นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 41 เดือนเมษายน 2555

Page 1



Energy#40_p3_Pro3.ai

1

2/20/12

10:28 PM


Contents Issue 41 April 2012

26 High Light 14 Energy Focus : เมกะโปรเจ็กต “ทาเรือนํ้าลึกปากบารา” 32 Energy Best Award : “Workpoint” The Energy Saving to BEAT AWARDS 46 Residential : “ECO Space” สไตล Eco Chic 67 Energy Tezh : Apple จดสิทธิบัตรเทคโนโลยีพลังงาน แสงอาทิตย 70 Energy Test Run : รถยนตพลังงานลม 83 Energy In Trend : “นํา้ ทะเล” ติดไฟไดใหพลังงานแบบหรูๆ 84 Energy Exhibit : Review BuildTech’12 : ภายใตแนวคิด “ฟนฟูบาน + เมือง” 91 Insight Energy : จะเปนอยางไร...หาก LPG ครัวเรือน ขึ้นราคา?

18

What’s Up 10 Energy News 86 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : ความมั่นคง มั่งคั่ง ไฟฟาไทย ไมยึดติดฤดูใด... 93 Special Scoop : จับตาทิศทางโซลาฟารมในไทย Interview 38 Energy Keyman : คุณอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน “ผมไมใชนักการเมือง... แตผมเปนขาราชการการเมือง” 41

Energy Keyman : คุณนฤภัทร อมรโฆษิต รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน : คุยความคืบหนา การสรรหาคณะ คพรฟ. และ คพรต. 38

80

Energy Concept : หญา >> เอทานอล>> ไมเปลาสูญ ผลงานจากโครงการ JSTP

Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 54 Greeenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทค และการรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : KBANK ตั้งเปาเบอร 1 ตลาดสินเชื่อ พลังงานทดแทน

41

46

4 l April 2012

Energy#41_p04,06_Pro3.indd 4

4/7/12 4:25 PM


Energy#41_Ad Annex_Pro3.ai

1

3/21/12

9:50 PM


Contents Issue 40 March 2012

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : Radiation Heat Transfer หลักการปองกัน ความรอน 26 Green Industrial : นวัตกรรมโพลิบิวทาไดอีน (Nd-PBR)...ชวยลด พลังงานในกระบวนพลังงาน 30 Saving Corner : การประหยัดพลังงานโดยปม ความรอน (HeatPump) ตอน 1 โดย : คุณธนกร ณ พัทลุง วิศวกรประสิทธิภาพ โรงไฟฟากระบี่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 44 Energy Design : Urban Farm Urban Barn : UFUB โครงการ เพิ่มพื้นที่สีเขียวใหกับชุมชนเมือง 51 Green4U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 48 Energy management : หลักการเลือกบัลลาสตและโคมประหยัด Alternative Energy & Transportation 64 Renergy : พมาวันนี้ โดย : คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกิตติมศักดิ์ กลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 68 Vehicle Concept : Rinspeed Dock+Go รถยนตสดุ ลํา้ แหงอนาคต 78 Logistics Solution : พลิกยุทธศาสตรการจัดซือ้ ใหมรบั ความเสีย่ ง (จบ) โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก Environment Protection 57 Green Space : โครงการ “ฝกอบรมการจัดการสิง่ แวดลอมและปองกัน มลพิษที่ยั่งยืน” 59 Green Vision : ธนา ลิมปยารยะ การประหยัดพลังงานคือการ รวมพลังของหนวยเล็กๆ 60 Environment Alert : ถอดบทเรียน ปญหาหมอกควัน โดย : คุณรัฐ เรืองโชติวทิ ย นักวิชาการสิง่ แวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม

68 62

0 Waste Idea : “สังคมไทยกําลังถวิลหา..อุตสาหกรรม ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม?” โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการ หนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํานํ้ากลับมาใชใหมภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : D.I.Y. ทํางายๆ กระถางตนไมรไี ซเคิล 89 Environment & Energy Legal : ทําความรูจัก “แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2555 -2559” 102 Life Style : เดินสายธรรมกับชมรมพลังงานเพื่อสังคม 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : โลกออนไลน โลกแหงความเสรีทางภาษา 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : อาคาร ซี.พี.ทาวเวอร ประหยัดพลังงานดวย ระบบ BAS

48 6 l April 2012

Energy#41_p04,06_Pro3.indd 6

4/7/12 4:25 PM


Energy#41_p7_Pro3.ai

1

3/23/12

12:51 AM


Editors’ Talk เขาสูเดือนเมษา หนารอนที่ ใคร ๆ ก็ฝนถึง นอกจากจะมีวันหยุดยาว เพอใหเพลิดเพลินกับเทศกาลพิเศษอยางวันสงกรานตแลว ก็ยังมีงานแสดง ผลิตภัณฑวัสดุ-อุปกรณกอสราง- ตกแตง ที่ยิ่งใหญที่สุดแหงป ทั้งเปนการ รวมตัวกันถึง 3 งาน คืองาน BuildTech’12, Conxpo’12, ENERGY SAVING’12 เรียกไดวามางานเดียวคุมเกินคุม โดยจะมีการจัดขึ้นระหวาง วันที่ 5-8 เมษายน 2555 ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ หลังจากรอคอยการพบปะกับทานรัฐมนตรีกระทรวงพลังงานมาได สักครูใหญ เมอวันพฤหัสบดีที่ 8 มีนาคม 2555 ก็ ไดฤกษพูดคุยแบบเปน กันเองกับนักขาวสายเศรษฐกิจ-พลังงาน ซึง่ นโยบายดานพลังงานทีน่ า สนใจ หลักๆ คือ “นโยบายทบทวน” ทบทวนนโยบายพลังงานใหมทั้งหมด โดย เฉพาะเรองของโครงสรางราคาพลังงาน หลังจากพบวาไมสอดคลองกับ ต้นทุนที่แท้จริง เนื่องจากการการนําเงินงบประมาณมาอุดหนุน ทําให้ โครงสรางราคาบิดเบือนและเงินกองทุนน้าํ มันเชือ้ เพลิงติดลบ หรือเรองของ การพบการลักลอบนํากาซหุงตม หรือ LPG ตามแนวชายแดนไปขายให ประเทศเพอนบานกันเปนจํานวนมาก เพอกินสวนตางที่หางกันมากระหวาง ราคา LPG ในประเทศกับประเทศเพอนบาน, ทบทวนนโยบายบัตรเครดิต พลังงานใหมทั้งหมด ซึ่งพบวาเกิดการสับสนและเกิดความไมเขาใจกันมาก ในเรองของบัตรสวนลดและ วิธีการใชบัตรที่ถูกตอง และตองขยายไปยัง รถโดยสารประเภทอนๆ ไมใชแคแท็กซี่และรถจักรยานยนต เพอปองกันไมให ซ้าํ รอยกับโครงการคูปอง 2,000 บาท ทีพ่ บวามีความเขาใจผิดเกิดขึน้ อยาง มากจนเกิดการประทวง สวนดานไฟฟาบอกวาไมมีนโยบายแทรกแซงคาไฟฟาที่มีแนวโนมปรับ ราคาสูงขึ้นสําหรับคาไฟฟาอัตโนมัติ (FT) ซึ่งในงวดใหมนี้ (พ.ค.-ส.ค.) ก็ให อิสระตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เปนผูพิจารณาวาจะ ปรับขึ้นมากนอยเพียงใด ซึ่งปจจัยที่สงผลใหคาไฟฟาเพิ่มขึ้นก็มีดังนี้ 1. ราคากาซธรรมชาติ ซึ่งเปนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาในสัดสวนรอยละ 70 เปนราคาผันแปรตามราคา น้ํามันเตา 2. อัตราแลกเปลี่ยน ซึ่งจากเงินบาทแข็งคา จะทําใหตนทุนคาไฟ ลดต่ําลง และ 3. ปริมาณการใชไฟฟาที่พบวาในขณะนี้มากขึ้นจากการฟน ตัวของโรงงานอุตสาหกรรมที่พนภาวะน้ําทวม และหนารอนทําใหประชาชน ใชไฟฟามากขึ้น ดังนั้น หากการใชไฟฟาสูงกวาคาดการณ จะทําใหตนทุน ไฟฟาต่ําลง และทานสามารถติดตามอานรายละเอียดเรองไฟฟานี้ ไดในเรองเดน ประจําฉบับนี้..ฉบับประจําเดือนที่รอนที่สุดแหงป 2555

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

พิพัฒน จันทรอดิศรชัย รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

จันทรอําไพ แตตระกูล เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก

สุทธิพล โกมลสิงห

การเงิน

ศิรินารถ แกวอุไร

ศิลปกรรม

วินัย แพงแกว

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l April 2012

Energy#41_p08_Pro3.indd 8

3/16/12 11:29 PM


Energy#41_Ad Oil&Gas_Pro3.ai

1

3/21/12

10:17 PM

Thailand’s Largest Petroleum and Petrochemical Technology Event!

ASIA 2012 An International Exhibition of Oil & Gas Technologies & Supporting Industries

An International Exhibition of Process, Petrochemical And Refinery Equipment, Technologies & Supporting Industries

Singapore Companies Are Entitled Up To

50% Subsidy!

BITEC, Bangkok, Thailand

Call now : (+66) 2 513 1418

www.oilgasthai.com

Organized By:

Endorsed & Supported By:

The Federation of Thai Industries, Petrochemical Industry Club

Petroleum Institute Of Thailand

Technology Promotion Association (Thailand-Japan)

Singapore Industrial Automation Association

Indonesia Industrial Automation Club (IIAC)


Energy News

นโยบายและทิศทาง กระทรวงพลังงาน

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปนประธานเปด การประชุม เรื่อง “นโยบายและทิศทาง ของกระทรวงพลังงาน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555” วัตถุประสงคเพื่อใหไดรับทราบนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงพลังงาน วาจะ มุงเนนในดานใด เพื่อที่จะไดทํางานไปในทิศทางเดียวกัน นอกจากนั้น ยังไดรับเกียรติจาก นายณอคุณ สิทธิพงศ ปลัดกระทรวงพลังงาน บรรยายในหัวขอ “การนําพาองคกร ไปสูเปาหมาย” การประชุมในครั้งนี้ มีผูบริหารกระทรวงพลังงาน ผูบริหารในหนวยงาน ในสังกัด ขาราชการ เจาหนาที่กระทรวงพลังงานรวมงานเปนจํานวนมาก ณ หอง คอนเวนชั่นเซ็นเตอร ชั้น 4 โรงแรมรามาการเดน

Thailand Energy Awards 2012

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) เปนประธานแถลงขาวจัดงาน Thailand Energy Awards 2012 ในป นี้ ซึ่ ง ก า วเข า สู ป ที่ 13 และในครั้ง นี้ จัด ขึ้ นภายใตค อนเซ็ป ต “สุดยอดรางวัล ดานพลังงานไทยระดับสากล” เพื่อสงเสริมใหเกิดการตื่นตัวในการลดใชพลังงานและ อนุรกั ษพลังงาน พรอมผลักดันใหมกี ารพัฒนารูปแบบการประหยัดพลังงานและพลังงาน ทดแทนที่สะอาดและปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม และเปนการเชิดชูเกียรติแกผูที่มีผลงาน ดีเดนดานการอนุรักษพลังงานและพัฒนาพลังงานทดแทน ณ โรงแรมโกลเดน ทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพ

ปูนอินทรีสานตอโครงการสรางฝาย

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) หรือ ปูนอินทรี ได สนับสนุนปูนซีเมนต จํานวน 200 ตัน ใหกับ กองกําลังผาเมือง และ กองกําลัง นเรศวร ในการสรางฝาย พรอมทั้งรวมสรางฝายกับกองกําลังผาเมืองและ ชาวบานเมืองนะ ต.เมืองนะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม ซึ่งจากการเขารวมสรางฝาย ของทัง้ สองกําลังนี้ ทําใหคลอบคลุมพืน้ ทีถ่ งึ 8 จังหวัด ทําใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม และขยายวงกวางในการชะลอการไหลของ¹éÒí และเพิม่ ความชุม ชืน้ แกผนื ปาจากการ สรางฝาย 10 l April 2012

Energy#41_p10-13_Pro3.indd 10

4/3/12 9:02 PM


กระทรวงพลังงานประกาศผลรางวัล BEAT Awards 2011

กระทรวงพลังงาน โดยสํานักงานนโยบายและแผนพลังงานจัดงานพิธี ประกาศรางวั ล การแข ง ขั น อาคารอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของประเทศไทย BEAT Awards 2011 โดยมีนายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังงาน เปนประธานพรอมมอบรางวัลใหกับผูประกอบการทั้งหมด 17 อาคาร ที่ผานการดําเนินมาตรการอนุรักษพลังงาน 114 มาตรการและชวยใหสามารถ เกิดผลประหยัด 20 ลานหนวย คิดเปนเงิน 65 ลานบาทตอป โดยงานนี้จัดขึ้น อยางยิ่งใหญที่ โรงภาพยนตรสกาลา สยามสแควร

TTF แถลงจัดงาน BuildTech’12

นายชาตรี มรรคา กรรมการผูจัดการ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร เนชัน่ แนล จํากัด แถลงขาวจัดงานแสดงสินคา BuildTech’12 ทีป่ น มี้ คี วามพิเศษ คือการขมวด 3 งานเขาดวยกัน คือ งานแสดงสินคาวัสดุ – อุปกรณกอสราง และตกแตง ConXpo’12 งานแสดงสินคาเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ เพื่อธุรกิจกอสรางและบริการ และ ENERGY SAVING’12 งานแสดงสินคา เทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน รวมเปนงานมหกรรมสินคา “3 in 1” ภายใต แนวคิด “ฟนฟูบาน + เมือง” หวังตอบโจทยการใชชีวิตของคนเมืองที่ตองการ ความทันสมัยใสใจการประหยัดพลังงาน ณ ที่สภาสถาปนิกแหงประเทศไทย

SPCG เปดตัวโซลารเพาเวอร (เลย1) 6 เมกะวัตต

SPCG เรงทยอยเดินเครื่องโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ลาสุดไดเปดตัว โครงการ โซลารเพาเวอร (เลย1) ที่ อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ขนาดกําลัง การผลิต 6 เมกะวัตต ซึง่ เปนโซลาฟารมแหงที่ 5 ใน 34 โครงการทีเ่ ปนคูส ญ ั ญาซือ้ ขาย ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และคาดวา จะสามารถคืนทุนไดภายใน 7 ป ในอายุสัญญา 10 ปของการซื้อขายไฟฟาในราคา แอดเดอรละ 8 บาท โดยมีนายณรงคศกั ดิ์ กํามเลศ ผูว า การไฟฟาสวนภูมภิ าค เปนประธานในพิธีเปดงานโครงการดังกลาว April 2012 l 11

R1_Energy#41_p10-13_Pro3.indd 11

4/3/12 3:09 PM


ตอนรับเอกอัครราชทูตสหพันธรัฐรัสเซีย ประจําประเทศไทย

นายอารักษชลธารนนท รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน นายณอคุณ สิทธิพงศ ปลัดกระทรวงพลังงาน และคณะผูบริหารกระทรวงพลังงาน ไดใหการตอนรับ H.E. Mr. Alexander MARIYASOV เอกอัครราชทูตรัสเซีย ประจํ า ประเทศไทย เพื่ อ หารื อ ข า ราชการด า นพลั ง งานระหว า งสองประเทศ โดยไทยมีความยินดีที่จะรวมมือในดานพลังงานกับรัสเซียที่ทั้งสองฝายไดผล ประโยชนร ว มกั น ซึ่ ง อาจจะร ว มมื อ ทั้ ง ในด า นป โ ตรเลี ย มและพลั ง งานทาง เลื อ กอื่ น ๆ ณ กระทรวงพลังงาน

สนพ.จัดสัมมนา การปรับโครงสรางพลังงานไทย

นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) เปนประธานเปดงานสัมมนา “การปรับโครงสรางพลังงานไทย” เพื่อใหความรูเกี่ยวกับนโยบายดานพลังงาน และโครงสรางราคาพลังงานทั้งระบบ ใหกบั สือ่ มวลชน โดยเนือ้ หากลาวถึงนโยบายดานพลังงานและทิศทางของพลังงานไทย ป 2555 และยังระบุในเรื่องของการคิดราคาหาตนทุนที่แทจริง ซึ่งจะเปนประโยชน อยางมากในการนําเสนอขาวสารตอไป จัดขึ้น ณ โรงแรมมันตรา ปุระ รีสอรท แอนด สปา (พัทยาเหนือ)

บานปูแถลงผลประกอบการ ป 2554

นายชนินท วองกุศลกิจ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) จัดเลี้ยงงานขอบคุณสื่อมวลชนที่ เดอะเรสท ดีเทล หัวหิน พรอมแถลง

ผลประกอบการป 2554 ซึ่งมีรายไดจากการขายรวมจํานวน 112,404 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 79 และคิดเปนสัดสวนรอยละ 95 ของรายไดจากยอดรวม ขณะที่ รายไดจากการจําหนายไฟฟาและไอนํ้าเพิ่มขี้นรอยละ 5 ที่ 5,236 คิดเปนรอยละ 5 ของรายได ทั้ ง หมด ในส ว นของป 2555 คาดว า จะโตร อ ยละ 15 มาที่ 1.3 แสนลานบาท จากปริมาณและราคาขายถานหินที่คาดวาจะเพิ่มขึ้น

12 l April 2012

R1_Energy#41_p10-13_Pro3.indd 12

4/3/12 3:09 PM


กกพ.แถลงความคืบหนากองทุนฯ

ดร.ดิเรก ลาวั ณ ยศิ ริ ประธานกรรมการกํ ากั บ กิจ การพลั ง งาน จัดแถลงขาวความคืบหนาการดําเนินงานกองทุนพัฒนาไฟฟาในพื้นที่ประกาศ โดยระบุวา สํานักงาน กกพ. ไดนาํ เสนอ กกพ.เพือ่ พิจารณาแตงตัง้ คพรฟ.แลวเสร็จ จํานวน 29 กองทุน จากทั้งหมด 38 กองทุน พรอมเผยตัวเลขเงินที่เก็บรักษาไว จํานวน 2,206 ลานบาท เปดประเดิม 2 กองทุนแรก ไดแก กองทุนพัฒนาไฟฟาจะนะ และกองทุนพัฒนาไฟฟากระบี่ จัดขึ้น ณ หองประชุม 3 สํานักงานคณะกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน

“รังสีรักษา : อุตสาหกรรมนําพา:ปรมาณูเพื่อชีวิต”

ศ.เกียรติคุณ ดร.ชัยวัฒน ตอสกุลแกว เลขาธิการสํานักงานปรมาณู เพื่อสันติ เปนประธานเปดงานสื่อมวลชนสัมพันธ “รังสีรักษา: อุตสาหกรรม นําพา:ปรมาณูเพือ่ ชีวติ ” โดยมีการพาสือ่ มวลชนไปรูจ กั ปรมาณูทแี่ ทจริงหลังจาก มีการเขาใจในดานลบตลอดทีผ่ า นมา ซึง่ ครัง้ นีพ้ าไป ศูนยมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี ซึง่ ใหความรูว า มีการนํารังสีมาชวยรักษาทางการแพทยอยางไร เสร็จแลวเดินทางตอ ไปพักที่ ฟารมโชคชัย เพือ่ ในวันรุง ขึน้ ไดไปเรียนรูถ งึ การนํารังสีไปใชในอุตสาหกรรม ปูนซีเมนต ที่บริษัท ทีพีไอ โพลีน จํากัด (มหาชน)

“65 ป เวสปา”

นางพรนฎา เตชะไพบู ล ย กรรมการผู  จั ด การ บริ ษั ท เวสป อ าริ โ อ (ประเทศไทย) จํากัด จัดงานฉลองครบรอบ “65 ป เวสปา” เปนการรวมพล คนรักเวสปาและพิอาจิโอ ครัง้ ประวัตศิ าสตรยงิ่ ใหญทสี่ ดุ ในเอเชีย คอนเซ็ปต “Bring Back VESPA” ในสไตลเรโทรกลิ่นอายอิตาเลี่ยนยอนยุค 50’s (fifty) โดยขบวน คาราวานเวสปาและพิอาจิโอมารวมตัวกัน ณ ลานคนเมือง และเคลื่อนขบวน คาราวานมุงหนาผาน ถ.ราชดําเนินกลาง-ใน วนรอบวัดพระแกว แลววกกลับ เส น ทางเดิ ม เพื่ อ เข า สู  ส นามม า นางเลิ้ ง ในการแถลงข า วอย า งเป น ทางการ ซึ่งไดรับความสนใจตอสาธารณชนเปนอยางมาก April 2012 l 13

Energy#41_p10-13_Pro3.indd 13

4/2/12 10:57 PM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

เมกะโปรเจ็กต

“ทาเรือนํา้ ลึกปากบารา” เมกะโปรเจ็กตภาคใต 5 จังหวัดฝงอันดามัน กับสารพัดโครงการ 8.6 หมื่นลาน มีหนึ่งโครงการที่ผมใหความสนใจมากเปนพิเศษ คือการ สรางทาเรือนํ้าลึกปากบารา โดยใชพื้นที่จากอุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา 4,730 ไร ซึง่ แมวา ตอนนีท้ า นนายกฯ จะยังไมไดเคาะออกมาวาจะเอาอยางไร แตก็สรางความหวาดหวั่นใจใหอยูไมนอย เพราะเปนความละเอียดออนของ เรื่องธรรมชาติกับการเปดประตู “สู” อาเซียน โครงการทาเรือนํ้าลึกปากบารา เปนสวนหนึ่งของโครงการสะพาน เศรษฐกิจ ที่จะเชื่อมระหวางทะเลฝงอันดามันและอาวไทย ซึ่งบอกเลยวา หากวามันเกิดขึ้นก็จะสามารถเปลี่ยนโฉมประเทศไทยใหเปน Hub ของ อาเซียนดานการขนสงและมีการสรางคลังนํ้ามันที่ใหญมากแหงหนึ่ง ในดานของนายทุนความคุมคาและความเจริญกาวหนาลอตาลอใจ พรอมกับการโฆษณาวาชาวบานมีอาชีพทํากิน มีเงินมีรายไดเลี้ยงชีพ แนนอน ในแงความกาวหนาของประเทศที่สามารถดันประเทศไทยกาวสู แถวหนาอาเซียน ความเจริญที่ไหลมาเขาสูประเทศ สูจังหวัดสตูล อยาง ที่ฟงแลวไมอยากปฏิเสธ แตอีกดานหนึ่งที่เราตองแลกมากับพื้นที่ของ อุทยานแหงชาติหมูเกาะเภตรา 4,730 ไร เปนเรื่องละเอียดออนเกินกวา จะชั่งนํ้าหนักไหว ดร.อาภา หวังเกียรติ หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต ไดเคยกลาวถึงโครง การฯ นี้วาจะเกิดผลกระทบอยางไรตอระบบนิเวศ “ผลกระทบอันดับแรกจากการสรางทาเรือ คือตองมีการถมทะเล ออกไปขนาดใหญมาก คาดวาจะตองใชทราย 10 ลูกบาศกเมตร ตองไป ดูดทรายของชุมชนใกลเคียง 10 ลานคิว ซึ่งเปนแหลงทํามาหากินของ ชาวบาน กระทบกับอาชีพเลีย้ งหอยทายเพลา ซึง่ ใน 1 ปทาํ รายได 200 ลาน

บาท ยังมีแหลงอวนปู กุง แหลงอาหารชุมชนที่จะไดรับผลกระทบ ซึ่งก็จะ ทําใหเมืองปากบารา จ.สตูลเปลี่ยนไป เพราะสตูลเปนจังหวัดที่สงบ สะอาด ธรรมชาติสมบูรณ หากเกิดโครงการฯ นี้ จากเมืองทองเที่ยวจะกลายเปน เมืองอุตสาหกรรมในที่สุด” นอกจากการสรางทาเรือนํ้าลึกปากบารา ยังมีโครงการคลังนํ้ามัน 5,000 ไร นิคมอุตสาหกรรมอีก 150,000 ไร โดยเปนอุตสาหกรรม ปโตรเคมี แนนอนวาปญหาเรื่องมลพิษตามมาอยางแนนอน และปญหา ใหญอีกขอหนึ่งก็คือ การที่ชาวบานรูขอมูลนอยมาก “ชาวบานรูขอมูลนอยมาก จะรูเปนสวนๆ เชน รูวามาทําทาเรือ อยางเดียว ยังไมรูเรื่องคลังนํ้ามัน จะมาทําทางรถไฟ ยังไมรูเรื่องนิคมฯ

14 l April 2012

Energy#41_p14,16_Pro3.indd 14

4/3/12 9:16 PM


Energy#40_p15_Pro3.ai

1

2/21/12

4:06 PM

ทุกวันอาทิตย


ซึ่งที่ผังเมืองเตรียมประกาศเปนเขตพื้นที่สีมวง ชาวบานไมรูเรื่องเลย นี่ก็ เปนปญหาเรื่องสิทธิเหมือนกัน ที่เวลารัฐดําเนินโครงการใหญ ๆ ชุมชนใน พื้นที่จะไมรูเรื่อง หรือจะรูเปนคนสุดทาย” ที่ผมหวงมากที่สุดคือ ตัวจังหวัด นอกจากการเปลี่ยนพฤติกรรม จังหวัด จากเมืองทองเที่ยวไปเปนเมืองอุตสาหกรรมแลว เรายังตอง เปลี่ยนวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวบาน หมูเกาะที่สวยงามอยางหมูเกาะเภตรา กระทบตอมาถึงเกาะตะรุเตาอยางหลีกเลี่ยงไมได เพราะกระบวนการสราง ทาเรือจะตองขุดลอกตะกอนใตทะเล เพื่อถมทะเล และเกาะตะรุเตาอยูใตหมู เกาะเภตรา ก็จะไดรับผลกระทบจากการเอาตะกอนไปทิ้งสงผลกระทบตอ ระบบนิเวศบริเวณนั้น ณ ปจจุบัน ก็มีกลุมคัดคานชัดเจน โดยเปนกลุมที่ไดรับผลกระทบ เวนคืนที่ดินที่จะไปทําถนนเขาสูทาเรือนําลึก หรือแหลงชุมชนที่เปนแหลง ดูดทรายเขาไปทํารถไฟรางคู และความเห็นของหอการคาจังหวัด ก็เห็น วาหากมีการสรางทาเรือนํ้าลึกอยางเดียวก็เห็นดวย แตถามีอุตสาหกรรม อื่นก็ไมเอา … เปนเรื่องไมงายนักที่จะผลักดันผลักไสความเจริญออก นอกประเทศ แตเปนเรื่องยากที่จะตองเอาธรรมชาติที่อุดมสมบูรณไปแลก เพราะกวาที่พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งจะมีศักยภาพเปนอุทยานแหงชาติได แสดงวา ทรัพยากรตองสมบูรณมากๆ หากเมืองทองเทีย่ วทีส่ งบอยางสตูลจะกลาย เปนเมืองอุตสาหกรรม เกาะตะรุเตามรดกแหงอาเซียน และเตรียมเสนอให เปนมรดกโลก จะตองปนเปอนไปดวยนํ้ามัน และมลพิษ ความคุมคาในการ เปดเสรีแบบนี้จะคุมหรือไม..

สําหรับโครงการของ 5 จังหวัดฝงอันดามันอื่น ๆ รวมมูลคา งบประมาณทั้งสิ้น 86,000 ลานบาท อาทิ - โครงการกอสรางศาลากลางจังหวัดภูเก็ตหลังใหม 450 ลานบาท - โครงการแกมลิงบานโคกโตนด อ.ถลาง 500 ลานบาท - โครงการกอสรางอนุสรณสถานเมืองถลาง 500 ลานบาท - โครงการจัดหาอุปกรณเพื่ออารักขาบุคคลสําคัญในพื้นที่ 191 ลานบาท - โครงการกอสรางถนนแนวใหมใตแนวสายสงไฟฟาแรงสูง 1,800 ลานบาท - โครงการพัฒนาระบบคมนาคมเชือ่ มสนามบินนานาชาติภเู ก็ต 300 ลานบาท - โครงการบริ ห ารจั ด การศู น ย กํ า จั ด ขยะมู ล ฝอย 619 ลานบาท - โครงการปองกันและแกไขปญหานํ้าทวม 760 ลานบาท - โครงการสรางเสริมศักยภาพของทองถิ่นจังหวัดภูเก็ต เพื่อรองรับการเปนศูนยกลางกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ของประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นของมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ ภู เ ก็ ต 1,950 ลานบาท - โครงการยกระดั บ ภู เ ก็ ต เป น เมื อ งสุ ข ภาพนานาชาติ 1,063 ลานบาท - โครงการศึกษาการพัฒนาทางวิง่ (Runway) ทาอากาศยาน ภูเก็ต 500 ลานบาท - โครงการศูนยประสานงานและบริการดานการตางประเทศ และเทคโนโลยีการสื่อสาร (Phuket OSOS) 800 ลานบาท เปนตน

16 l April 2012

Energy#41_p14,16_Pro3.indd 16

4/4/12 1:37 PM


Energy#40_p17_Pro3.ai

1

2/21/12

3:26 PM


Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

ความมั่นคง มั่งคั่ง ไฟฟาไทย

ไมยึดติดฤดูใด...

18 l April 2012

Energy#41_p18,21_Pro3.indd 18

4/7/12 5:07 PM


}¢ } k pj ¨sÔ© Ï ¨ ¡j Ë j¬m Å }¢ Ô Æ t ­p } m ¦ § }q ¢Ó¨ sÓ p¥} m m ¦ ² ~ ¢p ¡} ­¥} ¥ p Ëj ¬ ¢ Ó ¥ ­ } m ² Ë ® j © Ï Î ~ ¦ Óp ¥ © j ¦ p¦ Ô Ó }© Ï ¢p ¡} ² ~k p Ëj Ó ¦ ¨ ¥} ® ¥ m j¬ § j q j©}Ô j ¥ }¢j ­ ¦ Ó p© j¬} j ¥~ j ¥ ­ pm ­ mp}Ô © Ï p¥ Û Ùqq ² m v ­m ®p ¥ ¥ Ï ~ }~ ®p p¥ ­ pm ­ mp}Ô m ­ m ¥ Ó p ­p ¡ × Ù { × ¢Ô Ó

j j © Ï Î ~¦ Óp ¥ © j j Ó Ó ¥ ­ ­ m ­ Ó m ~Ô pj ¨sÔ© Ï ¢p ¡} p ¥ j ~~× ² ~ Ë ¦ m } Ó ¨ Ë ®q ¢pk ® p | ¥ j ~~× ¨ sÓ p¥} ¥ p¥} m ¥ ­ k ® q j ËjÓ j Ó ¥ j ~~×¥ ­ pq j¨ sÓ p¥} ® j q Ô k ® j j m ¡~ j ­~Ô p ¡}¥} ¥m ­ p ¨ sÓ p ²® Ó q j ¥} ¥m ­ p jm ®p q j Ùqq¡ ­ ­j ~©}Ô p q p jk m Ó ¨ Ô s s sÓ j } pp Ó }j ¨sÔ© Ï ¢p ¡} m /D@J Ë ® q ² ~ ¨ Ë ­ Ó §} ~ }j ¨sÔ© Ï ¢p ¡} ¢ Ó ­ Ë ­ ¥ j ~~× p¥ ¬ vv | }j ¨sÔ© Ï ¢p ¡}¨ ¥} m Ë ® k ® ¢Ó ­ ¥ j ~~× ¥ ­ pq j j Ô ² ¨ Ô s s ¨sÔ¥m ­ p j ¨ ¥ ­ k ® Ó }j ¨sÔ© Ï ¢p ¡} q p ­ j m }j |ש Ô ­ ¥ j ~~× © Ó ® p~Ô p ~ }~ }¢ j |× ­ ¨q Å¥ ¢ÓÆ © Ï ¨sÔ ¡j Ô m } Ó m© Ï Ë ® q ¢pj Ó Ë ­¦ Ô ¥ j ~~× Ó m ~Ô pj ¨sÔ pp © Ï m } Ó q ¥ Ó j Ô Ó ¥ ­ k ® Ô Ó ¥ ­ k ® April 2012 l 19

Energy#41_p18-23_Pro3.indd 19

4/5/12 8:43 PM


jq j ® ¥ ­ ¥ j j ¨sÔ© Ï ¥ Û ¥} Ó ¥ p ¦mÓ ¥} m j ­ Ó m ~Ô pj ¨sÔ© Ï Ô Ó ¥ ­ k ® ¥ ­ ¥ j ËjÓ t ­p ¢pj Ó j p¦ k p j m­ } Ó q ¢pk ® ¥ p¦mÓ t p­ m ~Ô pj ¨sÔ© Ï q ¥~ §~ jj Ó ¦ Ó ¢pj Ó ¥ Ï ­m } Ó q ¥~ §~¥ p ¦~Ó q }¢¦ © Ó¨ Ô Ùv ~Ó m ­ mpk p © Ï ¥~ ¦ ² p© Ï p¦ tÓ ¢j¥ ¥ ­ pq j Ùqq¡ ² p© Ï ¨ } k| ¥} j ©}Ô p j ~ q² j } s ¨ Ô¥ jsÓ p¥ ¥­ ¨ j tÓ ² ¡p Ó ÓpjÕ t s ~ §} Ó ¡} ­q j tÓ ² ¡p Ó ÓpjÕ t Ó jm ®p t ­pq ² ¨ ÔjÕ t © q j Ô ¡~~Ó j¬q ¥ jsÓ p¥ tÓ ¨ sÓ p ¡} ¨ ¥ j pj ~× ¦ Ó p ® ~Ô pq } ² ® ¥s ® ¥ p ² p ¥ ­ ~© Ï Ó p ¥ p p j § p© Ï ¥ js Ó p¦ j tÓ ² ¡p~ } ®p Ë ¥ ­ © Ó¨ Ô Óp j ~Ó © Ï §} k p ¥ ®p ® ¨ Ë q § p© Ï ¥ js p® ¨ ¦ ~Ó p ¥ ¥kÔ ¥ ­ ¥~ ¥ j ~~× j }Ô §m pj § p© Ï ¥jÕm§mÓ k pj ¡ Ó §j × j ¡ Õ ¥ j ~~× §m pj ¥ ¡ ¥ j ~~× ¦ § p© Ï ¥ js ¥ ¬j ¥ ¥ j ~~× 20 l April 2012

Energy#41_p18-23_Pro3.indd 20

4/5/12 8:43 PM


จากการที่รัฐบาลใหตรึงคาเอฟไวที่ 18 สตางคตอหนวย แต ในงวดตอไปคือ พฤษภาคม 2555 ถึงสิงหาคม 2555 ตนทุนคาเชือ้ เพลิง ปรับเพิม่ ขึน้ ตามราคานํา้ มันโดยปรับขึน้ ไปเฉลีย่ อยูท ี่ 120 ดอลลารตอ บารเรล จากเดิมทีค่ าดวาจะอยูท ี่ 100 ดอลลารตอ บารเรลซึง่ หากใหกฟผ.ตรึงตอไป ก็จะเปนภาระของ กฟผ.มากขึ้น ดานนายดิเรก ลาวัณยศิริ ประธานกรรมการกํากับกิจการ พลังงานหรือ เรกกูเรเตอร เปดเผยวา การประชุมของคณะอนุกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน ชวงเดือนเมษายนที่ผานมา มีการพิจารณาปรับขึ้น คาไฟฟาผันแปรอัตโนมัติ หรือคาเอฟที งวดเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ซึ่งคาดวาจะตองมีการปรับขึ้นอีกประมาณ 18 สตางคตอหนวย จากเดิม ที่ตรึงคาเอฟทีตั้งแตปลายปที่ผานมาเพราะเหตุจากภาวะนํ้าทวม แจงสาเหตุ..แนวโนมคาไฟปรับขึ้น สาเหตุ ที่ แ นวโน ม ค า ไฟจะต อ งปรั บ ขึ้ น เนื่ อ งจากราคาก า ซ ธรรมชาติทกี่ ารไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)ใชผลิตไฟถึง 70% มีราคาสูงขึน้ มากเนือ่ งจากราคากาซฯ จะสะทอนจากนํา้ มันยอนหลัง 6 เดือน ซึ่งเปนชวงขาขึ้นและนํ้ามันยังคงมีทิศทางเพิ่มอีกตอเนื่อง ประกอบกับ การปลอยนํ้าออกจาก 2 เขื่อนหลัก ตามแผนบริหารจัดการนํ้าของรัฐบาล ก็สง ผลกระทบตอการผลิตไฟฟาจากปริมาณนํา้ ทีล่ ดลง ซึง่ การปรับคาเอฟที เชือ่ วาจะบรรเทาภาระของกฟผ. ทีป่ จ จุบนั มีคา ชดเชยอยูท ี่ 8,000 ลานบาท จากการตรึงคาเอฟทีงวดที่ผานมา (ม.ค.-เม.ย.55) โดยไดจัดทําขอมูล ประมาณการอัตราคาเอฟทีในป 2555 ไวในกรณีรัฐบาลจะใชนโยบาย การตรึงคาเอฟทีตอ ไปทีจ่ ะสงผลตอภาระสูงถึง 40,000 ลานบาท ซึง่ กฟผ. คงไมสามารถแบกรับภาระไดหมด และหากจะดูแลรัฐคงจะตองหาเงิน แผน PDP ใหม เล็งลดใชกาซธรรมชาติ สําหรับความคืบหนาของแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ หรือพีดพี ี ขณะนีก้ ระทรวงพลังงานอยูร ะหวางปรับปรุงแผนพีดพี ี ฉบับ 2011 อยางไรก็ตามในเบือ้ งตนเมื่อสิ้นสุดแผนในป 2563 มีแนวทางจะลดสัดสวน การใชกาซธรรมชาติ เปนเชื้อเพลิงจาก 70% ในปจจุบัน ใหเหลือประมาณ 50% เนื่องจากไทยตองนําเขากาซธรรมชาติเหลว (LNG)เขามาเสริม กาซธรรมชาติจากอาวไทยทีล่ ดนอยลง และตนทุน LNG สูงกวากาซธรรมชาติ ในอาว รวมถึงการหาแนวทางเพิ่มกําลังผลิตไฟฟาจากถานหินเปน 25% พลังงานทดแทน 15% พลังนํ้า 10% และในจํานวนนี้เปนสัดสวนซื้อไฟฟา ตางประเทศ 15% โดยในสวนการซื้อไฟฟาตางประเทศนั้นสัดสวนยังไมมี การเปลี่ยนแปลง เล็งขอสรุปตรึงคาไฟฟา..นานไปมีแต “อวม” ในสวนของคาไฟฟางวดใหมในเดือนพฤษภาคม-สิงหาคมนี้ ภาครัฐ ยังไมมีการสงสัญญาณการตรึงคาไฟมายังกฟผ. แตแนวโนมจะปรับขึ้น ตามตนทุน ทั้งนี้หากภาครัฐใหมีการตรึงคาไฟ จะทําให กฟผ.แบกรับภาระ ทัง้ ปที่ 40,000 ลานบาท ซึง่ คาไฟฟาอัตโนมัติ (เอฟที) นัน้ กฟผ.ตองแบกรับภาระ งวดเดือนมกราคม 2555 ถึงเดือนเมษายน 2555 ไปแลวกวา 8,000 ลานบาท April 2012 l 21

Energy#41_p18,21_Pro3.indd 21

4/7/12 5:08 PM


m ­ mpk p © Ï j j q ¦ Óp ¥s ® ¥ p ¨ j ~ © Ï

Ó ¥m × pp ¡ ¥ t ® © Ï ~Ó p ¥ } Ó j t ® © Ï q j ¥ ¥ ­ Ô

k pj² p ~ ®p } } j² p ~© Ï ² p ­¥

q ¢pj Ó

s}¥s ¨ | ­ ¢p¥ ­ pq j Ë ® m ¥s ® ¥ p ®pjÕ t s ~ ¦ ²® m ¢pk ® ~Ó ¥ ­ p ®p ®mÓ ¥ ¨ ¥} m ¥ ¥} ~Ô p k ® ~ pm×~Ó Ó ¦~Ó m y¨ Ô § j ~ p m q p ² ¨ Ô¥j } j s}¥s mÓ © ¥ Û Ô ¥ ¬p B@KK A@BJ ¥ mÓ © jj § ­q ¨sÔ¥p ¥ jm q j¥p ­ © Ó©}Ô p ¡ q pk p j © Ï B@KK A@BJ ­ ¥ ¢ Ó | Ô ¨sÔ¨ j }mÓ © Ï t p­ q ¦ Óp¥ ©}Ô | ~ pm×~ Ó Ó t p­ m }j Ó p }¥} m m ¦ § Ô ¢pk ® | ~ pm×~ Ó Ó ¥ ­ pq j~Ô ¡ m jÕ t s ~ ¢pk ® j Ó ~Ó Ô ¢ ¦~Ój¬~Ô p}¢ Ùqq }Ô ¦ k| ® p© Ó ~ ©}Ô Ó m yq j ~ pmÓ ¥ © Ó ² ¥}¬ m ­ mp}Ô pp ¦ j ¥ }Ô m © Ï ¨ ¥ y ¥ ¬ p ¡ t ® © Ï q j ¥ ¥ ­ Ô ¦ ¨ m~ ­ q j ¥ Ê } ¥ j mÔ $" m }j Ó j t ® k © Ï Ó p ¥ ¨ ¢ m q m ¢j p¦ p¥ ­ m ­ mp ­pm ­p¥ ­ p© Ï ©}Ô ¡¥ ¥ ­ ¥q v ¢Ô ² j ² jp § ¦ ¦ pp j p pp j Ó pj q } © Ï ¨ m~ Ó q ~Ô p j q | q } © Ï }Ô j ¨sÔ¥s ® ¥ p¨ j ~© Ï ­ j ¥ ­ }j ­p jÕ t s ~ ¥ ­ Ô pm ­ mp}Ô j q }j © Ï ¦ ¥ }Ô m © Ï ¨ ¥ ¥ Ô pp }¦ t ® ¥ ­ Ô j ¡p¦ { j² p ~© Ï k p ¥ © /#/ m p® ~Ó © j² }¨ Ô ¨ Ë ¥ © 22 l April 2012

Energy#41_p18-23_Pro3.indd 22

4/5/12 8:43 PM


}Ô j q }j © Ï ¦ ¥ }Ô m © Ï ¨ ¥ t ­p ­ Ó ¦ j jÓ Ô p§ p© Ï ­ ¨sÔ Ó ¦ ¥m × p© Ó©}Ô j Ó j t ® © Ï q j ¥ ¥ ­ Ô q } Ó m ¥ ¥ j ²® ¡} ¢ |× ¥ © © Ó~ Ô p p ¡ Ô p

§ p© Ï ¥ p j ®p m~q s m ¥ yj q ¥t 2$ - $".-.,(" ".,,4-(38 $" ¨ Ë ­q j ¥ Ê } ¥ pj mÔ ¦ j t ­ p m Ó ¨ j | j t ® k © Ï Ó p ¥ ¨ ¢ m q sÓ ¨ ÔmÓ © Ï ¢j p ¦ ¥ Ô pm ­ mp¨ © Ï ¨ ¥ jk ®

kÔ ~j pj t ® © Ï q j¥ ­ Ô

j q } © Ï q j pp ¡ ¥ | ¥ j ~~× ~ ¦ { pp ¡ ¥ ¦ t ® © Ï q j~Ó p ¥ | ¥ j ~~× ¥ Û ~Ô ¥ ­ j j q ¥s ® ¥ p }j ­p jÕ t s ~ ² j t ® © Ï q j ¥ ¥ ­ Ô © ¦ j t ® © Ï j ¥ ¥ ­ Ô ¦ m !HK@SDQ@K Ó p ¥ ©}Ô¦jÓ Ó | y s s q j ¢s ¦ ¥ ¥t ­ ¨qt ® © Ï ¢j p ¥ m ­ mp pp ¥ ­ m ­ mpk p © Ï k p ¥ © ¥ ~Ô p j² p ~© Ï ² p© Ó~²­ j Ó Ô t ­pj ­p jÕ t s ~ ¥ Û ¥s ® ¥ p¨ j ~© Ï j¥j © q Óp j ~Ó m ­ mp

j t ® © Ï q j ©}Ô p ¨ j m ¥kÔ ¨q ,.4 ­q Óp¥ ¦ ¨ Ôm Ó { © Ï ¨ q² Ó ¨ Ô¦jÓ ¥ © ¨ | ¥ j ~~× ¨ Ë §} Ùqq¡ §m pj ­qÓ © Ï ¥s p | s × ¥kÔ k p j ¦ Ô §m pj p® ® ¥ j ~~× ©}Ô¦jÓ ¥ ¡ Ô ¥ ² ® ¥ ¦ ² ® p Ó §m pj ­ p vv t ® k © Ï ¦ Ô ¦ ¢Ó Ó pj jÓ Ô p §m pj p® ® ¥ j ~~× ©}Ô¦jÓ ¥ ¡ Ó k p j© ~× ©t ¡ ¦ §m pj ­ p 3@QHEE ,.4 ¦ Ô §m pj p® ® ¥ j ~~× ©}Ô¦jÓ ²® p ¥t¥ Ë ¥t ²® Ô ¦ ²® ¥p ¯

j t ® © Ï q j Ó ©}Ô j p ¨ j m ¥kÔ ¨q t ® © Ï ¨ | ¥ j ~ ~× ¦~Ó qÙ q¡ ,.4 } ¡ p¦ Ô }Ô j t ® © Ï q j | y s s q j p jm ¥kÔ ¨q t ® © Ï | ¥ j ~ ~× Ó j ¢ s j ,.4 m Ó }Ô p p © Ï ¡ ¨ Ô j t ® k © Ï Ó p ¥ §} © Ó © }Ô ¡ |t ® k ¦ ¡ ¡ v v

² j t ® k © Ï j ¥ ¥t p j ¦ j © Ï ¥ ¥t 3-! v v t ® k © Ï Ó q¡}t ® k q¡}m Óp¥s ­ § p '5 " ¥ j ~~× t ­p¥ Û j t ® k © Ï ¨ j | ­ p ® p Î ~j p ² kÔ ¥ m k © Ï Ó p Ô ¥} ~Ó ¥} Óp¥s ­ § p '5#" |t ® k ¢p ¡} ¥ j ~~×t ­p¥ Û j t ® k © Ï ¦ -NM %HQL §} ~ t ® © Ï m }¨ | Ô Ó ² ¨ Ôj t ® © Ï | j m ¥r ­ ¢j p April 2012 l 23

Energy#41_p18-23_Pro3.indd 23

4/5/12 8:43 PM


Tools & Machine โดย : Mr. T

Radiation Heat Transfer หลักการปองกันความรอน

ระบบปองกันความรอนสําหรับหลังคาคอนกรีตที่เรียกวา Build-Up Roof System เปนการออกแบบใหหลังคามีความสามารถ ปองกันความรอน และปองกันการรั่วซึม ที่มีประสิทธิภาพสูง เพราะ เปนการสรางเกราะปองกันจากภายนอกอาคาร ซึ่งไดรับผลกระทบ โดยตรงจากแสงอาทิตย และน้ําฝนตลอดทั้งป อีกทั้งสามารถนํามา คํานวณหาคา RTTV หรือคาการอนุรักษพลังงานใหกับอาคารได ฉนวนกันความรอน Polynum ใชหลักการปองกันความรอน ดวยหลักการแผรังสี Radiation Heat Transfer หรือ การปองกันความ รอนจากการแผรังสี ซึ่งเปนเรองใหมที่เกิดขึ้นไมกี่สิบปที่ผานมา แตเดิมมี การศึกษาเรองความรอนดานการแผรังสีนอยมาก เพราะวัสดุสวนใหญได รับเทคโนโลยีมาจากประเทศโซนหนาวเย็น เชน อเมริกา ยุโรป เปนตน ซึ่ง จะเนนหลักการนําความรอน Conduction Hest Transfer และ หลักการพา ความรอน Convection Heat Transfer เปนสําคัญ ทําใหวัสดุที่นํามาผลิต เปนฉนวนกันความรอนสวนใหญตองมีความหนา และมีความหนาแนนสูง เพอชวยในการปองกันความรอน

