นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 62 เดือนมกราคม 2557

Page 1

Energy#62_Cover Out_Pro3.indd 1

12/23/13 4:18 PM


Energy#62_Cover In_Pro3.indd 1

12/20/13 1:42 AM


Energy#62_p03_Pro3.ai

1

12/13/13

8:48 PM


High Light 22 19 25 36 44 66

102

76

What’s Up

72 Around The World 74 ASEAN Update 102 Energy Movement

Cover Story 10 53

Cover Story : อัพเดทอุปกรณประหยัดพลังงาน ที่ยังมาแรงในป 57 Special Report : กระทรวงพลังงาน เรงหาพลังงาน ทดแทนกอนกาซธรรมชาติอาวไทยจะหมด

Interview 46 48 50 64

Exclusive : กสิกรไทย สนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ประหยัดพลังงาน ชวยลดตนทุนการผลิต Exclusive : ม.กรุงเทพปลูกฝงนักศึกษา สรางจิตสํานึกใชพลังงานใหคุมคา Exclusive : คุยกับอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรณีเตรียมเปดสัมปทานปโตรเลียมรอบที่ 21 Energy Concept : คายนานาชาติประชาคมอาเซียน จุดประกายการเกษตรสมัยใหม “Modern Farming System”

78 80 82 83 90

Greennovation Green 4 U : Rising Moon โดมไฟพลาสติกรีไซเคิล Energy Award : โครงการประกวด อบต. Energy Awards “ชุมชนตนแบบพลังงานยั่งยืน” Energy Knowledge : จุฬา ฯ ผลิตยาสลบสําหรับ สัตวนาํ้ จากสารธรรมชาติ ลดการเผาผลาญพลังงาน Eco Shop : เปอเหวอ ปอหวอ ตุกตาใยกลวย ผลิตภัณฑเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Energy Loan : ป 57 สนพ. สงเสริมโครงการ อนุรักษพลังงานรวมทั้งสิ้น 104 โครงการ วงเงินกวา 6 พันลานบาท Energy Focus : “ชีวภาพ” กาวสําคัญ เสริมทัพพลังงานไทย Insight Energy : เทรนดอาคารสีเขียว มาแรงรับป 2557 Special Scoop : รวมพลังปลูกปานิเวศ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ครบ 86 พรรษา Energy Rules : ใบอนุญาต ร.ง.4 โปรงใส… ตรวจสอบได Prefabrication : นวัตกรรมที่พักอาศัยสําเร็จรูป และกึ่งสําเร็จรูปตอบโจทยชีวิตคนเมือง ลดคาใชจาย ลดใชทรัพยากร Energy Exhibit : จีบัน สวยรักษโลก เทรนดใหมชวยโลกใหเขียวขึ้น

4

Energy#62_p4,6_Pro3.indd 4

12/20/13 8:54 PM


เครองมือทดสอบการติดตั้งและบํารุงรักษา ระบบเซลลแสงอาทิตยและพลังงานลม หากคุณทํางานเกี่ยวข้องกับการผลิตไฟฟ้า จากโซลาเซลลและกังหันลม นี่คือผูชวยมืออาชีพ ที่จัดการงานใหคุณไดอยางมีประสิทธิภาพ

FFluke luke 810 810 Vibration Vibr ration Tester

ตรวจวัดแรงสั่นสะเทือนของ ตัวเจ็นเนอเรเตอรและใบกังหันลม เพอหาความผิดปกติ

SOLAR-100

Solar Power Meter

PV150 V150 150 Solar S l Commissioning Tests ตรวจวัดคุณสมบัติของ แผงโซลารเซลล วัด Insulation, Voc, Isc, Power

Fluke 1625 Earth Ground Tester ตรวจวัดระบบกราวดจาก แผงโซลาเซลลถึงอาคารที่ ติดตั้งอินเวอรเตอร

SOLAR-600 วัดคาพลังงานแสงอาทิตย Solar Analyzer ที่ตกกระทบโซลาเซลล

วิเคราะหพลังงานแสง อาทิตย V-I Curve, แรงดันและกระแสสูงสุด, ประสิทธิภาพ

Fluke 435-II Power Quality Analyzer

ตรวจวัดประสิทธิภาพของ อินเวอรเตอรจากระบบ DC Generator เทียบกับ AC Output

เพอการทดสอบ การแปลงพลังงาน

BAT-500 Battery Capacity Tester ทดสอบความสามารถของ แบตเตอรี่ในระบบสํารองไฟ จายกําลัง และอายุใชงาน

Fluke Ti27 Thermal Imager

Fluke 215C Handheld Oscilloscope

วัดคาอุณหภูมิแผงโซลาเซลล วัดและวิเคราะหการสอสาร ตรวจหาจุดเสอมของแผง ที่เชอมตอกันในสถานีไฟฟา วัดไดจากระยะไกล รวดเร็ว กับกังหันลม ผานระบบ และปลอดภัย บัสขอมูล

TM Fluke CNXTM Wireless System

ชุดเครองมือวัดระบบไรสาย เชอมตอใชงานรวมกัน 5 โมดูล ระยะไกล 20 เมตร

Fluke 381 Remote Digital Clamp Meter ตรวจวัดและติดตามการทํางาน ของพลังงานไฟฟาตามจุดตางๆ อานคาไดระยะไกล

สนใจติดตอ : คุณเฉลิมพร 085-489-3461, คุณสารกิจ 08-1641-8438, คุณธีระวัฒน 08-1555-3877

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด

2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 55 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/solar-wind-test Energy#62_p05_Pro3.indd 5

12/18/13 9:13 AM


56

32

32 34 34

Industrial & Resident 28 32 34 38 94 96

Green Industrial : โรงแรมรอยัลแมโขง… อนุรักษพลังงาน ภายใต Green Hotels Supporting Sustainability Residence : รอยัลฮิลล กอลฟ รีสอรท แอนด สปา ทางเลือกหนึ่งของผูที่ชื่นชอบธรรมชาติ และการประหยัดพลังงาน Energy Design : บานหมุนไดประหยัดพลังงาน Tool & Machine : นวัตกรรมลํ้าหนาของระบบ ทําความเย็น VSD Magnetic Centrifugal Chiller Saving Corner : ลดตนทุนการผลิตดวยไอนํา้ เหลือทิง้ ความดันตํา่ โดยใช Micro Steam Turbine รวมกับ Ab Energy Management : คูมือการตรวจสอบ และ รับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูต รวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 7)

Transportation & Alternative Energy 56 62 68 70

Auto Update : รถยนตไฟฟาไมไกลเกินรอ Vehicle Concept : HYUNDAI HND-6 Fuel Cell Electric Vehicle Renergy : NIA เดินหนาขับเคลื่อนเทคโนโลยี Gasification คอขวดอยูที่ผูรูไมรวมกันพัฒนา Green logistic : ผูประกอบการโลจิสติกสไทย กับการปรับตัวสู AEC (ตอนจบ)

Environment Protection 85 88 92 99

0 Waste Idea : การพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนและ แหลงพลังงานหมุนเวียน…เกร็ดความคิดจากอินโดนิเซีย Environment Alert : ทิศทางการบริหารจัดการ สิ่งแวดลอม Green Community : ปูนซีเมนซเอเชีย เปดโรงไฟฟา ลมรอนพรอมฟนฟูชุมชนใหเปนพื้นที่สีเขียว Energy Clinic : ขอควรรู…กอนติดตั้ง ระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย

Regular Feature 8 16

Editor ’s talk Get Idea : รวมมือคิด ลงมือทํา เรื่องงาย ๆ ในการประหยัดพลังงาน 42 How to 40 Energy Tips : ประหยัดแอรดวยพัดลม 60 Have to Know : จับตาแหลงพลังงาน Shale gas 104 Energy Thinking : ขอคิดจาก “สตีฟ จอบส” 105 แบบสมัครสมาชิก 106 Event & Calendar

