นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 40 เดือนมีนาคม 2555

Page 1



Energy#40_p3_Pro3.ai

1

2/20/12

10:28 PM


Contents Issue 40 March 2012

26 18

What’s Up 10 Energy News 86 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : ทิศทาง-สถานการณ พลังงานยานยนตไทย 93 Special Scoop : World Energy Outlook 2011 100 Special Report : การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานสําหรับโรงงาน และอาคารควบคุม (ตอน 1) Interview 38 Energy Keyman : ดร. เกษมสันต จิณณวาโส อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม “สงเสริมสิ่งแวดลอม...ดวยความรู” 41

Energy Keyman : ผอ. ประเทศ ศรีชมภู 38 ผูอํานวยการฝายคุมครองสิทธิประโยชน “ตัง้ คพข. เปนหนวยพิทกั ษปญ  หาไฟฟาทุกบาน”

80

Energy Concept : ตูอบกลวยพลังงาน แสงอาทิตย

High Light 14 Energy Focus : เสนทางขนสงนํามัน ยุทธศาสตรสําคัญ พลังงานทั่วโลก 32 Energy Best Award : ปภพ รีนวิ เอเบิล รับ 2 รางวัลใหญ ภายใตโครงการ…Renewable Energy 46 Residential : เดอะสปาเกาะชางรีสอรท...รีสอรทพึ่งพา ธรรมชาติ 67 Energy Tezh : ทึ่ง! วัสดุชวยดูดคารบอน...เพื่อโลก 70 Energy Test Run : Hiphone Solar Bluetooth ชุดแฮนดฟรีในรถยนต 83 Energy In Trend : หินนํามัน สู กาซธรรมชาติ 84 Energy Exhibit : BuildTech’12 มหกรรมฟน ฟูบา น+เมือง ที่ ใหญที่สุดแหงป 91 Insight Energy : เจาของอาคารอยาลืมสงแผนอนุรักษ ภายในมีนาคมนี้ Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 54 Greeenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : “สินเชื่อรับประกันการประหยัดพลังงาน กสิกรไทย” (K-Energy Saving Guarantee Program)

41

46

4 l March 2012

Energy#40_p04,06_Pro3.indd 4

2/27/12 11:01 PM


Energy#40_p5_Pro3.ai

1

2/20/12

10:30 PM


Contents Issue 40 March 2012

68

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : การประยุกตใชโอโซนในอุตสาหกรรม 26 Green Industrial : พาชม ABALONE Tower อาคารผลิตพลังงาน แบบพึ่งพาตัวเอง...จากฝรั่งเศส 30 Saving Corner : การปด-เปดเครื่องปรับอากาศและการใชพัดลม ดูดอากาศอยางไรใหประหยัดไฟ 44 Energy Design : การออกแบบศูนยฝกอบรม โครงสรางดิน ในเมืองมาลาคีช 51 Green4U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 48 Energy management : แนวทางการอนุรักษพลังงานในระบบ แสงสวาง

62

Alternative Energy & Transportation 64 Renergy : ถาอีก 10 ป ไทยจะมี RE 25% ตองกําจัดจุดออน โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกิตติมศักดิ์กลุมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 68 Vehicle Concept : Mercedes Benz F125 ไฮบริดไรนํ้ามัน 0% 78 Logistics Solution : พลิกยุทธศาสตรการจัดซื้อใหมรับความเสี่ยง โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก

FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

Environment Protection 57 Green Space : ปูนอินทรีสานตอโครงการสรางฝาย คืนสมดุลให กับธรรมชาติ 59 Green Vision : แคจัดการสิ่งแวดลอม “กําไร” ก็เพิ่มขึ้น 60 Environment Alert : วิกฤตการณอากาศพิษในเมืองใหญ โดย คุณรัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญ การพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

48

0 Waste Idea : การบริ ห ารจั ด การนํ้ า ในโรงงาน อุตสาหกรรม ดวยหลักเทคโนโลยีสะอาด โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนํานํา้ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : 10 วิธเี ลือกซือ้ บานประหยัดพลังงาน (ตอนที่ 2) 89 Environment & Energy Legal : ผลิตไฟฟาใชเอง แตละบาน เรื่องยุงยากที่ ไมเหมือนประเทศอื่น 102 Life Style : พาเที่ยวงาน “ราชพฤกษ 2554” โฉมใหม ที่มีมากกวา “ตนไม” 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : เศรษฐกิ จ ประเทศไทย รายได (เศรษฐี) ขอทาน 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : โรงแรมรอยัลออคิด ลดใชนํ้ามันเพื่อผลิตความรอน

6 l March 2012

Energy#40_p04,06_Pro3.indd 6

2/28/12 3:45 PM


Editors’ Talk เขาสูไตรมาสเล็กแหงป 2555 วาดวยเรองความคืบหนา “พลังงาน ยานยนต” กันเสียหนอย หลังจากปรับคณะทํางานของรัฐบาลชุดที่ 2 ไดคุณอารักษ ชลธารนนท อดีตกรรมการบริหารบริษัท เอไอเอส และเปน กรรมการบริหารบริษัท ชินคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กาวสูตําแหนง รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานคนที่ 8 เมอวันที่ 18 มกราคม 2555 ในสวน “พลังงานยานยนต” มีความคืบหนาวา ตองกลับไปทบทวน แผนการปรับโครงสรางราคาตามมติคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แหงชาติ (กพช.) ทั้งหมดอีกครั้ง ซึ่งจะมีการปรับโครงสรางราคากาซ ธรรมชาติ (เอ็นจีวี) แกสหุงตม(แอลพีจี) และน้ํามัน โดยหลักการจะตองมี การอุดหนุนราคาเอ็นจีวี และแอลพีจีตอไป และเมอเห็นชอบใหมีการปรับขึ้น ราคาตามมติ กพช.ก็ตอ งทบทวนอัตราจัดเก็บใหม ใหเกิดความเหมาะสมหรือ หากไมมี ก ารจัด เก็บ ตามมติ ก็ ต องพิจารณาแนวทางการชดเชยราคา เนองจากสถานะกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงติดลบ ขณะเดียวกันก็ ไมสามารถไป รีดสวนตางจากผูใชน้ํามันมากจนเกินไปได ซึง่ รัฐมนตรีพลังงาน กลาววา “กองทุนน้าํ มันมีวตั ถุประสงคเพอ การ ดูแลเสถียรภาพราคาน้ํามัน แตวันนี้กองทุนติดลบ 1.5 หมนลานบาทก็ตอง มาดู ว า หากต อ งชดเชยจะทํ า อย า งไรจะเก็ บ ส ว นเพิ่ ม น้ํ า มั น ไปอุ ด หนุ น ราคากาซกระทรวงพลังงานก็ตองเปนตัวกลางสอสารใหทั้ง 2 ฝายเขาใจ ที่สําคัญขอใหผูที่เดือดรอนไมตองกอม็อบประทวงเรียกรองเชนที่ผานมา หากเห็นวาการปรับราคาไมเปนธรรม ก็ขอใหเขามาเจรจาไดพรอมที่จะรับ ฟงเหตุผล” หลังจากเปดชองทาง ก็มีผูเขามาขอเจรจาทันทีจากภาคขนสง โดย เสนอใหยืดเก็บภาษีสรรพสามิตดีเซลออกไปอีก 1 เดือน คือสิ้นสุดมีนาคมนี้ พรอมใหเวลา 4 เดือนเรงแกไขปญหา NGV ขาดแคลนและทําโครงสรางให โปรงใสในการจะปรับขึ้นราคา แตนายใหญ “บางจาก” ยังหนุนใหเรงเก็บ ภาษีดีเซล โดยบอก รัฐบาลควรจะทยอยเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามันดีเซลที่ ไดลดลงไปกวา 5 บาทตอลิตรกลับคืนโดยนาจะเริ่มดําเนินการไดหลังชวง ไตรมาส 1 ของปนี้เนองจากจะเปนชวงหมดฤดูหนาวที่ปกติราคาน้ํามัน ตลาดโลกจะเปนชวงขาลง โดยบริหารจากระดับราคาน้าํ มันหากสถานการณ อิหรานยังคงทําใหระดับราคาน้ํามันทรงตัวระดับสูงก็จัดเก็บต่ําเพอไม ให กระทบประชาชน นี่เปนเพียงวาระแรกแหงการดํารงตําแหนงอันทรงเกียรติ ตอจากนี้ เราคงจะตองติดตามการทํางานของทานตอไปเรอย ๆ ในอีกหลายแงมมุ การ จัดการพลังงานในประเทศ ... แต สํ า หรั บ ท า นผู อ า นที่ ส นใจอ า นต อ ความคื บ หน า “พลั ง งาน ยานยนต” ตองไปติดตามอานกันตอในเรองเดนประจําฉบับแลวละคะ..

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

พิพัฒน จันทรอดิศรชัย รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

จันทรอําไพ แตตระกูล เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก

สุทธิพล โกมลสิงห

การเงิน

ศิรินารถ แกวอุไร

ศิลปกรรม

วินัย แพงแกว

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

March 2012 l 7

Energy#40_p7_Pro3.indd 7

2/22/12 12:06 AM


Energy#40_p8-9_Pro3.ai

1

2/20/12

10:39 PM

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ หอคำหลวง เต็มตากับสุดยอดความอลังการแห งงานสถาป ตยกรรมแบบล านนา และความงดงามแห งงานวิจิตรศิลป อันล้ำค า

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ 3 พระองค

ถวายพระพ พอของแผ

ครั้งแรกของเมืองไทยกับภาพยนตร เทิดพระเกียรติฯชุดพิเศษ ที่จะนำพาผู ชมเดินตามรอยพระราชกรณียกิจของทัง้ 3 พระองค เสมือนเข าไปอยูใ นเหตุการณ จริง บนจอรับภาพ 360 องศา (Panoramic Magic Virtual)

ผ านระบบดิจิตอล (I-Note) ปร "ต นไม แห งความจง

กระเชาราชพฤกษลอยฟา (Giant Flora Wheel)

เต็มตากับมุมมองใหม บนกระเช าลอยฟ า สูงเท าตึก 15 ชัน้ ชมทิวทัศน พรมดอกไม และความสมบูรณ เขียวขจีของ พืชพรรณบนพืน้ ทีท่ ง้ั 470 ไร จากมุมมองทีส่ วยทีส่ ดุ

สวนการบินกรุงเทพ

สวนเยาวชนรักษโลก (Kids’ Eco Park)

ครั้งแรกกับพื้นที่สวนเรียนรู สมัยใหม ด วยสื่อผสมผสาน Interactive และมัลติมเี ดีย ปลูกฝ งจิตสำนึกการลดโลกร อน และการอนุรกั ษ ธรรมชาติให กบั เยาวชนคนรุน ใหม ผ านการ ตนู แอนนิเมชัน่ 5 Episodes

พบกับ 3 สนามบินแนวคิด "ธรรมชาติ" รางวัลระดับโลก และสนุกสนานกับการถ ายภาพคู กับแบบจำลองสถานที่ ซึ่งได รับการยกย องให เป นมรดกโลก

ขบวนพาเหรดแฟนซีราช

เพลิดเพลิน สนุกสนานกับสีสันของข Flora 2011 ที่สามารถเข าร วมถ ายภ

สวนภูฏาน

กลิน่ ไอเมืองบนดอยสูง สวนสวยแห งเทือก สักการะ "พระศรีศากยมุน"ี 1 ใน 7 สิง่ สำค ภูฏาน ให ประชาชนคนไทยได เคารพสักกา

สวนประเทศเกาหลีใต

หมูบ า นเกาหลี โบราณทีง่ ดงาม และการจัดสวน ทีส่ ะท อน เอกลักษณ ประจำชาติ

"บัววันวิสาข" บัวประดับลูกผสมของคนไทยที่ได รับ รางวัลชนะเลิศระดับโลก และนับเป นครั้งแรกในโลกที่บัว ฝรั่งมีดอกสีส มลายเหลือง

แนวคิด “The Garden of Civilian” ในรูปแบบ The RoboticGarden ผ านการจำลองหุ นยนต ที่แสดงให เห็น ระบบการเคลื่อนไหว เสมือนเป นสายพานแห งนวัตกรรม และเทคโนโลยีพืชสวน

"Orchid Zoo" จัดแสดงกล วยไม ทม่ี ชี อ่ื รูปร างคล ายสัตว สร างจินตนาการและให กับผูเ ข าชม


Energy#40_p8-9_Pro3.ai

2

2/20/12

10:40 PM

พระพรชัย องแผนดิน

ชืน่ ชมความงดงามของ “ประติมากรรมต นแก ว จินตนาการ” สวนแสงแหงจินตนาการ (Imagination Light Garden) ซึ่งประชาชนได ร วมแสดงความจงรักภักดี โดยนำดวงแก ว ตื่นตาตื่นใจในยามค่ำคืนกับการเนรมิตดวงไฟนับล านดวงและผีเสื้อเรืองแสงเต นระบำเคลื่อนไหว te) ปรากฎบน มาเรียงร อยต อกัน เป นประติมากรรม ตามจังหวะเสียงดนตรี และทุ งดอกไม solar cell ที่เก็บแสงในช วงเวลากลางวันไปเป น วามจงรักภักดี" พลังงานแสงสว างในเวลากลางคืน

ราชพฤกษ

สวนกรมทรัพยากรน้ำบาดาล

การแสดง

นของขบวน Electric Parade of Royal “มหัศจรรย…พลังสีเขียว” มถ ายภาพ ร องเล น เต นรำ ได อย างใกล ชิด (Miracle of Greenitude) สัมผัสความมหัศจรรย ของดินแดน ในจินตนาการ สนุกตืน่ เต นทุกคืนกับ งเทือกเขาหิมาลัย พร อม การแสดงชุดพิเศษบนผืนน้ำ สิง่ สำคัญประจำชาติจาก ผ านเทคนิคสือ่ ผสม 5D ระดับโลก สักการะครัง้ แรก

สัมผัสโลกใต ดิน “ตะลุยอุโมงค น้ำบาดาล” กับ กิจกรรม “น้ำบาดาลแรลลี่” และพิเศษกับการ แสดง “น้ำบาดาล ไลต ติ้งโชว ” การแสดง แสง สี เสียงและสื่อผสมดวงไฟเริงระบำไปกับ เสียงดนตรีผ านไฟประดับ ไอหมอกและน้ำพุ

พบกับแมลงหายากสายพันธุ แปลก หรือใกล สูญพันธุ เช น "ดวงไตรโลไบต" แมลงที่สืบทอดเผ าพันธุ จากบรรพบุรุษ ที่เป นเจ าแห งทะเลสัตว ดึกดำบรรพ ที่เพิ่ง ถูกค นพบ

สวนภูฏาน

กลิน่ ไอเมืองบนดอยสูง สวนสวยแห ง เทือกเขาหิมาลัย พร อมสักการะ "พระศรีศากยมุน"ี 1 ใน 7 สิง่ สำคัญ ประจำชาติจากภูฏาน ให ประชาชนคนไทย ทึ่งกับความมหัศจรรย ของ “ไพรีทรัม” ได เคารพสักการะครัง้ แรก ดอกไม ที่ได รับการขนานนามจากเหล านัก พฤกษศาสตร ว า เป นดอกไม ทพ ่ี ระเจ าส งมา คุม ครองมนุษย มีสารทีส่ ามารถกำจัดแมลง ได มีประสิทธิภาพสูงสุดในจำนวนพืช ทั้งหมดบนโลกใบนี หมดบนโลกใบน้

ม ทม่ี ชี อ่ื สัตว รและให ความรู

เสริมความรูด า นกล วยไม แบบสวยงามล้ำจินตนาการ และน าค นหาไปกับ "อุโมงค กล วยไม หรรษา" (Orchid Adventure Tunnel)


Energy News

ตอนรับ รมว.พน.แหงอาหรับ

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน พรอม ดวยผูบริหารระดับสูงและผูบริหารกลุม ปตท. ใหการตอนรับรัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงานแหงสหรัฐอาหรับเอมิเรตส (H.E. Mohamed bin Dhaen Al Hamli) เพอหารือขอราชการ กระชับความสัมพันธ และสงเสริมความรวมมือดาน พลังงานระหวางสองประเทศ ซึ่งยูเออีเปนคูคาทางดานการนําเขาน้ํามันดิบเปน อันดับ 1 ของไทย ตั้งแตป พ.ศ.2536 โดยจัดขึ้น ณ กระทรวงพลังงาน

“กั ล ฟ์ ” จั บ มื อ “ชมรมพลั ง งานเพื่ อ สั ง คม” ฟื้ น ฟู โรงเรียนหลังน้ําทวม

กลุมบริษัทกัลฟ และ โรงไฟฟาอุทัย รวมกับ ชมรมพลังงานเพอสังคม (ESC) จัดกิจกรรมโครงการ “รวมแรงรวมใจฟนฟูโรงเรียนประสบภัยน้ําทวม” สานตอ บทบาท “กัลฟจิตอาสา” จัดกิจกรรม 3 กลุม โดยลงพื้นที่ทาสีอาคารเรียน และโตะเกาอี้ รวมถึงอุปกรณเด็กเลนที่โรงเรียนวัดไผ (โสมนรินทร) ต.บานเกาะ อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา โดยการจัดกิจกรรมครั้งนี้เปนการจัดกิจกรรมตอเนองภายหลัง จากที่ชมรมกัลฟจิตอาสาไดลงลงพื้นที่ ชวยเหลือประชาชนในพื้นที่ จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งไดรับความเดือดรอนจากเหตุการณน้ําทวมในป 2554 มาอยางตอเนอง

LeKise แถลงผลงานป 54 พรอมแผนการดําเนินงานป 55

เลคิเซกรุปและบริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนาย หลอดไฟและผลิตภัณฑประหยัดพลังงานไฟฟาเลคิเซ (LeKise) โดยนายสมนึก โอวุฒิธรรม ประธานเจาหนาที่บริหาร และนางสาวรัฐวิไล รังษีสิงหพิพัฒน กรรมการผูจัดการ นําทีมผูบริหารแบบจัดเต็ม จัดงาน LeKise Thanks Press 2012 เพอรายงานความสําเร็จในป 2554 เผยแนวรุกทางธุรกิจในป 2555 โดย ตั้งเปาหมายการเติบโตที่ 35% หลังจากที่ปจจุบันบริษัทกาวสูความเปน TOP3 แม เปดดําเนินงานเพียง 4 ป จัดขึ้น ณ โรงแรมเรอเนสซอง สี่แยกราชประสงค กรุงเทพ 10 l March 2012

Energy#40_p10-13_Pro3.indd 10

2/24/12 10:10 PM


พพ.ตอนรับ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน พรอม ดวย นายณอคุณ สุทธิพงศ ปลัดกระทรวงพลังงาน ตรวจเยี่ยมกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) มีนายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดี พพ. พรอมผูบริหาร ใหการตอนรับ โดยอธิบดี พพ. ไดเปดบานพิบูลยธรรมและ นํารัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานชมภายในบาน ซึ่งจัดแสดงนิทรรศการ เทิด พระเกียรติฯ พระบิดาแหงการพัฒนาพลังงานไทย และนิทรรศการ 59 ป พพ. พรอมกันนี้ ไดรายงานแผนการดําเนินงานดานอนุรักษพลังงานและพลังงาน ทดแทนตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ณ หองประชุมบุญรอด-นิธิพัฒน

มอบรางวัล “มองพลังงานผานเลนส”

กระทรวงพลังงาน มอบรางวัลการประกวดภาพถาย “มองพลังงานผาน เลนส ทางเลือกเชื้อเพลิงอนาคต 2012” ซึ่งจัดขึ้นเปนครั้งที่ 3 ณ บริเวณชั้น 1 อาคารบี ตึกเอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ กระทรวงพลังงาน โดยไดรับเกียรติจาก นางบุญราศี ทองเปนใหญ ผูตรวจราชการกระทรวงพลังงานเปนประธาน ในพิธี และไดมอบโลรางวัลพรอมใบประกาศเกียรติคุณแกผูไดรับรางวัลดวย

บางจากเปดตัว “บัตรดีเซลคลับ”

ดร.อนุสรณ แสงนิ่มนวล กรรมการผูจัดการใหญ และคณะผูบริหาร บริษัท บางจากฯ (มหาชน) เปดตัวโครงการ “บัตรดีเซลคลับ” เพอสงเสริมการ ใชน้าํ มันดีเซลเกรดพรีเมียม บางจากซูเปอรเพาเวอรดี มาตรฐานยูโร 4 โดยสมาชิก บัตรเติมน้ํามันทุก 500 บาท รับสิทธิลุนรางวัลทองคําและบัตรเติมน้ํามัน รวม 444 รางวัล มูลคากวา 2 ลานบาท จับรางวัล 3 ครั้ง วันนี้ – 31 สิงหาคม 2555 และ ยังใชสะสมคะแนน Value Points เมอซื้อสินคาและบริการในรานคาเครือบางจากฯ มี พ.ท.วันชนะ สวัสดี รวมเปนเกียรติในฐานะสมาชิกบัตร จันขึ้น ณ โรงแรม เชอราตัน แกรนด สุขุมวิท March 2012 l 11

Energy#40_p10-13_Pro3.indd 11

2/24/12 10:10 PM


โครงการ “สินคาเบอร 5 ชวยเยียวยาผูประสบอุทกภัย 2”

นายศิริศักดิ์ วิทยอุดม รองปลัดกระทรวงพลังงาน พรอมดวย นายประมวล จันทรพงษ รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลั ง งาน แถลงข า วเป ด งานโครงการ “สิ น ค า เบอร 5 ช ว ยเยี ย วยา ผูประสบอุทกภัย 2” ระหวางวันที่ 10 - 20 กุมภาพันธ 2555 ที่ผานมา ณ อาคาร รัฐประศาสนภักดี ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา ถนนแจงวัฒนะ กรุงเทพฯ

มอบรางวัล สื่อภาพยนตรอนิเมชั่น “Energy Ranger ขบวนการฮีโรพิทักษพลังงาน”

นายอารั ก ษ ชลธาร น นท รั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงพลั ง งาน เป็ น ประธานในพิ ธี ม อบรางวั ล ให้ แ ก่ ผู้ ช นะการประกวดสื่ อ ภาพยนตร์ อ นิ เ มชั่ น เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงานสําหรับเด็กและเยาวชน หรือ Energy Animation Award 2011 ภายใตหัวขอ “Energy Ranger ขบวนการฮีโรพิทักษพลังงาน” รวม มูลคารางวัลกวา 2 แสนบาท โดยจัดขึ้น ณ บริเวณชั้น 1 ศูนยเอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ อาคารบี กระทรวงพลังงาน

กระเบื้องตราเพชร แถลงผลงานพรอมขอบคุณสื่อมวลชน

กระเบื้ อ งหลั ง คาตราเพชร นํ า โดย คุ ณ สาธิ ต สุ ด บรรทั ด รองกรรมการผูจัดการสายการขายและการตลาด จัดแถลงผลประกอบการ ป 2554 พรอมตั้งเปาป 2555 วา บริษัทนาจะมีการเติบโตดานยอดขาย 13% พรอมกันนี้ ยังไดจัดงาน Thank Press ขอบคุณสื่อมวลชน ที่นําเสนอขาวอยาง ตอเนื่องตลอดมา ณ ริเวอรแคว รีโซเทล จ.กาญจนบุรี 12 l March 2012

Energy#40_p12-13_Pro3.indd 12

2/27/12 11:03 PM


คพข.เปดแผนยุทธศาสตร 3 ป

ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.ดิเรก ลาวัณยศิริ ประธานกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) แถลงยุทธศาสตรการดําเนินงานของคณะ กรรมการผูใชพลังงานประจําเขต ( คพข.) ในป 2555-2557 โดย กกพ. ไดวาง รากฐานกลไกการกํากับกิจการไฟฟา และกิจการกาซธรรมชาติมาเปนลําดับ สวน คพข. ไดจัดขึ้นเพื่อมาดูแลประชาชนที่ ใชไฟฟาสามารถรองเรียนไปยังหนวยงาน ประจําจังหวัดได จัดขึ้น ณ โรงแรมดิเอมเมอรัล รัชดา

SGP เซ็น MOU กับลูกคารายใหญ ในจีน

นายวรวิทย วีรบวรพงศ ประธานกรรมการบริหาร บริษัทสยามแกส แอนด ปโตรเคมีคัลส จํากัด (มหาชน) หรือ SGP เปนผูแทนลงนามในบันทึกความ เขาใจระหวาง บริษัท SIAM OCEAN GAS AND ENERGY LIMITED หรือ SOGEL ซึ่งเปนบริษัทที่ถือหุนโดย สยามแกส ฮองกง (SGP ถือหุน 100%) กับ นายผันจือสุง ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท SHANTOU CHENGHAI HONGSHENG PETROLEUM GAS COMPANY LIMITED ซึ่งเปนผูคาแกส LPG ที่ ใหญที่สุดในเมืองซัวเถา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยตกลงซื้อแกส LPG จาก SOGEL จํานวน 10,00030,000 ตันตอเดือน เปนระยะเวลา 3 ป

ฟูจิ ซีร็อกซ 2012 DocuWorld

บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด โดย มร.มาซาชิ ฮอนดะ กรรมการและประธาน บริษัท ฟูจิ ซีร็อกซ (ประเทศไทย) จํากัด จัดงาน 2012 DocuWorld : Green Solution for Sustainable Growth โดยนํา เสนอโซลูชั่นตางๆ ที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานดานเอกสารและขอมูล รวมไปถึงผลิตภัณฑที่เนนการรักษาสิ่งแวดลอม โดยมีโซนตางๆ ทั้งหมด 6 โซน พรอมทั้งสาธิตการทํางานของเครื่องมัลติฟงกชั่นที่มีการใชพลังงานลดลงกวา 30% จากการใชไฟ LED ในการสแกนและทําภาพ ณ ฮอลล 3 ชั้น 5 ศูนยการคา สยามพารากอน March 2012 l 13

Energy#40_p12-13_Pro3.indd 13

2/27/12 11:03 PM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

มาเปนเครื่องตอรอง ขณะเดียวกันสหรัฐฯ เองก็ยอมไมไดที่จะใหความ มั่นคงดานพลังงานอยูในความควบคุมของอิหราน เมื่อหันมามองดูในแงเศรษฐกิจ การปดชองแคบดังกลาวยังมีผล กระทบตอเศรษฐกิจอีกดวย เนื่องจากเกือบ 100% ทัว่ โลกยังคงพึง่ พาน้าํ มัน เปนพลังงานหลัก การปดชองแคบดังกลาวจะสงผลใหการเดินเรือผาน เสนทางนี้ (จําเปนตองผานทุกลําที่สงออกซาอุฯ และอิหราน) มีความเสี่ยง สูงตอการถูกโจมตีทัง้ จากฝายตะวันตกและฝายอิหราน ความเสีย่ งสูงนีเ่ อง ที่เปนตัวผลักดันใหราคาน้ํามันในทองตลาดเพิ่มขึ้น อีกทั้งความหวั่นเกรง จะถูกโจมตีเรือขนสงน้าํ มัน ยังสงผลใหลดเทีย่ วขนสงลง ซึง่ สงผลใหความ ตองการขาย (Supply) ลดลง ขณะที่ความตองการซื้อ (Demand) ยังคง เพิ่มสูงขึ้น

เสนทางขนสงนํ้ามัน ยุทธศาสตร สําคัญพลังงานทั่วโลก

จากสถานการณตะวันออกกลางที่กําลังสอแววจะเกิดความรุนแรง ถึงขั้นกอสงครามขึ้นมา โดยครั้งนี้จะเปนตอกรระหวางประเทศอิหรานผู ขายน้ํ า มั น อั น ดั บ ที่ 2 ของโลก กั บ ชาติ ต ะวั น ตกที่ มี แ กนนํ า อย า ง สหรัฐอเมริกาโดยมีกลุม EU สนับสนุน ซึ่งสาเหตุเกิดจากขาวที่วาอิหราน เตรียมเพิม่ ศักยภาพนิวเคลียรเพื่อใชทาํ อาวุธ ขณะทีอ่ หิ รานก็ออกมาปฏิเสธ อยางตอเนื่อง ชาติตะวันตกเริ่มมาตรการกดดันอิหรานดวยการคว่ําบาตรทาง เศรษฐกิจ ขณะทีอ่ หิ รานก็ขม ขูก ลับดวยการนํากองกําลังปดชองแคบฮอรมซุ ซึง่ เปนเสนทางเดินเรือขนสงน้าํ มันทีส่ าํ คัญเสนทางหนึง่ ของโลก แตเสนทาง เดินเรือขนสงน้ํามันที่สําคัญมีหลายแหงทั่วโลก และนาแปลกใจที่แคการปด เสนทางเดินเรือจะสงผลกระทบตอราคาน้ํามันทั่วโลก ที่สําคัญเสนทางเดิน เรือเหลานี้ยังเปนยุทธศาสตรสําคัญทั้งในแงเศรษฐกิจและการทหาร

โครงการแลนดบริดจ แกยุทธศาสตรชองแคบมะละกา

ชองแคบมะละกาบริเวณเกาะสุมาตราเปนอีกหนึ่งเสนทางเดินเรือ ขนสงที่สําคัญ ไมเฉพาะแคการขนสงสินคาแตรวมไปถึงการขนสงน้ํามัน ดวย ซึ่งชองแคบดังกลาวอยูภายใตการดูแลของประเทศสิงคโปร หลาย ครั้งที่มีการพิจารณาขุดคอคอดกระเพื่อเปนเสนทางลัดในการเดินเรือจาก มหาสมุทรอินเดียฝง อันดามันสูม หาสมุทรแปซิฟค ฝง อาวไทย แตไดรบั การ คัดคานมาตลอด เนื่องจากการขุดคอคอดกระดังกลาวเกี่ยวของกับความ มั่นคงของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคใตของไทย

ชองแคบฮอรมุซจากแหลงผลิตสูตลาดโลก

“ชองแคบฮอรมุซ” ชื่อสถานที่แหงนี้อาจจะเพิ่งเคยไดยินสําหรับใคร หลายๆ คน แตชองแคบดังกลาวเปนเสนทางเดินเรือขนสงน้ํามันที่สําคัญ ชองแคบฮอรมุซตั้งอยูตรงกลางระหวางอาวเปอรเซียและอาวโอมาน ซึ่ง อาวโอมานสามารถออกสูม หาสมุทรอินเดียได และชองแคบดังกลาวยังเปน เสนทางหลักการสงออกน้ํามันทั้งของอิหรานและซาอุดิอาระเบีย ผูสงออก น้ํามันรายใหญอันดับ 1 และ 2 ของโลก แนนอนวาในแงยุทธศาสตรทางทหาร ชองแคบดังกลาวเปนชอง ทางลําเลียงยุทธปจจัยที่สําคัญ หากเสนทางบริเวณชองแคบถูกกีดขวาง หรือตัดขาด การกระจายน้ํามันสูพื้นที่นอกอาวเปอรเซียจะไมสามารถทําได ซึ่ ง ส ง ผลกระทบอย า งรุ น แรงต อ ผู นํ า เข า น้ํ า มั น รายใหญ ห รื อ ก็ คื อ สหรัฐอเมริกานั่นเอง จึงเปนเหตุผลใหอิหรานใชการปดชองแคบดังกลาว 14 l March 2012

Energy#40_p14-16_Pro3.indd 14

2/17/12 12:11 AM


Energy#40_p15_Pro3.ai

1

2/21/12

4:06 PM

ทุกวันอาทิตย


จากการศึกษาทางดานภูมศิ าสตรจะพบวา ประเทศจีนมีปริมาณการ ใชพลังงานเพิม่ ขึน้ อยางมีนยั สําคัญ อีกทัง้ สถานการณดา นตะวันออกกลาง ยังคงตึงเครียด สงผลใหน้ํามันกลายเปนยุทธปจจัยและบริเวณชองแคบ มะละกาอยูภ ายใตอทิ ธิพลของกลุม ชาติตะวันตกลากยาวลงไปถึงนานน้าํ ของ ออสเตรเลีย สงผลใหเกิดความกังวลของหลายประเทศหากชาติตะวันตก ตัดสินใจปดชองทางเดินเรือดังกลาว ซึ่งเปนชองทางเดินเรือที่คับคั่งมาก ทีส่ ดุ แหงหนึง่ ของโลก และบางครัง้ จําเปนตองเดินเรือออมไปถึงบริเวณเกาะ สุมาตรา ประเทศอินโดนีเซียทําใหเสียเวลาขนสงเพิ่มขึ้นราว 5-7 วัน แตประเทศไทยก็มแี ผนแกปญ  หาในเรื่องนี้ โดยสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) เตรียมฟนฟูโครงการแลนดบริดจหลังหายเงียบไป นาน โดยโครงสรางของแลนดบริดจจําเปนตองสรางคลังน้ํามันทั้งที่ จังหวัดฝงทะเลอันดามันและจังหวัดฝงอาวไทย โดยใชแนวทอกาซและทอ น้ํามันฝงไวใตดินเปนตัวเชื่อมตอทั้ง 2 คลังน้ํามัน ซึ่ง สนพ.เตรียมงบ ประมาณเพื่อใชเฉพาะในการศึกษาโครงสรางตางๆ กวา 10 ลานบาทใน ระยะเวลา 1 ป โครงการแลนดบริดจหากแลวเสร็จ จะชวยลดระยะเวลาการขนสง ไดอยางนอย 2 วัน นอกจากนี้ยังชวยสรางความมั่นคงดานพลังงานของ ไทย โดยประเทศไทยจะสามารถเพิ่มปริมาณสํารองน้ํามันเปน 50 วันจาก เดิมที่มีอยูเพียง 30 วัน ซึ่งทาง สนพ.เตรียมนําเสนอโครงการดังกลาว กับนานาประเทศ เพื่อใหผูที่สนใจเขามาลงทุนกอสรางทอสงน้ํามันและคลัง น้ํามันในประเทศไทย โดยเชื่อวานาจะมีนักลงทุนตางชาติสนใจ

คลองสุเอซ – ชองแคบยิบรอลตาร เสนทางสูยุโรป และตะวันตก

ตอนบนของทวีปอาฟริกาอีกหนึง่ บริเวณสําคัญทีเ่ ปนเสนทางขนสง น้ํามันทางเรือที่สําคัญ เพราะเปนเสนทางหลักสูกลุมประเทศยุโรป โดยเสน ทางนี้ประกอบไปดวย 2 ชองที่สําคัญคือคลองสุเอซในประเทศอียิปต ซึ่ง เปนคลองขุดที่สําคัญเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรอินเดียบริเวณทะเลแดง กับมหาสมุทรแอตแลนติคบริเวณทะเลเมดิเตอเรเนียน เสนทางดังกลาว สามารถกระจายน้ํามันสูยุโรปตะวันออกและยุโรปตอนใต ขณะที่ชองแคบยิบรอลตารเปนเสนทางจากทะเลเมดิเตอเรเนียนสู มหาสมุทรแอตแลนติค ซึ่งเสนทางนี้จะสามารถกระจายสินคาและน้ํามันสู กลุมประเทศในยุโรปตะวันตกและยุโรปตอนเหนือ ซึ่งเสนทางดังกลาวมี

ความสําคัญไมใชนอย เนื่องจากหากเสนทางดังกลาวถูกตัดขาด จะสงผล ในเรื่องของพลังงานกับกลุมประยุโรปดังกลาว โดยเฉพาะประเทศอังกฤษ เสนทางทั้ง 2 เสนทางใชทดแทนเสนทางขนสงเกาที่ตองไปออมแหลมกูด โฮปทางตอนใตของทวีปอาฟริกา จากกรณีความขัดแยงทางการเมืองของอียิปตที่ผานมา จะเห็นได วาราคาน้าํ มันพุง สูงขึน้ เนื่องมาจากความหวัน่ เกรงในการเดินทางเสนทาง นี้ที่อาจถูกโจมตีได งานนีข้ อ เคาะโตะ เลยวา เสนทางเดินเรือทีส่ าํ คัญทัง้ 3 เสนทาง จะถูกนํามาเปนตัวประกันในการเดินเกมทางการเมืองระหวางประเทศ โดย เฉพาะประเทศมหาอํานาจที่จะเขามามีอิทธิพลเหนือเสนทางเหลานี้ การที่ ประเทศไทยใชพน้ื ทีท่ าํ โครงการแลนดบริดจกเ็ ปนสิง่ ทีด่ กี บั ประเทศไทย แตควร จะตองมีแผนการรับมือในเรื่องนี้อยางชัดเจนเพราะทั้งสหรัฐฯ, จีนและกลุม ชาติอาหรับลวนเปนพันธมิตรและคูค า ทีส่ าํ คัญของไทย แตเชื่อแนวา โครงการ ดังกลาวจะตองถูกทัดทานทั้งจากศึกในโดยประชาชนและกลุมที่เสียผล ประโยชน ซึง่ หากทําความเขาใจและการวางแผนทีด่ กี ็ไมนา มีปญ  หาอะไร แต ศึกนอกประเทศอยางสิงคโปรตองแกกันลําบากหนอย เพราะหากโครงการ สําเร็จประเทศสิงคโปรจะกลายเปนผูเ สียผลประโยชนเต็มๆ ไปทันที

16 l March 2012

Energy#40_p14-16_Pro3.indd 16

2/17/12 12:11 AM


Energy#40_p17_Pro3.ai

1

2/21/12

3:26 PM


Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

ทิศทาง-สถานการณ

พลังงานยานยนต ไทย

ปลายป ที่ ผ า นมาต อ เนื่ อ งช ว งต น ป นี้ ต อ งยอมรั บ ว า เรื่ อ ง พลังงานยานยนตกลายเปน “Talk of the Town” หลายเรอง ไมวา จะเป น การปรั บ ลดเงิ น กองทุ น น้ํ า มั น ในกลุ ม เบนซิ น , การปรั บ โครงสรางราคากาซในภาคขนสง เปนตน ขณะเดียวกันในเรองของ เทคโนโลยีพลังงานยานยนตก็มีพัฒนาการไมวาจะเปนการประกาศ ใชน้ํามันเกรด EURO4 ทั่วประเทศ หรือแมแตการทดลองใชน้ํามัน ED95 และการทดลองรถไฟฟาในประเทศไทย

ปจจุบันยานยนตในบานเราสามารถแบงแยกการใชพลังงานเปน เชื้อเพลิงไดเห็นชัดเจน 3 กลุมดวยกันทั้งกลุมใชน้ํามันเบนซิน, กลุมใชแกส โซฮอลล-ไบโอดีเซลและกลุมที่ ใชกาซธรรมชาติ ซึ่งเชื้อเพลิงทั้ง 3 กลุมถูก ดูแลดวยกองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง นั่นหมายความวาหากมีการเปลี่ยนแปลง อยางใดอยางหนึง่ กับกองทุนฯ เชือ้ เพลิงทัง้ 3 ชนิดจะเกิดการเปลีย่ นแปลง ในเรองของราคาทันที ขณะทีพ่ ลังงานไฟฟาในยานยนตดเู หมือนจะเปนพลังงานแหงอนาคต

18 l March 2012

Energy#40_p18-23_Pro3.indd 18

2/23/12 1:07 AM


ยานยนตทั้งในประเทศและทั่วโลก เนองจากสามารถลดการปลอยคารบอน ไดอยางชัดเจนและเทคโนโลยีในปจจุบันที่สามารถเพิ่มศักยภาพใหมีความ สามารถใกล เคี ย งการใช เชื้ อ เพลิ ง ชนิ ด อื่ น ซึ่ ง ต อ งจั บ ตาดู กั นต อ ไปว า พลังงานไฟฟาในยานยนตจะออกมาในรูปแบบใด และจะมีการดูแลจาก ภาครัฐในรูปแบบใด

เบนซิน 91 หนาวๆ รอนๆ ยกเลิกหรือยังคงอยู

ในอดีตหากจํากันไดเคยมีการประกาศยกเลิกน้ํามันเบนซิน 95 แต ไดรับการคัดคานจากกลุมผูใชรถยนตมากมาย โดยเฉพาะกลุมที่ ใชรถเกา และกลุมที่ ใชรถยนตหรู ทําใหการยกเลิกดังกลาวเปนเพียงการขอความ รวมมือ ซึ่งปจจุบันเราจะยังคงพบเห็นการจําหนายน้ํามันเบนซิน 95 ไดใน บางปมเปนจํานวนนอยมาก ขณะที่ ในชวงที่ผานมามีแนวคิดที่จะประกาศ ยกเลิกน้ํามันเบนซิน 91 ใหเหลือน้ํามันเบนซินเฉพาะกลุมแกสโซฮอลเทานั้น โดยคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดระบุ ไวเมอปลายปที่แลววา ที่ประชุมเห็นชอบใหมีการยกเลิกการใชน้ํามันเบนซิน 91 ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2555 เปนตนไป เพอสรางความมั่นคงดาน พลังงานของประเทศและลดการนําเขาน้ํามัน ซึ่งจะทําใหมีการใชพลังงาน ทดแทนอย า งเอทานอลมากขึ้ น ประมาณ 19-21 ล า นลิ ต รต อ เดื อ น สรางมูลคาใหอุตสาหกรรมเอทานอลได 404-407 ลานบาทตอเดือน นอกจากนี้ยังมีการคาดการณถึงปริมาณการใชน้ํามันแกสโซฮอลที่ จะเพิ่มขึ้น 8 แสนลิตรตอวัน โดยยอดการใชรวมจะแตะที่ระดับ 2 ลานลิตร ตอวัน จากที่มีการใชอยูในระดับเพียง 1.08 ลานลิตรตอวัน สวนการใช น้ํามันเบนซิน 91 อยูที่ระดับ 8.26 ลานลิตรตอวัน ขณะที่ นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน หลังเขารับตําแหนง ยังไมยืนยันวาจะยกเลิกน้ํามันเบนซิน 91 ในเดือนตุลาคม 2555 หรือไม เพราะตองมีเหตุผลเพียงพอที่บอกกลาวกับประชาชนใหไดกอน ดาน นายอนุสรณ แสงนิ่มนวล กรรมการผูจัดการใหญ บมจ. บางจาก สนับสนุนใหยกเลิกการจําหนายน้าํ มันเบนซิน 91 เพราะจะเปนการ สงเสริมการใชเอทานอลมากขึน้ ลดการนําเขาน้าํ มัน โดยกระทรวงพลังงาน ต อ งสื่ อ สารโดยเร็ ว และควรมี ท างออกให ป ระชาชนที่ ใ ช ร ถเก า และ จักรยานยนตที่ ไมยอมใชน้าํ มันแกสโซฮอล ทีส่ าํ คัญควรใชเงินกองทุนน้าํ มัน เชื้อเพลิงมาเพิ่มสวนตางระหวางน้ํามันเบนซินและน้ํามันแกสโซฮอลใหมี ความแตกตางอยางชัดเจน

ปรับโครงสรางพลังงาน กองทุนน้ํามันเริ่มมีบทบาท

กอนหนานีก้ องทุนน้าํ มันกลายเปนเรองฮือฮาเมอชวงปลายปทผ่ี า นมา หลังอดีตรัฐมนตรีพลังงาน นายพิชยั นริพทะพันธุอ อกคําสัง่ ใหงดการ เก็บเงินเขากองทุนน้ํามันชั่วคราวในกลุมเบนซิน และดีเซล สงผลใหราคา น้ํามันเบนซิน 95 ลดลง 8.02 บาท/ลิตร, น้ํามันเบนซิน 91 ลดลง 7.17 บาท/ลิตรและน้ํามันดีเซลลดลง 3 บาท/ลิตร จนกอใหเกิดความปนปวนขึ้น ในตลาดน้ํามัน ขณะที่มีแนวโนมการปรับโครงสรางราคากาซธรรมชาติ ในภาคขนสงดวยการลดการใชเงินกองทุนน้ํามันอุดหนุนราคาสวนตาง ของกาซ ลาสุด นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) เมอ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2555 วา “ที่ประชุมไดพิจารณาแนวทางการปรับ อัตราเงินสงเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงของกาซ NGV และกาซ LPG ใน ภาคขนสง รวมถึงน้ํามันเบนซิน, น้ํามันแกสโซฮอลและน้ํามันดีเซล” โดยทีป่ ระชุมใหกา ซธรรมชาติสาํ หรับยานยนต (NGV) ปรับลดอัตรา เงินชดเชยจากกองทุนน้ํามันลง 0.50 บาท/กก. จากเดิมที่ชดเชยอยู 1.50 บาท/กก. โดยยังคงชดเชยอยู 1บาท/กก. สงผลใหราคาขายปลีกกาซ NGV เพิ่มขึ้นจาก 9 บาท/กก. เปน 9.50 บาท/กก. และปรับอัตราเงินสงเขา กองทุนน้ํามันฯ เพิ่มขึ้นในกลุมกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ภาคขนสงเปน 1.4018 บาท/กก. จากเดิมที่เก็บอยูที่ 0.7009 บาท/กก. สงผลใหราคา ขายปลีกกาซ LPG มาอยูที่ 12.17 บาท/ลิตร จากเดิมอยูที่ จาก 11.76 บาท/ลิตร โดยมีผลตั้งแต 16กุมภาพันธ – 15 มีนาคม 2555 สวนกลุมน้ํามันเบนซินและน้ํามันแกสโซฮอลใหปรับอัตราเงินสงเขา กองทุนน้ํามันฯ เพิ่มอีก 1 บาท/ลิตร ซึ่งจะมีผลทําใหราคาขายปลีกน้ํามัน เบนซินและน้ํามันแกสโซฮอล เพิ่มขึ้นอีก 1.07 บาท/ลิตร โดยมีผลตั้งแต วันที่ 16 กุมภาพันธ 2555 เปนตนไป ขณะที่กลุมน้ํามันดีเซลหมุนเร็วไมมี การปรับอัตราเงินสงเขากองทุนน้ํามันฯ เพิ่ม โดยใหคงอัตราการจัดเก็บ ไวที่ 0.60 บาท/ลิตร

httpwww.mmthailand.commmnews.html

March 2012 l 19

Energy#40_p18-23_Pro3.indd 19

2/24/12 3:40 PM


นักวิชาการมองยานยนต ไฟฟาเปนทางออก

สําหรับยานยนตแบบเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในปจจุบันคงหนีไมพน อีโคคาร (ECO CAR) ยานยนตที่พรอมจะปรับตัวเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ซึง่ นอกจากกลุม ยานยนตประเภทดังกลาวจะเนนเรองการใชพลังงานอยาง ประหยัดแลว ยังมีภาพลักษณของความนารักและการทํางานที่ ไมทําราย สิ่งแวดลอม แตในความเปนจริงจะเปนมิตรระดับไหน ก็เปนเรองที่ทาทาย สําหรับวงการอุตสาหกรรมยานยนตเปนอยางมาก ซึ่งตัวเลขยานยนตที่ ใชงานทั่วโลกมีกวา 750 ลานคัน เรองสําคัญที่พูดถึงในขณะนี้ คือพลังงานในอนาคตที่จะถูกนํามาใช ขับเคลอนยานยนต ซึง่ ก็คอื พลังงานไฟฟาไมวา จะเปนทางตรงแบบเสียบปลัก๊ หรื อ ทางอ อ มที่ ไ ด จ ากพลั ง งานอื่ น ๆ มาแปรเปลี่ ย นเป นกระแสไฟฟ า โดยเห็นไดจากงาน BOI ที่ผานมา สามารถเห็นรถยานยนตจากหลายคาย ออกมาอวดโฉมนวัตกรรมในอนาคต เปนตัวสงสัญญาณที่ชัดเจนวา ยานยนตในอนาคตจะมี 4 นัยสําคัญ ซึ่งประกอบไปดวย การใชพลังงานทีน่ อ ยลง โดยอาศัยเครองยนตทมี่ สี มรรถนะทีด่ ขี นึ้ หรือการใหแรงมาที่เทาเดิมในขณะที่บริโภคน้ํามันนอยลง หรือการใช เครองยนตที่ ใชพลังงานไฟฟาเปนพลังงานรวมใหการขับเคลอน เชนใน กลุมยานยนตไฮบริด (Hybrid) หรือรถยนตกึ่งไฟฟา ซึ่งขณะนี้ยังมี ขอจํากัดใหการใชงานและปญหาการซอมบํารุงรักษาอยูมาก การไมพึ่งพาพลังงานเชื้อเพลิง กลุมนี้จะเปนกลุมยานยนตไฟฟา EV (Electric Vehicle) หรือกลุมรถยนตแบบเสียบปลั๊ก (PHEVs-Plug in Hybrid Electric Vehicles) ซึ่งใชไฟฟาเปนพลังงานหลักและใชเชื้อเพลิง น้ํามันเปนพลังงานรองสําหรับในกรณีฉุกเฉิน หรือเปนแบบใชไฟฟาเปน พลั ง งานขั บ เคลื่ อ นหลั ก 100% ซึ่ ง เป นที่ แน ชั ด แล ว ว า ผู ใช ร ถได เ ลื อ ก รูปแบบยานยนตไฟฟาประเภทนี้เปนรถยนตแหงอนาคต โดยถึงขั้นมองไป ถึงการนํารถไฟฟาดังกลาวมาใชในลักษณะนํากระแสไฟฟาสวนเกินกลับเขา สู ร ะบบไฟฟ า ปกติ (V2G -Vehivle to Grid) ขณะที่ จ อดอยู เ ฉยๆ ตามแผนพัฒนาระบบเครือขายพลังงานอัจฉริยะของการไฟฟาสวนภูมภิ าค (Smart Grid)