แตสําหรับประเทศในเขตรอนชื้น เชน ประเทศไทยนั้น ความรอนสวน ใหญมาจากดวงอาทิตย ซึ่งเปนปจจัยหลักที่สงผลกระทบทําใหอาคารมี ความรอนสูง จากความกาวล้ําทางดานเทคโนโลยีที่ผานมา ทําใหนัก วิทยาศาสตรคนพบ และประดิษฐวัสดุที่สามารถปองกันความรอนจาก การแผรังสี ไดอยางดี และมีประสิทธิภาพสูง อันเปนนวัตกรรมใหมที่เกิด ขึ้น เพอปองกันปญหาความรอนจากรังสีดวงอาทิตยโดยตรง ฉนวนปองกันความรอน Polynum เปนผลิตภัณฑที่ผานการวิจัย จากองค์ ก ารนาซ่ า NASA เพื่ อ ใช้ สํ า หรั บ การป้ อ งกั น ความร้ อ นจาก การแผ รั ง สี โ ดยตรง และผลิ ต ด ว ยเทคโนโลยี อั น ทั น สมั ย อี ก ทั้ ง ผ า น มาตรฐานการรับรองจากสถาบันระดับชาติ และนานาชาติที่นาเชอถือ และ ป จ จุ บั น มี จํ า หน า ยกว า 50 ประเทศทั่วโลก ฉะนั้น ผลิตภัณฑ Polynum จึง เปนอีกทางเลือก ใหกับผู ใช ง านอาคาร บ า นพั ก อาศัย โรงงาน และอนๆ เพอปองกันความรอนเขา สูอาคารของตน อยางมี ประสิทธิภาพ ฉนวนกั น ความ รอน Polynum เปนฉนวนกันความรอนชนิด Pure High Resistance Aluminum Foil 99.7% มีคา Effective Emissivity เฉลี่ย 0.03-0.05 เทานั้น จึงเปนผลใหอุณหภูมิที่อยูภายในอาคาร อยูในภาวะที่นาสบายเทียบ เทากับวัสดุฉนวนที่ ใชความหนา และความหนาแนนในการกันความรอน ใน ขณะเดียวกันฉนวนกันความรอน Polynum ยังมีคุณสมบัติพิเศษอนๆ นอกจากมีความสามารถในการปองกันความรอนที่ดีแลว เชน ไมกอใหเกิด อันตรายตอมนุษย, ไมมีผลตอความชื้นเนองจากถูกออกแบบมาสําหรับ ประเทศเขตรอนชื้นโดยเฉพาะ ไมเปนที่อยูอาศัยของสัตวและแมลง น้ําหนัก เบาติดตั้งงาย และรวดเร็ว ผลิตโดยใชพลังงานต่ํา และมีผลกระทบตอสิ่ง แวดลอมนอย (Green Product) รวมถึงผานมาตรฐานการติดไฟและการ ลามไฟ และที่สําคัญที่สุด คือฉนวนกันความรอน Polynum สามารถชวย ประหยั ด พลั ง งานจากใช้ ง านเครื่ อ งปรั บ อากาศได้ เ ป็ น อย่ า งดี อี ก ทั้ ง สามารถนํามาคํานวณคา RTTV และ ROI ไดอีกดวย

24 l April 2012

Energy#41_p24_Pro3.indd 24

3/16/12 11:20 PM


Energy#41_Ad Keen_Pro3.ai

1

3/21/12

9:52 PM


Green Industrial โดย : ณ อรัญ

นวั ต กรรมโพลิ บิ ว ทาไดอี น (Nd-PBR) ...ชวยลดพลังงานใน กระบวนการผลิต

26 l April 2012

Energy#41_p26-28_Pro3.indd 26

3/21/12 9:21 PM


การอนุรกั ษพลังงาน แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ใ น กระบวนการผลิ ต หรื อ ใน โรงงานอุ ต สาหกรรมใน ปจจุบันนั้นเริ่มตั้งแตตนน้ํา ถึงปลายน้ํา โดยตองอาศัย หลั ก การหลายอย า งด ว ย กันไมวาจะเปนการปรับปรุง เครองจักรในกระบวนการผลิต การปรับเปลี่ยนอุปกรณประหยัดพลังงาน การใช พ ลั ง งานทดแทน การใช ป ระโยชน จ ากสิ่ ง รอบข า ง ตลอดจน กระบวนการขนสงที่สามารถลดการใชพลังงานไดเปนอยางดี ซึ่งสิ่งเหลา นี้เปนสวนสําคัญการอนุรักษพลังงานตั้งตนน้ําถึงปลายน้ํา อยางไรก็ตามการสรรหาวัตถุดิบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมาเปน สวนผสมในกระบวนการผลิตนั้นเปนสวนหนึ่ง และเปนสวนสําคัญของ กระบวนการผลิตที่ชวยเกิดการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมตั้งแต ตนน้ําถึงปลายน้ํา ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ ในหลายเล่ ม ผมได้ นํ า เสนอเรื่ อ งราวการอนุ รั ก ษ์ พลังงานในกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ ไวหลากหลาย โรงงานดวยกัน และปจจัยหนึ่งที่เปนสวนสําคัญในกระบวนการผลิตเพอ การอนุรักษพลังงานนั้นคือวัตถุดิบ โดยลาสุดไดมีโอกาสไปคุยกับบริษัทผลิตวัตถุดิบที่ ใชเปนสวนผสม ในการผลิตยางรถยนตสีเขียว (Green tires) เพอรวมเสริมสรางความ แข็งแกรงของอุตสาหกรรมยานยนตของไทย อยาง บริษัท แลงเซส ซึ่งเปนอีกบริษัทหนึ่งที่ ไดตระหนักถึงการ อนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมไดคดิ คนและผลิตวัตถุดบิ ที่ในการผลิตยาง รถยนตใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและใหสามารถลดพลังงาน ลดผล กระทบตอสิ่งแวดลอม ทั้งผูบริโภคและภาคอุตสาหกรรมจะตระหนักดีถึง ความสําคัญของเทคโนโลยียานยนตสีเขียว โดยวัตถุดิบ Nd-PBR นั้นเปนสวนผสมทําใหไดยางรถยนตที่มี คุณภาพทั้งดานการใชงานและดานการอนุรักษพลังงาน เปนเชื้อเพลิงที่ ชวยในการลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม โดยการกําหนดระดับประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานตั้งแต A ถึง G คลายกับที่ ใชกับอุปกรณ เครองใชในครัวเรือน เชน ตูเย็น หรือเครองซักผา ซึ่งชวยใหผู บริ โ ภคหรื อ อุ ต สาหกรรมยาน ยนตรูไดทันทีวา ผลิตภัณฑยาง รถยนตที่กําลังจะซื้อนั้น มีความ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมเพียงใด สําหรับเทคโนโลยี (Green tires) หรือวัตถุดิบ Nd-PBR นั้นจะชวยใหยางรถยนตลดแรง April 2012 l 27

Energy#41_p26-28_Pro3.indd 27

3/21/12 9:21 PM


ถนนคิดเปนสัดสวนที่มากที่สุดถึง 86% ของการสึกหรอของยางตอฝุน ทีเ่ กิดจากการเสียดสีคดิ เปนสัดสวน 10% -76% ของผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่ ไมพึง ประสงคของยางสาเหตุมาจากการใชน้ํามันเชื้อ เพลิงและปลอยก๊ําซที่เกี่ยวของระหวางการใชงาน นอกจากนี้ Green Tires ยังชวยใหผูขับขี่ทุกคน มี ส ว นร ว มปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งํ า นของ รถยนตและการรักษาสิ่งแวดลอม โดยการใชเทคโนโลยี Green Tires หรือ Nd-PBR ในรถทุกคันทั่วโลกจะชวย ประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิงไดประมาณ 20 ลานลิตรตอ ป และลดปลอย CO2 ไดเกือบ 50 ลานเมตริกตันเลย ทีเดียวครับ นอกจากเรองการประหยัด ลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมแลววัตถุดิบหรือเทคโนโลยี Green Tires ยังชวยในเรองการยึดเกาะถนน ชวยใหยางมีอายุ การใชงานที่นานขึ้น และยังชวยลดมลพิษทางเสียงได อีกดวย

เสียดทานไดมากกวา 30 เปอรเซ็นต โดยไมมีผลกระทบตอความสามารถ ในการยึดเกาะถนนและอายุการใชงาน โดยการลดแรงเสียดทานสามารถ จะชวยในการประหยัดพลังงานได โดยการใชยางสีเขียวนั้นจะใชเชื้อเพลิง ลดลงเหลือประมาณ 9.5 ลิตร ตอ 100 กิโลเมตร และสามารถลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดลงได ประมาณ 1.2 กิโลกรัม ตอ 100 กิโลเมตร ดังนั้นยางที่ทําจากสารสังเคราะหพิเศษเหลานี้ จะมีสวนสําคัญ เปนอยางยิ่งในการชวยปกปองชั้นบรรยากาศของโลกอันเปนเหตุทําใหเกิด ภาวะโลกรอน และยังชวยมลภาวะทางสิ่งแวดลอมที่เกิดจากยางระหวางการใช

ในด า นกระบวนการ ผลิตวัตถุดิบที่ ใช ในการผลิต ยางสีเขียวนั้นไดใชเทคโนโลยีที่ ทั น สมั ย ที่ ช ว ยให เ กิ ด การ ประหยัดพลังงานและเปนมิตร ต อ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม โ ด ย กระบวนการผลิตสามารถนํา ยางรถยนตที่หมดอายุการใช งานมารีไซเคิลใหมได

28 l April 2012

Energy#41_p26-28_Pro3.indd 28

3/21/12 9:22 PM


Special Scoop

สารทําความเย็นไฮโดรคารบอน : ทางเลือกทีฉ่ ลาดเพอสิง่ แวดลอมทีส่ ะอาดในอนาคต

ทานอาจจะเคยไดยินมาบางแลวเกี่ยวกับสารทําความเย็นที่มา จากธรรมชาติ ซึ่งไดแก สารไฮโดรคารบอนส, แอมโมเนียและ คารบอนไดออกไซด สารเหลานี้ทั้งหมดเปนสารทางเลือกที่ ไมมีผล เสียตอสิ่งแวดลอม และในระยะ 10 ปที่ผานมามีการนําสารธรรมชาติ เหล า นี้ ม าใช ใ นงานทํ า ความเย็ น และงานต า งๆมากมายแทนที่ ส าร ทําความเย็นสวนใหญที่เปนสารเคมีสังเคราะห

ไฮโดรคารบอนส

ไฮโดรคารบอนส (HCs) เปนสารที่องคประกอบทั้งหมดเปน ไฮโดรเจนและคารบอน เชน โพรเพน (Propane) หรือ บิวเทน (Butane) สารไฮโดรคารบอนสถูกนํามาใชนานมาแลวเพอแทนที่สาร คลอโรฟลูออโรคารบอนส (CFCs) ซึ่งเปนสารเคมีที่มนุษยผลิตขึ้นมา เพอใชเปนสารผลักดันในกระบอกฉีดพน พิ จ ารณาจากแนวโน ม ในป จ จุ บั น สารทํ า ความเย็ น ไฮโดรคารบอนสไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง และในอนาคตอัน ใกลจนถึงระยะกลางๆ ไฮโดรคารบอนสจะเปนสารทําความเย็นที่ถูกนํา มาใชในสัดสวนที่มากขึ้น เนองจากไฮโดรคารบอนสมีคุณสมบัติพิเศษ ในการลดอุณหภูมิไดรวดเร็ว จึงสามารถชวยประหยัดพลังงาน และ สารไฮโดรคารบอนสมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยมาก นอกจากนี้ ยังมีประโยชนคุมราคา ทําใหไมตองพึ่งพาสารทําความเย็นที่เปนสาร เคมีสังเคราะหตัวอนซึ่งมีราคาคอนขางแพง

ศักยภาพในการอนุรักษพลังงาน

สารไฮโดรคารบอนสมีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานได มากกวาสาร HFCs และจะแสดงศักยภาพสูงสุดเมอนํามาใชในระบบ ตูเย็นสําหรับการแชเย็นและใชในการปรับอากาศหรือใน Heat pumps (เชนใชในตูเย็นภาคครัวเรือน, ในอุปกรณแชเย็นในเชิงพาณิชยขนาด เล็ก, ในระบบทําความเย็นของซุปเปอรมารเก็ต, ในเครองปรับอากาศ ขนาดเล็กชนิดเคลอนยายไดและในเครองปรับอากาศชนิดแยกสวน, ปม ความร้อนแบบ water to water, เครื่องทําความเย็นขนาดใหญ่

(chillers) ของเครองปรับอากาศและของตูเย็น, รถบรรทุกหองเย็น) มีรายงานวาสารทําความเย็นไฮโดรคารบอนสมีประสิทธิภาพมากกวา สารทํ า ความเย็ น ชนิ ด สั ง เคราะห ร ะหว า ง 20-30% สาร คารบอนไดออกไซด - โพรเพนที่ ไหลวนอยู ในระบบความเย็นของ ซุปเปอรมารเก็ตสามารถประหยัดพลังงานไดประมาณ 5% เมอเปรียบเทียบ กับสารทําความเย็นระบบ R404a สําหรับเครองปรับอากาศชนิดที่ เคลอนยายได (Mobile Air Conditioning หรือ MAC) ผลการศึกษา แสดงใหเห็นวาเครองปรับอากาศที่ใชสารทําความเย็นไฮโดรคารบอนส จะประหยัดพลังงานไดมากกวาเครองที่ ใชสาร HFC ถึง 35% สําหรับ เครองปรับอากาศที่มีเครองทําความเย็นขนาดใหญ (chillers) ที่ใชงาน ตลอดป และนํามาตรการประหยัดพลังงานทั้งหมดรวมกันมาใชจะ สามารถประหยัดพลังงานไดเกิน 50% เมอเปรียบเทียบกับคาใชจายขั้น ต่ํ า ในระยะแรกของการลงทุ น ในเครื่ อ งทํ า ความเย็ น ขนาดใหญ่ ที่ ปราศจากคุณลักษณะเดนดานการประหยัดพลังงาน บริษัทศูนยกลาง เพอการวิจัยและพัฒนาดานพลังงานและสิ่งแวดลอม จํากัด (CEERD Co., Ltd.) ระบุวาในแงทฤษฎี ถานําสารไฮโดรคารบอนสมาใชแทนที่ สารทําความเย็นที่เปนสารสังเคราะหในภาคครัวเรือน, ภาคธุรกิจและ ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย นอกจากจะประหยัดพลังงานแลวยัง ทําใหลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกลงไดในปริมาณมากอยาง ไมนาเชอคือประมาณ 3,384 กิโลตันตอป

ไฮโดรคารบอนส ในประเทศไทย

เนองจากทั่วโลกไดเปลี่ยนมาใชสารทําความเย็นในตูเย็น, ใน เครองปรับอากาศหรือการเปลี่ยนมาใชสารผลักดันในกระบอกฉีดพน ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มอย า งยั่ ง ยื น จึ ง ทํ า ให ส ารที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมดังกลาวไดรับการสนับสนุนอยางมากโดยไดมีการลงทุน ครั้งใหญในธุรกิจใหมนี้เพอกอสรางโรงงานแยกสารไฮโดรคารบอน เหลวในบริ เ วณโครงการพั ฒ นาชายฝ ง ทะเลภาคตะวั น ออกของ ประเทศไทย (The eastern seaboard of Thailand) โรงงานดังกลาว ไดรับการออกแบบโดยบริษัทศูนยกลางเพอการวิจัยและพัฒนาดาน พลังงานและสิ่งแวดลอม จํากัด (CEERD Co., Ltd.) โดยมีบริษัท Asian Green Fluids Co., Ltd (AGF) เปนผูบริหารกิจการและเปนผูผลิตสาร ไฮโดรคารบอนที่มีความบริสุทธิ์ ในระดับสูงซึ่งเปนสารทําความเย็นและ เปนสารผลักดันในกระบอกฉีดพนเพอตอบสนองความตองการใชสาร ชนิดนี้ที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใตและ ทั่วโลก โปรดติดตอบริษัท CEERD ที่ ceerd@ceerd.co.th เพอขอ ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการนี้ สําหรับขาวสารและแนวโนมเกี่ยวกับสารทําความเย็น HCs โปรดเปดดูไดที่ www.hydrocarbons21.com April 2012 l 29

Energy#41_p29_Pro3.indd 29

4/2/12 10:26 PM


Saving Corner

โดย ธนกร ณ พัทลุง วิศวกรประสิทธิภาพ โรงไฟฟากระบี่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)

http://www.industrialecg.com/library.php?path=Library/

จากการการเผาไหมของเชื้อเพลิง เปนตน ซึ่งหลักการทํางานของปมความรอน คือการถายเทความรอน ไมใชการสรางความรอน กลาวคือปมความรอนทํางาน โดยการดึงความรอนจากแหลงความรอน (Heat Source) แลวนําไปถายเท ในบริ เ วณที่ ต อ งการความร อ น (Heat Sink) ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง ถู ก เรี ย กว า “ปมความรอน” ปม ความรอน (Heat Pump) คืออุปกรณทาํ น้าํ รอนที่ใชหลักการเชนเดียว กับเครองปรับอากาศ (Air Conditioner) หรือเครองทําความเย็นแตใชประโยชน ทางดานความรอนเปนสําคัญซึ่งตรงขามกับเครองปรับอากาศ ปมความรอน

การประหยัดพลังงานโดยปม ความรอน (Heat Pump) ตอน 1

สถานประกอบการโรงแรม,อพารทเมนท แมนชัน่ และรีสอรท ตองใชนาํ้ รอน ปริ ม าณมากสํ า หรั บ ห อ งพั ก โดยทั่ ว ไปโรงแรมขนาดใหญ จ ะใช ห ม อ ต ม น้ํ า ดวยน้ํามันเตาหรือหมอไอน้ํา แกส LPG ไฟฟาหรือโซลารเซลล (Solar cell heater) การใชหมอตมน้ําทําใหตองสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงและเกิดมลภาวะตอ สิ่งแวดลอมและบรรยากาศ การใชไฟฟาตมน้ําโดยตรง ทําใหตองเปลืองคาใช จายมากเพราะตองเสียคาความตองการพลังงานไฟฟาสูง การใชอุปกรณรับ ความรอนจากแสงอาทิตยตองใชขดลวดไฟฟาเสริมเพอทําน้ํารอนในเวลาที่ ไมมี แสงอาทิ ต ย น้ํ า ร อ นที่ ใ ช ใ นห อ งพั ก ของโรงแรมมี อุ ณ หภู มิ ไ ม เ กิ น 60 oC จึงสามารถใชอปุ กรณทาํ น้าํ รอนอีกอยางหนึง่ ทีเ่ รียกวา ปม ความรอน หรือ Heat pump ไดซึ่งใชพลังงานไฟฟาเพียง 25 – 30 % ของความรอนที่ตองการทํา น้ํารอน จึงประหยัดทั้งพลังงานและประหยัดคาใชจายรวมทั้งไมเกิดมลภาวะใดๆ

1. ปมความรอน (Heat Pump)

1.1 หลักการทํางานของปมความรอน เครองปมน้ําเปนอุปกรณชนิดหนึ่งที่สามารถปมน้ําจากที่ต่ําไปยังที่สูงได เชนเดียวกับการทํางานของปม ความรอน (Heat pump) ทีเ่ ปนอุปกรณทีส่ ามารถ นําพาความรอนจากที่มีอุณหภูมิต่ําไปยังที่มีอุณหภูมิสูงได กลาวคือ ปมความ รอนสามารถดึงดูดความรอนจากแหลงความรอนต่ํา ทําใหอุณหภูมิลดลง ใน ขณะเดียวกัน ความรอนที่ดูดมาสามารถที่จะปลอยไปในแหลงความรอนสูงเพอ ใหเกิดอุณหภูมิสูงขึ้น อุณหภูมิที่ลดลงนั้นสามารถใชใหเกิดประโยชนในเครอง ปรับอากาศได สวนแหลงความรอนที่มีอุณหภูมิที่สูงขึ้นนั้นสามารถทําน้ํารอนได และหลักการใหความรอนของเครองปมความรอนกับการใหความรอนในเตาเผา จะมีความแตกตางกันอยางสิ้นเชิงการเผาในเตานั้นจะเปนแคการโอนพลังในรูป แบบใดรูปแบบหนึ่งใหกลายเปนพลังความรอน เชน พลังไฟฟาและพลังทางเคมี

เปนระบบที่มีวัฏจักรการทํางานทางเทอรโมไดนามิกสที่รูจักกันวา วัฐจักรคารโน (Carnot Cycle) ซึ่งดึงความรอนจากแหลงความรอนแลวนําไปถายเทในบริเวณ ที่ตองการความรอน โดยการทํางานของปมความรอนมีลักษณะเชนเดียวกับ ระบบการทําความเย็นแบบอัดไอโดยปม ความรอนสามารถใชความรอนทีอ่ อกจาก เครองเพอไปทําน้ํารอนหรือลมรอน สวนความเย็นที่ ไดสามารถนําไปใชเปน ผลพลอยไดเพอทําลมเย็นใชรวมในการปรับอากาศหรือนําไปผสมกับอากาศ กอนเขา (Fresh air) เพอลดอุณหภูมิกอนเขาเครองทําความเย็นตอไป โดยการ เอาความรอนจากคอนเดนเซอรที่เรียกกันวาคอยลรอนไปถายเทความรอนใหน้ํา (Water Cooled) กลายเปนน้ํารอนและนําไปเก็บในถังใหญเพอสงปอนใหแกผูใช น้ํารอนในหองพักของโรงแรมหรือจุดใชงานตางๆ นอกจากทําน้ํารอนแลว ขณะเดียวกันปม ความรอนจะไดอากาศเย็นจากอีแวปอเรเตอรหรือทีเ่ รียกวาคอยลเย็น ไปใช ใ นบริ เ วณที่ ต อ งการความเย็ น ที่ ไ ม ต อ งควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ม ากนั ก เช น ใน ลอบบี้ โรงแรม, ทางเดินหองครัว, หองเครอง, หองซักรีดหรือนําอากาศเย็นไป แลกเปลี่ยนทําน้ําเย็นไปใชหลอเลี้ยงหอเย็นของเครองปรับอากาศก็ ได ซึ่งการใช ความเย็นนี้ถือวาเปนผลพลอยไดจากปมความรอนที่จะชวยลดความสิ้นเปลือง คาใชจา ยไดอกี สวนหนึง่ และทําใหประสิทธิภาพการทํางานของคนหรือเครองจักร ในบริเวณนั้นๆ ดีขึ้น โดยระบบของปมความรอนแสดงดังรูปที่ 1 Q1 = พลังงานไฟฟาเขาระบบที่คอมเพรสเซอรและเปลี่ยนเปนความรอน Q2 = ความรอนจากอากาศเขาระบบที่อีแวปอเรเตอร Q3 = ความร อ นออกจากระบบโดยถ า ยเทความร อ นให แ ก น้ํ า ที่ คอนเดนเซอร ตามหลักเทอรโมไดนามิคสหรือหลักการไหลของความรอน พลังงานไม สูญหายไปไหน ดังนั้น ความรอนเขา เทากับ ความรอนออก หรือ Q1 + Q2 = Q3 --------------- (1)

30 l April 2012

Energy#41_p30-31_Pro3.indd 30

4/2/12 11:09 PM


ตัวอยางเชน ถาฮีทปม (Heat Pump) ที่ ใชในการทําความเย็นนั้นมีคา COP = 2 แลวนั้น จะหมายถึง พลังงานที่ ใชในการขับเครองคอมเพรสเซอร (Compressor) ทุก kW จะมีสมรรถนะในการทําความเย็นได 2 kW สําหรับคา COP จะไมมีหนวยของพลังงาน ดังนั้นความรอนที่ถูกผลิตและพลังงานที่ ใชจะมี หนวยที่เหมือนกันเมอใชในการคํานวณคา COP ดังกลาวหรืออัตราประสิทธิผล ใหความรอน ปกติจะอยูท ี่ 60%-95% แตการใหความรอนจากเครองปม ความรอน นั้นไดอาศัยการทํางานของเครองสวนในของเครองปมเพอดึงดูดความรอน จากแหลงใหความรอนซึ่งการใชพลังงานไฟฟา 1 กิโลวัตตจะสามารถไดรับพลัง ความรอน 3 – 4 กิโลวัตต กลาวคืออัตราประสิทธิ์ผลใหความรอนจะมีถึง 300 – 400% ดังแสดงในรูปที่ 2 รูปที่ 1 แสดงระบบของปมความรอน (Heat Pump)

โดย Q2 เปนความรอนในอากาศ ไมมีราคาหรือไมตองซื้อ สวน Q3 ในน้ํารอนมีคาและใชประโยชนได ปมความรอนไดรับความรอนจากอากาศดังรูปที่ 1 ซึ่งมีสวนประกอบ สําคัญ 4 สวน คือ คอมเพรสเซอร, คอนเดนเซอร, เอกซแปนชั่นวาลวและอีแวปอเรเตอร โดยมี “น้าํ ยา” หรือรีฟริเจอรแรนท บรรจุอยูในระบบ โดยรวมทัง้ หมดนี้ เรียกวาระบบทําความเย็นหรือระบบปรับอากาศ จะเห็นวาระบบปมความรอน (Heat Pump) เปนระบบเดียวกับระบบทําความเย็นทีอ่ แี วปอเรเตอร รีฟริเจอรแรนท มีสถานะเปนของเหลวและมีความดันต่ํา เมอไดรับความรอนจากอากาศภายนอก จะระเหยเปนไอความดันต่ําถูกคอมเพรสเซอรดูดเขาไปและถูกอัดใหเปนไอความ ดันสูงมีจุดเดือดหรือจุดระเหยสูงขึ้นดวยและออกไปที่คอนเดนเซอร ถาน้ําที่อยู ลอมรอบคอนเดนเซอรมีอุณหภูมิต่ํากวารีฟริเจอรแรนที่อยูภายใน ความรอนจะ ถูกถายเทใหแกน้ํา อุณหภูมิของรีฟริเจอรแรนจะลดลงและกลั่นตัวเปนของเหลว แตยังมีความดันสูงอยู เมอรีฟริเจอรแรนไปผานเอกซแปนชั่นวาลวจะมีความดัน ลดลงแตยังมีสถานะเปนของเหลวไหลเขาในอีแวปอเรเตอร เมอความดันต่ําจุด ระเหยหรือจุดเดือดของรีฟริเจอรแรนก็ต่ําลงดวย เมอไดรับความรอนจาก อากาศที่อีแวปอเรเตอรเขามาสัมผัสที่ผิวของอีแวปอเรเตอรก็จะระเหยกลายเปน ไอความดันต่ําแลวถูกคอมเพรสเซอรดูดเขาไปและอัดเปนไอที่ความดันสูงอีก เปนอันครบวงจรการทํางานของปมความรอน กลาวโดยสรุปปมความรอนรับ ความรอนจากอากาศทางอีแวปอเรเตอรแลวนําไปถายเทใหแกน้ําที่คอนเดนเซอร 1.2 ประสิทธิภาพของปมความรอน ประสิทธิภาพของปมความรอน (COP: Coefficient of Performance) ที่ ใชกันมีคา 2 -5 หรือมากกวาขึ้นอยูกับอุณหภูมิน้ํารอนกับอากาศภายนอกและ การออกแบบซึ่งปจจุบันไดพัฒนาไปมากซึ่งเครองปรับอากาศ (Air conditioner) จะมีคา COP ประมาณ 0.75 -0.95 โดยคา COP หรือ คาสัมประสิทธิ์สมรรถนะ (Coefficient of Performance) คือ คาที่บงบอกถึงประสิทธิภาพในการทําความเย็นของฮีทปม (Heat Pump) ซึ่งการคํานวณหาคา COP ของฮีทปม (Heat Pump) สามารถทําได โดยการเปรียบเทียบคาความรอนทีป่ ลอยออกมาจากเครองควบแนนหรือคอยลรอ น (Condenser) (คา Q) กับคาพลังงานที่ ใช ในการขับเครองคอมเพรสเซอร (Compressor) (คา W) สูตรการคํานวณในการหาคา COP (Coefficient of Performance) COP = IQI / W ------------------- (2) อีกนัยหนึ่ง คา COP คือ คาที่บงบอกถึงความสัมพันธระหวางพลังงาน (kW) ที่ ใชในการดูดความรอนของฮีทปม (Heat Pump) กับพลังงาน (kW) ที่ ใชในการขับเครองคอมเพรสเซอร (Compressor)

รูปที่ 2 แสดงไดอะแกรมประสิทธิภาพการใหความรอนของปมความรอน

ในฉบับหนาเราจะมาวากันดวยเรองเหตุผลวา ปมความรอนจะสามารถ ประหยัดพลังงานไดอยางไร โปรดติดตามตอนตอไป...

อางอิง 1. http://www.germes-online.com 2. http://industrial.hidofree.com/machine-toolsmachinery/heat-pump 3. http://www.srpnet.com/.../heatpumpdiagram06.gif 4. http://www.energy-based.nrct.net 5. http://www.advancethermo.com/heatpump_set.html 6. http://www.asetplus.com/images/Heat_Pump/Heat_ Pump_1_b.jpg 7. http://www2.dede.go.th/Advancetech/Asset/ Presentation/Heat%20pump.pdf 8. http://www.containedenergy.com/assets/images/ HeatPumpSchematic.gif 9. http://www.howardswimmingpools.co.uk/ hpumpdiagram.gif 10. http://www.hitachi.com/environment/showcase/ speco_technique 11. http://cbs.grundfos.com/thailand/lexica/AC_COP.html 12. จรัล อินทรังษี “Heat Pump for Process Heating” โครงการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งานในภาค อุตสาหกรรมและธุรกิจ, กุมภาพันธ 2551 April 2012 l 31

Energy#41_p30-31_Pro3.indd 31

4/3/12 3:24 PM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

“Workpoint” The Energy Saving to BEAT AWARDS

ผูท อี่ ยูใ นแวดวงพลังงานคงคุน ๆ กันบางสําหรับโครงการสราง ขุมกําลังบุคลากรดานการอนุรักษพลังงาน หรือ BEAT AWARDS 2010 ซึง่ เปนโครงการของ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง พลังงาน ที่ไดสนับสนุน และสงเสริมใหอาคาร สํานักงานตางๆ ไดมี การพัฒนาดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม ซึง่ มีผปู ระกอบการ ตางๆ ไดเขารวมไมวาจะเปน อาคาร จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เซ็นทรัล เวิลด สยามพารากอน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โรงพยาบาลกรุงเทพ เปนตน โดยเริ่มโครงการนี้ตั้งแตป 2010 และมอบรางวัลไปเมื่อ วันที่ 8 มีนาคม 2012 ที่ผานมา

32 l April 2012

Energy#41_p32-34_Pro3.indd 32

4/3/12 3:17 PM


โดยบริษัท เวิรค พอยท เอ็นเตอรเทนเมนท จํากัด (มหาชน) เปนหนึ่งใน บริษัทที่ไดรับรางวัล BEAT AWARDS 2010 ซึ่งแนวความคิดในการเขา รวมโครงการและการอนุรักษพลังงานของเวิรค พอยท เปนอยางไรนั้น คุณปญญา นิรนั ดรกลุ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั เวิรค พอยท เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด (มหาชน) เขามีคําตอบ “บริษัท เวิรคพอยท เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด (มหาชน) เปน บริษัทที่ผลิตสื่อ ซึ่งตลอดมาเราก็ไดเนนยํ้าถึงการผลิตสื่อที่มีคุณคาตอ สังคม ไมวา จะเปนดานความรู ภาษา วัฒนธรรม การทองเทีย่ ว การสงเสริม เผยแพรความสามารถของประชาชน และเยาวชน เปนตน มีสิ่งหนึ่งที่เปนเรื่องสําคัญมาก ซึ่งนาจะเปนวาระแหงชาติและ วาระแหงโลกเลยทีเดียวในเวลานี้และอนาคตขางหนานั่นก็คือ วิกฤตทาง ดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ซึ่งกระทรวงพลังงานรวมกับมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดมีการจัดโครงการสรางขุมกําลังบุคลากร ดานการอนุรักษพลังงานขึ้น โดยเปนโครงการที่จัดขึ้นเพื่อรณรงคใหคน ไทยหันมาตระหนักถึงภาวะวิกฤตพลังงานดังกลาว ขณะเดียวกันโครงการ ก็ไดสอนเทคนิควิธีการ รวมถึงวิทยาการใหม ๆ ในการประหยัดพลังงาน อยางเปนรูปธรรม ชี้วัดไดจากการประกวดอาคารประหยัดพลังงานใน โครงการนี้ เพื่อเผยแพรใหประชาชนตอไป

บริษทั เวิรค พอยทฯ ไดเขารวมโครงการสรางขุมกําลังบุคลากร ดานการอนุรกั ษพลังงาน โดยผมหวังวาเราจะเปนสวนหนึง่ ของสังคมทีล่ กุ ขึน้ มารวมแรงรวมใจในการนํารองทําสิ่งที่ดี ๆ ตอสังคม ตอลูกหลานใน ภายภาคหนา” นีเ่ ปนโครงการแรกทางดานการอนุรกั ษพลังงานทีบ่ ริษทั เวิรค พอยท เขารวมโครงการนี้ก็เพื่อปรับปรุงและพัฒนาอาคารใหเกิดการประหยัด พลังงานควบคูกับการสรางจิตสํานึกแกพนักงาน บุคลากรในองคกรได ตระหนักถึงการประหยัดพลังงานดวยเชนกัน “เราสรางจิตสํานึกการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมใหกับ ผูบริหาร พนักงานของบริษัทรวมถึงขาราชการ นักเรียนในพื้นที่จังหวัด ปทุมธานี อาทิ -กิจกรรมศึกษาดูงาน โครงการชั่งหัวมัน อันเนื่องมาจาก พระราชดําริจงั หวัดเพชรบุรี และโครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาสิง่ แวดลอม แหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ

April 2012 l 33

Energy#41_p32-34_Pro3.indd 33

4/3/12 3:17 PM


-ฟงบรรยายภัยพิบัติธรรมชาติ โดย รศ.ดร เสรี ศุภราทิตย ผูอ าํ นวยการศูนยพลังงานเพือ่ สิง่ แวดลอมอุทยานสิง่ แวดลอมนานาชาติสริ นิ ธร ( กอนเกิดอุทกภัยใหญในประเทศไทย ปลายป 2554 ) -ศึกษาดูงานการผลิตนํ้ามันจากขยะพลาสติก เทศบาลเมืองหัวหิน -กิจกรรมปลูกปาชายเลน และเก็บขยะชายทะเล เพื่อใหพนักงาน ตระหนักถึงเรื่องระบบนิเวศนที่ถูกทําลายโดยฝมือมนุษย -จั ด สั ม นาเรื่ อ งโลกร อ นให แ ก ผู  บ ริ ห ารและพนั ก งานรวมถึ ง ขาราชการ นักเรียน ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี” นอกจากการปรับปรุงอุปกรณประหยัดพลังงานและการสราง จิตสํานึกแกผบู ริหาร และพนักงานองคกรแลวเวิรค พอยทยงั แบงปนการสราง จิตสํานึกใหกับชุมชน สังคม นักเรียนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานีใหไดตระหนักถึง การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมดวย นอกจากนี้ การออกแบบอาคารก็เปน อีกขั้นตอนหนึ่งของการประหยัดพลังงานจนนําไปสูที่มาของการไดรับรางวัล BEAT AWARDS “ในขั้นตอนการออกแบบอาคารนั้นโดยออกแบบเปนอาคารที่ใช กระจก เพื่อลดการใชพลังงานในตัวอาคาร พรอมกับติดตั้งฟลมกรองแสง เพื่อปองกันความรอนที่เขาสูตัวอาคารทําใหการใชพลังงานในเรื่องของเครื่อง ปรับอากาศลดลง รวมถึงออกแบบตัวอาคารใหหันหนาดานทิศตะวันออก เพื่อ ปองกันความรอนที่เกิดขึ้นในชวงหลังเที่ยงเปนตนไป มีการใชโพคารบอเนต รวมถึงกระเบื้องโปรงแสงเพื่อใหแสงสวางสองลงมา เพื่อลดใชพลังงานไฟฟา ออกแบบสตูดิโอใหมีประตูสองชั้นรวมถึงใหมีประตูเล็ก เพื่อลดการสูญเสียของ ความเย็นในสตูดิโอ ทําใหระบบปรับอากาศทํางานนอยลง” การดําเนินตามนโยบายดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมนัน้ ชวยใหเวิรคพอยทประหยัดพลังงานไดเปนอยางดี “เรายังไดมกี ารติดตัง้ อุปกรณปรับความรอนของมอเตอรเครือ่ งสูบนํา้ เย็น ในระบบปรับอากาศที่ใชในอาคาร ใหมีการเปดใชเครื่องทํานํ้าเย็นสัมพันธกับ การใชงานของอาคาร จากเดิมทีม่ อเตอรเครือ่ งสูบนํา้ เย็นทํางาน 100% ตลอด

เวลา ก็ทําใหสิ้นเปลืองพลังงานโดยสูญเปลา เมื่อมีการติดตั้งระบบ นํา้ เย็นไปแลว สามารถประหยัดพลังงานประมาณ 500,000 บาท/ป และการประยุกตใชลมจากหอผึง่ เย็น Cooling tower เปน แหลงจายลมใหกับกังหันลม เพื่อผลิตไฟฟารวมกับพลังงานแสง อาทิตยนําไฟฟาที่ไดมาใชกับหลอด LED 18 วัตต ทําใหประหยัด พลังงานปละ 200,000 บาท/ป” ทัง้ นีใ้ นภาพรวมทีค่ ณ ุ ปญญาไดเลาใหฟง ทัง้ หมดขางตน นั้นทําใหทราบวา เวิรคพอยทฯ เอ็นเทอรเทนเมนท เปนองคกรที่ พัฒนาปรับเปลี่ยนรูปแบบการทํางานอยูตลอดเวลารวมถึงมีการ ขยายการทําธุรกิจ แตกจ็ ะไมหยุดยัง้ ทีจ่ ะพัฒนาทัง้ ทางดานบุคลากร โดยการสรางจิตสํานึกรวมถึงศึกษาเทคโนโลยีตาง ๆ ที่เหมาะสมกับ บริษัทในการอนุรักษพลังงานควบคูกันไป และเขายินดีและรูสึกเปนเกียรติที่ไดเปนสวนหนึ่งในการ เขารวมประกวดโครงการอนุรักษพลังงานตาง ๆ โดยไมไดตระหนัก ถึงผลรางวัลแตเวิรคพอยทจะเดินทางอนุรักษพลังงาน อนุรักษ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่องเพื่อลูกหลานในอนาคต

34 l April 2012

Energy#41_p32-34_Pro3.indd 34

4/3/12 3:17 PM


Energy Showcase เครองสวมถุงหุมรมเปยกอัตโนมัติ

AT Technology : อุปกรณสําหรับพลังงานทาง เลือกครบวงจร

REC เปดตัว เครองสวมถุงหุมรมเปยก อัตโนมัติ Omnipack นําเขาจากเกาหลี ที่ ชวยแกปญหาพื้นเปยกสกปรก และลนจาก น้ําที่หยดจากรม ชวยลดอุบัติเหตุและภาระ แมบา นในการทําความสะอาด อีกทัง้ สะดวก กับผูใชบริการ ไมตอ งกังวลเรองรมทีเ่ ปยก ชวยเสริมภาพลักษณอาคารดูทันสมัย มี หลายรุนทั้งสําหรับรมสั้น และรมยาวให เลื อ ก เหมาะสํ า หรั บ อาคารสํ า นั ก งาน โรงแรม หางสรรพสินคา และสถานที่ที่มี ผูคนเขา-ออกจํานวนมาก

บริษัท เรซพอนด เอ็นเตอรไพรส จํากัด

บริษัท เอที เทคโนโลยี นําเขาและจําหนาย อุ ป กรณ สํ า หรั บ ผลิ ต กระแสไฟฟ า จาก พลังงานแสงอาทิตย, พลังงานลม, ระบบ ไฮบริด รวมทั้งอุปกรณตอเชอมครบวงจร พรอมทั้งจําหนายโคมไฟ และหลอด High Power LED Brightliteและรับดัดแปลง โคมไฟเดิมในโรงงานอุตสาหกรรม ใหเปน โคมไฟ LED เชิญสอบถามรายละเอียดได ทุกวัน

บริษัท เอที เทคโนโลยี คอนซัลแท็นท จํากัด

โทร 0-2968-6670-1 โทรสาร 0-2580-2800

โทร 0-2691-8760 ตอ 311 E-mail : duangdaos_at@ethosgr.com

Ecowing ยางเพอสิ่งแวดลอม

LCD Display Panel ประหยัดพลังงาน 80%

http://www.respondgroups.com

http://www.ethosgr.com

บริษัท เคพีเอส แอ็คเซสเซอรี่ส จํากัด ตัวแทนจําหนายยางรถยนตยี่หอ คัมโฮ จากประเทศเกาหลี แนะนํายาง Kumho Ecowing ยางเพื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ ว ย เทคโนโลยี ที่ ป ระยุ ก ต ใ ห เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดลอม ตานทานตอการหมุนไดดี เพอ การประหยัดน้ํามันสูงสุด ดวยสูตรพิเศษ ผสมเนื้อยางกับสารชิลิคา รวมถึงการ ออกแบบโครงสร า งลายดอกยางให กระจายแรงกดอย า งสม่ํ า เสมอทํ า ให ประสิทธิภาพในการเบรค และเกาะถนนได ดีเยี่ยม มีขนาดใหเลือกตั้งแตขอบ 13นิ้ว จนถึง ขอบ 17 นิ้ว

บริษทั เคพีเอส แอ็คเซสเซอรีส่  จํากัด

นวัตกรรมของปาย LCD Display Panel ที่สามารถประหยัดพลังงานไดมากกวา Display Panel ทั่วไปถึง 80 % ใหแสง สวางไดมากกวาและยาวนานกวา พรอม เทคโนโลยี ก ารไล ร ะดั บ แสงทํ า ให ภ าพ สมจริงยิง่ ขึน้ ตัวจอ (Panel) ใชวสั ดุพเิ ศษ MMA จอภาพจึงมีความละเอียดและคมชัด นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามบางมากกว า ป า ย ทัว่ ไป ทําใหสะดวกตอการติดตัง้ และเคลอน ยาย เหมาะสําหรับใชเปนสอโฆษณาเพอ การสงเสริมการขายหรือประชาสัมพันธ ขาวสารตางๆ

โทร 0-2751-7853-5

J.R.KIKAI ENTERPRISES CO.,LTD.

