นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 46 เดือนกันยา 2555

Page 1



Energy#46_Ad Measure_Pro3.ai

1

8/23/12

9:28 PM


Contents

Issue 46 September 2012

26 High Light 14 Energy Focus : จับตาการกลับมาของ..ไบโอดีเซล 32 Energy Best Award : Thailand Lean Award 2012 รางวัล สูค วามเปนเลิศของอุตสาหกรรมการผลิต 46 Residential : เยือนรีสอรทอนุรกั ษพลังงาน ณ บานลักษสุภารีสอรท ตนกําเนิดหัวหิน 67 Energy Tezh : เทคโนโลยีขับขี่อัตโนมัติขั้นสูง 70 Energy Test Run : New Honda Civic 1.8 จายสบาย กระเปาแบบฉบับ E85 83 Energy In Trend : รูหรือไม ลมหายใจก็เปนไฟฟาได 86 Energy Exhibit : มหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงชาติ 2555 91 Insight Energy : ตอยอดบัตรเครดิตพลังงาน เพิ่มสิทธิประโยชนแบบยกกําลัง 2

18

What’s Up 10 Energy News 64 Energy Around The World 72 Energy Movement

Cover Story 18 Cover Story : เจาะแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ป 5 ศักยภาพ เพิ่ม-ลด ตอบโจทยการพัฒนาที่ยั่งยืน 93 Special Scoop : CBG พลังงานทดแทน NGV ที่นาจับตามอง มากที่สุดแหงยุค 100 Special Report : “อาหาร” ชวยลดโลกรอนไดจริงหรือ?

Commercial 35 Energy Showcase : ผลิตภัณฑประหยัดพลังงานทีน่ า สนใจ 51 Greee4 U : ผลิตภัณฑ สินคา รักษโลก 55 Greenovation : นวัตกรรม วิทยาการ สินคาไฮเทคและ การรีไซเคิลเพื่อโลก 88 Energy Loan : โครงการสงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพ สําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ป 2555

Interview 38 Energy Keyman : อภิชาต จงสกุล เลขาธิการ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) : กาวสําคัญธุรกิจ... ปาลมไทยสูพลังงานชีวภาพ อยางยั่งยืน 41 Energy Keyman : สมพงษ ตันเจริญผล 38 ประธานคณะกรรมการบริหาร สถาบัน การจัดการบรรจุภัณฑ และรีไซเคิลเพื่อ สิ่งแวดลอม : “ขยะรีไซเคิล” ขยะที่มีมูลคา 80 Energy Concept : ลดพิษ... เครื่องถมเงิน ปลอดตะกั่ว พัฒนาภูมิปญญาไทยสูตลาดโลก

41

46

4 l September 2012

Energy#46_p04,06_Pro3.indd 4

8/29/12 12:19 AM


Energy#46_p05_Pro3.ai

1

8/27/12

11:15 PM


Contents

Issue 46 September 2012

68

Industrial & Residential 24 Tools & Machine : Solar Inverter ประสิทธิภาพสูง 26 Green Industrial : อําพลฟูดสฯ สราง CSR ลดตนทุนดานพลังงาน สูการเติบโตของธุรกิจ 30 Saving Corner : การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต..เพื่อการประหยัด พลังงานในอุตสาหกรรม (ตอนจบ) 44 Energy Design : ดีไซน เฟอรนิเจอร จากกากกาแฟรีไซเคิล 48 Energy management : แจงละเอียด บทความบริหาร อนุรกั ษพลังงาน ทําอยางไร? Transportation & Alternative Energy 68 Vehicle Concept : Hi – Cross Concept ตนแบบ SUV ใหม คายนิสสัน 78 Green Logistics : สรางแตมตอดวยการบริหารองคกรสีเขียว โดย ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาสอีสทบางกอก 84 Renergy : พลังงานทดแทนในอุงมือของ เกมสการเงิน โดย.คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข : ประธานกลุมบริษัท ราชาอิควิปเมนท จํากัด และประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย Environment Protection 54 Green Vision : สิ่งพิมพสีเขียวเพื่อสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 58 Green Space : ขยะมีคาที่ “ราน 0 บาท” 62 0 Waste Idea : การลดของเสียดวยแนวทางของ การปองกันมลพิษ

48

โดย รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอ าํ นวยการหนวย ปฏิบตั กิ ารวิจยั บําบัดของเสีย และการนํานาํ กลับมาใชใหม ภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย FAQ 76 Energy Clinic : “เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยางเพียงพอ” โดย. ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย Directory 90 Energy Stat 96 Classified@Energy Saving 97 Energy Price 98 Directory Regular Feature 8 Editor’s Talk 82 How to : DIY กระถางจากแผน floppy disk 89 Environment & Energy Legal : RSPO มาตรฐาน สากล ที่คนปลูกปาลมควรรู 102 Life Style : “ฟววอทช” เฟนนักขับประหยัดตัวจริง ชิงตําแหนงสิงหรถบรรทุกแหงเอเชีย 103 Members : สมาชิก 104 Energy Thinking : งานหนัก งานเหนื่อย งานนาน...ดีกวาไมมี 105 Event & Calendar 106 Experience Interchange : ปณิธานสีเขียว… สูสํานักงานเพื่อสิ่งแวดลอม

6 l September 2012

Energy#46_p04,06_Pro3.indd 6

8/29/12 12:20 AM


Energy#41_Ad Annex_Pro3.ai

1

3/21/12

9:50 PM


Editors’ Talk กระแสของการอนุรกั ษพลังงาน หรือการรณรงคการใชพลังงานยังมีมาอยาง ตอเนือ่ ง ดวยเพราะหลายหนวยงานใหความสําคัญ ใหความสนใจสรางภาพลักษณ รวมถึงการไดเงินคืน หมายถึงการประหยัดคาใชจายขึ้น ลวนแตเปนเรื่อง ที่สนับสนุนใหการประหยัดพลังงานดําเนินตอไปอยางตอเนื่อง ทั้งการมีเวทีประกวดที่การันตีความสําเร็จในเรื่องการประหยัดพลังงาน หลายเวที อยาง นิตยสาร ENERGY SAVING ของเรา ก็สามารถควารางวัล Thailand Energy Awards ไดถึง 2 ป คือป 2010 และในปนี้ 2012 โดยกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ดาน ผูสงเสริมการอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน รางวัลดีเดน ประเภท สื่อมวลชน (สื่อสิ่งพิมพ) นับเปนความภาคภูมิใจ เปนกําลังใจใหทีมงานรังสรรค ขอมูลที่เปนประโยชนมานําเสนอคุณผูอานตอไป เขาเรือ่ งการขาว ..ฉบับนีข้ อพาดพิง LPG ดวยความหวงใย จากเหตุการณ เมื่อเดือน ก.ค. ที่ผานมา ภาพรวมของการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงเดือนก.ค. นั้นปรับ ลดลงจากเดือนมิถุนายนเกือบทุกชนิด อาจเปนเพราะชวงเดือน ก.ค. เปนชวงฤดู ฝนทําใหมีการเดินทางทองเที่ยวลดลง และเปนชวงที่หมดฤดูการเกษตร รวมถึง ราคานํ้ามันปรับตัวเพิ่มสูงขึ้น ทําใหความตองการใชพลังงานลดลง กลับกันตัว LPG นั้นความตองการเพิ่มมากขึ้นตอเนื่อง โดยมีปริมาณการ ใชอยูที่ 623,152 ตัน เพิ่มขึ้น 5.3% แบงเปน LPG ภาคครัวเรือน มีการใชอยูที่ 255,928 ตัน เพิ่มขึ้น 2.2% LPG ภาคอุตสาหกรรม อยูที่ 53,758 ตัน เพิ่มขึ้น 5.9% LPG ภาคขนสง อยูที่ 88,822 ตัน เพิ่มขึ้น 3.4% LPG ปโตรเคมี อยูที่ 224,644 ตัน เพิ่มขึ้น 9.8% ขณะที่การนําเขา LPG อยูที่ 106,467 ตัน คิดเปนมูลคา 2,227 ลานบาท สงผลใหรัฐบาลตองจายเงินชดเชยประมาณ 1,100 ลานบาท ซึ่งมีการประเมิน จากกรมธุรกิจพลังงานแลววา ภายในสิ้นปนี้คาดวากองทุนนํ้ามันเชื้อเพลิงจะมี การชดเชย LPG ทะลุถึง 100,000 ลานบาท โดยแยกเปนการชดเชยการนําเขา ตั้งแตป 2551-2555 ไมตํ่ากวา 83,000 ลานบาท และชดเชยราคาหนาโรงกลั่น (ตรึงไวไมเกิน 333 เหรียญสหรัฐตอตัน) ตัง้ แตป 2554 ทีช่ ดเชยไปทัง้ สิน้ 10,471 ลานบาทและป 2555 คาดวาจะสูงกวาปที่ผานมาโดยลาสุด 6 เดือนแรกปนี้ชดเชย แลว 7,800 ลานบาท รวมแลวตั้งแตป 2551 จนถึงเดือน ก.ค.นั้น ไทยไดนําเขา LPG รวม 5.2 ลานตัน โดยในป 2555 การนําเขา LPG จะเฉลี่ยที่เดือนละ 1.4 หมื่นตัน และเดือน ส.ค.มีการนําเขาสูงสุดที่ 1.7 หมื่นตัน ทราบแลวคุณผูอานคิดอยางไรกันบาง เริ่มเปนหวงกันบางหรือยัง หาก เราตองเปนหนี้สะสมไปอยางนี้เรื่อย ๆ คงไมดีแน สิ่งที่ใกลตัวที่สุดที่พอทําไดคือ การเลือกใชพลังงานทดแทนชนิดอื่นดูบางไหม ลองประหยัดใหมากกวานี้จะดีไหม ฝากไวใหตรองกันดู..

คณะผูจัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ผูอํานวยการฝาย มยุรี ดุก

หัวหนากองบรรณาธิการ จิราภรณ อ่ําประชา

กองบรรณาธิการ

นัษรุต เถอนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร สุภาภรณ มั่นบุญสม

เลขากองบรรณาธิการ กัลยา เนตยารักษ

ผูจัดการแผนกโฆษณา มยุรี ดุก

แผนกโฆษณา

เพชรไพลิน นวลนิล ลัคนา เทียนบูชา ฐานิดา มารคส

การเงิน

แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

วีรเมธ เหลาเราวิโรจน กําพล ขาวบริสุทธิ์ เอกวัชร วิชัยธนพัฒน

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

จิราภรณ อ่ําประชา หัวหนากองบรรณาธิการ jiraporn@ttfintl.com

200/12-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2466 ภาพและเรองในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใดๆ ตองได รับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8 l September 2012

Energy#46_p08_Pro3.indd 8

8/24/12 11:07 PM


Energy#45_Ad Econ_Pro3.ai

1

7/25/12

1:17 AM

C

M

Y

CM

MY

ใบพัดเพอประหยัดพลังงานใชสำหรับ: Cooling Tower, Air Washer Dryers, Cooled Heat Exchanger, Air Cooled Condensers

CY

CMY

K

บริษัท เพรสซิเดนท เคมีภัณฑ จำกัด 54/15-17 ซอยสันติภาพ ถนนสุรวงศ กรุงเทพฯ 10500 President Chemical Co., Ltd. 54/15-17 Soi Santiparb, Surawongse Road, Bangkok 10500 Tel (02)2333126, 2344171-4, 2357812-3 Fax (02)6316216 | sales@pcc.in.th | www.pcc.in.th


Energy News

เปดตัวโครงการบัตรเครดิตพลังงาน ยกกําลัง 2

นายอารักษ ชลธารนนท รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน เปนประธาน เปดโครงการบัตรเครดิตพลังงานยกกําลัง 2 ซึง่ กระทรวงพลังงานจัดขึน้ เพอเพิม่ สิทธิ ประโยชนใหแกผถู อื บัตรเครดิตพลังงาน NGV กลุม รถแท็กซี่ รถสามลอ และรถตูร ว ม ขสมก. พรอมเปดตัวบัตรเครดิตพลังงานสําหรับรถมอเตอรไซดรบั จางสาธารณะ เริม่ ใชวนั แรก 15 ตุลาคมศกนี้ จัดขึน้ ณ สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดีรงั สิต

กฟน. ฉลองครบรอบ 54 ป เปดสถานีชารจไฟฟาแหงแรก

นายอาทร สินสวัสดิ์ ผูว า การ การไฟฟานครหลวง เปนประธานเปดสถานี ชารจไฟฟา (EV Charging Station) แหงแรกในประเทศไทย ณ การไฟฟานครหลวง สํานักงานใหญ เพอสงเสริมใหคนใชรถไฟฟาในเมืองมากขึน้ พรอมเผยผลการดําเนินงาน 6 เดือนแรกของป 2555 โดย กฟน.มีรายไดรวม 85,000 ลานบาท คาใชจา ยรวม 80,300 ลานบาท มีกาํ ไรสุทธิ 4,700 ลานบาท หนวยจําหนายไฟฟา 24,100 ลานหนวย มีสนิ ทรัพย รวม 150,700 ลานบาท ซึง่ เพิม่ จากปกอ น 6,100 ลานบาท คาดวา กําไรสุทธิทง้ั ปประมาณ 6,900 ลานบาท

เชลล จับมือ บ.นํา้ มันพืชปทุม หนุนผลิตนํา้ มันปาลมอยาง ยังยืน

นางพิศวรรณ อัชนะพรกุล ประธานกรรมการ บริษัท เชลลแหง ประเทศไทย จํากัด พรอมดวย นายศาณินทร ตริยานนท กรรมการ บริษทั นํา้ มัน พืชปทุม จํากัด รวมลงนามโครงการ “ความรวมมือในการสนับสนุนการผลิตนํา้ มัน ปาลมอยางยังยืนในประเทศไทย” พรอมตอกยํา้ ความมุง มัน่ ในการผลิตเชือ้ เพลิงทาง เลือกทีเ่ อือ้ ประโยชนตอ ชุมชนและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ในการสงเสริมผูป ลูกปาลม ในประเทศใหดาํ เนินตามมาตรฐานของ Roundtable on Sustainable Palm Oil หรือ RSPO ณ อินเตอรคอนติเนนตัล กรุงเทพฯ

10 l September 2012

Energy#46_p10-13_Pro3.indd 10

8/22/12 10:50 PM


แถลงขาวสานตอโครงการเรียกคืนอะลูมิเนียมฯ

กรมควบคุ ม มลพิ ษ (คพ.) กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิง่ แวดลอม (ทส.) รวมกับ มูลนิธขิ าเทียมในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี จัดแถลงขาวการสานตอโครงการเรียกคืนอะลูมเิ นียมเพื่อจัดทําขาเทียมพระราชทาน ชวนคนไทยสงชิน้ สวนอะลูมเิ นียมผานทางไปรษณีย เพื่อลดปญหาขยะและเติมรอยยิม้ ใหแกผพู กิ าร

INSEE Green Village

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) โดย มร.ฟลิป อารโต ประธานคณะผูบริหาร บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ทําพิธี สงมอบบานโครงการอินทรี กรีน วิลเลจ (INSEE Green Village) หมูบานสีเขียว ตนแบบ ใหกับชาวบานคลองทราย ต.บานนา อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา จํานวน 22 หลังคาเรือน พรอมรวมเสวนาภายใตหัวขอ “ความเปนตนแบบหมูบาน สีเขียวของ INSEE Green Village” และเยี่ยมชมบานในโครงการพรอมการสาธิต การปรุงอาหารจากกาซชีวภาพจากผูบริหาร

อีซูซุ สนับสนุนวิจัยไทย-ญี่ปุน นวัตกรรมไบโอดีเซลจาก พืชที่ไมใชอาหาร

ดร.พรชัย รุจปิ ระภา ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ มร.เอช นาคางาวะ กรรมการผูจัดการ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด รวมกับภาครัฐ และ ปตท. ใหการสนับสนุนความรวมมือทางวิชาการไทย-ญี่ปุน ในโครงการ “นวัตกรรม ไบโอดีเซลทางเลือกใหมจากพืชที่ไมใชอาหาร” ทดสอบนํ้ามันไบโอดีเซลจากตนสบูดําดวย เทคโนโลยีใหม Partial Hydrogennation ซึง่ มีศกั ยภาพในการนํามาผลิตไบโอดีเซลคุณภาพ สูง เพื่อนํามาใชเชิงพาณิชยตอไปในอนาคต ณ หองแกรนด บอลรูม โรงแรมเชอราตัน แกรนด สุขุมวิท September 2012 l 11

Energy#46_p10-13_Pro3.indd 11

8/23/12 8:25 PM


โครงการราน 0 บาท

สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑและรีไซเคิลเพอสิ่งแวดลอม สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (TIPMSE) เปดตัว “โครงการราน 0 บาท” ตนแบบทีศ่ นู ยวสั ดุรไี ซเคิลกลุม อาชีพซาเลง ชุมชนออนนุช 14 ไร เขตประเวศ โดยหวังสรางความเขาใจใหแกคนไทยในการคัดแยกขยะบรรจุภณ ั ฑและตระหนัก  หาปริมาณขยะลนเมือง อีกทัง้ ยังเปนการลดคาครอง ถึงคุณคาของขยะ แกปญ ชีพของคนในชุมชนไดอยางยัง่ ยืน

โครงการจิตอาสาดูแลชายหาดแมรําพึง

บริษทั อินโดรามา เวนเจอรส จํากัด (มหาชน) นําโดย นายริชารด โจนส หัวหนาฝายนักลงทุนสัมพันธและสือ่ สารองคกร บริษทั อินโดรามา เวนเจอรส จํากัด (มหาชน) นําทีมผูบ ริหาร อาสาสมัครจากบริษทั ฯ พรอมอาจารยและนักเรียน จากโรงเรียนระยองวิทยาคมกวา 250 คนเขารวมกิจกรรมทําความสะอาดชายหาด แมรําพึง เปนระยะทางกวา 2 กิโลเมตร เพื่อฟนฟูใหเปนแหลงทองเที่ยวที่มีคุณภาพ สรางรายไดใหประเทศอยางยั่งยืนตอไป โดยสามารถเก็บขยะไดจํานวนมาก คิดเปน นํ้าหนักรวม 1,741.5 กิโลกรัม

ฮอนดาเปดตัว แจซ ไฮบริด ใหม รุน แรกในรถซับคอมแพคท

นายพิทักษ พฤทธิสาริกร รองประธานอาวุโส และ มร. มิชิคาซึ โอกุโนะ รอง ประธาน บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด รวมกับ มร. ชิงโกะ นากา มิเนะ หัวหนาทีมวิศวกร และ มร. อิซาโอะ อันโดะ ผูชวยหัวหนาทีมพัฒนา บริษัท ฮอนดา อารแอนดดี จํากัด ประเทศญี่ปุน รวมเปดตัวฮอนดา แจซ ยนตรกรรมไฮบริด IMA ผสานเครื่องยนตอัจฉริยะ i-VTEC ขนาด 1.3 ลิตร รุนแรกในกลุมรถซับคอมแพคท ในประเทศไทย พรอมสงตอเทรนดใหม รถไฮบริดที่ทุกคนสามารถเปนเจาของได พรอมรับ ประกัน 5 ป ทั้งระบบ ทั้งรับสิทธิคืนภาษีรถยนตคันแรก จัดขึ้น ณ รอยัลพารากอนฮอลล 3 ชั้น 5 สยามพารากอน 12 l September 2012

Energy#46_p10-13_Pro3.indd 12

8/22/12 10:50 PM


SMA ร ว มงาน Clean Energy Expo Asia พรอมเปดตัวผลิตภัณฑใหม

SMA รวมแถลงขาวงานแสดงสินคาและเทคโนโลยีพลังงานสะอาดแหง เอเชีย (Clean Energy Expo Asia) ที่จัดขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทย ระหวางวันที่ 12-14 กันยายน 2555 โดยมี นายอนุสนธิ์ อติลักษณะ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสเอ็มเอ โซลาร (ไทยแลนด) จํากัด เขารวมงาน ทั้งนี้ทางบริษัท SMA จะมีการเปดตัวผลิตภัณฑใหมลาสุดที่บูธ C02 พรอมโชวเทคโนโลยีพลังงาน แสงอาทิตยจากประเทศเยอรมนีอีกดวย

เลคิเซ แตกไลนเปดตัวเครื่องทํานํ้าอุน

เลคิเซกรุป ผูผ ลิตและจัดจําหนายหลอดไฟและอุปกรณประหยัดพลังงานไฟฟาเลคิเซ (LeKise) จัดแถลงเปดตัวเครื่องทํานํ้าอุนมาตรฐานเบอร 5 ราคาประหยัด ในโอกาส ครบรอบการดําเนินธุรกิจปที่ 44 โดยมีนายเหรียญชัย ลิขิตพฤกษ ผูชวยรัฐมนตรี ประจํากระทรวงพาณิชย ใหเกียรติเปนประธานเปดงาน พรอมคําแถลงจาก ประธาน กรรมการบริหาร นายสมนึก โอวุฒิธรรม วาจะยึดแนวคิด คุณภาพของสินคา การ บริการหลังการขาย และการนําเสนอนวัตกรรมใหม ๆ ที่ตอบสนองความตองการของ ลูกคาทั้งในระดับบุคคลและระดับองคกรออกสูตลาดอยางตอเนื่อง และตั้งเปายอดขาย ในปแรก 300 ลานบาท โดยจัดขึ้น ณ หองนภาลัย โรงแรมดุสิตธานี ถนนสีลม

สตารบัคส จับมือ ดร.สิงห ออกแบบเฟอรนิเจอรจาก กากกาแฟรีไซเคิล

บริษัท สตารบัคส คอฟฟ (ประเทศไทย) จํากัด จัดแถลงขาวความ รวมมือ ดร.สิงห อินทรชูโต อาจารยและนักออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม จาก คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในการนํากากกาแฟ ที่ใชแลวภายในรานสตารบัคสมารีไซเคิลออกแบบเปนเฟอรนิเจอรใชภายในราน สตารบัคส ทุกสาขา ซึ่งเปนงานดีไซนที่นําเอากากกาแฟมาผลิตเปนเฟอรนิเจอร ครั้งแรกในประเทศไทย โดยจัดขึ้น ณ รานสตารบัคส สาขาเมกาบางนา September 2012 l 13

Energy#46_p10-13_Pro3.indd 13

8/23/12 8:29 PM


Energy Focus โดย : โหรพลังงาน

จับตาการกลับมาของ... มาของ...ไบโอดี ไบโอดีเซล

ความตองการพลังงานในการขับเคลื่อนโลก ยังคงไมสิ้นสุด ลงงายๆ เพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย แมวาจะมีความ พยายามหาทางออก และคิ ด ค น เทคโนโลยี ใ หม ๆ ให ห มุ น ไปตาม กระแสของโลกก็ตาม แนนอนวาการหาทางออกดานพลังงานของ มนุษยไมใชเรื่องใหมแตอยางไร เพราะทั่วโลกตระหนักและรูตัวถึง วิกฤติดานพลังงานที่อาจเกิดขึ้นได หากแหลงนํ้ามันของโลกเริ่ม หมดไปในอนาคต “พลังงานทดแทน” ไมใชทางออกสําหรับเรื่องนี้ แตถือเปนทางเลือกที่ดีที่สุด ณ ปจจุบัน การนําสิ่งที่มีอยูแลวมาใช ประโยชนใหไดมากที่สุดตางหากที่เปนสิ่งที่มนุษยควรหันมาใหความ สําคัญ ในการที่จะฝาวิกฤตดานพลังงาน พลังงานที่ทั่วโลกใหความสําคัญในปจจุบันคงหนีไมพน พลังงาน ที่มาทดแทนพลังงานจากปโตรเลียมหรือนํ้ามันดิบ ดวยความที่โลกตื่น ตัวถึงปริมาณนํ้ามันดิบจากแหลงสําคัญๆ ทั่วโลก กําลังจะหมดในเวลา ไมกี่ 10 ปขางหนา รวมถึงราคาคาตัวของนํ้ามันดิบเองที่มีแตจะเพิ่มขึ้น และไมมีวี่แวววาจะลดลงเหมือนราคาทองคํา แตผิดกันตรงที่ทองคําแมจะ สูงเทาไหร ก็ยังสามารถเก็บไวไดนานๆ แตสําหรับนํ้ามันดิบรอยทั้งรอย มี เมื่อไหรยังไงก็ตองใช ทางออกของปญหาวิกฤตพลังงาน เชื่อวาทั่วโลกไมไดมอง เหตุผลเพียงแคนํ้ามันจะหมดไปจากโลกเพียงอยางเดียว แตมีเรื่องของ ราคาที่ผันผวนเขามาเกี่ยวของ ดวยความที่ขุมทรัพยจากใตดินที่ใชแลว

หมดไป กวาจะเกิดขึ้นมาใหมก็ใชเวลาหลายรอยลานป แนนอนราคาซื้อ ขายตองสูงตามความยากงายของการหามา เมื่อเปนเชนนี้จึงถึงเวลาที่ พระเอกอยางพลังงานทดแทนจะไดออกโรง พลังงานทดแทน มีบทบาทสําคัญในชวงหลายสิบปที่ผาน ใน การเปนสวนผสมของนํ้ามันเบนซินและนํ้ามันดีเซล แมปจจุบันจะยังไม สามารถทดแทนได 100% แตก็ถือวาดีกวาไมมีเขาไปผสมเลย ชวยลด การใชนํ้ามันดิบไดคอนขางมากในทั่วโลก ลดราคาของเชื้อเพลิงลงได

14 l September 2012

Energy#46_p14-15_Pro3.indd 14

8/27/12 10:37 PM


เพราะสิ่งที่นํามาทดแทนเปนสิ่งที่หาไดไมยาก และสรางใหมมาทดแทนได เนื่องจากเปนผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งในกรณีของพลังงานทดแทน ที่เปนสวนผสมของนํ้ามันเบนซินจะใช เอทานอล ที่สกัดจากพืชประเภท นํ้าตาล เชน ออย และพืชจําพวกแปง เชน มันสําปะหลัง, ขาว และ ขาวโพด เมื่อนํามาเปนสวนผสมกับนํ้ามันเบนซินแลว บานเราจะคุนหูในชื่อ แกสโซ ฮอล ซึ่งประเทศไทยมีกําลังการผลิตคอนขางสูง และมีการใชอยางแพร หลายในปจจุบัน สวนพลังนํ้ามันดีเซล จะทดแทนดวย ไบโอดีเซล ผลิตจาก แหลงทรัพยากรหมุนเวียนจําพวก นํ้ามันพืช, ไขมันสัตว สาหราย และพืช นํ้ามัน ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนนํ้ามันดีเซลจากปโตรเลียมคอนขางมาก และ ปจจุบัน ไบโอดีเซลเปนหนึ่งในพลังงานทางเลือก ที่กําลังไดรับความสนใจ จากทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย อันที่จริง ไบโอดีเซล ในประเทศไทยไมใชเรื่องใหมแตอยางไร เพราะกอนหนานี้ไดมีการจําหนายตามปมนํ้ามันทั่วไป ในชื่อ ไบโอดีเซล B3 และ B5 แตไดมีการหยุดจําหนาย เนื่องจากประเทศไทยประสบปญหา นํ้าทวมใหญ สงผลใหผูผลิตปาลมนํ้ามัน ไมสามารถปอนผลผลิตสูตลาด ไดทัน เพราะการผลิตไบโอดีเซลในประเทศจะใชพืชนํ้ามันอยางปาลมนํ้ามัน เปนสวนผสม ซึ่งแนนอนวาอุตสาหกรรมปาลมนํ้ามันไมไดใชสําหรับเปน สวนผสมของเชื้อเพลิงเพียงอยางเดียว แตใชในการบริโภคดวย เมื่อความตองการบริโภคในประเทศไมเพียงพอ ภาครัฐจึงมีนโยบาย แกปญหาปาลมนํ้ามัน ดวยการสั่งยกเลิกการผลิตไบโอดีเซล B3 และ B5 เพื่อรักษาเสถียรภาพการบริโภคของประชาชนทั่วประเทศใหเพียงพอกอน สวนภาคพลังงานยังมีอีกหลายทางเลือก เพราะการผลิตไบโอดีเซลจะใช ปาลมนํ้ามันถึง 1 ใน 4 ของทั้งระบบ ป จ จุ บั น ไบโอดี เ ซล กํ า ลั ง กลั บ มามาได รั บ ความสนใจอี ก ครั้ ง เนื่ อ งจากสถานการณ ป าล ม นํ้ า มั น เข า สู  ส ภาวะปกติ รวมถึ ง มี ค วาม พยายามพั ฒ นาและวิ จั ย การผลิ ต ไบโอดี เ ซลจากพื ช ชนิ ด อื่ น ที่ มี อ ยู  ใ น ประเทศโดยเฉพาะโครงการผลิต ไบโอดีเซลจากเมล็ดสบูดํา พืชพลังงาน ทางเลือกที่ไมใชอาหาร ไมกอใหเกิดปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบที่เปน อาหารเหมือนอยางปาลม ซึ่ง สบูดํา เปนพืชที่ปลูกอยางแพรหลายใน ประเทศไทย หากมีตลาดรองรับอยางตอเนื่องในกระบวนการผลิตไบโอ ดีเซล จะทําใหเกิดการผลิตในเชิงพาณิชยมากยิ่งขึ้น โครงการนวัตกรรมไบโอดีเซลทางเลือกใหมจากพืชที่ไมใชอาหาร เป น ความร ว มมื อ ทางวิ ช าการไทย-ญี่ ปุ  น จาก 5 หน ว ยงาน ได แ ก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.), สํานักงาน พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แ ห ง ชาติ (สวทช.), มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ สถาบันวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อุตสาหกรรมญี่ปุน (เอไอเอสที) และมหาวิทยาลัยวาเซดะ ประเทศญี่ปุน โครงการดังกลาวไดจัดสรางโรงงานตนแบบระบบผลิตไบโอดีเซล

คุณภาพสูงและอุปกรณ เครื่องมือในหองปฏิบัติการ ไดรับการสนับสนุน จากรัฐบาลญี่ปุนผานองคกรความรวมมือระหวางประเทศของญี่ปุนหรือ ไจกา เนนการใชวัตถุดิบในการผลิตนํ้ามันจากพืชที่ไมใชอาหาร เชน นํ้ามัน จากเมล็ดสบูดํา โดยมีกําลังผลิต 1 ตันตอวัน สามารถควบคุมการผลิตได แบบอัตโนมัติและตอเนื่อง สามารถจําลองสายกระบวนการผลิตจริงของ อุตสาหกรรมผลิตไบโอดีเซลแบบครบวงจร นอกจากนี้ยังเพิ่มคุณภาพ นํ้ามันดวยกระบวนการไฮโดรจีเนชั่น ทําใหนํ้ามันที่ไดมีคุณภาพสูงระดับ สากล สามารถผสมกับนํ้ามันดีเซลในสัดสวนที่มากกวา 5% ได โครงการดังกลาวยังไดรับการสนับสนุนการทดสอบจากกลุมอีซูซุ ในประเทศไทย และบริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) และศูนยเทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแหงชาติ สวทช. เปนหนวยงานหลักในการทดสอบ ซึ่งหลังจาก ตรวจสอบคุณสมบัติทางเคมี จะมีการทดสอบการใชงานจริง โดยใชกับ รถปกอัพ อีซูซุดีแมคซ ระยะทาง 5 หมื่นกิโลเมตร เพื่อสรางความเชื่อมั่น ใหกับผูใชไบโอดีเซลในประเทศไทย และทางเลือกใหมในการเพิ่มสัดสวน การผสมนํ้ามันไบโอดีเซลในปริมาณที่มากขึ้นสําหรับใชในรถยนตเพื่อลด ปริมาณการนําเขานํ้ามันปโตรเลียมจากตางประเทศ นอกจากนี้ ในการขับเคลื่อนการผลิตไบโอดีเซลจากปาลมนํ้ามัน บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด ไดขานรับการสนับสนุนการผลิตนํ้ามัน ปาลมอยางยั่งยืนในประเทศไทย พรอมตอกยํ้าความมุงมั่นในการผลิตเชื้อ เพลิงทางเลือกใหเปนไปตามมาตรฐาน Roundtable on Sustainable Palm Oil หรือ RSPO เพื่อใหเกษตรกรผูปลูกปาลมนํ้ามันในประเทศไทย ปรับปรุงขั้นตอนการปลูกปาลมใหดียิ่งขึ้นแลวยังชวยจํากัดผลกระทบที่ มีตอสิ่งแวดลอม คาดวาจะใชเวลาประมาณ 2 ป ประเทศไทยจะมีกําลังการนํ้ามัน ปาลมตามมาตรฐาน RSPO ประมาณ 5 หมื่นตันตอป มีนํ้ามันปาลมเปน วัตถุดิบพื้นฐานที่ใชในการประกอบอาหารและการผลิตนํ้ามันไบโอดีเซล สําหรับประเทศไทย เพียงพอตอความตองการที่รัฐบาลกําหนดใหนํ้ามัน ไบโอดีเซลตองมียอดจําหนาย 3-5% ของนํ้ามันดีเซลทั้งหมดทั่วประเทศ เมื่อมองจากความมุงมั่นของหลายภาคสวนในการผลักดัน พลังงานทดแทนอยาง ไบโอดีเซล โหรพลังงาน เคาะโตะเลยวา ไมนาจะนาน เกินรอประเทศไทยนาจะมีการใชเชื้อเพลิงจาก ไบโอดีเซล อีกครั้ง เพื่อเพิ่ม ทางเลือกใหผูบริโภค ลดการนําเขาพลังงาน โดยหันมาพึ่งพาพลังงานที่ สามารถผลิตไดเองในประเทศอยางแนนอน

September 2012 l 15

Energy#46_p14-15_Pro3.indd 15

8/27/12 10:37 PM


Special Scoop โดย : ลภัศ ทัศประเทือง

ไทยจับมือเกาหลี รุกคืบแปลง

“คลื่นเปนพลังงาน”

Mr.Seung-Hwang, Ahn ประธานกรรมการ Koceco

พลังงานคลื่น หมายถึงพลังงานของคลื่นผิวมหาสมุทร และ การจับพลังงานเหลานั้นมาใชงานใหเกิดประโยชน ซึ่งรวมถึงการผลิต ไฟฟา การแยกเกลือออกจากนํ้า และการสูบนํ้า พลังงานคลื่นเปน พลังงานที่ไมมีวันหมดรูปแบบหนึ่ง การผลิตไฟฟาจากคลื่นยังไมใช เทคโนโลยีที่แพรหลาย และยังไมมีการสรางฟารมคลื่นเชิงพาณิชยใน ประเทศไทย และเปนขาวดีสาํ หรับคนไทยและแวดวงพลังงานทดแทน ทีม่ กี าร ลงนามบันทึกขอตกลงระหวาง Green Growth ( กลุม บริษทั ในเครือ Merchant Group of Companies ) บริษัทพัฒนาดานพลังงาน ทดแทน จากประเทศไทย และ Korea Ocean Engineering & Consultant (Koceco) ถือเปนสถาบันที่ไดรับการยอมรับเรื่อง พลังงานคลื่นมากที่สุดแหงหนึ่งในประเทศเกาหลี ในการเซ็น MOU ความรวมมือครั้งนี้ วางแผนใชวงเงินลงทุน 15 ลานบาท ในการศึกษาและเตรียมความพรอมเรื่องศักยภาพของ พลังงานคลืน่ โดยประธานกรรมการ Koceco ระบุวา ศักยภาพพลังงาน คลืน่ ในประเทศไทยมีอยางมหาศาล ไมวา จะเปนทะเลแถบอาวไทย ก็ไดรบั อิทธิพลจากการเคลื่อนตัวของทะเลจีนใต หรือทะเลฝงอันดามัน ไดรับ

อิทธิพลคลื่นมหาสมุทรอินเดีย “ประเทศไทยนอกจากจะมีศักยภาพดานแสงแดดแลว มองวา ศักยภาพของพลังงานคลื่น ตามชายฝงทะเลนาจะมีมากพอในการ ผลิตพลังงานไดอีกทางหนึ่ง เราจึงสนใจมากในการศึกษาและพัฒนา เรื่องนี้ เพื่อตอยอดองคความรูของพลังงานคลื่นในสถานที่ที่แตกตาง ออกไป และเป น เรื่ อ งท า ทายมาก” Mr.Seung-Hwang, Ahn ประธานกรรมการ Koceco เผย เขาเลาตอวา ในประเทศเกาหลีนั้น รัฐบาลใหความสําคัญมาก และไมไดมุงพัฒนาพลังงานตัวใดตัวหนึ่ง แตจะมองในภาพรวมวา ศักยภาพพลังงานทดแทนแตละชนิดเปนอยางไร จะสนับสนุนอยางไร ใหไดประโยชนมากทีส่ ดุ และพลังงานคลืน่ เองก็เปนพลังงานอยางหนึง่ ที่สามารถจะพัฒนาใหยั่งยืนได สําหรับความรวมมือระหวางสองบริษทั นัน้ เปนการบันทึกขอตกลง ในการศึกษาวิจยั และทดลองในแบบ Pilot Project รวมกัน โดยแบงบทบาท การทํางานไวอยางชัดเจน ในเรือ่ งความชํานาญเครือ่ งไมเครือ่ งมืออุปกรณ การถายทอดความรู เทคโนโลยี ตองมาจาก Koceco สวน Green Growth ผูชํานาญดานธุรกิจพลังงานทดแทนจะสนับสนุนฐานขอมูลเกี่ยว กับพลังงานคลื่น พฤติกรรมคลื่น ลม การกัดเซาะชายฝง รวมถึง การลงไปปฏิบัติภาคสนาม และไดรับการถายทอดองคความรูมาจาก koceco ดวย จุดนีจ้ ะเปนเครือ่ งมือหลักใหโครงการประสบความสําเร็จ เมือ่ สองความสามารถ สองจุดเดนมารวมกัน โครงการทีจ่ ะเกิด อันใกลนี้ก็ไมใชเรื่องยากอีกตอไป “มันเปนคุณคาทางวิชาการมาก เมื่อเราสามารถพิสูจนไดวา พลังงานคลืน่ สามารถเกิดขึน้ และควรแกการลงทุนในไทย จากผลงาน ศึกษาวิจยั ศักยภาพทีไ่ ดทงั้ หมด ทางรัฐบาลเกาหลีกจ็ ะใหการสนับสนุนกับ กลุม บริษทั เรา อาจจะเห็นในโครงการนํารองระหวางรัฐบาลเกาหลีและไทย ตอไป ”ดร.สุเมธ สุทธภักติ กรรมการบริหาร Green Growth กลาว จุดออนของพลังงานคลืน่ ทีก่ าํ ลังจะเปนจุดแข็งในปสองปขา งหนา นี้คือ แนวโนมของรัฐบาลเกาหลีทุมงบประมาณวิจัยใหกับผูผลิตวัสดุ อุปกรณ ระบบที่เกี่ยวของ ในสวนการพัฒนาเครื่องไมเครื่องมือให ลดการสึกหรอมากขึ้น เพื่อใหไดเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ฉะนั้นในอนาคตเปน ไปไดแนนอนวา เทคโนโลยีของการผลิตพลังงานคลื่นจะมีอายุการใช งานที่ยาวนานขึ้น จากเดิม 1-2 ป ก็อาจตองเปลี่ยน เนื่องจากตองเจอ ผลกระทบจากคลื่นในทะเลตลอดเวลา คําถามคือ เพราะอะไร ทําไม? พลังงานคลืน่ จึงจะเปนพลังงานทีน่ า ลงทุน และมีความสําคัญมากในอนาคต ทั้งสองหนวยงานใหความเห็น ตรงกันวา “ 70% พื้นที่ของโลกเปนนํ้า พลังงานคลื่นนาจะเปนแหลง พลังงานที่ยั่งยืน”

16 l September 2012

Energy#46_p16-17_Pro3.indd 16

8/29/12 9:51 PM


“ตอนนีเ้ รามองถึงการนําเอาพลังงานคลืน่ มาประยุกตใชกบั ระบบ ปองกันการกัดเซาะชายฝงของไทย ซึ่งหากมีการศึกษาวิจัยเปนผล สําเร็จ ก็จะสามารถรักษาแนวชายฝงของไทย ที่ปหนึ่งๆ ไดรับความ

“ 70% พืน้ ทีข่ องโลก เปนนํา้ พลังงานคลน น า จ ะ เ ป น แ ห ล ง พลังงานที่ยั่งยืน”

ดร.สุเมธ สุทธภักติ กรรมการบริหาร Green Growth

เสี ย หายจากการกั ด เซาะชายฝ  ง อี ก ทั้ ง ภาครั ฐ ต อ งสู ญ เสี ย เงิ น งบประมาณจํานวนมหาศาลใหกับเรื่องดังกลาว ความทาทายจึงอยู ที่การนําแนวคิดดังกลาวมาแกปญหา แถมยังไดประโยชนจากการหา พลังงานที่ไมมีวันหมดนี่อีกทาง ที่เหลือคงจะตองดูความเหมาะสมวา จะเลือกระบบใด แบบไหนถึงจะเหมาะสมที่สุด” สําหรับ Koceco ไดดําเนินการ Pilot Project พลังงานคลื่น ตัง้ อยูก ลางทะเลแหงแรกของโลก ทีห่ มูเ กาะเจจู สามารถผลิตพลังงาน ได 500 กิโลวัตต โดยมีการลากสายสงเขาฝงยาว 2 กม.และจะเริ่ม จําหนายไฟเขากริดไดปลายเดือนกันยายน ป 2012 เปนครั้งแรก เมื่อถามถึงแนวโนมพลังงานคลื่นจะสามารถใชในเชิงพาณิชย ไดเมื่อไหร เขาตอบวา “ สําหรับเกาหลี ผมคิดวาสัก 5 ป ดวยสภาพภูมิประเทศ แต สําหรับเมืองไทยแลว จะสามารถพัฒนาพลังงานคลืน่ ไดเร็วกวาเกาหลี ดวยซํ้า ประมาณ 2 ปก็นาจะสามารถดําเนินการได เพราะ ไทย เปน ประเทศที่มีความพรอมในเรื่องศักยภาพพื้นที่อยูแลว ขาดก็แคแต องคความรู ซึ่งเกาหลีเราศึกษากันมานานแลว ฉะนั้นสามารถรนระยะ เวลาวิจยั ถานําเทคโนโลยีเขามา, Know How จากตางประเทศมาเสริม ทัพก็จะสรางฐานพลังงานอยางยั่งยืนไดอีกหนึ่งชนิด สิ่งที่สําคัญที่สุด เกี่ยวกับการพัฒนาแหลงพลังงานคลื่นในไทย คือ ตองรีบศึกษาศักยภาพใหรวดเร็วและชัดเจนที่สุด และภาครัฐก็ ตองใหการสนับสนุนอยางเต็มที่ในการทําใหโครงการเดินหนาตอไปได

เพราะปจจุบนั ประเทศไทยไมมหี นวยงานดูแลเรือ่ งคลืน่ โดยตรง รวมถึง ทุกภาคสวนก็ตองสนับสนุนขอมูลตาง ๆ ใหมากที่สุด เปนรูปธรรม ที่สุด อีกทั้งตนทุนอุปกรณการติดตั้งในอนาคตก็จะถูกลงเพราะวามี การพัฒนาอุปกรณที่สามารถลดตนทุนลงมาอยางตอเนื่อง เหมือน กับแผงโซลารในปจจุบัน โดยขณะที่คาไฟฟาจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ฉะนั้น โจทย ข องพลั ง งานคลื่ น เชิ ง พาณิ ช ย จ ะมี ค วามเป น ไปได สู ง มาก” Mr. Seung-Hwang, Ahn ประธานกรรมการ Koceco กลาวทิง้ ทาย

September 2012 l 17

Energy#46_p16-17_Pro3.indd 17

8/30/12 3:38 PM


Cover Story โดย : กองบรรณาธิการ

เจาะแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ป 5

ศักยภาพ เพิม่ -ลด ตอบโจทยการพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน

แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 15 ป หลายคนคงทราบกันดีวานโยบายนี้ เกิดขึ้นเมื่อตั้งแตป 2551 และมีเปาหมายไปจนถึง 2565 ซึ่งสาเหตุที่ทําใหเกิด แผนนี้ขึ้นคงไมตองสาธยายกันมากเนื่องจากวาไดมีการปรับเปลี่ยนแผนแลวโดย ปจจุบันนั้นรัฐบาลของ นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีการปรับ แผนพลังงานทดแทนใหมเปนแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (2555 – 2564) ภายใตมติของคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แหงชาติ จากการปรับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนใหมก็ไดมีการบรรจุพลังงาน ทางเลือกชนิดใหมๆ ใหอยูในแผนพัฒนาฉบับนี้ดวยเชนกัน ซึ่งนาสนใจที่เดียว หากอนาคตเราสามารถพัฒนาไดตามแผนที่วางไวจริงซึ่งก็จะชวยใหประเทศไทย ลดการนําเขาพลังงานเชื้อเพลิงจากตางประเทศไดอยางมาก แตการพัฒนา ในพลังงานทดแทนหรือพลังงานทางเลือกนั้นจะตองใชเม็ดเงินลงทุนอยาง มหาศาลโดยเฉพาะพลังงานรูปแบบใหมเพื่อการผลิตไฟฟาที่เพิ่งไดมีการบรรจุ ลงในแผน ไมวาจะเปน พลังงานความรอนใตพิภพ, พลังงานจากคลื่นและ กระแสนํ้าทะเล, พลังงานไฮโดรเจนและระบบสะสมพลังงาน อยางไรก็ตาม พลังงานทดแทนทีม่ ศี กั ยภาพในการผลิตไฟฟา และพลังงานทีใ่ ชทดแทนเชือ้ เพลิง ธรรมชาติที่มีอยูเดิมนั้นก็ไดพัฒนาและปรับเปาหมายอยางตอเนื่องทุกป อาทิเชน

พลังงานแสงอาทิตย (Solar Cell)

ซึง่ นับวันจะไดรบั ความสนใจนักลงทุนทัง้ ไทยและตางประเทศในการสรางโรงไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยกนั มากขึน้ เนือ่ งจากราคาตนทุนการผลิตนัน้ ลดลง และทีส่ าํ คัญ พลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทยยังมีศกั ยภาพมากกวาพลังงานทดแทนดานอืน่ ทีร่ ฐั บาล ใหการสนับสนุนอีกดวย

18 l September 2012

Energy#46_p18-23_Pro3.indd 18

8/24/12 11:02 PM


โดยในปจจุบนั นัน้ มีกาํ ลังการผลิตอยูท ี่ 270 เมกะวัตตขยายตัว 156% เมือ่ เทียบ กับปกอ นรวมทัง้ สิน้ จะมีกาํ ลังการผลิตของปนอี้ ยูท ี่ 380 เมกะวัตต ซึง่ ทําใหกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน มีความมัน่ ใจวาเปาหมาย การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย 2,000 เมกะวัตตในป 2564 สําเร็จอยางแนนอน

พลังงานลม (Wind Energy)

พลังงานลมนั้นเรียกไดวาเปนพลังงานทดแทนอันดับที่ 2 กระทรวง พลังงานตั้งเปาหมายไวสูงรองจากพลังงานแสงอาทิตยในการผลิตไฟฟา ถึงแมประเทศไทยจะมีศักยภาพในการพัฒนาพลังงานลมนอยก็ตาม ศักยภาพ ของพลังงานลมที่สามารถนํามาใชประโยชนไดสําหรับประเทศไทยมีความเร็วอยู ที่ 6.4-7.0 เมตรตอวินาที หรือ 300-400 กิโลวัตตตอตารางเมตร ที่ความสูง 50 เมตร เพื่อสามารถพัฒนากังหันลมผลิตไฟฟาได

พลังงานชีวมวล (Biomass)

สําหรับ ไบโอแมสหรือพลังงานชีวมวลนั้นเปนเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่ได มาจากวัตถุดิบทางการเกษตรหลากหลายชนิดดวยกันไมวาจะเปน เศษไม ซังขาวโพด ชานออย กะลาปาลม แกลบ ฟางขาว กาบมะพราว กะลา มะพราว ฯลฯ แลวนํามาสูกระบวนการผลิตไฟฟา ซึ่งกระบวนการผลิตนั้น โรงไฟฟา Biomass สามารถทําในขนาดยอมได ปจจุบันโรงไฟฟาชีวมวลสวนใหญจะผลิตขึ้นภายในโรงงานอุตสาหกรรม เสี ย ส ว นใหญ ไม ว  า จะเป น อุ ต สาหกรรมผลิ ต นํ้ า ตาล, อุ ต สาหกรรม ผลิตกระดาษ, อุตสาหกรรมมันสําปะหลัง, รวมถึงโรงสี เปนตน สวนการ ลงทุนสรางโรงไฟฟาขึ้นมาโดยเฉพาะนั้นมีจํานวนไมมาก เนื่องจากมีขอจํากัด ในเรื่องของคาแอดเดอรโดยที่การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศ (กฟผ.) นั้นให ราคารับซื้อไฟจากเชื้อเพลิงชีวมวลเพียง 50 สตางคตอหนวย สําหรับกําลัง การผลิตไมเกิน 1 เมกะวัตต สวนกําลังการผลิตที่ 10 เมกะวัตตขึ้นไปนั้นอยูที่ 30 สตางคตอหนวย อยางไรก็ตามจากแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% นั้นมีเปาหมายวาตองสามารถมีการผลิตพลังงานจากไบโอแมสใหได ประมาณ 3,630 เมกะวัตต ภายในป 2564 ซึ่งปจจุบันมีกําลังการผลิตรวม 1,796 เมกะวัตต และสิ้นป 2555 คาดวาจะสามารถผลิตได 1,890 เมกะวัตต

และจากการสํารวจแหลงที่มีความเร็วลมดังกลาวอยูที่ภาคใตบริเวณ ชายฝงทะเลตะวันออก เริ่มตั้งแต จังหวัดนครศรีธรรมราช สงขลา และ ป ต ตานี และมี ก ารขยายพื้ น ที่ ทุ  ง กั ง หั น ลมผลิ ต ไฟฟ า ใน จั ง หวั ด ลพบุ รี นครราชสีมา และเพชรบูรณ โดยคาดวาป 2556 จะมีกําลังการผลิตไฟฟา จากพลังงานลมเพิ่มขึ้นกวา 100 เมกะวัตตซึ่งมาจากการลงทุนของภาค เอกชนหลักๆ 2 ราย กําลังการผลิตรายละ 60 – 70 เมกะวัตต และคาดวา เปาหมายการผลิตไฟฟาจากพลังงานลมในป 2564 จะสําเร็จตามเปาหมายทีต่ ง้ั ไว 1.2 พันลานเมกะวัตต September 2012 l 19

Energy#46_p18-23_Pro3.indd 19

8/24/12 11:02 PM


พลังงานนํา้ (Hydroelectricity)

พลังงานชีวภาพ (Biogas)

นี่ก็เปนอีกพลังงานหนึ่งที่ไดรับความสนใจจากกลุมโรงงานอุตสาหกรรม เปนอยางมาก เนื่องจากตนทุนการผลิตไมสูงและมีเทคโนโลยีหลากหลายชนิดให เลือกใชตามความเหมาะสมของแตละสภาพแวดลอมของโรงงานอุตสาหกรรม นั้นๆ ทั้งนี้ในปจจุบันในการผลิตไฟฟาจากไบโอแกสนั้นอยูที่ 170 เมกะวัตต และ คาดวาสิ้นป 2555 จะมีกําลังการผลิตไดถึง 200 เมกะวัตต สวนเปาหมายในป 2564 อยูที่ 600 เมกะวัตต เพื่อใหไดตามเปาที่วางไวนั้นทางกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานไดมีแผนที่จะสงเสริมใหชุมชนมีสวนรวมในการผลิต กาซชีวภาพอยางกวางขวางในระดับครัวเรือน การสงเสริมสนับสนุนพัฒนาเครือขายทอกาซชีวภาพในชุมชน (Biogas Network) เพื่อ ตอเชื่อมระบบที่อาจมีกําลังการผลิตเหลือใหสามารถนํามาแบง ปนกันใชไดในชุมชน โดยกลไกการบริหารของชุมชนเอง และที่สําคัญนั้นคือการสงเสริมงานวิจัย โดย พพ. มีแผนที่จะสนับสนุน การวิจัยและพัฒนาการผลิตกาซชีวภาพของเสียผสม (Co-Digestion) โดย เฉพาะการนําชีวมวล บางประเภท เชน ผักตบชวา ซังขาวโพด มาหมัก ผสมกับมูลสัตว รวมถึงการพัฒนาการใชกาซชีวภาพเพื่อการคมนาคมขนสง (CBG) ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สําหรับการผลิตไฟฟาพลังงานนํ้านั้น พพ. มีเปาหมายในป 2564 อยูที่ 1,608 เมกะวัตต ปจจุบันมีกําลังการผลิตรวม 86.39 เมกะวัตต (ไมรวมระบบ สูบกลับที่มีอยูปจจุบันของ กฟผ. คือ ลําตะคอง 1 และ 2 500 เมกะวัตต) โดย มุงเนนการพัฒนาตามกรอบการสงเสริมการพัฒนาแผน AEDP ที่สําคัญ ไม วาจะเปนการสงเสริมการผลิตไฟฟาพลังงานนํ้าระดับหมูบานใหกับชุมชนที่ไมมี ไฟฟาใช โดยไมเชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off Grid) พรอมกันนี้ยังไดมีการสนับสนุนการกอสรางโครงการไฟฟาพลังนํ้า ระดับชุมชนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นหรือชุมชนเจาของพื้นที่มีสวนรวม เปนเจาของโครงการ และสามารถบริหารงานและบํารุงรักษาเองไดในอนาคต นอกจากนี้แลวยังมีการปรับปรุงระบบโครงสรางพื้นฐาน โดยกําหนด ใหมีการพัฒนาระบบผลิตไฟฟาพลังงานนํ้าขนาดเล็กทายเขื่อนชลประทาน และ ระบบผลิตไฟฟาพลังนํ้าขนาดเล็กกําลังผลิตตั้งแต 200-6,000 กิโลวัตต นี่เปน แนวทางการพัฒนาเบื้อตนของการผลิตไฟฟาจากพลังงานนํ้าขนาดเล็ก

