นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 59 เดือนตุลาคม 2556

Page 1

~ ¥ ñ m m }©j ¨ Ó ¨q pp

jÔ Ó ¢ Ë ­

} | ¤|Ò

Thai Th ailaand aila nd Ene nergy rg AAwwarrds ds 201 010, 0, 2012

~ ¥} Business Turbo r Energy Saving Ë ­ 5 r ­ 59 ~¡ m 2556 Ê ¬ 5 q ¬ 59 } l 2556

27-30 March 2014 BITEC Bangkok

p ¦ }p¥ m§ § }Ô ­p¦ } Ô ¦ j q }j j m ®p ­ 1

T 90

14

1

3

1

0

0

1

www.facebook.com/EnergySavingMedia

Energy#59_Cover Out_Pro3.indd 1

9/25/13 9:43 PM


Energy#59_Cover In_Pro3.indd 1

9/25/13 9:45 PM


Energy#59_p3_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

9/24/13

11:21 PM


80 46

25 What’s up 68 70 102

Around The World ASEAN Update Energy Movement

High Light 14 16 25

Cover Story 40 54

Cover Story : GREEN Travel Special Report : ปลูกความคิดใหมใหคนไทย ไมใชถงุ พสาสติก

Interview 48

50 52 64

Exclusive : GUNKUL จับมือ พันธมิตร ลุยทําโครงการ Solar Rooftop Exclusive : “เสกสรร ไตรงโฆษ” ผูบ ริหารมิชลิน มุง มัน่ ตอบแทนสังคม สงเสริม และอนุรกั ษ สิง่ แวดลอม Exclusive : “ราชบุรโี ฮลดิง้ ” เพิม่ เปาผลิตไฟฟา พรอมลุยลงทุนในตางประเทศ ENERGY CONCEPT : อาชีวศีกษา จับมือ มิชลิน พัฒนาแนวคิด สิง่ ประดิษฐจากยางใชแลว

36 46 66 76 78 80 82 83 90

Greennovation Green 4U Energy Award : ศูนยการผลิต GM ประเทศไทย ไดมาตรฐาน Energy Star Challenge จากสหรัฐอเมริกา Energy Knowledge : เซลลพลังงาน เนื้อแมงกะพรุนสําหรับอุปกรณนาโน Eco Shop : กวาจะเปน…กระเปาเนคไทใบสวย Energy Loan : สสง.หนุนสินเชื่อ เอส เอ็ม อี ดอกเบี้ยตํ่า Energy Focus : บทเรียนสําคัญ… ที่เรียนรูจากการปรับราคาพลังงาน Insight Energy : ดีเดย SOLAR ROOFTOP ไฟเขียว VSPP ยื่นคําขอขายไฟฟาถึงตุลาคมนี้ Special Scoop : เสียงสะทอนจากชุมชนผาบัง สูแ ผนพัฒนาพลังงานชุมชนของกระทรวงพลังงาน Energy Rules : คลอด…ft ใหม สะทอนตนทุนที่แทจริง Prefabrication : สวทช.หนุนผูประกอบการ รับสรางบานจัดโครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป” Energy Exhibit : EcoLightTechAsia/2013

4

Energy#59_p4,6_Pro3.indd 4

9/24/13 11:05 PM


Energy#59_p5_Pro3.ai

Fluke ปฎิวัติวงการ

1

9/24/13

11:34 PM

Fluke VT02,VT04 Visual IR Thermometer

ฟลุค..มั่นใจทุกคาที่วัด เหมาะสำหรับ..

แสสดง ความรอนบนภาพจริง แสดงแผนที ปรัรับระดับความโปรงใสได เคอ อรเซอรอานคาอุณหภูมิที่กึ่งกลางจอภาพ เคอร ตร รวจ ตรวจหาตำแหน งจุดรอน-เย็นอัตโนมัติ แส สดง าอุณหภูมิของจุดที่วัดอยางแมนยำ แสดงค แส สดง า emissivity ของพื้นผิววัตถุที่วัด แสดงค Fluke VT0 VT02 02 และ Fluke VT04 เปนการรามคุ การรามมคุณสมบัติการวัดอุณหภูมิแบบไมสัมผัส เขากับการมองเห็ การมมอ นภาพของกลองถายภาพความรอน เครื่ กลายเปนเค ครื่องมือชนิดใหมในงานซอมบำรุงที่วัดอุณหภูมิดวย อินฟาเรดพร ฟาเรดพพรอมกลองแสดงภาพและแผนที่ความรอนในตัว

รุนใหม Fluke VT04 - ความคมชัดเพิ่มขึ้น 4 เทา - มุมมองกวางขึ้น 40% - แจงเตือนอุณหภูมิสูง-ต่ำ - บันทึกภาพตามอุณหภูมิ - แบตเตอรี่ประจุใหมได

คุณสม สมบั มบัติอื่นๆ • ชวงวั ง ดอุณหภูมิ -10 °C ถึง +250° C • เล็งแลวถาย ไมตองโฟกัส ใชงานงาย • เก็บภาพได ภภา 10,000 ภาพ ในการด micro-SD แถมมซอ แวร SmartView® • แถมซอฟต • ขนาดกระทั ขนาาดก ดรัด พกติดตัวใชงานไดทุกที่

C

งานไฟฟา มองเห็นจุดรอน ที่มีปญหาจุดตอหลวม

งานซอมบำรุงในโรงงาน มองเห็นมอเตอรที่มีปญหา

งานปรับอากาศ HVAC/R ตรวจสอบความเย็นของระบบ

งานซอมรถยนต มองเห็นความรอนที่ผิดปกติ

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

สนใจติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณจิรายุ 08-3823-7933, คุณพลธร 08-1834-0034 บรษิทั เมเชอรโทรนกิซ จำกดั

2425/2 ถนนลาดพราว แขวงสะพานสอง เขตวงัทองหลาง กรงุเทพ 10310 โทร. 0-2514-1000, 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001, 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com

www.measuretronix.com/thermography-ir


56

28

Environment Protection 85

88

Industrial & Residentail 28

32 34 38 94 96

92

Green Industrial : ที เอส เอ็น ไวร บริหาร จัดการองคกร เนนปลูกฝงจิตสํานึก รักษพลังงานเต็มรูปแบบ Residence : Sustainable house of energy บานประหยัดงานอยางยัง่ ยืน Energy Design : MASDAR CITY เมืองพลังงานหมุนเวียนแหงอนาคต Tool & Machine : เครือ่ งปรับอากาศ YORK Series Inverter Saving Corner : รูจ กั ระบบทําความเย็น แบบดูดซึม (Absorption Refrigeration) Energy Management : คูม อื การตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงานสําหรับ ผูต รวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 4)

99

Regular Feature 8 10 20

22 60 104

Transportation & Alternative Energy 56 62 72 74

6

Energy#59_p4,6_Pro3.indd 6

0 Waste Idea : ขยะอิเล็กทรอนิกส… ของเสียทีม่ าพรอมกับเทคโนโลยี Environment Alert : ทิศทางการวิจยั ที่ ตอบโจทยปญ  หาสิง่ แวดลอม Green Community : ศึกษาธรรมชาติที่ สวนมิง่ มงคลเฉลิมพระชนมพรรษา84 Energy Clinic : ชือ่ มาตราการอนุรกั ษพลังงาน ลดการรัว่ ไหลลมรอนของเครือ่ งหอพลาสติก (Shrink film)

105 106

Auto Update : Mitsubishi ATTRAGE กาวทีเ่ หนือกวาของอีโคคาร 4 ประตู Vehicle Concept : Audi Worthersee e-bike นวัตกรรมจักรยานไฟฟา Renergy : ลงทุนพลังงานขยะอยางไร… ไมใหถกู หลอก Green logistics : โลจิสติกส การจัดการทองเที่ยวสีเขียว

Editor ’s talk Get Idea : ประหยัดพลังงานวิธชี ว ยชาติของคนไทย How to : DIY เปลีย่ นขวดใชแลว ใหเปนแจกันแสนสวย Energy Tips : ทิปประหยัดไฟเน็ตบุก Have to Know : ทําไม ตอง…แบตเตอรี่ ลิเธียม Energy Thinking : GOOD THINKING ยกตัวเองขึน้ โดยไมตอ งลดคนอืน่ แบบสมัครสมาชิก Event & Calendar

20 9/24/13 11:06 PM


Energy#59_p7_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

9/24/13

11:48 PM


คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง สวัสดีคะเพื่อนนักอานทุกทาน ชวงนี้ชุมฉํ่าไปกับสายฝนกันถวนหนา รักษาสุขภาพกันดวย จะไดหา งไกลจากไขหวัดกันนะคะ ชวงนีข้ า วฮอตขาวฮิต ของแวดวงพลังงานคงจะหนีไมพน เรือ่ งของโซลาร รูฟท็อป ทีค่ ณะกรรมการ กํากับกิจการพลังงาน เดินหนาสงเสริมใหประชาชนหันมาติดตัง้ แผงโซลารเซลล บนหลังคาเพื่อผลิตพลังงานไฟฟาไวใชเองในครัวเรือน และสามารถขายคืน ใหกับการไฟฟาฯได หากสามารถผลิตพลังงานไดมากเกินความตองการ ใชงานภายในครัวเรือน สําหรับผูท สี่ นใจโครงการนีอ้ ยูค งทราบดีกวาในชวงเดือน ต.ค.นี้ เปนชวงทีเ่ ปดใหยนื่ แบบคําขอขายไฟฟาทัง้ ในสวนของ กฟน. และ กฟภ. สวนผลสัมฤทธิข์ องโครงการจะประสบความสําเร็จมากนอยแคไหน จะรายงาน ใหทราบกันตอไป สําหรับ Energy Saving ฉบับนี้ เรือ่ งเดนประจําฉบับวาดวยเรือ่ งของ การทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ หรือ Green Travel ทีก่ าํ ลังไดรบั ความนิยมในกลุม นักทองเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาวตางชาติในปจจุบนั เสนหข องการทองเทีย่ วสไตลนี้ คือ การทองเทีย่ วทีไ่ ดใกลชดิ ธรรมชาติอยางแทจริง ไดสมั ผัสวิถชี วี ติ ชุมชนแบบ ดัง้ เดิม พรอม ๆ กับสอดแทรกความตระหนักรูใ นการรักษธรรมชาติ และการ ลดใชพลังงานไปในคราวเดียวกัน ทัง้ จากตัวนักทองเทีย่ วเองและจากชาวบาน เจาของชุมชน นอกจากนี้ หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนยังใหการสนับสนุน และสงเสริมการทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษกนั อยางเต็มที่ อยางเชน กระทรวงพลังงาน ทีใ่ หการสนับสนุนการทองเทีย่ วรูปแบบใหม ทีเ่ นนการอนุรกั ษธรรมชาติเปนหลัก ดวยการทองเทีย่ วทีใ่ ชบริการรถสาธารณะ เพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงานใน การเดินทาง และลดปริมาณรถยนตหนาแนนในชวงเทศกาลทองเทีย่ ว โดยนํารอง โครงการดังกลาวที่อุทยานแหงชาติเขาใหญเปนแหงแรก เนื่องจากเปนแหลง ทองเทีย่ วทีน่ กั ทองเทีย่ วใหความสนใจทองเทีย่ วกันมาก ฯลฯ หวังใจวาเพือ่ นนักอานทุกทานจะไดไอเดียดี ๆ ในการทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ สําหรับทริปวันหยุดยาวในชวงเทศกาลปใหมที่กําลังจะมาถึงในอีกไมกี่เดือน ขางหนา นอกจากเรือ่ งเดนสนุก ๆ ทีบ่ อกเลาผานไปแลว ภายในเลมยังมีเรือ่ งราว ดานพลังงานทีน่ า สนใจอีกเพียบ คงจะมีสกั เรือ่ งทีโ่ ดนใจเพือ่ น ๆ นักอานกันบาง ไมมากก็นอ ย ขอใหสนุกกับนิตยสาร Energy Saving ฉบับนีน้ ะคะ แลวพบกันใหม ฉบับหนา…สวัสดีคะ

ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

กองบรรณาธิการ นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร บุษยารัตน ตนจาน

เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต

ผูจัดการฝายโฆษณา รัตนาพร ออนสี

เลขาฝายโฆษณา สุกัญญา สัปศาร

การเงิน แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

กฤษณา กุลเท็ง

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8

Energy#59_p8_Pro3.indd 8

9/23/13 11:12 PM


Energy#42_p25_Pro3.ai

1

4/23/12

9:07 PM


Get Idea บุษยารัตน ตนจาน

ประหยัดพลังงาน วิธีชวยชาติของคนไทย

วันนี้คนไทยทุกคนสามารถชวยชาติไดดวยการประหยัดพลังงาน นอกจากจะชวยลดคาใชจายดานพลังงานที่ประเทศตองเสียไปอยาง มากมายมหาศาลในแตละปแลว Get Idea ฉบับนี้ ไดไปสอบถามวิธี ประหยัดพลังงานดวยวิธีงายๆ จากหนุมมาดเซอรนักแสดงและพิธีกร “คุณทอป-พิพัฒน อภิรักษธนากร” ที่อาจเปนจุดเริ่มตนใหใครหลายๆ คน รูจักคุณคาของพลังงาน ดวยวิธีปฏิบัติอยางงาย ๆ ทําไดทันที เพื่อชาติ ของเรา จะไมตองพบกับคําวาวิกฤติเศรษฐกิจหรือวิกฤติพลังงานอีกตอไป ผมวาการใชไฟฟาใหปลอดภัยหรือใหคุมคานั้น เราตองรูจักเลือกใช อุปกรณ ไฟฟาที่มีคุณภาพ และตองศึกษาวิธีใชใหถูกตอง เพราะการผลิต พลังงานไฟฟานั้นตองอาศัยพลังงานจากแหลงตาง ๆ มากมายย ไมวาจะเปน พลังงานจากนํ้า นํ้ามันและแกสธรรมชาติ จึงมีความจําเปนอยางยิ างยิ่งที่จะตอง ชวยกันประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้ไวใหใช ใชไดนาน ๆ ผมเองก็เลือกใชเครื่องใชไฟฟาใหเหมาะสมกับสภาพความเป วามเปนอยู​ู ความจําเปนที่จะตองใช และจํานวนสมาชิกภายในบาน เพื่อจะได ไดใชเครื่อง ใชไฟฟาใหเกิดประโยชนมากที่สุด อีกอยางหนึ่งถาเลิกใชเครืองใช ่องใชไฟฟา แลว ก็ควรปดสวิตซหรือถอดเตาเสียบทุกครั้ง พรอมทั้งตรวจสอบเครื จสอบเครื่อง ใชไฟฟาที่มีอยูใหอยูในสภาพดีอยูเสมอ ผมวาถาเราทุกคนชวยกันคนละไม คนละมือก็นาจะชวยประหยัดพลังงานไดมากทีเดียวครั ครับ

10 10

Energy#59_p10,12_Pro3.indd 10

9/20/13 9:24 PM


Energy#59_p11_Pro3.ai

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

9/24/13

11:52 PM


Get Idea บุษยารัตน ตนจาน

การสรางมูลคาใหขยะดวยการดีไซนถือเปนกาวสําคัญ ของการออกแบบทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เพราะสามารถนําขยะ กลับมาใชงานไดใหม ลดของเสียใหกบั ภาคอุตสาหกรรม แตตอ ง มีมมุ มองทีแ่ ตกตางไปจากเดิม ไมใชเพียงแคแนวคิดเพือ่ ลดภาวะ โลกรอนหรือลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเทานั้น “ผศ. ดร.สิงห อินทรชูโต” บุคคลที่สนใจและตื่นตัวในเรื่องของการอนุรักษ สิ่งแวดลอมมาโดยตลอด ไดกลาวถึงแนวคิดในการออกแบบ อาคารเพื่อสิ่งแวดลอมในอนาคต แนวคิดการออกแบบเพื่อสิ่งแวดลอม จริง ๆ แลวเปน สิ่ ง ที่ สํ า คั ญ มาก โดยเฉพาะในแง มุ ม ของอุ ต สาหกรรมการ ออกแบบกอสรางที่มีบทบาทสําคัญตอสภาพแวดลอม ดวย ขนาดและปริมาณความตองการในภาคอุตสาหกรรม อีกทั้ง ภาคอุตสาหกรรมการกอสรางยังมีความตองการใชวัสดุตาง ๆ มากถึง 40% จากจํานวนวัสดุกวาพันลานตันที่ผลิตขึ้นมาในโลก การออกแบบตองอาศัยระยะเวลาและการปลูกฝงจิตสํานึก ใหเกิดขึ้นซะกอน เพื่อไมใหกลายเปนเพียงกระแสสังคม ซึ่งใน ความเปนจริงแลวยากมากนะครับในแงของการปฏิบัติจริง สวน ทางภาครัฐเองก็ตองมีนโยบายที่ชัดเจน มีมาตรการที่เขมแข็ง และตองรีบดําเนินการในขณะที่ผูคนในสังคมกําลังมีความตื่น ตัวในเรื่องการรักษาสภาพแวดลอม เพื่อสรางใหเกิดความตอ เนื่องทางความคิด สวนเศษวัสดุกอ สรางทีเ่ หลือทิง้ จากการรือ้ ถอน ทุบทําลาย สามารถนํากลับมาใชใหมได ไมวาจะเปนเศษปูน กรอบประตู กรอบหนาตาง กรอบกระจก แผนพื้นปารเก เปนตน โดยเฉพาะ อยางยิง่ ถาอาคารนัน้ ๆ ไดมกี ารวางแผนและออกแบบไวลว งหนา จะทําใหการนําเศษวัสดุกลับมาใชใหมมขี นั้ ตอนทีง่ า ยขึน้ ประหยัด ทัง้ เวลาและตนทุนในการดําเนินการ ซึง่ นักออกแบบควรใหความ สําคัญและคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ พวกนี้ดวยครับ

120 10

Energy#59_p10,12_Pro3.indd 12

9/20/13 9:24 PM


Energy#59_13_Pro3

24-9-56

7/24/13 10:37 PM


GreenNovation บุษยารัตน ตนจาน

Bluetooth พลังงานแสงอาทิตย ไฟฉายระบบสัมผัส ไฟฉาย LED ระบบสัมผัส ผลิตภัณฑใหมในกลุมประหยัด พลังงาน รูปแบบสวยงาม ขนาด กะทัดรัด ประหยัดพลังงาน บรรจุ ถานไฟฉายขนาด AAA จํานวน 2 กอน เหมาะสําหรับการใชงาน ที่ตองเปดปดบอยครั้ง มาพรอม ฟงกชั่นการใชงานพิเศษ สามารถ เปดไฟดานขางกระบอกไฟฉาย เพือ่ ใหความสวางเปนบริเวณกวาง ที่ บ รรจุ ถ  า นไฟฉายขนาด AA จํานวน 3 กอน

นับเปนหูฟง Bluetooth ตัวแรกทีใ่ ชพลังงานแสงอาทิตย ออกแบบมาใหสวมใสสบาย ไมมี ear hook ใชพลังงานได อยางประหยัดถึง 200 ชั่วโมง สนทนาตอนกลางคืนไดนาน 9 ชั่วโมง นํ้าหนักเบาเพียงแค 14 กรัม ใชงานไดกับอุปกรณ ตาง ๆ ทั้งโทรศัพท PDA และ คอมพิวเตอร

เมาสไรสาย

รถไฟฟาตนแบบ

Smart Insect Toyota เผยโฉมภาพรางของรถตนแบบ Smart Insect ที่งาน CEATEC มหกรรมแสดง เทคโนโลยีและนวัตกรรมอันลํ้าสมัยประจําป ที่ ป ระเทศญี่ ปุ  น ออกแบบภายใต แ นวคิ ด “การเชื่อมตอสื่อสารของยานพาหนะยุคใหม” ที่มาพรอมกับรูปลักษณแบบรถไฟฟาที่นั่งเดียว ติ ด ตั้ ง เซ็ น เซอร ต รวจจั บ ความเคลื่ อ นไหว รอบคัน ใชเทคโนโลยีสั่งงานดวยเสียง และ มีระบบคาดการณพฤติกรรมผูขับขี่ไวรองรับ การทํางานดวย

เป น นวั ต กรรมใหม ลํ้ า สมั ย แถมยั ง เป น มิ ต รกั บ สิง่ แวดลอม ประหยัดพลังงาน แบตเตอรี่ และพลังงานไฟฟา โดยเมาส Leaf Wireless Kinetic เป น แบบไร ส าย มี รู ป ร  า ง ค ล  า ย ส า ม เ ห ลี่ ย ม เรียว รี ดูคลายเม็ดขาวสาร หรือ มองอีกทีกค็ ลายแมลง ปุม ของ เมาสไรสายก็มรี ปู รางแปลกตา มี ลั ก ษณะเป น หลุ ม ลึ ก แบบ ทัชสกรีน

14

Energy#59_p14-15_Pro3.indd 14

9/6/13 10:06 PM


รองเทาวิ่งปองกันบาดเจ็บ รองเท า วิ่ ง ที่ มี พื้ น นิ่ ม และมี ความยืดหยุนสูงชวยปองกันการบาด เจ็บไดดี โดย ไนกี้ รุน “ฟลายไวร” ได คิ ด ค น นวั ต กรรมกระชั บ รู ป เท า และแผ น รองรั บ แรงกระแทกแบบ “ไดนามิก ซัพพอรต” สวมใสสบาย กับ รุน “เอชทีเอ็ม ฟลายนิต” ที่ใช เทคโนโลยี เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม เ พ ร า ะ อ อ ก แ บ บ ด  ว ย วั ส ดุ เ พี ย ง ชิ้ น เดี ย ว แต มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ใชงานสูงสุด

รถไฮโดรเจนจิ๋ว สื่ อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น เ รื่ อ ง “รถไฮโดรเจนจิ๋ ว ” เป น นวั ต กรรม การเรี ย นรู  ใ นเรื่ อ งเทคโนโลยี พ ลั ง งาน ทดแทน โดยมี ห ลั ก การทํ า งานดั ง นี้ เมื่ อ เติ ม นํ้ า ลงในสถานี ไ ฮโดรเจน และ ใชแผงโซลารเซลลรับแสงแดดเพื่อผลิต กระแสไฟฟ า ไปแยกนํ้ า เพื่ อ ให ไ ด ก  า ซ ไฮโดรเจนและออกซิ เ จน จากนั้ น เติ ม ไฮโดรเจนเขาสูถังเก็บไฮโดรเจนที่อยูใน ตั ว รถ ส ง ผลให ร ถเคลื่ อ นที่ ไ ด แ ทนการ ใชนํ้ามันเชื้อเพลิง ซึ่งชุดการเรียนรูนี้จะ ชวยใหเด็กมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ หลักการทํางานของรถพลังงานไฮโดรเจน เซลลเชื้อเพลิง และการแยกไฮโดรเจนจาก นํ้าดวยกระแสไฟฟา

iPad พลังงานแสงอาทิตย iPad รุน SolaPad ถูกพัฒนา โดยบริษัท SolaWerks โดยนําแผง พลั ง งานแสงอาทิ ต ย ม าติ ด ไว ด  า น หลังของเคส เพื่อเก็บพลังงานไวใช ซึง่ iPad ทีส่ วมเคสนีจ้ ะสามารถชารจ ไฟได เรียกไดวาเปนการนําพลังงาน จากธรรมชาติมาแปลงเปนพลังงาน ไฟฟาที่สามารถใชงานได โดยไมกอ ใหเกิดมลพิษ

ลิฟตอัจฉริยะ นวัตกรรมลิฟตโดยสารใหมสําหรับอาคารสูง ที่ตอบสนอง ความตองการของเจาของอาคารและนักออกแบบที่กําลังมองหา ระบบลิ ฟ ต ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง พร อ มลดการใช พ ลั ง งานในช ว งที่ ไมไดใชงาน พอรตจะเขาสูโหมดประหยัดพลังงานโดยอัตโนมัติ โดยจอแสดงผลจะดั บ ลงเพื่ อ ลดการใช พ ลั ง งาน และพอร ต จะ ทํางานอีกครั้ง เมื่อระบบเซ็นเซอรตรวจพบวามีผูเขามาใชบริการ นอกจากนี้ จอแสดงผลยั ง สามารถปรั บ ระดั บ ความสว า งได โดยอัตโนมัติ โดยระบบเซ็นเซอรแสงที่ติดตั้งไวจะปรับระดับความ สวางตามความเหมาะสมตอการใชงาน เพื่อการใชพลังงานอยาง คุมคาที่สุด

15 51

Energy#59_p14-15_Pro3.indd 15

9/6/13 10:06 PM


Green 4U บุษยารัตน ตนจาน

01

เกาอี้กลองกระดาษลูกฟูก กระดาษกลองทีใ่ ชแลวเรามักมองขาม หรือมีคา เพียงกิโลละไมกบี่ าท แตนกั ออกแบบ กลุม หนึง่ ไดเอามาประดิษฐเปนเฟอรนเิ จอรทสี่ วยงามทันสมัย ชวยคืนชีวติ ใหกบั กลอง กระดาษอีกครั้ง เปนการใชประโยชนจากของทิ้งแลวอยางคุมคา ทั้งการออกแบบ รูปราง สี และเสนสาย จากกลองกระดาษลูกฟูก ทําใหกลายเปนเฟอรนิเจอรที่ ทันสมัย สวยงาม แปลกตา และแข็งแรงทนทาน รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.greenistasociety.com

รองเทารักษโลก

02

รองเท า Nike รุ  น Considered ทํ า มา จากยางตั ว ใหม ที่ ล ดสารพิ ษ ได ถึ ง 96 % ลดปริมาณขยะได 61 % ประหยัดพลังงาน ในการผลิต 35 % และลดการใชตัวทําละลาย ที่เปนสารเคมี 89 % นอกจากนี้ รองเทารุนนี้ ยังสามารถนํากลับมารีไซเคิลเปนอยางอื่น ที่มีประโยชนตอสิ่งแวดลอมไดอีกดวย รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.learners.in.th

03 โคมไฟไมคอรก

04 Lamp เปลือกไม ความพิเศษของโคมไฟตั้งพื้น ที่มาในรูปแบบ ของตนไมใหญ เปลือกไมคอนขางบาง อีกทั้ง ชองวางดานบนกับพืน้ ทีโ่ ลงดานลาง และรูเล็ก ๆ ระหวางเกลียวของเปลือกไมแตละชั้น ชวยให โคมไฟชิ้นนี้สองสวางมากกวาที่คิด นอกจากนี้ ยังชวยใหคนเมืองไดใกลชดิ กับธรรมชาติมากขึน้ เหมาะกับบานที่ชอบของรีไซเคิลหรือมีไอเดีย รักษโลกแบบสุด ๆ รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.teerawatcurtain.com

โคมไฟโครงสรางเรียบงายสไตล minimal ที่ใช วัสดุนอยชิ้นที่สุดแบบพอดี ๆ แถมไมตองใชตะปู ไขควง หรือกาวในการประดิษฐ มีความเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม 100% การันตีดวยรางวัลชนะเลิศ งานออกแบบจาก BDC New Designer 2012 และรางวั ล ชนะเลิ ศ อั น ดั บ ที่ 2 จาก Lighting Association’s Student Lighting Design Awards ป 2012 รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.forfur.com

16

Energy#59_p16-17_Pro3.indd 16

9/6/13 10:11 PM


06

แจกันหนังสือพิมพ แจกันรีไซเคิลชิ้นนี้ ผลิตจากหนังสือพิมพที่ไมใชแลว นํามาประดิษฐใสไอเดียและลวดลายใหสวยงาม แข็งแรง คงทน และยังเก ไมซํ้าแบบใคร รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.greenistasociety.com

05 เครื่องดูดฝุนลังกระดาษ เครือ่ งดูดฝุน ลังกระดาษสุดแนว สะอาด และเปนมิตรกับ สิ่ ง แวดล อ ม โครงสร า งของเครื่ อ งดู ด ฝุ  น ผลิ ต จาก กระดาษลู ก ฟู ก พร อ มลายกราฟ ก สุ ด แนวเอาใจ คนยุคใหมทใี่ สใจในการทําความสะอาดแบบไมทาํ รายโลก ซึ่งพลาสติกบางสวนของเครื่องดูดฝุนนี้ เปนพลาสติก ที่มาจากกระบวนการรีไซเคิล รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.portfolios.net

07

โซฟาถังนํ้ามัน วัสดุที่นํามาใชเปนถังนํ้าโลหะหรือถังนํ้ามัน โดยนํามาดัดแปลงเปน เฟอรนเิ จอร โซฟา เกาอี้ ทีส่ ามารถนํามาใชงานไดจริง ตกแตงเพิม่ เติม ดวยการทาสี เปนโซฟารีไซเคิลที่มากกวาการประหยัด และยังใช ทรัพยากรอยางคุมคา ผานการออกแบบที่สวยเก เท ไมซํ้าใคร รายละเอียดเพิ่มเติม http://www.banidea.com

เกาอี้รังมนุษย เลียนแบบมาจากรังนก โดยทํามาจากผาทีไ่ มใชแลว นํามารัดยึดใหดูวุนวายคลายกับรังนก เก นารัก นานั่ง และยังมีความแข็งแรง ทนทาน ชวยลดขยะ ใหโลกทางหนึ่งดวย รายละเอียดเพิ่มเติม https://sites.google.com

08 17

Energy#59_p16-17_Pro3.indd 17

9/6/13 10:11 PM


Green 4U บุษยารัตน ตนจาน

ปลูกสวนแนวตั้ง

จากลังพลาสติก ไอเดียลดโลกรอนกําลังเปนกระแสสังคมของ ทุกมุมโลก และแนวคิดสวนแนวตั้งก็กําลังเปนที่นิยม ของนักออกแบบ ไมวาจะเปนในหางหรู คอนโดมีเนียม อาคารสํานักงาน หรือแมแต ในที่จอดรถ ทีมงานจึง อยากนําเสนอ Green Wall ที่ทําไดงายๆ ไมตอง ใชงบประมาณอะไรมากมาย ดูดี ใชประโยชน ไดจริง เหมาะกับโครงสรางชั่วคราว และสามารถนํากลับไปใช ประโยชนอื่นๆ ไดอีกดวย

ผลงานชิ้ น นี้ ชื่ อ ว า Living Pavillion ของนั ก ออกแบบ 2 คน ไดแก Ann Ha และ Behrang Behin จากมหาวิทยาลัยฮารวารด ที่ไดรับรางวัลชนะเลิศ ในงาน the City of Dreams Pavilion Competition ที่นครนิวยอรค เมื่อปที่แลว โดยนําลังพลาสติกที่ เรียกวา Milk Crates มาทําเปนโครงสรางทั้งหมด ปลูกตนไมใน concept แบบ Green Wall ทุกอยางเปนวัสดุรีไซเคิล เมื่อเสร็จ งานนิทรรศการแลวสามารถนําลังไปใชประโยชนอยางอื่นไดอีกดวย ที่สําคัญราคาไมแพง Living Pavillion ไมตองอาศัยเทคโนโลยีที่ ซับซอน มีเพียงลังนมที่วางตอกันเปนโครง และนํามาปลูกตนไม แบบสวนแนวตัง้ ทีก่ าํ ลังไดรบั ความนิยมในการตกแตงอาคารในขณะนี้ Ann Ha และ Behrang Behin เจ า ของผลงานการ ออกแบบ มองว าในอนาคตธรรมชาติและสีเขียวของต นไม จะถูก นํากลับมาเปนสวนหนึ่งของเมืองมากขึ้น เทคโนโลยีที่เปนหลังคา สี เ ขี ย ว กํ า แพงสี เ ขี ย ว จะช ว ยลดความร อ นของเมื อ งลงได ช ว ย เก็บความชุมชื้นใหกับตัวเมือง และจะมีการทําสวนผักในเมืองเพื่อ เลี้ยงดูผูคนที่อาศัยในเมืองนั้น ๆ เมืองควรผลิตอาหารเพื่อเลี้ยง ตัวเองได แนวคิดนี้กําลังไดรับความสนใจและตื่นตัวอยางมากใน ประเทศที่พัฒนาแลว และถูกนํามาเปนสวนหนึ่งในแผนการพัฒนา เมืองใหญในอนาคต ไมรูเมื่อไหรประเทศไทยของเราจะตื่นตัวแลวนําเอาแนวคิด แบบนี้ มาใช บาง ก็คงจะดีไม น อย ไม ต อ งทําโครงการใหญ โตก็ สามารถลดโลกรอนและคืนสีเขียวใหกับเมืองได

18

Energy#59_p18_Pro3.indd 18

9/6/13 10:17 PM


Energy#59_p19_Pro3.ai

1

9/25/13

7:29 PM


How To บุษยารัตน ตนจาน

DIY เปลี่ยนขวดใช้แล้ว ให้เป็นแจกันแสนสวย DIY วันนี้ เราจะมาเปลี่ยนขวดแกวใชแลวที่แสนจะธรรมดา ใหกลายเปน แจกันสีหวานๆ ไวประดับหองหรือโตะทํางาน ลงมือทํากันไดเลย

มาเริม่ กันทีก่ ารเตรียมอุปกรณ หาขวดใสในแบบทีช่ อบ จะเปนขวดไวน ขวดนํา้ ปลา ขวดนํา้ หวาน แลวแตสะดวก ตามดวยสี จะเปนสีอะคริลคิ หรือ สีทาบานกระปุกเล็ก ๆ ก็ได แลวแตเลือกใช ลงมือผสมสีเลยคะ เอาใหได หลายเฉดสีในโทนเดียวกัน จะสวยไมนอ ยทีเดียว

วิธที าํ

1.ผสมสีเสร็จแลว จัดการเอาหลอดสริงคดดู สีขนึ้ มา ถาเปนขวด ใหญจะใชสมี ากหนอย ประมาณ 80 - 100 ml. 2.ใชสริงคหยอดสีลงไปในขวด และหมุนขวดไปเรื่อย ๆ จนสี กระจายทัว่ ดานในของขวด 3.เทสีทเี่ หลือออก และเช็ดสวนทีเ่ ลอะออก ทิง้ ไวใหแหง ตองแหง สนิทจริง ๆ ตรงนีอ้ าจใชเวลาหลายวัน 4.ในกรณีที่ใชสีนํ้าในการเคลือบดานในขวด ตองมีหลอดใสนํ้า เพือ่ ไมใหนาํ้ โดนกับสี แตถา ใชสอี ะคริลคิ ก็หมดปญหาเรือ่ งนีไ้ ป เพียงเทานีก้ เ็ ปนอันเสร็จเรียบรอย ทีเ่ หลือก็แคนาํ ดอกไมมาจัด แตงแจกันใหสวยงาม คุณก็จะไดแจกันสวยๆ สีสนั สดใสมาประดับโตะ ทํางานและประดับบานของคุณแลว

200

Energy#59_p20-21_Pro3.indd 20

9/6/13 10:22 PM


แตงกระถางเกาหรือกระปองไม ใชแลว ใหเปนกระถางใหมจากกิ่งไม เพื่อนๆ คงมีกระปองเกาๆ รอวันทิ้ง หรือกระถางเกาที่มองแลวไมถูกใจ DIY ฉบับนี้จะมาเปลี่ยนกระถาง ใบเกา หรือกระปองใชแลว ใหเปนกระถางสวยๆ ดวยเศษวัสดุที่หาไดตามสวนริมทางทั่วไป ยิ่งชวงนี้อากาศแลง มีกิ่งไมหลนตามพื้นและขางทางจํานวนมาก เลือกเก็บเอามาหลายๆ ขนาด แลวลงมือทํากันไดเลย 1.สิง่ ทีต่ อ งการเพิม่ เติมนอกจาก กระถางและกิง่ ไม ก็คอื กาว ทีต่ ดั กิง่ ไม เล็ก ๆ และกระดาษทราย 2.เริม่ ตนโดยใชกรรไกรตัดกิง่ ไม ใหไดขนาดหนาประมาณครึ่งนิ้ว เลือก กิง่ ไมหลาย ๆ ขนาด ถาไมมจี ะใชเลือ่ ย เล็ก ๆ ก็ได 3.ติดกิ่งไมที่ตัดแลว เริ่มจากกน กระถางขึน้ มากอน ถาใชกระปองทีม่ พ ี นื้ ผิวเงาวาว อาจตองใชกระดาษทรายขัด ผิวกอน เพือ่ ใหยดึ เกาะได เพี ย งเท า นี้ จ ากของเหลื อ ใช ก็ ก ลายมาเป น ของใหม ที่ เ ก ไก สวยงาม ไมเหมือนใคร

21

Energy#59_p20-21_Pro3.indd 21

9/6/13 10:22 PM


Energy Tips เด็กเนิรด

ทิปประหยัดไฟเน็ตบุ๊ก สวนคียล ดั อีกอันหนึง่ ทีน่ าํ มาฝากกัน จะใช ใครที่กําลังใชงานเน็ตบุกอยู เรามีทิป ที่ชวยประหยัดพลังงานแบตเตอรี่ให ใชงาน สําหรับปด WLAN เวลาที่ไมไดใชเน็ตไรสาย นัน่ ก็คือ Ctrl+F11 ซึ่งเปนคียลัดที่พบในเน็ตบุก ไดนานขึ้นมาฝากกัน...

เน็ตบุกสวนใหญจะมาพรอมกับ ฟงกชันคีย (Function Key) ทีส่ ามารถใชงานรวมกับปุม Ctrl เพื่อปรับแตงการทํางานของเครื่องได ซึ่งคียลัด ทีว่ า นีจ้ ะชวยลดการใชพลังงานจากหนาจอแสดงผล ได นัน่ คือ Ctrl+F5 เมื่อกดปุม นี้แสงสวางที่หนาจอ เน็ตบุกจะลดลง โดยกดแค 1 - 2 ครั้ง คุณจะเห็น เวลาการใชงานทีเ่ หลือของแบตเตอรีเ่ พิม่ ขึน้ ชัดเจน เนื่ อ งจากค า ความสว า งของหน า จอจาก โรงงานมักตั้งเปนคาสูงสุด เพื่อใหผูบริโภครูสึก ถึงความสวางสดใส ในขณะทีค่ วามเปนจริงเราไมได ต อ งการความสว า งขนาดนั้ น ที่ สํ า คั ญ ยั ง เป น ตัวการทําใหแบตเตอรี่หมดเร็วอีกดวย

สวนใหญ เมื่อตองการใชเน็ตไรสายก็กดปุม นี้ อีกครั้ง นับเปนคียลัดที่สะดวกมากนอกจากนี้ ยังใชควบคุมการเปด-ปด Bluetooth ในตัว ซึ่ ง ฟ ง ก ชั น การเชื่ อ มต อ ไร ส ายทั้ ง สอง เทคโนโลยีนี้จะกินพลังงานของแบตเตอรี่มาก ดั ง นั้ น ทุ ก ครั้ ง ที่ กํ า ลั ง ใช เ น็ ต บุ  ก ทํ า งาน โดย ไม จํ า เป น ต อ งใช อิ น เตอร เ น็ ต ให รี บ กดคี ย  Ctrl+F11 เพือ่ ปดฟงกชนั ดังกลาวทันที เพียงแคนี้ เราก็จะมี แ บตเหลื อใช อีก เพีย บ ที่สํ าคัญการ เปดฟงกชันไรสายทิ้งไว โดยไมไดใชงาน ยังเปน การเป ด ประตู ร อให แ ฮคเกอร มี โ อกาสเข า มา เจาะระบบในเครื่องของเราอีกดวย…

22

Energy#59_p22,24_Pro3.indd 22

9/11/13 11:52 PM


Energy#59_p23_Pro3

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

24-9-56


Energy Tips เด็กเนิรด

6 วิธีการประหยัดพลังงานแบตเตอรี่ iPhone และ New iPad หลายคนที่ติดเกมออนไลน หรือ Social Media ตาง ๆ ที่มีการแจงเตือนตลอดเวลา พอใชงานตอเนื่องกัน หลายชั่วโมง พบวาแบตลดไปเกินครึ่งจะทําอยางไร ถาไมไดพกที่ชารจติดตัวไปดวย เรามีวิธีงาย ๆ ในการประหยัด พลังงานแบตเตอรี่ของ iPhone และ New iPad มาฝาก... 1.ปรับแสงสวางทีห่ นาจอใหเหมาะสม วิ ธี นี้ ชวยไดเปนอยางดี เวลาเราใช งานในทีม่ แี สงสวางเพียงพอ ใหลดความสวาง ลงมาประมาณ 30% – 40% หรือนอยกวานัน้ ก็มองเห็นชัดเจนอยูแลว โดยเฉพาะ iPad ที่ หนาจอใหญอยูแลว จะมองเห็นไดงายกวา iPhone 2.เลือกปด Notifications สําหรับ แอพที่ไมคอยใชงาน การแจงเตือนบน iPhone หรือ iPad จะทําใหตัวเครื่องมีการเชื่อมตอกับ Data ตลอดเวลา แม จ ะดู เ หมื อ นไม กิ น ไฟมาก แตถาติดตั้งแอพ Social Media ไวมาก ๆ หรือ ติดเกมทีต่ อ งเลนกับเพือ่ นบอย ๆ การแจง เตือนจะมีเขามาตลอดเวลา แทบไมแตกตาง กับการเปดเครื่องทิ้งไว แนะนําใหปดแอพ ที่ ไ ม ไ ด ใ ช ง าน โดยไปที่ Settings > Notifications แลวเลือกปดใหมากที่สุด

3.ปด Bluetooth เมื่อไมใชงาน เมือ่ ไมใชงาน Bluetooth ก็ควรปดซะ เพราะ Bluetooth จะทําการกระจายคลื่น ความถี่ตลอดเวลา สิ้นเปลืองพลังงานโดย ใชเหตุ ไมวา จะดวยสาเหตุใชงานสมอลทอลค กั บ iPhone ขณะขั บ รถหรื อ เดิ น ทาง พอไมใชงานแลวลืมปด หรือผูที่ใช iPad เชือ่ มตอกับ wireless keyboard พิมพงาน พอเลิกใชงานก็ไมไดปดนั่นเอง 4. ปดการเชื่อมตอ Data ตาง ๆ ดวย Airplane Mode สํ า หรั บ บางคนที่ ไ ม มี ค วามจํ า เป น ตองใชงาน Data หรือ Internet อยางเชน อาน E-Book หรือแคพกไปเลนเกมนอก สถานที่ แนะนํ า ให ใ ช Airplane Mode แทน เพื่ อ ไม ใ ห Data รั่ ว ไหลกิ น ไฟอี ก โดยไปที่ Settings > Airplane Mode

5. ปด Location Services สําหรับผูใชงาน 3G หรือ 4G พบวา แม ใ ช ง านไม น านมาก จะสั ง เกตเห็ น ว า แบตเตอรี่ ล ดลง ซึ่ ง วิ ธี ป ระหยั ด พลั ง งาน สําหรับการเชื่อมตอ 3G หรือ 4G ที่ชวยได คือ การปด Location Services ใหไปที่ Settings > Location Services ถาตองการ เชื่อมตอ Data แนะนําใหหา Free Wifi ใชงานแทนจะดีกวา 6. ปดการแจงเตือน Diagnostic & Usage Reports ปกติ ก ารแจ ง เตื อ น Diagnostic & Usage Reports จะเปนการแจงเตือน ในกรณี ที่ เ ครื่ อ งมี ป  ญ หา แม ข ณะที่ เ รา ใช ง านจะไม มี ป  ญ หาใด ๆ ก็ ต าม แต ตั ว ระบบยั ง คงทํ า งานตลอดเวลา ให ไ ปป ด ที่ Settings > General > About > Diagnostic & Usage > Don’t Send

24

Energy#59_p22,24_Pro3.indd 24

9/11/13 11:52 PM


Energy Award รังสรรค อรัญมิตร

ศูนยการผลิต GM ประเทศไทย

ไดมาตรฐาน Energy Star Challenge จากสหรัฐอเมริกา

วิธกี ารจัดการพลังงานภายในโรงงาน อุ ต สาหกรรมนั้ น ต อ งอาศั ย เทคโนโลยี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพควบคู  ไ ปกั บ การสร า ง จิ ต สํ า นึ ก ให กั บ พนั ก งาน เพื่ อ ให เ กิ ด ประสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงาน อยางยัง่ ยืน โดยความยัง่ ยืนจะถูกการันตี ในรูปของรางวัลหรือมาตรฐานดานจัดการ พลังงานทีไ่ ดรบั ทัง้ ระดับประเทศและระดับ สากล ซึง่ ปจจุบนั มีรางวัลหรือมาตรฐานดาน อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมมากมาย หลากหลายรางวั ล เพื่ อ การั น ตี ถึ ง การ ประหยัดพลังงานของโรงงานอุตสาหกรรม ทีต่ อ งการลดตนทุนดานพลังงานและสราง ความเชือ่ มัน่ ในตลาด