วัสดุทดแทนไมจริงอารโต

จมูกบันไดเรืองแสง

http://www.apexsport.com

โทร 0-2266-8120-2

นวัตกรรมใหมของจมูกบันไดที่ ไดถกุ คิดคน และพัฒนาขึ้นเปน “จมูกบันไดเรืองแสง พร้อมแทบกันลื่น” โดยผ่านมาตราฐาน ของประเทศอเมริกา ASTM E 2073-07 ซึ่งมุงเนนใหใชสําหรับจุดที่ตองการความ ระมัดระวังเปนพิเศษเมอไมมีแสงไฟ เชน บันไดหนีไฟ ดวยลักษณะพิเศษในการเรือง แสงไดนานถึง 8 ชั่วโมง ทําใหมีตัวนําทาง เมอเกิดปญหาไฟฟาขัดของ ทั้งยังมีแถบ กันลนที่มีผิวหยาบเปนพิเศษ เพอปองกัน การลนลมระหวางการขึ้น-ลง

วัสดุทดแทนไมจริงอารโต คือนวัตกรรม ใหมของอุตสาหกรรมกอสรางไทยในการ เลือกใชงานวัสดุทดแทนไมจริง ผลิตจาก เทคโนโลยีที่ดีที่สุดของสหรัฐอเมริกา มีรูป แบบที่ ห ลากหลายผิ ว สั ม ผั ส ดุ จ ไม จ ริ ง พรอมทีมงานออกแบบที่มีคุณภาพพรอม ตอบสนองการออกแบบที่ อ ยู เ หนื อ จินตนาการอีกทั้งคุมคาในการใชงานที่อยู เหนือการเวลาที่สําคัญปลวกและแมลงไม สามารถเจาะทําลายไมอารโตได

บริษัท อารโตวูด ไทยแลนด จํากัด โทร 035-254-197

http://www.artowood.com

บริษัท อลูไซท พรีซิชั่น จํากัด

โทร 038-571-612-3

http://www.alusite.com April 2012 l 35

Energy#41_p35-36_Pro3.indd 35

3/21/12 9:34 PM


วัสดุมวลรวมเบา รี ไซเคิล 100% นวัตกรรมของวัสดุมวลรวมเบา Lightweight Expanded Glass Aggregate (LEGA) ที่ผลิตจากการนําเศษแกวเหลือ ทิ้งมารีไซเคิล 100 % มีน้ําหนักเบา (180200 กิโลกรัม / ลูกบาศกเมตร) ทนไฟสูง เนื้ อ มวลแข็ ง แรง และมี คุ ณ สมบั ติ เ ป น ฉนวนกันความรอนและกันเสียงไดดี เหมาะ สํ า หรั บ นํ า ไปใช เ ป น ส ว นผสมในวั ส ดุ ก อ สร า งน้ํ า หนั ก เบาชนิ ด ต า งๆ เช น คอนกรีตมวลเบา, อิฐมวลเบา, แผนผนัง สําเร็จรูปมวลเบา เปนตน เพอเปนทาง เลือกในการลดตนทุนในการกอสราง

บริษัท ไซมีส อีโคไลท จํากัด

สารเคลือบกันซึมน้ํา

บริษัท โพลิเมอร โคทติ้ง จํากัด โทร 0-2417-8240-1

http://www.polymer-coating.com

โทร 0-2366-0961-8

ฉนวนทนอุณหภูมิสูง MicroHi-Temp

เครองกรองน้ําประปา

MicroHi-Temp เป น ฉนวนที่ อ อกแบบ สําหรับการใชงานที่ตองการทนอุณหภูมิ สูงถึง 540 C (1,000 F) มีทั้งชนิดมวน และแผน น้ําหนักเบา ติดตั้งงายเหมาะ สําหรับหอหุมเครองจักร อุปกรณและทอ ลมรอนตางๆในหองครัว ผนังตูอบ ผนัง หมอไอน้ําในโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สํ า นั ก งานเพื่ อ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ต ามที่ ตองการ

เครองกรองน้ําประปา KT001UV รูปทรง เรี ย บหรู กลมกลื น กั บ สภาพแวดล อ ม สามารถติดตั้งไดหลายรูปแบบ ตามใจคุณ เปลี่ยนไสกรองงาย ไมเลอะเทอะ มีระบบ UV ทวิ ส เตอร ฆ า เชื้ อ โรคได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ สามารถกรองน้ํากระดาง บอเกิดของ ตะกรัน และโรคนิ่ว อีกทั้งใช เทคโนโลยี Microban จากสหรัฐอเมริกา ปองกันเชื้อโรคไมใหหมักหมมเจริญเติบโต ในไสกรอง

บริษัท ไมโครไฟเบอรอุตสาหกรรม จํากัด

FILTER MART CO.,LTD.

http://www.microfiber.co.th

http://www.purefilter.com

โทร 0-2315-5500-10

หลอดไฟ LED Light Bulb

โทร 0-2978-8856-9

โคมหัวเสาระบบโซลารเซลส

ใชพลังงานนอยกวาหลอดไสถงึ 80% และ ใหประสิทธิภาพที่ดีกวา ใหความรอนที่ เกิดจากหลอดต่ํา ไดรับการรับรองตาม มาตรฐาน RoHS ไมมีรังสีอัตราไวโอเลต และรังสีอินฟราเรด ไมมีสารปรอท อายุ การใชงานนานถึง 40,000 ชั่วโมง มี 2 โทนแสง ขาวสวางเดยไลท และขาวเหลือง วอรมไวท มี 2 ขนาดคือ ขนาด 3.5 วัตต (ทดแทนหลอดไส 25 วัตต) และ 5.5 วัตต (ทดแทนหลอดไส 40 วัตต)

TOSHIBA

http://www.toshibalight.com

พีซี แอดชิลด (PC Addshield) เปนสาร เคลือบผิวกันซึมผานของน้ํา ผลิตจากพอ ลิเมอรรวมของอะคลิลิค ฟลมที่เซ็ทตัวมี ความยื ด หยุ น ตั ว สู ง พื้ น ผิ ว เรี ย บสวย ต า นทานต อ รั ง สี อั ล ตร า ไวโอเลตได ดี สามารถยึดติดไดดีกับปูนคอนกรีต เหล็ก ไม นําไปใชเพออุดรอยแตกราวของแผน กันซึมบีทรูเมน รอยแยกของปูนทัง้ เกา และ ใหม เหมาะสําหรับซอมรอยราวหลังคา ทา พื้นชั้นดาดฟาของอาคารพาณิชยทั้งเกา และใหม

โคมหัวเสา หลอด LED 12VDC ระบบโซ ลารเซลส ประหยัดพลังงาน เนองจากใช พลังงานจากแสงอาทิตย ใชหลอดไฟชนิด LED ที่มีประสิทธิภาพการสองสวางสูง มี อ ายุ ก ารใช ง านยาวนาน สามารถ ออกแบบหลอด LED ใหเขากับลักษณะของ โคมหัวเสาไดตามที่ลูกคาตองการ

บริษัท บี.เอส.อี. อีเล็คทรอนิค จํากัด โทร 0-2803-6303-4 ext.11

http://www.bseelectronic.com

36 l April 2012

Energy#41_p35-36_Pro3.indd 36

3/21/12 9:34 PM


Energy#40_p55_Pro3.ai

1

2/21/12

3:33 PM


Energy Keyman โดย : รังสรรค์ อรัญมิตร

“ผมไมใชนักการเมือง... แตผมเปนขาราชการการเมือง”

อารั ก ษ ชลธาร น นท 38 l April 2012


หลังจากที่ คุณพิชัย นริพทะพันธุ์ โดนปรับออกจากต�ำแหน่ง รั ฐ มนตรี ว ่ า การกระทรวงพลั ง งานก็ มี ก ระแสข่ า วว่ า คุ ณ ประเสริ ฐ บุญสัมพันธ์ อดีตกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) จะได้นั่งต�ำแหน่งนี้เป็นคนต่อไป แต่กลับพลิกล็อคเพราะหวยไป ออกที่ คุณอารักษ์ ชลธาร์นนท์ อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัท ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน) ซึ่งในแวดวงพลังงานไม่มีใครรู้จักมาก่อน และ ไม่มใี ครคาดคิดว่าจะเป็นคุณอารักษ์ หลังจากทีค่ ณ ุ อารักษ์เข้ามารับต�ำแหน่ง รมว. พลังงานก็มีกระแสข่าวว่าเป็นสายตรงจาก อดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ที่ให้เข้ามาด�ำรงต�ำแหน่งเพื่อที่จะได้สนองนโยบายได้โดยตรง ซึ่ง เรื่องนี้เป็นอย่างไรนั้นเราไปคุยกับทานรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน โดยตรงเลยครับ

ES : โครงสร้างราคาน�้ำมันจะมีแนวทาง ปรับอย่างไร รมว. : ผมขอดูสถานการณ์ราคาน�้ำมัน ในตลาดโลกก่อนตอนนีย้ งั ไม่ปรับแต่เราก็ไม่ได้นงิ่ นอนใจ เพราะกองทุนน�้ำมันตอนนี้ติดลบเข้าไปกว่า 20,000 ล้านบาทแล้วซึ่งต้องจ่ายดอกเบี้ยด้วย เพราะเป็น เงินกู้ แต่ที่หนักใจคือทุกเดือนต้องน�ำเงินไปจ่าย ชดเชยราคาก๊าซ LPG เดือนละ 4,300 ล้านบาท หรือเงินไหลออกไปวันละ 142 ล้านบาท ขณะที่ กองทุ น น�้ ำ มั น มี ร ายได้ จ ากการเก็ บ เงิ น จากผู ้ ใ ช้ น�้ำมันเบนซิน และก๊าซเบนซินโซฮอล์ลิตรละ 1 บาท ท�ำให้กองทุนมีรายได้เข้ามาวันละ 21 ล้านบาท หัก กันแล้วติดลบวันละ 121 ล้านบาท แต่ที่ต้องเร่งด�ำเนินการอย่างเร่งด่วน คือ ราคาก๊าซ LPG ตอนนี้ราคาในตลาดโลกปรับขึ้นไป ถึง 1,200 ดอลลาร์สหรัฐต่อตันแล้ว ท�ำให้มีภาระ ในการหาเงินมาชดเชยเกือบ 600-700 ดอลลาร์ สหรัฐต่อตัน เป็นตัวเลขที่น่าเป็นห่วง ส่วนNGVที่ปรับราคาขึ้นไปนั้น ไม่ได้ชว่ ยลดภาระค่าใช้จา่ ยของกองทุนน�้ำมันมากเท่าไหร่ แต่กจ็ ำ� เป็นต้องท�ำ ES : โครงสร้างราคา LPG เป็นอย่างไร รมว. : การศึกษาการปรับโครงสร้างราคา LPG และ NGV รอบใหม่ ได้มอบหมายให้จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยศึกษาให้แล้วเสร็จในเดือน เมษายนนี้ และราคาก๊าซ LPG ภาคครัวเรือนจะต้องปรับขึ้นแน่นอน เพราะ ขณะนี้ราคาตลาดโลกสูงกว่าในประเทศอย่างมากเกือบ 4 เท่า ราคาตลาด โลกประมาณ 1,200 ดอลลาร์สหรัฐต่อตัน ในประเทศ 333 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อตัน จึงมีการลักลอบส่งออกไปประเทศเพื่อนบ้านสูงขึ้นอย่างมาก

ES : มีความกระวนกระวายใจหรือไม่ครับที่เข้ามารับต�ำแหน่ง รมว.พลังงาน รมว. : ต้ อ งบอกว่ า ตอนเข้ า มารั บ ต� ำ แหน่ ง ตั้ ง แต่ แ รก ข้อกังวลก็มีเพราะผมไม่ได้อยู่ในสายพลังงานมาก่อน แต่เข้ามาก็ได้เรียนรู้ เรือ่ งพลังงาน และคนทีอ่ ยูใ่ นกระทรวงแม้กระทัง่ เพือ่ นร่วมงานทีท่ ำ� ไม่วา่ จะเป็น ปตท. การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต ฯ เขาก็ ใ ห้ ค วามร่ ว มมื อ อย่ า งดี ก็ ท� ำ ให้ สบายใจขึ้นก็มีโอกาสได้ช่วยกันท�ำงานคือจริงๆ ผมคนเดียวจะท�ำงานได้ มั น ไม่ ใ ช่ แต่ เ ป็น ทุก คนที่ร ่วมกัน ท�ำงานตามนโยบายรั ฐ บาล ES : มีนโยบายอะไรใหม่หรือไม่ที่จะต้องด�ำเนินการ รมว. : ต้องบอกว่ามาสานเรื่องนโยบายเก่าๆ ให้มันเดินทางได้ เรื่องโครงสร้างพลังงานไม่ใช่ผมเพิ่งพูดเขาพูดกันมานานแล้วมันเป็น นโยบายรัฐบาลต้องบอกว่านโยบายทั้งหมดเราสานต่อโดยเฉพาะเรื่อง โครงสร้างพลังงานต้องท�ำต่อ April 2012 l 39


ES : มองภาพพจน์กระทรวงพลังงานกับ ปตท. อย่างไรบ้าง รมว. : ผมพยายามบอกว่ า เรื่ อ งภาพพจน์ ข องกระทรวงฯ นัน้ ต้องท�ำให้คนไม่คดิ ว่าเราเป็นพวกเดียวกันกับ ปตท. เพราะคนเขาจะบอกว่า กระทรวงพลังงานกับ ปตท. เป็นพวกเดียวกัน เช่นเวลามีปัญหาเกี่ยวกับ ราคาเชื้ อ เพลิ ง หรื อ ปั ญ หาอะไรเกี่ ย วกั บ ก๊ า ซธรรมชาติ ที่ ก ระทบต่ อ ผู้ประกอบการ คนเขาก็จะบอกว่ากระทรวงฯ เข้าข้างปตท. หรือมีการ เอื้อประโยชน์ซึ่งกันและกัน แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ เพราะกระทรวงฯท�ำหน้าที่ ก�ำกับและดูแล ปตท. ภาพตรงนีข้ องกระทรวงฯ ต้องชัดเจนไม่ใช่พวกเดียวกับ ปตท. ไปเข้าข้างกันตลอด เพราะฉะนั้นเวลาผู้ประกอบการมีปัญหาควรจะ ต้องเข้ามาคุยกับกระทรวงฯ แล้วเรามาดูข้อเท็จจริง แล้วไปคุยกับ ปตท. ซึ่งจะต้องเป็นลักษณะแบบนี้ และเรื่องนี้ทางกระทรวงฯอยู่ระหว่างพิจารณา จะท�ำอย่างไรให้เกิดภาพลักษณ์ที่มีการแยกออกจากกันอย่างชัดเจน เพื่อ ไม่ให้เกิดความเข้าใจผิด โดยขณะนีม้ ผี เู้ สนอว่าให้ยา้ ยทีท่ ำ� งานของกระทรวงพลังงาน ออกจากตึกเอ็นเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ซึ่งเป็นบริษัทในเครือ ปตท. จึง มีความเป็นไปได้สูงที่จะย้ายออก มีผู้เสนอ 2 แห่ง ได้แก่ ส�ำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) บริเวณถนนเพชรบุรีตัดใหม่ และอาคารบริเวณ ใกล้เคียงตึกเอ็นเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ ซึ่งจะต้องดูความเหมาะสมต่อไป

โดยราคาประเทศเพื่อนบ้าน LPG อยู่ที่ 40-50 บาทต่อกิโลกรัม ในประเทศราคา LPG ภาคครัวเรือนอยูท่ ี่ 18.13 บาทต่อกิโลกรัม จึงเป็นรูปแบบ การทยอยปรับค�ำนึงเงินเฟ้อและช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อย รวมถึงพ่อค้า แม่ค้า โดยจะมีการปรึกษาการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยถึงรูปแบบ การช่วยเหลือเช่นเดียวกับการอุดหนุนค่าไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อครัวเรือนได้หรือไม่ ES : หากปรับราคา LPG ภาคครัวเรือนควรจะเป็นอย่างไร รมว. : การปรับขึ้นราคา LPG ภาคครัวเรือนนั้นก็คงจะเป็น อย่างช้าที่สุดไม่ถึงฤดูหนาวปีนี้ หรือเดือนกันยายน - ตุลาคมคงจะเห็นการ ปรับขึ้นราคาภาครัวเรือนไม่อย่างนั้นเงินกองทุนน�้ำมันจะขาดทุนสูงมาก จากการอุดหนุน จากปัจจุบันกองทุนขาดทุนประมาณ 20,000 ล้านบาท ดังนั้นการปรับราคา LPG ภาคครัวเรือนจะทยอยปรับให้กระทบ ประชาชนน้อยทีส่ ดุ แต่หากยังปรับไม่ได้ราคาค่าขนส่งและ NGV คงจะทยอย ปรับสูตรเดิมไปก่อน โดยเฉพาะจาก LPG ตลาดโลกสูงขึ้น และทุกฝ่ายต้อง ช่วยชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจราคาพลังงานมากขึ้น ES : วิธีการปรับราคา NGV เป็นอย่างไร รมว. : ก่อนอื่นต้องเข้าใจก่อนว่าราคาก๊าซ NGV ที่ปรับราคาขึ้น มาเป็น 10 บาทต่อกิโลกรัม ผมไม่ได้ไปสั่งให้บริษัท ปตท.ปรับขึ้นราคานะ แต่เราใช้วิธีการปรับลดเงินชดเชยลงมา จากที่เคยชดเชยอยู่ที่ 1 บาท ต่อกิโลกรัม ตอนนีเ้ หลือลดลงเหลือแค่ 0.50 บาทต่อกิโลกรัม พอเงินชดเชย มันหายไป ราคาก๊าซ NGV ก็ปรับราคาขึ้นโดยอัตโนมัติ 40 l April 2012

ES : คนข้างนอกบอกว่าท่านเป็นสายตรงของอดีตนายกฯ ทักษิณ จ�ำเป็นจะต้องท�ำตามนโยบายหรือไม่ รมว. : เอาตามตรงเลยนะคือท่านไม่ได้ให้นโยบายมาถ้าจะบอกเจ้า นายผมโดยตรงคือท่านนายกฯ ยิงลักษณ์ ชินวัตร จริงๆ นโยบายรัฐบาลก็ มีอยูแ่ ล้วทีแ่ ถลงไปมันเป็นนโยบายรัฐบาลมากกว่า ไม่ใช่นโยบายพรรคเพือ่ ไทย คือที่มาท�ำตรงนี้ไม่ใช่การเมือง คือจริงๆแล้วผมเป็นข้าราชการการเมือง ท�ำผลประโยชน์เพื่อประเทศชาติ ผมท�ำสนองนโยบายรัฐบาลไม่ได้สนอง นโยบายนักการเมือง


Energy Keyman โดย : รังสรรค์ อรัญมิตร

คุยความคืบหนาการสรรหา คณะคพรฟ. และ คพรต.

นฤภัทร อมรโฆษิต รองเลขาธิ ก าร กกพ.

คงเปนที่คุ้นหูกันดีสําหรับสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน หรือ (กกพ.) ช�อก็ บอกอย่างชัดเจนอยูแ่ ล้วว่ามีหน้าทีก่ าํ กับกิจการพลังงานกาซธรรมชาติและไฟฟ้า และการกํากับกิจการ พลังงานนัน้ เพ�อให้ครอบคลุมทุกพืน้ ทีร่ อบโรงไฟฟ้า กกพ. ได้สรรหาคณะกรรมการ คพรฟ. และ คพรต. ในพื้นที่ประกาศ ซึ่งการสรรหาดําเนินการไปถึงไหนแล้ว และ คพรฟ. และ คพรต. มีหน้าที่อย่างไรนั้น ไปสอบถามกับ คุณนฤภัทร อมรโฆษิต รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ว่าเปนอย่างไร

April 2012 l 41


ES : ความคืบหน้าการสรรหาคณะ คพรฟ. และ คพรต. ภาพ รวมในปัจจุบันนั้นมีความคืบหน้าอย่างไรบ้าง? รองฯ : ขณะนี้ ก ารสรรหาคณะกรรมการกองทุ น พั ฒ นา ไฟฟ้าในพืน้ ทีป่ ระกาศ ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการก�ำกับกิจการ พลังงาน (กกพ.) ได้ด�ำเนินการแล้วเสร็จกว่า 95% โดยมีคณะกรรมการ พัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า หรือ คพรฟ. ของกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ในพื้นที่ประกาศที่ได้รับการเห็นชอบการแต่งตั้งจาก กกพ.แล้ว 17 กองทุน แบ่งเป็นกองทุนประเภท ก ซึ่งเป็นกองทุนขนาดใหญ่ที่มีปริมาณเงินที่ได้รับ จัดสรรมากกว่า 50 ล้านบาทต่อปี จ�ำนวน 6 กองทุน ได้แก่ กองทุนโรงไฟฟ้าจะนะ กองทุนโรงไฟฟ้าพระนครใต้ กองทุนจังหวัด นครศรีธรรมราช 1 กองทุนจังหวัดสระบุรี 1 กองทุนเขตนิคมอุตสาหกรรม มาบตาพุด จังหวัดระยอง กองทุนโรงไฟฟ้าบางปะกง และกองทุนประเภท ข ซึง่ เป็นกองทุนขนาดกลางทีม่ ปี ริมาณเงินทีไ่ ด้รบั จัดสรรระหว่าง 1-50 ล้าน บาทต่อปี อีกจ�ำนวน 11 กองทุน ได้แก่ กองทุนโรงไฟฟ้ากระบี่ กองทุน โรงไฟฟ้ า น�้ ำ พอง กองทุ น โรงไฟฟ้ า น�้ ำ ตาลขอนแก่ น กองทุ น บริ ษั ท กั ล ฟ์ ยะลากรี น กองทุนโรงกลัน่ น�้ ำ มั น บางจาก กองทุนบริษัท มิตรผล ไบโอเพาเวอร์ กองทุน จังหวัดร้อยเอ็ด 1 กองทุนบริษทั ทีพีไอ โพลีน เพาเวอร์ กองทุ น จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี 1 กองทุ น จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี 2 กองทุ น จังหวัดระยอง 1 ส่วนที่เหลืออยู่ ระหว่างการพิจารณาแต่งตั้งจาก กกพ. ซึ่งคาดว่าแต่งตั้ง คพรฟ. ในกองทุนประเภท ก และ ข ที่ได้มี การประกาศจัดตั้งกองทุนพัฒนา ไฟฟ้าแล้วเสร็จครบทั้ง 38 กองทุน ไม่เกินเมษายน 2555 นี้ ES : หน้าทีห่ ลักของ คพรฟ. และ คพรต. มีหน้าทีอ่ ย่างไรบ้าง? รองฯ : หน้าที่ของ คพรฟ. นั้น จะมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนา ชุมชนและท้องถิ่นรอบโรงไฟฟ้าของตนเป็นอย่างมาก เช่น การจัดท�ำ แผนงานประจ�ำปี แผนการจัดสรรเงินเพื่อใช้ในการพัฒนาและฟื้นฟูท้องถิ่น การส�ำรวจผลกระทบจากการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้า การก�ำหนดพื้นที่ ผูม้ สี ทิ ธิได้รบั ประโยชน์จากกองทุนพัฒนาไฟฟ้า รวมถึงการศึกษาตามหลัก วิชาการ และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพืน้ ที่ เพือ่ เสนอขอปรับปรุง พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากการด�ำเนินงานของโรงไฟฟ้าเพิ่มเติม นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ในการอนุมัติโครงการชุมชน เบิกจ่ายเงิน การจัดท�ำบัญชี และ ก�ำกับดูแล ติดตาม ตรวจสอบ พร้อมประเมินผลการด�ำเนินโครงการ ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ หรือเผยแพร่ข้อมูลกองทุนพัฒนาไฟฟ้า และ 42 l April 2012

การด�ำเนินงานแบบสร้างการมีส่วนร่วมในพื้นที่กองทุน ตามระเบียบที่ กกพ. ก�ำหนด ส่วน คพรต. ก็จะมีหน้าที่หลักในการช่วยสนับสนุนการด�ำเนินงาน ของ คพรฟ. ในพื้นที่ประกาศของกองทุนประเภท ก ในการจัดประชาคม หมู่บ้านหรือต�ำบลเพื่อส�ำรวจความต้องการของประชาชน การกลั่นกรอง โครงการชุมชน การติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานโครงการชุมชน เพื่อ รายงานต่อ คพรฟ. หลังจากนัน้ คพรฟ. ก็จะต้องรายงานส�ำนักงาน กกพ. เพื่อเสนอต่อ กกพ. พิจารณาแผนงานประจ�ำปี เพื่อจัดสรรเงินให้กองทุน พัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศต่อไป ES : มองว่ าผลตอบรั บ ของภาคประชาชนจากการจัดตั้ง กองทุ น พั ฒนาไฟฟ้ านั้ น มี อย่ างไรบ้ าง? รองฯ : ถ้าจะให้เราประเมินแล้ว ประชาชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ได้มีการตื่นตัวและให้การตอบรับค่อนข้างดี แล้วปัญหาแทบจะไม่มีอะไร และ สิง่ ทีส่ ำ� คัญคือ พวกเขาได้รบั รูเ้ รือ่ งราวเกีย่ วกับกองทุนพัฒนาไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ซึง่ เมือ่ ก่อนชาวบ้านจะเข้าใจผิดว่า กองทุนพัฒนาไฟฟ้า ก็คอื กองทุน เดี ย วกั บ กองทุ น พั ฒ นาชุ ม ชน ในพื้ น ที่ ร อบโรงไฟฟ้ า ตามมติ คณะรั ฐ มนตรี เ ดิ ม ในปี 2550 แต่ส�ำหรับกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ภายใต้ส�ำนักงาน กกพ. นี้จะเป็น กองทุนใหม่ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย คือ พระราชบัญญัตกิ ารประกอบกิ จ การพลั ง งาน พ.ศ. 2550 ซึง่ การด�ำเนินงานต่างๆ ต้องเป็นไป ตามระเบียบที่ กกพ. ได้ก�ำหนดไว้ เป็นส�ำคัญ ส่วนปัญหาทีก่ องทุนเดิม เคยประสบ เราก็พยายามที่จะน�ำมาพิจารณาจัดท�ำระเบียบต่างๆ ที่ดียิ่งขึ้น และเป็นมาตรฐานเดียวกับกองทุนพัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศทั่วประเทศ โดยเริม่ ให้ประชาชนได้มสี ว่ นร่วมในการบริหารกองทุนฯ มากขึน้ เช่น เราต้องมี การประชาสัมพันธ์ลว่ งหน้า 15 วัน ก่อนการประชาคมเพือ่ เลือกผูแ้ ทนหมูบ่ า้ น พวกชาวบ้านในพื้นที่ก็จะรับรู้ และให้ความสนใจที่จะเข้าร่วมการสรรหา ตัวแทนของตนเพื่อเข้าร่วมการบริหารงานกองทุนพัฒนาไฟฟ้า นอกจากนี้ ในการออกระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนา ไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ เช่น ระเบียบพัสดุ ก็มีการสอบถามความคิดเห็น จากประชาชนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตอนนี้ก็อยู่ระหว่างการน�ำระเบียบพัสดุ ไปลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อให้มีผลบังคับใช้ ซึ่งระเบียบดังกล่าว จะท�ำให้การท�ำงานเรือ่ งการจัดซือ้ จัดจ้าง งานพัสดุ การซือ้ อุปกรณ์ตา่ งๆ มีกระบวนการท�ำงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศ เพราะกองทุน


พัฒนาไฟฟ้าถือเป็นส่วนหนึ่งของการด�ำเนินงานของส�ำนักงาน กกพ. ที่จะต้องมีส�ำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน หรือ สตง. เข้ามาตรวจสอบเรา เหมือนกัน ES : ไม่ทราบว่า แหล่งที่มาของเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้ามา จากไหนครับ? รองฯ : ด้านแหล่งที่มาของเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้านั้น เราจะได้เงิน มาจากผูร้ บั ใบอนุญาตประกอบกิจการผลิตไฟฟ้า ทีต่ อ้ งน�ำส่งเงินเข้ากองทุนฯ ในช่วงระหว่างการผลิตไฟฟ้าตามหน่วยไฟฟ้าที่ผลิตได้ในอัตรา 1-2 สตางค์ตอ่ หน่วย ขึน้ อยูก่ บั ประเภทเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในการผลิตไฟฟ้า โดยขณะนี้ มีจ�ำนวนเงินตั้งแต่เดือนมกราคม 2554 จนถึงปัจจุบันมีเกือบ 2,000 ล้าน บาท ทั้งนี้ ส�ำหรับผู้รับใบอนุญาตผลิตไฟฟ้าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง โรงไฟฟ้า ก็จะต้องน�ำส่งเงินเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้าในอัตรา 50,000 บาท ต่อเมกะวัตต์ต่อปี หรือไม่น้อยกว่า 50,000 บาทต่อปี อีกด้วย ES : เงินดังกล่าวจะมีการจัดสรรไปใช้ประโยชน์ในชุมชนอย่างไร? รองฯ : เงินดังกล่าว กกพ.จะมีการจัดสรรออกเป็น 2 ส่วน ตามทีไ่ ด้ออกระเบียบไป โดยส่วนที่ 1 จะเป็นค่าบริหารจัดการประมาณ 2.5-15 เปอร์เซ็นต์ แล้วแต่ขนาดของกองทุน ซึ่งคล้ายๆ อัตราภาษีแต่มีอัตรา ทีล่ ดลง เมือ่ มีเงินทีไ่ ด้รบั การจัดสรรเพิม่ สูงขึน้ เช่น กองทุนมีเงิน 5 ล้านบาท ก็จะจัดสรรเงินในการบริหารจัดการให้ 15 เปอร์เซ็นต์ หรือประมาณ 7.5 แสนบาทต่อปี แต่ถ้ากองทุนใหญ่ขึ้นมีเงินเยอะขึ้น ค่าบริหารจัดการก็จะมี อัตราที่ลดลง สมมติว่ากองทุนมีเงิน 10 ล้านบาท เงินส�ำหรับบริหาร จัดการในส่วนของวงเงิน 5-10 ล้านบาท ก็จะมีการจัดสรรเงินในการ บริหารจัดการให้ 12.5 เปอร์เซ็นต์ ท�ำให้มเี งินบริหารจัดการรวมอยูท่ ปี่ ระมาณ 1.37 ล้านบาท เป็นต้น ส�ำหรับเงินในส่วนทีส่ องของกองทุนจะใช้สำ� หรับการจัดท�ำโครงการ ชุมชนซึ่งมีสัดส่วนไม่น้อยกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ก็จะรอจ่ายให้กับกองทุนฯ ที่มีการท�ำแผนประจ�ำปีเข้ามาเพื่อเสนอ กกพ. ให้ความเห็นชอบก่อนที่จะ จัดสรรให้แต่ละกองทุนน�ำไปพัฒนาพื้นที่ฯ ซึ่งกรอบการจัดสรรเงินจะแบ่ง เป็น 11 ด้าน ได้แก่ การส่งเสริมสุขภาพและสุขภาวะ การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาการเกษตร การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน การพัฒนาคุณภาพ ชี วิ ต การพั ฒนาการศึก ษา ศาสนา วัฒ นธรรมและประเพณี ท้ อ งถิ่ น การพัฒนาชุมชน การอนุรักษ์แ ละฟื้นฟูสิ่งแวดล้อ ม การใช้จ่ายเพื่อ กรณีฉุกเฉิน และช่วยเหลือผู้ทุกข์ยากเดือดร้อน การพัฒนาศักยภาพของ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกองทุน และโครงการและแผนงานอื่นๆ ที่เป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาชุมชนในพืน้ ทีป่ ระกาศตามที่ กกพ.เห็นชอบ โดยแผนงานประจ�ำปี จะจัดท�ำโดย คพรฟ. และจะต้องเสนอขอความเห็นจากผู้ว่าราชการจังหวัด ที่โรงไฟฟ้าตั้งอยู่ ก่อนที่จะน�ำมาเสนอต่อ กกพ. เพื่อพิจารณาอนุมัติในการ จ่ายเงินให้กองทุนพัฒนาไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศต่อไป

ES : ไม่ทราบว่าตอนนี้มีการจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ ไปบ้างแล้ว หรือยังครับ? รองฯ : ยังค่ะ ตอนนี้ยังไม่มีการจ่ายเงินเข้ากองทุนฯ เพราะเพิ่งจะ มีการแต่งตั้ง คพรฟ. ไป 17 ชุด ช่วงนี้ กกพ. ก็รอ คพรฟ. ด�ำเนินการเปิด บัญชี ท�ำแผนการใช้จ่ายเงินค่าบริหารจัดการ ซึ่งหากน�ำเสนอเข้ามา และได้รบั อนุมตั ิ เราก็สง่ เงินค่าบริหารจัดการไปให้กอ่ น โดยคาดว่าน่าจะเริม่ มีการโอนเงินในส่วนแรกนีไ้ ด้ภายในเดือนกุมภาพันธ์ หรือมีนาคมนี้ หลังจากนัน้ คพรฟ. ก็ จ ะต้ อ งรี บจั ด ท� ำ แผนงานประจ� ำ ปี ที่ร วมถึงค่าใช้จ่ายในการ ด�ำเนินโครงการชุมชน เสนอผูว้ า่ ราชการจังหวัดและ กกพ. พิจารณาอนุมตั ิ ก่อนจัดสรรเงินให้ คพรฟ. เป็นรายไตรมาสต่อไป ES : หลังจากที่มีการจ่ายเงินไปแล้ว กกพ. มีการตรวจสอบ ติดตามหรือไม่อย่างไร? รองฯ : แน่นอนค่ะ เราต้องมีกระบวนการในการตรวจสอบอยู่แล้ว โดย กกพ. ได้กำ� หนดให้กองทุนในพืน้ ทีป่ ระกาศมีการประชุมทุก 3 เดือน เพือ่ ติดตามความคืบหน้าว่าโครงการชุมชนต่างๆ ที่ใช้เงินกองทุนไปด�ำเนินการ นั้นเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นกระบวนการในลักษณะที่ให้ประชาชนและชุมชน เข้ามามีสว่ นร่วมในการติดตาม และตรวจสอบการใช้จา่ ยเงินกองทุนพัฒนา ไฟฟ้าในพื้นที่ประกาศ ให้มีความชัดเจน โปร่งใสขึ้น และ คพรฟ. ก็จะต้องมี การรายงานผลมายังส�ำนักงาน กกพ. เป็นระยะ เพื่อประกอบการโอนเงิน ให้กับพื้นที่เป็นรายไตรมาส หากเขารายงานมาและมีความคืบหน้าในการ ด�ำเนินงาน เราก็จะโอนเงินให้ในงวดถัดไป แต่ถ้าถามแล้วไม่มีความคืบหน้า หรือไม่ได้คำ� ตอบอะไร ส�ำนักงานฯ ก็อาจชะลอการโอนเงินไว้ชวั่ คราวจนกว่า จะมีการรายงานเข้ามาได้ แต่เงินก็จะไม่หายไปไหน ก็จะยังคงอยู่ มีการ แยกบัญชีชัดเจน มีการบริหารจัดการอย่างดี โปร่งใส และสามารถ ตรวจสอบได้

April 2012 l 43


Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร

Urban Farm Urban Barn : UFUB โครงการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวใหกบั ชุมชนเมือง

ปจจุบันหลักการออกแบบนอกจากคํานึงทิศทางลมทิศทางแดด อุปกรณเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน และสิง่ แวดลอมทีอ่ ยูร อบขางแลว การ ออกแบบยังไดคาํ นึงถึงการดําเนินชีวติ ของคนในยุคปจจุบนั ดวยเชนกัน ซึง่ หลายอยางในการใชชีวิตของคนสมัยใหมจะเปนในรูปแบบสําเร็จรูป โดย เฉพาะเรองของการบริโภคอาหารการกิน ซึ่งเด็กๆ สมัยใหมโตขึ้นมาพรอมกับเทคโนโลยีทันสมัยจนแทบจะไมรู วาพืชผักที่กินอยูมาจากไหน การออกมาภายนอกหองแอรในวันหยุดดูจะ เปนเรองยากสําหรับชีวิตของเด็กในกรุงเทพฯ นอกจากบานแลว พอแมก็ พาไปเรียนเสริม และเขาหางสรรพสินคา โลกจะแคบลงทุกที จะมีทางเลือก ที่ดีกวานี้หรือไม ถาเด็กเหลานี้ตองเปนผูที่ดูแลโลกเราตอไป จากปจจัยดังกลาวสถาปนิกผูออกแบบจึงไดออกแบบโครงการ UFUB จะเปนเหมือน Hub ของสังคม คนที่อยากเขาใจ อยากรู อยากเลือก สิง่ ดีๆ ใหกบั รางกาย และจิตใจ ดวยระยะทางที่ ไมไกลจากใจกลางกรุงเทพฯ จุดประสงคของโครงการ คือ การปลูกจิตสํานึกในแหลงที่มาของอาหาร จากธรรมชาติ, รูสึกรับผิดชอบตอพลังงาน และทรัพยากรที่มีจํากัด, การ ดูแลกําจัดขยะที่เราสรางขึ้น, การเลือกสิ่งที่ดีสําหรับชีวิต ซึ่ ง เป น แนวทางความคิ ด สี เ ขี ย วที่ ทั น สมั ย สํ า หรั บ ชุ ม ชนเมื อ ง

โครงการ Urban Farm Urban Barn (UFUB) เปน Community Mall ที่ ตระหนักถึงสิ่งแวดลอม และชุมชน เพอการพัฒนาอยางยั่งยืน ไมวาจะ เปนการออกแบบโครงสราง หรือสภาพแวดลอมในโครงการ นําทีมโดย ดร.สิงห อินทรชูโต ออกแบบรวมกับ บริษทั สถาปนิกคิดดี จํากัด ภายใต แนวคิด Food Security (ความมัน่ คงทางอาหาร) และ Net-zero-water นอกจากนี้แลวจุดเดนของโครงการอีกอยางคือการนําหลัก 3 – Re มาชวยในการออกแบบเพอเกิดการประหยัดพลังงาน เชน Recycle ดวย

44 l April 2012

Energy#41_p44-45_Pro3.indd 44

3/16/12 11:08 PM


การนําวัสดุเหลือใชจากการกอสรางไมวาจะเปนซากคอนกรีต หรือสิ่งของ ตางๆ ที่ ไมมีประโยชนแลว นํากลับมาใชใหมใหเกิดประโยชน โดยใชเปนสวน ประกอบของตัวอาคาร หรือถนน Reuse ดวยการนําวัสดุจาํ พวกไม กระจก และวัสดุเหลือใชตางๆ กลับมาใชใหมในโครงการ Reduce ดวยการลดความฟุมเฟอยในการใชน้ํา และพลังงานไฟฟา หันกลับมาใชพลังงานธรรมชาติ จากลม หรือแสงจากดวงอาทิตย โดย ภายในโครงการ จะเนนพื้นที่ Outdoor ใหลูกคาไดสัมผัสใกลชิดกับพื้นที่สี เขียวใหมากที่สุด ซึ่งเปนการชวย Repair เมืองที่มีปญหาดานมลพิษ โดยโครงการ UFUB จะแบงออกเปน 3 สวน สวนแรก จะเปน Urbarn Barn มีลักษณะ เปนอาคาร 3 อาคาร โดยดานบนดาดฟาจะทํา อางเก็บน้ํา เพอนําไปใชในกิจกรรมตางๆ ภายในอาคาร เชน การปลูกตนไม โดยระหวางอาคารจะมีทางเชอม ซึ่งจะทําหนาที่เปนทางเดินเชอมตอ และ ทอสงน้ํากระจายไปทั่วอาคาร โดยน้ําที่ ใชแลวบางสวน จะนํามาบําบัดดวย พืชน้ํา แบบ Living Machine โดยไมตองใชสารเคมีในการบําบัด เพอนํา น้ําที่ผานการบําบัดแลวน้ํากลับมาใช สําหรับการรดน้ําตนไม สวนที่สองเปน Urban Market ซึ่งเปนตลาด หรือลานกิจกรรมให คนในชุมชน หรือคนภายนอกที่สนใจมาแลกเปลี่ยนสินคาโดยตรง ไมตอง ผานพอคาคนกลาง ซึ่งนอกจากผูบริโภคไดรับสินคาสดใหมแลว ผูบริโภค ยังไดซื้อสินคาในราคายุติธรรม

จุดเดนดานสถาปตยกรรม คือ การใชประโยชนรวมกันระหวางพื้นที่ คาขาย และพื้นที่เพาะปลูก โดยสวนลานนี้จะเปนลานซึ่งประกอบดวย โครงสรางเสาที่มีลักษณะเปนกรวยทําหนาที่รองรับน้ําฝน และกระจายน้ํา ไปยังพืชไมเลื้อยที่ปลูกเพอคลุมโครงสราง เชน ฟกขาว เพอความสวยงาม และสรางรมเงาใหกับผูคนที่อยูในลานแหงนี้ สวนสุดทายเปน Urban Kitchen มีลักษณะเปนโรงเรือนสาธิตการ ปลูกผัก รวมถึงรองสวนที่มีการปลูกพืชผักทางการเกษตร ซึ่งเปดใหคน เมืองสามารถเขามาสัมผัส และรับรูถึงธรรมชาติที่อยูใกลตัวเรา เปนแหลง เรียนรูสําหรับเด็กๆ และทุกคนในครอบครัว อีกทั้งยังเปนพื้นที่เขียวใหกับ ชุ ม ชน ผลผลิ ต จากแปลงผั ก ดั ง กล า ว จะถู ก ป อ นเข า สู ร า นอาหาร โดยผูออกแบบจะออกแบบใหตั้งอยูกลางสวนเปนอาคาร 2 ชั้น โดยชั้นบน จะเปนพื้นที่รานอาหาร และชั้นลางจะเปนโรงเรือนเพาะเห็ด ซึ่งผลผลิตพืช ผัก และเห็ดนี้ สวนหนึ่งจะสงใหทางรานอาหารเพอไปประกอบอาหาร ทําให ผูบริโภคไดรับประทานอาหารที่สด ใหม และหากผลผลิตเหลือ จะถูกสงไป ยัง Urban Market เพอใหบุคคลตางๆ สามารถจับจาย และไดของสดไว ประกอบอาหารที่บาน จุดเดนทางสถาปตยกรรม ไดแรงบันดาลใจมาจาก การธรรมชาติ ซึ่งเปนการเลื้อยแบบรูปรางของใบไม โดยโครงสรางนี้จะมี การเพาะปลูกไมพุมในกระถางที่วางเรียงรายกันเพอสรางความสวยงาม และใหเกิดรมเงา เรียกไดวา เปนการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวใหกบั ชุมชนเมืองและความสดใหม ของอาหารในสังคมเมือง และยังสามารถชวยลดการใชน้ํา ขั้นตอนการ ขนส่ ง อาหารจากแหล่ง อื่ น ถือ เป็ นการประหยั ดทรั พ ยากรธรรมชาติ พลังงาน และอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางมากครับ

April 2012 l 45

Energy#41_p44-45_Pro3.indd 45

3/16/12 11:08 PM


Residential โดย : รังสรรค อรัญมิตร

“ECO Space” สไตล Eco Chic. ไลฟสไตลการใชชีวิตของคุณเปนเชนไร ชอบการใชชีวิตแบบใด อยู ในเมืองหรืออยูชานเมือง หรืออาจจะชอบใชชีวิตอยูตามชนบทพึ่งพาอาศัย ความเปนธรรมชาติอยูบ นความพอเพียง แตดว ยปจจัยการใชชวี ติ บนความ เปนจริงของคนเมืองแลว ณ ปจจุบนั นีห้ ลายคนมองหาความเปนธรรมชาติ มองหาที่ พั ก ที่ อ ยู  อ าศั ย ที่ ใ ส ใ จในเรื่ อ งของการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิง่ แวดลอม ภายใตสงิ่ อํานวยความสะดวกสบายในการใชชวี ติ การเดินทาง เพื่อตอบสนองความตองการ การใชชีวิตของตนเอง คอนโดมิ เ นี ย มนั้ น เป น ที่ พั ก ที่ อ ยู  อ าศั ย อี ก รู ป แบบหนึ่ ง ที่ ส ามารถ ตอบสนอง Life Style คนรุนใหมหรือตอบสนองการใชชีวิตของคนเมืองได เปนอยางดี ซึ่งจะเห็นไดวาปจจุบันคอนโดมิเนียมรวมถึงทาวนโฮมนั้นผุด ขึ้นมากมายราวกับดอกเห็ด และในหลายโครงการตางก็ตระหนักถึงการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเพื่อใหสอดคลองกับภาวะโลกปจจุบัน และ เพื่อตอบโจทย Life Style การใชชีวิตของคนเมือง ฉะนั้นเราลองไปดูสิวา ทาวนโฮมสมัยใหมนั้นมีแนวทางการรักษโลกกันอยางไรบาง

“ECO Space” ทาวนโฮม ลดโลกรอน เปนอีกโครงการหนึ่ง ที่ไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม ภายใตแนวคิด ทาวนโฮมสมัยใหมในสไตล Eco Chic กับคอมมูนติ สี้ ขี าวแหงแรกทีค่ ดิ ตาง โดย ทาวนโฮมแหงนี้ไดรับการออกแบบใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ดวยการใช

46 l April 2012

Energy#41_p46-47_Pro3.indd 46

4/4/12 1:43 PM


ระบบไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย (Solar cell) สําหรับไฟสองทางสวน กลาง พรอมกับติดตั้งใหกับตัวบานอีกดวย ซึ่งนับเปนทาวนโฮมโครงการ แรกที่มีการใชระบบ Solar cell นอกจากนี้ภายในตัวบานยังเนนการออกแบบใหมีความโปรง โลง สบาย สามารถรับแสงและลมจากภายนอกสูภายในบานไดอยางทั่วถึง ซึ่งเปนแนวทางชวยประหยัดการใชพลังงานอีกทางหนึ่ง พรอมลดการ สิ้นเปลืองทรัพยากรธรรมชาติดวยสุขภัณฑประหยัดนํ้า และการเลือก ใชวัสดุทดแทนไม โดยเนนใหมีความสวยงามและมีความทันสมัยในทุกๆ รายละเอียดในการออกแบบ ใหประหยัดพลังงาน และการจัดวางพื้นที่ ใชสอยที่สอดคลองกับ Life Style ของคนรุนใหม พรอมรองรับพื้นที่การ ใชสอยที่กวาง หองนอน 3 หองนํ้า 3 ที่จอดรถ 2 คันตอยูนิต โดยหนา บานกวาง 5 เมตรที่เพิ่มความสะดวกสบายในการจอดรถ โดยโครงการมีพื้นที่ 9 ไร ติดถนนเกษตร-นวมินทร (ตัดใหม) ที่พิเศษเฉพาะเพียง 112 ยูนิต ในทําเลที่ใกลแหลงอํานวยความสะดวกทั้ง โรงเรียน หางสรรพสินคา และโรงพยาบาบาล โดยมีโครงขายคมนาคม ที่มีประสิทธิภาพ เชน วงแหวนรอบนอกและทางดวน มีสโมสร และสวน หยอม ไว สํ า หรั บ พั ก ผ อ นหย อ นใจพร อ มด ว ยธรรมชาติ ที่ ส วยงาม

เพิ่มความกวางของหองและปรับเปลี่ยนการใชงาน ของหองไดตามใจชอบ รองรับ Lifestyle ของแตละ ครอบครัว ในทุกหองเนนใหมีหนาตางที่กวางเพื่อ ชวยใหการระบายอากาศและการรับแสงธรรมชาติ เปนไปอยางเพียงพอ ใหทุกพื้นที่ของหองไมทึบแสง ไมอึดอัด การจัดวางผังโครงการ ออกแบบพิเศษ ใหบานสวนใหญหันหนาทิศเหนือและทิศใต เพื่อให เปดรับลมธรรมชาติไดอยางทั่วถึง สะทอนความเปน มิตรกับสิ่งแวดลอมและครบครันดวยการประหยัด พลังงานครับ พรอมกันนี้ “ ECO Space” ยังมีสิ่งอํานวย ความสะดวกและระบบรั ก ษาความปลอดภั ย แบบ ครบครันไมวาจะเปน สระวายนํ้า สวนสวนกลาง Securities 24 ชั่วโมง ระบบ Double Security ประตูทางเขา – ออก โครงการ 2 ชั้น ระบบ Key Card Access เขา – ออกโครงการดวย Key Card รปภ. ที่จะคอย ตรวจตรา และดูแลรักษาความปลอดภัยตลอด 24 ชม. ระบบ CCTV บริเวณหนาปอม รปภ. นี่จึงเปนอีกหนึ่ง Life Style ของคนรุนใหมที่ใสใจการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอม และเลมตอไปเพื่อใหเขากับบรรยากาศหนารอน ผมเตรียมแผนพาทานผูอานหาสถานที่พักผอนกันแถวริมทะเลครับ...แลว ติดตามกันนะ

April 2012 l 47

Energy#41_p46-47_Pro3.indd 47

4/4/12 1:43 PM


Energy Management

หลักการเลือกบัลลาสต์และ โคมประหยัด

http://www.green.in.th/node/2712

ฉบับทีแ่ ลวเราพูดถึงแนวทางการอนุรกั ษพลังงานในระบบแสงสวาง ซึ่งก็จะมีตัวระบบอุปกรณหรือตัวหลอดไฟที่เรียกวาเปนพระเอกของงาน ในฉบับนีจ้ ะพาไปดูวธิ กี ารเลือกบัลลาสตทีถ่ กู ตอง วามีหลักการอยางไรบาง ..เพอใหทานนําความรูไปใชประโยชนได

หลักการเลือกบัลลาสต

บัลลาสต คือ อุปกรณที่ทําหนาที่ควบคุมกระแสไฟฟาที่ผานเขาไปที่ หลอดใหมีความเหมาะสมและสม่ําเสมอตามแตประเภทและชนิดของหลอด โดยสวนมากใชกบั หลอดประเภทฟลูออเรสเซนตและหลอดประเภทคายประจุ ความดันสูงโดยแบงบัลลาสตออกไดเปน 3 ชนิดหลักๆ คือ 1. บัลลาสตขดลวดแกนเหล็กแบบธรรมดา เปนบัลลาสตที่ ใช

กันแพรหลาย เมอกระแสไฟฟาผาน ขดลวดทีพ่ นั รอบแกนเหล็ก จะทําให แกนเหล็กรอน ทําใหมีพลังงานสูญเสียประมาณ 20% ของพลังงานที่ จายใหระบบแสงสวางโดยเฉลี่ยจะอยูประมาณ 10-14 วัตต อุณภูมิขณะ การใชงานจะอยูที่ชวง 55 - 70°C ใหคาประกอบกําลังต่ํา(pf) 2. บั ล ลาสต ข ดลวดแกนเหล็ ก ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง หรื อ บัลลาสตโลลอส เปนบัลลาสตที่ทําดวยแกนเหล็ก และขดลวดที่มีคุณภาพ ดีทําใหมีการสูญเสียพลังงานจะลดลงเหลือ 5-6 วัตต อุณภูมิขณะการใช งานต่ํากวาแบบแกนเหล็กธรรมดาโดยจะอยูที่ชวง 35 - 50°C ใหคา ประกอบกําลังต่ํา(pf) 3. บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส เปนบัลลาสตที่ทําดวย ชุดวงจร

48 l April 2012

Energy#41_p48-50_Pro3.indd 48

3/21/12 9:38 PM


อิเล็กทรอนิกส มีการสูญเสียพลังงานนอยประมาณ 1-2 วัตต เปดติดทันที ไมกระพริบ ไมตองใชสตารทเตอร ไมมีเสียงรบกวน ทําใหอายุการใชงาน ของหลอดแสงสวางนานขึ้น 2 เทา ของหลอดแสงสวางที่ ใชรวมกับ บัลลาสตแกนเหล็กธรรมดา ดังนั้นหากมีชั่วโมงการใชงานตอวันมาก ควรเลือกใชบัลลาสตอิเล็กทรอนิกส เพราะนอกจากจะชวยประหยัดไฟแลว ยังมีประโยชนอีกหลายอยาง ดังที่กลาวมาขางตน แตในการเลือกซื้อและ เลือกใชควรตวจสอบมาตรฐาน และวัสดุชิ้นสวนอิเลคทรอนิกสเพราะไม อยางนั้นอาจจะมีผลกระทบเรองฮาโมนิคเพิ่มเติมในระบบไฟฟา

หลักการเลือกโคมไฟสองสวาง

โคมไฟสองสวาง เปนอุปกรณที่ ใชในการควบคุมทิศทางของการ สองสวางใหเหมาะสมและไมทําใหเกิดความไมสบายตาในการมองสิ่งตางๆ โดยโคมที่มีประสิทธิภาพสูงจะไมดูดกลืนหรือกักแสงไว แตจะชวยในการลด จํานวนหลอดแสงสวางไดในขณะที่ความสวางคงเดิม เชน จากเดิมใช หลอดไฟ 4 หลอดตอ 1 โคม จะลดลงเหลือ 2 หลอดตอ 1 โคม โดยที่ แสงสวางที่สองลงมาจะยังเทาเดิม โดยทั่วไปมักใชหลอดฟลูออเรสเซนต ตามอาคารสํานักงาน หางสรรพสินคา

