นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 44 เดือนกรกฎาคม 2555

Page 1



Energy#44_p3_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/12

12:47 AM


Contents Issue 44 July 2012

26 High Light 14 Energy Focus : จับตาคาไฟฟาครัวเรือน ลดหรือเพิ่ม ภาระใหประชาชน 32 Energy Best Award : “รางวัลภาพถายและภาพยนตร เพือ่ รณรงคดา นพลังงาน” เพือ่ ปลูกจิตสํานึกเยาวชนสู การอนุรกั ษพลังงาน 46 Residential : สัมผัสเสนหก รีนรีสอรทที่ เดอะทองทรายเบย 67 Energy Tezh : Pedestrian Airbag ระบบความปลอดภัย ของคนเดินถนน 70 Energy Test Run : “ALMERA” Eco Car 4 ประตู ตัวโต เครื่องเล็ก ประหยัดจริง 83 Energy In Trend : “T.Sebifera” พืชพลังงานตัวใหม สกัดไบโอดีเซล 84 Energy Exhibit : Renewable Energy Asia 2012 and Thai Water 2012 91 Insight Energy : นํ้ามันลดราคา... แตอยาเพิ่มการใช

18

What’s Up 10 Energy News 64 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : สินเชื่อพลังงานป 55 รุกเต็มสูบ! 93 Special Scoop : ระบบเศรษฐกิจ..คารบอนตํ่า ในเวียดนาม 100 Special Report :“ราคาพลังงาน...ทําไมตองแพง” Interview 38 Energy Keyman : รศ. ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม ประธานกิตติมศักดิ์ สมาคมอุตสาหกรรม พลาสติกชีวภาพไทย : “ พลาสติกชีวภาพ คําตอบของการแกปญ  หาสิง่ แวดลอม” 41 Energy Keyman : คุณบุญพีร พันธวร ผูจัดการทั่วไปฝายประชาสัมพันธ บริษัท สยามกลการ จํากัด และเลขานุการ 38 โครงการ Think Earth : “ปลูกตนไมในจิตใจ ของคนไทยทัง้ ชาติ” 80 Energy Concept : คนไทย เจงสรางเครื่อง กัดรองลูกรีดอัตโนมัติ ดีกรีรางวัลสิ่งประดิษฐ ดีเดนสภาวิจัยแหงชาติ

Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 54 Greeenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทค และการรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : กสิกรไทยจับมือมูลนิธิคลินตัน สนับสนุน ผูประกอบการอนุรักษพลังงานระดับมาตรฐานสากล

41

46

4 l July 2012

Energy#44_p04-05_Pro3.indd 4

6/27/12 1:01 AM


68

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : นวัตกรรมของใบพัดประหยัดพลังงาน สําหรับ Cooling Tower & อุปกรณทําความเย็น 26 Green Industrial : อนุรกั ษพลังงานภายใตแนวคิด ....Green World 30 Saving Corner : เทคโนโลยีเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบใหความรอนกลับคืน 44 Energy Design : Butterfly Effect Small space / multiple use / big difference 48 Energy management : Energy Saving : ประหยัดไดจริง ทําอยางไร? Alternative Energy & Transportation 68 Vehicle Concept : EN-V 2.0 ปฏิวัติการขับขี่สูอนาคต 78 Green Logistics : การจัดซื้อจัดจางสีเขียวเพื่อสิ่งแวดลอม โดย. ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก 84 Renergy : บาหลี Green Power Asia โดย.คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข : ประธานกลุมบริษัท ราชาอิควิปเมนท จํากัด และประธาน กลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย Environment Protection 54 Green Vision : “เรี่ยวแรงเล็กๆ ตอชีวิตใหพะยูน” สุวรรณา เอี่ยมพิกุล 57 Green Space : TEA TREE Heart ชวนหนุมสาว หัวใจสีเขียว 60 Environment Alert : การผลิตที่ยั่งยืนกับความมั่นคงทางอาหาร โดย : คุณรัฐ เรืองโชติวทิ ย นักวิชาการสิง่ แวดลอมชํานาญการพิเศษ กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 62 0 Waste Idea : ปญหาวิกฤติขยะลนโลก … แรงขับเคลื่อนสูสังคม แหงการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหม โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอ าํ นวยการหนวยปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย

48

และการนํานํ้ากลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง เพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : 8 เทคนิคการประหยัดนํา้ มันในหนวยงานราชการ 89 Environment & Energy Legal : คืนภาษี “รถคันแรก” 102 Life Style : เกาะตะรุเตา ...กับการใชพลังงานแสงอาทิตย ที่คุมคา 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : พ.ร.บ.ปรองดองแหงชาติ...สูความ ไมปรองดอง 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : GM โชวศักยภาพศูนย การผลิต ลดการใชพลังงาน 24.43% ตอป

July 2012 l 5

Energy#44_p04-05_Pro3.indd 5

6/27/12 10:52 PM


Energy#44_p6-7_Pro3.ai

1

6/22/12

9:02 AM


Energy#44_p6-7_Pro3.ai

2

6/22/12

9:02 AM


Editors’ Talk ติดตามขาว”เหยื่อโรงไฟฟาชีวมวล” มาไดสักระยะ ดูแลวนาจะเปนปญหา ยืดเยื้อ เนื่องจากกม.ยังไมรัดกุมคุมครองไดทั่วถึง เพราะที่ผานมามีผูรองเรียน ถึงผลกระทบจํานวนมาก ชาวบานบอกวามีปญหาตั้งแตการ ซื้อที่ดินวาจะทํา โรงสีบาง รับซื้อขาวบาง ปลูกปาลมบาง กอนจะมาผุดโรงไฟฟาแทน และหลังจาก กอสรางเสร็จแลวก็ ไดกอมลพิษตอไปอีก โรงไฟฟาชีวมวลนั้นไดชื่อวาเปนพลังงานทางเลือกที่กําลังไปไดสวย ภาครั ฐ ให ก ารยอมรั บ และสนั บ สนุ น อย า งต อ เนื่ อ ง โดยหวั ง ว า เจ า โรงไฟฟ า ชนิดนีแ้ หละ จะมาชวยกูเ รือ่ งพลังงานของชาติได แตปจ จุบนั ปญหาก็เริม่ บานปลาย เมื่อหลักการบริหารจัดการมันไมถูกตองตามสุขลักษณะ นโยบายของโรงไฟฟาชีวมวลคือ เพื่อลดการใชพลังงานเชื้อเพลิง นํ้ามัน กาซธรรมชาติ หรือถานหิน โดยรัฐบาลหันมาสนับสนุนการใชเชื้อเพลิง จากกากหรือเศษวัสดุเหลือใชจากการเกษตร ที่มีอยูตามชนบทของประเทศไทย ทั้งแกลบ ฟางขาว ชานออย ใบและยอดออย เศษไม เสนใย และกะลาปาลม กากมันสําปะหลัง ซังขาวโพด กาบและกะลามะพราว สาเหลา ขยะมูลฝอย นํ้าเสีย จากโรงงาน หรือมูลสัตวตางๆ เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม อยูแลว จึงมีศักยภาพสูงในการผลิตวัตถุดิบ ในป 2544-2545 ประเทศไทยมีวัสดุเหลือใชจากการเกษตรทั้งสิ้น 48,293,260 ตัน สามารถผลิตกระแสไฟฟาได 9,630 เมกะวัตต โดยตัวโรงไฟฟา ชีวมวลมีขนาดไมใหญมาก มลพิษจากการเผาไหมนอยกวาโรงไฟฟาขนาดใหญ ดวยปญหาในการแปลงนโยบายไปสูการปฏิบัติ ทําใหโรงไฟฟาชีมวลที่เกิดขึ้น มีปญหาตามมา เชน กฎหมายกําหนดวา โรงไฟฟาชีวมวลที่มีกําลังการผลิต ตํ่ากวา 10 เมกะวัตต ไมตองทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) ซึ่งชองวางของกฎหมาย ทําใหเกิดปญหา เชน หากในพื้นที่หนึ่งๆ มี โรงไฟฟาชีวมวลติดๆ กัน ในแตละโรงมีขนาดไมถึง 10 เมกะวัตต แตก็สามารถ กอมลพิษ ฝุนดําไดเปนจํานวนมาก ซึ่ง ฝุนดํานี่ก็เปนฝุนที่มาจากโรงไฟฟาที่ มาจากการเผากองแกลบดําที่กองไว และกองแกลบที่กองเตรียมไวสําหรับเขาสู กระบวนการผลิต สรางความเดือดรอนใหชาวบานเปนอยางมาก รวมไปถึง การแยงชิงทรัพยากรโดยเฉพาะแหลงนํ้าจากชุมชน ปจจุบนั โครงการโรงไฟฟาชีวมวลทัง้ หมด 306 โครงการ ในจํานวนนัน้ 297 โครงการ ที่ ไมตองทํารายงานการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) ซึ่งก็มีการชงเรื่องกันวา ควรปรับขอกําหนดการจัดทําอีไอเอจากเดิมโรงไฟฟา ชีวมวลขนาดไมเกิน 10 เมกะวัตตที่ ไมตองทําอีไอเอ เปลี่ยนเปนตองทําอีไอเอตั้งแต 1 เมกะวัตต รวมถึงใหองคกรปกครองสวนทองถิน่ ควรปรับขอกําหนดใหโรงไฟฟา ชีวมวล เปนกิจกรรมที่เปนอันตราย ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุขดวย ทั้งเรื่องระยะหางที่กําหนดในระเบียบขอบังคับ โดยกําหนดวา โรงไฟฟาชีวมวล จะตองหางจากคอนโดมิเนียมหรือบานจัดสรรในระยะ 100 เมตร แตไมมีการ กําหนดระยะหางกรณีของชุมชน ซึ่งควรจะมีการกําหนดใหเปนมาตรฐานเพื่อ บังคับใชกอนพิจารณาอนุมัติโครงการดวย เรื่องนี้ยังเปนสิ่งที่เราจะเฝาติดตาม เมื่อไดขอสรุปเมื่อไหร คุณผูอาน จะไดอานฉบับเต็มกันอยางแนนอนคะ

คณะผูจัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

นิษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

การเงิน แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

กําพล ขาวบริสุทธิ์ วีรเมธ เหลาเราวิโรจน พลภัทร เศษชวย

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com 8 l July 2012

Energy#44_p08_Pro3.indd 8

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

6/27/12 1:06 AM


Energy#42_p17_Pro3.ai

1

4/23/12

9:09 PM


Energy News

วันสิ่งแวดลอมโลก ประจําป 2555

พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาศรีรศั มิ์ พระวรชายาในสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จไปทรงเปนประธานเปดงานเนื่องใน “วันสิง่ แวดลอมโลก ประจําป 2555” พรอมกันนี้ ทรงประทานรางวัลสตรีดเี ดนดาน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จํานวน 6 รางวัล และทรงทอดพระเนตรนิทรรศการ เนื่องในวันสิง่ แวดลอมโลก ประจําป 2555 ภายใตแนวคิด Green Economy : Does it include you? หรือ คุณ คือ พลัง สรางสรรคเศรษฐกิจ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ณ รอยัล พารากอน ฮอลล ศูนยการคาสยามพารากอน

โครงการใชถุงขยะพลาสติกชีวภาพ

สํ า นั ก งานนวั ต กรรมแห ง ชาติ (องค ก ารมหาชน) กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุ พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม องคการบริหารสวน ตําบลเพ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย และ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) รวมกันแถลงขาวโครงการ “การใชถุงขยะพลาสติกชีวภาพคัดแยกขยะ อินทรียเพื่อผลิตปุยอินทรีย ณ เกาะเสม็ด” และเดินทางไปเยี่ยมชมโรงงานผลิตปุย อินทรียจากขยะ ณ บอขยะรีไซเคิลเกาะเสม็ด

ธนาคารกรุงไทยและชิงหัวถงฟาง รวมลงนาม MOU

ธนาคารกรุงไทย โดย นายอภิศกั ดิ์ ตันติวรวงศ กรรมการผูจ ดั การใหญ และผูบ ริหารธนาคารกรุงไทย ไดทาํ พิธลี งนามบันทึกความเขาใจกับ บริษทั ชิงหัวถงฟาง โดยมี Mr.Zhang Yuxhou รองประธานบริษทั และ Mr. Liu Feng ผูบ ริหารบริษทั ฯ จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เขารวม พรอมดวย นายสมบัติ เลาหพงศชนะ และ นายมนตรี ธนภรรคภวิน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั โอสิค อินเตอรเนชัน่ แนล (ไทย) จํากัด ใหเกียรติรว มเปนสักขีพยาน โดยขอตกลงดังกลาวไดสนับสนุนโครงการอนุรกั ษ พลังงานในรูปแบบตางๆ 10 l July 2012

Energy#44_p10-13_Pro3.indd 10

6/30/12 12:47 AM


World Economic Forum ( WEF) on East Asia

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน ไดรบั เกียรติ จาก World Economic Forum ใหกลาวตอนรับคณะผูน าํ จากภาครัฐและภาคธุรกิจ ชั้นนําดานพลังงานของโลกที่ ไดเดินทางเขารวม การประชุม World Economic Forum (WEF) on East Asia ซึง่ การประชุมดังกลาว มีหวั ขอหลัก (Theme) คือ “Shaping the Region’s Future through Connectivity” โดยจัดขึ้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม – 1 มิถนุ ายน 2555 ณ โรงแรมแชงกรีลา กรุงเทพ

ปตท.-เนคเทค เปดระบบผลิตไฟฟาแสงอาทิตย

นางรัตนาวลี อินโอชานนท ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การใหญ สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) รวมกับ ดร.พันธศกั ดิ์ ศิรริ ชั ตพงษ ผูอ าํ นวยการศูนยเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) เปดระบบผลิตกระแสไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย ในโครงการพัฒนาและประเมินผล การผลิตไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย ณ ศูนยฝกอบรมวังนอย โดยมีวัตถุประสงค เพื่อทําการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตไฟฟาของเซลลแสงอาทิตยชนิดตางๆ รวมทัง้ ปจจัยที่สงผลตอประสิทธิภาพการใชงานของเซลลแสงอาทิตยในประเทศไทย

ยูนิเวนเจอร เปดตัว วิคเตอรคลับ ศูนยประชุมจัดเลี้ยง เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

นางสาวปยะวัลย สรอยนอย ผูอํานวยการ วิคเตอรคลับ @ ปารคเวนเชร อีโ คเพล็ ก ซ์ เป ด ตั ว วิ ค เตอร ค ลั บ @ ปาร ค เวนเชอร อี โ คเพล็ก ซ ชูจุขายเปน ศูนยประชุมสัมมนาที่ใสใจตอสิ่งแวดลอม และครบครับดวยระบบเทคโนโลยีการประชุมที่ ลํา้ สมัยทีส่ ดุ แหงหนึง่ ของเมืองไทย เพือ่ เพิม่ ศักยภาพใหแกโครงการโดยรวม ใหกา วสูก าร เปนศูนยกลางการประชุม สัมมนา ระดับเวิลดคลาสทีส่ มบูรณแบบทีส่ ดุ ใจกลางกรุงเทพฯ การเดินทางที่สะดวกสบาย สามารถเขาถึงไดโดยตรงจากสถานีรถไฟฟาเพลินจิต July 2012 l 11

Energy#44_p10-13_Pro3.indd 11

6/30/12 12:47 AM


อุตฯ –พลังงาน หนุนรูค า พลังงาน ตัง้ เปาผูน าํ กลุม อาเซียน

หมอมราชวงศพงษสวัสดิ์ สวัสดิวัตน รัฐมนตรีวาการกระทรวง อุตสาหกรรม เปนประธานเปดการสัมมนา เปดตัวโครงการการใชพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (Industrial Energy Efficiency :IEE) โดยมี Mr.Chin-Pen CHUA Representative and Director of Regional Office in Thailand ผูแทนจากองคการพัฒนาอุตสาหกรรมแหงสหประชาชาติ (UNIDO) กลาวตอนรับ และนายพสุ โลหารขุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กลาวรายงาน ณ หองวิภาวดีบอลรูม ซี โรงแรมเซ็นทาราแกรนด เซ็นทรัลพลาซา

ชินดเลอรเผยโฉมพอรต นวัตกรรมลิฟตลาํ้ สมัยประหยัด พลังงาน

นางสุวรรณา กองกาญจนะ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั จารดนี ชินดเลอร (ไทย) จํากัด ไดแถลงขาวเปดตัวนวัตกรรมระบบจัดการขนสงภายในอาคารใหม ลาสุด “พอรต” (Personal Occupant Requirement Terminal – PORT) ในประเทศไทย ซึง่ เปนระบบจัดการจราจรขึน้ ลงภายในอาคารดวยระบบทีต่ อบสนองความตองการ เฉพาะบุคคล และฟงกชนั่ ควบคุมการใชพลังงาน (Energy Control Option – ECO) ทีจ่ ะ ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานใหกับลิฟตโดยสาร โดยงานนี้จัดขึ้นที่ อาคารปารคเวนเชอร เพลินจิต

ธรรมศาสตร-สยามกลการ ปลูกไผ 80 สายพันธุว นั สิง่ แวดลอมโลก

รศ.ดร. สมชาย ชคตระการ รองอธิการบดีฝา ยบริหารทัว่ ไป ม.ธรรมศาสตร ศูนยรังสิตและ รองศาสตราจารยธัญพิสิษฐ พวงจิก หัวหนาภาควิชาเทคโนโลยี การเกษตร คณะวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ และประธานชมรมคนรักไผ และโครงการ Think Earth บริษัท สยามกลการ จํากัด โดย นายประเสริฐชัย พรประภา รองผูอํานวยการโครงการฯ นายวิเชียร สุขภุมรินทร กรรมการผูจัดการ บริษัท สยามคันทรีคลับพัทยา จํากัด รวมโครงการธนาคารไผ เฉลิมพระเกียรติฯ เพื่อสงเสริม และรณรงคใหมีการอนุรักษและพัฒนาพันธุไผกวา 80 สายพันธุที่มีอยู ในประเทศไทย พรอมปลูกฝงแนวคิดการอนุรกั ษธรรมชาติใหแกเยาวชนทีจ่ ะเปนแรงผลักดันในการอนุรกั ษ เนื่องในวันสิ่งแวดลอมโลก 12 l July 2012

Energy#44_p10-13_Pro3.indd 12

7/2/12 8:44 PM


ดาว เคมิคอล รวมกับ เอสซีจี เคมิคอลส สรางนักวิทยหัวใจรักษโลก

เมื่อๆ เร็วนี้ ณ SCG EXPERIENCE เลียบทางดวนรามอินทรา บริษัท ดาว เคมิคอล ประเทศไทย รวมกับ บริษัท เอสซีจี เคมิคอลส และ สมาคมวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหง ประเทศไทย (สวคท.) โดยการสนับสนุนของสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (สนช.) และสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จัดพิธีมอบรางวัลการประกวดโครงการ ความคิดริเริ่มทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน ประจําป 2555 ซึ่งจัด อยางตอเนือ่ งเปนปที่ 5 โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมใหเกิดนักวิจยั รุน ใหมๆ ทีส่ ามารถพัฒนาผลงาน ดานวิทยาศาสตรเคมีเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน และคํานึงถึงการประยุกตเทคโนโลยีเพื่อใหสามารถ ใชงานจริงและตอยอดในเชิงพาณิชยได

SMA ไดฤกษเปดสํานักงานขายพรอมเจาะตลาดในไทย

เมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ อาคารเอนเนอรยี่ คอมเพล็กซ ปตท. สํานักงานใหญ บริษัท เอสเอ็มเอ โซลาร (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตและจําหนายเทคโนโลยีแปลง กระแสไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยหรือ Solar Inverter ไดฤกษเปดสํานักงานขายใน กรุงเทพฯ พรอมเจาะตลาดกลุมบริษัทผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย และโรงงาน อุตสาหกรรมที่สนใจติดตั้งโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย พรอมบริการวางแผน โครงการพลังงานโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย เปดรับฝกอบรมพนักงานและ บริการหลากหลายครอบคลุมทุกเรื่องดาน Solar Cell

คิมเบอรลี่ย-คลาค มอบรางวัลแกองคกรสีเขียว

บริษัท คิมเบอรลี่ย-คลาค ประเทศไทย จํากัด โดย คิมเบอรลี่ย-คลาค โปรเฟสชันแนล ซึ่งไดจัดทําโครงการ “ลดการใชในวันนี้ เพื่อพรุงนี้ที่ดีกวา: Reduce Today Respect Tomorrow” ดวยการสรางผลิตภัณฑทิชชูที่มีผล กระทบตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด ไดจัดพิธีมอบใบประกาศเกียรติคุณใหกับองคกร ที่ ใหการสนับสนุนและเลือกใชผลิตภัณฑกระดาษทิชชูที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ที่สุด และงานเสวนาในหัวขอ “องคกรยั่งยืน รวมฟนคืนสิ่งแวดลอม” ณ โรงแรม อินเตอรคอนติเนนตัล July 2012 l 13

Energy#44_p10-13_Pro3.indd 13

6/30/12 12:48 AM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

จับตาคาไฟฟาครัวเรือน ลดหรือเพิ่มภาระใหประชาชน

ยังคงเปนที่จับตามองสําหรับเรื่องคาไฟฟา หลังจากเกิด เป น กระแสร อ งเรี ย นอย า งหนั ก จากภาคประชนชนถึ ง ข อ มู ล การ เก็บคาบริการมาจากอะไร ทําไมตองจายมากขึ้นหรือลดลง เพราะ ที่ผานมาประชาชนไดแตจายคาใชไฟฟาเพียงอยางเดียว เรียกเก็บ เทาไหรก็จําเปนตองจายเทานั้น รวมถึงคา Ft. ที่เรียกเก็บกันอยูทุก วันนั้น เก็บไปเพื่ออะไร ตองยอมรับวาประชาชนไมนอ ยยังไมเขาใจถึงคําวาคา Ft. เทาทีค่ วร อันทีจ่ ริง Ft. ก็คอื คาไฟฟาอัตโนมัติ หรือคาไฟฟาผันแปร จะมีการปรับเปลีย่ น เพิ่มขึ้นหรือลดลงตามการเปลี่ยนแปลงของตนทุนคาใชจายดานนํ้ามัน เชือ้ เพลิงและคาซือ้ ไฟฟาทีน่ อกเหนือการควบคุมของหนวยงานการไฟฟา ที่ผานมามีการปรับปรุงสูตร Ft. ใหความเหมาะสมกับสภาวการณ ของตนทุนการผลิตไฟฟาใหเหลือเฉพาะการเปลี่ยนแปลงของคาเชื้อเพลิง และคาซื้อไฟฟาเทานั้น ซึ่งสวนใหญจะเขาใจวาเรียกเก็บอยูในคาไฟฟาฐาน หรือเรียกเก็บเพิ่มเพื่อนํามาเปนกําไรใหกับการไฟฟา และคนที่แบกรับคา ใชจายดังกลาวคือประชาชน ซึ่งความคิดดังกลาวอาจเปนการเขาใจผิด ที่คลาดเคลื่อนกันมานาน โครงสรางคาไฟฟาที่ภาครัฐเรียกเก็บจากประชาชนจะแบงออกเปน 2 สวนคือ คาไฟฟาฐาน และคาไฟฟาผันแปร หรือ คา Ft. โดยคาไฟฟาฐาน จะเปนคาไฟฟาที่เปนรายจายของ กฟผ., กฟน., และ กฟภ. ซึ่งเปนการ

ลงทุนเพื่อรองรับความตองการในการใชไฟฟาในอนาคตของประเทศ ประกอบดวยรายจายของการไฟฟา 3 สวนหลัก ๆ คือตนทุนการเงินที่ ใช ในการกอสรางและขยายระบบผลิต ระบบสงและระบบจําหนายในอนาคต, ตนทุนในการดําเนินงาน และตนทุนคาเชื้อเพลิงและคาซื้อไฟฟา ที่ผานมา คาไฟฟาฐานการไฟฟาจะเรียกเก็บเฉลี่ยประมาณ 2.25 บาท/หนวย ตั้งแต ป 2543 แตปจจุบันคาไฟฟาฐานจะอยูที่ 3.1825 บาท/ หนวย

14 l July 2012

Energy#44_p14,16_Pro3.indd 14

6/27/12 10:21 PM


Energy#44_p15_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/12

12:54 AM


สวนที่สองคือคา Ft.อยางที่กลาวขางตนวาเปนคาที่สะทอนคา ใชจายเฉพาะในสวนของคาเชื้อเพลิง และคาซื้อไฟฟาที่เปลี่ยนแปลงเพิ่ม หรือลดจากคาใชจายมาตรฐาน โดยที่มีขั้นตอนจากอนุกรรมการกํากับ ดูแลอัตราคาพลังงาน และคาบริการพิจารณากลั่นกรองความถูกตอง ในการนําคาใชจายสวนที่เปลี่ยนแปลงมาคํานวณ ซึ่งเปนเพียงกลไก ในการปรั บ ราคาค า ไฟฟ า ให เ คลื่ อ นไหวไปตามค า ใช จ  า ยที่ อ ยู  น อก การควบคุ ม ของการไฟฟ า โดยการกํ า หนดโครงสร า งของค า ไฟฟ า เพื่อใชงานในระยะเวลา 3-4 ป คา Ft. จึงเปนตัวรองรับคาใชจายที่ผันแปร เพิ่มขึ้นหรือลดลงจากตัวเลขที่ ใชกําหนด ณ วันที่ประกาศอัตราคาไฟฟา ซึ่งการคิดอัตราคาไฟฟาจําเปนที่จะตองมีการคาดการณราคาเชื้อเพลิง ในระยะเวลา 3-4 ป ขางหนา หากคาดการณราคาเชื้อเพลิงไวสูงมาก ประชาชนจะเสียผล ประโยชนในการจายคาไฟฟาที่แพงขึ้น แตหากคาดการณราคาเชื้อเพลิงไว ตํ่าเกินไป การไฟฟาก็ขาดเงินรายได ที่จะนํามาสมทบการลงทุนเพื่อพัฒนา โครงการในอนาคต ทําใหเกิดปญหาไฟฟาขาดแคลน เนื่องจากตนทุน ในการผลิตกระแสไฟฟากวา 50% มาจากคาเชื้อเพลิงและคาซื้อไฟฟา เพราะฉะนัน้ สัดสวนชนิดเชือ้ เพลิงที่ใชในการผลิตไฟฟา จึงเปนปจจัยสําคัญ ที่จะสงผลกระทบตอราคาคาไฟฟา เพราะเชื้อเพลิงแตละชนิดก็มีราคา ที่แตกตางกันออกไป ดวยเหตุดังกลาว สิ่งที่ควรทําความเขาใจสําหรับประชาชน คือ เงินแตละบาท แตละสตางคที่จายเปนคาไฟฟานั้น ไมไดตั้งขึ้นมาลอยๆ โดยมีเหตุและผลแฝงอยูในคาใชจายดังกลาว สิ่งสําคัญก็เพื่อขับเคลื่อน ความมั่นคงดานพลังงานใหกับประเทศ ตามแผนพลังงานทดแทน ป 2552-2564 ประเทศไทยมีการ ตั้งเปาสวยหรูถึงสัดสวนพลังงานทดแทนที่ 9,200 เมกะวัตต ซึ่งจะทําให คา Ft.เพิ่มขึ้น แมวาจะเพิ่มขึ้นแตใชวาจะเปนเรื่องที่ ไมดีอยางที่หลายคน เขาใจ ซึ่งในระยะยาวจะเปนประโยชนมากกวาโทษอยางแนนอน เพราะ ประเทศไทยจะมี ก ารพึ่ ง พาเชื้ อ เพลิ ง ในประเทศมากขึ้ น และช ว ยลดการ นําเขาเชื้อเพลิงจากตางประเทศที่มีราคาแพงนั้นเอง จากสถานการณ ที่ ผ  า นมา ส ง ผลให ค ณะกรรมการกํ า กั บ กิจการพลังงาน(กกพ.) เตรียมปรับคา Ft.ประมาณเดือนละ 8 สตางค/ หนวย ตั้งแตเดือนกันยายน 2555 เปนตนไป แตก็เปนที่จับตาเนื่องจาก ตนทุนราคากาซธรรมชาติที่ ใชในการผลิตไฟฟามีการปรับลดลงตามราคา นํ้ามันในตลาดโลก และยังมีเงินชดเชยจากบริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) ที่ จ ะต อ งจ า ยคื น กรณี เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ท  อ ส ง ก า ซแหล ง ปลาทอง จํ า นวน 2,400 ลานบาท ทําใหการชดเชยคา Ft.อาจลดลงเหลือ 5 สตางค/ หนวย ก็เปนได แตก็ยังตองทยอยคืนเงินใหกับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ที่ รั บ ภาระตรึ ง ค า Ft. มาตั้ ง แต เ ดื อ นมกราคม-พฤษภาคม เนื่องจากประเทศกําลังอยูในชวงฟนตัวจากภัยธรรมชาติและปจจัยอื่นๆ ประมาณ 14,000 ลานบาท เมื่อการเรียกเก็บเปนไปตามแผน ภาระหนี้ ดังกลาวจะหมดลงในป 2556 สงผลให กฟผ.สามารถนําเงินไปใชในการ ลงทุนไดตามแผนที่วางไว ทั้งนี้ คา Ft.ที่จะเพิ่มขึ้นตองพิจารณาตนทุน เชื้อเพลิงกาซธรรมชาติที่ ใชในการผลิตไฟฟา อัตราแลกเปลี่ยน รวมทั้ง

การใชไฟฟาของประชาชนในชวงนั้นประกอบดวยเสียกอน อาจทําให คาไฟฟายังไมสามารถปรับขึ้นหรือลดลงได ตองติดตามดูสถานการณ ราคานํ้ามันในตลาดโลก กอนพิจารณาคา Ft. อีกครั้ง สวนโครงสรางคาไฟฟาฐานใหม ตามมติ ครม. ที่คาดวาจะแลว เสร็จกลางป 2556 อาจสงผลใหคาไฟฟาฐานปรับลดลงไดจากปจจุบัน เนื่ อ งจากจะมี ก ารทบทวนค า บริ ก ารในการจดหน ว ยจํ า หน า ยเพื่ อ เก็ บ บิลคาไฟจากประชาชน ซึ่งมีการคํานวณรวมอยู ในคาไฟฟาฐานที่อัตรา 38.22 บาท/เดือน ประเด็นที่นาสนใจอยูที่ปจจุบันผูใชไฟฟามีการจายบิล คาไฟผานเคานเตอรเซอรวิสที่มีการเก็บคาบริการเพิ่มเติมอีกประมาณ 10-15 บาท ที่ผานมามีเสียงรองเรียนวาเปนคาใชจายซํ้าซอน ซึ่ง กกพ. จะมีการติดตามและทําหนังสือไปยัง การไฟฟาสวนภูมิภาค และการไฟฟา นครหลวง ใหพิจารณาปรับลดคาบริการดังกลาวลง รวมทั้งจะตองมี การจายคืนยอนหลัง เพราะเงินสวนเกินดังกลาวสามารถนําไปใชลดคา Ft.ใหประชาชนไดในอนาคต

รวมถึงมาตรการใชไฟฟาฟรีไมเกิน 90 หนวย ที่จะมีการปรับ ลดลงมาเหลือ 50 หนวย ซึ่งจะมีผลในรอบบิลคาไฟฟาสิ้นเดือนมิถุนายน จะชวยลดภาระการอุดหนุนจาก 12,000 ลานบาท/ป ลงเหลือ 3,000 ลานบาท/ป โดยจํานวนครัวเรือนที่ ไดรับสิทธิ์จากโครงการนี้ จะลดลงจาก 7 ลานครัวเรือน เหลือ 5 ลานครัวเรือน ก็เปรียบเสมือนขาวดีสําหรับ ผูใชไฟฟาตอราคาคาไฟในอนาคต งานนี้ “โหรพลังงาน” ก็ ไมอาจดีใจไดซะทีเดียววาคาไฟฟาจะลดลง เพราะถามีการพิจารณายืดอายุโรงไฟฟาและสายสง เพื่อใหสอดคลองกับ ขอเท็จจริง โดยพิจารณาการใชไฟฟาสูงสุด หรือ จุดพีค วาจะเพิ่มขึ้น มากนอยเพียงใด หากมีปริมาณเพิ่มขึ้นจากที่ผานมา จําเปนตองหาแหลง พลั ง งานเพิ่ ม ไม ว  า จะเป น การสร า งโรงไฟฟ า เพื่ อ รองรั บ หรื อ วิ ธี ใ ด ก็ตาม แนนนอนวาจะสะทอนใหคาไฟฟาฐานไมสามารถปรับลงได รวมทั้ง การปรั บ สู ต รการคํ า นวณค า ไฟฟ า โดยนํ า การซื้ อ ไฟเข า ไปรวมในการ คํานวณคาไฟฟาฐาน เพื่อใหคา Ft.สะทอนตนทุนคาเชื้อเพลิงอยางแทจริง การปรับสูตรโครงสรางราคากาซธรรมชาติ จากปจจุบันอางอิงราคา นํ้ามันเตา เปนการคํานวณตามตนทุนที่แทจริง ซึ่งการปรับโครงสราง ดังกลาวจะอยูภายใตการควบคุมของ พ.ร.บ.ปโตรเลียม ซึ่งแนนอนวา หากเปนเชนนั้น คงเปนเรื่องยากที่คาไฟฟาจะลดลงลงได

16 l July 2012

Energy#44_p14,16_Pro3.indd 16

6/27/12 10:22 PM


Energy#44_p17_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/22/12

1:05 AM


Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

สินเชื่อพลังงานป 55 รุกเต็มสูบ!

สินเชื่อพลังงานในป 2555 นี้ดูจะคึกคักมากเปนพิเศษโดย เฉพาะในสวนของสถาบันการเงินที่เดินหนารุกสินเชื่อพลังงานกัน เต็มที่ โดยตางใหความเชื่อมั่นตอธุรกิจพลังงานที่จะเติบโตในอนาคต และในครึ่งปแรกแตละธนาคารตางก็ ไดมีการการอนุมัติสินเชื่อดาน พลังงานไปแลวในหลายโครงการที่ผานมา

เราลองมาดู ค วามเคลื่ อ นไหวในแวดวง สินเชื่อพลังงานที่ผานมาในครึ่งปแรก รวมถึง แนวโน ม ในครึ่ ง ป ห ลั ง ของแต ล ะธนาคารว า จะ ไปในทิศทางใด และปดทายดวยสินเชื่อพลังงาน ที่นาสนใจในปนี้กัน

18 l July 2012

Energy#44_p18-23_Pro3.indd 18

6/27/12 10:31 PM


กสิกรไทยลั่นเบอร 1 สินเชื่อพลังงาน

สําหรับ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) ที่ ในครึ่งปแรกไดมีการ ปลอยสินเชือ่ ใหกบั โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยและโครงการดานพลังงาน ทดแทนอืน่ ๆ ไปหลายโครงการ ก็ ไดตงั้ เปากาวขึน้ เปนธนาคารอันดับ 1 ดาน ธุรกิจพลังงานและพลังงานทดแทน โดยตั้งเปาครองสวนแบงตลาดธุรกิจ พลังงานทดแทนในประเทศที่ 80% และในชวงครึ่งปหลัง ธนาคารกสิกร ไทยไดมีแผนเปนแกนนําในการปลอยสินเชื่อรวมใหกับโครงการพลังงาน ทดแทนรวม 50 โครงการ คิดเปน 491 เมกะวัตต คิดเปนมูลคาโครงการ กวา 40,000 ลานบาท ทั้งในปจจุบันธนาคารไดสนับสนุนสินเชื่อพลังงาน ทดแทนไปแลว 335 เมกะวัตต วงเงินสินเชื่อ 19,000 ลานบาท แบงเปน พลังงานโซลารเซลล 128 เมกะวัตต และพลังงานลม 208 เมกะวัตต อยางไรก็ตามปจจุบัน ธนาคารกสิกรไทยมีสัดสวนการใหกูแกธุรกิจ พลังงานประมาณ 11% จากยอดเงินสินเชื่อรวมของธุรกิจขนาดใหญ

สินเชื่อรับประกันการประหยัดพลังงาน

นอกจากนี้ ยั ง มี โปรแกรมสิ น เชื่ อ รั บ ประกั น การประหยั ด พลังงานกสิกรไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ซึ่ง เปนโปรแกรมสินเชือ่ ทีธ่ นาคารใหแก ผูป ระกอบการในรูปของสินเชือ่ ลีสซิง่ / เชาซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ และ/หรือ เงินกูระยะยาว โดยมีวัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการลงทุนในโครงการจัดการดานพลังงานใหมีประสิทธิภาพ

ผานการใชบริการจาก “บริษทั จัดการดานพลังงาน” (Energy Service Company - ESCO) ซึง่ เปนบริษทั ทีป่ รึกษาและบริหารจัดการดานพลังงาน อยางครบวงจร และมีการรับประกันผลการประหยัดพลังงานที่ ไดจาก การลงทุนในโครงการดังกลาว ซึ่งทําใหผูประกอบการมั่นใจไดวาผลการ ประหยัดพลังงานที่ ไดจากการลงทุนในโครงการจะเปนแหลงที่มาหลักของ การชําระคืนเงินกูของลูกคา (Self-Financing Project) โดยธนาคารกสิกรไทยจะใหการสนับสนุนดานการเงินแกลูกคาที่ เขารวมโครงการรับประกันการประหยัดพลังงาน ดวยโปรแกรมสินเชื่อ รับประกันการประหยัดพลังงานกสิกรไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ที่ ใ ห ว งเงิ น สิ น เชื่ อ สู ง สุ ด 100% ของเงิ น ลงทุ น ทั้ ง หมด ของโครงการ ระยะเวลาผอนชําระ 7 ป คิดอัตราดอกเบี้ยพิเศษ 0% ใน 6 เดือนแรก และอัตราดอกเบี้ย MLR-1% ในเดือนที่ 7-18 หลังจากนั้น จะคิดอัตราดอกเบี้ยตามเกณฑปกติของธนาคาร ทั้งนี้ ธนาคาร คาดวาจะ สามารถใหการสนับสนุนสินเชื่อรับประกันการประหยัดพลังงานกสิกรไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ในโครงการดังกลาวประมาณ 3,000 ลานบาท

LH Bank ปรับแผนรุกปลอยกูร ายใหญ เนนกลุม ธุรกิจพลังงาน ในสวนของธนาคารนอยใหมอยาง ธนาคารแลนด แอนด เฮาส จํากัด (มหาชน) หรือ LH Bank เปดเผยวาใน ชวง 5 เดือน ที่ผานมา

July 2012 l 19

Energy#44_p18-23_Pro3.indd 19

6/27/12 1:23 AM


สินเชื่อของธนาคารเติบโตไปแลวกวา 10% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปกอน จากเปาทั้งปที่ตั้งไว 25% ซึ่งเปนการเติบโตจากกลุมลูกคาราย ยอยเปนหลัก ซึ่งหลังจากธนาคารยกระดับจากธนาคารเพื่อรายยอยเปน ธนาคารพาณิชยเต็มรูปแบบ ก็ ไดมีการปรับสัดสวนสินเชื่อรายยอยลงให เหลือ 50% สวนที่เหลือจะหันไปเนนสินเชื่อรายใหญมากขึ้น โดยในชวงครึ่ง ปหลังธนาคารจะเนนไปที่สินเชื่อเพื่อผูประกอบการ โดยเฉพาะการปลอย กูรวม (SyndicatedLoun) ใหกับกลุมธุรกิจพลังงาน โครงสรางพื้นฐาน และอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน ซึ่งธุรกิจดังกลาวมีการขยายตัวสูง

กรุงไทยมั่นใจเดินหนาสนับสนุนโครงการพลังงาน

ในชวง 5 เดือนแรกนั้น ธนาคารกรุงไทย ไดปลอยสินเชื่อ SME ไปแลวกวา 35,000 ลานบาท พรอมกันนี้ยังเดินหนาสนับสนุนผูประกอบ การลงทุนในโครงการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยธนาคารได สนับสนุนสินเชือ่ ใหกบั ผูป ระกอบการอยางตอเนือ่ ง อาทิ สินเชือ่ KTB Green Loan สินเชื่อ KTB Energy Saving และโครงการเงินกูเพื่อสิ่งแวดลอม ซึ่ง ธนาคารเปนธนาคารเดียวที่ ไดรบั แตงตัง้ จากกองทุนสิง่ แวดลอม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนผูจัดการกองทุนเงินกู และลาสุด ธนาคารกรุงไทยไดขยายความรวมมือดานการประหยัด พลังงาน กับ บริษทั ชิงหัวถงฟาง ซึง่ เปนผูน าํ ดานนวัตกรรมวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีของประเทศจีน และไดรับการจัดอันดับเปน Top 100

Scientific and Technological Enterprises of China,Top 100 Chinese Enterprises in Electronic Information และ Top 500 World Brands โดยบริษัทจะศึกษา และพัฒนากระบวนการประหยัดพลังงานภายในอาคาร สํานักงานใหญ และสาขาทั่วประเทศของธนาคาร เพื่อเปนกรณีตัวอยาง และจะขยายผลความรวมมือ เพื่อพัฒนาโครงการประหยัดพลังงานใน ประเทศไทย โดยธนาคารพรอมใหการสนับสนุนสินเชื่อ KTB Green Loan แกลูกคาของบริษัทชิงหัวถงฟาง ผูประกอบการที่เปนลูกคา SME รวม ทั้งลูกคาทั่วไป

20 l July 2012

Energy#44_p18-23_Pro3.indd 20

6/27/12 1:23 AM


ความคืบหนาโครงการบัตรเครดิตพลังงาน

มาถึงความคืบหนา โครงการบัตรเครดิตพลังงาน NGV ที่ทาง ทาง กระทรวงพลังงาน ไดมอบหมายให บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) เปน ผูด าํ เนินโครงการฯ และ ธนาคารกรุงไทย เปนผูอ อกบัตรเครดิตพลังงงาน งาน บจาง NGV โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อชวยเหลือกลุมผูประกอบอาชีพรถรับจ สาธารณะจากภาวะเงินเฟอ และบรรเทาภาระคาใชจา ยจากราคาเชือ้ เพลิลิงที่ จะปรับตัวสูงขึ้น ซึ่งกลุมเปาหมายของโครงการฯ คือ กลุมผูขับขี่รถแท็ท็กซี่ พลิง รถสามลอตุกตุก และรถตูโดยสารรวม ขสมก. ที่ ใชกาซ NGVเปนเชื้อเพลิ ในพื้นที่เขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จํานวนประมาณ 65,000 คัน และมี จํานวนผูขับขี่รถสาธารณะประมาณ 130,000 คน ากผู ซึ่งขณะนี้ โครงการบัตรเครดิตพลังงานไดรับการตอบรับจากผู ขับขี่ รถรับจางสาธารณะดวยดี โดยปจจุบันมียอดผูสมัครบัตรเครดิตตทัทั้ง สิ้น 35,618 ราย และไดรับการอนุมัติแลว 27,286 ราย มียอดการใชบับัตร บรับ เครดิตจํานวนกวา 6.7 ลานบาท ซึ่งถือเปนสัญญาณที่ดีในการตอบรั จากกลุมผูขับขี่รถโดยสารสาธารณะ และแมโครงการนี้จะประสบกับปญหาหนี้เสียที่ผูถือบัตรไมไดชชํ​ําระ หนี้ตามกําหนดเวลา จนเกิดคําถามขึ้นวาทางกระทรวงพลังงานจะทําาการ การ ลาย ยกเลิกบัตรเครดิตพลังงานนี้หรือไม แตหลังจากการประชุมรวมหลาย ฝาย ทางกระทรวงพลังงานก็ออกมายืนยันวาจะยังคงเดินหนาโครงการ บัตรเครดิตพลังงานตอไป โดยเรงพัฒนาปรับปรุงระบบการชําระเงินและ สิทธิประโยชนใหกับผูถือบัตรเครดิตพลังงาน เพื่อใหผูที่มีเครดิตดีชําระหนี้ ในระยะเวลาที่กําหนดไดรับประโยชนที่เพิ่มขึ้นอีกหลายดาน ในอนาคต และ พิจารณาถึงการปรับปรุงลดขั้นตอนในการใหบริการเติมกาซฯดวยบัตร เครดิตใหมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

ธนชาติ สินเชือ่ เพือ่ อนุรกั ษพลังงานและพลังงานทดแทน

ธนาคารธนชาติ จํากัด (มหาชน) เปนอีกหนึ่งธนาคารที่รวม โครงการ “สิ น เชื่ อ เพื่ อ อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและพลั ง งานทดแทน” (Energy Efficiency & Renewable Energy Loan) ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่ อ ช ว ยส ง เสริ ม และผลั ก ดั น ให เ กิ ด การ กระตุนการปลอยสินเชื่อดานการอนุรักษ

พลังงาน และพลังงานทดแทนในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมอยางเปน รูปธรรม โดยวัตถุประสงคของสินเชื่อนี้ก็เพื่อเปนเงินลงทุนในการปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิต เปลี่ยนแปลงเครื่องจักร หรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณที่ สามารถประหยัดการใชพลังงานได เพือ่ การลงทุนในการประหยัดพลังงาน ทุกรูปแบบ เพื่อพัฒนาพลังงานทดแทน เพื่อสนับสนุนผลิตภัณฑที่ลดกาซ Carbon ติดฉลาก Carbon Foot Print หรือ ฉลากที่รับรองการลดมลพิษ เพื่อการบริหารจัดการของเสีย และเพื่อทดแทนสารเคมีดวย ระบบชีวภาพ

July 2012 l 21

Energy#44_p18-23_Pro3.indd 21

6/27/12 10:35 PM


สินเชื่อเพื่ออนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน มีวงเงินอนุมัติ สินเชื่อสูงสุดไมเกิน 50 ลานบาท/โครงการ มีระยะเวลาเงินกูไมเกิน 7 ป สามารถขอปลอดชําระเงินตน (Grace Period) ไดสงู สุด 1 ป อัตราดอกเบีย้ ตํ่ากวาอัตราดอกเบี้ยของลูกคาชั้นดี (MLR) ของธนาคารธนชาติ ระยะ เวลาโครงการสิ้นสุด 1 สิงหาคม 2555

โครงการสงเสริมประสิทธิภาพพลังงานภาคอาคารธุรกิจและ ภาคอุตสาหกรรม ในพืน้ ทีป่ ระสบอุทกภัย

เพื่ อ เป น การเร ง ฟ  น ฟู เ ยี ย วยาผู  ป ระกอบการภาคอุ ต สาหกรรม ภาคธุรกิจ และภาคเกษตรกรรม ที่ตองแบกรับภาระหนักในการปรับปรุง ซอมแซมและจัดหาเครื่องจักร วัสดุอุปกรณเพื่อทดแทนของเดิมซึ่งเสีย หายจากอุทกภัยที่มิอาจหลีกเลี่ยงได กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จึงไดริเริ่ม โครงการสง เสริมประสิทธิภาพพลังงานภาคอาคารธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม ในพื้นที่ประสบอุทกภัย โดยพรอมจะสนับสนุนเงินลงทุนรอยละ 30 และ สูงสุดไมเกิน 1 ลานบาทตอราย ในการสงเสริมใหเกิดการปรับเปลี่ยน เครื่องจักร วัสดุ อุปกรณในสถานประกอบการใหเปนเครื่องจักร วัสดุ อุปกรณประสิทธิภาพสูง

ทั้งนี้ พพ. ไดเตรียมวงเงินสนับสนุนจํานวนไว 2,000 ลานบาท โดยจะเข า ช ว ยเหลื อ กลุ  ม เป า หมายเป น โรงงานอุ ต สาหกรรม อาคาร ธุรกิจ และผูประกอบการภาคเกษตรกรรมที่ ไดรับผลกระทบจากอุทกภัย ทัว่ ประเทศในป 2554 โดยจากขอมูลในภาพรวมของกระทรวงอุตสาหกรรม มีโรงงานอุตสาหกรรมที่ประสบอุทกภัยทั้งสิ้น 8,252 โรงงาน อยูในนิคม อุตสาหกรรม 888 แหง ซึ่งจากโครงการนี้ พพ.คาดวาจะสามารถชวย เหลือรวมฟนฟูโรงงาน, อาคารและภาคเกษตรกรรมที่ประสบอุทกภัย ไดประมาณ 3,000 แหง และคาดวาสามารถลดการใชพลังงานไดประมาณ 2,300 ลานบาทตอป โดยสถานประกอบการ หรื อ ผู  ป ระกอบการที่ ส นใจ จะเข า ร ว ม โครงการเพื่อรับเงินสนับสนุน สามารถติดตอสมัครไดที่มหาวิทยาลัย 3 แหงที่ พพ. ไดมอบหมายใหเปนผูรับผิดชอบดําเนินโครงการ ไดแก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต, สถานจัดการและอนุรักษ พลังงาน มหาวิทยาลัยขอนแกน และ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

กลุม ธนาคารโลก (IFC) ปลอยกองทุน Clean Technology Fund (CTF)

กองทุน Clean Technology Fund (CTF) เปนกองทุน multi-donor จัดการโดย ธนาคารโลก (World Bank) อิงกฎ UNFCCC ใหเฉพาะ โครงการที่ชวยรักษาสิ่งแวดลอมและภูมิอากาศ โดยกองทุน CTF นั้นเปน กองทุ น ที่ ส นั บ สนุ น ด า นการเงิ น ในรู ป เงิ น กู  อั ต ราดอกเบี้ ย ตํ่ า สํ า หรั บ โครงการที่ชวยในการลดระดับการปลอยกาซเรือนกระจก โดยรวมกับ ธนาคารเพื่อการพัฒนาระดับภูมิภาคตางๆ ทั้งนี้ เพื่อมุงเนนสงเสริมการ ลงทุนที่ชวยลดและแกไขปญหาสิ่งแวดลอมของภาครัฐและภาคเอกชน

22 l July 2012

Energy#44_p18-23_Pro3.indd 22

6/27/12 1:24 AM


CIMB ตัง้ เปาป55 เล็งบุกตลาดกลุม ธุรกิจพลังงาน

ทั้งนี้ ประเทศไทยจะตองจัดทําแผนการลงทุน (Investment Plan) เพื่อเสนอขอรับการสนับสนุนทางการเงินจากกองทุน CTF โดยโครงการที่ ขอรับการสนับสนุนจากกองทุน CTF จะตองมีความสอดคลองกับแผนการ พัฒนาของประเทศ ในเบื้องตนคาดวากองทุน CTF มีวงเงินสนับสนุนใหแก ประเทศไทยประมาณ 300 ลานเหรียญสหรัฐ โดยเปนการสนับสนุนทางการ เงินในรูปแบบผสมระหวางเงื่อนไขของกองทุน CTF ที่ ใหเงินกูแบบไมมี ดอกเบี้ยแตมีคาธรรมเนียม และเงื่อนไขเงินกูทั่วไปของธนาคารโลก ซึ่งจะ ทําใหมีตนทุนในการกูเงินที่ตํ่า นอกจากนี้ ยังมีความชวยเหลือทางวิชาการ จากธนาคารโลกเพื่อจัดเตรียมโครงการและแผนการลงทุนดวย