Energy Star Challenge มาตรฐานดานพลังงานของประเทศ สหรัฐอเมริกา เปนอีกมาตรฐานหนึง่ ใน ระดับสากลทีก่ าํ หนดขึน้ มาเพือ่ รับรอง ใหกับโรงงานอุตสาหกรรมที่ประหยัด พลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สําหรับการประกาศรับรองมาตรฐาน Energy Star Challenge ในป 2013 นัน้ ศู น ย ก ารผลิ ต ยานยนต เ จนเนอรั ล มอเตอร ส (GM) ที่ จั ง หวั ด ระยอง เป น หนึ่ ง ในศู น ย ก ารผลิ ต 63 แห ง ทีไ่ ดรบั การรับรองมาตรฐานการลดใช พลังงานโดยสมัครใจจากหนวยงาน พิทักษสิ่งแวดลอมของสหรัฐ (EPA)

ภายใตนโยบายดานการอนุรกั ษ พลังงานและสิง่ แวดลอมของศูนยการ ผลิตยานยนตเจนเนอรัล มอเตอรส ได ดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน ด ว ยการจั ด การทรั พ ยากรและ ขอมูล เพื่อกําหนดใหเกิดการใชงาน ทรั พ ยากรอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพใน กระบวนการผลิตและการปฏิบัติงาน โดยมุ  ง มั่ น ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและ ขอกําหนดตาง ๆ ในการอนุรกั ษพลังงาน รวมถึงการปลูกจิตสํานึกใหพนักงาน ทุกระดับไดมีสวนรวมในการอนุรักษ พลังงานโดยมีการฝกอบรมดานพลังงาน (Energy Awareness) รวมถึ ง การจั ดกิ จกรรมวั นสิ่ งแวดล อมและ พลังงานใหกับพนักงาน พร อ มกั บ การปรั บ ปรุ ง ระบบ การควบคุ ม เครื่ อ งอั ด อากาศแบบ ศูนยรวม ทําใหเครื่องจักรทํางานตาม โปรแกรมที่ตั้งเอาไว และยังไดประเมิน โหลดการใชงานเพื่อปรับปรุงใหเกิด ประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น ประกอบ กับการควบคุมการใชพลังงานดวย ระบบตรวจสอบพลังงาน (Energy Monitoring System : EMS) การปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม ของหม อ นํ้ า (Boiler) และเตาอบ อุตสาหกรรม 25

Energy#59_p25-27_Pro3.indd 25

9/25/13 3:41 PM


การควบรวมสายการผลิ ต รถยนต แ ละ รถกระบะ เพือ่ ลดตนทุนดานพลังงานและปรับเวลา การเตรี ย มความพร อ มก อ นเริ่ ม ทํ า งานของ เครื่ อ งจั ก รจากเที่ ยงคืนไปอยูที่ 04.00 น.ช วย ประหยัดพลังงานไฟฟาไดถึงสี่ชั่วโมงตอวัน การ ปรับปรุงระบบการแลกเปลี่ยนความรอนไอเสีย ของหมอนํ้า การปรับปรุงเครื่องจักรใหเหมาะสม กับคาความรอนของกาซธรรมชาติ การควบคุม ระบบการสั่ ง จ า ยพลั ง งานให เ หมาะสมกั บ การโหลดใช ง าน ตลอดจนการปรั บ เปลี่ ย น หลอดฟลู อ อเรสเซนต จ าก T8 เป น T5 และ หลอด LED บริ เ วณพื้ น ที่ ต รวจสอบการพ น สี การใชพลังงานหมุนเวียน 89.76 เมกะวัตตตอป จากแผงพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ ติ ด ตั้ ง อยู  บนหลั ง คาของศู น ย ก ารผลิ ต และการติ ด ตั้ ง หลังคาโปรงแสงเพื่อรับแสงธรรมชาติที่ชวยลด การใชพลังงานไฟฟาลงได พรอมกันนี้ ยังไดมี การตรวจวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพการใช พ ลั ง งานของ เครื่องจักรและอุปกรณอยางสมํ่าเสมอเพื่อใหเปน ไปตามแผนงานที่วางไว นอกจากนี้ การอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ ม โดยการคั ด แยกขยะของเสีย การบําบัด นํ้าเสีย ยังเปนสวนหนึ่งของความสําเร็จที่มาของการได รับรองมาตรฐาน Energy Star Challenge ซึง่ การ แยกของเสียนั้น เริ่มจากการระบุประเภทของเสีย ทั้ ง ที่ ม าจากกระบวนการผลิ ต และไม ไ ด ม าจาก กระบวนการผลิต โดยแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1.ของเสียที่ไมสามารถรีไซเคิลได สวนใหญ มาจากขยะที่ ถู ก ทิ้ ง ในถั ง ขยะของศู น ย ก ารผลิ ต 2.ของเสียทีไ่ มเปนอันตรายและรีไซเคิลได สวนใหญ มาจากบรรจุภณ ั ฑตา ง ๆ และ 3.ของเสียทีเ่ ปนอันตราย ซึง่ มาจากกระบวนการผลิต ของเสียทุกประเภท จะถูกคัดแยกและเก็บแยกในถังเก็บกอนขนถาย ไปในพื้ น ที่ ที่ แ ยกส ว นกั น เพื่ อ รอการถู ก ส ง ไปยังพื้นที่เก็บของเสียดานนอกศูนยการผลิต ตอไป ด า นระบบการระบายนํ้ า ของศู น ย ก าร ผลิตแหงนี้ มีการแยกสวนระหวางนํ้าฝน และ นํ้าเสียจากศูนยการผลิต สําหรับนํ้าฝนจะถูก สงไปยังรางนํ้าขางศูนยการผลิต เพื่อไหลลงสู ลํานํ้าสาธารณะขางศูนยการผลิต สวนนํ้าเสีย จะมีหนวยแยกสวนระหวางนํา้ เสียจากกระบวนการ ผลิ ต และนํ้ า เสี ย จากห อ งอาหารและห อ งนํ้ า หลังจากที่บําบัดเบื้องตนแลว นํ้าเสียทั้งสอง ประเภทจะถูกระบายไปยังบอบําบัดสวนกลาง ของนิ ค มอุ ต สาหกรรมอี ส เทิ ร  น ซี บ อร ด เพื่อนําเขาสูกระบวนการบําบัดอีกครั้ง ซึ่งนํ้าที่ ผานการบําบัดครัง้ ทีส่ องโดยนิคมอุตสาหกรรม อี ส เ ทิ ร  น ซี บ อ ร  ด จ ะ ถู ก เ ก็ บ ไ ว  ใ น พื้ น ที่ ชุ  ม นํ้ า หรื อ ที่ เ รี ย กว า wetland เป น การ ถาวรหรือชั่วคราว เพื่อปลอยใหเปนไปตาม 26

Energy#59_p25-27_Pro3.indd 26

9/25/13 3:41 PM


ระบบนิเวศตอไป โดยศูนยการผลิตยานยนตเจนเนอรัลมอเตอรส ได มี ก ารสุ  ม ตรวจสอบคุ ณ ภาพนํ้ า เพื่ อ ให แ น ใ จในคุ ณ ภาพ ของนํ้าฝนวาจะไมสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและการตรวจสอบ ผิวหนาของนํา้ ขางศูนยการผลิตปละครัง้ เพือ่ ปองกันสารปนเปอ น จากศูนยการผลิต สําหรับนํ้าเสียจากโรงอาหารและหองนํ้าที่นี่ ตรวจสอบเปนประจําทุกเดือน ขณะที่นํ้าเสียจากสายการผลิต จะตรวจสอบทุกวัน ทั้ ง นี้ ภายใต น โยบายด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิง่ แวดลอมของศูนยการผลิตยานยนตแหงนี้ สามารถลดการใช พลังงานลงถึง 16.37 เปอรเซ็นต ในสายการผลิตรถยนต และ 32.72 เปอรเซ็นตในสายการผลิตรถกระบะภายใน 2 ป โดยสามารถ ลดต น ทุ น การใช พ ลั ง งานลงได 253.28 ล า นบาท ชวยลดการปลอยคารบอนไดออกไซด 33,457 เมตริกตันตอป ซึง่ เทากับการใชพลังงานไฟฟา 173,030 เมกะวัตตตอ ชัว่ โมง โดย สอดคลองกับมาตรฐาน Energy Star Challenge สําหรับภาค อุตสาหกรรม

ถื อ เปน ปที่ 2 ที่ ศู น ยก ารผลิ ต เจนเนอรั ล มอเตอรส จ.ระยอง ไดรับการรับรองมาตรฐาน การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมีเปาหมายลดการใชพลังงานในกระบวนการ ผลิตรถ 1 คัน ใหได 10 เปอรเซ็นต ภายใน 5 ป สวนภาพรวมการประหยัดพลังงานนั้นในระหวาง ป 2548 และ 2553 ศู น ย ก ารผลิ ต เจนเนอรั ล มอเตอร ส ทั่ ว โลก สามารถลดการใช พ ลั ง งาน ลงไดเฉลี่ย 28 เปอรเซ็นต และไดตั้งเปาหมาย ลดการใช พ ลั ง งานทั่ ว โลก 20 เปอร เ ซ็ น ต ภายในป 2563 อยางไรก็ตาม ในกระบวนการอนุรกั ษพลังงาน และสิ่ ง แวดล อ มของศู น ย ก ารผลิ ต เจนเนอรั ล มอเตอรส จ.ระยอง นอกจากการันตีดว ยมาตรฐาน Energy Star Challenge แลว ในเดือนมีนาคม 2556 ทีผ่ า นมายังไดรบั รางวัลพันธมิตร เอเนอรจี สตาร ยอดเยี่ยมแหงป (ENERGY STAR Partner of the Year-Sustained Excellence award) อีกดวย เรียกไดวา เปนความภาคภูมิใจหนึ่งของ พนักงาน จีเอ็ม ประเทศไทย เพราะพนักงานทุกคน มี ส  ว นร ว มให ก ารจั ด การด า นพลั ง งานอย า งมี ประสิทธิภาพ ซึ่งการประหยัดพลังงานไมใชหนาที่ ของใครคนใดคนหนึ่ง แตคือความรับผิดชอบของ ทุกคนทีม่ ตี อ สังคมและตอประเทศชาตินนั่ เอง

27

Energy#59_p25-27_Pro3.indd 27

9/25/13 3:41 PM


Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร

ที เอส เอ็น ไวร บริหารจัดการองคกร

เนนปลูกฝงจิตสํานึกรักษพลังงานเต็มรูปแบบ การพัฒนาดานการประหยัดพลังงาน นัน้ เปนแนวทางหนึง่ ของโรงงานอุตสาหกรรม ในการลดตนทุนดานพลังงาน ลดผลกระทบ ตอสิง่ แวดลอม และชวยลดภาวะโลกรอนที่ เกิดขึน้ ในปจจุบนั ซึง่ ปจจัยดังกลาวผูป ระกอบ การอุตสาหกรรมเหล็กตางตระหนักถึง และ ไดแสวงหานวัตกรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงมา ชวยลดการใชพลังงานในกระบวนการผลิต

บริษทั ที เอส เอ็น ไวร จํากัด เปนบริษทั รวมทุนระหวาง บริษทั สยามลวดเหล็ก อุตสาหกรรม จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ในกลุม ทาทาสตีล โกลบอล ไวร บิสซิเนส ผูน าํ ใน อุตสาหกรรมการผลิตลวดเหล็กแรงดึงสูงสําหรับงานคอนกรีตอัดแรง อีกทั้งผลิต ลวดเหล็กคารบอนตํา่ และคารบอนสูงเคลือบสังกะสีทงั้ ชนิดเสนเดีย่ วและชนิดตีเกลียว รวมถึงลวดเหล็กเคลือบสังกะสีผสมอลูมิเนียม 10% ดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด จากโรงงานในจังหวัดระยอง ซึ่งมีกําลังการผลิตอยูที่ 36,000 ตันตอป เปนอีกกลุม บริษทั หนึง่ ทีม่ คี วามมุง มัน่ และคํานึงถึงความสําคัญของการอนุรกั ษ พลังงาน รวมทัง้ การใชพลังงานใหเกิดประโยชนสงู สุด ไดกาํ หนดนโยบายการดําเนินการ จั ด การพลั ง งานเพื่ อ ใช เ ป น แนวทางอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพการ ประหยัดพลังงานในกระบวนการผลิต ตัง้ แตตน นํา้ ถึงปลายนํา้ เพือ่ ความยัง่ ยืนในอนาคต โดยการดําเนินงานดานการอนุรักษพลังงานของ ที เอส เอ็น ไวร ภายใต ระบบการจั ด การพลั ง งาน เริ่ ม ดํ า เนิ น การ ตั้ ง แต การออกแบบโรงงานให มี ความสูง 11 เมตร ตลอดความยาวของแนวอาคารโรงงานกวา 200 เมตรไดติดตั้ง ชองระบายอากาศและลูกหมุน เพื่อใหระบายอากาศไดตลอดเวลา สงผลใหภายใน อาคารโปรง โลงสบาย ไมอึดอัดในระหวางปฏิบัติงาน

28

Energy#59_p28-30_Pro3.indd 28

9/18/13 9:21 PM


นอกจากนี้ ภายในโรงงานยั ง ได ติ ด ตั้ ง หลอด ประหยั ด พลั ง งาน อย า ง โคมไฟอิ น ดั ก ชั่ น แลมป ที่ชวยประหยัดพลังงานไดสูงถึง 70% ลดคาใชจายและ สามารถคื น ทุ น ได ภ ายใน 2 ป พร อ มติ ด ตั้ ง กระเบื้ อ ง แผ น ใส 15% บนพื้ น ที่ ห ลั ง คาของโรงงาน ช ว ยเพิ่ ม ความสวางใหกับโรงงาน ในชวงกลางวันไมตองเปดไฟ ระหวางทํางาน สามารถลดใชพลังงานไดเปนอยางดี ในสวนออฟฟศของโรงงาน ไดติดตั้งกระจกเขียว ตั ด แสงช ว ยป อ งกั น ความร อ นจากภายนอกสู  ภ ายใน ไดแสงสวางตามธรรมชาติเขามาชวยชดเชยแสงสวาง ภายในอาคาร พรอมกันนี้ ยังไดตดิ ตัง้ หลอดฟลูออเรสเซนต T5 และหลอดตะเกียบ ทีส่ ามารถลดใชพลังงานไดกวา 50%

ด า นการประหยั ด พลั ง งานในสายการผลิ ต ของโรงงาน ลวดเหล็กที่ใชเตาอบออนในการอบลวด เปนเตาที่ใหความรอน ดวยระบบไฟฟาที่อุณหภูมิ 820 องศาเซลเซียส ในการอบลวด แต ล ะเส น ที่ วิ่ ง ผ า นมา แล ว ส ง ต อ ไปยั ง อ า งชุ บ สั ง กะสี ซึ่ ง ใน ขัน้ ตอนนีไ้ มตอ งใชไฟฟาในการทําความรอน แตจะใชความรอนจาก กระบวนการอบลวดมาใชในการชุบทีอ่ ณ ุ หภูมิ 455 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ กระบวนการผลิ ต ลวดเหล็ ก เคลื อ บสั ง กะสี ของ ที เอส เอ็น ไวร นัน้ ไดนาํ เทคโนโลยีการผลิตของ เซนดซเิ มียร (Sendzimir) มาใชเปนโรงงานแรกในประเทศไทย นับเปนหนึ่ง ในเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากที่สุด ในโลก และยังเปนเทคโนโลยีที่ชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม มากกวากระบวนการผลิตลวดเหล็กแบบทั่วไป เนื่องจาก เปน เทคโนโลยี ที่ ไ ม ต  อ งใช ส ารตะกั่ ว และกรดไฮโดรคลอลิ ก ใน กระบวนการอบออนและลางลวด จึงไมกอใหเกิดของเสียที่เปน มลพิษ พรอมกับชวยลดการใชพลังงานเมื่อเทียบกับกระบวนการ ทํางานแบบดั้งเดิม เนื่องจาก ระบบใหมไดนําพลังงานหมุนเวียน กลับมาใชทาํ ความรอนใหกบั อางในการชุบสังกะสี ดังนัน้ จึงชวยลด ปริมาณการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดลงได สวนนํา้ จากเครือ่ ง ดึงลวดทีน่ ใี่ ชระบบนํา้ หมุนเวียนผานคูลลิง่ โดยจะไมมกี ารปลอยทิง้ นอกจากจะนํานํา้ ทีใ่ ชลา งฝุน ผงออกจากเศษลวดทีม่ ปี ริมาณการใช 1 คิว แลวจึงปลอยออกไปยังถังกักเก็บ เพื่อรอการบําบัดตอไป

29

Energy#59_p28-30_Pro3.indd 29

9/18/13 9:21 PM


ทั้ ง นี้ สิ่ ง สํ า คั ญ อี ก อย า งหนึ่ ง ของการ ดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม คือ การสนับสนุนใหมกี ารฝกอบรมพัฒนาบุคลากร ดานพลังงาน ปลูกจิตสํานึกในการอนุรกั ษพลังงาน ใหกับพนักงาน สนับสนุนดานงบประมาณ และ สงเสริมการมีสวนรวมในการพัฒนาการจัดการ พลังงานอยางตอเนื่อง โดยกําหนดใหการอนุรกั ษ พลังงานเปนสวนหนึง่ ของการดําเนินงานทีพ ่ นักงาน ทุกคนจะตองปฏิบตั ติ าม การรณรงคใหใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ เชน การตรวจเช็คระบบนํ้า หากมีจุดรั่วซึมก็จะรีบเรงแกไข การเปด-ปดไฟ ในเวลาทีเ่ หมาะสม การจัดทําปายติดประกาศเกีย่ ว มาตรการประหยั ด พลั ง งานของบริ ษั ท วิ ธี ก าร ประหยัดพลังงานแบบมีสวนรวม และขาวสารดาน พลังงานอื่น ๆ ใหพนักงานรับทราบ เพื่อใหเกิด การตระหนักถึงการใชพลังงานอยางรูคุณคา และ สามารถนําไปประยุกตใชไดที่บาน เพื่ อ ความยั่ ง ยื น ของการใช พ ลั ง งาน บริษทั ที เอส เอ็น ไวร ไมหยุดนิง่ เพียงแคนี้ ยังได วางแผนพัฒนาดานการจัดการพลังงานอยางตอเนือ่ ง ควบคู  กั บ การพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห มี คุ ณ ภาพ และเป นมิตรกับสิ่งแวดลอม เพื่อใหสอดคล อง กับกฎหมายและขอกําหนดที่เกี่ยวของ การดําเนิน การปรับปรุงสงเสริมประสิทธิภาพการใชทรัพยากร ดานพลังงานใหเกิดประโยชนสูงสุดอยางตอเนื่อง และเหมาะสมสอดคลองกับการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ พรอมยังไดจัดเตรียมขอมูลและจัดสรร ทรั พ ยากรที่ จํ า เป น อย า งเพี ย งพอ เพื่ อ นํ า ไป กํ า หนดเป า หมาย ทบทวน ปรั บ ปรุ ง นโยบาย และแผนอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานทุ ก ป เพื่ อ ให มี ก าร พัฒนาและปรับปรุงการจัดการพลังงานอยางมี ประสิทธิภาพ ดานสิง่ แวดลอมโรงงานผลิตลวดแหงนี้ มีการคัดแยกขยะอย างเปนระเบียบตาม มาตรฐานขอบังคับของหนวยงานทีเกีย่ วของ ไมวา จะเปนขยะมีพษิ ขยะเปยก เศษอาหาร โดยนํ า ไปผลิ ต เป น ปุ  ย ชี ว ภาพใช สํ า หรั บ ใสตนไม สวนขยะแหง จําพวก พลาสติก ขวดแกว กระดาษ จะนําไปจําหนายตอใหกบั โรงงานรับซือ้ ของเกา ซึง่ ชวยใหไดมาตรฐาน EIA และ HIA ทีบ่ ง บอกถึงการลดผลกระทบ ตอสิง่ แวดลอมในกระบวนการผลิตอีกดวย นอกจากนี้ เพื่ อ เป น การส ง เสริ ม ค ว า ม ยั่ ง ยื น ต า ม แ น ว น โ ย บ า ย ข อ ง บริษทั สยามลวดเหล็กอุตสาหกรรม จํากัด ที่เปนบริษัทแมของ บริษัท ที เอส เอ็น ไวร จํากัด ไดจัดกิจกรรม รวมพลังผูกจิตอาสา สู  ก ารพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น ในโครงการ “สวนเกษตรฯพอเพียง แหลงเรียนรูใ หมใน โรงเรียนสูภูมิปญญาชุมชน” ซึ่งเปนหนึ่งใน โครงการ “การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมี โรงเรียนเปนศูนยกลาง (School-BIRD)”

ที่เกิดขึ้นตามนโยบายของ มร.โย ชุน กวี กรรมการผูจัดการ บริษัท สยามลวดเหล็ก อุตสาหกรรม จํากัด โดยความรวมมือของ มู ล นิ ธิ มี ชั ย วี ร ะไวทยะ ที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค เพื่อสงเสริมใหเกิดพลังจิตอาสาสรางการ มี ส  ว นร ว มระหว า งพนั ก งานด ว ยกั น เอง กับชุมชน รวมถึงปลูกจิตสํานึกความรับผิดชอบ ตอสังคมใหกับพนักงาน และเพื่อพัฒนา 6 โรงเรี ย นในชุ ม ชน ต.หนองละลอก อ.บานคาย จ.ระยอง จากทัง้ หมด 11 หมูบ า น ทีต่ งั้ อยูใ นพืน้ ทีร่ อบโรงงานของบริษทั ฯ ใหเปน ศูนยกลางการเรียนรูด า นการทําเกษตรผสม ผสานแบบเศรษฐกิจพอเพียงใหกบั นักเรียน และคุณครู รวมถึงการถายทอดการเรียนรูส ู ภูมิปญญาของชุมชน ตลอดจนการพัฒนา อาชี พ และรายได เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพ ชีวติ ของคนในชุมชนใหมคี วามเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ สามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน พรอม สงเสริมใหเด็ก ๆ รักการอาน เพิม่ ทักษะให ตนเองจากหองสมุดของเลนควบคูก นั ไป

30

Energy#59_p28-30_Pro3.indd 30

9/18/13 9:21 PM


Energy#59_p02_Pro3.ai

1

9/17/13

12:31 AM

11.05-11.30 .


Residence รังสรรค อรัญมิตร

ป จ จุ บั น มี ที่ พั ก อาศั ย เกิ ด ขึ้ น จํ า นวนมาก ไม ว  า จะเป น คอนโดมิเนียม บานจัดสรร โรงแรม รีสอรท ลวนแลวแตไดรับ การออกแบบใหมีความโดดเดน ทั้งดานรูปทรง ความปลอดภัย การอยูส บาย และการประหยัดพลังงาน เพือ่ ตอบสนองไลฟสไตล ของคนรุนใหมที่ใสใจพลังงาน เรียกไดวาเปนเทรนดที่มาแรง อยางตอเนือ่ ง สําหรับการสรางทีพ่ กั อาศัยแบบประหยัดพลังงาน ซึ่งมีวิธีการออกแบบและระบบการจัดการที่หลากหลาย รวมถึง ความเพียบพรอมและความสะดวกสบายในการใชชีวิต

Sustainable house of

energy

บานประหยัดพลังงานอยางยั่งยืน SOLAR-Cara เปนหนึง่ ของตัวอยางบานประหยัดพลังงาน แนวคิดใหมของ บริษัท โฮม บิวเดอร เซนทริค จํากัด (HBC) ที่ พั ฒ นาขึ้ น มาเพื่ อ เป น บ า นที่ ส ามารถอยู  ไ ด อ ย า งยั่ ง ยื น (Sustainable house) ชวยลดมลภาวะที่ทําลายสิ่งแวดลอม อันเกิดจากกระบวนการกอสรางและสามารถอยูอ าศัยไดอยาง สบาย ชวยลดความรอนในตัวอาคาร การออกแบบชวยลด การทํางานของเครื่องปรับอากาศ ตัวอาคารโปรง ลมพัดผาน ไปสูสวนตาง ๆ ไดอยางทั่วถึง สามารถนําแสงสวางเขามา ชดเชยแสงสวางภายในบาน ภายใตหลักเกณฑการออกแบบ ที่คํานึงถึงทิศทางของแดดและลม เปนการนําเอาธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมมาเปนตัวชวยใหประหยัดพลังงาน นอกจากการใชประโยชนจากธรรมชาติแลว การออกแบบ บานของ HBC ยังไดนาํ นวัตกรรมการประหยัดพลังงานตาง ๆ มาผนวกเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงานสูงสุด ไมวา จะเปนการติดตัง้ พลังงานแสงอาทิตย (Solar Cell) มาใช เปนพลังงานไฟฟา และการใชหลอดไฟ LED (light-emitting diode) หลอดไฟฟาทีใ่ ชพลังงานนอย แตใหแสงสวางมากกวา หลอดปกติทวั่ ไป ชวยลดใชพลังงานไดเปนอยางดี

32

Energy#59_p32-33_Pro3.indd 32

9/18/13 9:28 PM


สวนขั้นตอนการปลูกสรางบานของ HBC นัน้ สรางบานดวยระบบกอสราง Triple S (Synergy Structure Systems) เปนระบบ การกอสรางทีช่ ว ยลดการเสียเศษ และประหยัด เวลาในการกอสราง ดวยระบบ Hybrid wall คือ การนําฉนวนกันความรอนมาไวตรงกลาง ประกอบดวย โครงลวดเหล็กสามมิติ โดยมี ฉนวน Polystyrene อยูตรงกลางระหวาง ตะแกรงเหล็ก ปดดวยคอนกรีตทั้งสองดาน ลักษณะโครงสรางเปนเนื้อเดียวกันตลอด (Monolithic Structure) ทําใหโครงสราง แข็งแรง ทนทาน ประหยัดพลังงาน และกอสราง ไดรวดเร็วโดยใชระยะเวลาเพียง 1 ใน 3 ของ การกอสรางปกติ ระบบเสาคานสําเร็จรูป (Fabrication) ระบบนี้จะเปนการหลอโครงสําเร็จรูปจาก โรงงาน งายตอการควบคุมคุณภาพของ วัสดุ และที่สําคัญ คือ ลดการใชไมแบบใน การกอสราง ซึ่งไมแบบไดมาจากการตัดไม ทําลายธรรมชาติ จึงเปนระบบที่เปนมิตร ตอสิง่ แวดลอม ชวยลดภาวะโลกรอน และยัง ลดมลภาวะในบริเวณที่กอสรางดวย

ระบบ Spray Concrete ใชเครือ่ งจักร ในการฉีดพนปูน ทําใหการกอสรางรวดเร็ว กวาวิธีการกอสรางธรรมดา อีกทั้งการฉีด พ น ปู น ยั ง ทํ า ให ตั ว อาคารมี ลั ก ษณะเป น เนือ้ เดียวกัน (Monolithic Structure) ทําให ตัวอาคารมีความแข็งแรงทนทานกวาระบบ กอสรางแบบเดิม ๆ อยางไรก็ตาม การออกแบบสรางบาน ประหยัดพลังงาน อาจมีตน ทุนการดําเนินการ กอสรางเบื้องตนสูงกวาบานทั่วไป เนื่องจาก กระบวนการกอสรางตองอาศัยเทคโนโลยี หรื อ นวั ต กรรมประหยั ด พลั ง งานมาช ว ย

ซึ่ ง นวั ต กรรมบางอย า งอาจมี ร าคาสู ง แต ก็คุมคาตอการลงทุนในระยะยาวหากทาน ผูอานสนใจบ า นประหยั ด พลั ง งาน HBC เป น อี ก ทางเลื อ กหนึ่ ง ของการออกแบบ บ า นประหยั ด พลั ง งานที่ ไ ม ไ ด คิ ด แค การสร า งที่ อ ยู  อ าศั ย ประหยั ด พลั ง งาน เท า นั้ น แต ยั ง มุ  ง สร า งความพึ ง พอใจ ให กั บ ลู ก ค า ภายใต แ นวคิ ด “สร า งสวย อยูสบาย สไตลตาง” มีแบบบานใหเลือก หลากหลายแบบ ไมวา จะเปน SOLAR-Cara, CLAUDIA, SOLAR-Freesia, COSMOS, SALVIA เปนตน 33

Energy#59_p32-33_Pro3.indd 33

9/18/13 9:28 PM


Energy Design รังสรรค อรัญมิตร

การออกแบบที่พักอาศัยในปจจุบัน นอกจากเนนเรื่องความสวยงาม และความแปลกใหมแลว ยังตองคํานึงถึงเรื่องการอนุรักษพลังงาน และสิง่ แวดลอมควบคูก นั ไปดวย เพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพในการลดใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึง่ การออกแบบตองคํานึงถึงพืน้ ทีต่ งั้ ทิศทาง ธรรมชาติ เปนการออกแบบทีค่ าํ นึงถึงสภาพแวดลอมทางภูมสิ ถาปตย ออกแบบใหเสียเศษนอยทีส่ ดุ การเลือกใชวตั ถุดบิ ทีม่ อี ยูใ นทองถิน่ การเลือกใช เทคโนโลยีอุปกรณประหยัดพลังงาน เปนแนวทางหนึ่งของการออกแบบสถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม

สําหรับโครงการ MASDAR ศูนยการคา ระดับพรีเมียมขนาดใหญ ณ เมืองอาบูดาบี สหรั ฐ อาหรั บ เอมิ เ รตส ถู ก เนรมิ ต ขึ้ น ทามกลางทะเลทรายภายใตบรรยากาศอัน รอนระอุ ที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกสบาย อยางครบครัน ทัง้ พลาซา โรงแรมระดับหาดาว อพารทเมนท ศูนยประชุม ศูนยวัฒนธรรม และรานคาปลีก พรอมสิง่ อํานวยความสะดวก ต า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การใช พ ลั ง งานใน อนาคต ตัง้ อยูบ นพืน้ ทีก่ วา 6 ลานตารางเมตร การออกแบบนอกจากจะเนนความโดดเดน สวยงามแล ว ยั ง ออกแบบให เ กิ ด การ ประหยัดพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพและยัง่ ยืน เพื่อเปนตนแบบของเมืองสีเขียวในอนาคต

การออกแบบเพื่อความยั่งยืนในการ ใชพลังงานของศูนยการคา MASDAR นั้น ไดถกู ออกแบบใหมกี ารติดตัง้ แผงโซลารเซลล เพื่ อ ใช ผ ลิ ต กระแสไฟฟ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตยและกังหันลม ตอบสนองการใช พลังงานภายใน MASDAR ทัง้ หมด พรอม ติดตัง้ ระบบผลิตนํา้ รอนพลังงานแสงอาทิตย และออกแบบใหมรี ม ขนาดใหญทไี่ ดไอเดียมา จากดอกทานตะวัน นอกจากใชเปนรมเงาแลว ยั ง สามารถสะสมพลั ง งานความร อ นจาก แสงอาทิตยและเปลีย่ นเปนพลังงานแสงสวาง ในยามคํ่ า คื น ได อี ก ด ว ย ส ว นตั ว อาคาร ติดฉนวนกันความรอนไวที่ผนังอาคารและ ใตหลังคาเพื่อลดความรอนเขาสูตัวอาคาร ชวยลดภาระของระบบปรับอากาศไดเปนอยางดี

ในสวนดาดฟาของโรงแรม และพลาซ า ออกแบบให มี พื้ น ที่ สีเขียว หรือ Green Garden โดย การปลูกผักออแกนิกและผลไม สําหรับใชประกอบอาหารในราน อาหารของโรงแรมและไวจาํ หนาย ในพลาซา ซึง่ นอกจากเพิม่ ความ สวยงามใหกบั อาคารแลว ยังชวย ซับความรอนกอนเขาสูต วั อาคาร ไดเปนอยางดี สวนนํา้ ทีใ่ ชรดสวน บนดาดฟาจะถูกนํามาบําบัดกอน สงไปเก็บไวในถังกักเก็บนํ้าขนาด ใหญทอี่ ยูใ ตอาคาร เพือ่ นํากลับไป ใชรดนํา้ สวนผักอีกครัง้ หนึง่

34

Energy#59_p34-35_Pro3.indd 34

9/18/13 9:37 PM


นอกจากนี้ ยั ง ออกแบบให ส ามารถ ระบายอากาศได โดยใหมีชองวางระหว าง แผงโซลารเซลลบนหลังคา เพื่อชวยลดภาระ การทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศและ ยังสามารถชวยสะทอนแสงแดดที่จะเขามายัง ชองวางบนหลังคาไดเปนอยางดี นอกจากนี้ ยังติดตั้งอุปกรณระบายความรอนภายใน ตัวอาคารออกสูภ ายนอก เพือ่ รักษาความสมดุล อากาศภายในอาคาร รวมถึงการออกแบบ เสาไฟฟาแสงสวางในโครงการทีไ่ ดแรงบันดาลใจ จากการออกแบบเสาไฟโอเอซิส ซึง่ ยามคํา่ คืน สามารถเปลี่ ย นศู น ย ก ารค า แห ง นี้ ใ ห เ ป น 3 มิติ นอกจากนี้ ยังมีรถไฟฟาใตดินที่เปน ระบบขนส ง สาธารณะฟรี ไ ว บ ริ ก าร เพื่ อ อํานวยความสะดวกสบายในการเดินทางไปยัง MASDAR CITY อย า งไรก็ ต าม บนความหรู ห ราและ ยั่ ง ยื น ของโครงการ MASDAR นั้ น ใช งบประมาณในการกอสรางประมาณ 2 หมืน่ ลาน เหรี ย ญสหรั ฐ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ติดอันดับโลกในเรือ่ งของสถานทีส่ าํ คัญ และ เปนนวัตกรรมที่โดดเดนดานสถาปตยกรรม และจะเปน ตัวอย างของความมุงมั่นในการ พั ฒ นาสภาพแวดล อ ม และการพั ฒ นา เทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพและ ไดมาตรฐานสูงสุดของการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึงการปลอยมลพิษเปนศูนย สามารถ ลดใชพลังงานไฟฟา 100% ผานพลังงาน หมุนเวียน เรียกไดวา เปนเมืองแหงอนาคตที่ ใชพลังงานอยางยั่งยืนและเปนตนแบบใหกับ เมืองอื่น ๆ ของโลก โครงการนี้จะแลวเสร็จ ภายในป 2016 หากใครมีโอกาสไดเดินทางไป เที่ยวที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส อยาลืมแวะไป เยือนนะครับ

35

Energy#59_p34-35_Pro3.indd 35

9/18/13 9:37 PM


Energy Knowledge เด็กเนิรด

ถาหากนํา้ ทะเลเปนกรด จนไมมสี งิ่ มีชวี ติ ชนิดไหนทนอยูไ ด นอกจากแมงกะพรุน ใหคดิ ซะวาอยางนอยก็ยงั มีแหลงพลังงานทดแทนเหลืออยู เพราะนอกจากแมงกะพรุนจะถูกนํามาทําเปนอาหารแลว เนือ้ ของแมงกะพรุนยังเอามาทําเปนเซลลพลังงานใหกบั อุปกรณนาโนไดอกี ดวย

à«ÅÅ ¾Åѧ§Ò¹à¹×้ÍáÁ§¡Ð¾ÃعÊํÒËÃѺÍØ»¡Ã³ ¹Òâ¹ Zackary Chiragwandi นักวิจยั จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ชาลเมอร (Chalmers University of Technology) ในรัฐโกเธนเบิรก ประเทศสวีเดน คนพบวา โปรตีนในเนือ้ แมงกะพรุนเรืองแสงทีอ่ าศัยอยู แถบชายฝง ตะวันตกของทวีปอเมริกาเหนือ มีคณ ุ สมบัตดิ ดู กลืนแสง คลายสียอ มในเซลลแสงอาทิตย ชนิดสียอ มไวแสง (dye-sensitized solar cell : DSSC/DSC/DYSC) หรือทีร่ จู กั กันในชือ่ Grätzel cells ซึ่งเปนเซลลแสงอาทิตยที่เลียนแบบการสังเคราะหแสงของพืช ดวย คุณสมบัติดังกลาวทําใหเห็นวา โปรตีนชนิดนี้นาจะนํามาพัฒนาเปน สวนประกอบของเซลลกาํ เนิดพลังงานสําหรับอุปกรณขนาดจิว๋ ได

รู จักกับโปรตีน GFP

All in one : สมบูรณ ได ในหนึ่งเดียว ส ว นประกอบของเซลล พ ลั ง งานที่ ถู ก ออกแบบเอาไว นอกจากจะมีสวนที่เปนขั้วไฟฟาอะลูมิเนียมจํานวนสองขั้ววางไว บนแผ น บางของซิ ลิ ก อนออกไซด เพื่ อ ช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ทั้งในดานการจับแสงและการแปลงพลังงานแลว ทีมวิจัยยังเพิ่ม สารผสมที่ไดจากสิ่งมีชีวิตเรืองแสง เพื่อใชเปนแหลงกําเนิดแสง ภายในเซลลเอาไวอีกดวย สารดังกลาว คือ เอนไซมลูซิเฟอเรส (luciferase) ที่ไดจากหิ่งหอย (Lampyridae) และ sea pansy (Renilla reniformis) ผสมกับแมกนีเซียม และสารอื่น ๆ ที่ จําเปนตอกระบวนการเปลงแสง (bioluminescence) แสงที่ได จากกระบวนการเปลงแสงจะกระตุนใหโปรตีน GFP ทํางานไดเอง โดยไมตองอาศัยแหลงกําเนิดแสงที่ตองเชื่อมตอจากภายนอก ทําใหการทํางานของเซลลเนื้อแมงกะพรุนมีความสมบูรณมากขึ้น นอกจากนี้ การออกแบบเซลลดังกลาวก็งายและประหยัดกวา เซลล พ ลั ง งานแสงชนิ ด อื่ น เพราะไม ต  อ งใช วั ส ดุ ที่ มี ร าคาแพง อยางไทเทเนียมไดออกไซด เหมือนใน Grätzel cells อีกดวย

โปรตีนเรืองแสงสีเขียว (Green Fluorescent Protein) เปนโปรตีน ทีป่ ระกอบดวย กรดอะมิโน 238 ตัว ถูกคนพบเมือ่ ป พ.ศ. 2499 โดย คุณโอซามุ ชิโมมุระ (Osamu Shimomura) โปรตีนชนิดนี้พบได ในสัตวทะเลหลายชนิด แตโดยมากแลวจะหมายถึงโปรตีนทีส่ กัดไดจาก แมงกะพรุน สายพันธุAequorea victoria โปรตีนทีส่ กัดไดนี้ มีสว นประกอบ ทีท่ าํ ใหเกิดสี (chromophore) ชนิดพิเศษ สามารถดูดกลืนแสงสีอนื่ เอาไวได และเปลงแสงที่อยูในชวงความยาวคลื่นสีเขียวออกมาเมื่อ ไดรบั แสงยูวี จึงทําใหมนั สามารถเรืองแสงสีเขียวไดเมือ่ อยูภ ายใตแสงยูวี

เชื่อมต อวงจรด วยเนื้อแมงกะพรุน ในการวิจัยครั้งนี้ ทีมวิจัยตองปนแมงกะพรุนนับพันชีวิตให กลายเปนแมงกะพรุนสมูทตี้ เพื่อนําไปสกัดใหไดโปรตีน GFP จากนั้น นําโปรตีนที่ไดหยดลงบนขั้วไฟฟาในเซลลพลังงานที่เตรียมเอาไว โปรตีนดังกลาวจะจัดเรียงตัวไดเอง (self-assembly) จนเกิดเปน สายเชื่อมตอกับขั้วไฟฟา เมื่อมีแสงยูวีตกกระทบโปรตีนดังกลาวก็ จะดูดซับโฟตอนและปลอยอิเล็กตรอนใหเคลื่อนที่ไปรอบวงจร ทําให มีกระแสไฟฟาเกิดขึ้น ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไดจากเซลลพลังงานชีวภาพนี้ แมจะมี ปริมาณนอยเพียงแคระดับนาโนแอมแปร แตปริมาณเทานีก้ เ็ พียงพอที่ จะใชเปนพลังงานใหกับอุปกรณนาโน ถาในอนาคตทีมวิจัยสามารถ ปรับขนาดของเซลลนี้ใหใหญขึ้นได มันจะเปนเซลลพลังงานแสงที่มี ประสิทธิภาพกวาเซลลแสงอาทิตยทมี่ อี ยูใ นปจจุบนั

ดวยความสมบูรณทั้งดานการทํางานและขนาด ทําใหเซลล พลังงานเนือ้ แมงกะพรุนนีเ้ หมาะทีจ่ ะใชเปนแหลงพลังงานใหกบั อุปกรณ นาโน โดยเฉพาะในหุน ยนตจวิ๋ รักษาโรค (medical nanobot) หรือใช กับอุปกรณสอื่ สารจําพวกชิพทีฝ่ ง อยูใ นสิง่ มีชวี ติ อยางไรก็ตาม ทีมวิจยั คาดการณวา เทคโนโลยีนี้จะผลิตออกมาใชงานไดจริงภายในหนึ่งถึง สองปขา งหนา ไมตอ งหวงวาแมงกะพรุนจะสูญพันธุ เพราะนักวิจยั กําลัง พัฒนาวิธกี ารสังเคราะหโปรตีน GFP จากแบคทีเรียในหองปฏิบตั กิ าร ถาหากสําเร็จคงไมตอ งปน แมงกะพรุนจํานวนมหาศาลเชนนีอ้ กี

36

Energy#59_p36-37_Pro3.indd 36

9/17/13 12:02 AM


Shaul Lapidot นักศึกษาปริญญาเอก ลูกศิษยของ Prof. Oded Shoseyov และเพื่อนรวมงานที่ Robert H. Smith คณะเกษตร อาหาร และสิ่งแวดลอม จาก Hebrew University of Jerusalem คนพบวิธีการผลิตเซลลูโลสผลึกนาโน (nano-crystalline cellulose, NCC) จากของเสียโรงงานทํากระดาษ ซึ่งเปนวัตถุดิบในการผลิตโฟมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม แทนการใชโฟมที่ผลิตจากเชื้อเพลิงฟอสซิล

â¿Á¨Ò¡¢Í§àÊÕÂâç§Ò¹·ํÒ¡ÃдÒɹÒâ¹

ปจจุบันมีการใชโฟมจํานวนมาก เชน การผลิ ต เฟอร นิ เ จอร ใช ภ ายในรถยนต และเปนฉนวน สําหรับวัสดุเชิงประกอบจะ ใชโฟมเปนไส เพื่อทําแผนฉนวนสําเร็จรูป (sandwich panel) ใหมีความแข็งแรงสูง นํ้ า หนั ก เบา สู ญ เสี ย พลั ง งานน อ ย แต โฟมที่ ใ ช ส  ว นใหญ ผ ลิ ต จากโพลิ ยู ริ เ ทน (polyurethane) โพลิสไตรีน (polystyrene) โพลิ ไ วนิ ล คลอไรด (polyvinylchloride : PVC) และโพลิ เ อทิ ลี น เทเรฟทาเลต (polyethylene terephthalate : PET) ซึ่งไดจากเชื้อเพลิงฟอสซิล ในกระบวนการผลิตกระดาษ ไมจะ ถูกตัดออกเปนชิ้นเล็ก ๆ และบด หรือเคี่ยว ในสารเคมีเพื่อแยกเสนใยออกมา จากนั้น เสนใยที่ไดจะถูกสเปรยไปบนสายพานที่เปน ตะแกรงเคลื่อนที่ไป เสนใยที่มีขนาดใหญ จะถูกรีดใหเปนกระดาษ ในขณะที่เสนใย ขนาดเล็กกวาชองตะแกรงจะไหลทิ้งไปกับ