การออกแบบระบบแสงสวางใหเหมาะสม

- ควรออกแบบใหมีความสวางเหมาะสมกับลักษณะหรือประเภทงาน ไม ม ากหรื อ น อ ยเกิ น ไประดั บ ความสว า งได ต ามมาตรฐานวิ ศ วกรรม สองสวาง หากแสงสวางมากเกินไปอาจหาวิธีการลดหลอดเชนจาก 4 หลอดอาจจะเหลือ 2 หลอดก็ ไดแตโดยทั่วไปการที่จะทําการลดหลอด ที เ ดี ย วเลยนั้ น จะมี ผ ลทางจิ ต วิ ท ยากั บ คนทํ า งานเพราะเป น การลด ความสวางจากเดิมทันทีทําใหเขารูสึกวาไมคอยสวาง แตที่จริงแลวแสงยัง อยู ในมาตรฐานดังนั้นควรที่จะเริ่มที่การปรับหรี่โดยใชอุปกรณหรี่แสง (Dimmer) ปรับลดกอนเชน อุปกรณ OPTILUX

http://www.industrialaid.com/individuals.asp

- ควรเลือกสีของหลอดไฟใหเหมาะสมกับลักษณะงาน เพอใหเกิด ความสบายตาและมองเห็นสีของวัตถุไดถูกตองตามความเปนจริงและชวย ลดอุบัติเหตุ เชน แสงสีขาวเหมาะกับการอานหนังสือ แสงสีสมเหมาะกับ สองสินคาในหางสรรพสินคาเปนตน - การควบคุมการเปดปดไฟใหเปนไปตามชวงเวลาตามความเหมาะสม ของแตละพื้นที่ - ควรออกแบบใหกําลังไฟฟาติดตั้งไมเกินมารตฐานที่กําหนดใน พระราชบัญญัติ การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535 - ใชแสงธรรมชาติ(Daylight Utilization)จากหลังคา จะชวยลด จํานวนหลอดแสงสวาง ชวยประหยัดคาไฟและคาบํารุงรักษา แตกระจก ที่ ใชควรเปนกระจก 2 ชั้น หรือกระจกติดฟลมเพอลดความรอนจากแสงอาทิตยที่เขามาดวย เหมาะกับหองโถงตามโรงแรม หางสรรพสินคา และ โรงงาน - ใชแสงธรรมชาติจากบริเวณริมกระจกหนาตางรวมกับแสงจาก หลอดแสงสวาง โดยใชโฟโตเซลลเปนตัวตรวจสอบระดับแสง ถาแสง ธรรมชาติมากเพียงพอ หลอดแสงสวางบางสวน จะถูกปด หรือหรี่แสงลง เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ผู้ ใช้ เ กิ ด ความรู้ สึ ก เปลี่ ย นแปลงมากนั ก เหมาะกั บ บริ เ วณที่ ทํางานใกลหนาตางในอาคารสํานักงาน

การบํารุงรักษาอุปกรณ ไฟฟาแสงสวางใหสม่ําเสมอ

http://www.uniserv.cmu.ac.th/html/OldnewsNov.html

เมอใชงานระบบไฟฟาแสงสวางเปนระยะเวลานานๆ จะพบวาความ สวางจะลดลงตามระยะเวลาเนองจากความเสอมสภาพของอุปกรณในระบบ แสงสวางไมวา จะเปนความเสอมสภาพของหลอดไฟ ความเสอมสภาพของ โคมกระจายแสง บัลลาสตสตารตเตอร ฝุนหรือสิ่งสกปรกเขามาเกาะที่ หลอดหรือโคมและอนๆ ซึง่ สงผลตอความสวางของระบบ ดังนัน้ การบํารุงรักษาที่สม่ําเสมอ หมั่นตรวจเช็คระบบอยูเรอยๆ นอกจากจะชวยใหระบบคง สภาพการใชงานไดดีมีประสิทธิภาพแลวยังชวยประหยัดคาใชจายในการ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบโดยไมจําเปนอีกดวย - ตรวจสอบแรงดันไฟฟาใหมคี า ทีเ่ หมาะสม เนองจากเมอแรงดัน April 2012 l 49

Energy#41_p48-50_Pro3.indd 49

3/21/12 9:38 PM


ไฟฟามีการเปลีย่ นแปลงจากคาพิกดั ของตัวอุปกรณและหลอดไฟแลวจะสงผล ตอประสิทธิภาพการสองสวางและฟลักซของการสองสวาง ดังนั้นจึง ตองหมั่นตรวจสอบแรงดับของระบบไฟฟาอยูเสมอ เชน หลอดไฟที่อยู บริเวณปลายทางของวงจรมักจะมีแรงดันต่ํากวาตนทาง โดยเฉพาะหลอด ที่เปนแบบคายประจุความดันสูงที่ใชบัลลาสตแบบ Reactor ธรรมดาซึ่งจะ ทําใหคา ตัวประกอบกําลังต่าํ ดวย ทําใหแรงดันตกมาก กระแสในวงจรนัน้ สูง สายไฟร้อนแก้ ได้ด้วยการต่อคาปาซิเตอร์เพื่อแก้ ไขค่าตัวประกอบกําลัง ชวยใหแรงดันตกที่ปลายทางมีคานอยลงกระแสในวงจรลดลงสายไมรอน - เลือกใชบัลลาสต ใหเหมาะสมกับชนิดของหลอดไฟ โดยบัลลาสตแตละชนิดแตละประเภทจะระบุการใชงานวาใชงานกับ หลอดไฟชนิดใด ดังนั้นการเลือกใชงานบัลลาสตควรดูวาจะนําไปใชกับ หลอดชนิดไดเพราะหากนําไปใชกับหลอดผิดประเภทก็จะมีผลตอฟลักซของ ความสองสวางและอายุการใชงานของหลอดดวย และควรเลือกบัลลาสต ที่มีความสูญเสียนอย http://www.changok.com/member/view

- เลือกโคมไฟที่มีประสิทธิภาพสูง เนองจากเมอใชงานไปเปนเวลานานๆ ประสิทธภาพของโคมก็จะ เปลี่ยนไปเสื่อมสภาพตามอายุการใช้งาน เช่น แผ่นสะท้อนแสงหมอง ผิวขรุขระ ฝาครอบชํารุดเปนตน ดังนั้นการเลือกโคมที่มีประสิทธิภาพสูง ใชวัสดุคุณภาพดี ในการทําและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ที่นําไปใชงานก็จะ ชวยใหใชงานไดนานขึ้น ชวยลดคาใชจายไดอีกทาง - ควรดู แ ลรั ก ษาทํ า ความสะอาดหลอดไฟและโคมไฟให สม่ําเสมอ โดยมีแผน PM เปนชวงเวลาที่แนนอน นอกจากนี้ยังตองระมัดระวัง ไมใหฝา เพดาน ผนังสกปรกหรือหมองคล้ําดวยเพราะองคประกอบเหลานี้ มีผลกระทบตอความสวางดวย

- ควรเปลี่ยนหลอดแสงสวางเปนกลุมแทนที่จะเปลี่ยนทุกครั้ง เมอหลอดเสีย จะชวยประหยัดคาใชจา ยจากคาแรงทีล่ ดลงจากการซือ้ เปนจํานวนมาก และยังทําใหความสวางคงที่หรือดีขึ้นอยูเสมอ ระยะเวลาที่ควรเปลี่ยน หลอดไฟใหไดผลคุมคาคือ เมอรอยละ 60-80 ของอายุการใชงานหลอด “การอนุรักษพลังงาน” ไมวาจะเปนกับระบบแสงสวาง ระบบ ทําความเย็นหรือระบบใดๆ ก็ตามแตจะประสบผลสําเร็จไดนั้นนอกจากจะ ดวยการคัดสรรอุปกรณทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง หรือแมแตการติดตัง้ อุปกรณ ประหยัดพลังงานกับระบบตางๆ แลวสิ่งที่สําคัญอยางยิ่งนั่นก็คือการได รับความรวมมือจากทุกคนทุกภาคสวนขององคกรของหนวยงาน ใหรูสึก วาเสมือนหนึ่งเคาเปนสวนหนึ่งและเปนเจาของมันเอง และประโยชนที่จะได รับกลับมานั้นไมเพียงกลับมาที่หนวยงานหรือองคกรเทานั้น ยังสงผลตอ ทุกๆในองคกรดวยดังที่มีการกลาวไววา “องคกรจะเขมแข็งเมอทุกคน รวมแรงกัน”

ที่มา :

1. เอกสารประกอบการฝกอบรมการจัดการพลังงานไฟฟา กองฝกอบรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน 2. เว็บไซต www.dede-energyfund.com/ ศูนยอํานวยการ โครงการเงิ น หมุ น เวี ย นเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน กรมพั ฒ นา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน 3. สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

50 l April 2012

Energy#41_p48-50_Pro3.indd 50

3/21/12 9:38 PM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ขาวดีๆ สําหรับวงการกรีนโปรดักสก็ยังมีกันอยางตอเนอง สําหรับบริษัทยักษ ใหญที่ตางพากัน ชูแนวคิดอนุรักษสิ่งแวดลอมและผลิตสินคาที่ชวยลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ หรือแมแตการนํา วัสดุที่ยอยสลายยากมาทําการผลิตเปนสินคาใหมๆ ซึ่งนับไดวาเปนกระแสของโลกในยุคนี้ที่นอกจาก การแสวงหากําไรแลวยังตองคํานึงถึงเรองการทําลายสิ่งแวดลอมอีกดวย

“STAEDTLER WOPEX PENCIL” นวัตกรรมการเขียนเพื่อสิ่งแวดล้อม เปดตัวไปเมอไมนานมานี้ สํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ดิ น สอ อนุรกั ษสิง่ แวดลอมนวัตกรรม แรกของโลกในวงการเครอง เ ขี ย น ภ า ย ใ ต้ ชื่ อ STAEDTLER WOPEX PENCIL (ดินสอสเต็ดเลอ รวูเปกซ) WOPEX คือนวัตกรรม การผลิตดินสอในแนวทางเพอ ก า ร อ นุ รั ก ษ์ เ นื่ อ ง จ า ก ใ ช้ กระบวนการผลิตแบบอัดขึ้นรูปเปน แทงดินสอสําเร็จในครั้งเดียว ใน

การผลิตดินสอ WOPEX ที่มีความยาวถึง 225.21 เมตร จากความรวมมือ ของพนักงานจํานวน 56 คน ซึ่งถือเปนการทําลาย สถิ ติ โ ลกครั้ ง ก่ อ นเมื่ อ ปี 2007 และได รั บ การ บั น ทึ ก ส ถิ ติ โ ด ย GUINNESS WORLD RECORDS อีกดวย ซึ่งดินสอแทงดังกลาวไดตัด แบงเพอนําไปมอบใหแกเด็กในพื้นที่หางไกลของประเทศเยอรมนี และดวย คุณสมบัติอันโดดเดน นวัตกรรมดินสอ WOPEX จึงไดรับรางวัล DESIGN PLUS MAETERAL VISION จากประเทศเยอรมนี เนองจากเปนผลิตภัณฑ ที่เลือกใชวัสดุที่ดีตอระบบนิเวศน ออกแบบและผลิตขึ้นโดยใชทรัพยากร อย า งรู คุ ณ ค า และเกิ ด ประโยชน สู ง สุ ด ควบคู ไ ปกั บ การเป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอม

อดี ต การตั ด ต น ไม 1 ตน นําไมมาผลิตดินสอ ไ ด เ พี ย ง 2 0 % แ ต น วั ต ก ร ร ม WOPEX สามารถนําไมมาผลิตดินสอไดสูง ถึง 80% นอกจากนี้ ดินสอ WOPEX ยังไมใชสารละลายในการผลิต นับเปนวัตกรรมที่ลดการ ใชทรัพยากรและถนอมสุขภาพ แตยงั คงประสิทธิภาพสูงสุดดวยคุณสมบัติ การใชงานไดยาวนานกวาเดิมถึง 2 เทา เนองจากกระบวนการบดอัดและ ขึ้นรูปดินสอกอใหเกิดความคงทน แข็งแรง ไสดินสอไมหักงาย และใชงาน ไดสบายมือเนองจากดินสอ WOPEX มีพื้นผิวที่นุมเหมือนกํามะหยี่อีกดวย ดินสอ WOPEX ไดรับการเปดตัวครั้งแรกอยางยิ่งใหญในประเทศ เยอรมนี เมอวันที่ 15 กันยายน 2011 โดยสเต็ดเลอรทําลายสถิติโลกดวย Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

April 2012 l 51

Energy#41_p51,53_Pro3.indd 51

3/16/12 11:18 PM


Energy#39_p49_Pro3.ai

1

1/26/12

4:12 PM


“ไนกี้” เปดตัวสุดยอดนวัตกรรม กีฬาดวยแนวคิดเพอสิ่งแวดลอม

เปนเวลากวา 20 ปแลวที่ ไน กี้มุงมั่นผลิตนวัตกรรมอันล้ําหนาให กับนักกีฬาทัง้ หลาย โดยไดสรางสรรค ผลิตภัณฑที่ทั้งชวยเสริมสมรรถนะของ นักกีฬาใหโดดเดนเหนือใคร และยังชวยลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมที่นับเปนสวนหนึ่งของแนวคิด “ไนกี้ เบ็ทเทอร เวิลด” (Nike Better World) โดยมีการนํา นวัตกรรมเขามามีสวนรวมอยูในทุกกระบวนการของ การออกแบบผลิตภัณฑและการผลิตตัง้ แตขัน้ ตอนแรก เพอใหมั่นใจวาวัสดุที่เรานํามาใชนั้นจะเปนมิตรตอสิ่ง แวดลอม ชวยลดของเสีย และขจัดการใชสารพิษ ไนกี้ ไดปฏิวัติแนวคิดดานความยั่งยืนเพอสิ่งแวดลอมสูผลิตภัณฑ เสริมประสิทธิภาพการเลนกีฬา วิสัยทัศนของไนกี้ คือการสรางวงจรปด หรือ Closed Loop ซึ่งก็คือการนําวัสดุจากรองเทาหรือเสื้อเกาๆ มาแปร สภาพใหเปนผลิตภัณฑใหม ดวยการคนหาวิธีการสรางความยั่งยืนอยาง ไมหยุดยั้งของเรา ทําใหเกิดสองนวัตกรรมสะทานวงการกีฬาของ ไนกี้ ได ถือกําเนิดขึ้น ไดแก ไนกี้ ฟลายนิท (Nike Flyknit) และการใชวัสดุ โพลีเอสเตอรรีไซเคิลจากขวดน้ําพลาสติกกับผลิตภัณฑกีฬาตาง ๆ ไนกี้ เปดตัวรองเทากีฬาน้าํ หนักเบา ไนกี้ ฟลายนิท เรเซอร (NIKE Flyknit Racer) และ ไนกี้ ฟลายนิท เทรนเนอร (NIKE Flyknit Trainer) เพราะไนกี้เชอวาในการออกแบบเพออนาคตนั้น จําเปนตอง สรางสรรคผลิตภัณฑดวยกรรมวิธีใหมที่ ไมเคยมีมากอนตั้งแตวันนี้ นวัตกรรมของไนกี้นั้นอยูที่ขั้นตอนการผลิตรองเทาไนกี้ ฟลายนิท เพราะเราใชแตวัสดุที่จําเปนในการถักทอสวนบนของรองเทา โดยปกติแลว

ขั้นตอนการผลิตรองเทาจะตองใชวัสดุมากมายและ ตองมีการตัดแตงวัสดุครั้งแลวครั้งเลา แตสําหรับ การผลิตรองเทาไนกี้ ฟลายนิท นี้ มีการลดปริมาณ ของเหลือทิ้งดวยการใชเสนใยพิเศษที่ถักทอเขาดวย กันจนเปนสวนบนของรองเทา โดยใหคุณสมบัติทั้ง ความเบาและการเขารูปไดอยางกระชับพอดี ไนกี้สามารถออกแบบผลิตภัณฑไดเหนือใคร ดวยการใชขวดพลาสติกแบบเพ็ท (PET) ที่ ใชแลวมา รีไซเคิล ดวยการนํามาหลอมละลายเปนเสนใยพิเศษ เพอใชในการสรางผลิตภัณฑเสริมสมรรถนะกีฬา โดย กระบวนนี้ชวยลดการใชวัตถุดิบและลดการใชพลังงานไดประมาณ 30 % เมอเทียบกับการผลิตเสนใยโพลีเอสเตอรใหมทั้งหมด ในปนี้ ไนกี้ ไดตอยอด การพัฒนาเทคโนโลยีนี้ ไปอีกขั้น ดวยการผลิตเนื้อผาสําหรับกางเกงบาส เก็ตบอลไนกี้ ไฮเปอร เอลิท โดยใชวัสดุโพลีเอสเตอรรีไซเคิลทั้ง 100% ถวน ในขณะเดียวกัน เนื้อผาที่นํามาตัดเสื้อกีฬาในคอลเลคชั่นเดียวกันนี้ก็ ใชวัสดุโพลีเอสเตอรรีไซเคิลถึง 96% ทําใหชุดกีฬาไนกี้ ไฮเปอร เอลิท 1 ชุด ชวยกําจัดขวดน้ําพลาสติกไปได เฉลี่ยถึง 22 ใบตอชุด สวนในวงการฟุตบอล ไนกี้ก็ ได เปดตัวชุดทีมชาติที่ผลิตโดยใชวัสดุทํา จากขวดพลาสติกเฉลีย่ ถึง 13 ใบตอชุด ซึ่งประกอบดวยกางเกงขาสั้นที่ทําจาก โพลีเอสเตอรรีไซเคิลลวนทั้ง 100% และเสื้ อ บอลที่ ใ ช วั ส ดุ โ พลี เ อสเตอร รีไซเคิลถึง 96% ทําใหการผลิตชุดกีฬา ฟุตบอลสําหรับปนี้ ใชขวดพลาสติกในกระบวนการรวมทั้งสิ้นประมาณ 16 ลานขวด ซึ่งเปนจํานวนมากพอที่จะใสเต็มสนามฟุตบอลถึง 28 สนามเลย ทีเดียว นอกจากนี้ เนื้อผาสําหรับคอลเลคชั่นไนกี้ โปร เทอรโบสปด (Nike Pro TurboSpeed) ก็ผลิตมาจากวัสดุโพลีเอสเตอรรีไซเคิลประมาณ 82% ซึ่งคิดเปนจํานวนขวดพลาสติกเฉลี่ย 13 ใบตอชุด หลักการของแนวคิด “ไนกี้ เบ็ทเทอร เวิลด” นี้ นอกจากจะชวย สนองความตองการของนักกีฬาแลว ยังเปนการตอบสนองความตองการ ของโลกไปในเวลาเดียวกันดวย

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

April 2012 l 53

Energy#41_p51,53_Pro3.indd 53

3/16/12 11:18 PM


Greenovation โดย : SuKiYaKi

This Traffic Light Is Always Gree การออกแบบเจาสิ่งประดิษฐนี้ ไมใชเพียงทําใหมันเปน Green ตลอดเวลาเทานั้น แตมันยังชวยประหยัดพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เพราะสัญญาณไฟพลังงานแสงอาทิตยอันนี้ ไดออกแบบมาโดยใช เทคโนโลยีหลอดไฟ LED โดยสัญญาณไฟทั้ง 3 สี แดง เขียว เหลือง จะ อยู ในดวงเดียวกัน อีกทั้งแผนโซลาร เซลล์ ที่ อ ยู่ ส่ ว นบนตั ว เครื่ อ งนั่ น ยั ง ออกแบบมาอยางสวยงามอีกดวย โดย สัญญาณไฟพลังงานแสงอาทิตยนี้ถูก ออกแบบโดย Cheng-Tsung Feng, YaoChieh Lin และ Bo-Jin Wang

Bridgestone’s New Air-Free Tires are 100% Recyclable

ปญหายางแตกและการตองมานั่งปะยาง กําลังจะกลายเปนอดีตไป ตามกระแสซึ่งเริ่ม โดย Michelin อยางยางลอ Tweel ทาง Bridgestone เองก็เปดตัวลอรถแบบไมมีอากาศของ ตัวเองในงาน Tokyo Motor Show ที่ผานมา คอนเซปทยางไมมีอากาศของ Bridgestone รองรับดวยโครงซี่ลอซึ่งทํามาจากเรซิ่นแบบเทอรโมพลาสติก วัสดุชนิดนี้จะมีความยืดหยุน และคงทน รวมไปถึงสามารถนําไปรีไซเคิลได 100% ตัวคอนเซปทของยางปลอดอากาศที่ทาง Bridgestone นําไปโชวใน Tokyo Motor Show นัน้ มีขนาดเสนผาศูนยกลางเกานิว้ แตละลอมีความแข็งแรงทีจ่ ะรองรับน้าํ หนักประมาณ 150 กิโลกรัม อยางไรก็ตามยังมีปญหาที่สําคัญอยูในแบบของโครงลอ ซึ่งตองถูกปดไว เพอไมใหมีวัตถุไปฝงติดอยูกับโครงลอ จนถึงขณะนี้ทาง บริษัทก็ ไดเริ่มทดสอบลอปลอดอากาศตัวตนแบบกับพาหนะพลังงานไฟฟาขนาดเล็กหนึ่งที่นั่งแลว และมีแผนจะพัฒนาเทคโนโลยีตอไปเพอใชอยาง กวางขวางขึ้นในเชิงพาณิชย

The Eco-Bin Lets You Reuse Plastic Grocery Bags นอกจากความพยายามในการรักษาสิ่งแวดลอมอยางถึงที่สุดของเราแลว บางครั้งเราก็ยัง คงพบวาเรามีถุงพลาสติกจากการจับจายซื้อของติดมือเรามาอยูดี ในขณะที่บางคนโยนพวกมันทิ้ง ลงถังขยะโดยไมคิดอะไร ถัง Eco-bin จะมอบ ทางเลือกในการนําถุงพลาสติกเหลานั้น กลับ มาใชไหมเปนถุงขยะได จากการออกแบบโดย Stephen Reon Francisco ถังเหลานี้นอกจาก จะนํามาซอนกันไดแลว ยังมีใหเลือกหลากหลายสีสัน ดังนั้นคุณสามารถเลือกใชแตละสีในการ แยกและจัดเก็บขยะรีไซเคิลของคุณได โดยถังแตละใบจะรองรับถุงไดประมาณ 5-10 ใบ ขึ้นอยู กับความหนา 54 l April 2012

Energy#41_p54-56_Pro3.indd 54

3/21/12 9:03 PM


Energy#40_p92_Pro3.ai

1

2/21/12

3:36 PM


Swing Along Green Power

Giraffe Street Lamp หรือ ยีราฟโคมไฟถนน อันนี้เปนอะไรที่นารักและ Green ไปพรอมกันอยางเหลือ เชอ เพราะในการแกวงแตละครั้งของเจายีราฟนี้จะชวย ใหเกิดแสงสวางในตอนกลางคืน และมันยังมีความ สามารถมากกวานั้น เพราะมันสามารถนําพลังงานจาก แสงอาทิตยมาใชประโยชนไดอีกดวย โดยแผงโซลาร เซลลจะดูดซับพลังงานมากขึ้นจากการแกวงในแตละครั้ง เจายีราฟตัวนี้เปนการออกแบบที่ฉลาดมากที่ผสม ผสานการเลนเขากับแงคิดในการดูแลสิ่งแวดลอมของเมือง ซึ่งไมแนคนในยุคอนาคตอาจไดใชมันก็เปนได Giraffe Street Lamp ออกแบบโดย Chen Wei และ Lu Yanxin

Solar Capsules Capsuli คือเครองชารจไฟฉุกเฉินพลังงานแสงอาทิตยโดยใชหลอด LED ที่มี ขนาดเล็กมากขนาดที่จะเอาไปวางไวบนมือคุณได และถึงมันจะเล็กแตก็สวางมาก โดย แตละแคปซูลจะวางอยูบนแทนชารจที่เอาแผนโซลารเซลลมาประกอบ คุณสามารถเปด ไฟไดดวยการบิดแคปซูล แมวาตอนนี้มันเปนเพียงแคคอนเซปตใน ทางเทคนิคนั้นยังไมสามารถทําไดแตยังไงมันก็ เปนไอเดียที่นาสนใจ เพราะนอกจากที่เราจะได ใชพลังงานสะอาดแลวนั้น มันยังสามารถใชเปน อุปกรณฉุกเฉินไดอีกดวย Capsuli ออกแบบโดย Ukseop Jeong และ Hanna Son

Electree Solar-Charging Bonsai

Solar-Charging Bonsai ถูกออกแบบใหมีหนาตาเปนตนไมเล็กๆ ขนาดเทากับตนบอนไซที่เราเห็นกันทั่วไป จึงสามารถวางเขาไดกับทุกพื้นที่ เชน โตะเล็กๆ ริมหนาตาง มีใบเปนที่ผลิตพลังงานแสงอาทิตย จํานวน 27 ใบ ตัวลําตนทําจากวัสดุพอตซเลนเนื้อดีสีขาวนวล สามารถจัดแตงกิ่งกานไดตาม ที่ ต้ อ งการเพื่ อ ให้ เ ข้ า กั บ พื้ น ที่ ใน ส ว นฐานของต น บอนไซ ที่ เ ป น ก ระถางก็ จ ะเป น พื้ น ที่ สํ า หรั บ วาง อุปกรณขณะชารตแบต (Charging Station) อีกดวย Solar-Charging Bonsai เปนผลงานของ Vivien Muller

56 l April 2012

Energy#41_p54-56_Pro3.indd 56

3/21/12 9:03 PM


Green Space

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

โครงการ “ฝกอบรมการจัดการ

สิ่ ง แวดล อ มและป อ งกั น มลพิษที่ยั่งยืน”

มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดลอมไทย รวมกับ บริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย จํากัด และ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม ไดเปดตัวโครงการ ฝกอบรม “การจัดการสิ่งแวดลอมและการปองกันมลพิษที่ยั่งยืน สําหรับ Train the Trainer” เพอเสริมสรางศักยภาพของบุคลากรให พัฒนาเปนวิทยากรดานการปองกันปญหามลพิษที่ตนทางอยางเปนระบบ โดยการถายทอดองคความรู การสรางความตระหนัก และความเขาใจเกีย่ ว กับการใชหลักการของแนวคิดแบบลีน (Lean) เพอการจัดการองคกร และ สามารถนําแนวคิดดังกลาวมาประยุกตใชกับการจัดการดานสิ่งแวดลอม พลังงาน และความปลอดภัยภายในโรงงานใหมปี ระสิทธิภาพอยางตอเนอง และยั่งยืนได ทั้งนี้รูปแบบการฝกอบรมจะใชการบรรยายทางวิชาการ โดย วิทยากรผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน จากมหาวิทยาลัยตางๆ ที่มีชอเสียงรวม ถายทอดองคความรูเกี่ยวกับหลักการและแนวทางการจัดการสิ่งแวดลอม สําหรับอุตสาหกรรม เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้ และ สามารถนําไปประยุกตใชในการจัดการดานสิ่งแวดลอมและการปองกัน มลพิษไดอยางมีประสิทธิภาพ โครงการฝกอบรมการจัดการสิง่ แวดลอมและปองกันมลพิษทีย่ งั่ ยืน จะเปดการฝกอบรม ในหลักสูตรตางๆ ใหกับบุคลากรและผูประกอบการ อุตสาหกรรมทั่วไปตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2555 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2555 โดยไดมีการจัดหลักสูตรการฝกอบรมไวทั้งสิ้น 26 รุน ครอบคลุม กลุมอุตสาหกรรมหลักในประเทศไทย ไดแก อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรม สิ่งทอ อุตสาหกรรมเครองดม อุตสาหกรรมเซรามิก อุตสาหกรรมเกี่ยว กับโลหะ และอุตสาหกรรมรายสาขาทั่วไป โดยไมมีคาใชจายในการเขารวม การฝกอบรมใดๆ ทัง้ สิน้ ทัง้ นี้ ไดตัง้ เปาหมายใหการฝกอบรมบุคลากรดาน การจัดการสิง่ แวดลอมในโรงงาน นักวิชาการ ผูป ระกอบการอุตสาหกรรม ตางๆ จํานวน 2,000 คน ภายในป 2555 เพอขยายองคความรูดานการ จัดการสิ่งแวดลอมและปองกันมลพิษอยางยั่งยืน พรอมเพิ่มขีดความ สามารถในการแขงขันทางธุรกิจใหภาคอุตสาหกรรมไทยในตลาดโลก ภาย ใตนโยบายอุตสาหกรรมสีเขียวของกระทรวงอุตสาหกรรม โครงการฝกอบรมการจัดการสิง่ แวดลอมและการปองกัน มลพิษทีย่ ัง่ ยืนนี้ นับเปนการดําเนินงานเชิงรุกและการวางรากฐาน ระยะยาวดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมใหกับภาคอุตสาหกรรม ไทย และเป น โครงการที่ มี ค วามสอดคล อ งกั บ นโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม ที่ ไดเริ่ม โครงการอุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว (Green

Industry) ซึ่งมุงเนนในการสงเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมใหเติบโต และพัฒนาอยางตอเนองสูการเปนอุตสาหกรรมสีเขียวใน 5 ระดับ ไดแก ระดับที่ 1 ความมุงมั่นสีเขียว (Green Commitment) ระดับที่ 2 ปฏิบัติ การสีเขียว (Green Activity) ระดับที่ 3 ระบบสีเขียว (Green System) ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) และระดับที่ 5 เครือขายสี เขียว (Green Network) ผูสนใจเขารวมโครงการฝกอบรมฯ ในหลักสูตรตางๆ ดัง กล า วเบื้ อ งต น สามารถติ ด ต อ ขอรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม หรื อ สามารถลงทะเบียนลวงหนาไดที่สวนฝกอบรม มูลนิธิสถาบันสิ่ง แวดลอมไทย โทรศัพท 02-503-3333 ตอ 504, 515 และ 517 หรื อ สามารถดาวน โ หลดข อ มู ล โครงการฯ ผ า นทาง เว็บไซต http://www.tei.or.th/trainingdow/ April 2012 l 57

Energy#41_p57-58_Pro3.indd 57

3/16/12 11:22 PM


“เปเปอรเรนเจอร”

ฮีโรกูชีพกระดาษ

โครงการคื น ชี พ ให กระดาษ (Paper ranger) ไดถือกําเนิดขึ้นมาจากเยาวชน กลุ่มหนึ่งเมื่อปี พ.ศ. 2550 และดํ า เนิ น งานภายใต บ า น จิตอาสา มูลนิธิบูรณะชนบท แหงประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ จากนั้นก็เกิดความเปลี่ยนแปลงและไดตอยอดจากความคิด เล็กๆ แลวเติบโตขึ้นมาเปนโครงการดีดีเพอสังคม โดยในป พ.ศ. 2552 ทางโครงการไดรับโอกาสที่ดีจาก “มูลนิธิสยามกัมมาจล ธนาคารไทย พาณิชย” ดําเนินการสนับสนุนงบประมาณในการทํากิจกรรมตลอดทั้งป โดยมุง เนนและปลูกฝงใหเยาวชนเกิดความมีจติ อาสาและหวงใยสิง่ แวดลอม รวมถึงรูจักวิธีการทํางานดานอาสาสมัครโดยเริ่มตนงายๆ ที่สถาบัน ของตนเอง ซึ่งไดมีการรณรงคไปตามโรงเรียนมัธยมฯ และมหาวิทยาลัย หลายแหง โครงการคืนชีพใหกระดาษ (Paper ranger) นีเ้ ปนการตอบโจทย สําหรับบุคคลทั่วไปที่มีกระดาษหนาเดียวเหลือใช จะนํามาใชก็ ไมหมด ชั่ง กิโลขายก็ ไมคุม จะทิ้งก็เสียดาย โดยเกือบทุกโรงเรียน มหาวิทยาลัย และสํานักงานตางๆ จะมีเหลือ ทิ้งเปนจํานวนมาก ทั้งที่ความเปนจริงแลวยังเหลือหนาใชงานไดอีกดาน หนึ่งกอนเขาสูกระบวนการรีไซเคิล โดยโครงการฯ จะรับบริจาคกระดาษ A4 ใชแลวหนาเดียว จะถูกนํา

เขาระบบแปรรูปมาใชใหม กลายเปนสมุดจด ไดอารี่ และสมุดฉีกที่นาใชนา เก็บ เพอนํากลับมาขายใหกับผูที่สนใจดวยราคาที่ถูกกวา และนําไปบริจาค กับเด็กและเยาวชนที่ขาดแคลน “สมุดที่ ไม ใชเพียงสมุด” แตมีเรองราวเปนการอนุรักษธรรมชาติ ที่สะดวกและแสนงาย เปนการจัดการทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ลดการทําลายปา รวมกันอนุรักษธรรมชาติและปลูกจิตสํานึกผานแนวคิด ใกลตัว ในขณะเดียวกันก็เปนการแบงปนน้ําใจสูผูที่ขาดโอกาสอีกดวย หากท า นผู อ า นท า นใดที่ ส นใจบริ จ าคกระดาษ หรื อ สนั บ สนุ น โครงการโดยการสั่งซื้อสมุดจากโครงการเปเปอรเรนเจอร สามารถติดตอ ไดที่ โทร. 0896704600 หรือ http://paperranger.in.th/ โดยเงินที่ ได จากการจัดจําหนายหลังหักคาใชจาย จะใชเพอระดมทุนออกคายอาสากับ กลุมนักศึกษาอาสาสมัคร และสนับสนุนแกผูดอยโอกาสทางสังคมตอไป งานนี้นอกจากจะไดอนุรักษสิ่งแวดลอมแลว ยังไดความรูสึก ที่ดีจากการชวยเหลือและใหโอกาสกับผูที่ดอยโอกาสอีกดวย

58 l April 2012

Energy#41_p57-58_Pro3.indd 58

3/16/12 11:22 PM


Green Vision

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ธนา ลิมปยารยะ

การประหยัดพลังงาน คือการรวมพลังของหนวยเล็กๆ สําหรับ ENERGY SAVING ฉบับนีเ้ ราก็ไดกรีนไอดอลอยาง คุณธนา ลิมปยารยะ หรือ เชน อดีตสมาชิกวงไนซ ทู มีท ยู ที่ปจจุบันเปนศิลปน เดีย่ วในคายอารเอสและยังเปนพิธกี รรายการสมรภูมไิ อเดีย ชอง 3 อีกดวย แมเบื้องหนาหลายคนเห็นเชนเปนนักรอง เปนไอดอลแบบนี้ แตจริงๆ แลวเบือ้ งหลังของทีบ่ า นเชนนัน้ เปนอุตสาหกรรมสิง่ ทอครบวงจร และชีวติ ก็ จะวนเวียนอยูกับเรื่องของคาไฟ ตนทุนการผลิตเหลานี้ตั้งแตเด็กๆ โดยเชน ไดเลาเรื่องราวโรงงานของตนวาไดเขารวมกิจกรรมกับหนวยงานตางๆ ที่ เกี่ยวกับพวก Save World เพื่อชวยในการลดคาใชจาย ลดคาไฟในหลาย กิจกรรม และสวนตัวเองเชนเองในดานนักรองนั้นก็ ไดเขารวมกิจกรรม CSR เพื่อทําประโยชนใหสังคมหลายกิจกรรม โดยลาสุดก็เปนเรื่องของ การทําฝายกั้นนํ้าอีกดวย “จริงๆ แลวเวลาที่เราใชชีวิตประจําวันเนี่ย อาจจะไมไดสนใจเรื่อง คาไฟมากนัก แตอยางผมที่บานเปนโรงงานเนี่ยก็จะเห็นรายละเอียดเยอะ ขึ้น ถึงแมจะเปนหนวยเล็กๆ แตพอมันรวมกันแลวก็จะเปนกอนขึ้นมา ครั้ง แรกที่ผมรูเรื่องคาไฟของที่บานก็คือชวงประถม ตอนนั้นกําลังเรียนเรื่องใบ เสร็จคาไฟอยู โดยคุณครูก็จะใหเอาใบเสร็จคาไฟมาเปนการบาน ผมก็เอา ของโรงงานมา จําไดวาปนั้นคาไฟของโรงงานประมาณ 3 แสนกวาบาท เพื่อนๆ ก็จะตกใจมาก ทําใหเราเริ่มสนใจวาทําไมคาไฟของบานเราถึงแพง จัง ในขณะที่ของคนอื่นแค 300-500 บาทเทานั้นเอง หลังจากตอนนั้นซึ่ง ก็เปนยุคชวงป 40 ดวย ก็ทําใหเราตองประหยัดมากถึงมากที่สุด คืออยาง เวลาที่เราตื่นมาใกลจะสวาง เราก็ปดแอรนอน บางครั้งตองปดไฟมืดเลย ก็มี คือเราอยากชวยครอบครัวดวย เราเปนสเกลใหญพอเริ่มประหยัด ถึง แมจะเล็กๆ นอยๆ แตมันก็เห็นผล อยางคาไฟเฉพาะในสวนของบานผม จาก 4 พันกวาบาทก็เหลือ 3 พันกวาบาท ณ ปจจุบันโรงงานของเรามี คาไฟลานกวาบาท แตพอเราเริ่มมีโครงการในโรงงานเกี่ยวกับเรื่องการ ประหยัดพลังงาน ก็ทําใหเราประหยัดไปไดหลายแสนเหมือนกัน” เชนกลาว “อยางสมัยที่ผมเรียนอยูที่ธรรมศาสตรจะมีอยูชวงหนึ่งที่เขาเนน เรื่องคาไฟเหมือนกัน โดยที่ธรรมศาสตรรังสิตทุกปเวลาที่จายคาไฟ เขา ก็จะมีปายอันใหญๆ มาแปะที่ตึกเรียนรวมวาคาไฟของธรรมชาติปนี้กี่บาท และปที่แลวกี่บาท ซึ่งมันก็จะลดลงทุกป นอกจากนี้ก็ยังมีรายละเอียดวาคา แอรของตึกนี้เทาไหร คาไฟเทาไหร ซึ่งก็ทําใหนักศึกษาชวยกันปดไฟ ปด แอรหลังเลิกคลาสเรียน ผมอยากใหทุกๆ ทําแบบนี้มากกวา” April 2012 l 59

Energy#41_p59_Pro3.indd 59

4/2/12 11:38 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

สาเหตุของการเกิดหมอกควันในประเทศไทย มีหลาย สาเหตุดวยกัน ไดแก

http://awrightg301.blogspot.com/2011/03/blog-post-6-air-polution.html

ถอดบทเรี ย น ปญหาหมอกควัน ปญหาหมอกควัน วันนี้นับจะทวีความรุนแรง โดยเฉพาะจังหวัดทาง ภาคเหนือที่มีการเผาในที่โลง ปญหานี้เกิดขึ้นมาตั้งแตตนป 2555 สงผล กระทบตอประชาชนในหลายดาน โดยเฉพาะดานสุขภาพที่สูดควันพิษเขาไป นับเดือน จะหายใจติดขัด แสบตา เมอสูดควันเขาไปมากเปนระยะเวลานาน จะทําใหเกิดเปนโรคมะเร็งปอดได ปญหานี้ ไดกระทบตอการทองเที่ยวใน ภาคเหนือ กลายเปนปญหาระดับชาติไปแลวทีร่ ฐั บาลตองเขาไปแกไข เพราะ หนวยงานในระดับทองถิ่นรับมือไมไดในหลายพื้นที่ แมจะมีความพยายาม ในการเฝาระวังปองกัน และติดตามสถานการณอยางใกลชิด แตภาวะ หมอกควันยังคงมีความรุนแรง ปญหาหมอกควัน เปนมลพิษทางอากาศที่หมายถึงคามลสารใน บรรยากาศ เชน ฝุนละอองและสารที่มาจากการเผาไหม ขนาดต่ํากวา 10 ไมครอนมีปริมาณมากกวา 120 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร หมอกควัน จัดไดวาเปนมลพิษทางอากาศที่สําคัญของภาคเหนือ เปนผลผลิตของ กระบวนการเผาไหมหรือสันดาปที่ ไมสมบูรณ เปนตนกําเนิดของสารมลพิษ ทางอากาศที่ฝงตัวอยูกับอนุภาคฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน เมอ เขาไปในปอดแลว ไมสามารถขับออกมาได สารมลพิษกลุมที่มีจํานวนชนิด มากที่ สุ ด เป็ น สารประกอบอิ น ทรี ย์ ที่ มี ชื่ อ ว่ า พอลิ ไ ซคลิ ก อะโรมาติ ก ไฮโดรคารบอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons) ที่มักเรียกชอวา พีเอเอช หรือพาห (PAH) ซึ่งมีสารสมาชิกไมนอยกวาสิบชนิดที่เปนสารกอ มะเร็ง และแทบทุกชนิดเปนสารที่คงอยูในสิ่งแวดลอมไดนาน ไมสลายตัว ไดงาย

• ไฟปา • การเผาเศษพืชและเศษวัสดุการเกษตร • การเผาขยะมูลฝอยจากชุมชน • การเผาวัชพืชริมถนน • มลพิษจากอุตสาหกรรม จากสาเหตุดังกลาว สวนสําคัญมาจากคน โดยเฉพาะการเผาปาที่ เกิดจากคนบุกรุกพื้นที่ เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหการเผาปายังคงดําเนิน อยู แมในทางธรรมชาติจะเกิดฝนตกบางเพอลดปญาหาหมอกควัน ในวัน นี้คงจะทําอะไรไมไดมาก การเผาปายังดําเนินตอไป และในพื้นที่ภาคเหนือมี การเผาบนภูเขาและกระแสลมพัดลงสูเมือง ทําใหเกิดการสะสมของมลพิษ จากหมอกควันคอนขางสูงอยางที่เราทราบดีกันอยูในขณะนี้

ผลกระทบทางดานสุขภาพ

ผลกระทบทางดานสุขภาพจากมลพิษทางอากาศโดยทั่วไป ไดแก การรูสึกระคายเคืองหรือแสบตา ภาวะการหายใจไมสะดวก โดยเฉพาะกับ ผูที่เปนโรคหอบหืดมีความเสี่ยงที่จะมีอาการทรุดหนักถึงขั้น เสียชีวิตได เนองจากขีดความสามารถในการทํางานของปอดลดลงอยางรวดเร็ว และ แมวาอาจจะไมเสียชีวิตดวยโรคหอบหืด แตในระยะยาว มักจะเสียชีวิตดวย โรคมะเร็งปอด โดยเฉพาะในเขตอําเภอสารภีและอําเภอหางดง จังหวัด เชียงใหม ในระยะประมาณ 10 ปที่ผานมา มีผูปวยเปนมะเร็งรายใหมรายป ในอัตรา 40 : 100,000 คน ซึ่งถือวาสูงเปน 2 เทาของอัตราเฉลี่ยของ ประเทศไทย ที่ตกปละ 20 : 100,000 คน (ที่มา : ศูนยอนามัยและ สิ่งแวดลอม คณะแพทยศาสตร ม.เชียงใหม)

http://www.blogher.com/pollution-and-your-skin

60 l April 2012

Energy#41_p60-61_Pro3.indd 60

3/21/12 8:58 PM


http://paipibat.com/?tag=%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9B%E 0%B9%88%E0%B8%B2

ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจ

ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะในปที่มีหมอกควัน มากกวาปกติ มีสวนทําใหรายไดเขาสูภาคธุรกิจทองเที่ยวลดลงอยาง กะทันหันได ชวงใดที่ประสบปญหามลพิษทางอากาศ หากจํานวนผูมา ทองเที่ยวจังหวัดเชียงใหมลดลง ก็จะสงผลถึงภาวะการวางงานของ ประชาชนจํานวนมากได

ผลกระทบทางดานอนๆ

ปญหามลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะจากหมอกควัน ทําใหโครงการ พํานักระยะยาวเชนที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย ไดรับผลกระทบที่ยาวนาน โดยที่ ไมอาจจัดทําการประชาสัมพันธมาทดแทนได นอกจากนี้ ยังมีผลทําให งบประมาณตางๆ ที่สมควรมาจัดสรรเพอการพัฒนาจังหวัดในดานอนๆ ตองถูกปรับมาใชเพอการปองกันแกไขปญหาอันเนองมาจากมลพิษทาง อากาศ ภาพลักษณของจังหวัดภาคเหนือในขณะนี้ ในรูปแบบของเมืองใน หมอกควัน อาจจะเปนภาพที่ปหนึ่งมีไมกี่ครั้ง แตก็เปนภาพที่หลอกหลอน สําหรับผูที่ ไมอาศัยอยูในเมืองใหญนานพอ และเปนภาพที่ยากที่จะลบออก ไปจากความทรงจําของผูม าเยือนที่ ไดมาประสบกับภาวการณดงั กลาวดวย ตนเองพอดี หรือแมกระทั่งผูที่ ไดเห็นภาพเมืองในหมอกควันทางโทรทัศน หรือ หนังสือพิมพ

ถอดบทเรียน ปญหาหมอกควัน

จากที่ ไดกลาวมาแลว บทเรียนคือการเกิดซ้ําซาก ของการเผาไหม จากภาคการเกษตร การบุกรุกพื้นที่เพอทําการเกษตร การใชประโยชนจาก การเผาไหม ในหลายลักษณะ การลดคาจางแรงงานในการแผวทางพื้นที่ ลวนแตเปนเหตุใหเกิดหมอกควันในเขตเมือง ขาดความตระหนักและความ

เขาใจในการลดการเผาในที่โลง และตองสรางความรวมมือในระหวาง ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ มี ก ารเผาในที่ โ ล่ ง ด้ ว ย การสร้ า งความตระหนั ก เปนบทเรียนสําคัญที่ตองใหประชาชนเห็นความสําคัญของผลกระทบจาก การเผาในที่โลงที่มีผลกระทบตอสุขภาพ การเฝาระวังเปนบทเรียนหนึ่งที่ ประชาชนตองมีสวนรวมในการระวังการเผา การเกิดไฟปา การเลือก เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเพาะปลูกโดยลดการเผาในที่โลง บทเรียนสําคัญ คือการรวมแรงรวมใจของหนวยงานตางๆ ที่ เกี่ยวของ เพอการปองกันและชวยสนับสนุนในการดับไฟปา ตั้งแตตนทาง จนเมอเกิดการลุกลามในวงกวาง การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ในพื้นที่เสี่ยง สงเสริมการปลูกไมโตเร็วเพอทดแทนปาที่สูญเสีย จากไฟปา และการเผา บทสรุปของการจัดการปญหาหมอกควันคือการสรางความเขาใจ และความรวมมือ โดยเนนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนทั้งภาคประชาชน หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ การปองกันจะเปนวิธีการที่เปนการจัดการที่ ยั่งยืน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งขณะนี้หลายฝายเรียกรองใหมีการจัดการ หมอกควั น อย า งยั่ ง ยื น มากกว า การตามแก ไ ขป ญ หาที เ กิ ด ขึ้ น เช น ใน ปจจุบัน

http://www.en.mahidol.ac.th/thai/news/2009/01/06_02.html

เอกสารอางอิง กรมควบคุมมลพิษ แผนแมบทการลดการเผาในที่โลง 25492554 2009 ตุลาคม 2554 กรุงเทพฯ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม รายงานสถานการณสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2553 ตุลาคม 2554 กรุงเทพฯ April 2012 l 61

Energy#41_p60-61_Pro3.indd 61

3/21/12 8:59 PM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า น้ํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

ซึ่งเปนประเทศผูนําทางดานการพัฒนาเมืองแบบ ECO Town ที่ประสบ ความสําเร็จมากที่สุดประเทศหนึ่งในโลก ในปจจุบันนี้ทางประเทศญี่ปุนมี เมืองอุตสาหกรรมสีเขียวหรืออุตสาหกรรมเชิงนิเวศแบบ Eco Town ที่ เกิดขึ้นจริงแลวไมนอยกวา 26 แหง เนองจากรัฐบาลญี่ปุนมีนโยบาย 3 R ใหเปนนโยบายระดับชาติอยางจริงจังและตองการกาวเขาสูสังคมแบบ Zero waste รวมทั้งการสรางความสมดุลของ 3 Es ( Economy, Energy & Environment) เนองจากทางรัฐบาลญี่ปุน ตระหนักถึงการ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ ก า วกระโดด มากเกินไปและขาดการวางแผน ที่ ดี ทํ า ใ ห เ กิ ด ป ญ ห า สิ่งแวดลอมตามมา การ บริโภคพลังงานทีม่ ากเกิน พอดี ก อ ให เ กิ ด ป ญ หา โลกรอนและภัยธรรมชาติ