โครงการสงเสริมและวัสดุอปุ กรณเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ได ดําเนิน โครงการสงเสริมและวัสดุอุปกรณเพื่อการอนุรักษพลังงาน เพื่อเปนการสงเสริมสนับสนุนและกระตุนใหเกิดการใชเครื่องจักร วัสดุ และ อุปกรณที่มีผลตอการประหยัดพลังงาน ใหกับกลุมโรงงานอุตสาหกรรม อาคารธุรกิจ และภาคเกษตร โดย พพ. จะใหการสนับสนุนเงินทุนรอย ละ 20 สูงสุดไมเกิน 3 ลานบาทตอราย และตํ่าสุด 50,000 บาทตอราย โดยผลการดําเนินการโครงการ ฯ ดังกลาว จนถึงปจจุบันนับเปนที่ นาพอใจ โดยการสนับสนุนใหเกิดการใชเครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณที่กอ ใหเกิดผลการประหยัดพลังงานตามโครงการ ไดมีสถานประกอบการตางๆ ในแตละภาคสวน ไดขอเขารวมโครงการมากถึง 269 โครงการ และปจจุบัน มีจํานวนสถานประกอบการที่ ไดรับการอนุมัติโครงการแลว 231 แหง และ มีมาตรการลดใชพลังงานแตละโครงการสูงถึง 315 มาตรการ โดยพบวา เกิดผลประหยัดพลังงานรวมทั้งสิ้น 353 ลานบาทตอป แบงเปนผลการ ประหยัดไฟฟา 277 ลานบาทตอป หรือประมาณ 19 เมกะวัตตตอป และ ลดการนําเขานํ้ามันได 3.9 ลานลิตรตอป หรือประมาณ 76 ลานบาทตอป

CIMB เปดเผยวา ในป 2555 ธนาคารตั้งเปาหมายสินเชื่อรวม เติบโตมากวา 30 % หรือคิดเปนมูลคากวา 4 หมื่นลานบาท ซึ่งในปนี้ ธนาคารมีแผนที่จะรุกเขาไปในธุรกิจพลังงานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเปนผลมาจาก ที่ผานมาธนาคารมีฐานลูกคาเดิมในโครงการที่เกี่ยวของกับกิจการดาน พลังงาน โดยเปนลูกคาที่ ไดที่การสงเสริมจากกระทรวงพลังงาน โดยที่ ผานมาธนาคารมีการปลอยสินเชือ่ ในโครงการดังกลาวอยูท ี่ 1-1.5 พันลาน บาท และสินเชือ่ โครงการพลังงานอืน่ ๆทีเ่ กีย่ วของกับกระทรวงพลังงานอีก ประมาณ 2-3 พันลานบาท จึงทําใหธนาคารมีความพรอมและศักยภาพดาน พนักงานที่มีความรูเกี่ยวกับพลังงาน ทั้งนี้ ธนาคารอยูระหวางเจรจากับ ลูกคาเพื่อสนับสนุนสินเชื่อในการสรางโรงไฟฟาขนาดใหญ 2 ราย เปน มูลคารายละ 3-5 พันลานบาท ซึง่ คาดวาภายในไตรมาส 2/55 จะไดขอ สรุป อยางนอย 1 ราย ซึ่งจะทําใหสินเชื่อพลังงานของธนาคารในปนี้มี อัตรา การเติบโตไดที่ 5-6%ของพอรตได นอกจากนี้ยังมีการเจรจาสนับสนุนสิน เชื่อในโครงการโรงไฟฟาขนาดเล็กอีกหลายราย ลาสุด ธนาคารปลอยสินเชื่อวงเงิน 200 ลานบาทใหกับ บริษัท แมสะเรียง โซลาร จํากัด เพื่อใชลงทุนสรางโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย 360 ลานบาท กําลังผลิต 3 เมกะวัตต ตั้งอยู อ.แมสะเรียง จ.แมฮองสอน กําหนดจายไฟฟาใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.)ชวงปลายเดือน ก.พ.-ตน เดือน มี.ค.ราว 2 เมกะวัตต และจะจายไฟฟาครบ 3 เมกะวัตตภายในไตรมาส 2/55 คาดใชเวลาคืนทุนภายใน 7 ป ภายใตคา Adder ที่ 8 บาท/หนวย

สินเชือ่ บัวหลวงประหยัดพลังงาน

ธนาคารกรุงเทพ ยังคงเดินหนาสําหรับสินเชื่อใหมเพื่อสนับสนุนผู ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมลงทุนเพื่อประหยัดพลังงาน และลดตนทุน สําหรับผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมที่ ตองการลดตนทุนการผลิตดานพลังงาน ดวย สินเชื่อบัวหลวงประหยัด พลังงาน อัตราดอกเบี้ยตํ่า เพื่อการลงทุนสําหรับปรับปรุงอุปกรณและ เครือ่ งจักรในโรงงานตลอดจนการปรับสภาพทางกายภาพของกิจการเพือ่ ประโยชนในการประหยัดพลังงาน หรือนําผลิตผลทางการเกษตรหรือวัสดุ เหลือใชหรือนํ้าทิ้งมาใชเพื่อมาผลิตพลังงานทดแทนนํ้ามัน ทานสามารถ ขอกูในวงเงินจํานวนตั้งแต 1 ลานบาทขึ้นไปโดยไมจํากัดวงเงินกูสูงสุด ระยะเวลาผอนชําระ 3-7 ป เดินหนารุกเต็มสูบขนาดนี้ เชื่อแนวา เพราะ ดีมานด สูง ขึ้น ซั พ พลายก็ พ ร อ มสนั บ สนุ น แลวธุรกิจดานพลังงานจะไมพุง ไปไดอยางไร สวนทานที่ลังเลเพราะ ติดปญหาเรื่องเงินทุนคงจะไดทราบกันแลววา มี โ ครงการและสถาบั น การเงิ น ที่ ไหนเป ด แขน ตอนรับ... ไดเวลาลุยแลว!! JJuly uly 22012 l 23

Energy#44_p18-23_Pro3.indd 23

6/27/12 10:39 PM


Tools & Machine โดย : ณ อรัญ

นวัตกรรมของใบพัดประหยัดพลังงาน

สําหรับ Cooling Tower & อุปกรณทําความเย็น

อยางไรก็ตามหากเปรียบเทียบนํ้าหนักกับใบพัดดั้งเดิมที่ผลิตดวย โลหะ Aluminium ใบพัดใหมทผี่ ลิตจาก Fiberglass ผสม Epoxy จะมีนาํ้ หนัก เบากวาประมาณ 2.5 เทา โดยใบพัดของหอหลอเย็นขนาดใหญ จะติดตัง้ อยู บน Gear Box สงผลใหนํ้าหนักที่ load ลงบน Gear Box ลดลงไปดวยทําให Bearing ทํางานดวย load นอยลง มีอายุการทํางานนานขึ้น ซึ่งจากผลการติดตั้งใบพัดประหยัดพลังงาน “ENCON” Energy Saving Fans แลววัดคาการใชพลังงาน โดยเฉลีย่ จะชวยใหสามารถลดการ ใชพลังงานลงประมาณ 25 - 30% เลยทีเดียวครับ

คาไฟฟาสวนใหญแลวจะเกิดจากการใชพลังงานของแอร และระบบ ไฟฟาแสงสวาง คาไฟฟาที่เกิดจากโหลดประเภทมอเตอรปม ลิฟต โดย เฉพาะบริเวณสวนกลางที่ทุกคนใชงานรวมกัน ซึ่งมักปลอยปะละเลยอยูเปน ประจํา เชน ลืมปดแอรในหองประชุมหลังใชเสร็จ ลืมปดไฟโถงลอบบี้หลัง เลิกงาน ซึ่งถือวาเปนการเสียคาไฟไปฟรี ๆ ในแตละวัน โดยไมกอใหเกิด ประโยชนแตอยางใด และจากป จ จั ย ดั ง กล า วจึ ง มี ห ลายบริ ษั ท ผลิ ต อุ ป กรณ ป ระหยั ด พลังงานที่ ใชในสํานักงานออฟฟศ หรือบานที่อยูอาศัยขึ้นมารองรับกับ พฤติกรรมการใชชีวิตประจําวันของคน สําหรับ “ENCON” Energy Saving Fans นั้นเปนนวัตกรรมใบพัด ประหยั ด พลั ง งานที่ ส ามารถช ว ยให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งานในระบบ Cooling Tower โดยใบพัดประหยัดพลังงานนีผ้ ผู ลิตไดใชหลักการออกแบบ ตามหลักการ Aerodynamics คือ สามารถทําใหใบพัดผลิตลมไดไมมากขึน้ ใน ขณะที่ใชพลังงานในการขับใบพัดนอยลง โดยในศาสตรของ Aerodynamics จะใชตัวแปรตาง ๆ มาใชในการออกแบบใบพัด เชน การออกแบบทรงใบที่มี การ twist การลดชองวางระหวางคอใบพัดกับ Hub เปนตน โดยผูผลิตจะใชตัวแปรตาง ๆ มาคํานวณดวยโปรแกรม เพื่อใหได รูปทรงของใบพัดที่สามารถทํางานไดประสิทธิภาพสูงสุด ผานการติดตั้ง และตั้งองศาใบพัดที่เหมาะสมที่สุด คือ กินไฟนอยลง แตลมไมนอยลงหรือ อาจจะมากขึ้น สวนความคงทนหรืออายุการใชงานนั้นไมมี expired date เนื่องจาก วัสดุที่เลือกใชทําใบพัดจะเปน Fiberglass ผสม Epoxy ซึ่งเปนโพลิเมอรที่มี ความคงทนทางวิศวกรรมสูงมาก ทัง้ การทนทานตอแรงดึง แรงกด ทนทาน ตอสารเคมีในนํ้า นอกจากนี้ ใบพัดที่ใชวัสดุคงทนสูงอยาง Fiberglass ผสม Epoxy จะสามารถทนทานตอสภาพแวดลอมไดยาวนานกวามาก จึงเกิดการ กัดกรอนยากทําใหมี friction loss ตํ่าอีกดวย

ตัวแปรสําหรับการออกแบบใบพัด

1) Design of Blade • Airfoil section • Profile of blade at difference radii & staggering • Chord length at difference radii • Blade twist • Thickness and Camber • Angle of attack 2) Design of Hub • Minimum Air Cycling loss 3) No. of Blades • Air volume & Pressure requirement 4) Fan RPM • For tip speed along with Noise & Vibration Criteria

24 l July 2012

Energy#44_p24_Pro3.indd 24

6/27/12 1:28 AM


Energy#44_p25_Pro3.ai

1

6/28/12

1:00 AM

Back to the Basic ประสิ ท ธิ ภ าพของหลอดไฟฟ า ผศ.พศวีร ศรีโหมด : หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ในระบบสองสวางนั งนั้นโโดยพื ดยพื้นฐฐานจะประกอบไปด านจะประกอบไปดวยอุ ยอุปกกรณ รณไดดแกก หหลอดไฟ ลอดไฟ บบั​ัลลาสต ลาสตตและโคม การพิจารณา ารณาเลื าเลือกใช กใชอุปกรณ กรณด ังกล กลา วใหประหยัดพลังงาน งพจิ ารณาประสิ ารณาประสทิ ธิธภิ าาพของอุ พของอปุ กรณ กรณ ดัดงั นัน้นั ในฉบั ในฉบันั นี้จี ะขอแนะนำคาประสิทธิภาพของหลอดไฟฟ าพของหลอดไฟฟฟา เพื่ เพอื่ ให ใหผ ูอานได นไดพ ิจารณาในการเลื ารณาในการเลือก มีความจำเปนทีท่ตี องพิ หลออดไฟฟา ให ใหใชชง านอย านอยา งประหยั งประหยดั พลั พลงั งาน งาน ประสิ ประสทิ ธิธภิ าพของหลอดไฟฟ าพของหลอดไฟฟา เราจะดูจากตัวเลขที่เรียกวา คาประสิทธิภาพการส าพกการสอ งสว งสวา ง โดยมี โดยมคี าดัดงั นี้ หลอดไฟฟ Power (W)

( ) (มี ปริมาณแสง (Lumen:lm) คาประสิ คาประสทธภาพการสองสวาง ป ิทธิภิ าพการสอ งสวา ง = กำลั หนวยเปน ลูเมนต มนตออวัตต ,lm/W) งงานไฟฟา (Power:W) (มหนวยเปน Lumen (lm)

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

ซึ่งมีแนวความคิดมาจากการนำคาความปริมาณแสงสวางทั้งหมดที่หลอดไฟฟาสองออกมาได มีหนวยเปน ลูเมน (lm) หารดวยคากำลังงาน ไฟฟาที่หลอดไฟฟาตองใชไป มีหนวยเปน วัตต(W) นั้นหมายความวา หลอดไฟฟาที่มีประสิทธิภภาพดี าพดี หรือใชแลวประหยัดพลังงานก็จะตองให ปริมาณแสงสวางออกมามากๆ แตใชกำลังงานไฟฟานอยๆ ดังนั้น ตัวเลขลูเมนตอวัตต หรืรือประสิทธิภาพการสองสวาง จะตองมีคาสูงๆ งานไฟฟฟา(W) แปรเปลี่ยนพลังงานไปในอยูในรูปของ ตัวอยางเชน หลอดอินแคนเดสเซนต หรือที่เรามักเรียกวาหลอดไส ซึ่งใชกำลังงานไฟฟ ความรอนที่ ไสหลอดเยอะมาก ประมาณ 70 % แตเปนพลังงานแสงสวางเพียงเล็กนออยย ประมาณ 10-15 % ดังนั้น คาประสิทธิภาพ ดแทนหลออดไสได แลวทำใหเกิดการประหยัดพลังงานคือ การสองสวางจึงต่ำมาก อยูประมาณ 5-20 lm/W แตหลอดไฟฟาที่สามารถใชทดแทนหลอดไส หลอดคอมแพคฟูลออเรสเซนต(CFL) หรือที่เรียกวาหลอดตะเกียบซึ่งหลอดตะเกียบเปนหลอดทีที่อาศัยการแตกตัวของกาซภายในหลอดในการ ใหแสงสวางแทนการใหความรอนที่ ไสหลอด จึงทำใหใชกำลังงานไฟฟฟาเพียงเล็กนอยแตใหแสงสวางเทากับหลอดไส โดยคาประสิทธิภาพการสองสวางของหลอดตะเกียบ อยูที่ 40 – 80 lm/w หรือมีมคาสูงกวาหลอดไสประมาณ 4- 5 เทา ดังนั้น การใชหลอดตะเกียบแทนหลอดไส จึงสงผลทำใหเราสามารถล ลดคาใชจายดานพลังงานไฟฟาไดอยางแนนอน ราสามารถลดค แถมอายุการใชงานหลอดตะเกียบยังยาวนานมากกวาหลอดไสดวย (อ อายุการใชงานหลอดไสประมาณ 1000 ชั่วโมง (อายุ ราามักใชในอาคาร บานเรือน อีกประเภทหนึ่งก็คือ แตหลอดตะเกียบประมาณ 6000 ชั่วโมง) และหลอดไฟฟาที่เรามั หลออดฟูลออเรสเซนต ที่ประหยัดพลังงานมากที่สุด หลอดฟูลออเรสเซนต หรือหลอดนีออน นั้นเองครับ หลอดฟู หลออดซูเปอรจิ๋วจอมประหยัดซึ่งใหคาประสิทธิภาพ ตอนนี้ คงจะเปนหลอดที่เราเรียกวา T-5 หรือหลอดซู เราสามารถถเปลี่ยนทดแทนชุดหลอดฟูลออเรสเซนตรุนเกา การสองสวางอยูที่ 70 - 90 lm/w ซึ่งเราสามารถเปลี ป ทธิภาพการสองสวางเพียง 45-80 lm/W ที่เราใชกันอยูในปจจุบัน คือแบบ T-8 ซึ่งมีคาประสิ อกาสในกการเลือกใชหลอดไฟฟาก็ขอใหเลือกหลอดไฟฟา สุสดุ ททา ยก็คงฝากเอาไวดวยนะครับ ถามีโอกาสในการเลื าพการสอ งสว งสวา งสูงๆ ครับ จะทำใหสามารถประหยัดพลั พ งงานไฟฟาได ซึ่งก็จะทำใหคาใชจายของเรา ที่มีประสิทธิภาพการส ลดลงไปได แถมยั แถมยยงั ชชว ยภาวะลดโลกร ยภาวะลดโลกรอนดวยนะครับ ลดลงไปได

ภาพประกอบการเปรียบเทียบคาประสิทธิภาพการสองสวาง หลอดคอมแพคฟูลออเรสเซนต (CFL) มีประสิทธิภาพการสองสวาง 64 lm/w กับหลอดอินแคนเดสเซนตที่ประสิทธิภาพการสองสวางเพียง14 lm/w


Green Industrial โดย : ณ อรัญ

อนุรักษพลังงานภายใตแนวคิด

....Green World

ธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมศูนยการคานั้นเปนธุรกิจหนึ่งที่มีอัตรา การใชพลังงานเปนจํานวนมาก และจากปจจัยดังกลาวผูประกอบการ ตางไดหนักและใหความสําคัญเกี่ยวกับเรื่องนี้เปนอยางดีพรอมไดแสวงหา นวัตกรรมเทคโนโลยีใหมๆ ที่มีประสิทธิภาพสูงมาชวยลดการใชพลังงาน ลดมลภาวะ รวมถึงใหพนักงานและลูกคามีสว นรวมในการประหยัดพลังงาน ภายใตโครงการตางๆ ที่ถูกกําหนดขึ้นมารองรับการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอม 26 l July 2012

Energy#44_p26-28_Pro3.indd 26

6/27/12 1:47 AM


ศูนยการคาเซ็นทรัล เวิลดนั้นเปนศูนยการคาหนึ่งที่ ได ใหความสําคัญเกี่ยวกับการ อนุรกั ษพลังงานมาอยางตอเนือ่ ง โ ด ย ล  า สุ ด ไ ด  เ ข  า ร  ว ม กั บ โครงการ BEAT เพื่ อ พั ฒ นา ดานการอนุรักษพลังงานใหเกิด ความยั่งยืน ซึ่งเปนการดําเนิน การภายใตแนวคิด Green World โดยเซ็ น ทรั ล เวิ ล ด ฯ ไดใหความสําคัญตั้งแตขั้นตอน การออกแบบกรอบอาคาร การ เลือกใชอุปกรณ เครื่องจักรตางๆ ที่มีประสิทธิภาพในการอนุรักษพลังงาน การนําเทคโนโลยีการอนุรักษพลังงานที่ทันสมัยมาใชในศูนยการคา รวมถึง การใสใจตอสิ่งแวดลอมมาอยางตอเนื่องและมีนโยบายอนุรักษพลังงาน อยางชัดเจน ซึ่งครอบคลุม 3 ดานดวยกัน ดังนี้ ดานที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางบริษทั ฯ ไดออกแบบอาคารและ นําอุปกรณ/เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยมีประสิทธิภาพสูงมาใช โดยยังคงคํานึงถึง สิ่งแวดลอม ความปลอดภัยและความสุขสบายของผูใชงานในศูนยการคา ดานที่ 2 การมีสวนรวมของพนักงาน และผูใชงานในอาคาร อาทิ รานคาเชา ผูเขามาใชบริการในศูนยการคา โดยรณรงคและสงเสริม

ของเครื่องทํานํ้าเย็นตามภาระโหลดในแตละชวงเวลา (VPF) , มาตรการ การใช VSD ที่เครื่องสงลงเย็น , การใชหลอด LED แทนหลอดฮาโลเจน และมาตรการติดตั้งระบบ PV Solar Cell โดยทั้งโครงการฯ สามารถลด การใชพลังงานลงได 2.3 ลานหนวย/ป ลดการปลดปลอยกาซ CO2 ลงได 1,200 ton Co2 /ป เทียบไดกับการปลูกตนไม 1,200 ตน สวนบุคลากรนัน้ ผูบ ริหารดานพลังงานของเซ็นทรัลเวิลดเลาใหฟง วา บุคลากรฯ ภายในองคกรมีความตื่นตัวดานการอนุรักษพลังงาน และ ใสใจตอสิ่งแวดลอมกันมากขึ้น โดยดูไดจากการใหความรวมมือที่ดีของ พนักงาน ในทุกกิจกรรมทีท่ างศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลดไดจดั ทําขึน้ รวมถึง Shopper และรานคาเชาตางๆ รวมถึงลูกคาก็สามารถรับรูและมีสวนชวย ในการอนุรักษพลังงานไดเปนอยางดี

ทั้งนี้ นอกเหนือจากการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย และการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพสูงแลวทางเซ็นทรัลเวิลดยงั ไดตดิ ตัง้ Solar Cell ขนาด 120 kW เพื่อนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชผลิตไฟฟา ซึ่งเปนสวน 1 ที่ชวย ใหศูนยการคาแหงนี้เกิดการประหยัดพลังงานไดมากขึ้น นอกจากนี้แลวเพื่อใหการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเปนไป ตามความยั่งยืนที่ศูนยการคาแหงนี้ยังไดทําการขัดแยกขยะเพื่อนําไป รีไซเคิลและจําหนาย เชน ขยะพลาสติก ขวด กระดาษ สวนขยะเปยกจําพวก เศษอาหารที่นี่เขาใชเครื่องอัดขยะเพื่อรีดนํ้าออกไมเปนภาระตอการกําจัด กิจกรรมการมีสวนรวมในการอนุรักษพลังงานทั้งภายในศูนยการคาและ สามารถนําไปประยุกตใชไดกับครอบครัว ดานที่ 3 การเผยแพรความรูและสงเสริมการอนุรักษพลังงานออก สูสังคม และชุมชนโดยรอบ โดยยินดีแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณ และ สนับสนุนกิจกรรมอนุรักษพลังงานกับภาครัฐ และสังคม ชุมชน ซึง่ การดําเนินการภายใตแนวคิด Green World นัน้ ไดรบั ผลสําเร็จ เปนอยางดี และชวยใหเกิดการอนุรกั ษพลังงานอยางเปนรูปธรรม เนือ่ งจาก ทางศูนยการคาไดนําเทคโนโลยีดานการอนุรักษพลังงานมาประยุกตใช อาทิเชน มาตรการ Ball Cleaning , มาตรการปรับอัตราการไหลนํ้าเย็น July 2012 l 27

Energy#44_p26-28_Pro3.indd 27

6/28/12 12:36 AM


ดานระบบบําบัดนํ้าศูนยการคาเซ็นทรัลเวิลดไดนํานํ้าที่ผานกระบวนการ บําบัดไปรดนํ้าตนไม สวนหนึ่งมาเติมในระบบ Cooling Tower สวนกิจกรรมดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมนั้นทาง บริษัทฯ ไดใหความสําคัญทางดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมได จัดตั้ง “ทีมทูตอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม” ขึ้นประจําทุกศูนยการคา ของ CPN เพื่อทํากิจกรรมที่มีประโยชนตอสังคมและชุมชนโดยรอบ ทําให ผูเ ขามารวมกิจกรรมฯ ไดรบั ความรูส กึ ดีๆ จากการเปนผูใ ห ซึง่ ทําใหโครงการฯ ดังกลาวไดรับการตอบรับเปนอยางดี พรอมกันนี้เซ็นทรัลเวิลดยังไดมีแนวคิดจัดทํา “ศูนยการเรียนรู นวัต กรรมอนุรัก ษพลั ง งานในอาคาร”ภายใต แ นวคิ ด Green World Experience ขึน้ ทีโ่ ซน Genius Planet เพือ่ ใหผมู าใชบริการสามารถรับทราบ ถึ ง เทคโนโลยี ที่ ท างเซ็ น ทรั ล เวิ ล ด ไ ด นํ า มาประยุ ก ต ใ ช ภ ายในอาคาร และยังมีแนวคิดที่จะขยายโครงการดังกลาวไปสูศูนยการคาตางๆ ภายใน เครืออีกดวย เพือ่ เปนการสงเสริมดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม ตอสังคม สวนในอนาคตทางเซ็นทรัลเวิลดบอกวาจะพัฒนาระบบประหยัด พลังงานภายในศูนยการคาทั้งหมดใหเปนระบบปฏิบัติการแบบเรียลไทม (Real-time system) โดยการควบคุมการใชไฟฟา การผลิตความรอน การผลิตความเย็น หรือระบบพลังงานทั้งหมดผานระบบคอมพิวเตอร ซึ่งจะชวยใหสามารถดูแลการประหยัดไฟฟาไดพรอมกันทั้ง เชน ระบบ ทําความเย็นหากวันไหนมีลูกคาเขามาเดินในศูนยการคานอยลงระบบ Chiller หรือระบบทําความเย็นจะทํางานนอยลงอัตโนมัติ โดยเพิ่มจํานวน การติดตั้งระบบเซ็นเซอรในทุกจุดของศูนยการคาใหมากขึ้นเพื่อควบคุม การทํางานของระบบประหยัดพลังงานทั้งหมดของศูนยการคา

นอกจากนี้ ก็จะมีการปรับเปลี่ยนมาใชหลอด LED ในสวน ของลานจอดรถภายในศู น ย ก ารค า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด และภายในห อ งนํ้ า เพื่อเสริมประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานไดอยางสัมฤทธิ์ผลอยาง ยั่งยืน

28 l July 2012

Energy#44_p26-28_Pro3.indd 28

6/28/12 12:39 AM


Energy#44_p29_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

6/27/12

1:52 AM


Saving Corner แตสาํ หรับระบบทํานํา้ เย็นแบบใหความรอนกลับคืน (Heat Reclaim Chiller) ประโยชนที่ ไดจากระบบทํานํา้ เย็นหรือระบบทําความเย็นนี้ จะไดทงั้ ดาน Evaporator และดาน Condenser กลาวคือ สําหรับดาน Evaporator ก็ไดนาํ้ เย็นไปใชในระบบปรับ อากาศ สวนในดาน Condenser ก็ไดความรอนนัน้ ไปใชในการทํานํา้ รอนหรือความ รอนอืน่ ๆ ตามทีต่ อ งการ ดังนัน้ ประสิทธิภาพของระบบ (COP) จึงเปนไปตามสมการ

COP = Heatin Workin

out + Heatr Workin

เมื่อพิจารณาคราวๆแลว จะเห็นวาระบบทํานํ้าเย็นดังกลาวใหประโยชน ทัง้ นํา้ เย็น และความรอนไปใชงาน ดังนัน้ แลวจึงเสมือนกับวา เราใหพลังงานแก ระบบแคหนึง่ ทาง แตไดผลประโยชนกลับมาถึงสองทางทัง้ ความเย็นและความรอน จึงเปนขอไดเปรียบทีเ่ หนือกวาระบบทํานํา้ เย็นทัว่ ไป

เทคโนโลยีเครื่องทํานํ้าเย็น แบบใหความรอนกลับคืน

เครือ่ งปรับอากาศถือเปนสิง่ สําคัญสําหรับทุกอาคาร และการใชพลังงาน ไฟฟาสวนใหญของอาคาร ก็คอื การใชพลังงานไปกับเครือ่ งปรับอากาศ ปจจุบนั จึงมีเทคโนโลยีเพือ่ การประหยัดพลังงานมากมาย สําหรับเครือ่ งปรับอากาศ ไมวา จะเปน การนําเทคโนโลยีอนิ เวอรเตอรมาใชกบั คอมเพรสเซอร ของเครือ่ งปรับอากาศ หรือการนําความรอนทิง้ จากดานคอนเพรสเซอรกลับไปใช ในบทความนี้ ไดนาํ เอาเทคโนโลยีการนําความรอนทิง้ จากเครือ่ งทํานํา้ เย็น (Chiller) กลับมาใชงานใหม โดยนําเสนอใหเห็นชัดเจนวา เทคโนโลยีนที้ าํ ใหเกิดการ อนุรกั ษพลังงานไดอยางไร

สําหรับหลักการทํางานของระบบทําความเย็น หรือเครือ่ งทํานํา้ เย็นก็ตาม ก็ไมไดแตกตางกันในหลักการทํางาน ซึง่ อุปกรณหลัก และวงจรการทํางานก็เปนไป ตามรูปแบบทีแ่ สดงในรูปที่ 1 ประโยชนที่ ไดจากระบบทําความเย็น คือความเย็นที่ ได จากดาน Evaporator หรือดานจายลมเย็น ดังนัน้ ประสิทธิภาพของระบบ (COP) จึงเปนไปตามสมการ

COP = Heatin Workin

สําหรับระบบ Heat Reclaim Chiller แบบใชเครือ่ งทํานํา้ เย็นสองชัน้ ดังที่ แสดงในรูปที่ 3 นัน้ จะเปนตัวอยางการประยุกตใชระบบดังกลาวนี้ เพือ่ ประโยชนทงั้ สองดาน คือ ดานนํา้ เย็นนํานํา้ เย็นไปใชในระบบปรับอากาศ และดานนํา้ รอนนัน้ นํา นํา้ รอนไปใชในระบบอบแหง หรือเพือ่ ทํานํา้ รอนตามความตองการของธุรกิจนัน้ ๆ

30 l July 2012

Energy#44_p30-31_Pro3.indd 30

6/27/12 2:00 AM


2. กรณีใชบอยเลอรกา ซ LPG

คาความรอนของกาซ LPG 12,000 kcal/kg ใหบอยเลอรมปี ระสิทธิภาพ 70% ราคากาซ LPG ประมาณ 15 บาท/kg 2.1 กอนปรับปรุง ปริมาณกาซ LPG ที่ใช = 900,000/12,000 = 75 kg/วัน ปริมาณกาซ LPG ที่ใชจริง = 75/70% = 107.14 ~ 107 kg/วัน คาใชจา ยรวม = 107 x 15 x 30 x 12 = 577,800 บาท/ป 2.2 หลังปรับปรุง ปริมาณกาซ LPG ที่ใช = 780,000 /12,000 = 65 kg/วัน ปริมาณกาซ LPG ที่ใชจริง = 65/70% = 92.86 ~ 93 kg/วัน คาใชจา ยรวม = 93 x 15 x 30 x 12 = 502,200 บาท/ป คิดเปนผลประหยัดตอปคอื 577,800 - 502,200 = 75,600 บาท/ป ตัวอยางการคิดคํานวณผลประหยัดจากการใชเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบ ใหความรอนกลับคืน เพือ่ เปรียบเทียบการใชพลังงานและคาใชจา ยในการใชประโยชนจากเครือ่ งทํา นํา้ เย็นแบบใหความรอนกลับคืนเพือ่ ทํานํา้ เย็นในระบบปรับอากาศและทํานํา้ รอนสําหรับ ใชในโรงแรม จึงขอยกตัวอยางการทํานํา้ รอนของโรงแรมขนาด 200 หอง ใชนาํ้ รอน 150 ลิตร/วัน/หอง อุณหภูมนิ าํ้ ดิบ 25 องศาเซลเซียส นํา้ รอน 55 องศาเซลเซียส ปริมาณนํ้ารอนทั้งหมด 30,000 ลิตร/วัน ตองใชพลังงานความรอนในการทํา นํา้ รอน 900,000 kcal/วัน คิดเปน 1,046 kWh/วัน เมือ่ ใชระบบทํานํา้ เย็นดวยระบบ Heat Reclaim Chiller แลว ทําใหอณ ุ หภูมนิ าํ้ ดิบกอนทีจ่ ะเขาสูก ระบวนการทํานํา้ รอน เพิม่ ขึน้ เปน 29 องศาเซลเซียส (อุณหภูมนิ าํ้ ดิบเพิม่ ขึน้ 4 องศาเซลเซียส เนือ่ งจาก ไดรบั ความรอนจากนํา้ ระบายความของเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบ Heat Reclaim Chiller) ดังนัน้ พลังงานความรอนทีต่ อ งการในการทํานํา้ รอนจะลดลงเปน 780,000 kcal/วัน คิดเปน 906.5 kWh/วัน ซึง่ จะสามารถคิดเปนผลประหยัดไดดงั นี้

1. กรณีใชขดลวดไฟฟา

1.1 กอนปรับปรุง ใหขดลวดไฟฟามีประสิทธิภาพ 100% ทํางาน 10 ชัว่ โมง/วัน ขดลวดไฟฟาที่ใชมขี นาด = 1,046/10 = 104.6 ~ 105 kW ปริมาณพลังงานไฟฟาที่ใช = 105 x 10 = 1,050 kWh/วัน คาความตองการไฟฟา = 105 x 256 x 12 บาท/ป = 322,560 บาท/ป คาไฟฟา = 1,050 x 1.7 x 30 x 12 บาท/ป = 642,600 บาท/ป คาใชจา ยรวม = 965,160 บาท/ป 1.2 หลังปรับปรุง ใหขดลวดไฟฟามีประสิทธิภาพ 100% ทํางาน 10 ชัว่ โมง/วัน ขดลวดไฟฟาที่ใชมขี นาด = 906.5/10 = 90.65 ~ 91 kW ปริมาณพลังงานไฟฟาที่ใช = 91 x 10 = 910 kWh/วัน คาความตองการไฟฟา = 91 x 256 x 12 บาท/ป = 279,552 บาท/ป คาไฟฟา = 910 x 1.7 x 30 x 12 บาท/ป = 556,920 บาท/ป คาใชจา ยรวม = 836,472 บาท/ป คิดเปนผลประหยัดตอปคอื 965,160 - 836,472 = 128,688 บาท/ป

จากตัวอยางการคํานวณคราวๆ ขางตน จะเห็นไดวา การนําความรอน กลับคืนจากระบบทํานํ้าเย็นแบบ Heat Reclaim Chiller นั้นมีศักยภาพในการชวย อนุรกั ษพลังงานและกอใหเกิดผลประหยัดไดเกินกวา 10% ทัง้ สองกรณี แตทงั้ นี้ ทั้งนั้น หากผูประกอบการใดสนใจ ก็ควรที่จะศึกษาอยางละเอียดอีกครั้ง รวมทั้ง ควรปรึกษาบริษทั ผูผ ลิตและผูจ าํ หนายเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบ Heat Reclaim Chiller เปนกรณีๆ ไป

ขอขอบคุณขอมูล: http://www.beat2010.net/index.php/

technology-for-energy-

July 2012 l 31

Energy#44_p30-31_Pro3.indd 31

6/28/12 12:19 AM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

“รางวัลภาพถายและภาพยนตร เพื่อรณรงคดานพลังงาน” เพื่อปลูกจิตสํานึกเยาวชนสูการอนุรักษพลังงาน

ก า ร ก ร ะ ตุ  น เ พื่ อ ใ ห  เกิ ด การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานนั้ น สามารถทํ า ได ห ลากหลาย วิธีไมวาจะเปนการจัดทําปาย โปสเตอรติดประกาศแนวทาง หรื อ นโยบายการประหยั ด พลั ง งานภายในองค ก รนั้ น ๆ การใหคะแนนสะสมเปนโบนัสภายในองคกรเพือ่ กระตุน ใหแตละแผนกชวยกัน ประหยัดพลังงาน การทําสือ่ โฆษณา การสงเสริมเงินลงทุนดานการอนุรกั ษ พลังงาน การลดหยอนภาษีนําเขาอุปกรณประหยัดพลังงานตลอดจนการ

จัดทําโครงการประกวดดานการประหยัดพลังงาน ซึ่งปจจุบันนั้นมีหลาย โครงการดวยกันทั้งที่เปนโครงการของภาครัฐ และหนวยงานเอกชน ทั้งที่ เปนโครงการในระดับประเทศ ระดับโลก การจัดแขงขันกันในระดับจังหวัด และระดับองคกร โรงเรียน มหาวิทยาลัยนั้นก็เพื่อเปนการปลูกจิตสํานึก ใหกับทุกระดับทุกชนชั้นไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยขอนแกนนั้นเปนอีกหนวยงานหนึ่งที่ ไดใหความสําคัญ เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมและไดดําเนินการหลายดาน ดวยกัน ลาสุดไดจัดใหมีการประกวด “ประกวดภาพถายและภาพยนตร เพื่อรณรงคดานพลังงาน” ภายใตโครงการ U-Save เพื่อใหนักเรียน นักศึกษาและบุคลากร มีสวนรวมสรางสรรคผลงาน ในการรณรงค

32 l July 2012

Energy#44_p32-34_Pro3.indd 32

6/28/12 1:05 AM


การประหยัดพลังงาน และสงผลงานเขาประกวดและนําไปใชประโยชนเพื่อ เผยแพรตอสาธารณะ และเพื่อเปนการสงเสริมการดําเนินงานตามนโยบายในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชทรัพยากร พลังงาน โดยมีเปาหมายในป 2555 ใหมกี าร ลดการใชพลังงานใหได 10% และ 20% ภายในป 2558 ทั้งยังเปนชอง ทางสําหรับแสดงความสามารถ และความคิดสรางสรรคที่เปนประโยชน ตอสังคมอีกดวยครับ ซึ่งถือวาการอนุรักษพลังงานเปนหนาที่ความรับผิดชอบของผู บริหารทุกระดับ บุคลากร นักศึกษา และผูใชพลังงานทุกคน เพื่อใหการ ประหยัดพลังงานและลดการใชพลังงานของมหาวิทยาลัยขอนแกนเปนไป ตามเปาหมาย และเปนการอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม สํ า หรับ ผลการประกวดภาพถายภายใตแ นวคิ ด “มข. กับการ ประหยัดพลังงานในอาคาร” ดังนี้ รางวัลชนะเลิศนายปฐมพงศ พรภูเบศ ชื่อผลงาน แดดยามเชา ฤดู ห นาว กั บ วั น ที่ อ บอุ  น รางวัลที่ 2 นางสาวงามจิตร กุ ด จอมศรี ชื่ อ ผลงาน เปดหนาตางทํางานแทน การเป ด ไฟ รางวั ล รอง ที่ 3 นางสาวอัฉราภรณ เตียวสินเธาว ชื่อผลงาน อาคารประหยัดพลังงาน รางวัลรองชมเชย 3 รางวัล นายวีระชัย อุสูงเนิน ชื่อผลงาน การถอดปลั๊กเครื่องทํานํ้าเย็น และ นายธัญช ธรรมวิเศษ ชื่อผลงาน ทําไปทําไม Poppula vote ผลการประกวดภาพยนตร โ ฆษณา รางวั ล ชนะเลิ ศ ชื่ อ ที ม Yellow ชื่อผลงาน เด็กดี รางวัลรองที่ 2 ชื่อทีม ฮิฮะ ชื่อผลงาน นิ้ ว เดี ย วช ว ยได รางวั ล รองที่ 3 ชื่ อ ที ม Just Do It ชื่ อ ผลงาน Just Do It รางวัลชมเชย 3 รางวัล ผลงาน นายปณิธาน ไพรสินธุ ชื่อผลงาน Shuttle Busทีม Energy KKU ชื่อผลงานคิดใชอนุรักษ ยั่งยืนทีม The Doy ชื่อผลงาน Close และ Poppula vote ทีม Just Do It ชื่อผลงาน Just Do It อย า งไรก็ ต ามในการประกวดของโครงการนี้ ท างมข.มี แ ผน ที่ จ ะจั ด ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งทุ ก ป ซึ่ ง ป นี้ เ ป น ป แ รกที่ จั ด ขึ้ น และผู  ที่ ไ ม ไ ด รั บ รางวั ล หรื อ ผู  ที่ ส นใจนั้ น สามารถส ง ผลงานเข า ประกวดได ในป ห น า 2556 โดยผู  เ ข า ร ว มประกวดต อ งเป น นั ก เรี ย นสาธิ ต ฯ นั ก ศึ ก ษา หรื อ บุ ค คลากรภายในมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น เท า นั้ น ครั บ เรี ย กได ว  า เป น ตั ว อย า งที่ ดี สํ า หรั บ การเป น องค ก รที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ และส ง เสริ ม ด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานถึ ง แม จ ะเป น โครงการเล็ ก ๆ ที่ จั ด ขึ้ น ภายในองค ก รแต ก็ เ ป น การปลู ก จิ ต สํ า นึ ก ที่ ดี แ ก เ ยาวชน และ บุคลากรทั่วไปของมหาวิทยาลัยขอนแกนเอง และถาหากทุกองคกร ทุกหนวยงานรวมกันประหยัดพลังงานมี

ทีม Just Do It ชื่อผลงาน Just Do It

ทีม The Doy ชื่อผลงาน Close

ทีม Yellow ชือ่ ผลงาน เด็กดี กิจกรรมดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมภายในองคกรอยาง ตอเนื่อง เชื่อวาสิ่งเล็กๆ เหลานี้จะรวมกันก็จะชวยใหสามารถลดการใช พลังงานลดลงไดอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน สํ า หรั บ ในป ต  อ ไปนั้ น มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น กํ า ลั ง ดํ า เนิ น การใน การประกวดกิ จ กรรมประหยั ด พลั ง งานของคณะ หน ว ยงานภายใน July 2012 l 33

Energy#44_p32-34_Pro3.indd 33

6/28/12 1:05 AM


มหาวิทยาลัย และประกวดโครงการนําเสนอแนวทางในการปรับปรุงอาคาร ของมหาวิทยาลัยขอนแกนใหประหยัดพลังงาน และอื่นๆ โดยมีกรรมการที่ ปรึกษาดานพลังงาน ที่ประกอบดวยคณาจารยจากคณะวิศวกรรมศาสตร และสถาปตยกรรมศาสตร ชวยในการคิดโครงการใหมขึ้นมา สวนโครงการประกวดการรณรงคเชนภาพถาย และภาพยนตรคงจะ มีทกุ ป โดยเฉพาะการประกวดภาพยนตรรณรงคไดรบั การตอบรับทีด่ มี ผี สู ง เขาประกวดจํานวนมาก และเปนไปไดก็จะมองหาแนวทางการจัดประกวด ในระดับประเทศโดยเนนใหแขงขันกันเฉพาะนักเรียน และนิสิตนักศึกษา ทั่วทุกโรงเรียนทุกมหาวิทยาลัยใหสามารถสงผลงานเขาประกวดได อยางไรก็ตามนอกจากการรณรงคในการประหยัดพลังงานแลว มหาวิทยาลัยขอนแกนยังไดดําเนินการตรวจสอบการใชพลังงาน รายงาน การใชพลังงาน ทําการปรับปรุงงานระบบอาคาร รูปแบบอาคาร ปรับเปลีย่ น ไฟฟาแสงสวางถนน และอื่นๆ เพื่อนําไปสูการลดการใชพลังงานใหไดตาม เปาหมายตอไป และพลังงานทดแทนเปนอีกประเด็นหนึ่งที่มหาวิทยาลัย ขอนแกนเริ่มนํามาใชเพื่อเปนตนแบบในการศึกษา วิจัย และเพื่อใหชุมชน หรือผูสนใจทั่วไปไดเขามาศึกษาดูงานได เชน โครงการที่ดําเนินการไป แลวไดแก โครงการกังหันลมขนาดเล็กเพื่อการผลิตกระแสไฟฟา เสาไฟฟา แสงสวางถนนจากโซลารเซลล หลังคาที่จอดรถจากโซลารเซลล เปนตน

- เปนการใหคะแนนตัดสิน จากกรรมการผูทรงคุณวุฒิ โดย พิจารณาจาก เนื้อหาสอดคลอง กับกรอบแนวคิดการสงผลงาน ที่ กํ า หนด / แนวคิ ด และความ คิดสรางสรรค / เทคนิคในการ สร า งสรรค ผ ลงาน / ความ สวยงามและองค ป ระกอบของ ภาพหรือภาพยนตร

หลักเกณฑ ในการตัดสิน

รางวัลของการประกวด

- รางวั ล ในการประกวด ภาพถาย รางวัลชนะเลิศ 5,000 บาท (กรรมการตัดสิน) พรอมโลจาก อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3,000 บาท (กรรมการตัดสิน) พรอมเกียรติบัตร รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2,000 บาท (กรรมการตัดสิน) พรอมเกียรติบัตร รางวัลชมเชย 3 รางวัล รางวัลละ 500 บาท (กรรมการ

ตัดสิน) พรอมเกียรติบัตร รางวัล Popular Vote มี 1 อันดับเงินรางวัล 2,500 บาท - รางวัลในการประกวดภาพยนตรรางวัลชนะเลิศ 10,000 บาท พรอมโลจากอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแกน - รางวัลรองชนะเลิศอันดับทีห่ นึง่ 6,000 บาท พรอมเกียรติบตั ร - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่สอง 4,000 บาท พรอมเกียรติบัตร - รางวัลชมเชย 3 รางวัล รางวัลละ 1,000 บาท - รางวัล Popular Vote 5,000 บาท 34 l July 2012

Energy#44_p32-34_Pro3.indd 34

6/28/12 1:05 AM


Energy Showcase “ENCON” Energy Saving Fans

EVT Golf Plus D EVT Golf Plus D รถพลัง งานไฟฟ า อันดับ 1 ของไทย มั่นใจดวยมาตรฐาน ISO 9001:2008 และตราสั ญ ลั ก ษณ Thailand Brand โครงสร า งแข็ ง แรง ทนทาน วิ่งเงียบ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม วิง่ ไดไกลถึง 70 กม.(ตอการชารจแบตเตอรี่ 1 ครัง้ ) ความเร็วสูงสุดตัง้ แต 25-30 กม./ ชั่วโมง เพิ่มความมั่นใจดวยศูนยบริการ มาตรฐาน พรอมตรวจสภาพและรับประกัน อะไหลฟรีนานถึง 1 ป มีใหเลือกทั้งขนาด 2 ที่นั่ง 4 ที่นั่ง และ 6 ที่นั่ง

นวัตกรรรมของใบพัดประหยัดพลังงาน สํ า หรั บ Colling Tower และอุ ป กรณ ทําความเย็น โดยใบพัด ENCON ติดตั้งทั่ว โลกกวา 45,000 ชุด ในหลายอุตสาหกรรม ประหยัดพลังงาน สามารถชวยลดคาไฟฟา ไดเฉลี่ย 20% -30% หลังเปลี่ยนจากใบพัด เดิมมาใช ENCON Fan รวมทัง้ สามารถเพิม่ Airflow ใหสูงขึ้น ใบพัดผลิตจากวัสดุ FRP ผสม Epoxy ทําใหทนสภาวะของกรด & เบส ชวยลดการเสื่อมสภาพของใบพัด

President Chemical Co.,Ltd

บริษทั รถไฟฟา (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

http://www.respondgroups.com

http://www.evthai.com

โทร 0-2234-41714, 0-2235-7812-3 โทรสาร 0-2631-6216

โทร 0-2236-2020

เครองทําน้ําอุนรุน “AQ”

กลองถุงลมนิรภัย

เครื่องทํานํ้าอุนรุน “AQ” ที่มาพรอมระบบ ตั ด การทํ า งานของเครื่ อ งอั ต โนมั ติ เ มื่ อ อุณหภูมิของนํ้าสูงเกิน ทํางานไดแมแรง ดันนํ้าตํ่า ผานการทดสอบมาตรฐานระดับ ชัน้ การปองกันนํา้ IP 24 พรอมระบบตัดไฟ อัตโนมัติเมื่อมีไฟรั่ว และระบบปองกันการ ถูกนํ้ารอนลวก มี 2 รุนใหเลือกคือ 3,500 วัตตและ 4,500 วัตต

กลองสําหรับเก็บถุงลมนิรภัยในรถยนต ที่ ผลิตโดยเทคโนโลยีแผนไนลอนคอมโพสิต (Nylon Composite Sheet) จะชวยลด นํ้าหนักของกลองลงกวา 30 เปอรเซ็นต เมือ่ เทียบกับชิน้ สวนทีผ่ ลิตจาก Polyamide (Nylon 6) ซึ่งเปนพลาสติกเทคนิคประเภท ไนลอน 6 ที่ผลิตแบบฉีดขึ้นรูปไดครั้งละ มากๆ

สตีเบล เอลทรอน

แลงเซส (LANXESS) http://lanxess.com/

ศูนยบริการลูกคา โทร. 08-8022-3030

ฟลมกรองแสง Maxxma Max

เครองฟอกอากาศ “Blueair”

http://www.stiebeleltronasia.com/

ฟลมกรองแสง Maxxma Max เปนฟลม กรองแสงทีผ่ ลิตจากโพลีเอสเตอรคณ ุ ภาพ สูง เคลือบดวยผงเซรามิคโมเลกุลเล็ก ผสมสารปองกันรังสี ยูวี และอินฟาเรด ปดทับดวยสารกันรอยที่มีความแข็งแรง สูง ชวยใหเนื้อฟลมใสไมขุนมัว เนื้อฟลม มีความเคลียรสงู แสงสะทอนตํา่ ใหภาพคมชัด สบายตาทั้ ง เวลากลางวั น และกลางคื น สีฟลมคงทนไมซีดจาง ไมเปนรอยขูดขีด และรักษางาย ปองกันรังสีอันตรายและ ลดความรอนไดสูง และยังปองกันรังสี ยูวี ไดมากกวา 99% ทัง้ ยังชวยลดการทํางาน ของเครือ่ งปรับอากาศ ภายในรถยนตดว ย

บริษัท วงศบราเดอร อินเตอรเทรด จํากัด http://www.maxxmafilm.com/

เครื่องฟอกอากาศ Blueair จากประเทศ สวีเดน รุน 650E ดวยเทคโนโลยี HEPASilentTM Filtration Technology หลัก การดักจับเชื้อโรคโดยไสกรองแบบพิเศษ และประจุไฟฟา ที่สามารถดักจับเชื้อโรคได มากกวาระบบทัว่ ไปถึง 6 เทา ประสิทธิภาพ การฟอกอากาศตามมาตรฐาน True Hepa (ฟอกได 99.97% ที่อนุภาคขนาด 0.1 ไมครอน) พิเศษดวยไสกรอง SmokeStop ที่มีประสิทธิภาพในการกําจัดกลิ่น ขจัดมลพิษที่เปนกาซ ตัวเครื่องทําดวย เหล็กกลาเคลือบพิเศษ (galvanized steel) แข็งแรงทนทาน

บริษัท แสงชัยแอรควอลิตี้ จํากัด

http://www.sangchaiairquality.com/

July 2012 l 35

Energy#44_p35-36_Pro3.indd 35

6/27/12 2:07 AM


เครองทําน้ําอุนไฟฟา iCON

ASUS P8H77-V LE

เครื่องทํานํ้าอุนไฟฟา iCON แสดงผล คาอุณหภูมิ ดวยจอ LCD Display ที่มา พรอมกับฟงกชั่นพิเศษมากมาย อาทิ ตั้ง คาอุณหภูมิตามความตองการ ในชวง 32 องศา-48 องศา พรอมโปรแกรมการ ใชงานพิเศษ 3 รูปแบบใหเลือกตามการ ใช ง านได อ ย า งสะดวกสบาย พิ เ ศษตั ว เครื่องแสดงคาใชจายในการอาบนํ้าแตละ ครั้ง เพื่อประโยชนในดานการวางแผน การประหยัดพลังงานในอนาคต

“ASUS P8H77-V LE” มาเธอรบอรดที่ ใช ชิพเซ็ท Intel® H77 Express ที่ออกแบบ มาเพื่อรองรับโปรเซสเซอร์ LGA1155 Intel® เจนเนอเรชั่น 2 และ 3 ชวยเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพของกราฟฟ ก ให ค มชั ด สวยงาม ไรการกระตุก ใชภาคจายไฟระบบ ดิจิตอล DIGI+ VRM ใหความเสถียรและ ชวยใหเกิดการจูนนิ่งที่แมนยํายิ่งขึ้น โดย มาเธอรบอรดรุน นีส้ ามารถทํางานไดอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดยไม จํ า เป น ต อ งใช กราฟฟกการดใดๆ เขามาเสริม ชวยให ยูสเซอรประหยัดการใชพลังงานและเปน มิตรตอสิ่งแวดลอม

บริษัท มาซูมา (ประเทศไทย) จํากัด http://mazuma.co.th

บริษัท อัสซุสเทค คอมพิวเตอร (ประเทศไทย) จํากัด http://www.asus.co.th

Electrolux Condensing Dryer

หลอดประหยัดไฟ Philips Living White

เครื่องอบผารุนใหมลาสุด “Electrolux Condensing Dryer ความจุ 8 กิโลกรัม” ตอบโจทยความตองการหนาฝน แกปญ  หา ผาแหงไมทัน สาเหตุของกลิ่นอับชื้น ดวย เครือ่ งอบผาระบบ Condensing หรือระบบ ควบแนนไอนํา้ เครือ่ งอบผารุน แรกที่ ไดรบั การรับรองจาก Woolmark ระดับโกลด คลาสมาตรฐานเครื่ อ งอบผ า ระดั บ โลก ที่อบผาขนสัตวไดโดยไมทําลายเนื้อผามา พรอมกับเทคโนโลยีอนิ เวอรเตอร ประหยัด พลังงาน ความจุขนาดใหญ 8 กก.

