Energy#42_p3_Pro3.ai
1
4/27/12
12:10 AM
Contents Issue 42 May 2012
26
18
What’s Up 10 Energy News 86 Energy Around The World 72 Energy Movement
Cover Story 18 Cover Story : อนุรักษพลังงานภาคอุตสาหกรรม…ตองอาศัยหลาย ปจจัยเพื่อนําไปสูความยั่งยืน? 93 Special Scoop : ตลาด LED ตอจากนี้..ตองจับตา!! 100 Special Report : อะตอม ..เพื่อนนักธุรกิจ นิวเคลียร..นําพา ..ปรมาณูเพื่อชีวิต Interview 38 Energy Keyman : คุณตรีรัช ภูคชสารศีล ผอ.WWF. Thailand และ FEED ในประเทศไทย : “ยกปาเขากรุง” สรางคน รุนใหมเขาใจสิ่งแวดลอม 38 41 Energy Keyman : มร. เอซา เฮสคาเนน ประธานเจาหนาที่บริหารกลุม บริษัทโกลว : คุยกับผูบริหาร โกลวพลังงาน... ถึงผลประกอบการและการดําเนินงาน 80 Energy Concept : เกษตรแนวใหม “ขาวครบวงจร” สูพลังงาน “ชีวมวล”
High Light 14 Energy Focus : คายรถยนตเปดศึกรถเล็ก ชิงเคกกอนโต “ อีโคคาร” 32 Energy Best Award : Energy Mind Award โครงการสถานศึกษาดีเดนดานพลังงาน 46 Residential : Danish Light house โมเดิรน ทันสมัย ตอบสนองไลฟสไตลสมัยใหมที่ ใสใจพลังงาน 67 Energy Tezh : Solar Ventilation System ใชแสงอาทิตย ในรถยนต เรื่องใหม...ที่นาจับตา 70 Energy Test Run : HONDA BRIO ไมไดมดี แี ค “อีโคคาร” 83 Energy In Trend : “หยีนํ้า” ไมตน พืชพลังงานตัวใหม 84 Energy Exhibit : ควันหลงงาน 3 In 1 : มหกรรมฟนฟูบาน+เมือง ครั้งยิ่งใหญ 91 Insight Energy : กฏรับซื้อมันสําปะหลังผลิตเอทานอล Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 54 Greenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : เงินกู ชวยผูป ระกอบการหลังนํ้าลด โดย พพ.
46 41
4 l May 2012
Energy#42_p4_Pro3.indd 4
5/2/12 2:35 PM
Energy#42_p5_Pro3.ai
1
4/23/12
10:46 PM
Contents Issue 42 May 2012
Industrial & Residential 24 Tools & Machine : Solatube Daylighting Systems นวัตกรรมใหมของระบบการสองสวาง 26 Green Industrial : พาชม ABALONE Tower อาคารผลิตพลังงาน แบบพึ่งพาตัวเอง...จากฝรั่งเศส 30 Saving Corner : การประหยัดพลังงานโดยปมความรอน (Heat Pump) ตอนจบ โดย คุณธนกร ณ พัทลุง : วิศวกรประสิทธิภาพโรงไฟฟากระบี่ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 44 Energy Design : Città dell’ Altra Economia โครงการเมืองที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 51 Green4U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 48 Energy management : การบริหารจัดการ “ระบบความเย็น” ภายในอาคาร
68
Alternative Energy & Transportation 64 Renergy : Landfill Mining ขุมทรัพยพลังงานขยะ โดย คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกลุม บริษทั ราชาอิควิปเมนท จํากัด และประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 68 Vehicle Concept : Nissan Leaf ยานยนตไฟฟาไมงอน้ํามัน 78 Logistics Solution : ธุรกิจโลจิสติกสเรงสรางคนพันธุใหมภายใต บริบทอาเซียน โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก Environment Protection 57 Green Vision : คุณประเสริฐสุข จามรมาน อบก. ชู เมืองแกลง เมืองลดกาซเรือนกระจก Low Carbon City 58 Green Space : Low Carbon City...ที่เมืองแกลง
48
60
62
Environment Alert : ทิศทางการใช ทรัพยากรธรรมชาติ ในอนาคต โดย คุณรัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอม ชํานาญการพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 0 Waste Idea : มุมมองใหมของน้ําเสีย...ทรัพยากร ที่มีคาในสถานการณน้ําขาดแคลน โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนําน้าํ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : สนามหญาเขียว..ไมเปลืองน้ํา 89 Environment & Energy Legal : มาตรฐานรถขนสง กาซ LPG สิ่งจําเปนที่ ไมควรมองขาม 102 Life Style : ลองใต...ฝาแผนดินไหว 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : คนไทยอานหนังสือเฉลีย่ ...เทาไหรตอ ป 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : โตโยตา ชู Eco Dealership Outlet ชวยลดพลังงาน–รักษสิ่งแวดลอม
6 l May 2012
Energy#42_p6_Pro3.indd 6
4/28/12 12:21 AM
Energy#42_p7_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/23/12
10:50 PM
Editors’ Talk วากันวาประเทศไทยมีสามฤดู ฤดูรอน ฤดูรอนมาก ฤดูรอนมากที่สุด! ดูเหมือนจะจริงสําหรับป 2555 ที่อะไร ๆก็ชัดเจนขึ้น วาแลวก็เกิดพีกรอบ 3 เมอวันที่ 19 เมษายน เมอเวลาบายสองโมงครึ่ง ปริมาณการใชไฟฟาสูงสุด ถึง 24,882 เมกะวัตต ทําลายสถิติครั้งที่ 3 ในรอบป สูงกวา เมอวันที่ 29 มีนาคม ที่ 24,571 เมกะวัตต อุณหภูมิสูงถึง 36.8 องศาเซลเซียส ระหวาง ที่นั่งปนตนฉบับอยูนี้ ยังมีขาวแววมาอีกวาในวันที่ 29 เมษายน จะเกิดพีกอีก อุณหภูมิจะสูงขึ้นไปอีก ในฉบับที่แลวเรานําเสนอเรองของความมั่นคงดานไฟฟาของประเทศ แมในขณะทีอ่ ากาศรอนมาก ประชาชนจะตองใชไฟสูงขนาดไหนก็ไมตอ งหวัน่ ใจ เพราะมี ป ริ ม าณไฟฟ า สํ า รองอย า งเต็ ม ที่ เรี ย กได ว า เรามี ค วามมั่ น คง ดาน “อากาศรอน” อยางตอเนองสม่าํ เสมอ ความมัน่ คงอีกขอหนึง่ คือเรอง เสถียรภาพของพลังงานไฟฟาจากโรงไฟฟานิวเคลียร หลายคนมองวาจะ เปนกุญแจสําคัญในการแกปญหาความมั่นคงดานไฟฟาอยางยั่งยืน แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศ พ.ศ.2553-2573 (พีดีพี 2010) เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง รายละเอี ย ดของแผนผลิ ต ไฟฟ้ า ให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณปจจุบันที่เกิดขึ้น ซึ่งขณะนี้อยูในขั้นตอนสุดทายใกลไดขอสรุป ในรายละเอียด โดยเฉพาะประเด็นโรงไฟฟานิวเคลียร จะออกหัวหรือกอยใน 10 ปตอจากนี้ ซึ่งตามแผนพีดีพี 2010 ฉบับเกา กําหนดใหไทยตองมีโรง ไฟฟานิวเคลียร 5 แหง รวม 5,000 เมกะวัตต หรือคิดเปนสัดสวนไมเกิน 10% ของกําลังผลิตทั้งหมดในระบบ เนองจากมีตนทุนการผลิตไฟฟาต่ํา และไมปลอยกาซเรือนกระจก โดยโรงไฟฟาแหงแรกจะเกิดขึ้นในป 2563 แต เมอเขาสูกระบวนการศึกษาและการเตรียมพรอม กลับพบอุปสรรคในดาน จิตวิทยา เพราะคนไทยยังไมมีความเขาใจถึงความจําเปนของการมีโรงไฟฟา นิวเคลียร จนตองเลอนแผนการนําโรงไฟฟาเขาระบบ 2 ครั้ง ตั้งแตป 2566 มาเปนป 2569 สิง่ ทีด่ ฉิ นั มอง ณ เวลานีค้ อื การเลอนการกอสรางโรงไฟฟานิวเคลียร ออกไปเรอย ๆ กอน หรือ ยกเลิกแผนการสรางโรงไฟฟานิวเคลียรอยาง ชาๆ ในปจจุบันสัดสวนการใชเชื้อเพลิงผลิตไฟฟาของประเทศเปนกาซ ธรรมชาติ 67% รองลงมาเปนถานหินและลิกไนต 19% พลังงานหมุนเวียน 13% น้ํามันเตา 1% ฯลฯ การเลือกใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลักใน การผลิตไฟฟานั้น ขอดีคือเปนเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกเมอเทียบกับราคาน้ํามัน แตมีความเสี่ยงดานความมั่นคงดานพลังงาน เนองจากไทยยังตองนําเขา กาซธรรมชาติจากตางประเทศไมวา จะเปนพมาหรือมาเลเซีย ควบคูไ ปกับการ ใชกาซจากอาวไทยที่มีการนับถอยหลังกับปริมาณสํารองที่จะหมดลงใน 10 – 15 ปขางหนา สุดทายแลวก็ตอ งไปสรุปในภาคไฟฟาของประเทศใหไดวา มีใชเพียงพอ หรือไม เลี้ยงตัวเองไดโดยไมตองพึ่งพาใครหรือยัง เพอสรางความมั่นคง และยั่งยืนใหกับประเทศไดอยางแทจริง...
จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com
คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา
ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก
หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา
กองบรรณาธิการ
นัษรุต เถอนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม
เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ
ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก
แผนกโฆษณา
จันทรอําไพ แตตระกูล เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส
พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก
สุทธิพล โกมลสิงห
การเงิน
ศิรินารถ แกวอุไร
ศิลปกรรม
วินัย แพงแกว
พิมพ
บริษัท ภัณธรินทร จํากัด
จัดจําหนาย
บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด
ผูจัดทํา
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง
8 l May 2012
Energy#42_p8_Pro3.indd 8
4/26/12 10:59 PM
Energy#42_p9_Pro3.ai
1
4/23/12
10:39 PM
Energy Focus
คายรถยนตเปดศึกรถเล็ก ชิงเคกกอนโต “อีโคคาร” Honda Brio เปนทีน่ า จับตามองอยางมากสําหรับตลาดรถยนตบา นเราขณะ นี้ โดยเฉพาะตลาดรถยนตขนาดเล็ก หรือจะพูดอยางนั้นเสียทีเดียว คงไมถูก ตองบอกวาตลาดรถยนต “อีโคคาร” นาจะถูกเสียกวา เรองของเรองเกิดขึ้นเมอประเทศไทยเริ่มมีความตนตัวในเรองของ พลังงานอยางตอเนองในชวงหลายปที่ผานมา ไมวาจะเปนการหัน มาใชพลังงานทดแทนจําพวก “เอทานอล” หรือจะเปน “ไบโอดีเซล” แตกไลนมาเปนการใชพลังงานจําพวก “กาซ” ในภาคประชาชน แมวาจะหาทางออกอยางไรแตหากขนาดรถยังใหญอยู การบริโภค น้ํามันก็ยังเทาเดิมอยูดี ความแตกตางเชื้อเพลิงที่เห็นไดชัดคือราคา เทานั้น และตางกันเพียงเล็กนอยระหวางน้ํามันเชื้อเพลิงธรรมดากับ พลังงานทดแทน ซึ่งทางออกที่ดีก็คือการลดขนาดเครองยนตและ ตัวรถลงนั้นเอง “อีโคคาร” ทางออกที่ดูเหมือนจะดีที่สุด ณ เวลานี้ โดยเฉพาะปจจัย ดานราคา สวนหนึ่งเปนผลมาจากการสนับสนุนจากทางภาครัฐบาลที่ ตองการใหคนไทยใสใจดานพลังงานมากยิ่งขึ้น แตก็ดูเหมือนวาจะถูกมอง เปนรถราคาถูกที่ ไมไดมาตรฐาน ซึ่งคําวา “อีโคคาร”(Eco Car) ยอมมา จากคําวา Ecology Car หมายถึง รถที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเปนหลัก ไมใชที่หลายคนเขาใจผิดเปน Economy Car ที่หมายถึง รถราคาถูก ประเทศไทยไดใชขอกําหนดตามมาตรฐานของยุโรป ทั้งในสวนของ Euro4 ทั้งในสวนของมลพิษ และมาตรฐานความปลอดภัยของยุโรป รวม ถึง Global standard Eco car ที่กําหนดอัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันตอลิตร และยังมีขอ กําหนดที่ในบางประเทศกําหนดเพิม่ เติม เชน อัตราภาษี เปนตน สรุปงายๆ ถึงจะเปนรถราคาถูก ใชวาจะเปนรถไมดี ใชวาจะเปนรถ ไมมีมาตรฐาน หรือวิ่งทางไกลไมไหว หากคุณยังเปนคนหนึ่งที่คิดแบบนี้อยู ตองบอกวาของใหปรับความคิดเสียใหม และถือวาเปนเรองเขาใจผิด เพราะ
รถประเภทอีโคคารถือเปนรถที่มีมาตรฐานการผลิตที่สูง แตที่ราคารถถูก เนองจากไดรบั การยกเวนภาษีอยางมาก ทัง้ ในสวนของอะไหล เครองจักร และวัสดุที่ตองนําเขา สรรพสามิต นอกจากนี้ กฎเหล็กของรถอีโคคารตามมาตรฐานสากล คือเรอง ของความประหยัดน้ํามัน โดยจะตองมีอัตราการใชน้ํามันเชื้อเพลิงไมเกิน 5 ลิตร/100 กิโลเมตร หรือ น้ํามัน 1 ลิตรวิ่งไดระยะทาง 20 กิโลเมตรขึ้นไป ตองเปนรถที่รักษาสิ่งแวดลอม มาตรฐานมลพิษปลอดภัยระดับยูโร 4 ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดนอยกวา 120 กรัม ตอ 1 กิโลเมตร โดย รถยนตในกลุมประเทศยุโรป มีเพียง 5% ที่ผานมาตรฐานนี้ ได และความ ปลอดภัยตองอยูในระดับสูง ไดมาตรฐานความปลอดภัยของยุโรป หรือ UNECE 94 และ 95 ซึ่งเปนมาตรฐานความปลอดภัยจากการชนดานหนา และดานขาง ปดทายตองเปนรถทีม่ คี วามคลองตัว เพอใหเปนรถยนตขนาด เล็ก เหมาะสําหรับการขับขี่ ในเมือง จึงกําหนดความจุกระบอกสูบไมเกิน 1,300 ซีซี สําหรับเครองยนตเบนซิน และไมเกิน 1,400 ซีซี สําหรับ เครองยนตดีเซล เทานั้น มาถึงเรองการแขงขันของตลาด “อีโคคาร” บานเรากันบาง แนนอน วากอนหนานี้ ตลาดรถบานเรามีการจับตามองรถยนตกลุมนี้อยางมาก หลายคนมองวาเปนเรองของภาพลักษณ เนองจากราคาที่ถูก อยางที่รู กัน คนไทยนี้ก็แปลก อยางแรกที่มองคือเรองของวัตถุ มากกวาคุณภาพ ที่ ไดรบั คายรถยนตเลยดูเหมือนจะไมแนใจกับตลาดกลุม นี้ แตดว ยขอเสนอ ที่จูงใจดานตางๆ ที่ภาครัฐบาลมีให ตองบอกวาคุมคาตอการเสี่ยง อีโคคารคันแรกของประเทศไทย เปดตัวภายใตคายยักษรองอยาง “นิสสัน” ในชวงตนป 2010 ภายใตชอ NISSAN MARCH ดวยคุณสมบัติ ที่ครบถวนตามมาตรฐานสากล แนนอนวากอนหนานี้ ผลิตภัณฑของคาย นิสสันเองตองยอมรับวาคอนขางแผวเบา และยังไมมีจุดเดนเทากับคาย ยักษใหญมากนัก การตัดสินใจครั้งนี้ ถือเปนเหมือนเหรียญสองดาน วา
Mitsubishi Mirage
14 l May 2012
Energy#42_p14,16_Pro3.indd 14
4/23/12 9:26 PM
Energy#42_p15_Pro3.ai
1
4/24/12
11:35 PM
ทุกวันอาทิตย
จะออกมาหัวหรือกอย และคนไทยก็ ไดยลโฉมรถที่เปนโครงการของรัฐบาล อยางแทจริง วาไมไดขีร้ ิว้ ขีเ้ หรแตอยางไร รวมถึงคุณภาพของรถยนตเอง ก็ ไดมาตรฐานระดับสงออกกันเลยทีเดียว แตเชอวาสวนใหญจะมองแค คุณสมบัติที่วา น้ํามัน 1 ลิตร สามารถวิ่ง 20 กิโลเมตรมากกวา ไม่ น านนั ก เสี ย งตอบรั บ จากภาคประชาชนก็ เ ป็ น เครื่ อ งตั ด สิ น เมอยอดจองอีโคคารคันแรกของประเทศไทย ถึงกับทะลุเปาที่ตนสังกัด คาดหวังไวมาก ดวยราคาที่เคาะไวที่สามแสนปลายๆ จนถึงหาแสนกลางๆ แนนอนวาใครๆ ก็สามารถเปนเจาของรถเล็กราคาประหยัดแบบนี้ ไดไมยาก และนี้ถือสัญญาณอันดีที่บงชี้วา ตลาดรถเซ็กเมนตใหมเกิดแลว เมอตลาดมองวารถเซ็กเมนตนี้ขายไดแนนอน บวกกับปจจัยดาน ราคาน้ํามันที่เริ่มขยายตัวสูงขึ้นตามตลาดโลก ซึ่งเปนเรองที่หลีกเลี่ยงไม ได รวมถึงราคาของพลังงานทดแทนอนๆ ก็ขยับตามเชนกัน ขาวการเปด ตัวรถประเภทนี้จากคายรถยนตอนๆ ก็มีเขามาเชนกัน แตก็ยังไมเปนรูป ธรรมมากนัก ในเมอยังไมเห็นตัวรถจริง นิสสันครองตลาดอีโคคารอยางเปนทางการมาอยางตอเนองเปน เวลาประมาณ 1 ป กําเนิด อีโคคารคันที่สองของประเทศไทยก็เกิดขึ้น เมอ คาย ฮอนดา ลงชิงตลาดกลุม นีบ้ า ง แมวา ผลิตภัณฑของคายจะมีอยูอ ยาง ครบถวนแลวก็ตาม ดวยการเปดตัว HONDA BRIO และเชนกัน ยอดจอง ของฮอนดาไมแพของนิสันเลยแมแตนอย แตเปนที่นาเสียดาย เมอโรงงาน ผลิตอะไหลสําคัญของฮอนดาที่ตองนําเขามาประกอบรถไดรับผลกระทบ จากภัยธรรมชาติสึนามิที่ประเทศญี่ปุน เมอตนเดือนมีนาคมป 2011 และ ฮอนดาสงรถไดไมมากนัก สายการผลิตก็หยุดลง แตนิสันยังคงไดเปรียบ เนองจากยังมีอะไหลเพียงพอในการผลิตไดอีกระยะหนึ่ง และดูเหมือนเคราะหซา้ํ กรรมซัด ฮอนดาเดินสายการผลิตจากฐานใน ประเทศไทยไดอกี ครัง้ เมอประเทศญีป่ นุ ผานพนฝนรายจากภัยธรรมชาติมา ได แตเรองไมคาดฝนก็เกิดขึ้น เมอฐานการผลิตรถยนตของฮอนดาที่นิคม อุตสาหกรรมโรจนะ ไดรบั ผลกระทบจากมหาอุทกภัย ซึง่ ถือเปนภัยธรรมชาติ ครัง้ ใหญทสี่ ดุ ของประเทศไทยอีกครัง้ แมวา จะมีการเตรียมการรับมืออยาง ดี แตกส็ รางความเสียหายตอฐานการผลิตทัง้ หมด มีรถยนตเสียหายทัง้ สิน้ 1,055 คัน ซึ่งเปนรถยนตที่รอการสงมอบและหนึ่งในนั้นคือ BRIO 217 คัน และฮอนดาก็ ไดมีการทําลายรถที่เสียหายทั้งหมดเมอปลายป 2011 เพอ เปนการยืนยันวา จะไมมกี ารนํารถทีเ่ สียมาจําหนายตอ แมจะเปนอะไหลเล็กๆ นอยๆ ก็ตาม โดยหาทางออกเพอรองรับลูกคาที่ออเดอรรถไวกอนหนานี้ ดวยการนําเขารถจากฐานการผลิตในประเทศญี่ปุนโดยตรง แตคายนิสสันที่อาศัยความไดเปดเปรียบของการทําตลาดรถยนต
Nissan Almera
Suzuki Swift กลุมนี้กอน ชิงเปดตัวรถรุนใหมอีกรุนกับ NISSAN ALMERA อีโคคารแบบ 4 ประตูครั้งแรก งานนี้ตองบอกวา นิสสันครองตลาดอีโคคารทั้งในสวน ของรถประเภท 5 ประตู และ 4 ประตู ทันที และไมตองพูดถึงยอดจอง เพราะหลังจากเปดตัวไมนาน ก็มีรถรุนนี้วิ่งใหเห็นบนทองถนนเรียบรอย แลว ประเด็นคือ อีโคคารบานเราเกิดแลว กาวเขาสูป 2012 ตลาดรถยนต รวมถึงภาคสวนอนๆ เริ่มฟนตัว จากมหาอุทกภัย ศึกอีโคคารจึงไดเวลาปะทุอีกครั้ง เมอกระแสความเปนไป ไดของอีโคคารรุนใหมเริ่มเปนรูปธรรม หนึ่งคายกําลังโตอยางซูซูกิ เอาใจ แฟนๆ ทีส่ รางรากฐานไวระยะหนึง่ ดวยการเปดตัว SUZUKI SWIFT โมเดล ป 2012 เมอเดือนมีนาคมที่ผานมา เพอชิงสวนแบงเคกกอนนี้บาง ซึ่งกอน หนานี้ SWIFT เปดตัวและจําหนายในประเทศมาแลว แตไม ใชอีโคคาร ดวยราคาทีข่ ยับขึน้ มาจากพืน้ ฐานราคาเดิมทีเ่ จาตลาดตัง้ ไว แตโชวจดุ เดน ดานดีไซนและวัสดุที่ดูเหมือนจะไดเปรียบกวาคูแขง เมอซูซกู ิ ลงมาเลนเกมนี้ ก็เปรียบเสมือนการปลุกยักษขึน้ มาอีกหนึง่ คายที่ซุมเงียบมาพอสมควร คายมิตซูบิชิ ดวยเวลาไลเลี่ยกัน มิตซูบิชิ ก็เปดตัวอีโคคารเชนกันกับ MITSUBISHI MIRAGE ดวยราคาคาตัวที่ดู เหมือนจะยั่วใจไมนอย และสีสันโดนใจหวังเจาะกลุมวัยรุนอยางเต็มที่ และ คาดวาจะสามารถทําตลาดไดไมนอยเชนกัน ซึ่งสองคายลาสุดเรองของ ยอดและตัวเลขยังคงเปนที่นาจัดตามอง เพราะถือวายังใหมอยูสําหรับเคก กอนนี้ ในการชิงตลาด การแขงขันของตลาดรถเล็กยังไมหยุดนิ่ง เมอฐานการผลิตของ ฮอนดาในประเทศไทย เริ่มเดินเครองไดอีกครั้ง เมอชวงปลายเดือนมีนาคม ที่ผานมา พรอมกําลังการผลิตเต็มสูบ แนนอน HONDA BRIO ยอมเปน หนึ่งในสายพานการผลิต เชนเดียวกับคายนิสสันเอง ก็ ไดฤกษปรับโฉม NISSAN MARCH เพอไมใหยอดตกหลังครองตลาดมาพอสมควร งานนี้ “โหรพลังงาน” ไมเคาะโตะ คงจะเปนไปไมได วาศึกครั้งนี้ของตลาดรถยนต ขนาดเล็กราคาประหยัด ไมจบลงงายๆ อยางแนนอน ขนาดคายยักษใหญ อยางโตโยตายังไมมาลงชิงเคกกอนนี้ แตหนั ไปเลนพลังงานหมุนเวียนอยาง ระบบ HYBRID แทน จึงถือเปนโอกาสทองที่หลายคายไมอาจพลาดได ศึกครั้งนี้ตองมองกันยาวๆ เพราะยังไงเสีย อีโคคาร ก็เปนอีกหนึ่ง ทางเลือก ที่สามารถแบงเบาภาระของยุคขาวยาก หมากแพง และน้ํามัน แพง(มากๆ) เชนนี้ ไดมากทีเดียว แมวาจะมีการแขงขัน หรือเปดศึกกัน รุนแรงขนาดไหน ประโยชนที่ ไดรับเต็มๆ ก็ ไมใชใครอนไกล ก็เราๆ ทานๆ ประชาชนตาดําๆ ที่หาทางอยูรอดในยุดนี้ ใหไดนั้นเอง
16 l May 2012
Energy#42_p14,16_Pro3.indd 16
4/23/12 9:26 PM
Energy#42_p17_Pro3.ai
1
4/23/12
9:09 PM
Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ
อนุรกั ษพลังงานภาคอุตสาหกรรม
...ตองอาศัยหลายปจจัยเพื่อนําไปสูความยั่งยืน?
ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอมนั้นสาเหตุสวนใหญเกิดจากการ ปลอยมลพิษ และกาซมีเทนของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ เปนสาเหตุ หนึ่งของภาวะโลกรอน Global warming หรือทําใหอากาศเปลี่ยน Climate Change และจากปจจัยดังกลาวทําโรงงานอุตสาหกรรมไดตระหนักและให ความสํ า คั ญ ในการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มจึ ง เป น ที่ ม าของ อุตสาหกรรมสีเขียวที่กําลังเปนกระแสในปจจุบัน ซึง่ เปนการพลิกรูปแบบการผลิตหรือการปรับปรุงกระบวนการผลิต ใหมหมดตั้งแตการสรางจิตสํานึก การวางนโยบาย การปรับเปลี่ยน เครื่องจักรที่ตองประหยัดพลังงานตั้งแตตนน้ําถึงปลายน้ํา ตลอดจนการ สรางกิจกรรมรวมกับสังคมชนบท เรี ย กได ว า เป น การคํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ มมากขึ้ น และเป น การหา คําตอบวาสิง่ แวดลอมกับอุตสาหกรรมจะอยูด ว ยกันไดหรือไม อุตสาหกรรม สีเขียว (Green Industry) เปนการจัดการอุตสาหกรรมที่ ใชประโยชนจาก ทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ การหมุนเวียนของเสียกลับมาใช ใหม (Waste Recovery) ในกระบวนการผลิต การปองกันปญหามลพิษโดยใช
เทคโนโลยี ส ะอาด (Clean Technology) รวมทั้งการผลิต สินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม (Eco Product) มีการแลกเปลีย่ น ข อ ง เ สี ย ที่ จ ะ เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ใหกับโรงงานอื่นๆ (Industrial Symbiosis) โดยเนนของเหลือใช และของเสี ย กลั บ มาใช ใ หม ตามหลั ก การ 3R’s ได แ ก Reuse Reduce Recycle และถึงเวลาแลวที่ภาคอุตสาหกรรมจะตองมีการ ปรับตัวสรางสังคมอุตสาหกรรมใหมที่มีระบบการจัดการสิ่งแวดลอม โดยอาศัยความรวมมือจากหลายภาคสวน นอกจากนี้ แ ล ว ภาคอุ ต สาหกรรมต า งๆ ยั ง สามารถพั ฒ นาให ประหยัดพลังงานและลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดอยางมีประสิทธิภาพ จนสูการขายคารบอนเครดิต (Carbon Credit) ใหกับประเทศที่พัฒนาแลว
18 l May 2012
Energy#42_p18-23_Pro3.indd 18
4/28/12 12:32 AM
ไดอีกดวย ซึ่งคารบอนเครดิตนั้นเกิดขึ้นจากพิธีสารเกียวโต (Kyoto Protocal) ที่กําหนดใหประเทศที่พัฒนาแลวตองลดปริมาณการปลอยกาซ ที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาเรือนกระจก หรือ Greenhouse Effect ซึ่งทําใหเกิด ภาวะโลกรอน และเพื่อเปนการกระตุนใหภาคอุตสาหกรรมตระหนักถึงการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอมมากขึ้น หนวยงานภาครัฐ เอกชน รวมถึงองคกร อิสระ ไดหาทางออกผานมาตรการตางๆ อันเปนประโยชนตอการพัฒนา ดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม ไมวา จะเปนการสงเสริมเรื่องเงิน ลงทุนใหไปปรับปรุงเครื่องจักรหรืออุปกรณในกระบวนการผลิตใหสามารถ ประหยัดพลังงาน การสนับสนุนในรูปแบบของการจัดประกวดหรือการมอบ รางวั ล ด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน การออกฉลากหรื อ มาตรฐาน ทั้งดานการอนุรักษพลังงาน และดานการลดมลพิษของเสียตอสภาวะ แวดลอม เชน การออกฉลากคารบอน (Carbon Label) ขององคการ บริหารจัดการกาซเรือนกระจก (อบก.) หรือการออกคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ซึ่งเปนฉลากที่แสดงระดับการลดการปลอยกาซเรือน กระจกออกสูช ัน้ บรรยากาศตอหนวยผลิตภัณฑ ตัง้ แตการไดมาซึง่ วัตถุดบิ การขนสง การผลิต การบรรจุหีบหอ การใชงาน จนกระทั่งการกําจัดของ เสียที่เกิดขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อรองรับกระแสของผูบริโภคในการมีสวนรวมเพื่อ ชวยบรรเทาปญหาภาวะโลกรอน
เทคโนโลยีอุปกรณประหยัดพลังงานในยุคประหยัด
อยางไรก็ตามการอนุรักษพลังงานหรือการที่จะรักษาสิ่งแวดลอม ภายในโรงงานอุตสาหกรรมหรือรอบๆ โรงงานเพื่อลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดลอมนัน้ ในปจจุบนั มีอปุ กรณเทคโนโลยีทีท่ นั สมัยมากมายที่ใชสาํ หรับ การประหยัดพลังงานไมวาจะเปน Boiler Cellar ประสิทธิภาพสูง Solar Cooling ระบบทํ า ความเย็ น ด ว ยพลั ง งานแสงอาทิ ต ย SYNERGY เครื่องกรองน้ําสําหรับระบบทําความเย็น Efficiency Testing 5 Plus นั้นเปนอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนา ขึ้นมารองรับกับความตองการดานการประหยัดพลังงานของโรงงาน อุตสาหกรรมหรือองคกรตางๆ ซึ่งการทํางานของชุดอุปกรณประหยัด พลังงาน 5 Plus ภายใตเครื่องหมายการคา “5 Plus Technology” อาศัย หลักการทํางานทางเชิงกลเกี่ยวกับการจัดการบริหารแรงดันน้ํายาของ เครื่องปรับอากาศ และเครื่องทําความเย็น คือ การนําพลังงาน และความดัน ภายในระบบของเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็นที่สูญเสียไป ในชวงการตัดและตอของคอมเพรสเซอร นํามาใชในการขับเคลื่อนกลไก การทํางานของชุดอุปกรณประหยัดพลังงาน 5 Plus ซึ่งจะทําหนาที่รักษา ความดันภายในทอน้ํายา ณ ตําแหนงการใชงานในแตละตําแหนง FlexAero เทคโนโลยีผลิตกระแสไฟฟาจากกาซธรรมชาติซึ่งเปน เทคโนโลยีทีพ่ ฒ ั นาตามแนวคิดนวัตกรรมเพื่อสิง่ แวดลอม ใชกา ซธรรมชาติ ที่เปนเชื้อเพลิงที่ ใหความสะอาดสูง สามารถตอบสนองความตองการดาน พลังงานที่เพิ่มขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน และยังเปนเครื่องผลิต ไฟฟากังหันกาซที่ ใหไฟฟาตนทุนที่ต่ํากวาพลังงานทางเลือกอื่นอยางมาก รวมทั้งใหเสถียรภาพดานพลังงานจากการใชประโยชนจากปริมาณกาซ ธรรมชาติที่มีอยูมากมาย ZETA ROD เทคโนโลยีบําบัดน้ําเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอม โดยเปนเทคโนโลยีบาํ บัดน้าํ ใหมลา สุดทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และมีประสิทธิภาพสูงในการบําบัดน้ําใน Cooling Tower และระบบกรอง น้ําตางๆ ชวยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคและสิ่งมีชีวิตในระบบน้ํา โดยประจุบวกจาก Zeta Rod จะลอมรอบสิ่งมีชีวิตในน้ําเหลานี้เพื่อไมใหเกิด May 2012 l 19
Energy#42_p18-23_Pro3.indd 19
4/28/12 12:32 AM
เปน Bio Film ยึดเกาะตามจุดตาง ๆ ในระบบไดทั้งยังสามารถกําจัด Bio Film เดิมใหคอย ๆ หมดไป สวนเทคโนโลยี PAC DUALLSAVE นั้นเปนนวัตกรรมใหมของ เครื่องปรับอากาศที่สามารถผลิตน้ํารอนไดโดยไมตองพึ่งการใชไฟฟา ซึ่ง เครื่องปรับอากาศเปนเครื่องปรับอากาศเบอร 5 ไดมาตรฐานการผลิต ระดับโลก สามารถทําความเย็นใหกับหองและทําน้ํารอนเพื่อใหใชงานไดฟรี โดยไม่ ต้ อ งเสี ย ค่ า ไฟฟ้ า เพิ่ ม และยั ง ช่ ว ยประหยั ด ค่ า ไฟฟ้ า ของเครื่ อ ง ปรับอากาศไดมากถึง 5-25% เลยทีเดียว KEEEN เปนสารชีวบําบัดภัณฑ (Bioremediation agent) ประกอบ ไปดวยกลุมจุลินทรียยอยน้ํามันซึ่งเปนนวัตกรรมใหมที่สามารถตอบโจทย ในการลดใช พ ลั ง งานและลด ปญหาสิ่งแวดลอมในทุกภาคสวน โดยเฉพาะภาคอุ ต สาหกรรมที่ ตองการปรับกระบวนการผลิตให อนุรักษพลังงานและเปนมิตรกับ สิง่ แวดลอม โดยมีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ ในการขจัดคราบน้ํามันและคราบ สิ่ ง ส ก ป ร ก ที่ กํ า จั ด ย า ก ใ น อุตสาหกรรม และยอยสลายได อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในเวลา เดียวกัน ซึง่ ถือไดวา เปนเทคโนโลยี ที่ ต อบโจทย ค วามต อ งการของ ภาคอุ ต สาหกรรมในการบํ า บั ด ของเสียกอนปลอยคืนสูธรรมชาติ อี ก หนึ่ ง เทคโนโลยี นั้ น คื อ 20 l May 2012
Energy#42_p18-23_Pro3.indd 20
4/28/12 12:32 AM
“เครื่องลดความชื้น โมเดิรนคูล” นั้นถูกพัฒนาขึ้นมาสําหรับใชในการ ควบคุมความชื้น ลดความชื้น กําจัดความชื้น ดูดความชื้น ภายใต ประสิทธิภาพของการประหยัดพลังงานสําหรับทุกพื้นที่ที่ตองการควบคุม ความชื้นใหเหมาะสมกับการใชงาน เชน อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรม อาหาร อุตสาหกรรมไฟฟาและอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส อุตสาหกรรม สิ่งพิมพ อุตสาหกรรมสิ่งทอ IE nomenclature นั้นเปนมอเตอรประหยัดพลังงานที่ถูกพัฒนาขึ้น มารองรับการใชงานในภาคอุตสาหกรรมตางๆ โดยเปนอุปกรณมาตรฐาน EEF Labeling (IE2) ซึ่งเปนคุณภาพที่กฎหมายจะบังคับใชในอนาคตและ สามารถใชควบคุมกระบวนการประหยัดพลังงานทีจ่ ะนําไปสูก ารลดตนทุนใน โรงงานอุตสาหกรรมไดเปนอยางดี และยังสามารถใชไดกับระบบไฟฟาทั่วไปที่ตองใชมอเตอร โดย มาตรฐาน IE2 นัน้ ไดพฒ ั นาจากอลูมเิ นียมทีเ่ ปนตัวเหนียวนําพลังงานไฟฟา มาเปนทองแดงเพื่อการเหนี่ยวนําพลังงานไฟฟา ซึ่งขนาดกิโลวัตตเทากัน แตสามารถชวยใหเกิดการประหยัดพลังงานไดถึง 84% หากติดตั้งพรอม กับ Inverter สามารถประหยัดพลังงานไดถึง 2 เทา ซึ่งการเปลี่ยนมาเปน ทองแดงนั้นชวยนําพลังงานไดมากกวาอลูมิเนียม ชวยใหการทํางานของ
May 2012 l 21
Energy#42_p18-23_Pro3.indd 21
4/28/12 12:32 AM
มอเตอร มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ทํ า ให เ กิ ด การสู ญ เสี ย พลังงานนอยลงสูก ารประหยัดพลังงานทีม่ ากขึน้ นอกจากนี้ ยังชวยใหเกิดความรอนนอยลงสงผลใหมีอายุการใชงานที่ มากขึ้น และในการใชมอเตอร IE nomenclature มาตรฐาน IE2 นั้นสามารถคืนทุนประมาณ 2 - 3 ป ระบบระบายอากาศประหยัดพลังงาน Fresh Air Exchanger เป็นอีกเทคโนโลยี ใหม่ที่ถูกคิดค้นและออกแบบมาเพื่อการ ประหยัดพลังงานและลดภาวะโลกรอน ซึง่ เทคโนโลยีทเี่ หมาะกับภาวะโลกรอน ในป จ จุ บั น และเป น สิ่ ง จํ า เป น สํ า หรั บ ใช ง านภายในอาคารที่ มี สิ่ ง อั น ไม พึ่ ง ประสงค เช น ควั น ก า ซคาร บ อนไดออกไซด กลิ่ น อั บ เชื้ อ โรค การออกแบบระบบระบายอากาศประหยัดพลังงานนั้นมักออกแบบในหองที่ มีความดันเปนบวกเล็กนอย เพื่อปองกันไมใหฝุน ควัน หรือ อากาศภายนอก เล็ดลอดเขามาในอาคารโดยไมผานแผนกรองอากาศ (Filter) ซึ่งผล ประหยัดจะมากขึ้นตามคาความแตกตางของอากาศภายในและภายนอก โดยการประยุกตใช dpoint ERV Core กับ OAHU (Outside Air Handling Unit) สามารถลดขนาดคอลยเย็นไดมากถึง 30%
การใช เ ทคโนโลยี แ สงสว า งและการใช เ ทคโนโลยี พลังงานทดแทน
การปรั บ เปลี่ ย นหลอดไฟฟ า ประหยั ด พลั ง งานสํ า หรั บ ใช ภ ายใน โรงงานอุตสาหกรรมก็เปนอีกวิธีหนึ่งของการประหยัดพลังงานภายใน โรงงานซึ่งปจจุบันมีหลอดประหยัดประสิทธิภาพสูงมากมายใหเลือกใช การใชพลังงานทดแทนก็เปนอีกแนวทางหนึ่งที่ ไดรับความนิยม สําหรับใชในกระบวนการผลิตภายในโรงงานอุตสาหกรรม เชน โซลาเซลล Solar Cell การติดตัง้ กังหันลมสําหรับผลิตไฟฟาใชในบางสวนของโรงงาน การติดตั้งระบบผลิตน้ํารอนดวยพลังงานแสงอาทิตย (Solar water heating system) การผลิตไฟฟาจากการ Biogas ที่ไดจากการหมักของเสีย หรือเศษอาหารที่เหลือทิ้ง การติดตั้งระบบแกสซิฟเคชั่น (Gasification) สําหรับผลิตไฟฟา หรือใชในกระบวนการอบในโรงงานอุตสาหกรรมเซรามิก นี้เปนอีกแนวทางหนึ่งของการประยุกตใชเทคโนโลยีพลังงานทดแทนกับ โรงงานอุตสาหกรรม
นอกจากการประหยัดพลังงานดวยการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีแลว การออกแบบอาคารโรงงานก็เปนอีกแนวทางหนึง่ ทีช่ ว ยใหเกิดการประหยัด พลังงาน โดยการดูทิศทางลมทิศทางแดด การออกแบบใหมีแสงสวางเขา ถึงไดสะดวกเพื่อลดการใชไฟฟาแสงสวาง และออกแบบใหดโู ปรงโลงอากาศ สามารถถายเทไดสะดวก
การปรับเปลี่ยนทัศนคติบุคลากรพนักงาน