การใชเชื้อเพลิงรูปแบบใหม เรารูจักกันในชอยานยนตพลังงาน ไฮโดรเจน ซึ่งเปนแหลงพลังงานที่มีมากที่สุดในจักรวาล โดยใชกาซ ไฮโดรเจนขับเคลอนเครองยนตหรือในรูปแบบเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell) โดยเปนการรวมออกซิเจนและไฮโดรเจน เพอใหเกิด ปฏิกิริยาเคมีและไดผลผลิตออกมาเปนไฟฟา, ความรอนและน้ํา ตามลําดับ หากรวมเซลลเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเปนกลุมมาทํางานพรอมๆ กันก็จะ สามารถผลิตพลังงานไฟฟาและความรอนในปริมาณมากพอก็จะเปนการ ผลิตพลังงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางมาก ความทาทายอยูที่การ ผลิตเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ซึ่งในประเทศไทยมีทรัพยากรกาซธรรมชาติ โดยทาง ปตท.กําลังวิจัยการสกัดไฮโดรเจนจากกาซธรรมชาติ แตติดอยู ที่การจัดการกับคารบอนที่ ไดจากการสกัด ขณะที่ ก ระบวนการผลิ ต ไฮโดรเจนอี ก วิ ธี ห นึ่ ง ที่ น า สนใจคื อ กระบวนการ Electrolysis เปนการแยกสลายโมเลกุลของน้ําออกเปน ไฮโดรเจนและออกซิเจนโดยใชพลังงานไฟฟา แตกย็ งั ไมใชคาํ ตอบเพราะทีม่ า ของพลังงานไฟฟาอาจเกิดจากการผลิตที่ ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

20 l March 2012

Energy#40_p18-23_Pro3.indd 20

2/23/12 1:07 AM


หากสามารถผลิตไฮโดรเจนโดยใชไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนตางๆ โดย เฉพาะเขอนผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งในชวง Off Peak อัตราการรับซื้อไฟฟา จะต่ํา อาจใชชวงเวลาดังกลาวในการนํากระแสไฟฟามาผลิตไฮโดรเจนจาก โมเลกุลของน้ําที่อยูในเขอนแทน เปนตน หรือการผลิตไฮโดรเจนจากพลังงานลม, แสงอาทิตยและพลังงาน ชีวมวล โดยเฉพาะพลังงานชีวมวลที่อัตรารับซื้อสวนเพิ่มจากภาครัฐที่ต่ํา การผลักดันไฟฟาจากชีวมวลเพอผลิตไฮโดรเจนอาจทําใหเกิดแรงจูงใจที่ ดี ก ว า ป จ จุ บั น เริ่ ม มี ก ารใช ไ ฮโดรเจนดั ง กล า วในรถยนต เพื่ อ ลดการ สิ้ น เปลื อ งเชื้ อ เพลิ ง หรื อ ที่ เคยได ยิ น ในเรื่ อ งราวของรถพลั ง งานน้ํ า (WES-Water Energy System) โดยอาศัยไฟฟาจากเครองยนตมาปอน อุปกรณแยกกาซไฮโดรเจนจากน้าํ ซึง่ มีอตั ราการประหยัดอยูในชวง 20%40% แลวแตสภาพการขับขี่และสมรรถนะเครองยนต การใชพลังงานทางเลือกอนๆ (Alternative Energy Car) ไมวาจะเปนรถพลังงานแสงอาทิตยที่อาศัยแสงอาทิตยมาผลิตไฟฟาปอน เขาสูระบบขับเคลอน ซึ่งโครงสรางตัวรถประเภทนี้จะประกอบไปดวยเซลล แสงอาทิตยกวา 40% นอกจากนี้ยังมียานยนตพลังงานลม (Air Car) ที่ ใชอากาศความดันสูงไปหมุนการขับเคลอนของลอ แตปญหาอยูที่การ อัดลมดังกลาวยังตองอาศัยพลังงานไฟฟาเปนหลักอยูดี รถพลังงาน ชีวมวลที่เริ่มมีการใชกันมากขึ้นเรอยๆ ตามตางจังหวัดหรือที่รูจักในชอ “รถอีแตน” หรือการสงเสริมการใชน้ํามันแกสโซฮอลในกลุม E10, E20, E85 ซึ่งในอนาคตมีการวางแผนไปไกลถึง E100 หากอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวของมีความพรอม

ตางประเทศเตรียมเริ่มเดินหนา ประเทศไทยตองรีบเดินเกม

ทั้งนี้กลุมอุตสาหกรรมยานยนตของจีนและอินเดีย ตางเริ่มตอบรับ การผลิตยานยนตไฟฟาใหมีสัดสวนมากขึ้นตามความตองการของตลาด ที่มีความตองการสูง การผลิตที่มากขึ้นนี้เองฉุดใหตนทุนการผลิตต่ําลง ซึง่ เปนสัญญาณทีบ่ ง บอกวาโฉมหนาใหมของอุตสาหกรรมยานยนตไดเริม่ ขึ้นแลว ขณะที่ประเทศไทยแมวาจะมีอุตสาหกรรมยานยนตขนาดใหญ แตไมใชเรองงายที่จะผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาในประเทศ หากภาครัฐยังไมมีแนวทางการสงเสริมที่ชัดเจน และยังคํานึงถึงการ สูญเสียของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงน้ํามัน หากประเทศไทยไมมีความพรอมอาจสงผลตอเศรษฐกิจ เนองจาก อุตสาหกรรมยานยนตไทยเปนแบบอุตสาหกรรมประกอบรถยนต คือใช

ชิ้นสวนในประเทศและนําเขาจากตางประเทศในสัดสวนอยางละ 50% มาประกอบขึ้นเปนรถยนต นอกจากนี้ผูประกอบการดานพลังงานรายใหญ ยังเนนการสงเสริมพลังงานในรูปของน้าํ มันทางเลือก สงผลใหการเปลีย่ น ฝากขอคิพดลังตามติ ดขอมูล นไปไดยาก เนองจากเปนการ แนวทางการใช งานภายในประเทศเป ในอาเซียปนแบบการใช 10 ประเทศ หนาางสิ ดา้นนการจั เปลี-่ยนแปลงรู เชื้อไทยนํ เพลิงาอย เชิง ดการขยะมากที่สุด - US ใช ว ิ ธ ี ก ารฝ ง กลบเป น ส ว นใหญ เพราะมี พื้นยทีบและโอกาส ่มากพอ ขณะนี ้ อยางไรก็ตามภาคอุตสาหกรรมก็มีขอไดเปรี เพราะ เริ่มมีกงารนํ ขยะมาใช ผลิตพลัเงลคทรอนิ งานกันมากขึ ้น ประเทศไทยยั มีภาาคอุ ตสาหกรรมอิ กสขนาดใหญ เชนกัน ซึ่งเปน - ยุโพรปื้นฐานหลั มีการคักดของยานยนต เลือกแยกตนทางได กําจัคดวามรู ตอตันพมีื้นรฐานการ าคา อุปกรณ ไฟฟา ดยัีทงี่สไมุดนคับาองค สูงมาก อาจถึ ง 3-4 พันบาท แลซึว่งแต ประเทศ ผลิตในหมวดอุ ตสาหกรรมยานยนต หากมี บริษัของประเทศไทย ทเอกชนในประเทศ เราแค 350 บาทต อ ตั น ยั ง เก็ บ ยากเลยครั บ เขามารวมกันออกแบบโครงสรางและการปรับแตงยานยนตใหเปนแบบ พลังงานไฟฟาของรถแตละรุน เปนทางออกในดานการใชพลังงานยานยนต ของไทย

พลังงานใหมสําหรับรถขนาดใหญ ED95 เอทานอล ไรดีเซล

ระบบขนสงในปจจุบันของประเทศไทยตองยอมรับวามีการใชน้ํามัน ดีเซลในอัตราที่สูง โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ ที่มีรถโดยสารประจําทางวิ่งอยู มากมายและสวนใหญจะเปนรถที่ ใชน้ํามันดีเซลเปนหลัก สงผลใหมีปริมาณ การใชน้ํามันดีเซลในอัตราสูง แมวาจะมีการสนับสนุนใหใชกาซธรรมชาติ (NGV) ในการลดการใชน้ํามันดีเซล แตตัวเลขรถโดยสารประจําทางที่ ใช น้ํามันดีเซลก็ยังมีอัตราที่สูงอยู March 2012 l 21

Energy#40_p18-23_Pro3.indd 21

2/23/12 1:07 AM


ในป ที่ ผ า นมากระทรวง อุตสาหกรรมจึงไดจับมือกับภาคี ทั้ง 8 แหงในการรวมพัฒนารถ โดยสารที่ ใชเชื้อเพลิงเอทานอล ชนิ ด ED95 ประกอบไปด ว ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี พ ร ะ จ อ ม เ ก ล า ธ น บุ รี , สํ า นั ก งานนโยบายและแผน พลังงาน, ศูนยเทคโนโลยีและวัสดุแหงชาติ, กรมควบคุมมลพิษ, องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ, บริษัท เพโทรกรีน จํากัด, บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัดและบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ED95 คือน้าํ มันทางเลือกทีม่ กี ารใชอยางแพรหลายในแถบยุโรปตอนเหนือ ซึ่ ง มี ผ ลวิ จั ย ออกมาแล ว พบว า ประเทศที่ มี การใชน้ํามัน ED95 ในรถโดยสารสาธารณะมี ปริ ม าณการใช น้ํ า มั นดี เซลลดลง เนื่ อ งจาก น้ํามัน ED95 คือเชื้อเพลิงประเภทเอทานอลบริ สุทธิ์ซึ่งถูกนํามาใชในสัดสวน 95% สวนอีก 5% จะเปนสารเติมแตงที่ชวยใหการเผาไหมสะอาด หมดจด สํ า หรั บ การทดสอบการใช ง านรถ โดยสาร ED95 บนทองถนน โดย ทดสอบทัง้ หมด 2 เสนทาง ทัง้ บนเสนทาง ระหวางวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ชวง เดือนมิถุนายน-กรกฎาคม 2554 และเสนทางของรถโดยสารปรับ อากาศ สาย 21 ชวงเดือนสิงหาคม 2554 โดยผลการทดสอบพบวา ED95 เปน เชื้อเพลิงเหลวซึ่งงายตอการเก็บและจายเชื้อเพลิง ตลอดระยะเวลา 10 สัปดาหในการทดลองยังพบวา คุณสมบัตหิ ลักๆ ของเชื้อเพลิงมีความคงที่และไมเกิดการตกตะกอนหรือมีการเปลี่ยนสีของ เชื้อเพลิงแตอยางใด ผลการทดสอบสมรรถนะของรถโดยสารพบวา รถโดยสารที่ใชนาํ้ มัน ED95 สามารถผานการทดสอบมาตรฐานสากล ไดแก การทดสอบการทรงตัว, การวัดระยะหามลอและการวัดวงเลี้ยว ขณะที่ผล การทดสอบมลพิ ษ จากท อ ไอเสี ย โดยใช วั ฏ จั ก รการขั บ ขี่ ใ นกรุ ง เทพฯ (Bangkok Driving Cycle) พบวา มีการปลดปลอยมลพิษที่ต่ํากวา รถโดยสารที่ใชเชือ้ เพลิงดีเซลทุกชนิด ไมวา จะเปนไฮโดรคารบอนสามารถลด

ได 78% ออกไซด ข องไนโตรเจน (NOX) สามารถลดได 46% คารบอนมอนนอกไซด สามารถลดได 5% และอนุภาคขนาดเล็ก (PM) สามารถลดได 30% โดยมีอัตราการสิ้นเปลือง

อยูที่ 1.60 กม./ลิตร ในสวนของคาบํารุงรักษาตามระยะทางพบวา รถโดยสารขนาดใหญ ที่ ใช ED95 เปนเชื้อเพลิงมีคาบํารุงรักษาตามระยะทางอยูที่ 1.72 บาท/ กิโลเมตร เมอเปรียบเทียบกับอัตราการซอมบํารุงของรถโดยสารดีเซลของ ขสมก.ที่คิดแบบเหมาจายกับทางบริษัทเอกชน ซึ่งจะอยูที่ 2.79 บาท/ กิโลเมตร ทําใหพบวาคาบํารุงรักษาของรถโดยสาร ED95 ถูกกวา 30% แมวาจะมีเวลาทดลองรถจริงในชวงเวลาเพียง 3 เดือน แตก็ สามารถสรุปในเบื้องตนไดวา รถโดยสาร ED95 มีศักยภาพสูงที่จะนํามา ใชงานจริงในประเทศไทย ทั้งในแงของสมรรถนะและอัตราการสิ้นเปลือง เชื้อเพลิงที่ ไมแตกตางจากรถโดยสาร ED95 ในประเทศอนๆ อีกทั้งยังมี การปลดปลอยมลพิษและคาบํารุงรักษาทีน่ อ ยกวารถโดยสารดีเซลแบบเดิม ถึงอยางนั้นการใชงานรถโดยสาร ED95 ก็ยังมีอุปสรรค ทั้งเรอง การนําเขาสารเติมแตงในราคาที่สูง รวมไปถึงขอกฎหมายตางๆ ที่ยังไม ครอบคลุมหรือรองรับการใชเชื้อเพลิงเอทานอล 95% เปนเชื้อเพลิงใน การขนสง ขณะที่ทางผูประกอบการเดินรถที่จําเปนตองลงทุนซื้อรถใหม เทานั้น และมีเพียงผูผลิตรายเดียวในปจจุบัน นอกจากนี้การใชเอทานอล ทดแทนดีเซลถือเปนเรองใหมในประเทศ ดังนั้นจึงมีขอเสนอแนะในการ ดําเนินการทดสอบการใชเชื้อเพลิงเอทานอล ED95 อยางตอเนอง เพอ ประชาสัมพันธไปสูว งกวางมากขึน้ ขณะทีภ่ าครัฐควรเขามาใหความสําคัญ เพิ่มมากขึ้น

22 l March 2012

Energy#40_p18-23_Pro3.indd 22

2/24/12 3:49 PM


ยานยนต ไฟฟ า เริ่ ม ทดลอง ความหวั ง พลั ง งาน ยานยนต ไทย

ยานยนตไฟฟาเริ่มเปนที่กลาวถึงอยางมาก หลังมีการประกาศวา ปริ ม าณน้ํ า มั น ที่ เ หลื อ อยู ใ นโลกนี้ อ าจใช ไ ด ไ ม ถึ ง ศตวรรษหน า อี ก ทั้ ง ปรากฏการณธรรมชาติทีผ่ ดิ เพีย้ น ซึง่ เชอกันวาเกิดจากการใชน้าํ มันอยาง มากมายมหาศาลในชวงศตวรรษทีผ่ า นมา สงผลใหเกิดการคิดคนพลังงาน ทางเลือกใหมโดยเฉพาะพลังงานไฟฟา อุตสาหกรรมยานยนตที่ ใชน้ํามัน เปนหลักจึงตองมีการปรับเปลี่ยนเพอรองรับพลังงานไฟฟาที่จะกลายมา เปนพลังงานหลัก แทนการใชน้ํามัน การไฟฟานครหลวง (กฟน.) จับมือมิตซูบิชิ มอเตอร ทดสอบการ ใชรถยนตไฟฟาในประเทศไทย แถมดวยการเตรียมวางแผนผุดสถานีจาย ไฟฟ้าตามที่จอดรถในห้างสรรพสินค้าและสร้างสถานีจ่ายไฟฟ้าที่อื่นๆ คาดไมเกิน 5 ป ไดเห็นใชกันแพรหลาย แตมีขอแมวารัฐบาลตองสนับสนุน รถยนตไฟฟา โดยใชมาตรการลดภาษีนําเขาใหต่ํากวารถยนตที่ ใชน้ํามัน เพอใหเกิดจูงใจ ขณะที่มิตซูบิชิยังไมมั่นใจตลาดขอรอผลการศึกษาและ มาตรการสนับสนุนจากภาครัฐ สําหรับโครงการศึกษาและทดสอบรถยนตไฟฟาจะทําการทดสอบ จากสภาพการใชงานจริงในเขตกรุงเทพมหานคร โดยทางมิตซูบิชิไดมอบ รถยนตไฟฟารุน i-MiEV เพอใชทดสอบประสิทธิภาพและความเหมาะสมใน การใชงานภายในเขต กทม. เนองจากสภาพการจราจร, สภาพถนนและ สภาพอากาศแตกตางจากประเทศอนๆ ที่นิยมใชรถยนตไฟฟา และเพอ ศึกษาความเปนไปไดในการนํามาใชงาน

ดาน กฟน.เองจะทําการศึกษาวิเคราะหผลกระทบของการชารจ รถยนตไฟฟา ไมวาจะเปนในเรองแรงดันและกําลังไฟฟาในระหวางการ ชารจ วาจะมีผลกระทบตอระบบจําหนายไฟฟาของ กฟน.หรือไม เพอเตรียม ความพรอมในการจัดทําจุดชารจไฟฟาใหกับรถยนตไฟฟาตามที่จอด รถยนตตางๆ ซึ่งจะใชเวลาในการศึกษา 9 เดือน นับเปนหนวยงานแรก ที่มีการวางแผนเตรียมจัดทําจุดชารจไฟฟา นอกจากนี้ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด เตรียม นําเขารถยนตไฟฟา รุน i-MiEV จํานวน 8 คัน เพอนํามาใชทดสอบใน เมืองไทยเปนระยะเวลา 1 ป โดยจะรวมมือกับหนวยงานภาครัฐตางๆ ในการนําไปทดสอบตามการใชงานจริง ซึง่ ยังไมสามารถตอบไดวา หากผลการทดสอบออกมาดี จ ะต อ งเริ่ ม ทํ า การตลาดได เมอไร และจะนําเขามาจําหนายจํานวนกี่คัน อานถึงตอนนี้คงพอจะทราบแลววา ทิศทางดาน พลังงานยานยนตของไทยกําลังมุงไปสูทิศทางใด แนนอน วาประเทศไทยไมอาจขวางกระแสยานยนตไฟฟาได แมวา หลายฝายจะออกมาประกาศวา พลังงานดานยานยนตของไทย จะยังคงเปนน้ํามัน เนองจากประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกมากโดย เฉพาะพืชพลังงาน แตสดุ ทายพลังงานไฟฟาก็จะกลายเปนพลังงานหลัก สําหรับยานยนต แตคงไม ใชระยะเวลาอันใกลนี้ เพราะอยางนอยหาก ยานยนตไฟฟาเกิดขึ้นในเมืองไทยจริง เราคงไดเห็นภาพการใชพลังงาน ยานยนตในแบบทั้งน้ํามันจากพืชพลังงานและพลังงานไฟฟา วิ่งกันเกลอน ไปอีกหลาย 10 ป

ขอขอบคุณ : ดร.สุเมธ สุทธภักติ ที่ปรึกษาคณะกรรมการพลังงาน สภาผูแทนราษฏร เอื้อเพื้อขอมูล March 2012 l 23

Energy#40_p18-23_Pro3.indd 23

2/24/12 3:45 PM


Tools & Machine โดย : Mr. T

การประยุกตใชโอโซนในอุตสาหกรรม ปจจุบันการผลิตโอโซนสามารถ ใช ไ ด กั บ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ โ ดย การป อ นออกซิ เจนผ า นเครื่ อ งกํ า เนิ ด โอโซนซึ่ ง จะให พ ลั ง งานทํ า ให โ มเลกุ ล ของออกซิเจนแตกตัวเปนอะตอมแลวไป จั บ กั บ โมเลกุ ล ของออกซิ เ จนเกิ ด เป น โมเลกุลของโอโซน ทัง้ นี้โอโซนไดถกู นํามาประยุกตใช ในงานดานตางๆ เชน ใชปรับสภาพ อากาศ เพื่อขจัดกลิ่นอับ และฆาเชื้อโรค ใช ป ระกอบกั บ เครื่ อ งทํ า นํ า ดื่ ม ใช ประกอบการลางผักผลไม และอาหาร สด ใชในการแพทย เชน ใชฆาเชื้อโรคใน หองผาตัด ใชบําบัดน้ําในสระวายน้ํา ใช ในกระบวนการซักผา รวมถึงใชเพื่อฆา เชื้ อ โรคและปรั บ สภาพน้ํ า ในระบบน้ํ า ระบายความร อ นสํ า หรั บ ระบบปรั บ อากาศและกระบวนการผลิต สํ า หรั บ ในอุ ต สาหกรรมโอโซน สามารถนํามาประยุกตใชในงานกระบวนการบําบัดและปรับสภาพน้าํ ในระบบ ของโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อลดคาใชจายในการใชสารเคมีเพื่อฆาเชื้อโรค หรือปรับสภาพน้ํา และลดคาใชจายดานพลังงานดังนี้ การใชโอโซนในระบบน้าํ ระบายความรอนของเครื่องทําน้าํ เย็นเพื่อฆา เชื้อโรคและปรับสภาพน้ําซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการกัดกรอนและตะกรัน ในระบบแทนการใชสารเคมี ในการปรับสภาพน้ําระบบโอโซนเปนระบบที่มี ประสิทธิภาพสูงในการฆาเชื้อโรคที่อยูในน้ําทําใหลดการใชสารเคมี และ ความจําเปนในการปลอยน้ําทิ้ง (Blow Down) เพื่อรักษาคุณภาพน้ําของ

วงจรคุณคาของน้ํา

ระบบหอระบายความรอนและที่สําคัญชวยลดการเกิดตะกรันทําใหเพิ่ม ประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนความรอนของหอระบายความรอนสงผลให สมรรถนะการทําความเย็นของเครื่องทําน้ําเย็นดีอยูตลอดเวลาทําใหการ ใชพลังงานของระบบการทําความเย็นลดลง การใชโอโซนในอุตสาหกรรมการซักผา โดยระบบโอโซนสามารถติด ตัง้ กับระบบเครื่องซักผาทดแทนการใชนา้ํ รอนและลดการใชผงซักฟอกทําให สามารถลดปริมาณการใชน้ํา ผงซักฟอก สารเคมีและพลังงานที่ ใชในการ ผลิตน้าํ รอนในระบบลงได โดยทัว่ ไปน้าํ รอนจะผลิตจากหมอตมน้าํ หรือความ รอนจากหมอไอน้ําซึ่งใชเชื้อเพลิงเปนแหลงพลังงาน หรือการนํามาใช ทดแทนเทคโนโลยีการปองกันและลดตะกรันในระบบน้าํ ระบายความรอนของ เครื่องทําน้ําเย็น นอกจกนี้ โอโซนยังถูกนําไปใชในงานอื่นๆ เชน การผลิตน้าํ ดื่ม โอโซน ชวยในการฆาเชื้อและดับกลิ่น ชวยในการฟอกสีและทําลายโครงสรางของ สารอินทรียท ีเ่ ปนอันตรายตอรางกาย, ในทางการแพทยสามารถใชน้าํ ผาน โอโซนลางมือแพทยกอนทําการผาตัด ใชโอโซนไปใชในการอบหองผาตัด และน้าํ ผานโอโซนสามารถใชลา งผลิตผลทางการเกษตรเพื่อลดการติดเชือ้ จากขบวนการแปรรูปไดอีกดวย

24 l March 2012

Energy#40_p24_Pro3.indd 24

2/17/12 12:17 AM


Energy#40_p25_Pro3.ai

1

2/21/12

3:29 PM


Green Industrial โดย : ณ อรัญ

พาชม ABALONE Tower อาคารผลิตพลังงานแบบพึ่งพา ตัวเอง..จากฝรั่งเศส

คารบอนเครดิต คารบอนไดออกไซต (Co2) อาคารเขียว หรือ Green Building Zero Energy หลายคนคงเคยไดยินประโยคเหลานี้กัน บอยครั้งเนื่องจากเปนเรื่องราวที่กําลังฮิตไปทั่วทุกมุมโลก โดยเฉพาะกลุม ผูประกอบการณโรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย หางสรรพสินคา ตางๆ ไดพัฒนาหาแนวทางในการลดใชพลังงาน และลดผลกระทบตอสิ่ง แวดลอม หรือลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซต เพื่อลดภาวะโลกรอน ในปจจุบัน และอนาคต และลาสุดไดมีโอกาสไปงานบรรยายพิเศษเกี่ยวกับนวัตกรรมดาน พลังงานและอาคารสีเขียวทีจ่ ดั รวมกันระหวางสถานเอกอัครราชทูตฝรัง่ เศส ประจําประเทศไทยและฝายการพาณิชย – UBIFRANCE ซึ่งมีการบรรยาย ถึงอาคารสํานักงานแหงหนึ่งของประเทศฝรั่งเศสจึงไดนํามาเลาสูกนั ฟง อาคารเขียวดังกลาวเปนสํานักงานใหญของกลุม บริษทั อบาลอน ซึง่

ตั้งอยูในเขตพื้นที่พัฒนาในเมืองแซงต-แตรแบล็ง (Saint-Herblain) ใกล กับเมืองวานน และเมืองน็องต ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของฝรัง่ เศส บน พื้นที่โครงการกวา 1,320 ตารางเมตร ถือเปนโครงการอาคารเขียวที่มี อัตราการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เปนศูนย (zero pollution) แหงแรกของยุโรป เนื่องจากวาอาคารแหงนีม้ กี ารออกแบบและการวางระบบ การผลิตพลังงานสะอาดใชดว ยตัวเอง ซึง่ เขามีวธิ กี ารอยางไรนัน้ ไปดูกนั ครับ โดยสถาปนิกไดออกแบบอาคารอบาลอนใหสามารถพึ่งพาตัวเองใน ดานพลังงานใหไดมากที่สุดโดยมีเปาหมายที่ 100% สูการสรางอาคารที่ มีเครือขายการผลิตพลังงานที่มีประสิทธิภาพ และสงเสริมการพัฒนา พลังงานทดแทนอยางยั่งยืน ซึ่งเทากับวาอาคารแหงนี้สามารถลดการใช น้าํ มันปโตรเลียมไปไดถงึ 64.76 ตัน ตอป และลดการปลอยกาซเรือนกระจก ไดถึง 70 ตันตอป โดยทางบริษัท อบาลอนตั้งใจใหอาคารแหงนี้เปนศูนย

26 l March 2012

Energy#40_p26-28_Pro3.indd 26

2/17/12 12:25 AM


รวมหรือ คลัสเตอร เพื่อดานการพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืน อาทิ บริษัทดาน พลังงานและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเปนศูนยรวมของเทคโนโลยีและการแลก เปลี่ยนความรู การออกแบบได ว างฟ ง ก ชั่ น การใช ง านและความอั จ ฉริ ย ะให กั บ อาคาร ดวยแนวคิดทางสถาปตยกรรมทีผ่ นวกนวัตกรรมเขาดวยกันอยาง ทันสมัย และยังเนนการใชประโยชนจากหลักการกอสรางอาคารในแบบ เรขาคณิต ผนวกกับการออกแบบใหสอดรับกับการโคจรของโลกและ ฤดูกาล ดวยลักษณะอาคารทีม่ ลี กั ษณะปดลอมขนาดกะทัดรัดกอใหเกิดแรง เฉื่อยของอุณหภูมิความรอนที่ชวยใหการจัดการระบบพลังงานหมุนเวียน เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและสามารถผลิตพลังงานไดในปริมาณมาก พรอมกันนี้การออกแบบผนังอาคารดานทิศใตของอาคารอบาลอน และดานทิศเหนือ ไดรับการออกแบบเปนผนังกระจกสองชั้น โดยเวนชอง วางระหวางผนังทั้งคูทําเปนสวนทางเดิน โดยผนังกระจกดานนอกจะเปน แผนกระจกสองแผนโคตติดกัน สวนผนังกระจกชั้นในเปนผนังกระจกสาม แผนติดกันเปนการอาศัยหลักการดูดซับและถายเทความรอน ซึ่งขึ้นอยูกับ ฤดูกาล และอุณหภูมิของอาคาร เชน ในหนาหนาวเมื่อผนังอาคารดานทิศ ใตไดรับแสงแดดความรอนก็จะถูกถายเทเขาสูอาคารไปยังชั้นตางๆ ผาน ชองระบายอากาศระหวางชั้น สวนในหนารอนความรอนจะถูกระบายออก ดานนอกผานชองระบายอากาศ และหนาตางอาคาร และเพื่อใหอาคารสามารถผลิตพลังงานพึ่งพาตนเองไดนั้นอาคาร ยังถูกออกแบบใหติดตั้งเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และระบบอนุรักษ พลังงานตางๆ ไมวาจะเปนการติดตั้งกังหันลมชนิดแนวแกนนอนความสูง 15 เมตร จํานวน 3 ตัว ขนาดการผลิตไฟฟา 10 กิโลวัตต ตอตัว ซึ่งจะ ชวยใหสามารถผลิตพลังงานไดมากถึง 105,000 กิโลวัตตตอป คิดเปน รอยละ 61 ของพลังงานหมุนเวียนทั้งหมดที่ทางอาคารแหงนี้ผลิตได การ ติดตั้งแผงโซลารเซลลเพื่อผลิตน้ํารอนหรือ (Thermal Solar) ทําหนาที่ สงผานความรอนในการสรางความอบอุนใหกับตัวอาคาร และเพื่อผลิต เปนน้ําอุนไวใชภายในอาคาร การผลิตพลังงานจากแผงเซลลโฟโตโวลทาอิค (Photovoltaic Solar) เพื่อผลิตกระแสไฟฟาจากแสงอาทิตยใชภายในอาคาร โดยคิดเปน พื้นที่การติดตั้ง 100 ตารางเมตร ซึ่งสามารถผลิตไฟฟาได 19,140 กิโลวัตต ตอป หรือคิดเปนรอยละ 11 ของพลังงานที่ผลิตไดทั้งหมด ซึ่งปจจุบันนั้นพลังงานที่ผลิตไดสามารถนําไปใชในการขับเคลื่อนรถไฟฟา ของพนักงานบริษัท และในอนาคตหากมีปริมาณพลังงานเหลือมากพอเกิน จากความตองการใชงานก็ยังสามารถสงไปจําหนายใหกับทางเครือขาย การไฟฟาไดอีกดวย และไฮไลนสําคัญของอาคารแหงนี้ คือ ระบบปรับอุณหภูมิอาคาร ดวยบออากาศใตดิน (CANADIAN WELL) ซึ่งเปนการอาศัยหลักการ ทํางานของระบบนําพาความรอนหรือระบายความรอนผานพื้นดิน และเปน ระบบชวยในการปรับอากาศแบบธรรมชาติสามารถทําไดโดยการวางระบบ บออากาศความลึกประมาณ 1.50 เมตร จากพื้นดินใกลกับอาคาร และทํา ช อ งใต ดิ น ต อ ขึ้ น ไปยั ง อาคาร โดยในฤดู ห นาวอุ ณ หภู มิ พื้ น ดิ น จะอยู ที่

ประมาณ 5 องศาเซลเซียส ในขณะที่หนารอนจะอยูที่ 15 องศาเซลเซียส ซึ่งสูงกวาอุณหภูมิของอากาศในหนาหนาว และต่ํากวาอุณหภูมิอากาศใน หนารอน จึงสามารถใชหลักความเฉื่อยของอุณหภูมิความรอนของพื้นดิน ในการปรับอุณหภูมิในอาคาร โดยเมื่ออากาศจากบอดินถายเทเขาอาคาร จะผานการปรับอุณหภูมิดวยระบบมอเตอรหมุนเวียนและปรับอากาศ (หรือ ที่เรียกวา thermo-mechanical ventilation หรือ VMC) แบบสองทิศทาง ทัง้ นี้ ในหนาหนาวอาคารแหงนีจ้ งึ สามารถปรับอุณหภูมภิ ายในอาคารใหสงู ขึ้นเปนการพรีฮีตติ้ง สวนในหนารอนก็จะมีอากาศที่เย็นสดชื่นโดยไมตอง พึ่งเครื่องปรับอากาศทําความเย็นเลย ทัง้ นีก้ ารประยุกตใชระบบปรับอุณหภูมดิ ว ยบออากาศใตดนิ ควบคูก บั ระบบ VMC นั้นชวยใหทางอาคารสามารถประหยัดพลังงานไดเฉลี่ยถึงป ละ 9,100 กิโลวัตต ตอป (กลาวคือ ระบบ VMC ชวยประหยัดพลังงานป

March 2012 l 27

Energy#40_p26-28_Pro3.indd 27

2/17/12 12:25 AM


ละ 7,500 กิโลวัตต ในขณะที่ระบบบออากาศใตดินชวยใหประหยัดพลังงาน ไดประมาณ 1,600 กิโลวัตต ตอป ) นอกจากนี้แลวอาคารแหงนี้ยังไดติดตั้งระบบสํารองพลังงานในรูป แบบไฮโดรเจนเป น ระบบกั ง เก็ บ พลั ง งานที่ ส ามารถเก็ บ พลั ง งานได ใ น ปริมาณมากเพื่อกังเก็บพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดใชในยามจําเปน ดังนั้นการ เก็บพลังงานในรูปแบบไฮโดรเจน (ซึ่งเกิดจากการนําน้ําและกระแสไฟฟามา ผานกระบวนการอิเล็คโทรไลซิสจะชวยใหสามารถมีพลังงานสํารองใช และ ลดการพึ่งพาไฟฟาจากภายนอกไดมากที่สุด พร อ มกั น นี้ ท างโครงการยั ง ได นํ า ระบบไฮโดรเจนที่ ไ ด สํ า รอง พลังงานไวมาตอเขากับเซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cell) เพื่อจายไฟฟา และผลิต พลังงานความรอนสําหรับอาคาร ซึ่งการประยุกตใชเซลลเชื้อเพลิงและ ไฮโดรเจนเขามาใชจะชวยใหทางอาคารมีไฟฟาสํารองใชในชวงที่มีอัตรา การผลิตพลังงานหมุนเวียนต่ํากวาความตองการใชไฟฟาของทางอาคาร ซึ่งเมื่อสามารถประยุกตรูปแบบการผลิตพลังงานหมุนเวียนเขากับระบบ การสํารองพลังงานไฮโดรเจน และการจายไฟดวยเซลลเชื้อเพลิงแลวก็จะ ชวยใหทางอาคารสามารถพึ่งพาตัวเองไดอยางแทจริง อย า งไรก็ ต ามเพื่ อ ทํ า ให อ าคารสามรถพึ่ ง พาตนเองได อ ย า งมี ประสิทธิภาพและยั่งยืนอาคารแหงนี้ยังไดใชหลอดไฟใหแสงสวางในอาคาร เปนหลอดฟลูออเรสเซนส T5 ชนิดประหยัดพลังงาน สวนในหองน้ํา จะใช หลอด LED สวนบริเวณโตะทํางาน หรือบางพื้นที่ ใชระบบเปด-ปดอัตโนมัติ หรือหรี่ ไฟผานระบบเซ็นเซอร ทั้งนี้จากการสอบถาม มร. บารนาเบ โบดูว ผูจัดการโครงการของ Abalone Energie และผูบรรยายหัวขออาคารสีเขียวไดบอกวาประเทศไทย สามารถนําเทคนิคเหลานี้มาประยุกตใชบางสวน อาทิ อาจจะติดตั้งแผง โซลารเซลลบริเวณระเบียง หรือสวนกันแดดดานทิศใตเพื่อกักเก็บพลังงาน จากแสงอาทิตยใหมากที่สุด และการนําระบบปรับอุณหภูมิอาคารดวย บ อ อากาศใต ดิ น (CANADIAN WELL) มาประยุ ก ต ใ ช ไ ด กั บ อาคาร ในประเทศไทย

28 l March 2012

Energy#40_p26-28_Pro3.indd 28

2/17/12 12:25 AM


Energy#40_ad TG_Pro3.ai

1

2/21/12

4:18 PM


Saving Corner

การปด-เปดเครื่องปรับอากาศและการใช พัดลมดูดอากาศอยางไรใหประหยัดไฟ

http://nurik.my3gb.com/13-04-2011/air-condition-repair.html

ป จ จุ บั น ประเทศไทยมี ค วามต อ งการไฟฟ า เพิ่ ม ขึ้ น ประมาณป ล ะ ๑,๒๐๐ เมกะวัตต ซึ่งพลังงานไฟฟาประมาณ 50 – 70% ถูกใชไปในระบบ ปรับอากาศหรือแอร ทั้งนี้ภาครัฐโดยกระทรวงพลังงาน ไดมีการกําหนด ใหอาคารที่เปนอาคารควบคุม ตามพระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๓๘ ตองมีการสงรายงานการจัดการพลังงาน และกําหนดเปาหมาย ในการประหยัดพลังงานในแตละป ซึง่ หนวยงานตางๆ ไดมกี ารเสนอแนวคิด เกี่ยวกับวิธีการประหยัดพลังงานไฟฟาในระบบแอร ซึ่งวิธีการที่ ใชกันโดย ทั่วไปก็คือ “ไมเปดแอรกอ นเวลาทํางานในตอนเชาและปดแอรในระหวางเวลาพักเทีย่ ง” และถาเปนหองที่มีการติดตั้งพัดลมดูดอากาศ จะมีวิธีการปด – เปดเครื่อง ปรับอากาศรวมการใชพัดลมดูดอากาศอยางไรใหประหยัดไฟ ? อุปกรณที่กินไฟฟามากที่สุดในระบบแอร ก็คือคอมเพรสเซอร ดัง ภาพที่ 1 ซึง่ คอมเพรสเซอรจะทํางาน เมื่ออุณหภูมภิ ายในหองสูงกวาทีต่ ง้ั ไว โดยปกติก็คือ 25oC ในกรณีที่เปนแอรที่ ไมมีระบบอินเวอรเตอรเมื่อหอง มีอุณหภูมิสูงกวา 25oC คอมเพรสเซอรจะทํางาน และจะหยุดการทํางาน เมื่ออุณหภูมิหองลดลงเหลือ 25oC สลับกันไป ดังนั้นถาหองมีอุณหภูมิสูง

และมีภาระความรอนจากไฟฟาแสงสวาง รวมถึงมีจํานวนคนที่ปฏิบัติงาน ในห้องมาก ก็จะทําให้คอมเพรสเซอร์ทํางานหนักมากขึ้นกว่าเดิมเมื่อ พิจารณาการทํางานของคอมเพรสเซอรแลว แนวคิดที่วาไมเปดแอรกอน เวลาทํางานในตอนเชาและปดแอรในระหวางเวลาพักเที่ยง ควรปฏิบัติดังนี้

1. ไมเปดแอรกอนเวลาทํางาน

เนื่องจากอาคารสํานักงาน โดยตัวโครงสรางเองแลวจะอมความรอน ไว ในชวงเวลากลางวัน ถึงแมวาจะคายความรอนบางสวนออกในชวง กลางคืน แตยังคงมีความรอนบางสวนตกคางอยู ประกอบกับเวลาเชาที่ แดดเริ่มสอง หองก็จะไดรับความรอนจากอากาศภายนอก เมื่อถึงเวลา ทํ า งานในตอนเช้ า เมื่ อ คนเข้ า มาทํ า งานในเวลาเดี ย วกั น พร้ อ มๆ กั น เป น จํ า นวนมาก ถ า เป ด แอร ใ นช ว งเวลานั้ น คอมเพรสเซอร ก็ จ ะต อ ง ทํ า งานหนั ก ขึ้ น เพราะมี ทั้ ง ความร อ นสะสมในอาคารเอง, ความร อ น จากแสงแดดตอนเชา และความรอนจากคนที่เขามาทํางานพรอมๆกัน ดังนั้นกอนเริ่มตนการทํางานในตอนเชา ควรที่จะเปดประตูหรือ หนาตาง เพื่อชวยระบายความรอนที่สะสม อยูภายในหองออกกอน หรือ

30 l March 2012

Energy#40_p30-31_Pro3.indd 30

2/27/12 11:05 PM


ถามีการติดตัง้ พัดลมชวยในการไหลเวียนของอากาศเพิม่ ขึน้ ก็จะทําใหหอ ง มีอุณหภูมิลดลงไดในระดับหนึ่ง โดยเปดระบายอากาศประมาณ 20 – 30 นาที จากนั้นใหเปดแอรกอนเวลาเขางานประมาณ 10 นาที เพื่อใหหองมี อุณหภูมิลดลง ตามที่ตองการกอน เพื่อลดภาระการทํางานของคอมเพรสเซอรลง เนื่องจากหองจะคอยๆ มีอณ ุ ภูมสิ งู ขึน้ เมื่อคนเขามาทํางาน แทนทีจ่ ะเปดแอร ในขณะที่คนเขามาทํางานพรอมกันเปนจํานวนมาก

2. ปดแอร ในเวลาพักเที่ยง

ในการปดแอรหมายถึงหยุดการทํางานของคอมเพรสเซอรนั่นเอง อุณหภูมิของหองก็จะสูงขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะแอรไมไดทํางานแลว เมื่อ อุณหภูมิหองสูงขึ้น ภาระการทํางานของคอมเพรสเซอรก็จะเพิ่มขึ้น ดังนั้น เมื่ อ ถึ ง เวลาทํ า งานในช ว งบ า ย ห อ งที่ มี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ นจากความร อ น ภายนอกรวมกับคนทีเ่ ขามาทํางาน เมื่อเปดแอร คอมเพรสเซอรจะทํางานหนัก ดั ง นั้ น ความคิ ด ที่ ว า ป ด แอร ใ นเวลาพั ก แทนที่ จ ะช ว ยลดการใช ไ ฟฟ า กลับจะทําใหใชไฟฟาเทาเดิมหรือมากกวา ซํ้ารายจะทําใหคอมเพรสเซอร ทํางานหนักมากขึน้ ทําใหอายุการใชงานสัน้ ลงอีกดวย ดังนัน้ วิธกี ารปดแอร ในชวงเวลาพักก็คือ อยาปดที่สวิทซควบคุมคอมเพรสเซอร (Power) แตใหใชวิธีปรับอุณหภูมิจากตัวตั้งอุณหภูมิ (Thermo stat) ใหไปอยูที่ อุณหภูมิสูงสุด คือ 30 oC แทน เพราะเมื่อปรับตั้งตัวปรับอุณหภูมิให สูงสุดแลว คอมเพรสเซอรจะไมทํางาน แตพัดลมที่หนาคอยลเย็นจะยังคง ทํางานอยู เมื่อพัดลมทํางานจะชวยเพิ่มการไหลเวียนของอากาศภายใน หอง ประกอบกับในหองก็มีอากาศเย็นอยูแลว สงผลทําใหอุณหภูมิหอง จะคอยๆ เพิ่มขึ้นอยางชาๆ ไมไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว จากนั้นกอนถึงเวลา ทํางานในชวงบายประมาณ 10 นาที ใหปรับตัวตั้งอุณหภูมิกลับไปยัง ตําแหนงเดิมที่ตองการ เพื่อทําใหหองมีอุณหภูมิลดลง กอนที่จะมีคนเขา มาทํางาน เพื่อลดภาระการทํางานของคอมเพรสเซอรลงนั่นเอง

http://www.123rf.com/photo_9146124_fan-unit-of-air-condition-with-grill.html

http://www.mcgreenpower.com/index.php?