พลังงานขยะ (Waste)

สําหรับการผลิตไฟฟาจากขยะนั้นมีการพัฒนาอยางตอเนื่องแตเปนการ พัฒนาเฉพาะโรงไฟฟาขนาดเล็ก จึงทําใหขยายตัวไดไมมาก เนื่องจากติดปญหา กฎหมายการรวมทุนที่กําหนดใหโครงการที่หนวยงานของรัฐ รวมทั้งองคกร ปกครองสวนทองถิ่นตางๆ จะรวมทุนกับเอกชนที่มีทุนจดทะเบียนมากกวา 1 พัน ลานบาท จะตองผานความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (ครม.) และยังมีแนวทาง การปฏิบัติงานที่ยุงยาก อยางไรก็ตามปจจุบันนั้นมีกําลังการผลิตพลังงานไฟฟาจากขยะที่ 27 เมกะวัตต เปาสิ้นป 2555 อยูที่ 35 เมกะวัตต และเปาหมายในป 2564 160 20 l September 2012

Energy#46_p18-23_Pro3.indd 20

8/24/12 11:02 PM


เมกะวัตต ทั้งนี้เพื่อใหแผนสามารถดําเนินไดตามเปาหมายที่วางไวนั้น พพ. มีแผนที่จะสงเสริมการผลิตพลังงานไฟฟาจากขยะขนาดกลางและขนาดเล็ก ใน พื้นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) และสงเสริมใหมีการผลิตพลังงาน ไฟฟาจากขยะในชุมชนขนาดเล็ก เชน โรงเรียน วัด หมูบาน หนวยงานตางๆ เปนตน ที่สําคัญ คือ การแกไขกฎหมาย กฎระเบียบที่ยังไมเอื้อตอการพัฒนา ปรับปรุงแกไข พรบ. รวมทุน พ.ศ. 2535 เพื่อเอื้อใหเอกชนสามารถเขารวม ทุนกับ อปท. ใน การผลิตพลังงานจากขยะทุกรูปแบบ โดยเฉพาะสงเสริมการ จัดการขยะแบบ RDF แลวนํามาผลิต หรือความรอนรวมในโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้งสงเสริมการผลิตนํ้ามันจากขยะพลาสติก

เมกะวัตต ในป 2564 แตปจจุบันอยูในขั้นตอนสํารวจทําการวิจัย และทดลอง ผลิตซึ่งมีกําลังการผลิตอยู 350 กิโลวัตต เนื่องจากความรอนใตพื้นพิภพมีขีด จํากัดในการพัฒนาเพราะใตพื้นพิภพภายในประเทศสวนใหญความรอนไมสูง แตอยางไรก็ตามเปาหมายการผลิตของพลังงานความรอนใตพิภพนั้นอาจจะ มีการเปลี่ยนแปลงหลังการสํารวจผลวิจัยวามีปริมาณพลังงานมากนอยแค ไหนอยางไร

พลังงานรูปแบบใหมเพือ่ การผลิตไฟฟา

กระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) ไดเคยมีการศึกษาเกี่ยวกับพลังงานรูปแบบใหมที่สามารถนํามาผลิต กระแสไฟฟาได และคาดวานาจะมีศกั ยภาพในการพัฒนาในเชิงพาณิชยในอนาคต ไดแก พลังงานความรอนใตพิภพ (Geothermal Energy) มีเปาหมาย 1 September 2012 l 21

Energy#46_p18-23_Pro3.indd 21

8/24/12 11:02 PM


พลังงานจากคลื่นและกระแสนํ้าทะเล (Tidal and Current Energy) เปาหมาย 2 เมกะวัตตในป 2564 ปจจุบนั ยังไมมกี ารผลิต เนือ่ งจากตองลงทุนสูง ซึ่งเปนอุปสรรคตอการพัฒนาสงเสริมพลังงานจากคลื่นและกระแสนํ้าทะเล แถม ยังขาดประสบการณ ขอมูลในการประเมินศักยภาพการใชพลังงานจากคลื่นและ เพื่อใหไดตามเปาหมายที่วางไวหนวยงานที่เกี่ยวของจะตองเรงรัดการศึกษา ในเรื่องของเทคโนโลยีดานพลังงานจากคลื่นและกระแสนํ้า หรือเทคโนโลยีอาจนํา มาประยุกตใชกับพลังงานจากทะเลของประเทศโดยเบื้องตนคาดวาพื้นที่ที่อาจมี ศักยภาพไดแก บริเวณใตสะพานvสารสิน จ.ภูเก็ต และบริเวณรอบๆ เกาะสมุยพงัน และเกาะแตน เปนตน พลังงานไฮโดรเจนและระบบสะสมพลังงาน (Hydrogen energy systems) ยังไมมเี ปาในการผลิตเนือ่ งจากปญหาอุปสรรคของการพัฒนาสงเสริม พลังงานไฮโดรเจนและระบบสะสมพลังงานยังขาดการใหความสําคัญในการ

วางแผนวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีราคาสูงและตองพึ่งพาเทคโนโลยีจากตาง ประเทศ การวิจัยพัฒนาในประเทศยังไมกวางขวางและขาดการสนับสนุนดาน งบประมาณอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตาม กระทรวงพลังงานไดวางแผนหาแนวทางและทิศทางการ พัฒนาพลังงานไฮโดรเจนและระบบสะสมพลังงาน โดยการสนับสนุนในบุคลากร ที่เกี่ยวของศึกษาแหลงวัตถุดิบในการผลิตไฮโดรเจนที่เหมาะสมของประเทศ ให มีการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต จัดเก็บ และอุปกรณที่เกี่ยวของ ภายในประเทศ วิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตไฮโดรเจนที่มีประสิทธิภาพและ ตนทุนตํ่า และการพัฒนาเทคโนโลยีการนําไปประยุกตใชไฮโดรเจนในระบบสะสม พลังงานรวมทั้ง วิจัยและสาธิตระบบสะสมพลังงานรูปแบบอื่นที่มีศักยภาพ เชน

22 l September 2012

Energy#46_p18-23_Pro3.indd 22

8/24/12 11:02 PM


เทคโนโลยี Vanadium Redox Flow และเทคโลยี Lithium-Ion Battery เปนตน

พลังงานทดแทนในภาคขนสง

เอทานอล เปาหมายในป 2564 คือ 9 ลานลิตรตอวัน ปจจุบนั มีกาํ ลังการ ผลิตรวม 1.3 ลานลิตรตอวัน เปาหมายสิ้นป 2555 อยูที่ 1.8 ลานลิตรตอวัน ซึ่งยังเติบโตตํ่ากวาเปาหมายที่วางไว ถึงแมในปจจุบันรถยนตที่ใชนํ้ามันแกสโซ ฮอล E20 มีมากกวา 1 ลานคัน แตตวั เลขการใชแกสโซฮอลกลับไมสงู ตามปริมาณ รถยนต E20 ที่เพิ่มขึ้น ซึ่งกระทรวงพลังงานไดมีนโยบายสนับสนุนหลายดาน ทั้งเพิ่มสวนตางราคาเพื่อเปนแรงจูงใจ และจะมีการประชาสัมพันธดึงดูดให รถยนต และรถจักรยานยนตหันมาใชแกสโซฮอลใหมากขึ้น นอกจากนี้ ยั ง ได ร  ว มกั บ กรมควบคุ ม มลพิ ษ และสถาบั น การศึ ก ษา วิเคราะหประสิทธิภาพชุดอุปกรณปรับเปลี่ยนใหรถยนตสามารถใชนํ้ามันแกส โซฮอล E85 ได (คอนเวอรชั่นคิท) ซึ่งในตลาดมีผูประกอบการ 5-6 ราย จําหนายอุปกรณนี้อยูมีราคาตั้งแต 5,000-10,000 บาท โดยผลการทดสอบ จะเสร็จในปลายป 2555 นี้ รวมทั้งยังไดรวมมือกับ บริษัทไปรษณีไทย จํากัด นํารถจักรยานยนตทใี่ ชสง ไปรษณีย 200-300 คัน มาติดตัง้ คอนเวอรชนั่ คิท แลว เติมแกสโซฮอล E85 และทดสอบวิ่งในเสนทางใชงานจริง ทั้งนี้ หากผลการทํา สอบพบวาไมเปนอันตรายกับเครื่องยนต และไมกอมลพิษ ก็จะวางมาตรการสง เสริมใหประชาชนกันมาติดคอนเวอรชั่นคิทตอไป ซึ่งจะทําใหยอดขายแกสโซฮอล E85 มากขึ้น สวนการผลิตรถยนต E85 คายรถตางๆ ก็ใหการสนับสนุนเปน อยางดี และในเร็วๆ นี้ โตโยตาก็จะเริ่มจําหนายรถยนต E85 เพิ่มขึ้นอีกราย

สวน ไบโอดีเซล เปาหมายในป 2564 คือ 5.97 ลานลิตรตอวัน ปจจุบันมี กําลังการผลิตรวม 2.8 ลานลิตรตอวัน และเปาหมายสิน้ ปอยู 3.1 ลานลิตรตอวัน ซึ่งยังเติบโตตํ่ากวาเปาหมาย เนื่องจากไบโอดีเซลมีปญหาเรื่องการขาดแคลน นํ้ามันปาลม ทําใหไมสามารถเพิ่มสัดสวนการใชนํ้ามันปาลมในไบโอดีเซลได ในดานการวิจัยพัฒนาพลังงานทดแทนชนิด Bio-Hydrogenated Diesel หรือ BHD ก็มีความคุมทุนที่จะผลิตจําหนายไดในเชิงพาณิชยแลว ซึ่งนํ้ามัน ไบโอดีเซล BHD นี้ สามารถเพิ่มสัดสวนการผสมนํ้ามันปาลมไดมากกวา 3040% สูงกวาเทคโนโลยีไบโอดีเซลในปจจุบันที่ผสมนํ้ามันปาลมไดไมเกิน 5% ซึง่ หากเพิม่ สัดสวนไบโอดีเซลไดมากขึน้ ก็จะทําใหเปาหมายการสงเสริมการใชเชือ้ เพลิง ชีวภาพสําเร็จไดงายขึ้น เพราะประเทศไทยใชนํ้ามันในกลุมดีเซลสูงสุด มียอด การใชประมาณ 60 ลานลิตรตอวัน อยางไรก็ตามจะตองเจรจากับผูคานํ้ามันให เขามาลงทุนขยายโรงกลั่นนํ้ามันผลิตไบโอดีเซล BHD และรัฐจะตองมีมาตรการ สงเสริมที่ชัดเจน เพราะไบโอดีเซล BHD จะมีราคาแพงกวาไบโอดีเซลทั่วไปบาง สําหรับภาพรวมของเปาหมายการใชพลังงานทดแทนทางกระทรวง พลังงานคาดวาในปนี้อยูที่ 9.9% เพิ่มขึ้นจากปกอนที่ขยายตัว 9.2% โดยใน ปจจุบันอัตราการขยายตัวอยูที่ 9.5-9.6% มั่นใจวาถึงสิ้นปจะเปนไปตามเปา หมายอยางแนนอน

September 2012 l 23

Energy#46_p18-23_Pro3.indd 23

8/24/12 11:02 PM


Tools & Machine โดย : Mr.t

Solar Inverter ประสิทธิภาพสูง

อุปกรณสาํ หรับโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยทมี่ รี าคาเหมาะสมเชือ่ ถือไดกาํ ลังเปนทีต่ อ งการอยางมากในตลาดโซลาเซลล เนือ่ งจากธุรกิจผลิต ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยในปจจุบันนั้นกําลังเติบโตอยางตอเนื่อง ซึ่ง มีหลายบริษัทเขามาลงทุนในธุรกิจนี้มากขึ้น ดังนั้นผูผลิตอุปกรณโซลา เซลล หรืออุปกรณตางๆ ที่เกี่ยวของกับการสรางโรงไฟฟาพลังงานแสง อาทิตยนั้น ไดพัฒนาอุปกรณเกี่ยวกับโซลาเซลลใหมีประสิทธิภาพตอการ ใชงานมากยิ่งขึ้น โซลาอินเวอรเตอรเปนอุปกรณหนึ่งที่มีความสําคัญตอการสราง โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ นอกจากตองมีความนาเชือ่ ถือสูงแลวยังตอง มีราคาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพสูง ขนาดกะทัดรัด ทนทานและติดตั้งงาย นอกจากนี้โซลาอินเวอรเตอรตองสามารถทํางานไดในสภาวะที่มีอุณหภูมิ สูงและความชื่นสูงอีกดวย สําหรับ Solar Inverter นัน้ เปนระบบทีท่ าํ หนาทีใ่ นการแปลงพลังงาน ไฟฟากระแสตรง (DC) ที่ไดจากเซลแสงอาทิตยใหกลายเปนไฟฟากระสลับ (AC) ทีส่ ามารถถูกนําไปใชงานหรือจายเขาระบบสายสงได (Gird) ซึง่ เห็นวา พลังงานไฟฟาทั้งหมดที่ไดจากเซลแสงอาทิตยที่ผาน Solar Inverter กอน จึงมีความจําเปนตอระบบโฟโตโวลตาอิค และมีประสิทธิภาพสูง สําหรับ ABB Central Inverter รุน PVS800 นั้นเปนตัวอยางหนึ่ง ถูกออกแบบสําหรับการใชงานในโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย และระบบ โฟโตโวลตาอิคที่ติดตั้งในอาคารหรือโรงงานอุตสาหกรรมมีขนาดตั้งแต 100 กิโลวัตตจนถึง 500 กิโลวัตต ABB Central Inverter รุน PVS800 เปน Inverter ชนิด Transformer less จึงทําให PVS800 มีประสิทธิภาพ สูงถึง 98% ของการใชงาน Inverter รุน PVS800 ยังคํานึงถึงความตองการดังกลาวจึงได พัฒนาโซลาอินเวอรเตอร โดยใชประสบการณและแนวคิดที่ไดจากอินเวอร เตอรในภาคอุตสาหกรรม (Industrial Drives) ซึ่งประสบความสําเร็จและ ไดรับการยอมรับเปนอยางมาก

ซึง่ โซลาอินเวอรเตอรรนุ PVS800 ถูกพัฒนาตอยอดโดยอางอิงรูป แบบจากประสบการณที่ไดรับจากการพัฒนาอินเวอรเตอรที่ใชสําหรับ โรงไฟฟาพลังงานลม (Wind Power) ในขณะทีอ่ นิ เวอรเตอรในภาคอุตสาหกรรม ทั่วไปจะใชเครื่องแปลงกระแสไฟฟา (Converters) จํานวน 2 เครื่องใน การแปลงกระแสไฟฟาจาก AC เปน DC และจาก DC เปน AC อีกครั้ง แตโซลาอินเวอรเตอรรุนนี้จะใชเครื่องแปลงกระแสไฟฟาเพียงเครื่องเดียว ในการแปลงกระแสไฟฟาจาก DC เปน AC และมีขอแตกตางในสวนระบบ ควบคุมและระบบการปองกัน ในสวนโครงสรางของโซลาอินเวอรเตอรชนิดนี้ในการที่จะเชื่อมโยง กับระบบสายสงไฟฟา โซลาอินเวอรเตอรจะตองมีคุณสมบัติที่เหมาะสม และครบถวนตามขอกําหนด ไดแกการติดตั้งอุปกรณดานความปลอดภัย และอุปกรณปองกันของเครื่องทั้งในฝง DC และ AC รวมถึงระบบ โซลาอินเวอรเตอร ABB ไดรับการติดตั้งอุปกรณปองกันฟาผา (Surge Protection Devices) ระบบ Grid – Monitoring) รวมถึงอุปกรณอนื่ ๆ ในการ เชื่อตอกับสายสงไฟฟาไดแก Reactive Power – Factor Compensation, Power และ Low Voltage ride-through ซึ่งเปนตัวชวยเพิ่มเสถียรภาพให ระบบสายสงไฟฟา อีกทั้งยังมี Field bus หลากหลายใหเลือกใชงาน เชน Mod bus, PROFIBUS, CAN open และ Ethernet เพื่อใชเพิ่มประสิทธิภาพ ในการควบคุมดูแลเครื่องทั้งจากระยะใกลและไกล นอกจากนีแ้ ลวในกรณีทเี่ ปนโรงไฟฟาขนาดเล็ก พลังงานไฟฟาทีผ่ ลิต ไดจะถูกสงเขาระบบจําหนายไฟฟาแรงดันตํ่า (Low-voltage distribution grid) โดยตรงแตถาเปนระบบไฟฟาขนาดใหญ พลังงานไฟฟาจะถูสง เขาระบบจําหนายไฟฟาแรงดันปานกลาง (Medium-voltage grid) โดย ใชหมอแปลงไฟฟา (Transformer) และสวิตซเกียร (Switchgear) โดย โซลาอินเวอรเตอรชนิดนี้สามารถถูกเชื่อมตอกันแบบขนาน (Parallel Connection) โดยใช โ ซล า อิ น เวอร เ ตอร ห ลายตั ว เพื่ อ ใช เ ชื่ อ ต อ กั บ หมอแปลงไฟฟาตัวเดียวกันได ซึ่งมีความสําคัญในการลดตนทุน

24 l September 2012

Energy#46_p24_Pro3.indd 24

8/22/12 10:24 PM


R1_Energy#46_p25_Pro3.ai

1

8/30/12

3:55 PM


Green Industrial โดย : รังสรรค อรัญมิตร

อําพลฟูดสฯ สราง CSR ลดตนทุนพลังงาน สูก ารเติบโตของธุรกิจ

ปจจุบนั การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมนัน้ หากดําเนินการอยาง จริงจังและมีการคิดคนพัฒนาตอเนือ่ งนัน้ นอกจะชวยใหสามารถลดตนทุนใน กระบวนการผลิต ลดปริมาณการปลอยของเสียหรือกาซเรือนกระจกอัน เปนผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสังคมรอบขางแลว ยังชวยใหผลิตภัณฑ สินคาเปนที่ยอมรับและสามารถแขงขันพรอมกับสงออกไปยังตางประเทศ ไดเปนอยางดี โดยเฉพาะการสงออกในประเทศแถบยุโรปและอเมริกาที่มีคา นิยมสูงในเรื่องของการบริโภคสินคาที่ไดรับรองมาตรฐานปลอดคารบอนฯ อยางไรก็ตามการดําเนินการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมใน แตละองคกรนั้นตางก็มีนโยบายที่แตกตางกันออกไป แตอาจจะมีเปาหมาย เดียวกันนั้นคือการใชวัตถุดิบจากกระบวนการผลิตใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อลดตนทุนดานพลังงานนั่นเอง บริษัท อําพลฟูดส โพรเซสซิ่ง จํากัด ผูผลิตอาหารสําเร็จรูปและ เครื่องดื่มชั้นนํา นั้นเปนอีกบริษัทหนึ่งที่ไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอมภายใตนโยบาย Vision Zero ใหพนักงานมีวิสัยทัศนที่ดีใน เรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดความเขมแข็งสูการ เปนวัฒนธรรมขององคกร เปนวัฒนธรรมของพนักงาน โดยยึดหลักของ การทํา Corporate Social Responsibility หรือที่เรียกชื่อยอวา CSR ซึง่ หมายถึง ความรับผิดชอบตอสังคมและ สิง่ แวดลอมขององคกร หรือการ ดําเนินธุรกิจภายใตหลักจริยธรรมและการจัดการทีด่ ี เพือ่ ดําเนินการพัฒนา

ดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมภายในองคกรใหมปี ระสิทธิภาพและ เกิดความยั่งยืน โดยชวงแรกเริม่ การดําเนินธุรกิจนัน้ อําพลฟูดสไดดาํ เนินดานอนุรกั ษ พลังงานและสิ่งแวดลอมมาโดยตลอด แตไมไดทําเปนระบบออกมาชัดเจน เปนการดําเนินการตามกฎหมายบังคับ ซึ่งตองออกชวงแรกที่นี้เขาดําเนิน การบําบัดนํ้าเสียเพียงอยางเดียว

คุณเกรียงศักดิ์ เทพผดุงพร กรรมการผูจัดการ ผูผลักดันนโยบาย CSR ของบริษัท อําพลฟูดสฯ

26 l September 2012

Energy#46_p26-28_Pro3.indd 26

8/27/12 10:45 PM


แตไดเริ่มดําเนินการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง เมื่อป 2548 โดยการสมัครใจ พรอมนําเอาระบบมาตรฐานเขามาเปนตัว กําหนด อยางเชน ISO 9001 ISO 22000 ISO 14001 ISO 18001 และ ISO 50001 ซึ่งวาดวยมาตรฐานสากลที่ออกมาใหกับองคกรที่มีการ บริหารจัดการดานการอนุรกั ษพลังงาน โดยเฉพาะพลังงาน 3 สวนหลักทัง้ ไฟฟา, นํ้ามันและกาซธรรมชาติ อยางไรก็ตามภายใตการทําตามมาตรฐาน ISO 50001 นัน้ อําพลฟูดส ไดทาํ โครงการอนุรกั ษพลังงานอีก 18 โครงการ เพือ่ ใหการดําเนินโครงการเปนไปตามเปาหมาย รวมถึงเพือ่ สรางการมีสว น รวมของพนักงานในการทํางานและการอนุรักษพลังงาน นอกจากนี้ยังได ดําเนินการเรือ่ ง 5 ส. ไปพรอมกันดวย เรียกไดวา เกีย่ วกับกระบวนการผลิต ความปลอดภัย ชีวอนามัย การอนุรกั ษพลังงาน การอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมนัน้ ทางอําพลฟูดสไดดําเนินการทุกอยาง

ทัง้ นีก้ ารดําเนินงานทางดาน CSR นัน้ ชวยลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม ตอชุมชนรอบขาง และลดภาวะโลกรอนไดเปนอยางดี ที่สําคัญคือชวยให สามารถแขงขันไดในตลาด และภายใตการเพิ่มขีดความสามารถดานการ แขงขันนัน้ อําพลฟูดสยงั ไดทาํ เรือ่ งคารบอนฟุตพริน๊ (Carbon Footprint) ให กับทุกผลิตภัณฑ เพือ่ ใหสามารถแขงขันกับตลาดโลกได เนือ่ งจากอําพลฟูดส มีแผนเพิม่ สัดสวนการสงออกผลิตภัณฑ ไปยังประเทศในแถบยุโรปซึง่ ปจจุบนั ไดใหความสําคัญเกีย่ วกับผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมเปนอยางมาก อยางไรก็ตามในการดําเนินงานดานการอนุรกั ษพลังงานนัน้ ไดมกี าร พัฒนาอยางตอเนื่องโดยปจจุบันไดมีการลดตนทุนในกระบวนการผลิตไม วาจะเปนการลดของเสียในกระบวนการผลิต อาทิเชน เปลือกมะพราว กะลา นํ้ามันมะพราว กากมะพราว และวัตถุดิบของเสียอื่นๆ ซึ่งแต เดิมโรงงานแหงนี้จะนําของเสียดังกลาวไปทิ้งหรือจําหนายในบางสวนซึ่ง

เกิดผลตอบแทนไมมากนัก แตปจจุบันจะนํามาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดทุก กระบวนการผลิตเพื่อลดการเสียเศษและตนทุนพลังงาน โดยปจจุบนั อําพลฟูดสไดนาํ เอาเปลือกมะพราวมาเขาเครือ่ งอัดใหเปน เชื้อเพลิงชีวมวลอัดเม็ด (Wood Pellets) เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงทดแทนนํ้ามัน เตาในระบบ Boiler ผลิตไอนํ้าใชที่โรงงานโดยสามารถทดแทนนํ้ามันเตาได 100% แตเดิมตองจายคานํ้ามันเตาเดือนละ 3 ลานบาทซึ่งชวยใหสามารถ ประหยัดคาซื้อนํ้ามันเตาไดถึง 30 ลานบาทตอป ส ว นกะลามะพร า วอํ า พลฟู ด ส ไ ด ร  ว มกั บ “มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี สุ ร นารี ” นํ า เอากะลามาเผาผ า นกระบวนการที่ เ รี ย กว า Gasification สามารถผลิตกระแสไฟฟาไดประมาณ 100 เมกะวัตต ตอเดือนแลวนําใชภายในพื้นที่บางสวนของโรงงาน และกะลาที่ถูกเผา ก็ จ ะได เ ป น ถ า นออกมาแล ว นํ า ถ า นที่ ไ ด ไ ปผ า นกระบวนการทํ า ให เ กิ ด รูพนุ ขึน้ กระบวนการนีก้ จ็ ะได แอคทิเวทเท็ดคารบอน (activated carbon) ไดถานกัมมันต 14.4 ตันตอเดือน ซึ่งเปนการเพิ่มมูลคาใหกับถานกะลา ประมาณ 60 บาทตอกิโลกรัม นอกจากนี้แลวยังไดนําเศษอาหารหรือเศษวัตถุดิบอื่นๆ ในโรงงาน มาผลิตเปนกาซชีวภาพขนาดเล็กกําลังการผลิต 100 ลูกบาศกเมตร ต อ วั น ในปริ ม าณรองรั บ เศษอาหาร 1,000 กิ โ ลกรั ม ต อ วั น โดยได กระแสไฟฟาจากระบบนีม้ าใชในกระบวนการอบแหงมะพราวเสีย รวมกับอบแหง ดวยเตาอบพลังงานแสงอาทิตย แลวนํามาบิดเอานํ้ามัน โดยกระบวนการ หมักกาซชีวภาพก็จะทําใหไดปุยอินทรีดวย ดานนํ้าเสียหลังผานการบําบัดเมื่อสมัยกอนนําไปรดนํ้าตนไมแต ป จ จุ บั น ที่ นี่ เ ขาได นํ า นํ้ า เสี ย ผ า นระบบผลิ ต ก า ซชี ว ภาพขนาดใหญ เ พื่ อ ปนกระแสไฟฟาใชภายในโรงงาน โดยระบบผลิตกาซชีวภาพนั้นมีขนาด

September 2012 l 27

Energy#46_p26-28_Pro3.indd 27

8/27/12 10:45 PM


ปริมาณ 37,000 ลูกบาศกเมตร ปริมาณนํ้าเสีย 2,000 บาศกเมตรตอวัน ปริมาณกาซชีวภาพที่ผลิตได 1,059,230 ลูกบาศกเมตรตอป และในกระบวนการนี้ อํ า พลฟู ด ส ยั ง มี ก ารแยกเอานํ้ า มั น มะพราวออกจากนํ้าที่ติดมาจากกระบวนการลางพื้น ลางเครื่อง แลว นํ า ไปจํ า หน า ยให กั บ บริ ษั ท ผลิ ต ไบโอดี เ ซลซึ่ ง ได ป ระมาณ 300,000 บาทต อ เดื อ น และจากกระบวนการผลิ ต ไฟฟ า จากนํ้ า เสี ย นั้ น ชวยใหอาํ พลฟูดสสามารถประหยัดคาไฟฟาไดประมาณ 2 ลานบาทตอเดือน จากการใชไฟฟาประมาณ 4 ลานบาทตอเดือนซึง่ เทากับวาสามารถประหยัด คาไฟฟาไดถึง 50% เลยทีเดียวครับ เพื่อบริหารจัดการดานอนุรักษพลังงานตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า อําพลฟูดสยังไดดําเนินการประหยัดพลังงานกับระบบการขนสงกระจาย สินคาโดยไดตดิ ตัง้ ระบบ GPS เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการควบคุม ตรวจสอบ และยกระดับความปลอดภัยแกผขู บั ขี่ สามารถแสดงรายละเอียดการเดินรถ ติดตามตรวจสอบเสนทางการเดินรถ และพฤติกรรมผูขับรถ เพื่อควบคุม ความเร็วในการเดินรถ รวมทั้ง การควบคุมคาใชจายของคาเชื้อเพลิง

กิจกรรมเพื่อสิ่งแวดลอมและชุมชน

การใหความสําคัญเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและสังคมรอบขางโดย นอกจากจะจัดการสภาพแวดลอมภายในโรงงานไมเกิดผลกระทบตอชุมชน รอบขางแลวในแตละเดือนก็จะสงเจาที่ของอําพลฟูดสไปสํารวจบริเวณ ชุมชนรอบโรงงานทุกเดือนวาในแตละเดือนไดรบั ผลกระทบอยางไรบางจาก โรงงานเพื่อนํามาปรับปรุงแกไขตอไป

พรอมกันนี้ยังไดจัดกิจกรรมกับชุมชนมาโดยตลอด เชน โครงการ กลองวิเศษที่ไดรวมกับชุมชนรอบโรงงาน และโรงเรียนทั่วกรุงเทพฯ ใหเก็บกลองนํ้าผลไม กลองนม หรือกลอง ยูเอชที เพื่อนํากลับมา รีไซเคิลโดยนําไปอัดดวยความรอนสูงผลิตเปนไมอัดแลวใชประกอบเปน โตะ เกาอี้นําไปบริจาคใหแกโรงเรียนที่ขาดแคลน ทั้งนี้ยังเปนโครงการที่ ชวยสรางจิตสํานึกใหกับประชาชนไดตระหนักและใสใจสิ่งแวดลอมมากขึ้น อีกดวยครับ ซึ่งโครงการดังกลาวนั้นทํามากวา 3 ปและยังทําตอเนื่อง ไปเรื่ อ ยๆ พร อ มได ข ยายผลออกไปอี ก โดยป จ จุ บั น นั้ น ได ร  ว มกั บ การ ทางพิเศษ ทําโครงการดังกลาวดวย เรียกไดวาเปนโครงการที่ดีครับ นอกจากชวยลดขยะ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ลดโลกรอนแลวยัง เปนการชวยเหลือสังคมอีกทางหนึ่งครับ หลังจากดําเนินการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยางจริงจัง เมื่อป 2548 จนถึงปจจุบันนั้นชวยใหอําพลฟูดสสามารถลดตนทุนการ ผลิตลงไปไดมากจนทําเติบโตแบบกาวกระโดดเรียกไดวามีกําไรเพิ่มขึ้นทุก ปโดยไมตองเพิ่มยอดจําหนาย และขึ้นราคาผลิตภัณฑ ทั้งนี้และทั้งนั้นการที่จะทําใหธุรกิจใหเกิดความยั่งยืนไดนั้นจะตองมี ศักยภาพในการบริหารจัดการทีด่ ี สิง่ สําคัญคือการลดตนทุนการผลิต โดย การลดตนทุนตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า และความรวมมือของคนในองคกร ทุกคนนําไปสูความสําเร็จ 28 l September 2012

Energy#46_p26-28_Pro3.indd 28

8/27/12 10:45 PM


Energy#46_ad Back to Basic_Pro3.ai

1

8/24/12

11:58 PM

Back to the Basic

หนวยไฟฟา (Unit of Electrical Energy) ผศ.พศวีร ศรีโหมด : หัวหนาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

คอลัมน Back to the Basic Basic ทีท่ที างผู างผเู ขีขยี นนำเสนอนี นนำเสนอน้ี มีมเี จตนารมย จตนารมยท ี่ตองการนำทฤษฎี งการนำทฤษฎพี ื้นฐานต ฐานตา ง ๆ ทีท่เี กีก่ยี วข วขอ งกับเรองพลังงาน มาเผยแพร มาเผยยแพรแ ละเสนอให ละเสนอใหผ ูอานได นไดร ับทราบ เพอใหเกิดความเขาใจ และไดนำสาระความรู ำสาระคววามรทู ี่ถายทอดไปสู ยทอดไปสกู ารประยุ ารประยกุ ตตใ ชชใหหเ กิกดิ การประหยั การประหยดั พลั พลงั งานขึ งานข้นึ ได ได ในฉบั ในฉบบั นี้ขอนำเสนอเรองพื อนำเสนอเรองพื้นฐานที่ใกลตัวเรามากที่สุดอีอกี เรองหนึ เรรองหน่งึ คืคอื เรองของหน เรองของหนว ยพลั ยพลงั งานไฟฟา หรือ Ellectrical Energy Energy โดยค โดยคา หน หนว ยไฟฟ ยไฟฟา จะมี จะมอี ยูยูในใบแจ นใบแจง หนี หน้คี าไฟฟ ไฟฟา ทีท่มี าถึ าถึงึ บานเราทุก ๆ เดือน ซึ่งคาหนวยไฟฟาในแตละเดือนสามารถวัดคาได ไดดจ ากการอ ากการอานตั นตัวเลขของเครองมื เลขของเครองงมือวัดหรือ Unit ofof Electrical แพงมากขึ มิเตตอร อรขอองการไฟฟ งการไฟฟา จจำนวนหน ำนวนหนวยไฟฟ ยไฟฟาก็ก็จะะสะท สะทอนถึ นถงึ คคาไฟฟ ไฟฟาในแต ในแตละเดือน เดือนใดที่จำนวนหนวยไฟฟามากก็ตองจายคาไฟฟาประจำเดือนนั้นแพงมา ากขขึ้นตามไปด ตามไปดวยดั ยดังนนั​ั้นใในฉบั นฉบบั นนี้เี รามาทำ รามาทำ ความเข ความเขา ใจถึ ใจถงึ ทีท่มี าของค าของคา หน หนว ยไฟฟ ยไฟฟา กักนั นะครั นะครับ แล แลวจะได จะไดเขขา ใจถึงหลักการพื้นฐานงายๆ ในการประหยัดพลังงานไฟฟา

ตัวเลขคาพลังงานไฟฟาหรือ หนวยไฟฟาที่อยูในใบแจงหนี้คาไฟฟา

คาพลังงานไฟฟา (kWh) จากมิเตอรของการไฟฟา

คาพลังงานไฟฟาเกิดขึ้นมาจากการนำ คากำลังงานไฟฟา(Kilowatt: kW) ของอุปกรณไฟฟาที่ใชไป มาคูณกับชวงเวลาในการทำงานของอุปกรณ (Hour:ชั่วโมง) หรือเขียนเปนสมการไดวา

พลังงานไฟฟา = คากำลังงานไฟฟา (Kilowatt: kW.) x เวลาในการทำงาน (Hour:ชั่วโมง) (มีหนวยเปน กิโลวัตต-ชั่วโมงหรือ kWh.)

ดังนั้น ถาเราใชอุปกรณไฟฟาที่มีการใชกำลังงานไฟฟา 1 kW.อยางคงที่ และใชงานเปนเวลา 1 ชั่วโมง ก็จะทำใหเกิดการใชพลังงานไฟฟาไปเทากับ 1kW. x 1 Hour = 1 kWh. หรือ 1 หนวยไฟฟา นั้นเอง ถานำสมการพลังงานไฟฟามาเขียนอยูในรูปกราฟ ดังแสดงในรูปที่ 1 โดยใหแกนของกราฟในแนวตั้งเปนคากำลังงานไฟฟาของอุปกรณ(kW.) และแกนแนวนอนเปนคาเวลาใน การทำงาน(Hour) พลังงานไฟฟาเกิดจากนำคาในแกนแนวตั้งคือกำลังงานไฟฟา คูณกับ คาเวลาการทำงานในแกนแนวนอน ซึ่งก็คือคาพื้นที่ภายในรูปกราฟที่แสดงถึงคาพลังงานไฟฟา จากรูปที่ 1 ก็เปนพื้นที่คาพลังงานไฟฟา 1 kWh. หรือ 1 หนวยนั้นเอง ดังนั้น ถาเราใชอุปกรณไฟฟาที่มีกำลังงานไฟฟามากขึ้น หรือใชเปนเวลานานๆ พื้นที่ภายในรูปกราฟก็จะมีขนาดใหญ มากขึ้น ซึ่งก็หมายถึงการใชพลังงานไฟฟา หรือหนวยไฟฟาที่มีคามากขึ้นนั้นเอง ในทางกลับกันถาเราอยากลดการใชพลังงานไฟฟาลงหรืออยากจะประหยัดพลังงานไฟฟา เราก็ตองทำให พื้นที่ ในรูปกราฟนี้มีขนาดลดลง ซึ่งแสดงแนวคิดดังรูปที่ 2. โดยสามารถทำได 2 ทางดวยกันครับ คือ 1. ลดขนาดกำลังของอุปกรณไฟฟาลง หรือเลือกใชอุปกรณไฟฟาที่มีคากำลังงานต่ำ แตตองไมสงผลกระทบตอการใชงาน คือใชอุปกรณที่มีประสิทธิภาพการทำงานสูงๆ ดังเชน ในฉบับที่ผานมาเคยแนะนำเรองการเลือกประสิทธิภาพของหลอดไฟฟา วาหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนตหรือหลอดตะเกียบ มีการใชกำลังงานไฟฟานอยกวาหลอดอินแคนเดสเซนตหรือ หลอดไส ถึงประมาณ 5 เทา แตยังคงใหแสงสวางในการใชงานไดเหมือนเดิม หรือถาพิจารณางาย ๆ ในตอนนี้ก็คือเลือกใชอุปกรณที่ ไดรับการรับรองเรองการประหยัดพลังงงานจาก กระทรวงพลังงานและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย หรืออุปกรณเบอร 5 นั้นเองครับ หรือเลือกใชอุปกรณไฟฟาใหมีขนาดเหมาะสมกับการใชงาน เชนเลือกซื้อโทรทัศนที่มีขนาดหนาจอ ไมใหญมากจนเกินไป เมอเทียบกับขนาดหองพักหรือระยะหางในการดูโทรทัศน เปนตน หรือมีการบำรุงรักษาอุปกรณไฟฟาอยางสม่ำเสมอเพอใหยังคงประสิทธิภาพที่ดีตลอดอายุการใชงาน 2. ลดเวลาในการเปดใชงานอุปกรณ ซึ่งขอนี้ทุกทานนาจะสามารถทำไดไมยากมากนัก โดยพยายามใชอุปกรณไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ คำวาใชอยางมีประสิทธิภาพ กลาวงายๆ คือ ใชเทาที่จำเปน, หยุดใชงานอุปกรณไฟฟาสวนที่ ไมจำเปนหรือเกินความตองการใชงาน และปรับลดการใชงานอุปกรณไฟฟาที่เกินความจำเปน เชนการตั้งอุณหภูมิเครองปรับอากาศให เหมาะสมกับสภาพอากาศที่เราตองการ ไมตั้งอุณหภูมิใหต่ำมากเกินไป ก็จะทำใหคอมเพรสเซอรของเครองปรับอากาศทำงานโดยใชเวลานอยลงได

สรุปวาถาอยากประหยัดคาไฟฟา ก็จะตองลดคาหนวยไฟฟาลง โดยสามารถทำได 2 ทางคือ หาวิธีลดคากำลังงานของอุปกรณไฟฟาและลดเวลาการใชงานอุปกรณหรือใชอุปกรณอยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งแนวคิดพื้นฐานในการประหยัดพลังงานไฟฟานี้ อยากใหทุกทานไดลองนำมาพิจารณาและนำไปประยุกตใชเพอใหเกิดผลประหยัดกันครับ


Saving Corner http://www.cncmaster.net/aboutus.template.php?lang=th

รัฐบาล ภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากเปนวิธีที่ มีคาใชจายตํ่า แตตองอาศัยความรวมมือจากบุคลากรทั่วทั้ง องคกร โดยสามารถนําแนวความคิดดาน TQC โดยจัดกลุม คุณภาพ Quality Control Circle และแนวทางการนําเสนอ แนวคิดแบบ Bottom-Up System มาประยุกตใช กรณีศกึ ษาที่ 2 โรงงานแหงนี้ไดมีการดําเนินการโดยใชหลักการ TQC คือใหทุกคนมีสวนรวมในการประหยัดพลังงาน โดยใชหลักการ Bottom-Up Suggestion System โดยมีการจัดใหมที มี งานทีม่ าจาก สวนตาง ๆ เชน สวนงานซอมบํารุง สวนงานพลังงาน หนวยงานวิจยั รวมกับผูเ ชีย่ วชาญเฉพาะดานจากภายนอกบริษทั ซึง่ การดําเนินงาน ที่ผานมาสามารถลดความสูญเสียในกระบวนการและเพิ่มกําลัง การผลิตได อันสงผลใหเกิดความตองการพลังงานนอยลง โดยสามารถลดตนทุนพลังงานสําหรับกระดาษไมเคลือบผิวจาก 1,375 บาทตอตัน เหลือ 1,374 บาทตอตัน และกระดาษชนิดเคลือบ ผิวลดลงจาก 1,385บาทตอตัน เหลือ 1,345 บาทตอตัน นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมการปองกันการสูญเสียพลังงาน โดยการหุม ฉนวนอุปกรณทใี่ ชในระบบจายไอนํา้ และซอมรอยรัว่ ของ ไอนํา้ จากอุปกรณจา ยไอนํา้ โดยงานหุม ฉนวนตองลงทุนประมาณ สีห่ มืน่ บาท และสามารถประหยัดไดปล ะหาหมืน่ บาท หรือคืนทุนไดใน สิบเดือน สวนการซอมรอยรัว่ สามารถประหยัดไดมากถึง 774,368 บาทตอป

การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต.. เพอื่ การประหยัดพลังงานในอุตสาหกรรม(ตอนจบ) ความเดิ ม จากตอนที่ แ ล ว เราได พู ด ถึ ง ความสู ญ เปล า จากการ ใชพลังงานทั้งทางตรงและทางออม ฉบับนี้เราจะไปดูแนวคิดการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตเพือ่ การประหยัดพลังงานในอุตสาหกรรมวาจะมีวธิ ี อยางไรกันบาง

2. ใหความสําคัญการลงทุนเปลีย่ นอุปกรณประสิทธิภาพตํา่ มาใชอปุ กรณทมี่ ี ประสิทธิภาพสูง

จะเห็นไดวา การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตใหสงู ขึน้ นัน้ จําเปนทีจ่ ะตองลด ความสูญเสียที่เกิดขึ้นไมวาจะเปนทั้งโรงงานอุตสาหกรรมหรืออาคารที่มีการใช ระบบแสงสวาง ตางก็จะมีความสูญเสียของการใชพลังงานแบบเสียเปลาเกิดขึน้ โดยมิไดคาํ นึงถึง จึงจําเปนจะตองลดความสูญเปลาทีม่ ใี นกระบวนการผลิตใหได มากทีส่ ดุ โดยการ 1. ผลิตและบํารุงรักษาเครือ่ งจักรอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการผลิตทีอ่ ยูภ ายใตโรงงานอุตสาหกรรมเปนสิง่ ทีม่ คี วามสําคัญ เปนอยางยิง่ เนือ่ งจากเปนสวนทีใ่ ชพลังงานโดยสวนใหญ ฉะนัน้ แลวการปรับปรุง กระบวนการผลิตทีเ่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการปรับปรุงเครือ่ งจักร ทีใ่ ชงานอยูใ หอยูใ นสภาพทีด่ ี เหมาะสม เปนสิง่ ทีม่ คี วามสําคัญและจําเปนอยางยิง่ การผลิตและการบํารุงรักษาระบบการผลิตอยางมีประสิทธิภาพ ยังรวมไปถึง การเสริ ม สร า งนิ สั ย ประหยั ด พลั ง งานเพื่ อ ลดการใช พ ลั ง งานที่ ไ ม จํ า เป น (Good Housekeeping) เพื่อลดความสูญเปลาที่เกิดจากการจัดการไมดี วิธีนี้ เปนวิธีที่นิยมใชในขั้นตนของการรณรงคอนุรักษพลังงานในบริษัท ทั้งภาค

http://iconsultplus.in.th/products/

30 l September 2012

Energy#46_p30-31_Pro3.indd 30

8/18/12 1:48 AM


เพือ่ ลดความสูญเปลาทีเ่ กิดจากการผลิตทีไ่ มดี ซึง่ แนวทางนีเ้ ปนแนวทาง หลักทีส่ ามารถทราบถึงเงินลงทุนและผลตอบแทนทีจ่ ะไดรบั คอนขางชัดเจน แตมกั ขาดการดําเนินงานทีต่ อ เนือ่ ง อีกทัง้ มีกจิ การจํานวนมากอยูร ะหวางภาวะขาดสภาพ คลองทําใหโครงการประเภทนีไ้ มไดรบั การตอบรับเทาทีค่ วร

กรณีศกึ ษาที่ 4 บริษทั ไดมกี ารปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยการออกแบบ Shoe Press สําหรับบีบกดนํา้ ออกจากเยือ่ แทนลูกรีด Rollerแบบเดิมทีส่ ว นของ Press Part ดังรูป

กรณีศกึ ษาที่ 3 กรรมการบริหารไดมนี โยบายในการอนุรกั ษพลังงาน โดยการปรับเปลีย่ น เครื่องจักรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน โดยโครงการดังกลาวไดมีการ พิจารณาดานตาง ๆ 3 ดานคือ การเพิม่ กําลังการผลิต การลดการใชพลังงาน และการปรับปรุงใหมคี วามคงทนมากขึน้ โดยแนวทางในการปรับปรุงพัฒนามาจาก แหลงตาง ๆ เชน หนังสือ World Cement ทีป่ รึกษา Suppliers โดยมีกจิ กรรมทีท่ าง บริษทั ไดดาํ เนินงานแลวดังนี้ 1. การเปลีย่ น Variable Speed Motor มาใช Inverter 1.1 Separator C1-311 ลดความตองการไฟฟา 4.738 KW หรือ 5,458 บาทตอเดือน 1.2 Separator C2-15A ลดความตองการไฟฟา 5.199 KW หรือ 5,989 บาทตอเดือน 1.3 Separator C3-311 ลดความตองการไฟฟา 7.634 KW หรือ 8,794 บาทตอเดือน 1.4 Screw Feed ลดความตองการไฟฟา 1.974 KW หรือ 2,274 บาท ตอเดือน 2. โครงการเครือ่ งปรับอากาศเบอร 5 เงินลงทุน 1,315,100 บาท ประหยัดได 11,825 บาทตอเดือน คืนทุนใน 30 เดือน (คิดคาไฟฟาและอะไหลรวมกัน)

ลักษณะของ Shoe Press นัน้ ทําใหเยือ่ มีพนื้ ทีส่ มั ผัสกับแรงกดทีม่ ากขึน้ ที่ Shoe Press เนือ่ งจากลูกรีดทีเ่ ปนยางจะบีบกดใหเยือ่ แนบติดกับ Shoe ไดมากขึน้ ซึง่ ทําใหลดปริมาณการใชไอจาก 33 ตันตอชัว่ โมง เหลือ 25 ตันตอชัว่ โมง

3. เปลีย่ นวิธกี ารคิดและวิธกี ารทํางาน (Re-Think, Re-Process and Re-Design) การลงทุนในเทคโนโลยีการผลิตที่มีประสิทธิภาพ การดัดแปลงปรับปรุง กระบวนการผลิต วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ และระบบพลังงานในกระบวนการผลิต รวมทัง้ การเปลีย่ นมาใชพลังงานรูปแบบอืน่ เปนการลดความสูญเปลาทีเ่ กิดจากการ ออกแบบผลิตภัณฑ การออกแบบการผลิตทีไ่ มดี โดยการดําเนินการเพือ่ เปลีย่ นวิธี การทํางานนีอ้ าจตองอาศัยทัง้ บุคลากรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญหลากหลายสาขารวมกัน ดําเนินงาน จึงจะสามารถประสบความสําเร็จได อาทิ วิศวกร นักเทคโนโลยี ผูเ ชีย่ วชาญทางเทคนิค และผูเ ชีย่ วชาญดานพลังงาน เนือ่ งจากตองใชผเู ชีย่ วชาญ ทีห่ ลากหลายนีเ้ องทําใหอตุ สาหกรรมจํานวนมากไมสามารถดําเนินการไดดว ยตนเอง หากแตจะตองอาศัยผูเ ชีย่ วชาญจากตางประเทศ ดังนัน้ หากรัฐบาลสามารถจัดสรร ผูเ ชีย่ วชาญสาขาตาง ๆ เพือ่ จัดตัง้ ทีมงานในการพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขาได จะสามารถเสริมความตองการของผูป ระกอบการไดเปนอยางดี และยังจะเปนการ เสริมสรางศักยภาพในการผลิต การออกแบบ ไดอยางยัง่ ยืนอีกดวย

กรณีศกึ ษาที่ 5 โครงการ “การแกปญ  หากระดาษยุบบน Roller Conveyor” จากในขั้นตอนการผลิตกระดาษลูกฟูก การลําเลียงกระดาษออกจาก สายพานนัน้ กระดาษจะวิง่ อยูบ นลูกกลิง้ เหล็ก โดยใชพนักงาน 1 คน คอยแยกและ ผลักกระดาษใหออกมา แลวกระดาษทีอ่ อกมาแตละครัง้ ยังมีความรอนสะสมจึงไม แข็งแรงพอ เมือ่ มาสัมผัสกับลูกกลิง้ เหล็ก ทําใหขอบของลูกกลิง้ ถูกกระดาษทับเปน รอยยุบ ทําใหเสียหายเปนจํานวนมาก ซึง่ มีผลกระทบตอคุณภาพ จึงเปนเหตุจงู ใจ ใหนาํ เอาหลัก VE ประยุกตมาใชในการแกไขปญหากระดาษยุบ โดยทําการปรับปรุง ดวยการทดลองใชฟองนํ้าชนิดออนพันลูกกลิ้งเหล็ก ซึ่งผลที่ไดรับนั้นสามารถ แกปญ  หากระดาษยุบได 100% และมีความสะดวกมากขึน้ ในการแยกและลําเลียง กระดาษไดรวดเร็วขึน้ สามารถประเมินเปนจํานวนเงินที่ไดจากที่กระดาษไมเสียหาย 216,666 บาท/ป คาใชจา ยในการลงทุนซือ้ ฟองนํา้ ในการหุม ในปนนั้ = 1,200 บาท ดังนัน้ จุดคุม ทุน = 1,200/216,666 ป เทากับ 0.005 ป หรือประมาณ 2 วัน จากกรณีศึกษาตาง ๆ ที่กลาวมานั้น ไมวาจะเปนการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตเพื่อการประหยัดพลังงานในอุตสาหกรรมหรือในธุรกิจบริการที่ไดจาก ผลการดําเนินการใหบริการปรึกษาแนะนําและใหความชวยเหลือดานการประหยัด พลังงาน จําเปนทีจ่ ะตองนําแนวทางทัง้ 3 คือ 1) ผลิตและบํารุงรักษาเครือ่ งจักร อยางมีประสิทธิภาพ, 2) ใหความสําคัญการลงทุนเปลีย่ นอุปกรณประสิทธิภาพตํา่ มาใชอปุ กรณทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง และ 3) ผลิตและบํารุงรักษาเครือ่ งจักรอยาง มีประสิทธิภาพ มาผสมผสานและพัฒนาเขาไปเปนสวนหนึง่ เขากับวิธกี ารตาง ๆ ในเรื่องการลดตนทุนของการดําเนินธุรกิจโดยรวม จึงจะเกิดการบริหารจัดการ พลังงานสมบูรณ สามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตเพือ่ การประหยัดพลังงานใน อุตสาหกรรมได

ทีม่ า : http://www.kmitnbxmie8.com/index.php?lay=show &ac=article&Id=424032&Ntype=3 http://www.smi.or.th/public/news_detail.asp?id=1868

September 2012 l 31

Energy#46_p30-31_Pro3.indd 31

8/18/12 1:48 AM


Energy Best Award โดย : รังสรรค อรัญมิตร

Thailand Lean Award 2012 รางวัลสูค วามเปนเลิศของอุตสาหกรรมการผลิต

ปจจุบนั รางวัลทีเ่ กีย่ วกับอุตสาหกรรมดีเดนนัน้ มีมากมายหลาย รางวัลดวยกัน ซึง่ ก็ขนึ้ กับแตละองคกรทีจ่ ดั ประกวดไมวา จะเปนภาครัฐ และเอกชน แตละรางวัลก็จะครอบคลุมในเรือ่ งของกระบวนการผลิตตัง้ แต ตนนํา้ ถึงปลายนํา้ ตลอดจนการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมอันเปน ปจจัยสําคัญของกระบวนการผลิต ดังนัน้ การจัดประกวดและมอบรางวัลดานพลังงานและสิง่ แวดลอม นัน้ ก็เปนอีกแนวทางหนึง่ ของการสงเสริมใหภาคเอกชน ตลอดจนภาค ประชาชนทัว่ ไปไดใหความสําคัญกับการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม มากขึน้ Lean เปนวิธีการจัดการที่มุงลดความสูญเปลา ซึ่งไดรับการ ยอมรับกันในระดับโลกวามีแนวทางทีช่ ดั เจนและสามารถนําไปใชในการ พัฒนาองคกรตางๆ ใหสามารถแขงขันและอยูร อดไดในยุคปจจุบนั ซึง่ สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญีป่ นุ ) หรือเรียกโดยยอวา ส.ส.ท. ภาค ใตกระทรวงอุตสาหกรรมไดจดั Thailand Lean Award ขึน้ เพือ่ เปนการ ประกาศเกียรติคณ ุ ใหแกองคกรทีม่ ผี ลงานเดนดานการจัดการแบบ Lean 32 l September 2012

Energy#46_p32-34_Pro3.indd 32

8/18/12 1:54 AM


Silver, Golden, และ Diamond โดยบริษทั ซี.พี คาปลีกและการตลาด จํากัด หรือ ซีพแี รม ผูผ ลิตอาหารพรอมรับประทานและเบเกอรี่ สามารถควารางวัล การพัฒนาคุณภาพ งานตามแนวทาง Lean ระดับ Golden Award บริษัท ไทยสแตนเลย การไฟฟา จํากัด (มหาชน) ไดรบั รางวัลในระดับ Silver Award สวนบริษทั ทีไ่ ดรบั รางวัลไดรางวัล ระดับ Bronze Award มี 3 บริษทั บริษทั ซี พี.ออลล จํากัด (มหาชน) (สุราษฎรธานี), บริษทั คราฟท ฟูด ส (ประเทศไทย) จํากัด, บริษทั เอ็น.ซี.อาร รับเบอร อินดัสตรี้ จํากัด

หลักเกณฑการตัดสิน

Thailand Lean Award เปนโครงการประกวดเกีย่ วกับอุตสาหกรรม ทีม่ กี ระบวนการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประหยัดพลังงานตัง้ แตตน นํา้ ถึง ปลายนํา้ ภายใตการตระถึงปญหาสิง่ แวดลอม ภูมอิ ากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง อันกอใหเกิดภาวะโลกรอน และเปนการจัดประกวดครัง้ ที่ 5 โดยในปนมี้ ี โรงงานอุตสาหกรรมสมัครเขารวมประกวดมีบริษทั ผูเ ขารวม 20 กวา บริษทั แตมบี ริษทั ทีผ่ า นเขารอบชนะเลิศ 5 บริษทั

1. ผูสรางวัฒนธรรมการจัดการ แบบลีนพิจารณาในเรื่องของ ภาวะผูนํา ของผูบริหารในการจัดการแบบลีน การศึกษาและฝกอบรมเพื่อการ พัฒนาบุคลากร การกระจายอํานาจและการมีสว นรวมเพือ่ การพัฒนา บุคลากร และระบบการจัดการความปลอดภัยและสิง่ แวดลอมเพือ่ การ พัฒนาบุคลากร 2. การปรับปรุงกระบวนการอยางตอเนื่อง พิจารณาในเรื่อง โครงสรางของการปรับปรุงกระบวนการอยางตอเนือ่ งโดยใชหลักการ ลีน การปรับปรุงกระบวนการอยางตอเนือ่ งโดยใชสายธารแหงคุณคาและ เครือ่ งมือลีนในการสรางความสัมพันธกบั ลูกคา การพัฒนาผลิตภัณฑ และบริการ การจัดการการปฏิบตั กิ ารดวยเครือ่ งมือลีน และการพัฒนา ผูส ง มอบ 3. การทําใหวฒ ั นธรรมวิสาหกิจแบบลีนอยูอ ยางมัน่ คงพิจารณา จาก การสรางความคิดวิสาหกิจแบบลีน และ การบริหารเชิงนโยบาย 4. ผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการจัดการแบบลีน (KPI) รวม 1,000 คะแนน ตัง้ แต 900 คะแนนขึน้ ไปเปนระดับ Diamond 801 – 899 ระดับ Gold 701 – 799 ระดับ Silver 601 – 699 ระดับ Bronze 501 – 599 ระดับ Certificate

วัตถุประสงคสง เสริมใหอตุ สาหกรรมไทย มีเทคนิคในการบริหารที่มีประสิทธิภาพมา ใช เพือ่ ใหลดความสูญเปลา เพือ่ ใหการผลิต สามารถสงมอบไดทนั เวลา คุณภาพตองได การบริหารจัดการภาพรวมของโรงงาน อุ ต สาหกรรม ตั้ ง แต ต  น นํ้ า ถึ ง ปลายนํ้ า คนที่ผลิตวัตถุดิบสงโรงงานจนถึงการสง มอบสินคาใหกบั ลูกคา ขบวนการผลิต รวม ถึงการขนสง ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ สามารถแขงกับตาง ประเทศได ดวยการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพมาก ขึน้ ผลิตไดมากขึน้ แตปริมาณการใชพลังงาน นอยลง ซึง่ การใหรางวัลเปนไปตามเกณฑ มี ทัง้ หมด 5 ระดับ คือ Certificate, Bronze, September 2012 l 33

Energy#46_p32-34_Pro3.indd 33

8/18/12 1:54 AM


คุณสมบัติผูเขาประกวด

คุ ณ สมบั ติ ผู  เ ข า ประกวดนั้ น ต อ งเป น องค ก รที่ มี การประยุ ก ต ใ ช ร ะบบการบริ ห ารจั ด การด ว ย Lean มา ไม น  อ ยกว า 1 ป ซึ่ ง เป น องค ก รประเภทใดก็ ไ ด ทั้ ง ธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรม หรื อ แม แ ต ภ าครั ฐ เพราะเป น ระบบการบริ ห ารจั ด การที่ มุ  ง เน น ในการลดความสู ญ เปลาของกระบวนการทํางานตางๆ ซึ่งในปที่ผานๆ มา มีองคกรที่เขาประกวดเปนดานบริการและธุรกิจการเงิน คือ โรงพยาบาลสงขลานครินทร และ ธนาคารกสิกรไทยดวย อยางไรก็ตามหลังจากประกวดในแตละปของรางวัล Thailand Lean Award ทางสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุน) จะมีการประชุมกรรมการเพื่อทบทวนหลักเกณฑ การตัดสินทุกครั้งเพื่อปรับปรุงหลักเกณฑการประกวดใน ปตอไปใหเหมาะสมมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน ปนี้มีเรื่องโลจิสติกส การขนสงซึง่ เปนขบวนการหนึง่ ของการผลิตในภาคอุตสาหกรรมก็จะ เพิม่ หลักเกณฑดา นนีเ้ ขามา Thailand Lean Award นัน้ เปนรางวัล Operational Excellence ทีม่ ี เกียรติสงู สุดในประเทศไทย เปนรางวัลทีไ่ ดรบั การยอมรับอยางกวางขวาง

โดยเฉพาะจากภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการเปนรางวัลที่มี เกณฑและกลไกการตัดสินทีถ่ กู ตองแมนยําตามแนว Lean Thinking เปน ระบบหรือกระบวนการใหรางวัลทีช่ ว ยสงเสริมใหองคกรมุง มัน่ ปรับปรุง คุณภาพ ตนทุน ความรวดเร็วของสินคา และบริการใหสูงขึ้นอยาง เปนระบบ

34 l September 2012

Energy#46_p32-34_Pro3.indd 34

8/18/12 1:55 AM


Energy Showcase Trane HPAT นวัตกรรมประหยัดพลังงานเพอการ ผลิตนํารอนสูโลกสีเขียว

Trane Service Hotline

“ENCON” Energy Sacing Fans นวั ต กรรรมของใบพั ด ประหยั ด พลั ง งาน สําหรับ Colling Tower และอุปกรณทําความ เย็น โดยใบพัด ENCON ติดตั้งทั่วโลกกวา 45,000 ชุด ในหลายอุตสาหกรรม ประหยัด พลังงาน สามารถชวยลดคาไฟฟาไดเฉลี่ย 20% -30% หลังเปลี่ยนจากใบพัดเดิมมาใช ENCON Fan รวมทัง้ สามารถเพิม่ Airflow ให สูงขึ้น ใบพัดผลิตจากวัสดุ FRP ผสม Epoxy ทําใหทนสภาวะของกรด & เบส ชวยลดการ เสอมสภาพของใบพัด

เทรนคิ ด ค้ น เครื่ อ งทํ า น้ํ า ร้ อ น (Heat Pump) ที่ สามารถผลิ ต นํ้ า ร อ นด ว ยต น ทุ น น อ ยกว า แต มี ประสิทธิภาพมากกวาเครองทํานํ้ารอนธรรมดาทั่วไป 75 เปอร เ ซ็ น ต ไร ป ญ หาระบบนํ้ า ยารั่ ว ซึ ม ด ว ย Double Wall Heat Exchanger ตามมาตรฐาน UL Standard for Heat Pump Hot Water Heating Application และเทรนยั ง เป น รายเดี ย วที่ ก ล า รั บ ประกันความปลอดภัยและความสะอาดของนํ้ารอน เพอการประหยัดพลังงานสําหรับโรงแรม รีสอรท โรง พยาบาล ที่อยูอาศัย โรงเรียน รานอาหาร สปา ฟตเนส ฯลฯ

สําหรับชิลเลอรและระบบปรับอากาศขนาดใหญ โทร. 08-2332-8800 http://servicecare.tranethailand.com/

President Chemical Co.,Ltd.