การปรับเปลี่ยนทัศนคติพนักงานเรื่องการประหยัดพลังงานนั้นเปน อีกปจจัยหนึ่งที่สําคัญไมแพการปรับเปลี่ยนอุปกรณประหยัดพลังงาน ซึ่ง การปรับทัศนคติหรือสร้างจิตสํานึกนั้นไม่ ใช่เรื่องของพลังงานเท่านั้น หากแต่เป็นเรื่องของการลดต้นทุน และเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน ซึ่งทุกคนตองมีสวนรวมในการดําเนินการ โดยกระบวนการนี้จะปรับเปลี่ยน ทั ศ นคติ ข องทุ ก ส ว นนั บ ตั้ ง แต ผู บ ริ ห ารไปจนถึ ง พนั ก งานระดั บ ล า ง หากการปรับเปลี่ยนทัศนคตินี้ ไมเปนผล การดําเนินงานในขั้นตอนอื่นๆ ยอมไมสามารถทําได ซึง่ การปรับเปลีย่ นทัศนคติของพนักงานเปนสิง่ ทีต่ อ ง ใชเวลาในการประชาสัมพันธ และฝกอบรมอยางตอเนื่อง 22 l May 2012
Energy#42_p18-23_Pro3.indd 22
4/28/12 12:33 AM
โดยจะต อ งมี ก ารกํ า หนดนโยบาย และแผนงานปฏิ บั ติ โดย ผูบริหารระดับสูง ผูบริหารระดับกลาง และผูบริหารระดับลาง ตามลําดับ โดยผูบ ริหารระดับสูงจําเปนตองมีการกําหนดนโยบาย เปาหมายและทิศทาง ขององคกรที่ชัดเจน เพื่อใหผูบริหารระดับกลางและลางสามารถนําไป ประยุกตเปน Action Plan ไดอยางสอดคลอง ซึ่งจะตองมุงเนนการใช ทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด (Optimization of Resource Usage) โดยขั้นตอนนี้จะมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดต้นทุนการสูญเสียที่เกิดจากการ ออกแบบและการผลิต (Process) ทัง้ นีผ้ ูบ ริหารและพนักงานทุกคนทุกระดับ มี ส่ ว นร่ ว มในการดํ า เนิ น งานเพื่ อ พั ฒ นา และปรั บ ปรุ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การปรับโครงสรางเพื่อใหเอือ้ ตอการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ การวางแผน การดําเนินงานเปนสวนหนึ่งของแผนธุรกิจ และการกําหนดนโยบายในการ ดําเนินการที่ชัดเจน
แหล ง สนั บ สนุ น เงิ น ในการ ลงทุนปรับเปลี่ยนอุปกรณ ประหยัดพลังงาน
ซึ่งการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยี เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการอนุรักษ์ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มนั้ น แหล ง เงินทุน หรือหนวยงานภาครัฐก็เปนอีก ปจจัยที่สําคัญที่ตองใหการสนับสนุน ซึ่งก็มีหลายหนวยงานดวยกันที่ ใหการสนับสนุนดานเงินลงทุนไมวาจะเปนธนาคารที่ ใหการสนับสนุนใน รูปแบบสินเชื่อพลังงาน หรือสินเชื่อเพื่อการปรับเปลี่ยนอุปกรณประหยัด พลังงานดอกเบี้ยต่ํา เชน ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย ธนาคาร กรุงเทพ ธนาคาร CIMB เปนตน การสนับสนุนจาก BOI ที่สนับสนุนในเรื่องของการยกเวนอากร นําเขาเครื่องจักรอุปกรณประหยัดพลังงาน หรือนโยบายสงเสริมการ ลงทุ น ด า นอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในประเทศไทยนั้ น มี อ ยู ใ นจํ า นวนมาก โดยผูประกอบการสามารถไดรับเงินกูดอกเบี้ยต่ํา หรือ การลดหยอนภาษี หรือ เงินสนับสนุนโครงการ
การสนั บ สนุ น ผ า น โครงการของภาครั ฐ บาล เช น โครงการอนุ รั ก ษ พลังงานแบบมีสวนรวมใน โรงงานควบคุม โดยเขาไป แนะนํ า ระบบการจั ด การ พลั ง งานและเทคนิ ค การ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ทั้ ง ทาง ด า น พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ า พลังงานความรอน และอื่นๆ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง กั บ ก า ร ใ ช พลังงานและการผลิต เพื่อ เน น การสร า งจิ ต สํ า นึ ก ให บุคลากรในสถานประกอบการ มีความรูความเขาใจในการบริหารจัดการการใชพลังงานในหนวยงานของ ตนเองอยางเปนระบบ รูจักวิธีการอนุรักษพลังงานสรางเสริมใหเกิดการ มีสว นรวม เกิดการรูจ กั คิดนอกกรอบกอใหเกิดการพัฒนาทีมงานดานการ อนุรักษพลังงานภายในสถานประกอบการ จนสามารถดําเนินกิจกรรม อนุรักษพลังงานไดอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการใชพลังงานอยางคุมคา และมีการใชเครื่องจักรอุปกรณ ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ ตลอดจนเกิด ความรวมมือกันจากทุกฝายในองคกร เพื่อเปนการสานตอนโยบายการ อนุรักษพลังงานนี้ ใหยั่งยืนไดตอไปอนาคต และนี่ก็เปนภาพรวมของการอนุรักษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม ซึง่ ในปจจุบนั โรงงานทัว่ ไปไดใหความสําคัญกับสิง่ ทีก่ ลาวมาขางตนเพื่อเปน เสนทางนําไปสูความสําเร็จในดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม เพื่อเปนการลดตนทุนในกระบวนการผลิต และลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ตอภาวะโลกรอน อันนําไปสูธุรกิจที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน
May 2012 l 23
Energy#42_p18-23_Pro3.indd 23
4/28/12 12:33 AM
Tools & Machine โดย : Mr. T
Solatube Daylighting Systems นวัตกรรมใหมของระบบการสองสวาง
พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ไ ด ถู ก พั ฒ นานํ า มาใช ป ระโยชน ไ ด ม ากขึ้ น นอกจากใชในการตากอาหาร ตากผา แลวหลายคนคงทราบกันดีวาใน ปจจุบันนี้ ไดนํามาแปลงเปนพลังงานไฟฟาผลิตขายในเชิงพาณิชยกันมาก ขึ้น และนอกจากนี้แลวไดมีผูประกอบการนํามาพัฒนาตอยอดในการใช ประโยชนจากพลังงานแสงอาทิตยที่นําไปใชภายในอาคารไดโดยไมตอง แปลงเปนพลังงานไฟฟาซึ่งสามารถใชประโยชนไดเปนอยางดี การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ รั บ แสงสว า งแบบท อ หรื อ ที่ เ รี ย กว า SolatubeDaylighting Systems (TDDs) นั้นเปนวิธีการนําแสงสวาง จากดวงอาทิตยเขามาสองสวางใหกับพื้นที่ภายในอาคาร หมายความวา เราไมจําเปนตองพึ่งพาแสงสวางจากหลอดไฟหรือไมจําเปนตองเปดไฟใน ชวงเวลากลางวัน เทคโนโลยี TDDs สามารถนําแสงสวางจากแสงอาทิตย เขามาภายในอาคารได โดยสูญเสียคาความสวางเพียงเล็กนอยเทานั้น สําหรับ Solar tube นั้นสามารถติดตั้งไดในอาคารที่พักที่อยูอาศัย รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมไดโดยเฉพาะพื้นที่ที่ตองการแสงสวาง เชน ครัว หองนั่งเลน หองอาหาร โฮมออฟฟศ และหองนอน หองอาบ น้ํา ในหองเรียน สนามกีฬาในรวม รานคา สํานักงาน โกดังสินคา โรงงาน ที่ทําการรัฐบาล โรงพยาบาล คลินิก และโรงแรม เปนตน โดย TDDs นั้นประกอบดวยอุปกรณสําคัญ 3 สวน คือ สวนโดม ทอนําแสงสวาง และดิฟฟวเซอร หรือตัวกระจายแสง ในสวนของโดมนั้นมี รูปทรงเปนครึ่งวงกลม ทําจากพลาสติกอะคริลิกใสมีความเหนียวแนน ทนทานไมแตกหักงาย แมจะติดตั้งอยูบนหลังคาตากแดดตากลมนานหลาย สิบป โดยจะนําแสงอาทิตยไปตามทอแตไมนําความรอนเขาสูภายในอาคาร ดวย ซึ่งสามารถบล็อกความรอนออกไปภายนอก 95% ทําใหภายในหอง
นั้นไมรอน ในสวนของทอนําแสงนัน้ จะมีลกั ษณะเปนทรงกระบอกเรียบๆ ทําจาก อะลูมิเนียมอะโนไดทเคลือบดวยโพลีเมอรสะทอนแสง จากการเคลือบผิว ดวยโพลิเมอรสะทอนแสง ทอนําแสงจะลําเลียงแสงสวางจากโดมรับแสง ไปยังตัวกระจายแสง ซึง่ โดยปกติหากแสงสวางถูกสงผานไปยังตัวกระจาย แสงผานทอตรงๆ แสงสวางโดยรวมที่ ไดรับจะใหคาความสวางประมาณ 99.7% ในระยะทาง 18 เมตร แตหากทอนําแสงโคงงอ แตละชวงที่ลําแสง หักงอจะมีการสูญเสียคาความสวางชวงละ 5% ซึ่งตัวกระจายแสงทําจาก พลาสติกขุนเพอใชกระจายแสงสวางไปยังพื้นที่ ใชงาน ทั้งนี้ TDDs ยังใหแสงสวางแบบพิเศษเนองจากแสงสวางภายนอก เองก็ ไมแนนอน ขึ้นอยูกับสภาพทองฟาภายนอก นอกจากนี้แสงสวางจาก TDDs อาจลดลงจากมิติของหองและระยะหางจากหลังคา หากทอนําแสง มีระยะหางจากจุดรับและจุดกระจายแสงมาก แสงสวางที่ ไดก็จะสลัวลงไป มาก ระบบแสงสวางแบบนี้เปนระบบแสงธรรมชาติที่สมบูรณ ซึ่งนํามา ทดแทนแสงสวางที่รับผานชองหนาตาง และเปนอุปกรณสองแสงสวาง Solar tube สามารถนําแสงสวางลงมาไดถงึ 5 ชัน้ โดยสูญเสียความสวาง เพียงเล็กนอยหากทอนําแสงสวางไมมกี ารโคงงอ สําหรับสวนประกอบของ Sol tube โดยใช Breakthrough Technologies ไดแก Raybender® 3000 Technology ซึ่งเปนเลนสสําหรับโดมรับ แสงอาทิตย ซึ่งจะนําแสงอาทิตยเขาสูทอนําแสง เลนสชุดนี้สามารถตรวจ จับและปฏิเสธแสงอาทิตยในชวงเวลากลางวันที่มีความเขมของแสงสูงและ มีความรอนสูง และทําใหแสงที่รับเขามาตลอดทั้งวันนั้นมีความเหมาะสม LightTracker® Reflector ทอสะทอนแสง LightTracker ทํางาน คูกับ Raybender โดยจะสะทอนแสงอยูในโดมรับแสงแลวสะทอนแสงในมุม แคบๆ เขาสูทอนําแสง Spectralight® Infinity Tubing วัสดุที่ ใชทําทอสะทอนแสง ซึ่ง สามารถสะทอนแสงสวางออกมาใหเห็นได 99.7% แสงสวางที่ ไดเปนแสง สีบริสุทธิ์ ไมมีรังสีเจือปน ทอนําแสงสามารถนําแสงสวางลงมาไดไกลถึง 50 ฟุตสําหรับรุนSolutube 21-C Engineered Light Diffusion อุปกรณกระจายแสงจะมีเลนส สําหรับกระจายความสวางเพิ่มขึ้น และออกแบบมาเพอใหการมองเห็น สะดวก และสามารถปดกั้นรังสีอุลตราไวโอเลตไดสูงสุดถึง 380 nm. เลย ทีเดียว อยางไรก็ตามนอกจากใชประโยชนเปนแสงสวางจากธรรมชาตินั้น ชวยใหมผี ลตอสุขภาพรางกายในระยะยาวดวย แสงสวางธรรมชาติจะทําให คนมีความเครียดนอยลง ทํางานไดดีขึ้น และที่สําคัญนั้นยังชวยลดการใช พลังงานไดเปนอยางดีครับ
24 l May 2012
Energy#42_p24_Pro3.indd 24
4/23/12 9:41 PM
Energy#42_p25_Pro3.ai
1
4/23/12
9:07 PM
Energy#42_p29_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/23/12
10:32 PM
Saving Corner
ก า ร ป ร ะ ห ยั ด พลั ง งานโดยป ม ความรอน (Heat Pump) ตอนจบ ตอจากฉบับที่แลว สําหรับการรูจักปมความรอน มาครั้งนี้เราไปดู กันวา มันมีกลวิธีประหยัดอยางไร ไปรับทราบพรอมกันครับ
ปมความรอนประหยัดพลังงานอยางไร
การทํ า น้ํ า ร อ นด ว ยป ม ความร อ นสามารถประหยั ด พลั ง งานได มากกวาการตมน้าํ ดวยหมอน้าํ ที่ใชน้าํ มันเตา,แกสแอลพีจี (LPG), พลังงาน ไฟฟาหรืออุปกรณทําความรอนจากแสงอาทิตย (Solar Cell Heater) ตัวอยางตอไปนี้แสดงความตองการน้ํารอนสําหรับโรงแรมขนาด 100 หองมีอัตราการเขาพัก 100 % และ 60 % ใชน้ํารอนในอัตรา 160 ลิตร/หอง/วัน อุณหภูมิของน้ําดิบ 28 oC อุณหภูมิของน้ํารอนที่ตองการ 58 oC คาความรอนของน้ํามันเตา 9,500 กิโลแคลอรี่ตอลิตร, คาความ รอนของแกสแอลพีจี (LPG) 12,000 กิโลแคลอรีต่ อ กิโลกรัม, คาพลังงาน ไฟฟา 2.5 บาทตอหนวยและคาความตองการพลังงานไฟฟา 256 บาทตอ กิโลวัตตตอเดือน เปรียบเทียบความสิ้นเปลืองพลังงานในการทําน้ํารอนดวยวิธีตางๆ และผลประหยัดพลังงานเมอใชปม ความรอน ในตารางที่ 1 แสดงผลสําหรับ การใชหองพัก 100 % หรือ 100 หองตอวัน ตารางที่ 1 ผลการประหยัดพลังงาน (Energy) ในการใชปม ความรอนผลิตน้ํารอนเมอเปรียบเทียบกับวิธีตางๆ ประเภทอุปกรณผลิต พลั ง งานที่ ใ ช ผ ล ป ร ะ ห ยั ด การประหยั ด น้ํารอน (กิโลแคลอรี/ป) จากการใช ป ม พลังงาน (%) ความรอนแทน ปริ ม าณความร อ นที่ 216,080,000 ตองการ
-
-
พลังงานที่ ใชน้ํามันเตา
360,133,333 288,106,667
80%
พลังงานที่ ใชแกส แอลพีจี (LPG)
332,430,769 260,404,103
78.33%
พลังงานที่ ใชไฟฟา
216,080,000 144,053,333
66.67%
พลั ง งานที่ ใ ช อุ ป กรณ 108,040,000 แสงอาทิตย พลังงานที่ ใชปม ความรอน
72,026,667
36,013,333
33.33%
-
-
โดย ธนกร ณ พัทลุง วิศวกรประสิทธิภาพ โรงไฟฟ า กระบี่ การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.)
ตารางที่ 2 สรุปผลการประหยัดคาใชจาย (Cost) จากการใชปม ความรอน ประเภทอุปกรณผลิต ค า ใ ช จ า ย ผลตางคาใชจา ย การประหยั ด น้ํารอน พ ลั ง ง า น จากการใช ป ม พลังงาน (%) ความรอนแทน (บาท) (บาท) ปริ ม าณความร อ นที่ 216,080,000 ตองการ (kcal)
-
-
พลังงานที่ ใชน้ํามันเตา
303,270
103,761
34%
พลังงานที่ ใชแกส แอลพีจี (LPG)
332,431
132,922
40%
พลังงานที่ ใชไฟฟา
598,528
399,019
47%
พลั ง งานที่ ใ ช อุ ป กรณ แสงอาทิตย
343,231
143,721
42%
พลังงานที่ ใชปม ความรอน
199,509
-
-
รู ป ที่ 3 แสดงเครื่ อ งปั๊ ม ความร้ อ น (Heat Pump) และการใช้ ปั๊ ม ความรอนทําน้ํารอน
รูปที่ 4 แสดงการใชปมความรอนควบคุมอุณหภูมิน้ํา/ทําน้ําอุนสําหรับ สระวายน้ํา
30 l May 2012
Energy#42_p30-31_Pro3.indd 30
4/23/12 9:37 PM
การประยุกต ใชงานปมความรอน
- สภาพที่เหมาะสมกับการใชปมความรอน ปม ความรอนเหมาะสําหรับการใชผลิตความรอน ไดแก น้าํ รอน หรือ อากาศรอน สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคาร ในชวงอุณหภูมิของ การทําความรอนไมเกิน 60 oC ซึ่งเปนชวงที่ปมความรอนทํางานที่ ประสิทธิภาพสูงและเทคโนโลยีปมความรอนมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมต่ํา อยูในระดับเดียวกับระบบเครองปรับอากาศทั่วไป - ตัวอยางการใชงานปมความรอน นอกจากการใชปมความรอนผลิตน้ํารอนแลว ดังแสดงในรูปที่ 3 ป ม ความร อ นยั ง ใช ค วบคุ ม อุ ณ หภู มิ น้ํ า /ทํ า น้ํ า อุ น สํ า หรั บ สระว า ยน้ํ า ดังแสดงในรูปที่ 4 และยังทําลมรอน (Heated air) เพอใหความอบอุนใน หนาหนาว (winter) หรือยังทําลมเย็น (Cooled air) เพอใหความเย็นสบาย ในหนารอน (summer) ดังแสดงในรูปที่ 5 นอกจากนี้ก็ยังใชอบพืชผล ทางการเกษตร, อบไม, อบผารวมทั้งทําระบบปลอดความชื้นโดยใชปม ความรอนอีกดวยดังแสดงในรูปที่ 6
รูปที่ 5 แสดงการใชปม ความรอนยังใชลมรอนเพอความอบอุน ในหนาหนาว
ปมความรอน (Heat Pump) มีจุดเดนหรือขอดีหลายประการ คือ ปมความรอนสามารถใชประโยชนจากความรอนจากแหลงความรอนที่มี อุณหภูมิต่ํา เชน ความรอนในอากาศหรือแหลงความรอนสูญเสียซึ่งไม สามารถนํากลับมาใชไดดวยกระบวนการแลกเปลี่ยนความรอนตามปกติ มาทํ า ให มี อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น จนสามารถนํ า กลั บ มาใช ไ ด ป ม ความร อ นใช
รู ป ที่ 6 แสดงระบบ ปลอดความชื้ น โดยใช ปมความรอน
พลังงานสะอาด ไมกอใหเกิดมลพิษในแหลงที่ ใชงาน ใชงายและไมตองดูแล รักษามาก ความสะดวกปลอดภัยในการใชเทากับเครองปรับอากาศหรือ เครองทําความเย็น ปมความรอนชวยประหยัดพลังงานเพราะใชพลังงาน เพียง 1/3 หรือ 1/5 ของพลังงานที่ตองการ การใชปมความรอนทําให หมดปญหาการจัดการเชื้อเพลิงมาปอนเตาตมน้ํา เชนน้ํามันเตาหรือแก็ส LPG ซึง่ ราคาคอนขางสูงขึน้ และไมปลอดภัยในการเก็บรักษาหรือการใชปม ความรอนทํางานไดตลอดเวลาที่ตองการทั้งกลางวันและกลางคืนและใน ทุกสภาพสภาวะอากาศแตขอจํากัดคือใชไดกับกระบวนการทําความรอนที่ ตองอุณหภูมิไมเกิน 60 oC อางอิง 1. http://www.germes-online.com 2. http://industrial.hidofree.com/machine-toolsmachinery/heat-pump 3. http://www.srpnet.com/.../heatpumpdiagram06.gif 4. http://www.energy-based.nrct.net 5. http://www.advancethermo.com/heatpump_set.html 6. http://www.asetplus.com/images/Heat_Pump/Heat_ Pump_1_b.jpg 7. http://www2.dede.go.th/Advancetech/Asset/ Presentation/Heat%20pump.pdf 8. http://www.containedenergy.com/assets/images/ HeatPumpSchematic.gif 9. http://www.howardswimmingpools.co.uk/ hpumpdiagram.gif 10. http://www.hitachi.com/environment/showcase/ speco_technique 11. http://cbs.grundfos.com/thailand/lexica/AC_COP.html 12. จรัล อินทรังษี “Heat Pump for Process Heating” โครงการพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งานในภาค อุตสาหกรรมและธุรกิจ, กุมภาพันธ 2551 May 2012 l 31
Energy#42_p30-31_Pro3.indd 31
4/23/12 9:37 PM
Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร
Energy Mind Award
โครงการสถานศึ ก ษาดี เ ด น ดานพลังงาน
ปจจุบันหนวยงานภาครัฐหลายหนวยงานไดสงเสริมสนับสนุนใน เรองการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเพอใหทุกภาคสวนไดมีสวนรวม ในการชวยลดการใชพลังงานและการอนุรักษสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนการ สนับสนุนในดานเงินลงทุน การทํากิจกรรมโครงการตางๆ ในรูปแบบการ อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม และการจัดประกวด เปนตน สําหรับโครงการสถานศึกษาดีเดนดานพลังงาน Energy Mind Award นั้นเปนสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานดานการอนุรักษ พลังงานในโรงเรียนใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมและอยางเปนระบบ และให โรงเรียนมีการใชพลังงานในการดําเนินกิจการตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ และคุมคา
โดยความรวมมือกันระหวาง การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และ สมาคมพัฒนาคุณภาพสิง่ แวดลอม มหาวิทยาลัยมหิดล ไดจดั กิจกรรม นี้ขึ้นตั้งแตป 2551 เปนตนมา และตลอดระยะเวลา 4 ปที่ผาน มามีโรงเรียนเขารวมโครงการ ทั้ ง สิ้ น 126 โรงเรี ย น และมี โรงเรียนที่ ไดรบั มาตรฐานสถาน ศึกษาดีเดนระดับ 5 ดาว 17 โรงเรียน ในเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ สําหรับการจัดกิจกรรม ในป 2555 นี้ ทางหนวยงานที่ เกี่ ย วข อ งได จั ด ทํ า โครงการ
32 l May 2012
Energy#42_p32-34_Pro3.indd 32
4/23/12 9:50 PM
อยางตอเนอง เพอเปดโอกาสใหกับโรงเรียนตางๆที่สนใจอยากดําเนินงาน ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางเปนระบบ ไดสมัครเขารวม โครงการ ดวยความมุง หวังทีจ่ ะเห็นโรงเรียน ซึง่ เปนแหลงเรียนรูข องสังคม ไทย เปนสวนหนึ่งของการผลักดันใหสังคมไทยเปนสังคมแหงการอนุรักษ พลังงานตอไป และสงผลใหเกิดการทํางานอยางมีระบบและเปนรูปธรรม เพื่อรณรงค์และปลูกฝังจิตสํานึกการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม อยางยัง่ ยืนใหกบั เยาวชนในสถานศึกษา ผูซ ึง่ จะเติบโตเปนกําลังสําคัญของ ชาติในอนาคต อยางไรก็ตามลาสุดไดมกี ารมอบรางวัลมาตรฐานสถานศึกษาดีเดน ดานพลังงาน พ.ศ.2554 หรือ เอเนอยี มายด อะวอรด 2011 (Energy Mind Award 2011) ซึง่ ในปนีม้ โี รงเรียนเขารวมโครงการถึง 40 โรงเรียน มาตรฐานสถานศึ ก ษาดี เ ด น ด า นพลั ง งานแบ ง ออกเป น 5 ระดั บ โดยมีโรงเรียนที่ ไดรับรางวัลมาตรฐานระดับ 5 ดาว รวมทั้งสิ้น 6 โรงเรียน ได แ ก โรงเรี ย นบางมดวิ ท ยา “สี สุ ก หวาดจวนอุ ป ถั ม ภ ” , โรงเรี ย นเบญจมราชานุสรณ, โรงเรียนประภามนตรี 2, โรงเรียนประภามนตรี 3, โรงเรียนอัสสัมชัญคอนแวนต และโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี นอกจากนี้ ป นี้ ยั ง เพิ่ ม รางวั ล “บุ ค ลากรดี เ ด น ด า นพลั ง งาน”
(Energy Master Award) ที่จะมอบใหกับอาจารยที่มีความมุงมั่นตั้งใจจริง และมีศักยภาพในการดําเนินงาน เพอปลูกฝงจิตสํานึกอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน ทั้งในแง่ของการสื่อสารสู่ตัวนักเรียน การเก็บรวบรวมขอมูลที่ใชในการประเมิน ตลอดจนความคิดสรางสรรคตา งๆ ประกอบดวย อาจารยวัลยภัสร สุขะวัธนกุล โรงเรียนแมพระฟาติมา, อาจารยธาริณี ยิง่ ถาวร โรงเรียนเขมะสิรอิ นุสสรณ, อาจารยยทุ ธพงษ วงศ เ มื อ งสรรค โรงเรี ย นอั ส สั ม ชั ญ ธนบุ รี , อาจารย วั น เพ็ ญ บุ ต รโยธี โรงเรี ย นประภามนตรี 3, อาจารย ฐ านมญ มะณี โรงเรี ย นเซนต ฟ รั ง ซี ส ซาเวี ย ร ค อนแวนต , อาจารย ว รรณภา ทองสี ไพล โรงเรียนบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ” และ อาจายเตือนใจ ดํารงรัตน โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ
แนวคิดของการดําเนินงาน
การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนจะเกิดขึ้นอยางเปน รูปธรรมและยั่งยืน ถาโรงเรียน - มีความพรอม หรือทําดวยความสมัครใจ (โดยเฉพาะผูบริหาร และ คณะทํางาน) May 2012 l 33
Energy#42_p32-34_Pro3.indd 33
4/23/12 9:50 PM
- การดําเนินงานอยางเปนระบบ เปนขั้นเปนตอน ตั้งแตการมี นโยบาย คณะทํางาน และแผนปฏิบัติการที่ชัดเจน จนถึงลงมือปฏิบัติ และ ประเมินผล - มี ก ารดํ า เนิ น งานแบบมี ส ว นร ว ม ทุ ก ส ว นของโรงเรี ย น (ฝายวิชาการ ฝายแผน ฝายกิจการนักเรียนฯ) ครู บุคลากรอนๆ และ นั ก เรี ย น รวมทั้ ง ผู ป กครอง มี ส ว นร ว มในการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิ่งแวดลอม
วัตถุประสงค
2.1 เพอพัฒนาศักยภาพแกบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียนดาน การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม
2.2 เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การดํ า เนิ น งานด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พลังงานในโรงเรียนใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรมและอยางเปนระบบ 2.3 เพื่อให้ โรงเรียนมีการใช้พลังงานในการดําเนินกิจการต่างๆ อยางมีประสิทธิภาพและคุมคา อยางไรก็ตามจากการสอบถามผูดําเนินโครงการนั้นคาดวาในป พ.ศ. 2555 นี้ จะมีโรงเรียนใหมเขารวมโครงการฯ ที่จะนําไปสูการประเมิน มาตรฐานฯ อีกประมาณ 50 โรงเรียน โดยการไฟฟานครหลวง สมาคมพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอม และมหาวิทยาลัยมหิดล จะไดดําเนินการเพอ พั ฒ นาการดํ า เนิ น งานด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มของ โรงเรียนและจัดทํามาตรฐาน Energy mind Award เพอเปนกําลังใจใหแก โรงเรียน ตอไป
34 l May 2012
Energy#42_p32-34_Pro3.indd 34
4/23/12 9:50 PM
Energy Showcase ABB String Inverter
ABB LIMITED
Duo Landscape ABB String Inverter รุน PVS300 ถูก ออกแบบสําหรับการใชงานในระบบผลิต ไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตยขนาดเล็กที่ติด ตั้งในอาคารและบานเรือนตางๆ ตลอดจน โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยขนาดเล็ก มี ขนาดตั้งแต 3.3 กิโลวัตต จนถึง 8 กิโล วัตต ABB String Inverters, PVS300 เปน Inverter ชนิด transformerless จึงทําให PVS300 เปน Inverter ที่มีประสิทธิภาพสูง ซึง่ ผานการทดสอบตามมาตรฐานองคการ ไฟฟาโดยสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง
บริษัท ลากัวรเทค จํากัด
Duo Landscape Waterproofing Membrane เปนแผนยางกันซึมที่ ใชสําหรับจัด สวน, งานสนามหญ้ า เพื่ อ ทํ า เป็ น สถาน ทีพ่ กั ผอน โดยเฉพาะบนอาคารหรือบริเวณ ชั้นดาดฟ้าของอาคาร เนื่องจาก Duo Landscape มีสาร Anti root ทีม่ คี ณ ุ สมบัติ ปองกันการชอนไชของรากตนไม ไมใหผา น เข า ไปในคอนกรี ต โครงสร า งอาคาร โดยสาร Anti root ที่ผสมอยูในแผนยาง กันซึมจะทําปฏิกริ ยิ ากับรากตนไมใหเปลีย่ น ทิศทาง ไมแทงทะลุผานแผนยางกันซึมและ ผิวคอนกรีตอาคาร
โทร 0-2665-1000
โทร 0-2443-7300 ถึง 16 โทรสาร 0-2433-7319 ถึง 20
PSJ Energy Save
KEEEN สารชีวบําบัดภัณฑ เชิงนิเวศน
http://www.abb.co.th
http://www.laquatech.com
KEEEN เปนนวัตกรรมใหมที่สามารถตอบ โจทยเรองการอนุรักษสิ่งแวดลอม และ ร ว ม ต อ บ โ จ ท ย สํ า คั ญ ข อ ง ภ า ค อุตสาหกรรมที่ตองปรับกระบวนการผลิต ใหเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม โดย KEEEN มีคุณสมบัติที่สามารถขจัด บําบัด และ เยียวยา (Cleaning and Remediation) ภายในขั้นตอนเดียว มีทั้งหมด 13 สูตร เลือกใหเหมาะสมกับการใชงาน
PSJ Energy Save นวัตกรรมใหมของการควบคุมปริมาณแสงสวางและประหยัด พลังงาน (Lamp Power Controller) ซึ่งชวยลดภาระคาใชจาย เปนนวัตกรรมแหง การประหยัดพลังงานแสงสวางระดับชัน้ นําของโลก ทีส่ ามารถทํางานรวมกับโซลูชนั่ ดานไอซีทีเพอเสริมสรางเทคโนโลยีดานการประหยัดพลังงาน PSJ Energy Save ประกาศจุดยืนความเปนผูน าํ ดานการประหยัดพลังงานอัจฉริยะมาตรฐานระดับสากล สนองนโยบายการประหยัดพลังงานของรัฐไดโดยคนไทย และเพอคนไทยอยางแทจริง
P.S.J. ENERGY SAVE CO.,LTD
บริษัท ไฮกริม เอ็นไวรอนเมนทอล แอนด รีเสิรช จํากัด
http://www.psjenergysave.com/
http://www.keeen.co.th
โทร 0-2319-3557, 0-2719-6013 โทรสาร 0-2319-3558
SOCOMEC : TRUELY ATS (Automatic Transfer Switch)
โทร 0-2800-2570-3 โทรสาร 0-2800-2779
BS Terminator Quick
SOCOMEC : TRUELY ATS (Automatic Transfer Switch) เปนอุปกรณทางเลือก ทางเดินไฟฟาหรือเลือกแหลงจายไฟฟา โดยสวนใหญ ใชเลือกแหลงจายระหวาง เครองกําเนิดไฟฟากับหมอแปลง, หรือ หม อ แปลงไฟฟ า กั บ หม อ แปลงไฟฟ า ประกอบดวย Load Break Switch ซึ่งใช สําหรับการถายโอนเฉพาะมาประกบกัน มี ขนาด Range ตั้งแต 63 – 3200A โดย ผานมาตรฐานสูงสุดดาน ATS คือ IEC 60947-6-1 มีคุณสมบัติโดดเดนคือ มีชุด Controller แบบ Built In ในตัว
Unitis Co.,Ltd
โทร 0-2285-2920 โทรสาร 0-2285-2910
http://www.unitis.co.th
Cleaning Products ECO เปนผลิตภัณฑ ทํ า ความสะอาดมื อ อาชี พ ที่ มี ค วาม ปลอดภัยเพอทุกคนและสิ่งแวดลอม โดย BS Terminator Quick ผลิตภัณฑทาํ ความ สะอาดอเนกประสงค เพอความรวดเร็วมี ประสิทธิภาพในการทําความสะอาดได ดี ไมวาจะเปนพื้นผิวแกว ยางหรือสีของ วั ส ดุ คราบสกปกฝ ง แน น ของอุ ป กรณ เฟอรนิเจอร หรือบริเวณตางๆ โดยเปน มิตรตอสิ่งแวดลอม 100%
BUTTERFLY-SONG IMPORT EXPORT Co., Ltd.
โทร 0-2917-5953-4
http://www.butterfly-song.com May 2012 l 35
Energy#42_p35-36_Pro3.indd 35
4/23/12 9:58 PM
Electronic Sensor Compact Fluorescent Lamp
“คาสเซ็ทไทด” เครองปรับอากาศแบบติดเพดาน
หลอดประหยัดไฟอิเลคทรอนิคเซนเซอร ชนิด แทง (Electronic Sensor Compact Fluorescent Lamp) มาพรอมประสิทธิภาพการใชงาน ชั้ น เยี่ ย ม เพราะมี เ ซนเซอร ต รวจจั บ แสง คุ ณ ภาพสู ง ฝ ง ภายในหลอดถึ ง 2 จุ ด สามารถตรวจจับระดับแสงสวางและเปด-ปด ไฟแบบอัตโนมัตติ ามระดับความสวางของแสง ผูใชจึงสามารถวางใจไดวาหลอดประหยัดไฟ อิ เ ลคทรอนิ ค เซนเซอร จะสามารถช ว ย ประหยัดไฟไดในชวงเวลากลางวันที่ ไมจําเปน ตองใชแสงสวาง และสามารถใหความสวาง และเพิ่ ม ความปลอดภั ย ในเวลากลางคื น ที่ ตองการใชแสงสวาง
บริษัท จีอี ไลทติ้ง (ประเทศไทย) จํากัด
“คาสเซ็ทไทด” เครองปรับอากาศแบบติด เพดาน รับประกันในคุณสมบัติเดน เย็นเร็ว เย็นสะอาดทั่วหอง ดวยเทคโนโลยี เฟรช แอร อีกทั้งประหยัดไฟมากกวา 40-50 เปอร เ ซ็ น ต ด ว ยค า ประสิ ท ธิ ภ าพการ ทําความเย็น EER สูงถึง 12 BTU/h/w มากกวาคามาตรฐานประหยัดไฟเบอร 5 ที่ กําหนดไวที่ 11.6 BTU/h/w และมีคอยล ระบายความรอนถึง 2 ชั้น จึงประหยัดไฟ มากขึ้น ซึ่งยังไมมีใชในยี่หออน แมในกลุม ประหยัดไฟเบอร 5 ดวยกัน
โทร 0-2250-0820-4 (5 lines)
บริษัท มีเดีย อีเล็คทริค เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด
เครองเล็มหญาไรสาย
ถวยน้ําเดินทาง 2 ชั้น “eCycle Travel Mug”
http://www.gelighting.co.th/
http://www.mideaelectric.com
“ซีกัล” แนะนํา “ถวยน้ําเดินทาง 2 ชั้น (eCycle Travel Mug)” ผลิ ต ภายใต แนวคิ ด eCycle เป น การผสมผสาน ระหว า งพลาสติ ก รี ไ ซเคิ ล หลากประเภท โดดเดนดวยสี คริสตัล บลู (Crystal Blue) สวย สดใส สามารถจุน้าํ ได 0.47 ลิตร โดย บรรจุไดทัง้ รอนและเย็น ฝาปดสนิท สะดวก ทุกการใชงาน ทําความสะอาดงาย อีกทั้ง ยังปราศจากสาร BPA ซึ่งเปนสารที่มีสวน เกี่ยวของในการเกิดมะเร็ง ทําใหปลอดภัย ตอสุขภาพ
เครองเล็มหญาแบตเตอรี่ ลิเธียมอิออน รุน ART 26 Li 18 V พรอมใชงานดวย แบตเตอรี่ ลิเธียม- อิออน สามารถเล็ม หญาไดถึง 1,000 เมตรตอการชารท 1 ครั้ง, มีการดปองกันตนไมกรณีเล็มหญา รอบๆ ตนไมที่ ไมตองการใหตัดโดนเสีย หาย, ดามจับน้าํ หนักเบา และสามารถปรับ ระดับความสูงไดตามความสูงของผู ใช งานทําให ทํางานไดสบายมากขึน้ , ใชระบบ การตั ด ด ว ยใบมี ด พลาสติ ก แข็ ง แรง สามารถตั ด หญ า ที่ เ หนี ย ว หรื อ ต น ไม จําพวกวัชพืชไดเปนอยางดี
บริษัท ไทยสเตนเลสสตีล จํากัด
บริษัท โรเบิรต บอช จํากัด
โทร 02-730-7999
http://www.seagull-brand.com/
http://www.bosch.co.th/
แอลจี IPS235V สุดยอดเทคโนโลยีจอมอนิเตอร
STAEDTLER WOPEX PENCI
จอมอนิ เ ตอร แ อลจี IPS235V ที่ ใ ห สี สมจริงที่สุดเทาที่เคยมีมา พรอมหนาจอ ที่ ใหความสวางสูงสุด และมุมมองการรับ ชมภาพที่กวางกวา แอลจี IPS235V มี ระบบ Dual Package สามารถเชอมตอ เพื่ อ แสดงผลบนสองหน้ า จอได้ อ ย่ า ง งายดาย เพียงคลิกเพอใหแสดงแถบการ ทํางานบนหนาจอทัง้ สอง พรอมเทคโนโลยี Super Energy Saving ชวยประหยัด พลังงานและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด ศูนยบริการขอมูลแอลจี โทร 0-2878-5757 http://www.lg.com/th/
ผลิ ต ภั ณ ฑ ดิ น สออนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม นวัตกรรมแรกของโลกในวงการเครื่อง เขียน ภายใตชอ STAEDTLER WOPEX PENCIL (ดินสอสเต็ดเลอรวูเปกซ) ที่ ใช กระบวนการผลิตแบบอัดขึ้นรูปเปนแทง ดินสอสําเร็จในครั้งเดียว ในอดีตการตัด ตนไม 1 ตน นําไมมาผลิตดินสอไดเพียง 20% แตนวัตกรรม WOPEX สามารถนํา ไมมาผลิตดินสอไดสูงถึง 80% นอกจาก นี้ดินสอ WOPEX ยังไม ใชสารละลายใน การผลิต
บริษัท สเต็ดเลอร (ประเทศไทย) จํากัด โทร 0-2392-7837
http://www.staedtler.co.th/
36 l May 2012
Energy#42_p35-36_Pro3.indd 36
4/23/12 9:58 PM
Energy#42_p37_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/23/12
10:35 PM
Energy Keyman โดย : รังสรรค อรัญมิตร
คุยกับผูบริหาร
โกลว พลังงาน...