ศูนยขอมูลผูบริโภคฟลิปส

ศูนยบริการลูกคาอีเลคโทรลักซ

โทร 0-2268-8555

ชุ ด หลอดประหยั ด ไฟ Philips Living White สรางบรรยากาศการควบคุมระบบ แสงสวางในบานแบบใหม สามารถปรับ ระดับแสงไดตามตองการ ควบคุมการ เปด-ปดหลอดไฟไดจากรีโมทคอนโทรล สูงสุดไดถึง 50 หลอด โดยสามารถหรี่ ไฟได ตํ่ า สุ ด ถึ ง 1% พร อ มทั้ ง สามารถ ปรับเปลี่ยนสรางสรรคและบันทึกรูปแบบ ความสวางตามตองการไดถึง 3 รูปแบบ ในบาน งายตอการใชงานเพียงกดปุมบน รีโมทคอนโทรลคางไวรอจนกระทั่งหลอด ไฟกระพริบ 2 ครั้ง ก็จะสามารถเชื่อมตอ กับระบบการควบคุมบนรีโมทคอนโทรลได อยางสมบูรณ

http://www.philips.co.th

โทร 0-2725-9000

รถฟอรคลิฟท “STILL”

Acer S235HLAbii แอลซีดีมอนิเตอร รถฟอรคลิฟท “STILL” first in intralogistics จากเยอรมนี โดดเด น ด ว ย เทคโนโลยี Hybrid และ Blue Q ชวยประหยัด พลังงานไดสูงสุด 50% และเปนตนแบบ รถยกที่ชวยลดการปลอยกาซคารบอน ไดออกไซด ไ ด ม ากที่ สุ ด พร อ มตอบรั บ ทุก ความต อ งการของงานยก เคลื่ อ น ยายสินคา การจัดการระบบโลจิสติกส ภายใน สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ คลังสินคาที่มีการใชงานอยางตอเนื่อง 12-24 ชั่วโมง

บริษัท ที.ซี.เจ.เอเซีย จํากัด (มหาชน http://www.tcjasia.com/

Acer S235HLAbii แอลซีดมี อนิเตอรขนาด 23” widescreen 16:9 มาพรอมรางวัล iF Award 2012 การันตีความโดดเดนในการ ออกแบบ และเปนแบบดีไซนที่มีเพียงหนึ่ง เดียว จอภาพบางเฉียบ 12.9 มิลลิเมตร หรือเพียง 1.29 เซนติเมตรเทานั้น ความ คมชัดสูงสุดถึง 100,000,000 : 1 ซึ่งเปน ระดั บ ความคมชั ด ที่ สู ง ที่ สุ ด ในป จ จุ บั น ความเร็ ว ตอบสนองที่ 2 มิ ล ลิ วิ น าที มาพรอมเทคโนโลยี LED backlight ชวย ในการประหยัดพลังงานสูงสุดถึง 68%

เอเซอร คอลล เซ็นเตอร โทร 0-2685-4311

http://www.acer.co.th

36 l July 2012

Energy#44_p35-36_Pro3.indd 36

6/27/12 2:07 AM


Energy#44_Ad Trane_Pro3.ai

1

6/12/12

1:57 PM


Energy Keyman โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“พลาสติกชีวภาพ คําตอบของการแกปญหา สิ่งแวดลอม”

รศ. ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม

ประธานกิตติมศักดิ์ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย 38 l July 2012

Energy#44_p38-40_Pro3.indd 38

6/28/12 10:17 PM


ในปจจุบันคงจะปฏิเสธไมไดวามันเปนสวนหนึ่งในสังคมและสวน หนึ่งในการดํารงชีวิตของเราไปแลว และหลายคนก็คงทราบกันดีวานอก จากประโยชนแลว โทษของมันก็มีมากเชนเดียวกัน เพราะนอกจากระยะ เวลาการยอยสลายของพลาสติกจะยาวนานหลายรอยปแลว ในระยะสั้น ถุงพลาสติกที่เราๆ ไดใชกันนั้นก็สรางปญหาไมนอย เพราะมันจะถูกนํา ไปฝงกลบรวมกับขยะมูลฝอยทั่วไป แตจะใชพื้นที่ ในการฝงกลบมากกวา ขยะมูลฝอยประเภทเศษอาหารประมาณ 3 เทา หรือถานําไปเผาก็จะทําลาย สิ่งแวดลอม เพราะกอใหเกิดกาซคารบอนไดออกไซดจนเกิดปรากฏการณ เรือนกระจก สําหรับในสังคมที่กําลังสรางขยะพลาสติกมากกวา 8,000 ตัน ตอวัน ทางเลือกที่หลายฝายกําลังพยายามรณรงคอีกทางนอกจากการ สรางจิตสํานึกใหแกประชาชนนั่นก็คือ “พลาสติกชีวภาพ” ที่จะชวยลด ปริมาณการใชปโตรเลียมในการผลิต และสรางพลาสติกที่ยอยสลายได เองตามธรรมชาติและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึ่งจะยนเวลาในการยอย สลายลงมาเหลือประมาณ 1 ป แตก็ ไมไดรับความนิยมเทาใด การสั ง คมไทยจะเป ด รั บ และมี ก ารใช พ ลาติ ก ชี ว ภาพกั น อย า ง แพรหลายนั้นจะตองมีปจจัยอะไรบาง รศ. ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม ประธานกิตติมศักดิ์ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย จะมาให ตอบคําถามนี้กัน

บทบาทของสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย

เริ่มแรกเลย เราเริ่มจาก 4 ผูประกอบการที่ผลิตถุงพลาสติกมานาน และก็เปนผูนําที่สงออกไปในตางประเทศดวย เราเล็งเห็นวาในตางประเทศ นั้ น เริ่ ม มี แ นวโน ม ว า ถุ ง พลาสติ ก นั้ น จะต อ งมี วิ ธี ก ารจั ด การที่ ถู ก ต อ ง ไม ใชวาพลาสติกที่ทําจากปโตรเลียมนั่นไมดี แตมีชองโหวอยางหนึ่ง ก็คือ เมื่อนําไปบรรจุอาหารแลวมีไขมันเปรอะเปอนและถุงพลาสติกตัวนั้น ก็ ไมสามารถนําไปลางไดและถึงลางไดก็ ไมคุมที่จะนําไปรีไซเคิล สวนใหญ ก็จะนําไปเผาทิ้งและเกิดปญหาโลกรอนตามมา เราก็มองวาเราจะตองตาม กระแสโลกใหทันคือสินคานั้นจะตองเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ซึง่ เมืองไทย เรานั้นมีสวนตรงนี้อยางมาก เพราะเมืองไทยเรานั้นไดสงออกบรรจุภัณฑ เกี่ยวกับอาหารจํานวนมาก และเรามองวาถุงพลาสติกชีวภาพนั้นเปน ตัวเลือกที่เหมาะสม โดยพลาสติกชีวภาพนี้จะตองใชควบคูไปกับพลาสติก ทั่วไป ซึ่งพลาสติกทั่วไปนั้นสําหรับนําไปใชใสขยะทั่วไปและนําไปรีไซเคิลได สวนพลาสติกชีวภาพนั้นสําหรับนําไปใสขยะเปยกหรือขยะอินทรีย

พลาสติกชีวภาพคืออะไร?

ป จ จุ บั น ทางสมาคมฯ ได ทํ า การประชาสั ม พั น ธ ไ ปในเรื่ อ งการ รางมาตฐานของพลาสติกชีวภาพ เพราะมีการแปลกปลอมไปใชคําวา Biodegradable หรือที่เรียกวายอยสลายทางชีวภาพ ซึ่งตัวนี้เปนพลาสติก

ธรรมดาที่ ไปผสมสารเติมแตงใหตัวพลาสติกเกิดการแตกตัวแตไมได เกิดกระบวนการยอยสลายจริง ซึ่งยิ่งเปนอันตรายมากยิ่งขึ้นหากมีการ ปนเปอนไปในอาหารหรือแหลงนํ้าดื่ม ซึ่งเราก็เลยตั้งมาตรฐานขึ้นวา อยางนั้นไมใชนะ สมัยหนึ่งอาจจะดีแตตอนนี้ ไมดีแลว เราพบตัวใหมที่ดีกวา ที่สลายตัวไดทางชีวภาพ ซึ่งเรียกวา Biodegradable and Compostable คําวาชีวภาพจริงๆ แลวจะตองผลิตมาจากพืช แตปจจุบันมีการ อะลุมอลวยกัน ก็คือบางตัวยังผลิตมาจากนํ้ามัน แตตามหลักการจริงๆ แลวจะตองมาจากพืชอยางเดียว และถาหากจะตอยอดอีกคือพลาสติก ชีวภาพนั้นมี 2 อยางคือ พลาสติกที่สลายตัวไดทางชีวภาพ และพลาสติก ที่สลายตัวไมไดก็คือพลาสติกธรรมดาที่ทําการเลียนแบบพลาสติกชีวภาพ โดยการนําโครงสรางของพลาสติกธรรมดามาทําการสังเคราะหจาก พืช ซึ่งถึงแมจะยอยสลายไมไดแตก็มีขอดีคือสามารถลดการปลดปลอย คารบอนไดออกไซดในกระบวนการผลิตนั่นเอง July 2012 l 39

Energy#44_p38-40_Pro3.indd 39

6/28/12 10:17 PM


ถุงพลาสติกทัว่ ไป หามใชคาํ นี้ พลาสติกชีวภาพ ไม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพที่ จ ะไปทดแทนพลาสติ ก ทั่วไปได เราเลือกทดแทนไดบางอยาง เลือกไป ทดแทนสวนที่ ไปบรรจุภัณฑที่ ใชบรรจุอาหาร บางสวนไมใชทั้งหมด เพราะบางอยางพลาสติก ชีวภาพยังไมสามารถทดแทนได แต ถ  า เป น ถุงขยะ ถุงใสอาหารปกตินั้นแทนได เราตอง เลือกใชและใชอยางฉลาดก็จะเกิดประสิทธิภาพ ที่ดี ปจจุบันพลาสติก 600 ลานตันตอป พลาสติกชีวภาพทําได 1 ลานตันตอป ดังนั้น ตลาดใหญ ม ากแค เ ราไปทดแทนส ว นหนึ่ ง ก็ พอแลว อยาไปทดแทนทั้งหมด เพราะพลาสติก ทั่วไปมันก็มีหนาที่ของมันอยู เราเอาเฉพาะสวน ที่เกี่ยวกับอาหาร สวนที่ ใชแลวทิ้งก็พอแลว ดังนั้นเราอยาไปสับสนวาพลาสติกชีวภาพนั้นจะตองยอยสลายตัว ไดเทานั้น แบบที่ ไมยอยสลายก็มีดวยเชนกัน

พลาสติกชีวภาพแพงกวาจริงหรือ?

พู ด ถึ ง ต น ทุ น นั้ น สํ า คั ญ มาก ผมจะชี้ ให เ ห็ น ป จ จุ บั น ราคาถุ ง พลาสติกธรรมดานั้นถูกกวาพลาสติกชีวภาพ แตถาคิดอยางครบวงจร หลังการใช การจัดการหลังการใชเราก็เปนคนเสียเงินดวยโดยภาษีของ เราเอง เราทุกคนไมรู แตพลาสติกชีวภาพนั้นการจัดการหลังการใชนั้น เปนศูนย จริงๆ แลวการจัดการหลังการใชนั้นมีคาใชจายที่สูงกวา แต ถูกบิดเบือนไป เพราะฉะนั้นถาบอกวาพลาสติกชีวภาพนั้นแพงกวาก็ขอ บอกวาไมจริง เราลองมาคิดอยางครบวงจรสิ เอาอยางตรงไปตรงมา

ใชพลาสติกโดยคํานึงถึงโลก

พลาสติกนั้นไมใชวาไมดี แตคนที่ ใชจะตองมีวินัย การใชจะตองใช แบบฉลาด ใชใหไดผลดีที่สุด และทําลายสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุด แตถา ทุกวันนี้เราใชไมเปน เราไปโยนทิ้งๆ ขวางๆ เราจะตองมีการรณรงคแบบ บูรณาการคือทุกคนตองทําพรอมกัน ไมใชแคทางกทม.ทําคนเดียว แมบาน ทําคนเดียว เอกชนทําคนเดียว ทุกวันนี้ทุกคนทําคนเดียว เราจะตองมีการ รณรงคกัน มีการใหความรูเรื่องพลาสติกชีวภาพ เรื่องการคัดแยกขยะ คนไทยเรานั้นไมใชไมฉลาด แตเราไมไดรับขอมูลที่ดี ประชาสัมพันธของ รัฐตองทํางาน ผมยํ้าตรงนี้

พลาสติกชีวภาพ คําตอบของการแกปญหาโลกรอน

ความสวยงามอี ก อย า งหนึ่ ง ของพลาสติ ก ชี ว ภาพนั่ น คื อ เราไม ตองมีการลงทุนซื้อเครื่องจักรใหม เรามีการคิดหลายๆ อยาง มีการนํา มันสําปะหลังมาผลิตพลาสติกชีวภาพโดยไมได ใชกระบวนการของการ ทําพลาสติกธรรมดา ปจจุบันมีอยู 4 พันกวาโรง เครื่องจักรเปนแสน เครื่อง เรายังใชเครื่องเดิมอยู โดยนําเม็ดพลาสติกใสเขาไปแลวใชไดเลย มีการปรับแตงนิดหนอยเรื่องอุณหภูมิเทานั้นเอง ผมกลาพูดไดเลยวา พลาสติกชีวภาพเปนคําตอบของการแกปญหาสิ่งแวดลอม และสภาวะ โลกรอนได ถาเราใชใหเปน

เลือกใชถุงพลาสติกชีวภาพใหมีประสิทธิภาพ

ผมยํ้ า อี ก ครั้ ง ว า เราไม ไ ด นํ า ถุ ง พลาสติ ก ชี ว ภาพมาทดแทน

40 l July 2012

Energy#44_p38-40_Pro3.indd 40

6/28/12 10:17 PM


Energy Keyman โดย : ลภศ ทัศประเทือง

“ปลูกตนไมในจิตใจ ของคนไทยทั้งแผนดิน” บุญพีร พันธวร

เลขานุการโครงการ Think Earth July 2012 l 41

Energy#44_p41-43_Pro3.indd 41

6/28/12 1:09 AM


สิ่งแวดลอม ใหนึกถึงโลก ฉะนั้นภายใตคําวา Earth เราก็มีกรอบอยู 5 ตัว ดวยกันEยอมาจาก Environments ซึ่งเกี่ยวกับ Energy ก็ ได Aมาจาก Animal หมายถึง สัตวปา สัตวในวิถีชีวิต R มาจาก Rivers หมายถึง แหลงนํ้า ทะเล T มาจาก Tree หมายถึง ตนไม Hมาจาก Human Being คือ มนุษยนนั่ เอง ซึง่ เปนจุดสําคัญทีส่ ดุ แหลงธรรมชาติ สิง่ แวดลอมรวมถึง แหลงพลังงานจะดีหรือไมดีมันอยูที่ตัว “H” นี่เอง เราก็มองไปที่เด็ก และเยาวชนของชาติเปนหลัก เราจะปลูกฝงเด็กในแนวความคิดที่จะให ความสําคัญแก Earth และใหความสําคัญในเรือ่ งสิง่ แวดลอมตามธรรมชาติ และวงจรชีวติ ธรรมชาติ พยายามอธิบายใหเห็นวาเพราะมนุษยไปตัดทําลาย วงจรชีวิต ธรรมชาติมันก็เลยเกิดปญหา กับอีกสิ่งหนึ่งคือ สิ่งแวดลอมที่ มนุษยสรางขึ้น พลังงาน ขยะ อะไรก็ตามที่มนุษยสรางขึ้นทั้งหลายสงผล กระทบตอสภาวะแวดลอมในปจจุบัน

หลายคนพูดถึง CSR ในทางที่ตางกัน กระแสการทําดีเอาหนา ประชาสัมพันธเพื่อสังคม ยังเปนสิ่งที่ถูกมองในมุมกวาง ซึ่งคําวา CSR :Corporate Social Responsibility ก็คือการดําเนินกิจกรรมภายในและ ภายนอกองคกร ที่คํานึงถึงผลกระทบตอสังคมทั้งในระดับใกลและไกล ดวย การใชทรัพยากรทีม่ อี ยูในองคกรหรือทรัพยากรจากภายนอกองคกร ในอัน ที่จะทําใหอยูรวมกันในสังคมไดอยางเปนปกติสุข ซึ่งหลัง ๆ ตีความกันไป เปนการคืนกําไรสูส งั คม ในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ การจัดปลูกปา ใหทนุ การ ศึกษา จัดประกวดการอนุรักษพลังงานสิ่งแวดลอม เปนตน ฉบับนี้เราจะไป คุยกับ คุณบุญพีรพันธวร ผูจัดการทั่วไปฝายประชาสัมพันธ บริษัท สยามกลการ จํากัด และเลขานุการโครงการ Think Earth ในประเด็นของบริษทั ผูผ ลิต ผูใชทรัพยากรจะคํานึงถึงการคืนกลับไป ดูแลสังคม ซึ่งตัวโครงการฯ เกิดกอน CSR เสียอีก มาในชื่อที่เราคุนหูกัน เปนอยางดี “ Think Earth” จะมีรายละเอียดอยางไร ไปติดตามกันไดเลยครับ

ES : โครงการ Think Earth มีทมี่ าอยางไร ทราบวาทํากอน ทีจ่ ะมีคาํ วา CSR อีกใช ไหมครับ ?

บุญพีร: ใชครับ กอนนั้นยังไมมีคํานี้ หรือ คําวาคืนกําไรก็ยังไมมี คือ ตางคนตางทํา หนวยงานทีเ่ กิดขึน้ ก็จะมี ตาวิเศษ หรือสมาคมสรางสรรคไทย สมัยนั้นก็ทําเรื่องขยะอยางเดียว ก็ ไมไดอิงเรื่องภาคเอกชนเลย มีมูลนิธิ คุมครองสัตวปาฯจะเปน NGO ที่ตั้งเปนมูลนิธิ ไมไดมีบริษัทเอกชน แตวา กลุมเราเปนกลุมแรกที่เปนธุรกิจภาคเอกชนที่ทําเรื่องนี้ โดยเราถือวาสิ่ง นี้มันเปน DNAของคนในสยามกลการทั้งหมด สวนที่มาโครงการ Think Earth เรานึกถึงการปลูกจิตสํานึก ปลูกฝงกันตั้งแตเด็ก ใหนึกถึงปญหา

ES. : วิสยั ทัศน ในเรือ่ งการปลูกจิตสํานึก จนเปนรูปโครงการฯ เปนอยางไรครับ? บุญพีร : โครงการเกีย่ วกับเรือ่ ง “Think Earth” นี้ มีมาเปนระยะเวลาเกือบ

22 ปแลว โดย ดร.พรเทพ พรประภา ผูอํานวยการ โครงการ Think Earth เปนผูริเริ่มกอตั้งขึ้นในระยะแรกเรามุงที่จะใหความรูกับเด็กและเยาวชน ของชาติเปนหลัก ซึ่งตัวองคกรเองนั้นกอนที่จะทําโครงการฯ เราไดมีการ ปลูกฝงบุคลากรหรือพนักงานภายในกลุมบริษัท อยางนอย 1 ป กอนที่จะ เปดตัวโครงการ นั่นหมายความวา เราตองทําใหคนขางในรับรูรับทราบ กอนวาเรามีนโยบาย มีวิสัยทัศนอยางไร เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดลอม ฉะนั้น

42 l July 2012

Energy#44_p42-43_Pro3.indd 42

7/2/12 1:36 PM


ในเรือ่ งจิตสํานึก Awareness หรือเรือ่ งความคิดในการอนุรกั ษมนั มีอยูแ ลว อีกประการหนึ่งเราเปนหุนสวนกับญี่ปุน ระบบมาตรฐานหลายระบบ เชน QC, KAIZEN หรือ 5S ไดถูกนํามาใชอยางเปนระบบ ทั้งเรื่องของการ ดูแลรักษาความสะอาด สิ่งแวดลอม ความเปนระเบียบ โดยพื้นฐานอยูแลว พนักงานในองคกรเราตองมีสวนรวมกอนจึงเปดประตูสูภายนอกในการ สรางจิตสํานึก คือคนในตองแข็งแกรงกอนจะไปถายทอดได

บุญพีร : แนนอนวาเรามีกจิ กรรมทัง้ ภายในและภายนอกตลอดระยะเวลา ที่ผานมา และการมอบรางวัลใหกับหนวยงานภายนอกที่สงเสริมเรื่อง การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม รวมทั้งการประกวดแนวคิดในระดับ เยาวชนเสมอมา นอกจากนี้ ตัวองคกรเองก็เคยไดรับรางวัลการันตี คือ Ten Bestของกระทรวงพลังงาน ใหกับบริษัทดีเดนดานการอนุรักษ พลังงานแบบมีสวนรวม โดยเราเปน 1 ใน 10 บริษัทที่ ไดรางวัลในเรื่อง ขององคกรประหยัดพลังงาน ซึ่งทางหนวยงานภาครัฐจะมาตรวจสอบ และประเมินผล เรื่องการอนุรักษพลังงาน ซึ่งเราทํากันมาอยูกอนแลวโดย เนนหนักใหพนักงานรวมกันประหยัดพลังงานแบบมีสวนรวม ก็ถือวาเรา จะตองเปนตัวอยางทีด่ กี อ นในเรือ่ งการอนุรกั ษหรือใสใจสิง่ แวดลอม ถือเปน หัวใจสําคัญของเรื่อง Thinking สําคัญที่สุดก็คือองคความรูที่ ใหพนักงาน มีสวนรวม ถาเราสั่งไปก็คือสั่งทีทําที มันไมเปนตัวที่ทํามาจากใจ รวมมือ รวมใจกันทํา ฉะนัน้ เราก็อาศัย Think Earth ทีเ่ รามีความสุขอยูแ ลวมาชวยกัน พอชวยไดระดับหนึ่งแลวก็เริ่มเผยแพรตอ

ES. : โครงการ Think Earth ทีท่ าํ ตอเนือ่ งมา ทําไมมันถึง ประสบความสําเร็จ และมันก็มีแนวโนมที่จะทําตอไปไดอีก เรีอ่ ยๆ ทานมีมมุ มองอยางไรครับ ? บุญพีร : เบื้องตนในยุคแรกๆ ตอนสมัยคุณสืบ นาคะเสถียร เมื่อ

1 กันยายน 2533 ที่ทานไดยิงตัวตาย ทานไดสรางกระแสในเรื่องอนุรักษไว กระแสของสื่อในเรื่องปาไมมันแรงมาก สมัยนั้นทุกภาคสวนลุกขึ้นเห็นพอง ตองกันวามันถึงเวลาที่จะรวมกันปองกันทรัพยากรของชาติ มันก็เลยเกิด กระแสในการอนุรักษที่ทุกคนเกิดจิตสํานึกโดยภาพรวมทั้งประเทศและมี สวนรวม มันถึงเวลาแลวที่เราจะใหความสนใจ เรื่องการดูแลรักษา รัฐบาล สมัยนัน้ จึงประกาศปดปาเลยปนนั้ ซึง่ ตอนนัน้ ประมาณเดือนมิถนุ ายน 2533 คุณสืบ มาหาเราบอกวาอยากจะตั้งกองทุนเพื่อพิทักษปา แตรัฐฯ ใหงบมา ประมาณ 2 ลานบาทดูพื้นที่อนุรักษ 2 ลานไรแลวก็ถูกตัดงบลงมาอีกเหลือ ประมาณ 1 ลานบาท ตกไรละ 50 สตางค มันอยูไมได ทานก็มาขอทุน กับเรา ไมนานยังไมทันที่กองทุนฯ จะเปนรูปเปนรางทานก็มาจากไปกอน แต เ ราก็ ส านต อ กองทุ น เพื่ อ ผู  พิ ทั ก ษ ป  า นี้ ต  อ นะครั บ โดยร ว มกั บ มู ล นิ ธิ สืบ นาคะเสถียรตอนที่เราทําโครงการฯ ชวงแรก ๆ คนยังไมรูจัก วามันคือ อะไร มีประโยชนอยางไร ทําไปเพื่ออะไร แตเมื่อเราดําเนินการติดตอกันมา เรื่อยๆ คนเริ่มรูจักเริ่มระบุวัตถุประสงคใหชัดเจนลงไปวาจะใหเราชวยเหลือ อะไร เพราะอะไร และสรางประโยชนไดอยางไร นั่นแหละ คือคําตอบวา ทํามันถึงประสบความสําเร็จและในอนาคตก็เชื่อแนวามันจะสรางประโยชน และมีคนขอทุนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ

ES. : เรามีการจัดกิจกรรม หรือมีการใหรางวัลอะไรบาง หรือเปลาครับ?

ES.:วิสัยทัศนดานพลังงานของประเทศไทยในเชิงอนุรักษ พลังงาน ในสวนของผูผลิต หรือองคกร ทานมีความคิด วาเราจําเปนที่จะเริ่มอนุรักษ ไดหรือยังครับ ? บุญพีร :ในสวนแคมเปญที่หนวยงานภาครัฐไดออกมารณรงค ไมวาจะ

เปนการไฟฟาฝายผลิตก็ตาม หนวยงานภาคเอกชนตาง ๆ ก็พยายามเลน เรื่องสิ่งแวดลอม เรื่องโลกสีเขียวอะไรก็แลวแต ก็ถือเปนการเริ่มตนที่ดีซึ่ง เรื่องนี้ผมวามันมีกันมานานแลวละ เพียงแตเราใสใจรายละเอียดมากแคไหน เราแกปญหาที่ปลายเหตุหรือเปลา ผมจึงบอกไดเลยวาเราทํากันมา เราเริ่ม จากราก จากที่เราไมรูอะไรเลย เราศึกษาเรารูใหจริง รูใหลึก เราโฟกัสไป ที่เด็ก เยาวชน พนักงานในองคกร ยกตัวอยางกิจกรรมหลักของเรา เชน โครงการปลูกตนไมใหเขาเริม่ ปลูกตนไมในจิตเขากอน ไปจนถึงคนไทยทุกคน ตระหนัก ก็จะมาชวยกันปลูกตนไม ปลูกจิตสํานึก ไปสูภ าพใหญ ผมเรียกมันวา “ปลูกตนไมในจิตใจของคนไทยทัง้ แผนดิน” ซึง่ ก็ไมนา ยากครับในการจะทําให สําเร็จ เพราะถือวาเปนสิง่ จําเปนสําหรับทุกคนทีค่ วรกระทําเรือ่ งสิง่ แวดลอม หรือการดูแลปกปองแหลงธรรมชาติเปนเรื่องของทุกคนถือเปนภาระ และ หนาที่ที่ทุกคนตองรวมมือกันผสมงานผสานใจเปนหนึ่งเดียวกัน เพื่อรักษา ธรรมชาติอันงดงามนี้ฝากไวเปนมรดกแกลูกหลานไทยสืบไป

July 2012 l 43

Energy#44_p42-43_Pro3.indd 43

7/2/12 1:36 PM


Energy Design

โดย : ศิริทิพย หาญทวีวงศา สถาปนิกอิสระ

Butterfly Effect

Small space / multiple use / big difference การออกแบบที่พักที่อยูอาศัยในปจจุบันไมไดคํานึงถึงการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอมโดยการดูทิศทางลม ทิศทางแดด และอาศัยการ ใชเทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงานเพียงเทานั้น แตการออกแบบใน ปจจุบันบริษัทสถาปนิกฯ ตางก็ ไดพัฒนาการออกแบบเพื่อการกอสรางให เสียเศษนอยที่สุดหรืออาจจะพัฒนาไมใหเกิดการเสียเศษเลย โดยใชหลัก การออกแบบตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้าที่ ไดคํานึงตั้งแตการออกแบบ การ เลือกวัตถุดิบที่ ใชกอสราง กระบวนการขนสง ตลอดจนการกอสรางจน เสร็จและเกิดการเสียเศษใหนอยที่สุดแลวสามารถนําไปรีไซเคิลได Green Dwell นั้นเปนหนึ่งที่ ใหความสําคัญในเรื่องสถาปตยกรรม ยั่งยืน และสถาปตยกรรมเพื่อสังคม สนับสนุนและเรียนรูเกี่ยวกับการ ออกแบบผังเมือง สถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรมที่สามารถชวย เหลือและแกปญหาสังคมใหดีขึ้น 44 l July 2012

Energy#44_p44-45_Pro3.indd 44

6/28/12 1:14 AM


และนี้เปนผลงานลาสุดของ Green Dwell คือการออกแบบ The School 4 Burma Design Competition เปนการออกแบบโรงเรียนเพือ่ เด็ก ผูอพยพและลี้ภัยชาวพมา ที่ตั้งอยูที่ Kwe ka bung ใกลกับอําเภอแมสอด จังหวัดตาก โดยการออกแบบไดมุงเนนเรื่องของสถาปตยกรรมที่ยั่งยืน รวมถึงการใหความสําคัญในเรื่องของประสิทธิภาพ และความ หลากหลายในการใชงานของพื้นที่ซึ่งมีจํากัด โดยใชการออกแบบใหอาคาร สามารถปรับเปลีย่ นพืน้ ที่ใชสอยตามความตองการในการใชงาน และเนนให เด็กนักเรียนเปนผูทําการปรับเปลี่ยนไดดวยตนเอง โดยหวังวาเด็กๆ จะได เรียนรูถึงการปรับตัว ในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป พรอมกับเตรียม ตัวรับมือและแกไขกับปญหาตางๆ และความกดดันทางสังคมได และสําหรับการคํานึงดานบริบทและสิง่ แวดลอมการออกแบบยังไดมี การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรเพื่อทดสอบสมรรถนะดานตางๆ เชน การบัง แดด การนําลมเขามาใชในอาคาร

ทั้งนี้การออแบบยังไดคํานึงถึงความสามารถในการใชพื้นที่ที่มีอยู จํากัดอยางมีประสิทธิภาพ เนนในเรื่องของสุขอนามัยที่ดีเปนสําคัญ มีการ แบงแยกสวนสะอาด และสกปรกออกจากกัน มีสวนของชั้นวางรองเทาอยู ดานหนาของโรงเรียนเพือ่ ลดฝุน และสิง่ สกปรกทีม่ ากับรองเทา รวมถึงการ จัดวางหองนํ้าไวในทิศทายลมเพื่อปองกันเรื่องกลิ่น และการวางอาคารให ทิศขวางตะวันเพื่อรับลม และลดความรอนจากแสงอาทิตย พรอมกันนีก้ ารออกแบบยังชวยใหโรงเรียนสามารถปรับเปลีย่ นพืน้ ที่ การใชงานที่เชื่อมตอระหวางพื้นที่ ไปตามความเหมาะสมของกิจกรรมการ เรียนรู เชน เรียนแบบหองเรียน นั่งเปนกลุม หรือเวลามีการแสดงหนาชั้น โดยสามารถกันแดดกันฝนตามฤดูกาลไดเชนกัน การจัดวางอาคารในทิศ ที่เหมาะสม โดยคํานึงถึงบริบทโดยรอบ และการออกแบบโมดูล (Module) ของผนังอาคาร ชวยเรื่องการลดความรอนเขาสูอาคาร และการระบาย อากาศที่ดี

การออกแบบอาคารของโรงเรี ย นนั้ น ให มี ร ะบบของโมดู ล  า ร (Modular) เพื่อความสะดวกสบายในการกอสราง และขนยายเนื่องจาก พื้นที่โครงการเขาถึงไดยาก ดังนั้น ตองสามารถขนสงไดดวยรถปกอัพ ทั่วไป สรางไดดวยฝมือชางทองถิ่น และถอดขนยายไดเมื่อโรงเรียนตอง มีการยายที่อยู นับเปนอีกแนวคิดหนึ่งที่นาสนใจและสามารถนําไปพัฒนาตอได สําหรับการทํางานสถาปตยกรรมเพื่อความยั่งยืนตั้งแตเริ่มตนออกแบบ กอสรางไปจนถึงการนําไปกอสรางในที่ ใหม (Assemble-Disassemble) และหลักการออกแบบดังกลาวยังสามารถนําไปใชไดกับที่พักที่อยูอาศัย บาน รีสอรท ไดเปนอยางดีคะ

July 2012 l 45

Energy#44_p44-45_Pro3.indd 45

6/28/12 1:15 AM


Residential โดย : สรรชณิฏฐ

สั ม ผั ส เสน ห ก รี น รี ส อร ท

ที่....เดอะทองทรายเบย

อิงแอบกับธรรมชาติสิ่งแวดลอม ฝงเสียงคลื่นซัดสาด ผสมผสาน กับเสียงนก เสียงจักจั่น ชางเพลิดเพลินจิตอุรา ณ The Tongsai Bay ถึงแมจะเปนชวงฤดูฝนแตการเที่ยวทะเลก็มีเสนหอีกแบบหนึ่ง ซึ่งเราจะ ไดทั้งบรรยากาศที่รอนจาของแสงแดดที่สาดสองกระทบพื้นผิวทะเลและ หาดทรายสีขาว ความเย็นสบายของสายลมในชวงนี้ ความรมรืน่ ของแมกไม นานาพรรณ ในบางวันก็อาจไดรับบรรยากาศความฉุมชื่นของสายฝน ที่ โ ปรยปรายนี้ เ ป น เสน ห  อี ก แบบหนึ่ ง ของทะเลในหนาฝน อันเปนนิยามหนึ่ง ของผูชอบบรรยากาศแบบเงียบเหงา แตสดใส สําหรับ The Tongsai Bay นัน้ เปน รีสอรทบนเกาะสมุยตั้งอยูทามกลาง ธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ ตั้งอยูตาม เนินเขาที่ลดหลั่นเลนระดับระหวางโขด หิ น กั บ ทิ ว มะพร า ว และสวนหย อ มที่ กลมกลืนกับชาดหาด ซึ่งเปนรีสอรท ที่สรางขึ้นจากหลักการและขอคิดแหง การอยูรวมกับธรรมชาติอยางแทจริง หองพักทุกหลังจะถูกออกแบบ ใหโปรงโลง สบาย รับสายลมใกลชิด

กับธรรมชาติสิ่งแวดลอม โดยตอนกลางวันไมตองเปดไฟ เปดแอร และ ยังสามารถมองเห็นวิวทองทะเลไดทุกหอง พรอมดวยระเบียงขนาดใหญ เตี ย งอาบแดด และอ า งอาบนํ้ า ที่ ทํ า ให สั ม ผั ส กั บ ธรรมชาติ ไ ด ทุ ก อณู เรียกไดวาเปนสวรรคแหงการพักผอนของผูมาเยือนทุกทานเลยทีเดียว นอกจากห อ งที่ ใ กล ชิ ด กั บ ธรรมชาติ แ ล ว ที่ นี่ ยั ง มี เ สน ห  ใ นเรื่ อ ง ของการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ที่ ผู  บ ริ ห ารรุ  น ใหม อ ย า ง คุณกบ และ คุณกอหญา ไดใหความสําคัญในเรือ่ งนีซ้ งึ่ ไดดาํ เนินการมาตัง้ แต ป 2546 ภายใตโครงการ ‘Green Project’ ที่ดําเนินการดานสิ่งแวดลอม 6 หลักการดวยกันเริ่มตั้งแต คือ ดูแลสัตวและตนไม โดยที่นี่เขาจะหามใหพนักงานทํารายสัตว หามตัดตนไมซึ่งถาหากพนักงานทําผิด 2 ขอนี้ก็ ใหพนสภาพการเปน พนักงานทันทีครับ และนอกจากนี้แลวที่นี่เขาไดตั้งกลุมอนุรักษสัตวและ

46 l July 2012

Energy#44_p46-47_Pro3.indd 46

6/27/12 2:23 AM


ธรรมชาติเรียกวากลุม ANP โดยตั้งทีมอาสาจากพนักงานเขามาชวยดูแล สัตวที่ ไดรับบาลเจ็บ การจัดการขยะ ที่ Tongsai Bay จะมีการขัดแยก ขยะ เชน แกว พลาสติก กระดาษ โลหะ ขยะพิษ เศษอาหาร เปนตน โดยขยะจําพวก เปลือกผัก ผลไม เศษอาหาร สวนหนึ่งสงใหชาวบาน ที่เลี้ยงหมูในบริเวณชุมชนใกลเคียง และในบางสวนไดนํามาทําปุยหมัก เศษอาหารที่ผสมกับเศษใบไมกิ่งไมใชเปนปุยใหกับตนไม ส ว นขยะพลาสติ ก ที่ นี่ ไ ด จั ด ส ง ให โ รงงานปู น ที่ จั ง หวั ด สระบุ รี นํ า ไปรี ไ ซเคิ ล โดยการเผาเพื่ อ ใช ใ นกระบวนการผลิ ต ปู น ซี เ มนต ช ดเชย การใชนํ้ามัน การจัดการพลังงาน โดยการปรับเปลี่ยนอุปกรณทุกอยาง ให เ ป น อุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งาน เช น หลอดฟลู อ อเรสเซนต T 5 และ หลอดตะเกียบ การเปลี่ยนมาใชแอรประสิทธิภาพสูงซึ่งเปนแอร ที่ ส ามารถผลิ ต นํ้ า ร อ นได ใ นตั ว เองเพื่ อ ใช เ ป น นํ้ า อุ  น ภายในห อ งให กั บ แขกผู  ม าพั ก พร อ มกั น นี้ ยั ง ได ร ณรงค เ รื่ อ งการประหยั ด นํ้ า ภายใน ห อ งพั ก โดยการติ ด ป า ยประกาศแสดงเป น สั ญ ญาลั ก ษณ ใ ห ผู  ม าพั ก ชวยประหยัดนํ้า นอกจากนี้นํ้าที่ผานการบําบัดแลวไดนําไปเก็บไวในถัง ซึ่งตั้งอยูที่สูงเก็บไวสําหรับใชรดนํ้าตนไมและบริเวณสนามหญา

เพื่อสกัดเอานํ้าไสเดือนมาผสมกับ EM มารดผักสวนครัวของรีสอรท การสนั บ สนุ น หน ว ยงานที่ ทํ า เพื่ อ สั ง คมและสิ่ ง แวดล อ ม เช น มูลนิธิตางๆ หรือศูนยชวยเหลือสัตว เปนตน การปลูกจิตสํานึกพนักงาน โดยการปลูกจิตสํานึกพนักงานที่ เขามาใหมนอกจากจะประถมนิเทศใหความรูเ รือ่ งกฎระเบียบของรีสอรทแลว ก็มีการอบรมดานอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมพยายามใหมีสวนรวม ในการอนุรักษพลังงานแบบสมัครใจ และนอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมมากมายไวชว ยใหผมู าเยือนไดผอ นคลาย ในวันพักผอน ทั้ง สปา จากุซซี นวดตัว เทนนิส และกีฬาทางนํ้าอยาง เรือคายัค และอื่นๆ ไวคอยบริการนักทองเที่ยวผูมาพักผอน และหากอยาก หาสถานที่พักผอนอันเงียบสงบและผอนคลายกับกิจกรรม Tongsai Bay ยังคอยทุกทานไปเยือนคะ

การลดใช ส ารเคมี ที่ รี ส อร ท แห ง นี้ เ ขายั ง ได ทํ า นํ้ า หมั ก EM เพื่อใช ในการทําความสะอาดชักโคก และใชเทลงทอระบายนํ้าเพื่อเปน การบําบัดนํ้าเสีย การผลิตนํ้ายาสมุนไพรจําพวกตะไคร กระเพา และ นํ้าหมักหัวปลา หัวกุงใชเปนสเปยฉีดกลวยไมและกุหลาบการเลี้ยงไสเดือน July 2012 l 47

Energy#44_p46-47_Pro3.indd 47

6/27/12 2:23 AM


Energy Management

Energy Saving : ประหยัดไดจริง

ทําอยางไร?

Energy Saving หรือการประหยัดพลังงาน ลดโลกรอน ปองกัน นํ้าทวมได ฯลฯ ถาจะพูดถึง Energy Saving นั้น หลายๆ คนอาจจะคิดถึง การเปลี่ยนหลอดไฟเปนหลอดผอมหรือหลอดที่ประหยัดพลังงาน เปดแอร 25 องศา หรือติดตั้งไดรฟกับมอเตอร (Motor Drive, Inverter) จากที่ ฟงมาทั้งหมดหรือวาเคยไดยินมานั้นคอนขางจะคลุมเครือ ฉะนั้นเราจะมา ทราบกันวา Energy Saving ที่แทจริงแลวคืออะไรเพื่อใหทานผูอานไดนํา ไปใชใหเกิดประโยชน

ประเด็นแรก Energy Saving เปนกระบวนการ ไม ใ ช เ ป น วิ ธี ทํ า ที่ ต ายตั ว ซึ่ ง กระบวนการ Energy Saving แบงออกเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1.วัดและเก็บขอมูล 2.วิเคราะห 3.ปฏิบัติเพื่อใหลดการสิ้นเปลืองใหตรงจุด

วัดและเก็บขอมูล คือ กระบวนการที่ตองตรวจสอบตนเองวามี พฤติกรรมการใชพลังงานเปนอยางไร ซึ่งทําไดโดยการติดตั้งเครื่องมือวัด อยางเชน เอ็นเนอรจี มิเตอร (Energy meter) ตามจุดที่ตองการวิเคราะห เพื่อใหสามารถแบงแยกพฤติกรรมการใชไฟฟาเปนสัดสวนได ตัวอยางคือ สํานักงานออฟฟศที่ตองติดตั้งมิเตอรเพื่อวัดพฤติกรรมการใชพลังงาน ของแตละชั้นเพื่อใชในการเปรียบเทียบวาชั้นใดใชพลังงานสิ้นเปลืองกวา หรือในโรงงานอุตสาหกรรมที่มี 3 ไลนการผลิตก็อาจจะติดตั้งมิเตอรแยก เพื่อวัดวาไลนผลิตไหนใชพลังงานมากกวาไลนอื่นๆ ซึ่งการเก็บขอมูลนี้ เราตองการเก็บขอมูลแบบตอเนื่องเพื่อสามารถ นําไปวิเคราะหพฤติกรรมการใชพลังงานไฟฟาตอ 24ชั่วโมง (Trend Graph) หรือสัปดาห หรือตอเดือนได ไมใชเปนการเฉลี่ยขอมูลเพราะอาจ มีการสูญหายของขอมูลที่เก็บได (Information Loss) ปจจุบันนี้มีเครื่อง มือวัดที่ทันสมัยอยูมากมายที่ตัวมิเตอรสงขอมูลสื่อสาร (Communication) โดยมิเตอรยอยจะสงขอมูลผานระบบในรูปแบบตางๆ มาศูนยขอมูล เพื่อทํา Data Logging

48 l July 2012

Energy#44_p48-50_Pro3.indd 48

6/28/12 10:23 PM


- อื่นๆ เชน เซิรฟเวอรและคอมพิวเตอรอุปกรณเชื่อม และเครื่อง ใชไฟฟาทั่วไป เปนตน โดยพฤติกรรมของการใชพลังงานแตละกลุมธุรกิจจะแตกตาง กันโดยสิ้นเชิง เชน กลุมโรงงานจะหนักไปทางมอเตอรและเครื่องจักร กลุมสํานักงานจะหนักไปทาง Lighting และ HVAC กลุม Data Center จะ หนักไปทาง Computer, Server และ HVAC ดั ง นั้ น วิ ธี ก ารที่ จ ะประหยั ด พลั ง งานของแต ล ะกลุ  ม ธุ ร กิ จ ก็ จ ะ แตกตางกันไปเชนกัน ซึ่งแนนอนวาเราจะใชวิธีการที่จะประหยัดพลังงาน ของกลุมอุปกรณ ที่มีสวนแบงการใชพลังงานสูงสุด พฤติกรรม : ถาจะกลาวถึงพฤติกรรมนั้นจะเกี่ยวกับการวิเคราะห คาพลังงานและ Demand สูงสุดแตละชวงเวลา ซึ่งคา Demand สูงสุดนั้น คือคาเฉลี่ยของคากิโลวัตตทุกๆ 15 นาที เปนไปตามเรทการคิดคาทางไฟฟา โดยจะ แตกตางกัน เชน การคิดคาไฟแบบ TOU, TOD, และ Normal Rate ซึ่งการคิดคาไฟฟาแตละแบบ นั้ น จะแตกต า งกั น ที่ ช  ว งเวลาการคิ ด ค า Peak Demand และ Rate ของคาไฟใน แตละชวงเวลา เชน โรงงานที่ตองใชไฟฟา ตลอด 24 ชั่วโมง ควรจะใชเรท TOU จะ เสียคาไฟฟานอยกวาการคิดคาไฟฟาแบบ http://www.industrialaid.com/individuals.asp Normal Rate เปนตน ซึ่งการวิเคราะห พฤติกรรมจะเปนการทํางานในลักษณะของ การบริหารจัดการการใชไฟใหเหมาะสมกับ เรทการคิดคาไฟ หรื อ การเลื อ กเรทการคิ ด ค า ไฟให เหมาะสมกับพฤติกรรมการใชพลังงาน

วิเคราะห คือ การนําขอมูลที่รวบรวมไดนั้นมาวิเคราะหพฤติกรรม การใชพลังงานของแตละสวน โดยวิเคราะหทั้ง 2 ประเภท คือ อุปกรณ : เมื่อกลาวถึงอุปกรณ ตองมีการวิเคราะหวาอุปกรณ ตัวใดที่ทางสํานักงานหรือโรงงานมีสวนแบงในการใชพลังงานมากที่สุด ซึ่งจะมีกลุมใหญๆ ดังตอไปนี้ - HVAC (Heating Ventilation Air Conditioning) : คือ อุปกรณประเภทที่ ใชสรางความรอนและความเย็นสําหรับเครื่องจักรและ อาคารสํานักงาน เชน ระบบแอร ตูอบในโรงงาน ตูเย็น เปนตน - Lighting : ระบบแสงสวางเพื่อการมองเห็นและการใหสัญญาณ - Motor and Machine : มอเตอรและเครื่องจักร ซึ่งเปนกลุม ใหญที่ ใชในโรงงานอุตสาหกรรม

http://www.siemens.com/press/en/

July 2012 l 49

Energy#44_p48-50_Pro3.indd 49

6/28/12 10:23 PM


ซึ่งสวนนี้จะไมประหยัดพลังงานแตเปนการ บริหารจัดการพลังงานเพื่อลดคาใชจาย วิธีการอีกประเภทหนึ่งคือ การใชอุปกรณ ที่มีประสิทธิภาพสูงและใชอุปกรณที่ชวยประหยัด พลังงาน การใชอุปกรณที่มีประสิทธิภาพสูง เชน เปลี่ ย นไปใช ห ลอดไฟแบบประหยั ด พลั ง งานหรื อ หลอด LED , การเลือกใชมอเตอรมีประสิทธิภาพสูง เปนตน / อุปกรณชว ยประหยัดพลังงาน เชน การติด ตั้ง Drive, Inverter กับ Motor การติดตั้งบัลลาสต อิ เ ลคทรอนิ ก ส ก ารติ ด ตั้ ง โวลท เ ทจเรตกู เ รเตอร เปนตน

ขอควรรู

ปฏิบัติเพื่อใหลดการสิ้นเปลืองตรงจุด คือหลักการปฏิบัติที่เหมาะสม นัน้ ขึน้ อยูก บั ผลลัพธของวิเคราะหในกลุม ธุรกิจแตละประเภท โดยสวนมากจะ เลือกปฏิบตั จิ ากวิธกี ารที่ใชงบประมาณนอยทีส่ ดุ และใหผลประหยัดพลังงาน มากที่สุดกอน เชน การปรับพฤติกรรมการใชพลังงานของผู ใชงาน โดยการปดไฟ ปรับอุณหภูมใิ หเหมาะสม เปนตน หรือการบริหารพฤติกรรม การใช พ ลั ง งานไฟฟ า ให เ หมาะสมกั บ เรทการคิ ด ค า ไฟของการไฟฟ า เพื่อทําใหลดคาใชจายในสวนคาไฟใหนอยลง

การปรับปรุง Power Quality หรือคุณภาพ ไฟฟาสามารถที่จะประหยัดพลังงานไดเชนกัน เชน การปรับปรุงเรื่อง Harmonic , Power Factor เปนตน กลับที่ ไปทีข่ อ 1 : แนนอนวาเราควรทีจ่ ะเห็นผลลัพธของการประหยัด พลังงานในรูปของการประหยัดคาใชจาย และควรจะตรวจเช็คพรอมทั้ง วิเคราะหเพิ่มเติมวามีพฤติกรรมที่ดีขึ้นจริงหรือไมอยางตอเนื่องและปรับ จูนเพื่อใหมีผลลัพธที่ดีขึ้นตอไป