รถพลังงานไฟฟา EVT X-PRO BUGGY

LeKise ไฟฉุกเฉินแบบ LED

โทร 0-2234-41714, 0-2235-7812-3 โทรสาร 0-2631-6216 http://www.president-chemical.co.th/

รถพลังงานไฟฟาเอนกประสงคที่เหนือชั้น ดวยการออกแบบที่หรูหรา ประหยัดกวา เพลิดเพลินไปกับการขับขี่ที่ลงตัวพรอม ความสะดวกสบาย แบตเตอรีช่ นิด Recycle สามารถนําไปใชหมุนเวียนไดเมื่อหมดอายุ การใชงานโดยการนําไปผานกระบวนการ ย อ ยสลายเพื่ อ หลอมขึ้ น ใช ใ หม ชาร จ ประจุไฟฟาไดทุกที่ ทุกเวลา ดวยที่ชารจที่ ติดตั้งมาในตัวรถ เพื่อความสะดวกยิ่งกวา

LeKiseไฟฉุกเฉินแบบ LED (Lekise LED Emergengy Light Technology) ดวยการ รวมนวัตกรรมระหวางหลอดไฟ LED และ การชารจแบตเตอรีแ่ บบอัจฉริยะเขาไวดว ย กัน โดยตัวเครื่องทําจากแผนเหล็กเคลือบ หนา 1.7 มม. ดีไซนสวยงาม ตัวหลอดไฟ LED ใชพลังงานนอยกวาหลอดไฟฉุกเฉิน แบบเดิมถึง 4 เทา และใชงานไดยาวนาน ถึง 50,000 ชั่วโมง แบตเตอรี่ขนาดเล็ก กวาแตสามารถใชงานไดนานถึง 4 ชั่วโมง ในขณะที่ไฟดับ และสามารถประหยัดคาใช จายได 3 เทาเมื่อเปลี่ยนแบตเตอรี่

บริษัท รถไฟฟา (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)

บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด

ผาเย็นเอนกประสงค “HIRAKAWA Cool Towel”

โปรเจคเตอร HYBRID LASER & LED

โทร 0-2236-2020 http://www.evthai.com/

ผาเย็นเอนกประสงค “HIRAKAWA Cool Towel” ตอบสนองไลฟสไตลคนรุนใหม ที่ ชื่นชอบความเย็นสบาย และเบื่อหนายกับ สภาพอากาศรอนชืน้ เหมาะกับทุกกิจกรรม ในแตละวัน Cool Towel สามารถเก็บนํ้าได นาน และขณะที่นํ้าระเหยออก ความเย็นจะ เขามาแทนที่ ทําใหผูใชรูสึกสบายตัวแม เหงื่อออก มีคุณสมบัติพิเศษ เพียงแคแช นํ้าก็จะเย็นทันที ดูดซับเหงื่อไดดี นํ้าหนัก เบา สะดวกในการพกพา สามารถซักดวย เครื่องซักผาได เหมาะสําหรับการเลนกีฬา และกิจกรรมกลางแจง

บริษัท เจ.เอส ยูไนเต็ด จํากัด

โทร 0-2716-5305-7 http://www.hirakawathailand.com/

โทร 0-3441-9299 http://www.lekise.com/

บริษัท ไซเบอรคอล จํากัด

มิตใิ หมของวงการโปรเจคเตอร นวัตกรรม ใหมลาสุดของวงการโปรเจคเตอรจาก ญี่ปุนดวยเทคโนโลยี HYBRID LASER & LED ที่ไมตองใชหลอดภาพในการใหความ สวางเหมือนโปรเจคเตอรทั่วๆไป ไมมีสาร ปรอทจากหลอดภาพ มีอายุการใชงานได ถึง 20,000 ชั่วโมง หรือมากกวา 10 ป ให แสงสวางสูงสุดถึง 4000 ANSI Lumen สามารถชวยลดคาไฟฟาและลดคาใชจาย บํารุงรักษาในระยะยาว แถมดวยการเปด / ปด เครื่องไดทันที โดยไมตองรอเหมือน โปรเจคเตอรอื่นๆ

โทร 0-2374-3411 www.cybercall.co.th E-mail : sales@cybeycall.co.th

September 2012 l 35

Energy#46_p35-36_Pro3.indd 35

8/22/12 10:16 PM


อินทรีซูเปอร พลัส

หลอด Fluorescent LED แบบ LED Tube ปูนซีเมนตผสม อินทรีซูเปอร พลัส สูตร เขมขน ผลิตภัณฑคุณภาพตามมาตรฐาน มอก.80- 2550 ไดรับการพัฒนาคิดคน เปนพิเศษจนไดสูตรเขมขน ทําใหเนื้อปูนมี คุณภาพสูง เหมาะ สําหรับงานกออิฐฉาบ ปูน งานคอนกรีตขนาดเล็ก ที่ไมตองการ กําลังอัดสูง เชน เสา คาน หรือ พื้นขนาด เล็ก ตลอดจนชิน้ สวนคอนกรีตหลอสําเร็จ ขนาดเล็ก เชน เสารัว้ ขนาดเล็ก บล็อกทาง เทา ฝารางระบายนํ้า เปนตน

บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน)

มีลักษณะเหมือนหลอด T8 ที่ ใชในปจจุบัน แตดานในเปนหลอด LED กินไฟนอยกวา รับประกันการใชงานนานกวาของเดิมที่มี อยูคือ จากเดิมหลอด Fluorescent LED เคยใชงานได 6,000 - 10,000 ชั่วโมง แต หลอดตัวใหมนี้ ใชไดนาน 50,000 ชั่วโมง กรณี ห ลอด LED ด า นในเสี ย 1 ดวง หลอดอนๆ ก็ยังทํางานอยู และสามารถที่ จะเปลี่ยนหลอด LED ที่เสียไดดวงตอดวง มี ร ะบบ Dimming สามารถปรั บ ความ สวางไดตาม ตองการทั้งระบบ Remote Control และ Manual ที่ ใชปรับจากสวิชต

โทร 1732 โทรสาร 0-2797-7788 http://www.siamcitycement.com/

บริษัท เอเชีย แอมโร อินดัสตรี้ จํากัด

Environpower Alkaline Battery Charger CT-515

เครองกําเนิดไฟฟา

โทร 0-2676-4795-8 http://www.asiaamro.com/

` Environpower Alkaline Battery Charger CT-515 เครื่องชารต ที่สามารถชารต ถานอัลคาไลนที่หมดพลังงานแลว ใหมี พลังกลับมาโลดแลนไดไมตํ่ากวา 20 ครั้ง ดวยหลักการจายไฟผานหนวยประมวลผล ที่ทําหนาที่วิเคราะหสภาพของถาน แตละ กอนวาสามารถปอนไฟเขาไปประจุใหมได ดวยปริมาณไฟเทาใด แตกตางจากระบบ การชารตถานแบบเดิมที่ชารตไดเฉพาะ ถานชารตประเภท Rechargeable ซึ่งมี ราคาแพง

เครื่ อ งป  น ไฟคุ ณ ภาพระดั บ โลกที่ น  า เชื่ อ ถือ และประหยัดคุมคา มีการใชงานที่เงียบ ปลอดภั ย สะอาด ซึ่ ง เป น เครื่ อ งป  น ไฟ แบบใหมของรุน วายอีจี ที่มีคุณภาพสูง สามารถตอบสนองตอความตองการ และ ไดประโยชนเพิม่ ขึน้ จากรุน ใหม 4 โพล ทีเ่ พิม่ ความทนทาน และประหยัดคุมราคา

บริษัท ยันมาร เอส. พี. จํากัด (ประเทศไทย)

บริษัท บลูไลท อุตสาหกรรม จํากัด

โทร 0-2581-8535

โทร 0-2326-0700-7 ตอ 149 http://www.yanmar.co.th/

ปมนําอัตโนมัติ-ฟูจิกา FCP-111

เตาอีเลคโทรลักซ Brio

ปมนํ้าอัตโนมัติ-ฟูจิกา FCP-111 เครื่อง ปมนํ้าแรงดันคงที่ พลังแรง สะดวกใน การใช ง าน และดู แ ลรั ก ษา มี ร ะยะดู ด 9 m./ ระยะสง 12 m./ อัตราการไหล 19 L/Min (at 12 m.) ตั ว ฝาครอบผลิ ต จาก พลาสติกชนิดพิเศษ นํ้าหนักเบา ยืดหยุน สูง มีอปุ กรณปอ งกันมอเตอรไหมและหยุด การทํางานเมื่อเครื่องรอนจัด มีสวิทซ ควบคุมแรงดันอัตโนมัติ และรักษาแรงดัน ในการจ า ยนํ้ า ให ส มํ่ า เสมอ มอเตอร ประสิทธิภาพสูง รับประกัน 5 ป

บริษัท ฟูจิกา อิเลคทริค (ประเทศไทย) จํากัด โทร 0-2749-5199 โทรสาร 0-2749-5200 http://www.fujika-electric.com/

เตาอี เ ลคโทรลั ก ซ Brio ได รั บ การ ออกแบบเพื่ อ ช ว ยให ป ระหยั ด พลั ง งาน สามารถให ค วามแรงไฟสู ง ถึ ง 4.3 กิ โ ล วั ต ต สรั า งความร อ นได แ รงและเร็ ว กว า เตาประกอบอาหารทั่ ว ๆ ไปถึ ง 30% ยิ่ ง ไปกว า นั้ น ยั ง มี ร ะบบควบคุ ม ความร อ นที่ แ ม น ยํ า และเปลวไฟที่ ค งที่ สมํ่าเสมอ ในขณะเดียวกันระบบหาหัวฉีด ยั ง ช ว ยยกระดั บ ประสิ ท ธิ ภ าพของการ ทํางาน ลดระยะเวลาการตมและอุนอาหาร ใหเหลือเพียงหนึ่งในสามของเวลาปกติ

บริษัท อีเลคโทรลักซ ประเทศไทย จํากัด

ศูนยบริการลูกคา 24 ชั่วโมง โทร 0-2725-9000 http://www.electrolux.co.th/

36 l September 2012

Energy#46_p35-36_Pro3.indd 36

8/22/12 1:28 AM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


Energy Keyman โดย : กองบรรณาธิการ

ก า ว สํ า คั ญ ธุ ร กิ จ . . . ป า ล ม ไ ท ย สู พ ลั ง ง า น ชี ว ภ า พ อ ย า ง ยั่ ง ยื น

อภิ ช าต จงสกุ ล เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร(สศก.)

38 l September 2012

Energy#46_p38-40_Pro3.indd 38

8/24/12 11:10 PM


ยอนหลังไปเมื่อปลายป 2551 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) ไดเปดโครงการผลิตปาลมนํ้ามันและนํ้ามันปาลมเพื่อพลังงาน ชีวิภาพอยางยั่งยืน ภายใตความความรวมมือระหวางสํานักงาน เศรษฐกิ จ การเกษตรและองค ก ารความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ ของเยอรมัน (GIZ) ซึ่งภายใตความรวมมือดังกลาว ถือวาประสบ ความสําเร็จในระดับนาพอใจ จน องคการอาหารและเกษตรแหง สหประชาชาติ (FAO) ยกยองเปนโครงการตัวอยางระดับโลกในเรื่อง ความรวมมือดานพลังงานชีวภาพและมั่นคงทางดานอาหาร ของการ ผลิตพืชพลังงานของเกษตรกรรายยอยจากผลการดําเนินงานในการ ผลิตปาลมนํ้ามันตามมาตรฐาน RSPO ลาสุด โครงการผลิตปาลมนํ้ามันและนํ้ามันปาลมเพื่อพลังงาน ชีวิภาพอยางยั่งยืน ไดสิ้นสุดโครงการตามระยะเวลาที่กําหนดเปน ที่เรียบรอย พรอมผลตอบรับจากทุกภาคสวนถึงความสําเร็จจาก โครงการครั้งนี้ และผูที่จะเลาความเปนมาของโครงการครั้งนี้ไดดี ที่สุด คือ คุณอภิชาต จงสกุล เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจ การเกษตร(สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ หนึ่งในผูที่มี สวนรวมตั้งแตเริ่มตนโครงการ

ES : โครงการผลิตปาลมนํ้ามันและนํ้ามันปาลมเพื่อ พลังงานชีวิภาพอยางยั่งยืน เกิดขึ้นไดอยางไร? เลขา สศก. : โครงการผลิตปาลมนํา้ มันและนํา้ มันปาลมเพือ่ พลังงาน

ชีวภาพอยางยั่งยืน เกิดขึ้นภายใตความรวมมือกันระหวางสํานักงาน เศรษฐกิจการเกษตรและองคการความรวมมือระหวางประเทศของ เยอรมัน หรือ GIZ ซึ่งเปนโครงการที่ใหการสนับสนุนหลักในเรื่อง ของการผลิตปาลมนํ้ามันและนํ้ามันปาลมในการนํามาใชเปนพลังงาน ชีวภาพอยางยั่งยืน และโครงการดังกลาวไดดําเนินการมาเปนระยะ เวลา 3 ป โดยเริ่มตนโครงการเมื่อเดือนธันวาคม 2551 จนสิ้นสุด โครงการในเดือนมิถุนายน 2555 ที่ผานมา

โดยการดําเนินโครงการที่ผานมา มีวัตถุประสงคหลักอยู 2 องคประกอบ คือ องคประกอบแรก เพื่อขับเคลื่อนนโยบายการผลิต ปาลมนํ้ามันอยางยั่งยืนในประเทศไทย เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน ของ RSPO หรือ Roundtable On Sustainable Plam Oil ซึ่งถือเปน มาตรฐานหลักที่ตั้งอยูบนพื้นฐานของหลักเกณฑทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม องคประกอบที่สองคือ เพื่อเปนการสนับสนุน โรงงานและกลุมเกษตรกรในพื้นที่ ใหหันมาสนใจ และดําเนินการผลิต ปาลมใหสอดคลองกับมาตรฐาน RSPO

ES : ทําไมตองเปนไปตามมาตรฐาน RSPO? เลขา สศก. : RSPO ถือเปนมาตรฐานทีไ่ ดรบั การยอมรับในระดับสากล

และเปนสิ่งที่ผูเกี่ยวของการธุรกิจการปลูกปาลมควรรู ไมวาจะเปน ผูป ลูก หรือ โรงงานทีร่ บั ชวงตอก็ตาม ถือเปนจุดเริม่ ตนของมาตรฐาน สากลที่สําคัญในการรับรองมาตรฐานอยางยั่งยืน สําหรับผูประกอบ การปาลมนํ้ามันในปจจุบัน เพราะผูที่จะไดรับมาตรฐาน RSPO ตอง มีความโปรงใสดานขอมูล และปฏิบัติตามกฎหมายและขอบังคับระดับ ทองถิ่น ระดับชาติ และระดับนานาชาติ โดยแบงหลักเกณฑออกเปน 3 ดานคือ หลักเกณฑดา นเศรษฐกิจ ในการปรับปรุงประสิทธิภาพอยางตอ เนื่อง เอกสารตองแสดงถึงการปรับปรุงสภาพการผลิต และการเพิ่ม อยางตอเนื่องอันนําไปสูการสรางงานและจางงานตอไป หลักเกณฑดานสิ่งแวดลอม ผูที่ไดรับมาตรฐาน จะตองไมได ผลผลิตจากการตัดไมถางปา ทําลายปาฝน หรือบริเวณอื่นที่มีคุณคา สูงตอการอนุรักษในการที่จะนํามาทําเปนพื้นที่ปลูกปาลมทั้งพื้นที่ใหม หรือพื้นที่ที่มีอยูกอนแลว September 2012 l 39

Energy#46_p38-40_Pro3.indd 39

8/24/12 11:10 PM


หลักเกณฑดานสังคม ผูที่ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวของ สภาพการ ทํางานตองเปนไปตามมาตรฐานโรงงาน คนงานตองไดรับคาแรงขั้น ตํ่า รวมถึงการกําหนดมาตรฐานดานสุขภาพและความปลอดภัยใน การทํางานอีกดวย

ES : การทําความเขาใจโครงการฯ ดําเนินงานอยางไร? เลขา สศก. : โครงการฯ ไดรวมกับผูเชี่ยวชาญดานนํ้ามันปาลม

หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ รวมถือองคกรเอกชนในการพัฒนา ทําความเขาใจและจัดทําคูมือดานการผลิตปาลมเพื่อใหสอดคลองกับ มาตรฐาน ซึ่งหลักการทํางานในพื้นที่ของโครงการฯ จะเนนถึงความ สามารถในการเพิ่มผลผลิตปาลมนํ้ามัน การพัฒนาคุณภาพ ตลอด จนถึงการพัฒนาระบบอยางยั่งยืน โดยไดมีการผลิตคูมือที่เกี่ยวของ กับการปฏิบตั งิ านในพืน้ ทีซ่ งึ่ ประกอบดวย คูม อื ดานการใชปยุ คูม อื ดาน การจัดสวน สมุดบันทึกสวนปาลม คูมือดานอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย คูมือระบบควบคุมภายใน และคูมือการปฏิบัติตามมาตรฐาน RSPO สําหรับเกษตรกรรายยอยรวมถึงแผนความรูดานการใชศัตรู พืชแบบผสมผสาน เปนตน

ES : มีการแตกยอดโครงการหรือไม? เลขา สศก. : นอกจากการจัดทํามาตรฐานการผลิตปาลมนํ้ามัน

อยางยั่งยืนภายใตกรอบ RSPO ยังมีการตอยอดสูสายงานดานอื่นๆ ดวย ไดแก โครงการศึกษาการปลอยกาซเรือนกระจกจากอุตสาหกรรม นํา้ มันปาลมของประเทศไทย, โครงการศึกษาพืน้ ทีท่ มี่ คี ณ ุ คาสูงตอการ อนุรักษ และการสงเสริมการปลูกปาลมนํ้ามันอยางยั่งยืน รวมทั้งการ ติดตามผลกระทบการผลิตนํ้ามันปาลมอยางยั่งยืนอีกดวย นอกจากนี้ ยังถือเปนโครงการ ทีน่ า ภูมใิ จอยางมากเมือ่ องคการ อาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO) ไดมีการเผยแพรผลการ ศึกษาการดําเนินงานของโครงการผลิตปาลมนํ้ามันอยางยั่งยืนภาย ใตกรอบ RSPO และยกยองใหเปนโครงการตัวอยางระดับโลกในเรื่อง ความรวมมือดานพลังงานชีวภาพและความมัน่ คงทางดานอาหาร ของ การผลิตพืชพลังงานของเกษตรกรรายยอยที่ไดรับการคัดเลือกจาก ทั่วโลก จากผลการดําเนินงานกับเกษตรกรรายยอยอิสระในการผลิต ปาลมนํ้ามันตามมาตรฐาน RSPO อีกดวย และหลังสิ้นสุดโครงการฯ ตามระยะเวลาที่กําหนด กําลังศึกษาความเปนไปไดในการเปดโครงใหม ใหมทเี่ กีย่ วของ หากกลุม เกษตรกรมีความสนใจและไดรบั สนับสนุนจาก ภาคเอกชน และภาครัฐบาลที่เกี่ยวของ

ES : ผลจากการดําเนินโครงการฯ เปนอยางไร? เลขา สศก. : การสงเสริมกลุม เกษตรกรเพือ่ เขาสูม าตรฐาน ดําเนิน

การโดยสนับสนุนชวยเหลือใหเกษตรกรสมัครเปนสมาชิก RSPO และ รับการตรวจรับรอง มีกลุมเกษตรกรรายยอยที่เขารวมโครงการฯ สมัครเขาเปนสมาชิกของ RSPO จํานวน 4 กลุม ไดแก กลุมวิสาหกิจ ชุมชนเพื่อการผลิตปาลมนํ้ามันอยางยั่งยืน(ยูนิวานิช-ปลายพระยา), กลุม วิสาหกิจชุมชนเพือ่ การผลิตปาลมนํา้ มันอยางยัง่ ยืน(เหนือคลองเขาพนม), กลุมวิสาหกิจชุมชนเพื่อการผลิตปาลมนํ้ามันอยางยั่งยืน (สุขสมบูรณ) และกลุมวิสาหกิจชุมชนเพื่อการผลิตปาลมนํ้ามันอยาง ยั่งยืน (สุราษฎรธานี) ซึ่งดําเนินการตามขอกําหนดและตัวชี้วัดตาม มาตรฐานของ RSPO และไดรับการตรวจรับรองจากองคกรรับรอง ภายนอก (Certify Body : CB) ในเดือนเมษายนและ RSPO ใหการ รับรองเมื่อเดือนกรกฎาคม 2555 โดยเปนกลุมเกษตรกรอิสระผูปลูก ปาลมนํ้ามันรายแรกของโลกที่ผานการรับรองมาตรฐาน RSPO 40 l September 2012

Energy#46_p38-40_Pro3.indd 40

8/24/12 11:10 PM


Energy Keyman โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“ขยะรีไซเคิล” ขยะที่มีมูลคา

สมพงษ ตั น เจริ ญ ผล ประธานคณะกรรมการบริหาร สถาบันการจัดการบรรจุภณ ั ฑและรีไซเคิลเพอสิง่ แวดลอม

September 2012 l 41

Energy#46_p41-43_Pro3.indd 41

8/24/12 11:49 PM


ES : ปจจุบนั ขยะรีไซเคิลมีมากนอยเพียงใด?

คุณสมพงษ : จากขอมูลของกรมควบคุมมลพิษที่ออกมาเมื่อป 2010

ปญหาการแยกขยะรีไซเคิลในประเทศไทยนั้นยังเปนเรื่องที่หลาย หนวยงานออกมารณรงคใหความรู ความเขาใจ และออกมาสรางแรง จูงใจในการที่จะใหประชาชนมีการคัดแยกขยะกอนทิ้ง หรือพยายามสราง มูลคาใหแกขยะรีไซเคิลเหลานั้นเพื่อลดปญหาขยะลนเมืองอยางในปจจุบัน ที่กําลังเกิดขึ้นในหลายพื้นที่ สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑและรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หรือ TIPMSE เปนหนวยงานที่ไม แสวงหากําไร ริเริ่มกอตั้งโดยกลุมอุตสาหกรรมภายใตสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย 5 กลุมหลัก ไดแก กลุมอุตสาหกรรมพลาสติก เยื่อและ กระดาษ แกวและกระจก เหล็กและอลูมิเนียม กับสมาชิกที่ผลิตสินคาที่ เกี่ยวของกับการใชบรรจุภัณฑ เพื่อรณรงคใหทุกภาคสวนรวมกันคัดแยก บรรจุภัณฑใชแลวออกจากขยะตั้งแตตนทาง เพื่อใหปริมาณบรรจุภัณฑ ใชแลวในกองขยะทั่วประเทศลดลงดวยวิธีที่ปลอดภัยและเหมาะสม ภายใต แนวคิด “บรรจุภัณฑไมใชขยะ คัดแยกกอนทิ้ง” โอกาสนี้เราได คุณสมพงษ ตันเจริญผล รองประธานสภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และประธานคณะกรรมการบริหาร สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑ และรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม ไดให เกียรติมาพูดคุยกับเราถึงความรวมมือลาสุดที่ทาง TIPMSE ไดรวมกับ ศูนยวัสดุรีไซเคิลกลุมอาชีพซาเลง ชุมชนออนนุช 14 ไร เขตประเวศ เปดตัว “รานศูนยบาท” รานสะดวกซื้อที่แปลงขยะมาเปนมูลคา

ขยะทั่วประเทศมี 15.3 ลานตัน แตสามารถนํารีไซเคิลไดไมถึง 20% ไดแค เพียงกวา 16% เทานั้น เราเริ่มดําเนินการโดยสถาบัน TIPMSE รวมมือกับ ภาครัฐและเอกชนก็ไดตวั เลขมาประมาณ 19% แตกย็ งั เห็นไดวา เปนสัดสวน ที่นอยมาก ในอัตราสวนของประเทศที่พัฒนาแลวสามารถนําวัสดุที่ใชแลว กลับมารีไซเคิลไดถึง 40% ซึ่งเปนเปาหมายที่เราจะทําตอไป โดยสถาบัน TIPMSE เราทําหนาที่เปน service provider เหมือน พี่เลี้ยงใหขอมูลในสิ่งที่ดําเนินการรวมกับสถาบันตางประเทศ และหนวย งานภาครัฐในประเทศ ที่จะใหความรูกับประชาชนทั่วไป รวมไปถึงประชาชน ในเขตชุมชนตางๆ ถึงการที่จะนําวัสดุใชแลวกลับมาใชใหมหรือลดการใช

ES : “รานศูนยบาท” มีทมี่ าอยางไร? คุณสมพงษ : เปนที่ทราบกันดีอยูแลววา ปจจุบันคนไทยตองเผชิญกับ

ปญหาเรือ่ งคาครองชีพทีส่ งู ขึน้ ในทุกดาน สิง่ ของอุปโภคบริโภคตางๆ ลวน พรอมใจกันปรับตัวขึน้ ราคา ในขณะทีร่ ายรับไมสมดุลกับรายจาย ซึง่ ปญหา ดังกลาวสงผลกระทบถึงคนทั่วประเทศ สถาบัน TIPMSE ไดตระหนักถึง ปญหาดังกลาวและพยายามทีจ่ ะรวมหาทางออกใหกบั ประเทศในบทบาทและ ขอบเขตที่ทางสถาบันฯ มีความเชี่ยวชาญ นั่นคือ การจัดการวัสดุรีไซเคิล ซึ่งสถาบัน TIPMSE พบวา คนสวนใหญมองขามความสําคัญและมูลคา ของการจัดการวัสดุรไี ซเคิลซึง่ มีมลู คาเปนเงิน สามารถนํามาจับจายใชสอย ชวยลดคาครองชีพของประชาชนได อีกทั้งสถาบัน TIPMSE มีชุมชนเครือ ขายทีม่ คี วามพรอมทีจ่ ะกาวไปสูก ารจัดการระบบรานชุมชนวัสดุรไี ซเคิลแบบ ยั่งยืน จึงไดประสานความรวมมือกับเครือขายของสถาบัน TIPMSE จัดตั้ง โครงการ “รานศูนยบาท” ขึ้นเปนครั้งแรกในเมืองไทย โดยรานดังกลาว 42 l September 2012

Energy#46_p41-43_Pro3.indd 42

8/24/12 11:49 PM


เปนรานคาของชุมชนอยางแทจริงที่มุงสนองตอบความตองการของแตละ ชุมชน ในรูปแบบตางๆ เชน รานของชํา รานขาวแกง รานรับแลกสินคา เคลื่อนที่ ตามความตองการของแตละชุมชน โดยมีแนวคิดในการใชวัสดุ รีไซเคิลแทนเงินสดเพื่อแลกสินคาอุปโภคบริโภคในชีวิตประจําวัน เพื่อใหเกิด ความยั่งยืนในชุมชน และลดปริมาณขยะในประเทศ รวมทั้งเปนการสราง วัฒนธรรมการคัดแยกขยะใหกับคนไทยอีกดวย

ES : เรียกวาเปนรานคาทีเ่ ห็นคุณคาของขยะใชไหม? คุณสมพงษ : ในตางประเทศนั้น รานที่มีลักษณะเดียวกับรานศูนยบาท

นั้นตองบอกวายังไมมีเลย ผมถึงบอกวานี่คือภูมิปญญาชาวบานที่นอก เหนือจากการเลี้ยงชีพของซาเลง การที่ซาเลงนั้นเก็บของเกาไปขายเรา ก็พยายามใหขอมูลวามันมีของที่รีไซเคิลไดและมีมูลคาสูงกวาการขาย ของใชแลวธรรมดา มันก็สรางมูลคาได และเขาก็มาชวยชุมชนของเขา เองคือรานศูนยบาท ซึ่งเปนรานสะดวกซื้อที่ไมตองนําเงินสดมาใช เพียง นําวัสดุรีไซเคิลที่เก็บมาไดมาแลกเปลี่ยนสินคาอุปโภคบริโภคที่ใชในชีวิต ประจําวัน โดยไมไดคิดกําไร แตผูซื้อยังสามารถเปนหุนสวนไดเหมือนกับ ระบบของสหกรณ ที่ซื้อมากก็ยิ่งมีเงินปนผลมาก โดยจะทําการปนผล 6 เดือนครั้ง ซึ่งถือเปนประโยชนอยางยิ่งในชุมชน ทาง TIPMSE ไมไดเปนผูจัดหาสินคาใหราน แตจะเปนเพียงพี่ เลี้ยงดานการวางแผนการจัดการ การเชื่อมโยงเครือขายเพื่อใหแตละ ชุมชนไดดําเนินการรานศูนยบาทไดเหมาะสมกับสภาพของตน ซึ่งทาง รานจะเปนผูจัดหาสินคาตามความตองการของชุมชน

ES : ปจจุบนั ปญหาการแยกขยะของคนไทยยังมีอยูม ากไหม? คุณสมพงษ : ปญหาการคัดแยกขยะของคนไทยนั้นยังมีอยูมาก และ

นับเปนปญหาของโลกดวย อยูท วี่ า ประชาชนในประเทศนัน้ ๆ มีวนิ ยั หรือเปลา ตัวเราเองเริ่มตนมาอยางไมมีวินัยก็ตองพยายามโดยสถาบัน TIPMSE ซึ่ง เปนการรวมตัวของภาคเอกชน รอภาครัฐไมไหว เราจึงดําเนินการเอง ใน 5 ปนใี้ ชเงินไปเปนรอยลานเพือ่ ใหความรูใ หกบั ประชาชน นักเรียนนักศึกษา และขายไอเดี ย นี้ ใ ห กั บ สถาบั น ภาครั ฐ ว า มี แ นวทางเหมื อ นเราหรื อ ไม จะใหการสนับสนุนเราไหม ถาไม เราก็ดําเนินการเอง โดยเราไดชุมชน ออนนุช 14 ไรเปนพันธมิตรแหงหนึ่ง นอกจากนี้เรามีเทศบาลทั่วประเทศที่ เขาเห็นดวยและนํารูปแบบไปใช อยางนอยที่สุดเทศบาลทุกเทศบาลสามารถ ดําเนินการเองได โดยคนในชุมชนไดประโยชนดวย

ES : ปจจัยที่ทําใหประสบความสําเร็จคืออะไร? คุณสมพงษ : ผมคิดวาโดยธรรมชาติของมนุษยไมมใี ครทีต่ อ งการเปน

ตัวประหลาด อยูในชุมชนใดก็อยากจะมีสวนรวมในชุมชนนั้นๆ เพียงแตการ เริม่ ตนมันเปนจุดสําคัญ ธรรมชาติของมนุษยตอ งมีผนู าํ หรือการรวมตัวกัน แลวคัดเลือกผูนํา นําในสิ่งที่ดี นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขององค สมเด็จพระเจาอยูหัวมาใชเพราะเปนประโยชนทั้งสิ้น September 2012 l 43

Energy#46_p41-43_Pro3.indd 43

8/24/12 11:50 PM


Energy Design โดย : รังสรรค อรัญมิตร

วัตถุดิบนั้นๆ ที่จะนํามาออกแบบ เพื่อใหสามารถใชงานไดจริง ให มีความแข็งแรง เปนมิตรตอสิ่ง แวดลอม และสามารถยอยสะลาย ไดงาย ลาสุด สตารบัคส ไดรวมกับ ผศ.ดร.สิงห อินทรชูโต อาจารย และนักออกแบบเพือ่ สิง่ แวดลอม คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร ร ว มพั ฒ นานํ า เอากากกาแฟที่ ผ า นการใช ง านแล ว มาผลิ ต เป น เฟอรนิเจอร และวัตถุดิบที่ใชผลิต เฟอรนิเจอร โดยแรงบันดาลใจในการนํา กากกาแฟมารีไซเคิลออกแบบเปน เฟอรนิเจอร ของ ผศ.ดร.สิงห นั้ น เพี ย งต อ งการนํ า กากกาแฟ กลับมาทําประโยชนอีกครั้ง อยาก ทําใหกากกาแฟกลายเปนวัตถุดิบ

ดี ไ ซน์ เฟอร์ น ิ เ จอร์ จ า ก ก า ก ก า แ ฟ รี ไ ซ เ คิ ล

การตกแตงดีไซนเพื่อการอนุรักษพลังงานและใหเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมในปจจุบันนักดีไซนหรือสถาปนิกผูออกแบบไดคิดคน พัฒนาการออกแบบใหมีประสิทธิภาพตอการอนุรักษสิ่งแวดลอม มากยิ่งขึ้น โดยไดเลือกใชวัตถุดิบที่ผานการใชงานแลวมารีไซเคิล ออกแบบเปนผลิตภัณฑขึ้นมาใหม ซึ่งสวนใหญที่เห็นกันมากนั้น คือ เฟอรนิเจอรหรือของตกแตงบานที่ไดรับการออกแบบมาจากเศษวัสดุ เหลือใชไมวา จะเปน เศษไม เศษเหล็ก เศษโลหะ กระดาษ หลอดูดนํา้ ไมไอศกรีม เปนตน ทั้งนี้การนําวัสดุที่เหลือเศษมาออกแบบนั้นไมไดเปนเพียงการ ออกแบบเพือ่ ความสวยงามเพียงอยางเดียวแตยงั เปนการออกแบบให สอดคลองกับการลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมดวย โดยเริ่มจากการ ดีไซนผลิตภัณฑตงั้ แตตน จนจบหรือการออกแบบผลิตภัณฑทสี่ ามารถ ใชงานไดไปจนถึงการยอยสลายไดงายหรือนําไป Recycle ไดตอ ซึ่ง ชวยเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมไดเปนอยางดี และการออกแบบโดยการคํานึงถึงภาวะโลกรอนหรือออกแบบ เพื่ อ ลดผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มนั้ น ต อ งเริ่ ม ตั้ ง แต ก ารทํ า วิ จั ย 44 l September 2012

Energy#46_p44-45_Pro3.indd 44

8/22/12 10:19 PM


เพื่อใชงานไดเนื่องจากกากกาแฟเหลือทิ้งจํานวนมาก และยังไมมีการ พัฒนาจริงจังจนเปนวัสดุทดแทนที่ใชสําหรับงานกอสรางหรืองาน ออกแบบในเชิงพาณิชยได และจากการคิดคนนัน้ กากกาแฟสามารถนํามาทําเปนวัสดุเบือ้ งตน ของการผลิ ต เฟอร นิ เ จอร ไ ด ผู  อ อกแบบจึ ง ได พั ฒ นาต อ เป น ชิ้ น งาน 3 มิติ พรอมไดศกึ ษาความเปนไปได ผูอ อกแบบเลยไดออกแบบ เฟอรนิเจอรกึ่งประติมากรรมโดยใชรูปทรงของตอไม กิ่งกานและ ลําตนไม มาเปนแรงบันดาลใจ กลายเปนคอลเลคชัน่ Logg ซึง่ มี 5-6 แบบ อยางไรก็ตามการนํากากกาแฟมารีไซเคิลออกแบบนั้นเปนเรื่อง ใหมและเปนเรื่องยากเนื่องจากไมเพียงแตใชเทคนิคที่ตองอาศัยนัก เคมี หองแลปทดลอง เครื่องมือตางๆ และผูเชี่ยวชาญดานการขึ้น รูปถือเปน key success factor อยางยิ่งของการออกแบบ นอกจาก นี้ความชื้นทําใหการเก็บและสงเศษตองทําอยางรวดเร็วเพื่อไมใหเกิด เชื่อรา และความยากที่สําคัญในขั้นตอไปคือการที่ สตารบัคส จะนําไป ขยายผลโดยนําวัสดุนี้ไปใชในสาขาอื่นๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศ จึงทําใหผูออกแบบตองทํางานอยางหนักเพื่อสรางความมั่นใจใหผู บริหารของสตารบัคส เห็นคุณคาและความสําคัญในการใชวัสดุนี้จน นําไปใชเปนมาตรฐานระดับโลก

การนําเอากากกาแฟมารีไซเคิลนั้นหากผูออกแบบสามารถ ทําใหวัสดุนี้เปนมาตรฐานของรานกาแฟ สตารบัคสและอื่นๆ ได มัน จะเปนการลดผลกระทบดานการฝงกลบ ลดการหมักขยะซึ่งก็เปนการ ลดกาซเรือนกระจกที่สงผลตอภาวะโลกรอน ที่สําคัญวัสดุนี้เปนวัสดุ ทดแทนไม วัสดุกรุผนัง วัสดุทําเครื่องเรือนตางๆ ไดซึ่งก็จะเปนการ ลดการใชทรัพยากรธรรมชาติดวยครับ September 2012 l 45

Energy#46_p44-45_Pro3.indd 45

8/22/12 1:49 AM


Residential โดย : สรรชณิฏฐ

เยื อ นรี ส อร ท อนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน

ณ บานลักษสุภา รีสอรท

ต น กํ า เ นิ ด หั ว หิ น

ปจจุบันธุรกิจโรงแรม รีสอรท นั้นเริ่มตระหนักถึงการอนุรักษ พลังงานและสิ่งแวดลอมมากขึ้นเพื่อลดตนทุนดานพลังงานซึ่งเปน ปจจัยสําคัญในการแขงขันและสนองความตองของคนที่ตองการ แสวงหาธรรมชาติ ใสใจพลังงาน และนี้เปนอีกหนึ่งรีสอรทที่ไดตระหนักถึงการอนุรักษพลังงาน และสิ่งแวดลอม บานลักษสุภา รีสอรท รีสอรทแหงนี้นั้นเปนสไตล Colonial สถาปตยกรรมแบบยุโรปผสมไทย โดยการตกแตงนั้นสะทอน ใหเห็นถึงชีวิตแบบดั่งเดิมทีไดรับอิทธิพลจากสังคมชั้นสูงของไทย โดย ผูมาเยือนจะไดสัมผัสกับมนตเสนหวัฒนธรรมไทยและความรมรื่นของ ธรรมชาติแมกไมนานาพรรณของตนไมใหญที่อยูในบริเวณรีสอรท ใหผูมาพักผอนไดสัมผัสแลนดเคปที่สวยสดชื่นอิงกับชายหาดและ ทองทะเลพรอมกับสัมผัสเสนหของหัวหินไดอยางแทงจริงและเรียนรู ประวัติความเปนมาของหัวหินเพราะรีสอรทแหงนี้เปนสถานที่กําเนิด ของชื่อหัวหินคะ 46 l September 2012

Energy#46_p46-47_Pro3.indd 46

8/22/12 1:32 AM


เนื่องจากบานลักษสุภานั้นเปนที่ดินเกาของ พระเจาบรมวงศ เธอ พระองคเจา กฤษดากรภินิหาร กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ เปน เสด็จปูทวดของ หมอมลักษสุภา กฤดากร โดยกรมพระนเรศเปน พระโอรสของ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 4 เปนตนกระกูลกฤดากร และเปนผูสําเร็จราชกาลใหมาดูแลหัวหิน และเปนคนตั้งชื่อหัวหินตั้งแตตน นี้จึงเปนที่มาของหัวหิน นอกจากการยอนอดีตแลวที่นี่เขายังใหความสําคัญในเรื่อง การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอีกดวยเพื่อลดผลกระทบของ ภาวะโลกรอน โดยมีมาตรการและแนวทางการดําเนินการหลายอยาง เริ่มจากการออกแบบหองพักที่ติดประตู หนาตางกระจกบาน ใหญที่สามารถรับลมเย็น ใกลชิดกับธรรมชาติ และชวยใหอากาศ ถายเทไดสะดวกซึง่ ในบางวันไมตอ งเปดแอรจงึ ชวยลดการใชพลังงาน ไดเปนอยางดี พรอมกันนี้ยังไดเปลี่ยนมาใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน T5 และหลอดตะเกียบ แอรประสิทธิภาพสูง ซึง่ ชวยใหประหยัดพลังงาน ไดเปนอยางดีคะ นอกจากสรางความเปนกรีนดวยธรรมชาติ แมกไมนานาพรรณ แลวบานลักษสุภายังไดเพิ่มความเปนกรีนใหกับรีสอรทดวยการลด ปริมาณของเสียอยางจริงจัง โดยการนํากลับมาใชอกี ไมวา จะเปนการ ลดการใช แกว พลาสติก โลหะ กระดาษ ซึ่งวัตถุดิบเลานี้จะถูกนํา ไปคัดแยกเพื่อรอการสงคืน ในสวนของเศษอาหารที่เหลือจากการ บริการจะถูกนําไปเปนอาหารสําหรับสัตว และเศษพืชผักที่เหลือจาก การตัดตกแตงจะนําไปทําปุยหมักเพื่อใชสําหรับเปนปุยของตนไมใน บริเวณรีสอรท สวนนํ้าที่ผานการบําบัดที่นี่ไดนํามาลดนํ้าตนไมเรียก ไดวาเปนการนําของที่ผานการใชงานแลวกลับมาใชประโยชนได อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อคืนกําไรใหกับสังคมบานลักษสุภาไดรวมกับ

โรตารีหัวหินทํากิจกรรมอนุรักษสิ่งแวดลอมภายในหัวหิน ไมวาจะ เปนการเก็บขยะชายหาด การปลูกตนไม เปนตน สวนดานบริการและสิ่งอํานวยความสะดวกไดรับการออกแบบ มาโดยเฉพาะเพื่อรองรับครอบครัวที่แสวงหาความสะดวกสบายของ ที่พักสวนตัวที่เต็มไปดวยกิจกรรมสําหรับเด็กและผูใหญ ทั้งการ บริการนวดสปา เรือพายชมปลาโลมา กิจกรรมสอนทําอาหาร ซึ่งผูที่สนใจมาสัมผัสบรรยากาศประวัติศาสตร และมนเสนห ชายหาดหัวหินแหงบานลักษสุภา รีสอรท นั้นเขามีหองพักไวรับรอง ผูมาเยือนกวา 52 หอง ผูเขาพักสามารถเลือกที่จะสนุกผอนคลายกับ วันหยุดในวิลลาไดอยางสบาย ทั้ง สตูดิโอแทมมารี, วิวสวน, การเดน วีรันดา, หอง 2 หองนอน (หองพักสําหรับครอบครัว) และวิลลา 3 หองนอน...ลองไปเยือนดูคะ รับรองจะไมผดิ หวังแลวเลมหนาจะหาทีพ่ กั ประหยัดพลังงานแถวเขาใหญมาเลาสูก นั ฟงเพือ่ เปนการตอนรับปลาย ฝนตนหนาวคะ

September 2012 l 47

Energy#46_p46-47_Pro3.indd 47

8/22/12 1:32 AM


Energy Management มีประสิทธิภาพมากกวามาตรฐานการอนุรักษพลังงานที่กําหนดไว 5. เงินอุดหนุนสําหรับการลงทุนตามแผนอนุรักษพลังงานของอาคาร ควบคุมและโรงงานควบคุมทีไ่ ดรบั ความเห็นชอบจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน (พพ.) (หากตองการ) 6. สามารถเขารวมอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับการอนุรักษพลังงาน โดยไมตองเสียคาใชจายแตอยางใด

ใครบางที่ตองดําเนินการอนุรักษพลังงาน

http://carriercomfortteam.com/knowledge-center/energysaving-tips.php

ผูที่จะอยูภายใตกฎหมายฉบับนี้และมีหนาที่ตองดําเนินการตามพระราช บัญญัติการสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535 นั้น จะถูกเรียกวา “อาคาร ควบคุม” หรือ “โรงงานควบคุม” แลวแตกรณี โดยจะเนนไปที่อาคารและโรงงาน ที่มีการใชพลังงานในปริมาณที่มากและมีศักยภาพในการอนุรักษพลังงาน โดยจะ ประกาศออกมาเปนพระราชกฤษฎีกากําหนดอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมมา ใชบังคับอาคารหรือโรงงานจะเขาขายเปนอาคารควบคุมหรือโรงงานควบคุมนั้น จะตองมีลักษณะการใชพลังงานอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้ 1. ไดรบั อนุมตั จิ ากผูจ าํ หนายไฟฟาใหใชเครือ่ งวัดไฟฟาตัง้ แต 1,000 กิโลวัตต ขึ้นไปหรือติดตั้งหมอแปลงตัวเดียวหรือหลายตัวรวมกันมี ขนาดตั้งแต 1,175 กิโลโวลทแอมแปรขึ้นไป หรือ 2.มีการใชพลังงานไฟฟาความรอน จากไอนํ้าหรือพลังงานสิ้นเปลือง

แจงละเอียด บทความบริหาร อนุรกั ษพลังงาน ทําอยางไร?