6

Energy#62_p4,6_Pro3.indd 6

12/20/13 8:54 PM


ระบบทดสอบเครองอินเวอรเตอรที่ ใชกับ สถานี ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย (Grid-Connected Photovoltaic Inverter)

สําหรับโรงงานผลิตเครองอินเวอรเตอร และหองปฏิบัติการทดสอบ 

PV Inverter

ที่ตองการทดสอบ

Utility Grid

Photovoltaic Panels

PV Simulation

PV Inverter

AC Grid Simulation

เครองสรางสภาวะพลังงานจากเซลลแสงอาทิตย (PV Simulation) - สามารถสรางสภาวะพลังงานที่เกิดจากเซลล แสงอาทิตย โดยไมตองใชแผงเซลลแสงอาทิตย - ตอบสนองตอ IV Curve ไดรวดเร็วแบบไดนามิค (Dynamic Performance) มีความละเอียดสูง 4096 จุด - ทดสอบความทนทานของอินเวอรเตอรจากการ กระชากของกระแสเฉียบพลัน เมอแสงอาทิตยขาดหาย (Max Power Point Tracking)

เครองสรางสภาวะแรงดันไฟฟา กระแสสลับ (AC Grid Simulation)

Solar PV Rooftop

- สามารถสรางสภาวะแรงดันไฟฟา Under/Over Voltage, สภาวะความถี่ Under/Over Frequency สําหรับทดสอบการตัด-ตอเครองอินเวอรเตอร - ทดสอบการจายไฟฟากระแสตรง (DC Injection) ตามมาตรฐาน 1547.1-2005 ได - ทดสอบการปองกันการจายไฟฟาแบบแยกโดด (Anti-Islanding) ตามมาตรฐาน IEC 62116-2008 ได - สามารถทางานในโหมดทีร่ องรับกระแสไหลยอนกลับ (Regenerative Mode) โดยไมเกิดการ reverse protection, trip, fault, damage, short, burnt ที่จะทาใหเกิดความเสียหาย ระหวางการทดสอบ หรือการทดสอบหยุดชะงักไมเสร็จสมบูรณตามขั้นตอนที่กําหนด โดยการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาค - สามารถทาการทดสอบการตัด-ตอของเครองอินเวอรเตอร ตามขอกําหนดของการไฟฟา นครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคได สําหรับระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย บนหลังคา (Solar PV Rooftop)

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ คุณเฉลิมพร 085-489-3461 บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํากัด

2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 55 55 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/ametek Energy#62_p07_Pro3.indd 7

12/13/13 10:44 PM


คณะผู้จัดทํา

กรรมการผูจัดการ ชาตรี มรรคา

ตอนรับอากาศหนาว กาวเทาสูป ใ หม ปแหงการเปลีย่ นแปลงอะไรหลาย ๆ อยาง ทั้งในภาพรวมและสวนบุคคล ขอใหเปนการเปลี่ยนแปลงไปสู สิง่ ใหมทดี่ กี วาเดิมสําหรับทุกทาน มาเขาเรือ่ งของเรากันบางดีกวา ปจจุบนั เรื่องของพลังงานในบานเราก็กาวเขาสูการเปลี่ยนแปลงที่เห็นภาพได ชัดเจนขึ้น ทุกภาคสวนหันมาใหความสําคัญกับการหาแหลงพลังงาน ทดแทนตาง ๆ อันไดแก พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานนํ้า และพลังงานชีวมวล ฯลฯ โดยสงเสริมใหหนวยงานและองคกรตาง ๆ ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของการใชพลังงานทดแทนที่จะกลายมาเปน พลังงานหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของชาติในอนาคต นอกจากเรื่องของการรณรงค ใหใชพลังงานทดแทนกันมากขึ้นแลว เรื่องของการปลูกจิตสํานึกใหทุกคนหันมาชวยกันประหยัดพลังงาน ก็ เ ป น สิ่ ง สํ า คั ญ ไม แ พ กั น เห็ น ได จ ากกระทรวงพลั ง งานเองที่ อ อก แคมเปญรณรงคสง เสริมใหเกิดการประหยัดพลังงานออกมามากมาย หลากหลายโครงการ ขอยกตัวอยางโครงการที่นา สนใจ อาทิ โครงการ ประกวด อบต.Energy Awards หรือ “ชุมชนตนแบบพลังงานยั่งยืน” ที่เนนสงเสริมใหสวนทองถิ่นหันมาใชพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงานผานโครงการวางแผนพลังงานชุมชน ควบคูกับการสงเสริม ใหมีการพัฒนาควบคูไปกับการพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งปนี้ดําเนินการ มาเปนปที่ 8 แลว โดยมี องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) เขารวม โครงการกวา 1,000 แหงทั่วประเทศ เปนโครงการหนึ่งที่ประสบความ สําเร็จไมนอยทีเดียว นอกจากนี้ กระทรวงพลังงานยังทุม งบประมาณ 500 ลานบาท สนับสนุน ใหภาคธุรกิจหันมาปรับเปลี่ยนเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ ในอาคาร โรงงาน เพื่อการอนุรักษพลังงาน โดยแบงเปน เงินสนับสนุนเงินใหแก ผูป ระกอบการขนาดใหญ รอยละ 20 และขนาดกลางและยอม (เอสเอ็มอี) รอยละ 30 ของเงินลงทุน แตไมเกิน 3 ลานบาทตอราย พรอมรณรงคให เกิดการประหยัดพลังงานในอาคาร โดยตัง้ เปาใหมอี าคารใหม รอยละ 20 เปน Net Zero Building ภายในป 2573 เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ที่สังคมเมืองจะกระจายตัวไปตางจังหวัดมากขึ้น เมือ่ ภาครัฐเริม่ ขยับตัวเปนแบบอยางเชนนี้ ภาคประชาชนก็อยานอยหนา หันมาประหยัดพลังงานกันบางดีกวา นอกจากจะชวยชาติยงั ชวยประหยัด เงินในกระเปาของคุณอีกดวย สุดทายนี้ ตองขอกลาว สวัสดีปใหม 2557 กับแฟนหนังสือ Energy Saving ทุกทาน ขอใหมคี วามสุขตลอด ปและตลอดไปนะคะ แลวพบกันใหมฉบับหนา… สวัสดีคะ

ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

บรรณาธิการบริหาร สุภาเพ็ญ เพ็งสุข

หัวหนากองบรรณาธิการ

ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ

นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร อภัสรา วัลลิภผล

เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต

ผูจัดการฝายขาย

ศุภแมน มรรคา

เลขาฝายขาย

สุกัญญา สัปศาร

การเงิน

แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

กฤษณา กุลเท็ง

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

ผูจัดทํา

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด

200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469

ภาพและเรื่องในนิตยสาร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด การนําไปพิมพซ้ํา หรือนําไปใชประโยชนใด ๆ ตองไดรับอนุญาตอยางเปนทางการจาก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด กอนทุกครั้ง