3. การติดตั้งและการใชงานพัดลมดูดอากาศ

โดยปกติถาเปนหองที่มีขนาดพื้นที่ ไมเกิน 4 X 4 ตารางเมตร และ มีผูปฏิบัติงานไมเกิน 3 คน ไมจําเปนที่จะตองมีการติดตั้งพัดลมดูดอากาศ แตถามีคนปฏิบัติงานมากกวานั้น จําเปนที่จะตองติดตั้งพัดลมดูดอากาศ ซึ่งเปนการดูดอากาศในหองที่มีการทําความเย็นไวแลว ดังนั้นเมื่อเราดูด อากาศที่เย็นแลวออกไป เมื่อมีอากาศใหมเขามาคอมเพรสเซอรก็จะตอง ทํางานเพิ่มขึ้น เพื่อลดอุณหภูมิของอากาศใหมที่เขามา ดังนั้นในการใชงาน พัดลมดูดอากาศ ไมควรที่จะเปดใชงานอยูตลอดเวลา ซึ่งอาจจะมีการติด ตั้งตัวตั้งเวลา (Timer) ใหพัดลมดูดอากาศทํางานเปนชวงเวลา เชน ตั้งใหพัดลมดูดอากาศทํางานเปนระยะเวลา 15 นาที ทุกๆ 1 ชั่วโมง เปนตน หรือถาไมใช Timer ก็ใชวิธีแยกสวิทซของพัดลมดูดอากาศออก จากระบบแอร ใหสามารถเปดปดไดตามที่ตองการ อยาเอาสวิทซพัดลม ดูดอากาศตอพวงกับการทํางานของแอรหรือไฟฟาแสงสวาง เพราะจะ ทําใหพัดลมดูดอากาศทํางานตลอดเวลาที่เปดแอรหรือเปดไฟ ก็จะชวยลด การทํางานของคอมเพรสเซอรลงได เพราะอากาศเย็นไมไดถูกดูดออกไป มากนัก รวมถึงตําแหนงการติดตั้งพัดลมดูดอากาศ ไมควรที่จะติดตํ่ากวา ชุดแผงคอยลเย็นที่อยูภายในหองเนื่องจาก คุณสมบัติของอากาศรอนจะ เบากวาอากาศเย็น ดังนัน้ พัดลมดูดอากาศถาติดตัง้ ตํา่ กวาชุดแผงคอยลเย็น ก็ จ ะดู ด เอาอากาศที่ เ ย็ น แล ว ออกไป แทนที่ จ ะดู ด อากาศร อ นที่ อ ยู ท าง ดานบน สงผลทําใหคอมเพรสเซอรตองทํางานหนักขึ้นอีก ดังนั้นวิธีการ การปด-เปดเครื่องปรับอากาศ รวมกับการใชพัดลม ดูดอากาศ ดังที่กลาวมาแลวนั้น สามารถลดการใชไฟฟาลงไดเพียงแต ตองปฏิบัติใหถูกตองเทานั้น ขอขอบคุณ คุณมานพ พิพัฒหัตถกุล สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เขารวมสงผลงานใน “โครงการเขียนดี อานฟรี 3 เดือน” March 2012 l 31

Energy#40_p30-31_Pro3.indd 31

2/29/12 1:40 PM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

ปภพ รีนิวเอเบิล รับ 2 รางวัลใหญภายใตโครงการ ...Renewable Energy Project Competition คงเปนที่ทราบกันดีวาผูที่ ไดรับรางวัล ASEAN Energy Awards ในแตละปนั้นตองผานการไดรับรางวัล Thailand Energy Awards มา ก อ น และก็ เชื่ อ ว า หลายท า นที่ อ ยู ใ นแวดวงพลั ง งานคงทราบกั นดี ว า วัตถุประสงคและที่มาของรางวัล Thailand Energy Awards นั้นเปน อยางไร โดยกระทรวงพลังงาน และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลั ง งานได เ ล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ของการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและการใช พลังงานทดแทนจึงไดมีนโยบายตางๆ เกิดขึ้นมากมายเพื่อพัฒนาพลังงาน ทดแทนและสนับสนุนการอนุรักษพลังงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น การจัดประกวดดานพลังงานนั้นก็เปนอีกแนวทางหนึ่งของหนวย งานภาครัฐที่ ไดสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาดานพลังงาน โดยการจัด 32 l March 2012

Energy#40_p32-34_Pro3.indd 32

2/17/12 12:36 AM


เชน บริษทั ปภพ รีนวิ เอเบิล จํากัด ซึง่ เปนบริษทั จัดการพลังงาน จัดการ กากของเสีย น้ําเสียดวยการผลิตกาซชีวภาพใหกับโรงงานอุตสาหกรรม โดยไดรับรางวัล ชนะเลิศ ASEAN Energy Awards 2011 ภาย ใตโครงการพลังงานหมุนเวียนที่เชื่อมโยงกับระบบสายสง (On-Grid) หรือ Renewable Energy Project Competition (on-Grit) ซึ่งเปนการผลิต กาซชีวภาพ และผลิตกระแสไฟฟา ที่ ไดจากน้าํ เสียทัง้ หมดจากโรงงานผลิต แอลกอฮอล ของ บริษัท ไทยซานมิเกล ลิเคอร จํากัด มาผานการบําบัด ดวยเทคโนโลยีชีวภาพแบบไมใชอากาศผลิตเปนกาซชีวภาพ ซึ่งสามารถ ผลิตกาซชีวภาพของโครงการ 45,000 ลานลูกบาศกเมตรตอวัน และยัง ไดกาซชีวภาพเพื่อใชผลิตพลังงานความรอนทดแทนน้ํามันเตาไดปละ 5.45 ลานลิตรตอป ใชผลิตไฟฟาได 1.904 เมกกะวัตต และนําไปจําหนายใหแก การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) 5.14 หนวยตอป ประกวด Thailand Energy Awards นั้นเริ่มมีขึ้นตั้งแตป 2543 เพื่อมุง สงเสริมสนับสนุนและยกยองเชิดชูเกียรติผูที่มีผลงานดีเดนพลังงาน เพื่อ เปนการสรางตัวอยางทีด่ ีใหกบั ทุกภาคสวนในสังคม และมุง หวังทีจ่ ะกระตุน ใหสถานประกอบการโรงงานอาคาร บุคลากรตางๆหันมาใหความสําคัญ กับการใชพลังงาน และรวมกันดําเนินการพัฒนาพลังงานทดแทนควบคูไป กับการอนุรักษพลังงานอยางจริงจัง และสูการพัฒนาตอยอดกาวไป แขงขันในระดับ ASEAN Energy Awards ตอไป ซึ่งที่ผานมามีหลายองคกร หลายหนวยงาน หลายบริษัท ที่ผาน การไดรับ 2 รางวัลใหญขางตน และในปลาสุดในการประกวด ASEAN Energy Awards 2011 มีบริษัทในประเทศไทยไดรับรางวัลถึง 13 รางวัล จากทั้งหมด 33 รางวัล ซึ่งลวนแลวก็เปนโครงการใหมๆ ที่นาสนใจ อยาง

March 2012 l 33

Energy#40_p32-34_Pro3.indd 33

2/17/12 12:32 AM


สําหรับโครงการนี้เปนการออกแบบโดยเชื่อมโยงเทคโนโลยีหลาย แขนง เพื่อใหไดประโยชนและมีความรับผิดชอบตอสังคม กลาวคือ เดิมน้ํา เสียจะเปนปญหาตอชุมชนมาก เกิดมลภาวะทางอากาศมีกลิ่นเหม็นแนว ความคิดนี้จึงตองการแกปญหาแบบเบ็ดเสร็จ โดยใชเปนระบบปด สามารถ  หาเรื่องการบําบัดน้าํ เสียและกลิน่ ไดอยางสมบูรณ และใหไดประโยชน แกปญ สูงสุดจากการผลิตกาซชีวภาพ เพื่อทดแทนพลังงานจากแหลงธรรมชาติ และนํากาซชีวภาพทีม่ กี า ซมีเทนเปนองคประกอบสวนใหญไปใชจนหมดทําให ลดภาวะโลกรอนจากการปลอยกาซเรือนกระจกไดถึงปละ 97,000 ตัน และ ขายคารบอนเครดิตใหแกการไฟฟารัฐบาลฝรั่งเศส โดยสามารถสรางราย ไดจากการขายคารบอนเครดิตไดถึง 41 ลานบาทตอป และยังเกิดการจาง งานในพื้นที่ คิดเปน 65% ของพลังงานทั้งหมดของโครงการ เรียกได วาการบําบัดน้ําเสียดวยการผลิตกาซชีวภาพนั้นนอกจากชวยลดผลกระ ทบตอสิ่งแวดลอมและเปนอนุรักษพลังงานแลวยังสามารถสรางรายไดให กับบริษัทแหงนี้ ไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้น้ําเสียที่ผานการผลิตกาซชีวภาพนั้นยังมีธาตุอาหาร K P N ในปริมาณสูง บริษัท ปภพ รีนิวเอเบิล จํากัด ยังไดวาจาง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) ทํา R&D ถึงการนําน้ําที่เหลือไปใหเกษตรกรในพื้นที่ ใกลเคียงใช ซึ่งจะสงผลใน ระยะยาวตอการเพาะปลูกภายใตโครงการ CSR ที่สนับสนุนใหเกิดการใช ทรัพยากรอยางรูคุณคาและชวยใหโรงงานอุตสาหกรรมสามารถอยูรวม กับสังคมไดอยางยั่งยืน

34 l March 2012

Energy#40_p32-34_Pro3.indd 34

2/17/12 12:32 AM


Energy Showcase เครองกรองน้ํารุน “Fountain”

แวนตานิรภัยพรอมไฟสองสวาง จาก 3เอ็ม

เครองกรองน้ํารุน “Fountain” การันตี คุ ณ ภาพด ว ยการรั บ รองมาตรฐานจาก NSF International พรอมโดดเดนดวย เทคโนโลยี Ultrafiltration Plus Silver Ions เสนใยคุณสมบัติพิเศษที่มีรูพรุนขนาดเล็ก เพียง 0.01 ไมครอน และวัสดุกรอง 5 ชนิด ในไสกรองชิ้นเดียว มีประสิทธิภาพในการ ขจัดแบคทีเรียและจุลินทรียในน้ําดม และ ปองกันการปนเปอนจากภายนอกไดสูงถึง 100% พิเศษ เมอซื้อเครองกรองน้ํารุน “Fountain” รับฟรี! ไสกรอง 5 in 1 มูลคา 2,890 บาท หรือเลือกรับคูปองสวนลด มูลคา 1,000 บาท ตั้งแตวันนี้ ถึง 31 มีนาคม 2555

แวนตานิรภัยสําหรับชางมืออาชีพ “Safety Glasses, Light Vision™ II” แวนตา นิ ร ภั ย พร อ มไฟส อ งสว า ง ที่ ผ า นการ ทดสอบเทียบเทามาตรฐาน ANSI Z87.12003 ประเทศสหรัฐอเมริกา และ CSA Z94.3 ประเทศแคนาดา สามารถกันรังสี UV ไดถึง 99.9% เลนสยึดติดกับกรอบ ดานบน มีความแข็งแรง ทนทาน สวมใส สบาย สามารถปรับความยาวขาแวน เพอ ใหเหมาะกับผูสวมใสได พรอมทั้งติดไฟ LED ทั้ง 2 ขาง เพอสองสวาง ซึ่งผูใช สามารถเปลี่ยนแบตเตอรี่ ไดอยางสะดวก

บริษัท สตีเบล เอลทรอน เอเซีย จํากัด

แผนกบริการลูกคา บริษัท 3เอ็ม ประเทศไทย จํากัด

จุลินทรีย EM

เบเยอร วูดสเตน (สูตรน้ํา)

ศูนยบริการลูกคา โทร 08-8022-3030

บริษัท เอ็มโร เอเชีย จํากัด ผูผลิตและ จําหนายจุลินทรีย EM ในประเทศไทย ซึ่ง เปนจุลินทรียที่คนพบโดย ศ.ดร.เทรูโอะ ฮิ หงะ ใช กั น อย า งแพร ห ลายกว า 150 ประเทศทั่วโลกในการเกษตร การประมง และปศุสัตว ชวยบําบัดน้ําเนาเสีย ปรับ สภาพดิน ขจัดกลิ่น ทําความสะอาดที่พัก อาศัย ไมมสี ารเคมีตกคาง หัวเชือ้ จุลนิ ทรีย อีเอ็ม มี 3 ขนาด คือ ขนาด 250 มิลลิลิตร ราคา 25 บาท ขนาด 1 ลิตร ราคา 90 บาท และขนาด 10 ลิตร ราคา 850 บาท จําหนายที่รานขายเครองมือการเกษตร และโฮมโปรทุกสาขา

บริษทั เอ็มโร เอเชีย จํากัด

โทร 0-2260-8577 ตอ 1303

เบเยอร วูดสเตน (สูตรน้ํา) คือผลิตภัณฑ ยอมไมและรักษาเนือ้ ไมทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ฉพาะ แตกตางจากสีงานไมทั่วไป นอกเหนือจาก คุณสมบัติที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใช งานงาย แหงเร็ว และไรกลิ่นฉุน ปลอดภัย จากสารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพแลว สีงานไมสูตรน้ําของเบเยอรยังใหฟลมสี โปรงใส ไมเปลี่ยนสีไม ไมเหลืองแมตอง สั ม ผั ส กั บ แสงแดด จึ ง ช ว ยคงสี ไ ม ใ ห สวยงามเหมือนจริงตามธรรมชาติ

บริษัท เบเยอร จํากัด โทร 0-2611-3434

http://www.beger.co.th

http://www.emro-asia.com

แผนฝาและผนังทนไฟแมกนีเซียม ซิลิเคท “Trilite”

กระเบื้องหลังคา CT ตราเพชร

Trilite แมกนิเซียม ซิลิเคท ไมมีสวนผสม ของแร ใยหิน, ไมสรางมลภาวะที่เปนพิษ ขณะผลิ ต รวมทั้ ง ย อ ยสลายได มี คุณสมบัติสามารถทนน้ํา และทนไฟ แผน ความหนา 12 มม. สามารถทนไฟได 2 ชม. และ 3 ชม. ผานการทดสอบจากประเทศ อังกฤษ BS476 Part 22 และไดรับผล ทดสอบ Class A1 ซึ่งสามารถจําหนายได ทุกประเทศในกลุม EU, ไดรับเครองหมาย CE สามารถใชเปนฝา และผนังอาคาร สําหรับภายนอก หรือทําเปนผนังกันไฟ ประตูกันไฟ หรือฝาในหองน้ํา หรือฝาหอง อบไอน้ํา

บริษัท ลีฟวิ่ง เซ็นเตอร จํากัด โทร 0-2655-1011-9

http://www.living-center.com

กระเบื้องหลังคา CT ตราเพชร โดดเดน ดวยรูปลอน Cran Onda ใหความโคง เวา ไดรูป แกรงทน ดวยมาตรฐานการผลิต อันทันสมัย ชวยใหหลังคาของคุณสวยได หลากสไตล ด ว ยเฉดสี ถึ ง 4 กลุ ม คุณสมบัติพิเศษ รูปลอน Gran Onda โคง เวา ไดรูป ระบายน้ําไดเร็ว แข็งแกรง มากกวามาตรฐาน มอก. ถึง 2 เทา ดวย แกนกลางรั บ แรง 2 แนว อี ก ทั้ ง ยั ง ออกแบบใหมีรางลิ้นกันน้ํา 2 แนว และบัว กันน้ํา 3 ชั้น ปองกันการไหลยอนของน้ํา ฝนไดอยางสมบูรณแบบ

บริษัท กระเบื้องหลังคาตราเพชร จํากัด (มหาชน)

Call Center 0-2619-2333

http://www.dbp.co.th

March 2012 l 35

Energy#40_p35-36_Pro3.indd 35

2/22/12 12:10 AM


ฉนวนหุมทอลม Micro Duct Wrap

ทอ HDPE ตรา PBP

Micro Duct Wrap ฉนวนใยแกวสําหรับ หุม ทอสงลมเย็น/ลมรอน เนือ้ ฉนวนใสสาร พิเศษ ปองกันน้าํ และความชืน้ Non Water Absorption ผลิตขึ้นรูปเปนแบบมวนและ แผนผิดผิวหนาดวยวัสดุปดผิวอลูมิเนียม ฟอยลชนิดไมลามไฟ ปองกันความชื้นสูง ตามมาตรฐานวัสดุปดผิว ASTM C1136 และมาตรฐานสากล ASTM, UL และ NFPA 90A

ทอ HDPE ตรา PBP ผลิตจากเรซินพอลิ เอทิ ลี น ชนิ ด ความหนาแน น สู ง (High Density Polyethylene : HDPE) ทําใหผิว มีลักษณะเรียบมัน ทําใหน้ําหรือของเหลว ไหลผ า นได ส ะดวก เนื้ อ ท อ มี คุ ณ สมบั ติ เหนียวและแข็ง อีกดวยคุณสมบัติ เฉพาะ ทนแรงกระแทกไดดี ผิวภายในทอมีความ เรียบมัน มีความตานทานการไหลต่าํ เหมาะ ทีจ่ ะใชเปนทอจายน้าํ ดมและของ เหลวทีเ่ ปน อาหารได ทนทานตอสารเคมี ทนทานตอ กรด ดาง เกลือ หรือสารเคมีตางๆไดดี

บริษัท ไมโครไฟเบอรอุตสาหกรรม จํากัด

บริษัท ยูเอชเอ็ม จํากัด

http://www.microfiber.co.th

http://www.uhm.co.th

โทร 0-2315-5500-10

ตะแกรงไฟเบอรเกรต

แผนฝาระบายอากาศ เฌอราบอรด

ตะแกรงเสิรมไฟเบอรกลาส หุมดวยเรซิ่น คุณภาพสูง น้ําหนักเบา ดูแลรักษางาย ไมผุกรอนจากสภาพแวดลอมที่มีสารเคมี สามารถเลือกเรซิ่นไดกวา 10 ชนิด เพอ ใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมและการใช งาน มีหลายสี หลายขนาด สามารถเลือก ผิวหนากันลนได 3 ระดับ เพอลดอุบัติเหตุ ทีเกิดจากความลน สามารถนํามาใชงาน เปน ฝาบอ ฉากโปรง ทางเดิน หรือพื้น ยก ใช แ ทนตะแกรงอลู มิ เ นี ย มได ดี มี อุ ป กรณ เ สริ ม มากมายสํ า หรั บ ใช กั บ ตะแกรง เชน คลิ๊ปยึดตะแกรงเพอความ มั้นคง ยางรองตะแกรง บารางไฟเบอร บริษัท 949 ซัพพลายส จํากัด กลาส และขายกตะแกรง โทร 0-2645-2599

http://www.949supplies.com

ปมน้ําแบบอัตโนมัติอินเวอรเตอร ป ม น้ํ า แบบอิ น เวอร เ ตอร ทํ า งานโดย อัตโนมัติตามจังหวะการเปด-ปดกอกน้ํา ล้ํ า หน า ด ว ยระบบอิ น เวอร เ ตอร ช ว ย ประหยั ด พลั ง งาน สามารถลดการใช พลังงานทีเ่ กินความจําเปนชวยใหประหยัด พลังงานไฟฟาไดถึง 40% ตัวเครองมี ขนาดกะทัดรัด ประหยัดพื้นที่ เสียงเงียบ มากพร อ มเทคโนโลยี ก ารพั น ขดลวด มอเตอรแบบพิเศษ (JOINT WRAP DC MOTOR) เพิ่ ม แรงบิ ด ลดการสู ญ เสี ย พลั ง งาน มอเตอร รั บ ประกั น 5 ป มี Thermostat ปองกัน Motor ไหม ใน สภาวะที่ ใชงานผิดปกติ

บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค กันยงวัฒนา จํากัด http://www.mitsubishi-kyw.co.th

โทร 0-2651-9111

แผนฝาระบายอากาศ เฌอราบอรด รุน คลาสสิคและโมเดิรน เหมาะสําหรับติดตั้ง เปนฝาภายนอก มีชองระบายอากาศ ซึ่ง ชวยลดความรอนเขาสูตัวบาน แตยังคง ความแข็งแรง ทนทาน ทนน้ําทนชื้น มีสอง ลายให เ ลื อ ก ทั้ ง ลายโมเดิ ร น และลาย คลาสสิค

บริษัท โอลิมปคกระเบื้องไทย จํากัด โทร 0-2291-2888

http://www.mahaphant.com

หม อ แปลงไฟฟ า ชนิ ด น้ํ า มั น แบบ Hermetically Sealed Fully Oil Filled หมอแปลงแบบ Hermetically Sealed Fully Oil Filled จะมีน้ํามันเติมเต็มตัวถัง ทําใหมนี ้าํ มันคอยระบายความความรอนให กับ Bushing และประเก็นบริเวณฝาถังได เมื่ อ ปริ ม าตรของน้ํ า มั น เพิ่ ม ขึ้ น ตั ว ถั ง หมอแปลงจะเกิดการพองตัวที่ครีบระบาย ความรอนแบบ Corrugated ซึ่งไดรับการ ออกแบบมาเป็นพิเศษ และเมื่อน้ํามันลด ปริมาตรลง ครีบ Corrugated ก็จะหุบตัว ลง เราเรียกตัวถังแบบนี้วาเปน Elastic Tank เพราะเปนตัวถังที่มีความยืดหยุน

บริษัท เอกรัฐวิศวกรรม จํากัด (มหาชน) โทร 0-2719-8777

http://www.ekarat-transformer.com

36 l March 2012

Energy#40_p35-36_Pro3.indd 36

2/22/12 12:10 AM


Energy#29_p49_Pro3.ai

1

3/24/11

3:17 AM


Energy Keyman โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“สงเสริมสิ่งแวดลอม... ดวยความรู”

ดร.เกษมสันต จิณณวาโส อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 38 l March 2012

Energy#40_p38_Pro3.indd 38

2/27/12 11:06 PM


ฉบับนี้ ENERGY SAVING ไดรับเกียรติจาก ดร.เกษมสั น ต จิณณวาโส อธิบดีกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม ซึง่ มีประสบการณ ในงานดานสิ่งแวดลอมมาอยางยาวนาน กอนจะเขาดํารงตําแหนงอธิบดี กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมคนปจจุบัน โดยไดรวมพูดคุยถึงบทบาท หนาที่ของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมและปญหาของสิ่งแวดลอมใน ปจจุบัน

บทบาทของกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอมลักษณะเนือ้ งานเปนงานสรางองค ความรู สรางความเขาใจใหกับกลุมเปาหมาย เพอใหคนไดมีความเขาใจใน เรองของคุณภาพสิ่งแวดลอม อยางแรกผมเขาใจวาคนอาจจะยังไมเขาใจ มากวาคําวาสิ่งแวดลอมนั้นหมายถึงอะไร ประเด็นของสิ่งแวดลอมมันก็คือ งานทีร่ วมทัง้ งานทีส่ ง เสริมและใหความรูก บั คนในเรองทรัพยากรธรรมชาติ ดวย เพราะฉะนั้นคําวาการสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมจะรวมความทั้ง

การใหความรู การสรางความเขาใจ การสรางความตะหนัก การสราง ทักษะ สงเสริมใหรูจักคิดเพอแกไขปญหา และเกี่ยวถึงการจัดการทางดาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ซึ่งทรัพยากรนั้นก็มี ดิน น้ํา ปา แร พลังงาน ทรัพยากรทางทะเล ชายฝง สัตวทะเลหายาก ซึ่งเปนทรัพยากรไม ใช ผลผลิตทางทะเล สวนสิ่งแวดลอมก็มี อากาศ ของเสีย ขยะ น้ําเสีย ฝุน เสียง และอนๆ อีกจิปาถะ เชน กากของเสียอันตราย เปนตน เพราะฉะนั้นการที่จะไปสงเสริมใหความรูกับคนนั้นมันเปนภารกิจที่ กวาง แตที่ผานมา กอนที่ผมมา สิ่งที่เขาทําก็คือไปทําเรองขยะกับน้ําเสีย เปนหลัก คือตอนนี้ผมกําลังปรับความเขาใจกับเจาหนาที่กอน ก็คือคําวา คุณภาพสิ่งแวดลอม มันคืออะไร และความเขาใจผิดๆ ที่ทําแคเรองขยะกับ น้ําเสียนั้นมันไมใช เนื้อหาสาระมันมากกวานั้น ซึ่งหากเราไมมีความรูเรา สามารถทําหนาที่มาเปนผูจัดการโครงการ จัดกิจกรรมซึ่งมีผูเชี่ยวชาญ จากกรมตางๆ มาใหความรูได นี่คือบทบาทในการสงเสริม

March 2012 l 39

Energy#40_p38-40_Pro3.indd 39

2/24/12 10:21 PM


กระทรงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมนั้นเหมือนงานแมบาน เปนศูนยรวมของการสั่งการ เปนที่รวมศูนยของการกํากับติดตามและให นโยบาย เพราะฉะนั้นสมมติหากกระทรวงฯ ใหนโยบายในการดําเนินการ สงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม ประเด็นก็คือเราอาจจะทําหนาที่เปนฝาย เลขานุการ เราตองดูวาโจทยที่ตั้งไวคืออะไร เกี่ยวของกับใคร โดยเราทํา หน า ที่ เ ป น ผู ป ระสานแล ว เราก็ ย อ ยความรู พ วกนี้ อ อกไป และมาสร า ง กระบวนการเรียนรู

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอมแตกตางจากกรมอน อยางไร

อยางแรกที่แตกตางก็คือ หนวยงานตรงนี้เปนหนวยงานสวนกลาง ไมมีหนวยงานในภูมิภาค เปนงานที่ตองทํารวมกับคนเยอะ เพราะฉะนั้นสิ่ง ที่เราทําไดก็คือการสรางเครือขาย หรือเราทํากิจกรรมที่ทํารวมกับวัด โรงเรียน มัสยิด เรามีเครือขายที่เรียกวา เครือขายอาสาสมัครพิทักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมหมูบาน (ทสม.) อยู 68,000 กวาคน ทั่วประเทศ ซึ่งถารวมกันทําจริงๆ กรมฯ ของเราจะใหญกวาคนอนนะ แต สิง่ ทีเ่ ราจะตองทําก็คอื การสรางองคความรูแ ละสงตอใหเขาผูซ ึง่ มาทํางาน รวมกับเราในฐานะจิตอาสาอยางตอเนอง

ปญหาสิ่งแวดลอมเรงดวน

เราคงไปบอกตัวใดตัวหนึ่งไมได เราจะพูดถึงขยะอยางเดียว หรือ น้ําเสียอยางเดียวก็ ไมได สมมติหากเราพูดถึงเรองการบุกรุกทําลายปา มันก็ทาํ ใหระบบนิเวศปาตนน้าํ เปลีย่ น พวกกลางน้าํ อยางชุมชนตางๆ ก็อาจ ไดรับผลกระทบดวย อยางที่เราเห็นก็คือเกิดอุทกภัย ทายน้ําก็อาจไดรับ ปญหาน้ําเสีย หรือขยะ เพราะมันสะสมมาตั้งแตตอนตน ทายสุดก็คือภาค กลางตอนลาง หรือกรุงเทพก็รับปริมาณขยะที่เขาประเมินกันวามีถึง 3-4 ลานตัน เทานี้ยังไมพอ เพราะน้ํานี้มาจากตอนเหนือ กวาจะมาถึงเราก็กลาย เปนน้ําเนาอีกดวย มันเปนกระบวนการหรือวิธีการเรียนรูที่เราตองใช ประสบการณใชองคความรูไปทําความเขาใจ เรองสิ่งแวดลอมเปนเรองที่คนเขาใจนอย เขาใจยาก แมแตสวน ราชการเองเมอพูดถึงประเด็นเรองสิ่งแวดลอมเขาก็จะพวกวานี่เปนตัวขัด ความความเจริญของประเทศ แตงานสิ่งแวดลอมเปนงานที่ หนึ่งตอง ยอมรับขอเท็จจริง สองตองเนนการปองกันเปนหลัก การแกไขปญหาเปน เรองที่ทําไดยากแลวก็ตองใชเงินลงทุนสูง

ไปแกปญหา ทําใหเกิดความชํานาญ เขาก็จะรูวาถามีอะไรเกิดขึ้นมาเขาควร จะจัดการอยางไร ตรงนี้คือการสรางจิตสํานึก ซึ่งมันเปนกระบวนการที่ ตองใชเวลา

บทบาทภาคเอกชนที่มีสวนรวม

ต อ งบอกว า มี ม ากมาย ช ว งที่ ผ า นมาผมได มี โ อกาสคุ ย กั บ ทาง เซเวนอีเลฟเวน เขาไดทํากิจกรรมลดโลกรอนดวยการลดใชถุงพลาสติก เขาบอกวาเขาไปรณรงค 45 วัน ในไมกี่สาขา เขาสามารถลดถุงพลาสติก ไดไป 2 ลานชิ้น ตอนนี้เขากําลังจะขยายจาก 45 วันเปน 90 วัน จาก 100 สาขาเปน 500 สาขา และการรณรงคเรองการใชถุงผาเปนถุงพลาสติก เทาที่ผมฟงมาเขามีความจริงจังในการรณรงคมากนะ อยางเซเวนฯ แค เริ่มรณรงค แคทําปายอยางเดียวเขาตองจายถึง 1 ลานบาท แลวพวกนี้ อะไรก็แลวแตที่เขาทํามันเปนเหมือน CSR เปนการสรางเครดิตใหกับธุรกิจ ของเขาเอง

ทิ้งทายถึงคนไทยเรองสิ่งแวดลอม

หลายคนมองวาเรองสิ่งแวดลอมมันเปนอุปสรรคทําใหตนทุนคาใช จายของเขามากขึ้น เสียเวลา แตเขาไมไดมองวาการดูแลเรองสิ่งแวดลอม นั้นสามารถทําใหเขาควบคุมได ตรงนี้ตางหากคือความรูความเขาใจ การ ตระหนัก ความรูขั้นพื้นฐาน จริงๆ การสรางองคความรูมันเกิดจากสิ่งที่ผมบอกก็คือ ขอมูล สมมติวาคนมีทัศนคติในเชิงลบ พอคุณไดขอมูลขาวสารมาซึ่งมันมีทั้งบวก และลบ เขาใชไมเปน คิดไมเปน วิเคราะหไมเปน สิ่งที่เขาสนใจก็คือแนวโนม ซึ่งเปนเชิงลบมากกวาเชิงบวก ขาวรายลงฟรีขาวดีเสียเงิน นั่นก็คือถาเขา ขาดกระบวนการนําความรูมาใชในเชิงปฏิบัติ ถาเขาเรียนรูไปเรอยๆ มันก็ จะเกิดเปนองคความรู เปนประสบการณในสิ่งที่เขาทําตอเนองไป พอมันมี เรองใหมๆ เขามาเขาก็สามารถทีจ่ ะปรับตัวเองได แกไขปญหาในเรองตางๆ นั้นได และก็กลายเปนจิตสํานึกที่คอยย้ําเตือนวา ตรงนี้อยาไปทํานะมันจะ เกิดผลเสีย ตรงนี้ถาจะทําตองใหความรูเรียนรูกันกอน

ภาคประชาชนเขาใจองคความรูที่ถายทอดไปมากนอย เพียงใด

จากการประเมินผลเปนจุดๆ ตามกิจกรรม ก็ ไดรับผลตอบรับคอน ขางดีในเรองความเขาใจ ทีนีจ้ ะเขาใจมากเขาใจนอยแคไหนก็อยางทีผ่ มบอก คือความตอเนอง เพราะฉะนั้นตองทําอยางตอเนอง ทําแบบใหเขาคิดเอง ทําเปน คิดเปน เมอเราสอนกระบวนการแลวไมวาเขาจะไปเจอประเด็นอน เขาก็สามารถใชกระบวนการนี้ ไปหาขอมูล ไปวิเคราะห ไปคิด ไปทดลองทํา

40 l March 2012

Energy#40_p38-40_Pro3.indd 40

2/24/12 10:22 PM


Energy Keyman โดย : ลภศ ทัศประเทือง

“ตั้ ง คพข. เป น หนวยพิทกั ษปญ  หา ไฟฟาทุกบาน”

ประเทศ ศรีชมภู ผูอ าํ นวยการฝายคุม ครอง สิทธิประโยชน กกพ. March 2012 l 41

Energy#40_p41-43_Pro3.indd 41

2/25/12 8:12 PM


การทํางานที่ผานมาแลว 1 ป 6 เดือน ของหนวยงานที่เรียกตัวเอง วา คพข. หรือชอเต็ม คณะกรรมการผูใชพลังงานประจําเขต เปนหนวยงาน ยอยของ คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ที่มีบทบาท หลักในการกํากับดูแลกิจการพลังงานดานกิจการไฟฟา และกาซธรรมชาติ เพอสงเสริมใหมีบริการอยางมั่นคง และมีเสถียรภาพในราคาที่เหมาะสม กับการจัดตั้งหนวยงานบริการประชาชนในครั้งนี้ หากหลายคนอาจจะยัง ไมคุนหูนัก ฉบับนี้เราจะพาไปพูดคุยกับ ผอ.ฝายคุมครองสิทธิประโยชน คุณประเทศ ศรีชมภู ถึงภารกิจที่ คพข.รับผิดชอบดูแลอยู และฟดแบก จากการทํางานไปแลวปครึ่งเปนอยางไรกันบาง

ES : คพข.คือใคร และมีวัตถุประสงคอยางไรใน การจัดตั้งครับ ผอ.ประเทศ : คพข.หรือ คณะกรรมการผู ใชพลังงาน

ประจําเขต นั้นเกิดขึ้นตาม ม. 98 แหง พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ที่กําหนดใหคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) แตงตั้ง คพข. ประกอบดวยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอีกไม เกินสิบคนซึ่งเปนผูแทนของผูใชพลังงานในแตละเขต เพอทําหนาที่ตาม ม. 99 อาทิ ดําเนินการเกี่ยวกับเรองรองเรียนของผูใชพลังงาน และให คําแนะนําแกผูใชพลังงานตามที่ กกพ. กําหนด ใหคําปรึกษาแก กกพ. ในดานการคุมครองผูใชพลังงาน เสนอมาตรการแกไขและปรับปรุงการให บริการพลังงาน เปนตน

ES : ขั้นตอนการทํางานเปนอยางไร ผอ.ประเทศ : คพข. มี 13 เขตทั่วประเทศ เขตละ 11 ทาน

รวม 143 คน ไดเริ่มปฏิบัติงานตั้งแตวันที่ 1 สิงหาคม 2553 ที่ผานมา โดยบุคคลากรที่เขามาทํางานมาจากกระบวนการสรรหาและแตงตั้งจาก กกพ. ซึ่งภารกิจหลักจริง ๆ ก็คือเขามาเปนกลไกในการคุมครองผูใชไฟฟา ดวยการพิจารณาเรองรองเรียนจากผูใชไฟฟาเกีย่ วกับปญหาไฟตก ไฟดับ การเรียกเก็บคาบริ การที่อาจไมถูกตองจากการจดหนวยไฟฟา ฯลฯ โดยตามระเบียบเรองรองเรียนจะพิจารณาใหเสร็จใน 60 วัน และหากผูใช พลังงานไมเห็นดวยกับคําวินิจฉัยของ คพข.ก็สามารถอุทธรณคําวินิจฉัย ดังกลาวตอ กกพ.ได ทั้ง คพข. ก็สามารถเสนอแนะใหคําปรึกษาแก กกพ. ในเรื่องการคุ้มครองผู้ ใช้พลังงานด้วย ซึ่งการแต่งตั้ง คพข.ขึ้นมานี้ จะเป น กลไกสํ า คั ญ ที่ จ ะช ว ยเป น หู เ ป น ตาในการคุ ม ครองผู ใ ช พ ลั ง งาน รวมกับ กกพ.ใหทั่วถึงและครอบคลุมไปในทุกพื้นที่ของประเทศ

ES : ที่ผานมาเสียงตอบรับเปนอยางไรบาง และ เรองไหนที่มีคนรองเรียนมากที่สุด ผอ.ประเทศ : ระยะเวลาปครึง่ ทีเ่ ราเริม่ ดําเนินการตัง้ สํานักงาน

ในแตละพื้นที่ ก็ถือวาเสียงตอบรับดี เพราะเราเปรียบเสมือนตัวกลางของ ชาวบานที่จะบอกเรองราวเดือดรอนไปยังภาครัฐ ซึ่งตัวกรรมการที่เรา เลือกมาก็เปดกวาง ใหเปนคนในพืน้ ทีเ่ พอจะไดคยุ กันรูเ รอง และผูร อ งเรียนก็ จะไดวางใจวามีคนกลางที่ ไมไดเปนคนของหนวยงานเองมาทําหนาที่ตรงนี้ จะทําใหมกี ารคุยกันมากขึน้ สวนขอทีร่ อ งเรียนเยอะมากทีส่ ดุ เห็นจะเปนเรอง ของไฟตก ไฟดับ แตมันก็มีหลายปจจัย ไมอยากใหมองวาเปนเรองความ มั่นคงของไฟฟาอยางเดียว อาจเกิดไดหลายสาเหตุหลายปจจัยไมวาจะเปน ระบบสายสงถูกทําลาย จากสัตว กิ่งไม ทําใหระบบช็อตหรือไม ตรงนี้เรา ก็จะทํางานประสานกับทาง การไฟฟาฯ แตละเขตใหเขาไปแกปญหาดวย คือ ตองมองปญหาแตละพื้นที่เปนสําคัญดวย

42 l March 2012

Energy#40_p41-43_Pro3.indd 42

2/24/12 3:58 PM


ES : ทําไมจึงคิดตั้งหนวยงานนี้ขึ้นมา ประโยชน ที่ผูบริโภคจะไดรับ? ผอ.ประเทศ : แนนอนวาประโยชนที่ผูบริโภคจะไดรองเรียนถึง

ปญหา คือการสงตอปญหาพรอมการแกปญหาจะรวดเร็วขึ้น เพราะเรา ตั้งหนวยงานที่จะมาดูเรองนี้ โดยเฉพาะ ทั้งอยางที่บอกดวยวาเปนคนพื้นที่ ก็จะสามารถสอสารกันเขาใจไดงาย เจรจากันตามวิถีของแตละเขต เมอสง เรองมาเราก็จะรวบรวมปญหานั้นแลวทําเสนอกกพ.ใหมีการจัดการ และมี คําตอบใหเขา หรืออยางบางเรองที่เราสามารถประสานตอและแกไขก็ จัดการไดเลย ยอนไปวาทําไมจึงตั้งหนวยงานนี้ขึ้นมา เพราะ กกพ. มุงเนน การสรางการมีสวนรวมกับภาคสวนตางๆ ของสังคม เพอคุมครองสิทธิ ประโยชนของประชาชนผูใชพลังงาน และผูไ ดรบั ผลกระทบจากการประกอบ กิจการพลังงาน จึงไดเดินหนาสรางกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ผูใชพลังงาน โดยสรางกลไกการมีสวนรวมผาน 2 เรองหลัก คือ การจัด ตั้งกองทุนพัฒนาไฟฟา และการสรรหาคณะกรรมการผูใชพลังงานประจํา เขต (คพข.) ใหเขามาเปนตัวแทนของผูใชพลังงานจากทุกภาคสวน เพอ ปฏิบัติหนาที่รวมกับ กกพ.ในการดําเนินงานดานการคุมครองสิทธิของ ประชาชนผูใชพลังงานในประเด็นตางๆ รวมกัน

ES : มีการกําหนดยุทธศาสตรของ คพข.ไว อยางไรบางครับ? ผอ.ประเทศ : มีการกําหนดแผนยุทธศาสตรการดําเนินงาน

ของ คพข.ในป 2555-2557 ไว ซึง่ คพข. และสํานักงาน กกพ.ไดรว มกันคิด และกําหนดเปนยุทธศาสตรการดําเนินงานของ คพข.ออกเปน 5 ดาน

เพอเปนกลไกในการคุมครองผูใชพลังงาน 1. สงเสริมใหมีการสราง เครือขายเพอการคุมครองผูใชพลังงาน 2. การพัฒนาศักยภาพ คพข. เพอสงตอความรูไปยังประชาชน 3. การประชาสัมพันธ คพข. และกลไก การคุมครองผู ใชพลังงานใหเปนที่รูจักของประชาชน 4. การจัดการ ขอรองเรียนเชิงรุก เพอลดขอรองเรียน และ 5. การสงเสริมความรูดาน พลังงานชุมชน โดยภายใตยุทธศาสตรดังกลาวนี้ สํานักงาน กกพ. ไดรวม กับ คพข.จัดเวทีนํารองเรองความรูควบคูสิทธิประโยชนไปแลว 13 เวที ทั่วประเทศ และจะไดจัดใหมีเวทีใหความรูดานตางๆ ตอไปตามยุทธศาสตร ที่กําหนดขึ้น

ES : ทาง กกพ.มีการสงเสริมสนับสนุน คพข. ในเรองใดบางหรือไมอยางไร? ผอ.ประเทศ : ในสวนของสํานักงาน กกพ.ก็ไดสนับสนุนงาน

ของ คพข.ทั้งการทํางานเชิงรุก และการทํางานในเชิงรับ โดยสนับสนุน และ จัดอบรมอยางตอเนองเพอพัฒนาศักยภาพของ คพข. ในการสรางความรู ความเขาใจดานพลังงาน ทั้งความรูเรองมาตรฐานการใหบริการของการ ไฟฟา บทบาทการเปนผูเจรจาไกลเกลี่ย และบทบาทการคุมครองผู ใช พลังงาน ตาม พ.ร.บ.ประกอบกิจการพลังงาน รวมทั้งเปดโอกาสใหมีการ ระดมความคิดเห็นจาก คพข.ในแตละเขต เพอกําหนดยุทธศาสตรการดําเนินงาน รวมกัน เพอนําไปสูการคุมครองผูใชพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ES : สิ่งที่อยากฝากเกี่ยวกับ คพข. ผอ.ประเทศ : ถือวาเปนหนวยงานที่มีความสําคัญใกลชิด

จากการทํางานมากวาปครึ่ง เราบอกไดเลยวาคน ใหความสนใจและชอบที่จะมีหนวยงานอยางนี้เพอ ที่ เ ขาจะได ต รวจสอบการทํ า งาน ร อ งเรี ย น ขอบกพรองไดเต็มที่ แตก็ยังมีคนอีกมากที่อาจจะ ยังไมรูจ กั คพข. คงตองฝากใหชว ยประชาสัมพันธ หน่ ว ยงานให้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ในวงกว้ า งต่ อ ไปเพื่ อ ประโยชนมวลรวมของผูบริโภคทุกทานครับ อนึ่ ง ผลการดํ า เนิ น งานของ คพข. ทั้ง 13 เขต ในชวง 1 ป 6 เดือนที่ผานมานั้น คพข.ได้รั บ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย นจากประชาชนใน พื้นที่ทั้งสิ้น 154 เรอง ดําเนินการแลวเสร็จ 101 เรองและอยูระหวางการดําเนินการอีก 53 เรอง

March 2012 l 43

Energy#40_p41-43_Pro3.indd 43

2/24/12 3:58 PM


Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร

การออกแบบศูนยฝกอบรม

โครงสรางดินในเมืองมาลาคีช แนวทางการออกแบบของแตละพื้นที่ แตละทวีปอาจจะแตกตางกัน ออกไปตามลักษณะภูมปิ ระเทศ แตในปจจุบนั สถาปตยกรรมทีเ่ ปนเอกลักษณ ของแตละทองถิ่นนั้นสามารถนํามาประยุกตใชรวมกันไดเปนอยางดี โดย เฉพาะการออกแบบที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอมหรือการอนุรักษพลังงานนั้นมี หลักการออกแบบที่ ไมแตกตางกันมากหนัก สําหรับประเทศโมร็อกโกนั้นเปนอีกประเทศหนึ่งที่มีเอกลักษณโดด เดนดานสถาปตยกรรมไมเหมือนใครซึ่งงานออกแบบไดผสมผสานของ วัฒนธรรมไดอยางลงตัว และการออกแบบศูนยฝกอบรมในเมืองมาลาคีช ซึ่งเปนพื้นที่ชานเมืองของเมืองชวิตเตอร ประเทศ โมร็อคโก นั้นเปนงาน สถาป ต ยกรรมหนึ่ ง ที่ โ ดดเด น ในเชิ ง สั ญ ญาลั ก ษณ แ ละการประหยั ด พลังงานทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมภายใตแนวคิดการออกแบบนัน้ ไดมุง เนน ไปยังการใชทรัพยากรใกลตัวหรือทรัพยากรธรรมชาติทองถิ่น ผสมผสานเทคโนโลยีสมัยใหม รวมถึงการใชแรงงาน ของทองถิ่นดวยเพอเปนการลดระยะทางการ ขนส ง ที่ สิ้ น เปลื อ งเชื้ อ เพลิ ง ในการ ขนสงซึ่งเปนองคประกอบ ส ว น ห นึ่ ง ข อ ง

การกอสราง นอกจากนี้การออกแบบยังตองคํานึงถึงทิศทางลม ทิศทางแดด เพอใหอากาศตามธรรมชาติถายเทไดสะดวก พรอมกันนี้ยังไดออกแบบ ใหมีการติดตั้งเทคโนโลยีอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมที่ทัน สมั ย เพื่ อ ให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งานได อ ย า งมี ประสิทธิผลไมวา จะเปน การติดตัง้ ปม ความ รอน การออกแบบสําหรับติดตั้ง แผงโซลารเซลล ซึ่งให ศูนยฝก อบรม

44 l March 2012

Energy#40_p44-45_Pro3.indd 44

2/22/12 12:00 AM


ในเมืองมาลาคีช ใชพลังงานลดนอยลง โดยการออกแบบนั้นใชหลักตามรูปแบบดั้งเดิมของชาวโมร็อคโก สามารถกระจายความสวยงามทั้งภายในและภายนอกไดอยางสมดุล ซึ่ง จะทําใหฝงลึกลงไปอยูภายในสิ่งแวดลอมรอบเมือง และชวยใหเกิดผล ประโยชนตอชุมชน และในการสรางศูนยการเรียนแหงนี้จะชวยใหเยาวชนของโมร็อคโก มีโอกาสไดเรียนรูดานการออกแบบ และศึกษา พัฒนาความสามารถในการ ประกอบอาชีพตางๆ ปจจุบัน ศูนยการเรียนการสอนประจําเมืองชวิตเตอร ไดสรางโอกาสการจางงานดวยการฝกที่มีประสิทธิภาพในสถานที่ที่เอื้อ อํานวย ทั้งนี้ ในการกอสรางและปฏิบัติงานกระแสไฟฟาทั้งหมดจะถูกสราง ขึน้ โดยแผงรับพลังงานแสงอาทิตยขนาด 333 ตารางเมตร รวมทัง้ ใชลมในการเปลีย่ นถายความรอน สงอากาศเย็น ไปสูสนามหญาและทางเดิน

อย า งไร ก็ ต า ม ก า ร ออกแบบกอสราง นั้นเปนการผสมผสาน กั น ระหว า งแนวคิ ด ด า น ศึกษาศาสตร ภูมิปญญาทองถิ่น ที่เนนการกอสรางดวยดินและไม งาน เซรามิกทองถิ่น และการทําสวนที่เปนสวน หนึ่งของการกอสรางที่ซับซอนนั้นแสดงใหเห็น

ถึงแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูของทองถิ่นนั้นๆ และยังแสดงใหเห็น ถึ ง ความแข็ ง แรงของโครงการที่ แตกต า งจากโครงสร า งอาคารอื่ น ๆ ที่สรางดวยดิน ซึ่งหลักการสําคัญ สําหรับแนวคิดและการปฏิบัติของ โครงการนี้มีประสิทธิภาพเพียงพอที่ จะถูกใชเปนตนแบบสําหรับประเทศ โมร็อคโก และพื้นที่ตางๆ ทั่วโลก

March 2012 l 45

Energy#40_p44-45_Pro3.indd 45

2/20/12 10:51 PM


Residential โดย : สรรชณิฏฐ

เดอะสปาเกาะชางรีสอรท... รีสอรทพึ่งพาธรรมชาติ

ยอนไปเมื่อประมาณ 3 เดือนทีผ่ า นไดเลาถึงรีสอรทอนุรกั ษพลังงาน บนเกาะชางซึ่งชวงนั้นเปนชวงปลายฝน การไปเยือนเกาะชางในฤดูฝนนั้น มีเสนหอีกแบบหนึ่งคงไมตองสาธยายกันมากนะครับวาบรรยากาศชวงนั้น เปนอยางไร มาถึงตอนนี้เวลาลวงเลยผานไปเร็วมากนี่ก็กาวเขาสูชวงฤดู รอนแลว หลังจากผานกลิ่นไอหนาวไปเพียงไมกี่เดือน เมื่อกาวเขาสูฤดูกาลทองเที่ยวของหนารอนเลยตั้งใจจะชักชวนทาน ผูอานหลบหนีความวุนวายมาพักรอนที่รีสอรทอนุรักษพลังงานแนว Eco บนเกาะชางกันอีกครั้งที่ เดอะสปา เกาะชาง รีสอรท (The Spa Koh Chang Resort) ภายใตบรรยากาศอันรอนชื้นแตรมรื่นไปดวยตนไมใหญ เขียวขจีที่รอบลอมรีสอรทแหงนี้ เดอะสปา เกาะชาง รีสอรท ตั้งอยูทางทิศตะวันออกของเกาะชาง บนทําเลเชิงเขาที่หันหนาลงสูอาวสลักคอกซึ่งเปนบริเวณที่เงียบสงบ ทามกลางธรรมชาติอันรมรื่นเพราะอยูหางจาก หาดไกเบ หาดคลอง พราว หากทรายขาว (ที่มีรีสอรทอยูมากมาย) ประมาณ 30 กม. ซึ่ ง เรี ย กได ว า ผู ม าพั ก ผ อ นจะได ห ลี ก หนี ค วามวุ น วายกั น จริ ง ๆ ครั บ

และนอกจากอยูหางไกลรีสอรทอื่นๆ แลวสถานที่ตั้งของรีสอรทยังอุดม สมบูรณดวยปาโกงกางที่ ใหความบริสุทธิ์แกผูมาพักผอนไดเปนอยางดี ซึ่ ง เป น ทางเลื อ กหนึ่ ง ที่ มี ม นต เ สน ห ข องผู ที่ ต อ งการมาผ อ นคลาย และตองการดูแลสุขภาพ ซึ่งการดูแลสุขภาพนั้นเปนจุดเดนของ เดอะสปา

46 l March 2012

Energy#40_p46-47_Pro3.indd 46

2/17/12 12:46 AM


น้าํ และ น้าํ ตาล ผานกระบวนการหมักเปนเวลา 3 เดือน เพื่อผลิตผงซักฟอก ชีวภาพเอนกประสงคใชในการทําความสะอาดในการซักผาปูที่นอน และ ผาเช็ดตัว ซึ่งชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดเปนอยางดีทีเดียวครับ หนึ่งในนโยบายการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่อชวยลดผล กระทบตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศนั้นทางรีสอรทไดรณรงค ใหแขกผูมาพักลดการใชพลังงานไฟฟาภายในหองและสถานที่ตางๆ เชน การใชพดั ลมไฟฟาแทนเครื่องปรับอากาศเมื่อไมมคี วามจําเปนตองใช และจะ มีการขอใหแขกปดเครื่องใชไฟฟาทุกชนิด ปดกอกน้ําทุกจุดเมื่อไมไดใช รวม ทั้งดึงคียการดออกทุกครั้งเมื่อออกจากหอง ทัง้ นีล้ า สุดไดมกี ารพัฒนาระบบไบโอแกสจากเศษพืช เศษอาหารสําหรับ ใชเปนกาซชีวภาพในการประกอบอาหารภายในรานอาหารของรีสอรท และ เกาะชาง รีสอรท เลยทีเดียว อยางไรก็ตามนอกจากเปนรีสอรทที่เนนดานสุขภาพแลว รีสอรท แหงนี้ยังโดดเดนในเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยที่นี่ ไดนํา ไมเกามารีไซเคิลใชในการกอสรางตกแตงรีสอรทซึ่งสามารถทดแทนการ ตัดตนไมกวา 1,000 ตน และในการออกแบบกอสรางรีสอรทยังคงรักษา ตนไมทองถิ่นเอาไวเชนเดิมซึ่งชวยเพิ่มปริมาณการดูดซับกาซคารบอนได เปนอยางดี นอกจากการออกแบบกอสรางแลวทีร่ สี อรทแหงนีย้ งั ไดใหพนักงาน คัดแยกขยะเพื่อนําไปรีไซเคิล เชน กระดาษเพื่อใชงานอีกครั้ง สวนขวด พลาสติก กระปองอลูมีเนียม ขวดแกวจะถูกนําไปขายใหแกรานรับซื้อของ เก า ที่ อ ยู บ นฝ ง จั ง หวั ด ตราด เพื่อลดหนาที่ของ หนวยงานทองถิ่นในการ

กําจัดขยะ การบําบัดน้ําที่ผานการ ใช แ ล ว เพื่ อ นํ า มารดนํ า ต น ไม โดยที่ ไ ม มี ก า ร สู บ น้ํ า จ า ก แ ห ล ง น้ํ า ธรรมชาติ และไมปลอยของเสียลง สู นํ า เพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ มที่ สดใส พรอมกันนี้ยังไดนําใบไมและ กิ่ ง ไม ไ ปแปรสภาพเป น ปุ ย ชี ว ภาพ แล ว นํ า ไปใช เ ป น ปุ ย ลดน้ํ า ต น ไม รวมถึงการผลิตสารเอนไซมจาก สัปปะรด และมะนาว แลวผสมกับ

ภายใตแนวคิด คืนสุขภาพทีด่ ีใหกบั รางกายและจิตใจ เดอะสปา เกาะชาง รีสอรท ยังไดปลูกผักปลอดสารพิษใชในรานอาหารของรีสอรทเพื่อไว ประกอบอาหารเปนเมนูเพื่อสุขภาพแกผมู าพักอีกดวยครับ นอกจากนี้แลว เดอะสปา เกาะชาง รีสอรท ไดจัดเตรียมสิ่ง อํานวยความสะดวกและกิจกรรมตางๆ สําหรับแขกผูมาพักเพื่อจะได เพลิดเพลินกับสิ่งอํานวยความสะดวกที่รีสอรทไดจัดเตรียมไวใหไมวา จะเปน โปรแกรมการอดอาหาร เพื่ อ ล า งพิ ษ การนวดบํ า บั ด หลากประเภท สปาเพื่อความ งามในรูปแบบตางๆ การผอน คลายกับหองอบไอน้ําสมุนไพร สดๆ หลากหลายชนิด การเรียน โยคะ ฝ ก สมาธิ แ ละการฝ ก หายใจในตอนเชา รวมถึงขี่ชางลุยปาที่คลองสนบนเกาะชาง พายเรือคายัค ชมระบบนิเวศน กิจกรรมดูนก ปนจักรยานชมพื้นที่การเกษตร ทองเที่ยว เชิงวัฒนธรรมหมูบานชาวประมง แทนการใชยานพาหนะที่ ใชน้ํามันเพื่อ เปนการอนุรกั ษสิง่ แวดลอมและชวยในการดูแลรักษาธรรมชาติอนั สวยงาม ของเกาะชาง March 2012 l 47

Energy#40_p46-47_Pro3.indd 47

2/17/12 12:47 AM


Energy Management

แนวทางการอนุรักษ์พลังงาน ในระบบแสงสวาง http://home-appliance.sawasdmarket.com/

โดยหลอดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงคือหลอดทีก่ นิ ไฟนอยแตใหความสวางมาก นั่นคือคาประสิทธิภาพทางแสงสวางยิ่งมีคามากยิ่งดี

“แสงสวาง” มีความสําคัญกับมนุษยเรามากเพราะถาไมมีแสงสวาง มนุษยเราก็จะไมสามารถมองเห็นสิ่งตางๆ บนโลกนี้ นอกจากนี้แสงสวาง ยังสงผลตออารมณและความรูสึกของมนุษยอีกดวย ดังนั้นการออกแบบ ระบบแสงสวางที่ดีนั้นนอกจากจะสงผลตอมนุษยเราใหสบายตา สบายใจ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ มองเห็นสิ่งตางๆ ไดถูกตองแมนยํา ชวย ลดอุบตั เิ หตุแลว การเลือกชนิดหลอดไฟ อุปกรณประกอบใหตรงกับประเภท และลักษณะการใชงานที่เหมาะสม รวมไปถึงการดูแลรักษาทําความสะอาด หลอดไฟระบบแสงสวางอยางสมํ่าเสมอก็จะชวยใหเราประหยัดพลังงาน ลดคาใชจายไดอีกดวย แลวเราจะทําอยางไรละใหระบบแสงสวางของเรามี ประสิทธิภาพดีและชวยลดคาใชจาย ?