มร.เอซา เฮสคาเนน
ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห ารกลุ ม บริษัทโกลว 38 l May 2012
Energy#42_p38-40_Pro3.indd 38
4/23/12 10:05 PM
หลายคนคงเคยไดยินและรูจัก บริษัท โกลว พลังงาน กันดีโดยโกลว พลังงานนัน้ เปนบริษทั หนึง่ ในกลุม โกลว ซึง่ ประกอบธุรกิจดานพลังงานราย ใหญแหงหนึ่งในประเทศ โดยมีกําลังผลิตไฟฟาทั้งสิ้น 2,416 เมกะวัตต (สวนของโกลวเทากับ 2,331 เมกะวัตต) และมีกาํ ลังผลิตไอน้าํ ทัง้ สิน้ 1,206 ตันตอชั่วโมง นอกจากนี้กลุมบริษัทโกลว ยังเปนผูผลิตและจําหนายไฟฟา ใหกับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ภายใตสัญญาการรับ ซื้อไฟฟาจากผูผลิตไฟฟารายเล็ก (SPP) และผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ (IPP) รวมทั้งผลิตและจําหนายไฟฟา ไอน้ํา และน้ําเพอการอุตสาหกรรม ใหกับบริษัทอุตสาหกรรมขนาดใหญที่ตั้งอยูในเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุด และนิคมใกลเคียง และยังเปนผูถือหุนรายใหญของบริษัทและเปนสวนหนึ่ง ของกลุม GDF SUEZ ซึ่งเปนกลุมอุตสาหกรรมและบริการดานพลังงาน ระหวางประเทศที่ ใหญที่สุดในโลก และลาสุดไดมีโอกาสไปคุยกับ มร.เอซา เฮสคาเนน ประธาน เจาหนาที่บริหารกลุมบริษัทโกลว ถึงผลประกอบการ
ที่บริษัทเขาซื้อกิจการในไตรมาส 3 ป 2554 สําหรับป 2555 บริษัทคาด ว า ปริ ม าณจํ า หน า ยของลู ก ค า อุ ต สาหกรรมจะยั ง คงเพิ่ ม ขึ้ น อย า งต อ เนองจากความ ตองการของลูกคาโครงการระยะที่ 5 ที่จะคอยๆ เพิ่มขึ้นสําหรับ โรงงานแหงใหมของลูกคาเอง อยางไรก็ตามบริษัทยังคงอยูในชวงเวลาที่ อัตรากําไรของบริษัทลดลง จากการที่รัฐบาลไมไดปรับเพิ่มอัตราคาไฟให
มร.เอซา ผลประกอบการของ โกลว พลังงานฯ เปน อยางไรบาง “ปริมาณจําหนายของลูกคาอุตสาหกรรมเพิม่ ขึน้ จากความตองการ ของลูกคา ทั้งโครงการระยะที่ 5 (“Phase 5”) และไทยเนชั่นแนลพาวเวอร
May 2012 l 39
Energy#42_p38-40_Pro3.indd 39
4/23/12 10:05 PM
เปนไปตามตนทุนเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นไดทั้งหมด นอกจากนี้ผลประกอบการ ในป 2554 ของเรายังไดรบั ผลกระทบอยางมีนยั สําคัญจากผลขาดทุนของ หวยเหาะ พาวเวอรอันเนองมาจากปริมาณน้ําฝนของหวยเหาะ พาวเวอร ที่มีปริมาณนอยในป 2553 ทั้งนี้จากปริมาณน้ําฝนที่อยู ในเกณฑดี ในป 2554 ทําใหหวยเหาะพาวเวอรสามารถกลับมาดําเนินการไดแลวตามปกติ”
มร.เอซา กําไรกอนดอกเบีย้ จายภาษีเงินไดและคาเสอม ราคา (“EBITDA”) เปนอยางไร
สําหรับผลประกอบการของ 2554 เรามีรายไดรวม 40,955 ลานบาท กํ า ไรก่ อ นดอกเบี้ ย จ่ า ยภาษี เ งิ น ได้ แ ละค่ า เสื่ อ มราคา (“EBITDA”) 9,954 ลานบาท กําไรสุทธิกอนรวมกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน สุทธิ (“NNP”) จํานวน 4,104 ลานบาท และ กําไรสุทธิ จํานวน 3,949 ลานบาท ป 2554 บริษัทมีกําไรกอนดอกเบี้ยจายภาษีเงินไดและคาเสอมราคา (“EBITDA”) เพิ่มขึ้นรอยละ 4.5 เมอเปรียบเทียบกับป 2553 ในขณะที่กําไร สุทธิกอนรวมกําไรหรือขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ (“NNP”) ลดลง รอยละ 8.6”
มร.เอซา ปริมาณจําหนายของกลุม ลูกคาอุตสาหกรรม เพิ่มขึ้น แลวอัตรากําไรเปนอยางไร
“ยอดจําหนายไฟฟาและไอน้ําใหแกลูกคาอุตสาหกรรมสําหรับป 2554 เมอเทียบกับป 2553 เพิ่มขึ้นรอยละ 6.2 และ 15.8 ตามลําดับ แต ในทางตรงขามตนทุนราคาคากาซสําหรับป 2554 เพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 10.0 ในขณะที่อัตราคาไฟเพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 0.59 สงผลใหอัตรากําไร ของธุรกิจพลังงานความรอนรวมและไอน้ํา (“Cogeneration Business”) ปรับตัวลดลง แมวาปริมาณจําหนายจะมีจํานวนเพิ่มขึ้นก็ตาม อย า งไรก็ ต ามในปริ ม าณการจํ า หน า ยที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ของกลุ ม ลู ก ค า อุตสาหกรรมสงผลใหกําไรกอนดอกเบี้ยจายภาษีเงินไดและคาเสอมราคา (“EBITDA”) เพิ่มขึ้นรอยละ 4.5 แมวาอัตรา
กําไรจะลดลง ทั้งนี้จากภาษีเงินไดของธุรกิจ IPP ซึ่งมีจํานวนเพิ่ม ขึ้น 430 ลานบาทนั้นเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหกําไรสุทธิกอนรวมกําไรหรือ ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนสุทธิ (“NNP”) ของกลุมบริษัทลดลง จาก การสิ้นสุดระยะเวลาการไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีเงินไดนิติบุคคลในป 2554”
มร.เอซา โครงการขยายโรงไฟฟา ณ ปจจุบันเปน อยางไร
“สํ า หรั บ โครงการขยายโรงไฟฟ า ที่ ไ ด มี ก ารดํ า เนิ น การมานั้ น โครงการระยะที่ 5 ถือเปนความสําเร็จครั้งสําคัญสําหรับในป 2554 นอก เหนือจากโครงการ ซีเอฟบี 3 ที่แลวเสร็จตั้งแตป 2553 ในสวนของ โครงการทีอ่ ยูร ะหวางการกอสรางและคาดวาจะเริม่ ดําเนินการเชิงพาณิชย ไดในป 2555 ดังนั้นไมไดมีเพียงแตโครงการโรงไฟฟาเก็คโค-วัน ขนาดกําลังการ ผลิต 660 เมกะวัตตและโครงการโกลว เอสพีพี 12 (ชอเดิมคือ บริษัท ไทย เนชั่นแนล พาวเวอร 2 จํากัด) ขนาดกําลังการผลิต 110 เมกะวัตตเทานั้น แตรวมไปถึงโครงการโรงไฟฟาพลังแสงอาทิตยอีกดวย ซึ่งไดเริ่มดําเนิน การกอสรางโครงการขนาด 1.5 เมกะวัตตในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มาตัง้ แตไตรมาสที่ 4 ป 2554 โดยมีกาํ หนดแลวเสร็จในไตรมาส 3 ป 2555 ซึง่ โครงการเหลานีจ้ ะชวยเพิม่ กําลังการผลิตใหแกโรงไฟฟาของกลุม บริษทั อีกกวารอยละ 20”
40 l May 2012
Energy#42_p38-40_Pro3.indd 40
4/23/12 10:06 PM
Energy Keyman โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
“ยกปาเขากรุง” สรางคนรุน ใหมเขาใจสิง่ แวดลอม
คุณตรีรชั ภูคชสารศีล ผอ. WWF Thailand และ FEED ในประเทศไทย
May 2012 l 41
Energy#42_p41-43_Pro3.indd 41
4/27/12 11:48 PM
หลายคนคงเคยไดยินชอของ WWF และ FEED กันมาบาง แตเชอวา นอยคนที่จะรูถึงบทบาทที่แทจริงของทั้งสององคกรนี้ ENERGY SAVING ฉบับนี้ ไดรับเกียรติจาก คุณตรีรัช ภูคชสารศีล ผูอํานวยการ WWF Thailand และมูลนิธิสิ่งแวดลอมศึกษาเพอการพัฒนาอยางยั่งยืน (ประเทศไทย) (FEED) มาใหสัมภาษณเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของ WWF และ FEED ในประเทศไทย
บทบาทของ WWF และ FEED ในประเทศไทย
บทบาทของ WWF ที่ทํางานในประเทศไทยนั้น สวนใหญเราก็จะ ทํางานโครงการอนุรักษใหญๆในพื้นปาทั่วทุกภาคเปนหลัก ตอนนี้ที่เรามี โครงการใหญๆอยูก็คือ โครงการอนุรักษเสือ และโครงการแกปญหา ชางปาที่กุยบุรี แลวก็มีโครงการฟนฟูเสือโครงที่อุทยานแหงชาติแมวงก กับคลองลานที่จังหวัดกําแพงเพชร นอกนั้นเราก็ยังมีโครงการอนุรักษน้ํา จืดในภาคอีสานนะครับ เสร็จแลวเราก็มาทําโครงการรณรงคเพอลดโลกรอน เปนโครงการ Earth Hour ที่จะมีการปดไฟในวันที่ 31 มีนาคมที่ผานมา ซึ่งนี่เปนกิจกรรมที่ WWF ไดทํานะครับ ในสวนขององคกร FEED เราจะเนนเรองการทํางานกับเยาวชน แลว ก็คนที่อยูในเมืองใหญ ซึ่งตอนนี้ FEED มีศูนยศึกษาธรรมชาติอยูสองศูนย ที่ ทํ า งานอยู ก็ คื อ ที่ ส มุ ท รปราการ ศู น ย ศึ ก ษาธรรมชาติ ก องทั พ บกที่ สมุทรปราการ และศูนยศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร ที่จังหวัด
ปทุมธานี ตอนนีศ้ นู ยศกึ ษาธรรมชาติทัง้ สองแหงนีก้ ก็ าํ ลังทํางานเต็มที่ นัน่ ก็คือวารักษาพื้นปาเดิม เพิ่มพื้นปาใหมที่อยูในพื้นที่แลวก็จัดทําหลักสูตร ธรรมชาติศึกษาใหเยาวชนไดเขาไปเรียน ในหองเรียนธรรมชาติที่นั่น นอกจากนั้น FEED ก็ยังชวย WWF ทําในโครงการรณรงค แลวก็จะเริ่ม โครงการใหมในกรุงเทพมหานคร ก็คือโครงการ “โรงเรียนใหญ รอยเทา เล็ก” ซึ่งเปนโครงการลดคารบอน ลดพฤติกรรมการปลอยคารบอน เพอ ที่จะหยุดโลกรอนใหได ทํากับโรงเรียนในหกเขตในกทม. ประมาณสิบหก โรงเรียนได มีภาคเอกชนใหการสนับสนุน ทางกทม.ก็ชวยดวย แลวก็อีก โครงการหนึ่งที่เรากําลังจะรณรงคใหภาคธุรกิจเอกชน ทํา CSR ดวยการ ไปปลูกปาภูเขาพื้นที่วังน้ําเขียว ซึ่งจะเปดเปนศูนยศึกษาธรรมชาติแหงใหม อีกแหงหนึ่ง ในอนาคตอันใกลนี้ อันนี้เปนงานของทั้ง WWF และทั้ง FEED ที่ทํา เราจะเห็นวาแยกสวนกันคอนขางชัดเจน แตก็มีตัวเชอมกันอยู เรา จะเห็นวาทาง WWF นี่จะมุงไปที่งานอนุรักษในปา ปาอนุรักษนะครับ แต FEED จะมุงมาที่งานที่อยูใกลเมือง รอบๆเมือง เอาปาเขามาไวในเมือง แลว ใหคนไดศึกษาเรียนรู สรางคนรุนใหมที่เขาใจสิ่งแวดลอมครับ
พื้นฐานความรูดานสิ่งแวดลอมของเยาวชนที่ ไดเขา รวมกิจกรรม
เยาวชนทีเ่ ขารวม โดยเฉพาะอยางยิง่ เขาไปทีศ่ นู ยศกึ ษา เคามีความรู พื้นฐานจากสิ่งที่เคาเรียน หลักสูตร ในหองเรียน แตเราเอาเคาเขาไป ขยายความรูแ ละประสบการณในหองเรียนธรรมชาติทีศ่ นู ยศกึ ษา เสร็จแลว ความรูและประสบการณตรงนั้น ก็เหมือนเคาไดเรียนในหลักสูตรชั้นเรียน ซึ่งตรงนั้น เราทําเปนหลักสูตรบูรณาการใหเคา เพราะฉะนั้นศูนยศึกษา ธรรมชาติทัง้ สองศูนยจงึ เปดไมไดครับ เต็ม เนองจากโรงเรียนจะจองเขาไป ศึกษา จึงตองเรงตองเปดศูนยแหงใหมเพิ่มขึ้น เพอเปดพื้นที่ ใหมีพื้นที่ หองเรียนธรรมชาติเพิ่มขึ้นนะครับ เยาวชนของเราจะไดเขาไปเรียนรูและ ศึกษา เราจะไดเยาวชนรุนใหม ที่ผานหลักสูตรพวกนี้ออกมาสูสังคมของ เราเพิ่มขึ้นเยอะๆ
ผลตอบรับจากเยาวชนที่เขารวมกิจกรรม
นอกจากเคาจะไปเรียนในหองเรียนธรรมชาติทเ่ี รามี เคาจะผานความรู ประสบการณตรงนั้นแลว หลังจากนั้นเราจะมีติดตามไปดูในหองเรียนที่ เคาเรียนที่โรงเรียน โรงเรียนก็จะเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกี่ยวกับ สิง่ แวดลอมมากขึน้ อนุรกั ษมากขึน้ แลวก็นกั เรียนทีผ่ า น จะมีสว นหนึง่ กลับ เขามาตั้งเปนชมรม ในของแตละศูนย อยางที่บางปู ก็จะมีชมรมเยาวชน อนุรักษปลายน้ํา นั่นคือปากแมน้ํานั่นเอง นักเรียนพวกนี้ก็จะเขามา ชวย งานในวันหยุด วันเสารอาทิตย ซึ่งก็ถือวาเราเปลี่ยนแปลงเคาไดสวนหนึ่ง ในสวนที่เคาเขามาได เยาวชนสวนมาก ถาผานหลักสูตรของเราไปแลว ใน การที่เคาจะไปเที่ยว ไปทําลายธรรมชาติพวกนี้เคาจะคิดมากกวาเดิม และ ในที่สุดแลว ก็อาจจะไมทําเลย
42 l May 2012
Energy#42_p41-43_Pro3.indd 42
4/26/12 11:09 PM
อยูไดกับธรรมชาติ เพราะวาเราไปปรับเปลี่ยนธรรมชาติไมได เพราะวา ธรรมชาตินั้นเมอมีสิ่งมากระทบ เคาก็จะตองเปลี่ยนแปลงเปนธรรมดา เพราะฉะนั้นชีวิตของเราก็จะตองเปลี่ยนแปลงไปดวย เราจะเห็นวาฝรั่งเคา ชอบอาบแดด เพราะที่บานเคาไมคอยมีแดด แตที่บานเราแดดเยอะ เพราะ ฉะนัน้ ก็อยาลืม ลืมตากแดด ไปอยูแ ตในหองแอร บางทีไปเจอแดดที ตาบอด ก็มี มันเปนอยางนี้ครับ เราตองปรับ ไมถึงกับเปลี่ยน แตตองปรับใหอยูได อยูรอด ทั้งของตัวเราเอง และของโลก
ความรู ค วามเข า ใจข า วสารของประชาชนด า นสิ่ ง แวดลอมเพียงพอหรือไม?
คนไทยกับความตระหนักเร องสิ่งแวดลอมมีมากแค ไหน?
ถ้ า พู ด ถึ ง ที่ ปั จ จุ บั น คิ ด ว่ า เปอร์ เ ซ็ น ต์ ข องคนที่ ต ระหนั ก เรื่ อ ง สิง่ แวดลอมนัน้ มีมากขึน้ เพราะวาผลจากภัยธรรมชาติทเ่ี ราไดรบั น้าํ ทวมใหญ ก็ดี แผนดินไหวก็ดี ที่เห็นกันทั่วโลก จะทําใหมีการตระหนักกันมากขึ้น แต สิ่งที่จะตองผลักดันตอไปก็คือ พฤติกรรมการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติ ที่ ใชกันในชีวิตประจําวัน เราจะตองเปลี่ยน ถาเปลี่ยนแลวเนี่ย มันก็จะทําให ภัยพิบัติลดลงไดครับ ถาในดูทางพฤติกรรม ถาเปรียบเทียบกับตางประเทศแลว เราเพิ่ง เริ่มตระหนักกัน พูดงายๆ ในทางตางประเทศเคาผานมาเยอะแลว เพราะ ฉะนั้นพฤติกรรมในเรองตนไมก็ดี เรองนูนก็ดี ถือวานอย แตคําวานอยของ เรา ถาเปรียบเทียบกับตางประเทศในยุคกอนๆ ที่เคาประสบ ก็ถือวาดี เหมือนกับวาเราเริ่มตนซะวันนี้ รูสึกซะวันนี้ ดีครับ แลวเราจะสามารถรักษา ทรัพยากรธรรมชาติเอาไวไดมากกวาทางยุโรปเคาดวยซ้ําไป
ความสะดวกสบายอี ก หนึ่ ง ป จ จั ย ที่ ทํ า ให เ ราห า ง ธรรมชาติ
อยากจะพูดวา ความสะดวกสบาย เปนปจจัยที่ทําลายตัวเราเอง มากกวา ยกตัวอยางเชน ความเย็น เรานั่งอยูในหองแอรนานๆ จะเห็นวา ทํางานในหองแอรนานๆ พอเวลาเราออกไปขางนอก ตัวเราแทบทนไมได เพราะฉะนั้นพฤติกรรมที่เราทํา ไมวาจะอยูที่บานก็ดี ที่ทํางานก็ดี ที่อะไรก็ดี มันจะสรางความเคยชินใหเราอยูหางธรรมชาติมากขึ้น เพราะฉะนั้นเราก็ ควรจะที่จะตองปรับพฤติกรรมตัวนี้ เพอที่จะใหเปนมิตรมากขึ้น ใหสามารถ
ถ า โดยตั้ ง ใจ ที่ ท างองค ก รเป น คนจั ด สรร หรื อ รั ฐ บาลเป น คน สนับสนุน ในทํานองนี้ ยังไมพอ นอยมาก เพราะองคกรเองก็มีกําลังนอย เทคโนโลยีเราก็มไี มพอ แตถา โดยขอมูลขาวสาร โดยขาว แลวมีผูค นติดตาม อันนั้นถือวาเยอะ และบางทีทวมดวยซ้ําไป แตบางทีขาวบางครั้งก็ ไมได สรางความตระหนัก แตกลับสรางความตระหนกและความกลัวมากกวา นะครับ คนที่ ไมโดนกับตัวจริงๆ ไมไดเปนเหยอจริงๆ มันก็จะรูสึกเปนครั้ง คราวแลวก็หายไป แตถาพูดถึงน้ําทวมที่ผานมา คนที่เปนเหยอจริงๆ เคา ก็จะไมใชครัง้ คราวแลว เคาก็จะเริม่ คิดเปลีย่ นแปลง แลวก็มกี ารทําบางแลว เราก็เห็นขาว เห็นไหม วาบานก็ตองยก อะไรพวกนี้ แตก็จะอยูในลักษณะ เอาตัวรอด จากสิ่งที่เกิดขึ้นและกําลังจะเกิดขึ้น ยังไมไดลงไปถึงวาเราจะ ปองกัน หรือเราชวยอุดสาเหตุที่จะเกิดขึ้นไดอยางไร ตองอาศัยองคกร เอกชนและรัฐบาลเขามามีสวนชวยครับ
“เยาวชน” หัวใจของการอนุรักษสิ่งแวดลอมสําคัญ
อยากจะฝากถึงผูใหญ หรือผูบริหารประเทศ วาตอนนี้เราตองให ความสําคัญ เกี่ยวกับเรองปญหาสิ่งแวดลอม การใชทรัพยากรธรรมชาติ กันมากขึ้น แลวก็เปดโอกาสใหกับเยาวชนรุนหลังของเรา ที่จะเปนเจาของ ทรัพยากรในอนาคตมากขึ้น พวกเราพากันชนชมญี่ปุนวาทําไมเคามีระเบียบวินัย ทําไมเคามีการ เขาคิว ไมแยงชิง ไมนูนไมนี่ ผมไดมีโอกาสไปญี่ปุนแลวไปถามเคาวาเคา ปลูกฝงพวกนี้ตั้งแตเมอไหร เคาบอกวาตั้งแตประถม เพราะฉะนั้นผมอยาก ใหผูใหญ และผูที่มีสวนเกี่ยวของกับเยาวชน ชวยปลูกฝงเรองพวกนี้ ให แนน ใหมาก เราจะไดเขาใกลความเปนจริงที่มีมากขึ้น อยากจะฝากตรงนี้ ใหชวยกัน เยาวชนเปนสิ่งสําคัญ ที่ญี่ปุนนี่ ถานายกฯกับเยาวชนจะเขาไป ที่ใดที่หนึ่ง เคาจะใหเยาวชนเขากอนนะ เคาจะไมกั้นเยาวชน เคาจะกั้นนายกฯ เคากั้นนักการเมือง เพราะฉะนั้น เยาวชน เคาจะถือวาหัวใจ ที่เคาจะตอง ชวยกันทะนุถนอม แลวก็สรางสรรคใหดีขึ้น
May 2012 l 43
Energy#42_p41-43_Pro3.indd 43
4/26/12 11:09 PM
Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร
Città dell’Altra Economia
โครงการเมืองทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม
ปจจุบันการออกแบบอาคาร บานเรือน หรือสถานที่ตางๆ ใหเปน มิตรตอสิ่งแวดลอมนั้นดูจะไดรับความนิยมไปทั่วทุกมุมโลก ซึ่งบางพื้นที่นั้น นอกจากพัฒนาใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลวยังสามารถพัฒนาใหเปน แหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศไดอีกดวย อยางเชนโครงการ “Città dell’Altra Economia” โครงการเมืองที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ดวยการใชเทคโนโลยีสมัย ใหม ซึง่ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และประหยัดพลังงานในการบูรณะและฟน ฟู พื้นที่ที่เคยเปนที่ตั้งของโรงฆาสัตว Testaccio ทําใหพื้นที่ดังกลาว ถือเปน พื้นที่แรกในทวีปยุโรปที่เข้าร่วมโครงการนี้ เพื่อสร้างแหล่งพลังงาน หมุนเวียน สนับสนุนการทองเที่ยวและการรีไซเคิลสิ่งของที่ใชประโยชนแลว
สําหรับพื้นที่โรงฆาสัตวแหงนี้ถูกแบงเปน 4 สวน สวนแรกคือ สวน สําหรับฝายบริหารและการจัดแสดงสินคาเพอการทองเที่ยว สวนที่ 2 และ 3 คือสวนที่เปนที่พักอาศัย ตลาด และรานอาหาร รวมทั้งหองสมุดเพอการ วิ จั ย และพื้ น ที่ ห อ งประชุ ม ที่ ร องรั บ ได ไ ม เ กิ น 80 คน ส ว นสุ ด ท า ยคื อ Workshop และโรงงานขนาดเล็ก ซึ่งเปนของผูบริหารจัดการงานแสดง สินคา การรีไซเคิล และการใชพลังงานทดแทน ยิ่งไปกวานั้น การที่โครงการนี้ ไดรับการสนับสนุนดานนี้จากหนวย งานตางๆไดชวยสืบสานเจตนารมณในการสรางนวัตกรรมใหมๆ รวมถึง การจดจําเนื้อหาทางประวัติศาสตร และระบบปฏิบัติงานซึ่งเปนจุดเดนของ โครงสรางสถานทีเ่ ดิม สถานทีแ่ หงนี้ ไดรบั การปรับปรุงออกแบบและพัฒนา
44 l May 2012
Energy#42_p44-45_Pro3.indd 44
4/23/12 10:12 PM
ภายในอาคาร Weights Buildings ที่สวยงาม และในการบูรณะ พื้นที่ระหวางหลังคาทางเดินไดรับการออกแบบโดย Gioacchino Ersoch และถูกกอสรางในชวงป พ.ศ. 2431 ถึง 2434 และสถาน ที่แหงนี้เปดอยางเปนทางการในป พ.ศ. 2471 ซึ่งเปนตัวอยาง อาคารที่มีโครงสรางเปนเหล็ก พื้นที่ดังกลาวประกอบดวยพื้นที่สําหรับจัดกิจกรรมและถาย ทําภาพยนตรสารคดี บนพื้นที่ขนาด 3,500 ตารางเมตร และ โครงการสวนหนาของอาคารขนาด 200 เมตร ซึ่งชวยใหมีพื้นที่ เพิ่มเติมกวา 3 ไร พืน้ ทีแ่ หงใหมนี้ มีการกอสรางดวยโครงสรางทีท่ าํ จากเหล็ก กันสั่นสะเทือน โดยที่โครงสรางสวนใหญมีการประกอบมาจาก
โรงงานเพอความสะดวกในการติดตั้งและมีอิสระในการปรับเปลี่ยนชิ้นสวน ตางๆใหเหมาะสม อย า งไรก็ ต ามโครงการนี้ ได มี ก ารปรั บ ให ไ ด รั บ ความอบอุ น และ แสงสวางจากธรรมชาติในระดับสูงที่สุด ดวยการใชกระจกที่เปนฉนวน ระบายความรอน หลอดไฟประหยัดพลังงาน และยังคงใชมรดกทาง สถาปตยกรรมของเมือง ซึ่งเปนการใชอยางมีประสิทธิภาพในกรุงโรม นอกจากนี้แลวการออกแบบเพอการปรับปรุงสถานที่แหงนี้ ใหมนั้น ผูออกแบบยังใหความสําคัญกับระบบระบายความรอนและกลยุทธสําหรับ ปองกันนั้น ตองการมีการควบคุมสิ่งแวดลอมในรมที่แมนยํา โดยเริ่มจาก การวิ เ คราะห ร ายละเอี ย ด เปาหมาย การศึกษาแนวทาง ปองกันภูเขาน้าํ แข็งละลายจาก แสงอาทิตยโดยตรง ประกอบ ดวย ผลวิเคราะห เสนทางของ กระแสลมนั้ น เกิ ด จากแหล ง เกิดลมที่อยูดานหนา ในพื้นที่ รม และจากสวนเปดหลังคา ทางทิศเหนือ ดวยการติดตั้ง พัดลมและเครองระบายอากาศ รวมถึ ง การติ ด ตั้ ง เครื่ อ งมื อ ผลิ ต กระแสไฟฟ า จากความ รอนจํานวน 4 เครอง ซึ่งเปน ระบบที่ ไมปลอยสาร CFC ที่ ทําลายชั้นบรรยากาศ พร อ มยั ง ได มี ก ารติ ด ตั้งแผงโซลารเซลลเพอผลิต กระแสไฟฟาได 4 หมนกิโลวัตตตอป ซึ่งจะชวยลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ไดถึง 2 หมน 5 พันกิโลกรัม ตอป และจากการออกแบบ ปรับปรุงฟนฟูโรงฆาสัตวชวย ให เ กิ ด การรี ไ ซเคิ ล อุ ป กรณ สิ่งของตางๆ ชวยใหเกิดการ สรางกิจกรรมและการพบประ สังสรรคของคนภายในเมือง และความพยายามที่นาประทับ ใจนี้ ได้เกิดขึ้นเพื่อตอบสนอง ความต อ งการทางสั ง คมใน ขณะทีส่ ว นทีล่ ะเอียดออนยังคง มีการเก็บรักษาเอาไว
May 2012 l 45
Energy#42_p44-45_Pro3.indd 45
4/23/12 10:12 PM
Residential โดย : สรรชณิฏฐ
Danish Light house
โมเดิรน ทันสมัย ตอบสนองไลฟสไตล สมัยใหมที่ ใส ใจประหยัดพลังงาน ปจจัยสําคัญของการออกแบบกอสรางไมวาจะเปนโรงงาน อาคาร บานเรือน ในปจจุบันจะคํานึงถึงเรองประหยัดพลังงาน รวมถึงความแปลก ใหมของการออกแบบ ซึ่งนอกจากจะไดประโยชนเรองของการลดคาใชจาย ดานพลังงานแลวยังชวยสรางความยั่งยืนใหกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และยังเปนการสรางมูลคาเพิ่มจากความโดดเดน ความแปลกใหมใหของ ตัวอาคารไดเปนอยางดี ทั้ ง นี้ ในป จ จุ บั น นั้ น มี ที่ พั ก ที่ อ ยู อ าศั ย เกิ ด ขึ้ น มากมายโดยเฉพาะ คอนโดมิเนียมที่เกิดขึ้นราวกับดอกเห็ดซึ่งลวนแลวก็เปนสถาปตยกรรมที่ ออกแบบใหมคี วามแปลกใหมทนั สมัยเพอตอบสนองความตองการของไลฟ สไตลของคนรุนใหมที่ชอบใชชีวิตในเมือง ซึ่งคอนโดในปจจุบันนั้นถูก 46 l May 2012
Energy#42_p46-47_Pro3.indd 46
4/26/12 11:28 PM
นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่โครงการบานเชาที่ผสมผสานตามลักษณะของ กลุมรายได ทั้งแบบใหเชา 100 ยูนิต และเปนเจาของเอง 300 ยูนิต รวม ทั้งบานใหเชาแบบไมเอากําไร แยกเปนแฟลต 270 ยูนิต และบานแบบมี เทอเรซ 30 ยูนิต สวนของตัวทาวเวอรสูง 140 เมตร พื้นที่ 60,000 ตารางเมตร จะ เปนอาคารที่สูงที่สุดในเดนมารก โดยเปนที่พักอาศัยซึ่งจะไมมีดานหลังแต จะมีดานหนาแทนเพราะสามารถมองเห็นวิวไดทุกจุด โดยออกแบบใหเปนรูป แบบอาคารที่สะทอนแสงลงในน้ํา ขณะที่คอนเซ็ปตหลักของสถาปนิก ตองการใหเปนชุมชมทีผ่ สมผสานแทนทีจ่ ะเปนชุมชนคนกลุม เดียว นอกจาก นี้ อ าคารภายในโครงการทั้ ง หมดนั้ น ได ส ร า งเป น ลั ก ษณะอาคาร ประหยัดพลังงาน และเทคโนโลยีเพื่อการดูแลรักษาที่ยั่งยืน ออกแบบใหเกิดการประหยัดพลังงานและอนุรักษสิ่งแวดลอมไดอยางมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการใชพลังงานทดแทน สําหรับคอลัมน Residential เลมนี้เราจะพาคุณบินลัดขอบฟาไปดู สถาปตยกรรมอาคารที่พักที่อยูอาศัยของโครงการพัฒนาในประเทศ เดนมารก ชื่อ “Danish Light house” ที่เกิดจากความรวมมือระหวาง ยูเอ็นสตูดิโอ (UNStudio) จาก เนเธอรแลนด, 3 เอ็กซเอ็น (3xn) ของเดนมารก และ เกฮล อารคิเทคส ( Gehl Architects) ซึ่งไดรับ รางวัลชนะเลิศในการแขงขันออกแบบ สําหรับการพัฒนาพื้นที่ริมฝงทะเล Aarhus harbour ที่ทางเดนมารกตองการสะทอนใหเห็นนวัตกรรมทาง สถาปตยกรรมในพื้นที่พัฒนาพิเศษแหงนี้ และยังเปนการพัฒนาเพิ่มเติม จากโครงการพัฒนาอาคารพักอาศัยติดชายฝงทะเลตามแนวยาว 140 เมตร นอกจากนี้แลวโครงการเดนิชไลทเฮาสยังไดถูกออกแบบใหมีทางเดิน ภายใตสภาพแวดลอมที่ดึงดูดใหคนมาเที่ยวพื้นที่ชายฝงทะเลนี้มากขึ้น ซึ่ ง โครงการนี้ จ ะประกอบด ว ยชุ ม ชนพั ก อาศั ย ภายใต รู ป แบบที่ ผสมผสาน รานอาหาร สวนสาธารณะ โดยจะเนนทางเดินเปนหลัก เพราะไม ตองการใหรถเขาไป แตจะมีลานจอดรถไวใหใตดินแทน ซึ่งเปนความใฝฝน ของผูออกแบบที่มองวาหากปราศจากการจราจรจะทําใหมีคนใชทางเดิน เทาและรถจักรยานมากซึ่งเปนสวนหนึ่งที่ชวยลดภาวะโลกรอน และเพื่อสรางพื้นที่สีเขียวเพิ่มความรมรื่นที่นี่ยังออกแบบใหมีสวน สาธารณะตั้งอยูตรงกลางโครงการ และลอมรอบไปดวยอาคารพักอาศัย สูง 5-8 ชั้น สุดทางเดินจะเปนพื้นที่ริมทะเล (วอเตอรฟรอนต)
ทัง้ นีแ้ ละทัง้ นัน้ โครงการ เดนิช ไลทเฮาส ไดเริม่ ลงมือกอสรางตัง้ แต ตนป 2551 โดยในสวนของโครงการที่พักอาศัยนั้นสรางเสร็จในป 2553 ที่ผานมานั่นเอง และนีเ้ ปนอีกโครงการหนึง่ ทีน่ อกจะออกแบบใหมคี วามโดดเดน แปลก ใหม่ ทันสมัยแล้วซึ่งสําคัญอย่างหนึ่งที่เป็นเทรนมาแรงอย่างต่อเนื่อง สํ า หรั บ การสร า งที่ พั ก ที่ อ ยู อ าศั ย แนวประหยั ด พลั ง งาน ซึ่ ง มี วิ ธี ก าร ออกแบบและระบบจัดการที่หลากหลายเพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงานได มีประสิทธิและยัง่ ยืน รวมถึงใหเปนทีพ่ กั ทีอ่ ยูอ าศัยทีม่ คี วามเพียบพรอมดวย ความสะดวกสบายในการใชชีวิต May 2012 l 47
Energy#42_p46-47_Pro3.indd 47
4/27/12 11:18 PM
Green4U
โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
ชวงนี้ตองบอกวาชนใจสําหรับคนรักสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมจริงๆ เพราะในทุก ผลิตภัณฑสินคาและบริการ ตางก็แขงขันกันนํานวัตกรรมดานสิ่งแวดลอมเขามากันอยาง ตอเนอง ทั้งนี้ก็เพอเปนการตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่ตระหนักถึงการลดโลก รอนมากขึ้นนั่นเอง
ผิวสวยชุมชื้นสุขภาพดีดวยเครอง ปรั บ อากาศแอลจี อิ น เวอร เ ตอร วี พลาสมาสเตอร
แอลจี เปดตัวนวัตกรรม ใหมแหงวงการเครองปรับอากาศ สําหรับที่อยูอาศัยกับ “แอลจี อิน เวอรเตอร วี พลาสมาสเตอร” (LG Inverter V Plasmaster) ครั้งแรกกับระบบแอลจีสกินแคร เทคโนโลยีที่ชวยดูแลผิว ชวยเพิ่ม ความชุมชื้นใหกับผิวมากขึ้น 15% พร อ มเสริ ม สุ ข ภาพที่ ดี มอบ อากาศเย็นบริสุทธิ์ และประหยัดพลังงานแกผูใชงาน ดวยนวัตกรรมใหมที่ชวยดูแลสุขภาพผิวพรอมรักษาความชุมชื้น ของผิว โดยการสรางไอออนประจุลบและประจุบวกเพอจับโมเลกุลน้ําที่
ลอยตัวอยูในอากาศ ดวยอนุภาคความชุมชื้นระดับนาโน (nano mist) ที่ สามารถซึมผานเขาสูรูขุมขน ชวยเพิ่มความชุมชื้นใหแกผิวไดถึง 15% ใน ขณะที่ อ ยู ใ นห อ งปรั บ อากาศ ผ า นการรั บ รองผลจาก Sookmyung Women’s University และ Korean Society of Cosmetics & Cosmetology (KSCC) ประเทศเกาหลี เพื่ อ สุ ข อนามั ย ที่ ดี ข องผู้ ใช้ ง าน แอลจี ยั ง ได้ ผ นวกเทคโนโลยี Plasmaster Auto Cleaning ในการดูแลความสะอาดภายในเครองปรับ อากาศ ชวยปองกันการแพรกระจายของเชื้อรา แบคทีเรีย และยังมีอนุภาค ไอออน ชวยขจัดเชื้อโรคที่ตกคาง หมดปญหากลิ่นไมพึงประสงค โดย ทํางานรวมกับ Plasmaster Ionizer เพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดเชื้อโรค ถึง 99.9% พรอมเทคโนโลยี Plasmaster Cyclotron Filter ระบบฟอกอากาศ พลาสมาซึ่งใชประจุไฟฟาในการกําจัดเชื้อโรค ไรฝุน ละอองเกสร และ ขนสัตวไดเร็วกวาระบบทั่วไปถึง 50% นอกจากนี้เพอสุขอนามัยที่ดีของ ผูใชงาน แอลจียังไดพัฒนา Triple Filter และ Pre Filter แผนฟอกอากาศ ที่ชวยใหระบบการกรองอากาศแอลจีมีประสิทธิภาพสูงสุดในการกําจัด เชื้อโรคและสรางเสริมสภาพแวดลอมที่ดี ดวยเทคโนโลยีอินเวอรเตอร วี ของแอลจี ผูบริโภคยังมั่นใจไดถึง ประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานสูงสุดถึง 60% อีกทั้งยังชวยรักษา อุณหภูมิใหคงที่ พรอมทํางานดวยระดับเสียงเงียบเพียง 19 เดซิเบล เพอ การพักผอนที่สมบูรณแบบ
Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U
May 2012 l 51
Energy#42_p51,53_Pro3.indd 51
4/27/12 12:01 AM
Energy#42_p52_Pro3.ai
1
4/25/12
2:01 PM
‘Permahyd® Hi-TEC’ นวัตกรรมสีพน ซอมรถยนตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
แบรนดสีพนรถยนตระดับพรีเมียมจากเยอรมนี ‘สปสส เฮกเกอร’ เปดตัวผลิตภัณฑสีพนซอมรถยนตระบบน้ํา Permahyd Hi-TEC โดยมี จุ ด เด น ด า นนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ ในตลาดโลก