นํ้าและกลายเปนของเสีย คิดเปนรอยละ 50 ของเสนใยทั้งหมด ในแตละปเฉพาะในทวีป ยุโรปมีของเสียจากอุตสาหกรรมกระดาษถึง 11 ลานตัน ดวยเหตุนี้ จึงเปนแรงจูงใจใหนกั วิทยาศาสตรพยายามนําของเสียเหลานี้กลับ มาใชใหเกิดประโยชนสงู สุด Lapidot พบวาเสนใยทีเ่ ปนของเสียจาก โรงงานผลิตกระดาษเปนแหลงของวัตถุดิบ สํ า หรั บ ผลิ ต เซลลู โ ลสผลึ ก นาโนที่ ดี ม าก เนื่องจากเสนใยของเสียเหลานี้มีขนาดเล็ก อยูแ ลว ดังนัน้ การใชพลังงานและสารเคมีใน กระบวนการผลิตใหเปนเซลลูโลสผลึกนาโนจึง คอนขางตํา่ ไดมกี ารพัฒนาวิธกี ารนําเซลลูโลส ผลึกนาโนไปใชผลิตเปนโฟมที่มีโครงสราง ระดับนาโน (nano-structured foam) เพือ่ ผลิตโฟมคอมโพสิตสําหรับใชในอุตสาหกรรม วัสดุเชิงประกอบแทนการใชโฟมสังเคราะห โฟมจากเซลลูโลสผลึกนาโนที่พัฒนา ขึ้ น มานี้ มี นํ้ า หนั ก เบา มี รู พ รุ น สู ง อี ก ทั้ ง

ยั ง สามารถเพิ่ ม ความแข็ ง แรงได ด  ว ยการใช เฮมิเซลลูโลสเบสฟวแรนเรซิน (hemicellulosebased furan resin) ซึ่ ง ได จ ากของเสี ย ที่ เกิดจากพืชผลทางการเกษตร เชน เปลือกขาว ซังขาวโพด เปลือกขาวโอต และของเสียทีไ่ ดจาก กระบวนการผลิตนํ้าตาล เปนตน โฟมเซลลู โ ลสผลึ ก นาโนเสริ ม แรง (NCC reinforced foams) มีสมรรถนะเชิง เทคนิ ค เที ย บเท า กั บ โฟมสั ง เคราะห คุ ณ ภาพ สู ง ที่ มี อ ยู  ใ นป จ จุ บั น ผลงานของ Lapidot เปนหนึ่งในผลงานที่ไดรับรางวัล Barenholz Prizes อีกทั้ง Yissum ซึ่งเปนบริษัทที่ทําหนาที่ ถายทอดเทคโนโลยีของ Hebrew University of Jerusalem รับผิดชอบนําสิ่งประดิษฐหรือ องค ค วามรู  ที่ เ กิ ด จากนั ก วิ จั ย หรื อ นั ก ศึ ก ษา ของมหาวิ ท ยาลั ย ไปพั ฒ นาในเชิ ง พาณิ ช ย และได ข ายสิ ท ธิ์ เ ทคโนโลยี นี้ ใ ห แ ก บ ริ ษั ท Melodea Ltd. เพื่อผลิตในระดับอุตสาหกรรม ตอไป

37

Energy#59_p36-37_Pro3.indd 37

9/17/13 12:02 AM


Tools & Machine รังสรรค อรัญมิตร

เครื่องปรับอากาศ

YORK® YES Series Inverter เครือ่ งใชไฟฟานัน้ เปนปจจัยสําคัญของการดํารงชีวติ ประจําวัน ไมวา จะใชชวี ติ ในทีท่ าํ งานหรือบานพักอาศัย ลวนแลวแตตอ งอาศัย เครือ่ งใชไฟฟา แตการดํารงชีวติ ในปจจุบนั ตองดําเนินควบคูไ ปกับ การประหยัดพลังงาน อุปกรณเครือ่ งใชไฟฟาไดถกู พัฒนาใหเกิด ประสิทธิภาพในการใชงานและประหยัดพลังงานมากขึน้ ไมวา จะเปน หลอดไฟ ตูเ ย็น เครือ่ งซักผา ทีวี รวมถึงเครือ่ งปรับอากาศ

จอห น สั น คอนโทรลส ประเทศไทย เป น อี ก บริ ษั ท หนึ่ ง ที่ ไ ด พั ฒ นาโซลู ชั่ น การ ใชพลังงานของเครื่องปรับอากาศอย างมี ประสิทธิภาพ โดยลาสุดไดพัฒนาเครื่อง ปรับอากาศระบบ YORK® YES Series Inverter ซึ่งเปนเครื่องปรับอากาศระบบ ปรั บ สารทํ าความเย็นอัต โนมัติ (VRF) ที่ มี คุ ณ สมบั ติ โ ดดเด น ด า นการประหยั ด พลังงาน ความสะดวกสบาย และทําความเย็น ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการประหยัดพลังงานนัน้ ใชระบบ อินเวอรเตอรเขามาชวยปรับรอบการทํางาน ใหกบั ชุดคอมเพรสเซอร จึงสามารถทํางานได ตามภาระโหลดที่แทจริง ชวยใหประหยัด พลั ง งานมากกวา เครื่ อ งปรั บ อากาศปกติ ทั่วไปประมาณ 20-30% และมีอัตราสวน ประสิทธิภาพพลังงาน (Coefficient Of

Performance – COP) สูงสุดอยูที่ 4.0 ในอัตราการใชงานเต็มกําลัง และอัตราสวน ประสิทธิภาพพลังงานในระดับการใชงานตาง ๆ หรือ Integrated Part Load Value (IPLV) ที่คา 6.0 ซึ่งทั้งสองอัตราถือเปนมาตรวัดประสิทธิภาพการทําความเย็นของเครื่องปรับอากาศ ที่จะชวยใหเจาของอาคารสามารถบริหารจัดการพลังงานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังสามารถปรับชวงการทําความเย็นทีก่ วางขึน้ เอือ้ ให YORK® YES Series สามารถทํางานภายใตสภาพอากาศรอนหรือเย็นสุดขัว้ ได ตัง้ แต 20 องศาเซลเซียส ไปจนถึงสูงสุด ระดับ 52 องศาเซลเซียส ทําให YORK® YES Series เหมาะสําหรับการใชงานในสภาพอากาศ ทีแ่ ตกตางกัน นอกจากนี้ ยังมอบความสะดวกสบายดวยการปรับอุณหภูมแิ บบแยกสวนกันใน แตละหองได ระบบ YORK® YES Series ยังตอบโจทยความตองการทีแ่ ตกตาง ดวยระบบการ ติดตัง้ ทีย่ ดื หยุน คลองตัว พรอมชุดควบคุมทีป่ ระกอบดวย ตัวควบคุมหนาจอระบบสัมผัสแบบมีสาย ควบคุมจากศูนยกลาง ซึง่ มีการเชือ่ มตอภายในบานแบบสมารทโฮม และทํางานอัตโนมัติดวย ระบบการจัดการ Metasys® Building Management System ของจอหนสัน คอนโทรลส สําหรับ YORK® YES Series Inverter นัน้ ถูกพัฒนาออกมา 3 รุน ดวยกัน ไดแก YORK® YES Mini Series ระบบอินเวอรเตอรเปนระบบปรับปริมาณสารทําความเย็นอัตโนมัติ (VRF) สําหรับใชงานในบานเรือน รุน YORK® YES Slim สําหรับบานพักอาศัยและ อาคารพาณิชยขนาดเล็ก และรุน YORK® YES Super Series DC Inverter VRFสําหรับ การใชงานภายในอาคารพาณิชยขนาดใหญ โรงแรม โรงพยาบาล โรงงาน โชวรูม เปนตน

38

Energy#59_p38_Pro3.indd 38

9/6/13 10:49 PM


Energy#59_p39_Pro3.ai

1

9/25/13

7:35 PM

พบกับนวัตกรรมการกอสราง-ตกแตง ที่ ไดรับรางวัลนวัตกรรมดีเดนจากงานสถาปนิก’56 ฟรี แบบบาน พรอมบริการใหคำปรึกษาออกแบบกอสราง จากสถาปนิกผูเชี่ยวชาญ รวมสนุกกับกิจกรรม สถาปนิกนอย อาสาพานองวาดภาพระบายสี โดยกลุมพี่ๆสถาปนิก สัมมนา-นิทรรศการสถาปตยกรรม


Cover Story

GREEN นัษรุต เถื่อนทองคํา

Travel

ประเทศไทย...หนึ่งในประเทศที่ติดอันดับตนๆ ในแผนการท อ งเที่ ย วของนั ก ท อ งเที่ ย วทั่ ว โลก ดวยทัศนียภาพที่หลากหลาย สามารถเลือกรูปแบบ ของการทองเทีย่ วไดครบถวนทุกความตองการ และทีส่ าํ คัญ ยังเที่ยวได เกือบทุกฤดู กาล ซึ่ ง ถื อ เปนข อ ได เ ปรี ย บ อย า งมากสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ท อ งเที่ ย วและเศรษฐกิ จ ของประเทศ สามารถดึงเม็ดเงินเขาประเทศไดมหาศาล แต ป  จ จุ บั น มี ก ลุ  ม นั ก ท อ งเที่ ย วภายในประเทศและ ตางชาติบางสวนหันมาใหความสําคัญกับการทองเที่ยว รูปแบบใหมที่เขาถึงวิถีชีวิตและธรรมชาติมากยิ่งขึ้น

40

Energy#59_p40-45_Pro3.indd 40

9/24/13 11:56 PM


Green Travel หรื อ Ecotourism เปนหนึ่งในรูปแบบการทองเที่ยวที่มีเรื่องราว ของการช ว ยกั น รั ก ษาธรรมชาติ ไม ทํ า ลาย สิ่ ง แวดล อ มเข ามาเกี่ยวข อง ไม ว าจะเป นใน รูปแบบใดก็ตาม ลวนนํามาซึ่งความสุข และ เปนเรื่องที่เหมาะกับสภาวะของโลกในปจจุบัน การทองเที่ยวเชิง Green Travel เปน กระแสการทองเทีย่ วทีม่ าในรูปแบบการทองเทีย่ ว เชิ ง อนุ รั ก ษ แตกตา งจากการทอ งเที่ ย วพั ก ผอนตามปกติทั่วไป เพราะนักทองเที่ยวตองมี จิตสํานึกดานสิ่งแวดลอมตอสถานที่ทองเที่ยว นั้น ๆ โดยมีหลักการสําคัญ คือ ตองมีการ อนุรักษทรัพยากรการทองเที่ยวตาง ๆ ไมวาจะ เปนทรัพยากรการทองเทีย่ วทางธรรมชาติ หรือ ทรัพยากรการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม ใหคง สภาพเดิมใหมากที่สุด โดยไมใหถูกทําลายไป กระตุ  น จิ ต สํ า นึ ก ของคนในท อ งถิ่ น ให พยายามดู แ ลรั ก ษา และปกป อ งทรั พ ยากร การทองเทีย่ วเหลานัน้ โดยไมกอ ใหเกิดผลเสีย ต อ ทรั พ ยากรการทอ งเที่ ย ว เพี ย งเพื่ อ หวั ง ผลประโยชนสวนตน ใหความรูความเขาใจแก นักทองเทีย่ ว เพือ่ สรางความตระหนักถึงคุณคา และความสําคัญของแหลงทองเที่ยว โดยให ความรวมมือแกชมุ ชนในทองถิน่ ในการอนุรกั ษ สิ่งแวดลอม อันเปนมรดกตกทอดของคนใน ทองถิ่นนั้น ๆ ใหคงสภาพที่ดีตอไปตราบนาน เทานาน

จากตั ว เลขนั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ที่ เดินทางเขามาในประเทศของ สํานักตรวจคน เขาเมืองและกรมการทองเที่ยว ประเทศไทย มี จํ า นวนนั ก ท อ งเที่ ย วป ล ะหลายล า นคน เป น ตั ว เลขที่ น  า สนใจ หากต อ งการให นักทองเทีย่ วกลุม ดังกลาวรูจ กั การทองเทีย่ ว รูปแบบ Green Travel มากกวาการทองเทีย่ ว รูปแบบเดิม ๆ เพือ่ สรางเม็ดเงินเขาประเทศได จํานวนมาก สิง่ ทีค่ วรทํา คือ การประชาสัมพันธ การทองเที่ยวแบบ Green Travel ใหเปน ทีร่ จู กั มากขึน้ เชนเดียวกับการประชาสัมพันธ ใหกับนักทองเที่ยวในประเทศ

ปริมาณนักทองเที่ยวตางชาติ 22,303,065 คน 19,230,470 คน 15,936,400 คน 14,149,841 คน

นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัดกระทรวงพลังงาน อดีตผูอํานวย ก า ร สํ า นั ก ง า น น โ ย บ า ย แ ล ะ แ ผ น พลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา การทองเที่ยวรูปแบบใหม จะเนนที่การอนุรักษธรรมชาติเปนหลัก หวังลดการใชพลังงาน รักษาสิง่ แวดลอม และไมทาํ ลายธรรมชาติ ดวยการทองเทีย่ ว ทีใ่ ชบริการรถสาธารณะ เพือ่ ใหเกิดการ ประหยัดพลังงานในการเดินทาง และลด ปริมาณรถยนตหนาแนนในชวงเทศกาล ทองเที่ยว ที่ผานมากองทุนเพื่อสงเสริม การอนุรกั ษพลังงาน ไดใหการสนับสนุน อุ ท ยานแห ง ชาติ สั ต ว ป  า และพั น ธุ  พื ช (อช.) ดํ า เนิ น โครงการศึ ก ษาความ เปนไปไดในการใชรถสาธารณะรวมกัน เพื่อจัดกิจกรรมการทองเที่ยว

14,584,220 คน แนวทางการทองเที่ยวแบบ Green Travel ไดรบั ความสนใจจากหลายภาคสวน ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน จนปจจุบันเปน ทีร่ จู กั และไดรบั การตอบรับจากนักทองเทีย่ ว จํานวนมาก โดยเฉพาะนักทองเทีย่ วชาวไทยที่ มีความอิม่ ตัวกับการทองเทีย่ วรูปแบบเดิม ๆ รวมถึ ง นั ก ท อ งเที่ ย วต า งชาติ ที่ ต  อ งการ ทองเทีย่ วแนวทางดานการอนุรกั ษธรรมชาติ เปนหลัก

41

Energy#59_p40-45_Pro3.indd 41

9/24/13 11:56 PM


โครงการดังกลาวไดนาํ รองทีอ่ ทุ ยานแหง ชาติเขาใหญเปนแหงแรก เนือ่ งจากเปนแหลง ทองเที่ยวที่นักทองเที่ยวใหความสนใจมาก โดยในป 2554 ที่ผานมา สถิติการใชพาหนะ สวนตัวเพือ่ มาทองเทีย่ ว ณ อุทยานแหงชาติ เขาใหญ มีจํานวนถึง 185,372 คัน คิดเปน อั ต ร า ก า ร สิ้ น เ ป ลื อ ง นํ้ า มั น ป ร ะ ม า ณ 9.2 ล า นลิ ต ร ก อ ให เ กิ ด การปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดถึง 28,136 ตันตอป อุทยานแหงชาติสัตวปาและพันธุพืช ไดทดลองนํารถสาธารณะมาใหบริการใน ระยะทางเฉลี่ย 500 กิโลเมตร เปนระยะเวลา 3 เดือน ไดแก รถตูโดยสารเครื่องยนตดีเซล ขนาด 2,500 ซีซี ซึ่งผลการทดลอง พบวา สิ้นเปลืองนํ้ามันดีเซล 57.34 ลิตรตอเที่ยว ตอคัน คิดเปนเงิน 1,720 บาท และรถตูโ ดยสาร เครื่องยนตเบนซิน ขนาด 2,700 ซีซี ที่ติดตั้ง ระบบใชกา ซ NGV พบวาสิน้ เปลืองกาซ NGV 74.96 ลิตรตอเที่ยวตอคัน คิดเปนเงิน 787 บาท จากราคาเชื้อเพลิง ณ วันที่ทดสอบ เชื่ อ ว า อุ ท ยานแห ง ชาติ เ ขาใหญ มี ค วามพร อ มที่ จ ะให บ ริ ก ารรถสาธารณะ อย า งแน น อน เพราะมี ท้ัง เส น ทางสํ า หรั บ รถสาธารณะ และมี ผู  ป ระกอบการรถ สาธารณะที่ ส นใจจะเข า ร ว มโครงการ จํ า นวนมาก รวมทั้ ง มี ค วามโดดเด น และ เปนเอกลักษณดา นการทองเทีย่ วเชิงอนุรกั ษ จากการสอบถามความเห็นของนักทองเทีย่ ว พบวา มากกวา 1 ใน 3 ของกลุมตัวอยาง เห็นวา หากมีบริการรถสาธารณะ โดยกําหนด เวลารถวิ่งและคาโดยสารที่เหมาะสม จะหัน มาใชบริการรถสาธารณะในการทองเที่ยว แทนการขับรถยนตสวนตัว และหากจํานวน นักทองเทีย่ ว 50% ของจํานวนทัง้ หมด หันมา เลือกใชบริการรถสาธารณะ จะชวยประหยัด พลั ง งาน รั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม และลดการ รบกวนธรรมชาติ

ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคมผู  ป ระกอบการรถ ขนสงทั่วไทย (สปข.) ซึ่งมีสมาชิก ที่เปนเจาของรถโดยสาร มากกวา 8,000 คัน เปดเผยวา การทองเทีย่ ว ในเมืองไทยยังถือวามีการเติบโตขึน้ มาก เห็นไดจากรถตูแ ละรถโดยสาร ที่ใชในการเดินทางทั้งเพื่อทองเที่ยว สั ม มนา และประชุ ม ประจํ า ป ต าม จังหวัดตาง ๆ มีอยางตอเนื่อง รถ ทั้งหมดตองเดินทางแทบทุกวัน การเดินทางไปทองเที่ยวโดยใชรถตูและรถโดยสารสาธารณะนั้น ถือวามีความปลอดภัย มาก เพราะคนขับจะรูเ สนทางตามตางจังหวัดเปนอยางดี ทัง้ ขึน้ เขาลงหวยแทบจะไมมอี บุ ตั เิ หตุเกิด ขึน้ เลย รวมทัง้ คนขับจะประจํารถไมเปลีย่ นคัน จึงมีการดูแลรถเปนอยางดี ไมวา จะเปน เบรค คลัช และชวงลางทั้งหมด รวมทั้งระบบไฟฟาของรถดวย แถมบางคันมีระบบ GPS ควบคุมความเร็ว ชวยใหเกิดความปลอดภัยในการเดินทางสูงสุด นอกจากนี้ การใชบริการรถยนตสาธารณะยังสามารถควบคุมการเงินไดตามแผนการทองเทีย่ ว ของแตละบุคคล ไมวาจะเปนคารถโดยสาร คาอาหาร คาโรงแรมที่พัก และสถานที่ทองเที่ยว เพียงแคผโู ดยสารบอกกับพนักงานขับรถก็สามารถพาไปถึงจุดหมายไดตามความตองการ โดย ไมตองขับรถสวนตัวออกใหสิ้นเปลืองพลังงาน ซึ่งที่ผานมานักทองเที่ยวที่มาใชบริการรถยนต สาธารณะสวนใหญจะเปนนักทองเที่ยวชาวตางชาติเทานั้น ที่นาสนใจคือ ตั้งแตเดือนตุลาคมที่จะถึงนี้ นักทองเที่ยวจากประเทศจีนจะลดจํานวนลง เนื่องจากทางรัฐบาลจีนจะยกเลิกการทําธุรกิจของเอเจนซี่ที่พานักทองเที่ยวมายังประเทศไทย ในราคาถูก แตมีการรวมเงื่อนไขภายหลังที่มาถึงเมืองไทยแลว นั่นคือ การนํานักทองเที่ยวไปซื้อ สินคาตามบริษัทที่จัดไว คิดคาอาหาร ที่อยูนอกเหนือจากสัญญา และอื่น ๆ อีกมากมาย คาดวา ในปนี้ นักทองเที่ยวจากประเทศจีนจะลดลงกวา 1 แสนคน แนนอน สวนครึง่ ปหลังทีถ่ อื เปนหนาทองเทีย่ วของนักทองเทีย่ วชาวยุโรป บริษทั ทัวรและรถทองเทีย่ ว ตางภาวนาใหเหตุการณความขัดแยงตาง ๆ สงบลง เพื่อที่จะไดมีนักทองเที่ยวมาเยือนเมืองไทย เหมือนเดิม ซึง่ ถานักทองเทีย่ วในประเทศใหความสนใจกับใชบริการรถยนตสาธารณะจะสามารถ ชวยผูประกอบการในประเทศไปในตัว

42

Energy#59_p40-45_Pro3.indd 42

9/24/13 11:57 PM


นอกจากนี้ การทองเทีย่ วในรูปแบบ Green Travel ยังเขาถึง กลุมพลังงานทดแทนทั้งระดับทองถิ่นและระดับอุตสาหกรรม ขนาดใหญ ภายใตการสนับสนุนทั้งของภาครัฐและเอกชน สวน หนึง่ เปนเพราะประเทศไทยไดมกี ารผลักดันดานดังกลาวใหเดนชัด ยิ่งขึ้น ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทนในการลดการใชพลังงาน ของประเทศ ในการพัฒนาพลังงานอยางมีดลุ ยภาพควบคูก บั การ อนุรักษสิ่งแวดลอม และการมีสวนรวมของภาคประชาชนสูการ พัฒนาศักยภาพดานพลังงานทดแทน เพือ่ เสริมสรางพลังงานให กับประเทศ ใหประชาชนที่เปนนักทองเที่ยวเขาถึงมากขึ้น

นายทนงศักดิ์ สมวงศ นายกสมาคมสงเสริมการทองเที่ยว เกาะสมุย เปดเผยวา ภาครัฐบาลมีความเห็นใหเกาะสมุยลดใชพลังงาน ใหไดอยางนอย 3-4% ภายใน 3-4 ป จากโรงแรมและหองพักบนเกาะ ที่มีอยู 80-85% ขณะที่แนวโนมการเติบโตของรายไดยังมีทิศทางที่ สูงขึ้นอยางตอเนื่อง โดยในชวงครึ่งปแรกพื้นที่เกาะสมุยมีรายไดดาน การทองเที่ยวเติบโตเฉลี่ย 14-16% หรือประมาณ 15,000 ลานบาท ยกระดั บ เกาะสมุ ย ให เ ป น พื้ น ที่ นํ า ร อ งเมื อ งท อ งเที่ ย วสี เ ขี ย วหรื อ โลวคารบอนโมเดลทาวนแหงแรกในเอเชียแปซิฟก จากงบประมาณ สนับสนุนทั้งจากภาครัฐ และความรวมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย แปซิฟก เชือ่ วาแผนการพัฒนาดังกลาว จะเริม่ เห็นผลภายใน 3-5 ป หลัง การพัฒนาเสร็จสมบูรณ เทรนดการทองเที่ยวบนเกาะสมุยจะเปลี่ยน ไปเปนการทองเที่ยวเชิงสิ่งแวดลอมมากขึ้น ซึ่งจะสงผลดีกับรายได ทางการทองเที่ยว เนื่องจากนักทองเที่ยวในกลุมรักษสิ่งแวดลอม ถือเปนนักทองเที่ยวคุณภาพ สามารถสรางรายไดจํานวนมาก การทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่แทจริง คือ การเขาถึงวิถีชาวบาน แบบไมกอใหเกิดผลกระทบ โดยไดรับความรวมมือจากชุมชนใน พื้นที่ ในการเผยแพรวัฒนธรรมที่นาสนใจ หากไดรับการสนับสนุน และประชาสัมพันธที่ดี พื้นที่นั้น ๆ ก็จะกลายเปนแหลงทองเที่ยวที่ น า สนใจขึ้ น มาได โดยไม จํ า เป น ต อ งปรั บ เปลี่ ย นวิ ถี ชี วิ ต ของคน ในชุมชนแตอยางใด

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รองอธิบดีกรมพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา การพัฒนา แหลงทองเที่ยวควบคูการพัฒนาเปนแหลงพลังงานทดแทนถือ เปนเรื่องที่นาสนใจ ลาสุด พพ. ไดใหความสนใจเกาะสมุย จังหวัด สุราษฎรธานี ในการศึกษาใหเปนพื้นที่พลังงานทดแทน เนื่องจาก เปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ ขณะนี้กําลังศึกษาความเปนไปได เพือ่ นําพลังงานทดแทนมาใช ปจจุบนั อยูร ะหวางทําความเขาใจกับ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ผลการศึ ก ษาพั ฒ นาพื้ น ที่ เ กาะสมุ ย เป น โลว ค าร บ อน โมเดลทาวนนํารองแหงแรกในเอเชียแปซิฟก พบวา จากกรณี เหตุการณ ไฟฟาดับบนเกาะสมุยครั้งใหญ ไดศึกษาหาแนวทาง การสรางพลังงานใชเองบนพื้นที่เกาะสมุยจากศักยภาพความ พรอมที่เกาะสมุยมีอยู ทั้งพลังงานนํ้า ลม และกาซคารบอน จากขยะ ซึ่งจากการศึกษาไดขอสรุปการพัฒนาพื้นที่สีเขียว บนเกาะสมุ ย ดั ง นี้ เบื้ อ งต น จะปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ จ ากป จ จุ บั น ที่ มี ขอบัญญัตไิ มใหสรางตึกสูง กอใหเกิดปญหาการสรางโรงแรม ทีพ ่ กั ในแนวราบเปนจํานวนมาก และทําลายทรัพยากรสิ่งแวดลอมบน เกาะ ทั้งนี้ ทาง พพ.ไดเสนอแนวทางการแกไขปญหาดังกลาว ดวยการกําหนดพืน้ ทีเ่ ฉพาะบางสวนใหสามารถสรางตึกสูงได แต หามเกิน 7 ชัน้ นอกจากนี้ จะใชยทุ ธศาสตรการผลิตพลังงานใชเอง จากแสงอาทิตย นํ้า และขยะ เพื่อนํามาใชเปนพลังงานทดแทน รวมถึ ง การส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ ม ากขึ้ น เพื่ อ ปรับเปลี่ยนและสงเสริมเทรนดการทองเที่ยวบนเกาะสมุยใหเปน เชิงอนุรักษควบคูไปกับการพักผอน

นายวรนิติ์ กายราศ ผูอํานวยการสํานักงานการทองเที่ยวแหง ประเทศไทย สํานักงานตราด (ตราดและหมูเกาะ) เปดเผยวา จังหวัด ตราดถือเปนจังหวัดที่ไดรับความสนใจจากนักทองเที่ยวจํานวนมาก เพราะมีแหลงทองเที่ยวที่หลากหลายรวมถึงหมูเกาะ สามารถดึงดูด นักทองเที่ยวทั้งไทยและตางชาติไดจํานวนมาก หากใหกลาวถึงการ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ตราดก็เปนอีกจังหวัดหนึ่งที่นาสนใจ ขอเพียง ศึกษาใหดีเสียกอน มิฉะนั้นจะถือวามาไมถึง เพราะตราดเปนจังหวัดที่ ไดชื่อวา “สวยในซอย” หมายความวา หากมาเที่ยวจังหวัดตราดแบบ ผิวเผิน ก็คงไมรูวามีสถานที่ทองเที่ยวที่นาสนใจใหคนหาอีกมากมาย

43

Energy#59_p40-45_Pro3.indd 43

9/24/13 11:57 PM


จังหวัดตราดมีการบริหารจัดการดาน การทองเที่ยวเชิงอนุรักษโดยเฉพาะในพื้นที่ ชุ ม ชนบ า นช า งทู น ตั้ ง อยู  เ ขตชายแดน ไทย-กั ม พู ช า เป น แหล ง ทรั พ ยากรนิ เ วศ ปาตนนํา้ ทีเ่ ปรียบเสมือนเสนเลือดหลอเลีย้ ง คนทั้งจังหวัดตราด โดยชุมชนบานชางทูน เปนชุมชนแรกทีน่ าํ แนวความคิดบริหารจัดการ ในรูปแบบ Eco-museum หรือ พิพธิ ภัณฑ เพื่อชีวิตมาใช โดยมุงเนนการมีสวนรวม ในการกูว กิ ฤตสิง่ แวดลอมและฟน ฟูวฒ ั นธรรม ทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากนโยบายพัฒนาชนบท เปนเมืองอุตสาหกรรมในอดีต นักทองเที่ยว หรือผูมาเยือนจะไดรับมอบภารกิจใหเรียนรู เรือ่ งการใชทรัพยากรอยางพอเพียง ไมโลภ ไมเห็นแกเงินเปนตัวตัง้ สรางการเปนตนแบบ ของการบริหารงานโดยชุมชนใหแกชมุ ชนอืน่ Eco-museum แหงแรกของจังหวัด ตราด เป น ต น แบบของชุ ม ชนที่ เ ป น ผู  ขั บ เคลื่อนการพัฒนาแบบลางสูบน ซึ่งตางจาก หน า ที่ ดู แ ลและบริ ห ารจั ด การพิ พิ ธ ภั ณ ฑ แตเดิมที่เปนนักวิชาการผูเชี่ยวชาญเฉพาะ ดานหรือเจาหนาที่ภาครัฐ แตสําหรับชุมชน นีค้ รูชาวบานไดรวมตัวกันกอตัง้ กลุม ภัณฑา รักษชุมชนบานชางทูน เพื่ออาสาทําหนาที่ ดูแลฐานทรัพยากรและบริหารจัดการอุทิศ บานของตนเองเปนพิพิธภัณฑหรือเปดให เปนพื้นที่สาธารณะชั่วคราว เพื่อถายทอด ภู มิ ป  ญ ญาแก ลู ก หลานและผู  ม าเยื อ น ใหไดเรียนรู ชุ ม ชนสามารถพึ่ ง ตนเองได โดยมี บทบาทขับเคลือ่ นการพัฒนา โดยอาศัยองค ความรูพ  นื้ ฐานภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ มากูว กิ ฤต ทองถิ่นและยึดมั่นในปณิธานการดูแลรักษา ปาตนนํ้า โดยเนนไปที่เรื่องการปลูกทดแทน ในกิจกรรมธนาคารสีเขียว เพือ่ ลดผลกระทบ จากการทองเที่ยว ในสวนของภาคเอกชนนับเปนภาค สวนที่ชวยผลักดันการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ อยางมาก ซึง่ ถือเปนอีกหนึง่ กําลังสําคัญเชน กัน นายปรเมษฐ วิเศษเรืองโรจน ผูจัดการ สวนผลิตภัณฑรถยนตอโี คคาร บริษทั นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา การอนุรักษสิ่งแวดลอมเปนเรื่องที่ทุกคน ควรใหความสําคัญ และควรมีสว นรวมอยาง จริงจัง โดยเฉพาะเรื่องของการทองเที่ยว ในฐานะบริษัทรถยนตผูนําดานรถยนตอีโค คาร ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ได มี ก าร สงเสริมกิจกรรมดานดังกลาวอยางตอเนือ่ ง ซึ่งกิจกรรมสําคัญ คือ นิสสัน อีโคคาร พา ทองเทีย่ วไทย ดวยใจอนุรกั ษ ทีจ่ ดั ติดตอกัน

44

Energy#59_p40-45_Pro3.indd 44

9/24/13 11:57 PM


เปนปที่ 3 โดยไดรับความรวมมือจากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) เพื่อรวมปลูกจิตสํานึกในการเดินทางทองเที่ยวอยางเปนมิตร กับสิง่ แวดลอม ทีผ่ สานความรวมแรงรวมใจจากทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ปจจุบนั นิสสันมีครอบครัวทีใ่ ชรถอีโคคารมากกวา 200,000 คัน ทั่วประเทศ กิจกรรมนิสสัน อีโคคาร พาทองเที่ยวไทย ดวยใจอนุรักษ เปนกิจกรรมที่จัดขึ้นมาเพื่อขอบคุณลูกคา แตแฝงดวยกิจกรรมเพื่อ สังคมในการปลูกจิตสํานึกดานการอนุรักษธรรมชาติ รวมถึงการมี สวนรวมในการทํากิจกรรมดี ๆ ใหกับสังคม การบริจาคสิ่งของตาง ๆ ใหกบั นักเรียนในพืน้ ทีข่ าดแคลน ซึง่ ไดรบั การตอบรับดวยดีอยางตอเนือ่ ง รายไดที่ไดรับจากการสมัครเขารวมคาราวาน นิสสัน อีโคคาร จะนําไปใชในการจัดซื้อหนังสือสงเสริมพัฒนาการสําหรับเด็กเล็ก หนังสืออานนอกเวลาสําหรับเด็กประถม และหนังสือวิชาการดาน วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม รวมมากกวา 5,000 เลม และ ปรับปรุงมุมอานหนังสือใหกับโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่อยู ตามเสนทางสายธรรมชาติ ตลอดจนจัดหาอุปกรณกีฬา และเครื่อง ใชจําเปนอื่น ๆ ที่ชวยสงเสริมการเรียนรูและสุขอนามัยที่ดีของเด็ก ๆ เพื่อสงตอความสุขใหกับนอง ๆ วัยเรียน จํานวนกวา 2,700 คน สงเสริมใหเด็กรูจักรักการอาน ใชเวลาวางใหเปนประโยชน และ รูจักเรียนรูดวยตัวเอง รวมถึงเปนแหลงอางอิงคนควาใหกับคุณครู และชุมชนดวย ดานผูประกอบการโรงแรมที่พักไดมีการตื่นตัวในดานของการ ทองเที่ยวเชิงอนุรักษเชนกัน กับแนวคิดเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวหรือ ใบไมสีเขียว (Green Leaf Hotel) โดย มูลนิธิใบไมสีเขียว (Green Leaf Foundation) เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการใชพลังงานและ พัฒนาคุณภาพสิ่งแวดลอมของธุรกิจการทองเที่ยวและการโรงแรม ซึ่งอยูในความดูแลของคณะกรรมการสงเสริมกิจกรรมสิ่งแวดลอม เพื่อการทองเที่ยว หรือ คสสท.ที่ไดจัดทําแบบประเมินการรักษา สิ่งแวดลอมในการดําเนินงานของโรงแรม ไวใหโรงแรมตรวจสอบการ ปฏิบัติงานของตน เพื่อใหคณะกรรมการ คสสท. ไดตรวจสอบและ ประเมินผลเปรียบเทียบกับมาตรฐานทีค่ ณะกรรมการ คสสท.ไดจดั ทํา จากโรงแรมอางอิง มีการออกแนวคิดเกีย่ วกับโรงแรมสีเขียวหรือใบไม สีเขียว โดยนําแนวคิดหลักรูประหยัด รักษสิ่งแวดลอมมาใช ทั้งนี้ การวางมาตรฐานใบไมเขียวเปนการวางมาตรฐานดาน การจัดการสิ่งแวดลอม พัฒนาประสิทธิภาพในการใชพลังงาน และ คุณภาพสิง่ แวดลอมของธุรกิจทองเทีย่ วและธุรกิจทีพ ่ กั แรม โดยการ จัดอันดับโรงแรมตาง ๆ เพือ่ มอบเกียรติบตั รใบไมสเี ขียว (The Green Leaf Certificate) ตั้งแต 1 –5 ใบ ตามลําดับความสามารถในการ จัดการดานสิง่ แวดลอมในโรงแรม ความมุง มัน่ ของเจาของ ผูป ระกอบการ ผูปฏิบัติการ และผูมีสวนสนับสนุนดานการดําเนินธุรกิจโรงแรม ที่จะรวมกันจัดการดําเนินธุรกิจ เพื่อสิ่งแวดลอมอยางจริงจังใหเปนที่ รูจักแกองคกรทั่วโลก การทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ไมใชเรื่องใหมสําหรับประเทศไทย ซึ่ง หนวยงานที่มีสวนรวม ลวนมีจุดมุงหมายเดียวกัน ในการสรางความ ใสใจดานการอนุรักษสิ่งแวดลอมอยางเปนรูปธรรม ดานการจัดการ สิ่งแวดลอมนี้เปนอีกตัวอยางหนึ่งที่บงชี้ใหเห็นถึงความรวมมือกัน ยกระดับ ด านการรั ก ษาสิ่ งแวดลอมของทุก องคกร นํามาซึ่งการ ทองเที่ยวของไทยใหกาวหนาทัดเทียมกับนานาประเทศ แมวาจะเปน เพียงสวนเล็ก ๆ แตเมือ่ รวมกันมากขึน้ ก็ไมใชเรือ่ งยากอีกตอไป 45

Energy#59_p40-45_Pro3.indd 45

9/24/13 11:57 PM


Eco shop

บุษยารัตน ตนจาน

กระเปาสวนใหญที่เราใชกันอยูทุกวันนี้ เชื่อไดวาหลายคนๆคงมีใชมากกวา 1 ใบ ถาใชใบเดียวนาน ๆ ก็คงจะนาเบื่อจริงไหม Eco shop ฉบับนี้จะพาไปทําความรูจักกับเจาของไอเดียกระเปาเนคไทที่ลองผิดลองถูกจนกลายมาเปนกระเปาที่ทําจากผาเนคไท สวยงามสะดุดตา ถึงแมจะเปนกระเปาคุณผูหญิงแตคุณผูชายหลายๆ ทานยังตองหันหลังมามองกันเลยทีเดียว

กว่าจะเป็น... กระเป๋าเนคไทใบสวย

อาจารยเสาวลักษณ โชควิทยา อาจารย จากวิทยาลัยสารพัดชางสีพ ่ ระยา เลาวาเมือ่ กอน เคยคิดจะใชผา ยีนสมาทํากระเปา แตในตลาดมี คนทํากระเปาจากผายีนสมากอยูแ ลว ไมวา จะทํา รูปแบบแปลกใหมยงั ไง ผลงานก็ไมมที างโดดเดน คิดวาตองหาวัสดุแปลกใหมทนี่ า สนใจกวานี้ และ ยังไมเคยมีใครทํามากอน จนมาคนพบเนคไท ทีไ่ มใชแลว หรือไมผา น QC หรืออาจคางสต็อก เพราะตกยุ ค ตกสมั ย ซึ่ ง เนคไทโบราณ เหมาะจะนํ า มาทํ า กระเป า เนคไทมาก เพราะ ลวดลายเดน สีสันสดใส แมแตเนคไทสีพื้น เนือ้ ผาก็สวย เนือ่ งจากไมใชผา พิมพ สวนใหญ เปนผาทอลายขึน้ มา ดวยความทีจ่ บดานสิง่ ทอมา เลยทราบดีวา บริษทั ผลิตเนคไททุกบริษทั จะใหความสําคัญ กับเนือ้ ผาอยูแ ลว ปกตินยิ มใชผา ไหม ผาสปน ผาฝาย กวาจะพบวัสดุทใี่ ชกท็ ดลองใชผา มาหลายชนิด จนมาเจอ เนคไททีบ่ า นก็เลยลองนํามาทําดู เคยคิดจะลองทําหมวก แตมานัง่ คิดดูวา ตัวเราเองวันหนึง่ ๆ ยังไมใสหมวกเลย นาน ๆ จะใสสกั ที ถาใหซอื้ ก็คงไมซื้อเหมือนกัน ตรงจุดนี้ทําใหหันกลับมามองวา จะทําอะไรดีที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของคนทั่วไป ทําแลวคนอยากซือ้ ไปใช วันหนึง่ นัง่ รถกลับบานเห็นคนบนรถเมลทกุ คนมีกระเปาติดตัว เลยไดไอเดียวา ทํากระเปา นาจะดีทสี่ ดุ สังเกตวาทุกคนจะมีกระเปาติดตัวอยางนอย ๆ สองใบ ทัง้ กระเปาใบใหญ แลวก็กระเปาใบเล็ก หรือ กระเปาสตางค โดยเฉพาะสาว ๆ ไหนจะเครือ่ งสําอาง ไหนจะของจุกจิกอยางอืน่ โดยเฉพาะผูห ญิงชอบกระเปาผา ถาทําเปนสินคาตองขายได ยิง่ ในชวงนีค้ นหันมานิยมใชกระเปาผากันมาก ดวยความทีเ่ ปนผูห ญิงและคลุกคลีอยูก บั การตัดเย็บ จะมองออกวาลูกคาของเรานัน้ มีทกุ กลุม ไมวา จะวัยรุน วัยทํางาน หรือแมแตเด็ก ๆ ที่ชอบใชกระเปาดินสอ และกระเปาเครื่องเขียน ฯลฯ ผลิตภัณฑของเราสามารถ ตอบโจทย ไดทกุ กลุม แตกลุมลูกคาหลักจะเปนกลุมคนวัยทํางานชอบซื้อกระเปาใบใหญ หากเปนชวงเทศกาล ถาซือ้ เปนของขวัญเหมาะจะซือ้ ใบเล็ก ๆ นารัก คิดวากระเปาเนคไทสามารถตอบโจทยผใู ชไดทกุ ชวงอายุจริง ๆ

46

Energy#59_p46_Pro3.indd 46

9/11/13 10:40 PM


Energy#57_p107_Pro3.indd 107

7/24/13 11:17 PM


Exclusive กองบรรณาธิการ

48

Energy#59_p48-49_Pro3.indd 48

9/18/13 9:14 PM


GUNKUL จับมือ พันธมิตร

ลุยทําโครงการ หัวเรือใหญ GUNKUL พร อ มดั น บริ ษั ท ให เ ติ บ โต อยางตอเนื่อง รุกการพัฒนา ธุ ร กิ จ พลั ง งานเต็ ม รู ป แบบ เพือ่ ขยายฐานรายไดใหเติบโต อย า งแข็ ง แกร ง ในระยะยาว พร อ มผนึ ก พั น ธมิ ต รธุ ร กิ จ ทั้ ง ในและนอก ร ว มทุ น ทํ า Solar Rooftop เดินหนาลุย งานประมูลกวา 2,500 ลานบาท

Solar Rooftop

นายสมบูรณ เอื้ออัชฌาสัย กรรมการผูจัดการ บริษทั กันกุลเอ็นจิเนียริง่ จํากัด (มหาชน) หรือ “GUNKUL” เผยถึง โครงการผลิตกระแสไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่ ติดตั้งบนหลังคา (Solar Rooftop) ที่กระทรวงพลังงานมี มติอนุมัติรับซื้อไฟฟา 200 เมกะวัตต ภายใน 31 ธันวาคม 2556 ทางบริษัท GUNKUL ไดจับมือกับพันธมิตรทาง ธุรกิจทั้งในตลาดและนอกตลาด เดินหนาโครงการ Solar Rooftop ขายไฟฟาใหกับ การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) โดยในเบื้องตนอยู ระหวางดําเนินการยื่นขอทําโครงการ Solar Rooftop หลายโครงการ กําลังการผลิตรวม 40 เมกะวัตต นอกจากนี้ ยังอยูในระหวางเตรียมลงทุนเพิ่มใน โครงการโรงไฟฟาพลังงานลมหวยบง ขนาด 60 เมกะวัตต ใชงบลงทุนประมาณ 4,000 กวาลานบาท คาดวาภายใน เดือนกันยายนนี้จะไดขอสรุปเรื่องการขอสนับสนุนเงิน ลงทุนจากสถาบันการเงิน และจะเริ่มดําเนินการไดในชวง ปลายป 2556 สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังงานลมหวยบง เปน โครงการแรกที่รวมลงทุนกับ บริษัท พัฒนาพลังงานลม จํากัด (WED) มีขนาดกําลังการผลิต 60 เมกะวัตต ซึ่ง บริษัท GUNKUL ถือหุนในสัดสวน 70% ไดผลิตและ จําหนายไฟฟาใหกับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จํานวน 1 สัญญา กําลังการผลิต 50 เมกะวัตต และการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) จํานวน 2 สัญญา กําลัง การผลิต 8 และ 2 เมกะวัตต คาดจะสามารถจําหนายไฟฟา ในเชิงพาณิชยไดภายในกลางป 2557