แนวทางการทําใหระบบแสงสวางมีประสิทธิภาพและลด คาใชจาย ใชงาน

- เลือกใชอุปกรณไฟฟาแสงสวางอยางเหมาะสมตามลักษณะการ

อายุการใชงานของหลอดไฟ

หลอดไฟทีม่ รี าคาถูกมักจะมีอายุการใชงานสัน้ ทําใหตอ งมีการเปลีย่ น หลอดอยูบอยๆ ทําใหเสียคาใชจายสูงกวาหลอดที่มีราคาแพงแตอายุการ ใชงานนานกวา เชน หลอดไสราคาถูกกวาหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต แตอายุการใชงานสั้นกวา อุณภูมิสีของแสง (Color Temperature) จากหลอดตองเหมาะสม กับลักษณะงาน อุณภูมสิ ขี องแสง เปนตัวทีบ่ อกวาแสงที่ไดมคี วามขาวมากนอยแคไหน ถ า มี อุ ณ ภู มิ ตํ า แสงที่ ไ ด อ อกมาจะเป น โทนสี เ หลื อ งหรื อ แดงจะให ค วาม รูสึกโทนสีอุน เชน Warm White เหมาะกับบานที่อยูอาศัย โรงแรม หางสรรพสินคา ถาอุณภูมสิ งู ขึน้ แสงก็จะยิง่ ขาวขึน้ จะใหความรูส กึ โทนสีเย็น เชน White หรือ Daylight เหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร ออฟฟศ

- ออกแบบระบบแสงสวางใหเหมาะสม - การบํารุงรักษาอุปกรณไฟฟาแสงสวางใหสมํ่าเสมอ การเลือกใชอุปกรณแสงสวางใหเหมาะสมกับการใชงาน มีหลักการ เลื อ กชนิ ด หลอดในการใช ง าน พิ จ ารณาประสิ ท ธิ ภ าพทางแสงสว า ง (Lighting Efficiency)

ลูเมน คือ ปริมาณแสง(Luminous Flux)ที่ปลอยออกมาจากหลอด แสงสวาง วัตต คือ พลังงานไฟฟาที่ ใชในการกําเนิดแสง 48 l March 2012

Energy#40_p48-50_Pro3.indd 48

2/28/12 3:48 PM


หลอดไส (Incandescent Lamp)

เปนหลอดแสงสวางราคาถูก สีของแสงดี ติดตั้งงายใหแสงสวาง ทั นที เมื่ อ เป ด สามารถติ ด อุ ป กรณ เพื่ อ ปรั บ หรื อ หรี่ แ สงได ง า ย แต มี ประสิทธิภาพแสงตํ่ามาก อายุการใชงานสั้น ไฟฟาที่ปอนใหหลอดจะถูก เปลี่ยนเปนความรอนกวารอยละ 90 จึงไมประหยัดพลังงานแตเหมาะสม กับการใชงานประเภททีต่ อ งการหรีแ่ สง เชน หองจัดเลีย้ งตามโรงแรม สวน หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนตไมสามารถหรี่แสงได

พื้นที่หนาตัดของหลอดฟลูออเรสเซนตแบบ T12, T8 และ T5 ตารางแสดงคุณสมบัตขิ องหลอดฟลูออเรสเซนตแบบ T12, T8 และ T5 ขอแตกตางระหวางหลอดฟลูออเรสเซนต T5 กับ LTD (T8) หลอดมี ขนาดเล็กและสัน้ ลง มีการกระจายแสงทีแ่ มนยําขึน้ ขนาดของโคมไฟมีขนาด เล็กลงและสามารถใชไดกับฝาทุกแบบกินไฟนอยกวา

หลอดฟลูออเรสเซนต (Fluorescent Lamp : T8 หรือ LTD)

เปนหลอดที่มีประสิทธิภาพทางแสงสูงกวาหลอดไสมาตรฐานทั่วไป ประมาณ 3 ถึง 5 เทา(โดยเฉลี่ยอยูประมาณ 55-90 ลูเมน/วัตต) และอายุ การใชงานมากกวาประมาณ 20 – 30 เทา หลอดฟลูออเรสเซนตแทงยาว ที่ ใชแพรหลายมีขนาด 36 วัตต แตยังมีหลอดแสงสวางประสิทธิภาพสูง (หลอดซุปเปอรลกั ซ) ซึง่ มีราคาตอหลอดแพงกวาหลอดแสงสวาง 36 วัตต ธรรมดา แตใหปริมาณแสงมากกวารอยละ 20 ในขนาดการใชกําลังไฟฟา ที่เทากัน

หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนตหรือหลอดตะเกียบ

หลอดฟลูออเรสเซนตประสิทธิภาพสูง (T5)

มีแบบ 4 แทงเกลียว แบบขั้วเสียบหรือแบบตัวยู 3 ขด บางชนิดมี บัลลาสตในตัวบางชนิดไมมแี ตโดยทัว่ ไปแลวจะประหยัดไฟไดประมาณ 80 % เมื่อเทียบกับหลอดไสมาตรฐานและมีอายุการใชงานที่นานกวา

เป น หลอดฟลู อ อเรสเซนต แ บบใหม ที่ มี เ ส น ผ า นศู น ย ก ลาง 16 มิลลิเมตร มีขนาดกําลังไฟฟาเทากับ 28 วัตตตอ หลอดซึง่ ประหยัดไฟมากขึน้ แตตองใชงานกับบัลลาสตอิเลกทรอนิกสเทานั้น ประสิทธิภาพทางแสง สวางสูงสุดที่ 104 ลูเมนตอวัตต

March 2012 l 49

Energy#40_p48-50_Pro3.indd 49

2/28/12 3:49 PM


หลอดแสงจั น ทร (High-pressure Mercury Vapour Lamp)

เปนหลอดที่มีประสิทธิภาพทางแสงตํ่ากวาหลอดฟลูออเรสเซนต เล็กนอย (ประมาณ 30-60 ลูเมน/วัตต) แตถือวาตํ่าสุดในตระกูลหลอด HID และเมื่อใชงานไปนานๆ คุณภาพแสงลดลงมาก แสงที่ ใหออกมาจะมี แสงยู วี อ อกมาด ว ยดั ง นั้ น จึ ง มี ก ารเคลื อ บด ว ยสารฟอสเฟอร ภ ายใน ผนั ง ด ว ย หลอดมี ร าคาตํ่ า สุ ด ในกลุ ม HID อายุ ก ารใช ง านนานกว า หลอดฟลูออเรสเซนตเหมาะสมกับไฟถนน ไฟตามสวนสาธารณะ

หลอดเมทัลฮาไลด (Metal Halide Lamps)

เปนหลอดทีพ่ ฒ ั นามาจากหลอดแสงจันทรเชนกัน ประสิทธิภาพทาง แสงสูง (ประมาณ 60-130 ลูเมน/วัตต) คุณภาพของแสงดีใหความเสมือนจริง ของวั ต ถุ ใ ห ฟ ลั ก ซ ข องการส อ งสว า งสู ง ค อ นข า งคงที่ ต ลอดอายุ ก าร ใชงาน แตเมื่อเปดใชงานตองใชเวลาในการอุนหลอดในชวงแรกนาน อายุ การใช้ ง านนานแต่ มี ร าคาแพงมากเมื่ อ เที ย บกั บ หลอดในกลุ่ ม เดี ย วกั น เหมาะสําหรับใชสองสินคาในหางสรรพสินคา

หลอดโซเดียมความดันตํา่ (Low-pressure Sodium Vapour Lamp)

เปนหลอดที่มีประสิทธิภาพทางแสงสวางสูงสุดแตใหคุณภาพของ แสงเพี้ยนมาก เหมาะกับไฟถนน ไฟรักษาความปลอดภัย พื้นที่หมดเสียกอน ฉบับหนาเราจะไปดูกันถึงวิธีการเลือกบัลลาสต และโคมประหยัด พรอมทั้งวิธีออกแบบแสงสวางและวิธีดูแลรักษาอยางไร ใหประหยัดไดผลจริง ติดตามไดฉบับหนาครับ..

หลอดโซเดี ย มความดั น สู ง (High-pressure Sodium Vapour Lamps)

เปนหลอดที่พัฒนามาจากหลอดแสงจันทรโดยประสิทธิทางแสง มากกวาหลอดแสงจันทรเล็กนอยแตก็ ไมสูงนัก(ประมาณ 70-130 ลูเมน/ วัตต) ใหฟลักซของการสองสวางสูงในบรรดาหลอดทั้งหลายเมื่อเทียบที่ วัตตเทากัน มีอายุการใชงานยาวนาน(โดยเฉลี่ยประมาณ 24,000 ชั่วโมง) มักใชกับไฟถนน ไฟสองสวางบริเวณที่เปลี่ยนหลอดยาก พื้นที่นอกอาคาร

อางอิงขอมูล :

1. เอกสารประกอบการฝกอบรมการจัดการพลังงานไฟฟา กองฝกอบรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2. เว็บไซต www.dede-energyfund.com/ ศูนยอํานวยการ โครงการเงิ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน กรมพั ฒ นา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 3. สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

50 l March 2012

Energy#40_p48-50_Pro3.indd 50

2/28/12 3:50 PM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ใกลเขาสูห นารอนของประเทศไทยมากขึน้ ทุกทีแลว ทานผูอ า นเตรียมตัวรับกับความรอนระอุของ อากาศเมืองไทยกันบางหรือยัง อยาลืมวิธีงายๆอยางการเลือกใชเครองใชไฟฟาที่มีฉลากประหยัด ไฟเบอร 5 การปรับอุณหภูมใิ หเหมาะสม รวมถึงการปรับอารมณตวั เองใหไมรอ นตามอากาศ สุดทาย ก็เลือกใชสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมกันคนละไมคนละมือ เพอชวยกันลดอุณหภูมิใหโลกเรา

“รอคเค็ ท ”

โชว ส องนวั ต กรรมล้ํ า ยุ ค “แบตเตอรีก่ ระดาษ” และ “ลิเทียมแบบ

แปรรูปโคงงอ”

นั บ เ ป น ค ว า ม สํ า เร็ จ และตอกย้ํ า ภาพ ลั ก ษณ ผู นํ า ผลิ ต ภั ณ ฑ ถานไฟฉายและแบตเตอรี่ ภ า ย ห ลั ง ที่ บ ริ ษั ท รอคเค็ ท อิ เ ล็ ก ทริ ค จํ า กั ด ผู ผ ลิ ต และจั ด จําหนายถานไฟฉายอันดับ หนึ่งในเกาหลีมายาวนานถึง 65 ป เขามาลงทุนในประเทศไทย ที่ลาสุด ประกาศชอเสียงและศักยภาพของผูนําดวยการรวมงาน บีโอไอแฟร 2012 พรอมไฮไลทเด็ด ดวยโชวสองนวัตกรรมสุดล้าํ ยุคถึงสองชนิดไดแก Paper Battery แบตเตอรี่กระดาษ และ FLB (Flexible lithium battery) แบตเตอร ลิเทียมแบบแปรรูปและโคงงอได โดยจุดประสงคของการ คิ ด ค นก็ เพื่ อ ตอบสนองเทรนด ข องเทคโนโลยี ใหม ๆ ที่ ผู อุ ป โภคนิ ย มใช ผลิตภัณฑที่มีความทันสมัยและมีขนาดเล็กลงเรอยๆ ซึ่งทั้งสองชนิดมี ลักษณะเดน รูปลักษณบาง สามารถแปรรูปหรือโคงงอได ใหกระแสไฟฟา ไดเทาแบตเตอรี่รุนพี่ อีกทั้งยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม วัสดุทุกชิ้นสามารถ ยอยสลายไดเองตามธรรมชาติ รายละเอียดของสองนวัตกรรมใหม ไดแก 1. Paper Battery แบตเตอรี่กระดาษ คือคอนเซปตใหมของการนําถานแมงกานีสมาพัฒนา โดยใช เ ทคโนโลยี เ ดี ย วกั บ การทํ า ฟ ล ม ในการแปรสภาพ จึ ง ทํ า ให ตั ว แบตเตอรี่กระดาษมีลักษณะออนโคงและบางเชนเดียวกัน ถึงแมจะมีรูป ลักษณบางเพียง 0.6 มิลลิเมตร เทากับเปเปอรแบตเตอรี่ก็สามารถให กระแสไฟไดเทากับ แบตรุน พีท่ ีเ่ ปนกอนๆ คือ 1.5 V เชนกัน เพียงแตเปเปอร แบตเตอรี่มีขอจํากัดในเรองระยะเวลาของการใหกระแสไฟ ดวยระยะเวลา ของการใหกระแส ราคาของมันที่ ไมสูงมาก อีกทั้งยังปลอดภัยปราศจาก สารพิษและไมติดไฟหรือสามารถระเบิดได จึงทําใหแบตเตอรี่กระดาษเปนที่

นิยมในการนําไปใชกับอุตสาหกรรมอนๆ เชน RFID tag, Smart Card, ไอออนโตโฟเรซิส (Iontophoresis) และ การดเสียงเพลง (Melody card) เปนตน ลักษณะการใชงานใน Active Tag RFID tag ชนิดนี้จะมีแบตเตอรี่ อยูภายใน เพอเปนแลงจายไฟฟาใหกับวงจรภายใน เราจะสามารถทั้งอาน และเขียนขอมูลลงใน RFID tag ชนิดนี้ก็ ได และการที่ตองใชแบตเตอรี่จึง ทําให RFID tag ชนิด Active Tag มีอายุการใชงานจํากัดตามอายุของ แบตเตอรี่ เมอแบตเตอรี่หมดก็ตองนําไปทิ้งไมสามารถนํากลับมาใชใหมได เนองจากจะมีการ Seal จึงไมสามารถเปลี่ยนแบตเตอรี่ ได Active Tag มี กําลังสงสูงและระยะการรับสงขอมูลไกลกวา RFID tag ชนิด Passive Tag และยังสามารถทํางานในบริเวณที่มีสัญญาณรบกวนไดดีอีกดวย สเปคคราวๆของตัวแบตเตอรีก่ ระดาษก็คอื แบตเตอรีช่ นิดนีป้ ระกอบ ดวย ซิงค และ แมงกานิส ไดออกไซด ใหกระแสไฟขนาด 1.5 โวลต ความ หนา 0.6 มิล อายุการใชงาน 2 ป 2. FLB (Flexible lithium battery) แบตเตอร ลิเทียมแบบ แปรรูปโคงงอได แบตชนิดนี้มีความหนาเพียง 0.4-0.5 มิลเทานั้น อีกทั้ง ยังถูกออกแบบมาใหเหมาะสําหรับการใสไปในการดชนิดตางๆ อีกดวย โดย แบตชนิดนี้ ใหกระแสไฟฟาสูงและใหพลังงานเขมขนและยาวนานกวาแบต กระดาษ อีกทั้งยังมีคุณสมบัติทนทานกับความรอนหรือความเย็นจัดๆ อีก ดวย แบตชนิดนี้มีอายุการใชงานประมาณ 5 ป ลักษณะการใชงานในการทําไอออนโตโฟเรซิส (Iontophoresis) เปนการใชกระแสไฟฟานํายาหรือสารเคมีลงสูผิวหนัง ในสมัยกอนไดมีการ ใชวิธีนี้ ในการชวยบรรเทาอาการเจ็บปวดดวยสารพวกยาชา และยังใชกัน สื บ มา แม ว า จะไม เ ป น ที่ นิ ย มนั ก อย า งไรก็ ต ามการใช น้ํ า เปล า กั บ Iontophoresis ก็เปนสิ่งที่ ไดผลดีมาก ในการรักษาภาวะที่มีเหงอออกมาก ไมวาจะเปนเหงอออกมากตามมือ เทา หรือที่รักแร จึงมีการทําเครองมือ Iontophoresis ที่เหมาะสมสําหรับการรักษาภาวะเหงอออกมาก ปจจุบันได มีการเอาเครองมือ Iontophoresis มาใชเสริมความงามใหผวิ สดใสหรือขาว ขึน้ โดยการใชรว มกับวิตามินซีและสารเคมีบางชนิด นอกจากนีย้ งั ใชประกอบ เปนการดเสียงเพลง (Melody card) ที่อยูตามส.ค.ส. ดวย

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

March 2012 l 51

Energy#40_p51,53_Pro3.indd 51

2/22/12 12:16 AM


Energy#40_p51_Pro3.ai

1

2/21/12

3:31 PM


The Chancellor Collection by Goodrich ค อ ล เ ล ค ชั่ น ผ า James Dunlop – The Chancellor Collection เป น การผสมผสานอย า ง ลงตั ว ของผ า คอตตอน (cotton) และผาลินิน (Linen) ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น จากเส น ใย ธรรมชาติและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม โดยเลือกใชโทนสี แบบเอิรทโทน (Earth Tone) กั บ ลวดลายที่ มี ส ไตล ร ว ม สมั ย ทํ า ให วั ส ดุ ผ า คอลเล คชั่ น นี้ มี ค วามเรี ย บหรู แ ละ

รสนิยมในตัว ทั้งนี้ Goodrich ยังใหความสําคัญและพิถีพิถันในทุกขั้นตอน จาก การออกแบบ การเลือกวัตถุดิบเสนใยผา การเลือกใชโทนสีและการผลิต เพอสรางสรรคคอลเลคชั่นนี้ ใหมีคุณภาพดีในระดับสากล เหมาะสมกับการ ใชงานหลากหลายรูปแบบไมวาจะเปนการบุผนังและเฟอรนิเจอร รวมถึง การตัดเย็บผามาน ดวยการออกแบบทีเ่ นนความงามตามแบบธรรมชาติของลายผาทอ และใหสอดคลองกับการใช งานตามความต อ งการที่ ต า งกั น ทํ า ให เ กิ ด แรง บันดาลใจในการสรางสรรค ผลิ ต ภั ณ ฑ ผ า คอลเลคชั่ น James Dunlop – The Chancellor Collection ซึ่ง เป น การผสมผสานของ ลวดลายที่มีความออนชอย นุมนวลแบบผูหญิง (Feminine) ดวยการเลือกใชวัสดุ

ผ า ลิ นิ น เพื่ อ นํ า มาผลิ ต ผ า แนว Semi Sheer ที่เหมาะ สําหรับทําผามานในพื้นที่ที่ ตองการแสงธรรมชาติและ ยังคงความเปนสวนตัว อีก ทั้ ง ลวดลายที่ สื่ อ ถึ ง ความ แข็งแกรงในแบบชายชาตรี (masculine) ได รั บ แรง บั น ดาลใจจากกระเบื้ อ งโม เสค (Mosaic) และลาย กุญแจคลองกลอนประตูใน ส มั ย โ บ ร า ณ ร ว ม ถึ ง ลวดลายคลาสสิคแบบแนว เสนเปนริ้วทางยาว (Stripe) ที่เขากันไดเปนอยางดี การเลือกใชสีในแบบเอิรทโทน (Earthy Tones) และโทนสีธรรมชาติ ดวยโทนสีชมพูอมน้ําตาล (Woodrose) โทนสีขาวและครีม (Linden) โทน สีน้ําตาลออนและเขม (Mineral) เพอเพิ่มเสนหใหกับการตกแตงบานอยาง มีระดับ

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

March 2012 l 53

Energy#40_p51,53_Pro3.indd 53

2/22/12 12:16 AM


Charge & Change โดย : SuKiYaKi

Chemically Powered to Charge

Eco Power Strip เปนแหลงกําเนิดพลังงานทดแทน ซึ่งจะเลี่ยง การใชงานน้ํามันเชื้อเพลิงแบบดั้งเดิม และพลังงานทดแทนยุคใหมอยาง แกสไฮโดรเจน เมอพลังงานไฟฟาซึ่งกําเนิดจากปฏิกิริยาการแยกสลาย สารเคมีดวยไฟฟา - สารประกอบระหวางแกสออกซิเจนและไฮโดรเจนใน เชื้อเพลิงไบโอเอทานอล (DEFC: Direct-ethanol fuel cells) ใชเปนพลังงาน จะไมกอใหเกิดกาซกรด คารบอนิก เทคโนโลยีนี้สามารถทําไปใชงานจริงได ถึงกระนั้น เราจะไดมีโอกาสเห็นการนําไปประยุกต ใชจริงหรือไมนั้น ยังคงเปนคําถาม

Waste No Waste; They Are A Treat For Plants!

ถาหากเราพูดถึงอนาคตของการรับประทานอาหารในชีวติ ประจําวัน มันคงจะดีทีจ่ ะสมมติ วา จะมีสเตกพรอมทาน และเนื้อตุน อยูในรูปแบบแคปซูล อาหารที่ถูกบีบอัดใหมีขนาดเล็กลง ยอมหมายถึงการปรุงอาหารและการเก็บลางทีง่ า ยขึน้ ซึง่ นีเ่ ปนจุดที่ Electrolux Eco Cleaner เครองลางจานขนาดเล็กสําหรับพกพาเขามามีบทบาท การใชคลนอัลตราโซนิค ในการเปลี่ยน อนุภาคของอาหารบนจานตางๆ ใหเปนอิออน เครองลางจานนี้จะเปลี่ยนอาหารและคราบไขมัน ใหกลับมาใชเปนปุยสําหรับพืชได ดวยการนี้ ขยะจากเศษอาหารจึงไมใชขยะอีกตอไป แตเปน อาหารทีอ่ ดุ มไปดวยคุณคาสําหรับพืชสีเขียว จานสะอาดเอีย่ ม แลวยังไดรบั ผลพลอยไดอกี ดวย โดยเจาเครองนี้ออกแบบโดย Ahi Andy Mohsen ซึ่งเปนสิ่งประดิษฐที่เขาประกวดใน งาน 2010 Electrolux Design Lab Completion

Solar Power Spikes for Plants

ชอดอกไมพลังงานแสงอาทิตยไดถูกจัดตามชอวาเปน “เครองชวยชาวสวนมือใหมไฟแรงพลังงานแสดง อาทิตย” มันจะชี้นําชาวสวนทุกคนเกี่ยวกับพวกโครงการสวนขนาดเล็ก (หรือจะเปนสวนขนาดยักษก็ ได) ที่จะ ตองการการดูแลเอาใจใสเพิ่มอีกเล็กนอยมากกวาจะแคการจองมองเฉยๆ มันเปนชุดชอดอกไมที่คุณตองจิ้มเขาไปยังผืนดิน แตละอันจะใชพลังงานจากดวงอาทิตย แลวแตละอันจะ สงขอมูลถายทอดทางสัญญาณถึงคุณ เกี่ยวกับคาความชื้นและระดับคุณคาทางอาหารตางๆ ในดิน รวมไปถึงระดับ การไดรับแสงแดด และอุณหภูมิที่ตนพืชจะไดรับ นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่เรียกวา Plant Mate ซึ่งจะชวยใหนิ้วของชาวสวนอยางคุณ สัมผัสไดถึงการลอมรอบ ของแสงที่สวางและสดใส โดยผูชวยตัวนี้จะทํางานอยูในโทรศัพทของคุณ (หรือในคอมพิวเตอรขนาดเล็กและพกพา) โดยใชเทคโนโลยีในโทรศัพทมือถือสมารทโฟนที่มีอยู สําหรับการรับสงขอมูล ดอกไมพลังงานแสงอาทิตยนี้ออกแบบโดย Tom Dooley, Mansour Ourasanah และ Mathieu Turpault 54 l March 2012

Energy#40_p54,56_Pro3.indd 54

2/24/12 4:07 PM


Energy#40_p55_Pro3.ai

1

2/21/12

3:33 PM


Eco-conscious Radio เรารูว า พวกคุณหลายๆคน ไมคอ ยจะรับความคิด ในการรวมกันอนุรักษธรรมชาติอยางยินดีเทาไหร แต ลองใหโอกาสวิทยุ Blister ตัวนี้ ไดลองอธิบายตัวมัน เองดูกอน ดวยการแทนที่เคสทั่วไปซึ่งมักทําจากการ หลอแบบ ดวยสวนประกอบบรรจุภณ ั ฑแบบสุญญากาศ เจาตัวเล็กนี้สรางจาก PLA สําหรับคนที่ยังไมรู จัก PLA คือวัสดุโพลีเอสเตอรแบบเทอรโมพลาสติก ที่ มีอะตอมของคารบอนเรียงกันเปนแนว สามารถยอยสลายไดเองตามธรรมชาติ ไดจากทรัพยากรที่ นํากลับมาใชใหมไดอยาง แปงขาวโพดและออย มันสามารถตอบความคาดหวังสําหรับวิทยุ ทุกสวนประกอบที่สําคัญตอความสุขทางดนตรี ของคุณมีอยูพ รอม และมันยังตอบความคาดหวังสําหรับอุปกรณรกั ษธรรมชาติ มีแผนพลังงานแสง อาทิตยทางดานหลัง เพอเติมพลังใหตัวเอง ซึ่งวิทยุ Blister นี้ออกแบบโดย Klaus Rosburg

Bus Handles as Fine Music Power เติมพลัง! ขณะที่คุณกําลังสนุกกับเสียงเพลงอยูบนถนนหมายเลขหนึ่ง โยกไปมาระหวางเสารถเมล ดวยหวงจับพวกนั้น คุณรูไหมวาคุณไดกําเนิด พลังงานอะไรขึ้นมา เราหมายถึง นอกจากความรอนของรางกายคุณที่เกิดขึ้น (แนนอนทุกคนรู วามีพลังงานรอบตัวมากมาย จากหนังเรอง The Matrix) แต สํ า หรั บ พลั ง งานที่ เ กิ ด จากการแกว ง ล ะ ไหนจะ พลังงานจากมวลน้ําหนัก ตัวของคุณที่กดไปกับเสา เราจะบอกใหคุณรู นี่เปน โครงการที่จะสรางขึ้นเพอ รับมือกับเรองพวกนั้น ราวจับบนรถโดยสารประจําทางอยาง More+ ที่จะเติมเต็มพลังงานใหคุณ ไปจนถึงจุด หมายของเมืองที่แสนวุนวาย ในที่นี้หมายถึงที่ๆ คุณไปเมอคุณสนุกกับดนตรีอยางเต็มที่ ซึ่ง คุณจะปลดปลอยความคิดและรูสึกดี สถานที่อันยอดเยี่ยมที่คุณควรจะอยู คุณสามารถไปที่ นั่นได ดวยราวจับพวกนี้ หรืออยางนอยก็ ไปยังปลายเสาอีกฝงไดนั่นแหละ เสียบสายเขามาสิ เทคโนโลยีเซรามิกแบบเพียโซอิเล็กทริกทําใหเรองนี้เปนไปได สงพลังงานคืนสูรถโดยสาร ซึ่งจะ กระจายแจกจายไปยังผูโดยสารผานทางสายปลั๊กไฟสําหรับวิทยุ โทรทัศน ที่ชารจไฟและแมแต แสงไฟบนรถ ชางนาตนเตน! ไอเดียล้ําๆ นี้ออกแบบโดย Junjie Zhang

56 l March 2012

Energy#40_p54,56_Pro3.indd 56

2/24/12 4:07 PM


Green Space

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

แบงสรร ปนแสง สูส งั คมไทย

LeKise รวมกับ รพ.กรุงเทพ (หาดใหญ) บริจาคหลอดไฟฟาแกวัดหนองขาว เหนียว อ.สามรอยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ เพอใชติดตั้งในศาลาเอนกประสงค และพระวิหารที่พึ่งสรางเสร็จ จํานวน 200 หลอด

LeKise รวมกับ Lip Group บริจาคหลอดไฟฟาใหกับลานกีฬาชุมชนมุสลิม สัมพันธ เขตสะพานสูง เพอนําไปใชประโยชนภายในลานกีฬาชุมชนตอไป

โครงการดีๆ แบบนี้ทํากันมาอยางตอเนอง โดยเจาภาพคือ บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง (LeKise) ผูผลิตและจัดจําหนายอุปกรณ ประหยัดพลังงานไฟฟาครบวงจร และหลอดเสนเลคิเซ T5 คุณสมนึก โอวุฒิธรรม ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด ผูผลิตและจําหนายหลอดไฟและผลิตภัณฑประหยัด พลังงานเลคิเซ (LeKise) เปดเผยถึงการจัดทําโครงการแบงสรรปนแสง สูสังคม วาเปนโครงการรับมอบหลอดไฟ T8 ที่ผานกระบวนการใชงานมา แลวแตยังคงคุณภาพดีและสามารถใชงานไดเกิน 85% จากหนวยงาน ตางๆ ที่ตองการรวมโครงการ เพอนําไปใชประโยชนแกหนวยงานตางๆ “สําหรับโครงการแบงสรรปนแสงสูสังคม เปนหนึ่งในโครงการ สําคัญหลายโครงการที่ บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด จัดทําขึ้นเพอมอบสิ่ง ดี ๆ คืนกลับสูสังคมในรูปแบบตางๆ โดยสาระหลักของโครงการนี้คือการ ที่บริษัทฯจะขอรับบริจาคหลอดไฟ T8 ที่มีสภาพดีเกิน 85% จากสถาน ประกอบการและประชาชนทั่วไปที่เปลี่ยนมาใชหลอด T5 และไมไดใชหลอด เดิมแลว เพอนําหลอดไฟที่รับบริจาคดังกลาวไปมอบใหหนวยงานตางๆ ที่ ขาดแคลนหรือมีความตองการ โดยหลอดไฟที่บริษัทฯนําไปมอบให ผูรับ สามารถนําไปใชงานไดทันที หรือสามารถนําไปใชเปนหลอดไฟสํารอง เพอ เปลี่ยนเมอหลอดไฟเดิมที่มีอยูไมสามารถใชงานได ทั้งนี้ทันทีที่บริษัทไดรับหลอดไฟที่มีผูบริจาคมา บริษัทจะทําการ ตรวจสอบคุณภาพและทําความสะอาดกอนบรรจุในบรรจุภณ ั ฑทจ่ี ดั เตรียมไว เพื่อให้ง่ายต่อการส่งต่อและง่ายที่ผู้รับจะนําไปจัดเก็บก่อนการนําไปใช้ งานจริง”

และสําหรับผูสนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมเพอ เข า ร ว มโครงการทั้ ง ในฐานะของผู บ ริ จ าคและในฐานะของผู รั บ บริจาคไดทโี่ ทร.034-419299 ติดตอฝายการตลาดทุกวันจันทร-ศุกร ในเวลาทําการ

สมนึก โอวุฒิธรรม ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด

March 2012 l 57

Energy#40_p57-58_Pro3.indd 57

2/24/12 4:04 PM


ปู น อิ น ทรี สานต อ โครงการ

สรางฝาย คืนสมดุลใหกับธรรมชาติ นราธิวาส เปนตน ลาสุด ปูนอินทรีไดสนับสนุนปูนซีเมนต จํานวน 200 ตัน ใหกับกองกําลังผาเมืองและกองกําลังนเรศวร ในการสรางฝาย พรอมทั้ง รวมสรางฝายกับกองกําลังผาเมืองและชาวบานเมืองนะ ตําบลเมืองนะ อําเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหมดวย กองกําลังผาเมืองนอกจากจะมีภารกิจปองกันชายแดนไทย เพอ ปองกันยับยัง้ การรุกล้าํ อธิปไตยจากตางชาติแลว ขณะเดียวกันการอนุรกั ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมก็ตองดําเนินการควบคูกันไปดวย ซึ่ง ในการอนุรักษสิ่งแวดลอมหากจะใหยั่งยืนนั้น ตองสรางความรวมมือจาก ชุมชน เพราะลําพังทหารสรางใหแลว แตหากชุมชนไมเห็นความสําคัญไม ใหความรวมมือก็จะไมดูแลซอมแซมรักษาฝาย สุดทายก็ ไมยั่งยืน ในการ

ฝายชะลอความชุมชื้น เปนอีกหนึ่งแนวทางในการคืนสมดุลใหกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่องคกรภาครัฐและเอกชน ตางใหความสําคัญ โดยนอมนําแนวพระราชดําริมาปฏิบัติจนเกิดผลสามารถคืนความสมดุล ธรรมชาติไดในหลายพื้นที่ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) หรือ ปูนอินทรี เปนอีกหนึ่งองคกร ที่เห็นถึงความสําคัญของการปองกันและแกปญหา สิ่งแวดลอม จึงรวมเปนแรงผลักดันในการรณรงคแกไขปญหาดังกลาว โดยการคืนสมดุลใหกับธรรมชาติผานวิธีการสรางฝายชะลอความชุมชื้น ตามแนวทางพระราชดําริ ในการดําเนินโครงการ ๘๐ พรรษา ๘๘๐ ฝาย อินทรีสรางถวายในหลวง รวมกับ มูลนิธิชัยพัฒนา ตั้งแตป 2550 รวมทั้งยังไดสนับสนุนหนวยงานภาครัฐและเอกชนหลายๆ หนวยงานใน การสรางฝาย เชน กองกําลังผาเมือง กองบัญชาการตํารวจตระเวน ชายแดน กองทัพภาคที่ 2 กรมทหารราบที่ 11 และ หนวยเฉพาะกิจ

ดําเนินงานดานอนุรักษปาและสิ่งแวดลอมจึงตองใหชาวบานเขามามีสวน รวมมากที่สุด ซึ่งในป 2555 นี้ ตั้งเปาจะสรางฝายถวายในหลวงใหครบ 97 ฝาย ครอบคลุมพื้นที่ 4 ลุมน้ํา คือ ลุมน้ําปง ลุมน้ํากก ลุมน้ําโขง และ ลุมน้ํานาน ซึ่งจากการดําเนินโครงการมาตั้งแตป 2550 ปูนอินทรีไดสนับสนุน การสรางฝายไปแลวกวา 45,000 ฝาย ในพื้นที่ 18 จังหวัด นอกจากฝาย ตนน้าํ ลําธารแลว ปูนอินทรี ยังมีโครงการทีจ่ ะรวมมือกับมูลนิธชิ ยั พัฒนาใน การสรางฝายกักเก็บน้าํ ขนาดใหญเพอเก็บน้าํ ไวใชในหนาแลง ขณะเดียวกัน ปูนอินทรีจะยังคงมุงมั่นเดินหนาในการสรางฝายคืนความชุมชื้นใหกับพื้นที่ ตนน้ําเพอรวมปองกันและแกไขปญหาภัยธรรมชาติอันเกิดจากสภาพของ สิ่งแวดลอมที่ ไมสมดุล พรอมทั้งรวมอนุรักษดูแลทรัพยากรธรรมชาติและ ฟนฟูรักษาสิ่งแวดลอมอยางจริงจังและตอเนองตอไป

58 l March 2012

Energy#40_p57-58_Pro3.indd 58

2/24/12 4:04 PM


Green Vision

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

แคจัดการสิ่งแวดลอม “กําไร” ก็เพิ่มขึ้น มาถึงวิทยาการทานสุดทาย คุณเกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการผูจัดการ บริษัท อําพลฟูดส โพรเซสซิง่ จํากัด ในงานมอบรางวัล E-idea Competition Thailand 2011 กับการเสวนาในหัวขอ “จับตา มองธุรกิจสีเขียว Eco-Business: Trend and Future” ที่ตัดใจทิ้งไมลงเลยทีเดียว เพราะเชอวาหาก พลาดวิทยากรทานนี้ ไปหลายคนคงจะเสียดายแนๆ กับมุมมองเรองธุรกิจเพอสิ่งแวดลอมในบทบาทของ นักธุรกิจนั่นเอง “เมออดีตที่เราทําธุรกิจใหมๆ ยอนไปสัก 20-30 ปที่แลว เราเริ่มทําสองโรงงาน สมัยกอนเราไมเคย คํานึงถึงเรองของสิ่งแวดลอมมากเทาที่ควร สมัยกอนเรองที่เปนประเด็นก็คือแคเรองน้ําเสีย ทํายังไงไมให สรางปญหาและไมปลอยทิ้งไปก็แคนั้น แตเราใชทรัพยากรในชวงแรกนั้น อยางชนิดที่เรียกวาฟุมเฟอยที่สุด โดยที่ ไมไดคํานึงถึงสิ่งเหลานี้ ผมยกตัวอยางเชน การทํากะทิดวยมะพราวทั้งลูก สมัยกอนบางทีเปลือกเราก็ ไมไดใชประโยชนมนั เอาไปทิง้ ไปถมที่ กลายเปนภูเขาขยะ กะลาเราก็ไมไดเอาไปใชประโยชน เพราะสมัยกอนน้าํ มันเตา ที่โรงงานใชอยูนั้นลิตรละ 2 บาทกวาๆ เทานั้น แตปจจุบันลิตรละ 20 กวาบาท เฉพาะโรงงานที่ผมดูแล ถายังใชน้ํามันเตาเปนแหลงพลังงาน ก็จะมีคาใชจายเดือนละ 3 ลานบาท แตปจจุบันนี้ ไมไดใช แลว นําเปลือกและกะลามาใชแทน ทําใหในหนึ่งปประหยัดไปแลว 30 ลานบาท ซึ่งในสมัยกอน เราไมไดใช เพราะทุกอยางมันถูก เรองกรีนเราก็ ไมไดใสใจ ไมมีความรู ไมไดเขาใจถึงความ จําเปน แตเราปรับองคกรใหมีประสิทธิภาพใหอยูรอดกอน” คุณเกรียงศักดิ์กลาว “จนเมอ 10 กวาปกอน องคกรก็เริ่มปรับเขาสูมาตรฐานตางๆ เชอวาหลายองคกร ในสมัยนั้นทําเพราะถูกบังคับใหทํา เพราะถาไมทําก็จะมีปญหาเรองการสงออก แตพอเราทํา ไปแลวก็รูวามันไมใช มันเปนการสรางระบบ ทําใหองคกรสามารถผลิตสินคาที่มีคุณภาพ และประหยัด ตามมาดวยระบบที่ทําใหผูบริหารที่ยังไมเขาใจ คือเราตองทําระบบชีวอนามัย และความปลอดภัย และเรองสิ่งแวดลอม ISO14001 ครั้งแรกเลยเขาใจวาตองเสียเงิน อีกแลวสําหรับการที่เราเขาไปทําเรองสิ่งแวดลอม แตพอเขาไปจับเรองของสิ่งแวดลอม จริงๆ แลว ผลปรากฏวาตั้งแตป 2548 จนกระทั่งมาถึงป 2553 หลายปที่ผานมา คาแรงก็เพิ่มขึ้น คาน้ํามัน คาใชจายตางๆ ก็เพิ่มขึ้น แตเราไมเคยปรับราคาขายสินคา เลย แตการที่เราไปจัดการกับเรองสิ่งแวดลอมในโรงงานทําใหเราเริ่มมองและเริ่ม เปลี่ยนวิธีการทํางาน เราไมไดมองยอดขายเปนหลัก แตเขาไปลดที่ตนเหตุ คือปญหา ที่ทําใหลดของเสีย ลดเรองพลังงานที่ ใชในองคกร ใชทรัพยากรในองคกรใหเกิด ประโยชนสงู สุด ผลทีต่ ามมาชัดเจนในเรองธุรกิจก็คอื 1.กําไรเพิม่ ขึน้ และเพิม่ ขึน้ อยาง มากดวย โดยที่เราแคไปดูแลเรองสิ่งแวดลอม 2. ยอดขายเพิ่มขึ้นแบบกาวกระโดด พอราคาเราไมไดปรับ สุดทายยอดขายเราก็สูงขึ้นเรอยๆ อยากบอกวานี่คือการทํา ธุรกิจโดยการจับเอาเรองธุรกิจสีเขียวเขามาในองคกร” คุณเกรียงศักดิ์กลาว เมอพูดถึงโอกาสที่สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจะมีราคาถูกลงไดหรือ ไม คุณเกรียงศักดิ์กลาววา คนรายที่สําคัญจริงๆ ก็คือผูบริโภค ซึ่งถาผูบริโภค เลือกสินคาที่เปนสีเขียว ธุรกิจมันก็จะเกิด ผูผลิตก็จะเขาไปผลิตตรงนั้น วันหนึ่ง ราคามันก็จะลงมาในราคาปกติ ถามันมีปริมาณการซื้อที่มากพอ เราตองรวมมือ กัน โดยคุณเกรียงศักดิ์เชอวาหากเราผลิตสินคาเปนจํานวนมากขึ้นราคามันก็จะลง มาได ซึ่งตรงนี้มันจะเกิดขึ้นไดคุณเกรียงศักดิ์มองวามันตองเกิดจากความรวมมือ ของหลายสวนทั้งผูผลิต ผูบริโภค หรือแมแตองคกรภาครัฐเองก็ตองมีสวนชวย สนับสนุนตรงนี้ดวย March 2012 l 59

Energy#40_p59_Pro3.indd 59

2/24/12 10:25 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

วิกฤติการณอากาศพิษ ในเมืองใหญ สืบเนองจากหมอกควันทางภาคเหนือ ที่เกิดผลกระทบในเมืองใหญ เชน เชียงใหม เชียงราย ที่ประสบปญหาหมอกควันทั่วเมืองขณะนี้ สงผลก ระทบตอสุขภาพ ความเปนอยูของประชาชน อยางรุนแรง เปนภัยพิบัติที่ เกิดขึ้นในทุกๆ ป การรณรงค หรือดําเนินการเพอปองกันปญหาดังกลาว มีมานานแลวแตยงั ไมประสบผลสําเร็จและนับวันจะทวีความรุนแรงเพิม่ มาก ขึ้น เราตองรับภาวะดังกลาวนี้คงตองกลับมาทบทวนและหาแนวทางที่ เหมาะสมในการจัดการปญหาหมอกควันอยางมีประสิทธิภาพมากกวาทีเ่ ปน อยูในเวลานี้ และในบทความนี้ ไมไดแสดงแคการเผาในที่โลง ไฟปา ที่เปน สาเหตุในการเกิดมลพิษทางอากาศในเขตเมืองทางภาคเหนือเทานั้น ยังมี กิจกรรมอนๆ ที่จะกลาวถึงเปนสวนสําคัญตอปญหามลพิษทางอากาศใน เขตเมืองใหญ

ในความเปนไปของเมืองใหญ หลายเมืองมีหมอกควันหนาแนน ดูเปนปกติที่เมืองใหญจะเกิดหมอกควันจากการขนสง กิจกรรมตางๆ ใน เมื อ งใหญ ป ญ หามลพิ ษ ทางอากาศ ที่ นั บ วั นจะรุ น แรงเนื่ อ งจากการ เปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมของเมือง มีความหมายตอการดํารงชีวติ ของ คนในเมืองใหญ ที่เราจะเห็นไดจากการติดหนากากปดจมูกของผูคน การ เปดรานใหสูดอากาศบริสุทธิ์ การเลือกพักผอนนอกเมืองมากกวาการพัก อาศัยในเมือง หรือเทศกาลตางๆ ที่คนนิยมออกไปนอกเมือง เพอรับอากาศ บริสุทธิ์ จากรายงานสถานการณสิ่งแวดลอม พบวาในป 2547 มียาน พาหนะสะสมในเขตเมืองใหญ กรุงเทพมหานคร มีรถยนต 2 ลานคัน ในป 2552 เพิ่มเปน 6 ลานคัน ยังไมรวมรถจักรยานและรถโดยสาร ที่มีปริมาณ

60 l March 2012

Energy#40_p60-61_Pro3.indd 60

2/20/12 10:56 PM


สูงขึ้นตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นกวา 10 ลานคนในเขตกรุงเทพฯ มีสัดสวนของพื้นที่ชุมชน ที่พักอาศัยเพิ่มขึ้น แตพื้นที่พักผอน พื้นที่สีเขียว ลดลง ปญหาระบบโครงขายคมนาคมและขนสงของกรุงเทพฯ ไมสามารถ รองรับหรือตอบสนองตอการเดินทางของประชาชนที่มีมากถึง 18 ลาน เที่ยวตอวัน การเปลี่ยนแปลงการใชประโยชนที่ดินไมมีการวางแผนรองรับ อยางเหมาะสมทําใหพื้นที่ถนนในกรุงเทพมหานครมีจํากัดประมาณ รอยละ 10 ของพืน้ ทีท่ ัง้ หมด เปนสัดสวนทีต่ ่าํ มากเมอเทียบคามาตรฐานของความ เปนเมืองที่มีการเดินทางอยางสะดวก (มหานครโตเกียวมีพื้นที่ถนนรอยละ 23 อุณหภูมิของเมืองสูงขึ้น 2 องศาเซลเซียส ในตอนกลางวัน) การเกิดมลพิษทางอากาศหรือสภาพเมืองในหมอก กลไกสําคัญคือ การใชเชื้อเพลิงมีการปลอยควันพิษจากการขนสง การขยายตัวของเมือง การสรางอาคารสูง ซึ่งหากเปนเมืองทั่วไปที่ ไมหนาแนน หรือมีตึกสูง เปนกําแพงกั้นการระบายอากาศ พื้นที่สีเขียวลดนอยลง ไมมีพื้นที่สีเขียวที่ คอยดูดซับอากาศเสีย ยอมเปนตัวเรงการสะสมตัวของอากาศเสียที่เกิด ขึ้นในเมืองใหญหลายเมือง เริ่มใหความสําคัญตอการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่ อ ดู ด ซั บ อากาศเสี ย และเพิ่ ม ความชุ ม ชื้ น ในเขตเมื อ งเพิ่ ม อากาศดี ใ น