มุง มัน่ พัฒนาสินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมและไดรบั การยอมรับในวงการ อุตสาหกรรมสีพนซอมรถยนต มี คุณสมบัติเดนดานคุณภาพชวยใหการ ทําสีงายและสะดวกขึ้นซึ่งชวยลดระยะเวลาการทํางานของทีมชางพน ผลิตภัณฑสีพนรถยนตสูตรน้ํา ‘Permahyd® Hi-TEC’ เขามาทํา ตลาดในไทย โดยใชจุดแข็งของ ‘สหมงคลสิน’ ที่มีประสบการณความ เชี่ยวชาญที่อยูในธุรกิจสีพนซอมรถยนต มายาวนานกวา 30 ป โดยนํา เสนอจุ ด เด น ของผลิ ต ภั ณ ฑ สี พ น ซ อ มรถยนต ภ ายใต แ บรนด ‘สป ส ส เฮกเกอร’ เพอรองรับกระแสตนตัวเรองสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในอุตสาหกรรมสีพนซอมรถยนต สงผลใหกลุมลูกคาอูซอมพนสีรถยนต และศู น ย บ ริ ก ารและจํ า หน า ย รถยนต ค า ยต า งๆ มี น โยบาย ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ เรื่ อ ง สิ่งแวดลอม จึงปรับเปลี่ยนมา ใช สี พ น ซ อ มรถยนต สู ต รน้ํ า มากขึ้น
ฮารดดิสกประหยัดพลังงาน EcoGreen F4 TM
Samsung EcoGreen TM F4 ถื อ เป น ฮารดิสคไดรฟที่เปนมิตร ต อ สิ่ ง แวดล อ มสํ า หรั บ ก า ร ใ ช ง า น กั บ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร แ บ บ เดสกทอ็ ป และมีความหนา แน น ในการจุ ข อ มู ล ที่ สู ง ที่สุดในโลก เพราะฮารด ดิสกไดรฟรุน EcoGreenTM F4 มีความจุสูงถึง 2 เทราไบต (TB) โดยแบง เปนความจุ 667 GB ในแตละดิสกจํานวนทั้งหมด 3 ดิสก จึงสามารถเก็บ วีดีโอในรูปแบบดีวีดีที่มีความยาวรวมสูงสุดถึง 880 ชั่วโมง หรือเก็บเพลง ในรูปแบบ MP3 ไดสูงสุดถึง 500,000 เพลง นอกจากนี้ ไดรฟแบบ 3 ดิสกรุนนี้ยังลดการเกิดเสียงและความรอนในระหวางการทํางาน ทั้งยังคง ประสิทธิภาพดานเวลาสแตนดบายที่ดีขึ้นกวาเดิมถึง 19% และสามารถลด การใชพลังงานขณะอยูในโหมดสแตนดบายลงไดอีกถึง 23% เมอเทียบกับ
ไดรฟรุนกอนที่เปนแบบ 4 ดิสก นอกจากนี้ Samsung EcoGreenTM F4 ยังมาพรอมฟเจอร eco อีก ดวย โดยใชวสั ดุทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม รองรับมาตรฐาน RoHS สําหรับ Samsung EcoGreen F4 นี้มีพอรตการเชอมตอแบบ 3.0Gbps SATA, Native Command Queuing และมี 32MB buffer memory
Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U
May 2012 l 53
Energy#42_p51,53_Pro3.indd 53
4/27/12 12:01 AM
Greenovation โดย : SuKiYaKi
Bulb Reinvented! Eco light ทําขึ้นจากกระดาษเคลือบขนาดเล็ก ซึง่ ทําใหงา ยตอการเปลีย่ นถายทัง้ ยังชวยลดภาระโลก รอนงายตอการกําจัดและไมเปนมลพิษตอสิง่ แวดลอม โดยเปนการอัฟเกรดวัสดุเกรดต่ําใหดูมีคุณคามากขึ้น และกลายเปนเทรนดใหมในที่สุด ซึ่งดีไซนเนอรไดเสริมวา “อายุการใชงานของกระดาษดังกลาวมีเวลาไมนาน นัก แตผูใชงานสามมารถเปลี่ยนถายมันไดงายนอกจากนี้กระดาษเกาที่ ไมใชแลวยังสามารถนําไปรีไซเคิลได อีกดวย” Eco Light ออกแบบโดย Tien-Ho Hsu และชนะการแขงขัน Liteon Awards 2011
Disposable Printer ปรินทเตอรใชแลวทิ้งนี้ เปนไอเดียตอยอดมาจากกลอง โพลารอยดนัน่ เองโดยมีเงอนไข ว า ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ นั้ น สามารถ สร า งผลผลิ ต ได ด ว ยตั ว ของ มันเอง ดีไซนเนอรพยายามที่จะ ใชกระดาษรีไซเคิลของกลองนม เพื่ อ สร้ า งเป็ น ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อยางไรก็ตามตัวปรินเตอรนั้น จําเปนตองอาศัยพลังงานจาก แบตเตอรี่ ภ ายใน อุ ป กรณ คอมพิวเตอรและ USB ปริ้นทเตอรนี้ออกแบบโดย Yuexun Chen และ Chia-Chen Hsiao
Sunflower Solar Cooker
ผูประกอบการทั้งหลายในเพนซิลวาเนียตะวันตกที่เกี่ยวกับการใชพลังงานไฟฟาและแกส เปนหลักมักจะกังวลเกี่ยวกับราคาตนทุนที่สูงและปริมาณการเติมเชื้อเพิ่งที่สูงในแตละครั้ง และ นั่นทําให Sunflower Solar Cooker ที่ออกแบบโดย Koo Ho Shin ตัวนี้เปนอีกทางเลือก หนึ่ ง ในหลายๆทางเลื อ กที่ ช ว ยในการประหยั ด พลังงานและรักษสิ่งแวดลอม โดยผู ใชจะตองดึงเอาพลังงานแสงอาทิตยที่สะทอนจากกลองเก็บฉนวนแลวเปดมันดวยการหมุน ตามเข็มนาฬกา ผู ใชสามารถควบคุมสามเหลี่ยมสะทอนแสงนี้ดวยการเปลี่ยนตําแหนงจุดรวมแสงและ อุณหภูมิใน glass ball 54 l May 2012
Energy#42_p54,56_Pro3.indd 54
4/26/12 11:03 PM
Energy#42_p55_Pro3.ai
1
4/25/12
2:03 PM
Green Power For Bedside Stuff
Magic Cube คือกลองลูกบาศวิเศษที่สามารถทําใหขางเตียงของคุณสดใสมากขึ้น โดยการรวม เอา โคมไฟ นาฬกาปลุก วิทยุ และ charger (ที่ชารตไฟ) เขาไวดวยกัน โดย green-gadget ชิ้นนี้ติดแผน โซลาเซลลไวที่ฐานกลองสําหรับรับพลังงานแสงอาทิตยอีกดวย ดานบนของกลอง จะแสดงปริมาณของแบตเตอรรี่ที่เหลือจนกระทั่ง ตองนําไปชารตอีกครั้งดวยพลังงานแสงอาทิตย จากกระแสเรองการมี จิตสํานึกดานสิ่งแวดลอมใน Magic Cube ที่ออกแบบโดย Kai Yu ชิ้นนี้ เคยถูกจัดอยูในที่อันดับที่ 4 ในดานการผสมผสานอยางชาญฉลาดทีร่ วบรวม features อันหลากหลาย ในหนึ่งเดียว
Eco Straw Sneakers - The Bio Mituri โปรเจคนี้ดีไซนเนอร HoDong Sung ไดรับความทาทายใหทําการดีไซนรองเทาเมอ 2000ปกอนขึ้นมาใหม และนี่เองทําให Bio Mituri ถูกดีไซนใหมอีกครั้งจากรองเทาฟางแบบดั้งเดิมของเกาหลี นับวาเปนการประหยัด ทรัพยากรและสรางสไตลใหมไปดวยในคราวเดียว Bio Mituri เปนการผสมผสานของรองเทาแบบดั้งเดิมของเกาหลีและแบบของตะวันตกเขาดวยกันซึ่งถือวา ทําไดดีมากในแงของสรีระ โดยคุณสมบัติเดนๆ ของ Bio Mituri คือ - เสนฟางที่บิดเขาดวยกันถูกแทนที่ดวยดายไมไผเพอความทนทานและทําใหไมเปนภูมิแพ - ปรับโครงสรางดานบนของรองเทาใหมดวยเชือกที่พันชั้นสนเทาดานลางเขาดวยกันทั้งหมดในคราวเดียว - กําจัดจุดออนเดิมดวยการใชโฟมที่ยอยสลายงาย - ลดขบวนการผลิตที่ทําใหลดการปลอยco2 - กาวที่ใชตอรองเทาชั้นนอกกับชั้นในนั้นเปนซีเมนตน้ําที่ที่ใชหลีกเลี่ยงพันธะทางเคมีที่ทําใหเกิดมลพิษ
AKA Star Wars Moisture Vaporators
ถาคุณเปนหนึ่งคนเคยชมหรือวารูจักภาพยนตเรอง star war : A New Hope ในหนังเรองนี้ ไดพูดถึงเทคโนโลยีอยางหนึ่งที่เรียกวา moisture vaporator ซึ่งมันเก็บรวบรวมน้ํากับกระบวนการ ระเหยที่ดูดน้ําจากแหลงน้ําในผืนดินที่แหงแลง ในวิธี การที่คลายกันนี้ ดีไซเนอร Chun Yen Tsao และ
Hsing-Tan Yang ไดสราง Swater ขึ้นมา สิ่งที่ Swater ทําคือใชแสงอาทิตยในการเก็บรวมรวมน้ําสะอาดที่กลั่นจากภายในอุปกรณนี้ มัน เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ฝาครอบที่มีรูปทรงคลายสามเหลี่ยมติดแผงโซลาเซลล ที่ผลิตพลังงานเพอใช สําหรับหลอดความรอน และหลอดฆาเชื้อ ฟงดูนาสนใจและฟงดูเหลือเชอมากๆ พนันไดเลยวาแมแต สกา ยวอคเกอร ก็ยังตองถูกใจ 56 l May 2012
Energy#42_p54,56_Pro3.indd 56
4/26/12 11:03 PM
Green Vision
โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
อบก. ชู เมืองแกลง เมืองลดกาซ เรือนกระจก ..Low Carbon City
หลังจากที่ องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน: อบก.) ไดรวมกับ เทศบาลตําบลเมืองแกลง จังหวัดระยอง ในโครงการศึกษา วิจัยรูปแบบเมืองคารบอนต่ํา (Low Carbon City Model) เรื่อยมานับแตป 2553 จนกระทั่งถึงปจจุบัน ดวยความพรอมในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการ จัดการฐานขอมูลดานสิง่ แวดลอม รวมถึงวิสยั ทัศนในการพัฒนาเมืองของผูบ ริหารที่ใหความสําคัญในเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวติ และสิง่ แวดลอม จึงไดเลือกเทศบาล ตําบลเมืองแกลง เปนพื้นที่นํารองเพื่อผลักดันใหเปนเมืองตัวอยางของเมืองลดกาซเรือนกระจก (Low Carbon City) พรอมทั้งใชเปนเมืองตนแบบในการพัฒนา คูมือเมืองลดกาซเรือนกระจก ที่สามารถนําไปประยุกตใชกับชุมชนเมืองขนาดเล็กอื่นๆ ในประเทศไทย อันจะมีสวนสําคัญตอการพัฒนาประเทศภายใตแนวคิดเศรษฐกิจ และสังคมคารบอนต่ําตอไป เพื่อเปนการรูจักกับ Low Carbon City ใหมากขึ้นนั้น คุณประเสริฐสุข จามรมาน รองผูอํานวยการองคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก และรักษา การผูอํานวยการองทคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) จะเปนผูที่มาใหขอมูลในเรื่องนี้กัน
ES : ทําไมตองเมืองแกลง? รอง ผอ. อบก. : สาเหตุที่เลือกที่เมืองแกลงนั้น จุดเดนสําคัญที่สุดก็คือ ทางชุมชนเคามีความพรอมเพรียง รวมมือรวมใจกันเต็มที่
แลวก็ผูนําทองถิ่นจริงจังกับเรื่องปญหาสิ่งแวดลอมของไทย ปจจัยสําคัญของการทําโครงการประเภทสิ่งแวดลอมใหสําเร็จนั้น จึงขึ้นอยูกับ ชุมชนและผูนําทองถิ่น เราก็เลยชักชวนวา สนใจไหมที่มาทําโครงการ ลดกาซเรือนกระจกรวมกัน ซึ่งก็ ไดรับความรวมมืออยางดี ไมวาจะ เปนเจาหนาที่ในระดับเล็กๆ หรือเจาหนาทีผ่ บู ริหารเอง และประชาชนเอง เคาก็รว มมีสว นรวมในการแสดงความคิดเห็นกันอยางเต็มที่ อยาง โครงการลดกาซเรือนกระจกตรงนี้ มันไมใชกิจกรรมที่ทําชั่วครั้งชั่วคราว แตเราตองการใหชุมชนเคาทําเปนวิถีชีวิตประจําวันดวย
ES : อบก. มีสวนในการเขาไปสงเสริมชุมชนอยางไรบาง รองผอ. อบก. : กอนที่จะกําหนดหรือเลือกกันวาจะทํากิจกรรมอะไร เราจะตองบอกใหชุมชนรูกอนวา เมืองลดคารบอน
คืออะไร วิธีการที่จะนําไปสูการลดกาซเรือนกระจก และแหลงปลอยกาซเรือนกระจกมาจากสวนไหน เชน ภาคขนสง ภาคอุตสาหกรรม จากภาคเกษตร หรือการใชพลังงานในครัวเรือน สิ่งเหลานี้ตองบอกใหประชาชนเขาใจ และสวนทองถิ่นเองก็ตองมีขอมูล หรือที่เรียก วาการจัดทําบัญชีกาซเรือนกระจก (Inventory) ซึ่งเปนขอมูลการปลอยกาซเรือนกระจก โดยแบงตาม Sector ซึ่งเมื่อดูตามขอมูล แลวเราสามารถทราบขอมูลการปลอยกาซเรือนกระจกของชุมชนวาสวนหลักมาจากภาคไหน แลวเราควรจะเขาไปดูแล ตรงไหน โดยใชวิธีการหรือกิจกรรมที่สอดคลองกับชุมชนนั้นใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองได
ES : เงินสนับสนุนมากนอยแค ไหน เมอเทียบกับปริมาณการลดกาซเรือน กระจกที่วัดได รองฯ ผอ. อบก. : เงินที่เราสนับสนุนไปประมาณหนึ่งลานหาแสนบาท ทางทองถิ่นชวยสมทบ เพิ่มเติมในสวนหนึ่ง ซึ่งเมื่อเทียบกับปริมาณกาซเรือนกระจกที่ลดลงได นั้นอาจจะดูเปนสัดสวนไมสูง แตสิ่งที่ เราไดมากกวานั้นก็คือ ประชาชนในทองถิ่น เกิดการมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมที่ลดการปลอยกาซเรือน กระจก เชน การติดตั้งสายพานแยกขยะ ซึ่งเกิดการคัดแยกขยะและยังเปนการชวยลดปริมาณขยะที่ตองกําจัด เปนการยืดอายุการใชงานของหลุมฝงกลบขยะ อีกทั้งเปนการเพิ่มรายไดจากการคัดแยกขยะของชุมชนใกล เคียงที่นํามาคัดแยก ณ เทศบาลเมืองแกลง ซึ่งเปนอีกหนึ่งกิจกรรมที่มีสวนชวยในการลดกาซเรือนกระจก
ES : หากอยากจะใหทาง อบก. เขาไปสงเสริมใหความรูเรองการ ลดกาซเรือนกระจก ตองมีหลักเกณฑอะไรบาง รองฯ ผอ. อบก. : ในเรื่องหลักเกณฑ หากทางทองถิน่ สนใจเขารวมโครงการ ลดกาซเรือนกระจก
ทาง อบก.ยินดีทจ่ี ะสนับสนุน ซึง่ ขณะนีเ้ ราก็มโี ครงการเมืองลดคารบอน ทีด่ าํ เนินการวมกับกับเทศบาลหลายแหง แตเรื่องของเงินสนับสนุน อันนีน้ ต่ี อ งขออนุญาตเรียนวา เนื่องจากโครงการในพืน้ ทีแ่ รก เปนโครงการนํารอง ฉะนัน้ ทางคณะกรรมการบริหาร อบก.ก็อยากจะสนับสนุนเปนตัวเงิน แตสาํ หรับทองถิน่ อื่นๆคิดวาคงจะตองมาพิจารณาความ เหมาะสมเปนกรณีๆไป ซึง่ คาดวาทางหนวยงานทองถิน่ เองก็คงจะพอมีงบประมาณการบริหารงานอยูบ า ง เพราะฉะนัน้ หลักการทีถ่ กู ตองทีส่ ดุ ก็คอื เปนลักษณะของการรวมดวยชวยกัน ทางทองถิน่ มีบางสวน ทาง อบก.ชวยบางสวน เงิน ลงทุนรวมกันตามกิจกรรมทีม่ ปี ระโยชน และก็จะเปนตัวนํารองใหเกิดการพัฒนาตอไปคะ
May 2012 l 57
Energy#42_p57_Pro3.indd 57
4/28/12 12:18 AM
Green Space
Low Carbon City.. ที่ เมืองแกลง
คุณสมชาย จริยเจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลเมืองแกลง จังหวัดระยอง
องคการบริหารกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน: อบก.) จับมือ กั บ เทศบาลตํ า บลเมื อ งแกลง จ.ระยอง ดํ า เนิ น โครงการนํ า ร อ ง เมืองลดกาซเรือนกระจก หรือ Low Carbon City ดวยวิสยั ทัศนผบู ริหารเมือง ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต และสิ่ ง แวดล อ ม อี ก ทั้ ง ความพรอมในดานการจัดการขอมูลพืน้ ฐานดานสิง่ แวดลอมของตัวเมืองเอง จึงทําให อบก. เลือกเมืองแกลงใหเปนเมืองตัวอยางของเมืองลดกาซ เรือนกระจก นั่นหมายถึงชุมชนเมืองขนาดเล็กอนๆ จะไดทําตาม และจะนํา ไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจและเมืองใหญในอนาคต คุณสมชาย จริยเจริญ นายกเทศมนตรีเทศบาลตําบลเมือง แกลง จังหวัดระยอง เปดเผยถึงโครงการฯ นี้วา จากการประเมินการ ปลอยกาซเรือนกระจกของโครงการนํารองเทศบาลตําบลเมืองแกลงนั้น พบวามีปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากแหลงปลอยหลักในป 2552 ทั้งสิ้น 38,349 ตันคารบอนไดออกไซด เทียบเทา (CO2e) เมอไมรวมแหลง ดูดกลับภาคปาไม โดยมีแหลงปลอยที่สําคัญในภาคอาคารและที่พักอาศัย
(รอยละ 46) ภาคขนสง (รอยละ 29) และภาคอุตสาหกรรม (รอยละ 17) สวนปริมาณการปลอยในภาคอน ๆ ไดแก ภาคของเสียและภาคการเกษตร นั้นมีไมมากนัก (รอยละ 6 และรอยละ 2 ตามลําดับ) สําหรับภาคปาไม เทศบาลตําบลเมืองแกลงมีนโยบายการเพิ่มพื้นที่สีเขียวทั้งในและนอกพื้นที่ จึงทําใหมีการดูดกลับคารบอนไดออกไซดจํานวน 887 ตันหรือประมาณ รอยละ 2.3 ของปริมาณการปลอยทั้งหมด “ จากความพรอมของเมืองและชุมชนที่รวมแรงรวมใจจะผลักดันให เมืองแกลงเปนเมืองคารบอนต่ํา ทําให อบก.เล็งเห็นความพยายาม และ พิจารณาเลือกใหเราเปนพื้นที่นํารองใหเปนเมืองลดกาซเรือนกระจกใน ที่สุด” ทั้งนี้ คณะผูศึกษาไดเสนอการตั้งเปาหมายการลดกาซเรือนกระจก ซึ่งไดผานกระบวนการปรึกษาหารือกับผูบริหารสวนทองถิ่นรวมถึงกลุม ผูมีสวนไดสวนเสีย จากทุกภาคสวนของชุมชนเทศบาลตําบลเมืองแกลง โดยจะลดการปลอยกาซเรือนกระจกใหได 3,000 ตัน CO2e ในป 2558 และ ลดใหได 6,000 ตัน CO2e ในป 2563 “นอกจากนี้ ยังมีโครงการสงเสริมใหเมืองแกลงเปนเมืองลดกาซ เรือนกระจก เชน โครงการคัดแยกขยะกอนนําไปบอฝงกลบซึ่งมีตนทุนสูง มาก โดยโครงการจะใชประโยชนจากการคัดแยกขยะอินทรียและขยะรีไซเคิล ออกจากขยะทั่วไป กอนจะนําขยะที่เลือกจากสายพานคัดแยกขยะไปกําจัด โดยการฝงกลบที่หลุมฝงกลบของเทศบาลฯ ตอไป ซึ่งจะสามารถลดการ ปลอยกาซมีเทนจากการฝงกลบขยะตลอดอายุการใชงาน 10 ป ของ สายพานเปนจํานวน 448.42 ตัน CO2e อีกทั้งยังมีประโยชนรวมที่เกิด จากการดําเนินโครงการ คือ ชวยลดคาใชจายในการกําจัดขยะของ เทศบาลฯ รวมถึงมีรายไดจากการจําหนายขยะรีไซเคิล ตลอดจนยืดอายุ การใชงานของหลุมฝงกลบ อันเปนการชวยเพิ่มศักยภาพในการบริหาร จัดการขยะมูลฝอยในอนาคต และหากสนใจในการเปนเมืองลดการปลอยกาซเรือนกระจก ทาน สามารถติดตอไปไดทโี่ ครงการฯ เมืองแกลง เพอศึกษารายละเอียดเพิม่ องค ความรูและนําไปประยุกตใชกับชุมชนเมืองที่ทานอยูอาศัยได ไมแนวาใน อนาคตเราอาจจะพัฒนาไปเปนประเทศลดกาซเรือนกระจกไดในที่สุด
58 l May 2012
Energy#42_p58-59_Pro3.indd 58
4/28/12 4:47 PM
ศิลปรักษโลก (Art for The Planet) ครั้งที่ 3
โครงการดีๆ ที่จัดขึ้นเพื่อ ก ร ะ ตุ น ใ ห เ ย า ว ช น ห ว ง ใ ย สิ่ ง แวดล อ มในวั น รั ก ษ โ ลกซึ่ ง ออนิกซ ฮอสพิทาลิตี้ กรุป หนึง่ ในผู บ ริ ห ารจั ด การแบรนด โรงแรมชั้นนําแหงเอเชียแปซิฟค รวมกับ บริษัท ซากุระโปรดัคส (ไทยแลนด) จํากัด จัดโครงการ “ศิ ล ป รั ก ษ โ ลก (Art for The Planet)” ครั้งที่ 3 เปดโอกาสให นักเรียนระดับประถมศึกษาตอน ปลาย, ระดับมัธยมศึกษาตอนตน และตอนปลาย หรือเทียบเทา ทัง้ ใน ภาคกลางและภาคใต รวมประกวดวาด ภาพในหัวขอ “แตมสี เติมฝน สรางสรรคอนาคต” ชิงทุนการศึกษาและ รางวัลทีพ่ กั โรงแรมในเครือออนิกซฯ หวังปลูกฝงจิตสํานึกรักษสงิ่ แวดลอม และพัฒนาความคิดสรางสรรคผานงานศิลปะในหมูเยาวชนไทย โดยออนิกซฯ ไดจัดโครงการ ‘ศิลปรักษโลก’ ตอเนื่องเปนปที่ 3
แล้วเพื่อแสดงถึงปณิธานในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ผ่านการ ประกวดวาดภาพ เพื่อการปลูกจิตสํานึกถึงความสําคัญของสิ่งแวดลอม และสงเสริมความคิดสรางสรรคและพัฒนาทักษะดานศิลปะในหมูเยาวชน ไทยอีกดวย การแข ง ขั น รอบคั ด เลื อ กสํ า หรั บ นั ก เรี ย นในภาคใต จะมี ขึ้ น ณ โรงเรียนสุราษฎรธานี จังหวัดสุราษฎรธานี วันที่ 17 สิงหาคม 2555 ใน ภาคกลางจะมีขึ้น ณ อาคารลุมพินีสถาน สวนลุมพินี กรุงเทพฯ ในวันที่ 24 สิงหาคม โดยจะมีการตัดสินรอบสุดทายทีก่ รุงเทพฯ ในวันที่ 7 กันยายน 2555 ภาพวาดที่ ไดรับการคัดเลือกทั้งหมด 180 ภาพ จากการแขงขันที่ จังหวัดสุราษฎรธานีและกรุงเทพฯ จะไดรับการจัดแสดงและจําหนาย ณ หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพฯ ระหวางวันที่ 18-23 กันยายน 2555 โดยจะ นําเงินรายไดจากการจําหนายเขาสบทบทุนมูลนิธอิ อนิกซ ฮอสพิทาลิตี้ กรุป เพื่อดําเนินกิจกรรมเพื่อสังคมและสิ่งแวดลอมตอไป สําหรับผูที่สนใจ สามารถเขาไปดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ เว็บไซต www.onyx-hospitality.com หรือ www.sakura.in.th
ECO Quilt “รักษโลก รักสิ่งแวดลอม”
Elna & Janome Quilt Contest 2012 ขอ เชิญผูร กั งานคลิวททกุ ทาน มารวมกันคืนสีเขียวที่หาย ไป..ผลัดใบไม ใบใหมใหโลก แสดงพลังธรรมชาติผาน เสนดายและปลายเข็ม เพื่อ วันพรุงนี้ที่ดีกวา โดยการ รวมสงการออกแบบผลงานคลิวท ภายใตแนวคิด “ECO QUILT รักษโลก ใส ใจสิ่งแวดลอม” โดยสงผลงานคลิวทติ้ง ขนาดผลงานสําเร็จ (รวม บอรดอร) ไมเกิน 80 x 100 ซม. ซึ่งผลงานที่สงเขาประกวดจะตองไมเคย สงประกวดที่ใดมากอน โดยเปดโอกาสใหนักศึกษา และบุคคลทั่วไป ไมจํากัด เพศ และ อายุ ที่สนใจสงผลงาน คลิ ว ท เข า ร ว มประกวดชิ ง รางวัลเงินสด และผลิตภัณฑ จั ก รเย็ บ ผ า จาโนเม เอลน า มูลคากวา 350,000 บาท
สามารถส ง ผลงานได ตั้ ง แต วั น นี้ - 15 มิ ถุ น ายน 2555 โดยจะประกาศผลงาน และมอบรางวั ล วั น ที่ 29 มิถุนายน 2555 ภายในงาน ส ห ก รุ ป ค รั้ ง ที่ 1 6 ณ ศูนยประชุมแหงชาติสิริกิตต สามารถเขาไปดูราย ละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www. sewingloveclub.com
May 2012 l 59
Energy#42_p58-59_Pro3.indd 59
4/28/12 12:29 AM
Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
ทิศทางการใช ทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต
จ า ก ภั ย พิ บั ติ ที่ ประชาชนชาวโลกประสบอยู ขณะนี้ มีความรุนแรงและ การเปลี่ ย นแปลงอย า ง รวดเร็ ว ทั้ ง อากาศร อ น เย็ น พายุ ฝ นและภั ย ทาง ธรรมชาติ อื่ น ๆ มี ผ ลต่ อ สภาพความเปนอยูของประชาชน และมีผลกระทบอยางตอเนื่อง ประชาชน หลายภูมิภาคเริ่มขาดแคลนอาหาร ยุคแหงความหิวโหย บางคนเรียกวา เปนยุคแหงความโงเขลา (The stupid age) เพราะสาเหตุสวนหนึ่งมาจาก การกระทําของมนุษย ที่ใชทรัพยากรอยางฟุมเฟอย ระบบทุนนิยมที่ ไมหยุด ยั้งความโลภของมนูษย ที่ ไมรูจักความพอเพียง การพัฒนาที่มีผลตอการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะการใชพลังงานที่เกิดกาซเรือน กระจกอยางมหาศาลจนอุณหภูมิของโลกสูงขึ้น ภัยพิบตั จิ ากภูมอิ ากาศมีผลกระทบทีร่ นุ แรง เปนบทสรุปทีท่ กุ ชาติตอ ง ตระหนัก ความหมายของบทสรุป คือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมีชองวาง ของความเสี่ยงภัยจากภูมิอากาศ และความสามารถของการจัดการกับ ความเสี่ยงเหลานั้น รัฐบาลของประเทศตางๆ เริ่มตระหนักและหากลไกที่จะ รับมือในการเกิดภัยพิบัติตางๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและปจจุบัน ไมจําเปน แลวที่ตองลงทุนสูงในการจัดการ การจัดระบบขอมูลที่มีมากจนเกินไป ไมตองมองระยะยาวจะเปนอยางไร แตควรเตรียมพรอมที่จะรับมือ และทําใน ทันที โดยเฉพาะใหความรูเกี่ยวกับความเสี่ยงภัยจากภูมิอากาศ พัฒนา ศักยภาพประชาชน ครอบครัว สถาบันชุมชนที่มีความเสี่ยง ตลอดจนความ สามารถเขาถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่
60 l May 2012
Energy#42_p60-61_Pro3.indd 60
4/28/12 12:22 AM
ออนไหวตอภูมิอากาศ จําเปนตองไดรับการอนุรักษและฟนฟู พรอมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ทีทุกคนตองรวมมือกันในการ แกไขปญหาในวันนี้ที่เกิดขึ้น ยกตัวอยางความรอนทีสูงขึ้นมีผลกระทบตอความ หลากหลายทางชีวภาพ การสูญพันธุของสัตวน้ําที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงของความรอนในน้ําทําใหอาหารลดนอยลง การปรับตัวใน ภาวะน้าํ รอนมีผลตอการแพรพนั ธุ ปลาหลายชนิดตายเนื่องจากน้าํ รอนเกิน ไป ตลอดจนแหลงอาหารลดนอยลง โดยเฉพาะพืชสัตวขนาดเล็กจะสูญ พันธกอนกระทบกับวงจรชีวิตของสัตวอื่นๆ ทําใหเกิดการสูญพันธุอยาง มหาศาล พืชพรรณตางๆ ทีเ่ คยอยูในพืน้ ราบ ไมทนตอความรอนและความ แหงแลงยาวนานก็จะสูญพันธุแหลงอาหารขนาดใหญของสัตวปาหายไป สัตวเหลานั้นก็จะสูญพันธุตามไปดวยเชนกัน จึงตองพิจารณาตามความเหมาะสมและเกิดความเปนธรรมแก สิ่งมีชีวิตที่อยูในปจจุบัน ประเด็นสําคัญ คือการใชทรัพยากรที่มีอยูอยาง คุมคาและมีประสิทธิภาพตลอดจนการหมุนเวียนทรัพยากรใหเกิดความ สมดุลในธรรมชาติ ยกตัวอยางเชนการใชทรัพยากรพลังงานทีห่ มดเปลือง ไมสามารถเก็บกลับคืน มีจํากัด ไมสามารถเพิ่มปริมาณเมื่อถูกใช อีกทั้ง เปนการกอใหเกิดกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศ เปนตัวเรงภาวะโลกรอน การใชทรัพยากรที่ดีตองคํานึงถึงหลักการปฏิบัติดังนี้ 1. มีอัตราการใชทรัพยากรที่เกิดประโยชนสูงสุด และเหมาะสมกับ การพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งหมายถึงการใชทรัพยากรอยางคุมคา 2. การปองกันรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยใชเทคโนโลยีที่ดีที่สุด เปนไปไดในทางปฏิบัติ 3. การปรับปรุงฟนฟูแหลงทรัพยารกที่ผานการใชประโยชนให สามารถนํากลับมาใชประโยชนไดอีก 4. การเก็บคืนและนําทรัพยากรจากแหลงวัตถุดิบมาใชประโยชนใหม มากที่สุด จากทัง้ สีข่ อ เสนอทิศทางในอนาคต คือการเก็บกลับคืนทรัพยากรและ นํากลับมาใชใหม( resource recovery and recycle) จึงเปนการกําหนด การใชทรัพยากรอยางเหมาะสม แหลงทิง้ ขยะมูลฝอย เปนแหลงของทรัพยากร ทีจ่ ะนํากลับมาใชประโยชนใหมากทีส่ ดุ ทิศทางการนําทรัพยากรกลับมาใชใหม จึงขึ้นกับเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงในการใชประโยชนจาก
ทรัพยากรที่เดิมถูกเรียกวาเปนขยะ ซึ่งกอนที่จะเนนเทคโนโลยีดังกลาวตอง เนนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคน ที่ตองลดปริมาณของเสีย ลดการ ทิ้งเศษวัสดุเหลือใช การใชซ้ําในรูปของวัตถุดิบหรือใชประโยชนไดใหม หาก ตองกําจัดวัสดุเหลือใชตอ งคํานึงถึงการเปลีย่ นแปลงเปนพลังงาน (Waste to Energy) และในกระบวนการนํ า กลั บ มาใช ใ หม ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ผล กระทบสิ่งแวดลอม และการลดมลพิษจากการกําจัดในขั้นสุดทาย บทสรุปในอนาคต ทิศทางการใชทรัพยากร จึงไมไดเปนการคนหา แหลงทรัพยากรใหมๆ หรือการแยงทรัพยากรในการครอบครองของคนอื่น แ ต เ ป น ก า ร พิ จ า ร ณ า นํ า ทรัพยากรที่เคยเปนวัสดุเหลือใช นํากลับมาใช ใหม ซึ่งในอนาคต การขาดแคลนวัตถุดบิ ทรัพยากร ที่เคยหาจากแหลงตางๆ โดยงาย นั้นยอมเปนเรื่องยาก ดังนั้นการ วิเคราะหและการนําทรัพยากรที่ใช แล ว นํ า กลั บ มาใช ใ หม จ ะเป น หนทางที่ สํ า คั ญ หนทางหนึ่ ง ใน การปรับตัวของมนุษยชาติ ทิศทางในการพัฒนาสังคมในอนาคต จึงตอง คํานึงถึงปญหาของการผลิต การใชทรัพยากรควบคูกับการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการบริโภค ทิศทางการปองกันการเกิดของเสีย ในการใช การผลิต การใชระบบของเทคโนโลยีสะอาดเปนเครื่องมือสําคัญในการ วิเคราะหกระบวนการผลิตเพื่อลดการสูญเสียเปนเครื่องมือหนึ่งที่ดีในขณะ นี้ การปองกันการเกิดของเสีย การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ เปนตนทางของการดําเนินการเพื่อการปรับตัวอยางแทจริง ตองยอมรับวาแมในวันนี้ เราใชทรัพยากรธรรมชาติบนโลกใบนี้เกิน ความพอดี และยากที่จะเหลือถึงลูกหลาน แตในวันขางหนา เราตองมอง และหาหนทางใหชนรุน หลังใหอยูไ ด การใชทรัพยากรทีเ่ คยใชอยางฟุม เฟอย ตองเปลี่ยนไป จะมากนอยแคไหน คนรุนตอไปจะอยูไดหรือไม ผลลัพธของ การกระทําในวันนี้จะเปนตัวชี้ทิศทางอนาคตอยางแทจริง หารใชทรัพยากรอยางฟุมเฟอย การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ อยางเห็นไดชัด จะเห็นถึงทิศทางการใชทรัพยากรในอนาคต ที่เปนไปอยาง ขาดแคลน ตลอดจนการสูญสลายของพันธุพืช สัตวจากภาวะความแหง แลง ความรอนจัดของพื้นผิวโลกที่เกิดขึ้นขณะนี้จะเปนตัวกําหนดอนาคต ของมนุษย เรียกไดวายุคแหงความหายนะกําลังมาถึงแลว คําถามสําคัญ สําหรับตัวเรา คือการที่จะดํารงอยูของมนุษยชาติในอนาคตจะอยูกัน อยางไร... เอกสารอางอิง สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดลอม รายงานสถานการณสงิ่ แวดลอม 2553 กรุงเทพฯ 2554 รศ.ดร.ขวัญชัย ลีเผาพันธุ การเก็บกลับคือทรัพยากรและ นํ า กลั บ มาใช ใ หม สํ า นั ก พิ ม พ แ ห ง จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย กรุงเทพฯ 2553 May 2012 l 61
Energy#42_p60-61_Pro3.indd 61
4/28/12 12:22 AM
0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า น้ํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ
สําหรับอุปโภคเทานั้น เพราะการที่เราผลิตน้ําประปาที่มีคุณภาพสูง สามารถดื่มได เเตกลับเอาไปใชในกิจการที่ ไมจําเปนตองใชน้ําคุณภาพสูง เชน น้ํารดน้ําตนไม น้ําลางถนนเเละพื้น น้ําหลอเย็นเครื่องปรับอากาศ น้ําหลอเย็นในโรงงานอุตสาหกรรม น้ําในกระบวนการผลิตในโรงงานบาง ประเภท การใชน้าํ เพื่อควบคุมฝุน และการผลิตคอนกรีต น้าํ เพื่อการกอสราง น้ําชําระสวมเเละที่ปสสาวะ น้ําพุ เปนตน หากสามารถนําน้ําเสียกลับมาใช ในกิจการเหลานี้ ก็อาจจะไมตองผลิตน้ําประปาเพิ่มขึ้นสําหรับการขยายตัว ของชุมชน ในการพิจารณาแนวทางของการนําน้ําเสียที่บําบัดแลวกลับมาใช ใหมนั้นตองคํานึงถึงประเด็นตอไปนี้กอน 1) ที่มาของน้ําเสียเปนอะไร และมีสวนประกอบอะไรอยูบาง? 2) วิธีการบําบัดน้ําเสียดีพอและเหมาะสมหรือไม? 3) น้ําเสียที่บําบัดแลวมีคุณลักษณะอยางไรบาง? 4) จะนําน้ําเสียที่บําบัดแลวมาใชอยางไรไดบาง? 5) พิจารณาความเหมาะสมทางเศรษฐศาสตรและขอบําบัดตาม กฎหมาย?
