นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 43 เดือนมิถุนายน 2555

Page 1



Energy#42_p3_Pro3.ai

1

4/27/12

12:10 AM


Contents Issue 43 June 2012

26 18

46 67

What’s Up 10 Energy News 64 Energy Around The World 72 Energy Movement

70 83

Cover Story 18 Cover Story : ความสําคัญของ “มาตรฐานสินคา” ประหยัดควบคูรับผิดชอบ 93 Special Scoop : มองศักยภาพปโตรเลียมไทย 100 Special Report : “เขื่อนแมวงศ” ไดไมคุมเสียจริงหรือ?

91

Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 51 Green4 U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 55 Greenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : สินเชื่อสําหรับสถานีบริการน้าํ มัน

Interview 38 Energy Keyman : ดร.ทรงภพ พลจันทร อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 41 Energy Keyman : คุณชนินท วองกุศลกิจ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) : 80 Energy Concept : นักศึกษาจุฬาลงกรณ ฯ โชวกึ๋น ปงไอเดียแผนธุรกิจเปนมิตรกับ 38 สิ่งแวดลอม High Light 14 Energy Focus : นับถอยหลัง... สู AEC บทบาทใหมประชาคมอาเซียน 32 Energy Best Award : Energy Animation Award 2011 ...รางวัลสรางจิตสํานึกแกเยาวชน

Residential : Worabura Resort & spa ในสไตล Colonial…แตใสใจดานพลังงาน Energy Tezh : รีไซเคิลโลหะเกาแปลงเปนของใหม สูการ ผลิตแบบ Mass Production Energy Test Run : NGV-DEVELOPMENT ผสาน NGV+ดีเซล Energy In Trend : “ฮีเลียม-3” บนดวงจันทร แหลงพลังงานใหม..ไมโม Insight Energy : นับถอยหลังตรึง NGV-LPG 3 เดือน ขนสงมวลชน... จอคิวเตรียมปรับราคา

46 41

4 l June 2012

Energy#43_p4,6_Pro3.indd 4

5/25/12 1:47 PM


Energy#42_p2_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

9:59 PM


Contents Issue 43 June 2012

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : ‘หมอตม’ หรือ ‘กระบอก’ ทําความรอน ‘กริลลอน’ 26 Green Industrial : ราชบุรีโฮลดิ้ง ลดคารบอนดวยสาหราย 30 Saving Corner : ประหยัดไฟ..ในโรงงานอุตสาหกรรม 44 Energy Design : รีไซเคิลดีไซน...สู Mission Zero 48 Energy management : แนวทางจัดการพลังงาน เพื่อคืนทุนให ธุรกิจ SMEs Alternative Energy & Transportation 84 Renergy : พลังงานขยะในเวียดนาม โดย คุณพิชยั ถิน่ สันติสขุ ประธานกลุม บริษทั ราชาอิควิปเมนท จํากัด และประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 68 Vehicle Concept : Lotus City Car Concept สปอรตจิ๋วลูกผสม... เมืองผูดี 78 Green Logistics : มองภาพ Green Logistics โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก Environment Protection 54 Green Vision : คุณชัชวาล คุณค้าํ ชู วิศวกรเชีย่ วชาญกรมโยธาธิการ และผังเมือง อาคารเขียวไมใชแคอาคารสีเขียว 58 Green Space : Green Library ฉีกแนว ทันสมัย และลดโลกรอน 60 Environment Alert : มุมมอง การจัดการสิ่งแวดลอมกับการ รั่วไหลสารเคมีโรงงานอุตสาหกรรม โดย คุ ณ รั ฐ เรื อ งโชติ วิ ท ย นั ก วิ ช าการสิ่ ง แวดล อ ม ชํานาญการพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

48

68 62

0 Waste Idea : ตามไปดูแนวทางการลดขยะแบบ 3Rs ของเมืองดับลิน ประเทศไอรแลนด โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนําน้าํ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : ขยะมีคา Reuse ของทิ้ง 86 Energy Exhibit : “Product fitness 80 - MUJI” นิทรรศการที่ตระหนักถึงการใชวัสดุและพลังงานเทาที่จําเปน 89 Environment & Energy Legal : โครงสราง... ราคาน้ํามัน ความเปนจริงที่ตองยอมรับ 102 Life Style : ตลาดน้ําหัวหินสามพันนาม ครบถวน วันพักผอนในที่เดียว 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : อยาเอาอดีตมา “กลุม” ปจจุบัน 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : เลือกประหยัดพลังงาน กับการลดแรงดันเครื่องอัดอากาศ

6 l June 2012

Energy#43_p4,6_Pro3.indd 6

5/24/12 10:52 PM



Editors’ Talk กระแสความแรงเรองสินคาแพง ประชาชนคิดไปเอง ถือเปนเรองที่ ทุกคนตางพูดถึงในเดือนที่ผานมา คงไมตองย้ําภาพกันอีก ดวยเหตุนี้หรือไม ทําใหรองรัฐมนตรี คุณกิตติรัตน ณ ระนอง ในฐานะรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการคลัง ตัดสินใจประกาศวารัฐบาลจะไมขยับอัตราภาษี ในทุก รายการที่จะมีสวนในการซ้ําเติมคาครองชีพกับประชาชน เชน ภาษีสรรพ สามิตน้ํามัน ภาษีมูลคาเพิ่มและภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา รวมถึงการปรับ โครงสรางภาษีที่กรมสรรพสากรและกรมสรรพสามิตกําลังศึกษาอยูดวย เนองจากเห็นวาประชาชนไดรับผลกระทบจากคาครองชีพที่สูงอยูแลว นอกจากนี้รัฐบาลจะยังไมขยับราคากาซหุงตมภาคครัวเรือนไปจนถึง สิน้ ป 2555 นี้ อยางไรก็ตามการจะไมปรับขึน้ เลย ทานบอกวาคงทําไดลาํ บาก เนองจากไทยตองปรับตัวเพี่อรับประชาคมอาเซียน (เออีซี) ในป 2558 ซึ่งราคาพลังงานของทั้งอาเซียนจะตองเปนไปในทิศทางเดียวกัน ไมเชนนั้น จะเกิดปญหาได ดังนัน้ ระหวางทางจะตองมีการทยอยปรับตัวรับราคาทีแ่ ทจริง อยางเลี่ยงไมได ขณะเดียวกัน ก็มีกระแสขาววาอีก 10 ปขางหนา ราคาน้ํามันจะ พุงกระฉูดเปน 2 เทา โดยการรายงานจาก เดอรการเดียน หนังสือพิมพ ระดับแนวหนาของอังกฤษ ระบุวา เอกสารวิจัยภายในของกองทุนการเงิน ระหวางประเทศ (ไอเอ็มเอฟ) ใชแบบจําลองคาดการณสถานการณน้ํามันใน ชวง 10 ปขางหนา เตือนวาเมอถึงป 2565 ราคาน้ํามันดิบที่ซื้อขายกันอยู ในตลาดโลกจะเพิ่มขึ้นจากระดับสูงสุดเปนประวัติการณ เมอไมนานมานี้ที่ 113 ดอลลารตอบารเรลอีกราวเทาตัว และระดับราคาดังกลาวจะคงอยู ถาวร ไมไดพุงขึ้นสูงแลวออนตัวลงเหมือนครั้งที่ผานมา สงผลกระทบตอ การคาระหวางประเทศของโลกอยางใหญหลวงตามมา ดูแลวในอนาคตเราคงตองฟาดฟนกันอีกในหลายเรองนะคะ เวลา 10 ป บอกไดเลยวาไมนานเลย เชนนั้นคงตองหาแหลงพลังงานใหมๆ หรือ ที่สํารองพลังงานกันอยางถาวรทาจะดี.. มาถึงเรองเดนประจําฉบับเดือนมิถุนายนกันบาง กลางป 2555 นี้ เราพุ่งเป้าไปที่เรื่องของการเพิ่มมูลค่าสินค้า เพิ่มการยอมรับ และเพิ่ม ศักยภาพ คุณคาสินคา ผลิตภัณฑ ดวยการใสมาตรฐานตีตราผลิตภัณฑ โดยมีทั้งบังคับและสมัครใจ ที่แนๆ มันสามารถตอยอดเพิ่มชองทางการ จําหนายใหผูประกอบการอยางตีมูลคาไมถูก นอกจากทานจะเปนผูนําที่มี ความรับผิดชอบตอสินคาที่ผลิตแลว เครองหมายมาตรฐานเหลานี้ยังเปน ใบเบิกทางการจําหนายในชองทางทีห่ ลากหลายรวมถึงเปนสินคาสงออกไดดว ย ..อยาลืมติดตามในเลมคะ

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

นัษรุต เถอนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

พัฒนาธุรกิจ/สมาชิก

สุทธิพล โกมลสิงห

การเงิน

ศิรินารถ แกวอุไร

ศิลปกรรม

วินัย แพงแกว

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l June 2012

Energy#43_p8_Pro3.indd 8

5/24/12 1:29 AM


Energy#42_p17_Pro3.ai

1

4/23/12

9:09 PM


Energy News

รมว.พน.ให ก ารต อ นรั บ และหารื อ ข อ ราชการ กั บ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจําประเทศไทย

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ไดใหการ ต อ นรั บ นางคริ ส ตี้ แอนน เคนนี ย (H.E. Mrs. Kristie Anne Kenney) เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกา ประจําประเทศไทย ซึ่งทั้งสองฝายไดมีการหารือขอ ราชการดานพลังงาน อาทิ การขอรับการสนับสนุนการสงออก LNG จากสหรัฐฯ มายัง ไทย โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณระหวางภาคเอกชนสหรัฐฯ กับ ภาคเอกชนไทย เพื่อเสริมสรางความสัมพันธทางการคาและการลงทุนระหวางกัน จัดขึ้น ณ กระทรวงพลังงาน

กทม.รวมกับ HSBC เปดหองสมุดสีเขียว ลดปญหาโลกรอน

กรุงเทพมหานคร รวมกับ ธนาคารเอชเอสบีซี ประเทศไทย และ พันธมิตรองคกรชั้นนํา เปดตัว โครงการหองสมุดสีเขียว ลดปญหาโลกรอน เพื่อพัฒนาใหเปนแหลงเรียนรูของชุมชน และเปนอาคารตนแบบประหยัดพลังงาน ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยมี ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาราชการ กรุงเทพมหานคร เปนประธานรับมอบหองสมุดสีเขียว ณ สวนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เขตลาดกระบัง

มาสดา เปดตัว มาสดา 2 และ 3 ใหม

นายโชอิชิ ยูกิ กรรมการผูจ ดั การ พรอมดวย นางสาวสุรที พิ ย ละอองทอง โฉมทองดี ผู อํ า นวยการฝ า ยการตลาด บริ ษั ท มาสด า เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัว มาสดา3 ใหม เครื่องยนต 1.6 ลิตร ชูความโดดเดน ด า นดี ไ ซน ค วามเป น สปอร ต โฉบเฉี่ ย วเหนื อ ระดั บ ภายใต ค อนเซ็ ป ต “MAKE YOUR MARK” พรอมเปดตัว มาสดา 2 ใหม เพิม่ ออฟชัน่ เบสตอนิ คลาสใสอปุ กรณ เพิ่มเติมครบครัน โดยมีพรีเซ็นเตอร ณเดชน คูกิมิยะ และ เป-อารักษ อมรศุภศิริ รวมงานอยางเปนทางการ ณ สโมสรกองทัพบก 10 l June 2012

Energy#43_p10-13_Pro3.indd 10

5/24/12 10:16 PM


แถลงขาว “พลังงานสรางชีวิต พลังความคิดสรางชาติ”

กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน จัดงานแถลงขาวโครงการ เผยแพรประชาสัมพันธเพื่อเสริมสรางความเชื่อมั่นดานการจัดหาและใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ “พลังงานสรางชีวิต พลังความคิดสรางชาติ” โดยมี นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปนประธาน แถลงขาวโครงการ พรอมเปดตัว “ณเดชน คูกิมิยะ” แอมบาสเดอรโครงการ ณ ลานอินฟนิซิตี้ ศูนยการคาสยามพารากอน

เปดตัว “Eco Dealership Outlet” แหงแรก

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน รวมกับ นายวิเชียร เอมประเสริฐสุข รองกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด และนางปอมเพชร สาริบุตร ผูจัดการ บริษัท โตโยตาไทยเย็น จํากัด สาขาปากชอง เปดตัวโชวรูมและศูนยบริการ Eco Dealership Outlet แหงแรกที่จัดสรางภายใตการตรวจประเมินมาตรฐานสิ่งแวดลอมจากสถาบัน อาคารเขียวไทย เพื่อเปนการยกระดับการดําเนินงานและการบริการใหมีความเปนมิตร กับสิ่งแวดลอมและชุมชนมากยิ่งขึ้น ณ บริษัท โตโยตา ไทยเย็น จํากัด สาขาปากชอง จังหวัดนครราชสีมา

มูลนิธิยุทธสาร ณ นคร รวมกับ อบก. จัดการแขงขัน โครงการแผนธุรกิจรานคาสีเขียว

นายวิชยั เบญจรงคกุล ประธานโครงการมอบทุนการศึกษาฯ มูลนิธยิ ทุ ธสาร ณ นคร เปดเผยวา ไดจดั การแขงขันโครงการ “การจัดทําแผนธุรกิจรานคาผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม” ประจําป 2554 โดยมีนิสิตนักศึกษาจากทั่วประเทศเขารวม โครงการกวา 30 ทีม และไดคัดเลือกเหลือ 13 ทีม และ 6 ทีมสุดทายตามลําดับ ชิง รางวัลทุนการศึกษามูลคาเกือบ 800,000 บาท พรอมไปทัศนศึกษาดูงาน Low Carbon City ณ ประเทศเกาหลีมูลคา 500,000 บาท June 2012 l 11

Energy#43_p10-13_Pro3.indd 11

23/5/2012 22:49


พพ. เปดตัวโครงการ “เครือขายคนทําดี สูผ นู าํ รักษพลังงาน”

นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน พรอมดวย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ ประธานองคกรธุรกิจเพื่อการ พัฒนาอยางยั่งยืน หรือ TBCSD และ ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูอํานวยการ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย รวมแถลงขาวเปดตัวเครือขายองคกรโครงการ “เครือขาย คนทําดี สูผูนํารักษพลังงาน” ซึ่งเปนโครงการรณรงคอนุรักษการใชพลังงานใน อาคารในรูปแบบสมัครใจ เพื่อสงเสริมและสรางจิตสํานึกใหองคกรภาคธุรกิจใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ ณ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

กกพ. เปด โครงการ 84 หองเรียน สํานักงาน กกพ.อนุรกั ษ พลังงานเฉลิมพระเกียรติ

สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดงานแถลง ขาวและพิธีเปด โครงการ 84 หองเรียน สํานักงาน กกพ.อนุรักษพลังงาน เฉลิมพระเกียรติ โดยมี ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.ดิเรก ลาวัณยศิริ ประธานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) กลาวเปดโครงการ ซึ่ง โครงการนี้มีเจตนารมณในการใหความรู ปลูกจิตสํานึกเยาวชนอนุรักษพลังงาน อีกทั้งเพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติในหลวงเนื่องในวโรกาสครบ 84 พรรษาดวย ณ โรงแรมแกรนด เมอรเกียว ฟอรจูน

SPCG เดินหนาเปดโซลาฟารมขอนแกน 1

นางสาววันดี กุญชรยาคง กรรมการผูจ ดั การใหญ บริษทั เอสพีซจี ี จํากัด (มหาชน) ไดแถลงขาวเปดโครงการโซลาฟารม (ขอนแกน 1) ขนาด 6 เมกะวัตต ซึ่งเปนโครงการใน 34 โครงการของบริษัท และเปนโครงการที่ 9 ที่ จําหนายไฟฟาใหกบั การไฟฟาสวนภูมภิ าค โดยตัง้ อยู ต.บานคอ อ.เมือง จ.ขอนแกน บนเนื้อที่กวา 86 ไร ในงานนี้ ไดรับเกียรติจากหลายหนวยงานเขารวมแสดง ความยินดี 12 l June 2012

Energy#43_p10-13_Pro3.indd 12

23/5/2012 22:50


ติ ด ตามความก า วหน า “โครงการเกาะพลั ง งานสะอาด (Green Island) นายไกรฤทธิ์ นิลคูหา อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน พรอมคณะ เดินทางไปติดตามความกาวหนาโครงการตางๆ บนเกาะ พะลวย เกาะตนแบบพลังงานสะอาดแหงแรกของประเทศ ณ เกาะพะลวย อ.เกาะสมุย จ.สุราษฏรธานี เมื่อวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2555 ที่ผานมา

CPF โชว 5 รางวัล Thailand Energy Awards 2011

CPF นําสื่อมวลชนเยี่ยมชมโรงงานแปรรูเนื้อไก อ.โชคชัย จ.นครราชสีมา พรอม โชว 5 รางวั ล Thailand Energy Awards 2011 โดยโรงงานแปรรู ป เนื้ อ ไก นครราชสีมาและโรงงานแปรรูปเนื้อไกมีนบุรี ไดรับรางวัลประเภทอนุรักษพลังงานดีเดน โรงงานแปรูปเนื้อไกสระบุรีไดรับรางวัลประเภทบุคลากรผูรับผิดชอบดานพลังงาน โรงงานควบคุมดีเดน โรงงานผลิตอาหารสัตวน้าํ บานบึงไดรบั รางวัลประเภททีมงานดาน พลังงานดีเดน และโรงงานผลิตอาหารสัตวน้ํามหาชัยไดรับรางวัลชมเชยประเภท พลังงานสรางสรรค เรียกไดวาเปนการตอกย้ําองคกรอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ไดอยางดี

ฮอนดาเปดตัว CIVIC รองรับ E85

นายพิทักษ พฤทธิสาริกร รองประธาน อาวุโส บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด พรอมผูบ ริหารรวมเปดตัว Honda Civic ใหม อยางเปนทางการ โดยเปนการปรับโฉมตลอดทั้งคัน เนนทุกรายละเอียดสูความสมบูรณแบบ รวบรวม ความโดดเดนของแตละเจนเนอเรชั่นที่ลูกคาทั่วโลก ชื่ น ชอบมาไว้ ในซี วิ ค รุ่ น ใหม่ ล่ า สุ ด ครบครั น ด้ ว ย เทคโนโลยีอจั ฉริยะและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ทัง้ ยัง เปนรุนแรกของฮอนดาที่สามารถใชน้ํามันเชื้อเพลิง เอธานอล E85 มีจําหนาย 5 รุน ตั้งเปายอดขายไว ที่ 35,000 คันในหนึ่งป June 2012 l 13

Energy#43_p10-13_Pro3.indd 13

5/24/12 10:17 PM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

นับถอยหลัง... สู AEC บทบาทใหมประชาคมอาเซียน

ชวงนี้ สิ่งที่เริ่มไดยินกันจนคุนสําหรับผูที่ติดตามขาวบานเมือง บานเรา เห็นจะเปนคําวา “AEC” ที่เริ่มเขามามีบทบาทกับการดํารง ชีวิตของเราเกือบทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ ดานพลังงาน และดานการเมือง ซึง่ แนนอนวาสิง่ เหลานีล้ ว นถือเปนเรองไมอาจหลีก เลี่ยงได และเปนสิ่งที่กําลังเปลี่ยนแปลงชีวิตของเราอยางไมรูตัว ทําความเขาใจกับคําวา “AEC” กันกอนดีกวา ซึ่งยอมาจาก Asean Economics Community เปนการรวมตัวขอประเทศในอาเซียน เพอใหมี ผลประโยชนทางเศรษฐกิจรวมกัน มีรูปแบบคลายๆ กลุมประเทศในแถว ยุโรปทําใหมีผลประโยชนและอํานาจตอรองตางๆ กับการทําธุรกิจมากขึ้น รวมถึงยังเปนการเปดโอกาสในการนําเขา สงออกของชาติในอาเซียนอยาง เสรี ยกเวนสินคาบางชนิดที่แตละประเทศอาจจะขอไวไมลดภาษีนําเขา ซึ่งการรวมตัวของกลุมประเทศอาเซียนเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะ มีผลจริงในวันที่ 1 มกราคม 2558 แนนอนวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น อยางแนนอน

ดานการจัดหาแหลงพลังงานจากประเทศใน AEC จะทําไดสะดวก ซึง่ การแขงขันเปนปจจัยขับเคลอนใหเกิดประสิทธิภาพมากขึน้ โอกาสในการ ขยายและสงออกเทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการอนุรกั ษพลังงานจะเพิม่ สูงขึ้น รวมถึงการจัดทํามาตรฐานและโครงการพัฒนาบุคลากรดาน พลังงาน แตความเชอมโยงดานพลังงานกับอาเซียนจะมีความสามารถใน การซื้ อ พลั ง งานไม ม ากนั ก ซึ่ ง ภาพรวมของอาเซี ย นเป น ตั ว ชี้ วั ด ประสิทธิภาพดานพลังงานเปนอยางดี ที่ผานมามีการเติบโตเพียง 0.5% ตอป ถือวานอยมากหากมองไปในอนาคต แสดงวายังปรับปรุงไดไมเต็มที่ ยังมีโอกาสปรับปรุงใหดีขึ้น ซึ่งปจจุบันความตองการเชื้อเพลิงหลัก คือ น้ํามัน, ถานหิน และกาซธรรมชาติ และอาเซียนมีเชื้อเพลิงเหลานี้มากอยู แลว แตถูกครอบงําในบางประเทศ เชน บรูไน, มาเลเซีย และอินโดนีเซีย การประชุมรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังอาเซียน (ASEAN Finance Ministers’ Meeting: AFMM) ครั้งที่ 16 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา มีการหารือรวมกันถึงความคืบหนาในการดําเนินงานดาน ตางๆ ภายใตกรอบ AEC ซึง่ ทีป่ ระชุมมัน่ ใจวาความแข็งแกรงของเศรษฐกิจ ในภูมิภาคอาเซียนในปนี้ จะขยายตัวไดดีทามกลางความผันผวนของ เศรษฐกิจโลกและทามกลางราคาพลังงานที่สูงขึ้น ซึ่งขณะนี้ประเทศในกลุม อาเซียนตองติดตามอยางใกลชิดตอไป ทั้งนี้ วิกฤตพลังงานอาจขึ้นไดในอนาคตหากไมทําอะไร แมวันนี้ยัง ไมเกิดแตหากมองไปในอนาคต จะตองเตรียมรับมือหรือไม เมอมองไปถึง ความตองการพลังงานในอนาคต ป 2030 คาดวาความตองการพลังงาน

AEC ใหอะไรกับเราดานการเปลี่ยนแปลง

เริ่มที่การลงทุนจะมีความเปนเสรีมากขึ้น สามารถลงทุนที่ ไหนก็ ได และประเทศไทยนาจะเปนศูนยกลางของอาเซียน เพราะมีความโดดเดนหลาย ดาน โดยเฉพาะดานการจัดการประชุมตางๆ, การแสดงนิทรรศการ, ศูนย กระจายสินคา และยังเดนเรองการคมนาคมอีกดวย คาดวาการคาจะขยาย ตัวอยางนอย 25% ในสวนของอุตสาหกรรมยานยนต, การทองเที่ยว และ คมนาคม แตอุตสาหกรรมที่นาเปนหวงของไทยคือ ภาคการเกษตร, กอสราง, อุตสาหกรรรมสิ่งทอจะไดรับผลกระทบ เนองจากฐานการผลิต อาจยายไปประเทศที่ผลิตสินคาทดแทนได สวนการคาขายบริเวณชายแดน จะคึกคักมากขึ้น ดานศุลกากรชายแดนอาจมีบทบาทนอยลงมาก แตที่ตอง ระวังคือ ปญหาเรองยาเสพติด และปญหาสังคม 14 l June 2012

Energy#43_p14,16_Pro3.indd 14

5/22/12 11:35 PM



จะเพิ่มขึ้นถึง 1.7 เทา ถายังไมทําอะไร โดยเฉพาะความตองการ พลังงานชนิดตางๆ ไมวา จะเปน ¹éÒí มันดิบ, กาซธรรมชาติ, นิวเคลียร หรือพลังงานหมุนเวียน แนนอนวาความตองการพลังงานจะมีเพิ่ม มากขึ้นเรอยๆ ถาภาคการผลิตยังเติบโตอยางตอเนองเชนปจจุบัน

แหลงพลังงานกลุมสมาชิก AEC

หากมีการจับมือกันระหวางประชาคมอาเซียนดานพลังงาน ถือเปนความรวมมือที่ดีเพราะกลุมประเทศอาเซียนมีความไดเปรียบ ดานพลังงานที่หลากหลายและคอนขางอุดมสมบูรณ อาทิ ประเทศ พมา, ลาว และเวียดนามตอนเหนือ มีศกั ยภาพในการใชน้าํ ผลิตไฟฟา อยูมาก โดยเฉพาะพมามีศักยภาพหลายหมนเมกะวัตต ถาใช¹éíÒมา ผลิตไฟฟาทั้งหมด กําลังผลิตอาจถึงแสนเมกะวัตต นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาวาถาสรางเขอนกั้นแมน้ําสาละวิน อาจใชเปนโรงงาน ไฟฟ า หลั ก ได เ ที ย บเท า กั บ โรงงานถ า นหิ น และก า ซธรรมชาติ ไ ด รวมถึงกาซธรรมชาติดวยที่มีคอนขางมาก ลาวก็เปนอีกประเทศที่ศักยภาพในการผลิตไฟฟาจากน้ําได ระดับหลายหมนเมกะวัตต เพียงแคแมน้ําโขงอยางเดียว ก็สามารถ ผลิตไดหลายพันเมกะวัตต โดยยังไมตองพูดถึงแม¹éíÒอนในลาวเลย สวน ประเทศเวียดนาม ตอนเหนือมี¹éíÒมาก ตอนใตมีกาซมาก ประเทศกัมพูชา เป น อี ก ประเทศที่ มี แ หล ง ก า ซเยอะในแหล ง ทั บ ซ อ นอย า งอ า วไทยตรง พรมแดนไทย-กัมพูชา ปริมาณใกลเคียงกับปริมาณกาซในอาวไทย ดาน มาเลเซีย ก็มีก๊าซเยอะ มีถ่านหิน และมีน้ํามาก โดยมีเขื่อนขนาดใหญ่ สามารถผลิตไฟฟาไดหลายพันเมกะวัตต ถือไดวา มาเลเซียมีแหลงพลังงาน มากและหลากหลาย อี ก ทั้ ง แหล ง ก า ซของมาเลเซี ย ยั ง ติ ด อั น ดั บ 14 ของโลก สวนบรูไนนอกจากจะมีน้ํามันมหาศาลแลว ยังมีกาซธรรมชาติที่สง ออกเปน LNG ขายญี่ปุนและเกาหลีเปนหลัก ประเทศอินโดนีเซีย มีกาซมาก ที่แหลงนาทูนาตะวันออก มีปริมาณสํารองมากกวา 190 คิวบิคฟุต เพียง พอตอการใชไดเกิน 60 ป สวนถานหินก็มีใชไดมากกกวา 150 ป เปนแหลง ใหญที่สงออกทํารายไดใหประเทศมากและยังเปนประเทศในกลุม OPEC ที่ มีน้ํามันมากอีกดวย สวนฟลิปปนส มีกาซมาก และมีภูเขาไฟเยอะ มี¹éíÒพุ

รอนใชผลิตไฟฟาแบบความรอนใตพภิ พไดถงึ 13% ของประเทศ เปนอันดับ สองของโลก สวนไทยเองมีกาซมากในอาวไทย มีถานหินลิกไนตที่แมเมาะ แต่ยังไม่เยอะมากเมื่อเทียบกับอินโดนีเซีย จะเห็นว่าย่านอาเซียนอุดมสมบูรณในแหลงพลังงานคอนขางมาก แมวา กลุม ประเทศอาเซียนจะมีแหลงพลังงานคอนขางเยอะ แตปจ จุบนั ประเทศไทยยังนําเขาพลังงานคิดเปน 60% ของพลังงานที่ ใชทั้งประเทศ ในป 2020 ตัวเลขนี้จะเพิ่มขึ้นเปน 80% และมีแนวโนมจะมากขึ้น สวนความ ตองการพลังงานของประเทศอาเซียนจะเพิม่ อยางตอเนองเชนกันและในอีก 20 ปขางหนา อาเซียนจะตองพึ่งพาการนําเขาเชื้อเพลิงมากขึ้นเปนทวีคูณ ปญหาคือ ราคาทีเ่ หมาะสมควรเปนเทาไร เพราะถายินดีสูร าคาทุกระดับ ยัง ไงก็หาแหลงพลังงานได แตหากมีกําลังจํากัดที่ราคาระดับหนึ่ง ก็จะมีขอ จํากัดในการหาแหลงพลังงานมากขึ้น งานนี้ โหรพลังงาน ไมอาจฟนธงไดถงึ อนาคต หากประเทศไทย กาวเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป 2558 วาจะสงผลกระ ทบอยางไร ประเทศไทยจะมีบทบาทอยูตรงไหนในประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เปาหมายดานเศรษฐกิจหลักที่สําคัญในการขับเคลอนความรวม มือระหวางอาเซียน ภายหลังการลงนามจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ คือ การเปนตลาดและเปนฐานการผลิตรวมถึงเงิน ลงทุนที่เสรีมากขึ้น มีความสามารถในการแขงขันสูง มุงสรางความเทา เทียมในการพัฒนาเศรษฐกิจระหวางประเทศอาเซียน และการสงเสริมการ รวมกลุมอาเซียนเขากับประชาคมโลก ซึ่งเปนเรองที่ตองติดตามกันตอไป เพราะไมไดมีแคเรองความรวมมือเพียงอยางเดียว แตมีเรองของประเพณี วัฒนธรรม ภาษา การเมืองและสังคม ฯลฯ ซึ่งแตละประเทศลวนมีความ แตกตางกัน

16 l June 2012

Energy#43_p14,16_Pro3.indd 16

5/22/12 11:42 PM



Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

ความสําคัญของ “มาตรฐานสินคา” ประหยัดควบคูรับผิดชอบ 18 l June 2012

Energy#43_p18-23_Pro3.indd 18

5/24/12 10:42 PM


มาตรฐานสิ น ค า ถื อ เป น เครื่ อ งหมายรั บ รองว า สิ น ค า นั้ น มี คุณลักษณะพิเศษ โดดเดนกวาสินคาทั่วไป อาทิ เปนสินคาประหยัดไฟ เปนสินคาที่มีกระบวนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เปนสินคาที่ สามารถสงออกไปยังตางประเทศไดดวยผานขอกําหนดตางๆ แลว เปนตน อยางคําที่เราคุนหูกันมานานนม คําวา มอก. ซึ่งเปนคํายอมาจาก “มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม” หมายถึงขอกําหนดทางวิชาการที่ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม(สมอ.)ไดกําหนดขึ้นเพื่อเปน แนวทางแกผูผลิตในการผลิตสินคาใหมีคุณภาพในระดับที่เหมาะสมกับการ ใชงานมากที่สุดโดยจัดทําออกมาเปนเอกสารและจัดพิมพเปนเลม นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายหนวยงานที่เกี่ยวของ ไดเล็งเห็นความ สําคัญในการกระตุนเตือนจิตสํานึกผูผลิต ผูบริโภคใหหันมาใสใจตอการ ประหยัดพลังงานและรับผิดชอบตอทรัพยากรที่ ใชผลิตสินคามาใชในชีวิต ประจําวัน โดยเราจะไปไลเรียงดูกันวา มีมาตรฐานสินคาอะไรบางที่บงบอก คุณคาและความรับผิดชอบตอสังคมในยุคปจจุบัน

ฉลากประหยัดไฟเบอร 5

เริม่ จากการจัดงานดานการใชไฟฟา (Demand Side Management หรือ DSM) เปนภารกิจที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติให กฟผ. ดําเนินการรณรงค สงเสริมใหประชาชนใชไฟฟาอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ ตั้งแตวันที่ 3 ธันวาคม 2534 และไดเปดตัวอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2536 ภายใตชื่อ “โครงการประชารวมใจ ประหยัดไฟฟา” (Together Conservation) และไดดําเนินการโครงการ “ฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5” มาโดยตลอด ปัจจุบัน กฟผ. ยังคงดําเนินการต่อเนื่องกับโครงการ “ฉลาก ประหยัดไฟฟาเบอร 5” โดยการประสานแนวทางปฏิบัติใหสอดคลองกับ นโยบายของกระทรวงพลังงาน โดยรวมเปนคณะทํางานดานมาตรฐาน ประสิทธิภาพพลังงานดูแลงานฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 ซึ่งมีมาตรฐาน ตรากระทรวงพลังงานกํากับอยูในรูปลักษณโฉมใหม ฉลากประหยัดไฟฟา เบอร 5 โดยโครงการฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 มุง รณรงคสง เสริมใหเกิด การใชพลังงานไฟฟาอยางรูคุณคา และมีประสิทธิภาพ ดวยวัตถุประสงค ในการดําเนินโครงการ ดังนี้ 1. เพื่อรณรงคใหผูผลิต/ผูนําเขา ผลิตและนําเขาอุปกรณไฟฟาที่มี ประสิทธิภาพสูงและมีราคาที่เหมาะสม

2. จูงใจและเสริมสรางทัศนคติการประหยัด ไฟฟาแกประชาชน โดยใหความรูและสรางความเขาใจ ที่ถูกตองเกี่ยวกับการใชพลังงานไฟฟาที่ถูกวิธีและมี ประสิทธิภาพ 3. เสนอทางเลือกของผูบริโภคในการตัดสินใจ เลือกซื้อผลิตภัณฑที่มีประสิทธิภาพสูง 4. สนับสนุนและแสวงหาเทคโนโลยีการประหยัด ไฟฟา รวมทั้งการบริหารการใชไฟฟาเพื่อนําพลังงาน ไฟฟ า มาใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด ต อ ผู บ ริ โ ภคและ ประเทศชาติโดยรวม การดําเนินงาน เพื่อให้การดําเนินโครงการ “ฉลากประหยัด ไฟฟาเบอร 5” บรรลุผลในการลดการใชพลังงานโดยรวม ของชาติ และลดผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม จึงมีความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองไดรับความรวมมือรวมใจของ กฟผ.อยางจริงจังจากทุกๆ ฝาย ดังนั้น แนวทางในการดําเนินโครงการจึงมุงที่จะใชวิธีจูงใจ โดยการสราง การรับรู และความเขาใจที่ถูกตองในการใชพลังงานไฟฟาอยางรูคุณคา แกประชาชนคนไทยทั้งประเทศ โดยแบงกลุมเปาหมายออกตามประเภทของ ผู ใ ช ไ ฟฟ า คื อ กลุ ม ภาคที่ อ ยู อ าศั ย กลุ ม ภาคธุ ร กิ จ และกลุ ม ภาค อุตสาหกรรม ดวยการใชกลยุทธที่เรียกวา “3 อ.” คือ อุปกรณประหยัด ไฟฟา อาคารประหยัดไฟฟา และอุปนิสัยประหยัดไฟฟา โดยเครื่องปรับอากาศ จะเปนอุปกรณไฟฟาที่มีการเติบโตสูง และใช พลังงานไฟฟาสูงสุด ทั้งในบานพักอาศัย และในภาคธุรกิจ กฟผ.ไดขอ ความรวมมือกับผูผลิต เครื่องปรับอากาศใหเขารวมโครงการเพื่อกําหนด ระดับประสิทธิภาพและพัฒนาเครื่องปรับอากาศเพื่อติดฉลากแสดงระดับ ประสิทธิภาพเบอร 5 เพื่อติดฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพตามมาตรฐาน สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) โดยสถาบันไฟฟาและ อิเล็คทรอนิคส (สฟอ.) เปนหนวยงานทดสอบคาประสิทธิภาพ สําหรับเกณฑที่ ใชกําหนดประหยัดไฟเบอร 5 หมายถึง ทานจายคา กําลังไฟฟา 1 หนวย จะไดความเย็นไมนอยกวา 10,600 บีทียู ซึ่งเครื่องปรับอากาศปกติ โดยทั่วไปทานจายคาไฟฟา 1 หนวย จะไดความเย็นประมาณ 7,000-8,000 บีทียูเทานั้น ก็หมายความวาถาใชเครื่องปรับอากาศเบอร 5 จะประหยัด ไฟฟาไดประมาณ 35%

June 2012 l 19

Energy#43_p18-23_Pro3.indd 19

5/25/12 2:02 PM


ฉลากเขียว

ฉลากเขียว (Green label) หรือฉลากเพื่อ สิ่งแวดล้อม เป็นเครื่องมือทางการตลาดที่ ใช้ สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม และเพื่อแสดง วาเปนผลิตภัณฑที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม น้ อ ยกว่ า เมื่ อ เที ย บกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ทํ า หน้ า ที่ อยางเดียวกัน อันเปนแนวคิดของการพัฒนา อย า ง ยั่ ง ยื น ใ น รู ป ข อ ง ค วา ม สมั ค ร ใ จ เ พื่ อ ก ร ะ ตุ้ น จิ ต สํ า นึ ก ข อ ง ผู้ บ ริ โ ภ ค ใ ห้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค และสราง ความกดดันใหกับผูผลิต ในการปรับปรุงคุณภาพ ของสินคาและบริการ ในดานเทคโนโลยีโดยคํานึงถึง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ และยังเปนวิธีที่ใหผูบริโภค เปนผูตัดสินใจวาตองการมีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอมเพียงใด ฉลากเขียวนี้มีการเริ่มใชครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2520 ในประเทศ เยอรมนี ปจจุบันมีการจัดทําโครงการฉลากเขียวมากกวา 20 ประเทศ เชน ญี่ปุน สิงคโปร อเมริกา ฝรั่งเศส เปนตน สําหรับประเทศไทยนั้น ไดเริ่ม โครงการนี้ เ มื่ อ พ.ศ. 2536 โดยคณะกรรมการนั ก ธุ ร กิ จ เพื่ อ สิ่งแวดลอมไทย และไดรับความรวมมือจาก กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม และองคกรเอกชน อื่นๆ ฉลากเขียวนี้ ไดรับการจดทะเบียนสิทธิ์กับกรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย ใหเปนเครื่องหมายรับรอง การนําฉลากเขียวไปใชโดย ไมไดรับอนุญาต หรือไมรักษามาตรฐาน จะมีการดําเนินการตามกฎหมาย หลักการคัดเลือกผลิตภัณฑเพื่อใชฉลากเขียว 1. เปนผลิตภัณฑที่ ใชอุปโภค บริโภคทั่วไปในชีวิตประจําวัน 2. คํานึงถึงผลกระทบของผลิตภัณฑที่มีตอสิ่งแวดลอม และคุณ ประโยชนทางสิ่งแวดลอมที่ ไดรับเมื่อผลิตภัณฑนั้นจําหนายออกสูตลาด 3. วิธีการตรวจสอบตองไมยุงยากหรือเสียคาใชจายในการประเมิน คุณภาพของผลิตภัณฑตามขอกําหนดทางสิ่งแวดลอมสูงเกินไป 4. ตองเปนผลิตภัณฑที่ผูผลิตมีทางเลือกอื่นในการผลิตที่จะทําให เกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวา 5. ผลิตภัณฑที่จะขอรับการประเมินเพื่อไดรับฉลากเขียวนั้น ตอง

ไม่ ใ ช่ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น สิ น ค้ า ประเภทยา เครื่ อ งดื่ ม และ อาหาร เนื่องจากมีความเกี่ยวของกับสุขภาพความ ปลอดภัยในการบริโภค มากกวาดานสิ่งแวดลอม ถ า ติ ด ฉลากเขี ย วจะสร า งความสั บ สนให แ ก ผูบริโภคได ผลิตภัณฑที่จะไดรับฉลากเขียวนั้นตอง ผานการประเมินผลกระทบแบบครบวงจร คือ ตั้งแตกระบวนการผลิต การขนสง การใชงาน จนกระทั่งการกําจัดเมื่อผลิตภัณฑ์หมดอายุ ทั้งนี้ การขอรับการประเมินนั้นเปนการขอโดย สมัครใจทั้งผูผลิต ผูจําหนาย หรือผู ใหบริการ โดยสามารถยื่นขอไดที่สถาบันสิ่งแวดลอมไทย หรือ สํ า นั ก งานมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรม (สมอ.) ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ผ า นการประเมิ น หรื อ ได รั บ การรั บ รองแล ว สามารถนํ า เครื่องหมายฉลากเขียวไปใชในการโฆษณาและติดฉลากที่ผลิตภัณฑได ผลิตภัณฑที่ ไดรับฉลากเขียวมีหลายประเภท เชน ตูเย็น เครื่องสุขภัณฑ ประหยัดน้ํา หลอดฟลูออเรสเซนซประหยัดพลังงาน ถานไฟฉายสูตรไม ผสมสารปรอท และเครื่องปรับอากาศประหยัดพลังงานไฟฟา และรถยนต ก็มีของโตโยตาที่ ไดรับฉลากเขียวแลว เปนตน

ISO 50001

มาตรฐานของยุคสมัยนี้ ที่ ใครๆ ก็สนใจใครอยากรูจัก มันคือ มาตรฐานดานการจัดการอนุรกั ษพลังงาน โดยองคกรทีข่ อมาตรฐานดังกลาว จะตองมีแผนการในการลดใชพลังงานภายในองคกรไมนอยวา 20% ทั้งในดานพลังงานไฟฟาและพลังงานดานน้ํามัน โดยมาตรฐานดังกลาวจะ เปนในลักษณะสมัครใจ ไมมกี ารบังคับหรือเปนกฎหมายทีบ่ งั คับใหดาํ เนินการ ISO 50001 เนนจุดมุงหมายสําคัญทั้งสิ้น 8 ประการ ไดแก 1. เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการดานพลังงานขององคกร โดยตองเขา กับระบบการจัดการมาตรฐาน ISO 14001 ทีอ่ งคกรนัน้ ๆ ดําเนินการอยู 2. องคกรนัน้ ๆ ตองมีการดําเนินการดานการจัดการพลังงานทีเ่ ปน

20 l June 2012

Energy#43_p18-23_Pro3.indd 20

5/24/12 10:42 PM


รู ป ธรรม สามารถนํ า ไปปฏิ บั ติ ไ ด จ ริ ง และก อ ให เ กิ ด การปรั บ ปรุ ง ด า น พลังงานอยางตอเนื่อง 3. องคกรนัน้ ๆ ตองปรับปรุงการใชทรัพยากรดานพลังงานใหคมุ คา กับการลงทุน เพื่อลดคาใชจายและเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต 4. สนับสนุนใหเกิดการใชเทคโนโลยี ใหมๆ ในดานประสิทธิภาพ พลังงาน 5. องคกรนั้นๆ ตองควบคุมผูสงมอบที่เกี่ยวของตลอดหวงโซการ ผลิต เพื่อสนับสนุนใหเกิดการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ 6. ใชมาตรฐานนีเ้ พื่อเปนแนวทางปฏิบตั สิ าํ หรับเกณฑมาตรฐานอื่นๆ (Benchmarking) การทดสอบ, การวัด, การจัดทําระบบเอกสารและการ รายงานผลการปรั บ ปรุ ง ด า นพลั ง งานและการจั ด การในโครงการที่ เกี่ยวของกับการลดปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลดปลอยออกไป 7. สําหรับองคกรที่มีสาขาอยูมากกวา 1 ประเทศ ควรมีแนวทาง การดําเนินงานดานการจัดการพลังงานที่เปนรูปแบบเดียวกันทุกสาขา 8. จัดการสงเสริมและสนับสนุนใหผูปฏิบัติงานเกิดพฤติกรรมที่ดี และมีสวนรวมในการดําเนินการจัดการดานพลังงาน กลาวโดยสรุปวา ISO 50001 ก็คือมาตรฐานสากลที่ออกมาเพื่อ ใหกับองคกรที่มีการบริหารจัดการดานการอนุรักษพลังงาน โดยเฉพาะ พลังงาน 3 สวนหลักใหญทั้งไฟฟา, น้ํามันและกาซธรรมชาติ ซึ่งถือเปน หัวใจสําคัญของขบวนการผลิตเลยทีเดียว

Crown Standard มาตรฐาน มงกุฎไทย

องคการบริหารจัดการกาซเรือน กระจก (องค ก ารมหาชน) ได พั ฒ นา “มาตรฐานมงกุฎไทย” สําหรับโครงการกลไก การพัฒนาที่สะอาด (CDM Project) เพื่อให เปนมาตรฐานแสดงคุณภาพโครงการกลไก การพัฒนาทีส่ ะอาดของประเทศไทย ใหเทียบเทา มาตรฐานระดับสากล ควบคูกับการพัฒนา ที่ยั่งยืน และกอใหเกิดประโยชนตอทุกฝายทั้งผูพัฒนาโครงการ สังคมและ

สิ่งแวดลอม ตลอดจนเปนการผลักดันใหคารบอนเครดิตจากโครงการ กลไกการพัฒนาที่สะอาดของประเทศไทย เปนที่ยอมรับในตลาดโลกและ มีมูลคาสูงขึ้น ในชวงป 2552 ทีผ่ า นมา อบก. ไดตดิ ตอประสานกับมูลนิธมิ าตรฐาน ทองคํา (Gold Standard Foundation) ซึ่งเปนที่ยอมรับในวงการกลไกการ พัฒนาทีส่ ะอาดระดับสากลโดยใหศกึ ษากลไกการรับรองโครงการกลไกการ พัฒนาทีส่ ะอาดของประเทศไทย ซึง่ มูลนิธมิ าตรฐานทองคําไดใหการยอมรับ วาการใหการรับรองโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดในประเทศไทย มีความนาเชื่อถือและไดใหความสําคัญตอการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งเปนหลัก การสําคัญของโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาดตามหลักสากล ดังนั้น “มาตรฐานมงกุฎไทย” จึงเปนที่ยอมรับของ Gold Standard Foundation ด ว ย โดย อบก. ได รั บ การ รับรองใหเปนองคกรผูม อี าํ นาจ ต า ม พิ ธี ส า ร เ กี ย ว โ ต (Designated National Authority: DNA) รายแรกของ โปรแกรม Gold Standard Foundation’s DNA Program จนบรรลุขอ ตกลงและลงนามใน ขอตกลงความรวมมือระหวาง อบก. และมู ล นิ ธิ ม าตรฐาน ทองคํา ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนและ ผลักดันให มาตรฐานมงกุฏไทย เปนที่รูจักและไดรับการยอมรับ ในระดับสากล อันจะสงผลให คารบอนเครดิตของโครงการ กลไกการพัฒนาที่สะอาดของ ประเทศไทยมีมูลคาเพิ่มขึ้นผาน กลไกและภาพลักษณของ Gold Standard ซึ่งการดําเนินการใหได การรับรอง มาตรฐานมงกุฎไทย ก็เปนเรื่องที่ ไมยุงยาก ซับซอน ดําเนินทุกขั้นตอนตามแนวทางการยื่น ขอคํารับรองโครงการตามกลไกการพัฒนาที่สะอาด LoA ตามปรกติ ไมไดมีใบสมัครแยกตางหากแตอยางใด เพียงแคดําเนินการยื่นคําขอใหได คะแนนในหมวดดัชนีทรัพยากรและสิ่งแวดลอม และคะแนนรวมจากเกณฑ การพัฒนาที่ยั่งยืนทั้งหมดตั้งแต 50% ขึ้นไป และการดําเนินการมีการ คํานึงถึงการมีสวนรวม การสนับสนุนกิจกรรมพัฒนาสังคม รวมไปจนถึง สุขภาพอนามัยของประชาชนและชุมชนโดยรอบ เพียงเทานี้ก็จะผานเกณฑ การให คํ า รั บ รองมาตรฐานมงกุ ฎ ไทยซึ่ ง จะส ง ผลดี เ ป น อย า งมากต อ ภาพลักษณโครงการ เพราะไมเพียงแตจะเปนการเพิ่มโอกาสการขอรับ มาตรฐานทองคําไดงายขึ้น ในระยะเวลาที่สั้นกวา คาธรรมเนียมที่อาจจะ ลดลง แตยังเปนการเสริมสรางภาพลักษณที่ดีตอโครงการ ที่ตรงตาม มาตรฐานความรับผิดชอบตอสังคม (Corporate Social Responsibility: June 2012 l 21

Energy#43_p18-23_Pro3.indd 21

5/24/12 10:42 PM


CSR) ตามเกณฑของกรมโรงงานอุตสาหกรรม อีกทั้งยังเปนจุดเริ่มตน ของการดําเนินการยกระดับมาตรฐานการดําเนินโครงการตามกลไกการ พัฒนาที่สะอาด CDM ซึ่งในอนาคตอาจจะเปนมาตรฐานเฉพาะสําหรับ โครงการ CDM ที่สามารถเทียบเคียงไดกับมาตรฐาน ISO ที่ควบคุม คุณภาพการจัดการและคุณภาพสิ่งแวดลอมขององคกรหรือโรงงานที่มี ใชอยูในปจจุบัน