บรรยากาศ อย า งไรก็ ต ามการวางแผนรองรั บ ต อ การเปลี่ ย นแปลง การเจริญเติบโตของเมืองในระยะยาวเปนสิ่งจําเปน แรงขับเคลอนสําคัญ คือการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ประชาชน ตองเริม่ ปรับตัวทีจ่ ะใชชวี ติ ในเมืองใหญ การลดการปลอยมลพิษทางอากาศ เริ่มที่ตัวเราจากการลดการใชยานพาหนะ ใชบริการขนสงสาธารณะ การ ใชประโยชนจากการสอสารมากกวาการเดินทางโดยยานพาหนะ ภาคนโยบาย หรือหนวยงานภาครัฐ ตองวางแผนระยะยาวในการ จัดการมลพิษทางอากาศในเขตเมือง ที่สําคัญคือการเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพอ ดูดซับมลพิษทางอากาศ การใชประโยชนที่ดินในเขตเมืองตองมีการวาง ผังเมืองที่มีประสิทธิภาพ การเพิ่มเครือขายการคมนาคมขนสง การ สนับสนุนระบบขนสงสาธารณะมากขึ้น ใ น ก า ร พั ฒ น า เ มื อ ง ปจจุบัน ตองคํานึงการขยายตัว เขตเมือง การรองรับประชากร ที่เพิ่มขึ้น เมืองใหญหลายเมือง ประสบป ญ หาความไร ร ะเบี ย บ ของการเติ บ โต การพั ฒ นาที่ กํ า หนดทิ ศ ทางการรองรั บ มลพิษที่จะเกิดขึ้น กิจกรรมตางๆ ของเมือง ใหญลวนแลวแตมีผลกระทบตอ ป ญ ห า ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ที่ เปลี่ยนแปลงและความซับซอนใน การแกไขปญหา ความสามารถของเมืองตองไดรับการพิจารณาถึงขีด จํากัดของการขยายตัวของเมือง สภาพตึกทีเ่ กิดขึน้ หนาแนน เปนตัวเรงตอ การระบายอากาศ การเพิ่มความรอนของเมืองหรือที่เรียกวา เกาะรอน (Heat Island) ดังนั้นการวางแผนพัฒนาเมืองจึงตองสอดคลองกับการ รองรับระบบการจัดการมลพิษในเขตเมืองอยางมีประสิทธิภาพ ครอบคลุม ทั้งพื้นที่ สุดทายความหวังของเมืองใหญจะเปนเมืองที่นาอยู มีอากาศที่ดี ตองไดรับความสนใจ เปนวาระที่ตองใหความสําคัญ โดยเฉพาะการพัฒนา เมืองในอนาคต ที่มีขีดจํากัดการรองรับที่เหมาะสม มีมาตรการที่เหมาะสม มีนโยบายที่จะเพิ่มอากาศดี การเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหกับเมืองอยางจริงจัง ไม ใชแคทําเปนเทศกาล การบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การใช ทรัพยากรพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและความรวมมือของทุกภาคสวน จะชวยใหเมือง กลับมานาอยูมากกวานาอพยพออกไป เอกสารอางอิง สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คม แหงชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ตุลาคม 2554 กรุงเทพฯ March 2012 l 61

Energy#40_p60-61_Pro3.indd 61

2/20/12 10:56 PM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า น้ํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

http://www.greenenergynet.net/tec_AFF.html

เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology หรือ CT) เปนหลักการ ปองกันมลพิษ (Pollution Prevention) ที่ใชหลักการลดน้าํ เสียหรือของเสีย ให เ หลื อ น อ ยที่ สุ ด (Waste Minimization) ด ว ยการเปลี่ ย นวั ต ถุ ดิ บ การใชซ้าํ และ/หรือการเปลีย่ นแปลงเพอนํากลับมาใชใหม ซึง่ เปนการอนุรกั ษ สิง่ แวดลอมและลดตนทุนการผลิตควบคูก นั ไป โดยการใชวตั ถุดบิ พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ กอใหเกิดผลกระทบ และความเสี่ยงตอมนุษยและสิ่งแวดลอมนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได และจะ ตองมีความคุมคาทางเศรษฐศาสตร

การบริหารจัดการน้าํ ในโรงงานอุตสาหกรรม ดวยหลักเทคโนโลยีสะอาด เพอเขาสูเ ปาหมาย

“น้ํ า เสี ย เหลื อ ศู น ย ห รื อ Zero Discharge” การจัดการสิ่งแวดลอมทางดานอุตสาหกรรมในอดีตนั้น มักจะเนน ไปที่ระบบการจัดการที่ปลายทางซึ่งเปนการเพิ่มภาระใหกับผูประกอบการ ปจจุบันแนวโนมของการจัดการสิ่งแวดลอมของโลกไดปรับเปลี่ยนทิศทาง ไปยังการพิจารณาที่ตนทางหรือแหลงที่กอใหเกิดมลพิษ โดยพยายามที่จะ ลดมลพิษเหลานั้นใหไดมากที่สุด ดังนั้น การใชแนวทางการลดมลพิษที่ แหลงกําเนิด หรือ เทคโนโลยีสะอาด (Clean Technology, CT) จึงเปน แนวทางที่ ไดรับการยอมรับในระดับสากลวาเปนแนวทางที่เหมาะสมในการ จัดการกับปญหาสิ่งแวดลอมเพอการพัฒนาที่ยั่งยืน จากความจําเปน ดังกลาวในการลดปญหาน้ําเสีย จึงไดมีการนําเทคโนโลยีสะอาดมาใชกัน อยางกวางขวาง เพอเปนการลดตนทุนการผลิต ลดกระบวนการที่เกิน ความจํ า เป น ใช ท รั พ ยากรน้ํ า ให คุ ม ค า และเหมาะสม ลดการทํ า ลาย สิ่งแวดลอม รวมทั้งประหยัดการใชพลังงาน โดยมีเปาหมายรวมกันคือ การส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่ ง แวดล อ มที่ ยั่ ง ยื น ภายใต การบูรณาการอันสอดคลองกับกระแสของสังคมไทยและสังคมโลก

http://www.graywatertreatment.org/waste-treatment-plant-design/

62 l March 2012

Energy#40_p62-63_Pro3.indd 62

2/23/12 1:11 AM


ที่สุด

การบําบัดน้ําเสียจากอุตสาหกรรม

(1) การปรับปรุงรูปแบบการผลิตที่สะอาดขึ้น ไดแก - การปรับปรุงกระบวนการผลิตที่ลดปริมาณของเสียใหนอย

- การแยกขยะอินทรีย น้ํามัน ของแข็ง เพอนํากลับไปใชประโยชน (2) จัดทําโปรแกรมการประหยัดน้ํา ลดน้ําสูญเสียและควบคุมการ ใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก - ติดตั้งมาตรวัดน้ําและอุปกรณควบคุมระดับที่ทอสงน้ําหลัก - อุดรอยรั่ว หรือเปลี่ยนทอที่ชํารุด - ติดตั้งอุปกรณอัตโนมัติควบคุมการไหลของน้ําในทอ - หลีกเลี่ยงการลางระบบน้ําลน

เทคนิคของเทคโนโลยีสะอาดสําหรับการจัดการน้ําเสีย อุตสาหกรรม

น้ํ า เสี ย อุ ต สาหกรรมเป น น้ํ า เสี ย ที่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมต า งๆ ของ โรงงานอุ ต สาหกรรมทุ ก ประเภท น้ํ า เสี ย ส ว นใหญ มั ก เป น น้ํ า ล า งจาก กระบวนการผลิตตางๆ เชน การลางถังหรือการลางชิ้นงาน ทําใหน้ําเสีย มีสิ่งเจือปนจากวัตถุดิบดวยเสมอ ลักษณะของน้ําเสียประเภทนี้จะแตกตาง กันไปตามประเภทของวัตถุดิบ กระบวนการผลิต รวมทั้งระบบควบคุมและ บํารุงรักษา องคประกอบของน้ําเสียประเภทนี้สวนใหญจะมีสิ่งสกปรกใน รูปสารอินทรีย และสารอนินทรีย (Inorganic Matters) เชน สารเคมี โลหะหนัก เปนตน การลดมลพิษทีแ่ หลงกําเนิดนัน้ ตองมีการคนหาแหลงกําเนิดของน้าํ เสีย หรือมลพิษและวิเคราะหหาสาเหตุวาน้ําเสียหรือมลพิษเหลานั้นเกิดขึ้นได อย า งไร การลดมลพิ ษ อาจทํ า ได โ ดยการเปลี่ ย นแปลงผลิ ต ภั ณ ฑ แ ละ เปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต ซึ่งการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตนั้น อาจตองมีการเปลี่ยนวัตถุดิบที่เกี่ยวของ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี หรืออาจ ตองเปลีย่ นแปลงการบริหารการจัดการ สวนการนํากลับมาใชใหม/การใชซาํ้ นั้ น อาจทํ า ได โ ดยการนํ า กลั บ มาใช ใ หม โ ดยตรง เช น นํ า กลั บ มาใช ใ น กระบวนการเดิมหรือกระบวนการอน หรืออาจตองนําน้าํ เสียเหลานัน้ ไปผาน กระบวนการอยางใดอยางหนึ่งกอน จึงจะสามารถนํากลับมาใช ใหมได ตัวอยางเทคนิคของเทคโนโลยีสะอาดสําหรับการจัดการน้ําอุตสาหกรรม อาจเปนรูปแบบใดแบบหนึ่งดังตอไปนี้

http://www.mr.behn.go.th/030201.html

(3) การนําน้ําทิ้งกลับมาใชซ้ําหรือใชประโยชนใหม ไดแก - ใชการลางแบบไหลสวนทาง - นําน้ําลางที่ ใชแลวมาใชซ้ํา - นําน้ําลางที่ ใชแลวมาทําใหสะอาดโดยผานระบบปรับปรุง คุณภาพน้ําเพอการนําน้ํากลับมาใชใหม - นําน้าํ ทิง้ จากระบบบําบัดน้าํ เสียของโรงงานมาทําใหสะอาดโดย ผานระบบปรับปรุงคุณภาพน้ําเพอการนําน้ํากลับมาใชใหม สํ า หรั บ น้ํ า เสี ย ที่ เ กิ ด จากกิ จ กรรมต า งๆของอาคารสํ า นั ก งาน เมอนํามาผานกระบวนการบําบัดทีม่ ปี ระสิทธิภาพดีแลว สามารถนํามาใชใหม ในกิจกรรมตางๆของอาคาร ไดแก การชําระโถสวม โถปสสาวะ การชดเชยน้าํ ในระบบปรับอากาศ น้ําในระบบปองกันอัคคีภัย น้ําชะทําความสะอาดหรือ ล า งรถ ใช ใ นงานภู มิ ส ถาป ต ย ร อบบริ เ วณอาคาร เช น รดน้ํ า ต น ไม สนามหญา น้ําพุ เปนตน

http://www.water-technology.net/projects/

March 2012 l 63

Energy#40_p62-63_Pro3.indd 63

2/23/12 1:12 AM


Renergy ภาครัฐไดมีการปรับปรุงนโยบายการสงเสริมการผลิตไฟฟา จากพลังงานหมุนเวียนมาอยางตอเนื่อง เพื่อใหมีการใชทรัพยากร ภายในประเทศ ใหเกิดประโยชนสูงสุดอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะชวย ลดการพึ่งพา การนําเขาพลังงานและเพิ่มความมั่นคงดานพลังงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดเห็นชอบแผน พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (แผน AEDP: Alternative Energy Development Planning) เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 โดยมีเปาหมายผลักดันและสงเสริมการใช พลังงานทดแทนของประเทศ ในสวนของการผลิตไฟฟา ซึ่งประกอบ ดวยพลังงานแสงอาทิตย 2,000 MW พลังงานลม 1,200 MW พลังงานชีวมวล 3,630 MW พลังงานจากกาซชีวภาพ 600 MW พลังงานจากขยะ 160 MW และพลังงานน้ํา 1,608 MW พรอมทั้ง เปดใหมีการรับซื้อไฟฟาจาก SPP และ VSPP และออกมาตรการ สงเสริมทางการเงิน ไดแก สวนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟา (Adder) เพื่อ ผลักดันใหมีการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนตามเปาหมายที่ กําหนดไว ดังรายละเอียดในตารางทายนี้

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ถาอีก 10 ป

ไทยจะมี RE 25% ตองกําจัดจุดออน

ทานผูใสใจพลังงานอยารีบอานผาน ๆ ไปแลวก็ลืม จะเสียโอกาส ทางการลงทุน แผน 10 ปนี้ คอนขางจะสอดคลองกับแผน 10 ป ของภาค เอกชน โดยกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย จะตางกันบางก็ตรงที่ ทางภาครัฐคาดวาพลังงานขยะไมนาจะ เติบโต แตเอกชนมองวานาจะเพิ่มไดถึง 400-500 MW และที่ตองยอมรับ

วาแผนนี้นาสนใจมากที่สุดก็คือ ตัดกาซธรรมชาติออกจากแผน จะไดไม อายชาวตางประเทศวา RE: Renewable Energy ไทยทําไมมี NGV ดวย คนไทยตอบไม ถู ก และที่ น า สนใจไปกว า นั้ น ก็ คื อ ได มี แ ผนการพั ฒ นา เชื้อเพลิงใหมทดแทนดีเซล (ไม ใช Ethanol หรือ Biodiesel) อีก 25 ลานลิตรตอวัน ประกอบดวย

64 l March 2012

Energy#40_p64-65_Pro3.indd 64

2/17/12 12:20 AM


- สบูด าํ พัฒนาพันธุแ ละเพาะปลูกที่ใหผลผลิตสูง พัฒนาเครองจักร ในวัฎจักรสบูดํา และทดสอบการใชงานระยะยาวในเครองยนต - สาหรายน้ําจืด-น้ําเค็ม ปรับปรุงพันธุและพัฒนาการผลิตเชิง พาณิชย - FAEE ทดสอบการใชงานกับรถยนต และหามาตรฐานทดสอบ คุณภาพ - ED95 พัฒนาสารเติมแตงและเทคโนโลยีการดัดแปลงเครองยนตเกา - ดีโซฮอล ทดสอบสัดสวนเอทานอลทีเ่ หมาะสมจะผสมในน้าํ มันดีเซล ที่มีไบโอดีเซลผสมอยูแลว 3-5% ทดสอบการใชงานในเครองยนต - BHD ทดสอบการใชงานในเครองยนต และมาตรฐานทดสอบ คุณภาพ - BTL ผลิตระดับ Pilot Scale ทดสอบการใชงาน อาจจะยังไมมคี วามชัดเจนวาเปนเชือ้ เพลิงประเภทไหน ปริมาณเทาไร แตก็พอประเมินไดวาธุรกิจนี้ ใหญมาก ๆ เปนเคกชิ้นใหญที่บริษัทใหญ ๆ จะ ไดประโยชนมากกวาบริษทั เล็ก ๆ รวมทัง้ ชุมชนจะมีสว นรวมกันอยางไรหรือ ไมนั้น ก็คงตองรอฟงทาน รมว.ทานใหมกอน แลวจะมาเลาสูกันฟง ฝายคานหรือฝายที่มักจะไมเห็นดวยกับทุก ๆ รัฐบาล ก็จะตอบเปน เสียงเดียวกันวา ไมมีทางทําได ซึ่งเปนคําตอบที่ทั้งถูกตองและไมถูกตอง คงตองใชเวลาเปนเครองพิสูจน ทานลองพิจารณาแผน 10 ป ประกอบ กับสถานการณรับซื้อไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียน แลวทานจะเห็นโอกาส ทางธุรกิจวาอยูตรงไหนบาง

ถาประเทศไทยจะไปใหถงึ เปาหมายการผลิตพลังงานทดแทนใหได รอยละ 25 ตามที่ประกาศใหชาวโลกไดรับทราบ สํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) ผูเ ปนเสมือนผูช ว ยกัปตันเรือ จะตองสงขอมูลทีถ่ กู ตอง ใหกัปตันเรือ (รัฐมนตรี) แตละทานที่จะมานําพาแผนนี้ ในระหวาง 10 ป โดยไมติดกรอบที่ตัวเองวางไววา “เปาหมาย RE ตองคํานึงถึงผลกระทบ ตอผู ใชไฟฟาดวย” ฟงดูดีแตลองพิจารณาดูใหดีวา โลกนี้มีพลังงาน ทดแทนประเภทไหนบางที่ราคาถูกกวาฟอสซิลในปจจุบัน ดังนั้น สนพ.หรือ กพช.คงตองคิดนอกกรอบ แลวมองภาพกวาง ๆ วา เปาหมายพลังงาน ทดแทนนั้น เพอความมั่นคงดานพลังงานของไทยในระยะยาว ชวยลดการ เปลี่ ย นแปลงของภู มิ อ ากาศที่ เ ลวร า ยขึ้ น ทุ ก วั น ไม มี ข องฟรี อี ก แล ว ลองพิ จ ารณาดู ว า การลดการนํ า เข า พลั ง งานลง 25% แล ว สร า ง

พลังงานทดแทนขึ้นเองในประเทศ รายไดประชาชาติจะสูงกวาคาไฟฟาที่ เพิ่มขึ้นอยางแนนอน ขึ้นอยูกับกัปตันเรือจะเดินเรืออยางไร ถาเลือก เดินเสนทางนําเขาเครองจักรและอุปกรณผลิตพลังงานทดแทนมากเกินไป ไมสงเสริมการผลิตในประเทศ และชุมชนไมมีสวนรวม ก็คงไมผิดอะไรจาก การนําเขาพลังงานอยางในปจจุบัน ถาจะไปใหถึงเปาหมายควรคํานึงถึงการกําจัดจุดออนกอน อันไดแก 1. การปรับเปลี่ยนนโยบายบอยครั้งของภาครัฐ นับวาเปนสิ่งที่ สําคัญที่สุด 2. พิจารณาการปรับเปลี่ยน Adder เปน Feed-in Tariff อีกครั้ง หลังจากโยนหินถามทางแลว ไมมีใครเห็นดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งธนาคาร 3. รัฐตองชวยทําความเขาใจกับชุมชนใหมากกวานี้ ทานทราบ หรือไมวาการทําประชาคมหรือ ประชาพิจารณโรงไฟฟาแตละโรงนั้น ยากแคนแสนเข็ญ ถาเปนปญหาดานการเมืองทองถิ่น ยังพอแกไขไดดวย การเมื อ ง แต ถ า เป น ป ญ หาชุ ม ชนไม เ ข า ใจจริ ง ๆ รั ฐ คงต อ งช ว ย แสดงบทบาทในสวนนี้ดวย 4. การขออนุญาตขายไฟฟาที่ตองรอนับป พลั ง งานทดแทนในประเทศไทยไม น อ ยหน า ใครในอาเซี ย น เดินหนาเขาแขงขันในเวที AEC ไดอยางสบาย เพียงแตภาครัฐทําสิง่ ทีด่ ี อยูแ ลวนี้ ใหดขี นึ้ ไปอีก เอกชนพรอมลงทุนอยูแ ลว ถาพลังงานทดแทน ถึงเปาหมาย ทานลองคิดคํานวณดูสิวา GDP อาจเปนเลขคูก็ ได ไมตองไปงอรายไดจากคาแรงงานของอุตสาหกรรมบางประเภท เหมือนอยางในปจจุบัน March 2012 l 65

Energy#40_p64-65_Pro3.indd 65

2/20/12 10:02 PM


Energy#32_p94_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/25/11

12:03 AM


Energy Tezh โดย : พิพัฒน จันทรอดิศรชัย

ทึ่ง! วัสดุชวยดูดคารบอน..เพอโลก ภาวะโลกรอนยังไมมแี นวโนม ว า จ ะ ค ลี่ ค ล า ย แ ถ ม ยั ง ดู เหมือนวาจะวิกฤติหนักกวาเดิม เขาไปเสียอีก ซึ่งเราสามารถเห็น ได จ ากสภาพการเปลี่ ย นแปลง ของภู มิ อ ากาศรวมไปถึ ง ความ รุนแรงของภัยธรรมชาติทัง้ เรอง ของอุทกภัย, ภัยแลงและภัยจาก ความหนาวที่เกิดขึ้นตามที่ตางๆ ทั่วทุกมุมโลก แตนักวิทยาศาสตรก็ยังไมลดละความพยายามในการคิดคน อุปกรณหรือวิธีในการชวยเหลือโลก โดยเฉพาะความรูในดานการจัดการ คารบอน สาเหตุสําคัญที่กอใหเกิดเหตุการณตางๆ ในปจจุบัน ที ม นั ก วิ ท ยาศาสตร จ ากสถาบั น USC Loker Hydrocarbon Research Institute ไดมกี ารพัฒนากระบวนการทีท่ าํ ใหวสั ดุมคี วามสามารถ ขจัดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดจากอากาศเปนจํานวนมาก พวกเขา เชอวาในอนาคต เทคโนโลยีใหมๆ จะสามารถนํามาใชเพอลดความเขมขน ของกาซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศของโลก โดยมีแนวคิดในการทํา ตนไมเทียม George Olah ศาสตราจารยดา นเคมีสถาบัน USC และหัวหนา โครงการดั ง กล า ว ได ก ล า วไว ว า “ก า ซคาร บ อนไดออกไซด ไ ม ใ ช ป ญ หาที่ ม นุ ษ ย ต อ งมานั่ ง ปวดหั ว เพราะในธรรมชาติ มี ก ารผลิ ต กาซคารบอนไดออกไซดอยูแลว และธรรมชาติก็จะเปนคนรีไซเคิลมันเอง นัน่ จึงทําใหเราตองกลับมาคิดกันวา มนุษยเราก็ควรทําเชนนัน้ บางเหมือนกัน ในฐานะที่เราเปนผูปลอยกาซคารบอนไดออกไซด” วัสดุชนิดใหมที่นักวิจัยคิดขึ้นมาเปนผงซิลิกาที่ถูกนํามาชุบดวย Polyethlenimine ซึ่งเปนโพลิเมอรชนิดหนึ่ง ซึ่งจากการทดสอบแลวทําให พบวา วัสดุดงั กลาวสามารถดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดไดดี ทัง้ ในสถานที่ ที่มีอากาศแหงและชื้น โดยเมอกาซคารบอนไดออกไซดถูกจับดวยวัสดุ ดังกลาวจะทําใหคารบอนเหลานั้นเกิดการรวมตัวและมีศักยภาพในดาน พลังงานโดยเฉพาะความรอน นักวิทยาศาสตรยัง ค น พบอี ก ด ว ยว า วั ส ดุ ดังกลาวยังสามารถนํามา ใช เ ป น แหล ง พลั ง งานได เที ย บเท า ถ า นคาร บ อน แตยังไมมีผลการวิจัยออก มารองรับถึงพลังงานที่ ได และการปลดปล อ ยก า ซ

คารบอนไดออกไซด ซึ่งทีมนักวิจัยเตรียมดําเนินการคนควาเรองดังกลาว ในขั้ นตอนต อ ไป และงานวิ จั ย ในขั้ นต อ ไปจะเน น ไปที่ เรื่ อ งของการนํ า เทคโนโลยีดังกลาวมาเปนแหลงเชื้อเพลิงทดแทน เพอใหสามารถใชกาซ คารบอนไดออกไซดใหเกิดประโยชนสูงสุด ศาสตราจารย George Olah กลาวเสริมวา “งานวิจัยในขั้นตอไป เราจะหาวิธีที่ทําใหกาซคารบอนไดออกไซดเปนสิ่งที่ชวยประหยัดพลังงาน ดวยตนทุนต่ํา จากการนํากาซคารบอนไดออกไซดมาจับลงในเมทานอล ซึ่งสามารถนํามาเผาเปนแหลงเชื้อเพลิง รวมถึงการใชเปนวัตถุดิบทาง เคมีดวย” ก็ตองรอดูกันตอไปวา ผลวิจัยดังกลาวจะออกมาในรูปแบบใด แตสุดทายแลวการชวยลดกาซคารบอนไดออกไซดก็ยังเปนสิ่งที่ตองทํา อยูดี ถึงจะไมมีวัสดุหรือเทคโนโลยีดังกลาวเขามาชวยก็ตาม

March 2012 l 67

Energy#40_p67_Pro3.indd 67

2/23/12 12:36 AM


Vehicle Concept โดย : Save Driver

Mercedes Benz F125 ไฮบริดไรนํ้ามัน 0% นอกจากเรื่ อ งของยานยนต ไฟฟ า ที่ เป น พลั ง งานทางเลื อ กอยู ใน กระแสทุกวันนี้แลว รถยนตไฮบริดก็ดูจะเปนคําตอบของยานยนตประหยัด พลังงานในยุคนี้ พ.ศ.นี้ แตจะดีกวามากขึ้นถารถยนตไฮบริดที่ ใชพลังงาน ไฟฟารวมกับเชื้อเพลิงที่ปราศจากการใชน้ํามันแบบ 100% ซึ่งหลายคน อาจมองวามันเปนเรื่องยากที่รถยนตแบบไฮบริดจะไมใชน้ํามัน แตเรื่องเหลานัน้ ก็ ไมยากเกินความพยายามของมนุษยไปได เมื่อคาย รถระดับสุดยอดอยาง Mercedes Benz คิดคนและพัฒนารถยนตตนแบบ แบบไฮบริดที่ ไมพึ่งพาน้ํามัน 100% ภายใตชื่อ Mercedes-Benz F125 Concept ซึ่งเปดตัวไปแลวในงาน Frankfurt Motorshow 2011 โดยเลข รหัส 125 ไมไดมาจากขนาดของเครื่องยนตหรือกําลังแรงมาตามสไตล ของเบนซ แตมาจากการครบรอบการกอตั้งของเบนซที่มีมายาวนานถึง 125 ป

68 l March 2012

Energy#40_p68-69_Pro3.indd 68

2/17/12 12:41 AM


อาจกลาวไดวา Mercedes-Benz F125 Concept ถอดรูปทรงมา จากเบนซในรุน F800 โดยเปนการแสดงวิสัยทัศนของบริษัทฯ ในการสราง สุดยอดรถหรูในยุคป 2025 ซึ่ง F125 จะใชระบบเชื้อเพลิงแบบ Plug-In Hybrid สามารถเสียบปลั๊กเพื่อทําการชารตไฟฟาได ขณะที่ยังทํางานรวม กับเครื่องยนตแบบ Fuel-Cell โดยที่มีกาซไฮโดรเจนเปนเชื้อเพลิง โดย Mercedes-Benz F125 Concept มาพรอมกับแบตเตอรีล่ เิ ธีย่ ม ชนิดซัลเฟอรขนาด 10 กิโลวัตตชั่วโมงและถังเชื้อเพลิงไฮโดรเจน ที่พิเศษ สุดคือระบบขับเคลื่อนที่ ใชมอเตอรไฟฟาถึง 4 ตัวควบคุมการหมุนของ ทุกลอแบบอิสระ ซึ่งตามที่ผูผลิตระบุไววามอเตอรทั้ง 4 ตัวรวมกันจะมี กําลังไฟฟารวม 230 กิโลวัตต โดยไมมีการใชเพลารวม ทําให F125 สามารถเรียกแรงมาไดสูงถึง 308 แรงมา สามารถทําความเร็วจาก 0-100 กิโลเมตร/ชั่วโมงในเวลาเพียง 4.9 วินาที ทําความเร็วสูงสุดไดถึง 220 กิโลเมตร/ชั่วโมง โดยการชารตแบบเต็มประจุสามารถเดินทางไดไกล ถึง 1,000 กิโลเมตร

และยังสามารถติดตอผานระบบ Social Community ไดอยางงายดาย โดย ไมรบกวนระบบการทํางานของอุปกรณควบคุมอิเลคทรอนิกส (ECU) เลย อยางทีท่ ราบวานีย่ งั เปนเพียงรถยนตตน แบบเทานัน้ จึงยังไมมแี ผนที่ จะวางจําหนายและอาจไมมแี ววทีจ่ ะไดยลโฉม ซึง่ ก็ตอ งลุน วาเบนซประเทศไทย จะเจรจาขอเอามาอวดโฉมในงานมอเตอรโชวไดหรือไม แตตองยอมรับวา หากมีรถยนตแบบนีว้ งิ่ จริงๆ นาจะชวยลดการใชนา้ํ มันไดอยางเห็นผล เพราะ รถยนตรุนนี้กลาวไดวาเปนรถยนตแบบ “Oil Free!!!”

นอกจากการออกแบบภายนอกที่เหมือนกับในรุน F800 แลว การ ออกแบบภายในยั ง อั ด แน น เต็ ม ไปด ว ยเทคโนโลยี ชั้ น สู ง โดยเฉพาะ แผงควบคุมอุปกรณแบบ 3D ซึ่งเปนจอ LED ขนาด 17 นิ้วแบบพับเก็บได รวมไปถึงระบบ infotainment ที่สามารถควบคุมการทํางานและระบบสั่ง การตางๆ ผานเสียง, การสัมผัสและสัญญาณมือ นอกจากนี้ยังมีระบบที่สามารถตั้งคาการขับขี่ ใหเหมาะกับผูขับแตละ คนเพื่อรองรับการใชงานที่มีประสิทธิภาพขั้นสูงสุด ที่สําคัญภายในยาน ยนตยังรองรับการตอเชื่อมกับอินเตอรเน็ตผานระบบ Cloud Computing March 2012 l 69

Energy#40_p68-69_Pro3.indd 69

2/17/12 12:41 AM


Energy Test Run โดย : Dr. ES

HiPhone Solar Bluetooth ชุดแฮนดฟรี ในรถยนต ปจจุบันการใชโทรศัพทในขณะขับรถคุณอาจถูกจับไดเนองจากมีขอ กฎหมายห า มคุ ย โทรศั พ ท ใ นขณะขั บ รถ ด ว ยเหตุ นี้ อุ ป กรณ ใ นการคุ ย โทรศัพทในรถยนตหรือที่เรารูจักในชอแฮนดฟรี (HandFree) จึงถูกผลิต ออกมาในหลายรูปแบบตางๆ ซึ่งแบงออกได 2 ประเภทคือแบบมีสายกับ แบบไรสายโดยผานระบบบลูธทู (Bluetooth) ทีม่ คี วามสะดวกสบายมากกวา แบบมีสาย ที่สําคัญยังดูล้ํานําสมัยอีกดวย แต ข อ จํ า กั ด ของ แฮนดฟรีแบบไรสายก็ยงั มี จุ ด ด อ ยที่ ทํ า ให อุ ป กรณ แฮนดฟรีแบบมีสายยังคง ไดรับความนิยม นั่นก็เปน เพราะแฮนดฟรีแบบไรสาย ตองผานระบบบลูธูท ซึ่ง ระบบดังกลาวจําเปนตอง มีการใชกระแสไฟฟาเขามา เกี่ยวของ ที่สําคัญเพราะ แฮนดฟรีแบบไรสายมันอยู ในรู ป ของอุ ป กรณ เ หน็ บ ติดหู จึงทําใหยากตอการชารจไฟในขณะกําลังใชงาน ซึ่งเปนจุดออนหลัก ของอุปกรณชนิดนี้ ที่สําคัญอุปกรณดังกลาว มักจะใชไฟบานในการชารจ แบตเตอรี่ แตสาํ หรับเจา HiPhone อุปกรณแฮนดฟรีในรถยนตทีม่ คี วามพิเศษ ถึง 2 ประการนั่นก็คือ ความพิเศษในเรองของการชารจไฟโดยใชแหลง พลังงานจากแสงอาทิตย โดยที่ ไมจําเปนตองเสียบปลั๊กไฟ และความ

สามารถในแบบแฮนดฟรีทีเ่ ปนสปกเกอร นัน่ หมายความวาเราไมจาํ เปนตอง เหน็บติดหูอีกตอไป และสามารถนําไปใชในรถยนตได โดยสามารถเสียบ ชารจไฟไดที่ชองจุดบุหรี่

ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงาน

เนองจากเปนอุปกรณทึ่ ไมตอ งใชพลังงานไฟฟาจากไฟบานหรือจาก ไฟในรถยนตเลย สงผลใหการใชพลังงานเปนศูนยโดย ปริยาย โดยที่ดานหลังตัวเครองจะมีแผน Solar Cell ที่ติดตั้งกลมกลืนไปกับตัวเครื่อง จากการทดสอบ ชารจไฟดวยพลังงานแสงอาทิตยสามารถชารจไฟได เต็มประจุโดยใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง สําหรับราย ละเอียดของชุดโซลารเซลลดังกลาว ยังไมเปนที่เปด เผยจากผูผลิต

70 l March 2012

Energy#40_p70-71_Pro3.indd 70

2/24/12 10:27 PM


ที่ ใชสําหรับการควบคุมการทํางานในทุกรูปแบบของอุปกรณ ไมวาจะ เปนการโทรซ้ําอีกครั้ง (Redial) หรือการจับคูอุปกรณและอนๆ เรียกได วาการใชงานอุปกรณดงั กลาวงายในการใชงาน ซึง่ ไมแตกตางกับอุปกรณ แฮนด ฟ รี ไ ร ส ายทั่ ว ๆ ไป ที่ สํ า คั ญ ยั ง ไม ต อ งพะวงกั บ การเหน็ บ ติ ด หู เนองจากตัวเครองใชเปนสปกเกอรโฟนไดทันทีเสมือนการรฟงเพลงใน รถยนต

บทสรุปการทดสอบ

สําหรับการใชงานจะใชรวมกับอุปกรณขาจับที่ ใหมาโดยอุปกรณ ขาจับจะเปนพลาสติกใสพรอมตัวจุบ ยึดติดกับกระจกสามารถใชงานไดทนั ที นอกจากยังสามารถใชงานดวยชารจไฟจากชองจุดบุหรี่ ในรถยนต ดวย การใชขาจับอุปกรณแบบเสียบกับที่บังแดดดานบน การชารจโดยใชไฟจาก รถยนตสามารถชารจไดทั้งกลางวันและกลางคืน ซึ่งชวยลดขอดอยของ การใชพลังงานแสงอาทิตยในยามกลางคืน

ประสิทธิภาพการใชงาน

ตัวอุปกรณแฮนดฟรีไรสายแบบบลูธูทนี้ถูกออกแบบมาใหมีลักษณะ คลายสมารทโฟนทั่วไป โดยตัวเครองจะเปนพลาสติกสีดําเงาทั้งตัวขณะที่ ขอบดานขางจะเปนสีบรอนซเงินเพอเสริมความหรูหรา เมอเปดใชงานแลว จะมีเสียงสัญญาณบอกใหทราบพรอมกับการแสดงผลบนหนาจอ LCD แสดงสถานะการทํางาน ดานขวาของตัวเครองจะมีปุมปรับระดับเสียง นอกจากการใชเปนปุมปรับระดับเสียงแลวยังใชเปนปุมควบคุมในการ ควบคุมรายชอตางๆ ภายในตัวเครองดวย ขณะที่ดานหนาตัวเครองมีเพียงปุม Multi Function โดยจะเปนปุม

โดยปกติ แ ล ว อุ ป กรณ ป ระเภทแฮนด ฟ รี ไ ร ส ายแบบบลู ธู ท ที่ เ ป น สปกเกอรโฟนมีความสะดวกกวาการใช หูฟงแบบไรสายเนองจากความ สะดวกสบายในการใชงาน ไมตอ งรูส กึ อึดอัดหรือเจ็บหูเวลาที่ใชคยุ เปนเวลา นานๆ แตขอเสียเพียงจุดเดียวของอุปกรณดังกลาวคือความเปนสวนตัว ไปที่หมดไป เพราะทุกการ สนทนาผูรวมทางคนอนก็ จะสามารถรั บ รู ไ ด เ ช น เดี ย วกั น ยกเว น แต จ ะ เปนการคุยที่ ไมมีความลับ จากการทดสอบใน ในระหว า งเดิ น ทาง พบ วาการใชงาน เปนไปอยางงายดายสามารถทําการจับคูอุปกรณแลวใชได ทันที ไมคอยมีลูกเลนอะไรซับซอนมากนักหรือไมยากในการใชงาน คุณภาพ เสียงสนทนาในการใชงานมีความชัดเจน ซึ่งตองแลวแตลักษณะการปรับ เสียงของแตละคน ที่สําคัญสามารถใชพลังงานแสงอาทิตยเปนแหลง พลังงานหลักได นอกจากนี้ยังสามารถใชไฟในรถเปนพลังงานสํารองได อีกดวย สําหรับผูที่ตองใชโทรศัพทในการติดตอธุรกิจบอยหรือผูที่ตองเดิน ทางบอยๆ ที่ ไมตองการขาดการติดตอ อุปกรณสามารถตอบสนองความ ตองการไดอยางดีเยี่ยม ที่สําคัญสําหรับผูที่รักในการอนุรักษพลังงาน รับรองไดวาจะตองชอบอุปกรณตัวนี้ เพราะการใชอุปกรณดังกลาวไมได ทําใหคาไฟเพิ่มขึ้นถึงแมจะตองใชงานเกือบตลอดทั้งวันก็ตาม

March 2012 l 71

Energy#40_p70-71_Pro3.indd 71

2/24/12 10:27 PM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพื่อน

สวัสดีพี่นองผองเพื่อนของตนสมที่นารักทุกทาน เปนอยางไรกันบาง เดือนแหงความรักทีผ่ า นมาไดกนั ละกีด่ อก.. หมายถึงดอกไมนะเจาคะ แหม คุณ ผูอานตนสมนี่เริ่มจะมีนักศึกษาเขามากันเยอะมากขึ้นแลว วัดจากฟดแบกที่สง เรื่องกันเขามารวมสนุกอานฟรี ตองบอกวา ENERGY SAVING บุกตลาดวัย สะรุนเหมียนกัลลลล หุหุ ฉบับนีอ้ อกงานกันเยอะนิสสนุง ขอบอกวาเลมนีแ้ ซวกันเบาๆ ไมเอาสาระบาง เห็นเหน็ดเหนื่อยกับการอานเรื่องวิชาการกันมามาก เบรกตรงนี้ตนสมขอพา ไปแซบกันเล็กนอยดีกวาคะ เริ่มกันดวยงานพานาโซนิคจับ มือพารทเนอร 5 รายใหญ ประกอบดวย 1. เจเนเทค 2. ฟูจินอล 3. อัลไลนซ เทล ซิส 4. อินเตอรลงิ ค และ 5. ไฟเยอรไทด จัดงานแถลงขาว FDC Consortium in Thailand – IP Security Partner Program โปรแกรมความรวมมือในวงการ IP Security Network เพื่อผลักดันธุรกิจซีซีทีวีใหเติบโตและตอบสนองความ ตองการของลูกคาที่กําลังฮอตฮิตขึ้นเรื่อยๆ เจาคะ ดาน Horti ASIA 2012 ก็นํา นักขาวชาวอินโดนีเซียเยีย่ มชมฟารมไทย โดยคุณเลิศวรรธน จันทตรัตน ผูจ ดั การ ฝายขายอาวุโส Horti ASIA 2012 นํา MS. Renda Diennazola จากนิตยสาร AGRINA Tabloid สื่ อ พั น ธมิ ต รจากประเทศอิ น โดนี เ ซี ย และ ผูต ดิ ตามเขาเยีย่ มชมสวนสุภทั ราแลนด จังหวัดระยอง โดยมีคณ ุ โชติชยั บัวดิษ ผูจ ดั การทัว่ ไปใหการตอนรับ นอกจากนีย้ งั ไดขาเยีย่ มชมอุดมการเดน จังหวัด ราชบุรี บูรพาฟารม (ฟารมเห็ด) และ TOC (thai Orchids Co) ฟารมที่จังหวัด ราชบุรีดวย กิจกรรมครั้งนี้จัดขึ้นเพิ่อประชาสัมพันธและดึงดูดผูประกอบการ จากประเทศอินโดนีเซียเขาชมงาน Horti ASIA 2012 งานแสดงเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมพืชสวน ผัก ผลไม ดอกไม และกลวยไม ครั้ ง แรกของอาเซี ย น ซึ่ ง จะจั ด ขึ้ น ในประเทศไทย ระหว า งวั น ที่ 9–11 พฤษภาคม 2555 ณ ศุนยไบเทค กรุงเทพ สอบถามขอมูลเพิม่ เติมไดทโี่ ทรศัพท 0-2203-4260-4 หรือ www.hortiasia.net นะเจาคะ บริษัท เอฟ.ที.เอ็น จํากัด ผู ผ ลิ ต ชิ้ น ส ว นโลหะสํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ อิเล็กทรอนิกสจากประเทศญีป่ นุ ทําพิธวี าง ศิลาฤกษโรงงานแหงใหมบนที่ดิน 11 ไร ใน เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราช สระบุรี โรงงานแหงนี้จะเริ่มดําเนินการไดในเดือนเมษายน ป 2555 เพื่อผลิต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส สําหรับกลองถายรูป อุปกรณสํานักงาน ชิ้นสวน ยานยนต ชิน้ สวนฮารดดิสต และอุปกรณไฟฟาอื่นๆ อีกเพียงเดือนเดียวก็พรอม เดินหนาเต็มสูบ!! ตอกันที่งานความรวมมือไทย-เยอรมัน 8 ป เสริมศักยภาพ SMEs ไทย พรอมแขงขันในตลาดโลก เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถใน การแขงขันของวิสาหกิจ (T-G PEC) โดยเจาภาพจัดงานคือองคกรความรวมมือระหวาง ประเทศของเยอรมัน( GIZ) ทั้งเผยแพรความสําเร็จในการดําเนินโครงการใน

อุตสาหกรรมเกษตร 5 กลุม ไดแก นาํ มันปาลม กุ ง ผั ก และผลไม กระดาษสา และมั น สําปะหลัง สงผลใหผูประกอบการ SMEs สามารถปรับปรุงคุณภาพและเพิ่มผลผลิต เพิม่ โอกาสในการสงออก และยังใชพลังงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมทั้งมีการใชพลังงานหมุนเวียน ซึ่งชวยลด ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกได และหากใครสนใจรถป ก อั พ บรรทุก 3 ลอ ซูโมตาราคายอม มีใหเลือก ถึง 7 รุน โดย ดร. วิโรจน กุศลมโนมัย ประธานบริหาร กลุมบริษัท กุศมัยกรุป และ กุศมัย มอเตอร จํากัด พรอมเผยโฉม ทั้งหมด 7 รุน ไดแก 1. รุนชางนอย ซูโมตา HD200 แถมหลังคาเหล็ก 2. รุน ซูโมตา HD200 Plus หลังคาไฟเบอร 3. รุนซูโมตา พลังชาง SP1 ระบบหมอ นํา 4. รุนซุโมตา ชางศึก SP2 มี Space Cab 5. รุนซูโมตา อินดี้ F1 มี 7 ที่ นั่ง 6. รุนซูโมตา ซาฟารี F2 มี 10 ที่นั่ง และ 7. รุนซูโมตา สิงหทะเลทราย 4D มี 4 ลอ โดยทั้งหมดเปนรถเอนกประสงคประหยัดนํามันสําหรับบรรทุก สามารถรับนําหนักไดกวา 1 ตัน ดวยเครื่องยนตขนาด 200 ซีซี ดูแลรักษา งาย เหมาะสําหรับการขนสงสินคาภายในไร สวน คาขาย เปดรานขายของ และใชในโรงงานอุตสาหกรรม สนใจจับจองกันใหไวเจาคะ ขาวสุดทายชวยประชาสัมพันธ เจาคะ มร. ยาซูฮิโกะ คอนโดะ กรรมการ ผูจ ดั การบมจ. อิออน ธนสินทรัพยฯ และ มร. จิอากิ คาโด ประธานกรรมการ บริหาร บจก . เอ.พี.ฮอนดา รวมกันเปด ตัวโครงการ “ที่อิออน มีฮอนดา ใหขับสนุก ผอนสบาย” รับดอกเบี้ย 0.99 % และของสมนาคุณพิเศษ โปรโมชั่นถึง 30 เมษายนนี้ สอบถามขอมูลเพิ่มเติม หรือสมัครไดที่อิออนทั้ง 28 สาขาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลนะเจาคะ

Idustrial / เกาะสมุย..ซุยขาว ต อ นรั บ รั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงพลังงานคนใหมถอดดาม หลาย คนในแวดวงพลังงานคงคุนหนาคุนตากัน ดีแลวสําหรับ รมต. คนใหมที่ชื่อวา “นาย อารักษ ชลธารนนท” และเขาเปนใครมา จากไหนก็คงไมตองสาธยายกันอีก รูแตเพียงวาในวันตอนรับ รมต. พลังงาน คนใหมนนั้ เดือดยิง่ กวาศึกแดงเดือดเสียอีก เพราะเพียงแคนงั่ ลงเกาอีย้ งั ไมทนั แนะนําตัวทานรัฐมนตรีกโ็ ดนยิงคําถามจากนักขาวแลวเลนเอาแทบตัง้ รับไมทนั ถึงกับทําใหรฐั มนตรีตอ งปะทะคารมกับผูส อข ื่ าวทัง้ รุน เล็กรุน ใหญกนั ตลอดจน จบงาน....(อยูไปเดี๋ยวก็คุนเคยกัน....อยาเพิ่งรีบออกละทานรัฐมนตรี...อิอิ) งานนี้ ไดพูดถึงประเด็นเกี่ยวกับทิศทางพลังงาน ทั้งการปรับ โครงสรางพลังงาน การปรับราคาเชื้อเพลิงพลังงาน การยกเลิกจายนํามัน เบนซิน 91 เรื่องการชดเชยราคา LPG และ NGV การตรึงราคานํามันดีเซล นโยบายไฟฟาของประเทศ ขายหุนใหกองทุนวายุภักษ 2 % และประเด็นอื่นอีก มากมายที่ตองติดตามกันตอไป

72 l March 2012

Energy#40_p72-74_Pro3.indd 72

2/27/12 11:13 PM


ES Online

ทําอยางไรถึงจะมัดใจแบงก ปลอยใหกูเงินไดงายๆ สบายมือ คลิกมาที่เรา มีคําแนะนําเกี่ยวกับการเริ่มตนกูเงินไปลงทุนซึ่งจะทําใหคุณไดรูแนวทางตั้งแต ตนทางไปสูปลายทางอยางประสบความสําเร็จ ติดตามอานกันไดในเดือนมีนาคม http://www.energysavingmedia.com

เขาสูเดือนสามแหงป 2555

เสียงตอบรับถลมทลาย ในการขอ อานฟรี 3 เดือน โฮะ โฮะ ตองขอบอกวาเรื่อง ที่ทานผูอานสงกันเขามา ตองรอคิวหนอย เพราะกองบก.เรากําลังทํางานอยางหนักเพื่อ คัดเลือกเรื่องทีเ่ หมาะสมจะถูกตีพมิ พเปนเกียรติประวัตแิ ละไดรบั รางวัลไป อยางไร ก็ตาม คุณผูอานยังสามารถสงกันเขามาไดเรื่อยๆ เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและ เปนเวทีในการประกาศความเริ่ดของคุณในเรื่องของการใสใจพลังงานอีกดวย ยังเปดรับเรื่องราวดีๆ อยูเสมอ คุณผูอานสามารถสงเขามารวมสนุกกันไดที่ กองบรรณาธิการนิตยสาร ENERGY SAVING บ.ทีทีเอฟ อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด 200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาท ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กทม. 10250 (วงเล็บมุมซองวา เขียนดี อานฟรี 3 เดือน)

กูเ งิน..ลงทุนธุรกิจพลังงาน

ตอนที่สองแลวของการมอง หาเงินลงทุนดานธุรกิจพลังงาน ใน ตอนนี้เราจะบอกทุกกระบวนทาวา

หลังจากไดเปดตัวกันไปแลวเมื่อ วันที่ 25 มกราคม 2555 ทีผ่ า นมาหลังจาก นั้ น ก็ ไ ม ค อ ยเห็ น ข า วคราวของรั ฐ มนตรี พลังงานคนใหมออกมาใหขาวอะไรมากนัก แม แ ต จ ะนั ด สั ม ภาษณ ยั ง ยากเลยช ว งนี้ ตอนแรกก็คดิ วาเปนรัฐมนตรีใหมจะมาแรงเหมือนคนอื่นๆ ไมรวู า เปนเพราะอะไร หรือหลบไปฝกปรือเรื่องการตอบคําถามนักขาวใหคลองกอนเพราะวันแรกของ การตอนรับทานรัฐมนตรีโดนยิงไปหลายคําถามจนออกอาการมึนใหเห็นเลย ทําใหตอบผิดตอบถูกในบางคําถาม....ลืมไปวาทานมีเวลาในการเตรียมตัวมารับ ตําแหนงนอยเกินไป ชวงนี้เลยตองหลบไปศึกษาวิชาพลังงานกอนเพื่อรับมือ กับกองทัพนักขาว....อิอิ ยังคงอยูที่กระทรวงพลังงาน ซึง่ ลาสุดไดเดินหนาโครงการ “สินคาเบอร 5 ชวยเยียวยาผูประสบอุทกภัย” รอบที่ 2 และไดแจงรายละเอียด 3 จุดแจกคูปอง สวนลด มูลคา 2,000 บาท สําหรับนําไปซือ้ สินคาเบอร 5 ในเขตกรุงเทพ ทั้งนี้ผูประสบอุทกภัยตองตรวจสอบขอมูลกอน เดินทางออกจากบานวาเขตทีพ่ กั อาศัยปรากฏรายชื่ออยูในจุดแจกใดเพื่อไมให ประชาชนเกิดความสับสนและเสียเวลาในการมาขอรับคูปองสวนลดโครงการ ทัง้ นีผ้ ปู ระสบอุทกภัยสามารถใชซอื้ สินคาประหยัดพลังงานเบอร 5 ตามเงื่อนไข ที่กระทรวงพลังงานกําหนด ไดถึงวันที่ 31 มีนาคมนี้เทานั้น หากใชคูปอง ไมหมดไมสามารถนําไปแลกคืนเปนเงินสดได