“สังคมไทยกําลังถวิลหา... อุตสาหกรรมทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม?” เนื่ อ งจากป ญ หาด า นมลพิ ษ ทางสิ่ ง แวดล อ มอั น สื บ เนื่ อ งมาจาก การเติบโตทางเศรษฐกิจและการกาวกระโดดสูสังคมอุตสาหกรรมอยาง รวดเร็วของสังคมไทยในชวงเวลาที่ผานมานั้น ทําใหสังคมไทยจําเปนตอง ทบทวนแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมของภาครัฐ เพอการกาวสูสังคมที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและลดการเกิดของเสียและมลพิษใหนอยที่สุด ทั้งนี้ แนวคิดของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมสีเขียวหรืออุตสาหกรรมเชิง นิเวศแบบ Eco Town นาจะเปนคําตอบที่ดีที่สุดคําตอบหนึ่งของสังคมไทย เนองจากมีตวั อยางของตางประเทศทีป่ ระสบความสําเร็จของการปฏิบตั ไิ ด จริงและเปนการปกปองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหยั่งยืน รวมทั้งเปนการฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีของชุมชนกลับคืนมาและชวย ลดผลกระทบในระยะยาวจากการเกิดภัยธรรมชาติ ปญหาการขาดแคลน ทรัพยากรที่นับวันก็มีแตทวีความรุนแรงมากขึ้น ทั้งนี้ผูเขียนอยากนําประสบการณมาแบงปนเลาใหฟง สืบเนองจาก การที่ เ คยได รั บ การพิ จ ารณาคั ด เลื อ กจากองค ก ร APO ( Asian Productivity Organization) ใหเปนตัวแทนของประเทศไทยไปอบรมดูงาน ดาน 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) และ Eco Town ที่ประเทศญี่ปุน

ดังนั้นการจัดการสมดุลของ 3Es ที่มีประสิทธิภาพก็จะเปนกุญแจสูกลไก การพัฒนาแบบยั่งยืน

แนวคิดเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศหรือ Eco Town แบบญี่ปุน

สื บ เนื่ อ งมาจากการประกาศใช ก ฎหมาย The Law for the Production of Effective Utilization of Recycled Resources ของญี่ปุน เมื่ อ ป ค.ศ. 1991 ซึ่ ง มี วั ต ถุ ป ระสงค ในการปรั บ ปรุ ง นโยบาย 3Rs ใหสามารถเพิ่มอัตราการรีไซเคิลของเสียเพอนําวัสดุกลับมาใชใหมใหได มากถึง 40% ภายในระยะเวลาปค.ศ. 2010 รวมทั้งจากการจัดประชุม Kyoto Protocol commitments ในป ค.ศ. 1997 ที่ประเทศญี่ปุน และการ เขารวมประชุม The Johannesburg Earth Summit ป ค.ศ. 2002 ที่ ประเทศแอฟริกาใต ทําใหประเทศญี่ปุนไดตระหนักถึงบทบาทการบริโภคและ การผลิตแบบยั่งยืนเพอลดการเกิดของเสียและมลพิษสิ่งแวดลอมใหนอย ที่สุด การลดการปลอยกาซเรือนกระจกเพอลดปญหาโลกรอน สําหรับ นโยบายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมแบบ Eco Town นั้น ญี่ปุนไดแนวคิด

62 l April 2012

Energy#41_p62-63_Pro3.indd 62

4/2/12 11:45 PM


Eco Town แลวไมนอยกวา 26 แหง สําหรับสวนประกอบโดยภาพรวม ของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศแบบ Eco Town ในประเทศญี่ปุนนั้น มีการ จัดตั้งศูนยกลางหรือโรงงานคัดแยกรีไซเคิลขยะมูลฝอยแบบครบวงจร สํ า หรั บ ของเสี ย หลายประเภทด ว ยกั น เช น โรงงานรี ไ ซเคิ ล อุ ป กรณ เครองใชไฟฟา โรงงานรีไซเคิลหลอดไฟ โรงงานรีไซเคิล โลหะ แกว พลาสติก โรงงานรีไซเคิลขยะอินทรีย รวมทั้งการจัดตั้งศูนยพัฒนางาน วิจัยดานการจัดการของเสียและการออกแบบผลิตภัณฑแบบเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ศูนยขอมูลเทคโนโลยีและขาวสาร และศูนยพัฒนาธุรกิจของ ขยะรีไซเคิล จากขอมูลงบการลงทุนสําหรับ Eco Town ของเมืองคิตาคิวชู ที่เปนหนึ่งในโครงการนํารองนั้นไดใชงบประมาณของการลงทุนประมาณ 43,000 ลานเยน ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากทางรัฐบาล มาจากขอเสนอริเริม่ ขององคกร UNEP ดานการพัฒนาอุตสาหกรรมอยาง ยั่งยืนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยมีวัตถุประสงคของการพัฒนาเมือง อุตสาหกรรมแบบ Eco Town ดังตอไปนี้ 1, การส ง เสริ ม แนวทางหมุ น เวี ย นทรั พ ยากรกลั บ มาใช ใ หม (Recycling) 2. การจั ด การของเสี ย แบบผสมผสาน (Integrated waste management) 3. การรักษานิเวศสิ่งแวดลอมแบบยั่งยืนโดยมุงเปาสูงสุดที่ Zero waste และ Zero emission ดังนัน้ นโยบายการสรางเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศแบบ Eco Town นั้ น มี ก ารกํ า หนดเป า หมายของนโยบายการส ง เสริ ม การหมุ น เวี ย น ทรั พ ยากรกลั บ มาใช ใหม เพื่ อ ใช ท รั พ ยากรอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด (Effective recycling) และเปนการลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นใหนอยที่สุด (Zero emission) รวมทั้ ง การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มเพื่ อ ให ส ามารถนํ า วั ต ถุ ดิ บ กลั บ มาใช ใหม ไ ด เ กื อ บทั้ ง หมด (Design for Environment) เพอเปนการลดการกําจัดของเสียโดยวิธีการ ฝงกลบใหมีปริมาณนอยที่สุด ประเทศญี่ปุนไดเริ่มดําเนินการสรางเมือง Eco Town จํานวน 4 แหงในป ค.ศ. 1997 ไดแก เมืองอีดะ เมืองคิตาคิวชู เมืองคาวาซากิ และ เมืองกิฟุ และในปจจุบนั ญีป่ ุน มีจาํ นวนของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศแบบ

การคัดแยกโลหะในโรงงานรี ไซเคิลโลหะ

การออกแบบชิ้ น ส ว นคอมพิ ว เตอร ให ส ามารถถอดแยกชิ้ น ส ว นได ง า ยเพื่ อ การนํากลับมาใชใหม

ดังนัน้ เปนโอกาสดีทสี่ งั คมไทยสามารถนําตัวอยางของโครงการเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศแบบ Eco Town ที่ประสบความสําเร็จแลวของญี่ปุน มาปรับใชใหเหมาะกับประเทศไทย เพอเปนการมุง สูเ สนทางของการลดของเสีย และการจัดการสิ่งแวดลอมและทรัพยากรแบบยั่งยืนในการเตรียมความ พรอมสูสังคมแบบ Low waste หรือ Zero waste ในอนาคตตอไป April 2012 l 63

Energy#41_p62-63_Pro3.indd 63

4/2/12 11:45 PM


Renergy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมบริษัท ราชาอีควิปเมนท จํากัด และประธานกลุ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งาน ทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

พมาวันนี้

เปนชนกลุมนอย (กลุมชาติพันธุ) และ 7 ภาค (Division) สําหรับ เขตที่ประชากรสวนใหญเปนเชื้อสายพมา ซึ่งไมตองสงสัยเลยวา ปญหาชนกลุม นอยทีก่ ลายมาเปนหอกขางแครของพมาในปจจุบนั ถา พูดถึงสภาพภูมิศาสตร พมานาจะเปนประเทศเล็กที่ ไดรับการจัดเต็ม ความสมบูรณดา นภูมศิ าสตร คือมีแมนา้ํ ภูเขา ชายฝง ทะเลยาวเหยียด เต็มไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ตอนเหนือของประเทศในฤดูหนาวจะ มีหิมะ พรอมเปนแหลงทองเที่ยว คนพื้นเมืองพมานอกจากผิวพรรณ ดีแลวยังมี Service Mind ไมตางจากคนไทย พมายังมีทรัพยากร สมบูรณทกุ ภาค วันใดทีม่ ถี นนตัดจากอินเดียผานพมาสูจ นี ดานธิเบต วันนัน้ พมาคือ HUB ของเอเชียทันที และเราคงจะเห็นปายโฆษณาที่สนามบิน สุวรรณภูมเิ ชิญชวนนักลงทุนวา “Invest Myanmar, invest HUB of Asia”

จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองแบบฉับพลัน ตามขาวที่ ทานไดรับทราบจากสอมวลชนทุกๆ แขนงไปแลว เสนหการลงทุนในพมา ของประเทศพั ฒ นาแล ว ทั่ ว ไป คงมุ ง ไปสู ก ารทํ า กํ า ไรจากทรั พ ยากรธรรมชาติ การลงทุนในสาธารณูปโภคที่ยังขาดแคลน และอีกนานัปการที่ พมาตองการ แตสําหรับคนไทยเราควรมองไปที่ความเปนเพอนบานที่มี พรมแดนยาวเหยียดกวา 2,000 กิโลเมตร ประวัตศิ าสตรทม่ี ตี อ กันยาวนาน ทัง้ นาชนชมและนาลืมเลือน วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ หนาตาผิวพรรณ ที่แยกไทยกับพมาแทบจะไมออก รวมไปดวยเปนสวนหนึ่งของการตัดสินใจ การลงทุนในพมา พมา HUB ของเอเชีย พมามีชออยางเปนทางการวา สาธารณรัฐ แหงสหภาพพมา (Republic of the Union of Myanmar) เปนประเทศใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต และคาบสมุทรอินโดจีน ซึ่งมีขนาดใหญที่สุด และ ที่ สํ า คั ญ พม า เป น ประเทศเดี ย วในโลกที่ มี พ รมแดนติ ด ต อ กั บ แหล ง อารยธรรมที่ยิ่งใหญที่สุดของเอเชียทั้ง 2 ประเทศ นั่นคือ จีน กับ อินเดีย เมอป พ.ศ.2552 ไดเปลี่ยนชอจาก Burma เปน Myanmar แตบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ยังไมยอมรับชอใหมนี้ สวนใน เนปดอร (Naypyidaw) เมืองหลวงใหมที่ยายจากยางกุงขึ้นเหนือไป ตองใชเวลา เดินทางจากยางกุงประมาณ 5 ชั่วโมง ถาเปนระยะเวลาทางบินก็ประมาณ 1 ชั่วโมง เดินทางสะดวกจากประเทศไทยเพราะมีหลายสายการบินรวมทั้ง การบินไทย ประชากรทั้ง 50 ลานคนของพมามีถึง 135 เผาพันธุ เชน พมา ไทยใหญ กะเหรี่ยง ยะไข จีน มอญ อินเดีย เปนตน นอกจากนี้พมายังมีความหลากหลายของภาษาและศาสนา ดาน เศรษฐกิจ พมาจัดอยูในกลุม ประเทศทีม่ กี ารพัฒนานอย (Less Developed) อาชีพหลักๆ คือ ดานเกษตรกรรม เหมืองแรและปาไม ดานการปกครอง พมาแบงการปกครองออกเปน 7 รัฐ (State) สําหรับเขตทีม่ ปี ระชากรสวนใหญ 64 l April 2012

Energy#41_p64-65_Pro3.indd 64

3/21/12 9:18 PM


จะไปพมาอานตรงนี้กอน ไมวาจะไปเที่ยวหรือไปลงทุน

ความนาลงทุนดานพลังงาน และพลังงานทดแทน

ดวยเหตุที่เคยเปนเมืองปด (แตมีมหาอํานาจหลายประเทศเขาประตู หลังแอบไปลงทุน) ทําใหการพัฒนาประเทศในดานสาธารณูปโภคยังลาหลัง พม า มี ท รั พ ยากรมากมาย ทั้ ง ก า ซธรรมชาติ ถ า นหิ น และ ชี ว มวล อยางเหลือลน แตขาดแคลนพลังงานไฟฟา ใครที่ ไปยางกุง วันนีล้ องสังเกต จะเห็นเครองกําเนิดไฟฟาตั้งอยูริมถนนตลอดทุกชุมชน เนองจากประมาณ 2 – 3 ปกอน มีการขาดแคลนไฟฟาอยางสาหัสในยางกุง ปจจุบันไทยกับ พมามีความสัมพันธทีด่ ขี ึน้ โดยเฉพาะอยางยิง่ รัฐบาลปจจุบนั และมีโครงการ ดานพลังงานตางๆ มากมายรวมกับไทย เชน โรงไฟฟาจากถานหิน และ จากกาซธรรมชาติที่มีอยูอยางมากมาย ปจจุบันไทยก็เปนลูกคาซื้อกาซ ธรรมชาติจากพมามาผลิตไฟฟาทางภาคเหนือ ดานพลังงานทดแทน พมา มีศักยภาพสูงกวาไทยทุกรูปแบบ ขาดความพรอมดานงบประมาณในการ อุดหนุนราคาพลังงานเทานั้น พลังงานทดแทนที่มีการลงนามในสัญญา เบื้องตนไวแลวสําหรับนักลงทุนไทยกับพมา ไดแก กังหันลมผลิตไฟฟาตาม แนวชายฝงทะเล ซึ่งเปนโครงการขนาดใหญ ตองใชเวลาพอสมควร และ โครงการ “พลังงานขยะ” ขนาด 20 MW ในนครยางกุงที่ ไดมีการลงนาม ในสัญญารวมทุนระหวางผูประกอบการไทยกับพมาเมอธันวาคม 2554 ที่ ผานมา คงมีคําถามวา ในเมอพลังงานทดแทนมีราคาสูงกวาพลังงานที่มา จากฟอสซิลแลวจะคุมคาการลงทุนในพมาหรือ เรองนี้ผูลงทุนคงตอง พิจารณาแตละพลังงานโดยดูจากจุดแข็งของพมาและนโยบายของรัฐบาล เชน พลังงานขยะ ภาครัฐมองที่กําจัดขยะเปนหลัก เชื้อเพลิงชีวภาพ พมา มีความพรอม มีวัตถุดิบ มีความตองการ เนองจากพมาไมมีบอน้ํามันดิบ

พมาถึงแมจะจัดอยูในกลุมประเทศยังพัฒนานอย แตคาครองชีพสูง เนื่ อ งจากต้ อ งนํ า เข้ า สิ น ค้ า จํ า เป็ น ต่ อ การอุ ป โภคบริ โ ภคเกื อ บทุ ก ชนิ ด โดยเฉพาะอยางยิ่งจากประเทศไทย ดังนั้นควรคิดใหดีถาจะไปอยูพมา “ถาอยูแบบเราๆ เหมือนตอนอยูในเมืองไทยคาครองชีพจะสูงมาก แตถา อยูแบบคนพมาตองถามตัวเองกอนวาทําไดไหม?” เงินจาดมี 2 ตลาด ราคาแตกตางกันเปนรอยเทา ซึ่งรัฐบาลกําลังจะประกาศใหเหลือตลาด เดียวในไมชานี้ นอกจากนี้ยังจะประกาศกฎระเบียบใหมๆ ที่เอื้อตอการลงทุน ในราวเมษายนนี้ คาแรงงานคนไรฝมือประมาณ 75 บาทตอวัน แรงงาน ฝมือประมาณ 100 – 200 บาทตอวัน การขนสงสินคาสูพมาราคาสูงมาก เนองจากสวนใหญเปนการสั่งสินคาเขาและไมมีสินคาสงออก วันนี้พมายัง ไมมี ATM คาหมายเลขโทรศัพทมือถือ 1 เบอร ประมาณ 20,000 บาท เปนแบบเติมเงิน แตโทรออกตางประเทศไมได Internet ตามโรงแรมใหญๆ พอใชได อาจจะชาไปหนอย แตไมเปนไร

หน ว ยงานส ง เสริ ม การลงทุ น หลั ก ในประเทศไทย ประกอบด ว ย กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย และ BOI โดย กระทรวงอุตสาหกรรม สวน One Stop Service ยังไมมี แตมสี ภาธุรกิจ ACMECS เพอพัฒนา อนุภมู ภิ าค 3 ลุม น้าํ คือ เจาพระยา อิรวดี และแมโขง ไมวา จะมีประเทศมหาอํานาจ ทุมทุนลงในพมามากสักเทาใด ไทยก็ยังมีแตมตอจากการคาชายแดนอัน ยาวนาน สินคาไทยเปนทีย่ อมรับของคนพมา ศิลปวัฒนธรรมไทยไหลสูพ มา ทางสอโทรทัศนและวิทยุ คนพมาสวนใหญอยากคาขายกับคนไทย เพียงแต รัฐบาลสงเสริมใหถกู ทาง เทานีก้ ารลงนามในพมาของไทยก็ไมแพใคร การไปลงทุนในพมานอกจากมีเงินทุนและ Know – how แลว ตอง Know – who ดวย (หุนสวนชาวพมาที่ดี) สําหรับ SME ที่ เถาแกไปเอง ควรจะคอยเปนคอยไป หาเพอนที่ดีกอนหาเงิน สวนผู บริหารมืออาชีพ (ลูกจางบริษัท) ซึ่งตองคํานึงถึงจุดคุมทุน ก็ไมควร ถือโอกาสในขณะทีพ่ มายังไมมกี ฎระเบียบทีช่ ดั เจนในการลงทุน สราง กําไรจนลืมดานสิ่งแวดลอม เพราะในที่สุดคนรุนใหมของพมาจะมา ตรวจสอบทาน ... เรามาเริ่มเรียนรูพมาทีละเล็กละนอย เริ่มตนที่คุณ “แจว” ที่บานหรือขางบานกอนดี ไหม? April 2012 l 65

Energy#41_p64-65_Pro3.indd 65

3/21/12 9:18 PM


Energy#41_Gekko_Pro3.ai

1

3/21/12

10:19 PM


Energy Tezh

Apple

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

จดสิ ท ธิ บั ต รเทคโนโลยี พลังงานแสงอาทิตย สําหรับผูท ต่ี ดิ ตามวงการไอที โดยเฉพาะสาวกของ Apple ตองขอบอก วานี่นับไดวาเปนขาวที่นาสนใจไมนอยเลย เพราะจะถือไดวาเปนการผสม ผสานเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดเขากับพลังงานสะอาดอยางโซลารเซลล นั่นเอง สํานักงานสิทธิบตั รและเครองหมายทางการคาของสหรัฐฯ ได เปดเผยวา Apple ไดสทิ ธิบตั รใหมกวา 20 สิทธิบตั ร ซึง่ เนนไปยังเทคโนโลยี ยุคใหมเกี่ยวกับพลังงานแสงอาทิตย จากขอมูลใน Patently Apple แลว นอกจากสิ ท ธิ บั ต รจะกล่ า วถึ ง เทคโนโลยี แ สงอาทิ ต ย์ ที่ ใ ช้ เ พื่ อ ยื ด อายุ แบตเตอรี่ ในอุปกรณคอมพิวเตอรสวนบุคคล แตยังรวมไปถึงการพัฒนา ผลิตภัณฑใหมๆ ที่นาสนใจอีกดวย เชน แผงสะทอนแสงดานหลังเครอง แบบพิเศษซึ่งใชแสงอาทิตยในการใหความสวางแกหนาจอ ซึ่งตามรูปวาดแบบจาก Apple จะเห็นไดวาแผงสะทอนแสงดานหลัง ไดใชกระจกหันไปทางดวงอาทิตยเพอนําแสงอาทิตยไปยังจอโดยตรง เพอ เสริมการทํางานของแสงดานหลังของจอ LED ดวยแสงจากธรรมชาติ โดยสิทธิบัตรนี้จะระบุชี้ ใหเห็นถึงการออกแบบของ Macbook ใน อนาคต ซึ่งมีแผงรับพลังงานจากแสง อาทิ ต ย และมี แ ผนการสํ า หรั บ กระบวนการเกี่ ย วข อ งกั บ เซลล พลังงานแสงอาทิตยแบบใหมๆ รวมไป ถึงอุปกรณการผลิตชิน้ สวนวงจรรวม กับสารเคมี แนวพลังงานแสงอาทิตย เหลานี้ยังสามารถนําไปใชในอุปกรณ

พกพาขนาดเล็ก ซึ่งจะทําใหแอปเปลสามารถพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย สําหรับชารจ iPhone และ iPad ไดในอนาคต แตสําหรับตอนนี้ยังคงตองย้ําเตือนกันกอนวาทั้งหมด ยังอยู ใน กระบวนการของสิทธิบัตรเทานั้น อาจจะเปนเวลาอีกหลายป กวาเราจะได เห็นผลิตภัณฑเหลานี้ออกมาใชจริง กระนั้ น ก็ นั บ เป็ น เรื่ อ งดี ที่ ไ ด้ เ ห็ น ว่ า Apple ไดมีความพยายามพัฒนาใน เรองเหลานี้ ซึ่งในอนาคตจะเปนการ ลดใชคารบอนจํานวนมากที่เกิดจาก อุ ป กรณ ที่ พ วกเราใช อ ยู ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ

April 2012 l 67

Energy#41_p67_Pro3.indd 67

3/21/12 9:32 PM


Vehicle Concept โดย : กองบรรณาธิการ

Rinspeed Dock+Go รถยนตสุดล้ําแหงอนาคต

Rinspeed ค า ยรถที่ มั ก จะมี อ ะไรล้ํ า ๆ มาโชว ใ ห เ ราได ทึ่ ง ไดประจักษกนั อยูท กุ ป และเปนธรรมเนียมสําหรับงานเจนีวา มอเตอรโชว คาย Rinspeed นี่แหละ ที่จะตองงัดเอาไมเด็ดไมตายมาทําโลกตะลึง สําหรับปน้ี ไมพลาดกับผลงานชิ้นโบวแดง ในชอวา ด็อก พลัส โก (Dock+Go) Dock+Go นั้นเกิดมาจากการต่อยอดทางความคิดเรื่องขนาดที่ กะทัดรัดเขาขายอีโคคาร แตมันจะตองอเนกประสงคในคราวเดียวกัน

68 l April 2012

Energy#41_p68-69_Pro3.indd 68

3/21/12 9:30 PM


แลวจะเปนไปไดหรือ? แนนอนวางานทีท่ า ทายแบบนี้ Rinspeed ไมอยากพลาด ซึง่ การตอยอดทางความคิดครัง้ นี้ คือการนําเอาซิตค้ี ารรนุ ดังของคายสมารท อย่ า งรุ่ น ฟอร์ ทู ม าเป็ น ต้ น แบบ เพราะเนื่ อ งจากมี จุ ด เด่ น ในเรื่ อ งความ คล อ งตั ว เพราะมี ข นาดเล็ ก กะทั ด รั ด ส ว นท า ยก็ มี ก ารออกแบบใหม พรอมกับมีชุดตอพวงพรอมลอที่เรียกวา Pack เปรียบเสมือนกับเปนเพลา ที่ 3 ของตัวรถ โดยตัว Pack นีส้ ามารถเชอมตอโดยตรงกับเขาตัวรถ หรือ จะเปนรถพวงก็ ได แลวแตความตองการของผูขับขี่ ซึ่งตัว Pack จะถูก ออกแบบใหมีลักษณะคลายกับกระบะทาย เพอเพิ่มพื้นที่ใชสอยใหกับตัวรถ ตัวรถที่นํามาพัฒนาเปนเวอรชันไฟฟา หรือ EV ขับเคลอนดวย มอเตอรไฟฟาขนาด 25 กิโลวัตต แรงบิดสูงสุด 20.4 กก.-ม. โดยติดตั้ง

อยูที่ลอหลังเหมือนกับรุนเครองยนตสันดาปภายใน ซึ่งขนาดตัวรถปกติจะ มีความยาว 2.7 เมตร สวนตัว Pack จะมีความยาว 0.63 เมตรโดยความ พิเศษของตนแบบรุนนี้คือตัว Pack จะมีใหเลือก 2 แบบคือ Energy-Pack และ Space-Pack Space-Pack คือ ชุดตอเพิ่มแบบปกติที่เนนพื้นที่ ใชสอย แตที่นา สนใจคือ Energy-Pack นอกจากจะชวยเพิม่ พืน้ ที่ในการบรรทุกสัมภาระแลว ยังจะทําหนาที่เหมือนกับเปนชุดตอพวงในการทําใหตัวรถกลายเปนรถยนต แบบ E-REV หรือรถยนตไฟฟาแบบขยายระยะทางการแลนได เพราะในชุด Pack มีการติดตั้งเครองยนตขนาด 1000 ซีซี 71 แรงมาเอาไวดวย เพี ย งแต ว า ไม ไ ด ทํ า หน า ที่ ช าร จ ไฟ แต เ ป น การรั บ หน า ที่ แ ทนหลั ง จาก แบตเตอรี่หมดไฟ หลังจากแบตเตอรี่ ไมมีไฟเหลือแลว การขับเคลอนจะถูกโอนมาที่ เครองยนตสันดาปภายในชุดนี้แทน แนวคิดนี้เรียกวา VarioHybrid และ สามารถนําไปตอยอดในการพัฒนาได เพราะกระบะทายทีถ่ กู เชอมเขามาเปน เพลาที่ 3 อาจจะเปลี่ยนมาใชเทคโนโลยีที่มีความทันสมัยกวาเครองยนต สันดาปภายในอยางเซลลเชื้อเพลิง หรือติดตั้งมอเตอรไฟฟาอีกตัวก็ ได สําหรับการขับเคลอนในรูปแบบปกติ ตัวรถไฟฟาสามารถแลนทําระยะทาง ตอการชารจ 1 ครั้งได 100 กิโลเมตรที่ความเร็ว 90 กิโลเมตร/ชั่วโมง มีความเร็วสูงสุด 95 กิโลเมตร/ชัว่ โมง และอัตราเรง 0-50 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ใน 6 วินาที แตเมอติดตัง้ ชุด Energy-Pack เขาไปแลว จะมีอตั ราเรง 0-100 กิโลเมตร/ชั่วโมงใน 13.3 วินาที และความเร็วปลาย 145 กิโลเมตร/ชั่วโมง ก็เรียกไดวาเปนนวตกรรมยานยนตที่แปลกแตเขาทาดีแฮะ ..แยก สวนก็เปนอีโคคาร รวมกันก็กลายเปนอเนกประสงค แตที่แนๆ มันใช พลังงานไฟฟา ซึ่งไดเรองของการประหยัดพลังงานไปแบบเทหๆ ตามยุค ทันสมัยซะไมมี...

April 2012 l 69

Energy#41_p68-69_Pro3.indd 69

3/21/12 9:30 PM


Energy Test Run โดย : Dr. ES

ลองขับ...รถยนตพลังงานลม ในงานแขงขัน Aeolus ในยุคเชือ้ เพลิงพลังงานแพงคายผลิตรถยนตหลายคายตางก็คดิ คน พัฒนาเทคโนโลยียานยนตประหยัดพลังงาน หรือ Eco car ใหมขึ้นมาเพื่อ ตอบสนองความตองการในไลฟสไตลของคนรุนใหมที่ตองการประหยัด พลังงาน ซึง่ คุณอาจจะเคยเห็นรถยนตทใี่ ชเทคโนโลยีไฮบริดจ หรือรถไฟฟา ไดออกมาโลดแลนบนทองถนนกันบางแลว และในยุคทีร่ าคานํา้ มันแพงอยาง ไมมที สี่ นิ้ สุดก็จาํ เปนตองรีบคิดคนพัฒนาเทคโนโลยีขนึ้ มาทดแทนนํา้ มันใหได 100% เพื่อที่จะไดไมตองจายคานํ้ามันที่แพงขึ้นกันตอไป ในการจัดแขงขัน Aeolus หรือการแขงขันยานพาหนะที่ใชพลังงาน จากลมระดับนานาชาตินั้นเปนเวทีหนึ่งที่เปนโอกาสใหนักประดิษฐไดคิดคน พัฒนาเทคโนโลยียานพาหนะประหยัดพลังงาน และยังเปนเวทีทดลอง นวัตกรรมใหมอีกดวยครับ สําหรับ Aeolus หรือการแขงขันยานพาหนะนั้นไดสรางความสนใจ ใหกับการผลิตกระแสไฟฟาจากลม โดยบรรดาวิศวกร และ สาธารณชน ระหวางการแขงขัน ยานพาหนะจะทําการแขงขันดวยเงื่อนไขที่หลากหลาย เพื่ อ ตั ด สิ น ว า ยานพาหนะคั น ไหนสามารถใช ป ระโยชน จ ากกระแสลม ไดดีที่สุด และนี้เปนหนึ่งในรถที่เขารวมการแขงขันที่ไดทดลองกอนการ แขงขันครับซึ่งเปนแนวคิดของมหาวิทยาลัย Bristol จากประเทศอังกฤษ ของนักศึกษาและนักวิชาการจากคณะวิศวกรรมไดออกแบบยานพาหนะเพือ่ เขาแขงขันเครือ่ งแรกไดสาํ เร็จ โดยรายละเอียดของการออกแบบและพัฒนา ยานพาหนะดังกลาวสามารถแบงได 3 สวนไดแก การสรางพลังงาน การเก็บพลังงาน และ โครงสรางยานพาหนะ สมาชิกของทีมจะมีการประชุม กันสัปดาหละครั้ง เพื่อใหมีการประสานงานอยางมีประสิทธิภาพระหวางทีม งานในแตละสวน และขอบเขตการวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จะ ชวยใหเกิดการออกแบบที่ดีที่สุดสําหรับชิ้นสวนตางๆ เชน กังหันลม ระบบ การสงผานพลังงาน และ โครงสรางตัวถังยานพาหนะ การผลิตใบพัด และระบบการควบคุม สําหรับเครื่องยนตของกังหันทั้ง 2 เครื่อง และระบบ ควบคุมไฟฟาที่ทันสมัย โครงการสรางยานพาหนะนีไ้ ดเปนการรวมมือกับ Garrad Hassan & Partners Ltd. บริษทั ใหคาํ ปรึกษาดานพลังงานหมุนเวียนชัน้ นําของประเทศอังกฤษ และจะมีการโปรโมตผานทางสถาบัน Cabot Institute ศูนยรวมดานการวิจยั ตางๆ ที่อุทิศใหกับความทาทายของการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดลอม

70 l April 2012

Energy#41_p70-71_Pro3.indd 70

4/3/12 3:26 PM


• • • • • •

ตัวโครงสรางรถ

ลักษณะเฉพาะของเครื่องผลิตกระแสไฟฟา ลักษณะเฉพาะของมอเตอรไฟฟา การจําลองและทดลองระบบ พัฒนาขั้นตอนการทํางาน สํารวจถึงการใชกระแสไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ การเก็บพลังงาน ทีมงานดานการเก็บพลังงาน จะดําเนินการพัฒนาระบบการ สงผานพลังงานที่ผลิตขึ้นจากกังหันลมทั้ง 2 จุด นาย Jeff Kahlon และ Jonathan Shih ไดพัฒนาการออกแบบโรเตอรระหวางทําโครงการวิจัย ดานวิศวกรรมเกี่ยวกับลมในการเรียนปสุดทาย โดยมี Pete Bunnis เปน ทีป่ รึกษา เพือ่ เปนการทําใหยานพาหนะมีประสิทธิภาพสูงสุด การศึกษาดังนี้ • ความเกีย่ วของระหวางจํานวนโรเตอรไบพัด และขีดจํากัดในการ เก็บพลังงานสูงสุด • รูปแบบโรเตอรทเี่ หมาะสมทีส่ ดุ สําหรับการเก็บพลังงานในระดับสูงสุด

Aeolus Power (Wind Energy) Ltd., The Bristol Port Company, Boeing UK, Aviation Enterprise Ltd. และ สมาคมศิษยเกาของมหาวิทยาลัย ไดใหการสนับสนุนคาใชจายในการพัฒนายานพาหนะและคาใชจายในการ เดินทางไปแขงใหกับทีมเปนอยางดี ดานการสรางพลังงาน ทีมงานที่ดําเนินงานดานการสรางพลังงานนี้ คือทีมงานที่ ดําเนินการพัฒนายานพาหนะใหสงผานพลังงานจากโรเตอร ไปยังลอยาน พาหนะไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ระบบสงผานกระแสไฟฟา ไดถูก พัฒนาขึ้นเพื่อใหเครื่องผลิตกระแสไฟฟาที่ติดตั้งอยูบนจุดเชื่อมตอโรเตอร ทั้ง 2 จุด เพื่อใชเปนพลังงานใหกับมอเตอรทั้งสอง ที่อยูบริเวณลอหลังทั้ง 2 ขาง นาย James Baker และ Simon Knibbs ไดพัฒนาระบบสงผาน พลังงานระหวางที่พวกเขาทําโครงการวิจัยดานวิศวกรรมไฟฟาในการ เรียนปสุดทาย โดยที่ ด็อกเตอร Dave Drury เปนที่ปรึกษา และกิจกรรม หลักในโครงการนี้ประกอบดวย

สวนโครงสราง ทีมงานดานโครงสรางมีหนาที่ออกแบบตัวถังยานพาหนะที่ แข็งแรงสําหรับการติดตั้งกังหันลมและเหมาะสมสําหรับคนขับ รวมถึง มีแรงตานดานอากาศพลศาสตรนอยที่สุด การพัฒนาโครงสรางยานพาหนะดําเนินการโดย Tim Hutchinson ระหวางดําเนินโครงการวิจยั ดาน วิศวกรรมเครื่องยนต ซึ่งมี ศาสตราจารย Stuart Burgess เปนที่ปรึกษา โครงการนี้ มี ก ารเน น ไปที่ พั ฒ นาโครงสร า งอลู มี เ นี ย มที่ มี นํ้ า หนั ก เบา ซึ่งรวมอยูในใหหองคนขับ ระบบควบคุมและรองรับ ขาตั้งกังหันและระบบ การทํางานของกังหัน การพัฒนาโครงสรางนี้คอนขางเชื่อถือได จากการ สนับสุนของ Clive Randall และ Lee Winters ตัวแทนจากทีมสนับสนุน ดานเทคนิคของคณะ ทั้งนี้ การทดลองผานการแขงขันนั้นแสดงใหเห็นถึงภาพลักษณ ที่ ส วยงามของนวั ต กรรมด า นการวิ จั ย และออกแบบโดยคณะ วิศวกรรมศาสตร ซึง่ ชวยกระตุน ใหเกิดความสนใจจากสาธารชนในวงกวาง ผานการนําเสนอโดยสื่อตางๆ ไดเปนอยางดี April 2012 l 71

Energy#41_p70-71_Pro3.indd 71

4/3/12 12:03 AM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพอน

เขาสูเดือนเมษาเขาวารอนหนัก จัดหนัก แตสภาพอากาศบานเรา แปรปรวนมานักตอนัก ใครจะคาดคิดวา ตั้งแตมกราคมเขาสูเดือนมีนาคม นั่งปนตนฉบับอยูนั้นก็มีฝนตกลงมาใหชนใจ แตก็เปนชวงเวลาอันสั้น ไมถึง 10 นาที ...นีม่ นั เกิดอะไรขึน้ ??? งงงวยกันไป ไมแนสงกรานตปน อี้ าจไดสาด น้ําฝนกันนะเจาคะ เปนแนแทและปรับขึ้นแนนอน ไมวาจะเปน NGV หรือ LPG งานนี้ แมงานอยาง สนพ. สํานักงานโยบายและแผนพลังงานจึงตองจัดนอกรอบ ใหนักขาวกันเลยทีเดียว กับขอมูลตนทุนราคากาซอยางละเอียด จะไดเคลีย ขอสงสัยกันใหฟงชัด ๆ วาเพราะเหตุใด ทําไมจําตองขึ้นราคา ใหคาครอง ชีพเราแพง!! เบนซินก็ปาเขาไปเฉียด 43 บาทแลว ในวันที่เขียนตนฉบับอยูนี่ละเจาคะ ซึ่งทานรมว. พลังงาน คุณอารักษ ชลธารนนท เปดเผยวา กบง.มีมติเก็บเงินเขากองทุนน้าํ มัน ในสวนของน้าํ มัน เบนซิน 95 และ เบนซิน 91 เพิ่มอีก 1 บาทตอลิตร อารักษ ชลธารนนท ซึ่งเปนการปรับโครงสรางราคาพลังงานครั้งที่ 3 โดยมีผลมาตั้งแต 16 มี.ค.ที่ผานมา ...อวม อวม น้าํ มันปาลมก็ขนึ้ ราคา จนตองมีการสัง่ นําเขามาจากตางประเทศถึง 4 หมนตันแมสต็อก ในประเทศจะมีถึงกวา 2 แสนตัน ซึ่งคุณบุญทรง เตริยาภิรมย รมว.พาณิชย เปดเผยวา หลังจาก ที่ ไดขอสรุปวาโรงงานสกัดยืนยันที่จะขายน้ํามัน ปาลมดิบในราคาสูงเทากับราคาตลาดโลก ซึ่ง บุญทรง เตริยาภิรมย ถือวาเปนราคาทีแ่ พงเกินไปเมอเทียบกับตนทุนทีซ่ อื้ เขามา และก็สงผลใหราคาน้ํามันปาลมบริโภคสูงขึ้นตามไปดวย ฉะนั้นก็เปน ความจําเปนที่รัฐจะตองหาแหลงน้ํามันปาลมดิบราคาถูกมาให ตามท า นอารั ก ษ ไ ปทํ า ข า ว มอบหลอดผอม สําหรับพิธีมอบหลอด ผอมเบอร 5 ภายใตโครงการ “วัด-มัสยิด ประหยัดไฟ รวมใจสมานฉันท” ณ วัดโพธิ์ ศรีบานลาด จังหวัดมหาสารคาม เพอลด การใชไฟฟาภายในศาสนสถาน และปลูกจิตสํานึกในการประหยัดพลังงาน ไฟฟาใหกับประชาชนในทองถิ่น โดยมี ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) คุณสุทศั น ปทมสิรวิ ฒ ั น ผูบ ริหารกระทรวงพลังงาน และหัวหนาสวนราชการ จ.มหาสารคาม เขารวมงานอยางพรอมเพรียงเจาคะ ไปบาน “คอนวูด” กันบาง โดยคณะผูบริหารบริษัท คอนวูด จํากัด กลุมบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ใหการตอนรับตัวแทนจําหนาย ผลิตภัณฑ์คอนวูด และสื่อมวลชนที่เข้า เยีย่ มชมกระบวนการผลิตวัสดุทดแทนไมสายการผลิตที่ 3 (ไลน 3) ทีท่ นั สมัย และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ณ โรงงานจังหวัดสระบุรี เพอสรางความมัน่ ใจ ในผลิตภัณฑคอนวูดที่สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดเปน อยางดี คุณพยุงศักดิ์ พิศาลพัฒนกุล ผูจ ดั การโรงงาน กลุม บริษทั ดาว

ในประเทศไทย เปนประธานในพิธีเปด โครงการ “เพอนชุมชนติวเตอร” สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จํานวน 600 คน จาก 8 โรงเรียนในอําเภอแกลง วังจันทร และกิง่ อําเภอเขาชะเมา จ.ระยอง เพอสนับสนุนดานการศึกษา และสรางเสริมศักยภาพในการสอบแขงขันเขา ศึกษาตอระดับอุดมศึกษา โดยการติว O-NET (Ordinary National Educational Test) หรือ แบบสอบทางการศึกษาแหงชาติขั้นพื้นฐาน ใน 5 กลุม สาระการเรียนรู ทัง้ นี้ “โครงการเพอนชุมชนติวเตอร” ไดจดั ขึน้ ตอเนอง เปนครั้งที่ 2 แลวละเจาคะ โดยสมาคมเพอนชุมชน ซึ่งประกอบดวยบริษัท ผู ป ระกอบการอุ ต สาหกรรมที่ มี ส ถานประกอบการตั้ ง อยู ใ นเขตพื้ น ที่ มาบตาพุด และบานฉาง จังหวัดระยอง อันไดแก กลุม ปตท, เอสซีจี เคมิคอลส, กลุมบริษัทโกลว, บีแอลซีพี, และกลุมบริษัทดาวในประเทศไทย บริษัท ดาคอน อินสเปคชั่น เซอรวิสเซส จํากัด เปดตัวแผนกใหม Dacon Training Institute และ Dacon Inspection Integrity เพอสนองตอบ การเพิ่ ม ศั ก ยภาพบุ ค คลากรในวงการ อุตสาหกรรม และเพิม่ ความเปนระบบระเบียบในการเก็บฐานขอมูลการตรวจสอบ อุปกรณในโรงงานใหแกลูกคา ซึ่งในงานดังกลาวไดรับเกียรติจากตัวแทน บริษัท PTT ME, IRPC PLC และ Clough (Thailand) รวมเปนสักขีพยาน ต อ งขอยิ น ดี กั บ การขยาย สาขาของหลายๆ บริ ษั ท รวมถึ ง “ไทวัสดุ” คุณสาธิต สุดบรรทัด รอง กรรมการผูจัดการสายการขายและ การตลาด บริษทั ผลิตภัณฑตราเพชร จํากัด (มหาชน) หรือ DRT มอบกระเชาดอกไมแสดงความยินดีแก คุณสุทธิสาร จิราธิวฒ ั น กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั ซีอารซี เพาเวอร รีเทล จํากัด เนองในโอกาสฉลองเปดตัวรานวัสดุกอสราง ‘ไทวัสดุ’ สาขา หาดใหญ เพอรองรับการขยายตัวของตลาดอสังหาริมทรัพยในเขตพื้นที่ ภาคใต ส ว นบ า นนี้ เ พิ่ ง ได ฤ กษ ดี จัดทําบุญเลี้ยงพระใหญ โดยคุณสมนึก โอวุฒธิ รรม ประธานกรรมการบริหาร เลคิเซกรุป และบริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด ผูผ ลิตและจัดจําหนายหลอดไฟและ อุปกรณประหยัดพลังงานไฟฟาเลคิเซ (LeKise) ณ สํานักงานใหญ มหาชัย เมืองใหม่ ทั้งนี้เพื่อสร้างขวัญและกําลังใจให้กับทีมบริหารและพนักงาน ในโอกาสตั้งเปาหมายกาวสู TOP 3 ในกลุมธุรกิจในป 2012 งานนี้จึงมี คณะกรรมการบริหาร ทีมบริหารและพนักงานทุกระดับชัน้ รวมงานกันอยาง พรอมเพรียง ไปที่บาน “สิทธิผล” มีฉลอง ความสําเร็จทีมมอเตอรสปอรต โดยคุณ ทนง ลีอ้ สิ สระนุกลู กรรมการผูจ ดั การ กลุมสิทธิผล จัดงานฉลองความสําเร็จ ให กั บ นั ก แข ง ในสั ง กั ด ที่ ทํ า ผลงานได

72 l April 2012

Energy#41_p72-74_Pro3.indd 72

4/3/12 12:10 AM


ปญหาสิง่ แวดลอม..สิง่ ใกลตวั ที่คุณมองขาม?

ES Online เดือนเมษายน..รอนสุดๆ

เดื อ นนี้ ข องทุ ก ป ก็ มี ก าร ประเมิ น ว า จะใช พ ลั ง งานกั น สุ ด ๆ แอรคอนดิชั่นขายดีเปนเทน้ําเททา ช า งซ อ มแอร ง านเข า งานหนั ก เผลอๆ รับจ็อบกันรวยเละ ...แตอยางไรก็อยาลืมแบงเวลามาติดตาม WWW.ENERGYSAVINGMEDIA.COM กันนะคะ เนื้อหาสาระที่มีประโยชน มีเพียบ!! เมอเดือนทีผ่ า นมาเหลาแฟนคลับไดของรางวัลกันแบบไมรูต วั เพราะ “อยากแจก” ฉะนัน้ ติดตามกันใหดกี บั Facebook.com/energysavingmedia มีเซอรไพรสอีกแนนอน อยาลืมเขาไปกดไลคเปนแฟนเพจและแนะนําเพอน ใหเขามากด Like กันเยอะๆ นะคะ แลวสิ่งดีๆ จะเกิดขึ้นกับคุณอยางไมรูตัว สํ า หรั บ เดื อ นนี้ ผู ที่ “เขี ย นดี อ า นฟรี ส ามเดื อ น” รอรั บ ของรางวั ล ไดเลยจา... ยอดเยีย่ มในการปดฤดูกาลแขงขัน ในป 2554 สามารถควาถวยพระราชทาน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมงกุฎราชกุมาร ไดถึง 14 รางวัล ทั้ง ในประเภทการแขงขันรถทางเรียบ ทางตรง และทางฝุน ปรบมือใหดงั ๆ เจาคะ กลุ ม ธุ ร กิ จ แมชิ น เนอรี่ โซลูชั่น บริษัท อิตัลไทยอุตสาหกรรม จํ า กั ด นํ า โดย คุ ณ กมลรั ต น ภู พิ ชิ ต Equipment Specialist เปนตัวแทนสง มอบรถเครน TADANO รุน ATF 220 G-5 ขนาด 220 ตัน ใหกับบริษัท เบนไลนทรานสปอรต (2001) จํากัด โดยมีคุณ ธนเดช ทรัพยสทิ ธิ กรรมการผูจ ดั การ เปนผูร บั มอบเพอนําไปใชในธุรกิจ การเชารถเครน โดยบริษทั อิตลั ไทยอุตสาหกรรม จํากัด เปนผูแ ทนจําหนาย รถเครน TADANO ในประเทศไทย ใครสนใจอยากทําธุรกิจก็ติดตอกันไปได นะเจาคะ เรื่ อ งใจบุ ญ ไม่ ใ ห้ ใครเกิ น บริษทั ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด นําโดยคุณพิทักษ พฤทธิสาริกร รองประธานอาวุ โ ส และคุ ณ พลากร สมสุวรรณ ผูชวยกรรมการผูจัดการ และรักษาการผูจัดการฝายรายการ สถานีโทรทัศนสีกองทัพบกชอง 7 รวมมอบเงิน 400,000 บาท ซึง่ ไดจากการประมูลของรักของหวงนักกอลฟ ในรายการ ฮอนดา แอลพีจีเอ ไทยแลนด 2012 ใหกับนายวิทยา ผิวผอง ผูวาราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพอเขา “กองทุนเงินชวยเหลือผู

ยั ง คงเป น ป ญ หาที่ แ ก ไ ม ต ก ...และนั บ วั น จะทวี ค วามรุ น แรงขึ้ น เรอยๆ สรางความหวาดหวั่นใหคน ทั้งโลก ทางเว็บไซตเราก็ ไมพลาดที่จะนําเสนอเรองราวอันเปนสาระนี้อยาง แนนอน และหากทานผูอานมีความประสงคอยากจะรูเรองอะไร สิ่งไหนเปน พิเศษ ฝากเรองไวที่กระดานขอความ FaceBook ทีมงานพรอมเจาะขอมูล มาใหทา นคลายสงสัย หรือจะคลิกเขาไปอานเพลินๆ ไดทีน่ ีเ่ ลย http://www. energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=54

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag EnergySavingMedia.com savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย ประสบสาธารณภัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” ณ ศาลากลางจังหวัด พระนครศรีอยุธยาไปเมอเร็วๆ นี้เจาคะ

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว กวาจะตัดสินกันไดวาใครจะไดรับรางวัล BAET AWARDS 2010 ตองเลอนการตัดสินจากปที่แลวมาเปนปนี้เพราะเจอวิกฤติน้ําทวม จึงตอง ปลอยใหผูเขารวมประกวดลุนนานไปหนอย หวังวาการประกวดในครั้งที่ 2 จะไมสะดุดหรือไดรับผลกระทบจากน้ําทวมอีกนะครับ ซึง่ งานนีจ้ ดั ขึน้ ทีโ่ รงภาพยนตร สกาลา โดยบรรยากาศภายในงานราวกับ งานประกาศรางวั ล สุ พ รรณหงส เ ลย ทีเดียว เพราะตอนทีค่ ณ ุ สุเทพ เหลีย่ มศิริ เจริญ ผูอ าํ นวยการสํานักนโยบายและ แผนพลังงาน และผูบริหารทานอนเดินขึ้นเวทีราวกับกําลังจะขึ้นไปรับ รางวัลดารานําชายยอดเยี่ยม....อิอิ ทั้งนี้ผูบริหารหลายบริษัทเปนปลื้มหลังจากที่รอคอยมานานกับ รางวัลดังกลาว โดยเฉพาะ เจาของ บริษัท เวิรคพอยท เอ็นเทอรเทนเมนท จํากัด (มหาชน) อยางเสี่ยตา ปญญา นิรันดรกุล ที่เปนปลื้มกับรางวัลจน ตองมารับรางวัลดวยตนเองกับมือรัฐมนตรีพลังงาน อารักษ ชลธารนนท โดยเสี่ยตาบอกวายังคงมุงมั่นที่จะอนุรักษพลังงานอยางรูคุณคาตอไป และเมอเร็วๆ นีก้ ระทรวงพลังงานไดจดั งานเลีย้ งพบปะสอมวลชน April 2012 l 73

Energy#41_p72-74_Pro3.indd 73

4/3/12 12:10 AM


เพอแนะนําตัวและกระชับความคุน เคยกันโดยเฉพาะ ทานรัฐมนตรี อารักษ ชลธารนนท กับนักขาวที่ยังใหมตอกันอยูอาจจะยังไมรูใจกัน งานนี้ผูหลัก ผูใหญในกระทรวงมากันครบเรียกไดวา เลือกสัมภาษณกนั ไดอยางสบายวา ใครอยากตามประเด็นอะไร หลังจากอิ่มกับอาหารอรอย และได ประเด็นกันครบแลวก็ผอ นคลายดวยการรองเพลง ประเดิมดวยขาประจําอยางทานไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน (พพ.) ที่สรางรอยยิ้มใหกับบรรดา อารักษ ชลธารนนท นักขาวไดตลอดเมอจับไมโครโฟน แตที่เรียกเสียง ฮือฮาไมแพทานไกรฤทธิ์ คงจะเปนใครไปไมไดเขา คือ “พี่หนุย”...อารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีกระทรวงพลังงานนั่นเอง ... (ขอมือขวาหนอยครับ) ไปครึ ก ครื้ น กั บ งานเลี้ ย ง ขอบคุณสอสารมวลชนของบริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) ที่โรงแรมเดอะเรสท ดีเทล หัวหิน เริ่มตนดวยการแถลงผล ประกอบการประจําป 2554 ซึ่งมีรายได จากการขายรวมจํานวน 112,404 ลานบาทเพิม่ ขึน้ รอยละ 72 ชวงนีน้ กั ขาว หลายคนอาจจะงงกับตัวเลขกันบางเพราะมีทงั้ ตัวเลขกําไร รายได การลงทุน เยอะแยะไปหมดก็เปนไปตามระเบียบของบริษทั ทีอ่ ยูในตลาดสด...เอยพูดผิด... ตลาดหลักทรัพย ....อิอิ หลังจากงงกับตัวเลขตกเย็น ไปผอนคลายกับงานเลีย้ งซึง่ มีกจิ กรรมให นักขาวไดเลนมากมายทั้ง ยิงปน ชั่งวัดใจ รถชนลูกโปง การทํากรอบรูปสุดเก เพนทรปู นวดฝาเทา และดูดวงกับหมอดัง และ กิจกรรมอนๆ มากมาย งานนี้จึงสรางความครื้นเครงใหกับนักขาวรวมถึง ผูบ ริหารบานปูไดเปนอยางดีดจู ากสีหนาของแตละคนไดเลยนะครับ..รูปมันฟอง!

