัน ไมมีวันหมดไป February 2012 l 19

Energy#39_p18-23_Pro3.indd 19

27/1/2012 21:06


เชนนั้นไทยควรตองทําอยางไรตอไป?

1. กระทรวงพลังงานใหสวนเพิ่มอัตราการขายไฟใหครอบคลุมทั้ง โครงการขนาดเล็กและขนาดใหญ เชน ขยะ 50-80ตันตอวัน เปนตน เนื่องจากโครงการเล็ก ตนทุนการกําจัดตอตันจะสูงกวาโครงการใหญ และ การขนยายขยะมาจากแหลงขยะไกลๆ ตนทุนคาขนสงก็จะสูงตามไปดวย 2. สนับสนุนเทคโนโลยีใหมๆ โดยลงทุนในโครงการนํารองรวมกับ ภาคเอกชน เชน เทคโนโลยี Gasification เปนตน 3. รัฐไมควรเปลี่ยนแปลงนโยบายบอยครั้ง เพราะทําใหนักลงทุนไม เชื่อถือและไมมั่นใจ สําหรับประเด็นความเคลื่อนไหวเรื่องขยะอิเล็กทรอนิกสเรื่องการ คิ ด ค า ทิ้ ง ขยะประเภทนี้ คุ ณ พิ ชั ย ให ค วามเห็ น ว า กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กําลังเดินหนาออกกฎหมายใหผู รวบรวมขยะไดรับคาขนสง โดยหามถอดชิ้นสวนที่มีคาไปขาย แลวทิ้งสวน ที่เหลือ แตใหกําจัดรวมกัน ซึ่งอาจจะคุมคาการลงทุน ปญหาก็คือ ไกกับไข

ขยะอิเล็กทรอนิกส ในปจจุบัน ถูกแกะของดี ไปขาย สวนของเสียหาไมเจอ มีบริษัทฟูจิ ซีร็อกซ ที่จางคนงาน 300 คน เพื่อถอดชิ้นสวนในไทย แลวแยกสงไปกําจัด ดวยเครื่องจักรในประเทศญี่ปุน เปนตน นอกจากนี้ยังมี บริษัทที่รับซื้อแบตเตอรี่เครื่องใชไฟฟาทุกชนิดในไทย สงไปขายตางประเทศ 2-3 บริษทั แขงกันใหราคาสูง อะไรจะเกิดกอนกันระหวาง ออกกฎหมายกอน หรือตั้งโรงงานกําจัดกอน ใครเปนผูรวบรวม ใครเปนผูลงทุน ปญหายังมีอีกมาก

การจั ด การซากผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งใช้ ไฟฟ้ า และ อิเล็กทรอนิกส (E-Waste)

ขยะอิเล็กทรอนิกส (E-Waste) หรือที่รูจักกันในอีกชื่อตาม WEEE Directive คือ ซากผลิตภัณฑ เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสที่ ใช กระแส ไฟฟาหรือสนามแมเหล็กในการทํางานที่ ไมไดมาตรฐาน หรือหมดอายุการ ใชงาน หรือลาสมัยซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 10 ประเภท ดังนี้ :

20 l February 2012

Energy#39_p18-23_Pro3.indd 20

27/1/2012 21:06


1. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในครัวเรือนขนาดใหญ เชน ตูเย็น เครื่องทําความเย็น เครื่อง ซักผา และเครื่องลางจาน 2. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในครัวเรือนขนาดเล็ก เชน เครื่องดูดฝุน เตารีด เครื่องปง ขนมปง และที่โกนหนวดไฟฟา 3. อุปกรณ IT เชน เครื่อง คอมพิวเตอร เครื่องเมนเฟรม เครื่อง แสกนภาพ เครื่องโทรศัพท เครื่องโทรสาร และโทรศัพทมือถือ 4. เครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสสําหรับผูบริโภค เชน วิทยุ โทรทัศน กลองถายภาพ เครื่อง บันทึกวีดีโอ และเครื่องดนตรีที่ ใช ไฟฟา 5. อุปกรณใหแสงสวาง เชน หลอดฟลูออเรสเซนต และ หลอด โซเดียม 6. ระบบอุปกรณเครื่องมือแพทย 7. เครื่องมือวัดหรือควบคุมตางๆ เชน เครื่องจับควัน และเครื่อง วัดอุณหภูมิ ฯลฯ 8. ของเลน เชน เกมสบอย ของเลนใชไฟฟา หรือ อิเล็กทรอนิกส ฯลฯ 9. เครื่องมือไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เชน สวาน เลื่อย ไฟฟา และ อิเล็กทรอนิกส ฯลฯ 10. เครื่องจําหนายสินคาอัตโนมัติ เชน เครื่องจําหนายเครื่องดื่ม อัตโนมัติ ฯลฯ ซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (Waste from Electrical and Electronic Equipment : WEEE) จัดเปนของเสียอันตราย ทีน่ บั วันจะเพิม่ ปริมาณมากขึน้ และจะกลายเปนปญหาสิง่ แวดลอมทีม่ ผี ลกระทบ รุ น แรงต อ ระบบนิ เวศและสุ ข ภาพของประชาชนในอนาคต เนื่ อ งจาก ชิ้นสวนตางๆ ของซากผลิตภัณฑฯ มีโลหะหนักเปนสวนประกอบ เชน สาร ตะกัว่ แคดเมีย่ ม ปรอทและสารเคมีอนๆ ื่ ทีเ่ ปนอันตราย หากไมมกี ารควบคุม หรือจัดการอยางถูกตองอาจทําใหสารอันตรายเกิดการรัว่ ไหลและปนเปอ น สูแ หลงน้าํ น้าํ ใตดนิ รวมทัง้ การเกิดมลพิษทางอากาศ ซึง่ จะกอใหเกิดผลกระทบ ตอสุขภาพและระบบนิเวศ

ฝากขอคิด ตามติดขอมูล

- ในอาเซียน 10 ประเทศ ไทยนําหนาดานการจัดการขยะมากที่สุด - US ใชวิธีการฝงกลบเปนสวนใหญ เพราะมีพื้นที่มากพอ ขณะนี้ เริ่มมีการนําขยะมาใชผลิตพลังงานกันมากขึ้น - ยุโรป มีการคัดเลือกแยกตนทางไดดีที่สุด คากําจัดตอตันมีราคา สูงมาก อาจถึง 3-4 พันบาท แลวแตประเทศ ของประเทศไทย เราแค 350 บาทตอตัน ยังเก็บยากเลยครับ

February 2012 l 21

Energy#39_p18-23_Pro3.indd 21

27/1/2012 21:06


ประเทศตางๆ ทั้งประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลังพัฒนาไดให ความสําคัญและตระหนักถึงผลกระทบดังกลาว ดังจะเห็นไดจากสหภาพ ยุโรปไดมีการประกาศใชระเบียบวาดวยเศษซากผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟา และ อิเล็กทรอนิกส (WEEE Directive) และระเบียบวาดวยการจํากัดการ ใชสารที่เปนอันตราย บางประเภท (RoHS Directive) เชนเดียวกับหลาย มลรัฐในประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา และ หลายประเทศใน เอเชีย อาทิ ประเทศญี่ปุน ประเทศเกาหลีและไตหวัน รวมทั้งประเทศจีนเอง ก็ ไดมีการออกมาตรการเกี่ยวกับ RoHS และกฎหมายเรื่อง WEEE เชน เดียวกัน

มาตรการสนับสนุนไทยสูผ ูน าํ อาเซียนในการจัดการขยะ

ข อ มู ล จ า ก ก ร ม ค ว บ คุ ม ม ล พิ ษ ( ค พ . ) ก ร ะ ท ร ว ง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) ระบุวามาตรการและแนว ทางปฎิบัติที่ทําใหไทยขึ้นแทนผูนําดานการจัดการขยะ เพราะวามีการวาง กรอบนโยบายและตั้งเปาหมายชัดเจน ดังนี้ - ลดการเกิดของเสียใชหลัก 3Rs (Reduce Reuse Recycle) เปาหมายคือมีการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนไมนอยกวา 30% โดยจะตองมีการสรางจิตสํานึกใหประชาชนลดและคัดแยกขยะมูลฝอยใน ครัวเรือนและหันมานิยมใชสินคาที่สามารถใชซ้ํา/นํากลับมาใชประโยชนใหม, สงเสริม Green Products โดยรัฐเปนผูนํา,สนับสนุน อปท.จัดระบบ vคัดแยกและใชประโยชนขยะมูลฝอย กอนการนําไปกําจัดขั้นสุดทาย, สง เสริมใหผูผลิต ผูจําหนายสินคาลดการใชบรรจุภัณฑ และจัดใหมีระบบรับ คืนซากบรรจุภณ ั ฑ รวมทัง้ จําหนายสินคา/บรรจุภณ ั ฑทีม่ สี ว นประกอบจาก วัสดุรีไซเคิลและวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

22 l February 2012

Energy#39_p18-23_Pro3.indd 22

27/1/2012 21:06


- ระบบบริหารจัดการ & ศูนย HW เปาหมายคือ ของเสียอันตราย ชุมชนไดรับการจัดการอยางถูกหลักวิชาการไมนอยกวา 30% ดังนั้นตอง สร างความรู ความเข าใจเกี่ ยวกั บผลกระทบจากความเปนอันตรายใน ผลิตภัณฑที่ใชแลวหรือของเสียอันตรายชุมชนแกประชาชน ,สนับสนุนการ จัดตั้งศูนยจัดการของเสียอันตรายจากชุมชนและมูลฝอยติดเชื้อ โดยภาค เอกชนรวมดําเนินการ ,สรางแรงจูงใจใหผูประกอบการพัฒนาระบบ/กลไก การรับคืนของเสีย อันตรายชุมชน, วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการ ของเสียอันตราย/ซาก WEEE, ผลักดันกฎหมายสงเสริมการจัดการ ของเสียอันตรายจากผลิตภัณฑใชแลวไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม จากสัดสวนของขยะโดยเฉลี่ยทั้งประเทศ อยูที่เศษอาหาร/อินทรีย สาร 63.57% ซึ่งเรียกวาเปนขยะชุมชน ขยะจากบานเรือนที่มีมากมหาศาล ในทุกวันนี้ ถานํามาผลิตพลังงานไฟฟาจะไดผลดีที่สุด โดยจะตองนําขยะ สดมาผลิตเปนเชื้อเพลิงขยะ (RDF : Refuse Derived Fuel) กอน แลวจึง นําไปใชเปนเชื้อเพลิง นอกจากจะไดพลังงานไฟฟามากกวาการ นําไปเผา โดยตรงแลว ยังสามารถนําสวนที่ ไมตดิ ไฟแตมคี า ทางเศรษฐศาสตรทปี่ ะปน อยูในขยะกลับมาใชใหมไดอีก เชน เศษโลหะ - การจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน เปาหมายคือ ขยะ มูลฝอยไดรับการจัดการอยางถูกหลักวิชาการไมนอยกวา 40% โดยมีการ พัฒนาระบบเก็บรวบรวมและขนสงขยะมูลฝอยใหสอดคลองกับการคัดแยก ขยะมูลฝอยจากอาคารบานเรือน/สถานประกอบการ, สนับสนุนให อปท. รวมกลุมกันเพื่อบริหารจัดการขยะมูลฝอยแบบผสมผสาน ที่มีการนําขยะ มูลฝอยกลับมาใชประโยชนอยางสูงสุดรวมทั้งสนับสนุนใหมีการนําขยะ มูลฝอยแปรรูปเปนพลังงานทดแทน (WTE) โดยจัดตั้งบริษัท หรือมอบ หมายเอกชนดําเนินการแทน ,ปรับปรุงกฎหมายสิ่งแวดลอม และ/หรือ พัฒนากฎหมายเฉพาะดานการจัดการขยะมูลฝอย

เทคโนโลยีการผลิต RDF ปจจุบัน สามารถใชกับขยะที่ ไมไดคัดแยก แบบเมืองไทยไดเปนอยางดี และ ราคาเครื่องจักรก็ ไมสูงเหมือนระบบเดิมๆ ในหนึ่งกระบวนการคัดแยกและผลิตเปน RDF ใชเวลาเพียง 3-5 นาที นอกจากนี้เครื่องจักรยังสามารถรองรับขยะไดนับพันตันตอวัน ปจจุบัน เครื่องผลิต RDF คุณภาพสูงไดเริ่มมีใชงานในประเทศไทยบางแลว และมี แนวโนมจะใชเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในอนาคต นีก่ เ็ ปนเพียงสวนเดียวเทานัน้ ทีเ่ ราเอยถึง Waste Energy ในภาค ที่ใหญทส่ี ดุ ของจํานวนเฉลีย่ ทัง้ ประเทศ ทีอ่ าจจะนําไปสูค าํ ตอบของการ ขึน้ แทนเปนผูน าํ อาเซียนเรื่องการจัดการขยะของบานเรา... ขอขอบคุณเรื่อง/ภาพ : คุ ณ พิ ชั ย ถิ่ น สั น ติ สุ ข ประธานกิ ต ติ ศั ก ดิ์ ก ลุ ม อุ ต สาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม (ทส.) February 2012 l 23

Energy#39_p18-23_Pro3.indd 23

27/1/2012 21:06


Tools & Machine โดย : Mr. T

ZETA ROD เทคโนโลยีบาํ บัดน้าํ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

ในยุคปจจุบันหลายองคกร ไมวาจะเปน โรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม รีสอรท ออฟฟศ อาคารสํานักงานที่ ไดตดิ ตัง้ ระบบ Cooling Tower หรือระบบกรองน้ําตางก็ ไดใหความสําคัญเกี่ยวการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมและไดแสวงหาเทคโนโลยีมาใชรวมกับระบบดังกลาวเพอใหเกิด ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในการประหยัดพลังงาน Zeta Rod เป น เทคโนโลยี บํ า บั ด น้ํ า ใหม ล า สุ ด ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดลอม และมีประสิทธิภาพสูงในการบําบัดน้ําใน Cooling Tower และ ระบบกรองน้ําตาง ๆ ZetaRod โดยมีลักษณะเปนแทงเซรามิกทรงยาว ใช ในการติดตั้งเขาไปในระบบ Cooling Tower และระบบกรองน้ํา โดย ZetaRod ทํางานโดยการปลอยประจุไฟฟาขัว้ บวกไปในน้าํ ที่ ไหลผานในระบบ Cooling Tower ซึ่งประจุบวกที่ถูกปลอยออกมาจะทําหนาที่ลอมรอบ อนุภาคตาง ๆ ในน้ําไว ทําใหอนุภาคไมเกิดการรวมตัวกันเปนตะกรันใหม และชวยทําใหตะกรันเกาที่ยึดเกาะอยูบริเวณผิวทอออนตัวและแตกตัวไป นอกจากนี้คุณสมบัติดังกลาวยังชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรค

และสิ่งมีชีวิตในระบบน้ํา โดยประจุบวกจาก Zeta Rod จะ ลอมรอบสิง่ มีชวี ติ ในน้าํ เหลานีเ้ พอไมใหเกิดเปน Bio Film ยึดเกาะตามจุดตาง ๆ ในระบบไดทั้งยังสามารถกําจัด Bio Film เดิมใหคอย ๆ หมดไป ซึ่งหลังจากการใชงานจริงพบวา Zeta Rod นั้น เปนอุปกรณทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงในการบําบัดน้าํ โดยหลัง จากติดตั้งไปเพียง 6 สัปดาห ตะกรันที่มีอยูลดลงอยางเห็นไดชัด และยัง ทําใหประหยัดคาน้ําและคาไฟฟาลงอยางมาก ซึ่งการใชเคมีบําบัดน้ําที่มี ความเขมขนของเคมีสงู จําเปนตองปลอยน้าํ ทิง้ และเติมน้าํ สะอาดเขาไปใหม ยิ่งถามี ตะกรันไปติดตามทอ ความหนา 0.3 mm แลวจะทําใหสิ้นเปลือง คาไฟเพิ่มขึ้นประมาณ 12 % ขึ้นอยูกับความดันน้ําที่สงผานไปตามทอสง น้าํ ดังนัน้ การที่ในทอปราศจากตะกรัน จึงทําใหการใชพลังงานไฟฟาในการ ดันน้ําไปตามทอที่ปราศจากตะกรันนั้นมีอัตราลดลงเปนอยางมาก และดวยหลักการทํางานดวยการปลอยประจุไฟฟาไปในน้าํ ที่ ไหลผาน ของ Zeta Rod ทําใหตะกรันภายในทอไมกอตัว ชวยกําจัดตะกรันเดิมและ ปองกันไมใหตะกรันใหมเกิดขึ้น ทั้งยังชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ โรคและตะไครน้ําใน Cooling Tower ลดการใชสารเคมีได 80-100% ประหยัดคาน้ํา คาไฟฟา และลดคาใชจายในการบํารุงรักษา เรียกไดวาสามารถตอบโจทยผูประกอบการที่ติดตั้งระบบ Cooling Tower และระบบกรองน้ําในการประหยัดพลังงานและอนุรักษสิ่งแวดลอม ไดอยางมีประสิทธิภาพทีเดียว

การเปรียบเทียบการใชสารเคมี กับ Zeta Rod ในการบําบัดนําใน Cooling Tower รายละเอียด เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ความปลอดภัยของพนักงาน (ไมมีสารกอมะเร็ง THM) กําจัดตะกรันเดิม ปองกันการเกิดตะกรันใหม ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคและตระไครน้ํา ปองกันการเกิดการกัดกรอน Corrosion ยืดอายุการใชงานของ Cooling Host หรือ Chiller ลดคาใชจายในการบํารุงรักษา ประหยัดพลังงานไฟฟา ประหยัดน้ํา

สารเคม

Zeta Rod

X X X X / X X X X X

/ / / / / / / / / /

24 l February 2012 Energy#39_p24_Pro3.indd 24

1/17/12 10:32 PM


Energy#39_p25_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/26/12

2:54 PM


Green Industrial โดย : ณ อรัญ

เทสโก โลตัส ..ปลอดคารบอนฯ แหงแรกในไทยและภูมิภาคเอเซีย

ในวงการพลังงานหลายคนคงคุนกับคําวา Zero Carbon ซึ่ง ปจจุบันหลายองคกรโดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรม อาคารสํานักงาน ตางๆ ไดใหความสําคัญกับเรื่องนี้เปนอยางดีเนื่องจากสามารถเปนการ สรางเครดิตใหกับตัวเองไดไมวาจะเปนดานการประหยัดพลังงานและสิ่ง แวดลอมตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา และชวยใหเกิดการยอมรับทั้งในประเทศ และตางประเทศในแงของการแขงขันดานการคา

อย า งไรก็ ต าม ในแง ข องการจั ด การ ใหเปน Zero Carbon ของแตละองคกรก็มีขบวนการ จัดการทีแ่ ตกตางกันออกไปขึน้ อยูก บั ประเภทขององคกรนัน้ ๆ ในสวนของคอลัมน Green Industrial ในเลมนี้ ไดมีโอกาส ไปเยี่ยมชมสโตรปลอดคารบอนแหงแรกของประเทศไทยและ ภูมิภาคเอเชียอยาง เทสโก โลตั ส สาขา อ.บางพระ จ.ชลบุรี นับเปนการพิสูจนใหเห็นถึงความพยายามในการ สนั บ สนุ น สั ง คมและเศรษฐกิ จ ไทยควบคู ไ ปกั บ การอนุ รั ก ษ สิ่งแวดลอมแบบยั่งยืนของเทสโก โลตัส โดยสโตรแหงนี้มี ขบวนการจัดการอยางไรนั้นเราลองไปดูกันครับ สํ า หรั บ เทสโก โลตั ส สาขา อ.บางพระนั้ น เป น สาขา

26 l February 2012

Energy#39_p26-28_Pro3.indd 26

1/26/12 5:22 PM


แหงที่ 3 ของโลกที่ลดคารบอนไดเทากับศูนยหลังจากกอนหนานี้มีอยู 2 สาขาที่ ป ระเทศอั ง กฤษ และสาธารณเช็ ค โดยจะไม มี ก ารปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดออกมาจากขั้นตอนการทํางานของ สโตร ซึ่งเปนการผสานองค ความรูจากสโตรอนุรักษสิ่ง แวดลอมทีม่ อี ยูเ ดิมของเทสโก โ ล ตั ส บ ว ก กั บ ก า ร ใ ช นวั ต กรรมด า นการอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มใหม ๆ ที่ ห ลาก หลายไม ว า จะเป น การใช หลอดไฟ LED ที่ ใชปริมาณ ไฟฟาต่ํา และไดติดตั้งระบบ หรี่ ไฟอัตโนมัติที่ปรับลดความสวางลงเมื่อแสงธรรมชาติจาก ภายนอกสวางขึ้น รวมทั้งหลังคาที่สามารถใหแสงสองทะลุ ลงมาใหความสวางในบริเวณสโตรไดอีกดวย การเปลี่ ย นจากสารทํ า ความเย็ น ในระบบ ทําความเย็นแบบธรรมดา (ไฮโดรฟลูโอคารบอน) ซึ่งสงผลกระทบตอสภาวะโลกรอนรุนแรง กวากาซคารบอนไดออกไซดหลายเทา มา เปนสารไฮโดรคารบอน

สวนตัวอาคารไดออกแบบเพื่อใหพื้นที่มีการรับแสงจากธรรมชาติ มาใชไดมากที่สุดซึ่งชวยใหสามารถประหยัดพลังงานการใชแสงสวางจาก ไฟฟ า ได เ ป น อย า งดี ประกอบกั บ การใช ผ นั ง ดิ น ลดความร อ นที่ มี ก า ซ คารบอนฯ จากการผลิตนอยกวาคอนกรีตหรือเหล็ก พรอมกับไดติด ตั้งกังหันลมและโซลารฟารมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาปอนสูตัวสโตร และที่นี่ยังไดผลิตไบโอแกสจากของเสียนํามาใชในการประกอบอาหาร ในสโตรอีกดวย ตลอดจนการสรางบอกักเก็บน้ําฝนเพื่อใชในการลาง รถและการกดชักโครก

February 2012 l 27

Energy#39_p26-28_Pro3.indd 27

1/26/12 5:22 PM


ใช ร ะบบคอมพิ ว เตอร ค วบคุ ม สต อ กสิ น ค า รวมถึ ง การใช ไ บโอดี เ ซล ในขบวนการขนสงสินคาในรถทุกคันซึ่งชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ได อี ก ทางหนึ่ ง ซึ่ ง การจั ด การพลั ง งานทั้ ง หมดของเทสโก โลตั ส นั้ น เรียกวาเปนการลดการใชพลังงานและลดคารบอนตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา เลยทีเดียว ดานกิจกรรมเทสโก โลตัสยังไดจัดโครงการดีๆ เพื่อสิ่งแวดลอม หลายโครงการไมวาจะเปน โครงการปลูกตนไม 9 ลานตนในอุทยาน แหงชาติทั่วประเทศ โครงการ “ลดโลกรอน รวมใจบริโภคสีเขียว” เพื่อเชิญชวนผูบริโภคใหเห็นความสําคัญของการรวมมือกันบรรเทาภาวะ โลกรอนดวยการใชผลิตภัณฑสเี ขียวเพื่อสิง่ แวดลอม และเพื่อใหสอดคลอง กับนโยบายดานการอนุรักษพลังงานและเปนการลดกระทบตอสิ่งแวดลอม ในปจจุบัน ทัง้ นีแ้ ละทัง้ นัน้ การเปดตัวสโตรปลอดคารบอนแหงแรกนัน้ เปนแผนงาน สําคัญของเทสโก โลตัส ในการอนุรกั ษธรรมชาติและการลดผลกระทบจาก การดําเนินธุรกิจทีม่ ตี อ ธรรมชาติ โดยเทสโก โลตัสมีเปาหมายในการลดการ ปลอยกาซคารบอนฯ ลง 50% ภายในป 2563 โดยใชป 2549 เปนปฐาน และ มีแผนการสรางสาขาอื่นๆ ทีเ่ ปนปลอดคารบอนไดออกไซดเพิม่ เติม

ขบวนการลดพลังงานตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา

และเพื่อใหเปนสโตรที่ปลอดคารบอน หรือ Zero Carbon นั้น เทสโก โลตัสยังไดทํางานรวมกับลูกคาเพื่อตัดลดการปลอยคารบอนที่มา พรอมกับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ พรอมยังไดชว ยลูกคาในการลดการ ปลอยคารบอนดวยการทําใหสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมที่มีราคาถูก ลงและมีใหเลือกไดหลากหลาย อยางไรก็ตามเทสโก โลตัสไทไดหยุดนิ่งเพียงแคนี้ โดยไดพยายาม พัฒนาประสิทธิภาพดานพลังงาน และใชเทคโนโลยีใหมในการผลิตพลังงาน ที่นํากลับมาใชใหมไดทั้งที่สโตรและคลังสินคา และการพัฒนากระบวนการ ผลิตในการลดการปลอยคารบอน นอกจากการประหยัดพลังงานภายในสโตรแลวเทสโก โลตัสยังได ตระหนักถึงการลดการใชพลังงานในขบวนการขนสงสินคาดวยเชนกัน โดย 28 l February 2012

Energy#39_p26-28_Pro3.indd 28

1/26/12 5:22 PM


Energy#39_p29_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/25/12

11:13 PM


Saving Corner

โดย : Nancy Banks / เรียบเรียง : ชาติชาย วิศวชิต

การลดคาใชจา ยในการดําเนินงานของ ซูเปอรมารเก็ตโดยการลดความชื้น

สภาวะอากาศในซูเปอรมารเก็ตมีลักษณะสําคัญที่แตกตางจาก สภาวะอากาศในอาคารรานคาอื่นๆ เนื่องจากการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมิ หรือความชื้นจะสงผลกระทบในหลายๆ ดาน ดังนั้น การออกแบบระบบปรับ อากาศ ( HVAC ) ที่เหมาะสม จึงนับวาเปนความทาทายสําหรับผูออกแบบ ระบบปรับอากาศเปนอยางยิ่ง ทั้งนี้ ไมวาสภาวะอากาศภายในซูเปอรมารเก็ตจะรอนจนเกินไป แหงมากเกินไป ชืน้ มากเกินไป หรือเย็นจนเกินไป ลวนทําใหเกิดปญหามากมาย ทั้งตอผูดําเนินกิจการเอง ตอบรรดาพนักงาน และตอลูกคาผูมาจับจาย ถาอากาศรอนจนเกินไป สินคาบางสวนอาจเนาเสียและสงกลิน่ ไมพงึ ประสงค ถาอากาศแหงมากเกินไป สินคาบางชนิดอาจหดตัวหรือแหงกรอบ ถาอากาศ ชื้นมากเกินไป สินคาบางชนิดอาจมีราขึ้น ภายในตูแชจะเกิดมีน้ําแข็งเกาะ รวมถึงเกิดมีฝาจับที่ผิวกระจก หรือถาอากาศเย็นจนเกินไป ทั้งลูกคาและ พนักงานจะรูสึกไมสบายตัว อาจจะมีการบน หรืออยูจับจายไดไมนาน แตเดิมนัน้ มีการพยายามควบคุมความชืน้ โดยเครื่องปรับอากาศ ซึง่ พบวาสภาวะอากาศจะหนาวเย็นเกินไปสําหรับลูกคา ทั้งนี้เนื่องจากหากไมมี การควบคุมความชื้นเลย ระบบทําความเย็นตางๆ จะทําความเย็นไดไมเต็มที่ หรือเกิดความไรประสิทธิภาพในการใชพลังงาน ระบบการควบคุ ม ความชื้ น โดยใช ส ารดู ด ซั บ ความชื้ น นั บ เป น ทางเลือกที่คุมคา และประหยัดพลังงาน ในการลดภาระความชื้น เนื่องจาก เป็นการช่วยลดการใช้พลังงานของเครื่องปรับอากาศภายในซูเปอร์มารเก็ต ทัง้ ยังใหความมัน่ ใจในความปลอดภัยจากเชือ้ โรคของสินคาสําหรับ บริโภค ลูกคาผูมาจับจายยังรูสึกถึงภาวะสบายในอากาศที่ ไมหนาวเย็นจนเกินไป และยังสามารถเติมอากาศบริสุทธิ์จากภายนอกที่มีอุณหภูมิและ ความชื้นที่เหมาะสมไดตามปริมาณที่ตองการ

ลักษณะของซูเปอรมารเก็ต

ซูเปอรมารเก็ตมีการผสมผสานของการใชงานหลายอยางอยูภ ายใต หลังคาเดียวกัน สินคาในแตละพื้นที่จะมีความตองการสภาวะอากาศที่แตก ตางกัน ไมวาจะเปนความรอน ความเย็น หรือการระบายอากาศ ในบริเวณพื้นที่ของตูแช จําเปนตองจายลมที่เย็นจัดใหกับสินคา อยางตอเนื่อง ในขณะทีอ่ กี มุมหนึง่ ซึง่ เปนอาหารสด ตองฉีดฝอยน้าํ หลอเลีย้ ง ตลอดเวลาเพื่ อ คงความสดไว้ ส่ ว นแผนกปรุ ง อาหารซึ่ ง มี ค วามร้ อ น ตองจายลมเย็นในปริมาณที่มากกวาปกติ ในขณะเดียวกันก็ตองตองดูด อากาศรอนจากบริเวณนั้นทิ้งออกนอกอาคารดวย นอกจากนี้ จํานวนของคนที่เขาออกซูเปอรมารเก็ตในระหวางวันยัง เปนอีกปจจัยสําคัญ ทําใหสภาวะอากาศเกิดการผันผวนได การออกแบบ ระบบควบคุมสภาวะอากาศจึงตองมีความละเอียดรอบคอบ

จากหลายๆ ตัวแปรดังทีก่ ลาวมา ถือเปนหนาทีท่ ีส่ าํ คัญของวิศวกร เครื่องกล ทีจ่ ะออกแบบระบบการควบคุมสภาวะอากาศที่ ไดผล ในขณะเดียว กับที่ตองหาวิธีลดการใชพลังงานใหนอยลง

หลักในการลดความชื้น

บริเวณในซุปเปอรมารเก็ตทีต่ อ งใหความสนใจอยางสูง คือบริเวณ ของตูแช เพราะเปนสวนที่ตองใชพลังงานอยางมากในการทําความเย็น โดยเปาหมายคือลดการใชพลังงานลงโดยการลดภาระความเย็นแฝง (Latent Load)

ภาพดานซายและดานขวา เปนภาพกอนและหลังของสินคาในตูแช ใน ซูเปอรมารเก็ต ภาพซาย : ยังไมมีการลดความชื้น จะมีน้ําแข็งเกาะที่สินคา ภาพขวา : หลังจากลดความชื้นดวยระบบที่ ใชสารดูดซับความชื้น จะเห็น ไดวาไมมีน้ําแข็งเกาะ

ตูแชซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อใชงานที่อุณหภูมิประมาณ 17.8 °C หรือ ต่ํากวา จะเกิดปญหาวาความชื้นที่อยูในอากาศและจากสินคาที่อยูภายในตู เองนัน้ เปนสาเหตุใหระบบทําความเย็นทํางานหนักขึน้ และยังทําใหเกิดน้าํ แข็ง เกาะอุดตันบนแผงคอยลเย็นดวย โดยเหตุนี้ตูแชจึงตองมีระบบละลาย นําแข็ง ซึ่งหมายถึงตองมีการใชพลังงานเพิ่มมากขึ้น และเมื่อละลาย น้ําแข็งเสร็จแลว คอมเพรสเซอรก็ตองทํางานอยางหนักในการที่จะทําให อุณหภูมิในตูแชกลับลงมาสูระดับที่กําหนดไว ในการติดตัง้ ชุดทําความรอนไฟฟาเพื่อปองกันไมใหเกิดฝาบนประตู ตูแชนั้น จะใชพลังงานประมาณ 25-40 กิโลวัตตตอชั่วโมง ยิ่งความชื้นสูง มากเทาไหรชุดทําความรอนไฟฟาก็ยิ่งตองทํางานมากขึ้น แตถาสามารถ ลดความชื้นในอากาศลง และควบคุมใหอากาศมีระดับความชื้นต่ําอยูตลอด เวลา เพื่อลดโอกาสที่จะเกิดฝาจับบนประตูตูแช จะทําใหชุดทําความรอน ไฟฟาไดทํางานนอยลง เทากับวาสามารถประหยัดพลังงานในสวนนี้ลงได การที่วิศวกรออกแบบใหลดภาระความเย็นแฝงของตูแช นอกจาก จะสามารถลดจํานวนครั้งของการละลายน้ําแข็ง และลดชั่วโมงทํางานของ ชุดทําความรอนไฟฟาสําหรับปองกันฝาแลว ลูกคายังสามารถมองเห็น สินคาในตูแชไดชัดเจน โดยไมจําเปนตองเปดประตูตูแช ซึ่งจะชวยยืดอายุ

30 l February 2012

Energy#39_p30-31_Pro3.indd 30

1/13/12 10:21 PM


การเก็บรักษาสินคา และลดการใชพลังงานภายในซูเปอรมารเก็ต จากการ ลดความชื้นลงโดยรวม การเลือกใชระบบ DX (Direct Expansions - ใชสารทําความเย็น ทํ า ความเย็ น โดยตรง) ในการลดภาระความเย็ น แฝงนั้ น เป น ระบบที่ สิน้ เปลืองพลังงานอยางสูง เนื่องจากตองตัง้ คาใหเครื่องปรับอากาศทํางาน หนั ก ตลอดเวลาเพื่ อ ให ค อล ย เย็ น คงอุ ณ ภู มิ ที่ ตํ า มากๆ ไว ที่ ค า หนึ่ ง จะไดเปนการกําจัดความชื้นที่อยูในอากาศ โดยใหความชื้นกลั่นตัวเปนนําที่ คอลยเย็น แตเนื่องจากอากาศที่กําจัดความชื้นแลวนั้นเย็นเกินไป จึงจําเปน ต อ งอุ น อากาศขึ้ นด ว ยชุ ด ทํ า ความร อ นไฟฟ า เพื่ อ ให ส ภาวะอากาศใน ซุปเปอรมารเก็ตอยูที่สภาวะปกติ การลดความชื้นวิธีนี้จะใชพลังงานสูง เทากับเปนการเพิ่มคาใชจายในการดําเนินงานอยางมาก ดวยวิธีการใชสารดูดซับความชื้น นอกจากจะสามารถควบคุม ความชื้นแยกเปนอิสระจากการควบคุมอุณหภูมิ อากาศแหงจากเครื่อง ลดความชื้นชนิดนี้จะเปนอากาศที่อุน ซึ่งจะชวยใหความอบอุนในบริเวณ ทางเดินของตูแช โดยไมตองทําระบบแลกเปลี่ยนความรอนจากระบบน้ํายา ทําความเย็น ซึ่งเทากับจะลดคาใชจายในการเดินทอน้ํายา อีกทั้งไมตองทํา ระบบแลกเปลีย่ นความรอนจากแผนกอื่นทีม่ เี ครื่องทําความรอน เชน แผนก เบเกอรี่ เครื่องลดความชื้นโดยใชสารดูดซับความชื้นบางรุน สามารถลด ความชื้นของอากาศภายนอกกอนสงเขาอาคารได โดยใชพลังงานเพียง ประมาณหนึ่งในสามของระบบเดิม ที่ ใชเครื่องปรับอากาศแบบ DX ดวยการใชระบบที่เหมาะสม เพื่อทําความเย็นและลดความชื้น นัก ออกแบบระบบ HVAC ที่ออกแบบใหความชื้นสัมพัทธในซุปเปอรมารเก็ตอยู ที่ประมาณ 40% ถึง 45% จะชวยประหยัดคาใชจายในสวนของการทํางาน ของตูแชไดประมาณ 10% ถึง 15% ในขณะที่ลูกคาสามารถมองเห็นสินคา ในตูแชไดอยางชัดเจน

แสดงการติ ด ตั้ ง บนชั้ น ดาดฟ้ า ของเครื่ อ งลด ความชื้นที่ ใชเทคโนโลยีดูดความชื้นดวยสารดูดซับ ความชื้นผสมผสานกับระบบทําความเย็นดวยน้ํายา

การออกแบบระบบ HVAC

เมื่อตัดสินใจที่จะใชวิธีการดูดความชื้นแบบใชสารดูดซับความชื้น มีขอที่ควรพิจารณาบางประการ ในการลดปญหาเกี่ยวกับความชื้นดังนี้ ประการแรก ผูออกแบบควรคํานวณโดยแยกภาระความเย็นสัมผัส กับภาระความเย็นแฝงออกจากกัน นอกจากนี้ควรคิดรวมความเย็นจาก บริเวณตูแชดวย เพื่อจะไดไมออกแบบระบบ HVAC ที่ ใหญเกินไป

สําหรับอากาศภายนอกที่จะนําเขามาเติมในอาคารนั้นจะมีความชื้น สูงมาก จําเปนที่จะตองลดความชื้นออกเสียกอนโดยปริมาณที่จะเติมนั้น ตองสามารถชดเชยอากาศที่ดูดออกโดยรวมทั้งหมดจากทุกๆ แผนก ทุกครั้งที่มีการเปดประตูบริเวณทางเขา ความชื้นจากภายนอกก็จะ เขามาภายในได จึงควรออกแบบใหความดันอากาศภายในเปนบวก ทั้งนี้ เพื่อลดโอกาสที่ความชื้นจะไปลดประสิทธิภาพของตูแช และทําใหสิ้นเปลือง พลังงาน อีกหนึ่งประเด็นสําคัญคือการใชขอไดเปรียบจากความชื้นสัมพัทธ ที่ต่ําลง คือสามารถปรับเพิ่มอุณหภูมิขึ้นอีกเล็กนอยโดยที่ผูที่อยูภายใน พื้นที่ยังรูสึกวาอยูในภาวะสบาย ( Comfort Zone ) โดยปกติหากปรับ อุณหภูมิไวที่ 24° เซลเซียส โดยไมมีการควบคุมความชื้น ลูกคาจะยังรูสึก สบาย ในขณะที่พนักงานอาจรูสึกไมคอยเย็นเทาที่ควร ซึ่งอาจสงผลถึง การปฏิบัติงานได แตหากควบคุมความชื้นสัมพัทธไวที่ประมาณ 40% พนักงานจะรูสึกสบายในขณะที่อุณหภูมิยังคงเทาเดิม ทายที่สุด การควบคุมความชื้นสัมพัทธไวที่ประมาณ 40% ยังชวย ยืดระยะเวลาที่จะตองทําการละลายน้ําแข็งของตูแชใหนานขึ้นดวย ซึ่งโดย สวนใหญแลว ผูผ ลิตตูแ ชรายใหญมกั แนะนําใหควบคุมความชืน้ สัมพัทธอยู ที่ 55% หรือต่ํากวา เพื่อลดรอบการละลายน้ําแข็ง ยิ่งลดความชื้นสัมพัทธ ลงไดมาก ก็ยิ่งลดคาใชจายในการใชงานของตูแชไดมาก

รูปแบบในการลดความชื้น

การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งลดความชื้ น แบบใช ส ารดู ด ความชื้ น ในซู เปอร มารเก็ต จะตองมีการประเมินเพื่อเลือกรูปแบบที่ตอบสนองความตองการ ของลู ก ค า ได ดี ที่ สุ ด เนื่ อ งจากแต ล ะรู ป แบบล ว นมี ข อ ได เ ปรี ย บและ ขอเสียเปรียบ ดังนี้ ระบบรวมศู น ย ก ลาง รู ป แบบนี้ ใช สํ า หรั บ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ แ ละ ความชื้นในซุปเปอรมารเก็ตทั่วไป อากาศแหงจะกระจายไปทั่วทั้งพื้นที่ ปรับสภาวะสบายใหสาํ หรับทัง้ ลูกคาและพนักงาน ถาพืน้ ที่ใหญมาก ก็จะรวม เครื่องหลายๆ เครื่องไวในบริเวณเดียวกัน เพื่อประหยัดคาติดตั้งตางๆ เชน คาเดินสายไฟ คาทําทอสงลมเย็น การแขวน การทําหลังคา เปนตน อีกรูปแบบหนึ่งคือกําหนดบริเวณที่ตองการใหควบคุมความชื้นเปน พิเศษ ตัวอยางเชนที่บริเวณตูแช ซึ่งจะไดรับประโยชนจากความชื้นสัมพัทธ ทีต่ ่าํ ลง โดยเครื่องลดความชืน้ จะจายลมโดยตรงลงในพืน้ ทีส่ าํ คัญทีก่ าํ หนด ไวดังกลาว สวนบริเวณอื่นๆ ก็จะจายลมเย็นใหจากเครื่องปรับอากาศ หลายๆ ตัวที่ติดตั้งอยูบนหลังคา รูปแบบที่สามคือลดความชื้นของอากาศภายนอก กอนที่จะเติมเขา ในอาคาร ผานทางทอลมกลับ ไมวาจะเปนของระบบรวมศูนยกลาง หรือ แยกจายใหกับเครื่องปรับอากาศหลายๆ ตัวที่ติดตั้งอยูบนหลังคา เพื่อ เปนการกําจัดความชื้นตั้งแตตนทาง โดยสรุ ป ไม ว า จะเลื อ กใช รู ป แบบใดในการสร า งภาวะสบายใน ซุปเปอรมารเก็ต ผูดําเนินกิจการยอมจะไดรับผลประโยชน ทั้งจากสภาวะ แลดล อ มที่ ยิ่ ง สบายมากยิ่ ง ขึ้ น ทั้ ง จากค า ใช จ า ยในการดํ า เงิ น งานที่ ยิ่งต่ําลง และคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ดียิ่งขึ้นในที่สุด

ที่มา : http://www.achrnews.com/articles/improving-supermarket-operations-through-desiccant-dehumidification

February 2012 l 31

Energy#39_p30-31_Pro3.indd 31

1/13/12 10:21 PM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

รางวัลโฮลซิม อวอรด เพื่อการกอสรางที่ยั่งยืน

โฮลซิ ม อวอร ด เป น โครงการประกวดผลงานการออกแบบ สิง่ กอสรางเพื่อสงเสริมการออกแบบกอสรางอาคารสถานทีต่ า งๆ ใหเปนมิตร กับสิง่ แวดลอม ชุมชน สังคม วัฒนธรรมและเศรษฐกิจของแตละทองถิน่ และภู มิ ภ าคของโลกภายใต แ นวคิ ด “การก อ สร า งที่ ยั่ ง ยื น ” (sustainable construction) จัดขึ้นโดยมูลนิธิโฮลซิมเพื่อการจัดขึ้นโดยมูลนิธิโฮลซิมเพื่อการ กอสรางทีย่ ัง่ ยืน ประเทศสวิตเซอรแลนดโดยมีวตั ถุประสงค เพื่อกระตุนและ ผลักดันใหเกิดการกอสรางที่กาวขามกรอบแนวคิดเดิมๆ เพื่อแกปญหาใน เรื่องความยั่งยืน สําหรับการประกวดรางวัลโฮลซิม อวอรดนานาชาติครั้งที่ 3 แบง ออกเปน 2 ชวง ชวงแรกเปนการประกวดในระดับภูมิภาคในป 2553/2554 และชวงที่ 2 เปนการประกวดในระดับโลกที่ ใหผูชนะจากทุกภูมิภาคเขารวม การประกวดในป 2555 นอกเหนือจากโครงการงานออกแบบกอสรางในระดับมืออาชีพแลว การประกวดรางวัลโฮล ซิม อวอรดยังมุงเฟนหาวิสัยทัศนและแนวคิดใหม ในการประกวดรางวัลยอยในประเภท “Next Generation” เพื่อเปดโอกาส ใหนักศึกษาในระดับปริญญาตรีปสุดทายหรือสูงกวา (ปริญญาโทและ ปริญญาเอก) ไดสงผลงานที่คิดขึ้นในหลักสูตรการเรียนเขารวมประกวด