เรือเฟอรรพ ี่ ลังงานแสงอาทิตยลาํ แรกของโลก ในทีส่ ดุ ฮองกงก็ประสบความสําเร็จในการ สรางเรือเฟอรรพี่ ลังงาน แสงอาทิตยลําแรกของโลก ลดการใชเชื้อเพลิงไดถึงรอยละ 50 ขนาดเรือ 24 เมตร กวาง 7 เมตร จุผูโดยสารไดมากกวา 100 คน ใชเทคโนโลยีขับ เคลื่อนจากการผสมผสานระหวางพลังงานแสงอาทิตย ลม และนํ้ามัน ซึ่ง แผงควบคุมไฟฟาจะทํางานรวมกับพลังงานแสงอาทิตย เก็บเปนพลังงาน แบตเตอรี่ที่ ใชในการขับเคลื่อนเรือ เรือเฟอรรลี่ าํ นี้ ใชเปนเรือรับสงผูใชบริการฮองกง จ็อคกี้ คลับ ซึง่ เปน สนามกอลฟทีม่ วี วิ สวยและเปนสนามกอลฟทีท่ นั สมัยแหงหนึง่ บนเกาะ เกา ซือ่ เชา จอคกี้ คลับยังไดผลิตรถกอลฟพลังงานแสงอาทิตยเปนที่แรกของโลก เมื่อป 2009 ซึ่งผูจัดการสนามกอลฟแหงนี้ ไดอวดวา รถกอลฟของที่นี่ สามารถวิง่ ไดทงั้ วัน ไมวา นักกอลฟจะควงวงสวิงสัก 36 หลุมก็ตาม รถกอลฟ คันนี้ก็สามารถวิ่งได โดยไมตองหยุดชารจแบตเตอรี่อีกดวย ขอมูล: http://www.mcot.net/

50 l July 2012

Energy#44_p48-50_Pro3.indd 50

6/28/12 10:23 PM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

แมวาผลการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคจากหลายที่จะออกมาวา สวนมากผูบริโภคไม ได พิจารณาการเลือกสินคาในเรื่องการประหยัดพลังงานและชวยรักษาสิง่ แวดลอมมาเปนตัวเลือกแรกๆ แตแนวโนมของผูที่เริ่มตระหนักถึงการใชสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในแตละปก็มีจํานวนเพิ่มขึ้น ก็เปนสัญญาณที่ดีวาเรากําลังชวยกันคนละนิด เพื่อใหโลกของเราเปนสีเขียวนานขึ้นอีกนิด

ด ว ยความใส ใ จในเรื่ อ งการประหยั ด พลั ง งานและการรั ก ษา สิ่งแวดลอมมาอยางตอเนื่อง ทําใหเครื่องมัลติฟงกชั่นสีของ ฟูจิ ซีร็ อกซ มีขั้นตอนการผลิตแบบ close loop คือการวางแผนการผลิตเครื่อง มั ล ติ ฟ  ง ก ชั่ น สี แ บบประหยั ด พลั ง งาน รั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม และการใช ทรัพยากรอยางคุมคา โดยเริ่มตั้งแตขั้นตอนการดีไซนเครื่องจนกระทั่งถึง ขั้นตอนการสุดทายคือการผลิตออกมาเปนตัวเครื่อง ภายในเครื่องมัลติฟงกชั่นสีประกอบดวยการทํางาน 4 สวนคือ controller, UI (หนาจอ), ชุดสแกน และชุดทําภาพ เมื่อผูใชงานตองการ ทํางานเฉพาะสวน เชน การสแกนภาพ โหมดอื่นๆที่ ไมใชงานก็จะถูกจาย กระแสไฟฟาดวย ทําใหสิ้นเปลื้องพลังงาน สงผลใหการบูธเครื่องชากวา จะเขาโหมดการทํางานตองเสียเวลานานและมีเสียงดัง ดังนั้นฟูจิ ซีร็อกซ จึงมีการพัฒนาเครื่องใหกินไฟนอยลงและเขาโหมดการทํางานเร็วขึ้นจึง ไดนําระบบ smart energy มาชวยแกปญหาดังกลาว โดยระบบดังกลาว จะทําหนาที่แยกการจายพลังงานเปนสวนก็ๆ เชน การเลือกโหมดสแกน ภาพ เครื่องจะโหมดที่เลือกเทานั้น โหมดอื่นๆจะไมไดรับการจายไฟและ ทําให เครื่องพรอมทํางานไดอยางรวดเร็วเพียง 2 วินาทีหากเทียบกับเครื่องรุน กอน จึงลดปริมาณการจายกระแสไฟฟาไดอยางเหมาะสมและสอดคลอง กับการใชงานจริง

นอกจากนี้ระบบ smart energy จะทํางานควบคูกับ ระบบ smart wellcomeyes ซึ่งระบบ smart wellcomeyesจะมีตัวเซ็นเซอรอยู 2 ตัว ทําหนาที่ ในการตรวจจับสัญญาณมนุษยในรัศมี 90 เซนติเมตร จากนั้นก็ จะสงตอใหระบบ smart energy ทํางานเปนสเตปตอไป ซึ่งการทํางานของ ทั้งสองระบบนี้จะมีผลตอคา Tec value นั่นคือคาการใชพลังงานโดยเฉลี่ย ของเครื่องใชไฟฟาตอชั่วโมงหรือตอสัปดาหหากวาคาเฉลี่ยยิ่งนอยยิ่งดี นอกจากนี้เมื่อ 2 ปกอน ทางฟูจิ ซีร็อกซ ไดผลิตบางชิ้นสวนของ เครื่อง ซึ่งทําจาก biomass plastic โดยการนําเอาพลาสติกมาผสมกับ วัตถุดิบทางธรรมชาตินั่นคือ ซังขาวโพด ในอัตราสวน ซังขาวโพด 30% และพลาสติก 70% เพื่อเปนการลดเปอรเซ็นตการใชพลาสติกและลด ปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซคสูบรรยากาศ โดยฟูจิ ซีร็อกซ เปนแบรนดแรกที่นํา biomass plastic มาใชในเครื่องมัลติฟงกชั่นสี ตอมา ไดเปลี่ยนซังขาวโพดเปนเปลือกไมแทน เนื่องจากพบวาการใชซังขาวโพด เปนการแยงอาหารสัตว ปจจุบันใชเปลือกไม 61% ตอ พลาสติก 39% นอกจากนี้ชิ้นสวนที่เปน Biomass plastic จะตองระบุระยะเวลาการใชงาน วาใชไดกี่ครั้ง เพื่อเปนการนํากลับมาใชใหม ในสวนของผงหมึกจะใชแบบ EA Ecotonerซึ่งเปนผงหมึกที่มีความ ละเอียดสูงผานกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทําใหลักษณะของผงหมึก เปนไอคอนเล็กและกลม มีขานดเทากัน ทําใหการสแกนภาพภาพไดคมชัด และใชอุณหภูมิในการทําละลายตํ่ากวาทั่วไป สงผลตอความเร็วในการผลิต เอกสารสี โดยมีความเร็วถึง 70 หนา/นาที ชวยลดการจายไฟในเครื่องลง ฟูจิ ซีร็อกซ มีโรงงาน ฟูจิ ซีร็อกซ อีโค แมนูแฟคเจอริ่ง หรือ FXEM โดยโรงงานนี้จะรับเครื่องที่หมดอายุการใชงานของฟูจิ ซีร็อกซ จากเอเชีย แปซิฟก นํามารีไซเคิลทีโ่ รงงานนี้ โดยเครือ่ งทีห่ มดอายุการการใชงานจะถูก นํามาแยกชิ้นสวนโดยสวน สวนที่เปนยางและพลาสติกที่หมดสภาพแลวจะ นําไปรีไซเคิลโดยหั่นโรเปนชิ้นเล็กๆ และบด จากนั้นนําไปหลอมละลายจน กลายเปนเม็ด และสงเปนวัตถุดิบเพื่อนําไปหลอมและผลิตเปนชิ้นใหม โดย สวนที่ ไมสามารถ นํากลับไปใช ซึ่งมีไมถึง 1% จะนําไปเปนเชื้อเพลิงสําหรับ เปนพลังงานในการหลอมวัสดุรีไซเคิลอื่นๆ

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

July 2012 l 51

Energy#44_p51-53_Pro3.indd 51

6/27/12 2:34 AM


Energy#42_p55_Pro3.ai

1

4/25/12

2:03 PM


TRANE GREENERGY เทรนด ดี … เพื่ อ โลกสี เ ขี ย ว

เครือ่ งปรับอากาศ “เทรน” ไดแนะนําเครือ่ งปรับอากาศรุน ใหมลา สุด เทรน กรีนเนอรจี (TRANE GREENERGY) ชูนวัตกรรมความเย็นลาสุด มาพรอมเทคโนโลยีประหยัดพลังงาน ในแนวคิดเทรนดด.ี .. เพือ่ โลกสีเขียว โดย “กรีนเนอรจ”ี (GREENERGY) มาจากคําวา Green บวกกับ Energy เพือ่ สะทอนถึง เอกลักษณทางประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ นัน่ คือ การเปนเครือ่ งปรับอากาศทีค่ าํ นึงถึงการใชพลังงาน อยางประหยัด หวงใยสิง่ แวดลอม และมีประสิทธิภาพการใชงานสูง เทรน กรีนเนอรจี มาพรอมความโดดเดนดวยเทคโนโลยีและสุดยอดนวัตกรรมเครือ่ งปรับอากาศ ไมวา จะเปนการใหพลังความเย็นจากคอมเพรสเซอรเพียงหนึง่ เดียว แตสามารถเชือ่ มตอและกระจายความ เย็นกับเครือ่ งปรับอากาศไดมากถึง 2 - 8 หอง ดวยเทคโนโลยีลา สุด Genius Load Balance พรอมทัง้ ชวยใหหอ งเย็นมากขึน้ ถึง 27% ใหความเย็นทีส่ มํา่ เสมอดวย DC inverter compressor ทีก่ ระจายลมเย็น ตอเนือ่ ง ทําใหผอู ยูอ าศัยเย็นสบายตลอดการใชงาน แตสามารถประหยัดพลังงานมากขึน้ ถึง 29% พรอม กับการใชสารทําความเย็น R410A ซึง่ ทัว่ โลกยอมรับวาเปนสารทําความเย็นแหงอนาคต จากคุณสมบัตกิ ารแลกเปลีย่ นความรอนทีด่ ชี ว ยใหระบบปรับอากาศมีประสิทธิภาพ ไม ทําลายชัน้ โอโซน และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ดวยนวัตกรรมการกระจายความเย็นไดมากถึง “2 ถึง 8 หอง” จากคอมเพรสเซอรเดียว ทําให เทรน กรีนเนอรจี สามารถแกปญ  หาการติดตัง้ แบบเดิมทีจ่ าํ เปนตอง ติดตัง้ คอนเดนซิง่ มากเทากับปริมาณเครือ่ งปรับอากาศที่ใช ทําใหตอบโจทยความสวยงามของสถาปตยกรรม และสามารถจัดสรรพืน้ ที่ใชสอยใหเกิดประโยชนสงู สุดรับกับทีอ่ ยู อาศัยยุคใหม ซึง่ เทรน กรีนเนอรจี มีใหเลือก 3 สไตล 9 รูปแบบการใชงาน เพือ่ ครอบคลุมรูปแบบการใชงานอยางไดครบถวน นอกจากนี้ เทรน กรีนเนอรจี ยังสามารถควบคุมการทํางานของเครือ่ งปรับอากาศ ผาน iPad ดวยแอพพลิเคชัน่ “Trane Controller” (อุปกรณเสริม) ทีม่ ที งั้ ฟงกชนั่ การเปด-ปดเครือ่ ง การตัง้ และปรับอุณหภูมิ สามารถแสดงอุณหภูมหิ อ ง (Room Temp.) และอุณหภูมทิ ตี่ งั้ (Set Temp.) หนาจอแสดงผลใชงานไดงา ย มองเห็นไดแมขณะ อยูในทีม่ ดื รวมทัง้ ยังสามารถควบคุมการทํางานของทุกหองไดโดยอุปกรณเพียงชุดเดียว ซึง่ รองรับไลฟสไตลของคนยุคใหมไดอยางลงตัว

“ไอเดี ย อี โ ค อิ ด ช ิ น ่ ั ” บรรจุภณ ั ฑทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม

เปลือกหอกระดาษไอเดีย อีโค อิดชิ นั่ คืออีกกาวของความเอาใจใสตอ สิง่ แวดลอม และสรางมูลคาเพิม่ ใหแกกระดาษถายเอกสาร ดวยการเปลีย่ นบรรจุภณ ั ฑของผลิตภัณฑ ทัง้ 3 ตัวของแบรนด “ไอเดีย” ไมวา จะเปน ไอเดีย กรีน, ไอเดีย เวิรค และไอเดีย แมกซ ให เปนมิตรมากขึน้ ภายใตชอื่ “กระดาษไอเดีย อีโค อิดชิ นั่ ” (Idea Eco Edition) โดย ผลิตขึน้ โดยปราศจากสารเคมีฟอกเยือ่ และใชหมึกพิมพที่ ไมเปนอันตรายตอสิง่ แวดลอม ในการผลิต กระดาษหอนัน้ พิมพดว ยหมึกนํา้ (Water Base) สวนกลองพิมพจากนํา้ มัน ถัว่ เหลือง (Soy Ink) ทําใหกระดาษไอเดียปรากฏโฉมในรูปลักษณใหม เปลีย่ นจากเปลือกหอ สีขาวเปนเปลือกหอสีนาํ้ ตาล และมีลวดลายใหมทยี่ งั คงเนนความสวยงาม ทันสมัย สะทอน ถึงคุณภาพระดับเยีย่ มระดับพรีเมียมของกระดาษทีอ่ ยูภ ายใน นอกจากนี้ ยังไดคดิ คนพัฒนากระดาษใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ ดวยการเพิม่ ปริมาณ EcoFiber ในกระดาษไอเดีย กรีน จาก 30% เปน 40% เพือ่ ลดปริมาณ การใชตน ไมในกระบวนการผลิตลงและเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวใหมากขึน้ ทีส่ าํ คัญยังเปนการนําเสนอทางเลือกใหผบู ริโภคไดมสี ว นรวมในการดูแลรักษาสิง่ แวดลอมไดอยางงายๆ “เพียงแคใสใจในการเลือกใชกระดาษ ก็มสี ทิ ธิช์ ว ยโลกใบนี้ ได” Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

July 2012 l 53

Energy#44_p51-53_Pro3.indd 53

6/27/12 2:34 AM


Green Vision โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“เรี่ยวแรงเล็กๆ ตอชีวิตใหพะยูน” คุณสุวรรณา เอี่ยมพิกุล

พะยูนไดรับการประกาศใหเปนสัตวปาสงวน และเปนสัตวสงวนชนิดเดียวที่อยูในนํ้า แต พะยูนก็ยังคงถูกลา ถูกฆาดวยนํ้ามือมนุษย อยางตอเนื่อง จนจํานวนลดนอยลงอยางนาใจหาย ทําใหหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน มองเห็นความสําคัญที่จะชวยกันอนุรักษ สัตวชนิดนี้ และหนึ่งในนั้นก็คือ บริษัท เบอรแทรมเคมิคอล (1982) จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนาย “ยาดมเพพเพอรมินท ฟลด” ที่ ไดจัดกิจกรรม “รักษพะยูน” ที่ จ.ตรัง อันเปนแหลงของพะยูนเปนปที่ 2 แลว โดยการชวยกันปลูกหญาทะเล ที่นอกจากจะเปนอาหาร ของพะยูนแลวยังมีความสําคัญสําหรับระบบนิเวศนของทองทะเลทั้งหมดอีกดวย วันนี้เราไดมาพูดคุยกับ คุณสุวรรณา เอี่ยมพิกุล ผูอํานวยการฝายขายและการตลาด บริษัท เบอรแทรมเคมิคอล (1982) จํากัด ซึ่งนับไดวาเปนผูบริหารอีกทานหนึ่งที่เห็นถึงความสําคัญ ในการดูแลสิ่งแวดลอมควบคูไปกับการดําเนินธุรกิจ “จริงๆ ทุกคนก็คงจะเคยเห็นขาวพะยูนกัน แตก็คงผานตาไปเพราะขาวมันเล็กนอยมาก แตพอเราเริ่มสนใจก็เลยรูสึกวาเห็นขาวมากขึ้น มันเหมือนเปนการจุดฉนวนในใจเรา เมื่อ กอนก็อาจจะลงหนังสือพิมพอยูแลวแตเราไมเห็น ซึ่งพอเราไดอานไดทราบขอมูลก็รูสึกวา เปนสิ่งที่ตองตระหนัก เพราะพะยูนนั้นนอกจากจะตายตามธรรมชาติแลว ก็ยังตายดวยฝมือ มนุษยอีกดวย ก็เลยมีความรูสึกวาถาเรารูแลวไมพูดก็รูสึกวาไมใชเรา เราอยากพูดให ทุกคนรูและทําในสิ่งที่กําลังของเราที่จะทําได” คุณสุวรรณาเลาถึงจุดเริ่มตนโครงการรักษพะยูน คุณสุวรรณาเลาใหฟงถึงไลฟสไตลการประหยัดพลังงานสวนตัวใหพวกเราฟงวา ปกติแลวเปนคนที่ ไมชอบเปดแอร เพราะชินมาตั้งแตตอนเด็กๆ แลววาเวลาที่เปดแอร แลวเดินออกจากหองไป แมก็จะบอกวาใหประหยัดไฟทําใหชินมาจนโต ซึ่งปกติจะไมชอบ เปดแอรและใชการเปดหนาตางแทน เพราะรูสึกวาถึงแมอากาศขางนอกจะรอนแคไหน แตรางกายเราก็จะปรับไปเอง เวลาที่ออกไปขางนอกก็จะมีความรูสึกวาไมอยากใช ขวดนํ้าพลาสติก โดยจะมีกระบอกนํ้าพกไปเอง ซึ่งลูกก็ทําแบบนี้เชนกัน “การดําเนินธุรกิจกับสิ่งแวดลอมมันตองไปดวยกันอยูแลว เพราะเราไมสามารถ แยกตัวเองจากสิ่งแวดลอมได แคเราลืมตาตื่นขึ้นมา มีลมหายใจใชอากาศนั่นก็คือ สิ่งแวดลอม ดวยนิสัยของคนไทยจะชินกับการใชชีวิตที่งายๆ แลวก็จะไมคอย เดือดรอนกับเรื่องอะไร จนกระทั่งเกิดเหตุการณนํ้าทวมเมื่อปที่ผานมา ทุกคน จึงคอยรูสึกตื่นตัวขึ้นมาวาเราทุกคนมีสิทธิ์ที่จะประสบภัยนี้ ทุกคนก็เริ่มเปนหวง ขึ้นมา แตเริ่มเปนหวงแคตัวเอง ไมไดเปนหวงวาเรามีสวนอะไรในกลไกนี้ คิดวา สื่อคงจะตองเปนคนชวยบอก องคกรเล็กๆ อยางพวกเราก็ตองชวยกัน” คุณสุวรรณากลาวทิ้งทาย

54 l July 2012

Energy#44_p54_Pro3.indd 54

6/27/12 2:38 AM


Greenovation โดย : SuKiYaKi

Re-cycle Laundry Center: ‘Spin Cycle’

หากคุณลองเห็นเจา Re-cycle Laundry Center เครื่องนี้แลว บางทีอาจจะคิดวามันจะสงเสื้อผาของ คุณไปซักในอีกมิติเลยก็เปนได แตนั่นมันเปนไปไมไดอยูแลวละ เพราะมันจะทําหนาที่แคซักเสื้อผาของคุณใหสะอาด หมดจดเทานั้นเอง เครือ่ งซักผาชิน้ นี้ ไดรบั แรงบันดาลใจมาจากเครือ่ งหมายรีไซเคิลทีเ่ รารูจ กั กันดีนนั่ เอง ทัง้ ในเรือ่ งของรูปทรง และฟงกชั่นการทํางาน โดยทั้งสามถังจะมีรูปรางที่เหมือนกัน แตถังหนึ่งเปนเครื่องซักผา อีกถังเครื่องเปา และถัง ที่สามเปนถังนํ้าและระบบการกรอง โดยการปนจะทําการปนตามเข็มนาฬกา ซึ่งนํ้าจะเปนแรงโนมถวงใหเครื่องซัก ผานั้นเริ่มการทํางาน และนํานํ้าสกปรกหลังการซักกลับไปไวในถังเก็บที่มีกระบวนการกรองใหนํ้าสะอาดและพรอม ที่จะนํามาใชงานอีกครั้ง ในขณะเดียวกันผูใชสามารถใชเครื่องเปาไดเพียงหนาที่เดียว เพราะแมวาถังสามถังนั้นจะ เปนอุปกรณชิ้นเดียวกันแตมันไดแยกหนาที่การทํางานออกจากกัน ฟงดูเจงดีนะเจาเครื่องนี้ Re-cycle Laundry Center ถูกออกแบบโดย Fernanda Villanueva และ Arturo Ariño

Breathing Partition Stand for Work At Home People

การทํางานในออฟฟศบางทีก็ดูนาอึดอัด ไมสดชื่นเลยใชไหม? เพราะบางครั้งแอรก็ทําใหอากาศภายในหองดูแหงแลงไปเสียอีก แบบนี้ตองหาตนไมมาสราง บรรยากาศและชวยเพิ่มออกซิเจนซักหนอย แนนอนวาคุณไมตองกังวลวาจะลําบากยุงยากในการดูแลเลยแมแตนิดเดียว คูหูนักออกแบบ ชาวเกาหลี Jinsun Park และ Seonkeun Park ไดทําการออกแบบ Breathing Partition Stand สําหรับสํานักงานที่ตองการสรางพื้นที่สีเขียวไวในสํานักงาน โดยเจาผนังกั้นที่หายใจไดนี้จะมีพื้นที่ พิเศษสําหรับวางพืชเล็กๆและมีระบบรดนํ้าอัตโนมัติ อีกดวย ซึ่งมันเปนไอเดียที่ดี สําหรับการปลูกพืชเล็กๆ ที่ตองการการดูแลนอย

Sunbox Solar Charger

เวลาทีค่ ณ ุ มองออกไปนอกหนาตางเห็นราวตากผาแลว คุณกําลังคิดถึงอะไรอยู? คิดถึง เสื้อผาเปยกๆ ที่แหงไดโดยแสงอาทิตยอันรอนแรงใชไหมละ แลวในเวลาที่เราตากผาเสร็จ ราว ตากผาวางๆ นั่นจะเอาไวทําอะไรดี? Sunbox Solar Charger นั้นมีแนวคิดมาจากการตากผานั่นเอง เพราะเมื่อเสื้อผา ยังสามารถรับประโยชนจากแสงอาทิตยได แลวทําไมเราไมนําแสงอาทิตยนั้นไปใชประโยชน ใหมากกวานั้น โดยการทํางานของมันก็งายๆ เพียงแคเรานําเจา Sunbox ออกไปแขวนบน ราวตากผาในตอนเชา ใหมันรับแสงแดดจาในตอนบาย และเก็บมันมาใชในตอนเย็น เทานี้เรา ก็สามารถนํามาใชเสียบกับอุปกรณตางๆ เชน โทรทัศน เครื่องเปาผม หรือเครื่องเลนเพลง แทนการใชพลังงานไฟฟาจากปลั๊กไฟธรรมดาที่บานไดแลว

July 2012 l 55

Energy#44_p55,57_Pro3.indd 55

6/27/12 2:43 AM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


Carpool LED Top Light ในยูโทเปย (Utopia) หรือเมืองในอุดมคติ คุณอาจจะสามารถหาแท็กซี่ที่ ยินดีจะพาคุณไปยังที่หมายไดทุกที่โดยไมปฏิเสธผูโดยสาร และขณะเดียวกันอาจ จะมีคนที่ ไปยังที่หมายเดียวกับคุณอีกดวย แตทําอยางไรเราถึงจะรูไดละวาแท็กซี่ คันไหนมีผูโดยสารที่กําลังเดินทางไปที่เดียวกับคุณ และเพื่อตอบสนองระบบนี้ นัก ออกแบบชาวจีนอยาง Xi Ouyang, Yuanbiao Jin, Yao Sun และ Yelu Liu จึงไดออกแบบ Carpool LED Top Light ขึ้นมา โดยปายไฟ Carpool LED Top Light นี้จะใชพลังงานลมถึงแปลงกระแสไฟมาจากใบพัดที่ติดอยูบนตัวปาย และ มีขอความบงบอกวารถคันนี้เปน Carpool โดยจะแสดงสถานที่ที่รถคันนี้จะไป และ จํานวนผูโดยสารที่มีอยูในรถ นับเปนไอเดียที่นาสนใจสําหรับผูที่อยากจะแชรคาโดยสารกับผูอื่น หรือแมแตผูที่คํานึงถึงการลดใชยานพาหนะบนทองถนนอีกดวย

Roll charger - Chinese Baoding Balls As a Battery Recharger

หลายคนอาจจะรูจัก ลูกบอลสําหรับบริหารมือ (Baoding Ball) เปนที่นิยมของ ชาวจีนมาก ซึ่งจะชวยบริหารมือและขอนิ้วใหแข็งแรง โดยมีวิธีเลนคือ วาง ลูกบอลสองลูกไวบนฝามือ ใชนิ้วมือทั้งหาขยับลูกเหล็กไปมา และนี่เองคือที่มา ของ Roll charger ที่ออกแบบโดยชาวจีนที่ชื่อ Jian Qian โดย Roll charger นั้นมีหลักการทํางานเหมือนกับ Baoding Ball เพื่อ ทําการผลิตกระแสไฟฟาชารจแบตเตอรี่ ซึ่งภายในลูกบอลนั้นมี 2 ชองสําหรับใสถาน ขนาด AAA หรือ AA ทําใหคุณสามารถชารจแบตเตอรี่ ได 2 กอนในเวลาเดียวกัน

Shake Shake Radio Pen – Music + Assignment at Same Time คุณเปนคนหนึ่งที่ชอบเขยาปากกาไปมาเวลาที่คิดอะไรไมออกหรือเปลา? ถาใชละก็ เจา นี่เหมาะกับคุณสุดๆ ปากกาที่สามารถผลิตกระแสไฟไดจาก Shake Shake Radio Pen เปนการออกแบบปากกาที แบตเตอรี่ภายใน และนําพลังงานนั้นไป การที่คุณเขยามันไปมาแลวทําการเก็บกระแสไฟนั้นไวในแบตเตอรี ารควบคุมระดับเสียง การเปลี่ยนชอง ใชสําหรับวิทยุที่ติดมากับตัวปากกานั่นเอง ไมวาจะเปนการควบคุ วิทยุ เปนอีกทางที่นาสนใจสําหรับคนที่ตองการเรียนหรือทํ อทํางานไปพรอมๆ กับการฟงเพลง ฟง ขาว และแนวคิดเจงๆ นี่ออกแบบโดยนักออกแบบชาวจีนที นที่ชื่อ Tao Ma แตเราขอแนะนําวาอยาใชมันในหองเรียนจะดีกวา เพราะคุณอาจจะถูกยึดจากอาจารย ก็เปนได

July 2012 l 57

Energy#44_p55,57_Pro3.indd 57

6/27/12 2:43 AM


Green Space

TEA TREE Heart โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

ชวนหนุมสาว หัวใจสีเขียว TEA TREE ผลิตภัณฑทําความ สะอาดผิ ว จากธรรมชาติ ชวนคนรุ  น ใหม ม าเปลี่ ย นหั ว ใจให เ ป น สี เ ขี ย ว กั บ ทริ ป พลิ ก ฟ  น ชี วิ ต ธรรมชาติ #2 ณ อุทยานแหงชาติกยุ บุรี จ.ประจวบคีรขี นั ธ ในวันที่ 18 - 19 สิงหาคม 2555

วัตถุประสงคโครงการ เพือ่ ชวยกันดูแลและฟน ฟูธรรมชาติใหกลับมา คงสภาพเดิมใหมากที่สุด แมวันนี้จะไมมีใครบอกไดวาสายเกินไปแลวหรือไม แตก็ยังดีกวาที่จะนิ่งเฉยและไมไดยื่นมือเขาไปเปนสวนหนึ่งในการคืนความ มหัศจรรยกลับสูธรรมชาติที่เปนผูใหมนุษยมาโดยตลอด โดยงานนี้เปนการรับอาสาสมัคร 60 ทานสรางฝายชะลอนํ้าตาม รอยพอ และ Walk Rally ปลูกปาชายเลน ณ อุทยานแหงชาติกุยบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ และโครงการไดเชิญศิลปน AF8 อาทิ แพรว คชา เฟรม

เตา เจมส ไทด เขารวมกิจกรรมดวย พรอมใหคุณลุนโอกาสบินขามฟาไปทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่ประเทศ ออสเตรเลียดวยเงื่อนไขงายๆ คือ • บอกใหเรารูสักนิดวา “หัวใจสีเขียว” ของคุณเปนอยางไร • ตอบคําถามใหโดนใจวา ทําไมถึงอยากไปรวมทริปอนุรักษ ธรรมชาติของ TEA TREE • ผูสมัครตองอายุ 18 ปขึ้นไป เมื่ อ ตอบเสร็ จ แล ว ที ม งานจะคั ด เลื อ กผู  เ ข า ร ว มทริ ป อนุ รั ก ษ ธรรมชาติ ทริปละ 60 คน โดยพิจารณาจากทัศนคติจิตอาสาและความมุง มั่นที่จะรวมกิจกรรมฟนฟูธรรมชาติ และสุดทายจะคัดเลือกเหลือเพียง 10 คน ใหเปนผูเดินทางไปทองเที่ยวและศึกษาดูงานอนุรักษกับ WWF ประเทศ ออสเตรเลียพรอม 6 ศิลปน AF8 สํ า หรั บ ท า นที่ ส นใจ รี บ ตอบรั บ เข า ร ว มสนุ ก ระหว า ง วันที่ 16 มิถุนายน – 31 กรกฎาคม 2555 นี้เทานั้น!!

58 l July 2012

Energy#44_p58-59_Pro3.indd 58

6/27/12 2:46 AM


รั ก ษ เ กาะเสม็ ด รณรงค ใ ช ถุ ง พลาสติกชีวภาพคัดแยกขยะอินทรีย

จากปญหาขยะบนอุทยานแหงชาติเขาแหลมหญา-หมูเกาะเสม็ดที่ มีมากถึง 6 ตันตอวันสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมและเปนภาระในการ ขนสงขยะจากเกาะเพือ่ มากําจัดบนฝง ทัง้ นี้ เพือ่ บรรเทาภาระและฟน ฟูสภาพ แวดลอมใหดีขึ้น สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สนช. อุทยานแหงชาติเขาแหลมหญา-หมูเกาะเสม็ด องคการบริหาร สวนตําบลเพ สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย และ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) จึงไดรวมกันดําเนินโครงการ “การใชถุงขยะ พลาสติกชีวภาพคัดแยกขยะอินทรียเพื่อผลิตปุยอินทรีย ณ เกาะ เสม็ด” ซึ่งเปนโครงการคัดแยกขยะอินทรียบรรจุลงในถุงพลาสติกสลาย ตัวไดทางชีวภาพและนําไปเปนวัตถุดิบในการผลิตปุยอินทรียที่สามารถใช บํารุงไมผลและไมดอกบนเกาะ อีกทั้งยังเปนการเพิ่มมูลคาของขยะอีกดวย ซึ่งชวยลดปญหาการกําจัดขยะในพื้นที่แหลงทองเที่ยวของเกาะเสม็ดได มากกวา 100 ตันตอเดือน และลดการปลอยกาซเรือนกระจกตัวการสําคัญ ที่กอใหเกิดภาวะโลกรอน คิดเปนปริมาณคารบอนถึง 1,600 ตันตลอดระยะ เวลาดําเนินโครงการ สําหรับโครงการในระยะที่ 1 ตั้งแตเดือนพฤษภาคม ถึงกันยายน 2554 มีสถานประกอบการที่รวมโครงการจํานวน 70 รานคา สามารถคัดแยกขยะอินทรียด ว ยถุงพลาสติกชีวภาพไดวนั ละ 3-5 ตัน แตถกู นําไปเปนวัตถุดิบในการผลิตปุยอินทรียไดประมาณ 1 ตันตอวัน เนื่องจาก ปญหาสําคัญ 2 ประการคือ 1. การคัดแยกขยะอินทรียตนทางที่ ไมสามารถดําเนินการไดอยาง สมบูรณ 2. การแยกการจัดเก็บหลังจากจัดเก็บจากสถานประกอบการยัง ไมเปนระบบ สวนการดําเนินโครงการในระยะที่ 2 จะเนนการรณรงคทั้งการคัด แยกขยะอินทรียต น ทางและมีการแยกการจัดเก็บเพือ่ ลดปญหาทีเ่ กิดขึน้ โดย ไดรบั ความรวมมือจากกลุม อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบ า น (อสม.) ใน

การอบรมใหความรูและประชาสัมพันธการแยกขยะอินทรีย อีกทัง้ ยังสรางความรวมมือในทุกภาคสวน มีการประกาศ กฎ ระเบียบ และการลงโทษ มีการเพิ่มจํานวนสถานประกอบการที่เขารวมโครงการให ครอบคลุมทั้งเกาะ และขยายผลสูครัวเรือน รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยี การหมักปุยใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ กลุม ปตท. ไดเขามารวมโครงการฯ ดวยเงินสนับสนุน งบประมาณกอสรางโรงหมักปุย อินทรียจ ากขยะอินทรียต น แบบ ที่ ไดรบั การ ถายทอดเทคโนโลยีจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยใชกระบวนการ ผลิตกึ่งอัตโนมัติ ซึ่งมีการควบคุมสภาวะอุณหภูมิและความชื้นของขยะ อินทรียโดยไมตองทําการพลิกกอง เปนเงินรวม 4 ลานบาท พรอมกับ บริษัท มิตซูบิชิ เคมิคอล คอรปอเรชั่น จํากัด สนับสนุนถุงพลาสติกชีวภาพ ชนิด PBS เพื่อเริ่มตนโครงการฯ ในป 2554 และเพื่อใหโครงการสามารถ ดําเนินตอเนื่องไดอยางมีประสิทธิภาพ ปตท. จึงไดสนับสนุนงบประมาณ อีกจํานวน 1 ลานบาทใหกับสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทยเพื่อ ใชในการผลิตถุงพลาสติกชีวภาพจํานวน 60,000 ใบ เพื่อในการดําเนิน การแยกขยะในป 2555 นี้

July 2012 l 59

Energy#44_p58-59_Pro3.indd 59

6/29/12 4:44 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

http://awrightg301.blogspot.com/2011/03/blog-post-6-air-polution.html

http://uswatch.mfa.go.th/uswatch/th/news/news_daily/detail. php?news=1216

จึงมีการเรงผลผลิตโดยอาศัยสารเคมี ปุย สารฆาแมลง ในชวงระยะแรก ทําใหไดรับผลผลิตสูง ดังนั้น บทบาทของภาคเกษตรกรรมกับอุตสาหกรรมการผลิต ทางการเกษตร ลวนมีความสัมพันธกัน ผูทําธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรม อาหาร การผลิตจะตองจัดระบบการผลิตและโรงงาน ใหไดตามมาตรฐานที่ กําหนดไวทงั้ การผลิตตลอดจนผลิตภัณฑไดรบั การยอมรับจาก ผูส งั่ สินคา ผูบริโภค ซึ่งมีการเรียกรองใหผูผลิต ผูประกอบการตองปรับเปลี่ยนระบบ

กค วา รา มผมัลิ่ นตค ทีง ่ ทยัา่ งง ยือ นา หกัาบร แนวคิดการผลิตที่ยั่งยืน (Sustainable Production) เปนการ ดําเนินการที่ผูผลิตรวมทั้งภาคบริการ สูความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยการใหความสําคัญดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ตอบสนองความตองการ บริโภคของประชาชนที่ ใสใจตอสิ่งแวดลอมที่สงผลตอการ ตัดสินใจของ ผูผ ลิต โดยการผลิตทีย่ งั่ ยืน ตองเริม่ จากการเลือกใชวตั ถุดบิ ใชทรัพยากร อยางมีประสิทธิภาพและไมสิ้นเปลือง จากการพัฒนาเทคโนโลยีและการใช ทรัพยากรมีของเสียนอยที่สุด มีการเลือกใชเทคโนโลยีสะอาดในการผลิต และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นําไปสูการบริการจัดการกระบวนการผลิตที่มี ประสิทธิภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตอยางเหมาะสม ความมั่ น คงทางอาหาร กั บ การพั ฒ นาการผลิ ต ของภาค เกษตรกรรมจนถึงการแปรรูปตองอยูบ นพืน้ ฐานความตองการของบริโภค อาหารทั้งของโลกและประเทศ การเกษตรในประเทศไทย มีการพัฒนา อยางตอเนื่อง ความสําคัญการผลิตที่ยั่งยืน ไมไดมีนัยยะอยูที่โรงงาน อุตสหกรรมแตตองคํานึงถึงตนทางไดแก การเพาะปลูก การเกษตรที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม การเกษตรกรรมของไทยดั้งเดิมเปนการผลิตที่ คํานึงถึงศักยภาพของพื้นที่ การใชแรงงาน และธรรมชาติ ตามฤดูกาลที่ เพียงพอแกการบริโภคในประเทศ ในครัวเรือน ตอมามีความพัฒนาเทคโนโลยีการเพาะปลูก การเกษตรกรรมเพื่อ การสงออก ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งที่สงออกสินคาเกษตร อาหาร สําหรับชาวโลกมานานหลายสิบป เทคโนโลยีการผลิต การเพาะปลูกทีผ่ า นมา

การผลิต ซึ่งรวมทั้งการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อใหการผลิตเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม จากที่ผานมามีผลกระทบจากกระบวนการผลิตที่เปนปญหา สิ่งแวดลอมหลายดานจนเกิดกระแสความตองการของผูบริโภคที่ตองการ สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมตั้งแตการผลิตจนกระทั่งเปนผลิตภัณฑ ที่ ต อบสนองต อ ความต อ งการของต า งประเทศที่ มี ก ารดํ า เนิ น การ มายาวนานในการออกขอกําหนดตางๆ การปรับตัวอยางรุนแรงจึงเกิดขึ้นในภาคเกษตรกรรมของไทย และในขณะเดียวกันการสูญเสียความอุดมสมบูรณของพื้นที่แสดงผล กระทบอยางชัดเจนในระยะเวลาที่ผานมา ทั้งการลดลงของผลผลิต และ การปนเปอนสารเคมีตางๆ ในผลผลิตทางเกษตรกรรม ศักยภาพการ

http://www.kobatechthai.com

60 l July 2012

Energy#44_p60-61_Pro3.indd 60

6/28/12 9:56 PM


http://phys.org/news/2011-11-sustainable-palm-oil-effort-falters.html

อย า งไรก็ ต ามการใช ห ลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งในการ เกษตรกรรมทีท่ าํ พอเหมาะพอดี และมีภมู คิ มุ กันในการผลิตสําหรับภาค เกษตรกรรม ดวยการเพาะปลูกแบบผสมผสาน นาจะเปนทางออกทีด่ ี ในขณะนี้ ผูบ ริโภคตองปรับตัวมีพฤติกรรมการบริโภคทีเ่ หมาะสมและ ไมฟมุ เฟอยและสรางคานิยมการบริโภคอาหารทีป่ ลอดสารพิษมากขึน้ คําตอบของความมั่นคงทางอาหารไมใชการผลิต อาหารจากภาค เกษตรกรรมทีเ่ กินพอดี แตหมายถึงการผลิตทีเ่ หมาะสมกับพืน้ ทีแ่ ละ การบริโภคทีพ่ อเหมาะพอดี นาจะเปนคําตอบทีถ่ กู ตอง

ผลิตลดลงแมจะมีเทคโนโลยีตางๆ เขามาชวยใน การผลิต ขอกําหนดระหวางประเทศที่มีความ เขมงวดทําใหประเทศไทยตองระมัดระวังในการ สงสินคาเกษตรกรรมและปริมาณการสงออก ลดลงตามลําดับ และมีผลตอความมั่นคงทาง อาหารของโลกดวยเชนกัน มีหลายประเทศประสบ ปญหาเชน ที่ประเทศไทยประสบอยู และเกิดภาวะ ขาดแคลนอาหารในประเทศตางๆ อยางเดนชัด ขอเสนอ คือการกลับมาทบทวนการผลิตที่ มุงเนนปริมาณการผลิต ขาดการรักษาศักยภาพ ของพื้นที่ การบํารุงรักษาทรัพยากรที่ดินอยาง เหมาะสม และการใช ส ารเคมี ใ นการเพาะปลู ก เกินความจําเปน ลวนแลวแตเปนประเด็นที่ตอง http://www.kobatechthai.com ทบทวนยุทธศาสตรของชาติ การผลิ ต ที่ ยั่ ง ยื น จึ ง ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง การั ก ษาระบบนิ เ วศ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม สามารถ ไปดวยกันไดกับการพัฒนาที่คํานึงถึงหลักการใชทรัพยากรธรรมชาติ อยางคุมคาและคํานึงถึงขีดจํากัดของทรัพยากรนั้น คํานึงถึงผลกระทบ สิ่ ง แวดล อ มและการใช เ ทคโนโลยี ที่ ล ดการใช ส ารเคมี ใ นการเพาะปลู ก ไมทําลายสภาพแวดลอมและความสมบูรณของดิน นโยบายภาครัฐ ตองสงเสริมการเกษตรกรรมที่เปนผลิตที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม คํานึงถึงความจําเปนของกระบวนการผลิตที่ตอบสนอง ความต อ งการบริ โ ภคในประเทศ และเพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของ ประชาชนที่ดําเนินไปได โดยไมสรางความเสียหาย แกสภาพแวดลอม http://www.kobatechthai.com จนกลายเป น ข อ จํ า กั ด การผลิ ต และบริ โ ภคระยะยาว ประกอบด ว ย เอกสารอางอิง กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ควรมีนโยบายการใชประโยชน เอกสารประกอบคําบรรยาย สัมมนาวิชาการการประเมิน ที่ดินเพื่อการเกษตรกรรมอยางจริงจัง จัดระบบการใชพื้นที่ ที่เหมาะแก ศักยภาพการผลิตของไทย ครัวไทย ครัวโลก ความมั่นคงที่สูญเสีย การเพาะปลูก การจัดสรรนํ้าและเนนเกษตรกรรมที่ผสมผสานมากกวา ชมรมผุบริโภคไทย เมษายน 2555 กรุงเทพฯ. การเพาะปลูกพืชเชิงเดี่ยว July 2012 l 61

Energy#44_p60-61_Pro3.indd 61

6/27/12 2:51 AM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

รับภาระปริมาณกองขยะในระดับที่มาก โดยเปลี่ยนมาเปนแนวทางของการ สงเสริมการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหมแบบ 3Rs (Reduce, Reuse &Recycle) ซึ่งเปนแนวทางของการแกปญหาดานขยะมูลฝอยแบบยั่งยืน และช ว ยลดภาวะโลกร อ นจากปรากฏการณ เ รื อ นกระจกได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ แนวทางนีจ้ าํ เปนตองไดรบั การมีสว นรวมของประชากร ทุกภาคสวนในการแกปญหาอยางจริงจัง

สังคมแหงการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหมควร มีรูปแบบอยางไร? http://blog.eduzones.com/showpic.php?url=http://farm4.static.flickr. com/3402/3526104296_e0025c54dd_o.jpg

เปนรูปแบบสังคมที่มีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและมี การหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหมใหมากที่สุด ตามหลักการของ 3Rs (Reduce, Reuse & Recycle) มีการสรางแนวคิดใหมของการจัดการขยะ มูลฝอยโดยมีมมุ มองวา ขยะยังเปนทรัพยากรทีม่ คี า และมีศกั ยภาพในการนํา กลับมาใชประโยชนใหมได ทั้งนี้ จําเปนตองสงเสริมการคัดแยกประเภทขยะ

“ป ญ หาวิ ก ฤติ ข ยะล น โลก…

แ ร ง ขั บ เ ค ลื่ อ น สู่ สั ง ค ม แ ห่ ง ก า ร หมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหม”

จากรายงานผลการศึกษาลาสุดของธนาคารโลกนี้ที่ ไดออกมาแจง เตือนประชากรโลกเร็วๆ นี้วา บัดนี้ โลกของเรานั้นกําลังเผชิญกับปญหา วิกฤติขยะลนโลกจากการทิ้งขยะในปริมาณที่มากขึ้นของประชากรผูอยู อาศัยในเมืองตางๆ ทั่วโลก ซึ่งธนาคารโลกยังไดทํานายวาประชากรโลกจะ มีการผลิตปริมาณกองขยะเพิ่มขึ้นเปน 2,200 ลานตันตอป ภายในปพ.ศ. 2568 หรือคิดเปนปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นถึง 70% ของตัวเลขปริมาณขยะ ที่เกิดขึ้นในปจจุบันซึ่งมีปริมาณอยูที่ 1,300 ลานตันตอป นอกจากนี้ ภาระ ค า ใช จ า ยในด า นการจั ด การขยะมู ล ฝอยโดยรวมจะเพิ่ ม ขึ้ น อย า งมาก จากเดิมที่มีคาใชจายประมาณ 205,000 ลานดอลลารสหรัฐตอป ก็จะเพิ่ม ขึ้นเปน 375,000 ลานดอลลารสหรัฐตอป สําหรับการแจงเตือนของ ธนาคารโลกในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหา สิ่งแวดลอมที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น สงผลใหสมดุลทางสิ่งแวดลอมของ โลกถู ก ทํ า ลายลงไปอย า งรวดเร็ ว กว า ที่ ค วรจะเป น นอกจากนี้ ท าง ธนาคารโลกยังไดเสนอแนะใหมีการปรับปรุงแนวทางของการจัดการขยะ มูลฝอยจากเดิมทีต่ อ งบําบัดและกําจัดทิง้ ซึง่ มีคา ใชจา ยคอนขางสูงและตอง

http://www.cleanbiz.asia

62 l July 2012

Energy#44_p62-63_Pro3.indd 62

6/27/12 11:58 PM


มูลฝอยและการรีไซเคิลขยะแบบครบวงจร สําหรับในมุมมองของผูเ ขียนนัน้ แนวทางที่ สํ า คั ญ ที่ จ ะช ว ยส ง เสริ ม การเป น สั ง คมแห ง การหมุ น เวี ย น ทรัพยากรกลับมาใชใหมนั้น ควรครอบคลุมในประเด็นเบื้องตน ดังตอไปนี้ • ส ง เสริ ม การใช ห ลั ก 3 Rs (Reduce, Reuse,Recycle) และหลักการสงเสริมแนวทาง zero waste หรือขยะเหลือศูนย • สงเสริมการผลิตสินคาทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ( Eco-friendly product) ที่มีปริมาณสารพิษนอย สามารถนํากลับมาใชใหมได สามารถแกะหรื อ แยกชิ้ น ส่ ว นได้ ง่ า ยเพื่ อ นํ า ไปรี ไ ซเคิ ล ต่ อ ไป • สงเสริมใหมีการจัดตั้งโรงงานคัดแยกและรีไซเคิลวัสดุเหลือใช ใหเพียงพอตามภูมภิ าคหรือในเมือง ตามหลักการของ Eco town • ภาครัฐควรขอความรวมมือกับผูผลิตสินคาเชน เครื่องใชไฟฟา ตางๆ ผลิตภัณฑกระปองสารเคมี หลอดไฟ แบตเตอรี่ใหมีการ พัฒนาแนวทางและเทคโนโลยีการนํากลับซากไปใชประโยชนใหม • ส ง เสริ ม การมี ส ว นร ว มของทุ ก ภาคส ว นในชุ ม ชนสํ า หรั บ การจัดการขยะมูลฝอย ในปจจุบนั นีม้ หี ลายประเทศทีม่ เี ปาหมายของการสรางสังคมแหงการ หมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหมใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด ยกตัวอยาง เชน ประเทศจีนซึ่งไดตั้งเปาหมายการนํากลับของเสียประเภทหลักเพื่อมาใช ประโยชนใหมใหได 70% ภายในป พ.ศ.2558 สําหรับของสียประเภทหลักที่ ตั้งเปาหมายไดแก โลหะ กระดาษ พลาสติก แกว ยาง รถยนต และ

เครื่องใชไฟฟา โดยทางภาครัฐของจีนไดขอความรวมมือกับผูผ ลิตสินคาให มีความรับผิดชอบในการนํากลับซากผลิตภัณฑไปรีไซเคิลเพื่อนํากลับมาใช ประโยชนใหม ประเทศสวีเดนไดตั้งเปาหมายของการรีไซเคิลขยะชุมชน อยางนอย 50% ผานกระบวนการนํากลับวัสดุมาใชใหมและการบําบัดทาง ชีวภาพ สําหรับประเทศญึ่ปุนนั้นมีความมุงมั่นที่ชัดเจนสําหรับนโยบายการ ลดของเสียใหไดมากที่สุดแบบ zero waste ซึ่งเปนนโยบายระดับประเทศใน การแกปญหาการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ดังนัน้ ถึงเวลาแลวทีป่ ระเทศไทยจําเปนตองมีการทบทวนถึงแนวทาง แผนงานและเปาหมายที่ชัดเจนในการลดปริมาณของเสียใหไดมากที่สุด ซึ่ง จําเปนตองอาศัยความรวมมือของทุกภาคสวนในสังคมอยางจริงจังในการ แกปญหา กอนที่โลกของเราจะอดทนตอปญหาขยะที่สะสมมานานไมไดอีก ตอไปนะครับ

http://blog.eduzones.com/bluesky/24966

July 2012 l 63

Energy#44_p62-63_Pro3.indd 63

6/27/12 11:57 PM


Energy Around The World Asia

Asia

http://www.chemicals-technology.com/projects/

http://taiwantoday.tw/ct.asp?xItem=186305&ctNode=413

Total และ KPC ลงนาม MOU ในโครงการ โรงกลั่นนํามันและโรงงานปโตรเคมี ในจีน

ฟลิปปนส ใชรถบัสพลังงานไฟฟา

บริษัท Kuwait Petrochemical Corp (KPC) ประสบความสําเร็จใน การหาหุนสวนทางธุรกิจในโครงการรวมทุน 50 : 50 กับ Sinopec ซึ่งเปนบริษัท ดานพลังงานของรัฐบาลจีน โดยจะดําเนินการสรางโรงกลั่นน้ํามันขนาดใหญทีมี กําลังการผลิต 300,000 บารเรล/วัน พรอมโรงงานปโตรเคมี ณ เมืองจานเจียง (Zhanjang )มณฑลกวางตุง ในประเทศจีนตอนใต หลังจากที่ Total ซึ่งเปนบริษัท กาซและน้าํ มันรายใหญของประเทศฝรัง่ เศส ไดประกาศเมื่อเดือนกุมภาพันธ 2555 วา มีความสนใจที่จะลงทุนในโรงงานปโตรเคมีที่เมืองจานเจียง KPC ก็ ไดเลือก Total ใหรว มลงนามในบันทึกความเขาใจกับบริษทั ในเครือของ KPC 2 บริษทั ไดแก Kuwait Petroleum International (KPI) และ Petrochemical Industries Company (PlC) เพื่อเขาเปนหุนสวนในโรงกลั่นและโรงงานปโตรเคมี โดยมีการ ลงทุน 9.3 พันลานเหรียญสหรัฐ ประกอบดวยโรงกลั่นขนาด 15 ลานตัน / ป แครกเกอรเอธิลีนขนาด 1 ลานตัน/ป และโรงงานปโตรเคมีขั้นปลายสําหรับการ ผลิตพอลิเอธิลีน (PE) พอลิโพรพิลีน (PP) และเอธิลีนไกลคอล (EG) โรงงาน ทั้งหมดไดรับการออกแบบใหใชน้ํามันดิบคูเวต เปนวัตถุดิบตั้งตน และคาดวาจะ สามารถเปดดําเนินการไดในป 2558 Total นําจุดแข็งจากประสบการณการทําธุรกิจปโตรเคมีขั้นปลายใน ประเทศจีนมายาวนาน พรอมทั้งทักษะความรู ในดานการกลั่นและปโตรเคมี มาใช ในกิจการรวมทุน โดยทั้งบริษัท KPI บริษัท PlC และบริษัท Total ตางตกลง รวมกันเปนกลุมบริษัทขามชาติ เพื่อดําเนินธุรกิจที่รวมทุนกับบริษัท Sinopec