ฉลากคารบอน

สถาบั น สิ่ ง แวดล อ มไทย ร ว มกั บ องค ก ารบริ ห ารจั ด การ กาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ผลักดันใหเครือขายพันธมิตรจาก ภาคธุรกิจผลิตสินคาและบริการทีม่ คี ารบอนต่าํ ปลดปลอยกาซเรือนกระจก สูบ รรยากาศนอย และติดฉลากคารบอนเพื่อแสดง ความเปนมิตรตอสภาพ ภูมิอากาศ เรียกวา มันคือฉลากที่แสดงการลดระดับ การปลอยกาซเรือนกระจกออกสูบรรยากาศตอ หน ว ยสิ น ค า หรื อ บริ ก าร โดยวิ ธี ก ารประเมิ น วัฎจักรชีวติ ผลิตภัณฑ (Life Cycle Assessment, LCA) ผลการประเมินจะถูกเทียบเปนปริมาณกาซ คารบอนไดออกไซดเทียบเทา (CO2 equivalent) ซึ่งฉลากคารบอนแบงออกเปน 5 ระดับ โดยใช หมายเลข 1 -5 สินคาที่ ไดฉลากคารบอนเบอร 5 หมายความวาสินคานั้น อยูในกลุมที่ปลอยกาซเรือนกระจกสูบรรยากาศนอยที่สุดและมีความเปน มิตรตอสภาพภูมิอากาศ อาทิ ฉลากเบอร 1 เปนสินคาที่สามารถลดการ ปลอยกาซเรือนกระจกไดนอยที่สุด คือ รอยละ 10 หรือ ฉลากเบอร 5 สีเขียว สามารถลดการปลอยกาซไดมากที่สุด คือ ตั้งแตรอยละ 50 ขึ้นไป เปนตน ผูบ ริโภคจะไดอะไร เห็นไดชดั เลยก็คอื การมีสว นรวมกับประชาคมโลก ในการลดปญหาภาวะโลกรอน แลวผูผลิตละไดอะไร คําตอบก็คือ ลดตนทุน การผลิตจากการพัฒนากระบวนการผลิตใหมีประสิทธิภาพดีขึ้น ลดการ ใชพลังงานฟอสซิล เพิ่มการใชพลังงานหมุนเวียน ลดการเกิดของเสีย และ ยังแสดงเจตนารมณในการรับผิดชอบตอสังคม สรางภาพลักษณที่ดี ใหแกบริษัทเปนตน ปั จ จุ บั น รายชื่ อ และผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ ใ ห้ ใช้ ฉ ลากลด คารบอนของผลิตภัณฑ ณ วันที่ 25 เมษายน 2555 มีทั้งหมด 159 ผลิตภัณฑ จาก 41 บริษัท ซึ่งทานสามารถเขาไปเช็ครายละเอียดไดที่ http://thaicarbonlabel.tgo.or.th/carbonlabel/index.php?page=2

คารบอนฟุตพรินต

โดยองค ก ารบริ ห าร จั ด การก า ซเรื อ นกระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก. ในฐานะหนวยงานที่ทําหนาที่ ใน การสงเสริมและพัฒนาศักยภาพ ตลอดจนใหคาํ แนะนําแกหนวยงาน ภาครัฐและเอกชนในการบริหาร จั ด ก า ร ก า ซ เ รื อ น ก ร ะ จ ก ไดพัฒนาโครงการสงเสริมการ ใชคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon Footprint) ของผลิตภัณฑขึ้น เพื่อสงเสริมใหผูบริโภคมีขอมูลการปลอย กาซเรือนกระจกของผลิตภัณฑแตละชนิดประกอบการตัดสินใจ และเปนการ เพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมไทยในการแขงขันในตลาดโลก “คารบอนฟุตพริ้นท” หมายถึง ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอย ออกมาจากผลิตภัณฑแตละหนวย ตลอดวัฎจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ ตัง้ แต การไดมาซึ่งวัตถุดิบ การขนสง การประกอบชิ้นสวน การใชงาน และการ จั ด การซากผลิ ต ภั ณ ฑ ห ลั ง ใช ง าน โดยคํ า นวณออกมาในรู ป ของ คารบอนไดออกไซดเทียบเทา เครื่องหมายคารบอนฟุตพริน้ ท ทีจ่ ะติดบนสินคาหรือผลิตภัณฑตา งๆ นัน้ เปนการแสดงขอมูลใหผบู ริโภคไดทราบวา ตลอดวัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ เหลานั้นมีการปลดปลอยกาซเรือนกระจกออกมาปริมาณเทาไหร ตั้งแต กระบวนการหาวัตถุดิบ การผลิต การขนสง การใชงาน และการกําจัดเมื่อ กลายเปนของเสีย ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจชื้อของผูบริโภค และกระตุนให ผูประกอบการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มากยิ่งขึ้น การใชคารบอนฟุตพริ้นทยังชวยเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันในตลาดโลกด้วย เนื่องจากขณะนี้ ในหลายประเทศเริ่มมีการนํา คารบอนฟุตพริ้นทมาใชกันแลว ทั้งในอังกฤษ ฝรั่งเศส สวิสเซอรแลนด แคนาดา ญี่ปุน และเกาหลี เปนตน และมีการเรียกรองใหสินคาที่นําเขาจาก ประเทศไทยต้องติดเครื่องหมายคาร์บอนฟุตพริ้นท์ด้วย นอกจากนั้น หากประเทศไทยมีการดําเนินโครงการและเก็บขอมูลการลดการปลอย กาซเรือนกระจกที่ชัดเจน จะชวยใหเรามีอํานาจในการตอรองมากขึ้นในการ ประชุมระดับโลกเพื่อกําหนดแนวทางแกไขปญหาภาวะโลกรอน สําหรับขัน้ ตอนการขอขึน้ ทะเบียนและรับรองฉลากคารบอนจะเริม่ ตน จากบริษัทผูขอการรับรองจะตองคํานวณคาคารบอนที่ปลอยหรือลดได จากกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑนน้ั ๆ จากนัน้ จะเปนกระบวนการทวนสอบ ข อ มู ล ค า คาร บ อนฟุ ต พริ น ต โดยให บ ริ ษั ท ประสานงานกั บ ผู ท วนสอบ ที่ขึ้นทะเบียนกับ อบก. (Registered Carbon Footprint Verifier) เพื่อ ทวนสอบและรับรองขอมูลปริมาณคารบอน และนําผลการคํานวณที่ ไดจาก ผูทวนสอบไปแจงกับสํานักพัฒนาธุรกิจ องคการบริหารจัดการกาซเรือน กระจก (องคการมหาชน) ที่ทําหนาที่เปนฝายเลขานุการนําเสนอตอคณะ ทํางานฯ เพื่อขออนุมัติฉลากตอไป โดยคาดําเนินการในการออกฉลากคือ 100,000 บาทตอผลิตภัณฑ และฉลากมีอายุ 3 ป

22 l June 2012

Energy#43_p18-23_Pro3.indd 22

5/24/12 10:42 PM


Cool mode

นอกจากสิ น ค า อุ ป โภคบริ โ ภคที่ เ ราต อ งใช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น แล ว ยังมีการใหมาตรฐานสินคาในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง ที่ถือเปน ตั ว ขั บ เคลื่ อ นเรื่ อ งการผลิ ต และปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก เช น ดั ง อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมสิ่งทอ เปนอุตสาหกรรมที่สรางรายไดใหกับประเทศ มาอย า งต อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะรายได จ ากการส ง ออก อย า งไรก็ ต าม การผลิตสินคาสิ่งทอเครื่องนุงหมสําหรับการบริโภคในประเทศไทยก็มี ปริมาณมาก คิดเปนรอยละ 60 ของกําลังการผลิตทั้งหมด หรือคิดเปน มูลคามากกวา 6 แสนลานบาทตอป และตามแผนแมบทและยุทธศาสตร การพัฒนาสิ่งทอเครื่องนุงหมไทยนั้น นอกจากจะคํานึงถึงการเพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแลว ยังไดคาํ นึงถึงมิตทิ างดาน สังคมและสิ่งแวดลอมตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนดวย จากการศึกษา การประเมินวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑสิ่งทอ พบวาผลกระทบสวนใหญ ของผลิตภัณฑสิ่งทอมาจากสภาวะการใชงาน ไดแก การซักลาง การดูแล รักษาเสื้อผาและเครื่องนุงหม เนื่องจากมีการใชสารเคมี น้ํา และพลังงาน ในสัดสวนที่สูงกวาชวงชีวิตอื่น ดังนั้น การรณรงคใหผูบริโภคมีสวนรวม ในการเลือกใชผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมจึงเปนปจจัยสําคัญของ การพัฒนาตลาดและการผลิตอยางยั่งยืน ดั ง นั้ น การส ง เสริ ม ให มี ก ารพั ฒ นาวั ส ดุ สิ่ ง ทอและออกแบบ เครื่องนุง หมโดยเฉพาะชุดทํางาน ทีส่ วมใสแลวไมรอ นอบอาว สามารถอยูใน อาคารหรือหองที่ปรับอุณหภูมิ 25°C ไดโดยไมอึดอัด ก็จะชวยลดการใช กระแสไฟฟาสําหรับเครื่องปรับอากาศ และลดการปลอยกาซเรือนกระจก ทั้งทางตรงและทางออมได นอกจากนี้ ยังสอดคลองกับภาวะภูมิศาสตร เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของผูบริโภคไทยดวย องคการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) จึงไดรวมมือกับสถาบัน พัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งทอ (ในกํากับของกระทรวงอุตสาหกรรม) และกลุมผูผลิตสิ่งทอ จัดทําโครงการสงเสริมการพัฒนาเสื้อผาลด โลกรอนขึ้น เพื่อเพิ่มทางเลือกใหกับผูบริโภคในการใชเสื้อผาที่สามารถ ลดการปลอยกาซเรือนกระจก ตลอดจนสงเสริมใหเกิดผูผลิตและตลาด สินคาสิ่งทอที่ลดโลกรอนในประเทศไทย

ไล เ รี ย งกั น มาจนพื้ น ที่ ห มด คงจะเห็ น ความสํ า คั ญ ของการติ ด มาตรฐานสินคากันไปบางแลว ยิ่งการแขงขันที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในการ เปด AEC จะบอกวาเราจะตั้งรับอยางเดียวคงไมรอด เพราะเพื่อนบาน หรือ ตางชาติเขาวิ่งกันวุนเรื่องนี้ ไมไดหยุดหยอน ทั้งฉลากสิ่งแวดลอมในตาง ประเทศ ที่ ใชกันทั้ง อเมริกา จีน ยุโรป ญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลีย อินเดีย ยกตัวอยางวา อเมริกา ก็มี Energy Guide Label เปนฉลาก ภาคบังคับแสดงการใชพลังงาน Energy Star เปนฉลากภาคสมัคร ใจแสดงประสิทธิภาพการใชพลังงาน จีน ก็มี China Energy Label เปนฉลากภาคบังคับแสดงประสิทธิภาพการใชพลังงานอยางมีลาํ ดับ 1-5 และ ถาติดเบอร 1 คือประสิทธิภาพสูงสุด อื่นๆ เชน ยุโรป กับ Energy label ,Eco-label หรือ EU Flower, ญี่ปุน กับ Top Runner Program, Energy Label,Energy Saving Label, เกาหลี กับ Energy Efficiency Label, High-Efficiency Label, Stanby Program, ออสเตรเลีย กับ Energy Rating Label, Minimum Energy Performance และอินเดีย กับ Label for Energy Efficient Products เปนตน ได รั บ ทราบข อ มู ล และหน ว ยงานที่ ใ ห ก ารรั บ รองมาตรฐานแล ว หวังวาจะชวยนําทางใหทานผูอานนําไปตัดสินใจไดตรงจุด .. หยุดโลกรอน รับผิดชอบตอทรัพยากรธรรมชาติ สังคม และกอนใชพลังงานทุกครั้ง จงตระหนักถึงการใชอยางคุมคาตอไป...

June 2012 l 23

Energy#43_p18-23_Pro3.indd 23

5/25/12 1:59 PM


Tools & Machine โดย : Mr. T

‘หม อ ต ม ’ หรื อ ‘กระบอก ทําความรอน’ ‘กริลลอน’

เพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงานหลายบริษัทหรือผูประกอบการ ตางๆ ไดพัฒนาเทคโนโลยีอุปกรณขึ้นมารองรับในการประหยัดพลังงาน ซึ่งสามารถชวยลดตนทุนไดเปนอยางดีของการทําธุรกิจ และนอกจากชวย ลดตนทุนแลวยังชวยลดภาวะโลกรอนไดเชนกัน และในการพั ฒ นาต อ ยอดอุ ป กรณ ใ ห เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งาน ปจจุบนั นัน้ นักวิจยั หรือวิศวกร สามารถสรางเทคโนโลยีสาํ หรับการประหยัด พลังงานขึ้นมารองรับการใชงานไดหลากหลายรูปแบบในการใชงานที่แตก ตางกันออกไมวาจะเปนเทคโนโลยีแลกเปลี่ยนความรอนสําหรับใชใน Boiler การนํ า ความเย็ นจะระบบ Chiller กลั บ มาใช ใหม และเทคโนโลยี อื่ น ๆ อีกมากมายที่ ไดถูกพัฒนาขึ้นมารองรับการประหยัดพลังงาน ทั้งนี้เครื่องทําน้ําอุนนั้นนับเปนเทคโนโลยีหนึ่งที่ ไดพัฒนาใหเกิดการ ประหยัดพลังงาน โดดเดนทางดานนวัตกรรม ดีไซน ฟงกชั่นการทํางาน ของเครื่อง ก็เพื่อเปนทางเลือกใหแกผูบริโภคคนไทยซึ่งมองหาผลิตภัณฑ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และการพัฒนาใหเปนผลิตภัณฑทีม่ ปี ระสิทธิภาพนัน้ ผูผ ลิต แตละรายตางคัดเลือกวัสดุในการผลิตหมอตมทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการคงทน ความรอนไดดี เพื่อใหผูบริโภคไดรับความสุขจากการใชผลิตภัณฑเครื่อง ทําน้ําอุน ‘หมอตม’ หรือ ‘กระบอกทําความรอน’ จึงถือเปนหัวใจสําคัญ ของผลิตภัณฑเครื่องทําน้ําอุนที่ ในอดีตผูผลิตสินคามักใหความนิยมเลือก ใชวัสดุทองแดงมาทําเปนหมอตม เนื่องจากมีคุณสมบัติในการเก็บความ รอนไดดี แตดวยขอเสียของการผลิตของหมอตมที่ทําใหตัวเครื่องไดรับ ความเสียหายไดงายจากการใชงาน ทําใหปจจุบัน ผูผลิตสินคาตางหันมา ใหความนิยมเลือกวัสดุ ‘กริลลอน’ ซึ่งถือเปนวิวัฒนาการใหมลาสุดของ เครื่องทําน้ําอุนกันมากขึ้น ดวยคุณสมบัติของเครื่องทําน้ําอุนชนิด Single Point กําลังไฟ 4500 วัตตนอกจากมีจุดเดนที่กระบอกทําความรอน ผลิตจากกริลลอน แล ว ยั ง เป นนวั ต กรรมใหม ล า สุ ด ของอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งทํ า นํ้ า อุ นที่ มี คุณสมบัตทิ นแรงดันสูงถึง 260 องศาเซลเซียส พรอมระบบความปลอดภัย ESD หรือ Electronic Safety Device ตัดกระแสไฟรั่วอัตโนมัติภายใน 0.08 วินาที เพื่อความปลอดภัยของลูกคาในขณะใชงานไดดียิ่งขึ้น นอกจากนี้จุดเดนอีกขอหนึ่งของ กระบอกทําความรอนที่ทําจาก ‘กริลลอน’ คือ จะมีคุณสมบัติที่ ไมกอใหเกิดตระกรัน ซึ่งเปนธาตุที่ปะปนมา กับน้ําเมื่อเกิดการทําปฏิกิริยากับอุปกรณความรอนทําใหเกิดการเปลี่ยน สถานะโดยจะกอตัวยึดเกาะตามผิวอุปกรณเกิดเปนตระกรันแข็งขึ้นมามีทั้ง ตะกรันแคลเซียม (หินปูน) ตะกรันสนิมเหล็ก และตะกรันเกลือ ที่เปนสาเหตุ

ทําใหเครื่องทําน้ําอุนมีอายุการใชงานสั้นลง และทําใหเกิดน้ํารั่วซึมในขณะ ใชงานซึ่งกอใหเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟาดูดอยางฉับพลันอีกดวย แต กระบอกทําความรอนที่ทําจาก ‘กริลลอน’ นั้นยังชวยใหเกิดการประหยัด พลังงานไดอีกดวย อยางไรก็ตามกระบอกทําความรอนดังทีก่ ลาวมาขางตนนัน้ สามารถ ใชไดในอุตสาหกรรมหลายประเภท เชน อุตสาหกรรมทอผา อุตสาหกรรม อาหาร อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมโลหะ ที่นิยมใชฮีตเตอรในการให ความรอนกับอากาศ เพื่อใชในกระบวนการอบแหง ใหความรอนกับโลหะ เพื่อหลอมโลหะ หรือใชความรอนกับน้ําเพื่อตมผลิตภัณฑ เปนตน

24 l June 2012

Energy#43_p24_Pro3.indd 24

5/14/12 10:55 PM


Energy#42_p15_Pro3.ai

1

4/24/12

11:35 PM

ทุกวันอาทิตย


Green Industrial โดย : ณ อรัญ

ราชบุรีโฮลดิ้ง

ลดคารบอนฯ ดวยสาหราย

การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมภายในอุตสาหกรรมตางๆ รวม ทั้งอุตสาหกรรมดานการผลิตไฟฟานั้นชวยใหสามารถตอสูการบริหาร จัดการลดกาซคารบอนไดออกไซดที่เหลือทิ้งจากกระบวนการผลิต และยัง เปนอานิสงสตอการชวยบรรเทาปญหาภาวะโลกรอนและลดผลกระทบตอ ทรัพยากรธรรมชาติไดเปนอยางดี อยางไรก็ดี ในแตละบริษัทตางก็ ไดตระหนักถึงปญหาดังกลาวแลว ไดวางแผนนโยบายและไดจัดทําโครงการลดคารบอนไดออกไซด หรือลด การใชพลังงานตางๆ ออกมาเพื่อลดปญหาภาวะโลกรอน บริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรโี ฮลดิง้ จํากัด (มหาชน) เปนอีกบริษทั หนึง่ ที่ ไดดาํ เนินโครงการตางๆ เพื่อลดการใชพลังงานโดยการบริหารจัดการ ลดกาซคารบอนไดออกไซดเหลือทิ้งจากกระบวนการผลิตเพื่อชวยบรรเทา ปญหาภาวะโลกรอนและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมใหยง่ั ยืน ล า สุ ด ได ดํ า เนิ น โครงการรั ก ษ โ ลก ลดโลกร อ นด ว ยสาหร า ย เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เนื่องในโอกาสพระราชพิธี-

มหามงคลเฉลิ ม พระชนม พรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554” โดยมีวัตถุประสงค เพื่ อ ลดภาวะโลกร อ นและ มุ ง ส ง เสริ ม การรั ก ษา คุณภาพสิ่งแวดลอม วิถี ชีวิตชุมชนและสังคมอยาง ยั่งยืน ตามแนวพระราชดํารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร พั ฒ น า ด า น สิ่ ง แวดล อ มและพลั ง งาน ทั้ ง นี้ โ ค ร ง ก า ร ไ ด นํ า ก า ซ ค า ร บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด จ า ก กระบวนการผลิตกระแสไฟฟาจาก

นพพล มิลินทางกูร กรรมการ ผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง จํ า กั ด ผูน าํ แนวคิดการอนุรกั ษพลังงาน และสิ่งแวดลอม

26 l June 2012

Energy#43_p26-28_Pro3.indd 26

5/14/12 11:00 PM


การผลิ ต ในป 2553 ร อ ยละ 19 คิ ด เป น ปริ ม าณการปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซด 6,725,743 ตัน และภายใตการประหยัดพลังงานไฟฟา ในป 2554 โรงไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้งสามารถประหยัดพลังงานไฟฟาไดถึง 6,156 เมกะวัตต ตอชั่วโมงเทียบเปนปริมาณการลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดได 3,134 ตัน ซึ่งมากกวาป 2553 ถึงรอยละ 92.5 เพราะโรงไฟฟาแหงนี้เขาไดมีการติดตั้ง Water Chiller Unit ของ Air Compressor Cooling System เพื่อใชงานในขณะที่ โรงไฟฟาพลังงานความรอน ทั้ง 2 เครื่องหยุดเดินในชวง เ ดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น แ ล ะ ธันวาคม 2554 ทั้งนี้ตลลอด ระยะเวลา 7 ป ( 2548 – 2554) ของการณรงคและ ดําเนินการเรื่องการประหยัด พลั ง งานของโรงไฟฟ า ราชบุรีโอลดิ้งนั้นสามารถลดการใชพลังงานพลังงานไฟฟาลงไดรวม 42,248 เมกะวั ต ต ต อ ชั่ ว โมง โดยคิ ด เป น ปริ ม าณการปล อ ยก า ซคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศลดลงไดถึง 22,205 ตันและในป 2555 ยังมีเปาหมายในการขยายการรณรงคอนุรักษพลังงานออกไปสูชุมชน ตางๆ ภายใต “โครงการพลังงานชุมชน” ซึ่งเริ่มดําเนินงานรวมกับ หนวยงานของกระทรวงพลังงาน

โรงไฟฟาราชบุรีมาเพาะเลี้ยงและผลิตสาหรายสไปรูลินา (Spirulina sp.) สงผลใหปริมาณกาซออกซิเจนในชั้นบรรยากาศเพิ่มขึ้น โดยบริษทั ผลิตไฟฟาราชบุรฯี ไดเริม่ ศึกษาวิจยั โครงการลดโลกรอน ดวยสาหรายตั้งแตป 2553 ภายใตการจัดตั้งทีมวิจัย ประกอบดวย นักวิชาการและผูเชี่ยวชาญสาขาตางๆ เชน สถาบันคนควาและพัฒนา ผลิตภัณฑอาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร คณะเศรษฐศาสตร และ คณะผลิตกรรมการเกษตรและคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรน้ํา มหาวิทยาลัยแมโจ และมหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อหาแนวทางในการเลี้ยง และผลิ ต สาหร า ยเพื่ อ ให ใช ป ริ ม าณก า ซคาร บ อนไดออกไซด ได สู ง ที่ สุ ด เปนการนําสิ่งเหลือใชมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ภายใตเจตนารมณของ บริ ษั ท ผลิ ต ไฟฟ า ราชบุ รี ฯ ในการพั ฒ นาด า นการผลิ ต ไฟฟ า ให มี ประสิทธิภาพ ปลอดภัย และกระทบตอสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด

ดานการสงเสริมการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

นอกจากนีเ้ พื่อใหการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมไดอยางยัง่ ยืน ตามแนวนโยบายนั้น บริษัทผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ยัง ไดมีการจัดทําโครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายในโรงไฟฟาราชบุรีฯ และรอบ

การประหยัดพลังงาน

ในส ว นด า นการประหยั ด พลั ง งานนั้ น ราชบุ รี โ ฮลดิ้ ง ยั ง ได มี ก าร รณรงคใหมีการประหยัดพลังงาน โดยในป 2554 มีการผลิตพลังงาน ไฟฟาทั้งหมดอยูที่ 14,073,474 เมกะวัตต ตอชั่วโมง ซึ่งนอยกวากําลัง June 2012 l 27

Energy#43_p26-28_Pro3.indd 27

5/14/12 11:00 PM


โรงไฟฟา โดยไดดําเนินการปลูกไมยืนตนหลากหลายสายพันธุในบริเวณ พื้นที่วางของโรงไฟฟาอยางตอเนื่อง ซึ่งปจจุบันมีไมยืนตนเพิ่มขึ้นกวา 17,500 ตันและมีพื้นที่สีเขียวกวา 472 ไรคิดเปนรอยละ 23.4 ของพื้นที่ โรงฟาทั้งหมด และพันธุไมสวนใหญจะเปนตนสักซึ่งชวยใหสามารถดูดซับ กาซคารบอนไดออกไซดไดดี พรอมยังชวยเพิ่มอากาศบริสุทธิ์ และเปน แหลงกักเก็บกาซคารบอนไดออกไซดในบรรยากาศตลอดจนเปนแหลงทีอ่ ยู อาศัยหากินของสัตวตางๆ ไดเปนอยางดี ตลอดจนการดําเนินตามโครงการคนรักษปา ปารักชุมชน สงเสริม การอนุรักษทรัพยากรปาไมของชุมชนในรูปแบบปาชุมชน โครงการนี้เปน ความรวมมือระหวางโรงไฟฟาราชบุรฯี กับกรมปาไมซึง่ ดําเนินการตอเนื่อง มาตัง้ แตป 2551 และมีกจิ กรรมหลัก 3 กิจกรรม คือ การประกวดปาชุมชน ตัวอยาง คายเยาวชนกลายิ้ม และสัมมนาเครือขายปาชุมชน กิจกรรม ประกวดปาชุมชนเพื่อเฟนหาชุมชนที่มีการบริหารจัดการปาชุมชนที่ดี ให

ชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการปา มีการใชประโยชนจากปาในการ ดํารงชีพอยางพอเพียงและเปนแหลงอาหารที่ชวยลดรายจาย โครงการปาในเมืองเพื่อการศึกษากลายิ้ม เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ เนื่ อ งในโอกาสพระราชพิ ธี ม หามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554 เปนความรวมมือกันระหวาง

บริษัทผลิตไฟฟาราชบุรีฯ กับกรมปาไมเพื่อจัดทําศูนยการเรียนรูพันธไม ภายในโรงเรียนและศาสนสถานทั่วประเทศซึ่งใชเปนสื่อการเรียนการสอน ภายในโรงเรียนเพื่อสรางความตระหนักและจิตสํานึกแกเยาวชนและชุมชน นั่นๆ ซึ่งในปนี้ 2554 โรงไฟฟาแหงนี้ ไดดําเนินการแลวเสร็จจํานวน 12 แหง และจะดําเนินการตอในปนี้ 2555 อีก 72 แหงทั่วประเทศ การรณรงคใหพนักงานมีสวนรวมในกิจกรรมความรับผิดชอบ ตอสังคม (CSR) ของ บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) โดยไดเปดโอกาสใหพนักงานทุกระดับมีสวนในการคิดและรวมทํากิจกรรม เพื่ อ สั ง คมที่ เป น ประโยชน ต อ ชุ ม ชน พร อ มทั้ ง รณรงค แ ละส ง เสริ ม ให พนักงานไดเขารวมกิจกรรมสังคมของบริษัทฯ หรือของชมรมตางๆ โดยสมัครใจ ภายใตโครงการอาสาสมัครพนักงาน RATCH นอกจากนี้ ราชบุรีโฮลดิ้งยังมีโครงการดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอีก มากมายที่ดําเนินการรวมถึงการตอยอดพัฒนาโครงการเกาใหนําไปสู ความยั่งยืนอีกดวย

28 l June 2012

Energy#43_p26-28_Pro3.indd 28

5/14/12 11:00 PM


Energy#41_Ad Oil&Gas_Pro3.ai

1

3/21/12

10:17 PM

Thailand’s Largest Petroleum and Petrochemical Technology Event!

ASIA 2012 An International Exhibition of Oil & Gas Technologies & Supporting Industries

An International Exhibition of Process, Petrochemical And Refinery Equipment, Technologies & Supporting Industries

Singapore Companies Are Entitled Up To

50% Subsidy!

BITEC, Bangkok, Thailand

Call now : (+66) 2 513 1418

www.oilgasthai.com

Organized By:

Endorsed & Supported By:

The Federation of Thai Industries, Petrochemical Industry Club

Petroleum Institute Of Thailand

Technology Promotion Association (Thailand-Japan)

Singapore Industrial Automation Association

Indonesia Industrial Automation Club (IIAC)


Saving Corner

ประหยัดไฟ..

ในโรงงานอุตสาหกรรม ฉบับนี้ขอยกบทความดี ๆ จากวารสารสายใจไฟฟา การไฟฟา สวนภูมิภาค ที่แมเวลาจะผานไปนานเทาไหร เรองแบบนี้ก็ไมเคยตาย ไปดวย ยังคงเขายุคติดกระแสไดสบายๆ ครับ “ในยุคที่เศรษฐกิจฝดเคืองเชนนี้ การบริหารโรงงานอุตสาหกรรม จําเปนตองคํานึงถึงการผลิตที่มีคาใชจายเปนตนทุนการผลิตที่ต่ําลง หนทางหนึง่ ทีจ่ ะชวยลดตนทุนการผลิต คือการใชพลังงานทุกประเภทอยาง ประหยัดและมีประสิทธิภาพ การประหยัดพลังงานของโรงงาน หมายถึงการลดใชพลังงานลง โดยการจัดการใชพลังงานใหเหมาะสมเพื่อใหไดประโยชนสงู สุด โดยไมทาํ ให กระบวนการผลิตลดลงและไมทําใหคุณภาพของผลิตภัณฑเปลี่ยนแปลง”

จําเปนแค ไหน

พลังงานไฟฟาเปนพลังงานที่มีความจําเปนตอการใชในการผลิต ของทุกโรงงาน ความจําเปน และความสําคัญของการประหยัดพลังงาน ไฟฟา จึงไมใชเพียงแตเอื้อประโยชนตอผูประกอบการอุตสาหกรรมเพียง เทานั้นแตยังเปนความจําเปนและมีความสําคัญตอเศรษฐกิจโดยรวมของ ประเทศดวย เนื่องจากการผลิตไฟฟาของประเทศไทยในปจจุบัน ยังตอง พึง่ เชือ้ เพลิงนําเขาจากตางประเทศ และมีแนวโนมวาจะตองมีการนําเขาเชือ้ เพลิงเพิม่ มากขึน้ ตามปริมาณความตองการใชไฟฟาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ โดยเฉพาะ อยางยิ่งในภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งเปนสาขาที่มีความตองการไฟฟา สูงสุด ดังจะเห็นไดจากรายงานสถานการณพลังงานในชวงครึง่ ปแรกของป พ.ศ. 2543 ระบุวาภาคธุรกิจอุตสาหกรรมยังตองการใชไฟฟาเพิ่มขึ้น ถึงรอยละ 10.3

มีขั้นตอนดําเนินการอยางไร

กรมพั ฒ นาและส ง เสริ ม พลั ง งานได เ สนอแนะว า การประหยั ด พลังงานในโรงงาน ควรมีการดําเนินงานเปนขัน้ ตอนโดยเริม่ จากเทคโนโลยี ที่งายที่สุด และใชเงินลงทุนนอยที่สุดไปจนถึงงานที่ตองใชเทคโนโลยีสูง และเงินลงทุนมากไดแก 1. การบํารุงรักษาและการดูแลเบื้องตน (House Keeping) การ ประหยัดพลังงานโดยวิธีนี้ เปนการปรับแตงเครื่อง และการทํางานตางๆ

เชน การกําหนดใหมีกรรมวิธีดูแลรักษาที่ถูกตอง วิธีเหลานี้ โดยมากแลวจะไมทําใหคาใชจายเพิ่มขึ้น หรือเปนมาตรการที่ เสียคาใชจายนอย แตมีระยะคืนทุนสั้นๆ คือนอยกวา 4 เดือน 2. การปรับปรุงขบวนการเดิมเพื่อใหไดประสิทธิภาพ สูงขึน้ หรือทําใหการสูญเสียตางๆ ลดนอยลง ซึง่ จะตองอาศัย การตรวจวิเคราะหอยางละเอียด โดยทั่วไปมาตรการนี้จะ ตองการเงินลงทุนปานกลาง โดยมีระยะเวลาคืนทุน 1 - 2 ป 3. การเปลี่ ย นแปลงอุ ป กรณ ห รื อ ระบบ (Major Change Equipment) เมื่อการตรวจวิเคราะหขั้นตนชี้ ใหเห็นวาสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพการทํางานไดมาก โดยการเปลี่ยนหรือเพิ่มอุปกรณ ทั้งนี้ จะตองมีการประเมินผลตอบแทนทางการเงินที่ ไดจากการดําเนินการ มาตรการดังกลาว ถาพบวามีความสอดคลองเขากับเกณฑการลงทุนของ ฝายบริหาร ก็จะเสนอขอความเห็นชอบ มาตรการนี้จะตองมีการลงทุนสูง โดยมีระยะเวลาคืนทุน 2-5 ป

ทําอยางไรไดบาง

การประหยัดพลังงานไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถทําได หลายวิธี เชน - การปรับปรุงตนพลังงานไฟฟาตอหนวยการผลิต - การปรับปรุง Load Factor ใหสูงขึ้น - การปรับปรุงคา Power factor - การควบคุมคากําลังไฟฟาสูงสุดของโรงงาน ซึ่งแตละวิธีสามารถทําไดโดยการบริหารจัดการ การปรับปรุงการ ทํางาน การใชเครื่องจักรที่มีประสิทธิภาพการลดการสูญเสีย การบํารุง รักษา ตลอดจนการใชอุปกรณประหยัดพลังงานไฟฟา

จะเริ่มตนอยางไร

ในการวางแผนจั ด การด า นพลั ง งานให มี ก ารใช พ ลั ง งานอย า ง ประหยัด และมีประสิทธิภาพนั้น จําเปนตองมีการดําเนินการตรวจสอบ และ วิเคราะหหาสภาพการใชพลังงานที่เปนอยูในปจจุบันของโรงงานที่เรียกวา Energy Audit เสียกอน การตรวจวิเคราะหการใชพลังงานดังกลาวจะให ทราบถึงสภาพการใชพลังงาน และการสูญเสียพลังงานทีเ่ กิดขึน้ โดยทัว่ ไป มีการปฏิบัติอยู 3 ขั้นตอนคือ 1. การตรวจสอบวิเคราะหการใชพลังงานเบื้องตน (Preliminarly Audit) เปนการตรวจสอบรวบรวมขอมูลดานการผลิตระบบ การใชพลังงานในปกอนๆ ที่ทางโรงงานจดบันทึกไวเพื่อทราบปริมาณการ ใชพลังงานทุกรูปแบบ คาใชจายดานพลังงาน ผลผลิตที่ ไดตอพลังงานที่ ใช ตัวแปรของการใชพลังงานในแตละชวงตลอดจนรายละเอียดทีเ่ กีย่ วของ 2. การตรวจวิเคราะหการใชพลังงานโดยการสํารวจแผนผัง

30 l June 2012

Energy#43_p30-31_Pro3.indd 30

5/22/12 11:53 PM


โรงงานเพื่อทราบลักษณะทั่วไปของโรงงาน กระบวนการผลิตและ เครื่องจักรอุปกรณตางๆ พิจารณาบริเวณที่มีการใชพลังงานสูง ระบบ การใชพลังงานในรูปแบบตางๆและบริเวณที่เกี่ยวของ และในขั้นตอนตอมา คือ การเขาสํารวจในโรงงานเพื่อหาสาเหตุการสูญเสียพลังงาน โดยการ สํารวจใชพลังงานทุกระบบทั้งในชวงทําการผลิต และชวงหยุดการผลิต รวมทั้งทําการตรวจวัดโดยใชเครื่องมือตางๆ ทําใหไดขอมูลสภาพการใช พลังงานของโรงงานนั้น 3. การตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานอยางละเอียด (Detailed Audit) ผลการตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานเบื้องตน นําขอมูลมาสรางรูปแบบการใชพลังงานวาจะตองมีการปรับปรุงแกไขสวน ใดบาง ซึง่ จะตองทําการตรวจสอบและวิเคราะหอยางละเอียด โดยการตรวจ วัดและบันทึกขอมูลอยางตอเนื่อง หรือเปนชวงเวลาอยางนอย 1 สัปดาห เพื่อใหทราบสภาพการทํางานและวิเคราะหการสูญเสียพลังงานโดยจัดทํา สมดุลพลังงาน เพื่อหาประสิทธิภาพของระบบ และของอุปกรณที่สําคัญ และหาแนวทางการปรั บ ปรุ ง แก ไ ข ซึ่ ง จะต อ งมี ก ารวิ เ คราะห ท างด า น เศรษฐศาสตรในแตละมาตรการลงทุนเพื่อหามาตรการที่เหมาะสมและเปน ไปได

แลวจะไดผลแค ไหน

ตัวอยางการศึกษาวิจัยเพื่อทําการปรับปรุงการใชพลังงานไฟฟาให มีประสิทธิภาพ และเกิดการประหยัดพลังงานโดยใชวิธีการของ Energy Audit ที่จะนําเสนอในบทความนี้ คือการศึกษาศักยภาพการประหยัด พลังงานไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตมิเตอร โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ ทราบการใชพลังงานของโรงงาน ประเมินหาศักยภาพในการประหยัด พลังงาน และเสนอแนวทางการปรับปรุงการใชพลังงานใหมีประสิทธิภาพ โดยโรงงานที่เขาทําการศึกษาคือ บริษัทมหาจักรไฟฟาสากล จํากัด ตั้งอยู ในนิคมอุตสาหกรรมนวนคร อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเปน โรงงานอุตสาหกรรมทีจ่ ดั อยูในประเภทขนาดกลาง ตามการจัดแบงประเภท กิจการไฟฟาในการคิดอัตราคาไฟฟาของการไฟฟาสวนภูมิภาค โดยเขา ทําการสํารวจ ตรวจวัดและวิเคราะหหาสถานการณ การใชพลังงาน และ การสูญเสียพลังงานที่เกิดขึ้นในเครื่องจักรอุปกรณไฟฟาของโรงงาน ไดแก หมอแปลงไฟฟา มอเตอรไฟฟา และเครื่องปรับอากาศซึ่งมีสัดสวน การใชพลังงานมากกวา 90% ของการใชไฟฟาทั้งหมดของโรงงาน ผลการศึกษาพบวา ปจจุบนั โรงงานมีการใชพลังงานไฟฟาเฉลีย่ ปละ 1,376,160 kWh โดยมีคาความตองการไฟฟาสูงสุด 426 kW คาตัว ประกอบภาระ 0.47 และคาตัวประกอบกําลัง 0.09 มีสดั สวนการใชพลังงาน สูงสุดในระบบมอเตอรของเครื่องจักรอุปกรณรอยละ 56..70 รองลงมา คือระบบปรับอากาศรอยละ 34.71 และระบบแสงสวางรอยละ 8.59 อั ต ราการใช้ พ ลั ง งานไฟฟ้ า ต่ อ ผลผลิ ต เท่ า กั บ 3.46 kWh/เครื่ อ ง มีศักยภาพในการประหยัดพลังงานไดทั้งโดยวิธีที่ ไมมีการลงทุน และ วิธีการที่ลงทุนรวม 4 แนวทางคือ 1. การยุบภาระหมอแปลงรวมกันในชวงที่ ไมทําการผลิต 2. การสับเปลี่ยนมอเตอรใหพิกัดเหมาะสมกับภาระของเครื่องจักร 3. การลดระยะเวลาการใชงานของเครื่องปรับอากาศลง 4. การเปลี่ยนอุปกรณควบคุมอุณหภูมิเปนแบบอิเลคทรอนิคส เทอรโมสตัท จากการวิเคราะหความเหมาะสมในการดําเนินการ และความคุมทุน

โดยหาระยะเวลาคืนทุน (Playback Period) และวิธีมูลคาปจจุบันสนธิ (Net Present Value) แลวพบวา มีแนวทางการประหยัดพลังงานที่สมควร เสนอแนะใหแกโรงงานในการปรับปรุงการใชพลังงานของโรงงานเหลือ เพียง 3 แนวทางไดแก 1. การลดระยะเวลาการใชเครื่องปรับอากาศลง 2. การปรับตั้งอุณหภูมิที่เหมาะสมใหแกเครื่องปรับอากาศ 3. การเปลี่ยนอุปกรณควบคุมของเครื่องปรับอากาศ จึงไดเสนอแนะใหโรงงานใชแนวประหยัดพลังงานดังกลาวรวมกัน เพื่อให้ศักยภาพในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของโรงงานสูงสุด โดย สามารถประหยัดพลังงานไฟฟาไดปละ 14,0001.63 kWh ( หรือลดการ ใชพลังงานไฟฟาได ปละ10.68 เปอรเซนต) หรือคิดเปนคาพลังงานไฟฟา ที่สามารถประหยัดไดปละ 452,765 บาท จะเห็นไดวาแนวทางการประหยัดพลังงานที่เสนอแนะไวในตัวอยาง การศึกษาขางตน เปนแนวทางที่สามารถดําเนินการไดโดยใชเทคโนโลยี งายๆ ลงทุนนอย และไมตองการผูเชี่ยวชาญดานพลังงานมาดําเนินการ อยางใด จึงมีความเหมาะสมอยางยิง่ ตอโรงงานขนาดกลางลงไป เนื่องจาก โรงงานเหลานี้สวนใหญยังไมไดดําเนินการประหยัดพลังงานอยางจริงจัง อันเนื่องมาจากไมไดอยู ในขอบขายที่ตองปฏิบัติตามกฎหมาย พระราช บัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 และการที่ ไมไดอยู ในขอบขายการปฏิบัติตามกฎหมายดังกลาว ทําใหไมไดรับการสนับสนุน ทางด า นการเงิ น ในการดํ า เนิ น การประหยั ด พลั ง งานรวมถึ ง การขาด ผูรับผิดชอบโดยตรงดานพลังงานประจําโรงงานดวย ดังนั้น บทความนี้จึงประสงคจะกระตุนและชี้ ใหเห็นถึงความจําเปน ของการประหยัดพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและธุรกิจขนาดกลางลงไป ซึง่ มีจาํ นวนมากกวา 25,000 แหงในเขตของภูมภิ าค ใหเห็นถึงความจําเปน และประโยชนที่ ไดรับจากการประหยัดพลังงาน ซึ่งถาหากทุกโรงงานได ดําเนินการประหยัดพลังงาน และไดผลลัพธอยางนอยที่สุด เชนเดียวกับ กรณีตัวอยางที่ ไดทําการศึกษาแลวนี้ ยอมจะสามารถชวยใหประเทศชาติ ประหยัดพลังงานไฟฟาไดมากถึงปละ 235 เมกะวัตต หรือถาคิดเทียบ สัดสวนการผลิตไฟฟาของโรงงานแมเมาะ ซึ่งมีกําลังผลิตปละประมาณ 2,625 เมกะวัตต โดยมีความตองการถานหินปละประมาณ 16 ลานตัน แลวเทากับสามารถลดคาใชถานหินลงไปไดถึงปละมากกวา 1.4 ลานตัน ดังนั้น การประหยัดพลังงานไฟฟาในกลุมเปาหมายดังกลาว นอกจากจะ ชวยลดตนทุนการผลิตใหแกโรงงาน และยังชวยลดการใชเชื้อเพลิงของ ประเทศแลว ยังสามารถชวยลดมลพิษ และผลกระทบตอสิ่งแวดลอมไดไม นอยทีเดียว กลาวโดยสรุป การประหยัดพลังงานไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม มีความจําเปนมาก สามารถดําเนินการไดโดยอาศัยวิธีการตรวจวิเคราะห การใชพลังงานหรือ Energy Audit ซึ่งเปนแนวทางที่เหมาะสมสอดคลอง กับสถานการณปจจุบันเนื่องจากชวยใหสามารถหาแนวทางการประหยัด พลังงานลงได ซึง่ จะชวยลดตนทุนในการผลิตของผูป ระกอบการลงได และ เปนผลดีตอเศรษกิจของประเทศ รวมทั้งชวยรักษาสิ่งแวดลอม ขอขอบคุณขอมูล : วารสารสายใจไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค พฤษภาคม 2545 June 2012 l 31

Energy#43_p30-31_Pro3.indd 31

5/22/12 11:53 PM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

Energy Animation Award 2011 รางวัลสรางจิตสํานึกแกเยาวชน

การจัดประกวดดานการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอมนัน้ เปนอีกแนวทางหนึง่ ในการสงเสริมให ภาคเอกชน ตลอดจนภาคประชาชนทั่วไปไดให ความสําคัญดานการอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอม และยังเปนแนวทางที่ ไดรบั ความ นิ ย มเป น อย า งดี ซึ่ ง จะเห็ น ได จ ากที่ ห ลาย หนวยงานไดจัดประกวดและมอบรางวัล ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม กันอยางแพรหลาย ตั้งแตรางวัลระดับ องคกร ระดับประเทศ ระดับภูมิภาคไปจนถึง รางวัลระดับโลก อย า งไรก็ ต ามการส ง เสริ ม ด า นการ อนุรักษพลังงานในรูปแบบการจัดประกวดนั้นไม ไดมีเพียงการสงเสริมสําหรับองคกร หนวยงาน

ตางๆ หรือผูป ระกอบการระดับอุตสาหกรรม แตในปจจุบนั ไดมกี ารสงเสริม ลงไปถึงใน ระดับเยาวชน และภาคประชาชนทั่วไปใหไดตระ ถึงการอนุรักษพลังงานเชนกัน และนี่ เ ป น อี ก โครงการหนึ่ ง ที่ ไ ด ส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ

32 l June 2012

Energy#43_p32-34_Pro3.indd 32

5/22/12 11:54 PM


สิ่งแวดลอมนั้น คือ การจัดประกวดสื่อภาพยนตรอนิเมชั่น เพื่อสงเสริม การอนุรักษพลังงานสําหรับเด็กและเยาวชน หรือ Energy Animation Award 2011 ภายใตหัวขอ “Energy Ranger ขบวนการฮีโรพิทักษ พลังงาน” ซึ่งเปนครั้งแรกในการจัดประกวด และยังเปนอีกโครงการหนึ่ง ที่กระทรวงพลังงานไดจัดขึ้น โดยลาสุดเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ 2555 ที่ผานมาไดมีการมอบ รางวัลใหแกผูชนะการประกวด เรียกไดวาเปนอีกรายการหนึ่งสงเสริม เยาวชนใหมีจิตสํานึกดานอนุรักษพลังงาน โครงการประกวดสื่อภาพยนตรอนิเมชั่นนั้นเปนการสงเสริมการ อนุรักษพลังงานฯ ที่กระทรวงพลังงานตองการจะทําใหเกิดการจูงใจให เยาวชนคนรุนใหม หันมาใสใจในความสําคัญดานพลังงานมากยิ่งขึ้น รวม ทั้ ง ให ไ ด ท ราบถึ ง ประโยชน แ ละภาพรวม ขั้ น ตอนวิ ธี ก ารดํ า เนิ น การ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติเพื่อขอรับการสนับสนุนดานตางๆ จากกระทรวงพลังงาน อันจะชวยใหเกิดภาพลักษณที่ดีในการพัฒนาแหลงพลังงานของ ประเทศและเปนประโยชนตอประเทศชาติโดยรวมตอไป อยางไรก็ตามสําหรับโครงการประกวดสื่อภาพยนตรอนิเมชัน่ ฯ หรือ Energy Animation Award 2011 ไดจัดขึ้นเปนปแรก โดยมีเปาประสงค เพื่อเชิญชวนใหกลุมเปาหมาย คือเด็กและเยาวชนเห็นความสําคัญของการ อนุรักษพลังงานและการนําพลังงานทดแทนมาใชใหเกิดประโยชนโดยไมสง

ผลกระทบตอภาวะโลกรอน ภายใตแนวคิด Stop Global Warming With Your Energy Ranger เปนการปลุกฝงใหกลุมเปาหมายตระหนักและเห็น ความสําคัญของการอนุรักษพลังงาน และการนําพลังงานทดแทนมาใชใน ชีวิตประจําวัน เพื่อยุติภาวะโลกรอน ดวยการเปดโอกาสใหเด็กและเยาวชน ไดสรางสรรคฮโี รพทิ กั ษพลังงานเพื่อปกปองโลกใบนีจ้ ากมหันตภัยโลกรอน ในรูปแบบภาพยนตรอนิเมชั่นความยาวไมเกิน 5 นาที เรียกไดวาประสบความสําเร็จอีกโครงการหนึ่งในการจัดประกวด

June 2012 l 33

Energy#43_p32-34_Pro3.indd 33

5/22/12 11:54 PM


สําหรับผูที่สนใจหรือผูที่พลาดโอกาสในการสงผลงานประกวด และ ผูที่ ไมไดรับรางวัลในการประกวดครั้งแรกเพราะทางกระทรวงพลังงานได สงเสริมและจัดประกวด Energy Animation Award 2011 ทุกปครับ ลอง นําเอากติกาการแขงขันไมศึกษากอนเนิ่นๆ นะครับ

กติกาการแขงขัน

1. ผูเขาแขงขันตองเปนนักเรียน นิสิต นักศึกษา ที่กําลังศึกษาอยู ในสถาบันการศึกษาตางๆ ในภาครัฐและเอกชน ไมจํากัดชั้นป โดยผลงาน ที่ ส ง เข า ประกวดจะต อ งมี แ นวคิ ด ภายใต Theme “Energy Ranger ขบวนการฮีโรพทิ กั ษพลังงาน” ไมจาํ กัดแบบหรือสไตล มีความยาวประมาณ 3-5 นาที พรอมตั้งชื่อผลงาน ซึ่งแตละทีมสามารถสงผลงานไดมากกวา 1 ชิ้นงาน

ดานพลังงานของกระทรวงพลังงานเนื่องจากไดรับกระแสตอบรับจาก เยาวชนทุกภาคสวนของประเทศ ใหความสนใจสงผลงานเขารวมประกวด จํานวนทั้งสิ้น 37 ทีม แบงเปน 2 ประเภท คือ ประเภทนักเรียน ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน-ตอนปลาย 16 ทีม และประเภทนักศึกษา ระดับ อุดมศึกษา 21 ทีม และไดผูเขารอบจํานวน 10 ทีม แบงเปนประเภทละ 5 ทีม จํานวน 10 รางวัล โดยรางวัลชนะเลิศไดรับทุนการศึกษา 35,000 บาท รางวัลรองชนะ เลิศอันดับ 1 ไดรับทุนการศึกษา 25,000 บาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ไดรับทุนการศึกษา 10,000 บาท และรางวัลชมเชย จํานวน 2 รางวัล ไดรับทุนการศึกษา 5,000 บาท พรอมโลรางวัลและเกียรติบัตร นอกจาก ไดรับรางวัลแลวยังเปนประสบการณที่ดีสําหรับเยาวชนอีกดวย โดย กระทรวงพลังงานจะนําผลงานที่ ไดรับการคัดเลือกจํานวน 10 เรื่อง ไปใช ประกอบในการผลิตสื่อประชาสัมพันธ และกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของของ กระทรวงพลังงานตอไป

2. ผูเขาแขงขันจะตองสงผลงานเปนทีมๆ ละไมเกิน 5 คน โดยตอง มีอาจารยที่ปรึกษา และหัวหนาสถาบันการศึกษาใหการรับรองวากําลัง ศึกษาอยูในสถาบันนั้นจริง 3. ผลงานทีส่ ง เขาประกวดจะตองอยูในรูปของ Computer Graphic Animation (2D / 3D) รูปแบบไฟลตองเปน movie file movh 264. ความ ละเอียดไมนอยกวา 720 P ในรูปแบบ DVD 1 แผน พรอมรวบรวมไฟล ตนฉบับจริงทุกไฟลที่ ใช ในการประกอบผลงานในรูปแบบ DVD 1 แผน 4. ผูท ีส่ ง ผลงานเขาประกวด จะตองเปนเจาของลิขสิทธิผ์ ลงานนัน้ ๆ อยางถูกตองตามกฎหมายแตผูสงผลงานเขาประกวดตองใหสิทธิแก กระทรวงพลังงานในการเผยแพรประชาสัมพันธ โดยไมตองแจงใหทราบ ลวงหนา และไมมีการจายคาตอบแทนใดๆทั้งสิ้น 5. การใชเสียงเพลงหรือเสียงประกอบอื่นใดภายในตัวผลงาน จะ ตองเปนการสรางสรรคโดยเจาของผลงาน หรือไดรับการอนุญาตจาก เจาของลิขสิทธิ์อยางถูกตอง ผูจัดงานประกวดจะไมรับผิดชอบใดๆ ทั้งสิ้น หากพบวามีการละเมิดลิขสิทธิ์ดังกลาว

34 l June 2012

Energy#43_p32-34_Pro3.indd 34

5/22/12 11:54 PM


Energy Showcase “ENCON” Energy Saving Fans

Envirospray 300

นวัตกรรรมของใบพัดประหยัดพลังงาน สํ า หรั บ Colling Tower และอุ ป กรณ ทําความเย็น โดยใบพัด ENCON ติดตั้งทั่ว โลกกวา 45,000 ชุด ในหลายอุตสาหกรรม ประหยัดพลังงาน สามารถชวยลดคาไฟฟา ไดเฉลี่ย 20% -30% รวมทั้งสามารถเพิ่ม Airflow ใหสูงขึ้น ใบพัด ENCON ผลิตจาก วัสดุ FRP ผสม Epoxy ทําใหทนสภาวะของ กรด & เบส ชวยลดการเสื่อมสภาพของ ใบพัด

President Chemical Co.,Ltd.