Environment / สุกี้ มู ล นิ ธิ ส ถาบั น สิ่ ง แวดล อ มไทย รวมกับ องคกรธุรกิจเพอการพัฒนาอยาง ยั่ ง ยื น (TBCSD) แถลงข่ า วการประกวดสื่ อ มัลติมีเดีย “กินขาวหมดจาน ดนน้ําหมดแกว” เพอผลิตสอมัลติมีเดียที่จะใชรณรงคสรางกระแส ใหคนไทยไดปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการกินอยู และ เพอสงเสริมความคิดสรางสรรคในนักศึกษาและ ประชาชนทั่วไปไดแสดงความสามารถในการผลิตสอที่สะทอนมุมมองดาน สิ่งแวดลอมอีกดวย หากใครสนใจรวมชิงรางวัลมูลคารวมกวา 200,000 บาทนี้ สามารถสอบถามรายละเอี ย ดได ที่ สถาบั น สิ่ ง แวดล อ มไทย โทร. 02-503-3333 ตอ 221 จากขอมูลของโครงการนี้พบวา หากคนไทย 10 ลานคน กินขาวเหลือเพียง 1 ชอน (11 กรัม) และดมน้าํ เหลือติดกนแกว (20 ml.) ในหนึ่งมื้อ จะทําใหสูญเสียน้ํา 197,179 ลูกบาศกเมตร สูญเสียพลังงาน

ไฟฟา 15,278 กิโลวัตต สูญเสียน้ํามันเชื้อเพลิง 750.97 ลิตร เกิดขยะที่ ตองบําบัด 73.35 ตัน สูญเสียแรธาตุที่มีประโยชนในดิน 9.12 ตัน และ ปลดปลอยกาซเรือนกระจก 201.37 ตันคารบอนไดออกไซค ซึง่ เพียงแคเรา กินขาวใหหมดจาน ดมน้าํ ใหหมดแกว ก็จะชวยสรางสมดุลของการบริโภค และยังชวยรักษาสิ่งแวดลอมไดอีกดวย ตองขอปรบมือใหกบั เซ็นทรัล เครดิตคารด ที่ ไดจับมือกับหางสรรพ สิ น ค้ า เซ็ น ทรั ล และบั ต รพั น ธมิ ต รอื่ น ๆ มอบรายไดจากการใชจายของสมาชิก ผู ถื อ บั ต รในระหว า งการจั ด แคมเปญ “Central Midnight Sale” จํานวน 482,000 บาท ใหแก บริษัทสรรพสินคาเซ็นทรัล เพอเขาสมทบทุนมูลนิธิเพอสิ่งแวดลอม โดยหากรวมทุก บัตรเครดิตที่ใชจา ยผานแคมเปญนี้ จะมียอดเงินบริจาครวมถึง 3,463,225 บาท ซึ่งนอกจากจะทําหนาที่รณรงคปลูกจิตสํานึกแกสาธารณชนในการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแลวยังใหความชวยเหลือเรงดวนแกผูประสบ ภัยธรรมชาติอีกดวย ขอแสดงความยินดีกับ เอสซีจี ที่ควารางวัลพาวิลเลียนยอด เยี่ยมอันดับ 1 ในการประกวดศาลาแสดงนิทรรศการบีโอไอแฟร 2011 ดวยแนวคิดการจัดแสดง “การดํารงอยูอยางสมดุลและยั่งยืนระหวาง มนุษยและธรรมชาติ” ผานการสรางสรรคนวัตกรรมที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม และสรางสรรคเปนอีโค พาวิลเลียน (Eco Pavilion) ดวยการ เลือกใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในการกอสราง นอกจากนี้ เอสซีจี พาวิลเลียน ยังควารางวัลพาวิลเลียนยอดนิยม (Popular Vote) โดยพิจารณา จากการให ค ะแนนของผู เ ข า ชมและผู ส นใจทั่ ว ไปผ า นทางเว็ บ ไซต ข อง บีโอไอแฟร 2011 อีกดวย อีกหนึ่งความยินดี สําหรับ อีเลคโทรลักซ ไดรับการยกยองให เปน “ผูนําในภาคสวนอุตสาหกรรมสินคาคงทนสําหรับผูบริโภค (Durable Household Products sector leader)” จากดัชนีดาวโจนส การสร้างความยั่งยืนเพื่อสิ่งแวดล้อมระดับโลก (DJSI: Dow Jones Sustainability World Indexes) ซึ่งเปนการจัดอันดับของบริษัทที่ดีที่สุด ดานสังคมและสิง่ แวดลอมดีเดน จากบริษทั ระดับโลกทัง้ สิน้ กวา 2,500 บริษทั ซึ่งอีเลคโทรลักซไดรับรางวัลนี้ติดตอกันมาเปนปที่ 5 ป ด ฉากไปแล ว สํ า หรั บ การ ประชุ ม วิ ช าการนานาชาติ The 4th International Conference on Sustainable Energy and Environment (SEE 2011) : A Paradigm shift to Low carbon Society จัดโดย บัณฑิตวิทยาลัย รวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม(JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) รวมกับ มหาวิทยาลัยเกียวโต ประเทศ ญี่ปุน โดยเปาหมายหลักของการจัดประชุมครั้งนี้คือ การเปลี่ยนกรอบ ความคิด (paradigm shift) เพอใหมีมุมมองใหมๆ ในการเขาสู low carbon society การประชุมสะทอนกรอบความคิดของการเปลี่ยนแปลงโครงสราง พืน้ ฐานพลังงานเพอรองรับการปรับปรุงและสงเสริมเทคโนโลยีใหมๆ ทัง้ ใน การใชพลังงานทดแทนและการประหยัดพลังงาน รวมถึงแนวทางการ ผลักดันนโยบายดานพลังงานและสิ่งแวดลอมไปสูการปฏิบัติจริงภายใต ความรวมมือจากทุกภาคสวนของสังคมอยางตอเนอง

74 l April 2012

Energy#41_p72-74_Pro3.indd 74

4/3/12 3:34 PM


Energy#41_Ad Southest_Pro3.ai

1

3/21/12

10:15 PM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : ทราบมาว า ภาค พลังงานก็เปนหนึ่งในประเด็น ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ป พ.ศ.2558 (AEC 2012 : ASEAN Economic Community 2012) อยากทราบวาเรา จะมีโอกาสและผลกระทบใดบาง สําหรับภาคธุรกิจ พลังงานของประเทศไทยจากการกําเนิด AEC นี้? A : กอนอื่นเราควรทราบความเปนมาของ AEC กอนนะครับ ตลอด ระยะเวลาที่ผานมา ASEAN ไดใหความสําคัญในการเสริมสรางความ แข็งแกรงทางเศรษฐกิจรวมกันอยางตอเนื่อง หลังจากการดําเนินการ ไปสูการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ไดบรรลุเปาหมายในป พ.ศ.2546 ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 8 เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2545 ไดเห็นชอบ ใหอาเซียนกําหนดทิศทางการดําเนินงานเพื่อมุงไปสูการเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่งมีลักษณะคลายคลึงกับประชาคม เศรษฐกิจยุโรป (European EconomicCommunity: EEC) และใหอาเซียน ปรับปรุงกระบวนการดําเนินงานภายในของอาเซียนใหมีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ในการประชุมสุดยอดอาเซียนในป 2546 ผูนําอาเซียนไดออก แถลงการณ Bali Concord II เห็นชอบใหมีการรวมตัวไปสูการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ภายในป พ.ศ.2563 และใหเรงรัดการ รวมกลุมเพื่อเปดเสรีสินคาและบริการสําคัญ 11 สาขา (priority sectors) ไดแก การทองเที่ยว การบินยานยนต ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑยาง สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส สินคาเกษตร ประมง เทคโนโลยีสารสนเทศและสุขภาพ โดย ASEAN จะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภายในป พ.ศ.2563 (ค.ศ.2020) โดยมีแนวคิดวาอาเซียนจะกลาย เปนเขตการผลิตเดียว ตลาดเดียว หรือ Single market and production base นั่นหมายถึงจะตองมีการเคลื่อนยายปจจัยการผลิตไดอยางเสรี สามารถดําเนินกระบวนการผลิตที่ไหนก็ได โดยสามารถใชทรัพยากรจาก แตละประเทศ ทั้งวัตถุดิบและแรงงานมารวมในการผลิต มีมาตรฐานสินคา กฎเกณฑ กฎระเบียบเดียวกัน

เพียงพอ” สิ่งที่จะเกิดขึ้นจากการรวมตัวเปน AEC 2012 ไดแก 1) การเปนตลาดและฐานการผลิตรวมโดยมีแผนงานทีจ่ ะสงเสริม ใหมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือและการ เคลื่อนยายเงินทุน อยางเสรีมากขึ้น 2) การสรางขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจ ของอาเซียนโดยมีแผนงานที่จะสงเสริมการสรางความสามารถในดาน ตางๆ เชน นโยบายการแขงขัน สิทธิในทรัพยสินทางปญญา นโยบาย ภาษีและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน (การเงิน การขนสง เทคโนโลยี สารสนเทศและพลังงาน) 3) การพัฒนาเศรษฐกิจอยางเสมอภาคโดยมีแผนงานทีจ่ ะสงเสริม การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของสมาชิกและลดชองวางของระดับการ พัฒนาระหวางสมาชิกเกาและใหม และการสนับสนุนการพัฒนา SMEs 4) การบูรณาการเขากับเศรษฐกิจโลก โดยมีแผนงานทีจ่ ะสงเสริม การรวมกลุ  ม เข า กั บ ประชาคมโลก โดยเน น การปรั บ ประสานนโยบาย เศรษฐกิจของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมภิ าค เชน การจัดทําเขตการคา เสรี และการสรางเครือขายในดานการผลิต/จําหนาย เปนตน แนนอนวาการคาเสรีในอาเซียนตลาด 10 ประเทศจะรวมกันเปนหนึง่ เศรษฐกิจในอาเซียนจะขยายตัว ตลาดใหญขนึ้ อุตสาหกรรมขยายตัวสงผล ใหชีวิตความเปนอยูประชาชนดีขึ้นและความตองการพลังงานไฟฟาเพิ่มขึ้น โอกาสของภาคพลังงานของไทย 1) โอกาสในการลงทุนประเทศกัมพูชา ลาว พมาและเวียดนาม (CLMV) ในสาขาพลังงานไฟฟา และเปนการขาย Technology Know-how อี ก ด ว ยเนื่ อ งจากเป น ตลาดส ง ออกที่ ศั ก ยภาพสู ง และมี ค วามสั ม พั น ธ ทางการคากับไทยมาอยางยาวนาน ประกอบกับมีความรอนแรงทางเศรษฐกิจ ในชวงหลายปที่ผานมา

76 l April 2012

Energy#41_p76-77_Pro3.indd 76

4/7/12 4:52 PM


2) โอกาสในการเปนตลาดใหมสําหรับสินคาและบริการที่เกี่ยวกับ Green Technology, Clean Energy, สินคาที่ประหยัดพลังงาน ฯลฯ 3) โอกาสทีเ่ กิดขึน้ จากพลังงานจะมีราคาตํา่ ลงเนือ่ งจากการนโยบาย ภาษีและการพัฒนาภาคพลังงานภายใน ASEAN ซึง่ จะชวยสรางเสริม ขีดความสามารถการแขงขันของอุตสาหกรรมไทย ผลกระทบตอภาคพลังงานของไทย 1) ผลกระทบจากปญหาการขาดแคลนพลังงาน 2) ผลกระทบจากการเขามาแขงขันของสินคาและธุรกิจเกี่ยวกับ พลังงานจากประเทศอาเซียนอื่นๆ และกลุมอาเซียนบวกหก Q : หนารอนนี้ เราจะสามารถประหยัดไฟฟาในบานดวย วิธีการใดไดบางครับ? A : ผมมี 20 วิธีประหยัดไฟฟา รับหนารอนนี้มาฝากดังนี้ครับ 1. ปดสวิตชไฟ และเครือ่ งใชไฟฟาทุกชนิดเมือ่ เลิกใชงาน สรางใหเปนนิสยั ในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจากหอง 2. เลือกซื้อเครื่องใชไฟฟาที่ไดมาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพ ใหแนใจทุกครั้งกอนตัดสินใจซื้อ หากมีอุปกรณไฟฟาเบอร 5 ตองเลือกใช เบอร 5 3. ปดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไมอยูในหองเกิน 1 ชั่วโมง สําหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที สําหรับเครื่องปรับอากาศ เบอร 5 4. หมั่นทําความสะอาดแผนกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศ บอยๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการทํางานของเครื่องปรับอากาศ 5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเปน อุณหภูมิที่กําลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ตองใชพลังงานเพิ่ม ขึ้นรอยละ 5-10 6. ไม ค วรปล อ ยให มี ค วามเย็ น รั่ ว ไหลจากห อ งที่ ติ ด ตั้ ง เครื่ อ ง ปรับอากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง ฝาเพดาน ประตูชองแสง และปดประตูหองทุกครั้งที่เปดเครื่องปรับอากาศ 7. ลด และ หลีกเลี่ยงการเก็บเอกสาร หรือวัสดุอื่นใดที่ไมจําเปนตอง ใชงานในหองที่มีเครื่องปรับอากาศ เพื่อลดการสูญเสีย และใชพลังงาน ในการปรับอากาศภายในอาคาร 8. ติ ด ตั้ ง ฉนวนกั น ความร อ นโดยรอบห อ งที่ มี ก ารปรั บ อากาศ เพื่อลดการสูญเสีย พลังงานจากการถายเทความรอนเขาภายในอาคาร 9. ใชมูลี่กันสาดปองกันแสงแดดสองกระทบตัวอาคาร และบุฉนวน กันความรอนตามหลังคาและฝาผนังเพื่อไมใหเครื่องปรับอากาศทํางาน หนักเกินไป 10. หลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงานจากการถายเทความรอนเขาสู หองปรับอากาศ ติดตั้งและใชอุปกรณควบคุมการเปด-ปดประตูในหองที่มี เครื่องปรับอากาศ

11. ควรปลูกตนไมรอบๆ อาคาร เพราะตนไมขนาดใหญ 1 ตน ใหความเย็นเทากับเครื่องปรับอากาศ 1 ตัน หรือใหความเย็นประมาณ 12,000 บีทียู 12. ควรปลูกตนไมเพื่อชวยบังแดดขางบานหรือเหนือหลังคา เพื่อ เครื่องปรับอากาศจะไมตองทํางานหนักเกินไป 13. ปลูกพืชคลุมดิน เพือ่ ชวยลดความรอนและเพิม่ ความชืน้ ใหกบั ดิน จะทําใหบานเย็น ไมจําเปนตองเปดเครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป 14. ในสํานักงาน ใหปดไฟ ปดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณไฟฟา ที่ไมจําเปน ในชวงเวลา 12.00-13.00 น. จะสามารถประหยัดคาไฟฟาได 15. ไมจําเปนตองเปดเครื่องปรับอากาศกอนเวลาเริ่มงาน และควร ปดเครื่องปรับอากาศกอนเวลาเลิกใชงานเล็กนอย เพื่อประหยัดไฟ 16. เลือกซื้อพัดลมที่มีเครื่องหมายมาตรฐานรับรอง เพราะพัดลม ที่ไมไดคุณภาพ มักเสียงาย ทําใหสิ้นเปลือง 17. หากอากาศไมรอนเกินไป ควรเปดพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ จะชวยประหยัดไฟ ประหยัดเงินไดมากทีเดียว 18. ใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน ใชหลอดผอมจอมประหยัดแทน หลอดอ ว น ใช ห ลอดตะเกี ย บแทนหลอดไส หรื อ ใช ห ลอดคอมแพคท ฟลูออเรสเซนต 19. ควรใชบัลลาสตประหยัดไฟ หรือบัลลาสตอิเล็กโทรนิกคูกับ หลอดผอมจอมประหยัด จะชวยเพิม่ ประสิทธิภาพในการประหยัดไฟไดอกี มาก 20. ควรใชโคมไฟแบบมีแผนสะทอนแสงในหองตางๆ เพื่อชวยให แสงสวางจากหลอดไฟ กระจายไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ทําใหไมจําเปน ตองใชหลอดไฟฟาวัตตสูง ชวยประหยัดพลังงาน

อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรื่องพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

April 2012 l 77

Energy#41_p76-77_Pro3.indd 77

4/7/12 4:52 PM


Logistics Solution

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

http://darth.wikia.com/wiki/Conversation

(Negotiate and plan implementation) และใชขอตกลงและรักษากลยุทธ (Implement agreement and sustain strategy) ซึ่งการจะรักษา สัมพันธภาพที่ดีได จะตองคํานึงถึงหลักการเจรจาตอรอง โดยเปนการหา ทางออกซึ่งเปนที่ยอมรับไดทั้งสองฝาย มองไปใหไกล อยาเพียงแกปญหา เฉพาะหนา และถาจะตอรองใหดียั่งยืนตองจบอยางชนะทั้งคู (win-win) สุดทายขอคิดของ SRM จะตองถูกตอง ลึกซึ้ง อยาหลงทาง เชน หากมี การซื้อของบอย ๆ จํานวนมาก จะตองดูแลอีกแบบหนึ่ง แตหากงี่เงา ยกเลิกบอย ๆ ก็จะตองดูแลอีกแบบหนึ่ง 2. ตรวจสอบใหแน ใจวาซัพพลายเออรของคุณมีแผนฉุกเฉิน (Make sure that your suppliers have contingency plans) เชน อาจจะดูตัวอยางแผนการรับมือกับโรคระบาด ภัยธรรมชาติ (น้ําทวม ภัยแลง) คนงานประทวง เปนตน และมีแบบสอบถามลักษณะตรวจสอบ รายการ (Checklist) เพอเราจะรูว า ซัพพลายเออรมคี วามพรอมอยูในระดับใด

พลิกยุทธศาสตรการจัดซือ้ ใหม รับความเสี่ยง (จบ) ฉบับที่แลว ผูเขียนไดกลาวถึงเรองการดําเนินการที่จะหลีกเลี่ยงกับ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นนั้น จะตองมีการวิเคราะหถึงความเสี่ยงนั้น ๆ อยูใน ระดับใด จึงจะสามารถรับมือกับความเสี่ยงไดอยางเปนระบบ สําหรับฉบับนี้จะกลาวตอเรองการวางแผนฉุกเฉิน (Contingency Planning) ซึ่งมีหลักการอยู 8 ประการ คือ 1. สรางความสัมพันธที่แข็งแกรงกับผูจัดจําหนาย/ผูขาย ปจจัยหลัก (Establish strong supplier relationship now) จะตอง มี ก ารทํ า การจั ด การความสั ม พั น ธ กั บ ซั พ พลายเออร (Supplier Relationship Management : SRM) โดยตองเลือกคบหาสมาคมกันใหเปน มิใช คบเปรอะไปหมดที่พบเจอ ซึ่งการมีกระบวนการอันเขมขนในการ เลือกหาซัพพลายเออรที่เหมาะสม (Right Supplier) โดยหลักการจัดการ ความสัมพันธกับซัพพลายเออร หรือ SRM สวนขั้นตอนในการทํากลยุทธ เลือกซัพพลายเออร (Strategic Sourcing) ประกอบดวย การจัดระเบียบ ทีมงานจัดหา (Organize sourcing team) อาจจะใชวิธีการกระจายอํานาจ การศึกษา วิเคราะห และแนวทางการแกไขปญหา (Study analyze and recommend solutions) การวางแผนและการเจรจาตอรองนําไปใช

3. ปรับกลยุทธ การจัดหาของบริษัท (Adjust your sourcing strategy) ยามปกติ หาซัพพลายเออรจากแหลงเดียว (Single source) ยามนี้ จะ ตองเลือกเฟนหาซัพพลายเออรจากหลายแหลงซึ่งกระจายไปตามพื้นที่ ภูมิศาสตร (Multiple suppliers in dispersed geographical areas) 4. ประเมินอีกครัง้ ระดับสินคาคงคลัง (Re-evaluate inventory levels) ซึ่งจะตองระดับ Stock กันใหม เชน ยามวิกฤติ อาจตองเพิ่ม สต็อกของบางอยาง และอาจตองลดสต็อกบางอยาง รวมถึงจะตองหารือ กับทางผูบริหารเพอลงมือ/วางแผนรับสถานการณลวงหนา 5. ประเมินสถานที่ตั้งของซัพพลายเออรของบริษัท (Assess the location of your suppliers) โดยทบทวนการพึ่งพาแหลงผลิต แหงเดียวหรือรวมศูนย ทบทวนการซื้อจากซัพพลายเออรในแหลงที่มี ความเสี่ยงน้ําทวม และทบทวนการทํา Global sourcing ไปยังกลุมประเทศ LCC (Low cost countries) เชน จีน ลาว พมา เวียดนาม เปนตน ไมวา

78 l April 2012

Energy#41_p78-79_Pro3.indd 78

3/21/12 9:27 PM


http://www.liquidelectric.org/2011/03/

จะเปนเรองโรคระบาด การปนเปอนของสารเคมี ฯลฯ 6. ทบทวนข้ อ ความและเงื่ อ นไขในสั ญ ญาที่ ใ ช้ อ ยู่ เ กี่ ย วกั บ “เหตุสดุ วิสยั ” (Revise your Force Majeure clause) ซึ่งเหตุสุดวิสัย (Force Majeure) หมายความวา เหตุใดๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ ไมอาจปองกันได แมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตอง ประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจาก บุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น หรือมีความหมายหนึ่งเหตุสุดวิสัย คือ อัคคีภัย อุบัติภัย ปญหาแรงงาน กฎหมาย ขอบังคับ คําสั่งของทางการ ไมวาจากในหรือนอกประเทศสงคราม (ไมวาจะมีการประกาศหรือไมก็ตาม) ผลจากสงคราม สภาวการณใดที่อยูนอกเหนือการควบคุมของคูสัญญา นี้ หากคูสัญญาฝายใดก็ตามที่ถูกผลกระทบจากเหตุสุดวิสัยดังกลาวจะ ตองรีบแจงใหอีกฝายทราบโดยละเอียด หากเกิดเหตุสุดวิสัยแกฝายผูขายอันมีผลใหผูขายไมสามารถผลิต หรือสงมอบพัสดุหรือบริการได ผูขายจะพยายามทุกวิถีทางโดยสุจริตใจที่ จะมอบหมายหรือสงตองานไปยังแหลงอนใหดําเนินการแทน หรือผลิตเอง ในสัดสวนที่อันเกิดจากผลกระทบของเหตุสุดวิสัย จํานวนของพัสดุหรือ บริการทีจ่ ะสงมอบนอยลงนัน้ ตองทําใหผูซ ือ้ เสียหายนอยทีส่ ดุ เมอเทียบเปน (ก) เปอรเซ็นตของยอดการผลิตรวมของผูขาย หรือ (ข) เปอรเซ็นต ยอดขายรวมของผูข าย ในกรณีทเี่ กิดเหตุสดุ วิสยั แกผซู อื้ และสงผลกระทบ ตอการใชพสั ดุหรือบริการของผูซ อื้ ฝายผูซ อื้ อาจพิจารณาลดจํานวนพัสดุ หรือบริการลงได เชน กรณีตรวจเยี่ยมโรงงานของซัพพลายเออรแลวพบ เชื้อไขหวัด 2009 ทั้ง ๆ ที่ ไดจัดการระวังตามสมควรแลว การเกิดขึ้นถือวา สุดวิสัย แตหากโรงงานแหงนี้ ไมมีมาตรการ/แผนรองรับ แตคนงานเปน ไขหวัด 2009 ไดแพรเชื้อไปตามสิ่งของ ก็ถือวาไมใชเหตุสุดวิสัย เปนการ ประมาทหรือเลินเลอ เปนตน

7. จัดลําดับความสําคัญในงาน (Prioritize department tasks) เมอเกิดวิกฤติการณ พนักงานบางคนอาจหายไปหรือไมสามารถ มาทํางานได ดังนั้น การเตรียมคนไว (Backup) สําหรับงานในยามจําเปน โดยจะตองมีขอ มูลของฝายทีเ่ กีย่ วของกับฝายจัดซือ้ จัดหา ไมวา จะเปนคลัง สต็อก ชางเทคนิค เปนตน เพอประมาณการเกลี่ยอัตรากําลังคน ซึ่งจาก เหตุการณที่ผานมาไม ใช ใครก็ ไดกระโดดลงมาชวย แตจะตองมีพื้นฐาน ความรูค วามเขาใจในงานดวย เชน ฝายผลิตตองการอิฐบล็อค 2,000 กอน ทําเรองขอตอนบาย 2 โมง ขอใหฝายจัดซื้อนําของจัดสงกอน 5 โมงเย็น เพราะน้ําจะขึ้นราว 6 โมงเย็น ซึ่งจะตองทําเวลา เมอติดตอซัพพลายเออร ก็บอกวาไมมีคนงาน และไมมีรถขนมาสง แตบริษัทมีรถบรรทุก กรณีเชนนี้ วิธีคิดที่จะตองเกลี่ยคนที่จะตองไปขนอิฐและกอปูนควรเปนอยางไร? 8. กําหนดแผนกูคืนระบบ (Establish a disaster recovery plan) วางแผนรวมกับทุกแผนก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ฝายสารสนเทศและ เทคโนโลยี (Information and Technology) เพอใหสามารถปฏิบัติงานจาก นอกบริษัทได เมอเกิดเหตุการณวิกฤติ เชน น้ําทวมโรงงานและบริษัท ไมสามารถทํางานได โดยสามารถแยกยายไปทํางานที่บาน สาขาอนๆ ของ บริษัท โดยสงผานขอมูล สงงาน/ชิ้นงาน หรือสั่งการผานเทคโนโลยีได 9. การวัดผลงานของซัพพลายเออร (Evaluation Supplier) โดยเฉพาะนโยบายการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม (Corporate Social Responsibility : CSR) ซึ่งจะเปนประเด็นเงอนไข ทางการคาหรือขอกีดกันทางการคาอยางหนึ่งที่เรียกวามาตรฐานเพอ ความรับผิดชอบตอสังคม (ISO 26000) ดังนัน้ เราจะทําธุรกิจกับซัพพลายเออร ที่ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ มด ว ยกั น ก็ จ ะทํ า ให บ ริ ษั ท ไดลดและกําจัดผลกระทบที่มาจากสภาพแวดลอมภายนอกไดในระดับหนึ่ง แตจะตองไมลืมที่จะตรวจสอบวัดผลงานซัพพลายเออรที่ครอบคลุม 4 ประเด็นๆ หลัก คือ คุณภาพ (Quality) การสงมอบ (Delivery) การบริการ (Service) และตนทุน (Cost) อยางไรก็ดี ไมวาในอนาคตจะเกิดสถานการณเชนไร แตฝายจัดซื้อ จัดหาก็จะตองทํางานภายใตสภาวะความกดดันโดยทํางานรวมกันกับผูใช หรือผูขอ (User) ดังนั้น ประเด็นสุดทายที่จะฝากไวก็คือ บทบาทของฝาย จัดซื้อจะตองมีรูปแบบการทํางานที่เปลี่ยนไป โดยจะตองเขาไปทุกแผนก ตั้งแตเริ่มตน คือ ตั้งแตเขาประชุมไปจนถึงเสร็จสิ้นสงมอบ อยาทํางาน แบบแมบานคือ สั่งมาจัดไป เมอรูแลวผูใชตองการอะไร แจงใหแผนกที่ เกี่ยวของเปนลายลักษณอักษร หรือ E-mail หรือ Outlook ภายในบริษัท ก็ ได แจงใหผูใชทราบวาเราะเริ่มลงมือเมอไรและจะสามารถสงมอบใหเขา ไดเมอไร เขาจะมีสวนชวยอยางไรใหสงมอบตรงเวลา ถาเปนงานที่ ใชระยะ เวลานานจะตองสรุปความคืบหนาใหผูใชทราบเปนระยะ ๆ อยารอใหถาม หากพบเหตุการณที่ ไมพงึ ประสงคเปดเผยใหทราบทันทีเมอเกิดความกังวล ซึ่งความชวยเหลือและความรวมมือจะตามมาเอง และควรจะบอกใหรูวาเรา กําลังแกไขปญหาอยางไร สุดทายความชวยเหลือ ความรวมมือ ขอคิดเห็น และคําชมที่เปนลายลักษณอักษรจะเปนประโยชนในระยะยาวหรือในอนาคต ที่จะตองทํางานรวมกันแบบบูรณาการ

April 2012 l 79

Energy#41_p78-79_Pro3.indd 79

3/21/12 9:28 PM


Energy Concept โดย : ณ อรัญ

หญา >> เอทานอล>> ไมเปลาสูญ

ผลงานจากโครงการ JSTP

นองเทียมแขคนเกง เจาของผลงาน “หญา” วัชพืชไรคา เปน“เอทานอล”

เปนนักวิทยาศาสตรพี่เลี้ยง เรียกวาผลงานนี้จะเปนการปูทางพืชพลังงาน ชนิดใหม ทดแทน ออย และมันสําปะหลังในอนาคต ES : ทําไมจึงเลือก หญา มาทําเอทานอลครับ? เทียมแข : เพราะ หญาเปนวัตถุดบิ ทีพ่ บไดทวั่ ไป สามารถหาไดงา ย และมีการนําไปใชประโยชนไดนอย ผนวกกับการศึกษาโครงสรางของหญา แลวพบวามีแนวโนมที่เปนไปไดในการนํามาผลิตเอทานอล หญาจึงกลาย เปนวัตถุดิบสําคัญที่นาศึกษา นอกจากนีย้ งั เปนการลดการเกิดมลพิษทาง อากาศอันเนื่องมาจากการกําจัดหญาดวยการเผาในบางทองถิ่นอีกดวย จากการศึกษาพบวา เอทานอล เปนองคประกอบสําคัญในการผลิตแกส โซฮอล ทีผ่ ลิตไดจากพืชพลังงาน เชนมันสําปะหลัง ออย โดยพืชกลุม นีจ้ ะ มีการสะสมแปงและนํา้ ตาลอยูภ ายใน ซึง่ แปงทีเ่ กิดจากการเรียงตัวกันของ โมเลกุลนํ้าตาลเหลานี้ เมื่อนําไปผานกระบวนการหมักจะไดผลิตภัณฑ คือ เอทานอล ขณะเดียวกันวัชพืช เชน หญาก็มเี ซลลูโลสทีเ่ กิดจากการจัด เรียงตัวกันของนํ้าตาลเชนเดียวกับแปง ดังนั้น หญา ก็นาจะนํามาใชผลิต เอทานอลได จึงเปนแรงจูงใจในการศึกษา “พลังงานทางเลือกใหมจากใบหญา” เพื่อเปนทางเลือกใหมในการแกไขปญหาการขาดแคลนพลังงานคะ ES : กระบวนการทํางานเปนอยางไรครับ? เทียมแข : ในกระบวนการผลิตเอทานอลจากวัชพืช ตองเริ่มตน จากการนําวัชพืชไปผานกระบวนการไฮโดรไลซิส (การยอยเซลลูโลสใหเปน นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว) เพื่อใหไดนํ้าตาลรีดิวซ (นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีหมู

ตอไปนี้ “หญา” ที่เรามองไมเห็นคา จะถูกแปลงเปนพืชที่ให พลังงานมหาศาลอยางไมรูตัว โครงการ Junior Science Talent Project : JSTP โครงการที่เฟนหาเด็กและเยาวชน ผูมีความสามารถ พิเศษทางวิทยาศาสตร ที่กําลังศึกษาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาหรือระดับ อุดมศึกษา ของสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ทําใหเราไดขอมูลทีเ่ ปนประโยชน และอดไมไดทตี่ อ งเผยแพรผลงาน ความกาวหนาของเด็กไทยวัยทีนใหไดทึ่งกัน โดยผลงานของ นางสาวเทียมแข มโนวรกุล นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนชลราษฎรอํารุง จังหวัดชลบุรี ไดศึกษา วิธีเปลี่ยน “หญา” วัชพืชไรคา เปน“เอทานอล” โดยริเริ่มโครงการ JSTP เมือ่ ป 53 จนไดรบั รางวัลเมือ่ ก.ค 54 ทีผ่ า นมา นอกจากนองเทียมแขแลว ยังได ดร.ชัชวิน เพชรเลิศ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยบูรพา เปนอาจารยที่ปรึกษา และดร.วีระวัฒน แชมปรีดา นักวิจยั จากศูนยพนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพแหงชาติ สวทช. 80 l April 2012

Energy#41_p80-81_Pro3.indd 80

4/3/12 12:23 AM


กระบวนการ Pretreatment โดยใชสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด (กําจัดสารจําพวกลิกนิน)

คารบอนิลซึ่งถูกออกซิไดซไดงาย เปนนํ้าตาลที่ยีสตสามารถนําไปใชใน กระบวนการหมักกอน จากนั้นจึงนํานํ้าตาลรีดิวซที่ไดไปเปนสารตั้งตนใน กระบวนการหมักเพือ่ ใหไดเอทานอล ทัง้ นีก้ ระบวนการไฮโดรซิสนัน้ ทําไดสอง วิธี คือ ไฮโดรไลซดวยกรด (Acid Hydrolysis) และไฮโดรไลซดวยเอนไซม (Enzymatic Hydrolysis) ในงานวิจัยชิ้นนี้จึงไดทําการศึกษาเปรียบเทียบ หาสภาวะที่เหมาะสมตอการไฮโดรไลซิสของวัชพืชเพื่อใหไดนํ้าตาลรีดิวซ มากที่สุด โดยวัชพืชที่นํามาใชศึกษา คือ ธูปฤๅษี หญาขน และหญาชันกาศ ES : ผลการทดลองเปนอยางไรบางครับ? เที ย มแข : พบว า วิ ธี ก ารไฮโดรไลซิ ส วั ช พื ช ด ว ยเอนไซม นั้ น จะใหปริมาณนํ้าตาลรีดิวซสูงกวาการไฮโดรไลซิสดวยสารละลายกรด โดยการไฮโดรไลซิสวัชพืชดวยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซดทคี่ วามเขมขน 10% ใหปริมาณนํ้าตาลรีดิวซสูงที่สุด และจากการทดสอบในวัชพืชทั้ง สามชนิดนั้น พบวา หญาขน เปนวัชพืชที่ใหปริมาณนํ้าตาลรีดิวซสูงสุด รองลงมาคือ หญาชันกาศและธูปฤๅษี ตามลําดับ สวนปริมาณนํ้าตาล รีดิวซที่ไดตอปริมาณวัชพืชที่ใชนั้นก็มากเพียงพอตอการนําไปใชในการ หมักเอทานอลไดคะ แตถาหากเปรียบเทียบปริมาณนํ้าตาลรีดิวซจากหญา กับพืชพลังงาน เชน มันสําปะหลัง ออย ฯลฯ ในสัดสวนที่เทากัน จะพบวา พืชพลังงานใหปริมาณนํ้าตาลที่มากกวา แต “หญา” ก็นับเปนทางเลือก หนึ่งในการนํามาใชผลิตเอทานอลที่นาสนใจ เพื่อทดแทนมันสําปะหลังและ ออยที่กําลังประสบปญหาขาดแคลนและอาจมีราคาแพงมากขึ้นในอนาคต ซึ่งหญาที่นํามาใชทดลองครั้งนี้ เปนหญาที่พบไดทั่วไป มีปริมาณมาก จึง มีความเหมาะสมอยางยิ่งตอการนํามาใชในการผลิตพลังงาน ที่สําคัญยัง ถือเปนการนําทรัพยากรมาใชอยางคุมคา ดีกวาการตัดหรือเผาทิ้งอยาง เปลาประโยชน

ES : .มีการนําไปทดลองใชแลวหรือไมอยางไร? เทียมแข : การทดลองดังกลาวยังไมไดถูกนําไปใชจริง เพราะจุด ประสงคหลักของการทดลอง คือ การศึกษาประสิทธิภาพของวัตถุดิบ และปจจัยที่กอใหเกิดความคุมคาสูงสุดในการนําหญามาผลิตเปนเอทานอล ซึ่งผลผลิตสุดทายที่ไดจากการทดลอง คือ เอทานอล แตยังไมได มีการนําไปผสมกับนํ้ามันเบนซินเปนแกสโซฮอล เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้ เปนเพียงจุดเริ่มตนที่ยังคงรอการตอยอดองคความรูตอไปคะ ES : ประโยชนของโครงการ Junior Science Talent Project : JSTP? เทียมแข : ประโยชนที่ไดจากการเขารวมโครงการ JSTP คงมี มากมาย แตหลักๆ คือ การไดมีโอกาสเขามาสัมผัสประสบการณทาง วิทยาศาสตรที่กาวหนาไปอีกขั้น เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาและทดลอง ในหองเรียน โดยสามารถนํากระบวนการทางวิทยาศาสตรมาใชใหเกิด ผลไดอยางเปนรูปธรรมและตอบโจทยที่ตนเองตองการรูไดอยางชัดเจน ES : ฝากถึงเรื่องการประหยัดพลังงานหรือการใชพลังงาน ทดแทนสักนิดครับ เทียมแข : โลกทุกวันนี้มีการใชพลังงานอยางสิ้นเปลือง คาดวาอีก ไมนานพลังงานในอนาคตขางหนาคงหมดไป พลังงานทดแทนจึงเปนอีก ทางเลือกหนึง่ ทีน่ า สนใจในการชะลอการเกิดวิกฤตการณดา นพลังงาน แต สิ่งที่สําคัญที่สุดอาจไมใชการคนหาพลังงานขึ้นมาทดแทนเรื่อยไป แตคง เปนการใชพลังงานอยางประหยัดมากกวา เพราะตอใหมีพลังงานมากมาย เพียงใด แตคนไมรูจักการใชอยางประหยัด สักวันพลังงานคงหมดไปจาก โลกใบนี้ ดังนั้น พวกเรามาชวยกันประหยัดพลังงานกันเถอะ

เติมยีสตลงในตัวอยางที่ทดลอง เพอหมักนํ้าตาลเปนเอทานอล

April 2012 l 81

Energy#41_p80-81_Pro3.indd 81

4/3/12 12:23 AM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

D.I.Y. ทํางายๆ กระถางตนไมรีไซเคิล ทุ ก วั น นี้ กั บ ชี วิ ต คน เมืองทีต่ อ งเรงรีบเพอแขงกับ เวลาและการจราจรที่ติดขัด เชอวาหลายคนก็คงอยากจะ หาวิธผี อ นคลายดวยการเพิม่ พื้นที่สีเขียวในบาน แตมันก็ ยังดูเปนเรองที่วุนวาย เพราะ ไลฟ ส ไตล ที่ วุ น วายจนไม มี เวลาดู ปลอยใหตนไมเหี่ยว เฉาตายไปก็มาก ถ า เราจะมี วิ ธี ที่ ช ว ย ใหการปลูกตนไมเปนเรองงาย ไมตองคอยลดน้ําบอยๆ ราคาไมแพง ทําได เองจากอุปกรณภายในบาน เพอมาใชปลูกสวนผักเล็กๆ ริมหนาตาง หรือ ตรงระเบียง นาจะเปนสิ่งที่ทําใหใครหลายๆ คนหันมาเพิ่มพื้นที่สีเขียวใน บานกันไดมากขึ้น เราลองมาดูขั้นตอนการทํากันเลย อุปกรณ 1. ขวด 2. แกวน้ํา 3. แผนตาขายเพอกั้นดิน 4. เชือก 5. ตนไมที่ตองการปลูก หากใครที่ ต อ งการจะ เปลี่ยนจากขวดแกวและแกวน้ํา เปนพลาสติกก็จะทําใหสามารถ ตัดไดงายขึ้น รวมถึงวัสดุอนที่ สามารถเปลี่ ย นแปลงได ต าม ความเหมาะสม ทั้งนี้ลองดูวิธีที่ เราจะนําเสนอเปนแนวทางได เริม่ ตนโดยการตัดสวนคอ ขวดโดยใหมีความสูงนอยกวา

แกวที่จะจะใสน้ํา นํากระดาษทราย มาขัดสวนที่คมออก จากนั้นตัด ตาขายใหมีขนาด 2 นิ้ว x 2 นิ้ว เจาะรู ต รงกลางเพื่ อ ร้ อ ยเชื อ ก เขาไปในตาขาย และผูกปมไม ให หลุด เชือกจะเปนสวนทีด่ ดู น้าํ ขึน้ ไป ใหความชุมชื้นกับดินในปริมาณน้ํา ที่พอเหมาะ หลังจากนั้นนําเชือก รอยลงไปถึงดานลาง สวนครึ่ง ลางของขวดจะทําหนาที่เปนที่กัก เก็ บ น้ํ า ส ว นครึ่ ง บนจะเอาไว ปลูกพืช จากนั้นนําตนไมมาปลูกไว สวนดานบน โดยจะนําพื้นที่โตแลว หรือจะปลูกโดยใชเมล็ดก็ ได ตรวจ ดู ใ ห แ น ใ จว า เชื อ กมั น ยาวจนถึ ง แก ว ด า นล า ง และพื ช ก็ จ ะเจริ ญ เติบโตไปไดดว ยดี แคหมัน่ เติมน้าํ ที่ ตํ า แหน ง พอเหมาะ เชื อ กจะทํ า หนาที่ที่เหลือแทนเอง

1

2

3

4

5

ที่มา : http://www.designsponge.com

82 l April 2012

Energy#41_p81_Pro3.indd 82

3/21/12 9:42 PM


Energy in Trend

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

“น้าํ ทะเล” ติดไฟได ใหพลังงานแบบหรูๆ

รัสทัม รอย (Rustum Roy) นักเคมีจาก มหาวิ ท ยาลั ย เพนน สเตท (Penn State University) ในรั ฐ เพนซิ ล เวเนี ย ประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า ได พิ สู จ น ค วามจริ ง ดั ง กล า ว โดยทําการทดลองเชนเดียวกับคันเซียสในหอง ปฏิ บั ติ ก าร สเตทคอลเลจ (State College) หลังจากที่มีผูกลาวหาวาการคนพบดังกลาวของ คันเซียสอาจเปนแคเรองหลอกลวง โดยมีการ ใสขั้วไฟฟาเขาไปเปนตัวจุดประจุไฟ “การคนพบครั้งนี้เปนสิ่งโดดเดนที่สุดของ วิทยาศาสตรทางดานน้าํ ในรอบ 100 ปเลยทีเดียว” รอยกลาวถึงผลการทดลอง หลังจากสามารถจุดไฟ จากน้ําทะเลไดดวยวิธีเดียวกับที่คันเซียสคนพบ โดยบังเอิญ ซึ่งความรอนของเปลวไฟที่วัดได สู ง ถึ ง 1,650 องศาเซสเซี ย ส มากเพี ย งพอ สําหรับขับเคลอนรถยนตหรือเครองจักรหนัก” http://despiertaalfuturo.blogspot.com/2011/08/john-kanzius-agua-salada-como.html ป จ จุ บั น การค น พบของคั น เซี ย ส ได รั บ ความสนใจจากแวดวงนักวิทยาศาสตรและถูกนํา ไปวิจยั คนควาพัฒนาเปนพลังงานใหม และรอยก็เปนหนึง่ ในนักวิทยาศาสตร ใครจะเชอละ วาน้ําทะเล จะสามารถเทียบชั้นไดเปนแหลงพลังงาน ที่สนใจเรองนี้อยางจริงจัง เขาไดนําแนวคิดของคันเซียสมาผนวกรวมเขา ทดแทนแหงใหมที่นาสนใจมากที่สุดในโลก ดวยการคนพบที่นาทึ่งนี้เกิดขึ้น กับแนวคิดของตนเอง และเสนอโครงงานขอรับทุนวิจัยจากกระทรวง โดยบังเอิญ ในหองทดลองของ จอหน คันเซียส (John Kanzius) นักวิจยั พลังงานและกระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯ เพอพัฒนา พลังงานความรอน ดานโรคมะเร็งในเคานตีอีรี เพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ขณะที่เขา ที่ ไดจากน้ํามาใชประโยชนสูงสุด กําลังพยายามแยกเกลือออกจากน้ําทะเลดวยเครองใหกําเนิดความถี่วิทยุ เพอนําไปใชบําบัดรักษาคนไขโรคมะเร็ง โดยในระหวางที่เขาปลอยคลน ความถี่วิทยุลงไปในน้ําทะเล ซึ่งอยูในหลอดทดลอง น้ําทะเลเกิดติดไฟขึ้นมา ผลจากความบังเอิญครั้งนี้ คันเซียส ที่ตั้งใจจะสรางประโยชนใหแก ที่มา : http://www.pttplc.com/TH/Default.aspx วงการแพทย จึงกลับกลายเปนประโยชนแกวงการวิทยาศาสตรไปโดย http://www.vcharkarn.com/varticle/38349 ปริยาย เพราะการคนพบของเขาทําใหนักวิทยาศาสตรมองเห็นลูทางที่จะ ผลิตพลังงานทางเลือกชนิดใหมขึ้นมาทดแทนพลังงานเชื้อเพลิงจาก ฟอสซิลและถานหินซึง่ กําลังจะหมดไป แตการคนพบของ คันเซียส ยังสราง ความกังขาแกผูคนในแงที่วาน้ําสามารถติดไฟไดอยางไร และตางพากัน คิดวาเขานาจะกุเรองนี้ขึ้นมาเพอสรางชอเสียงใหแกตัวเองมากกวา คันเซียสไดอธิบายถึงทฤษฎีที่ทําให ‘น้ํา’ สามารถ ‘ติดไฟ’ ไดวา เกิด จากกระบวนการ ‘Reunification’ หรือ ‘การรวมกันใหม’ ของไฮโดรเจน กับออกซิเจนในโมเลกุลของน้ํา โดยอธิบายวา เมอปลอยคลนความถี่วิทยุ ลงในน้ําทะเล คลนวิทยุจะทําใหพันธะไฮโดรเจนในโมเลกุลของน้ําออนตัวลง กระทัง่ โมเลกุลของน้าํ แตกตัวออกเปนไฮโดรเจนอะตอมและออกซิเจนอะตอม จากนั้นอะตอมของธาตุทั้งสองจะรวมตัวกันใหม กลายเปนกาซออกซิเจน และไฮโดรเจน และทําปฏิกิริยากันใหม กลับกลายเปนน้ําอีกครั้ง และ http://www.wallpaperbase.com/landscape-beachandsea.shtml ปลดปลอยพลังงานออกมาพรอมๆ กับเปลวไฟ April 2012 l 83