8

Energy#62_p8_Pro3.indd 8

12/20/13 9:01 PM


Energy#62_p09_Pro3.ai

1

12/18/13

10:20 PM


Cover Story กองบรรณาธิการ

อัพเดทอุปกรณ ประหยัดพลังงาน ที่ยังมาแรงในป 57 การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมในภาคอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย หรือบานพักที่อยูอาศัยนั้นเปนเทรนดที่มาแรงอยาง ตอเนื่อง ซึ่งผูประกอบการตาง ๆ เหลานี้ไดใหความสนใจเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมกันมากขึ้น ประกอบกับหนวยงาน ภาครัฐไดในการสงเสริมเรือ่ งการประหยัดพลังงานผานโครงการตางๆ เพือ่ กระตุน ใหประชาชนทัว่ ไปตระหนักถึงเรือ่ งการใชพลังงาน อยางประหยัด ไมวาจะเปนการสงเสริมใหใชอุปกรณประหยัดพลังงานที่ติดฉลากประหยัดพลังงาน การลดภาษีสําหรับผูที่เปลี่ยนมา ใชอุปกรณประหยัดพลังงาน หรือการสนับสนุนเรื่องสินเชื้อประหยัดพลังงานเปนตน จากปจจัยดังกลาวผูผ ลิตหรือจําหนายเทคโนโลยี อุปกรณประหยัดพลังงานหลายบริษัทไดพัฒนา นวัตกรรมใหสามารถตอบสนองการลดใชพลังงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาอยาง ตอเนื่องใหเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นเรียกได วาอุปกรณบางอยางสามารถพัฒนาใหเกิดคา สู ญเสี ยทางพลัง งานเกื อบ 100% ดั งนั้ น การ ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีอุปกรณประหยัดพลังงาน ของผู  ป ระกอบการก็ ยั ง ได รั บ ความนิ ย มอย า ง ตอเนื่องจึงไดนําเทคโนโลยีอุปกรณที่ชวยลดใช พลังงานใหเกิดประสิทธิภาพมาอัพเดทเพื่อเปน ประโยชนกบั ผูอ า น

เริ่มจากหลอดไฟ LED เปนนวัตกรรมที่มีการพูดถึงอยางตอเนื่อง ตลอดจนมีการพัฒนาใหสามารถใชงานได และราคาจําหนายก็ถูก ลงเพื่ อ ให ส ามารถตอบสนองความต อ งการกั บ ผู  ใ ช ม ากขึ้ น โดย คุณสมนึก โอวุฒิธรรม ประธานกรรมการบริหาร LeKise Group ไดพูดถึงการเติบโตและการพัฒนาธุรกิจหลอดไฟ LED วา เราเปน ผู  ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ผลิ ต และจั ด จํ า หน า ยหลอดไฟและอุ ป กรณ ประหยัดพลังงานมานานกวา 45 ปธุรกิจของ เลคิเซ ครบวงจรที่สุด นับตั้งแตการสรางแนวคิดของนวัตกรรมตนแบบ สําหรับการออกแบบผลิตภัณฑเพื่อใหเกิดความเหมาะสมกับการนํา ไปใชงานและความตองการของลูกคา จนถึงการพัฒนาผลิตภัณฑให สามารถนํามาใชงานในเชิงพาณิชยได โดนทีมวิจยั พัฒนาของบริษทั กวา 30 คน จะทําการออกแบบผลิตภัณฑใหม ๆ อยางนอย 20-30 แบบทุกเดือน ปจจุบันเฉพาะผลิตภัณฑ LED เลคิเซ มีการพัฒนา ผลิตภัณฑออกสูต ลาดแลวมากกวา 1,500 รายการ ทัง้ นีโ้ ดยพืน้ ฐาน ของผลิตภัณฑ LED จะเนนไปทีก่ ารประหยัดพลังงาน ความสวยงาม และประสิทธิภาพสูงสุด ดานการประหยัดพลังงานนั้นปจจุบันผลิตภัณฑ LED ของเลคิเซ ทุกรุนที่ออกมาสูตลาดจะถูกพัฒนาใหสามารถประหยัดพลังงานได มากขึน้ ตลอดเวลา ปจจุบนั สามารถประหยัดพลังงานไดมากถึง 90% และนอกจากการใชภายในอาคารแลวยังพัฒนาใหสามารถใชในโรงงาน อุตสาหกรรมไดเปนอยางดีซงึ่ ก็เปนตลาดหนึง่ ทีเ่ ริม่ ใหความสําคัญใน การประหยัดพลังงาน นอกจากการประหยัดพลังงานแลวหลอดไฟ LED ยังเปนผลิตภัณฑทมี่ อี ายุการใชงานอายุอยางนอย 20,000 ชัว่ โมงจนถึง 100,000 ชัว่ โมงขึน้ ไป สําหรับแนวโนมของผลิตภัณฑ LED มีอตั ราการเติบโตเพิม่ ขึน้ มากกวา 30 % จากปทผี่ า นมา สาเหตุจากกระแสภาวะโลกรอน การรณรงคให ประชาชนประหยัดไฟ และโครงการประหยัดพลังงานไฟฟาของหนวย งานราชการ รวมถึงการปรับเปลีย่ นและสงเสริมใหหนั มาใชหลอด LED ของการไฟฟาตาง ๆ อีกดวย ทําใหอนาคตของ LED นาจะมีอตั ราการ ใชเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง สวนทิศทางการตลาดป 2014 เลคิเซกรุป ยังคง เนนการผลิตนวัตกรรม LED ชนิดใหม ๆ เพือ่ ตอบสนองความตองการ ของกลุม ผูบ ริโภคมากขึน้ โดยตอบสนองทัง้ ในกลุม องคกรและบุคคล ทัว่ ไป และเนนการทําราคาทีส่ ามารถแขงขันได พรอมตอกยํา้ ในเรือ่ ง คุณภาพและการรับประกันสินคา เพือ่ สรางมาตรฐานการตลาดทีย่ งั่ ยืน

10

Energy#62_p10-15_Pro3.indd 10

12/20/13 9:20 PM


ระบบ Chiller เป น อี ก ระบบหนึ่ ง ที่ มี ค ว า ม สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ผู  ป ร ะ ก อ บ ก า ร อาคารพาณิ ช ย ธุ ร กิ จ โรงแรม รี ส อร ท โรงพยาบาล ศูนยการคา รวมถึงโรงงาน อุตสาหกรรม โดยระบบทําความเย็นและ ปรั บ อากาศ เป น ระบบที่ ใ ช พ ลั ง งานมาก ที่ สุ ด ในบรรดาอุ ป กรณ ที่ ใ ช ไ ฟฟ า เฉลี่ ย ประมาณกว า 70% ของการใชพ ลั ง งาน ทั้งหมดในอาคารที่เหลือเปนระบบแสงสวาง ดังนั้นระบบ Chiller จึงเปนอีกระบบหนึ่ง ที่มีการพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพมากยิ่ง ขึ้นในการประหยัดพลังงาน โดยผูผลิตและ จําหนายระบบ Chiller หลายบริษัทตาง ก็ไดพัฒนานวัตกรรมของตนเองเพื่อตอบ สนองความตองการดานการประหยัดพลังงาน

โดย คุณอุทัย โลหชิตรานนท กรรมการผู จัดการ จอหนสัน คอนโทรลส ประเทศไทย เล า ถึ ง การพั ฒ นาและประสิ ท ธิ ภ าพการ ทํางานของระบบ Chiller วา ปจจุบันเรา พั ฒ นาให เ ป น ระบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller ซึ่งเปนระบบใหมที่ เริ่มไดรับความนิยมของภาคอุตสาหกรรม ในประเทศไทย โดยเทคโนโลยีการผลิตนํ้า เย็นระบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller ถูกพัฒนาอยางตอเนือ่ งเพือ่ ใหเกิด การประหยัดพลังงานที่มีประสิทธิภาพ

ทั้งนี้ระบบผลิตนํ้าเย็นแบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller เป น เครื่ อ งปรั บ อากาศที่ นํ า เอานวั ต กรรมของระบบปรั บ อากาศที่ใชใน NASA และ เรือดํานํ้ามาบรรจุ ในเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบ Centrifugal ทีใ่ ชใน อาคาร เพื่อจุดประสงคหลักคือตองการที่จะ ลดการใชพลังงานใหมากที่สุด

อาจสงผลใหภาระของเครื่องทํานํ้าเย็นที่ใช งานแตละตัวอยูที่ 30-50% โดยเครื่องทํา นํ้าเย็นที่ใชเทคโนโลยี VSD จะสามารถลด การใชพลังงานเฉลี่ยประมาณ 30% และใช งานรวมกับนวัตกรรม Magnetic Bearing จะใหประสิทธิภาพเฉลี่ยสูงถึง 0.45 kW/TR เลยทีเดียว