ระบบเอนไวโรสเปรย 300 เปนฉนวนกัน ความรอน แบบชิ้นเดียวไรรอยตอ โดยเยื่อ กระดาษจะถู ก พ น ลงบนวั ส ดุ ที่ จ ะติ ด ตั้ ง ฉนวนกันความรอนโดยตรง โดยใชกาว ชนิดพิเศษทําหนาที่เปนตัวประสาน ทําให ฉนวนมีคุณสมบัติในการยืด-หดตัว ตาม ชนิดของวัสดุกอสรางที่ถูกพนโดยไมหลุด รอน อีกทั้งยังชวยลดคาใชจายในการใช พลังงานในการปรับอากาศ (ใหรอนหรือ เย็นตามตองการ) ในอาคาร

บริษัท แนชเชอรัล อินซูเลชั่น (2009) จํากัด

โทร 0-2234-41714, 0-2235-7812-3 โทรสาร 0-2631-6216

โทร 0-2811-9511-2

ทอรอยสายไฟรุน Heavy Duty High Impact

เม็ดเซรามิกมวลเบา TEXCAÒ

http://www.president-chemical.co.th

http://www.coolorcosythai.com

เม็ดเซรามิกมวลเบา TEXCAÒ เปนวัสดุ มวลรวมเบา (lightweight aggregate) ที่ มีสมบัตพิ เิ ศษ คือ น้าํ หนักเบา แข็งแรง ทน ไฟสูง เปนฉนวนกันความรอน และ ดูดซับ เสียง ไดดี เหมาะสําหรับใชเปนสวนผสม คอนกรีตมวลเบา และผลิตภัณฑคอนกรีต มวลเบาสํ า เร็ จ รู ป ทํ า ให น้ํ า หนั ก ของ คอนกรีต ลดลงไดถึง 20 – 60% เมื่อ เปรี ย บเที ย บกั บ คอนกรี ต ทั่ ว ไป ทํ า ให ประหยัดคาใชจายสวนโครงสรางฐานราก และประหยัดคา ขนสง

ทอ uPVC รอยสายไฟ รุน ใหม Heavy Duty High Impact และอุปกรณ ขอตอทอของ ฮาโก มีคณ ุ สมบัตทิ ที่ นตอแรงกระแทก แข็ง แรงทนทาน สามารถดัดทอใหโคงไดตาม ตองการดวยสปริงดัดทอ ติดตัง้ ไดทงั้ แบบ ฝงและแบบลอย วัสดุที่ ใชเปนฉนวนไฟฟา ไมลามไฟ กันรังสียวู ี มีใหเลือกหลากหลาย ขนาด นอกจากนี้ยังมีขอตอแบบไมตองใช สกรู ประหยัดเวลา และไมทําใหเกิดสนิม ผานการทดสอบจากการไฟฟานครหลวง เทียบเทา มอก. 216-2524

บริษัท ฮาโก อิเลคทริค (ประเทศไทย) จํากัด โทร 0-2952-7150

บริษัท ไซมีส อีโคไลท จํากัด

บล็อกปูพื้น Cool Plus

Solahart น้ํารอนฟรีจากพลังงานแสงอาทิตย

http://www.hacothailand.com

โทร 0-2366 0961-8

Solahart เครื่ อ งทํ า น้ํ า ร้ อ นคุ ณ ภาพ สูง จากประเทศ ออสเตรเลีย Closed Circuit System (ระบบปด) ทําใหไดน้ํา รอนสม่ําเสมอ อายุการใชงานยาวนาน นับ 20 ป พรอมนี้เรายังมี ระบบผลิต น้ํารอนแบบผสมผสาน ระหวางแผงรับ ความรอนพลังงานแสงอาทิตย รวมกับ Heatpump Turbora สํ า หรั บ โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม ที่ตองการน้ํารอน ปริ ม าณมาก เรายั ง มี เ ครื่ อ งกลั่ น น้ํ า เครื่องกรองน้ํา ที่มีคุณภาพสูง

บล็อกปูพื้น Cool Plus คือนวัตกรรมใหม ลาสุดที่ออกมาเพื่อชวยลดไอรอนของพื้น ดวยคุณสมบัติพิเศษในการกักเก็บน้ําไวใน กอนบล็อก โดยจะใชการระเหยของน้ําที่ สะสมไวในกอนบล็อก ที่มาจากการรดน้ํา หรือจากน้ําฝน ในการทําใหอุณหภูมิที่ผิว หนาบล็อกลดลง และเปนสวนหนึ่งในการ แกไขปญหา Heat Island Effect ซึ่งจะเห็น ไดจากการทดสอบเปรียบเทียบอุณหภูมิ บริ เ วณพื้ น ผิ ว ต่ํ า กว า คอนกรี ต ทั่ ว ไป ประมาณ 8 – 10 องศาเซลเซียส

บริษัท เอสซีจี แลนดสเคป จํากัด โทร 0-2586-6822

PRANEE TECH CO., LTD. http://www.praneetech.com/

June 2012 l 35

Energy#43_p35-36_Pro3.indd 35

5/14/12 11:04 PM


ซีลวาเนีย LED Flashy Zoom

DHP-310AV HomePlug AV Mini Adapter

กระบอกไฟฉายซีลวาเนีย รุน LED Flashy Zoom โดดเดนดวยคุณสมบัติประหยัด พลั ง งานและรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ มพร อ ม เลื อ กใช เ ทคโนโลยี ห ลอดไฟแอลอี ดี คุณภาพสูงจากซีลวาเนีย จึงชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพการสองสวางและสามารถ ปรับรัศมีความกวางและความไกลของ แสงไดตามการใชงานเหมาะสําหรับพกพา ดีไซนทันสมัย

DHP-310AV เหมาะกับการใชงานในที่พัก อาศัยหรือสํานักงาน ที่ ไมตอ งการเดินสาย LAN หรือ มีจุดอับสัญญาน ซึ่งอุปกรณ สามารถแปลงหรือขยายสายไฟฟาที่มีอยู ใหกลายเปนเครือขายความเร็วสูง ดวย ขนาดกะทัดรัดเพียง 61 x 42.4 x 68 มิ ล ลิ เ มตร และน้ํ า หนั ก 125.6 กรั ม สามารถใชงานรวมกับอุปกรณอื่นๆ ที่มี ความเขากันไดตามมาตรฐานของ HomePlug AV ปราศจากการรบกวนและมีความ สวยงามกลมกลืนกับอุปกรณในบานหรือ สํานักงาน

บริษัท ฮาเวลส ซีลวาเนีย (ประเทศไทย)

D-Link

Permahyd® Hi-TEC

Deluxe Plasmaster

http://www.havells-sylvania.co.th/

http://www.dlink.co.th/

Deluxe Plasmaster มีระบบรักษาความชุม ชื้นผิว Skin Care ระบบยอยสลายเชื้อโรค ด ว ย ไอออน บวก-ลบ Plasmaster ionizing ระบบฆาเชื้อโรคดวยความตาง ศักดิ์สูง Plasmaster Cyclotron Filter ระบบทําความสะอาดอัตโนมัติ Plasmaster Auto Cleaning แผ น กรองกํ า จั ด เชื้ อ ไขหวัด 2009 H1N1 Filter ระบบทําความ เย็นเร็ว 3 นาที Quick Cool ระบบประหยัด พลังงาน Energy Saving Mode

ผลิ ต ภั ณ ฑ สี พ น ซ อ มรถยนต สู ต รน้ํ า ‘Permahyd® Hi-TEC’ จากแบรนด ‘สปสส เฮกเกอร’ มีจุดเดนดานนวัตกรรม และเทคโนโลยีที่ ไดรับการยอมรับในตลาด โลก ที่มุงมั่นพัฒนาสินคาที่เปนมิตรตอ สิ่ ง แวดล อ มและได รั บ การยอมรั บ ใน วงการอุตสาหกรรมสีพนซอมรถยนตมี คุณสม บัตเิ ดนดานคุณภาพชวยใหการทํา สีงายและสะดวกขึ้นซึ่งชวยลดระยะเวลา การทํางานของทีมชางพนซอม

บริษัท สหมงคลสิน จํากัด

บริษัท แอลจี อีเลคทรอนิคส (ประเทศไทย) จํากัด

เครองสํารองไฟคอมพิวเตอรประหยัดพลังงาน

โคมไฟเพดานประหยัดพลังงาน

http://www.lg.com/th/

โทร 0-2439-4533

C y b e r P o w e r เ ค รื่ อ ง สํ า ร อ ง ไ ฟ คอมพิวเตอร ทีม่ เี ทคโนโลยี Green Power ประหยัดไฟ ประหยัดพลังงาน ชวยลด ภาวะโลกรอน ซึ่ง UPS ในกลุม Value GP Series นั้ น นอกจากมี Automatic Voltage Regulator (AVR: ระบบปรับแรง ดันไฟฟาอัตโนมัติ) ในตัวแลวยังเปน UPS รุนที่ทํางานดวยเทคโนโลยีกรีนพาวเวอร (Green Power Technology) ซึ่งชวย ประหยัดพลังงานใหแกผูใช จึงนับเปนทาง เลือกที่ดีที่สุดที่ ใหพลังงานไฟฟาที่สะอาด และสม่ําเสมอ

Rai Infotech Co.,Ltd.

http://www.raiinfotech.com/

ผลิ ต ภั ณ ฑ ส อ งสว า งแบบประหยั ด พลังงานเพื่อบานของคุณ ซึ่ง Ecomoods มี ก ารออกแบบที่ ฉี ก สไตล เ ดิ ม ๆ ของ ผลิตภัณฑประหยัดพลังงาน ดวยรูปทรง ที่ บ างเพรี ย ว ออกแบบได อ ย า งลงตั ว สําหรับการใชงาน เหมาะสําหรับการสราง บรรยากาศสวนตัว สามารถจุดติดทันที ไม กะพริ บ กระเพื่ อ ม เพราะมี บั ล ลาสต์ อิเล็กทรอนิกสในตัว โครงสรางเปนเหล็ก สไตลรวมสมัย อีกทั้งยังประหยัดไฟถึง 80% เมื่อเปรียบเทียบกับหลอดไส

Philips

http://www.philips.co.th/

36 l June 2012

Energy#43_p35-36_Pro3.indd 36

5/14/12 11:05 PM


Energy#40_p25_Pro3.ai

1

2/21/12

3:29 PM


Energy Keyman โดย : ลภศ ทัศประเทือง

มองอนาคตปโตรเลียมไทย ผาน อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

ดร.ทรงภพ พลจันทร 38 l June 2012

Energy#43_p38-40_Pro3.indd 38

5/24/12 10:46 PM


ที่ปจจุบันเรานํากาซธรรมชาติมาเปนสัดสวนในการผลิตอยูถึง 70% ซึ่งมี ความเสีย่ งสูงตอความมัน่ คงในอนาคต ก็ลองมองวาจะไปใชอยางอื่นไดไหม เชน ถานหิน พลังน้ําจากเพื่อนบาน แลวเก็บกาซ NGV ไปใชแทนน้ํามัน เพราะเราไมรูเลยวาในอนาคตราคาน้ํามันจะขึ้นไปอีกเทาไหร 200 เหรียญ ตอบารเรลไหม ในปจจุบันเราผลิตน้ํามันดิบ 150,000 บารเรลตอวัน แต มีความตองการใช 8-9 แสนบารเรลตอวัน แนนอนวาจะตองนําเขา และใน ปหนึ่งๆ เราใชงบไปเกินลานลานบาท ผมมองวาธงของประเทศจะตองลด การนําเขาน้ํามันใหได คิดหาสิ่งอื่นมาทดแทน มาสํารอง อยางน้ํามันเราก็ พยายามสงเสริมใหไดเปน E85-E100 ไบโอดีเซล 100 ซึ่งเรามีความ พรอมเรื่องวัตถุดิบอยูแลว

http://technologypetroleum.blogspot.com/2010/10/blog-post_5795.html

ความมั่นคงในเรื่องของพลังงานไทย ในสวนการบริหารจัดการ แหลงเชื้อเพลิงใหไดประสิทธิภาพและยั่งยืน รวมถึงการสงเสริม สนับสนุน และเรงรัดการจัดหาพลังงานนั้น ถาจะหาคําตอบในเชิงลึกคงตองมาที่นี่ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ซึ่งเปนหนวยงานที่มีหนาที่ สงเสริม สนับสนุนและ เรงรัดการสํารวจและพัฒนาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติในประเทศ และพื้นที่ พัฒนารวม รวมถึงเรงรัดการเจรจาเพื่อพัฒนาในพื้นที่ทับซอน สงเสริม ความรวมมือดานการสํารวจและพัฒนาแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติกับ ประเทศเพื่อนบาน ซึ่งในฉบับนี้เราไดรับเกียรติจาก ดร.ทรงภพ พลจันทร อธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ทานจะมาพูดคุยถึงมุมมอง แนวคิด และแนวโนมเรื่องพลังงานของประเทศในอนาคต

ES : สถานการณ การสํารวจ-จัดหาปโตรเลียม ในวันนี้เปนอยางไรบางครับ? อธิบดี : ณ วันนี้ การจัดหาสามารถสนองความตองการของ

ประเทศได 42% ซึ่งเปนกําลังการผลิตที่สูงสุดแลว ขณะที่ความตองการ พลังงานสูงขึ้นตอเนื่อง สัดสวนการใชพลังงานของประเทศตอนนี้อยูที่ 1.9 ลานบารเรลตอวัน แตเราสามารถผลิตใชกันในประเทศได 8-9 แสน บารเรลเทานั้น

ES : ทําใหวิสัยทัศนดานพลังงานของทานเปลี่ยน ไปหรือไม? อธิบดี : ไมเปลี่ยนแตจะปรับ ตราบใดที่พลังงานเริ่มหายากลง

ทุกวัน แตความตองการสูงตอเนื่อง เราก็จะตองหาลูทางอื่นในการสราง ความอยูรอดเพื่อความมั่นคงดานพลังงานในอนาคต วิสัยทัศน ณ ปจจุบัน ที่มองไวคือการปรับโครงสรางดานพลังงาน เชน เรื่องพลังงานไฟฟา

ES : สวนที่กรมฯ ดูแลเรื่องการจัดหากาซ NGV มองเรื่องการปรับราคา NGV อยางไรบางครับ? อธิบดี : กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติไมมีหนาที่ ความรับผิดชอบใน

การกําหนดราคา NGV โดยกรมฯมีหนาที่หลักในการจัดหากาซธรรมชาติ เพื่อตอบสนองความตองการใชของประเทศในทุกรูปแบบ โดยสามารถแสดง ราคาไดในสวนของราคากาซในอาวไทย ที่มาจากปากหลุม ไมรวมคาขนสง Process คาการตลาดใดๆ ทั้งนั้น แตในแงความเห็นก็มีความคิดวาจะตอง ปรับราคาเพื่อสะทอนตนทุนที่แทจริง ไมควรจะใหเปน ปตท.เจาเดียวที่เปน ผูจําหนาย ในอนาคตผูคารายอื่นที่อยากขาย NGV ก็สามารถทําไดหมด ไมวาจะเปน เชลล เอสโซ หรือแมแตผูที่มีวอลุมในการใชกาซมากก็สามารถ ทําได แตความชัดเจนดานราคาจะตองออกมากอนวาจะสรุปอยูที่เทาไหร อยาลืมวาตอนนี้แมกระทั่งมาเลเซียเองก็มีการปรับขึ้นราคากาซ NGV เพื่อเตรียมตอนรับการเปด AEC และเปนสิ่งที่เราไมสามารถ Subsidy อีกตอไป

ES : แผนยุทธศาสตรดานพลังงานเปนอยางไร? อธิบดี : แผนที่เดินอยูแลวตอนนี้ของพลังงาน คือ เรื่องการหา

พลังงานทดแทนน้ํามัน ใชไบโอดีเซล เอทานอล มากขึ้น นําวัตถุดิบมาผลิต สกัดจากสวนที่เปนอาหาร สวนกาซ NGV ก็เก็บไวแทนภาคการใชน้ํามัน สวนไฟฟาก็ใหมองไปทีร่ ปู แบบการผลิตอื่นๆ และสวนพลังงานทดแทนทีจ่ ากตอน เริ่มอยูที่ 0.6% ขณะนี้เพิ่มเปน 10% จะขยายเปน 20% ในป 2565 และมี เปาหมายหลักวาจะตองลดการนําเขาน้ํามัน ใชเชื้อเพลิงอยางหลากหลาย และพัฒนาแหลงพลังงานภายในประเทศ โดยมีหลักปฏิบัติ 3 ขอหลัก 1. การอนุรักษและเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน ก็คือการปรับเปลี่ยน โครงสรางการใชพลังงาน 2. ความมั่นคงดานพลังงาน โดยการสงเสริม การพัฒนาและผลิตปโตรเลียมจากแหลงในประเทศ และเชื่อมโยงแหลง พลังงานกับประเทศเพื่อนบาน และ 3. พัฒนาพลังงานหมุนเวียนและสงเสริม การใชพลังงานทดแทน อาทิ แสงอาทิตย ลม ชีวมวล กาซชีวภาพ พลังน้ํา น้าํ มันเชือ้ เพลิงชีวภาพ แกสโซฮอล ไบโอดีเซล เอ็นจีวี และพลังงานนิวเคลียร June 2012 l 39

Energy#43_p38-40_Pro3.indd 39

5/24/12 10:46 PM


ES : แผนการจัดหาแหลงพลังงานในประเทศ เพื่อนบานเปนอยางไรครับ? อธิบดี : ก็ไดมกี ารสนับสนุน ปตท.สผ. ใหไปลงทุนในหลายประเทศ

ไม ว า จะเป น เขมร เวี ย ดนาม พม า อิ น โดนิ เ ซี ย ออสเตรเลี ย และใน ตะวันออกกลาง อิหราน แอลจีเรีย เพราะเราเล็งเห็นวาศักยภาพในประเทศ ลดลง จึงตองหาแหลงในตางประเทศมาเสริมความมั่นคง เพราะหากเกิด กรณีที่ขาดแคลนพลังงานเราก็ยังสามารถดึงกลับมาบานเราได ตอนนี้ ปตท.ไปทําเหมืองถาน และพยายามเตรียมความพรอมไวในทุกที่ เพราะเรา ไปยึดติดกับตะวันออกกลางมาก ซึ่งหากวันใดวันหนึ่ง ชองแคบเฮอรมุชปด พลังงานเราจะหายไปเลย 60% และในหนึง่ นโยบายหลักทีจ่ ะตองเรงดําเนิน การเลยก็คอื การแกปญ  หาพืน้ ทีท่ บั ซอนไทยกัมพูชา ถาสามารถดําเนินการ ได ณ วันนี้ เราจะเห็นกาซในอีก 10 ปขางหนา เพราะจะตองมีการเจาะ สํารวจประมาณ 3 ป วิจัย-พัฒนาอีก 3-4 ป ตั้งแพลตฟอรมอีก เร็วสุด ก็ประมาณ 10 ป ซึ่งถาเราแกไขปญหาตรงนี้ ได และไดขอสรุปจะสราง ความมั่นคงไปไดอีก 30-50 ปเลย ขณะนี้กระทรวงการตางประเทศ เตรียม เสนอรัฐมนตรีเพื่อขอกรอบเจรจาอยู

ES : อนาคตพลังงานของประเทศไทย ? อธิบดี : นาเปนหวง ตองบอกวาเราเปนประเทศทีต่ อ งซือ้ พลังงาน

ES : ปญหาอุปสรรคอะไร ที่ทําใหการจัดหา พลังงานไมประสบความสําเร็จ? อธิบดี : รวมแลวทั้งเรื่อง คน และ แหลงพลังงาน โดยเรื่องคน

ก็คือการยอมรับเปนหลัก อยางปญหาการสํารวจพบแหลงปโตรเลียม แต ประชาชนไมยอมรับใหเขาพื้นที่ ไปขุดเจาะ ตรงนี้ก็ตองทําความเขาใจกับพี่ นองประชาชน ซึง่ การสรางความรูค วามเขาใจ สรางเครือขาย จะเปนปจจัย ความสําเร็จในการดําเนินการ สมัยกอนกลัววาจะสํารวจแลวไมเจอน้ํามัน แตสมัยนีต้ อ งบอก สํารวจเจอแลวกลัวไมไดขดุ เจาะ เพราะคนตอตาน เพราะ เขากลัววาจะเกิดน้ํามันรั่ว แผนดินทรุด กลัวไฟไหม ฯลฯ โดยวิธีการ ตอตานก็จะประทวง ฟองศาลปกครอง รองไปที่กรรมาธิการทั้งหลาย ซึง่ ตองบอกวาเปนเรื่องยากทีจ่ ะดําเนินงาน และอยากจะใหกระทรวงพลังงาน ไดตระหนักในเรื่องนีเ้ ปนสําคัญ ใครจะเชื่อวา โรงไฟฟาแสงอาทิตย กังหันลม คนก็ตอตาน แสดงวาตอนนี้ตอตานทุกอยาง อีกหนอยก็จะเดินไมได เราตองดูวา ทางไหนดีทีส่ ดุ จะดีกวา สวนศักยภาพแหลงพลังงานในประเทศ ตองบอกเลยวา ณ เวลานี้ที่จะขุดเจอแหลงใหญจะยากแลว ที่เหลือก็จะ เปนการผลิต ผสมประกอบ เพราะเกิดจากกราฟผลิตสูงสุดแลวจะหัวทิ่ม แหลงใหมถาเจอก็ ไมใหญมีขนาดเล็ก สมัยกอน ในหนึ่งหลุมตองขุดไดกาซ 8,000 ลานลูกบาศกฟุตถึงจะคุม เดี๋ยวนี้เหลือ 0.5-1 ลานลูกบาศกก็ยัง ตองขุด เพื่อเก็บเล็กผสมนอย

ขณะนี้เราสนองความตองการการใชพลังงานของประเทศไดทั้งหมด 42% และในอนาคตก็จะต่ําลงเรื่อยๆ ขณะนี้แหลงพลังงานใหมๆ ไมเกิด แตคนใช พลังงานเพิ่มขึ้นทุกวัน ทั้งการ Subsidy ราคาน้ํามัน ก็เปนสาเหตุทําใหคน ไมประหยัดในการใช เพราะมีเงินจากรัฐคอยชวยเหลืออุดหนุนให การใช พลังงานนับวันก็เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นภาคประชาชนก็เปนสวนสําคัญในการ ตระหนักวา พลังงานนั้นหายาก จงใชนอย ประหยัดเถิด ตรงนี้จะตองทําให เปนอุปนิสัยใจคอคนไทย เนื่องจากเรามีพลังงานนอย แตใชมาก จุดนี้เรา จะตองปรับแนวคิด โดยหาวิธีตางๆ มาทําใหเกิดการสัมฤทธิ์ผล

ES : สุดทายนีฝ้ ากถึงคนไทยทุกคนทีม่ สี ว นในการ ใชพลังงาน อธิบดี : อยางทีบ่ อกนะครับวา ณ ปจจุบนั การสํารวจปโตรเลียม

ของประเทศไดถึงจุดสูงสุดแลวคือ 42% และในอนาคตจะเหลือ 18% ใน 10 กวาปขางหนา กาซในอาวไทย ถาใชในอัตรานี้มีหวังจะเหลือไมพอ 30 ป มองภาพรวมของประเทศแลวความตองการโตขึ้น ขณะที่การจัดหา ลดลงแบบนี้ ก็เปนเรื่องยากที่จะบริหารจัดการ หากเราไมชวยกันประหยัด ตั้งแตวันนี้ วันขางหนาจะลําบาก ถาพูดถึงการใชพลังงานของประเทศ เวลานี้ มันยังไมมีประสิทธิภาพ เชน การใชพลังงานในภาคขนสงถึง 35% ซึ่งในประเทศที่พัฒนาแลวจะอยูราว 20% ทั้งนี้ ก็ตองไดรับความรวมมือ จากทุกฝายทั้ง ภาครัฐบาล ภาคประชาชน จะตองใหความสําคัญรวมมือ รวมใจกันใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ชวยอนุรักษพลังงานกันอยาง จริงจัง เพื่อความมั่นคงและยั่งยืนของพลังงานไทยในอนาคต

40 l June 2012

Energy#43_p38-40_Pro3.indd 40

5/24/12 10:46 PM


Energy Keyman โดย : ณ อรัญ

BANPU ธุรกิจเชื่อชาติไทย สัญชาติไทย ผูนําธุรกิจถานหินแถวหนาของเอเชีย

ชนิ น ท ว อ งกุ ศ ลกิ จ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) June 2012 l 41

Energy#43_p41-43_Pro3.indd 41

5/21/12 11:09 PM


ES : ปทผ่ี า นมา 2554 รายไดบา นปู เปนอยางไรบาง คุณชนินท : “ในป 2554 ที่ผานมาบานปูฯ มี

รายไดจากการขายรวมจํานวน 112,404 ลานบาทเพิ่ม ขึ้นรอยละ 72 จากปกอน โดยแบงเปนรายไดจากการ จํ า หน า ยถ า นหิ น จํ า นวน 107,168 ล า นบ า นเพิ่ ม ขึ้ น รอยละ 79 และคิดเปนสัดสวนรอยละ 95 ของรายไดจาก การขายรวมในขณะที่รายไดจากการจําหนายไฟฟาและ ไอน้ําเพิ่มขึ้น รอยละ 5 ที่ 5,236 ลานบาทคิดเปนรอยละ 5 ของรายไดทั้งหมด”

ES : แลวปนี้ 2555 ตั้งเปาไว อยางไรบาง คุณชนินท : “สวน ในป 2555 คาดวารายได

จากการขายรวมจะเติบโตตอเนื่อง 15% หรือประมาณ 1.3 แสนลานบาท ตามปริมาณการผลิตและจําหนายถานหิน จากแหลงผลิตในอินโดนีเซียและออสเตรเลีย ที่เพิ่มขึ้น โดยตั้งเปาหมายปริมาณการขายถานหินรวมจาก เหมื อ งถ านหิ นในอิ นโดนีเ ซี ย ออสเตรเลี ย และจีน ที่ ประมาณ 47- 48 ลานตัน จาก 42 ลานตันในป 2554 โดยปริมาณการขายจากเหมืองถานหินในอินโดนีเซีย และ ออสเตรเลียจะเพิ่มขึ้นประมาณรอยละ 8 เปนประมาณ 27 ลานตัน และ 16 ลานตัน ตามลําดับ สวนยอดขายที่เหลือ คาดวาจะมาจากประเทศมองโกเลีย”

ES : แลวผลการดําเนินงานไตรมาส 1/55 ที่ผานมาเปนอยางไรบาง คุณชนินท : “ในไตรมาส 1/55 ที่ผานมา

เรียกไดวาเปนธุรกิจสายพันธุไทยอยางแทงจริงครับสําหรับ “บานปู” หนึ่งในผูผลิต ถานหินและพลังงานชั้นนําของเอเชีย ที่เนนการลงทุนใน 5 ประเทศเปนหลักไมวาจะเปน ไทย อินโดนีเซีย จีน ออสเตรเลีย มองโกเลีย เปนตน และยังมีแนวโนมที่จะขยายการลงทุน ในตางประเทศอยางตอเนื่อง ซึ่งรายละเอียดการลงทุน รายไดการเติบโตของบานปูเปน อยางไรนั้นลองไปคุยกับ คุณชนินท วองกุศลกิจ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) กันครับ

บานปูฯ มีปริมาณขายถานหินจํานวน 9.2 ลานตัน เพิ่มขึ้น รอยละ 2 จากงวดเดียวกันของปกอ นหนา แบงเปนปริมาณ การขายถานหินจากแหลงผลิตในอินโดนีเซีย จํานวน 5.7 ลานตัน และออสเตรเลีย จํานวน 3.5 ลานตัน เพิ่มขึ้น รอยละ 7 และลดลงรอยละ 3 ตามลําดับจากไตรมาส 1/54 ในขณะที่ ร าคาขายถ า นหิ น เฉลี่ ย จากเหมื อ งถ า นหิ น ใน อินโดนีเซีย และออสเตรเลียในไตรมาสนี้อยูที่ 100.63 เหรียญสหรัฐตอตัน และ 73.02 เหรียญออสเตรเลียตอ ตันตามลําดับ มีรายไดจากการขายรวมจํานวน 28,310 ลานบาท เพิ่มขึ้น 4,132 ลานบาท หรือรอยละ 17 จาก ไตรมาสเดียวกันของป 2554 ซึ่งเปนผลจากปริมาณและ ราคาขายถานหินทีเ่ พิม่ ขึน้ แบงเปนรายไดจากการจําหนาย ถานหินจํานวน 26,522 ลานบาท (คิดเปนสัดสวนรอยละ

42 l June 2012

Energy#43_p41-43_Pro3.indd 42

5/21/12 11:09 PM


94 ของรายไดจากการขายรวม) และรายไดจากการจําหนายไฟฟาและไอน้าํ จากโรงไฟฟาพลังความรอนรวม 3 แหงในประเทศจีน และรายไดอื่นๆ มี จํานวน 1,789 ลานบาท (รอยละ 6 ของยอดขายรวม)

ES : กําไรสุทธิ ในไตรมาส 1 เปนอยางไร คุณชนินท : สําหรับกําไรสุทธิในไตรมาส 1 ทีผ่ า นมานัน้ มีจาํ นวน

2,785 ลานบาท ลดลงรอยละ 70 จากงวดเดียวกันของปกอนหนา และ ลดลง รอยละ 21 จากไตรมาส 4 ของป 2554 เนื่องจากไมมีการบันทึก กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในไตรมาสนี้หากเทียบกับไตรมาสเดียวกัน ของปที่แลวที่มีการบันทึกกําไรหลังหักภาษีจากการขายเหมืองตาหนิงใน ประเทศจีน จํานวน 6,308 ลานบาท ทั้งนี้หากไมนับรวมกําไรจากการขาย เงินลงทุนแลวจะเห็นวากําไรสุทธิในไตรมาส 1 ที่ผานมาเพิ่มขึ้น 2 เทา สวนกําไรจากธุรกิจไฟฟาจํานวน 477 ลานบาทเพิ่มขึ้นรอยละ 21 จาก ไตรมาส 1/54 โดยโรงไฟฟาบีแอลซีพียังคงดําเนินการผลิตกระแสไฟฟาไดอยางราบรื่น และจะยังคงสามารถผลิตกระแสไฟฟาเขาสูระบบได ตลอดทั้งป เนื่องจากมีสัญญารับมอบถานหินของปนี้เปนที่เรียบรอยแลว”

ES : ราคาขายถานหินโดยเฉลี่ยเปนอยางไร คุณชนินท : “สําหรับราคาขายถานหินเฉลี่ยของทั้งปคาดวาจะ

ดีกวาปที่แลว โดยราคาขายถานหินเฉลี่ยของอินโดนีเซียจะสูงกวาป 2554 ซึ่งอยูที่ระดับ 97 เหรียญสหรัฐตอตัน เชนเดียวกันราคาขายของถานหิน ออสเตรเลียจะเพิ่มขึ้นจากปที่แลวชึ่งอยูที่ระดับ 75 เหรียญออสเตรเลียตอ ตัน ทั้งนี้ การขายถานหินจากทั้งสองประเทศไดมีการกําหนดราคาไวลวง หนาแลวเปนสวนใหญ”

ES : มีเปาหมายการผลิตถานหินไวอยางไร คุณชนินท : “ในปนี้ บริษัทตั้งเปาหมายการผลิตถานหินที่

ประมาณ 47.7 ลานตัน โดยจะมาจากแหลงในอินโดนีเซียประมาณ 27 ลาน ตัน ออสเตรเลีย 16.7 ลานตัน จีน 3 ลานตัน มองโกเลีย 1 ลานตัน ทั้งนี้ ในปนบี้ า นปูไดทาํ สัญญากําหนดราคาขายถานหินในอินโดนีเซียไปแลว 51% ของเปาหมายการขายที่ 27 ลานตัน หรือประมาณ 14 ลานตัน ในระดับ ราคาใกลเคียงกับราคาขายถานหินในตลาด”

ES : แผนการลงทุนในปนี้เตรียมไวอยางไรบาง คุณชนินท : “สําหรับแผนดําเนินธุรกิจในปนี้เตรียมงบลงทุน

600 ลานเหรียญสหรัฐ เพื่อใชในการพัฒนากําลังการผลิตและปริมาณ สํารองถานหินจากสินทรัพยที่มีอยู ในปจจุบันโดยใชในการลงทุนในประเทศ ออสเตรเลีย 400 ลานเหรียญสหรัฐ อินโดนีเซีย 100 ลานเหรียญ มองโกเลีย 100 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งมีปริมาณสํารองถานหินในขณะนี้ รวม 695 ลานตัน จาก 672 ลานตันในปกอนหนา สวนแผนการลงทุน 5 ป ตั้งแตป 2011 – 2015 นั้นบานปูฯ มีแผนการลงทุน 1,750 ลานเหรียญ สหรัฐโดยใชในการลงทุนในออสเตรเลีย 600 ลานเหรียญ ในมองโกเลีย 400 ลานเหรียญ ในอินโดนีเซีย จีน ลาว และไทย 750 ลานเหรียญ โดย แผนการลงทุน 5 ปนั้นบานปูไดคาดการกําลังการรวมที่ 60 ลานตัน โดย แบงเปน อินโดนีเซีย 30 ลานตัน ออสเตรเลีย 20 ลานตัน มองโกเลีย 5 ลานตัน จีน 5 ลานตัน”

June 2012 l 43

Energy#43_p41-43_Pro3.indd 43

5/21/12 11:09 PM


Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร

รีไซเคิลดีไซน ...สู Mission Zero

จากภาวะโลกรอน อากาศเปลี่ยนแปลงนั้นทําใหดีไซนเนอร หรือผูออกแบบตางไดคิดคนหา วิธีการออกแบบเพื่อลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ซึ่งหลักการออกแบบที่ดีในปจจุบันนั้นคือการนํา ขยะมารีไซเคิล หรือการนําเอาผลิตภัณฑเกาที่หมดอายุการใชงานแลวนํามารีไซเคิลใหมหรือการ หมุนเวียนกลับมาใชใหมเพื่อใชเปนวัตถุดิบที่ ใชในการผลิตสูการไดมาของผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม นี่เปนแนวความคิดของนักออกแบบสมัยใหมที่ใสใจสิ่งแวดลอมอยาง มร.เดวิด โอคีย แหง บริษัท อินเตอรเฟซ อิงค จํากัด ซึ่งเปนนักออกแบบผลิตภัณฑพรมใหกับอินเตอรเฟซฟลอร เพี ย งรายเดี ย วโดยได อ อกแบบแผ น พรมที่ ไ ม ไ ด เ น น เพี ย งความสวยงามที่ ส อดคล อ งกั บ สถาปตยกรรมและเทรนดการตกแตงภายในเทานั้น แตเดวิด ยังใหความสําคัญกับการใชวัตถุดิบ อยางคุมคา โดยการออกแบบนั้นเขาไดแรงบันดาลใจจากการสนทนากับ มร.เรย แอนเดอรสัน

มร.เดวิด โอคีย

44 l June 2012

Energy#43_p44-45_Pro3.indd 44

5/14/12 11:09 PM


“เวียนใช ไมเสียเศษ ไมกอใหเกิดเปนขยะ วิธี ใชอยางฉลาด สูความเปนธุรกิจที่ยั่งยืน” ปรัชญาการออกแบบของ เดวิด โอคีย

เนื่อง โดยปจจุบันนั้นพรมของ อินเตอรเฟซฟลอร ในสวนของขนพรมผลิต มาจาวัตถุดบิ รีไซเคิลทัง้ หมด 100% ในสวนแผนรองพรมไดใชวสั ดุรไี ซเคิล อยูที่ประมาณ 40% แต อินเตอรเฟซฟลอร ก็ ไดตั้งเปาพัฒนาใหไดถึง 100% เชนเดียวกัน ซึ่งอินเตอรเฟซฟลอร ตั้งเปาในป 2020 จะผลิตพรมที่มาจากวัสดุ รีไซเคิลใหได 100% ทั้งหมด ซึ่งอันนี้เปนสวนหนึ่งของพันธกิจของ อินเตอรเฟซฟลอรที่เรียกวา Mission Zero หรือการไมทิ้งรองรอยของ การผลิตไวบนโลก นอกจากการมองเรื่องวัสดุรีไซเคิลแลวพลังงานที่ใชในกระบวนการ ผลิตก็เปนเรื่องสําคัญเชนกันโดยทางอินเตอรเฟซฟลอรไดพยายามใช พลังงานหมุนเวียน (renewable energy) เชน ไฟฟาพลังงานลม พลัง แสงอาทิตย ฯลฯ ซึ่งเปนการนําเอาเทคโนโลยีเขามาชวยในการทิ้งรองรอย จากกระบวนการผลิ ต ให น อ ยลงและเพื่ อ เข า ใกล เป า หมายที่ ว างไว ข อง อินเตอรเฟซฟลอร และเพื่ อ ตอบสนองไลฟ ส ไตล ค นรุ น ใหม นั้ น นอกจากการใส ใ จ สิ่งแวดลอมแลว เดวิด โอคีย ยังไดออกแบบแผนพรมใหมีสีสันสดใสเพื่อ ใหบรรยากาศภายในออฟฟศสมัยใหมมีบรรยากาศที่สนุกสนานผอนคลาย แลวลดการกั้นคอกเพื่อกระตุนใหเกิดความคิดสรางสรรคในการทํางาน โดยพรมสามารถแบงพื้นผิวตามการใชงานไดอยางดี

ผูกอตั้งบริษัท อินเตอรเฟซฯ โดยแนวคิดการออกแบบนั้นเขาไดออกแบบ ดวยการเลียนของแบบวิถีธรรมชาติ (Biomimicry) มาใชในการออกแบบ พรม ภายใตปรัชญาการออกแบบที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ดวยการลด ปริมาณขยะ ลดของเสีย ลดมลพิษ ลดกาซเรือนกระจก และผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมในทุกกระบวนการผลิต รวมถึงการนําเอาขยะมารีไซเคิล เชน แห และอวน ซึ่งเปนทางออก ทีด่ อี กี ทางหนึง่ ในการนํามารีไซเคิล นอกจากนัน้ ก็จะเปนขยะจากไนลอน และ การนําเอาพรมเกาที่หมดอายุการใชงานแลวนํากลับมารีไซเคิลอีกครั้งเพื่อ ใชเปนวัตถุดิบในการผลิตพรม เรียกไดวาเปนการรีไซเคิลดีไซน ทั้งนี้ก็เพื่อ ลดผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มสร า งความยั่ ง ยื น ให กั บ สิ่ ง แวดล อ มและ ทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูตลอดไป แนวคิดการออกแบบของ เดวิด โอคีย ไดพัฒนาตอยอดอยางตอ June 2012 l 45

Energy#43_p44-45_Pro3.indd 45

5/14/12 11:09 PM


Residential โดย : สรรชณิฏฐ

Worabura Resort & Spa

ในสไตล Colonial ...แต ใส ใจดานพลังงาน

เดือนมิถุนายนของประเทศไทยยังถือวาเปนเดือนที่มีอากาศรอน อบอาวอยูแตจะไมรอนเทาชวงเดือน เมษายนและพฤษภาคม เพราะวาเปน ชวงของฤดูรอ นทีก่ าํ ลังยางเขาฤดูฝน ซึง่ หากวาดวยการพยากรณอากาศ แลวในชวง เดือน มิ.ย. – ตนเดือน ก.ค. จะเกิดรองความกดอากาศต่ํา ที่เป็นแนวของพายุหมุนเขตร้อน และจะเคลื่อนตัวขึ้นไปยังตอนใต้ของ ประเทศจีน ซึง่ ทําใหชว งเดือนนีม้ ฝี นตกในประเทศไทยเพียงเล็กนอย อากาศ จะไมรอนมาก ซึ่งตามภาษาพยากรณอากาศเขาจะเรียกชวงนี้วา “ฝนทิ้ง ชวง” และพื้นที่ที่เหมาะกับการทองเที่ยวคือ พื้นที่ทั้งหมดของอาวไทย ทั้ง ตอนบน ตอนกลาง และตอนลาง เกริ่นนํามานานเขาเรองเลยดีกวาสําหรับ คอลัมน Residential ของเดือนนี้ ไปวากันดวยรีสอรทที่ ไมไกลจาก กรุงเทพฯ มากนักและไมเสี่ยงอันตรายตอภัยธรรมชาติทางทะเล วรบุระ รีสอรท แอนด สปา ตั้งอยูที่ หัวหิน ขับรถใชเวลาไมเกิน 2 ชั่ ว โมงก็ ถึ ง ที่ ห มายแล ว ซึ่ ง รี ส อร ท แห ง นี้ นั้ น เป น สไตล Colonial

สถาปตยกรรมแบบยุโรปผสมไทยที่ ไดแรงบันดาลมาจากพระราชวัง 3 แหง พระราชนิเวศนมฤคทายวัน, พระที่นั่งวิมานเมฆ, พระรามราชนิเวศน (พระราชวังบานปน) ซึ่งมีทั้งหมด 77 หองและในแตละหองนั้นไดตั้งตาม ชอ 77 จังหวัดของประเทศไทยภายในหองตกแตงใหไดกลิ่นอายของแตละ ทองถิ่นหรือวัฒนธรรมของแตละจังหวัด ซึ่งผูมาเยือนจะไดสัมผัสกับมนต เสนหวัฒนธรรมไทยจากในอดีตจนถึงปจจุบัน นอกจากการยอนอดีตแลวที่นี่เขายังใหความสําคัญในเรองการ อนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมอีกดวยเพอลดผลกระทบของภาวะโลกรอน โดยมีมาตรการและแนวทางการดําเนินการหลายอยาง เริ่มจากการปลูกจิตสํานึกของพนักงานทั้งหมดใหมีจิตสํานึกในการ รักษโลก รักษสิ่งแวดลอม สูการอนุรักษพลังงาน ซึ่งพนักงานที่นี่ตางก็ ตองผานการประถมนิเทศในเรองการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมหรือ ขอควรปฏิบัติของ วรบุระ รีสอรทฯ ไมวาจะเปนการเปดปดไฟในบริเวณ

46 l June 2012

Energy#43_p46-47_Pro3.indd 46

5/16/12 2:52 PM


รอบอาคารและทางเดิ น หรื อ ห อ งพั ก พนั ก งานในช ว งเวลาที่ เ หมาะสม การขัดแยกขยะ ซึ่งที่นี่เขาไดมีการขัดแยกขยะไวเปนสัดสวน เชน ขยะเปยก ขยะแหง ขยะเปนพิษ บางสวนนําไปจําหนายตอ บางสวนนําไปทําเปนปุย ชีวภาพ หรือปุยหมักสําหรับใชสําหรับเปนอาหารของตนไมนานาพรรณใน พื้นที่สีเขียวภายในรีสอรทที่มีกวา 50% ของพื้นที่รีสอรททั้งหมด รวมถึง ขยะเปนพิษก็จะนําไปจํากัดอยางถูกวิธเี พอไมใหเปนอันตรายตอสิง่ แวดลอม ในสวนของขยะที่เปนเศษอาหารไดนําไปขายใหฟารมสุกรเพอใชเปนอาหาร สุกร ขวดพลาสติกหรือขวดแกวนําไปจําหนายใหกับบริษัทรับซื้อของเกา ซึ่ ง สิ่ ง เหล า นี้ ช ว ยทํ า ให วรบุ ร ะ รี ส อร ท สามารถลดผลกระทบต อ สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติไดดีเลยทีเดียว และการปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอีก อยางของรีสอรทแหงนี้เขาไดดําเนินในเรองการจัดทําปายโชวตัวเลขการ ประหยัดพลังงาน ประหยัดน้ําในแตละเดือนของรีสอรทใหพนักงานทราบ และตระหนักถึงเรองการประหยัดพลังงาน เพื่อลดต้นทุนด้านพลังงานให้ ได้ตามเป้าที่ว่างไว้ที่นี่เขาจะมีการ ประชุมทุกเชาในเรองคาไฟ คาน้ําวาเปนอยางไรหากเปรียบเทียบกับลูกคา ที่มีอยูในแตละวัน พรอมกับตรวจสอบอุปกรณทุกอุปกรณวาชํารุด หรือ เกิดปญหารั่วไหลของพลังงานหรือไม และในการทําความสะอาดหองหลัง จากที่ลูกคาเช็คเอาทออกแลวในระหวางการทําความสะอาดที่นี่เขาจะมี กฎระเบียบไมใหพนักงานเปดแอรในขณะทําความสะอาดหอง การบําบัดน้ําเปนอีกแนวทางหนึ่งของรีสรอทแหงนี้ ในการอนุรักษ

พลังงาน โดยไดทําการบําบัดน้ําที่ผานการใชงานแลวจากหองน้ําภายใน หองพัก แลวนํากลับมาใชสําหรับรดน้ําตนไม ซึ่งชวยประหยัดพลังงานน้ํา และคาใชจายไดอีกทางหนึ่ง ซึ่งการดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมนั้นชวย ใหสามารถลดการใชพลังงานได 10% เลยทีเดียว แต วรบุระ รีสอรท ก็ ไมไดหยุดนิ่งเพียงแคนี้แตยังไดมีการพัฒนาการประหยัดพลังงานอยาง ตอเนอง.. อยางไรก็ตามหากผูที่สนใจมาพักผอน ณ วรบุระ รีสอรท แอนด สปา นั้นนอกจากเปน รีสอรทใสใจพลังงานแลวที่นี่เขายังมีกิจกรรมตาง ไวรองรับแขกผูมาพักอีกดวย ไมวาจะเปน กิจกรรมขี้ชางทัวรชายหาด หัวหิน ทัวรตลาดน้ํา ไดรกอลฟ กิจมอเตอรสปอรท แอโรบิค แอโรบิคในน้ํา โปโลน้ํา วอลเลยบอลน้ํา ฟุตบอล ชายหาด สปา เพนทผาบาติก กิจกรรม ในเรื่ อ งของการสอนทํ า อาหาร เปนตน

June 2012 l 47

Energy#43_p46-47_Pro3.indd 47

5/16/12 2:52 PM


Energy Management เครื่องปรับอากาศและตูเย็นเปนสวนใหญ สวนในโรงงานอุตสาหกรรมมี การใช ม อเตอร ม ากที่ สุ ด ในประเทศถึ ง 70 % หรื อ ประมาณกว า 1 ลานเครื่อง ซึ่งเหลานี้เปนมอเตอรที่มีประสิทธิภาพสูงเพียง 5 % เทานั้น นอกเหนือจากนัน้ ยังมีอปุ กรณอนๆ ื่ ทีน่ าํ มาเพิม่ ประสิทธิภาพในกระบวนการ ผลิต เชน ระบบแสงสวาง, ระบบอัดอากาศ, ระบบทําความเย็น, ระบบขับ เคลื่อน, ระบบความรอน เปนตน จะเห็นวา สัดสวนการใชกระแสไฟฟาในภาคธุรกิจอุตสาหกรรม มีการใชมากเปนอันดับ 1 ของประเทศ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิต มี ก ารใช ใ นสั ด ส ว นร อ ยละ 70 ของการใช ไ ฟฟ า ทั้ ง หมดของประเทศ เมื่อมองถึงธุรกิจอุตสาหกรรม ตนทุนที่สําคัญของธุรกิจอุตสาหกรรม นอกเหนือจาก คาวัตถุดิบ คาจาง คาใชจายในการบริหาร และอื่นๆ แลว ยังมีตนทุนที่สําคัญอีกอยางหนึ่ง คือ คาใชจายกระแสไฟฟา ซึ่งบางครั้ง เราอาจมองวาเปนตนทุนคาใชจายที่ ไมมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับรายไดที่ เกิดขึ้นจากการผลิต http://blog.chumbonus.com/going-green-the-new-industrial-revolution/

แนวทางจั ด การพลั ง งาน เพื่อคืนทุนให้ธุรกิจ SMEs ธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises) หรือ SMEs มีความสําคัญอยางยิ่ง ตอสภาวะเศรษฐกิจของ ประเทศโดยรวม ทั้งทางดานปริมาณและบทบาทที่เพิ่มขึ้น สาระสําคัญที่ ทําใหเกิดบทบาทตอระบบเศรษฐกิจโดยรวม ไดแก เปนแหลงรองรับการ วาจางแรงงานขนาดใหญ, สามารถสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั สินคา, เกิดการนํา รายไดเขาในประเทศและยังชวยใหสามารถผลิตสินคาเพื่อทดแทนการนําเขา, เป็นหน่วยผลิตที่สนับสนุนและนําไปสู่กิจการขนาดต่างๆ และเชื่อมโยง ระหวางภาคการผลิตที่เกี่ยวของ การเกิด SMEs ขึ้นตามภูมิภาคตางๆ เทากับเปนการกระจายความ เจริญและรายไดสูภูมิภาค เมื่อพิจารณาโรงงานอุตสาหกรรมตามหมวด อุตสาหกรรมที่สําคัญ มีจํานวนมากที่สุด ไดแก อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ จากพื ช , อุ ต สาหกรรมพาหนะและอุ ป กรณ ก ารซ อ ม, อุ ต สาหกรรม ผลิตภัณฑโลหะ, อุตสาหกรรมอาหาร, อุตสาหกรรมผลิตภัณฑเครื่องจักร และเครื่องกล โดยเมื่อพิจารณาถึงสัดสวนการใชพลังงานของประเทศ ทั้ ง หมด จะเห็ น ว า สั ด ส ว นของที่ อ ยู อ าศั ย , สถานธุ ร กิ จ และโรงงาน อุตสาหกรรม มีสัดสวนการใชไฟฟารอยละ 21, 27 และ 50 ตามลําดับ ในสัดสวนของที่อยูอาศัยและสถานธุรกิจนั้นจะเปนการใชระบบแสงสวาง,

http://www.thailandsme.com/market/show.php?id=48924

อยางไรก็ตาม ความคิดนี้ตองมีการทําการตัดสินใจครั้งใหญในการ เปลี่ยนแปลงการดําเนินงานของธุรกิจที่ดําเนินการอยู เนื่องดวยการ ถดถอยของระบบเศรษฐกิ จ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในป 2540 เป น ต น มา ธุ ร กิ จ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม ตองรับภาระคาใชจา ยในการดําเนิน ธุรกิจเพิ่มมากขึ้นเปนเทาตัว ในระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว ซึ่งเปน

48 l June 2012

Energy#43_p48-50_Pro3.indd 48

5/21/12 11:11 PM


http://www.readbangkokpost.com/easybusinessnews/entrepreneurs/

จุดเริ่มตนถึงความเสอมถอยทางความเปนอยูของคนในบานเมือง ธุรกิจ ตองตัดสินใจลดคาใชจายดานตางๆ ที่มีอยูในกิจการลง เชน คาวัตถุดิบ, คาขนสง, คาใชจายในการบริหารตางๆ, คาเชื้อเพลิง ซึ่งบางกิจการถึง กับตองลมเลิกกิจการไป สงผลตอภาวการณวา จางงานของประเทศโดยรวม นั้นลดลง ฉะนั้น การเล็งเห็นถึงความสําคัญของการใชไฟฟาของภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม เปนสิง่ ทีม่ คี วามสําคัญและยังจําเปนทีจ่ ะตองดําเนินการอยาง จริงจัง และตอเนอง โดยปจจุบันแนวทางการลดตนทุนคาใชจายทางดาน พลังงานของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมมีมากมายหลายแนวทาง อาทิเชน การบริหารการจัดการพลังงานเบื้องตน ไดแก การกําหนดเวลาการปด - เปดไฟ และแอร การใชกระจกใสเปนหลังคาเพอรับแสงจากดวงอาทิตย, ติดตั้งตัวระบายอากาศในโรงงานเพอระบายความรอนออกจากโรงงาน, การนําวัสดุที่เหลือใชมาเปนเชื้อเพลิง เปนตน แตในบทความนี้ ขอเสนอใน เรองของ เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน ซึ่งสามารถนําไปประยุกตใช ใน โรงงานอุตสาหกรรมได

กิจการประเภทการผลิตไดเลือกใช ตามความเหมาะสมกับกระบวนการผลิต ของโรงงาน แต ในบทความนี้ผูเขียนขอยกตัวอยางเทคโนโลยีประหยัด พลังงาน ที่มีการเลือกใชในโรงงานอุตสาหกรรม ที่เราเห็นกันบอย ดังนี้ 1. เครองควบคุมความเร็วรอบมอเตอร (Variable Speed Drive Control : VSD) 2. มอเตอรประสิทธิภาพสูง (High Efficiency Motor : HEM) 3. อุปกรณควบคุมดีมานด (Demand Controller) 4. อุปกรณปรับระดับแรงดันไฟฟา (Voltage Regulator) 5. อุปกรณควบคุมการใชพลังงานในระบบแสงสวางสําหรับหลอด ฟลูออเรสเซนต ( Fluorescent Lighting Control ) 6. บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส (Electronic Ballast) 7. เครองทําความเย็นระบบดูดซึม (Vapour Absorption Chillers) 8. อุปกรณปรับความเขมแสงหลอด HID (High-Intensity Discharge Lamp) 9. อุปกรณควบคุมภาระการใชงานของมอเตอร (Motor Load Control) 10. เครองทําความรอนโดยใชพลังงานความรอนที่เหลือจากระบบ ปรับอากาศ (Water Heater Using Waste Heat From A/C) 11. เครองเชอมประสิทธิภาพสูง (High Efficiency Welding Machine) 12. แผนแลกเปลี่ยนความรอน (Plate Heat Exchanger)

ป จ จุ บั น มี เ ทคโนโลยี ป ระหยั ด พลั ง งาน (Energy Efficient Technology) อะไรบาง ? มี ม ากมายหลายอย า งที่ ส ามารถใช เ ป น ทางเลื อ กให กั บ เจ า ของ

http://www.businesstoday.lk/article.php?article=3560

ป จ จุ บั น ได มี ก ารศึ ก ษาวิ เ คราะห ค วามเหมาะสมด า นเทคนิ ค และ เศรษฐศาสตร เพอหาทางเลือกใหกับการประหยัดพลังงาน ถือวาเปนสิ่งที่ สําคัญอยางยิง่ ตอพลังงานโดยรวมของประเทศ ทีจ่ ะมีเทคโนโลยีทมี่ ศี กั ยภาพ เกิดขึ้นอีกมากมาย ใหเราสามารถที่จะเลือกใชใหเกิดประโยชนได ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ตางเล็งเห็นถึงความสําคัญดวยกันทั้งสิ้น ทั้งการสนับสนุน ใหเกิดโครงการดานอนุรกั ษพลังงาน การศึกษาหรือคนควาวิจยั ใหเกิดการ คิดคนอุปกรณหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน ฯลฯ http://www.shutterstock.com/pic-64548985/

June 2012 l 49

Energy#43_p48-50_Pro3.indd 49

5/22/12 11:20 PM


เมื่อเปลี่ยนเปนเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน โรงงาน อุตสาหกรรมไดประโยชนอะไร ?