ดวยเชนกัน โดยผูเขารวมประกวดทุกคนจะตองมีอายุไมต่ํากวา 18 ป โดยการพิจารณาตัดสินผลงานกวา 3,000 โครงการจาก 118 ประเทศ โดยผลงานไดรับเลือกที่เขารอบการตัดสินในครั้งนี้รวม 15 โครงการที่ ไดรบั การคัดเลือกจากผูช นะเลิศจาก 5 ทวีป โดยการตัดสินไดรบั ความร ว มมื อ จากมหาวิ ท ยาลั ย ชั้ น นํ า ของโลกด า นเทคโนโลยี สถาปตยกรรม วิศวกรรม 5 แหง ไดแก Swiss Federal Institute of

32 l February 2012

Energy#39_p32-34_Pro3.indd 32

1/25/12 10:04 PM


จริยธรรม และพื้นฐานทางเศรษฐกิจดวย โดยเกณฑการประเมินรางวัลโฮลซิม อวอรดนั้นเปนรางวัล ที่มอบใหแกผลงานการกอสรางที่ยั่งยืน (โดยไมจํากัดขนาดของ โครงการ) ในดานสถาปตยกรรม ภูมสิ ถาปตย การออกแบบชุมชนเมือง วิ ศ วกรรมโยธา วิ ศ วกรรมเครื่ อ งกลและด า นอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง

Technology (ETH Zurich) ประเทศสวิสเซอรแลนด; Massachusetts Institute of Technology (MIT), Cambridge, สหรัฐอเมริกา; Tongji University (TJU), Shanghai, สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ; the University of Sao Paulo (USP), บราซิล; และ the University of Witwatersrand (WITs), Johannesburg, ประเทศแอฟริกาใต สําหรับโฮลซิมอวอรดทีจ่ ดั ขึน้ ในกรุงเทพฯ ครัง้ นีน้ บั เปนการจัดขึน้ ครัง้ แรก โดยมีรอบของการคัดเลือกผลงานและตัดสินนับตัง้ แตการคัดเลือกผลงาน ชนะเลิศระดับทวีปที่มีเงินรางวัลรวม 1.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ จนถึงรอบ สุดทายเพื่อคัดสรรผูชนะเลิศระดับโลกรวม 3 ป ในดานการพิจารณาคัดเลือกและตัดสินผลงานที่เขารวมแขงขันนั้น ขึ้นอยูกับแนวคิดของผูออกแบบวามีจุดประสงคหรือเปาหมายอยางไร ภายใตกฎเกณฑทท่ี างมูลนิธิ โฮลซิม ไดตง้ั เอาไว ซึง่ เกณฑการตัดสินครัง้ นี้ ไดรบั คําแนะนําจากมหาวิทยาลัยที่เปนพันธมิตรของโครงการฯ โดยตั้งเกณฑ ไวคอนขางสูงสําหรับการประเมินผลงานที่สงมา เพราะนอกจากการ ออกแบบทางดานโครงสรางแลวยังตองคํานึงถึงการเลือกใชวัสดุอุปกรณ ในการกอสรางและที่ขาดไมไดคือการคํานึงถึงสิ่งแวดลอม คุณธรรม

ผลงานการออกแบบสิ่งกอสรางจะตองแสดงใหเห็นถึงแนวคิดของความ ยั่งยืนตามหลักเกณฑการกอสรางที่ยั่งยืน ผูชนะการประกวดโฮลซิม อวอรดในระดับภูมิภาคและระดับโลกจะ ไดรับเงินรางวัลเปนจํานวนรวมทั้งหมด 2 ลานเหรียญสหรัฐ แตละภูมิภาค จะไดรับเงินรางวัลเปนจํานวน 300,000 เหรียญสหรัฐ ดังนี้ เหรียญทอง

February 2012 l 33

Energy#39_p32-34_Pro3.indd 33

1/25/12 9:52 PM


โฮลซิม อวอรด 100,000 เหรียญสหรัฐ เหรียญเงินโฮลซิม อวอรด 5 0 , 0 0 0 เ ห รี ย ญ ส ห รั ฐ เ ห รี ย ญ ท อ ง แ ด ง โ ฮ ล ซิ ม อวอร ด 25,000 เหรี ย ญสหรั ฐ และรางวั ล ชมเชย 4 รางวั ล รวมจํานวน 75,000 เหรียญสหรัฐตอภูมิภาค นอกจากรางวัลดังกลาวแลวการประกวดในระดับภูมิภาคยังมี รางวัลเพิ่มเติมคือรางวัล “Next Generation” มูลคาทั้งหมด 50,000 เหรียญสหรัฐ แบงเปนรางวัลที่ 1 จํานวน 25,000 เหรียญ สหรัฐ รางวัลที่ 2 จํานวน 15,000 เหรียญสหรัฐ และรางวัลที่ 3 จํานวน 10,000 เหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ โครงการที่ชนะเหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดงของแตละภูมิภาคจะมีสิทธิ์ ไดเขารวม ประกวดรางวัลโฮลซิม อวอรดระดับโลกป 2555 ตอไป สําหรับเงินรางวัลทีผ่ ูช นะโครงการระดับโลกจะไดรบั เปนจํานวน ทั้งหมด 500,000 เหรียญสหรัฐ ดังนี้ เหรียญทอง จํานวน 200,000 เหรียญสหรัฐ เหรียญเงิน จํานวน 100,000 เหรียญสหรัฐ และ เหรียญทองแดงจํานวน 50,000 เหรียญสหรัฐ

ทัง้ นีแ้ ละทัง้ นัน้ สิทธิในการไดรบั รางวัลขึน้ อยูก บั การตรวจสอบความ ถูกตองเหมาะสมของโครงการและผานขอบังคับ กฎหมายทั้งของประเทศ นั้นๆ และระหวางประเทศ

นอกจากนี้ ยังมีรางวัลนวัตกรรมยอดเยี่ยมที่มอบใหแกโครงการที่ เปนสุดยอดนวัตกรรมอีก 3 โครงการเปนจํานวนเงินทั้งหมด 150,000 เหรียญสหรัฐ ซึ่งโครงการที่ ไดรับรางวัลทั้งหมดจากทุก 5 ภูมิภาค (รางวัลเหรียญทอง เงินและทองแดง รางวัลชมเชย และรางวัล “Next Generation”) มีสทิ ธิ์ ไดรบั รางวัลนวัตกรรมยอดเยีย่ มนีเ้ ทาเทียมกัน โดยการประกาศผลและมอบผลรางวั ล โฮลซิ ม อวอร ด ในระดั บ โลกจะ มีขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2555 นี้ 34 l February 2012

Energy#39_p32-34_Pro3.indd 34

1/25/12 9:52 PM


Energy Showcase Coway Petit CHP-06DL

สตีเบล เอลทรอน เครื่องทําน้ําอุนรุน IS Series

รูปทรงเพรียวบาง ติดตั้งงายและมีดีไซนที่ ประหยัดเนื้อที่การติดตั้งลงถึง 35% เมื่อ เทียบกับผลิตภัณฑทีม่ คี ณ ุ สมบัตกิ ารกรอง และถังเก็บน้ําในระดับเดียวกัน ระบบกอก เดียวเปนทัง้ น้าํ รอน, น้าํ เย็น และน้าํ อุณหภูมิ ปกติ เทคโนโลยีทันสมัย ประหยัดไฟดวย (Night mode) ปรับระดับการใชพลังงาน ตามความสวางของแสงภายนอกเครื่อง ระบบควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติ

บริษัท วงจิน โคเวย (ประเทศไทย) จํากัด

เครื่ อ งทํ า น้ําอุ น รุ นขายดี “IS Series” ประกอบดวย IS 35 E, IS 45 E และ IS 60 E ที่มาพรอมกับสีสวยสดใสสไตลพาส เทลทั้ ง สี ช มพู เขี ย ว และน้ํ า เงิ น ด า น คุณสมบัติอัดแนนดวยคุณภาพ ใหคุณและ สมาชิ ก ที่ คุ ณ รั ก ได อ าบน้ํ า อุ น ทั น ใจด ว ย กําลังไฟ 3,500-6,000 วัตต สามารถปรับ อุณหภูมิไดตามตองการ ปลอดภัยดวย ระบบตัดไฟอัตโนมัติเมื่อมีไฟรั่ว และระบบ ป อ งกั น การถู ก น้ํ า ร อ นลวก หั ว ฝ ก บั ว โครเมี่ยมสุดหรูปรับได 5 ระดับ

บริษัท วงจิน โคเวย (ประเทศไทย) จํากัด

โทร 0-2661-8640-5

โทร 0-2661-8640-5

หลอดไฟไลแมลง

แบตเตอรี่กระดาษ

http://www.coway.co.th

http://www.coway.co.th

Paper Battery แบตเตอรี่ชนิดนี้ประกอบ ดวย ซิงค และ แมงกานิส ไดออกไซด ให กระแสไฟขนาด 1.5 โวลตเทากับแบตรุนพี่ ที่เปนกอนๆ คือ 1.5 V ความหนา 0.6 มิล อายุการใชงาน 2 ป ปลอดภัยปราศจาก สารพิษและไมติดไฟหรือสามารถระเบิดได จึงทําใหแบตเตอรี่กระดาษเปนที่นิยมใน การนํ า ไปใช้ กั บ อุ ต สาหกรรมอื่ น ๆ เช่ น RFID tag, Smart Card, ไอออนโตโฟเรซิส (Iontophoresis) และ การดเสียงเพลง (Melody card) เปนตน

บริษัท ธีระมงคล อุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) หรือ TMI ผูนําธุรกิจออกแบบ ผลิตและจัดจําหนาย อุปกรณไฟฟาสอง สวางของคนไทย สงผลิตภัณฑนองใหม “หลอดไฟบัคไลน ซีเอฟแอล” (Buglight CFL) ภายใตแบรนด ”กาตา” ลงตลาด ดวยคุณสมบัติที่โดดเดน สามารถไลแมลง และยุงดวยแสงสวางสีเหลืองนวลที่เปน มิตรตอมนุษยและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ ยังประหยัดพลังงานไดมากถึง 80 %

บริษทั ธีระมงคล อุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) โทร 0-2877-9510 โทรสาร 0-2877-9522-23

บริษัท รอคเค็ท อิเล็กทริค จํากัด

ทีโอเอ 113 ไมโครคิลล

เครื่องลดความชื้น Modernkool

http://www.thaiballast.com

โทร 0-2661-6868

“ทีโอเอ 113 ไมโครคิลล” น้ํายาทําความ สะอาดประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สู ต รเข ม ข น ใหม ลาสุดที่สามารถกําจัดเชื้อราและตะไครน้ํา ได 100% ทั้งยังไมฉุนจนแสบจมูก ไม ทําลายพื้นผิว พรอมประสิทธิภาพยับยั้ง เชือ้ รายาวนานกวาน้าํ ยาทัว่ ไป 4 เทา มัน่ ใจ ตอบสนองความต อ งการของตลาด ผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดหลังน้าํ ลดทัง้ ใน แงประสิทธิภาพและความปลอดภัย

บริษัท ทีโอเอ เพนท (ประเทศไทย) จํากัด http://www.toagroup.com/

เครื่องลดความชื้น โมเดิรนคูล จําหนาย และใหบริการเครื่องลดความชื้น, เครื่อง กํ า จั ด ความชื้ น , เครื่ อ งดู ด ความชื้ น , เครื่องควบคุมความชื้นอัตโนมัติ สําหรับ ทุ ก พื้ น ที่ ที่ ต อ งการควบคุ ม ความชื้ น ให เหมาะสมกับการใชงาน อาทิเชน โรงงาน อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการผลิตทุก ประเภท ได แ ก อุ ต สาหกรรมยา อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมไฟฟา แ ล ะ อุ ต ส า ห ก ร ร ม อิ เ ล ค ท ร อ นิ ค ส อุตสาหกรรมสิง่ พิมพ อุตสาหกรรมสิง่ ทอ เปนตน

บริษัท ไทยมุย เทรดดิ้ง คอรปอเรชั่น จํากัด 0-2235-2940-9

http://www.thaimui.co.th February 2011 l 35

Energy#39_p35-36_Pro3.indd 35

1/25/12 11:01 PM


หลอดไฟประหยัดพลังงาน LED 10W P30 LED PAR30 ไดผานขั้นตอนการผลิตที่มี ประสิทธิภาพสูงเปนพิเศษ วัสดุมีคุณภาพ ดี แข็งแรง เปนสินคาตัวลาสุดจัดอยูใน ระดับพรีเมี่ยมโดยการออกแบบของวิศกร และนักออกแบบ ใชคูกับขั้ว E27 LED PAR30 ใชกระแสไฟเพียง 10 วัตต มี วงจรชวยในการขับเคลื่อนกระแสไฟซึ่งจะ สามารถชวยในเรื่องของการประหยัดไฟ และลดความรอนจากหลอดไฟในชวงขณะ เปดอยู ซึ่งจะตางจากหลอดฮาโลเจนแบบ เดิมที่ ใชกระแสไฟถึง 75 วัตต นอกจาก นั้นยังชวยลดการปลอยกาซ CO2 เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม

ระบบควบคุมอาคารอัจฉริยะแบบไรสาย ระบบควบคุมอาคารอัจฉริยะแบบไรสาย เทคโนโลยีลาสุดจากยุโรป KNX ที่จะปฏิวัติ การเชื่อมตอ(Systems Integration) ระบบ ตางๆภายในอาคาร และเทคโนโลยีระบบ รักษาความปลอดภัยสําหรับอาคารสมัย ใหมที่เสี่ยงตอภัยคุกคามในหลายรูปแบบ เพื่อรองรับความตองการของลูกคาทาง ด า นการใช พ ลั ง งานในอาคารอย า งมี ประสิทธิภาพ รักษาสิ่งแวดลอมและเพิ่ม ความปลอดภัยในอาคาร

บริษัท วี แอนด เค ออโต ซัพพลาย จํากัด

บริษัท โกลบอล อินทิเกรทเต็ด โซลูชั่น จํากัด

http://www.vk-supply.com

http://www.gisgroup.in.th

โทร 0-2991-3089

สกรูพิเศษ SPAX

0-22620 8888

หลังคาแฝกเทียมเหมือนธรรมชาติ นวัตกรรมของวัสดุมุงหลังคาแฝกเทียม ViroThatch ที่ใกลเคียงธรรมชาติมากทีส่ ดุ ผลิตจากวัสดุพลาสติก HDPE ซึง่ สามารถ นํากลับมารีไซเคิลได จึงเปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ติดตั้งงายดวยระบบ Knock Down ที่มาพรอมกับรมสําเร็จรูป หรือนํา มาปู เ ป น หลั ง คาถาวรต า งๆ ตามความ ตองการได ตัววัสดุแฝกเทียมกันน้ําได 100 % ไมลุกลามไฟ แข็งแรง ทนทาน ไม ตานทานลม ปลอดภัยจาก เชื้อรา ปลวก มอดและแมลง สะดวกตอการบํารุงรักษา

สกรู พิ เ ศษ เฉพาะงานดาดฟ า และพื้ น ระเบียง ดวย 3 คุณสมบัติพิเศษ ลิขสิทธิ์ เฉพาะฟนเลื้อยดานปลายลางของสกรูไม จําเปนตองเจาะนํา แนะนําใหใชกับไมเนื้อ แข็ง เกลียวบางสวนชวยใหไม 2 ชิ้นยึด ติดแนนยิ่งขึ้น สวนเกลียวดานบนยึดไมไม ใหขยับตัว ติดตองรวดเร็วงานประณีตไม ใหไมแตกฉีกขาดได เหมาะอยางยิง่ กับงาน ภายนอน ทําจาก Stainless เนื้อดีไมทิ้ง คราบสนิมบนผิวไม

บริษัท เอพีพี บอรด จํากัด

APP BOARD CO.,LTD.

http://www.appboard.com

http://www.appboard.com

โทร 0-2211-5900

โทร 0-2887-3400

แผนฝาและผนังทนไฟแมกนีเซียม ซิลิเคท “Trilite”

เครื่องกําเนิดไฟฟา

Trilite แมกนิเซียม ซิลิเคท ไมมีสวนผสม ของแรใยหิน, ไมสรางมลภาวะที่เปนพิษ ขณะผลิ ต รวมทั้ ง ย อ ยสลายได มี คุณสมบัติสามารถทนน้ํา และทนไฟ แผน ความหนา 12 มม. สามารถทนไฟได 2 ชม. และ 3 ชม. ผานการทดสอบจาก ประเทศอังกฤษ BS476 Part 22 และได รับผลทดสอบ Class A1 ซึ่งสามารถ จําหนายไดทุกประเทศในกลุม EU, ไดรับ เครื่องหมาย CE

เครื่องปนไฟคุณภาพระดับโลกที่นาเชื่อถือ และประหยั ด คุ ม ค า การใช ง านที่ เ งี ย บ ปลอดภัย สะอาด ซึ่งเปนเครื่องปนไฟแบบ ใหม ข องรุ น วายอี จี ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง สามารถตอบสนองตอความตองการ และ ไดประโยชนเพิ่มขึ้นจากรุนใหม 4 โพล ที่ เพิ่มความทนทาน และประหยัดคุมราคา

บริษัท ลีฟวิ่ง เซ็นเตอร จํากัด

YANMAR S.P. CO.,LTD.

http://www.living-center.com

http://www.yanma.co.th

โทร 0-2655-1011-9

โทร 0-2326-0700-7 ตอ 149

36 l February 2011

Energy#39_p35-36_Pro3.indd 36

1/25/12 11:01 PM


Energy#24_p15_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

22/10/2010

14:40


Energy Keyman โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย

คาเรน แคมเบลล

ทูตพาณิชยนิวซีแลนด ผูนํานักลงทุนพลังงาน สูเมืองไทย

38 l February 2012

Energy#39_p38-40_Pro3.indd 38

1/25/12 10:48 PM


เมื่อเอยถึงประเทศนิวซีแลนดนอยคนนักที่จะไมรูจัก เนื่องประเทศนี้ ถูกนําไปเปนฉากในภาพยนตรหลายเรื่อง แมแตละครในไทยก็มีการไปถาย ทําทีน่ ัน่ ประเทศนิวซีแลนดเปนประเทศทีอ่ ยูท างตอนใตทวีปออสเตรเลีย เปน เมืองที่เนนความเปนธรรมชาติเปนหลัก ซึ่งยังมีทรัพยากรธรรมชาติที่ สมบูรณไมเวนแมแตทรัพยากรธรรมชาติดานพลังงาน คุณคาเรน แคมเบลล ทูตพาณิชยนิวซีแลนด ไดรับมอบหมาย ใหเปนผูดูแลการคาการลงทุนระหวางประเทศไทยและประเทศนิวซีแลนด รวมไปถึงสนับสนุนและสงเสริมการประกอบธุรกิจของนักลงทุนชาวไทย ในประเทศนิวซีแลนด คุณคาเรนยังมีสวนอยางมากในการสนับสนุนให นักลงทุนนิวซีแลนดเขามาลงทุนในประเทศไทย โดยเฉพาะการลงทุนดาน พลังงานและสิ่งแวดลอม

อะไรคือปจจัยสําคัญที่นักลงทุนนิวซีแลนดมองเห็น

กอนอื่นตองบอกวาในประเทศไทยมีโครงสรางทางเศรษฐกิจกับ จํานวนประชากรที่นาสนใจ เพราะมีคนที่ ไดเงินเดือนนอยมีจํานวนมาก เรา มองวาในอนาคตกลุม คนเหลานีจ้ ะมีเงินเดือนเพิม่ ขึน้ ทําใหเรามองเห็นความ ตองการดานพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้น หมายถึงเมื่อมีเงินเดือนเพิ่มมากขึ้นก็มี

ความตองใชสิ่งอํานวยความสะดวกมากขึ้น เชน เครื่องปรับอากาศ, ทีวี, ตูเย็น, คอมพิวเตอร, อินเตอรเน็ต เปนตน จะทําใหมีความตองการใชพลังงานเพิ่มมากขึ้น ปจจุบันประเทศไทย มีการผลิตพลังงานเองรวมไปถึงการซื้อพลังงานจากตางประเทศ ซึ่งการ ผลิตพลังงานเองก็มีตัวเลือกมากมายในการพัฒนา เชน พลังงานลม, พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เป็ น ต้ น ยิ่ ง เมื่ อ เกิ ด วิ ก ฤติ น้ํ า ท่ ว มในปี ที่ ผ่ า นมา ยิ่ ง ทํ า ให ต อ งตระหนั ก ถึ ง ภาวะโลกร อ นที่ ส ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม อยางชัดเจน ทําใหหลายฝายตองคิดหนักไมใชวาผลิตพลังงานจากอะไรก็ ได แต ตองเลือกผลิตพลังงานที่ ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ซึ่งแนวความคิด แบบนีจ้ ะชวยใหชมุ ชนตระหนักถึงความปลอดภัยทีจ่ ะเกิดขึน้ จากกระบวนการ ผลิตไฟฟา ก็จะทําใหมกี ารตอตานโครงการผลิตไฟฟาทีท่ าํ ลายสิง่ แวดลอม ขณะที่เราเองมีเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาที่สามารถนํามลภาวะในการผลิต กลับมาสรางเปนพลังงานไดอีกครั้งหนึ่งเปนหนึ่งรูปแบบการรีไซเคิล ของเสีย ซึง่ เทคโนโลยีนีจ้ ะสามารถชวยตอบโจทยในเรื่องของพลังงานและสิง่ แวดลอมไดในคราวเดียว ไมใชวา การผลิตไฟฟาจะตองมีแตมลภาวะทีป่ ลอย ออกไป หากชุมชนเขาใจถึงเทคโนโลยีดังกลาวก็จะชวยใหการผลิตไฟฟามี ความปลอดภั ย มากขึ้ น และสร า งความมั่ น ใจให กั บ ชุ ม ชน โดยเฉพาะ ครอบครัวทีม่ เี ด็กเล็กๆ เชื่อวาเทคโนโลยีเหลานีเ้ ปนสิง่ ทีป่ ระเทศไทยตองการ ยิ่งประเทศไทยมีการเจริญเติบโตในหลายเมืองใหญ เชน พัทยา, เชียงใหม, ภูเก็ต เปนตน เมืองเหลานี้มีความตองการใชพลังงานที่เพิ่มขึ้นสูง และอาจ จะตองมีการสรางโรงไฟฟาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเมืองใหญเฉพาะใน แตละเมืองนั้นๆ

แนวโน ม และทิ ศ ทางธุ ร กิ จ พลั ง งานในเมื อ งไทยเป น อยางไร

จริงๆ แลวเรามองวาธุรกิจพลังงานในไทยนอกจากจะเติบโตแลว ยังควรที่จะตองมีการทดแทนเขามาดวย โดยเฉพาะการผลิตพลังงานที่กอ ใหเกิดมลภาวะอยางเชน พลังงานจากถานหิน เปนตน ซึ่งหากเปนที่ประเทศ นิวซีแลนดหรือประเทศที่ยังโตไมมาก ก็อาจจะใชพลังงานเหลานั้นได แตถา เปนที่ประเทศไทย เราคิดวานาจะยังมีการเติบโตของธุรกิจพลังงานไปอีก มาก จึงควรที่สนับสนุนใหมีการผลิตพลังงานที่ ไมกอใหเกิดมลภาวะจะดี กวา

การวางแผนสนับสนุนนักลงทุนใหเขามาลงทุน

แผนการสนับสนุนการลงทุนของเราคือเราใชวิธีแลกเปลี่ยนการ ลงทุน โดยเรานํานักลงทุนนิวซีแลนดมาดูทิศทางธุรกิจในประเทศไทย ขณะ เดียวกันเราก็นํานักลงทุนไทยไปดูทิศทางธุรกิจในประเทศนิวซีแลนดเชนกัน ซึ่งก็จะมีการศึกษาแลกเปลี่ยนแนวความคิด มีการสรางความรูความเขาใจ นอกจากนี้เรายังไดนํานักลงทุนนิวซีแลนดใหเขามาพบนักวิชาการและพบ

February 2012 l 39

Energy#39_p38-40_Pro3.indd 39

1/25/12 10:48 PM


เจาหนาที่ที่ดูแลในสวนของนโยบายพลังงาน ซึ่งเราก็คงจะเนนไปที่การ สรางการเรียนรูเปนหลักกอน

คิดวารัฐบาลควรใหการสนับสนุนในดานธุรกิจพลังงาน อยางไรบาง

อันที่จริงแลวภาครัฐก็มีการใหการสนับสนุนที่ดีอยูอยางตอเนื่อง คือเราคิดวาภาครัฐเปดโอกาสสนับสนุนในดานการลงทุนและการจัดหา พันธมิตรที่เหมาะกับนักลงทุนก็นาจะเพียงพอ เพราะการลงทุนในดาน พลังงานมีการเปลีย่ นแปลงอยูเ สมอ จึงนาจะมีการสนับสนุนใหคนทีม่ คี วาม คิดใหมๆ และคนทีม่ นี วัตกรรมใหมเขามาทํางานรวมกัน ก็นา จะเปนประโยชน ตอการลงทุนและการพัฒนาพลังงานในประเทศไทย

การเมืองไทยมีผลกระทบตอการลงทุนดานพลังงาน อยางไรบาง

อยางที่ทราบกันวาระบบการเมืองไทยมีการเปลี่ยนแปลงผูบริหาร อยูบอยครั้ง ซึ่งในฐานะทูตพาณิชยเรามองวาไมนามีผลกระทบมากนักตอ การลงทุน เนื่องจากขาราชการประจําที่เกี่ยวของมีบทบาท, ทิศทางและ

นโยบายที่ชัดเจนอยูแลว โดยขาราชการเหลานี้จะไมคอยมีการเปลี่ยนแปลง มากนัก อีกทั้งนโยบายดานพลังงานก็เปนนโยบายที่คอนขางนิ่งไมคอยมี การเปลี่ยนแปลงมากเทาไร

เปาหมายการลงทุนและพลังงานทดแทนในนิวซีแลนด

คงตองบอกวาไมมีเปาหมายในการลงทุนที่ชัดเจน เนื่องจากยังเปน ช ว งการเรี ย นรู ธุ ร กิ จ กั น อยู ส ว นในเรื่ อ งพลั ง งานทดแทนในประเทศ นิวซีแลนดตองบอกวามีมาก ซึ่งในนิวซีแลนดสวนใหญจะเปนพลังงานจาก น้ําเปนหลัก เพราะเรามีแหลงทรัพยากรน้ํามากในประเทศ นอกจากนี้ยังมี พลังงานความรอนใตพิภพ ที่สําคัญเรายังมีพลังงานถานหินและพลังงาน น้ํามัน แตการผลิตพลังงานทั้ง 2 ชนิดมีไมกี่แหงเทานั้น ในสวนของพลังงานนิวเคลียรตองบอกวา แตเดิมเปนพลังงานที่นา สนใจแตหลังเกิดเหตุท่ปี ระเทศญี่ปนุ ดูเหมือนวาพลังงานนิวเคลียรจะเปลี่ยน ทัศนคติของคนทัว่ โลก แตสาํ หรับทีน่ วิ ซีแลนดแลวไมนา จะมีพลังงานนิวเคลียร เพราะปจจุบนั มีการใชพลังงานทดแทนเปนหลักอยูแ ลว และคิดวาคงไมมนี กั ลงทุนนิวซีแลนดคนใดเขามาลงทุนพลังงานนิวเคลียรในไทย

40 l February 2012

Energy#39_p38-40_Pro3.indd 40

1/25/12 10:49 PM


Energy Keyman

โดย : รังสรรค อรัญมิตร

พงษศักดิ์ ศิริคุปต ใชหลักการ “SWOT” พา เด็มโกฯ เติบโต

ปจจุบันประเทศไทยไดใหความสําคัญดานพลังงานมากขึ้นโดยไดมี การพัฒนาพลังงานทดแทนดานตางๆ มาทดแทนการผลิตไฟฟาดานเชือ้ เพลิง ประเภทฟอสซิส เชน ถานหิน น้ํามัน กาซธรรมชาติ ซึ่งนับวันมีแต จะหมดไป รวมถึงมารองรับความตองการการใชไฟฟาของคนไทยที่มีใน ปริมาณเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในสวนของผูประกอบการที่เกี่ยวกับธุรกิจไฟฟาก็ ได ออกมาพัฒนาสินคาใหไดมาตรฐานและทันสมัยดวยเทคโนโลยีที่สูงขึ้นเพื่อ รองรับธุรกิจผลิตไฟฟาเชนกันไมวาจะเปนการผลิตในรูปแบบใดก็ตาม เรียกไดวาเชื้อเพลิงพลังงานที่กําลังจะหมดไปนั้นนอกจากเปน อานิ ส งค ต อ ธุ ร กิ จ ด า นพลั ง งานแล ว ยั ง เป น อานิ ส งค ต อ ผูประกอบการออกแบบรับเหมากอสรางโรงผลิตไฟฟาซึ่ง ลองไปคุยกับผูน าํ ธุรกิจดานงานกอสรางโรงผลิตไฟฟาจาก พลังงานทุกรูปแบบ รวมถึงพลังงานลมและพลังงานแสง อาทิตย คุณพงษศักดิ์ ศิริคุปต ประธานกรรมการ บริหารและกรรมการผูจัดการ บริษัท เด็มโก จํากัด (มหาชน) (DEMCO) “เด็มโกดําเนินธุรกิจออกแบบ จัดหา กอสรางและ ติดตั้งงานดานวิศวกรรมไฟฟาโรงงานไฟฟาพลังงาน ทดแทนและระบบเครื่องกล ครบวงจร รวมทั้งบํารุง รักษา ระบบไฟฟาและงานระบบสาธารณูปโภค เชน ไฟฟ า ประปา สุ ข าภิ บ าล ระบบปรั บ อากาศ ระบบระบายอากาศ ระบบผลิตไอน้ํา และน้ํารอน ใหบริการลูกคา บริษทั โรงงาน หนวยงานราชการ ออกแบบ จัดหา ติดตั้งเสาโทรคมนาคม งานเชื่อม โยงสายเคเบิ้ลใยแกว โรงงานผลิตโครงเหล็กชุบ สังกะสี เสาโครงเหล็กสําหรับปายโฆษณากลาง แจงขนาดใหญ ระบบสายสงไฟฟา เสาโครงเหล็ก สําหรับงานโทรคมนาคม ประเภท Self Support Tower Guyed Mast Tower งานออกแบบและ ก อ สร า งงานวิ ศ วกรรมโยธา เช น โรงงาน อุตสาหกรรม อาคารสํานักงาน หอประชุม และรับ ออกแบบติดตั้ง วางแผน งานอนุรักษพลังงาน พลังงานทดแทน เปนตน”

February 2012 l 41

Energy#39_p41-43_Pro3.indd 41

1/25/12 8:43 PM


การบริหารจัดการธุรกิจใหเปนผูนําตลาด

“จัดการบริหารงานโดยการประเมินแบบ SWOT คือ การวิเคราะห จุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค เพื่อพัฒนาธุรกิจใหสามารถแข็งขัน ไดในตลาด และใหสามารถเติบโตเปนผูนําในตลาดรวมถึงพัฒนาธุรกิจสู ความเปนเลิศทางธุรกิจ จากเดิมเราเริ่มตนดวยทุนจดทะเบียน 6 ลานบาทเมื่อป 2535 ปจจุบันป 2554 มีทุนจดทะเบียน 999 ลานบาท สวนดานรายไดนั้นในป 2553 มีรายได 2,500 ลานบาท และคาดวาป 54 จะโตกวาป 2553 กวา 50% สวน ป 2555 ก็คาดวา โตกวาป 54 ประมาณ 50% เนื่องจากการ ขยายงานมากขึ้นจากเดิมตอยอดสูการรับออกแบบ กอสรางโรงไฟฟา ติด ตั้งระบบไฟฟา ระบบทอกาซ และกาวสูธุรกิจพลังงานทดแทน เริ่มจาก โครงการพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย ซึ่งไดแกการออกแบบและติด ตั้งระบบ จัดหาอุปกรณใหลูกคาจนถึงการรวมลงทุน”

เมกะวัตต มีผูถ อื หุน อยู 3 ราย บริษทั อีโอลัส พาวเวอร จํากัด (AEOLUS POWER) ถือหุน 60% รวมกับพันธมิตรซึ่งเปนผูประกอบการดานโรง ไฟฟาขนาดใหญของประเทศไทย 1 ราย และประเทศญี่ปุน 1 ราย ถือหุน ในสัดสวนรายละ 20% ไดแก บริษัท ราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) และ Chubu Electric Power Korat, BV โดยคาดวาโครงการแรกจะ สามารถขายไฟฟาเขาระบบไดประมาณเดือน ส.ค. 2555 นี้ สวนโครงการ ที่สอง คาดวาจะสามารถขายไฟฟาในเดือน ธ.ค. 2555 และจะสามารถได

โครงการไหนที่เขารวมทุน

“มีบางโครงการที่เราเขาไปรวมทุน เชน โครงการผลิตไฟฟา พลังงานลมหวยบง จังหวัดนครราชสีมา 2 โครงการ โครงการละ 90

42 l February 2012

Energy#39_p41-43_Pro3.indd 42

1/25/12 12:22 AM


รับเงินปนผลงวดแรกในกลางป 2556 สวนโรงไฟฟาพลังงานลมอีก 1 โครงการที่เด็มโกเปนผูออกแบบกอสราง และรวมลงทุนดวยนั้น อยูที่ อําเภอเขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ ขนาดกําลังการผลิต 60 เมกะวัตต ขณะนี้ โครงการอยูระหวางรออนุมัติ EIA (Environmental Impact Assessment) หรือ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) ซึง่ คาดวากลางป 2555 นีก้ จ็ ะสามารถดําเนินการกอสรางและตนป 2556 เริ่มเดินเครื่องและขายไฟฟาได นอกจากนี้แลวเด็มโกยังไดมีงานที่อยูระหวางการยื่นขอขายไฟฟาที่ ผลิตไฟฟาดานพลังงานลมอีก 7 โครงการ ซึ่งคาดวาจะไดรับอนุมัติในการ ซื้อขายไฟฟาจาก การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) อีก 3 โครงการกําลังการผลิตรวม 270 เมกะวัตตอยูในเขตพื้นที่ภาคตะวันออก เฉียงเหนือคาดวาจะสามารถเริ่มพัฒนาโครงการไดในป 2556 และดําเนิน การกอสรางในป 2557”

โครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย

“ดานพลังงานแสงอาทิตยที่เด็มโกไดงานออกแบบและกอสราง 4 โครงการโดยไดดําเนินการกอสรางแลว 1 โครงการที่อําเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี ขนาด 8 เมกะวัตต สวนอีก 3 โครงการ โครงการละ 8 เมกะวัตต ตัง้ อยูในเขตพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรม ในจังหวัดอยุธยา ซึง่ เจาของ โครงการอยูระหวางเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม นอกจากนี้แลวยังมีแผนงานที่ จะไปเจาะตลาดประเทศเพื่อนบาน อยาง สปป. ลาว พมา โดยเปนผูออกแบบ ติดตั้งระบบโรงไฟฟา หรือบางโครงการอาจจะรวมลงทุนดวย”

ไดรับผลกระทบจากอุทกภัยจากน้ําทวมหรือไม

“ก็มีบางโครงการที่ตองชะลอตัวไปเนื่องจากไดรับผลกระทบจาก ภาวะอุทกภัยที่ผานมา โดยมีโครงการโรงไฟฟาพลังที่นิคมอุตสาหกรรมใน เขตจังหวัดอยุธยา และโครงการโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่จังหวัด ลพบุรีที่ ไดรับผลกระทบ แตไมไดสงผลกระทบในแงความเสียหายโดยตรง กับบริษัท เปนเพียงอุปสรรคในการขนสงวัสดุอุปกรณจากซัพพลายเออร และการเขาพื้นที่ แตตอนนี้น้ําลดแลวก็สามารถเริ่มดําเนินการกอสรางไดแลวซึ่ง โครงการที่ ไดรับผลกระทบอาจจะตองมา Redesign แบบใหมเพื่อรองรับ ผลกระทบจากอุทกภัยน้ําทวมที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคตขางหนา”

February 2012 l 43

Energy#39_p41-43_Pro3.indd 43

1/25/12 8:46 PM


Energy Design โดย : ณภัสรสรณ ศรีพรหม

บานรับลมชมวิว

ภาพบรรยากาศหนาบาน

ในเมืองใหญคงเปนไปไดยากมากที่จะหลีกหนีความวุนวายเรงรีบ ของชีวติ คนเมืองและความแออัดของทีอ่ ยูอ าศัย หากเรามีโอกาศทีจ่ ะสรางบาน สักหลังเราจะสามารถสรางสรรคบานที่ชวยใหเรารูสึกผอนคลาย ทั้งกาย จิตใจ อยู ใกลชิดธรรมชาติ และที่สําคัญคือสามารถประหยัดพลังงาน ไดมากกวาบานที่เราเห็นกันทั่วไปในปจจุบันนี้ ไดอยางไร บานรับลมชมวิว เปนบานที่เจาของบานคือ คุณจันทรรอน ศิริ (คุณแม) และคุณชานัตตา กิจวิรยิ ะรุง (คุณลูก) ตองการสรางไวเปนทีพ่ กั อาศัย ทีส่ ามารถตอบโจทยความตองการทีว่ า “เราจะสามารถสรางสรรคบา น ที่ชวยใหเรารูสึกผอนคลาย ทั้งกาย จิตใจ อยู ใกลชิดธรรมชาติและ ที่สําคัญคือสามารถประหยัดพลังงานไดมากกวาบานที่เราเห็นกัน ทั่ ว ไปในป จ จุ บั น นี้ ได อ ย า งไร” คํ า ตอบคื อ ได อ ย า งไม มี ข อ สงสั ย เพราะบานหลังนี้ถูกออกแบบวางหองตางๆ ใหสามารถรับแสงแดด รับลม

ภาพบรรยากาศตอนกลางคืนชานหนาบานทีแ่ สดงใหเห็นถึงความโลง โปรง ของตัวบานอยางชัดเจน

44 l February 2012

Energy#39_p44-45_Pro3.indd 44

1/13/12 10:25 PM


ภาพบรรยากาศภายในห อ ง รั บ แขกที่ แ สดงให เ ห็ น การ ออกแบบฝ า ภายในที่ ช ว ยกั น แสงแดดบางสวนไม ใหเขาถึง สวนที่ ใชวางชุดโซฟา แตภายใน ห อ งยั ง ได รั บ แสงสว า งจาก แสงแดดได อ ย า งดี และยั ง สามารถชมวิ ว ภายนอกบ า น ไดอยางเต็มที่

รับมุมมองทีส่ วยงามในเขตทีด่ นิ รวมทัง้ ใชประโยชนจากตันไมท่ีใหญทม่ี อี ยูเ ดิม (ที่อยูบริเวณหนาบาน) ในแงการเปนแนวบังแสงแดดและความรอนที่จะ เขาสูบ า นโดยตรง ทําใหสามารถออกแบบผนังดานนี้ ใหเปนผนังกระจกบาน ใหญเพื่อเปดรับลมและแสงแดดไดเต็มที่แมจะเปนดานทิศตะวันตกก็ตาม และเพิ่มไอเย็นใหกับกระแสลมที่จะพัดเขาสูภายในบานดวยสระน้ําหนาบาน ที่ ไมเพียงแคชวยลดความรอนกับตัวบานแลวยังชวยเพิ่มความสวยงามให กับบรรยากาศโดยรวมของบานดวย จุดเดนของบานหลังนีค้ อื การพยายาม

ภาพหองน้ําในหองนอนใหญ (หองนอนคุณแม) ที่ออกแบบผนังบางสวน เปนกระจกใสเพื่อรับแสงสวางธรรมชาติในตอนกลางวันทําใหไมตอ งเปดไฟ ชวยประหยัดพลังงานได

ภาพหองนอนใหญ(หองนอนคุณแม)ที่ ใชผนังเปนกระจกบานใหญเพื่อเปด มุมมองภายในหองใหสามารถมองเห็นบรรยากาศนอกบานไดอยางเต็มที่ และถึงแมวาผนังดานนี้จะอยู ในทิศตะวันตกแตสถาปนิกไดกําหนดผนัง สวนนี้ ใหตรงกับแนวตนไมเดิมที่มีขนาดใหญและมีความสูงถึงชั้น3 ใหเปน แนวบังแสงแดด เปนการใชประโยชนจากสิ่งที่มีอยู ในที่ดินใหคุมคาที่สุด

กระจายหองตางๆใหสามารถเปดรับลมเพื่อใหลมชวยพาความรอนออกไป พัดพาลมเย็นเขามาภายในบานทําใหลดการใชเครื่องปรับอากาศ, สามารถ เปดรับแสงแดดเพื่อใหภายในบานมีแสงสวางจากธรรมชาติในเวลากลางวัน ทําใหลดการใชแสงจากหลอดไฟฟา, สามารถเปดรับวิวภายนอกบานได อยางเต็มที่ทั้งจากตนไมเกาที่มีอยูแลวและตนไมใหมๆ อีกหลายตนที่กําลัง จะปลูกในไมชา บานหลังนี้จึงไมเปนแคเพียงที่พักอาศัยเทานั้นแตยังเปน สถานที่ที่สามารถพักกายและพักใจไดอยางลงตัว และยังชวยลดการใช พลังงานไดเปนอยางดี สถาปนิกไดนาํ หลักการออกแบบประหยัดพลังงานแบบ PASSIVE มา ใชออกแบบเพื่อใหบา นหลังนีป้ ระหยัดพลังงานมากทีส่ ดุ และทีส่ าํ คัญคือสามารถ ตอบสนองความตองการของเจาของบานไดมากทีส่ ดุ ดวยเชนกัน February 2012 l 45

Energy#39_p44-45_Pro3.indd 45

1/24/12 9:13 AM


Residential โดย : สรรชณิฏฐ

ชนกนั น ท รี ส อร ท ปาย

...แบบเพียงพอ ...สูก ารอนุรกั ษพลังงาน หลักการบริหารรีสอรทแบบ พึ่ ง พาตนเองหรื อ แบบพอเพี ย งนั้ น เป น แนวทางหนึ่ ง ที่ ช ว ยให เ กิ ด การ ประหยัดพลังงานไดเปนอยางดีไมแพ อีโค รีสอรท ซึง่ กอนหนานี้ ไดเขียนถึง มาหลายที่แลว เลมนี้จึงไดแสวงหา รีสอรทแนวพอเพียงมานําเสนอเพื่อ เป น การตอบรั บ แนวพระราชดํ า รั ช ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึง่ แนวทางการบริหารจัดการ รีสอรทแบบพอเพียงหรือการพึ่งพาตนเองนั้นเปนเสนหอีกแบบหนึ่งที่ทําให ผูมาพักเกิดความประทับใจเหมือนไดใชชีวิตในแบบชนทบหรือใกลชิดกับวิถี ธรรมชาติ วิถีชาวบาน ซึ่งทั้งหมดเหลานี้สามารถตอบโจทยการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยื่นซึ่งเปนมิติหนึ่งของคําวา “Eco” สํ า หรั บ รี ส อร ท แนวพอเพี ย งนั้ น ก็ มี ใ ห เ ห็ น อยู บ า งหลายแห ง “ชนกนันท รีสอรทปาย” เปนอีกรีสอรทหนึง่ ทีน่ าํ เอาแนวพอเพียงมาประยุกต 46 l February 2012