ฉบับนี้เราจะไปดูนิยามการบริหารจัดการพลังงาน ที่ใหรายละเอียดและ แนวทางปฏิบตั ิ จาก สวนเครือ่ งจักรกล สํานักชลประทานที่ 17 นราธิวาส วามี ขอกําหนดอยางไร ในการนําทางไปสูค วามสําเร็จในการอนุรกั ษพลังงาน เริม่ จาก

การอนุรักษพลังงานคืออะไร

การอนุรักษพลังงาน เปนวัตถุประสงคหลักภายใตพระราชบัญญัติการ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.2535 ที่กําหนดใหกลุมเปาหมายคือ อาคาร ควบคุมและโรงงานควบคุม ตองจัดเตรียมโครงสรางพืน้ ฐาน เชน ขอมูล บุคลากร แผนงาน เปนตน เพื่อนําไปสูการอนุรักษพลังงานตามกฎหมายและกิจกรรมการ อนุรักษพลังงานนี้ยังใชเปนกรอบและแนวทางปฎิบัติในการปรับปรุงประสิทธิภาพ การใชพลังงานใหดียิ่งขึ้น การดําเนินงานเพื่อการอนุรักษพลังงาน ทานจะไดรับความชวยเหลือตาม ที่กฎหมายกําหนดไวในหลายเรื่องดวยกันคือ 1. เงินชวยเหลือเงินอุดหนุนสําหรับการกําหนดเปาหมายและ แผนการ อนุรักษพลังงานของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม 2. เงินชวยเหลือใหเปลาไมเกิน 100,000 บาท สําหรับคาใชจายในการ ตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานเบื้องตน (หากตองการ) 3. เงินอุดหนุนจํานวนรอยละ 50 ของคาใชจายในการจัดทําเปาหมายและ แผนอนุรกั ษพลังงาน (รวมคาใชจา ยในการตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงาน โดยละเอียด) แตไมเกิน 500,000 บาท (หากตองการ) 4. เงินชวยเหลือใหเปลาไมเกิน 2,000,000 บาท สําหรับเจาของอาคาร ควบคุมและโรงงานควบคุม ทีป่ ระสงคจะปรับปรุงการออกแบบกอสรางโรงงานและ อาคารทีอ่ ยูร ะหวางการออกแบบหรือกอสราง ทั้งนี้เพือ่ ใหมกี ารใชพลังงานอยาง

อยางใดอยางหนึง่ หรือรวมกันตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคมถึงวันที่ 31 ธันวาคมของปทผี่ า นมา มีปริมาณพลังงานเทียบเทาพลังงานงานไฟฟาตั้งแต 20 ลาน เมกะจูลขึ้นไป

การอนุรักษพลังงานตามกฎหมายตองทําอะไรบาง

พระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ.2535 ไดกาํ หนดให ผูท เี่ จาของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม มีหนาทีด่ าํ เนินการอนุรกั ษพลังงาน ในเรื่องดังตอไปนี้ 1. จัดใหมีผูรับผิดชอบดานพลังงานอยางนอย 1 คน ประจํา ณ อาคาร ควบคุมและโรงงานควบคุมแตละแหง 2. ดําเนินการอนุรักษพลังงานใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไว 3. สงขอมูลเกี่ยวกับการผลิตการใชพลังงานและการอนุรักษพลังงาน ใหแก พพ. 4. บันทึกขอมูลการใชพลังงาน การติดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักร หรืออุปกรณที่มีผลตอการใชพลังงานและการอนุรักษพลังงาน 5. กําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงานสงให พพ. 6. ตรวจสอบและวิเคราะหการปฏิบัติตามเปาหมายและแผนการอนุรักษ พลังงาน รายละเอียดและวิธีปฏิบัติตางๆ ในขอ 2 ถึงขอ 6 จะประกาศออกเปนกฎ กระทรวง โดยไดสรุปสาระสําคัญไวในหัวขอ เรือ่ ง ขัน้ ตอนการดําเนินการอนุรกั ษ พลังงานตามกฎหมาย

48 l September 2012

Energy#46_p48-50_Pro3.indd 48

8/24/12 10:53 PM


ขั้ น ตอนที่ จ ะนํ า คุ ณ ไปสู  ค วามสํ า เร็ จ ในการอนุ รั ก ษ พลังงานและถูกตองตามขอกําหนดในกฎหมาย

ขั้นตอนการดําเนินงาน

1.คัดเลือกทีป่ รึกษา ดานอนุรกั ษพลังงานทีจ่ ะมาดําเนินการจากบัญชีรายชือ่ ที่ พพ. ประกาศและแจงชื่อของที่ปรึกษาให พพ. ทราบ 2.ยื่ น แบบรายละเอี ย ด ขอรั บ การสนั บ สนุ น ค า ใช จ  า ยในการว า จ า ง ทีป่ รึกษาดานอนุรกั ษพลังงานทีจ่ ะมาดําเนินการตอสํานักกํากับและอนุรกั ษพลังงาน (หากตองการ) 3.พพ. อนุมัติเงินสําหรับคาใชจายในการวาจางใหโดยเร็ว 4.เสนอรายงานตอ พพ. ตามระยะเวลาที่กําหนด พพ. จะสนับสนุนคาใชจายในการตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงาน โดยละเอียดที่เกิดจากการวาจางที่ปรึกษาดานการอนุรักษพลังงานรวมไปกับคา ใชจายในการจัดทําเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน

ผูรับผิดชอบดานพลังงานมีหนาที่ทําอะไรบาง

1.บํารุงรักษาและตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องจักรและอุปกรณที่ใช พลังงานเปนประจํา 2.รับรองความถูกตองของรายงานการใชพลังงานและการอนุรักษ พลังงาน ที่ตองสง พพ. 3.ชวยเจาของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมจัดเปาหมายและแผน อนุรักษพลังงาน 4.รับรองความถูกตองของผลการตรวจสอบการปฎิบัติตามเปาหมาย และ แผนอนุรักษพลังงาน

คุณสมบัติที่ใชเลือกผูรับผิดชอบดานพลังงาน (เลือก อยางใดอยางหนึ่ง)

การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน

1.เจาของอาคารควบคุมหรือโรงงานควบคุมตองนําผลการตรวจสอบและ วิเคราะหการใชพลังงานโดยะเอียด มาจัดทําเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน โดยตองคํานึงถึงมาตรฐาน การอนุรักษพลังงานที่กําหนดไวในกฎหมาย 2.เปาหมายและแผนอนุรักษพลังงานตองสงให พพ.ใหความเห็นชอบ ทุกๆ 3 เดือน 3.ในครั้งแรกที่กฎกระทรวงเรื่อง การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษ พลังงานมีผลใชบังคับตองสงเปาหมาย และแผนอนุรักษพลังงานภายใน 6 เดือน หลังจากสงรายงานการตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงาน โดยละเอียดแลว 4.การจัดทําเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงานตองดําเนินการโดย ที่ปรึกษาดานอนุรักษพลังงานที่ไดรับการขึ้นทะเบียนไวกับ พพ. เปาหมายและแผนอนุรกั ษพลังงานที่ พพ. เห็นชอบแลว จะไดรบั เงินอุดหนุน จํานวนรอยละ 50 ของคาใชจา ยทัง้ หมดใหกบั เจาของอาคารควบคุมหรือทีป่ รึกษา

การตรวจสอบและวิ เ คราะห ก ารใช พ ลั ง งานโดย ละเอียด

1.เจาของอาคารควบคุมหรือโรงงานควบคุมตองจัดใหมีการตรวจสอบ และวิเคราะหการใชพลังงานโดยะเอียด ในอาคารควบคุมหรือโรงงานควบคุม และจัดทํารายงานสงให พพ. ทุกๆ 3 เดือน 2.ในครั้งแรกที่กฎกระทรวง เรื่อง การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษ พลังงาน มีผลใชบังคับตองสงรายงานดังกลาวภายใน 6 เดือน หลังจากสง รายงานตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานเบื้องตนแลว 3.การตรวจสอบและวิเคราะหรวมทั้งการจัดทํารายงานดังกลาวตอง ดําเนินการโดยที่ปรึกษาดานการอนุรักษพลังงานที่ไดรับการขึ้นทะเบียนไวกับ พพ. เทานั้น

1.สําเร็จการฝกอบรมดานการอนุรักษพลังงานที่กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม จัดขึ้นหรือใหความเห็นชอบ 2.สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูงมีประสบการณทาํ งาน ในอาคารหรือโรงงานแลวแตกรณีอยางนอย 3 ป และมีผลงานดานการ อนุรักษพลังงานตามการรับรองของเจาของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม แลวแตกรณี 3.สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางวิศวกรรมศาสตรหรือวิทยาศาสตร มีผลงานการอนุรักษพลังงานตามการรับรองของเจาของอาคารควบคุมหรือ โรงงานควบคุมแลวแตกรณี

ขอแนะนํา

สําหรับผูรับผิดของดานพลังงานที่เลือกจากคุณสมบัติในขอ 2 หรือ 3 ควรจะเขารับการฝกอบรมหลักสูตรการอนุรักษพลังงานที่ พพ. จัดขึ้น เพื่อจะ ไดมีทักษะและความเขาใจในวิธีการอนุรักษพลังงานในแงมุมตางๆ ที่จะนํามาใชใน อาคารควบคุมและโรงงานควบคุมไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น “เจาของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมตองแจงชื่อผูรับผิดชอบดาน พลังงานให พพ. ทราบภายใน 180 วัน นับจากวันที่เปนอาคารควบคุมหรือ โรงงานควบคุม”

การรายงานการใชพลังงาน

ขอกําหนดที่ควรทราบ 1. สงขอมูลการใชพลังงานและการอนุรกั ษพลังงาน ให พพ. ทุก ๆ 6 เดือน 2. บันทึกขอมูลการใชพลังงาน การติดตั้งเครื่องจักร ฯ ที่มีผลตอการใช พลังงานและการอนุรกั ษพลังงานเปนประจําทุกเดือน และเก็บขอมูลเหลานีไ้ วประจํา ที่อาคารควบคุมอยางนอย 5 ป

September 2012 l 49

Energy#46_p48-50_Pro3.indd 49

8/24/12 10:53 PM


เนื้อหาการสงขอมูลมีอะไรบาง

1. ขอมูลทัว่ ไปของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ซึง่ ไดแก สถานทีต่ งั้ ระยะเวลาการทํางาน ประเภท/กิจการของอาคารและโรงงาน เปนตน 2. ขอมูลการใชประโยชนในอาคารควบคุม เชน ในโรงแรม ระบุจํานวน ของหองพักที่จําหนายในแตละเดือน หรือขอมูลการผลิตสําหรับโรงงาน ควบคุม ในชวง 6 เดือนที่ผานมาเปนตน 3. ขอมูลการใชพลังงานทุกประเภทที่ใชในอาคารและโรงงานควบคุม ในชวง 6 เดือนที่ผานมา 4. ขอมูลการอนุรักษพลังงานที่เกิดขึ้นในชวง 6 เดือนที่ผานมา (ถามี)

เนื้อหาการบันทึกขอมูลมีอะไรบาง

1. ขอมูลทั่วไปของอาคารและโรงงาน 2. ขอมูลลักษณะอาคาร เชน พื้นที่ใชประโยชน หรือขอมูลการผลิต ในโรงงาน เปนตน 3. ขอมูลการใชพลังงานรายเดือน 4. ขอมูลการปรับปรุง เปลีย่ นแปลงเครือ่ งจักร อุปกรณหลัก ๆ ทีม่ ผี ลตอ การใชพลังงานและการอนุรักษพลังงาน ข อ มู ล ที่ เ ป น รายเดื อ นจะนํ า มาสรุ ป ทุ ก ๆ 6 เดื อ น เพื่ อ ส ง ให พพ. แบบฟอรมสําหรับการสงขอมูลและการบันทึกขอมูล พพ. ไดจดั เตรียมใหเรียบรอย ขอไดจากสํานักกํากับและอนุรักษพลังงานไดทุกวันในเวลาราชการ ผูรับผิดชอบ ดานพลังงานตองลงชื่อรับรองความถูกตองของขอมูล กอนที่จะสงให พพ. และ ควบคุมดูแลการบันทึกขอมูลรายเดือน รวมทั้งรับรองความถูกตองของการ บันทึกขอมูลนั้น ๆ ดวย

การปฏิบัติตามแผนอนุรักษพลังงาน

ขอกําหนด 1. ปฏิบตั ติ ามแผนอนุรกั ษพลังงานจะดําเนินการไดเมือ่ พพ. ไดตรวจสอบ ความเปนไปไดทางดานเทคนิคและการลงทุนเพือ่ การอนุรกั ษพลังงานและใหความ เห็นชอบกับแผนนั้นแลว 2. แผนอนุรกั ษพลังงานจะไดรบั สนับสนุนทางการเงินจากกองทุนเพือ่ การ อนุรักษพลังงาน(หากตองการ)

ความชวยเหลือทางการเงิน

1. การสนับสนุนทางการเงิน อาจอยูในรูปของเงินเปลาเพื่ออุดหนุนภาระ ดอกเบี้ยในการลงทุนเพื่อการอนุรักษพลังงาน หากเปนไปไดตามหลักเกณฑและ เงื่อนไขที่กําหนดไว 2. การเบิกเงินจะแบงเปน 3 งวด คือ - รอยละ 30 เมื่อสงคืนเครื่องจักร อุปกรณและวัสดุมาใหกับอาคารหรือ โรงงาน - รอยละ 40 เมื่อไดรับการติดตั้งเครื่องจักรฯ เปนที่เรียบรอยแลว - รอยละ 30 เมื่อไดรับผลการอนุรักษพลังงานเปนไปตามแผนฯ

การขอรับการสนับสนุนทางการเงิน

ในการดําเนินงานอนุรักษพลังงานในอาคารควบคุมและโรงงานควบคุม ตามกฎหมายกําหนดใหเจาของอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมสามารถขอรับ การสนับสนุนทางการเงินจาก “กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน” ซึง่ ไดใหรายละเอียดไวในหัวขอ เรื่อง การอนุรักษพลังงานคืออะไร พพ. ไดจัดทําแบบฟอรมขอรับการสนับสนุน ทางการเงินสําหรับการดําเนินการอนุรักษพลังงานตามกฎหมายไวแลวเชนกัน

http://measwatch.org/writing/408

คําขอรับการสนับสนุนทางการเงินสําหรับการดําเนิน งานอนุรักษพลังงานดังตอไปนี้

1.การตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานเบือ้ งตน ตองดําเนินการ โดยทีป่ รึกษาดานการอนุรกั ษพลังงานทีข่ นึ้ ทะเบียนกับ พพ. เทานัน้ สําหรับวิธกี าร ตรวจสอบ วิเคราะหและการจัดทํารายงานตองเปนไปตามรายละเอียดทีก่ าํ หนดไว ในกฏกระทรวง เรื่อง การกําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน และประกาศ กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เรื่อง วิธีการจัดทํา รายงาน การตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงาน ทั้งนี้ เพื่อให การตรวจสอบ วิเคราะห และการจัดทํารายงานเปนมาตรฐานเดียวกัน 2.การตรวจสอบและวิเคราะหการใชพลังงานโดยละเอียด และการ กําหนดเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน ตองดําเนินการเชนเดียวกับการ อนุรักษพลังงาน 3.การสนับสนุนการลงทุนตามแผนอนุรักษพลังงานตองเปนไป ตามหลักเกณฑ์ และขอกําหนดของคณะกรรมการกองทุนเพื่อสงเสริมการ อนุรักษพลังงานรายงานการตรวจวิเคราะหและรายงานการกําหนดเปาหมาย และแผนอนุรักษพลังงานเมื่อไดรับความเห็นชอบจาก พพ. จะไดรับการสนับสนุน ทางการเงิน โปรดระลึกเสมอวา “ คําขอรับการสนับสนุนทางการเงินจะตองไดรบั ความ เห็นชอบในหลักการ จาก พพ. กอน “

ขอขอบคุณขอมูลจาก คุณ บุญรินทร วงษศิริ คุณ อานุภาพ คุปตะบุตร การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย http://www.edco.co.th/index.php?

50 l September 2012

Energy#46_p48-50_Pro3.indd 50

8/24/12 10:53 PM


Green4U

โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

หลายคนคงตั้งคําถามอยู ในใจวาทําไมสินคาที่ผลิตมาจากวัสดุรี ไซเคิลถึงไดแพงกวาสินคา ทั่วไป ทั้งๆ ที่ผลิตมาจากขยะแทๆ แตราคากลับสูงเหลือเกิน ซึ่งจริงๆ แลวตองบอกวาขั้นตอนใน การนําวัสดุเหลานั้นมารี ไซเคิลนั้นมีความซับซอนและตองใชเทคโนโลยีที่มีราคาสูงกวาปกติ แตขอดี ของการนําวัสดุมารี ไซเคิลก็คือ การลดใชทรัพยากรธรรมชาติ และลดกระบวนการในการกําจัด ขยะไดอีกมากเลยทีเดียว

Kiehl’s, Earth Pore Minimizing Collection

มาเสริมความงามพรอมดูแลธรรมชาติไปกับ คีลส (Kiehl’s) ที่รวบรวม สวนผสมธรรมชาติทรงประสิทธิภาพจากแหลงตางๆ ทั่วโลกเพื่อลูกคามาตั้งแต ครั้งยังเปนรานขายยาครบวงจรในกรุงนิวยอรก รวมถึง Amazonian White Clay โคลนขาวจากลุมแมนํ้าอเมซอน บนเกาะมาราโจ ประเทศบราซิล การศึกษา โคลนชนิดพิเศษนีท้ าํ ใหคลี สเขาใจสรรพคุณดีทอ็ กซผวิ และกระชับรูขมุ ขนทีซ่ อ นอยู ในสวนผสมจากธรรมชาตินี้ไดชัดเจนยิ่งขึ้น ซึ่งคีลสไดเปดตัวสูตรดูแลผิวจาก Rare Earth หนึ่งในกลุมผลิตภัณฑอันเปนเอกลักษณของคีลส Rare Earth Pore Minimizing Collection ประกอบดวย Rare Earth Deep Pore Daily Cleanser, Rare Earth Pore Refining Tonic, Rare Earth Pore Minimizing Lotion และ Rare Earth Deep Pore Cleansing Masque

ผลิตภัณฑนี้ลดเลือนรูขุมขน และคงความนวลเนียนของผิว ไดนาน 8 ชัว่ โมง ใ น ก า ร จั ด ห า แหล ง และจั ด ซื้ อ ส ว นผสม ธรรมชาติ ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง เหล า นี้ จ ากชุ ม ชนเล็ ก ๆทั่ ว โลก ข อ ตกลงทางการค า ที่ คี ล ส ทํ า กั บ เกษตรกรและ ผูผลิตชาวพื้นเมืองนั้นเปน ธรรม (Fair Trade) เพื่อปกปองและยกระดับอนาคตของชุมชนนั้นๆ คีลสภูมิใจ กับการจัดหาแหลงและจัดซื้อ Amazonian White Clay อยางมีความรับผิดชอบ ผานพันธมิตรการคาที่เปนธรรมซึ่งชวยสนับสนุนเศรษฐกิจของชุมชนชาวพื้น เมืองบนเกาะมาราโจ ความสัมพันธน้ียังทําใหคีลสไดเรียนรูเกี่ยวกับสรรพคุณ และขนบธรรมเนียมประเพณีที่เกี่ยวของกับสวนผสมพิเศษนี้มากยิ่งขึ้นอีกดวย คีลสใหคํามั่นวาจะจัดหาแหลงและจัดซื้อสวนผสมธรรมชาติจากอเมซอน อยางยั่งยืน เพื่อใหการอนุรักษ ความหลากหลายทางชีวภาพซึ่งไมมีที่ใดเหมือน ของอเมซอนคงอยู คีลสทํางานรวมกับผูผลิตสินคาและวัตถุดิบของเรา เพื่อรับ ประกันวาคอลเลคชั่น Amazonian White Clay ไมกอผลกระทบแงลบตอสภาพ แวดลอม

ป จ จุ บั น ชายและหญิ ง ทั่ ว โลกหั น มาสนใจการดี ท็ อ กซ ผิ ว กั น มาก ขึ้ น โดยมี ค วามต อ งการที่ จ ะลดขนาดรู ขุ ม ขนที่ ข ยายกว า งและอุ ด ตั น ซึ่ ง ปกติ มั ก เกิ ด กั บ คนที่ มี ผิ ว มั น ทว า น า สนใจที่ ส ภาวะดั ง กล า วยั ง เกี่ ย วพั น กั บ ผิ ว ร ว งโรยอี ก ด ว ย เพื่ อ จั ด การป ญ หานี้ นั ก เคมี ข องคี ล ส พั ฒ นาสู ต ร ผสมพิ เ ศษจาก Amazonian White Clay (โคลนขาวอเมซอน), Kaolin (ดินนวล) และ Bentonite (ดินเบนโทไนต) ซึง่ มีประสิทธิภาพในกระชับรูขมุ ขน อยางเห็นไดชดั เพือ่ สภาพผิวทีด่ เู นียนละเอียดและมีสขุ ภาพผิวดีขนึ้ จากผลทดสอบ ความพึงพอใจหลังทดลองใช Rare Earth Pore Minimizing Lotion ในผูห ญิง 62 คนเปนเวลา 1 สัปดาหพบวา: 80% ของผูท ดลองใช จํานวน 62 คน บอกวา Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

September 2012 l 51

Energy#46_p51,53_Pro3.indd 51

8/23/12 8:45 PM


Energy#42_p15_Pro3.ai

1

4/24/12

11:35 PM

ทุกวันอาทิตย


“ไนกี ้ จี เ อส” สตั๊ดที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

ไนกี้ ผูนํานวัตกรรมกีฬาระดับโลกเปดตัวรองเทาฟุตบอลรุนใหม ลาสุด “ไนกี้ จีเอส” ที่มีนํ้าหนักเบาที่สุดในโลก ภายใตแนวคิดการออกแบบ ที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

ทีมนักออกแบบของไนกี้ ไดคิดคนและออกแบบรองเทาสตั๊ดรุน ไนกี้ จีเอส หรือ ไนกี้ กรีน สปด รองเทาฟุตบอลทีม่ นี าํ้ หนักเบาทีส่ ดุ ในโลกเพียง 160 กรัม และมีนาํ้ หนักเบาทีส่ ดุ เทาทีไ่ นกีเ้ คยผลิตมา ผลิตโดยใชวสั ดุทมี่ สี ว น ประกอบทางชีวภาพทีท่ าํ มาจากเมล็ดละหุง และวัสดุรไี ซเคิล ทีท่ าํ ใหรองเทามี ความแข็งแรงทนทาน มีความยืดหยุนสูง และนํ้าหนักเบา เหมาะกับผูเลนที่ ตองใชจังหวะในการควบคุมความเร็วระหวางเกมการแขงขัน การออกแบบรองเทาฟุตบอลรุน ไนกี้ จีเอส ไดถูกดีไซนดวยวิธีการ ปรับลดนํ้าหนักของวัสดุที่ไมจําเปนออกอยางเหมาะสม และคิดคนวิธีการ ผลิตแบบใหมที่เนนการออกแบบจากวัสดุทางชีวภาพที่สามารถนํากลับมา ใชงานใหมได โดยเฉพาะบริเวณ พื้นรองเทาที่ถูกผลิตจากสวนประกอบทาง ชีวภาพที่ทํามาจากเมล็ดละหุง 100% เพื่อมอบความแข็งแรงทนทานและ ความยืดหยุน ขณะที่ เชือกรองเทา คอรองเทา ผาบุภายใน และลิ้นรองเทา ถูกผลิตดวยวัสดุรีไซเคิลที่สามาถนํากลับมาใชใหมไดประมาณ 70% สวนประกอบของรองเทาฟุตบอล ไนกี้ จีเอส ประกอบไปดวย - พื้นรองเทา (traction plate) ของไนกี้ จีเอส ถูกออกแบบเพื่อ ตอบสนองตอการเคลื่อนที่ของผูเลนไดเปนอยางดี แผนพื้นรองเทาทําดวย พีแบ็กซเรนู หรือวัสดุที่ทํามาจากเมล็ดละหุง ที่สามารถนํากลับมาใชใหม ได โดยพื้นรองเทาชนิดนี้จะมีนํ้าหนักเบากวาพื้นรองเทารุนอื่นๆ ถึง 15% ขณะเดียวกันพืน้ รองเทายังถูกออกแบบดวยรูปลายขาวหลามตัดแบบมินมิ ลั ที่มอบความยืดหยุนและความคลองตัว สามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพใหแก ผูส วมใส สวนแนวปุม รองเทาถูกวางเรียงอยางเปนระบบ เพือ่ เพิม่ ความเร็ว ในหลายทิศทาง และมอบความมัน่ ในในการเคลือ่ นไหวทีต่ อบสนองและแมนยํา บนพื้นผิวสนาม

- จุดสัมผัสลูกฟุตบอลดานนอก ไดถกู ออกแบบดวยวัสดุสงั เคราะห Kanga-Lite ที่มอบประสิทธิภาพในการสัมผัสบอลและควบคุมบอลในแตละ สวนของรองเทาไดอยางดีเยี่ยม รวมทั้งยังชวยรองรับการหอรัดบริเวณ กลางเทาและสวนโคงของฝาเทาไดเปนอยางดี ขณะทีส่ ว นผาบุรองเทามีการ ลดวัสดุสวนประกอบที่ไมจําเปนดวยวิธีการนําสวนประกอบของเมล็ดละหุง เขามาทดแทน เพือ่ ชวยทําใหตวั รองเทามีนาํ้ หนักเบา และโอบรัดเทาใหดยี งิ่ ยึน้ - สวนบริเวณเสริมสนรองเทา ไดถูกออกแบบดวยสัดสวนแบบ สมมาตรและสมดุล เพื่อชวยรองรับเทาและมีความมั่นคงใหแกผูสวมใสไดดี ยิง่ ขึน้ ซึง่ ตัวสวนเสริมสนรองเทาทํามาจากสวนประกอบของ พีแบ็กซเรนู ที่ เปนวัสดุทที่ าํ มาจากเมล็ดละหุง เชนเดียวกัน และนอกจากนีส้ ว นเสริมรองเทา ยังผลิตมาจากวัสดุที่นํากลับมาใชใหมได 20%

นอกจากนี้ สวนอื่นๆ ของรองเทายังผลิตมาจากวัสดุรีไซเคิลเชน กัน ไดแก หนังหุมรองเทาสวนหลัง / ลิ้นรองเทา ผลิตมาจากวัสดุรีไซเคิล 95% คอรองเทาผลิตมาจากวัสดุที่นํากลับมาใชใหมประมาณ 15% และ โพลีเอสเตอรที่ถูกรีไซเคิล 32% รอยตอลิ้นรองเทาผลิตจากวัสดุรีไซเคิล พีอีเอส 88% เชือกรองเทาผลิตจากวัสดุรีไซเคิลพีอีเอส 70% และโฟม รองรับเทาภายในผลิตจากสวนประกอบทางชีวภาพจากถั่วเหลือง 15% และจากนํ้ามันปาลม

Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U Green4U

September 2012 l 53

Energy#46_p51,53_Pro3.indd 53

8/23/12 8:45 PM


Green Vision โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

สิง่ พิมพสเี ขียว

เพื่อสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน

ทุกวันนี้สินคากรีนโปรดักสนั้นเปนที่รูจักอยางแพรหลายในสังคมไทยวามีสวนชวย ในการลดใชทรัพยากรธรรมชาติ มีขั้นตอนการผลิ ต ตที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือ แมแตการนําไปรีไซเคิลตอได แตเชื่อวาหลายคนคงยั ห งไมคุนหูกับ การพิมพสีเขียว (Green Print) ที่เกี่ยวของกับวงการสิ่งพิมพซึ่งใหความสําคัญกับกระบวนการพิมพที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม จะพ จักกับ บริษัท พริ้นทซิตี้ จํากัด ผูใหบริการ โดยวันนี้ ENERGY SAVING จะพาไปรู งานพิมพที่รับผิดชอบ ตอสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนธุรกิจสิ่งพิมพรายแรกของประเทศไทยที่ไดรับ เครื่องหมาย “คารบอนฟุตพริ้นท” จาก องคการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก (องคการมหาชน) ซึ่งในสวนของสื่อสิ่งพิมพนั้นจะเรียกวา “กรีนปริ้นต” (GreenPrint) ไดมาจากการใชเทคโนโลยีในการพิมพแบบสมัยใหม ลดการใชวัสดุสิ้นเปลืองในระบบการ พิมพทั้งกระบวนการ โดยสิ่งพิมพที่ผลิตจะผานกระบวนการพิมพที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม โดยลดปริมาณการปลอยคารบอนในชวงการผลิต ผานการประเมิน วัฏจักรชีวิตของสิ่งพิมพตลอดชวงอายุ และสามารถแสดงคาตัวเลขของ CO2 ที่ วัดคาได โดย ดร.ธีระพล เตชะวิเชียร ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท พริ้นท ซิตี้ จํากัด ไดพูดถึงตัวเลขที่ติดอยูบนสิ่งพิมพของ GreenPrint วา เปนตัวเลขของ คารบอนที่เราสามารถลดลงไดเมื่อเทียบกับการพิมพปกติตอการพิมพ 1 ครั้ง ซึ่ง เราอาจจะแปลงคาของคารบอนที่ลดไดเทียบเปนตนไมหนึ่งตน บางโปรเจคสามารถ ลดไดเปนพันตน บางองคกรบอกวาตองไปปลูกตนไม ตองไปทํา CSR ซึ่งหาก มาพิมพกับเราก็เทากับเปนการปลูกตนไมอยูแลว มีการลดกาซเรือนกระจก โดย หากเปลี่ยนมาใชกระบวนการพิมพหนังสือกับทางเราก็สามารถรับรองไดวาการ พิมพนี้ปลอยคารบอนนอยกวาแบบอื่น ดร.พีระพลยังกลาวอีกวา ในอนาคตคารบอนฟุตปริ้นทเปนสิ่งสําคัญใน การทําธุรกิจสงออก หรือไมวาธุรกิจใดๆ ก็ตาม เพราะโลกมีความเปลี่ยนแปลง ไปมาก และโลกตองการการดูแลสิ่งแวดลอม ประเทศอื่นๆ มีการพัฒนาไปไกล กวาเราเยอะแลว ตอไปนี้ถาเราไมมีคาคารบอนเราอาจจะสงออกไมไดเลย เรา อาจจะถูกกีดกันทางการคาก็ได “ไมใชแควงการสิง่ พิมพทตี่ อ งลดการปลอยกาซเรือนกระจก แตทุกวงการ ก็ตองลดหมด เพียงแตวาถาเราทํากอนเราก็จะเปนผูนําเทานั้นเอง โดยผมเชื่อวา ในอนาคตบริษัทสิ่งพิมพอื่นๆ ก็จะตองทําเชนเดียวกัน” “วันนี้โลกเรามันรอนมากขึ้น ถาเราไมทําการแกไขในอนาคตเราก็จะลําบาก และสินคา ที่ไมรักษาสิ่งแวดลอมตอไปก็จะขายไมได เพราะทุกคนรักษาสิ่งแวดลอมกันหมด ตอไปนี้ใน ราคาที่เทากัน คุณภาพเทากัน มันไมมีอะไรที่แตกตางนอกจากการที่เราสามารถชวยดูแล สิ่งแวดลอมไดดวย อยางตัวเลขในอเมริกาคนกวา 70% เลือกสินคาที่รักษาสิ่งแวดลอม มากกวา ผมเชื่อวาอนาคตสินคาที่รักษาสิ่งแวดลอมจะไดรับความสนใจมากขึ้น” ดร.พีระพล กลาวทิ้งทาย

54 l September 2012

Energy#46_p54_Pro3.indd 54

8/23/12 8:48 PM


Greenovation โดย : SuKiYaKi

Carpool LED Top Light

Eco2 เปน app สําหรับมือถือและคอมพิวเตอรที่ใชตรวจสอบปริมาณคารบอนฟุตปริ้นท ซึ่งมันจะคํานวนและแจงใหคุณทราบวาวิถีการดําเนินชีวิตประจําวันของคุณสงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมมากนอยเพียงใด การทํางานของมันก็เพียงแคคุณนําเอา app นี้ไปแสกนกับบารโคด สินคาหรืออุปกรณตา งๆ ซึง่ app นีจ้ ะแสดงขอมูลของคารบอนทีส่ นิ คานัน้ ๆ ปลอยออกมา นอกจากนี้ มันยังชวยแนะแนวทางการใชชีวิตของคุณใหปลอยคารบอนใหออกมานอยที่สุด Eco2 ออกแบบโดย Jinok Kim และ Sanghee Ryu

SWISH: Sustainable Diaper Cleaning System ปจจุบันขยะ “ผาออม” ลนเมืองไดสรางปญหาอยางมากในอเมริกา ไม วาจะเปนในเรื่องของการฝงกลบ หรือแมแตการสูญเสียดานทรัพยากรและ พลังงานในการผลิตผาออมจํานวนมาก เพราะสําหรับพอแมมือใหมนั้นการ กําจัดผาออมนั้นนับเปนงานที่สกปรกและนาเบื่อมาก พอแมมือใหมหลายๆ คน มองหาความสะดวกสบายอยางผาออมใชแลวทิ้งมากกวาการคํานึงถึงปญหา ความยั่งยืน ตัวเลือกอื่นอยางการใชผาออมผาก็สรางปญหาในเรื่องการซัก ทําความสะอาด ไมวาจะเปนการซักดวยมือที่ใชเวลานานและไมมั่นใจในความ สะอาด สวนการซักดวยเครื่องก็กังวัลวาจะไปเปรอะเปอนกับเสื้อผาอื่นๆ โชคดีที่นักออกแบบที่ชื่อวา Iven Dieterle ไดทําการออกแบบ SWISH ในแนวคิดการทําความสะอาดผาออมอยางยั่งยืน โดยตัวเครื่องเปนระบบถัง เดียวมีทรงกลม ใชพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตยและยังมีประสิทธิภาพในการ ใชระบบนํ้ารอนในการฆาเชื้อโดยไมตองใชสารเคมีใดๆ อีกดวย สวนระบบอื่นๆ ก็เหมือนกับการทํางานของเครื่องซักผาทั่วไป สวนนํ้าหลังการซักผาก็จะนําไป ใชรดนํ้าตนไม

Backpacker’s Diary Concept PC หากคุณคือนักสํารวจตัวยงที่ชอบเดินทางทองเที่ยวไปในที่ตางๆ และชอบแชรสิ่งที่คุณไดไปพบเจอ มาใหโลกรูโดยการโพสมันในโลกออนไลน แตถาคุณไมมีรูปหรือวีดีโอที่นาสนใจ แนนอนวาบลอกหรือเว็บไซต ของคุณก็คงไมไดรับความสนใจเทาไหร หากคุณกําลังมองหาอุปกรณที่จะมาชวยใหการเดินทางของคุณ นาสนใจขึ้น ลองให Backpacker’s Diary ซึ่งออกแบบโดย Eric Zhang เปนอุปกรณประจําทริปดู Backpacker’s Diary นั้ น มี ก ารออกแบบลั ก ษณะเหมื อ นหนั ง สื อ และที่ คั่ น หนั ง สื อ มากกว า คอมพิวเตอรทั่วไป ตัวเครื่องประกอบดวยแผงโซลารที่มีความยืดหยุนและพับเก็บไดคลายกับหนาหนังสือ ดานขางของตัวเครื่องยังมีแถบแสดงสถานะพลังงานที่ไดจากแสงอาทิตย คุณสมบัติของเครื่องนั้น หลักๆ นั้นแบงเปน 2 สวนไดแก สวนที่มีลักษณะคลายที่คั่นหนังสือ ทําหนาที่เปนหนาจอ LCD ไมคและปุมควบคุม เสียง กลองดิจิตอล และอีกสวนที่เรียกวาสมุดซึ่งทําหนาที่คลาย laptop คุณสามารถนําตัวที่คั่นมาติดกับ สมุดและถายโอนขอมูลไดดวยระบบบลูทูธ คุณสามารถพกพาติดตัวไปไดงายๆ เพียงแคเสียบติดกับกระเปา เสื้อของคุณเทานั้น นอกจาก Backpacker’s Diary จะชวยใหคุณวางแผนการเดินทางแลว คุณยังสามารถนําไปประยุกต ใชในการเรียนการสอนดวยก็ได สิง่ ทีน่ า สนใจมากทีส่ ดุ ก็คอื ระบบไฟ EL ทีช่ ว ยในแสงสวางในยามคํา่ คืน

September 2012 l 55

Energy#46_p55,57_Pro3.indd 55

8/22/12 1:21 AM


Energy#46_Ad Baeter_Pro3.indd 1

8/23/12 9:49 PM


Eco-friendly Printing 2.0

ถาคุณจะมองหาสิ่งประดิษฐที่มีความโดดเดนในเรื่อง ความเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมแลวละก็ คงตองขอแนะนําผลงาน ซึ่งออกแบบโดยนักออกแบบชาวเกาหลีใต Hoyoung Lee, Seunghwa Jeong และ Jin-young Yoon อยาง Pencil Printer part II ทีจ่ ะชวยคุณประหยัดหมึกและกระดาษ เพราะ เครื่องปริ้นทเตอรตัวนี้คุณสามารถที่จะลบหมึกที่พิมพทิ้งดวย ยางลบและนํากระดาษกลับมาใชงานใหมไดนนั่ เอง แมหนาตาของเครือ่ ง Pencil Printer part II จะดูเหมือน เครือ่ งเหลาดินสอไปซักหนอย แตการทํางานของเครือ่ งปริน้ เตอร นีเ้ พียงแคคณ ุ นําดินสอใสลงไปในชองดานขาง กดปุม เปดเครือ่ ง และสัง่ พิมพเอกสารตามปกติ ระบบการทํางานของเครือ่ งจะนํา ผงจากไสดนิ สอไปใชแทนผงหมึกสําหรับเครือ่ งปริน้ ทเตอรทวั่ ไป ทําใหคณ ุ สามารถลบขอความทีพ่ มิ พออกมาไดโดยงายหากพิมพ ผิด หรือแมแตการลบเพือ่ นํากระดาษมาใชใหม

Seedbomb Plant Capsules

ชื่อหัวขออาจจะทําใหเราเขาใจผิดวามันหมายถึงความรุนแรงหรือเปลา แตไมเลย เจตนาของอุปกรณชนิ้ นีว้ า ดวยเรือ่ งสันติภาพและชวยโลกลวนๆ วากันวาหลังจากสงครามโลก ครั้งที่ 2 เกล ฮัลเวอรเซ็น นักบินอเมริกันไดเปนผูริเริ่มการโปรยลูกกวาดและหมากฝรั่งที่ผูก ติดกับรมชูชีพเล็กๆ ลงจากเครื่องบิน ทําใหนักออกแบบชาวเกาหลี Hwang Jin wook และ ผูรวมงานไดใชเเนวคิดนั้นในการคิดแผนในการตานการตัดไมทําลายปา และการทําใหดินเเดน แหงเเลง ภารกิจนี้เรียกวา “Seedbomb” ภารกิจ Seedbomb เปนการนําเครื่องบินทิ้งระเบิดบรรจุแคปซูลเมล็ด เนื้อแทของ โครงการนี้เปนการเลียนเเบบการกระจายเมล็ดในดินเเดนแหงเเลงที่พืชพันธุไมสมารถขึ้น ไดเนื่องดวยความโงเขลาของฝมือมนุษยเชนการตัดตนไมที่จะทําใหดินเเดนเเหงเเลง กลาย เปนทะเลทราย ในแตละแคปซูลจะมีเมล็ดพันธุพืชเเละดินเทียม และจะถูกกระจายทางอากาศ ในแตละภูมิภาค ดินเทียมจากการเพาะในพลาสติกที่ยอยสลายไดใหอาหารเเละความชุมชื้นเเกเมล็ด จนกระทั่งถึงเวลาที่มันเติบโตเเข็งเเรงเองได เมื่อตนออนโตเต็มที่ แคปซูลที่หุมอยูก็จะละลาย เหลืออยูแตพืชพันธุใหม เหมือนเปนภารกิจที่เหลือเชื่อ แตตรรกะของภาวะเเวดลอมในทะเลทรายกับ การที่เมล็ด พันธุนั้นจะถูกกระจายไดจะตองมีการคนควา วิจัย และความชํานาญจากนักพฤกษศาสตร เพราะหลังจากที่ดินเทียมกับความชื้นไดถูกใชไปหมดเเลว ไมไดแปลวาตนออนจะยังสามารถ ผจญกับสภาพเเวดลอมตอไปได

September 2012 l 57

Energy#46_p55,57_Pro3.indd 57

8/22/12 1:21 AM


Green Space โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

INSEE Green Village ตนแบบหมูบานสีเขียว

โครงการ “INSEE Green Village” เกิดจากความคิดริเริ่มของ คุณ จันทนา สุขุมานนท รองประธานบริหาร (การตลาดและงานขาย) บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) หลังจากนําทีมอินทรีอาสาเขาชวย เหลือผูประสบมหาอุทกภัยที่อําเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2554 และไดพบวาบานเรือนชาวบานไดรับความเสียหายอยางหนัก เนื่องจากเตรียมรับมือภัยพิบัติไมทันและรูเทาไมถึงการณ ชุมชนหลายหลังคา เรือนตองชวยเหลือตัวเอง โดยเฉพาะชุมชนใน จ.พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเปน พื้นที่รับนํ้าในทุกๆ ป แตในปที่ผานมาชาวบานตองเจอกับสภาวะนํ้าทวมอยาง รวดเร็วและรุนแรง

ดวยเหตุนี้เอง ปูนอินทรีจึงไดคิดริเริ่มเปน โครงการอินทรี กรีน วิลเลจ (INSEE Green Village) โดยไดเลือกที่จะสรางสรรคหมูบานตนแบบสีเขียวที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยถือเอาชุมชนบานคลองทราย ต.บานนา อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา จํานวน 20 หลังคาเรือน ใหเปนชุมชนที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมชุมชนแรกของประเทศไทย พึ่งพาตนเองอยูรวมกับธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ปรับตัวไดในทุกสภาวะ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มีวิถีชีวิต “รักษโลก” เพื่อความสุขอยางพอเพียงและยั่งยืน โครงการ INSEE Green Village ยังได ศาสตราจารย ดร.บัณฑิต จุลาสัย อดีตคณบดี คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มาทําการออกแบบ “บานอยูก บั นํา้ ” โดยแนวทางการออกแบบบานนัน้ ไดเนนการ

เปนบานที่ทนทานตออุทกภัย จึงออกแบบใหมีใตถุนยกสูงถึง 3 เมตร มีทางเดิน บอรดวอรค เชื่อมชั้น 2 ของบานทุกหลังใหสามารถเดินไปมาหาสูกันไดในยาม ประสบอุทกภัย และทําหนาที่เปนหลังคาทางเดินในชวงหนารอน รวมทั้งคํานึง ถึงการประหยัดพลังงาน และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมซึ่งครอบคลุมตั้งแตวัสดุ กอสรางซึ่งเลือกใชผลิตภัณฑที่ไดรับฉลาก Green Heart Label ฉลากรับรอง สินคาและบริการ ตามระบบมาตรฐานสิ่งแวดลอม ISO14021 นอกจากนี้ยังมี การติดตั้งไฟถนนพลังงานแสงอาทิตยจํานวน 5 ตน สําหรับพื้นที่ชุมชน และ หลอดตะเกียบประหยัดไฟในบานทุกหลัง ในขณะเดียวกันยังเปนการสรางชุมชนหมูบานสีเขียวที่ไดมีการวาง ระบบการอยูอาศัย ภายใตแนวคิด Eco Living โดย รองศาสตราจารย ดร. จินต อโณทัย จากคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาธนบุรี ไดออกแบบระบบการบริหารและจัดการของเสีย หรือ Waste Management ของโครงการ อินทรี กรีน วิลเลจ (INSEE Green Village) ชุมชนคลองทราย ซึ่งมีทั้งการบริหารจัดการระบบบําบัดนํ้าเสีย การแยกขยะ ซึ่งสามารถแปรเปลี่ยนเปนปุยหมัก และกาชชีวภาพ (Biogas) ผานเครื่องผลิต ปุยหมักและกาซชีวภาพ (Biogas) ที่ทางปูนอินทรีมอบให ซึ่งชาวบานสามารถ ใชประกอบอาหารในชีวิตประจําวันได หรือแปลงเปนพลังงานไฟฟาเพื่อใชใน หมูบาน นอกจากนี้ยังสามารถสรางรายไดจากการคัดแยกขยะไดอีกดวยกลาย เปนรูปธรรมที่ชาวบานจะไดรับประโยชนจากการชวยกันรักษาสิ่งแวดลอม รวม ทั้งการใชพลังงานทดแทนจากแสงอาทิตย โดยติดตั้งเสาไฟฟาโซลาเซลลเพื่อให แสงสวางในชุมชนชวงเวลากลางคืน ใครที่สนใจแบบบานโครงการ INSEE Green Village ก็สามารถเขาไป ดาวน โ หลดแบบแปลนบ า นได โ ดยไม เ สี ย ค า ใช จ  า ยใดๆ ได ที่ http://www. inseecovery.com ซึ่งไดมีการบอกขอมูลพิมพเขียวและวัสดุกอสรางที่ตอง ใช รวมทั้งภายในเว็บไซตยังมีคลิปวีดีโอสาธิตพื้นฐานการสรางและซอมแซม ที่อยูอาศัย ที่ทั้งเขาใจงายและถูกขั้นตอน นอกจากนี้ยังมีภาพยนตรสั้นที่ได แรงบันดาลใจจากเรื่องจริงที่สอดแทรกความรูพรอมความบันเทิง ใครที่สนใจก็ ลองแวะเขาไปชมกันได

58 l September 2012

Energy#46_p58-59_Pro3.indd 58

8/28/12 2:47 PM


ขยะมีคาที่ “ราน 0 บาท” ใครจะไปคิดวาเดี๋ยวนี้ขยะจะใชแทนเงินสดไปแลกซื้อสินคาไดแลว แตตอง เปนที่รานพิเศษอยาง “ราน 0 บาท” เทานั้น ที่เราจะนําขยะมาเปลี่ยนมูลคาให สามารถนําไปจับจายซื้อของใชกันไดแบบนี้ สถาบันการจัดการบรรจุภัณฑและรีไซเคิลเพื่อสิ่งแวดลอม หรือ TIPMSE หนวยงานที่อยูภายใตการดูแลของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ผนึกกําลังกับภาคีเครือขายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เปดตัว โครงการ “ราน 0 บาท” โครงการรานคาที่ถือกําเนิดขึ้นเพื่อชวยเหลือลดภาระ คาครองชีพใหกบั พีน่ อ งประชาชนทีม่ รี ายรับไมสมดุลกับรายจาย ดวยการนําวัสดุ รีไซเคิล เชน กระดาษ กลองเครื่องดื่ม ขวดพลาสติก มาใชแทนเงินสดแลกซื้อ สินคาอุปโภคบริโภค ซึ่งตรงตามวัตถุประสงคของสถาบันฯ ที่ตองการรณรงค และปลูกฝงใหประชาชนมองเห็นมูลคาของขยะหรือบรรจุภัณฑใชแลวที่สามารถ นํากลับมารีไซเคิลได อันจะเปนการชวยลดปริมาณขยะและสงเสริมสิ่งแวดลอม ที่ดีใหกับชุมชน ณ ศูนยวัสดุรีไซเคิลกลุมอาชีพซาเลง ชุมชนออนนุช 14 ไร เขต ประเวศ กรุงเทพมหานคร “ราน 0 บาท” ถูกใชเปนสัญลักษณใหกับคนทั่วไป ไดรับรูและเขาใจใน แนวคิดวา แมจะไมมเี งินสดก็สามารถซือ้ สินคาไดดว ยการใชวสั ดุรไี ซเคิล โดยสินคา หลักๆ จะเปนสินคาอุปโภคบริโภคที่จําเปนตอชีวิตประจําวัน จะมีทั้งรานถาวร ในชุมชนและรานแบบเคลื่อนที่ ซึ่งจะถูกพัฒนาใหเหมาะสมกับแตละชุมชน แตใน อนาคตราน 0 บาทยังจะสามารถปรับเปลี่ยนไปไดตามความตองการของแตละ ชุมชน เชน รานของชํา รานขาวแกง รานรับแลกสินคาเคลื่อนที่ แตยังคงแนว ความคิดเดิมคือการใชวัสดุรีไซเคิลแทนเงินสดเพื่อแลกสินคา

ขัน้ ตอนของการจับจายใชสอยสินคาบริโภคภายในรานศูนยบาทนัน้ ชาวบาน จะตองทําการคัดแยกขยะรีไซเคิลเพื่อนํามาชั่งกิโลและคิดราคาเพื่อนําไปใชแทน เงินสด โดยอัตราการขายขยะรีไซเคิลนั้นขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุ ซึ่งทางราน ไดมีการติดปายราคากลางไว เชน ขวดนํ้าดื่มพลาสติกใสกิโลกรัมละ 13 บาท กระดาษขาว-ดํากิโลกรัมละ 5 บาท เปนตน โดยราน 0 บาทนั้นมีรูปแบบของรานลักษณะเดียวกับรานคาสหกรณ มี รายไดตอวันประมาณ 3,000 - 4,000 บาท มีการแบงเงินปนผลทุก 6 เดือน ซึ่งสมาชิก จะได 15% ผูดูแลกิจการได 20% สวนที่เหลือ เงินหมุนเวียนหาซื้อ สินคาบริหารจัดการ 50% สําหรับรานตนแบบโครงการ “ราน 0 บาท” ไดเปดใหบริการรานแรก ที่ศูนยวัสดุรีไซเคิลกลุมอาชีพซาเลง ชุมชนออนนุช 14 ไร เขตประเวศ ซึ่งในเฟส แรกจะมีรานตนแบบอีก 2 ราน ไดแก รานชุมชนเคหะดินแดน และชุมชนวัดกลาง ใหชุมชนที่สนใจเขาศึกษารูปแบบการจัดการได นอกจากนี้ ทาง TIPMSE ยังเปด รับสมัครบุคคลหรือชุมชน หมูบานที่มีความสนใจจะเปดดําเนินกิจการราน 0 บาท สามารถติดตอสถาบันไดโดยตรง เพื่อศึกษารูปแบบและเงื่อนไขการดําเนินการ โดยทาง TIPMSE จะเปนผูใหการสนับสนุนสื่อสงเสริมการขายและใหการอบรม กอนการดําเนินการเปดราน สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร 02-272-1552 ตอ 19 หรือ http://www.facebook.com/0bahtshop

September 2012 l 59

Energy#46_p58-59_Pro3.indd 59

8/28/12 2:47 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษ ศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

ของโรค โรคร า ยแรงบางโรคได สู ญ หายไปเนื่ อ งจากการป อ งกั น โรคเหล า นั้ น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการพั ฒ นาวั ค ซี น และการป อ งกั น อย า งดี เชน โรคไขทรพิษ เปนตน แตแลวในปจจุบันสภาพแวดลอมเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว มีผลตอการเกิดโรคใหมๆ เชน โรคไขหวัดสายพันธุใหม การอุบัติซํ้าของ โรคเกาที่หายไป และการกลายพันธุของเชื้อโรค ตลอดจนการกลับมาของโรคเกา ทีเ่ คยหายไปแลว เชน ไขเลือดออกจากยุงลายทีเ่ คยจํากัดอยูใ นบางพืน้ ทีก่ ลายเปน ระบาดในหลายพื้นที่และไมเปนเฉพาะบางฤดูกาลที่เคยระบาด เปนตน สภาพแวดล อ มที่ เ ปลี่ ย นแปลง เป น ไปตามธรรมชาติ ( Natural environmental Change) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพดิน นํ้า อากาศ ปาไม ตามธรรมชาติ และที่มนุษยสรางขึ้น (man-made environmental change) หมายถึงการเปลีย่ นแปลงของสิง่ กอสรางจากมนุษย การใชยารักษาโรค สารเคมี

โลกเปลีย่ น : โรคเปลีย่ น http://202.28.94.60/webcontest/2552/2552/g5216/01.html

สุขภาพของมนุษย มีการเปลี่ยนแปลงที่จะรองรับกับการเปลี่ยนแปลง จากธรรมชาติมานานนับลานป หลักฐานสําคัญคือการดํารงอยูของมนุษย การประดิษฐเครือ่ งมือตางๆ ทีพ่ บจากแหลงทีอ่ ยูอ าศัย แตเมือ่ มนุษยมกี ารพัฒนา เทคโนโลยี การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ จึงเปนไปอยางรวดเร็ว โดยในยุคอุตสาหกรรม ที่ใชทรัพยากรมากมายในการผลิตเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย ที่เพิ่มขึ้น ทั้งการดํารงชีพและการสงคราม การพัฒนาอยางรวดเร็วทําใหสภาพ แวดลอมที่เคยเปลี่ยนแบบคอยเปนคอยไป เปนการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วขึ้น เห็นไดจากนักวิทยาศาสตรในหลายสาขาคนพบการเปลีย่ นแปลงในชัน้ บรรยากาศ การเพิ่มขนาดของรูโอโซนที่ทําใหรังสี UV สองเขามาเพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของ กาซเรือนกระจก ที่เปนสาเหตุของโลกรอน อุณหภูมิสูงขึ้น ในรอบรอยปที่ผานมา มีความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน ตอสุขภาพของมนุษยตองเจอกับโรคภัยที่รุนแรง และมีความถี่บอยขึ้น จากการแพรระบาดของโรค ปญหาสุขภาพของมนุษยที่ นั บ วั น จะประสบทั้ ง โรคใหม ๆ โรคเก า ที่ อุ บั ติ ซํ้ า โรคจากการเปลี่ ย นแปลง สภาพแวดลอม วันนี้อยากจะชี้ใหเห็นความเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีผลตอการ เกิดปญหาการแพรระบาดของโรค โรคที่เกิดขึ้นจนไมนาเชื่อวาจะเกิดขึ้นในยุคนี้ เชน การติดตอของโรคระบาด การเกิดโรคพิษสุนัขบาในกระตาย การปวยบอย ของโรคไขหวัด โรคมือเทาปากในเด็กที่เปนเชื้อไวรัสทําใหเด็กในประเทศกัมพูชา ตายมากมายและมีผลกระทบตอการแพรระบาดโรคในประเทศไทย คําวาสุขภาพ ในปจจุบัน ประชาชนทุกคนใหความสําคัญ พยายามหาทาง ปองกันโรค มีเทคโนโลยีรองรับมากมาย คิดคนอาหารเสริม ยาที่หลากหลาย แตมีหลายโรคที่เกิดในยุคสมัยปจจุบันที่ไมสามารถจะรักษา แมจะมีความกาวหนา ทางเทคโนโลยีการแพทยอยางมาก สภาพทีเ่ ปนอยูข องประชาชนในโลกใบนี้ ตัง้ แต เกิดจนตายไมอาจหลีกเลี่ยงการเจ็บปวย ที่ผานมาไดและเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดลอม เชน อากาศหนาวรอนทีร่ นุ แรง ภัยทางธรรมชาติ ประชาชนทีไ่ ดรบั ผลกระทบทั้งสุขภาพและรางกายตางไดรับการเยียวยาตามความเหมาะสม

http://tulip.bu.ac.th/~1480901303/global.htm

60 l September 2012

Energy#46_p60-61_Pro3.indd 60

8/18/12 2:03 AM


http://www.localtalk2004.com/V2005/ detail.php?file=1&code=s1_30052007_01

http://news.mediathai.net/detail_news.php?newsid=86755

การเปลี่ยนแปลงเพื่อการดํารงอยูของมนุษย ดังนั้น มนุษยจึงตองทบทวนการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม การ เปลี่ยนแปลงของโรค พาหะนําโรคที่พัฒนา มีผลตอการปรับตัวตอการอยูรอด ของมนุษยอยางมาก การเพิ่มขึ้นของกาซเรือนกระจก ที่เปนสาเหตุของโลกรอน อุณหภูมิสูงขึ้น ในรอบรอยปที่ผานมามีความเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจนตอสุขภาพ ของมนุษยตองเจอกับโรคภัยที่รุนแรง และมีความถี่บอยขึ้น ดังนั้น ดัชนีชี้วัด สําคัญคือการเปลี่ยนแปลงจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น ตอการเกิดภาวะโรคใน 3 สวนสําคัญ คือ - การเปลี่ยนแปลงแบบสุดขั้วทั้งหนาวจัด รอนจัด การเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติอยางรวดเร็วทําใหมนุษยเผชิญการเปลี่ยนแปลงแบบฉับพลัน ไมสามารถทนทานอยูได - การเปลีย่ นแปลงของระบบนิเวศน การพัฒนาสายพันธุเ ชือ้ โรคทีเ่ กิด เปนโรคอุบตั ใิ หม หรือโรคทีเ่ กิดความรุนแรงจากการแพรกระจายอยางรวดเร็วและ รุนแรงมากขึ้น ทําใหไมมีภูมิตานทานโรค - การเปลีย่ นแปลงการดํารงชีวติ ของมนุษย การบริโภคอาหารทีเ่ ปนพิษ ตอสุขภาพ หรือไมไดคณ ุ คาทางอาหาร การปนเปอ นสารพิษในรางกายจากการใช ชีวติ การบริโภค ลวนแลวเปนตัวเรงตอการทําลายสุขภาพของมนุษยเองจากการ เปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ตัวอยางจากการบริโภคอาหารขยะเปนผลจากการใชชวี ติ ที่ อยูในเขตเมืองที่เรงรีบ สภาพแวดลอมของเมืองที่ไมนาอยู เกิดความเครียดจาก ความรอนของเมือง จนเสียชีวติ สําหรับคนทีส่ งู อายุหรือรางกายออนแอ เชนทีเ่ กิด ขึ้นในยุโรปที่เมืองหลายเมืองมีอากาศรอนมาก ๆ เปนเวลานานหรือที่เรียกวาเกิด ภาวะเกาะรอน(Heat Island) การเกิดโรคมะเร็ง โรคของประชาชนในชุมชนตองไดรบั การตรวจสอบโดยละเอียดเนื่องจากมลพิษปลอยสูสภาพแวดลอมอยางมาก ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอยางเดนชัด ตัวอยางอุตสาหกรรมขนาดใหญ ที่ผานมาปลอยมลพิษจนมีผลกระทบตอสุขภาพประชาชนในสภาพแวดลอมที่อยู ที่อาศัย เปลี่ยนอยางชัดเจน เด็กๆ ที่อยูในพื้นที่ไดรับสารพิษจากอุตสาหกรรมมี การพัฒนาการเรียนรูไดนอยมาก มีโรคระบบทางเดินหายใจสูง บางคนตองพก ออกซิเจนประจําตัวไปโรงเรียน ลวนแลวแตเปนภาพนาสลดใจตอสภาพแวดลอม ทีเ่ ปนอยูใ นขณะนี้ การพัฒนายังไมหยุดยัง้ ยังมีผลกระทบตอสุขภาพจากการผลิต พลังงานจากเชือ้ เพลิง จากพลังงานนิวเคลียร ทีเ่ ปนขอกังวลตอการเกิดอุบตั เิ หตุ ตางๆ ที่จะเกิดขึ้น โรคที่เกิดจากการทํางาน โรคที่ตองสัมผัสสารเคมีอีกมากมาย วันนี้คงตองทบทวนการใชชีวิต ความเสี่ยงตอการดํารงอยูของมนุษย อบนโลกใบนี้ ตัวตนของเราที่ไมสามารถปรับตัวตอสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว ยอมถึงกาลสูญพันธุส าํ หรับมนุษยชาติบนโลกใบนีพ้ รอมทัง้ สิง่ มีชวี ติ อื่นๆ ในระบบนิเวศน

http://www.angelfishplastic.com/ index.php?lay=show&ac=article&Id=539099946&Ntype=3 ความหวังในวันนี้คือการลงมือทํา ปองกันปญหา และความรวมมือของ นานาชาติ จากการประชุมในระดับโลก ระหวางประเทศตองมีขอตกลงที่ชัดเจนใน การดําเนินการพัฒนาอยางเปนระบบและมีความยัง่ ยืนอยางแทจริง โดยคํานึงถึง คนรุนหนาที่จะตองแบกรับภาระการปรับตัวอยางสุดขั้วสําหรับโลกใบนี้ที่ไม อาจหาโลกใบอื่นมาทดแทนได เสียงเตือนจากธรรมชาติคงจะเปนเสียงเตือนที่มี ความหมาย.....จริงไหม......