มุมมองใหมของน้าํ เสีย…ทรัพยากร ที่มีคาในสถานการณน้ําขาดแคลน ป จ จุ บั น นี้ ป ญ หาการขาดแคลนน้ํ า และมลภาวะทางน้ํ า ที่ รุ น แรง มากยิ่งขึ้น รวมทั้งกฎหมายและขอบังคับตางๆ ที่กําลังเครงครัดมากขึ้น การนํากลับน้ําเสียเพื่อกลับมาใชใหมสําหรับพื้นที่ขาดแคลนน้ําหรือแหลง น้ําดิบก็เปนทางเลือกหนึ่งในการแกปญหาการขาดแคลนน้ํา สําหรับน้ําเสีย อุตสาหกรรมมักมีสวนประกอบของสารมีพิษตอคนและพืช เชน โลหะหนัก ในการนํากลับมาใชใหมนัน้ ตองระมัดระวังและจําเปนตองมีการบําบัดน้าํ เสีย ใหมคี ณ ุ ภาพน้าํ ดีเพียงพอ สําหรับประเทศไทยเรายังขาด guideline สําหรับ การนําน้ําเสียกลับมาใชใหม การนําน้ําเสียที่ผานการบําบัดแลวกลับมาใชใหมสําหรับน้ําอุปโภคก็ จะเปนเเหลงน้ําทดเเทนที่สามารถประหยัดการใชเเหลงน้ําเดิมสําหรับ กิจการอื่นๆ เเละสงวนเเหลงน้ําที่มีคุณภาพสูงเฉพาะเพื่อกิจการประปา 62 l May 2012
Energy#42_p62-63_Pro3.indd 62
4/28/12 12:25 AM
http://www.pantip.com/cafe/gallery/topic/ G6849156/G6849156.html
กรณีศึกษาของทางเลือกในการจัดการปญหาน้ําขาดแคลน ของญี่ปุน ปจจุบันนี้ ในประเทศญี่ปุนมีการนําเสียกลับมาใชใหมสําหรับอาคาร ในหลายเมืองแลวที่เมืองโอซากิ เมืองชินากาวา ชิโอโดเมะ ฟูกุโอกะ ซึ่งนํา น้ํามาใชประโยชนในการลางถนน ลางยานพาหนะประเภทรถไฟ ใชเปนน้ํา ฉีดลางสําหรับชักโครก สําหรับเมืองฟูกุโอกะไดมีการนําน้ําเสียของเมือง ที่ผานการบําบัดทางชีวภาพและระบบปรับสภาพน้ําขั้นสูงดวยการกรอง ด ว ยถั ง กรองทรายและกระบวนการโอโซนแล ว นํ า กลั บ มาใช ใ หม ใ น การเกษตรกรรม การลางทําความสะอาดตางๆ น้ําใชในหองน้ํา หองสุขา ดังแสดงในรูป ทัง้ นีส้ ามารถชวยแกปญ หาการขาดแคลนน้าํ ไดเปนแนวทาง หนึ่ง แตตองมีการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ําเปนอยางดี
เมืองฟุกุโอกะแหงเกาะคิวชู ระบบกรองน้ําเสียเพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ํา
สําหรับตัวอยางของการแกปญหาน้ําขาดแคลนของเมืองโอกินาวา ประเทศญี่ ปุ่ น ซึ่ ง มี ปั ญ หาการขาดแคลนน้ํ า จื ด อย่ า งมากเนื่ อ งจากมี ระยะเวลาของฤดูแลงยาวนานในป 1981 และ1982 ไดมีการแกปญหาโดย การลงทุนสรางโรงผลิตน้ําจืดจากน้ําทะเลขนาด 40,000 ลูกบาศกเมตร ต อ วั น เป น โรงผลิ ต น้ํ า จื ด ขนาดใหญ แ ห ง แรกของประเทศญี่ ปุ น ด ว ย เทคโนโลยีการกรองแบบรีเวิรสออสโมซิส ใชงบประมาณในการกอสราง ระบบประมาณ 34.7 ลานเยน ซึ่งโครงการผลิตน้ําจืดนี้ ไดเสร็จสมบูรณ ภายในป 1997 พบวามีคาใชจายในการผลิตน้ําประมาณลูกบาศกเมตรละ 170 เยน ปจจุบันนี้มีปริมาณน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น ทําให การผลิตน้ําจืดเหลือเพียง 8,000 ลูกบาศกเมตรตอวัน
สัญลักษณการนําน้ําเสียที่บําบัดแลวมาใชประโยชน การนําน้ําเสียที่บําบัดแลว มาใชใหม ในหองน้ํา
อยางไรก็ตามการลงทุนสรางระบบกรองรีเวิรสออสโมซิสสําหรับ การนําน้าํ ทะเลมาเปลีย่ นใหเปนน้าํ จืดก็ยงั มีคา ใชจา ยทีส่ งู กวาของการบําบัด น้ํ า เสี ย ที่ มี ก ารปรั บ สภาพน้ํ า เพิ่ ม เติ ม ร ว มด ว ยในการนํ า กลั บ มาใช ใ หม ดังนั้นน้ําเสียก็เปนทรัพยากรที่มีคายามน้ําขาดแคลน
ผลพวงจาก “โลกรอน”
May 2012 l 63
Energy#42_p62-63_Pro3.indd 63
4/28/12 12:25 AM
Renergy
Landfill Mining
โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมบริษัท ราชาอีควิปเมนท จํากัด และประธานกลุ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งาน ทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ขุมทรัพยพลังงานขยะ
บอฝงกลบขยะ หรือที่เรียกกันอยางติดปากวา Landfill กระจายตัว อยูก วา 210 แหงทัว่ ประเทศ สวนใหญเปนขององคกรปกครองสวนทองถิน่ เชน เทศบาล อบต. และ อบจ. สวนบอฝงกลบขยะอุตสาหกรรมที่ ไมใชขยะ อันตราย สวนใหญเปนของภาคเอกชน ซึ่งมีจํานวนไมมาก ประมาณ สิ บ กว่ า แห่ ง ทั่ ว ประเทศเท่ า นั้ น เมื่ อ เดื อ นกรกฏาคม 2554 ที่ ผ่ า นมา กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ไดวา จางบริษทั ทีป่ รึกษาใหศกึ ษาศักยภาพการใชพลังงานขยะจากบอฝงกลบเกา ซึ่ ง มี ค วามน า สนใจจึ ง ขอนํ า มาเล า สู กั น ฟ ง พร อ มความคิ ด เห็ น ของ ผูเขียนดังนี้
องคประกอบกาซจากหลุมฝงกลบขยะชุมชนโดยเฉลี่ย ลําดับ
สวนประกอบ
รอยละ
1 2 3 4 5
กาซมีเทน กาซคารบอนไดออกไซด กาซไนโตรเจน กาซออกซิเจน กาซซัลไฟด กาซไดซัลไฟด กาซเมอร แคพเทน และอนๆ กาซแอมโมเนีย กาซไฮโดรเจน กาซคารบอนมอนอกไซด กาซอนๆ
45-60 40-60 2-5 0.1-1.0 0-1.0 0.1-1.0 0-0.2 0-0.2 0.01-0.06
คุณสมบัติอนๆ
คา
6 7 8 9
ภาพรถแทรกเตอร ที่ กํ า ลั ง ขุ ด และรถบรรทุ ก ขนาดใหญ ที่ กํ า ลั ง ลําเลียงวัสดุเขาออก ไมใชจากเหมืองถานหิน และบอน้ําขนาดใหญที่เห็น และก็ไมใชบอ น้าํ ไวใชในเหมืองแตอยางใด แตคอื บอฝงกลบแบบ Open Dump และบอน้ําชะลางขยะ (Leachate) ซึ่งทานอาจไมมีโอกาสเขาไปเห็นดวยตา จึงขอเรียกบริเวณนี้วา “ดินแดนอโคจร” ขยะที่ฝงกลบนับสิบปจะเหลือสวน ประกอบดังนี้
10 11 12 13
อุณหภูมิ (องศาฟาเรนไฮต) ความถวงจําเพาะ ความชื้น (รอยละ) คาพลังงานความรอน (Btu/sft3)
100-200 1.02-1.06 อิ่มตัว 400-500
ที่มา : Tchobanoglus, G., Theisen, H. and Vigil, S.A. 1993
เปลี่ยน Landfill เปนสวนสาธารณะ เปลี่ยนขยะเปน พลังงานทดแทน
กลุ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งานทดแทน สภาอุ ต สาหกรรมแห ง ประเทศไทยไดรว มมือกับกรมควบคุมมลพิษ ในการลดการใชบอ ฝงกลบและ นําขยะชุมชนทั้งขยะเกาและขยะใหมมาใชประโยชน โดยการผลิตพลังงาน จากขยะในรูปแบบตางๆ ซึ่งขึ้นอยูกับเทคโนโลยีและความคุมทุน สําหรับ ประเทศไทยมี 3 เทคโนโลยีที่นิยมใชกันอยูในขณะนี้คือ 1) การเจาะกาซจาก บอฝงกลบขึ้นมาใช [Landfill Gas] 2) การผลิตน้ํามันสังเคราะหจาก พลาสติก [Plastic Waste to Oil] 3) การผลิตเปนเชื้อเพลิงขยะ [RDF : Refuse Derived Fuel] : ซึ่งดูจะเปนที่นิยมมากที่สุด Landfill Gas หากจะใหไดผลดีตองมีการวางแผนงานตั้งแตตน 64 l May 2012
Energy#42_p64-65_Pro3.indd 64
4/23/12 9:29 PM
โดยการวางระบบของบอฝงกลบโดยตองมีการปูผายางและวางทอกาซ อยางถูกตอง ซึ่งจะไดกาซมาใชอยางคุมคาทีเดียว บอฝงกลบขยะชุมชนใน เมืองไทยยังไมมีใครลงทุน แตมบี อ ฝงกลบทีเ่ ทกองไวจาํ นวนมาก สวนใหญ เปนขยะจากกรุงเทพมหานคร มีการนําแกสขึ้นมาใชประโยชน 2-3 แหง เมอเทียบกับขยะปละ 15 ลานตันแลวนับวานอยมาก Landfill Gas ไมใช เรองงาย ๆ ยังมีปญหาอนอีกมากมายเชน ปริมาณแกส คุณภาพแกส ความตอเนองของปริมาณขยะ และ คุณสมบัติของขยะ แนนอนที่สุดหากมี แกสในปริมาณไมมากและไมตอเนอง ยอมไมคุมคากับการลงทุน Plastic Waste to Oil กระทรวงพลังงานไดมีการสงเสริมอยาง จริ ง จั ง ทั้ ง การประกั น ราคาน้ํ า มั น ร ว มลงทุ น ในโครงการนํ า ร อ งและ ปรับปรุงกฎหมายใหจําหนายไดสะดวก แตดูเหมือนวากําลังจะเดินหนาตอ ไมไหว จากการสอบถามและสํารวจโรงงานผลิตน้ํามันจากขยะพลาสติก พบวา ขยะจากบอฝงกลบมีความสกปรกมาก หากนํามาลางทําความสะอาด ใหไดคุณภาพที่เหมาะสมกับการใชผลิตน้ํามันจะมีคาใชจายสูง นอกจากนี้ ยังมีน้ําเสียคอนขางมาก ที่สําคัญพลาสติกคุณภาพดีที่ ไดจากการลางนี้ สามารถจําหนายไดราคาดีกวาการนํามาผลิตเปนน้ํามัน พลาสติกที่มี คุ ณ ภาพต่ํ า ยั ง สามารถจํ า หน า ยเป น เชื้ อ เพลิ ง สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรม ปูนซีเมนต ดังนั้นผูที่จะลงทุนจึงตองคิดอยางรอบคอบ ราคาเครองจักรที่ จําหนายอยูในขณะนี้อยูระหวาง 1-2 ลานบาทตอ 1 ตันพลาสติก RDF : Refuse Derived Fuel เชื้อเพลิงจากขยะ คําวา RDF เปน คําที่ ใชเรียกทั่วๆไป เชื้อเพลิงขยะมีการจัดระดับตามคุณภาพไวหลายระดับ ซึง่ ทางกระทรวงพลังงานกําลังศึกษาและอาจประกาศออกมาเปนมาตรฐาน Thailand RDF Standard ในเร็วๆ นี้ เพอนํามาใชในโรงงานอุตสาหกรรม แทนถานหิน เนองจากมีมลพิษต่ํา อาจมีปญหาอยูบาง เนองจากปริมาณ
ขยะที่นอยจะไมคุมคาในการลงทุนเครองจักรที่ทันสมัย และการคัดแยก เชือ้ เพลิงจากบอฝงกลบเกาก็ไมงา ยนัก มีคา ใชจา ยคอนขางสูง ราคาตลาด ไมคอยแนนอนแตมีแนวโนมจะสูงขึ้นเมอความตองการในตลาดมีมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งเมอน้ํามันเชื้อเพลิงมีราคาแพงขึ้น ราคาพลาสติกทั่วไป จากบอฝงกลบเการวมทั้งจากขยะใหม จะแบงออกเปน 3 เกรด ดังนี้ เกรด A ราคาตันละ 1,500 บาท คาความรอนตั้งแต 5,201 กิโล แคลอรี่/กิโลกรัม เกรด B ราคาตันละ 1,200 บาท คาความรอนระหวาง 4,501-5,200 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม เกรด C ราคาตันละ 800 บาท คาความรอนระหวาง 3,500-4,500 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม Landfill Mining อาจจะเปนคําศัพทคอนขางใหมสําหรับบางทาน แตตองยอมรับเมอสถานการณของโลกเปลี่ยนไป ราคาปโตรเลียมสูงขึ้น ตลอดเวลา ก็พลอยทําใหพลาสติก ซึ่งเปนผลพลอยไดจากปโตรเลียม พลอยมีราคาไปดวย และถายิ่งผนวกกับแผนการสงเสริมใหผลิตพลังงาน ขยะของกระทรวงพลังงานดวยแลว บอฝงกลบเกาทั้งหลายตองกลายเปน สวนสาธารณะอยางแนนอน อยางไรก็ตาม หนวยงานรัฐที่เกี่ยวของกับบอฝงกลบไดมี ความพยายามกั น จนถึ ง ที่ สุ ด แล ว ไม ว า กรมควบคุ ม มลพิ ษ หรื อ กระทรวงพลังงาน โครงการ Zero Landfill Zero Emission จะเกิดขึน้ ไดคงตองพึ่งพาองคกรปกครองสวนทองถิ่น และสถาบันการเงิน สนั บ สนุ น นั ก ลงทุ น ให้ มี โ ครงการพลั ง งานขยะที่ ยั่ ง ยื น เพื่ อ รั ก ษา สิ่งแวดลอมและเสริมความมั่นคงดานพลังงาน ในที่สุดบานเราอาจ ไมตองพึ่งพานิวเคลียรผลิตไฟฟาก็ได
May 2012 l 65
Energy#42_p64-65_Pro3.indd 65
4/23/12 9:29 PM
Energy#32_p94_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
6/25/11
12:03 AM
Energy Tezh โดย : กองบรรณาธิการ
Solar Ventilation System
ใชแสงอาทิตยในรถยนต เรื่องใหม... ทีน่ า จับตา ลาสุด คายรถยนตโตโยตา ไดโชวเทคโนโลยีใหมใน รถยนต กั บ การนํ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ม าใช ภ ายใน รถยนตจริง เพื่อจําหนาย ไมไดเปนเพียงแคการออกแบบ ในรถคอนเซ็ปหรือรถตนแบบเทานัน้ ภายใตชอื่ ระบบระบาย อากาศอัตโนมัติดวยพลังงานแสงอาทิตย หรือ Solar Ventilation System โดยใชพืน้ ทีบ่ นหลังคารถ ปรับเปลีย่ น เป น พื้ น ที่ สํ า หรั บ ติ ด ตั้ ง แผงโซลาร รถจะสามารถ เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟา เพื่อใชใน การทํางานของพัดลมสําหรับระบายความรอนออกจาก หองโดยสารขณะจอดกลางแดด เพื่อลดอุณหภูมิหอง โดยสาร ชวยลดการทํางานของระบบปรับอากาศ รวมถึง การแบกรับภาระของเครื่องยนต ทําใหประหยัดน้ํามันยิ่ง ขึ้น ซึ่งเปนครั้งแรกที่โตโยตา นําระบบแสงอาทิตยมาใชกับ รถยนตในเชิงพาณิชย แมวา ระบบ Solar Ventilation System จะใชสาํ หรับ ตามแผนพัฒนาประเทศดานพลังงานของไทย ไดมีการสนับสนุน เรื่องพลังงานทดแทนอยางตอเนื่องและก็เปนทีน่ า ดีใจทีแ่ ผนดังกลาวกําลัง เดินหนาไปไดดวยดี แมจะไมเร็วพรวดพลาด แตก็ถือวายังดีที่ประเทศไทย มีการทําและมองเห็นปญหาที่จะเกิดขึ้นในระยะยาว หากวันหนึ่งไทยรวมถึง ทั่วโลกหมดสิ้นแลวพลังงานที่ขุดเจาะจากใตดิน พลั ง งานทดแทนถู ก นํ า มาใช้ เพื่ อ เป็ น การลดภาระของการใช้ พลั ง งานรู ป แบบเดิ ม ๆ โดยเฉพาะพลั ง งานที่ ใ ช แ ล ว ไม ห มดไปจํ า พวก พลังงานทดแทนและพลังงานหมุนเวียน ที่เห็นไดชัดเจนในปจจุบันคือ พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม และดูเหมือนจะมีแหลงพลังงานเกิดใหม อยางตอเนื่อง นัน้ ก็เพราะวาโลกเริม่ เห็นความสําคัญของพลังงานดังกลาว เห็นไดจากหลายๆ ประเทศมีการทําโซลาฟารม ติดตัง้ กังหันลมขนาด ใหญในพื้นที่ที่เหมาะสม เพื่อผลิตกระแสไฟฟาแทนการผลิตเดิมๆ จากการ ใชกา ซธรรมชาติมาเผาเลนใหสญ ู เปลาเพียงเพื่อตองการผลิตไฟฟามารอง รับความตองการที่ ไมสิ้นสุดของมนุษย ซึ่งแนนอนวาไม ใชเรื่องใหมเลย สําหรับหลายประเทศและไทยก็ไดมกี ารเดินหนาโครงการดังกลาวแลวเชนกัน สวนภาคอุตสาหกรรมยานยนตเปนอีกภาคสวนที่นาจับตามอง เพราะถือวามีสวนในการใชพลังงานจําพวกน้ํามันคอนขางมาก ที่ผานมา มีการคิดคนเทคโนโลยีใหมเพื่อรองรับการขับเคลื่อนของรถยนต ไมวาจะ เปนการใชเชื้อเพลิงจําพวกกาซ หรือใชไฟฟา ซึ่งแนนอนวาการใชกาซก็ เพื่อลดคาใชจายดานพลังงาน หรือการใชไฟฟาก็ตองพึ่งการผลิตอื่นใน การผลิตไฟฟาเพื่อมาชารตในรถยนตอยูดี
ระบบอากาศอัตโนมัติเทานั้น แตถือเปนการนํารองเรื่องของเทคโนโลยีดาน พลังงานทดแทนจําพวกพลังงานแสงอาทิตยมาใชในรถยนต ซึง่ กอนหนานี้ โตโยตายังเปนคายที่มีการนําพลังงานหมุนเวียนจากมอเตอรไฟฟาที่ชารต แบตเตอรี่ขณะรถเคลื่อนตัวจากเครื่องลูกผสมระหว่างเครื่องยนต์และ มอเตอรไฟฟา ที่รูจักกันดีในชื่อ Hybrid และมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เรื่องของระบบ Solar System จึงเชื่อเปนเทคโนโลยีที่ ไมไดไกล ตัวอีกตอไป ถาหากมีการวิจัยและพัฒนาอยางจริงจัง และอนาคตเราอาจ เห็นรถยนตที่อาศัยการขับเคลื่อนจากไฟฟาที่สามารถผลิตขึ้นเอง ไมไดใช ไฟฟาจากการชารตไฟฟาจากบานเรือนอีกตอไป May 2012 l 67
Energy#42_p67_Pro3.indd 67
4/27/12 11:39 PM
Vehicle Concept โดย : Save Driver
Nissan Leaf
ยานยนตไฟฟาไมงอน้ํามัน แลว แนนนอนวาไมใชเรองยากเลย หากประเทศนั้นๆ ไดรับการสนับสนุน จากภาครัฐอยางเต็มที่ หนึ่งในนั้นคือ Nissan Leaf ที่ถูกมองวานาจัดตามองในดานของ ความเปนไปได และไทยเปนเพียงไมกี่ประเทศในโลก ที่ถูกผลักดันใหเริ่มตน โครงการรถยนตพลังงานไฟฟากับแผนพัฒนาสิ่งแวดลอมใหมกับ นิสสัน กรีน โปรแกรม 2016
ใกลเขามาทุกทีกับยุคของยานยนตพลังงานไฟฟา “EV” หรือ EVElectric Vehicle สําหรับโลกใบนี้ ที่ตองบอกวาใกล เพราะทั่วโลกตางหัน มาใหความสําคัญกับเรองของสภาวะโลกรอนที่ปจจุบันถือวาไมใชเรองไกล ตัวอีกตอไป ผูผลิตรถยนตทั่วโลกตางวิจัยและพัฒนาถึงความเปนไปได สําหรับการใชงานจริงของรถประเภทนี้ และเรองของรถประเภท EV ก็ใกล เขามาอีก เมอหลายประเทศที่พัฒนาแลวเริ่มมีรถยนตและจําหนายกันบาง 68 l May 2012
Energy#42_p68-69_Pro3.indd 68
4/26/12 11:06 PM
Nissan Leaf เปนยานยนตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ขับเคลื่อนดวย พลังงานไฟฟาเต็มระบบ โดยไมพง่ึ พาเชือ้ เพลิงจากน้าํ มันเลย ไมมกี ารปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศ ไมกอมลภาวะทางเสียง เพราะขับเคลื่อน ดวยมอเตอรไฟฟาแบบ AC 3 เฟส ใหกําลังสูงสุด 110 แรงมา แรงบิด สูงสุด 280 นิวตัน-เมตร อัตราเรงตอเนื่องเทียบเทารถยนตที่ใชเครื่องยนต เบนซิน สามารถทําความเร็วสูงสุดทําไดถึง 145 กม./ชม. พรอมระบบอิน
เวอรเตอรทําหนาที่ควบคุมพลังจากมอเตอรไฟฟา รวมถึงการแปลงไฟจากกระแสตรงใหเปนกระแสสลับ เมื่อปราศจากระบบเชื้อเพลิง สิ่งที่มาแทนที่ แบตเตอรี่ โดยบรรจุแบตเตอรี่แบบลิเธียม ไอออน น้ํา หนักเบา ขนาดกะทัดรัด มีความจุ 24 กิโลวัตตตอ ชั่วโมง ใหพลังงานมากกวา 90 กิโลวัตตตอชั่วโมง หลังจากชารจไฟจนเต็มระบบกับเวลาที่ ใชประมาณ 8 ชั่วโมง ผานรูชารจ ไฟบริเวณฝากระโปรงหนา จะสามารถวิ่งไดระยะทางกวา 160 กิโลเมตร บนความเร็วเฉลี่ย 80 กม./ชม. และหลังจากไฟเตือนใหชารจแบตเตอรี่ สามารถชารจไฟ 200 โวลต แบบการชารจปกติ และสามารถชารจเก็บได ถึง 80% ภายใน 30 นาที ในแบบควิกชารจไดอีกดวย
Nissan Leaf มาพรอมระบบ global common ICT ระบบ on-board สนับสนุนการขับขี่และเชื่อมตอบนจอ Navigation display ตลอดเวลา โดย จะเขาถึงเว็บไซตโดยเฉพาะผานทางโทรศัพทมือถือ หรือคอมพิวเตอร แสดงฟงกชั่นแผนที่แสดงผลพื้นที่ ในการเดินทางที่สามารถเดินทางไปได แนะนําและแจงเตือนสถานีชารจไฟผานทางระบบนําทาง เมื่อความจุไฟฟา ที่เหลือของแบตเตอรี่ลดลง พรอมระบบการควบคุมอุณหภูมิระยะไกล สามารถเปดระบบปรับอากาศดวยมือถือได กอนที่คนขับจะขึ้นรถ นอจากนี้ ยังมีฟงกชั่นตั้งเวลาชารจไฟ สามารถชารจแบตเตอรี่ ได ตลอดเวลาตามความตองการ เพราะในหลายประเทศมีอัตราการคิดคา ไฟฟาที่ ไมเทากันในแตละชวงเวลา ยกตัวอยางเชน หากใชรถในประเทศที่มี การคิดอัตราคาไฟฟาถูกในชวงค่ํา ก็สามารถตั้งชารจในเวลาดังกลาวได ที่ผานมา Nissan Leaf ไดมีการวางจําหนายแลวในหลายประเทศ ทั่วโลก และดวยความตระหนักดานสิ่งแวดลอม บวกกับคุณสมบัติของรถ EV ทํานิสสันสามารถโกยยอดจําหนายรวมทั่วโลกกวา 20,000 คัน เลยทีเดียว May 2012 l 69
Energy#42_p68-69_Pro3.indd 69
4/27/12 11:42 PM
Energy Test Run
HONDA BRIO ไมไดมีดีแค “อีโคคาร”
ทามกลางการแขงขันของตลาดรถยนตบา น เรา มีการแขงขันที่คอนขางรุนแรงโดยเฉพาะรถ ขนาดเล็กราคาประหยัดที่เรียกวา “อีโคคาร” ที่ ได รับการสนับสนุนอยางดีทั้งในสวนของภาครัฐและ คายรถในการที่จะสรางรถยนตประเภทนี้ ใหติด ตลาดเมืองไทย ดวยอรรถประโยชนหลายดาน ความคลองตัว ไมวาจะเปนการตอบรับการใชชีวิต ในเมืองกรือนอกเมือง และที่ดูเหมือนจะเปนที่จับตา ไมนอย คือ เรองของอัตราการสิ้นเปลือง เพราะถาพูดถึงความเปน “อีโคคาร” แลวสิ่งนี้คือสิ่งที่ผูใชรถมองเปนอันดับแรก กอนหนานี้คาย ฮอนดา ไดทําการเปดตัวรถอีโคคาร ภายใตชอ HONDA BRIO” ไม น านนั ก ต น สั ง กั ด บริ ษั ท ฮอนด า ออโตโมบิ ล (ประเทศไทย) จํากัด ก็ ไดรับผลกระทบอยางหนักจากมหาอุทกภัยที่เกิดขึ้น ในบานเรา โดยเฉพาะโรงงานผลิตของฮอนดาที่นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ ทําใหสายการผลิตของฮอนดาหยุดชะงัก รถที่ผลิตเรียบรอยตองถูก ทําลาย เพอยืนยันวาจะไมมีการนํารถที่ ไดรับผลกระทบมาจําหนายอยาง แนนอน สําหรับออเดอรของฮอนดาเองไดมีการแกปญหาโดยการนําเขา เพอรองรับความตองการที่มีอยางตอเนอง
ฮอนด า ได เ ป ด ตั ว BRIO ด ว ยการทํ า ตลาด กลุมของวัยรุน ที่กําลังมองหารถคันแรกไวใชในชีวิตประจําวัน เนนเรอง ของประโยชนการใชสอย และที่สําคัญสําหรับยุคนี้ คือ เรองของความ ประหยัด โดยสเปคโรงงานที่เคลมไวคือ 20 กิโลเมตร/ ลิตร ซึ่งการเปดตัว ครั้งนี้ มีใหเลือกดวยกัน 3 รุน คือ รุน S เกียรธรรมดา, รุน V เกียร ธรรมดา และ รุน V เกียรอัตโนมัติ CVT แตละรุนแตกตางตามอุปกรณที่ บรรจุลงไปเทานั้น สวนเครองยนตจะเปนรุนเดียวกันทุกรุน สําหรับการทดสอบขับแบงเปน 2 รุนหลัก คือ รุน V เกียรธรรมดา และ V เกียรอัตโนมัติ CVT เริ่มการทดสอบที่รุนเกียรธรรมดา 5 สปท ดวย
70 l May 2012
Energy#42_p70-71_Pro3.indd 70
4/23/12 9:44 PM
การโดยใชเสนทางการทดสอบ ท า มกลางการจราจรแบบใน เมื อ ง ด ว ยขนาดตั ว รถที่ เ ล็ ก เครองยนตจึงเล็กตามตัว โดย บรรจุเครองยนตเบนซิน 4 สูบ SOHC 16 วาลว i-VTEC ขนาด 1,200 ซีซี 90 แรงมา ซึ่งอัตราเรงนั้น สําหรับผูที่เคยใหรถเครองยนต ความจุเยอะ ๆ อาจเสียอารมณในระดับหนึ่ง แตเมอความเร็วไดระดับแลว หายหวงเรองนี้ ไปไดเลย ถือวาเปนรถที่ขับสนุกสมตัว ทั้งเรองของความ แมนยําในการเปลี่ยนเกียร การควบคุมของพวงมาลัยแอนดพิเนียนพรอม เพาเวอรไฟฟา EPS และที่สําคัญระบบชวงลางใหความนุมนวลและไวใจได ไมนอย ตอดวยการทดสอบรุนเกียรอัตโนมัติ CVT กับเสนทางการทดสอบ แบบยาวๆ โดยเนนการทดสอบเพอเคนสมรรถนะทั้งทางตรงยาว โดยชวง แรกเปนทางตรงยาว แมวาจะใชเครองยนตขนาดเล็ก แตเรองสมรรถนะ และระบบกันสะเทือน รวมถึงระบบเบรกใหความมั่นใจในการขับขี่ ไดไมนอย โดยความเร็วสูงสุดที่สามารถทําไดอยูที่ 145 กิโลเมตร/ ชั่วโมง ทั้ง ๆ ที่ รอบเครองยังมีเหลือ ทีมวิศวกรของฮอนดาแจงวาดวยขอจํากัดของรถอี โคคาร ที่ เ น น ความประหยั ด หากใช ความเร็วสูงการสิ้นเปลืองยอมสวนทาง กับความเร็วแนนอน จึงไดล็อกความเร็ว ไวเพอจุดประสงคดงั กลาว แตตอ งยอมรับ วาเปนรถเล็กที่ ใหความสนุกในการขับขี่ อยางมาก ขอดีของเกียร CVT คือ การรักษา รอบเครองใหเหมาะกับความเร็วรถ โดย เฉพาะจังหวะเปลีย่ นเกียร ใหความตอเนอง ทั้ ง ในรอบต่ํ า และรอบปานกลางเหมาะ สําหรับการใชงานในเมืองที่ตองการการ ตอบสนองที่ทันใจ สวนที่ความเร็วสูงนั้น อาจแผวลงบางจากขอจํากัดของขนาด เครื่ อ งยนต์ นอกจากนี้ ยั ง มี ไ ฟ ECO แสดงผลการขับขี่แบบประหยัด ที่จะติดขึ้น
เมอเครองยนตทํางานอยูในชวงที่ประหยัดเชื้อเพลิง สวนระบบกันชวงลาง ใหความแนนอนในการขับขี่ดวยชวงลางแบบ อิสระแม็กเฟอรสันสตรัต พรอมเหล็กกันโคลงในดานหนา และแบบคานบิด ทอรชั่นบีมในดานหลัง ลอขนาด 14 นิ้ว รัดดวยยางขนาด 175/65 R14 ซึ่งตองบอกวาเรองของสมรรถนะและการทรงตัวหายหาง นอกจากนี้ ใน เรองของทัศนะวิสัยถือวาชัดเจนทั้งดานหนังและหลัง ติอยางเดียวคือ ไมมี ที่ปดน้ําฝนหลังมาใหเทานั้น นอกจากนี้ บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด ยังจัด ทริปทดสอบพิเศษเพอแขงขันหาคาประหยัดสูงสุดโดยใชเสนทางกรุงเทพฯ – เกาะสมุ ย จั ง หวั ด สุ ร าษฎร ธ านี รวม 711.2 กิโลเมตร ในรูป แบบของการขั บ ขี่ ที่ ใ ช งานจริง...ประหยัดจริง ซึ่ ง ก อ นหน า นี้ มี ก าร แขงขันในรอบคัดเลือก แล ว โดยตั ว แปลของ การทดสอบคือ ตัวเลขอัตราสิ้นเปลืองที่ดีที่สุดและตองเดินทางใหทันขึ้น เรือเฟอรรีเ่ พอขามไปเกาะสมุยเทีย่ วสุดทาย ฉะนัน้ ผูท ดสอบไมสามารถขับขี่ รถแบบกินลมชมวิวไดแนนอน ดวยเสนทางบนสถานการณ สภาพเสนทาง และการจราจร บนถนนสาธารณะที่ ไมสามารถรูไดเลยวาตลอดเสนทางจะ เจอสถานการณแบบใดบาง แมวาจะเปนรถขนาดเล็กเหมาะที่จะใชงานใน เมืองมากกวาเดินทางไกล แตดวยเงอนไขของเวลาที่กําหนดใหใชเวลาไม เกิน 12 ชั่วโมง และหามปรับระบบปรับอากาศใด ๆ ทั้งสิ้น โดยไดเปดแอร ตลอดการทดสอบ เทคนิคงายๆ ในการขับขี่แบบประหยัดคือการเลี้ยงรอบ เครองยนต(RPM) ใหเครองยนตทํางานในรอบเครองสม่ําเสมอ ไมควรสูง หรือต่ําจนเกินไป รวมถึงการการเหยียบคันเรงดวย ซึ่งผูที่สามารถทําขั้น ตอนงาย ๆ นี้ ไดตลอดเสนทาง สิ่งที่ตอบแทนความพยายามครั้งนี้คือ คา ความประหยัดที่จอไมลจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนอง หลายคนกังวลเรองสมรรถนะของรถเล็กในการขับขี่ ไกล ๆ ตอง หายไป เพราะดวยเครองยนตและศักยภาพการควบคุมรถ ถือวาดีไมแพรถ เกงขนาดกลางเลย ไมวาจะเปนการตอบสนองของเครองยนต การตอบ สนองจากพวงมาลัยและระบบชวงลาง เพิ่มความมั่นใจในการขับขี่บนเสน ทางสุดทรหดนี้ ไดมากทีเดียว โดยเฉพาะชวงสุดทายมุงสูทาเรือ ซีทราน เฟอรรี่ อ.ดอนสัก จ.สุราษฏรธานีธานี ชวงนี้ถือวาหนัก ตองใชความเร็ว เพิ่มสูงขึ้นเพอใหทันขึ้นเรือ โดยทําความเร็วกันถึง 120-140 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง สําหรับคาความประหยัดเชื้อเพลิงครั้งนี้ดีที่สุดคือ 35.50กิโลเมตร/ ลิตร ซึ่งหมายความวา การเดินทางครั้งนี้เปนสถิติของการใชงานจริงที่ ประหยัดสูงสุดเทาที่เคยมีมา เปนการรับรองและขับจริงโดยสอมวลชนสาย ยานยนต และใชน้าํ มันเชือ้ เพลิงไมถงึ ครึง่ ถัง เมอรวมระยะทางทีข่ บั เขาทีพ่ กั บนเกาะชางกับถังน้ํามันที่มีความจุ 35 ลิตร ลองคํานวณดูเลนๆ น้ํามันไม ถึงครึง่ ถัง ขับขีด่ ว ยความเร็วทีเ่ หมาะสม สามารถขับไดถงึ จังหวัดสุราษฏร ธานี คุณคิดวา ประหยัดหรือไม May 2012 l 71
Energy#42_p70-71_Pro3.indd 71
4/23/12 9:45 PM
Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพื่อน
สวัสดีมิตรรักแฟนหนังสือทุกทานคะ..ตนสมกลับมาปฏิบัติภารกิจ ชิดขอบพลังงาน เลาขาวใหทานผูอานฟงกันอีกครั้ง เริ่มกันเลยดีกวาไม ใหเสียเวลาวัยรุน.. ขาวแรกที่ฮือฮายกใหเปนขาวใหญ ระดั บ ประเทศ ที่ จ ะมี ก ารปรั บ แผนพลั ง งานใน ไตรมาสที่ 2 นี้ โดยใหสอดคลองกับความตองการ ใช ที่ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น หลั ง จากภาคการผลิ ต ในกลุ ม ผูประกอบการโรงงานตามนิคมอุตสาหกรรมทั้ง 7 แหง จํานวนหลายหมื่นบริษัทกลับมาผลิตได ตามปกติ 100% และประเมินอัตราการเติบโตความตองการใชภายใน ประเทศเฉลี่ย 1-1.2 กิกะวัตต โดยแผนฉบับใหมนัน้ จะเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟา ,กระจาย เชื้อเพลิงการผลิตใหหลากหลาย เพราะปจจุบันประเทศใชกาซธรรมชาติ มากทีส่ ดุ ถึง 70% ของวัตถุดบิ ทัง้ หมด 8 ชนิด มี ลิกไนต น้าํ มันเตา ถานหิน พลั ง งานทดแทน พลั ง น้ํ า ซื้ อ ไฟฟ า ต า งประเทศ น้ํ า มั น ดี เ ซล และ กาซธรรมชาติ สวนบัตรเครดิตพลังงานยังปวนไมเลิก หลั ง พบหนี้ เ สี ย แล ว 20% คุ ณ เ ติ ม ชั ย บุ ค นนาค ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ กาซธรรมชาติสําหรับยานยนต บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) กลาววาไดมีการหารือระหวาง กระทรวงพลังงาน ปตท. และธนาคารกรุงไทย เติมชัย บุคนนาค ถึงการแกปญ หาหนีเ้ สีย โยดเบือ้ งตนกําหนดใหปรับหลักเกณฑการผอนชําระ เปน 4 แนวทาง 1. แบงชําระประมาณ 10% ของยอดคางเต็มจํานวนจาก เดิมตองชําระยอดเต็มจํานวนทุกสิน้ เดือน 2. ขยายวันสิน้ สุดการผอนชําระ จากเดิมตองชําระทุกสิน้ เดือนของทุกเดือน 3. เพิม่ ชองทางการชําระเงินจาก เดิมตองชําระที่เคานเตอรธนาคารกรุงไทยเทานั้น ก็สามารถจายที่ราน เซเวนอีเลฟเวนได และ 4. ใหโบนัสสําหรับผูถ อื บัตรที่ ไมมหี นีเ้ สียเปนตนเจาคะ สําหรับดีเซลก็มีการยืดลดภาษีออกไป ประชาชนได เ ฮอี ก 1 เดื อ นเจ า ค ะ โดย คุ ณ ทนุ ศั ก ดิ์ เล็ ก อุ ทั ย รมช.คลั ง กล า วว า กระทรวงการคลังเตรียมเสนอ ครม. ตออายุ ขยายเวลาลดการจัดเก็บภาษีสรรพสามิตน้ํามัน ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ดีเซลที่ 0.005 บาท/ลิตร จากเดิมที่ 5.31 บาท ตอลิตร ออกไปอีก 1 เดือน จากเดิมที่จะสิ้นสุดในเดือน เม.ย.เปนสิ้นเดือน พ.ค.2555 แทนเจาคะ แวบไปที่ จ.สกลนครกันหนอย ทราบมาวามีโรงไฟฟาสหกรณ ทีน่ า สนใจ เพราะฟนรายไดปล ะ 50 ลานเลยทีเดียว โดย โรงไฟฟาพลังงาน ทางเลื อ ก สหกรณ ก ารเกษตรวานรนิ ว าส จํ า กั ด อยู ที่ อํ า เภอ วานรนิวาส เปนโรงไฟฟาที่เกิดจากการนําเอาเศษวัสดุดานการเกษตร
วัสดุเหลือใช ยางรถยนตเกา และขยะพลาสติก มาแปลงเปนไฟฟาน้ํามัน แกปญหาสิ่งแวดลอมจากขยะที่ยอยสลายยากไดอีก เห็นแบบนี้ทํากําไรถึง ปละ 50 ลานเชียวนะเจาคะ เพราะแคเฟสแรกในสวนผลิตเชื้อเพลิงก็ผลิต น้ํามันไดวันละประมาณ 3,000 ลิตร ถาเฟสโรงไฟฟาเสร็จเมื่อไหรก็นั่งนับ ตังครอไดเลยเจาคะ อีกหนึ่งตัวอยางดี ๆ จาก มทร.ธัญบุรี เพราะได มี ก ารสั่ ง ทุ ก คณะลดค า ไฟนะเจ า คะ ผศ.พูลเกียรติ์ นาคะวิวัฒน รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี กลาววา ปญหาใหญของมทร.ธัญบุรี คือ ผศ.พูลเกียรติ์ นาคะวิวฒ ั น เรืองคาไฟฟา ในเบื้องตนจึงมีมาตรการใหแตละ คณะเปดเครื่องปรับอากาศในอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส รวมทัง้ ลดชัว่ โมง การทํางานของเครื่องปรับอากาศ โดยมีการกําหนดเวลาเปดได 2 ชวง คือ 10.00 -11.30 น. และ 13.00-16.00 น. เนื่องจากเครื่องปรับอากาศ ของมหาวิ ท ยาลั ย มี จํ า นวนหลายพั น เครื่ อ ง ดั ง นั้ น จึ ง ได้ กํ า หนดให้ การบํารุงรักษาปละ 3 ครั้ง ซึ่งมาตรการนี้สามารถชวยลดการใชพลังงาน ไดถึง 10% เชียวเจาคะ กอนจากกัน ขอแสดงความ ยินดีกับการเปดบานตอนรับสื่อมวลชน ของ Asian Exhibition Services หรือ AES ในโอกาสครอบรอบ 9 เดือน ของบริษทั พรอมกับการเปดโฮมออฟฟศ แหงใหม ทามกลางบรรยากาศกันเองตามแบบฉบับ “สงกรานตไทย 2555” กับการแตงกายสไตลปใหมไทย โดยไดรับเกียรติจากผูบริหาร พนักงาน และสื่อมวลชลรวมงานอยางอบอุนเจาคะ ทิ้งทายไวเทานี้กอนละกัน ..ไปพบผองเพื่อนตนสมในขาวซุบซิบใน พารตอื่นๆ บางนะเจาคะ
Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว ผานพนไปแลวสําหรับวันปใหมไทย หรือวันสงกรานต หลาย คนคงไดคลายรอนเลนสาดน้ํากันจนเปยกชุมชื่นกันทั่วหนา หลังจากนี้ ไปก็ กาวอยางเขาสูฤดูฝน ซึ่งก็ ไมแนใจวารัฐบาลไดมีการจัดการระบบปองกัน น้ําทวมไปถึงไหนแลวบางก็หวังวาจะไมเกิดน้ําทวมเหมือนปที่แลวอีกนะครับ ....คิดแลวเหนื่อย รับรางวัลกันทั่วหนา สําหรับ การมอบรางวั ล Thailand Energy Awards ประจําป 2554 ซึ่งงานนี้มี บริษัทที่ ไดรับรางวัลกันมากมายหลาย สาขา สํ า หรั บ ป นี้ ยั ง คงจั ด พิ ธี ม อบ
72 l May 2012
Energy#42_p72-74_Pro3.indd 72
4/28/12 12:10 AM
ES Online เขาสูไตรมาสที่ 2 แลวนะครับ เผลอแปบเดียว ป 2555 ก็จะเดิน ทางมาถึงกลางปเสียแลว อยากทํา อะไรก็รีบทํานะครับ เดี๋ยวโลก(รอน) แตกแลวจะมาเสียดายภายหลัง ไมได นะครับ แตที่สําคัญมีนักทองเว็บสนใจกันมากเหลือเกินกับความรู เรื่องการ อนุรักษพลังงานในระบบการจัดการพลังงาน ISO50001 ซึ่งเรื่องนี้ ไดมี การจัดอบรมสัมมนาใหความรูกันไปเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2555 ภายในงาน ENERGY SAVING ’12 จัดขึ้น ณ ไบเทค กรุงเทพฯ ที่ผานมา แตทานที่ พลาดไปไมตองเสียดาย เพราะทานสามารถดาวนโหลดเอกสารสัมมนา ใน หัวขอ”ระบบการจัดการพลังงานตามกฎหมาย : ทําอยางไรใหระบบประสบ ความสําเร็จ” และ “ISO 50001 Energy Management Systems : ความ เขาใจและสิง่ ทีอ่ งคกรตองเตรียมการ” ไดที่ www.ENERGYSAVINGMEDIA. COM และอยาลืมติดตามการสัมมนาครั้งตอไปดวยละครับ รางวัลที่ทําเนียบรัฐบาลเปนปที่ 2 ซึ่งปนี้เปน ฯพณฯ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เปนประธานมอบรางวัล Thailand Energy Awards ประจําป 2554 และหวังวาในการมอบรางวัลในปหนายังคงใช สถานที่ทําเนียบรัฐบาลและเปนนายกฯ ทานเดิมนะครับ...อิอิ มากันทีน่ โยบายเรงดวนของรัฐบาลอีก 1 โครงการนั้น คือ โครงการบัตรเครดิตพลังงาน เปนอีกหนึ่งโครงการที่เขาบอกวาไดรับการตอบ รับจากผูขับขี่รถรับจางสาธารณะดวยดี โดย พล.ต.ท.ดร.วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน ผูชวย เชียรโชติ รัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงาน แถลงบอก พล.ต.ท.ดร.วิ สุกโชติรัตน ขาววา ปจจุบันมียอดผูสมัครบัตรเครดิตทั้งสิ้น 35,618 ราย และไดรับการอนุมัติแลว 27,286 ราย มียอดการใช บัตรเครดิต ณ วันที่ 4 เมษายน 2555 จํานวน 6.7 ลานบาท ซึ่งถือเปน สัญญาณที่ดีในการตอบรับจากกลุมผูขับขี่รถโดยสารสาธารณะ ...เรงจน ดวนเกินไปแลวอยาลืมนโยบายปองกันน้ําทวมนะขอรับ เดินหนาลุยตอสําหรับโครงการกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรกั ษ พลังงานที่กระทรวงพลังงานไดมีนโยบายออกมา โดยในป 2554 ที่ผาน กระทรวงพลังงานไดมอบงบ 1,818 ลานบาทสนับสนุน 13 โครงการซึ่ง
กดไลค..ไดของ (รูปเกาหนา LIKE)
ก็ยังคงเดินหนา “แจกไมยั้ง” สําหรับแฟนเพจที่กดไลคกันเขามายัง Facebook.com/energysavingmedia ของเรา ชักชวนเพื่อนมากด Like กันเยอะๆ จุนเจือทีมงานกันหนอยนะครับ จะไดมีกําลังใจทํางานกันตอไป
พลังงานทดแทนในตางแดน
อีกหนึ่งเรื่องที่อยากเชิญชวนผูอานไดติดตาม เพราะกระแสความ เคลื่อนไหวในตางแดนเรื่องพลังงานทดแทนยังคงมาแรงแซงหนาเรื่องอื่น ทําใหเว็บไซตเราไมเจาะขาว ไมตดิ ขอบเวที คงจะไมไหว ใครอยากเปดโลกทัศน ก็ ไมควรพลาดดวยประการทั้งปวงนะครับ www.energysavingmedia.com พรอมเสริฟขาวรอน ปอนขาวลึก ใหทานแลว 24 ชม.ทุกวันทําการ ...