Energy#39_p46-47_Pro3.indd 46

19/1/2012 0:48


ใชกบั การบริหารจัดการรีสอรทซึง่ มีวธิ กี ารอยางไรนัน้ ไปดูกนั เลยคะ แต่ ก่ อ นอื่ น เราไปเริ่ ม จากประวั ติ ค วามพอเพี ย งของ ชนกนั น ท์ รีสอรทฯ กันกอน โดยรีสอรทแหงนี้นั้นเริ่มตนจากบานหลังเล็กๆ ที่เจาของ ตองการสรางขึ้นเพื่ออยูอาศัยเอง ทามกลางทองทุงนาบนพื้นที่กวา 20 ไรติดแมน้ําปาย ดวยความที่อยูในพื้นที่มีอากาศดีอยางอําเภอปาย เพื่อนๆ ที่มาเยี่ยมเยือนไดติดใจในบรรยากาศและความพอเพียงแบบชนบทจึงได แนะนําใหผูเปนเจาของบานขยับขยายเปนหองพักเพิ่มเติมเพื่อตอนรับนัก ทองเที่ยวที่สนใจมาพัก จากตรงนี้จึงเปนที่มาของรีสอรทแนวพอเพียง โดยที่นี่เขาจะปลูกขาว ผักสวนครัว ผลไม เลี้ยงปลา ไวใชในการ ประกอบอาหารใหแขกผูมาพักไดลิ้มรสชาติอาหารพื้นเมืองโดยไมตองซื้อ หาวัตถุดิบจากทองตลาดเลย นอกจากนี้แลวยังไดทําปุยหมักจากเศษพืช ใบไม ไวใชสําหรับไมดอกไมประดับ และตนไมใหญที่ปลูกไวเพิ่มความรมรื่น ภายในรีสอรท ในสวนของหองพักของชนกนันท รีสอรทนั้นถูกเนรมิตขึ้นมารอง รับผูม าเยือนทัง้ หมด 6 หองทีส่ รางขึน้ ใหมในแนวโมเดิรน ลานนาผสมผสาน กลิ่นอายแบบทองถิ่น โดยทุกหองจะติดหนาตางกระจกใสยาวรอบดานเพื่อ

ใหสามารถเปดรับอากาศที่เย็นสบาย สดชื่น โปรงโลงและถายเทไดสะดวก ที่ ชวยใหสามารถเปดรับลมเย็นไดสบาย โดยไม ต อ งเป ด แอร แ ม แ ต ใ นช ว งฤดู รอน แถมยังไดรับแสงธรรมชาติเขา มาชดเชยแสงไฟภายในหองโดยชวยให เกิดการประหยัดพลังงานไดเปนอยาง ดีคะ พรอมกับใหผูมาพักไดใกลชิดกับ ธรรมชาติไดเกือบทุกมุมของหอง สวน อีก 1 หลังนั้นเปนบานพักของเจาของ ที่ถูกพัฒนาใหเปนหองพักโดยปริยาย ซึ่งการออกแบบตกแตงนั้นจะออกแนว ลานนาผสมกลิ่นอายของทองถิ่นแบบ ไทยใหญ ดานกิจกรรมสําหรับผูมาพัก นั้น ชนกนันท รีสอรท ไดเนนกิจกรรม เชิงนิเวศ และกิจกรรมแบบทองถิน่ เชน

การปลูกขาว เกี่ยวขาว โชวการละเลนของชนเผา เลนรอบกองไฟ เพื่อใหแขกผูมาพักผอนไดเรียนรูวิถีชีวิตแบบพอเพียงของชาวทองถิ่น นอกจากนี้ยังมีจักรยานไวบริการลูกคาใหไดปนชมวิวในบริเวณรอบๆ รี ส อร ท ภายใต บ รรยากาศยามเช า ที่ ป กคลุ ม ไปด ว ยสายหมอก และได เพลิดเพลินกับการลองแมน้าํ ปายชมวิวอีกดวยคะซึง่ บรรยากาศยามเชานัน้ ชวยใหคุณรูสึกสดชื่นไดอยางกระปกระเปรา และสําหรับผูที่สนใจที่ตองการความเปนธรรมชาติ การใชชีวิตแบบ พอเพียงของชาวพื้นเมืองนั้นสามารถพิมพชื่อรีสอรทในกูเกิ้ลแลวติดตอไป ไดเลยนะคะ โดย ชนกนันท รีสอรทปาย สนนราคาแบบพอเพียงเปนกันเอง บานเดี่ยว 2 หองนอน 3,500 และหองพักเตียงคู 1,800 - 2,300 ตอ หอง เต็นทตั้งแตขนาดเล็กถึงขนาดใหญ 200 – 300 บาท ทั้งนี้สามารถ ลดไดตามความเหมาะสมพรอมเสิรฟอาหารสไตลทองถิ่น นี่เปนเสนห อีกแบบหนึ่งของ ชนกนันท รีสอรทปาย ที่พึ่งพาตนเอง บนพื้นฐานของความพอเพียงสูการอนุรักษพลังงาน February 2012 l 47

Energy#39_p46-47_Pro3.indd 47

19/1/2012 0:48


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

แมจะเปนเพียงตนตนป แตวงการสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมก็คึกคักเสียแลว เพราะบริษัท ชั้นนําทั้งหลายก็ตางเปดโครงการดีๆ สินคาดีๆ กันตั้งแตตนป เพื่อกระตุนใหผูบริโภคไดคํานึงถึง การอนุรักษสิ่งแวดลอม และเลือกสินคาที่ชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม แบบนี้ผูบริโภคอยาง พวกเราตองอยาลืมอุดหนุนใหกําลังใจกับผูผลิตสีเขียวเหลานี้กันดวย

“น้ํ า ทิ พ ย ” พลิกโฉมใหม ในขวด “อีโค-ครัช” เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม กลุมธุรกิจโคคา-โคลา ประเทศไทย สรางปรากฏการณใหมใหกับ ตลาด น้ําดื่มในประเทศไทย ดวยการพลิกโฉม “น้ําทิพย” ผูนําแบรนดน้ํา ดื่ม ดวยรูปลักษณและแนวคิดใหมทีม่ ากกวาน้าํ ดื่ม ใชนวัตกรรมบรรจุภณ ั ฑ พีอีทีเบาพิเศษ ผลิตโดยเครื่องจักรใหมเทคโนโลยีสูงมูลคากวา 700 ลาน บาท ที่สามารถลดการใชวัตถุดิบพลาสติกลดลงถึง 35% เมื่อเทียบกับ บรรจุภัณฑแบบเดิม นับเปนบรรจุภัณฑพีอีทีน้ําหนักเบาที่สุดในประเทศไทย รวมทั้งยังออกแบบใหสามารถบิดตัวขวดไดเมื่อดื่มหมด เพื่อชวยลดพื้นที่ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บขยะรีไซเคิล พรอมชวนผูบริโภคมาเพิ่ม ความสดชื่นไปพรอมกับการอนุรักษสิ่งแวดลอมแบบสนุกสนานและยั่งยืน ดวยการ “เลือก-ดื่ม-บิด” การพลิกโฉม “น้ําทิพย” ในครั้งนี้ เปนอีกกาวหนึ่งของความมุงมั่น ของกลุมธุรกิจโคคา-โคลาฯ ในการสรางสรรคสิ่งดีๆ ใหแกโลก ภายใต แนวคิดดานความยั่งยืน “LIVE POSITIVELY รวมทําสิ่งดีๆ เพื่อเรา... เพื่อโลก” ที่เราไดใหคํามั่นกับลูกคาและผูบริโภคของเราวาจะผลิตเครื่อง ดื่มที่เปยมดวยคุณภาพ พรอมๆ กับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และเปดโอกาสใหผูบริโภคไดรวมในการอนุรักษสิ่ง แวดลอมดวยเชนกัน

ดวยการออกแบบทีค่ าํ นึงถึงสิง่ แวดลอม น้าํ ดื่ม “น้าํ ทิพย” โฉมใหม จึงไมเพียงชวยลดการใชทรัพยากรในการผลิต แตยังมีสวนชวยลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในระหวางการขนสง ทัง้ ยังสามารถนําบรรจุ ภัณฑทั้งหมดไปรีไซเคิลเพื่อเปนทรัพยากรตอไปได กลุ ม ธุ ร กิ จ โคคา-โคลาฯ ได ล งทุ น กว า 700 ล า นบาท ติ ด ตั้ ง เครื่องจักรใหมที่มาพรอมเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด ที่โรงงานรังสิต โดย เครื่องจักรนี้มีความเร็วในการผลิตสูง สามารถผลิต “น้ําทิพย” ขนาด 550 มิลลิลิตร ไดถึง 1,200 ขวดตอนาที ซึ่งเปนหนึ่งในสายการผลิตที่มี ความเร็วสูงที่สุดในกลุมธุรกิจ โคคา-โคลา ในประเทศไทย บรรจุภัณฑใหมของน้ําดื่ม “น้ําทิพย” ผลิตจากพลาสติกพีอีที ที่ใช ปริมาณพลาสติกในการผลิตลดลงถึง 35% เมื่อ เทียบกับบรรจุภัณฑเดิม โดยยังคงคุณภาพและความแข็งแรงของขวดตามมาตรฐานสูงสุดของโค คา-โคลา บรรจุภัณฑ “น้ําทิพย” ใหมนี้มาพรอมกับโลโกใหมรูปใบไมสีเขียว ออนสวยสะดุดตา มีรูปทรงขวดดีไซนทันสมัย เปนบรรจุภัณฑพีอีทีที่มีน้ํา หนักตอขนาดบรรจุที่เบาที่สุดในประเทศไทย (10.7 กรัม สําหรับขวดขนาด 550 มิลลิลิตร) และใชฝาขวดที่มีขนาดสั้นลง เพื่อลดการใชทรัพยากรและ ชวยลดน้ําหนักใหไดมากที่สุด ทั้งยังไดรับการออกแบบ ตัวขวดอยางชาญ ฉลาดทําใหงายตอการบิดเมื่อดื่มหมด และสามารถนําไปรีไซเคิลไดทั้งหมด

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

48 l February 2012

Energy#39_p48,50_Pro3.indd 48

19/1/2012 0:50


Energy#39_p49_Pro3.ai

1

1/26/12

4:12 PM


“คริ ส ติ น า” เป ด ตั ว นวั ต กรรมอ า งอาบน้ํ า วน “SAFARI” เทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอม

“คริ ส ติ น า” ไม ห วั่ น ตลาดซบเหตุ น้ํ า ท ว มใหญ เ ดิ น หนาเปดตัวนวัตกรรมเพื่อความ สุขแสนล้ํากับอางอาบน้ําวนรุน ลา “SAFARI” เทคโนโลยีเพื่อ สิ่งแวดลอมตัวจริง ที่ควบคุม การทํางานเพียงปลายนิว้ สัมผัส ประหยัดพลังงานผานการการัน ตีดวย 2 รางวัลคุณภาพ IF 2010 และ Designpreis 2011 จากเยอรมนี เอกสิทธิเ์ ฉพาะของ คริสตินา บริษัท สุขภัณฑคริสติ นา (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตสุขภัณฑ ภายใตแบรนด “คริสตินา (Cristina)” และ “ออนเซ็น (Onzen)” อางอาบน้ําระดับพรีเมี่ยม โดย ฝมือของคนไทย เปดตัวอางอาบน้ําวนรุน “SAFARI” ที่โดดเดนดวย

นวัตกรรมอางน้ําวน แบบลอยตัว ที่สะดวก ต อ การติ ด ตั้ ง และ เคลื่ อ นย้ า ย อี ก ทั้ ง ป ร ะ ห ยั ด น้ํ า แ ล ะ พลังงานไฟฟา นับเปน เทคโนโลยี เ พื่ อ สิ่ ง แวดลอมอยางแทจริง ซึ่งควบคุมการทํางานดวย Touch Pad (T1) เพียงปลายนิ้วสัมผัส พรอม แสดงผลการใชงานที่ชัดเจนดวยปุมเรืองแสง Corona Ring ที่ผานการ การันตีจากเวที IF 2010 และ Designpreis 2011 เยอรมนี เอกสิทธิ์เฉ พาะของคริสตินา ซึ่งอางอาบน้ํารุนนี้นั้นเชื่อวาจะสามารถตอบโจทยของผูบริโภคได เปนอยางดี เพราะ SAFARI ออกแบบใหประหยัดพลังงานและพื้นที่ติดตั้ง สํ า หรั บ บ า นรุ น ใหม ที่ มี พื้ น ที่ ใ ช ส อยจํ า กั ด แต ยั ง คงความล้ํ า หน า ด ว ย เทคโนโลยีโฉบเฉี่ยวโมเดิรนขึ้นนั่นเอง

อินเตอรเฟซฟลอรเปดตัวพรมแผนรักษ สิ่งแวดลอม 3 คอลเลคชั่นใหม

อินเตอรเฟซฟลอร ซึ่งเปนผูนําระดับโลกดานการออกแบบ ผลิต และ จําหนายพรมแผนดวยจิตสํานึกของการรับผิดชอบตอสภาวะแวดลอม เปดตัว 3 คอลเลคชัน่ ใหมที่ใหมณ ั ฑนากรและลูกคาสามารถผสมผสานรูปแบบและสีสนั ไดนบั พันแบบ ซึ่งทั้งหมดนี้ ผลิตที่โรงงานของอินเตอรเฟซฟลอรในประเทศไทย เพื่อ ขายในประเทศและสงออก เดอะ คารเทรา พอรทโฟลิโอ (The Cartera Portfolio) เปนคอลเลคชั่นที่ ไดรับแรงบันดาลใจจากความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอเมริกาใต โดย สะทอนออกมาดวยรูปแบบและสีสนั ทีม่ ากมาย คือมีลวดลายใหเลือก 14 ลาย แตละ ลายมีสีพื้นใหเลือก 24 สี และสีแทรกอีก 57 สี ซึ่งเปนที่มาของชื่อคารเทราที่แปล วากระเปาในภาษาสเปน หมายถึงกระเปาที่เต็มไปดวยความตื่นเตนไมสิ้นสุด คัลเลอรเพลย (Colour Play) เปนการกาวขามขีดจํากัดขึ้นไปอีกขั้น โดย ลูกคาหรือมัณฑนากร จะเริม่ ดวยการเลือกสไตลทชี่ อบในแบบกรูฟ (Groove) หรือ แจส (Jazz) จากนั้นจึงเลือกรูปแบบการสอดเสนสี ทั้งแบบ 3 เสน และ 5 เสน จัด เรียงความหนาบางไดตามชอบใจ แลวจึงเลือกสีพื้นซึ่งมีใหเลือกสไตลละ 10 สี และคละสีเสนไดจากตารางสีที่มีใหเลือกถึง 24 สี ผสมผสานจนเปนที่พอใจ หรือ จะเลือกจากแบบที่ดีไซเนอรคัดสรรมาบรรจุในแคตาล็อคใหแลวก็ ได คอลเลคชั่นเบรดเด็ด และ แรกไทม (Braided & Ragtime) ไดรับแรง บันดาลใจจากศิลปะการทอพรมจากเศษผาของยุโรป ใหความรูสึกอบอุนเหมือน

บาน จึงเหมาะกับโรงแรม โรงพยาบาล และ สถานประกอบการทีต่ อ งการบรรยากาศผอน คลาย เปนกันเอง คอลเลคชั่นเบรดเด็ดเปน พรมสีพื้นเอิรธโทนที่มีใหเลือกถึง 18 สี และ แรกไทม คือการนําพรมเบรดเด็ดมาแทรกเพิม่ เสนสีซึ่งเลือกสีเสนได 18 สีสดใส นอกจากนี้ การติดตั้งพรมแผนอินเต อรเฟซฟลอรที่ ใชนวัตกรรมไรกาวในการติด ตั้งดวยแทคไทลส (TacTiles®) ซึ่งเปนแผน โพลียูริเทนใสขนาดเล็กที่มีแรงยึดสูง ทําให การติดตัง้ เปนไปอยางงายดายและรวดเร็ว ผู ใชจึงสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดวาง พรมแผนไดทุกครั้งที่ตองการอ และดวยคุณสมบัตินี้ของแทคไทลส ประโยชนที่ ไดจึงมากกวาการปรับเปลี่ยนเพื่อความงดงาม แตยังใหความสะดวก ในการเคลื่อนยายดวย โดยเฉพาะในกรณีทเี่ กิดเหตุไมคาดฝน อยางเชนเหตุการณ น้าํ ทวมครัง้ ใหญในประเทศไทย คุณสมบัตนิ จี้ ะชวยปกปองธุรกิจจากความสูญเสีย ไดดวย

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

50 l February 2012

Energy#39_p48,50_Pro3.indd 50

19/1/2012 0:50


Take a Break

11 สิ่งประดิษฐสุดล้ํา

ที่ ไมควรคิดขึ้น จริงหรือ?? (ตอนจบ) February 2012 l 51

Energy#39_p51-53_Pro3.indd 51

1/13/12 10:30 PM


ฉบับที่แลวเราลุนระทึกไปกับความสนุกของความคิดอัจฉริยะของมนุษย ไปแลวในการประดิษฐคดิ คนสิง่ มหัศจรรยที่ ไมควรเกิดขึน้ บนโลกใบนี้ (จริงหรือ?) พรอมเหตุผล ไปรับชม 6 อันดับที่เหลือกันไดเลย...

อันดับ 6. Nanobots

Nanobots หรื อ นาโนบอดี้ เปนหุน ยนตขนาด เ ล็ ก จิ๋ ว สุ ด ที่ นั ก วิทยาศาสตรสรางขึ้น เพื่อ ทําหนาที่หลายอยาง ตั้งแต การชวยสังเคราะหโปรตีน ด ว ยกั น เอง ควบคุ ม ให ปฏิกริยาตางๆ เกิดขึ้นได เชน การเผาผลาญอาหาร การกําจัดสิ่งแปลกปลอม เปนตน ควบคุมการเขาออกของสารเคมีตางๆ ผานเซลล ไปจนถึงการทําหนาที่ เปนโครงสรางใหกับอวัยวะ หรือทําใหสัตวเคลื่อนไหวได ฯลฯ สงผลใหมนุษยเรา ไมมีโรคภัยอีกตอไป มะเร็งเปนโรคที่สูญพันธุ รางกายแข็งแรงตลอดกาล นอกจากนาโนบอดี้ มันมีคุณสมบัติเหลือเชื่ออีก คือมันสามารถพัฒนา ไปจนมีความฉลาดพอๆ กับมนุษยได ความสามารถในการประกอบตัวเอง และมันยังสามารถขยายพันธุไดดวย (Self Replication) แมนาโนบอดี้ จะเปน ของใหม แตตามที่ศึกษาภายในระยะเวลา 10 ป เราอาจมีนาโนบอดี้ที่สามารถ เลื้อยไปในรางกายของคุณทันทีโดยไมตองพึ่งหมออีกตอไป

เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด

นาโนบอดี้ อาจจะนําไปสูหายนะที่คาดไมถึง ถาสมมุตินาโนบอดี้ที่วาเกิด ทําสําเร็จ จนมันสามารถอยูอาศัยบนรางกายเราเรียบรอย และมันมีความฉลาด พอๆ กับมนุษย และถาเกิดเราตายลง แตเจาเทคโนโลยีบอดียังโปรแกรมทํางาน อยูโดยไมไดตาย พรอมกับเราละ อะไรจะเกิดขึ้น? แมสมองของเราจะตายแลว เจานาโนนี้ก็จะทํางานและมันจะทําการสรางรูปแบบระบบ ประสาทขึ้นมาใหม บังคับกลามเนื้อในรางกายของเรา แมรางกายจะผุเนาและสมองตายแลว แตซอมบี้ที่นาโนบอดี้บงการอยูก็ยังสามารถแคลื่อนไหวไดตามที่มันนึก เมื่ อ นาโนนี้ ถู ก โปรแกรมการเพิ่ ม จํ า นวนตั ว เอง (self-replicate) มันจึงตองการเพิ่มจํานวนและหารางใหม ดังนั้นมันเลยบงการรางนั้น กัดเหยื่อ ที่แข็งแรง เพื่อใหนาโนบอดี้ เขาไปติดตั้งในสมองเจาของบานใหมของมัน และมัน สามารถปดการทํางานของสมองเหยื่อรายใหมได และเมื่อสมองหยุดทํางานมัน ก็เปลี่ยนระบบประสาทใหม ทีนี้เราก็จะไดสมาชิกใหม ในกองทัพศักดิ์สิทธิ์ที่ ไมมีวัน ตายไดแลว

อันดับ 5. Weather Control

ยินดีตอ นรับสูอ นาคต เมื่ อ ความหิ ว โหยทั่ ว โลก จะได รั บ การแก ไ ข ชี วิ ต สังคมปกติสงบสุข เมื่อไมมี พายุเฮอริเคน หรือน้ําทวม เมื่อมนุษยสามารถควบคุม สภาพอากาศในระบบนิเวศที่

ละเอียดออนไดอยางงายดาย จนเรียกไดวามนุษยสามารถเอาชนะธรรมชาติได เทคโนโลยีนี้มีอยูจริง สหรัฐอเมริกาไดมีโครงการควบคุมสภาพอากาศนี้ วา โครงการฮารพ Haarp HAARP (High Frequency Active Auroral Research Project) คือ ศูนยวิจัยไอโอโนสแฟร (ionosphere คือ ชั้นบรรยากาศชวงที่อยู หางระหวาง 80-1,000 กิโลเมตร) ในมลรัฐอะแลสกา มีจุดมุงหมายสํารวจ ทรัพยากรชั้นบรรยากาศโลก เพื่อพัฒนาระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม โดย โครงการนี้ ส ามารถสร า งและควบคุ ม สภาพภู มิ อ ากาศได โดยการยิ ง คลื่นแมเหล็กไฟฟาความถีข่ ึน้ ไปทีช่ ัน้ บรรยากาศไอโอโนสเฟยร แลวใหสะทอนกลับ มายังพื้นผิวโลก ไปยังเปาหมาย ที่รวมไปถึงสงพลังงานนั้นลงไปสูชั้นหินใตดิน เพื่อกอใหเกิดแรงสั่นสะเทือนหรือแผนดินไหวนั่นเอง

เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด

ตางประเทศออกมาตอวา วาโครงการนี้เปนการสรางอาวุธที่จะสราง หายนะแกมนุษยชาติ เพราะมันทําใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน โดยมีคนกลาว หาสหรัฐอเมริกาวาเปนตนตอของหายนะในเฮติ จากการทดสอบอาวุธ อันกอให เกิดแผนดินไหวครั้งรายแรงที่คราชีวิตพลเรือนนับแสนคน ในป 1997 วิลเลียม โคเฮน รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐฯ ขณะนั้น แสดง ความกังวลตอเครื่อง HAARP นี้ ในกรณีที่มันสามารถกอความเปลี่ยนแปลง ทางสภาพอากาศ จุ ด ชนวนแผ น ดิ น ไหวและควบคุ ม การปะทุ ข องภู เ ขาไฟ ด ว ยคลื่ น แม เหล็ ก ไฟฟ า อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถประยุ ก ต ใช กั บ เทคโนโลยี ร ว มกั บ ดาวเทียม และเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อควบคุมกระแสลมกรด ซึ่งเปนกุญแจของ ธรรมชาติทจี่ ะนําพากลุม เมฆ น้าํ ฝน ความรอน ความแหงแลงและความหนาวเย็น และอื่นๆ อีกมาก ปจจุบนั โครงการฮารพกําลังอยูในขัน้ ตอนสุดทายของการขยายกําลังสง และคาดวาจะสรางเสร็จสมบูรณให ใชการไดเต็มที่ ในราวป 2549 (ปจจุบัน แนนอนคงใชไดอยางเต็มที่แลว) แมวามีหลายประเทศออกมากดดันใหสหรัฐ ยกเลิกโครงการนี้แลวก็ตาม

อันดับ 4. Genetic Engineering

จะเกิ ด อะไรขึ้ น เมื่ อ พันธุกรรมสามารถนําไปใช โดยไม ต อ งสนใจศี ล ธรรม เพื่อสรางมนุษยที่สมบูรณ แบบขึ้ น มา โดยไม มี ค วาม เสี่ยงโรคภัยหรือคงความ ผิดปกติหลังคลอด โดยไม ตองใชนาโนบอดี้ยุงยากเหลานั้น เหมือนในหนังเรื่อง Gattaca (1997) นอกจาก นั้นพันธุกรรมยังชวยในการแกปญหาการขาดแคลนอาหารและการสรางสิ่งมี ชีวิตในฝนตางๆ นานา เราเรียกวิชาเหลานี้วาพันธุวิศวกรรม (genetic engineering) หรือความ รูที่ ไดจากการศึกษาชีววิทยาระดับโมเลกุล (molecular biology) จนทําให สามารถประยุกตใชในการปรับเปลีย่ น เคลื่อนยาย หรือตรวจสอบสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) และผลิตภัณฑของสารพันธุกรรม (อารเอ็นเอและโปรตีน) การประยุกต ใชพันธุวิศวกรรมแบบหนึ่งที่รูจักกันอยางกวางขวาง ไดแก การเคลื่อนยายยีน (transgenesis) จากสิ่งมีชีวิตสปชีสหนึ่งไปสูสิ่งมีชีวิตอื่นในสปชีสเดียวกัน หรือ สปชีสอื่น ซึ่งทําใหเกิดการถายทอดยีนและลักษณะที่ยีนนั้นควบคุมอยู ทําใหเกิด

52 l February 2012

Energy#39_p51-53_Pro3.indd 52

1/13/12 10:31 PM


สิง่ มีชวี ติ รูปแบบใหม ซึง่ อาจไมเคยปรากฏในธรรมชาติมากอน ตัวอยางเชน การ ใสยีนสรางฮอรโมนอินซูลินเขาไปในแบคทีเรียหรือยีสต เพื่อใหผลิตสารดังกลาว ซึ่งสามารถนํามาสกัดบริสุทธิ์ เพื่อใชรักษาผูปวยโรคเบาหวาน เปนตน

เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด

ความจริงเทคโนโลยีดี แตหากนําไปใชโดยไมคํานึงถึงศีลธรรมและผลเสีย ที่ตามมาเปนเรื่องยุงแน การดัดแปลงมนุษยโดยพันธุกรรมอาจนําไปสูการ ทดลองในมนุษย การสรางสัตวประหลาดที่มีพลังวิเศษตางๆ ของสัตว หรือหาก นําไปใชกับอาหารของมนุษยจะเกิดความเสี่ยงตอผูบริโภคและสิ่งแวดลอมหรือไม เปนสิ่งที่ตองคิด

อันดับ 3. Holodecks

หลั ง จากที่ เ ครี ย ด จากที่ทํางาน เหนื่อยหนาย จากโลกภายนอก คุณเบื่อ ภรรยากั บ เด็ ก เหลื อ ขอ ทัง้ ๆ ทีพ่ วกเขาเปนลูกของคุณ คุ ณ อยากมี โ ลกส ว นตั ว สบายๆ อยูกับบาน เราขอ แนะนําเทคโนยีโลกสามมิติที่คุณสามารถพักผอนในทุงหญาแอฟริกา ทั้งๆ ที่อยู ในบาน คุณสามารถไปที่ ไหนก็ ไดโดยไมตองเดิน นอกจากนี้คุณยังสามารถเลน เกมสเสมือนวาเราไปอยูในโลกนั้นจริงๆ Holodecks เปนโลกจําลองเสมือนจริง มีแนวคิดจากนิยายสตารเกท เปนโลกจําลองที่สรางบนพื้นฐานของเทคโนโลยี 3D มีการจําลองสิ่งตางๆ ใน หองไดสมจริง ในนิยายจะเปนการจําลองการรบในอวกาศ และสามารถประยุกต ใชประโยชนดานตางๆ ทั้งการเรียนการสอนออนไลน ในพิพิธภัณฑออนไลน

เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด

สวรรค โอตากุดีๆ นี้เอง เพราะคุณสามารถเลนเกมสจีบสาวและไดสัมผัส สาวๆ ไดตามตองการ (แมมันจะเปน 3D ก็เถอะ) สงผลใหคนอยูแตในบานมากขึ้น กลายเปนคนไมเอาไหนมากขึ้น และทําใหเกิดปญหาครอบครัวตามมา

อันดับ 2. Replicators

นี้ คื อ สุ ด ย อ ด เทคโนโลยี ที่ ส ามารถแก ไ ข ปญหาใดๆ ในโลกไดทุกจุด ปญหาเรื่องความอดอยาก ปญหาดานพลังงาน ปญหา ก า ร ข า ด เ ว ช ภั ณ ฑ โลกสมบูรณแบบกําลังอยู

ในมือของเราแลว เทคโนโลยีปรากฏในสตารเกท เปนเครื่องที่สามารถสรางและรีไซเคิล สังเคราะหอาหาร (วัสดุอินทรียและอนินทรีย) หรืออะไรก็ตาม ไดโดยฉายแสง เลเซอร สแกนโมเลกุลขึ้นมา เชน คุณอยากกินไกยางเคเอฟซี คุณก็กดปุมวา อยากกินไกที่เครื่อง เครื่องก็จะคํานวณหาสวนประกอบแลวใชแสงสแกนโมเลกุล

ที่สามารถจับตองไดและ มีรสชาติขึ้นมา เทคโนโลยีมีการศึกษาและมีเทคโนยีวาอาจสามารถทําไดจริง โดนการจัด เรียงอนุภาค Subatomic ที่มีอยูมากมายหลายที่ ในจักรวาล เพื่อใหอยูในรูป โมเลกุลและจัดเรียงโมเลกุลนั้นเปนวัตถุ เชน อยากสรางหมูสับ จะตองมีฟอรม อะตอมคารบอน, ไฮโดรเจน ไนโตรเจน และจัดใหเปนกรดอะมิโนโปรตีนและเซลล เพื่อนําไปสูการสรางหมูสับขึ้นมา

เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด

มันคงจะวุน วายพิลกึ เมื่อมีคนดัดแปลง เทคโนโลยีเพื่อสราง ทองคํา ระเบิด สารพิษ ไวรัส แบคทีเรีย อีกทั้งเทคโนโลยียังไมสามารถเกิดเครื่องจริง เพราะมี ปญหาเหมือนเครื่องเทเลพ็อต

และอันดับที่ 1 ที่ทุก คนตั้งตารอ มันคือ ... Time Travel

ยังเปนความฝนของ มนุ ษ ย ม าช า นานที่ จ ะท อ ง เวลา ยอนเวลาเพื่อจะไปแก ป ญ หาในอดี ต เตื อ นภั ย อันตรายลวงหนา นําความ รู ใ นอนาคตมาใช ใ นอดี ต ชวงที่ธุรกิจของคุณตกต่ํา หรื อ งานวั น เกิ ด แม ย ายที่ คุณไปสายจนโดนดา เพียงแคคุณนั่งเครื่องแลวยอนเวลาเทานั้น หรือจะขามไป ดูอนาคตขางหนา การทองเวลายังคงเปนความฝนของนักวิทยาศาสตรทพ่ี ยายามเกิดขึน้ จริง บรรดานักวิทยาศาสตรรุน ใหมของโลกทีก่ าํ ลังทุม เทการวิจยั เรื่องนีก้ นั อยางหนัก และเริ่มมีเคาโครงของความเปนไปได เมื่อบรรดานักวิจัยจากแคลิฟอรเนียและ กรุงมอสโควประกาศออกมาแลววา การทองเวลา (Time Travel) นั้น มีความ เปนไปไดอยูทีเดียว !! ซึ่งพวกเคาไดสรางหองแล็ปที่เรียกวา TARDIS ขึ้นมา และเริ่มทดลองโดยนําพื้นฐานมาจากสมการของนักฟสิกสเอกของโลก อัลเบิรท ไอนสไตน (Albert Einstein)

เหตุผลที่ ไมสมควรเกิด

สวรรคของการกอการรายชัดๆ คุณสามารถเปลีย่ นอนาคตโดยใหเยอรมัน ชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 ฆาจอรชบุซเพื่อไมใหเกิดสงครามอิรัก หรือซื้อหวย โดยคุณรูลวงหนาวามันจะออกเลขอะไร หากการทองเวลาเกิดขึ้นจริง แลวถาใน อนาคตสรางไดจริง ... ทําไมลูกหลานถึงไมแวะเวียนมาหาเราบาง เปนไปไดไหม วาอนาคตการสราง ไทมแมชชีน (Time machine) ไมสาํ เร็จ หามสราง หรือไมวา ดวยเหตุผลใดก็ตาม เชื่อแนวา..ในอนาคตไมมี ไทมแมชชีนแนนอน ที่มา : จัดอันดับโดย http://listverse.com/2008/01/16/top-10-sci-fiinventions-that-should-not-be-invented/ ขอมูล แปลจากวีกพี เี ดีย : http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic. php?p=34449 Credit : cammy February 2012 l 53

Energy#39_p51-53_Pro3.indd 53

1/13/12 10:30 PM


Greenovation โดย : SuKiYaKi

Simplified Smartphone

การพับแบบสามทับของโทรศัพทมือถือประเภทสมารทโฟนจะมี ประโยชนมากกวาที่ใชกนั อยูท กุ วันนี้ โดยเปนครัง้ แรกของการออกแบบสมา รทโฟนของระบบปฏิบัติการ Windows 7 โดยจะมีการชารจแบตแบบใช พลังงานแสงอาทิตย การพับและการเลื่อนขึ้นเลื่อนลงของแปนพิมพและ อื่นๆอีกมากมายที่ปรับปรุงใหดีขึ้นเพื่อทําใหมันเปนโทรศัพทที่เจง นั้นยังไม อ อ ก สู ส า ย ต า ผู ค น ในเวลานี้ มือถือเครื่องนี้ออกแบบโดย Dave Schultze for SchultzeWORKS designstudio

Pump Up The Jam แนวคิ ด นี้ ม าจากแผ น ดิ ส ก ที่ เ สี ย หรื อ ไม ไ ด ใ ช แ ล ว โดยแผนดิสกท่ี ไมไดใชประโยชน นั้นจะนํามาถวงน้ําหนักของด รัมเบล โดยมันจะชวยผอนแรง ของท า สุ ภ าพสตรี ไ ม ต อ งใช แรงมากมายในการเปลี่ ย น แผนดิสกมากนัก ซึง่ แผนหนึง่ เฉลี่ ย อยู ที่ 15 กรั ม โดยจะทํ า การใส แ ผ นดิ ส กื ไว ที่ ป ลายเพื่ อ ถ ว งน้ํ า หนั ก ทั้งสองขาง ซึ่งทําใหทั้งประหยัดและไมเปลืองแรงในการเปลี่ยนมากมายอีกดวย ดรัมเบลนี้ออกแบบโดย Seung-il Kim

Socket Pop for Energy Savings

การถอดปลั๊กเครื่องใช้ ไฟฟ้านั้นเป็นวิธีที่ งายที่สุดในการอนุรักษประหยัดพลังงานและพวก เราก็ เ คยรู้ ม าว่ า มั น เป็ น เรื่ อ งเรารณรงค์ กั น มา ตั้งแตอดีต แตอยางไรก็ตามมันก็ ไมมีเตาเสียบ ที่สามารถทําอยางนั้นไดจริง แตก็มีอยางนึงที่ สามารถใชกับอุปกรณเครื่องใชไฟฟาไดนั่นก็คือ Eco-socket เตาเสียบอัตโนมัติที่สามารถชวย ลดการใชพลังงานได เพียงคุณเดงมันขึ้นมาเมื่อคุณไมตองการจะใชงาน และเมื่อตองการใชงานก็ เพียงแคดันมันลงไปใหติดกับเตาเสียบนั่นเอง ซึ่ง Eco-socket นี้ออกแบบโดย Ya-Hui Chi

54 l February 2012 Energy#39_p54-56_Pro3.indd 54

1/24/12 9:24 AM


Energy#39_p55_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/25/12

11:12 PM


DIY Soap

Re-Q เป็นเครื่องผลิตสบู่ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดลอมโดยทําจากน้ําลางเครื่องสําอางที่ ไม ไดใชแลวและสุดทายก็ ไปรวมกับเศษสบูกอนเล็กๆ เทานี้เราก็ ไดสบูกอนใหมแลว โดยการผลิตนั้นจะ แบงออกเปน 3 ขั้นตอน ทําใหน้ําเสียกลายเปนน้ํา สะอาดจากนั้ น ก็ ผ สมมั น กั บ เศษสบู แ ละผสมทุ ก อยางเขาดวยกันเทานี้เราก็จะไดสบูใหมแลว Re-Q ออกแบบโดยนักออกแบบชาวเกาหลี Jung Hwan Song และ Kim Jong Won

Bathing Suit for an Even Tan! การอาบแดดในสถานที่สวยๆ อยางฮาวายนั้นเปนเรื่องที่สาวๆ ทั้งหลายสนใจเปนอยางมาก บางคนกลาที่นอนทาแดดทาลมดวยรางกาย เปลือยเปลา แตบางทีก็มีอุปสรรคทันทีถาที่ ไหนมีปายวาหามเปลือยกาย จึงมีการแกปญหานี้ขึ้นมาโดยการรวมบิกินี่และแผงรับพลังงานแสงอาทิตย เขาดวยกัน โดยเมื่อรวมทั้งสองนี้เขาดวยกันจะทําใหผิวที่ ไดรับนั้นมีผิวสีแทนอยางทั่วถึง หากแตบางทีก็อาจจะมีขอเสียคืออาจจะกอใหเกิดมะเร็ง ผิวหนัง แตมันก็ยังดีกวาเสปรยที่ลางออกไดที่ ใชฉีดเพื่อทําใหผิวเปนสีแทนชั่วคราว และยังไดพลังงานสะอาดจาดแสงอาทิตยมาไวใชอีกดวย บิกินี่ พลังงานแสงอาทิตยตัวนี้ออกแบบโดย Jun-hyeon Kim

Safe Journey at Night!