1. สามารถลดคาใชจายไฟฟาไดโดยตรง อยางเปนรูปธรรม วิธีการประหยัดพลังงาน โดยการปรับเปลี่ยนอุปกรณประหยัด พลังงาน เปนวิธีการที่โรงงานอุตสาหกรรมสามารถที่จะเห็นผลไดอยาง ชัดเจนและเปนรูปธรรม ซึ่งถือวา สามารถที่จะลดคาใชจายดานพลังงาน ไฟฟาโดยตรงแลวยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานไดอยาง เหมาะสมในโรงงานอุตสาหกรรมดวย 2. การจัดการพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ การเลือกใชมาตรการประหยัดพลังงาน โดยการใชเครื่องจักรใน กระบวนการผลิตใหสมดุลกับพลังงานที่ ใช การจัดทําดัชนีการใชพลังงาน เพื่อการบริหารการจัดการใหต่ําที่สุด หรือการจัดทําแผนการบํารุงรักษา เครื่องจักรอุปกรณใหสม่ําเสมอ เพื่อเปนแนวทางบริหารจัดการที่สามารถ ลดความสูญเสียที่เกิดขึ้นในระบบตางๆ ของกระบวนการผลิตและเกิด ประสิทธิภาพของการใชพลังงานได 3. คงสภาพของธุรกิจอุตสาหกรรม เป า หมายสู ง สุ ด ของการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานโดยปรั บ เปลี่ ย นเป น เทคโนโลยีประหยัดพลังงาน คือ ธุรกิจสามารลดตนทุนคาใชจายดานไฟฟา ซึง่ เปนคาใชจา ยทีส่ งู อยางหนึง่ ในการดําเนินการผลิตโรงงานอุตสาหกรรม เพิ่มกําไรใหธุรกิจ และคงอยูของการดําเนินกิจการได 4. สรางทัศนคติที่ดี ในการอนุรักษพลังงาน การที่จะผลักดันใหโรงงานอุตสาหกรรมของทาน ตระหนักถึงความ สํ า คั ญ ของการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน เป น สิ่ ง สํ า คั ญ อย า งยิ่ ง ที่ จ ะต อ งมี มาตรการดานการบริหารจัดการพลังงาน เชน ผูบริหารออกนโยบาย และ เปาหมาย รวมทัง้ การจัดตัง้ ทีมอนุรกั ษพลังงาน มีการฝกอบรมทีมอนุรกั ษ พลังงาน หรือกิจกรรมรณรงคเพื่อการอนุรักษพลังงาน สรางแผนการ อนุรักษพลังงานและงานบํารุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ เปนตน 5. แนวทางในการนํ า ไปสู ก ารจั ด ทํ า ระบบมาตรฐาน อุตสาหกรรม การจั ด การพลั ง งานโดยเทคโนโลยี ป ระหยั ด พลั ง งานที่ มี ประสิทธิภาพ เปนแนวทางที่ผูบริหาร เจาของกิจการสามารถใชเปน จุดเริ่มตนของการจัดทําระบบมาตรฐานอุตสาหกรรมซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญ มากอยางหนึ่งในปจจุบัน อาทิเชน ISO 9000 / ISO 14000 เปนตน 6. สงเสริมการสรางฐานการผลิตอุปกรณประหยัดพลังงาน เกิดการใชอุปกรณประหยัดพลังงานที่ผลิตขึ้นในประเทศ โดยใช วิศวกรของประเทศ ประกอบกับมีการทําศึกษาวิจัยใหมากขึ้น จะสามารถ ลดการนําเขาจากตางประเทศ ชวยสรางตลาดในประเทศ และสงเสริมการ ลงทุนในประเทศมากขึ้นดวย ปจจุบนั มีสถาบันการเงินทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงโครงการ ที่จัดตั้งโดยภาครัฐ มีการเงินสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ํา ใหแกผูผลิต / ตั ว แทนจํ า หน า ยอุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งาน ที่ ป ระสงค จ ะจั ด ตั้ ง ธุ ร กิ จ

http://brandixgroup.blogspot.com/2011/07/brandix-first-apparel-maker-in-world-to.html

อุตสาหกรรมการผลิตอุปกรณประหยัดพลังงานในประเทศ ซึ่งสามารถ ผลักดันใหเกิดโรงงานอุตสาหกรมในการผลิตอุปกรณขึ้นในประเทศได 7. เกิดผลกระทบในทางบวกตอเศรษฐกิจ เชน ลดการนําเขาเชื้อเพลิงจากตางประเทศ ลดภาษีการนําเขา เครื่องจักรและชิ้นสวนเพื่อการผลิตและ จําหนายอุปกรณที่มีประสิทธิภาพ เพิ่มสภาวะการจางงาน ชวยเพิ่มคุณภาพชีวิตของประชาชนและฟนฟู เศรษฐกิจของประเทศใหดีขึ้น ฯลฯ ฉะนั้นจะเห็นวา ทางเลือกของ การอนุรักษพลังงานในโรงงาน อุตสาหกรรม โดยการปรับเปลีย่ นเปนเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน สามารถ นําไปกําหนดในสวนหนึ่งของ แผนการอนุรักษพลังงานประจําโรงงานของ ทานได ซึ่งมิใชเปนประโยชนตอธุรกิจของทานเทานั้น แตยังเปนประโยชน ตอการประหยัดพลังงานของประเทศโดยรวมอีกดวย

ขอขอบคุณขอมูล : http://www.controlresource.co.th/ INDEX/itr105_158.htm#top

50 l June 2012

Energy#43_p48-50_Pro3.indd 50

5/21/12 11:11 PM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

เผลอแปบเดีย๋ วก็ผา นไปครึง่ ปแลว ลองมองยอนกลับไปเมื่อชวงครึง่ ปแรกก็ไดเห็นสินคา ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมออกมากมาย ทั้งจากแบรนดไทยและแบรนดตางชาติ ซึ่งเชื่อวาใน ครึ่งปหลังที่จะถึงนี้ การแขงขันของตลาดสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม หรือกรีนโปรดักส นั้นก็ยังคงรอนแรงอยางแนนอน

Amazon Bio Cup

ยอยสลายได 100%

คาเฟอเมซอน ชวนคุณมอบความรักใหกับสิ่งแวดลอม ดวยถวย กาแฟ “Amazon Bio Cup” บรรจุภัณฑกระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ ยอยสลายได 100% ที่จะทําใหผูบริโภคมีสวนรวมในการรักษาสิ่งแวดลอม พรอมไปกับ ปตท. Amazon Bio Cup เปนหนึ่งในนวัตกรรมพลาสติกชีวภาพจาก ความรวมมือของกลุม ปตท. ในความพยายามทีจ่ ะพัฒนาผลิตภัณฑ Green Product ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงไดพัฒนาบรรจุภัณฑแกวเครื่องดื่ม อยางตอเนื่อง โดยลาสุดไดพัฒนาถวยกระดาษเคลือบดวยพลาสติกชนิด ั ฑกระดาษทีเ่ คลือบดวย PBS ทีย่ อ ยสลายได 100% เพื่อใชทดแทนบรรจุภณ พลาสติกชนิด LDPE ที่ ใชกันอยูในปจจุบัน ซึ่งหลังจากที่ตัวเนื้อกระดาษ ยอยสลายไปแลวจะยังคงเหลือฟลม พลาสติก LDPE ทิง้ ไวกอ ใหเกิดมลภาวะ ตอสิ่งแวดลอม แตการเคลือบกระดาษดวยพลาสติกชีวภาพชนิด PBS จะ

ชวยลดปญหาขยะพลาสติกตกคางได นอกจากนี้หมึกที่ ใช ในการพิมพ ยังเปน soy ink ที่ผลิตจากธรรมชาติ ไมมีกลิ่นรุนแรงเหมือนหมึกพิมพ แบบเดิม เมื่อกลับสูกระบวนการทางธรรมชาติก็จะไมทําลายผิวดินและ สิ่งแวดลอม โดยปจจุบัน soy ink ที่ ใชผลิตจากน้ํามันดอกทานตะวัน ซึ่ง ไทยเปนผูผลิตรายใหญของโลก ซึ่ง ในอนาคตหากคาเฟ อ เมซอน สามารถนํา Amazon Bio Cup มา ใชทดแทนแกวพลาสติกที่ ใชอยู ใน ราน ณ ปจจุบันไดทั้งหมด จะชวย ลดขยะประเภทใชแลวทิ้งแบบเดิมที่มี การใชงานอยูที่ประมาณ 2.7 ลาน แกวตอเดือน ไดกวา 800 ตันตอป โดย “Amazon Bio Cup” จะนํารองจําหนายที่รานคาเฟอเมซอน 8 สาขา ในกรุงเทพและปริมณฑล ได แ ก สาขาสถานี ข นส ง สายใต ใ หม สาขามอเตอร เ วย สาขาโลตั ส ซีคอนสแควร-ศรีนครินทร สาขา SCG สาขา ปตท. สํานักงานใหญ และ สาขาอาคารเอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ 3 ราน ทั้ง Forestry, Amazonia และ Ozonia กอนขยายตอไปทุกสาขาทั่วกรุงเทพฯ

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

June 2012 l 51

Energy#43_p51,53_Pro3.indd 51

5/14/12 11:13 PM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


สวยจากภายในสูภายนอกดวย พลังคุณคาจากธรรมชาติ

เปนเวลากวา 17 ปมาแลวที่ เครื่องสําอาง Bloom ไดนําสาร สกัดและกรรมวิธีจากธรรมชาติมา ชวยรังสรรคความงามใหสาว Bloom ซึ่งคุณคาจากธรรมชาตินี้เองที่ Bloom พิถีพิถันนํามากลั่นกรองออกมาเปนผลิตภัณฑออแกนิกส ดังนั้น เหตุผลที่สําคัญ ที่คุณสาวๆ ควรเลือกใชผลิตภัณฑออแกนิกสของ Bloom คือ ผลิตภัณฑออแกนิกสของ Bloom นั้นบริสุทธิ์และมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังปราศจากสารปรุงแตงตางๆ ไดแก ปราศจากน้ําหอม, ปราศจาก Mineral oils, ปราศจากการแตงสี, ปราศจากเกลือซัลเฟต, ปราศจากสารพาราเบน, ปราศจากซิ ลิ โ คน, ไมทดลองกับสัตว และปราศจากสารปโตรเคมี นอกจากนี้ ผลิตภัณฑออแกนิกสของ Bloom ใชวตั ถุดบิ จากธรรมชาติและผลิตภายในประเทศ เพื่อ ชวยรักษาสิ่งแวดลอม โดย Bloom พยายามสรรหา

วิธีตางๆ ที่จะชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยเริ่มจากผลิตภัณฑออแกนิกสของ Bloom ที่ ใช วั ต ถุ ดิ บ จากธรรมชาติ ที่ ป ลู ก และผลิ ต ใน ประเทศออสเตรเลีย โดยไดรับแรงบันดาลใจจาก ธรรมชาติที่งดงามของประเทศออสเตรเลีย ด า นการออกแบบบรรจุ ภั ณ ฑ ไ ด ป ฏิ วั ติ รู ป แบบของบรรจุ ภั ณ ฑ ผลิตภัณฑออแกนิกสจากความเชื่อแบบเกาๆ ที่วา ผลิตภัณฑออแกนิกส นัน้ จะไมสามารถดูทนั สมัยได โดยไดออกแบบรวมกับหนึง่ ในสตูดโิ อดานการ ออกแบบชื่อดังของเมืองเมลเบิรน Mahon & Band ใหบรรจุภัณฑมี รูปลักษณทนั สมัยนาใชยิง่ ขึ้นและทําจากวัสดุรไี ซเคิล รวมไปถึ ง ใช วิ ธี ก ารพิ ม พ ที่ ไม ส ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม ดั ง นั้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ อ อแกนิ ก ส ข อง Bloom จึงเปนผลิตภัณฑสัญชาติออสเตรเลี่ยน อยางแทจริง

อีเลคโทรลักซ Viva Grande Inverter ใหประสิทธิภาพประหยัด พลังงานสูงสุด เครื่องปรับอากาศ Viva Grande ระบบ Inverter เปนเครื่อง ปรับอากาศนวัตกรรมลาสุดจากอีเลคโทรลักซ ที่มีดีไซนสวยงามตามแบบ ฉบับยุโรป เรียบหรู คลาสสิค ที่สามารถประหยัดพลังงานไดสูงที่สุดดวย คา EER (Energy Efficiency Ratio) 16.34 (เฉพาะรุน) ในขณะที่สามารถ มอบพลังลมประสิทธิภาพสูงไดถึง 7 ระดับ และทํางานเงียบที่สุดเพียง 21 เดซิเบล (เฉพาะรุน) นอกจากนี้ยังมาพรอมกับเทคโนโลยีระบบฟอกอากาศ Duo Plasma ชวยปกปองคุณจากสารภูมิแพไดอยางมีประสิทธิภาพ หนึ่งในหัวใจหลักของการออกแบบ Viva Grande นั้น คือการ ออกแบบบานเกล็ดใหมีขนาดใหญกวาปกติที่จะทําใหการแพรกระจายของ อากาศสามารถไปไดไกลทัว่ ทุกหนทุกแหงในบาน บานเกล็ดทัง้ 3บานทํางาน

ผานมอเตอรอิสระ ทําใหบานเกล็ดสามารถเคลื่อนไหวซายขวาไดอัตโนมัติ สรางการไหลเวียนของอากาศเปนสามมิติ และแพรกระจายอากาศสูทุกมุม ของหอง ในขณะเดียวกัน ดวยเทคโนโลยี Inverterจะทําใหเสียงทํางานของ เครื่องปรับอากาศเบาเพียง 21 เดซิเบล (เฉพาะรุน) ทําใหมั่นใจไดวาจะไม กอเกิดเสียงรบกวนการพักผอนของครอบครัวคุณ อีกทั้งยังชวยใหคุณ นอนหลับไดสบายดวยฟงกชั่น Genius Sleep ที่สามารถปรับอุณหภูมิได ถึง3แบบตามโปรแกรมการนอนตามแบบที่คุณตองการไดอยางงายดาย ซึ่งจะชวยใหคุณประหยัดพลังงานเพราะเครื่องปรับอากาศไดถูกปรับให เหมาะสมเฉพาะเจาะจงกับรูปแบบการนอนหลับของคุณ

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

June 2012 l 53

Energy#43_p51,53_Pro3.indd 53

5/14/12 11:17 PM


Green Vision โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

อาคารเขียว

ไม ใชแคอาคารสีเขียว

ประเด็นเรื่องการสรางอาคารเขียวในปจจุบันถูกพูดถึงกันในวงกวางมากขึ้น ทั้งในภาครัฐ และเอกชนตางก็ ใหความสําคัญทงในเรื่องของการใชวัสดุอุปกรณและการออกแบบอาคารใหเปน มิตรตอสิ่งแวดลอมและประหยัดพลังงาน ENERGY SAVING ฉบับนี้มีโอกาสไดเขารวมการเสวนา “อนาคตของอาคาร เขียวในประเทศไทย” ผานมุมมองของหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อรวมผลักดันการ กอสรางอาคารเขียวในประเทศไทย ซึ่งจัดโดย บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจ เมนท จํากัด รวมกับ บริษัท ซีเอ็มซี เอ็กซิบิชั่น เซอรวิส จํากัด (สิงคโปร) ผูจัดงาน Green Building & Retrofits Expo Asia 2012 หรือ GBR Expo Asia 2012 และไดรวมพูดคุยกับ คุณชัชวาลย คุณค้ําชู วิศวกรเชี่ยวชาญ กรมโยธาธิการและผังเมือง ผูดูแลการกอสรางอาคารเขียว ในประเด็นนี้ คุณชัชวาลยกลาววา ตอนนีอ้ าคารเขียวสําหรับการเริม่ ตนของประเทศไทย นับไดวาชากวาประเทศอื่น แตทางภาครัฐเองก็พยายามที่จะเนนเรื่องอาคารเขียว มากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเปนการอนุรักษพลังงาน ไมวาจะเปนเรื่องการใชไฟนอยลง การใชน้ํานอยลง การใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ภาครัฐกําลังเขาไปลึก มากขึ้นเรื่อยๆ แตในภาคเอกชนหลังจากที่มีการประชาสัมพันธเรื่อง Green Building ออกไป ก็มีการเริ่มสรางอาคารเขียวมากขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนี้คุณชัชวาลยยังใหความหมายของอาคารเขียวไวอีกดวยวา อาคารเขียวไมใชแคการทาสีเขียว จริงๆแลวอาคารทีอ่ นุรกั ษพลังงานและเปน มิตรตอสิ่งแวดลอมคือพื้นฐานที่สําคัญที่สุด อาคารเขียวโดยทั่วไปก็คือ บริเวณรอบๆ จะตองรมรื่น การคมนาคมตองไมไกลเกินไป โดยการสราง อาคารเขียวนั้นจะตองไมทําลายสภาพแวดลอมเดิม การรใชวัสดุกอสราง ตางๆ นั้นจะตอง Regenerate ได พวกวิศวะงานระบบตางๆ ก็จะตองใช พลังงานใหคุมคา “ผมวาสําหรับงานสถาปนิกเองยังตองใชเวลาพอสมควร เพราะการ ตีความเรื่องความหมายของอาคารเขียวนัน้ ยังไมตรงกันเลย รวมทัง้ วิศวกร เองดวยที่ยังมองแคตัวอาคารอยางเดียว จริงๆ มันรวมสภาพแวดลอม การเดินทาง ทุกๆ อยางมันเกี่ยวพันกันทั้งหมด” “อยากใหทุกคนหันมาสนใจเรื่องอาคารเขียว เพราะทุกวันนี้พลังงานแพง มาก เมื่อไหรที่เราปรับปรุงอาคารใหเปนอาคารเขียวขึ้นมา มันก็คือการชวยลด พลังงาน เพราะหลักของอาคารเขียวก็คือเรื่องพลังงานในอาคารเปนหลัก ถาลดได มัน ก็จะใชพลังงานนอยลง ใชน้ํานอยลง อยากใหทุกๆ คนหันมาชวยกันปรับปรุงใหเปน อาคารเขี ย ว ง า ยที่ สุ ด ก็ คื อ การปลู ก ต น ไม ร อบบ า นของเรา” คุ ณ ชั ช วาลย ก ล า ว ทิ้งทาย 54 l June 2012

Energy#43_p54_Pro3.indd 54

5/25/12 2:49 PM


Greenovation โดย : SuKiYaKi

Scorpion and Sting-Ray Rescue Team คุณวารูปทรงของสิ่งประดิษฐชิ้นนี้ มันเหมือนกับแมงปองหรือเปลา? เอาเปนวา ถ า คุ ณ มองว า มั น ใช มั น ก็ ใ ช ล ะ !! เพราะ ผลงานชิ้นนี้ ไดแรงบันดาลใจมาจากสัตวปา และยังนําเอาพลังงานแสงอาทิตยมาใชรวม อีกดวย ซึ่งพลังงานแสงอาทิตยนั้นจะถูกนํา มาชารจใหกับแบตเตอรี่ที่แทนนั่งของยามชายฝงเหลานี้ ระหวางที่แบตเตอรี่ชารจ ไป ถาหากวายามชายฝงเหลานี้เกิดเห็นอันตรายขึ้นมา เคาก็จะสไลดลงมาตาม สไลเดอร แลวหยิบแบตเตอรี่ นํามาใสกับเรือกรรเชียงรูปแมงกะพรุน แลวพายไป หาผูประสบภัย ใสชูชีพ แลวขับเคลื่อนอัตโนมัติกลับสูฐาน โปรเจคนี้เรียกวา TESEO+ARIANNA ซึ่งตั้งชื่อตามตํานานกรีกของธีซูส และแอริแอดนี ตัวแมงกะพรุนนี่เองที่ถูกเรียกวา TESEO ขณะที่ตัวฐานการดจะเรียก วา ARIANNA ซึ่งทั้ง Teseo และ Arianna นั้นใชพลังงานแสงอาทิตย โดย Arianna จะชารจแบตเตอรี่กับแผง พลังงานแสงอาทิตยขนาดใหญตรงสวนหัว สวน Teseo จะใชแบตเตอรี่เหลานั้นเปนพลังงานในการขับเคลื่อนระบบ และรับคําสั่งในระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติจากแทนควบคุมที่ Arianna ตอนนี้สิ่งที่รบกวนจิตใจของเราก็เหลือเพียงแควาปกกรรเชียงจะไมหนักเกินไปสําหรับยามชายฝงหรอกนะ Scorpion and Sting-Ray Rescue Team ออกแบบโดย Davide Anzalone

Music By The Window Eclipse เปนเครื่องเลนสื่อที่ ใชเซลลพลังงานแสงอาทิตยในดาน หลังเพื่อดึงพลังงานแสงอาทิตย์มา ใช และยังยึดติดตัวเองกับหนาตาง โดยใชตัวดูดกระจก และก็ตามที่คาด จากเครื่ อ งเล่ น สื่ อ ดี ๆ เชื่อมตอบลูทูธ ใหคุณฟง ทั่ ว ไป เจ า ตั ว นี้ ม าพร อ มคุ ณ สมบั ติ เพลงจากเครื่องเลน MP3 หรือฟง ขาวพยากรณอากาศ ฟง รายการวิทยุหรือพอดแคสต สําหรับตัวลําโพงสรางฝงในงานออกแบบที่นารักที่สุด รับตอการถือ อุปกรณการฟงเพลงของคุณ ใหคุณนึกถึงเครื่องเลนเทปในปวาน มีแมกระทั่งปุม Eject เชียวนะ คําแนะนําสําหรับผูใชโทรศัพท Android และ iPhone คือให้คุณไปดาวโหลด App ชื่อ Eclipse สําหรับ Screen Saver ที่นาสนใจสําหรับเพลงโปรด ของคุณ ฟงดูดีใชไหมละ แตพวกนี้ที่บอกคุณไปนะ ยัง เปนแคคอนเซปทอยูนะ Eclipse ออกแบบโดย Hoang M Nguyen & Anh Nguyen

June 2012 l 55

Energy#43_p55,57_Pro3.indd 55

5/25/12 1:59 PM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


Renewable Clock

นาฬิกาที่มีชื่อวา ECO ชิ้นนี้ถูกสรางมาจากวัสดุแกวและอลูมิเนียมที่สามารถทํากลับมาใชใหมได 100% ถึงแมวาผูออกแบบมัน จะปฏิเสธที่จะใหรายละเอียดเกี่ยวกับขั้นตอนการประกอบ หรือแมแตหลัก การทํางานของนาฬิกา ดังนั้นสิ่งที่เรารูในตอนนี้ก็คือ นาฬิกาเรือนนี้มีระบบติดตั้งกับผนังดวยแมเหล็ก และ ยังมีรูปแบบพิเศษที่ ไดวางแผนเอาไว โดยรวมแลว ก็ดู จะเปนงานออกแบบ แตคงตองทิ้งไวใหพวกคุณเปนคน ตัดสินอีกทีสําหรับงานชิ้นนี้ ผลงานชิ้นนี้ออกแบบโดย Akos Hunyad

Solar Energy, Band-Aids and The iPad งานออกแบบของ Seo Eul Hwa นักออกแบบชาวเกาหลีที่ดูบาบอแตแฝงไวดวยความสนุกกลับ มาอีกครั้ง และมันคุณจะประหลาดใจไปกับความแข็งแรงของไอแพด และยังมีความเรียบของผิวที่คุณอาจ จะตองกรีดรองหากไอแพดสุดรักของคุณหลุดไป จากมือที่เต็มไปดวยเหงื่อ ดังนั้นคุณไมตองสงสัย เลยวาพลาสเตอรยาที่แปะไวบนเครื่องนั้นมีไวทํา อะไร เพราะมันจะมาชวยยึดติดแผนหลังทั้งหมด ของไอแพดเพื่อสร้างแรงดึงไว้ ฟังดูบ้าเกินไป สําหรับคุณใชไหมละ แลวกระเปาทีร่ บั พลังงานแสง อาทิตยละ ดูเปนไงบาง ใชแลว มันคือกระเปาเปที่มี การฝงแผนรับพลังงานแสงอาทิตยไว เรียงกัน เปนรูปผลไมโปรดของสตีฟ จอบส ใหคนทั้งโลกไดรับรูไปวาคุณนะ มันสาวกแอปเปล!!

Total Beach Bum! หากคุ ณ เป น อี ก คนหนึ่ ง ที่ แ ทบจะไม ก ล า ออกจากบ า นไปไหน เพราะเจาอุปกรณพกพาสุดไฮเทคของคุณนั้นชางแบตหมดเร็วอยาง เหลือเชื่อ และการที่จะหาที่ชารจแบตโทรศัพท ไอพอด หรือกลองอะไร เหลานี้ก็ชางลําบากเสียจริง พวกของเลนไฮเทคพวกนี้ทําใหคุณไมสามารถออกจากบานโดยไมมีพวกมันได และดูเหมือนคุณจะตองออกบานในแทบจะนาทีสุดทายเพื่อชารจพวกมันใหนานที่สุด แต เชื่อเถอะวาหากคุณพก Solar Tree ไป ปญหาเหลานี้จะไมเกิดขึ้น มันเปนความคิดสุดเกที่จะมีขั้วพลังงานแสงอาทิตยสวนตัวที่มาพรอมกับเบาปลั๊กอยางพอเพียง สําหรับตอเขากับอุปกรณหลากชนิด ใหคุณไดสะดวกสบายกับ Solar Tree นี้ ไดอยางไรกังวล Solar Tree ออกแบบโดย Jun-Se Kim, Min-Goo Kim & Dong-Eon Kim June 2012 l 57

Energy#43_p54,56_Pro3.indd 57

5/25/12 1:43 PM


Green Space

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

Green Library ฉีกแนว ทันสมัย และลดโลกรอน

เมื่อ “หองสมุดสีเขียว” หรือ Green Library ไดฤกษเปดตัวอยางเปนทางการ หองสมุดประชาชนตนแบบที่ชวยลดโลกรอน แหงนี้ก็กลายเปน Talk of The Town ไปในทันที ดวยแนวคิดเกและรวม สมัยจากธนาคารเอชเอสบีซี ที่ตองการสรางหองสมุดประชาชนที่สามารถ เปนแหลงความรูเ รื่องการประหยัดพลังงาน เพียงแคสมั ผัสหองสมุดตัง้ แต ภายนอกจนถึงภายในอาคาร จากวัสดุตกแตง เฟอรนิเจอรรีไซเคิล ระบบ การใชทรัพยากรน้ําแบบหมุนเวียน และอีกมากมาย ในขณะเดียวกัน Green Library ก็เพียบพรอมไปดวยรูปลักษณะของการเปนหองสมุดประชาชนที่ ทันสมัย ทามกลางแมกไมธรรมชาติ รมรื่น เย็นฉ่ํา และสงบ สมกับการเปน แหลงเรียนรูที่เงียบสงบ และกิจกรรมตาง ๆ ที่ชวยเปดโลกทัศนใหแก เยาวชน แม ห อ งสมุ ด ประชาชนแห ง นี้ จ ะใช เ วลาสร า งไม ถึ ง 1 ป แต กระบวนการคิด วางแผน การสรรหาพื้นที่ และอาคารเก่าเพื่อนํามา ปรับปรุงเปนหองสมุดสีเขียว รวมทั้งการระดมสมองจากพันธมิตรองคกร หลายแหงที่มีความเชี่ยวชาญในดานตางๆ เพื่อรวมกันพัฒนาหองสมุด สีเขียวแหงนี้ขึ้นมา ใชเวลาไปไมนอยทีเดียว เพื่อใหไดหองสมุดที่มีความ พิเศษและสามารถชวยลดโลกรอนไดอยางแทจริง โดยธนาคารเอชเอสบีซี หวังวาหองสมุดสีเขียวแหงนีจ้ ะเปนแหลงเรียนรูท ีเ่ ปนประโยชนกบั ประชาชน ทั่วไป และจุดประกายแนวคิดการรักษาสมดุลธรรมชาติเพื่อการอยูรวมกัน ในสังคมอยางยั่งยืนตอไป หองสมุดสีเขียว ไดรับการออกแบบพื้นที่ ใชสอยและพื้นที่โดยรอบ ตัวอาคารใหสอดคลองกับมาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ซึ่งเปนมาตรฐานระดับสากลสําหรับการกอสราง อาคารที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อาทิ การใชเทคโนโลยีสีเพื่อสะทอนความ

รอนบนหลังคาและตัวอาคาร การติด ตั้งกระจกกันความรอนแบบ 2 ชั้น และติดตั้งแผงกันแดดที่ทําจากวัสดุ รีไซเคิล เพื่อชวยลดการทํางานของ เครื่ อ งปรั บ อากาศ การติ ด ตั้ ง เซ็นเซอรเพื่อเปด-ปดไฟฟาภายในและ นอกอาคารแบบอั ต โนมั ติ การใช สุ ข ภั ณ ฑ ป ระหยั ด น้ํ า การใช น้ํ า จากแหล ง น้ํ า ธรรมชาติ ห มุ น เวี ย น กลั บ มาใช และการใช วั ส ดุ รี ไ ซเคิ ล สําหรับทําเฟอรนิเจอรตกแตงภายใน เปนตน หองสมุดสีเขียวสามารถประหยัดพลังงานไฟฟาตอปไดรอยละ 40 และประหยัดน้ําตอปไดรอยละ 45 เทียบกับคามาตรฐานการใชน้ําใชไฟฟา ของ Leed สําหรับเขตอากาศรอนชื้นแบบไทย ซึ่งถือวาเปนอาคารที่ ประหยัดพลังงานไดมากที่สุดในบรรดาโครงการอาคารสีเขียวทั้งหมดที่ ได รับการรับรองโดย LEED ซึง่ ภายหลังจากการสงมอบแลว กรุงเทพมหานคร จะรับผิดชอบบริหารจัดการและบํารุงรักษาห้องสมุดสีเขียวแห่งนี้เพื่อ ประโยชนแกประชาชนตอไป “หองสมุดสีเขียว” หรือ Green Library เปดใหบริการประชาชน ทุกวันอังคาร – วันอาทิตย ตั้งแตเวลา 10.00 – 18.00 น. ตั้งอยูที่ สวนเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษาสมเด็จพระนางเจาฯ ในชุมชนรมเกลา เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ใครสนใจก็แวะไปเยี่ยมชมกันไดเลย

58 l June 2012

Energy#43_p58-59_Pro3.indd 58

5/22/12 11:57 PM


84 ห อ งเรี ย น สํานักงาน กกพ.

อ นุ รั ก ษ พ ลั ง ง า น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ

หากใครที่ ไดติดตามสถานการณพลังงานในประเทศไทยมาโดย ตลอดก็คงจะทราบดี วาตัวเลขการใชพลังงานของคนไทยนัน้ กําลังเพิม่ มาก ขึ้นทุกวัน อีกทั้งการใชทรัพยากรธรรมชาติที่ฟุมเฟอยและไมเกิดประโยชน สงผลใหภาครัฐตองออกมาตรการตางๆ มาเพื่อชวยรณรงคใหประชาชน รวมกันประหยัดพลังงาน และใชพลังงานอยางรูคุณคามากขึ้น โครงการ 84 หองเรียน สํานักงาน กกพ.อนุรักษพลังงาน เฉลิมพระเกียรติ โดย สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จัดขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องใน วโรกาสครบ 84 พรรษา โดยมุงสงเสริมและสรางผูนําเยาวชนอนุรักษ พลังงาน ใหมีจิตสํานึกและความรูดานการอนุรักษพลังงาน และการใช ไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ สามารถนําไปขยายผลในโรงเรียนและชุมชน รอบโรงไฟฟาทั่วประเทศ ซึ่งโครงการฯ นี้เปนโครงการที่มุงปลูกสรางจิตสํานึกและความรู ดานการอนุรักษพลังงานใหแกเยาวชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับประถมถึง ระดับอุดมศึกษา โดยไดรับแรงบันดาลใจจากพระราชจริยวัตรของพระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงเปนแบบอยางอันประเสริฐของพสกนิกรชาว ไทย ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียงและการประหยัด ทั้งนี้ สํานักงาน กกพ.ไดจัดทําโครงการเพื่อสรางความตระหนักใน การอนุรกั ษพลังงานตลอดจนสงเสริมการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ในกลุ่มเป้าหมายระดับประชาชนมาอย่างต่อเนื่อง โดยที่ผ่านมาได้จัด “โครงการ CSR2+ สกพ.กับความสุขของคนไทย” ซึ่งเปนกิจกรรม

นายกวิน ทังสุพานิช เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน (สํานักงาน กกพ.)

คายเยาวชนเรียนรูพลังงานทดแทนเพื่อลดโลกรอน โดยมีนักเรียนเขารวม โครงการกวา 3,000 คน ดังนั้นในป 2555 นี้ ทาง สํานักงาน กกพ.จึงได พั ฒ นารู ป แบบโครงการให เ ข า ถึ ง กลุ ม เป า หมายมากขึ้ น โดยจั ด ทํ า “โครงการ 84 หองเรียน สํานักงาน กกพ.อนุรกั ษพลังงานเฉลิมพระเกียรติ” ซึ่งจะเปนโครงการตอเนื่องสําหรับเด็กและเยาวชนอนุรักษพลังงาน ที่เนน ไปยังเยาวชนทุกระดับ ตั้งแตเด็กเล็กอายุ 6-13 ป จนถึงระดับอุดมศึกษา “โครงการ 84 ห อ งเรี ย น สํ า นั ก งาน กกพ.อนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน เฉลิมพระเกียรติ จะเปนการจัดกิจกรรมภายใตแนวคิดใหมๆ โดยนําเสนอ การตูนสนุกสนานในรูปแบบฮาตูน ซึ่งจะทําใหเนื้อหาการอนุรักษพลังงาน ไมใชเรื่องนาเบื่อ นอกจากนี้ผูนําเยาวชนที่ผานการอบรมไปแลว จะไดรับ ทุนสนับสนุน พรอมชุดแพคเกจรณรงคการประหยัดพลังงานไปเพื่อใช รณรงคในสถาบันของตนเองและชุมชนตางๆ ตอไป” นายกวิน ทังสุพานิช เลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (สํานักงาน กกพ.) กลาว June 2012 l 59

Energy#43_p58-59_Pro3.indd 59

5/22/12 11:57 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

มุมมอง การจัดการสิ่งแวดลอมกับ การรัว่ ไหลสารเคมีโรงงานอุตสาหกรรม

จากกระแสการอนุมัติโครงการขนาดใหญของรัฐบาลที่เปนการ พั ฒ นาในระดั บ พื้ น ที่ เช่ น เขื่ อ นแม่ ว งศ์ โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่ นิ ค ม อุตสาหกรรม โครงการขนสงสาธารณะขนาดใหญ ลวนแลวมีผลกระทบ ตอชุมชน สิ่งแวดลอม เกิดภาพของการตอตานในหลายๆ โครงการ ทั้งนี้ เกิดดวยปจจัยหลายประการ การดําเนินการที่ผานมาเปนบทเรียนราคา แพงหลายครั้ง เชน จาการรั่วไหลสารเคมีที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด มีปญหาเปนที่ยอมรับ โดยเฉพาะความโปรงใสของขอมูล การสอสารให ประชาชนรับรู และมีสวนรวมในการแกไขปญหา ยังคงเปญหาในปจจุบัน และเพอใหโครงการเดินหนาตอไป หากจะคิดถึงการพัฒนา โดยเฉพาะ มุงหวังใหดําเนินการตามนโยบาย และแผนงานการลงทุนในขณะนี้ กรณี เหตุ ก ารณ ที่ นิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด จั ง หวั ด ระยอง จะต อ งใช งบประมาณจํานวนมหาศาลหลายพันลานในการแกไขปญหาที่จะตามมา คงจะไมใชคําตอบที่ดีแน ในหวงวิกฤติการณการรั่วไหลสารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรม ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด และอุ บั ติ เ หตุ จ ากการขนส ง สารเคมี

กิจกรรมการพัฒนาโครงการขนาดใหญ ที่ตองรองรับกับปญหาความเชอ มั่นจากภาคประชาชน เปนบทพิสูจนความเปนผูนําในการแกไขปญหาที่มี ประสิทธิภาพและมีระบบมากกวาที่เปนอยูขณะนี้ ในวิกฤติการณเหลานี้ เปนหนทางที่รัฐบาลจะผลิตอภิมหาโครงการ เพอรองรับ และตอบโจทยการแกไขปญหา โดยการดันโครงการขนาดใหญ ใหเกิดอุตสาหกรรมขนาดใหญ นิคมอุตสาหกรรมและทาเรือน้ําลึกทะวาย หรือที่ยกเลิกไปแลวขุดกลับขึ้นมาอีก เชน เขอนแมวงศ เปนตน จึงเปนการ สรางกระแสนักอนุรักษฯ หรือภาคประชาชนที่ ไดรับผลกระทบไดออกแรง อีก แมจะอางเหตุผลมากมายเพอแกไขวิกฤติการณที่ผานมา เชน การ สร้างนิคมอุตสาหกรรมไม่ ใช่เพื่อการขายพื้นที่ แต่ต้องได้รับการดูแล ควบคุมกํากับผลกระทบสิ่งแวดลอมอยางจริงจังมากกวานี้พอการปองกัน มากกวาการตามแกไขปญหา และการเยียวยาประชาชน ที่ดูเหมือนเปนคํา ตอบสําหรับประชาชน ที่สวยหรูและสรางความชอบธรรมใหกับโครงการ เหล า นั้ น ความหมายสํ า คั ญ ของการจัดการสิ่งแวดลอม สําหรับนิคม อุตสาหกรรมหรือโครงการพัฒนาขนาดใหญ คือ การพัฒนาที่คํานึงถึงการ

60 l June 2012

Energy#43_p60-61_Pro3.indd 60

5/16/12 2:56 PM


ปองกันหรือเสนอมาตรการที่ลดผลกระทบสิ่งแวดลอมใหมากที่สุด โดยหลักการแลว ขั้นตอนของโครงการพัฒนาพื้นที่ขนาดใหญ ที่มี ผลกระทบตอประชาชนเปนจํานวนมาก ตองจัดทําประชาพิจารณ หรือให ประชาชนไดรับรูและมีสวนในการตัดสินใจ ในระบบของประเทศไทย มักอาง ระบบการจัดทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม และโยนใหคณะ กรรมการชํานาญการผูพ จิ ารณารายงานตัดสินใจจากการจัดรับฟงความ คิดเห็น ซึ่งเปนกระบวนการที่ดี แตตองยอมรับวาประเทศไทยเรายังตอง พัฒนาระบบการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม การใชเครื่องมือประเมิน ผลกระทบที่ มี ก ารพั ฒ นามากกว า ที่ เ ป น อยู และที่ สํ า คัญ คื อ การสร า ง มาตรฐานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมใหเปนที่ยอมรับมากกวานี้ แมจะเปนเครื่องมือหนึ่งในการจัดการสิ่งแวดลอมที่ปจจุบันใชกันสําหรับ โครงการขนาดใหญ แตยังเชื่อมั่นวาหากมีการสื่อสารที่ดี การปฏิบัติตาม มาตรการติดตามตรวจสอบ มาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ก็จะเกิด ผลดีในปจจุบนั และอนาคต โดยเฉพาะความศรัทธาและความเชื่อมัน่ จากภาค ประชาชน องคกรพัฒนาเอกชนตางๆ ในบทความนี้ จึ ง อยากจะเห็ น รู ป แบบการจั ด การสิ่ ง แวดล อ มใน โครงการนิ ค มอุ ต สาหกรรมหรื อ โครงการขนาดใหญ ที่ ภ าครั ฐ ให ก าร สนับสนุน ควรใหความสําคัญและพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมสําหรับพื้นที่ ขอจํากัดทางทรัพยากรธรรรมชาติของประเทศที่มีอยูดังนี้ 1. ควรทบทวนระบบการใหขอมูลประชาชนในระดับพื้นที่ที่ ได รับผลกระทบอยางแทจริง และมีความชัดเจนในสวนของผลกระทบตางๆ ที่จะเกิดขึ้น ไมวาการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต สุขภาพ ความเปนอยู ตลอดจน การเปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศน แหลงธรรมชาติตางๆ ที่ครอบคลุม และ ตอบรับขอมูลจากภาคประชาชนทีต่ อ งการสื่อสารใหรบั ทราบความเดือดรอน ผลตอสุขภาพ ภาวะการเปลี่ยนแปลงในระดับพื้นที่ 2. ระบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม ควรทบทวนองคกร รับผิดชอบที่เปนกลาง คงไมใชตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 วรรคสองที่ กําหนดองคกรอิสระดานสิ่งแวดลอมขึ้นเทานั้น ในการพิจารณาระบบการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมตองใชหลักวิชาการ มีกติกาที่ชัดเจนในการ ตัดสิน การประเมินผลกระทบที่เปนระบบ ของทางวิชาการมากกวาใชความ รูสึก โดยเฉพาะความเสี่ยงภัยตอสุขภาพที่จะเกิดขึ้น และการเยียวยาตอ ประชาชนที่ ไดรับผลกระทบ

http://news.nipa.co.th/news.action?newsid=147130

3. การจัดทํามาตรการลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ตองเปน มาตรการที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในระบบพื้นที่ ทั้งผลกระทบที่ เฉียบพลัน การรั่วไหลสารเคมี ที่มีความชัดเจนตอขอมูลสารเคมีการรักษา ชวยเหลือที่ถูกตามหลักวิชาการ เชน การมีพื้นที่กันชน (Buffer zone) การกํ า หนดการใช ป ระโยชน ที่ ดิ น คุ ณ ภาพชี วิ ต และระบบนิ เ วศน ทรัพยากรธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลง ตองมีมาตรการรองรับไดจริงทั้ง เหตุการณฉุกเฉินและการชวยเหลือในระยะยาว 4. มาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดลอม เปน ประเด็นตามมาหลังจากการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม แลวตองจับ ประเด็นที่กําหนดเปนมาตรการและกําหนดเปนมาตรการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิ่งแวดลอม ที่ตรงตามผลกระทบที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งตองเปนการ ติดตามเพื่อชี้ปญหาที่เกิดขึ้นในอนาคตทั้งการกอสราง การดําเนินการและ การฟน ฟูสภาพ เชน พืน้ ทีท่ ีม่ กี ารรัว่ ไหลจากสารเคมี ตองพิสจู นและติดตาม คุณภาพสิ่งแวดลอมอยางใกลชิด ใหประชาชนมีสวนรวมในการติดตาม ตรวจสอบและรับทราบผลการติดตาม ตลอดจนทําระบบเตือนภัยอยาง สมบูรณ ที่แสดงใหเห็นถึงสภาพผลกระทบ สถานภาพของมลพิษที่มีผล ตอสุขภาพ จาก 4 ประเด็นที่หยิบยกมานั้น ในระบบการจัดการสิ่งแวดลอม เมื่อนิคมอุตสาหกรรมตองจัดการและจะตองทําอยางจริงจัง และเมื่อมี นโยบายมากมายในการพัฒนาพื้นที่ขนาดใหญ รองรับการพัฒนาตาม นโยบายทีร่ ฐั บาลตัง้ ธงไว ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการพัฒนาไมได อยูท ก่ี ารขับเคลื่อนโครงการขนาดใหญใหเดินหนา โดยอางวิกฤติการณตา งๆ กับสถานการณทเ่ี กิดขึน้ ดูจะเปนความลงตัวในสถานการณปจ จุบนั บทความนี้ ไมไดฉดุ รัง้ การพัฒนา แตหากลูว ง่ิ ของการพัฒนาลงสูเ หว หรือสุสานสําหรับ ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่ชุมชนใกลนิคมอุตสาหกรรม หรือเพียงแคไดมี อนุสาวรียโ ครงการขนาดใหญท่ีใชเงินมหาศาล คงจะเปนสิง่ ที่ ไมถกู ตองนัก ประเด็นสําคัญ เราคงจะตองเจอเหตุการณ อุบัติภัยจากสารเคมี เชนนีอ้ กี ทัง้ จากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม การขนสงขนถาย สารเคมี ที่นับวันโอกาสที่จะเกิดสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีความรุนแรงในการแพร กระจายสูชุมชนในรูปแบบตางๆ วัฏจักรของเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม ดูจะเร็วขึ้น และเกิดภัยพิบัติตางๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนผลการกระทําจากอดีต การพัฒนาที่ ใชเทคโนโลยีการผลิตที่หลากหลาย ใชสารเคมีมากมาย มหาศาล ตอบสนองความตองการลงทุนและภาพลักษณของการพัฒนา ตามนโยบายของรัฐบาลจนละเลยผลกระทบที่เกิดขึ้น ยอมไมเปนธรรมตอ ประชาชนในประเทศแหงนี้ รวมถึงรุนลูกหลานที่ตองอยูดวยความลําบาก จากอภิมหาโครงการที่ตอบโจทยความตองการใชงบประมาณมหาศาลที่ วาดฝนกันเอาไว จึงอยากจะใหพิจารณาและมีความสํานึกตอการพัฒนาใน อนาคตที่ ยั่ ง ยื น ให ป ระชาชนอยู อ ย า งมี ค วามสุ ข อยู ร ว มกั บ โรงงาน อุตสาหกรรมอยางเชื่อมั่นในความปลอดภัยมากกวานี้ ที่ ม า : สํ า นั ก นโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่ ง แวดล อ ม คู มื อ การจั ด ทํ า รายงานการวิ เ คราะห ผ ลกระทบ สิ่งแวดลอม กรุงเทพฯ 2554 June 2012 l 61