Green4 U ..สินคารักษโลก

ในเว็บเรามี Section สินคารักษโลก ไวใหผูอ า นศึกษาหาเครื่องมือในการชวย ประหยัดพลังงานไวดวยนะคะ ทั้งเครื่อง มือที่เหมาะกับภาคอุตสาหกรรม และภาคครัวเรือน Gadget นอยใหญ in-trend / up-trend สามารถนําไปใชไดในหลายๆ โอกาส คลิกเลย .. http://www. energysavingmedia.com/green4u/

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag EnergySavingMedia.com savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย ไปกั น ที่ แ วดวงข า วคราว โรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียนของ บริษัท เนชั่นแนล เพาเวอร ซัพพลาย จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็นพีเอส โดยลาสุดไดเขา เยี่ยมชมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟาดวย เทคโนโลยีสะอาด ซีเอฟบี ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และอางเก็บนาํ ใชทข่ี ดุ ขึน้ เอง เพื่อรองรับนาํ หลากนาํ ลนในฤดูฝนมาใช โดยไมตอ งรบกวนแหลงนาํ ชุมชุนและ เปนการชวยลดภาวะนําทวมในฤดูฝนใหกับพื้นที่รอบๆ โรงไฟฟาอีกดวย ทั้งนี้ โรงไฟฟาเอ็นพีเอสนัน้ เปนโรงไฟฟาตนแบบของโครงการพนมพัฒนาทีจ่ ะพัฒนา ในพืน้ ทีต่ าํ บลเขาหินซอน อําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อรองรับ การสรางเสถียรภาพและความมัน่ คงดานพลังงานตามนโยบายของภาครัฐตอไป

Transport / วัตโตะ มาทีก่ ารแถลงการณประชุมคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ในเรื่องลดการชดเชยและการจัด เก็บเงินเขากองทุนนํามัน โดยสรุปทั้งกาซ ธรรมชาติและนาํ มันกลุม เบนซิน-แกสโซฮอล ปรับราคาขึ้นตั้งแต 0.50-1 บาท ขณะที่ นํามันดีเซลยังไมเปลี่ยนแปลง โดยมีผลใน วันที่ 16 กุมภาพันธทผ่ี า นมา งานนีส้ ง ผลใหกองทุนนาํ มันมีภาระลดลงประมาณ วันละ 21 ลานบาท แตขอบอกวาประชาชนคาใชจายดานพลังงานขึ้นทันทีเลย ครับ…ลูกพี่ March 2012 l 73

Energy#40_p72-74_Pro3.indd 73

2/27/12 11:13 PM


ตอกันทีง่ านเปดตัวบัตร “ดีเซลคลับ” ของบางจากเพื่ อ สะสมแต้ ม ลุ้ น ชิ ง โชค ทองคําและบัตรเติมนํามันมูลคารวมกวา 2 ลานบาทหมดเขต 31 ธันวาคม 2555 นอกจากนี้ผูถือบัตรสามารถซื้อสินคาและ บริการในรานคาเครือบางจากทุก 25 บาทรับคะแนน 1 คะแนน สามารถใชแทน เงินสดเพื่อแลกซื้อสินคาและบริการในรานคาเครือบางจากไดดวย ขอบอกวา บัตรนี้นาสนใจมาก แตทานอนุสรณครับ…อายุบัตรมันสั้นไปมั้ยครับ หรือทาน จะสงสัญญาณเปนนัยเรื่องการปรับราคานํามันดีเซลหรือเปลาทาน!!! คุ ณ ม นู ญ ศิ ริ ว ร ร ณ นักวิชาการดานพลังงานและอดีตผูบริหาร บริษัท บางจากปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) เชื่อนํามันแพงแน ยิ่งดีเซลแนวโนมตลาด โลกเปนขาขึ้นจนถึงสิ้นเดือนมีนาคมนี้ ชี้ 2 ปจจัยนาํ มันดีดตัวทัง้ ยุโรปและอเมริกาอากาศหนาวรุนแรง สวนอิหรานจอเกิด สงคราม แถมภาษีสรรพสามิตนาํ มันดีเซลมีแววปรับแนนอน ทีแ่ นๆ ตอนนีน้ าํ มัน กลุมเบนซินรับภาระกอน ทานอาจารยครับนํามันขึ้นไมวาแตขอใหการเดินทาง สะดวกเปนใชได สวนใหญที่ใชรถเพราะมันไมสะดวกครับทาน เปนเรื่องซะแลวเมื่อโครงการ บัตรเครดิตพลังงานจะแปรสภาพเปน NPL หรือเรียกงายๆ วา “หนี้เนา” เหตุเพราะ ผูขับแท็กซี่ ไมยอมชําระหนี้ตามที่กําหนด โดยทางธนาคารกรุงไทยแจงความคืบหนา โครงการบัตรเครดิตพลังงานวา เมื่อถึงเวลากําหนดชําระหนี้งวดแรก ซึ่งจะมี ยอดผูค นขับแท็กซีม่ ากกวา 10% ของยอดอนุมตั บิ ตั รเครดิตทัง้ หมดประมาณ 30,000 ใบ ผิดชําระหนี้ตามเงื่อนไขที่วางไว โดยทาง ปตท.ผูรับผิดชอบ โครงการรับทราบเรื่องดังกลาวแลว หวังวาพี่แท็กซี่คงไมไปกูนอกระบบมาโปะ หนี้ ในระบบนะครับ ไมงั้นรัฐอาจตองกูเงินมาชวยทานโปะหนี้จนเปนงูกินหาง ในงานเสวนาการคัดคานขายหุน ปตท.ทีจ่ ดั โดยสมาพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ สัมพันธ โดยในงานไดกลาวถึงการขายหุน ของ ปตท.วาไมเหมาะสมแถมเปรียบกับ บริษัท ปโตรนาส (ขออภัยที่เอยนาม) ที่ถือ หุนโดยรัฐบาลมาเลเซีย 100% ก็ยังสามารถเติบโตได แถมนายสมศักดิ์ โกศัยสุข ที่ปรึกษาสมาพันธฯ กลาวติดตลกไววา “ธุรกิจพลังงานยากที่จะ ขาดทุน หากขาดทุนใหไปผูกคอตาย” แหม…อยากจะกดไลคใหทานซักพันครั้ง แตไมรูจะกดตรงไหนดี นักวิชาการอิสระเตรียมเสนอ แผนพัฒนาพลังงานไฟฟาภาคประชาชน โดยคํานึงถึงปริมาณ, ราคา, ประสิทธิภาพ และสิ่ ง แวดล อ ม และเน น ให รั ฐ นํ า แผน อนุรกั ษพลังงานระยะ 20 ปเขามาอยูในแผน พัฒนาดวย หากรัฐวางกรอบความคิดของแผนพัฒนาฉบับใหมจะชวยลดการ ลงทุนไดประมาณ 1.9 ลานบาท จากแผนเดิมที่ตองลงทุนกวา 4 ลานลานบาท

อยางนี้เขาเรียกวา Win Win ประเทศลดภาระหนี้จากการลงทุนสูง ประชาชน ไดใชไฟฟาที่ดี รัฐบาลไดใจประชาชน คุมเห็นๆ อยูที่ภาครัฐจะเอาดวยหรือเปลา เทานั้นเอง

Environment / Suki กอนอื่นตองขอแสดงความยินดี กับ ธนาคารกสิกรไทย ที่ ไดรับรางวัล ธนาคารผู ส นั บ สนุ น โครงการด า นการ ประหยั ด พลั ง งานยอดเยี่ ย ม (ESCO Excellence Supporting Bank Award) ซึ่ง จัดโดย สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย ในฐานะที่ธนาคาร ฯ มีการออกสินเชื่อพิเศษที่สนับสนุนโครงการ ดานการอนุรักษและประหยัดพลังงานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน พานักขาวออกไปลุยพื้นที่สรางฝายกัน อีกแลว สําหรับ พี่โตง - เรืออากาศโท คันธนิธิ์ สุคนธทรัพย รองประธานดานธุรกิจสัมพันธ บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ที่ แ ม จ ะกํ า ลั ง ยุ ง กั บ การเตรี ย มงานแถลงข า ว เรืออากาศโท คันธนิธิ์ ผลประกอบการฯ แตก็ยังใหความสําคัญกับการ สุคนธทรัพย สรางฝายชะลอนําคืนความชุมชื้นแกพื้นที่ชายแดน ดวยการไดสนับสนุนปูนซีเมนต จํานวน 200 ตัน ให กั บ กองกํ า ลั ง ผาเมื อ งและกองกํ า ลั ง นเรศวรในการสร า งฝายอี ก ด ว ย ใจดีแบบนี้ขอใหผลประกอบการปนี้โตขึ้นอีกเยอะๆ เลยเจาคะ พามาดูผลประกอบการของ บริ ษั ท ปู น ซี เ มนต น ครหลวง จํ า กั ด (มหาชน) ที่ ไดรายงานผลประกอบการตอ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย วาในป 2554 บริษัทฯ มีรายไดจากการขายสุทธิ 23,150 ลานบาท เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของป 2553 อยูที่รอยละ 10.3 และมีอัตรากําไรสุทธิจากการดําเนินงานเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 19.4 ในป 2554 เปรียบเทียบกับรอยละ 17.5 ในชวงเดียวกันของป 2553 ทําใหกําไร สุทธิในปนี้เทากับ 3,293 ลานบาท เพิ่มจาก 2,695 ลานบาทในชวงเดียวกัน ของป 2553 ดังนั้น กําไรสุทธิตอหุน จึงเทากับ 14.32 บาท เมื่อเทียบกับ 11.72 บาทในป 2553 เทสโก โลตัส เดินหนาอนุรักษ สิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง ดวยการเปดตัว สโตรปลอดคารบอนฯ (Zero Carbon) แหงแรกในเอเชีย ที่บางพระ อ.ศรีราชา จ.ชลบุ รี โดยระบุ จ ะไม มี ก ารปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดออกมาจากขั้นตอนการทํางานของสโตร มีการนําองค ความรูผ สานนวัตกรรมใหม เชน ระบบหลอด LED ใหความสวางเพิม่ -ประหยัดไฟ, นําน้ําฝนกลับมาใช้ประโยชน์, ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์-กังหันลมเพื่อผลิต พลังงานไฟฟา, ผนังดินคลายรอน โดยมุงหวังใหเปนศูนยการเรียนรูสําหรับ ผูที่สนใจ

74 l March 2012

Energy#40_p72-74_Pro3.indd 74

2/27/12 11:14 PM


โครงการสัมมนาเผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัดพลังงานสัญจรสําหรับ SME ครั้งที่ 4/2554 ปจจุบันการอนุรักษพลังงานเปนปจจัยที่ 5 ในการใชชีวิตของ ผูคนเนองจากเชื้อเพลิงพลังงานนั้นมีราคาที่สูงขึ้น ประกอบกับภาวะ อากาศเปลีย่ นแปลงซึง่ สงผลกระทบโดยตรงกับการดํารงชีวติ ของคน เรา และหลายหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน รวมถึงภาคประชาชนทัว่ ไป ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้เป็นอย่างดีและได้ดําเนินการหาแนวทางการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง สํ า หรั บ แนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของแต ล ะองค ก รนั้ น สวนใหญมีวิธีจัดการดานพลังงานที่ ไมแตกตางกัน และเพอเปนการ สงเสริมใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานไดอยาง ทั่วถึง ในการนี้หอการคาไทยจึงไดจัดงานโครงการสัมมนาขึ้นเพอ เผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัด พลั ง งานสั ญ จรสํ า หรั บ SME ขึ้ น โดยได สั ญ จรไปทั่ ว ทุ ก ภาค ซึ่งครั้งลาสุดไดจัดขึ้นที่ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ในงานนี้ น อกจากจะได รั บ เกี ย รติ จ ากกู รู ด า นการจั ด การ พลังงานจากทั้งหนวยงานภาคเอกชน และจากหนวยงานของภาครัฐ มาให ค วามรู ด า นการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานภายในองค ก รแล ว ในงานยั ง มี ก ารจั ด บู ท แสดงสิ น ค า อุ ป กรณ เทคโนโลยี ป ระหยั ด พลังงานใหผูเขารวมฟงสัมมนาในแตละครั้งไดชมกันอีกดวย

ESCC Energy Call Center 0-2622-1860-76 ต อ 3 1 2 , 5 2 1 แ ล ะ 5 3 5 “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ใช พ ลั ง งานอย า งเพี ย งพอ” Energy#35_p97_Pro3.indd 97

9/21/11 10:38 PM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง

http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1327982970 &grpid=03&catid=03

Q : มาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO 50001 : 2011 มี ค วามเคลื่ อ นไหวไปถึ ง ไหนแล ว ครั บ ? แล ว มาตรฐานนี้ มี ค วาม แตกต า งอย า งไร กั บ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พลังงาน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550? A : กอนอื่นควรทราบความเปนมาของ ISO 50001 เสียกอน โดย องคกรระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization: ISO) ไดประกาศใชมาตรฐานการ จัดการพลังงาน หรือ ISO 50001:2011 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2554 เพื่อเปนแรง ขับเคลื่อนใหองคกรตางๆใหความใส ใจตอการจัดการพลังงานมากขึ้น คาดการณวามาตรฐานดังกลาวจะสงผลในเชิงบวกตอการใชพลังงาน ของโลกประมาณ 60% ISO 50001 เป น กลยุ ท ธ ห นึ่ ง ในการจั ด การพลั ง งานให มี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะชวยใหองคกรทั้งภาครัฐและเอกชน ลด คาใชจายและพัฒนาศักยภาพของการใชพลังงานมากขึ้น เพราะวิกฤติดาน พลังงานสงผลกระทบตอตนทุนของการดําเนินการขององคกร ทั้งนี้ มาตรฐาน ISO 50001 สามารถพิจารณาการใชพลังงานตัง้ แตกระบวนการ นํ า วั ต ถุ ดิ บ มาใช ไปจนถึ ง การรี ไ ซเคิ ล ที่ สํ า คั ญ องค ก รส ว นใหญ ไมสามารถควบคุมในสวนของราคาของพลังงาน นโยบายของภาครัฐ หรื อ เศรษฐกิ จ ของโลกได แต ส ามารถพั ฒ นาแนวทางในการจั ด การ พลังงานได การพั ฒ นาศั ก ยภาพในการจั ด การพลั ง งาน สามารถที่ จ ะเพิ่ ม ประโยชนใหกับองคกรไดอยางรวดเร็ว โดยการใชประโยชนจากแหลง พลังงาน และอุปกรณที่เกี่ยวของกับพลังงานใหมีประสิทธิภาพสูงสุด สิ่ ง นี้ จ ะช ว ยลดค า ใช จ  า ยด า นพลั ง งานและลดการใช พ ลั ง งานลง

เพียงพอ” นอกจากนั้นแลวองคกรยังมีสวนรวมในการชวยเหลือสังคมดวยการลด การสิ้นเปลืองพลังงานซึ่งเกิดจากการใชพลังงาน และรักษาสิ่งแวดลอม ดวยการลดการกอใหเกิดกาซเรือนกระจก ISO 50001 หรือ ระบบการจัดการพลังงาน สามารถนําไปใชไดกับ องคกรทุกขนาดและทุกประเภท อีกทัง้ ยังสามารถบูรณาการให เขากับระบบ อื่นๆ ได โดยเฉพาะมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดลอมหรือ ISO 14001 และ OHSAS 18001 ซึ่งจะตองปฏิบัติอยางตอเนื่องตามหลักการ P-D-C-A (PLAN - DO - CHECK - ACT) โดย Plan ในการวางแผนจะครอบคลุม เรื่องของการทบทวนดานพลังงาน การกําหนดดัชนีชีว้ ดั พลังงาน (EnPIs) วัตถุประสงคของการจัดการพลังงาน กําหนดเปาหมายและแผนการ ดําเนินงานที่สําคัญ เพื่อใหเกิดประโยชนตอนโยบายดานพลังงานและ พัฒนาศักยภาพดานพลังงานขององคกร ในสวนของ Do จะเปนการดําเนินการตามแผนงานการจัดการ พลังงานขององคกร สําหรับ Check เปนกระบวนการติดตามและ วัดผล ที่เปนตัวกําหนดวาการปฏิบัติการดานพลังงานสอดคลองตามนโยบาย พลังงาน และวัตถุประสงค พรอมทั้งรายงานผลที่เกิดขึ้น สุดทาย ACT เปนการปฏิบัติจริงและมีการดําเนินการจัดการพลังงานอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ISO 50001:2011 หลักการของมาตรฐานอยูที่ 1) การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ (Energy Efficiency) ซึ่งจะรวมทั้ง มุ ม มองด า นการใช เ ทคโนโลยี 2) การใช พ ลั ง งาน (Energy Use) ทั้งมุมมองเชิงคุณภาพ รวมทั้งกิจกรรมที่มนุษยมีสวนรวม และ 3) การเผาผลาญพลังงาน (Energy Consumption) ซึ่งจะเนนมุมมอง เชิงปริมาณ และดวยตัวมาตรฐานที่ ใชโครงสรางของระบบการจัดการ ดั ง นั้ น หากองค ก รจะนํ า มาตรฐานไปประยุ ก ต ใ ช จึ ง ไม ใ ช เ รื่ อ งยาก เพราะหลายองคกรตางก็มีการดําเนินระบบมาตรฐานคุณภาพอยูกอนแลว ISO 50001 กับ พระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550 หลายทานอาจจะรูจักพระราชบัญญัติการสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) ซึ่งไดมีการ ใชบังคับ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551 เปนตนมา และตางก็มีการดําเนินการตาม พรบ.ดังกลาว อีกทั้งจะตองจัดสงรายงานผลการตรวจสอบ และรับรอง การจั ด การพลั ง งานให กั บ กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน(พพ.) กระทรวงพลังงาน ภายในเดือนมีนาคมของทุกป สําหรับเคาโครงการดําเนินการอนุรกั ษพลังงานของโรงงานควบคุม และอาคารควบคุมนั้น ไดกําหนดใหเจาของโรงงานควบคุม และเจาของ อาคารควบคุ ม ดํ า เนิ น การจั ด การพลั ง งานตามกฎกระทรวงกํ า หนด

76 l March 2012

Energy#40_p76-77_Pro3.indd 76

2/17/12 1:02 AM


มาตรฐานหลักเกณฑและวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม โดยพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานซึ่งเปนการดําเนินการ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานทั้ ง ทางด า นพฤติ ก รรม จิ ต สํ า นึ ก วิ ธี ก ารจั ด การ การใชพลังงาน รวมทั้งเทคนิคทางวิศวกรรม ที่ ไดมีการบูรณาการ อยางเปนระบบ ทั้งนี้กฎกระทรวงดังกลาวที่แนวทางการจัดทําโดยการ อางอิงมาตรฐานสากล ทั้ง ISO 9001, ISO 14001 และระบบการจัดการ พลังงานระดับสากล สําหรับโรงงานควบคุม หรือ อาคารควบคุม จะเปนโรงงาน หรือ อาคาร ที่มีการติดตั้งมิเตอรตัวเดียวหรือหลายตัวรวมกันมีขนาดตั้งแต 1,000 กิ โ ลวั ต ต ขึ้ น ไป หรื อ หม อ แปลงไฟฟ า ขนาดตั้ ง แต 1,175 กิโลโวลทแอมแปรขึ้นไป นอกจากนี้พรบ.ดังกลาว กําหนดวิธีการจัดการพลังงานเพื่อใหเกิด การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด วิธีการจัดการพลังงานนั้นตอง มีการปฏิบัติอยางเปนขั้นตอน รวมทั้งมีการวางแผนการดําเนินการที่ดี และเหมาะสมกับองคกร เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ของการจัดการพลังงาน โดยการดําเนินการสามารถแบงออกไดเปน 8 ขั้นตอน 1. ตั้งคณะทํางานดานการจัดการพลังงาน 2. การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน 3. นโยบายอนุรักษพลังงาน 4. การประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน 5. การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน และแผนการ ฝกอบรม และกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษพลังงาน 6. การดําเนินการตามแผนอนุรักษพลังงาน และการตรวจสอบและ วิเคราะหการปฏิบัติตามเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน 7. การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน 8. การทบทวน วิเคราะหและแกไขขอบกพรองของการจัดการ พลังงาน หากดูขั้นตอนการจัดการพลังงานตาม พรบ. จะเห็นวามีความ คลายคลึงกับขอกําหนดของมาตรฐานการจัดการพลังงาน หรือ ISO 50001:2011 โดยโครงสรางของ ISO 50001 ประกอบดวย 1. Management review 2. Energy Policy 3. Energy Planning 4. Implementation and operation 5. Internal Audit of the EnMS 6. Monitoring , measurement and analyses 7. Evaluation of legal/ other requirements 8. Nonconformities, correction, corrective and preventive action ซึ่งหากองคกรมีการดําเนินการตาม พรบ.อนุรักษพลังงาน และมี การจัดทํารายงานการจัดการพลังงานอยูแ ลว ก็ ไมใชเรื่องยากทีจ่ ะ พัฒนา องค ก รให เ ป น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ สากลมากยิ่ ง ขึ้ น ด ว ยการประยุ ก ต ใชมาตรฐาน ISO 50001:2011 ในองคกร

ขั้นตอนการจัดการพลังงาน ตาม พรบ. อนุรักษพลังงาน และ Energy Management System Model

ISO 50001:2011 จะชวยองคกรของทานไดอยางไร 1. เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการพลังงานขององคกรโดยบูรณาการ เขากับระบบการจัดการ ISO 14001 ที่องคกรทําอยู 2. ใหองคกรมีการดําเนินการดานการจัดการพลังงานทีเ่ ปนรูปธรรม นําไปปฏิบัติไดจริง ใหเกิดการปรับปรุงอยางตอเนื่อง 3. ใหองคกรปรับปรุงการใชทรัพยากรดานพลังงานใหคุมคาการ ลงทุน เพื่อลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 4. สนับสนุนใหเกิดการใชเทคโนโลยีใหมๆ ดานประสิทธิภาพพลังงาน และมีความเปนรูปธรรมในการจัดการพลังงานมากขึ้น 5. ใหองคกรควบคุมผูส ง มอบทีเ่ กีย่ วของตลอดหวงโซการผลิตเพื่อ สนับสนุนใหเกิดการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ 6. ใช เ ป น แนวทางปฏิ บั ติ สํ า หรั บ เกณฑ ม าตรฐานอื่ น การวั ด การจัดทําระบบเอกสารและการรายงานผลการปรับปรุงดานการพลังงาน และ การจัดการโครงการทีเ่ กีย่ วของกับการลดการปลดปลอยปริมาณกาซ เรือนกระจก 7. ใหองคกรที่มีสาขามากกวา 1 ประเทศมีแนวทางการดําเนินการ ดานการจัดการพลังงานที่เปนรูปแบบเดียวกัน 8. สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดพฤติกรรมทีด่ แี ละการมีสว นรวมของ ผูปฏิบัติงานในการดําเนินการระบบการจัดการพลังงาน 9. กอใหเกิดความรับผิดชอบตอสังคมอยางยั่งยืน อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรื่องพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

March 2012 l 77

Energy#40_p76-77_Pro3.indd 77

2/17/12 1:01 AM


Logistics Solution

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

น้ําทวมอีกในป 2555 อยางไรก็ดี ไมวาจะเกิดภัยคุกคามและความ เสี่ยงตอการดําเนินธุรกิจแบบใดก็ตาม การดําเนินธุรกิจก็ตองเดิน หนาตอไปใหได แลวจะทําอยางไรละ เพื่อใหเกิดการบาดเจ็บทางธุรกิจนอย ที่สุด จากภาวะวิกฤติครั้งที่ผานมา ฝายจัดซื้อไดแสดงศักยภาพใน การสรางคุณคา (Value) ใหกับองคกร แสดงใหเห็นวาในการจัดซื้อ จั ด หาวั ส ดุ อุ ป กรณ ใ นยามวิ ก ฤติ ที่ วั ต ถุ ดิ บ ขาดแคลน หายาก ผูใชตองการวัสดุอุปกรณเรงดวน (สั่งเชา ตองใชตอนบาย หรือ สั่ ง ตอนบ า ย ต อ งใช ต อนเย็ น ) ซั พ พลายเออร ป ระสบภั ย หรื อ ซัพพลายเออรบางสวนฉวยโอกาสขึ้นราคาสินคา ฯลฯ ซึ่งมีหลักคิด ดังนี้ 1. เปดใจรับขอมูลขาวสารที่จําเปน ตองเลือกรับขอมูล ข า วสารที่ เป น แหล ง ข อ มู ล เชื่ อ ถื อ ได เช น การพยากรณ ข อง กรมอุตนุ ยิ มวิทยา กูเกิลเอิรธ (Google Earth) ดูภาพถายทางอากาศ พรอมทั้งแผนที่ เสนทาง ผังเมือง และภาพถายดาวเทียม รวมทั้ง ขอมูลแหลงวัตถุดิบ จัดโซนแหลง Supplier เปนตน 2. เรียนรูจากอดีตเพื่อใชเปนบทเรียน ซึ่งในป 2554

พลิกยุทธศาสตรการจัดซือ้ ใหม รับความเสี่ยง ป จ จุ บั น สภาพแวดล อ มภายนอกกํ า ลั ง เป น ภั ย คุ ก คามและเป น ความเสี่ยงตอการดําเนินธุรกิจ ซึ่งสามารถแยกเปนความเสี่ยง 3 ประเภท คือ 1. ความเสี่ยงที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่นับวันจะมีความถี่บอยครั้งและ รุนแรงเพิ่มมากขึ้น เชน นํ้าทวม แผนดินไหว สึนามิ โรคระบาด พายุ เปนตน 2. ความเสีย่ งทีเ่ กิดจากฝมอื มนุษย ไดแก วิกฤติการเมืองภายในประเทศไทย และตางประเทศ เชน การกอการราย การเดินขบวนประทวง การวางเพลิง เครื่องบินตก ระบบ IT ลม แหลงนํ้าถูกปนเปอน ขยะลนเมือง โจรสลัด Key personnel หายไป สารพิษรั่วไหล หรือคูคาเลิกกิจการ เปนตน และ 3. ความเสี่ยงที่เกิดจากสิ่งที่ควบคุมไมได ไดแก ภาวะเศรษฐกิจโลก ทีธ่ นาคารโลกพยากรณวา อยูในชวงกําลังแยลง เศรษฐกิจภายในประเทศไทย โดยรวมขยายตัวไดเพียง 3-4% เปนตน นอกจากนี้ เมื่อดูสถานการณน้ํา ในเขื่อนและภาวะฝนที่ตกไมถูกตองตามฤดูกาลแลว คาดวาจะเกิดภาวะ

สถานการณน้ําทวม เชน จัดทําคูมือการถอดชิ้นสวนของเครื่องจักรที่ สําคัญๆ ออกมาเปนชิ้นๆ และวิธีการหอกันความชื้น พรอมโยกยาย หากเกิดภาวะขาดแคลนปูนทราย แนวคิดกําแพงปูน เปลีย่ นเปนกําแพงเหล็ก หรือหากอยูใกลแมน้ํา ตองคิดใหมทําใหมวาควรอยูหางแมน้ําเทาใด น้ําผุด ขึ้นมาตามทอจะแกไขอยางไร? 3. สรางนิสัยการทํางานเชิงปองกัน อยาคิดวา “น้ําคงไมทวม โรงงานเราหรอก เพราะเรายายโรงงานและศาลพระภูมิไปอยูที่ทําเลที่ตั้ง สูงแลว” หรือกระจาย Outsourcing ใหมีอยูทั่วประเทศ 4. คิดแบบ Worst Case Scenario โดยสรางสถานการณ/ จําลองสถานการณแบบเลวรายสุดๆ วา ถาหากเกิดน้ําทวมแลวมีการ เปลี่ยนแปลงทิศทางผันน้ําจากตะวันออกไปสูตะวันตก หรือจากตะวันตกไป สูตะวันออก มาที่กิจการหรือโรงงานของเรา จะมีวิธีการปองกันอยางไร?

78 l March 2012

Energy#40_p78-79_Pro3.indd 78

2/17/12 1:07 AM


9. ตั้งคณะกรรมการเฝาระวังภัยพิบัติ/ความเสี่ยง อาทิ ตรวจเช็ค แผนที่น้ําทวม โดยจะตองสงทีมไปดูหนางานและสภาพความจริงที่เกิดขึ้น มิใช ตรวจเช็คขอมูลผานขาวโทรทัศน หนังสือพิมพ และวิทยุเทานัน้ ประเมิน คาเสียหายจากการปองกัน ยอดขายตก คาบํารุงรักษา คาเสียหายของ สินคาคงคลัง เครื่องจักร โอกาสในการขาย หรือการชดเชยใหกบั พนักงาน ที่ ไดรับความเสียหาย เปนตน 10. ตรวจสอบซัพพลายเออรวา มีแผนรับภัยพิบัติหรือความเสี่ยง หรือไม เชน น้ําทวม ไฟไหม ประทวง ฯลฯ รวมถึงดูการทําประกันของ ซัพพลายเออร หรือ 3 PL โดยฝายจัดซื้อจะตองมีความรูเพิ่มมากขึ้นใน หลาย ๆ ศาสตร นอกจากนี้ การดําเนินการทีจ่ ะหลีกเลีย่ งกับความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดขึน้ นัน้ จะตองมีการวิเคราะหถงึ ความเสีย่ งนัน้ ๆ อยูในระดับใด จึงจะสามารถรับมือ กับความเสี่ยงไดอยางเปนระบบ ซึ่งผูเขียนไดเสนอตัวอยางแผนรับมือกับ ความเสี่ยง ดังนี้ ความเสี่ยง

สําหรับฝายจัดซื้อจะตอง จัดเตรียมเพื่อใหสามารถปฏิบัติการไดใน แบบที่ตองการ (Setup) ในการจัดซื้อภาวะดังกลาว ดังนี้ 1. ลําดับรายการวัสดุอุปกรณที่จําเปนตองใช เชน ในกรณีกอนเกิด น้าํ ทวม ระหวางน้าํ ทวม และหลังน้าํ ทวม วัสดุอปุ กรณทีจ่ าํ เปนตองใชมอี ะไร บาง ซัพพลายเออรมีใครบาง เสนทางการขนสงที่สามารถสงใหบริษัทมี เสนทางใดบาง 2. ลืมขัน้ ตอนกระบวนการปกติทีเ่ ขมงวดทีต่ อ งใชระบบคอมพิวเตอร เปลีย่ นเปนระบบ Manual โดยอาจจะตองใชวธิ ีใหผใู ชหรือพนักงานฝายจัดซือ้ ออกเดินตลาดหาซื้อสินคาวัสดุอุปกรณแลวนํามาเบิกกับฝายการเงิน 3. จะตองมีสมั พันธภาพทีด่ กี บั ซัพพลายเออร เพื่อจะไดวสั ดุอปุ กรณ ทันเวลาหรือซัพพลายเออรมีเครือขายสามารถหาวัสดุอุปกรณดังกลาว แทนบริษัทได อยาลืมตรวจเช็คซัพพลายเออรของเราวาอยูในโซนอันตราย หรือเสี่ยงภัยดวย และรู Chain Supplier ลําดับกอน-หลัง 4. หาคนในแผนกที่ ไดรับผลกระทบจากวิกฤติแลวไมไดทํางานหรือ สูญเสียงาน ซึ่งมีกําลังคนเหลือนํามาเกลี่ยชวยงานที่หนางาน เชน จัดสง สิ่งของที่จัดซื้อไดสั่งนําไปสงกับแตละฝาย เปนตน 5. เดิมที่ใชระบบไมสาํ รองสต็อก ปรับเปลีย่ นสัดสวนการเก็บสต็อกเปน 50 : 50 6. สัง่ ซือ้ วัตถุดบิ จากตางประเทศ ไมวา จะเปนวัตถุดบิ วัสดุ อุปกรณ หรือสินคาสําเร็จรูป 7. วางแผนรับมือหลังจบเหตุการณทีจ่ ะตองมีการฟน ฟูจดั การ List รายการขั้นตอนที่จะตองใชวัสดุอุปกรณ เชน ติดตอชางไม ไฟฟา ประปา ซัพพลายเออร ฯลฯ 8. ติดตอประสานงานกับฝายตางๆ โดยเฉพาะฝายการเงินและบัญชี ใหมีการจายเงินใหกับซัพพลายเออรเร็วขึ้น เชน จาก 60 วัน เปลี่ยนเปน 45 วัน หรือฝายจัดซื้อทําหนาที่เปนลักษณะ One Stop Service คือ จายสินคา/จายเงินภายใน 7 วัน เปนตน

ระดับ ความนาจะเปน การดําเนินการที่ควร ความเสี่ยง หลีกเลี่ยงหรือบรรเทา

1 . ภั ย พิ บั ติ ท า ง ธรรมชาติสง ผลกระทบ ตอซัพพลายเออร

สูง

ต่ํา

ซือ้ ของจากซัพพลายเออร หลายแหลง คนละพื้นที่ ตามภูมิภาคตาง ๆ

2. มี ซั พ พลายเออร น อ ย ร า ย ที่ จ ะ ส ง วัตถุดิบการผลิต

สูง

สูง

รั ก ษาสิ น ค า คงคลั ง ให เพี ย งพอ หรื อ เริ่ ม ตุ น สต็อก เหมือนกรณีญี่ปุน ประสบสึนามิ ก็ใชวิธีนี้

3.ซั พ พลายเออร ถู ก โจรสลัดแยงชิง

ปานกลาง

ปานกลาง

เหมื อ นกรณี ที่ 2 คื อ เริ่มตุนสต็อก

4. การพยากรณความ ตองการผิดพลาด

สูง

ปานกลาง

ตรวจสอบให แ น ใ จว า ซั พ พลายเออร มี แ ผน รับมือกับกําลังการผลิต หรือขยายการผลิตตาม ความตองการของลูกคา บริษัทได

5. การจัดสงและการ ตรวจสอบเกิ ด ความ ลมเหลว

ต่ํา

ปานกลาง

ทําคูมือใหแตละคนในการ ติดตอกับซัพพลายเออร หากเกิดความเสียหายจะ ไดหาวิธีแกไข หรือการ ชําระเงินคืนตามสัญญา

ฝากไวใหคดิ วา “นาละอายเปนอยางยิง่ ถาหากเกิดสะดุดหินกอนเดิมอีก” หมายความวา เมื่อไดรับบทเรียนจากอดีตแลว ไมควรจะไดรับบทเรียน บทเดิมซ้ําอีก ดังนั้น จึงควรหาวิธีหลีกเลี่ยง ถาเปนบทเรียนใหม ถือวาไม เปนไร ใหมองในแงดวี า เปนบททดสอบวาแนวคิดเชิงปองกันมีความรอบดาน หรือไม อยางไรก็ดี อยาเดินสะดุดหินกอนเดิมเปนดีที่สุด March 2012 l 79

Energy#40_p78-79_Pro3.indd 79

2/17/12 1:06 AM


Energy Concept โดย : ณ อรัญ

ตู อ บ ก ล ว ย พลั ง งานแสง อาทิตย

ปจจุบันการผลิตสินคาที่ทํากันเองภายในชุมชนหรือสินคาที่เปน ภูมิปญญาทองถิ่นนั้นแตละชุมชนตางไดคิดคนผลิตเทคโนโลยีที่ชวยใหเกิด การประหยัดพลังงานขึ้นมารองรับในกระบวนการผลิตสินคา ซึ่งเปน แนวทางการพึ่งพาตนเองสูการลดตนทุนในกระบวนการผลิตจากการ ประหยัดพลังงาน ตูอ บกลวยพลังงานแสงอาทิตยนัน้ เปนอีกแนวคิดหนึง่ ของนักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่นําโดย อ.ทัศนีย พงศสมัคร แผนกสามัญสัมพันธ วิทยาลัยการอาชีพพรหมคีรี ไดผลิตขึ้นมาใหกับกลุมแมบานสวนจันทรศรี อําเภอพรหมคีรี สําหรับใชใน 80 l March 2012

Energy#40_p80-81_Pro3.indd 80

2/27/12 11:16 PM


พลังงานความรอนเขาสูตัวเตา มีการทดสอบประสิทธิภาพการทํางานโดย ทดลองอบกลวยเปรียบเทียบกับการตากแดดโดยตรงพบวา ผลิตผลกลวย อบนําผึ้งที่อบดวยตูอบกลวยพลังงานแสงอาทิตยมีคุณลักษณะตรงกับ ความตองการของผูบ ริโภค สีสนั นารับประทาน ผิวไมแข็งกระดาง ทีส่ าํ คัญ คือ ลดระยะเวลาในการผลิต ใชเวลาเพียง 3-4 วัน และไมสิน้ เปลืองพลังงาน ไมปนเปอนฝุนละอองและเชื้อโรค อยางไรก็ตามเพื่อคุณภาพในการผลิตกลวยอบนําผึ้งนั้นนักศึกษา ไดพัฒนาตูอบนําผึ้งอยางตอเนื่อง โดยไดพัฒนาขึ้นอีกเปนรุนที่ 2 โดย ปรับปรุงวัสดุที่ ใชทําโครงสรางจากสังกะสีซึ่งอาจเกิดสนิมไดมาเปนสแตน เลส และผลจากการเปลี่ยนวัสดุนอกจากจะทําใหสะอาดถูกหลักอนามัยแลว ยังทําใหอุณหภูมิภายในตูอบสูงขึ้น แตเนื่องจากมีขนาดเล็กจึงไดพัฒนา อีก เปนรุนที่ 3 โดยปรับปรุงใหมีขนาดใหญขึ้น พรอมติดตั้งแผงโซลาเซลล สําหรับเก็บพลังงานไวใชในชวงที่ ไมมีแสงแดด สามารถนําไปใชในการอบ กลวยได ครั้งละ 20-25 กิโลกรัม”

เปาหมายที่วางไว

กระบวนการผลิตกลวยเล็บมือนางอบนําผึ้ง ซึ่งเปนของฝากที่ขึ้นชื่อจาก อําเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช

เหตุจูงใจที่ทําใหคิดคนอุปกรณนี้

“ในกระบวนการผลิตกลวยเล็บมือนางอบนําผึ้งนั้นมีกระบวนการ ผลิตหลายขั้นตอน เชน ในตอนเชานํากลวยเล็บมือนางที่ปอกเปลือกแลว ออกตากแดด ตอนเย็นเก็บใสถุงพลาสติกปดปากถุง ตอนเชานําออกจาก ถุงตากแดดอีก ทําเชนนี้อยูประมาณ 7 วัน จึงจะไดกลวยเล็บมือนางอบนํา ผึ้งที่มีคุณภาพ อยางไรก็ตามในขั้นตอนที่เก็บกลวยใสถุงนั้นทําใหกลวยมีสีคลํา มี ความชื้นเกิดขึ้น พรอมกับมีนําซึมออกจากผลกลวย ในระหวางการตาก แดดมีการปนเปอนของฝุนละอองและเชื้อโรคตางๆ และถาวันไหนมีฝนตก ไมมีแสงแดดตองนํากลวยไปอบดวยตูอบไฟฟาสลับกับตูอบแกส ซึ่งทําให กลวยคอนขางแข็งและสิ้นเปลืองพลังงาน เหตุนี้จึงอยากชวยชาวบานและ เปนที่มาของแนวคิด”

“นักศึกษามีการทดสอบประสิทธิภาพใหมทุกครั้งที่มีการปรับเปลี่ยน โครงสราง มีการทดลองซําๆ หลายครั้ง จนแนใจวาสามารถนําไปใชได จริง โดยมีรางวัลเปนเครื่องการันตี เชน รางวัลชนะเลิศจากการประกวด โครงงานวิทยาศาสตรอาชีวศึกษาเอสโซ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด รางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 จากการประกวดสิง่ ประดิษฐของคนรุน ใหม ระดับภาค ใต และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการประกวดสิ่งประดิษฐดาน พลังงานที่จัดโดยกระทรวงพลังงาน และหลังจากนั้นนักศึกษาไดตอยอด โดยการนําผลงานตูอบกลวยพลังงานแสงอาทิตยออกเผยแพรสูชุมชน โดยสาธิตการใชงานใหกับกลุมแมบานสวนจันทรศรี ซึ่งมีอาชีพทํากลวย อบนําผึ้งไวใชประโยชนตอไป และหากชุมชนหรือเกษตรกรทีป่ ระกอบอาชีพเกีย่ วกับการอบแหง ไม วาจะเปนผลผลิตทางการเกษตรชนิดใดมีความสนใจ สอบถามขอมูลเพิ่ม เติมไดที่ อ.ทัศนีย พงศสมัคร แผนกสามัญสัมพันธ วิทยาลัยการอาชีพ พรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช โทร. (086) 946-7226”

หลักการทํางานของชุดอุปกรณตูอบกลวยพลังงาน แสงอาทิตย “สําหรับตูอบกลวยพลังงานแสงอาทิตยนั้นเปนรุนที่ 1 ประดิษฐ เปนเครื่องตนแบบมีขนาดเล็ก โดยใชกระจกเงาเปนตัวรับแสง สะทอน

อ.ทัศนีย พงศสมัคร แผนกสามัญสัมพันธ วิทยาลัยการอาชีพพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช (คนที่ 3 จากซายมือ)

March 2012 l 81

Energy#40_p80-81_Pro3.indd 81

2/27/12 11:16 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

10 วิธีเลือกซื้อบาน ประหยัดพลังงาน (ตอนที่ 2)

ในฉบับทีแ่ ลวเราไดนาํ เสนอวิธกี ารเลือกบานประหยัดพลังงานไปแลว ดวยกัน 5 ขอ มาฉบับนี้อยารอชา มาตามอานอีก 5 ขอตอกันเลยคะ เผอ จะเปนไอเดียใหกับทานผูอานไดนําไปปรับใชกับบานของตัวเอง หรือจะใช เปนแนวทางในการซื้อบานหลังใหมกัน 6. การมีครัวไทยตองไมเชอมติดกับตัวบาน เพราะการทําครัว ไทย นอกจากจะไดอาหารที่มีรสเผ็ดรอนถูกปากคนไทยแลว ยังกอใหเกิด ความรอน สะสมขึ้นในครัวเรือนในปริมาณที่มาก อันเนองมาจากอุปกรณ และกิจกรรมการทําครัวตาง ๆ ความรอนที่เกิดขึ้นในหองครัวที่ติดกับตัว บานจะสามารถถายเทเขาสู พื้นที่ ใกลเคียงไดอยางรวดเร็ว และกรณีหอง ที่ติดกันเปนพื้นที่ปรับอากาศจะยังสิ้นเปลืองพลังงานในการทําความเย็น ของหองดังกลาว มากขึ้นโดยไมจําเปน 7. ประตูหนาตางตองมีทางลมเขาออก การระบายความรอน ภายในบ า นโดยใช ล ม ธรรมชาติ ตองมีชอง ทางลมเข า ออก การ ว า ง ตํ า แ ห น ง ช อ ง หนาตางนัน้ ตองตอบรับ ทิ ศ ทางการเคลื่ อ นที่

ของลมประจําดวย ในการออกแบบใหลมไหลผานตัวบานไดดีนั้น มีขอระวัง ไดแก ตองติดตั้งมุงลวดเพอกรองฝุนละอองเกสรที่จะเขาบานและการติด ชองหนาตางในตําแหนงเยื้องกันจะชวยบังคับใหลมไหลผานหองตาง ๆ ตามตําแหนงที่ตองการได 8. ผั ง เฟอร นิ เ จอร ต อ งเตรี ย มไว ก อ น ไม ร อ นและประหยั ด พลังงาน บานจัดสรรที่ดีควรมีการจัดวางผังเฟอรนิเจอรในแตละหอง แตละพื้นที่ ในบานเพอความสะดวกในการจัดเตรียมตําแหนงติดตั้งเตารับ หรือสวิตชไวลวงหนา และเพียงพอสําหรับอุปกรณไฟฟาตาง ๆ ภายใน บาน นอกจากนี้ การวางตําแหนง เฟอรนเิ จอรลว งหนาจะไดบอกวา ภายใน หองของบานมีจดุ ใดทีม่ กี ารกีดขวาง การเคลอนทีข่ องกระแสลมหรือไมและ ควรแกไขอยางไร ซึ่งควรแยกอุปกรณที่จะสรางความรอนนอกหองปรับ อากาศ เชน ตูเย็น เครองตมนํา 9. อยา!!! มีบอน้ําหรือน้ําพุใน ห อ งปรั บ อากาศ คุ ณ สมบั ติ ท าง อุณหภูมิของเครองปรับอากาศ คือการ ลดอุณหภูมิและความชื้น ทําใหพื้นที่หอง ตาง ๆ อยูในภาวะทีส่ บาย ซึง่ การตกแตง ประดับพื้นที่ภายในหองดวยน้ําพุ น้ําตก อางเลีย้ งปลา หรือแจกันดอกไมและทําให เครองปรับอากาศตองใชพลังงานในการ ลดความชื้นมากกวาปกติ 10. ชองระบายอากาศที่หลังคาพาคลายรอน หลังคาที่ดีนั้น นอกจากจะ สามารถคุมแดดคุมฝนได ยังตองมีคุณสมบัติในการปองกัน ความรอนเขาสูต วั บานไดอกี ดวย ภายในชองวางใตหลังคาเปนพืน้ ทีก่ กั เก็บ ความรอนที่แผรังสีมาจากแสงแดด กอนจะถายเทเขาสูพื้นที่ ในสวนตาง ๆ ภายในบาน ดังนั้น การออกแบบใหมีการระบายอากาศภายในหลังคาออก ไปสูภ ายนอกได ไมวา จะเปนชองลมบริเวณจัว่ หลังคาหรือระแนงชายคา จึง เปนเรองที่ดีตอการลดความรอน แตมีขอระวังคือ ตองมีการติดตั้งตาขาย ปองกันนก แมลง เขาไปทํารังใตหลังคาดวยและตองมีการปองกันฝนเขา ชองเปดระบายอากาศดวย