SafetyDistance เปนสัญลักษณจราจรที่เปนพลังงานแสงอาทิตยโดยมันจะอยูตามขางทาง ขางถนน โดยมันจะชวยเพิ่มวิสัยทัศนและความปลอดภัยบนทองถนนยามค่ําคืน โดยกระบอกมันจะ ตรวจจั บ รถที่ ผ า นไปด ว ยรั ง สี อิ น ฟาเรดและไฟ สัญญาณเตือน โดยไฟทายรถคันแรกจะเตือนรถ คันที่สองและสามารถเวนระยะหางไดตามตองการ ขึ้นอยูกับระยะหางระหวางรถสองคัน โดยไฟสีแดง จะสวางขึ้นมาถาใกลกันมากเกินไป สีเหลืองหมาย ถึงใกลกัน สีเขียวหมายถึงอยูในระยะปลอดภัย และไฟจะดับลงเมื่อไมมีรถอยูบริเวณรอบๆ โดยจะชวย เพิ่มความปลอดภัยในทองถนนอีกดวย SafetyDistance นี้ออกแบบโดย Da Wei Xing 56 l February 2012 Energy#39_p54-56_Pro3.indd 56

1/24/12 9:25 AM


Green Space

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

Green Monkey ประกวด

วิ ดี โ อคลิ ป การจั ด กิ จ กรรมด า น สิ่งแวดลอมในสถาบันอุดมศึกษา เงื่อนไขการเขารวม ประกวด

ช ม ร ม นั ก ข า ว สิ่งแวดลอม ขอเชิญนิสิต นักศึกษาที่กําลังศึกษาอยู ในระดับอุดมศึกษา รวมสง ผลงานคลิปวิดีโอเขารวม ประกวดใน โครงการ ประกวดวิ ดี โ อคลิ ป การจั ด กิ จ กรรมด า นสิ่ ง แวดล อ มในสถาบั น อุดมศึกษา Green Monkey โดยผูส ง ผลงานเขาประกวดตองกําลังศึกษา อยูในระดับอุดมศึกษา ซึ่งเนื้อหาในคลิปวีดีโอที่จะสงประกวดนั้นตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของ กับการกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมในสถาบันที่ผูสงเขาประกวดกําลังศึกษา อยู โดยแสดงใหเห็นถึงความรวมมือในการจัดกิจกรรมดานสิ่งแวดลอม นั้นๆ โดยไมจํากัด Style ในการนําเสนอ และรูปแบบผลงานผูสมัครนั้น ตองถายทอดผลงานในรูปแบบ คลิปวิดีโอ ความยาวไมเกิน 5 นาที ขนาด ไฟลไมต่ํากวา 1080p ประเภทไฟล.mpg2 รางวัลสําหรับผูเขาประกวดมี 2 ประเภท ไดแก 1. ประเภทรางวัลจากคณะกรรมการ ตั ด สิ น จะได รั บ ใบประกาศนี ย บั ต รพร อ มเงิ น รางวั ล โดยจะได รั บ เงิ น รางวั ล 7,000 บาท 5,000บาท และ 3,000บาท ตามลํ า ดั บ 2. ประเภทรางวัลจากมหาชน เปนรางวัลพิเศษ ที่วัดจากผูเขาชมและกด like มากที่สุดจะไดรับใบ ประกาศนียบัตร

- ผลงานที่ ส ง เข า ประกวดต อ งไม ล ะเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ คั ด ลอกหรื อ ดัดแปลงผลงานผู้อื่นและ ไมเคยไดรบั รางวัลจากการ ประกวดประเภทเดียวกันนี้ จากโครงการอื่นมากอน - ผลงานที่สงเขาประกวดทุกชิ้นจะไดรับการอัพโหลดขึ้นเว็บไซต www.greennewstv.comในหนา green monkey และผลงานทุกชิ้นที่สง เขาประกวด ถือเปนกรรมสิทธิ์ของเว็บไซตกรีนนิวสทีวีดอทคอม

ระยะเวลาการประกวด

1 มกราคม – 31 มีนาคม 2555

วิธีการสงผลงาน

สงผลงานทาง Internet โดยการ Up load ขึ้น www.youtube.com และสง link มาที่ greennewstv@gmail.com ผูสนใจ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม พรอมขอรับใบสมัคร ไดที่ชมรมนักขาวสิ่งแวดลอม สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหง ประเทศไทย โทรศัพท 02-243 8739 หรือ www.greennewstv.com

February 2012 l 57 Energy#39_p57-58_Pro3.indd 57

1/24/12 9:30 AM


“เทศกาล ป น เ มื อ ง ”

Cycle-lizing Bangkok Fest เนื่องในโอกาส 20 ป มูลนิธิโลกสีเขียว เชิญรวมเปลี่ยนเมืองให นาอยูดวยพลังปนเปลี่ยนกรุงเทพฯ ในเทศกาล “ปนเมือง” Cycle-lizing Bangkok Fest โดยรวมกับ กรุงเทพมหานคร, FAT Radio, Bangkok Bicycle Campaign, สมาคมจักรยานเพื่อสุขภาพไทย, Bangkok Post, Post Today, Science Illustrated และ a day Foundation สนับสนุนโดย กลุม ปตท, SCG, Tesco Lotus, TMB ในวันที่ 25 กุมภาพันธ 2012 ณ อาคารบันเทิง สวนลุมพินี เวลา 16.00 - 20.30 น. จากความเชื่อที่วา เราทุกคนมีพลังเปลี่ยนแปลงสังคมได มูลนิธิ โลกสีเขียวจึงชวนทุกคนกาวยางสูทศวรรษใหมดวยความหวัง กับหลาก หลายกิจกรรมดลใจสูการปนเปลี่ยนกรุงเทพฯ ใหเปนเมืองเขียว ปลอด มลพิษ โดยพบกับคอนเสิรตประหยัดพลังงานแนวใหม ผูชมรวมออกแรง ปนไฟชมศิลปน ฮิวโก, ทีโบน (อะคูสติก), อพารตเมนตคุณปา, กอ ณฐพล ศรีจอมขวัญ และ Sqweez Animal พรอมหนังสั้นและกิจกรรมปนๆ ใหรูจัก กรุงเทพฯ ในมุมใหม ตบทายดวย Saturday Night Bike Fever ปนกลาง กรุงชมเยาวราชกลางค่ําคืนสําหรับผูรวมงานที่เดินทางมาดวยจักรยาน ซึ่งวิธีเขารวมงานนี้ก็แคเขาลิงก http://www.greenworld.or.th/ node/1514 เพื่อลงทะเบียนรับรหัสแตงตัวเพื่อโลกเขียว แลวเตรียมพกถุง ผากับภาชนะใสน้ําดื่มสวนตัวมาใชในงานและนํากลับบานไป ไมสรางขยะ พรอมกับเดินทางมารวมงานโดยจักรยานหรือขนสงมวลชน แคนีก้ เ็ ขางาน ไดแลว นอกจากนี้ มูลนิธิโลกสีเขียวยังรับอาสาสมัครปนจักรยานปนไฟ 60 คน ในงาน 20 ปมูลนิธิโลกสีเขียว วันที่ 24 ก.พ. 2555 เพื่อมารวมปน จักรยานที่ทีมงานจัดงานขอยืมจาก บริษัททัวรจักรยาน (แถวเยาวราช) เดิ น ทางไปสวนลุ ม ฯ เพื่ อ ใช้ จั ก รยานนี้ ติ ด ตั้ ง กั บ เครื่ อ ง ปน ไฟ และเริม่ ปน จักรยานปน ไฟ ในวันที่ 25 ก.พ. 2555 เมื่องาน คอนเสิรตเริ่ม ยิ่งปนเร็วไฟยิ่ง สว า ง อาสาสมั ค รสามารถ

กําหนดความสวางไดดวยรอบขาของตัวเอง งานคอนเสิรต ประมาณ 3 ชั่วโมง (และเมื่อเลิกงาน ตองปนไปคืนแถวเยาวราชดวย) สามารถสมัครไดโดยสงอีเมลไปไดที่ bikemap@greenworld.or.th หรื อ ติ ด ตามอ า นรายละเอี ย ดได ใ น http://www.greenworld.or.th/ bikemap/1617 โครงการดีๆ สําหรับคนรักสุขภาพและรักโลกแบบนี้ หามพลาด กันเลยทีเดียวนะคะ

58 l February 2012 Energy#39_p57-58_Pro3.indd 58

1/24/12 9:30 AM


Energy#39_p59_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

1/25/12

11:15 PM


Green Vision โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“ธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอม” ธุรกิจที่ดีไปถึงเปลือก

ยังคงอยูกันที่งานมอบรางวัล E-idea Competition Thailand 2011 กับการเสวนาในหัวขอ “จับตามองธุรกิจสีเขียว Eco-Business : Trend and Future” ที่ ค ราวนี้ เ ราได ม ารั บ ฟ ง แนวคิ ด ดี ๆ จาก คุณทรงกลด บางยี่ขัน บรรณาธิการนิตยสาร a Day หรือ คุณกอง ที่ ไดมานําเสนอมุมมองเรื่องธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมในบทบาทของความเปน สื่อไวอยางนาสนใจ “ผมวาธุรกิจสีเขียวมันมาพรอมกับแพคเกจความเปนสีเขียว เพราะ เกิดจากสิ่งที่เรียกวาความเปนสีเขียวกอน และหลังจากนั้นทุกอยางมันก็ เลยเขียวตาม ไมวาจะเปนเรื่องของธุรกิจ การศึกษา การอยูการกิน มันก็ เขียวตามหมด ผมมองกลับไปถึงโลกวามันเติบโตขึ้น คนเราก็มีการเรียนรู ตลอดเวลา สิ่งที่ดีกวาคือการอยูดวยกับกับโลกใบนี้อยางมีความสุข คนไม เบียดเบียนกัน ภาพรวมมันก็คือการใชชีวิตเปนอันหนึ่งอันเดียวไปกับโลก ประเทศไทยเองนั้นองคความรูมีพรอม เทคโนโลยีมีพรอม แตคนยังไม พรอม” คุณกองกลาว เมื่อถามวา เราควรจะเริ่มขับเคลื่อนธุรกิจสีเขียวใหคนมาสนใจได ดวยวิธีไหนไดบาง คุณกองกลาววา ผมคอนขางเชื่อวาโลกถูกพัฒนาโดย ผูบริโภค คือผูบริโภคชอบอะไร ซื้ออะไร สินคาเหลานั้นก็จะอยูรอด ถาวัน หนึ่งผูบริโภครูสึกวาสินคาอันนี้ ไมเอา สินคานั้นก็ขายไมได แตตอนนี้มันก็ เปนเทรนที่วา ผูบริโภคเริ่มตระหนักถึงเรื่องผลกระทบตอโลก และโรงงาน บางโรงงาน สินคาบางแบรนดที่มีชื่อไมดีเรื่องสิ่งแวดลอม ผูบริโภคก็เลือก ไดวาเคาจะไมสนับสนุน ถาบานเรามีไฟฟาใหเลือกหลายยีหอ มียี่หอที่ทํา จากพลังงานสะอาด ยี่หอที่ทําจากพลังงานสกปรก ถาเราเลือกไดเราก็จะ เลือกพลังงานสะอาด เพราฉะนั้นนอกจากเราจะมีพลังในการเลือก เราควร มีทางเลือกดวย ตั้งแตสิ่งที่ ใหญอยางสินคาอุปโภคตางๆ รวมถึงสิ่งเล็กๆ อยางอาหาร “ผมว า ความคิ ด ของคนสมั ย นี้ เปลี่ ย นไปมากแล ว เขามองเรื่ อ ง Green เปนเรื่องเท มองเปนเทรนดแลว คือกรีนไมใชเรื่อง New Go ในแง ธุรกิจอีกตอไปแลว คือสไตลที่คนรูสึกวาดี ดีในแงเทสวนหนึ่ง แลวยังดีใน แงที่มันเปนความดีที่ ไมใชแคเปลือกแกวามันดีไปถึงแกน ความรูสึกวาบาง ครั้งความตองการของผูบริโภคมันสรางใหเกิดสิ่งตางๆ แตบางครั้ง ผูผ ลิตก็ตอ งอยาฟงผูบ ริโภค เพราะในบางครัง้ ผูบ ริโภคเขาไมมที างรูห รอก วาตัวเองตองการอะไร นักธุรกิจนั้นตองไปไกลกวาผูบริโภค อานใหขาดวา

คุณควรจะทําอะไรที่ผูบริโภคจะชอบ” “ผมเคยเห็นหลายคนบนวาสินคาทีเ่ ปน Green แพง มันก็เกิดคําถาม ที่วา ทําไมสินคาที่เปน Green นั้นแพงไมได คนก็มองวาราคาตองเทากัน หรือไมก็ถูกกวา ก็ลองถามกลับไปวา เวลาที่คุณซื้อเสื้อสักตัวในหางนั้น คุณเลือกยี่หอถูกสุดหรือเปลา คําตอบคือไมใช ถาอยางนั้นสินคา Green คุณก็สามารถจายเพิ่มเพื่อมันได ถาคุณเห็นประโยชนของมัน” คุณกอง กลาวทิ้งทาย

60 l February 2011

Energy#39_p60_Pro3.indd 60

1/25/12 11:04 PM


Energy Tezh โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย

Zeolite ตัวกรองน้าํ มันประหยัดพลังงาน ในกระบวนการกลั่ น น้าํ มันดิบ จําเปนตองมีการกรองน้าํ มันเพื่อ แปรูปเปนผลิตภัณฑหลายๆ อยาง เชน น้ํามันเชื้อเพลิง, พลาสติ ก และป โ ตรเคมี ภั ณ ฑ ต า งๆ ต อ งผ า น กระบวนการขั้นตอนที่ยุงยากและซับซอน ซึ่งแนนอนวากระบวนการเหลานั้นลวน เป น กระบวนการที่ ต อ งใช พ ลั ง งาน มากมายเชนกัน มิหนําซ้ํายังเปนตัวที่สง เสริมใหมีการปลอยกาซคารบอนฯ เพิ่ม มากขึ้นไปอีก ที ม นั ก วิ จั ย ของมหาวิ ท ยาลั ย มิ น นิ โ ซตาได ทํ า การออกแบบอุ ป กรณ พิเศษที่ทําหนาที่เปนเสมือนตะแกรงเพื่อ ดักจับโมเลกุลของน้ํามันดิบ ซึ่งโมเลกุลดังกลาว สามารถนําไปทําการผลิตน้ํามันเชื้อเพลิง, พลาสติกและปโตรเคมีภัณฑ ตางๆ ซึ่งนอกจากชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการกรองใหมากขึ้นแลว ยัง ชวยประหยัดพลังงานในกระบวนการกลั่นไดอีกดวย ศาสตราจารย Michael Tsapatsis อาจารยภาควิศวกรรม เคมีและวัสดุวิทยาศาสตร วิทยาลัยวิทยาศาสตรและวิศวกรรมผูนํา ทีมวิจัย หลังจากใชเวลาคนควากวา 10 ปทีมงานก็ ไดพัฒนาซีโอไลทแผน ฟลมขนาดเล็กระดับอนุภาคนาโน โดยแผนฟลมดังกลาวสามารถเพิ่ม ความเร็วในกระบวนการกรองและใชพลังงานนอยกวาระบบที่ ใชกันอยูใน ปจจุบัน ศาสตราจารย Michael กลาววา “นอกเหนือจากการวิจัยเกี่ยวกับ เชื้อเพลิงทดแทนใหม, สารเคมีและพลาสติกธรรมชาติ เรายังเขาตองไปดู ถึงกระบวนการผลิตเหลานี้ ซึ่งตอนนี้เราพยายามที่จะหาวิธีที่จะประหยัด พลังงานในสวนของภาคการผลิต”

ปจจุบันกระบวนการกรองน้ํามันมีการใชพลังงานราว 15% ของ พลังงานทั้งหมด ซึ่งเปนพลังงานที่จําเปนตองสูญเสียเนื่องจากความไมมี ประสิทธิภาพของกระบวนการกรอง การใชวิธีการแยกโมเลกุลเปนหนึ่งวิธี ที่ ไดรับความสนใจ แตก็ตองใชการลงทุนที่สูงมาก ขณะที่การใชแผน ซีโอไลทในการกรอง นอกจากจะชวยลดตนทุนในกระบวนการดังกลาว ยังชวยลดการใชพลังงานอีกดวย นักวิทยาศาสตรและนักวิจัยยังคงทําการทดลองและคนควาเพื่อ พัฒนาแผนซีโอไลทใหมีประสิทธิภาพการใชงานที่มากขึ้น มีความเสถียรใน การใชงานที่มากขึ้นและใหมีขนาดหลากหลายเหมาะกับงานในทุกรูปแบบ การวิจัยดังกลาวยังไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงพลังงานสหรัฐฯ อีกดวย

February 2012 l 61

Energy#39_p61_Pro3.indd 61

1/25/12 12:25 AM


Environment Alert http://bleedinzorrow.exteen.com/20091113/entry

โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

ถอดบทเรียน.... ภัยพิบัติ ในปทีผ่ า นมา จนถึงปปจ จุบนั เราตองยอมรับภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ มีความรุนแรง และเพิ่มความเสียหายในทั่วภูมิภาคของโลกตลอดจน ประเทศไทยเอง ตองทําใจวาในอนาคต เราคงตองเผชิญหายนะจากภัย พิบัติทางธรรมชาติอีกมากมาย บทเรียนทีผ่ า นมาจะเห็นไดวา ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ทีม่ คี วามรุนแรง ไมสามารถคาดการณไดชัดเจนและแนนอนวาจะเกิดอยางไร รุนแรงแคไหน และเมื่อไร พบวาเมื่อเผชิญสถานการณ ตองบรรเทา และดําเนินการเผชิญ เหตุอยางมีสติ และอยากจะถอดบทเรียนจากการพัฒนาประเทศที่เนนการ พัฒนาทางเศรษฐกิจนําการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต วิกฤติการณ ภั ย พิ บั ติ ที่ ก ล า ว ถึ ง ม า จ า ก ก า ร ก ร ะ ทํ า ใ น อ ดี ต ก า ร ทํ า ล า ย ทรัพยากรธรรมชาติ ปาไม พื้นที่รองรับน้ํา จนปจจุบันเกิดภาวะทุกขยาก จากภาวะภัยพิบัติตางๆ ที่รุนแรง และหมายถึงวิกฤติการณของโลกใบนี้ที่ ชี้ ใหเห็นความลมเหลวในการจัดการ การใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม มีการแขงขัน การลงทุนที่ใช ทรัพยากรธรรมชาติจนเกินศักยภาพและกระทบตอสมดุลในระบบนิเวศ ปริมาณปาไม แหลงน้ําลดลงอยางมากจนเกิดภาวะขาดแคลนน้ํา ในหลาย ประเทศจึ ง ให ค วามสํ า คั ญ ต อ การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable

Development) อยางจริงจัง ดวยเห็นวาภัยพิบัติที่เกิดขึ้น เปนผลจากการ พัฒนา การใชทรัพยากรธรรมชาติอยางไมคุมคาเกินกวาที่จะฟนคืนสภาพ แวดล อ มให ก ลั บ มาดี ดั ง เดิ ม ที่ ก ล า วถึ ง ความขั ด แย ง การใช ทรั พ ยากรธรรมชาติ หมายถึ ง ความขั ด แย ง ที่ ม นุ ษ ย มุ ง ใช ทรัพยากรธรรมชาติจนลืมการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมจนเปน ปญหาในปจจุบัน จากความสัมพันธของการใชทรัพยากรธรรมชาติจนเกิดความขัดแยง ของกลุมอนุรักษนิยม กับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม พลังงานและ การขนสง มีการประทวงไปทั่วโลกที่กลาวถึงการพัฒนาที่ ไมยั่งยืนของ หลายประเทศ การใชประโยชนจากทรัพยากรจนยากที่จะเยียวยากลับคืน ผลกระทบที่เกิดขึ้นจนเปนภาวะที่เกิดขึ้นปจจุบันก็มาจากอดีตที่ละเลยการ รั ก ษาสภาพแวดล อ มพร อ มกั บ การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม เช น ยุ ค อุตสาหกรรมในแถบยุโรปจนเกิดปญหามลพิษทางน้ําและอากาศ หรือที่ ประเทศญี่ปุน ปลอยน้ําเสียโรงงานอุตสาหกรรมที่ปนเปอนสารปรอท จน เกิดโรคพิษจากสารปรอท ที่อาวมินามาตะ จนเรียกชื่อโรคที่เกิดขึ้นจากการ แพพิษสารปรอท วาโรคมินามาตะ การเกิดภัยพิบัติที่สําคัญไดแกการเกิด พายุ น้าํ ทวม การเกิดสึนามิ มีหลายสํานักที่ ไมอยากใหเชื่อมโยงการพัฒนา

62 l February 2012 Energy#39_p62-63_Pro3.indd 62

1/24/12 9:36 AM


กับการเกิดภัยพิบตั ิ เนื่องจากเสนอความคิดเห็นวาเหตุการณตา งๆ ทีเ่ กิดขึน้ มาจากภาวะทางธรรมชาติปกติที่เวียนมาบรรจบครบรอบการเกิดซ้ํา การถอดบทเรียน ภัยพิบตั ทิ ีเ่ กิดขึน้ ในขณะนีจ้ งึ มาจากฐานการ วิเคราะห 5 ดานไดแก 1. ประชาชนยังไมมีความตระหนักและจิตสํานึกในการอนุรักษ รักษาทรัพยากรธรรมชาติ เพราะมองเปนเรื่องไกลตัว ประชาชนยังไม ตระหนั ก เนื่ อ งจากไม มี ค วามรู ค วามเข า ใจต อ ป ญ หาการพั ฒ นากั บ วิ ก ฤติ ก ารณ ท างธรรมชาติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เช น การทํ า ลายต น น้ํ า ลํ า ธาร สูภาวะอุทกภัย การทําลายชายฝงโดยการสรางทาเรือ กอใหเกิดการ กัดเซาะชายฝง ความสัมพันธของปรากฏการณตางๆ กับการพัฒนาที่มี ผลกระทบทางลบตอประชาชน 2. ระบบเศรษฐกิจของโลกที่เนนกระแสการไหลเวียนของทุน การลงทุนขามชาติที่ ไมคํานึงถึงการจัดการสิ่งแวดลอมที่มีประสิทธิภาพ มีสิทธิประโยชนตางๆ ที่ ไดรับมา ที่เนนผลกําไรจากการลงทุนเปนประเด็น หลัก ไมสนใจการพัฒนาคุณภาพสิง่ แวดลอมจากผลกระทบโครงการทีเ่ กิด ขึน้ อยางจริงจัง โดยเฉพาะโครงการพัฒนาพืน้ ทีข่ นาดใหญ การสรางนิคม อุตสาหกรรมกีดขวางทางน้ํา การขยายตัวของเมืองในเขตพื้นที่รองรับน้ํา จากการเติบโตและการลงทุนมหาศาลจนเกิดปญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ ที่ ไม ส ามารถจะเยี ย วยาได เช น ที่ เ กิ ด อุ ท กภั ย ในภาคกลางและ กรุงเทพมหานคร เปนตน 3. ไม ใหความสําคัญตอการติดตามภัยทางธรรมชาติที่จะมี ผลกระทบตอประชาชนอยางจริงจัง เพื่อทีจ่ ะไดพฒ ั นามาตรการปองกัน มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและมีผลในทางปฏิบัติ การติดตามสถานการณตองพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับภูมิประเทศ ทิศทางมรสุม แผนดินไหว ความแมนยําและคาดการณที่มีความถูกตอง มากขึ้น เปนสิ่งจําเปน 4. การกระจายตัวของประชากรในแตละประเทศ ความมีอิสระ และเสรีภาพตอการบุกรุกพื้นที่ปา แหลงทรัพยากรตางๆ ในรูปสัมปทาน ลวนแตเปนตัวเรงในการทําลายสภาพแวดลอมในปจจุบันและอนาคตอยาง รวดเร็วและรุนแรง

http://www.golivepaper.com/th/archives/1141

http://www.siangtai.com/new/index7.php?name=hotnews&file=readnews&id=4976

5. ในการประชุมรวมกันหลายครั้งในระดับผูนําของแตละชาติ มองผลประโยชนของชาติตนเปนสําคัญมากกวาจะรวมกันอยาง จริงจังในการปกปองสิ่งแวดลอม การรวมมือกันรักษาสภาพแวดลอม การฟนฟูสภาพแวดลอมที่สูญเสียจากการพัฒนา ดังนั้นการประชุม ระหวางประเทศ จึงจบลงที่การประชุมที่ ไมไดมีผลในทางปฏิบัติเทาไร สุดทายนีจ้ ากการพัฒนากับความขัดแยงการใชทรัพยากรธรรมชาติ จะเปนวิกฤติของอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และความรุนแรงจนเปน สงครามไดอกี สาเหตุหนึง่ การแยงชิงทรัพยากรทีจ่ ะเกิดเปนสงครามระหวาง ประเทศ จากภาวะภัยทางธรรมชาติ ความแหงแลงและอุทกภัยจะเปนประเด็น สําคัญที่จะเปดสงครามโลกครั้งที่ 3 อาจเปนได สุดทายนี้ ความหวังของมนุษยชาติ คือการอยูรวมกันอยางสงบสุข การอยูรวมกับธรรมชาติ มีการพัฒนาที่ยั่งยืน ความพออยู พอเพียง อยางมีความสุข นาจะเปนความหวังรวมกันระหวางประเทศ ทุกประเทศควร ตั้งเปาที่ชัดเจนมากกวาที่เปนอยู มีการปรับตัวที่จะรับมือกับภัยพิบัติตางๆ ที่จะเกิดขึ้นอยางมีสติ ซึ่งวันนี้ตองทําอยางจริงจัง เพื่ออนาคตวันขางหนา เพื่อรุนลูกหลานของเราจะไดอยูอยางมีความสุข

เอกสารอางอิง คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คูม อื Growing green with green กรุงเทพฯ ธันวาคม 2552 สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เอกสาร รายงานประชุมประจําป 2554 ศูนยประชุมอิมแพค เมืองทองธานี จ.นนทบุรี กรกฎาคม 2554 February 2012 l 63

Energy#39_p62-63_Pro3.indd 63

1/24/12 9:34 AM


Renergy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ฟ ลิ ป ป น ส

ณ โรงแรม มากาติ แชงกรีลา กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 17 – 18 พฤศจิกายน 2554 ที่ผานมา โดยเชิญวิทยากร นักธุรกิจและผูสนใจในเอเซียที่ทาง KOTRA มีสํานักงานอยู รวมทั้งสิ้น 11 ประเทศ ซึ่งรวมถึงประเทศไทยดวย สาธารณรัฐฟลปิ ปนส เปนประเทศแบบหมูเ กาะ อยูท างดานตะวันออก ของประเทศไทย ระยะทางโดยเครื่องบินจากประเทศไทยประมาณ 3 ชั่วโมง และเวลาเร็วกวาประเทศไทยเรา 1 ชัว่ โมง มีพืน้ ที่ 298,970 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 93 ลานคน ภาษาราชการคือภาษาอังกฤษและ ตากาลอก มีผลผลิตมวลรวมประเทศ (GDP) เมื่อป พ.ศ. 2553 อยูที่ 158.7 พันลานเหรียญสหรัฐ ประเทศไทยนําเขาสินคาหลายประเภทจาก ฟลปิ ปนส เชน แผงวงจรไฟฟา ชิน้ สวนประกอบและอุปกรณยานยนต สินแร โลหะ และอื่นๆ รวมทั้ง เศษโลหะและผลิตภัณฑ เครื่องจักรไฟฟา แตละสวน ประกอบดวยเครื่องมือเครื่องใชเกี่ยวกับวิทยาศาสตร เปนตน ปจจุบัน ประเทศไทยเรายังไดเปรียบดุลการคากับฟลิปปนสอยูราว 2,510 พันลาน เหรียญสหรัฐ ความนาลงทุนของฟลิปปนสอยูที่มีประชากรคอนขางมาก และสวนใหญใชภาษาอังกฤษไดดี แรงงานมีความรูดานไอที มีทรัพยากรที่ ยังไมไดนํามาใชประโยชนอีกคอนขางมาก ฟลิปปนสเปนประเทศกําลัง พัฒนาที่อาจเรียกวา “รวยกระจุก จนกระจาย” ประเทศหนึ่ง แตปจจุบัน ประชากรมีรายไดดีขึ้น เนื่องจากมีแรงงานเดินทางไปตางประเทศและนํา รายไดกลับเขามาเปนจํานวนมาก ถึงแมฟล ปิ ปนสจะขาดเอกลักษณและตัวตน ของประเทศเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย แตฟลิปปนสก็มีประสบการณ อันโชกโชนในการทํางานกับตางประเทศ เชน มหาอํานาจอยางสเปนมา 337 ป และ สหรัฐอเมริกามากวา 50 ป

กั บ ความน า ลงทุ น ใน โครงการพลังงานทดแทน เมื่อทุกคนรูวาพลังงานจากฟอสซิลกําลังจะหมดไปในไมชาก็เร็ว สายตาทุกคูข องผูม องการณไกลจึงจับจองไปทีพ่ ลังงานทดแทน โดยเฉพาะ อยางยิ่งที่เปนพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) สํานักงาน พาณิชยเกาหลีฟล ปิ ปนส (KOTRA: Korea Trade-Investment Promotion Agency) ก็เชนกัน ไดรวบรวมขุนพลนักพัฒนาโครงการและนักลงทุน พลังงานทดแทน รวมกับกรมพลังงานฟลปิ ปนส (Department of Energy) จัดงาน Asia-Korea Renewable Energy Partnership Forum 2011 ขึน้ 64 l February 2012 Energy#39_p64-65_Pro3.indd 64

1/24/12 9:39 AM


ดานพลังงานและพลังงานทดแทน

หากเปรี ย บเที ย บแหล ง ที่ ม าและการใช พ ลั ง งานกั บ ประเทศไทย ฟลิปปนสอาจมีความมั่นคงกวา จากความหลากหลายของแหลงพลังงาน เชน พลังงานน้าํ พลังงานความรอนใตพภิ พ และพลังงาน ชีวมวล ซึง่ มีเศษ เหลือทิ้งจากภาคเกษตรมากมาย นอกจากนี้จากสภาพภูมิประเทศที่เปน หมูเ กาะ มีกระแสลมคอนขางสม่าํ เสมอตลอดทัง้ ป จึงมีความเปนไปไดในการ ผลิตกระแสไฟฟาจากกังหันลมกวา 70,000 MW กอน สําหรับ Solar PV ขณะนีต้ ดิ ตัง้ และผลิตไฟฟาแลวประมาณ 500 MW เพื่อใหเห็นภาพชัดยิง่ ขึน้ ลองศึกษาสัดสวนการใชพลังงานในป พ.ศ. 2553 จากตารางดานลาง

การสงเสริมดานพลังงานทดแทน

ฟลปิ ปนสมกี ารตื่นตัวดานพลังงานทดแทนหลังประเทศไทยไมมากนัก ถึงแมหนวยงานดานพลังงานจะยังไมเปนกระทรวง โดย กรมพลังงาน (DOE: Department of Energy) เปนผูด แู ลทัง้ หมดเหมือนไทยเราเมื่อหลาย ปกอน แตบทบาทและหนาที่โดยเฉพาะแนวคิดในการสงเสริมพลังงาน ทดแทนก็ ไม่แพ้ประเทศใดในอาเซียน มีการตั้งองค์กรอิสระขึ้นมาเพื่อ พิจารณาอัตราสวนเพิ่มของการขายพลังงานใหกับภาครัฐ และดูเหมือน ทุกอยางกําลังเดินหนากาวขามอุปสรรคทางดานการเมือง อยางไรก็ดี จากการไดมีโอกาสเขารวมงานสัมนาครั้งนี้ ในฐานะตัวแทนประเทศไทย และเปนวิทยากรเห็นวา พลังงานทดแทนดานกาซชีวภาพและการแปลงขยะ เปนพลังงานของประเทศฟลิปปนสยังเพิ่งจะเริ่มตน นาจะเปนโอกาสของ นักลงทุนไทย

KOTRA และ ฟลิปปนส ไดอะไรจากการประชุมครั้งนี้

ประเทศฟลิปปนสติดอันดับ 9 (54โครงการ) ของประเทศที่มี โครงการที่ขอขึ้นทะเบียนการซื้อขายคารบอนเครดิต (CERs) มากที่สุด [อันดับ 1 คือประเทศจีน จํานวน 1,443 โครงการ] ใครหลายคนอาจไม ทราบวาประเทศฟลิปปนสมีพลังงานลมใชเปนอันดับหนึ่งของเอเซีย สิ่งที่ ฟลิปปนสตองการมากที่สุดขณะนี้คือเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทน ทีท่ นั สมัย ใชไดกบั วัตถุดบิ (Feedstock) หลากหลาย และราคาสมเหตุสมผล ตองการเพิ่มปริมาณการผลิตเอทานอล และไบโอดีเซลจากเดิม 2-10 %

เปน 20% เพื่อใหสอดคลองกับแผนการใชพลังงานทดแทนที่จะเพิ่มขึ้น 200% ภายในป ค.ศ. 2030 ดวยเหตุนี้เอง จึงมีการจัดตั้งองคกรรัฐรวม เอกชนเพื่อกําหนดและเสนอแผนการใหอัตราสวนเพิ่มที่เหมาะสมตอรัฐบาล กรมพลังงานฟลิปปนสไดรวบรวมขอมูลการลงทุนดานพลังงานของ ฟลิปปนสซึ่งเปนแผน 20 ป (ค.ศ. 2010-2030) ไวดังนี้

ความตองการการลงทุนในฟลิปปนส (ค.ศ. 2010 – 2030)

จากการสัมนาในครั้งนี้พบวา มีนักธุรกิจจากประเทศเกาหลี ใตมา ดําเนินธุรกิจดานพลังงานทดแทนในประเทศฟลิปปนสเปนจํานวนมาก โดย สวนใหญจะเนนไปในดานพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงาน ชีวภาพ และการซื้อขายคารบอนเครดิต โดยไดรับเกียรติกลาวเปดงานโดย เอกอัครราชฑูตเกาหลี ประจําประเทศฟลิปปนส และปลัดกรมพลังงาน ฟลิปปนส ในงานสัมนาพลังงานทดแทนที่จัดขึ้นครั้งนี้แตกตางจากครั้งที่ ผานมาเนื่องจากมีทั้งนักลงทุน ผูพัฒนาโครงการ ผูรับเหมา และผูผลิต สินคาและเทคโนโลยีดานพลังงานทดแทนเขารวมมากกวาครั้งกอนกอน เนื้อหาของการสัมมนาในครั้งนี้เปนการเชิญชวนใหเจาของเทคโนโลยี และ นักลงทุนเขามาลงทุนธุรกิจดานพลังงานทดแทนในฟลปิ ปนส เนื่องจากเปน ประเทศกําลังพัฒนาและเทคโนโลยีดา นพลังงานทดแทนในปจจุบนั ยังมีนอ ย หรือมีราคาสูง แตศักยภาพการผลิตพลังงานมีมากมาย นอกจากนี้ ประเทศฟลปิ ปนสยงั มีพระราชบัญญัตสิ ง เสริมธุรกิจพลังงานทดแทนตัง้ แต ป ค.ศ. 2008 และมีการสนับสนุนดานการลงทุนคลายกับ BOI ของ ประเทศไทยเรา ฟลิปปนส ประเทศที่มากดวยทรัพยากรธรรมชาติ และเคย เจริญกวาประเทศไทยมากอน จากปญหาดานการเมืองอยางยาวนาน ทําใหการพัฒนาในหลายๆ ดานหยุดชะงักลง หากฟลิปปนสจะสราง เสนห ใหชาวตางชาติไปลงทุน นอกจากปญหาดานการเมืองภายใน ประเทศเองแลว ควรใหความสนใจในดานภาษี กฎระเบียบ ความ โปรงใส ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน เพียงเทานี้ถนนการ ลงทุน ทุกสายก็มุงหนาสูฟลิปปนส… Mabuhay

February 2012 l 65 Energy#39_p64-65_Pro3.indd 65

1/24/12 9:39 AM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า น้ํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

การจัดการของเสียดวยแนวคิด

“Zero Waste หรือ ของเสียเหลือศูนย” (ตอนจบ) มาพบกันกับภาคตอของเรื่องการจัดการของเสียดวยแนวคิด “Zero Waste หรือ ของเสียเหลือศูนย” ในครั้งนี้เราจะไปดูแนวคิดการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชนแบบของเสียเหลือศูนยกันครับ

แนวคิ ด การจั ด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชนแบบ Zero Waste

การจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste ก็เปนรูปแบบของการ จัดการขยะที่สงเสริมแนวคิดที่วา “ ของเสีย เกิดที่ ไหน ควรคัดแยกและ

สงเสริมการนํากลับมาใชประโยชนใหมากที่สุดที่นั่น” สําหรับกรณีของขยะ มูลฝอยชุมชน สามารถพิจารณาการคัดแยกขยะออกเปน 4 ประเภทดังนี้ ขยะอินทรียไดแกเศษอาหาร เศษกิ่งไม ใบไม สามารถนํามาหมักทําปุยหรือ ผลิตกาซชีวภาพรวมกับปุยน้ําชีวภาพได ขยะรีไซเคิลไดแก เศษโลหะ ขวดแกว พลาสติก กระดาษสามารถคัดแยก รีไซเคิลไดโดยผานรูปแบบ การใชซ้ํา การนํามาจําหนายใหกับรานรับซื้อของเกาหรือธนาคารขยะ รีไซเคิล การบริจาคแบบการทอดผาปารีไซเคิลหรือมอบใหกับสมาคมหรือ มูลนิธจิ ติ อาสา ซึง่ แมแตในประเทศญีป่ ุน ก็มสี มาคมนักศึกษาตางชาติทีช่ ว ย

66 l February 2012 Energy#39_p66-67_Pro3.indd 66

1/24/12 9:43 AM


รับขาวของเครื่องใชที่ ใชแลวของนักศึกษาที่จบการศึกษาและกลับประเทศ ของตนเอง มาเก็บไวในสถานทีพ่ กั วัสดุใชแลวและสงมอบตอใหกบั นักศึกษา ต า งชาติ ที่ เ พิ่ ง มาใหม ไ ด นํ า ไปใช ป ระโยชน ต อ โดยไม ต อ งไปซื้ อ ใหม เปนการชวยการลดการเกิดของเสียและสงเสริมหลักการใชซ้ําและนํากลับ มาใชใหมไดเปนอยางดี ขยะพิษหรือขยะอันตรายไดแกกระปองสีสเปรย กระปองยาฆาแมลง น้ํายาสารเคมีในการซักลางตางๆ จําเปนตองคัดแยก และเก็บรวบรวมเพื่อสงไปกําจัดหรือรีไซเคิลอยางถูกวิธีตอไป ซึ่งมีหลาย โครงการในประเทศไทยที่สงเสริมการคัดแยกขยะพิษไดแกโครงการขยะพิษ แลกแตม สําหรับขยะทัว่ ไปไดแกขยะทัว่ ไปทีป่ นเปอ นและไมเหมาะสมในการนํา กลับมาใชใหม

การมีสวนรวมของชุมชนในการมุงสู Zero Waste

ในการจัดการขยะมูลฝอยแบบ Zero Waste นั้น จําเปนตองไดรับ ความร ว มมื อ จากทุ ก ภาคส ว นจึ ง จะประสบความสํ า เร็ จ ได การสร า ง จิตสํานึกจําเปนตองดําเนินการตั้งแตวัยเด็ก เยาวชน นักเรียน ผูใหญ เพื่อ ใหพวกเขาเหลานั้นมีความรู ความเขาใจและมีจิตสํานึกตอปญหาสาธารณะ อันจะเขามามีสวนรวมในการแกไขปญหา ผานกระบวนการเรียนการสอน การทํากิจกรรมเสริมการเรียน การเขารวมกิจกรรมในสังคม การรับรู ขอมูลขาวสาร การศึกษาดูงาน ฝกอบรม สัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งตองทําใหสอดคลองกับกลุมเปาหมาย โดยมีเนื้อหาสาระของความรูที่ จะถายทอดครอบคลุมชัดเจนเพียงพอ ความรู จิตสํานึก และความตระหนัก ของประชาชน จะนําไปสูทักษะและการมีสวนรวมในการแกไขปญหาการ จัดการของเสียของชุมชน ดังนัน้ จิตสํานึกจึงเปนพืน้ ฐานของการมีสว นรวม ของประชาชนจากทุกภาคสวน จิตสํานึกเกิดจากการที่ประชาชนไดรับ การถายทอดความรูอ ยางตอเนื่อง จนเกิดสํานึกตอความรับผิดชอบในการ แกไขปญหา ดังนั้นการมีสวนรวมของชุมชนจากทุกภาคสวนจึงเปนหัวใจสําคัญ ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความสํ า เร็ จ ของการดํ า เนิ น โครงการ Zero waste ยกตัวอยางกรณีประเทศญี่ปุน ตั้งแตสมัยรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี Koizumi ไดมีการประกาศใหเรื่องการจัดการของเสียแบบ 3Rs (Reduce,

การคัดแยกขยะมูลฝอยที่แบงเปนหลายประเภท สามารถพบเห็นทั่วไปตาม รานสะดวกซื้อในญี่ปุน

Reuse&Recycle) เปนนโยบายหรือวาระแหงชาติทท่ี กุ ภาคสวนตองมีสว นรวม อยางจริงจังในการจัดการของเสียของชุมชน และเนื่องจากชาวญี่ปุน สวนใหญมีระเบียบวินัยและมีความตระหนักดานสิ่งแวดลอมอยูแลว การได รับความรวมมือในการคัดแยกขยะมูลฝอยตามสถานที่ตางๆ ในชุมชนจึง สามารถประสบความสําเร็จไดเปนอยางดี ตัวอยางของรูปแบบการคัดแยก ขยะมูลฝอยชุมชนในประเทศญี่ปุนที่มีการคัดแยกขยะออกเปนหลายประเภท ไดแก กระดาษ ขวดแกว กระปอง ขวดพลาสติก กลองพลาสติกใสอาหาร รวมกับถุงพลาสติก สามารถพบเห็นไดทั่วไปตามรานสะดวกซื้อในญี่ปุน หรื อ การเลื อ กใช ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ สิ น ค า ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (Eco-friendly product) ดังเชนการเลือกซื้อน้ําดื่มที่บรรจุในขวดพลาสติก แบบที่สามารถบีบลดปริมาตรไดหลังการบริโภคแลวทําใหลดปริมาตรของ ขยะที่จะตองขนสงตอไปไดรวมทั้งลดการใชพลังงานในการบรรทุกขนสง ขยะอีกดวย ซึ่งก็เปนตัวอยางที่ประสบความสําเร็จรูปแบบหนึ่งของสังคม แบบ Zero waste

การสรางจิตสํานึกใหกับเด็กนักเรียนในการคัดแยกขยะ

February 2012 l 67 Energy#39_p66-67_Pro3.indd 67

1/24/12 9:43 AM


Vehicle Concept โดย : Save Driver

Daihatsu Pico

รถเล็กสุดนารักกับพลังงานไฟฟา

ปจจุบันรถยนตขนาดเล็กกําลังเปนที่นิยมกันอยางแพรหลาย เนื่องจากตองการความคลองตัวในการสัญจรกับการจราจรที่แสน ติดขัดในปจจุบัน ยิ่งรถยนตขนาดเล็กนั้นสามารถใชพลังงานไฟฟา ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ยิง่ ชวยใหการเดินทางสนุกสนานมากยิง่ ขึน้ ทั้งคลองตัวในยามขับ, ประหยัดน้ํามันแบบสุดๆ และยังเปนการชวย รักษาสิ่งแวดลอมไปในตัวอีกดวย ในงานมหกรรม Tokyo Motor Show 2011 ที่จัดขึ้นเมื่อปลายปที่ ผานมาพรอมๆ กับการจัดงานมอเตอร เอ็กซโปในประเทศไทย ยานยนต ไฟฟาถูกนําเสนอออกมามากมายจากหลายคายรถยนต ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ คายรถยนตขนาดเล็กของญี่ปุนอยางไดฮัทสุ (Daihatsu) ซึ่งเคยประสบ ความสําเร็จจากการทําตลาดรถยนตขนาดเล็กในประเทศไทยภายใตรถยนต รุน Mira 68 l February 2012 Energy#39_p68-69_Pro3.indd 68

1/24/12 9:48 AM


แถบ LED ดังกลาวจะปรากฏเปนสีเขียวดวย ในสวนของระบบขับเคลื่อนนั้นยังไมเปนที่เปดเผยออกมา เนื่องจาก ยังเปนรถยนตตนแบบ โดยมีการคาดการณวาจะใชมอเตอรไฟฟาในการ ขับเคลื่อนลอหลัง นอกจากนี้ยังมีการกําหนดใหเปนรถยนตพลังงานไฟฟา ที่สามารถขับไปไดไกลสุดไมเกิน 50 กิโลเมตรหรือราว 31 ไมล ดวย ความเร็วสูงสุด 50 กม./ชม. หรือราว 31 ไมล/ชม. ดวยการชารจ แบตเตอรี่แบบเต็มประจุเพียง 2 ชั่วโมงเทานั้น สําหรับภายในหองโดยสารยังเพียบพรอมดวยความสมัยกับหนาจอ สัมผัสแบบ LED โหมดการพูดคุยกันแบบวิทยุสื่อสารวอลคกี้ทอลคกี้เมื่อ รถอีกคันวิ่งเขามาใกล สามารถระยะใกลไกลของวัตถุที่อยูรอบรถพรอม ขอความเตือน เมื่อมีรถคันอื่นวิ่งเขามาใกลระบบจะทําการเตือนดวยไฟและ ขอความเพื่อเพิ่มความปลอดภัย แมวาจะยังไมมีวี่แววที่จะออกจําหนาย แตก็ทําใหเห็นวายานยนตใน อนาคตนอกจากในเรื่องของการประหยัดพลังงานและการอนุรักษ์สิ่ง แวดลอมแลว ยังมีการพัฒนาไปถึงเรื่องของความปลอดภัยขั้นสูงสุด สําหรับการไดยลโฉมเขา Pico อาจเปนเรื่องยากอยูหนอยเพราะไดฮัทสุไม ไดทําตลาดในบานเรานานแลวก็ ไดแตหวังวา จะมีคายรถยนตนําเขาที่ ใสใจ พลังงานนํารถตนแบบพลังงานเขามาใหไดยลโฉมบาง

งานดังกลาวไดฮัทสุไดนํายานยนตตนแบบขนาดเล็กที่ ใชพลังงาน ไฟฟา พรอมดวยการออกแบบใหออกมานารักแบบสุดๆ โดยใชชื่อรุนวา Pico สําหรับเจา Pico ถูกออกแบบมาใหมีขนาดเล็กกะทัดรัดพรอมดวย ระบบขับเคลื่อนแบบไฟฟา ทําให Pico ถูกจัดใหอยูในกลุมพิเศษระหวาง รถยนตขนาดเล็กกับรถมอเตอรไซค ดวยรูปแบบที่นั่งแบบ 1+1 ตามแนว ความยาวของตัวรถ สําหรับการออกแบบภายนอกถูกออกแบบมาใหมีขนาดเล็กกะทัดรัด ชวยใหมคี วามคลองตัวสูงในขณะขับ ทีส่ าํ คัญการออกแบบใหทีน่ ัง่ วางตาม ความยาวของตัวรถ ชวยใหความกวางของ Pico มีขนาดทีแ่ คบลงสามารถ ขับเขาพืน้ ทีแ่ คบๆ ไดอยางงายดาย โดยตัวรถมีขนาดความยาว 2,400 มม. สวนความกวางมีขนาด 1,000 มม. และความสูงมีขนาด 1,530 มม. ขณะที่มีความกวางของฐานลออยูที่ 1,830 มม. พรอมน้ําหนักของตัวรถ ที่เบาเพียง 400 กิโลกรัมหรือราว 880 ปอนด นอกจากนี้ Pico ยังมาพรอมกับแถบ LED พิเศษที่อยูรอบคันรถ ซึ่ง สามารถสื่อสารกับคนเดินเทาทัว่ ไปและผูข บั รถยนตคนั อื่นๆ ดวยการแสดง ขอความเตือนหรือสัญลักษณสีเพื่อเตือนหรือแสดงความปลอดภัย เชน หากมีคนเดินเทาหรือรถคันอื่นขับเขามาใกล แถบ LED ดังกลาวจะขึ้น ข อ ความเตื อ นพร อ มสี แ ดงเพื่ อ ให ร ะวั ง ขณะเดี ย วกั นก็ ส ามารถบอก ความเร็วในขณะนัน้ ไดดว ย โดยหากขับดวยความเร็วตามทีก่ ฎหมายกําหนด February 2012 l 69 Energy#39_p68-69_Pro3.indd 69