โดยมี ชิ้ น ส ว นที่ เ ป น อุ ป กรณ ห ลั ก ที่ ช  ว ย ให ส ามารถลดใช พ ลั ง งานได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ คือ Magnetic Bearing เปนอุปกรณที่มีหนาที่สรางสนามแมเหล็ก ที่ ฐ านรองรั บ เพลาขั บ Compressor ใหมีขั้วทางไฟฟาเปนขั้วเดียวกับแกนเพลา ขับ Compressor ทําใหฐานรองรับเพลา ขับ Compressor ผลักใหแกนเพลาขับ ลอยขึ้น และเมื่อมอเตอรทํางาน แกนของ มอเตอรก็จะหมุนลอยอยูในอากาศทําใหไม เกิดการสูญเสียพลังงานไปกับการเสียดสี ระหวางฐานรองรับเพลาขับกับแกนเพลา หรือเรียกวา (Non friction losses) ซึ่ง ใหผลลัพธในการลดการใชพลังงานดีกวา มากเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีแบบเกาที่ตอง ใชนํ้ามันหลอลื่นระหวางฐานรองรับเพลา ขับกับแกนเพลา ที่ตองคอยดูแลปริมาณ และคุ ณ ภาพของนํ้ า มั น หล อ ลื่ น ให อ ยู  ใ น สภาพที่ดีอยูเสมอไมเชนนั้นก็จะกระทบตอ ใชพลังงาน และอายุการใชงานของเครื่องทํา นํ้าเย็นได โดยในเครื่องทํานํ้าเย็นแบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller นั้นไมมี การใชนํ้ามันหลอลื่นในชุด Compressor แมแตหยดเดียว

ส ว นทิ ศ ทางของตลาดนั้ น มองว า จะยั ง คง เติบโตอยางตอเนื่อง เนื่องผูประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารพาณิชย ไดใหความสําคัญเรื่องการลดใชพลังงาน กันมากขึ้นตามกระแสโลก ตลอดจนการ สนั บ สนุ น ของหน ว ยงานภาครั ฐ ให มี ก าร ปรับเปลี่ยนอุปกรณประหยัดพลังงานโดย การสนับสนุนในหลายเรื่องดวยกัน ไมวาจะ เปนเรื่องการยกลดยอนภาษี การใหสินเชื่อ อนุรักษพลังงาน การสงเสริมใหมีสวนรวม ในการประหยัดพลังงานทัง้ ภายในอาคารและ โรงงานอุตสาหกรรม เปนตน

สวนอุปกรณหลักอีกอยาง คือ Variable Speed Drive Unit (VSD) เปนอุปกรณที่ อาศัยหลักการทํางานของ VFD (Variable Frequency Drive) มีหนาที่ในการปรับ ความเร็วรอบของคอมเพรสเซอรมอเตอร ในการดู ด อั ด สารทํ า ความเย็ น ตามภาระ โหลดที่ตองการ ซึ่งจะทําการปรับความเร็ว รอบของคอมเพรสเซอรโดยการปรับความถี่ ของกระแสไฟฟาที่จายใหกับมอเตอรตาม ภาระโหลดที่เกิดขึ้นจริง ครอบคลุมลักษณะ การใชงานของเครื่องทํานํ้าเย็นที่ภาระการ ทํ า ความเย็ น เต็ ม ตามพิ กั ด ที่ อ อกแบบไว หรือเรียกวา “Full Load” และการใชงาน ที่ ภ าระการทํ า ความเย็ น ไม เ ต็ ม พิ กั ด หรื อ นอยกวาตามที่การออกแบบไว หรือเรียก วา “Part Load” โดยเครื่องทํานํ้าเย็นชนิด ปรับความเร็วรอบคอมเพรสเซอร (VSD Chiller) นี้จะมีสมรรถนะที่ Part Load ดี กวา เครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบเดิม (Centrifugal , Screw Chiller) โดยเฉพาะอยางยิ่งการ ใชงานเครื่องทํานํ้าเย็นหลายชุดพรอมกัน

เมื่ อ พู ด ถึ ง ระบบ Chiller แล ว อี ก ระบบ หนึ่งที่ตองพูดถึง คือ Boiler หรือหมอตม ไอนํ้ า ที่ มี ก ารใช กั น อย า งแพร ห ลายทั้ ง ใน โรงงานอุตสาหกรรม และอาคารพาณิชย ขนาดใหญ และได มี ก ารพั ฒ นาต อ ยอด ให ส ามารถลดการใช พ ลั ง งานได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ คุณประพัฒน โพธิวรคุณ ประธานบริษัท เค.วาย.อินเตอรเทรด จํากัด บอกวา ประเทศไทยมีการใชระบบ Boiler อยางแพรหลาย โดยเฉพาะในกระบวนการ ผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม โดย Boiler แบงออกเปน 2 ประเภทหลักๆ คือ หมอไอนํา้ แบบทอไฟ (fire tube boiler) และหมอไอ นํ้าแบบไหลผานทางเดียว (Once Through Boiler) โดยหมอไอนํ้าแบบทอไฟจะมีขนาด ใหญ กํ า ลั ง ผลิ ต ตั้ ง แต 20 ตั น ต อ ชั่ ว โมง ขึ้นไป แตถาขนาดเล็กกวา 20 ตันก็จะเปน หมอไอนํ้าแบบไหลผานทางเดียว 11

Energy#62_p10-15_Pro3.indd 11

12/20/13 9:20 PM


สําหรับภาพรวมตลาดเทคโนโลยีผลิตนํ้า รอนหรือหมอไอนํ้าในประเทศไทยสวนใหญ เปน Boiler แบบทอไฟเฉลี่ยประมาณ 70% ขณะที่ Once Through Boiler ประมาณ กวา 25% ที่เหลือก็จะเปนระบบผลิตนํ้ารอน แบบอืน่ แตหากมองในแงของโรงงานทีอ่ ยูใ น นิคมอุตสาหกรรมทัว่ ไปนัน้ ผมมองวา Once Through Boiler มีผูใชมากกวา 50% ดานการทําตลาดนัน้ เราจะเจาะกลุม โรงงานที่ อยูใ นนิคมอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศ โดยการ ทําตลาดแบบขายตรงเพราะตองมีการบริการ ติดตัง้ และแบบบริการหลังการขายดานสวนแบง การตลาดของกลุม Once Through Boiler เรามีมารเก็ตแชรอยูที่ 60% เปนที่ 1 ของ ตลาด จากประสบการณมากวา 30 ป

อยางไรก็ตามประสิทธิภาพการทํางานจะ แตกตางกันซึ่ง Once Through Boiler จะถูกพัฒนาใหมีประสิทธิภาพการประหยัด พลังงานที่สูงกวาระบบหมอไอนํ้าแบบทอไฟ เพราะสภาวะการทํางานของโหลดที่ตํ่ากวา 50% นัน้ ประสิทธิภาพการทํางานของ Once Through Boiler ไมไดตกลงตามแตยัง รักษาสภาวะคงที่ซึ่งจุดนี้เองตอบโจทยกับ ภาคอุตสาหกรรม ทั้ ง นี้ Once Through Boiler ยั ง สามารถรองรับไดทุกอุตสาหกรรมตั้งแต อุ ต สาหกรรมที่ มี ค วามต อ งการนํ้ า ร อ น ตั้งแต 100 กิโลกรัมตอชั่วโมงขึ้นไปจนถึง 4 ตัน โดยสามารถนํามาติดตั้งตอรวมกันเพื่อ ขยายกําลังการผลิตไดสงู สุดหนึง่ ระบบทําได 15 เครื่องเมื่อคูณ 4 ตันก็เทากับ 60 ตันนี้ คือความสามารถสูงสุดที่ Once Through Boiler สามารถทดแทนระบบใหญได อีกประสิทธิภาพหนึ่งของ Once Through Boiler คือ เทคโนโลยี Economizer เปน ชุ ด ที่ นํ า เอาความร อ นเหลื อ ทิ้ ง จากป อ ง ไอเสียมาแลกเปลีย่ นกับนํา้ กอนทีจ่ ะเขาเครือ่ ง Boiler ซึง่ กอนเขาเครือ่ งจะมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้ มาก 5 – 6% ก็จะชวยให Once Through Boiler มีประสิทธิภาพการทํางานสูงถึง 96% เมื่อเปรียบเทียบกับ fire tube boiler ซึ่งมี ประสิทธิภาพแค 85% เมือ่ ประสิทธิภาพทีส่ งู ก็ทําใหการเผาไหมสูงตามและเกิดการสูญ เสียนอย การใชเชื้อเพลิงลดลง สามารถลด การใชเชือ้ เพลิงพลังงานไดประมาณ 5 – 25% ขึน้ อยูก บั ภาวะโหลดและประเภทของ Boiler