USA

http://electriccarsreport.com

รัฐบาลฟลิปปนสรณรงคโครงการเอาชนะภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง โดย มีนโยบายเปลี่ยนรถยนตโดยสารใหเปนรถใชพลังงานไฟฟาทั้งหมด ดวยความ รวมมือระหวางรัฐบาลกับผูป ระกอบการเดินรถโดยสารชัน้ นําของประเทศ Victory Liner เปาหมายของโครงการนี้ประกอบการจะจัดใหมีรถโดยสารที่ ใชเทคโนโลยี สีเขียวหรือพลังงานไฟฟาและ Hybrid จํานวน 2,000 คันภายใน 5 ปขางหนาเปน รถโดยสารขนาด 26 ที่นั่ง จุผูโดยสารไดทั้งหมด 52 คน วิ่งดวยความเร็ว 90 กม./ชม.การใชรถที่ใชพลังงานจากแบตเตอรีน่ นั้ เปนยุทธศาสตรภายในแผนปฏิบตั ิ การเพื่อตอสูกับภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง ชวยใหลดการปลอยมลภาวะสูอากาศ และลดภาวะเรือนกระจก ไมจาํ เปนตองใชผเู ชีย่ วชาญก็สงั เกตเห็นไดวา เกิดมลภาวะ ในเมือง โดยเฉพาะเปนมลภาวะตออากาศแตอันตรายตอสุขภาพของคนดวย ทางการใหการสนับสนุนดานเทคนิคตอองคกรทีท่ าํ การวิจยั หรือแกปญ  หา เกี่ยวกับภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง และหวังวาคงมีผูประกอบการเดินรถรายอื่น ดําเนินการตาม Victory Liner ดวยเพื่อทีจ่ ะลดมลภาวะจากรถออกไปจากถนน

กฎระเบียบใหมสําหรับรถพลังงานไฟฟา

กฎระเบียบใหมสําหรับรถใชพลังงานไฟฟาในสหรัฐอเมริกา กําหนดใหรถยนตนั่ง รถจักรยานยนต รถโดยสารและรถบรรทุกที่ใชพลังงานไฟฟาและ hybrid ตองมีอปุ กรณทาํ ใหเกิดเสียงบาง เพือ่ ใหผเู ดินเทาไดรวู า มีรถเขามาใกลตวั อุปกรณนจ้ี ะทําใหเกิดเสียงเสมือนรถกําลังวิง่ ดวยความเร็วปกติ กําลังเรงความเร็วหรือชะลอ ความเร็วหรือในภาวะวิกฤติ ระดับเสียงจะตองเทากับความดังตํ่าสุดที่จะเตือนใหคนเดินทาที่อยูใกลทราบถึง สภาวะของรถที่วิ่งอยูใกลและตองมีเสียงคลายกับยวดยานนั้น ๆ ดวย กฎระเบียบนี้จะเริ่มรางกันในป 2557 และจะใชบังคับในป 2560 และในป 2554 สหภาพยุโรปไดรางกฎระเบียบเกี่ยวกับอุปกรณกําเนิดเสียงนี้เพื่อ ใหผูผลิตรถทั้งหลายนําไปใช แตในขั้นนี้ยังเปนแคระเบียบเบื้องตน ระเบียบที่จะใชจริงตองรอใหการวิจัยและ การพัฒนาไดผลจนใชเปนมาตรฐานสากลไดกอ น ปจจุบนั มีอปุ กรณทผี่ ลิตออกมา 2 แบบ เปนเสียงเครือ่ งยนต ระบบเผาไหมเชื้อเพลิงแบบเกา โดยติดอุปกรณไวที่ดุมลอและสงเสียงออกไปในทิศทางที่รถเคลื่อนที่ ไป เมื่อรถ วิ่งถึงความเร็ว 32 กม./ชม. อุปกรณนี้จะปดระบบ เพราะเสียงยางรถยนตกับเสียงลมตานจะดังพอ ระบบนี้มี ใชในรถ Lotus และรถฮุนได อีกแบบมีเสียงตางออกไป โดยมีเสียงเดินหนาและถอยหลังตางกันดวย ใชในรถ เชฟโรเล็ตกับรถนิสสัน คนขับรถเปนผูเปด ปด ระบบเอง ซึ่งในอนาคตจะพัฒนาเปนแบบอัตโนมัติ

64 l July 2012

Energy#44_p64-65_Pro3.indd 64

6/27/12 3:05 AM


Middle East

USA

http://agreenliving.org

http://www.bendbulletin.com/article/20120110/NEWS0107/201100358/

อิ ส ราเอลติ ด ตั้ ง เครื่ อ งผลิ ต กระแสไฟฟ้ า พลังงานคลื่นในทะเลดํา

เชื้อเพลิงชีวภาพจากสัตว ใกลเปนจริง

Eco Wave Power หรือ EWP บริษทั ผูผ ลิตและออกแบบเครื่องมือผลิต กระแสไฟฟาจากคลื่นน้ําจากประเทศอิสราเอล ประสบความสําเร็จในการทดสอบ เครื่องผลิตกระแสไฟฟาเครื่องใหมในทะเลดํา หลังจากที่เริ่มทดสอบตั้งแตเดือน เมษายนที่ผานมา รายงานระบุวามีการทดสอบเครื่องผลิตกระแสไฟฟาเครื่องผลิตกระแส ไฟฟา 2 รูปแบบ ไดแก “Wave Clapper และ Power Wing เพื่อเปนการคํานวณ ปริมาณการผลิตกระแสไฟฟ้าของเครื่องกับความสูงและความถี่ ของคลื่นที่ แตกตางกัน ยิง่ ไปกวานัน้ EWP ยังมองถึงทิศทางของคลื่นทีเ่ ขามาหาเครื่องผลิต กระแสไฟฟา 2 เครื่องนี้อีกดวย จาก การรายงานของบริษทั EWP เครื่องผลิตกระแสไฟฟาทัง้ 2 เครื่องนี้ สามารถผลิตกระแสไฟฟาใหประชาชนได 10 ครัวเรือน โดยที่บริษัทจะเนนใชวัสดุ ราคาถูก และมีคาใชจายในการบํารุงรักษาคอนขางต่ํา รวมถึงสามารถใชเวลาใน การบํารุงรักษาไมมากนัก บริษทั ไดยนื ยันวา เมื่อมีการประกาศจําหนายเครื่องรุน นี้ จะสงผลใหตนทุนการกอสรางและการผลิตลดลงมากกวาเครื่องมือผลิตกระแส ไฟฟา จากแหลงพลังงานหมุนเวียนชนิดอื่นๆ บริษัท ไดรายงานตอไปวา ขั้นตอนตอไปคือการเคลื่อนยายการทดสอบนี้ ไปยังชายฝงที่มีโครงสรางที่แตกตางกันเพื่อเปนการสาธิตระบบนี้ ใหแกลูกคาได เห็นถึงประสิทธิภาพการทํางานของเครื่องนี้ ในสภาพแวดล้อมมหาสมุทรที่ หลากหลาย

โปแลนดเชื่อมั่นศักยภาพ Shale Gas

ดร.เดวิด เอ มัลลิน ศาสตราจารยดา นอณูชวี วิทยาจากมหาวิทยาลัยทูเลน (Tulane University) ไดรวบรวมมูลของยีราฟและสัตวเคีย้ วเอือ้ งอืน่ ๆ ในสวนสัตว เพือ่ คนหาจุลนิ ทรียท สี่ ามารถแยกสลายเซลลูโลสและแปลงเซลลูโลสเปนเชือ้ เพลิง ชีวภาพได ดร.มัลลิน ชี้แจงวา การทําเชื้อเพลิงชีวภาพนั้นแตกตางจากการทํา แอลกอฮอลจากนํ้าตาล เนื่องจากกะบวนการจะตองเริ่มจากเซลลูโลส ซึ่งเปน โครงตาขายของคารบอนที่ ไมสามารถยอยไดในรางกายมนุษยและทําหนาที่เปน เกราะปองกันศัตรูพืช หลังจากที่เซลลูโลสไดเปลี่ยนเปนนํ้าตาลแลว ผลผลิตที่ ได สามารถนําไปหมักและกลั่นใหเปนแอลกอฮอลได อยางไรก็ตาม เชื้อเพลิงชีวภาพ ชนิดใหมนี้อาจทําจากอะไรก็ ไดที่เก็บไดจากพื้นดินหรือขยะในถังที่นําไปใสลงใน ภาชนะสําหรับหมัก สิง่ มีชวี ติ หลายชนิด ซึง่ รวมถึงพวกปลวกและวัว จะใชจลุ นิ ทรียท อี่ ยูในลําไส เพือ่ แยกสลายเซลลูโลสภายในระบบยอยอาหาร โดยจุลนิ ทรียเ หลานีจ้ ะทํางานโดย การผลิตสารเอนไซมที่เรียกวา เซลลูเลส ทั้งนี้ ดร.มัลลินไดตัดสินใจที่จะคนหา จุลนิ ทรียน นั้ เพือ่ นํามาใชในการผลิตบิวทานอล ซึง่ มีองคประกอบอะตอมคารบอน 4 อะตอม และมีพลังงานสูงกวาเอทานอลทีม่ อี งคประกอบคารบอน 2 อะตอม ขณะที่ เอทานอลตองใชผสมกับนํ้ามันเบนซิน แตบิวทานอลนั้นสามารถใชไดโดยไมตอง ผสมกับเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ ไมดดู ซับนํา้ และสามารถทีจ่ ะขนสงไดทางทอนํา้ มันเบนซิน เก็บในถังนํ้ามัน และใชโครงสรางพื้นฐานรวมกันไดกับเชื้อเพลิงฟอสซิลอื่นๆ

ประเทศโปแลนดอาจจะกําลังกําลังเมียงมองหาทรัพยากรธรรมชาติที่ชวยใหประเทศลดการ พึ่งพา พลังงาน โดยรัฐบาลโปแลนดไดมอบเงินสนับสนุนงานวิจัยเชิงสํารวจความเปนไปไดวาควร ขุดเจาะกาซ ธรรมชาติที่สะสมตัวใตชั้นหินดินดาน (Shale Gas) หรือไม ทั้งนี้ผูเชี่ยวชาญบางรายเชื่อวาโปแลนดมี เชื้อเพลิงฟอสซิลดังกลาวอยูเปนจํานวนมาก เบตา สเตลแมช รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการตางประเทศ กลาววาอาจจะจริงที่วาประเทศ โปแลนดสนใจกาซธรรมชาติที่สะสมตัวใตชั้นหินดินดานเปนอันดับตนๆในทวีปยุโรป แตยังไมชัดเจนเลยวาจะ มีแหลงกาซธรรมชาติก่ีแหง และอาจจะยังไมทราบแนชัดในสามถึงหาปนี้ โดยรัฐบาลไดเชิญบริษัทสํารวจ พลังงานขนาดใหญใหทําการสํารวจพื้นที่ที่อาจจะพบ แกสธรรมชาติดังกลาวทางตอนใตของประเทศ อางอิงขอมูลจากสมาคมถานหินและลิกไนตแหงยุโรป ปริมาณการใชไฟฟาในประเทศโปแลนดจะเพิ่มขึ้น จากเดิม 30 เปอรเซ็นต ภายในป พ.ศ. 2573 ทัง้ นี้ หากไมสามารถหาแหลงพลังงานอืน่ โปแลนดจาํ เปนตองพึง่ พา การนําเขากาซธรรมชาติจากประเทศเพื่อนบานอยางรัสเซีย ขณะที่ยังคงตองใชถานหินเปนเชื้อเพลิงหลัก

Europe

http://foreignpolicyblogs.com/2012/04/02/ energy-security-europe-diversification-

July 2012 l 65

Energy#44_p64-65_Pro3.indd 65

6/27/12 10:24 PM


Energy#29_p49_Pro3.ai

Energy#39_p92_Pro3.indd 60

1

3/24/11

3:17 AM

1/26/12 12:58 AM


Energy Tezh โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

Pedestrian Airbag

ระบบความปลอดภัยของคนเดินถนน ความปลอดภัย ประโยคนีห้ ากปรากฏอยูต ามสถานทีห่ รือสิง่ ของ วัตถุใด ถือเปนการรับประกันความอุน ใจใหกบั ผูท พี่ บเห็นไดไมนอ ย เพราะ ทุกวันนีก้ ารใชชวี ติ ของเราปจจุบนั เปรียบเสมือนอยูบ นเสนดายในทุก ชวงเวลา ยกตัวอยางรถยนตทเี่ ราใชกนั อยูท กุ วัน ปจจุบนั มีเรือ่ งของ มาตรฐานความปลอดภัยสําหรับผูข บั ขีร่ ะบุไวอยางชัดเจน แตสาํ หรับ ผูท เี่ ดินถนนทีอ่ าจประสบอุบตั เิ หตุจากรถยนต ยังคงไมมหี ลักประกันใดๆ ทีจ่ ะเพิม่ ความปลอดภัยหรือความมัน่ ใจได คาย วอลโว ถือวาไดรบั การยอมในดานของยานยนตเพือ่ สิง่ แวดลอม เปนผูผ ลิตทีม่ กี ารจําหนายรถยนตพลังงานทางเลือกจําพวกเอทานอลเปนราย แรกๆ รวมถึงประเทศไทยก็เปนเจาแรกทีจ่ าํ หนายรถยนตทรี่ องรับ E85 อีกทัง้ ยังเปนเจาของนิยมดานความปลอดภัย ซึง่ ไมไดมไี วสาํ หรับคนทีอ่ ยูในรถยนต เทานัน้ แตยงั หมายถึงทุกคนทีร่ ว มทาง รวมทัง้ คนเดินถนนดวย กับนวัตกรรม “ถุงลมนิรภัยสําหรับคนเดินถนน”(Pedestrian Airbag) หนึง่ เดียวในวงการยาน ยนตครัง้ แรกของโลก เพือ่ ปกปองชีวติ เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ ซึง่ นวัตกรรมดังกลาว เปดตัวสูส ายตาสาธารณชนเปนครัง้ แรกในรถยนตรนุ วอลโว V40 ในงานเจนี วา มอเตอรโชวเมือ่ ตนปทผี่ า นมา สถิติการเกิดอุบัติเหตุทางรถยนตในประเทศจีน พบวาคนเดินถนนที่ เสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุทางรถยนตคดิ เปน 25% ของผูเ สียชีวติ จากอุบตั เิ หตุ ทางรถยนตทงั้ หมด สวนในยุโรปมี 14% และในสหรัฐอเมริกา 12% โดยจะ เกิดการบาดเจ็บขัน้ รุนแรงทีศ่ รี ษะของคนเดินถนนเปนสวนใหญ เปนเพราะเมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ ตัวผูถ กู ชนมักกระเด็นขึน้ ไปบนฝากระโปรงรถและศีรษะไปกระแทก กับกระจกหนารถ คานโครงสรางดานหนาหรือเสา A-Pillar และสวนทีเ่ ปนโลหะ

แข็งใตฝากระโปรงรถ การทํางานของถุงลมนิรภัยสําหรับคนเดินถนนประกอบดวย 2 สวน คือ การทํางานของฝากระโปรงและถุงลมนิรภัย เมือ่ เกิดอุบตั เิ หตุ ฝากระโปรง หนารถจะยกตัวขึน้ เพือ่ ปองกันไมใหคนทีถ่ กู ชนกระแทกเขากับสวนทีโ่ ลหะแข็ง เชน เครือ่ งยนตทอี่ ยูใตฝากระโปรงรถ จากนัน้ ถุงลมนิรภัยจากใตฝากระโปรง ทีข่ อบลางของกระจกกันลมหนาจะพองตัวออกมาบรรเทาแรงกระแทกใหกบั ผูป ระสบอุบตั เิ หตุ ดวยระบบเซ็นเซอร 7 จุด ทีต่ ดิ อยูบ ริเวณกันชน ทําหนาทีต่ รวจจับคน เดินถนน หรือวัตถุ เมือ่ รถชนวัตถุ ก็จะสงสัญญาณไปยังหนวยควบคุม และหาก หนวยควบคุมอานไดวา วัตถุทชี่ นนัน้ เปนขาคน ก็จะสัง่ การใหฝากระโปรงหนารถ ดันตัวขึน้ 10 เซ็นติเมตร เพือ่ ใหเกิดชองวางระหวางเครือ่ งยนตและฝากระโปรง ซึง่ จะชวยลดความเสีย่ งทีต่ วั ของผูป ระสบอุบตั เิ หตุจะกระแทกกับเครือ่ งยนต ทีม่ คี วามแข็งมาก จากนัน้ หนวยควบคุมจะสัง่ การใหถงุ ลมนิรภัยพองตัวออก ถุงลมทีพ่ องตัวเต็มทีแ่ ลวจะคลุมบริเวณทีป่ ด นํา้ ฝนทัง้ หมด ครอบคลุมพืน้ ที่ ประมาณ 1 ใน 3 ของกระจกหนา และดานลางของเสา A-Pillar โดยทํางานที่ ความเร็วระหวาง 20-50 กิโลเมตรตอชัว่ โมง ถึงแมวา อุบตั เิ หตุทเี่ กิดกับคนเดิน ถนนมักเกิดขึน้ ทีค่ วามเร็วไมเกิน 40 กิโลเมตรตอชัว่ โมงก็ตาม นวัตกรรมครัง้ นี้ ถือเปนความกาวหนาครัง้ ใหมทตี่ อ เนือ่ งมาจากระบบ ตรวจจับคนเดินถนนพรอมระบบเบรกแบบเต็มแรงเบรก(Pedestrian Detection with Full Auto Brake) ซึง่ เปนนวัตกรรมเพือ่ ความปลอดภัยครัง้ แรกของโลก ที่ชวยใหหยุดรถไดโดยอัตโนมัติเมื่อมีคนเดินถนนกําลังเดินเขามาในทิศทาง เดียวกันกับรถอีกดวย July 2012 l 67

Energy#44_p67_Pro3.indd 67

6/27/12 3:08 AM


Vehicle Concept โดย : Save Driver

EN-V 2.0 ปฏิวัติการขับขี่สูอนาคต

ยานยนต ไ ฟฟ า เป น เรื่ อ งที่ ใ กล ตั ว เราเข า มาทุ ก ที เหตุผลก็เพราะมนุษยมีความกาวหนาดานเทคโนโลยีอยาง ตอเนื่อง ซึ่งหากขาดเรื่องความกาวหนาดังกลาว ความคิด ความฝนของมนุษยกแ็ ทบจะเปนไปไมไดเลย ซึง่ ปจจุบนั มนุษย ไดกาวพนจุดดังกลาวมาแลว เหลือเพียงแคลงมือทําเทานั้น เจนเนอรัล มอเตอรส ยักษใหญดานอุตสาหกรรมยานยนต ของโลกเผยโฉมยานยนตตนแบบ Chevrolet EN-V 2.0 รุนใหม ลาสุด ที่งานออโต ไชนา 2012 ถือเปนการปฏิวัติวงการขับขี่ ใน โลกแหงอนาคต ในการลดความแออัดของสvภาพการจราจร รวมถึงการลดมลภาวะที่เกิดจากรถยนตในปจจุบัน มร. เควิน เวลล ประธานและกรรมการบริหาร จีเอ็ม ไชนา กรุป เปดเผยถึงรถตนแบบ EN-V 2.0 วา จีเอ็มพยายามคิดคน หาทางเลือกตางๆ ที่จะพัฒนา EN-V รถตนแบบที่มีการพัฒนา มากอนหนานี้ ใหเกิดขึ้นจริง และพัฒนาอยางตอเนื่องจนกลาย เปนยานยนตตนแบบ EN-V 2.0 ซึ่งมีการผสมผสานเทคโนโลยี อันหลากหลาย ไมวา จะเปน อินเทอรเน็ตบนมือถือ, ระบบขับเคลือ่ น ไฟฟา และระบบการสัง่ งานผานโครงขายการสือ่ สารทางไกลผาน

สมารทโฟน หรือที่เรียกวา เทเลมาติกส (telematics) ที่จะมาพลิก โฉมเทคโนโลยีการใชรถใชถนนและทําใหอุตสาหกรรมรถยนตให เติบโตไดอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต EN-V 2.0 จึงแสดงใหเห็น ถือเปนวิสัยทัศนในการกาวตอไปในอนาคตอยางไมหยุดยั้ง ที่ผานมารถตนแบบ EN-V หรือ Electric NetworkedVehicle รถพลังงานไฟฟาขับเคลื่อนสองลอที่มีการติดตั้งระบบ ขับขี่แบบอัตโนมัติ ที่ ไดจัดแสดงภายในจีเอ็ม เอสเอไอซี พาวิล เลียน ไดรับความสนใจเปนอยางมากจากผูเขาเยี่ยมชมงาน เวิลด เอ็กซโป 2010 ที่นครเซี่ยงไฮ โดย EN-V ถือเปนหนึ่งใน รถยนตตนแบบของจีเอ็มที่ถูกกลาวถึงมากที่สุดตั้งแตเคยมีมา รถยนตไฟฟาสองที่นั่งดังกลาวเปนผูบุกเบิกดีเอ็นเอสายพันธุ ใหมของวงการยานยนตที่พัฒนาขึ้นจากหลักการผสานอยาง ลงตัวระหวางระบบขับเคลื่อนไฟฟา และการเชื่อมตอกับเครือขาย สื่อสารไรสาย โดยไดรับการพัฒนามาเพื่อสะทอนถึงความเปนไป ไดในการขจัดปญหาการจราจรติดขัด การหาที่จอดรถ คุณภาพ อากาศ และความสามารถทีจ่ ะเปนเจาของไดของกลุม ผูข บั ขีค่ นรุน ใหมที่ ใชชีวิตในเมือง

68 l July 2012

Energy#44_p68-69_Pro3.indd 68

6/27/12 3:09 AM


คอนเซ็ปตการออกแบบ เนนใหเปนรถที่มีสถาปตยกรรม แบบโมดูลาร ทีมวิศวกรจึงมีความยืดหยุนในการสรางสรรค ยานยนตที่ผูขับขี่สามารถควบคุมดวยตนเอง หรือในรูปแบบ ที่ซับซอนขึ้น มีระบบควบคุมรถแบบอัตโนมัติทั้งหมดและเชื่อมตอ การสื่อสารไรสาย โดยระบบการสื่อสารไรสายของรถตนแบบ ดังกลาวสามารถรองรับการใชงาน เครือขายสังคมออนไลน ซึ่ ง ผู  ขั บ ขี่ แ ละผู  โ ดยสารสามารถติ ด ตอสื่ อ สารกั บ เพื่ อ นหรื อ ติดตอธุรกิจขณะอยูบนรถไดอยางสะดวก โดยคาดวาจะใชเปน รถตนแบบในโครงการศึกษาระบบนํารองทั่วประเทศจีน

EN-V 2.0 มี แ นวคิ ด การพั ฒ นารถมาจากรถ EN-V รุนกอนใหมีเทคโนโลยีที่ครบถวนดานการใชงานมากกวาเดิม ขณะเดียวกันยังไดพัฒนาใหมีดีไซนที่สอดคลองกับประโยชน ใชสอยในสภาพแวดลอมการใชงานจริงมากขึ้น การผสาน รวมกันของเทคโนโลยีการตรวจจับ การสื่อสารไรสาย และ ระบบนําทาง GPS ไดสรางฐานทางเทคโนโลยี ซึ่งจะนําไปสูการ สร า งสรรค ร ะบบยนตรกรรมที่ ลํ้ า หน า สํ า หรั บ โลกอนาคต นอกจากนี้ ยั ง เพิ่ ม เติ ม คุ ณ สมบั ติ ห ลากหลายเข า ไว ใ น หนึ่งเดียวเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภค เชน ระบบ ควบคุมสภาพอากาศภายในรถยนต พืน้ ทีจ่ ดั เก็บสัมภาระสวนตัว สามารถขับขี่ ไดในทุกสภาพอากาศและทุกสภาพถนนในเมือง July 2012 l 69

Energy#44_p68-69_Pro3.indd 69

6/27/12 3:10 AM


Energy Test Run โดย : นัษรุต เถอนทองคํา

“ALMERA”Eco Car 4 ประตู ตัวโต เครองเล็ก ประหยัดจริง

NISSAN ชือ่ นีก้ ลับมาเปนทีร่ จู กั และกลาวถึงอีกครัง้ หลังจากมี การเปดตัว MARCH รถประหยัดพลังงานหรือ “ECO CAR” เปนเจาแรก ในประเทศกับรูปลักษณสไตลรถเล็ก 5 ประตู และสามารถโกยยอดขาย ไดอยางอยางถลมทลาย และเพือ่ เปนการสานตอนโยบายดานพลังงาน ของรัฐบาลอีกครัง้ จึงไดเปดตัว NISSAN “ALMERA” ลงชิงตลาดอีก ครัง้ ดวยนิยามฉีกกฎรถซีดาน 4 ประตู ทีม่ าในรูปแบบอีโคคาร NISSAN ALMERA ถูกเปดตัวในยุคที่ผูใชรถตางหาทางออกในการ ลดคาใชจายดานเชื้อเพลิงที่สูงขึ้น ซึ่งถือเปนตนทุนที่ ไมสามารถหลีกเลี่ยง ไดในปจจุบัน รถเล็กจึงเปนทางเลือกที่ดี แตสําหรับครอบครัวใหญแลว รถ เล็กที่ประหยัดนํ้ามันอาจตอบโจทยการใชรถไดไมทั้งหมด ALMERA จึงถือ เปนรถที่คอนขางฉีกกฎ ดวยขนาดรถและพื้นที่ ใหงานที่มีมาใหอยางเต็มที่ สวนทางกับขนาดเครื่องยนตที่มีความจุเพียง 1.2 ลิตร เทานั้น รูปลักษณภายนอกถูกออกแบบใหแตกตางจากรถอีโคคารทั่วไปที่จะ เนนรูปทรงที่กะทัดรัด เนนการใชงานในเมือง โดย ALMERA มีตัวถังที่คอน ขางใหญเอาเรือ่ ง รวมถึงการวางเสนสายตลอดรอบคันกลมกลืนตัง้ แตหวั จรดทาย หากมองแบบผานๆ ดวยรูปทรงและขนาดดูจะคลายกับรุนใหญ อยาง NISSAN TEANA ดานหนาตองสะดุจตากับไฟหนาขนาดใหญ เติม เต็มดวยไฟตัดหมอกอุปการณมาตรฐานของรุนทอป สวนดานทายถูกจัด วางดวยไฟทายขนาดใหญเชนกัน พรอมสปอยเลอรหลังที่รุนนี้ถูกติดตั้ง มาใหครบทุกรุนตั้งแตรุนเล็กถึงรุนใหญ ตองบอกวาภาพรวมภายนอกให อารมณของรถครอบครัวคอนขางมาก ตัวถังถูกออกแบบใหใหญมากทีส่ ดุ เทาที่จะทําได แตแฝงความกึ่งสปอรตไวในตัว พรอมลออัลลอยขนาด 15 นิ้ว รัดดวยยางขนาด 185/65 R15

ขยับมาที่สวนของหองโดยสาร จริงอยางที่ตนสังกัดใหนิยามเนน ความคุมคาของการใชงาน เพิ่มพื้นที่หองโดยสารใหมากกวารถระดับ เดียวกันและดูเหมือนจะมากกวารถระดับสูงกวาดวยซํ้า โดยเฉพาะพื้นที่ โดยสารดานหลังซึ่งถือเปนไฮไลทสําหรับรถรุนนี้เลยทีเดียว สวนการใหสี ภายในเนนโทนสีดําแลดูหรูและสปอรต และดวยรุนที่นํามาทดสอบครั้งนี้เปน รุนทอป อุปกรณตางๆ เลยมีบรรจุมาใหอยางครบครัน เริ่มที่ปุมสตารท เครื่องยนตที่ทํางานรวมกับกุญแจอัจฉริยะ Immobilizer ระบบปรับอากาศ เปนแบบออโตพรอมจอแสดงผล ถัดมาเปนวิทยุแบบ 2 DIN สั่งการไดจาก พวงมาลัยแบบ Multi-Function พรอมมาตรวัดแบบเรืองแสง ทีนี้มาถึงเรื่องของการทดสอบอีโคคารคันโตเสียที โดยการทดสอบ ครั้งนี้ตั้งใจจะเนนเรื่องของการทดสอบความประหยัดบนพื้นฐานการขับขี่ จริง ไมไดตั้งใจขับจนเกร็ง หรือขับชาเสียจนโดนบีบแตรไลหลัง โดยตั้งเปา การทดสอบไมใกลไมไกลมากนักกับเสนทางกรุงเทพฯ-จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะไปกลับประมาณ 200 กิโลเมตร กอนเริ่มเดินทางไดทําการเซตคา AVG. เพื่อวัดคาเฉลี่ยการสิ้นเปลืองสําหรับการเดินทางครั้งนี้ โดยเฉพาะ ซึ่งไมรวมกับกอนหนานี้ที่รถวิ่งมา โดยมาตรวัดอัจฉริยะในรุนนี้สามารถ แสดงขอมูลพื้นฐานไดอยางครบถวน ไมวาจะเปน อัตราการสิ้นเปลืองแบบ Real Time และแบบเฉลี่ย, แจงเชื้อเพลิงที่สามารถวิ่งได, แจงเปลี่ยนอะไหล และการตรวจเช็คระยะ และอุณหภูมิภายนอก เปนตน การเดินทางเริ่มตนดวยนํ้ามันเต็มถังกับความจุ 41 ลิตร หากคิด เลนๆ ที่นํ้ามันขนาดนี้ สามารถวิ่งไดถึง 820 กิโลเมตร ตามสเปคโรงงาน ที่เคลมไวก็ถือวาคุมหากราคานํ้ามัน E20 อยูที่ประมาณ 30 บาทตนๆ แต ในความเปนจริงแลวคงยากที่จะประหยัดอยูระดับนั้นหากมีการใชงานเพียง

70 l July 2012

Energy#44_p70-71_Pro3.indd 70

6/28/12 10:26 PM


ในเมืองอยางเดียว การทดสอบครั้งนี้จึงเลือกเสนทางใหเฉลี่ยทั้งในเมือง และนอกเมือง โดยชวงแรกกอนออกจากกรุงเทพฯ แนนอนสิ่งแรกที่ตอง เผชิญ คือ การจราจรที่คอนขางติดขัด แตดวยเกียรอัตโนมัติ XTRONIC CVT ทําใหการขับขี่คอนขางราบรื่นและคลองตัว แมวาขนาดรถจะใหญกวา อีโคคารทั่วไปก็ตาม รวมถึงระบบอื่นๆ ที่เหมาะสมสําหรับการใชในเมือง ที่ โดดเดนไมนอยนาจะเปนระบบ IDLING STOP ที่จะตัดการการทํางานของ เครื่องยนต เมื่อรถอยู ในสถานการณจอดนิ่ง ยกตัวอยางเชนการจอด ติดไฟแดง หรือรถติดนานๆ แตระบบตางๆ ยังคงทํางานรวมถึงระบบ ปรับอากาศดวย และเครื่องยนตจะสตารทใหทันทีเมื่อมีการยกเทาออก จากเบรก, เขาเกียร, ขยับพวงมาลัย หรือจอดเกิน 3 นาที เครื่องยนตก็ จะสตารทใหเองเชนกัน ซึ่งชวงแรกหากยังไมชินกันระบบดังกลาว อาจมี อาการตะกุกตะกักบาง แตเมือ่ เริม่ ชินถือเปนอีกระบบทีด่ ไี มนอ ย และสามารถ ปดการทํางานไดดวย หลุดการจราจรในเมืองสูเ สนทางแบบไฮเวยกนั บาง แมวา ALMERA จะบรรจุเครื่องยนตขนาดกะทัดรัด รหัส HR12DE 3 สูบ ดับเบิลโอเวอร เฮดแคมชาฟท(DOHC) 1,198 ซีซี. 79 แรงมา หลายคนมองวาเล็กไป สําหรับการขับนอกเมือง กลัวเรงแซงสิบลอไมไหว แตจากการทดสอบ ตองบอกวาเปนเครื่องยนตเล็กที่ ใหสมรรถนะพอตัว แมวาตัวรถจะมีนํ้า หนักตันกวาๆ ก็ตาม สวนหนึ่งเปนเพราะการพัฒนาดานเทคโนโลยีปจจุบัน เครื่องยนตแมจะเล็กแตสมรรถนะไมดอยกวารถเครื่องยนตขนาดใหญกวา แตอยางไร เพราะฉะนั้นหายหวงเรื่องดังกลาวไดเลย แมวาอัตราเรงจะไม กระโชกโหกหากไมทันใจบาง แตก็ถือเปนนิสัยของเกียรประเภท CTV ที่ ให ความนุมนวลเปนหัวใจสําคัญ อัตราเรงทําไดดีและไหลลื่นตอเนื่องถึง 120 กิโลเมตรตอชั่วโมงได แบบสบายๆ สวนชวงเรงแซงทีค่ วามเร็วประมาณ 80-100 กิโลเมตร/ชัว่ โมง การตอบสนองที่ดีแมวาตองเผื่อระยะแซงไวสักเล็กนอยก็ตาม ซึ่งการ

ทดสอบชวงนี้ ใชความเร็วโดยประมาณ 100-120 กิโลเมตร/ ชั่วโมง บาง ชวงก็แอบเหยียบไหลไปที่ 160 กิโลเมตร/ ชั่วโมง แตก็เกรงวาจะกระทบตอ จุดประสงคการทดสอบเพื่อหาการสิ้นเปลืองแบบใชงานจริง และเมื่อถึงที่ หมายจอแสดงผล AVG. อยูที่ 23.5 กิโลเมตร/ ลิตร แมหลายคนจะมอง วานอย แตสาํ หรับการใชงานจริงทัง้ ในเมืองและนอกเมือง ขับตามจริงแบบ ที่ขับเองในชีวิตประจําวัน ตัวเลขดังกลาวจึงถือวาเปนที่พอใจ และหากเพิ่ม ระยะใหมากกวานี้ AVG. ที่ออกมานาจะดีกวานี้แนนอน ดานระบบความปลอดภัย หากจะไมพูดถึงคงไมได แมวาจะไมได ทดสอบก็ตาม เริ่มที่โครงสรางแบบ Zone Body Concept ถุงลมนิรภัย SRS ที่ติดตั้งเปนอุปกรณมาตรฐานในทุกรุน ระบบปองกันลอล็อก ABS ควบคูกับระบบกระจายแรงเบรก EBD และระบบเสริมแรงเบรก BA ถือวา ครบองคประกอบและเพิ่มความอุนใจไดมากทีเดียวสําหรับผูใชในปจจุบัน โดย NISSAN ALMERA เคาะราคาไวที่ 429,000 – 599,000 บาท หาก เทียบเรื่องของขนาดรถ อัตราการสิ้นเปลือง และราคา ถือเปนอีกหนึ่งทาง เลือกสําหรับปจจุบัน

ขอมูลเฉพาะทางเทคนิค

HR12DE แบบ 3 สูบ DOHC 12v CVTC ระบบจายเชื้อเพลิง หัวฉีดอิเล็กทรอนิกส มัลติพอยท ECCS 32 bit 79 แรงมา ที่ 6,000 รอบ/ นาที แรงมาสูงสุด 10.8 กิโลกรัม-เมตร ที่ 4,400 รอบ/ นาที แรงบิดสูงสุด ความยาว x กวาง x สูง 4,425 x 1,695 x 1,500 มิลลิเมตร แบบอิสระแม็คเฟอรสันสตรัท พรอมเหล็กกันโครง ระบบชวงลาง หนา แบบทอรชั่นบีม พรอมเหล็กกันโครง ระบบชวงลาง หลัง แร็ค แอนด พีเนียน พรอมระบบเพาเวอรไฟฟา EPS ระบบพวงมาลัย ดิสกเบรก แบบมีชองระบายความรอน ระบบเบรก หนา ดรัมเบรก ระบบเบรก หลัง เบนซิน 91-95, แกซโซฮอล 91-95 และ E20 รองรับน้ํามัน เครองยนต

July 2012 l 71

Energy#44_p70-71_Pro3.indd 71

6/28/12 10:26 PM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพื่อน

สวัสดีจา คุณผูอ า นทุกทาน พบกันอีกเชนเคยกับเนือ้ ทีค่ ยุ เมาทเลาขาว พลังงาน ชวงนี้ดี ใจกันเรื่องแนวโนมราคาพลังงาน คาไฟมีโอกาสปรับ ขึ้น น้ํามันลดไมกี่สต. แตจะเพิ่มเปนบาท อิอิ แซวกันเลนนะเจาคะ ตนสม ก็ชอบเอาเรื่องจริงมาพูดเลนอีกละ อุบส ไปกั น ที่ ข า วแรกคนใช ดี เ ซลยั ง ได เ ฮ เมื่อคลังประกาศว่ายังไม่ปรับขึ้นภาษีน้ํามัน ดี เ ซล โดยคุ ณ กิ ต ติ รั ต น ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.คลัง ระบุวา คลั ง จะไม ป รั บ ภาษี ส รรพสามิ ต น้ํ า มั น ดี เ ซล กิตติรัตน ณ ระนอง เพิม่ ขึน้ และทําใหกระทบกับราคาขายปลีกน้าํ มัน ภายในประเทศ ดังนั้นการลดการเก็บภาษีน้ํามันดีเซลจาก 5.31 บาทตอลิตร เหลือ 0.005 บาทตอลิตรที่สิ้นสุดปลายเดือนมิ.ย.ที่ผานมาใหขยายเวลาออก ไปอีก ดานความเคลื่อนไหวคูปองพลังงานที่ มี ก ารสอบจาก สตง.นั้ น ท า นรมว.พลั ง งาน อารักษ ชลธารนนท ไดเปดเผยวา ไดสง หนังสือ ถึงประธานกองทุนอนุรกั ษพลังงานถึงการดําเนินการ แจกคูปองสวนลดเครื่องใชไฟฟา 2,000 บาท ผิด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ไ ม ส า ม า ร ถ ทํ า ไ ด นั้ น อารักษ ชลธารนนท เรื่องดังกลาวตองถามกลับวาวัตถุประสงคทถี่ กู ตองคืออะไรเพราะกอนดําเนิน การกระทรวงพลังงานไดหารือกับกระทรวงการคลังดูขอกฎหมายอยาง ละเอียดแลววาสามารถดําเนินการไดเจาคะ ขยายตลาดต อ งยกให บ างจาก ที่ เดินหนารุกตลาดเพื่อนบานเปนวาเลน โดยมี แผนทุม 80 ลาน ขยายปม 20 แหงใน 5 ป คุณยอดพจน วงศรักมิตร รองกรรมการ ผูจัดการใหญ สายงานดานธุรกิจการตลาด ยอดพจน วงศรักมิตร ของบางจาก บอกวา มีแผนจะไปตั้งปมน้ํามัน แหงใหมในลาวและพมากอนจํานวน 2 แหง และ 1 แหงตามลําดับ และจะเริ่ม ทยอยเพิ่มขึ้น โดยตั้งเปาวาใน 2 ปหลังเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) หรือภายในป 2560 หรือ 5 ปจากนี้ ไป จะมีสถานีบริการน้ํามันบางจาก รวม 20 แหง ในลาว 10 แหง พมา 5 แหง และในกัมพูชา 5 แหง วาววววว!! พักผอนหยอนใจไปดูรถโบราณกันนะ เจาคะ ดวย สมาคมรถโบราณแหงประเทศไทย กับฟวเจอรพารค จัดประกวดรถโบราณครัง้ ที่ 36 ในงานมีรถโบราณและรถคลาสสิคกวา 100 คัน ใหไดยลไดอยากจับจอง เดินไปเดินมาไปเจอะเขา กับคุณขวัญชัย ปภัสรพงษ นายกสมาคมรถ โบราณแหงประเทศไทย แหม! ปลาบปลื้มใหญ บอกคนใหความสนใจ นักขาวก็ใหการตอบรับเพียบ ขวัญชัย ปภัสรพงษ เลยยิ้มแกมปริไปตามระเบียบเจาคะ ดานกฟผ. จัดงานวันสิ่งแวดลอมที่ ผานมา โดยมีคุณวิรัช กาญจนพิบูลย รอง ผู ว า การบริ ห าร การไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) เปนประธานเปดงาน

“วันสิ่งแวดลอม กฟผ.” ประจําป 2555 ภายใตแนวคิด “มารวมสรางไฟฟา สีเขียวกันเถอะ Let’s go Green Power เพื่อใหผูปฏิบัติงาน กฟผ.ตระหนักถึง ภารกิจการดําเนินงานผลิตไฟฟาในทุกกระบวนการเชียวละเจาคะ ขอปดขาวกันดวยขาวนี้ละกันเจาคะ กับเจาภาพ สนพ.จัดกิจกรรม “พี่นอง รองเตน..บทอาขยานประหยัดพลังงาน เราทําได” อยากจะเชิญชวน นอง ๆ ระดับประถมศึกษาที่สนใจเขารวมชิงทุนการศึกษามูลคารวมกวา 5 แสนบาท หากคุณผูอาน อานเจอแลวสนใจสงลูกหลานเขาประกวดก็ ด า ว โ ห ล ด ใ บ ส มั ค ร พ ร อ ม ดู ร า ย ล ะ เ อี ย ด โ ค ร ง ก า ร ไ ด ท า ง www.peenongrongten,com ไดเลยนะเจาคะ

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว เผลอแปบเดียวก็ครึ่งปแลว เวลาเดินหมุนเร็วมากซึ่งบริษัทที่ทํา ธุรกิจเกีย่ วกับพลังงานทดแทนทางดานโซลารเซลไมวา จะเปนผูล งทุนสรางโรง ไฟฟา ผูผลิตอุปกรณโซลารเซลตางก็เรงการผลิต และสรางโรงไฟฟาพรอม แถลงขาวเปดตัวในชวงนี้กันอยางตอเนื่องเพื่อตอบรับกับนโยบายของรัฐบาล หรือตองการคืนทุนเร็วก็ ไมแนใจนะครับ...อิอิ อันนี้ก็ผานไปเร็วเหมือนกันโรงไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยของ คุณยุทธ ชินสุภัคกุล ประธานกรรมการ บมจ.โรงพิมพตะวันออก หรือ EPCO ก็เสร็จสมบูรณเปน รูปราง ใครผานไปแถว อ.บอพลอย จ.กาญจนบุรี คงได เห็นโซลารฟารมตัง้ ตะหงานอยูเ ต็มพืน้ ที่ รอรับแสงอาทิตย อยูบนเนื้อที่กวาหลายไร และรอเพียงการ Test Run จาก กฟภ. ก็เทานั้นเองก็จะสามารถเริ่มตนนับเงินไดแลวละครับ ยุทธ ชินสุภัคกุล

จากกาวยูฮู .. สู ..บัตเตอรมื้อเชา

72 l July 2012

Energy#44_p72-74_Pro3.indd 72

6/27/12 3:16 AM


เปดตัวอีกแลวสําหรับ “โครงการโซลา ฟารมของบริษทั โซลา เพาเวอร (โคราช) 3” ของ บริษทั เอสพีซจี ี จํากัด (มหาชน) ณ โซลาฟารม โคราช 3 อําเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา โดยโครงการนี้ เอสพีซีจี รวมลงทุนกับบริษัทยักใหญดานการผลิต ไฟฟาอยาง บริษัท ผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด วันดี กุญชรยาคง (มหาชน) ซึ่ ง ก อ นหน า นั้ น เพิ่ ง เป ด ตั ว ไปที่ จั ง หวั ด ขอนแกนเมื่อไมนานนี้เอง...สงลัยจะรีบคืนทุนและรอผลตอบแทนเปนแนเลย ใชมั้ยครับ...คุณวันดี กุญชรยาคง ยังอยูกับไฟฟาครับโดยเกี่ยวกับ งานประชุมการพัฒนาคุณภาพระบบพลังงาน แสงอาทิตย เรื่อง “20 ป ของการพัฒนา ระบบ PV เชื่อมโยงสายสง “ถอดบทเรียน ด า นคุ ณ ภาพจากประเทศเยอรมนี ” ภายใตการสนับสนุนของกระทรวงเศรษฐกิจ และเทคโนโลยีแหงสหพันธ สาธารณรัฐเยอรมนี (BMWi) โดยมีหอการคาเยอรมัน-ทวิภาคี (AHKs) และ GIZ เปนหนวยงานหลักในการดําเนินงานและจัดกิจกรรมตางๆ ในการสงเสริม การใชพลังงานทดแทนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต งานประชุมครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสรางความเขาใจและตระหนักรูในเรื่องคุณภาพของระบบ พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ เ พื่ อ การผลิ ต ไฟฟ้ า และจ่ า ยไฟเข้ า สู่ ส ายส่ ง (Grid connected PV systems) ที่สงผลตอตนทุน-กําไรของกิจการ โดยถอด บทเรียนและประสบการณ์จากประเทศเยอรมนีเพื่อนํามาปรับใช้กับตลาด พลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทย

กิ๊บเก ยูเรกา... นี่ “แวนตา” จิงนะเธอ?