เอกสารอางอิง - สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอม “รายงานสถานการณสิ่งแวดลอม 2553” พฤศจิกายน 2554 กรุงเทพฯ. - สถาบันสิ่งแวดลอมไทย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หนึ่งใน หนทางรับมือกับภัยสุขภาพจากภาวะโลกรอน นนทบุรี 2544 September 2012 l 61

Energy#46_p60-61_Pro3.indd 61

8/18/12 2:03 AM


0 Waste Idea โดย : รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล ผูอํานวยการหนวยปฏิบัติการวิจัยบําบัดของเสีย และการนํ า นํ า กลั บ มาใช ใ หม ภาควิ ช าวิ ศ วกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาฯ

http://spscomenius.wordpress.com/2011/10/25/waste/

อุตสาหกรรมไปยังอาวมินามาตะ ประเทศญีป่ นุ ซึง่ เปนทีม่ าของคําวา “โรคมินามาตะ” หรือกรณีของการลักลอบทิง้ สารเคมีทเี่ ปนกากอุตสาหกรรมอยางไมถกู วิธจี นเกิด เหตุการณมลพิษนํา้ ในคลองทีร่ จู กั กันดีในชือ่ ของเหตุการณ “เลิฟคาแนล” ทีป่ ระเทศ สหรัฐอเมริกา หรือแมกระทัง่ เหตุการณเมือ่ เร็วๆ นี้ ในสังคมไทยของเรา กรณีของ นํา้ ในลําตะคองเนาเสียนือ่ งจากมีการลักลอบปลอยนํา้ ทิง้ โรงงานอุตสาหกรรมทีย่ งั มีสารพิษหลงเหลืออยูล งในแหลงนํา้ ทําใหเกิดเหตุการณปลาตายเปนจํานวนมาก เปนตน ดังนัน้ ถึงเวลาแลวทีเ่ ราควรหาแนวทางและหลักปฎิบตั ขิ องการลดของเสีย แบบปองกันมลพิษหรือทีเ่ รียกวา “Pollution Prevention” อยางจริงจัง ซึง่ เปนการ ลดปญหามลพิษทีต่ น ทาง สามารถชวยแกปญ  หาสิง่ แวดลอมแบบยัง่ ยืนและชวยให ผูป ระกอบการสามารถประหยัดคาใชจา ยลงไปไดอกี ดวย

การลดของเสียดวยแนวทางของ

ก า ร ป อ ง กั น ม ล พิ ษ (Pollution Prevention)

กอนอื่น ผูเขียนขอใหคําจํากัดความกวางๆ ของคําวา “ของเสีย” หรือ “Waste” ตามแนวทางของกฎหมายหรือระเบียบขอบังคับทีเ่ กีย่ วของทีม่ กี ารยอมรับ และนํามาใชงานในทางปฏิบตั ิ ดังตอไปนี้ สําหรับคําจํากัดความตามกฎหมาย UK Environmental Protection Act 1990 สามารถระบุความหมายของคําวา “ของเสีย” หรือ “Waste”ได 2 กรณีดงั นี้ 1. เปนสารหรือสิง่ ใด ๆ ทีเ่ ปนวัสดุเศษ Scrap สิง่ ทีห่ ลงเหลือ หรือสิง่ ทีป่ ลอย ออกมา หรือสารทีไ่ มตอ งการอืน่ ๆ ทีไ่ ดมาจากกระบวนการ 2. เปนสารหรือชิน้ สวนใด ๆ ทีต่ อ งการจะกําจัดเนือ่ งดวยมีการแตกหัก ฉีกขาด ปนเปอ น หรือถูกทําใหเสียหาย สําหรับคําจํากัดความของ”ของเสียจากอุตสาหกรรม” ตามประกาศ กระทรวงอุตสาหกรรม เรือ่ ง การกําจัดสิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ มใชแลว พ.ศ. 2548 สามารถระบุความหมายของของเสียจากอุตสาหกรรม ไดเปน 2 กรณีดงั นี้ • สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว คือ สิ่งของที่ไมใชแลวหรือของเสีย ทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน รวมถึงของเสียจากวัตถุดิบ ของเสียทีเ่ กิดขึน้ ในกระบวนการผลิต ของเสียทีเ่ ปนผลิตภัณฑเสือ่ มคุณภาพ • ของเสียอันตราย คือ สิง่ ปฏิกลู หรือวัสดุทไี่ มใชแลวทีม่ อี งคประกอบ หรือปนเปอ นสารอันตราย หรือมีคณ ุ สมบัตทิ เี่ ปนอันตราย ตามประกาศของ กรอ.

ตัวอยางปญหาของเสียที่เปนอันตรายและกอใหเกิดปญหาดานสุขภาพ ตอมนุษยที่เปนที่รูจักกันดี ไดแก ของเสียสารปรอทจากการทิ้งนํ้าเสียโรงงาน

http://www.cleanbiz.asia http://www.wastereducer.com/

62 l September 2012

Energy#46_p62-63_Pro3.indd 62

8/22/12 10:09 PM


http://tetonvalleychamber.com/blog/2010/11/04/ สําหรับแนวทางของการปองกันมลพิษ (Pollution prevention) ทีท่ างสถาน ประกอบการสามารถดําเนินการได สามารถสรุปแนวทางไดดงั นี้ 1. การลดมลพิษทีแ่ หลงกําเนิด ไดแก แนวทางการปรับเปลีย่ นรูปแบบ ผลิตภัณฑและกระบวนการผลิตใหเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ ยกเลิกหีบหอบรรจุภณ ั ฑ ทีไ่ มจาํ เปน เพือ่ ลดการใชทรัพยากรและลดผลกระทบตอสภาพแวดลอมใหนอ ยทีส่ ดุ รวมทัง้ การออกแบบผลิตภัณฑทสี่ ามารถนํากลับชิน้ สวนตางๆ มาใชประโยชนใหม ไดมากขึน้ สงเสริมอายุการใชงานผลิตภัณฑทยี่ าวนานขึน้ ตัวอยางของการลด มลพิษทีแ่ หลงกําเนิด เชน - การเปลี่ยนวัตถุดิบที่เปนอัตรายตอสิ่งแวดลอมมาเปนวัตถุดิบหรือสาร เคมีทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม เชนการเปลีย่ นจากหมึกพิมพประเภทใชตวั ทําละลาย ไปเปนแบบใชนาํ้ ทดแทน - การใชระบบอัตโนมัตเิ ปนเทคโนโลยีในการควบคุมการผลิตเพือ่ ชวยลดการ เกิดของเสียเนือ่ งจากผลผลิตทีไ่ มไดมาตรฐาน - การติดตัง้ อุปกรณการลางชิน้ งานดวยนํา้ แบบ counter current flow เพือ่ ประหยัดการใชนาํ้ ในกระบวนการผลิต - การปรับปรุงระบบการบริหารจัดการในกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต ลดการรัว่ ไหล และลดปริมาณของเสียใหนอ ยทีส่ ดุ - การติดตั้งชุดอุปกรณประหยัดพลังงาน เชนการติดตั้งมอเตอรที่มี ประสิทธิภาพสูง และระบบควบคุมความเร็วของมอเตอรแบบตางๆ เพือ่ ชวยลดการ ใชพลังงานในกระบวนการผลิต

http://adm.elpasoco.com/Environmental%20Division/

http://www.ct.gov/dep/cwp/view. asp?a=2708&q=324072&depNav_GID=1763%20 2. การสงเสริมแนวทางหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใชใหม เปนการนํา เอาของเสียและนํา้ เสียทีผ่ า นกระบวนการตางๆ เพือ่ นํากลับเอาทรัพยากรกลับมาใช ประโยชนไดอกี เชน การนํานํา้ ทิง้ จากกระบวนการผลิต นํา้ หลอเย็น วัตถุดบิ และ ตัวทําละลาย ตลอดจนวัสดุอนื่ ๆ ทีผ่ า นการใชงานแลวกลับมาใชใหมในสถานประกอบการ ตัวอยางของแนวทางการใชเทคโนโลยีหมุนเวียน เชน - เศษกระดาษสามารถนําไปรีไซเคิลกลับมาใชเปนกลองหรือถุงกระดาษ - การกลัน่ แยกตัวทําละลายกลับมาใชใหมในกระบวนการผลิต - การนําเศษแกวหรือพลาสติกมาหลอมใหมเพือ่ นํากลับมาใชประโยชนใหม - การแยกโปรตีน เปลือกกุง จากนํา้ เสียเพือ่ นํากลับมาใชประโยชน 3. การสงเสริมแนวทางของอุตสาหกรรมเขียวหรืออุตสาหกรรมเชิง นิเวศ ซึง่ เปนการดําเนินการประกอบการทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม รับผิดชอบสังคม และเปนการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนดวยการมุง เนนการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิต และกระบวนการบริหารจัดการสิง่ แวดลอมของสถานประกอบการหรือองคกรอยาง ตอเนือ่ ง สอดคลองกับสมดุลของระบบนิเวศรวมทัง้ ความผาสุกของสังคม การประเมินความเปนไปไดทางเศรษฐศาสตรในการลงทุนดานระบบการ ปองกันมลพิษ เปนการประเมินความคุม ทุนของผลตอบแทนทางการเงิน และความเสีย่ งใน การลงทุนของแตละวิธกี าร ซึง่ ประเด็นสําคัญในการชวยตัดสินใจใหสถานประกอบการ ลงมือปฏิบตั ิ โดยมีการพิจารณาประเด็นตางๆ ตอไปนี้ • พิจารณาคาใชจายตางๆ เชนคาลงทุน คาเดินระบบ (เงินลงทุน เครือ่ งจักร อุปกรณ, คาใชจา ยจากการหยุดปรับปรุง, คาซอมบํารุง) • พิจารณามูลคาทีป่ ระหยัดไดเปนเทาไร (วัตถุดบิ , นํา้ , พลังงาน, คาบําบัด ของเสีย ผลพลอยได) • พิจารณาถึงระยะเวลาในการคืนทุน(ป) • พิจารณาถึงผลประโยชนทจี่ ะเปนประโยชนตอ สังคมและสิง่ แวดลอมในแนวทาง ของการรับผิดชอบตอสังคมหรือ CSR (Corporate Social Responsibility)

http://blog.eduzones.com/bluesky/24966

September 2012 l 63

Energy#46_p62-63_Pro3.indd 63

8/22/12 1:58 AM


Energy Around The World ASIA

ASIA

จีน ลดภาษีรถยนตพลังงานทดแทนครึ่งหนึ่ง รัฐบาลจีนลงมติหั่นภาษีรถยนตเหลือครึ่งหนึ่งสําหรับผูซื้อรถยนต ประหยัดพลังงาน เพื่อกระตุนยอดขายรถยนตอนุรักษพลังงานในประเทศ และเตรียมยกเวนคาธรรมเนียมในสวนของรถยนตพลังงานไฟฟา ผูผ ลิตรถยนตภายในประเทศจีนอยางนอย 10 ราย เชน Chery ในเมือง อูห แู ละ Yaxing ในเมืองหยางโจว มีรายชือ่ อยูใ นนโยบายใหม ซึง่ มีผลบังคับใช มาตัง้ แตเมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2555 โดยผูซ อื้ รถยนตประเภทดังกลาวจะได รับคืนภาษี สํานักขาวซินหัว รายงานวา รัฐบาลประกาศบังคับใชนโยบายครัง้ แรก เมือ่ เดือนมีนาคม โดยมีการระบุรายชือ่ รถยนตกลุม แรกทีเ่ ขาขายไดรบั การลด หยอนภาษี ซึง่ ประกอบดวยรถไฮบริดแบบปลัก๊ อิน 200 ประเภท รถยนตซงึ่ ใช พลังงานไฟฟาลวนๆ และรถยนตทใี่ ชเซลลเชือ้ เพลิง โดยทีผ่ า นมา รัฐบาลจีน สนับสนุนการขายรถยนตพลังงานทดแทน โดยการเสนอเงินชดเชยและการลด หยอนภาษี แตยอดขายก็ยงั ไมกระเตือ้ งขึน้ สมาคมอุตสาหกรรมยานยนตประเทศจีนเปดเผยวา ยอดขายรถยนต ประหยัดพลังงานและรถยนตพลังงานทดแทนในจีนอยูท ี่ 10,202 คันในไตรมาส แรกของป 2555 ซึง่ เปนสัดสวนทีเ่ ล็กนอยเมือ่ เทียบกับยอดขายรถยนตทงั้ หมด 4.79 ลานคันในไตรมาสแรกของปเดียวกัน

America

เกาหลี ใต เปดตัวแบตเตอรี่ชารจไฟเร็วกวา 120 เทา

Ulsan National Institute of Science and Technology (UNIS) ซึ่งเปนมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยูในเมืองอุลซัน ประเทศเกาหลีใต เปดตัวงานวิจัยแบตเตอรี่ชนิดลิเทียมไอออนที่สามารถชารจไฟไดเร็วกวา แบตเตอรี่ชนิดลิเทียมไอออนทั่ว ๆ ไป 30 ถึง 120 เทา นักวิทยาศาสตรประจําสถาบันดังกลาว นําวัสดุแคโทด และลิเทียม แมงกานีสออกไซด จุม ลงไปในสารละลายทีม่ แี รแกรไฟตผสมอยูภ ายใตสภาพ อับอากาศ ทําใหแรแกรไฟตเปลี่ยนสภาพกลายเปนเสนใยที่มีคุณสมบัตินํา ไฟฟา กอใหเกิดปฏิกริ ยิ าไฟฟาทีข่ วั้ แอโนด (ขัว้ ลบ) ขัว้ แคโทด (ขัว้ บวก) รอบ สารละลายอิเล็กโทรไลต แรงดันไฟฟาที่ ไดทําใหแบตเตอรี่สามารถชารจไฟ ไดเร็วขึ้น เนื่องจากประจุไฟฟากระจายตัวอยางสมําเสมอ แตทั้งนี้ทั้งนั้น ตนทุนการผลิตแบตเตอรี่ก็ยังเปนอุปสรรคสําคัญตอ การพั ฒ นาต อ ยอดผลงานชิ้ น นี้ จึ ง ยั ง คงเป น โจทย ที่ ท า ทายให นักวิทยาศาสตรไดพัฒนาแบตเตอรี่รุนดังกลาวตอไป ทั้งนี้ งานวิจัยชิ้นดัง กลาวตีพิมพในวารสารนานาชาติดานเคมีของเยอรมนี (Angewandte Chemie International Edition)

กูเกิล ทุมกวา 4 ลานลานดอลล ลงทุนพลังงานสะอาดในสหรัฐ

กูเกิล อิงค ผูใหบริการเว็บไซตสืบคนขอมูลรายใหญของโลก ประกาศแผนพลังงานระดับชาติฉบับใหม รวมถึงการเลิกใชเชื้อเพลิงจากฟอสซิล ภายในป 2573 โดยคาดวา แผนการมูลคา 4.4 ลานลานดอลลาร ที่กูเกิลดอทโออารจี หนวยงานเพื่อการกุศลในเครือกูเกิล เปนผูพัฒนา จะชวยใหสหรัฐสามารถประหยัดเงิน ถึง 1 ลานลานดอลลารตลอดระยะเวลา 22 ป จากนี้ เจฟฟรีย กรีนแบลต ผูจ ดั การฝายเทคโนโลยีพลังงาน และสภาอากาศ ของกูเกิล ดอท โออารจี เปดเผยแผน “พลังงานสะอาด 2030” ผานทางอินเทอรเน็ต ซึ่งแผนนี้ รวมถึงการเลิกผลิตไฟฟาจากถานหิน หรือนํ้ามันภายในป 2573 และหันไปพึ่งพาพลังงานลม นิวเคลียร และแหลงพลังงานความรอนใตพิภพ นอกจากนี้ ยังรวมถึงการใหรถยนตลดการใชนํ้ามันลง 40% และการลงทุนมหาศาล เพื่อเพิ่มกําลัง การสงพลังงานลมและแสงอาทิตย ในเขตที่ราบขนาดใหญของสหรัฐ และทะเลทรายในเขตตะวันตกเฉียงใต ของประเทศ เพื่อลดการใชเชื้อเพลิงจากฟอสซิลใหได 88% และลดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด 95% ภายในป 2573 กูเกิล ยังเรียกรองใหมีการเปลี่ยนไปใชกาซธรรมชาติและพลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟา แทน การใชถานหินและนํ้ามัน โดยรวมถึงพลังงานลม 380 กิกะวัตต พลังงานแสงอาทิตย 250 กิกะวัตต และ พลังงานความรอนใตพิภพ 80 กิกะวัตต

64 l September 2012

Energy#46_p64_Pro3.indd 64

8/27/12 10:16 PM


ASIA

อิ น เดี ย เป ด สอนแม บ า นให เ ชี่ ย วชาญด า น พลังงาน สถาปนิก

ประเทศอินเดีย เกิดแนวคิดจะพัฒนาสตรี ในหมูบานใหเชี่ยวชาญ วิชาการ โดยเกิดขึ้นที่สถาบันที่มีชื่อวา Barefoot College ตั้งอยูในหมูบาน รัฐราชสถาน ซึง่ สถาบันแหงนีแ้ ตกตางไปจากสถานศึกษาทัว่ ๆ ไป เนื่องจาก มีวิธีการสอนที่มุ่งเน้นให้เกิดทักษะการปฏิบัติเป็นหลัก เพื่อให้เกิดความ เชี่ยวชาญในสาขาที่เรียน ยิ่งไปกวานั้น จะรับสมัครเฉพาะผูหญิง โดยจะทํา หนาที่บมเพาะสตรีวัย 40 ขึ้นไป ที่อานไมออกเขียนไมได ในชุมชนยากไรของ ประเทศอินเดีย ใหกลายเปนผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพดานตาง ๆ เชน แพทย วิศวกรดานระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย (Solar engineer) หรือ แมกระทั่งสถาปนิก โดยสตรีเหลานี้จะจากครอบครัวเพื่อมาศึกษาในศาสตรที่สนใจเปน เวลา 6 เดือน และจะไดรบั ประกาศนียบัตรในสาขาวิชาตางๆ หลังจากสําเร็จ การศึกษา บังเกอร รอย ชายชาวอินเดียซึ่งมาจากตระกูลมั่งคั่ง แตปฏิเสธ ระบบการศึกษาในระบบ จึงไดเริ่มสถานศึกษาที่มีชื่อวา วิทยาลัยเทาเปลา (Barefoot College) เพื่อนําหญิงอินเดียจากหมูบ า นตางๆ ทีย่ ากจน มาเขารับ การฝกฝนทางวิชาชีพดานตางๆ เชน การแพทย วิศวกรรม สถาปตยกรรม ฯลฯ โดยไมบังคับใหพวกผูหญิงเหลานั้นอานออกหรือเขียนได แตใหมีทักษะ ดานดังกลาว เพื่อกลับไปพัฒนาคุณภาพชีวิตในชุมชนของตนเองได โดยไม ตองรอความชวยเหลือจากภาครัฐแตเพียงอยางเดียว

เดนมารก ตั้งเปาใชพลังงานลม 50% ป 2020

America

สถาบันฯ แมสซาชูเซตส ระบุ ภายใน 50 ป สหรัฐฯ ผลิตไฟจากความรอนใตพภิ พได 100,000 เมกะวัตต

สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส คาดการณวา ภายใน 50 ปขา งหนา ประเทศสหรัฐอเมริกา สามารถผลิตไฟฟาจากแหลงพลังงานความรอนใต พิ ภ พได ถึ ง 100,000 เมกะวั ต ต โดยอาศั ย เทคโนโลยี ร ะบบการเพิ่ ม ประสิทธิภาพพลังงานความรอนใตพภิ พ (Enhanced Geothermal Systems: EGS) ทั้งนี้การพัฒนาระบบดังกลาวยังมีอุปสรรคดานการใชเทคโนโลยี ตนทุนการดําเนินการ โดยตนทุนการผลิตกระแสไฟฟาจากแหลงพลังงาน ความรอนใตพิภพในปจจุบันอยูที่ 10 ดอลลารสหรัฐตอกิโลวัตตตอชั่วโมง Karl Gawell กรรมการผูจัดการใหญบริษัท Geothermal Energy Association (GEA) เปดเผยวาในป 2011 ที่ผานมา เปนปที่ พลังงานความรอนใตพภิ พของสหรัฐฯ ไดรบั การสงเสริมเปนอยางมากจาก รัฐบาล เนื่องจากกอนหนานี้มีการรางแผนการลงทุนที่เรียกวา “ARRA” (The American Reinvestment and Recovery Act) ที่ทําใหเกิดการลงทุน กอสรางโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพภิ พขึน้ อีกหลายแหง คิดเปนกําลัง การไฟฟาที่ผลิตได 500-700 เมกะวัตต โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีศักยภาพทาง ดานพลังงานความรอนอยางในมลรัฐแคลิฟอรเนีย และเนวาดารายงานที่ แสดงผลของการเติบโตในอุตสาหกรรมพลังงานความรอนใตพภิ พทีจ่ ดั ทํา โดย Geothermal Energy Association

เดนมารก ประกาศกําหนดเปาหมายการใชพลังงานทดแทน วาจะสามารถใชพลังงานลมเปนแหลง พลังงานไฟฟา 50% ของประเทศ ไดในป 2020 และตั้งเปาจะลดปริมาณการปลอยคารบอนฯ ลง 34% เทียบ กับป 1990 โดยระบุวาเดนมารกจะลดการใชพลังงานโดยรวมในป 2020 ลงอีก 12% เมื่อเทียบกับป 2006 Martin Lidegaard รัฐมนตรีกระทรวงสภาพอากาศ สิง่ แวดลอม และสิง่ ปลูกสราง ของเดนมารก ใหสัมภาษณวา เดนมารกตั้งใจจะกลับมาเปนผูนําของโลกในการเปลี่ยนผานไปสูพลังงานสะอาด เพื่อลดความ เสี่ยงจากปญหาราคานํ้ามันและถานหินที่จะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต นอกจากนี้แผนการลงทุนในพลังงานสะอาด ของเดนมารกยังจะชวยจางงาน ซึง่ เปนปญหาใหญของยุโรปในขณะนีด้ วยกฎหมายพลังงานสะอาดฉบับลาสุด ของเดนมารก ผานสภาดวยคะแนนเสียงทวมทน 171 เสียงจากทั้งหมด 179 ที่นั่ง เดนมารกเปนประเทศที่กาวหนาในเรื่องพลังงานลมมานานแลว ตัวเลขในป 2010 ประเทศเดนมารกมี สัดสวนพลังงานลม 21% ของพลังงานทั้งหมดในประเทศ และถาคิดเปนพลังงานลมตอหัวแลว เดนมารกมี สัดสวนพลังงานลมตอประชากรมากเปนอันดับหนึ่งของโลก อยางไรก็ตาม ถาคิดรวมพลังงานสะอาดและพลังงานทีส่ ามารถนํากลับมาใชซาํ้ ได (renewable energy) เดนมารกยังถือเปนอันดับ 8 ของโลก เปนรองเพือ่ นบานอยางสวีเดน ฟนแลนด และประเทศในกลุม ยุโรปตะวันออก อีกหลายประเทศ

Europe

September 2012 l 65

Energy#46_p65_Pro3.indd 65

8/28/12 11:17 PM


Energy#44_p75_Pro3.ai

1

6/23/12

11:22 AM


Energy Tezh โดย : Bar Beer

เทคโนโลยีขับขี่อัตโนมัติขั้นสูง

เทคโนโลยี ถือเปนเรือ่ งมีการพัฒนาอยางไมมที สี่ นิ้ สุด โดยเฉพาะเทคโนโลยี ดานยายยนต หลายสิง่ หลายอยางในชวงของการพัฒนาอาจมองเปนเรือ่ งทีไ่ มนา จะ เปนไปได แตเมื่อพัฒนาอยางตอเนื่อง ก็ถือวาไมใชเรื่องเพอฝนอีกตอไป ลาสุด คอนติเนนทอล บริษัทผูผลิตชิ้นสวนยานยนตระดับโลก ประสบความสําเร็จจาก การทดสอบสมรรถนะการขับขี่อัตโนมัติขั้นสูง ซึ่งถือเปนการพัฒนาอีกกาวของ วงการยานยนต การทดสอบสมรรถนะการขับขีอ่ ตั โนมัตขิ นั้ สูง โดยไรผคู วบคุมใชระยะเวลา ในการทดสอบตลอด 2 สัปดาห ในมลรัฐเนวาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมระยะ การทดสอบการขับขีก่ วา 6,000 ไมล บนถนนสาธารณะ โดยมีเปาหมายทีจ่ ะแสดง ใหเห็นวา เทคโนโลยียานยนตที่สามารถขับเคลื่อนไดเอง สามารถเกิดขึ้นจริงได เพือ่ เพิม่ อิสรภาพใหกบั ผูข บั ขีโ่ ดยทีไ่ มตอ งเปนผูบ งั คับยานยนต นอกจากนี้ การทดสอบดังกลาวยังเปนการยกระดับความปลอดภัยในหลาย มิตขิ องการขับขี่ โดยมลรัฐเนวาดาเปนรัฐแหงแรกในสหรัฐทีอ่ นุญาตใหมกี ารขับขี่ อัตโนมัตไิ ดบนทองถนนสาธารณะ นับเปนครั้งแรกที่มีการนําเทคโนโลยีที่กําลังจะมีการผลิตขึ้นใชงานจริง สําหรับตรวจจับสภาพแวดลอมทันทีขณะขับขีพ่ รอมดวยแอคชูเอเตอร (actuator) มาทดสอบ นอกจากนีย้ งั มีการติดตัง้ กลองสเตริโอ MFC 300 ซึง่ มีระบบเซ็นเซอร ตรวจจับระยะหางและขนาดของสิง่ กีดขวาง ระบบเบรก MK 100 ควบคุมดวย ระบบอิเล็กทรอนิก และพวงมาลัยเพาเวอรไฟฟา (อีพเี อส) การทดสอบในครัง้ นีย้ งั เปนการตรวจสอบการใชงานและระดับความปลอดภัยเมือ่ ยานยนตปฏิบตั งิ านในโหมด อัตโนมัตแิ บบเต็มรูปแบบอีกดวย สําหรับอุปกรณทนี่ าํ มาใชงานในยานยนตเพือ่ การวิจยั ของคอนติเนนทอลแตก ตางไปจากเซ็นเซอรแบบเลเซอรและแอคชูเอเตอรทผี่ ลิตขึน้ มาเปนพิเศษในยานยนต อัตโนมัติขั้นสูงหรือยานยนตไรคนขับอื่นๆ เนื่องจากอุปกรณของคอนติเนนทอล มีลักษณะเฉพาะตัวที่สามารถตรวจจับสถานการณที่มีความซับซอนไดมากกวา ดังนัน้ ระบบขับขีอ่ ตั โนมัตกิ จ็ ะชวยลดความนาเบือ่ ในการขับขีด่ ว ยอิรยิ าบททีจ่ าํ เจ ใหกบั ผูข บั ขีไ่ ด เชน ระหวางทีร่ ถติด เปนตน และการทดสอบครัง้ นีย้ งั ทดลองขับขี่ ในสถานการณรถติดดวย แตกม็ สี ถานการณทเี่ กินขีดความสามารถของการขับขี่ อัตโนมัตขิ นั้ สูง เชน ไมสามารถตรวจจับเครือ่ งหมายบนทองถนน หรือหากมีโคงที่ กระชัน้ ชิดเกินไป ระบบจะปดตัวเองโดยอัตโนมัติ และผูข บั ขีจ่ ะตองหันกลับมาควบคุม

ยานยนตดว ยตัวเอง แตหากผูข บั ขีไ่ มมปี ฏิกริ ยิ าตอบสนอง ยานยนต จะลดความเร็วลงจนกระทัง่ หยุด โรงงานคอนติเนนทอลในแฟรงกเฟรต เยอรมนี และใน ออเบิรน ฮิลส ในมิชิแกน สหรัฐอเมริกา ไดแบงปนขอมูลความรู รวมกันเพือ่ ทีจ่ ะพัฒนาและทดสอบระบบดังกลาวเพิม่ เติม ในขัน้ ตอไป ประสบการณทไี่ ดรบั มาจะชวยเสริมการทํางานของระบบชวยเหลือ ผูข บั ขีก่ า วหนา (Advanced Driver Assistance Systems: ADAS)* และผลการทดสอบจะสะทอนใหเห็นการพัฒนากาวสําคัญเพือ่ มุง หนา สูก ารขับขีอ่ นั ไรอบุ ตั เิ หตุตอ ไป *ระบบชวยเหลือผูข บั ขีก่ า วหนา (ADAS) ประกอบดวย: 1. ระบบชวยเบรคฉุกเฉิน (Emergency Brake Assist) มีออพติคอลเซ็นเซอรตรวจจับระยะหางรถขางหนาในระยะ 10 เมตร หากระยะหางลดลงอยางรวดเร็ว ระบบฉุกเฉินจะอยูใ นสถานะสแตนบาย เมือ่ ผูข บั ขีเ่ หยียบเบรคก็จะชวยสงกําลังเบรคได แตหากผูข บั ขีไ่ มมี ปฏิกริ ยิ า ระบบจะเบรคเองในนาทีสดุ ทายซึง่ จะสามารถเลีย่ งอุบตั เิ หตุ หรือลดความรุนแรงของการปะทะได 2. ระบบตรวจจับสัญญาณจราจร (Traffic Sign Recognition) ทํางานดวย กลองทีส่ ามารถอานปายความเร็วจํากัดและสัญลักษณจราจรทัว่ ไปพรอมแจงผูข บั ขี่ 3. ระบบควบคุมการทรงตัว (Electronic Stability Control) ชวยใหรถอยู ในเสนทางโดยเปรียบเทียบเสนทางทีผ่ ขู บั ขีต่ งั้ ใจกับเสนทางจริงทีร่ ถกําลังเคลือ่ นไป ณ ชวงเวลานัน้ หากรถออกนอกเสนทาง ระบบจะสัง่ ใหลอ ชะลอและนํารถกลับเขาเสนทาง 4. ระบบตรวจจับมุมอับ (Blind Spot Detection) ทํางานดวยเรดารเซ็นเซอร หรือกลองทีค่ อยตรวจชวงทายดานขางของรถและแสดงสัญญาณใกลกระจกมอง ขางเพือ่ บอกวามีรถวิง่ อยูใ นมุมอับหรือไม 5. ระบบเตือนการขับออกนอกเสนทาง (Lane Departure Warning) จะ สั่งการเมื่อกลองตรวจจับคํานวนไดวารถกําลังจะออกนอกเสนทาง ระบบจะสั่น พวงมาลัยเปนการเตือนผูข บั ขีพ่ รอมทัง้ ควบคุมทิศทางการขับเองเล็กนอย 6. ระบบควบคุมไฟหนาอัจฉริยะ (Intelligent Headlamp Control) ควบคุม ความสวางไฟหนาอยางอัตโนมัติตามสภาพแวดลอมและเลี่ยงการทําใหผูใช ทองถนนผูอ นื่ แสบตา 7. ระบบรักษาความเร็วและระยะหาง (Adaptive Cruise Control) ชวยควบคุม ทัง้ ความเร็วและระยะหางจากรถคันขางหนา

September 2012 l 67

Energy#46_p67_Pro3.indd 67

8/18/12 1:42 AM


Vehicle Concept โดย : Bar Bier

Hi-Cross Concept ต้นแบบ SUV ใหม่ค่ายนิสสัน

รถยนตประเภท Sport Utility Vehicles หรือ SUV ถือ เปนหนึ่งในรถที่ไดรับความนิยมกันทั่วโลก เพราะเปนรถที่ มี ความหลากหลายและอเนกประสงคดานการใชงานมากกวารถ ประเภทซีดานทัว่ ไป ดวยความนิยมดังกลาวคายรถตางๆ จึงไดมี การพัฒนารถประเภท SUV เพื่อตอบสนองความตองการของ ตลาด และหากพูดถึงคายนิสสัน ก็มีรถ SUV อยูในสังกัดหลาย รุน และรุนที่จําหนายในประเทศไทยและไดรับนิยมทั่วโลกคงตอง ยกใหกับ Nissan X-Trail หลังจากที่ Nissan X-Trail ไดทําตลาดมาพอสมควร ก็ถึงเวลา ที่จะไดรับการเปลี่ยนโฉมเสียที แนนอนวาแฟนๆ ของ X-Trail ก็ไดแต ตั้งหนาตั้งตารอ และดูเหมือนวาจะรอคอยจะใกลเขามา เมื่อตนสังกัด ไดเฉยโฉม Nissan Hi-Cross Concept ซึ่งมีหนาตาละมายคลายคลึง กับ X-Trail เลยทีเดียว ทําใหหลายคนตั้งความหวังวาจะเปนเจนเนอ เรชันที่ 2 ที่จะมาประจําการณแทนโมเดลปจจุบันหรือไม 68 l September 2012

Energy#46_p68-69_Pro3.indd 68

8/30/12 11:20 AM


Nissan Hi-Cross Concept เผยโฉมครั้งแรกในงานเจนีวา มอเตอรโชว โดยชูจุดเดนในดานการออกแบบเพื่อใหเปนรถยนตแบบ อเนกประสงคเพือ่ ตอบโจทยคนทีร่ กั การใชชวี ติ กลางแจง มีการเปลีย่ น สไตลงานออกแบบและสรางภาพลักษณใหมเพื่อใหสามารถแขงขันกับ คูป รับในตลาดมากยิง่ ขึน้ โดยทีมออกแบบของนิสสันตัง้ ใจให Hi-Cross Concept เปนรถยนตในสไตลครอสสโอเวอรทเี่ อาใจคนเมือง ทีช่ นื่ ชอบ ความอเนกประสงคมากกวาการออกไปลุยหนัก มิติภายนอกของ Hi-Cross Concept ยังคงรูปแบบของ SUV แบบ 5 ประตู ไวอยางครบถวน พรอมติดตั้งที่นั่ง 3 แถว รองรับผู โดยสารและผูขับขี่ 7 คน ดวยความยาว 4,660 มิลลิเมตร กวาง 1,850 มิลลิเมตร สูง 1,670 มิลลิเมตร และระยะฐานลอ 2,780 มิลลิเมตร งานออกแบบของ Hi-Cross มีกลิ่นไอของการออกแบบ รูปลักษณภายนอกที่ไดรับอิทธิพลมาจาก Nissan Murano อยาง ชัดเจน ที่เนนความสวยสปอรต ซึ่งรูปทรงโดยรวมของตัวรถที่มี ความปราดเปรียว กระจังหนาแบบ V-Line จับคูกับไฟหนาทรงปราด เปรียว ผสานการออกแบบโคมไฟทายทรงแปลกตาและแผงคอนโซน ทรง T-Shape ที่ใหความทันสมัยแปลกตา พรอมกับเพิ่มความสงา งามและเราใจดวยลอแม็กลายสวยขนาด 21 นิ้ว

สําหรับสมรรถนะของ Hi-Cross Concept เนนตามรูปแบบที่ ใหความสําคัญกับการใชพลังงานเปนหลัก ขุมพลังที่สามารถตอบ สนองดานการประหยัดพลังงานดวยเครื่องยนตลูกผสมแบบ Hybrid Energy รุนใหมที่นิสสันพัฒนาขึ้นมา มีเครื่องยนตเบนซิน 4 สูบ ทวินแคม 16 วาลว 2,000 ซีซี พรอมระบบไดเร็กตอินเจกชั่น ซึ่งเปน เครื่องยนตหลักในการขับเคลื่อนทํางานควบคูกับมอเตอรไฟฟา สง กําลังสูระบบขับเคลื่อนลอหนาและขับเคลื่อนสี่ลอ โดยทางนิสสันเคลมไวสาํ หรับเครือ่ งยนตลกู ผสมดังกลาว หาก ทั้งสองระบบทํางานควบคูกัน จะใหสมรรถนะและกําลังออกมาเทียบ เทาสมรรถนะที่สัมผัสไดในเครื่องยนตเบนซิน 2,500 ซีซี แตมีอัตรา สิ้นเปลืองและคามลภาวะนอยกวา ด า นแบตเตอรี่ ที่ ใ ช ใ นการขั บ เคลื่ อ นมอเตอร ไ ฟฟ า ใช แ บบ ลิเธียม-ไอออน ชนิดเดียวกับNissan Leaf ไมใชแบบนิเกิล เมทัลไฮดราย เหมือนกับรถยนตไฮบริดทั่วไป และคาดวานาจะมีการนําเทคโนโลยี Hybrid Energy ของ Hi-Cross Concept ไปตอยอดเพือ่ วางในรถยนต รุนใหมตอไป September 2012 l 69

Energy#46_p68-69_Pro3.indd 69

8/22/12 1:52 AM


Energy Test Run โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

New Honda Civic 1.8 จายสบายกระเปาแบบฉบับ E85

กระแสรถยนตประหยัดพลังงานกําลังเปนทีส่ นใจของตลาดอยางตอ เนือ่ ง สวนหนึง่ เปนเพราะการประชาสัมพันธทคี่ รอบคลุมของทุกภาคสวนใหหนั มาใสใจในเรือ่ งของสิง่ แวดลอมมากขึน้ โดยเฉพาะภาคสวนของอุตสาหกรรม ยานยนต ซึง่ รถยนตทเี่ ปดตัวใหมจะมีองคประกอบและมีสว นรวมในเรือ่ งของ สิง่ แวดลอม เพือ่ เพิม่ ทางเลือกใหกบั ผูบ ริโภค หนึง่ ในนัน้ คาย ฮอนดา ทีไ่ ด เปดตัว Honda Civic เครือ่ งยนต 1.8 และ 2.0 ลิตร ทีม่ ดี ที สี่ ามารถรองรับ พลังงานทดแทนจากเอทานอลไดถงึ 85% หรือทีร่ จู กั กันในชือ่ แกสโซฮอล E85 นัน้ เอง Energy Test Run ฉบับนี้ จึงขอแนะนํา Honda Civic 1.8 E AT Navi มาเปน พระเอกของคอลัมน ซึง่ New Civic โมเดล 2012 เปนโมเดลเชนจทเี่ ปลีย่ นใหมทงั้ หมด โดยยังยึดเปาการตลาดกลุม เดิมแตไดเพิม่ เติมแนวทางดานพลังงานทดแทนเขามาตอบ โจทยดา นการอนุรกั ษพลังงานดวยการรองรับแกสโซฮอล E85 ซึง่ ยังถือวายังมีคแู ขง ไมมากนักสําหลับตลาดกลุม นี้ รูปลักษณภายนอก อยางทีร่ กู นั วา ฮอนดา สามารถตอบโจทยกลุม คนรุน ใหมไดตรงจุด ไมวา จะเปนเสนสายการออกแบบทีค่ อ นขางโฉบเฉีย่ ว พรอมไฟหนาแบบ โปรเจคเตอร ซึง่ ในรุน ทีท่ ดสอบไดตดิ ตัง้ ไฟสปอรตไลทเปนอุปกรณมาตรฐาน ลออัลลอย ขนาด 16 นิว้ พรอมยางยางขนาด 205/55 R16 และไฟทายทรงสปอรต พรอมกลอง ขนาดเล็กดานทายเพิม่ ทัศนะวิสยั ในการถอยจอด ซึง่ ในรุน นีล้ ดความยาวของตัวรถลง แตเพิม่ การออกแบบของพืน้ ทีใ่ ชสอยภายในเขาไปแทน โดยทางฮอนดาแจงวา การลด ขนาดดังกลาวมีผลดีตอ การประหยัดเชือ้ เพลิง

สวนการออกแบบภายใน มองผิวเผินยังคงกลิน่ ไอของรุน กอนดวยมาตรวัด แบบ 2 ชัน้ แตไดมกี ารปรับมุมมองใหอปุ กรณตา งๆ หันมาทางผูข บั ขี่ เพือ่ ใหสะดวกตอ การใชงาน และกวาดสายตาในการมอง แตสงิ่ ทีเ่ พิม่ เติมเขามาในรุน นี้ และถือเปนไฮไลต คือ จอแสดง i-MID หรือ Intelligent Multi-Information Display ทีแ่ สดงขอมูลการ ทํางานตางๆ ควบคุมการทํางานดวยปุม บนกานพวงมาลัยฝง ซาย ซึง่ สามารถปรับ เปลีย่ นคาตางๆ ไดเฉพาะตอนทีร่ ถหยุดนิง่ เทานัน้ โดยจะแสดงขอมูลการขับขี,่ อัตรา สิน้ เปลืองเฉลีย่ , การเชือ่ มตอกับโทรศัพท, ระบบเครือ่ งเสียง, การควบคุมระบบไฟสอง

70 l September 2012

R1_Energy#46_p70-71_Pro3.indd 70

8/29/12 5:17 PM


สวางภายในรถ-ไฟหนารถ และระบบการปลดล็อกประตู สามารถเปลีย่ นสีธมี และเปลีย่ น วอลเปเปอรทโี่ หลดผานพอรต USB ได ซึง่ ถือวาฉลาดสมชือ่ นอกจากนีย้ งั มีแถบ Eco Coaching ทีจ่ ะเปลีย่ นสีแบบเรียลไทม เพือ่ แสดงทราบ วาเราขับขีอ่ ยูใ นโหมดประหยัดพลังงานหรือไม หากขับขีด่ ว ยความเร็วคงที่ แถบจะ แสดงเปนสีเขียว หรือถามีการเหยียบคันเรงตอเนือ่ งแถบจะเปลีย่ นเปนสีนาํ้ เงิน ไมเพียง เทานัน้ ยังมีปมุ ECON เมือ่ กดแลวจะมีสญ ั ลักษณใบไมสเี ขียวเพือ่ เขาสู ECON Mode ที่ จะชวยลดการใชพลังงานอยางเต็มรูปแบบ ไมวา จะเปนระบบเครือ่ งยนต การควบคุมลิน้ ปกผีเสือ้ ระบบเกียร ใหสมั พันธกนั รวมถึงระบบปรับอากาศภายในรถดวย ถือเปน อุปกรณทบี่ รรจุไวสาํ หรับผูท ใี่ สใจสิง่ แวดลอมโดยเฉพาะ และดวยความทีร่ นุ นีล้ งทาย ดวยคําวา Navi จึงมีการติดตัง้ ระบบ navigator มาใหดว ย สําหรับการทดสอบเนนการทดสอบแบบครบเครื่องเชนเดิม เพื่อทดสอบ ประสิทธิภาพของนํา้ มันทีเ่ ติม สมรรถนะของเครือ่ งยนต และอัตราการสิน้ เปลือง โดย ใชเสนทางจาก กรุงเทพฯ ถึงเมืองผลไมจนั ทบุรี รวมระยะทางไปกลับประมาณ 600 กิโลเมตร กอนเดินทางไดแวะเติมนํา้ มัน E85 แบบเต็มถัง แลวกดเซตไมลที่ 0 ทันที ซึง่ ตัวรถมีความจุนาํ้ มันที่ 57 ลิตร กับราคา E85 ทีล่ ติ ร 22.48 บาท ณ วันทีท่ ดสอบ แมรถจะมีนาํ้ มันอยูใ นถังแลวพอสมควร แตลองคิดดูเลนๆ ถาเติมทีเดียวเต็มถัง ก็จะเปน เงิน 1,281.36 บาทเทานัน้ ยํา้ วาเต็มถัง ถือเปนขอดีดา นราคาสําหรับรถทีส่ ามารถ รองรับพลังงานทดแทนอยาง E85 ไดนนั้ เอง ชวงแรกของการทดสอบแนนอนกอนออกจากเมือง ก็ตอ งฝาการจราจรออก ไปใหไดเสียกอน ถือวาโชคไมเขาขางสักเทาไหร เนือ่ งจากการจราจรคอนขางวุน วายตอง เบรกและเรงแซงหลายครัง้ ความเร็วไมนงิ่ อัตราสิน้ เปลืองจึงไมนา ประทับใจเทาทีค่ วร โดยมุง ออกทางพระราม 9 สูม อเตอรเวย ชวงนีส้ ามารถทําความเร็วและรักษารอบ เครือ่ งได และดวยความทีร่ ถคันนีเ้ ติม E85 มาแบบเต็มถังเลยขอทดสอบอัตราเรงสัก หนอยวาจะเปนอยางทีห่ ลายคนกลัวไหมวา นํา้ มันทีม่ สี ว นผสมของเอทานอลจะทําให สมรรถนะของรถลดลง จึงขอทดสอบแบบสัน้ ๆ ดวยการหาชวงทีร่ ถไมมากนักกดคัน เรงแบบเต็มที่ ผลทีไ่ ด สามารถทําความเร็วไดถงึ 199 กิโลเมตรตอชัว่ โมง และนาจะไป ไดอกี แตเทานีก้ เ็ พียงพอตอการลบคําสบประมาททีม่ ตี อ แกสโซฮอล E85 ลงไดแลว ซึง่ เครือ่ งยนตทบี่ รรจุอยูใ นโมเดลนีเ้ ปนแบบเบนซิน 4 สูบ SOHC 16 วาลว i-VTEC ความจุ 1,798 ซีซี 141 แรงมา ที่ 6,500 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 17.7 กก.-ม. ที่ 4,300 รอบตอนาที เกียรอตั โนมัติ 5 จังหวะ คันเรงไฟฟา Drive by Wire ตอดวยเสนทางสาย บานบึง-แกลง ถือวาเปนเสนทางที่มรการจราจรคอนขาง หนาตาอีกครัง้ กอนเขาทางหลวงสาย 302 และเลีย้ วเขาทางหลวงสาย 3399 มุง สูแ หลง ทองเทีย่ วขึน้ ชือ่ เมืองจันทบุรกี บั หาดเจาหลาว เสนทางชวงนี้ สามารถขับดวยความเร็วคงที่ ได โดยตัง้ ระบบ cruise control ใหความเร็ว อยูท ี่ 120 กิโลเมตรตอชัว่ โมงตลอดทาง มี การเบรกและเรงแซงตามสถานการณ ซึง่ การ เรงแซงโดยใชวธิ กี ารคิก๊ ดาวน เกียรเปลีย่ น ไดนมุ นวลและทันใจ ไมมอี าการกระตุกหรือ กระชากแตอยางใด สวนเรือ่ งของการควบคุม รถ แมวาจะมีการหดฐานลอลงมาจากรุน

กอน ก็ไมเปนปญหาแตอยางไร สวนระบบกันสะเทือนของรุน นีเ้ ปนแบบอิสระพรอมเหล็ก กันโคลง 4 ลอ ดานหนาแม็กเฟอรสนั สตรัต ดานหลังมัลติลงิ ก ระบบเบรกแบบดิสก 4 ลอ พรอม ABS และ EBD จากการทดสอบเสนทางกรุงเทพฯ-จันทบุรี พรอมขับรอบเมืองไปตามแหลง ทองเทีย่ วขึน้ ชือ่ ขับขีจ่ ริงแบบไมกดดันตัวเอง รวมระยะทางจากเริม่ ตนจนถึงวันสงมอบ รถคืนอยูท ี่ 652 กิโลเมตรพอดิบพอดี นํา้ มันยังไมหมดถังและยังไมมสี ญ ั ญาณเตือน แถมแสดงอัตราเฉลีย่ ทีน่ าํ้ มันทีเ่ หลือในถังยังสามารถวิง่ ไดอกี 47 กิโลเมตร คิดเฉลีย่ ระหวางนํา้ มันทีเ่ สียไปกับเงินทีต่ อ งจาย จะอยูท ปี่ ระมาณ 1.9 บาทตอกิโลเมตร และคา AVG. อัตราเฉลีย่ การสิน้ เปลืองตลอดเสนทางอยูท ี่ 15.1 กิโลเมตรตอลิตร ลองเซต คา AVG. ใหมเพือ่ หาคาเฉลีย่ การสิน้ เปลืองเฉพาะชวงทีค่ วามเร็วคงที่ 120 กิโลเมตร ตอชัว่ โมง จะไดถงึ 20.4 กิโลเมตรตอลิตร Honda Civic 1.8 E AT Navi จึงถือเปนรถอีกรุน ทีน่ า สนใจ ทัง้ ในสวนของ เทคโนยีทบี่ รรจุภายใน การออกแบบ และอัตราสิน้ เปลือง โดยฮอนดาเคาะราคารุน นีไ้ ว ที่ 964,000 บาท ซึง่ ถือเปนรุน ทอปของเครือ่ งยนต 1.8 ลิตร สวนเครือ่ งยนตขนาด 2.0 ลิตร จะขยับไปที่ 1,124,000 บาท

ขอมูลจําเพาะ

เครื่องยนตแบบ ความจุ กําลังสูงสุด แรงบิดสูงสุด พวงมาลัยแบบ ระบบเบรก

SOHC 4 สูบ 16 วาลว i-VTEC 1,795 ซีซี 141 แรงมา ที่ 6,500 รอบตอนาที 17.7 กิโลกรัม-เมตร แร็ค แอนด พีเนี่ยน เพาเวอรไฟฟา(EPS) หนา ดิสกเบรกมีชองระบายความรอน หลัง ดิสกเบรก ระบบกันสะเทือน หนา แม็คเฟอรสนั สตรัท อิสระ พรอมเหล็กกันโคลง หลัง มัลติลิงค อิสระ พรอมเหล็กกันโคลง ความยาว x กวาง x สูง 4,525 x 1,755 x 1,434 มิลลิเมตร ความจุนํามัน 57 ลิตร September 2012 l 71