ที่มา : http://blog.th.88db.com

82 l March 2012

Energy#40_p82_Pro3.indd 82

2/20/12 9:58 PM


Energy in Trend

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

หินน้ํามัน สู กาซธรรมชาติ

เทานั้นที่เหมาะสมแกการขุดคนขึ้นมาจริงๆ ทางกระทรวงเพิ่งประกาศวา ในป 2012 นี้ จะให น้ําหนักกับเรองการสํารวจและการประเมินคุณภาพของ กาซธรรมชาติจากหินน้าํ มัน และ จะใหกา ซธรรมชาติจาก หินน้ํามันเปนทรัพยากรเหมืองแร “อิสระ” ซึ่งก็คือการ เป ด โอกาสให พ วกบริ ษั ท เอกชนของจี น เข า ไปดํ า เนิ น กิจการในภาคสวนนี้ ได ตลอดช ว งหลายๆ ป ที่ ผ า นมา พวกบริ ษั ท พลังงานของจีนออกตระเวนไปทั่วโลก (หรืออยางนอย ที่สุดก็ออกตระเวนไปในอเมริกาเหนือ ซึ่งเปนอาณา บริเวณที่การพัฒนาหลักวิชา ทางด า นนี้ ก า วไปไกลที่ สุ ด ) http://www.businessweek.com/magazine/fracking/slideshow.html เพอคนหาเทคโนโลยีเรองกาซ ธ ร ร ม ช า ติ จ า ก หิ น น้ํ า มั น รวมทั้งเทคโนโลยีการขุดเจาะที่ ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูมากมายนั้น หากเราใชกันอยาง เรียกวา hydraulic fracturing ไมรูจักคําวาประหยัด หรือใชใหคุมคามากที่สุด นับวันก็ยิ่งรอยหรอ h t t p : / / 2 0 2 . 1 2 9 . 0 . 1 3 4 / c o u r s e s / หรือ “fracking” ซึ่งพวกเขาจะ หมดไปได อยางกาซธรรมชาติของไทย มีการคาดคะเนวาจะมี ให 717/51chM6-SOs020201_files/frame.htm สามารถนําไปใชเพอการพัฒนา ลูกหลานเราไดใชอีกไมเกิน 30 ปขางหนานี้แลว เมื่อมองไปยัง อุตสาหกรรมนี้ ในป 2011 รัฐวิสาหกิจของจีนหลายๆ แหงไดไปลงทุนใน เพอนบานของเราอยางจีน ก็ ไมไดนิ่งนอนใจ เรงพัฒนากาซธรรมชาติจาก แคนาดากันยกใหญ โดยในจํานวนการลงทุนรวมๆ 18,000 ลานดอลลาร หินน้ํามันใหฝนกลายเปนจริง สหรั ฐ ฯที่ พ วกเขาใช้ จ่ า ยไปเพื่ อ ซื้ อ บริ ษั ท พลั ง งานต่ า งๆ ในระยะเวลา ประเทศจีน ซึ่งกลายเปนผูนําเขากาซธรรมชาติสุทธิไปแลวตลอด ดังกลาวนั้น เกือบๆ 1 ใน 3 ทีเดียวเปนการลงทุนในแคนาดา ชวงระยะ 4 ปที่ผานมา กําลังลงทุนหนักมากเพอใหไดเทคโนโลยีที่จะนํามา อยางไรก็ดี เนองจากสภาพทางธรณีวิทยาของหินน้ํามันในอเมริกา ใชพัฒนาแหลงสํารองกาซธรรมชาติจากน้ํามัน (shale gas) ที่มีอยูอยาง กั บ ในจี น มี ค วามแตกต า งกั น ทํ า ให ยั ง ไม เ ป น ที่ ชั ด เจนว า การถ า ยทอด มากมายใหไดปริมาณสูงถึง 80,000 ลานลูกบาศกเมตรตอป ภายในป เทคโนโลยีจะกระทํากันในลักษณะไหน สินแรหินน้ํามันในจีนนั้นอยูระดับลึกลง 2020 ทั้งนี้ตามรายงานขาวเกี่ยวกับรางแผนการระดับชาติฉบับหนึ่ง ที่ ได ไปใตดินมากกวาที่ปรากฏในสหรัฐฯ ซึ่งเวลานี้กาซธรรมชาติจากหินน้ํามัน ทราบมาจากผูม อี าํ นาจหนาทีร่ บั ผิดชอบ แตจากผลการสํารวจความคิดเห็น ไดกลายเปนสวนสําคัญสวนหนึ่งในซัพพลายเชื้อเพลิงโดยรวมของประเทศ ของผูเชี่ยวชาญที่กระทําโดยสํานักขาว บลูมเบิรก นิวส (Bloomberg ไปแลว ขอเท็จจริงเรองสภาพทางธรณีวิทยา เมอบวกกับเรองที่การกอตัว News) พวกเขาระบุวาถาหากไดสัก 1 ใน 3 ของปริมาณดังกลาวก็จะตอง ของหินน้าํ มันในจีนยังมีความซับซอนยุง ยากมากกวาในอเมริกาเหนืออีกดวย ถือวาโชคดีแลว ทําใหคาดหมายไดวาจะไปเพิ่มตนทุนในการขุดคน ยิ่งไปกวานั้น ตามการ องค ก ารสารสนเทศพลั ง งาน (Energy Information ศึกษาของ นีล เบเวอริดจ (Neil Beveridge) แหงบริษทั แซนฟอรด ซี เบิรน ส Administration หรือ EIA) แหงกระทรวงพลังงานของสหรัฐฯ (US ไตน แอน โค. (Sanford C Bernstein & Co.) ที่บลูมเบิรก นิวส หยิบยกขึ้น Department of Energy) ใหตวั เลขประมาณการไววา จีนมีกา ซธรรมชาติ มาอางอิงนั้น “วิทยาการแร (mineralogy) ของหินน้ํามันในประเทศจีน จากหินน้ํามันที่ ในทางเทคนิคสามารถขุดเจาะนําขึ้นมาใชได 36 ลานลาน โดยพื้นฐานแลว ... ไมใชมาจากทะเล ซึ่งหมายความวา ... มีสวนประกอบ ลูกบาศกเมตร ขณะที่กระทรวงที่ดินและทรัพยากร (Ministry of Land and ของดิน (สูงกวา) และทําใหแตกราวไดยากกวา” Resources) ของรัฐบาลจีนเอง ใหตวั เลขอยางไมเปนทางการไวที่ 31 ลาน ลานลูกบาศกเมตร โดยในจํานวนนี้มีเพียง 25 ลานลานลูกบาศกเมตร March 2012 l 83

Energy#40_p83_Pro3.indd 83

2/22/12 12:20 AM


Energy Exhibit โดย : กองบรรณาธิการ

BuildTech ’12

มหกรรมฟน ฟูบา น+เมือง ที่ ใหญทสี่ ดุ แหงป มหกรรมการจั ด แสดงสิ น ค า ที่ อั ด แน น รวมกั น ถึ ง 3 งาน ทีทีเอฟฯ ทุมสุดตัว พรอมโชวศักยภาพยิ่งใหญเต็มพิกัด โดยมีงาน BuildTech’12 , ConXpo’12 และ Energy Saving’12 รวมไวในงาน “3 in 1” มั่นใจทุกฝายมีแตคุม! นายชาตรี มรรคา กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอร เนชัน่ แนล จํากัด เปดเผยวา “เนื่องจากวิกฤตอุทกภัยทีเ่ กิดขึน้ ในปทผ่ี า นมา มีความรุนแรงมากกวาทุกๆ ครั้ง สงผลใหบานเรือนและอาคารสถานที่ ตางๆ ของทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงภาคประชาชนหลายครัวเรือน

ที่ตั้งถิ่นฐานอยู ในหลายพื้นที่ ไดรับความเสียหายและไดรับผลกระทบ อยางหนัก ทีทีเอฟฯ จึงไดจัดงานมหกรรมแสดงสินคาภายใตแนวคิด “ฟนฟูบาน + เมือง” ซึ่งเปนการรวมงานแสดงสินคา 3 งานเขาไวดวย กัน คือ BuildTech’12 งานแสดงสินคาวัสดุ – อุปกรณกอสรางและ ตกแตง ConXpo’12 งานแสดงสินคาเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ เพื่อธุรกิจกอสรางและบริการ และ Energy Saving’12 งานแสดงสินคา เทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน ที่ ไบเทค บางนา ในชวงเวลาเดียวกัน คือ 5 – 8 เมษายน 2555

84 l March 2012

Energy#40_p84-85_Pro3.indd 84

2/27/12 11:18 PM


หลากหลายยี่หอ ที่ลวนแลวแตถูกออกแบบใหเหมาะสมและมีคุณสมบัติใน การนําพลังงานจากธรรมชาติเข้ามาร่วมใช้ ให้เกิดประโยชน์ เพื่อการ ประหยัดพลังงานอยางสูงสุดของบานยุคใหม การประกวดเพนทลาย สุขภัณฑ สัมมนา อีกทั้งรับฟรี!!! พันธุกลาไมมงคลจากกรมปาไม และรวม ลุนชิงรางวัลอีกมากมายภายในงาน” เชิญรวมสัมผัสกับที่สุดแหงนวัตกรรม “ฟนฟูบาน + เมือง” พรอมกิจกรรมมากมาย ไดที่งานมหกรรมแสดงสินคา BuildTech’12 ConXpo’12 และ Energy Saving’12 (3 in 1) ที่จะจัดขึ้นระหวาง วันที่ 5 – 8 เมษายน 2555 ตั้งแตเวลา 10.00 – 20.00 น. ณ ศู น ย นิ ท รรศการและการประชุ ม ไบเทค บางนา กรุ ง เทพฯ เดินทางสะดวกโดยรถไฟฟา BTS งานนี้จัดขึ้นเพื่อวงการออกแบบ – กอสรางและพลังงานของไทย ซึ่งนับเปนโอกาสอันดีที่ผูเขารวมแสดงสินคา อยางผูผลิต ผูจัดจําหนาย ผูน าํ เขา – สงออก และตัวแทนจําหนายวัสดุ – อุปกรณกอ สราง – ตกแตง ตลอดจนอุปกรณประหยัดพลังงาน จะไดนําเสนอนวัตกรรมที่มารวมจัด แสดง พรอมพบปะพูดคุยกับเจาของโครงการ นักออกแบบ วิศวกร ผูร บั เหมากอสราง ตลอดจนผูท มี่ คี วามเกีย่ วของในวงการอสังหาริมทรัพย และผูสนใจทั่วไป พร อ มพบกั บ กิ จ กรรมที่ จ ะเป น ประโยชน ต อ ผู ช มมากมาย อาทิ นิทรรศการ “บานประหยัดพลังงาน” (Energy – Saving Home Presentation) ที่เปนการผสมผสานระหวางสินคาวัสดุ – อุปกรณจาก

March 2012 l 85

Energy#40_p84-85_Pro3.indd 85

2/27/12 11:18 PM


Energy Around The World Asia

Middle East

http://laovoices.com/japan-to-help-laos-with-environmentally-friendly-publictransport

ลาวรุดหนา…ทดลองรถเมล ไฟฟา

ประเทศลาวไดชอวาเปน “แบตเตอรี่แหงอาเซียน” เนองจากมีศักยภาพใน การผลิตไฟฟาโดยเฉพาะพลังงานน้ําจากเขอนตางๆ สงผลใหลาวเตรียมพัฒนา ศักยภาพของพลังงานไฟฟาภายในประเทศ ดวยการเตรียมเพิ่มจํานวนรถเมล โดยสารประจําทางขับเคลอนดวยระบบไฟฟาในนครเวียงจันทน หลังใชระยะเวลา ในการทดสอบมายาวนานโดยมีองคกรความรวมมือระหวางประเทศแหงญี่ปุน (JICA) ชวยเหลือดานการศึกษา นายเวียงสะหวัด สีพนั ดอน อธิบดีกรมการขนสงประเทศลาว กลาววา “รัฐวิสาหกิจรถเมลนครเวียงจันทนไดนํารถบัสโดยสารประจําทางขนาดเล็กที่ ใช แบตเตอรีม่ าทดลองใหบริการหลายปแลว แมจะมีปญ  หามากมายในการดําเนินงาน แตก็ ไดรับการแกไขมาอยางตอเนอง โดยไจกาชวยในเรองการศึกษารูปแบบที่ เหมาะสมที่สุดสําหรับลาว โดยสํารวจการใชยานหานะที่ขับเคลอนดวยไฟฟาใน หลายประเทศ” รถเมลไฟฟาที่วิ่งใหบริการสามารถใชงานไดระยะทางราว 80 กม. ซึ่ง ประเทศลาวเคยแบกรับภาระคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่ถีบตัวสูงในชวงป 2552-2553 ซึ่งรัฐบาลไดออกนโยบายดานการสงเสริมใหใชยานพาหนะขนสงที่ ใชไฟฟาแทน ในฐานะที่ประเทศลาวมีศักยภาพในการผลิตไฟฟาและสงออกกระแสไฟฟาใหแก เพอนบาน โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีการรับซื้อไฟฟามากที่สุด

Europe

http://www.thesun.co.uk/sol/homepage/news/ politics/4120569/There-is-a-light-that-nevergoes-out-at-the-Department-of-Energy.html

http://www.presstv.ir/detail/223382.html

อิหรานไมลงตัวสงออกน้ํามัน

อิหรานพบศึก 2 ดานทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ โดยเสียงอิหราน แตกเปน 2 ความเห็นทั้งใหมีการยุติสงออกน้ํามันใหบางประเทศ ขณะที่อีกดานให เลอนถกขอเสนอระงับการขายน้ํามันดิบใหกับ EU ดานรมช.กระทรวงน้ํามันของ อิหรานชี้ หากระงับการขายใหกับยุโรปอาจดันราคาน้ํามันขึ้นไปแตะ 120-150 ดอลลารตอ บารเรล ขณะเดียวกันประธานสภาอิหรานเตือนคณะผูต รวจสอบจาก IAEA ใหทําหนาที่แบบมืออาชีพ หลังการประกาศมาตรการคว่ําบาตรตออิหราน นายรอสแทม กาเซมิ รัฐมนตรีน้ํามัน ประกาศตอบโตทันทีถึงการเตรียมระงับการสงออกน้ํามันใหกับ บางประเทศ แตไมไดระบุเฉพาะเจาะจงวาเปนชาติใด นอกจากนีย้ งั โอวา การคว่าํ บาตร ของชาติ ต ะวั น ตกไม่ มี ผ ลอั น ใด เนื่ อ งจากน้ํ า มั น อิ ห ร่ า นเป็ น ที่ ต้ อ งการของ ตลาดอยูแ ลว แมจะตัดการสงออกไปยังยุโรปก็ตาม ขณะที่ นายอีหมัด ฮอสไซนี โฆษกคณะกรรมาธิการพลังงานของรัฐสภาอิหราน เผยวา “ยังไมมกี ารราง หรือรางกฎหมายใดๆ ในเรองระงับการสงออกน้ํามันใหรัฐสภาพิจารณา” ดานกลุม EU เริ่มมาตรการงดนําเขาน้ํามันอิหรานภายในเวลา 6 เดือน โดยใหเวลาชาติสมาชิกที่พึ่งพิงน้ํามันอิหรานปรับตัวและหาผูขายน้ํามันรายใหม โดยกลุม EU เปนผูซื้อน้ํามันดิบราว 25% ของปริมาณน้ํามันดิบที่อิหรานสงออก ในไตรมาส 3 ปทแี่ ลว ดานนักวิเคราะหเชอจะไมไดรบั ผลกระทบมากนักหากอิหราน หยุดสงน้ํามันใหทาง EU แตหวงลุกลามกลายเปนมูลเหตุใหเกิดสงครามอาว เปอรเซียอีกครั้ง

พลังงานอังกฤษฉาวใชไฟเปลืองเอง

การใชพลังงานอยางประหยัดถือเปนมาตรการสําคัญของกลุมประเทศยุโรปโดยเฉพาะประเทศอังกฤษ แตปจ จุบนั กระทรวงพลังงานของอังกฤษกําลังถูกวิจารณอยางหนักถึงความไมเหมาะสม หลังจากมีผูพ บเห็น ไฟดวงหนึ่งถูกเปดทิ้งไวในที่ทําการของกระทรวงพลังงานตลอด 24 ชั่วโมง ในขณะที่กระทรวงพลังงาน อังกฤษกําลังรณรงคอยางหนักใหประชาชนกวา 63 ลานคนทั่วประเทศชวยกันประหยัดพลังงาน รายงานขาวระบุวา กระทรวงพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (DECC) ของอังกฤษ ถูกวิจารณวา กําลังผลาญเงินภาษีของประชาชนและลมเหลวอยางสิ้นเชิงในเรองของการประหยัดพลังงาน ภายในหนวยงานของตัวเอง หลังพบไฟถูกเปดทิ้งไวตลอด 24 ชั่วโมง โดยหนวยงานแหงนี้ถูกกอตั้งเมอป 2008 สมัยนายกรัฐมนตรี กอรดอน บราวน และไดรับงบประมาณถึงปละ 1,500 ลานปอนดหรือราว 72,876 ลานบาท อยางไรก็ตาม โฆษกประจํากระทรวงแหงนี้ ไดออกมาแถลงตอบโตโดยยืนยันวา กระทรวงเอาจริงเอาจัง กับเรองการประหยัดพลังงานมาโดยตลอด และประสบความสําเร็จอยางงดงามในการลดการใชพลังงาน ภายในหนวยงานไดถึงครึ่งหนึ่ง พรอมเผยเตรียมติดตั้งเซ็นเซอรที่หลอดไฟเจาปญหาที่เปนขาว เพอใหมีการ ปดแบบอัตโนมัติในเวลากลางวัน แทนการปลอยใหมันสวางทั้งวันทั้งคืนเชนที่ผานมา

86 l March 2012

Energy#40_p86-87_Pro3.indd 86

2/22/12 12:34 AM


Asia

Africa

http://www.tehrantimes.com/economy-and-business/95050-cambodia-to-import-oilfrom-iran

http://www.petroleumafrica.com/en/newsarticle.php?NewsID=12996

รัฐบาลกัมพูชาเจรียมหักหนาชาติตะวันตกดวยแผนสั่งนําเขาน้ํามันจาก ประเทศอิหราน สงผลใหกมั พูชาอาจตองเผชิญแรงกดดันจากสหรัฐฯ และชาติยโุ รป ทีก่ าํ ลังรวมมือกันใชมาตรการคว่าํ บาตรทางเศรษฐกิจตอประเทศอิหราน จากกรณี ที่มีการอางวาประเทศอิหรานเตรียมพัฒนาโครงการเพิ่มศักยภาพนิวเคลียร ซึง่ หวัน่ เกรงกันวาการเพิม่ ศักยภาพนิวเคลียรดงั กลาวอาจพัฒนาไปสูอ าวุธนิวเคลียร นายซก อั น รองนายกรั ฐ มนตรี กั ม พู ช าได บ รรลุ ข อ ตกลงกั บ เอกอัครราชทูตอิหรานประจํากรุงพนมเปญเกีย่ วกับการกระชับความสัมพันธทาง เศรษฐกิจระหวางทั้งสองประเทศ โดยมีโครงการสรางโรงกลั่นน้ํามันเพอรองรับ การนําเขาน้าํ มันจากประเทศอิหราน เปนหนึง่ แนวทางทีร่ ฐั บาลกัมพูชาโดยการนําของ สมเด็จฮุน เซน นายกรัฐมนตรีเตรียมนํามาใช เปนทีห่ วัน่ เกรงกันวา แผนดังกลาว อาจกระทบตอความสัมพันธกบั ชาติตะวันตก โดยขอตกลงดังกลาวระบุไววา กัมพูชาจะนําเขาน้าํ มันดิบเพอนํามากลัน่ กอน จะสงออกไปจําหนายใหกบั ประเทศจีนและประเทศเกาหลีใตในป 2014 โดยโรงกลัน่ น้าํ มันแหงแรกของกัมพูชานี้ จะถูกสรางขึน้ ในจังหวัดสีหนุวลิ ล และจังหวัดกัมพต ดวยวงเงินกวา 2,000 ลานดอลลารหรือราว 62,049 ลานบาท ดาน นายฌอน แมคอินทอช โฆษกสถานทูตสหรัฐฯ ประจํากรุงพนมเปญเรียกรองใหรฐั บาลกัมพูชา เคารพมติประชาคมโลกที่ใหมกี ารคว่าํ บาตรตออิหราน

ประเทศซูดานใตหนึ่งในประเทศอาฟริกาใตที่มีการสงออกน้ํามันเปน สินคาหลัก เตรียมพิจารณาเสนทางสงออกน้ํามันเสนทางใหม เนองจากที่ ผานมาซูดานใตตองสงออกน้ํามันผานทาเรือที่เมืองคารทูม (Khartoum) เมืองหลวงของประเทศซูดาน เนองจากการสงออกน้ํามันผานเมืองคารทูม ตองเสียคาขนสง, คาผานทาง รวมไปถึงคาธรรมเนียมอนๆ อีกมากมาย Marial Awou Yol รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคลัง ซูดานใต ลงนามในบันทึกขอตกลงรวมกับประเทศเอธิโอเปยและประเทศจิบตู ี ซึ่งเกี่ยวกับขอตกลงทางการคา รวมไปถึงความเปนไปไดในการการสราง ทอสงน้ํามัน โดยเขากลาววา “ในฐานะของประเทศที่ ไมมีทางออกสูทะเล เราตองการเสนทางสูทะเลเพอการสงออกสินคาของเราไปยังโลกภายนอก และการนําเขา” ที่ ผ า นมาหลั ง การแบ ง แยกประเทศซู ด าน ส ง ผลให ซู ด านใต ที่ มี ทรัพยากรน้าํ มันตองใชเสนทางสงออกทีเ่ มืองคารทมู เปนเสนทางหลักเพียง เสนทางเดียว สงผลใหไมมีความสะดวกในการสงออก และยังตองเสียคา ธรรมเนียมตางๆ มากมาย นอกเหนือจากการเตรียมสงออกทางประเทศ เอธิโอเปยและประเทศจิบูตีแลว ซูดานใตยังเตรียมลงนามในขอตกลงกับ ประเทศเคนยาเพอการกอสรางระบบทอสงน้ํามัน

เขมรเตรียมสรางโรงกลั่นสนับสนุนน้ํามันอิหราน

สหรัฐฯ เปดศูนยนวัตกรรมใหมเนนดานแบตเตอรี่

ซูดานใตเตรียมใชจิบูตีสงออกน้ํามัน

นาย Steven Chu รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงานสหรัฐฯ ประกาศแผนจะเปดศูนยนวัตกรรม พลังงานใหมสําหรับการวิจัยขั้นสูงในแบตเตอรี่และการเก็บรักษาพลังงาน โดยมีการลงทุนสูงถึง 120 ลาน ดอลลารในระยะเวลากวา 5 ป โดยในปงบประมาณ 2012 ศูนยดังกลาวไดรับเงินทุนสูงถึง 20 ลานดอลลาร โดยเปาหมายของศูนยแหงนี้จะชวยปรับปรุงประสิทธิภาพระบบไฟฟา, รองรับเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียน และรองรับการใชในยานพาหนะไฟฟา “ในฐานะที่ศูนยแหงนี้เปนสวนหนึ่งของเงินลงทุน ศูนยดังกลาวจึงเปนที่รวมตัวของวิศวกรและ นักอุตสาหกรรม เพอพัฒนาหาแนวความคิดใหมๆ และวิธกี ารใหมทีจ่ ะใหสหรัฐอเมริกาเปนผูน าํ ในดานพลังงาน ระดับแนวหนาในดานเทคโนโลยีแบตเตอรี่ของโลก ความกาวหนาจากการวิจัยนี้จะชวยพัฒนาใหเราสามารถ ออกแบบและผลิ ต แบตเตอรี่ ที่ มี อ ายุ ย าวนานและสามารถลดค า ใช จ า ยน อ ยกว า เทคโนโลยี ใ นป จ จุ บั น ” นาย Steven Chu กลาว เปาหมายของศูนยดังกลาวจะเนนไปที่อุปกรณจัดเก็บพลังงานเพอนําไปสูการปฏิวัติเทคโนโลยี ใหมๆ ไมวาจะเปนการสํารวจหาวัสดุใหม, อุปกรณ, ระบบและวิธีการใหมสําหรับระบบสาธารณูปโภคและการขนสง ภายใตขอจํากัดการผลิตในปจจุบันทั้งในเรองความซับซอนดานนวัตกรรมและคาใชจาย ศูนยดังกลาวถูกจัด ตั้งขึ้นเปนแหงที่ 4 ตั้งแตป 2010

USA

http://energy.gov/articles/energy-departmentlaunch-new-energy-innovation-hub-focusedadvanced-batteries-and-energy

March 2012 l 87

Energy#40_p86-87_Pro3.indd 87

2/22/12 12:32 AM


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“สินเชื่อรับประกันการประหยัด พลังงานกสิกรไทย” (K-Energy Saving Guarantee Program) ระยะเวลาผอนชําระ 7 ป คิดอัตราดอกเบี้ยพิเศษ 0% ใน 6 เดือนแรก และ อัตราดอกเบี้ย MLR-1% ในเดือนที่ 7-18 หลังจากนั้นจะคิดอัตราดอกเบี้ย ตามเกณฑปกติของธนาคาร ทั้งนี้ ธนาคาร คาดวาจะสามารถใหการ สนับสนุนสินเชอรับประกันการประหยัดพลังงานกสิกรไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ในโครงการดังกลาวประมาณ 3,000 ลาน บาท

ประเภทของบริการ

- วงเงินลีสซิ่งหรือเชาซื้อ (KF&E) และ/ หรือ - วงเงินกูระยะยาว (KBank)

โปรแกรมสินเชอรับประกันการประหยัดพลังงานกสิกรไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) เปนโปรแกรมสินเชอที่ ธนาคารใหแก ผูประกอบการในรูปของสินเชอลีสซิ่ง / เชาซื้อเครองจักร และอุปกรณ และ/หรือ เงินกูระยะยาว โดยมีวัตถุประสงคเพอสนับสนุนการ ลงทุ น ในโครงการจั ด การด า นพลั ง งานให มี ประสิ ท ธิ ภ าพ ผ า นการใช บ ริ ก ารจาก “บริ ษั ท จั ด การด า นพลั ง งาน” (Energy Service Company - ESCO) ซึ่งเปนบริษัทที่ปรึกษาและ บริหารจัดการดานพลังงานอยางครบวงจร และมี การรับประกันผลการประหยัดพลังงานที่ ไดจากการ ลงทุนในโครงการดังกลาว ซึ่งทําใหผูประกอบการ มั่นใจไดวาผลการประหยัดพลังงานที่ ไดจาก การลงทุนในโครงการจะเปนแหลงที่มาหลัก ของการชํ า ระคื น เงิ น กู ข องลู ก ค า (SelfFinancing Project) โดยธนาคารกสิ ก รไทยจะให ก าร สนั บ สนุ น ด า นการเงิ น แก ลู ก ค า ที่ เ ข า ร ว ม โครงการรับประกันการประหยัดพลังงาน ดวย โปรแกรมสิ น เชื่ อ รั บ ประกั น การประหยั ด พลั ง งานกสิ ก รไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ที่ใหวงเงินสินเชอสูงสุด 100% ของเงินลงทุนทั้งหมดของโครงการ

เงอนไขการใชบริการ

- เปนผูประกอบการที่มียอดขายตั้งแต 50 ลานบาทขึ้นไป - เปนโครงการลงทุนที่มีวัตถุประสงคเพอการจัดการดานพลังงาน ใหมีประสิทธิภาพที่มีการรับประกันผลการประหยัดพลังงานจากบริษัท ESCO - บริษัท ESCO ที่เปนผูดําเนินการโครงการตองเปน ESCO ที่ผานเกณฑการพิจารณาของธนาคาร - โครงการและลูกคาที่สามารถไดรับอนุมัติสินเชอ 100 % ของเงิ น ลงทุ น ทั้ ง หมดของโครงการต อ งมี คุณสมบัติเปนไปตามที่ธนาคารกําหนด

88 l March 2012

Energy#40_p88_Pro3.indd 88

2/24/12 10:43 PM


Energy Legal

โดย : ทนายเหนง

ผลิตไฟฟาใชเองแตละบาน เรื่องยุงยากที่ ไมเหมือนประเทศอื่น

เราคงเคยไดยินขาวในตางประเทศที่เกี่ยวกับการผลิตกระแสไฟฟา ใชเองในครัวเรือนขนาดเล็ก โดยเฉพาะแถบประเทศยุโรป ซึ่งเปนหนึ่งใน นโยบายความมั่นคงดานพลังงานของประเทศนั้นๆ โดยประชาชนสามารถ ผลิตกระแสไฟฟาใชเองไดผานระบบโซลารเซลลหรือกังหันลมขนาดเล็ก รวมไปถึงการใชกาซชีวภาพในครัวเรือน และรัฐบาลของประเทศนั้นๆ ก็ สนับสนุนใหมกี ารผลิตไฟฟาใชเองในครัวเรือน โดยตองผานการตรวจสอบ ระบบจากเจาหนาที่ ขณะที่ประเทศไทยยังไมมี กฎหมายขอใดระบุใหประชาชน สามารถติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต กระแสไฟฟาตามครัวเรือน จึง เปนชองโหวที่ล็อคใหประชาชน ไม ส ามารถดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง ระบบผลิ ต กระแสไฟฟ า ไว ใ ช ใ น ครัวเรือนได โดยมีการตีความวา บานเรือนแตละหลัง หากตองการ ใชไฟฟาตองใชไฟฟาจากหนวยงาน ที่ เ กี่ ย วข อ งหรื อ ต อ งให ห น ว ยงาน ราชการเขามาดูแลในเรื่องระบบไฟฟา ตามที่ พระราชบัญญัติการไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย พ.ศ.๒๕๑๑ ระบุไวใหวา “มาตรา ๓๗ ผูใดสรางโรงไฟฟาทีม่ กี าํ ลังผลิตรวมกันสูงกวายีส่ บิ เมกะวัตตเพื่อใชเอง หรือทีม่ กี าํ ลังผลิตรวมกันสูงกวาหกเมกะวัตตเพื่อขาย

พลังงานไฟฟาแกประชาชน ประสงคจะเชื่อมโยงระบบไฟฟาของตนกับระบบ ไฟฟาของ กฟผ., การไฟฟานครหลวงหรือการไฟฟาสวนภูมิภาค ตองยื่น คําขอและไดรับความเห็นชอบจาก กฟผ. กอน ในการใหความเห็นชอบตามวรรคหนึ่ง ให กฟผ. กําหนดเงื่อนไขที่ เกี่ยวกับคุณภาพไฟฟาเทคนิคทางวิศวกรรม และความปลอดภัยของระบบ ไฟฟาเพื่อการเชื่อมโยงระบบได” จากขอความตามกฎหมายดังกลาวระบุไวอยางชัดเจนวา “ผูใด สรางโรงไฟฟาทีม่ กี าํ ลังผลิตรวมกันสูงกวายีส่ บิ เมกะวัตตเพื่อใชเอง หรือทีม่ กี าํ ลังผลิตรวมกันสูงกวาหกเมกะวัตตเพื่อขายพลังงานไฟฟา แกประชาชน” สามารถตีความไดวา หากจะผลิตใชเองตองมีการผลิตรวม กันสูงกวา 20 เมกะวัตต ซึ่งการผลิตไฟฟาขนาดนั้นไมสามารถทําไดตาม ครัวเรือน แตชองโหวดังกลาวก็ยังทิ้งทางออกเอาไวให โดยหากเปนการ สรางเพื่อใชในเฉพาะชุมชนก็สามารถทําได หากแตตอ งไดรบั ความเห็นชอบ จากการไฟฟาฝายผลิต (กฟผ.) ดวยเหตุนี้เราจึงจะเห็นการผลิตไฟฟาในแบบชุมชนเพิ่มมากขึ้นใน ชวงหลัง เนื่องจากเปนไปตามทีก่ ฎหมายกําหนด และสามารถดําเนินการได โดยชุมชนจะเปนผูไดรับผลประโยชนจากการผลิตไฟฟา ขณะที่การผลิต ไฟฟาเพื่อใชในแตละครัวเรือนปจจุบัน ยังอยูในชองโหวของกฎหมาย ทําให ใครที่จะติดตั้งระบบผลิตไฟฟาใชเองในครัวเรือนอาจผิดกฎหมายในฐานะ ลักลอบใชไฟฟา และอาจผิดกฎหมายในดานอื่นๆ ตามมา ก็ หวังวาอนาคตกฎหมายจะครอบคลุมถึงการผลิต ไฟฟาใชเองในครัวเรือน เพื่อเปนการสรางความ มั่นคงดานพลังงานของประเทศ

March 2012 l 89

Energy#40_p89_Pro3.indd 89

2/17/12 1:15 AM


Energy Stat โดย : Grapher

ยอนกลับไปเมื่อปที่แลวชวงเวลาเดียวกัน ไดเกิดความตระหนกขึ้นทั่วโลก เมื่อประเทศญี่ปุนตองประสบแผนดินไหวครั้งรุนแรง จนกอใหเกิดคลื่น ยักษมหาสึนามิ จนตามมาดวยเหตุการณที่รุนแรงตางๆ มากมาย หลายคนเชื่อวาเปนสัญญาณเตือนของโลกที่จะบอกมนุษยชาติใหรับรูวา โลกกําลัง ปวยหนักจากการกระทําของมนุษยและหากยังไมหันมาดูแลรักษาโลกใบนี้ เหตุการณดังกลาวหรือเหตุการณที่รุนแรงกวานั้นอาจเกิดขึ้นอีกก็เปนได อันที่จริงแลวโลกเริ่มเตือนเรามาหลายปแลว เพราะจากการเก็บสถิติการเกิดแผนดินไหวและความรุนแรงในแตละป จะเห็นไดวาแผนดินไหวที่มี ความรุนแรงระดับ 4.0 – 4.9 ตามมาตรวัดแมกนิจูด (นํามาใชแทนมาตรวัดริกเตอร) มีเปนหมื่นครั้งตอป ยิ่งเมื่อมองดูภาพรวมแลวจะเห็นวาแผนดิน ไหวความรุนแรงระดับ 2.0 – 5.9 ตามมาตรวัดแมกนิจูด มีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สัญญาณดังกลาวเปนการบงบอกวา แผนดินไหวระดับกลางที่สามารถสรางความเสียหายเล็กนอยมีปริมาณการเกิดถี่มากขึ้น เขาใจวาโลก กําลังมีพลังเก็บกดมากขึ้นจึงระบายพลังเหลานั้นออกมาในรูปแผนดินไหวขนาดกลาง ซึ่งหากแรงเก็บกดมีมากและระบายออกไมทัน การระบายออกแบบ รุนแรงครั้งใหญคงเกิดขึ้นเฉกเชนเดียวกับที่เกิดที่ญี่ปุน แตมันคงจะดีกวานี้หากชวยกันรักษาสิ่งแวดลอมเพื่อใหโลกลดแรงเก็บกด และอาจจะสามารถ ชวยลดปริมาณการเกิดแผนดินไหวไดดวย

ที่มา : The USGS National Earthquake Information Center

90 l March 2012

Energy#40_p90_Pro3.indd 90

2/17/12 1:17 AM


Insight Energy

ผูเขียน : ลภศ ทัศประเทือง

ย้าํ ! เจาของอาคาร อยาลืมสงแผนอนุรกั ษ ภายใน มีนาคมนี้

ลืมกันไปแลวหรือยังครับ วากฎหมายพระราช บัญญัติสงเสริมอาคารอนุรักษพลังงาน ขีดเสนใตการ สงรายงานการอนุรักษพลังงานไวในสิ้นเดือนมีนาคมนี้ ซึ่งถาหากฝาฝนไมสงรายงานดังกลาว ก็จะมีโทษปรับ สูงสุดถึง 200,000 บาทเลยทีเดียว นายดนัย เอกกมล ผูอํานวยการสํานักงานกํากับ และอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน (พพ.) เปดเผยวา พพ. ไดสงหนังสือ แจ้งเตือนให้เจ้าของอาคารทุกแห่งในประเทศไทย ได้ยื่น รายงานการอนุรักษพลังงานประจําป 2555 ภายในเดือน ม.ค. - มี.ค. 2555 เพอใหเปนไปตามกฎหมายพระราช บัญญัติ สงเสริมอาคารอนุรกั ษพลังงาน ซึง่ หากไมดาํ เนินการตามจะมีโทษ ตามกฎหมายถูกปรับไมเกิน 200,000 บาท “ทั้งนี้กฎหมายดังกลาวจะดูวา อาคารแตละแหงนั้นมีสัดสวนการ ประหยัดพลังงานเหมาะสมหรือไม ซึ่งโดยเฉลี่ยแลว อาคารควรลดการใช พลังงานลง รอยละ 5 – 10” อยางไรก็ตามในปที่ผานมาอาคารทั้งของภาครัฐ และเอกชนไดมายนแบบการอนุรักษพลังงานแลวประมาณ 80% จากอาคารเอกชนที่มีทั่วประเทศ 1,200 แหง และ อาคารหนวยงานราชการ 800 แหง ทั้งนี้เชอวาจะไม สามารถบังคับใชกฎหมายดังกลาวกับอาคารทัว่ ประเทศได 100% เนองจากหลายแหงยังขาดความรูความเขาใจ ซึ่ง พพ.จะพยายามติดตามและสรางความเขาใจเพอใหอาคาร

http://www.weesaksal.net/2011/03/bangkok-view-5-5. htm

http://captainkimo.com/sunrise-over-bangkok-city-thailand/

ในประเทศเขาสูกฎหมายดังกลาวใหไดทั้งหมดตอไป ถือเปนนิมิตรหมายอันดี ในการรวมมือของภาครัฐและเอกชนแบบ บูรณาการ ซึ่งแนนอนวาหากไมมีราคาคาปรับที่สูงลิ่วขนาดนี้ เราอาจไม ไดเห็นความรวมแรงรวมใจกันสงรายงานกันขนาดนี้ (หรือเปลา) “การเขาสูกฎหมายอาคารอนุรักษพลังงานนี้จะสงผลดีกับเจาของ อาคารที่ดําเนินกิจการทาง ธุ ร กิ จ เนื่ อ งจากประเทศที่ headlightmag.com พัฒนาแลวหลายแหงนําเอา มาตรฐาน ISO 50001 มา ใชพิจารณาซื้อสินคา โดย ISO ดังกลาวถูกกําหนดขึ้น มาเมอป 2554 มุงเนนการ จั ด ก า ร ด า น พ ลั ง ง า น โดยสินคาที่ซื้อขายจะตองมี สวนของการผลิตทีป่ ระหยัด พลังงาน ซึ่งผูประกอบการสามารถนําแผนการอนุรักษพลังงานในอาคาร ไปใชเปนขอยืนยันเพอขายสินคาไดดวย จึงอยากใหเจาของอาคารทุกแหง ใหความใสใจกับกฎหมายดังกลาวและปฏิบัติตามภายในเวลากําหนดดวย” นายดนัย กลาวทิ้งทาย แตเมอมองตัว พรบ.ฉบับนีแ้ ลว ผมคิดถึงผลกระทบไปทีอ่ ตุ สาหกรรม เครองปรับอากาศและการออกแบบระบบปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ ที่ คาดวาจะไดรับไมมากก็นอย อุตสาหกรรมเครองปรับอากาศขนาดเล็กใน ประเทศคงจะตองตระเตรียมลูท างในการปรับปรุงประสิทธิภาพของเครองปรับอากาศใหสงู ขึน้ การออกแบบอาคารและระบบปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ คงตองมีการมองถึงการประหยัดพลังงานกันอยางจริงจัง March 2012 l 91

Energy#40_p91_Pro3.indd 91

2/22/12 12:36 AM


Energy#40_p92_Pro3.ai

1

2/21/12

3:36 PM


Special Scoop

World Energy Outlook 2011 สกู ป พิ เ ศษฉบั บ นี้ เ ราขอยกพื้ น ที่ ใ ห กั บ คุ ณ พิ ชั ย ถิ่ น สั น ติ สุ ข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย คอลัมนิสตประจํานิตยสารอีกครั้ง เนองจากเนื้อหาสาระมี ประโยชนเปนอยางมาก และทานไดกรุณานํามาเลาตอกัน

http://www.nytexaminer.com/2011/11/

March 2012 l 93

Energy#40_p93-95_Pro3.indd 93

2/24/12 4:00 PM


http://awayfromitall.me/2011/11/10/world-energy-outlook-2011-

ทางกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ไดรับขอมูลที่นาสนใจจาก กองสนเทศเศรษฐกิจ กรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กระทรวงการตาง ประเทศ โดยสรุปเนื้อหาไดดังนี้ กระทรวงการตางประเทศไดรับรายงาน จากสถานเอกอัครราชฑูต ณ กรุงอังการา เกีย่ วกับผลการสัมมนาในหัวขอ “World Energy Outlook 2011” ซึ่งจัดโดย ทบวงการพลังงานระหวาง ประเทศ (International Energy Agency: IEA) เมอวันที่ 21 ธันวาคม 2554 โดยมี Dr.Fatih Birol ตําแหนง Chief Economist ของ IEA เปนผู บรรยายหลัก สรุปสาระสําคัญดังนี้ 1. สถานการณพลังงานโลก อยูในภาวะนากังวล โดยกอนเกิด วิกฤตเศรษฐกิจโลก ประเทศ ตางๆ เคยใหความสําคัญกับนโยบายพลังงาน ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งาน และบรรเทาป ญ หา การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แตภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจโลก ประเทศ ตางๆ จําเปนตองลดงบประมาณ ดานพลังงาน เพอบรรเทาปญหารการ ขาดดุลบัญชีเดินสะพัด กอปรกับสถานการณโรงไฟฟานิวเคลียรที่ ญี่ปุน และเหตุการณความไมสงบในโลกอาหรับ ทําใหตลาดโลกเผชิญกับความไม แนนอนของอุปทานพลังงาน ทั้งนี้พบวาปริมาณการปลอยกาซ CO2 เมอป 2553 สูงเปนประวัติการณ และการเพิ่มประสิทธิภาพ พลังงาน

http://writer.dek-d.com/Writer/story/viewlongc.php?id=685064&chapter=2

เมอป 2552-2553 ลดลงเปนครั้งแรกในประวัติการณ 2. อุปสงคพลังงานโลก มีแนวโนมสูงขึ้น สวนใหญมาจากกลุม ประเทศเศรษฐกิจใหม คือ จีน อินเดียและรัสเซีย ตามลําดับ ทั้งนี้อุปสงค ของจีนและอินเดียรวมกันมีสดั สวนสูงกวารอยละ 50 ของอุปสงคพลังงานโลก และนาจะมีอิทธิพลตอตลาดพลังงานโลกยิ่งขึ้นในอนาคต ขณะที่ประเทศ พั ฒ นาแล ว เร ง ลดการนํ า เข า พลั ง งานด ว ยการออกกฎหมายเพิ่ ม ประสิทธิภาพพลังงาน และพึ่งพาการผลิตพลังงานภายในประเทศมากขึ้น ทั้งนี้สหรัฐอเมริกาเปนเพียงประเทศเดียวที่สามารถลดการนําเขาน้ํามัน ระหวางป 2543-2553

ttp://www.thegreeninvestor.com/investoblog/2011/11/

http://www.nytimes.com/2008/04/23/world/europe/23coal.html

3. อุปสงคกาซธรรมชาติและถานหิน มีแนวโนมสูงขึ้น เนองจาก ความไมแนนอนของอุปทานพลังงานจากแหลงอนๆ ตามนัยขอ 1 ซึ่งจะ สงผลกระทบตอความมุงมั่นของประชาคมโลก ที่จะจํากัดการเพิ่มอุณหภูมิ ของโลกอยูที่ 2 องศาเซลเซียส ภายในป 2578 โดยที่ผานมา มีการใชกาซ ธรรมชาติสงู ขึน้ เปนลําดับ (Silent Revolution) ในสหรัฐฯ และจีน เนองจาก เปนพลังงานทีส่ ะอาดกวาถานหิน ปลอดภัยกวานิวเคลียร และมีเสถียรภาพ ของราคาและอุปทานสูงกวาพลังงานทางเลือก ซึ่งจะเพิ่มอิทธิพลของ รัสเซียและอิหราน ที่มีปริมาณกาซธรรมชาติสํารองเปนอันดับ 1 และ 2 ของโลกใหสูงขึ้นตามลําดับ สําหรับถานหินพบวา สัดสวนการใชพลังงาน

94 l March 2012

Energy#40_p93-95_Pro3.indd 94

2/24/12 4:01 PM


http://swetanggoti.wordpress.com/aboutblog/

จากถานหินนอยกวาจากแหลงอนๆ รวมกันเพียงเล็กนอย โดยสวนใหญ ใชในประเทศกําลังพัฒนา เนองจากถานหินมีราคาถูก 4. อุปทานกาซธรรมชาติและน้ํามัน โดยที่รัสเซียซึ่งเปนผูสงออก กาซธรรมชาติรายใหญ ในปจจุบัน มีนโยบายเพิ่มประสิทธิภาพการใช พลังงานภายในประเทศ จึงเปนที่คาดการณวารัสเซียจะเปนมหาอํานาจ ดานพลังงานโลกในอนาคต ขณะที่อิรักนาจะมีบทบาทดานพลังงานสูงขึ้น หลังจากสหรัฐฯ ถอนกําลังออกจากอิรัก เมอเดือนธันวาคม 2554 โดย นาจะเพิ่มการสงออกน้ํามันและกาซธรรมชาติมากขึ้น นอกจากนี้ จะมีการ กอสรางทอสงกาซใหมๆ ในตะวันออกกลางและตอนเหนือของแอฟริกา เนองจากมีการสํารวจพบแหลงกาซธรรมชาติใหมทางตะวันออกของทะเล เมดิเตอรเรเนียน 5. การลดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก ประชาคมโลกควรเรง จัดทําความตกลงตามมติที่ประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Conference of the Parties to the United Nations Framework Convention on Climate Change) ครั้งที่ 17 ทีเ่ มืองเดอรบนั แอฟริกาใต ระหวางวันที่ 28 พฤศจิกายน – 9 ธันวาคม 2554 ซึ่งจะทําใหโลกสามารถปลอยกาซเรือนกระจกไดอีกเพียงรอยละ 20 เพอบรรลุเปาหมายจํากัดการเพิม่ อุณหภูมอิ กี 2 องศาเซลเซียส ในป 2578 ซึ่งหากไมมีการลงนามฯ อุณหภูมิโลกจะสูงขึ้นอีก 6 องศาเซลเซียส ในป 2578 6. สถานการณและนโยบายพลังงานตุรกี ประสิทธิภาพดานการ ใชพลังงานของตุรกีอยู ในระดับต่ํา และการพึ่งพาการนําเขาน้ํามันก็สง

ผลกระทบตอเศรษฐกิจตุรกีอยางมาก ทําใหตุรกีขาดดุลบัญชี เดินสะพัด ถึง 6,800 ลานดอลลารสหรัฐ (ณ เดือนกันยายน 2554) ตุรกีจึงควรเรง พัฒนาระบบขนสงมวลชน เพอลดการนําเขายานยนตและน้ํามัน ทั้งนี้แมวา ตุรกีจะไมไดเปนแหลงพลังงานและบริโภคพลังงานสูง แตตุรกีมีจุดเดนทาง ภูมิศาสตรที่เชอมโยงระหวางประเทศ แหลงผลิตพลังงานในเอเชียกลาง และตะวันออกกลางกับประเทศผูบริโภคในยุโรป ตุรกีจึงมีนโยบายการ พัฒนาประเทศใหเปน “Energy Bridge” โดยสรางเสนทางเชอมโยงแนว ระเบียงพลังงาน (Energy Corridor) จากภูมภิ าคตางๆ โดยเฉพาะโครงการ ทอสงกาซ Nabucco ของสหภาพยุโรปที่มีเสนทางใหญพาดผานตุรกี ในนามของกลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย รูสึกชนชมกองสนเทศเศรษฐกิจ ที่มองเห็นความ สําคัญดานพลังงาน ซึ่งงานสัมมนาสําคัญๆ เหลานี้ ภาคเอกชนเขา ถึ ง ได ย าก งบประมาณในการเข า ร ว มส ว นใหญ จ ะอยู ที่ ภ าครั ฐ การเอื้อเฝอขอมูลในครั้งนี้ นาจะเปนตัวอยางที่ดีของหนวยงานรัฐที่ ควรยึ ด ถื อ และพิ จ ารณาปฏิ บั ติ เ พื่ อ ประโยชน์ ข องประเทศชาติ โดยรวม

http://www.womenandperspectives.com/2010/09/women-at-gas-station.html

ขอขอบคุณ : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย เอื้อเฟอขอมูล March 2012 l 95

Energy#40_p93-95_Pro3.indd 95

2/24/12 4:01 PM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร เจาหนาที่ ธุรการ ประชาสัมพันธเกี่ยวกับ งานสิ่งแวดลอม ทอท. อายุไมเกิน 35 ป ชาย/หญิง มี มนุ ษ ยสั ม พั น ธ ดี พู ด ภาษาอั ง กฤษได พ อสมควร สามารถใชคอมพิวเตอรไดดี ติดตอ บริ ษั ท ซี . ซี . คอนเทนท คอมเมอร เ ชี ย ล จํากัด 0-2663-3280-9 ตอ 110, 118, 119 รับสมัคร เจาหนาที่ชุมชนสัมพันธ เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึน้ ไป จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ถึง ปริ ญ ญาตรี มี ป ระสบการณ ด า นชุ ม ชนสั ม พั น ธ สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย การพัฒนาชุมชน เปนตน ติดตอ บริษทั เอเชียกรีน เอนเนอจี จํากัด (มหาชน) 0-2894-0088 #312 รับสมัคร พนักงานบัญชี เพศ ชาย/หญิง อายุ 22 ป ขึ้นไป วุฒิ ปวส. ถึง ปริญญาตรี รายละเอียดงาน งาน บัญชี ดูแลเอกสาร รายรับ-รายจาย รับเช็ค-วางบิล รายงานอื่นๆ ทางบัญชี ติดตอ บริษัท ซัน ฟลาวเวอร โซลาร เซลล จํากัด 0-2514-1400

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร นักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม วุฒิปริญญา ตรี / โท ด า นวิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม และอื่ น ๆ ที่ เกี่ยวของ หากมีประสบการณการทํางานรวมกับหนวย งานราชการ จะไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท จีเอ็มที คอรปอเรชั่น จํากัด 0-2931-1066-8 รับสมัคร Environment & Safety Officer เพศชาย/ หญิง อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขาอาชีว อนามัย และความปลอดภัย หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวของ มี ประสบการณในงาน 1 ปประสานงานไดดี มีมนุษย สัมพันธ ติดตอ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 0-2229-3647-8 รับสมัคร วิศวกรเครื่องกลและสิ่งแวดลอม (ประจํา สาขากรุงเทพฯ/ชะอํา/พัทยา) เพศชาย / หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิปริญาตรีขึ้นไป สาขา วิศวกรเครื่องกล ไฟฟา และสิ่งแวดลอม มีประสบการณ 3 ปขึ้นไปเกี่ยว กับดานวิศวกร ติดตอ บริษัท เว็ทโก อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 0-2944-1282-3 รั บ สมั ค ร เจ า หน า ที่ สิ่ ง แวดล อ ม วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี วิศวกรรมศาสตรหรือวิทยาศาสตรฺดานสิ่งแวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีใบประกาศเปนผูควบคุมมลพิษ ดานน้ําหรืออากาศหรือกากของเสีย ติดตอ Tong - Siang Co.,Ltd. 0-2810-1334-9 ตอ 500,502