ด า นการลงทุ น โรงไฟฟ า จาก เครื่องยนต (Gas Engine) ขนาด 50 เมกะวัตต ที่ประเทศสาธารณรัฐสหภาพ เมียนมาร ขณะนีอ้ ยูร ะหวางเดินหนาเจรจา กับพันธมิตรในทองถิ่น ปจจุบันโครงการ อยู  ร ะหว า งการเจรจาอั ต ราการรั บ ซื้ อ ไฟฟา คาดจะไดขอสรุปภายในปนี้ “ในอนาคต บริษัท GUNKUL จะ เปนบริษัทที่มีความแข็งแกรงยิ่งขึ้น ทั้งในแงของผลการดําเนินงานที่เติบโต อยางตอเนื่อง ธุรกิจมีความสอดคลอง กับอุตสาหกรรมพลังงานที่กําลังเฟองฟู โดยมีความไดเปรียบทั้งในเรื่องของ ประสบการณและความเปนมืออาชีพ และยังมีอีกหลายโครงการที่จะเกิดขึ้น ในอนาคต ซึง่ จะสงผลบวกตอการดําเนิน งานของบริษัทแทบทั้งสิ้นและยังมีแผน จะเขาประมูลงานเพิม่ อีกประมาณ 2,500 ลานบาท”นายสมบูรณ กลาวสรุป และในเดื อ นสิ ง หาคมที่ ผ  า นมา บริษัทไดรับหนังสือแสดงเจตจํานงวาจาง ขอบเขตงานด า นติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ า รวมถึงการจัดหาอุปกรณ ในการติดตั้ง ระบบไฟฟ า สํ า หรั บ โรงผลิ ต ปู น ซี เ มนต มูลคาสัญญาประมาณ 367.27 ลานบาท โดยใชระยะเวลากอสราง 15 เดือน 49

Energy#59_p48-49_Pro3.indd 49

9/18/13 9:14 PM


Exclusive บุษยารัตน ตนจาน

50

Energy#59_p50-51_Pro3.indd 50

9/20/13 9:34 PM


“เสกสรรค ไตรอุโฆษ”

ผูมุบงมัริ่นตอบแทนสั หารมิงคมชสงลิเสรินมและอนุรักษสิ่งแวดลอม ดวยเจตนารมยอนั แนวแน ของมิชลิน ที่ตองการสราง “การสัญจรอยางยั่งยืน” มิชลินในประเทศไทย จึงได มุงเนนและใหความสําคัญตอ การพัฒนาเทคโนโลยี และ ยังมุงสรางจิตสํานึกดาน สิง่ แวดลอม การอนุรกั ษ พลังงานเพื่อใหเกิดสิ่งแวดลอม ที่ดีกวา รวมถึงการรณรงค ลดอุบัติเหตุทั้งบนทองถนน และภายในสถานที่ทํางาน เพื่อสรางความปลอดภัย สูงสุดใหกับชุมชน และ พนักงานของบริษัทฯ นายเสกสรรค ไตรอุโฆษ กรรมการ ผูจัดการใหญ กลุมสยามมิชลิน เปดเผยวา มิชลิน ไดดาํ เนินกิจกรรมดานสังคมเพือ่ การ สัญจรที่ดีกวาอยางยั่งยืนมาอยางตอเนื่อง อาทิ โครงการมิชลินอาสาพัฒนาชุมชนเปน โครงการที่มีพนักงานเปนผูขับเคลื่อนตั้งแต การเสนอโครงการผ า นคณะกรรมการ การลงพื้นที่เพื่อหาขอมูล และรางแผนงาน รวมกับชุมชน จนถึงขั้นตอนสุดทาย คือ ทํ า ทุ ก อย า งให เ กิ ด ขึ้ น จริ ง เพื่ อ สร า งการ เรียนรูรวมกันระหวางพนักงานมิชลินและ สมาชิกในชุมชนนั้น ๆ หนึง่ ในโครงการทีจ่ ดั ขึน้ ในปีนี้ คือโรงเรียน บานมวงฝาย อําเภอเสาไห จังหวัดสระบุรี

ที่ไดมอบสนามเด็กเลนจากยางรถยนต ใช แล ว ให กั บ ชุ ม ชนต า ง ๆ รวมทั้ ง โรงเรี ย น ในโครงการมิ ช ลิ น อาสาพั ฒ นาชุ ม ชน เพือ่ ใหเยาวชนไดเรียนรูแ ละสัมผัสถึงคุณคา ของการนําวัสดุเหลือใชมาทําใหเกิดประโยชน อี ก ครั้ ง ซึ่ ง เป น อี ก หนึ่ ง วิ ธี ใ นการลดใช ทรัพยากรธรรมชาติ เพือ่ สิง่ แวดลอมทีด่ กี วา อยางยัง่ ยืน โดยทีผ่ า นมามิชลินไดมอบสนาม เด็กเลนจากยางใชแลวใหกับโรงเรียนและ ชุมชนมากกวา 300 แหงทัว่ ประเทศ นอกจากนี้ การพั ฒ นาชุ ม ชนแล ว มิชลินยังใหความสําคัญกับการสงเสริมความ ปลอดภัยในการใชรถใชถนนใหกับสมาชิก ในชุมชนดวย เพราะการขับขีอ่ ยางปลอดภัย

จะชวยลดอุบัติเหตุรุนแรงได อีกทั้งยังจัดตั้ง หน ว ยบริ ก ารตรวจเช็ ค ลมยางร ว มกั บ หนวยงานภาครัฐและเอกชนที่สนใจ เชน กรมตํ า รวจทางหลวง กรมขนส ง ทางบก ธนาคารแหงประเทศไทย บริษทั ปูนซิเมนตไทย จํ า กั ด (มหาชน) เป น ต น ต อ มามิ ช ลิ น ไดริเริ่ม โครงการ Michelin Safe on the Road ขึ้ น เพื่ อ รณรงค ล ดอุ บั ติ เ หตุ แ ละ เพื่อความปลอดภัยสูงสุดบนทองถนน โดย มิชลินได ร  ว มกั บ กรมป อ งกั น และบรรเทา สาธารณภั ย มู ล นิ ธิ เ มาไมขั บ และบริ ษั ท ปตท. จํากัด (มหาชน) ในการสรางจิตสํานึก และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชรถใชถนน อยางปลอดภัยอีกดวย

51

Energy#59_p50-51_Pro3.indd 51

9/20/13 9:34 PM


Exclusive รังสรรค อรัญมิตร

“ราชบุรีโฮลดิ้ง” เพิ่มเปาผลิตไฟฟา

พรอมลุยลงทุนในตางประเทศ

ปจจุบันประเทศไทยมีความตองการใชไฟฟาเพิ่มมาก ขึ้น ตามความกาวหนาในการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม และการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งจํานวน ประชากรที่เพิ่มมากขึ้น ในอนาคตรัฐบาลมีแผนที่จะเพิ่ม กําลังการผลิตไฟฟาเพือ่ ใหสอดคลองกับการเติบโตดังกลาว โดยเพิ่มกําลังการผลิตไฟฟาใหมีทางเลือกหลายแนวทาง ดวยกัน ทั้งการสงเสริมใหผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน การสรางโรงไฟฟาถานหิน หรือการขยายกําลังการผลิต จากโรงไฟฟาเดิม รวมถึงการลงทุนสรางโรงไฟฟาในตาง ประเทศ ซึ่งบริษัทผลิตไฟฟาเอกชนไดรุกลงทุนและมีแผน ขยายกําลังการผลิตกันทั่วหนา

52

Energy#59_p52-53_Pro3.indd 52

9/6/13 10:43 PM


คุ ณ พงษ ดิ ษ ฐ พจนา กรรมการผู  จั ด การใหญ อนาคต บริษัทฯ ยังมีเปาหมายการลงทุนในประเทศอินโดนีเซียและฟลิปปนส บริษัทผลิตไฟฟาราชบุรีโฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนอีก ทีเ่ ศรษฐกิจมีการขยายตัวอยางตอเนือ่ งและมีแหลงเชือ้ เพลิงถานหินทีส่ ามารถใชผลิต บริษัทหนึ่งที่ตอบรับนโยบายของภาครัฐ โดยขยายการลงทุน ไฟฟาไดดี สวนประเทศญีป่ นุ เปนเปาหมายใหมทจี่ ะขยายการลงทุนตอไป เพราะมีลทู าง ทั้งในประเทศไทยและตางประเทศในการเสริมความมั่นคงดาน ในการเขาซือ้ กิจการและพัฒนาโครงการพลังงานทดแทน อยาง พลังงานแสงอาทิตย การผลิตไฟฟา และปรับแผนกลยุทธทางธุรกิจเพื่อขับเคลื่อน และพลังงานลม ปจจุบนั อยูใ นระหวางหาพันธมิตรทางธุรกิจเพือ่ เพิม่ ศักยภาพการลงทุน ไปสูเปาหมายในการเปนผูผลิตไฟฟาเอกชนชั้นนําของภูมิภาค สวนรายได ปจจุบันบริษัทมีรายไดมาจากฐานธุรกิจ 3 แหง คือ ประเทศไทย อาเซียน โดยผนึกความรวมมือกับกลุมการไฟฟาฝายผลิต สปป.ลาว และออสเตรเลีย ซึ่งบริษัทฯ มีแผนที่จะเพิ่มการลงทุนในสามประเทศ โดย แห ง ประเทศไทย (กฟผ.) และการผสานความร ว มมื อ กั บ มีโครงการทีอ่ ยูร ะหวางการเจรจาและศึกษาความเหมาะสมใน สปป.ลาว 3 โครงการ และ พันธมิตรทางธุรกิจเดิม พรอมแสวงหาพันธมิตรทางธุรกิจใหม ออสเตรเลีย 3 โครงการ ทีอ่ ยูใ นขัน้ ตอนการขออนุญาตกอสราง สําหรับในประเทศไทย ซึ่งจะชวยเพิ่มขีดความสามารถและศักยภาพดานการแขงขัน มีแผนทีจ่ ะลงทุนในโครงการผลิตไฟฟาขนาดเล็ก หรือ Small Power Producer (SPP) และการลงทุนของบริษัทฯใหเขมแข็งมากขึ้น จากพลังงานทดแทน และการรวมทุนในธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับกิจการไฟฟา โดยแผนกลยุทธและทิศทางการดําเนินงานยังคงเนนการ อยางไรก็ตาม ปจจุบนั บริษทั ฯ มีกาํ ลังการผลิตไฟฟาในภาพรวมของโรงไฟฟา ลงทุนในโครงการที่ใชเชื้อเพลิงหลักและพลังงานทดแทน ซึ่ง ทีเ่ ดินเครือ่ งแลว 5,162.95 เมกะวัตต และอยูร ะหวางดําเนินการกอสรางโครงการ SPP รูปแบบการลงทุนจะปรับใหสมดุลระหวางการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟาพลังงานลมทีเ่ ขาคอ จังหวัดเพชรบูรณ ขนาด 33.11 เมกะวัตต ระบบกาซ ใหมและการซื้อกิจการเพื่อใหบริษัทฯเติบโตอยางมั่นคงและมี ธรรมชาติแบบโคเจนเนอเรชัน่ 2 โครงการ ทีจ่ งั หวัดราชบุรี 84 เมกะวัตต และปทุมธานี เสถียรภาพทางการเงิน พรอมกันนี้ บริษัทฯ ยังมีเปาหมายเพิ่ม 48.80 เมกะวัตต สวน VSPP กําลังดําเนินการกอสรางโรงไฟฟาชีวมวลเชือ้ เพลิงกะลาปาลม การลงทุนในตางประเทศโดยใหความสําคัญกับประเทศเพื่อน ทีจ่ งั หวัดสงขลา ขนาดกําลังการผลิต 3.96 เมกะวัตต รวมทัง้ โรงไฟฟา IPP ที่ สปป.ลาว บานเปนอันดับตน ๆ ไมวาจะเปน ประเทศลาว พมา กัมพูชา โรงไฟฟาหงสา แขวงไซยะบุรี 751.20 เมกะวัตต โรงไฟฟาพลังงานนํา้ เซเปยน-เซนํา้ นอย เพราะสามารถผลิตไฟฟาและจําหนายกลับมายังประเทศไทย แขวงจําปาสักและแขวงอัตตะปอ 102.50 เมกะวัตต โรงไฟฟาพลังงานนํา้ นํา้ งึม 3 แขวง ได ชวยเสริมสรางความมั่นคงดานระบบไฟฟาและชวยรักษา นครหลวงเวียงจันทน 110 เมกะวัตต ระดับอัตราคาไฟฟาไมใหสูงเกินไป เพื่อสนับสนุนการพัฒนา สําหรับโครงการใหมทอี่ ยูร ะหวางการพิจารณาลงทุนมีอกี 7 โครงการ ประกอบดวย เศรษฐกิจ นอกจากนี้ ยังเล็งเห็นถึงโอกาสการลงทุนในธุรกิจ โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม 2 แหง ในประเทศออสเตรเลีย กําลังผลิตรวม 420 เมกะวัตต ที่เกี่ยวเนื่องกับกิจการไฟฟา ไดแก ระบบการสง การฝกอบรม และโครงการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย กําลังผลิต 20 เมกะวัตต โครงการผลิตไฟฟา ดานการเดินเครื่องและบํารุงรักษาในประเทศเหล านั้น เพื่อ พลังแสงอาทิตยทปี่ ระเทศอืน่ ในเอเชีย 3 แหง กําลังผลิตรวม 45 เมกะวัตต และยังตอง สรางรายไดเสริมใหกับบริษัทฯ อีกทางหนึ่งดวย แสวงหากําลังการผลิตขนาดใหญอกี ประมาณ 1,000 เมกะวัตต จากโครงการในประเทศ เพือ่ นบานเพือ่ ใหบรรลุเปาหมาย 7,800 เมกะวัตต ซึง่ เปนกําลังการผลิตจากพลังงานทดแทน 500 เมกะวัตต ภายในป 2559 53

Energy#59_p52-53_Pro3.indd 53

9/6/13 10:43 PM


Special Report บุษยารัตน ตนจาน

เทสโก โลตัส เดินหนารณรงคลดการใช ถุงพลาสติกอยางตอเนื่อง ตั้งเปานําสังคมไทย สูมิติใหมของการจับจายแบบไรถุงพลาสติก จัดเต็มแคมเปญ “ภูมใิ จ ไมใชถงุ ” ปลูกความคิด ใหม ให ค นไทยไม ใ ช ถุ ง พลาสติ ก โดยตั้ ง เป า หมายลดผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม อยางจริงจังและตอเนื่อง ทั้งจากการดําเนิน ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ตลอดจนการรณรงค ใ ห พนักงาน ผูบริโภค และชุมชน มีสวนรวม ในกิจกรรมตาง ๆ ที่สงเสริมการประหยัด พลั ง งานและอนุ รั ก ษ สิ่ ง แวดล อ มโดยรวม ของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิง่ การรณรงค ให ผู  บ ริ โ ภคมี พ ฤติ ก รรมที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมดวยการลดใชถุงพลาสติก

ปลูกความคิดใหม ใหคนไทยไมใชถุงพลาสติก คุ ณ ช า ค ริ ต ดิ เ ร ก วั ฒ น ะ ชั ย รองกรรมการผูจ ดั การ แผนกกิจการสาธารณะ เทสโก โลตัส เผยวา เทสโก โลตัส ตระหนักถึง ป  ญ ห า สิ่ ง แ ว ด ล  อ ม ที่ เ กิ ด จ า ก ข ย ะ ถุงพลาสติก จึงไดเดินหนารณรงคลดการใช ถุงพลาสติกตลอดระยะเวลาหลายปทผี่ า นมา โดยในปทแี่ ลวสามารถลดจํานวนถุงพลาสติก ไดถึง 8 ลานใบ และในปนี้ตั้งเปาจะลดใช ถุงพลาสติกใหไดอยางนอย 12 ลานใบ จาก การจัดโครงการเต็มรูปแบบ ปลูกความคิดใหม ใหคนไทยไมใชถุงพลาสติก และเริ่มทดลอง เปดตัว รานคาปลอดถุงพลาสติก ทั้งนี้ เพื่อเปนการกระตุนพฤติกรรม การลดใช ถุ ง พลาสติ ก เทสโก โลตั ส ขอขอบคุณลูกคาที่ใชชีวิตสีเขียว ดวยการ มอบแตมคลับการดใหลูกคา ทุกครั้ง ทุกวัน ที่ลูกคามาซื้อของที่ เทสโก โลตัส แลวไมรับ ถุงพลาสติก ซึ่งจะเปลี่ยนแตมดังกลาวเปน คูปองเงินสดสงใหลูกคาถึงบานทุกไตรมาส โดยลูกคาจะไดรับแตมกรีนพอยท 20 แตม ต อ การซื้ อ สิ น ค า หนึ่ ง ครั้ ง และ 40 แต ม

ตอการซือ้ สินคาหนึง่ ครัง้ ในจํานวนมากนําใส รถเข็น เมื่อลูกคาซื้อถุงผาใน เทสโก โลตัส ระหวางวันที่ 26 ก.ย. - 29 ต.ค. นี้ จะได รับแตมกรีนพอยทเพิ่มเปน 500 แตม จาก ปกติจะไดรับแตมกรีนพอยทเพิ่ม 25 แตม นอกจากนี้ หากผูบ ริโภคไมสะดวกทีจ่ ะ ถือของหลายชิน้ กลับบาน เทสโก โลตัส ยังเพิม่ ตั ว ช ว ยด ว ยการจั ด หาถุ ง ผ า ลายใหม ๆ มาจํ า หน า ยทุ ก สาขา ในราคาประหยั ด โดยจั ดอบรมพนักงานใหช วยจูงใจลูกคา ในการงดใช ถุ ง พลาสติ ก อี ก ด ว ย และยั ง ได เ ป ด ตั ว คอนเซ็ ป ต ใ หม ร า นค า ปลอด ถุงพลาสติก โดยจะทําการทดลองในราน เทสโก โลตั ส เอ็ ก ซ เ พรส 2 สาขา คื อ เกาะสมุย และ จังหวัดภูเก็ต ทัง้ นี้ เทสโก โลตัส จะศึกษาพฤติกรรมผูบริโภค และผลกระทบ ด า นการบริ ก ารต า ง ๆ โดยจะนํ า สิ่ ง ที่ ไ ด เรียนรูจากโครงการทดลองมากําหนดเปน นโยบายในการใช ค อนเซ็ ป ต นี้ ใ นอนาคต น อ ก จ า ก โ ค ร ง ก า ร ล ด จํ า น ว น ถุงพลาสติกแลว เทสโก โลตัส ยังใหรางวัล เป น การขอบคุ ณ แก ลู ก ค า ที่ เ ลื อ กซื้ อ “ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม” (Green Products) โดยไดดาํ เนินโครงการนี้ มาอยางตอเนื่อง อาทิ F&F แฟชั่นแบรนด

พิเศษจากอังกฤษ ที่มีวางจําหนายเฉพาะ เทสโก โลตัส ล าสุ ดไดคิดคนนวัตกรรม เทคโนโลยีใหม Recycling fabric โดยการ นํ า ขวดพลาสติ ก เก า กลั บ มารี ไ ซเคิ ล เป น วัตถุดิบในการผลิตเสนดายโพลีเอสเตอร และ Waterless process เทคโนโลยีลด ปริมาณการใชนํ้าในขั้นตอนการฟอกยีนส ลง 48 ลิตรตอการผลิตยีนส 1 ตัว ซึ่ง F&F ช ว ยประหยั ด นํ้ า จากการผลิ ต ได ก ว า 20,000 ลิตรตอเดือน และเมื่อซื้อสินคาที่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอมจาก F&F ในชวงวันที่ 30 ต.ค. – 27 พ.ย.นี้ จะไดรบั แตมกรีนพอยท เพิ่มเปน 500 แตม จากปกติ 25 แตม ไมเพียงเทานัน้ เทสโก โลตัส ยังเดินหนา ลดการใชพลังงาน และลดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดจากการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท อาทิ ลงทุน 1,200 ลานบาท ในปที่ผานมา ติดตั้งหลอดประหยัดไฟและ อุ ป กรณ ป ระหยั ด พลั ง งานต า งๆ รวมทั้ ง ทดลองนวั ต กรรมพลั ง งานทดแทนด ว ย การเปด “สโตรปลอดคารบอน” แหงแรก ของเอเชียและของประเทศไทย ตลอดจน จัดโครงการชวยรักษาสิง่ แวดลอมของชุมชน โดยตรง เชน การปลูกปาไมใหได 9 ลานตน ภายในปนี้

54

Energy#59_p54-55_Pro3.indd 54

9/23/13 11:26 PM


สนพ. ระดมความเห็นนักวิชาการ ขับเคลื่อนการพัฒนาพลังงานไทยในอนาคต

เพื่อบรรลุเปาหมายตามแผนอนุรักษ พลังงาน 20 ป และแผนพัฒนาพลังงาน ทดแทนและพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป กระทรวงพลั ง งานได ส  ง เสริ ม สนั บ สนุ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและการใช พั ฒ นา พลังงานทดแทนในหลายดานดวยกันไมวา จะเปน การอนุรักษพลังงานแบบมีสวนรวม การสนั บ สนุ น เรื่ อ งการรั บ ซื้ อ ไฟฟ า จาก พลังงานทดแทนในราคาที่สูง การสงเสริม การใชเชื้อเพลิงที่มีสวนผสมของพลังงาน ทดแทน การจั ด ประกวดด า นพลั ง งาน การจัดสัมมนา การสงเสริมดานวิชาการ เพื่อการพัฒนาดานพลังงาน ฯลฯ ลาสุด สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) จั ด เสวนาเชิ ง วิ ช าการด า นการพั ฒ นา พลังงานของประเทศไทยเพื่อระดมนักคิด แลกเปลี่ ย นความรู  ด  า นพลั ง งานสู  ก าร ขับเคลือ่ นการพัฒนาพลังงานไทยในอนาคต โดย นายสุ เ ทพ เหลี่ ย มศิ ริ เ จริ ญ ผู  อํ า นวยการสํ า นั ก งานนโยบายและแผน พลังงาน (สนพ.) ในขณะนัน้ กระทรวงพลังงาน เป ด เผยว า เพื่ อ สร า งองค ค วามรู  ใ ห กั บ บุ ค ลากรและเจ า หน า ที่ ที่ เ กี่ ย วข อ ง ได รั บ ความรูความเขาใจและนําไปใชในการปฏิบัติ งานไดอยางมีประสิทธิภาพ อันจะนําไปสู เปาหมายเพิ่มการใชพลังงานทดแทนและ พลั ง งานทางเลื อ กเป น ร อ ยละ 25 ของ

การใชพลังงานทั้งหมดในป 2564 และลด ระดับการใชพลังงานตอผลผลิต (Energy intensity) ลงรอยละ 25 ในป 2573

สนพ. รวมกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม (มช.) ได ดํ า เนิ น โครงการ “จั ด เสวนา เชิ ง วิ ช าการด า นการพั ฒ นาพลั ง งานของ ประเทศไทย” ขึ้น ซึ่งในป 2556 นี้ จะมีการ จัดเสวนารวมทั้งสิ้น 4 ครั้ง ในหัวขอเรื่อง เชือ้ เพลิงจากชีวมวลยุคที่ 2 (2nd generation biofuels), การพัฒนาเทคโนโลยี Clean Coal, มาตรการสนับสนุนการเดินทางดวย ระบบขนส ง มวลชน และ ระบบโครงข า ย ไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) โดยเชิญ ผูเชี่ยวชาญในสาขาดังกลาวทั้งในประเทศ และตางประเทศมาใหความรูแกบุคลากร และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ โดยหัวขอเสวนา จะเนนเรือ่ งนวัตกรรมใหมๆ อันจะนําไปสูก าร ดําเนินนโยบายดานการอนุรกั ษพลังงานและ พลังงานทดแทนของประเทศในอนาคต

“การขั บ เคลื่ อ นพั ฒ นาพลั ง งาน นอกจากการส ง เสริ ม การวิ จั ย และการ สนั บ สนุ น การพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ล ว ยังจําเปนตองมีการสรางองคความรูดาน พลั ง งานให กั บ บุ ค ลากรและเจ า หน า ที่ ทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ใหมคี วามรูค วามเขาใจในการ ปฏิบัติงานตอไป โดย สนพ. ไดจัดเสวนา ไปแล ว 1 ครั้ ง เมื่ อ เดื อ นสิ ง หาคม 2556 เรือ่ งเชือ้ เพลิงชีวมวลยุคที่ 2 โดยมีนกั วิชาการ ทัง้ ในและตางประเทศมารวมแลกเปลีย่ นความ คิดเห็นที่เปนประโยชนมากมาย สวนการ จัดงานเสวนาอีก 3 ครัง้ จะมีขนึ้ ในเร็วๆ นีค้ าดวา จะไดรับองคความรูใหมๆ เพื่อนํามาศึกษา วิจัย พัฒนาตอยอด และจัดทํานโยบายดาน พลังงานของประเทศตอไป” ผอ.สนพ.กลาว ผศ.ดร.อนุชา พรมวังขวา อาจารย คณะวิ ศ วกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม เป ด เผยภายหลั ง การเสวนา เรื่ อ ง “เชื้ อ เพลิ ง จากชี ว มวลยุ ค ที่ 2 (2nd generation biofuels)” วา ประเทศไทย เปน ประเทศเกษตรกรรม มีวัสดุเหลือ ทิ้ง ทางการเกษตรเป น จํ า นวนมาก ทํ า ให มี ศั ก ยภาพในการผลิ ต เชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวล สูงถึง 11,900 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบ (ktoe) ทัง้ นี้ เชือ้ เพลิงจากชีวมวลยุคที่ 2 นีจ้ ะ เปนพลังงานทดแทนเชิงพาณิชยในอนาคต อันใกล จะผลิตจากชีวมวลที่มีสวนประกอบ ของเซลลูโลสและลิกนิน ซึ่งสวนใหญเปน วัสดุเหลือทิง้ ทางการเกษตร อาทิ ไมเนือ้ ออน เศษไม ไมโตเร็ว และที่สําคัญคือไมกระทบ ตอวงจรอาหารมนุษยและสัตว แตกตาง จากเชื้อเพลิงชีวมวลยุคที่ 1 ที่มาจากแปง นํ้าตาล และไขมัน ซึ่งเมื่อใชในปริมาณมาก มีโอกาสกระทบตอวงจรอาหารมนุษยและ สัตว นอกจากนี้ เชื้อเพลิงชีวมวลยุคที่ 2 จะ เนนการเปลี่ยนชีวมวลเปนเชื้อเพลิงสําหรับ ยานยนต โดยคาดว า จะช ว ยลดการเกิ ด กาซเรือนกระจกไดรอยละ 90 เมื่อเทียบกับ การใชเชื้อเพลิงจากปโตรเลียม ในขณะที่ เชือ้ เพลิงชีวมวลจากยุคที่ 1 ลดการเกิดกาซ เรือนกระจกไดรอยละ 20-30” 55

Energy#59_p54-55_Pro3.indd 55

9/23/13 11:26 PM


Auto Update BarBeer

Mitsubishi ATTRAGE ¡ŒÒÇ·Õ่à˹×͡NjҢͧÍÕ⤤Òà 4 »ÃÐμÙ

การแข ง ขั น ของตลาดรถยนต ข นาดเล็ ก ประหยั ด พลั ง งาน หรื อ อีโ คคาร ยั งเปนที่จับตามอง ทั้ งจากผูบริ โ ภคและคา ยรถยนตเ พราะ เป น ตลาดที่ ม าแรง ด ว ยอดขายจํ า นวนมหาศาล ส ว นหนึ่ ง เป น เพราะ ปจจัยดานราคาเชื้อเพลิงที่นับวันจะสูงขึ้น และราคาสามารถจับตองได สําหรับคนรุนใหม คาย มิตซูบิชิ มอเตอรส เปนอีกคายที่แมจะออกตัวชา สํ า หรั บ ตลาดกลุ  ม นี้ แต ก็ ส ามารถเกาะกลุ  ม ผู  นํ า ตลาดได ไ ม ย ากนั ก โดยเฉพาะอีโคคาร 4 ประตู อยาง Mitsubishi ATTRAGE ภายใตแนวคิด “แอททราจ…กาวทีเ่ หนือใคร”

Mitsubishi ATTRAGE เปดตัวอยาง เป น ทางการกั บ มาตรฐานใหม ข องรถ อีโคคาร ซีดาน เนนการใชงานเปนหลัก ความ สะดวกสบาย และความสนุ ก ในการขั บ ขี่ ที่สําคัญตองตั้งอยูบนการประหยัดนํ้ามัน ตามแบบฉบั บ ของรถยนต อี โ คคาร ด ว ย เทคโนโลยีการออกแบบชั้นสูง และอุปกรณ อํานวยความสะดวกที่มีใหอยางครบครัน เปนรถยนตที่อยูภายใตโครงการโกลบอล สมอลล มีการสงออกไปจําหนายยังประเทศ ตาง ๆ ทั้งประเทศญี่ปุน ออสเตรเลีย รวมถึง ประเทศในภูมิภาคอาเซียนและยุโรป

ATTRAGE เปดตั วและจํ าหนายใน ประเทศ รวม 4 รุน คือ รุน GLX เกียรธรรมดา และ GLX เกียรอตั โนมัติ ทีม่ าพรอมอุปกรณ มาตรฐานและความปลอดภั ย ครบครั น รุน GLS มาพรอมอุปกรณมาตรฐานใหม เพื่อเพิ่มความสะดวกสบายสําหรับการขับขี่ ในทุกวัน และรุน GLS Ltd. ทีม่ าพรอมอุปกรณ อํานวยความสะดวกที่เหนือกวา ไมวาจะเปน เนวิ เ กเตอร พ ร อ มหน า จอระบบสั ม ผั ส กล อ งมองหลั ง ปุ  ม ควบคุ ม เครื่ อ งเสี ย ง บนพวงมาลั ย เบาะหนั ง และระบบความ ปลอดภัยโดดเดนครบครัน

56

Energy#59_p56-58_Pro3.indd 56

9/16/13 11:37 PM


ดวยโจทยที่เปนรถยนตสําหรับกลุม คนรุนใหม และตองการความคลองตัวสูงใน การขับขี่ การออกแบบจึงเนนใหเปนรถยนต นัง่ ขนาดเล็ก ออกแบบสวนหนาใหสนั้ ลงชวย เพิ่ ม ทั ศ นวิ สั ย ในการขั บ ขี่ แ ละง า ยต อ การ ควบคุม มาพรอมรัศมีวงเลี้ยวที่แคบเพียง 4.8 เมตร พรอมการออกแบบตามหลัก อากาศพลศาสตรที่สมดุลกับพื้นที่ภายใน ห อ งโดยสารที่ ก ว า งขวาง และเส น สาย ขางตัวรถทีป่ ราดเปรียวจากดานหนาจรดทาย สมรรถนะการขั บ เคลื่ อ นได จ าก เครือ่ งยนตนาํ้ หนักเบาขนาด 1.2 ลิตร พรอม ระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ CVT และเกียร ธรรมดา 5 จังหวะ อัตราการประหยัดนํ้ามัน สูงสุดถึง 22 กิโลเมตร/ลิตร ซึ่งสูงสุดในรถ ระดับเดียวกัน เปนผลมาจากคาสัมประสิทธิ์ แรงเสียดทาน 0.29 รวมถึงโครงสรางตัวถัง

นํา้ หนักเบาจากโครงสรางเหล็กความแข็งแรงสูง ทําใหชว ยประหยัดนํา้ มันมากขึน้ แตยงั ใหความ มั่นใจในการควบคุมและความสะดวกสบายใน การขับขี่ อีกทั้งความสะดวกสบายดวยประตูที่ กวางขึน้ ชวยเพิม่ ความสะดวกในการเขา-ออก รวมถึงพื้นที่นั่งและที่วางขาสําหรับผูโดยสาร ตอนหลังที่กวางและสะดวกสบายขึ้น

57

Energy#59_p56-58_Pro3.indd 57

9/16/13 11:37 PM


ด า นระบบอํ า นวยความสะดวกและ ความปลอดภัย ยังคงแบบฉบับของ มิตซูบชิ ิ ETACs ทีเ่ พิม่ ความสะดวกสบายในการขับขี่ พร อ มฟ ง ก ชั่ น ภายในห อ งโดยสารที่ ใ ห ทั้ ง เบาะหนั ง พวงมาลั ย หุ  ม หนั ง พร อ ม ระบบควบคุมเครื่องเสียง ระบบปรับอากาศ อัตโนมัติ และระบบความบันเทิงครบครัน

ดานระบบความปลอดภัยไดมาตรฐานโลก ด ว ยโครงสร า งตั ว ถั ง แบบ RISE Body เอกสิทธิ์เฉพาะของมิตซูบิชิ มอเตอรส และ คานกันกระแทกดานขางที่ประตูทั้ง 4 บาน ชวยเสริมความแข็งแกรงดวยสวนรับแรง กระแทกจากเหล็กทีแ่ ข็งแรงเปนพิเศษ High Tensile Steel ชวยปกปองแรงกระแทก

จากการชนไดอยางมีประสิทธิภาพ มั่นใจ ดวยระบบเบรก ABS พรอมระบบกระจาย แรงเบรกแบบอิเล็กทรอนิกส EBD ถุงลม นิ ร ภั ย ด า นคนขั บ และผู  โ ดยสารตอนหนา และเข็มขัดนิรภัยคูหนาแบบ ELR 3 จุด พรอมระบบดึงกลับอัตโนมัติแบบคู พรอม กล อ งมองหลั ง และกุ ญ แจ KOS

เปรียบเทียบรถระดับเดียวกัน

หรือใกลเคียง

58

Energy#59_p56-58_Pro3.indd 58

Honda Brio Amaze

Nissan Almera

9/16/13 11:37 PM


Energy#59_p59_Pro3.ai

1

9/17/13

12:58 AM


Have To Know บารเบียร

ทําไมตอง…

แบตเตอรี่ ลิเธียม ปจจุบันเทคโนโลยีกาวหนาไปมาก มีการคิดคนอุปกรณไฟฟาตางๆ มากมาย เพือ่ ตอบสนองทุกความตองการของมนุษย หากเปนเครือ่ งใชไฟฟา ที่ใชพลังงานจากไฟบาน ก็ไมมีปญหาอะไรกับการใชไฟฟาของอุปกรณ นั้ น ๆ แต ห ากเป น อุ ป กรณ ที่ ไ ม มี ป ลั๊ ก สํ า หรั บ รั บ ไฟฟ า อยู  ภ ายในเพื่ อ เปนแหลงพลังงานแลวละก็ บทบาทของ “แบตเตอรี”่ จึงเกิดขึน้ หากถามถึง วิ วั ฒ นาการของแบตเตอรี่ มี ม านานจนถึ ง ป จ จุ บั น ที่ ไ ด ยิ น คุ  น หู ที่ สุ ด ตองยกใหกับ “แบตเตอรี่ ลิเธียม” แบตเตอรี่ ลิ เ ธี ย ม (Lithium Battery : Li) เข า มามี บ ทบาทต อ การ ดําเนินชีวิตในปจจุบันคอนขางมาก มากซะ จนบางครั้ ง เราเองก็ แ ทบไม สั ง เกตเลย ที่ ใ กล ตั ว มากที่ สุ ด คงจะเป น ในโทรศั พ ท เคลื่อนที่ ที่พกติดตัวกันทุกคน ซึ่งโครงการ แบตเตอรี่ชนิดลิเธียม มีการวิจัยมาเกือบ รอยปแลว เพราะลิเธียมเปนโลหะที่เบาที่สุด ใหแรงดันไฟฟาสูงสุด และยังมีความหนา แน นของพลังงานสูงที่สุดในนํ้าหนักที่เทา กัน แตกวาจะออกมาเปนแบตเตอรี่ใหไดใช กันจริงก็เปนชวงยุค 70 และการใชงานสวน ใหญในยุคนั้นเปนการใชงานแบบครั้งเดียว เมื่อหมดกระแสไฟก็ทิ้ง ช ว งแรกของขั้ น ตอนการวิ จั ย โลหะ ลิ เ ธี ย มเพื่ อ ใช ใ นแบตเตอรี่ ป ญ หาที่ พ บ ไม ไ ด เ ป น เรื่ อ งของกํ า ลั ง ไฟ แต เ ป น เรื่ อ ง

ของความปลอดภั ย เพราะมี ค วามไวต อ ปฏิกริ ยิ าเคมี สงผลใหเกิดการระเบิดในขณะ ชาร จ ไฟ จึ ง ได เ ปลี่ ย นจากการใช ลิ เ ธี ย ม ในรู ป ของโลหะ มาเป น รู ป ของไอออน (Lithium-ion : Li-ion) แทน ซึ่งมีความ ปลอดภัยมากกวา ขอดีของลิเธียมไอออน คือ เปนเซล พลังงานที่มีความหนาแน นและแรงดันสูง กว า ทั้ ง ยั ง ไม มี ป  ญ หาเรื่ อ งความจํ า ของ แบตเตอรี่ ไมตองมีการลางแบตเตอรี่ หรือ การใช แ บตเตอรี่ ใ ห ห มดเกลี้ ย งแล ว ค อ ย ชารจใหม อยางที่ตองทําในแบตเตอรี่ชนิด นิ เ กิ ล เมทั ล ไฮไดรต และนิ เ กิ ล แคดเมี ย ม ที่ไมจําเปนตองกระตุนกอนใชหลังเก็บเปน เวลานาน มีอตั ราการคายประจุตาํ่ และไมตอ ง ดูแลรักษามากนัก

60

Energy#59_p60-61_Pro3.indd 60

9/11/13 11:04 PM


แต แ บตเตอรี่ ลิ เ ธี ย มก็ มี ข  อ จํ า กั ด ตรงที่ เ สี ย หายได ง  า ย หากมี ก ารใช ง าน อยางไมถูกวิธี จึงจําเปนตองมีวงจรปองกัน ประกอบอยู  ใ นแพคแบตเตอรี่ เพื่ อ ให แบตเตอรี่ ทํ า งานอยู  ใ นช ว งที่ ป ลอดภั ย วงจรปองกันจะจํากัดแรงดันสูงสุดของเซล ขณะชารจ รวมทั้งปองกันไมใหมีการใชงาน จนแรงดันตํ่าจนเกินไป ปองกันการลัดวงจร แรงดันที่ตํ่าเกินไป สูงเกินไป และกระแสไหล ที่ สู ง ผิ ด ปกติ หากมี ก ารลั ด วงจรจะทํ า ให เซลลิ เ ธี ย มสู ญ เสี ย ความจุ หรื อ เสี ย หาย เปนการถาวรได นอกจากนี้ ตัวแบตเตอรีจ่ ะมี การเสื่อมอายุตามเวลา แมจะไมมีการใชงาน อย า งไรก็ ต าม ยั ง มี แ บตเตอรี่ ช นิ ด ลิเธียมโพลิเมอร (Lithium-Polymer : Li-Po) ที่ในเรื่องของการใชงานอาจไมแตกตางจาก ลิเธียมไอออนมากนัก แตจะแตกตางกัน

ในเรื่องของสารอิเล็กโตรไลท ซึ่งแบตเตอรี่ ลิเธียมโพลีเมอรจะมีฟลมคลายพลาสติก รวมกับอิเล็กโตรไลทชนิดเจล แทนที่จะใช แผนเมมเบรนทีม่ รี พ ู รุนเปนตัวสงผานไอออน ลิเธียมโพลีเมอร ซึ่งในดานของการผลิตจะ งายกวา แตใหความแข็งแรง ปลอดภัย และ บางกวา สามารถทําใหบางไดถงึ 1 มิลลิเมตร และสามารถผลิตใหเปนรูปทรงตาง ๆ ไดตาม ความตองการในการใชงาน อันทีจ่ ริง ในปจจุบนั มีการใชแบตเตอรี่ ลิเธียมสําหรับอุปกรณไฟฟาอยางแพรหลาย อาจไมใชเทคโนโลยีที่ดีที่สุด แตตองเขาใจ ว า เทคโนโลยี มี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง ในอนาคตอาจมีแหลงพลังงานจากแบตเตอรี่ แบบใหม ๆ เกิดขึน้ เราในฐานะผูใ ชเทคโนโลยี คงตองรอดูกนั ตอไปวา จะมีอะไรใหม ๆ ใหเห็น กันอีกในอนาคต

61

Energy#59_p60-61_Pro3.indd 61

9/11/13 11:02 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

ö

Audi W rthersee e-bike นวัตกรรมจักรยานไฟฟ้า

การใชชวี ติ แบบคนเมือง นับวันยิง่ ใชชวี ติ ยากขึน้ ทุกดาน ดวยการแขงขันทีส่ งู ในทุกดาน บวกกับ จํานวนประชากรในเมืองเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ทั้งที่ขนาดของเมืองเทาเดิม การเดินทางสัญจรจากที่ หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งจึงเปนเรื่องยากลําบากสําหรับเมืองใหญ การใชจักรยานจึงไดรับการตอบรับ และกําลังขยายตัวมากขึน้ เพราะสามารถเดินทางไปไดทกุ ทีโ่ ดยไมใชพนื้ ทีม่ ากนัก และไมกอ ใหเกิด มลภาวะ หากมีการขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาเขามาเกี่ยวของในจักรยาน ก็จะชวยยนระยะ เวลาในการเดินทางไดอีก โดยที่ตัวเลขการกอมลภาวะยังเปนศูนยเชนเดิม แบรนดรถยนตแถวหนาจากเยอรมนี Audi ไดใหความสําคัญกับการเดินทางในรูป แบบของจักรยานดวยการออกแบบตนแบบ จักรยานไฟฟา Electric Bike(e-bike) ที่ ชือ่ วา Wörthersee e-bike โดยตัง้ ใจใหเปน สุดยอดพาหนะสองลอทีม่ คี วามลํา้ สมัยไมแพ รถยนตที่ผลิตโดยตนสังกัดเลยแมแตนอย

Wörthersee e-bike ของ Audi ถูกออกแบบใหมี ความพิเศษดวยนํา้ หนักเพียง 24 ปอนด ตัวถังเนนใหเฟรม มีขนาดกะทัดรัด ทําจากคารบอนไฟเบอรเสริมแรงโพลิเมอร ใหจดุ ศูนยถว งทีต่ าํ่ กวาปกติ ทําใหมคี วามคลองตัวสูง และ วัสดุคารบอนไฟเบอรเสริมแรงโพลิเมอรยังถูกนํามาผลิต เปนลอของ Wörthersee e-bike อีกดวย โดยเลือกเปน ลอขนาด 26 นิว้

62

Energy#59_p62-63_Pro3.indd 62

9/23/13 11:10 PM


e-bike คันนีถ้ อื เปนนวัตกรรมในการออกแบบ เฉพาะของ Audi หรือ Audi ultra blade ที่ทีมงาน ผู  อ อกแบบบอกว า จั ก รยานคั น นี้ ถื อ เป น สุ ด ยอด นวัตกรรมในการออกแบบและงานฝมือ เพื่อใหได ประสบการณในการขับขี่ที่สนุกสนาน สปอรต และ โลดโผน ดวยการติดตั้ง Computer แบบ built-in พรอมระบบจอสัมผัสที่แสดงผลความเร็วในขณะขับขี่ ระยะทาง ความลาดชัดของเสนทาง ตลอดจนการ บันทึกขอมูลเก็บไวเพื่อเปดดูในภายหลัง สํ า หรั บ การขั บ ขี่ Wörthersee e-bike สามารถขับเคลื่อนได 3 โหมด คือ โหมดการปน จักรยานแบบปกติ โหมดการป นจักรยานบวกกับ พลังงานไฟฟา (ดวยความเร็วสูงสุดที่ 50 ไมล/ชัว่ โมง) และโหมดใชพลังงานไฟฟาลวนจากมอเตอรไฟฟา เมือ่ เลือกการทํางานแบบ eGrip ก็จะสามารถขับเคลือ่ นได ดวยตัวเอง ดวยความเร็วสูงสุดที่ 31 ไมล/ชั่วโมง โดย ไดรบั แหลงพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรีล่ เิ ธียมไอออน 530 Wh ชนิดถอดเปลี่ยนได โดยใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมงในการชารจแบตหนึ่งครั้ง นอกจากนี้ Wörthersee e-bike ยังมีระบบ การควบคุมจักรยานแบบอิเลคทรอนิคส ที่ชวยให ผูขับขี่สามารถแสดงสมรรถนะและความสามารถใน การขับขี่แบบตาง ๆ เชน Power Wheelie mode สําหรับผูขับขี่ที่มีประสบการณนอย หรือ Balanced Wheelie mode สําหรับนักปนที่ชอบความทาทาย และ Training mode สําหรับฝกซอม สามารถ ควบคุมดวยสมารทโฟน หรือ กําหนดโดยตรงจากตัว จักรยาน เชื่อมตอกับ Social network แสดงสถานะ การปน อัพเดทสถานะ แมขณะขับขี่ 63