ชวงนี้หนีไมพนขาวคราว เกี่ยวกับพลังงานทดแทนจริงๆครับ ไปกันตอที่ เอ็กโก กรุป ซึ่งลาสุด ประกาศความสําเร็จในการซื้อขายหุน และโอนหุน โรงไฟฟาเคซอนสาธารณรัฐ ฟลปิ ปนส อยางเปนทางการ จากอินเตอรเจน กรุป (InterGen Group) ในสัดสวน รอยละ 45.8 เปนผลใหปจ จุบนั เอ็กโก กรุป มีสดั สวนการถือหุน ในโรงไฟฟาเค ซอนทั้งหมดรอยละ 98 และเปนผูบริหารจัดการ โรงไฟฟาเคซอนตลอดอายุ สัญญาซือ้ ขายไฟฟาระยะยาวเลยทีเดียวครับ

Transport / นัษโตะ สวั ส ดี ค รั บ ... นั ษ โตะตอกบั ต รรายงานตั ว บอกเล่ า เรื่ อ งเล่ า ความเคลื่อนไหวดานพลังงานอีกแลวครับผม ปจจุบันตองยอมรับวาเรื่องสิ่ง แวดลอมเปนเรื่องสําคัญ ในทุกภาคสวน ไมใชเรื่องไกลตัว หรือเปนความรับ ผิ ด ชอบของเฉพาะหน ว ยงานราชการเพี ย งอย า งเดี ย ว ภาคเอกชน ก็ใหความสําคัญกับเรื่องดังกลาวอยางเต็มที่ รัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน “อารักษ ชลธารนนท” เปนประธาน งานสัมมนา “รวมพลังราชการไทยลดใชพลังงาน” ชี้แจงไทยตองพึ่งพา พลังงานจากตางประเทศแถบตะวันออกกลาง จึงมีนโยบายลดการใชพลังงาน โดยสัง่ ใหหนวยงานราชการดําเนินมาตรการลดใชพลังงานลงใหไดอยางนอย 10% เพื่อเปนผูนําภาคสวนอื่นๆ ในการลดรายจายการนําเขาน้ํามันจากตาง ประเทศ พรอมแนะแนวทางการใชพลังงานที่ถูกวิธี ตรวจสอบการใชพลังงาน ที่เปนอยู และอุดจุดรั่วไหลของรายจายพลังงานที่ถูกใชโดยเปลาประโยชนใน หนวยงานของตน พรอมมอบรางวัลแกหนวยงานทีย่ งั คงทําหนาทีเ่ ปนผูน าํ การ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพดานการลดใชไฟฟา 3 ลําดับแรก ไดแก สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) ลดได 23% กรมคุม ประพฤติ 18% และสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 16% ดานการลดใช น้ํามัน 3 ลําดับแรก ไดแก กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ 39% สํานักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุข 34% และกรมศิลปากร 26% คาย “ฮอนดา” นําโดย “พิทักษ พฤทธิสาริกร” รองประธาน อาวุโส บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด เปดตัวผลิตภัณฑใหม “ฮอนดา ซีวิค” กับการปรับโฉมใหมหมดจรด งานนี้ตองบอกวา ถือเปน อีกหนึง่ ปรากฏการณใหมของฮอนดากับการเจาะตลาดดานพลังงานทางเลือก ครบครันดวยเทคโนโลยีอัจฉริยะและเปนมิตรตอ สิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง ยั ง เป น รุ น แรกของฮอนด า ที่ สามารถใชนา้ํ มันเชือ้ เพลิงเอธานอล E85 อีกดวย เรื่องยอดขายคงไมตอ งหวง เพราะแฟนฮอนดามี เยอะอยู แ ล ว และดู เ หมื อ นจะได แ ฟนๆ ที่ รั ก ษ แวดล อ มเข า มาอี ก ส ว นเรื่ อ งพั น ธกิ จ ด า น สิง่ แวดลอมยิง่ หายหวง เพราะไดแอบถามคนฮอนดา ไดความวา ฮอนดาทํามานานแลวนะ ทั้งโรงงาน ประกอบรวมถึงขยะที่เกิดจากศูนยบริการตางๆ พิทักษ พฤทธิสาริกร แตวาไมบอกใครก็เทานั้นเอง

July 2012 l 73

Energy#44_p72-74_Pro3.indd 73

6/28/12 12:26 AM


ตอดวยอีกหนึ่งคายรถยนตกับมาสดา กับ การขยั บ ปรั บ เปลี่ ย นตํ า แหน ง ของพี่ ช ายที่ แ สนดี “อุ ทั ย เรื อ งศั ก ดิ์ ” สู ตํ า แหน ง ผู จั ด การฝ า ย ประชาสั ม พั น ธ ผู อ ยู เ บื้ อ งหลั ง ให บ รรดากระจิ บ กระจอกขาวไดทราบขาวคราวความเคลื่อนไหวของ คายนี้ โดย “สุรีทิพย ละอองทอง โฉมทองดี” ผูอํานวยการฝายการตลาด บริษัท มาสดา เซลส (ประเทศไทย) จํากัด เผย เพื่อพัฒนาศักยภาพของ ผู บ ริ ห ารคนไทยในองค ก รให แ ข็ ง แกร ง รอบรู แ ละ อุทัย เรืองศักดิ์ เติบโตตอไปขางหนาตามปรัชญาการทํางาน “ONE MAZDA” มุงเปนหนึ่งเดียวกันทั่งประเทศและทั่วโลกงาน จึงมอบหมายงาน อันหนักอึ้งใหอีกครั้ง ดวยประสบการณการทํางานดานการสื่อสารและ ประชาสัมพันธมาอยางยาวนานอยางถึงลูกถึงคน สงผลใหเปนที่ประจักษตอ ผูบริโภคมาโดยตลอด ผนวกเขากับการทํางานรวมกันเปนทีมของพนักงาน มาสดา มั่นใจวาจะสามารถสรางการเติบโตอยางยั่งยืนใหกับมาสดาในทุกๆ ดาน งานนี้ก็ตองยินดีดวยนะครับ ได มี โ อกาสร ว มสั ม มนา “โครงสร า งอั ต ราค า ไฟฟ า และการ พิจารณาคาเอฟที” กับคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน ที่ ไปไกลถึง หัวหิน นําทีมโดย “ดร.พัลลภา เรืองรอง” และผูบริหารระดับสูงของ กกพ. ที่ ใหความรูกันอยางเต็มที่ ในชวงบาย งานนี้ตองบอกไดความรูลวนๆ โดย เฉพาะเรื่องของการคิดคาเอฟทีแบบลวงลึก ถึงที่มาและที่ ไป แมจะงงๆ กับ ตัวเลขประกอบจากอกสารที่ ไดรับแนบมาดวย แตก็ถึงบางออ ในกรณีที่ ของใจสวนชวงค่ําทานเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน (สกพ.) “กวิน ทังสุพานิช” ยั ง เพิ่ ม ช ว งไขข อ ข อ งใจในเรื่ อ งที่ กระจิบขาวอยากทราบอีกระรอก ตอง บอกวางานนีค้ มุ คาสําหรับความรูท ่ีไดรบั แมจะขอย้ําอีกทีวา งงๆ บางในบางจุด ดร. พัลลภา เรืองรอง แตก็ตองขอบคุณนะขอรับกระผม

Environment / Suki ผานไปแลวสําหรับ วันสิ่งแวดลอม ประจําป 2555 ที่จัดขึ้น ณ รอยัล พารากอน ฮอลล ศูนยการคาสยามพารากอน โดยในปนกี้ จิ กรรม ตางๆ จัดขึ้น ภายใตแนวคิด Green Economy : Does it include you? หรือ คุณ คือ พลัง สรางสรรคเศรษฐกิจ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม เพื่อ สงเสริมใหใหประชาชนเกิดความรู ความเขาใจ และมีสวนรวมในเรื่องการ ผลิต และการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีกิจกรรมตางๆ ที่นา สนใจ อาทิ การเปดตัวโครงการสงเสริมการผลิตและการบริโภคทีย่ งั่ ยืน พิธี มอบรางวัลดานสิ่งแวดลอม ไดแก รางวัลสถานประกอบการและโรงเรียนที่ ผานเกณฑการประเมินสัญลักษณตัว G รางวัลโครงการทําดีเพื่อแผนดิน ลดคารบอน ลดโลกรอน รางวัลโรงเรียนรวมใจ ลดน้ําใช ลดน้ําเสีย เพื่อ เจาพระยาสดใส

อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมวั น สิ่ ง แวดล อ มโลกที่ ผ า นมา นํ า โดย ม.ร.ว.สุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธาน เปดกิจกรรม Go Green ป 2 “สยามชวนปน รูรักษสิ่งแวดลอม” ณ บริเวณลานคนเมือง ศาลาวาการ กทม. (เสาชิงชา) ซึ่ง บริษัท ทีทีซี น้ําดื่มสยาม จํากัด จัดขึ้น โดยมีนักปนจักรยานจากชมรมตางๆ และ ประชาชนทั่วไป กวา 500 คน รวมกิจกรรม เพื่อรณรงคประชาสัมพันธ กระตุนเตือน และปลุกจิตสํานึกใหประชาชนเกิดความตระหนัก เห็นความ สําคัญของการใสใจ ดูแลรักษาและอนุรักษสิ่งแวดลอมใหดีนาอยู อีกทั้ง เป น การช ว ยส ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให ป ระชาชนหั น มาใช จั ก รยานแทนรถ จักรยานยนตและรถยนต เพื่อชวย ประหยัดพลังงาน และถือเปนการ ออกกําลังกายที่ดีสงผลใหมีสขุ ภาพ รางกายแข็งแรงไดอกี ดวย สวน วัตสัน นําโดย คุณนวลพรรณ ชัยนาม ผูอํานวยการ ฝายการตลาด บริษทั เซ็นทรัล วัตสัน จํากัด รวมสนับสนุนงบประมาณ 100,000 บาท แก สํานักงานเขตคลองเตย เพื่อกําจัดกลิ่นเหม็นจาก คลองบานกลวยใต (สุขุมวิท 40) เนื่องในวันสิ่งแวดลอมโลก โดยวัตสัน จะสนับสนุนงบประมาณในการจัดซือ้ น้าํ หมักชีวภาพเพื่อใชในการปรับสภาพน้าํ และกํ า จั ด กลิ่ น เหม็ น ตลอดความยาวของ คลองบานกลวยใต ซึ่งเปนจุดรวมน้ําเสียจาก บานและที่อยูอาศัยบนถนนสุขุมวิท งานนี้ตองขอแสดงความยินดีกับ คุณอนุรัตน โควคาสัย บอสใหญแหงคายพรานทะเล ทีย่ ิม้ ปลืม้ เพราะ ผลของการทํางานหนักทําใหขาวตมพรานทะเล ไดรับ รางวัลยอดเยี่ยมในหมวดนวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพ อนุรัตน โควคาลัย ในงาน ASEAN International Health Food and Ingredient Thailand 2012 ซึ่งตัดสินจากความคิดสรางสรรคที่ สามารถออกแบบสินคาใหสอดคลองกับไลฟสไตลผูบริโภค ที่สําคัญยัง คํานึงเรื่องสิ่งแวดลอมโดยชวยลดปริมาณขยะและลดการใชไฟฟา งานนี้ คุ ณ รั ต น์ จึ ง ประกาศเดิ น หน้ า เรื่ อ งการเป็ น องค์ ก รที่ คํ า นึ ง เรื่ อ งของ ธรรมชาติลุยโครงการเพื่อสังคมตลอดป ทุกสวนชวยกันจริงจังเสียอยาง เมืองไทยยังสวยไปไดอีกนาน… อีกหนึ่งขาวนายินดีกับ ฟูจิตสึ ที่ เ พิ่ ง ทํ า การเป ด ศู น ย บ ริ ก าร Fujitsu Service Center แหงใหม เพื่อรองรับและ อํานวยความสะดวกใหแกลูกคาของโนตบุก ฟูจติ สึ กับบริการแบบ 1-to-1 Service โดย ทีมชางทีช่ าํ นาญงาน สามารถดูแลลูกคาไดอยางทัว่ ถึงและจัดการกับปญหา ของเครื่องไดอยางรวดเร็ว ที่อาคารเอ็กเชน ทาวเวอร สี่แยกอโศก ลูกคา ฟูจิตสึอุนใจขึ้นอีกเยอะเลยแบบนี้

74 l July 2012

Energy#44_p72-74_Pro3.indd 74

6/28/12 12:28 AM


Energy#44_p75_Pro3.ai

1

6/23/12

11:22 AM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : อยากทราบลําดับการเกิดเหตุการณวิกฤติโรงไฟฟานิวเคลียร ที่ฟุกุชิมะ ประเทศญี่ปุนครับ? A : เหตุการณเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2554 เกิดแผนดินไหวขนาด 8.9-9.0 ตามมาตราริกเตอร มีจุดศูนยกลางหางจากเกาะฮอนชูประมาณ 130 กิโลเมตร และลึกลงไปใตดิน 24 เมตร แผนดินไหวกอคลื่นยักษสึนามิ ความสูง 7 เมตร กวาดซัดเมืองชายฝง ดวยความเร็ว 800 กิโลเมตรตอชัว่ โมง แคแผนดินไหว และคลื่นสึนามิก็ทําใหมีผูเสียชีวิตกวา 7,500 ราย สูญหาย 11,000 ราย (20 มีนาคม 2554)แตปญหายังไมจบแคนั้น เพราะเมื่อเวลาประมาณ 15:30 น. ของ วันที่ 12 มีนาคม 2554 ตามเวลาในประเทศญี่ปุน เตาปฏิกรณที่ 1 ของโรง ไฟฟานิวเคลียรฟุกุชิมาโรงที่ 1 (Fukushima Daiichi Plant) เกิดระเบิดขึ้น มี ฝุนควันพวยพุงและกําแพงที่ถลมลงมา ทั้งดานตรวจพบกัมมันตรังสีและสาร กัมมันตภาพรังสีรั่วไหล ทําใหทั่วโลกวิตกกังวลวาฟุกุชิมาอาจเปน Chernobyl รอบสอง สื่อหลายแหงรายงานวา “เตาปฏิกรณนิวเคลียรระเบิด” ซึ่งคลาดเคลื่อน จากขอเท็จจริงไปมาก มีการระเบิดเกิดขึ้นจริงแตระเบิดที่สวนอื่นของโรงไฟฟา ไม ใชที่เตาปฏิกรณ นอกจากกนี้ระเบิดที่เกิดขึ้นไม ใชการระเบิดดวยพลังงาน นิวเคลียร แตเปนเกิดจากกาซไฮโดรเจนติดไฟ เหตุระเบิดที่เกิดขึ้นเปนผลมาจากแผนดินไหวในครั้งแรก ทันทีที่เกิด แผนดินไหวขึน้ ระบบความปลอดภัยของโรงไฟฟานิวเคลียรจะหยุดการทํางานของ เตาปฏิกรณนิวเคลียรโดยอัตโนมัติ อยางไรก็ตามการปดเตาปฏิกรณนิวเคลียร ไมเหมือนการปดโคมไฟ ที่กดสวิตชแลวไฟดับทันที การปดเตาปฏิกรณจะใชตัว หนวงปฏิกิริยานิวเคลียรแทรกเขาไประหวางแทงเชื้อเพลิงนิวเคลียรเพื่อชะลอ ปฎิกิริยาใหชาลง คลายๆ กับการชะลอรถ ในระหวางที่เตาปฏิกรณกําลังหยุดทํางานนี้ (โดยใสตัวหนวงปฏิกิริยา) แทงเชื้อเพลิงจะยังสรางพลังงานออกมาประมาณ 6-7% ของพลังงานขณะ เดินเครื่อง หมายความวาจะตองมีระบบหลอเย็นสูบนํ้าเขาไประบายความรอนที่ เกิดขึ้นเพื่อไมใหภายในเตาปฏิกรณรอนเกินไป เดิมทีระบบหลอเย็นใชพลังงาน ไฟฟาที่ ไดจากโรงไฟฟาผลิตขึ้น แตเมื่อเตาปฏิกรณหยุดทํางานจึงไมมีไฟฟา ระบบหลอเย็นตองสลับไปใชนํ้ามันดีเซลเปนแหลงพลังงานแทน ปญหาคือเครื่องยนตดีเซลไดรับความเสียหายจากแผนดินไหวเชนกันจึง ทํางานไดเพียงไมนาน เมื่อระบบหลอเย็นที่ 1 ลมเหลว ระบบหลอเย็นที่ 2 จึงเริ่ม ทํางานแทน แตหลังจากนั้นไมนานก็เกิดสึนามิถลมชายฝงทําใหระบบหลอเย็นที่ 2 เสียหาย ทํางานตอไปไมได ระบบหลอเย็นที่ 3 จึงเริ่มทํางานแทน ระบบนี้เปนระบบฉุกเฉินที่ทํางาน โดยนําไอนํ้าจากเตาปฏิกรณไปควบแนนแลวนํากลับมาใชระบายความรอนใหม ซึ่งประสิทธิภาพในหารระบายความรอนจะตํ่ากวา 2 ระบบแรก หลังจากระบบที่ 3 ทํางานสักพักก็พบวา ระดับนํ้าในเตาปฏิกรณลดลงซึ่งคาดวาเปนเพราะภายใน เตาปฏิกรณอณ ุ หภูมสิ งู เกินไปประกอบกับมีการรัว่ ซึมของทอในระบบหลอเย็นที่ 3 ภายในเตาปฏิกรณอุณหภูมิสูงมากขึ้น นํ้าจึงระเหยและควบแนนไมทัน เปนไอนํ้าสะสมอยูภายในเตาปฏิกรณ ทําใหไมสามารถสูบนํ้าเขาไปเพิ่มได และ

เพียงพอ”

เพื่อปองกันไมใหผนังเตาปฏิกรณเสียหายจากแรงดัน เจาหนาที่โรงไฟฟาจึง ตัดสินใจปลอยกาซที่อัดแนนอยูออกสูภายนอก สิ่งที่ ไมมีใครคาดคิดคือ ในไอนํ้า ที่ปลอยออกมานั้นมีกาซไฮโดรเจนจํานวนมากผสมอยูดวย กาซไฮโดรเจนเปน กาซไวไฟ เมื่อลอยไปยังสวนบนของอาคารโรงไฟฟาและสัมผัสประกายไฟจึง เกิดระเบิดขึ้น ตามที่เปนขาว จากการสันนิษฐานในภายหลังเชือ่ วาอุณหภูมทิ สี่ งู เกินและการทีร่ ะบบนํา้ รัว่ ไปทําใหนํ้าแทงเชื้อเพลิงนิวเคลียรโผลพนผิวนํ้าและสัมผัสกับอากาศดานบน ทั้ง ที่ตามปกติแทงเชื้อเพลิงนิวเคลียรจะตองจมอยูใตนํ้าหลอเย็นทั้งหมด เมื่อสัมผัส อากาศเซอรโคเนียมที่อยูในแทงเชื้อเพลิงจึงทําปฏิกิริยากับออกซิเจนและนํ้าเกิด เปน ZrO2หรือสนิมของเซอรโคเนียม และเกิดกาซไฮโดรเจนขึ้น เมื่อไมมีระบบหลอเย็นเหลือทางโรงไฟฟาจึงจําตองใชทางเลือกสุดทาย คือสูบนํ้าทะเลเขาไปทวมเตาปฏิกรณนิวเคลียร ซึ่งที่จริงแลวถือเปนทางเลือก ที่เสียงมากเพราะเกลือที่อยูในนํ้าทะเลนั้นมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ อาจเสรางความ เสียหายใหกับผนังเตาปฏิกรณได การใชตัวเลือกนี้ยอมหมายความวาจะไมกลับ มาใชเตาปฏิกรณนี้อีก นอกจากนี้แรธาตุในนํ้าทะเลเมื่อไดรับกัมตภาพรังสีเขมขน ภายในเตาปฏิกรณก็จะเปลี่ยนเปนสารกัมมันตรังสีเชนกัน ซึ่งบางชนิดคงตัวอยู ไดนานในธรรมชาติอาจเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม วิกฤตการณที่เกิดขึ้นกับโรงไฟฟานิวเคลียรสรางความหวาดหวั่นใหกับ ประชาชนอยางมาก หลายคนกังวลวาจะกลายเปนแบบกรณี chernobyl หรือ กลัววาเตาปฏิกรณจะระเบิด แบบระเบิดนิวเคลียรที่ถลมฮิโรชิมา ยิ่งมีขาวลือ ตางๆ ยิ่งเปนการซํ้าเติมใหสภาพจิตใจแยลงอีก ความกังวลเหลานี้ออกจะเกิน กวาเหตุไปสักหนอย อาจเกิดจากความไมรูและไมเขาใจการทํางานของโรงไฟฟา นิวเคลียร ดังนั้นลองทําความเขาใจหลักการของโรงไฟฟานิวเคลียร เพื่อจะได เปนขอมูลในการประเมินสถานการณตางๆโรงไฟฟาทั่วๆ ไป ผลิตกระแสไฟฟา โดยหมุนขดลวดผานสนามแมเหล็ก พลังงานที่นํามาหมุนขดลวดนั้นอาจมา จากการไหลของนํ้า หรือการเคลื่อนที่ของไอนํ้า ไอนํ้าไดจากการตมนํ้าใหเดือด ซึง่ เชือ้ เพลิงทีน่ าํ มาตมมีตงั้ แตถา นหิน นํา้ มัน ไปจนถึงกาซธรรมชาติ ในโรงไฟฟา ที่ใชพลังงานนิวเคลียรกเ็ ชนกัน แทงเชือ้ เพลิงนิวเคลียรจะสรางความรอนออกมา และเรานําความรอนไปตมนํ้าอีกที แทงเชื้อเพลิงที่นํามาใหความรอนในเตาปฏิกรณนิวเคลียรเปนแทงโลหะ ที่มีสวนผสมของสารกัมมันตรังสีประมาณ 5% เทานั้น ที่เหลือเปนโลหะอื่นๆ

76 l July 2012

Energy#44_p76-77_Pro3.indd 76

6/27/12 3:20 AM


อยางของโรงไฟฟาที่ฟุกุชิมะเปนเซอรโคเนียม แทงเชื้อเพลิงเหลานี้จะแชอยูในนํ้า ซึ่งนอกจากจะพาความรอนออกไปเพื่อปนกระแสไฟฟาแลว ยังทําหนาที่หนวง ปฏิกิริยานิวเคลียรใหเกิดชาๆ ปลอยความรอนออกมาอยางสมํ่าเสมอ สวน เชื้อสารกัมมันตรังสีที่อยูในระเบิดนิวเคลียรนั้นมีความบริสุทธิ์มากกวา 99% และ มีนํ้าหนักเปนตัน ดังนั้นแมโรงไฟฟากับระเบิดจะใชธาตุกัมมันตรังสีเหมือนกันแตมี ลักษณะและวิธกี ารผลิตตางกันมาก ดังนัน้ แทงเชือ้ เพลิงในเตาปฏิกรณนวิ เคลียร จึงไมมโี อกาสระเบิดแบบระเบิดนิวเคลียรแนนอน กรณีทเี่ ลวรายทีส่ ดุ ทีอ่ าจเกิดขึน้ หากการควบคุมความรอนในเตาปฏิกรณไมได คือ อุณหภูมิของแทงเชื้อเพลิงจะ สูงขึ้นเรื่อยๆ จนแทงเชื้อเพลิงหลอมเหลว หรือเรียกวา meltdown สารกัมมันตรังสีจะกระจายออกจากแทงเชื้อเพลิง สารหลอมเหลวมี อุณหภูมิสูงกวา 2500 องศาเซลเซียส จะหลุดจากยึดหลอมละลายผนังเตา ปฏิกรณที่ทนความรอนไดประมาณ 1000 องศาเซลเซียส เมื่อถึงตอนนั้นสาร กัมมันตรังสีทั้งหมดจะปลดปลอยออกสูสิ่งแวดลอม ปนเปอนเปนบริเวณกวาง และตกคางอยูไดหลายรอยป เชน พลูโตเนียม-239 ซีเซียม-137 เรดอน-222 อยางที่เกิดขึ้นที่ chernobyl ทางโรงไฟฟาจึงพยายามทําทุกวิถีทางเพื่อระบาย ความรอนออกจากเตาปฏิกรณ กรณีของโรงไฟฟาที่ฟุกุชิมะแตกตางจากที่ chernobyl คอนขางมาก กรณี chernobyl เกิดจากการฝนเดินเครื่องเตาปฏิกรณนิวเคลียรโดยรูเทาไม ถึงการณ ทําใหเกิดความรอนสูงจน meltdown แตทฟี่ กุ ชุ มิ ะเตาปฏิกรณปด ตัวเอง ไปตั้ ง แต เ ริ่ ม แผ น ดิ น ไหวแล ว และเจ า หน า ที่ ก็ เ ข า ใจสถานการณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ดี สิ่งที่ทําใหผูคนกังวลอีกอยางคือ สารกัมมันตรังสีที่รั่วไหลออกมา บอยครั้งที่ คําวา รังสี กัมมันตรังสี กัมมันตภาพรังสี ถูกใชอยางสับสน ซึ่งอาจทําใหเขาใจ สถานการณผิดไป รังสี หรือกัมตภาพรังสี คือ พลังงานที่แผกระจายออกมาจากตนกําเนิด ออกไปในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟาหรืออนุภาคที่มีความเร็วสูงดวย รังสีจึงมี ลักษณะคลายกับแสงไฟที่พุงมาเปนเสนตรง แตมีพลังงานสูงกวามาก สวนสารกัมมตรังสี หมายถึง สารที่มีคุณสมบัติในการแผรังสี ซึ่งอาจ อยูในรูปของฝุนผง ละอองขนาดเล็ก สามารถปลิวไปกับลม ไหลไปตามกระแสนํ้า และติดไปตามเสื้อผา และเมื่อสูดดมหรือกินเขาไปก็มีโอกาสเขาไปสะสมในรางกาย สารกัมมันตรังสีจะแผรังสีไปดวยตลอดทาง รังสีที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียรมี 4 ชนิด คือ 1. อนุภาคอัลฟา ประกอบดวยโปรตอน 2 อนุภาค นิวตรอน 2 อนุภาค มีอํานาจทะลุทะลวงตํ่า สามารถเคลื่อนที่ ในอากาศไดในระยะสั้นๆ เพียงแค 1-2 นิว้ และผานเนือ้ เยือ่ ไดไมกี่ ไมโครเมตร สามารถปองกันดวยโลทเี่ ปนเพียงกระดาษ แผนเดียวได แตจะมีอันตรายอยางยิ่งเมื่อสูดฝุนกัมมันตรังสีเขาทางลมหายใจ หรือเขาทาง ระบบยอยอาหาร ซึ่งมันจะเขาไปแผรังสีอยูภายในรางกายของเรา เมื่อรับเขาไปเปนระยะเวลานานๆ ก็จะทําใหเจ็บปวยได 2. อนุภาคเบตา คืออิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ดวยความเร็วสูง มีความ ใกลเคียงกับเสียง เคลื่อนที่ ในอากาศไดประมาณ 10 ฟุต สามารถทะลวงผาน ผิวหนังได แตไมถึงอวัยวะสําคัญภายใน สามารถปองกันหนาๆ และปกปด

รางกายใหมิดชิด แตจะเปนอันตรายอยางยิ่งหากมีสารที่ปลอยอนุภาคเบตา จากในรางกาย 3. รังสีแกมมา คือคลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีม่ พี ลังงานสูงสามารถทะลุทะลวง เขาไปไดถงึ เนือ้ เยือ่ ไมมวี สั ดุใดทีข่ วางกัน้ มันไดทงั้ หมด สามารถเคลือ่ นที่ในอากาศ ไดหลายรอยฟุต ดวยความเร็วเทากับแสง และเมื่อทะลวงเขาไปในนิวเคลียส ของธาตุใดก็จะไปเหนี่ยวนําใหธาตุนั้นเกิดการ แผอนุภาคอัลฟา เบตา และรังสี แกมมาออกมา ดังนั้นไมวามันจะอยูภายนอกหรือภายในรางกายก็กอใหเกิด อันตรายกับสิ่งมีชีวิต 4. อนุภาคนิวตรอน คืออิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ดวยความเร็วสูง สามารถ ทะลุทะลวงเขาไปถึงนิวเคลียสของธาตุใดๆ แลวเหนี่ยวนําใหธาตุนั้นกลายเปน ธาตุกัมมันตรังสี และธาตุนั้นก็จะแผรังสีออกมา เรียกวา รังสีนิวตรอนเหนี่ยวนํา (Neutron Induced Radiation) สารกัมตรังสีแตละชนิดจะแผรงั สีแตกตางกันไป ขึน้ อยูก บั ลักษณะรูปแบบ การสลายตัวของนิวเคลียส นอกจากนี้สารกัมมันตรังสีแตละชนิดยังมีคาครึ่ง ชีวิตที่แตกตางกัน จึงคงตัวอยูในสิ่งแวดลอมตางกัน เมื่อสารกัมตรังสีรั่วไหลจากเตาปฏิกรณ ผาปดปากมิไดมีจุดประสงค เพื่อปองกันรังสี แตมีไวเพื่อปองกันไมใหสูดฝุนผงที่มีธาตุกัมมันตรังสีเขาไป สะสมในรางกาย และแผรังสีอยูภายในรางกายซึ่งจะเปนอันตรายมากกวา ผาปดปากสามารถกันสารกัมมันตรังสีไดบางสวน ลดความเสี่ยงที่จะไดรับสาร กัมมันตรังสีไปสะสมในรางกาย ซึ่งในบรรดาสารกัมมันตภาพรังสีที่ปนเปอน บริเวณรอบโรงไฟฟา ไอโอดีน 131 (I-131) มีโอกาสสะสมในรางกายสูง เพราะ ไอโอดีนเปนธาตุที่จําเปนตอรางกาย ตอมไทรอยดจึงดูดซึมและสะสมไอโอดีนไว การทานไอโอดีนเพื่อทําใหรางกายไดรับไอโอดีนมากเกินพอ ชวยปองกันไม ใหรางกายดูดซึม I-131 ไปสะสม แตการกินเม็ดไอโอดีนไมไดชวยขับ I-131 ที่สะสมในรางกายออกมา นอกจากนี้ยังไมสามารถปองกันสารกัมมันตรังสีชนิด อื่นๆ เขาสูรางกาย อยางไรก็ตามสารกัมมันตรังสีที่ปนเปอนอยูขณะนี้ เปนเพียง ไอโซโทปที่มีอายุสั้นๆ ซึ่งการสลายตัวใชเวลาไมนานนัก สวนการทาเบตาดีนที่คอ เปนเพียงขาวลือที่อาศัยกระแสสรางความ ตื่นตระหนกเทานั้น ในเบตาดีนมีไอโอดีนอยูเพียงเล็กนอย นอกจากนี้ผิวหนัง ก็ดดู ซึมไอโอดีนไดนอ ยมาก หรือแทบจะไมไดเลย หากตองการใหไดรบั ไอโอดีนมากเกิน พอเพือ่ ปองกัน ไอโอดีน 131 จะ้ตอ งใชเบตาดีนเปนลิตร ทาทัง้ ตัวทุกๆ วัน ซึง่ หาก ทําอยางนัน้ รางกายจะไดรบั พิษจากสารอืน่ ๆ ทีอ่ ยูใ นเบตาดีนแทน (อานเรือ่ งเบตาดีน กับการปองกันรังสีไดที่ ไอโอดีน , เบตาดีน ปองกันสารกัมมันตรังสีไดจริงหรือ)

อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพื่อเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรื่องพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

July 2012 l 77

Energy#44_p76-77_Pro3.indd 77

6/27/12 3:20 AM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

http://k.figtreedesign.com/green-purchasing/

การจั ด ซื้ อ จั ด จ า งสี เ ขี ย ว... เพื่อสิ่งแวดลอม การจัดซื้อจัดจางสินคา/บริการเปนกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการ โลจิสติกสและซัพพลายเชน ที่มีบทบาทตอการแสดงความรับผิดชอบกับ สิ่งแวดลอม และผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholder) ที่อยูลอมรอบธุรกิจ อยางไรก็ดี บางองคกรไดมีการกําหนดกฎเกณฑ หรือแนวทางเกี่ยวกับ การดูแลใสใจตอสิ่งแวดลอมในการผลิตสินคา/บริการ โดยมีการทดลอง ปฏิบัติงานในการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสนับสนุนใหชุมชน ซัพพลายเออร และสังคม ใหเกิดความเขมแข็ง อยางยั่งยืน ซึ่งเริ่มจากภายในองคกรสูภายนอกองคกร โดยฝายจัดซื้อ จัดจางจะตองดําเนินตามนโยบายใหสอดคลองกับธุรกิจ นั่นก็คือการนํา Green Purchasing มาปรับปรุงการจัดซื้อจัดจางภายใน (วัสดุ พัสดุ ตาง ๆ ที่ใชภายในองคกร)และภายนอก (วัตถุดิบหรือสิ่งตาง ๆ ที่จะตอง นําเขาจากซัพพลายเออร) ซึง่ Green Purchasing หมายถึง การจัดซือ้ จัดจางสินคาและบริการ ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม หรือสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอยกวาสินคา หรือบริการอื่นที่ทําหนาที่อยางเดียวกัน โดยการพิจารณาตลอดวัฏจักร ชีวิตของสินคาหรือบริการนั้น ๆ เริ่มตั้งแต การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การบรรจุหีบหอ การขนสง การใชงาน และการจัดการซากผลิตภัณฑ หลังหมดอายุการใชงาน 78 l July 2012

Energy#44_p78-79_Pro3.indd 78

สําหรับแนวคิดในการจัดซื้อจัดจางที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม นั้น มีวัตถุประสงคหลัก ๆ ดังนี้ 1. ชวยอนุรักษพลังงาน 2. ประหยัด ทรัพยากร 3. ประหยัดวัตถุดิบ 4. ลดปริมาณขยะ 5. ไมใชสารประกอบ หรือสารเคมีอันตรายหรือใชนอยลง 6. ลดการปลอยมลสารออก สู  อ ากาศ ดิ น นํ้ า 7. สามารถย อ ย สลายไดงาย ส ว นประโยชน ที่จะไดรับจากการทํา Green Purchasing มี อ ยู  3 ด า น คื อ 1. ประโยชนตอผู บริโภค ซึ่งผูบริโภค จะไดใชสินคาที่ชวย http://info.umkc.edu/sustainability/ รั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม มีผลตอสุขภาพที่ดี และรักษาสิ่งแวดลอม รวมทั้งชวยปลูกฝงคานิยม ใหสังคมรวมกันอนุรักษสิ่งแวดลอมไปดวย โดยกระบวนการผลิตของ ธุรกิจตั้งแตลดการใชทรัพยากร สารที่เปนพิษตอมนุษย และไมทําลาย สิ่งแวดลอม

27/6/2012 3:01


6. Refill คือ การรูจักใชสิ่งของที่สามารถเติมผลิตภัณฑในภาชนะ เติมได เชน การใชตลับหมึกแบบเติมหมึกได หรือผลิตภัณฑชนิดแบบเติมไม วาจะเปนนํ้ายาลางหองนํ้า ลางจาน นํ้ายาปรับผานุม เปนตน 7. Return คือ การรูจ กั ใชสงิ่ ของทีส่ ามารถนําชิน้ สวนมาแลกใหมได เชน กรณีเครื่องจักรตกรุน เปนตน 8. Refuse คือ การปฏิเสธ หลีกเลี่ยง และไมใชเลย โดยการออก กฎขอบังคับกับซัพพลายเออรหรือผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ 9. Rethink คือ เปลี่ยนวิธีคิดใหมสรางสรรค http://www.gaebler.com/Purchasing-and-Procurement.htm

/

2. ประโยชน ต  อ ผู  ผ ลิ ต ซึ่ ง กระบวนการผลิ ต ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมนั้น ทําใหผูผลิตมีการใชทรัพยากรและเทคโนโลยีอยางคุมคา ปลอดภัยตอมนุษยและสิ่งแวดลอมมากขึ้นแลว ยังไดรับผลตอบแทนทาง เศรษฐกิจในระยะยาว ทั้งในการประหยัดตนทุนการผลิตและเปนการสราง ภาพลั ก ษณ ที่ ดี ต  อ ผลิ ต ภั ณ ฑ คื อ เมื่ อ สิ น ค า และบริ ก ารที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมแลว ผูบ ริโภคเกิดความนิยมใหการสนับสนุนมากขึน้ สงผลให เกิดการซื้อการใชบริการในปริมาณที่สูงขึ้นดวย และ 3. ประโยชนตอ สิง่ แวดลอม จะเกิดขึน้ ไดหาก 3 ประสาน ซึง่ ประกอบดวย ผูผ ลิต ผูบ ริโภค และ หนวยงานภาครัฐ ใหการสนับสนุนรวมมือรวมใจกันผลิตและบริโภคสินคา และบริการทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมากขึน้ แลว ก็จะสงผลดีตอ สิง่ แวดลอม โดยรวม คือ ชวยลดผลกระทบตาง ๆ ในการผลิตที่อาจเกิดอันตรายตอ มนุษยและสิ่งแวดลอมทั้งทาง ตรงและทางออม รวมทั้งชวย ลดการปลอยมลพิษทีเ่ ปนสาเหตุ ใหเกิดภาวะโลกรอน อยางไรก็ดี งานจัดซือ้ จัดจาง จะตองเขาไปเกีย่ วของกับทุกแผนก ทุกฝายภายใน-ภายนอกบริษัท ตัง้ แตเริม่ ตนความตองการของผู ใช ประชุมปรึกษาหารือ ฯลฯ โดย อยูบ นหลักการ 9 R’s ดังนี้ 1. Reuse คือ การรูจักหมุนเวียน นําสิ่งของที่ ใชแลวมาใชใหม เพื่อ ใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน ขวด แกว พาเลทพลาสติก เปนตน 2. Repair คือ การรูจักซอมแซมฟนฟูสิ่งของเครื่องใชที่สึกหรอ ใหสามารถใชประโยชนได ซึ่งการซอมแซมนั้นถือวาทําใหธุรกิจไมตองสิ้น เปลืองทรัพยากรทางการเงินซื้อเครื่องจักรหรืออุปกรณใหมและประหยัด การใชสอยดังกลาวได 3. Reduce คือ การรูจักทะนุถนอม บํารุงรักษา ใหมีอายุยืนยาว คงทนถาวรใชไดนานที่สุด เชนจะตอง warm up เครื่องจักรกอนเดินเครื่อง ทุกครั้ง เปนตน 4. Reject คือ รูจักปฏิเสธหรืองดการใชสิ่งของที่เห็นวาเปนการ ทําลาย สรางมลพิษแกสงิ่ แวดลอม ไดแก วัตถุดบิ สารเคมี หรือไฟม เปนตน 5. Recycle คือ นําสิ่งของที่ทิ้งแลว หรือเศษที่ ไมใชแลวกลับมา ผานกระบวนการผลิตใหม และนําไปใชได ไมวาจะเปนลวด เหล็ก ทองแดง กระดาษ เปนตน

Energy#44_p78-79_Pro3.indd 79

http://expressimage.com/industrial-decals/savings/ http://expressimage.com/industrial-decals/savings/ โดยระดมความคิดเห็นภายในบริษัทหาวิธีประหยัดพลังงานหรือ คิดหาวิธีออกผลิตแบบผลิตภัณฑ/บริการที่เปนนวัตกรรมใหมที่ประหยัด ตนทุน เชน หมวดวัสดุและเครื่องใชสํานักงาน ผลิตภัณฑจําพวก กระดาษ คอมพิวเตอร กระดาษสีทําปก กระดาษชําระ กลองใสเอกสาร แฟมเอกสาร ซองบรรจุภัณฑ ปากกาไวทบอรด ผลิตภัณฑลบคําผิด ตลับหมึก เมื่อหมด สามารถเติมหรือดัดแปลงเปนอุปกรณใช ในสํานักงานได หรือหมวด ครุภัณฑ หลอดฟลูออเรสเซนต เปลี่ยนหลอดผอม ประหยัดไฟ หรือ แบตเตอรี่เปลี่ยน แบบประหยัดพลังงาน หรือหมวดบริการ การใชบริการ เครื่องถายเอกสารจากบริษัทภายนอก จะคัดเลือกใชเครื่องถายเอกสารที่ ผานมาตรฐานการควบคุมสารอันตรายประกอบดวย สารตะกั่ว แคดเมียม ปรอท และควบคุมการเกิดโอโซนในอากาศ รวมทัง้ สามารถประหยัดกระดาษ ประหยัดไฟ ประหยัดเวลา ไดพรอมกัน โดยการรับโทรสาร (Fax) ผานทาง เครื่องถายเอกสารแลวสงเปน mail ไปยังพนักงานแทนการเปนกระดาษ เปนตน หรือ เมื่อครบสิ้นป แผนก/ฝายใดที่สามารถประหยัดพลังงานได มากที่สุดจะไดรับรางวัล อยางไรก็ตาม การจัดซื้อเปนกระบวนการสําคัญของทุกธุรกิจ นับวันจะยิ่งมีบทบาทอยางมากในการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เปน สวนหนึ่งในความรับผิดชอบของธุรกิจที่มีตอสังคม (Corporate social responsibility : CSR) ซึ่งในยุคการคาไรพรมแดนการที่จะผลิตสงสินคา ออกไปยังตางประเทศ ปจจุบันทุกประเทศตางใหความสําคัญกับปญหา สิง่ แวดลอมและคิดคนสินคาทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ดังนัน้ ผูป ระกอบการ เจาของผลิตภัณฑ หรือผูประกอบการที่จางผูผลิตที่เปนลักษณะ Original Equipment Manufacturer : OEM จะตองผานกฎระเบียบและขอบังคับ ของแตละประเทศ โดยเฉพาะดําเนินการตามหลักการของ ISO 26000 ซึ่งแนวทางสําคัญในการดําเนินการดังกลาวใหสําเร็จก็คือ การพิจารณา การจัดซื้อตาง ๆ อยางเปนระบบ ไมใชเพียงคิดจากราคาขายของสินคา หรือบริการตาง ๆ เพียงอยางเดียว แตควรคิดในเชิงยุทธศาสตรทั้งตอ การสรางแบรนด และการจัดการเปาหมายการจัดซื้อสีเขียวที่เปนรูปธรรม วัดผลได และมีผลกระทบโดยตรงตอประสิทธิภาพและผลการประกอบการ ขององคกรดวย July 2012 l 79

6/28/12 12:05 AM


Energy Concept โดย : ณ อรัญ

คนไทย เจงสรางเครองกัดรอง ลู ก รี ด อั ต โนมั ต ิ ดี ก รี ร างวั ล สิ่งประดิษฐดีเดนสภาวิจัยแหงชาติ

ปจจุบันการคิดคนและพัฒนาสิ่งประดิษฐตางๆ เปนเรองที่หลายองคกรหันมาใหความสนใจ เพราะถือเปนการ พัฒนาศักยภาพดานการออกแบบ การคิดคนและพัฒนาเทคโนโลยีเพอนํามาใชจริง และนํามาสูการลดคาใชจาย จากการซื้อเทคโนโลยีเหลานั้นจากตางประเทศ เรื่องของความสามารถของคนไทยตองยอมรับวาไมเปนรองชาติ ใดในโลก หากไดรับการสนับสนุนอยางจริงจัง ในทุกภาคสวน ไมวาจะเปน ภาครัฐบาลหรือภาคเอกชนก็ตาม ลาสุด เวสทโคสท เอ็นจิเนียริ่ง หนึ่งใน ธุรกิจบริการดานวิศวกรรมในกลุม SSI ผูใ หการผลักในการคิดคนและพัฒนา

ผลงาน เครื่องกัดรองลูกรีดอัตโนมัติ เพื่อรองรับธุรกิจภาคอุตสาหกรรม และสามารถควารางวัลประดิษฐคดิ คน ระดับดีเดน ดานวิศวกรรมศาสตรและ อุตสาหกรรมจากสภาวิจัยแหงชาติ พรอมประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติคุณ ซึง่ ผลงานสิง่ ประดิษฐดงั กลาวจะสามารถสรางรายได 20 ลานบาทตอป และ

80 l July 2012

Energy#44_p80-81_Pro3.indd 80

6/28/12 10:28 PM


เพิม่ ผลผลิตได 5.6 เทา อีกทัง้ ยังชวยประหยัดเงินจางและ การขนสงไปตางประเทศอีกดวย นายวิน วิรยิ ประไพกิจ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารกลุม และกรรมการผูจัดการใหญ บมจ.สหวิริยาสตีลอินดัสตรี (SSI) เลาถึงความสําเร็จครัง้ นีว้ า คณะนักวิจยั ของบริษทั เวสทโคสท เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด (WCE) ไดสงผลงานเรื่อง “เครือ่ งกัดรองลูกรีดอัตโนมัต”ิ เพือ่ ขอรับรางวัลสภาวิจยั แหงชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ประจําป 2555 จากผลงานดังกลาวคณะกรรมการบริหารสภาวิจัยแหง ชาติ ไดพจิ ารณาและมีมติอนุมตั ใิ หรางวัลผลงานประดิษฐ คิดคน “เครื่องกัดรองลูกรีดอัตโนมัติ” ไดรับรางวัลระดับ ดีเดน ดานวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรม โดยจะไดรบั ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติคณ ุ เหรียญรางวัล พรอมเงิน รางวัล 250,000 บาท ที่ ผ  า นมา สํ า นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห ง ชาติ(วช.) ไดใหความสําคัญกับผลงานการคิดคนและพัฒนาสิ่งประดิษฐ อยางตอเนือ่ ง โดยมุง หวังใหเกิดการพัฒนาศักยภาพดานความคิดทุกภาพ สวนในวงกวาง และไดประกาศเชิญชวนใหนักประดิษฐคิดคนเสนอผลงาน ซึ่งเปนผลิตผล, ผลิตภัณฑ, กรรมวิธี, กระบวนการ, วิธีการ, มาตรการ หรือระบบ ตลอดจนวิทยาการตางๆ ที่ดีเดนพิสูจนแลววาเปนประโยชน แกประเทศชาติ ทั้งทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสังคมศาสตร

เพือ่ ขอรับรางวัลสภาวิจยั แหงชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐคดิ คน ประจําป 2555 ในด า นต า งๆ ประกอบด ว ยด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี , ดานวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรม, ดานเกษตรศาสตรและอุตสาหกรรม การเกษตร, ดานวิทยาศาสตรการแพทย, ดานวิทยาศาสตรเคมีและเภสัช และ ดานมนุษยศาสตร สํ า หรั บ ผลงงาน “เครื่ อ งกั ด ร อ งลู ก รี ด อั ต โนมั ติ ” หรื อ CNC Engraving Roll Machine เปนผลงานประดิษฐ เพือ่ ทดแทนลูกรีดทีถ่ กู กัดรอง สําหรับผลิตเหล็กแผนขึ้นลาย หรือ Checker plate ของโรงงานผลิตเหล็ก แผนรีดรอน จากเดิมที่การกัดรองบนผิวลูกรีดดังกลาวไมสามารถผลิตได ในประเทศไทยและไมมีผูรับผลิตในแถบเอเชียอีกดวย และจําเปนตองสงไป กัดรองในประเทศแถบยุโรปเพียงอยางเดียวเทานั้น ซึ่งสงผลตอคาใชจาย อยางมาก เพราะการสงแตละครัง้ คอนขางมีคา ใชทสี่ งู ทัง้ คาดําเนินการและ คาขนสง อีกทัง้ ยังใชระยะเวลาในการดําเนินการอยางนอย 4 เดือนตอเทีย่ ว สิ่ ง ประดิ ษ ฐ ดั ง กล า วจึ ง ถื อ เป น ผลงานที่ ส ามารถลดทั้ ง ต น ทุ น เวลา และประหยัดพลังงานไดอยางมาก ผลงานการประดิษฐ เครื่องกัดรองลูกรีดอัตโนมัติ ของเวสทโคสท เอ็นจิเนียริ่ง ดังกลาวใชงบประมาณในการผลิต 4.65 ลานบาท โดยใชวัสดุ ทีส่ ามารถจัดหาไดภายในประเทศทัง้ หมด และเชือ่ วาจะไดรบั ประโยชนจากการ ใชเครือ่ งกัดขึน้ ลายลูกรีดไดอยางมีคณ ุ ภาพ สามารถสรางรายไดประมาณ 20 ลานบาทตอป เพิ่มผลผลิตในการใชลูกรีด 5.6 เทาตัว แกปญหาการ จัดเก็บลูกรีดจํานวนมาก สิ่งสําคัญ คือ ชวยประหยัดเงินจากการจางและลดคาใชจายใน การขนสงไปตางประเทศ อีกทั้งยังเปนการเพิ่มองคความรู ความชํานาญ ทักษะความสามารถในการออกแบบและสรางทางวิศวกรรมกับเครือ่ งจักรกล ขนาดใหญที่มีเทคโนโลยีสูงใหกับวิศวกรและประเทศไทยอีกดวย

July 2012 l 81

Energy#44_p80-81_Pro3.indd 81

6/28/12 10:29 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

8 เทคนิคการประหยัดนํ้ามัน ในหนวยงานราชการ

วันนี้เรามีเทคนิคการประหยัดนํ้ามันวิธีการประหยัดนํ้ามันในหนวย งานราชการ เพื่อลดการใชพลังงานใหได 5% มาแนะนําทานผูอานที่แมจะ ไมไดทํางานเกี่ยวของกับหนวยงานราชการ แตก็สามารถนําไปปรับใชได งายๆ 8 ขอ ดังนี้ 1.ไมติดเครื่องรอนาย โดยการไมติดเครื่องยนตรอนาย และดับ เครื่องยนตทุกครั้งเมื่อจอดรถเปนเวลานาน เพราะการติดเครื่องยนต 10 นาที จะเสียนํ้ามันฟรีๆ 3624-400 ซี.ซี. หรือเสียเงินประมาณ 3-7 บาท หากเปดเครื่องปรับอากาศดวยจะสิ้นเปลืองนํ้ามันเพิ่มอีกรอยละ 10 2.กําหนดเวลาการสงเอกสารใหแนนอน โดยการรอรวบรวม เอกสารไวจัดสงทีเดียว เชน กําหนดการสงไววันละ 2 ครั้ง คือ ชวงเชา และชวงบาย เมื่อทําเชนนี้ก็จะชวยใหประหยัดนํ้ามันในการเดินทางลงได 3.การจัดเสนทางการเดินรถ เชน ออกหนังสือเวียนเรื่องการ ใชรถไปตามกองตางๆ ในหนวยงาน เพื่อจัดเสนทางการเดินรถไดอยาง มีประสิทธิภาพ เชน Car Pool ทางเดียวกันไปดวยกัน ดวยการจัดเจา หนาที่ที่ตองไปเสนทางเดียวกันใชรถคันเดียวกัน หากใชรถรวมกันจาก 5 คันเหลือ 1คัน จะประหยัดนํ้ามันไดรอยละ 80 4.การใชอุปกรณสื่อสารแทนการเดินทาง เชนการประชุมดวย การใชโทรศัพท การสงหนังสือระหวางหนวยงาน หากเรงดวนก็ ใชวิธี การสงทางโทรสาร หากเปนเอกสารสําคัญก็ ใชวิธีรอรวบรวมเอกสาร แลวสงพรอมกัน สวนหนังสือเวียนที่ ไมสําคัญก็ใชวิธีสงอี-เมล หรือ สง ทางไปรษณีย

5.จัดประชุมพนักงานขับรถ จัดใหความรูในการขับรถอยางถูกวิธี แกพนักงานขับรถ รวมทั้งการบํารุงรักษารถเพื่อประหยัดนํ้ามัน เชน การ ขับรถที่ความเร็ว 90 กม./ชม. แทนการขับดวยความเร็ว 110 กม./ชม. จะ ประหยัดนํ้ามันรอยละ 25 6.การตรวจเช็คเครื่องยนต โดยใหหนวยงานซึ่งดูแลการใชรถ คอยควบคุมและหมั่นตรวจสอบเครื่องยนตใหอยูในสภาพดีอยางสมํ่าเสมอ หากพบสิง่ ผิดปกติควรสงตรวจเช็คทันที เพราะการตรวจเช็คสภาพรถเปน ประจําจะชวยใหประหยัดนํ้ามันรอยละ 5-10 7.วางแผนกอนเดินทาง ดวยการใหพนักงานขับรถศึกษาเสนทาง กอนการเดินทางทุกครั้ง เพราะหากขับรถหลงเพียง 10 นาที จะทําใหสิ้น เปลืองนํ้ามัน 500 ซี.ซี. 8.ใชนํ้ามันใหถูกประเภท หากรถที่ ใชเบนซินออกเทน 91 ได ตอง เติมเบนซินออกเทน 91 เทานั้น

ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.eppo.go.th

82 l July 2012

Energy#44_p82_Pro3.indd 82

6/28/12 10:31 PM


Energy in Trend

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

“T.Sebifera” พืชพลังงานตัวใหม สกัดไบโอดีเซล http://www.businessweek.com/magazine/fracking/slideshow.html

ป จ จุ บั น เรามั ก มองหาพื ช พลั ง งานชนิ ด ใหม ม าใช ท ดแทน พลังงานที่นับวันจะรอยหรอลงไปทุกที และมีพืชหลายชนิดที่ ไดรับ ความสนใจศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อเปนพลังงานทดแทน โดย T.sebifera ก็เปนหนึ่งในพืชพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูงในการ แกปญหาเหลานั้น T.sebifera หรือ Triadica sebifera หรือ Sapium sebiferum (L) Roxb. มีชื่อสามัญวา Chinese Tallow Tree ซึ่งไดรับชื่อเปนภาษาไทยวา “ตนศรีทอง” เปนพืชพลังงานทดแทนชนิดใหมที่ยังไมเปนที่รูจักและยังไมมี การใชประโยชนในประเทศไทย ทัง้ ๆ ทีเ่ ปนพืชพลังงานทีม่ ศี กั ยภาพสูงในการ เปนวัตถุดิบหลักในการผลิตไบโอดีเซล มีการศึกษาวิจัยเรื่อง Kinetic Study of Biodiesel Production from Chinese Tallow Tree Oil พบวา “Triadica sebifera หรือ Chinese Tallow Tree นั้น มีเมล็ดสีขาวของผลที่สามารถนํามาสกัดได สารสกัด ประมาณ 40% ของปริมาตร ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชน ไดหลายอยาง รวมทั้งการผลิตเปนไบโอดีเซลดวย ประโยชนหลักของ Triadica sebifera คือ เปนสารขั้นตนในการผลิตไบโอดีเซล ที่มีผลิตภาพ ดานนํ้ามันสูงตอหนวยพื้นที่ การปลูกในพื้นที่หนึ่งเฮกตารสามารถให เมล็ดไดประมาณ 12,500 กิโลกรัม ซึ่งสกัดเปนนํ้ามันได 5,500 กิโลกรัม ปริมาณนํ้ามันที่ ไดมากกวานํ้ามันที่สกัดไดจากถั่วเหลืองถึง 15 เทา ในสหรัฐฯ จึงมีการใชนํ้ามันของ T.sebifera ในการผลิตไบโอดีเซลอยาง กวางขวาง นํ้ามันจากเมล็ด ประกอบไปดวย palmitic fatty acid คิดเปน 50% รองลงมาคือ oleic, linoleic และ linolenic fatty acid ซึ่งสามารถ นํามาใชในการผลิตไบโอดีเซลไดสําหรับในประเทศไทย T.sebifera ยังไม