Energy#41_p83_Pro3.indd 83

3/16/12 11:13 PM


Energy Exhibit โดย : กองบรรณาธิการ

Review BuildTech’12

ภายใตแนวคิด “ฟนฟูบาน + เมือง” มหกรรมสินคา “3 in 1” ภายใตแนวคิด “ฟน ฟูบา น + เมือง” มาพร อ มกั น ถึ ง 3 งาน BuildTech’12 ConXpo’12 และ ENERGY SAVING’12 เปนงานแสดงสินคาวัสดุ – อุปกรณกอ สรางและ ตกแตง ConXpo’12 งานแสดงสินคาเครองมือ เครองจักร และ อุปกรณเพอธุรกิจกอสรางและบริการ และ Energy Saving’12 งานแสดงสินคาเทคโนโลยีเพอการประหยัดพลังงานตามลําดับ

การจัดงานระหวางวันที่ 5-8 เมษายน 2555 ตัง้ แตเวลา 10.00 20.00 น. ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ เดินทางสะดวกโดยรถไฟฟา BTS และฟรี!!! คาโดยสารตัง้ แตสถานี ออนนุช – บางนา ออกประตูทางออกที่ 1 แลวเขาประตูดานถนน สุขุมวิท มีบริการรถรับ – สงจากสถานีถึงหนางาน และสําหรับทาน ทีม่ าชมงานในครัง้ นี้ เรามีไฮไลทแตละสวนทีน่ า สนใจมา Review กันคะ

84 l April 2012

Energy#41_p84-85_Pro3.indd 84

4/3/12 3:30 PM


ประชุมสัมมนา มีหัวขอสัมมนาที่กําลังเปนที่สนใจใครรูของคนในวงการ อาทิ - ระบบการจัดการพลังงานในการดําเนินกิจกรรมดานพลังงาน - การขอรับสิทธิประโยชนยกเวนภาษีเงินไดจากกรมสรรพากร - ISO 50001 Energy Management System : ความเขาใจ และสิ่งที่องคกรตองเตรียมการ - สภาสถาปนิกไทยกับจุดยืนในการกาวสูประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน - นํ้าทวมหรือไม...ผังเมืองเอาอยูไหม? - ผังเมืองคือจําเลยนํ้าทวมจริงหรือไม (ผังเมืองกับอนาคตของ ประเทศไทย, นโยบายบริหารการจัดการนํ้ากับการผังเมือง และการ ผังเมืองกับการแกปญหาอุทกภัยอยางยั่งยืน) - บริหารโครงการและอาคารอยางไรตามแนวทางของ LEED Certification” “กําจัดจุดออนสถาปนิกไทย ตอนที่ 2” “อยูกับนํ้า” และ “เรียนรู...อยูกับนํ้า” - ฯลฯ สวนงานนิทรรศการ • นิทรรศการ “ผลงานสภาสถาปนิก”, “Energy-Saving Home Presentation Greenovation” (บานประหยัดพลังงาน), “After Flooding Design” (สรางบาน (ใหม)...หลังนํ้าทวม), “Education”, “Education Thesis”, “Floating House Display” (บานลอยนํ้า), “Greenovation” และ “TEA & BEAT EXhibition” • กิจกรรม การประกวด “เพนทสขุ ภัณฑ BuildTech’12” ครัง้ ที่ 2, การแขงขัน “Young Designer Contest / Workshop” และ โครงการ “Designer Hub” • ไฮไลทกบั การผสมผสานของนวัตกรรมวัสดุ – อุปกรณตกแตง อุปกรณกอ สราง และอุปกรณประหยัดพลังงาน ในชอทีเ่ รียกวา “Infinity 4G Architects Pavilion”

Products Hilight ผลิตภัณฑบางสวนจากบริษัทชั้นนําที่ตบเทาเขารวมงานประชัน ความเยี่ยมยอดของสินคา ไดแก J.D. Pools Robot หุนยนตทําความสะอาดสระอัตโนมัติ จาก J.D. POOLS (BANGKOK) CO.,LTD. Wis Dom ระบบรักษาความปลอดภัยแบบไรสาย ระดับ Hi-End จาก MAXWELL INTEGRATION CO.,LTD. หลังคา Solar ใชแทนหลังคาบาน จาก HOME BUILDERS PRODUCTION CO.,LTD. Knauf Ceiling System ระบบที่ทรงประสิทธิภาพอันกอใหเกิด การกอสรางที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จาก KNAUF GYPSUM (THAILAND) CO.,LTD. พื้นไม Decking จากไมไผ จาก APP BOARD CO.,LTD. LED Solar-Infrared Sensor Flood Light โคมไฟแอลอีดีจาก พลังงานแสงอาทิตย จาก HACO ELECTRIC CO.,LTD. Floating Jigsaw “Daiichi” จาก DAIICHI PLASTIC CO.,LTD. อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอร จาก ABB LIMITED หลอด LED จาก LEKISE LIGHTING CO.,LTD. หลังคาทองแดง จาก NAPAWAN GROUP (2004) CO.,LTD. พัดลมระบายอากาศแบบประหยัดพลังงาน จาก GREEN VENT CO.,LTD. และหองเซาวนาอินฟาเรด FG-08L จาก BESTEC PACIFIC CO.,LTD. เปนตน

April 2012 l 85

Energy#41_p84-85_Pro3.indd 85

4/3/12 3:41 PM


Energy Around The World USA

USA

พบวิธจี บั พลังงานจลนจากการหมุนของลอรถ

สิ่งแวดลอมกับงานกอสราง

บริษัท New Energy Technology Incorporated ซึ่งตั้งอยูใน รัฐแมรี่แลนด ไดนําเสนอวิธีการจับพลังงานจากการหมุนของลอรถยนต และรถบรรทุกเพอนําไปแปลงเปนกระแสไฟฟา นาย John Conklin ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารของบริษทั อธิบายวา วิธีการดังกลาวเปนการจับพลังงานจลนจากลอรถยนตซึ่งวิ่งบดไปบน ดอกยางเล็ ก ๆ ขณะที่ ค นขั บ กํ า ลั ง ชะลอรถให ช า ลงหรื อ หยุ ด รถ โดย พลังงานที่ ไดจะนําไปแปลงเปนไฟฟาและใชเปนพลังงานใหกับระบบไฟบน แผงหนาปดรถยนตสําหรับคนขับ ทั้งนี้ นาย John Conklin คาดวา พลังงานที่ ไดนี้จะมีศักยภาพสูงมากในการผลิตกระแสไฟฟาใหแกหลอดไฟ และระบบไฟฟาตางๆ ในพืน้ ทีท่ ตี่ อ งการพลังงานไฟฟาสําหรับคนจํานวนมาก เช น สนามกี ฬ า หรื อ ห า งสรรพสิ น ค า แต ข ณะนี้ ยั ง มี ป ญ หาสํ า คั ญ ทางดานเทคนิคคือประสิทธิภาพในการแปลงจลนเปนกระแสไฟฟา คาใชจา ย สํ า หรั บ การจั บ พลั ง งานจลน จ ากล อ รถยนต นี้ ไม มี ต น ทุ น เชื้ อ เพลิ ง มา เกี่ยวของ จะมีก็เพียงแตเงินลงทุนเริ่มแรกและระยะเวลาคุมทุนที่ตองนํามา พิจารณา นอกเหนือไปจากคาบํารุงรักษาและความนาเชอถือของระบบ ทัง้ นี้ บริษทั ไดพฒ ั นาเทคโนโลยีดว ยตนเองโดยไมไดรบั การสนับสนุน จากภาครัฐแตอยางใด

กรรมาธิ ก ารการขนส ง ของสภาสหรั ฐ ฯได เ ร ง รั ด ให มี ก ารทบทวน กระบวนการพิจารณาผลกระทบสิง่ แวดลอมของโครงการกอสรางตางๆ เพอให โครงการสามารถดําเนินการไดเร็วขึ้น โดยระบุใหลดเวลาในการพิจารณา ลงครึง่ หนึง่ และยืนยันวาการปองกันผลกระทบสิง่ แวดลอมยังคงเดิม แตการลงทุน ดานโครงสรางพืน้ ฐานจะมีประสิทธิผลมากขึน้ โดยไดกาํ หนดเกณฑการพิจารณา อันดับแรก การทบทวนผลกระทบสิ่งแวดลอม ใหดําเนินการในขั้นตอนกอน กอสรางโดย 1. รวบรวมผลกระทบสิง่ แวดลอมใหกระชับและแนบมาพรอมกับการ ตัดสินใจ 2. ใหมกี ารพิจารณาตัดสินใจเพียงหนวยเดียว ลดระบบราชการทีล่ า ชา ใหมกี ารพิจารณาไปพรอมๆ กันในปจจัยตางๆ และตองมีการกําหนดวันแลวเสร็จ ที่แนนอน 3. โครงการที่ดําเนินการอยูในเขตทางเดิม ไมตองศึกษาผลกระทบ สิ่งแวดลอมอีก และขอที่สอง การดําเนินการกอสราง ในขั้นตอนกอสราง คื อ 1. การจั ด กรรมสิ ท ธิ์ท่ีดิน ให ทํา ได ถ า การทํ า ธุ ร กรรมนั้น ไม กอ ให เ กิ ด การเปลี่ยนแปลงการใชท่ีดินหรือมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 2. สนับสนุนใหใช แนวทางเดิม เพื่อลดค่าใช้จ่ายโครงการ ความล่าช้าและผลกระทบต่อมวลชน 3. ใหออกแบบไปกอนได เพอวาเมอผลกระทบสิง่ แวดลอมผานการพิจารณา จะได มีแบบไวกอ สรางเลย 4. ควรกําหนดเกณฑมาตรฐานทีย่ อมไดของโครงการกอสราง และใหตรวจสอบเฉพาะโครงการที่ตางไปจากเกณฑมาตรฐาน แทนที่จะตอง พิจารณาทุกๆ โครงการ

ที่มา : PTIT FOCUS Vol.26 No.1

ที่มา : RATh. News. สมาคมทางหลวงแหงประเทศไทย ปที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือน กุมภาพันธ 2555

Middle East

อิรกั กําลังกาวเปนหนึง่ ในผูจ าํ หนายน้าํ มันดิบใหแกจนี

ประเทศจีนมีแนวโนมที่จะเพิ่มการนําเขาน้ํามันดิบจากประเทศอิรักถึง 500,000 บารเรลตอวัน ในป 2555 โดยปริมาณการนําเขาดังกลาวจะมากกวาของป 2554 เกือบรอยละ 50 และเทากับประมาณ 1 ใน 10 ของปริมาณ นําเขาน้ํามันดิบทั้งหมดของจีน ซึ่งจะทําใหอิรักเปนประเทศที่จําหนายน้ํามันดิบใหกับจีนมากที่สุดจากประเทศ ซาอุดิอาระเบียและอิหราน ผูนําเขาจะนําโดยกลุมบริษัท Sinopec และ Sinochem ตามดวย PetroChina และ CNOOC รวมทั้งบริษัท คาน้ํามันของรัฐบาลจีนที่มีขนาดเล็กมากอยาง China Zhenhua Oil company Limited โดยปริมาณที่นําเขานี้ ได รวมถึงยอดประมาณการปริมาณน้ํามันที่ตองสํารองไวภายใตสัญญาที่ PetroChina และ CNOOC ไดเขาไปประมูล น้ํามันในประเทศอิรักในป 2552 และ 2553 หลังการสลายระบอบการปกครองของอดีตประธานาธิบดีซัดดัม ฮุสเซน การนําเขาน้ํามันดิบจากประเทศอิรักที่เพิ่มขึ้นอยางมากนี้ คาดวาจะชวยใหบริษัทน้ํามันในประเทศจีนลดการ พึ่งพาการนําเขาน้ํามันดิบจากซาอุดิอาระเบีย และอิหราน สองประเทศผูสงออกน้ํามันดิบรายใหญที่สุดของโอเปก ทั้งนี้ตัวเลขที่เปนทางการของสํานักขาวรอยเตอร พบวาจีนซึ่งเปนประเทศที่มีการใชน้ํามันมากเปนอันดับสองของโลก มีปริมาณความตองการใชน้ํามันเพิ่มขึ้นเกือบรอยละ 7 ในชวง 9 เดือนแรกของป 2554 ทบวงพลังงานโลก (International Energy Agency) ไดประมาณการวา ปริมาณการผลิตน้ํามันดิบของประเทศอิรักจะเพิ่มขึ้นอีก 1.5 ลานบารเรลตอวัน ภายใน ป 2559 จาก 2.7 ลานบารเรลตอวัน ในปจจุบัน ซึ่งถือวาเติบโตเร็วที่สุดในกลุมประเทศโอเปก ที่มา : PTIT FOCUS Vol.25 No.12

86 l April 2012

Energy#41_p86-87_Pro3.indd 86

3/21/12 9:13 PM


Middle East

การสงออก LPG ของกาตารเติบโตตอเนอง

กระทรวงพลังงานและอุตสาหกรรมของประเทศกาตารคาดการณวา การสงออกกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) จะเพิ่มขึ้นเปน 11 ลานตันตอป ในป 2555 และ 12 ลานตันตอป ในป 2556 ทั้งนี้ มีการใชโพรเพนและ บิวเทน ซึ่งเปนองคประกอบของ LPG กันทั่วโลกในรูปของเชื้อเพลิงหุงตม รวมถึงเปนสวนประกอบในน้ํามันเบนซิน และใชเปนวัตถุดิบในอุตสาหกรรม ปโตรเคมี ประเทศกาตารผลิต LPG จากกาซธรรมชาติของตนเอง ซึ่งกาตาร เปนทั้งผูผลิตและผูสงออกรายใหญรายหนึ่งของโลก ที่มา : PTIT FOCUS Vol.25 No.12

Middle East

โรงงานป โ ตรเคมี ร ะดั บ โลกแห ง ใหม ใ นซาอุ ฯ เตรียมผลิตเชิงพาณิชย ในไตรมาสแรกป 55

บริษัท Chevron Philip Chemical ไดประกาศวา การกอสราง โรงงานปโตรเคมีครบวงจรระดับโลกของบริษัท Saudi Polymers (SPCo) ที่เมืองอัลจุบาอิล 24 PTIT FOCUS ( AI – Jubail) ประเทศซาอุดิอาระเบีย ซึ่งดําเนินมาตั้งแตเดือนมกราคม 2551 และปจจุบันกําลังอยูระหวางการ ทดลองเดินเครองและทดสอบความปลอดภัยเพอสรางความเชอมั่นกอนเริ่ม การผลิต โรงงานแหงนีป้ ระกอบดวยหนวยผลิตตางๆ ซึง่ สามารถผลิตเอธิลนี (PE) 1,100,000 ตัน/ป พอลิโพรพิลีน ( PP) 400,000 ตัน/ป พอลิสไตรลีน (PS) 200,000 ตัน/ป และ 1 –เฮกซีน (1- Hexene) 100,000 ตัน/ป คาดวาการผลิตในเชิงพาณิชยจะเริม่ ไดในไตรมาสแรกป 2555 เพอสงขายทัง้ ตลาดปโตรเคมีในซาอุดอิ าระเบียโดยตรง และผลิตภัณฑปโ ตรเคมีบางสวนก็จะ สงออกสูต ลาดโลก โดยมีบริษทั Gulf Polymer Distribution เปนผูจ ดั จําหนาย แตเพียงผูเดียว โดยจะใชเครือขายการตลาดทั่วโลกของบริษัท Chevron Phillips Chemical SPCo เปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัท National Petrochemical (Petrochem) ของประเทศซาอุดิอาระเบีย โดยถือหุนรอยละ 65 และ บริษัท Arabian Chevron Phillips Petrochemical (ACP) ซึ่งเปนบริษัทในเครือ (Chevron Phillips Chemical โดยถือหุนรอยละ 35 ที่มา : PPTIT FOCUS Vol.26 No.1

แอโรเม็กซิโก ประเดิมบินขามทวีปดวยเชื้อเพลิงชีวภาพ

North USA

ปจจุบันน้ํามันจากเมล็ดตนสบูดําสามารถนํามาเปนเชื้อเพลิงสําหรับเครองบินไดแลว โดยสายการบินชั้นนํา ของเม็กซิโก แอโรเม็กซิโก (Aeromexico) ไดมีการนําเครองบินโบอิ้ง 777 เที่ยวบิน 200ER ซึ่งรองรับผูโดยสาร ไดมากกวา 250 คน บินขามทวีปจากกรุงเม็กซิโก ซิตี้ ไปยังกรุงมาดริด ประเทศสเปน ระยะทาง 9,073 กิโลเมตร หรือ 5,637 ไมล เพอพิสูจนสมรรถนะของเชื้อเพลิงชีวภาพในการบินระยะไกล ซึ่งประสบความสําเร็จเปนอยางดี สําหรับเชื้อเพลิงที่ ใชการบินเปนการผสมระหวางเชื้อเพลิงเครองบินไอพนที่ ไดจากปโตรเลียม 70 % กับเชื้อเพลิงชีวภาพที่ ไดจากการกลั่นเมล็ดตนสบูดํา (Jatropha Curcas) 30% ซึ่งเชื้อเพลิงดังกลาวสามารถลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูชั้นบรรยากาศลงไดถึง 12% ตอที่นั่งเมอเปรียบเทียบกับเครองบินของบริษัท คูแขง อยางไรก็ตามแหลงขาวกลาววา เชื้อเพลิงชีวภาพที่ผลิตไดจากเมล็ดตนสบูดํายังมีตนทุนการผลิต ที่คอนขางสูง แตเมอความตองการใชเชื้อเพลิงชนิดนี้ ในภาคการบินเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสงผลใหมีการผลิตเพิ่ม ก็สามารถทําใหตนทุนการผลิตลดต่ําลงได ทั้งนี้ เมอกลางป 2554 สายการบินตนทุนต่ําของเม็กซิโก Interjet ประสบความสําเร็จในการบิน ดวยการใชเชื้อเพลิงชีวภาพเปนครั้งแรกในเสนทางการบิน จากกรุงเม็กซิโก ซิตี้ ไปยังเมือง Tuxtla Gutierrez ที่อยูทางตอนใต ที่มา : จดหมายขาวอนุรักษพลังงาน ฉบับที่ 43 กุมภาพันธ 2555

April 2012 l 87

Energy#41_p86-87_Pro3.indd 87

3/21/12 9:15 PM


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

K B A N K ตั้ ง เปา เบอร 1

ตลาดสิ น เชื่ อ พลั ง งานทดแทน

กสิกรไทยตั้งเปาหมายเติบโตสินเชื่อประมาณ 8-9% เพื่อตอบสนอง ตอการเติบโตของเศรษฐกิจที่คาดวาปนี้จะอยูที่ 5% โดยไดแรงขับเคลื่อน จากการลงทุนเพื่อฟนฟูประเทศจากนํ้าทวมและการลงทุนดานโครงสราง พื้นฐานเพื่อรองรับการเติบโตโดยรวมของเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเล็ง เห็นโอกาสการเติบโตของธุรกิจพลังงาน ทั้งพลังงานทั่วไป และพลังงาน ทดแทนกวา 1,000,000 ลานบาทในชวงเวลา 10 ปขางหนา นายวศิน วณิชยวรนันต รองกรรมการผูจ ดั การ ธนาคากสิกร ไทย (KBANK) เปดเผยวา ธนาคารตัง้ เปาถือครองสัดสวนตลาดสนับสนุน ดานพลังงานแทนที่ 80% ที่จะทําใหธนาคารสามารถยืนหยัดเปนเบอร 1 ของธุรกิจพลังงานทดแทนได โดยมีเปาสินเชื่อเพื่อสนับสนุนโครงการดัง กลาวที่ประมาณ 25,600 ลาน โดยเห็นวา ความตองการของพลังงานไฟฟาเพื่อตอบสนองตอการ เติบโตของเศรษฐกิจอยูที่ประมาณ 5-6% ตอป โดยจากกําลังการผลิตใน ปจจุบันที่ประมาณ 33,000 – 34,000 MW (เมกกะวัตต) จะเพิ่มขึ้นถึง 48,000 MW ในอีก 10 ปขางหนา หรือเพิ่มอุปทานของพลังงานไฟฟาเขา สูระบบที่ 23,000 MW โดย ประมาณ 4,000 MW จะมาจากการลงทุน ของภาครัฐโดย EGAT และสวนที่เหลือ 19,000 MW จะเปนการลงทุนของ ภาคเอกชน โดยคิดเปนมูลคาการลงทุนที่ประมาณ 1,020,000 ลานบาท ทัง้ นี้ จากแนวทางของภาครัฐทีต่ อ งการลดการพึง่ พิงพลังงานจาก แกส จาก 70% ใหเหลือประมาณ 45-50% ในชวงเวลา 20 ปขางหนา โดย มุง เนนการเพิม่ สัดสวนของพลังงานทดแทน ดังนัน้ ปริมาณการผลิตไฟฟา ของภาคเอกชนจํานวน 19,000 MW จะเปนสวนที่เปนพลังงานทดแทน 6,500 MW หรือคิดเปนการลงทุนประมาณ 520,000 ลานบาท ซึ่งเมื่อหัก สวนที่เปนพลังงานทดแทนชีวมวล 2,000 MW แลว จะพบวาเปนพลังงาน

ทดแทนประเภทพลังงานจากแสงแดด จากลม และจากนํ้า เปนสวนใหญ ที่ มีโครงการที่กสิกรไทยประเมินความเปนไปไดแลวประมาณ 2,000 MW ที่ มีมูลคาลงทุนประมาณ 160,000 ลานบาท สวนพลังงานไฟฟาทั่วไปที่เหลือนั้น ที่มีปริมาณความตองการกําลัง การผลิตเพิม่ 12,500 MW ธนาคารไดเขารวมใหการสนุนประมาณ 8,000 MW โดยมีประมาณกวา 40 โครงการที่ยังไมสรุปผล ซึ่งทางธนาคารตั้ง เปาสวนแบงตลาดพลังงานทั่วไปที่ 75% หรือคิดเปนสัดสวนการลงทุน ประมาณ 180,000 ลานบาท ซึ่งจะทําใหเกิดการเพิ่มขึ้นของยอดสินเชื่อ พลังงานสวนนี้ประมาณ 27,000 ลานบาท โดยปจจุบัน ธนาคารมีสัดสวน การใหกูแกธุรกิจพลังงานประมาณ 11% จากยอดเงินสินเชื่อรวมของ ธุรกิจขนาดใหญ โดยคาดวาจะมีการเติบโตในปนี้มากกวาอัตราการเติบโต ของสินเชื่อรวมของ Port ที่ประมาณ 10 -12% อยางไรก็ตามปจจุบัน ธนาคารมีสัดสวนการใหกูแกธุรกิจพลังงาน ประมาณ 11% จากยอดเงินสินเชื่อรวมของธุรกิจขนาดใหญ ซึ่งตั้งเปา สินเชื่อรวมธุรกิจขนาดใหญปนี้เติบโต 10-12% มากกวาสินเชื่อรวมปนี้ที่ ตั้งเปาเติบโต 8-9%

88 l April 2012

Energy#41_p88_Pro3.indd 88

4/3/12 12:35 AM


Energy Legal

โดย : ทนายเหนง

ทําความรูจ กั “แผนจัดการมลพิษ” พ.ศ. 2555 -2559”

หลายคนที่ ติ ด ตามประเด็ น ของสิ่ ง แวดล อ มกั น ในช ว งที่ ผ  า นมา คงได ยิ น ข า วเกี่ ย วกั บ การคลอดแผนจั ด การมลพิ ษ ที่ ท าง กระทรวง ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ทส.) ไดเสนอวาระ “แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2555 -2559” ใหที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณา เพื่อใหทุกภาค สวนใชเปนกรอบและแนวทางในการจัดการมลพิษของประเทศไทยในอีก 5 ป ขางหนา ซึ่งตั้งเปาเพื่อปรับคุณภาพสิ่งแวดลอมเขาเกณฑมาตรฐาน และ สงเสริมใหทองถิ่นและภาคประชาชนรวมจัดการมลพิษ โดยแผนจัดการมลพิษดังกลาว มีวัตถุประสงคเพื่อกําหนดกรอบ แนวคิดและทิศทางการจัดการมลพิษของประเทศไทยใน อีก 5 ปขางหนา (พ.ศ. 2555-2559) ทีม่ คี วามเชือ่ มโยงกับแผนจัดการคุณภาพสิง่ แวดลอม พ.ศ. 2555-2559 และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) เพื่อใหการปองกันและแกไขปญหามลพิษของประเทศ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพทันตอสถานการณ และการเปลี่ยนแปลงของ กระแสโลก และสรางเสริมการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ในการจัดการ มลพิษของประเทศทีม่ กี ารกําหนดเปาหมาย ทิศทาง และผลักดันการดําเนิน การใหเกิดผลรวมกัน โดยมีเปาหมายใหคุณภาพสิ่งแวดลอมดีขึ้นและอยูใน เกณฑที่กําหนดไว ทั้งนี้ กรอบแนวคิดของแผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2555-2559 มี สาระสําคัญสรุปได คือ

1. ลดและควบคุมการระบายมลพิษอันเนื่องมาจาก ชุ ม ชนเกษตรกรรม อุ ต สาหกรรม ยานพาหนะ และการ คมนาคมขนสง โดยใหมีการจัดการมลพิษตั้งแตตนทาง ระหวางทาง จนถึงปลายทาง และใหทุกภาคสวนมีสวนรวม ในการดําเนินการในขั้นตอนตางๆ ตั้งแตการกํากับ ติดตาม สงเสริม และสนับสนุนใหแหลงกําเนิดมลพิษและหนวยงาน ที่เกี่ยวของสามารถดําเนินการในการจัดการสิ่งแวดลอม ใหเปนไปตามมาตรฐานหรือเกณฑที่กําหนด รวมทั้งดําเนิน การเปดเผยและเขาถึงขอมูลแหลงกําเนิดมลพิษและผลกระ ทบที่เกิดขึ้น 2. จัดการมลพิษในระบบพื้นที่ตามลําดับความสําคัญ ของปญหา เชน พื้นที่ลุมนํ้าในการแกไขปญหาคุณภาพนํ้าใน พื้นที่วิกฤติ กลุมจังหวัดที่ประสบปญหาหมอกควันและไฟปา เขตควบคุมมลพิษ พื้นที่ปนเปอนมลพิษ พื้นที่ที่มีความสําคัญ ทางเศรษฐกิจ พื้นที่ที่มีความออนไหวตอการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอม แหลงทองเที่ยวธรรมชาติ เปนตน 3. สนับสนุนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการดําเนินงานจัดการ นํ้าเสีย ขยะมูลฝอย มูลฝอยติดเชื้อและของเสียอันตรายชุมชน สงเสริมและ สนับสนุนใหผูประกอบการมีการจัดการขยะอันตรายและสารอันตรายอยาง เปนระบบ และมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งจัดใหมีระบบปองกันและเตรียมความ พรอมรองรับกรณีเหตุฉุกเฉิน หรืออุบัติภัยและการคมนาคมขนสงที่กอให เกิดการรั่วไหลของสารเคมี หรือสารอันตรายตางๆ 4. ประยุกตใชหลักการผูกอมลพิษเปนผูรับผิดชอบคาใชจาย (Polluter Pays Principle, PPP) การวางหลักประกันและการชดเชยคาเสียหาย จากการแพรกระจายมลพิษ การนํามาตรการทางเศรษฐศาสตรและสังคม เปนแรงจูงใจทางบวกเพือ่ สงเสริมการลดมลพิษ หรือปรับปรุงกระบวนการ ผลิตที่ปราศจากมลพิษ การสนับสนุนการผลิตและการบริการ รวมทั้งการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการมลพิษใหเกิดเปนเอกภาพทั้งทาง ดานกฎหมาย กฎระเบียบ แผนและแนวทางปฏิบัติของแตละหนวยงาน โดย ประสานความรวมมือในการจัดการมลพิษทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ผูป ระกอบ การ และประชาชน 6. สงเสริมใหภาคประชาชนและผูม สี ว นไดสว นเสีย มีสว นรวมในการ แกไขปญหา โดยรณรงคประชาสัมพันธใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และเขามารวมดําเนินงานในการปองกันและแกไขปญหามลพิษ April 2012 l 89

Energy#41_p89_Pro3.indd 89

4/3/12 12:37 AM


Energy Stat โดย : Grapher

เขาสูเ ดือนเมษายนเดือนทีไ่ ดชอื่ วารอนทีส่ ดุ ของประเทศไทยกันแลว เชือ่ วากราฟการใชพลังงานในเดือนนีก้ ค็ งจะพุง สูงรอนแรงตามอุณหภูมเิ ปนแน ซึ่งเมื่อลองดูจากสถิตของการใชพลังงานในประเทศไทยเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนนั้นก็พบวามีตัวเลขที่สูงขึ้นทุกป โดยเมื่อดูจากขอมูล สถานการณพลังงานของประเทศไทย เดือนมกราคม 2555 (Thailand Energy Situation January 2012) โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน พบวา เดือนมกราคม 2555 ประเทศไทยมีการมีการใชพลังงาน 6,598 พันตันเทียบนํ้ามันดิบ (ktoe) เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 8.8 คิดเปนมูลคาการใชพลังงาน 167,700 ลานบาท นํ้ามันสําเร็จรูป ยังคงมีการใชในสัดสวนที่สูงกวาพลังงานชนิดอื่น โดยมีการใชรอยละ 44.8 ของการใชพลังงานทั้งหมด และมีการใชพลังงาน หมุนเวียน ไฟฟา ถานหิน/ลิกไนต และกาซธรรมชาติ รอยละ 20.2, 17.3, 11.3 และ 6.4 ตามลําดับ (ภาพที่ 1) เมื่อมาดูถึงสัดสวนในการผลิตพลังงานภายในประเทศนั้นมีปริมาณเพิ่มขึ้น โดยเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอน รอยละ 5.0 สวนการนําเขา พลังงานมีปริมาณเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 7.7 และการสงออกพลังงานมีปริมาณเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 31.6 มาถึงตัวเลข การใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟา ยังคงมีการใชเชื้อเพลิงจากกาซธรรมชาติในสัดสวนที่สูงกวาพลังงานชนิดอื่น โดยมีการใชใน สัดสวนรอยละ 68.8 ของการใชเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟาทั้งหมด (ภาพที่ 2) สวน การใชพลังงานทดแทนที่ผลิตไดจากภายในประเทศเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอนรอยละ 11.5 โดยมีการใชในรูปของไฟฟา ความ รอน และกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต ในสัดสวนรอยละ 11.6 ของการใชพลังงานขั้นสุดทายทั้งหมด

ภาพที่ 1

ภาพที่ 2 90 l April 2012

Energy#41_p90_Pro3.indd 90

4/3/12 12:40 AM


Insight Energy

ผูเขียน : ลภศ ทัศประเทือง

จะเปนอยางไร...หาก

LPG ครัวเรือน ขึ้นราคา ? เชอวาทุกทานที่ติดตามขาวสารพลังงาน จะตองไมพลาดกับ แผนการปรับขึ้นราคา LPG ภาคครัวเรือน ซึ่งกี่ยุคกี่สมัยแลวก็บอก วาเปนเรองละเอียดออน หวัน่ กระทบประชาชน มายุคสมัยของรัฐบาล ชุดนี้ แผนการปรับครั้งนี้ระบุออกมาแลววาจะเปนชวงตุลาคมนี้ แนนอน โดยรัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน นายอารักษ ชลธารนนท สงสัญญาณมาแลววา การปรับขึ้นราคา LPG ภาคครัวเรือน กระทรวง พลังงานมีนโยบายที่จะปรับขึ้นในเดือน ตุลาคมเปนตนไป โดยขณะนี้อยู ระหว า งศึ ก ษาผลกระทบด า นบวกและด า นลบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ ประชาชน ภาคครัวเรือน สวนจะปรับขึ้นในอัตราเทาใด ยังตองรอผลการศึกษาให รอบคอบเสียกอน และยอมรับวาตองเปนการทยอยปรับขึ้นแบบขั้นบันได จะไม่ ไ ด้ ป รั บ ขึ้ น รวดเดี ย วเพื่ อ ตามให้ เ ท่ า กั บ ต้ น ทุ น ราคาที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ณ เดือน ตุลาคม รวมทัง้ กระทรวงพลังงานจะมีมาตรการออกมาชวยเหลือ ผูใชกาซหุงตมภาคครัวเรือน ที่มีรายไดนอยเปนกรณีพิเศษ หลังจากที่ราคา LPG ในตลาดโลกพุงขึ้นเกือบ 4 เทาของราคาใน ประเทศที่ประมาณ 1,200 ดอลลาร/ตัน ขณะที่ราคา LPG ในประเทศมี การตรึงไวที่ระดับ 333 ดอลลาร/ ตัน ทั้งนี้ ไทยไดตรึงราคา LPG ภาคครัวเรือนตัง้ แตตน ป 51 กอนจะไดเริม่ ทยอยปรับราคา LPG ภาคขนสง ในปนี้ โดยปรับขึ้นเดือนละ 0.75 บาท/กิโลกรัม เปนเวลา 12 เดือน เริ่มตั้งแต 16 ม.ค.55 ดานนายชิษณุพงศ รุงโรจนงามเจริญ นายกสมาคมผูคากาซ ปโตรเลียมเหลว (LPG) ใหความเห็นถึงผลกระทบในเรองการจะปรับขึ้น ราคา LPG ภาคครัวเรือนในอนาคตวา จะไมกระทบสักเทาไหร ถาทยอย

http://www.vcharkarn.com/varticle/43626

http://hilight.kapook.com/view/62850

ขยับขึ้นไตรมาสละ 1 บาทตอกิโลกรัม โดยขนาดถังแกสที่ครัวเรือนใชถังละ 15 กิโลกรัม เปนถังที่ประชาชนสวนใหญจะใชกัน ซึ่งไดมีการทําวิจัยและ ศึกษามาวาขนาดถังที่ 15 กิโลกรัม ตอครัวเรือน ใชไดประมาณ 60 วัน และถา 60 วันมาหารดวย 15 บาทนั้น ในวันหนึ่งคาแกสไมถึง 0.50 บาท ประชาชนก็คงไมเดือดรอนมาก “นอกจากนี้ หากมีการขยับราคาทั้งกระดานและราคาใกลเคียงกัน ก็จะไมมีการเชิญชวนใหเกิดการลักลอบนําแกสจากราคาต่ําไปสูราคาสูง ไมเหมือนเชนขณะนีท้ ีเ่ พอนบานเราใชขนาด 15 กิโลกรัม อยูท ีถ่ งั ละประมาณ 550 บาท แตของเรา 300 บาท ความตางมันมีถึง 200 มันก็เปนสิ่งที่ เชิญชวนใหมีการลักลอบ แตรัฐบาลมีนโยบายในการที่จะขยับทั้งกระดาน และความแตกตางของราคามีไมมาก คิดวาคงไมใครกลาทีจ่ ะมาทําตรงจุดนี้ อีกตอไป”

เปรียบเทียบราคา LPG ภาคครัวเรือนของประเทศเพอนบาน ..บาท/กก. (ณ 14 ก.พ. 2555) เวียดนาม 51.91 ลาว 47.58 กัมพูชา 44.55 พมา 37.3 มาเลเซีย 20 ไทย 18.13 April 2012 l 91

Energy#41_p91_Pro3.indd 91

3/16/12 11:12 PM


Energy#41_Ad B&T'12_Pro3.ai

1

3/21/12

10:29 PM


Special Scoop

จับตา ทิศทางโซลาฟารมในไทย พลั ง งานแสงอาทิ ต ย จั ด เป น หนึ่ ง ในพลั ง งานทดแทนที่ มี ศักยภาพสูงสําหรับประเทศเนือ่ งจากประเทศไทยอยูใ กลเสนศูนยสตู ร และยังเปนพลังงานที่สะอาดไมมีอันตรายในตัวมัน ไมทําใหสภาพ แวดลอมเปนพิษ ซึ่งเปนพลังงานที่อยูรอบๆ ตัวไมตองไปหาซื้อ หรือนําเขาเหมือนกับพลังงานชนิดอื่นๆ เสมือนมีแหลงพลังงาน มหาศาลทีไ่ ดมาเปลาๆ อีกทัง้ ยังเปนพลังงานทีเ่ กิดใหมไดไมสนิ้ สุด แต เปนพลังงานที่ใชพื้นที่เยอะในการติดตั้งโซลาเซลล ซึ่งหากตองการ ลงทุนสรางโรงไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยก็ตองลงทุนซื้อที่ดิน ในจํานวนหลายไรดวยกันครับ

ปจจุบันนั้นเริ่มเปนที่นิยมมากขึ้นสําหรับพลังงานแสงอาทิตย ที่ใชในการผลิตกระแสไฟฟา และการผลิตเปนพลังงานความรอน หลังจากเกิดวิกฤตดานพลังงานเชือ้ เพลิงทีม่ รี าคาสูงขึน้ ประกอบกับ พลังงานเชื้อเพลิงธรรมชาติเริ่มเหลือนอยลง ซึ่งคาดการณวา จะใชไดไมเกิน 18 ปขางหนานี้ และจากปจจัยดังกลาวพลังงาน แสงอาทิตยจึงเปนพลังงานทดแทนชนิดหนึ่ง ที่มีบทบาทสําคัญ ตอประเทศไทย สําหรับใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา รวมถึงการใชประโยชนดานอื่นๆ เพื่อรองรับการขาดแคลนพลังงาน ในอนาคตตามทีก่ รู หู รือนักวิชาการด านพลังงาน หลายคนคาดการณ http://www.nytexaminer.com/2011/11/ เอาไว April 2012 l 93

Energy#41_p93-95_Pro3.indd 93

4/7/12 9:39 PM


อยางไรก็ตาม นอกจากการผลิตไฟฟาและผลิตความรอนแลว พลังงานแสงอาทิตยยังถูกพัฒนาตอยอดใหสามารถนํามาใชประโยชน ดานอืน่ อีกเชน เตาเผาถาน ตูอ บพริก เตาอบเนือ้ แดดเดียว และอืน่ ๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ จากการวิจัยของนักวิชาการดานพลังงานแสงอาทิตยนั้น เขาบอกวาพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานทดแทนทีม่ ศี กั ยภาพสูงเพราะมี แสงแดดจาตลอดทัง้ ปและอยูใ นปริมาณทีค่ อ นขางนาน ใน 1 วัน มีแสงแดด ประมาณ 8-9 ชั่วโมง และมีแสงแดดที่เขมขนเพียงพอเพื่อผลิตพลังงาน แสงอาทิตยประมาณ 5 ชั่วโมง ถือวามากที่สุดในโลกประเทศหนึ่ง เลยทีเดียวครับ และในปจจุบนั นีพ้ ลังงานแสงอาทิตยไดรบั ความนิยมจากผูป ระกอบการ และนักลงทุนมากขึน้ เรือ่ ยๆ เนือ่ งจากวาตนทุนเซลลแสงอาทิตยมรี าคาถูกลง 2 เทา และยังมีแนวโนมที่ราคาอุปกรณหรือเทคโนโลยีแผงโซลาเซลล จะถูกลงกวาที่กลาวมาขางตนอีก เนื่องจากหนวยงานภาครัฐไดใหการ สนั บ สนุ น ให เ กิ ด การพั ฒ นาและผลิ ต แผงโซล า เซลล ใ นประเทศไทย ซึ่ ง ป จ จุ บั น ก็ มี ใ ห เ ห็ น แล ว สํ า หรั บ บางบริ ษั ท ที่ นํ า เข า เซลล แ สงอาทิ ต ย มาเปนวัตถุดิบในการผลิตแผงโซลาเซลลในประเทศไทย ประกอบกับการ สนับสนุนของกระทรวงพลังงาน ในหลายดานที่เปนปจจัยเกื้อหนุนให ผูประกอบการสนใจมาลงทุนมากขึ้น เชน การใหราคารับซื้อไฟฟา Adder 8 บาท ตอหนวย

ในสวนของการปรับระบบการรับซื้อไฟฟาเปนระบบ Feed-in tariffs นั้ น อยู  ร ะหว า งการศึ ก ษาของคณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งาน วาจะอนุมัติหรือไมแลวถาอนุมัติจะเปนเมื่อไหร ซึ่งกูรูดานพลังงานหลายคน บอกวาอยูในระหวางการศึกษา และคาดวาจะประกาศใหใชไดภายในป 2555 ทัง้ นีก้ อ นประกาศใชจะตองนําเรือ่ งเสนอเขาทีป่ ระชุมคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ (กพช.) กอน สวนผูที่ไดรับราคา Adder ละ 6.50 นั้นกูรูดานพลังงานบอกวา จะไมมีการปรับใหเปนระบบ Feed-in tariffs ดังนั้นก็หมายถึงวาผูไดรับ License ซื้อไฟฟางวดที่ 2 จะไดรับราคา Adder ละ 6.50 ตอไปจนหมด อายุสัญญาซึ่งปจจัยดังกลาวนั้นผูประกอบการที่ไดรับ License 6.50 หลายรายอาจสละสิทธิ์หรือขายสัญญาตอใหกับผูประกอบการรายอื่นๆ

ไดดําเนินการตอ หรือบางรายอาจจะถือสัญญารอจนกวาตนทุนอุปกรณ จะตํ่าลงมากกวานี้อีกเพื่อจะไดคุมตอการลงทุน ทั้ ง นี้ แ ละทั้ ง นั้ น ณ ป จ จุ บั น ประเทศไทยมี ผู  ป ระกอบการที่ ไ ด รั บ Adder 8 บาท มีจํานวน 419 ราย รวมกําลังการผลิต 1885.06 เมกะ วัตตแยกเปนเทคโนโลยีแบบ PV 236 ราย 942.82 เมกะวัตต Solar Thermal 183 ราย 942.24 เมกะวัตต แตที่ลงนามสัญญาแลว และ อยูระหวางการกอสราง (PPA) 395 ราย หากดู จ ากตั ว เลขแล ว ต อ งยอมรั บ ว า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย น้ั น มี ผูประกอบการสนใจ ลงทุนอยางมากซึ่งการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยจากแผนเดิมที่กําหนดไว 500 เมกะวัตต เปน 1,000 เมกะวัตต 94 l April 2012

Energy#41_p93-95_Pro3.indd 94

4/7/12 9:39 PM


อยางไรก็ตามกอนหนานี้ บริษัทไดเชื่อมโยงจําหนายไฟฟาแลว จํานวน 4 โครงการ ไดแก โซลา เพาเวอร โคราช 1 โซลา เพาเวอร สกลนคร 1 โซลา เพาเวอร นครพนม 1 โซลา เพาเวอร โคราช 2 และคาดวาจะสามารถ เชื่อมโยงจําหนายไฟฟาไดภายในเดือนมีนาคมนี้อีก 3 โครงการ ไดแก โซลา เพาเวอร โคราช 3 โซลา เพาเวอร โคราช 4 และโซลา เพาเวอร โคราช 7 นอกจากนีย้ งั มีอกี 7 โครงการทีอ่ ยูร ะหวางเตรียมการกอสราง ไดแก โซลา เพาเวอร โคราช 8 โซลา เพาเวอร โคราช 5 โซลา เพาเวอร ขอนแกน 3 โซลา เพาเวอร ขอนแกน 4 โซลา เพาเวอร ขอนแกน 5 โซลา เพาเวอร โคราช 9 และโซลา เพาเวอร ขอนแกน 8 พรอมกันนี้บริษัทยังมีแผน ที่จะพัฒนาโครงการโซลาฟารมสวนที่เหลืออีก 18 โครงการใหแลวเสร็จ ภายในเดือนตุลาคมปหนา นี่เปนตัวอยางเพียง 1 บริษัทที่ไดรับสัญญาซื้อขายไฟฟาจาก พลังงานแสงอาทิตยในจํานวน 60 รายที่ไดรับ Adder 8 บาท และจาย ไฟฟาเขาระบบแลว (COD) ซึง่ ยังไมนบั ผูป ระกอบการทีไ่ ดรบั Adder 6.50 บาท และผูประกอบการในระบบ Feed-in tariffs และหากในอนาคต เกิดการพัฒนาหรือขยายกําลังการผลิตอยางเต็มกําลังไมแนใจวาโรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยจะไปแยงพื้นที่การปลูกขาวของชาวนาหรือไม และมีผปู ระกอบการธุรกิจเสนอขายไฟฟาตอการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.)แลวกวา 5,051 เมกะวัตต ในขณะที่เปาหมายตามที่รัฐไดกําหนดไว ภายในป 2565 อยูท ี่ 5,604 เมกะวัตต แสดงใหเห็นวาธุรกิจการผลิตไฟฟา จากพลังงานทดแทนไดรับความสนใจจากเอกชนอยางมาก และภาครัฐเอง ก็แสดงทาทีเปดกวางตอการรับซื้อไฟฟาจากพลังงานทดแทนมากทีเดียว ดังจะเห็นไดจากปริมาณการรับซื้อไฟฟาจากพลังงานจากแสงอาทิตย รับซื้อไวที่ 2,225.1 เมกะวัตต สวนผูประกอบการที่เดินเครื่องโรงไฟฟา พลั ง งานแสงอาทิ ต ย แ ละจ า ยไฟฟ า เข า ระบบแล ว (COD) 60 ราย 168.62 เมกะวัตต (ตัวเลขรวมของทั้ง 3 การไฟฟา) และบริษัท เอสพีซีจี จํากัด (มหาชน) เปนหนึ่งในหลายบริษัทที่ ไดลงทุนโซลาฟารมขนาดกําลังการผลิตรวมหลายเมกะวัตตเรียกไดวา เปนเบอรหนึ่งของประเทศเลยก็วาได โดย นางสาววันดี กุญชรยาคง ประธานกรรมการและกรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั เอสพีซจี ี จํากัด (มหาชน) บอกวา ปจจุบนั โซลาฟารม (โรงไฟฟาพลังแสงอาทิตย) ของบริษทั ไดสญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟา 34 แหงกวา 240 เมกะวัตต ทําสัญญาซือ้ ขายไฟฟา กับการไฟฟาสวนภูมภิ าคทัง้ หมด โดยมีมลู คาการลงทุนทัง้ สิน้ 21,000 ลานบาท นับเปนหนึ่งในผูนําการพัฒนาโซลาฟารมที่มีขนาดใหญในประเทศไทย และในกลุมอาเซี่ยน และลาสุดบริษัทไดดําเนินการเปดตัวโครงการโซลา เพาเวอร เลย 1 ที่อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ขนาดกําลังการผลิต 6 เมกะวัตต ซึ่งเปน โซลาฟารมแหงที่ 5 ใน 34 โครงการทีเ่ ปนคูส ญ ั ญาซือ้ ขายไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตย ใหกับการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) และคาดวาจะสามารถ คืนทุนไดภายใน 7 ป ในอายุสัญญา 10 ปของการซื้อขายไฟฟาในราคา แอดเดอรละ 8 บาท April 2012 l 95