ES Online :
facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag EnergySavingMedia.com savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย ชวยประหยัดพลังงานได 5,451 ลานบาท สวนในป 2555 ทางกองทุนฯ ไดพิจารณาอนุมัติงบประมาณ 3,020 ลานบาท เพื่อดําเนินโครงการตางๆ ภายใตแผนอนุรักษพลังงาน รวม 75 โครงการ ทั้งนี้ทางกองทุนฯ ก็หวัง วาจะชวยเปนการพัฒนาพลังงานทดแทน และการพัฒนาเทคโนโลยีดาน อนุรักษพลังงาน เพื่อลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศและพึ่งตนเอง ไดอยางยั่งยืนกันเลยทีเดียวครับ ยังอยูกันที่กระทรวงพลังงานคราวนี้ เปนเรื่องการจัดเตรียมทําแผนแมบทการวิจยั ดาน การอนุรกั ษพลังงานของประเทศไทย เพื่อผลักดัน ยุทธศาสตร และมาตรการที่จะนําไปสูเปาหมาย การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานของประเทศ ตามแผน นที ทับมณี อนุรักษพลังงาน 20 ป ซึ่งคาดวาจะแลวเสร็จ ตุ ล าคม 2555 นี้ ค รั บ และหากทํ า ได ต ามแผนที่ ว า งไว นั้ น ....คุ ณ นที ทั บ มณี รองผู อํ า นวยการสํ า นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน บอกวา จะนําไปสูการลดการพึ่งพาการนํา เข า พลั ง งาน อั น เป น การเพิ่ ม ความมั่ น คงด า นพลั ง งานและลดภาระ ดุลการคา ลดคาใชจายดานพลังงาน และนําไปสูการเพิ่มความสามารถใน การแขงขันของภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมตอไป
May 2012 l 73
Energy#42_p72-74_Pro3.indd 73
4/28/12 12:10 AM
Transport / นัษโตะ เสร็จสิ้นเปนที่เรียบรอยกับ The 33rd Bangkok International Motor Show 2012 ซึ่งงานนี้ตองบอก ว า เป น ไปตามคาดที่ ดร.ปราจิ น เอี่ ย มลํ า เนา ประธานจั ด งาน และ ประธานบริษัท กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ตั้งเปาไว ดวยยอด จองรถที่ถลมทลายเกินกวาที่ตั้งไวกวา 5.7 หมื่นคัน แนนอนวาคายที่ครอง แชมปยังคงเปนคาย Toyota ตามติดมาดวย Honda ที่พึ่งเปดสายการ ผลิตไปเมื่อไมนาน และทีเ่ กินคาดหมายอยางนาตกใจ คือมามืด Suzuki ภาย หลังเปดตัวนองใหม Ecocar ไดหมาดๆ จากตัวเลขดังกลาวเปรียบเสมือน ตัวบงชี้วา เศรษฐกิจและตลาดยานยนตเริ่มกลับมาคึกคักอีกครั้ง หลังน้ํา ลดและเศรษฐกิจหยุดชะงักมาชวงหนึ่ง และยังคงเขมแข็ง พรอมสําหรับ การผลิตในประเทศและผลิตเพื่อกระจายสูตลาดโลกอีกครั้ง มาตอกันที่เรื่องตลาดรถยนตมือสอง กันบาง นายเอกพิทยา เอี่ยมคงเอก บิ๊กบอส สหการประมูล ชี้แจงราคาประมูลเฉลี่ยรถยนตนั่ง วามีการปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ ราคาประมูลรถประเภท 1,600-2,000 cc ปรับตัว ลดลง 3.7% เมื่อเทียบกับชวงกอนหนานี้ สวน เอกพิทยา เอี่ยมคงเอก หนึ่งเปนเพราะคายรถยนตตางๆ เปดตัว Ecocar อยางตอเนื่อง ไมวาจะ เปนคายเล็กคายใหญ หรือคายนองใหม รวมถึงการฟนตัวหลังน้ําลดกับ โรงผลิตที่ ไดรับผลกระทบ ทําใหตลาดรถใหมขยับไปในทิศทางบวกมากยิ่ง ขึ้น คาดวานาจะสงผลกระทบตอราคาประมูลรถยนตนั่งมือสองในเดือน เมษายน 2555 และมีทิศทางออนตัวลง คาดวาแนวโนมราคาประมูล เฉลี่ยของรถยนตประเภท 1,300-1,500 cc จะไปอยูที่ระดับ 229,000 บาท /คัน และคาดวาแนวโนมราคาประมูลเฉลี่ยรถยนตประเภท 1,6002,000 cc จะทรงตัวอยูที่ระดับ 231,500 – 240,000 บาท/คัน ใครไม สนใจรถมือหนึ่งก็ลองหันไปมองตลาดมือสองกันบางก็ ได ม า ที่ ค า ย น้ํ า มั น กั น ต อ มร. เอ็มมานูเอล มิญโญต ผูจัดการ ใหญ่ ธุ ร กิ จ น้ํ า มั น หล่ อ ลื่ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ น้าํ มันหลอลื่น กลุม ประเทศไทย ฟลปิ ปนส เวียดนาม และเกาหลี บริษัท เชลลแหง ประเทศไทย จํากัด เตรียมฉลองความสําเร็จการดําเนินธุรกิจป 2554 ใน ประเทศไทย ดวยยอดขายเติบโตกวา 8% ครองผูนําน้ํามันหลอลื่นอินเตอร แบรนดดวยสวนแบงทางการตลาด 32% เดินหนาทะยานสูความสําเร็จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ งด้ ว ย 4 กลยุ ท ธ์ ห ลั ก “ความเป็ น ผู้ นํ า ด้ า นเทคโนโลยี TECHNOLOGY LEADERSHIP” “ความแข็งแกรงของพันธมิตรทางธุรกิจ
– PARTNERSHIP” “ความเปนเลิศดานการใหบริการลูกคา – CUSTOMER EXCELLENCE” และ “กิจกรรมทางการตลาด – MARKETING ACTIVITY” มั่นใจสามารถสรางยอดขายเติบโตกวา 10% ในปนี้
Environment / Suki เริ่มกันดวยกิจกรรม Earth Hour 2012 เธอกลาทา ฉันกลาให ปดไฟ เมื่อวันที่ 31 มีนาคมที่ผานมา โดยเราไดนําภาพ พระบรมมหาราชวัง ปดไฟมาใหชมกัน พระบรมมหาราชวัง เปนหนึ่งในแลนดมารก ที่สําคัญของ ประเทศไทยที่รวมปดไฟเปนสัญลักษณ เชนเดียวกับในเมืองใหญทัว่ โลก อาทิ บัก๊ กิ้งแฮม พาเลซ โอเปรา เฮาสในนคร ซิดนีย กําแพงเมืองจีน นาฬิกาบิก๊ เบน สํานักงานใหญสหประชาชาติ เปนตน (C)เริงชัย คงเมือง อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ชวนพอแม พาบุตร หลาน ทองเที่ยวชวงปดเทอมใหญกับแหลงเรียนรูที่หลากหลายครบวงจร ทั้งดานพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ชูกังหันลม โซลา เซลล พระเอกพลังงานทดแทน หวังกระตุนเยาวชนรุนใหมรวมปกปอง พรอมรับมือภัยพิบตั จิ ากภาวะโลกรอน อุทยานสิง่ แวดลอมนานาชาติสริ นิ ธร เปดบริการทุกวัน (จันทร – อาทิตย) เวลา 8.30 – 15.00 น. ใครที่กําลัง มองหาสถานที่เที่ยวแบบไดความรูอยูรับรองไมผิดหวังจา ขอแสดงความยิ น ดี กั บ บริษัท สตาร ปโตรเลียม รี ไฟนนิ่ง จํ า กั ด (SPRC) ที่ เ พิ่ ง ได รั บ รางวั ล ธรรมาภิบาลสิ่งแวดลอมประจําป 2554 (ธงขาวดาวเขี ย ว) ในฐานะที่ บ ริ ษั ท ฯ ดําเนินธุรกิจตามนโยบายดานการจัดการสิ่งแวดลอมอยู ในเกณฑระดับ ดีเยี่ยม และยังมีการจัดกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมอยางตอ เนื่อง โดยในปนี้นับเปนปที่ 4 ที่บริษัท สตาร ปโตรเลียม รีไฟนนิ่ง จํากัด ไดรับรางวัลนี้อีกดวย มาถึงโครงการดีๆ ที่ Kiehl’s(คีลส) สานตอความตั้งใจดีในการ ชวยเหลือสังคม เชิญชวนนองๆ นิสติ นักศึกษารวมโครงการ ‘ยู แคน เชนจ เดอะ เวิลด วิธ คิลส ครั้งที่ 2’ ในรูปแบบการประกวดจัดวินโดวดิสเพลย ‘วินโดว ดิสเพลย คอนเทสต’ เพื่อกระตุนใหสังคมตระหนักถึงความสําคัญ ของการรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ใครที่ ส นใจสมั ค รเข า ร ว มโครงการเข า ไป ดาวนโหลดใบสมัครที่ www.facebook.com/kiehls.thailand/photos หมดเขต 4 พฤษภาคมนี้จา
74 l May 2012
Energy#42_p72-74_Pro3.indd 74
4/28/12 12:10 AM
Energy#42_Ad BN_Pro3.ai
Energy#42_Ad BN_Pro3.indd 1
1
4/26/12
3:34 PM
4/26/12 3:46 PM
Logistics Solution
โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ป พ.ศ. 2558 ประเทศไทยและกลุมอาเซียนจะเขาสูการเปนประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) อยางสมบูรณ จะทําใหเกิดการเคลอนยายอยางเสรี ใน 5 สาขา ประกอบดวย สินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมือ และเงินทุน การเปดเสรีดังกลาวยอมมี ผลกระทบตอผูป ระกอบการในประเทศ แนวทางการปรับตัวของผูป ระกอบการ จึงตองหันมาพัฒนาเพอยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑและบริการบนฐาน ความรูดานวิชาการใหสอดคลองกับความตองการของผูบริโภคและสังคม ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยบุคลากรคือหนึ่งในหัวใจที่สําคัญของการขับเคลอน องคกร ดังนั้น การยกระดับพัฒนาคุณภาพบุคลากรดานโลจิสติกสจึงเปน
ดานคุณภาพในการวัดความรูความสามารถทั้งในระดับผูจัดการ ระดับ ปฏิบัติการ หรือระดับการวางแผนอยางจริงจังและเปนรูปธรรม ไมวาจะ เปนการรูภาษาอังกฤษ ภาษาอาเซียน กฎระเบียบของประเทศเพอนบาน และความสามารถปรับตัวใหแขงขันในตางประเทศไดดวย 3. ผูประกอบการไมสามารถนําองคความรูและเทคโนโลยีที่ เกีย่ วของมาประยุกต ใชในการเพิม่ ประสิทธิภาพระบบโลจิสติกสของสถาน ประกอบการได 4. สถานประกอบการยั ง ไม ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ การพั ฒ นา บุคลากรอยางจริงจัง เนองจากมองวาเปนการลงทุนที่ ไมคุมคา อีกทั้ง ยังไมมีการสรางแรงจูงใจใหกับบุคลากรโลจิสติกสในการปรับใหเงินเดือน ใหทัดเทียมเทากับบุคลากรดานอนๆ อยางไรก็ตาม การที่องคกรจะมีบุคลากรพันธุใหมภายใตบริบท อาเซียนนั้น ฝายทรัพยากรมนุษยของธุรกิจโลจิสติกสจะตองปรับวิธีการ จัดการทรัพยากรมนุษยในเชิงรุกและเชิงรับ ดังนี้ 1. การวางแผนกําลังคน (Human Resource Planning)
เรองจําเปนเรงดวน อันจะเปนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ ธุรกิจโลจิสติกสและซัพพลายเชนของธุรกิจดวย แตที่ผานมายังพบปญหา บุคลากรดานโลจิสติกสอยูดังนี้ 1. บุคลากรดานโลจิสติกสยงั ไมเพียงพอตอความตองการของ ธุรกิจโลจิสติกสทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ แมวา 4-5 ปที่ผานมา มีสถาบันการศึกษาเปดสอนหลักสูตรโลจิสติกสเพิ่มขึ้นมากกวาเทาตัว ก็ตาม แตก็ยังไมเพียงพอ เนองจากคุณภาพของคณาจารยผูสอน วุฒิที่ จบไมตรงสาขาหรือไมมคี วามใกลเคียง บางแหงนําบุคคลในวงการโลจิสติกส มาสอนแตขาดความเชอมโยงทางดานวิชาการ เนนประสบการณในการ ทํางานมากกวาวิชาการ ทําใหผูเ รียนไดรบั เพียงวุฒกิ ารศึกษาแตขาดความ ลุมลึกทางวิชาการตอการนํามาแกไขปญหาในการทํางานโลจิสติกสและ ซัพพลายเชน นอกจากนี้ หลักสูตรการเรียนการสอนและการฝกอบรมดาน โลจิสติกสในบางหลักสูตรไมสามารถนําไปประยุกตกบั การปฏิบตั งิ านจริงได 2. การพัฒนาบุคลากรของบริษัท/ธุรกิจในระยะที่ผานมาเนน ดานปริมาณเปนหลัก (จํานวนครั้งที่เขาฝกอบรม) แตยังขาดการมุงเนน
เพอการดําเนินธุรกิจ และเตรียมความพรอมขยายธุรกิจในตางประเทศทั้ง เรองคุณสมบัติ และจํานวนพนักงาน องคกรบางแหงมีแนวโนมรับพนักงาน ทองถิ่น (Local) ทํางานประจําสาขาในตางประเทศ เพอรองรับการขยาย ธุรกิจ เชน ธุรกิจโรงแรม โรงพยาบาล และสายการบิน เปนตน รวมถึง ระบุตําแหนงที่มีความสําคัญตอธุรกิจ เพอวางแผนกําลังคน การสรรหา และพั ฒ นาพนั ก งานทดแทน หรื อ กรณี ที่ มี พ นั ก งานลาออกจากงาน โดยเฉพาะธุรกิจที่มีพนักงานมีความรู ความสามารถทางภาษา หรือความ ชํานาญทาง Technician อาจถูกซื้อตัวไปทํางานที่อนได 2. การสรรหาและการบรรจุตําแหนงงาน (Selection and Staffing) เนนสรรหาคนทีม่ คี ณ ุ สมบัติ เรองการปรับตัวและยืดหยุน ในการ ทํางานกับคนตางชาติ อีกทัง้ สรรหาคนทีส่ ามารถปรับตัวเขากับวัฒนธรรม ขององคกรได ซึ่งอาจจะใชวิธีการใหพนักงานในบริษัทแนะนําผูสมัคร ลงประกาศรับพนักงานทาง Internet หรือฝายทรัพยากรมนุษยเดินทางไป สัมภาษณทป่ี ระเทศนัน้ ๆ รวมทัง้ เตรียมความพรอมกอนปฏิบตั งิ าน ดวยการ สอนใหรูจักวัฒนธรรมไทย หรือวัฒนธรรมของประเทศนั้นๆ
ธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส เ ร ง สร า งคน พันธุใหมภายใตบริบทอาเซียน
78 l May 2012
Energy#42_p78-79_Pro3.indd 78
4/23/12 9:34 PM
3. การฝกอบรม และพัฒนา (Training and Development) โดยพัฒนาสรางความรูความเขาใจในวัฒนธรรมองคกร ขนบธรรมเนียม ประเพณีของประเทศนั้นๆ หรือใช Project Assignment ใหทํางานใน ประเทศนั้นๆ พัฒนาใหสามารถปรับตัว เพอทํางานรวมกับคนตางเชื้อชาติ และวัฒนธรรมได พัฒนาความรูและทักษะที่สอดคลองกับสภาพงานที่ เปลี่ยนแปลงไป เชน ความรูดานภาษาอังกฤษ เวียดนาม จีน เปนตน และ ยกระดับความรูความสามารถเพอการทํางานที่มีลักษณะเปนสากลมากขึ้น รวมทั้งพัฒนาความรู และทักษะพนักงานคนไทยและพนักงานตางชาติ เพอ การทํางานรวมกันใหบรรลุเปาหมายองคกร โดยเนนใชความสามารถของ แตละคนใหเกิดประโยชน 4. ระบบการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน (Performance Management System) โดยสรางระบบ และเกณฑการประเมินผลปฏิบตั งิ าน ทีม่ คี วามชัดเจน เพอใหเกิดความเปนธรรมทัง้ พนักงานคนไทยและพนักงาน ตางชาติ รวมทั้งใชระบบ Competency level เปนมาตรวัดมาตรฐานเดียว กันทามกลางความหลากหลายเชื้อชาติ 5. การพัฒนาความกาวหนาในอาชีพ (Career Development) วางแผนพัฒนาความกาวหนาในอาชีพใหทั้งพนักงานคนไทยและพนักงาน ตางชาติใหชดั เจน วางแผนพัฒนาพนักงานคนไทยทีอ่ ยูในตําแหนงทีส่ าํ คัญ (สราง Successor) หรือเพอเตรียมการขยายธุรกิจในตางประเทศ 6. ระบบคาจาง และผลตอบแทน (Compensation & Benefit) กําหนดโครงสรางคาจาง ผลตอบแทน และสวัสดิการทีจ่ งู ใจคนทีม่ คี วามรู ความสามารถมาสมัครงาน และใหเกิดความเปนธรรมกับพนักงานคนไทย และพนักงานตางชาติ สําหรับพนักงานตางชาติ อาจพิจารณาชวยเหลือ เรื่องที่พักอาศัย หรือคาใชจายที่เกี่ยวของ และสวัสดิการบางอยาง เพอการอยูอาศัยในประเทศไทย และการทบทวนเรองระบบผลตอบแทนที่ เคยใหเปนพิเศษกับพนักงานคนไทยที่ ไปทํางานตางประเทศ โดยเนนหลัก สรางการจูงใจใหไปปฏิบัติงานยังตางประเทศ 7. การออกแบบองคกรและการออกแบบงาน (Organizational and Job Design) จะตองใหสอดคลองกับภารกิจขององคกรทีจ่ ะเปลีย่ นไป ทํ า ให ก ารทํ า งานร ว มกั น ของพนั ก งานคนไทยและพนั ก งานต า งชาติ ประสานกัน รวมถึงการออกแบบบทบาทหนาที่ ในแตละตําแหนงใหมีความ ชัดเจน และเปนมาตรฐานที่ ใชไดทั้งพนักงานคนไทย และพนักงานตางชาติ 8. แรงงานสั ม พั น ธ (Union/Labor Relation) กํ า หนด กฎเกณฑตา งๆ รวมทัง้ กฎเกณฑทาง ด า นแรงงานสั ม พั น ธ ใ ห เ กิ ด ความ เทาเทียมกันระหวางพนักงานคนไทย และพนั ก งานต า งชาติ ใ ห ม ากที่ สุ ด จัดกิจกรรมตางๆ เพื่อเสริมสราง ความสั ม พั น ธ ระหว า งพนั ก งาน คนไทย และพนั ก งานต า งชาติ เช น การท อ งเที่ ย วภายในประเทศ สอดแทรกการเรียนรูวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของชาติอนๆ เมอเกิด ปญหาทีเ่ กีย่ วกับกฏระเบียบ ขอบังคับ
ในการทํางาน หรือปญหาทางดานแรงงานสัมพันธ พนักงานคนไทย และ พนักงานตางชาติตองไดรับการปฏิบัติอยางเทาเทียมกัน 9. การพัฒนาวัฒนธรรมองคกรการทํางานรวมกับคนตางชาติ และการพัฒนาภาวะผูนํา (Cross Cultural Management and Leadership Development) ซึง่ การพัฒนาวัฒนธรรมองคกรใหมคี วาม เปนสากล เนนความเทาเทียมกัน การเปดใจ การยอมรับในความแตกตาง และการทํางานรวมกันเปนทีมที่แตกตางทางเชื้อชาติภาษาและวัฒนธรรม องคกรนั้น จะตองคํานึงถึงการปรับ Mindset ของคนในองคกรใหพรอม ตั้ ง แต วั น นี้ ในการยอมรั บ เคารพ และให คุ ณ ค า ในความแตกต า งที่ หลากหลาย รวมถึงการวางระบบการบริหารความแตกตางระหวาง พนักงานคนไทย และพนักงานตางชาติดวย นอกจากนี้ การพัฒนาภาวะผูนําตองมีความรูและทักษะในการ บริหารความหลากหลายภายในการบริหารปรับเปลี่ยนขององคกร เพอ ใหการทํางานของพนักงานคนไทย และพนักงานตางชาติ เปนไปตามระบบ กฎเกณฑใหไดผลงานตามที่องคกรไดวางไว ซึ่งผูนําตองเปน “Role Model” ในการดูแลพนักงานคนไทย และพนักงานตางชาติอยางเทาเทียม กันเปรียบเสมือนครอบครัวเดียวกัน โดยสรุ ป การพั ฒ นาบุ ค ลากรด า นโลจิ ส ติ ก ส จ ะต อ งเร ง ปรับตัวขนานใหญทั้ง 3 หนวยงานหลัก คือ 1. ดานผูประกอบการ ควรเรงยกระดับศักยภาพบุคลากรกลุม เปาหมายใหมีทักษะและคุณสมบัติที่จําเปนรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยต อ งตั้ ง งบประมาณลงทุ น พั ฒ นาบุ ค ลากรให คิ ด ว า เป น การลงทุ น มิใชคาใชจาย 2. ดานสถานศึกษา ตองพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการเรียน การสอนอย า งไรให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของภาคธุ ร กิ จ และ บริบทการแขงขันทางเศรษฐกิจใหมที่เกิดขึ้น และ 3. หนวยงานภาครัฐ ควรมีกลไก เครองมือ หรือมาตรการเพอ สงเสริมใหผูประกอบการไทยพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกสในการเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขันในระดับภูมิภาค เชน สินเชอดอกเบี้ยต่ํา หรือ การลดหยอนภาษี เปนตน รวมทัง้ การพัฒนามาตรฐานอาชีพดานโลจิสติกส หรือมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติดานโลจิสติกส เพอชวยยกระดับ มาตรฐานของบุคลากรในอุตสาหกรรมโลจิสติกสใหทัดเทียมและสามารถ ปฏิบัติงานรวมกันกับบุคลากรของประเทศในกลุมอาเซียนได May 2012 l 79
Energy#42_p78-79_Pro3.indd 79
4/26/12 10:50 PM
Energy Concept โดย : กองบรรณาธิการ
เกษตรแนวใหม “ขาวครบวงจร” สูพลังงาน “ชีวมวล”
พบกับ คุณสุรยิ ะ เนตรสุขาํ เจาหนาที่ กระแสพลังงานบานเราถือเปนประเด็นรอน ที่หลายฝาย ใหความสนใจและไมเฉพาะแตเรองของสถานการณราคาน้ํามัน ประจําโครงการโรงสีขาวมูลนิธิชัย ตลาดโลกที่ยังคงมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นตอเนอง แตยังรวมไป พัฒนา ที่จะมาเลาถึงการเพิ่มคุณคา ถึ ง นโยบายการปรั บ ราคาก า ซ NGV-LPG ขณะที่ ค า ไฟฟ า ของขาวในยุคปจจุบันวา สามารถแปลง ผันแปร(FT) ก็อาจจะปรับเพิ่มขึ้นในเดือนพฤษภาคม-สิงหาคมนี้ ไปเป น พลั ง งานชี ว มวลได อ ย า งไร ภายใตโครงการศูนยสาธิตและพัฒนา สิ่งตางๆ เหลานี้ ลวนสงผลกระทบตอประชาชน อยางเห็นไดชัด พลังงานทดแทนจากขาวครบวงจร คือ ตนทุนราคาสินคาและคาครองชีพ ซึ่งตรงกับขามกับรายได โดยรวมที่ยังหยุดนิ่ง คุณสุริยะ เนตรสุขํา เจาหนาที่ประจํา โครงการโรงสีขาวมูลนิธิชัยพัฒนา ขณะทีผ่ ปู ระกอบการทัง้ ภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม ขาว และ พลังงานชีวมวล ฯลฯ ตองปรับตัวกันใหวุน เพอรับมือกับตนทุนที่เพิ่มขึ้นอยาง เกิดขึ้นไดอยางไร รวดเร็ว และธุรกิจ “ขาว” ก็ถือเปนทั้งพืชอาหารหลักและพืชเศรษฐกิจที่ “ขาว” เขามาเกี่ยวของกับชีวิตของคนไทยนานนับหาพันป ไมใช สําคัญที่สุดของประเทศไทยที่ยอมไดรับผลกระทบเชนกัน ฉบับนี้เราตามไป เฉพาะทางเศรษฐกิจเทานั้นยังรวมถึงกําลังคนและวัฒนธรรมของคนไทย 80 l May 2012
Energy#42_p80-81_Pro3.indd 80
4/28/12 4:29 PM
โครงการโรงสีขาวมูลนิธิชัยพัฒนา ศูนยสาธิตและพัฒนาพลังงาน ทดแทนแบบครบวงจรเปนการนําวัสดุเหลือใชทางการเกษตร คือ แกลบ จากโรงสีขาวไปผลิตพลังงานไฟฟาดวยระบบชีวมวล เพื่อผลิตไฟฟาใชใน โรงสีฯ ใชภายในชุมชน และขายไฟฟาใหกบั การไฟฟาสวนภูมภิ าค นอกจากนี้ ยังนําความรอนเหลือทิ้งจากเครื่องยนตผลิตไฟฟาไปอบขาวเปลือกดวย เครื่องอบลดความชื้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสีขาว ซึ่งการดําเนิน โครงการฯ สอดคลองกับพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ผลที่ ไดรับจากโครงการคืออะไร
จากผลการดําเนินงานพบวางานติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจากกาซ ชีวมวลแบบ three Stages Gasifier ขนาด 200 กิโลวัตต ที่ตองการแกลบ 260-280 กิโลกรัมตอชั่วโมง (กําลังการผลิตของโรงสีขาว 1 ตัน ตอ ชั่วโมง จะไดแกลบ 250 – 280 กิโลกรัมตอชั่วโมง) สามารถผลิตไฟฟา เพื่อขายใหกับการไฟฟารูปแบบ VSPP ไดในราคา 2.50 บาทตอกิโลวัตต ซึ่งเปนแผนการที่จะจําหนายไฟฟาเขาสูระบบสายสงในเดือนกรกฎาคมนี้ ทั้งนี้ ตนทุนการผลิตไฟฟาจากแกลบเบื้องตน คิดเปน 99 สตางค/kWh ชวยใหโครงการฯ มีรายไดจากการขายไฟฟาไดประมาณกวา 1.44 ลาน บาทตอป โดยมีระยะเวลาคืนทุน 5 ป จะเห็นไดวาประเทศไทยยังคงมีศักยภาพดานการพัฒนาการนํา วัตถุดิบที่เหลือใชทางการเกษตรทั้งแกลบ ฟางขาว กากออย ฯลฯ มาผลิต เปนพลังงานไฟฟา ซึ่งถือเปนพลังงานทดแทนอีกประเภทหนึ่ง ดังนั้นหาก มีการสงเสริมดานการพัฒนาคุณภาพการผลิตไฟฟาจากชีวมวลอยางตอ เนื่องจะยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาใหกับกลุมเกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมมากยิ่งขึ้น ดวย ปจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่เพาะปลูกขาว 67 ลานไร หรือคิดเปน 50% ของพื้นที่การเกษตรไดผลผลิตปละประมาณ 26-30 ลานตันขาวเปลือก ใช ภายในประเทศปละประมาณ 14 ลานตันขาวเปลือก และสงไปขายตาง ประเทศ 12-16 ลานตันขาวเปลือก ประเทศไทยเปนผูสงออกขาวสารและ ผลิตภัณฑจากขาวอันดับหนึ่งของโลกติดตอกันมานานหลายป นับตั้งแต ป พ.ศ. 2524 จนถึงปจจุบัน เพื่อเปนการเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตขาวใหมคี วามเหมาะสม ลด ตนทุนการผลิต และสามารถแขงขันในตลาดได จึงไดริเริ่มโครงการจัดตั้ง ศูนยสาธิตและพัฒนาพลังงานทดแทนจากขาวครบวงจร ซึ่งเปนโครงการ ความรวมมือระหวางกระทรวงพลังงาน มูลนิธิชัยพัฒนา และกลุมธุรกิจ พืชครบวงจร เครือเจริญโภคภัณฑ ในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต พลังงานชีวมวล ประกอบดวย ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากกาซชีวมวล แบบ Three Stages Gasifier, เครื่องอบขาว และเครื่องสกัดน้ํามันรําขาว ภายใตงบการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน คิด เปนมูลคา 14,050,000 บาท โดยเริ่มดําเนินการตั้งแต ธันวาคม 2550 ถึง ตุลาคม 2554
แรงผลักดันจากกระทรวงพลังงาน
ทางสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) กระทรวงพลังงาน ก็มกี ารสงเสริมและผลักดันอยางเต็มรูปแบบ เนื่องจากเปนพลังงานทดแทน ทีส่ ามารถผลิตไดเองในประเทศ และสอดคลองกับแผนการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือกรอยละ 25 ของการใชพลังงานทัง้ หมดในป 10 ป (พ.ศ.2555- 2564) (Alternative Energy Development Plan : AEDP) เพื่อยกระดับใหมกี ารพัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนอยางครบวงจร ประเทศไทย มีวสั ดุทางการเกษตรหรือชีวมวลประเภทตางๆ อาทิ แกลบ, ฟางขาว, กากออย, เศษไม, ซังขาวโพด ฯลฯ ซึ่งมีศักยภาพในการ ผลิตพลังงานไฟฟาไดถึง 2,909 เมกะวัตต และสามารถผลิตพลังงาน ความรอนได 10,340 พันตันเทียบเทาน้ํามันดิบ และโครงการฯ ขาวครบ วงจร ถือเปนโครงการฯ ตนแบบแหงแรกของประเทศไทย ที่ชวยลดตนทุน การผลิต และชวยลดคาไฟฟาทั้งที่ ใชกับโรงสีขาวและที่ ใชภายในชุมชน ซึ่งเปนการเพิ่มขีดความสามารถทางการตลาดและทางการแขงขันใหมาก ขึ้น นอกจากนี้ ยังเปนการชวยลดภาระการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ ไดอีกทางหนึ่ง May 2012 l 81
Energy#42_p80-81_Pro3.indd 81
4/28/12 12:27 AM
HOW TO
ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม
สนามหญาเขียว..ไมเปลืองน้าํ
1. อยารดน้ํามากเกินไป กฎทั่วไปในหนาฝน สนามหญาสีเขียวอยูได นานถึง 2 สัปดาหโดยไมตอ งรดน้าํ สวนในหนาแลงรดน้าํ ทุกๆ 3-5 วันก็พอ 2. รดน้ําแตเชาตรู อากาศสดชน ลมสงบ ชวยลดการระเหย ตนไม ใชประโยชนไดเต็มที่ 3. อยาเปดสปริงเกอรใหรดลงไปบนพืน้ ผิวถนนมากกวาสนามหญา 4. ปรับสปริงเกอรใหเปนฝอยละเอียด ชวยประหยัดและไดผลดีที่สุด 5. ปรับใบมีดตัดหญ้าให้สูงเพื่อให้ต้นหญ้าสูงกว่าปกติเล็กน้อย (ประมาณ 3 นิว้ ) จะชวยใหหญาแทงลึกลงดิน ชวยใหดนิ รักษาความชืน้ ไดดขี น้ึ 6. ใสปุยตามวิธีใช อยาใสมากเกินไป การใสปุยมากทําใหตนหญา ตองการน้ําเพิ่มมากขึ้น 7. เลือกหญา ไมพุม พืชคลุมดินที่ทนแลง ทําใหไมตองรดน้ําบอย เกินไป 8. อยาเปดสปริงเกอรทิ้งไวตลอดวัน การเปดสปริงเกอร 1 ชั่วโมง หมายถึงน้ํานับพันลิตร 9. ลางรถบนสนามหญาหรือใกลสนามหญา จะชวยรดน้ําไดโดยไม ตองเปดสปริงเกอร 10. วัสดุคลุมดิน ชวยลดการสูญเสียน้ํา
คุณรูหรือไม
คนในเมืองใชน้ําประปาเฉลี่ย 35 ลบ.ม. ตอคนตอเดือน หรือ 420 ลบ.ม.ตอคนตอป ประชากรในกรุงเทพฯ 12 ลานคน ใชน้ําประปาคิดเปน 5,040 ลาน ลบ.ม. ตอป หรือใชน้ําหมดเขอน ภูมพิ ลในยามทีเ่ ก็บกักน้าํ เต็มความจุที่ 13,462 ลาน ลบ.ม. ภายใน ไมเกินสองปครึ่ง
คุณรูหรือไม
แตละปในสหรัฐอเมริกา มีขวดน้ําดมพลาสติกใชแลวทิ้ง 3 หมนลานขวด ขวดเหลานี้สวนหนึ่งถูกนําไปรีไซเคิล แตอีก 4 ใน 5 ถูกกลบฝงอยูในดิน ในบานเราการใชน้าํ ดมบรรจุขวดพลาสติก อาจมีนอ ยกวาราว 1 ในรอย แตกก็ อ ใหเกิดขยะพลาสติกมหาศาล ในแตละป
ขอบคุณขอมูลจาก : กองสงเสริมแหลงทองเที่ยว การทองเที่ยวแหงประเทศไทย
82 l May 2012
Energy#42_p82_Pro3.indd 82
4/26/12 11:00 PM
Energy in Trend
โดย : ลภศ ทัศประเทือง
“หยีนา้ํ ” ไมตน พืชพลังงานตัวใหม หยีน้ําเปนไมตน ออกเปนชอตามงามใบและปลายกิ่ง ผล คอนขาง แบน เบี้ยว รูปขอบขนาน ปลายแหลมโคงลง มีการกระจายพันธุตามฝง แมน้ําใกลทะเล และในปาชายหาดทางภาคใต ในตางประเทศพบที่อินเดีย เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต มาเลเซี ย และอิ น โดนี เ ซี ย ออกดอกเดื อ น กุมภาพันธ–เมษายน ผลแกประมาณ 4–5 เดือนหลังจากออกดอก ใครจะคาดคิดวาจะเปนพืชพลังงานตัวใหมนําไปสกัดเปนน้ํามันที่ กําลังมาแรงอยางมากในประเทศอินเดีย และออสเตรเลีย ผลผลิตน้ํามัน ของหยีน้ําสูงกวาปาลมเกือบเทาตัว หยีน้ําเปนพืชตระกูลถั่วเพียงไมกี่ชนิด ที่มีปริมาณน้ํามันในเมล็ดสูง คือประมาณ 30-40% ของน้ําหนัก ขอดีของ หยีน้ํามีมากมาย คือ มีปมรากที่มีจุลินทรียตรึงไนโตรเจน (ทําใหลดการ ใชปุย) ทนแลง เนองจากมีระบบรากที่แข็งแรง มีรากแขนงจํานวนมาก รากหยั่งลึกลงดิน กลาวกันวาสามารถหยั่งลงดินไดลึกถึง 10 เมตร นอกจากนี้ พุมใบยังทึบ ทําใหลดการระเหยของน้ําไดดี เปนพืชที่ทนเค็ม ทนแลง ทนรอน ทนหนาว (ไดถึง 0 องศาเซลเซียส) และเมอโตเต็มที่แลว ยังทนน้ําทวมขัง นอกจากนี้ ยังปลูกไดดีในดินแทบทุกประเภท เรียกไดวาเปนพืชพลังงานที่มีศักยภาพสูงมากสําหรับประเทศไทย
เนองจากปลูกไดในทุกพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่แหงแลงในภาคอีสาน เนองจาก ทนแลง และทนเค็ม ใหผลผลิตมากกวาสบูดํากวา 2-3 เทาตัว การดูแล รักษางาย โรคแมลงนอย ทั้งยังใชปุยนอยกวาปาลมน้ํามันมาก เนองจาก มีจุลินทรียตรึงไนโตรเจน กากของเมล็ดที่หีบน้ํามันแลวยังเปนอาหารสัตว ไดอยางดี เนองจากมีโปรตีนสูง ปจจุบัน University of Queensland โดย Center of Excellence for Integrative Legume Research (cilr.uq.edu.au) กําลังคัดเลือก สายพันธุ หยีน้ําเพอทําการสงเสริมเพาะปลูกในภาคเหนือของออสเตรเลีย โดยขอมูลของ University of Queensland นั้น ระบุวา ผลผลิตน้ํามันตอ เฮกตาร ประมาณ 3,000-5,000 กก. (ใกลเคียงปาลมน้ํามัน) โดยเริ่มให ผลผลิตในปที่ 3-5 และ สูงสุดอยูระหวางปที่ 10 แตจากขอมูลที่ ไดมา การปลูกจากกิ่งตอนอาจใหผลผลิตเร็วกวานี้ โดยเรานําเอาผลไปสกัดเปนน้ํามันไบโอดีเซล และในประเทศไทยไดมี การทดลองที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พบวาใชเปนน้ํามันไบโอดีเซลได ดีเชียวครับ ... ภาครัฐไดยินแลว ..”ทราบแลวปลูก” !!