เปนที่รูจักอยางแพรหลาย แตมีการปลูกที่สถานีเกษตรหลวงอางขาง จังหวัดเชียงใหม เปนระยะเวลาประมาณ 25 ปมาแลว ซึ่งหากมีการศึกษา ถึงการนํามาเพาะปลูกเพื่อใชประโยชนเปนพืชพลังงาน ในการผลิตเปน ไบโอดีเซล จะเปนทางเลือกหนึ่งในการแกปญหาวิกฤติพลังงานที่รุนแรง อยูในปจจุบันได ปจจุบัน T.Sebifera หรือ Chinese Tallow Tree ที่ปลูก ไวในประเทศไทยมีปญหาในดานการติดผลนอย จึงไดเริ่มมีการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับพืชชนิดนี้มากขึ้น เรียกไดวา T.sebifera จะเปนพืชพลังงานตัวใหมที่เปรียบเสมือน ขุมทรัพยทรี่ อคอยการขุดคนดวยองคความรูด า นตางๆ และนําศักยภาพของมัน มาใชประโยชนใหเกิดเปนแหลงพลังงานทดแทนที่เปนพลังงานสีเขียว (green energy) ของมวลมนุษยตอ ไปในอนาคต อางอิงขอมูล : http://www.rdi.ku.ac.th/kasetresearch52/ 04-plant/Juthamanee/plant_00.html

July 2012 l 83

Energy#44_p83_Pro3.indd 83

6/28/12 10:33 PM


Renergy

บาหลี Green Asia

Power

เมื่อไดยินคําวา “บาหลี” คนไทยสวนใหญคงตองนึกถึงภาพ ของสวนพั ก ผ อ นรอบบ า นหรื อ ในหมู  บ  า นที่ เ ต็ ม ไปด ว ยพั น ธุ  ไ ม หลากหลายมี รู ป ป  น สวยๆ หรื อ ไม ก็ จิ น ตนาการไปถึ ง เกาะที่ น  า ทองเที่ยวที่ยังมีความเปนธรรมชาติ ซึ่งทั้งสองประการนี้ก็คือความ เปน “บาหลี” ของเกาะสวรรคแหงนี้ ซึ่งบริษัทจัดงานอีเวนทเกาแก ชื่อ Clarion Events เลือกเปนสถานที่จัด Green Power Asia ครั้ง ที่ 2 โดยครั้งที่ 1 ที่ผานมาจัดที่กรุงเทพฯ ของเรานี่เอง ประธานคณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งาน (กกพ.) Energy Regulatory Commission: ERC นําทีมวิทยากรผูทรง คุณวุฒิ ประกอบดวยตัวแทนจากกระทรวงพลังงาน การไฟฟาฝาย ผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมิภาคและภาคเอกชน นําโดย ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน (ส.อ.ท.) รวมกันเพื่อ ประกาศความพรอมของไทยในการเปนศูนยกลางพลังงานทดแทน ของเอเชีย ตลอดระยะเวลาการสัมนาทั้ง 3 วัน ระหวางในวันที่ 1416 พฤษภาคม 2555 ณ Bali International Convention Centre วิทยากรไทยไดรับความสนใจและตอบขอซักถามจากนานาประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งอัตราสวนเพิ่มการขายไฟฟา (Adder) ซึ่งไดผล ดี แตมีแนวโนมวาจะปรับเปลี่ยนไปเปนแบบ FIT: Feed in Tariff นาเสียดายทีต่ วั แทนจากสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เจาของแนวคิดในการปรับเปลีย่ นไมไดรว มทีมไปดวย ซึง่ ไมมีใครกลา ตอบอยางเต็มเสียงในเรื่องนี้ กอนที่จะสรุปเนื้อหาของการสัมมนา เรามารูจักบาหลีเกาะในฝนของชาวตะวันตกใหมากขึ้นอีกหนอย.... เกาะบาหลี นับวาเปนจังหวัด 1 ใน 33 จังหวัดของประเทศ อินโดนีเซีย เมืองสําคัญคือ เดนปาซาร มีประชากรราว 3-4 ลาน คน พื้นที่ 5,634.40 ตารางกิโลเมตร ถาเปรียบเทียบกับเกาะที่เรา คุนเคย สิงคโปรมีพื้นที่ 697 ตารางกิโลเมตร เกาะภูเก็ตมีพื้นที่ 84 l July 2012

Energy#44_p84-85_Pro3.indd 84

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

543.034 ตารางกิ โ ลเมตร หลั ง จากอิ น โดนี เ ซี ย ได รั บ เอกราช บาหลีถูกรวมเปนสวนหนึ่งของจังหวัดนูซา เต็งการาจนกระทั่ง ค.ศ. 1958 รั ฐ บาลกลางได ป ระกาศแยกให บ าหลี เ ป น จั ง หวั ด หนึ่ ง ของอิ น โดนี เ ซี ย ปจจุบนั การปกครองของบาหลีแบงออกเปน 8 เขต ประชากรสวนใหญเปน

ชาวบาหลีถงึ 89 % ชวา 7 % บาเลียกา 1 % และมาดูรา 1 % ภาษาราชการ ใชภาษาอินโดนีเซียและภาษาบาหลี ประชาชนสวนใหญนับถือศาสนาฮินดู ถึง 93.19 % อิสลาม 4.79 % คริสต 1.38 % สวนศาสนาพุทธนอย มากเพียง 0.64 % เวลาในบาหลีจะเร็วกวาจากาตา ซึ่งเปนเมืองหลวง ของอินโดนีเซีย 1 ชั่วโมง ดังนั้นเวลาที่บาหลีจึงเร็วกวาไทย 1 ชั่วโมงไป ดวย เนื่องจากเกาะบาหลีอยูตอนใตของอินโดนีเซีย ซึ่งเยื้องไปทางตะวัน ออกคอนไปทางออสเตรเลีย จากกรุงเทพฯ มีสายการบินไทย บินตรงไป ลงบาหลีเกือบทุกวัน นอกจากนี้ยังมีสายการบินอื่นใหเลือกอีกหลายสาย การเดินทางสะดวกพอสมควร ประเทศไทยอาจเปนประเทศที่มีผูเขารวมงานมากที่สุด สําหรับ ผูเขารวมฟงสัมมนาตองเตรียมคาใชจายไวอยางนอย 1 แสนบาท เปนคา เขาฟงสัมมนา 3 วัน ประมาณหาหมื่นบาท ที่เหลือเปนคาเดินทางไป-กลับ และคาที่พักซึ่งคอนขางแพง

6/28/12 10:10 PM


ประเทศไทยนําเสนออะไรบาง ทีมวิทยากรไทยไดพยายามนําเสนอความนาสนใจของไทยในดาน ตาง ๆ ของพลังงานทดแทน โดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนของมาตรการ การสงเสริมพลังงานทดแทนทีม่ ีใหเห็นอยางเปนรูปธรรม และจุดแข็งของไทย ที่มีการไฟฟาทั้ง 3 แหงที่เขมแข็งเปนที่ยอมรับของนักลงทุนทั่วโลก วาจะ สามารถรับซื้อไฟฟา ไดตลอดอายุสัญญา ซึ่งหลายประเทศในเอเชียยัง ขาดสวนนี้อยู นอกจากนี้การนําเสนอนโยบายหลักดานพลังงาน 5 ขอของ กระทรวงพลังงาน โดยมีภาพของทานนายกรัฐมนตรีก็สรางความนาสนใจ ไมนอย แตที่ทําใหผูเขารวมสัมมนาตองแปลกใจก็คือ การนําเสนอของการ ไฟฟาฝายผลิต ซึ่งนับรวมพลังงานนํ้าจากเขื่อนเปนพลังงานทดแทนดวย ทําใหปจจุบันไทยใชพลังงานทดแทนถึง 18 % สําหรับภาคเอกชนไดมี บริษัทที่ประสบความสําเร็จในการพัฒนาโครงการพลังงานทดแทนใน ประเทศไทย เขารวมนําเสนอหลายรายทัง้ พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานชีวมวล

อินโดนีเซีย ประเทศเจาภาพของงานนี้ มีการนําเสนอพลังงาน ทดแทนในรูปแบบตาง ๆ มากมาย ทําใหพวกเรารูวาบางประเทศ เชน อินโดนีเซียและมาเลเซียมีพลังงานเหลือเฟอ ทัง้ นํา้ มันดิบ พลังงานความรอน ใต พิ ภ พ พลั ง งานนํ้ า จากการสร า งเขื่ อ น นอกจากนี้ อิ น โดนี เ ซี ย ยั ง มี ถานหินเหลือเฟอใชเองไมหมด กลายเปนสินคาสงออกไปทั่วโลก สรุป ว า อิ น โดนี เ ซี ย มี พ ลั ง งานราคาถู ก ใช กั น ทั่ ว ประเทศ ดั ง นั้ น การเข า สู  พลังงานทดแทนที่มีตนทุนสูงอยางพลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานชีวมวลและชีวภาพ รวมทั้งพลังงานจากขยะจึงเปนไปไดยาก

อย า งไรก็ ต ามรั ฐ บาลอิ น โดนี เ ซี ย โดยกระทรวงพลั ง งานและ ทรัพยากรธรรมชาติก็ยังไดมีแผนการสงเสริมพลังงานทดแทนออกมา แต อัตราสงเสริมตํา่ มากเมือ่ เทียบกับเมืองไทย ดังนัน้ ใครทีค่ ดิ จะไปลงทุนก็ลอง บวกลบคูณหารใหดีกอน ลองศึกษาการสงเสริมคาไฟฟาอินโดนีเซียดู.... การแขงขันการจัดแสดงสินคา สัมมนาดานพลังงานและพลังงาน ทดแทนในประเทศไทยกําลังเขมขนมากขึ้นทุกป สวนใหญเปนบริษัทที่มี ประสบการณและเครือขายจากตางประเทศ ถาเราไมมองแคบเกินไปวากําไร สงออกไปตางประเทศ สิ่งที่เราไดก็คือการกระตุนการลงทุนดานพลังงาน ทดแทนในประเทศ และยังมีรายไดดานการทองเที่ยวจากผูเขารวมงาน ซึง่ สวนหนึง่ มาจากตางประเทศ ขอสําคัญทีฝ่ า ยไทยตองเตรียมความพรอม อยามอง Organizer วาเปนผูไดประโยชนแตเพียงอยางเดียว นอกจาก นี้ ไทยเรายังตองเตรียมโชวรูมไวแสดงสินคาดานพลังงานทดแทน เชน โรงไฟฟาพลังงานขยะ โรงไฟฟาชีวมวล โรงไฟฟาจากกาซชีวภาพ รวมทั้ง พลังงานแสงอาทิตยและพลังงานลม และถือโอกาสความหลากหลายจาก การจัดงานในประเทศไทย สรางความพรอมในการเปนศูนยกลางพลังงาน ทดแทนในอาเซียนในอีก 3 ปขางหนา

บาหลี มีแหลงทองเทีย่ วทีส่ วยงามคุม คาการเดินทางไปเยีย่ มชม เชน ภูเขาไฟบาตูร (Gunung Batur) ซึ่งอยูในอําเภอคินตามณี (Kintamani) ความสูง 1,500 เมตร มีการ ประทุครั้งลาสุดเมื่อป พ.ศ.2537 แตการ ประทุครั้งใหญเกิดขึ้นครั้งสุดทายเมื่อป พ.ศ.2469 นอกจากนี้บาหลียังมี ชายหาดที่สวยงามตามธรรมชาติ รวมทั้งศิลปะวัฒนธรรม และหาดทราย สีดําจากลาวาภูเขาไฟ บาหลีมีความเปนตัวตนของตัวเอง สมกับคําขวัญ “Bali DWipa Java” อันหมายถึง “เกียรติศักดิ์เกาะบาหลี”

July 2012 l 85

Energy#44_p84-85_Pro3.indd 85

6/28/12 10:10 PM


Energy Exhibit โดย : รังสรรค อรัญมิตร

Renewable Energy Asia 2012 and Thai Water 2012

เปนครั้งแรกในประเทศไทยสําหรับการจัดงาน “Renewable Energy Asia 2012” งานแสดงนิทรรศการที่รวบรวมบริษัทผูผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม ตลอดจนองคกรความรูดานพลังงานทดแทนสําหรับภาคอุตสาหกรรม และงาน แสดงนวัตกรรมเกี่ยวกับนํ้าที่ครบวงจรที่สุดในประเทศไทยกับงาน “Thai Water 2012” โดยไดรับความรวมมือจากภาครัฐและเอกชน ไมวาจะเปน กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน คณะกรรมการพลังงาน หอการคาไทย

บัณฑิตวิทยาลัยรวมดานพลังงานและสิ่งแวดลอม (JGSEE) สํานักงานสงเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ หรือ สสปน. บริษทั ปตท.จํากัด (มหาชน) การไฟฟาสวนภูมภิ าค หนวยพัฒนาการ เชื่อมโยงอุตสาหกรรม (BUILD) การประปานครหลวง สํานักงาน คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) ฯลฯ

86 l July 2012

Energy#44_p86-87_Pro3.indd 86

27/6/2012 2:30


ซึ่งการจัดงานครั้งนี้มีบริษัทชั้นนําทั้งในประเทศและตางประเทศเขา รวมแสดงสินคาเทคโนโลยีใหมๆ ดานสิ่งแวดลอมกวา 200 บริษัท รวมถึง การจัดแสดงสินคาในรูปแบบพาวิลเลียน ไมวาจะเปน ญี่ปุน จีน สิงคโปร ไตหวัน เยอรมนี และในจํานวนนี้มีบริษัท Top 10 Solar หรือ 10 บริษัทชั้นนํา ดานพลังงานแสงอาทิตยทั่วโลกมารวมนําเสนอสุดยอดนวัตกรรม ดวย อาทิเชน Suntech, Yinfli, Trina, Canadian, Sunpower, Jinko, Sungen, China Sunergy, Bosch พรอมกันนี้ภายในงานยังไดจัด สัมมนาเชิงวิชาการ และเสวนาเกีย่ วกับพลังงานและสิง่ แวดลอมตางๆ ใหความรูกับผูที่สนใจหรือผูที่เขารวมงานอีกดวยครับ

July 2012 l 87

Energy#44_p86-87_Pro3.indd 87

27/6/2012 2:31


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

กสิกรไทยจับมือมูลนิธคิ ลินตัน สนับสนุนผูประกอบการอนุรักษพลังงาน ระดับมาตรฐานสากล เรื่องระบบการจัดการ และควบคุมการใชพลังงานอัตโนมัติในอาคารและ สํานักงาน บริษัท ฟลิปส อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จะดูแลเกี่ยวกับ ระบบไฟฟาและแสงสวาง และบริษัท เทรน (ประเทศไทย) จะดูแลเกี่ยวกับ อุปกรณเกี่ยวกับความเย็นที่ประหยัดพลังงานสูง

หลังจากมติของ คณะกรรมการกิจการพลังงาน (กกพ.) ที่มี การใหปรับขึ้นคาเอฟทีของไฟฟาอีก 30 สตางคตอหนวย สงผลให เกิดผลกระทบตอตนทุนการผลิต โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมตางๆ เพิ่มขึ้นอีก 6.0-7.0% ซึ่งหากเปนกลุมธุรกิจที่มีการแขงขันสูงและไม สามารถผลักภาระไปยังผูบริโภคได อีกทั้งตนทุนคาไฟฟาคิดเปน สัดสวนสูงกวา 10% ขึน้ ไป เชน อุตสาหกรรมหองเย็น อิเล็กทรอนิกส โรงแรม และ โรงพยาบาล อาจสงผลกระทบตอความสามารถใน แขงขัน การทํากําไรและการบริหารสภาพคลองของบริษัทได ดังนั้น ธนาคารกสิกรไทย จึงไดรวมกับ มูลนิธิคลินตัน (Clinton Foundation) ของอดีตประธานาธิบดีบิล คลินตัน สหรัฐอเมริกา บริษัท อัซบิล (ประเทศไทย) , บริษัท ฟลิปส อิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) และ บริษทั เทรน (ประเทศไทย) ดําเนินโครงการรับประกันการประหยัดพลังงาน แกผูประกอบการไทย โดยจะใหคําปรึกษาดานการประหยัดพลังงานอยาง ครบวงจรแกผูประกอบการ ซึ่งจะรับประกันผลการประหยัดพลังงานที่ ได จากการลงทุนในโครงการดวย ความรวมมือครั้งนี้ มูลนิธิคลินตันจะใหคําปรึกษาดานการจัดการ การใชพลังงานในดานตางๆ รวมถึงการพัฒนาและใหการสนับสนุนการ จัดทําสัญญาพลังงาน (Energy Performance Contract) ในรูปแบบ มาตรฐานสากล ในขณะที่อีก 3 บริษัท ก็เปนบริษัทจัดการดานพลังงานที่ มีประสบการณเกี่ยวของกับระบบการใชพลังงานสําหรับภาคอุตสาหกรรม และองคกรในภาคธุรกิจ ใหมีการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพสูง และ เปนไปตามมาตรฐานสากล โดยบริษัท อัซบิล (ประเทศไทย) จะใหคําปรึกษา

สวนธนาคารกสิกรไทย จะใหการสนับสนุนสินเชื่อรับประกันการ ประหยัดพลังงานกสิกรไทย (K-Energy Saving Guarantee Program) ในวงเงินสินเชื่อสูงสุด 100% ของเงินลงทุนทั้งหมดของโครงการ โดยจะ สนับสนุนวงเงินกูระยะยาวจากธนาคารกสิกรไทย และวงเงินลิสซิ่งหรือเชา ซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ (K-Equipment Financing) จาก บริษัท แฟคเตอรีแอนดอีควิปเมนท กสิกรไทย เพื่อใหผูประกอบการนําไปลงทุน พัฒนาระบบจัดการดานพลังงานใหประหยัดพลังงานสูงสุด หรือเปลี่ยน มาใชอุปกรณที่มีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานมากขึ้น ซึ่งจะสราง ความเขมแข็งใหผูป ระกอบการสามารถประหยัดคาใชจา ยไดในระยะยาว และ สงผลตอการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจของประเทศในภาวะวิกฤติการณ ดานพลังงานที่ยังคงเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ซึ่งกลุมลูกคาเปาหมายสําหรับการเขา รวมโครงการรับประกันการประหยัดพลังงาน ไดแก กลุมผูประกอบการขนาดเล็กถึงขนาด กลาง รวมถึงกลุมธุรกิจขนาดใหญ ที่มีคาใช จายและตนทุนดานพลังงานสูง โดยการลด ตนทุนดานพลังงานจะชวยเพิ่มศักยภาพใน การแขงขันใหแกผูประกอบการ รวมทั้งสราง โอกาสในการเขาถึงตลาดระดับสากลที่มีแนว โนมจะใหความสําคัญแกสินคาและบริการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น เชน ตลาดสหภาพยุโรป และญี่ปุน ทั้งนี้ธนาคารคาดวาจะสามารถใหการ สนับสนุนสินเชื่อโครงการดังกลาวประมาณ 3,000 ลานบาท

88 l July 2012

Energy#44_p88_Pro3.indd 88

27/6/2012 2:18


Energy Legal

โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

คืนภาษี “รถคันแรก” ขาวดี... ที่ถือเปนกระแสมาแรงและมีการกลาวถึงอยางมากสําหรับคน ทีก่ าํ ลังมองหารถคันใหม คงหนีไมพน ขาวการคืนภาษีรถยนตสาํ หรับผูท ีอ่ ยาก จะเปนเจาของรถคันแรกตามนโยบายของรัฐบาล จะไมใหเปนเรื่อง Talk of the town ไดอยางไร หากไมมีตัวแปลของเรื่องเปนจํานวนเงินที่คืนสูงสุดถึง 100,000 บาท เปนเราๆ ทานๆ ไดยินเชนนี้ก็อยากจะเขาไปมีสวนรวมกับ นโยบายดังกลาว แมกระทั่งคนที่ชีวิตนี้ ไมคิดจะซื้อรถ ยังตองหันมาทบทวน ความคิดของตนเองกันเลยทีเดียว ซึ่งตองยอมรับวา หลายคนยังไมเขาใจ เรื่องดังกวามากนัก จนเกิดเปนขอถกเถียงและเปนขาวรายวันและมีการ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงนโยบายดังกลาวกวาจะไดขอสรุปที่แทนจริง อันที่จริง เรื่องของขอกําหนดการคืนภาษีของรถคันแรกนั้น ก็ ไมได ถึงกับทําความเขาใจยากนัก หากผูที่กําลังมองหารถใหมและอยากจะเขารวม โครงการไดมีการศึกษาขอกําหนดในการขอรับสิทธิ์อยางชัดเจน งายๆ กับ การพิจารณาคุณสมบัติของผูซื้อรถตามหลักเกณฑของนโยบายรถคันแรก เริม่ ทีร่ ถยนตทีจ่ ะซือ้ ตองเปนคันแรกตามชื่อของนโยบายดังกลาว เปนรถยนต ที่ราคาขายปลีกไมเกิน 1 ลานบาทตอคัน เปนรถยนตนั่ง ขนาดความจุกระ บอกสูบไมเกิน 1,500 ซี.ซี. รถกระบะ, รถยนตนั่งกึ่งบรรทุก และเปนรถยนต ที่มีฐานการผลิตขึ้นในประเทศเทานั้น ไมรวมถึงรถยนตที่มีการนําเขาเปนชิ้น สวนและมาประกอบภายในประเทศ หรือที่รูจักกันในนามของรถยนตจด ประกอบ ผูซื้อตองมีอายุ 21 ปบริบูรณขึ้นไป สามารถซื้อไดทั้งแบบเงินผอน ผานไฟแนนซ หรือเงินสดก็ ได โดยตองทําสัญญาซื้อ-ขายรถยนตตั้งแตวันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2554 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2555 เมื่อซื้อเรียบรอย แลว การคืนเงินภาษีจะคืนเมื่อครอบครองรถยนต 1 ป โดยจะเริ่มจายคืนให ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เปนตนไป ที่สําคัญตองครอบครองรถยนตคันดังกลาวไมนอยกวา 5 ป หากผู ซื้อรถไมสามารถผอนตอได หรือมีเหตุอยางอื่น จะตองคืนเงินภาษีที่ ไดรับให กรมสรรพสามิต หากไมดาํ เนินการ ทางกรมสรรพสามิตจะใชวธิ กี ารทางศาล เพื่อใหสั่งใหคืนทะเบียนรถยนต ซึ่งในกรณีของรถมือสองไมสามารถเขารวม โครงการนี้ ได เนื่องจากรถมือสองไมมีภาษีสรรพสามิตในการซื้อ-ขาย ซึ่ง หลายคนจะคิดวารถทุกคันจะไดคืนที่ 100,000 บาท ตองทําความเขาใจใหม อันที่จริงแลวการคืนเงินภาษีดังกลาวจะคํานวณคาภาษีตามที่จายจริง แตไม เกิน 1000,000 บาทตอคัน

ขั้นตอนตอมา เปนหนาที่ของ กรมสรรพสามิต หรือสํานักงานสรรพ สามิตพื้นที่ จะสงหนังสือถึงกรมการขนสงทางบก หรือสํานักงานขนสง จังหวัด ในการขอตรวจสอบการครอบครองรถยนตคันแรกวามีคุณสมบัติ พื้นฐานครบถวนหรือไม และแจงการสละสิทธิการโอนภายใน 5 ปของผูซื้อ กอนทีก่ รมการขนสงทางบกหรือสํานักงานขนสงจังหวัดตรวจสอบและบันทึก หามโอนภายใน 5 ป จากนั้นจะเปนการสั่งจายเช็คเงินสดคืนใหแกเจาของรถ ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2555 เปนตนไป ซึ่งไมใชเรื่องยากอยางที่เราคิดเลย หากทุกอยางเปนไมตามขอกําหนดตางๆ ทีนี้เรามาดูกันวา รถคันแรกที่เราซื้อนั้น จะไดเงินภาษีคืนเทาไหร ซึ่ง แนนอนวาไมใชทุกคนที่จะไดคืน 100,000 บาท แมวาคุณสมบัติจะครบถวน หรือจะไดชื่อวาเปนผูที่ซื้อรถคันแรกก็ตาม ซึ่งหลักเกณฑการคํานวนเงินภาษี คืนใหประชาชน จะไดมาจากการตรวจสอบจากราคารถยนต และอัตราภาษี ของรถยนตประเภทตาง ๆ เพื่อคิดเปนสัดสวนเงินภาษีที่จะไดรับคืน เริ่มที่รถ ขนาดเล็กประหยัดพลังงาน หรือ อีโคคาร ที่มีราคาประมาณ 375,000540,000 บาท เก็บภาษี 17% ผูซ ือ้ จะไดรบั เงินคืนเฉลีย่ 45,000 บาท รถยนต นั่ ง ขนาดเล็ ก ที่ มี ค วามจุ ก ระบอกสู บ ไม เ กิ น 1,500 ซี . ซี . ราคาประมาณ 500,000-700,000 บาท จะเก็บภาษี 25% ผูซื้อตามนโยบายจะไดรับเงินคืน สูงสุดไมเกิน 100,000 บาท สวนรถกระบะแบบ 2 ประตู ราคาประมาณ 300,000-500,000 บาท เรียกเก็บภาษี 3% จะไดรบั เงินคืนภาษีเฉลีย่ 10,000 บาท และรถแบบกระบะ 4 ประตู ราคาประมาณ 700,000-800,000 บาท เรียกเก็บภาษี 12% ผูซื้อจะไดรับเงินคืนเฉลี่ย 60,000 บาท

จากจํานวนเงินที่ ไดคนื แบบไดเปลา แมวา กวาจะมาถึงตอนนีจ้ ะไดมกี าร ปรับเรื่องของกฎเกณฑอยูพอสมควร แตตองบอกวาเปนเรื่องที่นาสนใจ สําหรับนโยบายดังกลาว เห็นไดจากการโฆษณาเพื่อจูงใจจากโชวรูมตางๆ ซึ่งไดประโยชนไมนอยและสรางยอดขายที่เพิ่มเปนกอบเปนกํา แตก็มีบางคาย รถยนตที่ ไมไดรับประโยชนจากนโยบายดังกลาว จนเกิดการเรียกรองและมี การแขงขันในเรื่องของโปรโมชั่นอยางรุนแรง แตผลอยางไรก็ตามประโยชน ก็ตกอยูกับคนซื้อรถนั้นเอง อยางที่บอกวา กวานโยบายดังกลาวจะเดินทางมาถึงปจจุบันมีการ ปรับเปลี่ยนหลายครั้ง ซึ่งก็ ไมแนวาจากนี้ตอไปจนสิ้นสุดโครงการ ก็อาจมี การเปลี่ยนแปลกอีกก็ ได อันนี้ก็ตองลุนกันตอไป July 2012 l 89

Energy#44_p89_Pro3.indd 89

27/6/2012 2:15


Energy Stat โดย : Grapher

ความมั่นคงดานพลังงานถือเปนนโยบายที่สําคัญของแตละประเทศ การสํารองนํ้ามันเพื่อเตรียมการรับมือเหตุการณที่ไมอาจคาดเดาได โดยเฉพาะกลุมประเทศมหาอํานาจประเทศ ซึ่งถือเปนผูนําเขาพลังงาน อยางองคกรพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agency : IEA) โดยกลุมประเทศสมาชิก IEA มีเปาหมายรวมกันในการที่จะพัฒนาสาขาพลังงาน ใหสามารถสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหเปนไปอยาง ยั่งยืน รวมทั้งเพื่อความกินดีอยูดีของประชาชน และสภาพแวดลอมในกลุมประเทศสมาชิก IEA ดวยกัน ปจจุบันมีหลายประเทศใหความสําคัญกับแนวคิดเรื่อง ความมั่นคงดานพลังงานเพิ่มมากขึ้น บางประเทศแมวาเศรษฐกิจโลกจะผันผวนจนสง กระทบตอพลังงาน ก็สามารถผานพนไปได เพราะมีการสํารองพลังงานไวเปนที่เรียบรอยแลว แตสําหรับบางประเทศกลายเปนเรื่องใหญ แมเกิดปญหา เพียงเล็กนอย หลายๆ ประเทศเริ่มหวงใยถึงอนาคตหากตองนําเขาพลังงานเพียงอยางเดียว วาจะไมสามารถรับมือตอเรื่องไมคาดฝนที่อาจเกิดขึ้นได

ขอมูลการเก็บนํ้ามันสํารองของกลุมประเทศ IEA

ที่มา : IEA สําหรับประเทศแคนาดาจะไมมีการเก็บ¹éíÒมันสําหรับเนื่องจากเปนประเทศที่มีการสงออก¹éíÒมันสุทธิอยูแลว สวนประเทศฝรั่งเศสจะมีการเก็บ สํารองไวในตางประเทศอีก 2 วัน, ประเทศออสเตรียมีการเก็บสํารองไวในตางประเทศอีก 18 วัน, ประเทศเบลเยี่ยมมีการเก็บสํารองไวในตางประเทศอีก 41 วัน, สาธารณรัฐเชคมีการเก็บสํารองไวในตางประเทศอีก 8 วัน และประเทศนิวซีแลนด มีการเก็บสํารองไวในตางประเทศอีก 8 วัน

90 l July 2012

Energy#44_p90_Pro3.indd 90

27/6/2012 2:11


Insight Energy

ผูเขียน : นัษรุต เถื่อนทองคํา

นํ้ามันลดราคา... แตอยาเพิ่มการใช

ชวงนี้ ถือเปนขาวดีสําหรับผูใชยานพาหนะกับราคาเชื้อเพลิงที่ คอยๆ ลดระดับลงอยางตอเนือ่ ง จากมาตรการตางๆ ทีร่ ฐั บาลกําลัง เดินหนาทํางานอยางจริงจังและกําลังเห็นผลอยางชัดเจน ทีนี้ก็ถึง คราวที่ประชาชนจะทําหนาที่ของตัวเองกันบาง ไม ใชวาราคาเชื้อ เพลิงยิ่งถูก ก็ยิ่งใชเปนทวีคูณ แตสิ่งที่ทําคือการมองอนาคตระยะ ยาว เพราะเรามีบทเรียนมาแลวกับการจายคานํ้ามันลิตรละ 40 บาท จากราคาเชื้อเพลิงบานเราที่มีการทยอยปรับลดลง จนหลายคน ยิ้มออกเปนผลมาจากสถานการณนํ้ามันตลาดโลกปรับตัวลดลงตอเนื่อง คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน(กบง.) จึงไดปรับเพิ่มอัตราเงินสง เขากองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงของนํ้ามัน เพื่อเพิ่มเสถียรภาพของกองทุนนํ้า มันฯ และสงเสริมการใชนํ้ามันแกสโซฮอล และทําใหราคาขายปลีกนํ้ามัน ดีเซล, นํ้ามันเบนซิน และนํ้ามันแกสโซฮอล ลดลงมาเชนกัน รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน นายอารักษ ชลธารนนท เปด เผยวา ที่ประชุม กบง. เห็นชอบใหปรับเพิ่มอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามัน เชื้อเพลิงสําหรับนํ้ามันดีเซลหมุนเร็ว และนํ้ามันเบนซิน 95, 91 ขึ้น 0.90 บาท/ลิตร และนํ้ามันแกสโซฮอลทุกชนิดขึ้น 0.30 บาท/ลิตร เนื่องจาก สถานการณราคานํ้ามันในตลาดโลกปรับตัวลดลงอยางตอเนื่อง และเพื่อ เปนการเพิ่มเสถียรภาพของกองทุนนํ้ามันฯ ใหดีขึ้นและสงเสริมการใช นํ้ามันแกสโซฮอล ซึ่งจะทําใหกองทุนนํ้ามันฯ มีรายรับเพิ่มขึ้นจากประมาณ 81 ลานบาท/วัน เปน 143 ลานบาท/วัน

สงผลใหมีอัตราเก็บเงินเขากองทุนนํ้ามันฯ ของเชื้อเพลิงชนิดตางๆ ปรับเปลีย่ นโดยนํา้ มันดีเซลเพิม่ เปน 2.10 บาท/ลิตร จากเดิมเก็บเขากองทุน นํ้ามันฯ 1.20 บาท/ลิตร, นํ้ามันเบนซิน 91-95 เปน 5.90 บาท/ลิตร จาก เดิมเก็บเขากองทุนนํ้ามันฯ 5.00 บาท/ลิตร, นํ้ามันแกสโซฮอล 95 เปน 2.50 บาท/ลิตร จาก 2.20 บาท/ลิตร, นํ้ามันแกสโซฮอล 91 เปน 0.90 บาท/ลิตร จากเดิม 0.60 บาท/ลิตร, แกสโซฮอล E20 เดิมกองทุนนํ้ามันฯ อุดหนุน 0.80 บาท/ลิตร จะอุดหนุนลดลงเหลือ 0.50 บาท/ลิตร และ E85 เดิมกองทุนนํา้ มันฯ อุดหนุน 12.60 บาท/ลิตร ลดลงเหลือ 12.30 บาท/ลิตร ซึ่งการกําหนดอัตราเงินสงเขากองทุนนํ้ามันฯ จะเปนไปตามความเหมาะสม โดยคํานึงถึงราคานํ้ามันในตลาดโลก ภาวะเงินเฟอภายในประเทศ การสง เสริมพลังงานทดแทน และฐานะกองทุนนํ้ามันฯ เปนสําคัญ

เมื่อไดยินเชนนี้ ก็ยอมรับวา ไมใชเฉพาะประเทศไทย เชื่อวาประเทศ อื่นๆ ก็เปน ซึ่งกอนหนานี้ตองรับภาระจากการแบกรับราคาเชื้อเพลิงราคา สูงมาพอสมควร เมือ่ ราคาถูกลง แนนอนวาปริมาณการใชโดยรวมตองพุง สูงอยางเห็นไดชัด จนลืมนึกถึงเมื่อครั้งที่ราคาเบนซินแตะระดับ 40 บาทตอ ลิตรนั้น เราใชนํ้ามันทุกหยดกันอยางรูคุณคาเปนที่สุด ในสภาวการณเชนนี้ เพือ่ การรับมือตอเรือ่ งที่ ไมคาดเดาได โดยเฉพาะ ความมัน่ คงดานพลังงานของประเทศ น.ส.ยิง่ ลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ฐานะประธานการประชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดมี การหารือเพือ่ ไดพจิ ารณาแนวทางการสํารองนํา้ มันเชือ้ เพลิงทางยุทธศาสตร ของประเทศ โดยรับทราบเหตุผล ความจําเปนของการมีสํารองนํ้ามันเชื้อ เพลิงทางยุทธศาสตรของประเทศในเบือ้ งตน และเห็นชอบในหลักการใหมกี าร สํารองนํา้ มันเชือ้ เพลิงทางยุทธศาสตรของประเทศ ประเด็นหลักก็เพื่อปองกันการขาดแคลนนํ้ามันเชื้อเพลิงในอนาคต เพื่อเปนเครื่องมือของรัฐบาลสําหรับบริหารจัดการในภาวะวิกฤต สราง ความมั่นใจแกประชาชนรวมถึงนักลงทุนวาจะมีนํ้ามันใชอยางเพียงพอไม ขาดแคลน ตลอดจนเพื่อใชเปนเครื่องมือในการขยายความรวมมือดาน พลังงานในกลุมอาเซียน โดยมอบหมายใหกระทรวงพลังงานดําเนินการ ศึกษาในรายละเอียดเพิ่มเติม เพื่อจัดตั้งการสํารองนํ้ามันเชื้อเพลิงทาง ยุทธศาสตรของประเทศตอไป เมื่ อ ภาครั ฐ บาลมี ก ารขั บ เคลื่ อ นถึ ง ขนาดนี้ หากภาคประชาชน ไมขานรับ หรือชวยกันอีกแรง ก็ ไมแนจากที่ควักกระเปาจายคานํ้ามันที่ หลักรอยหรือหลักพันตนๆ ในปจจุบนั ก็อาจกลายเปนหลักพันปลายๆ หรือเลย ไปที่สองพัน หรือสามพันบาทก็เปนได

July 2012 l 91

Energy#44_p91_Pro3.indd 91

6/27/12 10:28 PM


Energy#44_p92_Pro3.ai

1

6/28/12

1:27 AM


Special Scoop

http://en.green-council.org/2012/02/24/green-economy-partnership-

ระบบเศรษฐกิจ..คารบอนตํ่า ในเวียดนาม

เวียดนาม 1 ใน 5 ประเทศที่ไดรับการคาดการณวาอาจไดรับผล กระทบหนักที่สุดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการเพิ่มขึ้นของ ระดับนํ้าทะเล ดวยลักษณะภูมิประเทศที่มีชายฝงทะเลที่ยาวและแคบ ทําให เวียดนามเปนประเทศที่ใหความสําคัญอยางมากตอการแกไขปญหาภาวะ โลกรอนและการวางนโยบายในเรื่องสิ่งแวดลอม

http://www.tourtooktee.com/programtour_detailpage.asp?nID=653

นายอีโว เดอ โบเออร (Yvo De Boer) อดีตเลขาธิการ ของอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ อากาศ (UNFCCC) ไดเคยใหความเห็นในระหวางการเยือนเวียดนาม วา มี 5 ประเด็นหลักที่เวียดนามควรใหความสําคัญในการรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไดแก 1.การใชมาตรการที่เหมาะสมในการลดการปลอยคารบอน 2.การรวมมือระหวางทุกภาคสวนในการควบคุมความเสียหายจากภัย ธรรมชาติ 3.การพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืนโดยใหความสําคัญกับพลังงานทดแทนและ พลังงานสะอาด 4.การใชงบประมาณที่ไดรับจากความชวยเหลือเพื่อการพัฒนา (ODA) อยางมีประสิทธิภาพ และ 5.การใหความรูความเขาใจแกประชาชนถึงความสําคัญของการประหยัด พลังงาน July 2012 l 93

Energy#44_p93-95_Pro3.indd 93

27/6/2012 1:52


http://www.renewablepowernews.com/archives/2350

เมื่อพิจารณาถึงสิ่งที่เวียดนามกําลังดําเนินการหรือมีแผนที่จะ ดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายทําใหเวียดนามมีระบบเศรษฐกิจที่ ใช คารบอนตํา่ ภายในป 2563 ก็พบวามีหลายประเด็นทีส่ อดคลองกับขอแนะนํา ดังกลาวขางตน โดยมีประเด็นที่นาใหความสนใจ ดังนี้ 1. การใชงบประมาณที่ ไดรับจากความชวยเหลือเพื่อการ พั ฒ นา (ODA) และการสนั บ สนุ น ด า นวิ ช าการจากต า งประเทศใน การแก ไ ขป ญ หาในการประชุ ม ระหว า งรั ฐ บาลเวี ย ดนามและหุ  น ส ว น การพัฒนา (Development Partners) เมือ่ ธ.ค. 2552 เวียดนามไดรบั คํายืนยันวาจะไดรับความชวยเหลือเพื่อการพัฒนามูลคา 8 พันลาน ดอลลารสหรัฐฯ ซึง่ หนึง่ ในจุดประสงคของการใหความชวยเหลือดังกลาว เพื่ อ ช ว ยให เ วี ย ดนามสามารถดํ า เนิ น การต อ การเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศ และการพัฒนาอยางยั่งยืนไดอยางเหมาะสม ทั้งนี้ เวียดนามยังไดรับความชวยเหลือในระดับทวิภาคี อาทิ นอรเวยที่แถลง วาจะใหความชวยเหลือเพื่อการพัฒนาแกเวียดนามโดยเฉพาะในดาน การรั บ มื อ กั บ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศและพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและพลังงานสะอาด เนเธอรแลนด ซึ่งไดรวมลงนามในความ ตกลงทางยุ ท ธศาสตร ว  า ด ว ยความร ว มมื อ ในการจั ด การกั บ การ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และการบริหารจัดการแหลงนํา้ โดยภายหลัง การลงนาม เนเธอรแลนดไดสงอดีตรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรของ เนเธอรแลนดใหเปนทีป่ รึกษาของรัฐบาลเวียดนามในการจัดทําแผนเปาหมาย

ระดับชาติในเรื่องนี้ นอกจากนี้ เวียดนามยังมีชองทางในการไดรับงบ ประมาณในระดั บ อนุ ภู มิ ภ าค เช น การให ค วามช ว ยเหลื อ จากสหรั ฐ ฯ ในกรอบ US-Lower Mekong Initiative ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงการ ตางประเทศสหรัฐฯ ไดใหคาํ มัน่ วาจะใหเงินชวยเหลือ 22 ลานดอลลารสหรัฐ ในการดําเนินการตามแผน 3 ป ในการชวยเหลือประเทศลุม ภูมอิ ากาศนํา้ โขง ตอนลางในการพัฒนายุทธศาสตรรวมกันในการแกไขและปรับตัวตอผลก ระทบจากสภาพแหลงนํ้า ความมั่นคงทางอาหาร และความเปนอยูของ ประชาชาชนอีกดวย 2.การพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนกระทรวงทรั พ ยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของเวียดนามไดประกาศนโยบายที่จะเพิ่ม การใชพลังงานทดแทน อาทิ พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม การใช กาซชีวภาพ (biogas) และพลังงานชีวมวล (biomass) โดยสวนหนึ่งคือ การพัฒนาเทคโนโลยี การสรางโรงงานผลิตพลังงานจากลม แสงอาทิตย นํ้า และอีกสวนหนึ่งคือการควบคุมวิธีการขนสงคมนาคมอยางเขมงวด การออกแบบและสรางเขตชุมชนเมืองใหมที่มีพื้นที่สีเขียวและมีอาคารที่ ใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพและการออกนโยบายที่ชวยลดการปลอยกาซ เรือนกระจกในการผลิตพลังงาน โดยมีเปาหมายใหเวียดนามใชพลังงาน ทดแทนรอยละ 8 ของการใชพลังงานทั้งหมดภายในป 2563 3. การแสวงหาหุนสวนตางประเทศดานพลังงาน ทั้งใน รูปแบบการแสวงหาแหลงพลังงานและเทคโนโลยีอาทิ การลงนามในพิธสี าร

94 l July 2012

Energy#44_p93-95_Pro3.indd 94

6/28/12 12:10 AM


เฉียงใตที่เรียกเก็บภาษีดานสิ่งแวดลอม (Decree 99/2010/ND-CP) ตอบริษัทที่ผลิตพลังงานนํ้า และตอมาไดขยายไปสูบริษัทที่ ใชประโยชนจาก พื้นที่ปา อาทิ บริษัททองเที่ยวที่ ใชพื้นที่ปาจะตองเสียภาษีประมาณรอยละ 1 –2 ของรายได ซึ่งจะนําไปใชในการรักษาพื้นที่ปาตอไป โดยมีผลบังคับ ใชเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2554 ที่ผานมา นอกจากนั้น ที่ประชุมคณะกรรมการ ของสภาแหงชาติเวียดนามไดรบั รองรางกฎหมายภาษีสงิ่ แวดลอมฉบับใหม ที่จะคิดภาษีสิ่งแวดลอมกับผลิตภัณฑ 5 กลุม ไดแก นํ้ามัน ถานหิน สาร ที่ ใชในการแชแข็งที่มี HCFC เปนสวนประกอบ ถุงพลาสติก และสารเคมี ที่ ใชในรักษาพืช โดยมีผลบังคับใชเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2555 ที่ผานมาเชนกัน

http://www.tourtooktee.com/programtour_detailpage.asp?nID=653

ความรวมมือดานนํ้ามันและกาซกับซาอุดิอาระเบียเมื่อ เม.ย. 2553 ซึ่งระบุ ใหซาอุดอิ าระเบียสงออกนํา้ มันใหเวียดนามและลงทุนกอสรางโรงกลัน่ นํา้ มัน ในเวียดนาม ความรวมมือกับคูเวตในการกอสรางโรงกลั่น Nghi Son การพิจารณาความรวมมือกับโมซัมบิกในสาขากาซธรรมชาติและนํ้ามัน รวมถึงการแสวงหาเทคโนโลยีนิวเคลียรจากรัสเซียและญี่ปุน ซึ่งเวียดนาม ไดตกลงที่จะใหสองประเทศขางตนสรางโรงงานพลังไฟฟานิวเคลียร ซึ่ง คาดวาโรงงานไฟฟานิวเคลียรแหงแรกนาจะเริม่ สรางในป 2557 การรวมมือ กับฝรั่งเศสในการสรางโรงงานไฟฟาพลังนํ้ามูลคา 100 ลานดอลลาร สหรัฐ ในจังหวัด Lai Chau ทางภาคเหนือของเวียดนาม 4. การออกมาตรการและกฎหมายดานสิ่งแวดลอม โดยสํานัก ขาวของเวียดนามระบุวา เวียดนามเปนประเทศแรกในเอเชียตะวันออก

สํ า หรั บ ข อ เรี ย กร อ งของเวี ย ดนามที่ จ ะเน น ในการประชุ ม COP 16/CMP 6 ที่สําคัญ คือ การเรียกรองใหจัดตั้งกองทุนพิเศษเพื่อชวย เหลือประเทศที่ ไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และ ใหมีการจัดเวทีหารือดานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศสําหรับประเทศ ชายฝงทะเล เมื่อพิจารณาการดําเนินการในระดับนโยบายของรัฐบาล ไปแลว เปนที่นาสนใจเชนกันวาประชาชนเวียดนามคิดอยางไรในเรื่อง สิ่งแวดลอมและพลังงาน ซึ่ ง มี ผ ลสํ า รวจจาก HSBC ว า ชาวเวี ย ดนามร อ ยละ 43 เห็ น ว า การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศเป น เรื่ อ งที่ ค วามน า ห ว ง กั ง วลเป น ลํ า ดั บ แรก ในขณะที่ ช าวเวี ย ดนามร อ ยละ 31 พยายามใช มาตรการประหยั ด พลั ง งานในบ า นเรื อ น ร อ ยละ 29 พยายามลด การใช เ ครื่ อ งทํ า ความร อ นและเครื่ อ งทํ า ความเย็ น ภายในบ า นเรื อ น และร อ ยละ 17 พยายามรี ไ ซเคิ ล ของเหลื อ ใช ใ นบ า น ในขณะที่ ภ าค ธุ ร กิ จ ได รั บ การกระตุ  น ให ส  ง เสริ ม การพั ฒ นาธุ ร กิ จ โดยคํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ ม แต ก็ ยั ง มี โ รงงานบางแห ง ที่ ยั ง ปล อ ยนํ้ า เสี ย ลงสู  แ หล ง นํ้ า หรือหลีกเลี่ยงการเสียคาธรรมเนียมดานสิ่งแวดลอม

http://www.whatsonxiamen.com/news13456.html http://www.thaimtb.com/cgi-bin/viewkatoo.pl?id=167065&st=121

ขอขอบคุณ: http://www.eastasiawatch.in.th/article.php?id=692 July 2012 l 95

Energy#44_p93-95_Pro3.indd 95

6/28/12 12:10 AM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร รับสมัคร Sales Manager เพศชาย / หญิง อายุ 30 ปขึ้นไป วุฒิปริญญาตรี - ปริญญาโท สาขา ใดก็ได มีความรู ความเขาใจดานไฟฟา หรือพลังงาน ทดแทน ประสบการณ 2 ปขึ้นไป มีความรูภาษาอังกฤษ ทั้งการอาน เขียน พูด ในระดับดี ติดตอ บริษัท เพาเวอร โซลูชั่น เทคโนโลยี จํากัด 0-2993-8982 ตอ 117 รับสมัคร เจาหนาทีร่ ฐั กิจสัมพันธ เพศชาย อายุ 30-45 ป วุฒิปริญญาตรีทุกสาขา มีพื้นฐานดานการจัดเก็บ และวิเคราะหขอ มูลสังคมศาสตร/ประชาสัมพันธ/มวลชน สัมพันธ มีมนุษยสัมพันธที่ดีมีทักษะในการนําเสนอและ กลาแสดงออก ติดตอ C.P.LAND PUBLIC CO., LTD. 0-2247-3737 ตอ 2906, 1307, 3087 รับสมัคร CSR Officer/เจาหนาที่ชุมชนสัมพันธ เพศ หญิง วุฒิปริญญาตรี สาขานิเทศศาสตร / สื่อสาร มวลชน / สังคมศาสตร / สังคมสงเคราะห / จิตวิทยา ชุ ม ชน / การตลาด หรื อ สาขาอื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ ง มี ประสบการณดานการจัดกิจกรรมชุมชนสัมพันธ จะ พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษัท ชัยโย เอเอ จํากัด 08-5661-3043 รับสมัคร ผูจ ดั การฝายประกันคุณภาพ วุฒปิ ริญญาตรี วิศวกรรมอาหาร /สาขาวิทยาศาสตร หรือ สาขา ที่เกี่ยวของ มีความรูเกี่ยวกับมาตราฐาน QA/QC/ calibration มีความรูเกี่ยวกับระบบ ISO และ GMP มีประสบการณในระดับหัวหนางาน อยางนอย 3 ป ติดตอ บริษัท บรรจุภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน) 05-6456-353 รับสมัคร เจาหนาที่ฝายขาย เพศชาย / หญิง อายุ 20 - 30 ป วุฒิ ปวช. ขึ้นไป รักงานขาย มีมนุษยสัมพันธดี มีรถยนตสวนตัว ไดรับพิจารณาเปนพิเศษ หากมีความ รูดานสิ่งแวดลอม ไดรับพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ ติดตอ บริษัท นิววิสท เจิมส จํากัด 0-2348-3328-9