Energy#41_p93-95_Pro3.indd 95

4/7/12 9:40 PM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร เจาหนาที่ขาย(ที่ปรึกษาดานสิ่งแวดลอม) อายุ 22 - 30 ป วุฒิปริญญาตรี ถึง ปริญญาโท มีความรูเ กีย่ วกับสารเคมีและสิง่ แวดลอม มีประสบการณ ในการเสนองาน และงานด า นการขาย 1 ป ขึ้ น ไป จะไดรับการพิจรณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท บริหารและพัฒนาเพอการอนุรักษ สิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน) 0-2502-0900 ตอ 301,302 รับสมัคร เจาหนาที่ชุมชนสัมพันธ เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึน้ ไป จบมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ถึง ปริ ญ ญาตรี มี ป ระสบการณ ด า นชุ ม ชนสั ม พั น ธ สิ่งแวดลอม ความปลอดภัย การพัฒนาชุมชน เปนตน ติดตอ บริษัท เอเชียกรีน เอนเนอจี จํากัด (มหาชน) 0-2894-0088 #312

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร เจาหนาที่ปฏิบัติการวิเคราะห จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือเคมี และสาขาอนๆ ที่เกี่ยวของ สามารถใชเครอง มือ AAS, ICP ได ไมแพสารเคมี ไมตาบอดสี กรณีผาน การฝกอบรม ISO 17025 จะพิจารณาพิเศษ ติดตอ บริษทั เบตเตอร เวิลด กรีน จํากัด (มหาชน) 0-2731-0080 ตอ 105, 145 รับสมัคร หัวหนาแผนกสิง่ แวดลอม (Biogas) ปฏิบตั งิ าน ที่ จ.นครราชสีมา เพศชาย อายุ 25-35 ป วุฒปิ ริญญา ตรี สาขาเคมี หรือสิง่ แวดลอม ผานการเกณฑทหารแลว มีประสบการณดา นไบโอแกสจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ กลุมบริษัท บุญวรรณ กรุป 044-212351-62 รับสมัคร หัวหนาแผนกสิ่งแวดลอม เพศชาย/หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิศวกรรม สิ่งแวดลอมหรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณดาน บริหารจัดการสิ่งแวดลอมอยางนอย 3 ปขึ้นไป เพศ ชายผานการเกณฑทหารแลวและไมสูบบุหรี่ สามารถไป ปฏิบัติงานที่จังหวัดสระแกวไดสะดวก (มีหอพักให). ติดตอ บริษัท เอสแอนดดี อินดัสทรี้ จํากัด 0-2452-1291 รับสมัคร เจาหนาทีส่ ิง่ แวดลอม (จ.สระแกว) เพศ ชาย/ หญิง อายุ 20 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี ขึ้นไป ราย ละเอียดงาน รายงานการควบคุมมลพิษ ควบคุมมลพิษ สิ่ ง แวดล อ มให เ ป น ไปตามกฎหมายที่ กํ า หนด จั ด ทํ า รายงานสิ่งแวดลอมตามกฎหมายกําหนด ติดตอ บริษัท อีเอส เพาเวอร จํากัด 037-262229-31 รับสมัคร ผูจ ดั การศูนยฯ สิง่ แวดลอม (จ.ประจวบคีรขี นั ธ) เพศชาย / หญิง อายุ 30 - 35 ป วุฒิการศึกษา ป.ตรี / โท สาขาวิ ท ยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม, วิ ศ วกรรม สิง่ แวดลอม ประสบการณทาํ งาน 3 - 5 ป มีประสบการณ ดานการจัดการสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม ติดตอ บริษัท กลุมเหล็กสหวิริยา จํากัด 0-2285-3101-10 ตอ 626- 627

รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม (สระแกว) เพศชาย อายุ 28 - 35 ป วุฒปิ ริญญาตรี ขึน้ ไป สามารถทําแล็ป น้ําเสียได ดูแลระบบสิ่งแวดลอมภายในโรงงานและผล ที่จะกระทบกับภายนอก ในเรองน้ํา กลิ่น ฝุนละออง เปนตน มีใบอนุญาตเปนผูควบคุมน้ําและกาก ติดตอ บริษัท ไทยงวนเมทัล จํากัด (มหาชน) 0-2811-2506-8 ตอ 211

รับสมัคร นักวิชาการสิ่งแวดลอม วุฒิปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม วิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดล อ ม หรื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข อ ง ราย ละเอียดงาน จัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิง่ แวดลอม (EIA) หรือ รายงานผลกระทบสิง่ แวดลอม เบื้องตน (IEE) ของงานกอสรางประเภทที่พักอาศัย ติดตอ บริษัท ซีอีแอล เอ็นจิเนียส จํากัด 0-2751-510-5

รับสมัคร นักวิชาการสิ่งแวดลอม (Monitoring) เพศ ชาย อายุ 26 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขาดาน สิ่ ง แวดล อ ม เป น หั ว หน า ที ม ในการออกตรวจวั ด คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม สามารถใช เ รี ย นรู ก ารใช ง าน เครองมือตรวจวัดไดเปนอยางดี ติดตอ บริษัท เอ็นไวแล็บ จํากัด 0-2802-3982 ตอ 222

รับสมัคร หัวหนาแผนกสิง่ แวดลอมและความปลอดภัย วุ ฒิ ป ริ ญ าตรี วิ ศ วกรรมศาสตร , วิ ท ยาศาสตร สิ่งแวดลอม, อาชีวอนามัย มีประสบการณทางดาน สิ่งแวดลอมและความปลอดภัยอยางนอย 5 ป ติดตอ บริษัท ไทยน้ําทิพย จํากัด 0-2984-2000

รับสมัคร นักสังคมศาสตร ที่สนใจดานการมีสวนรวม ของประชาชนในรายงานการวิ เ คราะห ผ ลกระทบ สิ่งแวดลอม, วางแผน ประสานงาน และควบคุมการ ดําเนินงานการมีสวนรวมของประชาชนและการสํารวจ ความคิดเห็น, จัดทํารายงาน EIA ในสวนของการมีสว น รวมของประชาชนและการสํารวจความคิดเห็น ติดตอ บริษัท แอรเซฟ จํากัด 0-2540-0055 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม อายุ 23 ปขึ้นไป วุฒิ ปริญญาตรี - โท วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา วิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดล อ มหรื อ สุ ข าภิ บ าล ใบอนุ ญ าต ประกอบวิชาชีพสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ระดับภาคี วิศวกร ประสบการณทํางานดานสิ่งแวดลอมไมนอย กวา 2 ป ติดตอ บริษัท ปภพ จํากัด 0-2570-5580 ตอ 1110 รับสมัคร ผูจัดการซอมบํารุงรักษา ซอมบํารุงรักษา โรงไฟฟา 5,6,11 เพศชาย อายุ 35 ป ขึ้นไป วุฒิการ ศึ ก ษาปริ ญ าตรี ในสาขา วิ ศ วกรรมศาสตร ประสบการณในการทํางานดานการซอมและบํารุงรักษา โรงไฟฟา อยางนอย 7 ป ติดตอ บริษัทดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จํากัด (มหาชน) 038-538968-72 # 2747 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย/หญิง อายุ ไมเกิน 30 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม หรื อ อนามั ย สิ่ ง แวดล อ ม วิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม และสาขาอนๆที่เกี่ยวของ ประสบการณ การทํางานดานความปลอดภัยในโรงงาน อุตสาหกรรม 1 ปขึ้นไป ติดตอ บริษัท ซี.พี.คาปลีกและการตลาด จํากัด 0-2739-4423 ตอ 714,715

รั บ ส มั ค ร S u p e r v i s o r ด า น สิ่ ง แ ว ด ล อ ม (พระนครศรีอยุธยา) วุฒิปริญญาตรีวิทยาศาสตร บั ณ ฑิ ต สาขาเคมี , เคมี เ ทคนิ ค , เคมี วิ เ คราะห , เคมีอินทรีย, เคมีทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และ สาขาอนที่เกี่ยวของ มีประสบการณวิเคราะหน้ําเสีย ติดตอ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) 035-289 333-45 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม (จ.ชัยภูมิ) เพศชาย/ หญิง อายุ 25-35 ป วุฒิป.ตรี/โท วิศวกรรม สาขา สิง่ แวดลอม มีประสบการณ ดานสิง่ แวดลอมในโรงงาน อุตสาหกรรม 2-3 ป มีใบทะเบียนผูควบคุมระบบบําบัด มลพิษ ดานน้ํา อากาศ และกากอุตสาหกรรม ติดตอ บริษัท น้ําตาลมิตรผล จํากัด 044-881-111-4 ตอ 1102, 1113 รับสมัคร วิศวกรอนุรักษพลังงาน วุฒิปริญญาตรีขึ้น ไป สาขาวิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมพลังงาน หรือสาขา อื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ประสบการณ์ ทํ า งานด้ า นอนุ รั ก ษ์ พลังงานไมนอยกวา 2 ป ผานการอบรม หรือขึ้น ทะเบียนเปนเจาหนาที่อนุรักษพลังงานมาแลว ติดตอ บริษัท สงวนวงษอุตสาหกรรม จํากัด 044-212-185-6 รับสมัคร หัวหนาหนวยเทคโนโลยีชีวภาพ (โรงงาน จั ง หวั ด ประจวบคี รี ขั น ธ ) ปริ ญ ญาตรี , ปริ ญ ญาโท เทคโนโลยี ชี ว ภาพ วิ ท ยาศาสตร์ หรื อ สาขาอื่ น ที่ เกี่ยวของ มีประสบการณ 2 ป ในงานอุตสาหกรรม พลังงานสะอาด หรือเทคโนโลยีชีวภาพ หรืออนๆ ที่ เกี่ยวของ ติดตอ บริษัท ทิปโกฟูดส จํากัด (มหาชน) 0-2273-6200 ตอ 7801,7724 รับสมัคร วิศวกรอนุรักษพลังงาน (ประจําโรงงาน ปราจีนบุรี) เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเครองกล , แมคราทรอนิกส , ออกแบบ เครองกล หรือสาขาอนที่เกี่ยวของ มีประสบการณใน โรงงานอุตสาหกรรม 1 ปขึ้นไป ติดตอ บริษัท เครองดมกระทิงแดง จํากัด และ บริษัทในเครือฯ 0-2415-0100-3

96 l April 2012

Energy#41_p96_Pro3.indd 96

3/21/12 9:08 PM


Energy Price

April 2012 l 97

Energy#41_p97_Pro3.indd 97

4/3/12 9:26 PM


Directory ระบบความเย็น บริษัท เซิรฟแอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2673-0088,0-2673-2900 : 0-2672-5757 : http://www.serveair.com/contact.html : ระบบความเย็น

บริษทั มณฑลทิพยอคี วิปเมนท จํากัด จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2814-1102,081-255-2040 : 0-2814-1101 : http://www.airmonthonthip.com : ระบบความเย็น

รานอาร.เอส.อะไหลแอร

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2690-6605, 0-2691-6194 : 0-2691-3481 : http://www.rs4168.com/ : ระบบความเย็น

บริษทั เอสเอ็นอาร คูลลิง่ แอนด เทรดดิง้ จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2396-0012 : 0-2396-1434 : http://www.srinakarincooling.com : ระบบความเย็น

บริษัท ช.สยามแอร นิวทอง จํากัด

โทรศัพท : 0-2985-1888 , 0-2386-9119 แฟกซ : 0-2710-4998 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด ชาญวิทยเอ็นจิเนียริ่ง โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 032-342-305 -4 : 032-342-355 : chavit.eng@thaimail.com : ระบบความเย็น

บริษัท ซอฟตลิงค จํากัด

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2378-1094 : 0-2387-1097 : www.softlink21.com : ระบบความเย็น

บริษัท ซันโย (ไทยแลนด) จํากัด

โทรศัพท : 0-2248-3491 แฟกซ : 0-2246-7250 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ซี.เค.ที.ดี เวลลอปเมนท จํากัด

หางหุนสวนจํากัด ตากสินเครองเย็น

โทรศัพท : 0-2465-7071-3, 0-2472-1136-7 แฟกซ : 0-2472-1138 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั โตชิบาแคเรียร(ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2501-1390 : 0-2501-1420 : www.toshiba-aircon.in.th : ระบบความเย็น

บริษัท ที ที เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2939-9000 : 0-2512-3347 : www.siamrungruang.com : ระบบความเย็น

Water Pump บริษัท เวิลด ไฮดรอลิคส จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2916-5437-8, 0-2916-3990-2 : 0-2518-2317 : pcwworldhyd@hotmail.com : Water Pump

บริษัท เวิลดปม (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2993-6835-6, 0-2993-5858 : 0-2993-6278 : wp-thai@loxinfo.co.th : Water Pump

บริษัท ไวทเครนเนอเซอรี่ จํากัด

โทรศัพท : 0-2215-9599 แฟกซ : 0-2215-5265 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ศรีโพธิ์ทอง เมตัลเวิรค จํากัด โทรศัพท : 0-2451-3290-92 แฟกซ : 0-2451-3293 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ศรีสยาม โรงกลึง จํากัด

โทรศัพท : 0-2215 8127, 0-2215-7638 แฟกซ : 0-2215-8127 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2282-4528 แฟกซ : 0-2280-3548 สินคาและบริการ : Water Pump

หางหุนสวนจํากัด ซีเนอรเอ็นจิเนียริ่ง

บริษัท ส.แสงหัตถการ จํากัด

โทรศัพท : 0-2746-1509 แฟกซ : 0-2746-1026 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เซ็ทเทมป จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2372-0417-9 : 0-2372-0417 : Settemp@asianet.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท แซฟไฟร จํากัด

โทรศัพท : 0-2384-4827-9 แฟกซ : 0-2394-0994 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ดิจิตอล คูล จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2754-7455 : 0-2754-7033 : digitalcool@yahoo.com : ระบบความเย็น

หางหุนสวนจํากัด แดงแอรซัพพลาย โทรศัพท : 0-2877-0283-4 แฟกซ : 0-2476-5930 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ดี.โปรดักสแอนดแอ็ดเซ็สโซรี่ จํากัด

โทรศัพท : 0-2869-5415 แฟกซ : 0-2869-4447 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั ตรัยมิตรเอ็นจิเนียริง่ แอนดแอสโซซิเอท จํากัด

โทรศัพท : 0-2616-0578 - 83, 0-2278-1638 แฟกซ : 0-2869-4447 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2223-2112, 0-2224-3363 แฟกซ : 0-2224-3366 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สวอนนิวเมติก คอรปอเรชั่น จํากัด โทรศัพท : 0-2316-2418-20 แฟกซ : 0-2750-1468 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สหพีร เอ็นจิเนี่ยริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2216-9031-3, 0-2611-6618-20 แฟกซ : 0-2216-3467 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สินสงวนแอนดซันส จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

โทรศัพท : 0-2888-8944 แฟกซ : 0-2888-8915 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สุมิ ออรคิด จํากัด

โทรศัพท : 0-2912-2346-9 แฟกซ : 0-2913-2670 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท อัมรินทร เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2734-7436-42 แฟกซ : 0-2734-7443 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท อัลตรา-คอมเพรสเซอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2917-7772, 0-2917-7860-5 แฟกซ : 0-2917-7560 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท อัลฟา คอนโทรมาติค จํากัด โทรศัพท : 0-2721-1801-8 แฟกซ : 0-2721-2657 สินคาและบริการ : Water Pump

ระบบอุปกรณลําเลียงขนสง บริษัท เซ็นทรัลโรล คอรปอเรชั่น จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2449-779 , 089-165-7799 : 0-2449-7800 : w-centralrolls@mailcity.com : www.centralrolls.co.th : Intergrated conveyor system

บริษัท ไทยรุง ยูไนเต็ด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2811-2313 แฟกซ : 0-2814-9155 สินค้าและบริการ : ออกแบบระบบลําเลียง อะไหล่เครื่อง ลําเลียงทุกชนิด

บริษัท ที.เอ็ม อินดัสตรี จํากัด

บริษัท จักรวาลเคมี จํากัด

บริษัท เซนิท ซิสเท็ม จํากัด

: 0-2324-0473-5 : 0-2324-0472 : sales@star-dynamic.com : Water Pump

บริษัท สตีมมาสเตอร จํากัด โทรศัพท : 0-2440-1921-5 แฟกซ : 0-2440-1918 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษทั สตีลโปรดักส แอนด ซัพพลาย จํากัด โทรศัพท : 0-2424-8464, 0-2879-0178 แฟกซ : 0-2423-0527 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สมารท (1994) จํากัด โทรศัพท : 0-2559-3655-6 แฟกซ : 0-2559-3747 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สยาม อีโต เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2312-5281-300 แฟกซ : 0-2750-9132, 0-2312-5410 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2862-0906 ,0-2437-9233 แฟกซ : 0-2437-8921 อีเมล : dolez_zeniths@yahoo.co.th เว็บไซด : www.dolez.net สินคาและบริการ : ผลิ ต ลู ก กลิ้ ง ลํ า เลี ย ง จํ า หน า ยโซ สายพาน อุปกรณลําเลียง

บริษทั พลาสเทค คอนเวเยอร วิศวกรรม จํากัด

โทรศัพท : 0-2750-7147-9 ,0-2752-3283-5 แฟกซ : 0-2750-7207 อีเมล : sales@plustech.co.th เว็บไซด : http://www.plustech.co.th/ สินคาและบริการ : บริการ ออกแบบ ผลิต ติดตั้งระบบ ลําเลียงวัสดุสําหรับงานอุตสาหกรรมทุกชนิด

บริ ษั ท หย ง ชิ ง คอนเวเยอร เ วิ ร ค ส (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2445-5505 แฟกซ : 0-2445-5922 สินคาและบริการ : ผลิตสายพานและระบบลําเลียงวัสดุ

บริษทั แวรเรียส เอ็นจิเนียริง่ โปรดักส จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2727-5227-8 , 08-6326-7759 : 0-2727-5229 : sale_vep@hotmail.com : จําหนายสายพานลําเลียงพลาสติกโมดูลา ห

: 0-2751-1466 : 0-2751-1561 : sale_lgm@suteegroup.com : www.logisticsmart.net : Conveyor system

บริษัท ไทยอินเตอรแมท จํากัด

บริษัท สหสินแมชชีนเนอรี่ จํากัด

โทรศัพท : 0-2222-2758, 0-2222-5125 แฟกซ : 0-2225-4997 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2420-9022 , 0-2810-2541-4 แฟกซ : 0-2810-2540 อีเมล : tmi_conveyor@tmindustry .com สินคาและบริการ : รับออกแบบระบบลําเลียงทุกประเภท และ งานโครงสรางเหล็ก

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

โทรศัพท : 0-2644-5270 แฟกซ : 0-2644-5275 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท สตาร ไดนามิค (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท ลอจิสติกส มารท จํากัด

: 0-2738-3580-94 : 0-2738-3598-9 : sale@thaiintermat.com : Conveyor system

บริษัท วานคอม จํากัด

: 0-2729-6124-5 ,0-2729-6325-6 : 0-2729-6126 : khunbig@hotmail.com : สายพานลําเลียงโรเวรอน

บริษัท เค.เค.แมชชีนเนอรี่ แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ วัสดุทุกชนิด

: 0-2750-6296, 0-2750-6407 : 0-2750-5130 : kk_machine@thailandpages.com : ออกแบบ ผลิต จําหนาย ระบบลําเลียง

บริษัท เจ.เอ.เจ.แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2752-5083-5, 0-2730-1520 : 0-2730-1521, 0-2752-5085 : jaj2002@thailandpages.com : www.jaj-engineering.com : Material Handling conveyor maker

บริษัท ซี.วี. ดี ไซน จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2755-0582, 08-6839-1855 : 0-2755-0608 : cvdesign12@yahoo.co.th : http://www.cvdesign12.com/ : รับผลิตระบบลําเลียงทุกชนิด

บริษัท แกรนดเทค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2719-3769, 0-2719-3914 แฟกซ : 0-2719-4968 อีเมล : grandtec@truemail.co.th สินคาและบริการ : ผูแ ทนจําหนายสายพานลําเลียงคุณภาพ สูง จากฮอลแลนด

บริษัท คอนเวเยอร เทคโนโลยี จํากัด

โทรศัพท : 0-2984-4873-5 แฟกซ : 0-2984-4876 สินคาและบริการ : รับปรึกษาออกแบบติดตั้ง ระบบลําเลียง ทุกชนิด

บริษัท เค.เอ็น.เอส แมชชีน จํากัด

โทรศัพท : 0-2934-1203-5 แฟกซ : 0-2934-1206 สินคาและบริการ : ผูผลิต conveyor parts, system frame

ห า งหุ น ส ว นจํ า กั ด จิ ร ยุ ท ธ เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง แอนดซัพพลาย

โทรศัพท : 0-2312-3066-7, 0-2755-4135 แฟกซ : 0-2312-3067 สินคาและบริการ : เครองขนถายลําเลียยง ออกแบบ ติดตัง้ รับสราง

บริษัท เค็นเฟรม จํากัด

โทรศัพท : 0-2541-633, 0-2541-6341 แฟกซ : 0-2541-6945 สินคาและบริการ : จําหนายสายพานอุตสาหกรรมทุกชนิด

บริษัท เจเนรอล เทคโนโลยี จํากัด

โทรศัพท : 0-2987-5068, 0-2987-5763 แฟกซ : 0-2987-5067 สินคาและบริการ : สายพานลําเลียง ออกแบบ ติดตั้ง ผลิต ระบบจัดเก็บ Racking System

บริ ษั ท เดลแมกซ เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง แอนด เซอรวิส จํากัด

โทรศัพท : 0-2524-2078-9, 0-2524-2212 แฟกซ : 0-2524-0192, 0-2524-2080 สินคาและบริการ : สร า งระบบสายพานลํ า เลี ย ง ผลิ ต เครองจักรบรรจุของเหลวทุกชนิด

บริษัท ไดเทค แอดวานซ จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ VEYOR

: 0-2705-5035-7 : 0-2705-5038 : sale@ditechadvance.com : www.ditechadvance.com : บริการงานวิศวกรรมในโรงงาน CON-

98 l March 2012

Energy#41_p98_Pro3.indd 98

4/3/12 9:27 PM


โครงการสัมมนาเผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัดพลังงานสัญจรสําหรับ SME ครั้งที่ 4/2554 ปจจุบันการอนุรักษพลังงานเปนปจจัยที่ 5 ในการใชชีวิตของ ผูคนเนองจากเชื้อเพลิงพลังงานนั้นมีราคาที่สูงขึ้น ประกอบกับภาวะ อากาศเปลีย่ นแปลงซึง่ สงผลกระทบโดยตรงกับการดํารงชีวติ ของคน เรา และหลายหนวยงาน ทัง้ ภาครัฐ เอกชน รวมถึงภาคประชาชนทัว่ ไป ได้ตระหนักถึงเรื่องนี้เป็นอย่างดีและได้ดําเนินการหาแนวทางการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง สํ า หรั บ แนวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของแต ล ะองค ก รนั้ น สวนใหญมีวิธีจัดการดานพลังงานที่ ไมแตกตางกัน และเพอเปนการ สงเสริมใหทุกภาคสวนไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานไดอยาง ทั่วถึง ในการนี้หอการคาไทยจึงไดจัดงานโครงการสัมมนาขึ้นเพอ เผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน และโครงการตลาดนัด พลั ง งานสั ญ จรสํ า หรั บ SME ขึ้ น โดยได สั ญ จรไปทั่ ว ทุ ก ภาค ซึ่งครั้งลาสุดไดจัดขึ้นที่ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ในงานนี้ น อกจากจะได รั บ เกี ย รติ จ ากกู รู ด า นการจั ด การ พลังงานจากทั้งหนวยงานภาคเอกชน และจากหนวยงานของภาครัฐ มาให ค วามรู ด า นการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานภายในองค ก รแล ว ในงานยั ง มี ก ารจั ด บู ท แสดงสิ น ค า อุ ป กรณ เทคโนโลยี ป ระหยั ด พลังงานใหผูเขารวมฟงสัมมนาในแตละครั้งไดชมกันอีกดวย

ESCC Energy Call Center 0-2622-1860-76 ต อ 3 1 2 , 5 2 1 แ ล ะ 5 3 5 “เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ใช พ ลั ง งานอย า งเพี ย งพอ” Energy#35_p97_Pro3.indd 97

9/21/11 10:38 PM


Special Report

โดย : อัมราพร อัชอังกูล ผอ.กลุมวิชาการและสงเสริมประสิทธภาพ สํานักงานกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)

3 ระดับ คือ ระดับองคกร เปนการประเมินการใชพลังงานทั้งองคกร โดยเก็บ ขอมูลการใชพลังงานในรอบปที่ผานมา พิจารณาจากบิลคาไฟฟา ปริมาณ การใชเชื้อเพลิงและพลังงานหมุนเวียน การคํานวณหาสัดสวนการใช พลังงานไฟฟาและเชื้อเพลิงแยกตามระบบการใชพลังงานของโรงงาน ควบคุมและอาคารควบคุม ประโยชนที่ ไดจากการประเมินนีจ้ ะทําใหทราบการ เปรียบเทียบขอมูลการใชพลังงานในอดีต และสามารถเปรียบเทียบขอมูล การใชพลังงานของโรงงานหรืออาคารอื่นได ระดับผลิตภัณฑหรือการบริการ เปนการเปรียบเทียบตนทุนทาง พลังงานของการผลิตสินคาหรือการบริการ สามารถทําไดโดยการหาคา การใชพลังงานจําเพาะ (Specific Energy Consumption : SEC) จาก อัตราสวนของปริมาณการใชพลังงานตอปจจัยที่มีผลกระทบตอการใช พลังงาน ดังนี้ สําหรับโรงงานควบคุม ปจจัยที่มีผลกระทบตอการใชพลังงาน คือ หนวยผลผลิต สําหรับอาคารควบคุม ปจจัยที่มีผลกระทบตอการใชพลังงานอาจ จะเปนจํานวนหองพักที่จําหนายได ในกรณีที่เปนโรงแรม หรือ จํานวนผูใช บริการของโรงพยาบาล หรือพื้นที่ ใชสอยในกรณีของอาคารทั่วไป ระดับเครื่องจักร/อุปกรณหลัก เปนการประเมินประสิทธิภาพของ เครื่องจักร/อุปกรณหลักแตละตัว โดยการประเมินการใชพลังงานที่มีนัย สําคัญในกระบวนการผลิตหรือการบริการของโรงงานควบคุมและอาคาร

การพั ฒ นาระบบการจั ด การพลั ง งาน สําหรับโรงงานและอาคารควบคุม (ตอนจบ) ฉบับที่แลวเสนอตอนแรกเปนการใหคําจํากัดความการจัดการ พลังงาน และขัน้ ตอนการจัดการพลังงานทีน่ า สนใจ เพื่อไมใหเสียเวลา มาตอกันที่ หลักการประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงานกันเลย..

ควบคุม โดยการตรวจวัดหาขอมูลปริมาณการใชพลังงาน ชั่วโมงการ ทํางาน และวิเคราะหหาคาประสิทธิภาพและการสูญเสียพลังงานในแตละ เครื่องจักร/อุปกรณหลักที่มีการใชในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม

การประเมินศักยภาพการอนุรักษพลังงาน

การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน และ แผนการฝกอบรมและกิจกรรมสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน

เพื่อเปนการคนหาศักยภาพขององคกรในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การใชพลังงาน ซึ่งประโยชนที่จะไดรับ คือ เปนดัชนีในการบงบอกถึงตนทุน ทางพลังงานสําหรับสินค้าหรือการบริการ ใช้ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบ ประสิทธิภาพการใชพลังงานในอดีตหรือปจจุบัน หรือเปรียบเทียบกับ โรงงานในประเภทเดียวกัน นอกจากนี้การประเมินศักยภาพการอนุรักษ พลังงานยังใชเปนการกําหนดเปาหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพการใช พลังงานและการอนุรักษพลังงานอีกดวย โรงงานควบคุมและอาคาร ควบคุ ม จึ ง ต อ งมี ก ารรวบรวมข อ มู ล การผลิ ต การบริ ก ารและการใช พลังงานของทุกฝายหรือแผนกที่เกี่ยวของกับการใชพลังงาน ซึ่งเปน ขอมูลในรอบปที่ผานมาตั้งแตเดือนมกราคม ถึงเดือนธันวาคม เพื่อนํา ขอมูลดังกลาวมาจัดทําเปนขอมูลภาพรวมขององคกร โดยแบงออกเปน

หลังจากองคกรไดประเมินศักยภาพทางเทคนิคเพื่อคนหามาตรการ อนุรกั ษพลังงานแลว ทางเจาของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมจะตอง มีการกําหนดมาตรการอนุรักษพลังงานเพื่อนําไปสูเปาหมายการอนุรักษ พลังงานตอไป ทั้งนี้อาจจะใชหลักการของ Cause-and-Effect Diagram หรือแผนภูมิกางปลา(fishbone Diagram) เพื่อเปนแนวทางในการระดม ความคิดเห็น โดยเริม่ จากผลที่ ไดรบั และพิจารณาทีละประเด็นทีส่ ามารถเปน สาเหตุ ทํ า ให เ กิ ด การใช พ ลั ง งานสู ง จนกระทั่ ง ถึ ง ลํ า ดั บ การกํ า หนด มาตรการทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะนําเอาระบบการจัดการพลังงานมาประยุกตใช เชน การใชระบบปจจุบนั ทีม่ อี ยูใหเกิดประโยชนสงู สุด การปรับปรุงสิง่ ทีม่ อี ยู และ

100 l April 2012

Energy#41_p100-101_Pro3.indd 100

4/7/12 4:51 PM


การเปลีย่ นแปลงสิง่ ทีม่ อี ยู ในการกําหนดเปาหมายการอนุรกั ษพลังงานนัน้ องคกรสามารถกําหนดเปาหมายในการอนุรักษพลังงานเพื่อใชเปนหลักใน การประเมินความสําเร็จได 3 แนวทาง คือ ผูบริหารระดับสูงเปนผูกําหนด เปาหมายโดยไมไดพจิ ารณาขอมูลในอดีต การใชคา ตาํ สุดของอุปกรณ หรือ การใชพลังงานที่องคกรเคยทําได และการใชขอมูลการวิเคราะหที่ ไดจาก การเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐาน (Benchmarking) สําหรับการจัดทําแผนอนุรักษพลังงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายและ เกิดการอนุรักษพลังงานที่ยั่งยืน ควรประกอบไปดวย แผนปฏิบัติการใน การดําเนินการตามมาตรการการอนุรักษพลังงาน แผนประชาสัมพันธที่ เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน แผนการฝกอบรมและกิจกรรมสงเสริมการ อนุรักษพลังงานเพื่อเสริมความรูและความเขาใจกับบุคลากรในองคกร อยางเหมาะสมซึ่งจะตองมีการกําหนดกลุมเปาหมาย ระยะเวลาในการ ฝกอบรม ผูรับผิดชอบในการฝกอบรมแตละหลักสูตรใหชัดเจน

การดําเนินการตามแผนอนุรกั ษพลังงาน และการตรวจ สอบและวิ เ คราะห ก ารปฏิ บั ติ ต ามเป า หมายและแผน อนุรักษพลังงาน

ในขั้นตอนนี้เมื่อเจาของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมไดอนุมัติ เปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน และแผนการฝกอบรมและกิจกรรม สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานแลว ก็จะเปนหนาทีข่ องคณะทํางานดานจัดการ พลังงานทีจ่ ะตองเขามามีสว นรับผิดชอบในการควบคุมดูแลใหมกี ารดําเนินการ ตามแผนอนุรักษพลังงาน และแผนการฝกอบรม รวมทั้งทําหนาที่ ในการ ติดตาม ตรวจสอบและวิเคราะหการดําเนินการวาเปนไปตามเปาหมาย หรือไม ซึ่งหากไมเปนไปตามเปาหมายและแผนงาน หรือมีความลาชา คณะทํางานฯ นี้จะตองเขาไปหาสาเหตุที่ทําใหไมประสบผลสําเร็จ พรอมทั้ง หาแนวทางการแกไข ปรับปรุงและนําเสนอตอผูบริหารระดับสูงตอไป

การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน

ในการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน คณะทํางาน ดานการจัดการพลังงานจะตองประชุมรวมกับเจาของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุม เพื่อจัดตั้งคณะผูตรวจประเมินการจัดการพลังงานภายใน องค ก ร พร อ มทั้ ง กํ า หนดวาระการทํ า งานของคณะผู ต รวจประเมิ น ฯ

ตามความเหมาะสม ซึง่ อาจจะประกอบดวยบุคคลทีม่ าจากภายนอกหรือภายใน องคกรนัน้ ๆ ก็ได เพื่อจะไดทราบถึงปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานทีผ่ า นมา ซึ่งตามขอกําหนดของการจัดการพลังงานจะตองมีการตรวจประเมินใน หั ว ข อ ต า ง คื อ การจั ด ตั้ ง คณะทํ า งานด า นการจั ด การพลั ง งาน การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน การมีนโยบายอนุรักษ พลังงาน การประเมินศักยภาพอนุรักษพลังงาน การมีเปาหมายและแผน อนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน รวมทั้ ง แผนการฝ ก อบรมและกิ จ กรรมส ง เสริ ม การอนุรักษพลังงาน การดําเนินการตามแผนอนุรักษพลังงาน และการ ตรวจสอบและวิเคราะหการปฏิบัติตามเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน การตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงาน การทบทวนวิเคราะหและ แกไขขอบกพรองของการจัดการพลังงาน เมื่อคณะผูตรวจประเมินฯ ได สรุปผลการตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานแลว ก็จะสงให กับคณะทํางานดานการจัดการพลังงานและเจาของโรงงานควบคุมและ อาคารควบคุมพิจารณาเพื่อการทบทวนตอไป

การทบทวน วิเคราะหและแก ไขขอบกพรองของการ จัดการพลังงาน

หลังจากคณะทํางานดานการจัดการพลังงานไดรับสรุปผลการ ตรวจติดตามและประเมินการจัดการพลังงานแลว ก็จะเชิญผูเ กีย่ วของ เชน ผู รั บ ผิ ด ชอบด า นพลั ง งานหรื อ ตั ว แทนจากหน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง ฝายบริหาร คณะทํางาน และตัวแทนพนักงานทุกระดับจากหนวยงานตางๆ ในองคกรเขารวมประชุม เพื่อรับทราบผลการตรวจติดตามและประเมินการ จัดการพลังงาน รวมทั้งเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น เพื่อรวมกัน วิเคราะหหาสาเหตุและแนวทางในการแกไขทีเ่ หมาะสม นํามาสรุปผล ทบทวน วิเคราะหและแกไขขอบกพรองของการจัดการพลังงาน เมื่อไดขอสรุปเปน ที่ เ รี ย บร อ ยแล ว จึ ง จะเผยแพร แ ละประชาสั ม พั น ธ ใ ห พ นั ก งานทุ ก คนได รับทราบผลการประชุมทบทวนวิธีการจัดการพลังงาน รวมทั้งแนวปฏิบัติ ในการทํางาน เพื่อพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานที่ ไดจากการประชุมระดม สมองตอไป นอกจากการตรวจประเมินภายในโดยผูตรวจประเมินฯ ที่องคกร จัดใหมีขึ้นแลว วิธีการจัดการพลังงานจะตองมีการตรวจสอบและรับรอง จากที ม งานของผู ต รวจสอบพลั ง งานที่ ไ ด ขึ้ น ทะเบี ย นกั บ กรมพั ฒ นา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ดวย จากนั้นโรงงานควบคุม และอาคารควบคุมจึงจะสงรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการ จั ด การพลั ง งานให กั บ อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน ภายในเดือนมีนาคมของทุกปดวย สรุปแลวการปฏิบัติตามขอกําหนด 8 ขั้นตอนดังกลาว จะนําไปสู การพัฒนาวิธีการจัดการพลังงานอย่างต่อเนื่องและเกิดการอนุรักษ์ พลังงานอยางยั่งยืนภายในองคกรนั้นๆ แตอยางไรก็ตามการพัฒนาวิธี การจัดการพลังงานทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ก็คอื การเสริมสรางบุคลากรภายในองคกร นั้นๆ ใหมีความรู ความเขาใจ และเกิดจิตสํานึกดานการอนุรักษพลังงาน อยางแทจริง รวมทั้งมีระบบการจัดการเอกสารและฐานขอมูลที่ดี เพื่อใช เปนขอมูลในการอางอิงและใชสําหรับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ในการ ดําเนินการจัดการพลังงานตอไป April 2012 l 101

Energy#41_p100-101_Pro3.indd 101

4/7/12 4:51 PM


LifeStyle โดย : ณ อรัญ

เดินสายธรรม

กับชมรมพลังงานเพอสังคม

เมื่อไมนานนี้ผมไดมีโอกาสไปรวมกิจกรรมกับชมรมพําลังงานเพื่อ สังคมที่จัดไปทํากิจกรรมนั่งวิปสสนา กรรมฐาน ที่ วัดภูถํ้าพระ อําเภอ กุฉินารายณ จังหวัดกาฬสินธุ และที่ ภูคอ อําเภอคําชะอี จังหวัด มุกดาหาร เพื่อปฏิบัติธรรม และรวมกันทําบุญ ซึ่งกิจกรรมครั้งนี้มีผู รวมเดินทางประมาณ 12 คน และหลายคนยังใหมในการนั่งสมาธิรวม ทัง้ ผมดวยเรียกไดวา เปนครัง้ แรกที่ ไดเรียนรูห ลักการนัง่ สมาธิปฏิบตั ธิ รรม การนัง่ สมาธิหลายคนอาจจะคิดวาเปนเรือ่ งงายเพียงแคนงั่ ขัดสมาด แลวหลับตา แตแทจริงแลวการรวมเดินทางมาทํากิจกรรมในครั้งทําใหผม ไดรูวาการนั่งสมาธินั้นลึกซึ้งกวาที่คิดไว จะวายากก็ยากจะวางายก็ยอมได หากคนมีความตัง้ ใจจริง และฝกฝนอยูบ อ ยๆ และตอเนือ่ งเชือ่ วาทุกคนทําได แตครั้งแรกของผมที่ ไดมาเรียนรูการวิปสสนา กรรมฐานหรือนั่งสมาธินั้น นอกจากทําใหเราไดรวู า การนัง่ สมาธินนั้ ตองมีหลักการอยางไรแลวยังชวย ใหจิตใจสงบมากขึ้นกวาเดิม ถึงแมการนั่งของผมจะใชเวลาเพียงแค 30 นาทีก็ตามในการนั่งแตละครั้ง นอกจากนีแ้ ลวการรวมกิจกรรมครัง้ นีย้ งั ไดเรียนรูส จั ธรรมอะไรบาง อยางของการใชชวี ติ หลังจากที่ ไดสนทนาธรรมกับ พระอาจารยมหาสุภา กับหลวงตาที่มาจากจังหวัดเลย แตสัจธรรมเหลานั้นผมยังสรุปไมได วาอะไรจริง อะไรไมจริง เชน การเกิด แก เจ็บ ตาย นรก สวรรค ปรินิพาน การชดใชกรรม รัก โลภ โกรธ หลง รวย อะไรคือสัจธรรม ที่แทจริงหรือทุกอยางเปนสัจธรรมที่แทจริงซึ่งมันยังเปนปริศนาตอไปวา อะไรคือของจริง (หรือมันเปนแคความเชื่อ) อยางไรก็ตามสิ่งที่ผมสัมผัสไดอยางแทจริงในการไปรวมกิจกรรม ในครั้งนี้นั้นก็คือจิตใจที่สงบขึ้น และไดรูวาความเปนธรรมชาติ ความรมรื่น ของปาไมนั้นนอกจากใหอากาศที่บริสุทธิ์แลวยังชวยสรางสมาธิใหกับตัว ผมและคณะไดเปนอยางดี 102 l April 2012

Energy#41_p102_Pro3.indd 102

4/4/12 1:47 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

April 2012 l 103

Energy#41_p103_Pro3.indd 103

3/21/12 9:44 PM


Energy Thinking โดย : pimpcess

โลกออนไลน โลกแหง ความเสรีทางภาษา เชน ขอบจัยนะ (ตองเปน ‘จัย’ เพื่อดูทันสมัย และ ตองการ เนนวาลงเสียง ย.ยักษหนักๆ เพื่อแสดงอารมณ) สิ่ง เหลาไมไดเกิดขึ้นในหมูเยาวชนเทานั้น หากเราลองเปดดู หนาเฟซบุคของบุคคลทั่วไป เราสามารถเห็นภาษาเหลา นี้ไดในบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ไมเวนแมแตพอ/แม พิมพของชาติ เมือ่ ลองดูแลวก็พาใหนกึ ถึงวา อนาคตของ ภาษาไทยจะเปนเชนไร ในเมื่อทุกวันนี้ หญิงสาวสวนใหญ ไมสามารถพิมพคําวา คะ/คะ ไดอยางถูกตองแมตัวเองจะ พูดลงทายอยูทุกวัน สิ่งที่นาตกใจคือ บางคนติดการใช ภาษาแชทจนลืมไปแลววาที่ถูกตองนั้นควรสะกดอยางไร สิ่งเหลานี้เราไมอาจฝากฝงใหใครมาดูแลได ที่ สําคัญที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดนั้นคือตองฝากไวกับผู ปกครองใหสอดสองดูแลบุตรหลานของทานวากําลังใช

ทําไมตองวิบัติ? ทําไมตองแอบแบวทางภาษา? มันคือสิ่งหนึ่ง ที่สะทอนใหคานิยมในสังคมยุคนั้นๆ หรือมันคือตัวแสดงความเสื่อมถอย และ การใหความสําคัญกับภาษาประจําชาติอยางภาษาไทยเราที่ลดนอย ลงไปเทานั้นเอง? ถาลองคิดเปรียบเทียบดู คนไทยในยุคที่ปจจุบันนี้นับเปนรุนคุณลุง คุณปา และตายาย มีการใชคําไทยที่เปนการกรอนคํา หรือใชจนเคยชินเชน เรียกเครื่องบิน เปนเรือบิน, บันได เปนกะได หรือ ออกเสียงตัว “ต” เปน “ก” เชน ตรงนี้ (กงนี้), ตรอก (กรอก) เมื่อคนรุนใหมๆ อยางเรามาไดยิน ก็ระลึกไดวา นีแ่ หละคือภาษาของคนยุคหนึง่ นีล่ ะ ทีเ่ อกลักษณของยุคนัน้ ซึง่ แมลุงๆ ปาๆ จะติดการใชภาษาพูดแบบนั้น แตในภาษาเขียน ผูใหญรุนนั้น สามารถใชไดอยางถูกตอง และใชคําไดสละสลวยแมวามันจะฟงดูโบราณ เกินไปสําหรับคนยุคเราๆ ในขณะเดียวกัน ในยุคที่โลกไซเบอรถูกครอบงํา ไปดวยโซเชี่ยลเน็ตเวิรก โลกออนไลนกลายเปนมากกวาแหลงใหความรู ความบันเทิง และใช ในเชิงธุรกิจ มันกลับกลายเปนที่ที่มนุษยใชเปนสิ่งอุปโลกนจําลองตนเองขึ้น มาในโลกๆ หนึ่ง เปนที่แสดงความคิดอยางเสรี และมีปฏิสัมพันธกับมนุษย อีกคนหนึ่งถักทอโยงใยจนเปนชุมชนขนาดใหญ สิ่งนี้กอใหเกิดวัฒนธรรม และคานิยมซึ่งถือวาฉาบฉวย และบอนทําลายความเปนมนุษยอยางชาๆ เยาวชนของชาติแขงกันใชภาษาที่ขอเรียกวา การใสจริตเพื่อความนารัก

อินเตอรเน็ท และโซเชี่ยลเน็ตเวิรกไปในดานใด มีลูกเตือนลูก มีหลานเตือน หลานกอนที่จะออกมาโทษ ตอวาสังคมวามันชักจะอยูยาก ตองหยุดและ พิจารณาวาแลวเราดูแลลูกเราดวยตัวเองดีรึยัง และผูใหญที่เปนกําลังของชาติ ควรหยุดพฤติกรรมอุปทานหมู เห็น ชางขี้ขี้ตามชาง เคาแอบเราแอบมั่งเพื่อความอัพเดท ทันสมัย ครุคริ เพราะ นั่นเทากับแสดงการขาดซึ่งความเปนตัวของตัวเองอยางรายแรง

104 l April 2012

Energy#41_p104_Pro3.indd 104

4/3/12 9:32 PM


April 2012 l 105

R1_Energy#41_p105_Pro3.indd 105

4/9/12 10:24 AM


Experience Interchange

อาคาร ซี.พี.ทาวเวอร์

ประหยัดพลังงานด้วย ระบบ BAS

อย่ า งที่ ท ราบกั น ว่ า ในปั จ จุ บั น นั้ น ทางกระทรวงพลั ง งาน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้อ อกกฎกระทรวง ก�ำหนดประเภท หรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธกี าร ในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ไม่ว่าจะเป็นอาคารใหม่ หรืออาคารเก่า เช่น อาคารประเภทสถานพยาบาล, สถานศึกษา, ส�ำนักงาน, อาคารชุ ด , โรงมหรสพ, โรงแรม, สถานบริ ก าร และศูนย์การค้า ที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมีการออกแบบ และปรับปรุง เพื่อการอนุรักษ์พลังงานตามกฎกระทรวง นอกจากนี้ยังได้สนับสนุน โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในอาคารโดยการติดฉลากเพื่อ เป็นการกระตุ้นให้อาคารทั่วไปได้ปรับปรุงให้เกิดการประหยัดพลังงานได้ อย่างเป็นรูปธรรม จากปั จ จั ย ดั ง กล่ า วรวมถึ ง การมองเห็ น ความส� ำ คั ญ ของการ ประหยัดพลังงานภายในอาคาร ท�ำให้อาคารทั่วไปได้มีการปรับปรุงหรือ ออกแบบให้อาคารให้สามารถประหยัดพลังงานได้ตามทีก่ ระทรวงฯ ก�ำหนดเอาไว้ 106 l April 2012

ภายใต้นโยบายการส่งเสริมของแต่ละบริษัท ยกตัวอย่าง ซี.พี.ทาวเวอร์ (สี ล ม) ซึ่ ง เป็ น อาคารเก่ า และได้ มี ก ารปรั บ ปรุ ง ระบบการประหยั ด พลังงาน ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายหลักการบริหารอาคารของ บริษัท ซี.พี. แลนด์ จ�ำกัด โดยผู้บริหารอาคาร ซี.พี. ทาวเวอร์ ที่ก�ำหนดเป้าหมาย การประหยัดพลังงานประจ�ำปีนี้ถึง 33% ด้วยแผนงานดังกล่าวได้มีการ จัดตั้งทีม “รักษ์พลังงาน” เพื่อด�ำเนินการด้านอนุรักษ์พลังงาน และ ด้านสิ่งแวดล้อม รวมถึงการเปิดโอกาสให้ทุกคนในองค์กรได้มีส่วนร่วม ท� ำ ให้ อ าคาร ซี . พี . ทาวเวอร์ สามารถลดค่ า ใช้ จ ่ า ยบางส่ ว นลงได้ จากการเลือกใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า ด้วยการติดตั้งระบบ Building Automation System หรือ BAS ควบคุมการเปิด – ปิดเครื่องจักรทั้งอาคาร, ติดตั้งอุปกรณ์ควบคุมการ ท�ำงานของปั๊มน�้ำหล่อเย็นและหอผึ่งเย็น (Variable Speed Drive หรือ VSD), ควบคุมการเปิด – ปิดแสงสว่าง, ติดฟิล์มกรองแสงรอบอาคาร ฯลฯ ท�ำให้สามารถลดการใช้พลังงานลง 33.11% และนอกเหนือจาก การประหยัดพลังงานแล้ว ยังให้ความส�ำคัญกับการอนุรักษ์พลังงาน อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้แล้วในด้านสิ่งแวดล้อมอาคารแห่งนี้ยังได้มีการ ตรวจสอบน�ำ้ ทีป่ ล่อยออกจากระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสียทุกเดือนให้มคี ่ า มาตรฐาน เพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของอาคารและชุมชน และนี่ก็เป็นหลักการหนึ่งของการอนุรักษ์พลังงานภายในอาคาร ที่ ผู ้ ป ระกอบการอาคารทั่ ว ไปได้ ป รั บ ปรุ ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประหยั ด พลั ง งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.