R1_Energy#46_p70-71_Pro3.indd 71

8/29/12 5:17 PM


Energy Movement ผูเขียน : ตนสมและผองเพื่อน

พบกันอีกเชนเคยกับพืน้ ทีพ่ บปะพูดคุย ลุยแหลกเรื่องพลังงาน อยาก ใหเจาะใจกันเรื่องไหน ตามติดเรื่องใด กระซิบบอกกันมาไดอกี เชนเคยเจาคะ แวบไปที่งานรีแบรนด ของนําตาล มิตรผล ปรับภาพลักษณองคกรใหม ตั้งรับแขง AEC โดยทานกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย CEO กลุมมิตรผล เปดเผยวา การปรับภาพ ลั ก ษณ อ งค ก รครั้ ง นี้ เป น ภารกิ จ ในการจั ด โครงสรางองคกร ซึ่งมีการปรับชื่อกลุมธุรกิจ และโลโกใหสอดคลองกับชื่อและรูปแบบสัญลักษณในภาพรวม สวนที่จะเห็น เดนชัดนั้นเปนกลุมพลังงานหมุนเวียนที่มีการลงทุนสวนไฟฟาชีวมวลและ เอทานอล รวมถึงธุรกิจปารติเกิ้ลบอรด ที่นําของเหลือทิ้งมาเพิ่มมูลคา งานนีเ้ กริน่ ถาม เตรียมรับศึก AEC หรือไม ทานบอกวา การลงทุนนัน้ มีแผนไวแลว โดยกลุมมิตรผลจะเขาไปกอสรางโรงงาน นําตาลในกัมพูชา ซึ่งระหวางนี้อยูในชวงขอ สัมปทานพื้นที่ถาวรในการปลูกออยประมาณ 108,000 ไร ซึ่งเมื่อไหรที่ชัดเจนก็จะใชเวลา ปลูกที่ 3 ป และก็พรอมจะตั้งโรงงานนําตาล สวนจะมีกาํ ลังผลิตเทาไหรนนั้ ตองรอผลศึกษา กอนนะเจาคะ ด า น บจก.ท อ ส ง ปโตรเลียมไทย หรือ แทปไลน ก็ เห็นชอบลงทุนโครงการกอสรางทอ สงนํามันสายเหนือและอีสาน โดยจะ เลื อ กลงทุ น ท อ ส ง ภาคอี ส านก อ น เนื่องจากคุม คาลงทุนมากกวา พรอม ประเมินศักยภาพเชื่อมประเทศเพื่อนบาน หลังเปดเออีซี คาดผลตอบแทนการลงทุน 15-16% เชียวละเจาคะ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) เปดเผยวา การพิจารณาโครงสรางราคา กาซ NGV ยังไมไดขอสรุป เนื่องจากตองรอผลการ ทบทวนอัตราคาบริการสงกาซทางทอของคณะ กรรมการกํากับกิจการพลังงาน ซึง่ กําลังพิจารณา ใหแลวเสร็จกอน เพราะถูกกําหนดใหเปนตนเหตุทุน ผันแปรของราคา NGV ดวย มหากาพยกาซไทย ใชไหมเนี่ย? แตกย็ งั มีขา วดีกนั อยูบ า ง เมื่อคณะกรรมการปโตรเลียม อนุมตั ิ พื้นที่ผลิตปโตรเลียมเพิ่มเติม 2 พื้นที่ คือ แหลงปะการังตะวันตก ของ บริษัท เชฟรอน คาดมีปริมาณสํารอง กาซธรรมชาติประมาณ 100,000 ลาน ลู ก บาศก ฟุ ต และแ ห ล ง ด ง มู ล จ.กาฬสินธุ ของบริษัทอพีโก คาด ปริมาณสํารองกาซฯ อยูที่ 96,000 ลูกบาศกฟุต เจาคะ

ในขณะทีก่ รมเชือ้ เพลิงธรรมชาติไดประเมินไววา หากไมมกี ารหาแหลง กาซธรรมชาติใหม ๆ เพิม่ เขามา จะทําใหรายไดจากปโตรเลียมทยอยลดลงจนหมด ภายใน 5 ป แมวา ปนจ้ี ะเปนปทก่ี รมเชือ้ เพลิงฯ สามารถจัดเก็บรายไดจากปโตรเลียม ไดสงู ทีส่ ดุ รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 1.48 แสนลานบาทก็ตาม แตกย็ งั อดหวงไมได จริง ไหมละเจาคะ สวนการลงทุนดานพลังงานลมยังมีความเคลื่อนไหวเจาคะ เมื่อ บจก.โพเทนเชียลเอ็นเนอรยี่ เลือกเกาะเตา จ.สุราษฎรธานี เปนพืน้ ทีศ่ กึ ษา โครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานลม ดวยรับแรงลมอยูที่คาเฉลี่ย 6 เมตร ตอวินาที ซึง่ มีความเหมาะสมมาก จากเกณฑทวั่ ไปอยูท ี่ 4 เมตรตอ วินาที โดยแรกเริ่มจะเปนการ ผลิตใช ในชุมชนใกลเคียงกอน และเริ่มขยายเขาสูระบบการไฟ ฟาฯ ตอไป

Industrial / เกาะสมุย..ซุยขาว ใกล เ กษี ย ณแล ว สําหรับ คุ ณ ไกรฤทธิ์ นิ ล คู ห า อธิ บ ดี ก รมพั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน (พพ.) หลั ง จากดํ า รงตํ า แหน ง มากวา 3 ปและผลักดันแผนพัฒนา พลังงานทดแทน 15 ป อยางตอเนื่องแตกอ นเกษียรไดขา ววามีภารกิจเกือบ ทุกวันสงสัยทิง้ ทวนงานตําแหนงเปนแน และมีขา วแววๆ มาวาผูท จี่ ะมาดูแล... พพ. คนตอไปเปนคุณสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) มาดํารงตําแหนงแทนเพื่อผลักดัน งานพัฒนาพลังงานทดแทนตอไป ไปกันที่ความเคลื่อนไหวของ กฟน. ซึ่งล่าสุด คุณอาทร สินสวัสดิ์ ผูวาการการไฟฟานครหลวง ไดจัดงานฉลองครบรอบ 54 ป กฟน. ที่มุงรับใชประชาชนมายาวนาน พรอมมีการเปดเผยผลการดําเนินงาน ในชวง 6 เดือนแรกของปน้ี และแถลงทิศทางใน การดําเนินงานครึง่ ปหลัง อีกทัง้ ยังถือฤกษงาม ยามดีทาํ พิธเี ปดสถานีชารจไฟฟา (EV Charging Station) สําหรับรถยนตท่ีใชไฟฟา ณ การไฟฟา นครหลวง สํานักงานใหญ ถ.เพลินจิต เรียกไดวา จัดงานวันเดียวพรอมกันหลายงาน บริหารเวลา บริหารงบไดดีจริงๆ อยาลืมบริหารงบมาให ENERGY SAVING ดวยนะครับทาน ในชวงแถลงผลการดําเนินงานมีผูสื่อขาวถามถึงประเด็นที่ คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) จะเรียก กฟน. มาชี้แจง เรื่องการเรียกเก็บคาบริการไฟฟาในสวนของคาบริการที่ระบุไวในบิลคา ไฟฟาทุกเดือนในอัตรา 38 บาทตอบิล เพราะเห็นวาประชาชนเปนผูเดินทาง ไปชําระคาไฟฟาดวยตนเองซึง่ ทําให กฟน.ประหยัดคาจางพนักงานทีต่ อ งไป เรียกเก็บคาไฟฟาตามบาน โดยคุณอาทรแถลงวาเปนคาระบบไอทีของการ คํานวณคาไฟฟาจึงตองเรียกเก็บและทีส่ าํ คัญการเรียกเก็บนัน้ เปนกฎบังคับ

72 l September 2012

Energy#46_p72-74_Pro3.indd 72

8/29/12 12:31 AM


ES Online เผลอแปบเดียวเขาสูค วอเตอรท่ี 3 ของป 2555 เสียแลวละครับ คุณผูอ า น เวลาผานไปไวเหมือนโกหก อะไรทีย่ งั ไมไดทาํ หรืออยากจะทําก็รบี นะครับ จะไดไมมา นัง่ เสียใจ เสียดายในภายหลัง ยิง่ มีขา วการลงทุนพลังงานทดแทนในประเทศเราบอย ๆ อยางครึกโครม เปด AEC เมื่อไหร นาจะบูมกวานีอ้ กี หลายเทาตัว เว็บไซตเฉพาะทางดานพลังงาน เตรียมไวเลยครับ กับการรับรู เรื่องราวดานพลังงานเฉพาะทาง ทีจ่ ะให คุณเพลิดเพลินเมื่อคลิกเขาไปดู ตัวนีจ้ ะ เปรียบไดกับอีกหนึ่งเว็บไซตท่เี ราจัดทํา ขึน้ มาเพื่อสนองความตองการของคุณ ผูอ า นใหรลู กึ รูจ ริง ดานพลังงาน แตจะ เปนเว็บไซตใหความรูเ กีย่ วกับดานไหน อยางไร คงตองรอติดตามกันนะครับ อีกไมนาน เกินรอ

ของ กกพ.เองจา....หากมีขอ สงสัยใหไปถาม กกพ. ไดเลย ...(คุณอาทรบอก) แวะเวียนไปที่ สยามแกส คุณ จินตนา กิง่ แกว รองกรรมการผูจ ดั การ บมจ.สยามแกส หรือ SGP ถึงกับเปนปลืม้ กั บ กระแสตอบรั บ ที่ดี หลั ง บิ น ลั ด ฟ า ร ว ม โรดโชวในงาน Asean Investor Conference ทีป่ ระเทศสิงคโปร เพื่อใหขอ มูลของบริษทั ฯ และ ทิศทางการเติบโตทางธุรกิจ กับกลุม นักลงทุน สถาบันตางชาติ ทีส่ นใจเขามาสอบถามขอมูล มากมาย เพราะมั่นใจในวิสัยทัศนและฝไม ลายมือการบริหารงาน จนตอนนีห้ นุ SGP ขึน้ แทนหุน เนือ้ หอมไปเรียบรอย รายนี้ก็เปนปลื้มเชนกัน คุณวุฒิชัย ลีนะบรรจง ประธาน กรรมการบริหาร บริษัท เอื้อวิทยา จํากัด(มหาชน) หรือ UWC หลัง จากไดลงนามในสัญญาผลิต Galvanized Steel Tower สําหรับงานกอสราง Transmission Line 500 KV เสนทาง นาน-แมเมาะ 3 (HAS-L2) จาก โครงการซื้อขายพลังงานจาก โรงไฟฟาถานหิน หงสา ประเทศลาว ของการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย(กฟผ.) มูลคางาน 397.74 ลานบาท และคาดวา จะเริ่มดําเนินการผลิตและสง มอบงานได ตั้ ง แต ป ลายป 2555 จนถึ ง ต น ป 2557 ตามลําดับครับ

งวดเขามาทุกทีแลว กับการประกาศรายชื่อบล็อกเกอร ในเว็บ www.energysavingmedia.com ตองบอกวาหลังจากเกิดไอเดียนีก้ ม็ ที า น บล็อกเกอรทงั้ หลายใหความรวมมืออยากจะแบงปนขาวสารความรูด า นพลังงาน อยางมากมาย แตอีกประเดี๋ยวเราจะเฉลยกันครับวา มีบล็อกเกอรทานไหนบาง และจะมาใหความรูเ รื่องอะไร ฉะนัน้ ตองติดตามกันใหดีในเว็บไซต แตหากทานเพิง่ เขามาอานและสนใจเขารวมกิจกรรม ยังสามารถสงเรื่องและคุณสมบัติของทาน เขามาไดที่ info@ttfintl.com (วงเล็บ สงเรื่องลงบล็อก ENERGY SAVING) เรา ยังเปดรับกูรูทุกทานอยูครับ ตอบถูก(ใจ) ..ไดรางวัล กิจกรรมชวนหัวที่ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง เพื่อแจกของรางวัลเล็ก ๆ นอย ๆ หลังจากประลอง ปญญาคุณผูอาน เชิญไปรวมสนุกกันไดแลว เรามี ของรางวัลรอทานอยู

ES Online :

facebook.com/energysavingmedia twitter.com/EnergySavingMag savingenergy.in.th ประหยัดพลังงาน.ไทย

Transport / นัษโตะ สวัสดีครับ... นัษโตะรายงานตัวพบกันอีกแลวนะครับ บนพื้นที่กรอบ เล็กอัดแนนดวยเนือ้ หาความเคลื่อนไหวรอบดานทีน่ าํ มาฝากพอไมใหตกขาว นะครับ เริ่มกันที่เรื่องแรกกันเลยดีกวาครับ คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัย มหิดล และ บริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) ขอเชิญนอง ๆ ชั้นม.5 สาย วิทยฯ ทั่วประเทศ รวมเรียนรูปญหาสิ่งแวดลอมประชาคมอาเซียน เพื่อ เตรียมความพรอมการทําหนาทีพ่ ลเมืองอาเซียน ในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม กับคายวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม “เพาเวอรกรีน 7” ภายใตแนวคิด “รวม รักษโลกเขียว รวมลดโลกรอน เตรียมสูอาเซียนหนึ่งเดียว” (Going Green – Going Cool – Going One ASEAN) ในระหวางวันที่ 14-21 ตุลาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จังหวัดนครปฐม ดานความเคลื่อนไหวของคายรถยนตอเมริกัน ฟอรด นําทัพ โดย มร.แมท แบรดลีย ประธานฟอรด อาเซียน ที่พึ่งไดรับตําแหนงจาก ฟอรด มอเตอร คัมปะนี มาประจําอยูท สี่ าํ นักงานใหญของฟอรดในกรุงเทพฯ ซึ่ ง มารั บ ตํ า แหน ง ได ไ ม น านก็ เจองานใหญกับการเปดตัว ฟ อรด โฟกัส ใหม ที่นําเสนอ เทคโนโลยี อั น ชาญฉลาดและ อุปกรณตา งๆ มากมายในราคา ที่คุณเปนเจาของได ซึ่งไมเคย ปรากฏมากอนในเซ็กเมนตนี้ ไม September 2012 l 73

Energy#46_p72-74_Pro3.indd 73

8/29/12 12:31 AM


วาจะเปนระบบชวยจอดอัจฉริยะ ระบบชวยเบรกที่ความเร็วตํา เครื่องขนาด 2.0 ลิตร ที่ใหความประหยัดถึง 14.9 กิโลเมตร/ ลิตร และยังเปนรถคันแรก ที่ผลิต ณ โรงงานแหงใหมอันทันสมัยของฟอรดในจังหวัดระยอง ซึ่งเกิด จากการลงทุนมูลคา 450 ลาน เหรียญสหรัฐ หรือ ประมาณ 1.4 หมื่นลานบาทอีกดวย ตอดวยอีกหนึง่ คาย อเมริกันอยาง เชฟโรเลต โดย มร. มารตนิ แอพเฟล ประธาน กรรมการ ประจําประเทศไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษทั เจนเนอรัล มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด และบริษัท เชฟโรเลต เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ประกาศแตง ตั้ง มร. คิม ชานจู ขึ้นดํารงตําแหนงผูอํานวยการทั่วไปฝายพัฒนา วิศวกรรมผลิตภัณฑ ประจําประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใตคนใหม ทั้งนี้ มร. คิม จะรวมเปนหนึ่ง ในทีมผูบริหารของจีเอ็ม และ เชฟโรเลต ประเทศไทยตอไป ขามมาที่ฝงคาย รถยนตญี่ปุนกันบาง เมื่อยักษ โตโยตา โดย วุฒิกร สุริยะ ฉันทนานนท ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญอาวุโส เปดเผย หลัง โตโยตา “ไฮลักซ วีโก แชมป” และ “ฟอรจูนเนอร” เมื่อเดือนกรกฎาคม ปทผี่ า นมา ดวยการออกแบบรูปลักษณทสี่ มารททันสมัย สะทอนภาพลักษณ อันโดดเดน ทัง้ สมรรถนะและอัตราประหยัดนาํ มัน ลาสุดไดรบั การพัฒนาอีก ขั้นเพื่อความสมบูรณแบบทั้งดานประสิทธิภาพเครื่องยนตที่มีการเผาไหมดี ยิ่งขึ้น ระบบเกียรอัตโนมัติ 5 สปด และระบบชวงลาง DTS (DIAMOND TECH SUSPENSION) ที่ใหสมรรถนะการทรงตัว อัตราเรง และอัตราการ สิ้นเปลืองนํามันดียิ่งขึ้น เพิ่มความมั่นใจ ปลอดภัยในทุกการเดินทาง สวน เมื่อไหรคายยักษจะมีการเปลี่ยนโฉมมาแขงขันในตลาดนั้น คงตองตั้งหนา ตั้งตารอกันตอไปนะครับ

Environment / Suki เปดตัวรานไอเดียรักษโลกดีๆ อยาง “รานศูนยบาท” รานคาที่ สามารถนําขยะมาเปลีย่ นเปนเงินกันไปเมื่อไมนานมานี้ ทีศ่ นู ยวสั ดุรไี ซเคิลกลุม ั ฑ อาชีพซาเลง ชุมชนออนนุช 14 ไร โดยทาง สถาบันการจัดการบรรจุภณ และรีไซเคิลเพื่อสิง่ แวดลอม สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย หรือ TIPMSE เปนผูใหคําปรึกษา ด า น ก า ร ว า ง แ ผ น จั ด ก า ร ซึง่ โครงการรานศูนยบาทนีน้ บั ไดวา เป น โครงการต น แบบของไทยที่  หา สนับสนุนการคัดแยกขยะรีไซเคิลอยางยัง่ ยืน รวมถึงยังสามารถชวยแกปญ คาครองชีพไดอกี ดวย

เก็บตกควันหลงงานเปดตัว “รานศูนยบาท” กันอีกนิด เพราะ การเดินทางมารานศูนยบาทที่ศูนยวัสดุรีไซเคิลกลุมอาชีพซาเลง ชุมชน ออนนุช 14 ไร นั้นหนทางสลับซับซอนมากเหลือเกิน จนผูรวมงานหลายคน บางก็หลง บางก็ขับเลย แตสุดทายก็มาถึงงานกันโดยสวัสดิภาพจา มีโอกาสไดไปรวมในงานสงมอบบานกับ บริษัท ปูนซีเมนต นครหลวง จํากัด (มหาชน) ในโครงการ “INSEE Green Village” ที่ ไดทําการสงมอบบานจํานวน 20 หลังคาเรือน ใหแก ชุมชนบานคลองทราย ต.บานนา อ.มหาราช จ.พระนครศรีอยุธยา โดยถือเปนหมูบ า นตนแบบสีเขียว ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ที่ ไดมีการวางระบบการอยูอาศัย ภายใตแนวคิด Eco Living ทีค่ าํ นึงถึงการประหยัดพลังงาน และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมซึง่ ครอบคลุมตัง้ แตวสั ดุกอ สรางซึง่ เลือกใช งานนีร้ บั รองไดวา ชาวบานจะสูก บั นํากันไดอยางมั่นใจเลยทีเดียว ไฮไลทในงานมีมายมายหลายสวนจนตองขอหยิบยกทีเ่ ด็ดๆ มา เลาสูก นั ฟง โดยเฉพาะการโชวฝม อื ทอดไขของ พีแ่ มว-จันทนา สุขมุ านนท รองประธานบริหาร (การตลาดและงานขาย) บริษัท ปูนซีเมนต นครหลวง จํากัด (มหาชน) พรอมดวยลูกมือกิตติมศักดิ์อยาง คุณฟลิป อารโต ประธานคณะผูบริหาร บริษัท ปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน) ที่กวาจะสําเร็จเปนไขเจียวหอมๆ ใหเราทานกัน ก็ตองวุนวายกับ เจาเตาแกสชีวภาพที่ ไฟออน เหลือเกิน จนพี่แมวตองยก กระทะมาเช็คใหแนใจวาไฟติด อยูหรือไม แตก็ ไดความรูมา ว า ก า ซ ชี ว ภ า พ นั้ น มี คุณสมบัติคือไมมีสี และไฟ อาจจะไมแรงเทากับเตาแกส ทั่วๆ ไปนั่นเองจา แจงขาวกันหนอยกับการปรับขึน้ อัตราคาบริการอุทยานแหงชาติ จํานวน 33 แหง โดยปรับคาบริการดังนี้ ชาวไทย ผูใหญ 100 บาท เด็ก 50 บาท ชาวตางชาติ ผูใหญ 500 บาท เด็ก 300 บาท ซึ่งราคาคาเขาอุ ทยานฯ ที่ เ ก็ บ เพิ่ ม ขึ้ น นั้ น จะถู ก นํ า ไปบริ ห ารจั ด การให ค วามสะดวกกั บ นักทองเที่ยวมากขึ้น สําหรับอุทยานฯ ทั้ง 33 แหง ที่มีการปรับอัตราคา บริการใหม ประกอบดวย ภาคเหนือ 8 แหง อาทิ อุทยานฯ แจซอ น จ.ลําปาง อุทยานฯ สุเทพ-ปุย , อุทยานฯ อินทนนท จ.เชียงใหม เปนตน ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ อาทิ อุทยานฯ เขาใหญ จ.นครราชสีมา , อุทยานฯ ผาแตม จ.อุบลราชธานี , อุทยานฯ ภูกระดึง จ.เลย เปนตน ภาคตะวันออก อาทิ อุทยานฯ เขาแหลมหญา-หมูเกาะเสม็ด , อุทยานฯ หมูเกาะชาง จ.ตราด เปนตน ภาคตะวันตก อาทิ อุทยานฯ แกงกระจาน จ.เพชรบุรี , อุทยานฯ ไทรโยค จ.กาญจนบุรี เปนตน ภาคใต อาทิ อุทยานฯ ตะรุเตา จ.สตูล , อุทยานฯ หมูเกาะลันตา จ.กระบี่ เปนตน

74 l September 2012

Energy#46_p72-74_Pro3.indd 74

8/29/12 12:32 AM


Energy#46_Ad ES_Pro3.ai

1

8/23/12

9:17 PM


Energy Clinic

โดย : ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

“เศรษฐกิจพอเพียง ใชพลังงานอยาง Q : โรงงานของผมตองการดําเนินการโครงการประหยัด พลังงานในโรงงาน แตติดปญหาที่โรงงานผมไมมีเครื่องมือ ตรวจวั ด ค า ด า นพลั ง งานของอุ ป กรณ ใ ช พ ลั ง งานแต ล ะตั ว ไมทราบวาสถานประกอบการตาง ๆ โดยสวนใหญแลวเปนแบบ ผมหรือเปลาครับ? A : ปญหาที่โรงงานของคุณเจอก็เปนปญหาของโรงงานโดย สวนใหญครับ จริง ๆ แลวในโรงงานอุตสาหกรรมบานเรามีไมถงึ รอยละ 10 หรอกครั บ ที่ มี เ ครื่ อ งมื อ หรื อ มิ เ ตอร ต รวจวั ด ที่ พ ร อ มสํ า หรั บ

เพียงพอ”

ระบบการจัดการพลังงานจริง ๆ บางโรงงานอาจมีเครื่องมือวัดคา พลังงานสําหรับอุปกรณใชพลังงานบางชนิดในโรงงาน แตทมี่ คี รบถวน จริง ๆ มีไมมากครับ Q : ในเมื่อโรงงานผมไมมีเครื่องมือวัดดานพลังงาน ผม ควรใชคาจาก Spec. ในการวิเคราะหประสิทธิภาพ และสภาพ การใชงานดานพลังงาน จะดีไหมครับ? A : เราไมควรนําคาการใชพลังงานจาก Spec. อุปกรณ มา วิเคราะหเพื่อหาประสิทธิภาพของอุปกรณนั้น ๆ นะครับ เพราะแทบ ไมมีประโยชนเลยในการดําเนินการดังกลาว เราตองหาประสิทธิภาพ การใชพลังงานของอุปกรณตาง ๆ ในสภาพที่ใชงานอยูครับ ไมใช ประสิทธิภาพตั้งตนจากผูผลิต (ซึ่งโดยสวนใหญมักจะบอกมาในคูมือ อุปกรณอยูแลว) Q : แลวถาผมตองการทําโครงการประหยัดพลังงานใน โรงงานภายใตเงื่อนไขนี้ อยากทราบวาผมตองเริ่มทําอยางไร กอนครับ? A : การตรวจวัดคาพลังงานทีใ่ ชงานจริงเปนสิง่ ทีจ่ าํ เปนครับ ใน การดําเนินโครงการประหยัดพลังงาน ถาเรายังไมมีเครื่องมือวัดดาน 76 l September 2012

Energy#46_p76-77_Pro3.indd 76

8/22/12 2:01 AM


พลังงาน ผมเสนอใหจางหนวยงานที่มีบริการดานการตรวจวัดคา พลังงานมาดําเนินการใหโรงงานเรากอนครับ โดยเราสามารถจัดจาง หนวยงานภายนอกทีม่ กี ารใหบริการดานนี้ ซึง่ อาจเปนหนวยงานภาครัฐ เชน มหาวิทยาลัย การไฟฟาฯ เปนตน หรือบริษัทเอกชน เชน บริษัท ที่ปรึกษาดานพลังงาน ก็ไดครับ Q : แลวในการจะจางหนวยงานเหลานี้ผมควรพิจารณา จากคุณสมบัติอะไรบางครับ? A : คุณสมบัติของหนวยงานใหบริการตรวจวัดและวิเคราะห การใชพลังงานที่ดี ควรประกอบดวยคุณสมบัติอยางนอยดังนี้ครับ 1. เปนหนวยงานที่มีประสบการณในงานดานนี้และมีบุคลากรที่ มีความรูความสามารถที่จะสามารถตรวจวัดและวิเคราะหพารามิเตอร ที่เราตองการได โดยเราสามารถระบุใหหนวยงานเหลานี้สงประวัติ และผลงานของหนวยงาน รวมถึงเอกสารประวัติยอของบุคลากร ของหนวยงานนี้ที่จะทํางานใหเรา มาใหโรงงานเราพิจารณาไดครับ 2. มีเครื่องมือตรวจวัดที่เพียงพอสําหรับการตรวจวัดดาน พลังงานใหครบถวนตามที่โรงงานเราตองการครับ และเราควรระบุ ขอใบสอบเทียบเครื่องมือเหลานี้ดวยครับ เพื่อใหแนใจวาเครื่องมือ

ของหนวยงานบริการตรวจวัดเหลานี้ยังอยูในสภาพที่ใชงานไดอยาง เหมาะสม ขอนีส้ าํ คัญนะครับ บางหนวยงานไมมกี ารสอบเทียบเครือ่ งมือ ตรวจวัดเลย ทั้งๆ ที่ใชงานมานานเปนสิบปก็มีนะครับ ดังนั้น ควรเนน เรื่องนี้กอนการจัดจางดวยครับ Q : แลวคาใชจายในการตรวจวัดและวิเคราะหการใช พลังงานละครับ โดยปกติแลวตองเสียคาใชจายมากหรือนอย อยางไรครับ A : จริงๆ แลวคาใชจายในการตรวจวัดและวิเคราะหการใช พลังงานจะขึ้นกับปริมาณขอมูลที่ตองการเพื่อนําไปสูการวิเคราะห ศักยภาพการประหยัดพลังงานในแตละโครงการ ดังนัน้ จึงไมสามารถ ระบุแนนอนไปวาคาใชจา ยในการตรวจวัดและวิเคราะหการใชพลังงานนัน้ จะมีราคาสูงเพียงใด เชน ในระบบนํ้าเย็นของโรงงานอาหารแหงหนึ่ง การตรวจวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพการของระบบทํ า นํ้ า เย็ น แบบชั่ ว ขณะ จะเสียคาใชจายนอยกวาการจัดทํา Load Profile ของระบบนํ้าเย็น ทั้งในสวนของความตองการใชนํ้าเย็นและประสิทธิภาพการทํานํ้าเย็น (กิโลวัตตตอ ตันความเย็นทีท่ าํ ได) คอนขางมากครับ อยาลืมนะครับ การประหยัดพลังงานถือเปนหนาที่ของพวกเรา คนไทยทุกคน ซึ่งสามารถเริ่มตนไดงายๆ จากตัวเราเองกอนที่ตอง ลงมือลดการใชพลังงานอยางจริงจัง เพอเปนการอนุรักษพลังงานไว ใหลูกหลานของเราไดมีใชในวันขางหนา ดวยความปรารถนาดีจาก ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย 150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 “ทุกปญหาเรองพลังงาน เราชวยทานได” ESCC ENERGY CALL CENTER 0-2622-1860-76 ตอ 312, 521 และ 535

ทานสามารถสมัครสมาชิกศูนยฯ ฟรี ไดที่

website : www.escctcc.com

September 2012 l 77

Energy#46_p76-77_Pro3.indd 77

8/22/12 10:07 PM


Green Logistics

สรางแตมตอ

โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

ดวยการบริหารองคกรสีเขียว http://www.sci.ubu.ac.th/activity/ index.cfm?next=7&keyword=&ACTTYPEID= ในยุคที่พลังงานมีราคาเพิ่มสูงขึ้นทําใหหลาย ๆ องคกรเริ่มมีการนํา แนวคิดประหยัดพลังงานและลดตนทุนในทุก ๆ กิจกรรมอันจะทําใหองคกร เกิดคาใชจาย โดยองคกรหรือธุรกิจสีเขียวหลายแหงไดผนวกเอาแนวคิด Green เขาไปประยุกตใชในทุกกระบวนการแหงหวงโซคุณคา นับตั้งแต การเลือกใชวัตถุดิบ การจัดซื้อสีเขียว บรรจุภัณฑสีเขียว การตลาดสีเขียว การขนสงสีเขียว เปนตน นอกจากนีย้ งั รวมถึงการนําขยะหรือของเสียกลับมา ใชใหม และวงจรชีวิตผลิตภัณฑตั้งแตการออกแบบจนกระทั่งหมดอายุ การใชงาน รวมถึงกระแสสังคมเริ่มกดดันใหการบริหารองคกรภายใต กรอบแนวความคิดของการสรางความยัง่ ยืนทีไ่ มเพียงแคสง ผลดีตอ สังคม และสิ่งแวดลอมเทานั้น แตยังถือเปนโอกาสทางธุรกิจอีกดวย เนื่องจาก ผูบริโภคในยุคปจจุบันใหความสําคัญและใสใจตอสิ่งแวดลอมเพิ่มมากขึ้น สําหรับความหมายของธุรกิจสีเขียว (Green Business) หมายถึง การที่ อ งค ก รประกอบธุ ร กรรมโดยมี ป ณิ ธ านมุ  ง มั่ น ในการอนุ รั ก ษ สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติของโลก เชน อากาศ ตนนํ้า ลําธาร ปาไม สัตวปา พืชพันธุธัญญาหาร แมลง ฯลฯ ใหมีชีวิตอยูรวมกันอยาง ยั่งยืนโดยไมกระทบตอระบบนิเวศวิทยา สวนวิธีในการเปลี่ยนองคกร ใหเปนสีเขียวนั้น มีหลักการในการดําเนินการอยางกระชับอยู 6 ขั้นตอน คือ 1. เริ่มตนทีละนอย โดยทําเปนโครงการเล็ก ๆ หรือโครงการนํารองกอน 2. ทําใหทุกคนที่จะเขารวมโครงการเกิดความงาย และสะดวกสบาย 3. ดึ ง ผู  บ ริ โ ภคให มี ส  ว นร ว มกั บ ธุ ร กิ จ 4. ทํ า ทุ ก อย า งให ค รบวงจร 5. ร ว มมื อ กั น สร า งเครื อ ข า ยทางธุ ร กิ จ มิ ใ ช ทํ า อยู  ค นเดี ย ว และ 6. ทําทุกอยางบนความคิดอยางสรางสรรค อยางไรก็ดี การบริหาร องคกรใหเปนสีเขียวจะสรางแตมตอใหเกิดความสามารถทางการแขงขัน ในระยะยาวและใหผูบริโภคเกิดความจงรักภักดีตอตราสินคา ซึ่งจะทําให องคกรเกิดประโยชน 3 ประเด็น ดังนี้ ประการแรก คื อ ช ว ยสร า งการเรี ย นรู  แ ละสร า งนวั ต กรรม ใหมๆ ในธุรกิจ เชน ฮิวเลตตแพคการด ที่เคยใหความชวยเหลือดาน

เทคโนโลยี ใ นชุ ม ชนห า งไกลในอิ น เดี ย ที่ ไ ม มี ไ ฟฟ า ใช ได คิ ด ค น เครื่ อ ง พรินเตอรที่ไมตองใชไฟฟาเพื่อแกไขปญหาเรื่องไฟฟา ในที่สุดนวัตกรรมนี้ ถู ก นํ า มาใช เ ป น สิ น ค า ตั ว หนึ่ ง ของบริ ษั ท หรื อ อี ก ตั ว อย า ง ของ Toyota ที่ เ ริ่ ม ผลิ ต รถ Hybrid ที่ ใ ช ไ ด ทั้ ง เชื้ อ เพลิ ง และไฟฟ า โดยที่ ก ารขั บ เคลื่ อ นรถ Hybrid นี้ ปล อ ยมลพิ ษ เพี ย ง 10% เมื่ อ เที ย บกั บ รถปกติ และใช นํ้ า มั น เพี ย งครึ่ ง หนึ่ ง ของปกติ สิง่ ประดิษฐใหมนที้ าํ ใหรถเปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และกลายเปนสินคาตัวใหม ของบริษัท ประการที่ ส อง คื อ ช ว ยสร า งประสิ ท ธิ ภ าพการดํ า เนิ น งาน ซึ่งหลายคนมองวา เปนการเพิ่มภาระตนทุนของธุรกิจแตในระยะยาว แตขอเท็จจริงกลับปรากฎวา การจัดกระบวนการผลิตที่สอดคลองกับ แนวคิดนี้ สงผลชวยในการลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ เชน บริษัท ซี.พี.

http://www.siamrath.co.th/ เซเวนอีเลฟเวน มีโครงการลดการใชไฟฟาโดยการปรับเปลี่ยนอุปกรณ ของบริษัทเมื่อป 2547 ทําการเปลี่ยนหลอดไฟ 30 สาขาเปนหลอดประหยัด พลังงาน ใชบลั ลาสตอเิ ล็กทรอนิกส และบํารุงรักษาเครือ่ งปรับอากาศอยาง มีประสิทธิภาพ เพียง 8 เดือน มีการเก็บตัวเลขพบวาประหยัดคาใชจาย ไดถึง 90 ลานบาท ประการที่สาม คือ จะมีการนําหลักการตลาดมาปรับใชใหมในแง ของ Social Marketing ในธุรกิจเพิ่มมากขึ้น เชน ดานผลิตภัณฑ ไมวา จะเปนลักษณะของ Green Product ที่ประกอบดวย การคัดเลือกวัตถุดิบ ที่จะนําผลิตเปนสินคา/บริการ ฉลากสิ่งแวดลอมกับสินคาและบริการ เชน ฉลากเขียว, คารบอน ฟุตปรินท เปนตน ลดการใชวัตถุดิบและใชทรัพยากร ทองถิ่น (Local Material) ลดการใชสารเคมีใหนอยลง ฯลฯ โดยดูทั้งวงจร ชีวิตของสินคาตั้งแตผลิต-การใชงาน-ทิ้ง โดยมุมมองจะเปดกวางมากขึ้น ตั้งแตการผลิต การจัดจําหนายสินคา และการบริโภคตลอดวิถีทางการ ตลาด ซึ่งเปนการพิจารณาทั้งระบบตลอดหวงโซอุปทาน และพิจารณา ผลกระทบตอสภาพแวดลอมที่เปนระดับชุมชน ระดับประเทศ และระดับโลก

78 l September 2012

Energy#46_p78-79_Pro3.indd 78

8/22/12 1:36 AM


http://www.natui.com.au/main/system/news.php?id=1306 สวนดานราคา มีแนวโนมวาราคาตอหนวยของสินคากรีนโปรดักส จะทําใหราคาขายลดลง หรือสมเหตุผลเพื่อจูงใจใหผูบริโภครูสึกวาการ บริโภคผลิตภัณฑนี้เปนสวนหนึ่งในการแสดงความใสใจตอสิ่งแวดลอม ดานการจัดจําหนาย จะใชความสัมพันธของคลังสินคากับการขนสง เพื่อประโยชนของการขนสงที่ไดจํานวนมาก โดยคลังสินคาเปนจุดรวบรวม และกระจายสินคา(Consolidate point) หรือลดตนทุนการขนสงลงไดโดย ไมตองใชคลังสินคาชวย เชน ระบบการขนสงแบบ Milk run แตก็ตอง ใช ร ะบบการจั ด การผลิ ต และต อ งอาศั ย การแบ ง ป น ข อ มูล ที่ ม ากอย า ง มีประสิทธิภาพสูงดวย หรือจะขอความรวมมือระหวางผูผ ลิตและคนกลางทาง การตลาดในการแสดงความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม เชน ประหยัด พลังงานไฟฟา ใชกระดาษรีไซเคิล เปนตน ทางด า นการส ง เสริ ม การตลาด ไม ว  า จะเป น การโฆษณาและ การประชาสัมพันธในเชิง CSR ในการสรางภาพลักษณและเปนพลเมือง ของสั ง คมในรู ป แบบต า งๆ ทั้ ง ในเชิ ง ของการนํ า เสนอช ว งเวลาแห ง การรวมทุกขรวมสุข การใหกําลังใจผูประสบภัย การแสดงความขอบคุณ และการสื่อถึงความเปนองคกรที่พรอมรวมเดินเคียงขางในภาวะวิกฤต การสงเสริมการขาย จะมีการรณรงคลด แลก แจก แถม คูปอง หรือสงชิงโชค

http://www.deonetraining.com/list_inhouse.php?cat_id=2

http://newsflavor.com/politics/world-politics/ obamas-dangerous-last-resort-

http://www.fly4change.com/http:/www.fly4change/ 3-themes-that-goในการกระตุนใหผูบริโภคเกิดการซื้อสินคา/บริการที่ไมทําลายสิ่งแวดลอม และนําผลิตภัณฑที่ใชแลวมาแลกสินคา/บริการหรือรวมบริจาคตอสังคม เปนตน การขายโดยพนักงานขาย จะเปนรูปแบบของการอธิบายใหขอมูล ที่ถูกตองในเรื่องการเปนสวนหนึ่งของการใสใจตอสิ่งแวดลอมของบริษัท และผูบริโภคมากกวาการที่จะขายสินคา ซึ่งการขายสินคาเปนผลผลอยได และการตลาดทางตรง ความก า วหน า และใช ชี วิ ต อยู  บ นเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสาร ทําใหการติดตอสื่อสารถึงกันทําไดผาน Social Network ไมตองเดินทางไปพบกันแบบเผชิญหนา ลดคาใชจาย ในการเดินทาง จากที่พักสํานักงานหรือในสํานักงานที่หางไกล นอกจากนี้ เมื่อถูกภาวะสภาพแวดลอมภายนอกกดดันทําใหธุรกิจ นําแนวคิดและเครื่องมือทางการจัดการมาผสมผสานในการบริหารงาน เพื่ อ ที่ จ ะลดต น ทุ น ประหยั ด พลั ง งาน ไม ว  า จะเป น กระบวนการ LEAN การลดของเสีย (Waste 7 ประการ) การวาง KPI ในเรื่องการควบคุม สิ่งแวดลอมอีกดวย อย า งไรก็ ต าม การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ยุ ค นี้ จ ะต อ งทํ า ให เ ป า หมายใน การทําธุรกิจเกิดความลงตัวใน 3 ดาน คือ ผลกําไร (Profit) สิ่งแวดลอม (Environment) และ สังคม (Society) ซึ่งถือวาเปน “หัวใจ” ของ ความอยูรอดและการเติบโตของธุรกิจแบบยั่งยืนอยางแทจริง หากธุรกิจ ไมทาํ ให 3 ดานสมดุล เมือ่ นัน้ ธุรกิจก็จะถูกเอาคืนจากสิง่ แวดลอม และสังคม อยางสาสม เหมือนปที่ผานมา September 2012 l 79

Energy#46_p78-79_Pro3.indd 79

8/22/12 1:36 AM


Energy Concept โดย : กองบรรณาธิการ

ลดพิ ษ ...เครื่อ งถมเงิ น ปลอดตะกั่ว

พัฒนาภูมปิ ญ  ญาไทยสูต ลาดโลก เครื่องถมเงิน ถือเปนงานศิลปหัตถกรรมของไทยมาตั้งแตสมัย อยุธยาโดยใชเปนเครื่องราชูปโภค และเปนงานหัตถกรรมอยางหนึ่งที่เชิด หนาชูตาศิลปะและวัฒนธรรมของไทย และมีการสงออกไปขายยังตาง ประเทศเพื่อเปนขของที่ระลึกกับนักทองเที่ยว ปจจุบันความตองการมีนอย ลง เนื่องจากเครื่องถมเปนของมีราคาสูง ประกอบกับความเปนพิษของ ตะกั่ว ทําใหเกิดขอจํากัดดานการสงออก เนื่องจากกฎขอบังคับใน ยุโรป อมริกา วัตถุที่นําเขาตองมีสารตะกั่วที่เจือปนไมเกินรอยละ 0.0007-0.06 (7-600 ppm) ดวยเหตุนี้ น.ส.ภัทรา ศรีสุโข และนายพันธุพจน ฤทัยธนานนท นิสิตจาก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยมี ผศ.ดร.ขจีพร วงศปรีดี เปนอาจารยที่ปรึกษา ไดโชวผลงานวิจัย ยาถมดําปราศจากตะกั่ว วิวัฒนาการ ใหมของเครื่องถมไทย ดีกรีรางวัลความคิดริเริ่มทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ครั้งที่ 5 กับรางวัลดีเดนอันดับ 1 ระดับบัณทิตศึกษา

ES : งานวิจัยยาถมดําปราศจากตะกั่วเกิดขึ้นไดอยางไร น.ส.ภัทรา : งานวิจยั ทีท่ าํ ขึน้ เปนการปรับปรุงสวนประกอบของยาถม ใหปราศจาก ตะกัว่ และโลหะทีเ่ ปนพิษ เพือ่ ลดสารพิษทีจ่ ะกอใหเกิดโทษกับผูท าํ และผูท สี่ วมใส โดย ใชดีบุกมาเปนสวนประกอบแทน คิดคนสูตรขึ้นมาใหม ซึ่งจะชวยใหชาวบานที่เปน ผูผลิตผลิตภัณฑเครื่องถม ไมตองเสี่ยงกับอันตราย ชวยเปนการเปดตลาดให

เครื่องหัตถกรรมของไทยใหสามารถสงออกไปขายยังประเทศสหรัฐอเมริกาและ ในยุโรปได ซึ่งประเทศเหลานี้มีกฎหามนําสินคาที่มีตะกั่วเจือปนเกินรอยละ 0.06 เขาประเทศ เพื่อปองกันอันตรายที่จะเกิดกับประชากรในประเทศ ซึ่งหากนํายาถม ทีค่ ดิ คนขึน้ ไปใชในการผลิตจะทําใหสามารถสงออกผลิตภัณฑไปยังประเทศเหลานี้ ได และเปนการชวยเผยแพรและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยดวย ES : แกปญหาสารตะกั่วดวยวิธีอะไร น.ส.ภัทรา : เพือ่ ลดการใชสารพิษอันจะกอใหเกิดโทษทัง้ ตอมนุษยและสิง่ แวดลอม จะใชดีบุกทดแทนตะกั่ว แลวทําการเพิ่มลดปริมาณดีบุกในยาถมทั้งหมด 3 สูตร จากนอยไปหามากตามลําดับ รวมทัง้ ศึกษากระบวนการลงถมดวยอุณหภูมทิ แี่ ตก ตาง เพื่อศึกษาลักษณะการจัดเรียงตัวและโครงสรางทางจุลภาค โดยแบงเปน 2 กระบวนการ คือ กระบวนแรกศึกษาแทงยาถมดําปราศจากตะกัว่ โดยเลือกใชธาตุ ทีเ่ หมาะสมเพือ่ ผสมสูตรสําหรับการผสมแทงยาถมและกรรมวิธกี ารหลอมทีค่ าํ นึง ถึงหลักของกระบวนการ oxidation และความสามารถในการหลอมและการเขากัน เปนสารประกอบทีด่ ี มีผลตอคุณสมบัตขิ องแทงยาถมทําใหไดเนือ้ ยาถมทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีรพู รุนนอยและใหสดี าํ มัน และกระบวนการทีส่ องศึกษาการลงถมทีอ่ ณ ุ หภูมติ า งๆ บนอัลลอยเงินรอยละ 95 โดยนํ้าหนัก เพื่อหาอุณหภูมิที่เหมาะสม ทําใหสามารถ ถมไดเต็มรองถมและเรียบสนิท

80 l September 2012

Energy#46_p80-81_Pro3.indd 80

8/23/12 8:42 PM


จากการวิเคราะหยาถมดวยเทคนิคการเลีย้ วเบนของรังสีเอกซ (XRD) พบวา ยาถมประกอบไปดวยสารประกอบ เงิน-ซัลเฟอร, ทองแดง-ซัลเฟอร, ทองแดง และดีบุกและซัลเฟอร จากการวิเคราะหดวยกลองจุลทรรศนแบบสองกราด พบ วาสารประกอบของ ทองแดง ดีบุกและซัลเฟอร นี้มีลักษณะการรวมตัวคลายรูป เข็ม ซึ่งคณะฯ ผูวิจัยไดคนพบวา หากยาถมมีปริมาณของสวนผสมดีบุกนอยจะ ไมทําใหเกิดการรวมตัวของเสนเข็มนี้ แตในทางกลับกันหากยาถมมีปริมาณดีบุก ที่มากเกินไปจะทําใหโครงสรางของเสนเข็มนี้มีลักษณะเปนแทงกวางและสั้น แต ถาหากยาถมมีปริมาณของดีบุกที่พอดีจะทําใหโครงสรางเข็มมีลักษณะยาวและ แคบ ซึง่ โครงสรางของเสนเข็มนีเ้ องเมือ่ นําไปทดสอบดวยการนําไปลงถมบนแผน อัลลอยเงินแลวพบวา ยาถมที่มีโครงสรางของเสนเข็มที่แคบและยาวจะมีรูพรุนที่ นอย และไมเกิดการยุบตัวเมือ่ ยาถมเย็นตัว นอกจากนีห้ ากยาถมทีม่ โี ครงสรางของ เสนเข็มใหญมากจนเกินไปจะทําใหเกิดการแตกบริเวณรอยตอของโครงสรางเสน เข็มนีไ้ ด การวิเคราะห Element mapping เพือ่ ศึกษาการกระจายตัวของแตละธาตุ ดวยเครื่อง Electron Dispersive Spectroscopy (EDS) ใน Scanning Electron Microscopy (SEM) แสดงใหเห็นวาดีบุกกระจายอยูทั่วไปแตพบมากตรงที่เปน เสนเข็ม กํามะถันชอบจับตัวกับโลหะดีบุกและทองแดง ซึ่งผลนี้ตรงกับขอมูลที่ได

ES : ขอดีของเครื่องถมเงินจากงานวิจัยนี้เปนอยางไร น.ส.ภัทรา ศรีสโุ ข : ผลิตภัณฑจะแตกตางไปจากการผลิตแบบดัง้ เดิม นอกจากใช ยาถมทีป่ ราศจากสารตะกัว่ ในการกระบวนผลิตตัวเรือน และไดประยุกตเทคโนโลยีที่ ทันสมัยเขามาใชดว ย โดยการออกแบบชิน้ งานดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร การขึน้ แมแบบดวยเครื่อง CNC การหลอแบบขี้ผึ้งหาย และการลงถมดําที่มีการควบคุม อุณหภูมิของหัวเปาไฟเพื่อควบคุมความรอนที่ใช ทําใหคุณภาพของเครื่องถม แตละชิ้นใหไดตามมาตรฐานที่กําหนด และไดลวดลายคมชัดเหมือนกันทุกชิ้นซึ่ง สามารผลิตไดจํานวนทีละมากๆ ชวยลดเวลาในการผลิตไดเปนอยางมาก สงผล ใหตนทุนในการผลิตลดลง จึงถือเปนขอดีที่สามารถนําไปใชในการแขงขันทาง ดานราคาในเชิงพาณิชยได ES : จะมีการตอยอดโครงการนี้อยางไร น.ส.ภัทรา ศรีสโุ ข : การเติบโตของมูลคาสินคาสงออกอัญมณีและเครือ่ งประดับ มีการสงออกที่เพิ่มมากขึ้น เมื่อทําการประมาณการอัตราการเติบโตของการสง ออกเครื่องถมไทยเทียบกับมูลคาการสงออกอัญมณีและเครื่องประดับในอดีต สามารถประมาณการปริมาณการสงออกของเครือ่ งถมในป พ.ศ.2554 ประมาณ มูลคา 15,259.77 ลานบาท หากนําเครื่องประดับยาถมปราศจากตะกั่วที่มีการ พัฒนาทางดานรูปลักษณและกระบวนการผลิตใหอยูใ นรูปของเครือ่ งประดับ หรือ หากสามารถสงออกไดมูลคาเพียงรอยละ 1 ของมูลคาสงออกของเครื่องประดับ ไทยทั้งหมดที่ 371,239.32 ลานบาท ก็จะมีมูลคาการสงออกยาถมเพิ่มมากขึ้น ถึง 3,712.93 ลานบาทตอป ซึ่งแสดงใหเห็นถึงชองทางการตลาดของเครื่อง

ถมปราศจากตะกั่วถือเปนโอกาสทางธุรกิจที่นาสนใจตอการลงทุนเปนอยางมาก หากมีการประชาสัมพันธผลิตภัณฑยาถมใหเปนที่รูจัก เนนการอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย และชี้ใหเห็นถึงแนวความคิดทางผลิตภัณฑ ใหมในการอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผลิตภัณฑเครื่องถมดํา สูตรยา ถมดําปราศจากตะกั่ว เทคนิคที่เปนภูมิปญญาไทย จะสามารถถายทอดไดจากรุน สูรุนโดยไมมีอันตราย และสามารถสรางโอกาสทางผลิตภัณฑเครื่องประดับได งานวิจัยนี้ไดวิเคราะหตามหลักทางวิทยาศาสตรทําใหสามารถผสมสูตร เนื้อยาถมที่มีคุณภาพมีรูพรุนนอยและใหสีดํามันมีโครงสรางของสารประกอบ CuSnS ที่มีขนาดเล็กกระจายตัวอยูทั่วไป ทําใหไดเนื้อแทงยาถมที่เรียบสนิท อยางไรก็ดีภาครัฐควรมีการลงเสริมและถายทอดเทคโนโลยีที่มาจากรากฐาน ภูมิปญญาไทยและ สูตรยาถมที่เปนองคความรูใหม เพื่อใหเกิดความแข็งแกรง ของฐานการผลิตยาถมดําปราศจากตะกัว่ ในไทย เพือ่ นําไปสูก ารสรางแบรนดของ ประเทศ และยังชวยขยายฐานดานการสงออกเครือ่ งประดับไทย ใหมชี อื่ เสียงไปเปน ทีร่ จู กั ของทัว่ โลกมากยิง่ ขึน้ เปนตัวอยางของคนรุน ใหมในการใสใจในการอนุรกั ษ ศิลปะแขนงนีใ้ หมกี ารสืบสานตอๆไป ยังผลใหเครือ่ งถมไทยมีความรุง เรืองกวาแต ครั้งอดีต และยังจะอยูคูบานคูเมืองไทยไปอีกนานแสนนาน September 2012 l 81

Energy#46_p80-81_Pro3.indd 81

8/23/12 8:42 PM


HOW TO

ผูเขียน : สุภาภรณ มั่นบุญสม

DIY กระถางจากแผน floppy disk

ขั้นตอนการทํา การทําก็งายๆ เพียงแคคุณนําแผนฟล็อบบี้ดิสกมาติดดวยกาว ให เ ปนกลอ งรูปทรงสี่ เ หลี่ยม และอี กแผ นติ ด ดานลางเพื่อใชเ ป นฐาน รองกระถางตนไม โดยทั่วไปแลวก็จะใชประมาณ 5 แผนตอหนึ่งกระถาง สําหรับกาวที่ใชนั้นหากตองการใหยึดติดแนนกวากาวทั่วไปก็ลองใชพวก กาวสําหรับงานกอสราง หรือกาวตราชางดู ลองนํากระถางตนไมไปวาง ดู หากขอบไมพอดีกับกลองฟล็อบบี้ดิสกก็ใหทําการตัดตกแตงใหสวยงาม