รับสมัคร วิศวกรสิง่ แวดลอม, บําบัดน้าํ เสีย อายุไมเกิน 30 ป วุฒิปริญญาตรี วิศวกรรม สาขา สิ่งแวดลอม หรือ วิทยาศาสตร สาขา เคมี มีประสบการณดาน สิ่งแวดลอมในโรงงานอุตสาหกรรม 1-3 ป ติดตอ บริษัท เอ็ม ที อลูเม็ท จํากัด 038-830456-7 รับสมัคร เจาหนาที่วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ (R&D) วุฒิปริญญาตรี สาขาเคมี อายุ 21 ปขึ้นไป มีความคิด สรางสรรค มีความรับผิดชอบ อดทน มีความตั้งใจใน การทํางานสูง สนใจดานการวิจัยพัฒนาและคิดคน ผลิตภัณฑใหม ๆ ติดตอ บริษัท แอนเทียร กรุป จํากัด 0-2814-0291-4 รั บ สมั ค ร ผู จั ด การโครงการ ด า นงานที่ ป รึ ก ษาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม เพศชาย วุฒิปริญญาตรี / โท บริหารธุรกิจ /สาขา วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม สังคมศาสตร/วิทยาศาสตร หรือสาขาที่เกี่ยวของ ประสบการณประมาณ 3 - 5 ป ติดตอ สมาคมการจัดการธุรกิจแหงประเทศไทย 0-2319-7677 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม/วิศวกรสิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนา ได และมีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงาน ถามี ประสบการณระบบบําบัดน้ําเสียในโรงงานจะพิจารณา เปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เดลี่ฟูดส จํากัด 0-2716-8070 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 25 ป ขึ้ น ไป วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี วิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต หรื อ วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ท ยาศาสตร สิ่งแวดลอมหรือสาขาอื่นที่เกี่ยวของ มีประสบการดาน การควบคุมระบบบําบัดน้าํ เสียอยางนอย 1 ป (เนนระบบ บําบัดทางเคมี) ติดตอ บริ ษั ท ไทยสโตเรจ แบตเตอรี่ จํ า กั ด (มหาชน) 0-2709-3535 รับสมัคร นักวิชาการสิ่งแวดลอม (Monitoring) เพศ ชาย อายุ 26 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขาดาน สิ่งแวดลอม สามารถใชเรียนรูการใชงานเครื่องมือ ตรวจวัดไดเปนอยางดี ประสบการณ 2 ถึง 5 ป ติดตอ บริษัท เอ็นไวแล็บ จํากัด 0-2802-3982 ตอ 222 รับสมัคร นักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (นครราชสีมา) เพศชาย อายุ 26 ถึง 31 ป จบดานวิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม มีพื้นฐานดานการวิเคราะห LAB ติดตอ บริษัท ไบโอแกส โฟรันเนอร จํากัด 0-2734-5450 ตอ 115

รับสมัคร เจาหนาทีอ่ นุรกั ษพลังงาน (ฉะเชิงเทรา) เพศ ชาย วุฒิปวส. ขึ้นไป ประสบการณ 2 ปขึ้นไป ผานการ อบรมผูรับผิดชอบพลังงานอาวุโส รายละเอียดงาน ดูแลดานพลังงานของโรงงานและโครงการตางๆ ดาน อนุรักษพลังงาน ติดตอ บริ ษั ท ยู โ รเทค เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง อิ น เตอร เนชั่นแนล จํากัด 0-3857-3539-42 รับสมัคร วิศวกรไฟฟา(แสงอาทิตย) เพศชาย อายุ 25 ถึง 35 ป วุฒิปริญญาตรี-ปริญญาโท สาขาไฟฟา / เครื่องกล / พลังงาน / หรือสาขาที่เกี่ยวของ สามารถ อานและเขียนแบบดวย Auto Cad ไดเปนอยางดี ติดตอ บริษัท เพาวเวอร ยูตา กรุป จํากัด 0-2645-0232-40 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม / นักวิทยาศาสตรสิ่ง แวดลอม (ประจวบคีรีขันธ) เพศ ชาย / หญิง อายุ 24 ปขึ้นไป วุฒิ ป.ตรี - ป.โท สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม / วิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม หรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข อ ง ประสบการณทํางาน 3 ปขึ้นไป ติดตอ บริษัท กลุมเหล็กสหวิริยา จํากัด 0-2285-3101-10 EXT 626- 627 รับสมัคร นักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ ระหวาง 22 - 30 ป วุฒิ ป.ตรี วทบ.สาขาสิ่งแวดลอม/ เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม/อาชีวอนามัยสิ่งแวดลอม ติดตอ บริษัท พรีเมียรโพรดักส จํากัด 0-2301-2222 รั บ สมั ค ร เจ า หน า ที่ สิ่ ง แวดล อ ม (สระแก ว ) วุ ฒิ ปริญญาตรี ขึ้นไป อายุ 20 ปขึ้นไป รายละเอียดงาน รายงานการควบคุมมลพิษ จัดทําแผนการทํางานของ พนักงานในหนวยงาน ควบคุมมลพิษสิง่ แวดลอมใหเปน ไปตามกฎหมายที่กําหนด จัดทํารายงานสิ่งแวดลอม ตามกฎหมายกําหนด ติดตอ บริษัท อีเอส เพาเวอร จํากัด 037-262229-31 รั บ สมั ค ร วิ ศ วกรสิ่ ง แวดล อ ม วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ประสบการณ 5 ปขึน้ ไป ในการออกแบบและควบคุมงานระบบบําบัดนํา เสีย,ระบบน้ําดี และระบบจําจัดขยะมูลฝอยชุมชน มี ใบ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (กว.) จะไดรับการ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ SUTEE DISHED HEADS AND METALFORM CO.,LTD. 0-2751-0900 ตอ 1407, 1408

96 l March 2012

Energy#40_p96_Pro3.indd 96

2/17/12 1:20 AM


Energy Price

March 2012 l 97

Energy#40_p97_Pro3.indd 97

2/24/12 4:08 PM


Directory ระบบความเย็น หางหุนสวนจํากัด ส. แอรเซ็นเตอร โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 036-421-534, 036-424-534 : 036-424-533 : www.sorlopburi.com/index2.htm : ระบบความเย็น

บริ ษั ท นั ท ธภั ณ ฑ์ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งเย็ น จํากัด

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2861 0499, 0-2437-9877 : 0-2861-0199 : www.nattapun.com/air/home : ระบบความเย็น

บริษัท จอมสมบูรณ แอร เอ็นจิ เนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2235-3535, 0-2234-7125-6 : 0-2266-3462 : jom4air@gmail.com : www.jom4air.com : ระบบความเย็น

บริษัท สุเจริญแอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 034-270-373 081-293-4458 : 034-284-745 : bshine@ksc.th.com : www.sujarernair.com/ : ระบบความเย็น

บริษัท นิวคูลลิ่งแอร จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2957-1796 : 0-2957-1992 : NEWCOOLINGAIR@SANOOK.COM : www.newcoolingair.com : ระบบความเย็น

บริษัท บิลเลี่ยนชายน จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2749-5671-2 : 0-2749-4632 : bshine@ksc.th.com : www.aerotronthai.com : ระบบความเย็น

บริ ษั ท ศรี ส ยาม แอร แอนด เซอร วิ ส จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

บริษัท อินโนเวชั่น แม็ชชิ่ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2964-2850, 0-2584-0574 : 0-2583-9893 : service@kitchaair.com : www.kitchaair.com/ : ระบบความเย็น

บริษัท บางกอกซิสเต็มซัพพลาย จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2792-0647-8 : 0-2792-0648 : www.bkksystemsupply.com : ระบบความเย็น

บริษัท สงเสริมเซลสแอนดเซอรวิส จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2437-0023, 0-2860-6431 : 0-2439-1714 : info@songsermair.com : www.songsermair.com : ระบบความเย็น

บริษัท แอรแมนี่ จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2641-9991 , 081-409-8198 : 0-2246-5661 : nattasak1178@yahoo.com : www.airmany.com/ : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด ยูเนี่ยนเปอรเฟคท โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2277-2102 , 0-2691-3344 : 0-2691-2533 : unionperfect_cool@hotmail. : www.unioncool.mankind666.com/ : ระบบความเย็น

บริ ษั ท เอส.บี . เค.แอร เ ซอร วิ ส จํ า กั ด 2268 โทรศัพท แฟกซ

: 0-2539-3058-60 : 0-2539-3051

เว็บไซด : www.sbk-air.com สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ทรัพยสุขสิริ จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2420-3590, 0-2420-9807 : 0-2420-3689 : kul_pm16@hotmail.com : www.miki-air.com : ระบบความเย็น

: 0-29212140-41 089-177-9379 : 0-2921-2142 : sompongs.t@hotmail.com : www.innovationmatching.com : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด คัมมี่เทค

โทรศัพท อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 087-683-3386, 083-841-4235 : cummytek@thaimail.com : www.cummytek.th.gs/ : ระบบความเย็น

บริษัท ธัญญรัตนแอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 034-723-607,081-434-0288 : 034-711-743 : www.tanyaratair.com : ระบบความเย็น

บริษทั คอนคอรด แอร แอนด ออโต จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-24573321-2,081-848-0555 : 0-2457-2336-7 : www.concordairandauto.co.th/ : ระบบความเย็น

บริ ษั ท สยามรุ ง เรื อ ง เอ็ น เตอร ไพร ส จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

บริษัท กิจจาแอร แอนด เซอรวิส จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2812-8702,081-834-8234 : 0-2812-9318 : sales@srisiamair.com : www.srisiamair.com : ระบบความเย็น

: 0-2539-4223 : 0-2539-4261 : www.siamrungruang.com : ระบบความเย็น

Water Pump บริษัท คาลปตา (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2275-0027 แฟกซ : 0-2276-2892 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท คิเนติค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2873-5550-1 แฟกซ : 0-2873-5552 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท คิมเฮงฮงฮวด จํากัด โทรศัพท : 0-2216-4920 แฟกซ : 0-2216-4553 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เค.ซี.วี. เอ็นจิเนียริ่ง (1998) จํากัด โทรศัพท : 0-2428-3275-6 แฟกซ : 0-2428-5320 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เค.เอส. (1992) จํากัด

โทรศัพท : 0-2221-0246, 0-2223-6092 แฟกซ : 0-2221-5738 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เจนเนอรัล แวคคั่ม แอนด โฟลว จํากัด

โทรศัพท : 0-2887-5380-1, 0-2881-3288 แฟกซ : 0-2887-5381 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เจบเซน แอนด เจ็สเซน เทคโนโลยี่ จํากัด โทรศัพท : 0-2787-8400 แฟกซ : 0-2787-8401 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เจริญเมืองแมชชินเนอรี่ จํากัด

โทรศัพท : 0-2281-5331, 0-2280-8431-5 แฟกซ : 0-2280-8033-5 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท จักรวาลเคมี จํากัด

โทรศัพท : 0-2324-0473-5 แฟกซ : 0-2324-0472 สินคาและบริการ : Water Pump

: 0-2750-9444 : 0-2752-6138-9 : sales@iclmagnet.com : www.icmagnet.com : ผลิต จําหนาย สงออก แมเหล็กไฟฟา

บริษัท เค.ซี.ไอ.เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2569-1362-4 แฟกซ : 0-2569-1365 สินคาและบริการ : ผลิตและจําหนาย รอกเครนไฟฟา

โทรศัพท : 0-2509-0992-3, 0-2945-8408 แฟกซ : 0-2509-2139 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ชัยเจริญเอ็นยิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2221-4577, 0-2223-2763 แฟกซ : 0-2224-9185 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ชินโก ชันเกียว (ไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2285-6318-24 แฟกซ : 0-2285-6325 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เครน เทคนิค จํากัด

บริ ษั ท จั น ทร เ กษม อิ น เตอร เ นชั่ น แนล จํากัด

โทรศัพท : 0-2982-7000 , 0-2982-5990 แฟกซ : 0-2982-7777 สินคาและบริการ : รอกโซไฟฟา รอกสลิงไฟฟา เครนไฟฟา

บริษัท เซงเกอร เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2938-5811-3 แฟกซ : 0-2938-5801 สินคาและบริการ : จําหยายและติดตั้งรอกเครน

บริษัท ซี ซี อารรอกไฟฟา จํากัด

บริษัท ชิฟ เอ็นจิเนียริง จํากัด

โทรศัพท : 0-2582-2711-2 แฟกซ : 0-2584-0554 สินคาและบริการ : รอกไฟฟา เครน ลิฟท

บริษัท ชูชื่นวัฒนา จํากัด

โทรศัพท : 0-2813-9704-5 แฟกซ : 0-2805-8095 สินคาและบริการ : รอกโซไฟฟา รอกสลิง รอกสลิงรางคู

โทรศัพท : 0-2987-8376-7 แฟกซ : 0-2987-8366 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2413-2600, 0-2802-0685-7 แฟกซ : 0-2413-3126 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เชงเกอร เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2938-5811-3 แฟกซ : 0-2938-5801 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ซุนเฮงไท เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด บริษัท ดี ดี เค รอกไฟฟา จํากัด

โทรศัพท : 0-2416-5481-2 แฟกซ : 0-2416-5483 สินคาและบริการ : รอกมือ2 จากญี่ปุน ลิฟทโดยสาร ลิฟท รถบรรทุก เกาปรับปรุงใหมจากญี่ปุน

บริษัท แชมปไทย จํากัด

บริษัท เดอะเครน เซอรวิส จํากัด

บริษัท ซิสโกเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท ได-อิ อิเลคทริค ฮอยสท จํากัด

โทรศัพท : 0-2319-1031-40 แฟกซ : 0-2318-2654 สินคาและบริการ : Water Pump โทรศัพท : 0-2251-7314-8, 0-2253-9588 แฟกซ : 0-2253-6537 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ซี แอล เอ็ม มารเก็ตติ้ง จํากัด โทรศัพท : 0-2274-7950, 0-2274-8675 แฟกซ : 0-2274-7495 สินคาและบริการ : Water Pump

ระบบอุปกรณลําเลียงขนสง บริษัท ทรี มาสเตอร จํากัด

บริษัท ยงฮง เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2379-4200-4 แฟกซ : 0-2379-4196-7 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ แมเหล็กแท

บริ ษั ท เจอแมน เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง โปรดั ก ส จํากัด

โทรศัพท : 0-2559-2948, 0-2559-3426 แฟกซ : 0-2530-3964 สินคาและบริการ : Water Pump

สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เคเอสบี พั๊มส จํากัด

บริษัท ไอซแลนดดิค จํากัด

บริษัท เจเรมี อังเคิล จํากัด

บริษัท เคนทฟอรดแมชินเนอรี่ จํากัด : 0-2291-3181-7 : 0-2291-1047

: 0-2330-9044-6 : 0-2330-9047 : info@systemcars.co.th : www.systemcars.co.th/ : Storage - Conveyor Systems

โทรศัพท : 0-2979-1400-8 แฟกซ : 0-2979-1399 ,0-2979-1678 สินคาและบริการ : ผลิต เครนไฟฟา รอกโซ รอกสลิงทุก ประเภท

โทรศัพท : 0-2449-6002 แฟกซ : 0-2449-6007 อีเมล : sales@threemasters.com เว็บไซด : www.threemasters.com สินคาและบริการ : Bulk Material Handling & Pneumatic Conveying System

โทรศัพท แฟกซ

บริษัท ซีสเต็มสคารส จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

โทรศัพท : 0-2618-3000 แฟกซ : 0-2618-2575-6 อีเมล : salesdept@yonghong.co.th เว็บไซด : www.yonghong.co.th สินคาและบริการ : รอกโซไฟฟา รอกสลิงไฟฟา เครน และ อุปกรณที่ ใชในการลําเลียง

บริษัท พี แอนด เอส รังสิต จํากัด โทรศัพท : 0-2998-9090-9 แฟกซ : 0-2532-2696 สินคาและบริการ : โซทุกประเภท

โทรศัพท : 0-2720-9933 , 0-2715-0000 แฟกซ : 0-2720-9915 สินคาและบริการ : บริการเชา ขนสงดวยรถเครน รถโฟลค ลิฟท รถหัวลาก

โทรศัพท : 0-2410-4595 แฟกซ : 0-2410-4973 สินคาและบริการ : รอกสลิงไฟฟายี่หอ LGM

บริ ษั ท ไต ห วั น ฮ อ ยชท แอนด เครน (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2720-1035-6 : 0-2718-9709 : info@thac.co.th : www.thac.co.th/ : HOIST CRANE

บริษัท ที.วี.ซี.อินเตอรเทรด จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2705-3118-9 , 0-2705-3023-4 : 0-2705-3022 : t.v.c.intertrade@hotmail.com : www.tvcintertrade.com : รอก สลิง โซ ประสบการณกวา 30 ป

บริษัท เอส.เจ.ยูนิเวอรแซล จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2738-5820-7 : 0-2138-5828 : sjuniversal1993@yahoo.com : www.sj-universal.co.th/ : รอกโซไฟฟา รอกสลิงไฟฟา

บริษัท พีพีเอส สตีล จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2312-2076-7 , 0-2757-5795 : 0-2312-2131 : pps@ppssteel.com : www.ppssteel.com/ : สลิง โซ รอกโซ รอกไฟฟา

98 l March 2012

Energy#40_p98_Pro3.indd 98

2/17/12 1:24 AM


Special Report

การพัฒนาอยางยั่งยืนในโครงการ “ไบเทคชีววิถสี ชู มุ ชน”(ภาคจบ)

โครงการ “ไบเทคชีววิถีสูชุมชน” ที่ศูนยนิทรรศการและการ ประชุมไบเทค เปนผูผลิตและจัดทําน้ําหมักชีวภาพ หรือ EM จุลินทรีย ขยาย เพอแจกจายใหแกผูที่มาเดินชมงานในศูนยนิทรรศการโดยไมคิดคา ใชจายมาตั้งแต พ.ศ. 2540 ซึ่งไดรับการตอบรับและประสบความสําเร็จ เปนอยางดี นอกจากนี้ ในเหตุการณอุทกภัยที่เกิดขึ้นในปที่ผานมา ทําให ประชาชนประสบปญหาพืน้ ทีน่ ้าํ ทวมขัง ยิง่ ทวีความตองการน้าํ หมักชีวภาพ เพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก โดยไบเทคเล็งเห็นถึงความสําคัญดังกลาวจึงไดจัด กิจกรรมพรอมทั้งรวมบริจาคน้ําหมักชีวภาพ เพอชวยบรรเทาความเดือด รอนใหแกประชาชน สามารถนําน้ําหมักชีวภาพไปชวยบําบัดกลิ่นและขจัด เชื้ อ แบคที เ รี ย พร อ มทั้ ง ยั ง ช ว ยปรั บ สภาพความสมดุ ล ของน้ํ า ให มี ประสิทธิภาพดีขึ้น

สําหรับกิจกรรมที่ผานมา ดร. ประสาน ภิรัช บุรี ประธาน เจาหนาที่บริหารและกรรมการผูจัดการ ศูนยนิทรรศการและการประ ชุมไบเทค พรอมทีมผูบริหาร รวมใจตั้งจุดบริจาคน้ําหมักชีวภาพ จํานวน 10,000 ลิตร ฟรี พรอมทัง้ รวมกับบริษทั ทีทเี อฟ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด ตั้งบูธแจกจายน้ําหมักชีวภาพใหแกผูที่มาเดินชมงาน “Bus & Truck ‘11” นอกจากนี้ ไบเทคยังรวมบริจาคน้าํ หมักชีวภาพใหแกหนวยงานภาครัฐ และ ภาคเอกชนตางๆ ในชวงภาวะวิกฤติ อาทิ ไทยพีบีเอส เนชั่น มัลติมีเดีย กรุป สถานีตํารวจบางนา และบริษัท แอรโรคลาส จํากัด ซึ่งแตละหนวย งานยังเปนศูนยกลางในการกระจายน้าํ หมักชีวภาพไปใหแกผูป ระสบอุทกภัย รวมถึงรับบริจาคเพอชวยเหลือพนักงานภายในองคกร โดยกิจกรรมที่ผานมา ไบเทคยังคงมุงมั่นที่จะสานตอกิจกรรมดีๆ แบบนี้ตอไปเรอยๆ ในอนาคต เพอเปนการนําขยะกลับมาใชประโยชนอยาง มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด พรอมทั้งเปนการสงเสริมการ อนุรักษและฟนฟูสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนทั้งภายในและภายนอกองคกร

ติดตอแผนกสอสารองคกร ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค

• พิมพพนิต เพียรวณิช Corporate Communications Manager • ดวงพร บุพพัณชาติ Corporate Communications Executive • ภคมน ภาสวัสดิ์ Corporate Communications Executive 88 บางนา-ตราด (กม.1) บางนา กรุงเทพมหานคร 10260 โทร 02-749-3939 ตอ 3142, 3146, 2189 แฟกซ 02-749-3949 ตอ 3142, 3146, 2189 อีเมล pr@bitec.co.th เว็บไซด www.bitec.co.th Facebook: www.facebook.com/BITEC.Bsquares Twitter: www.twitter.com/BITEC_Bsquare Youtube: www.youtube.com/BITECBTV

พบกับโครงการ “ไบเทคชีววิถีสูชุมชน” ไดที่งาน ENERGY SAVING ’12 ณ วันที่ 5-8 เมษายน 2555 March 2012 l 99

Energy#40_p99_Pro3.indd 99

2/24/12 1:01 PM


Special Report

โดย : อัมราพร อัชอังกูล ผอ.กลุมวิชาการและสงเสริมประสิทธภาพ สํานักงานกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)

http://www.estatesreport.com/

องคประกอบทีม่ คี วามสําคัญดานอนๆ เพอทีจ่ ะใหการอนุรกั ษพลังงาน ดําเนินไปไดอยางมีระบบและตอเนองไดจึงทําใหกฎหมายการอนุรักษ พลังงานมีความจําเปนตองไดรับการปรับปรุง แกไขเพิ่มเติมเนื้อหา สาระเพอใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน ทําใหภาครัฐสามารถ กํ า กั บ และส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งาน การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานให มี ประสิทธิภาพมากขึ้น พรบ. ฉบับปรับปรุงใหมดังกลาว ไดแก พรบ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 (ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) นอกจากนี้ยังเกิดกฎกระทรวงที่เกี่ยวของตามมาอีก หลายฉบับ ทั้งนี้ ใน พรบ. ดังกลาวไดมีการกําหนดใหโรงงานหรือ อาคารควบคุม ซึ่งเปนผูที่ตองปฏิบัติตามกฎหมายนี้ มีหนาที่สอง ประการ คือ ตองจัดใหมีผูรับผิดชอบดานพลังงานที่มีคุณสมบัติและ จํ า นวนตามที่ กํ า หนดและต อ งดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ตามมาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการจัดการพลังงานที่กําหนดใน กฏกระทรวง ซึ่งในบทความนี้ผูเขียนจะกลาวถึงแนวทางการพัฒนา ระบบการจั ด การพลั ง งานสํ า หรั บ โรงงานและอาคารควบคุ ม ตามกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการ

การพั ฒ นาระบบการจั ด การพลั ง งาน สําหรับโรงงานและอาคารควบคุม (ตอน 1) ในสภาพของสภาวการณปจ จุบนั ประเด็นปญหาใหญทสี่ าํ คัญอันหนึง่ ของโลก คือ ปญหาทางดานพลังงาน ที่เปนปจจัยพื้นฐานที่สําคัญในการที่ จะตอบสนองกับความตองการขัน้ พืน้ ฐานของประชาชนอยางหลีกเลีย่ งไมได อีกทั้งยังเปนปจจัยที่สําคัญตอการผลิตในภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม เปนอยางยิ่ง ซึ่งประเทศไทยเองนั้นก็ ไดมีการศึกษาแนวทางการอนุรักษ พลังงานจากตางประเทศ จึงไดมีการพัฒนาและมีมาตรการการสงเสริม เกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานมาเป น เวลาเกื อ บ 40 ป นั บ ตั้ ง แต เ กิ ด วิกฤตการณราคาน้าํ มันของโลกไดปรับตัวสูงขึน้ เมอป 2516 จนกระทัง่ เมอ วันที่ 3 เมษายน 2535 จึงไดมีกฎหมายพระราชบัญญัติการสงเสริมการ อนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 เพอที่จะสงเสริมใหเกิดวินัยในการอนุรักษ พลังงานอยางแทจริง และมีการลงทุนเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานใน โรงงานอุตสาหกรรมและอาคารเปนสําคัญ ทั้งนี้ ไดมุงเนนเกี่ยวกับการ ปรับปรุงเครองจักรและอุปกรณการประหยัดพลังงาน ซึ่งเปนการแกไข ปญหาในเชิงวิศวกรรมแตเพียงดานเดียว แตอยางไรก็ตามเมอ พรบ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 ซึ่งเปนกฎหมายที่มีผลบังคับมาใชมาตั้งแตป 2535 มีความไม สอดคลองหรือเหมาะสมตอสภาพการณในปจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลง ทางดานเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคม ไมสามารถครอบคลุมกิจกรรมการ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพในทุกภาคสวน เปนผลใหการดําเนินการ ตาม พรบ. ดังกลาวไมกอใหเกิดความยั่งยืนและไมสามารถบูรณาการ

พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 เพอใหผเู กีย่ วของ ไดใชเปนแนวทางปฏิบัติอยางถูกตองและครบถวนตอไป

การจัดการพลังงาน

คําวา “การจัดการพลังงาน” หมายถึง ระบบการดําเนินงานภายใน องคกร ซึ่งจะประกอบดวย บุคลากร ทรัพยากร นโยบาย และขั้นตอนการ ดําเนินการ โดยมีการทํางานประสานงานกันอยางมีระเบียบและแบบแผน เพอ ปฏิบัติงานที่กําหนดไว หรือเพอใหบรรลุ หรือรักษาเปาหมายที่กําหนดไว ซึง่ จากนิยามดังกลาวจะสรุปอยางสัน้ ๆ และงายๆ ก็คอื การบูรณาการ สิ่งต่างๆ ทั้งหลายทั้งปวงเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั่นเอง ซึ่งจะเป็น การดําเนินการอนุรักษพลังงานทั้งทางดานพฤติกรรม จิตสํานึก วิธีการ จัดการเกี่ยวกับการใชพลังงาน ตลอดจนเทคนิคและวิธีการทางวิศวกรรม ใหเกิดการบูรณาการอยางเปนระบบ รวมทั้งสอดคลองกับวัฒนธรรมของ องคกรดวย ซึ่งจะเปนประโยชนตอการจัดการพลังงานของโรงงานและ อาคารควบคุมไดอยางมีประสิทธิภาพและตอเนอง

ขั้นตอนการจัดการพลังงาน

การดําเนินงานเกีย่ วกับการจัดการพลังงานทีจ่ ะใหบรรลุตามเปาหมาย เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามกฎกระทรวงกํ า หนดมาตรฐาน หลั ก เกณฑ์ และวิ ธี การจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมนั้น ทางโรงงาน

100 l March 2012

Energy#40_p100-101_Pro3.indd 100

2/24/12 4:06 PM


การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน

ควบคุมและอาคารควบคุมจะตองกําหนดวิธีการจัดการพลังงานเพอใหเกิด การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและมีการปฏิบตั อิ ยางเปนขัน้ ตอน ตลอด จนวางแผนการดําเนินงานที่ดีและมีความเหมาะสมกับองคกรหนวยงานนั้น ทั้งนี้จะแบงออกไดเปน 8 ขั้นตอนดวยกัน คือ 1. การแตงตั้งคณะทํางานดานการจัดการพลังงาน 2. การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน 3. การกําหนดนโยบายอนุรักษพลังงาน 4. การประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน 5. การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน และแผนการฝก อบรมและกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษพลังงาน 6. การดําเนินการตามแผนอนุรกั ษพลังงาน และการตรวจสอบและ วิเคราะหการปฏิบัติตามเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน 7. การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน 8. การทบทวน วิเคราะหและแกไขขอบกพรองของการจัดการ พลังงาน หากทานคุนเคยกับวงจรการวางแผนงานคุณภาพดวยระเบียบวิธี PDCA (Deming Cycle) แลวจะเห็นวาสามารถเทียบเคียงกันได โดยเริ่มตน จากการวางแผนจากวัตถุประสงคและเปาหมายที่ ไดกาํ หนดแลวนําไปปฏิบตั ิ ระหวางปฏิบตั กิ จ็ ะดําเนินการตรวจสอบ เมอพบกับปญหาก็จะนํามาแกไขหรือ ปรับปรุงแกไขขอบกพรองใหมนั่นเอง

ดังที่ ไดกลาวแลววาการที่จะบรรลุเปาหมายการจัดการพลังงานนั้น จะตองเกิดจากการมีสว นรวมจากทุกๆ ฝาย ทัง้ เจาของโรงงานควบคุมและ เจาของอาคารควบคุม ซึ่งจะตองกํากับดูแล ใหคําแนะนําการประเมิน สถานภาพการจัดการพลังงานเบือ้ งตน และการสนับสนุนทรัพยากรทีจ่ าํ เปน ตอการดําเนินการ ในสวนของคณะทํางานดานการจัดการพลังงานก็จะ ตองทําหนาทีป่ ระเมินสถานภาพการจัดการพลังงาน วิเคราะหผลการประเมิน เพื่อเป็นแนวทางในการกําหนดนโยบายและทิศทางการจัดการพลังงาน แมแตในสวนของพนักงานในองคกรนัน้ ก็จะตองใหความรวมมือในการดําเนิน การที่เกี่ยวของกับการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงาน รวมทั้งการ ใหขอ เสนอแนะและความคิดเห็นในขัน้ ตอนการประเมินสถานภาพการจัดการ ดานพลังงาน เนองจากโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมนั้นอาจจะยังไม ทราบถึงสถานภาพของการจัดการพลังงานที่เปนอยูของตนเอง จึงตองมี การประเมินสถานภาพเพอใชเปรียบเทียบวามีจุดออนหรือจุดแข็งในดานใด จึงจะตองเริม่ ตนประเมินจากหนวยงานยอยตามโครงสรางขององคกร โดย พิจารณาจากองคประกอบสําคัญ 6 สวน คือ นโยบาย การจัดองคกร การ กระตุนและสรางแรงจูงใจ ระบบขอมูลขาวสาร การประชาสัมพันธ และการ ลงทุน แลวจึงนําผลนั้นๆ มาประเมินเปนภาพรวมของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม จึงจะสามารถกําหนดเปาหมายในแตละองคประกอบทีจ่ ะใชใน การกําหนดทิศทางของนโยบายอนุรักษพลังงานตอไป

การแตงตั้งคณะทํางานดานการจัดการพลังงาน

นโยบายอนุรักษพลังงาน

การพัฒนาและนําเอาวิธกี ารจัดการพลังงานมาใชภายในองคกรใหเกิด ผลสําเร็จนั้น ทางเจาของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมตองใหความ สําคัญที่จะตองดําเนินการแตงตั้งคณะทํางานดานการจัดการพลังงานขึ้น และบุคลากรของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมจะตองรูจ กั และรับทราบวา มีคณะทํางานดานการจัดการพลังงานอยางทัว่ ถึง เนองจากเปนคณะทํางาน ทีม่ คี วามสําคัญเพอทําหนาทีค่ วบคุมดูแล ดําเนินการ ประสานงานและรายงาน ผลการจัดการพลังงานในองคกร ตลอดจนตรวจติดตามและทบทวนการ ดําเนินการจัดการพลังงานใหเปนไปตามนโยบายอนุรักษพลังงานที่องคกร นัน้ ๆ กําหนดขึน้ มิฉะนัน้ แลวการมีสว นรวมหรือจิตสํานึกเกีย่ วกับการอนุรกั ษ พลังงานในองคกรนัน้ ๆ จะประสบผลสําเร็จไดยาก ซึง่ ขึน้ อยูก บั วัฒนธรรม ขององคกรแตละแหง ดังนัน้ การสรางความรูค วามเขาใจแกบคุ ลากรอยาง ทัว่ ถึงจึงเปนสิง่ สําคัญวาทําใมโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมจึงตองมีคณะ ทํางานดานการจัดการพลังงานดวย ซึง่ ในการทํางานจําเปนตองประสาน งานสิบทิศกับหนวยงานทุกฝายทีจ่ ะขอความรวมมือในการปฏิบตั ติ ามนโยบาย อนุรกั ษพลังงานและวิธกี ารจัดการพลังงาน ทัง้ ในดานของการจัดฝกอบรม หรือกิจกรรมดานการอนุรกั ษพลังงาน การรวบรวมขอมูลการใชพลังงานที่ ผานมา ตรวจสอบสถานภาพการใชพลังงานในปจจุบนั ผลการดําเนินงาน และการจัดการพลังงาน รายงานผลการดําเนินงานใหกับเจาของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมไดทราบ ตลอดจนตองมีการทบทวนนโยบายอนุรกั ษ พลั ง งานและการจั ด การพลั ง งานอย า งสม่ํา เสมอ พร อ มทั้ง รวบรวม ขอเสนอแนะเกีย่ วกับนโยบายและวิธกี ารจัดการพลังงานใหกบั เจาของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุมทราบดวย

เมอไดเปาหมายในแตละองคประกอบจากการมีสว นรวมของบุคลากรแลว ก็นําไปสูการกําหนดทิศทางของนโยบายอนุรักษพลังงาน ซึ่งจะตองมี เนือ้ หาสาระสําคัญในรายละเอียดทีร่ ะบุถงึ การอนุรกั ษพลังงานเปนสวนหนึง่ ของการดําเนินงาน หรือเปนภาระหนาทีส่ ว นหนึง่ ขององคกร มีการระบุถงึ ความเหมาะสม สอดคลองกับลักษณะและปริมาณพลังงานที่ ใช โดยเปน นโยบายหลักและจะตองใหความสําคัญเปนลําดับสูง องคกรจะตองมีการ ดําเนินการและพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอยางเหมาะสม รวมถึง สอดคลองกับกฎหมายและขอกําหนดอนๆ ที่เกี่ยวของ มีแนวทางที่ชัดเจน ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมี แนวทางในการจัดสรรทรัพยากรใหมีอยางพอเพียงในการดําเนินการตาม วิธกี ารจัดการพลังงานดวย เมอไดนโยบายอนุรกั ษพลังงานทีเ่ ปนรูปธรรมแลว เปนหนาที่ของเจาของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมจะตองเผยแพร และประกาศแจ้งให้พนักงานทุกคนในองค์กรได้รับทราบเพื่อปฏิบัติตาม นโยบายอยางเครงครัด ตลอดจนเปดโอกาสใหพนักงานไดมสี ว นรวมในการ แสดงความคิดเห็นหรือขอเสนอแนะ หรือมีการทบทวนนโยบายเปนระยะๆ เพอใหสามารถแนใจไดวา นโยบายอนุรกั ษพลังงานมีความทันสมัยและเหมาะสม กับองคกรนั้นตอไป ในฉบับหนาเราจะไปทราบถึงการประเมินศักยภาพ และการกําหนด เปาหมายในแผนอนุรักษพลังงานวามีขั้นตอนและรายละเอียดอยางไร โปรดติดตามคะ...

March 2012 l 101

Energy#40_p100-101_Pro3.indd 101

2/24/12 4:06 PM


LifeStyle

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

พาเทีย่ วงาน ‘ราชพฤกษ 2554’ โฉมใหมที่มีมากกวา ‘ตนไม’

การกลั บ มาอี ก ครั้ ง กั บ ปรากฏการณ ยิ่ ง ใหญ ร ะดั บ โลก งานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระ เกียรติฯ ราชพฤกษ 2554 (The International Horticultural Exposition: Royal Flora Ratchaphruek 2011) ณ อุทยานหลวงราชพฤกษ ตําบลแมเหียะ อําเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม พื้นที่รวมประมาณ 470 ไร มีกําหนดจัดงานระหวางวันที่ 14 ธันวาคม 2554 ถึง 14 มีนาคม 2555 หากใครจําไดเมอ 5 ปที่แลว หลายๆ คนที่ ไดไปเที่ยวงานมหกรรม พืชสวนโลกในครั้งนั้น คงยังจําไดถึงความยิ่งใหญตระการตาของงานพืช สวนโลกกันได และก็คงตองบอกวางานมหกรรมพืชสวนโลกครัง้ นีก้ ย็ ิง่ ใหญ ไมแพงานเมอ 5 ปที่แลวเชนกัน และยังมีไฮไลทใหมๆ มาใหเราไดเที่ยวชม เพิ่มขึ้นอีกดวย ไฮไลทใหมที่นาสนใจสําหรับงานในครั้งนี้ ก็คงหนีไมพน ชิงชา สวรรคยักษ หรือ กระเชาราชพฤกษลอยฟา (Giant Flora Wheel) นําเขามาจากดูไบ ที่เมอขึ้นไปแลวจะสามารถมองเห็น ทัศนียภาพ 470 ไร ของงานนี้ ได 360 องศา ในราคาที่ 120 บาท ตอ 6 นาที แตนาเสียดาย ที่คิวยาวเหลือเกิน ดวยเวลาที่มีจํากัดชาวคณะจึงตองตัดใจ นอกจากนีย้ งั คงมีไฮไลททีน่ า สนใจอีกหลายสวนไดแก สวนแสงแหง จินตนาการ (Imagination Light Garden) สวนที่จะเปดไฟ ใหเห็นผีเสื้อ หลายรอยตัวและดอกไมสวยงาม ที่เกิดจากดวงไฟ หรือวาจะเปนไฮไลท สําหรับเด็กๆ อยาง สวนเยาวชนรักษโลก ซึ่งเปนสอมัลติมีเดียที่ ใหเด็กๆ ไดเรียนรูการอนุรักษพลังงาน การลดโลกรอน นอกจากไฮไลทขา งตนแลวนัน้ สวนนานาชาติ จากหลายสิบประเทศ ก็ยังคงอยูใหเที่ยวชมครบครัน สวนจากองคกรหนวยงานตางๆ ก็นํามา

จัดแสดงกันเต็มที่ รอใหนักทองเที่ยวเขาไปดูชม หากใครที่ตองการมาเยี่ยมเยียนงานมหกรรมพืชสวนโลกนี้ ควรจะ ไปตัง้ แตเชาจะดีทีส่ ดุ เพราะความกวางใหญของงานนีท้ ีห่ ากใครจะเดินเทีย่ ว ใหครบทุกที่จริงๆ ก็ตองใชเวลาเปนวันเลยทีเดียว และถามีเวลามากพอก็ ควรรอชมแสงสีของงานในยามค่ําคืนดวย แลวทานจะไดพบความสวยงาม ทีค่ ุม คา ใครทีร่ กั ความสวยงามของสวน ตนไม พืชพรรณหลากหลายนานา ชนิด และรักการถายรูปทั้งหลาย ไมควรพลาดงานนี้เด็ดขาด!! สุดทายนี้ตองขอขอบคุณ ปูนซีเมนตนครหลวง ที่จัดทริปสั้นๆ ใหเราไดมาเยี่ยมชมความงามของงานราชพฤกษ 2554 แมจะไดเดิน ชมเพียงระยะเวลาสั้นๆ แตความงามของดอกไมและพืชไมนานาพันธุ จะยังคงตรึงตาตรึงใจของพวกเราไปอีกนาน

102 l February 2012

Energy#40_p102_Pro3.indd 102

2/24/12 10:44 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพื่อจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชื่อ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อื่นๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อื่นๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อื่นๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชื่อหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชื่อผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลื่อนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

March 2012 l 103

Energy#40_p103_Pro3.indd 103

2/17/12 1:27 AM


Energy Thinking

เศรษฐกิจประเทศไทย รายได (เศรษฐี) ขอทาน

โดย : ขบคิด

วาประชากร 1 ใน 4 ใจบุญใหเงินขอทานคนละ 1 บาท ขอทานจะไดเงินราว 7,320 บาท ถาขอทานคนนั้น ขยันเพียง 5 วัน/เดือน จะไดเงินประมาณ 36,600 บาท ซึ่งเงินขนาดนี้เทียบเทาผูบริหารระดับกลางได เลยทีเดียว แลวถาลองคิดเปนขบวนการขอทานหละ!!! เกิดขบวนการนั้นมีขอทานในสังกัดตัวเอง 10 คน แตละคนสามารถหาเงินไดเฉลี่ย 32,000 บาท/เดือน รวมแลวจะไดราว 320,000 บาท/เดือน หักคาเดิน ทาง, คาสวย (ธุรกิจแบบนี้การันตีไดวามีแนนอน), คาอาหารและคาอื่นๆ ก็นาจะเหลือราว 100,000 บาท/เดือน เทียบเทากับรายไดผูบริหารระดับสูงเลย ทีเดียว Thinking ฉบับนี้มีเรื่องใหลองมาขบคิดกันสนุกสนานกับตัวเลขที่ มักเดินพาเหรดสวนกันเปนประจํา ไมตองอะไรมากลองดูสิ่งที่เห็นใกลตัว ที่สุด หลายคนมันจะพูดติดปากวา “เศรษฐกิจแย” ขายของก็ ไมดี เงินเดือน ก็ ไมขึ้น คาใชจายก็เพิ่มมากขึ้น แตทําไม…รถมอเตอรไซค รถยนตออกปาย แดงเกลื่อนเมือง ราคาก็ ไมใชจะถูกๆ นะนั่น เชื่อไดวาในวันหนึ่งๆ (ถาไมใช คนที่นั่งในออฟฟศทั้งวัน) จะไดเห็นรถปายแดงวันหนึ่งไมต่ํากวา 2-3 คัน ในดานกลับกัน เราคงเคยไดยินคําวา GDP โตเทานั้นเทานี้ ซึ่ง GDP คือรายไดมวลรวมของประชากร และเจา GDP ก็มักจะถูกนําขึ้นมาอางอิง ถึงสภาพเศรษฐกิจในปจจุบัน หรือหมายถึงถาบอกวา GDP โตก็คือ เศรษฐกิจดีนี่เอง แตเอะ…ไหงเดินไปพารากอน เดินไปประตูน้ํา เดินไปตาม แหลงทองเที่ยวตางๆ ไหงยังมีขอทานแถมรูสึกจะเพิ่มขึ้นดวย หรือเพราะ ขอทานเหลานั้นอาจเปนพวกตางดาว แตทําไมเขามาเยอะจังหรือเขามาใน ไทยมันงายสะดวกโยธินหวา!!! เมื่อเอยถึงขอทานเชื่อหรือไมวา รวยกวาคนทํางานไดเดือนประจําเสีย อีก ถาไมเชื่อลองคิดตามดูวา หาก (สมมตินะครับ…สมมติ) ขอทานไดบาน ละ 1 บาท (เรตต่ําสุดไมนับรวมกับที่โดนไลไปขางหนาหรือไปบานอื่น) ขยัน สุดๆ เดินทั่วทั้งเขตสัมพันธวงศ เขตที่มีพื้นนี้นอยที่สุดในกทม. จากขอมูล ประชากรในป 2552 เขตสัมพันธวงศมีประชากรราว 29,283 คน คิดเลนๆ

ดวยเหตุผลเพียงแคนี้คงพอจะเห็นภาพแลววา ทําไม…ทําไมขอทาน ยังไมหมดไปจากประเทศไทย เพียงแตเราอาจจะเห็นรูปแบบอื่นที่แตกตาง กันออกไป แตสุดทายแลวเศรษฐกิจไทยจะดีหรือไมดี สุดทายขอทาน (บาง คน) ก็ยังคงยิ้มหนาบาน ซอนอยูภายใตหนากากที่นาสงสารกันตอไป หรือ คุณวาไมจริง ?!?!

104 l March 2012

Energy#40_p104_Pro3.indd 104

2/17/12 1:29 AM


March 2012 l 105

Energy#40_p105_Pro3.indd 105

2/22/12 12:42 AM


Experience Interchange

ลดใชน้ํามันเพอผลิตความรอน สูตรคิด..โรงแรมรอยัลออคิด

อยางที่เคยกลาวไววาธุรกิจโรงแรมเปนธุรกิจที่มีการใชพลังงาน อยางสิ้นเปลืองโดยเฉพาะไฟฟา นอกจากนี้ธุรกิจโรงแรมยังมีการใชน้ําใน ปริมาณที่สูงมาก และสวนใหญจะเปนน้ํารอนซึ่งใชในการทําความสะอาด และใชตามหองพัก ซึ่งการทําใหเกิดน้ํารอนจําเปนตองใชพลังงานเขามา เปนตัวเกี่ยวของดวยเชนกัน โดยการผลิตน้ํารอนแบงออกเปน 2 ประเภท การผลิตทั้งจากการใชเครองทําน้ํารอนดวยไฟฟากับการใชเครองทําน้ํา รอนดวยน้ํามันเตา โรงแรม รอยัล ออคิด เปนที่รูจักดีในฐานะโรงแรมระดับ 5 ดาว ในกรุงเทพฯ ซึ่งมีการใชพลังงานที่ ในการผลิตน้ํารอนคอนขางสูง ทาง โรงแรมจึงดําเนินการติดตั้งเทคโนโลยีปมความรอนเพอใชสําหรับการ ทําความรอนเพอนําไปผลิตน้ํารอนทดแทนการผลิตน้ํารอนที่มาจากการใช เชื้อเพลิงประเภทน้ํามันเตา ซึ่งนอกจากจะชวยลดการใชพลังงานแลว ยัง สามารถชวยอนุรักษสิ่งแวดลอมไปในตัวอีกดวย ซึ่งระบบเดิมทางโรงแรมฯ มีการใชน้ํารอนที่ ไดจากการตมน้ําในถัง Calorifier 2 ใบ โดยใชแหลงความรอนจากไอน้ําที่ถูกผลิตมาจากหมอไอ น้ําอีก 2 ใบเชนกัน โดยแหลงพลังงานหลักที่นํามาใชจะเปนน้ํามันเตา เกรด A เปนเชือ้ เพลิง เพอนําไปตมน้าํ ในถังไอน้าํ ใหน้าํ มีอณ ุ หภูมสิ งู ราว 55 องศา เซลเซียส

ระบบผลิตน้ํารอนเดิมของทางโรงแรม จะใชความรอนของไอน้ําที่ ไดจากหมอไอน้ํา โดยใชพัดลมดูดอากาศความรอนที่ ไดจากการเผาไหมทิ้ง ขณะที่ปมน้ําและปมน้ําหมุนเวียนก็จะทําการดูดน้ํารอนปอนเขาสูระบบ ซึ่ง ระบบการใชน้ํารอนของโรงแรมจะเปนระบบแบบไมหมุนเวียนกลับมาใชใหม ดังนั้นมีการคํานวณพลังงานทั้งหมดทั้งน้ํามันและพลังงานไฟฟาในพัดลม ดูดอากาศรอน ใหเทียบเทาเปนพลังงานไฟฟา ซึ่งจากการคํานวณพบวา มีการใชพลังงานราว 6.28 เมกะจูล/ลบ.ม./องศาเซลเซียส ทางโรงแรมจึงไดดําเนินมาตรการประหยัดพลังงาน โดยการติดตั้ง ระบบปมความรอนขนาด 55 กิโลวัตตจํานวน 5 ชุด เพอใชทําความรอน ใหกับระบบภายในอาคาร และทําการยกเลิกการใชไอน้ําเพอทําความรอน ซึง่ เปนการลดการใชน้าํ มันเตาเพอการผลิตความรอนลงได 100% ซึง่ ภาย หลังจากการติดตั้งระบบดังกลาว นอกจากจะสามารถยกเลิกการใชน้ํามัน เตาเพอผลิตความรอนแลว ยังสามารถนําความเย็นที่ ไดจากระบบปม ความ รอนไปใชในระบบปรับอากาศภายในหองเครองลิฟตอีกดวย ชวยใหการใช พลังงานโดยรวมลดลงเหลือ 4.50 เมกะจูล/ลบ.ม./องศาเซลเซียส ในการดําเนินงานดังกลาวนับวาเกิดประโยชนสูงสุด เพราะทาง โรงแรมใชงบประมาณในการลงทุนราว 7,778,621.28 บาท สามารถ ประหยัดได 1,779,056.21 บาท/ป โดยใชระยะเวลาคืนทุน 4.37 ป ที่สําคัญ ระบบดังกลาวยังชวยอนุรักษสิ่งแวดลอมดวยไปในตัว

106 l March 2012

Energy#40_p106_Pro3.indd 106

2/28/12 9:02 PM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.