สวนทิศทางตลาด Boiler ในป 2557 นั้น มองวายังคงมีชองใหเติบโตอยางตอเนื่อง เนื่องจากกระแสการอนุรักษพลังงานเปน เทรนดทไี่ ดรบั ความนิยม ประกอบกับนโยบาย ของภาครัฐมีการสงเสริมในเรื่องของการ ประหยัดพลังงานอยางเชน โครงการขอรับ สิทธิภาพประโยชนยกเวนภาษีเงินไดจาก กรมสรรพากร ซึ่งโครงการนี้เกี่ยวเนื่องกับ กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน โดยการยกเวนภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา และภาษีเงินไดนิติบุคคลสําหรับ เงินไดที่จายเปนคาปรับเปลี่ยนเครื่องจักร อุปกรณประหยัดพลังงาน ดังนั้นจึงเชื่อวา ตลาด Once Through Boiler จะมียอด จําหนายเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง

อี ก ระบบหนึ่ ง ที่ จ ะนํ า มาอั พ เดทกั น คื อ โซลูชัน SmartStruxure โดย คุณเรืองชัย จารุ รั ง สี พ งค รองประธานบริ ษั ท กลุ  ม ธุรกิจโซลูชันอาคาร ชไนเดอร อิเล็คทริค ไทยแลนด เปดเผยวา วิกฤตพลังงานใน ปจจุบันกลายเปนโอกาสที่ดีของชไนเดอร ในการทําตลาดดานการจัดการอาคารเพิ่ม ขึ้น เนื่องจากธุรกิจตางๆ เริ่มหันมาใหความ สําคัญตอการลดการใชพลังงาน และมอง เห็นวาจะเปนสวนชวยใหองคกรสามารถ ลดตนทุนคาใชจายที่ไมจําเปนดวยการใช

เทคโนโลยี โดยที่ผานมาชไนเดอร ไดมีระบบ การจัดการอาคารหรือ BMS (Building Management system) ใหบริการอยูแ ลว แตเปนระบบสําหรับอาคารขนาดใหญ จึงได มีการลดขนาดลงเพือ่ ใหเหมาะสมกับองคกร หรืออาคารขนาดเล็กตามความตองการที่ เพิ่มสูงขึ้นดังกลาว อาคารขนาดเล็กทั่วโลกเริ่มหันมาใหความ สําคัญตอการจัดการพลังงานมากขึ้น และ กลายเปนเทรนดทั่วโลกที่มีความตองการ ในรูปแบบนี้ ซึ่งตึกเล็กๆ เหลานี้ตองการ การจัดการที่ไมซับซอนมาก ชไนเดอรจึง ตองหันมาพัฒนาระบบการจัดการที่เหมาะ สมกั บ ลู ก ค า เหล า นี้ ม ากขึ้ น โดยเน น ให ลูกคาสามารถใชพลังงานไดอยางเหมาะสม ดูแลรักษาสภาพแวดลอมไดอยางสมบูรณ ในขณะเดี ย วกั น ก็ ยั ง ช ว ยในการปรั บ ปรุ ง สิ่งอํานวยความสะดวกและเขาถึงระบบการ จัดการอาคารไดทุกที่ทุกเวลา

ชไนเดอรจงึ ไดนาํ เสนอโซลูชนั SmartStruxure ที่ประกอบไปดวยฮารดแวรและซอฟตแวร ที่ ผ สานรวมเรื่ อ งของวิ ศ วกรรมระบบ การติดตั้ง และการบริการไวในหนึ่งเดียว เพือ่ ชวยใหการจัดการและการใชพลังงานใน สวนของอุปกรณอํานวยความสะดวกตางๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สามารถเรียก ดูขอมูลไดแบบเรียลไทมผานเว็บ แสดงผล ดวยกราฟกที่สวยงามและแมนยํา พรอม มุมมองใหเห็นถึงแนวโนมตาง ๆ รวมทั้งยัง จัดทํารายงานไดหลากหลายแบบ นอกจาก นี้ยังมีแอปพลิเคชันสําหรับโมบายลที่เขากับ ไลฟสไตลในปจจุบันอีกดวย ทั้งนี้โซลูชัน SmartStruxure ควบคุมดวย ซอฟต แ วร StruxureWare Building Operation Software ที่ใชในการตรวจ ตราควบคุ ม และจั ด การ ทั้ ง ระบบควบคุ ม ความรอน ระบบระบายอากาศ และระบบ ปรับอากาศ (HVAC) ในภาพรวม ทั้งระบบ พลั ง งาน แสงสว า ง ระบบจั ด การอาคาร และระบบรักษาความปลอดภัยรวมทั้งหมด ไวในหนึ่งเดียวโดยมีอินเตอรเฟซที่สามารถ

12

Energy#62_p10-15_Pro3.indd 12

12/20/13 9:20 PM


ปรับเปลีย่ นใหสอดคลองตามความตองการ ของแตละองคกรได นอกจากนี้ยังมีโซลูชัน ที่ ส ามารถเชื่ อ มต อ ไปยั ง แอปพลิ เ คชั น StruxureWare อื่ น ๆ ในกลุ  ม ได อ ย า ง งายดาย โซลูชัน SmartStruxure เปนซอฟตแวร ระบบเป ด จึ ง ช ว ยให ส ามารถใช ง านร ว ม กับระบบอื่นไดอยางราบรื่น ทั้ง LON®, BACnet®, Modbus® และเว็ บ เซอร วิสอื่นๆ รวมทั้งเว็บเซอรวิส EcoStruxure ของชไนเดอร อิเล็คทริค นอกจากนี้ โซลูชัน SmartStruxure ยังชวยใหใชบริการขั้นสูง ในการจัดการอาคารไดมากมาย เชน การ วิเคราะห การทํางานของอุปกรณประเภท เครื่องกลไดในแบบอัตโนมัติ รวมถึงชวย ใหใชประโยชนจากอุปกรณอื่นในอาคารได สูงสุด อยางไรก็ตามโซลูชนั ดังกลาวยังพัฒนาเพือ่ ตอบสนองความต อ งการเฉพาะของภาค ตลาดหลั ก ๆ และรองรั บ โดยเว็ บ เซอรวิ ส EcoStruxure ที่ ร วมแอปพลิ เ คชั น ซอฟตแวรสําคัญในระดับเอนเตอร ไพรส ทั้งหมดไว จึงเปนแพลตฟอรมที่สามารถ รองรับความตองการในการปรับขยายระบบ ในอนาคตไดเปนอยางดี นอกจากนี้ยังชวย ตอบสนองการใช พ ลั ง งานด ว ยการเชื่ อ ม โยงแบบวันซิสเต็มส ที่สามารถเชื่อมโยงกับ โซลูชนั เดิมของชไนเดอรไดดว ยการอัปเกรด สํ า หรั บ การเจาะตลาดในเมื อ งไทยจะเน น อาคารสํานักงานที่เจาของใหความสําคัญ ตอการจัดการดานพลังงาน เชน โรงแรม โรงพยาบาล ซึ่ ง ป จ จุ บั น มี ลู ก ค า ใน ระบบ BMS เช น สนามบิ น สุ ว รรณภู มิ เซ็นทรัลพระราม 9 รถไฟฟาใตดิน สําหรับ การทําตลาดของการเขาไปหาลูกคาคือการ เขาไปหาลูกคาโดยตรง และผานพารตเนอร ที่ชวยขายระบบที่มีอยูประมาณ 5-6 ราย นอกจากนีจ้ ะมีการจัดงานสัมมนาและอีเวนต ตางๆ ที่จะสื่อสารถึงตัวลูกคากลุมเปาหมาย