Energy#59_p62-63_Pro3.indd 63

9/23/13 11:10 PM


Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และ มิชลิน รวมกันสงเสริมและ พัฒนานักศึกษาระดับอาชีวศึกษาในการสรางสรรคสงิ่ ประดิษฐจากยางใชแลว เพือ่ นําความรูเ กีย่ วกับยางและการจัดการยางรถทีใ่ ชแลว ไปประยุกตใชในการ คิดคน ออกแบบ สรางสรรคนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐจากยางรถที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม และนําไปใชใหเกิดประโยชนอยางคุมคากับชุมชนและสังคม

อาชีวศึกษา จับมือ มิชลิน พัฒนาแนวคิด

สิ่งประดิษฐจากยางใชแลว

เพื่อสังคม

นายเสกสรรค ไตรอุโฆษ กรรมการ ผู  จั ด การใหญ กลุ  ม สยามมิ ช ลิ น เผยว า ในฐานะผูผลิตยางชั้นนําของโลก ใหความ สําคัญตอสังคมและสิ่งแวดลอมอยางมาก ซึ่งเปนหนึ่งในพันธกิจหลักดานสิ่งแวดลอม โดยคํานึงถึงอายุของยาง เริ่มตั้งแตวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑและการใชงาน ด ว ยความตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม ที่ ผ  า นมาได ริ เ ริ่ ม โครงการ สนามเด็ ก เล น จากยางใช แ ล ว ของมิ ช ลิ น เมื่อป พ.ศ. 2544 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ

สรางจิตสํานึกลดการใชทรัพยากร ธรรมชาติเพือ่ อนุรกั ษสงิ่ แวดลอม โดย นํายางรถยนตใชแลวมาประดิษฐเปน ของเลนสําหรับเด็ก เชน กระดานหกนัง่ กระดานหกยื น ชิ ง ช า สะพานโซ อุ โ มงคย าง ฯลฯ เพื่อมอบใหเปน สนามเด็กเลนของโรงเรียน ชุมชน และ สวนสาธารณะทัว่ ประเทศ ซึง่ โครงการนี้ ไดดําเนินมาจนถึงปจจุบันเปนเวลา กวา 12 ป ไดมอบสนามเด็กเล น จากยางใชแลวกวา 300 ชุด

64

Energy#59_p64-65_Pro3.indd 64

9/16/13 11:42 PM


ในปทผี่ า นมา บริษทั ฯ มีความตัง้ ใจทีจ่ ะริเริม่ โครงการใหม ภายใต วั ต ถุ ป ระสงค เ ดิ ม ในการรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ มที่ ดี ใ ห แกสังคม โดยนําผลิตภัณฑยางรถยนตใชแลวไปตอยอด สรางประโยชนแกชุมชนและสังคมอยางคุมคา จึงไดขยาย ความรวมมือมายังสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สงเสริมใหสถานศึกษารวมเสริมสรางนําความรูเกี่ยวกับ ยางและการจัดการยางรถใชแลวไปประยุกตใช ในการคิดคน ออกแบบ ประดิษฐนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐจากยางรถ ไปใชใหเกิดประโยชนอยางคุมคา โดยจัดทําเปนโครงการ สิ่ ง ประดิ ษ ฐ จ ากยางใช แ ล ว เพื่ อ สั ง คมสํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษา อาชี ว ศึ ก ษา โดยหวั ง ว า โครงการนี้ จ ะได รั บ ความสนใจ จากนั ก เรี ย นนั ก ศึ ก ษาของอาชี ว ศึ ก ษาเข า ร ว มกิ จ กรรม เพื่อสรางสรรคผลงานที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน สํ า หรั บ ป นี้ เ ป น การสานต อ โครงการป ที่ 2 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมนโยบายในการชวยรณรงคลด โลกรอน ภายใตแนวคิด “Recovery Reuse Recycle” ซึ่งนอกจากจะชวยลดปริมาณยางที่ไมสามารถนําไปใชงาน ไดแลว ใหกลับมามีประโยชนอีกครั้ง ยังเปนการสงเสริมให เยาวชนไทยรุนใหมใสใจการอนุรักษสิ่งแวดลอม ดวยการ สรางสรรคนวัตกรรมสิ่งประดิษฐเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมีนกั เรียนจากวิทยาลัยเทคนิคและอาชีวศึกษาทัว่ ประเทศ รวมสงผลงานกวา 70 ทีม นางสุชาลา เทพบุตร ผูอํานวยการฝายทรัพยากร บุคคล บริษทั สยามมิชลิน จํากัด เลาถึงการคัดเลือกแบบราง จากความคิดสรางสรรคและความเปนไปไดในการประดิษฐ สําหรับใชงานจริง โดยในรอบคัดเลือกนี้ มิชลินไดมอบเงิน สนับสนุนใหแกทมี นักเรียนอาชีวศึกษาทีผ่ ลงานผานเขารอบ ประกวดแบบรางสิ่งประดิษฐจํานวน 10 ทีม เพื่อนําไปผลิต เปนชิ้นงานจริงในการแขงขันรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งจะจัดขึ้นใน เดือนพฤศจิกายนนี้ ถื อ เป น อี ก หนึ่ ง กิจ กรรมในการสนั บ สนุ น ภาคส ว น ของการศึกษาไทย ในการพัฒนาทักษะการออกแบบใหกับ นักเรียน นักศึกษา ที่เปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ ตอไปในอนาคต

65

Energy#59_p64-65_Pro3.indd 65

9/16/13 11:42 PM


Energy Loan

สสว.หนุน บุษยารัตน ตนจาน

สินเชื่อเอสเอ็มอี ดอกเบี้ยตํ่า

สําหรับจุดเดนของสินเชือ่ คือ วงเงินทีท่ าง ธนาคารใหกจู ะพิจารณาตามความจําเปนของ ธุรกิจ ทัง้ นี้ สสว. สนับสนุนวงเงินไมเกินรายละ 1 ลานบาท และเปนผูค วบคุมวงเงินสําหรับลูกคา แตละราย นับรวมยอดกูจ ากทุกสถาบันการเงิน สวนประเภทสินเชื่อจะเปนสินเชื่อวงเงินใหม ประเภทเงินกู หรือ ตัว๋ สัญญาใชเงิน ซึง่ ระยะเวลา การกูข นึ้ อยูก บั ประเภทสินเชือ่ และความตองการ ของผูก  ู รวมทัง้ การพิจารณาของธนาคาร ดานคุณสมบัติผูขอสินเชื่อ ตองเปน ผู  ป ระกอบการเอสเอ็ ม อี ที่ เ ป น นิ ติ บุ ค คล สัญชาติไทย (ผูถ อื หุน สัญชาติไทยมากกวา 51% ของทุนจดทะเบียน) และเปนผูป ระกอบการ เอสเอ็มอีทไี่ ดรบั ผลกระทบจากการปรับขึน้ คาแรง ขัน้ ตํา่ 300 บาทตอวัน และเปนผูป ระกอบการ เอสเอ็ ม อี ต ามกฎกระทรวงอุ ต สาหกรรม ทัง้ เรือ่ งจํานวนการจางงาน และมูลคาสินทรัพย ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม

ธนาคารกรุงเทพ รวมกับ สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ชวยเหลือผูประกอบการ เอสเอ็มอีที่ไดรับผลกระทบจากการปรับเพิ่มคาจางแรงงาน ขั้นตํ่าเปน 300 บาทตอวัน เพื่อชวยเหลือผูประกอบการ เอสเอ็ ม อี ให มี ส ภาพคล อ งทางการเงิ น เพิ่ ม ขึ้ น ด ว ยการ สนับสนุนอัตราดอกเบีย้ 3% ตอป เปนระยะเวลา 1 ป วงเงินกูส งู สุด 1 ลานบาท โดยไดรับการสนับสนุนอัตราดอกเบี้ยจาก สสว. 3% ตอป ระยะเวลา 1 ป สูงสุดไมเกิน 30,000 บาท

พ.ศ. 2545 โดยใชการจางงานหรือสินทรัพย ถาวรของเอสเอ็มอีเปนเกณฑ ผูป ระกอบการเอสเอ็มอีทปี่ ระกอบธุรกิจ ตามที่ สสว. กําหนด ไดแก 1.สิ่งทอและ เครือ่ งนุง หม 2.อาหารและเครือ่ งดืม่ 3.การผลิต ผลิตภัณฑทที่ าํ จากโลหะประดิษฐ 4.ภัตตาคาร รานขายอาหาร 5.ผลิตไม ผลิตภัณฑจากไม และ ไมกอ ก 6.กอสราง 7.ผลิตผลิตภัณฑยาง และ ผลิตภัณฑพลาสติก 8.ขายปลีก 9.โรงแรมและ ทีพ ่ กั ชัว่ คราว 10.ขนสง 11.บํารุงรักษาซอมแซม ยานยนตและจักรยานยนต การขายปลีกนํา้ มัน เชือ้ เพลิงรถยนต 12.ผลิตเครือ่ งเรือน รวมถึง เฟอรนิเจอรและอัญมณีเครื่องประดับ สนใจสมัครไดที่ สํานักธุรกิจ ธนาคาร กรุงเทพ ระยะเวลาสิน้ สุดสมัครขอสินเชือ่ ภายใน วันที่ 31 ธันวาคม 2556 หรือจนกวาวงเงินตาม โครงการจะถูกจัดสรรเต็มวงเงิน

66

Energy#59_p66_Pro3.indd 66

9/6/13 10:51 PM


Energy#59_p67_Pro3.ai

1

9/17/13

1:07 AM

The AEC Commercial Vehicle Exposition

งานเเสดงรถเพอการพาณิชยเเละกิจการพิเศษ ครั้งที่ 10 งานเดียวในอาเซียน

ฉลองครบรอบ 10 ป เพิ่มพื้นที่จัดแสดงธุรกิจบริการรถขนสง - รถโดยสาร ตอบสนองทุกความตองการของผูประกอบการขนสง จัดเต็ม นวัตกรรมรถเพอการพาณิชย รับ AEC เราใจกับการประชัน แสง สี เสียง Thailand Tour Theque ครั้งที่ 7 เวทีเดียวในโลก ครั้งแรก!!! Miss Bus Hostess การประกวดสาวงาม มากความสามารถดานการบริการบนรถโดยสาร ฯลฯ

จัดโดย The alternative energy vehicle exposition.

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นเเนล จำกัด TEL : +66 2717 2477 E-Mail : info@BusAndTruckMedia.com

13 The automotive aftermarket & services exposition.

2013/2014


Around The World พิชญาภา อินทโลหิต

ตึกอัจฉริยะ BIQ ปรับอุณหภูมิได

หากพูดถึงสาหราย หลายคนคงนึกสาหรายทีน่ าํ มาใชปรุงอาหาร แต รู  ห รื อ ไม ว  า ยั ง มี ส าหร า ยอี ก หลายสายพั น ธุ  ที่ ส ามารถนํ า มา ใชประโยชนในการปรับอุณหภูมใิ หกบั ทีอ่ ยูอ าศัยของมนุษยไดเลยทีเดียว บริษทั ออกแบบ Splitterwerk Architects จากประเทศออสเตรีย และบริษัทวิศวกรรมยักษ ใหญของโลก Arup นําคุณสมบัตินาทึ่งนี้ ของสาหรายมาสรางตึกอัจฉริยะ BIQ ที่เปนสวนหนึ่งของงานแสดง อาคารและสิง่ กอสรางนานาชาติ (IBA) ณ กรุงแฮมเบิรก ประเทศเยอรมนี ผนังภายนอกอาคารเปนสีเขียวสด สีสันสะดุดตา ตกแตงอาคาร ดวยบล็อกกระจกทีบ่ รรจุนาํ้ สีเขียวพนฟองอากาศ นอกจากจะดูสวยงาม แลว หนาทีห่ ลักของมัน คือ การปรับอุณหภูมใิ นอาคารใหเหมาะสม นัน่ เอง พูดถึงสารสีเขียวทีอ่ ยูน าํ้ ก็คอื “จุลสาหราย” หรือสาหรายขนาดจิว๋ ที่ ถูกเพาะเลีย้ งดวยกาซคารบอนไดออกไซตและอาหารเหลวผานนํา้ ทีพ ่ งุ วนไป มา เมือ่ สาหรายสังเคราะหแสงจากพลังงานแสงอาทิตยกจ็ ะถูกนําเขาสูห อ ง ปฏิบตั กิ ารภายในอาคารเพือ่ แปรเปลีย่ นเปนพลังงานความรอนสําหรับผลิต นํ้ า อุ  น ในประเทศที่ มี อ ากาศหนาวเย็ น อย า งเยอรมนี ความร อ น จากพลังงานสาหรายนีจ้ งึ มีประโยชนอยางยิง่ ในฤดูหนาว เทคโนโลยีอจั ฉริยะจากจุลสาหรายนี้ สามารถใชเปนอาคารตนแบบ ที่ อ ยู  อ าศั ย ในอนาคตได เหมาะสํ า หรั บ ยุ ค ที่ ท รั พ ยากรธรรมชาติ เหลือนอยเต็มที

GREEN TOY ของเลนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ในปจจุบนั ผูผ ลิตของเลนในสหรัฐอเมริกาหลาย ๆ บริษทั ตางตระหนักถึงคุณภาพและมาตรฐานในการผลิต โดยนํากระบวนการผลิตทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมเขามาปรับใช รวมถึงนิยมใชบรรจุภณ ั ฑทสี่ ามารถนํากลับมาใชใหมได เพือ่ ประหยัดพลังงานและลดปริมาณของเสียทีจ่ ะเกิดขึน้ จากกระบวนการผลิต โดยหนึง่ ในผูร ว มกอตัง้ Green Toy Inc. ใหความเห็นวา การเลือกซือ้ สินคาสําหรับเด็กนัน้ พอแมจะตองรูส กึ ดี และมั่นใจในตัวสินคา ซึ่งนอกจากของเลนนั้น ๆ จะตองชวยพัฒนาทักษะการเรียนรูของเด็กแลว ของเลนตอง ทําจากวัสดุปลอดภัยและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ยังเปนคุณสมบัติหนึ่งที่พอแมสวนใหญใชเปนเหตุผลในการ ตัดสินใจเลือกซื้อของเลน ซึ่งของเลนที่ผลิตโดย Green Toy Inc. จะเนนวัสดุที่ชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจก แนวโนมรักษโลกและอนุรักษสิ่งแวดลอมกําลังไดรับความนิยมและสนใจเปนวงกวาง บริษัทผูผลิตควร ส ง เสริ ม ให มี ก ารค น คว า และวิ จั ย ในสิ น ค า และกระบวนการผลิ ต ที่ เ ป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ มเพื่ อ ตอบสนอง ความตองการของตลาดที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

สหรัฐ เปดตัว “ยานเหาะยักษ” พรอมบินภายใน 2 ป บริ ษั ท เวิ ล  ด ไวด แอโรส จํ า กั ด คอร ป เปรเรชั่ น พั ฒ นาเทคโนโลยี เ รื อ เหาะแบบใหม ชื่อวา “แอโรคารฟต” เพื่อใชงานขนสงทางอากาศทั่วโลก เรือเหาะแอรโรสคราฟตใชเชือ้ เพลิงแค 1 ใน 3 เมือ่ เปรียบเทียบกับเครือ่ งบินลําเลียงปกติ และ ยังบินขึน้ ลงไดทกุ แหงแมในพืน้ ทีท่ ไี่ มมสี นามบิน รวมทัง้ ในนํา้ จึงเหมาะกับสมรภูมหิ รือพืน้ ทีภ่ ยั พิบตั ิ โดยเฉพาะประเทศทีก่ าํ ลังพัฒนาทีม่ สี ภาพสนามบินยํา่ แย ซึง่ ทางรัฐบาลของสหรัฐอเมริกาไดสนับสนุน เงิน 3 ลานดอลลาร ใหแกโครงการนี้ โดยกําลังจะทดสอบการบินเร็ว ๆ นี้ การทํางานของเรือเหาะแอรโรสคราฟนี้ สามารถขึ้นลงไดในทางดิ่ง เหมือนกับเฮลิคอปเตอร แมจะทําความเร็วในการบินได 185 กิโลเมตรตอชัว่ โมง ซึง่ นับวาชากวาเครือ่ งบินทัว่ ไป แตเรือเหาะนี้ สามารถไปลงจอดถึงแหลงผลิตสินคา และขนสงไปถึงแหลงทีต่ อ งการสินคาไดโดยตรง ถึงแมภายนอก ของตัวถังจะดูเปราะบาง แตผวิ นอกของเรือเหาะแอรโรสคราฟสามารถกันกระสุนได นอกจากนี้ เรือเหาะ ยังถูกออกแบบใหควบคุมนํา้ หนักของตัวเองได ดวยเทคนิคใหมในการบีบอัดกาซฮีเลียม เรือเหาะลําแรกนีจ้ ะเปดใหบริการในชวงกลางป 2558 โดยใหเชาในอัตราปละ 25 ลานดอลลาร 68

Energy#59_p68-69_Pro3.indd 68

9/20/13 9:41 PM


สวีเดน….มุงสูพลังสะอาด ในป 2006 สวีเดนสรางความฮือฮาใหแกชาวโลก ดวยการ ออกมาประกาศว าจะเป นประเทศแรกในโลกที่เลิก ใช นํ้ามัน ให ได ภายในป 2002 อาจฟงดูสูงเกินเอื้อมที่จะทําใหเปนจริงได แตเมื่อ ตั้งเปาหมายไวชัดเจนแลว รัฐบาลก็มุงสงเสริมใหประชาชนหันมา ใชพลังงานทางเลือกที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยางเอาจริงเอาจัง ดวยขอเสนอและผลประโยชนที่นาสนใจมากมายเพื่อสรางแรงจูงใจ ใหชาวสวีเดนลดการใชนํ้ามันและพลังงานถานหิน อาทิ ลดภาษีรถยนต ที่ใชพลังงานทางเลือกที่เป นมิตรต อ สิ่งแวดลอม พรอมทั้งใหผูที่ขับขี่รถยนตประเภทนี้ใชทางดวนไดฟรี ในขณะเดียวกันก็ยังทุมงบประมาณเพิ่มรอบรถไฟฟาและรถเมล ในเขตเมืองใหถขี่ นึ้ เพือ่ ใหคนทิง้ รถไวทบี่ า นและหันมาใชรถสาธารณะ แทน และการที่เมืองหลักตาง ๆ อยาง สตอกโฮลม มัลโม และ โกเทนเบิรก มีทางจักรยานตัดผานรานคา พิพิธภัณฑ และสถานที่ ทองเทีย่ วตาง ๆ รอบเมือง ทําใหชาวสวีเดนซึง่ รักธรรมชาติและชืน่ ชอบ การออกกําลังกายและกิจกรรมกลางแจงเปนทุนเดิมอยูแ ลว เลือกใช จักรยานเปนพาหนะแทนรถยนต นอกจากนโยบายโนมนาวใจประชาชนแลว รัฐบาลสวีเดนยัง ไมลืมที่จะจูงใจผูผลิตและพัฒนาไฟฟาจาก “พลังงานสีเขียว” อาทิ พลังงานลม แสงอาทิตย คลื่น และพลังงานชีวมวล โดยมีการมอบ Green Certificates ใหดว ย

ลาสุด ประเทศสวีเดนยังไดรบั การจัดอันดับเปนที่ 3 จากการจัดอันดับ ประเทศทีด่ สี ดุ ในโลก (World’s Best Countries) ของ นิตรสารนิวส วีค อีกทั้งสตอกโฮลมยังไดรับเลือกใหเปน European Green City ประจําป 2010 ทั้งหมดนี้ลวนเปนขอพิสูจนถึงความเอาจริงเอาจัง ของรัฐบาลในการจัดการระบบสิ่งแวดลอมและความรวมมือของทุก ภาคสวนทีพ ่ รอมใจกันเดินสูอ นาคตอยางยัง่ ยืน

นวัตกรรมพลาสติกสีเขียวในเยอรมัน ลาสุดนวัตกรรมพลาสติกทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม จากผลการ ศึกษาลาสุด เปดเผยวา “โปรตีนหางนม” (Whey Protein) ผลพลอยได จากการผลิตเนยแข็ง สามารถนํามาทําเปนพลาสติกกันความชื้น และออกซิเจนไดเหมือนฟลม พลาสติกทัว่ ไป เนือ่ งจากฟลม พลาสติกชนิดใหมนี้ ทํามาจากโปรตีนหางนมทีไ่ ด จากเนยแข็งนํามากรองและทําใหแหงแบบพนฝอย จากนัน้ จึงมาทําเปน ชัน้ บาง ๆ หลาย ๆ ชัน้ เพือ่ ผลิตเปนพลาสติกทีม่ คี ณ ุ สมบัตกิ นั อากาศ และนํ้าได เหมาะสําหรับนํามาใชเปนบรรจุภัณฑ สามารถรีไซเคิลได และยอยสลายไดตามธรรมชาติ ซึ่งตางจากพลาสติกทั่วไปที่ทํามา จากวัสดุสนิ้ เปลือง และตองใชเวลากวาหลายรอยปจะยอยสลายไดเอง ตามธรรมชาติ คาดวาเทคโนโลยีใหมนจี้ ะนําไปสูก ารผลิตในระดับอุตสาหกรรม ในอนาคตอันใกล เพือ่ ผลิตเปนบรรจุภณ ั ฑอาหารทีย่ อ ยสลายไดในทาง ชีวภาพหรือถูกยอยสลายไดตามธรรมชาติ

หลอดไฟลดกาซเรือนกระจกจากอเมริกา ผู  นํ า เทคโนโลยี แ อลอี ดี (LEDs) ในสหรั ฐ อเมริ ก า “นายสตี เ วน เดนบาร ” ผู  ที่ ส นั บ สนุ น การนํ า แอลอี ดี ม าใช แ ทน หลอดไฟทั่ ว ไป เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการใช พ ลั ง งานและลด ปริมาณกาซเรือนกระจก โดยแอลอีดีแสงขาวที่ใชกันอยุทั่วไปนั้น ในความเปนจริงแลว สารกึ่งตัวนําจะปลอยแสงสีฟา ซึ่งจะเดินทาง ผานสารเรืองแสงเพื่อใหแสงสีขาวออกมาแทน แตในแอลอีดีตนแบบไดนําแผนพลาสติกชนิดพิเศษมาแทนที่ ฐานซึง่ เคลือบดวยสารเรืองแสง แผนพลาสติกนีจ้ ะทําหนาทีเ่ หมือนหอ สูญญากาศกักโฟตอนใหวงิ่ ผานสารเรืองแสงมากขึน้ สงผลใหแอลอีดี แบบใหมนี้มีความสวางมากขึ้น เมื่อเทียบกับหลอดแกวทั่วไปถึง 5% ปจจุบนั นิยมใชในครัวเรือน และมีแนวโนมวาในอนาคตแอลอีดแี บบใหมนี้ จะไดรบั ความนิยมมากกวาหลอดฟูลออเรสเซนต 69

Energy#59_p68-69_Pro3.indd 69

9/20/13 9:41 PM


ASEAN Update กองบรรณาธิการ

จีนควักกระเปาขุดเจาะนํ้ามันและกาซในประเทศ ลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ รัฐบาลจีนเตรียมจัดสรรงบประมาณ กว า 80,000 ล า นหยวน หรื อ ประมาณ 4 แสนลานบาท เพือ่ ใชสนับสนุนอุตสาหกรรม การขุดเจาะนํา้ มันและกาซธรรมชาติในป 2556 ตามนโยบายดานพลังงานที่ตอ งการลดการ พึง่ พาและนําเขาจากตางประเทศ ในช ว งหลายป ที่ ผ  า นมา ธุ ร กิ จ การ ขุดเจาะนํ้ามันและกาซธรรมชาติในจีนเพิ่ม จํานวนจาก 19,000 ลานหยวน ในป 2545 เปน 67,300 ลานหยวน ในป 2554 ซึง่ เปน ผลพวงมาจากการคนพบแหลงปโตรเลียม มากกวา 5 พันลานตัน และแหลงกาซธรรมชาติ ราว 2.6 ลานลานลูกบาศกเมตร ระหวางป 2551-2554 ทีก่ ระจายตัวอยูท วั่ ประเทศ

นั ก วิ เ คราะห ด  า นพลั ง งาน มองว า จีนมีแนวโนมที่จะขึ้นเปนผูนําเขานํ้ามันดิบ รายใหญที่สุดในโลกแทนที่สหรัฐอเมริกา ภายในป 2560 หรืออีก 4 ปขา งหนา โดยมี แหลงผลิตในตะวันออกกลางและแอฟริกา เป น ประเทศคู  ค  า สํ า คั ญ เนื่ อ งจากอั ต รา การผลิตกาซธรรมชาติในจีนยังไมสามารถ ตอบสนองตอการบริโภคที่นับวันจะสูงขึ้น เรื่อย ๆ ทําใหจีนตองพึ่งพากลุมประเทศ

อินเดียเตรียมออกนโยบาย

ปดปมนํ้ามันตอนกลางคืน

ผู  ผ ลิ ต แถบเอเชี ย กลาง รวมถึ ง ประเทศ ออสเตรเลีย อินโดนีเซีย และกาตาร โดย ใช วิ ธี ข นส ง ผ า นท อ ส ง ก า ซและเรื อ ขนส ง ขามมหาสมุทร และในป 2555 ที่ผา นมา จีนไดบรรลุ ขอตกลงการซื้อขายกาซธรรมชาติปริมาณ กวา 42,500 ลานลูกบาศกเมตร จากตางประเทศ เพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 30 เปอร เ ซ็ น ต เมื่ อ เที ย บกั บ ป 2554 คิดเปน 10 เทา จาก ป 2550

รัฐมนตรีปโตรเลียมและกาซธรรมชาติของอินเดีย ใหสัมภาษณวา อิ น เดี ย กํ า ลั ง พิ จ ารณาเรื่ อ งป ด สถานี บ ริ ก ารเชื้ อ เพลิ ง ตอนกลางคื น โดยเตรียมหารือในรายละเอี ยดเกี่ ยวกับมาตรการประหยัดพลังงาน ที่จะประกาศใชในชวงปลายปนี้ มาตรการหนึ่งที่มีการหารือกัน คือ การปดสถานีบริการเชื้อเพลิง ในตอนกลางคืน เพือ่ ขานรับนโยบายประหยัดพลังงานของรัฐบาล ทีผ่ า นมา ประเทศอินเดียนําเขานํ้ามันถึงรอยละ 80 ของความตองการใชภายใน ประเทศ ในขณะที่ยอดการนําเขาสูงขึ้นเรื่อย ๆ อันเนื่องมาจากราคาใน ตลาดโลกเพิ่มสูงขึ้นและคาเงินรูปออ นตัวลง กระทรวงปโตรเลียมและกาซธรรมชาติของอินเดีย ตองการลด การใชเชื้อเพลิงลงใหได รอยละ 3 เนื่องจากชวยลดคาใชจายไดถึง 2,430 ลานดอลลารสหรัฐ หรือ ประมาณ 75,330 ลานบาท คานําเขานํ้ามันของ อินเดียเพิ่มขึ้นมาก เนื่องจากราคานํ้ามันในตลาดโลกเพิ่มขึ้นและเงินรูป ออนคาลงอยางตอเนื่อง โดย บริษัท อินเดีย ออยล คอรปอเรชัน ซึ่งเปน ผูก ลัน่ นํา้ มันรายใหญทสี่ ดุ ของประเทศไดขึ้นราคานํา้ มันอีกกวารอยละ 3.5 โดยอางเรื่องเงินรูปออนคา ดานพรรคภารติยะชนตะในฐานะพรรคฝายคาน ออกมาตอวา มาตรการดังกลาววาเปนมาตรการที่ประหลาด เพราะตอใหปดสถานี บริการเชื้อเพลิงในตอนกลางคืน ประชาชนก็จะออกมาเติมเชื้อเพลิง ในตอนเชาอยูดี

70

Energy#59_p70-71_Pro3.indd 70

9/25/13 7:43 PM


จับตา

นโยบายพลังงาน

ของ มาเลเซีย

ประเทศมาเลเซียเปนประเทศเพือ่ นบาน ของไทย และเป น ประเทศสมาชิ ก ในกลุ  ม อาเซียน มาเลเซียเปนประเทศผูผลิตและ สงออกทั้งนํ้ามันและกาซธรรมชาติไปขาย ในตลาดโลก มี ร ายได จ ากการส ง ออก ผลิ ต ภั ณ ฑ ป โ ตรเลี ย มมากมาย สามารถ นําเงินมาอุดหนุนราคานํ้ามันในประเทศให ถู กกวาราคาในตลาดโลกได โดยรัฐบาล มาเลเซียใชเงินงบประมาณแผนดินในการ อุดหนุนราคานํ้ามันเปนเงินถึงปละประมาณ 200,000 ลานบาท นอกจากนโยบายราคานํ้ามันถูกแลว มาเลเซี ย ยั ง มี น โยบายทางด า นพลั ง งาน อื่น ๆ ที่นาสนใจ เชน การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติดานพลังงานใหเกิด ประโยชนสูงสุด หรือการเลือกใชทรัพยากร ที่ เ หมาะสมมาเป น แหล ง เชื้ อ เพลิ ง ในการ ผลิตไฟฟา เปนตน มาเลเซียเปนประเทศ ผู  ผ ลิ ต และส ง ออกพลั ง งานมากกว า การ นําเขา มีปริมาณนํ้ามันดิบสํารอง 4,000 ล า นบาร เ รล มากที่ สุ ด ในอาเซี ย น และมี ปริมาณกาซธรรมชาติสํารองที่ 83 ลานลาน ลูกบาศกฟุต สูงเปนอันดับสองในอาเซียน ดานการสงออกพลังงาน มาเลเซีย ติดอันดับผูสงออกกาซธรรมชาติรายใหญ ของโลก โดยติดอันดับ 10 ของประเทศที่ สงออกกาซมากทีส่ ดุ ในป ค.ศ. 2011 ในขณะที่ ดานการนําเขาพลังงานก็ตดิ อันดับโลกเชนกัน โดยมาเลเซียนําเขาถานหินสูงเปนอันดับ 10 ของโลกในป ค.ศ. 2011 ตามรายงานของ ทบวงพลั ง งานระหว า งประเทศ (IEA) ที่ ประเทศมาเลเซียนําเขาถานหินจํานวนมาก จนติดอันดับโลกก็เพื่อนําไปใชผลิตไฟฟา ซึ่ ง เชื้ อ เพลิ ง หลั ก สองชนิ ด ที่ ม าเลเซี ย ใช

ในการผลิตไฟฟา คือ กาซธรรมชาติที่เปน เชือ้ เพลิงในประเทศ กับถานหินซึง่ ตองนําเขา จากตางประเทศ มีคาํ ถามวาทําไมตองนําเขา ถานหินจํานวนมากเพือ่ นํามาผลิตไฟฟา ทัง้ ๆ ที่มีกาซธรรมชาติจํานวนมากสามารถนํามา ผลิตไฟฟาได เนื่ อ งจากวิ สั ย ทั ศ น ใ นการพั ฒ นา ประเทศ และการบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติของประเทศใหไดประโยชนสูงสุด มาเลเซี ย เล็ ง เห็ น ว า ก า ซธรรมชาติ เ ป น ทรั พ ยากรธรรมชาติ ด  า นป โ ตรเลี ย ม ที่มีคุณคา สามารถนําไปทําประโยชนทาง เศรษฐกิจไดมากมาย ถาบริหารจัดการดี ๆ สามารถเพิม่ มูลคาทางธุรกิจไดหลายสิบเทา เชน กาซธรรมชาติเหลานัน้ ถานําไปอัดภายใต ความดั น สู ง ให ก ลายเป น ก า ซธรรมชาติ อัดเหลว (LNG) สามารถสงออกขายให ตางประเทศได และยังไดราคาดีกวาเอามา ใชเปนเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟา ดังนั้น มาเลเซียจึงใชกาซธรรมชาติ ในการผลิตกระแสไฟฟาเทาที่จําเปนเทานั้น และสงวนกาซธรรมชาติอกี จํานวนหนึง่ เอาไว สงออกในรูป LNG ในราคาสูง เพือ่ สรางรายได ใหกับประเทศ แลวนําเอารายไดจากการ สงออกกาซ LNG ไปนําเขาถานหินซึง่ มีราคา ถูกกวามาผลิตไฟฟาแทนกาซธรรมชาติ ผลจากการดําเนินนโยบายพลังงาน ที่ ช าญฉลาดนี่ เ อง ทํ า ให ม าเลเซี ย ได รั บ ประโยชนตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. มีรายไดจากการขายกาซธรรมชาติ ในราคาที่ สู ง ขึ้ น แทนที่ จ ะเอามาทํ า เป น เชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟาแตเพียงอยางเดียว 2. นํารายไดบางสวนมานําเขาถานหิน ที่มีราคาถูกกวาเพื่อนํามาผลิตไฟฟา ทําให ตนทุนในการผลิตไฟฟาของมาเลเซียถูกลง เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ของ ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมของมาเลเซีย 3. สรางความมัน่ คงใหกบั ระบบเชือ้ เพลิง ในการผลิตไฟฟาของมาเลเซีย โดยมีการ กระจายความเสี่ ย งด า นเชื้ อ เพลิ ง ออกไป ไมพงึ่ พาเชือ้ เพลิงตัวใดตัวหนึง่ มากจนเกินไป ทีน่ า สังเกตคือ แมวา มาเลเซียจะติดอันดับ 10 ของผู  ส  ง ออกก า ซรายใหญ ข องโลก แต ปรากฏวาไมติดอันดับประเทศที่ใชกาซใน การผลิตไฟฟาเลย ในขณะที่ประเทศไทย ไมติดอันดับทั้งประเทศผูสงออกกาซ แต กลับติดอันดับ 8 ของประเทศทีใ่ ชกา ซในการ ผลิตไฟฟามากทีส่ ดุ ในโลก ตามรายงานของ IEA ในปค.ศ. 2010 71

Energy#59_p70-71_Pro3.indd 71

9/25/13 7:43 PM


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

ลงทุนพลังงานขยะอยางไร...

ไมใหถูกหลอก

คณะกรรมการนโยบายแหงชาติ (กพช.) นอกจากจะชุบชีวิตธุรกิจพลังงานแสงอาทิตยที่มีแสงริบหรี่เหมือนหิ่งหอยยามคําคืนแลว ยังชวยชุบชีวิตธุรกิจพลังงานขยะ โดยประกาศรับซื้อไฟฟาจากพลังงานขยะจากเดิม 160 MW โดยในแผน AEDP Version 3 เมอวันที่ 16 กรกฎาคม 2556 เพิ่มเปน 400 MW แมแตเจากระทรวงพลังงานยังถามวามีขยะเพียงพอผลิตพลังงานหรือ ? คําตอบคือมีแนนอน แตอยูที่ผลตอบแทนคาขายไฟฟาจะจูงใจแคไหน คุมกับการรองรับความเสี่ยงแทนภาครัฐหรือไม...

แลวจะลงทุนพลังงานขยะอยางไรไม ใหถกู หลอก ผูเ ขียนจึงไดรวบรวมขอมูลจาก ผูถ กู หลอกและผูท กี่ าํ ลังจะถูกหลอก รวมทัง้ จากผูที่กําลังหลอกทานอยู ใหทานผูอาน เรี ย นรู  ใ นสองหนา กระดาษของ Energy Saving ฉบับนี้ พลังงานขยะ พลังงานเจาปญหา ที่มนุษยสรางขึ้น มีปญหาตั้งแตเทคโนโลยีเจาของขยะตามกฎหมาย-การเมือง-สถาบัน การเงิน-ใบอนุญาตตาง ๆ และทีส่ าํ คัญกลุม นายหนา นอกจากนายหนามืออาชีพแลว ยังมีนายหนาเฉพาะกิจจากหนวยงานรัฐที่ เกี่ยวของกับขั้นตอนการอนุมัติตาง ๆ เดิน ชนกันแทบทุกเดือน จากขอมูลขององคกร

ปกครองสวนทองถิน่ ทีม่ บี อ ฝงกลบขยะเลาใหฟง วา ตองเสียเวลาตอนรับคณะนายหนา โดยไมรู วาใครคือตัวจริง บางรายถึงกับใหภาครัฐตั้งงบประมาณไปดูงานตางประเทศ เมื่อไปถึงโรงงาน กลับเขาไปดูไมได ดวยเหตุผลงาย ๆ วาโรงงานหยุดซอมบํารุง

บันไดสูก ารลงทุนพลังงานขยะทีช่ าญฉลาด (ไมถกู หลอก) บันไดขั้นที่ 1 “ไมโลภ ไมรีบ ไมจาย” ไมโลภ คือ อยาไปเชือ่ วาพลังงานขยะมีเทคโนโลยีไฮเทค คืนทุนรวดเร็ว มีผลตอบแทน มากมายเปนนํ้ามัน เปนปุย เปนยาฆาแมลง และที่ตองเขาใจก็คือ พลังงานขยะขนาดเล็ก 1-2 MW จากอัตราสนับสนุนปจจุบันยังไมคืนทุนในทุก ๆ เทคโนโลยี ภาครัฐกําลังรวมกับ ภาคเอกชนหาแนวทางสงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยี สวนพลังงานขยะชุมชนทั่วไปที่นอยกวา 10 MW ผลตอบแทนตอการลงทุน (IRR) อยูที่ 12-15% คืนทุน 6-7 ป นับจากวันลงทุน นอกจากโครงการขนาดใหญ ๆ 20-60 MW ที่ ท างกลุ  ม อุ ต สาหกรรมปู น ซิ เ มนต กํ า ลั ง พัฒนาอยู อาจคืนทุนเร็วกวานี้ แตก็ตองแบกรับความเสี่ยงดานปริมาณขยะ

72

Energy#59_p72-73_Pro3.indd 72

9/16/13 11:10 PM


ไมรบี อยารีบรอนจายคาซือ้ หุน ใด ๆ กอนเห็นโรงไฟฟาเริม่ ขายไฟ โมเดลตาง ๆ ทีม่ านําเสนอ อาจไมมมี ลู คาเลย หากแคชมุ ชนไมเห็นดวย หรือไมมีที่ตั้งโรงไฟฟา ฯลฯ โครงการพลังงานขยะจะเริ่มนับ 1 จาก วันลงนามในสัญญา (อยางถูกตอง) ตองใชเวลารับฟงความคิดเห็น ขออนุญาตและกอสรางเพือ่ เดินระบบ กวาจะมีรายไดกป็ ระมาณ 3-4 ป มีทั้งขยะชุมชนและขยะอุตสาหกรรม และยังมีในกลุมประเทศอาเซียน ที่รอเราไปลงทุนอีก…ดังนั้น จึงไมตองรีบ ไมจา ย ตองไมจายคาใชจายใด ๆ ผานนายหนา ถึงแมจะมา ฟอรมดีแคไหน มีบุคคลที่ดูแลวนาเชื่อถือมาพูดก็ตาม ถามีเงินมาก อยากจะใชแบบไมเสียรู แตเปนการเรียนรูก ค็ อื การจางบริษทั ทีป่ รึกษา ที่ชํานาญเรื่องขยะ ทั้งจากบริษัทเอกชนและมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง และถามีเงินก็ควรไปศึกษาดูงานดวยตนเองดวย เจาของเทคโนโลยี ทุกประเทศไมอยากคุยกับนายหนา หากทานคือนักลงทุนตัวจริง แลว พบเจาของเทคโนโลยีตวั จริง เสมือนสําเร็จไปแลวครึง่ ทาง เหลือแตทาํ อยางไรจะไดคุยกับเจาของขยะตัวจริง อยาไปคิดวาเจาของขยะเปน เจาพอ และอยาไปเชื่อวาเจาของขยะไมอยากพบนักลงทุน แทที่จริง องคกรปกครองสวนทองถิ่นเบื่อนายหนาเพราะโมเกงที่สุด

บันไดขั้นที่ 2 องคประกอบของโครงการพลังงานขยะ ถาทานไมอยากปวดหัวก็ใหวาจางบริษัทที่ปรึกษา หรือที่ปรึกษา ฝายการเงิน (FA) ที่ชํานาญ หรือถาไมอยากเสียเงินก็สอบถามจาก กลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย คุณศตวรรณ ทองเครือมา ฝายสงเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรม 02-345-1162, E-mail: tinsuntisook@yahoo.com 2.1 ปริมาณขยะ ประกอบดวย 2 สวน คือ ขยะจากบอฝงกลบเดิม ที่สะสมอยู และขยะใหมที่เกิดขึ้นและนํามาทิ้งในบอฝงกลบในแตละวัน ถาเปนบอฝงกลบของเทศบาล ก็ตอ งมีสญ ั ญาเชาทีถ่ กู ตองและสัญญา จัดการขยะไมนอยกวา 25 ป ที่สภาทองถิ่นเห็นชอบสัญญาผาน อัยการจังหวัด และผูวาราชการเห็นชอบ (MOU ทุกชนิดใชไมได) ถาเปนบอฝงกลบเอกชน ก็ตอ งดูวา ไดรบั ใบอนุญาตระยะยาว หรือเปน สัญญาเพียง 1 ป 3 ป โดยมีหนังสืออนุญาตจากหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ไดแก องคกรปกครองสวนทองถิ่น จังหวัด กรมอนามัย กรมควบคุม มลพิษ กรมโรงงานอุตสาหกรรม และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ วา สามารถใชตั้งโรงงานกําจัดขยะและผลิตพลังงานอยางถูกกฎหมาย ไมนอ ยกวา 25 ป เมื่อมั่นใจในปริมาณขยะแลว ทายสุดอยาลืมรับฟง ความคิดเห็นของชุมชนรอบพื้นที่ตั้งโรงขยะกอน (อยาจางนายหนา ควรดําเนินการเองหรือหาหนวยงานที่เชื่อถือได หรือเจาของขยะก็ได) 2.2 เทคโนโลยี ตองเปนที่ยอมรับของสถาบันการเงินและ ชุมชนนัน้ ๆ ซึง่ สวนใหญจะตองมีการคัดแยก ปรับปรุงคุณภาพและใช ประโยชนจากขยะ กอนนําไปเปนเชื้อเพลิงผลิตไฟฟา ถาทานจะลงทุน ตองหาคําตอบดังตอไปนี้ • สถานที่สรางโรงไฟฟาอยูที่ไหน • ผังเมืองใหสรางไดหรือไม • ไดรบั อนุญาตจากหลาย ๆ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ตามมาตรา 48 ของผูประกอบกิจการพลังงาน หรือยัง • ใชเทคโนโลยีอะไร เชน โรงไฟฟาแบบกังหันไอนํ้า Steam Turbine หรือ Gasification ตองคํานึงถึงขอกําหนดการปลอยสาร เจือปนในอากาศวาสอบผานหรือไม แตถาเปนเตาเผาขยะตองผาน ทั้ ง ข อ กํ า หนดของกรมโรงงานอุ ต สาหกรรม และข อ กํ า หนดของ กรมควบคุมมลพิษ วาดวยมาตรฐานการควบคุมการปลอยทิง้ อากาศเสีย จากเตาเผามูลฝอย เพื่อควบคุมสารไดออกซิน ซึ่งโดยปกติเตาเผา ที่สอบผานขอกําหนดนี้ ตองมีการทํางานอยางตอเนื่อง มักมีราคาสูง อยางไรก็ตาม เตาเผาขยะแบบไมคดั แยกขยะยังควบคุมมลพิษไดยาก จึงมักถูกตอตานจากชุมชนและ NGO เสมอ ๆ