May 2012 l 83
Energy#42_p83_Pro3.indd 83
4/26/12 11:13 PM
Energy Exhibit โดย : กองบรรณาธิการ
ควันหลงงาน 3 In 1 : มหกรรมฟนฟู
บาน+เมือง ครั้งยิ่งใหญ
ผานพนไปแลวสําหรับงานมหกรรมฟนฟูบาน+เมือง 3 in 1 ที่รวม 3 งานไวดวยกัน Buildtech’12 Conxpo’12 Energy Saving’12 ที่จัด ขึ้น ณ ศูนยแสดงสินคาไบเทค บางนา เมอวันที่ 5 – 8 เมษายน 2555 ที่ ผานมา โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ซึ่งงานนี้ ได รวบรวมเทคโนโลยีสมัยใหม สินคาวัสดุ – อุปกรณกอสรางและตกแตง สินคาเครองมือ เครองจักร และอุปกรณเพอธุรกิจกอสรางและบริการ และแสดงสินคาเทคโนโลยีเพอการประหยัดพลังงาน มาจัดแสดงเพอตอบรับ กับสถานการณโลกในปจจุบัน นอกจากนีภ้ ายในงานยังไดจดั นิทรรศการ “ผลงานสภาสถาปนิก”, “Energy-Saving Home Presentation Greenovation” (บานประหยัด พลังงาน) กิจกรรม การประกวด “เพนทสุขภัณฑ BuildTech’12” ครั้ง ที่ 2, การแขงขัน “Young Designer Contest / Workshop” และ โครงการ “Designer Hub” ไวดวยกัน
84 l May 2012
Energy#42_p84-85_Pro3.indd 84
4/28/12 4:49 PM
อีกไฮไลทที่ ไดรับความสนใจอยางลนหลาม คือ การจัดประชุม เสวนา สัมมนาเผยแพรความรูดานการอนุรักษณพลังงานโดยมีหัวขอ นาสนใจ อาทิ “ระบบจัดการพลังงานตามกฏหมาย : ทําอยางไรให ประสบความสําเร็จ” โดย อ.วัลลภ เรืองดวยธรรม คณะกรรมการ พลังงานหอการคาไทย นําเสนอแนวคิดดานการจัดการพลังงานภายใน โรงงานที่ผูประกอบการควรปฏิบัติเพื่อนําไปสูมิติความสัมพันธของการ จัดการพลังงาน ซึ่งเปนองคประกอบสําคัญที่ผูประกอบการตองมี รวมถึง กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑและวิธีการจัดการพลังงาน สิ่งสําคัญ ที่ ไม ค วรมองข า ม พร อ มบรรยายพิ เ ศษหั ว ข อ “ISO 50001 Energy Management Systems” นอกจากนีก้ ม็ หี วั ขอทีผ่ เู ขาชมงานตางสนใจ
เชน การเสวนา โครงการขับรับสิทธิประโยชนยเวนภาษีเงินไดจากสรรพากร, สถาปนิกไทยกับจุดยืนในการกาวสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, การบริหาร โครงการและอาคารอยางไร ตามแนวทางของ LEED Certification, การเรียนรูการอยูกับน้ํา (ทวม) และการสัมมนาเรื่อง การจําจัดจุดออน สถาปนิกไทย “Feasibility Study เปนตน ...แลวพบกันอีกทีป 2556 นะครับ
May 2012 l 85
Energy#42_p84-85_Pro3.indd 85
4/28/12 8:41 PM
Energy Around The World USA
ข า ว 1 กระทรวงกลาโหมสหรั ฐ ฯ ประกาศเพิ่ ม การใช พ ลั ง งานสะอาด แทนน้ํามัน
กระทรวงกลาโหมของสหรั ฐ ฯ ประกาศว า จะใช พลั ง งานจากแหล ง พลั ง งานทดแทนมากขึ้ น หลั ง จากที่ กองทัพสหรัฐฯ ตองเสียเงินคาน้ํามันไมต่ํากวาหมนลาน ดอลลารสหรัฐฯ ตอปในการปฏิบตั กิ ารทางทหาร โดยเริม่ ตน จากแผนการที่ จ ะซื้ อ พลั ง งานไฟฟ า จากแหล ง พลั ง งาน สะอาดจํานวนรวม 3 GW เพอเปนพลังงานใหกับฐานทัพ ภายในประเทศสหรัฐฯ ภายในป ค.ศ. 2025 ทีมงานดานการกําหนดนโยบายจัดการพลังงานของ รัฐบาลสหรัฐฯ ไดใหความสนใจในการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการผลิตกระแสไฟฟาจากแหลงพลังงานทดแทน เพอลด รายจายสําหรับกองทัพ ยิ่งไปกวานั้น ยังมีรายงานวา มีทหารสหรัฐฯ ตองเสียชีวิตนับพันคน ระหวางการคุมกัน รถขนสงน้าํ มันเชือ้ เพลิงเพอใชงานในตางประเทศ ทําใหตอ ง มีการหาทางแกไขโดยเร็ว นอกจากนี้ มีรายงานวา รัฐบาลสหรัฐฯมีแผนที่จะ สร า งโรงไฟฟ า พลั ง งานทดแทนภายในฐานทั พ สหรั ฐ ฯ ทั่วโลก และจะมีการเปดหองทดลองใกลๆ เมือง Detroit รัฐ Michigan เพอพัฒนาและคิดคนยานพาหนะประหยัดน้ํามัน เพอกองทัพสหรัฐฯ หองทดลองดังกลาว คือสวนหนึ่งของ สถานวิ จั ย ด า นพลั ง งานสะอาด ซึ่ ง เป น สถานวิ จั ย ด า น สิ่งแวดลอมที่ ใหญที่สุดในโลก ดวยพื้นที่ 3 หมนตารางกิโลเมตร ในขณะที่เจาหนาที่ปฏิบัติงานดานการวิจัยพลังงาน ไดมีการประกาศโครงการมูลคา 30 ลานดอลลารสหรัฐฯ เพอพัฒนาประสิทธิภาพในการบรรจุพลังงานของอุปกรณ และยานพาหนะสําหรับกองทัพสหรัฐฯ ในอนาคต ที่มา : http://inhabitat.com/obama-administration-announcesnew-clean-energy-initiatives-for-the-military/
USA
นิ ว ยอร ก เพิ่ ม ปริ ม าณการผลิ ต กระแสไฟฟ า จาก แสงอาทิตยเปน 3 เทาไดสําเร็จ
Michael Bloomberg นายกเทศมนตรีรัฐนิวยอรก เปดเผยวา รัฐนิวยอรกสามารถเพิ่มปริมาณการผลิตกระแสไฟฟาจากแสงอาทิตยเปน 648 กิโลวัตต ไดสําเร็จ ซึ่งถือเปน 3 เทาจากเดิมที่มีการสํารวจกอนหนานี้ จากการ ติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตยใหกับอาคารตางๆ เชน สถานีตํารวจ 3 แหง โรงเรียน อีก 2 แหง รวมถึง สถานีดับเพลิง และสถานีอนามัย รวมเปนจํานวน 10 อาคาร ทั่วรัฐ นี่ถือเปนขาวดีสําหรับรัฐนิวยอรก ในการดําเนินแผนการเพอลดมลพิษ โครงการดังกลาว จะชวยลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดไดถงึ 205 เมตริกตัน และยังชวยลดคาไฟฟาภายในรัฐได 32 ลานดอลลารสหรัฐฯ หรือ ราว 960 ลานบาท โครงการนี้ถือเปนสวนหนึ่งในแผนการจํานวน 143 โครงการ เพอพัฒนารัฐในชวง 2-3 ปที่ผานมา และยังมีอีก 99 โครงการที่เจาหนาที่รัฐ กําลังดําเนินการอยูในขณะนี้ อยางไรก็ดี โครงการดังกลาวไมไดเปนที่พึงพอใจแกทุกๆ คน หลังจากที่ นาย Scott Stringer ผูนําสภาเมือง Manhattan ไดออกมาวิพากษวิจารณ นาย Bloomberg อยางรุนแรง โดยระบุวา รัฐนิวยอรก นาจะสามารถเพิ่มปริมาณ การผลิตพลังงานจากแสงอาทิตยไดมากกวานี้ และอางถึงรายงานที่ ไดเปดเผย เมอวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2555 ที่ผานมา ซึ่งระบุวา เขาตองการใหมีการติด ตั้งแผงโซลารเซลลบนหลังคาสถานศึกษาทุกแหงทั่วรัฐนิวยอรก ในขณะเดียวกัน นาย Stringer ไดกลาววา “การที่ปริมาณการผลิตกระแส ไฟฟาจากแสงอาทิตยในรัฐนิวยอรก ในชวง 6 ป ถือเปนเรองที่นายินดี แตเมอ พิจารณาคําแถลงของนายกเทศมนตรีแลว เทียบกับการดําเนินการของรัฐ ใกลเคียงอยางรัฐ นิวเจอรซียแลว รัฐดังกลาวสามารถเพิ่มปริมาณการผลิต กระแสไฟฟาจากแสงอาทิตยไดถึง 440 เมกะวัตตในชวง 2 ปที่ผานมา ในขณะที่ ปจจุบัน รัฐนิวยอรกไดประกาศเพิ่มปริมาณการผลิตกระแสไฟฟาจากแสงอาทิตย ขึ้นมาอยูในระดับเพียงแค 8 เมกะวัตต เทานั้น ที่มา : http://inhabitat.com/nyc/new-york-city-triples-solar-power-production/
86 l May 2012
Energy#42_p86-87_Pro3.indd 86
4/26/12 11:15 PM
Europe
ปญหามลพิษในกรุงลอนดอน สูนโยบายหาเสียง เลือกตั้งของนายกเทศมนตรี
เนื่ อ งจากกรุ ง ลอนดอน มี ม ลพิ ษ จํ า นวนมาก ทํ า ให้ ห ลายคน ไมสามารถอยูเฉยกับเรองนี้ ได เชนเดียวกับนาย Brian Peddick ผูลง สมัครรับเลือกตั้งชิงตําแหนงนายกเทศมนตรีประจํากรุงลอนดอน ของพรรค Liberal Democrat ในเดือนมีนาคมทีผ่ า นมา กรุงลอนดอนมีปริมาณมลพิษในอากาศสูง ที่สุดในประวัติศาสตร์ จากปริมาณรถเครื่องยนต์ดีเซลที่มีจํานวนมาก แตนาย Peddick ไดประกาศวา เขาจะทําใหรถประจําทาง และรถแท็กซีท่ งั้ หมด ในกรุงลอนดอนใชพลังงานจากกระแสไฟฟา ภายในป พ.ศ. 2563 และสราง พื้นที่สีเขียว เพออากาศที่ใสสะอาดบริเวณใจกลางเมือง นาย Simon Birkett ผูเริ่มรณรงคสรางอากาศที่สดใส หรือ CCAL ไดกลาวยกยองคําแถลงขาวของ Peddick เปนอยางมาก โดยระบุวา “ผม คิดวาเปนเรองดีที่มีผูสมัครรับเลือกตั้งที่ประกาศแผนการที่จะสรางการ เปลี่ยนแปลงใหแกระบบสาธารณูปโภค อยางเชน การคมนาคม แผนการนี้ ถือเปนแผนการที่ดีที่สุดที่พรรค Liberal Democrat คิดในรอบ 3 - 4 ป นอกจากนี้ นาย Birkett ได ใหความเห็นถึง Boris Johnson นายกเทศมนตรีคนเดิมวา “การเลือกตั้งครั้งนี้จะเปนการแสดงใหเห็นถึง ความรูสึกประชาชนตอความลมเหลวในการจัดการมลพิษภายในกรุง ลอนดอน และสงผลใหประชาชนตองพบกับวิกฤตการณดานสุขภาพที่หนัก ที่สุดในรอบหลาย 10 ป” ที่มา : http://www.guardian.co.uk/environment/2012/apr/10/london-air-pollutionmayoral-election?INTCMP=SRCH
Europe
Lummus Technology เร่ ง เครื่ อ งช่ ว ย โรงงานปโตรเคมี ใหม ในรัสเซีย
Rosneft บริษัทน้ํามันของรัฐบาลรัสเซีย กําลังเดินหนาแผนงาน สรางแครกเกอรแนฟทาแบบไอน้าํ ขนาดใหญทีส่ ดุ ในโลก รวมทัง้ หนวยผลิต บิวทาไดอีนและเบนซีน ใหแกโรงงานปโตรเคมีแหงใหมในเมืองปรีมอรสกี ทางตะวั น ออกไกลของประเทศรั ส เซี ย โดยบริ ษั ท Vostochnaya Neftechimicheskaya (VNHK) ซึ่งอยูในเครือของ Resneft ไดทําสัญญา วาจางใหบริษัท Lummus Technology ซึ่งเปนบริษัททางวิศวกรรมใน เครือของ CB&I ใหชวยดําเนินการดานใบอนุญาตและงานวิศกรรมพื้นฐาน ใหแกโครงการดังกลาว แครกเกอรไอน้ํานี้ ใชเทคโนโลยีลาสุดของ Lummus SRT-VII สําหรับหนวยทําความรอน รวมทั้งไดรับการออกแบบใหมีกําลังการผลิต เอธิลีนกวา 1.4 ลานตัน/ป และโพรพิลีนกวา 600,000 ตัน/ป สวนหนวย ผลิตบิวทาไดอีนซึ่งใชเทคโนโลยีสกัดบิวทาไดอีนของ Lummus/BASF ได รั บ การออกแบบให มี กํ า ลั ง การผลิ ต เบนซี น 230,000 ตั น /ป และ บิวทาไดอีนราว 200,000 ตัน/ป Rosneft กอตั้งบริษัท VNHK ในป 2554 เพอดําเนินการโครงการ ปโตรเคมีที่เมืองปรีมอรสกี โดย VNHK จะผลิตผลิตภัณฑปโตรเคมีได หลากหลาย รวมทั้งพอลิเมอรตางๆ ปจจุบันจะมีแผนสรางทาเรือพิเศษใกล ท่าเรือ Vostochny เพื่อใช้ ในการส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีและพอลิเมอร์ โครงการนีเ้ ปนสวนหนึง่ ในนโยบายของรัฐบาลรัสเซียทีจ่ ะพัฒนาพืน้ ที่ 6 แหง สําหรับกลุมโรงงานปโตรเคมีที่มีฐานผลิตจากแครกเกอรภายใน 10 ป ขางหนานี้ ที่มา : การประกาศของ CB&I และขอมูลของ Iplasteurope
ฮอนดาเปดสถานีเติมพลังงานไฮโดรเจนแหงใหมที่ญี่ปุน
ฮอนดา บริษัทผูผลิตยานพาหนะชอดัง ไดเปดสถานีผลิตพลังงานไฮโดรเจนจากแสงอาทิตย แหงใหม ที่เมือง ไซตามะ ประเทศญี่ปุน สําหรับประชาชนที่ ใชรถพลังงานสะอาด ในสมัยกอน สถานีพลังงานไฮโดรเจนตองมีการขนสงกาซไฮโดรเจนมาจากโรงงานที่ผลิตไฮโดรเจน จากกาซธรรมชาติ แตฮอนดาไดมีการคิดคนเครองมือรับพลังงานจากแสงอาทิตยเพอเพิ่มแรงดันน้ําใหแปร สภาพเปนไฮโดรเจนไดสําเร็จ วิธีนี้จะสามารถผลิตไฮโดรเจนได 1.5 กิโลกรัมตอวัน ซึ่งเพียงพอสําหรับรถ พลังงานไฮโดรเจนของ ฮอนดา รุน FCX Clarity เดินทางได 90 ไมล แมวาสถานีดังกลาวจะผลิตไฮโดรเจนไดคอนขางนอย แตก็ถือวาเปนอีกหนึ่งทางเลือกสําหรับผูใชรถไฮโดรเจนทั่วประเทศ ที่หาสถานีเติมเชื้อเพลิง ไดคอนขางยาก
ทีม่ า : http://www.hydrogencarsnow.com/blog2/index.php/hydrogen-fueling-stations/new-honda-hydrogen-fueling-station-opens-in-japan/
May 2012 l 87
Energy#42_p86-87_Pro3.indd 87
4/26/12 11:16 PM
Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
เงินกู ชวยผูป ระกอบการหลังน้าํ ลด โดย พพ.
จากสถานการณอุทกภัยที่เกิดขึ้นในป 2554 ที่มีความรุนแรงและ ทําใหมผี ูท ี่ ไดรบั ผลกระทบเปนจํานวนมาก ครอบคลุมพืน้ ทีห่ ลายสิบจังหวัด โดยผูไดรับผลกระทบมีทั้งในสวนของประชาชนทั่วไป หนวยงานราชการ รวมถึงภาคเอกชนซึ่งไดแก ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ ตลอดจนภาคเกษตรกรรม ทําใหเกิดความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน เปนจํานวนมากและจําเปนจะตองเรงใหความชวยเหลือและดําเนินการฟนฟู เยียวยาภายหลังจากสถานการณคลี่คลาย โดยในสวนของ กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ได เล็งเห็นถึงปญหาของผูประสบภัยในสวนที่เปนผูประกอบการภาคเอกชน ไดแก ภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม ที่ ไดรับความเสีย หายในตัวเครองจักร วัสดุ อุปกรณในสถานประกอบการ ซึ่งเปนภาระที่จะ ตองดําเนินการปรับปรุงซอมแซมและจัดหาเพอทดแทนของเดิม เกิด เป น ภาระค า ใช จ า ยที่ ส ถานประกอบการจะต อ งแบกรั บ ภายหลั ง อุทกภัย เพอเปนการเรงฟน ฟูเยียวยาผูป ระกอบการภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม ที่ตองแบกรับภาระหนักในการ ปรับปรุง ซอมแซมและจัดหาเครองจักร วัสดุอุปกรณเพอทดแทน
ของเดิมซึ่งเสียหายจากอุทกภัยที่มิอาจหลีกเลี่ยงได พพ. จึงไดริเริ่ม โครงการส ง เสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพพลั ง งานภาคอาคารธุ ร กิ จ และภาค อุตสาหกรรมในพื้นที่ประสบอุทกภัย โดยพรอมจะสนับสนุนเงินลงทุนรอย ละ 30 และสูงสุดไมเกิน 1 ลานบาทตอราย ในการสงเสริมใหเกิดการปรับ เปลี่ยนเครองจักร วัสดุ อุปกรณในสถานประกอบการใหเปนเครองจักร วัสดุ อุปกรณประสิทธิภาพสูง ทั้งนี้ พพ. ไดเตรียมวงเงินสนับสนุนจํานวนไว 2,000 ลานบาท โดย จะเขาชวยเหลือกลุมเปาหมายเปนโรงงานอุตสาหกรรม อาคารธุรกิจ และ ผูประกอบการภาคเกษตรกรรมที่ ไดรับผลกระทบจากอุทกภัยทั่วประเทศใน ป 2554 โดยจากขอมูลในภาพรวมของกระทรวงอุตสาหกรรม มีโรงงาน อุ ต สาหกรรมที่ ป ระสบอุ ท กภั ย ทั้ ง สิ้ น 8,252 โรงงาน อยู ใ นนิ ค ม อุตสาหกรรม 888 แหง ซึ่ง จากโครงการนี้ พพ.คาดวา จะสามารถช ว ยเหลื อ ร ว ม ฟนฟูโรงงาน, อาคารและ ภาคเกษตรกรรมที่ ป ระสบ อุทกภัย ไดประมาณ 3,000 แหง และคาดวาสามารถลด การใชพลังงานไดประมาณ 2,300 ลานบาทตอป โดยสถานประกอบการ หรื อ ผู ป ระกอบการที่ ส นใจ จะเข า ร ว ม โครงการเพอรับเงินสนับสนุน สามารถติดตอสมัครไดที่มหาวิทยาลัย 3 แห ง ที่ พพ. ได ม อบหมายให เ ป น ผู รั บ ผิ ด ชอบดํ า เนิ น โครงการ ได แ ก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต, สถานจัดการและอนุรักษ พลังงาน มหาวิทยาลัยขอนแกน และ ภาควิชาวิศวกรรมเครองกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
88 l May 2012
Energy#42_p88_Pro3.indd 88
4/26/12 11:02 PM
Energy Legal
โดย : ทนายเหนง
มาตรฐานรถขนสงกาซ LPG
สิ่งจําเปนที่ ไมควรมองขาม
จากสถานการณดานราคาพลังงานที่ถีบตัวสูงขึ้น อยางตอเนื่องในปจจุบนั ทางออกทีด่ ที สี่ ดุ คือการหันไปพึง่ พา พลังงานทดแทน ณ เวลานี้ถือวาไมใชเรื่องใหม แตดูเหมือน จะเปนทางออกที่ดี โดยเฉพาะพลังงานทดแทนจําพวกกาซ หากพูดถึงการเปลี่ยนมาใชพลังงานทดแทนภายในรถยนต แลวละก็ สิ่งที่ตองคํานึงถัดมาคือเรื่องของความปลอดภัย จะเห็นไดจาก การโฆษณาถึงมาตรฐานในการติดตั้งระบบกาซในรถยนตอยางตอเนื่อง แตใครจะรูวาเรื่องของระบบการขนสงกาซ LPG เพื่อนําไปสูสถานี ก็ถือเปนเรื่องสําคัญ เพราะตองขนสงบนเสนทางหลักเชนเดียวกับรถที่ สัญจรบนท้องถนนตามปกติ และแน่นอนว่าเรื่องของมาตรฐานความ ปลอดภั ย ย อ มต อ งรั ด กุ ม ยิ่ ง กว า เพราะเป น การขนส ง ก า ซที่ เ ป น วั ต ถุ อันตรายครั้งละจํานวนมากๆ สิ่งสําคัญของการขนสงกาซ LPG คือ ถังบรรจุ ที่ตองผานการ ทดสอบและตรวจสอบถังขนสงกาซโดยไมทาํ ลายสภาพเดิม ถังขนสงกาซที่ ผลิตขึ้นใหมจะตองผานการทดสอบและตรวจสอบโดยบริษัทผูทดสอบและ ตรวจสอบและกระทําตอหนาเจาหนาที่ โดยตรวจสอบการผลิตใหเปนไปตาม มาตรฐานที่กรมธุรกิจพลังงานประกาศกําหนด ตองผานการทดสอบและ ตรวจสอบโดยการถายภาพดวยรังสี(Radiographic Examination Method) ทดสอบดวยแรงดันไฮดรอลิก และตรวจสอบสภาพแนวเชื่อมภายนอกและ ภายในของถังดวยวิธีผงแมเหล็ก (Magnetic Particle Test) เมื่อผานการ ทดสอบและตรวจสอบเรียบรอยแลว กรมธุรกิจพลังงานจะออกหนังสือ รับรองให เพื่อนํามาติดตั้งบนรถขนสงกาซ และกอนจะใชงานตองทําการ ทดสอบและตรวจสอบ ถังขนสงกาซ ระบบทอและอุปกรณอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งขั้นตอนการตรวจสอบเพื่อออกใบอนุญาตยานพาหนะขนสงกาซ ทางบก จะทําการตรวจสอบการติดตั้งถังขนสงกาซ ระบบทอกาซ และ อุปกรณใหถูกตองตามแบบติดตั้งที่ ไดขออนุญาตไว เมื่อทุกอยางเปนไป ตามแบบแผนแลว ก็เปนการพิจารณาดานองคประกอบโดยรวมอีกครั้ง
เช น เดี ย วกั บ รถผ า น การใช ง านจนครบวาระ มาแล ว จํ า เป น ต อ งมี ก าร ตรวจสอบเพื่อพิจารณาตอ ใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การ บรรจุกาซ ซึ่งการทดสอบจะประกอบดวย การทดสอบดวยวิธีตรวจพินิจ ดวยสายตา (Visual Inspection Methods) และการทดสอบดวยการ ทดสอบ (Testing Methods) ตรวจสอบชนิ ด และขนาดของถั ง ว า ถู ก ต อ งตรงตามรายการ คํานวณและออกแบบที่ ไดรับความเห็นชอบจากกรมธุรกิจพลังงาน ตรวจ พินิจภายนอกและภายในของถังและอุปกรณที่ ใชงานในระบบ เชน ระบบ วาลว, ระบบทอ, เกจวัดแรงดัน โดยการตรวจพินิจดวยสายตา เพื่อหาจุด บกพรองที่อาจเกิดขึ้นได กอนจะนํารายงานผลการทดสอบและตรวจสอบ มาวิ เ คราะห ผ ล จึ ง จั ด ส ง รายงานผลการทดสอบและตรวจสอบให กรมธุรกิจพลังงานภายใน 7 วันทําการและนําเสนอผูบังคับบัญชาในการ ใหความเห็นชอบผลการทดสอบและตรวจสอบรับรองตอไป กรณีไมผานเกณฑการทดสอบและตรวจสอบ จะนํารายงานผลการ ทดสอบและตรวจสอบมาตรวจพิจารณาเพื่อสัง่ งดใชถงั ขนสงกาซและระงับ การบรรจุกาซลงในถังขนสงกาซในทันที จนกวาจะไดมีการซอมแซมสวนที่ ชํารุดหรือบกพรองและดําเนินการทดสอบและตรวจสอบรับรองความแข็งแรง ปลอดภัยตามมาตรฐานหลักวิชาการเรียบรอยแลว จึงจะสามารถให ความเห็นชอบใหใชถังขนสงกาซได ดวยมาตรฐานที่รัดกุม ทําใหสามารถเชื่อใจไดถึงความปลอดภัย จะเห็นไดวา มีขา วเรื่องการรัว่ ไหลของกาซ LPG จากภาคการขนสงนอยมาก รวมถึ ง กรณี ที่ ร ถประสบอุ บั ติ เ หตุ ก็ ไม มี ก ารรั่ ว ไหลของก า ซ แตอยางใดเชนกัน May 2012 l 89
Energy#42_p89_Pro3.indd 89
4/24/12 11:23 PM
Energy Stat
เชื่อหรือไม วาประเทศไทยแมเปนประเทศเล็กๆ แตเรื่องของการใชพลังงานเมื่อเทียบกับประเทศระดับมหาอํานาจดานพลังงานของโลกตามสัดสวนแลว ไทยถือเปนประเทศที่มีการใชพลังงานอยางมหาศาล ถามองในแงดีก็จะคิดเสียวา เพราะประเทศไทยเปนประเทศกําลังพัฒนา หรือหากมองในแงลบ คนไทยเองรูตัวหรือปาว วาผืนดินบานเราไมไดมีทรัพยากรธรรมชาติใหใชกันมากมายแบบที่ ไมตองหาเพิ่มเติม โดยเฉพาะกาซหุงตม หรือ LPG ที่ผานมา ประเทศไทยมีการนําเขากาซ LPG อยางตอเนื่อง และดูเหมือนวาจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ และทราบไหมกอนหนานี้ประเทศไทยถือเปนประเทศ สงออก LPG อีกดวย แตปจจุบันตองบอกวาสถานการณเปนไปในทางตรงกันขาม จากตัวเลขการนําเขา LPG เดือนมีนาคม 2555 ที่ผานมาสูงถึง 1.8 แสนตัน/ เดือน ซึ่งเปนจํานวนสูงสุดเทาที่เคยนําเขา โดยคาดวาตองใชเงิน กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงมาเปนคาใชจายในการนําเขาเกือบ 5,000 ลานบาท สาเหตุหลักเนื่องจากโรงแยกกาซธรรมชาติและโรงกลั่นหยุดซอมบํารุง สงผลใหการผลิต LPG ในประเทศหายไปสวนหนึ่ง ในขณะที่การนําเขาในเดือนมกราคมอยูที่ 1.13 แสนตัน ใชเงินกองทุนน้ํามันฯ ชดเชย 2,223 ลานบาท และเดือนกุมภาพันธ อยูที่ 1.6 แสนตัน
ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน
90 l May 2012
Energy#42_p90_Pro3.indd 90
4/24/12 11:26 PM
Insight Energy
ผูเขียน : ลภศ ทัศประเทือง
กฎรับซือ้ มันสําปะหลังผลิตเอทานอล
ชวงเดือนที่ผานมาเราคงไดทราบขาวน้ํามันปาลมขาดตลาด โดยระบุ ว า ผู ค า น้ํ า มั น ปาล ม พร อ มใจกั น ขึ้ น ราคา รั ฐ บาลจึ ง หา แนวทางแกปญ หาน้าํ มันปาลมโดยสัง่ เขามาจากตางประเทศ เปนเหตุ ใหเกิดความเห็นตาง โดยบางจากนั้นไดเสนอวาใหรัฐออกกฎรับซื้อมันสําปะหลัง ผลิต เอทานอล 30% เพื่อยกระดับราคามันสําปะหลังเปน 3 บาทตอกิโลกรัม ชวยเหลือเกษตรกร โดยชี้แจงวาตนทุนจะเพิ่มแค 10 สตางคตอลิตร นายอนุสรณ แสงนิม่ นวล กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บางจากป โ ตรเลี ย ม จํ า กั ด (มหาชน) เปดเผยวา เขาตองการ เสนอใหภาครัฐกําหนดนโยบายให ผูคาน้ํามันทุกราย มีสัดสวนการ รับซื้อเอทานอล จากมันสําปะหลัง ประมาณ 30% ซึ่งจะสงผลให ความตองการมันสําปะหลังเพิม่ ขึน้ 1 ล า นตั น ต อ ป และหากมี ก าร ยกเลิกเบนซิน 91 จริง จะทําใหความตองการมันสดเพิ่มอีก 5 แสนตันตอป จากปจจุบันมีความตองการใชในประเทศอยูที่ 6 ลานตันตอป และสงออก 16-17 ลานตันตอป ซึ่งแนวทางดังกลาว จะผลักดันใหราคามันสดเพิ่มเปน 3 บาทตอกิโลกรัม จากปจจุบนั ไมถงึ 2 บาทตอกิโลกรัม สวนตนทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ ส ง ผลต อ ราคาขายปลี ก น้ํ า มั น เพี ย ง 10 สตางค ต อ ลิ ต รเท า นั้ น เมื่อเทียบกับการผสมบี 100 ในเนื้อน้ํามันดีเซล 5% ที่มีตนทุนเพิ่มและบวก ในโครงสรางราคา 50 สตางคตอลิตร “การผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง ตนทุนสูงกวาเอทานอลทีผ่ ลิต
จากกากน้ําตาล 6 บาทตอลิตร โดยเอทานอลจากกากน้ําตาลอยูที่ 20 บาท ตอลิตร จากมันสําปะหลังอยูที่ 26 บาทตอลิตร ขณะที่การชวยเหลือจาก กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงไมเกิน 6 บาทตอลิตร สวนเกินผูคาน้ํามันตองรับ ภาระเอง ทํ า ให ผู ค า น้ํ า มั น ไม นํ า เอทานอลจากมั น สํ า ปะหลั ง มาผลิ ต แต บ างจากรั บ ซื้ อ เอทานอลจากมั น สํ า ปะหลั ง อยู แ ล ว ที่ สั ด ส ว น 30% ราคารับซื้ออยูที่ 26 บาทตอลิตร” ดานนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ผูนําฝายคานในสภาผูแทนราษฎร กลาวถึงแนวทางแกปญหาน้ํามัน ปาลมของรัฐบาลดวยการนําเขา จากต า งประเทศว า เป น การแก ปญหาไมตรงจุดเพราะการนําเขาจะ ทําก็ตอเมื่อมีการขาดแคลนเกิดขึ้น แต ในกรณี นี้ ไม ไ ด เ กิ ด ความ ขาดแคลนแตเปนเพราะตนทุนสูงจึง ควรคํ า นวณและชดเชยที่ ต น ทุ น ภายในประเทศ แต ก ารนํ า เข า จะ สรางปญหาใหกับเกษตรกรทําให ราคาปาลมตกต่ํา ที่สําคัญคือจะมีการควบคุมเรื่องการสงออกดวยหรือไม เพราะขณะทีม่ กี ารนําเขาก็ยงั เปดโอกาสใหมกี ารสงออกได รวมทัง้ ทางพรรค จะติดตามดวยวาการนําเขาดังกลาวมีผลประโยชนอะไรเกี่ยวของหรือไมทั้ง การนําเขา ราคา การชดเชยมีความโปรงใสหรือเอื้อประโยชนใหใครหรือไม ถือวารัฐบาลแกปญ หาไมตรงจุดและทําใหเกิดความสูญเสียสองดานทัง้ การ ชดเชยทีต่ อ งใชภาษีอากรประชาชนและยังกระทบกับเกษตรกรรมทําใหราคา ปาลมไดรับผลกระทบจากการนําเขาดวย รัฐบาลควรทบทวนเพราะการใช ทิฐิมานําหนาการบริหารประเทศไมไดใหผลที่คุมคาสําหรับประชาชน May 2012 l 91
Energy#42_p91_Pro3.indd 91
4/27/12 11:24 PM
Energy#42_p92_Pro3.ai
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/23/12
10:21 PM
Special Scoop
โดย : ลภศ ทัศประเทือง
ตลาด LED ตอจากนี้..ตองจับตา!!
http://ledthailand-lumos.blogspot.com/2010/08/led-downlight.html
กระแสของการอนุรกั ษพลังงานภายใตระบบบริหารจัดการพลังงาน ในแตละสถานที่คงหนีไมพน การจัดการพลังงานเครองปรับอากาศ และ การจัดการพลังงานดานแสงสวาง เปนปจจัยใหเกิดนวตกรรมตอยอดกัน อยางตอเนอง ระบบ เทคโนโลยี สินคา ผลิตภัณฑ ลวนแตตอบสนอง Demand ที่เพิ่มขึ้น และในปจจุบันตองบอกวา กระแสของสินคา LED กําลัง เปนที่ตนตัว ดวยวิวัฒนาการที่รุดหนา หรือภาวะแวดลอมอนใดก็ตาม แตทแ่ี นๆ ตลาด LED ป 2555 นี้ ทําตลาดตอเนองไปถึง 2556 อยางไรขอสงสัย นายสมนึก โอวุฒธิ รรม ประธานกรรมการบริหาร เลคิเซกรุป และบริษัท ลี้ กิจ เจริญแสง จํากัด ผูผลิตและ จั ด จํ า หน า ยหลอดไฟและ อุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งาน ไฟฟาเลคิเซ (LeKise)
เปดเผยวา ตลาด LED จะเติบโตอยางตอเนอง และทางเลคิเซก็มี ผลิตภัณฑทเ่ี รียกวา Eco Product หลายตัวทีต่ อบสนองความตองการของ ผู บ ริ โ ภค โดยเฉพาะกลุ ม LED ที่ นั บ วั น จะเริ่ ม สร า งตลาดบุ ก เข า ทุ ก อุตสาหกรรมไมเวนบานเรือน
http://ericshaw.en.made-in-china.com/product/cMFxryElCDWh/China-Pub-
May 2012 l 93
Energy#42_p93-95_Pro3.indd 93
4/28/12 4:54 PM
“LED ป 2555 นี้ จะโต ดวยมีคนชวยโปรโมท ผูผลิตทุมงบการผลิต มากในปนี้ รวมทั้งเลคิเซเอง นับวาตอไปนี้จะมีการแขงขันทางการตลาดที่ รุนแรงขึ้น เรามองวาเปนเรื่องดี เพราะจะกระตุนตลาดใหเติบโตขึ้น ผมมอง วาไมต่ํากวา 10 แบรนดที่จะลุยตลาด LED ในปนี้ ซึ่งบอกไดเลยวา เลคิเซ เปนแบรนดอันดับตนๆ ที่ผลักดันและชูตลาด LED มาอยางตอเนื่อง เพราะ เห็นความคุมคาในการลงทุน แมราคาจะแพงกวา แตเชื่อแนวาหากมีการ แขงขันทางการตลาดสูง ราคาจะลดลงไปตามกลไก ถึงตอนนั้นจะกลาย เปนสินคาคอนซูมเมอรที่ ไมใชแคสินคาโปรเจ็กตอีกตอไป” เลคิเซ เรียกวาเปน Local Brand ดานหลอดไฟ LED อันดับตนของ เมืองไทย และในปนี้ทุมงบประมาณในการโปรโมท และผลิตหลอดไฟ LED มากจนเปนที่ฮือฮาไปแลวครั้งมีการแถลงขาวไปเมื่อตนป โดยบอสใหญ เลคิเซ ระบุวา สินคา LED จะมีการตอยอดไปเรื่อยไมหยุดอยูแคหลอดไฟ จะมีการเสริมฟงกชัน่ ใหกบั ตัวสินคาหลัก เรียกวาประหยัดเปนดับเบิล้ อยาง ชุด Control Demand Peak ควบคุมการใชไฟฟาก็เปนตัวสินคาที่เพิ่ม ฟงกชั่นเขาไปบริหารจัดการแสงสวางไดอยางมีประสิทธิภาพ ด ร . เ ฉ ลิ ม พ ล โลหรัตนเสนห กรรมการ ผูจัดการ บริษัท นีโอเวฟ เทคโนโลยี่ คอร ป อเรชั่ น (ประเทศไทย) จํากัด ผูนํา เขาหลอด LED จากญี่ปุน และ อเมริ ก า มาประกอบเป น จอภาพด ว ยเทคนิ ค ความรู ของคนไทยในชวงแรก กอนที่ จะพัฒนามาสู LED Lighting กลาววา บริษัทเริ่มผลิตจอ LED กอน สําหรับใชเพื่อเปนงานสื่อโฆษณานอกบาน ชวง 3 ปที่ผานมา ตลาด LED เริ่มบูมในสวนของการใชแสงสวาง ที่นํามาใชกับอาคารสถานที่ ตางๆ เชน เซอรวิสอพารทเมนท โรงแรม ภัตตาคาร ไนทคลับ ที่ตองการ หาอะไรแปลกใหม และไมตอ งซอมบํารุงบอยเพราะตองเปดตลอด 24 ชัว่ โมง
http://thaiinkjetclub.com/home/index.php?option=com_
“ปจจุบันแสงสวางแบบใหมเขาไปสูตลาดโรงแรมถึง 80% ตาม แหลงทองเทีย่ วตางๆ แทนหลอดนีออนทีต่ อ งซอมบํารุงบอยและมีความรอน ปจจัยสําคัญที่กําลังผลักดันใหตลาด LED เติบโตเพิ่มมากขึ้น เพราะ ความสวางไสว เวลาการใชงานที่ยาวนาน แมจะมีราคาแพงกวาหลอด นีออนถึง 5 เทา ก็ตาม แตเชื่อวาไมเกิน 1-2 ปขา งหนาจะเขามาแทนทีต่ ลาด นีออน จนมีการประเมินกันวาในสหรัฐอีก 10 ป จะเขาไปแทนที่ตลาดหลอด ตะเกียบเสียดวยซ้ํา จากตัวเลขการเติบโตกวา 100% ของการใชงาน สวน การเติบโตปายและหลอด LED สงผลใหมีผูประกอบการหลายรายเพิ่ม ธุรกิจเขามาเปนการเสริมรายไดของบริษทั รายทีท่ าํ อยูแ ลวก็พฒ ั นาขึน้ ไปอีก เพราะเห็นโอกาสทางธุรกิจที่กําลังเติบโต” ดานยักษใหญ ฟลิปส ก็ ไดเปดเพส 3 สรางตลาด LED โดยนายประกรณ เมฆจําเริญ ประธานคณะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ กรรมการผูจัดการ บริษัท ฟ ลิ ป ส อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส ( ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ) จํ า กั ด กลาววา ราคาหลอดไฟ LED (Light-Emitting Diode) ลด ลงจาก 2,000 บาท เหลือ 1,000 กวาบาท ป 2010 ตลาด Lighting ที่เปน LED มีสัดสวนแค 5%
94 l May 2012
Energy#42_p93-95_Pro3.indd 94
4/28/12 12:38 AM
http://en.wikipedia.org/wiki/File:LED_throwies_chaos.jpg
แตในป 2015 นั้น 50% ของตลาดจะเปน LED นั่นเปนเหตุผลที่ฟลิปส ลงทุนใน Lighting ที่เปน LED อยางมาก เพราะเราเชื่อวา LED คืออนาคต ของธุรกิจ Lighting ซึ่งในป 2015 ราคาของ LED จะใกลเคียงกับหลอด ตะเกียบ “ในฐานะผูนําดานเทคโนโลยีแสงสวาง ฟลิปสคงตอง Educate เทคโนโลยี LED ใหกบั สังคมและผูบ ริโภคอีกมาก แตนัน่ ก็เปนสิง่ ทีผ่ ูน าํ ตลาด ตองทําเพื่อการสรางตลาด และ Create demand โดยแสงจาก LED ไมใช แคการใหความสวาง แตยังสรางความเปลี่ยนแปลงทางดานอารมณได อยางหลากหลาย นั่นคือความเคลื่อนไหวของฟลิปสในประเทศเทศไทย ซึ่งสอดคลองกับทิศทางของฟลิปสในระดับโลก” นายปกรณ บริมาสพร ประธานกรรมการบริหาร บริ ษั ท ไลท ติ้ ง แอนด อีควิปเมนท จํากัด (มหาชน) หรื อ L&E ผู ผ ลิ ต และจั ด จําหนายโคมไฟฟาและอุปกรณ แสงสว า งรายใหญ ข องไทย เปดเผยวา บริษัทฯ ไดเตรียม ลงทุ น ครั้ ง สํ า คั ญ ทั้ ง ในส ว น การผลิต การพัฒนาสินคา ด ว ยเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย เพื่อเตรียมพรอมรับมือการขยายธุรกิจทั้งในประเทศและภูมิภาคอาเซียน
ในอีก 1-3 ปขางหนา หลังจากที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC จะเริ่มมีผลบังคับใชอยางเปนทางการในป 2558 ซึ่งจะทําใหภูมิภาคนี้เกิด การคาเสรีอยางเต็มรูปแบบ โดยบริษทั ฯ ไดเตรียมงบลงทุนจํานวน 300 ลานบาท เพื่ อ เพิ่ ม กํ า ลั ง การผลิ ต รองรั บ การขยายตั ว ของธุ ร กิ จ โคมไฟฟ้ า และ อุปกรณแสงสวาง ที่มีทิศทางเติบโตอยางชัดเจน “ขณะนี้มุงพัฒนาสินคาในกลุม LED อยางเขมขนและตอเนื่อง เพื่อ ใหสอดรับกับเทคโนโลยีในอนาคตทีก่ าํ ลังจะเขามามีบทบาทในภาคธุรกิจมาก ยิ่งขึ้น เนื่องจากธุรกิจโคมไฟฟาและอุปกรณแสงสวางในปจจุบันนี้ถือไดวา เปนชวงการเปลี่ยนถายเทคโนโลยีจากเทคโนโลยีเดิมที่เปนหลอดไส มาเปน เทคโนโลยี ในอนาคตที่เปนหลอด LED ที่นอกจากจะนํามาพัฒนาใชกับ อุปกรณตางๆ ไดอยางหลากหลายรูปแบบแลว ผลิตภัณฑ LED ยังถือเปน ผลิตภัณฑที่ยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เพราะประหยัดพลังงานไฟฟาได อยางมหาศาลและเศษวัสดุเหลือใชยังไมมีโลหะหนักที่เปนอันตรายตอสิ่ง แวดลอมดวย ซึ่งถือเปนสินคาแหงอนาคตที่กําลังไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง โดยในแตละปผลิตภัณฑประเภทนีม้ อี ตั ราการเติบโตแบบกาว กระโดดและคาดวาใน 2-3 ปขางหนาหลอด LED จะมีสวนแบงทางการ ตลาดเพิ่มขึ้นเปน 50% ในธุรกิจโคมไฟฟาและอุปกรณแสงสวางทั้งระบบ” สําหรับ L&E ในป 2554 ที่ผานมาผลิตภัณฑ LED มีอัตราการ เติบโตถึงปละเกือบ 100% มีสัดสวนประมาณ 10% ของรายไดรวม และคาดวาจะเติบโตไดอยางโดดเดนอีกครั้งในป 2555
ขอดีของ LED ประสิทธิภาพการใหพลังงานแสงสวางที่ระดับสูงถึง 70 ลูเมน/วัตต สูงกวาหลอดไฟฟาแบบขดลวดที่มีประสิทธิภาพที่ ระดับ 15 ลูเมน/วัตต แมประสิทธิภาพในการใหแสงสวางของ หลอด LED ในปจจุบันจะต่ํากวาหลอดไฟแบบฟลูออเรสเซนตซึ่ง มีประสิทธิภาพสูงถึง 80 - 100 ลูเมน/วัตต อยางไรก็ตาม แสง สวางของหลอดไฟฟลูออเรสเซนตจะแพรออกไปทุกทิศทาง ทําให สูญเปลาจํานวนมาก ขณะที่แสงสวางของ LED จะสองไปเฉพาะ ดานหนาเทานั้น ดังนั้น ประสิทธิภาพของ LED ที่ระดับ 70 ลูเมน/วัตต จึงนับวามีมากกวาหลอดฟลูออเรสเซนตที่ระดับ 100 ลูเมน/วัตต ยิ่งไปกวานั้น LED กาวหนาเร็วมาก ทําใหมีแนวโนมวาจะ มีประสิทธิภาพเหนือกวาหลอดฟลูออเรสเซนตในอนาคตอันใกล เนื่องจากในชวงที่ผานมาประสิทธิภาพของ LED เพิ่มขึ้นอยาง รวดเร็วจาก 5 ลูเมน/วัตต ในป 2539 เปน 50 ลูเมน/วัตต ในป 2546 และเพิ่มขึ้นเปน 70 วัตต/ลูเมน ในป 2547 ลาสุดบริษัท Nichia ไดประกาศเมื่อปลายป 2549 วาประสบผลสําเร็จในดาน วิ จั ย และพั ฒ นา LED ต น แบบที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ถึ ง 150 ลูเมน/วัตต May 2012 l 95
Energy#42_p93-95_Pro3.indd 95
4/28/12 12:38 AM
Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร เจาหนาที่ ธุรการ ประชาสัมพันธเกีย่ วกับงาน สิ่งแวดลอม ทอท. อายุไมเกิน 35 ป ชาย/หญิง วุฒิ ปริญญาตรี ไมจํากัดสาขา ประจําอยูที่ดอนเมือง พูด ภาษาอังกฤษไดพอสมควร สามารถใชคอมพิวเตอรไดดี ติดตอ บริษัท ซี.ซี. คอนเทนท คอมเมอรเชียล จํากัด 0-2663-3280-9 ตอ 110, 118, 119 รับสมัคร เจาหนาที่บัญชีตนทุน ชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้ น ไป วุ ฒิ ร ะดั บ ปริ ญ ญาตรี มี ป ระสบการณ ก าร ทํางานอยางนอย 3 ป ขึ้นไป มีประสบการณดานบัญชี ตนทุนโดยตรง มีความรูโปรแกรมบัญชี Express มี ความรูเกี่ยวกับการปดงบประจําเดือนและประจําปได ติดตอ บริษัท โซลา เพาเวอร จํากัด 0-2712-9501-5 # 103
วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร ผูจัดการแผนกสิ่งแวดลอม อายุ 35 ปขึ้น ไป วุฒิปริญญาโทวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอมหรือสุขาภิบาล มี ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ระดับภาคี วิศวกร มีประสบการณทํางานดานสิ่งแวดลอมไมนอย กวา 7 ป ติดตอ บริษัท ปภพ จํากัด 0-2570-5580 ตอ 1110 รั บ ส มั ค ร ผู จั ด ก า ร ศู น ย ฯ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม (จ.ประจวบคีรีขันธ) วุฒิการศึกษา ป.ตรี / โท สาขา วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม, วิศวกรรมสิ่งแวดลอม มี ประสบการณทํางาน 3 - 5 ป มีประสบการณดานการ จัดการสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม ติดตอ บริษัท กลุมเหล็กสหวิริยา จํากัด 0-2285-3101-10 ตอ 626- 627 รับสมัคร ผูควบคุมระบบสิ่งแวดลอม ปฏิบัติงานที่ จ.นครราชสีมา เพศ ชาย ผานการเกณฑทหารแลว วุฒิปริญญาตรี สาขาเคมี หรือสิ่งแวดลอม มีประสบ การณดานไบโอแกสจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ กลุมบริษัท บุญวรรณ กรุป 0-2424-4220 รับสมัคร หัวหนาแผนกสิ่งแวดลอม (ประจําโรงงาน จ.สระแกว) เพศชาย/หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิ ปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมหรือ สาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานบริหารจัดการสิ่ง แวดลอมอยางนอย 3 ปขึ้นไป เพศชายผานการเกณฑ ทหารแลวและไมสูบบุหรี่ ติดตอ บริษัท เอสแอนดดี อินดัสทรี้ จํากัด 0-2452-5950 ถึง 3