มุมมองของกูรูดานพลังงาน Building Management System ในการ เปด ปดตั้งเวลา หรือควบคุมระบบพลังงาน ทั้งหมด ซึ่งจริงๆ มีมานานแลว แตยังเปน ปจจัยสําคัญอยูสําหรับผูที่ตองการลดใช พลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูง

อาจารยบัณฑิต งามวัฒนะศิลป กรรมการ ผู  จั ด การ บริ ษั ท อิ น โนเวชั่ น เทคโนโลยี จํากัด ไดแสดงความเห็นเกี่ยวกับทิศทาง ของเทคโนโลยี อุปกรณประหยัดพลังงาน ใหฟงวา อุปกรณเทคโนโลยีเรื่องของการ ประหยั ด พลั ง งานเทรนด ยั ง เป น เรื่ อ งเดิ ม พวกเครื่ อ งปรั บ อากาศประสิ ท ธิ ภ าพสู ง หลอดไฟ LED Boiler ประสิทธิภาพสูง Chiller ประสิทธิภาพสูงหลัก ๆ ก็เปนพื้น ฐานอยูแลว แตผูประกอบการจะใหความ สํ า คั ญ กั บ เทคโนโลยี ที่ เ น น ระบบควบคุ ม มากขึ้น เชน ควบคุมการประหยัดพลังงาน ภายในอาคาร โรงงานก็ จ ะเป น ระบบ

หากขยายควม จํ า แนกในแต ล ะอุ ป กรณ ผมขอเริ่มที่ Boiler ในประเทศไทยสวนมาก ยั ง ใช Boiler ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพตํ่ า อยู  เยอะซึ่งมีประสิทธิภาพการทํางานและการ ประหยัดพลังงานประมาณ 80% แตปจจุบัน Boiler สามารถพัฒนาใหมีประสิทธิภาพ ถึ ง 96% แล ว ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ขึ้ น เวลา เดินเครื่องมันก็จะชวยใหเกิดการสูญเสีย นอย และประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงมาก ขึ้น ทําใหตนทุนพลังงานลดลง เนื่องจาก โครงสร า งเป น แบบ Once Through Boiler การเผาไหมสมบูรณขึ้น คือ สมมุติ ปอนเชื้อเพลิงไป 100% ก็ไดวัตถุดิบหรือ นํ้ารอนถึง 96% และสูญเสียพลังงาน 4% ในกระบวนการผลิตระบบนี้ใสเชื้อเพลิงนอย ลงประสิทธิภาพมากดวย 13

Energy#62_p10-15_Pro3.indd 13

12/21/13 10:01 PM


ดาน ดร.อําพล อาภาธนากร ผูจัดการ โครงการดานนวัตกรรมพลังงาน สํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สนช. เปดเผยวา สนช. ไดกําหนดแผนการ ดํ า เนิ น งานในด า นอุ ต สาหกรรมสะอาด ภายใตกลุมอุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ พั ฒ นาพลั ง งาน ทดแทนจากของเสีย การจัดการของเสีย อย า งถู ก วิ ธี การพั ฒ นานวั ต กรรมเพื่ อ ส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งานทางเลื อ ก เช น แสงอาทิตย ลม นํ้า เปนตน รวมถึงอุปกรณ หรือกระบวนการที่กอใหเกิดการประหยัด พลังงาน ซึ่งจะทําใหเกิดการใชทรัพยากร ส ว นระบบ Chiller ก็ ถู ก ให พั ฒ นาให มี ประสิ ท ธิ ภ าพที่ สู ง ขึ้ น แต ยั ง ไม มี ก ารใช ในประเทศไทย คือ Chiller turbocor compressor ที่เปน Chiller ขับเคลื่อน โดยใช ส นามไฟฟ า ทํ า ให ไ ม ต  อ งสู ญ เสี ย พลังงานในการขับเคลื่อนในการหมุนของ มอเตอรคอมเพรสเซอร มีประสิทธิภาพสูง ขึ้นในการผลิตนํ้าเย็น ซึ่งในตางประเทศมี การนํามาใชเยอะแลว แตในประเทศไทยยัง ถือวาเปนเทคโนโลยีใหมที่ยังมีใชไมมากนัก ด า นการประหยั ด พลั ง งานเมื่ อ เที ย บกั บ Chiller แบบเก า ก็ จ ะช ว ยให ป ระหยั ด พลังงานไดประมาณ 40% และเมื่อเทียบกับ VSD Magnetic Centrifugal Chiller ที่ กําลังเริ่มมีการใชในประเทศไทยก็ประหยัด กวาประมาณ 15 - 20% ฉะนั้น Chiller turbocor compressor ในอนาคตมา แนนอน เพราะมีประสิทธิภาพสูง ดานหลอดไฟ LED เปนอุปกรณประหยัด พลังงานทีร่ าคามีแนวโนมลดลงอยางตอเนือ่ ง เนื่องจากสามารถผลิตไดในประเทศไทยและ หนวยงานภาครัฐก็ใหการสงเสริมเปนอยางดี อย า งไรก็ ต ามบทบาทที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ ระบบ Building Management System หรือ BMS ตามที่กลาวมาขางตน เนื่องจาก สามารถใชการควบคุมระยะไกลหรือสามารถ ควบคุมผานสมารทโฟน ควบคุมการปดไฟ ปดแอร ฉะนัน้ เทคโนโลยีในอนาคตอะไรทําให คนมีประสิทธิภาพขึน้ ชวยประหยัดพลังงาน เทคโนโลยีพวกนี้แหละที่จะมาในอนาคต ส ว นทิ ศ ทางตลาดเทคโนโลยี รั ฐ บาลก็ พยายามสงเสริมดานพลังงานทดแทน และ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน รวมถึ ง กระแสการ รักษโลก กระแสประหยัดพลังงานยังมีความ สําคัญของโลกยุกปจจุบันเชื่อวาอุปกรณ เทคโนโลยีที่มาชวยประหยัดพลังงานยังคง เติบโตไดอยางตอเนื่อง

ดานพลังงานอยางเต็มประสิทธิภาพ อีกทั้ง ในภาวะที่ทั่วโลกกําลังใหความสนใจในเรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การ รูจักเลือกใชเทคโนโลยีสะอาดที่เหมาะสม กับอุตสาหกรรมจึงเปรียบเสมือนเปนการ ช ว ยลดก า ซคาร บ อนไดออกไซด ที่ เ ป น สาเหตุสําคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศในปจจุบัน นอกจากนี้ สนช. ยัง ไดร วมมือกับ กลุ ม พลังงานทดแทน สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กลุมธุรกิจ เอกชนและสถาบันการศึกษาตาง ๆ เพื่อ สรางเครือขายธุรกิจนวัตกรรมดานพลังงาน สะอาด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหคําปรึกษา ทางเทคโนโลยีและประเมินความเปนไปได ทางธุรกิจของโครงการนวัตกรรมในกลุม เทคโนโลยีสะอาด และผลักดันใหเกิดการ ลงทุนในธุรกิจนวัตกรรม การสนับสนุนโครงการที่เกี่ยวกับนวัตกรรม ดานพลังงานวา โครงการแตละโครงการ ที่ทาง สนช.ไดมีสวนรวมในการสนับสนุน โครงการมี เ ป า หมายคื อ ต อ งการพั ฒ นา