ยกมือขึ้นเสียดีๆ สําหรับคนที่ยังจําเจาแผน ฟล็อบบี้ดิสก (Floppy Disk) ไดและยังเคยใชงานมันอีกดวย เพราะเจาฟล็อบบีด้ สิ กสเี่ หลีย่ มๆ ขนาด ความจุ 1.44 MB นีค้ รัง้ หนึง่ เคยไดรบั ความนิยมในตลาดอยางสูงในยุค 90 กอนทีจ่ ะถูกแทนทีด่ ว ยแผน CD DVD หรือ USB ในปจจุบนั เพราะการใชงาน ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป และขนาดของขอมูลก็มขี นาดใหญขนึ้ ทําใหฟล็อบบีด้ สิ กถกู ทิ้งไปจํานวนมาก บางก็ถูกเก็บไวโดยไมไดใชงานใดๆ เลย สําหรับใครทีย่ งั เก็บความหลังครัง้ ทีฟ่ ล็อบบีด้ สิ กยงั เปนเปนผูย งิ่ ใหญ ในโลกดิจติ อลเอาไวอยู วันนีเ้ ราจะลองมาเสนอวิธที เี่ ราจะนําฟล็อบบีด้ สิ กทงั้ หลายนัน้ มาใชประโยชนและสามารถนําไปมอบใหเปนของขวัญเกๆ หรือทําไว ตั้งโชวในบานก็เจงไมนอยสําหรับ กระถางตนไมจากแผนฟล็อบบี้ดิสก โดย เราจะใชแผนฟล็อบบีด้ สิ ก เปนกระถางสําหรับสวมดานนอก แตกย็ งั คงตอง ใสกระถางจริงๆ ไวขา งใน โดยอาจจะเปนกระถางพลาสติกทีม่ ากับตนไม หรือ จะเปลีย่ นเปนกระถางทีท่ าํ จากแกวโยเกิรต ใชแลว หรือแบบอืน่ ๆ ก็ได เราลอง มาดูกันวาตองเตรียมอุปกรณอะไรบาง อุปกรณ 1. แผนฟล็อบบี้ดิสก 2. กาวรอน หรือกาว 3. ตนไมพรอมกระถาง และดิน หรือจะเริม่ ปลูกตัง้ แตเปนเมล็ดเลยก็ได

แตะถาจะใหดูแนวมากขึ้นก็ลองเขียนชื่อตนไมและวิธีการดูแลติดไว ที่ปายชื่อสติ๊กเกอรแลวแปะลงบนกระถางฟล็อบบี้ดิสกของเราดวย เสร็จ แลว งายๆ แบบนี้เอง

ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.brit.co/tech

82 l September 2012

Energy#46_p82_Pro3.indd 82

8/22/12 1:55 AM


Energy in Trend

รูหรือไม

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

ลมหายใจก็กลายเปนไฟฟาได http://www.businessweek.com/magazine/fracking/slideshow.html

เปนเรื่องนายินดี และประหลาดใจ หลังจากไดทราบขาววา พลังงาน จากลมหายใจ ของเราสามารถนําไปแปลงเปนพลังงานไฟฟา บรรจุลง แบตเตอรี่ใชไดกับเครื่องใชไฟฟาไดอยางนาอัศจรรย เมื่อกอนเราก็แคเคยไดยินวาการวิ่งออกกําลังกายนําไปแปลงเปน ไฟฟา ในเครื่องปนไฟได โรงแรมหลายแหงในตางประเทศก็นิยมวิธีนี้ เพื่อ เปนกิจกรรมภายใน บางครั้งไดเงินคาขนมหลังจากปนอีกตางหาก ลาสุด มันสามารถนําไปชารตแบตเตอรี่อุปกรณอิเล็กทรอนิกสทั้ง หลายได เชน ไอโฟน ไอพอด โดยที่ไมตองใชอุปกรณตอพวงกับกระแส ไฟฟา ที่เปนเชนนั้น เนื่องจากมีการคิดประดิษฐอุปกรณชารจแบตเตอรี่ที่ ไมตองเสียบกับกระแสไฟฟา เพียงแตใชระบบเปลี่ยนลมหายใจมนุษย ที่ออกมาจากปอดของเรา แปรเปลี่ยนเปนกระแสไฟฟา โดยอุปกรณดังกลาวจะเปนลักษณะคลายกับที่ปดจมูก แตภายใน ประกอบดวยใบพัด ตัวสรางพลังงานเปลีย่ นเปนกระแสไฟฟาผานสายเชือ่ มตอ หากมีการหายใจใบพัดก็จะทํางานทันที Joao Paulo Lammoglia เจาของอุปกรณ กลาววา อุปกรณ ชนิดนี้สามารถใชไดทุกเวลา ทุกสถานที่ ไมวาจะวิ่งออกกําลังกาย อาน หนังสือ หรือแมกระทั่งนอนหลับ ซึ่งในอนาคตหวังวาจะไดนํามาใชกัน อยางแพรหลาย และมันจะชวยลดปริมาณกาซคารบอน และชวยอนุรักษ สิ่งแวดลอมดวย นี่คือคอนเซ็ปทการออกแบบเพื่อนําพลังงานลม(หายใจ) มาใชใน แบบที่หลายคนคาดไมถึง เจาอุปกรณชิ้นนี้มีชื่อวา AIRE mask จะเปลี่ยน ลมหายใจของคุณใหกลายมาเปนพลังงานไฟฟาดวยกังหันลมผลิตไฟฟา ขนาดเล็กที่ติดตั้งอยูภายใน สิ่งที่คุณตองทําก็คือสวมหนากาก AIRE เอา ไว ตอสายเขากับไอโฟนแลวก็หายใจแลวทํากิจกรรมตาง ๆ ไปตามปกติ

ชักสงสัยตามไปวา ระหวางที่สรางพลังงาน ถาเกิดจากการวิ่ง จะไดพลังงานเยอะมากกวาการนอนไหม ผมวาตองใชแน ๆ แตอยางไรก็ดี เรือ่ งนีส้ อนใหรวู า ลมหายใจของคนเรานัน้ มีประโยชน แมจะมีหลายคนบอกวา ฉันแคหายใจทิ้งไปวันๆ...นั่นก็ยังเปนประโยชนอยู จริงไหมครับ? September 2012 l 83

Energy#46_p83_Pro3.indd 83

8/27/12 10:58 PM


Renergy

โดย คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

มาจากสายตาอันเฉียบคมของนักพัฒนาโครงการ ทั้งจากภายในประเทศ และนักพัฒนาโครงการจากตางประเทศ ซึ่งผูเขียนอยากจะใหคํานิยาม จากประสบการณที่ผานมาเพื่อแบงปนความรูเกี่ยวกับผูที่ประกาศตัวเอง วาประกอบกิจการพลังงานทดแทนรอยละ 90 คือนักพัฒนาโครงการ (Developer) ซึ่งอาจแบงตามลักษณะที่มองเห็นไดดังนี้

แบบที่ 1 ฉันมาคนเดียว

อาจมีการจดทะเบียนบริษัทหรือสรางเว็บไซตเพื่อใหดูนาเชื่อถือ คุณสมบัตพิ เิ ศษของนักพัฒนาควรการเหลานีก้ ค็ อื พูดจานาเชือ่ ถือ มีความรู ดานพลังงานทดแทนพอสมควร และมีภาพถายทีถ่ า ยรวมกับผูม ชี อื่ เสียงมา ประกอบการสนทนา จดจําคําพูดไดแมนยําและนําไปพูดตอไดสมจริงสมจัง กวาเจาของคําพูด เขาเหลานี้จะนําเสนอโครงการตาง ๆ เหมือนเปน โครงการที่เขาพัฒนาขึ้นมาเอง ขอดีคือ ทานฝากโครงการไปขายหรือหา นักลงทุนไดโดยไมตองเหนื่อยมากนัก ขอควรระวังก็คือ งานที่ทานทุมท ทั้งชีวิตอาจไดผลตอบแทนนอยกวาคนที่เราเรียกวา “ฉันมาคนเดียว”

พลังงานทดแทน

ในอุงมือของ เกมสการเงิน

พลังงานทดแทน หนึ่งในธุรกิจคลื่นลูกใหมของไทย ไมใชแคความ พรอมและความไดเปรียบในดานภูมิศาสตรตอพลังงานทดแทน ความไม มัน่ คงในดานพลังงานในระยะยาวก็เปนพลังขับเคลือ่ นทีส่ าํ คัญไมนอ ยไปกวา กัน พลังงานทดแทนหรือ Renewable Energy ถูกมองจากแตละภาคสวน แตกตางกัน ภาคการเงินการธนาคารมองวาพลังงานทดแทนยังเปน ธุรกิจที่มีความเสี่ยงสูง ยกเวนพลังงานแสงอาทิตยและพลังงานลม ซึ่ง สายลมแสงแดดไมขึ้นราคาและมีตลอดชีวิตเรา ภาครัฐผูกําหนดนโยบาย บางหนวยงานเกรงวา การสงเสริมจากภาครัฐ อาจเอื้อประโยชนใหกับ ภาคเอกชนมากเกินไป (กลัวเอกชนรวย) บริษัทใหญ ๆ ที่ใชพลังงานมาก หรือใชทรัพยากรของประเทศเปนสินคามองวา พลังงานทดแทนเปนเพียง CSR: Corporate Social Responsibility นักธุรกิจที่มากับโอกาสมองวา ไดเวลาขุดทองอีกแลว ผูใสใจพลังงานทดแทนคิดวาอยากจะมีธุรกิจ พลังงานทดแทนกับเขาบาง วันขางหนาพลังงานเหลือนอย หายาก และ ราคาแพง ลูกหลานจะไดไมลําบาก สวนนักการเงินมองวา “พลังงาน ทดแทนคือเกมสการเงิน”

แบบที่ 2 ฉันมากับเทคโนโลยี

กลุม ทีม่ กั จะแอบอางวาเปนเจาของเทคโนโลยีสว นใหญเปนชาวตางประเทศ วางตัวดี พักโรงแรมหรูแตไมเลี้ยงอาหารใครแมกระทั่งกาแฟที่คอฟฟช็อป การนําเสนอเทคโนโลยีเปนไปอยางนาสนใจ มีโครงการตัวอยางใหชมใน ตางประเทศ มีสถาบันการเงินพรอมรวมลงทุน ขอเพียงลงนามใน MOU พรอมแผนธุรกิจ หากเปนโครงการที่มีที่ดิน Feedstock หรือ PPA แลว ก็ อาจจะมีนักลงทุนมาลงทุนไดทันทีภายใน 2-3 เดือน โดยถือหุนกันคนละครึ่ง โดยประมาณ จากนั้นเขาก็จะทํา Financial Model มาใหดูโดยการบวกคา เทคโนโลยีและคาบริการโครงการจนพอใจ และกดราคาเจาของโครงการ ลงจนตํ่าที่สุดโดยอางวาจะไดจูงใจนักลงทุน หากโชคดีโครงการสําเร็จ นัก ชอปปงโครงการโดยอางเทคโนโลยีรายนี้ก็จะมีหุน โดยไมตองลงทุน พรอม คาพัฒนาโครงการหรืออาจมากกวานั้น

พลังงานทดแทน Creative Economy ตัวจริง

รัฐเปนเพียงผูกําหนดนโยบายและใหการสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจ

84 l September 2012

Energy#46_p84-85_Pro3.indd 84

8/27/12 10:32 PM


ชุมชนเปนผูรับหรือรองรับ

แบบที่ 3 ฉันคือนักลงทุน

อาจมาในรูปแบบของตัวแทนของกองทุนหรือมีชองทางติดตอกับ นักลงทุน บุคคลเหลานีจ้ ะเสาะหาโครงการทีม่ กี ารพัฒนาเรียบรอยแลวหรือ เกือบจะลงตัวแลว เพือ่ เขาถือหุน (Take Over) แลวหาทางนําโครงการไปขาย ตอและคากําไรโดยไมมีเจตนาจะเขาดําเนินโครงการตามที่นําเสนอไวแตแรก โครงการตาง ๆ ในเมืองไทยหลายโครงการผานการถูกเอากําไรจากขัน้ ตอน ตางๆ นี้ไปแลวอยางมากมาย ผูถือหุนโครงการคนสุดทายก็คาดหวัง กําไรในขั้นตอนของการเขาตลาดหลักทรัพย

แบบที่ 4 เจาของโครงการ

อาจเปนเจาของวัตถุดิบ เจาของเชื้อเพลิงพลังงาน ผูปลูกพืช พลังงาน เจาของขยะหรือเปนเจาของเทคโนโลยีที่มีลูกคาในมือแตยังขาด เงินทุน กลุมนี้บางครั้งขาดทั้งความรู เทคโนโลยีและเงินลงทุนและกลุมนี้ก็ คืออาหารจานโปรดของนักพัฒนาโครงการทัง้ หลายทีก่ ลาวมาแลว ซึง่ อาจ ตกเปนเหยื่อไดงาย ๆ จึงขอฝากคาถาเอาไววา “ ไมโลภ ไมรีบ ไมจาย ” แตทา นก็ตอ งประเมินตัวเอง กอนวาสิง่ ทีท่ า นมีอยูม คี ณ ุ คามากนอยเพียงใด เปนสาวสวยที่ยังเปนฝายเลือกไดอยูหรือไม

กวารอยละ 90 ของพลังงานทดแทนใน ประเทศไทยมีการนําเสนอโครงการโดยกลาวอางวา เพื่อประโยชนของชุมชนรอบขาง เปนศูนยการ เรียนรูดานพลังงานสะอาด สรางงานฯลฯ เพื่อ สรางความชอบธรรมของการกอสรางและดําเนิน โครงการ ซึ่งนับวาเปนเหตุผลที่ดีหากทุกอยางเปน จริงตามทีไ่ ดประกาศไว แตความจริงทีต่ อ งยอมรับ ก็คือ หากโครงการพลังงานทดแทนเหลานั้นผาน การเก็งกําไรมาแลวหลายชวง จะเอากําไรที่ไหนไป ชวยชุมชน เจาของเงินกับคนหนางานบางครัง้ ก็ยงั ไมรูจักกัน จึงขอวิงวอนใหนักลงทุนชวยเพิ่มตนทุน ในสวนของ Cost of Quality ไวบาง ชุมชนจะไดเปน ผูรับประโยชนดวย ไมใชเปนผูรองรับแตเพียงอยางเดียว

Adder และ Feed in Tariff (FIT) เกมสการเงินชี้ชะตา พลังงานทดแทนไทย

เจาของเกมสการเงินเดิมพันสูงในเกมสนี้ก็คือ สนพ. (สํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน) การพิจารณาอัตราสวนเพิม่ ของการจําหนายไฟฟามาถึงโคงสุดทายแลว สนพ.เดินหนาปรับ Adder เปน FIT ในขณะทีภ่ าคการเงินมองวาการลงทุนในพลังงานทดแทนมีความเสีย่ งสูง คืนทุนชาคือปญหา ถาสนพ.จะใหไดพลังงานทดแทน 25% ใน 10 ปขา งหนา ลองเปดรับฟงความคิดเห็นอันหลากหลายจากภาคเอกชนและภาครัฐใน หนวยงานอื่น ๆ ดูบางจะไดไมตองรับผิดชอบแตผูเดียว บางทีพลังงาน ทดแทน อาจไมตกอยูในอุงมือเกมสการเงินก็ได

ตื่นเถิดนักลงทุนไทย “ พลังไทย เพื่อไทย ”

หวังเปนอยางยิ่งวาบริษัทใหญ ๆ และนัก ลงทุนไทยจะไดอานบทความฉบับนี้แลวกลับมา กูชาติ กูพลังงานทดแทนใหตกอยูกับบริษัทใน ประเทศไทย อาจเปนบริษัทตางประเทศที่อยูใน เมืองไทยก็ไมวากัน พลังงานทดแทนสวนใหญ มีการนําเขาเครื่องจักรและเทคโนโลยีอยูแลว หากยั ง มี ก ารนํ า เข า นั ก ลงทุ น อี ก พลั ง งาน ทดแทนก็จะไมแตกตางจากถานหินและนํ้ามันที่ เรานําเขาทุกวันนี้ พลังงานจากฟอสซิลมีจํากัด พลังงานทดแทนก็มีจํากัดเชนกัน ไมวาจะเปน ความจํากัดดานพื้นที่ Feedstock หรือความ ยอมรับของชุมชน

September 2012 l 85

Energy#46_p84-85_Pro3.indd 85

8/27/12 10:32 PM


Energy Exhibit โดย : ลภศ ทัศประเทือง

มหกรรมวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ 2555

กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตรแหงชาติ เพื่ อ เทิ ด พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล า เจ า อยู  หั ว “พระบิ ด าแห ง วิทยาศาสตรไทย” โดยไดจัดงาน “มหกรรมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติประจําป 2555” ขึ้นเมื่อวันที่ 17-31 สิงหาคม 2555 ที่ผานมา ณ ศูนย นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยในงานนี้มีกิจกรรมที่นาสนใจหลากหลาย ประกอบดวย นิทรรศการ แสดงพระอัจฉริยภาพ พระบิดาแหงวิทยาศาสตรของไทย ผลงานความกาวหนา ทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทั้งในและตางประเทศ การประชุมสัมมนาวิชาการ การถอยทอดเทคโนโลยี การมอบรางวัลพระราชทานนักวิทยาศาสตรไทยดีเดน การประกวดและแข ง ขั น ทางวิ ท ยาศาสตร การแสดงสิ น ค า ทางเทคโนโลยี ถื อ เป น งานมหกรรมด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ที่ ยิ่ ง ใหญ ที่ สุ ด แห ง ป ที่เกิดจากความรวมมือของหนวยงานทั้งภาครัฐ เอกชน ทั้งในและตางประเทศ เพือ่ แสดงถึงศักยภาพทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีทที่ นั สมัย สามารถสรางความ ตื่นเตน สรางแรงบันดาลใจ และความตระหนักดานวิทยาศาสตร 86 l September 2012

Energy#46_p86-87_Pro3.indd 86

8/27/12 10:53 PM


โดยครั้งนี้ กลุม ปตท.รวมจัดแสดงบูธ นิทรรศการภายในงานดวย และไดนําเสนอความรู ทางดานเทคโนโลยี รวมถึง ความรูดานพลังงาน ตาง ๆ ไดอยางเจาะลึกในรูปแบบที่เขาใจไดงาย ทําใหทุกคนไดตระหนักถึงคุณคาของพลังงาน ซึ่ง ภายในบูธก็จะมีสตอรี่มากมายใหเราไดสืบคน อาทิ กาซธรรมชาติ... พลังงานใส เพือ่ โลกสวย , โรงกลั่นหรรษา กวาจะมาเปนนํ้ามัน ,พลังงานทาง เลือก ชวยกันเลือกหนอยนะ , Act Now ชวยกันใช ชวยกันประหยัด , Bioplastic เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ฯลฯ ซึ่งแบงเปนฐานกิจกรรม โดยทั้งหมดไดนํา เสนอความรูเกี่ยวกับพลังงานในรูปแบบการตูน เขาใจงาย และสนุกไปกับเกมสพรอมรับรางวัลใน แตละฐาน เชน ฐานจับคูมหัศจรรย โรงกลั่นหรรษา ที่ใหผูชมไดเรียนรูเกี่ยวกับนํ้ามัน วากวาจะมา เปนนํ้ามันที่ใชอยูทุกวันนั้นตองผานกระบวนการ

อะไรบาง เกมส Act Now ที่ไดเรียนรูการประหยัดพลังงานผานเทคนิคพิเศษ Shadow Interactive พรอมพบกับจุดจายพลังงาน ที่ผูชมไดลุนรับ Special Bonus สุดพิเศษเปนตน

นอกจากนี้ ยังมีรถนิทรรศการเปดโลกปโตรเลียม และรถนิทรรศการ เปดโลกกาซธรรมชาติที่เปนรถนิทรรศการเคลื่อนที่ มาจอดประจําอยูที่บูธ กลุม ปตท. ใหไดเยี่ยมชมตลอดทั้งงาน และที่เรียกความสนใจจากกลุมผูชมเขารวม กิจกรรมในบูธ คงหนีไมพนของรางวัลแบบเดิ้ล เดิ้ล เชน ปากกามหัศจรรย ที่ไมใชมีดีแคขีดเขียน แตยังสามารถเปลี่ยนเปนรูปทรงตาง ๆ ได Space Ball 360 ที่ชวนฉงนไปกับปริศนาภายใน กระบอกนํ้าพลาสติกสีสันสดใส ผลิตภัณฑ จากปโตรเคมี และกระเปาผาสปนบอน ชวยลดโลกรอนไดอีกตางหาก ไมเชื่อ ไปชมภาพบรรยากาศกันนะครับ September 2012 l 87

Energy#46_p86-87_Pro3.indd 87

8/27/12 10:53 PM


Energy Loan โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

โครงการสงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพ

สําหรับโรงงานอุตสาหกรรม ป 2555 สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ได ดํ า เนิ น “โครงการส ง เสริ ม เทคโนโลยี ก  า ซชี ว ภาพสํ า หรั บ โรงงาน อุตสาหกรรม” โดยใหเงินสนับสนุนการลงทุนกอสรางระบบผลิตกาซชีวภาพ เพือ่ สงเสริมใหมกี ารนํานํา้ เสีย หรือของเสียเหลือทิง้ ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึง พืชพลังงานมาแปรรูปเปนกาซชีวภาพเพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทนในรูปความรอน และไฟฟา ซึง่ การดําเนินงานในชวงป 2551-2555 ไดตงั้ เปาโรงงานอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพเขารวม 338 แหง ไดแก โรงงานแปง โรงงานสกัดนํ้ามันจากพืช โรงงานเอทานอล โรงงานแปรรูปอาหาร และโรงงานนํ้ายางขน เปนตน โดย คาดวาจะสามารถผลิตกาซชีวภาพไดประมาณ 637 ลาน ลบ.ม./ป คิดเปนมูลคา ประมาณ 4,950 ลานบาท/ป สําหรับป 2555 สนพ.จะมีการเปดรับขอเสนอขอรับทุนสนับสนุนการจัดทํา ระบบผลิตกาซชีวภาพจากนํา้ เสียหรือของเสียโรงงานอุตสาหกรรม ตัง้ เปาผูข อรับ การสนับสนุนในปนี้ รวม 114 ราย ในวงเงินสนับสนุน 1,060 ลานบาท ทั้งนี้ ผูมี สิทธิยื่นขอเสนอ จะตองเปนผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม และ/หรือ บริษัท จัดการพลังงาน (Energy Service Company: ESCO) ทีเ่ ปนผูล งทุนกอสรางระบบ ผลิตกาซชีวภาพ และระบบการนํากาซชีวภาพไปใชประโยชนในรูปพลังงานทดแทน โดยโรงงานอุตสาหกรรม 1 แหง มีสิทธิยื่นขอเสนอไดจํานวน 1 ประเภทขอเสนอ

โดยกองทุนฯ จะใหเงินสนับสนุนแกโรงงานทีเ่ ขารวมโครงการฯ ทีต่ อ งการ ลงทุนพัฒนาระบบกาซชีวภาพในอัตรา 20% - 50% ของวงเงินลงทุนกอสราง ระบบผลิตกาซชีวภาพรวมคาที่ปรึกษาออกแบบระบบ แตไมเกินวงเงินสนับสนุน สูงสุดที่กําหนดไวสําหรับผูประกอบการแตละประเภท เชน โรงงานแปง โรงงาน สกัดนํ้ามันจากพืช ไมเกิน 10 ลานบาท โรงงานเอทานอล ไมเกิน 20 ลานบาท โรงงานแปรรูปอาหาร และโรงงานนํ้ายางขน ไมเกิน 6 ลานบาท ทัง้ นี้ การดําเนินงานทีผ่ า นมา มีผปู ระกอบการใหความสนใจเขารวมโครงการฯ แลวทั้งสิ้น 130 ราย ประกอบดวย อุตสาหกรรมแปง 37 ราย ปาลมนํ้ามัน 39 ราย เอทานอล 20 ราย นํา้ ยางขน 6 ราย อุตสาหกรรมอาหาร 24 ราย และอืน่ ๆ 4 ราย คิดเปนเงินสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานรวมกวา 1,268 ลานบาท ทําใหประเทศสามารถผลิตพลังงานทดแทนในรูปของกาซชีวภาพ ไดประมาณ 652 ลาน ลบ.ม./ป กาซชีวภาพทีผ่ ลิตได ถูกนําไปใชทดแทนพลังงาน เชิงพาณิชยรวมเปนมูลคา 3,502 ลานบาท/ป และสามารถลดการปลอยกาซเรือน กระจกไดประมาณ 6 ลานตัน/ป นอกจากนี้ ยังสงผลใหเกิดการลงทุนตอเนือ่ งจาก ภาคเอกชนเปนเม็ดเงินไมนอยกวา 12,807 ลานบาท ผูที่สนใจตองการขอมูลเพิ่มเติม สามารถเขาไปดูไดที่เว็บไซตของ โครงการฯ www.thaibiogas.com 88 l August 2012

Energy#46_p88_Pro3.indd 88

8/22/12 1:47 AM


Energy Legal

โดย : นัษรุต เถื่อนทองคํา

RSPO มาตรฐานสากล ที่คนปลูกปาลมควรรู

เรือ่ งของมาตรฐานถือเปนเรือ่ งทีใ่ กลตวั เราเขาทุกที จริงอยูท ผี่ า นมา การประกอบธุรกิจในประเทศบางครัง้ จะมองขามไปในเรือ่ งดังกลาว สวนหนึง่ คิดวาการทําธุรกิจของตนเปนธุรกิจตนนํ้า ตองผานอีกหลายกระบวนการ กอนที่จะถึงมือผูบริโภค ทําใหผูประกอบการไมไดคํานึงถึงเรื่องมาตรฐาน เทาที่ควร โดยเฉพาะเกษตรกรผูปลูกปาลม แต ณ ปจจุบันหากขาดซึ่ง มาตรฐาน โดยเฉพาะภาคธุรกิจจะถือวาเสียเปรียบดานการคาทันที อยาลืมวา ประเทศไทยกําลังเปดประเทศเพื่อรับ AEC ซึ่งจะมีการแขงขันที่สูงขึ้นอยาง แนนอน และมาตรฐานทีก่ าํ ลังเปนทีร่ จู กั ในกลุม ผูป ลูกปาลมคือ RSPO

Roundtable On Sustainable Plam Oil หรือ RSPO ถือเปนมาตรฐาน ทีก่ าํ หนดขึน้ โดยไมแสวงหากําไร ซึง่ สนับสนุนการเติบโตและการใชประโยชนจาก นํา้ มันปาลมทีผ่ ลิตอยางยัง่ ยืนจากตนนํา้ จนถึงปลายนํา้ ซึง่ ปจจุบนั มีสมาชิก ทีเ่ ขารวมลงนามแลวกวา 500 แหงทัว่ โลก และมีสาํ นักงานอยูใ นประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึง่ ถือเปนประเทศทีม่ กี ารปลูกปาลมนํา้ มันรายใหญของภูมภิ าคนี้ ทําไมตองมี RSPO เนือ่ งจากความตองการนํา้ มันปาลมเพือ่ ใชในการ ผลิตเชือ้ เพลิงชีวภาพไดเพิม่ สูงขึน้ อยางมากทัว่ โลก ทําใหเกิดผลกระทบตามมา คือ การขยายแหลงปลูกปาลมจนรุกลํ้าไปในพื้นที่ปา ซึ่งหลายประเทศมีปา ที่อุดมสมบูรณเปนปอดของโลก นอกจากทําลายปาแลวยังเปนการทําลาย ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ซึง่ ปจจุบนั ปาลมนํา้ มันถูกมองวาเปนพืชทีท่ าํ ลาย สิ่ ง แวดล อ ม ทั้ ง ๆ ที่ ปาล ม นํ้ า มั น ถื อ เป น ทางเลื อ กที่ ดี ใ นการบรรเทา การขาดแคลนเชือ้ เพลิงฟอสซิลไดในอนาคต หากมีการบริหารจัดการทีด่ ี ผูผ ลิตรายใหญชนั้ นําของโลกหลายแหงกําหนดมาตรฐานในการรับ ซื้อวัตถุดิบ สวนประกอบ หรือแสดงจุดยืนในการรับสินคามาขายตอจาก ผูป ระกอบการในสวนตนนํา้ และปลายนํา้ ทีม่ กี ระบวนการผลิตทีร่ กั ษสงิ่ แวดลอม โดยไดรับการรับรองวาไมทําลายสิ่งแวดลอม หรือบางกรณีอาจใหบอก รายละเอียด ใหขอ มูลขัน้ ตอนการผลิตตัง้ แตตน แกผบู ริโภค เพือ่ ใชพจิ ารณา กอนการตัดสินใจซือ้ เปนตน

หลักการสําคัญของ RSPO จะเนนเรือ่ งความโปรงใสและการตรวจสอบ แหลงที่มาของนํ้ามันปาลม ตองเปนไปตามกฎหมายและระเบียบขอตกลง โดยใชหลักการทีด่ ที สี่ ดุ สําหรับเกษตรกรรายยอยและโรงงานสกัดนํา้ มันปาลม สิง่ สําคัญคือ ผูป ลูกปาลมตองมีความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม และคํานึง ถึงการอนุรักษธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ รวมถึงรับผิด ชอบตอบุคคลและประชาชน ชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากผูปลูกปาลมนํ้ามัน และโรงงานผลิต ผูประกอบการธุรกิจปาลมนํ้ามันจะไดรับประโยชนโดยเฉพาะดาน การแขงขันทางดานธุรกิจ เพราะ RSPO เปนมาตรฐานทีไ่ ดรบั การยอมรับ ในระดับสากล ซึ่งองคกรธุรกิจ เกษตรกร และโรงงานที่เกี่ยวของกับ กระบวนการผลิตปาลมนํา้ มัน สามารถนําไปใชอา งอิงในดานการคา การลงทุน และการผลิตพลังงานชีวภาพได เพราะเปนระบบการรับรองผลผลิตการเกษตร อยางยัง่ ยืนชนิดเดียวทีม่ อี ยูใ นปจจุบนั ถือแมวา ประเทศไทยจะมีการสงออกนํา้ มันปาลมเปนอันดับตนๆ ของโลก แตกไ็ ดรบั ผลกระทบจากรูปแบบการบริโภคทีเ่ ปลีย่ นไปของสังคมยุคปจจุบนั ที่ รักษสงิ่ แวดลอมมากยิง่ ขึน้ การมีระบบการรับรองมาตรฐานภายใตกรอบการ เจรจาเพือ่ นํา้ มันปาลมอยางยัง่ ยืน หรือ RSPO จึงเปนแนวทางการปฏิบตั หิ ลัก จะทําใหผปู ระกอบการสามารถทําการคากับบริษทั ชัน้ นําทัว่ โลกไดมากยิง่ ขึน้ เพราะปจจุบัน RSPO ถือเปนมาตรฐานหลักที่บริษัทชั้นนําใชประกอบ การพิจารณารับซื้อ และมีแนวโนมจะใชเปนมาตรฐานกลางในอนาคต อยางแนนอน

September 2012 l 89

Energy#46_p89_Pro3.indd 89

8/18/12 1:38 AM


Energy Stat โดย : Grapher

ความตองการพลังงานทางเลือกจากกาซธรรมชาติสําหรับยานยนต หรือ ที่รูจักกันในชื่อ NGV หรือ กาซธรรมชาติอัด CNG นับเปนเชื้อเพลิงชนิดหนึ่งที่นํามาใชในยานยนต ซึ่งก็เหมือนกับกาซธรรมชาติที่นํามาใชตามบาน เพื่อการประกอบอาหาร การทําความ รอน และการทํานํ้ารอน NGV หรือ CNG มีการนํามาใชกับยานยนตในหลายๆ ประเทศ เกือบทั่วทุกภูมิภาคของโลก แตอัตราการเพิ่มยังไมมากนัก เนื่องจากยานยนตที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิงไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีมานานกวา อยางไรก็ตาม เมื่อเกิดวิกฤตการณนํ้ามัน กาซ ธรรมชาติจึงเปนเชื้อเพลิงทางเลือกหนึ่ง เพื่อทดแทนการใชนํ้ามัน ประกอบกับกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงที่มีการเผาไหมที่สะอาด จึงไดมีการนํามาใชอยางแพรหลายมากขึ้น เพื่อลดปญหาผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ประเทศไทยเองก็เปนอีกหนึง่ ประเทศ ทีม่ อี ตั ราการเติบโตของการใช NGV อยางตอเนือ่ ง และเปนพลังงานทางเลือกทีม่ กี ารสนับสนุน ดานราคา แมวา กลไกราคาพลังงานของตลาดโลกจะเปนอยางไร ก็ไมสง ผลตอการเพิม่ และลดราคา NGV ในประเทศมากนัก

90 l September 2012

Energy#46_p90_Pro3.indd 90

8/22/12 1:34 AM


Insight Energy

ผูเขียน : นัษรุต เถอนทองคํา

ตอยอดบัตรเครดิตพลังงาน เพิ่มสิทธิประโยชนแบบยกกําลัง 2

ปญหาปากทอง ถือเปนโจทยที่ตีอยางไรก็ไมแตก โดยเฉพาะภาค สวนที่เกี่ยวของอยางรัฐบาล ถึงแมวาจะเปลี่ยนแปลงกันมาหลายยุค หลายสมัยแลวก็ตาม ก็ไมสามารถแกไดรอยเปอรเซ็นต แตก็ไดมีการ หาทางแกไขอยางตอเนื่อง และสําหรับปจจุบันปญหาที่ดูเหมือนจะได รับความสนใจคือ เรื่องของราคาพลังงาน เพราะมีความเกี่ยวของกับ ปญหาปากทองโดยตรง โครงการบัตรเครดิตพลังงาน ถือเปนทางออกที่มีผลตอคาครองชีพ โดยตรงที่รัฐบาลจัดทําขึ้นเพื่อบรรเทาความเดือนรอนดานคาใชจายเกี่ยวกับ พลังงาน แตดวยความที่เปนนโยบายใหมซึ่งกอนหนานี้ นายจารุพงศ เรือง สุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม ชี้แจงตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) เศรษฐกิจ หารือโครงการบัตรเครดิตพลังงาน เปนนโยบายเรงดวน ที่รัฐบาลจะดําเนินการในปแรกตามที่แถลงตอรัฐสภาไว แตการดําเนินงาน ชวงแรกมีความลาชาเนื่องจากตองรอการตรวจสอบประวัติอาชญากรรม จากสํานักงานตํารวจแหงชาติ (สตช.) ซึ่งใชเวลา 2-3 เดือน กอนที่จะออกใบ อนุญาตขับขี่สาธารณะใหคนขับแท็กซี่เพื่อนํามาใชออกบัตรเครดิตพลังงาน เพื่อ แกปญหาดังกลาว และมีคําสั่งให สตช.เรงตรวจสอบประวัติอาชญากรรมของ ผูที่มีใบอนุญาตขับขี่รถยนตสาธารณะ โดยจะใหเจาหนาที่ตํารวจไปประจํายัง กรมการขนสงทางบก เพื่อความรวดเร็วในการตรวจสอบและลดเวลาสําหรับ การออกบัตรเครดิตพลังงาน นอกจากนี้ บัตรเครดิตพลังงานเดิมที่ผูกติดอยูกับรถยนต จะมีการปรับ เปลี่ยนเงื่อนไขมาเปนการพิจารณาที่ใบขับขี่สาธารณะเปนสําคัญ เพื่อความ สะดวกในการใชงาน และลดความซํ้าซอนสําหรับรถแท็กซี่เชา เพราะรถเชาสวน ใหญจะมีผขู บั 2 คน ทําใหเกิดการใชบตั รทีท่ บั ซอน และอาจกอเกิดปญหาหนีเ้ สียได ขณะเดียวกันผูที่จะไดรับบัตรเครดิตพลังงาน ตองเขารับการอบรมเรื่องการใช บัตรเครดิตพลังงานดวย ซึ่งถือเปนการตอบโจทยใหกับประชาชนไดระดับหนึ่ง ลาสุด กระทรวงพลังงานไดเปด โครงการบัตรเครดิตพลังงานยกกําลัง 2 เพื่อเพิ่มสิทธิประโยชนใหแกผูถือบัตรเครดิตพลังงาน NGV กลุมรถแท็กซี่ รถ สามลอ รถตูรวม ขสมก.และเปดตัวบัตรเครดิตพลังงานสําหรับรถมอเตอร ไซดรับจางสาธารณะดวย

นายณอคุณ สิทธิพงศ ปลัดกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา บัตร เครดิตพลังงาน สําหรับผูขับขี่รถสาธารณะกลุมรถแท็กซี่ รถสามลอ และรถตู รวม ขสมก.ที่ใชกาซ NGV เปนเชื้อเพลิงใหวงเงินเครดิต 3,000 บาท/เดือน/บัตร เพื่อใชชําระคากาซ NGV แทนเงินสด จนถึงปจจุบัน มีผูถือบัตรเครดิตพลังงาน NGV แลวไมตํ่ากวา 23,000 ราย มียอดใชเงินผานบัตรเครดิตพลังงาน NGV สะสมแลวกวา 38 ลานบาท สําหรับโครงการบัตรเครดิตพลังงาน ยกกําลัง 2 ไดเพิ่มสิทธิประโยชน แกผูถือบัตรเครดิตพลังงาน NGV อาทิ การรับสวนลดราคากาซ NGV 2.00 บาท/ กิโลกรัม การเพิ่มชองทางชําระเงินผานเคานเตอร เซอรวิส ในรานคาเซ เวน อีเลฟเวนและธนาคารกรุงไทย ขยายเวลาชําระเงินคาบัตรเปน 45 วัน และ ขยายวงเงินเครดิตแกผูที่ไมมีหนี้คางชําระ รวมทั้ง ยังไดเปดตัวบัตรเครดิต พลังงาน สําหรับกลุมผูขับขี่มอเตอรไซครับจางสาธารณะในเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑล เพื่อมอบวงเงินเครดิต 3,000 บาท/เดือนและสิทธิประโยชนมากมาย เชนกัน ซึ่งผูถือบัตรฯ ทั้งสองประเภท สามารถรับสิทธิประโยชนที่เพิ่มขึ้นได ตั้งแตวันที่ 15 ตุลาคม 2555 นอกจากนี้ ยังพัฒนาระบบการใชบัตรเครดิตพลังงาน NGV ใหเกิด ความสะดวกยิ่งขึ้น จากเดิมที่ตองใช บัตรเติมกาซเพื่อรับสวนลดราคา และบัตร เครดิตพลังงาน NGV เพื่อรับวงเงินเครดิตควบคูกัน โดยจะเปลี่ยนเปนการใช บัตรเครดิตพลังงาน NGV เพียงใบเดียวก็สามารถรับทั้งวงเงินเครดิตและสิทธิ สวนลดราคากาซ NGV พรอมยกเลิกการใชบัตรเติมกาซ เพื่อรับสิทธิสวนลด สําหรับกลุมผูขับขี่รถแท็กซี่ รถสามลอ และรถตูรวม ขสมก. NGV ทั้งนี้ก็ตองติดตามกันตอไปวา การแกปญหาดังกลาวจะตรงจุดหรือไม แตก็ถือเปนอีกหนึ่งแนวทางที่สามารถทําได ณ เวลานี้ กับเรื่องของปญหาปาก ทองของประชาชน

September 2012 l 91

Energy#46_p91_Pro3.indd 91

8/22/12 11:00 PM


Energy#46_ESM_Pro3.ai

1

8/23/12

9:38 PM


Special Scoop

โดย : ลภศ ทัศประเทือง

CBG พลังงานทดแทน NGV ที่ น  า จั บ ตามองมากที่ สุ ด แห ง ยุ ค

จําไดวา เมือ่ ป 54 หนวยงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) นัน้ เปนผูค ดิ คน นํารอง ระบบพลังงาน CBG ทีพ่ วกเราสือ่ มวลชนยัง งง กันวามัน คืออะไร รูแตเพียงสรรพคุณคราว ๆ วา คือการนําหญาเลี้ยงชางมาหมักใหเกิด กาซมีเทน แลวไปแปลงใหกลายเปนกาซอัดใชกับรถยนตทดแทนการใช NGV ได CBG นั้นยอมาจาก Compressed Bio-methane Gas เปนกระบวนการ นํากาซไบโอมีเทน ที่ไดจากการหมักหญา หรือมูลสัตว นํ้าเสีย ของเสียตางๆ (หรือเขาใจกันวา Biogas ก็ได) มาอัดใหเปนกาซแลวตอเขากับเครือ่ งยนตใหวงิ่ ฉิว แทนการใช NGV ที่กําลังมีขาวจะหมดลงในไมอีกสิบปขางหนา ผอ.สุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ แหง สนพ.ผูริเริ่มโครงการฯ มองวาใน อนาคต CBG นี่แหละที่จะมาชวยกอบกูวิกฤติการขาดแคลนพลังงาน ดวยมอง การณไกลถึงความพรอมวัตถุดบิ การสรางงานใหเกษตรกร ตนทุนราคาทีต่ าํ่ ลง รวมถึงการงดการพึ่งพาพลังงานจากตางประเทศ ลวนแตเปนขอที่ ผอ.ฝนไว อยากใหเกิดขึ้นจริง “สนพ.ไดมีการดําเนินโครงการสงเสริมการผลิตกาซชีวภาพจากสิ่งที่มี อยูในประเทศ เชน วัสดุเหลือใชทางการเกษตร นํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม มูลสัตว และเศษอาหาร มาผลิตเปนพลังงานทดแทน และเมื่อกลางปที่ผานมา (2554) มีแนวคิดวา มีพลังงานตัวหนึ่งที่นาสนใจ จึงให ทางมหาวิทยาลัย

เชียงใหม (มช.) ทําการศึกษาวิจัยนําพืชชนิดตางๆ ที่มีอยูในประเทศไทย ซึ่ง หนึ่งในจํานวนผูที่ทําการศึกษา มี “หญาบานา หรือหญาเลี้ยงชาง” ที่ปลูก อยูแลวในประเทศ มาทดลองผลิตเปนพลังงาน โดยการทดลองหมักเปนกาซ ชีวภาพ และจะมีการพัฒนาไปสูระบบกาซชีวภาพอัด (CBG) ใชทดแทนกาซเอ็น จีวี ในภาคขนสง โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่ง อยูนอกพื้นที่แนวทอกาซ”

September 2012 l 93

Energy#46_p93-95_Pro3.indd 93

8/27/12 11:02 PM


โครงการตนแบบพัฒนา CBG ของ บมจ.ยูนเิ วอรแซล แอด ซอรบเบนท แอนด เคมิคัลส (UAC ) ฟารมสุกรรายใหญที่ อ.แมแตง จ.เชียงใหม เตรียม ทดลองการผลิตเชิงพาณิชยในเดือน ก.ย. 2555 นี้ โดยมีกําลังการผลิต 6 ตัน ตอวัน หรือเทียบเทาเติมรถยนตได 500 คันตอวัน เติมรถขนาดใหญได 40 คัน ตอวัน และไดทําสัญญาขายใหกับ ปตท.แลว ในระยะแรก 3 ตันตอวัน ในราคา ประมาณ 12-13 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งจะสามารถทดแทนการนําเขานํ้ามันดีเซล ไดประมาณปละ 1.6 ลานตัน ดาน บริษทั เชียงใหมเฟรชมิลคฟารม จํากัด ก็รว มกับ สนพ.และ สวพ. นครพิงค มช.จัดสรางอาคารศูนยสาธิตตนแบบผลิตกาซไบโอมีเทนอัด ในบริเวณ ฟารมโคนม อ.บานโฮง จ.ลําพูน เพื่อติดตั้งระบบผลิตกาซ CBG สําหรับยานยนต โดยใชกาซชีวภาพที่ไดจากมูลโคนมภายในฟารมที่ผลิตไดถึงวันละ 1,700-2,000 ลบ.ม. โดยทั่วไปสามารถผลิตกาซ CBG ได 8 กก./ชม. ตอเชื่อมไปยังระบบผลิต

นั่นก็เปนเหตุผลหลักในการนํารองที่ภาคเหนือตอมาจนถึงปจจุบัน เปน เวลาปกวา เราไดเห็นพัฒนาการพลังงานชนิดนี้อยางนาทึ่ง “ จากปญหาตนทุนราคากาซ NGV ในพื้นที่หางไกลแนวทอที่มีราคาสูง รวมถึงปญหาความตองการใชกาซ NGV ในพื้นที่ดังกลาวเพิ่มสูงขึ้น ทําใหตอง เรงดําเนินนโยบายสรางเสริมความมัน่ คงดานพลังงาน โดยสงเสริมและสนับสนุน การวิจยั อีกทัง้ พัฒนาและสาธิตเทคโนโลยีพลังงานทดแทน และพลังงานสะอาดที่ ใชเทคโนโลยีรปู แบบใหม พรอมผลักดันใหนาํ ผลงานวิจยั ไปตอยอดในเชิงพาณิชย โดยปจจุบันไดเริ่มมีการศึกษาและวิจัยนํากาซชีวภาพที่ไดจากฟารมปศุสัตวมา ผลิตเปนกาซ CBG โดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม (มช.) และจากผลการศึกษาพบวา กาซ CBG ที่ไดจากการนํากาซชีวภาพมาพัฒนานั้น ก็ไดผลเปนที่นาพอใจ กาซทีไ่ ดทมี่ คี ณ ุ สมบัตเิ ทียบเทา NGV สําหรับยานยนตตามประกาศของกรมธุรกิจ พลังงาน มีกําลังการผลิต 20 ลบ.ม./ชม. เทียบเทาการผลิตกาซ NGV/CNG จํานวน 16 ถัง/วัน (15 กก./ถัง)” แลวถามวาแรงจูงใจ ที่จะเปลี่ยนไปใช CBG แทน NGV ขณะนี้คืออะไร เพราะเทาที่ทราบราคาก็ยังไมตางมากนัก “ ตอนนี้ ปตท.ก็สนใจและทําสัญญากับผูผลิตในการจะจําหนายกาซ CBG ซึ่งราคาจําหนาย CBG ที่เหมาะสม อยูที่ 12-13 บาทตอกิโลกรัม อยางไรก็ตาม ราคาจริงจะขึน้ อยูก บั การทําสัญญาระหวางบริษทั ผูผ ลิต และบริษทั ปตท.อีกครัง้ คาดวาโรงงานผลิตกาซ CBG เชิงพาณิชยแหงแรกในประเทศไทย จะเริม่ จําหนาย กาซไดในเดือนกันยายนนี้ อยากใหมองในระยะยาววาพลังงานตัวนี้มันสรางอะไร บาง สรางความมั่นคง สรางงานใหเกษตรกร ลดการนําเขา ทั้งตอไป NGV เราก็ตอ งขึน้ ราคาจากปญหาทีจ่ ะขาดแคลนในอนาคต แตพลังงานตัวนีเ้ ราสรางได เราทําไดในประเทศ เราลดเงินที่จะตองไหลออกนอกประเทศได” ความคืบหนา กาวหนาของโครงการนี้ นอกจาก ปตท.ยักษใหญโดดลง มารวมสนับสนุนดวยแลว บริษัทผูผลิตก็เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องเห็นถึงความ คุมคา คุมทุนที่จะลงทุน 94 l September 2012

Energy#46_p93-95_Pro3.indd 94

8/28/12 11:22 PM


กาซ CBG อีกทั้ง ฟารมฯ ไดรวมทดสอบโดยนํารถไถที่ใชงานในฟารมมาติดถัง กาซขนาด 50 ลิตรนํ้า จํานวน 1 คัน เติมกาซ CBG พบวาใชงานไดดี และชวย ลดคานํ้ามันดีเซลที่ใชในฟารมฯ ไดมากถึง 50% ยิ่งไปกวานั้น ฟารมนี้ยังตั้งเปาเปน Super Green Farm แหงแรกที่ ครบวงจรดานการอนุรักษพลังงาน และใสใจสิ่งแวดลอมในทุกกระบวนการผลิต

“โครงการจัดสรางตนแบบระบบผลิตกาซไบโอมีเทนอัดสําหรับยานยนตนี้ มีสวนชวยเสริมสรางความมั่นคงดานพลังงาน โดยเฉพาะอยางยิ่งในการนํากาซ ชีวภาพมาปรับปรุงคุณภาพและผลิตเปนกาซ CBG ใหใกลเคียงกับกาซ NGV เพือ่ ใชเปนเชื้อเพลิงทางเลือกอีกทางหนึ่งใหกับประชาชน ซึ่งผลดีนอกจากจะเปนการ แกปญ  หาการขาดแคลนกาซ NGV ในพืน้ ทีห่ า งไกลแนวทอกาซธรรมชาติแลว ยัง เปนการสงเสริมใหเกิดการใชพลังงานสะอาด ลดมลพิษและการปลดปลอยกาซ เรือนกระจกอีกดวย โดยในป 2556 สนพ.มุงหวังใหมีโครงการนํากาซชีวภาพใน ระดับชุมชน มาพัฒนาปรับปรุงคุณภาพและผลิตเปนกาซ CBG อีกไมตํ่ากวา 5 โครงการ ซึ่งนอกจากจะเปนการสรางความมั่นคงดานพลังงานแลว ยังชวยให เกิดการจางงานในทองถิ่น สรางรายไดใหแกชุมชน สอดรับกับนโยบายกระตุน เศรษฐกิจของรัฐบาล” ผอ.สนพ.กลาว พรอมกันนี้ สนพ. ยังเชิญชวน ผูประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมเขา รวมโครงการสงเสริมเทคโนโลยีกาซชีวภาพสําหรับโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อ สงเสริมใหมีการนํานํ้าเสียหรือของเสียเหลือทิ้งในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงพืช พลังงานมาแปรรูปเปนกาซชีวภาพเพือ่ ใชเปนพลังงานทดแทนในรูปของพลังงาน ความรอนและพลังงานไฟฟา โดยตั้งเปาโรงงานเขารวมกวา 338 แหง คาดวา จะสามารถผลิตกาซชีวภาพไดประมาณ 637 ลาน ลบ.ม./ป คิดเปนมูลคากวา 4,950 ลานบาท/ป อางอิง 1.The Association of Southeast Asian Nation www.aseansec.org 2.สมาคมอาเซียน ประเทศไทย www.aseanthailand.org 3.กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ www.dtn.go.th 4.กรมสงเสริมอุตสาหกรรม www.dip.go.th September 2012 l 95

Energy#46_p93-95_Pro3.indd 95

8/27/12 11:02 PM


Classified@Energy Saving บริการ-การตลาด-การขาย รับสมัคร เลขานุการบริษัทิ เพศหญิง อายุไมเกิน 35 ป วุฒิปริญญาตรี - ปริญญาโท. สาขากฎหมาย, บริหารธุรกิจ, การจัดการ, การเงิน หรือสาขาทีเ่ กีย่ วของ มีประสบการณการทํางานตําแหนงเลขาฯ ในบริษทั มหาชน อยางนอย 2 ป สามารถอาน พูด เขียน ภาษาอังกฤษไดดี ติดตอ บริษทั เพาเวอร โซลูชนั่ เทคโนโลยี จํากัด 0-2993-8982 ตอ 117 รับสมัคร เจาหนาที่ธุรการ เพศหญิง อายุ 22 ป ขึ้นไป วุฒิ ปวส.- ปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอรหรือสาขาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ มีความสามารถในการติดตอประสานงานได ดีและมีทักษะในการสื่อสารที่ดี สามารถใชคอมพิวเตอร และเครื่องใชสํานักงานไดดี ติดตอ บริษทั อี-สแควร สิง่ แวดลอมและวิศวกรรม จํากัด 0-2734-2301-3 รับสมัคร พนักงานฝายบุคคล เพศชาย - หญิง อายุ 27 ปขึ้นไป การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการจัดการ หรืองานบริหารบุคคล มีประสบการณดานงานบุคคล ไมนอยกวา 3 ป มีความรูเรื่องการควบคุมเอกสารงาน ISO มีทักษะในการคิดจัดแผนอบรม ติดตอ บริษัท เอนเนอรจี รีฟอรม จํากัด 0-2515-0022 ตอ 501

วิศวกรรม-วิทยาศาสตร รั บ สมั ค ร นั ก วิ ช าการสิ่ ง แวดล อ ม อายุ 25 ป ขึ้ น ไป วุฒิปวส. หรือ ปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร สิ่ ง แวดล อ ม เทคโนโลยี สิ่ ง แวดล อ ม วิ ศ วกรรมสิ่ ง แวดลอม มีประสบการณอยางนอย 2 ป เกี่ยวกับการ จัดทํารายงาน การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม โดย เฉพาะโครงการอาคารที่พักอาศัย ติดตอ บริษัท ซีอีแอล เอ็นจิเนียส จํากัด 0-2751-5100-5 รับสมัคร เจาหนาทีว่ เิ คราะหระบบนํา้ (มิตรภูหลวง จ.เลย) เพศชาย วุฒิปริญญาตรี สาขา วท.บ.เคมี , วท.บ. สิง่ แวดลอม , วท.บ.เทคโนโลยีอาหาร มีประสบการณดา น งานวิเคราะหคณ ุ ภาพนํา้ ทิง้ การใชเครือ่ งมือในหองปฏิบตั ิ การ มีความรูใ นระบบ ISO/IEC 17025 ติดตอ บริษทั นํา้ ตาลมิตรผล จํากัด 0-4281-0921-3 รับสมัคร เจาหนาทีค่ วามปลอดภัย (จป.) สิง่ แวดลอม / ISO เพศชาย อายุ 28 ป ขึน้ ไป วุฒปิ ริญญาตรี สาขาอาชีว อนามัย และความปลอดภัย หรือสาขาทีเ่ กีย่ วของ มีความรู และประสบการณดา นงาน ISO 14001 มีประสบการณใน การทํางาน 1 ป ขึน้ ไป ติดตอ บริษทั โตโยตา ที บี เอ็น จํากัด 0-2329-8888

รับสมัคร Engineer Design เพศชาย 28 - 34 ป วุฒิ ปริญญาตรี - ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม เครือ่ งกล เกรดเฉลีย่ 2.50 มีประสบการณในสายงานอยาง นอย 3 ป สามารถใชโปรแกรม auto cad , solid work ติดตอ THAMMASORN GROUP 0-2611-0290 ตอ 1216

รับสมัคร วิศวกร (อนุรักษพลังงาน) ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา เครื่องกล อุตสาหการ มีประสบการณทํางานดาน PM , งานดานอนุรักษ พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม 3-5 ป ติดตอ The Union Frozen Products Co.,Ltd. 0-3482-0629

รับสมัคร เจาหนาทีด่ า นสิง่ แวดลอม วุฒปิ ริญญาตรี สาขา วิทยาศาสตรสงิ่ แวดลอม (ในตําแหนงเจาหนาทีส่ งิ่ แวดลอม) สามารถประสานงานกับหนวยงานอืน่ ๆได สามารถเดินทาง ออกตรวจงานดานสิง่ แวดลอมตามสถานทีต่ า งๆได ติดตอ บริษทั ซี.อี.เอ็ม เทคโนโลยี (ไทยแลนด) จํากัด 0-2812-9784 ตอ 15