บันไดขั้นที่ 3 ตรวจสอบกับการไฟฟาฯที่เกี่ยวของ วาใน บริเวณที่ตั้งโรงไฟฟามีสายสงวางหรือไม และรับซื้อไฟฟาไดจํานวน เทาไร เชน 5 MW 8 MW หรือ 9 MW และจะรับซื้อไดในปไหน หรือรับ ตลอดเวลา บันไดขั้นนี้สําคัญมาก เพราะนั่นหมายถึงรายไดหลักของ โครงการเลยทีเดียว ฟงจากคําพูดอยางเดียวคงไมได บันไดขัน้ ที่ 4 ไมวา นายหนาจะพูดเกงแคไหน สราง Business Model อัศจรรยแคไหน ก็อยาไปเชือ่ อานบทความนีซ้ าํ้ อีกสัก 2 รอบ แลว ตอง ไมโลภ ไมรบี ไมจา ย คาถากันถูกหลอกนีจ้ ะชวยทานไดในเวลาโลภกับ ทุกธุรกิจพลังงานทดแทน

รอบรูเ รือ่ งพลังงานขยะ

ปริ ม าณขยะ ขยะชุ ม ชนแต เ ดิ ม กรมควบคุ ม มลพิ ษ ประเมิ น ไว 15 ลานตันตอป ตอมามีการประเมินโดยใชตัวคูณใหม เขตชุมชนจะมีขยะ สูงกวาเขตชนบท ตัวเลขปริมาณขยะจึงอยูท ี่ 24 ลานตันตอป นัน่ หมายความวา จะมีขยะทีฝ่ ง กลบเพิม่ ขึน้ ตามไปดวยทุก ๆ ป หากไมมกี ารกําจัด มีการประเมิน วาขยะชุมชนสามารถผลิตไฟฟาไดไมนอยกวา 400 MW โดยนําขยะจาก บอฝงกลบมารวมใชเปนเชื้อเพลิงดวย สําหรับขยะอุตสาหกรรมอาจมี ปริมาณตอปไมแตกตางกับขยะชุมชน แตถูกนําไปใชประโยชนมากกวา และการจั ด เก็ บ จากโรงงานได ค รบถ ว นกว า แต ก็ มี ก ารประเมิ น ว า ขยะอุตสาหกรรมซึ่งประกอบดวย เศษเหลือ ทิ้งและวัสดุเหลื อ ใชจาก กระบวนการผลิต อาจผลิตไฟฟาไดถึง 500 MW ซึ่งสวนหนึ่งไดผลิตและ ใชในโรงงานอุตสาหกรรมอยูแ ลว ขอควรคํานึง ก็คอื ขยะติดเชือ้ จากสถาน พยาบาลและขยะอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม อยาเผลอนํามาเผาใน โรงไฟฟาพลังงานทดแทน ซึง่ ทานจะไมไดรบั Adder ทีท่ างกระทรวงพลังงาน สนับสนุนอยู การผลิตนํา้ มันจากขยะพลาสติก กระทรวงพลังงานไดสง เสริมให ใชขยะพลาสติกมากลัน่ เปนนํา้ มันเชือ้ เพลิง โดยการประกันราคาเฉลีย่ อยู ทีล่ ติ รละ 18 บาท แตเนือ่ งจากราคานํา้ มันเชือ้ เพลิงสูงขึน้ อยางตอเนือ่ ง จึง มักนําไปขายใหกบั โรงงานใชแทนนํา้ มันเตา การขายคืนใหบริษทั นํา้ มันจะมี เฉพาะโครงการที่รัฐอุดหนุนงบประมาณ เชน หัวหิน ระยอง อุบลราชธานี เปนตน ซึ่งในความเปนจริงแลว เทคโนโลยีที่ใชอยูคอนขางลาสมัยและยัง ขาดระบบบําบัดนํา้ เสีย โดยทัว่ ไปผูค ดั แยกขยะพลาสติกจึงมักนําไปอัดแทง แลวขายใหกับผูรับซื้อไปรีไซเคิลโดยตรง ดูจะงายและคุมคา ไมตองกังวล เรื่องนํ้าเสีย

มูลคาการลงทุนพลังงานขยะ 1. โรงไฟฟาจากเชือ้ เพลิงขยะคุณภาพดี RDF: Refuse Derived Fuel มูลคาการลงทุน เมกะวัตตละ 130 ลานบาท (ไมรวมคาที่ดิน) 2. โรงไฟฟาชุมชน Gasification 1 MW จากขยะชุมชน มูลคาการลงทุน เมกะวัตตละ 120 ลานบาท (ไมรวมระบบคัดแยก) 3. เตาเผาขยะ (Incinerator) มูลคาการลงทุนเมกะวัตตละ 70-80 ลานบาท เกี่ยวกับขยะยังมีเรื่องซุกอยูใตพรมอีกมาก นักลงทุนที่หวังดีกับ สิ่งแวดลอมอยาเพิ่งหมดกําลังใจ ทองคาถาไวใหดี พลังงานทดแทนยังมี ใหลงทุนอีกกวา 400,000 ลานบาท ในชวง 10 ปนี้ 73

Energy#59_p72-73_Pro3.indd 73

9/16/13 11:10 PM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง ผูอํานวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก

โลจิสติกส การจัดการทองเที่ยวสีเขียว

ปจจุบันโลกธุรกิจกําลังถูกจํากัดและถูกตีกรอบดวยกฎกติกาทางการคาจากปญหาสิ่งแวดลอมและพลังงานที่ขาดแคลน ดังนั้น การดําเนินการทางธุรกิจจะตองมีความพรอมถึงการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมภายในธุรกิจและสภาพแวดลอมที่อยูรอบ ๆ ธุรกิจดวย ถึงแมวา การจัดการโลจิสติกสนั้นจะถูกมองวามีวัตถุประสงคเพื่อลดตนทุนและคาใชจายเทานั้น แตหากมีการปรับมุมมองและโลกทัศน ทางการบริหารจัดการแลว ยังสามารถนําไปใชไดกบั ธุรกิจบริการทุกประเภท โดยเฉพาะการจัดการการทองเทีย่ ว ซึง่ สามารถเพิม่ ประเด็น การจัดการโลจิสติกสเพือ่ สิง่ แวดลอมลงไปได โดยในระยะยาวผลประกอบการสามารถลดทัง้ ตนทุนทางธุรกิจและตนทุนทางดานสิง่ แวดลอม รวมถึงการสรางคุณคาและสงมอบคุณคาอยางแทจริงใหกับผูบริโภค สังคม ชุมชน และโลกของเรา อยางไรก็ดี หลายฝายทัง้ ภาครัฐ สถานศึกษา และผู  ป ระกอบการภาคเอกชนได นํ า คอนเซ็ ป ต เรื่ อ งกรี น มาใช ใ นระบบการจั ด การโลจิ ส ติ ก ส เพิ่มมากขึ้น จะเห็นไดจากการใหความสําคัญและ ส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วเชิ ง อนุ รั ก ษ การปลู ก ฝ ง การท อ งเที่ ย วแบบใหม ที่ เ ป น มิ ต รและใส ใ จ สิ่งแวดลอม เพราะนอกจากจะไดทองเที่ยวอยาง เขาถึงธรรมชาติแลว ยังไดเปนสวนหนึ่งของการ ชวยอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติของแหลงทองเทีย่ ว ควบคูกันไปดวย นอกจากนี้ การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส เ พื่ อ การทองเทีย่ วสีเขียว คงไมไดมองเพียงปจจัยในเรือ่ ง โครงขายคมนาคม ระบบขนสงมวลชนสาธารณะ การกําหนดแนวทางการขนสงในการทองเที่ยวที่ ประหยัดพลังงาน หรืองานในกระบวนการผลิต

ของโรงงานเทานั้น แตการจัดการโลจิสติกสยัง สามารถนําไปประยุกต ใชกับการทองเที่ยวได ดวย ซึ่งผูเขียนขอเสนอขอคิดในการดําเนินการ การจัดการโลจิสติกสเพื่อการทองเที่ยวสีเขียว พอสังเขป 6 ประการ ดังนี้ 1. กํ า หนดนโยบายด า นสิ่ ง แวดล อ ม (Green Policy) เชน เปนผูป ระกอบการทีด่ าํ เนิน ธุรกิจการทองเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) อนุรักษสิ่งแวดลอม ประเพณี วัฒนธรรมและ มรดกทองถิ่น ซึ่งเปนเอกลักษณเฉพาะ 2. การดํ า เนิ น การใช ห ลั ก การสร า ง อุ ป นิ สั ย (Green Habits) เริ่ ม ต น จากการ พัฒนาทัศนคติ และจิตสํานึกของบุคลากร ให ความรูและสรางความตระหนักถึงการอนุรักษ สิ่งแวดลอม 10 ประการ คือ

2.1 Reduce คื อ การรู  จั ก ทะนุถนอม บํารุงรักษา ใหมอี ายุยนื ยาว คงทนถาวรใชไดนานที่สุด นอกจากนี้ อาจมีการลดขนาดหรือปริมาณสิง่ ของ ตางๆลงเชนมีการ warmupเครือ่ งจักร กอนเดินเครื่องทุกครั้ง การประกอบ ในบางจุ ด จากเดิ ม เคยในน็ อ ตหรื อ สกรู ก็ เ ปลี่ ย นเป น การล็ อ กโดยใช ชิ้นสวนของสวนประกอบนั้น ๆ แทน 2.2 Reuse คื อ การรู  จั ก หมุ น เวี ย น นํ า สิ่ ง ของที่ ใ ช แ ล ว มา ใชใหม เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน ขวด แกว พาเลทพลาสติก หรือกรณี การนํานํ้าที่ซักผาแลว ไปรดนํ้าตนไม อีกครั้ง

74

Energy#59_p74-75_Pro3.indd 74

9/11/13 11:08 PM


2.3 Recycle คือ นําสิ่งของที่ ทิ้ ง แล ว หรื อ เศษที่ ไ ม ใ ช แ ล ว มาผ า น กระบวนการแปรรู ป หรื อ การผลิ ต ใหม ที่ สามารถนํากลับมาใชใหมได ไดแก กระดาษ แกว ลวด เหล็ก ทองแดง กระจก พลาสติก 2.4 Rethink คือ เปลีย่ นวิธคี ดิ ใหม อยางสรางสรรค โดยระดมความคิดเห็น ภายในบริ ษั ท หาวิ ธี ป ระหยั ด พลั ง งาน หรื อ คิ ด หาวิ ธี อ อกผลิ ต แบบผลิ ต ภั ณ ฑ / บริการที่เปนนวัตกรรมชวยประหยัดตนทุน เชน ตองเปลี่ยนวัฒนธรรมและความเชื่อ ในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานที่เดิม เลือกเฉพาะความสามารถบุคคล เปลีย่ นเปน ไม ต  อ งทํ า ข อ สอบวั ด IQ แต เ ปลี่ ย นเป น ทดสอบ EQ แทน 2.5 Recondition คือ การนํา สิ่งของที่มีอยูแลวมาปรับสภาพใหม เชน เครื่องจักรกลแทนที่จะซื้อเครื่องใหม ก็แค เปลี่ยนชิ้นสวนแลวก็ใชไดใหมเหมือนเดิม หรือลดการใชเครื่องปรับอากาศ แตปรับ ภูมิทัศนรับอากาศจากภายนอกแทน 2.6 Refuse คือ การปฏิเสธ หลีกเลี่ยง และไมใชวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ ที่ จ ะเป น พิ ษ ต อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยออกกฎ ขอบังคับซัพพลายเออรหรือผูปฏิบัติงาน เช น ไม ใ ช บ รรจุ ภั ณ ฑ ที่ ทํ า จากพลาสติ ก เพราะจะสรางปญหาขยะที่เปนมลพิษตอ สิ่งแวดลอม 2.7 Return คื อ การรู  จั ก ใช สิ่งของที่สามารถนําชิ้นสวนมาแลกใหมได เชน กรณีเครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือ ที่ตกรุน เปนตน

2.8 Repair คือ การรูจักซอมแซม ฟนฟูสิ่งของเครื่องใชที่สึกหรอใหสามารถ ใชประโยชน ได ซึ่งการซอมแซมนั้นชวยให ธุรกิจไมตอ งสิน้ เปลืองทรัพยากรทางการเงิน ซื้อเครื่องจักรหรืออุปกรณ ใหม ประหยัด การใชสอยดังกลาวไดมาก รวมถึงเลือก ใชอุปกรณ ไฟฟาใหเหมาะสมกับธุรกิจของ ตนเอง ซอมบํารุงรักษาอุปกรณไฟฟา กําหนด เปาหมายในการลดการใช พลังงานไฟฟา 2.9 Reject คือ รูจักปฏิเสธหรือ งดการใชสงิ่ ของทีเ่ ห็นวาเปนการทําลาย และ สรางมลพิษแกสิ่งแวดลอม ไดแก วัตถุดิบ สารเคมี หรือโฟม 2.10 Refill คือ การรูจ กั ใชสงิ่ ของ ที่สามารถเติมผลิตภัณฑ ในภาชนะเติมได เชน การใชตลับหมึกแบบเติมหมึกได หรือ ผลิตภัณฑชนิดแบบเติม ไมวาจะเปนนํ้ายา ลางหองนํ้า ลางจาง นํ้ายาปรับผานุม 3. การออกแบบสวนใหเหมาะสมกับ ภูมิอากาศและภูมิประเทศ ใชระบบนํ้าหยด สปริงเกอร แทน การใชสายยาง มีถังพักนํ้า ระบบรองรับนํ้าฝน นํ้าจากการบําบัดนํามา Recycle ใชรดนํ้าตนไม เปนตน 4. การบริหารงานในสํานักงาน ไมวา จะเปนการออกแบบอาคารสถานที่ ซึง่ คํานึงถึง เรื่ อ งการระบายความร อ นได เ ป น อย า งดี โดยไมเปดเครือ่ งปรับอากาศ การใชกระดาษ รีไซเคิลและใชทั้งสองหนา และการบริจาค กระดาษใชแลวใหแกโรงเรียนสอนคนตาบอด เพื่อใหนักเรียนใชทําสมุดโนต การจัดเก็บ เอกสาร และทํ า งานออนไลน (Online Collaboration) ใช คี ย  ก าร ด ในการ ควบคุมระบบไฟของหองพัก รวมถึงการ คํานึงถึงมาตรฐานระบบบําบัดนํ้าเสีย โดย บํ า บั ด นํ้ า เสี ย ด ว ยวิ ธี ธ รรมชาติ สามารถ นํากลับมาใชใหมได

5. รานคาและรานอาหาร โดยการ คัดเลือกรานที่คนทองถิ่นเปนเจาของ และ สนับสนุนการจางงานในทองถิ่น เมนูอาหาร ทีน่ าํ เสนอจะเนนอาหารทองถิน่ เพือ่ ใหทา นได รับประสบการณเชนเดียวกับคนในพื้นที่ ซึ่ง หมายถึงทานชวยลดคาขนสง และปริมาณ คารบอนทีจ่ ะเกิดในระหวางขนสงดวย รวมถึง การกํ า จั ด ขยะ การจั ด ถั ง แยกขยะให มี สี ที่ แ ตกต า งกั น อย า งชั ด เจน หากเป น ขยะ อิ น ทรี ย  จ ากเศษอาหารสามารถนํ า ไปทํ า ปุยหมักและนํ้าหมักชีวภาพได 6. ไกดทัวร มีกระบวนการคัดเลือก ไกดทอ งถิน่ ทีม่ คี วามรูแ ละเชีย่ วชาญในพืน้ ที่ พาเดินทางทองเที่ยว จะทําใหไดรับความรู และประสบการณของทองถิน่ อยางครบถวน และยั ง ได รั บ ข อ มู ล เกี่ ย วการปฏิ บั ติ ตั ว ใน การเดินทางและการใชชีวิตที่สงผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุดดวย รวมถึงการ เดินทางทองเที่ยว เลือกพาหนะที่ใช NGV LPG เปนหลัก เปลี่ยนบรรยากาศดวยการ เดินทางดวยพาหนะสาธารณะ เชน รถไฟ รถทัวร ซึ่งนอกจากจะประหยัดแลว ยังชวย ลดปริมาณกาซพิษที่ปลอยสูอากาศ และ ยังชวยลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมอีกดวย อยางไรก็ดี จะเห็นไดวาประเทศไทย มีความสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาติ อยูในแตละจังหวัด ดังนั้น หากทุกฝายให ความรวมมือกันอยางจริงจังกับการจัดการ โลจิสติกสเพื่อการทองเที่ยวสีเขียวจะเปน แหลงดึงดูดเงินตราจากตางประเทศไดดกี วา อุตสาหกรรมอื่น

75

Energy#59_p74-75_Pro3.indd 75

9/11/13 11:11 PM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

พลังงาน…สิง่ สําคัญสําหรับการดํารงชีวติ ของมุนษยในปจจุบนั จริง อยูว า ทีผ่ า นมาคนรุน เกาเติบโตและใชชวี ติ ไดโดยทีไ่ มจาํ เปนตองพึง่ พาสิง่ นีม้ ากนัก แตหากเปนยุคปจจุบนั แลวละก็…ตองบอกเลยวา “เปนไปไมได” เพราะเรื่องของพลังงานเขามาเกี่ยวของกับเราทุกคน ตั้งแตลืมตาตื่น ขึน้ มาในแตละวัน เมือ่ ความตองการสูงก็สง ผลใหราคาพลังงานมีการปรับตัว สู ง ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง สวนทางกั บ จํ า นวนของพลั ง งานที่ มี อ ยู  จํ า กั ด ซํ้ารายยังตองอิงกับตลาดโลกเสียอีกจึงเปนเรื่องที่หลีกเลี่ยงไมไดเลย สําหรับราคาพลังงานทีไ่ ตระดับจนติดเพดานอยางในปจจุบนั

บทเรียนสําคัญ...ที่ต้องเรียนรู้ จากการปรับราคาพลังงาน เป น ที่ รู  กั น ดี ว  า วิ ถี ชี วิ ต แบบไทย ยังรับไมไดกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่ เปนมาชานาน ยิ่งถามีการเปลี่ยนอยาง กะทั น หั น แบบไม ไ ด ตั้ ง ตั ว แล ว ละก็ … ผลลัพธทตี่ ามมาจากการเปลีย่ นแปลงนัน้ มักสงผลลบมากกวาผลบวกอยางแนนอน ทั้ง ๆ ที่ในระยะยาวอาจเปนผลดีมากกวา ผลเสียก็ตาม หรือกลาวงาย ๆ คือ เรื่อง ของความเคยชินจากสิ่งที่เปนอยู แนนอน…วาเราไมสามารถโทษวิถี ชีวิตที่เปนมาชานานหรือประชาชนได แต สิ่งที่ตองโทษ คือ การวางกฎเกณฑใหวิถี เหลานั้นเกิดขึ้นมา หยั่งลึกจนกลายเปน ความเคยตัวตางหาก

เมื่อเร็ว ๆ นี้ บทเรียนครั้งสําคัญไดเกิด อีกครั้ง เมื่อที่ประชุมคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ (กพช.) ไดเห็นชอบแนวทาง การปรับราคาขายปลีกกาซปโตรเลียมเหลว หรือ LPG ภาคครัวเรือน โดยยกเลิกมติคณะ กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติเดิม เมือ่ วัน ที่ 8 กุมภาพันธ 2556 ที่ใหปรับราคาขายปลีก LPG ภาคครัวเรือน ใหสะทอนตนทุนโรงแยก ก า ซธรรมชาติ ที่ 24.82 บาท/กก. ภายใน ป 2556 และเห็นชอบแนวทางปรับราคาขายปลีก LPG ภาคครัวเรือนใหม โดยใหปรับขึ้นเดือนละ 0.50 บาท/กก. มีผลตัง้ แตวนั ที่ 1 กันยายน 2556 ที่ ผ  า นมา จนสะท อ นต น ทุ น โรงแยกก า ซฯ ที่ 24.82 บาท/กก. ภายในป 2557

76

Energy#59_p76-77_Pro3.indd 76

9/16/13 11:14 PM


เมื่อมีมติเชนนี้ แนนอนวาผูที่ไดรับผลกระทบ ก็คือ ประชาชน เพราะการปรับขึ้นราคาเปรียบเสมือนการหักดิบ ใหภาคประชาชนยอมรับ ทั้งที่ไดมีการเลื่อนมติดังกลาวมา แลวหลายครัง้ เพราะเกรงวาประชาชนสวนใหญของประเทศ ที่มีรายไดปานกลางจนถึงนอย จะไดรับผลกระทบจากมติ ดังกลาว และเกิดปญหาตามมาเปนลูกโซใหภาครัฐบาลตอง ตามแกไขแบบวันตอวัน ถึงแมทปี่ ระชุมคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ จะมีแผนรองรับดวยการชวยเหลือผูไดรับผลกระทบจาก การปรั บ ราคาขายปลี ก LPG ภาคครั ว เรื อ น โดยครั ว เรือนที่มีรายไดนอย จะไดรับการชวยเหลือตามการใชจริง แตไมเกิน 18 กิโลกรัม เปนเวลา 3 เดือน สวนรานคา หาบเร แผงลอยอาหาร ไดรับการชวยเหลือตามการใชจริง แตไมเกิน 150 กิโลกรัมตอเดือน โดยผูไดรับการชวยเหลือ สามารถเลื อ กใช ถั ง ขนาดใดก็ ไ ด แต ไ ม เ กิ น ขนาดถั ง 15 กิโลกรัม ตองยอมรับวายังมีรานคาหรือผูมีสิทธในการ รับมาตรการณชวยเหลือดังกลาว มาลงทะเบียนใชสิทธิ์ ซือ้ LPG ราคาเดิมนอยกวาทีค่ าดหมาย เนือ่ งจากการปรับขึน้ ราคาในชวง 1-2 เดือนแรก ประชาชนยังรูสึกวารับได ดีกวา ตองมารับสิทธิ์ที่มีการดําเนินการและขั้นตอนยุงยาก จาก บทเรียนของมาตรการชวยเหลือตาง ๆ ที่ผานมา แน น อนว า ต อ งเป น เงิ น จํ า นวนไม น  อ ยเลยที เ ดี ย ว จนมีคําถามที่วา…แลวเงินเหลานั้นมาจากไหน ? ที่นาเปนหวง เมื่อราคา LPG ทยอยขึ้น จนถึงชวง เดือนที่ 4-5 หรือปรับราคาเฉลีย่ 2-3 บาทตอกิโลกรัม ราคา ที่วารับได จะเริ่มเห็นวาสูงขึ้น เพราะเทากับจะตองจายเพิ่ม เฉลีย่ ถังละ 30- 45 บาท เมือ่ ถึงทีส่ ดุ ทีร่ าคาไตระดับขยับไปที่ ไป 6 บาทตอกิโลกรัม จํานวนเงินทีต่ อ งจายเพิม่ จะแตะทีถ่ งั ละ 90 บาทจากราคาที่รับได จะกลายเปนความไมเขาใจอีกครั้ง

ทัง้ นี้ เรือ่ งของความไมเขาใจทีแ่ ฝงมาในรูปของผลกระทบและความเคยชิน สง ผลใหมกี ารเคลือ่ นไหวจากหลายฝาย ในการยืน่ หนังสือหรือคําขอใหพจิ ารณาการ ปรับขึ้นราคาเสียใหม ซึ่งในความเปนจริงการขึ้นราคา LPG จะทําไปพรอม ๆ กับ การชวยเหลือกลุมคนที่มีรายไดนอย 7.6 ลานครัวเรือน จากมาตรการชวยเหลือ เปนเงินปละไมนาเกิน 2,000 ลานบาท จากแหลงเงินที่มาของกองทุนนํ้ามัน สงผล ใหราคานํ้ามันถูกลง หลังจากที่ขึ้นราคากาซ LPG จนครบ และผูที่ไดประโยชน ก็ คือ คนสวนใหญนนั่ เอง เพราะทีผ่ า นมามีการเก็บเงินเขากองทุนนํา้ มันเพือ่ อุดหนุน ราคากาซอยางตอเนื่อง หรือเปรียบเทียบใหเขาใจงายขึ้น ทุกครั้งที่ไปเติมนํ้ามัน 2 ลิตร จะถูกเก็บเงินไป 20 บาท เขากองทุนนํา้ มันฟรี ๆ ทัง้ ทีไ่ มใชคา นํา้ มันเลย เพือ่ มาชวยอุดหนุนราคา LPG ตามนิสัยที่เคยชินเปนเวลาชานาน หากนับถอยหลังจนครบ 1 ป กับการแกปญ  หาและทําความเขาใจกับประชาชน เรือ่ งการปรับราคา LPG ผลทีต่ ามมาตามหลักความเปนจริงทีค่ วรจะเปน คือ ราคา นํา้ มันทีจ่ ะลดลง เพราะไมจาํ เปนตองเก็บเงินเขากองทุนนํา้ มันมากเกินความจําเปน และ ราคานํา้ มันจะมีเสถียรภาพขึน้ ไมมกี ารปรับขึน้ หรือปรับลดราคานํา้ มันแบบวันตอวัน แบบราคาทอง อันทีจ่ ริง…การปรับราคา LPG ใหเปนไปตามกลไกของตลาดโลก ไมใชเรือ่ ง แปลกหากเปนเชนทีห่ นวยงานทีเ่ กีย่ วของกลาวมา เพราะเปนสิง่ ทีป่ ระเทศเล็ก ๆ อยาง ประเทศไทยตองหมุนตามโลกใบใหญใหทนั และไมใชเรือ่ งแปลกทีจ่ ะมีเสียงคัดคาน ตามมา ไมวา จะมากหรือนอย เพราะทีผ่ า นมาประเทศไทยสรางความเคยชินในการ ชวยเหลืออุดหนุนราคาพลังงานมาชานาน สิง่ ทีค่ วรทําความเขาใจ คือ การวางแผน รับมือใหรัดกุมมากกวานี้ ไมใชแกปญหาแคเฉพาะหนาเพื่อใหพนตัวเทานั้น การนําบทเรียน ปญหา เสียงคัดคาน และเสียงสนับสนุน มาผนวกรวมกัน ผลลัพธทไี่ ดอาจเปนสิง่ ทีท่ กุ คนเขาใจตรงกันก็เปนได ?

77

Energy#59_p76-77_Pro3.indd 77

9/16/13 11:13 PM


Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา

ประเด็ น เรื่ อ งพลั ง งานทดแทนจาก แสงอาทิ ต ย ยั ง คงเป น ที่ แ หล ง พลั ง งานที่ หลายฝ า ยให ค วามสนใจ ด ว ยความที่ เป น แหล ง พลั ง งานที่ ไ ม มี ที่ สิ้ น สุ ด จนเกิ ด การลงทุนดานพลังงานดังกลาวอยางคึกคัก เพื่อขายใหกับสวนกลาง เพื่อเสริมศักยภาพ ด า นความมั่ น คงด า นพลั ง งานของประเทศ โดยเฉพาะความคื บ หน า การออกระเบี ย บ การรั บ ซื้ อ ไฟฟ าพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ที่ติ ด ตั้งบนหลังคา (SOLAR ROOFTOP) ตามมติผของคณะกรรมการนโยบายพลังงาน แหงชาติ (กพช.)

ดีเดย SOLAR ROOFTOP

ไฟเขียว VSPP ยื่นคําขอขายไฟฟาถึงตุลาคมนี้ ดร.ดิ เ รก ลาวั ณ ย ศิ ริ ประธาน กรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) เผยการรับซื้อไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย ที่ติดตั้งบนหลังคา ตามที่ไดประกาศในราช กิจจานุเบกษา พ.ศ. 2556 เปนที่เรียบรอย แลว มีผลบังคับใชตงั้ แตวนั ที่ 3 กันยายน 2556 เพื่อกําหนดหลักเกณฑและคุณสมบัติของ ผูที่ตองการจะยื่นขอผลิตไฟฟาขนาดเล็ก มาก (VSPP) ที่ประสงคจะลงทุนในพลังงาน ทดแทนดังกลาว สามารถยื่นขอเสนอขาย ไฟฟ า จากการผลิ ต ไฟฟ า จาก SOLAR ROOFTOP ให กั บ การไฟฟ า นครหลวง ( กฟน.) และ การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ไดตั้งแตวันที่ 23 กันยายน จนถึง วันที่ 11 ตุลาคม 2556 เวลา 09.00 – 15.00 น. และ จะประกาศรายชือ่ ผูย นื่ คําขอขายไฟฟาทีผ่ า น การคัดเลือก ตั้งแตวันที่ 14 ตุลาคม 2556 เปนตนไป กฎระเบียบของการรับซื้อไฟดังกลาว ไดกําหนดใหการไฟฟาฝายจําหนายรับซื้อ ไฟฟ า ที่ จ  า ยเข า ระบบไฟฟ า เชิ ง พาณิ ช ย (SCOD) ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2556 ใน ปริมาณการรับซือ้ ทีข่ นาดกําลังการผลิตติดตัง้ รวม 200 เมกะวัตต แบงเปน บานอยูอาศัย

ทีม่ ขี นาดกําลังการผลิตติดตัง้ 0-10 กิโลวัตต รวม 100 เมกะวัตต และอาคารธุรกิจขนาด เล็ก-กลาง-ใหญ ที่มีกําลังการผลิตติดตั้ง 10-1,000 กิโลวัตต รวม 100 เมกะวัตต โดยมี ร าคารั บ ซื้ อ ไฟฟ า จากผู  ผ ลิ ต ไฟฟ า ตามอัตรารับซื้อไฟฟาตามตนทุนจริง หรือ ฟดอินทรารีฟ 25 ป นับจากกําหนดวัน จายไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชย (SCOD) โดยแบ ง เป น กลุ  ม บ า นที่ อ ยู  อ าศั ย รั บ ซื้ อ อัตรา 6.96 บาทตอหนวย กลุม อาคารธุรกิจ ขนาดเล็ก รับซื้ออัตรา 6.55 บาทตอหนวย และกลุ ม อาคารธุรกิจขนาดกลาง -ใหญ รับซื้ออัตรา 6.16 บาทตอหนวย ผู  ที่ ส ามารถยื่ น คํ า ขอจะต อ งเป น เจาของอาคาร หรือไดรับการยินยอมจาก ผู  ที่ เ ป น เจ า ของอาคาร หรื อ มี สั ญ ญาเช า โดยอาคารนั้ น จะต อ งไม เ คยติ ด ตั้ ง แผง โฟโตเวลเทอิก (Photovoltaic Panel) มากอน และอาคารที่ติดตั้งแผงโฟโตเวลเทอิกตอง มีเครื่องวัดหนวยไฟฟา (Meter) ซือ้ ไฟฟา อยูแ ลว ตามประเภทผูใ ชไฟฟาของการไฟฟา ฝายจําหนายซึ่งสอดคลองกับกลุมประเภท อาคารที่กลาวมา และตองไมเปนหนวยงาน ภาครั ฐ โดยผู  ที่ ป ระสงค จ ะยื่ น ขายไฟฟ า

ประเภทบ า นอยู  อ าศั ย สามารถยื่ น คํ า ขอ ขายไฟฟาไดไมเกิน 10 แบบคําขอตอครั้ง ที่ยื่น สําหรับกลุมอาคารธุรกิจหรือโรงงาน สามารถยืน่ คําขอขายไฟฟาไดไมเกิน 1 แบบ คําขอตอครั้งที่ยื่น ผูยื่นที่ขอผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก จะตองระบุกําหนดวันจายไฟฟาเขาระบบเชิง พาณิชย (SCOD) ที่ชัดเจนและอยูภายใน กรอบเวลาที่กําหนดในประกาศการรับซื้อ ไฟฟา สวนหลักเกณฑการพิจารณาการ ไฟฟาฝายจําหนายจะเรียงลําดับคําขอขาย ไฟฟาตามวันและเวลาที่ไดรับเอกสารครบ ถวนสมบูรณ โดยการไฟฟาจะทําการเรียง คําขอของแตละพื้นที่จนครบ 100 เมกะวัตต เพื่อความเปนธรรมกับผูสนใจจะผลิตและ จําหนายไฟฟาทุกราย ทัง้ นี้ การดําเนินการดังกลาว เปนสวน หนึง่ ของการเพิม่ สัดสวนการผลิตไฟฟาจาก พลังงานทดแทน แทนการใชกาซธรรมชาติ ตามแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาระยะ ยาว ฉบับใหม PDP 2013 ที่ตองการปรับ สัดสวนการใชกาซธรรมชาติใหเหลือ 45% จากปจจุบันที่ใชอยูประมาณ 70% ของการ ผลิตไฟฟาทั้งหมดของประเทศ

78

Energy#59_p78_Pro3.indd 78

9/11/13 11:15 PM


Energy#59_p79_Pro3.ai

1

9/18/13

8:36 PM


Special Scoop รังสรรค อรัญมิตร

เสียงสะทอนจากชุมชนผาปง สูแผนพัฒนาพลังงานชุมชนของกระทรวงพลังงาน หลายคนอาจเคยได ยิ น ว า กระทรวง พลังงานมีนโยบายสงเสริมและพัฒนาการใช พลั ง งานทดแทนในระดั บ ท อ งถิ่ น โดยจั ด ทํ า เปนแผนพลังงานชุมชน ตัง้ แต ป พ.ศ. 2549 มีเปาหมายสําคัญคือ การพัฒนาพลังงานอยาง มีดุลยภาพควบคูกับการอนุรักษสิ่งแวดลอม และการมีสวนรวมของภาคประชาชน สูการ พัฒนาศักยภาพดานพลังงานทดแทนเสริมสราง พลังงานใหกบั ประเทศ

ตลอดระยะเวลาหลายปทผี่ า นมากระทรวงพลังงานไดสนับสนุน และพัฒนาใหมกี ารใชพลังงานทดแทนในระดับชุมชนหลากหลายรูปแบบ ดวยกัน ทั้งการใชพลังงานนํ้า พลังงานชีวภาพ ชีวมวล ที่ไดจาก วัตถุดิบของทองถิ่นนั้น ๆ รวมถึงการพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย และพลั ง งานลม ที่ ก ระทรวงพลั ง งานได ใ ห ค วามสํ า คั ญ เช น กั น อยางไรก็ตาม ถึงแมจะมีแผนการพัฒนาพลังงานชุมชนมาหลายป แตแผนพัฒนาพลังงานชุมชนของกระทรวงพลังงานนั้น ดูจะไมมี ความคืบหนาเนือ่ งจากไมไดมกี ารพัฒนาอยางจริงจังและตอเนือ่ ง เพราะ กระทรวงพลังงานในยุคปจจุบนั มุง หนาพัฒนาการลงทุนดานพลังงาน ในระดับประเทศมากกวาการพัฒนาสงเสริมในระดับรากหญา

80

Energy#59_p80-81_Pro3.indd 80

9/20/13 9:49 PM


ทัง้ นี้ ผมมีโอกาสไดเดินทางไปเยีย่ มชม โครงการวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนของตํ า บลผาป ง อําเภอแมพริก จังหวัดลําปาง จึงถือโอกาส ยกเป น ตั ว อย า งเพื่ อ เป น การสะท อ นถึ ง ป ญ หานโยบายแผนพั ฒ นาพลั ง งานของ หนวยงานภาครัฐ โดยชุมชนผาปงเริ่มจาก การรวมกลุ  ม กั น เป น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนเมื่ อ ประมาณ 3 – 4 ปที่ผานมา เพื่อพัฒนา ชุ ม ชนให เ กิ ด ความพอเพี ย ง และในช ว ง ระยะเวลาไมกี่ปที่ผานมาชาวชุมชนผาปงได เปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกพืชลมลุก เชน ขาวโพด มันสําปะหลัง หันมาปลูกไผเพื่อ ต อ ยอดเป น วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนอย า งจริ ง จั ง ภายใตแนวคิด “มีปา มีนาํ้ มีพลังงาน มีชวี ติ ” การตอยอดนั้นชุมชนแหงนี้ไดสราง สถานี วิ ส าหกิ จ การผลิ ต ขึ้ น มาหลายด า น ดวยกัน เชน สถานีวิสาหกิจผลิตตะเกียบ ไมเสียบลูกชิ้น กานธูป เครื่องจักสาน สวน เศษวัสดุเหลือใช เชน ขอไผ นํามาเผาและ บดเปนถานอัดแทง เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงใน การหุงตม ซึง่ จากการเผาถานยังไดประโยชน จากนํ้าสมควันไมที่สามารถนํามาผลิตเปน ผลิตภัณฑตาง ๆ ไมวาจะเปนผลิตภัณฑ จุ ลิ น ทรี ย  ใ ช ผ สมนํ้ า สํ า หรั บ ฉี ด พ น ขั บ ไล แมลงและปองกันเชื้อรา ผลิตภัณฑดับกลิ่น นํ้ายาทําความสะอาดหองนํ้า นํ้ายาลางจาน ฯลฯ สวนเศษวัสดุสวนหนึ่งจะเก็บสต็อก ไปบดอัดเปนเชื้อเพลิงใชในสถานีวิสาหกิจ โรงไฟฟ า ชุ ม ชนระบบก า ซซิ ฟ  เ คชั่ น ขนาด 70 กิโลวัตต ซึ่งปจจุบันอยูในระหวาง การทดลองเดินเครื่อง นอกจากนัน้ ยังมีสถานีวสิ าหกิจอืน่ อีก มากมาย เชน สถานีวสิ าหกิจผลิตอิฐ สถานี วิสาหกิจผลิตปุย ชุมชน สถานีวสิ าหกิจผลิต ผั ก ปลอดสารพิ ษ สถานี วิ ส าหกิ จ ผลิ ต สมุ น ไพรพื้ น บ า น สถานี วิ ส าหกิ จ ผลิ ต ข า วกล อ งสถานี วิ ส าหกิ จ อบฆ า เชื้ อ รา พลั ง งานแสงอาทิ ต ย แ ละสถานี วิ ส าหกิ จ ผลิตกลวยอบพลังงานแสงอาทิตย เปนตน

โดยในแง ข องการบริ ห ารจั ด การทางชุ ม ชนมี ก ารจั ด ตั้ ง มู ล นิ ธิ พั ฒ นาชุ ม ชนผาป ง ขึ้ น เพื่ อ มากํ า หนดขอบเขตกติ ก าต า ง ๆ ที่ เ ป น ผลประโยชนตอชุมชน เชน การจัดหาตลาดรองรับผลิตภัณฑของกลุม วิสาหกิจชุมชนผาปง การจัดการบัญชีรายรับรายจาย รวมถึงการดําเนิน โรงไฟฟาชุมชนจากพลังงานแสงอาทิตย โดยรวมลงทุนกับบริษัทลูก ของการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) เพื่อขายไฟฟาใหกับทางการไฟฟา สวนภูมิภาคเสริมสรางรายไดใหกับชุมชนแหงนี้สูความพอเพียง อยางไรก็ตาม นายวิรตั น ศรีคง ประธานเครือขายวิสาหกิจชุมชนผาปง ซึ่งเป น อดีตเกษตรอําเภอที่เกษีย ณอายุราชการ อธิ บายถึงเหตุผลที่ ชุมชนผาปงเริ่มตนวิสาหกิจจากไผใหฟง วา ไผเปนพืชตระกูลหญาที่โตเร็ว การปลูกไผเพียงครั้งเดียวสามารถที่จะบริหารจัดการไดถึง 50-100 ป นอกจากจะปลูกเพื่อชวยยึดดินไมใหพังทลายและดูดซับนํ้าแลว ไผที่ ชุมชนปลูกยังเปนวัตถุดิบสําคัญในการผลิตตะเกียบ และนําเศษวัสดุเปน เชื้อเพลิงในโรงไฟฟาชีวมวลขนาดเล็ก ซึ่งจะใชเศษไผประมาณวันละ 2 ตัน สําหรับ การผลิตไฟฟ าขนาด 70 กิ โลวัตต ซึ่งการผลิตไฟฟ าโดยใช เชือ้ เพลิงเศษวัสดุเหลือใชจากไผ ไดรบั การสนับสนุนอัตราคาไฟฟาในระบบ แอดเดอร ในอัตรา 50 สตางคตอหนวย สวนการผลิตตะเกียบและถานอัดแทง ชวยใหวิสาหกิจชุมชนผาปง มีรายไดเดือนละประมาณ 2-3 แสนบาท และกอใหเกิดการจางงานในชุมชน โดยชาวบานในชุมชนผาปงที่มาทํางานในวิสาหกิจที่ตั้งขึ้น หลายสิบคน จะไดรบั คาจางวันละ 300 บาทเทียบเทาคาแรงขัน้ ตํา่ ทีร่ ฐั บาลเพิง่ ประกาศใช โดยไมตองไปทํางานนอกพื้นที่ ในขณะที่ชาวบานคนอื่น ๆ ที่มีการปลูกไผ ก็จะมีรายไดจากการขายไผใหกับกลุมวิสาหกิจผาปง รวมทั้งการเขามา เปนสวนหนึ่งในการเปนเจาของวิสาหกิจ โมเดลวิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนผาป ง ตลอดป 2555 จนถึ ง ป จ จุ บั น นั้ น มี ชุ ม ชนเดิ น ทางมาศึ ก ษาดู ง านเฉลี่ ย เดื อ นละ 1,000 คน และกํ า ลั ง ขยายผลเปนตนแบบไปยังอีก 10 ชุมชน ภายในป 2556 -2558 ประกอบดวย วิสาหกิจชุมชนสหกรณบริการอูท อง ต.สระยายโสม อ.อูท อง จ.สุพรรณบุร,ี วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนแม บ  า นเกษตรลาดบั ว ขาว ต.ลาดบั ว ขาว อ.บ า นโป ง จ.ราชบุร,ี วิสาหกิจชุมชนกลุม แปรรูปไมไผบา นพระบาทหวยตม ต.นาทราย อ.ลี้ จ.ลําพูน, วิสาหกิจชุมชนปลูกไมผลไมยืนตนรักนํ้าวา ต.ไหลนาน อ.เวียงสา จ.นาน, วิสาหกิจชุมชนบานหัวทุง ต.ปงเตา อ.งาว จ.ลําปาง, วิสาหกิจชุมชนกลุมไผหวานและเตาซุปเปอรอั้งโล ต.นาแก อ.คําเขื่อนแกว จ.ยโสธร, วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนบ า นหิ น ปู น ต.เขวาใหญ อ.กั น ทรวิ ชั ย จ.มหาสารคาม, วิสาหกิจชุมชนถานอัดแทง ต.ทาชาง อ.นครหลวง จ.พระนครศรีอยุธยา, วิสาหกิจชุมชนบานปาเล ต.ควรขนุน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง, และวิสาหกิจชุมชนกลุมเกษตรกรทําสวนสลุย ต.สลุย อ.ทาแซะ จ.ชุมพร โดยไดรับงบประมาณสนับสนุน จากกระทรวงพลังงาน ผาน สํานักประสานการมีสวนรวมของภาคประชาชน จํานวน 7 ลานบาท ตองติดตามดูวา การขับเคลื่อนดวย วิสาหกิจชุมชนทั้ง 10 แหง ภายใตผาปง โมเดล จะมีศกั ยภาพและความยัง่ ยืนในการ บริหารจัดการพลังงานในชุมชนของตนเอง ไดดีกวานโยบายสงเสริมพลังงานทดแทน แบบ top down อยางการผลิตไฟฟา จากกาซชีวภาพที่มาจากหญาเนเปยรและ แผนพัฒนาพลังงานชุมชนของกระทรวง พลังงานหรือไม แตอยางนอยผมเชื่อวา การพัฒนาตนเองของชุมชนผาปง และอีก 10 ชุมชน ที่กําลังจะพัฒนานาจะเปนการ สะทอนปญหาถึงนโยบายการพัฒนาพลังงาน ของหนวยงานภาครัฐไดเปนอยางดีครับ

81

Energy#59_p80-81_Pro3.indd 81

9/20/13 9:49 PM


Energy Rules ทิดเปง

คลอด... Ft ใหม สะทอนตนทุนที่แทจริง

สรุปเปนทีเ่ รียบรอยสําหรับการคํานวณคาไฟฟาตามสูตรการปรับอัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) งวดเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 โดยคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) พิจารณาวา หากมีการปรับมากจนเกิดไป ผูใชไฟฟาจะไดรับผลกระทบตามมาได จึงเห็นชอบใหจัดเก็บเพิ่ม เพียง 7.08 สตางคตอหนวย ซึ่งสวนตางจะให กฟผ.รับภาระเปนการชั่วคราว เพื่อชวยลดภาระ ใหกับประชาชน ศาสตราจารยกิตติคุณ ดร.ดิเรก ลาวัณยศิริ ประธานกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน เปดเผยวา ที่ประชุมพิจารณาการ ประมาณการค า ไฟฟ า ตามสู ต รการปรั บ อัตราคาไฟฟาโดยอัตโนมัติ (Ft) สําหรับการ เรียกเก็บในเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 โดยคํานวณคา Ft ในงวดเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 ในอัตราเทากับ 61.10 สตางคตอหนวย เพิ่มขึ้นจากงวดที่ผานมา ที่เรียกเก็บในอัตรา 46.92 สตางคตอหนวย จํานวน 14.18 สตางคตอ หนวย ซึง่ เปนผลมา จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ ออนคาลง สงผลใหราคาเชือ้ เพลิงและตนทุน ในการผลิตไฟฟาเฉลี่ยปรับตัวเพิ่มขึ้น