1/24/12 9:48 AM


Energy Test Run โดย : Dr. ES

WD Green Power

ฮารดดิสกพลังงานหลักคอมพิวเตอร

ประเดิมดวยการทดสอบฮารดดิสกคอมพิวเตอร ซึ่งเปนอุปกรณที่ สําคัญที่สุดอุปกรณหนึ่งของคอมพิวเตอร และกลาวไดวาเปนอุปกรณที่ กินไฟมากทีส่ ดุ ชนิดหนึง่ ทวาผูผ ลิตฮารดดิสกกเ็ ขาใจถึงขอบกพรอง ดังกลาว จึงมีการคิดคนฮารดดิสกที่ชวยประหยัดพลังงาน นับ เปนการเปดตลาดอุปกรณคอมพิวเตอรที่ชวยประหยัด พลังงาน และเปนการสงสัญญาณวา การประหยัด พลังงานถือเปนหนึ่งเรื่องที่สําคัญ ฮารดดิสกถอื เปนอุปกรณทีส่ าํ คัญชนิดหนึง่ ซึ่งหากไมมีอุปกรณนี้แลวคอมพิวเตอรก็ ไมสามารถ ใชงานได ยิ่งฮารดดิสกเปนอุปกรณที่ตองทํางานอยู ตลอดเวลาตั้งแตกดปุมเพาเวอร จนกระทั่งพักเครื่องหรือปด เครื่อง ดังนั้นฮารดดิสกจึงเปนอุปกรณที่กินไฟมากที่สุด ยิ่งเมื่อใช เปนเวลานานความรอนจากฮารดดิสกจะยิ่งทําใหการกินไฟเพิ่มขึ้นอีกดวย ดวยเหตุนี้ผูผลิตฮารดดิสกอยาง Western Digital จึงมีการคิดคน ผลิตภัณฑในกลุม GreenPower™ ซึ่งฮารดดิสกชนิดดังกลาวนอกจาก จะเพียบพรอมดวยเทคโนโลยีในการทํางานที่ล้ําหนากวาในรุนกอนๆ แลว ยังมีจุดเดนในเรื่องของการลดอุณหภูมิของฮารดดิสก ทําใหมีอุณหภูมิต่ํา กวาฮารดดิสกทั่วๆ ไปชวยใหมีอัตราการบริโภคพลังงานที่ต่ํากวาเดิม

ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน

จากการทดสอบใชงานเห็นไดชัดวา ฮารดดิสกมีอุณหภูมิที่เย็นกวา ฮารดดิสกทั่วไป ซึ่งจากขอมูลของฮารดดิสกพบวา ฮารดดิสก WD ในรุน Green Power มี ก ารติ ด ตั้ ง เทคโนโลยี IntelliPower™ ไดรับการออกแบบมา ใ ห กิ น ไ ฟ น อ ย

กวาในระหวางการเริ่มตนทํางาน ช ว ย ใ ห ก า ร ทํ า ง า น ข อ ง ฮ า ร ดิ ส ก เ ร็ ว ขึ้ น ซึ่ ง หมายความว า ฮารดิสกมีความพรอมในการในการทํางานที่รวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากนี้ฮารดดิสกในรุน Green Power ยังมีความเร็วในการ ประมวลผลเพื่อคนหาขอมูลดวยความเร็วทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ เพื่อชวยลดอัตรา การบริโภคพลังงาน ที่สําคัญยังชวยลดการใชพลังงานใน ระหวางที่ ไมไดใชงานฮารดดิสกอีกดวย ชวยลดอัตราการ บริโภคพลังงานไดสูงกวาฮารดดิสกชนิดอื่นๆ ไดถึง 40% เมื่อเทียบกับฮารดดิสกรุนอื่นที่มีความจุและความเร็วในการ อานขอมูลเทากัน

70 l February 2012

Energy#39_p70-71_Pro3.indd 70

1/25/12 12:28 AM


บทสรุปการทดสอบ

ก อ นอื่ น ต อ งบอกว า เป น ฮาร ด ดิ ส ก ที่ มี ค วามเงี ย บอย า ง เห็นไดชัด ขณะที่เรื่องความรอน ของฮาร ด ดิ ส ก ก็ ยั ง อยู ใ นระดั บ ปานกลาง แต เ มื่ อ เที ย บกั บ ฮารดดิสกในรุนอื่นๆ ตองบอกวา จุ ด ที่ แ ตกต า งคื อ ระยะเวลาที่ ค วาม รอนเทากัน โดยฮารดดิสก WD ในรุน Green Power ใชระยะเวลานานกวา ฮารดดิสกทั่วไปพอสมควรถึงจะมีความ รอนที่ ใกลเคียงกัน ส ว นในเรื่ อ งของการประหยั ด พลังงานอยูในระดับที่นาพอใจ เนื่องจากการ รักษาอุณหภูมิต่ําในการทํางานเปนเครื่องบง บอกถึงการประหยัดพลังงานไดอยางดี เพราะ หากฮารดดิสกมีการทํางานตอเนื่องตลอดเวลา ความร อ นจากฮาร ด ดิ ส ก จ ะสู ง ขึ้ น ในระยะเวลาที่ รวดเร็ว แตทั้งนี้คอมพิวเตอรประกอบไปดวยชิ้นสวน อิ เ ลคทรอนิ ก ส ห ลายชิ้ น การใช ง านคอมพิ ว เตอร ใ ห ประหยั ด พลั ง งานจึ ง ขึ้ น อยู กั บ หลายป จ จั ย ทั้ ง เรื่ อ งของ ประสิทธิภาพแตละอุปกรณและลักษณะการใชงาน

ประสิทธิภาพการใชงาน

ฮารดดิสกในรุน Green Power ถูกออกแบบมาใหใชงานสําหรับ คอมพิ ว เตอร ตั้ ง โต ะ หรื อ การใช ง านในระดั บ องค ก ร จึ ง มี ก ารติ ด ตั้ ง แอพพลิ เคชั น ไว เ ล็ ก น อ ยโดยเฉพาะในเรื่ อ งของการตรวจรั ก ษาความ ปลอดภัยลักษณะตางๆ ชวยใหฮารดดิสกสามารถทํางานไดตอเนื่องตลอด เวลา 24 ชั่วโมงทุกวัน พรอมกับอัตราการบริโภคพลังงานที่ต่ํา รวมไปถึง ความสามารถในการบันทึกสัญญาณเสียงหรือแมแตสัญญาณภาพแบบ HD (High Definition) ที่สําคัญดวยรูปแบบการผลิตที่ ใชฝาปดดานบนชนิดสแตนเลส ชวยลดระดับเสียงการทํางานของฮารดดิสกใหอยูในระดับต่ําที่สุดอีกดวย ชวยลดเสียงดังรบกวนใหต่ําลงกวาเดิม โดยจะมีเสียงความดังในระดับที่ ต่ํากวาความสามารถในการไดยินระดับปกติทั่วไปของมนุษย

ขอขอบคุณขอมูล : http://www.buycoms.com/Article/5668/index.asp

February 2012 l 71

Energy#39_p70-71_Pro3.indd 71

1/25/12 9:10 PM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสม..และผองเพื่อน

เขาสูเ ดือนแหงความรักของป 2555 คุณผูอ า นมีแผนลงทุนกับความ รัก(โลก) อยางไรกันบางคะ คิคิ ฉบับทีแ่ ลวมีผอู า นถามกันมายกใหญสาํ หรับ เนื้อที่ ตนสมและผองเพื่อน..ทําไมเปนแนวนี้ ..ไมมีอะไรมากคะ แคไมอยากให คุณผูอานเบื่อตนสมแซวขาวคนเดียว..ไดไปรูจักกับเพื่อนตนสมบาง คนนี้ รายงาน คนนัน้ เลาบาง เพื่ออรรถรสของการอานนะเจาคะ ฉะนัน้ ไมพดู พลาม ทําเพลงกันมากมายไปติดตามขาวในแวดวงที่คุณรอคอยกันเลยดีกวา เจาคะ.. ก อ นอื่ นกะต อ งขอต อ นรั บ รั ฐ มนตรี กระทรวงพลังงานคนใหมกนั กอน คุณอารักษ ชล ธารนนท อดีตกรรมการบริหารบริษัท เอไอเอส และเปนกรรมการบริหารบริษัท ชินคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ตั้งแตป พ.ศ. 2544 จนกระทั่งได อารักษ ชลธารนนท รับตําแหนง ไมแปลกหากจะมีคนจับตามองวาสาย ตรงจากดูไบ จะสานตองานทีค่ ั่งคาง ..แตตนสมก็ขอนัง่ ขอบจอติดตามการ ทํางานของทานอยางใกลชิดเชนเคยเจาคะ สวนอดีตรัฐมนตรีพลังงาน คุณพิชัย นริพทะพันธุ ยืนยันชวยงานทีพ่ รรคตามเดิม กอน พนตําแหนงก็ ไดยินสัญญาณจากผูหลักผู ใหญ แลววาจะมีการปรับเพื่อความเหมาะสม โดยทาน บอกวา ผมเองเขาใจอยูแลววาการปรับ ครม.นั้น ถือเปนเรื่องปกติของการเมือง และผมก็เคยไดรับ พิชัย นริพทะพันธุ แตงตั้งเปนรัฐมนตรีและถูกปรับออกจากตําแหนงมาแลว 2 ครั้ง จึงไมมี เรื่องทําใจไมไดแนนอน.. แวบไปที่ DRT คุ ณ สาธิ ต สุดบรรทัด รองกรรมการผูจัดการ สายการขายและการตลาด มี จั ด กิจกรรม Diamond Club Party Vientiane 2011มอบสรอยคอทองคํา เพื่อขอบคุณ ตัวแทนจําหนายจากรานสมพงษ ณ กรุงเวียงจันทน ประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ทีช่ ว ยผลักดันยอดขายในตลาดตางประเทศของ ผลิตภัณฑตราเพชรใหมียอดขายเติบโตอยางตอเนื่อง... วาวววว อยากได บางรัยบางฮะ สวน เลอโนโว ไดแตงตั้ง คุณปวิณ วรพฤกษ เปนผูจ ดั การประจําประเทศไทยฝาย ผลิตภัณฑคอนซูมเมอร ซึง่ ตองรับภารกิจสําคัญ ในการบริหารดูแลจัดการภาพรวมธุรกิจของกลุม ผลิ ต ภั ณ ฑ สํ า หรั บ ใช ใ นบ า นให เ ติ บ โตอย า ง ปวิณ วรพฤกษ แข็งแกรง ดวยประสบการณและความสามารถที่ เหมาะสมจะเปนแกนสําคัญในการกระตุนและเรง การเติบโตใหกับตลาดคอนซูมเมอรในประเทศไทย ตองบอกวาไมยากส!!

ศูนยบริหารจัดการและสง เสริมสิ่งแวดลอม เครือสหวิริยา จัด อบรมในหัวขอ “การจัดเก็บสารเคมีและ วัตถุอันตรายในโรงงาน” โดยไดรับ เกียรติจาก นายสวินทร พงษเกา นัก วิทยาศาสตรระดับ 10 ฝายพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัย การ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย และเปนตัวแทนจากสมาคมสงเสริมความ ปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) รวมเปนวิทยากรบรรยาย ใหความรูแก คณะกรรมการ และเจาหนาที่ของศูนยบริหารจัดการและสง เสริมสิ่งแวดลอม เครือสหวิริยา รวมถึงผูรับผิดชอบงานดานความ ปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดลอมในการทํางาน จากบริษัทในเครือ สหวิรยิ า รวมถึงคณะกรรมการความปลอดภัยในการทํางานสถานประกอบ การ (คปอ.) และคณะกรรมการเครือขายสนับสนุนและพัฒนาความปลอดภัย ในการทํางานเครือสหวิริยา เขารวมอบรม ...เวิรคตลอดบริษัทนี้เจาคะ สวนอิตลั ไทย ก็ประกาศเปนผูแ ทน จํ า หน า ยเครื่ อ งจั ก รกลหนั ก VOLVO ใน สปป. ลาว โดยคุณอติพงศ พงศ หวาน ประธานเจาหนาที่ฝายปฏิบัติการ กลุมธุรกิจ แมชีนเนอรี่โซลูชั่น บริษัท อิตัล ไทยอุตสาหกรรม จํากัด และ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั อิตลั ไทย – ลาว แมชชีนเนอรี่โซลูชั่น จํากัด รับมอบโลหจากบริษัท VOLVO CE ในการเปน ผูแทนจําหนายผลิตภัณฑเครื่องจักรกลหนัก VOLVO แตเพียงผูเดียวใน ประเทศลาว โดยมี Mr. Alvin Lim ซึ่งเปน Regional Director จากบริษัท VOLVO CE เปนผูมอบ ณ อาคารอิตัลไทย ถ. เพชรบุรีตัดใหมเจาคะ เพราะไมหยุดหยอนเรื่องการพัฒนาหรือเปลา อิตัลไทย ยังมีการจัด อบรมเรื่อง Technology & Technical specification of Diesel Generator กลุมธุรกิจพลังงานและการขนสง เพื่อการเสริมสรางความรู และคุณภาพ ในเรื่อง “เทคโนโลยีและขอมูลทางเทคนิคของเครื่องกําเนิด ไฟฟา” เพื่อเสริมองคความรูใหมและพัฒนาพนักงานใหสามารถปฏิบตั งิ าน ไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยเนนใหลกู คาพึงพอใจในคุณภาพของสินคา และบริการ มินาละ..ใคร ๆ ก็วางใจ ไปดูนวัตกรรมเตาเผาขยะที่ สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ กันเจาคะ โดยเปนเตาเผาขยะแบบเคลื่อนที่ ทีเ่ รียกวา “Mobile Burn” เครื่องแรกของไทย เป น ระบบแก ส ซิ ฟ เคชั่ น แบบเคลื่ อ นที่ ไร มลพิษ และประหยัดพลังงาน เพื่อชวยจัดการปญหาขยะลนเมืองใหเปนไป อยางมีระบบและเต็มประสิทธิภาพ และชวยรักษาสิ่งแวดลอม พรอมเปด โครงการ จิตอาสา ชวยกําจัดขยะชุมชนเขตปริมณฑล ฟนฟูหลังน้ํา ทวม ใหบริการกําจัดขยะชุมชนฟรีในชวงภาวะฟนฟู 3 เดือนนี้ ซึ่งไดนํารอง โครงการกําจัดขยะครัง้ แรกที่ หมูบ า น ส. ภาณุรงั ษี เขตบางกรวย จ.นนทบุรี ชุมชนใดสนใจสามารถติดตอไดที่ 089-371-9555 นะเจาคะ

72 l February 2012

Energy#39_p72-74_Pro3.indd 72

1/25/12 9:33 PM


ES Online เดือนแหงความรัก

เข า สู เ ดื อ นแห ง ความรั ก ..แตหมดโปรฯ สําหรับคนกดไลค ผ า น ห น า เ พ จ F a c e b o o k Energysavingmedia ยอดฮิตของ เรา โดยครบกํ า หนดแล ว สํ า หรั บ กิจกรรมกด LIKE อานฟรี 3 เดือน ซึ่ ง ก็ เ ป น ไปตามคาดได รั บ เสี ย ง ตอบรับมากมายมหาศาล ตองขอ ขอบคุณมิตรรักแฟนอานมา ณ ที่นี้ ดวยคะ และสําหรับเดือนนี้เรายังมี กิ จ กรรมการแจกของหนั ง สื อ “คู มื อ ฟ น ฟู บ า นหลั ง น้ํ า ท ว มที่ ทุ ก คนต อ งมี ” เรียบเรียงโดย อ.ยอดเยีย่ ม เทพธรานนท เราแจกใหฟรีทง้ั หมด 6 เลม กติกางายๆ เพียงแคลงชื่อ Email ของทานในกลองแสดงความคิดเห็นและกด Like ที่รูป เพียง 6 ทานเทานั้นที่มีสิทธิ์ ไดรับของรางวัลสุดพิเศษ (ทานละ 1 เลมเทานั้น) และแนนอนคะ ยังมีกิจกรรมอื่นๆ ภายในเดือนนี้อีกมากมายติดตามไดใน http:// www.facebook.com/energysavingmedia

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว ผานพนไปดวยดีสาํ หรับงานเลีย้ งปใหม ของกระทรวงพลังงานที่เปนการเลี้ยงขอบคุณนัก ขาวไปในตัว งานนี้เหมือนเปนงานเลี้ยงสง คุณ พิชยั นริพทะพันธุ รัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน เสียอยางนั้น ..ใครจะไปรูวาภายหลังปใหมนายก รัฐมนตรียิ่งลักษณจะปลดคุณพิชัยขึ้นหิ้งเลยไม พิชัย นริพทะพันธุ แนใจวาอดีตรัฐมนตรีเกิดปมังกรหรือเปลาซึ่งเปน ปชงเลยโดนชงเรื่องใหพนจากตําแหนงที่พวงทายดวยฉายา “รัฐมนตรีไอ เดียกระฉอก” ...อิอิ งานนีห้ ลายคนหนาตาดูชนบาน ื่ กั น ทั่ ว หน า เพราะนอกจะได ข า วจาก ผูห ลักผูใหญในกระทรวงฯ และหนวยงานที่ เกีย่ วของแลวยังไดครึกครืน้ ไปกับบทเพลง ของ วาน ธนกฤต ที่ ไดมามอบเสียงเพลง ใหไดฟงกันและยังไดของขวัญกันคนละชิ้น 2 ชิ้นติดมือกลับบานแถมได ของกินกับไปเปนมื้อเย็นที่บานอีกดวยเรียกไดวาอิ่มหนําสําราญถึงเย็นกัน ทีเดียว....ฮาฮา ตอกันอีกที่งานเลี้ยงโดยหลัง จากไดรับของขวัญกันทั่วหนาบางคนก็ แกะกลองเพื่อลุนวาขางในเปนอะไร ซึ่งมี

กูเงิน..ลงทุนธุรกิจพลังงาน

หากคุณเปนคนหนึง่ ทีค่ ดิ อยากจะลงทุนเกีย่ วกับธุรกิจพลังงาน แตยงั ขาด เงินลงทุน ไมยากเลย คลิกมาที่เรามีคําแนะนําเกี่ยวกับการเริ่มตนกูเงินไปลงทุน ซึ่งจะทําใหคุณไดรูแนวทางตั้งแตตนทางไปสูปลายทางอยางประสบความสําเร็จ ติดตามอานกันไดในเดือนนี้เปนตนไปที่ http://www.energysavingmedia.com

Green4 U ..สินคารักษโลก

ในเว็บเรามี Section สินคารักษโลก ไวใหผูอานศึกษาหาเครื่องมือในการชวย ประหยัดพลังงานไวดว ยนะคะ ทัง้ เครื่องมือ ที่เหมาะกับภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน Gadget นอยใหญ in-trend / up-trend สามารถนําไปใชได ในหลายๆ โอกาส คลิกเลย .. http://www. energysavingmedia.com/green4u/

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag EnergySavingMedia.com savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย นักขาวรายหนึ่งจับรางวัลไดของ ปตท. ไดลูกกอลฟ 2 โหลตอนแรกก็ ไมรู วาจะเอาไปทําอะไรเพราะไมไดตีกอลฟ...แตโชคดีที่มีเพื่อนนักขาวแนะนําใหไป ขายตอผูห ลักผูใหญในกระทรวงงานนี้ “ดร.โจะ” ออกตัวเปนคนควักกระเปา จายคาลูกกอลฟเองเลยไดลูกกอลฟไวซอมมือตั้ง 2 โหล...ฮาฮา จากงานเลี้ ย งไปกั น ที่ สํ า นั ก งาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ซึ่งลาสุดทาน ผอ.สุเทพ เหลีย่ มศิรเิ จริญ ไดแถลงขาวเดินหนา ระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) พรอม กับไดมอบหมาย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ เจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) วิจยั และพัฒนา ซอฟทแวร ระบบฐานขอมูล และมิเตอรอจั ฉริยะ โดย ใชอุปกรณภายในประเทศเพื่อลดการนําเขาและหวังพัฒนาใชระดับประเทศ กันเลยทีเดียว รายงานขาวจากกระทรวงพลังงาน เปดเผยถึง กรณีการจัดทํา โครงการสงเสริมประสิทธิภาพพลังงานภาคครัวเรือนในพืน้ ทีป่ ระสบอุทกภัย ซึ่งไดมีการจัดงานใน 28 จังหวัด ในชวงปลายเดือนธันวาคม 2554 ถึงวัน ที่ 4 มกราคม 2555 ที่ผานมา โดยไดมีการใหเงินสนับสนุนในรูปแบบคูปอง แก ป ระชาชนเพื่ อ เป น ส ว นลด ในการซื้ อ อุ ป กรณ เครื่ อ งใช ที่ ได รั บ ฉลาก ประสิทธิภาพสูงจากกระทรวงพลังงาน ครัวเรือนละ 2,000 บาท แตตอมา พบวา เกิดปญหาในการใชคปู องและความเขาใจทีค่ ลาดเคลื่อนในหลายพืน้ ที่

February 2012 l 73

Energy#39_p72-74_Pro3.indd 73

1/25/12 9:33 PM


ซึ่งประชาชนไมเขาใจเงื่อนไขในการใชคูปองที่จะใหเปนสวนลดใน การซื้อสินคาเทานั้น รานคาและสินคามีจํานวนจํากัดไมสามารถรองรับ ปริมาณการซื้อได และปญหาคุณสมบัติผูมีสิทธิไดรับคูปอง จากปญหาดัง กลาวกระทรวงพลังงานเรงแกไขปญหาอยางดวน โดยในสวนของประชาชน ที่ ไดรับคูปองไปแลว และยังไมไดใชกระทรวงไดขยายเวลาการใชคูปองออก ไปจนถึง 31 มีนาคม 2555 นี้ พรอมไดชแี้ จงถึงชื่อรานคาทีเ่ ขารวมโครงการ แลววามีรา นใดบางโดยสามารถเขาไปดูรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ www.dede. go.th นะครับ

Transport / วัตโตะ มากันที่การฟองรองเรื่องขอ ระงับการขึ้นราคากาซ LPG- NGV ที่ มูลนิธเิ พื่อผูบ ริโภคขอยื่นตอศาลปกครอง ซึ่งผลที่ออกมาคือยกคํารอง โดยศาลให ความเห็นวาการปรับโครงสรางเปนเรื่อง ทีร่ ฐั บาลสามารถทําได เพราะมีกฎหมายรับรองอํานาจดังกลาวไว งานนีเ้ ลน เอาหลายคนกมหนารับราคากาซทีจ่ ะปรับขึน้ ใหม ขณะทีภ่ าครัฐยิม้ รับผลการ พิจารณา แตที่แนๆ ประชาชนทั่วไปเตรียมหนาวๆ รอนๆ กับราคาสินคาที่จะ แพงขึ้น จากขออางเรื่องตนทุนการขนสงหากไมมีมาตรการใดมาควบคุม หลังจากทีห่ ลายรัฐบาลขูม าหลายรอบ เรื่องการยกเลิกน้ํามันเบนซินทั้งชนิด 95 และ 91 แตสุดทายก็ยังเห็นหลายปมจําหนายน้ํามันเบนซิน ทั้งชนิด 95 และ 91 อยูดี แตดูเหมือนรัฐบาลชุดนี้ เตรียมยกเลิกจําหนายน้ํามันเบนซิน 91 ปลายปนี้ อยางจริงจัง และเตรียมหันไปสนับสนุนแกสโซฮอล 91 แทน โดยนายกิ ต ติ รั ต น ณ ระนอง กิตติรัตน ณ ระนอง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง ออกมาเปด เผยอยางชัดเจน ถาเปนเชนนั้นก็ถือวาดีเพราะทุก วันนี้ปริมาณการใชเอทานอลยังไมถึงครึ่งนึงของกําลังการผลิตสูงสุดกัน เลย วาแตเบนซิน 95 ไมยกเลิกดวยหรือเพราะทุกวันนี้ก็ยังเห็นบางปมยัง ขายกันอยูเลยทาน ประธานสภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทยเชื่อหลังราคาพลังงานพุงขึ้น สู ง ต น ทุ น การผลิ ต จะพุ ง กระฉู ด ตาม แน น อน นอกจากนี้ ยั ง คาดว า ราคา พลังงานจะอยูในระดับสูงตอไป และหากมี การเรียกเก็บภาษีสรรพสามิตน้าํ มันดีเซลในอัตราเดิม จะสงผลใหราคาขาย ปลีกดีเซลมีสทิ ธิข์ นึ้ ไปแตะทีร่ ะดับ 40 บาท/ลิตร และจะสงผลกระทบตอราคา สินคาอยางหลีกเลีย่ งไมได เพราะราคาน้าํ มันดีเซลทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุก 1 บาทจะทําให ราคาสินคาแพงขึ้นอีก 70 สตางค งานนี้ขอบอก…ตัวใครตัวมันละเจานาย คนใชดเี ซลเตรียมดีใจไดเฮือก เล็กๆ หลังมีขา วแวววากรมสรรพสามิตมี แนวความคิดทีจ่ ะตออายุมาตรการลดการ จัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลเหลือ 0.005 บาทตอลิตรออกไปจนถึงสิน้ เดือน

กุมภาพันธน้ี จากทีจ่ ะตองหมดอายุมาตรการดังกลาวชวงปลายเดือนนี้ แถม กรมสรรพสามิตประเมินวาเดือนมีนาคมนีม้ แี นวโนมทีร่ าคาน้าํ มันโลกจะสูงขึน้ และอาจตออายุยดื ออกไปจนถึงสิน้ เดือนมีนาคมก็เปนได แหม…ตออายุกนั เปน เดือนตอเดือนอยางกับตออายุบตั รสมาชิกเมมเบอรกนั ทีเดียวเลยเจานาย ขาววงในกระทรวงพลังงาน แวววา รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน คนใหม นายอารักษ ชลธารนนท อาจ เตรียมเสนอใหเลื่อนเวลาการปรับราคา NGV ออกไปอีกระยะหนึ่ง แตยังยืนยันวา อยางไรราคา NGV ก็ตองปรับขึ้น แตการเลื่อนระยะเวลาออกไปเพื่อผอน คลายแรงกดดันระหวางกระทรวงพลังงานและผูป ระกอบการขนสง นอกจาก นีด้ า นสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานยังตัง้ คณะทํางานขึน้ มาเพื่อศึกษา หาตนทุนที่แทจริงของ NGV ตามที่ผูประกอบการยังมีความสงสัยอยู

Environment / สุกี้ เอาใจชาวคอเกม Facebook หวั ง ปลู ก จิ ต สํ า นึ ก รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มกั บ กสิกรไทย ที่จับมือ ไมโครซอฟท เปดตัว เกมส “Junk Master: The Mission of Recovery” ที่สรางสรรคโดยทีม JubJub ผูชนะเลิศอันดับ 2 จากเวที Microsoft Imagine Cup Worldwide โดยพัฒนาเปนเกมออนไลนบน Facebook ทีส่ ามารถสะสมแตมออนไลน แลกสิทธิประโยชน-ของรางวัลไดจริง ตั้งเปาปลูกฝงจิตสํานึกในการรวมกันอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยคาดได รับความสนใจจากแฟนๆ ในโซเชียล เน็ทเวิรคอยางกวางขวาง หวังเทียบ ชั้นฟารมวิลลกันเลยทีเดียว ยังคงยืนยันการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมสําหรับ บริษัท คอนวูด จํากัด ผูผลิตและจําหนายวัสดุทดแทนไมภายใตชื่อ “คอนวูด” กลุมปูนซีเมนตนครหลวง ที่ลุยปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตลดของเสีย จากโรงงานเพื่อนําไปฝง กลบใหเปนศูนย (ZERO Waste to Landfill) ตอกย้าํ ภาพลักษณผลิตภัณฑวัสดุทดแทนไมเพื่อสิ่งแวดลอมตัวจริง ชูแผน 3R หนุนใชทรัพยากรวัตถุดิบอยางมีประสิทธิภาพ พรอมปรับปรุงขบวนการ ผลิต คาดชวยลดตนทุนการผลิตรวมได 3-5% ข า วดี ๆ สํ า หรั บ คนที่ ม องหาถุ ง พลาสติกที่ยอยสลายไดเร็วกวาพลาสติกทั่วๆ ไป กับถุงพลาสติกแบรนด “ดีแพค” ที่รุกตลาดถุง พลาสติกยอยสลายเร็ว เนนชูจุดเดนรักษาสิ่ง แวดลอมสามารถยอยสลายไดภายในสิบป แตมี ราคาไม ต า งจากถุ ง พลาสติ ก ทั่ ว ไป โดย ทวี จุลศักดิ์ศรีสกุล นายทวี จุลศักดิ์ศรีสกุล กรรมการผูจัดการ บริษัท ดีแพค อินเตอร คอรปอเรชั่น จํากัด หรือ DPAC ผูผลิตและ จําหนายบรรจุภัณฑ ฟลมและถุงพลาสติกภายใตแบรนด Hero และ ถุงตราดี D ไดตงั้ เปาหมายใหลกู คาเกิดความตระหนักในการใชถงุ พลาสติก ทีม่ ผี ลเสียตอสิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ เพื่อเขามาทดแทนการใชงานถุงพลาสติก ทั่วไปในอนาคต

74 l February 2012

Energy#39_p72-74_Pro3.indd 74

1/25/12 9:33 PM


โครงการสัมมนาเผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัดพลังงานสัญจรสําหรับ SME ครั้งที่ 4/2554 ปจจุบันการอนุรักษพลังงานเปนปจจัยที่ 5 ในการใชชีวิตของ ผูคนเนองจากเชื้อเพลิงพลังงานนั้นมีราคาที่สูงขึ้น ประกอบกับภาวะ อากาศเปลีย่ นแปลงซึง่ สงผลกระทบโดยตรงกับการดํารงชีวติ ของคน เรา และหลายหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน รวมถึงภาคประชาชนทัว่ ไป ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้เป็นอย่างดีและได้ดําเนินการหาแนวทางการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง สํ า หรั บ แนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของแต ล ะองค ก รนั้ น สวนใหญมีวิธีจัดการดานพลังงานที่ ไมแตกตางกัน และเพอเปนการ สงเสริมใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานไดอยาง ทั่วถึง ในการนี้หอการคาไทยจึงไดจัดงานโครงการสัมมนาขึ้นเพอ เผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัด พลั ง งานสั ญ จรสํ า หรั บ SME ขึ้ น โดยได สั ญ จรไปทั่ ว ทุ ก ภาค ซึ่งครั้งลาสุดไดจัดขึ้นที่ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ในงานนี้ น อกจากจะได รั บ เกี ย รติ จ ากกู รู ด า นการจั ด การ พลังงานจากทั้งหนวยงานภาคเอกชน และจากหนวยงานของภาครัฐ มาให ค วามรู ด า นการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานภายในองค ก รแล ว ในงานยั ง มี ก ารจั ด บู ท แสดงสิ น ค า อุ ป กรณ เทคโนโลยี ป ระหยั ด พลังงานใหผูเขารวมฟงสัมมนาในแตละครั้งไดชมกันอีกดวย

ESCC Energy Call Center 0-2622-1860-76 ต อ 3 1 2 , 5 2 1 แ ล ะ 5 3 5 “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ใช พ ลั ง งานอย า งเพี ย งพอ” Energy#35_p97_Pro3.indd 97

9/21/11 10:38 PM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : ถังแกส LPG ที่ ใชกันอยู ในปจจุบันทั้งมีน้ําหนักมากและเปน สนิม ในอนาคตเราจะมีนวัตกรรมถังแกสชนิดใหมๆ เพื่อใชทดแทน ถังแกสแบบเดิมไหมครับ? A : มีครับ เนื่องดวยขอเสียของถังเหล็กบรรจุกา ซในแบบเดิมๆ เปนตนวา ปริมาตรตอน้ําหนักถัง 1 : 1 มีน้ําหนักมากและมีสนิมก็ตองเปลี่ยนถัง จึงทําใหหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนรวมกันคิดคนหาทางประดิษฐถังกาซ ในรูปลักษณใหม และตอบสนองตอความตองการของผูบริโภคใหมากยิ่งขึ้น จึงไดเกิด “ถังบรรจุกา ซคอมโพสิต” อาศัยเทคโนโลยีการเชื่อมประสานวัตถุ คอมโพสิต ดวยกระบวนการผลิตแบบพัน (Filament Winding) ดวยวัสดุ เสริมแรงที่ประกอบดวยเสนใยและเรซิน ทําใหน้ําหนักของผลิตภัณฑลดลง รอยละ 50 ไมเกิดสนิม เคลื่อนยายงายใชสะดวก และสามารถมองเห็นปริมาณ น้ํากาซได มีอายุการใชงานนานถึง 20 ปและยังมีดีไซนที่ทันสมัย สวยงาม เหมาะสําหรับครอบครัวยุคใหมโครงสรางของถังคอมโพสิตจะประกอบดวย ถังชั้นใน (Inner) เสริมแรงโดยการพันรอบดวยเสนใยซึ่งไดแก เสนใยแกว (Glass Fiber) หรือเสนใยคารบอน (Carbon Fiber) หรือเสนใยแอรามิด (Aramid Fiber) ฝงอยูในวัสดุที่ ใชยึดเหนี่ยวเพื่อใหเสนใยอยูกับที่ (Matrix) ถังกาซคอมโพสิตจะมี 2 แบบ คือ แบบถังชั้นในเปนโลหะ ทําจาก เหล็กกลา หรือเหล็กกลาไรสนิม และแบบถังชั้นในเปนอโลหะ ทําจาก เทอรมอพลาสติกซึ่งเปนพลาสติกที่ออนดวยความรอนและคงรูปดวยการลด อุณหภูมิ หรือพลาสติกเทอรมอเซต หมายถึงพลาสติกที่เมื่อบมดวยความ รอนหรือสารเคมีจะทําใหคงรูป และไมสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขไดอีก หรือ วัสดุยืดหยุนและมีสวนประกอบโดยทั่วไปตั้งแตขอตอหรือแหวนคอถังโกรง กําลังลิน้ ชัน้ เสริมแรง เปลือกหุม ถัง ถังชัน้ ใน และฐานถัง ซึง่ ทัง้ หมดทีก่ ลาวมา จะตองแข็งแรง ทนทาน เพื่อสรางความมั่นใจใหกับลูกคาและสรางมาตรฐาน ในการผลิตถังกาซคอมโพสิตของประเทศไทยแลวนั้น สิ่งที่ตองปรากฏอยูที่ ตัวถังคือ เครื่องหมายและฉลาก ทีถ่ งั ทุกใบอยางนอยตองมีตวั เลขอักษร หรือ เครื่องหมายขนาดความสูงไมนอยกวา 4 มิลลิเมตร โดยแจงรายละเอียด ใหเห็นงายและชัดเจน ไดแก 1) ชื่อผลิตภัณฑ 2) ความดันใชงานสูงสุดเปนเมกะพาสคาล 3) รหัสหรือหมายเลขลําดับ 4) ความจุเปนลิตร 5) มวลถั ง เปล า เป น กิโลกรัม 6) อายุการใชงานเปนป 7) ชื่อผูทําและโรงงาน ที่ทํา หรือเครื่องหมายการคา ที่จดทะเบียน 8) เครื่ อ งหมายของ ผูต รวจสอบ เดือน ป ทีท่ ดสอบ ดวยความดันพิสูจน 9) ชื่อหรือเครื่องหมาย

เพียงพอ” ของผูคาน้ํามันตามกฎหมายวาดวยน้ํามันเชื้อเพลิง 10) คาโมเมนตบิดสูงสุด และคาโมเมนตบิดใชงาน สําหรับการใสลิ้น เปนนิวตันเมตร

Q : อยากทราบรายละเอียดโครงการสงเสริมประสิทธิภาพ พลังงานภาคอาคารธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม ในพืน้ ทีป่ ระสบอุทกภัย ของกรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน กระทรวง พลังงานครับ? A : จากสถานการณอุทกภัยที่เกิดขึ้นในป 2554 ที่มีความรุนแรงและ ทําใหมีผูที่ ไดรับผลกระทบเปนจํานวนมาก ครอบคลุมพืน้ ทีห่ ลายสิบจังหวัด โดยผูไ ดรบั ผลกระทบมีทัง้ ในสวนของ ประชาชนทั่วไป หนวยงานราชการ รวมถึงภาคเอกชนซึ่งไดแก ผูประกอบการ ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ ตลอดจนภาคเกษตรกรรม ทําใหเกิดความเสียหาย ทั้งชีวิตและทรัพยสินเปนจํานวนมากและจําเปนจะตองเรงใหความชวยเหลือ และดํ า เนิ น การฟ น ฟู เ ยี ย วยาภายหลั ง จากสถานการณ ค ลี่ ค ลาย โดยใน สวนของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน(พพ.) กระทรวง พลังงาน ไดเล็งเห็นถึงปญหาของผูประสบภัยในสวนที่เปนผูประกอบการ ภาคเอกชน ไดแก ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม ที่ ได รับความเสียหายในตัวเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณในสถานประกอบการ ซึ่งเปน ภาระที่จะต้องดําเนินการปรับปรุงซ่อมแซมและจัดหาเพื่อทดแทนของเดิม เกิดเปนภาระคาใชจายที่สถานประกอบการจะตองแบกรับภายหลังอุทกภัย ทัง้ นีท้ ีผ่ า นมา พพ. ไดดาํ เนินมาตรการตางๆ ในการสงเสริมการใชเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณประสิทธิภาพสูงมาอยางตอเนื่อง โดยมาตรการดังกลาวรวม ถึงการใหเงินสนับสนุนในการปรับเปลี่ยนมาใชเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ ประสิทธิภาพสูง ดังนั้น เพื่อเปนการเยียวยาผูประกอบการที่ประสบอุทกภัย และเปนการสงเสริมการใชเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ ประสิทธิภาพสูงในสถาน ประกอบการ จึงเห็นควรดําเนินการ “โครงการสงเสริมวัสดุและอุปกรณเพื่อ

76 l February 2011

Energy#39_p76-77_Pro3.indd 76

1/26/12 5:28 PM


การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานเพื่ อ เยี ย วยาผู ป ระกอบการในพื้ นที่ ป ระสบอุ ท กภั ย ” โดยจะใหเงินสนับสนุนรอยละ 30 ในการปรับเปลี่ยนเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณ ในสถานประกอบการให เป น เครื่ อ งจั ก ร วั ส ดุ อุ ป กรณ ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ซึ่งนอกจากจะเปนการชวยแบงเบาภาระคาใชจายในการลงทุนในการปรับ เปลี่ยนเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณของสถานประกอบการแลว ยังเปนการ ลดการใชพลังงานของสถานประกอบการซึ่งจะเปนการลดคาใชจายดาน พลังงานของสถานประกอบการลงไดอีกดวย โครงการส่งเสริมวัสดุและอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงานเพื่อ เยียวยาผูประกอบการในพื้นที่ประสบอุทกภัย (เงินชวยเหลือใหเปลา 30% (Direct Subsidy)) เปนโครงการที่มุงเยียวยาและสนับสนุนผูประกอบการภาค อุตสาหกรรม อาคารธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม ในพื้นที่ประสบอุทกภัยในป 2554 ในการปรั บ เปลี่ ย นเครื่ อ งจั ก รวั ส ดุ อุ ป กรณ์ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง เพื่อทดแทนอุปกรณ์เดิมที่ ได้รับความเสียหายหรือมีประสิทธิภาพการใช้ พลังงานต่ํา โดยการสนับสนุนการลงทุนเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณที่มีผลตอ การประหยัดพลังงานในมาตรการอนุรักษพลังงานที่ พพ. ไดพิจารณาแลว วาเปนมาตรการที่สามารถลดการใชพลังงานไดอยางเปนรูปธรรม ซึ่งไดแก - มาตรการมาตรฐานของกระทรวงพลั ง งาน (Standard Measures) จํานวน 11 มาตรการ ไดแก 1) บัลลาสตอิเล็กทรอนิกสความถี่สูง (High Frequency Electronic Ballast for Lighting) 2) อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรที่ ใชกับเครื่องอัดอากาศ (Variable Speed Drive on Air Compressor) 3) ฉนวนกันความรอนในทอและพื้นผิว (Insulation of Pipes and Surfaces) 4) อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรที่ ใชกับเครื่องสูบน้ํา (Variable Speed Drive on Pump) 5) อุปกรณนําความรอนทิ้งมาใชใหม (Heat - Recovery Equipment) 6) อุปกรณควบคุมอากาศในการเผาไหม (Controller of Air Supply for Combustion) 7) เครื่องแลกเปลี่ยนความรอนจากอากาศสูอากาศ (Air - to - Air Heat Exchanger) 8) มอเตอรประสิทธิภาพสูง (High Efficient Motor) 9) แผนสะทอนแสงและโคมฟลูออเรสเซนตประสิทธิภาพสูง (Luminaries Reflectors & High Efficient Fluorescent Luminaries) 10) มาตรการควบคุมกําลังไฟฟาสําหรับแสงสวาง (Power Control for Lighting) 11) มาตรการอุปกรณปรับแรงดันไฟฟา (Voltage Regulator) - มาตรการอื่นๆ อาทิ .. 1) การใชปมความรอนสําหรับการทําความรอน 2) การบําบัดและปรับสภาพน้ําดวยโอโซน 3) การลดความชื้นดวยสารดูดความชื้นเหลว 4) การลดความชื้นดวยฮีทไปป 5) เครื่องอบตกแตงสําเร็จผาผืนประสิทธิภาพสูง 6) หัวเผาแบบรีเจนเนอเรทีฟ 7) การใชเครื่องปรับอากาศ (Package Unit) ใหมประสิทธิภาพสูง แทนของเดิม 8) การใชเครื่องอัดอากาศประสิทธิภาพสูงแทนชุดเดิม

9) การใชโคมไฮเบยฟลูออเรสเซนตชนิด T5 แทนโคมไฮเบยชนิดอื่น 10) การใชไฟฟาแทนการใชเชื้อเพลิงชนิดอื่นๆ 11) การใชหอผึ่งน้ําเย็นใหมที่มีประสิทธิภาพสูงทดแทนของเดิม 12) การติดตั้ง Absorption Chiller 13) การติดตั้ง Economizer 14) การติดตัง้ ระบบผลิตน้าํ รอนจากเครื่องปรับอากาศและทําความเย็น 15) การติดตั้งอุปกรณประหยัดพลังงานสําหรับหมอไอน้ํา 16) การติดตั้งอุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรที่ ใชกับเครื่องจักร และอุปกรณอื่น 17) การติดตั้งอุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอรที่ ใชกับพัดลม, เครื่องสงลมเย็น 18) การบําบัดน้ํากลับมาใชใหม (Membrame) 19) การบําบัดน้ํากลับมาใชใหม (ดวยระบบโอโซน) 20) การปรับปรุงคาเพาเวอรแฟคเตอร 21) การเปลี่ยนเครื่องจักรใหมทดแทนชุดเดิม 22) การเปลี่ยนเครื่องทําน้ําเย็นเปนชนิดประสิทธิภาพสูง 23) การเปลี่ยนชุดมอเตอรพูเลยและสายพานเปนมอเตอรเกียร 24) การเปลี่ยนเตาอบกากประสิทธิภาพสูง (Tube dryer) 25) การเปลี่ยนมอเตอรเกาของเครื่องเติมอากาศเปนมอเตอรแบบ Gear motor 26) การเปลี่ยนหมอไอน้ําทดแทนชุดเดิม 27) การเปลี่ยนหลอดฟลูออเรสเซนต T8 เปน T5 28) การเพิ่มประสิทธิภาพการใชงานระบบปรับอากาศและทําความเย็น 29) การเพิ่มประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความรอน (Heat Exchanger) 30) วัสดุปองกันการสูญเสียความรอน (การปองกันการสูญเสีย พลังงาน) โดยจะตองเปนมาตรการที่มีระยะเวลาคืนทุนไมเกิน 7 ป โดยจะ สนับสนุนเงินลงทุน 30% สูงสุดไมเกิน 1 ลานบาท/ราย โดยจะเปดรับสมัคร สถานประกอบการที่สนใจเพื่อเสนอมาตรการที่จะขอรับการสนับสนุน จากนั้น พพ. จะพิจารณามาตรการที่เขาหลักเกณฑเงื่อนไขและอนุมัติการสนับสนุน โดยจะเขาตรวจสอบการติดตั้งวัสดุอุปกรณวามีความถูกตองสมบูรณและ จายเงินสนับสนุนแกสถานประกอบการตามหลักเกณฑและเงื่อนไข ซึง่ จะดําเนินการ ในพื้นที่ประสบอุทกภัยป 2554 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ระยะเวลา ดําเนินการ 12 เดือน เงินที่จะใหการสนับสนุน 2,000 ลานบาท

อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรื่องพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

February 2011 l 77

Energy#39_p76-77_Pro3.indd 77

1/26/12 5:28 PM


Logistics Solution

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

4. มีการแบงหนาที่และความรับผิดชอบอยางชัดเจนในการ จัดการความเสี่ยงแตละประเด็น 5. มีระบบสารสนเทศเพื่อบริหารเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการ ความเสี่ยง คําถามที่เกิดขึ้นก็คือวา แลวจะลดความเสี่ยงตอสภาวะความ ผันผวนที่ ไมแนนอนเหลานี้อยางไร ซึ่งผูเขียนขอเสนอแนะแนวคิด ดังนี้ 1. ปรับแนวคิดนําหลักการบริหารโลจิสติกส-โซอุปทาน โดยหัน มาปรับปรุงกระบวนการทุกดาน หรือดําเนินการปรับรื้อระบบใหม โดย โรงงานผูผลิตตองมีการประสานความรวมมือภายใน รวมทั้งตองมี

มุมมองความคิดลดความเสีย่ ง การจัดการโลจิสติกส

ในอดีตการจัดการโลจิสติกส ธุรกิจสวนใหญจะคํานึงถึงสภาพ แวดลอมภายในองคกร เชน สภาพการทํางาน การลดตนทุน การพัฒนา ทักษะพนักงาน การปรับปรุงอุปกรณเครื่องจักร ฯลฯ แตปจจุบันธุรกิจจะ ตองใหความใส ใจกับสภาพแวดลอมภายนอกเพิ่มขึ้นดวย เนื่องจากนับ ตั้งแตเหตุการณน้ําทวมใหญที่ผานมา ทําใหธุรกิจเริ่มวิตกกังวลกับความ ไมแนนอนและความเสี่ยงที่จะเปนภัยคุกคามตอองคกร เชน การใชความ รุนแรงเพื่อเรียกรองทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การลมละลายของผู สงมอบ การกอการราย การปลอยราคาน้ํามันหรือแกสลอยตัว หรือภัย ธรรมชาติ เปนตน ซึง่ ประเด็นปญหาเหลานี้ ลวนแลวแตสง ผลกระทบตัง้ แต ธุรกิจระดับตนน้ําจนถึงปลายน้ํา และลูกคาทําใหระบบเกิดการชะงัก ความ ลาชาในการรับปจจัยการผลิต และเวลาที่สูญเสียในกระบวนการหวงโซ อุปทาน รวมถึงสงผลกระทบตอยอดขายและตนทุนเพิ่มขึ้นอีกดวย ส่ ว นประเด็ น เรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งที่ มี ประสิทธิภาพนั้น มีลักษณะที่สําคัญ 5 ประการ คือ 1. นโยบายทางดานการจัดการความเสี่ยงตองมีความชัดเจน และ เชื่อมโยงกับยุทธศาสตรขององคกร 2. มีเครื่องมือที่เหมาะสมในการจําแนกระดับความสําคัญและความ อันตรายของความเสี่ยง 3. ตองมีกลไกในการจัดการความเสี่ยงแตละรูปแบบที่แตกตางกัน

การบริหารโซอุปทานรวมกันระหวางผูสั่งซื้อกับโรงงานผลิตเครื่องจักร เพื่อทราบความตองการลวงหนา ซึ่งชวยใหการบริหารสต็อกของทั้ง 2 ฝายเปนไปอยางมีประสิทธิผล และสามารถลดตนทุนการผลิต รวมทั้งการ กระจายสินคาและสงมอบไดทัน 2. การเตรียมหาเสนทางการขนสงทีส่ ามารถใชในการกระจายสินคา ไปยังลูกคาหากเกิดภาวะวิกฤติไวลว งหนา โดยการนําขอมูลในแตละเสนทาง มาวิเคราะหเพื่อประเมินหาเสนทางการขนสงที่มีศักยภาพในการใชงาน ในชวงวิกฤติ รวมถึงการประสานงานกับภาครัฐ เพื่อไมใหเกิดการสะดุด ภายในระบบโลจิสติกส ดังเชนในชวงน้ําทวมใหญที่ผานมา สงผลทําใหเกิด ภาวะการขาดแคลนสินคาในหลายๆ พื้นที่ เสนทางการขนสงถูกตัดขาดลง การกระจายสินคาเปนไปดวยความยากลําบาก เปนตน 3. แตงตั้งคณะกรรมการจัดการความเสี่ยง ซึ่งประกอบดวย ผูบริหาร เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ โดยจําแนกความเสี่ยงในแตละระดับเพื่อระบุ กลยุทธบรรเทาความเสี่ยงจากผลกระทบ ซึ่งการบริหารความเสี่ยงจะ สนับสนุนการสรางประสิทธิผลในโซอุปทาน เพื่อไมใหกระบวนการไหลเกิด การสะดุด ประเด็นเหลานี้เกี่ยวของกับการบรรเทาปญหาความเสี่ยง หวงโซอุปทาน 4. จัดระดมความคิดเห็นทั่วทั้งองคกรในการคิดแกไขปญหาใน อนาคต โดยจําลองสถานการณสมมติภัยความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น แลวหา

78 l February 2011

Energy#39_p78-79_Pro3.indd 78

1/25/12 11:08 PM


ทางแกไขปญหานั้น รวมทั้งเสนอแนะแนวทางการแกไขที่เปนรูปธรรมและ งบประมาณประกอบในแตละแผนการจัดการความเสี่ยง นอกจากนี้ การให รางวัลทีเ่ ปนการเสริมแรงบวกแบบโดนใจจะทําใหการระดมความคิดเห็นเกิด ดอกออกผลตามเปาหมายได 5. การจัดการระบบขอมูลใหเกิดความมีประสิทธิภาพของระบบ จัดเก็บขอมูล (Storage Efficiency) เพื่อการใชประโยชนจากระบบเดิมได อยางเต็มที่แทนการซื้อระบบใหม โดยใหความสําคัญกับประสิทธิภาพของ การจัดเก็บขอมูลเพิ่มขึ้น เชน ระบบจัดเก็บขอมูลเสมือนจริง (Storage Virtualization) การจัดสรรพื้นที่แบบจํากัดตามการใชงานจริง (Dynamic or thin Provisioning) การจัดเก็บขอมูลตามระดับชั้นความสําคัญขอมูล ตามใชงานจริง(Dynamic Tearing) การจัดเก็บขอมูลถาวร (Archiving) หรือระบบการพยากรณเหตุการณลว งหนา เปนตน อยางไรก็ตาม แนวคิดนี้ ถือวาตองใชงบประมาณในการลงทุนที่สูง แตหากมองถึงความคุมคา ตอการลงทุนผนวกกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นมีความนาลงทุนหรือไม 6. ปรับแนวคิดจากเนนการรวมศูนย (Centralization) ที่เปนการ สั่งซื้อวัตถุดิบจากซัพพลายเออรนอยราย หรือการใชโรงงานผลิตหรือ ศูนยกระจายสินคาที่มีขนาดใหญเพียงแหงเดียว เพื่อลดตนทุนการจัดการ จะตองมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดการกระจายอํานาจ (Decentralized) ใหสามารถรองรับความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได โดยการเพิ่มทางเลือก เชน การใชซัพพลายเออรจํานวนมากรายขึ้น เพื่อปองกันความเสี่ยงที่อาจจะ เกิดจากการที่ซัพพลายเออรบางรายประสบปญหาจนไมสามารถนําสง สินคาในชวงภัยพิบัติได การมีโรงงานขนาดเล็กสํารองไวอีกแหง ไปจนถึง การใชศนู ยกระจายสินคาหลายแหงและกระจายตัวออกไปตามภูมภิ าคตางๆ ซึง่ การกระจายความเสีย่ งโดยการเพิม่ ทางเลือกเพื่อไมใหเกิดการสะดุดของ กระบวนการผลิตและนําสงสินคาจึงเปนอีกยุทธวิธีหนึ่งที่ผูประกอบการ ตองวางแผนเตรียมไวลวงหนาเชนกัน 7. การวางแผนการผลิตและสต็อกสินคาเผื่อไวลวงหนา จึงเปน ทางเลือกหนึ่งที่สามารถชวยบรรเทาปญหาการขาดแคลนสินคาได โดยจัด

http://www.sasib.com.sa/page3.html

เก็บสินคาที่สํารองไวในคลังสินคาที่ปลอดภัยและสะดวกตอการกระจาย สินคาตอไป ถึงแมวา วิธนี ีจ้ ะเปนการเพิม่ ตนทุนโลจิสติกสกต็ าม แตกม็ คี วาม จําเปนที่จะตองปองกันปญหาสินคาขาดแคลนในโซอุปทานและตอบสนอง ความตองการของผูบริโภค ซึ่งในทางจิตวิทยาจะสามารถไดใจผูบริโภค ที่วา “ถึงแมวิกฤติ แตสินคาของบริษัทก็ยังไมขาดแคลน” นอกจากนี้ ผูเ ขียนขอหยิบยกกรณีศกึ ษาบริษทั ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) หรือ DRT ผูผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑระบบหลังคา ไมสังเคราะห พื้นไมลามิเนต แผนบอรด ยิปซัม และบริการหลังการขาย ภายใตแบรนด ‘ตราเพชร’ ซึ่งจากเหตุการณอุทกภัยครั้งใหญในชวงปลาย ปที่ผานมา สงผลตอระบบโลจิสติกส ทั้งการขนสงกระจายสินคาและการ ขนสงวัตถุดิบเขาสูโรงงาน เนื่องจากเสนทางคมนาคมมีน้ําทวมขัง ดังนั้น ทางบริษัท ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) ไดใชบทเรียนดังกลาว เพื่อนํามาใชเปนแผนบริหารจัดการดานโลจิสติกสเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ ตางๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีแนวคิดทีจ่ ะเพิม่ ศูนยกระจายสินคาไปยังภูมภิ าคตางๆ ใหมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงในการขนสงสินคาไปยังตัวแทนจําหนายและ หางคาปลีกวัสดุกอสรางขนาดใหญ อีกทั้งยังสอดรับกับพฤติกรรมของ รานคาตัวแทนจําหนายทีป่ จ จุบนั ตองการลดภาระการสต็อกสินคา โดยขณะนี้ อยูระหวางการพิจารณาทําเลที่เหมาะสมตอการตั้งศูนยกระจายสินคาใน ภูมิภาคตางๆ เพิ่มเติมโดยชวงวิกฤติน้ําทวม มีปญหาเรื่องการกระจาย สินคาไปยังผูบริโภค จึงมีแนวคิดในการขยายศูนยกระจายสินคาไปยัง ภูมิภาคตางๆ เพิ่มขึ้น จากเดิมที่มีศูนยกระจายสินคาในจังหวัดขอนแกน ทีร่ องรับการขยายตัวของสินคากลุม วัสดุกอ สรางในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สงผลใหผลิตภัณฑตราเพชรสามารถทํายอดขายไดเพิ่มขึ้น และยังชวย บริหารจัดการดานตนทุนขนสงไดอยางมีประสิทธิภาพ ชวยลดความเสี่ยง ดานการขนสงกระจายสินคา ในกรณีท่ีไมสามารถจัดสงสินคาจากโรงงานได โดยตั้งแตกอตั้ง ในป 2552 จนถึงปจจุบัน ศูนยกระจายสินคาในจังหวัด ขอนแกนสามารถสรางยอดขายเติบโตเพิม่ ขึน้ อยางตอเนื่อง ประมาณ 10% ทุกป ติดตอกัน” นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังไดเตรียมความพรอมดานการผลิตสินคาทั้ง สายการผลิตกระเบือ้ งมุงหลังคาและไฟเบอรซเี มนต เพื่อรองรับการขยายตัว ของลูกคากลุม โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ทีย่ งั เดินหนาลงทุนพัฒนา โครงการใหมทั้งบานเดี่ยว ทาวนเฮาสและคอนโดมิเนียมอยางตอเนื่อง โดยบริษัทฯ มีแผนรุกขยายตลาดกลุมลูกคาโครงการมากขึ้น ซึ่งรูปแบบ ทําตลาดจะมุงนําเสนอสินคาที่ชวยลดระยะเวลาการกอสราง และชวย บริหารตนทุนการกอสรางใหแกลูกคาโครงการใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น บริษัทฯ จึงเชื่อมั่นวา ภาพรวมการดําเนินงานในปนี้ จะสามารถผลักดัน เปาหมายการเติบโตที่ตั้งไว 10% ไดอยางแนนอน (หนังสือพิมพฐาน เศรษฐกิจ ประจําวันที่ 17 มกราคม 2555) อยางไรก็ตาม คงปฏิเสธไมไดวาในอนาคตผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ ประชาชนและภาคธุรกิจนั้นจะมีความรุนแรงอยูในระดับใด แตการจัดการ ความเสี่ยงในระบบโลจิสติกสและซัพพลายเชนของธุรกิจหรือขององคกร นี่คือตัวอยางของธุรกิจที่เตรียมพรอมและสรางความเขมแข็งใหกับตัวเอง ในการลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นอีกได February 2011 l 79

Energy#39_p78-79_Pro3.indd 79

1/25/12 11:08 PM


Energy Concept โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย

น้ํ า ที่ ไ ด จ ากการกรองด ว ยพลั ง งานแสง อาทิตย

เครื่องกรองน้ํา พลังแสงอาทิตย แก้ วิ ก ฤติ เ รื่ อ งน้ํ า สกปรก

ในช ว งที่ ป ระเทศไทยประสบวิ ก ฤติ น้ํ า ท ว มใหญ ค รั้ ง รุ น แรงของ ประเทศ สิ่งหนึ่งที่มากับน้ําในครั้งนั้นคือเชื้อโรคตางๆ มากมาย รวมไปถึง น้ําเสียที่ ไหลจากทั่วทุกสารทิศ ยิ่งเมื่อน้ําเสียไหลลงสูแหลงน้ําที่ ใชในการ อุปโภคบริโภคหรือไหลเขาสูระบบประปาสาธารณะ น้ําเหลานั้นก็คงเปน อันตรายในดานสุขภาพตอผูที่นํามาใชหรือดื่ม ซึ่งเหตุการณดังกลาวเกิด ขึ้นมาแลวในวิกฤติครั้งนั้น หลายคนใชเครื่องกรองน้ําประสิทธิภาพสูงในการใชน้ํา แตปญหา หนึ่งที่เกิด (ประสบกับตัวเอง) คือ ไสกรองที่ ใชกรองเกิดอุดตันเนื่องจาก สิ่งสกปรกมีมากเกินไป ขณะที่การเปลี่ยนไสกรองทําไมไดเนื่องจากบริษัท ที่ดูแลเครื่องกรองน้ําประสบปญหาน้ําทวมและเสนทางที่ ใชเดินทางถูก ตัดขาด ดวยเหตุนี้จึงตองกลับมาใชวิธีแบบดั้งเดิมทั้งการแกวงสารสมและ

น้ําที่ ไดจากการกรองดวยพลังงานแสงอาทิตย

การนําน้ํามาตมเพื่อฆาเชื้อโรค แตสําหรับ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีรชัย อาจหาญ และ ผูชวยศาสตราจารย ดร.รังสรรค ทองทา 2 อาจารยจากสํานักวิชา วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) จึงคิดคน ระบบกรองน้ําที่มีประสิทธิภาพในยามตองประสบภัยที่สําคัญยังสามารถ ชวยลดการใชพลังงานไปในตัวอีกดวย

เหตุจูงใจที่ทําใหคิดคนอุปกรณนี้

ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.วี ร ชั ย อาจหาญ และ ผู ช ว ยศาสตราจารย ดร.รังสรรค ทองทา 2 นักคิดคน

ชุดกรองน้ําดื่มพลังงานแสงอาทิตยนี้พัฒนาและปรับแปลงขึ้นจาก แนวคิดที่จะชวยผอนคลายปญหาการขาดแคลนน้ําดื่มในแหลงชุมชนที่น้ํา ทวมหรือในศูนยพักพิงของผูประสบภัยใหมีน้ําสะอาดดื่มไดอยางเพียงพอ

80 l February 2012

Energy#39_p80-81_Pro3.indd 80

1/25/12 12:38 AM


อาจารยทั้ง 2 กําลังดําเนินสาธิตวิธีการกรองน้ํา

โดยชุ ด กรองน้ํ า ดื่ ม พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ส ามารถใช้ แ สงอาทิ ต ย์ เ ป็ น พลังงานหลักแทนการใชพลังงานไฟฟา สามารถใชน้ําดิบไมวาจะเปนน้ํา จากแหลงน้ําธรรมชาติ, คูคลองที่เปนน้ําไหลหรือน้ําประปาที่มีสีขุน สําหรับวิธีการกรองน้ําสามารถนําน้ําดิบมาพักไวแลวแกวงสารสม 5-10 นาที ใหตกตะกอนซึ่งจะทําใหน้ําใสขึ้น จากนั้นนําน้ําที่ ไดมาผานชุด กรองน้ําก็จะไดน้ําดื่มที่สะอาด ผานการทดสอบคุณภาพน้ําดวยชุดตรวจ เชื้อโคลิฟอรมแบคทีเรียของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ชวยให มัน่ ใจวาน้าํ ทีผ่ า นการกรองดวยชุดกรองน้าํ ทีพ่ ฒ ั นาขึน้ นี้ สะอาด, ปลอดภัย ปราศจากเชื้อจุลินทรียที่ทําใหเกิดโรคระบบทางเดินอาหาร

หลักการทํางานของชุดอุปกรณนี้

อุปกรณชุดนี้ประกอบดวยสองสวน คือ สวนที่ ใชกรองน้ํากับสวนที่ ใหพลังงาน โดยสวนที่กรองน้ํานั้นสามารถใชเครื่องกรองน้ําที่หาซื้อได ทั่วไป แตจะมีการเพิ่มระบบกรองอยางหยาบเขาไป ทําใหสามารถใชไดกับ น้ําที่มีคุณภาพดอยกวาน้ําประปา สวนดานหลังของชุดกรองน้ําจะประกอบ ไปดวยระบบอินเวอรเตอรที่รับพลังงานจากโซลาเซลล เพื่อนําพลังงานไป

ชารจแบตเตอรี่ที่ปมน้ําอาศัยแรงดันทําให เครื่องทํางาน การออกแบบให ชุ ด กรองน้ํ า ใช พลังงานจากโซลาเซลลแทนการใชไฟฟา เนื่องจากในพื้นที่ประสบอุทกภัยสวนใหญ ระบบไฟฟ้ามักจะมีปัญหา รวมถึงเรื่อง ความปลอดภัยจากกระแสไฟรั่ว จึงเหมาะ ตอการนําไปใชในกลุม ชุมชนทีอ่ ยูร วมกันใน หมู บ า น ศู น ย อ พยพหรื อ ศู น ย พั ก พิ ง สําหรับตนทุนการผลิตอยูราว 20,000 บาทตอชุด สามารถผลิตน้ําดื่มได 120 ลิตรตอชั่วโมงหรือราวถังน้ําขนาด 20 ลิตร จํานวน 6 ถัง เพียงพอตอการบริโภค ของคนในชุมชน

ขณะนําอุปกรณขึ้นมาประกอบ

เปาหมายที่วางไว

ตองยอมรับวาชุดอุปกรณดังกลาวเราตั้งใจคิดคนขึ้นมาก็เพราะ วิกฤติน้ําทวมใหญ ไมไดมีเปาหมายอะไรมากกวานั้น อันที่จริงแลวชุด อุปกรณดังกลาวก็คือเครื่องกรองน้ําไฟฟาทั่วไปที่ ใชกันอยูนี่เอง เพียงแต ในชวงน้ําทวมไฟฟากับน้ํา มันเปนสิ่งที่อันตรายแลวพื้นที่ประสบภัยน้ําทวม สวนใหญจะมีการตัดไฟฟา เครื่องกรองน้าํ ทัว่ ไปจึงไมสามารถใชงานได อีก ทั้งน้ําที่ ใชก็ปนเปอนสูง การใชโซลารเซลลเขามาเปนตัวกําเนิดไฟฟาจึงเปนการแกไขที่ตรง จุดมากที่สุด นอกนี้ชุดอุปกรณดังกลาวยังสามารถนําไปใชกับชุมชนที่หาง ไกลชนิดน้ําไฟเขาไมถึงใหสามารถหาน้ําสะอาดมาอุปโภคบริโภคได เพราะ ในบางหมูบานตามตางจังหวัดยังใชน้ําบาดาลกันอยู หากจะใหดีหนวยงาน ราชการที่ดูแลสวนทองถิ่นอาจจะหาเก็บไวใชสักชุด เนื่องจากมีตนทุนที่สูง และกําลังการผลิตน้ําก็เพียงพอตอ การใชในชุมชนที่มีขนาดไมใหญมาก ที่ สํ า คั ญ ระบบกรองน้ํ า ดั ง กล า วยั ง มี ก ารใช เ ป น ยุ ท ธป จ จั ย ของกองทัพสหรัฐฯ เวลาที่ตองไปทํา สงครามในดินแดนหางไกล

ขนาดเล็กสามารถเก็บใสกระเปา เดินทางได เครื่องกรองน้ําพลังงานแสงอาทิตย

February 2012 l 81

Energy#39_p80-81_Pro3.indd 81

1/25/12 12:38 AM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

10 วิธีเลือกซื้อบาน ประหยัดพลังงาน (ตอนที่ 1) สําหรับผูท ก่ี าํ ลังมอง หาบานพักอาศัย ไมวา จะเปน บานมือหนึ่ง บานมือสอง บานเดีย่ ว ทาวนเฮาส หรือ ทาวนโฮมในสมัยนี้ คงตอง เลื อ กบ า นที่ ใ ห ค วามเย็ น ส บ า ย ด ว ย ค ว า ม ที่ ประเทศไทยเราเปนเมืองรอน ประกอบกับอุณหภูมิความ รอนในโลกทีเ่ พิม่ ขึน้ ทุกวัน เราจึงตองเนนการออกแบบบาน การตกแตงบาน ให มีความเย็นและอยูส บายสอดคลองกับวิถชี วี ติ ในยุคปจจุบนั โดยเรามีวธิ ที ่ี จะชวยใหคณ ุ เลือกซือ้ บานหรือจะสรางบานใหถกู ใจ ลองมาดูกนั 1. อยาใสแหลงความรอนในบาน คือไมควรออกแบบลานพื้น คอนกรีตบริเวณทีจ่ อดรถยนตในทิศทางรับแสงแดด เชน ทิศใต ทิศตะวันตก เนื่องจากวัสดุก่อสร้างดังกล่าวจะสะสมความร้อนไว้ ในเวลากลางวัน ในปริมาณมาก ทําใหสภาพแวดลอมของบานและตัวบานมีอุณหภูมิสูง ตามไปดวย 2. รั้วบาน…ตองโลง…. โปรง…. สบาย การทํารั้วบานของแต จะหลังหรือแตละโครงการจะไมเหมือนกัน ดังนั้นผูซื้อตอง สังเกตและใสใจ วาบานที่ซื้อนั้นรั้วบานเปนอยางไร ซึ่งรั้วบานก็เปนสวนหนึ่งเหมือนกันที่จะ ชวยใหบานเย็น โดยรั้วบานตอง ไมทึบตัน เนื่องจากผนังรั้วทึบจะกีดขวาง การเคลื่อนที่ของลมเขาสูตัวบานทําใหพื้นที่ภายในบานอับลม 3. ตนไมใหรมเงา การปลูกตนไมในบริเวณบาน นอกจากจะชวย สรางความรมรื่นและความสดชื่นสบายตาสบายใจแกผูอาศัยในบาน แลว ใบไมรปู ทรงหลากสีสนั ทีแ่ ผกิง่ กานสาขาในพืน้ ทีบ่ ริเวณบานยังสามารถลด แสงแดดที่ตก กระทบมายังตัวบาน และใหรมเงาที่รมเย็นแกผูอยูอาศัยได เป น อย า งดี และสิ่ ง ที่ สําคัญที่สุด คือ ตนไม ใบ ห ญ า ทั้ ง ห ล า ย ที่ มี ประสิทธิภาพชวยลดความ รอนทีอ่ ยูในสภาพแวดลอม

4. กอนสราง อยาลืม!! พื้นชั้นลางปูแผนพลาสติก บานพัก อาศัยทั่วไปในปจจุบันนี้ทั้งชั้นลางและชั้นบนมักติดตั้งเครื่องปรับอากาศให ความเย็นและลดความชื้นภายในพื้นที่กันเปนจํานวนมาก การเตรียมการ กอสรางในสวนโครงสรางพื้นชั้นลางควรปูแผนพลาสติกเพื่อ ปองกัน ความชื้นที่สามารถระเหยขึ้นมาจากผิวดิน เปนผลใหมีการสะสมความชื้น ภายในพื้นที่หองชั้นลางของตัวบานและเปนที่มา ของภาระการทําความเย็น ของเครื่องปรับอากาศที่เพิ่มขึ้นในที่สุด 5. ควรหันบาน ให ถู ก ทิ ศ (ลม-แดดฝน) จิตแจมใส ซึ่งการ ออกแบบบ า นเรื อ นใน ประเทศไทย ไม ค วร หลงลืมปจจัยพื้นฐานที่มี ผลตอการถายเทความ รอนถายเทความรอนเขา สู ตั ว บ า น เ พ ร า ะ ประเทศไทยจะไดรบั ความรอนจากดวงอาทิตยทางทิศใตเปนเวลา 8-9 เดือน และมีมุมแดดต่ําทําใหความรอนเขาสูตัวอาคารไดงายขึ้น กันแสงแดดได ยาก จึงทําใหทิศตะวันตกและทิศใตมีอิทธิพลจากแสงแดดรุนแรงเกือบ ตลอดทัง้ ป การวางตําแหนงบานและการออกแบบรูปทรงบานทีด่ ตี อ งหลีก เลี่ยงการรับแสงแดดในทิศทางดังกลาว นอกจากนี้ การวางผังบานและ ชองหนาตางจึงตองคํานึกถึงทิศทางกระแสลมดวย แตหากพื้นที่ทางเขาออกของบานกับถนนจําเปนตองสรางบานที่รับแดดในทิศ ทางดังกลาวก็ มีทางแกโดยการติดตั้งกันสาดหรือตนไมที่เหมาะสมก็ ได เสียดายที่พื้นที่ ในฉบับนี้หมดเสียแลว มาติดตามอีก 5 ขอ ที่เหลือกันในฉบับหนาคะ

ที่มา : http://blog.th.88db.com

82 l February 2012

Energy#39_p82_Pro3.indd 82

19/1/2012 0:51


Energy in Trend

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

“ฉี่” นั้นมีคา.. อยาไปทิ้ง!!

ใครจะเคยคิดบาง วา “ฉี”่ มันจะกลายเปนมูลคาดานพลังงานได ว า กั น ว า ฉี่ จ ะกลายเป น เชื้ อ เพลิ ง ที่ สํ า คั ญ ให กั บ เซลล เ ชื้ อ เพลิ ง เเบคทีเรีย (Microbial Fuel Cell) ที่สามารถเปนแหลงจายไฟฟา ใหกับหุนยนตอัตโนมัติได เชือ้ เพลิงเเบคทีเรียแบบทัว่ ไปนัน้ จะประกอบดวยขัว้ ไฟฟา Anode และ Cathode และมีเยอเลือกผาน (membrane) เปนตัวกั้นอยู ในขั้ว Anode เชื้อเพลิงจะถูกออกซิเดชัน โดยพวกแบคทีเรียซึ่งมันจะทําใหเกิดอิเล็กตรอน และโปรตอนขึ้นมา อิเล็กตรอนจะถูกสงผานไปยังขั้ว Cathode โดยทาง วงจรไฟฟาภายนอก สวน โปรตอนจะไหลไปยังขั้ว Cathode ผานตัว Membrane ซึ่งการเคลอนที่ของประจุไฟฟาดังกลาว กับการตออุปกรณ อิเล็กทรอนิกสใหครบวงจรภายนอก ก็สามารถทําใหเกิดกระแสไฟฟาไหล ผานได และเชื้อเพลิงเเบคทีเรีย ก็สามารถสรางพลังงานไดตราบเทาที่ยัง มีเชื้อเพลิงปอนแกเซลลไฟฟาอยู นักวิจัย Dr. Ioannis Ieropoulos จากหองทดลอง Bristol Robotics ของมหาวิทยาลัย Bristol ประเทศอังกฤษ ไดรับทุนวิจัย 564,561 ปอนด (ราวๆ 28 ลานบาท) สําหรับโครงการวิจัย 4 ป ที่จะ พัฒนาวิธกี ารใชขยะหรือของเนาเสียมาสรางเปนแหลงพลังงานใหกบั เซลล เชื้อเพลิงเเบคทีเรีย ใน 3 ปครึ่งที่ผานมา นักวิจัยไดพัฒนาหุนยนตชอ EcoBot-III ไดสําเร็จ โดยหุนยนตตัวนี้สามารถใหพลังงานกับตัวมันเอง โดยการยอยพวกขยะหรือของเสียตางๆ ในการทดลองที่ผานมา เคาไดใช ผลไมเนา, วัชพืชที่ถูกตัดทิ้ง, เปลือกกุง, และแมลงวันที่ตายแลว มาใชเปน แหลงอาหารใหกับเซลลเชื้อเพลิงเเบคทีเรีย และเคาก็กําลังหาของเสียที่ดี ที่สุด ในการสรางพลังงานที่มากกวาสิ่งของเหลานี้ และเคาก็ ไดพบคําตอบ สิ่งนั้นก็คือ ปสสาวะ ซึ่งจริงๆ แลวปสสาวะก็อุดมไปดวย Nitrogen, Urea,

http://www.siamzone.com/board/view.php?sid=2067311

http://health.kapook.com/view2138.html

Chloride, Potassium และ Bilirubin ที่สามารถเปนแหลงพลังงานใหกับ เซลลเชื้อเพลิงเเบคทีเรียไดเปนอยางดี และเขาก็ ไดทดสอบเบื้องตนถึง ประสิทธิภาพของปสสาวะ วาสามารถเปนแหลงพลังงานไดดีเลยทีเดียว ดาน นักวิทยาศาสตรจากมหาวิทยาลัย Ohio ก็สามารถสราง ไฮโดรเจนราคาถู ก สํ า หรั บ ใช ใ นเซลเชื้ อ เพลิ ง ได จ ากป ส สาวะหรื อ ฉี่ ไ ด เชนกัน ฉี่ของวัว 1 ตัวสามารถสรางพลังงานเพียงพอสําหรับทําน้ํารอน ใหบาน 19 หลัง เดิมการแยกไฮโดรเจนจากน้ํานั้นตองใชแรงดัน 1.23 Volt แตเทคโนโลยีใหมนี้พบวาการแยกไฮโดรเจนออกจากสารประกอบไนโตรเจน ใชพลังงานนอยกวามากคือใชเพียง 0.037 Volt ดังนั้นสารประกอบอยาง ยูเรียที่มีมากในฉี่และมี 4 อะตอมของไฮโดรเจนจับอยูกับ 2 อะตอมของ ไนโตรเจนจึงเปนตัวเลือกที่ดี นักวิจยั กลุม นีบ้ อกวา ฉี่ 1 แกลลอนสามารถขับเคลอนรถใหเคลอนที่ ได 90 ไมล เซลเชื้ อ เพลิ ง พลั ง ฉี่ ข นาดเท า ตู เ ย็ น จะสร า งพลั ง งานได 1 กิโลวัตตโดยตองลงทุนประมาณ 5,000 ดอลลาร !! วาววว..ตอไปในอนาคต เราอาจจะไดเห็นธนาคาร “ฉี่” ของโลกก็ เปนได แยกกันไปตามแตละสาขา แตละประเทศไปบริหาร ..แตนี้ตอไป จะ ไมฉี่เรี่ยฉี่ราดกันแลวนะครับ หุหุ

อางอิงขอมูล : http://www.msnbc.msn.com/id/31805166/ns/technology_and_science-innovation/

February 2012 l 83 Energy#39_p83_Pro3.indd 83

1/17/12 11:20 PM


Energy Exhibit โดย : กองบรรณาธิการ

BOI Fair 2011

Going Green for the Future

ผานไปแลวมหกรรมงานโชวนวัตกรรมอันยิง่ ใหญของคนไทย ทีอ่ าจ เรียกไดวาเปนเอ็กซโปนวัตกรรมของประเทศไทย โดยในปนี้จัดขึ้นที่ริม ทะเลสาบเมืองทองธานีบนเนื้อที่กวา 166,000 ตารางเมตรชวงวันที่ 5-22 มกราคม 2555 โดยมีบริษัทชั้นนําตางๆ เขารวมจัดศาลาโชวนวัตกรรม กวา 84 ศาลา โดยแตละศาลาจะมีพื้นที่ประมาณ 500 ตารางเมตร สํ า หรั บ งานในครั้ ง นี้ จั ด ขึ้ น ภายใต แ นวคิ ด “รวมพลั ง น้ํ า ใจ โลกสดใส ไทยยั่งยืน” ซึ่งสอดคลองกับทิศทางการพัฒนาของประเทศที่ กําหนดใหเจริญเติบโตทั้งทางดานเศรษฐกิจ, สังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อ ใหสังคมไทยกาวไปสูสังคมที่มีความสุขและมีการพัฒนาอยางยั่งยืน ในปนี้

ตองบอกหลายคายตางขนเทคโนโลยีใหมลาสุดของตัวเองออกมาโชวกัน อยางถึงพริกถึงขิง โดยเฉพาะเทคโนโลยีการประหยัดพลังงานและการ อนุรักษสิ่งแวดลอม สวนจุดเดนสําคัญในปนี้ที่หลายบริษัทนิยมมากที่สุด คือการฉายภาพยนตร 3 มิติ ซึง่ บอกเรื่องราวของแตละบริษทั อยางชัดเจน การจัดงานจะแบงออกเปนกลุมสําคัญๆ ทั้งสิ้น 3 กลุมใหญดวยกัน ประกอบไปดวย กลุมเครื่องใชไฟฟา, กลุมยานยนตและกลุมอื่นๆ โดยกลุม ยานยนต เรียกได ว ามากันแทบทุ กค าย ซึ่งแนนอนว าทุกคายต างก็ ขน ผลิตภัณฑที่เกี่ยวกับเรื่องของยานยนตไฟฟาและพลังงานทางเลือกอื่น อยางเชนที่โตโยตานํา Winglet ยานพาหนะสวนบุคคลระบบไฟฟาและ

84 l February 2012

Energy#39_p84-85_Pro3.indd 84

1/25/12 12:42 AM


รถยนต Prius C และ Prius Plug-in ดานฮอนดาก็นํารถยนตไฮบริด CR-Z มาโชว สวนเชฟโรเล็ตก็นํา Chevy Volt รถไฟฟาหนึ่งเดียวและยานพาหนะไฟฟา EN-V เขามารวมโชว ดานมิตซูบิชิก็นํารถไฟฟา i-MiEV มารวมโชวและเปดโอกาสใหผูที่สนใจได ทดลองนั่งอีกดวย สวนคายนิสสันก็สงพระเอกหลักอยาง Leaf เขามาโชว พรอมดวยนองใหมอยาง Townpod ที่เปนรถไฟฟาอเนกประสงค ขณะที่ Aeroklas ไดเปดตัวกังหันลม “วิน เทอรไบน” ผลิตพลังงาน ไฟฟา ดวยการใชผลิตภัณฑของ Aeroklas มาผลิตเปนกังหันลมแนวตั้ง

3 ใบพัดซึ่งเปนการเปดตัวครั้งแรกในประเทศไทย โดยอาศัยการแรงลม มาแปลงใหเปนพลังงานไฟฟา อุปกรณดังกลาวมีกําลังการผลิตกระแส ไฟฟาไดตั้งแตตนละ 3.5-10 กิโลวัตต สวนกลุมเครื่องใชไฟฟาจะเนนจุดเดนไปที่พลังงานทดแทนและการ รีไซเคิลวัสดุเหลือใชใหกลับมามีคา อีกครัง้ เชนแอลจีทีน่ าํ เสนอระบบควบคุม พลังงานอัจฉริยะภายในทีพ่ กั อาศัย สวนซัมซุงก็นาํ เสนอนวัตกรรมใหมดา น การอนุรกั ษสิง่ แวดลอมและพลังงาน สวนพานาโซนิคก็นาํ เสนอการรีไซเคิล ของเหลือใชใหกลับมามีคณ ุ คาอีกครัง้ ซึง่ สวนใหญแลวกลุม เครื่องใชไฟฟา นอกจากนําเสนอนวัตกรรมใหมๆ แลว ยังมีการโชวเครื่องกําเนิดพลังงาน ทดแทนอยางกังหันลมและโซลารเซลลอีกดวย แตเนนหนักไปที่การนําเสนอ ภาพยนตร 3 มิติ กลุม สุดทายจะเปนกลุม ทัว่ ไป เชน การไฟฟาฝายผลิตทีข่ นนวัตกรรม ตางๆ มากมายดานพลังงานทดแทนแบบแนนเต็มพาวิลเลี่ยน ดานทีโอทีก็ นําเสนอเทคโนโลยีไฮสปดแบบ 3.9G ที่ชวยใหการสื่อสารเร็วขึ้น หรือเอส ซีจีที่นํานวัตกรรมการสรางบานประหยัดพลังงาน ดวยนวัตกรรมผนัง 2 ชั้นเพื่อปองกันความรอนเขามาในบาน รวมไปถึงคอนกรีตโปรงแสงที่ชวย ใหแสงสวางเขามาในบานไดลดการใชพลังงานดานแสงสวาง ทีน่ าํ เสนอทัง้ หมดนัน้ ยังไมถงึ 1ใน 4 ของการจัดงานจริง เพราะตอง ยอมรับวางานนี้ ใหญจริงๆ เกินกวาทีจ่ ะบรรยายไดหมด แตทแี่ นๆ ใครทีส่ นใจ ดานพลังงานและสิง่ แวดลอมไมไดไปงานนีถ้ อื วานาเสียดายมากๆ เพราะเรียก ไดวาเปนงานที่รวมนวัตกรรมใหมๆ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอมเกือบทุก ชนิดมาไวในที่เดียวกัน คิดดูเถิด…ไปวันเดียวยังเดินไมทั่วเลย!!!