รั บ สมั ค ร Supervisor ด า นสิ่ ง แวดล อ ม (จ. พระนครศรีอยุธยา) วุฒกิ ารศึกษาวิทยาศาสตรบณ ั ฑิต สาขาเคมี, สุขาภิบาล, วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือ สาขาอนที่เกี่ยวของ มีประสบการณวิเคราะหน้ําเสีย ติดตอ บริษัท เบียรทิพย บริวเวอรี่ (1991) จํากัด 0-3528-9333-45 รับสมัคร วิศวไฟฟา เพศชาย อายุ 25-35 ป วุฒิการ ศึกษา ปวส.-ป.ตรี ทางดานไฟฟากําลัง รับผิดชอบดูแล และประสานงานกับลูกคา สามารถขับรถยนตได มี ประสบการณจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท ออกแบบพลังงาน จํากัด 0-23991681-4 รับสมัคร วิศวกรไฟฟา(แสงอาทิตย) สามารถอานและ เขียนแบบดวย Auto Cad ไดเปนอยางดี ประสบการณ ทํางานอยางนอย 1 ป สามารถขับรถยนตได สามารถ ทํางานตางจังหวัดได ติดตอ บริษัท เพาวเวอร ยูตา กรุป จํากัด 0-2645-0232-40 รับสมัคร ชางเทคนิค เพศชาย อายุไมเกิน 27 ป วุฒิ ปวส. เกรดเฉลี่ยรวม 3.00 ขึ้นไป สาขาเครองกล ชาง ยนต ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส เครองมือวัด เคมี ปโตร การเกษตร เทคนิคการผลิตหรือเทียบเทา ติดตอ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 0-2537-3487, 0-2537-3489 รับสมัคร เจาหนาที่อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม (สงขลา) วุฒิปวส.ขึ้นไป สาขาเครองกล ไฟฟา หรือ สาขาอนที่เกี่ยวของ หากมีเลขประจําตัวผูรับผิดชอบ ดานพลังงาน(สามัญ)จะไดรับการพิจารณาเปนพิเศษ มีความรูดานระบบคุณภาพ ISO 9001/HACCP/GMP และมาตรฐานอน ติดตอ บริษัท สงขลาแคนนิ่ง จํากัด (มหาชน) 0-7444-7093-99, 0-7433-4005-8 รับสมัคร Draftman M&E เพศชายหรือหญิง อายุ 20 - 35 ป จบปวช. ปวส. หรือ ปริญญาตรี สาขาเขียน แบบ หรือทีเ่ กีย่ วของ มีประสบการณดา นเขียนแบบงาน ระบบ M&E ดานสุขาภิบาล ประปา เครองปรับอากาศ ระบบอัคคีภัย และดับเพลิงอยางนอย 1 ป ติดตอ บริษัท เอลโม เทค จํากัด 0-2722-6931-33 รับสมัคร Sales Engineer เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาพลังงานและสิ่ง แวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณในการ ทํางานในโรงงานอยางนอย 1 ป มีประสบการณขาย งานระบบบําบัดมลพิษทางอากาศจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั เอ็นโค เอ็นจิเนียริง่ แอนด เทรดดิง้ จํากัด 0-2722-9481-2
รับสมัคร หัวหนาหนวยเทคโนโลยีชีวภาพ (โรงงาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ) วุฒิปริญญาตรี, ปริญญาโท เทคโนโลยี ชี ว ภาพ วิ ท ยาศาสตร์ หรื อ สาขาอื่ น ที่ เกี่ยวของ มีประสบการณ 2 ป ในงานอุตสาหกรรม พลังงานสะอาด หรือเทคโนโลยีชีวภาพ หรืออน ๆที่ เกี่ยวของ ติดตอ บริษัท ทิปโก เอฟแอนดบี จํากัด 0-3281-1224-31 ตอ 2406 , 2406, 2407 รับสมัคร วิศวกรไฟฟา อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญา ตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา/อิเลคทรอนิกส/ เครื่ อ งกล ไม่ จํ า เป็ น ต้ อ งมี ป ระสบการณ์ ห รื อ หากมี ประสบการณดานระบบน้ํา-ลม-อนุรักษพลังงาน จะ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เอเซียอุตสาหกรรมหลอดไฟ จํากัด 0-2702-9467-8 รับสมัคร วิศวกรอนุรักษพลังงาน (ประจําโรงงาน ปราจีนบุรี) เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเครองกล , แมคราทรอนิกส , ออกแบบ เครองกล หรือสาขาอนที่เกี่ยวของ มีประสบการณใน โรงงานอุตสาหกรรม 1 ปขึ้นไป ติดตอ บริษทั ที.ซี.ฟารมาซูตคิ อลอุตสาหกรรม จํากัด 0-3729-5130 ตอ 2315 รับสมัคร วิศวกรสนับสนุนการขาย วุฒิปริญญาตรี ทางดานวิศวกรรมเครองกล หรือพลังงาน มีความรู ดานผลิตภัณฑเกี่ยวกับระบบปรับอากาศหรือระบบน้ํา ร อ น หรื อ อุ ป กรณ ก ารแลกเปลี่ ย นความร อ นจะรั บ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท แอดวานซ เอ็กซเชนจ เทคโนโลยี จํากัด 0-2945-8361, 0-2509-9494 รับสมัคร วิศวกรอนุรักษพลังงาน วุฒิปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟา หรือเกีย่ วของ ประสบการณทาง ดานการจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมอยาง นอย 3 ป มีใบประกอบวิชาชีพ (กว.) และหนังสือแตง ตั้ง ผชร / ผอส ติดตอ Exedy Friction Material Co., Ltd. 0-3874-3923-6 รับสมัคร วิศวกรออกแบบระบบไฟฟา เพศชาย วุฒิ ปริญญาตรี ทางดานวิศวกรรมไฟฟา มีประสบการณ เกี่ยวกับการออกแบบและติดตั้ง อยางนอย 2 ปขึ้นไป มีประสบการณการณเกี่ยวกับการควบคุมฝายผลิตจะ รับพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท ที.จี. คอนโทรล จํากัด 0-2530-9090 รับสมัคร ผูจัดการสวนผลิต เพศชาย อายุไมเกิน 30 - 38 ป วุ ฒิ ป ริ ญ ญาตรี วิ ศ วกรรมอุ ต สาหกรรม, เทคโนโลยี ก ารผลิ ต หรื อ สาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง มี ประสบการณในการวางแผนการผลิตอยางนอย 3 ป ติดตอ THAMMASORN GROUP 0-2611-0290 ตอ 1216
96 l May 2012
Energy#42_p96_Pro3.indd 96
4/23/12 10:00 PM
Energy Price
May 2012 l 97
Energy#42_p97_Pro3.indd 97
4/26/12 11:06 PM
Directory ระบบความเย็น บริษัท สหวัชร อินเตอร กรุป จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2893-3071-5 : 0-2416-5319 : sahawatnut@hotmail.com : www.gokujo22.com : ระบบความเย็น
บริษัท เทมปเมกเกอร จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2892-5997-8 : 0-2892-2695 : tempmaker@hotmail.com : www.tempermaker.com : ระบบความเย็น
บริษัท เอ.ดี. อิเล็คทริค เซลแอนดเซอรวิส จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2894-4412 : 0-2894-4413 : ad.electrics@hotmail.com : www.aircooltech.net : ระบบความเย็น
บริษัท คูลแมน คอรปอเรชั่น จํากัด
โทรศัพท : 0-29226250, 0-2571-3536 แฟกซ : 0-2922-6240 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท คูลเวิรค เอเชีย จํากัด
โทรศัพท : 038-784-786, 038-784-746 แฟกซ : 038-784-745 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
ระบบลําเลียงวัสดุ
โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ
โทรศัพท : 0-2-945-8961-6 แฟกซ : 02-9458361-6 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท ที เค เอส อินดัสเตรียล จํากัด
บริษัท ดี-คูลเลอร (ประเทศไทย) จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
โทรศัพท : 0-2509-3449-50 แฟกซ : 0-2509-3396 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท ไทย คูลลิ่งเทาเวอร จํากัด
โทรศัพท : 0-2463-1904-5,0-2463-7339 แฟกซ : 034-813-821 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท บี.เค.เค. คูลลิ่ง แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2383-3636-7 แฟกซ : 0-2383-3356 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริ ษั ท ยู นิ เ วอร แ ซล เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2720-4420 แฟกซ : 0-2720-4422-3 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท สแควร คูลลิ่ง ทาวเวอร จํากัด โทรศัพท : 0-2749-2954 แฟกซ : 0-2399-4465 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท อุตสาหกรรมไทย เยนเนอรัล คูลลิ่ง ทาวเวอร จํากัด โทรศัพท : 0-2428-7127-32 แฟกซ : 0-2428-2016 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท 2 พีที. จํากัด
โทรศัพท : 0-2726-2675-7 แฟกซ : 0-2726-2674 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท กิจสัมฤทธิ์ ปโตเลียม จํากัด
โทรศัพท : 0-2211-2889,0-2212-8816 แฟกซ : 0-2211-2889 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท กูลกิจ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2809-9756-8 แฟกซ : 0-2809-9756-8 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
หจก.เกียรติโลบล ซัพพลาย
โทรศัพท : 0-2747-3717-8 แฟกซ : 0-2747-3718 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
หจก. เกียหงวน ฟลเตอร
: 0-2346-5136-8 : 0-2346-5140 : sales@tks-industrial.co.th : www.tks-industrial.co.th : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ที.เอ็น. เมทัลเวิรค จํากัด
: 0-2810-2000 : 0-2810-2299 : tngroup@tnmetalworks.com : www.tnmetalworks.com/th/ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ไทยคณา เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2317-6040-1, 0-2706-4617-8 : 0-2706-4271 : thaikana44@hotmail.com : www.thaikana.com/ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ไทยซันวา เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2908-2006, 0-2908-2047 แฟกซ : 0-2529-3294 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ไทยโพลิเมอร ซัพพลาย จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2750-4852-8 ,0-2312-2021-5 : 0-2312-1781 , 0-2312-2026 : conveyor@thaipolymer.co.th : www.thaipolymer.co.th/ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ไทยเลียวบราเดอรส จํากัด
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2621-0112-4 , 0-2222-4284 : 0-2225-1746 : sales@thaileo.com : www.thaileo.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ไทโยะ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2958-3014 แฟกซ : 0-2958-3015 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท ไทโรเทค จํากัด
โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2539-8521 , 0-2539-8578 : 0-2935-5650 : www.tyro-tech.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท นวพงษ ดิสทริบิวชั่น จํากัด
โทรศัพท : 0-2463-6272, 0-2463-6621 แฟกซ : 0-2463-6622 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท บางกอก ซุปเปอรลีนเอ็นยิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ
: 0-2533-0821-2, 081-916-6340 : 0-2533-0823 : pook_lex@hotmail.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท บิมเปกซ จํากัด
โทรศัพท : 0-2848-4822 แฟกซ : 0-2461-6159 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ
แกรนดครอส เซอรวิส แอนด ซัพพลาย จํากัด
บริษทั บี เอส ดับบลิว เบลท แอนด แมชชีน จํากัด
โทรศัพท : 0-2889-9192 แฟกซ : 0-2889-9940 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น
บริษัท เยอรมันเอนจิเนียริ่ง แอนด แมชีน เนอรี่ จํากัด
บริ ษั ท พรหมจั ก ร แ อร เซอร วิ ส โกลด จํากัด
บริษัทโมดูลาร คอมพาวด จํากัด
: 0-2420-6125 : 0-2420-6129 : sales@modularcoldroom.com : www.modularcoldroom.com : ระบบความเย็น
โทรศัพท : 0-2644-9001-3, 0-2644-9006-7 แฟกซ : 0-2644-9004 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
หางหุนสวนจํากัด เบ็ลท แอนด แบริ่ง
: 0-2735-6845-6 : 0-2735-6847 : poltex@truemail.co.th : ระบบลําเลียงวัสดุ
โทรศัพท : 0-2961-9485-7 แฟกซ : 0-2961-8350 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ
: 0-2315-3331-2 , 0-2315-3662 : 0-2315-3212 : german@ger.co.th : www.ger.co.th/ : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท สหคอนเวเยอร ไทย จํากัด : 0-2810-3796-9 : 0-2810-3794-5 : www.sahaconveyor.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท เอ เจ เอ็นจิเนียริง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ
: 0-2732-3683-4 : 0-2732-3685 : anantaje@ksc.th.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษทั เมคคานิคลั แอนด ฟูด โพรเซส เอ็น จิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 038-571-770 : 038-570-976-7 : sale@mechfood.com : www.mechfood.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท พลัสวัน คอนเวเยอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ
: 0-2741-3708, 0-2741-7649 : 0-2185-5537 : pluscon@ksc.th.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท เพิรท คอนเวเยอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2381-9323, 0-2713-0755 : 0-2391-9683 : perten1@loxinfo.co.th : www.pertconveyor.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท สปดเวย โรลเลอร แอนด คอนเว เยอร จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2892-1846-50 : 0-2892-1233 : speed99@truemail.co.th : www.speedwayroller.com : ระบบลําเลียงวัสดุ
บริษัท แอดวานซ โซลาเรียม คอรปอเรชั่น จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ
: 0-2738-4350, 0-2738-4396 : 0-2738-4351 : advance_solarium_c@hotmail.com : www.advancesolarium.com/ : ระบบลําเลียงวัสดุ
Water Pump บริษัท เบิรกแมนน (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-3860-8575-8 แฟกซ : 0-3860-8579 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท ป.ธนาเจริญเอ็นจิเนอริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2468-1989, 0-2476-4002 แฟกซ : 0-2468-1980 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท ปโตรไทย จํากัด
บริ ษั ท โปรดั ค ที ฟ แวคคั่ ม เทคโนโลยี จํากัด
โทรศัพท : 0-2428-6894-6 แฟกซ : 0-2428-6897 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท โปรเทค เวิลด อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
โทรศัพท : 0-2426-4201-2, 0-2426-3818 แฟกซ : 0-2426-4038 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท โปรเทคโนโลยี่ จํากัด
โทรศัพท : 0-2968-1900-5, 0-2968-1494 แฟกซ : 0-2968-1906-7 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พัฒนกล จํากัด (มหาชน) โทรศัพท : 0-2328-1032-49 แฟกซ : 0-2328-1245 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พัฒนายนตชลบุรี จํากัด
โทรศัพท : 0-2316-6036-9 แฟกซ : 0-2316-8408 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พี เค เค สยาม จํากัด
โทรศัพท : 0-2738-7576 แฟกซ : 0-2753-6671 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พี.ที.เอส. เมดเทค ซิสเต็มส จํากัด โทรศัพท : 0-2952-4366 แฟกซ : 0-2952-4041 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พี.พี.เซ็นเตอร จํากัด
โทรศัพท : 0-2301-1100, 0-2301-2100-1 แฟกซ : 0-2398-1301 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พี.วี.เอส. เทรดดิ้ง เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2944-6810-7, 0-2944-6819 แฟกซ : 0-2944-6820 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท พี.อาร. เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
โทรศัพท : 0-2871-4826-7 แฟกซ : 0-2871-4828 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท เพ็ญเทค จํากัด
โทรศัพท : 0-2373-0843-6 แฟกซ : 0-2373-0843 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท เพอรเฟคท เอ็นจิเนียริ่ง แอนด คอนซัลแทนต จํากัด โทรศัพท : 0-2982-0881-2, 0-2990-6907-8 แฟกซ : 0-2982-0883 สินคาและบริการ : Water Pump
บริ ษั ท แพน เมคแคนิ ก เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง จํากัด โทรศัพท : 02-379-3244-6 แฟกซ : 0-2376-0013 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท มินเซนแมซีนเนอรี่ จํากัด
โทรศัพท : 0-2260-1295-6 แฟกซ : 0-2259-0496 สินคาและบริการ : Water Pump
โทรศัพท : 02-222-9201-5, 02-225-7800-9 แฟกซ : 02-225-2877 สินคาและบริการ : Water Pump
บริษัท โปรเจ็ค วิซารด จํากัด
บริษัท ยู-ทอง จํากัด
โทรศัพท : 0-2379-0532 แฟกซ : 0-2379-10978 สินคาและบริการ : Water Pump
โทรศัพท : 0-2421-0794, 0-2808-8571 แฟกซ : 0-2808-8574-5, 0-2421-3253 สินคาและบริการ : Water Pump
98 l May 2012
Energy#42_p98_Pro3.indd 98
4/26/12 11:12 PM
Energy#42_p99_Pro3.ai
1
4/23/12
10:52 PM
Special Report โดย : ลภศ ทัศประเทือง
อะตอม ..เพอนนักธุรกิจ นิวเคลียร..นําพา ..ปรมาณูเพอชีวิต ศ.เกียรติคุณ ดร.ชัยวัฒน ตอสกุลแกว เลขาธิการสํานักงานปรมาณูเพอสันติ กลาววา การนํานิวเคลียรไปใชในทางการแพทยในชวง 10 ป ทีผ่ า นมา มีการเติบโตขึน้ เรอยๆ อยางแคสว นเครองมือ เอ็กซเรยก็มีการสั่งเพิ่มขึ้นเดือนละ 40-50 เครอง โดยภาคการแพทยนี้สวนใหญจะอยูในภาคกลางที่มี การนํานิวเคลียรไปใช เมื่ อ ถามว่ า ประชาชนบางส่ ว นยั ง มองว่ า นิวเคลียร เปนสิง่ ทีร่ นุ แรงจะมีวธิ กี ารอยางไร ทีท่ าํ ให คนมองนิวเคลียรในดานบวกบาง “ก็ตอ งอาศัยการประชาสัมพันธ จะตองสราง ความเขาใจวาจริงๆ แลวเราไดสัมผัสอยู ในชีวิต ประจําวัน เชน เวลาตรวจเอ็กซเรยรางกาย ซึ่งเรา มีโครงการ สอพืน้ บาน สอสารนิวเคลียร คือจะลงพืน้ ที่ ไปตามต่างจังหวัด โดยมี “ลิเก” มาเป็นสื่อ ก็ สอสารงาย ๆ ใหประชาชนไดรับรู บอกเลาเรองราว นิวเคลียร อีกทัง้ มียวุ ทูตอะตอม และคายรักษอะตอม ที่จะจัดใหความรูแกเด็กนักเรียน คือตองมีการฝง รากลึกตั้งแตตอนยังเด็กถึงเรองความเขาใจเรอง นิวเคลียร วาจริงๆ แลวก็เปนเพียงอะตอมเล็กๆ หากเอยคําวา “นิวเคลียร” เชอแนละวา หลายคนอาจจะคิดไปในทาง รุนแรงอันเกิดจากผลของมันไดไมยาก ไมวา จะเปนปรมาณูนวิ เคลียรลา งโลก โรงไฟฟานิวเคลียรระเบิด เกิดสารกัมมันตรังสีรวั่ ไหล เปนภัยแกประชาชนที่ อยูใกลเคียงเปนวงกวาง สําหรับฉบับนี้ ENERGY SAVING ไดมโี อกาสเกาะติดไปกับหนวยงาน สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) ในการไปดูงานการใช้นิวเคลียร์ ใน อุตสาหกรรมการแพทย อุตสาหกรรมปูนซีเมนต ซึง่ ถือเปนการปรับแนวคิด ใหเขาใจหลักการทํางานของ “นิวเคลียร”มากขึน้ วา ไมไดรา ยแรงอยางทีค่ ดิ และยังสรางประโยชนใหกับประชาชนมหาศาลอยางไมรูตัว จุดแรกเราไปกันที่ ศูนยมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี ที่มีการนําเอา สารรังสี มาใชในอุตสาหกรรมการแพทย อาทิ การใชนวิ เคลียรในเครองมือ เอ็กซเรย และการฝงแรรักษาผูปวยโรคมะเร็ง ซึ่งการใชแรจะใชในมะเร็งที่มี ลักษณะเปนโพรง แรพวกนีจ้ ะนําเขาจากตางประเทศ มีอายุการใช 25 ป และ ก็ตองสงคืนไปยังประเทศที่กําจัดกากแร เพราะประเทศไทยเรายังไมมี 100 l May 2012
Energy#42_p100-101_Pro3.indd 100
4/28/12 4:37 PM
เยี่ยมชมโรงปูน TPI กับความรูการนํานิวเคลียรไปใช
ใชในอุตสาหกรรมการแพทย
ที่อยูคูประชาชนมาชานานแลว” สําหรับการปฏิบัติในการนําพลังงานนิวเคลียรมาใช จะตองผาน หนวยงาน ปส. เสียกอน ตั้งแตเริ่มขอจนถึงการสงคืนกาก สําหรับในภาค อุตสาหกรรมนําไปใชในอุตสาหกรรมปูนซีเมนตเพิ่มผลการผลิตลดขั้นตอน การทํางาน ลดคาใชจายบางสวนลงได แตอยางไรก็ดียังมีขอควรระวัง ในการนําไปใช “การใชจะตองขออนุญาตจาก ปส. กอน ซึ่งทางหนวยงานก็จะตอง ลงไปดู แ ลสถานที่ ว า ได ม าตรฐานหรื อ ไม มี ร ะบบเก็ บ กากกั ม มั น ตรั ง สี ที่ปลอดภัยหรือไม หรือมีซอมแผนฉุกเฉินหรือเปลาเปนตน และเมื่อไดรับ อนุญาตใหใชได ทางเจาของกิจการ สถานที่จะตองรายงานคาความแรง ของรังสีใหกับ ปส. ทุก 2 เดือน อยางอุตสาหกรรมปูนซีเมนตที่นําไปใช จํานวนมากนั้นก็จะตองไดรับการตรวจสอบวัดคาความปลอดภัยจาก ปส. อยางนอยปละ 1 ครั้ง” นอกจากนี้ รังสีนวิ เคลียรยงั ไดถกู นําไปใชในอุตสาหกรรมการเกษตร ในการดัดแปลงพันธุกรรมใหทนแลง ทนฝนไดดี ซึง่ ทําใหเราสามารถสงออก สินคาทางการเกษตรไปประเทศสหรัฐอเมริกาไดถึง 6 ชนิด
เมื่อถามถึงเรื่องความพร้อมของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทาง ปส. จะมีบทบาทและภารกิจอยางไรบาง “ปส. นั้น ไมไดมีอํานาจตั้งโรงไฟฟา แตจะรับภารกิจกํากับดูแล การใชประโยชนจากนิวเคลียร ซึ่งตอนนี้เราก็ทําไดในสวนของการพัฒนา บุคลากรใหมคี วามพรอมในการสนับสนุนโรงไฟฟานิวเคลียร ไมวา จะกอสราง หรือไม เราก็เตรียมความพรอมไวอยูแลว ” ฉะนัน้ ภาพรวมของ ปส. คือการพยายามทําใหประชาชนตระหนัก และ มีความคุนเคยจากการใชประโยชนจากพลังงานนิวเคลียร อะไรที่มีประโยชน ก็มโี ทษ ก็ตอ งมีการกํากับดูแล ผูป ระกอบการเจาของสถานทีจ่ ะตองทําใหได ตามมาตรฐาน ถาหลุดลอดหรือไมทาํ ตามมาตรฐานสากล ก็จะเกิดอุบตั เิ หตุ ไดงาย จึงตองเขมเรื่องความปลอดภัยเปนหลัก และหวังเปนอยางยิ่งวา ในอนาคต “นิวเคลียร” ที่เราใชกันอยู ใกลชดิ ประชาชนตลอด จะปรับภาพได คนไมตองกลัวแบบไมรูทิศทางอีกตอไป...
เขาเยี่ยมชมกระบวนการนํานิวเคลียรไปใชทางการแพทย ที่ ศูนยมหาวชิราลงกรณ ธัญบุรี
May 2012 l 101
Energy#42_p100-101_Pro3.indd 101
4/28/12 8:22 PM
LifeStyle
โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม
ลองใต ..ฝาแผนดินไหว เมื่อช่วงกลางเดือน เ ม ษ า ย น ที่ ผ า น ม า ประเทศไทยตองตนตระหนก อีกครั้งกับขาวการเกิดแผน ดินไหวใตทะเลนอกชายฝง เกาะสุ ม าตราของประเทศ อินโดนีเซีย ขนาด 7.3 ริกเตอร และประเทศไทยเองก็รับรูไดถึงแรง สั่นสะเทือน รวมถึงหลายๆ ประเทศก็รับรูไดเชน ซึ่งสํานักเฝาระวังแผนดิน ไหว กรมอุตุนิยมวิทยาของไทย รายงานเบื้องตนวา ประชาชนที่ ภูเก็ต กระบี่ รับรูแรงสั่นสะเทือน และในเวลาตอมาจากการตรวจสอบขอมูลของ เจาหนาที่ พบวา ไมเกิดคลนสึนามิ ที่สงผลกระทบตอประเทศไทย จากขาวดังกลาวถือเปนขาวดีสาํ หรับทุกคน และถือเปนขาวดีสาํ หรับ การทองเทีย่ วแหงประเทศไทย สําหนักงานภูเก็ต ทีจ่ ดั งานใหญกบั กิจกรรม แรลลี่ “ครอบครัวอาสา...เฮฮาสงกรานต 13-14 เมษายน 2555” โดยใช เสนทางภูเก็ต-พังงา-ระนอง โดยคํานึงถึงผูเขารวมกิจกรรมเปนหลัก เมอสถานการณปกติแรลลีค่ รัง้ นี้ จึ ง ดํ า เ นิ น ต อ ภ า ย ใ ต บรรยากาศที่ อ บอุ น แบบฉบั บ แรลลี่ ค รอบครั ว โดยมี ค ณะ แรลลี่เดินทางรวม 30 คัน และ มีครอบครัวจากกรุงเทพฯ รวม การเดินทางถึง 3 คัน คณะแรลลี่ ร วมตั ว ณ การทองเที่ยวแหงประเทศไทย สํานักงานภูเก็ต และเดินทางสู ตลาดเช้ า เพื่ อ ร่ ว มทํ า บุ ญ ตักบาตรวันปใหมไทย ณ สวน
72 พรรษา กอนเดินทางรวมปลอยรถอยางเปนทางการอีกครั้งที่สะพาน สารสิน ซึ่งถือเปนอีกหนึ่งสัญลักษณสําคัญที่เชอมระหวางเกาะภูเก็ตตรง บริเวณทาฉัตรไชย กับทานุน จังหวัดพังงา มีความยาวทั้งหมด 660 เมตร คูขนานกับสะพาน เทพกระษัตรี และสะพานทาวศรีสุนทร กอนเดินทางตอสูการผจญ ภัยเล็กๆ กับบรรยากาศธรรมชาติ โดยการลองแพไมไผชมธรรมชาติ 2 ฟากฝงของคลองลารู อําเภอ ทับละมุ จ.พังงา ซึง่ เกิด จากสายน้าํ ตก วังเคียงคู ไหลเปนลาธารเย็นๆ หลอ เลี้ยงธรรมชาติรอบขาง ใหชุมชน และอุ ด มสมบู ร ณ แ ละรั บ ประทาน อาหารรวมทามกลางบรรยากาศที่ อบอุน กอนมุงหนาสูอุทยานแหง ชาติ ศ รี พั ง งา เพื่ อ ร่ ว มกิ จ กรรม คื น ความเขี ย วขจี สู ป า พร อ มชม ความงามของฝูงปลาพลวง และ ทั ศ นี ย ภาพของอุ ท ยานแห ง ชาติ ศ รี พั ง งา โดยอุ ท ยานแห ง นี้ มี พื้ น ที่ ครอบคลุมทองที่ อ.คุระบุรี และอ.ตะกั่วปา จ.พังงา เปนอุทยานแหงชาติ 1 ใน 5 แหง ของโครงการจัดตั้งอุทยานแหงชาติเพอการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ในวโรกาสมหามงคลเฉลิม พระชนมพรรษา 5 รอบ ตอดวยการเติมเต็มความสดชนโดยแวะชิมกาแฟ ณ Kuraburi Greenview Resort กอนวิง่ ฟรีรนั ไปยัง ภูเขาหญา จ.ระนอง หรือ เขาหัวลาน หรือ เขาผี เขาหัวลานหรือเขาผีนี้ เปนภูเขาที่ ไมมี ไมใหญขึ้น ในฤดูฝน มีหญาเขียวขึ้นปกคลุมแนวเขาที่ทอดตัวจากทิศเหนือสู ทิศใต ไดรับการ ขนานนามวา ภูเขาหญา ทีร่ าบ เชิงเขามีทางเดินเทาสาหรับ นั ก ท อ งเที่ ย วขึ้ น สู บ นสั น เขา เพอชมทิวทัศนโดยรอบและสิ้น สุดกอนเขาสูที่พักโรงแรมทินี ดี จ.ระนอง อาบนาแรแชนา อุน ตามอัธยาศัย
102 l May 2012
Energy#42_p102_Pro3.indd 102
4/26/12 10:57 PM
แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)
ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ
ชาย
หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........
ตําแหนง :
เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................
อาชีพ :
นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค
นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา
ลักษณะงานของหนวยงาน :
วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ
วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................
สถานที่จัดสงนิตยสาร
ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)
วิธีชําระเงิน
เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........
สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด
โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่
www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ
เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต
HO
ro P T
m
!! n otio
May 2012 l 103
Energy#42_p103_Pro3.indd 103
4/26/12 11:30 PM
Energy Thinking โดย : ขบคิด
คนไทยอานหนังสือ เฉลี่ย... เทาไหรตอป มีหลายคนเคยกลาวไววา คนไทยเสียเวลากับการอานหนังสือเฉลี่ย ตอปนอยมาก บางก็บอกแค 5-10 บรรทัด บางก็บอกวาประมาณ 2 เลม(ไมรูเลมเล็ก หรือใหญขนาดไหน) จากการที่เราฟง หรือเสพสื่อเรื่อง ดังกลาว ทําใหตองมานั่งคุนคิดวา “คนไทยเปนถึงขนาดนั้นเชียวหรอ” แต ก็คงตองเชื่อๆ เขากันไป เพราะหลายคนทีอ่ อกมาพูดเรื่องดังกลาวดูเหมือน จะมีเรื่องของความนาเชื่อถือเปนเครื่องการันตีติดหลังอยูแลว ตามความคิดเห็นสวนตัวที่ ไมเกี่ยวกับใคร คนไทยไมนาจะเปนถึง ขนาดนั้น เพราะอยางไรเสียชีวิตประจําวันของคนหนึ่งคน ตองปะหนากับ ตัวหนังสือไมนอยกวา 5-10 บรรทัดแนนอนอยูแลว ไมวาจะตองอานอยาง ตั้งใจหรืออานผานๆ ก็ตาม เชื่อวาทีห่ ลายคนออกมาวิเคราะหเรื่องดังกลาววาคนไทยเปนเชนนัน้ เพราะความรวดเร็วของขาวสารและสารความบันเทิงในยุคปจจุบัน จนบาง คนบอกเลิกการรับหนังสือพิมพชวงเชาไปเลยก็มี เพราะแคเปดทีวีชวงเชา ของทุกวันก็เหมือนเราอานขาวโดยที่ ไมตอ งควานหาแวนตาใหเมื่อยมือ ทัง้ ๆ ที่รายการเลาขาวตอนเชาๆ ก็เอาหนังสือพิมพที่เราพึ่งบอกเลิกรับมาเลา ใหเราฟงอยูดี คิดงายๆ ถึงแมวาเราจะฟงรายการเลาขาวเชาหรือเสพสื่อมาอยาง เต็มอิ่มแลว เมื่อคุณตองไปทํากิจกรรมประจําวันสักแหงไมวาจะไปทํางาน ทานอาหารกลางวัน รับกิ๊ก สงแฟน ยอมมีเรื่องของตัวหนังสือบังคับให เราอานโดนไมรูตัวมากมาย หรือ ณ สถานที่แหงใดก็ตามมีหนังสือพิมพ หรือนิตยสารวางอยู อาการคันไมคันมืออยากหยิบจะเกิดขึ้นทันที จนบาง ครั้งอาจมีเคื่องกับบาง เมื่อถูกตัดหนาหนังสือที่เราหมายปองไวดวยซ้ํา แนนอนวาคุณคงไมไดหยิบหนังสือเหลานั้นมาเพื่อพับจรวดเลนแนนอน ที่สําคัญ ดวยความกาวหนาทางเทคโนโลยี การเขาถึงสื่อเปนเรื่อง ที่งายดายมากยิ่งขึ้น เพียงแคหยิบโทรศัพทออกมาจากกระเปา คุณก็ สามารถเสพขาวสารและความบันเทิงตางๆ ไดเพียงปลายนิ้วสัมผัส โดย เฉพาะสื่อจําพวก social network หรือ Facebook ที่ ไมเปนเพียงแคการอัพ รูปขาวปลาอาหาร หรืออวดเพื่อนๆ วาอยูท ี่ ไหนหรือทําอะไรอยูเ ทานัน้ สาระ ก็มีใหหาอานเพื่อเพิ่มรอยหยักบนสมองมากมาย รวมถึงเรื่องไรสาระก็ ไม
นอยเชนกัน แตเราก็สามารถเสียเวลาเพื่ออานสิ่งเหลานั้นได เรื่องของการอาน ยังไมถกู ยกเวนสําหรับผูท ี่ ไมสามารถอานหนังสือ ออกได แนนอนวาไมใชเรื่องผิด แตเปนเรื่องของตนทุนชีวิตและโอกาสทาง สังคมของแตละคนที่ ไมเทากันมากกวา จากประสบการณตรง เคยมีโอกาส รูจักคนๆ หนึ่ง เขาเปนคนที่อานหนังสือไมออกเลย ชีวิตนี้เขียนไดแคชื่อ ของตัวเองเทานัน้ แตเขาเปนคนทีร่ ูเ สนทางของกรุงเทพฯ อยางทะลุปโุ ปรง และสามารถขับรถออกตางจังหวัดไดอยางสบาย เพราะมีอาชีพเปนคนขับ รถสงของ สอบถามจึงไดความวา เขาอาศัยการจําเปนหลัก ไม ใชจํา เสนทาง แตเปนการจําตัวอักษรที่เรียงกันบนปายจราจร ซึ่งการจําในที่นี้ ก็เปนเหมือนการอานของเราๆ ทานๆ นั้นเอง ดวยเหตุผลงายๆ แบบไมตองไปลวงลึกมากมาย ถึงเรื่องประเด็น ของการอานหนังสือของคนไทย จึงมองวาเปนเรื่องที่คอนขางฟงไมขึ้น และออกจะเบนไปในทางเรื่องตลกเสียดวยซ้ํา ก็ตองขอออกตัวกอนวาไมได ตั้งใจพาดพิงถึงใครในเรื่องดังกลาว ก็แคออกความคิดเห็นตามภาษาคนที่ ขี้สงสัย หรือออกไปทางขวางโลก สิง่ หนึง่ ทีเ่ ชื่อคือ คนไทยไมไดอา นหนังสือนอยแตอยางไร แตวา เรื่อง ของการอานจะแวะเวียนเขามาในชีวิตของเราเอง โดยที่เราไมทันไดตั้งตัว จนบางครั้งเรานึกขึ้นมาไดวาเราเคยอานเนื้อหาหรือประโยคมาเรื่องหนึ่ง แตเรานึกไมออกวาไดอานมาจากที่ใด รูเพียงแตวาจําได ซึ่งนั้นคือการอาน โดยไมรูตัว เพราะฉะนั้นรอยหยักบนสมองของเราไมมีทางตื้นลงกวาเดิม อยางแนนอน หากเราๆ ทานๆ ยังมีการใชชีวิตอยูบนโลกใบนี้ ถึงแมจะ เปนการอานเพียงผานๆ สายตาก็ตาม
104 l May 2012
Energy#42_p104_Pro3.indd 104
4/27/12 11:46 PM
May 2012 l 105
Energy#42_p105_Pro3.indd 105
4/27/12 11:34 PM
Experience Interchange
โตโยตา ชู Eco Dealership Outlet
ชวยลดพลังงาน-รักษสิ่งแวดลอม
เรื่องของการใสใจสิ่งแวดลอม ถือเปนเรื่องสําคัญที่ผูประกอบการ ไมควรมองขาม เห็นไดจากปจจุบนั องคกรใหญๆ ไดเนนหนักในเรื่องดังกลาว อย่างต่อเนื่อง และบรรจุอยู่ ในแผนพัฒนาองค์กร เพื่อเป็นการแสดง ความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม ลาสุด บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด รวมกับ สถาบันอาคารเขียวไทย ลงนามบันทึกขอตกลง ความรวมมือในการดําเนินการออกแบบและปรับปรุงอาคาร และศูนยบริการ ภายใตมาตรฐานการตรวจประเมิน Thai Green Building Certification ของ สถาบันอาคารเขียวไทย สถาบันอาคารเขียวไทย เกิดขึ้นจากความรวมมือระหวาง สมาคม สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ และวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อสงเสริมการศึกษาและเผยแพรความรูใ นการออกแบบ กอสรางและจัดการอาคารประหยัดพลังงานทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม โดยได มีการเปดตัวขอกําหนดมาตรฐานอาคารเขียวของไทย พรอมทั้งจัดทํา พิธีลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ “การพัฒนาและปรับปรุงอาคาร” กับหนวยงานเจาของอาคารทีม่ คี วามประสงคในการเขารวมโครงการ ซึง่ หนึง่ ในนัน้ คือ บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด ที่ผานมา บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด มีนโยบายให ผูแทนจําหนายฯ บริหารจัดการโชวรูมและศูนยบริการทุกแหงทั่วประเทศ ภายใตมาตรฐานสิ่งแวดลอม ISO 14001 อันเปนสวนหนึ่งของแนวทาง การดําเนินธุรกิจขององคกรที่วาดวยการบูรณาการ ความรวมมือในการ รั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คมตลอดห ว งโซ ธุ ร กิ จ และในโอกาสดํ า เนิ น งานใน ประเทศไทยครบ 50 ป มีความตั้งใจในการยก ระดั บ การดํ า เนิ น งานด า นสิ่ ง แวดล อ มของ บริษัท-คู่ค้าให้ดีย่งิ ขึ้น เพื่อเป็นหนึ่งในช่องทาง การสงความสุข สรางรอยยิ้มใหแกลูกคา รวมถึ ง เป น ศู น ย ก ลางการเรี ย นรู ด า น สิ่งแวดลอมแกชุมชน สําหรับโครงการ Eco Dealership Outlet ที่รวมกับ สถาบันอาคารเขียวไทย ดวยการ กําหนดมาตรฐานการจัดสรางโชวรูมและศูนย บริการทีจ่ ะเกิดขึน้ ใหมทกุ แหง รวมถึงแนวทาง การปรั บ ปรุ ง ศู น ย บ ริ ก ารที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น ทัง้ หมด โดยมุง เนนการปรับปรุงตัวอาคารและ ภูมทิ ศั นภายนอกเพื่อชวยลดการใชพลังงานใหได มากกวาอาคารปกติถึง 30% ประกอบดวย แนวคิด การประหยัดพลังงาน (Economy) และ การดูแลรักษาสิง่ แวดลอม (Ecology) สิ่ ง สํ า คั ญ ในการก อ สร า งโชว รู ม
และศูนยบริการ คือการจัดวางผังอาคารและภูมิทัศน ใหสอดคลองกับ สภาพภูมปิ ระเทศและภูมอิ ากาศ การเลือกใชวสั ดุกอ สราง และการเพิม่ พืน้ ที่ สีเขียว เพื่อลดความรอนภายในบริเวณอาคาร อนุรักษน้ํา โดยการติดตั้ง อุปกรณชวยลดปริมาณการใชน้ํา และ การเลือกใชน้ําจากแหลงน้ําทดแทน น้ําประปา อนุรักษพลังงานไฟฟาและแสงสวาง ทั้งจากระบบปรับอากาศ ระบบแสงสวาง การออกแบบผังอาคารใหมีความสวางของแตละพื้นที่ เหมาะสมกับการใชงาน หรือการใชอุปกรณอัตโนมัติควบคุมแผงไฟ เลือก ใชวัสดุที่ชวยลดและสะทอนความรอนสูอาคาร ทั้งทางผนัง กระจก และ หลังคา ควบคุมคุณภาพสภาวะแวดลอมภายในอาคาร ทั้งการปองกัน มลภาวะจากภายนอก และการปองกันไมใหมลภาวะที่เกิดภายในอาคารไหล เขาสูระบบปรับอากาศ รวมถึงการหลีกเลี่ยงวัสดุที่มีสารพิษภายในอาคาร ทั้งนี้ การดําเนินงานภายใตมาตรฐาน Eco Dealership Outlet นอกจากจะชวยลดการใชพลังงาน ลดตนทุน และลดการปลอยมลพิษแลว การปรับภูมิทัศนและบรรยากาศในการทํางานที่ดี ยังเปนการสรางความ พึงพอใจของพนักงาน ทําใหพนักงานมีสุขภาพกายและใจที่ดี อันจะนํามา ซึง่ แรงจูงใจในการทํางานอยางเต็มศักยภาพ อันจะชวยใหเกิดเปน คุณภาพ ผลิตภัณฑและการบริการที่ดีไปสูลูกคาอีกทางหนึ่งดวย โตโยตา ยังมีแผนการผลักดันโชวรูมและศูนยบริการที่มีอยูจํานวน 3 3 3 แ ห ง ใ น ป จ จุ บั น ใ ห ป รั บ ป รุ ง ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ภ า ย ใ ต มาตรฐาน Eco Dealership Outlet เทาที่สามารถปรับเปลี่ยนไดโดยไมสง ผลกระทบต อ โครงสร า งอาคารเดิ ม ภายใต หั ว ข อ การอนุ รั ก ษ น้ํ า การอนุรักษพลังงานไฟฟาและแสงสวาง และการควบคุมคุณภาพสภาวะ แวดลอมภายในอาคารตอไป
106 l May 2012
Energy#42_p106_Pro3.indd 106
4/24/12 11:31 PM