ปจจัยที่สงผลตอการปรับคา Ft มี อยู  ห ลายป จ จั ย แต ที่ น  า จั บ ตามองที่ สุ ด คือ เรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตาง ประเทศที่ออนคาลง ประกอบกับ ราคาเชื้อ เพลิ ง ที่ ใ ช ผ ลิ ต ไฟฟ า ปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ทํ า ให ผลการคํานวณคา Ft ในรอบเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 เพิ่มขึ้นเชนกัน โดยมีการ ปรับตัว ดังนี้ - อัตราแลกเปลีย่ นเงินตราตางประเทศ ทีใ่ ชคาํ นวณในชวงเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 เทากับ 31.24 บาทตอเหรียญสหรัฐ ซึง่ เพิม่ ขึน้ 0.4 บาทตอเหรียญสหรัฐ จากชวง เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2556

- ราคากาซธรรมชาติเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จาก 311.45 บาทตอลานบีทียู เปน 316.20 บาทตอลานบีทียู - ราคานํ้ามันเตาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 21.67 บาทตอลิตร เปน 22.76 บาทตอลิตร - ราคานํ้ามันดีเซลเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 26.51 บาทตอลิตร เปน 28.08 บาทตอลิตร - ราคาถานหินนําเขาเฉลี่ยเพิ่มขึ้น จาก 2,217.36 บาทตอตัน เปน 2,376.26 บาทตอตัน ทั้ ง นี้ คณะกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งาน (กกพ.) เห็นวา หากเปรียบเทียบคา Ft ใน งวดที่ผานมาที่ไดเรียกเก็บจากผูใชไฟฟาใน อัตรา 46.92 สตางคตอหนวย หากจัดเก็บ เพิ่มขึ้นเปน จํานวน 14.18 สตางคตอหนวย จะเปนภาระกับผูใชไฟฟามากเกินไป จึงมีมติ เห็นชอบใหจัดเก็บคา Ft งวดเดือนกันยายน – ธันวาคม 2556 เพิม่ ขึน้ เพียง 7.08 สตางค ตอหนวย ดังนั้น คา Ft งวดนี้จึงเทากับ 54 สตางคตอหนวย โดยจะนําเงินที่ไดจากการ ชดเชยสวนลดคากาซฯ จากการเดินเครื่อง โรงไฟฟาขนอมที่ บมจ.ปตท. จายชดเชยให กับการไฟฟาฝายผลิตและเงินคาปรับจาก บ.เก็คโค-วัน จากการ COD ลาชา จํานวน 2,247.32 ลานบาท มาชวยชดเชยภาระคา Ft ใหกบั ประชาชนสวนหนึง่ และให กฟผ. รับ ภาระในสวนที่เหลือเปนการชั่วคราวไปกอน อีก จํานวน 1,566 ลานบาท เพื่อเปนการ บรรเทาภาระใหแกประชาชนผูใชไฟฟา

82

Energy#59_p82_Pro3.indd 82

9/6/13 11:00 PM


Prefabrication โดย : ชนากานต สันตยานนท ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

สวทช. หนุนผูประกอบการรับสรางบาน

จัดโครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป” ฉบับนี้ขอนําเสนออีกหนึ่งผลงานของ สวทช. ทีร่ ว มงานกับคณะสถาปตยกรรมศาสตร และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ เปนหัวหนา คณะผูเ ชีย่ วชาญ ในการดําเนินงานโครงการ “นวั ต กรรมการพั ฒ นาที่ พั ก อาศั ย กึ่ ง สําเร็จรูป”ในการสงเสริมผูประกอบการที่ ตองการพัฒนาเทคนิคการผลิต และตอยอด ธุรกิจเพื่อรับกอสรางที่อยูอาศัย หรือเปน supplier ใหกับอุตสาหกรรมกอสรางหรือ รับสรางบาน ซึ่งปจจุบันตลาดบานสําเร็จรูป หรือกึ่งสําเร็จรูป เปนนวัตกรรมกอสรางที่ มาแรง เพราะชวยลดตนทุนใหผูประกอบ การสรางบานไดจํานวนมากในเวลารวดเร็ว

นับเปนอีกหนึ่งภารกิจของ สวทช. ที่จะชวย สนับสนุนและผลักดันภาคเอกชน โดยเฉพาะ SMEs ใหมีศักยภาพการแขงขันที่สูงขึ้น อยางยั่งยืน โครงการฯ มีพันธกิจในการพัฒนา และสนั บ สนุ น ภาคอุ ต สาหกรรม โดยให ความรูและแนวทางการสรางนวัตกรรมดาน ที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป (Prefabrication) ได อ ย า งเหมาะสม ซึ่ ง จะส ง ผลต อ การ เสริ ม สร า งความสามารถในการแข ง ขั น ของอุตสาหกรรมกอสรางและรับสรางบาน ผานเทคนิควิธีและแนวคิดทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม

ตลอดระยะเวลา 2 ปทผี่ า นมาผูป ระกอบการ จํานวน 15 บริษทั ผานกิจกรรมทีท่ างโครงการฯ จัดสรรให เชน กิจกรรมจัดอบรมสัมมนา กิ จ กรรมการเข า ให คํ า ปรึ ก ษา กิ จ กรรม Workshop ที่จัดใหผูประกอบการทุกบริษัท ได นํ า เสนอความก า วหน า ของการดํ า เนิ น โครงการ พร อ มนํ า เสนอผลงานต น แบบ ให กั บ สมาชิ ก ในโครงการ เพื่ อ รั บ ฟ ง ข อ เสนอแนะและแลกเปลี่ ย นประสบการณ ของความสํ า เร็ จ รวมถึ ง อุ ป สรรคที่ เ กิ ด ขึ้น เพื่อสรางกําลังใจและแรงบันดาลใจใน การกลับไปสรางสรรคผลงานขั้นตอนตอไป ผานกิจกรรมดี ๆ ทีโ่ ครงการฯ จัดสรรให อาทิ

83

Energy#59_p83-84_Pro3.indd 83

9/16/13 11:22 PM


1. กิจกรรมจัดอบรมสัมมนา เพื่อใหความรูกับผูประกอบการและ ผูส นใจเกีย่ วกับนวัตกรรมดานทีพ ่ กั อาศัยกึง่ สําเร็จรูป (Prefabrication)

2. กิจกรรมการเขาใหคําปรึกษา

3. กิจกรรม Workshop : การนําเสนอความกาวหนาของการ ดําเนินโครงการ พรอมนําเสนอผล งานตนแบบใหสมาชิกในโครงการ เพื่อรับฟงขอเสนอแนะ

ฉบับหนาจะมาเลาถึงขอดีและ ขอจํากัดของการใชเทคโนโลยีการ กอสรางแบบ Prefab ที่สามารถ สร า งสรรค แ นวคิ ด ในการผลิ ต บานสวย คุณภาพสูง และราคา ประหยัด ตอบสนองความตองการ ของผูบ ริโภคไดอยางครบวงจร

หากทานสนใจเขารวมโครงการ ติดตอที่ คุณชนากานต สันตยานนท (chanaghan@tmc.nstda.or.th) โทรสาร. 0-2564-7082 โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 84

Energy#59_p83-84_Pro3.indd 84

9/16/13 11:22 PM


O Waste Idea รศ.ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล

ขยะอิเล็กทรอนิกส…

ของเสียที่มาพรอมกับเทคโนโลยี

เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ จ ากข อ มู ล ที่ ก รมโรงงานอุ ต สาหกรรมได ร ายงานว า ในป จ จุ บั น ป พ.ศ. 2556 มี ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ของขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ภ ายในประเทศ มี ป ริ ม าณสู ง กวา 20 ลานเครื่อง และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นรอยละ 10 ตอป โดยเฉพาะโทรศัพทมือถือ มีปริมาณสูงถึง 9.2 ลานเครือ่ ง ซึง่ ถือวามากเปนอันดับ 1 รองลงมา คือ อุปกรณเลนภาพ/เสียง 3.3 ล า นเครื่ อ ง, โทรทั ศ น 2.5 ล า นเครื่ อ ง, คอมพิ ว เตอร 2 ล า นเครื่ อ ง, เครื่ อ งพิ ม พ / โทรสาร 1.5 ล า นเครื่ อ ง, กล อ งถ า ยภาพ/วิ ดี โ อ 7 แสนเครื่ อ ง, เครื่ อ งปรั บ อากาศ 7 แสนเครื่ อ ง และตู  เ ย็ น 8 แสนเครื่ อ งโดยป จ จุ บั น โรงงาน ในประเทศที่มี กระบวนการคั ด แยกและบดยอยชิ้น สวนอุ ป กรณ ไฟฟาอิเล็กทรอนิกส ยั ง มี จํ า นวนน อ ยและไม เ พี ย งพอกั บ ปริ ม าณซากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสที่เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ พบวายังมีการลักลอบขนขยะอิเล็กทรอนิกสจากตางประเทศเขามายัง ประเทศไทยเปนจํานวนไมนอย โดยมีการสงขยะอิเล็กทรอนิกสเหลานี้ไปยังชุมชนเพื่อให ชาวบานนําไปคัดแยก ถอดชิ้นสวน เพื่อนําโลหะไปขาย เศษที่เหลือของขยะอิเล็กทรอนิกส จะนําไปทําลายโดยการเผาหรือฝงกลบ ทั้งนี้การเผาและทําลายขยะอิเล็กทรอนิกสโดย ไมถูกสุขลักษณะเชนนี้ ยอมกอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอม ชุมชน และตอสุขภาพ รวมทั้ง ความปลอดภัยในการประกอบอาชีพของผูที่เกี่ยวของโดยตรง

ทางกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข มีรายงานถึงความเสี่ยงเชนกันวาไดพบปญหา สารโลหะหนั ก สะสมในร า งกายของชาวบ า น หลายราย และมีการปนเปอนของโลหะหนักใน แหลงนํา้ ชุมชน ดังนัน้ ปญหาขยะอิเล็กทรอนิกสจงึ เปนปญหาเรงดวนประเด็นหนึ่งที่ไมควรมองขาม ในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนของประเทศไทย

85

Energy#59_p85-86_Pro3.indd 85

9/20/13 10:06 PM


ขยะอิเล็กทรอนิกสกบั ทิศทางในการรีไซเคิล

ขยะอิเล็กทรอนิกสเปนของเสียประเภทใด? ขยะอิเล็กทรอนิกส คือ อุปกรณไฟฟาอิเล็กทรอนิกสทั้งหลายที่หมด อายุการใชงานหรือไมตองการใชงานอีกตอไป เนื่องจากความกาวหนาของ เทคโนโลยี ทําใหผูบริโภคเปลี่ยนอุปกรณ ไฟฟาอิเล็กทรอนิกสบอยครั้ง กวาทีเ่ คยเปนมา ซึง่ กลายมาเปนขยะทีต่ อ งจัดการอยางถูกสุขลักษณะตอไป เช น โทรศั พ ท มื อ ถื อ คอมพิ ว เตอร เครื่ อ งเล น ซี ดี ดี วี ดี โทรศั พ ท เครือ่ งถายเอกสาร เครือ่ งรับสงโทรสาร พริน้ เตอร เครือ่ งเสียง เครือ่ งดูดฝุน เตาอบไมโครเวฟ ตูเย็น เครื่องซักผา หลอดไฟ เครื่องมือเครื่องใชในโรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน

วิธกี ารแกปญ  หาทีต่ น ทางเพือ่ ลดจํานวนขยะอิเล็กทรอนิกสนนั้ ควรมีการคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกสออกจากขยะทั่วไป แลวทิ้งลง ในถังขยะที่จัดใหเขารวมโครงการกําจัดขยะอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ นอกจากนี้ ผู  บ ริ โ ภคควรเลื อ กใช เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า หรื อ อุ ป กรณ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มที่ เ รี ย กว า Eco หรื อ Green Product ในปจจุบันมีบางประเทศไดออกกฎหมายหาม นําขยะอิเล็กทรอนิกส ไปฝงกลบ เนื่องจากขยะอิเล็กทรอนิกสมี สวนของขยะพิษประเภทโลหะหนักตาง ๆ สหภาพยุโรปหรืออียู ไดเสนอระเบียบ WEEE และ RoHS สําหรับการใชควบคุมขยะ อิเล็กทรอนิกส ในป ค.ศ. 2005 และ 2006 นอกจากนี้ แนวทางการแกปญหาที่ยั่งยืนตองอาศัยความ รวมมือจากหลายฝาย โดยเฉพาะผูผลิตและและจําหนายผลิตภัณฑ ซึ่ ง มี เ ทคโนโลยี ที่ ก  า วหน า อยู  แ ล ว ย อ มรู  ม าตรการและขั้ น ตอน การกําจัดขยะเหลานี้เปนอยางดี สหภาพยุโรป เกาหลีใต ญี่ปุน รวมทั้งไตหวัน ไดริเริ่มใหมีการกําหนดแนวทางใหผูขายและผูผลิต อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตองมีสวนรับผิดชอบในการรีไซเคิลขยะ อิเล็กทรอนิกสจากผลิตภัณฑของตนเอง หรือ ทีเ่ รียกวา Extended Producer Responsibility ซึ่ ง เป น การแก ป  ญ หาอย า งมี ประสิทธิภาพอีกแนวทางหนึ่ง

ปญหาของขยะอิเล็กทรอนิกสในปจจุบัน ปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกสทวั่ โลกกําลังเพิม่ จํานวนขึน้ อยางรวดเร็วใน ปจจุบัน เพราะผูบริโภคนิยมเปลี่ยนโทรศัพทมือถือ คอมพิวเตอร โทรทัศน อุปกรณเครือ่ งเสียง และพริน้ เตอรบอ ยครัง้ กวาทีเ่ คยเปนมา ตามทิศทางของ กระแสเทคโนโลยีสมัยใหม ในยุโรปมีรายงานถึงปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกสที่ เพิ่มขึ้นรวดเร็วกวาขยะประเภทอื่น ๆ ถึง 3 เทา และคาดการณกันวาประเทศ กําลังพัฒนาจะผลิตขยะอิเล็กทรอนิกสเพิม่ ขึน้ อีกถึง 3 เทา ภายใน 5 ป ขางหนา สําหรับขอมูลของกระทรวงสาธารณสุขมีการระบุวา ในอีก 3 ป ขางหนา ประเทศไทยจะประสบปญหาขยะอิเล็กทรอนิกสจํานวนมหาศาล อันเปนผล มาจากเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกสเหลานี้มีการพัฒนาอยาง รวดเร็ ว และมี อ ายุ ก ารใช ง านไม น าน ขยะอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ส  ว นใหญ มี สวนประกอบของสารพิษประเภทโลหะหนักที่มีมาก ไดแก ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม สารหนู กํามะถัน และสารเคมีอีกเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะ จอมอนิเตอรของเครือ่ งคอมพิวเตอรโดยทัว่ ไปมีตะกัว่ เปนองคประกอบสูงถึง รอยละ 6 ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร เครือ่ งใชไฟฟา และอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหตองมีการรีไซเคิล หรือนํากลับวัสดุแรธาตุมาใชประโยชนใหม

86

Energy#59_p85-86_Pro3.indd 86

สําหรับเทคโนโลยีการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกสนี้ โดยภาพรวม แลวมีขนั้ ตอนและกระบวนการดังตอไปนี้ ไดแกกระบวนการคัดแยก ถอดชิ้ น ส ว นของซากผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า หรื อ อุ ป กรณ อิเล็กทรอนิกสออกมาเปนโลหะ พลาสติก แกวและอุปกรณแผน วงจรไฟฟา กระบวนการทุบ-บดสําหรับชิ้นสวนเพื่อลดขนาดหรือ ชําแหละเปนชิน้ สวนเล็ก ๆ กระบวนการบดใหเปนผงละเอียดและมีการ แยกสวนโลหะที่มีคาออกเพื่อนํากลับไปรีไซเคิลมาใชประโยชนใหม กระบวนการรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกสนี้จําเปนตองมีการควบคุม มลพิษอยางถูกวิธี ไดแก การใชระบบดักจับฝุน ระบบดักจับกรด ที่ฟุงกระจาย และระบบบําบัดนํ้าเสียที่ปนเปอนเพื่อใหนํ้าทิ้งที่ปลอย ออกมาเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพนํ้าทิ้งที่กฎหมายกําหนดกอน ปลอยออกสูภายนอกโรงงาน ปจจุบนั ประเทศญีป่ นุ และบางประเทศในยุโรปมีการสงเสริมการ สรางโรงงานรีไซเคิลขยะอิเล็กทรอนิกสใหแพรหลายไปตามเมืองตาง ๆ ตามแนวทางของเมืองสีเขียว ถึงเวลาแลวสําหรับเมืองไทยทีต่ อ งหัน มาใสใจกับปญหาขยะอิเล็กทรอนิกสเพื่อลดปญหาขยะมูลฝอยและ การปนเปอ นสิง่ แวดลอม ตามแนว ทางของ Zero waste ตอไป เอกสารอางอิง 1) http://ecotown.dpim.go.th 2) http://www.most.go.th 3) http://www.pcd.go.th 4) http://www.innnews.co.th 5) http://www.komchadluek.net

9/20/13 10:06 PM


Energy#58_p23_Pro3.ai

1

8/28/13

9:58 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

ทิศทางการวิจัย

ที่ตอบโจทย์ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปจจุบนั เทคโนโลยีมกี ารพัฒนาและเปลีย่ นแปลงไปอยางรวดเร็ว การลงทุนขนาดใหญมผี ลกระทบตอสภาพแวดลอมทีน่ บั วันจะทวีความรุนแรง และบอยครัง้ ขึน้ ซึง่ การแกไขและเยียวยาไมสามารถทําไดทนั ทวงที การวิจยั และการพัฒนาจะชวยตอบโจทยปญ  หาสิง่ แวดลอมในหลาย ๆ ดานได ทัง้ ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสังคม ดังนัน้ การวิจยั สิง่ แวดลอมในปจจุบนั ตองเปนการตอยอดพัฒนาแนวคิดของนักวิจยั จากงานวิจยั ตามความถนัดหรือความสนใจ ทีม่ กั ถูกเรียกวา งานวิจยั ขึน้ หิง้ ใหสามารถใชงานไดจริง ตองมีการปรับเปลีย่ นแนวคิด มีกระบวนการทํางานอยาง เปนระบบ และทันตอสถานการณ ในขณะนัน้ ปญหาสิง่ แวดลอมมักเปนปญหาทีไ่ ดรบั การแกไขเฉพาะหนาเสียเปนสวนใหญ เชน กรณี นํ้ามันรั่วไหล มีนักวิจัยนําเสนอประเด็นเพื่อ การศึกษา ทัง้ บทเรียนและการหาองคความรูเ พือ่ ตอบปญหาใหครอบคลุมทีส่ ดุ การไดมาของ โจทยวจิ ยั เปนเรือ่ งทีต่ อ งหยิบยกมาคิดกันวา ทีม่ าของโจทยวจิ ยั โดยเฉพาะประเด็นตาง ๆ ที่ เกิดขึน้ เคยมีการศึกษามากอนหนานีห้ รือไม การทบทวนความรูใ นอดีตเปนสิง่ สําคัญ เชน

การรัว่ ไหลของนํา้ มัน มีเทคโนโลยีอะไรบางในการ กําจัดคราบนํา้ มัน การฟน ฟูสภาพแวดลอม และในกรณีทเี่ คยเกิดขึน้ เชนทีอ่ า วเม็กซิโกมี การลงมื อ แก ไ ขอย า งไรบ า ง จะเห็ น ได ว  า การทบทวนวรรณกรรมเปนสิง่ ทีส่ าํ คัญมาก ในที่นี้ไมไดตองการหยิบยกประเด็น ปญหาที่เกิดขึ้นในปจจุบันมาวิพากษ แต ต อ งการกระตุ  น ให เ ห็ น ว า โจทย ง านวิ จั ย ที่ ทํ า การศึ ก ษาอยู  นั้ น มั ก เป น วั ง วนของ

องคความรูท ยี่ งั ไปไมถงึ ไหน เห็นไดจากภาคนิพนธ วิทยานิพนธ ของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี และโท ที่มักตอยอดจากงานวิจัยเดิม ๆ ซึ่ง งายตอการทําการศึกษาใหเสร็จตามกําหนด เวลา ซึ่ ง ตั ว สถาบั น การศึ ก ษาเองคงต อ ง พยายามผลักดันสนับสนุนองคความรูใหม ๆ ที่จะเปนประโยชนตอสังคมมากกวาที่เปนอยู ซึ่งประเด็นปญหาสิ่งแวดลอมที่กําหนด เป น หั ว ข อ การวิ จั ย ที่ พ บมาก คื อ การวิ จั ย

88

Energy#59_p88-89_Pro3.indd 88

9/16/13 11:27 PM


เพือ่ แสดงสถานภาพของปญหา ของสถานการณ เชน การวิจยั มาตรฐานการติดตามตรวจสอบ คุณภาพสิง่ แวดลอมในดานตาง ๆ การทดสอบวิธกี ารตรวจวัดคุณภาพสิง่ แวดลอม การวิจยั แสดงสถานภาพปญหาสิง่ แวดลอมและทรัพยากร การทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ซึง่ ก็เปน สวนทีด่ ที ที่ าํ ใหรบั ทราบสถานการณในปจจุบนั แตทนี่ า เปนหวง คือ การวิจยั เพือ่ เสนอเทคโนโลยี ในการจัดการ การเยียวยา หรือบําบัดฟน ฟูจากการทําลายหรือการจัดการมลพิษอยาง มีประสิทธิภาพและยัง่ ยืน หรือการนําเสนอมาตรการทางสังคมเพือ่ การเยียวยาประชาชนทีไ่ ดรบั ผลกระทบ การฟน ฟูสภาพแวดลอมและระบบนิเวศทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป หรืองานวิจยั การปรับตัวของ ประชาชนในอนาคต ขอเนนยํา้ วาการวิจยั ปญหาสิง่ แวดลอมตองตอบโจทยใหครบวงจรมากขึน้ จากทีผ่ า นมา การวิจยั เพือ่ ตอบโจทยปญ  หาสิง่ แวดลอมมักเปนลักษณะของการทดลอง pilot scale มากกวาจะทําจริง หากนํามาปฏิบตั เิ พือ่ แกไขปญหาสิง่ แวดลอมอาจตองใชเวลา และงบประมาณจํานวนมาก ซึง่ การวิจยั คงเปนแคจดุ เริม่ ดังนัน้ งานวิจยั จึงควรมีลกั ษณะเปน ขอเสนอแนะทีใ่ นตอนทายของผลการศึกษาตองครอบคลุมในประเด็นตาง ๆ ทีจ่ ะลงมือกระทําจริง จากการวิจยั ทีต่ อบโจทยปญ  หาสิง่ แวดลอม มีการแบงปญหาออกเปน 2 ดาน คือ การจัดการ กับปญหาและการเยียวยา กับ การวิจัยเพื่อการปองกันปญหา หรือนําเสนอแนวทาง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการจัดการปองกันผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ในบทความนีไ้ มไดตอ งการโจมตีสงิ่ ทีน่ กั วิจยั ทําอยูใ นปจจุบนั แตอยากนําเสนอมุมมอง หรือแนวทางเสริมใหคดิ ถึงโจทยวจิ ยั ทีจ่ ะตอบโจทยปญ  หาสิง่ แวดลอมอยางมีเหตุผลและ ไดประโยชนมากขึน้ ซึง่ ประเด็นทีจ่ ะกลาวถึงตอไปนีเ้ ปนสวนหนึง่ จากประสบการณการสอน นักศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทในฐานะผูท รงคุณวุฒิ วิ พากษขอ เสนองานวิจยั ซึ่งนาจะเปนประโยชน ไมมากก็นอยสําหรับการปรับตัวของนักวิจัยเพื่อตอบโจทยปญหา สิง่ แวดลอมทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ดังนี้ 1.ปญหาสิง่ แวดลอม เปนปญหาทีม่ คี วามหลากหลาย การวิเคราะห การทบทวน องคความรู เปนสิ่งสําคัญ ปจจุบันมีการศึกษาวิจัยในเชิงตอบโจทยปญหาเฉพาะดาน ความเชีย่ วชาญเพียงบางดาน ดังนัน้ ขอเสนอแนะงานวิจยั แนวใหมคงตองทบทวนใหรอบดาน ทัง้ ทางดานวิทยาศาสตรและสังคม และกําหนดหัวขอการศึกษาทีบ่ รู ณาการองคความรูใ น หลาย ๆ ดานเขาดวยกัน โดยคํานึงถึงคําตอบเพือ่ การนําไปใชประโยชนทแี่ ทจริง 2.การวิจยั เพือ่ ทํานายผลกระทบในอนาคต หรือทีเ่ รียกวา การใชแบบจําลอง (Model) ตองพิจารณาถึงความเหมาะสมตอสภาพพืน้ ที่ การพัฒนาแบบจําลองเพือ่ ทํานายผล การแพร กระจายมลพิษทางอากาศ นํา้ เสีย หรือการรัว่ ไหลของสารเคมี ทีจ่ าํ เปนตองใชขอ มูลพืน้ ฐานใน พืน้ ทีจ่ ริงมากกวาการนําขอมูลทีเ่ ปนคาคาดการณจากพืน้ ทีอ่ นื่ มาใช การพัฒนาแบบจําลอง ตองปรับใชใหเหมาะกับพืน้ ทีศ่ กึ ษาจริง บอยครัง้ ทีง่ านวิจยั ตอบโจทยการคาดการณผลกระทบ สิง่ แวดลอมจากปญหามลพิษคอนขางคลาดเคลือ่ นไปมาก ทัง้ ขอมูลทีไ่ มเปนปจจุบนั และขอมูล ทีเ่ ปนคาประมาณการ ซึง่ ตองพิจารณาเลือกใชสมการใหเหมาะสม

3.การวิ จั ย ที่ ค าดการณ ป  ญ หาหรื อ แก ไ ขป ญ หา สิ่ ง แวดล อ ม ต อ งมี ข  อ เสนอแนะในการจั ด การอย า งมี ประสิทธิภาพและเปนไปได โดยตองคํานึงถึงความเปนไปได ทางเศรษฐศาสตร ความเหมาะสมและความคุม คาในการลงทุน เชน กรณีของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดทีน่ าํ เสนอเทคโนโลยี บําบัดของเสียในกลุมอุตสาหกรรมปโตรเลียมมากมายและ ใชเงินลงทุนสูง หากพิจารณาจากเทคโนโลยีเหลานั้นอาจ ไมเหมาะสมกับประเทศไทย ทางที่ดีควรพิจารณาตนทุน ทางเทคโนโลยีรว มกับการใชเทคโนโลยีทไี่ ดประสิทธิภาพและ ผลลัพธเปนไปตามมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดลอมของไทย 4.ประเด็นของโจทยวิจัยที่ตอบปญหาสิ่งแวดลอม ควรพิจารณาถึงเทคโนโลยีในการศึกษาทีแ่ สดงใหเห็นถึงการ วิเคราะหเทคโนโลยีทจี่ ะใชในการบําบัด และมีความเหมาะสม กับประเทศของเรา หลาย ๆ ประเทศใหความสําคัญในการ นํ า เข า เทคโนโลยี การพิ สู จ น เ ทคโนโลยี ที่ เ หมาะสม (verify Technology) ปจจุบนั มีความหลากหลายในการใช เทคโนโลยีนาํ เขาทีต่ อ งเลือกใหเหมาะสมกับสถานการณมากทีส่ ดุ 5.การพัฒนาคน องคความรูใ นการวิจยั เปนเรือ่ งสําคัญ อยางทีก่ ลาวมาขางตน งบประมาณในการวิจยั ของประเทศมีจาํ กัด กําลังคนในสาขาวิชาตาง ๆ ความเชีย่ วชาญเฉพาะทาง ลวนเปน ตัวแปรสําคัญ ในการพัฒนางานวิจยั การพัฒนาในสวนนีจ้ ะ เปนตัวแปรสําคัญตอคุณภาพงานวิจยั ทัง้ นีภ้ าครัฐตองมีนโย บายสนับสนุนในการพัฒนาคนและองคกรวิจยั ใหมปี ระสิทธิภาพ และมีศกั ยภาพในการจัดการงานวิจยั มากขึน้ จากการนําเสนอการวิจยั เพือ่ ตอบโจทยปญ  หาสิง่ แวดลอม มีความจําเปนตองปรับเปลีย่ นแนวคิด การตอบโจทยปญ  หา สิง่ แวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ และเนนการพัฒนาองคความรู การเรียนรูท คี่ รอบคลุมปญหามากขึน้ การบูรณาการงานวิจยั อยางเปนระบบ มีเครือขายความรวมมือมากขึน้ และตองหลุดพน จากขอจํากัดของเวลาและงบประมาณ บุคลากรในการวิจยั ตอง ไดรบั การพัฒนาอยางตอเนือ่ ง ปญหาตาง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ การวิจยั และพัฒนาจะเปนตัวชวยสําคัญและเปนสวนหนึง่ ทีจ่ ะพัฒนา ประเทศใหกา วหนาทัดเทียมกับชาติอนื่ ๆ ทีม่ กี ารพัฒนาดานนี้ อยางจริงจัง 89

Energy#59_p88-89_Pro3.indd 89

9/16/13 11:27 PM


Energy Exhibit กองบรรณาธิการ

ปจจุบนั เทคโนโลยี อีโค ไลท หรือนวัตกรรมประหยัดพลังงานดานแสงสวาง เริม่ มีการนําไปใชในทีอ่ ยูอ าศัยและภาคอุตสาหกรรม มากขึน้ โดยเฉพาะหลอดประหยัดพลังงาน LED ทีช่ ว ยลดตนทุนคาไฟฟาใหตาํ่ ลงตัง้ แต 15-70% ทําใหเจาของกิจการสามารถคืนทุนได ในระยะเวลาไมเกิน 2 ป โดยเทคโนโลยีทถี่ กู พัฒนาขึน้ มาลาสุด คือ OLED พลาสติกเรืองแสงนาโน ทีม่ ลี กั ษณะคลายแผนฟลม มีความ โปรงใส สามารถปรับโคงงอไดตามรูปแบบทีต่ อ งการ เหมาะสําหรับการออกแบบ ตกแตงภายในอาคาร และสถานทีต่ า ง ๆ ไดเปนอยางดี

ภายใตการเติบโตของนวัตกรรมดังกลาว บริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็ก ซิบิชั่น ออกาไนเซอร จํากัด จึงไดเดินหนาจัดงาน EcoLightTech Asia 2013 เพือ่ โชวสดุ ยอดนวัตกรรมประหยัดพลังงานดานแสงสวาง ครัง้ แรกในประเทศไทย เพือ่ ตอบรับกระแสความตืน่ ตัวดานสิง่ แวดลอม และการลดใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ พรอมกาวสูการเปน ศู น ย ก ลางการค า นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ป ระหยั ด พลั ง งาน แหงอาเซียน เนื่องจากที่ผานมาภาครัฐไดสงเสริมและกระตุนใหเกิด การใชงานนวัตกรรมที่วานี้อยางแพรหลาย เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ ในการลดใชพลังงาน ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และยังเปนการลด ตนทุนการผลิตอีกดวย โดย นายปณิธาน บําราศอรินทรพา ย ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ สายงานจัดการประชุม บริษทั เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเมนท แอนด ดิเวลลอป เมนท จํากัด และรักษาการผูจ ดั การทัว่ ไป บริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบชิ นั่ ออกาไนเซอร จํากัด เปดเผยวา ทีผ่ า นมารัฐบาลมีนโยบายดานความรวมมือ กับประเทศตาง ๆ ในการพัฒนาเทคโนโลยีแสงสวางประหยัดพลังงาน ตามแผนอนุรกั ษพลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2554-2573) ของกระทรวงพลังงาน ที่มีเปาหมายลดการใชพลังงานลง 25% ในป 2573 หรือคิดเปน 38,200 ตันของนํ้ามันดิบที่จะนํามาใชผลิตกระแสไฟฟา หรือถา คิดเปนมูลคาก็กวา 272,000 ลานบาทตอป พรอมกันนี้ ยังชวยลด การปลอยมลพิษและกาซเรือนกระจกเฉลี่ย 49 ลานตันตอปอีกดวย จากปจจัยดังกลาว กระทรวงพลังงานจึงไดกาํ หนดยุทธศาสตร และมาตรการที่จะกํากับดูแลและสงเสริมใหเกิดการอนุรักษพลังงาน การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยเริ่มตนพัฒนาพรอมกันทุก องคประกอบของการอนุรกั ษพลังงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะ อยางยิ่งดานอุปกรณ เครื่องใชไฟฟา การออกแบบอาคาร สํานักงาน

และเครื่องยนต โดยเทคโนโลยี อีโค ไลท (Eco Light Technology) เปนนวัตกรรมประหยัดพลังงานดานแสงสวางที่ไดถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อนําไปใชในภาคอุตสาหกรรมและครัวเรือนยุคใหม ซึ่งการจัดงาน EcoLightTech Asia 2013 ในระหวางวันที่ 13-15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 นั้น เปนการ ตอบสนองนโยบาย ของภาครัฐในการสงเสริมการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและ ยั่งยืน โดยการจัดงานไดรับการสนับสนุนจาก สถาบันพลังงานเพื่อ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และ สํานักงานสง เสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) หรือ สสปน. และจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนอื่นๆ อีกกวา 10 หนวยงาน ซึ่งการจัดงาน EcoLightTech Asia จะจัดขึ้นที่ ศูนยการประชุมแหง ชาติสิริกิติ์ ภายในงานจะมีการนําเสนอนวัตกรรมใหมจากผูประกอบ การทัว่ โลกกวา 100 ราย เชน Sylvania, Konica Minolta, OSRAM, Racer โดยในเบื้องตนไดรับความสนใจจากกลุมผูเขาชมงานจาก ประเทศตาง ๆ มากมาย อาทิ จีน ไตหวัน ญี่ปุน เกาหลี ฟลิปปนส พมา และอินโดนีเซีย เปนตน สําหรับกลุมเปาหมายในประเทศไทย ไดรับการตอบรับเปน อยางดีจากภาคอุตสาหกรรม ภาคพาณิชย และภาครัฐ เชน ฝาย จัดซื้อ ฝายวิศวกรรม ฝายออกแบบ และฝายเทคนิคจากโรงแรม โรงพยาบาล อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ผู  บ ริ ห ารสาธารณู ป โภคต า ง ๆ อาคารพาณิชย ศูนยราชการ โรงงานอุตสาหกรรม คาดวาจะมี ผูเขาชมงานกวา 5,000-8,000 ราย ตลอดการจัดงาน ผูประกอบการ ที่สนใจเขารวมออกราน หรือนักธุรกิจที่สนใจเขารวมเจรจาธุรกิจ EcoLightTech Asia 2013 สามารถติดตามความเคลื่อนไหวไดที่ www.ecolighttech.com หรื อ โทรศั พ ท 0-2203-4261-2 ทุกวันจันทร-ศุกร ระหวางเวลา 09.00 – 18.00 น.

90

Energy#59_p90_Pro3.indd 90

9/25/13 12:00 AM


การสร า งภู มิ ทั ศ น สี เ ขี ย วในเมื อ งของสิ ง คโปร เ ติ บ โตขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ งจนทํ า ให สิ ง คโปร ได ชื่ อ ว า เป น ศู น ย ก ลางแห ง เทคโนโลยี ก ารออกแบบเมื อ งและสร า งพื้ น ที่ สี เ ขี ย วในอาคาร แห ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ล า สุ ด ประกาศการเป น เจ า ภาพจั ด งาน “นิ ท รรศการและงานประชุ ม วิชาการดานเทคโนโลยีการสรางภูมิทัศนเพื่อเมืองสีเขียวแหงภูมิภาคเอเชีย ประจําป 2556” หรือ Green Urban Scape Asia 2013 ณ ศูนยแสดงสินคา สิงคโปรเอกซ โป ระหวางวันที่ 7-9 พฤศจิกายน 2556 ในงานจะไดพบกับบูธ นิทรรศการจากผูประกอบการจากนานาประเทศ ซึ่งเปนเจาของนวัตกรรมเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อการจัดภูมิทัศนสีเขียวในเมือง ตั้งแตการวางแผน การออกแบบ การกอสราง และการบริหารจัดการ นิทรรศการดังกลาวจัดขึ้นควบคูกับงานประชุม นานาชาติดานการจัดพื้นที่สีเขียวแนวสูงและบนยอดอาคารครั้งที่ 2 หรือ International Skyrise Greenery Conference (ISGC) 2013 ภายใตแนวคิด “ความหนาแนนและความเขียวขจี”

สําหรับงานประชุมนานาชาตินี้จัดเปน เวที ก ลางในการแลกเปลี่ ย นองค ค วามรู  ในด า นการจั ด พื้ น ที่ สี เ ขี ย วในแนวตั้ ง และ บนหลังคาอาคารสูง นอกจากนั้น ผูเขารวม ประชุมยังมีโอกาสไดรับทราบขอมูลเชิงลึก ของการจั ด พื้ น ที่ สี เ ขี ย วในอาคารที่ เ ป น ตัวอยางความสําเร็จที่โดดเดนในระดับโลก และในสิงคโปร งานประชุ ม วิ ช าการด า นเทคโนโลยี การปรั บ ภู มิ ทั ศ น เ พื่ อ เมื อ งสี เ ขี ย วแห ง ภูมิภาคเอเชีย ประจําป 2556 จัดขึ้นโดย ความรวมมือของสํานักงานคณะกรรมการ อุทยานแหงชาติ (National Parks Board (NParks)), ศูนยสงเสริมความเขียวและ นิเวศวิทยาของเมือง (Centre for Urban Greenery and Ecology (CUGE)), สมาคมอุตสาหกรรมภูมิทัศน (สิงคโปร) (Landscape Industry Association (Singapore) (LIAS)) สถาบันสถาปนิก ภูมิทัศนแหงประเทศสิงคโปร (Singapore Institute of Landscape Architects (SILA)) และบริษัท ซิงกเอ็กซ เอ็กซิบิชั่น เวนเจอรส จํากัด (Singex Exhibition Ventures Pte Ltd.) โดยมีสมาคมหลังคา สีเขียวนานาชาติ (International Green Roof Association) เปนผูสนับสนุน ผูเขารวมงานประชุมยังจะไดเยี่ยมชม อาคารในสิงคโปรทเ่ี ปนตัวอยางทีด่ ที สี่ ดุ ของ การสรางภูมทิ ศั นสเี ขียว อาทิ PARKROYAL on Pickering, 158 Cecil Street, Khoo Teck Puat Hospital, ITE College Central, 6 Battery Road, Nanyang Polytechnic and Punggol New Town ซึ่งอาคารดังกลาวไดมีการจัดสรางหลังคา สี เ ขี ย ว ผนั ง สี เ ขี ย วและการจั ด พื ช สวน รู ป แบบอื่ น ๆ ได อ ย า งกลมกลื น ไปกั บ สภาพแวดลอมของอาคาร “งานนิ ท รรศการและงานประชุ ม วิ ช าการด า นเทคโนโลยี ก ารปรั บ ภู มิ ทั ศ น เพื่อเมืองสีเขียวแหงภูมิภาคเอเชีย ประจําป 2556” จัดขึน้ เพือ่ รําลึกถึงการครบรอบ 50 ป ของการสรางความเขียวใหประเทศสิงคโปร เป น การแสดงผลงานความพยายามอั น ยาวนานในการรักษาความเขียวและสดชื่น ใหกับสิงคโปรและตัวอยางความสําเร็จของ สิ ง คโปร ที่ อ ยากให ช าวไทยทั้ ง ผู  ป ระกอบ การในอุตสาหกรรมและประชาชนทั่วไปไดมี โอกาสไปสัมผัสดวยตัวเอง

91

Energy#59_p91_Pro3.indd 91

9/23/13 11:39 PM


Green Community บุษยารัตน ตนจาน

หากมองหาแหลงเรียนรูธรรมชาติสักแหงที่สามารถ ให ค วามรู  ไ ด อ ย า งหลากหลาย “สวนมิ่ ง มงคล เฉลิ ม พระชนมพรรษา 84 พรรษา” ที่สรางขึ้นจากความมุงมั่น ในการพัฒนาสังคมอยางยั่งยืนของ บริษัท ปูนซีเมนต นครหลวง จํากัด (มหาชน) หรือปูนอินทรี นับเปนอีกสถาน ที่หนึ่งที่ไมไดมีดีเพียงแคบรรยากาศสวยงามเทานั้น แต เต็มไปดวยแนวคิดในการพัฒนาอยางยั่งยืน พรอมที่จะ ใหบคุ คลทั่วไปไดมาสัมผัสและเรียนรูส ถาปตยกรรมและ เทคโนโลยีการกอสรางที่ทันสมัย การนําพลังงานทดแทน มาใชในสวน รวมถึงการศึกษาพรรณไมที่หาดูไดยาก

ศึกษาธรรมชาติ ที่ สวนมิ่งมงคล

เฉลิมพระชนมพรรษา 84

92

Energy#59_p92-93_Pro3.indd 92

9/18/13 10:03 PM


คณะครูและนักเรียนโรงเรียน บดิ น ทรเดชา (สิ ง ห สิ ง หเสนี ) กวา 800 ชีวติ เดินทางมาเยีย่ มชม สวนมิ่ ง มงคลฯ แห ง นี้ พร อ ม ทํ า กิ จ กรรมเสริ ม ความรู  ใ นด า น ต า ง ๆ ตามแหล ง เรี ย นรู  ที่ ท าง ปู น อิ น ทรี ไ ด จั ด เตรี ย มไว อาทิ กิจกรรมหาพรรณไมภายในสวน ฯลฯ ที่ ส ร า งความสนุ ก สนาน ใหแกนกั เรียนเปนอยางมาก