นวั ต กรรมในกลุ  ม อุ ต สาหกรรมเชิ ง เศรษฐนิเวศ การใหความสําคัญกับปญหา การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมของโลก เชน สภาวะโลกรอนหรือการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศทีม่ สี าเหตุจากปรากฏการณ เรือนกระจก (green house effect) และ การพัฒนาอุตสาหกรรมเพื่อความยั่งยืน ที่เปนกระแสหลักของโลกในปจจุบัน ทั้งนี้ ทาง สนช. จึงไดพัฒนานวัตกรรมในกลุม อุ ต สาหกรรมเชิ ง เศรษฐนิ เ วศใน 2 ด า น ไดแก ดานอุตสาหกรรมสะอาด (Clean Industry Platform) และดานผลิตภัณฑ ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Eco-Products Platform) นอกเหนือจากอุตสาหกรรม พลาสติ ก ชี ว ภาพ และธุ ร กิ จ นวั ต กรรม เกษตรอินทรีย ที่ไดดําเนินการผลักดันจน เป น โครงการนวั ต กรรมเชิ ง ยุ ท ธศาสตร ของ สนช. แลว ซึ่งโครงการแตละโครงการ จะใชเวลาดําเนินการประมาณ 2-3 ป และ ลาสุดเมื่อป 2554 ทางสนช.ไดผลักดันให เกิดการลงทุนในธุรกิจนวัตกรรมมีทั้งหมด 21 โครงการ เชน โครงการ พี.เอส.เจ เปน ระบบควบคุมแสงสวางและประหยัดพลังงาน โครงการที่เกี่ยวกับนวัตกรรมเครื่องยนต ผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพสําหรับขยะชุมชน โครงการ C-TAX ชุดกรองแบบบายพาส สําหรับยืดอายุนํ้ามันหลอลื่น และโครงการ ระบบผลิตกาซเชื้อเพลิงสังเคราะหเพื่อผลิต พลังงานรวมสําหรับผลิตไฟฟาความรอน และความเย็น สําหรับโครงการที่เดน ๆ ของทางสนช. คือ โครงการนํารองเพื่อผลิตพลังงานทดแทน จากชี ว มวลในระดั บ ชุ ม ชน ที่ ไ ด ร  ว มกั บ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ภายใตการสนับสนุนจาก กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ต อ งการส ง เสริ ม การใชพลังงานชีวมวลเปนพลังงานทดแทน ในภาคอุ ต สาหกรรมมาแปรรู ป เป น ก า ซ เชื้อเพลิงสังเคราะห โดยใชเทคโนโลยีแกส ซิ ฟ  เ คชั่ น (Gasification) ทั้ ง การผลิ ต พลั ง งานความร อ นและการผลิ ต ไฟฟ า และได พ บว า เทคโนโลยี แ ก ส ซิ ฟ  เ คชั่ น ที่ มี การออกแบบที่ เ หมาะสมกั บ ชนิ ด ชี ว มวล ขนาดที่ เ หมาะสม และตั้ ง อยู  ใ นพื้ น ที่ ที่ มี ศักยภาพ สามารถตอยอดเพื่อกอใหเกิด ธุรกิจนวัตกรรมได อีกทั้งยังไดมีการศึกษา วิ เ คราะหก ารลงทุ น ธุ ร กิ จ พลั ง งานสะอาด ดวยเทคโนโลยีแกสซิฟเคชั่น สําหรับเปน ขอมูลในการลงทุนและดําเนินธุรกิจทั้งระบบ ผลิตไฟฟาและระบบผลิตความรอนอีกดวย ทั้งนี้ โครงการนี้สามารถนําไปตอยอดใหแก นักลงทุนและผูที่สนใจได

14

Energy#62_p10-15_Pro3.indd 14

12/21/13 10:02 PM


สําหรับเทรนดในป 57 คือ ธุรกิจพลังงาน สะอาด เพราะถือวาเปนธุรกิจทีผ่ ปู ระกอบการ หรือนักลงทุนตางจับตามอง อยางไรก็ตาม ธุรกิจนีน้ บั ไดวา เปนธุรกิจใหมของการลงทุน นั่นหมายถึง ธุรกิจพลังงานสะอาดยังสราง ความลังเล ความเสี่ยงตอความมั่นใจในการ ลงทุน สนช. จึงไดทําการศึกษาเทคโนโลยีที่ เหมาะสมของระบบพลังงานชีวมวลในแตละ พื้นที่ที่มีศักยภาพ ศึกษารูปแบบธุรกิจและ ขนาดของโรงไฟฟาแกสซิฟเคชั่นชีวมวลกับ เทคโนโลยีพลังงานสะอาดรูปแบบอืน่ ทีเ่ หมาะ สมกับการลงทุน และแบบทางวิศวกรรมเพือ่ เป น แบบมาตรฐานในการสร า งโรงไฟฟ า แก ส ซิ ฟ  เ คชั่ น ชี ว มวลร ว มกั บ พลั ง งาน แสงอาทิตยและพลังงานลม รวมถึงจัดทํา แผนธุรกิจเพื่อนําไปไชในการตัดสินใจของ ผูประกอบการหรือนักลงทุน จากศึกษาพบ วา ขนาดโรงไฟฟาพลังงานสะอาดที่เหมาะ สมต อ การลงทุ น ควรมี ข นาดไม ตํ่ า กว า

1 เมกะวัตต ประกอบดวย 3 รูปแบบ คือ 1.โรงไฟฟาแกสซิฟเ คชัน่ ชีวมวล (Biomass g gasification) ขนาด 1 เมกะวั ต ต 2 . โ ร ง ไ ฟ ฟ  า แ ก  ส ซิ ฟ  เ ค ชั่ น ชี ว ม ว ล (Biomass gasification) ขนาด 500 กิโลวัตต โรงไฟฟ โ าพลังงานแสงอาทิตย (Solar farm) ขนาด ข 300 กิโลวัตต และโรงไฟฟาพลังงานลม (Wind farm) ขนาด 200 กิโลวัตต และ 3.โรงไฟฟ 3 าแกสซิฟเ คชัน่ ชีวมวล (Biomass ggasification) ขนาด 250 กิ โ ลวั ต ต โรงไฟฟ โ าพลังงานแสงอาทิตย (Solar farm) ขนาด ข 600 กิโลวัตต และโรงไฟฟาพลังงานลม (Wind farm) ขนาด 150 กิโลวัตต โดยโรงไฟฟ โ าพลังงานสะอาดทั้ง 3 รูปแบบ จะใช จ พนื้ ทีใ่ นการกอสรางประมาณ 5 ไร ดวย งบประมาณในการลงทุ ง น 70 – 80 ลานบาท ระยะเวลาคื ร นทุน 7 – 8 ป การเลือกรูปแบบ การลงทุ ก น นักลงทุนสามารถเลือกตามความ

เหมาะสมของแหลงพลังงานในพืน้ ทีท่ จี่ ะสราง โรงไฟฟ โ า พลั ง งานสะอาด เช น พื้ น ที่ จจังหวัดลพบุรี จังหวัดนครราชสีมา มีความ พร พ อมของแหลงพลังงานทัง้ พลังงานชีวมวล พลั พ งงานแสงอาทิตย และพลังงานลม นักลงทุน ควรเลือกลงทุนโรงไฟฟาพลังงานสะอาด รูร ป แบบที่ 2 หรื อ พื้ น ที่ จั ง หวั ด เพชรบุ รี ในแนวใกล ใ ช ายฝ  ง ทะเล อาจจะหาแหล ง พลั พ งงานชีวมวลไดไมมากนัก แตมีความ โดดเด โ นดานแหลงพลังงานลมและพลังงาน แสงอาทิตย นั่นหมายความวา โรงไฟฟา พลั พ ง งานสะอาด รู ป แบบที่ 3 เหมาะสม ตอการลงทุนมากที่สุด ทายนี้จะเห็นไดวา โโรงไฟฟาพลังงานสะอาดทั้ง 3 เทคโนโลยี ถถือไดวา เปนจิก๊ ซอวสาํ คัญของการสรางนิคม พลั พ งงานสะอาด ซึง่ โครงการดังกลาวจะมีการ เปดตัวเปนโมเดลเพื่อใหนักลงทุนหรือผูที่ สสนใจสามารถเขามาดูและสอบถามไดในชวง เดือนมกราคม 2557”