Energy#43_p60-61_Pro3.indd 61

5/16/12 8:58 PM


0 Waste Idea สําหรับบทความฉบับนี้คอนขางพิเศษหนอย เนื่องจากผูเขียนไดมา รวมประชุมวิชาการอยูที่เมืองดับลิน ประเทศไอรแลนด ซึ่งเปนประเทศหนึ่ง ที่มีนโยบายสิ่งแวดลอมที่ดีและมีการรักษาความสะอาดตามถนนหนทาง ตางๆ เปนอยางดี เนื่องจากภายในเมืองดับลินมีถนนมากกวา 3,500 สาย และมีความยาวของถนนประมาณ 1,200 กิโลเมตร จึงตองมีการทําความ สะอาดประมาณ 6 ครั้งตอวันโดยใชรถเก็บขนรวมทั้งเก็บกวาดขยะจํานวน 36 คัน สําหรับเสนทางที่เปนที่พักอาศัยรวมทั้งบริเวณยานอุตสาหกรรม มี ก ารเก็ บ กวาดและขนขยะระหว า งเวลา 11:00 น. ถึ ง 16:00 น. เพื่อหลีกเลี่ยงชวงเวลาเรงดวนที่มีปญหาของจราจรติดขัด ทั้งนี้กิจกรรม การเก็บกวาดรักษาความสะอาดของเมืองมีการติดตามผลโดยใชระบบ GPS และมีการบันทึกขอมูลสรุปเปนรายงานเพื่อใหสามารถกํากับดูแล ในดานภารกิจการรักษาความสะอาดและการเก็บขนขยะที่มีประสิทธิภาพ

โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอ าํ นวยการหนวยปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนํานํากลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

โปรแกรม Green school หรือโรงเรียนสีเขียว

เปนโปรแกรมทีส่ ง เสริมการพัฒนาแบบยัง่ ยืนเพื่อสงเสริมการสราง จิตสํานึกในการรักษาสิ่งแวดลอมโดยเริ่มตนที่โรงเรียน มีการรณรงคให ความรูแ กนกั เรียนเพื่อใหการรักษาสิง่ แวดลอมเปนสวนหนึง่ ของการปลูกฝง การศึกษาและจริยธรรมใหกับเด็ก ซึ่งกิจกรรมนี้ ไดประสบความสําเร็จและ กาวขามไปยังชุมชนอยางกวางขวางในหลายภาคสวน พอแมผูปกครอง

ตามไปดู แนวทางการลดขยะ แบบ 3Rs ของเมืองดับลิน ประเทศไอรแลนด

แนวทางกิจกรรมดาน 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle)

เมืองดับลินไดมกี ารรณรงคสง เสริมนโยบาย 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) ในการลดปริมาณของเสียและประหยัดการใชทรัพยากร ทั้งนี้ สภาของเมืองดับลินตั้งเปาการรีไซเคิลขยะใหได 59% ภายในป 2011 สําหรับตัวอยางของโครงการดานการจัดการของสียที่เดนของเมืองตาม กราฟดานลาง

บรรยากาศและสภาพแวดลอมภายในเมืองดับลิน

แนวทางแบบ 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle)

ของนักเรียน ธุรกิจในทองถิ่น รวมทั้งกิจกรรมของชุมชนในการรักษา สิ่งแวดลอม สํ า หรั บ โปรแกรมนี้ เ ด็ ก นั ก เรี ย นได เ รี ย นรู หั ว ข อ การอนุ รั ก ษ สิ่งแวดลอมในดานตางๆ และการมีทัศนคติที่ดีตอการรักษาสิ่งแวดลอม รอบขางในชุมชนและการสงเสริมใหเด็กนักเรียนเขาใจไดวาสิ่งแวดลอม รอบตัวเปนสมบัติของทุกคนที่ตองหวงแหนและอนุรักษไว

62 l June 2012

Energy#43_p62-63_Pro3.indd 62

5/24/12 10:10 PM


โดยเปดทําการวันจันทรถึงวันเสารสําหรับประเภทขยะที่รับฟรีไมตองจาย ค า กํ า จั ด ได แ ก กระดาษ กระป อ ง ขวดพลาสติ ก เสื้ อ ผ า ใช แ ล ว ขยะอิเล็กทรอนิกส แบตเตอรี่ เปนตน อยางไรก็ตามขยะบางประเภท เชน ขยะอินทรีย น้าํ มันใชแลว เฟอรนเิ จอร ขยะพิษประเภทกระปองสี ยาฆาแมลง รับกําจัดโดยมีคาใชจายในกําจัด

รถเก็บขนและเก็บกวาดขยะ

โปรแกรมการประกวดใหรางวัลสําหรับภาคสวนของ ชุมชนดานการลดของเสีย

โปรแกรมนี้เปนการจัดประกวดแขงขันประจําปในการลดของเสีย สําหรับชุมชน โรงเรียน และหนวยงานธุรกิจ โดยทางสภาของเมืองดับลิน เปนผูจ ดั การแขงขันประกวด โดยมีการมอบรางวัลใหกบั ผูช นะการประกวด จาก 3 ภาคสวนไดแกชุมชน โรงเรียน และหนวยงานธุรกิจ เปนจํานวนเงิน รางวัลโดยรวม 75,000 ยูโร ซึ่งถือไดวาเปนความพยายามของสภาของ เมืองดับลินในการรณรงคสรางจิตสํานึกการมีสวนรวมใหกับทุกภาคสวน ในการจัดการของเสียแบบ 3Rs และการลดของเสียใหนอยที่สุด ทั้งนี้ บางชุมชนมีการจัดตั้งธนาคารขยะ (Bring bank) ของตนเองในการชวย รับซื้อขยะรีไซเคิลประเภทขวดแกว กระปองและเสื้อผาใชแลว เพื่อเปนการ สงเสริมการคัดแยกรีไซเคิลขยะในชุมชนของตนเอง

ศูนยรี ไซเคิลขยะริงเซ็น (Ringsen Recycling Center)

ตั ว อย า งรู ป แบบการคั ด แยกขยะประเภทต า งๆของชุ ม ชน ภายในเมืองดับลิน ขยะประเภทยอยสลายได ไดแกเศษอาหาร กระดาษยอยสลายงาย ที่ทํามาจากฟกทอง ไม เปลือกผลไม tea bag ขยะประเภทรี ไซเคิล ไดแก กระดาษหรือบรรจุภัณฑที่หออาหาร กระดาษ ถวยกระดาษ พลาสติก กลอง กระปองโลหะ ขยะพิษตองแยกและสงกําจัด ไดแก กระปองสี ยาฆาแมลง ขยะทั่วไป ไดแก ขยะอื่นๆ ที่ ไมใชขยะทั้ง 3 ประเภทขางตน

โปรแกรมการบังคับใชกฎหมายในการจัดการขยะ

การมอบรางวัลใหกับผูชนะการประกวดจาก 3 ภาคสวน ป 2011

โปรแกรมการสงเสริมใหบริการคัดแยกรี ไซเคิลขยะ

ขยะทีพ่ กั อาศัยจะมีการเก็บขนไปจัดการแบบผสมผสานตอไปทัง้ การ คัดแยก รีไซเคิล การกําจัดในขั้นตอนสุดทาย ทั้งนี้ผูอยูอาศัยสามารถนํา ขยะมาทิ้งที่บริเวณขอบถนนโดยแยกออกเปนถังสีเขียวหรือฟาสําหรับ ขยะแหงทีร่ ไี ซเคิลไดและถังสีน้าํ ตาลของศูนยรไี ซเคิลขยะ สําหรับบางอาคาร มีการจัดทําถังขยะที่มีการคัดแยกขยะออกเปนขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิลและ ขยะอินทรียเ พื่อใหสามารถคัดแยกขยะตนทางของหนวยงานตนเองไดอยาง มีประสิทธิภาพ ศูนยรีไซเคิลริงเซ็น (Ringsend Recycling Center) ภายในเมือง ดับลิน รับขยะรีไซเคิลจากทีพ่ กั อาศัยเปนหลัก ไมรบั ขยะจากสถานประกอบการ

หนวยงาน Waste regulation office ของประเทศไอรแลนดไดดาํ เนินการ ออกกฎหมายดานการจัดการของเสียเพื่อชวยการบังคับใชการจัดการ ขยะตางๆ ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สําหรับกฎหมายที่ออกมาในชวงป พศ. 2539-2551 มีดังนี้ กฎหมายดานการเก็บขนขยะ กฎหมายดานบรรจุภัณฑ กฎหมายดานการเคลื่อนยายของเสียอันตราย กฎหมายดานการจัดการซากรถหรือยานพาหนะใชแลวหรือ ELVs (End Of Life Vehicles) กฎหมายดานขยะอิเล็กทรอนิกส (WEEE หรือ Waste Electrical and Electronic Equipment) กฎหมายดานการจัดการยางรถยนตใชแลว (Tyres & Waste tyres) ทัง้ นีร้ ปู แบบการจัดการเพื่อสงเสริมการลด คัดแยกรีไซเคิลขยะของ เมืองดับลิน ก็เปนตัวอยางทีด่ ขี องการมีสว นรวมของหลายภาคสวน ทัง้ หนวยงาน ของรัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน ทีส่ ามารถนํามาดัดแปลงประยุกตใชกบั เมืองไทยไดเปนอยางดี เพื่อกาวเขาสูส งั คม “ 0 Waste ” ตอไป June 2012 l 63

Energy#43_p62-63_Pro3.indd 63

5/24/12 10:08 PM


Energy Around The World USA

USA

สหรัฐฯ เตือนภัยฟารมกังหันลมกอโลกรอน

นักวิทยาศาสตรอเมริกันเตือนวาฟารมกังหันลมทําใหสภาพภูมิ อากาศของโลกเลวรายลง เนองจากไปเพิ่มความรอนใหกับพื้นที่ชุมชนเร็ว กวาอัตราเพิ่มตามธรรมชาติถึง 10 เทา ในการสํารวจอุณหภูมิอากาศรอบฟารมลมที่ ใหญที่สุดของโลก 4 แหง ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา ของนักวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยรัฐ นิวยอรก โดยใชขอมูลจากดาวเทียมระหวางป 2546-2554 พบวาความ รอนเพิ่มขึ้น 0.72 องศา ในรอบเพียง 10 ปที่ผานมา ขณะที่ตั้งแตป 2453 อุณหภูมเิ ฉลีย่ ของโลกเพิม่ ขึน้ 0.8 องศาเทานัน้ นัน่ หมายความวา ยิง่ สราง ฟารมลมมากขึน้ เทาใด จะยิง่ สงผลกระทบตออุณหภูมโิ ลกในระยะยาวมากขึน้ เทานั้น โดยฟารมขนาดใหญจะกระทบตอรูปแบบของลมและฝนในภูมิภาค งานวิ จั ย ดั ง กล า วตี พิ ม พ ใ นวารสารเนเจอร ร ะบุ ด ว ยว า การ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเกิดขึ้นจากพลังงานที่ฟารมลมปลอยออกมาและการ เคลอนไหวความปนปวนของบรรยากาศที่ ใบพัดกังหันทําใหเกิดขึ้น ความ เปลี่ยนแปลงที่วานี้ ถาฟารมมีขนาดใหญมากพอจะสงผลกระทบตออากาศ และสภาพภูมิอากาศอยางสังเกตได อยางไรก็ตามผูเชี่ยวชาญเตือนวา จําเปนตองวิจัยเพิ่มเติมอีกเพอยืนยันสมมติฐานดังกลาวใหแนชัด ขอมูลจากคณะกรรมการพลังงานลมโลกระบุวา เมอปทแ่ี ลวฟารมลม ทั่วโลกผลิตกระแสไฟฟาไดถึง 238 กิกะวัตต เพิ่มขึ้นจากป 2553 รอยละ 21 คาดวากําลังผลิตจะเพิ่มขึ้นเกือบถึง 500 กิกะวัตต ในสิ้นป 2559 ที่มา: หนังสือพิมพบานเมือง คอลัมน โลกใบเล็ก

Asia

โอบามาทุม 1,000 ลาน สนับสนุนโครงการพัฒนา รถพลังงานสะอาด

บารัค โอบามา ประธานาธิบดีสหรัฐฯ เผยผลวิจัยดานพลังงาน สะอาด เพอใหประชาชนเปนเจาของรถพลังงานไฟฟาอยางงายดายภายใน เวลา 10 ป โดยประกาศระหวางที่ ไปเยีย่ มชมโรงงานผลิตรถยนตของบริษทั Daimler Chrysler บริษัทผูผลิตรถยนตชั้นนําของโลก ซึ่งเปนสวนหนึ่งใน มาตรการใชพลังงาน เพิม่ ปริมาณการผลิตกาซธรรมชาติและน้าํ มันภายใน ประเทศ รวมถึงพัฒนาประสิทธิภาพของยานพาหนะและกระตุนใหเกิดการ ลงทุนเพอธุรกิจดานพลังงานทางเลือกในระยะยาว การสนับสนุนครั้งนี้ จะเปนการชวยใหหนวยงานตางๆ พัฒนารถที่ ใชพลังงานสะอาดอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ แผนการดังกลาวจะ เปนการสนับสนุนแผนการพัฒนากาซธรรมชาติ 5 พื้นที่ซึ่งรถบรรทุกที่ ใช พลังงานทางเลือกสามารถขนสงสินคาไดโดยที่ ไมตองใชน้ํามัน ในกรณีเดียวกัน นายโอบามาก็มีแผนการที่จะพัฒนาภาษีสําหรับรถ พลังงานไฟฟ้าด้วยการปฏิรูปโครงสร้างราคาเพื่อให้ประชาชนทุกระดับ สามารถซือ้ ได และลดคาใชจา ยดานขีดจํากัดของจํานวนรถตอผูผ ลิตแตละราย เพอกําจัดคาใชจายนี้ภายในเวลา 10 ป รวมทั้งไดมีการเปดเผยแผนการที่ จะกําหนดอัตราภาษีใหมสาํ หรับรถบรรทุก ซึง่ คิดเปน 50% ของงบประมาณ สําหรับรถบรรทุกที่ ใชพลังงานทางเลือกในมาตรการเดิม ประกอบดวย รถที่ใชกาซธรรมชาติและกระแสไฟฟาภายในเวลา 5 ป ที่มา : http://www.armenianweekly.com/2012/04/24/president-obamaissues-statement-on-armenian-remembrance-day/

เคียวเซรา เปดตัวโครงการ “โรงไฟฟาพลังแสงอาทิตย” ใหญที่สุดในญี่ปุน

บริษัท เคียวเซรา ผูผลิตอุปกรณไฮเทครายใหญของญี่ปุน เผย โครงการกอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ขนาดใหญที่สุดในแดนอาทิตยอุทัย เพอชวยบรรเทาปญหาขาดแคลนพลังงาน หลังโรงไฟฟานิวเคลียรของญี่ปุนทยอยปดตัว ลงจนเกือบหมดแลว เคียวเซรา รวมกับบริษัทจักรกลหนัก ไอเอชไอ และธนาคาร มิซูโฮ คอรปอเรต จะกอสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ที่มีกําลังผลิต 70 เมกะวัตต ในเมืองคาโกชิมะ ทางตอนใตของญี่ปุน โดยโรงไฟฟาแหงนี้มีเปาหมายผลิตไฟฟาใหไดเทียบเทา 40% ของแผงโซลารเซลลที่ ใชในอุตสาหกรรม ซึ่งสงจําหนาย ในญี่ปุนตลอดป 2011 เคียวเซรา ระบุในถอยแถลง โรงไฟฟาแหงใหมจะสามารถผลิตไฟฟาปอนความตองการของพลเมืองปละ 22,000 หลังคาเรือน และหากนํามาทดแทน เชื้อเพลิงฟอสซิล จะชวยลดคารบอนไดอออกไซดไดถึง 25,000 ตัน เคียวเซรา เผยวา เปาหมายของโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยขนาดยักษ ก็เพอบรรเทาปญหาพลังงานขาดแคลน อันเนองมาจากผลกระทบของแผนดินไหวครั้งใหญ นอกชายฝงญี่ปุนเมอป 2011 และเพอมีสวนในการปกปองสิ่งแวดลอม ญี่ปุนตองเผชิญวิกฤตพลังงานอยางรุนแรง หลังภัยพิบัติสึนามิเมอปที่ผานมากอใหเกิดวิกฤตนิวเคลียรที่โรงไฟฟา จ.ฟูกูชิมะ และนําไปสูการสั่งปดเตาปฏิกรณนิวเคลียร 53 แหง จนเหลือใชงานอยูเพียงแหงเดียวทั่วประเทศ ในขณะนี้ ทัง้ 3 บริษทั จะทําสัญญารวมทุนมูลคา 25,000 ลานเยน (ราว 9,530 ลานบาท) ในเดือนมิถนุ ายน และคาดวา จะเริม่ กอสรางโรงไฟฟาได ภายในเดือนกรกฎาคมนี้ ที่มา: http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9550000045047

64 l June 2012

Energy#43_p64-65_Pro3.indd 64

5/22/12 11:48 PM


Asia

ชาวนาจีนรุดหนา ประดิษฐรถไฟฟาพลังลม

เปยจิงเฉินเปา สอจีนรายงานวามีชาวนาสามารถประดิษฐรถไฟฟา ใชพลังงานลม ลักษณะเหมือนรถแขงเปดประทุนสีฟาขนาดเล็กความสูงไม ถึง 1 เมตร ความเร็วขับเคลอนไดถึง 140 กม./ชม. ไดสําเร็จ ณ หมูบาน ปนเจี๋ยเหอ ตําบลหยงเลอเตี้ยน เขตทงโจว กรุงปกกิ่ง ผลงานประดิษฐจากฝมือของ ถัง เจิ้นผิง ชาวนาที่อยูในเขตทงโจว ซึ่งด้านหน้ารถติดตั้งพัดลม ท้ายรถติดสปอยเลอร์ เพื่อเพิ่มความเร็ว ถัง เจิน้ ผิงเลาวา เขาใชเงินไปหมนกวาหยวนและใชเวลาสามเดือนกวาในการ ประดิษฐรถคันนี้ขึ้นมา รถแขงของ ถัง เจิ้นผิง ติดตั้งเครองกําเนิดไฟฟาเอาไว 2 จุดหนาหลัง ดานหลังติดตั้งแบตเตอรี่ ดานหนาเปนพัดลมไฟฟา จุดเดนสําคัญ ของรถคันนีค้ อื ขับเคลอนดวยพลังลม ชารตแบตเตอรีต่ อ หนึง่ ครัง้ ใชไดนาน 2-3 วัน รถสูงไมเกิน 1 เมตร ยาว 2-3 เมตร แมจะเล็กแตอุปกรณเพียบ ไมวาจะเปนกระจกสะทอนแสง ไฟเบรค ไฟเลี้ยว รถคันนี้มีครบ ถัง เจิ้นผิง สําทับวารถของเขาแลนดวยความเร็วสูงสุดไดถึง 140 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งจากที่ผูสอขาวจีนสังเกต รถคันนี้เมอวิ่งขับที่ความเร็ว 60 กิโลเมตร/ ชั่วโมง รถยังคงนิ่งไมแกวง ประกอบกับเจาของที่มีทักษะการขับรถไม ธรรมดา การหักเลี้ยว กลับรถจึงดูเยี่ยมยอดไปหมด ที่มา : http://www.manager.co.th/China/ViewNews. aspx?NewsID=9550000053482

Middle East

IAEA เผย หลักฐานสําคัญอิหราน ทดสอบนิวเคลียร

สํานักงานพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ หรือ ไอเออีเอ ไดหลักฐาน ชิ้นสําคัญวา อิหราน กําลังทดลองนิวเคลียร ในคายทหารปารชินในอิหราน ซึง่ เปนภาพเดียวกับอดีตเจาหนาที่ไอเออีเอ ยืนยันวา เคยเห็นมากอน ภาพหลักฐาน ดังกลาวไดมาจากคนวงในของคายทหารปารชินในอิหราน ซึ่งเปนหลักฐาน เชอไดวา อิหราน กําลังลักลอบทดลองนิวเคลียรในคายทหารปารชิน อดีตเจาหนาทีท่ บวงการพลังงานปรมาณูระหวางประเทศ หรือ ไอเออีเอ เชอวา เปนภาพจริงเพราะเหมือนกับภาพที่เคยเห็นมากอนหนานี้ และเชอวา เปนหองทดสอบแรงดัน สวน นายมารก ฟตซแพตริก ผูอ าํ นวยการสถาบัน ศึกษายุทธศาสตรนานาชาติ กลาววา หองทดลองนี้ สามารถทดสอบแรงดัน จากระเบิดอานุภาพรายแรงได และอาจเปนไปไดวา อาจใชทดลองกับแรยเู รเนียม อยางไรก็ตาม อิหราน ไมไดยืนยัน หรือ ปฏิเสธรายงานการคนพบหองทดลอง ดังกลาว ขณะที่ ไอเออีเอ กําลังตรวจสอบวา อิหราน ซุกซอนถังทดลองระเบิด ไวจริงหรือไม ขณะที่ นายซาอีด จาลิลิ หัวหนาฝายเจรจานิวเคลียรของอิหราน กลาวผานโทรทัศนอิหรานวา หมดยุคที่จะใชความกดดันแลว และเตือนชาติ ตะวันตกใหหลีกเลี่ยงสิ่งที่ ไมสรางสรรค เพราะจะสงผลเสียตอการเจรจา นิวเคลียร ในกรุงแบกแดดของอิรัก โดยมี สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน ฝรั่งเศส และเยอรมนี รวมประชุม

แอฟริกาใตประกาศเก็บภาษีปลอย CO2 ในป ค.ศ. 2013

ที่มา: http://www.classifiedthai.com/content.php?news=31927

South Africa

Pravin Gordhan รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังของประเทศแอฟริกาใต ประกาศระหวาง แถลงงบประมาณประจําปวา ในป ค.ศ. 2013 จะมีการเก็บภาษีจากการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด โดยมี จุดมุงหมายที่จะพัฒนาประเทศซึ่งติด 20 อันดับประเทศที่มีปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูงที่สุด ในโลกขณะนี้ โดยที่ 80% ของการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในประเทศเกิดจากการผลิตกระแสไฟฟาซึ่ง สวนใหญเปนการผลิตจากถานหิน อยางไรก็ดี ผลกระทบจากภาษีดงั กลาวยังไมเกิดขึน้ อยางชัดเจนในขณะนีแ้ ตมกี ารคาดหมายวา ปริมาณ การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดจะลดลงจากการกําหนดภาษีคารบอน การตรวจสอบงบประมาณครัง้ ลาสุด ระบุวา ทุกหนวยงานจะไดรบั การละเวนคาภาษีดงั กลาว 60% และบางหนวยงานอาจไดรบั สวนลดมากกวานี้ เชน องคกรทีม่ กี ารปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ในระดับต่ํา ในขณะที่บริษัทที่ตองใชพลังงานในระดับสูงและบริษัทนําเขา - สงออกสินคาบางชนิด เชน ปูนซีเมนต โลหะ และ อะลูมีเนียม จะไดรับการละเวนใน ระดับที่สูงกวา โดยมีการคาดการณวา บริษัทเหลานี้ตองจายภาษีในอัตรา 3 ดอลลารสหรัฐฯ หรือ 90 บาท ตอตัน ซึ่งคิดเปน 20% ของคาใชจายทั้งหมด เทานั้น สวนหนวยงานดานจัดการขยะ ปาไม และ เกษตรกรรม จะไดสิทธิพิเศษโดยไมตองเสียภาษีดังกลาว ที่มา : http://www.globalenvision.org/2011/12/05/amid-financial-crisis-china-new-champion-carbon-reduction

June 2012 l 65

Energy#43_p64-65_Pro3.indd 65

5/22/12 11:48 PM


Energy#29_p49_Pro3.ai

Energy#39_p92_Pro3.indd 60

1

3/24/11

3:17 AM

1/26/12 12:58 AM


Energy Tezh โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

รีไซเคิลโลหะเกาแปลงเปนของใหม สูการผลิต แบบ Mass Production เทคโนโลยี รายแรกของโลก

เรื่ อ งพั นธสั ญ ญาด า นสิ่ ง แวดล อ มของบริ ษั ท ที่ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ในป จ จุ บั น ถื อ เป น เรื่ อ งสํ า คั ญ ที่ ทั่ ว โลกไม อ าจมองข า ม ในการรวมอนุรักษสิ่งแวดลอมโลกและลดการกอขยะของมนุษย ให ลดนอยลง ทางออกคือการนําเอาขยะที่ ใชแลวมาหมุนเวียนใชใหม แตก็สําหรับขยะบางประเภทเทานั้น ลา บริษัท ฮอนดา มอเตอร จํากัด และ บริษัท เจแปนเมทัลสแอนด เคมิคอลส จํากัด ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุน เปดเผยถึงความสําเร็จใน การติดตัง้ กระบวนการสกัดโลหะหายากจากชิน้ สวนผลิตภัณฑที่ใชแลวของ ฮอนดาเปนรายแรกของโลก กระบวนการสกัดโลหะดังกลาวเปนกระบวนการ ที่เกิดขึ้นในสายการผลิตแบบ Mass Production ณ โรงงานรีไซเคิล ซึ่ง เปนกระบวนการสกัดโลหะหายากที่พัฒนาขึ้นใหม สงผลใหฮอนดาสามารถ ตอยอดการรีไซเคิลไปสูทรัพยากรอันมีคาประเภทอื่นๆเพิ่มขึ้นในอนาคต กระบวนการรีไซเคิลเริ่มดวยการสกัดโลหะหายากจากแบตเตอรี่ นิกเกิล เมทัล ไฮไดรด(Nickel metal hydride) ที่มีสวนผสมของโลหะหา ยากที่ใชแลวในรถยนตฮอนดาไฮบริด โดยจะรวบรวมชิน้ สวนจากผูจ าํ หนาย รถยนตฮอนดาทั้งในและนอกประเทศญี่ปุน ซึ่งการสกัดโลหะหายากที่เกิด ขึ้นในกระบวนการผลิตแบบ Mass Production ที่โรงงานรีไซเคิล ถือเปน ปรากฏการณใหมที่เกิดขึ้นเปนครั้งแรกของโลก ตอดวยกระบวนการหลอมละลายดวยความรอนสูง เพื่อสกัดโลหะ นิกเกิลจากแบตเตอรี่นิกเกิล เมทัล ไฮไดรด ที่ ใชแลว และชิ้นสวนที่มีสวน

ผสมของนิกเกิลมารีไซเคิล เพื่อนํากลับมาใชเปนวัตถุดิบ ในการผลิตโลหะสเตนเลส จากความสําเร็จในการคิดคน กระบวนการสกัดโลหะที่มีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ จะ ไดโลหะที่มีคาความบริสุทธิ์เทียบเทาไดกับโลหะใหมที่มา จากเหมืองหรือโลหะทีผ่ า นกระบวนการกลัน่ โดยสามารถ สกัดโลหะหายากในแบตเตอรี่ เมทัล ไฮไดรดไดมากกวา 80% ซึง่ ฮอนดาจะนําโลหะทีส่ กัดไดนาํ ไปใชผลิตแบตเตอรี่ นิกเกิล เมทัล ไฮไดรด และผลิตภัณฑอีกหลากหลายประ เภทของฮอนดา และยังตั้งเปาขยายการรีไซเคิลโลหะหา ยากไปยั ง ชิ้ น ส่ ว นผลิ ต ภั ณ ฑ์ อื่ น ๆ นอกเหนื อ จากแบตเตอรรี่ นิ ก เกิ ล ไฮไดรด อีกดวย ที่ผานมา ฮอนดาไดใหความ สําคัญในการรีไซเคิลทรัพยากรที่ ใช ในการผลิตผลิตภัณฑตา งๆ โดยยึด หลั ก 3R คื อ Reduce, Reuse, Recycle มาอยางตอเนื่อง และเปน ผูผลิตรถยนตรายแรกในประเทศญี่ปุนที่เริ่มขายชิ้นสวนรีไซเคิล และ รวบรวมหมอกรองน้าํ มันเครื่องและกันชนเพื่อรีไซเคิล ซึง่ ฮอนดาจะเดินหนา ขยายเครือขายรวมกับพันธมิตรทางธุรกิจใหมีความเขมแข็งเพื่อรวมกัน สงเสริมการนําทรัพยากรกลับมาใชใหม (Reuse) และการรีไซเคิล เพื่อการ อนุรักษทรัพยากรที่มีคาของโลกตอไป

June 2012 l 67

Energy#43_p67_Pro3.indd 67

5/14/12 11:24 PM


Vehicle Concept โดย : Save Driver

Lotus City car Concept

สปอร ต จิ๋ ว ลู ก ผสม... เมื อ งผู ดี

หากจะพูดถึง “รถยนตเพื่อสิ่งแวดลอม” กับ “รถสปอรตสมรรถนะ สูง” ระหวางรถสองประเภทนี้ ดูเหมือนจะมีอะไรที่ตรงกันขามกันอยางสิ้น เชิง เพียงแคหลับตาแลวลองนึกภาพก็แทบจะมองไมเห็นถึงความเปนไปได กับการนําสองสิ่งดังกลาวมารวมอยูในรถสักคัน แตสําหรับรถจากเมือง ผูดี “Lotus” ไดจับคุณสมบัติสองอยางนี้มารวมกันไดอยางลงตัว ที่ผานมาดวยสภาวะของโลกในปจจุบัน เรื่องของสิ่งแวดลอมเปน เรื่องสําคัญ เห็นไดจากงานแสดงรถยนตระดับโลก คายผูผลิตตางขน เทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมมาโชวอยางเต็มที่ แมจะเปนเรื่องของแนวคิด แตเชื่อวาในไมชาตองเห็นแนวคิดตางๆ เหลานั้นถูกบรรจุอยู ในรถยนต อยางแนนอน และคาย Lotus เปนอีกหนึ่งคายรถยนตที่นําเสนอแนวคิด ซิ ตี้ ค าร ส ปอร ต ต น แบบที่ มี คุ ณ สมบั ติ ล ดการปล อ ยมลพิ ษ สํ า หรั บ ชี วิ ต คนเมือง แตไมทิ้งดีกรีความเปนพื้นฐานรถสปอรตเลยแมแตนอย กับ Lotus City car Concept 68 l June 2012

Energy#43_p68-69_Pro3.indd 68

5/14/12 11:27 PM


Lotus city Car Concept ถือเปนรถแนวคิดใหมจากคายที่ขึ้นชื่อใน เรื่ อ งของการผลิ ต รถสปอร ต จนเป นที่ รู จั ก กั น เป น อย า งดี โดยเฉพาะ สมรรถนะดานการขับขี่และการควบคุม นํามาพัฒนาเปนรถภายใตแนวคิด โลกสีเขียว โดยรถรุนนี้จะปลอยมลพิษเพียง 60 กรัม/ กิโลเมตร และจะไม กอมลพิษเลยเมื่อใชมอเตอรไฟฟาขับเคลื่อน ทําใหเปนรถอีกหนึ่งคันที่นา จับตาอยางมาก โครงสรางภายนอกถูกออกแบบเปนรถสปอรตแฮทชแบ็ค 3 ประตู พรอมระบบขับเคลื่อนแบบลูกผสมระหวางเครื่องยนตและมอเตอรไฟฟา ซึง่ มี ก ารจั ด ว า งที่ แปลกกว า เครื่ อ งลู ก ผสมที่ ผ า นมา โดยทํ า การติ ด ตั้ ง เครื่องยนตขนาด 1.2 ลิตร ใหกําลังสูงสุดที่ 126 Kw ไวที่ดานหนาของ ตัวรถ เพื่อทําการขับเคลื่อนชุดลอหนาเพียงอยางเดียวเทานั้น สวนดาน หลังไดมีการติดตั้งมอเตอรไฟฟาใหกําลังสูงสุดที่ 34 Kw สําหรับขับ เคลื่อนลอหลังทั้งสองขางแบบอิสระจากลอหนาอยางสิ้น เชิ ง ซึ่ ง คล า ยกั บ ระบบขั บ เคลื่ อ นลู ก ผสมอย า ง Hybrid ในรถยนตที่จําหนายในปจจุบัน ตางกันที่ การจัดวางเครื่องยนตและระบบขับเคลื่อน จากการจัดวางระบบขับเคลื่อน ของ Lotus city Car Concept ดัง กลาว ถือเปนแนวคิดใหมที่ชวยใหการ ทํ า งานของการขั บ เคลื่ อ นทั้ ง สอง ระบบสอดประสานกันอยางลงตั ว เมื่อขับเคลื่อนดวยความเร็วไมเกิน 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง รถจะใชการ ขับเคลื่อนของมอเตอรไฟฟา และ เมื่อความเร็วเพิ่มขึ้น เครื่องยนตจะ เริ่มทํางานเพื่อรองรับอีกทางหนึ่ง เมื่ อ รวมการทํ า งานของมอเตอร

ไฟฟาและเครื่องยนตแลวจะมีกําลังสูงสุดถึง 162 Kw หรือประมาณ 220 แรงมา แบกรับน้ําหนักตัวรถประมาณ 1,400 กิโลกรัม ทําใหสามารถ ทําความเร็วจาก 0-50 กิโลเมตร/ ชั่งโมง เพียง 4.5 วินาที และ 0-100 กิโลเมตร/ ชั่งโมง ดวยเวลา 9 วินาทีเทานั้น ดวยแนวคิดดังกลาวทําใหเปน รถ Concept อีกหนึ่งคันที่นาจับตา แมวาขนาดตัวรถจะเล็ก แตเรื่อง ของสมรรถนะแลวถือวาไมเปนรอง ใคร เหมาะสําหรับการใชชีวิตของ คนเมืองไมนอยทีเดียว แมวาจะ เป น เพี ย งรถแนวคิ ด หรื อ รถ ตนแบบ แตก็เชื่อวาคุมสําหรับ การรอคอยแน น อน หากมี การนํามาผลิตเพื่อจําหนายจริง

June 2012 l 69

Energy#43_p68-69_Pro3.indd 69

5/16/12 9:02 PM


Energy Test Run โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

NGV-DEVELOPMENT ผสาน NGV+ดีเซล เคนความประหยัด-แรง

ปญหาราคาน้าํ มันแพง ถือเปนปญหาหลักทีผ่ ูใชรถยนตประสบ อยูอยางตอเนื่อง สวนหนึ่งเปนผลมาจากประเทศไทยยังไดรับการ อุดหนุนราคาเชื้อเพลิงจากภาครัฐบาล จนเกิดความเคยตัว และเมื่อ จะมีการปรับราคาเชื้อเพลิงตามความเปนจริง ก็ตองยอมรับวาผูใช รถอาจยังปรับตัวไมทนั จนเกิดเปนกระแสตอตานอยางทีเ่ ปนขาว สิง่ ที่ตองยอมรับคือ บานเรายังใชเชื้อเพลิงที่ถูกกวาหลายประเทศทั่ว โลก ดังนั้นทางออกที่ดีคือ การหาวิธีเพื่อแบงเบาภาระดานราคาเชื้อ เพลิงที่จําเปนตองจายอยูแลวใหนอยลง ตลาดรถยนตบานเรากลุมใหญจะเปนผู ใชรถยนตประเภทกระบะ รถตรวจการณที่สวนใหญจะใชเครื่องยนตดีเซลเปนหลัก ซึ่งในเครื่องยนต เบนซินหาทางออกเรื่องน้ํามันแพงโดยการติดตั้งระบบกาซ NGV และถา เปนเครื่องยนตดีเซลจะติดไดหรือไม คําตอบคือได ซึ่ง NGV ปจจุบันเปน

เชือ้ เพลิงทีด่ ที ีส่ ดุ และมีราคาถูกทีส่ ดุ ในตลาด ปจจุบนั การติดตัง้ ระบบดีเซล รวม NGV หรือ TFC ที่ผานการคิดคนโดยสถาบัน NGV-DEVELOPMENT ยานคลอง 3 ปทุมธานี กําลังเปนที่รูจักมากยิ่งขึ้น สําหรับการทดสอบระบบกาซ NGV รวมกับดีเซลครั้งนี้ ใชรถ Toyota Fortuner สภาพปายแดง เครื่องขนาด 3,000 ซีซี เกียรออโตใน การทดสอบ โดยรถยนตรุนนี้ตองยอมรับเรื่องสมรรถนะและอัตราการกิน น้ํามันวาคอนขางพอสมควร ดวยน้ําหนักตัวรถที่คอนขางมาก เจาของรถ จึงตองแลกกับอัตราสิ้นเปลืองโดยไมอาจหลีกเลี่ยงได โดยใชเวลาในการ ติดตั้งระบบ TFC ของสถาบัน NGV-DEVELOPMENT เปนเวลา 2 วันก็ถึง เวลาทําการทดสอบกอนสงมอบสูมือเจาของ หลังติดตั้งสภาพตัวรถมีการดัดแปลงเพียงเพิ่มเติมถังกาซขนาด 70 ลิตร อยูใตทองแทนลออะไหลเทานั้น และภายในหองเครื่องมีการติดตั้ง

70 l June 2012

Energy#43_p70-71_Pro3.indd 70

5/22/12 11:58 PM


อุ ป กรณ ข องเทคโนโลยี ชั้ น สู ง TFC NGV ที่ จั ด วางอย า งเป น ระเบี ย บ เรียบรอย โดยขั้นตอนการทดสอบไมจําเปนตองใชกระปุกน้ํามันในการ ทดสอบ เพราะรถรุนนี้มีตัววัดระยะสิ้นเปลืองเฉลี่ย หรือ AVG. ติดตั้งมา อยูแลว ขั้นตอนการทดสอบแรกเริ่มจากสภาพจราจรที่ติดขัดจากถนนเสน ที่กําลังปรับปรุงเกาะกลางถนน จึงทําใหรถเคลื่อนตัวไดชา ถึงจอดตัวเลข จากจอ AVG. บอกวา 6.8-7.7 กม./ลิตร สวนทดสอบตอมาเปนถนนโลงสามารถทําความเร็วได และใชน้ํามัน ดีเซลเปนเชื้อเพลิงอยางเดียว แตใชความเร็วที่ 120-160 กม./ชม. ซึ่ง ตัวเลขที่หนาจอ AVG. จะแตกตางกันดังนี้ ที่ความเร็ว 120 กม./ชม. เทากับ 9.1 กม./ลิตร, 150 กม./ชม. เทากับ 8.8 กม./ลิตร, 160 กม./ชม. เทากับ 8.3 กม./ลิตร และ 170 กม./ชม. เทากับ 9.4 กม./ ลิตร อัตราการการสิ้นเปลืองทําไมแตกตางกัน งายๆ ตามหลักการเวลา เข็นของไปตามถนน เมื่อเข็นชาตองออกแรงมากเปนธรรมดา แตเวลาเข็น เร็วขึ้นแรงที่ออกก็จะนอยลง ซึ่งขณะเพิ่มความเร็วตองออกแรงเพิ่มขึ้นอีก จนกวาความเร็วจะลงตัวถึงจะไมตองออกแรงมาก อัตราการสิ้นเปลือง ของรถก็เชนกัน ในขณะที่ความเร็วเทากัน แตอัตราสิ้นเปลืองตางกันใน ขณะที่ชวงทอรคหรือชวงเรงขึ้นใหม ๆ อัตราสิ้นเปลืองจะมาก แตพอรถ ลอยตัวไดอัตราการสิ้นเปลืองก็จะลดลง ต อ ด ว ยการทดสอบแบบร ว มระหว า งเทคโนโลยี TFC NGV+ดีเซลในสภาพถนนที่โลง เริ่มเซต AVG. ใหม โดยใชคันเรงคงที่ ไวที่ 100 ก.ม./ ชม. ตัวเลข AVG จะขึ้นที่ 9.6 ก.ม./ ลิตร แตพอเปด TFC NGV ตัวเลขที่จอจะเปลี่ยนเปน 26, 28 และ 30 ก.ม./ ลิตร ซึ่ง AVG. ของ TOYOTA จะมีการแสดงสูงสุดเพียง 30 ก.ม./ ลิตรเทานั้น แตในรถรุนอื่น จะมีถึง 100 ก.ม./ ลิตร นาเสียดายถา TOYOTA ทําตัวเลข AVG มาสัก 50 หรือ 100 ก.ม./ ลิตร เราก็อาจจะเห็นตัวเลขสัก 45-60 ก.ม./ ลิตร จากจอ AVG. ของ FORTUNER คันนี้ก็เปนได

ตอดวยการขับทดสอบแบบสลับไปมาระหวางการใชน้ํามันดีเซล อยางเดียว กับ TFC NGV รวมกับน้ํามันดีเซล โดยการทดสอบจะใช ความเร็วที่ 50 ก.ม./ ชม. แลวเรงคันเรงลงไปแชไว ใหความเร็วขึ้นมาที่ 160-170 ก.ม./ ชม. ซึ่งใชเวลาไป 1 นาที ในการใชน้ํามันดีเซลอยางเดียว จากนั้นก็ถอนคันเรงลงที่ 50 ก.ม./ชม. เทาเดิมแลวเปดสวิตช TFC NGV ทําการเรงคันเรงลงไปแชไว ใหความเร็วขึ้นมาที่ 160-170 ก.ม./ ชม.เทา เดิม โดยใชเวลาเพียง 30 วินาทีเทานั้น แสดงวาอัตราเรงเร็วและแรงกวา อยางเห็นไดชัด ขณะที่การทดสอบขั้นตอนที่ 5 เปนการขับแบบวัดกันที่ความหนัก เบา ตื้นลึกของคันเรง โดยทดสอบการใชน้ํามันกอน ขับเริ่มที่ความเร็ว 50 ก.ม./ ชม. จากนัน้ เรงคันเรงลงไปจนสุด จนความเร็วขึน้ มาระดับ 100-110 ก.ม./ชม. แลวถอนคันเรงกลับประมาณ 8% ของการเหยียบจนเต็ม 100% แตพอเปดระบบ TFC NGV เขาไปใชรวมคนขับตองถอนคันเรงกลับ เพื่อ รักษาควาเร็ว 100 ก.ม./ ชม. ซึ่งถาตองเหยียบมากกวานี้ ความเร็วของ รถจะขยับไปที่ 140 ก.ม./ ชม. นี้แสดงใหเห็นแลววาคันเรงจะเบาขึ้นอยาง เห็นไดชัด เห็นไดชัดวาการติดตั้งระบบ TFC NGV ไดทั้งอัตราเรงที่ดีขึ้นกวา เดิมรอบตอรอบ คันเรงที่เบาขึ้นแบบครึ่งตอครึ่ง และคาความประหยัดเพิ่ม ขึ้น 5-7 เทาตัว แนนอนวาประหยัดขึ้นอยางเห็นไดชัดในรถระดับ 3,000 ซี.ซี. ซึ่งระบบเชื้อเพลิงรวมระหวางดีเซล+ NGV จึงเหมาะสําหรับผูใชรถ วันละมากๆ ซึ่งระบบดังกลาวจะชวยใหผูใชรถประหยัดเงินคาเชื้อเพลิงได อยางมาก หากเฉลี่ยคาน้ํามันตอเดือนอยูที่ 20,000 บาท นาจะไดทุนคืนที่ ระยะทาง 47,000-50,000 ก.ม. หรือ 3-4 เดือน ซึ่งระบบดังกลาวถือวา นาสนใจทีเดียว สําหรับผูที่กําลังมองหากทางออกเกี่ยวกับคาเชื้อเพลิงใน แตละเดือนเชนปจจุบัน June 2012 l 71

Energy#43_p70-71_Pro3.indd 71

5/22/12 11:58 PM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพื่อน

เขาสูก ลางป 2555 กันแลว เวลาผานไปไวเหมือนโกหก แตมนั คือเรื่องจริง นะเจาคะ ในรอบเดือนทีผ่ า นมามีขา วดีขา วไมสดู ีใหเราทราบและตัง้ รับกันอยูต ลอด ก็เปนกําลังใจใหทุกทานผานเรื่องกลุมไปไดอยางสบายๆ ไมกังวลนะเจาคะ มาเริ่มกันที่ขาวแรก ขาวของการบรรเทาทุกขบํารุงสุข พี่นอง ประชาชนชวงนี้ หุหุ โดย รมว.พลังงาน คุณอารักษ ชลธารนนท ก็ ไดกลาว หลังจากประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) วา ที่ประชุม เห็นชอบใหยกเลิกการทยอยเก็บเงินเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงทั้งน้ํามันเบนซิน และแกสโซฮอล ในอัตราลิตรละ 1 บาทตอเดือน และน้ํามันดีเซลลิตรละ 0.60 บาทตอเดือนออกไปกอน รวมทั้งใหคงราคาขายปลีกกาซธรรมชาติสําหรับ ยานยนต (เอ็นจีวี) ที่ กก.ละ 10.50 บาท และคงราคาขายปลีกกาซแอลพีจี ภาคขนสงในอัตรา กก.ละ 21.13 บาท ตอไปอีก 3 เดือน (16 พ.ค.-15 ส.ค.55) ไดอีกเฮือกเจาคะ สวน LPG ภาคอุตสาหกรรมนั้น ไดเห็นชอบใหยกเลิกการทยอยปรับราคาขายปลีก ใหสะทอนตนทุนโรงกลั่นน้ํามันที่กําหนดให ปรับ 4 ไตรมาสๆ ละครั้งๆ ละ 3 บาทตอ กก.ดวยเชนกัน โดยกําหนดใหคณะกรรมการ บริหารนโยบายพลังงานหรือ กบง.เปนผูพิจารณาปรับราคาขายปลีกใหราคาไม เกินตนทุนจากโรงกลั่น และกําหนดอัตราเงินสงเขากองทุนน้ํามันฯ ในแตละเดือน ตามความเหมาะสม โดยกําหนดตั้งแตวันที่ 1 มิ.ย.นี้ เปนตนไปเจาคะ แว บ ไปงานลงนามบั น ทึ ก ข อ ตกลงความร ว มมื อ ระหว า ง GIZ และ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุรี (มจธ.) ดาน “การพัฒนาและสงเสริม ระบบการจัดการของเสียอันตรายและของ เสียเคมีวัตถุในประเทศไทยอยางเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม” โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ รวมกันพัฒนาและสงเสริมระบบการจัดการของเสียอันตรายและของเสียเคมีวตั ถุ ในประเทศไทยที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งรวบรวมองคความรู ขอมูล และแลก เปลี่ยนประสบการณการเกี่ยวกับการบริหารจัดการของเสียเคมี เพื่อเผยแพร ข อ มู ล ดั ง กล า วให ผู ใ ช เ คมี ภั ณ ฑ ส ามารถนํ า ไปประยุ ก ต ใ ช ไ ด อ ย า งถู ก ต อ ง แจวจริงเจาคะ ตอกันทีง่ านฉลองครบรอบ 15 ป กรุ ง ไทยธุ ร กิ จ บริ ก าร นํ า โดยคุ ณ ดํ า รง แกวประสิทธิ์ กรรมการผูจัดการ บริษัท กรุงไทยธุรกิจบริการ จํากัด หรือ KTBGS (คนกลาง) พรอมดวย คุณวิชิต สมสุข เจริญ ผูชวยกรรมการผูจัดการอาวุโส (คนขวา) และ คุณอรจรรยา จันทวรสุทธิ์ ผูชวยกรรมการผูจัดการสายงานพัฒนาธุรกิจการตลาด (คนซาย) รวมงานแถลงขาว ครบรอบ 15 ป KTBGS โดยไดทําการปรับเปลี่ยน ภาพลักษณใหม จากเดิม KGS เปน KTBGS พรอมนําระบบ ไอที แอพพลิเคชั่น Mobile Device Management Solution (MDMs) พลิกโฉมยกระดับงานบริการ ขนสงเงินสดแบบเดิมๆ พรอมตั้งเปาโต 20% ทะลุ 2,000 ลานบาท ในป 2555 นี่แหละเจาคะ