นายจักรี แสงดี คุณครูจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) เลาถึงการนํานักเรียนกวา 800 คน มาเยีย่ มชมสวนสาธารณะมิง่ มงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา เนือ่ งจากเปนสถานทีท่ นี่ า สนใจและมี ความหลากหลายในการเรียนรู เปนการปลูกฝงใหนกั เรียนเกิดแนวคิด ดานการพัฒนาอยางยัง่ ยืน การอนุรกั ษพลังงาน และการสรางสรรค งานสถาปตยกรรมทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และยังเปนแรงบันดาลใจ ใหนกั เรียนสนใจศึกษาตอทางดานวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรม อีกดวย เมือ่ นอง ๆ นักเรียนเดินทางมาถึงก็ไดแยกยายกันไปศึกษา ตามแหลงเรียนรูต า ง ๆ โดยมีพี่ ๆ ทีมงานจากปูนอินทรีคอยใหความรู ซึง่ แหลงเรียนรูภ ายในสวนมิง่ มงคลฯ จําแนกไดดงั นี้ แหลงศึกษางานสถาปตยกรรมและเทคโนโลยีการกอสราง นอง ๆ นักเรียนจะไดเรียนรูเ รือ่ งการออกแบบสวนสไตล English garden จุดสําคัญ คือ อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึง่ เปนศูนยกลางของสวนมิง่ มงคลฯ ทีต่ งั้ ตระหงานสูง 12 เมตร โดยมี ภาพพระบรมสาทิ ส ลั ก ษณ ข องพระบาทสมเด็ จ พระจ า อยู  หั ว สู ง 5 เมตร ประดิษฐานอยูภายในหอ ซึ่งจัดแสดงเปนนิทรรศการถาวร แสดงภาพพระราชกรณี ย กิ จ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู  หั ว อาคารถูกออกแบบไวอยางทันสมัยและเปนเอกลักษณ รวมถึงการใช วัสดุกอ สรางในสวนทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เชน INSEE Thrucrete บนทางเดิน เพื่อชวยลดปญหานํ้าทวมขัง Vertical Block สําหรับ จัดสวนแนวตั้ง และผลิตภัณฑทดแทนไมธรรมชาติคอนวูดที่นํามา ตกแตงอยางสวยงาม แหลงศึกษาธรรมชาติและพรรณไม ภายในสวนมีตนไมนานา สายพันธุที่ใหความรมรื่นสวยงามกวา 30 ชนิดพันธุ รวมทั้งสิ้นกวา 400 ตน อีกทั้งยังไดความรูเรื่องของพรรณไมแตละประเภท เชน สุพรรณิการ, หางนกยูง, เสลา, กลวยไมดนิ , พวงทองตน และ เฟรน ฮาวาย เปนตน แหลงศึกษาพลังงานทางเลือก มีแนวทางการออกแบบโดย คํานึงถึงการใชพลังงานอยางคุม คา และเลือกใชพลังงานทดแทนจาก ธรรมชาติ ทัง้ นํา้ ลม และแสงอาทิตย โดยมีกงั หันลมขนาดใหญ 9 ตัว และแผงโซลารเซลลเพื่อผลิตไฟฟาไวใชภายในสวน แหลงศึกษาวิถีชีวิตชุมชน ปูนอินทรีมีแนวคิดตอยอดชวย เหลือชุมชนใหเปนรูปธรรม โดยการเปดโอกาสใหคนในชุมชนทองถิน่ สามารถนําสินคาของชุมชนมาจําหนายได อาทิ กระเปาใยสับปะรด, กระชายสมุนไพรเพือ่ สุขภาพ “ปาเข็ม”, ถัว่ ทอดใจดี, ถัว่ ทอดสมุนไพร และเห็ดออรินจิ เด็กชายภูดิศ ประวีณเมธ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) บอกวา นอกจากจะได บรรยากาศที่ ร  ม รื่ น สวยงามแล ว ยั ง ได ค วามรู  ทั้ ง ในเรื่ อ งการใช พลังงานทางเลือก และไดเรียนรูก ารออกแบบสวน การสรางบานดวย วัสดุทดแทนไมธรรมชาติ ทีไ่ มตอ งทําลายสิง่ แวดลอมอยางไมคอนวูด ในอนาคตหากไดประกอบธุรกิจสวนตัวหรือทํางานในหนวยงานใด ๆ ก็ตาม จะนําแนวคิดรักษาสิ่งแวดลอมและดูแลสังคมไปประยุกตใช หากเดิ น ทางผ า นทางเส น ทางถนนมิ ต รภาพกิ โ ลเมตร ที่ 125 จ.สระบุรี และตองการหาจุดแวะพัก สําหรับนัง่ จิบชา กาแฟ หรือเขาหองนํ้าสวยสะอาด พรอมชมสวนที่มีบรรยากาศรมรื่น สวยงาม และยังเปนแหลงเรียนรูท างดานสถาปตยกรรม ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม รวมถึงวิถีชีวิตชุมชน สามารถหาคําตอบไดที่นี่ “สวนมิง่ มงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา”

93

Energy#59_p92-93_Pro3.indd 93

9/18/13 10:03 PM


Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

รูจักระบบทําความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Refrigeration)

เ ค รื่ อ ง ทํ า ค ว า ม เ ย็ น แ บ บ ดู ด ซึ ม ( Absorption Chiller) นับเปนระบบทําความ เย็นที่เปนทางเลือกที่มีความคุมคาดานการ ใชพลังงาน ถึงแมประสิทธิภาพตํ่ากวาระบบ ทําความเย็นแบบอัดไอ แตดวยการพัฒนา อยางตอเนือ่ ง ประสิทธิภาพการทําความเย็น ของระบบ ทํ า คว ามเ ย็ น แบบนี้ จะ มี แต  ประสิทธิภาพสูงขึ้นเรื่อย ๆ เชน ระบบการ ทํ า ความเย็ น ระบบดู ด ซึ ม ชนิ ด สามชั้ น (Tri Stage Absorption Chiller) มีสมรรถนะ การทําความเย็น ( COP) สูงถึง 1.7 เมือ่ พิจารณา ถึ ง ส ว นประกอบของระบบทํ า ความเย็ น แบบดูดซึม อาจกลาวไดวา ระบบทําความเย็น แบบดู ด ซึ ม มี ส  ว นประกอบคล า ยกั บ ระบบ อัดไอ คือ เครื่องควบแนน (Condenser), เครือ่ งทําระเหย( Evaporator), วาลวลดความดัน (Expansion Valve) และ เครื่องอัดสาร ทําความเย็น (Compressor) แตในสวนของ เครื่องอัด (Compressor) ในระบบดูดซึม จะเปนเครื่องอัดชนิดความรอน (Thermal Compressor) ซึ่งใชพลังงานความรอนใน การขับเคลื่อนระบบแทน ซึ่งมีองคประกอบ เปนเครื่องดูดซึมความรอน (Absorber) และ อุปกรณใหความรอน (Generator) ดังแสดง ในรูปที่ 1 จากที่กลาวมา ระบบทําความเย็น แบบดู ด ซึ ม เป น ระบบที่ ใ ช ค วามร อ นมา ขับเคลื่อนระบบ ซึ่งมีความหลากหลายของ แหลงพลังงานความรอนที่จะมาขับเคลื่อน ระบบ ซึ่งเปนจุดแข็งของเครื่องทําความเย็น แบบนี้ เช น ใช พ ลั ง งานความร อ นทิ้ ง จาก กระบวนการหรืออุปกรณทางความรอน หรือ แม แ ต พ ลั ง งานความร อ นจากแสงอาทิ ต ย ( Solar Thermal) หรือพลังงานความรอน ใตพิภพ ซึ่งเปนขอไดเปรียบมากกวาระบบ อัดไอมาก ที่ตองใชพลังงานกลในกาทําให เครื่องอัดทํางาน

รูปที่ 1 แผนภาพการทํางานและสวนประกอบของระบบทําความเย็นแบบ ดูดซึมชนิดชัน้ เดียว (ทีม่ า : http://www.northeastchp.org/nac/businesses/refrigeration.htm)

94

Energy#59_p94-95_Pro3.indd 94

9/16/13 11:48 PM


การประยุกตระบบ CCHP หรือ Tri-Generation สําหรับงานอาคาร การใชพลังงานภายในอาคารหรือทีพ ่ กั อาศัย ประมาณรอยละ 60-70 ใชเพือ่ ควบคุม อุณหภูมภิ ายในอาคาร รองลงมาใชในระบบแสงสวาง ประมาณรอยละ 25 นอกจากนี้ ถาเปน กลุมธุรกิจโรงแรม หรืออพารทเมนต จะมีระบบนํ้ารอนเพิ่มดวย เพื่อสําหรับการชําระ รางกายหรือการชําระลาง หรืออาจกลาวไดวา การใชพลังงานของกลุมอาคารธุรกิจจะมี การใชพลังงานความรอน ความเย็น และไฟฟา ควบคูกันไปตลอดเวลา และกลุมธุรกิจนี้ มีแนวโนมการใชพลังงานสูงขึ้นทุกป

ระบบทําความเย็นสําหรับระบบปรับอากาศในอาคาร โดยทั่ ว ไปเครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ใ ช ใ น อาคารขนาดใหญจะเปนเครื่องปรับอากาศ แบบรวมศูนย ทีเ่ รียกวา ชิลเลอร (Chiller) ซึง่ แบง 2 ระบบใหญ คือ ระบบระบายความรอน ด ว ยนํ้ า หรื อ ระบบระบายความร อ นด ว ย อากาศ ระบบทําความเย็นดวยชิลเลอร จะ อาศัยนํา้ เปนตัวนําพาความเย็นไปยังหองหรือ จุดตาง ๆ โดยนํ้าเย็นจะไหลไปยังเครื่องทํา ลมเย็น (Air Handing Unit – AHU หรือ Fan

Coil Unit - FCU) ทีต่ ดิ ตัง้ อยูใ นบริเวณ ที่ปรับอากาศ จากนั้นนํ้าที่ไหลออกจาก เครือ่ งทําลมเย็น จะถูกปม เขาไปในเครือ่ ง ทํ า นํ้ า เย็ น ขนาดใหญ ที่ ติ ด ตั้ ง อยู  ใ น ห อ งเครื่ อ ง และไหลเวี ย นกลั บ ไปยั ง เครื่ อ งทํ า ลมเย็ น อยู  เ ช น นี้ สํ า หรั บ เครื่ อ งทํ า นํ้ า เย็ น นี้ จ ะต อ งมี ก ารนํ า ความรอนจากระบบออกมาระบายทิ้ง ภายนอกอาคารดวย ดังแสดงในรูปที่ 2

รูปที่ 2 แสดงระบบทําความเย็นของระบบปรับอากาศสําหรับอาคาร บริเ วณหรือหองที่ จะปรั บ อากาศจะ มี แ ต เ ครื่ อ งทํ า ลมเย็ น เท า นั้ น โดยนํ า เย็ น จะถูกสงผานระบบทอนํ้าเย็นจากเครื่องทํา นํ้าเย็น (Chiller) โดยนํ้าเย็นจะมีอุณหภูมิ ประมาณ 6-8 oC ซึ่งจะไหลเขาไปในเครื่อง ทําลมเย็นที่ประกอบดวย แผงทอนํ้าเย็นที่มี นํ้าเย็นไหลอยูภายในแผนกรองอากาศ โดย ทั่วไปเครื่องทําลมเย็นจะประกอบดวย แผง ใยอะลูมิเนียม พัดลม และมอเตอร ไฟฟาที่

ดู ด อากาศจากบริ เ วณที่ ป รั บ อากาศให ไหลผ า นแผ น กรองและแผงท อ นํ้ า เย็ น หลักจากนํ้าเย็นแลกเปลี่ยนความรอนกับ อากาศภายในบริ เ วณที่ ป รั บ อากาศจะมี อุณหภูมิสูงขึ้น ประมาณ 10-13 oC และ เคลื่อนที่กลับไปยังเครื่องทํานํ้าเย็นอีกครั้ง เพือ่ ลดอุณหภูมลิ ง ระบบทําความเย็นจะทํางาน แบบนี้ตอเนื่องตลอดเวลา เพื่อปรับอากาศ ในอาคารใหอยูในอุณหภูมิที่กําหนด

95

Energy#59_p94-95_Pro3.indd 95

9/16/13 11:48 PM


Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001/wonlop.r@gmail.com

จากกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธกี าร จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 และประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการ ดําเนินการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. 2552 กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ บุคคลหรือนิติบุคคล (ผูตรวจสอบพลังงาน) ที่อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงานอนุญาต มีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบและ รับรอง (Certification Audit) ตามที่กําหนด

คูมือการตรวจสอบ

และรับรองการจัดการพลังงาน สําหรับผูตรวจสอบพลังงาน

(ตอนที่ 4)

สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน จึ ง จั ด ทํ า คู  มื อ การตรวจสอบและรั บ รอง การจัดการพลังงานสําหรับผูต รวจสอบพลังงานขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค เพื่อใหผูที่มีหนาที่ที่เกี่ยวของใชเปนแนวปฏิบัติตอไป โดยคูมือมี สวนประกอบ ดังนี้ • บทที่ 1 เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน • บทที่ 2 ขั้ น ตอนการตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การ พลังงาน • ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน • ภาคผนวก ข กฎหมายที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน โดย Energy Saving ฉบับทีผ่ า นมา ไดกลาวถึง คํานํา บทที่ 1 และ บทที่ 2 ไปแลว ดังนัน้ ในฉบับนีจ้ ะกลาวถึง ภาคผนวก ก ตัวอยาง แบบฟอร ม ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การ พลังงานตอไป หวังวาผูอ านจะไดรั บ ประโยชนจากคูมือ นี้นะครับ โดยเฉพาะผูที่เกี่ยวของจากอาคารควบคุมและโรงงานควบคุมที่ตอง ปฏิบัติตามกฏหมายฉบับนี้ ภาคผนวก ก

ตัวอยางแบบฟอรมทีเ่ กีย่ วของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน

ตัวอยางแบบฟอรมที่คูมือฉบับนี้ไดบรรจุไวนั้น มีวัตถุประสงค เพื่อใหการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของผูตรวจสอบ พลังงานมีแนวทางในการดําเนินการที่ชัดเจน ฉบับนี้จะขอเริ่มจาก ภาคผนวก ก-3 รายการตรวจสอบการจัดการพลังงานในการดําเนิน งานตามขอกําหนดกอนครับ เพื่อใหผูอานทราบถึงรายการคําถาม เอกสาร หรือ หลักฐาน ทีผ่ ตู รวจสอบพลังงานจะเขามาดําเนินการตรวจ ที่โรงงานควบคุม/อาคารควบคุม แตเนื่องจากรายการตรวจสอบฯ ดังกลาวมีความยาวพอสมควร จึงขออธิบายแยกเปน 8 ขั้นตอน ตามแนวทางการพัฒนาระบบจัดการพลังงาน

ขัน้ ตอนที่ 2 การประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบือ้ งตน ขอ 3 วรรคสองในกรณีทเี่ ปนการนําวิธกี ารจัดการพลังงานตาม กฎกระทรวงนี้มาใชเปนครั้งแรกใหเจาของโรงงานควบคุมและเจาของ อาคารควบคุมประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน โดย พิจารณาจากการดําเนินงานดานพลังงานที่ผานมา กอนการกําหนด นโยบายอนุรักษพลังงาน 96

Energy#59_p96-98_Pro3.indd 96

9/16/13 11:52 PM


รายการตรวจสอบการจัดการพลังงาน

ขั้นตอนที่ 3 นโยบายอนุรักษพลังงาน ขอ 4 ในการจัดทํานโยบายอนุรกั ษพลังงานเจาของโรงงานควบคุม หรือเจาของอาคารควบคุมอาจตั้งคณะทํางานเพื่อชวยจัดทํานโยบาย อนุรักษพลังงานก็ได นโยบายอนุรักษพลังงานตองแสดงเจตจํานงและความมุงมั่นใน การจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม โดยจัดทํา เปนเอกสารและลงลายมือชื่อเจาของโรงงานควบคุมหรือเจาของอาคาร ควบคุม และอยางนอยตองมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1) ขอความระบุวาการอนุรักษพลังงานเปนสวนหนึ่งของการ ดําเนินงานของเจาของโรงงานควบคุมหรือเจาของอาคารควบคุม (2) นโยบายอนุรักษพลังงานที่เหมาะสมกับลักษณะและปริมาณ พลังงานที่ใชในโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมนั้น (3) การแสดงเจตจํานงทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการ อนุรักษและการจัดการพลังงาน (4) แนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานอยางตอเนือ่ ง (5) แนวทางในการจัดสรรทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพในการ ดําเนินการตามวิธีการจัดการพลังงาน ใหเจาของโรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมจัดใหมีการ เผยแพรนโยบายอนุรักษพลังงานโดยปดประกาศไวในที่ซึ่งเห็นไดงายใน โรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุม หรือโดยวิธีการอื่นที่เหมาะสมเพื่อ ใหบุคลากรของโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมทราบ และปฏิบัติตาม นโยบายอนุรักษพลังงานได 97

Energy#59_p96-98_Pro3.indd 97

9/16/13 11:52 PM


รายการตรวจสอบการจัดการพลังงาน

เอกสารอางอิง คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พฤษภาคม 2556 ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 98

Energy#59_p96-98_Pro3.indd 98

9/16/13 11:55 PM


Energy Clinic ศูนยปรึกษาการประหยัดพลังงาน หอการคาไทย

ชื่อมาตรการอนุรักษพลังงาน

ลดการรั่วไหลลมรอนของเครื่องหอพลาสติก (Shrink film)

ความเปนมาและลักษณะการใชงาน โรงงานอุตสาหกรรมทีผ่ ลิตยาแผนโบราณ โดยใชวตั ถุดบิ จากสมุนไพร ตางๆ มาผสมและสกัดเพือ่ เปนยาแพทยแผนโบราณ ซึง่ ในกระบวนการผลิต จะมีการใชพลังงานไฟฟาในสวนของเครื่องชิงคฟลม (Shrink film) เพื่อให ความร อ นในการห อ พลาสติ ก เข า กั บ บรรจุ ภั ณ ฑ จากที่ ท างที ม งาน อนุรักษพลังงานของทางโรงงาน ไดไปสํารวจการใชพลังงานในสวนตางๆ ภายในโรงงานแลว พบวาในกระบวนการผลิตมีการใชงาน ของเครื่อง ชิงคฟลม (Shrink film) มีการรั่วไหลของลมรอนออกมาภายนอกเครื่อง เปนจํานวนมาก ทําใหเกิดการสูญเสียพลังงานโดยเปลาประโยชน

รูปแสดงการตรวจวัดการใชงานของ เครื่องหอพลาสติก (Shrink film) รูปแสดงลักษณะการติดตั้งใชงานของเครื่องหอพลาสติก (Shrink film)

ปญหาของอุปกรณ/ระบบกอนปรับปรุง จากการสํ า รวจการใช พ ลั ง งานหลั ก ภายในโรงงาน พบว า ในกระบวนการผลิตเมือ่ บรรจุผลิตภัณฑกบั ภาชนะบรรจุ เรียบรอยแลวจะผาน ขั้นตอน การตรวจสอบคุณภาพของสินคากอนทําการหอพลาสติกเขากับ บรรจุภณ ั ฑโดยใชเครือ่ งชิงคฟล ม (Shrink film) เพือ่ ใหความรอนประมาณ 150-250°C ใหพลาสติกยนหอติดกับบรรจุภัณฑ โดยการใสบรรจุภัณฑ ทางดานเขาและสายพานลําเลียงจะพาบรรจุภัณฑผานตัวเครื่อง และออก มาทางดานออก โดยมีแผนผากันความรอนปดกันทั้ง 2 ดาน แตเนื่องจาก วัสดุแผนกันความรอนกันไมใหลมรอนไหลออกนั้นใชงานมานานทําให ลมรอนทีอ่ ยูภ ายในเครือ่ ง Shrink film ไหลออกมาเปนจํานวนมาก เปนเหตุ ทําใหฮีตเตอร ไฟฟาในการใหความรอนตองทํางานมากขึ้นตามอุณหภูมิที่ ตั้งไว และจากการรั่วไหลของลมรอนดังกลาว มีอากาศรอนรอบๆ เครื่องที่ ใชงาน เกิดการสะสมของความรอนเพิ่มขึ้น เปนผลทําใหประสิทธิภาพการ ทํางานของพนักงานลดลง และตองใชพัดลมระบายอากาศในพื้นที่นั้นเปน จํานวนมากจากสาเหตุดังกลาวเปนผลทําใหเกิดการสูญเสียพลังงานไฟฟา มากในสวนนี้ หากมีการดําเนินการลดการรั่วไหลของลมรอนภายในเครื่อง ชิงคฟล ม (Shrink film) แลวจะสามารถลดการทํางานของฮีตเตอรไฟฟาลงได

แนวคิดและขั้นตอนการดําเนินการ 1. ดําเนินการตรวจวัดปริมาณลมรอนทีร่ วั่ ไหลออกไป โดยการวัดความเร็วของลมดูดเพือ่ หาคาปริมาณของลมรอน 2. ตรวจวัดอุณหภูมิและความชื้นของอากาศรอนที่ ออกไปและอุณหภูมิภายในหอง 3. คํานวณหาปริมาณภาวะความร อนแฝงจากการ ถายเทอากาศ เพื่อทราบภาระการทํางานของฮีตเตอรไฟฟา 4. เปรียบเทียบผลของการสูญเสียพลังงานจากการ รั่วไหลของอากาศรอนปลอยออกมาตลอดเวลา 5. นํ า เสนอผลการตรวจวั ด และวิ เ คราะห ผ ลการ ประหยัดพลังงาน เพื่อขอความเห็นชอบจากผูบริหารและ คณะกรรมการอนุรกั ษพลังงาน เพือ่ ดําเนินการจัดหาแผนวัสดุ ปองกันความรอน ออกจากเครือ่ งหอพลาสติก (Shrink film) 6. ดําเนินการติดตั้งแผนวัสดุปองกันความรอนของ เครื่องหอพลาสติก (Shrink film) พรอมทั้งแตงตั้งทีมงาน คอยติดตามการปฏิบัติงานในมาตรการดังกลาว 7. สรุปผลการดําเนินการ และผลการประหยัดที่เกิด ขึ้นจากการดําเนินมาตรการ 99

Energy#59_p99-100_Pro3.indd 99

9/23/13 11:42 PM


รูปกราฟแสดงผลการตรวจวัดการใชพลังงานไฟฟาของ เครื่องหอพลาสติก (Shrink film) กอนและหลังการปรับปรุง

วิธีการคํานวณผลการอนุรักษพลังงาน รูปแสดงการปรังปรุงกั้นผนังหอง ระยะเวลาดําเนินการ เงินลงทุน ผลที่ประหยัดได

2 เดือน 10,000.00 บาท 101,411.48 บาท/ป 2.067 toe/ป ระยะเวลาคืนทุน 0.10 ป จากผลการตรวจวั ด ผลก อ นและหลั ง การปรั บ ปรุ ง เครื่ อ ง หอพลาสติก (Shrink film) เพื่อเปรียบเทียบดูผลประหยัดที่เกิดขึ้น จริง ซึ่งจะทําใหสามารถทราบประสิทธิภาพของเครื่องหอพลาสติก และพลังงานไฟฟาที่ลดลงไดดังนี้

พลังงานไฟฟาที่ใชงานเครื่องหอพลาสติก (Shrink film) กอนปรับปรุง ผลตรวจวัดพลังงานไฟฟา = 8.59 kWh หลังปรับปรุง ผลตรวจวัดพลังงานไฟฟา = 3.19 kWh พลังงานไฟฟาที่ประหยัดได = 5.40 kWh จํานวน = 4.0 ชุด จํานวนชั่วโมงทํางาน = 6.0 ชม./วัน จํานวนวันทํางาน = 312 วัน/ป เปอรเซ็นตการใชงาน = 60 % พลังงานไฟฟาที่ประหยัดได = 5.4 x 4 x 6 x 312 x 60 % = 24,261.12 kWh/ป คาความรอนไฟฟา = 3.60 MJ/kWh คิดเปนผลประหยัดทางดานความรอน = 24,261.12 x 3.60 = 87,340.03 MJ/ป คาไฟฟาเฉลี่ยตอหนวย = 4.18 บาท/kWh คิดเปนเงินที่ประหยัดจากพลังงาน = 24,261.12 x 4.18 = 101,411.48 บาท/ป คาใชจายในการดําเนินการ คาติดตั้งแผนฉนวนกันความรอน = 2,500.0 บาท/ชุด จํานวน = 4.0 ชุด รวมเปนเงินลงทุนทั้งหมด = 2.500.0 x 4 = 10,000.0 บาท ระยะเวลาคืนทุน = (10,000.0 / 101,411.48 ) = 0.10 ป

สรุปสภาพหลังปรับปรุง

หลังจากดําเนินการติดตั้งลดการรั่วไหลของลมรอนของเครื่อง หอพลาสติก (Shrink film) เพื่อลดภาระอากาศรอนที่รั่วไหลออก มาของเครือ่ ง สามารถประหยัดพลังงานไฟฟาได 24,261.12 kWh/ป คิดเปนเงิน 101,411.48 บาท/ป 100

Energy#59_p99-100_Pro3.indd 100

9/23/13 11:42 PM


Energy#59_p101_Pro3.ai

1

9/17/13

1:40 AM


Energy Movement กองบรรณาธิการ

ซีอีโอ ปตท.คุยสบายๆ

คลายปมพลังงาน

เมื่อเร็วๆ นี้ ณ อาคาร สํานักงานใหญ ปตท. ดร.ไพรินทร ชูโชติถาวร ประธานเจาหนาที่ บริหารและกรรมการผูจัดการ ใหญ บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) ไดสื่อความข อเท็จจริงและขอ สงสัยทุกประเด็นดานพลังงาน ใหพนักงานไดรับทราบ โดยมี นายสัญญา คุณากร เปนพิธกี ร และซั ก ถามประเด็ น ข อ สงสั ย ตางๆ ภายในงาน “คุยสบายๆ สไตล ไพรินทร” ซึ่งจัดขึ้นเพื่อ เสริมสรางความรูความเขาใจ ดานพลังงานทีถ่ กู ตอง เนือ่ งจาก ในระยะเวลาที่ผานมา มีขอมูล ด  า น พ ลั ง ง า น ม า ก ม า ย ที่ ถู ก บิ ด เบื อ นและนํ า ไปเผย แพรผานชองทางตางๆ โ ด ย เ ฉ พ า ะ โ ซ เ ชี ย ล มี เ ดี ย อั น ส ง ผลให เ กิ ด ความสั บ สน ในสังคมเปนวงกวาง

ฟนฟูหาดบางแสน

ดีเอชแอล ประเทศไทย ในเครือของ ดอยช โพสต ดี เ อชแอล กลุ  ม บริ ษั ท ลอจิสติกสและขนสงพัสดุชั้นนําของโลก จัดกิจกรรม “วันดีเอชแอลอาสา Global Volunteer Day (GVD)” ประจําป 2556 นําทัพพนักงานดีเอชแอลจิตอาสาจาก 3 หนวยธุรกิจ ซึง่ ไดแก ดีเอชแอล เอกซเพรส ดีเอชแอล ซัพพลายเชน และดีเอชแอล โกลเบิ ล ฟอร เ วิ ร  ด ดิ้ ง ร ว ม 500 ชี วิ ต ผนึกกําลังทําความสะอาดชายหาดบางแสน พร อ มร ว มปรั บ ปรุ ง สนามเด็ ก เล น และ ปดทายดวยการรวมจัดกิจกรรมนันทนาการ เพื่อมอบความรูและความสุขใหแกนองๆ โรงเรี ย นบ า นแหลมแท น ตํ า บลแสนสุ ข จังหวัดชลบุรเี มือ่ เร็วๆ นี้

เทสโก โลตัส มอบโอกาสแกเยาวชน ไทยเรียนจบปริญญาตรีทั่วประเทศ เทสโก โลตัส และประธานมูล นิ ธิ เ ทสโก เ พื่ อ ไทย ร ว มพิ ธี ม อบทุ น “โครงการ ทุนการศึกษา เทสโก โลตัส เพือ่ นิสติ นักศึกษามหาวิทยาลัย ประจํา ปการศึกษา 2556” โดยมอบทุนเรียน จบปริญญาตรี จํานวน 200 ทุน รวม มูลคา 2 ลานบาท แก ผูอํานวยการ กลุม พัฒนาระบบสวัสดิการและบริการ นักศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา ณ หองประชุมศาสตราจารย ประเสริฐ ชัน้ 3 สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เมือ่ เร็ว ๆ นี้

บีไอจีรุกตลาดกาซอุตสาหกรรม เปดคอมเพล็กซครบวงจรแหงแรกในไทย บริษทั บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด หรือ บีไอจี เปดคอมเพล็กซ กาซอุตสาหกรรมศูนยรวมบริการกาซครบวงจรตัง้ อยูใ นนิคมอุตสาหกรรม เหมราชชลบุรี (บอวิน) เปนแหลงรวมผูผลิตในหลากหลายอุตสาหกรรม หลักๆ ของประเทศ พรอมขยายกําลังการผลิตโรงแยกอากาศเพิม่ เปน 920 ตันตอวัน เพือ่ ชวยใหผผู ลิตเพิม่ ความไดเปรียบในเชิงธุรกิจจากการมีกา ซ สําหรับใชในกระบวนการผลิตครอบคลุมทุกความตองการอยางสมํา่ เสมอ และตอเนือ่ ง ทีชว ยใหสามารถบริหารตนทุนการผลิต การขนสง และสินคา คงคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ

102

Energy#59_p102-103_Pro3.indd 102

9/25/13 3:37 PM


แผนอนุรักษพลังงาน 20 ป ความหวังของประเทศไทย นายสุเทพ เหลีย่ มศิรเิ จริญ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและ แผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปนประธานเปดงานเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรูเรื่อง “แผนอนุรักษพลังงาน 20 ป ความหวังของ ประเทศไทย” ภายใตกจิ กรรม KM Day เพือ่ ใหบคุ ลากรภายใตกระทรวง พลังงาน ไดเกิดการแบงปนและแลกเปลีย่ นเรียนรูเ กีย่ วกับแผนอนุรกั ษ พลังงาน 20 ป (พ.ศ.2554 – 2573) และสามารถนําไปปฏิบตั ใิ หตรงตาม ยุทธศาสตรของกระทรวงพลังงาน

โรงงาน ชไนเดอร

อิเล็คทริค บางปู ผานการรับรอง มาตรฐาน ISO50001 โรงงาน ชไนเดอร อิเล็คทริค ไทยแลนด นิคมอุตสาหกรรม บางปู ผานการรับรองมาตรฐาน ISO50001: 2011 จากบริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟเ คชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด ซึง่ เปนมาตรฐานสากล ดานการจัดการพลังงาน เปนแหงแรกของกลุม บริษทั ชไนเดอร อิเล็ค ทริค ในภาคพืน้ เอเชียตะวันออก ชูเทคโนโลยีชว ยสงเสริมการประหยัด พลังงานแบบยั่งยืนทั้งโรงงาน พรอมตั้งเปาเตรียมติดตั้งระบบ พลังงานแสงอาทิตยไวใชในโรงงาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพลดคาใชจา ย ดานพลังงาน ซึง่ เปนไปตามนโยบายเทคโนโลยีสเี ขียวของชไนเดอร อิเล็คทริค

โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเอ็กโก

ควาโลและเกียรติบัตรมาตรฐานมงกุฎไทย

ปลูกปาเพื่อลดโลกรอน นายประชัย เลีย่ วไพรัตน ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ทีพไี อ โพลีน จํากัด(มหาชน) ในฐานะประธานมูลนิธสิ งิ่ แวดลอมเพือ่ ชีวติ รวมถึง นางอรพิน เลีย่ วไพรัตน ผูบ ริหารทีพไี อโพลีนและพนักงานในเครือทีพไี อ ไดตระหนักถึงการสรางสรรคสภาพแวดลอมทีด่ ี เพือ่ การดํารงอยูข อง มนุษยกบั ธรรมชาติอยางถาวร จึงไดรว มกันจัดกิจกรรมปลูกปาเพือ่ ลด โลกรอน ณ บริเวณดานหนาโรงงานกระเบือ้ งทีพไี อ จังหวัดสระบุรี โดย มีนายพรชัย ลิม้ ตระกูล นายอําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี ให เกียรติเขารวมงาน รวมถึงนักเรียนและประชาชนไดเขารวมกิจกรรมปลูก ปาลดโลกรอนในครัง้ นีอ้ ยางพรอมเพรียงกัน เมือ่ เร็วๆ นี้

โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบริษทั ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุป ไดรบั เกียรติบตั รมาตรฐานมงกุฎไทย 4 โครงการ ไดแก โรงไฟฟา “เอสพีพี ทู” จ.สระบุรี “เอสพีพี ทรี” จ.ศรีสะเกษ “เอส พีพี โฟร” อยูบ ริเวณรอยตอระหวาง จ.ศรีสะเกษ และ จ.อุบลราชธานี และ “เอสพีพี ไฟว” จ.รอยเอ็ด เปนโครงการกลไกการพัฒนาทีส่ ะอาด ในประเทศไทย และผานการรับรองเปนโครงการตามมาตรฐาน มงกุฎไทย เมือ่ เร็วๆ นี้ ในกิจกรรมชดเชยคารบอน CSR รูปแบบใหม ชวยไทยลดโลกรอน ณ โรงแรมโกลเดน ทิวลิป ซอฟเฟอริน

103

Energy#59_p102-103_Pro3.indd 103

9/25/13 3:37 PM


Energy Thinking เด็กเนิรด

ยกตัวเองขึ้น โดยไม ลดคนอื่นลง ขอคิดนีไ้ ดมาจากเว็บไซตหนึง่ อานแลว อยากจะนํามาแบงปนเพื่อน ๆ ทุกคน เพราะ เปนสัจธรรมในการทํางานที่ควรนําไปคิด และนําไปปฏิบัติตามอยางยิ่ง อาจารยคนหนึ่งชวนลูกศิษยเดินเลน ชายหาด อาจารย เ ริ่ ม สอนลู ก ศิ ษ ย ด  ว ย การใชไมขีดเสนสองเสนลงไปบนผืนทราย เปนเสนคูข นาน ยาว 5 ฟุต และ 3 ฟุต ตามลําดับ อาจารยถามวา “เธอสามารถทําใหเสน 3 ฟุต ยาวกวาเสน 5 ฟุต ไดหรือเปลา ลองทําใหดู หนอยสิ ?” ลูกศิษยหยุดคิดครูหนึ่ง แลวลบรอย เสนที่ยาว 5 ฟุต ใหสั้นลงเหลือเพียง 1 ฟุต ทําใหเสน 3 ฟุต โดดเดนขึ้นมา แลวศิษยจึง ถามอาจารย พรอมขอความเห็นวา “แบบนี้ ถูกหรือเปลาครับ” “เหยียบหัวคนอื่นเพื่อ ใหตัวเองสูงขึ้น”

อาจารยเขกหัวลูกศิษยเบา ๆ แลว บอกวา “คนทีจ่ ะยกตนเองใหสงู ขึน้ โดยการ ทํารายผูอ นื่ นัน้ ไมใชวธิ ที ถี่ กู ตอง ถาเลือกใช วิ ธี นี้ ชี วิ ต เธอจะมี แ ต ล  ม เหลว ไม พั ฒ นา ทางที่ ดี ค วรเลื อ กใช วิ ธี ที่ จ ะยกตั ว เองขึ้ น โดยไมไปลดคาของคนอืน่ ลง” แลวอาจารยจงึ ขีดเสน 2 เสนใหเทาเดิม คือ 3 ฟุต และ 5 ฟุต จากนัน้ อาจารยสาธิตใหดู ดวยการขีดเสน 3 ฟุต ใหยาวขึน้ เปน 10 ฟุต แลวพูดวา “จงอยาคิดวาคูแ ขงของเธอคือศัตรู แตใหคิดวาเปนครูของเธอ” ที่เธอจะตอง พัฒนาตนเองใหเทียบเทาหรือดีกวา เพื่อ ที่เธอจะกาวไปขางหนาอยางสงางาม คนทีพ ่ ยายามจะเลือ่ นตัวเองขึน้ ไป โดย การฆานอง ฟองนาย และขายเพือ่ น ถึงแมจะ ทําสําเร็จ แตนนั่ ก็เปนความสําเร็จทีป่ ราศจาก เกียรติ ไมสามารถเอยปากไดอยางเต็มภาคภูมิ

การเลือ่ นตัวเองขึน้ ไป โดยวิธที ไี่ มชอบธรรม กับการเลือ่ นตัวเองขึน้ ไป โดยปลอยใหคนอืน่ กาวไปตามวิถีทางของเขาอยางเสรี ยอม มีผลลัพธทตี่ า งกัน หากไรคแู ขงแลว เราจะรูไ ดอยางไรวา ตัวเองมีศักยภาพในการทํางานขนาดไหน ไมมอี ปั ลักษณกไ็ มรจู กั สวยงาม นั ก สู  ที่ ดี มั ก ชื่ น ชมคู  ต  อ สู  ที่ เ ข ม แข็ ง เพราะคูต อ สูท อี่ อ นแอจะทําใหชยั ชนะของเรา ไมยั่งยืน ดังนั้น การที่เราไดพบกับคูแขงที่ แข็งแกรงและชาญฉลาด ก็จะยิ่งทําใหเรา รูจ กั ขยับตัวเองใหสงู ยิง่ ขึน้ การเลื่ อ นตั ว เองขึ้ น พร อ มกั บ ลด คนอืน่ ลง เธออาจชนะ แตกม็ ศี ตั รูตามมาดวย แตการเลือ่ นตัวเองขึน้ โดยไมไปลดคนอืน่ ลง เธอจะเปนผูชนะ และยังมีเพื่อนแทเพิ่มขึ้น หนึ่งในนั้นอาจเปนคูแขงของเธอก็ได

104

Energy#59_p104_Pro3.indd 104

9/11/13 11:42 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

105

Energy#58_p103_Pro3.indd 105

8/28/13 6:43 PM


Event Calendar พิชญาภา อินทโลหิต

นิดานพลั ทรรศการ งานประชุ ม และอบรม.. งงานที่นาสนใจประจําเดือนตุลาคม 2556

13-15 พฤศจิกายน 2556

29 ตุลาคม 2556

ชื่องาน : การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสูชุมชน แหงประเทศไทยครั้งที่6 สถานที่ : โรงแรมตักสิลามหาสารคาม รายละเอียด : การใชพลังงานทดแทนโดยตระหนักถึงความเชื่อมโยงดาน เศรษฐกิ จ และสิ่ ง แวดล อ มของชุ ม ชนอย า งบู ร ณาการ จํ า เป น ต อ งอาศั ย ความรวมมือจากหลายฝาย ทั้งจากกลุมนักวิชาการภาคชุมชน ตลอดจน ผูประกอบการและหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งสมาคมพลังงานทดแทนสูชุมชน แหงประเทศไทย เล็งเห็นความสําคัญดังกลาว จึงมอบหมายใหภาควิชา ฟสิกส คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เปนเจาภาพในการจัด งานประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ เพื่อใหเกิดเครือขายในการแลกเปลี่ยนและ เรียนรูกันระหวางชุมชน นักวิชาการ นิสิตนักศึกษา และผูประกอบการดาน พลังงานทดแทนตางๆ อันจะนําไปสูรูปแบบการใชพลังงานทดแทนในชุมชน อยางยั่งยืนตอไป ติ ด ต อ สอบถาม : ภาควิ ช าฟ สิ ก ส คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 โทร. 043-754379 ตอ 1110 , e-mail: trec6@msu.ac.th

ชือ่ งาน : การเลือกใชพดั ลม อยางถูกตองเพือ่ ประหยัดคาติดตัง้ และคาไฟฟา สถานที่ : ณ บริษัท กรูเกอร เวนทิเลชั่น อินดัสทรีส (ไทยแลนด) จํากัด เวลา : 06.45 – 17.00 น. รายละเอียด : เนื่องจากพัดลมเปนอุปกรณพื้นฐานที่มีการใชงานเปนจํานวน มาก ทั้งในโรงงานอุตสาหกรรม และ อาคารทั่วไป การเลือกใชพัดลมผิด ประเภท ทําใหเจาของโครงการเสียเงินโดยไมจําเปนอาจกอใหเกิดเสียงดัง รบกวนที่แกไขไมได และ เสียคาไฟฟาเพิ่มตลอดอายุพัดลมดวย การเลือก ใชและติดตั้งพัดลมอยางถูกตอง จะประหยัดคาติดตั้งไดมาก มีเสียงรบกวน ตํ่ า และที่ สํ า คั ญ จะประหยั ด ค า ไฟฟ า ได อ ย า งมากตลอดอายุ ก ารใช ง าน ทางคณะกรรมการวิชาการสาขาเครื่องกล วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชนูปถัมภ ไดรับการสันบสนุนโดย บริษัท ครูเกอร เวนทิเลชั่น อินดัสทรีส (ไทยแลนด) จํากัด กําหนดจัดสัมมนาและศึกษาดูงาน เพื่อให สมาชิกและผูที่สนใจ ไดพัฒนาความรูความเขาใจ และไดรับการถายทอด ประสบการณ จ ากวิ ท ยากรผู  ท รงคุ ณ วุ ฒิ ซึ่ ง เป น ผู  เ ชี่ ย วชาญโดยตรงทั้ ง ภาคทฤษฎีและภาคปฎิบัติ มีประการณมากกวา 20 ป ติดตอสอบถาม : คุณ สุพรรณีย ตอ 509 โทร.02-3192710

29-30 ตุลาคม 2556

29-30 ตุลาคม 2556

ชื่องาน : Leadership in Eco Inudustrial Town Development ความเปนผูนําในการพัฒนาอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ สถานที่ : ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ รายละเอียด : - หลักปฎิบัติสูความเปนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและกรณีตัวอยางของตาง ประเทศ - ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรมและมาตรฐานสิ่งแวดลอมของ AEC - การจัดการในภาวะวิกฤติ(Criss Management) - นวัตกรรมสูสังคมคารบอนตํ่า(Low Carbon Society) - 3Rs กับนวัตกรรมในการจัดการของเสียอุตสาหกรรมใหเปนศูนย - อุตสาหกรรมสรางความคุม คาของทรัพยากรดวยการใชแบบพึง่ พา (Symbiosis) ติดตอสอบถาม : สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสหากรรมแหง ประเทศไทย นายชาญชัย งามสงา และ น.ส.กลัยา นามโคตร โทร. 02-3451262 , 02-345-1273 โทรสาร.02-345-1266-7 เว็บไซต : www.iei.or.th ชื่องาน : โครงการตนตนกลาพลังงานปที่ 8 หัวขอการประกวด : ภายใตหวั ขอ “นวัตกรรมพลังงานเพือ่ โลกสีเขียว 2556” โครงสรางโครงการ : กลับมาอีกครัง้ แลวกับเวทีคน หาสุดยอดเมล็ดพันธุใหม ในการประกวด โครงการตนกลาพลังงานปที่8 ชิงรางวัลมูลคากวา 690,000 บาท ในหัวขอ “นวัตกรรมพลังงานเพือ่ โลกสีเขียว (Energy Innovation for Green Globe 2013)” รายละเอียดเพิ่มเติมที่ : www.energy.go.th

ชื่องาน : สัมมนาวิชาการและแสดงนิทรรศการประจําป2556 “Leadership in Eco Industrial Town Development”ความเปนผูนําในการพัฒนา อุตสาหรกรรมเชิงนิเวศ สถานที่ : ณ หองแกรนดฮอลล 201-203 ชั้น2 ศูนยนิทรรศการและการ ประชุมไบเทคบางนางาน Logistics Fair 2013 วัตถุประสงค : เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมสูความ เปนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอยางเปนรูปธรรม โดยกิจกรรมกิจกรรมนี้ถือ เปนเวทีกลางในการถายทอดแนวคิด เทคโนโลยี และนวัตกรรมการพัฒนา อุตสหากรรมเชิงนิเวศใหกับทุกภาคสวนตามกรอบยุทธศาสตรการพัฒนา อุตสาหกรรมเชิงนิเวศของประเทศ ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม : สถาบันสิ่งแวดลอมอุคสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย คุณกัลยา/คุณชายชาญชาย โทร.02-345-1261-5 หรือ 02-3451155-6 โทรสาร.02-3451266-7, e-mail: vrlei@gmail.com

21-23 ตุลาคม 2556

ชื่องาน : “การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ครั้งที่ 29” สถานที่ : ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา รายละเอียด : คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี รวมกับ สมาคมวิทยาศาสตรแหงประเทศไทย จัดงานการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย ครั้งที่ 39 (วทท.39) ในหัวขอ “นวัตกรรมวิทยาศาสตรเพือ่ ชีวติ ทีด่ ขี นึ้ (Innovation Science for a Better life)” นอกจากนี้มีการบรรยายพิเศษจากวิทยากรผูทรงวุฒิแลวยังมีการนํา เสนอผลงานทางวิชาการทั้งแบบบรรยาย และแบบโปสเตอร รายละเอียดเพิ่มเติม : http://www.scisoc.or.th/stt39

106

Energy#59_p_106_Pro3.indd 106

9/23/13 11:45 PM


Energy#59_Cover In_Pro3.indd 1

9/25/13 9:45 PM


~ ¥ ñ m m }©j ¨ Ó ¨q pp

jÔ Ó ¢ Ë ­

} | ¤|Ò

Thai Th ailaand aila nd Ene nergy rg AAwwarrds ds 201 010, 0, 2012

~ ¥} Business Turbo r Energy Saving Ë ­ 5 r ­ 59 ~¡ m 2556 Ê ¬ 5 q ¬ 59 } l 2556

27-30 March 2014 BITEC Bangkok

p ¦ }p¥ m§ § }Ô ­p¦ } Ô ¦ j q }j j m ®p ­ 1

T 90

14

1

3

1

0

0

1

www.facebook.com/EnergySavingMedia

Energy#59_Cover Out_Pro3.indd 1

9/25/13 9:43 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.