รับสมัคร ชางเทคนิค เพศชาย อายุไมเกิน 27 ป วุฒิ ระดับปวส. เกรดเฉลี่ยรวม 3.00 ขึ้นไป สาขาเครื่องกล ชางยนต ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส เครื่องมือวัด เคมี ปโตร การเกษตร เทคนิคการผลิตหรือเทียบเทา มีความรูและ ทักษะในสายงาน ติดตอ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) 0-2537-3487, 0-2537-3489 รับสมัคร วิศวกรเครื่องกล วุฒิปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมเครื่องกล มีประสบการณการทํางานอยาง นอย 2 ป เขียนแบบ Autocad ได มีความรูงานระบบ เครื่องปรับอากาศจะพิจารณาเปนพิเศษ สามารถออก ปฎิบัติงานตางจังหวัดได ติดตอ บริษทั เอกภัทร เอ็นจิเนียริง่ แอนด เอ็นเนอรยี่ จํากัด 0-2887-9659 รับสมัคร วิศวกรควบคุมระบบไฟฟา วศบ.ไฟฟากําลัง (สถาบันของรัฐ) ประสบการณืในงานระบบไฟฟาอยาง นอย 1 ป มีความรูความเขาใจในงานระบบไฟฟาทั้ง งานซอมบํารุงและติดตั้ง มีความรูในเรื่องการอนุรักษ พลังงาน ติดตอ KANG YONG ELECTRIC PUBLIC CO., LTD. 0-2337-2900 ตอ 626, 627 รับสมัคร เจาหนาที่วิเคราะหระบบนํ้า (มิตรภูหลวง จ.เลย) เพศชาย วุฒิปริญญาตรี สาขา วท.บ.เคมี , วท.บ.สิ่ ง แวดล อ ม, วท.บ.เทคโนโลยี อ าหาร มี ประสบการณดานงานวิเคราะหคุณภาพนํ้าทิ้ง การ ใชเครื่องมือในหองปฏิบัติการ ความรูในระบบ ISO/ IEC 17025 ติดตอ บริษทั นํา้ ตาลมิตรผล จํากัด 04-2810-921-3 รับสมัคร วิศวกรไฟฟา วุฒิปริญญาตรี ,ปริญญาโท วิศวกรรมไฟฟา , ควบคุม , สื่อสาร , คอมพิวเตอร มี ความรูเกี่ยวกับโรงงานสมัยใหมที่ควบคุมการผลิตดวย ระบบอัตโนมัติ มีความรูเกี่ยวกับเครื่องจักรในโรงงาน รีดเหล็กหรือใกลเคียง ติดตอ บริษทั สหวิรยิ าสตีลอินดัสตรี จํากัด (มหาชน) 03-2691-403-7

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร

รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 25-30 ป วุฒิการศึกษาปริญญาตรี สาขาที่เกี่ยวของวิศวกรรม สิ่งแวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณ ดานควบคุมระบบบําบัดนํ้าเสีย กาก ตะกอนของเสีย และอากาศ ติดตอ บริษทั รอแยลฟูด ส จํากัด 03-4411-923, 03-4412-607

รับสมัคร วิศวกรประจําฝายพลังงาน เพศชาย/หญิง อายุ 22-35 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาวิศวกรรไฟฟา หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานพลังงาน ไฟฟ า พิ จ ารณาเป น พิ เ ศษ มี ค วามรู  ด  า นสายงาน โดยตรง พิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั อินเตอร อิสเทิรน คอนเทนเนอร จํากัด 03-7213-333 ตอ 1133

รั บ สมั ค ร Sales Engineer เพศชาย/หญิ ง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิการศึกษา ปริญญาตรีขึ้นไป สาขา วิศวกรรมศาสตร, เครือ่ งกล, พลังงานและสิง่ แวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณขายงานระบบ บําบัดมลพิษทางอากาศจะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั เอ็นโค เอ็นจิเนียริง่ แอนด เทรดดิง้ จํากัด 0-2722-9481-2

รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม เพศชาย อายุ 28 -40 ป วุฒปิ ริญญาตรีขนึ้ ไป สาขาเครือ่ งกล อุตสาหการ หรือ สาขาที่เกี่ยวของ มีความรูเรื่อง GMP HACCP ISO มี ประสบการณดูแลระบบสิ่งแวดลอมภายในโรงงาน มี ประสบการณดานระบบบําบัดนํ้าเสีย ติดตอ บริษทั สยามโภชนากร จํากัด 0-2701-9033 รับสมัคร นักวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมภาคสนาม-นํ้า อายุไมเกิน 35 ป วุฒิ วทบ./วทม. วิทยาศาสตร สิ่งแวดลอม หรือสาขาที่เกี่ยวของ ประสบการณในการ เก็บตัวอยางเพื่อวิเคราะหคุณภาพนํ้า 5 ปขึ้นไป ติดตอ ALS Laboratory Group (Thailand) Co., Ltd. 0-2715-8700 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอม วุฒิปริญญาตรี สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอมหรือสาขาอื่นๆที่เกี่ยวของ เกรด เฉลี่ย 2.50 ขึ้นไป สูง 160 ขึ้นไป มีประสบการณดาน ISO 100084และ10008จะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั ซัมมิท แหลมฉบัง โอโต บอดี้ เวิรค จํากัด (สาขาระยอง) 03-8955-901-8 รับสมัคร เจาหนาที่ดานสิ่งแวดลอม วุฒิปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (ในตําแหนงเจาหนาที่ สิ่งแวดลอม) สามารถประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ ได สามารถเดินทาง ออกตรวจงานดานสิ่งแวดลอม ตามสถานที่ตางๆได ติดตอ บริษทั ซี.อี.เอ็ม เทคโนโลยี (ไทยแลนด) จํากัด 0-2812-9784 ตอ 15 รับสมัคร เจาหนาที่ระบบสิ่งแวดลอม ISO 14000 เพศชาย / หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป มีทักษะภาษาอังกฤษ อาน เขียนได มีประสบการณดานงาน iso 14000 / 16949 1ปขึ้นไป ติดตอ บริษทั หยวนเดน อินดัสเตรียล จํากัด 03-8047-038-41 # 107-109 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชาย / หญิง วุฒิ ปริญญาตรีขึ้นไป สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอมหรือ สาขาที่เกี่ยวของ มีความเปนผูนําที่ดี และสามารถแกไข ปญหาเฉพาะหนาไดดี สามารถออกทํางานนอกพื้นที่ได ติดตอ บริษทั สมิงฟูดส จํากัด 03-9619-328-9 รับสมัคร เจาหนาที่สิ่งแวดลอม เพศชายหรือหญิง อายุ 21 - 30 ป ปริ ญ ญาตรี สาขาสิ่ ง แวดล อ ม สามารถใชคอมพิวเตอร Excel, Word, Power Point ไดดี ไมจําเปนตองมีประสบการณ ติดตอ Global Environmental Technology Co., Ltd. (GETCO) 0-2709-2950-3 ตอ 113

96 l July 2012

Energy#44_p96_Pro3.indd 96

27/6/2012 1:47


Energy Price

พื้นที่สื่อกลาง ราคาสินคา อุปกรณประหยัด ที่ประหยัดทั้งพลังงานและกระเปาเงินคุณ ยางรถยนตนั่งประหยัดพลังงาน MICHELIN

BRIDGESTONE

YOKOHAMA

GOODYEAR

รุน

ขนาด/ ซีรีส

ราคา

Energy XM2 Energy XM2 Energy XM2 Energy XM2 Energy XM2 Energy XM2

175/70R13 185/65R14 185/70R14 175/65R15 185/55R15 185/55R16

1,890 3,090 2,750 2,990 3,550 3,790

Ecopia EP100A Ecopia EP100A Ecopia EP100A Ecopia EP100A Ecopia EP100A

175/65R15 195/65R15 185/55R16 205/55R16 215/55R17

2,950 3,350 3,650 5,090 6,150

EARTH-1 EARTH-1 EARTH-1 EARTH-1 EARTH-1

185/65R14 195/55R15 185/60R15 195/60R15 205/65R15

2,100 2,850 2,600 2,700 2,850

Assurance Fuel Max 185/55R15 Assurance Fuel Max 185/60R15 Assurance Fuel Max 195/60R15 Assurance Fuel Max 195/65R15 Assurance Fuel Max 205/55R16

2,950 2,900 2,900 2,900 3,950

สนใจ สงราคาสินคา อุปกรณ ประหยัดพลังงาน โดยระบุ ประเภทสินคา ชนิด-รุน และราคามาไดที่ นิตยสาร ENERGY SAVING บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นเนล จํากัด โทร 0-2717-2477 แฟกซ 0-2717-2466 อีเมล : info@ttfintl.com July 2012 l 97

Energy#44_p97_Pro3.indd 97

27/6/2012 1:46


Directory ระบบความเย็น หางหุนสวน ร.เครื่องเย็นสยาม โทรศัพท : 0-2289-0748 แฟกซ : 0-2291-8054 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เรคอน อีควิปเมนท จํากัด โทรศัพท : 0-2683-7868 แฟกซ : 0-2638-7866 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท รีฟรีโก อีควิปเมน จํากัด โทรศัพท : 0-2931-6933 แฟกซ : 0-2931-6929 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอส.พี.เอ็ม อินเตอรคูล จํากัด

โทรศัพท : 0-2759-8393-6 แฟกซ : 0-2759-8397 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริ ษั ท เอส.เอส.เอ.เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง แอนด เซอรวิส จํากัด โทรศัพท : 0-2805-4162-3 แฟกซ : 0-2805-4164 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

ห า งหุ  น ส ว นจํ า กั ด แสงชั ย อี ค วิ พ เม น (1984) โทรศัพท : 0-2628-2600 แฟกซ : 0-2628-0484-5 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท สยามกรุป ได แอนด พารท จํากัด

บริษัท เอ็มพีซี คูล จํากัด

บริษัท เอ็น เค เบลท เทค จํากัด

หจก.ดี.อี.วิศวกรรมและการพานิช

บริษัท นีโอเฟริรม จํากัด

หางหุนสวนจํากัด เอ็น.ดี.เอ็นจิเนียริ่ง

บริษัทเดอะโปรเจค แอนด แอพพลิเคชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 034-837-689-91 แฟกซ : 034-834-692 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น โทรศัพท : 0-2720-7946 แฟกซ : 0-2720-7945 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั ยูที เอ็นยิเนียริง่ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด โทรศัพท : 0-2185-2831-4 แฟกซ : 0-2712-6098 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท โซว คูล ซิสเต็มส จํากัด โทรศัพท : 0-2757-3773 แฟกซ : 0-2-757-3774 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

ระบบลําเลียงวัสดุ บริษทั วาย.โอ.เยนเนอรัล ซัพพลาย (1983) จํากัด โทรศัพท : 0-2275-0027 แฟกซ : 0-2276-2892 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท วินฟลด จํากัด

โทรศัพท : 0-2212-6266 , 0-2212-4010 แฟกซ : 0-2212-6267 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท เวนคอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2756-9009-10 แฟกซ : 0-2394-5381 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2749-3040-4 แฟกซ : 0-2749-3044 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

หางหุนสวนจํากัด ไทยเสรี เอ็นจิเนียริ่ง

บริษัท เวลล สแตนเลสสตีล จํากัด

โทรศัพท : 0-2281-9285 แฟกซ : 0-2281-6488 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ไทยทาซากิ เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2383-4450-1 , 0-2758-9488 แฟกซ : 0-2758-9156 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท เวอรชวล คอรปอเรชั่น จํากัด

โทรศัพท : 0-2385-5848 แฟกซ : 0-2757-5475 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2986-4331-2 แฟกซ : 0-2968-4330 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ไทย วอเตอรไลน ซิสเท็ม จํากัด

บริ ษั ท ศรี สุ ว รรณ คอนเวเยอร เ บลท แอนด รับเบอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2717-8058 แฟกซ : 0-2717-8057 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ทีโอทีเวนเจอร จํากัด โทรศัพท : 0-2930-5220-1 แฟกซ : 0-2930-5228 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริ ษั ท ยู ไ นเต็ ด เพาเวอร เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2464-1992 , 0-2462-7485 แฟกซ : 0-2463-1785 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท ศูนยยางใหญและบริการ จํากัด

โทรศัพท : 0-2226-0042 , 0-2-226-4325-30 แฟกซ : 0-2222-8490 , 0-2623-2274 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

สินไพศาล ลวดตาขาย โรงงาน

โทรศัพท : 0-2742-5366 แฟกซ : 0-2742-5378 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2445-3785-6 , 0-2445-3172 แฟกซ : 0-2445-2160 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

หางหุนสวนจํากัด วีรสยาม

บริ ษั ท หยั ง ชิ ง แมชชิ น เนอรี่ เวิ ร คส (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2392-8002 แฟกซ : 0-2713-2950 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอเชี่ยน รีฟริ (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2652-7097-9 แฟกซ : 0-2652-7099 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท โคชแอร (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2746-5469-72 แฟกซ : 0-2746-5474 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2445-5754-5 แฟกซ : 0-2445-5922 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2800-1237 , 0-2840-1503 แฟกซ : 0-2452-0738 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2467-5494-6 แฟกซ : 0-2467-5497 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษทั เอ็ม.เอ.อี.ซิสเต็มสเอ็นจิเนียริง่ (ไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2748-7578-9 , 0-2748-7218 แฟกซ : 0-2748-7580 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท เอส ซี เยเนอรัลเทรดกรุป จํากัด โทรศัพท : 0-2390-1561 , 0-2391-3049 แฟกซ : 0-2381-1844 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

หางหุนสวนจํากัด คณาโชคซัพพลาย

โทรศัพท : 0-2384-5318 , 0-2384-5994 แฟกซ : 0-2757-7071 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท เค.พี.เค.อิมปอรต จํากัด

โทรศัพท : 0-2384-6080 แฟกซ : 0-2758-0779 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

หางหุนสวนจํากัด บี.พี.เอส.เบลติ้ง

โทรศัพท : 0-2223-6705 , 0-2225-9316-7 แฟกซ : 0-2225-7059 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษทั บี เอส อาร อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด โทรศัพท : 0-2287-4200-2 , 0-2676-0803-3 แฟกซ : 0-2213-2397 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท โพลี เบลท เท็ค จํากัด โทรศัพท : 0-2224-3762 แฟกซ : 0-2226-1309 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

บริษัท อัมเมอรรัล เบลเทค จํากัด โทรศัพท : 0-2902-2604-13 แฟกซ : 0-2902-0422 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

ประเภทสินคาบําบัดอากาศ

บริษัท เอสเอเอส เอเชีย จํากัด โทรศัพท : 0-2361-3026 แฟกซ : 0-2749-0741 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั อีบเี อ็ม-พาพสิท (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2546-1524-5 แฟกซ : 0-2576-1542 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ไอ.ทู.อาร จํากัด

โทรศัพท : 0-2964-4040-1 แฟกซ : 0-2964-4042 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท อี.เอส.ที.เทรดดิ้ง จํากัด

โทรศัพท : 0-2415-8585 แฟกซ : 0-24153633 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ภูมิวิศว เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2991-4894-6 แฟกซ : 0-2991-4300 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั ดัส คอนไฟนเมนท แอนด เอ็นจิเนียริง่ จํากัด โทรศัพท : 0-2337-5892-3 แฟกซ : 0-2337-5894 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท แอรคอนโทรล แอนด เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2749-5162-3 แฟกซ : 0-2239-0702 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั แอรคอนโทรล แอนด เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2749-5162-3 แฟกซ : 0-2239-0702 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท แดนเทิรม ฟลเทรชั่น จํากัด

บริษัท ไพจิตร ซิสเท็ม แอนด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท เอเชี่ยน เคมีคัล แอนด เอ็นยิเนียริ่ง จํากัด

หางหุนสวนจํากัด เอส. เค. โบลเวอร

บริษัท 4 พี เทคโนโลยี จํากัด

บริษัท แม็กเซล เทคโนโลยี จํากัด

บริษัท บริษัท ไทยพอลลูเทค จํากัด

บริษัท เอ.ซี.คอนโทรล จํากัด

บริษัท ไอเอคิว เทคโนโลยี(ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2943-1813, 0-2509-2884 แฟกซ : 0-2943-1814 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2195-5142, 0-2463-2171 แฟกซ : 0-2195-5141 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2573-1732 ,0-2982-8356 แฟกซ : 0-2982-8355 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท อ.วนา เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด

บริษัท อินเตอรโรล (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2347-4596 แฟกซ : 0-2347-4851 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2337-0188 แฟกซ : 0-2337-0192 , 0-2337-0283 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2993-4596 แฟกซ : 0-2993-4597 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

หางหุนสวนจํากัด อาทิตย เวนติเลเตอร

โทรศัพท : 0-2942-0925 แฟกซ : 0-2342-0927 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2703-0383-4 แฟกซ : 0-2703-0384 สินคาและบริการ : ระบบลําเลียงวัสดุ

โทรศัพท : 0-2806-0906, 0-2421-7741 แฟกซ : 0-2421-7741 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2715-1300 แฟกซ : 0-2715-1301 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2759-7540 แฟกซ : 0-2759-7542 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2208-0306-7 แฟกซ : 0-2208-0307 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2393-6451 แฟกซ : 0-2743-5691 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2322-9378-80 แฟกซ : 0-2322-9390 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

98 l July 2012

Energy#44_p98_Pro3.indd 98

27/6/2012 1:39


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


Special Report โดย : กองบรรณาธิการ

“ราคาพลังงาน...ทําไมตองแพง”

คงเปนคําถามของประชาชนทั่วไปที่ตองการอยากรูขอเท็จจริงของ ราคาพลังงานในประเทศไทยทําไมตองแพงเปนเพราะปจจัยใด คําตอบจะ เพราะวาอิงกับราคาพลังงานของประเทศสิงคโปรหรือไมอยางไร หรือ เพราะตนทุนการผลิตมีราคาสูง หรือเพราะสัดสวนการนําเขาพลังงานจาก ตางประเทศเพิ่มมากขึ้น รายงานพิเศษฉบับนี้ ไปติดตามมาใหทานแลวครับ โดย นายเทวิ น ทร วงศ ว านิ ช ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท ปตท.สํารวจและ ผลิตปโตรเลียม บอกวา ราคานํ้ามัน ตลาดโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องทําให การนําเขาพลังงานของไทยมีมูลคามาก ขึ้น โดยในปที่ผานมามีมูลคานําเขาถึง 1.2 ลานลานบาท โดยจะมากขึ้นอีกในอนาคต และหากมีการอุดหนุนราคาพลังงานตอ ไป จะทําใหประชาชนไมประหยัดและมีการ ใชนํ้ามันเพิ่มขึ้นตอเนื่อง จนกลายเปนภาระตองบประมาณรัฐบาล อยางไร ก็ตาม ปตท. จึงจําเปนตองขยายการลงทุนเพือ่ เปนเจาของทรัพยากรในตาง ประเทศเพือ่ สรางรายไดกลับมาชดเชยปริมาณทีต่ อ งนําเขาราคานํา้ มันขาย ปลีกของไทยยังตํ่ากวาหลายประเทศ อาทิ สิงคโปร ญี่ปนุ ฮองกง เยอรมนี ยกเวน ซาอุดิอาระเบีย การตา และมาเลเซีย ที่ยังคงมีการอุดหนุนราคา พลังงาน เพราะเปนประเทศผูส ง ออกนํา้ มันและกาซฯซึง่ สรางรายไดจากการ สงออกมากกวารายไดจากภาษีนํ้ามัน ดาน ดร.คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงาน บอกวา ราคาพลังงานในประเทศตองผูกติดกับราคาพลังงานในตางประเทศเพราะ

ปริมาณการใชนํ้ามันของประเทศอยู ที่ 1.7-1.9 ลานบารเรลตอวันหรือคิด เปนมูลคา 1.7-1.8 ลานลาน บาท โดยมากกวารอยละ 80ไทยตอง นําเขานํา้ มันจากตางประเทศ สวนกาซ ปโตรเลียมเหลว หรือ แอลพีจี นับ เปนกาซฯ ตัวเดียวที่รัฐบาลลอยตัว ไมสําเร็จและมีการตรึงราคาเรื่อยมา ถึงปจจุบัน โดยแอลพีจีครัวเรือนตรึง ราคาอยูที่18.13 บาทตอกิโลกรัม ทําใหปริมาณการใชขยายตัวเพิ่มขึ้นตอเนื่องและตองนําเขามากขึ้นซึ่งในปที่ ผานมานําเขาถึง 1.4 ลานตันตอป หรือ 1.1 แสนตันตอเดือนขณะเดียวกัน ยังมีปญหาลักลอบสงออกแอลพีจีเพราะราคาถูกกวาประเทศเพื่อนบาน

ขอเสนอแนะจากนักวิชาการ

ดาน ศาสตราจารย พรายพล คุมทรัพย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรบอกวา รัฐบาลควรจะฉวยโอกาสชวงราคานํา้ มัน ขาลงปรับโครงสรางราคาพลังงานทั้งระบบเพื่อใหสะทอนความเปนจริง โดยเฉพาะโครงสรางภาษีจะตอง คํานวณมาจากผลกระทบจากการ ใชนาํ้ มัน เชน ผลกระทบจากตนทุน มลพิษที่เกิดขึ้น การซอมสราง ถนนตนทุนทีเ่ กิดจากจราจรแออัด ตนทุนจากอุบตั เิ หตุ และมลพิษดาน

100 l July 2012

Energy#44_p100-101_Pro3.indd 100

6/28/12 1:30 AM


อื่นๆ ซึ่งไดคํานวณคาวๆคาดวาภาษีสรรพสามิตนํ้ามันเบนซินควรจะลดลง จากอัตราปกติที่ 7 บาทเหลือประมาณ 4 บาท และดีเซลควรอยูที่ 2-3 บาท จากอัตราปกติ 5 บาทหากทานคุนเคยกับวงจรการวางแผนงานคุณภาพ ดวยระเบียบวิธี PDCA (Deming Cycle) แลวจะเห็นวาสามารถเทียบเคียง กันได โดยเริม่ ตนจากการวางแผนจากวัตถุประสงคและเปาหมายที่ ไดกาํ หนด แลวนําไปปฏิบัติ ระหวางปฏิบัติก็จะดําเนินการตรวจสอบ เมื่อพบกับปญหา ก็จะนํามาแกไขหรือปรับปรุงแกไขขอบกพรองใหมนั่นเอง

สําหรับกองทุนนํา้ มันฯนัน้ ควรจะมีเปาหมายในการใช 2 สวนก็คอื สวน ที่ 1 ใชเพือ่ การอุดหนุนราคานํา้ มันแกสโซฮอล และไบโอดีเซล โดยเก็บจาก นํา้ มันเบนซินและดีเซลเพือ่ สรางสวนตางทีจ่ งู ใจใหประชาชนหันมาใชพลังงาน ทีผ่ ลิตไดเองภายในประเทศ สวนที่ 2 ใชเพือ่ การรักษาระดับเสถียรภาพราคา นํา้ มันขายปลีกเพือ่ ลดการผันผวน แตทงั้ นีจ้ าํ นวนเงินในกองทุนฯไมควรมีสงู กวา 1 หมืน่ ลานบาท หรือติดลบได ไมเกิน 1 หมืน่ ลานบาทเพือ่ บังคับไม ใหรฐั บาลนําเงินกองทุนฯมาอุดหนุน นานเกินควรและปลอยใหเปนไปตาม กลไกตลาด อยางไรก็ตาม สวนตางราคา ระหวางเบนซิน91 และแกสโซฮอล ที่จะจูงใจใหประชาชนหันมาใชแกส โซฮอล ควรอยูในระดับ 5-6 บาท ตอลิตร ราคาแกสโซฮอล 95 ไม ควรสูงกวานํ้ามันดีเซล 3-4 บาท ตอลิตร และราคาเบนซิน 95 ควร สูงกวาเบนซิน91 ประมาณ 2-3 บาทตอลิตรซึ่งหากจัดเก็บภาษีตาม โครงสรางดังกลาวจะทําใหรัฐบาล มีรายไดจากภาษีเพิ่มขึ้นสวนเงินเขา กองทุนนํ้ามันฯอาจจะลดลงบาง

ดานการบริหารจัดการกาซแอลพีจนี นั้ ควรลอยตัวใหมรี าคาในระดับ หนาโลกกลั่นแตควรชดเชยใหกับผูที่รายไดนอยโดยผลการศึกษาเบื้องตน ควรจะใชระบบคูปองใหกับผูมีรายไดนอย ซึ่งอาจจะกําหนดใหคูปองกับผูใช ไฟฟาขั้นตํ่าตามที่รัฐบาลเห็นวาเหมาะสม ทั้งนี้จากการคํานวณคาวๆ หาก จะแจกคูปองใหกับผูใชไฟฟาไมเกิน 150 หนวยตอเดือน จะมีผูที่ ไดรับคูปอง ประมาณ 10 ลานครัวเรือน แตละครัวเรือนใชประมาณ 8-10 กิโลกรัมตอ เดือน อุดหนุนกิโลกรัมละ 10 บาทจะทําใหรัฐบาลใชเงินอุดหนุนเพียง 1 พัน ลานบาทตอเดือน และทั้งปจะใชเงินประมาณ 1.2 หมื่นลานบาท นอยกวาที่ รัฐบาลอุดหนุนในปจจุบันมาก ซึ่งรัฐบาลควรใชจังหวะที่ราคานํ้ามันตลาด โลกอยูในชวงขาลงปรับโครงสรางราคาพลังงานทั้งระบบ เพื่อใหราคา สะทอนกับความเปนจริง

July 2012 l 101

Energy#44_p100-101_Pro3.indd 101

6/28/12 1:30 AM


LifeStyle

เกาะตะรุเตา...กับการใชพลังงาน โดย : ลภศ ทัศประเทือง

แสงอาทิตยที่คุมคา ขึน้ ชือ่ วา “เกาะ” อะไรๆ ก็ ดู จ ะหายาก นํ้ า ดื่ ม นํ้ า ใช ไฟฟ า เป น สิ่ ง มี ร าคา มี ค  า ต น ทุ น การนํ า ระบบ ผลิตไฟฟาแบบโซลาเซลลมาใช จึงเปนทางเลือกหนึง่ ทีเ่ วิรค มาก ผู  เ ขี ย นได มี โ อกาสไปเที่ ย ว ณ อุทยานแหงชาติตะรุเตาก็ ใหเกิดความประทับใจกับแผง โซลาร เ ซลล ที่ เ รี ย งรายตาม ทางเดิน นั่นแสดงวาบนเกาะไม ตองซื้อไฟใชละสิ ผมไดขอ มูลมาวา โครงการระบบผลิตไฟฟาดวยพลังงานสะอาดบนเกาะแหงนี้ ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดรับการสนับสนุนดาน งบประมาณการวิจัยจากกองทุน เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน สํานักงานคณะ กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ โดยโครงการประกอบดวยการออกแบบ ติดตั้ง และศึกษาระบบผลิตไฟฟาแบบผสมผสาน 3 แหง ที่อุทยานแหงชาติตะรุเตา อุทยาน แหงชาติภูกระดึง และเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง นับตั้งแตปลายป 2540 งานของผูวิจัยคือ การติดตั้งระบบทั้ง 3 ระบบรวมกับนักวิจัย ในโครงการ และวิเคราะหขอมูล วิทยานิพนธนี้เนนงานระบบผลิตไฟฟาที่อุทยานแหงชาติตะรุเตา งานประกอบดวย การศึกษาสมรรถนะของระบบที่ติดตั้งครั้งแรก การวิเคราะห ศักยภาพของแหลงพลังงานทดแทนในชวงเดือนเมษายน 2541 ถึงเดือนธันวาคม 2543 ออกแบบระบบใหมโดยใชขอมูล ที่ ไดจากการเก็บจริงในภาคสนาม ติดตั้งระบบ ใหมเมือ่ เดือนธันวาคม 2543 และวิเคราะห ทางดานเศรษฐศาสตรของระบบ นับตัง้ แต เริ่มมีการติดตั้งและใชงานระบบเมื่อตนป 2541 จนถึงเดือนธันวาคม 2544 ระบบที่อุทยานแหงชาติตะรุเตาในชวงเริ่มตน ประกอบดวยระบบยอยโซลา เซลล 7.5 kWp กังหันลมผลิตไฟฟา 10 kW ระบบยอยแบตเตอรี่ 234 kWh และมี ระบบดีเซลเจนเนอเรเตอร ขนาด 48 kVA สําหรับจายพลังงานเสริม ระบบควบคุม การทํางานเปนแบบผสมผสานแบบสลับแหลงพลังงาน (Switched Hybrid System) ผลวิเคราะหขอ มูลทางกรมอุตนุ ยิ มวิทยาในชวงเดือนเมษายน 2541 ถึงเดือนธันวาคม 2543 พบวา 1. พลังงานแสงอาทิตยที่ ไดจากการวัดเฉลี่ยทั้งป 4.76 kWh/m(2).day และ ใกลเคียงกับคาที่ใชออกแบบ สามารถแยกระดับพลังงานออกไดเปนสองกลุม คือ กลุม เดือนทีม่ พี ลังงานแสงอาทิตยสงู ระหวางเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน และกลุม เดือน พลังงานแสงอาทิตยตํ่า ระหวางเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคม 2. ความเร็วลมตลอดปที่อุทยานแหงชาติตะรุเตาเฉลี่ย 2.48 m/s ตํ่ากวา คาที่ใชออกแบบ เดือนธันวาคมเปนชวงเวลาที่มีความเร็วลมสูงสุดเฉลี่ย 4.76 m/s เดือนพฤษภาคมเปนชวงเวลาทีม่ คี วามเร็วลมตํา่ สุดเฉลีย่ 0.65 m/s ผลการวิเคราะห ไวบูลลพารามิเตอรแสดงวา คาพารามิเตอรรูปรางเฉลี่ยทั้งปเทากับ 1.77 แสดงวา ความถี่ของลมความเร็วตํ่ามากกวาความเร็วลมสูง ใกลเคียงกับลักษณะของลมแถบ เมดิเตอรเรเนียน สวนพารามิเตอรระดับเฉลี่ยทั้งปมีคา 2.64 สัมพันธกับคาความเร็ว ลมเฉลี่ย ผลจากการศึกษาสมรรถนะและประสิทธิภาพของระบบในชวงเดือนเมษายน 2543 พบวา 2.1 ประสิทธิภาพของระบบยอยโซลาเซลลเฉลี่ย 8.77% ตํ่ากวาประสิทธิภาพ ของแผงโซลาเซลลในเชิงการคาเล็กนอย สาเหตุหนึ่งคือการสูญเสียในการตอแผง

โซลาเซลลเขาดวยกันเปนระบบยอย แตประสิทธิภาพของระบบยอยโซลาเซลล ของโครงการนี้มีคาใกลเคียงกับระบบยอยโซลาเซลลในระบบสูบนํ้าและระบบผลิต ไฟฟาแบบผสมผสานที่มีรายงานการศึกษาภายในประเทศ ตามที่รายงานมาแลว คาความสามารถในการผลิตพลังงานของระบบโซลาเซลล (PV system yield) มีคา เฉลีย่ 4.12 ทีพ่ ลังงานแสงอาทิตยรายวัน 7.02 kWh/m(2) และเปลีย่ นแปลง ตามพลังงานแสงอาทิตยรายวันในลักษณะเสนตรงแบบแปรตรง 2.2 ระบบกังหันลมผลิตไฟฟา พบวาคาสัมประสิทธิท์ างกําลังของกังหันลม สัมพันธกับความเร็วลมในลักษณะเสนตรงเฉลี่ยในชวงความเร็วลม 2.5 ถึง 8.0 m/s มีคาเฉลี่ย 0.3 ซึ่งสูงกวาคาที่ใชออกแบบ เมื่อพิจารณาคาพลังงานไฟฟาที่ ผลิตไดจากระบบกังหันลม พบวามีคาตํ่ากวาที่ออกแบบ หรือจําลองการทํางาน โดยโปรแกรม windKMUTT เนื่องจากพลังงานลมที่ ไดจากการวัดจริง ตํ่ากวา พลังงานลมที่ใชในการออกแบบ 2.3 แบตเตอรี่ที่ ใชงานในระบบ ออกแบบไวที่สัดสวนการดึงประจุไมเกิน 60% (Deep cycle) ในการใชงานจริงแสดงใหเห็นวามีคาใกลเคียงกับที่ออกแบบ 3. ระบบแปลงพลังงาน พบวาประสิทธิภาพของระบบแปลงพลังงานกับ พิกดั กําลังไฟฟา ทํางานสัมพันธกนั แบบลอการิธมึ และมีคา ใกลเคียงกับระบบแปลง พลังงานแบบเดียวกันในเชิงการคา คือมีคา 80% ที่กําลังไฟฟาทํางานมากกวา 15% ของพิกัด ลักษณะการทํางานของระบบที่ติดตั้งครั้งแรกพบวา การทํางาน ของระบบผลิตไฟฟาในโครงการในชวงแรกของงานวิจยั ตรงกับขอกําหนดในการ ออกแบบ ที่กําหนดใหระบบผลิตไฟฟาจากแหลงพลังงานทดแทนจายพลังงานให กับภาระไฟฟาทัง้ ระบบไดอยางเพียงพอ ในชวงฤดูรอ นทีม่ คี วามเขมรังสีอาทิตยสงู สวนในชวงฤดูฝนที่มีความเขมรังสีอาทิตยคอนขางตํ่า ออกแบบใหมีการเดิน เครือ่ งดีเซลเจนเนอเรเตอรเสริม เพือ่ จายพลังงานใหกบั ภาระทางไฟฟา ในบางวัน ชวงตอมาภาระทางไฟฟาของระบบมีคา สูงขึน้ ประมาณ 30% สงผลใหระบบมีความ มั่นคงในการจายพลังงานลดลง และระบบดีเซลเจนเนอเรเตอรทํางานมากกวาที่ ออกแบบไวในชวง สุดทายของงาน วิ จั ย ได ทํ า การ ออกแบบและ ติดตั้งระบบใหม เมื่อกลางเดือน เมษายน 2544 โดยเพิ่ ม ระบบ ยอยโซลาเซลล อีก 30% จาก การเก็ บ ข อ มู ล ชวงกลางเดือนเมษายน 2544 พบวาระบบสามารถผลิตพลังงานไดเพิ่มขึ้น 44% สงผลใหระบบสามารถทํางานไดตรงกับขอกําหนดในการออกแบบ และมี ความมั่นคงในการจายพลังงานเพิ่มขึ้น การวิเคราะหทางดานเศรษฐศาสตรของ ระบบพบวา การประเมินผลประโยชนที่จะไดรับ ในรูปมูลคาปจจุบันเมื่อใชอัตรา ดอกเบี้ย 10% พิจารณาจนถึงการสิ้นสุดอายุโครงการ ถือวาคุมคาในการลงทุน เนื่องจากเปนบวก B/C Ratio มากกวา 1 และคา IRR มากกวาอัตราดอกเบี้ย เงินกูที่นํามาลงทุนในโครงการ ขอมูลแนนปกขนาดนี้ แวะไปเที่ยวแลวไดสาระมาฝากทานผูชม ..พรอมกับการเชิญชวนไปเที่ยว ตะรุเตา กันนะครับ

102 l July 2012

Energy#44_p102_Pro3.indd 102

6/27/12 11:53 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชื่อ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อื่นๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อื่นๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อื่นๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชื่อหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชื่อผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลื่อนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

July 2012 l 103

Energy#44_p_Pro3.indd 103

7/2/12 1:01 PM


Energy Thinking โดย : ณ อรัญ

พ.ร.บ.ปรองดองแหงชาติ...

สูความไมปรองดอง

ใครผิดใครถูกจากที่ผานมาก็ ใหวากันดวยกฎหมายหรือถาใครไม กลับบานมาแกไขปญหาตามกระบวนการยุติธรรมก็อยาไปเครียด แทนเขาเลยเพราะเขารวยและเชื่อวาใชชีวิตไดอยางมีความสุขกวา เราๆ คนธรรมดาอยูแลว สรุปแลวหากเกิดความวุนวายอีกครั้งประชาชนอยางเราๆ เทานั้นที่จะไดรับความเดือดรอนหรืออาจจะสูญเสียถึงชีวิต แตระดับ ผูนําเพียงแตออกคําสั่งพอความขัดแยงวุนวายบานปลายจนเกิดเปน จลาจลกลุมผูนําก็จะหายตัวไปราวกับขอมดําดินทิ้งความสูญเสีย ความเจ็บ ความขัดแยง ใหประชาชนรับวิบากกรรมตอไป

ผมเปนคนหนึ่งที่ ไมฝกใฝฝายใดและสนับสนุนใหคนในประเทศ ชาติมคี วามปรองดองกันเพราะความปรองดองนัน้ เปนเรือ่ งทีด่ ซี งึ่ กอ ใหเกิดความรัก ความสามัคคี แตการปรองดองนั้นจําเปนดวยหรือที่ ตองออกเปน พ.ร.บ.ปรองดอง (เรือ่ งบาดหมางระหวางคนสองพวก ถึงกับตองออกมาเปน พ.ร.บ.ปรองดองเลยหรอครับ) อีกอยางการออกราง พ.ร.บ. ปรองดองนั้นเชื่อวาประชาชนหลาย คนไมรูตื่นลึกหนาบางวาเปนอยางไรหรือมีอะไรซอนเรนในราง พ.ร.บ. บนความชอบธรรมหรือไมตามทีค่ ณะราง พ.ร.บ.ไดอา งความชอบธรรมเอา ไวที่ตรงกันขางกับความชอบธรรมของอีกฝาย ซึ่งตางฝายตางอางความ ชอบธรรมในการปรองดอง ดังนั้นการรางกฎหมาย พ.ร.บ.ปรองดองจะ นําไปสูค วามแตกแยกขัดแยงกันมากยิง่ ขึน้ และกอใหเกิดความวุน วายซึง่ นัน้ หมายความวาไมไดสงผลกระทบตอกลุมคนสองกลุมที่ทะเลาะกันเทานั้นแต มันยังสงผลกระทบตอประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะคนที่ใชชีวิตอยูในกรุงเทพฯ ฉะนั้นการปรองดองแนวความคิดของผมแลวไมจําเปนตอง ราง ออกเปนกฎหมาย หรือ พ.ร.บ. เพียงแตตางฝายตางทําหนาที่ของตนเอง อยางจริงใจตอประเทศชาติโดยไมมีผลประโยชนมาเกี่ยวของเชื่อวาความ จริงใจ และกาลเวลาจะนําไปสูความปรองดองโดยอัตโนมัติ สวนเรื่องที่

รับกาแฟแลว..เก็บใหเปนที่เปนทางนะจะ!!

104 l July 2012

Energy#44_p104_Pro3.indd 104

6/28/12 1:33 AM


i o r ¥ |Ó oo ¬ Ò §p p ¤|

i iv l

C$ET'C _9E;6 LV;' T=ERMDS6@GS**T; ¯­®¯ January · EI<EIC% OC[GLV;' T=ERMDS6@GS**T;=ER_B97 T*eEZ ;G TLZ69Wg+R Issue 38 OO$IT*7GT6b;= ¯²²²

i iv l r i 12)1 p Ê

rï o i r ¤| Ö j i o ¤ ~ ¬ Ó o &?JJ ! r ­ ¦ o¥ ¥ l¦ ¦ j ¤r u ¡Ó §p¤jÓ Ò i r r i Í i l ¡Ó o } Ö¥ ¤ ¤ ¬ o i o ~ i {Ö } 12)1 p Ê ¤ ï o i l § Ól ¡Ó¥iÒ ll i ¤ ¡Ó~ o ¤ | p i ¦ i Ó oj o Ó o | ¤ ï} ¥ i } ­o ~ i {Ö ¬p ¤i |j ­ § lÓ o } Ö¥ ¤ l¦ ¦ ¤ |¤ ¬ ¤} Í i l ¡ ¦ }Ò À

i iv l

$ZCBT@S;: Waste Energy February · =ER_9Jc9DL[ $TE+S6$TE@GS**T;_MGYOb- _MGYO9Vh* +Z6_EVgC7 ; Issue 39 `M *$TELE T*C[G' TbM @GS**T; CW;T'C @GS**T;BT'OZ7LTM$EECDT;D;7 March · <9IV_'ETRM MEYOETD*T;@V_JK `;Ia; C$TEb- ª$UGS*$TE>GV7 Issue 40 `GR'ITC7 O*$TE9Sh*=ER_9J _CKTD; 'ITCCSg;'*6 T;cAA T- I*@W' April · ETD*T;@V_JK`7 GR= b;_EYgO*'ITCCSg;'*%O*=EVCT5cAA Tb;=ER_9J Issue 41 `;Ia; C$TEb- cAA Tb;BT'OZ7LTM$EEC `GRBT''ESI_EYO; EIC8X* 9VJ9T*$UGS*$TE>GV7_@YgO'ITC7 O*$TEb;- I*M; TE O;

rï o o Äi z } {yÖ i Ö¦ i |Ó }i | ¥ ¤ l¦ ¦ i }Å ~ ¬ ¦ o¥ | ¤ o io z } Ö¥ ¤ l¦ ¦ ¥ Òor } Ò i ¡Ó¤r ¬ r u

p il{ i } Ö ¤i } } Ö p | § jÓ Äi z } {yÖ i Ö¦ i |Ó }i | ¥ ¤ l¦ ¦ i }Å ii Ò } i ¥ ¡Ó §p ¬ ¨ ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU LQRB? MP RF LCUQ GR?N QCKGL?P EPCCL NPMBSAR

i iv l

rï o 'LRCPQMJ?P ,MPRF KCPGA? ~ ¬ s s ¦i x¥l Ö¤ x ¤ i

'LRCPQMJ?P ,MPRF KCPGA? ¤ Ú o ¥ |o lÓ oo ¥ o } Ö ¬ § uÒ ¬ | § x¥l Ö¤ § o l {p ¨|Ó i ¡Ó§ Ó i ¤ l¦ ¦ |Ó oo ¥ o } Ö Ó ¦r Ö }i | ­ i ip i ­ o¤ Ú ¦ i o ¬l {p ¨|Ó i ¡ilÓ i Ò ¤ Î Ó Ö Ò i ¡Ó§ Ó i |Ó oo ¥ o } Ö i|Ó ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU GLRCPQMJ?P SQ CL GLRCPQMJ?P FRKJ

i iv l

rï o ,CU #LCPEW 1WKNMQGSK ~ ¬ l ¤ |Ö¤ |¤s« ¤} Ö l Öi x ¤ i ,CU #LCPEW 1WKNMQGSK ¤ Ú o r p i Ö oi ¤o § i | ¤ i pi ¤ l¦ ¦ | Êl ­o ¬ ¬¤ Ó i i Ö ¡Òl ¤ «p ~ oi Î oi i ¤ | !JC?LRCAF § o i Ö o Øuu |Ó ¤ l¦ ¦ oo | ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN LCLW MPE LCLW #TCLRQ ,#1WKNMQGSK ?QNV

i iv l CKC LR !?P@ML #KGQQGMLQ 0CBSARGML rï o #LCPEW +?L?E ~ ¬ ¤ o¦p ¤ ¤ iÖ ¥ i §}Ó

55

r ¬p |j ­ ¦| ~ ¤ ï

Q 0CBSARGML ¤ Ú o #LCPEW +?L?ECKCLR !?P@ML #KGQQGMLi §rÓ oo Ò o ¥ | oo i p r } Òo¤ Ó i ¤ jÓ ¡ ¤i ¬ i i Ò oiv p |¤i« l Ö ip i ­ o i ¥ i¤ ¬ l l |¤ « ¤i ¬ i i p i Ò iÔ sl Ö ¨| i¨s|Ö } |p i ¤ ¤ l l¥ }i § Òª ¬rÒ |i PEW N CLC CV NF ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU GGP AM X? GLB

@FKBT'C O;ZES$K @GS**T;BT'OZ7LTM$EEC May · _+TR$GZ C=ER_B9`GR>GV7BS53 9Wg8[$;UCTb- b;aE**T;OZ7LTM$EEC Issue 42 _@YgOLE T*'ITC=ERMDS6CT$9WgLZ6 CV8;Z TD; CT7E2T;6 T;@GS**T;9WgLE T*C[G' T_@VgC June · EI<EIC% OC[GCT7E2T; % O$UM;67 T*e +T$MGT$MGTDL8T<S; Issue 43 9Wg$TES;7W'Z5BT@`GR=ERLV9:VBT@ %O*>[ 9Wg c6 ES<6 T;$TE=ERMDS6 @GS**T;_@YgO7 ODO6$TELE T*C[G' T_@VgCbM `<E;6 ;Sh;e _@VgCCT$%Xh; $E$0T'C LV;_-YgO `'C_= L;S<L;Z;:ZE$V+@GS**T; July · ETD*T;7GT6`GRC[G' TLV;_-YgO6 T;@GS**T; LS6L I;7GT6LV;_-YgO Issue 44 `7 GR=ER_B9 EIC8X*9VJ9T*$TE_7V<a7%O*7GT6LV;_-YgO@GS**T; b;=ER_9J LV*MT'C $0MCTDBTKW % OL;S<L;Z;6 T;@GS**T; August · EI<EIC% OC[G $0MCTD % O$UM;6BTKW CT7E$TE7 T*e Issue 45 %O*BT'ES29WgOO$CTL;S<L;Z; $TE=ER$O<:ZE$V+@GS**T; =ER_B97 T*e b;`7 GR= $S;DTD; 'ITC_'GYgO;cMI`>;@GS**T;96`9; ®² = September · ETD*T;'ITC_'GYgO;cMI `>;@S4;T ®² = %O*ES2<TG 9WgCZ *_; ;`GR Issue 46 7Sh*_= Tb;_EYgO*$TE;U@GS**T;96`9;CTb- `GR`;Ia; Cª9VJ9T* b;O;T'7 7ZGT'C ÀÐÏ a'E*$TEES<>V6-O<7 OLS*'C`<<DSg*DY; October · _+TRGX$_<YhO*GX$%O*$TE9U$V+$EEC ÀÐÏ _@YgOLS*'C cC I T+R_= ; Issue 47 _EYgO*%O*@GS**T;MEYOLVg*`I6G OC @FJ+V$TD; +S6OS;6S<@GS**T;96`9;9Wg_7V<a79WgLZ6b;_CYO*c9D November · $TE+S6OS;6S<@GS**T;96`9;9Wg=ERL<'ITCLU_Ef+ b;_EYgO*$UGS* Issue 48 $TE>GV7ª+UM; TD`GR$TEL;S<L;Z;+T$ES2<TG :S;IT'C % TI_6 ;b;EO<= ¯²²² December · EI<EICLEZ=% TI_6 ;b;EO<= 9Wg_$WgDI% O*$S<_EYgO*@GS**T; _= ;$TE Issue 49 ETD*T;=ER_6f;PO7MEYO a'E*$TE9WgDS*7 O*7TC7 O_;YgO*b;= 7 Oc=

i |i ï ª } |} ¨|Óp i UUU CLCPEWQ?TGLEKCBG? AMK w i pi

July 2012 l 105

Energy#44_p105_Pro3.indd 105

6/28/12 12:16 AM


Experience Interchange

GM โชวศักยภาพศูนยการผลิต

ลดการใชพลังงาน 24.43% ตอป ที่ผานมา GM ประเทศไทยไดจัดการประชุมรวมกับจีเอ็มไอโอ ทุก สัปดาหในประเด็นการใชพลังงาน และดวยความรวมมือรวมใจในการ พัฒนาองคกรรวมกัน ทําให GM สามารถควารางวัลนี้มาครองไดภายใน สองป ในชวงสิ้นป 2554 ที่ผานมา จากการลดการใชพลังงาน 24.43% ตอป ขณะที่ศูนยการผลิตของจีเอ็มไอโออีก 21 แหงในประเทศจีน, เคนยา, รัสเซีย, แอฟริกาใต และเกาหลีใต ตางบรรลุเปาหมายในชวง 2 ถึง 3 ป และควารางวัลดังกลาวมาไดเชนกัน โดยมีอัตราการลดความเขมขนของ การใชพลังงานเฉลี่ยอยูที่ 27.7%

มาตรฐานอุ ต สาหกรรมที่ มี ผ ลต อ สิ่ ง แวดล อ มถื อ เป น เรื่ อ ง สําคัญ ปจจุบันมีอุตสาหกรรมเกิดขึ้นบนโลกคอนขางมาก และเปน ภาคธุ ร กิ จ ที่ ก อ มลพิ ษ และใช พ ลั ง งานมากที่ สุ ด โดยเฉพาะภาค อุตสาหกรรมยานยนต ทีม่ โี รงงานและสายการผลิตกระจายไปทัว่ ทุก มุมโลก เพราะรถยนตถือเปนอีกหนึ่งปจจัยสําคัญของมนุษย บริษัท เจนเนอรัล มอเตอรส จํากัด หรือ GM หนึ่งในผูผลิตรถยนต รายใหญของโลก เปนอีกหนึ่งองคกร ที่ ใส ใจเรื่องของสิ่งแวดลอมและ พลังงานอยางตอเนื่อง โดยบริษัท เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด หนึ่งในเครือของ GM ไดเสริมศักยภาพสายการผลิตรถยนตในประเทศไทย ในฐานะเปนผูผลิตรถยนตภายใตชื่อและสัญลักษณ Chevrolet เพื่อมีสวน รวมในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม รวมถึงการลดตนทุนดาน พลังงานทุกดาน จากาการออกแบบตามศูนยการผลิตรถยนตตนแบบของ เจนเนอรัล มอเตอรส ที่เมืองไอเซนนาค ประเทศเยอรมนี ซึ่งไดชื่อวาเปน ศูนยการผลิตที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดแหงหนึ่งของโลก และดวยเทคโนโลยี ที่ ไดรับการติดตั้งภายในศูนยการผลิตรถยนต จีเอ็ม ประเทศไทย ทําให ศูนยฯ แหงนีก้ ลายเปนศูนยการผลิตทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ ในประเทศไทย และดีทีส่ ดุ แหงหนึ่งในภูมิภาคเอเซียแปซิฟก ลาสุด ศูนยการผลิตรถยนตเจนเนอรัล มอเตอรส ประเทศไทย ตั้ง อยูจังหวัดระยอง ไดควารางวัลดานสิ่งแวดลอมและพลังงานมาไดโดยเปน ศูนยการผลิตที่ทันสมัยแหงหนึ่งของประเทศ ทั้งในสวนของเทคโนโลยีอัน ทันสมัยและการจัดการดานสิ่งแวดลอมจนสามารถควา รางวัลเอนเนอรจี สตาร ชาลเลนจ(ENERGY STAR Challenge) หรือรางวัลมาตรฐานการ ใชพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอมจากหนวยงานพิทักษสิ่งแวดลอมของสหรัฐฯ มาได ซึง่ ถือเปนรางวัลมาตรฐานระดับโลกทีก่ ระตุน ใหภาคอุตสาหกรรมและ การพาณิชยพัฒนาการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 10% หรือ มากกวา

การไดรับรางวัลเอนเนอรจี สตาร ชาลเลนจ เปนเพียงหนึ่งในความ สําเร็จของจีเอ็ม ที่จะกาวเปนผูนําการพิทักษสิ่งแวดลอมของอุตสาหกรรม ยานยนตควบคูกับการพัฒนาอุตสาหกรรมนี้ ใหเติบโตอยางยั่งยืน ทั้งใน ระดับประเทศ ภูมิภาค และระดับโลก โดย เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด กอตั้ง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2543 เริ่มตนการผลิตดวย Chevrolet zafira ซึ่งถือไดวาเปนการบุกเบิกตลาดรถยนตเอนกประสงครายแรกของ ประเทศไทย โดยยานยนตทีจ่ ดั จําหนายในปจจุบนั ไดแก Chevrolet CRUZE, Chevrolet Aveo, Chevrolet Aveo CNG, Chevrolet Captiva, Chevrolet Colorado และ Chevrolet Trailblazer

106 l July 2012

Energy#44_p106_Pro3.indd 106

6/27/12 10:26 PM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.