ส ว น ดาวเคมิ ค อล เดินหนาสนับสนุนความปลอดภัยสู ชุมชน นําโดย มร. ไมเคิล มีธ (ที่ 5 จากขวา) ผูอ าํ นวยการโรงงาน กลุมบริษัท ดาว ในประเทศไทย เปนตัวแทนมอบถังดับเพลิงจํานวน 85 ถัง ใหแกโรงเรียนในเขตชุมชนบานฉาง และมาบตาพุด จังหวัดระยอง จํานวนทั้งสิ้น 9 โรงเรียน ณ ศูนยควบคุม ภาวะฉุกเฉิน บริษัท เอ็นพีซี เซฟตี้ แอนด เอนไวรอนเมนทอล เซอรวิส จํากัด เพื่อใชเปนอุปกรณปองกันอัคคีภัยภายในโรงเรียนของชุมชน นอกจากนี้ ตัวแทนพนักงานจากแผนกความปลอดภัยของกลุมบริษัท ดาว ในประเทศไทย ยังชวยแนะนําการปองกันอัคคีภัยเบื้องตน และการใชถังดับเพลิงที่ถูกตองแก ตัวแทนคุณครูที่เขารวมกิจกรรมอีกดวย และเมื่อไมนานมานี้ สนพ.ไดเปน เจาภาพจัด เยีย่ มชมกระบวนการผลิตเอทานอล และไบโอแก ส จากน้ํ า เสี ย โดยคุ ณ ทวี ทั บ มณี รองผู อํ า นวยการสํ า นั ก งาน นโยบายและแผนพลังงาน สนพ. กระทรวง พลังงาน นําผูบริหาร- เจาหนาที่ สนพ. และสื่อมวลชนสํานักขาวตางประเทศ ประจําประเทศไทย เยีย่ มชมกระบวนการผลิตเอทานอลและเทคโนโลยีการผลิตกาซ ชีวภาพจากน้าํ เสียโรงงานอุตสาหกรรม บจก. ราชบุรี เอทานอล โดยมีคณ ุ ตรีทพิ อรุณานนทชยั กรรมการผูจ ดั การ และดร. จุฑามาศ อรุณานนทชยั กรรมการ บริหาร บจก. ราชบุรี เอทานอล ใหการตอนรับ โดยจุดประสงคเพื่อใหสื่อมวลชน ไดรับทราบแผนการสงเสริมการใชพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป หรือ แผน AEDP ซึ่งตั้งเปาหมายการผลิตเอทานอลไวที่ 9 ลานลิตรใน ป 2564 และแผนการผลักดันใหประเทศไทยเปนฮับเอทานอลของเอเชีย ไปดูขาวการลงทุน ขยายกิจการ กลบขาวสินคาแพงกันบางนะเจาคะ หุหุ โดย เมื่อเร็วๆ นี้ บริษัท มิตซูบิชิ แกส เคมิคอล อิเล็คโทเทคโน (ประเทศไทย) จํากัด บริษทั ในเครือ บริษัท มิตซูบิชิ แกส เคมิคอล คอมพานี อิงค ผูน าํ ดานการผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส จากประเทศญีป่ ุน เซ็นสัญญากับริษัท เหมราชพัฒนาที่ดิน จํากัด (มหาชน) ซื้อที่ดินจํานวนจํานวน 77 ไร ในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชอีสเทิรน ซีบอรด เพื่อใชเปนทีต่ ัง้ ฐานการผลิต แหงแรกในประเทศไทย โดยโรงงานแหงนี้จะรองรับแผนขยายตลาดของบริษัทฯ ในอนาคต มีกําหนดกอสรางแลวเสร็จในเดือนเมษายน 2556 และจะเริ่มดําเนิน การผลิตได ในราวปลายป 2556 โดยมีกําลังการผลิตแผน Copper Clad Laminates และ Prepreg สําหรับใชในการผลิตแผนวงจรไฟฟา 250,000 ตารางเมตร ตอเดือน แหมใครวาของแพง..ที่ดินคงไมแพงตามมั๊ง อิอิ ขาวปดทายวันนี้ ตนสมตองขอเนื้อที่เล็กๆ ขอบคุณ บริษัท ทีเอส แอล ออโต คอรปอเรชั่น จํากัด ผูนําเขารถยนตอิสระจากตางประเทศ ที่พาไป ดูหนังสุดมันส The Avengers ที่บรรยากาศในการตอนรับสื่ออบอุนเหมือนเดิม ทําพีอารแบบนีส้ ถิ งึ จะนารัก ไมเหมือนพีอารบางคาย เลือกปฏิบตั ิ ซูฮกแตหวั ใหญ หัวกลาง-นอย ไมใหเกียรติ ไรความรับผิดชอบ ทําเนียนๆ ไปก็ยังอยูวงการได อุบส ตนสมปากจัดกอนจบซะละคะ อิอิ ลากันไปกอนพบกันใหมฉบับหนานะเจาคะ

72 l June 2012

Energy#43_p72-74_Pro3.indd 72

5/24/12 10:21 PM


ES Online เขาสูกลางปมะโรง 2555 กันแลว เว็บไซตของเราก็ยังคง เดินหนาสรรหาขาวสารมาเสริฟ คุณผูอานอยางไมไดหยุดหยอน แ ล ะ คุ ณ ผู อ า น ยั ง ส า ม า ร ถ ดาวนโหลดสาระเอกสารสัมมนาเรื่อง การอนุรักษพลังงานในระบบการ จัดการพลังงาน ISO50001 ที่มีการจัดอบรมสัมมนาใหความรูกันไปเมื่อ วันที่ 5 เมษายน 2555 ภายในงาน ENERGY SAVING ’12 จัดขึน้ ณ ไบเทค กรุงเทพฯ ทีผ่ า นมา ไดเหมือนเคย ที่ www.ENERGYSAVINGMEDIA.COM และอยาลืมติดตามการสัมมนาครั้งตอไปดวยละครับ

เตรียมพบ E-book ISO50001

ดวยความที่แรงแซงโคง ผูคนสนใจใครรู ทางเราจึงไดคิดจัดทํา

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว รอน รอน ชวงนี้หลายคนคงไดยินเสียงบนจากเพื่อนรวมงานหรือแม กระทัง่ ตัวเองจนชินหูกนั เพราะวา หนารอนในแตละปนนั้ อุณหภูมทิ าํ ลายสถิตคิ วาม รอนขึน้ ทุกป และไมรปู ต อ ๆ ไปจะรอนเพิม่ ขึน้ ขนาดไหน ความรอนนัน้ ทําใหสนิ้ เปลือง พลังงานกันเลยทีเดียวโดยเฉพาะพลังงานไฟฟาจากการเปดแอร เปดพัดลม ตูเ ย็น รวมถึงสิน้ เปลืองเงินในกระเปาเราดวยนะครับ ชวงนีก้ เ็ ลยมีขา วรอนๆ ดาน พลังงานและอุตสาหกรรมมาเลาสูกันฟง เริ่ ม กั น ที่ คุ ณ อารั ก ษ ชลธาร น นท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ไดแถลงขาว เปดตัว สถาบันวิทยาการพลังงาน (วพน.) โดย วั ต ถุ ป ระสงค์ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรของประเทศ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน นักวิชาการ สื่อมวลชน และ ประชาชนทั่วไปไดมีความรูความเขาใจดานพลังงาน อารักษ ชลธารนนท อยางลึกซึ้งในทุกมิติ ทั้งนี้เพื่อกําลังสําคัญในการขับ เคลื่อนระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศใหมีความแข็งแกรงอยางยั่งยืนใน อนาคต โดยผูสนใจนั้นหลักสูตรแรกเขาจะเปดการอบรมกันระหวางวันที่ 17 พฤษภาคม – 16 กันยายน 2555 ทุกวันพฤหัสบดี ณ สถาบันวิทยาการพลังงาน อาคารศูนยเอนเนอรยี่คอมเพล็กซนี้ครับผม สรรหากันมานานสําหรับคณะกรรมการกองทุนพัฒนาไฟฟา (คพรฟ.) ลาสุดสํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน กกพ. ไดสง หมายมาวาสามารถตั้ง คพรฟ. ไดครบถวนเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผานมา พรอม ประกาศพื้นที่ จัดตั้งกองทุนพัฒนาไฟฟาประเภทโรงไฟฟาพลังน้ํา (ประเภท ข) เพิ่มเติมอีก 11 กองทุนฯ ยินดีดวยนะครับที่สรรหาไดเสียที..หุหุ

E-book เรื่องนี้ขึ้นมาสนองตอบทานผูอานโดยเฉพาะ เพื่อใหไดรับความรู เรื่อง ISO 50001 โดยไดมีการรวบรวมเนื้อหาที่เกี่ยวของ เริ่มตนจาก ความเป น มา วิ ธี ก ารทํ า อย า งไรถึ ง จะได ISO ตลอดจนกรณี ศึ ก ษา ขององค ก รที่ นํ า ISO 50001 ไปปฏิ บั ติ จ ริ ง ติ ด ตามได ที่ www. ENERGYSAVINGMEDIA.COM หรือ ติดตามขาวสารและพูดคุยกันได ตลอดเวลาที่ Facebook.com/energy ครับผม

กดไลค..ไดของ

ก็ยังคงเดินหนา “แจกไมยั้ง” สําหรับแฟนเพจที่กดไลคกันเขามายัง Facebook.com/energysavingmedia ของเรา ชักชวนเพื่อนมากด Like กันเยอะๆ จุนเจือทีมงานกันหนอยนะครับ จะไดมีกําลังใจทํางานกันตอไป

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag EnergySavingMedia.com savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย ไปกั น ที่ ข า วร อ นๆ อี ก 1 ข า ว (ร อ น ของจริง) ไมรเู ปนเพราะวาอากาศรอนเปนตนเหตุหรือ ความสะเพราของคนนะครับพราะชวงทีผ่ า นมาจะไดยนิ ข า วไฟไหม บ อ ยมาก และที่ เ ป น ข า วใหญ ต ามหน า หนังสือพิมพนั้นก็ตองยกใหเหตุระเบิดและเพลิงไหม โรงงานภายในนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จ.ระยอง ยิ่งลักษณ ชินวัตร ซึ่งงานนี้ตองรอนถึงทานนายกฯ ปู กันเลยทีเดียว...ก็ นาเห็นใจนะครับ เพราะแกปญหาสินคาราคาแพงยังไมจบก็ตองปวดหัวกับเรื่อง ระเบิดอีก... ไมรูจะตอดวยน้ําทวมอีกหรือเปลา..หุหุ ยังอยูที่มาบตาพุดไมรูเปนเพราะเหตุการณระเบิดหรือเปลาจึงไดมี “โครงการวิเคราะหและบริหารจัดการพลังงาน” จากความรวมมือระหวาง กระทรวงอุตสาหกรรม การนิคมแหงประเทศไทย และองคการพัฒนาพลังงานฯ ประเทศญีป่ นุ หวังโรงงานในนิคมฯ ใชพลังงานอยางเกิดประสิทธิภาพสูงสุดรวมกัน ผลักดันมาบตาพุดเปนเมืองอุตสาหกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม ...ปลอดสารพิษ...และ ระเบิดดวยครับผม หลังจาก คุณยุทธ ชินสุภัคกุล ประธาน กรรมการ บมจ.โรงพิมพตะวันออก (EPCO) เริ่ม ยางเทาเขาสูธ รุ กิจพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตยแบบ เต็มกําลัง ชวงนี้เลยเห็นเจาของโปรเจ็กตเดินสายไป ไซดงานเปนประจําไมเวนวันหยุดเพื่อเรงมือ เรงคน เรงแรง ติ ดตั้งแผงโซลารเซลล กะวาจะเอาใหเสร็จ 100% ยุทธ ชินสุภัคกุล ทันกลางเดือน พ.ค.นี้แหละ..ทั้งที่จริงๆ ตามสัญญา ตองสงมอบในวันที่ 30 มิ.ย.2555 สงสัยอยากไดตงั คเอามาหมุนลงทุนในโครงการ ตอไปเปนแน จะอยางไรก็ตามหากเสร็จเรียบรอยแลวก็อยาลืมแจงขาวมาทางนี้ ดวยนะครับ !!! June 2012 l 73

Energy#43_p72-74_Pro3.indd 73

23/5/2012 23:21


Transport / นัษโตะ

Environment / suki

สวัสดีครับ... กลับมาพบกันอีกครั้ง ชวงนี้เรื่องของอากาศเปนอะไรที่ ไม ไหวจะเคลียรกับอากาศที่รอนบาง ฝนบาง เลนเอาตั้งรับกันไมทันกันเลยทีเดียว สืบเนื่องจากเรื่องของอากาศที่รอนจน หลายคนบน ความเปนหวงเรื่องของคาไฟฟาก็เปนที่ นาจับตามอง เพราะมีขาววา “คาไฟฟาจะขึ้น” เลนเอา หลายคนหนาวๆ รอนๆ เปนแถวๆ โดย “ศาสตราจารย กิตติคุณ ดร.ดิเรก ลาวัณยศิริ” ประธานกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน เผยไดมีการพิจารณาคา Ft กิตติคุณ เดือน พ.ค.-ส.ค. หลังจากเปดใหมีการรับฟงความคิด ศาสตราจารย ดร.ดิเรก ลาวัณยศิริ เห็น ผานทางเว็บไซดสํานักงาน กกพ. มีผูแสดงความ คิดเห็นยังคงเห็นชอบใหปรับขึ้นคา Ft สําหรับการเรียกเก็บจากผูใชไฟฟาประจํา เดือนพ.ค. – ส.ค. เทากับ 30 สตางคตอ หนวย ตามที่ ไดพจิ ารณาคา Ft ทีค่ าํ นวณ ไดจริงเพื่อสะทอนการเปลีย่ นแปลงของตนทุนตามนโยบายของรัฐ จะตองปรับขึน้ คา Ft เทากับ 57.45 สตางคตอหนวย แต กกพ. ไดพิจารณานําเงินจากการ ลงทุนที่ต่ํากวาแผนของ กฟผ.และการไฟฟาฝายจําหนายทั้ง 2 แหงในชวงป 2551-2553 จํานวน 3,087.85 ลานบาท รวมทั้งไดพิจารณานําเงินจากปญหา แหลงกาซธรรมชาติเยตากุนหยุดจายจํานวน 1,418.92 ลานบาท มาจายคืนผาน คา Ft ทั้งนี้ กฟผ. ยังคงตองรับภาระแทนประชาชน ภาคธุรกิจ และภาค อุตสาหกรรมเปนการชั่วคราวประมาณ 14,000 ลานบาท โดย กกพ. จะมีการ พิจารณาลดภาระดังกลาวในเวลาที่เหมาะสมตอไป “สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ” ผูอํานวยการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวง พลังงาน เตรียมจัดทํา “โครงการลดการใชพลังงาน ในภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ. 2555” โดยทีป่ ระชุมคณะ อนุกรรมการกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน ได อนุมัติงบ 40 ลานบาท สวนที่ สนพ.รับผิดชอบ สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ประกอบดวย 5 กิจกรรม ไดแก จัดสัมมนาพลังงาน จังหวัด 77 จังหวัด สํานักวิชาการพลังงานเขต 1-6 และผูแทนคณะทํางานลดใช พลังงานในสังกัดกระทรวงพลังงาน 150 คน เพื่อปฏิบัติภารกิจเปนผูแทนของ กระทรวงพลังงานปฏิบัติงานตามมาตรการประหยัดพลังงาน จัดประชุมผูแทน คณะทํางานลดใชพลังงานของสวนบริหารสวนกลางและสถาบันอุดมศึกษา 1,100 คน จัดทําคูมือและสื่อรณรงค “รวมพลังราชการไทย ลดใชพลังงาน” 10,000 ชุด ตลอดจนปรับปรุงเว็บไซต www.e-report.energy.go.th อีกดวย ดาน “ชัยฤทธิ์ สิมะโรจน” กรรมการผู จัดการ บริษัท ซัสโก จํากัด (มหาชน) เผยผลประกอบ ไตรมาสแรกตอตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยมีราย ได 4,375.17 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากชวงเวลาเดียวกัน ของปกอ นหนา 760.14 ลานบาท หรือ 21.03% ทําให มี กํ า ไรก อ นภาษี เ งิ น ได จํ า นวน 90.98 ล า นบาท ชัยฤทธิ์ สิมะโรจน เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนที่มี จํานวน 59.10 ลานบาท ทําใหกําไรกอนภาษีเงินไดของป 2555 เพิ่มขึ้น 31.48 ลานบาท หรือ 53.95% เปนผลมาจากกําไรขั้นตนจากการขายผลิตภัณฑเพิ่มขึ้น และรายไดจากคาจางบริหารสถานีบริการกาซ NGV และ LPG ที่เพิ่มขึ้นเพราะ ปริมาณการขายผลิตภัณฑและจํานวนสถานีใหบริการไดเพิ่มขึ้น

เริ่มตนกันที่งานแถลงขาวโครงการ 84 หองเรียนอนุรักษพลังงาน ที่คณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงานไดจัดขึ้น โดยกิจกรรมดานนอกนั้น นองๆ ใหความสนใจเปนอยางมาก แตพอถึงชวง พิ ธี ก ารซึ่ ง ศาสตราจารย กิ ต ติ คุ ณ ดร.ดิ เ รก ศาสตราจารยกิตติคุณ ลาวั ณ ย ศิ ริ ประธานคณะกรรมการกํากับกิจการ ดร.ดิเรก ลาวัณยศิริ พลังงาน (กกพ.) กลาวถึงโครงสรางการทํางาน นองๆ ก็เลยมีอาการงวงเหงาหาวนอนกันเปนแถว งานนี้ ดร.ดิเรก จึงตองมี การสรางความกระตือรือรนเพื่อใหนองๆ หายงวงกันหนอย โดยการกลาววา “ถาเกิดผมพูดขอบคุณครับ ชวยกันปรบมือดังๆ หนอย” เพื่อใหเสียงปรบมือ ชวยปลุกนองๆ คนที่แอบหลับอยูนั่นเอง เมื่อคราวที่ บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จํากัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ นําคณะสื่อมวลชนเขาเยี่ยมชม กรีนฟารม (Green Farm) ตนแบบฟารม สุกรเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ทีฟ่ ารมระยอง 2 และฟารมมาศผล อ.เมือง จ.ระยอง ที่นอกจากจะไดรับความรูในเรื่องเทคโนโลยีตางๆ ที่นํามาใชในโรงเรือนเลี้ยงสุกร เพื่อมุงเนนการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลวนั้น งานนี้ชาวคณะยังอิ่มหนํา สําราญไปดวยของดีเมืองระยองทั้ง มังคุด ทุเรียน ลองกอง เงาะ ซึ่งก็ตอง ขอบคุณฟารมมาศผลดวยจา ตองขอแสดงความยินดีกับ 5 บริษัท (7 โรงงาน) ในกลุม ปตท. ซึ่ง ตั้งอยูในพื้นที่จังหวัดระยอง ไดแก โรงแยกกาซธรรมชาติระยอง, PTTGC (Refinery), PTTGC (Aromatics I), PTTGC (Olefins I-4), PTTUT (Cup 1, 3), HMC และ SPRC ที่ ไดรับการคัดเลือกให เขารวมเปนพื้นที่นํารองใน โครงการเทคโนโลยีการวิเคราะหและบริหารจัดการการใชพลังงานใหเกิด ประโยชน สู ง สุ ด ในวงกว า ง ซึ่ ง เป น ความร ว มมื อ ระหว า ง กระทรวง อุตสาหกรรม กับ องคการพัฒนาพลังงานใหมและเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม ประเทศญี่ปุน (NEDO) โดยเทคโนโลยีดังกลาวจะชวยวิเคราะหการใชพลังงาน ไฟฟาและพลังงานความรอนใหเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งนอกจากจะสนับสนุนการ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพใหเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้นแลว ยังชวยการลด การปลอยปริมาณกาซเรือนกระจกโดยรวมของประเทศไทยไดอีกดวย สรางผลงานดีๆ ออกมาอีกหนึง่ ชิน้ สําหรับ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ที่ ไดสรางสิ่งประดิษฐ “เครื่องลางผักและผลไมแบบประหยัดน้ําดวยโอโซน (Ozy3Rs)” ซึ่งถูก ออกแบบใหเปนนวัตกรรม 3Rs คือ Reduce, Reuse และ Recycle เพราะถูก ออกแบบใหใชกา ซ และน้าํ โอโซนในการลางผักและผลไมในปริมาณนอย (Reduce) หรือไมใชน้าํ เลย (zero water) และเนื่องจากน้าํ ผานโอโซนเปนน้าํ ทีส่ ะอาดสามารถ หมุนเวียนกลับมาใชลางซ้ําไดอีก 2- 3 รอบ (Reuse) สวนตัวเครื่องถูกประกอบ ขึ้นดวยวิธี D.I.Y. หรือ Do it yourself ดวยอุปกรณที่ ไมใชแลวจากในครัวเรือน (Recycle)

74 l June 2012

Energy#43_p72-74_Pro3.indd 74

23/5/2012 23:21


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : อยากทราบรายละเอียดโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ครับ ? A : โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ หรือ Smart Grid เปนโครงขายไฟฟา ที่ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารมาบริหารจัดการ ควบคุมการผลิต สงและจายพลังงานไฟฟา สามารถรองรับการเชื่อมตอระบบไฟฟาจาก แหลงพลังงานทางเลือกที่สะอาดที่กระจายอยูทั่วไป (Distributed Energy Resource : DER) และระบบบริหารการใชสินทรัพยใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งใหบริการกับผูเชื่อมตอกับโครงขายผานมิเตอรอัจฉริยะไดอยางมี ประสิทธิภาพ มีความมั่นคง ปลอดภัย เชื่อถือได้ มีคุณภาพไฟฟ้าได้ มาตรฐานสากล ความอัจฉริยะนี้ เกิดจากการเชื่อมโยงระบบไฟฟา ระบบสารสนเทศ ระบบสื่อสาร เขาไวดวยกันเปนโครงขาย ซึ่งโครงขายดังกลาวจะสนับสนุน การทํางานซึ่งกันและกันอยางเปนระบบ โดยอาศัยความกาวหนาทาง เทคโนโลยีสําคัญ 3 ดาน ไดแก 1. อิเล็กทรอนิกสและระบบฝงตัว (Electronics and Embedded Systems) 2. ระบบควบคุมอัตโนมัติ (System Control and Automation) 3. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) การใชพลังงานอยางชาญฉลาดและรูค ณ ุ คา เพื่อชีวติ ทีส่ ะดวกสบาย สูสังคมและโลกที่นาอยูในอนาคต PEA SMART GRID for Smart Energy, Smart Life and Smart Community

เพียงพอ”

Smart Energy : การใชพลังงานอยางชาญฉลาดและรูคุณคา ดวยประสิทธิภาพของโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) โลกของเรา จะสามารถพัฒนาพลังงานไฟฟาเพื่อการใชอยางชาญฉลาด ไมวาจะเปน ในแงของการผลิต และสงจายพลังงานสูผู ใชไฟฟา (Supply side) รวมทั้งดานของผูใชไฟฟา (Demand side) แหลงจายพลังงานไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Electrical Energy Supply/Source) นอกจากประกอบดวยโรงไฟฟาตามรูปแบบดั้งเดิม เชน โรงไฟฟาถานหิน, กาซ, เขื่อนพลังงานนําขนาดใหญ เปนตนแลว รูปแบบ แหลงจายพลังงานไฟฟา และแนวคิดที่มีบทบาทมากขึ้นในอนาคต ไดแก 1. พลังงานทดแทน (Renewable Energy) เชน พลังงานลม แสงอาทิตย ชีวภาพ ชีวมวล พลังนําขนาดเล็ก เปนตน 2. แหล ง ผลิ ต ไฟฟ า ขนาดเล็ ก ที่ ก ระจายอยู ต ามพื้ น ที่ ต า งๆ (Distributed Generation) เชน เซลลแสงอาทิตยขนาดเล็ก ติดตั้งบน หลังคาเรือน (Rooftop Photo Voltaic ) กังหันลมผลิตไฟฟาขนาดเล็ก (Small Wind Turbine) เปนตน 3. แหลงกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) เชน ตัวเก็บประจุไฟฟา ชนิดอุลตรา (Ultra capacitor), วงลอ Flywheel, และแบตเตอรี เปนตน 4. รถยนตไฟฟา (Electric Vehicle, EV) ซึ่งมีแบตเตอรีที่เก็บสะสม พลังงานไฟฟา

76 l June 2012

Energy#43_p76-77_Pro3.indd 76

5/14/12 11:32 PM


5. โรงไฟฟาเสมือน (Virtual Power Plant, VPP) เปนการจัดการ กลุมแหลงจายพลังงานขนาดเล็กดวยเทคโนโลยีควบคุม สั่งการระยะไกล ดวยระบบคอมพิวเตอร สามารถจายไฟจากกลุมแหลงจายไฟขางตนเขา โครงขายไฟฟาเสมือนหนึ่งจาย จากโรงไฟฟาขนาดใหญในอดีต ระบบไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Electrical Power System) นอกจาก แหลงจายพลังงานไฟฟาอัจฉริยะขางตนแลว โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ ยัง รวมไปถึงระบบไฟฟาอัจฉริยะที่จะเอื้ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชไฟฟา อีกดวย โดยคุณสมบัติของระบบไฟฟาอัจฉริยะ ไดแก 1. สามารถทํางานไดเองโดยอัตโนมัติ (Automation) ทัง้ สภาวะปกติ และสภาวะฉุกเฉิน 2. สามารถตรวจวัดสภาวะของระบบ (Sense and Monitor) ณ เวลาจริง 3. สามารถสื่อสารขอมูลโตตอบ (Data Integration, Interoperability, Two-way Communication/Interactive) กับบุคคล อุปกรณเครื่องใชไฟฟา และระบบงานตางๆ ทั้งภายในการไฟฟา 4. สามารถขายและซื้อไฟฟากับคูสัญญา ซึ่งอาจจะเปนทั้งผูใชไฟ และผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (Producer & Consumer or Prosumer) 5. รองรับการใชรถยนตไฟฟา (Electric Vehicle, EV) 6. รองรับบานเรือนที่พักอาศัย สํานักงาน และอาคารอัจฉริยะ (Smart and Green Office/Building/Home) Smart Life : เพื่อชีวิตที่สะดวกสบาย ผูคนมีวิถีชีวิตในแตละวันอยู ที่บาน ที่ทํางาน แหลงเรียนรู ออกกําลังกาย ฝกจิตใจและพักผอนตาม สถานที่ทองเที่ยว ศาสนสถาน และแหลงบันเทิงตางๆ โครงขายไฟฟา อัจฉริยะรองรับบานเรือนทีพ่ กั อาศัย สํานักงาน และอาคารอัจฉริยะ (Smart and Green Office/Building/Home) ผูใชไฟสามารถมีสวนรวมในการ บริหารจัดการใชไฟฟาไดมากขึ้น (Active Consumer Participation Motivated and Includes the Customer) บานอัจฉริยะ (Smart Home) 1. ประกอบดวยเครื่องใชไฟฟาทีส่ มารทหลากหลายชนิด ทีม่ สี มองกล ฝงตัว (Embedded System) ซึ่งจะใชพลังงานไฟฟานอย ไมกอปญหา มลภาวะ 2. สามารถควบคุมการใชงานไดจากระยะไกลผานอุปกรณสื่อสาร ไรสายแบบพกพา หรือผานระบบอินเตอรเน็ต เชน มือถือ, PDA, Smart Phone, Tablet, ระบบอินเตอรเน็ตในที่ทํางาน, รานอินเตอรเน็ตทั่วไป เปนตน) 3. รองรับรถยนตไฟฟา 4. ติดตั้งระบบผลิตไฟฟาขนาดเล็ก เชน Rooftop PV, Small Wind

Turbine เปนตน ลักษณะดังกลาวที่เกิดขึ้นทําให ผูใชไฟเปนผูผลิตไฟฟา พรอมกันในเวลาเดียวกัน 5. การไฟฟาจะติดตั้งมิเตอรอัจฉริยะ (Smart Meter) และอุปกรณ เก็บรวบรวมขอมูล (Data Concentrator Unit, DCU) สามารถสงและรับ ขอมูลตางๆ จากบานเรือนที่อยูอาศัย ทําใหเจาของบานสามารถทราบ ขอมูลการใชไฟฟา คาไฟที่เกิดขึ้นจากการใชในขณะนั้น ทําใหการไฟฟาและ เจาของบานสามารถรวมกันจัดการการใชไฟฟาไดอยางมีประสิทธิภาพ เจาของบานสามารถลดการใชไฟฟาที่ ไมจําเปน ปรับเปลี่ยนชวงเวลาการ ใชไฟไปใชไฟในชวงที่คาไฟถูก Smart Community : สูสังคมและโลกที่นาอยูในอนาคต ชุมชนที่ สมารท หรือสังคมที่สมารท (Smart Community or Society) หมายถึง 1. ชุมชนที่สมาชิกสามารถติดตอสื่อสารถึงกันไดอยางอิสระผาน เครือขายสังคมดิจิตอล (Digital Social Network) 2. มีระบบการบริหารจัดการสภาพแวดลอมที่ดี จํากัดการกอ มลภาวะ กําจัดสิ่งเหลือใชอยางถูกตองมีประสิทธิภาพ พรอมการเพิ่มพื้นที่ สีเขียว 3. มีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ 4. จัดใหมีระบบสถานีบริการไฟฟาใหบริการแกผูใชรถยนตไฟฟา จักรยานไฟฟา จักรยานยนตไฟฟาและรถขนสงมวลชน ที่ ใชพลังงานไฟฟา 5. มีระบบการควบคุมระบบผลิตไฟฟาของสมาชิกในชุมชนที่ผลิต ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม ชีวภาพ ชีวมวล ดวยเครื่อง กํ า เนิ ด ไฟฟ า ขนาดจิ๋ ว (Micro Turbine) เพื่ อ สร า งโรงไฟฟ า เสมื อ น (Virtual Power Plant, VPP) 6. รวมกลุมเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาจากพลังงานทดแทนที่เปนทาง เลือกอื่นๆ เพื่อลดการใชนํา้ มันและกาซเชือ้ เพลิงลดการนําเขานํา้ มันและกาซ ธรรมชาติ อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรื่องพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

June 2012 l 77

Energy#43_p76-77_Pro3.indd 77

5/14/12 11:32 PM


Green Logistics

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

มองภาพ Green logistics

http://www.thedailymba.com/2010/02/08/5-tips-to-manage-logistics-efficiently/

สวัสดีทานผูอานทุกทาน เนื้อหาในบทความฉบับนี้ ถือเปนการ เปลี่ยนแปลงครั้งแรกที่จากเดิมเปนคอลัมน Logistics Solution ไดปรับเปลี่ยนใหมเปนคอลัมน “Green Logistics” ซึ่งจะเปนการนําเสนอเนื้อเรื่อง ทีเ่ กีย่ วกับโลจิสติกสดา นการบริหารในกิจกรรมตางๆ ไมวา จะเปนการขนสง คลังสินคา สินคาคงคลัง ฯลฯ ซึ่งตองเปนการบริหารจัดการที่ประหยัด เวลา คาใชจา ยพลังงาน และเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมดวย สําหรับในตอนแรก จะเปนการนําเสนอในภาพรวมครับ ตลอด 5-6 ปที่ผานมา กระแสเรื่อง Green Logistics ตอการทํา ธุรกิจและการคาระหวางประเทศ เริ่มสงผลกระทบกับผูประกอบการธุรกิจ และผูสงออกไทยแลว มีหลายประเทศไดนํามาตรการทางดานสิ่งแวดลอม นํามาเปนขอบังคับใชกบั ซัพพลายเออร ผูผ ลิต หรือคูค า ทีม่ กี ารนําวัตถุดบิ จากแหลงตางๆ มาผลิตจนเปนผลิตภัณฑสําเร็จรูป หรือเรียกไดวาตั้งแต ตนนํา้ กลางนํา้ และปลายนํา้ รวมถึงกลายเปนมาตรการขอกีดกันทางการคา ระหวางประเทศอีกดวย เชน กําหนดผลิตภัณฑทุกชนิดตองติดฉลาก คารบอนฟุตพรินต สินคาที่สั่งมาจากทั่วโลกจะตองมีปายระบุปริมาณการ ปลอยคารบอน การผลิตเชื้อเพลิงจากการเกษตรตองมาจากพื้นที่เกษตร ยั่งยืนตองมีการประเมินพื้นที่และผลกระทบตอสิ่งแวดลอม แนวคิดเกี่ยวกับ Green Logistics เปนแนวคิดที่นํากิจกรรมตางๆ

ดานโลจิสติกสมาสนับสนุนในการพัฒนาบริหารจัดการการใชทรัพยากร ตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ กอใหเกิดประโยชนสูงที่สุด ลดตนทุนที่ ไมกอ ให เ กิ ด ประโยชน และสร า งความสามารถในการแข ง ขั น ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น โดยทั้งหมดจะตองสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด ซึ่งจําเปน ต อ งวิ เ คราะห ป ญ หาในด า นต า งๆ ค น หาสาเหตุ ข องป ญ หาที่ แ ท จ ริ ง โดยสามารถแกไขปญหาไดตรงจุด ซึ่งปญหาเหลานั้นจะไมกลับมาสงผล กระทบตอองคกรในภายหลัง อันจะเปนการสรางรากฐานที่มั่นคงใหกับ องคกรสามารถอยูรอดในสภาวะที่มีการแขงขันได ดวยเหตุนี้ ทําใหผูประกอบธุรกิจจึงหันมาพัฒนาระบบโลจิสติกส กําลังคน และกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ให้สอดคล้องกับแนวคิด Green Logistics ในกิจกรรมโลจิสติกส ได ดังนี้ 1. การจัดการบริการลูกคา จะตองจัดสรรทรัพยากรและแบง กลุมลูกคาตามเกรด A B C และ D ตามหลักการจัดการลูกคาสัมพันธ (Customer Relationship Management : CRM) ซึ่งจะทําใหบริษัท ประหยัดจากการใชจายในการทุมทรัพยากรที่ ไมจําเปนกับลูกคาบางกลุม รวมทั้งจะตองนําเทคโนโลยีมาใชในการทําธุรกรรมติดตอกับลูกคา เชน SMS E-commerce Internet facebook เปนตน 2. การพยากรณ อุ ป สงค โดยจะต อ งมี ก ารนํ า โปรแกรม

78 l June 2012

Energy#43_p78-79_Pro3.indd 78

5/16/12 9:05 PM


คอมพิวเตอรมาใช ซึ่งการใช EDI (Electronic Data Interchange) คือ การแลกเปลี่ ย นเอกสารทางธุ ร กิ จ ด ว ยวิ ธี อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส โ ดยอาศั ย มาตรฐานกลาง เพื่อใหสามารถสงผานขอมูลระหวางระบบคอมพิวเตอร ของผูสงกับระบบของผูรับโดยตรง การใชงาน EDI จะชวยลดความ ผิดพลาดจากการปอนขอมูลซา และชวยเพิ่มความเร็วในการรับ-สงขอมูล ระหวางองคกร จึงมีสวนในการเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินการ และลด ตนทุนโดยรวมของธุรกิจไดอยางมาก รวมถึงนําขอมูลในเรื่องปริมาณ ประเภท รูปแบบ ขนาด สีสัน ลวดลาย ฯลฯ ไดตามความตองการลูกคาใน แตละชวง อันจะทําใหการพยากรณวางแผนการผลิตไดอยางถูกตอง 3. การสื่อสารดานการกระจายสินคา ตองมีการวางระบบการ ติดตอสื่อสารภายในบริษัท ไมวาจะเปนในรูปของกระดาษหรือเครื่องมือ สื่อสาร ซึ่งจะทําใหลดชองวางของความผิดพลาดได รวมทั้งจะตองมีการ เก็บรวบรวมขอมูล (Database) 4. การจั ด การสิ น ค า คงคลั ง และดํ า เนิ น การกั บ คํ า สั่ ง ซื้ อ ตามหลัก ABC analysis เชน เดิมสัง่ วัตถุดบิ เดือนละ 1 ครัง้ ในปริมาณทีม่ าก ปรับให Supplier ทยอยสงวัตถุดิบเปนสัปดาหละ 1 ครั้ง = 4 ครั้งตอเดือน ดังนั้น เพื่อเปนการลดตนทุนในสวนนี้ อาจจะแกไขปญหาโดยใหจัดเก็บ วัตถุดิบคงคลังไวในปริมาณที่สอดคลองกับแผนการผลิต 5. การขนถายวัสดุ ซึ่งจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งจะเลือกใช เครื่องมือ สายพาน รถวิ่งบนราง รถพวง หรือรถโฟลกลิฟท ที่เหมาะสม 6. การเลือกที่ตั้งของโรงงาน ผูผลิตสรางโรงงานและศูนย กระจายสินคาควรใหอยูใกลลูกคา ซึ่งจะลดตนทุนคาขนสง และลดมลพิษ ในอากาศได รวมถึงการออกแบบแผนผังโรงงาน(Layout) เนื่องจากการ มีแผนผังที่เปนระบบนั้นจะกอใหเกิดประโยชนแกกิจการในระยะยาว เชน เกิดการทํางานอยางเปนระบบ สงผลใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานยิง่ ขึน้ และชวยลดตนทุนหรือพฤติกรรมที่ ไมกอใหเกิดประโยชนได เชน ลดความ แออัดของรถในทางเขา ทําใหระบบการไหลของรถทั้งที่มารับสินคาและสง วัตถุดิบเปนไปอยางเปนระบบ เกิดความพึงพอใจแกพนักงานขับรถ และ สามารถสงสินคาหรือรับวัตถุดิบไดตรงเวลา อีกทั้งการวางแผนผังที่เปน ระบบยังชวยลดการเคลื่อนยายซํ้าซอน (Double Handling) ไดอีกดวย 7. การจัดหาวัตถุดิบและบริการ ฝายจัดซื้อ-จัดหาจะตองเจรจา ขอความรวมมือจาก Suppliers โดยแนะนํา ชวยเหลือ ชักชวน และใหทราบ

http://www.dksh.co.th/htm/383/th_TH/-128. htm?Page=128&Share=Blog

ถึงนโยบายทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ซึง่ วัตถุดบิ ทีจ่ ดั สงมาใหนนั้ จะตองเปน วัตถุดิบที่ ไมทําลายสิ่งแวดลอม รวมทั้งทําสัญญารับซื้อจากเกษตรกร (Contact Farming) นอกจากนี้ การทําโครงการนํารองอุปกรณสํานักงาน 6 รายการ ที่ไมทาํ ลายสิง่ แวดลอมดวย เชน กระดาษชําระ ไมใชคลอรีนฟอกขาว บรรจุภัณฑรีไซเคิล ไมมีแกนมวนกระดาษ ลวดเสียบกระดาษ เปนตน 8. การบรรจุภัณฑ Eco-Packaging เปนการเลือกใชบรรจุภัณฑ จากกระดาษรีไซเคิล และอุปกรณทเี่ กีย่ วของกับการลําเลียงสินคา ทีส่ ามารถ นํากลับมาใชใหมได และหรือนํากลับมารีไซเคิลในกระบวนการผลิตไดใหม 9. การนําสินคากลับคืนและการจัดสิ่งปฏิกูลและของเสียจาก กระบวนการการผลิต โดยแยกระหวางเศษของกับของเสีย รวมถึงวิธี การยอยสลาย 10. การจราจรและขนสง นํา้ มันนับวาเปนปจจัยสําคัญที่จะทําให ตนทุนในการประกอบการสูงขึ้น ดังนั้น ผูประกอบการจะตองปรับตัวรับ ตนทุนที่เพิ่มสูงขึ้น โดยจะตองหันมาใชพลังงานทดแทนไมวาจะเปน NGV LPG ไบโอดีเซล หรือมองหาพลังงานทางเลือกแบบอื่นๆ เพิม่ มากขึน้ รวมถึง การสนับสนุนใหมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการขนสง (Modal Shift) ทางรถ มาเปนทางราง-นํา้ การรวบรวม Corporative Transport อบรมพนักงาน ขับรถและสรางจิตสํานึก (Eco-drive) นอกจากนี้ ของที่ตองการความเย็น ไมตองแยกรถแหงกับรถอุณหภูมิสามารถไปคันเดียวกันไดเลยรถยนต 1 คันทํา 4 อุณหภูมิ ประหยัดรักษาสภาพแวดลอม 11. การบริหารคลังสินคาและการจัดเก็บ โดยใชเทคโนโลยีใน การบริหารจัดการคลังสินคา (Warehouse Management System) เชน WMS Bar Code RFID ฯลฯ นํามาลดขั้นตอน การทํางานซํ้าซอน ไมตอง มีเช็คสินคาอีกครั้ง สามารถวิเคราะหวางแผนลวงหนาสินคาใดขายดีชวง ฤดูกาล เปนตน และพาเลทที่ทําจากพลาสติกนํากลับมา Re-Use และ Recycle ไดอกี นอกจากนี้ การออกแบบคลังสินคาจะตองรองรับการเติบโต ในอนาคต 5-10 ปขางหนา 12. ระบบการจัดการสินคายอนกลับ (Reverse Logistics) เนื่องจากการมีการจัดการสินคายอนกลับทีด่ นี น้ั จะสงผลตอบริษทั ไดในระยะยาว ในแงของผูม สี ว นเกีย่ วของกับบริษทั ทัง้ หมด เชน ลูกคา และรวมไปถึงบุคคล ภายนอกดวย เพราะหากมีการจัดการสินคายอนกลับที่มีประสิทธิภาพแลว จะทําใหลดการวิ่งรถเที่ยวเปลา ลดการขายลดเกรดของสินคา เนื่องจาก สินคามีตําหนิ และยังเปนการสนับสนุนการกระทําที่ใสใจตอสิ่งแวดลอมที่มี การจัดการอยางเปนระบบ เพื่อใหขยะที่อาจเกิดขึ้นจากการใชสินคานั้น สามารถที่จะนํามาเขากระบวนการและกอใหเกิดประโยชนไดอีกดวย บทสรุป สภาพแวดลอมภายนอกที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สภาพการแขงขันทางธุรกิจ กระแสสังคมและกระแสโลก ไดมกี ารนําแนวคิด เรื่องสิ่งแวดลอมและการแสดงความรับผิดชอบตอสังคมมาเปนหนึ่งใน เงื่อนไขที่ผูประกอบธุรกิจทุกประเภทจะตองคํานึงและปฏิบัติตาม หากมอง ในแงดีจะพบวาเปนการชวยใหองคกรธุรกิจลดตนทุนในการดําเนินงาน ไดแลว ยังชวยใหเกิดการพัฒนา ปรับปรุงกระบวนการผลิต และทําใหระบบ การจัดการโลจิสติกสเกิดประสิทธิภาพที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมถึง สรางภาพลักษณที่ดีตอองคกรธุรกิจและเกิดความสามารถในการแขงขัน ไดอีกดวย June 2012 l 79

Energy#43_p78-79_Pro3.indd 79

5/16/12 9:06 PM


Energy Concept โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

นักศึกษาจุฬาลงกรณฯ โชวกึ๋น ปง ไอเดียแผนธุรกิจเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ปจจุบันแนวคิดดาน การอนุรักษพลังงาน ถือ เป็นเรื่องที่มีความสําคัญ อย า งมากในทุ ก ภาคส ว น การหันมาใหความสําคัญ กับเรื่องดังกล่าวจึงไม่ ใช่ เรองแปลกหรือไกลตัว แต เปนเรองที่ควรทําและควรทําในทันทีหากมีโอกาส เชนเดียวกับกลุม นักศึกษาจากรั้วจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดีกรีแชมปจากโครงการ “การจัดทําแผนธุรกิจรานคาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม” ประจําป 2554 กลุมนักศึกษาหัวใจรักษสิ่งแวดลอมจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลุมนี้ประกอบสมาชิก 6 คน ไดแก น.ส.ฑิฆัมพร สุมินทิลี่, นายธนวัฒน ตั้งเมตตาจิตตกุล, น.ส.ฐิตา วีสมหมาย, น.ส.ปยกานต ฉมาพร, น.ส.วิบุญญา อุนโชคดี และ น.ส.ธนัญภรณ รุงเรือง ภายใตการ สนับสนุนและคําแนะนําอยางใกลชิดจาก อาจารย ดร.ทิพภากร รังคสิริ และน.ส.สุณีภรณ ใจหาญ ผูประสานงานทีม ฝายกิจการนิสิต ที่รวมตัว

กันในนาม Green Life Society นําเสนอแนวคิด “รานคาปลีกอุปกรณ เครองเขียน ที่มีคุณภาพและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Eco LOGIE” ในการ แขงขัน “การจัดทําแผนธุรกิจรานคาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม” ประจําป 2554 ที่จัดขึ้นโดย มูลนิธิยุทธสาร ณ นคร กับ องคการบริหาร จัดการกาซเรือนกระจก หรือ อบก. การันตีดวยรางวัลชนะเลิศ รับทุนการ ศึกษา 500,000 บาท ทัศนศึกษาดูงานที่ Low Carbon City ณ ประเทศ เกาหลีใต

แนวคิดของโครงการเกิดขึ้นไดอยางไร

ปจจุบันโลกไดเผชิญปญหาทางดานสิ่งแวดลอมมากขึ้นอันเปนผล สืบเนองมาจากการที่มนุษยใชทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอย โดยไม คํานึงถึงผลเสียตอสิ่งแวดลอมอยางเหมาะสม รวมทั้งผูประกอบการสวน ใหญในไทยยังไมเห็นความสําคัญกับปญหานีม้ ากเทาทีค่ วร เราจึงมีแนวคิด ดานแผนธุรกิจรานเครองเขียนซึ่งรวบรวมเครองเขียนดีไซนเดนคุณภาพ เยี่ยมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและมุงมั่นเปนสวนหนึ่งในการชวยปลูกจิต สํานึกในการใชสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ดวยแนวคิด “สิ่งใกลตัวจะจุดประกายใหเกิดการเปลี่ยนทัศนคติใน

80 l June 2012

Energy#43_p80-81_Pro3.indd 80

5/16/12 2:58 PM


อนาคต” คือ การหันมาใชสินคา ที่ เ ป น มิ ต ร กั บ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม (Eco Product) มากขึน้ การจัดหา สินคาทําไดงาย เนองจากเครอง เขียนบางสวนมีกระบวนการผลิต ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยูแลว และรวมถึงเครองเขียนเปนสินคา ที่ ใชแลวหมดไป จึงกอใหเกิดการ ซื้อซ้ําในเวลาตอมา การปลูกฝงและการเพิ่มชองทางใหเกิดการเลือกใช เครองเขียนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงถือเปนทางเลือกหนึ่งในการชวย รักษาสิ่งแวดลอมไดอยางสม่ําเสมอ ปจจัยดังกลาวเปนเหตุผลที่ทําให ธุรกิจนี้มีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จ รวมถึงความสามารถในการสราง ความพึงพอใจ คืนกําไรกลับสูสังคมและผูบริโภค ทั้งยังกอใหเกิดความ ยั่งยืนในการรักษาสิ่งแวดลอมในระยะยาวอีกดวย

ทําไมตองเปนรานเครองเขียนเพอสิ่งแวดลอม

จากขอมูลเบื้องตนในการวิเคราะหธุรกิจและการวิเคราะหโอกาส ทางการตลาด สภาวะอุตสาหกรรม สภาวะตลาด และแนวโนมทางการ ตลาด ปจจุบันการแขงขันในตลาดเครองเขียนคอนขางรุนแรง โดยมีการ แขงขันจากสินคาทีผ่ ลิตในประเทศและสินคานําเขาจากตางประเทศ ป 2553 มีอัตราการขยายตัวสูงถึง 20.5% นอกจากนี้ยังมีนโยบายรัฐในการ สนับสนุนและขยายโอกาสทางการศึกษา โดยรัฐบาลไดดําเนินโครงการ เรียนฟรี 15 ป ภายใตโครงการดังกลาวมีการอุดหนุนเงินคาใชจายในการ ซื้ออุปกรณเครองเขียนแกนักเรียนคนละประมาณ 200-460 บาทตอป โดย จํานวนเงินที่ ไดรับการอุดหนุนดังกลาวสงผลบวกโดยตรงตอการขยาย ตลาดเครองเขียน

โครงการนี้จะใหประโยชนอยางไรบาง

เรองของการขยายโอกาสทางการศึกษาใหแกประชาชนอยางทั่วถึง มากขึ้ น ส่ ง ผลดี ท างอ้ อ มต่ อ การขยายตลาดเครื่ อ งเขี ย นในอนาคต เนื่ อ งจากปั จ จั ย ดั ง กล่ า วจะช่ ว ยกระตุ้ น ยอดขายในกลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น ผูปกครอง นักเรียนและสํานักงานตางๆ ศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดวาตลาด

เครื่ อ งเขี ย นในประเทศมี มู ล ค่ า ประมาณ 33,000 ลานบาท หรือ ขยายตัว 10-12% เมอเทียบกับปที่ ผานมาโต 5 - 7% แผนธุรกิจรานคาเครองเขียน จึงตอบโจทยและสรางโอกาสประสบ ความสําเร็จในธุรกิจสีเขียว แมวา เครองเขียนจะเปนสินคาใกลตัว และ ความคุนเคยในการเลือกใชสินคาที่ เปนมิตรสิ่งแวดลอมจะมีกระแสพอ สมควร แตเครองเขียนที่เปนมิตรตอ สิ่ ง แวดล อ มยั ง ไม เ ป น ที่ รู จั ก อย า ง กวางขวางในประเทศไทย ในขณะที่ มูลคาตลาดเครองเขียนมีมูลคาสูง จึ ง ใช โ อกาสและแนวโน ม การเริ่ ม เปลี่ ย นพฤติ ก รรมของผู บ ริ โ ภคที่ กําลังจะเกิดขึน้ มีกลุม ลูกคาเปาหมาย ที่เปรียบเสมือนฟันเฟืองขับเคลื่อนพฤติกรรมของคนสังคมในอนาคต ดวยการชูจุดเดนของราน ไมวาจะเปนทําเลที่ตั้ง การจัดหาสินคามีดีไซน จากทั้งในและตางประเทศ การคัดสรรสินคาที่มีคุณภาพ พรอมทั้งการ บริการที่เปนมิตรและการใหความรูเรองสิ่งแวดลอม และสิ่งสําคัญที่สุดคือ ราคาที่คุมคํากับสินคาทั้งในแงประโยชนและการใชงาน