February 2012 l 85

Energy#39_p84-85_Pro3.indd 85

1/25/12 12:42 AM


Energy Around The World Asia

Middle East

http://www.reuters.com/article/2012/01/04/us-china-airlinesidUSTRE8030HC20120104

จีนไมสนภาษีคารบอน EU

ชวงปที่ผานมากลุมประเทศ EU เริ่มเตรียมใชกฎการคาสิทธิ์การ ปลอยมลพิษ (Emissions Trading System - ETS) ดวยการเก็บภาษี คารบอนกับสายการบินทีเ่ ขามาในกลุม ประเทศ EU โดยเริม่ เก็บในวันที่ 1 ม.ค.55 โดยทุกสายการบินที่จะบินเขาในกลุมประเทศ EU ตองซื้อสิทธิ์การปลอย มลพิษ แตสายการบินยักษใหญของจีนยืนกรานไมยอมจายคาการปลอยกาซ คารบอนแก EU กฎดังกลาวยังไมเปนที่พอใจของสายการบินทั่วโลก นายไฉ ไหปอ รองเลขาธิการสมาคมการขนสงทางอากาศของ จีน (CATA) ระบุวา “ทางสมาคมฯ ในนามของตัวแทนสายการบินประเทศ จีน ขอคัดคานอยางหนักแนนตอขอปฏิบัติตามกฎดังกลาว ซึ่งเปนกฎที่ ไมมี ความเหมาะสมและยังเปนการบีบบังคับใหสายการบินนานาชาติยอมรับกฎ ดังกลาว ขณะนี้รัฐบาลจีนกําลังพิจารณามาตรการตอบโต EU แตยังไม สามารถเปดเผยรายละเอียดได” กอนหนานี้สื่อของทางการจีนเคยระบุไวแลววา กฎดังกลาวของ EU ไดลวงละเมิดอธิปไตยของชาติและยังเปนการละเมิดสนธิสัญญาการบิน ระหวางประเทศ นอกจากนี้กฎดังกลาวยังนําไปสูสงครามการคาระหวาง ประเทศอีกดวย ขณะเดียวกันศาลสูงสุดของ EU ยังไมรบั พิจารณาการยื่น ฟองคัดคานกฎดังกลาวจากสายการบินของสหรัฐฯ เมื่อชวงทีผ่ า นมา

Africa

http://af.reuters.com/article/investingNews/ idAFJOE80E01O20120115

http://www.allvoices.com/contributed-news/11189382-iran-rejects-us-warningagainst-closing-strait-of-hormuz

อิหรานคุม…ชองแคบฮอรมุซระอุ

หลังการปะทะคารมระหวางสหรัฐฯ กับอิหรานถึงเรื่องการพัฒนา อาวุธนิวเคลียรของอิหราน จนนํามาสูก ารประกาศคว่าํ บาตรทางเศรษฐกิจ ของอิหราน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงการควบคุมการเงินของธนาคารกลาง แหงชาติอิหราน สงผลใหอิหรานโดยการนําของประธานาธิบดีมาหหมุด อาหมาดิเนจาด ออกคําสั่งใหปดชองแคบฮอรมุซ ซึ่งเปนเสนทางเดินเรือ บรรทุกน้ํามันที่สําคัญของโลก พลเรือเอก ฮาบิโบลเลาะห ซอยารี ผูบัญชาการทหารเรือ อิหราน เปดเผยวา “สําหรับกองทัพอิหรานแลว การปดชองแคบฮอรมุซ เปนเรื่องที่งายดาย แตสําหรับในตอนนี้ เรายังไมจําเปนตองปดชองแคบ ฮอรมซุ เนื่องจากทะเลโอมานอยูในความควบคุมของเราแลวและเราสามารถ ควบคุมการเขาออกของเรือขนสงน้ํามันได สาธารณรัฐอิสลามอิหรานมี อํานาจโดยสมบูรณและควบคุมทุกการเคลื่อนไหวภายในภูมิภาคนี้” อิหรานขมขูจะปดชองแคบหากมาตรการคว่ําบาตรครั้งใหมสงผล กระทบตอการสงออกน้าํ มันของอิหราน และจะตอบโตหากสหรัฐฯ ปลอยเรือ บรรทุกอากาศยานแลนผานเสนทางดังกลาว กลุม EU นําเขาน้ํามันจาก อิหรานราว 450,000 บารเรลตอวันหรือราว 18% ของการสงออกของ อิหราน นอกจากนี้ขอมูลอีไอเอพบวาในป 2009 น้ํามันกวา 1 ใน 3 จากทั่ว โลกตองขนสงผานชองแคบฮอรมุซ

ซูดานขยายผลิตน้ํามันสงออก

ใชวา จะมีแตประเทศตะวันออกกลางทีม่ บี อ น้าํ มัน ในแอฟริกาก็มเี ชนกันอยางประเทศซูดาน โดยเจาหนาที่ ทางการของซูดานเผยวา รัฐบาลมีแผนเพิ่มการผลิตน้ํามันถึง 180,000 บารเรลตอวันภายในสิ้นป 2555 นี้ โดยใชเทคโนโลยีทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และเรงปรับปรุงการฟน ตัว หลังจากทีซ่ ดู านสูญเสียการผลิตน้าํ มัน 2 ใน 3 จากจํานวน 490,000 บารเรลตอวัน หลังทําขอตกลงสันติภาพป 2548 เพื่อยุติสงครามกลางเมือง นายอาซาริ อับดาลลา ผูอ าํ นวยการสํานักงานสํารวจและผลิตน้าํ มัน (OEPA) กลาววา “ปจจุบนั ซูดานผลิตน้ํามันที่ระดับ 115,000 บารเรลตอวันและเรามีแผนที่จะเพิ่มกําลังการผลิตมาอยูที่ระดับ 180,000 บารเรลตอวันกอนสิ้นป 2555 นี้ ซึ่งจะมาจากแหลงน้ํามันและบล็อกน้ํามันที่มีอยู โดยหลังจากป 2559 ซูดาน จะเพิ่มกําลังผลิตไปแตะระดับ 320,000 บารเรลตอวัน” แผนความพยายามขยายกําลังการผลิตน้ํามัน มีขึ้นเพื่อชวยแกปญหาวิกฤติเศรษฐกิจที่เปนผลมาจาก แหลงน้ํามันในซูดานใตตองแบงปนกับสวนที่ตองสงออกผานทางทอน้ํามันและทาเรือของซูดานเหนือ ทั้งนี้ ซูดานเหนือและซูดานใตลมเหลวในการทําขอตกลงเรื่องคาธรรมเนียมขนถาย โดยซูดานใตกลาวหาวาซูดาน เหนือกีดกันการขนสงน้ํามันที่จะสงออกที่ทาเรือซูดานเหนือ

86 l February 2012

Energy#39_p86-87_Pro3.indd 86

1/25/12 9:12 PM


Asia

Europe

http://www.statestimes.net/2012/01/japan-may-extend-lifespan-of-nuclear-powerplants-up-to-60-years/

http://www.bbc.co.uk/news/uk-england-humber-16637251

หลังจากปทผ่ี า นมาญีป่ นุ ตองประสบภัยจนโรงไฟฟานิวเคลียรฟกุ ชุ มิ ะ ไดอิจิระเบิด สงผลใหทั่วโลกตองตระหนักถึงการใชพลังงานในรูปแบบดัง กลาว แตดูเหมือนประเทศที่มีความตองการใชพลังงานสูง ยังตองการใช พลังงานนิวเคลียรตอ ไปอีกระยะอยางเชนประเทศญีป่ นุ โดยรัฐบาลญีป่ นุ อาจ จะอนุญาตใหเตาปฏิกรณนวิ เคลียรภายในประเทศใชงานไดนานสุดถึง 60 ป นายโอซามุ ฟูจิมูระ หัวหนาเลขาธิการคณะรัฐมนตรี กลาววา “การขยายเวลาจะไดรับอนุมัติเปนพิเศษ เมื่อมีการรับรองความปลอดภัย ของโรงไฟฟาแลว โดยยังไมมีการเปลี่ยนขอจํากัดพื้นฐานที่ 40 ปแตอยาง ใด ซึ่งในปจจุบันเตาปฏิกรณนิวเคลียรจะไดรับอนุญาตใหสามารถทําการได เปนเวลา 30 ป โดยผูประกอบการสามารถยื่นขออนุญาตขยายเวลาใชงาน เพิ่มไดอีกถึง 10 ป” นักวิจารณดา นพลังงานนิวเคลียรของญีป่ นุ ตอบโตประกาศดังกลาว ในทันที โดยกลาวหาวาเปนการขาดความรับผิดชอบตออุบัติเหตุนิวเคลียร ครัง้ รายแรงทีเ่ กิดขึน้ เมื่อเดือนมีนาคมปทผี่ า นมา ซึง่ รัฐบาลกําลังพิจารณา ดําเนินรอยตามสหรัฐฯ ทีจ่ ะขยายระยะเวลาการใชงานเตาปฏิกรณนวิ เคลียร ออกไปไดอกี 20 ป จากขอจํากัด 40 ป ทัง้ นีร้ ฐั บาลญีป่ นุ กําลังรางกฎหมาย เพื่อควบคุมความปลอดภัยนิวเคลียรใหเขมงวดขึ้น

จากการที่กลุมประเทศยุโรปเริ่มดําเนินการลดการปลอยคารบอน อยางเปนรูปธรรมมากขึ้น สงผลใหพลังงานทดแทนเปนที่สนใจในกลุม ประเทศยุโรป โดยอังกฤษตั้งใหเมืองฮัลลที่อยูทางตะวันออกเฉียงเหนือ เปน เมืองที่มีการปลอยคารบอนต่ํา ดวยการเตรียมแผนสรางโรงไฟฟาชีวมวล ซึ่งโรงไฟฟาดังกลาวมีศักยภาพจายไฟฟาครอบคลุมไดมากกวา 95,000 หลังคาเรือน Ventures Real บริษทั ดานพลังงานมีแผนทีจ่ ะสรางเปนศูนยพลังงาน ชีวมวลบนทาเรือขนสงสินคา Queen Elizabeth โดยคาดการณวา โครงการ ดังกลาวอาจตองใชงบประมาณกวา 130 ลานปอนดสเตอริง หากโครงการ โรงไฟฟาชีวมวลแลวเสร็จคาดวานาจะชวยสรางงานในทองถิ่นวา 200 ตําแหนงงาน สําหรับเชื้อเพลิงจะมาจากเศษซากไมที่ถูกทิ้งแลวทั่วยุโรป นาย Mike Hammond เจาหนาที่บริหารจาก Ventures Real กลาว วา “เราจะสามารถชวยลดการปลอยคารบอนไดอยางมหาศาล” ดานนาย Steven Bayes เจาหนาที่ของเมืองฮัลลกลาวา “โรงไฟฟาชีวมวลจะชวยให ตําแหนงผูน าํ การปลอยคารบอนต่าํ ของเมืองฮัลลโดดเดนขึน้ ” โครงการดัง กลาวจะมีอายุการใชงานอยางนอย 25 ป แผนดังกลาวกําลังอยูในการ พิจารณาของสภาเมืองฮัลลชวงเดือนเมษายนนี้

ญี่ปุนเตรียมยืดเวลาใชนิวเคลียร

สหรัฐฯ พัฒนานิวเคลียรขนาดเล็ก

เมืองฮัลลลดคารบอนใชไฟฟาชีวมวล

กระทรวงพลังงานสหรัฐประกาศเขาสูขั้นตอนแรกในการผลิตเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรขนาดเล็กแบบ แยกสวน (Small Modular Nuclear Reactors - SMRs) ในสหรัฐอเมริกา เทคโนโลยีพลังงานรุนตอไป จะ เปนสัญลักษณในการเริ่มตนใหมของอุตสาหกรรมนิวเคลียรภายในประเทศ โดยรัฐบาลสหรัฐฯ ไดผานรางงบ ประมาณแลว และจะมีขอตกลงรวมกับภาคเอกชนเพื่อสนับสนุนการออกแบบ นาย Steven Chu รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานสหรัฐฯ กลาววา “นั่นคือทางเลือกของอเมริกาเปนที่ ชัดเจน เราสามารถพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดในรุนตอไปได ซึ่งจะชวยในการสรางนับพันตําแหนงใหม และชวยเปดโอกาสการสงออกเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรขนาดเล็กแบบแยกสวน ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งจะชวย ใหเราสามารถแขงขันในดานพลังงานที่สะอาดทั่วโลก” เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรขนาดเล็กแบบแยกสวนจะชวยใหขนาดของโรงไฟฟานิวเคลียรในปจจุบันลด ลงประมาณหนึ่งในสาม นอกจากนี้ยังมีการเสนอเรื่องของความปลอดภัยในการจัดสรรที่ดินกอสรางและผล ประโยชนทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะชวยลดคาใชจายเงินทุนและเวลาในการกอสราง เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรขนาด เล็กแบบแยกสวนยังเหมาะกับระบบโครงขายไฟฟาขนาดเล็กที่โครงขายโรงไฟฟาขนาดใหญเขาไมถึง

USA

http://energy.gov/articles/energy-departmenttakes-first-step-spur-us-manufacturing-smallmodular-nuclear-reactors

February 2012 l 87

Energy#39_p86-87_Pro3.indd 87

25/1/2012 0:14


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ธนชาติ รวมใสใจสิง่ แวดลอม

พรอมอนุรักษพลังงาน จากสถานการณปจ จุบนั ทีพ่ ลังงานนับไดวา เปนปจจัยที่สําคัญตอการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและ จากความตองการใชพลังงานที่เพิ่มมากขึ้นตาม การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ ประกอบกั บ ภาวะ วิกฤตการณดานราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นอยาง ตอเนื่อง ดังนั้นการพัฒนาปรับปรุงธุรกิจใหเกิด การประหยัดพลังงาน หรือกลุมธุรกิจดานพลังงานทดแทนจึงไดรับความ นิยมมากในปจจุบัน สถาบันการเงินหลายสถาบันจึงไดเปดสินเชื่อเพื่อเปน แหลงเงินทุนในการดําเนินการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทนใหแก โรงงาน อาคาร และบริษัท จัดการพลังงาน ธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) เปนอีกหนึ่งธนาคารที่รวม โครงการ “สินเชื่อเพื่ออนุรกั ษพลังงานและพลังงานทดแทน” (Energy Efficiency & Renewable Energy Loan) ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อชวย สงเสริมและผลักดันใหเกิดการกระตุนการปลอยสินเชื่อดานการอนุรักษ พลังงาน และพลังงานทดแทนในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมอยางเปน รูปธรรม

โดยวัตถุประสงคของสินเชื่อนี้ก็เพื่อเปนเงินลงทุนในการปรับ เปลี่ยนกระบวนการผลิต เปลี่ยนแปลงเครื่องจักร หรือเปลี่ยนแปลง อุปกรณทีส่ ามารถประหยัดการใชพลังงานได เพื่อการลงทุนในการประหยัด พลังงานทุกรูปแบบ เพื่อพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อสนับสนุนผลิตภัณฑ ที่ลดกาซ Carbon ติดฉลาก Carbon Foot Print หรือ ฉลากที่รับรองการ ลดมลพิษ เพื่อการบริหารจัดการของเสีย และเพื่อทดแทนสารเคมีดวย ระบบชีวภาพ ซึ่งการพิจารณาปลอยสินเชื่อนั้นประกอบดวย รายละเอียดการ ลงทุนตลอดจนแผนการตลาด แผนการคืน ทุน แผนการผอนชําระ และงบการเงินยอน หลัง 3 ป สวนในกรณีของการลงทุนเพื่อ ประหยั ด พลั ง งานต อ งแสดงหลั ก ฐานคื อ 1. การตรวจสอบ และประเมินผลการประหยัด พลังงานของโครงการ โดย ESCO ภายใต ความเห็ น ชอบจากธนาคาร 2. ผลการ วิเคราะหการใชพลังงาน เปาหมายและแผนการอนุรักษพลังงาน และการ ออกแบบทางวิศวกรรม 3. ใบรับประกันผลของการประหยัดพลังงาน (ถามี) สินเชื่อเพื่ออนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน มีวงเงินอนุมัติสิน เชื่อสูงสุดไมเกิน 50 ลานบาท/โครงการ มีระยะเวลาเงินกูไมเกิน 7 ป สามารถขอปลอดชําระเงินตน (Grace Period) ไดสูงสุด 1 ป อัตรา ดอกเบี้ยต่ํากวาอัตราดอกเบี้ยของลูกคาชั้นดี (MLR) ของธนาคารธนชาติ ระยะเวลาโครงการสิ้นสุด 1 สิงหาคม 2555

88 l February 2012

Energy#39_p88_Pro3.indd 88

25/1/2012 0:18


Energy Legal

โดย : ทนายเหนง

สิ่ ง แวดล อ มของประเทศ สมควรส ง เสริ ม การใช ร ถที่ ใ ช พลังงานดังกลาวและกําหนดใหมอี ตั ราภาษีประจําปสาํ หรับรถ เหลานี้เปนการเฉพาะ จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้” นอกจากนี้กรมการขนสงทางบกยังไดออกกฎระเบียบ ในเรื่องของการตรวจสภาพรถยนตที่ ใชกาซ NGV ทุกปกอน การเสียภาษี สวนรถยนตที่ ใชกาซ LPG ตองตรวจทุก 5 ป เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการใชงานโดยตองผานการตรวจ และทดสอบการติ ด ตั้ ง ส ว นควบและเครื่ อ งอุ ป กรณ จ ากผู ตรวจและทดสอบที่ ไดรับความเห็นชอบจากกรมการขนสง ทางบก ซึ่งการตรวจกอนเสียภาษีทุกปใหยกเวนรถยนตที่ ติดตั้งระบบกาซ NGV จากโรงงานผูผลิตรถยนตโดยตรง โดยกรมการขนสงทางบกไดออกกฎกระทรวงกําหนด เครื่องอุปกรณและสวนควบของรถยนตที่ใชกา ซธรรมชาติอดั (NGV) ซึ่งมีสาระสําคัญ คือ รถยนตที่ ใชระบบ NGV ตอง

กฎหมายเกี่ยวกับรถยนตที่ ใช NGV

การปรับโครงสรางราคาพลังงานถือเปนหนึ่งผลงานที่รัฐบาลที่ ทําใหประชาชนหวัน่ วิตกอยางมาก เนื่องจากราคาพลังงานมักจะถูกหยิบยก ใหเปนปจจัยสําคัญในการขึ้นราคาสินคาและบริการอื่นๆ โดยอางเรื่องของ ภาระคาขนสงที่เพิ่มขึ้น ซึ่งการปรับโครงสรางราคาพลังงานครั้งนี้เปนไป ตามแนวทางการกาวสูประชาคมอาเซียน และหากมองในแงของความ เปนกลางนโยบายดังกลาวก็ถือเปนนโยบายที่ดีที่ประชาชนจะไดทราบถึง สถานการณพลังงานที่แทจริง ทวานโยบายดังกลาวก็ดูเหมือนจะสงผลกระทบอยางใหญหลวงกับ ภาคขนสง โดยเฉพาะอยางยิง่ ทีภาครัฐสนับสนุนและสงเสริมใหมกี ารใชกา ซ NGV ในภาคขนสง โดยอางเรื่องราคาเชื้อเพลิงที่ถูกกวาน้ํามันดีเซลอยาง มากมาย ซึง่ การขึน้ ราคากาซ NGV สรางความไมพอใจกับผูป ระกอบขนสง มากถึงกับมีการปดถนนหนากระทรวงพลังงานเพื่อประทวง แตทนายเหนง คงไมมาพูดถึงเรื่องนี้มากนัก แตเราจะมาดูในสวนของกฎหมายที่ของกับ รถยนตที่ ใชกาซ NGV ดีกวา ซึ่งในพระราชบัญญัติรถยนต (ฉบับที่ ๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๐ ระบุไววา “เนื่องจากปจจุบันสถานการณราคาน้ํามันไดปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง รวมทัง้ ปญหาทางดานมลภาวะทางอากาศทีเ่ พิม่ มากขึน้ และเพื่อเปนการสง เสริมใหมีการใชพลังงานอื่นทดแทนการใชน้ํามันเชื้อเพลิง สนับสนุนการใช พลังงานอยางประหยัดและการใชพลังงานสะอาดเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม รวมทัง้ ปจจุบนั มีผนู าํ รถทีข่ บั เคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาและพลังงานอื่นโดย มิไดใชเครื่องยนตมาใชภายในประเทศดวย อันจะเปนการชวยใหมีการใช พลังงานอยางเหมาะสมและคุมคา และกอใหเกิดผลดีตอระบบเศรษฐกิจและ

มีอุปกรณและสวนควบตามที่กําหนดอยางนอย 8 รายการ, การกําหนด วิธีการติดตั้ง-การตรวจและการทดสอบตามหลักเกณฑ และเงื่อนไขที่ กรมการขนสงกําหนด, ตองไดรับการตรวจและทดสอบจากสวนราชการ หรือบุคคลอื่นตามที่กรมฯ กําหนด, เจาของหรือผูครอบครองรถตองติด เครื่องหมายแสดงการใชกาซ NGV ที่ดานหนาและดานทายของตัวรถ, หากเจาของหรือผูครอบครองรถที่ ไดติดตั้งอุปกรณและสวนควบตามที่ กําหนดใหแจงตอกรมการขนสงทางบกภายใน 180 วัน เห็นชัดวากฎหมายครอบคลุมถึงความปลอดภัยของการติดตั้ง ระบบก า ซ NGV ไม ไ ด ค รอบคลุ ม เพี ย งแค เ รื่ อ งราคาก า ซ NGV เพียงอยางเดียว

February 2012 l 89 Energy#39_p89_Pro3.indd 89

1/24/12 9:52 AM


Energy Stat โดย : Grapher

จากในชวงที่ผานมาทําใหเห็นวา ผูใชกาซในภาคขนสงมีมากจนการปรับโครงสรางราคากาซสงผลกระทบตอกลุมธุรกิจในภาคขนสง จนตอง เดินทางเขามาประทวงที่กระทรวงพลังงานดวยการปดถนน ขณะที่หากเรากวาดสายตาโดยรอบเราจะเห็นวามีปมน้ํามันมากกวาปมกาซดวยซ้ําไป แลวจะมีการใชกาซธรรมชาติในภาคขนสงมากกวาน้ํามันเชียวหรือ??? แตก็เปนที่ทราบอยูแลววากาซธรรมชาติสามารถนํามาใชกับภาคขนสง ได 2 ชนิดคือกาซ LPG และกาซ NGV จากกราฟการใชพลังงานในเชิงพาณิชยตั้งแตป 2550-2554 ของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) จะเห็นไดชัดวาในชวงป 2550 เรายังมีการใชน้ํามันเปนพลังงานในเชิงพาณิชยระดับสูง จนเมื่อเกิดภาวะน้ํามันแพงขึ้นทั่วโลก หลายคนก็หันมาใหความสําคัญกับการใชกาซธรรมชาติ แทนการใชน้ํามันโดยเฉพาะในภาคขนสง สงผลใหปริมาณการใชกาซธรรมชาติสูงขึ้นในปตอมา หากดูทีก่ ราฟจะเห็นวาในปทีผ่ า นมา ปริมาณการใชกา ซเพิม่ สูงขึน้ มากทิง้ หางปริมาณการใชน้าํ มันอยางเห็นไดชดั ซึง่ ปจจัยหลักเปนเพราะนโยบาย ของภาครัฐที่หันมาสนับสนุนการใชกาซธรรมชาติในรถยนตมากขึ้น โดยเฉพาะการใชกาซ NGV ทั้งยังมีโครงการตางๆ มากมายที่เกี่ยวกาซ NGV ดวยเหตุนี้ปริมาณจึงสูงขึ้นอยางมาก และก็เปนคําตอบที่แกขอสงสัยในชวงตนที่วา “แลวจะมีการใชกาซธรรมชาติในภาคขนสงมากกวาน้ํามัน เชียวหรือ???”

ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

90 l February 2012

Energy#39_p90_Pro3.indd 90

25/1/2012 0:21


Insight Energy

ผูเขียน : ลภศ ทัศประเทือง

เ รี ย ก เ ก็ บ ค า ทิ้ ง ข ย ะ

อิเล็กทรอนิกส? http://environmentalaworldforall.wordpress.com

จากรายงานข า วว า รั ฐ บ า ล ไ ท ย อ นุ มั ติ ร า ง กฎหมายเรียกเก็บคาทิ้งขยะ อิเล็กทรอนิกส สรางความ รู สึ ก ใ น ว ง ก ว า ง บ า ง เปรียบเทียบกับรัฐบาลยุโรป ที่รางกฎหมายใหประชาชน ทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส ไดฟรี ที่รานขาย http://61.19.246.214/~accout/direct/ ขยะอิเล็กทรอนิกส หรือ อีเวสต (e-waste) นั้นเปนของเสียที่ประกอบดวย เครื่องใชไฟฟาหรือ อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่เสียหรือไมมีคนตองการแลว ขยะอิเล็กทรอนิกส เปนประเด็นที่นาวิตกกังวล เนื่องจากชิ้นสวนหลายชิ้นในอุปกรณเหลานั้น ถือวาเปนพิษ และไมสามารถยอยสลายตามธรรมชาติได หลายประเทศโดย เฉพาะแถบยุโรปตะวันตกถึงกับออกกฎหมายออกมารองรับกรณีดงั กลาวนี้ โดยให บ ริ ษั ท ผู ผ ลิ ต ที่ จ ะวางตลาดในผลิ ต ภั ณ ฑ ด า นคอนซู เ มอร อิเล็กทรอนิกส ตองจัดเก็บขยะอิเล็กทรอนิกสไปกําจัดกอนถึงจะวางใหมได ซึ่ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง มาตรการสํ า คั ญ ที่ ถู ก นํ า ออกมาใช้ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หาขยะ อิเล็กทรอนิกสที่เปนขยะพิษ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีทร่ี วดเร็วในปจจุบนั ทําใหมตี น ทุนทีต่ าํ่ และยังมีการหมดอายุตามที่กําหนด ทําใหเกิดปญหารวดเร็วมากขึ้นทั่วโลก ป จ จุ บั น มี วิ ธี ก ารแก ป ญ หาเชิ ง เทคนิ ค หลายประการ แต จ ะต อ งมี ก าร วางกรอบในเชิงกฎหมาย มีระบบจัดเก็บ ระบบขนสง และบริการอื่นๆ ที่ ตองใชกอนจะนําไปสูการดําเนินการทางเทคนิค ขยะอิเล็กทรอนิกสใน อเมริกาที่นําไปถมที่ดินนั้น มีสัดสวนราว 2% แตในจํานวนนี้ เปนขยะพิษ ถึง 70% ดวยสภาพการทํางานและมาตรฐานสิง่ แวดลอมที่ ไมดีในบางประเทศ ของเอเชียและแอฟริกา ทําใหมีการสงขยะอิเล็กทรอนิกสมาทิ้งหรือกําจัด ในประเทศเหลานั้น ซึ่งโดยมากจะเปนไปโดยผิดกฎหมาย ในประเทศไทยเรา

ก็มีขาวการสงขยะเขามาทางเรืออยูเสมอๆ กรณีเชนนี้นาจะมีการรวมมือ ระหวางเจาหนาที่บางคนในหนวยงานบางแหงของรัฐดวย ในกัมพูชาก็มี ขาวถูกนําขยะมาทิ้งเชนกัน สําหรับในเดลลีและบังกาลอรของอินเดีย และในเมืองกุยหยู มณฑล ซานโถว ของจีน มีพื้นที่จัดการขยะอิเล็กทรอนิกสโดยเฉพาะ อยางไรก็ตาม การเผา ถอดชิ้นสวน และทําลายโดยไมมีการควบคุม ยอมกอใหเกิดปญหา ตอสิ่งแวดลอมและตอสุขภาพผูคนทั่วไป ไดแกผลกระทบตอสุขภาพ และ ความปลอดภั ย ในการประกอบอาชี พ ที่ มี ผ ลต อ ผู เ กี่ ย วข อ งโดยตรง อันเนื่องมาจากวิธีการกําจัดขยะเหลานั้น สําหรับการคาขยะอิเล็กทรอนิกส นั้นมีระเบียบควบคุมโดยสนธิสัญญา (Basel Convention) เรามองว า การส ง กลั บ ร า นขายของเมื อ งนอกที่ เ รี ย กว า นโยบายสงคืน (take back) ใหผูผลิตรับผิดชอบเพื่อที่จะไดหาทาง ผลิตสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากขึ้นก็ดี หรือการเรียกคืนคา ทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกสก็ดี ไมรูวาจะทําใหตนทุนการผลิต และการ จําหนายสินคาอิเล็กทรอนิกสตอจากนี้ราคาจะเพิ่มขึ้นหรือเปลา?? http://thetechnologicalcitizen.com/?p=2991

อางอิง: http://www.greenworld.or.th/greenworld/local/1005

February 2012 l 91

Energy#39_p91_Pro3.indd 91

25/1/2012 0:26


Energy#29_p49_Pro3.ai

Energy#39_p92_Pro3.indd 60

1

3/24/11

3:17 AM

1/26/12 12:58 AM


Special Report

โดย : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน (สนพ.)

แนะเคล็ดลับการใชกาซหุงตม

“ประหยัด และปลอดภัย” http://www.citigaz.net/?page_id=13

กาซหุงตม หรือ กาซ LPG ถูกนํามาใชทําอาหารทั้งในครัวเรือนและ รานอาหารมากกวาเชื้อเพลิงชนิดอื่น เนื่องจากใชงานงาย สะดวกสบาย แตขณะเดียวกันกาซหุงตมมีคุณสมบัติไวไฟและเปนเชื้อเพลิงที่สามารถ ติดไฟอยางรวดเร็ว จึงมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดการระเบิดหรือเพลิงไหมได การรูจักวิธีใช การเลือกใชถังกาซหุงตม รวมถึงการจัดวางถังกาซหุงตม เพื่อความสะดวก และความปลอดภัย จึงเปนสิ่งสําคัญ ฉะนั้นจะตองพึ่ง เคล็ดลับจึงขอแนะเคล็ดลับการใชกาซหุงตมอยางประหยัดและปลอดภัย ที่ สามารถนําไปปฏิบัติไดงายๆ มาฝากกันดังนี้

เคล็ดลับการประหยัดกาซ

1. ไมควรตั้งเตาหุงตมในที่มีลมพัดแรง หรือไมใชพัดลมเปาเขาเตา เพราะเปลวไฟจะไมสัมผัสกับภาชนะ และเกิดการสิ้นเปลืองโดยใชเหตุ

http://women.thaiza.com/

2. การประกอบอาหาร ควรใชภาชนะที่มีขนาดเหมาะสมกับปริมาณ อาหาร เพราะถาภาชนะใหญเกินไป ก็จะทําใหสิ้นเปลืองกาซมากขึ้นในการ ทําใหภาชนะรอน 3. กาตมน้ําที่ใช ควรทําความสะอาดไมใหมีตะกรันจับ เพราะจะกลาย เปนฉนวนกันความรอน ทําใหน้ําเดือดชา และสิ้นเปลืองกาซมากขึ้น 4. ไมเปดเตากาซทิ้งไวระหวางเตรียมอาหาร 5. เมื่อใชเตากาซ สังเกตวาเปลวไฟมีสีน้ําเงิน ซึ่งจะเปนระดับที่สวน ผสมของกาซพอดีกับอากาศ ทําใหเกิดการเผาไหมที่สมบูรณและใหความ รอนสูงสุด February 2012 l 93

Energy#39_p93-95_Pro3.indd 93

25/1/2012 0:29


6. หมั่นทําความสะอาดหัวเตา เพราะหากอุดตันจะทําใหกาซไม สามารถออกมาได 7. เลือกขนาดหัวเตาใหเหมาะกับภาชนะ เพราะหากใชกระทะใบเล็ก แตใชหัวเตาขนาดใหญ จะทําใหสิ้นเปลืองกาซโดยไมจําเปน

การสังเกตถังกาซหุงตมคุณภาพ

1. มีตราประทับเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (มอก.) รับรองคุณภาพจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ประทับที่หูถังอยางถาวรและชัดเจน 2. ระบุชื่อบริษัทผูผลิต ที่บริเวณหูถังอยางถาวรและชัดเจน 3. ระบุเดือน / ปที่ตรวจสอบครั้งสุดทาย 4. ถังไมบุบ ไมบวม ไมมีรอยขีดขวนเปนรอยลึก ไมเปนสนิมผุกรอน 5. ระบุน้ําหนักถังเปลา และน้ําหนักบรรจุอยางชัดเจน 6. มีซีลผนึกที่วาลวหัวถังในสภาพสมบูรณเรียบรอย

การจัดวางถังกาซหุงตม

1. ควรตั้งหางจากเตาไฟอยางนอย 1.5 เมตร 2. ไมควรตัง้ อุปกรณเครื่องใชไฟฟาทีอ่ าจกอใหเกิดประกายไฟไวใกล ถังกาซ 3. ตัง้ ในทีๆ่ มีอากาศถายเทไดสะดวก หรือภายนอกอาคารเพื่อความ ปลอดภัย 4. ตั้งอยูในบริเวณที่เคลื่อนยายไดสะดวก ไมกีดขวางทางเขา-ออก 5. ตั้งถังบนที่ราบและแข็ง 6. วางถังกาซในแนวตัง้ เสมอ 7. ไมตั้งบริเวณที่เปยกชื้น 8. ไม ตั้ ง ถั ง ในห อ งใต ดิ น แต่ ห ากจํ า เป็ น ควรติ ด ตั้ ง เครื่ อ ง เตือนภัยดวย

9. ขอหามในการใชถงั กาซ หุงตม หามกลิ้ง หรือกระแทกถัง 10. หามนําไปเติมที่สถานี บริการ 11. หามนําถังกาซหุงตม ไปใชแทนถังกาซในรถยนต

วิธีแก ไขเมื่อเกิดกาซรั่ว

http://www.kasetporpeang.com/forums/ index.php?topic=4909.32

1. เมื่อไดกลิ่นกาซ ตองทําการหาจุดที่รั่วโดยเร็ว โดยใชน้ําสบูลูบ ตามจุ ด ที่ ส งสั ย เช น ที่ ว าล ว ของถั ง ข อ ต อ ท อ ยางที่ หั ว ปรั บ แรงดั น ที่เตากาซ และที่ตัวถังกาซ 2. เปดประตูหนาตางทําการระบายกาซออก 3. หามจุดไฟ สูบบุหรี่ หรือ เปดสวิตซไฟในบริเวณนั้นเด็ดขาด 4. ถากาซรั่วที่ตัวถัง ใหพลิกจุดรั่วไวดานบน นําถังที่รั่วไปไวใน ที่โลง เชน กลางสนาม อยาใหมีการจุดไฟและสูบบุหรี่ ในบริเวณนั้น 5. ถามีไฟลุกที่ถัง ใชเครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหงฉีดดับ และแจง ใหรานคา หรือบริษัททราบโดยเร็ว

ขอปฏิบัติ ในกรณีฉุกเฉิน

ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินขึ้น และมีผูไดรับอันตราย ควรจัดใหมีการ ปฐมพยาบาลอยางทันทีดังนี้ 1. กรณีที่กาซหุงตมเหลวกระเด็นหรือ กระฉอกเขาตา จะตองรีบลางตาดวยน้ําสะอาดหลาย ๆ ครั้งอยางฉับพลัน และใหดงึ หนังตาลางและหนังตาบนอยูเ สมอ หามใชนาํ้ รอนลางตาเปนอันขาด แลวรีบสงผูปวยไปยังสถานพยาบาลทันที 2. กรณีหายใจเอากาซหุงตมเขาไปในปริมาณที่สูง จะตองเคลื่อน ผูปวยไปยังบริเวณที่มีอากาศบริสุทธิ์ ถาหากผูปวยนั้นหยุดหายใจ จะตอง ชวยผายปอดหรือใชเครื่องชวยหายใจ แลวจึงใหผูปวยไดพักผอนและ หมผาใหรางกายอบอุน แลวสงผูปวยไปยังสถานพยาบาลโดยเร็ว ภายหลังสิ้นป 2555 ภาครัฐ จะมีการพิจารณานโยบายการปรับ ร า ค า ก า ซ หุ ง ต ม ( L P G ) http://news.voicetv.co.th/business/10496.html ภาคครั ว เรื อ น ดั ง นั้ น หากทุ ก คน ปฏิบัติตามขอแนะนําขางตนอยาง เครงครัด ก็จะชวยประหยัดคาใช จาย ซึ่งนอกจากจะเปนการเตรียม ความพรอมกอนจะมีการปรับราคา แลว ยังเปนการเพิ่มความปลอดภัย ในชี วิ ต และทรั พ ย สิ น ของท า น อีกดวย

94 l February 2012

Energy#39_p93-95_Pro3.indd 94

25/1/2012 0:29


Breaking!

ภูมิแพ หมดหวง!

ถ้ําเกลือเพื่อสุขภาพ ชวยทานได

จากสถิติของคนไทยที่ปวยเปนโรคภูมิแพ และโรคที่เกี่ยวกับระบบ ทางเดินหายใจ เพิม่ ขึน้ ในทุกๆป ดวยเพราะสภาวะอากาศ และมลพิษทีเ่ กิดขึน้ มากมาย การรักษาทางการแพทยที่คนสวนใหญมีอาการดังกลาวนั้น ตอง ใชยาเพื่อการบําบัดรักษา รวมทั้งการดูแลสุขภาพเปนพิเศษ และบางคน เปนขั้นรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต Salt Cave Bangkok at The Manor 39 หรือ ถ้ําเกลือเพื่อ สุขภาพ แหงแรกในประเทศไทยในซอยสุขุมวิท 39 และแหงแรกในเอเชีย อีกทางเลือกหนึง่ สําหรับคนทีเ่ ปนโรคภูมแิ พ หรือโรคทีเ่ กีย่ วกับระบบทางเดิน หายใจ อาทิเชน หอบหืด, หลอดเลือดอักเสบเรื้อรัง, หลอดลมตีบ, ถุงลม โปงพอง, อาการไอที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ทั้งสูบโดยตรงและไดรับควันจาก ผูอื่น, คออักเสบ, ไซนัสอักเสบ, อาการแพฝุนและละอองเกสร, อาการ เครียดและออนเพลียเรื้อรัง, หายใจ ขาดลม แนนหนาอก ฯลฯ จ า ก แ น ว ค ว า ม คิ ด ข อ ง ผูบ ริหาร The Manor 39 ทีเ่ ล็งเห็นถึง คุณสมบัติของเกลือ “Pharma Salt” ที่ ใชในอุตสาหกรรมผลิตยา ในเรื่อง ของการฆาเชื้อและลดการอักเสบ ซึ่ง เปนประโยชนตอรางกายและสงผลดี ตอผูที่มีปญหาทางดานระบบทางเดิน หายใจ

อีกทั้งขอมูลจากการวิจัยของตางประเทศผานทาง CNN และ BBC ในเรื่องของถ้ําเกลือเพื่อสุขภาพ ที่เกิดขึ้นแลว ในรัสเซีย, โปแลนด, อังกฤษ ประกอบกับแหลงกําเนิดเหมืองเกลือ ในประเทศโปแลนด ที่วิจัยมาแลววา ผูที่ทํางานในเหมืองเกลือและไดรับอณูเกลือนั้นไมเปนโรคภูมิแพ หรือโรคที่ เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ถ้ําเกลือเพื่อสุขภาพ “Salt Cave” จึงเกิดขึ้นในประเทศไทย โดยผูที่ เปนโรคภูมแิ พ และโรคทีเ่ กีย่ วกับระบบทางเดินหายใจ สามารถเขาไปใชบริการ ในถ้ําเกลือ แลวสูดไอเกลือ “Pharma Salt” ที่มีอณูเกลืออยูภายในถ้ํา เพียงแค 45 นาที เสมือนเราไปนั่งอยูริมทะเล 3 วัน และภายในถ้ําเกลือ นอกจากอณูเกลือทีล่ อยอยู ใ น บ ร ร ย า ก า ศ แ ล ว สวนผนัง และพื้น ก็เต็มไป ดวยเกลือสินเถาวบริสุทธิ์ สงผลใหมีประจุลบชวยใน เรื่องการดูดซึมแบคทีเรีย หรือเชื้อโรคที่มีอยู ในระบบ ทางเดินหายใจ และประจุลบ ยังสงผลชวยทําใหผอนคลายอีกดวย “Pharma Salt” เปนเกลือแหงที่มีความบริสุทธิ์ 100 % ไมมีสวน ผสมของไอโอดีนและแปงมัน ซึ่งใชในอุตสาหกรรมผลิตยา ผูที่ ใชบริการ จะรูสึกดีขึ้นไดตั้งแตครั้งแรก และจะรูสึกอาการของโรคภูมิแพ หรือโรค ระบบทางเดิ น หายใจทุ เ ลาต อ งใช บ ริ ก ารอย า งน อ ย 5 ครั้ ง ขึ้ น ไป สามารถสอบถามรายละเอียดไดที่ โทร 02 662 5519 ทุกวัน หรือ www.saltcavebangkok.com

แนะนํา ผูที่ ใชบริการจะรูสึกดีขึ้นไดตั้งแตครั้งแรก และจะรูสึก อาการของโรคภูมิแพ หรือโรคระบบทางเดินหายใจทุเลาตอง ใชบริการอยางนอย 5 ครั้งขึ้นไป... ครั้งละประมาณ 600 บาท

ที่มา : Media Thai Post 2009-11-04 18:03:59

February 2012 l 95

Energy#39_p93-95_Pro3.indd 95

1/25/12 8:39 PM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร พนักงานขายอุปกรณ Safety อายุ 26 ปขึ้น ไป วุฒิ ปวช.-ปริญญาตรี มีประสบการณ ดานการ ตลาด & การขายสินคาดานความปลอดภัย ตองมี รถยนตสวนตัวและพรอมนํามาใชในการปฏิบัติงาน ติดตอ บริษัท ปนทองกรุป แมนเนจเมนท แอนด คอนซัลแตนท จํากัด 0-2683-1920 ตอ 53 รับสมัคร เจาหนาที่ ธุรการ ประชาสัมพันธเกี่ยวกับ งานสิ่งแวดลอม ทอท. อายุไมเกิน 35 ป ชาย/หญิง มี มนุ ษ ยสั ม พั น ธ ดี พู ด ภาษาอั ง กฤษได พ อสมควร สามารถใชคอมพิวเตอรไดดี ติดตอ บริษทั ซี.ซี. คอนเทนท คอมเมอรเชียล จํากัด 0-2663-3280-9 ตอ 110, 118, 119 รั บ สมั ค ร เลขานุ ก าร สมาคมผู รั บ ผิ ด ชอบด า น พลังงาน เพศ ชาย/หญิง อายุ 23-33 ป วุฒิป.ตรี เกรดเฉลีย่ 2.5 ขึน้ ไปในสายทีเ่ กีย่ วของ มีประสบการณ ในการประสานงานอยางใดอยางหนึ่งในเรื่องการจัด สัมมนา อบรม ออกบูธประชาสัมพันธ ทัศนศึกษา ติดตอ บริษัท ไดเร็คชั่น แพลน จํากัด 0-2247-2339-40 รับสมัคร เจาหนาที่ฝายทรัพยากรมนุษย (Human Resources Officer) อายุ 25-35 ป วุฒิปวส. ถึง ปริญญาตรี ทางสาขาการบริหารการ จัดการ บริหาร งานบุคคลรัฐศาสตร นิติศาสตร หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีความรูเรื่องกฎหมายแรงงาน และพื้นฐานงานบริหาร บุคคล ติดตอ บริษัท กูดทีม เอ็นเตอรไพรส จํากัด 0-2671-0028 ตอ 23 รับสมัคร เจาหนาที่ลูกคาสัมพันธ(ประจําสํานักงาน มาบตาพุด จังหวัดระยอง) วุฒิปริญญาตรี สาขาการ ตลาด, นิเทศศาสตร การจัดการ หรือสาขาอื่นๆ ที เกี่ยวของ มีประสบการณในตําแหนง 1-2 ป จะไดรับ การพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน) 0-2502-0900 ตอ 301, 302

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร ผูจัดการแผนกสิ่งแวดลอม อายุ 35 ปขึ้น ไป วุฒิปริญญาโทวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอมหรือสุขาภิบาล มี ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ระดับภาคี วิศวกร มีประสบการณทํางานดานสิ่งแวดลอมไมนอย กวา 7 ป ติดตอ บริษัท ปภพ จํากัด 0-2570-5580 ตอ 1110

รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม อายุ 25 ถึง 30 ป วุฒิ ปริ ญ ญาตรี - ปริ ญ ญาโท วิ ช าเอก วิ ศ วกรรม สิง่ แวดลอม ประสบการณในการทํางานสําหรับปริญญา ตรี 3 - 5 ป หรือสําหรับปริญญาโท 1 - 2 ป ทางดาน การเดินระบบบําบัดน้าํ เสีย/ระบบบําบัดตะกอนขนาดใหญ ติดตอ บริษัท ยูทิลิตี้ บิสิเนส อัลลายแอนซ จํากัด 0-2789-3232 รับสมัคร วิศวกรเครื่องกลและสิ่งแวดลอม (ประจํา สาขากรุงเทพฯ/ชะอํา/พัทยา) เพศชาย อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขา วศบ. หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานระบบบําบัดน้ําเสียอยางนอย 3 ป สามารถปฏิบัตงิ านตางจังหวัดได พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เว็ทโก อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 0-2944-1282-3 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม ประจําโรงงานบางพลี สมุทรปราการ วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขา สิ่งแวดลอมหรือที่เกี่ยวของ มีประสบการณ 2 ปขึ้นไป มีความรูเกี่ยวกับการจัดทําระบบ ISO 14000 และมี ทักษะดานการติดตอประสารงาน ติดตอ บริษัท คอสโม กรุป จํากัด (มหาชน) 0-2311-2131 ตอ 7540, 7542 รับสมัคร เจาหนาทีส่ ง่ี แวดลอม (ระยอง) เพศชาย อายุ 27 ปขน้ึ ไป วุฒปิ ริญญาตรี สาขาทีเ่ กีย่ วของ มีประสบการณ การทํางานในโรงงานไมนอ ยกวา 3 ป รายละเอียดงาน ดูแล สิง่ แวดลอมภายในโรงงาน น้าํ เสีย อากาศ ติดตอ บริษทั แอโกรเวลท จํากัด และบริษทั ในเครือ 0-2744-0888 ตอ 211 รั บ สมั ค ร หั ว หน า กะสิ่ ง แวดล อ ม (ประจํ า จั ง หวั ด สระแกว) เพศชาย/หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิปริญญา ตรี ขึ้ น ไป สาขาวิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดล อ มหรื อ สาขาที่ เกี่ยวของ มีประสบการณตามตําแหนงงานอยางนอย 3 ปขึ้นไป เพศชาย ตองผานการเกณฑทหารแลวและ ไมสูบบุหรี่ ติดตอ บริษัท เอสแอนดดี อินดัสทรี้ จํากัด 0-2452-1291 รับสมัคร เจาหนาทีส่ ง่ิ แวดลอม/วิศวกรสิง่ แวดลอม เพศ ชาย อายุ 22 ปขน้ึ ไป วุฒปิ ริญญาตรี สาขาวิศวกรรม สิง่ แวดลอม สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาได และมีความ ละเอียดรอบคอบในการปฏิบตั งิ าน ถามีประสบการณระบบ บําบัดน้าํ เสียในโรงงานจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เดลี่ฟูดส จํากัด 0-2716-8070 รับสมัคร เจาหนาทีส่ ิง่ แวดลอม เพศหญิง อายุ 25-35 ป วุฒิปริญญาตรี สาขา วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม มี ประสบการณ อยางนอย 1 ปขึ้นไป ผานงานระบบ ISO 14000 กั บ ISO 9000 มาจะพิ จ ารณาเป น พิ เ ศษ สามารถเริ่มงานไดทันที ติดตอ บริษทั ไทยสโตเรจ แบตเตอรี่ จํากัด (มหาชน) 0-2709-3535