รับสมัคร รองผูจ ดั การ Biogas (ชุมพร) เพศชาย อายุ ไมตํ่ากวา 30 ป วุฒิปริญญาตรี สาขาไฟฟา/เครื่องกล หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีความรูทางดานงานซอมบํารุง เปนฯอยางดี มีประสบการณอยางนอย 3 ป ติดตอ บริษัท กลุมปาลมธรรมชาติ จํากัด 0-2818-3252-7

รั บ สมั ค ร วิ ศ วกรโครงการ ( สุ ข าภิ บ าล,สิ่ ง แวดลอม,เครื่องกล,โยธา) จบในสาขาที่เกี่ยวของ มี ประสบการณ ใ นการควบคุ ม งานหน า งานจะได รั บ พิจารณาเปนกรณีพิเศษ สามารถเขียนแบบAuto Cad ได มีประสบการณทํางานดานสิ่งแวดลอม ระบบผลิต กาซชีวภาพและระบบบําบัดนํ้าเสีย ติดตอ บริษทั ไบโอแกส โฟรันเนอร จํากัด 0-2734-5450

รั บ สมั ค ร วิ ศ วกรไฟฟ า ,Service Engineer วุฒิ ปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ศ กรรมไฟฟ า กํ า ลั ง หรื อ ประสบการณที่เกี่ยวของ เพศชาย อายุ 25-35 ป ใช คอมพิวเตอร Microsofe Office ไดดี ขับรถยนตได และมีใบขับขี่ ติดตอ บริษทั เอ็นเซฟ เอ็นจิเนียริง่ คอนซัลแตนท จํากัด 0-3580-0802-3

รับสมัคร จป.วิชาชีพ (ทํางานที่ไทรนอย นนทบุรี) ชาย-หญิง อายุ 28-40 ป วุฒปิ ริญญาตรี สาขาอาชีว อนามัยและสิง่ แวดลอม หรือสาขาทีเ่ กีย่ วของ สามารถเปน วิทยากรในการอบรม และสามารออกแบบหลักสูตรงาน ความปลอดภัยได มีประสบการณดา นงานอาชีวอนามัย และสิง่ แวดลอม อยางนอย 2 ป ติดตอ บริษทั วิเชียรไดนามิคอินดัสตรี จํากัด 0-2598-1342-3 ตอ 431 รับสมัคร วิศวกรสิ่งแวดลอมหรือวิศวกรโครงการ เพศชาย อายุ 25 ปขึ้นไป ประสบการณ 2 ป วุฒิ ปริญญาตรีขนึ้ ไป วศ.บ.(เคมี) หรือ วศ.บ.(สิง่ แวดลอม) มี ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมจะพิจารณาเปนพิเศษ มี ประสบการณ ดานระบบบําบัดนํ้าเสียและ/ หรือระบบ ผลิตนํ้าดี จะพิจารณาเปนพิเศษ ติดตอ บริษทั วอเตอร ทรีทเมนท สเปเชียลลิสต จํากัด 0-2915-7507-8 รับสมัคร Quality System Supervisor เพศ ชาย/ หญิง อายุ 25 ปขึ้นไป วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาที่เกี่ยวของ มีความรูทางดานภาษาอังกฤษเปน อยางดี มีประสบการณ 3 ปขึ้นไป ติดตอ Armstrong Rubber & Chemical Products Co., Ltd. 0-2725-3333 ตอ 810 รั บ สมั ค ร Biomass Supply Officer (เจ า หน า ที่ จัดหาชีวมวล) เพศ ชาย/หญิง อายุ 25 ป ขึ้นไป วุฒิ ปริญญาตรี สาขาสงเสริมการเกษตร / เกษตรกรรม หรือสาขาที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบในดานการเกษตร อยางนอย 2-3 ปขึ้นไป ติดตอ บริษทั สหโคเจน (ชลบุร)ี จํากัด (มหาชน) 0-2745-6684-6

รับสมัคร วิศวกรไฟฟา (ผูจัดการ) เพศชาย วุฒิ ปริญญาตรี-โท สาขาวิศวกรรมไฟฟา หรือสาขาที่ เกี่ยวของ มีประสบการณดานระบบไฟฟาโรงงาน หรือ สายงานทีเกี่ยวของ อยางนอย 5 ป มีใบประกอบ วิชาชีพ (ภาคีหรือสามัญ) ติดตอ บ. สมอทอง นํา้ มันปาลม จํากัด 08-8766-0760 รับสมัคร พนักงานวิเคราะหควบคุมคุณภาพ อายุ 22-30 ป เพศชาย วุฒิอนุปริญญาหรือสูงกวา สาขา วิทยาศาสตรเคมี ชีววิทยา หรือสาขาอื่นๆที่เกี่ยวของ สามารถใชเครื่องมือทางวิทยาศาสตรได งาน ติดตอ บริษัท อุตสาหกรรมโคราช จํากัด และกลุม บริษัทในเครือ 0-4420-0444 ตอ 112 ,155 รับสมัคร Draftman M&E เพศชายหรือหญิง อายุ 20 - 35 ป วุฒิปวช. ปวส. หรือ ปริญญาตรี สาขา เขียนแบบ หรือที่เกี่ยวของ มีประสบการณดานเขียน แบบงานระบบ M&E ดานสุขาภิบาล ประปา เครื่อง ปรับอากาศ ระบบอัคคีภัย และดับเพลิงอยางนอย 1 ป ติดตอ บริษทั เอลโม เทค จํากัด 08-1826-8326 รับสมัคร วิศวกรอนุรักษพลังงาน วุฒิปริญญาตรี ขึ้นไป สาขาวิศวกรรมไฟฟา วิศวกรรมพลังงาน หรือ สาขาอื่นที่เกี่ยวของ ประสบการณทํางานดานอนุรักษ พลังงานไมนอยกวา 2 ป ผานการอบรม หรือขึ้น ทะเบียนเปนเจาหนาที่อนุรักษพลังงานมาแลว ติดตอ บริษทั สงวนวงษอตุ สาหกรรม จํากัด และบริษทั ในเครือฯ 0-4421-2185-6

96 l September 2012

Energy#46_p96_Pro3.indd 96

8/18/12 1:31 AM


Energy Price

พื้นที่สื่อกลาง ราคาสินคา อุปกรณประหยัด ที่ประหยัดทั้งพลังงานและกระเปาเงินคุณ แบตเตอรี่ชารจลดการเพิ่มขยะ

Panasonic

รุน

ขนาด(mAH)

ราคา

HHR-3XPT/2B AA

2,600

370 บาท (2กอน)

HHR-3MVT/2BN AA

2,050

270 บาท (2กอน)

HHR-4MVT/2BN AAA

800

270 บาท (2กอน)

NH-15BP2 AA NH-15BP2 AA NH-12BP2 AAA

2,450 2,650 900

415 บาท (2กอน) 440 บาท (2กอน) 415 บาท (2กอน)

NH-AA-B2K AA NH-AA-B2F AA NH-AAA-B2F AAA

2,000 2,700 1,000

330 บาท (2กอน) 380 บาท (2กอน) 330 บาท (2กอน)

210AAHCB-UC2 AA 270AAHC-U2 AA 160AAHC-U2 AA 100AAAHC-U2 AAA

2,050 2,600 1,600 970

265 บาท (2กอน) 299 บาท (2กอน) 165 บาท (2กอน) 199 บาท (2กอน)

2HR-3UTG-SECP-2 AA HR-3U-2BP-2700 AA 2HR-4UTG-SECP-2 AAA

2,000 2,700 800

300 บาท (2กอน) 300 บาท (2กอน) 300 บาท (2กอน)

Energizer

Sony

Gp

Sanyo สนใจ สงราคาสินคา อุปกรณ ประหยัดพลังงาน โดยระบุ ประเภทสินคา ชนิด-รุน และราคามาไดที่ นิตยสาร ENERGY SAVING บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นเนล จํากัด โทร 0-2717-2477 แฟกซ 0-2717-2466 อีเมล : info@ttfintl.com

August 2012 l 97

Energy#46_p97_Pro3.indd 97

8/23/12 8:56 PM


Directory ระบบความเย็น หางหุนสวนจํากัด 3เอ ไนซเซฟเวอร โทรศัพท : 0-2879-2008 แฟกซ : 0-2879-2009 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท โปนิวา จํากัด

โทรศัพท : 0-2322-0777 แฟกซ : 0-2322-1892 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท บลูเวิลด เทรดดิ้ง จํากัด โทรศัพท : 0-2509-2363-65 แฟกซ : 0-2509-2425 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เดเลนเด จํากัด

โทรศัพท : 0-2215-7040-1 แฟกซ : 0-2216-4041 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั โกลดเวสท เทรดดิง้ (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2738-4939 แฟกซ : 0-2738-4928-9 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท ลาโรมา จํากัด

โทรศัพท : 0-2223-7674-5 แฟกซ : 0-2224-4792 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั ยูนเิ วอรแซล พลาสติก อินดัสทรี จํากัด โทรศัพท : 0-2735-2301-5 แฟกซ : 0-2735-2306 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั วี.พี.สตรัคเจอรัล พาแนบส จํากัด

โทรศัพท : 0-2892-0640-3 แฟกซ : 0-2892-0644 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท วุฒิพงษ อีเล็คโทรนิค จํากัด

โทรศัพท : 0-2226-6469 แฟกซ : 0-2623-8617 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอ็กซเพอร อินโนเวเทียน จํากัด โทรศัพท : 0-2913-0180 แฟกซ : 0-2585-1591 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั เอ็กซเพอร เทคเนีย (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 034-849-453-5 แฟกซ : 034-849-452 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั แอคเตอร จํากัด

โทรศัพท : 0-2971-8546 แฟกซ : 0-2971-9492 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั แอร แอนด รีฟริก ซัพพลาย จํากัด

โทรศัพท : 0-2434-8228-31 แฟกซ : 0-2434-8215 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท แอรบอรน เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 0-2719-1114 แฟกซ : 0-2179-1144 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท อาปาเชเดลิฟูด จํากัด โทรศัพท : 0-2951-5037 แฟกซ : 0-29514717 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท เอ พี อี เซอรวิส จํากัด

โทรศัพท : 0-2744-7041 แฟกซ : 0-2744-7041 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

98 l September 2012

Energy#46_p98_Pro3.indd 98

บริ ษั ท เบสท ควอลิ ตี้ โปรดั ก ส จํ า กั ด

บริษัท โฟลว เบสท เทค จํากัด

บริษทั แคนนอล บอล บิสซิเนส โปรดักส จํากัด

บริษัท แม็กนาเท็กซ จํากัด

โทรศัพท : 0-2993-5920-1 แฟกซ : 0-2993-5920-1 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น โทรศัพท : 0-2691-1146 แฟกซ : 0-2691-1149 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษทั คาซา รอคคา จํากัด

โทรศัพท : 038-607-555 แฟกซ : 038-607-555 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั รักษเอ็นจิเนียริง่ จํากัด

บริษัท ลิฟทเทนเนียม 2000 จํากัด

บริ ษั ท ชั ย มิ ต ร เอ็ น จิ เ นี ย ริ่ ง อิ น เตอร เนชัน่ แนล จํากัด

บริษัท วิวัฒนสัน จํากัด

โทรศัพท : 0-2319-7035-6 แฟกซ : 0-2718-5859 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

ระบบบําบัดอากาศ บริษัท ที่.เอ็น.เมตัลเวิรค จํากัด

โทรศัพท : 0-2810-2000, 0-2420-9818-9 แฟกซ : 0-2420-0710 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ทีบาฟ จํากัด

โทรศัพท : 0-2261-4843-4 แฟกซ : 0-2259-8120 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ไทย เคียววะ คาโก จํากัด โทรศัพท : 0-27388-7002 แฟกซ : 0-2738-8703 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั ไทยเอ็นจิเนียริง่ สเปเชียลลิช จํากัด โทรศัพท : 0-2437-9448 แฟกซ : 0-2438-4268 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท บุญเยี่ยมและสหาย จํากัด โทรศัพท : 0-2322-4330-3 แฟกซ : 0-2322-4329 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท พลาสโตรเคม จํากัด โทรศัพท : 0-2589-8273 แฟกซ : 0-2952-6146 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท แพนไซเอ็นซ จํากัด

โทรศัพท : 0-2935-6770-5 แฟกซ : 0-2935-6769 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ฟลคอนเทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2289-3642 แฟกซ : 0-2289-3689 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริ ษั ท ฟาร เ ซ็ น ท เอ็ น เตอร ไ พรส (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2726-7306-7 แฟกซ : 0-2726-7308 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท ฟลเทค จํากัด

โทรศัพท : 0-2321-9393 แฟกซ : 0-2321-5863 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท เอดี ฮีโร (ประเทศไทย) จํากัด

โทรศัพท : 0-2356-3818 แฟกซ : 0-2956-3818 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

โทรศัพท : 0-2757-8785 แฟกซ : 0-2384-2426 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั คลีนแอร โปรดักส จํากัด

โทรศัพท : 0-2462-3335-7 แฟกซ : 0-2892-1657 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

โทรศัพท : 0-2322-9822-3 แฟกซ : 0-2322-9800 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

โทรศัพท : 0-2618-5577 แฟกซ : 0-2618-5180 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

โทรศัพท : 0-2757-4510 แฟกซ : 0-2757-4566 สินคาและบริการ : ระบบความเย็น

บริษัท สยามชัชวาล อินดัสตรี จํากัด

โทรศัพท : 0-2584-3414 แฟกซ : 0-2583-5587 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั แวม (ไทยแลนด) จํากัด โทรศัพท : 0-2939-4474-5 แฟกซ : 0-2939-4476 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

หางหุนสวนจํากัด อรุณเจริญเทรดดิ้ง โทรศัพท : 0-2914-7511-2 แฟกซ : 0-2914-7510 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษทั อาร.ซี.เทรดดิง้ แอนด เอ็นจิเนียริง่ จํากัด โทรศัพท : 0-2752-4227 แฟกซ : 0-2752-4960 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริษัท กม. 18 วิศวกรรม จํากัด โทรศัพท : 0-2337-1532-43 แฟกซ : 0-2337-1290 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

บริ ษั ท แกรนด เอ็ น โปร เทรด จํ า กั ด โทรศัพท : 0-2476-5269 แฟกซ : 0-2476-2524 สินคาและบริการ : บําบัดอากาศ

ระบบอุปกรณลําเลียงขนสง บริษทั แม็คเทค เอลิเวเตอร แอนด เซอรวสิ จํากัด โทรศัพท : 0-2933-4061 แฟกซ : 0-2933-4060 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริ ษั ท แอลจี อิ น ดั ส เทรี ย ล ซิ ส เท็ ม ส (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2381-8445 แฟกซ : 0-2381-8445 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท ชิสเซน เอ็กซเพอรที่ ลิฟท จํากัด โทรศัพท : 0-2287-2314 แฟกซ : 0-2287-2324 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั สยามอินดัสเตรียล คอรปอเรชัน่ จํากัด โทรศัพท : 0-2312-5300 แฟกซ : 0-2312-5301-2 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท คอนเวเยอร เทคโนโลยี จํากัด โทรศัพท : 0-2984-4873-5 แฟกซ : 0-2984-4876 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั บลูสกาย เอเลเวเทอร แอนด เครน จํากัด

โทรศัพท : 0-2673-1742 แฟกซ : 0-2212-2013 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั ซันยู เอลลิเวเตอร ( ประเทศไทย ) จํากัด โทรศัพท : 0-2905-9696 แฟกซ : 0-2905-9634 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

โทรศัพท : 0-2949-8836-7 แฟกซ : 0-2970-6354 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท อีซีจี คอรปอเรชั่น จํากัด โทรศัพท : 0-2946-7572 แฟกซ : 0-2946-7573 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั ซิกมา เอลิเวเตอร (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2381-8444 แฟกซ : 0-2390-1170 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั บางกอก ฮิตาชิ เอลลิเวเตอร เซอรวสิ จํากัด โทรศัพท : 0-2641-2179-96 แฟกซ : 0-2641-2197 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั ไบโอ-ลิฟท (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2530-8112-3 แฟกซ : 0-2530-8115 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท แลนด บี เค เฮาส จํากัด โทรศัพท : 0-2938-3417 แฟกซ : 0-2938-3444 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท นะชาลีติ จํากัด

โทรศัพท : 0-2707-8055-6 แฟกซ : 0-2707-8057 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท คิงสลิปเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด โทรศัพท : 032-342-344-5 แฟกซ : 032-342-344-5 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท ไฮไลท ลิฟท เซอรวิส จํากัด โทรศัพท : 0-2733-5020 แฟกซ : 0-2733-4601 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท โฮมลิฟท จํากัด

โทรศัพท : 0-2933-7335 แฟกซ : 0-2933-8993 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษทั โอทิส เอเลเวเทอร (ประเทศไทย) จํากัด โทรศัพท : 0-2751-4141 แฟกซ : 0-2751-4140 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท โอ เอ็ม ซี ซันยู เอลลิเวเตอร จํากัด โทรศัพท : 0-2980-0191-4 แฟกซ : 0-2573-8403 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท เอส.เอ็น.บี.เอสคารเลเทอร จํากัด โทรศัพท : 0-2895-4705 แฟกซ : 02-895-4705 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

บริษัท อัลฟลา อีเลเวเตอร จํากัด โทรศัพท : 0-2991-5299 แฟกซ : 0-2991-4786 สินคาและบริการ : อุปกรณลําเลียงขนสง

8/27/12 10:59 PM


Energy#42_p92_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

4/23/12

10:21 PM


Special Report โดย : สุภาภรณ มั่นบุญสม

“อาหาร” ชวยลดโลกรอนไดจริงหรือ?

สังคมไทยมีการพูดถึงเรื่องโลกรอนกันมากมายจนแทบจะกลายเปน เรือ่ งธรรมดาไปเสียแลว หลายคนรูว า โลกกําลังรอนขึน้ แตกย็ งั คงดําเนินชีวติ ประจําวันกันแบบเดิม ไมไดมกี ารปรับเปลีย่ นพฤติกรรมใดๆ กลายเปนความ “ตระหนัก” ทีย่ งั ไมได “ลงมือทํา” หลายคนอยากทีจ่ ะชวยลดโลกรอน อยาก ชวยรักษาสิง่ แวดลอม แตยงั ไมรจู ะเริม่ ยังไง จะเริม่ ทีต่ รงไหน ทําใหมองขาม สิง่ ทีเ่ รียบงายทีส่ ดุ และใกลตวั ทีส่ ดุ อยาง “อาหาร” ไป เชือ่ วาหลายคนอาจจะไมเคยมานัง่ คิดวาอาหารทีเ่ ราบริโภคกันอยูท กุ วันนี้ มาจากไหน ใครเปนผูผ ลิต ผลิตอยางไร ขนสงมาดวยวิธกี ารใด และอาหารที่ เหลือทิง้ นัน้ จะไปอยูท ไี่ หน เพราะชีวติ คนกรุงทีส่ ขุ สบาย มีอาหารมากมายจาก ทัว่ ประเทศทัว่ โลกมาใหเราไดเลือกสรร จนกลายเปนเรือ่ งทีค่ นทัว่ ไปละเลยจนถึง ขัน้ หลงลืมไปวาจะตองมีพลังงานมากมายเพียงใดทีเ่ สียไปกับอาหารในแตละมือ้ “อาหาร” ในแตละจานนัน้ ตองผานขัน้ ตอนตางๆ ทีใ่ ชพลังงานและ ทรัพยากรธรรมชาติอยางมาก ยกตัวอยางเชน ขาวทีเ่ ราไดทานกันอยูน มี้ ี ขั้นตอนและกระบวนการตางๆ ที่กอใหเกิดการสูญเสียทรัพยากร สูญเสีย พลังงาน และปลอยมลพิษมากมาย ตัง้ แตการเตรียมพืน้ ทีป่ ลูก การไถ หวาน การใสปยุ การกําจัดศัตรูพชื การใหนาํ้ การเก็บเกีย่ ว การนวด ไปจนถึงการ สีขา ว ซึง่ มีกระบวนการขัน้ ตอนทีย่ งุ ยากซับซอนและใชพลังงานอยางมาก ซึง่ โดยปกติขา วเปลือก 100 กิโลกรัม เมือ่ ผานการขัดสีจะไดขา วสารเพียง 48 กิโลกรัมเทานัน้ โดยเมือ่ ขาวสารมาถึงมือผูบ ริโภคแลวยังตองผานการทําความ สะอาดและหุงเปนขาวสวย ซึง่ ตองใชทงั้ นํา้ และพลังงานไฟฟา

ในสวนของการขนสง ก็เริ่มมีการพูดถึงกันบางแลวสําหรับการ บริโภคอาหารในทองถิน่ หรืออาหารทีป่ ลูกในพืน้ ทีใ่ กลเคียง เพือ่ ลดระยะทางใน การขนสง ทัง้ นี้ กนกวลี สุธธี ร อาจารยประจําภาควิชาภูมสิ ถาปตยกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดกลาวใน งานสัมมนาวิชาการและมหกรรม เกษตรในเมือง : ปลูกเมือง ปลูกชีวติ จัดโดย มูลนิธเิ กษตรกรรมยัง่ ยืน (ประเทศไทย) วาจากการลงพืน้ ทีเ่ ก็บขอมูลทีต่ ลาดไท ซึง่ เปนตลาดกลางของ สินคาเกษตรในกรุงเทพฯ พบวา ผักทีส่ ง มาจากพืน้ ทีร่ ศั มี 100 กิโลเมตร รอบ กรุงเทพฯ มีปริมาณ 30% ของผักทีข่ ายในตลาดไททัง้ หมด โดยทีผ่ กั 50% ในตลาดไทมาจากพืน้ ทีร่ อบกรุงเทพฯ เกิน 200 กิโลเมตร “ถาเรากินผักทีม่ าจากเชียงราย สิง่ ทีส่ ญ ู เสียไปนัน้ อาจไมตา งอะไรกับ การทีเ่ ราเปดไฟทิง้ ไวรอ ยดวง แตหากเรากินผักวันละ 240 กรัม และกินผักที่ ปลูกในระยะ 50 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ หรือปลูกเอง คนกรุงเทพฯ จะประหยัด เงินไดวนั ละกวา 7 แสนบาท หรือประหยัดเงินปละประมาณ 260 ลานบาท ถา ยิง่ แตละบาน แตละครัวเรือนสามารถปลูกผักกินเองได ก็จะยิง่ ชวยลดรายจาย และทําใหระยะทางอาหารเทากับศูนย” อาจารยกนกวลีกลาว ไมเพียงเทานัน้ อาจารยเดชรัต สุขกําเนิด อาจารยประจําคณะ เศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดคาํ นวณตัวเลขออกมาใหเห็น อยางชัดเจนวา หากเราปลูกผักสวนครัว/ผลไมไวกนิ เองจะสามารถลดการปลอย คารบอนไดออกไซดลงได 36 กิโลกรัม/คน/ป (คํานวณจากพืน้ ที่ 20 ตารางวา) นอกจากนี้หากเรานําเศษอาหารทํานํ้าหมักชีวภาพ 100% และคัดแยก

100 l September 2012

Energy#46_p100-101_Pro3.indd 100

8/22/12 2:05 AM


ขยะ 80% คารบอนไดออกไซดกล็ ดลงถึง 105 กิโลกรัม/ป ลดลงกวา 99% ยังไมนบั เรือ่ งการประหยัดนํา้ มันจากการตองขับรถไปซือ้ ผักทีห่ า งหรือทีต่ ลาด นอกจากในเรือ่ งของการขนสงอาหารและวัตถุดบิ แลว เราตองอยาลืม คิดถึงขัน้ ตอนการปรุงอาหารในแตละมือ้ วามีการใชพลังงานไปมากนอยเพียง ใด มีการใชนาํ้ ในการชําระลางและการกําจัดของเสียมากแคไหน บางคนมอง วาอาหารเพียงแคมอื้ เดียวจะตองคิดอะไรใหมากมาย แตลองคิดดูใหดวี า ใน หนึง่ วัน เราบริโภคกีม่ อื้ ทานอะไรบาง และเหลือทิง้ มากนอยเพียงใด หากเรา ลองมาดูตวั เลขของอาหารทีถ่ กู เหลือและทิง้ ในแตละมือ้ แลวนัน้ จะพบวาปริมาณ เหลือทิง้ มีมากมายอยางนาตกใจ ขอมูลจาก มูลนิธสิ ถาบันสิง่ แวดลอมไทย ไดระบุวา หากคนไทย 10 ลานคน กินขาวเหลือ 1 ชอน (11 กรัม) และดืม่ นํา้ เหลือติดกนแกว (20 ml.) ในหนึง่ มือ้ จะทําใหสญ ู เสียนํา้ 197,179 ลูกบาศกเมตร สูญเสีย พลังงานไฟฟา 15,278 กิโลวัตต สูญเสียนํา้ มันเชือ้ เพลิง 750.97 ลิตร เกิดขยะทีต่ อ งบําบัด 73.35 ตัน สูญเสียแรธาตุทมี่ ปี ระโยชนในดิน 9.12 ตัน และปลดปลอยกาซเรือนกระจก 201.37 ตันคารบอนไดออกไซด หากดูจากตัวเลขดังกลาวแลว การบริโภคอาหารนอยลง การทานเหลือ ทิง้ นอยลง หรือการปลอยใหอาหารเนาเสียนอยลง ก็เปนอีกสวนสําคัญในการ

ลดกาซเรือนกระจก และลดการใชพลังงาน ไมตา งจากการลดใชพลังงานใน แบบอืน่ ๆ หากเรานําเศษอาหารทีเ่ หลือทิง้ เหลานีไ้ ปเขาสูก ระบวนการรีไซเคิล อยางถูกตอง เราก็จะสามารถผลิตปุย ชีวภาพ หรือกาซชีวภาพซึง่ เปนพลังงาน ทดแทนมาใชไดอกี ตอหนึง่ แทนทีจ่ ะถูกนําไปทิง้ อยางเปลาประโยชน นอกจากนี้ ในงานวิจยั ของ อแมนดา คูเอลลาร (Amanda Cuellar) และ ไมเคิล เวบเบอร (Michael Webber) นักวิทยาศาสตรจากมหา วิทยาลัยเท็กซัส วิทยาเขตออสติน ซึ่งรายงานเรื่องนี้ตีพิมพในวารสาร วิชาการดานวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม และเทคโนโลยี (Environmental Science&Technology) พบวา รอยละ 8-16 ของการใชพลังงานทัง้ หมดใน อเมริกา ถูกใชไปสําหรับการผลิตอาหารเพียงอยางเดียว ซึง่ การผลิตอาหารใน ทีน่ ไี้ มไดหมายความแคการปรุงอาหารเพียงเทานัน้ แตหมายถึงการใชพลังงาน ตัง้ แตขนั้ ตอนการทําการเกษตรเพือ่ ปลูกพืชผล การขนสง การแปรรูป และ การขายอาหาร นอกจากนีย้ งั รวมไปถึงการเก็บรักษาอาหาร และการเตรียม อาหารสําหรับรับประทานอีกดวย ผลวิจยั ยังพบวา การทานอาหารแบบเหลือทิง้ โดยเปลาประโยชนชาว อเมริกนั แตละปทาํ ใหสญ ู เสียการใชพลังงานเทียบเทากับการใชนาํ้ มันกวา 350 ลานบารเรลตอป หรือเทากับรอยละ 2 ของการใชพลังงานทัง้ หมดของสหรัฐฯ โดยอาหารทีเ่ หลือทิง้ มากทีส่ ดุ ในแตละวัน ไดแก นม เนย ไข ไขมัน เมล็ดขาว และนํา้ มันทําอาหาร ปจจุบันเรามีทางเลือกในการบริโภคที่จะไมทําลายสิ่งแวดลอมและ ประหยัดพลังงานไดมากขึน้ ดังนัน้ ลองมองดูวา นอกจากความอรอย หรูหรา ทันสมัยแลว อาหารจานตอไปของเราจะลงทุนดวยพลังงานและสิง่ แวดลอม แบบไหน มากนอยเพียงใด อนุรกั ษหรือทําลาย ซึง่ คําตอบนัน้ ก็อยูท ี่ “ตัวเรา” นัน่ เอง September 2012 l 101

Energy#46_p100-101_Pro3.indd 101

8/22/12 2:05 AM


LifeStyle โดย : ณ ลาดพราว

“ฟววอทช” เฟนนักขับประหยัดตัวจริง ชิ ง ตํ า แหน ง สิ ง ห ร ถบรรทุ ก แห ง เอเชี ย

การขับขี่แบบประหยัดพลังงานในปจจุบัน ถือเปนเรื่องที่ทุกคน ตางใหความสําคัญ แนนอนวาที่ผานมาภาครัฐใหการสนับสนุน และประชาสั ม พั น ธ อ ย า งต อ เนื่ อ งโดยเฉพาะภาคประชาชน จน ประสบความสําเร็จอยางตอเนื่อง แตอยาลืมวายังมีอีกภาคสวนคือ ภาคขนสงหรือ โลจิสติกส ที่ถือวาใชพลังงานไมนอยไปกวาภาค ประชาชน แม เ ปรี ย บเที ย บกั น จริ ง ๆ จํ า นวนรถจะน อ ยกว า กั น หลายเทาตัวก็ตาม เพือ่ เปนการลดปริมาณการใชพลังงานจากภาคขนสง และปลูกจิตสํานึก ดานการขับขี่ที่ถูกตองใหแกผูขับขี่รถบรรทุกภาคขนสง บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายรถบรรทุกหนัก และรถโดยสาร ขนาดใหญ เตรียมจัดการแขงขันรายการ ฟววอทช คอมเพทิชั่น 2012 (Fuelwatch Competition 2012) ซึ่งเปนการแขงขันขับรถบรรทุกหัวลาก วอลโวประหยัดนํ้ามัน เพื่อคัดเลือกผูชนะเลิศ ของประเทศไทยไปชิงชัยระดับ ภูมิภาคเอเชีย ณ นครเมลเบิรน ประเทศออสเตรเลีย กิจกรรมดังกลาวไดจัดอยางตอเนื่องเปนประจําทุกป โดยครั้งนี้นับ เปนการจัดติดตอกันเปนปที่ 3 เพื่อคนหานักขับรถบรรทุกหัวลากวอลโว ที่มีวินัยในการขับขี่ โดยเฉพาะการประหยัดเชื้อเพลิงเพื่อประหยัดตนทุน สรางผลกําไรกลับคืนสู ผูป ระกอบการไดโดยตรง และที่ สํ า คั ญ คื อ เรื่ อ ง ของความปลอดภั ย ใน การขับขี่และการรักษา สิ่งแวดลอม เกณฑการคัดเลือก ผูเขาแขงขัน ฟววอทช

คอมเพทิชั่น ของประเทศไทย แนนอนวาไมใชใครก็สามารถ จะพิชัยตําแหนงผูชนะได หากขาดประสบการณดานการ ขับขี่ประหยัดพลังงาน โดยกระจายการรับสมัครออกเปน 4 ภาค ไดแก ภาคเหนือ, ภาคตะวันออก, ภาคกลาง และภาคใต ผูสมัครทุกคนจะตองสมัครโดยมีองคกรหรือบริษัทที่ทํางาน อยูรับรอง ซึ่งแตละองคกรหรือบริษัทจะสามารถสงตัวแทน เขาแขงขันไดเพียง 1 คน หลังจากนั้นจะตองผานการสอบ ขอเขียนดวยคะแนนมากกวา 85% และการทดสอบขับรถ บรรทุกเบื้องตน โดยขั้นตอนดังกลาวจะคัดเลือกจากผูสมัคร ทั้งหมดใหเหลือเพียง 24 คน ที่จะมีสิทธิ์เขาแขงขันฟววอทช คอมเพทิ ชั่ น ในรอบชิ ง ชนะเลิ ศ เพื่ อ ชิ ง แชมป สุ ด ยอดนั ก ขั บ ประหยัดนํา้ มันของไทยและเปนตัวแทนของประเทศไปแขงขันชิง แชมประดับภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ผลการแขงขันทั้งในรอบคัดเลือกและรอบชิงแชมป ประเทศไทย จะวัดจากอัตราสิ้นเปลืองนํ้ามันที่ตํ่าที่สุดภายใน เวลาทีก่ าํ หนดทีผ่ เู ขาแขงขันทําไดในแตละสนาม โดยการแขงขัน รอบคัดเลือกในปนี้จะแบงออกเปน 4 สนาม ซึ่งผูจัดไดเตรียมพื้นที่ที่เหมาะ สมสําหรับการแขงขันไว อันไดแก บางนา, จังหวัดสระบุรี, จังหวัดระยอง และ จังหวัดนครสวรรค โดยรอบชิงชนะเลิศ จะมีขนึ้ ทีจ่ งั หวัดประจวบคีรขี นั ธ

สําหรับผูชนะเลิศนอกจากจะไดเปนตัวแทนจากประเทศไทย เดินทาง เขารวมแขงขันเพือ่ ชิงแชมปนกั ขับประหยัดนํา้ มันระดับ ภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ที่ประเทศออสเตรเลียแลว ยังจะไดรับรางวัลมูลคารวมกวา 500,000 บาท แพ็คเกจทองเทีย่ ว ประเทศออสเตรเลีย พรอมประกาศนียบัตร และหากไดเปน ผูชนะเลิศในระดับภูมิภาคเอเชีย ก็จะไดรับแพ็คเกจ ทองเที่ยวประเทศสวีเดน พรอมทั้งไดหองพัก 1 คืน ที่โรงแรมนํ้าแข็ง ICE HOTEL

102 l September 2012

Energy#46_p102_Pro3.indd 102

8/18/12 1:44 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./...........

สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/12-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2466 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

September 2012 l 103

Energy#46_p103_Pro3.indd 103

8/22/12 1:00 AM


Energy Thinking §} ¥ p

o i o ¤ ï o

| i Ò ¨ Ò j q Ô p¦ p } ¨q¨ Ôj ~ ¥ p¨ ­¥ ­ Ô j « j j ¥ ¬ t×¥ ­ j Ó Ë ­¦ Ô ¥ ~Ô p¨sÔm ¡~ ¨ j Ó p Ó p~² ¦ } ² ¥} kÔ ¥ ¥ ¦ j~Ó p « « j¬ Ô ¥j }q jj ­¥ j m ² ¥ ¬q¨ j } ~ ¥ p sÓ p¥ jÓ j Ó Ô ¥ Û sÓ p ­ ¥ ¥ © Ó ¢Ô Ó ­ ©}Ôq ¥ Û Ó p© ¦ ¥ ­ j ¦ Ô ¥ j¬§ Óp¨q j } © Ó} j¬§ Óp¨q ¢Ó} q p© Ó p¥ s ~k pj ² p ¥s ­ Ó « m mp~Ô p j Ùv Åp § }Æ j Ô p© Ó jj¬ Ô ¥m © ­m } } p « ¨ ¨q Ó Å © j¬j¢Æ ² © ¡j Ó p ~Ô p ¢Ó ­r ¥ ~¡ pÓ « kÔ ­ ¥ j Ó ­ ­p m Ô p ¥ m¡|¥ Û m ­~ ®p¨q ² p ² © j¬ j¨ Ô©}Ô × ­} q pq p q p¨qj p ­ ² ¢Ó ¥qÔ ¥ © Ô p¨q p ¨ Ôm¡|© Ó¥m k } ­ p m Ô p ¥ m¡|¥ Û m © Ó¥ ¬}¥ ­ ¨ j ² p m¡| m m } Ô p m× ­ j ² ¥ p ¢~Ó }¥ m¡| j ¨ Ô p ­ m­ | ¡ ² ¢ Ó j¢ m¡|q p¥ m ² p ~ } ¦ Ô¨ ¡} ¡} Ô m Ô p ² q~ ¥ p Ó m¡|¦ ¥ Û ¦ ® j © Ó ­s ¨ Ô ¢Ô ­ j Ó p ¥ v ¥ ­ ¥k s ­ s s ­ s ¥ j¬ ­p j ² ¦}p ± Ó p© Ó ¢Ôq j¥ ¬}¥ ­ ¥ j Ó Å ² ~ Æ ¥ pm² ¥ ¥ Ó ® ¥k q p Ó ¥ Û Ô q ® s Ó ¥ j m § j¥ j j j ² j j} ± ¨sÓ¥ Ô ¥ ¦~Ó Ô ¥k ¥ Ó p¥j ¨ Ô¥ m p ² q~ m¡|}¢ Ó ~ pj kÔ © © Ó Ó p© q p¥ Û ¥ ~¡¥ Û ­ k pp j p ¥ ­ p

p j m m¢Ój j Ô p ¥ m¡|© Ó¥m ¡} ² p q pq p q p¨q ©r ¥ m¡|q ©}Ôp ¥ © ² m¡|~Ô p©}Ôp j j m j ¨sÔ p p p ² ¨ Ô¥j } p ¥ ­ m m¢Ój j Ô p ¥ pp ¨ ~ m¡| ¥ ¥j © p ­¥kÔ m¡|q p~Ô p¥ Û p ­~Ô p¨sÔ p ­ ¦ Ó m¡|¥ ­ ¦ Ó p m m¢jÓ Ô ¥ Û ¦­ Ó ¥ m¡|s j ¥ v q ² ¨ Ô j ¥ Û § m¥ ® p ¥ ­ m ¢ Ô mkÔ j® ¬ © Ó j q­ s jÓ s m s ¨ Ôm¡| j² p¨qjÓ s p}Ô j k m sÓ ¥ ¦ p¥ }Ô j j¨ Ô¥ sÓ }¢¦ ¨sÓ ¦~Ój ® ¥ ¢Ô¥k j¬ p m ¥ ¬ Ó © Ó Ó m¡|q ¥ Û ¦ © ¨ ® m¡|j¬ m ¡k ¢Ó} ¥ p¦~Óm¡| qj² pq } ² } ¢Ó Ó © jÓ p ² m v j ² m v Ô p j¬ ² ¨ Ôm¡| Ô ¦ Ô© ©}Ô s ­ k| p~ ®p ~ ¢} ¨q¥kÔ j « ¦ Ô m }¦ ® Å p j p ¥ ­ p © Ó¥ Û m ¥j qm Ô ² ©}Ôj¬ ² © Æ © ¥j m Ó © ² ¨ Ô} ­ ¡}~ ~ y k p~ ¥ p Ó ² ~ y k p m ­ ~ } ~ m¡|¥ p¥}¬}k } ¥ ­ ¥q j Ùv ® ¦ jj Ó År q }j ©}Ô jÆ © Ó § s × ­q ­p§ Ï § } § p ¥qÔ ¥ ­ Ó p ~ ¥ p ¥ jm¡| ~ j ¥ ­ p~ j ® ¦ Ô Ó j¬ p©pj¬ © Ó Ô ¥sÓ ® q Ó © ¨ } j Ó © Ó p ² Ó

104 l September 2012

Energy#46_p104_Pro3.indd 104

8/28/12 3:15 PM


i o r ¥ |Ó oo ¬ Ò §p p ¤|

i

i W # VNM QG?

rï o !JC?L #LCPE |Ö oi il ¤ r ¬ ¤s« ¤} Ö ¥ ~ ¬ ¦ o¥ ¤s « ¥i | Ö ¥ ¤s« ¤ |Ö } i ¥ Òo ¤ ¨ Ò i § o i Ò } i oo |¥ r o !JC?L #LCPEW #VNM QG? ¦l¦ u¥ ¤sÒ p i | j ¤r u ¡Ó §p¤jÓl } i ¡Ó Ò o ~ | o¥ i p |¥ |o lÓ ¥ ¤ l¦ ¦ |§ | ¤ }i ¤ l¦ ¦ § Ò¨|Ó Ò o¤}« ¬ } PEWCVNM?QG? AMK ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU AJC?LCLC

À i

rï o 2FC LB 'LRCPL?RGML?J #VFG@GRGML ?LB ! MLDCPCLAC ML %PCCL SGJBGLE 0CRPMDGRQ ~ ¬ l ¡ Ö¥ |o lÓ ¥ i r ¥ «l ¤ o o ¥ «l ¤ «

is r ¬ ¥ ¤ p¤ Ó Ö p i | j ¤r u ¡Ó §p¤jÓ r o %PCCL SGJBGLE 0CRPMDGRQ #VNM QG? § o i p |¥ |o lÓ ¥ ¤ l¦ ¦ |Ó | iÒ Ó o ¥ }Ò oª ¬¤ Ú } }Ò ¬o¥ | Ó i i i r ¤ ï ¥ i¤ ¬ l ¡Ó|Ó i z l ¤j ­oi i¥ i iÒ Ó o i }Ò ¤} ¥ i o i l |Ó ¤ l¦ ¦ ¥ }i ¤j ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU EPCCL@SGJBGLE ?QG? AMK

i

rï o JRCPL?RGTC #LCPEW $MPCA?QR .?PRJW 1SLLW .?PRJW 5GLBW ~ ¬ ¤r } ¨ |Ö Ö Ö ¥ |Ö x¥ ¦s x ¤ i

JRCPL?RGTC #LCPEW $MPCA?QR .?PRJW 1SLLW .?PRJW 5GLBW ¤ Ú o ¬ Òo¤ Ó } ¦p Öi o § } i oo |¥ ¡Ó Ò p ¨|Ó¤ ¡Ó¤i ¬ i i p |i oo oo i ¤l Öiv oo j |l ~§ i ¥jÒoj |Ó ¤ l¦ ¦ i¤i{yÖi p { ¤o o } |p Øu o¤ l l ¬i }Ò i ¥ i o § | } i oo o¤ i¥ oo |¥ ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU BCJMGRRC AMK TGCU CL=%6 EJM@?J GLBCV FRK

À i

rï o 1WKNMQGSK ML #LCPEW !JGK?RC !F? LEC ?LB RFC #LTGPMLKCLR GL ,GECPG? ,?RGML?J ?LB 'L RCPL ?RGM ~ ¬ ¤ 3LGTCPQGRW MD CLGL L?J "GKCLQGMLQ 1WKNMQGSK ML #LCPEW !JGK?RC ! C ?LB RFC Ö { x¨ p ¤ #LTGPMLKCLR GL ,GECPG? ,?RGML?J ?LB 'LRCPL?RGML?J "GKCLQGMLQ ¤ F?LE Ú ¤ i r i ¤i ¬ i oo |¥ i ¤ ¬ ¥ o ¡ ¤r o ¦| jÓ i ¥ l ¤ ï ¦ j o ¬o¥ | Ó ¦| ¤ | oi Ò p rÒ ¡¥ oi lÓ l Ó ¤ ¥ w } ¬¤ Ú ¤ |Ó oo ¥ ¬o¥ | Ó p } |p ¤ Ú ¤ ¤ |¤ ¬ ¤} FRRN UUU PC?BGLE ?A SI ECQ CTCLRQ #!!# ,GECPG?

i MQGS K

55 C$ET'C _9E;6 LV;' T=ERMDS6@GS**T; ¯­®¯ January · EI<EIC% OC[GLV;' T=ERMDS6@GS**T;=ER_B97 T*eEZ ;G TLZ69Wg+R Issue 38 OO$IT*7GT6b;= ¯²²² $ZCBT@S;: Waste Energy February · =ER_9Jc9DL[ $TE+S6$TE@GS**T;_MGYOb- _MGYO9Vh* +Z6_EVgC7 ; Issue 39 `M *$TELE T*C[G' TbM @GS**T; CW;T'C @GS**T;BT'OZ7LTM$EECDT;D;7 March · <9IV_'ETRM MEYOETD*T;@V_JK `;Ia; C$TEb- ª$UGS*$TE>GV7 Issue 40 `GR'ITC7 O*$TE9Sh*=ER_9J _CKTD; 'ITCCSg;'*6 T;cAA T- I*@W' April · ETD*T;@V_JK`7 GR= b;_EYgO*'ITCCSg;'*%O*=EVCT5cAA Tb;=ER_9J Issue 41 `;Ia; C$TEb- cAA Tb;BT'OZ7LTM$EEC `GRBT''ESI_EYO; EIC8X* 9VJ9T*$UGS*$TE>GV7_@YgO'ITC7 O*$TEb;- I*M; TE O; @FKBT'C O;ZES$K @GS**T;BT'OZ7LTM$EEC May · _+TR$GZ C=ER_B9`GR>GV7BS53 9Wg8[$;UCTb- b;aE**T;OZ7LTM$EEC Issue 42 _@YgOLE T*'ITC=ERMDS6CT$9WgLZ6 CV8;Z TD; CT7E2T;6 T;@GS**T;9WgLE T*C[G' T_@VgC June · EI<EIC% OC[GCT7E2T; % O$UM;67 T*e +T$MGT$MGTDL8T<S; Issue 43 9Wg$TES;7W'Z5BT@`GR=ERLV9:VBT@ %O*>[ 9Wg c6 ES<6 T;$TE=ERMDS6 @GS**T;_@YgO7 ODO6$TELE T*C[G' T_@VgCbM `<E;6 ;Sh;e _@VgCCT$%Xh; $E$0T'C LV;_-YgO `'C_= L;S<L;Z;:ZE$V+@GS**T; July · ETD*T;7GT6`GRC[G' TLV;_-YgO6 T;@GS**T; LS6L I;7GT6LV;_-YgO Issue 44 `7 GR=ER_B9 EIC8X*9VJ9T*$TE_7V<a7%O*7GT6LV;_-YgO@GS**T; b;=ER_9J LV*MT'C $0MCTDBTKW % OL;S<L;Z;6 T;@GS**T; August · EI<EIC% OC[G $0MCTD % O$UM;6BTKW CT7E$TE7 T*e Issue 45 %O*BT'ES29WgOO$CTL;S<L;Z; $TE=ER$O<:ZE$V+@GS**T; =ER_B97 T*e b;`7 GR= $S;DTD; 'ITC_'GYgO;cMI`>;@GS**T;96`9; ®² = September · ETD*T;'ITC_'GYgO;cMI `>;@S4;T ®² = %O*ES2<TG 9WgCZ *_; ;`GR Issue 46 7Sh*_= Tb;_EYgO*$TE;U@GS**T;96`9;CTb- `GR`;Ia; Cª9VJ9T* b;O;T'7 7ZGT'C ÀÐÏ a'E*$TEES<>V6-O<7 OLS*'C`<<DSg*DY; October · _+TRGX$_<YhO*GX$%O*$TE9U$V+$EEC ÀÐÏ _@YgOLS*'C cC I T+R_= ; Issue 47 _EYgO*%O*@GS**T;MEYOLVg*`I6G OC

rï o #LCPEW 1WKN |Ö ¥ ¤s« sÒ ~ ¬ Ó o | ¡ ¦ o¥ ¤s « ¥i | Ó i o ¤ ¤r u ¡Ó §p Ò

@FJ+V$TD; +S6OS;6S<@GS**T;96`9;9Wg_7V<a79WgLZ6b;_CYO*c9D November · $TE+S6OS;6S<@GS**T;96`9;9Wg=ERL<'ITCLU_Ef+ b;_EYgO*$UGS* Issue 48 $TE>GV7ª+UM; TD`GR$TEL;S<L;Z;+T$ES2<TG

¥ Ò ¥ |o i ¤ { Ó Ó o r Ö Ö x } Ò i § jÓ Ä o oo ¨ §}Ó #!Å ¦| i Ö i o oo ¤ |¤ ¬ ¤} ¦

:S;IT'C % TI_6 ;b;EO<= ¯²²² December · EI<EICLEZ=% TI_6 ;b;EO<= 9Wg_$WgDI% O*$S<_EYgO*@GS**T; _= ;$TE Issue 49 ETD*T;=ER_6f;PO7MEYO a'E*$TE9WgDS*7 O*7TC7 O_;YgO*b;= 7 Oc=

¥ Òo ¤ ¨ j ~ oo ¤ ï } i } i § o | oi Ò i ¥ |o xi~ ¤

i |i ï ª } |} ¨|Óp i UUU CLCPEWQ?TGLEKCBG? AMK w i pi

September 2012 l 105

Energy#46_p105_Pro3.indd 105

8/24/12 10:41 PM


Experience Interchange

ปณิธานสีเขียว…สูส าํ นักงานเพื่อสิง่ แวดลอม

เครือกสิกรไทย ถือเปนหนึ่งในบริษัทที่ใหความสําคัญกับแนวความ คิดดานสิ่งแวดลอม ซึ่งไมเพียงแคการดําเนินธุรกิจเพียงอยางเดียว ปณิ ธ านสี เ ขี ย วเพื่ อ โลกสะอาดสดใส ยั ง นํ า ไปสู  ก ารออกแบบอาคาร สํานักงานในเครือ เพื่อการมีสวนรวมในการอนุรักษพลังงาน รวมถึงการ พัฒนาบุคลากรภายใตสิ่งแวดลอมที่ดีใหสามารถดําเนินธุรกิจเคียงคูกับ เศรษฐกิจ สังคม อยางยั่งยืน ธนาคารกสิกรไทย อาคารแจงวัฒนะ เปนหนึ่งในกลุมอาคารสํานักงาน ใหญแหงที่ 3 ที่ไดรับการออกแบบสถาปตยกรรมทั้งภายนอกและภายในเนน ใหเปนรูปแบบอาคารสีเขียวอยางแทจริง ดวยการออกแบบและกอสรางตาม มาตรฐาน LEED (Leadership in Energy and Environmental Design) ซึ่งถือ เปนมาตรฐานที่ไดรับการยอมรับเกี่ยวกับระบบอาคารสีเขียว ของ U.S. Green Building Council องคกรทางดานสิ่งแวดลอมเพื่อดําเนินการสนับสนุนและให ขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดในเรื่องการออกแบบที่ยั่งยืน ของประเทศสหรัฐอเมริกา อี ก ทั้ ง ยั ง ยึ ด มาตรฐาน TEEAM (Thailand Energy & Environmental Assessment Method) แนวทางการออกแบบและประเมินอาคารประหยัด พลังงาน และเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน กระทรวงพลังงานอีกดวย อาคารที่ทํางานสีเขียว เริ่มตั้งแตการออกแบบภายนอก เนนทั้งประโยชน ใชสอยและพื้นที่สีเขียว โดยพื้นที่ถนนสวนใหญปูพื้นดวย Turf Block โดยปลูก หญาแซมเพือ่ เพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว เพิม่ การระบายนํา้ ฝนทีต่ กลงมาบนถนนใหสามารถ ไหลลงสูชั้นดินไดงายยิ่งขึ้น สวนพื้นที่โดยรอบไดมีการปลูกไมขนาดใหญกระจาย ตลอดพืน้ ทีท่ างดานนอกของอาคาร สรางความรมรืน่ ใหตวั อาคาร และเพิม่ ทัศนะ วิสัยที่ดีใหกับผูมาติดตองาน อีกหนึ่งสิ่งที่เครือกสิกรไทยใหความสําคัญคือ คุณภาพชีวิตที่ดีของ

พนักงานเครือธนาคารกสิกรไทย ซึ่งอาคารแจงวัฒนะ นอกจากจะเนนการ ออกแบบสถาปตยกรรมสีเขียวแลว ยังมีเจตนารมณในการยกระดับคุณภาพชีวติ ที่ดีใหเกิดแกพนักงานผูปฏิบัติงานอยางแทจริง จากการวิจัยพบวา พนักงานที่ ทํางานในอาคารตามมาตรฐานสถาปตยกรรมสีเขียวจะมีศกั ยภาพการทํางานเพิม่ ขึ้นประมาณ 6% เมื่อเทียบกับอาคารทั่วไป เนื่องจากพนักงานมีสุขภาพดี การ ขาดงานและการเจ็บปวยจึงนอยลงอีกดวย ดานการออกแบบการออกแบบตัวอาคาร ใชโครงสรางตึกเกานํามา ปรับปรุงตามคอนเซ็ปสถาปตยกรรมสีเขียว เนนที่การออกแบบเรียบงายแต สรางสรรค โดดเดน สงางาม และที่สําคัญตองเปนอาคารที่ประหยัดพลังงาน อยางยั่งยืน ซึ่งโดยรอบอาคารติดตั้งกระจก Insulated Laminate เทคโนโลยี ที่สามารถปองกันความรอนเขาสูอาคารรวมถึงคุณสมบัติพิเศษของกระจกใน เรื่อง Self-cleaning ที่ฝุนละอองและสิ่งสกปรกไมสามารถจับบนผิวได และตัด แสงสะทอน ไมรบกวนสิ่งแวดลอมรอบขาง สงผลใหทัศนะวิสัยภายในอาคาร เปดโลง และสามารถใชประโยชนจากแสงที่สองผานเขามาอยางเต็มที่ ลดการ ใชพลังงานจากระบบแสงสวางอยางเห็นไดชัด นอกจากนี้ ยังนําระบบการไหลเวียนอากาศจากภายนอกสูภายใน ผสาน ระบบเครื่องปรับอากาศ เพิ่มความเย็นใหกับตัวอาคารและลดการใชพลังงาน ไดอีกทางหนึ่ง อีกทั้งภายในตัวอาคารยังใชหลอดไฟแบบ LED เพื่อประหยัด พลังงานในการใชไฟฟา รวมกับการใชประโยชนจากแสงธรรมชาติภายนอกที่ สามารถสองผานเขามาภายใน ลดปริมาณการใชแสงไฟภายในอาคาร ทําให ประหยัดการใชไฟฟาไดถึง 30% และยังเปนอาคารที่ประหยัดนํ้าไดถึง 50% เนื่ อ งจากสามารถนํ า นํ้ า ที่ ใ ช แ ล ว มาผ า นกระบวนการเพื่ อ นํ า กลั บ มาใช ใ หม อีกดวย

106 l September 2012

Energy#46_p106_Pro3.indd 106

8/23/12 8:46 PM




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.