มองภาพรวมของโครงการนี้เปนอยางไร

มองวาการสงเสริมแนวคิดของนักศึกษาที่เขารวมการแขงขันถือ เปนการสงเสริมภาพลักษณ Value Added Service และ Marketing Communication ของผลิตภัณฑหรือสินคา ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมแก ผูบริโภคในประเทศ พรอมกําหนดกลยุทธการสอสารทางการตลาดในมุม มองใหมๆ ของเยาวชนตอสังคม และการตลาดธุรกิจทีเ่ พิม่ มากขึน้ ซึง่ แผน ธุรกิจของรานคาผลิตภัณฑ หรือสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมทีน่ าํ เสนอ จะเปนทางเลือกใหมในการลงทุนของผูป ระกอบการ ทีต่ อ งการดําเนินธุรกิจ ที่สามารถประสบความสําเร็จ และยังคืนกําไรใหแกสังคมและผูบริโภคดวย เชนกัน อีกทั้งยังเปนการกระตุนใหนิสิต นักศึกษา คนรุนใหม มีจิตสํานึก เกี่ ย วกั บ ผลกระทบของการบริ โ ภคต่ อ การเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และไดเปนกลุมเยาวชนของสังคมไทยที่มีสวน รวมในการปลูกจิตสํานึกดานความรับผิดชอบตอสังคม สรางคานิยมใน การบริโภคสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และโครงการนี้ยังสามารถ ตอยอดและเปดโอกาสใหนักธุรกิจหรือผูที่สนใจทั่วไป ไดมีโอกาสนําความ คิดใหมๆ ของนิสิต นักศึกษา ไปจัดทําแผนในเชิงธุรกิจ และกลวิธีการเปด รานคาผลิตภัณฑหรือผลิตสินคาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในประเทศไทย เพอใหเกิดผลสําเร็จไดจริงเปนลําดับตอไป

June 2012 l 81

Energy#43_p80-81_Pro3.indd 81

5/16/12 2:58 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ขยะมีคา Reuse ของทิ้ง ของหลายอยางในบานไดถูก ใชงานตามวัตถุประสงคที่แตกตาง กัน ซึ่งกอนที่จะทิ้งสิ่งใดไปนั้นก็ควร คิดกอนวาของสิ่งนั้นมันสามารถรียูสไดหรือไม เพราะนอกจากจะเปนสวน หนึ่งในขั้นตอนการแยกขยะแลวนั้น หลายๆ คนอาจจะไมทราบวา “ขยะ” สําหรับเรานั้น “มีคา” สําหรับใครอีกหลายๆ คน ตอจากนี้จะเปนขอแนะนํา สําหรับการนําของใชประจําวันกลับมาใชใหม ลองมาดูกัน

ของที่รียูสได

ถุงตางๆ : สามารถเอาไปใช ใหมเวลาซื้อของตามรานคาหรือใช เปนถุงขยะ ถุงกระดาษใชเปนกระ ดาษหอของสารพัดประโยชน สวน ลวดมัดปากถุง (twist tie) ก็ใชรัด เก็บพวกสายคอมพิวเตอรได ซอง : ซองจดหมายเกาใชแลวเอามาใชเปนกระดาษจดโนต กระปุกแยมตางๆ : ลาง กระปุกแกวพวกนี้ ใหสะอาด เอาไวใช ใสของเบ็ดเตล็ดกระจุกกระจิก หนังสือพิมพ, กระดาษลัง, บับเบิ้ลกันกระแทก : ใชตอนแพก ของเก็บหรือเวลาขนยาย เสื้ อ ผ า เก า : ตัดเย็บเปน อ ย า ง อื่ น ไ ด เ ย อ ะ แ ย ะ เ ช น ปลอกหมอน ที่หุมกานํ้าชา แพกเกจจิ้งตางๆ : ฟอยล ลั ง ไข บริ จ าคให ร ร.อนุ บ าลไปใช ทํางานประดิษฐ ยาง : ให ย างเก า แก ป ม นํามันแถวบานไปรีไซเคิล หรือจะทํา ชิงชาใหลูกนั่ง ไมเกาเหลือใช : ทํางานไม เล็กๆนอยๆ ตอบานนก หรือทําชั้น วางเครื่องเทศ

เคล็ดลับเล็กๆ นอยๆ ลดขยะ

เครื่องใชไฟฟาเกา : บริจาคใหรร.หรือศูนยชุมชน เสื้อผาเกาและหนังสือ : บริจาคใหผูดอยโอกาสเอาไปใช แบตเตอรี่ : ใช แ บบชาร จ ได ห ลายหนดี ก ว า แบบครั้ ง เดี ย วทิ้ ง

ทําปุย : ของบางอยางที่ยอยสลายไดเชนเปลือกไข ถุงชา เอามา ทําปุยหมักบํารุงสวนดีกวา วัชพืชมีคา : ตัดหญาแลวแทนที่จะทิ้งไปเปลาๆ ใหทิ้งไวเปนปุย ธรรมชาติ เศษหญาจะยอยสลายใหสารอาหารแกดิน

ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.recycling-guide.org.uk

82 l June 2012

Energy#43_p82_Pro3.indd 82

5/14/12 11:40 PM


Energy in Trend

“ฮีเลียม-3”

บนดวงจันทร แหล ง พลั ง งาน ใหม.. ไมโม

http://apod.nasa.gov/apod/ap010120.html

น้ํามัน แหลงฟอสซิลและกาซธรรมชาติที่นับวันจะหมดไปในไมชา มีการคาดการณกาซธรรมชาติไวอยูที่ 30 ป ในขณะนี้ปริมาณการใชน้ํามัน ยังเพิ่มขึ้นเรอย ๆ เรียกวา Demand มาก แต Supply จะนอยลงเรอยๆ ฉะนั้น ก็เปนหนาที่ของนักวิทยาศาสตรเหมือนกันที่จะชวยคิดคนพัฒนา รูปแบบของพลังงานทดแทนอน มาทดแทนเชื้อเพลิงหลัก และขาวดีลาสุด ก็ คื อ การค น พบแหล ง พลั ง งานใหม เป น ก า ซฮี เ ลี ย มบนดวงจั น ทร ซึ่งนักวิทยาศาสตรแจงวา พบแหลงกาซฮีเลียม บนพื้นผิวของดวงจันทร และมีปริมาณที่มากพอที่เราอาจจะเอามาใชทดแทนพลังงานจากน้ํามันได โดยนักวิทยาศาสตรของสถาบันภูมิฟสิกสดวงดาวแหงสหรัฐฯ กลาววาจากการวิเคราะหแรธาตุที่เก็บมาจากดวงจันทรพบวา มีกาซ ฮีเลียม-3 อยูมากมายในแรธาตุตัวอยางที่เก็บมา ซึ่งปกติบนโลกจะใชกาซ ชนิ ด นี้ ในตู เ ย็ น และใช ใ นการสร า งลํ า แสงเลเซอร โดยนายลอเรนซ เทยเลอร ผูอํานวยการของสถาบันฯ กลาววา หากเทียบกับโลกแลว ดวงจันทรนับวามีกาซฮีเลียม-3 อยูเปนปริมาณมหาศาล และชี้วา หากนํา เอากาซฮีเลียม-3 มาผสมกับดิวเทอเรียม ซึ่งเปนไอโซโทปของไฮโดรเจน

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

http://energyfromthorium.com/2009/11/page/3/

จะทําใหเกิดปฏิกิริยาการ รวมตั ว กั น (ฟ ว ส ชั่ น ) เมออุณภูมิสูง ซึ่งจะกอ ให เ กิ ด พลั ง งานเป น ปริ ม าณมหาศาล โดย ก า ซฮี เ ลี ย ม-3 เพี ย ง 25 ตัน ที่อาจจะบรรทุก ม า ด ว ย ย า น อ ว ก า ศ เทีย่ วเดียว จะสามารถใชผลิตไฟฟาใหประเทศขนาดใหญอยางสหรัฐอเมริกา ใชไปไดทั้งปเลยทีเดียว “การที่เราจะสกัดเอามันออกมาจากดินและหินของดวงจันทรไดนั้น จะตองใชอุณหภูมิสูงถึง 800 องศาเซลเซียส มาหลอมหินและดินจาก ดวงจันทรเหลานัน้ ซึง่ จะตองใชหนิ และดินจากดวงจันทรในปริมาณถึง 200 ลานตัน จึงจะสกัดกาซชนิดนี้ออกมาได 1 ตัน โดยฮีเลียม-3 ที่สกัดไดนั้น จะเปนธาตุเคมีที่ ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส และเปนหนึ่งในกาซเฉอย ตระกูลใน ตารางธาตุมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวที่ต่ําที่สุดในกลุมธาตุ มีสถานะเปน กาซอยางเดียว ยกเวนในสภาพพิเศษเปนธาตุที่มีเลขอะตอม 2 ในเอกภพ ซึ่งบนโลกพบมากที่สุดในกาซธรรมชาติ โดยจะนําไปใชในวิชาความเย็น ยิ่งยวด (cryogenics) ในระบบการหายใจสําหรับทะเลลึก ในการเติมใส ลูกโปง เปนตน ซึง่ จากการคํานวณปริมาณกาซฮีเลียม-3 ในเบือ้ งตนคาดวา บนดวงจันทรมีกาซฮีเลียม-3 อยูมากกวา 1 ลานตัน” ทั้งนี้ ผูบริหารอารเคเค ซึ่งเปนบริษัทที่พัฒนายานอวกาศโซยูซและ ยานโปรเกส นิโกไล เซวาสยานอฟ เปดเผยวา รัสเซียมีแผนสงมนุษยขึ้น ไปตั้งฐานบนดวงจันทรในอีก 14 ปขางหนานับจากนี้ หรือประมาณ พ.ศ.2563 (ค.ศ.2020) ซึ่งเปาหมายหลัก ก็เพอทําเหมืองขุดเจาะแร “ฮี เ ลี ย ม-3” กลั บ มาใช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต พลั ง งานบนพื้ น โลก ซึ่งอาจจะทําใหมนุษยโลกรูสึกอุนใจขึ้นไดในระดับหนึ่ง แหลงทีม่ า : วารสารเครือขายพลังงานชีวภาพ กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน June 2012 l 83

Energy#43_p83_Pro3.indd 83

5/24/12 1:31 AM


Renergy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมบริษัท ราชาอีควิปเมนท จํากัด และประธานกลุ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งาน ทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

พลังงานขยะใน เวียดนาม

เวียดนาม ประเทศที่มีประวัติศาสตรการตอสูเพื่ออธิปไตยอยาง โชกโชน คนไทยในแตละวัยรูจักเวียดนามในมุมมองที่แตกตางกัน สําหรับ Generation Y เวียดนามวันนี้ก็คือประเทศหนึ่งในอาเซียน ซึ่งถูกจัดอยูใน กลุมยังพัฒนานอย (CLMV) รวมกับกัมพูชา ลาว และพมา มีแตมตอใน การลดภาษีตางๆ ชากวาประเทศอื่นๆ ใน AEC: ASEAN Economic Community อีก 6 ประเทศ ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยเราดวย เวียดนามเปด ประเทศและสรางความสัมพันธทีด่ ขี ึน้ กับบรรดาเหลาประเทศอภิมหาอํานาจ กอนพมา ดวยชัยภูมแิ ละสภาพภูมศิ าสตรชายฝง ทะเลทีเ่ หมาะสม เวียดนาม จึงเปนอีกประเทศหนึ่งที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว จนประเทศไทย หวั่นเกรงวาจะมาแยงตลาดการคาดานการเกษตร แตสิ่งที่มาพรอมดาน ความเจริญดานวัตถุก็คือ สิ่งแวดลอมและพลังงาน ปญหาขยะของหัวเมืองใหญๆ ในเวียดนามเกิดขึ้นอยางรวดเร็วจน เปนปญหาระดับประเทศ เมืองใหญๆ อยางนครโฮจิมินห เมืองที่เต็มไปดวย อุตสาหกรรมตางๆ กวา 12,000 อุตสาหกรรมที่ลวนแลวแตมีสวนในการ สรางขยะถึง 0.81 กิโลกรัมตอคนตอวันไมตางจากประเทศไทย จากการ ประเมินของ World Bank เมื่อป ค.ศ. 2004 เวียดนามมีขยะรวมกันทั้ง ประเทศถึง 15 ลานตันตอป เทาๆ กับประเทศไทย

มองเวี ย ดนามผ า นความสามารถการแข ง ขั น ทาง เศรษฐกิจ

เวียดนามมีประชากรถึง 89 ลานคน มากเปนอันดับที่ 13 ของโลก มีลมุ น้าํ อุดมสมบูรณทง้ั เหนือ-ใต มีภเู ขาและปาทึบถึง 20 % มีความหลากหลาย ทางชีวภาพคอนขางสมบูรณทั้งพันธุไมและสัตวปา ภูมิอากาศเวียดนาม แบบมรสุมเขตรอน ชายฝงดานตะวันออกเปดโลงรับลมมรสุมซึ่งสามารถ ปลู ก ข า วได ป ล ะ 2 ครั้ ง เป น ประเทศที่ มี ค วามชื้ น ประมาณ 80 % ปริมาณฝน 120 – 300 เซนติเมตร ดานเกษตรกรรมเวียดนามคลายคลึง กับเมืองไทยมาก สวนอุตสาหกรรมที่สําคัญ ยังเปนอุตสาหกรรมสิ่งทอ เหมือนไทยเมื่อหลายปกอน มีเหมืองแร ถานหิน น้ํามันปโตรเลียมและแกส ธรรมชาติ เวียดนามสงออกน้ํามันดิบเปนอันดับ 3 ของเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต รองจากอินโดนีเซียและมาเลเซีย อานมาถึงตรงนี้ทานคงจะ รอง ออ! มินาเลาเราจึงพูดเปรียบเทียบไทยกับเวียดนามเสมอๆ

ปญหาขยะ บทพิสูจนความสามารถเทศบาล

ประเทศเริม่ พัฒนาทีม่ กี ารกาวกระโดดดานเศรษฐกิจ จะมีปญ  หาดาน ขยะไมแตกตางกันมากนัก ตั้งแตระบบการเก็บ การขนถายขยะ การพักขยะ

84 l June 2012

Energy#43_p84-85_Pro3.indd 84

5/24/12 10:49 PM


และการนําขยะไปกําจัด โดยเริ่มตนจากบอฝงกลบแบบเทกองกอน สวน ปญหาก็คงจะเหมือนๆ กัน คือมีหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของกับขยะมากมายไม ประสานงานกัน คากําจัดทีร่ าคาแสนถูก การทิง้ ขยะโดยปราศจากการคัดแยก ประเทศกําลังพัฒนาในอาเซียนมีวิวัฒนาการดานการจัดการขยะไมแตก ตางกันมากนัก ดังนี้

ขอมูลที่นําเสนอนี้เปนของป ค.ศ. 2004 ซึ่งเปนเวลา เกือบ 10 ปมาแลว ซึ่งไมตางจากไทยที่ขอมูลปจจุบันยังเปน ขอมูลขยะของป 2547 และทางกรมควบคุมมลพิษไดจาง ศึกษาใหม คาดวาจะแลวเสร็จในปนี้ การคํานวณจากองคประกอบของขยะ นักวิชาการ ฟนธงไดเลยวาตองหมักทําปุยถึงจะเหมาะสมที่สุด แต ใน ความเปนจริงนักธุรกิจเวียดนามกลับสนใจทําพลังงานขยะ มากกวา สาเหตุเนื่องจากเปนหวงเรื่องสารปนเปอ นจากขยะ ที่ปราศจากการคัดแยก ผูมีประสบการณดานการจัดการ ขยะคาดวา องคประกอบขยะชุมชนของเวียดนามปจจุบัน นาจะใกลเคียงกับประเทศไทยเมื่อ 10 ปทแ่ี ลว คือมีขยะอินทรีย 50% - 60% มีพลาสติกประมาณ 15% ซึ่งคาดวาเมื่อแยก ผลิต RDF: Refuse Derived Fuel แลวจะไดประมาณ 30% โดยน้ําหนัก

อยากจะบอกชาวเวียดนามวา “ขยะมีคา อยาทิ้ง อยาเผา” เทคโนโลยีใหมๆ กําลังกรีฑาทัพสูเ วียดนามพรอม นักลงทุนจากนานาประเทศ ถึงแมเวียดนามจะมีน้ํามันเอง แตพลังงานขยะไมไดเปนแคพลังงานทดแทน แตยังมีผลตอ เศรษฐกิจและความอยูดีมีสุขของชุมชน มีการกระจายราย ไดทั่วถึง ไมใชเฉพาะนักลงทุน เวี ย ดนาม ดอกไม แ สนสวยอี ก ดอกหนึ่ ง ของ อาเซียน ในอดีตถูกผูมีอํานาจแยงชิงจนช้ําไปบาง แต กลับเปนการสรางความแข็งแกรงใหชาวเวียดนาม วัน นี้เวียดนามพรอมจะมีการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน สร า งความสมดุ ล ทั้ ง สิ่ ง แวดล อ ม เศรษฐกิ จ และ สั ง คม... นั ก ลงทุ น ที่ จ ะไปเวี ย ดนามต อ งไม ลื ม ว า เวียดนามเติบโตอยางชาญฉลาด ซึ่งตอง WIN WIN และ WIN WIN เทานั้น

June 2012 l 85

Energy#43_p84-85_Pro3.indd 85

5/25/12 1:55 PM


Energy Exhibit โดย : กองบรรณาธิการ

“Product fitness 80 - MUJI”

นิทรรศการทีต่ ระหนักถึงการใชวสั ดุและ พลังงานเทาที่จําเปน

86 l June 2012

Energy#43_p86-87_Pro3.indd 86

23/5/2012 23:27


เพื่อเปนการรําลึกถึงการครบรอบหนึ่งปของเหตุการณสึนามิและ แผนดินไหวที่ประเทศญี่ปุน แบรนดสินคา MUJI จึงไดนําเสนอแนวคิด ตระหนักถึงภัยธรรมชาติ อันเกิดจากมนุษยเปนผูทําลาย นิทรรศการนี้จึง ใชชื่อวา Product fitness 80 (What would happen if we used 20% less materials and energy to make products?) ซึ่งจัดงาน นิทรรศการที่ Design Museum ณ กรุงลอนดอน เมื่อชวงเดือนมีนาคม ที่ ผ า นมา โดยในนิ ท รรศการนี้ ก็ จ ะเป น การตอบคํ า ถามเราทุ ก คนว า จะเกิดอะไรขึ้นหากเราลดการใชวัสดุและพลังงานไป 20% ในผลิตภัณฑ หลายๆ ชนิด แรงบันดาลใจของนิทรรศการนี้คือ การตอบสนองของ MUJI ที่มี ตอเหตุการณแผนดินไหวปที่แลว และตองการสรางความตระหนักในการ บริโภคที่มากเกินไปของสินคาและวัสดุในสังคมของเราในปจจุบันนี้ ที่ทุกคน ตองการความพึงพอใจ 100% ซึง่ แทจริงแลวเราควรจะมุง สูค วามพึงพอใจ ที่ 80% ก็เพียงพอแลว เพื่อเปนการยืดอายุใหกับโลกของเรานั่นเอง ตัวอยางของผลิตภัณฑที่นํามาจัดแสดงนั้น ยกตัวอยางเชน จะเกิด อะไรขึ้นถากานสําลีปนหู (cutton bud) มี ขนาดสั้นลง 20% , การทําใหขวดโลชั่นมี ความบางพิเศษ เพราะภาชนะบางพิเศษนี้

จะใชวัตถุดิบนอยลง, ฝากระทะที่เหมาะกับ 4 ขนาดกระทะที่แตกตางกัน, สมุดโนตที่มีชองวางเกลียวมากขึ้นเพื่อลดการใชลวด หรือแมแตกระดาษ ทิชชูที่ความแคบกวาเกา เปนตน และยังมีอีกหลายๆ ผลิตภัณฑที่ผานการ คิดเพื่อโลกมาแลว ทั้งนี้ MUJI นับเปนแบรนดสินคาคุณภาพดีจากญี่ปุนที่ ไดรับความ นิยมอยางสูง ดวยคอนเซปตที่เรียบงาย แตดีไซนดูดี มีรสนิยม ใชวัสดุที่ เปนธรรมชาติ และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เนนโทนสีสะอาดตา หลักเบื้อง ต น ในการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ข อง MUJI คื อ การคั ด สรรวั ต ถุ ดิ บ ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตและ ความเรียบงายของบรรจุภณ ั ฑสนิ คา ในเรื่องบรรจุภัณฑ MUJI เนนสีสันและรูปทรงที่บงบอกถึงความ เปนธรรมชาติของสินคา โดยถือหลัก ความเรียบงาย การรักษาทรัพยากร และ การลดสิ่งปฏิกูล สินคา “MUJI” จึงบรรจุใน แพ็คเกจที่เรียบงาย และจัดวางบนชั้นแสดงสินคาโดย แสดงเพียงขอมูลของสินคาและปายราคาเทานั้น

June 2012 l 87

Energy#43_p86-87_Pro3.indd 87

23/5/2012 23:27


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

สินเชื่อสําหรับสถานีบริการน้ํามัน

สินเชื่อสําหรับสถานีบริการน้ํามัน ภายใต บมจ. บางจากปโต เลียม (Gasoline Stations Loan for Bangchak petroleum PLC) เปนวงเงินสินเชื่อสําหรับสถานีบริการน้าํ มันทีเ่ ปนตัวแทนของบางจาก เพื่อ ใชสําหรับจายชําระคาน้ํามันและผลิตภัณฑ ที่สั่งซื้อจากบางจากผานชอง ทางธุรกรรมกับ ธนาคารทหารไทย จํากัด (มหาชน)

ประเภทสินเชื่อ

1. วงเงินกูเบิกเงินเกินบัญชีแบบไมมีหลักประกัน (O/D Clean) วงเงินไมเกิน 50% ของยอดซื้อเฉลี่ย 3 เดือนยอนหลัง สูงสุดไมเกิน 2.0 ลานบาทตอราย 2. กรณีที่มีวงเงินสินเชื่อสําหรับการซื้อน้ํามันจากบางจาก เชน วงเงิน (B/E) ตัว๋ สัญญาใชเงิน (RPN) ซือ้ เชื่อ (L/G) กับธนาคารทหารไทย หรื อ สถาบั น การเงิ น อื่ น สามารถเสนอขอเปลี่ ย นประเภทสิ น เชื่ อ หรื อ Refinance มาใชสินเชื่อตามโครงการฯ กับธนาคารได 3. วงเงินสินเชื่อรวม ตามขอ 1 และ 2 จะตองไมเกินวงเงิน (B/E) ตั๋วสัญญาใชเงิน (RPN) ซื้อเชื่อ (L/G) เดิมที่ ไดรับอนุมัติ

อัตราคาธรรมเนียม

- คาธรรมเนียมการจัดการเงิน กู (Front-End Fee) สําหรับวงเงินกู เบิกเงินเกินบัญชีแบบไมมีหลักประกัน (O/D Clean) เรียกเก็บในอัตรารอยละ 0.50 ของวงเงินที่ ไดรับอนุมัติ - คาธรรมเนียมในการเปลี่ยน ประเภทวงเงิน สําหรับลูกคาเดิมของ ธนาคาร ตามขอ 2 เรียกเก็บในอัตรา รอยละ 0.25 - คาธรรมเนียมในการตออายุวงเงินกูเ บิกเงินเกินบัญชีแบบไมมหี ลัก ประกัน (O/D Clean) กรณีทีม่ กี ารใชวงเงินกูเ บิกเงินเกินบัญชีแบบไมมหี ลัก ประกันถัวเฉลีย่ 12 เดือน ต่าํ กวากึง่ หนึง่ ของวงเงินที่ ไดรบั อนุมตั ิ ธนาคาร จะเรียกเก็บคาธรรมเนียมในการตออายุวงเงินสินเชื่อในอัตรารอยละ 0.50

อัตราดอกเบี้ย

- วงเงินกูเ บิกเงินเกินบัญชีแบบไมมหี ลักประกัน (O/D Clean) วงเงิน กูเบิกเงินเกินบัญชี (O/D Secured) และ ตั๋วสัญญาใชเงิน (RPN) เรียก เก็บในอัตราดอกเบี้ย MOR - กรณีที่บางจากปรับเปลี่ยนสถานะลูกคาจากเกรด A เปนเกรด B ธนาคารขอสงวนสิทธิท์ ีจ่ ะปรับอัตราดอกเบีย้ ลูกคารายนัน้ ๆ เพิม่ ขึน้ อีก 1% เปน MOR + 1% จนกวา บางจากจะปรับเกรดใหมเปนเกรด A และแจงให ธนาคาร ไดรับทราบ - กรณีที่สถานีบริการน้ํามันถูกปรับลดเกรดต่ํากวาเกรด B หรือ คงที่อยูที่เกรด B เกิน 1 ไตรมาส ธนาคารขอสงวนสิทธิในการพิจารณา ปรับอัตราดอกเบี้ยและวงเงินตามความเหมาะสม

ระยะเวลา

ทบทวนวงเงินทุกป

88 l June 2012

Energy#43_p88_Pro3.indd 88

5/21/12 11:14 PM


Energy Legal

โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

โครงสราง...

ราคานํ้ามัน

ความเป น จริ ง ที่ ตองยอมรับ กวาจะมาเปนนํ้ามันสําเร็จรูปใหเราทานไดใชกันอยูในปจจุบัน เชื่อหรือไม วาเราสูญเสียเงินไปเรื่องของกระบวนการตางๆ มากมายกวาจะมาถึงมือเรา รวมถึงปจจัยแวดลอมที่อาจนอกเหนือการควบคุม จนเกิดเปนปจจัยของราคา นํ้ามันที่จะขึ้นๆ ลงๆ ซึ่งเหตุผลดานโครงสรางราคานํ้ามันดังกลาว ผูที่ ไดรับ ผลกระทบโดยตรงคือ “ผูที่ ใชนํ้ามัน” จนเกิดเปนขอสงสัยตามมา โครงสรางราคานํ้ามันประกอบดวยปจจัยหลัก คือ ราคานํ้ามันหนาโรงกลัน่ (ราคาเนื้อนํ้ามัน), ภาษีกองทุนนํ้ามัน และคาการตลาด ซึ่งเมื่อรวมปจจัยหลัก ทั้งหมดแลว จะกลายเปนราคานํ้ามันขายปลีก ณ สถานีบริการนํ้ามันตางๆ มาทําความเขาใจเกี่ยวกับราคาหนาโรงกลั่น หรือ ตนทุนเนื้อนํ้ามัน ซึ่ง อางอิงราคานํา้ มันสําเร็จรูปตลาดสิงคโปร (Mean of Platts : MOP Singapore) แบบ Import Parity ทําไมตองอางอิงจากสิงคโปร ทั้งๆ ที่สิงคโปรไมใชประเทศ ทีป่ ระกาศราคาหรือมีโรงกลัน่ แตเปนราคาทีส่ ะทอนถึงการซือ้ ขายของทุกประเทศ ในภูมิภาคนี้ แตตลาดสิงคโปรเหมาะสม เนื่องจากมีความผันผวนนอยกวา เปน ศูนยกลางการซื้อขาย (สงออก/นําเขา) ของภูมิภาค จึงเปนราคากลางของ ตลาดซึ่งเอเชียมีปริมาณซื้อขายในระดับสูงเชนเดียวกับตลาดในภูมิภาคอื่นๆ และ มีผูซื้อและขายมากราย ดังนั้นราคาสิงคโปรจึงสะทอนอุปสงคและอุปทานนํ้ามัน ที่แทจริงของภูมิภาคที่ ไมมีผูคารายใดสามารถครอบงําได ตัวอยางโครงสรางราคานํา้ มันทีจ่ าํ หนายในประเทศ เริม่ ทีน่ ํา้ มันดีเซลแยก ยอยเปน ราคาเนื้อนํ้ามันดีเซล, ราคานํามันดีเซลตลาดสิงคโปร, คาใชจายใน การนําเขา และคาปรับคุณภาพนํ้ามัน นํ้ามันเบนซิน 95 แยกยอยเปน ราคาเนื้อนํ้ามันเบนซิน 95, ราคานํ้ามัน เบนซิน 95 ตลาดสิงคโปร, คาใชจายในการนําเขา และคาปรับคุณภาพนํ้ามัน แกสโซฮอล 95 E10 แยกยอยเปน 90% ราคาเนือ้ นํา้ มันเบนซิน 95, 10% ราคาเอทานอล และคาผสม ดีเซล B5 แยกยอยเปน 95% ราคาเนื้อนํ้ามันดีเซล, 5% ราคาไบโอดีเซล และคาผสม นอกจากนี้ยังมีเรื่องของคาการกลั่นจากรายไดนํ้ามันสําเร็จรูปที่กลั่นได ตามสัดสวนการผลิตหักดวยตนทุนนํ้ามันดิบ และยังไมหักคาใชจายในการกลั่น คาปรับปรุงคุณภาพ คาเสื่อม ดอกเบี้ย และภาษี ซึ่งทั้งหมดลวงเปนเรื่องของ ตนทุนการผลิตที่มีความผันผวนอยูตลอดเวลา แนนอนวาประเทศที่ ไมแหลง นํ้ามันแบบบานเราตองยอมรับคาใชจายดังกลาวอยางหลีกเลี่ยงไมได และตนทุน ดังกลาวเปนการสะทอนราคานํ้ามันที่แทจริงโดยที่ประชาชนไมทราบ เมื่ อ มี ก ารผั น ผวนของราคานํ้ า มั น อย า งรุ น แรง ภาครั ฐ บาลจะเป น ฝ า ยที่ โ ดนจั บ ตามองอย า งมาก ในการหาทางแก ไ ขป ญ หา โดยมี น โยบาย

การปรั บ โครงสร า งราคานํ้ า มั น อย า งต อ เนื่ อ งเพื่ อ รองรั บ ป ญ หาดั ง กล า ว โดยการทยอยปรับเพิ่มอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงของเบนซินและ แกสโซฮอล เดือนละ 1 บาท/ลิตร ตั้งแตวันที่ 16 มกราคม 2555 เปนตนไป และปรับเพิ่มอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงของดีเซลหมุนเร็ว อัตรา 0.60 บาท/ลิตร ตัง้ แตวนั ที่ 16 มกราคม เชนเดียวกัน โดยมอบใหคณะกรรมการ บริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) พิจารณาระยะเวลาการสงเงินเขากองทุน นํ้ามันฯ ตามความเหมาะสม และ มอบหมายให สํานักงานนโยบายและแผน พลังงานกระทรวงพลังงาน (สนพ.) จัดทําขอเสนอการปรับอัตราเงินกองทุนนํ้า มันฯ ใหมคี วามคลองตัวและเหมาะสม นําเสนอตอคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แหงชาติ (กพช.) ปญหา คือ การทยอยปรับอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันฯ ของเบนซิน และแกสโซฮอล เดือนละ 1 บาท/ลิตร ตามมติ กพช. เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2554 อาจไมสอดคลองกับสถานการณราคานํ้ามันในตลาดโลกและการสงเสริมการใช พลังงานทดแทน(เอทานอล) ซึ่งการดําเนินการแกไข สนพ. นําเสนอ กพช. เพื่อ มอบหมายให กบง. พิจารณาปรับอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันฯ ของเบนซิน แกสโซฮอลและดีเซล ไดตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงสถานการณราคานํา้ มัน ในตลาดโลก การสงเสริมพลังงานทดแทนและฐานะกองทุนนํ้ามันฯ ลาสุดที่ประชุม กบง. มีมติใหชะลอการปรับโครงสรางพลังงานรอบที่ 5 เปน เวลา 3 เดือน โดยคงอัตราเงินนําสงเขากองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิง สงผลให ราคาขายปลีกนํ้ามัน ไมเปลี่ยนแปลงจากการเก็บเงินเขากองทุนนํ้ามันฯ ขณะที่ อัตราเงินนําสงเขากองทุนนํ้ามันฯ ยังอยูระดับเดิม โดยเบนซิน 91-95 อยูที่ 4 บาท/ลิตร, แกสโซฮอล 95 อยูที่ 2.20 บาท/ลิตร, แกสโซฮอล 91 อยูที่ 0.60 บาท/ลิตร สวนนํ้ามันดีเซล คงอยูที่ 0.60 บาท/ลิตร นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา “การตรึ ง ราคานํ้ า มั น ดั ง กล า วจะไม ส ง ผลกระทบกั บ สถานะกองทุ น นํ้ า มั น ฯ เนื่องจากในชวง 2 เดือนที่ผานมา ฐานะกองทุนนํ้ามันฯ ติดลบทรงตัวที่ระดับ 2.3 หมื่นลานบาท หากรายรับรายจายไมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากปจจุบัน ก็ ไม นาจะมีการกูเงินเพิ่มไปจากวงเงินเดิมที่ขอไว 3 หมื่นลานบาท” สิ่งหนึ่งที่ควรคิดเสมอคือ ประเทศไทย ไมสามารถผลิตนํ้ามันไดเอง การ แบกรับภาระเรื่องของนํ้ามันที่ผันผวน จึงไมใชเรื่องที่แปลก เพราะทั่วโลกก็ตอง จายเงินเพื่อซื้อนํ้ามันเชนกัน และจายมากกวาบานเราดวยซํ้า ฉะนั้น แมวานํ้ามัน จะขึ้นหรือลง เราก็ตองใชอยูดี และการทําใจยอมรับเรื่องราคาจึงเปนทางออกที่ ดีที่สุด เพราะนํ้ามันแตละลิตร ลวนมีตนทุนการผลิตทั้งสิ้น June 2012 l 89

Energy#43_p89_Pro3.indd 89

5/16/12 9:10 PM


Energy Stat เรื่องของราคาพลังงานยังเปนเรื่องที่มีการถกเถียงอยางตอเนื่อง ทั้งในสวนของภาครัฐบาล และภาคประชาชนที่ ไดรับผลกระทบโดยตรง โดย เฉพาะความตองการใชกาซ LPG ภาคขนสงมีทิศทางสวนทางราคาที่ปรับเพิ่ม นับตั้งแตตนป 2555 จนถึงปจจุบัน จากปริมาณการใชกาซ LPG ในภาคขนสง เห็นไดชัดจากจํานวนรถยนตที่ติดตั้งกาซLPG ใหมเฉลี่ย 11,000 คันตอเดือน เนื่องจากราคาขายปลีกน้ํามันในประเทศที่ปรับเพิ่มขึ้นตั้งแต ตนป 2555 กลุมผูใชน้ํามัน หันไปใชพลังงานประเภทอื่นที่มีราคาต่ํากวา ที่นิยมใชมากก็คือกาซ LPG จากความตองการใชกาซ LPG ที่เพิ่มขึ้น สะทอนการอุดหนุนราคาพลังงานของภาครัฐที่เพิ่มขึ้นเชนกัน และกาซLPG ยังไมเพียงพอตอความ ตองการใชในประเทศ จึงตองนําเขาบางสวนจากตางประเทศในราคาทีส่ งู แตตอ งนํามาจําหนายในประเทศดวยราคาทีต่ ่าํ กวา เพื่อชวยเหลือภาคประชาชน ซึ่งผิดวัตถุประสงคของภาครัฐ ที่มีนโยบายทยอยปรับขึ้นราคากาซLPG เพื่อลดการอุดหนุน รวมทั้งชะลอการใชเพื่อลดการนําเขา ชวงที่ราคาน้ํามัน แพง ภาครัฐจึงจําเปนตองเรงสงเสริมและสนับสนุน การใชพลังงานทดแทนประเภทอื่น อาทิ แกสโซฮอล และไบโอดีเซล ที่ภาครัฐมีภาระในการอุดหนุน นอยกวา รวมทั้งเปนพลังงานที่สามารถผลิตไดในประเทศ

ป

ชดเชยนําเขา

ชดเชยโรงกลั่น

รวม

2551

7,947

-

2552

6,896

-

2553

22,261

-

2554

25,801

10,471

36,272

2555

7,451

4,112

11,563

รวม

70,358

14,583

84,941

ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน (สนพ.) 90 l June 2012

Energy#43_p90_Pro3.indd 90

5/16/12 8:57 PM


Insight Energy

ผูเขียน : นัษรุต เถื่อนทองคํา

นับถอยหลังตรึง NGV-LPG 3 เดือน ขนสงมวลชน... จอคิวเตรียมปรับราคา

ตามที่ ได เ ป น ข า วคณะกรรมการบริ ห ารนโยบาย พลังงาน(กบง.) ไฟเขียวคงราคากาซ NGV และคงอัตราเงิน สงเขากองทุนน้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับกาซ LPG ภาคขนสงตอ ไปอีก 3 เดือน จนถึงกลางเดือนสิงหาคมศกนี้ พรอมตรึงราคา ขายปลีกกาซ LPG ภาคอุตสาหกรรมนั้น จุดประสงคหลักก็ เพื่อชวยบรรเทาความเดือดรอนประชาชนอันเนื่องมาจากภาวะ เงินเฟอและราคาพลังงาน ในการบริหารจัดการราคาพลังงาน และกําหนดอัตราเงินสงเขากองทุนน้ํามันฯ ใหยืดหยุนตามความเหมาะสม ไม ใ ห เ ป น ภาระต อ ค า ครองชี พ ของประชาชน และให ส อดคล อ งกั บ สถานการณราคาพลังงานโลกที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน นายอารักษ ชลธารนนท เผย ภายหลั ง เป น ประธานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ห ารนโยบาย พลังงาน(กบง.)กลางเดือนพฤษภาคมที่ผานมา ที่ประชุมไดพิจารณา แนวทางการปรับราคาขายปลีกกาซ NGV และกาซ LPG เพื่อใหเปนไปตาม มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 14 พฤษภาคม 2555 เห็นชอบใหคงราคาขายปลีก กาซ NGV ที่ 10.50 บาท/กก. ตอไปอีก 3 เดือน ตั้งแต 16 พฤษภาคม-15 สิงหาคม สวนกาซ LPG ภาคขนสงเห็นชอบกําหนดอัตราเงินสงเขากองทุน น้ํามันเชื้อเพลิงสําหรับกาซ LPG ในอัตรา 2.80 บาท/กก. ตอไปอีก 3 เดือน เชนกัน โดยราคาขายปลีกจะอยูที่ 21.13 บาท/กก. เชนเดียวกับ LPG ภาคอุตสาหกรรมที่คุมราคาขายปลีกไว 30.13 บาท/กก. หากกรณีราคากาซ LPG ตลาดโลกปรับตัวสูงขึ้นมากจนทําให ตนทุนราคากาซ LPG จากโรงกลั่นน้ํามันเกิน กวาราคาดังกลาว เห็นชอบ กําหนดราคาขายปลีกกาซ LPG ภาคอุตสาหกรรมใหเปนไปตามตนทุนโรง

กลั่น และกรณีราคากาซ LPG ตลาดโลกปรับตัวลดลงทําใหตนทุนราคา กาซ LPG จากโรงกลั่นน้ํามันต่ํากวา 30.13 บาท/กก. จากประกาศ กบง.ดังกลาวถือเปนขาวดีและเปนการตอลมให ใจ สําหรับผูท ี่ใชรถยนตสว นตัวใหไดลุน กันอีกระยะ แตยงั มีประชาชนอีกไมนอ ย ที่ยังไมมีรถยนตสวนตัว และบางสวนพึ่งจะดีใจกับนโยบายปรับคาแรงขั้น ต่ําและปรับฐานเงินเดือนตามนโยบายภาครัฐไดไมนาน ก็ตองถึงกับหนาวๆ รอนๆ อีกครั้ง เมื่อ นายศรศักดิ์ แสนสมบัติ รองปลัดกระทรวงคมนาคม ในฐานะประธานคณะกรรมการควบคุมขนสงทางบกกลาง เปดเผยถึงที่ ประชุมคณะกรรมการควบคุมขนสงทางบกกลาง อนุมัติใหปรับขึ้นคา โดยสารสําหรับรถเมลขนาด เล็ก หรือมินิบัส จากเดิมที่จัด เก็บในราคา 6.50 บาท เปน 8 บาท ทั้งนี้ ผูประกอบการให เหตุผลวาไดปรับเปลีย่ นรถใหม ทํ า ให ต น ทุ น สู ง ขึ้ น ด า นรถ ประจํ า ทางระหว า งจั ง หวั ด หมวด 2-3 ก็ปรับคาโดยสาร ขึน้ 0.04 บาทตอกิโลเมตร เชน เดียวกับรถสองสองแถวปรับขึ้นคาโดยสารเปน 7 บาท จากเดิมที่เก็บใน อัตรา 5-6 บาท และหลัง 22.00 - 05.00น. จะปรับขึ้นอีก 0.50 บาท มี ผลหลัง 15 พฤษภาคมที่ผาน ดาน รถรวมบริการขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ หรือ ขสมก. ไดออกมายืดอกยืนยันจะยังไมมีการปรับขึ้นคาโดยสารทั้งรถรอนและรถ ปรับอากาศ เนื่องจากรัฐบาลยังตรึงราคาคากาซ NGV อยูขณะนี้ แตหาก ราคากาซปรับขึ้นไปอยูที่ 9.50 บาทตอลิตร จะพิจารณาปรับขึ้นคาโดยสาร ใหทันที 1 บาท ซึ่งตองลุนกันอีกที นอกจากนี้ อัตราคาสารรถแท็กซีเ่ ตรียมการปรับขึน้ เชนกัน โดย กรม การขนสงทางบก จะเรงสรุปตารางอัตราคาโดยสารรถแท็กซี่ ใหมเสนอ กระทรวงคมนาคม เพื่อใหรัฐมนตรีพิจารณาไดภายในตนเดือนพฤษภาคม และคาดวาจะสามารถประกาศใชอัตราใหมไดในเดือนมิถุนายนนี้ เอาเปนวา อยาคิดมากใหปวดหัว ไมวาคุณจะเปนคนที่มีรถสวนตัว หรือโดยสารรถยนตสาธารณะ ก็ลวนมีเรื่องใหตองลุนกันอยูทุกเมื่อเชื่อวัน อยูแลว จริงไหมครับ

June 2012 l 91

Energy#43_p91_Pro3.indd 91

23/5/2012 23:30


Energy#32_p94_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/25/11

12:03 AM


Special Scoop

โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

มองศักยภาพปโตรเลียมไทย

ความตองการแหลงพลังงานสีดําหรือ ปโตรเลียม ที่อยูลึกลงไป ใตดินยังคงเปนที่เสาะแสวงหาสําหรับมนุษยโลกอยางไมมีที่สิ้นสุด ซึ่งสวน ทางกับแหลงพลังงานเอง ที่นับวันจะเปนเหมือนนาฬิกาที่นับถอยหลัง เพื่อ รอวันหมดสิ้นไปจากโลก นั้นก็เพราะแหลงพลังงานดังกลาวใชเวลาในการ กอตัวสะสมอยูใตดินเปนเวลากวาหลายลานป การที่ประเทศใดๆ ในโลก สามารถคนพบแหลงปโตรเลียมในประเทศของตน ถือวาประเทศนั้นจะมี ศักยภาพในดานการตอรองและสามารถกุมทิศทางเศรษฐกิจของโลกไดเลย ทีเดียว นั้นก็เพราะทั่วโลกยังคงตองการแหลงปโตรเลียมอยางไมมีวัน สิ้ น สุ ด แม้ ว่ า ปั จ จุ บั น จะมี ก ารคิ ด ค้ น หรื อ พั ฒ นาพลั ง งานรู ป แบบอื่ น ๆ มาทดแทนก็ตาม ปโตรเลียม ถือเปนตัวบงชีด้ า นความเจริญกาวหนาของมนุษย เพราะ ที่ผานมามีการพัฒนาแหลงพลังงานในการขับเคลื่อนโลกเปนยุคๆ ปจจุบัน ปโตรเลียมยังคงเปนเชื้อเพลิงธรรมชาติที่มีความสําคัญ และไดมีการนําไป ใชประโยชนอยางกวางขวางเกือบทุกดานของการดํารงชีวิตของมนุษย จากขอมูลที่ผานมาการขุดเจาะหาแหลงปโตรเลียมเพื่อตอบสนองความ ตองการของประชากรโลกในอนาคตจะมีเพิ่มมากขึ้น รวมถึงประเทศไทยที่ มีความพยายามในการแสวงหาแหลงทรัพยากรปโตรเลียมในประเทศอยาง

ตอเนื่องทั้งบนบกและในทะเล เพื่อทดแทนการนําเขาจากตางประเทศ และมี การคนพบและพัฒนาแหลงปโตรเลียมในประเทศหลายแหลง แมวา จะไมมาก นักเทียบเทามหาอํานาจจากประเทศแถบตะวันออก แตก็สามารถตอบสนอง ตอความตองการภายในประเทศไดระดับหนึ่ง ดวยความที่ประเทศไทยไมมีขุมทรัพยดานพลังงานใตดินมากนักและ นับวันจะหายากมากยิง่ ขึน้ การขยายการลงทุนไปยังตางประเทศจึงเปนทาง เลือกเพื่อหาพลังงานมารองรับความตองการและวางแผนระยะยาวถึงการ เสริมความมั่นคงใหกับประเทศ จึงไดมีการลงทุนขุดเจาะในหลายๆ ประเทศ ภายใตการทํางานขององคกรหลักอยาง ปตท.สผ. ซึ่งอุปสรรคที่ผานมา คือ เทคโนโลยีดานการพัฒนาแหลงน้ํามันตางๆ ตองยอมรับวายังไม สามารถทันตางชาติได โดยเฉพาะการขาดแคลนเจาหนาที่ ในระดับวิศวกร June 2012 l 93

Energy#43_p93-95_Pro3.indd 93

5/24/12 10:00 PM


และนักธรณีวทิ ยา ทีบ่ ริษทั ใหญๆ มีความตองการบุคลกรสาขานีเ้ ปนจํานวน มากโดยแหลงขุดเจาะแตละที่มีความจําเปนตองมีเจาหนาที่ ไมต่ํากวา 100200 คน โดย ปตท.สผ.ไดมีการมอบทุนการศึกษาเพื่อสรางบุคลการดาน นี้มารองรับการขยายงานในอนาคตอยางตอเนื่อง คาดการณความตองการปโตรเลียมในอนาคตจะยังไมหมดไป และ จะสงผลใหราคาน้ํามันดิบของโลกมีราคาสูงขึ้น ผลจากการคนหาแหลง น้าํ มันทีล่ าํ บากและยากกวาทีผ่ า นมา ตางจากตนทุนการผลิตในประเทศของ ปตท.สผ. เนื่องจากดําเนินการขุดเจาะมานานและการหาแหลงขุดเจาะยัง ไมลําบากเหมือนในอนาคต ถึงแมวาเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจุบันสามารถดึง น้ํามันมาใชไดเพียง 20-25% ของปริมาณที่สํารวจพบใตดิน โดยอนาคต คงต อ งรอบริ ษั ท ชั้ น นํ า ของโลกพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย และมี ประสิทธิภาพในการดึงน้ํามันมากกวานี้ นอกจากการนําเขาแลวประเทศไทยยังมีแหลงขุดเจาะพลังงานที่มี ศักยภาพ แมจะไมมากพอสําหรับความตองการในประเทศทั้งหมด แตก็ สามารถลดการนําเขาจากตางประเทศลงได ซึ่งการดําเนินการขุดเจาะ แหลงปโตรเลียมในประเทศไทย ตองมีการวางแผนการลงทุนโครงการ สํารวจขุดเจาะน้ํามันในอนาคตลวงหนาอยางนอย 2 ป มากกวาที่ผานมา ที่มีการวางแผนเพียง 9-10 เดือนเทานั้น เนื่องจากหนวยงานราชการ อนุ มั ติ โ ครงการยากขึ้ น และมี ขั้ น ตอนการทํ า รายงานผลกระทบสิ่ ง แวดลอม(EIA) และรายงานผลกระทบตอสุขภาพ(SIA) โดยแหลงปโตรเลียม ในประเทศไทย หลักๆ มีอยูหลายแหง ประกอบดวย โครงการคอนแทร็ค 3 มีขนาดพืน้ ที่ 2,738 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพืน้ ทีน่ อกชายฝง อาวไทย จังหวัดสุราษฎรธานี จากขอมูลการผลิตไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีอตั รา การผลิตโดยเฉลีย่ เปน น้าํ มันดิบ 24,247 บารเรลตอวัน, คอนเดนเสท(กาซ ธรรมชาติเหลว) 14,138 บารเรลตอวัน และกาซธรรมชาติ 587 ลาน ลูกบาศกฟุตตอวัน โครงการคอนแทร็ค 4 มีขนาดพื้นที่ 3,118 ตารางกิโลเมตร ตั้ง อยูที่อาวไทย นอกชายฝงจังหวัดสงขลา จากขอมูลการผลิตไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีอตั ราการผลิตและการขายโดยเฉลีย่ เปนกาซธรรมชาติ 358 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และคอนเดนเสท(กาซธรรมชาติเหลว) 13,942 บารเรลตอวัน โครงการ G4/43 มีขนาดพื้นที่ 9,686 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูใน

อาวไทย ไตรมาสที่ 4 ของป 2553 รักษาระดับการผลิตน้ํามันดิบที่ 3,312 บารเรลตอวัน และกาซธรรมชาติที่ 6 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน ปจจุบันได เพิ่มแหลงสุรินทร ครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด 416.8 ตารางกิโลเมตร โครงการ G4/48 มีขนาดพื้นที่ 504 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูใน อาวไทย ไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีอัตราการผลิตและการขายโดยเฉลี่ย เปนกาซธรรมชาติ 10 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน และน้าํ มันดิบ 2,325 บารเรล ตอวัน โครงการ G9/43 มีขนาดพื้นที่ 2,619 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูใน อาวไทย ที่ผานมาตั้งแตป 2548-2550 อยูในระหวางการเจรจาพื้นที่ทับ ซอนระหวางประเทศและเสนแบงเขตทางทะเล และปจจุบัน หยุดกิจกรรม ตางๆไวกอน และรอผลการเจรจาขอตกลงเรื่องพื้นที่คาบเกี่ยวระหวาง ไทย-กัมพูชา โครงการบงกช มีขนาดพื้นที่ 3,986 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูใน อาวไทยนอกชายฝงจังหวัดสงขลาประมาณ 203 กิโลเมตร ไตรมาสที่ 1 ป 2555 โครงการบงกชเหนือมีอัตราการผลิตโดยเฉลี่ยเปนกาซธรรมชาติ 600 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวันและคอนเดนเสท(กาซธรรมชาติเหลว) 20,300 บารเรลตอวัน สวนโครงการบงกชใต มีการติดตั้งแทนผลิตและอุปกรณ การผลิตตางๆ เรียบรอยแลว และไดทดสอบการผลิต ระบบการสงกาซ ธรรมชาติและคอนเดนเสท เมื่อเดือนมีนาคม 2555 โครงการ B6/27 มีขนาดพื้นที่ 1,302 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูใน อาวไทย นอกชายฝงจังหวัดชุมพรประมาณ 25 กิโลเมตร ตั้งแตเริ่ม โครงการในเดือนพฤษภาคม 2548 จนถึงปลายป 2549 ไดผลิตน้ํามันดิบ ไปแลวประมาณ 975,000 บารเรล ป 2550 ผลิตน้ํามันดิบเฉลี่ยที่ 761 บารเรลตอวัน ตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนสิงหาคม และยกเลิกสัญญา การผลิตกับผูรับเหมาเมื่อเดือนกันยายน ปจจุบัน เตรียมงานสําหรับการ ขุดเจาะหลุมสํารวจ และเริ่มกิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคม โครงการใหมและ ดําเนินโครงการเดิมอยางตอเนื่อง โครงการ B8/32 และ 9A มีขนาดพื้นที่ 2,541 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูในอาวไทย นอกชายฝงจังหวัดชุมพร ป 2550 มีอัตราการผลิต น้ํามันดิบเฉลี่ย 49,500 บารเรลตอวัน และกาซธรรมชาติเฉลี่ย 210 ลาน ลูกบาศกฟุตตอวัน โครงการ PTTEP1 มีขนาดพื้นที่ 10 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูที่ จังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดนครปฐม ถือเปนโครงการแรกที่ ปตท. สผ.เปนเขาผูดําเนินการ รวมทั้งเปนโครงการสํารวจและผลิตปโตรเลียม โครงการแรกที่ดําเนินการโดยบริษัทคนไทย โดยไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีปริมาณการผลิตน้ํามันดิบโดยเฉลี่ย 375 บารเรลตอวัน โครงการพื้นที่พัฒนารวมไทย-มาเลเซีย B17 มีพื้นที่ 4,700 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูที่อาวไทยตอนลางบริเวณพื้นที่พัฒนารวมไทยมาเลเซีย ไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีอัตราการผลิตโดยเฉลี่ยกาซ ธรรมชาติ 384 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และคอนเดนเสท(กาซธรรมชาติ เหลว) 7,949 บารเรลตอวัน โครงการสินภูฮอม มีพื้นที่ 231.6 ตารางกิโลเมตร (E5 North 39 ตร.กม. และ EU1 192.6 ตร.กม.) ตั้งอยูที่จังหวัดอุดรธานี และจังหวัด ขอนแกน ไตรมาสที่ 1 ป 2555 มีอัตราการผลิตโดยเฉลี่ยกาซธรรมชาติ

94 l June 2012

Energy#43_p93-95_Pro3.indd 94

23/5/2012 23:36


358 ลานลูกบาศกฟตุ ตอวัน และคอนเดนเสท(กาซธรรมชาติเหลว) 13,942 บารเรลตอวัน โครงการอาทิตย มีพื้นที่ 3,681 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูในอาว ไทย หางจากฝงจังหวัดสงขลาประมาณ 230 กิโลเมตร และทางดานทิศ ตะวันตกติดกับแปลงสัมปทานบงกช ไตรมาสที่ 3 ของป 2554 มีอัตรา การผลิตโดยเฉลี่ยกาซธรรมชาติ 220 - 240 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และ คอนเดนเสท(กาซธรรมชาติเหลว) 11,000 - 13,000 บารเรลตอวัน ปจจุบันกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ อนุมัติพื้นที่ผลิต แปลง G8/50 และมีแผน พัฒนาโดยตั้งเปาหมายเริ่มการผลิตในป 2558 โครงการ E5 มีพื้นที่ 69 ตารางกิโลเมตร มีพื้นที่ตั้งครอบคลุม พื้นที่จังหวัดขอนแกน ไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีอัตราการผลิตกาซโดย เฉลี่ย 12 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน โครงการ A4, 5 และ 6/48 มีพื้นที่ 44,521.66 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูในทะเลอันดามันทางฝงตะวันตกของประเทศไทย ปจจุบันไดศึกษา ธรณีวิทยาปโตรเลียม เพื่อประเมินศักยภาพปโตรเลียมในพื้นที่และวิเคราะห ความคุมคาในเชิงพาณิชยในการเจาะหลุมสํารวจ ประมวลผลขอมูลและ แปลความหมายขอมูล เพื่อเตรียมการสํารวจคลื่นไหวสะเทือนแบบ 3 มิติ เพื่อยืนยันปริมาณสํารองและกําหนดตําแหนงหลุมเจาะ โครงการ S1 มีพื้นที่ 1,328 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูที่จังหวัด สุโขทัย, จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดกําแพงเพชร ไตรมาสที่ 1 ของป 2555 มีอัตราการผลิตและการขายโดยเฉลี่ยน้ํามันดิบ 26,317 บารเรล ตอวัน, กาซธรรมชาติ 46.4 ลานลูกบาศกฟุตตอวัน และแอลพีจี 241 เมตริกตันตอวัน โดยมีอัตราการผลิตสูงสุดอยูที่ 27,942 บารเรลตอวัน ในวันที่ 31 มกราคม 2555 ปริมาณสํารองปโตรเลียม ปริมาณสํารองพิสูจนแลว (ลานบารเรลเทียบเทาน้ํามันดิบ) (MMBOE) โครงการ L21/48 และ 28/48 มีพื้นที่ 11,803 ตาราง กิโลเมตร ตั้งอยูที่จังหวัดขอนแกน และจังหวัดชัยภูมิ (ภาคตะวันออก เฉี ย งเหนื อ ของประเทศไทย) ปจจุบันอยู ในขั้นตอนวิเคราะหผล ทางดานธรณีเคมีของตัวอยางหิน จากหลุ ม เจาะรั ต นะ-1 ศึ ก ษา ศั ก ย ภ า พ ป โ ต ร เ ลี ย ม ข อ ง โครงสรางรัตนะหลังจากเสร็จสิ้น การขุดเจาะหลุมรัตนะ-1 และดําเนิน การศึ ก ษารายงานผลกระทบสิ่ ง แวดลอมสําหรับหลุมเจาะสํารวจใน

2554 969

2553 1,043

โครงสรางเขาสวนกวาง แปลงสํารวจแอล 21/48 โครงการ L22/43 มีพืน้ ที่ 3,632 ตารางกิโลเมตร ตัง้ อยูท ีจ่ งั หวัด พิษณุโลก และจังหวัดพิจิตร ปจจุบันไดยื่นขอพื้นที่ผลิตปโตรเลียมวังไผสูง แปลง L22/43 จากกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ ครอบคลุมพื้นที่โดยประมาณ 11.7 ตารางกิโลเมตร โครงการ L53/43 และ L54/43 มีพื้นที่ 7,955 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูที่จังหวัดสุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, อยุธยา และอางทอง ติดกับ โครงการ PTTEP1 ไตรมาสที่ 4 ของป 2554 ปริมาณการผลิตน้ํามันดิบ ประจําปจากพื้นที่ผลิต บึงกระเทียม-A และหนองผักชี-A โดยเฉลี่ยอยูที่ 7 บารเรลตอวัน เนื่องจากปญหาอุทกภัย หยุดการผลิตน้ํามันดิบ

2552 1,099

2551 944

2550 946

2549 923 ขอมูลจาก : ปตท.สผ.