รับสมัคร ผูควบคุมระบบสิ่งแวดลอม ปฏิบัติงานที่ จ.นครราชสีมา เพศชาย ผานการเกณฑทหารแลว วุฒิ ปริญญาตรี สาขาเคมี หรือสิง่ แวดลอม มีประสบการณ ดานไบโอแกสจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ กลุมบริษัท บุญวรรณ กรุป 0-2880-0321-4 รับสมัคร นักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม วุฒิปริญญา ตรี/โท สาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณการทํางาน 1 ป ขึ้นไปสําหรับปริญญาตรี หรือ 1-2 ป ขึ้นไปสําหรับ ปริ ญ ญาโท ในงานที่ ป รึ ก ษาด า นการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หรือสายงานการ วิ จั ย ทางด า นสิ่ ง แวดล อ ม/ทรั พ ยากรแหล ง น้ํ า / น้ําบาดาล ติดตอ บริษัท จีเอ็มที คอรปอเรชั่น จํากัด 0-2931-1066-8 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย อายุระหวาง 28-35 ป วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี สาขา วิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม หรื อ ที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ใ บอนุ ญ าตในการ ควบคุ ม มลพิ ษ ทางน้ํ า มี ป ระสบการณ ใ นสายงาน อยางนอย 3 ป ขึ้นไป ติดตอ บริษัท ไทยรับเบอรลาเท็คซกรุป จํากัด 0-2751-7171 ตอ 506 รับสมัคร เจาหนาที่ปฏิบัติการวิเคราะห วุฒิปริญญา ตรีขึ้นไป สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือเคมี และ สาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ สามารถใชเครื่องมือ AAS, ICP ได ไมแพสารเคมี ไมตาบอดสี กรณีผานการฝกอบรม ISO 17025 จะพิจารณาพิเศษ ติดตอ บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จํากัด (มหาชน) 0-2731-0080 ตอ 105, 145 รับสมัคร นักวิชาการสิง่ แวดลอม(ฝายรายงานผลการ ทดสอบ) วุฒิปริญญาตรี สาขาดานสิ่งแวดลอม มี ประสบการณ / ความรู เ กี่ ย วกั บ การวิ เ คราะห น้ํ า หรื อ อากาศจะพิจารณาเปนพิเศษ มีประสบการณดานการ ทํารายงานผลการตรวจวัด ติดตอ บริษัท เอ็นไวแล็บ จํากัด 0-2802-3982 ตอ 222 รับสมัคร เจาหนาที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ (R&D) วุฒิปริญญาตรี สาขาเคมี มีความคิดสรางสรรค มี ความรับผิดชอบ อดทน มีความตั้งใจในการทํางานสูง สนใจดานการวิจัยพัฒนาและคิดคนผลิตภัณฑใหมๆ ติดตอ บริษัท แอนเทียร กรุป จํากัด 0-2814-0291-4 รั บ ส มั ค ร S u p e r v i s o r ด า น สิ่ ง แ ว ด ล อ ม (พระนครศรีอยุธยา) วุฒิปริญญาตรีวิทยาศาสตร บั ณ ฑิ ต สาขาเคมี และสาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มี ประสบการณวิเคราะหน้ําเสีย ติดตอ บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จํากัด 035-289-333-45

96 l February 2012

Energy#39_p96_Pro3..indd 96

19/1/2012 0:52


Energy Price

February 2012 l 97

Energy#39_p97_Pro3.indd 97

25/1/2012 0:32


Directory ระบบความเย็น บริษทั ไดกิน้ อินดัสทรีส (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2712-7839 : 0-2712-7840 : info@dit.daikin.co.jp : www.daikinthai.com : ระบบความเย็น

บริษทั วิเศษแอร เซ็นเตอร (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2935-5993,0-2932-6163 : 0-2883-4919 : wisetair1@yahoo.com : www.wisetair.com/ : ระบบความเย็น

บริษทั สหกิจอนันต อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2717-9244-6 : 0-2717-9248 : info@sahakijanan.com : www.sahakijanan.com : ระบบความเย็น

บริษทั อาณาจักรสยามเครื่องปรับอากาศ จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2759-7033-7 : 0-2759-7032 : www.siamempire.com : ระบบความเย็น

บริษัท อารวีเอส อินเตอรกรุป จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2883-4722-3 : 0-2883-4919 : sales@rvsintergroup.com : www.rvsintergroup.com/ : ระบบความเย็น

บริษัท อีซี่แอร จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2809-4898-9 : 0-2809-4894 : sale@easyair.co.th : www.easyair.co.th/ : ระบบความเย็น

บริษัท ฮาลฟ พาวเวอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2552-7873 : 0-2552-7870 : info@halfpowerair.com : www.halfpowerair.com : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด ว.วัชร วิศวกรรม โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2641-6125-8 08-1488-2079 : 0-2248-4941 : contact@coolingairflow.com : www.coolingairflow.com : ระบบความเย็น

บริษัท ทีจีแอร จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 075-701-234 ,075-810-199 : 075-631-253 : tgair@hotmail.com : www.tgair.com/ : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด ทอปคูลแอรเซ็นเตอร โทรศัพท แฟกซ อีเมล

: 0-2806-3800, 083-8401000 : 0-2487-3088;0-2806-2692 : sale@topcoolair.com; topcoolair@hotmail.com เว็บไซด : www.topcoolair.com/ สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท สํารวยเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2810-1260-7 : 0-2810-1268,0-2810-1418 : sr@samruay.co.th : www.samruay.co.th/ : ระบบความเย็น

บริษัท เอส เอส พี แอรเซอรวิส จํากัด

โทรศัพท

: 0-2393-6035, 0-2393-6133, 0-2393-9166 แฟกซ : 0-2393-1509 อีเมล : sales@sspairservice.com เว็บไซด : www.sspairservice.com/ สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอเชี่ยน อิเลคทริก อินดัสตรี จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2-581-3234-6 : 0-2581-1758 : exim@aeiindustry.com : www.aeiindustry.com : ระบบความเย็น

บริษทั ไซท เพรพพาเรชัน่ แมเนจเมนท จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2591-1500 : 0-2591-1300 : info@modernkool.com : www.modernkool.com : ระบบความเย็น

บริษัท ไทย ทาซากิ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2385-5840-2755-4488 : 0-2757-5475 : info@tasakiair.com : www.tasakiair.com : ระบบความเย็น

ศูนยบริการบานแอรดอทคอม

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2944-7146, 08-4085-7729 : 0-2716-8885 : www.banairs.com : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด พรหมดวง ซัพพลาย

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-25038158 ,0-2524-3208 : 0-2524-3208 : pong9891@hotmail.com : www.promduang.com : ระบบความเย็น

บริษัท สงเสริมเซลสแอนดเซอรวิส จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2437-0023, 0-2860-6431 : 0-2439-1714 : info@songsermair.com : www.songsermair.com : ระบบความเย็น

บริษัท ดีโฟร เซอรวิส จํากัด

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-29207411 , 086-7509064 : 0-2920-7311 : www.d4service.com : ระบบความเย็น

AIR POLLUTION บริษัท ฟลเทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2321-9393,0-2322-6881-2 แฟกซ : 0-2321-5863 สินคาและบริการ : ออกแบบ สราง และติดตั้งระบบกําจัด มลภาวะทางอากาศ

บริษัท แม็กนาเท็กซ จํากัด

โทรศัพท : 0-2322-9822-3,0-2322-9740-1 แฟกซ : 0-2322-9800 อีเมล : sales@magnatex.co.th เว็บไซด : www.magnatex.co.th สินคาและบริการ : จําหนายแผนกรองอากาศ เครื่องฟอก อากาศ และอุปกรณกําจัดฝุน

บริษัท แมคคอล เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2536-5580,0-2536-5510 แฟกซ : 0-2536-5580 สินคาและบริการ : รับติดตั้งระบบบําบัดน้ําเสีย

หางหุนสวนจํากัด อรุณเจริญเทรดดิ้ง

โทรศัพท : 0-29147-511-2,0-2914-7582 แฟกซ : 0-2914-7510 อีเมล : act_bkk@hotmail.com สินคาและบริการ : รับออกแบบและติดตัง้ ระบบกําจัดฝุน และ จําหนายผาและถุงกรองฝุน

บริษัท อาร.ซี.เทรดดิ้ง แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ ที่สะอาด

: 0-2752-4227 : 0-2752-4960 : sales@rc-trading.com : www.rc-trading.com : ธุรกิจของเราคืออากาศบริสุทธิ์ และน้ํา

บริษทั เอเซียแล็ป แอนด คอนซัลแตนท จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ อากาศเสีย

: 0-2805-6660-3 : 0-2805-6660 : asialab@box1.a-net.net.th : รับปรึกษา ปรับปรุง แกไขระบบบําบัด

บริษัท เอ็นโค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 02772-9481 แฟกซ : 0-2722-9481 ตอ 109 สินคาและบริการ : ปรึกษาและรับเหมาติดตั้งระบบบําบัด มลพิษทางอากาศ

บริษัท กม. 18 วิศวกรรม จํากัด

โทรศัพท : 0-2337-1532-43 แฟกซ : 0-2337-1290 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท เกง พัฒนกิจ จํากัด

โทรศัพท : 0-2361-3044,0-2748-0843-4 แฟกซ : 0-2361-0344 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท แกรนด เอ็นโปร เทรด จํากัด

โทรศัพท : 0-2476-5269,0-2468-9164 แฟกซ : 0-2476-2524 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท แกรมมา เอ็นจิเนียริ่ง แอนด คอน สตรัคชั่น จํากัด

โทรศัพท : 0-2435-4034-6 แฟกซ : 0-2435-4036 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท คราวน-เทค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2476-9112-3 แฟกซ : 0-2476-9114 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท คลีนเทคโนโลยี่ จํากัด

โทรศัพท : 0-2374-4185,0-2374-7131 แฟกซ : 0-2375-1321 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท จีเค โปรเทคโน จํากัด

: 0-2939-4474-5,0-2930-3849 : 0-2939-4476 : www.wamthai.co.th : จําหนายเครื่องกรองอากาศและเครื่อง

โทรศัพท : 0-2234-5686, 0-2235-6009 แฟกซ : 0-2233-6902 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษทั ยูนเิ วนเจอร คอมเมอรเชียล จํากัด

โทรศัพท : 0-2714-4299, 0-2714-4121-2 แฟกซ : 0-2714-4134 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษทั ยูนเิ วอรแซลเอ็นจิเนียริง่ เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2678-4291-4 , 0-2720-4420 แฟกซ : 0-2678-4290 ,0-2-720-4422-23 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วี.เอ็ม.เอส.ดีเวลลอปเมนท แอนด เทคโนโลยี่ จํากัด โทรศัพท : 0-2-749-2278-9 แฟกซ : 0-2-749-2280 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท เวนเทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2731-0229-31 แฟกซ : 0-2375-1184 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วอลทเซ็นเอ็นเตอไพรซ จํากัด

โทรศัพท : 0-2319-3010, 0-2314 272 1662 แฟกซ : 0-2319-3011 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วอเตอรเทค (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2970-0460-1 แฟกซ : 0-2551-0465 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วิค แอนด ฮุคลันด จํากัด (มหาชน)

โทรศัพท : 0-2611- 4778-86 แฟกซ : 0-2611-4809 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วินดิก เทคโนโลยี จํากัด

โทรศัพท : 0-2274-7100, 0-2274-4592-3 แฟกซ : 0-2274-4102 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วอลเตอร-ซีบี ไอ (ประเทศไทย) โทรศัพท : 0-2258-7364, 0-2261-4843 แฟกซ : 0-2259-8120, 0-2662-7457 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วรจักรอินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โทรศัพท : 0-2312-0707, 0-2312-0808 แฟกซ : 0-2312-0800 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท ยามาบิชิ อิเลคทริค จํากัด

โทรศัพท : 0-2447-0671-4, 0-2447-1267-8 แฟกซ : 0-2447-0676 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท ยนตรการเมทัลเวิรค จํากัด

โทรศัพท : 0-2399-2572, 0-2743-4420-1 แฟกซ : 0-2399-2565 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท วิวัฒนสัน จํากัด

บริษัท แวม (ไทยแลนด) จํากัด

บริษัท ยู.เอ็น.อีเล็คทริค จํากัด

บริษัท เจเอสวี เทคนิคัล จํากัด

โทรศัพท : 0-2392-4692, แฟกซ : 0-2381-1832 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ ฟอกอากาศ

โทรศัพท : 0-2233-2995-9, 0-2233-8931-5 แฟกซ : 0-2236-5674 สินคาและบริการ : WaterPump

โทรศัพท : 034-411-557,0-2483-6909-10 แฟกซ : 034-42-1413 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท รักษเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2584-3414,0-2962-0249 แฟกซ : 0-2583-5587 สินคาและบริการ : จําหนายเครื่องฟอกอากาศ เครื่องกําจัด ฝุน

บริษัท ทองไทย (1956) จํากัด

โทรศัพท : 0-2361-8132-4 แฟกซ : 0-2361-8135 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน โทรศัพท : 0-2399-5205-6,0-2749-8135-8 แฟกซ : 0-2749-8140 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

โทรศัพท : 0-2757-8785 แฟกซ : 0-2384-2426 สินคาและบริการ : จําหนายเครื่องกรองและเครื่องฟอกอากาศ

Water Pump

บริษัท ชวนันท คอรปอเรชั่น จํากัด

บริษัท ซงเรยนันวูเวน จํากัด

โทรศัพท : 0-2260-8711,0-2260-8714 แฟกซ : 0-2259-2684 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท ซายนเทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2285-4101-3,0-2285-4871-2 แฟกซ : 0-2285-4856 สินคาและบริการ : จําหนายอุปกรณระบบบําบัดอากาศเสีย ฝุน ควัน

บริษัท การเจริญ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด บริษัท กิตติชัยแมชชีนเนอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2258-1199, 0-2259-5579-8 แฟกซ : 0-2259-5579 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท เกรียงไทยวัฒนา จํากัด

โทรศัพท : 0-2867-0353-60, 0-2840-1712-4 แฟกซ : 0-2867-0361-2 สินคาและบริการ : WaterPump

บ ริ ษั ท ค ร า ว น แ ท ก ซ เ อ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2476-9112-3 แฟกซ : 0-2476-9114 สินคาและบริการ : WaterPump

บริษัท ควีน บี อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โทรศัพท : 034-854-891-8 แฟกซ : 034-854-901 สินคาและบริการ : WaterPump

98 l February 2012

Energy#39_p98_Pro3.indd 98

25/1/2012 0:34


Special Report

การพัฒนาอยางยั่งยืนในโครงการ

“ไบเทคชีววิถีสูชุมชน”

ก า ร ผ ลิ ต น้ํ า ห มั ก ชี ว ภาพทํ า ได ไ ม ย าก เพื่ อ เป น การนํ า ขยะกลั บ มาใช ป ร ะ โ ย ช น อ ย า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น สู ง สุ ด ศู น ย นิ ท รรศการและการประชุ ม ไบเทคมี ก ารผลิ ต ขึ้ น เอง สําหรับการใชภายในศูนยฯ อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถนํ า EM จุลินทรียขยายมาแจกจายให แกผทู มี่ าเขาชมงานไดอกี ดวย สวนผสมและขั้นตอนในการ ทําคือ นําจุลินทรีย EM หรือ เศษผักและผลไม ผสมกับกากน้ําตาล และน้ํา เขาดวยกัน หมักในภาชนะปดฝาใหแนนสนิท เก็บไวประมาณ 3-7 วัน จะ กลายเปนหัวเชื้อจุลินทรีย EM รุนที่ 1 เมื่อนํามาหัวเชื้อจุลินทรียมาขยาย ตอไปอีกจะทําใหไดหัวเชื้อจุลินทรีย EM รุนที่ 2 จํานวนมาก ซึ่งสามารถ ลดตนทุนการผลิตและยังขยายจํานวนจุลินทรียเปนจุลินทรียขยายสําหรับ ใชงานในครัวเรือนทั่วไป โดยจุลินทรียขยายมีระยะเวลาการใชงานและเก็บ รักษาไวไดนานถึง 3 เดือน โดยประชาชนทั่วไปสามารถขยายจุลินทรีย EM ซึ่งใชสวนผสมดังตอไปนี้ 1. หัวเชื้อจุลินทรีย EM 2 ชอนโตะ 2. กากน้ําตาล 2 ชอนโตะ 3. น้ําสะอาด 1 ลิตร นอกจากนี้ น้ําหมักชีวภาพยังมีประสิทธิภาพและประโยชนในดาน ตางๆ ที่สามารถนําใปใชในชีวิตประจําวันได อาทิ • ดานการใชจุลินทรียกับพืช ใชฉีด พน รด ราด พืชตางๆ ให ทั่วจากดิน ลําตน กิ่ง ใบ และนอกทรงพุม ทุก 3 วัน • ดานการเลีย้ งปลา ใสจลุ นิ ทรียแ หงลงในบอ เพื่อสรางแพลงตอน เปนอาหารในน้ํา บําบัด น้ํ า เ สี ย แ ล ะ ก า ร ทํ า อาหารปลาเลี้ยงปลา • ด า น ก า ร ทําความสะอาด ใชถพู ืน้ เพือ่ ชวยเพิม่ ความเงางาม ช ว ย ข จั ด ก ลิ่ น ปลอดภั ย ไม เ กิ ด การ

ระคายเคืองตอผิวหนัง และประหยัด คาใชจาย • ด า นการรั ก ษาความ สะอาดในห อ งน้ํ า – ห อ งส ว ม หรือ แกไขทออุดตัน ชวยใหเกิด การยอยสลาย ไมมีกาก ทําใหสวม ไมเต็ม • ดานการกําจัดกลิ่น ใช ฉีดพนทุก 3 วัน ชวยดับกลิ่นไมพึง ประสงค • ด า นการบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ใชรด ราดตามทอระบายน้าํ บอบําบัดน้าํ เสีย หรือผสมลงในถังน้าํ ชําระลางได • ดานการกําจัดกลิ่นขยะ ใชฉีดพนใหทั่วจนกวากลิ่นจะจางหาย ซึ่งเศษกระดาษ วัชพืช วัสดุจะถูกยอยสลายและเกิดการยุบตัวลง นั บ ว า การผลิ ต น้ํ า หมั ก ชีวภาพนั้นเปนการดําเนินการตาม แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ชวย ปลูกจิตสํานึกของพนักงานใหเห็น คุณคาของการอนุรักษ พัฒนาและ ฟนฟูสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนทั้ง ภายในและภายนอกองคกร

ติดตอแผนกสื่อสารองคกร ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค

• พิมพพนิต เพียรวณิช Corporate Communications Manager • ดวงพร บุพพัณชาติ Corporate Communications Executive • ภคมน ภาสวัสดิ์ Corporate Communications Executive 88 บางนา-ตราด (กม.1) บางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทร 02-749-3939 ตอ 3142, 3146, 2189 แฟกซ 02-749-3949 ตอ 3142, 3146, 2189 อีเมล pr@bitec.co.th เว็บไซด www.bitec.co.th Facebook: www.facebook.com/BITEC.Bsquares Twitter: www.twitter.com/BITEC_Bsquare Youtube: www.youtube.com/BITECBTV February 2012 l 99

Energy#39_p99_Pro3.indd 99

1/26/12 2:56 PM


Special Scoop

มหันตภัยทรายน้าํ มัน (tar sands)

ป จ จุ บั น คงไม มี ใ ค ร กั ง ข า แ ล ว ว า เศรษฐกิจสังคมทัง้ โลกจะ ตองเปลีย่ นผานจากทุนนิยมอุตสาหกรรมทีล่ า หลังและทํารายธรรมชาติจน มนุษยตกอยูในอันตราย ไปสู “สังคมคารบอนต่ํา” / “เศรษฐกิจสีเขียว” / “ทุนนิยมมีหัวใจ” ที่เศรษฐกิจอยูรวมกับธรรมชาติไดอยางสมานฉันท ตนศตวรรษที่ 21 การเปลี่ยนผานที่วานี้ยังอยูในระยะเริ่มตนเทานั้น ตองใชเวลาอีกหลายปหรืออาจจะหลายสิบปกวาจะเรียกไดวาเราเขาสู “ยุคใหม” อยางเต็มภาคภูมิ ระหวางนี้แรงตึงเครียดระหวาง “กําไรสูงระยะ สั้น” กับ “กําไรที่ยั่งยืนระยะยาว” จะยังคงมีใหเห็นอยูทั่วไป ธุรกิจทราย น้าํ มัน (tar sands) เปนตัวอยางทีด่ มี ากของแรงตึงเครียดทีว่ า นี้ โลก ทุกวันนี้แทบไมเหลือแหลงผลิตน้ํามันธรรมดา (conventional oil) อีกแลว เหลือแตแหลงที่เขาถึงยาก ตองใชพลังงานมหาศาลในการขุด และสงผล เสียตอสิ่งแวดลอมมหาศาลเทานั้น ทรายน้ํามันเปนหนึ่งในน้ํามันประเภทหลัง ปจจุบันเปนแหลงที่สําคัญ มากในโลกเนื่องจากน้ํามันในทรายน้ํามันทั้งหมดรวมกันมีปริมาณมากถึง 3 ลานลานบารเรล คิดเปนสองในสามของแหลงน้ํามันทั้งโลกที่สํารวจพบ โดยมีแคนาดาเปนผูผลิตรายสําคัญ นอกจากนี้ยังพบในสหรัฐอเมริกา เวเนซุเอลา ทวีปตะวันออกกลาง และอีกหลายประเทศ (เกร็ดเล็กๆ ที่หลาย คนอาจยังไมทราบคือ ปจจุบันสหรัฐอเมริกานําเขาน้ํามันจากทรายน้ํามัน

ในแคนาดาสูงเปนอันดับหนึ่ง คือนําเขาถึง 2 ลานบารเรลตอวัน คิดเปน สองเทาของน้ํามันที่นําเขาจากซาอุดิอาระเบีย) นักสิง่ แวดลอมรังเกียจธุรกิจกลัน่ น้าํ มันจากทรายตลอดมา เนื่องจาก ทรายน้ํามันมี “น้ํามันดิน” (bitumen) ที่หนืดเหนียวและหนักกวาน้ํามันดิบ ทั่วไปจับตัวปนอยูกับทราย ทรายน้ํามันจึงนําไปกลั่นไดเพียง 10 เปอรเซ็นต ที่เหลืออีก 90 เปอรเซ็นตเปนสวนผสมระหวางทราย ดิน และน้ํา “หนาตา” ของกระบวนการผลิตทรายน้ํามันคลายกับการทําเหมือง เปดหรือเหมืองเจาะ (กิจกรรมที่สรางความเสียหายตอสิ่งแวดลอมเปน อันดับตนๆ) มากกวาการขุดเจาะน้ํามันที่เราคุนเคย – ลองนึกภาพรถตัก ขนาดยักษขุดทรายน้ํามันดํามะเมื่อมออกมาจากผืนดิน ขนไปที่โรงแยก วิ ธี แ ยกทรายน้ํามั นคื อ เติ ม น้ําลงไปเพื่ อ บั ง คั บ ให ท รายจมลงไปข า งล า ง น้ํามันดินลอยขึ้นมาขางบน กอนที่จะขนสงเขาสูปมน้ํามันได น้ํามันดินตอง ถูกสงเขาสูโรงกลั่นเพื่อกลั่นออกมาเปนเชื้อเพลิง ในเมื่ อ น้ํ า มั น จากทรายน้ํ า มั น เป็ น “น้ํ า มั น หนั ก ” (heavy oil) การกลั่นจึงตองใชตนทุนและพลังงานมากกวาการกลั่นน้ํามันปกติมาก และ “ของเสีย” จากกระบวนการ – สวนผสมแหยะๆ ระหวางทราย น้ํา และ สารพิษที่ปนเปอนในน้ํามันดิน – ก็จะถูกปลอยไปตามทอออกสูบอน้ําทิ้ง ซึม ลงไปในดิน บอนทําลายระบบนิเวศนน้ําจืดใกลเคียงตอไป สรุป ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมคือ กระบวนการทํา “เหมือง” ทราย น้ํามัน โดยการสกัดและกลั่นเปนน้ํามันเชื้อเพลิงนั้น เปนกระบวนการที่ใชทุน

100 l February 2011

Energy#39_p100-101_Pro3.indd 100

1/25/12 10:40 PM


สูงและสิ้นเปลืองอยางมหาศาล – ตองใชทรายน้ํามัน 2-4 ตัน และน้ําอีก 2-4 บารเรล ตอการผลิตน้ํามันดิบ 1 บารเรล นอกจากนี้ ยังปลอย คารบอนไดออกไซดสูงถึง 2-4 เทาของกระบวนการผลิตน้ํามันปกติ นอกจากนี้ แหล ง ทรายน้ํ า มั น ขนาดใหญ มั ก จะอยู ใ นบริ เ วณที่ ธรรมชาติยังอุดมสมบูรณ ระบบนิเวศนบริสุทธิ์ (เนื่องจากในอดีตไมมีใคร สนใจไปขุด เพราะแหลงน้ํามันปกติยังหางายอยู) อาทิ ปาโบเรียลในรัฐอัล เบอรตาในแคนาดา ซึ่งโดงดังในฐานะปาแหลงทายๆ ในโลกที่มีความหลาก หลายทางชีวภาพสูงมาก หลังจากที่รัฐอัลเบอรตากลายเปนแหลงสงออก ทรายน้าํ มันอันดับตนๆ ของโลก นักสิง่ แวดลอมในแคนาดาก็ปวดหัวตลอดมา กับการหาวิธี “ตามเช็ดตามลาง” ผลก ระทบต อ ระบบนิ เ วศน ซึ่ ง บริ ษั ท น้ํ า มั น หลายแหงยังไมยอมควักกระเปาเยียวยา หรื อ ป อ งกั น ส ว นใหญ เ นื่ อ งจากไม ยอมรับวาปญหาสิ่งแวดลอมเกิดจาก ตัวเอง จนกวาจะมีใครลากเสนพิสูจนให เห็นโตงๆ จนดิ้นไมหลุด (ที่จริงคิดแคนี้ ก็ขัดแยงกับ “หลักความรอบคอบ” ใน กระบวนทั ศ น “การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น ” แลว) ยกตัวอยางเชน ปจจุบัน สถาบัน Alberta Water Research Institute ใชเงินกวา 15 ลานดอลลารในการ ปองกันไมใหสารพิษจากบอน้ําทิ้งไหลซึมเขาสูแหลงน้ําจืดในบริเวณ การผลิตน้ํามันจากทรายน้ํามันไดรับความสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ จาก บริษัทน้ํามันทั่วโลก เนื่องจากราคาน้ํามันที่พุงสูงขึ้นอยางไมหยุดยั้ง (จาก อุปทานน้ํามันปกติที่เหลือนอยลงเรื่อยๆ) ประกอบกับความกาวหนาของ เทคโนโลยีการสกัดทรายน้าํ มัน (ซึง่ สวนสําคัญคือเทคโนโลยีการทําเหมือง) สงผลใหการผลิตน้ํามันรูปแบบนี้ “คุมคาการลงทุน” กวาในอดีตมาก ยกตัวอยางเชน ในป 2006 บริษัทเชลลแคนาดาไดกําไรสุทธิจากแหลง ทรายน้ํามันในรัฐอัลเบอรตาถึง 21.75 เหรียญตอบารเรล สูงกวากําไรที่ ไดจากที่อื่นเกือบสองเทา ตัวเลขขนาดนี้ทําใหบริษัทน้ํามันทั่วโลกแหกันเขา ไปในอัลเบอรตาอยางไมขาดสาย จนปจจุบันมีรอยกวาบริษัท ลงเงินลงทุน รวมกันเกินแสนลานเหรียญสหรัฐ ชัดเจนวาในธุรกิจทรายน้ํามัน แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตรยังเดิน สวนทางกั บ แรงจู ง ใจทางสิ่ ง แวดล อ ม ส ว นหนึ่ ง เนื่ อ งจากต นทุ นด า น

สิ่งแวดลอมของทรายน้ํามันยังไมถูก “แปลง” ดวย กลไกทางกฎหมายหรื อ โดยสมั ค รใจให ผู ผ ลิ ต รั บ รู เปนตนทุนทางธุรกิจ (ยกตัวอยางเชน ถาหากรัฐบาล ทั่วโลกประกาศเก็บภาษีคารบอน ตนทุนในการกลั่น ทรายน้ํามันก็จะสูงลิ่วจน “ไมคุม” ที่จะทํา และก็จะ สงผลทางออมใหการผลิตพลังงานสะอาดอยางเชนลมและแสงอาทิตย “คุมคา” กวาน้ํามันโดยเปรียบเทียบ เอื้อใหตลาดพลังงานสะอาดเติบโตเร็ว กวาเดิม) อยางไรก็ดี ตั้งแตศตวรรษที่ 21 เปดฉากเปนตนมา เราก็เห็น สัญญาณเชิงบวกมากมายทีบ่ ง ชีว้ า การผลิตน้าํ มันจากทรายน้าํ มันอาจเขา สูยุคอัสดงในอนาคตอันใกล – ไมใชเพราะบริษัทน้ํามันตระหนักในความ รับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม (ถึงแมบางแหงจะตระหนักแลว) แตเปนเพราะ นักวิทยาศาสตร นักสิ่งแวดลอม และประชาชนกําลังรวมพลังกันคัดคาน อยางเขมแข็งมากขึ้นและตอเนื่องมากขึ้น และขอมูลหลักฐานมากมายก็ พิสูจนแลววาทรายน้ํามันกอความเสียหายมากเพียงใด ในโลกที่ยังไมหลุดพนจากอาการ “เสพติด” น้ํามัน ทางออกจาก ทรายน้ํามันดูจะยังอยูอีกยาวไกล ประเด็นที่ตองติดตามตอไปคือ เสียง ประทวงที่ดังขึ้นเรื่อยๆ จะสรางการเปลี่ยนแปลงไดมากนอยเพียงใด ในเมื่อ อุตสาหกรรมน้าํ มันโดยรวมยังถูกจูงใจดวยผลกําไรระยะสัน้ และการคนพบ ใหมๆ ทางเทคโนโลยี ก็ยังมอบเหตุผลใหบริษัทแหเขาไปฉวยโอกาสจาก ทรายน้ํามัน เชน ในป 2011 ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย เพนน สเตท อางวาไดคิดคนวิธีทางเคมี ใหมเอี่ยมในการสกัดน้ํามันจากทราย ซึ่งใช พลังงานและน้ํานอยมาก อยางไรก็ดี ขอดีสวนนอยของธุรกิจนี้คือ ในเมื่อมันเปนธุรกิจที่ “กําไรสูงลิว่ ระยะสัน้ ” เดินสวนทางกับ “ความเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม” อยางชัดเจน ธุรกิจทรายน้าํ มันจึงชวยใหเราสามารถแยกแยะบริษทั ทีม่ วี สิ ยั ทัศนสีเขียวจริงๆ ออกจากบริษัทที่ ไรวิสัยทัศนแตชอบ “ฟอกเขียว” ได อยางงายดายกวาเดิมมาก ขอบคุณบทความจาก : คุณสฤณี อาชวานันทกุล http://www.greenworld.or.th February 2011 l 101

Energy#39_p100-101_Pro3.indd 101

1/25/12 10:40 PM


LifeStyle

ปน นักขาวเปนนักเขียน รุน ๕ โดย : ลภศ ทัศประเทือง

หลายสื่ อ และต่ า งลงความเห็ น เป็ น เสี ย ง เดียวกันวาการรายงานขาวทุกวันนี้ ตางจาก การเขียนเรื่องใหนาอาน หากไดทักษะเหลานี้ นํากลับไปใชก็จะทําใหงานขาว งานเขียนของ เรามีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น รวมถึงตัวแทน จาก ENERGY SAVING ดวยครับผม หวังใจอยางยิ่งวา ตอไปนี้ทานจะได เพลิดเพลินไปกับทุกตัวอักษรบนหนังสือเลมนี้ ...ENERGY SAVING

โครงการดีๆ แบบนีอ้ ดทีจ่ ะเขียนถึงไมได ทางทีมงานไดมกี ารเขารวม อบรมในครั้งนี้ ทําใหไดความรูหอบกลับมาเต็มกระเปา พรอมกับไฟในการ ทํางานดานขีดเขียน ใหคุณผูอานไดรื่นรมยสุนทรีกับบทความ เรื่องเลา รายงานพิเศษ ตางๆ ที่ทางทีมงานจะไดคัดสรรและกรั่นกรองดวยถอยคํา ที่ดูจะละมุนละไมมากขึ้นตอจากนี้ เปดหัวสวยมาแบบนีก้ ็ไดรบั อิทธิพลจากงานนีเ้ ต็มๆ ละครับ ..สําหรับ งานนี้ สมาคมนักขาวนักหนังสือพิมพแหงประเทศไทย รวมกับสถาบัน อิศรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแหงประเทศไทย และสมาคมนักเขียน แหงประเทศไทย โดยการสนับสนุนจาก บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) โดยมีนักเขียนชื่อดัง อาทิ ชมัยภร แสงกระจาง (ไพลิน รุง รัตน), รุง มณี เมฆโสภณ, ประชาคม ลุนาชัย, เรวัตร พันธุพ พิ ฒ ั น, วัชระ สัจจะสารสิน และ จเด็จ กําจรเดช รวมเปนวิทยากร โดยมี คุณชวรงค ลิมปปทมปาณี นายก บัญญัติ คํานูณวัฒน ผูชวย กรรมการผูจัดการอาวุโส บริษัท ซีพี ออลล จํากัด (มหาชน) เปนประธาน เปดการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปนนักขาวเปนนักเขียน” รุนที่ ๕ ณ 17 หาดเจาสําราญ จ.เพชรบุรี ถือเปนการจัดอบรมทีเ่ นนคุณภาพและเพื่อพัฒนาบุคลากรในวิชาชีพ สื่อมวลชนใหเพิ่มพูนความรูไดมากขึ้น งานนี้ ไดรับความมากมายตัง้ แตการ เริ่มตนเปนนักเขียน ใหความรูเบื้องตนสําหรับจุดประกายใหนักขาวเปน นักเขียน ไมยากสําหรับคนที่ชอบขีดเขียน แมกระทั่งนิตยสารดานพลังงาน ก็ยังมีเรื่องนําเสนอที่ตองบอกวา หากฝกฝนใหเขียนเกง ก็ตองเขียนให สามารถสะกดคนอานได จึงจะประสบความสําเร็จ ซึง่ ก็ ไดรบั ความสนใจจาก

จเด็จ กําจรเดช

ชมัยภร แสงกระจ

าง

เรวัตร พันธุพิพัฒ

วัชระ สัจจะสารส

น

ิน

รุงมณี เมฆโสภณ

102 l February 2012

Energy#39_p102_Pro3.indd 102

1/25/12 9:40 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพื่อจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชื่อ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อื่นๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อื่นๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อื่นๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชื่อหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชื่อผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลื่อนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

February 2012 l 103

Energy#39_p103_Pro3.indd 103

1/13/12 10:33 PM


Energy Thinking โดย : ณ อรัญ

เสียงจากสวรรค? ....น้ําทวมยังไมจบ

เชื่อวาหลายคนเบื่อทีจ่ ะฟงเรื่องน้าํ ทวมแตมนั อดไมไดเมื่อไดยนิ เสียง จากประชาชนบนใหฟงวาน้ําจะทวมอีกแนนอนหากรัฐบาลไมรีบแกไขและหา มาตรการปองกันแบบเรงดวนกอนที่จะไปดําเนินนโยบายที่ ไดหาเสียงไวกับ ประชาชน ถึงแมนโยบายที่ ไดหาเสียงไวกับประชาชนจะลาชาไมเปนไปตาม เปาหมายที่วางไวก็ตาม แตเชื่อวาประชาชนเขาใจดีถึงสถานการณ ณ ปจจุบนั ดังนัน้ ควรเรงหามาตรการปองกันและดําเนินการทําอยางเรงดวน กอนจะถึงฤดูฝนซึง่ ประชาชนคงไมอยากใหเกิดประวัตศิ าสตรซ้าํ รอยแนนอน และหวังวาปญหาน้ําทวมจะเปนบทเรียนราคาแพงของรัฐบาลยิ่ง ลักษณ รวมถึงอนาคตที่อาจจะมีการเปลี่ยนรัฐบาลใหม? ...ซึ่งปจจุบันนี้ การแกไขปญหานั้นอยูระหวางการเยียวยา ซึ่งบางพื้นที่ บางจังหวัดไดรับ การเยียวยาครบหมดแลวทั้งเงินชวยเหลือ 5,000 บาท และก็คาเยียวยา คาอุปกรณที่เสียหาย หลังจากนี้ ไปก็คงถึงคิวการซอมแซมบานเมืองหรือ การปรั บ ปรุ ง บ า นเมื อ ง จั ด ระบบทางเดิ น น้ํ า ใหม โ ดยขุ ด ลอกคู ค ลอง ลอกทอระบายน้ํา และอื่นๆ อีกมากมายที่รัฐบาลจะตองดําเนินการแกไขใน ระยะสั้นใหแลวเสร็จภายในเดือน พ.ค.-มิ.ย. 2555 เพื่อสามารถรองรับ ปญหาน้ําทวมที่อาจจะเกิดขึ้นอีกในอนาคตอันใกลนี้ แตถาหากรัฐบาลยังนิ่งเฉยไมรีบแกไขปญหาหรือไมรีบเรงดําเนิน การตามทีว่ างไวรบั รองวาทวมอีกเหมือนเดิมแนนอน (ทวมเหมือนป 2554) เพราะขนาดฝนตกหลงฤดูชวงเดือนมกราคมที่ผานมาน้ํายังทวมเลยครับ เห็ น มากั บ ตาที่ ต ลาดรั ง สิ ต (เพราะท อ ระบายน้ํ า ระบายช า กว า ปกติ )

แลวหากไมเรงแกไขเมื่อถึงฤดูฝนคงจบบาดาลกันอีกครั้งแนนอน ถึงตอน นั้นอนาคตของรัฐบาลยิ่งลักษณคงอยูไมรอดแน ดังนั้น “นายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ ชินวัตร” ตองรีบดําเนินการเรื่องนี้กอนไปดําเนินตามนโยบาย แหงชาติที่ ไดประกาศไวกับประชาชน อีกเรื่องคือคาไฟ คาน้ํา หลังน้ําลด ซึ่งโดยสวนใหญชวงน้ําทวม หลายคนจะไมไดอยูบานก็เทากับวาไมไดใชไฟ ไมไดใชน้ํา แตพอบิลคาไฟ คาน้ําออกมากับมีตัวเลขเปนเงินหลายพันบาทใหตองจายทั้งที่ ไมอยูบาน เลยไมแนใจวา พวกการไฟฟาฯ การประปาฯ ทั้งหลายเขาบริหารงานกัน อยางไรถึงใหเกิดปญหาแบบนี้ขึ้นมาได...ครับ

104 l February 2012

Energy#39_p104_Pro3.indd 104

25/1/2012 0:38


February 2011 l 105

Energy#39_p105_Pro3.indd 105

1/26/12 2:40 PM


Experience Interchange

แปลงของเสีย

เปลีย่ นเปนพลังงาน

สิง่ แวดลอมและพลังงานในยุคนีจ้ าํ เปนตองเดินควบคูก นั ไป ซึง่ หมาย ถึงการผลิตพลังงานที่ ไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือการนํา ของเสียที่ทําลายสิ่งแวดลอมกลับมาผลิตพลังงาน แนนอนวาการผลิต พลังงานที่ ไมกอใหเกิดผลเสียตอสิ่งแวดลอมจําเปนตองมีการลงทุนที่สูง มากและตองใชเทคโนโลยีขั้นสูง ขณะที่การนําของเสียมาผลิตเปนพลังงาน ดูเหมือนจะเปนวิธีที่งายกวากันมาก อยางเชนที่ บริษัท กระดาษสหไทย จํากัด ไดลงมือทําโดยใชการ ใชกากตะกอนกระดาษเปนเชื้อเพลิง ซึ่งในกระบวนการผลิตกระดาษจะกอ ใหเกิดกากตะกอนประมาณ 24 ตันตอวัน ซึง่ แตเดิมทางบริษทั ใชวธิ ฝี ง กลบ กากตะกอนดังกลาว แตก็สงผลเสียตอสิ่งแวดลอมโดยเฉพาะสภาพดิน ดัง นั้ น จึ ง มี แ นวคิ ด ที่ จ ะนํ า กากตะกอนดั ง กล า วมาผลิ ต ไฟฟ า ในระบบ Cogeneration รวมกับถานหิน ซึ่งจะชวยลดปริมาณการใชถานหินและยัง เปนการรีไซเคิลสิ่งเหลือใชใหมีประโยชน กากตะกอนดังกลาวสวนใหญจะอยูในระบบน้าํ เสียซึง่ มีสว นผสมของ กระดาษ สามารถนํากากตะกอนดังกลาวมาเขากระบวนการบีบน้ําใหแหง กระบวนการดั ง กล า วจะทํ า ให ก ากตะกอนมี ความชื้นราว70% จะนั้นจะเขาสูกระบวนการอบ แหง กระบวนการดังกลาวจะลดความชื้นกาก ตะกอนใหเหลือเพียง 50% จากนั้นกากตะกอน จะถูกเปาดวยพัดลมความดันจนแหงแลวนําเขา สูกระบวนการเผาไหมรวมกับถานหินเพื่อตมน้ํา จากนัน้ ไอน้าํ ที่ ไดจะถูกนําไปปน กังหันจนไดกระแส ไฟฟา ซึ่งสามารถผลิตไฟฟาไดราว 3.56 MW ขณะที่ความรอนสวนที่เหลือก็จะถูกนํากลับไปใช ในกระบวนผลิตกระดาษอีกครั้งหนึ่ง สําหรับการบํารุงดูแลรักษาระบบจะเนนไป ทีอ่ ปุ กรณในการลดความชืน้ ของกากตะกอนและ ระบบทอสงกากตะกอน เนื่องจากหากตะกอนมี ความชื้นสูงจะสงผลใหเกิดการอุดตันในทอสง กากตะกอนได นอกจากนี้ ห ากกากตะกอนมี ความชืน้ สูงระบบการเผาไหมกจ็ ะทําไดไมสมบูรณ ซึ่ ง นอกจากจะไม ไ ด ค วามร อ นตามที่ ต อ งการ เปนการเสียพลังงานโดยใชเหตุแลว ยังกอใหเกิด มลพิษจากการเผาไหมไมสมบูรณอีกดวย

จากการลงทุนราว 2 ลานกวาบาทในการติดตั้งระบบดังกลาว จะ ชวยใหบริษัท กระดาษสหไทย จํากัดสามารถลดการใชเชื้อเพลงถานหินได ราว 6.67 ตันตอวันคิดเปนมูลคาถึง 2,160,000 บาทตอป นอกจากนี้ยัง ชวยลดคาใชจายในดานการขนสงกากตะกอนไปยังบอหลุมฝงกลบไดถึง 864,000 บาทตอป รวมแลวระบบดังกลาวสามารถชวยประหยัดไดถึง 3,024,000 บาทตอป โดยใชระยะเวลาคืนทุนเพียง 11.5 เดือน

ขอขอบคุณขอมูล : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน

106 l February 2012

Energy#39_p106_Pro3.indd 106

25/1/2012 0:40




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.