ปจจุบัน ความตองการปโตรเลียมยังคงเปนที่ตองการของทั่วโลก เพราะมีความเกี่ยวของตอการขับเคลื่อนของโลกในทุกดาน แตเมื่อความ ตองการของมนุษยยังคงเพิ่มขึ้น แตพลังงานสีดํายังลงลด รวมถึงผล สะท อ นจากการใช พ ลั ง งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ต อ สภาพแวดล อ มของโลกให เปลีย่ นแปลงไปจากเดิม เปรียบเสมือนภัยเงียบทีค่ อ ยๆ สะสมมาเปนเวลานาน จากมลพิษที่เกิดจากเทคโนโลยีพลังงานที่ ไมสะอาด ณ วันนั้นมนุษยจะเกิด การตื่นตัวอีกครั้งในการที่จะเสาะหาแหลงพลังงานใหมๆ แนนอนวายุคของ พลังงานยุคตอไปจะนําไปสูก ารพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานสะอาดแหงอนาคต ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่เป็นเหมือนคําถามที่รอคําตอบคือ เมื่อไหร่ ทั่วโลกจะเปลี่ยนแปลงไปสูยุดดังกลาวอยางจริงจัง ในเมื่อปโตรเลียมหรือ ทองคําสีดํายังเปนที่ตองการ และสรางประโยชนทางเศรษฐกิจใหโลก อยางปจจุบัน June 2012 l 95

Energy#43_p93-95_Pro3.indd 95

23/5/2012 23:36


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร Sales Engineer เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิศวกรรมศาสตร หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณในการทํางานใน โรงงานอยางนอย 1 ป มีประสบการณขายงานระบบ บําบัดมลพิษทางอากาศจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เอ็นโค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด เทรดดิ้ง จํากัด 0-2722-9481-2 ั ชี มีประสบการณดา นบัญชีทวั่ ไป รับสมัคร เจาหนาทีบ่ ญ มีความรูโ ปรแกรมบัญชี Express มีความรูเ กีย่ วกับการ ปดงบประจําเดือนและประจําปได มีประสบการณการ ทํางานอยางนอย 3 ป ขึ้นไป ติดตอ บริษัท โซลา เพาเวอร จํากัด 0-2712-9501-5 # 103 รับสมัคร เจาหนาที่ ธุรการ ประชาสัมพันธเกีย่ วกับงาน สิ่งแวดลอม ทอท. วุฒิปริญญาตรี ไมจํากัดสาขา อายุ ไมเกิน 35 ป ชาย/หญิง มีมนุษยสัมพันธดี พูดภาษา อังกฤษไดพอสมควร ติดตอ บริษทั ซี.ซี. คอนเทนท คอมเมอรเชียล จํากัด 0-2663-3280-9 ตอ 110, 118 , 119

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รับสมัคร วิศวกรไฟฟา อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญา ตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา/อิเลคทรอนิกส/ เครื่ อ งกล ไม จํ า เป นต อ งมี ป ระสบการณ ห รื อ หากมี ประสบการณดานระบบนํ้า-ลม-อนุรักษพลังงาน จะ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท เอเซียอุตสาหกรรมหลอดไฟ จํากัด 0-2702-9467-8 รับสมัคร เจาหนาที่อนุรักษพลังงาน ชาย / หญิง อายุ 24 ป ขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี ไฟฟา เครื่องกล อุตสาห การ หรื อ ที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ป ระสบการณ ด า นอนุ รั ก ษ พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม อาคารสํานักงาน มี เลขประจําตัวผูรับผิดชอบดานพลังงาน (สามัญ) ติดตอ บริษัท พรรณธิอร จํากัด 0-2287-7143 รับสมัคร วิศวกรออกแบบระบบไฟฟา เพศชาย วุฒกิ าร ศึ ก ษา ปริ ญ ญาตรี ทางด า นวิ ศ วกรรมไฟฟ า มี ประสบการณเกีย่ วกับการออกแบบและติดตัง้ อยางนอย 2 ปขนึ้ ไป สามารถใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเกีย่ วกับการ ออกแบบไดเปนอยางดี Auto CAD ติดตอ บริษัท ที. จี. คอนโทรล จํากัด 0-2530-9090

รับสมัคร Supervisor (Biochemical Product) เพศ ชาย อายุ 27 ปขึ้นไป วุฒิปวส. ขึ้นไป สาขาชางที่ เกี่ ย วข อ ง มี ป ระสบการณ ใ นงานอุ ต สาหกรรม ประเภทBiochemical Product สามารถสื่อสารภาษา อังกฤษหรือภาษาจีนได ติดตอ บริษัท เวิลดเบสท ไบโอเคมิคอล (ประเทศไทย) จํากัด 0-3896-2088 ตอ 614, 619 รับสมัคร Design Engineer (Tank) ชาย / หญิง อายุ 23 -30 ป วุฒปิ ริญญาตรีหรือเทียบเทาสาขาวิศวกรรม เครื่องกล มีประสบการณอยางนอย 2-3 ป ทางดาน งานออกแบบถั ง และ/หรื อ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งจั ก รกลใน โครงการกลุมปโตรเคมี, โรงกลั่นนํ้ามัน และกาซ หรือ อุตสาหกรรมพลังงาน ติดตอ บริษัท ไทย โรตารี่ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด (มหาชน) 0-3869-5565-71 ตอ 1004 รับสมัคร หัวหนาแผนกสิ่งแวดลอม เพศชาย/หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิศวกรรม สิ่งแวดลอมหรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณดาน บริหารจัดการสิ่งแวดลอมอยางนอย 3 ปขึ้นไป ติดตอ บริษัท เอสแอนดดี อินดัสทรี้ จํากัด 0-2452-1291 รับสมัคร ผูจัดการแผนกสิ่งแวดลอม วุฒิปริญญาโท วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม หรือสุขาภิบาล อายุ 35 ปขึ้นไป ใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ระดับภาคีวิศวกร ประสบการณทํางานดานสิ่งแวดลอมไมนอยกวา 7 ป ติดตอ บริษัท ปภพ จํากัด 0-2570-5580 ตอ 1110 รับสมัคร ผูจ ดั การศูนยฯ สิง่ แวดลอม บางสะพาน เพศ ชาย / หญิง อายุ 30 - 35 ป วุฒิ ป.ตรี / โท สาขา วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม, วิศวกรรมสิ่งแวดลอม มี ประสบการณดานการจัดการสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม ติดตอ บริษัท กลุมเหล็กสหวิริยา จํากัด 0-2285-3101-10 ตอ 626- 627 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 25-30 ป วุฒปิ ริญญาตรี สาขาทีเ่ กีย่ วของวิศวกรรมสิง่ แวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานควบคุมระบบ บําบัดนํ้าเสีย กาก ตะกอนของเสียและอากาศ ติดตอ บริษัท รอแยลฟูดส จํากัด 0-3441-1923 รับสมัคร Sales Engineer เพศชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิศวกรรมศาสตร, เครื่ อ งกล, พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม หรื อ สาขาที่ เกี่ยวของ มีประสบการณในการทํางานในโรงงานอยาง นอย 1 ป ติดตอ บริษทั เอ็นโค เอ็นจิเนียริง่ แอนด เทรดดิง้ จํากัด 0-2722-9481-2

รับสมัคร Safety Officer วุฒิปริญญาตรี สาขาอาชีว อนามัย และความปลอดภัย ( จป.วิชาชีพ ) ประสบการณ ในการทํางาน ไมนอยกวา 1 ป กับบริษัทที่ผานการ รับรองระบบ ISO 14001 และ TIS/OHSAS 18001 ติดตอ Yusen Logistics (Thailand) Co., Ltd. 0-2206-8285 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม เพศชาย - หญิง อายุ 26 - 32 ป วุฒปิ ริญญาตรีสาขาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม มี ป ระสบการณ ใ นออกแบบระบบบํ า บั ด 2 ป ขึ้ น ไป สามารถใชโปรแกรม Auto Cad 2d, 3d ได ติดตอ THAMMASORN GROUP 0-2611-0290 ตอ 1216 รับสมัคร วิศวกรเคมี เพศชาย อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิ ปริญญาตรีหรือปริญญาโท วิศวกรรมเคมี หรือสาขา อื่นที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานทางอุตสาหกรรม ปโตรเคมี อยางนอย 5 ป ติดตอ บริษทั อี-สแควร สิง่ แวดลอมและวิศวกรรม จํากัด 0-2734-2301-3 รับสมัคร นักวิชาการสิ่งแวดลอม (การจัดทํารายงาน ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม) วุฒิปริญญาตรี/โท ดาน วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม หรือ วิศวกรรมศาสตร มี ประสบการณดานการจัดทํารายการ EIA /EHIA ดาน อุตสาหกรรมปโตรเคมี โรงกลั่นนํามัน โรงไฟฟา จะ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท ซีคอท จํากัด 0-2910-5021-6 รับสมัคร เจาปฎิบัติการภาคสนาม เพศชาย อายุ 22 - 25 ป วุฒิปริญญาตรี, วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม, อนามัยสิ่งแวดลอม, วิทยาศาสตรเคมี และสาขาอื่นที่ เกี่ยวของ ไมจําเปนตองมีประสบการณ ติดตอ บริษัท แอดวานซ ไทย เทสติ้ง จํากัด 0-2172-7061-2 รับสมัคร Project Director วุฒิปริญญาโท-เอก ดาน สิ่งแวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของกับหนาที่ในตําแหนง งาน มีประสบการณในงานวิจัยและการบริหารจัดการ อยางนอย 10 ปสาํ หรับปริญญาเอก หรืออยางนอย 15 ปสําหรับปริญญาโท ติดตอ มูลนิธิสถาบันสิ่งแวดลอมไทย 0-2503-3333 ตอ 411 รับสมัคร นักวิชาการสิง่ แวดลอม (ภาคสนาม) เพศชาย อายุ 22 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรีขึ้นไป คณะ/สาขา วิ ท ยาศาสตร หรื อ วิ ศ วกรรมศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม ประสบการณการทํางาน 0-2 ป ในสายงานสํารวจ และ เก็บตัวอยางนํ้า/อากาศ และทํางานภาคสนาม ติดตอ บริษัท เอ็นแทค แอสโซซิเอท จํากัด 0-2831-6662

96 l June 2012

Energy#43_p96_Pro3.indd 96

5/14/12 11:53 PM


Energy Price

June 2012 l 97

Energy#43_p97_Pro3.indd 97

23/5/2012 23:38


Directory ระบบความเย็น บริษัท แอรแม็ก ซีสเต็ม จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2362-9913 : 0-2362-9914 : airmaxsystem@gmail.com : www.airmaxsystem.com : ระบบความเย็น

บริษัท เอเชีย เอ็นจิเนียริ่ง แพค จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2806-4501-5 : 0-2445-5038 : www.asiaengineeringpac.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท บ็อค คอมเพรสเซอร เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2274-0396-8 แฟกซ : 0-2274-0399 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เหลียงชิอุตสาหกรรม (ประเทศไทย)

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2738-1788 : 0-2738-1781-2 : www.liangchi.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท โปรเนท เอ็นจิเนียส จํากัด

บริษัท พัฒนกล จํากัด (มหาชน)

บริ ษั ท พี เ อสดี เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง เซ็ น เตอร จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2896-3630-5 : 0-2896-3636 : mascom@mastercom.co.th : ระบบความเย็น : 0-2328-1032 : 0-2328-1245 : www.patkol.com : ระบบความเย็น

บริษัท พีรชัยคูลลิ่งเทค จํากัด โทรศัพท : 0-2969-5672 แฟกซ : 0-2969-7465 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เชมมิเทรดดิ้ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2428-6183 : 0-2427-3418 : www.cemmitrading.com : ระบบความเย็น

หจก.ช.เลิศวิศวกรรม โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2587-9060 : 0-2587-9776 : chawlert@hotmail.com : ระบบความเย็น

บริษัท ชิลแมทช จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2203-3057 : 0-2203-0798 : www.chillmatch.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท คูลพอยท เอเชีย จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2673-0088 : 0-2672-5757 : sales@coolpointasia.com : www.coolpointasia.com : ระบบความเย็น

บริษัท เดนกิ เทค เอเชีย จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2906-9316 : 0-2906-9317 : sales@denkitech.com : www.denkitech.com : ระบบความเย็น

บริษัท กูดเท็ม จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2736-2021-30 : 0-2736-0029 : naronghong@hotmail.com : ระบบความเย็น

บริษัท กราซโซ (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2525-8500 : 0-2525-8555 : www.grasso.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท ไอ.ที.ซี. (1993) จํากัด โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2374-4640 : 0-2374-6708 : www.itc-group.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท คากาวา จํากัด

โทรศัพท แฟกซ เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2275-7485 : 0-2276-8093 : www.kagawa.co.th : ระบบความเย็น

บริษัท เลนน็อค กรุป จํากัด

โทรศัพท : 0-2747-4250 แฟกซ : 0-2747-4494-5 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2955-2015 แฟกซ : 0-2955-2016 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท มาสเตอร คอม เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท คาเรล (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2513-5608-10 แฟกซ : 0-2513-5611 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริ ษั ท โปรเกซ คอนเวย เ ออร แอนด คอนโทรล จํากัด

บริษัท พีพีเคบี เอ็นเตอร ไพรส จํากัด : 0-2437-7622 : 0-2437-6828 : pkbenterprise@yahoo.com : ระบบความเย็น

ระบบลําเลียงวัสดุ บริษัท ยูไนเต็ด เบลติ้ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2865-1977 , 0-2865-2390 : 0-2865-1978 : ubbelts@truemail.co.th : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ยู.พี.ยู.เยนเนอรัล เบลติ้ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 02-993-2364 , 086-342-7449 : 02-993-2364 : upu_bell@hotmail.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท พลิค ซันวา เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2520-4045 : 0-2529-3294 : thanei_j@yahoo.com : www.plic.co.th : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท สมารท โซลูชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2750-6771, 08-3244-1297 : 0-2750-6771 : sale_smartcon@smatsolutionengineering.com : www.smartsolutionengineering.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ปญจะกลการ จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2468-7261 , 0-2468-7576 : 0-2468-7576 : ptm@thailandpages.com : www.ptmconveyor.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ไวซแมค 82 คอรปอเรชั่น จํากัด โทรศัพท : 0-2735-2261-5 แฟกซ : 0-2735-2266 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท แม็กนา พีเคเค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2410-6170 , 0-2410-6432 : 0-2410-6351 : magnapkk@ego.co.th : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษทั โพรลิฟค ฮีทติง้ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2738-8845-6 : 0-2738-8847 : phummarin@phiheating.com : www.phiheating.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2935-7790 แฟกซ : 0-2931-4364 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2708-9364 , 0-2708-9374-5 แฟกซ : 0-2708-9353 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท เพอรเฟคทเพาเวอร ไลน จํากัด โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2811-2900 : 0-2814-9751 , 0-2811-2901 : perfect@truemail.co.th : www.perfectpowerline.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ยูนีชั่นเทรดดิ้ง จํากัด โทรศัพท : 0-2223-1216-20 แฟกซ : 0-2224-3366 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ยูเนี่ยน เซกิ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2246-5694, 0-2247-6874 แฟกซ : 0-2247-6875 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ยูเนี่ยน เทค เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2907-3530 แฟกซ : 0-2907-3531 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ยูไนเต็ด เบรน อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทรศัพท : 0-2744-1250-9 แฟกซ : 0-2361-8908 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ยูเอชเอ็ม จํากัด

บริษัท แมนําเมคคานิกา จํากัด

โทรศัพท : 0-2651-9111 แฟกซ : 0-2255-4357-9 สินคาและบริการ : Water Pump

หางหุนสวนจํากัด ยนตรรุง

โทรศัพท : 0-2280-1655-60 แฟกซ : 0-2280-1661 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2267-6760 แฟกซ : 0-2267-6761 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2639-1133 แฟกซ : 0-2639-8462 , 0-2233-2744 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ยูโรแมค คอรปอเรชั่น จํากัด

โทรศัพท : 0-2812-0371, 0-2812-2984 แฟกซ : 0-2812-0299 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท รุงโรจน ไทย จํากัด

โทรศัพท : 0-2468-9706 , 0-2468-0755 แฟกซ : 0-2468-0755 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โรงงานเอเชีย ลวด ตาขาย โทรศัพท แฟกซ อีเมล เว็บไซด สินคาและบริการ

: 0-2932-8408 , 0-2932-8301 : 0-2932-9939 , 0-2539-1541 : asiawiremesh@hotmail.com : www.asiawiremesh1994.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท โรลคอนส ซิสเต็ม จํากัด โทรศัพท : 0-2869-3860 แฟกซ : 0-2869-3861 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท รวมไทยรุงกิจ จํากัด

บริษัท รับเบอร ไลนิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2452-1588-9, 0-2452-1591 แฟกซ : 0-2452-1588-9 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ริเวอร เอนจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2932-7788 แฟกซ : 0-2932-7600 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เรืองทอง อุตสาหกรรม จํากัด

โทรศัพท : 0-2811-9002, 0-2811-9012 แฟกซ : 0-2811-9925 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ล.อนันตพานิช (1975) จํากัด

โทรศัพท : 0-2233-5846-7, 0-2233-6751-3 แฟกซ : 0-2237-1514 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ลาฟาเทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2271-3823, 0-2616-7500 แฟกซ : 0-2271-0674, 0-2616-7509 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เลยมาส จํากัด

บริษัท ลีนาแพ็ค จํากัด

โทรศัพท : 0-2617-0060 แฟกซ : 0-2617-0062 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท วรกุลชัย แพ็คเกจ ซีล จํากัด

โทรศัพท : 0-2312-3636, 0-2312-2650 แฟกซ : 0-2755-3421 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2956-0334-5 แฟกซ : 0-2923-9548 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ โทรศัพท แฟกซ อีเมล สินคาและบริการ

: 0-2868-5870-5 : 0-2457-5229 : sale@worakulchai.com : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท วสุชาติ จํากัด

โทรศัพท : 0-2998-1514-5 แฟกซ : 0-2998-1518 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

Water Pump บริษัท ยูนิ โรแยล (ประเทศไทย) จํากัด

บริษัท วงศบุญมาวิศวกรรม จํากัด

บริษัท วอเตอรฟลดเอเซีย จํากัด

โทรศัพท : 0-2320-1994-5 แฟกซ : 0-2320-1995 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท วัฒนบราเดอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2749-8115-6, 0-2399-2582 แฟกซ : 0-2749-8117 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท เว็ทโก อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โทรศัพท : 0-2518-1389, 0-2914-0236-9 แฟกซ : 0-2914-0235 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2944-1282-3 แฟกซ : 0-2519-3998 สินคาและบริการ : Water Pump

บริษัท ยูนิเวฟ จํากัด

บริษัท ไวทเครนเนอเซอรี่ จํากัด

โทรศัพท : 0-2367-3244-8 แฟกซ : 0-2367-3482 สินคาและบริการ : Water Pump

โทรศัพท : 0-2215-9599 แฟกซ : 0-2215-5265 สินคาและบริการ : Water Pump

98 l June 2012

Energy#43_p98_Pro3.indd 98

5/23/12 12:16 AM


Energy#43_p99_Pro3.ai

1

5/25/12

2:51 PM


Special Report โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“เขอนแมวงก” ไดไมคุม เสียจริงหรือ?

หลังน้ําทวมใหญปที่ผานมาทางรัฐบาลตางก็คนหาวิธีที่จะแกไข ปญหานี้กันขนานใหญ และหนึ่งในนั้นก็คือโครงการกอสรางเขอนขนาด ใหญ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ เขอนแมวงก ที่จะทําการรวบรวมน้ําไวในอางเก็บ น้ําใหญเพียงจุดเดียว ดวยเหตุผลที่รัฐบาลอางวาเพอแกปญหาน้ําทวม และเพอใหเกษตรกรในเขตชลประทานมีน้ําใชในหนาแลง โดยลาสุดเมอวันที่ 10 เมษายน 2555 คณะรัฐมนตรี (ครม.) ภายใตการนําของ “นายกฯ ยิ่งลักษณ ชินวัตร” ไดมีมติอนุมัติงบประมาณเพอกอสรางเขอนแมวงก จํานวน 13,280 ลานบาท โดยใชเวลาการกอสราง 8 ป ตัง้ แตปง บประมาณ 2555 –2562 ซึ่งคําถามที่ตามมาก็คือ เขอนแมวงกปองกันน้ําทวมไดจริง หรือ? ทามกลางเสียงคัดคานและสนับสนุนของการสรางเขอนแมวงกที่ รัฐบาลไดผลักดันโครงการนี้อยางสุดตัวนั้น เราจะลองมาหาคําตอบกันวา เขอนแมวงกสามารถแกปญหาน้ําทวมและภัยแลงไดมากนอยแคไหน และ เราตองสูญเสียอะไรเพอแลกกับเขอนแหงนี้ เขอนแมวงก โครงการทีร่ บั ผิดชอบโดยกรมชลประทาน เปนเขอนหิน ทิง้ แกนดินเหนียว วางแผนการกอสรางไวทีบ่ ริเวณเขาสบกก ตําบลแมเลย อําเภอแมวงก จังหวัดนครสวรรค ความสูง 57 เมตร สันเขอนยาว 730 เมตร กวาง 10 เมตร ความจุของอางเก็บน้ําประมาณ 250 ลาน ลูกบาศกเมตร เมอสรางเสร็จจะมีพื้นที่น้ําทวมอยางนอย 12,375 ไร ใช งบประมาณกอสรางทั้งสิ้น 13,280.445 ลานบาท แบงเปนงบประมาณ ดานตางๆ ดังนี้ 1.งบดานบุคลากร 100.146 ลานบาท 2.งบดําเนินการ 43.857 ลานบาท 3.งบลงทุน 12,007.674 ลานบาท 4.งบดําเนินการดาน

สิ่งแวดลอม 560.850 ลานบาท และ 5.งบดานอนๆ กรณีสํารองงบ ประมาณ 567.918 ลานบาท ซึ่งอีกเหตุผลในการสรางเขอนแมวงกนอกจากปองกันน้ําทวมคือ เปนพื้นที่ชลประทานเพอการเกษตรกรรม 291,000 ไร สําหรับเกษตรใน พื้นที่อําเภอลาดยาวและอําเภอสวางอารมณจะไดมีน้ําใชยามหนาแลง ข อ มู ล จากคณะกรรมการสิ่ ง แวดล อ มภาคเหนื อ และมู ล นิ ธิ สืบ นาคะเสถียร ระบุวาบริเวณดังกลาวมีพื้นที่กวา 291,900 ไร ความ ตองการใชน้ําเฉลี่ย 347.9 ลานลูกบาศกเมตรตอป สวนใหญทํานาขาว ซึ่งตองใชน้ําเฉลี่ย 500 ลูกบาศกเมตรตอไร ดังนั้น เมอคํานวณแลว น้ําทั้งหมดจากเขอนจะสามารถใชไดเพียงแค 40 วัน ซึ่งไมเพียงพอ เพราะ

100 l June 2012

Energy#43_p100-101_Pro3.indd 100

5/16/12 2:59 PM


สามารถไหลระบายได หรือแมกระทั่งการตัดเสนทางน้ําเขาเขื่อนทับเสลาใน จังหวัดอุทัยธานี อีกหนึ่งขอสงสัยที่ถูกยกมาถกเถียงก็คือ รายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) ของโครงการกอสรางเขื่อนแมวงกนั้นไม ผานความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติเมื่อป พ.ศ. 2545 ซึ่งมีมติไมเห็นชอบในรายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) พร้อมเสนอให้กรมชลประทานกลับไปศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องการ บริหารจัดการลุมน้ําทั้งระบบ มากกวาที่จะเสนอใหมีการสรางเขื่อนขนาด ใหญเปนทางเลือกเดียวเทานั้น แมภายหลังการตีกลับรายงาน EIA ของคณะกรรมการสิง่ แวดลอม

การทํานาขาวตองใชน้ําประมาณ 120 วัน อีกทั้งตามหลักของการบริหาร จัดการเขื่อน ตองรักษาระดับเก็บกักนําไวอยางนอย 100-150 ลาน ลูกบาศกเมตรเพื่อความแข็งแรงของโครงสรางฐานเขื่อนอีกดวย และบริเวณใกลเคียงกับพื้นที่ที่จะสรางเขื่อนแมวงกนั้น มีเขื่อนอีก หลายแหง เชน เขื่อนทับเสลา เขื่อนคลองโพธิ์ ซึง่ กอสรางเสร็จมาประมาณ 10 ปแลว แตไมไดชวยเก็บน้ําไวใชในฤดูแลงเลย เพราะพื้นที่อยูในเขตเงา ฝน ปริมาณน้ําฝนนอย และการกอสรางเขื่อนที่ ไมมีประสิทธิภาพ ทําให ฐานเขื่อนรองรับน้ําปริมาณมากไมได นายอดิ ศั ก ดิ์ จั น ทวิ ช านุ ว งษ เลขาธิ ก ารคณะกรรมการ สิ่งแวดลอมภาคเหนือตอนลาง กลาววา ขอมูลจากกรมชลประทานปที่ แลวระบุวา น้ําไหลผานจังหวัดนครสวรรค 44,000 ลานลูกบาศกเมตร แต ตัวเขื่อนแมวงกสามารถเก็บน้ําไดเพียง 250 ลานลูกบาศกเมตร เทากับ เปนการแกปญ  หาเพียง 1% เทานัน้ อีกทัง้ การสรางเขื่อนทีบ่ ริเวณเขาสบกก เปนการกั้นลําน้ําแมวงเพียงสายเดียว แตยังมีลําน้ําอีกหลายสายที่ ไหลมา บรรจบตรงที่ลุมอําเภอลาดยาว ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของน้ําทวมในตัวเมือง ขณะที่การบรรเทาปญหาน้ําทวมในพื้นที่นั้น มีผูเสนอทางเลือกไว หลากหลาย เพื่อแลกกับการที่ ไมตองสูญเสียผืนปาที่เปนแหลงซับน้ําตาม ธรรมชาติ เชน การสรางแหลงกักเก็บน้ําขนาดเล็กและแกมลิงกระจายให ทั่วพื้นที่ การยกระดับถนนที่กีดขวางทางน้ําบางชวงเพื่อเปดทางใหน้ํา

แหงชาติ ทําใหความเคลื่อนไหวในการผลักดันโครงการชะลอไปพักใหญ แตเมื่อเกิดน้ําทวมใหญในป 2553 โครงการเขื่อนแมวงกก็ถูกนํามาปดฝุน อีกครั้ง และมีการจางบริษัทที่ปรึกษาศึกษารายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอมและสุขภาพใหม เมื่อเดือนกรกฎาคม 2554 และคาดวาจะ แลวเสร็จในเดือนกรกฎาคม 2555 แตแลวเมื่อเกิดน้ําทวมใหญอีกครั้งใน ป 2554 ครม. รัฐบาลยิ่งลักษณก็คลอดมติใหสรางเขื่อนแมวงก พรอม กับอนุมัติงบประมาณ 13,000 ลานบาท ทั้งที่รายงานอีไอเอฉบับเดิมก็ ไมผานการเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ สวนรายงาน ฉบับใหมก็ยังทําไมเสร็จ ทั้งนี้ ปาแมวงกเปนปาที่มีทรัพยากรสมบูรณ และเปนปาตอเนื่องผืน เดียวกับปาตะวันตก สภาพพื้นที่ปามีหลายประเภท ทั้งปาดิบเขา ปาดิบแลง ป า เบญจพรรณ และป า เต็ ง รั ง มี ไ ม สั ก หนาแน น เป น อั น ดั บ สองของ ประเทศไทยรองจากอุทยานแหงชาติแมยม จ.แพร มีสัตวปาไมนอยกวา 549 ชนิด ในจํานวนนี้มีสัตวปาสงวน เชน สมเสร็จ เลียงผา และสัตวปา หายากหรือใกลสูญพันธอีกหลายชนิด เชน กระทิง วัวแดง หมาจิ้งจอก คางแวนถิ่นเหนือ เสือโครง เสือดําหรือเสือดาว เปนตน “ปาแลกเขื่อน” เปนอีกคําถามที่ตองหาคําตอบกันใหดีวาจะ “ได” คุมกับที่ “เสีย” ไปหรือไม

June 2012 l 101

Energy#43_p100-101_Pro3.indd 101

5/16/12 8:54 PM


LifeStyle โดย : ณ ลาดพราว

สัมผัสแรกที่ ไดมาเยี่ยมชม คือ การเนนรูปแบบความเปนอยูแบบ ตลาดชาวบานสมัยกอนที่ใชสายน้าํ และธรรมชาติในการดํารงชีวติ ประจําวัน โดยมี เ รื อ พายที่ ม าพร อ มสิ น ค า หลากหลายโดยเฉพาะที่ ดึ ง ดู ด ไม น อ ย เห็นจะเปนบรรดาของกินนานาชนิดมาให เลือกสรรอยางเต็มที่กับบรรยากาศสระน้ํา ขนาดใหญ่ เพื่ อ ให้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วดื่ ม ด่ํ า บรรยากาศแนวย อ นยุ ค กั น อย า งเต็ ม ที่ ซึ่งถือเปนการเพิ่มทางเลือกใหกับผูที่มา ทองเที่ยวในเมืองหัวหินไดเปนอยางดี ส ว นของร า นค า ที่ อ ยู ร อบสระน้ํ า เนนรูปแบบการตกแตงแบบเมืองหัวหินมี การแบ่ ง โซนพื้ น ที่ ต่ า งๆ เพื่ อ ความเป็ น

ตลาดน้ํ า หั ว หิ น สามพั น นา ครบถวนวันพักผอนในที่เดียว

ชวงของวันหยุดยาวๆ หลายคน คงมองหาแหลงทองเที่ยวที่จะพาคนรัก หรือครอบครัวไปพักผอน เพอเติมพลัง การทํ า งานหรื อ ที่ ห ลายคนเรี ย กว า “ชารตแบต” แนนอนวาหากเราจะเลือก สถานที่ พั ก ผ อ นสั ก ที่ ก็ ค วรจะมี สิ่ ง ที่ สามารถตอบสนองความตองการของ สมาชิกใหไดมากที่สุด และหนึ่งในสถานที่ ทองเที่ยวที่ ไดรับความนิยมอยางมาก ขณะนี้คือ “ตลาดน้ํา” และที่กําลังนิยม อยางมากในแหลงทองเที่ยวอยางเมือง หัวหิน คงตองยกใหกับ “ตลาดน้ําหัวหิน สามพันนาม” ตลาดน้ําหัวหินสามพันนาม ตั้งอยูไม ใกลไมไกลตัวเมืองหัวหินมากนัก ณ ต.ทับใต อ.หัวหิน ที่เพิ่งเปดตัวใหนักทองเที่ยวเขาชม เกือบ 1 ปแลว หลายคนที่เคยไปเที่ยวตลาด น้ําอโยธยามาแลวคงไมตองสงสัยวาทําไม ถึงมีความคลายกันทั้งในสวนของบรรยากาศและรูปแบบการตกแตง นั่นก็ เพราะเป็ น ที ม งานเดี ย วกั น นั่ น เอง แต่ จ ะเน้ น เรื่ อ งการตกแต่ ง ที่ เ น้ น เอกลักษณเฉพาะและกลิน่ ไอของเมืองหัวหินเปนหลัก รวมถึงสถาปตยกรรม รูปรางตัวอาคารแบบวิคตอเรีย เพอใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสความเกาแก ในอดีต และที่เปนเหมือนไฮไลทดูเหมือนจะเปนการแสดงตางๆ ที่คงความ เปนไทย

ระเบียบเรียบรอย โดยการนําสัญลักษณที่โดดเดนของ เมืองหัวหินที่มีชื่อเสียง ไม่ว่าจะเป็นป้ายชื่อด้านหน้า ตลาด หรือซอยตางๆ และยังมีขบวนรถไฟและสถานี รถไฟหัวหินขนาดยอสวน ใหไดชมกัน สํ า หรั บ ผู ที่ กํ า ลั ง มองหาสถานที่ พั ก ผ อ นสั ก ที่ ที่ ส ามารถตอบโจทย ค วามต อ งการของสมาชิ ก ในครอบครั ว ได อ ย า ง ครบถวน ดวยพื้นที่ตลาดที่คอนขางกวางขวาง กับรานคากวา 200 ราน มี ทั้ ง สิ น ค า พื้ น เมื อ ง สิ น ค า ทํ า มื อ และที่ สํ า คั ญ มี มุ ม ถ า ยรู ป สวยๆ ใหเลือกสรรกันอยางเต็มที่ แถมใกลแหลงทองเที่ยวอนๆ อีกหลายแหง และไม ไ กลจากกรุ ง เทพมหานครมากนั ก รั บ รองว า ไม ทํ า ให ผิ ด หวั ง อยางแนนอน

102 l June 2012

Energy#43_p102_Pro3.indd 102

5/24/12 1:34 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

June 2012 l 103

Energy#43_p103_Pro3.indd 103

5/16/12 3:02 PM


Energy Thinking โดย : ลภศ ทัศประเทือง

อยาเอาอดีตมา “กลุม” ปจจุบัน

มีโอกาสไดดูรายการตีสิบ ชวงดัน ดารา อ.เชน จตุพล ชมพูนชิ พูดใหกาํ ลังใจ ผูม ารวมรายการ จนมีการทําโควดคําพูดของ อ.เชน ไวในโซเชี่ยลเน็ตเวิรคตางๆ มากมาย ก็เปนเรื่องจริงทีห่ ลายทานประสบอยู การนําเอาเรื่องอดีตมากลุม ใจปจจุบนั นอกจากจะไมทําใหเกิดประโยชนเพราะแกไข สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในอดี ต ไม ไ ด แ ล ว ยั ง เป น การ บั่นทอนความรูสึกและกําลังใจในการดําเนิน ชีวติ ของปจจุบนั อีกดวย และทานเชื่อหรือไมวา ประโยคนี้ มี ป ระเด็ นที่ ซ อ นอยู คื อ เรื่ อ งของ “ความคิด” นักธุรกิจหลายราย แยงวา การนํา เอาอดีตมากลุม หมายถึง การนําเอาสิ่งที่ผิดพลาดมาคิดทบทวน และ ไตรตรอง เพื่อหาวิธีปองกัน แกไข ไม ใหเกิดความผิดพลาดนั้นซําอีก ก็มองเปนเรื่องของการวางแผนปจจุบนั ไมใหเกิดขอผิดพลาดขึน้ ในอนาคต โดยใชขอมูลอางอิงจากเรื่องราวในอดีต เรื่องของความคิดทีแ่ ตกแขนงเปนธรรมดาของสังคมทีเ่ ราตองพบเจอ การขัดแยงทางความคิดแบบสรางสรรค สรางภูมิคุมกันใหสังคมและ ตัวเราเองใหแข็งแกรงขึ้น การคิดตางทางความคิดเชิงสรางสรรคก็เปน เรื่องของสังคมประชาธิปไตย อยูที่เราเลือกสิ่งดีๆ มาบรรจุในกระปองแหง ความคิด เมื่อไหรกต็ ามทีเ่ กิดกรณีพพิ าททาง ความคิด จะวาดวยเรื่องใด เหตุใด เราก็จะ งัดเอาความคิดตาง เชิงสรางสรรคนี้มา ใชไดอยางไมมีวันหมด ดับบลิว แมทลิน (Matlin) กลาววา การคิดเปนกิจกรรม ทางสมอง เปนกระบวนการทางปญญา ซึ่งประกอบดวย การสัมผัส การรับรู การ รวบรวม การจํา การรื้อฟนขอมูลเกาหรือ ประสบการณ โดยที่ บุ ค คลนํ า ข อ มู ล ขาวสารตางๆ เก็บไวเปนระบบ การคิด เปนการจัดรูปแบบของขอมูลขาวสารใหม กั บ ข อ มู ล เก า ผลจากการจั ด สามารถ แสดงออกมาภายนอกใหผูอื่นรับรูได แตเชื่อวาจุดประสงคของอ.เชน คือ การใหแนวคิด มิใชเปนการเปดประเด็นให

มีการคิดตาง แตกระนั้นก็ยังหลีกเลี่ยงไมได เพราะมั น เป น กระแสสั ง คมไปเสี ย แล ว การพิ จ ารณาผลประโยชน ท างความคิ ด ควบคู ไ ปกั บ การคิ ด ต า งอย า งสร า งสรรค ผลประโยชนท่ีไดกค็ อื ผูท ่ีไดอา น ไดรบั รูข า วสาร หรือขอความตางๆ เพื่อบอกถึงเหตุผลจาก คนหลายคน คนหลายกลุม และลําดับสุดทาย จะเปนเรื่องการตัดสินใจ “เชื่อ” ตามเหตุผล ทางความคิดทีเ่ ราพอใจ หรือคิดเห็นไปในทาง เดียวกัน ฉะนั้น ตอนนี้คุณมีสิทธิ์ทางความ คิ ด แล ว ล ะ ว า จะเชื่ อ หรื อ ไม กั บ คํ า พู ด ที่ ว า “อยาเอาอดีตมากลุมปจจุบัน”

104 l June 2012

Energy#43_p104_Pro3.indd 104

5/14/12 11:55 PM


June 2012 l 105

Energy#43_p105_Pro3.indd 105

23/5/2012 23:40


Experience Interchange

เลือกประหยัดพลังงานกับ

การลดแรงดันเครื่องอัดอากาศ

การลดภาระดานคาใชจายดานพลังงานสําหรับสถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม ถือเปนเรื่องที่ ไมอาจมองขามได เพราะกวาครึ่งของ ตนทุนในการผลิต ตองเสียไปกับคาใชจา ยสวนนีอ้ ยางไมอาจจะหลีกเลีย่ งได การศึกษาและหาวิธีแกไขอยางตรงจุดในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ของอุปกรณตางๆ จึงเปนเรื่องจําเปน เพราะผลที่ ไดอาจคุมคากวาที่คาด ไวมาก เครื่องอัดอากาศ(แอรคอมเพรสเซอร) เปนอีกหนึ่งอุปกรณที่หากมี การศึ ก ษาและใช ง านอย า งเหมาะสม ย อ มส ง ผลต อ ค า ความประหยั ด พลังงานอยางแนนอน โดยทั่วไปเครื่องอัดอากาศออกแบบแรงดันสําหรับ ใชงานมาไมเทากันสวนใหญจะอยูระหวาง 7-10 บาร ในขณะที่อุปกรณ นิวแมติกสวนใหญออกแบบการใชงานที่แรงดัน 6 บาร ซึ่งการควบคุมแรง ดันใชงานในระบบสงจายลมอัดที่สูงเกินความจําเปนจะเปนการสิ้นเปลือง พลังงาน ดังนั้นหากทําการปรับลดแรงดันใหเหมาะสมก็สามารถที่จะ ประหยัดพลังงานไฟฟาลงได หากเครื่องอัดอากาศทีม่ ขี นาดใหญและใชงาน ตลอด 24 ชั่วโมง ก็ยิ่งจะประหยัดไดมากขึ้นดวย สําหรับการลดแรงดังเครื่องอัดอากาศตองขอขอบคุณวสันต ลิ้ม หลาย ผูอ า นทีก่ รุณาเขียนโปรแกรมชวยคํานวณเพื่อการประหยัดพลังงาน โดยจะเนนเฉพาะการประหยัดพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมเปนหลัก เพื่อ เปนประโยชนสาํ หรับผูท ีก่ าํ ลังมองหาวิธชี ว ยการประหยัดพลังงานดังกลาว และคุณวสันต จะไดรับรางวัลอานฟรี 3 เดือน ตามโครงการ “เขียน ดี อานฟรี 3 เดือน” ไปนอนอานสบายใจ รอรับของละครับ ตัวอยางการคํานวณดังนี้ - ชั่วโมงการทํางานของเครื่องอัดอากาศตลอดทั้งป h 8,000 hr (จากขอมูลการใชงาน) - เวลาในการเดินของเครื่องอัดใน 1 cycle หรือชวง Load T l 180 sec (จากการตรวจวัด) - เวลาในการหยุดของเครื่องอัดใน 1 cycle หรือชวง Unload T u 60 sec (จากการตรวจวัด) - คาคงที่ของอากาศ R 0.2871 kj/kg.k (ตามทฤษฎี) - คาคงที่ n 1.3 ไมมีหนวย (ตามทฤษฎี) - อุณหภูมิอากาศเขาเครื่องอัด T i 308 k (องศาเซลเซียส+273) - ความดันอากาศเขาเครื่องอัด P i 101.33 kpa (แรงดันบรรยากาศ) - ความดันอากาศออกจากเครื่องอัดกอนการปรับลด P o 8,500 kpa (จากการตรวจวัด) - ความดันอากาศออกจากเครื่องอัดหลังการปรับปรุง P on 6,500 kpa (ตามความเหมาะสม)

- พลังไฟฟาที่ ใชกับเครื่องอัดชวง Load E i 30 kw (จากการตรวจวัดจริง) - ราคาคาไฟฟาเฉลี่ยตอหนวย C e 3.6 baht/kw.h (จากบิลคาไฟฟา)

สูตรคํานวนพลังงานที่ใชในการอัดอากาศกอนการปรับลดแรงดัน W i = (n / (n-1)) x R x Ti x ((Po / Pi)ยกกําลัง (n-1 / n) - 1) = 4.33333 x 0.2871 x 308 x 1.77924 = 681.77 kj/kg สูตรคํานวนพลังงานที่ใชในการอัดอากาศหลังการปรับลดแรงดัน W in = (n / (n-1)) x R x Ti x ((Pon / Pi)ยกกําลัง (n-1 / n) - 1) = 4.33333 x 0.2871 x 308 x 1.61241 = 617.85 kj/kg สูตรคํานวนคิดเปนเปอรเซ็นตพลังงานในการอัดที่ลดลง W s = ((Wi - Win) / Wi) x 100 = ((618.77 - 617.85) / 681.77) x 100 = 9.38 % สูตรคํานวนพลังงานไฟฟาที่ใชในการอัดอากาศกอนการปรับลด แรงดัน E o = Ei x h x Tl / (Tl + Tu) = 30 x 8,000 x 180 / (180 + 60) = 180,000 kw.h/year สูตรคํานวนพลังงานไฟฟาที่ ใชในเครื่องอัดอากาศลดลง E s = Eo x (Ws / 100) = 180,000 x (9.38 / 100) = 16,884 kw.h/year สูตรคํานวนคาไฟฟาที่ประหยัดได C s = Es x Ce = 16,884 x 3.6 = 60,782 baht/year

106 l June 2012

Energy#43_p106_Pro3.indd 106

5/24/12 10:36 PM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.