15

Energy#62_p10-15_Pro3.indd 15

12/20/13 9:20 PM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

รวมมือ คิด ลงมือทํา เรื่องงาย ๆ ในการประหยัดพลังงาน

เมื่อพูดถึงวิธีการประหยัดพลังงานในปจจุบันมีใหเห็นอยูหลากหลายวิธี “คุณแซน” พนมกร ตังทัตสวัสดิ์ ที่ ชวงนี้อาจจะหายตาหายหนาไปจากวงการบันเทิงไปบางเนื่องจากไปทําธุรกิจสวนตัว คุณแซนเปนอีกคนนึงที่คํานึง เรื่องของการประหยัดพลังงานเชนกัน เราลองมาดูกันสิวาคุณแซนมีวิธีการประหยัดพลังงานอยางไร

สวนใหญตัวผมเองจะประหยัดในสวนของการเปด - ปด แอรมากกวาเพราะแอรเปนอุปกรณ ไฟฟาที่กินไฟเยอะกวา อุปกรณชนิดอื่น เวลาอยูบานผมจะเปดประตูหนาตางออกไป เพื่อใหลมสามารถพัดเขามาได หรือถาเราอยากจะประหยัด พลังงานใหมากกวานี้นาจะมองไปถึงการออกแบบบานเพราะ เวลาออกแบบบานสมัยนี้มักมีเทคโนโลยีตาง ๆ เขามาชวย ทําใหบานเย็นลง เชน ออกแบบใหมีชองลมเยอะๆ เพื่อให อากาศไดถายเทสะดวก การใชสีทาบาน หรือแมวัสดุกอสราง ก็ตาม ตรงนี้ชวยไดเยอะเลยทั้งประหยัดพลังงาน และได อากาศที่ดีอีกดวย

ยิง่ ในขณะนีพ ้ ลังงานถูกใชไปเยอะมาก และรูส กึ จะคอย ๆ หมด ไปเรื่อย ๆ ถาเราอยากมีพลังงานใชกันตลอด เราตองหันมา ปลูกฝงใหลูกหลานของเราใหรูจักการประหยัดพลังงานอยาง งาย ๆ เลย คือ กอนออกจากบานจะตองปดไฟกอนนะ อะไรที่ ไมจาํ เปนปดไดกป็ ด ซะ เรียกไดวา เปนเรือ่ งงาย ๆ ในชีวติ ประจํา ที่เราสามารถปลูกฝงพวกเด็ก ๆ ได สุดทายคุณทายขอฝากวา จริง ๆ แลวการประหยัดพลังงาน เปนการรวมมือของทุกฝาย ไมไดเปนเพียงแคหนาทีข่ องคนใด คนหนึ่งอยาโยนความรับผิดชอบใหคนอื่น เพราะสุดทายแลว พวกเราเองที่จะไดผลกระทบ เพียงแคคนละเล็กคนละนอย ชวย ๆ กันประหยัด ยังไงผมคิดวาเราก็สามารถมีพลังงาน ใชไดตลอดแนนอน

“คุณแซน” พนมกร ตังทัตสวัสดิ์

10 16

Energy#62_p16,18_Pro3.indd 16

12/17/13 11:47 PM


Energy#62_p17_Pro3.ai

1

12/18/13

9:35 PM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

พกถุงผา ชวยลดขยะลนเมือง ตามสไตลแพรี่พาย

ไปเจอะเจอสาว “นองแพร” อมตา จิตตะเสนีย หรือ แพรีพ ่ าย (Pearypie) ในงานเปดตัวจีบนี ดอทคอม ออนไลนคอมมูนิตี้เพื่อผูหญิงยุคใหม แพรี่พาย เรารูจักกันดีในนามของเมกอัพอารทิสตเมืองไทย และ นอกจากเธอคนนี้เกงเรื่องของการแตงหนาแลวเธอยังเปนสาวนอยประหยัดพลังงานตัวยงอีกดวย

แพรี่ พ ายเล า ถึ ง วิ ธี ป ระหยั ด งานของตั ว เองว า ตัวแพรเองเปนคนทีต่ ดิ การใชถงุ ผามาก เวลาไปไหน จะพกถูกผาไวตลอดเวลา เพราะตัวแพรเองโตทีเ่ มือง นอกเวลาไปซือ้ ของแตละทีตอ งเสียเงินซือ้ ถุง ดวยเหตุนี้ แพรเลยเปนคนติดถุงผาไปเลย พอกลับมาเมืองไทย ก็เลยติดนิสัยแบบวาไปไหนก็จะมีถุงไปตลอด และใน สวนของการประหยัดพลังงานดาน ๆ สวนใหญแพรจะ ไมเคยเสียบปลั๊กอะไรทิ้งไวเลยแมกระทั้งชารตมือถือ แพรก็ไมเคยเสียบคางไว ยิ่งตอนกอนออกจากบาน แพรจะตรวจดูทุกครั้งถือเปนการประหยัดไฟและ ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นดวยคะ ท ายสุด แพรอยากฝากถึ ง เพื่อน ๆ เกี่ ยวกับการ ประหยัดพลังงานวา ตอนนี้เรายังเปนเยาวชนกัน อยูเลยอยากจะใหหันมาชวยกันประหยัดพลังงาน กันเยอะๆ เพราะพวกเราถือเปนอนาคตของชาติถา ไมชวยกัน ก็คงไมมีใครเขามาชวยเราไดหรอกคะ…

“นองแพร” อมตา จิตตะเสนีย

18 10

Energy#62_p16,18_Pro3.indd 18

12/17/13 11:48 PM


Green 4U Rainbow

ดวงจันทร สัญลักษณของความงาม หนึง่ ในดวงดาวทีถ่ กู นํามา ผูกเขากับวัฒนธรรมมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะวัฒนธรรมจีน ซึง่ ชวง กลางฤดูใบไมรว งของทุกปจะมีเทศกาลโคมไฟทีย่ งิ่ ใหญ ชาวจีนทัว่ โลกจะนําโคมไฟกระดาษมาประดับประดาตามอาคารบานเรือน ตามท อ งถนนในพื้ น ที่ ข องตน แต ใ นป 2013 ที่ ผ  า นมา ฮองกงไดทาํ โคมไฟดวงใหญทไี่ มไดทาํ จากกระดาษ แตโคมไฟนี้ ถู ก สรา งขึ้นจากขวดพลาสติก รี ไซเคิลจํ า นวน 4,800 ขวด (ขนาด 5 แกลลอน)

Rising Moon โดมไฟพลาสติกรี ไ ซเคิล

ผลงานชิน้ นีม้ ชี อื่ วา “Rising Moon” เปนผลงานการ ออกแบบจาก Daydreamers Design สตูดิโอ ทองถิ่นในฮองกงไดนําขวดนํ้ามาติดตั้งพรอมกับ ไฟ LED บนจีโอเดสิกโดม (ขนาดเสนผานศูนยกลาง 20 เมตร) ที่ประกอบขึ้นโดยโครงสรางสําเร็จรูป รู ป ทรงสามเหลี่ ย ม ใช เ ป น พาวิ ล เลี ย นสํ า หรั บ เทศกาลโคมไฟ (หรือเทศกาลขนมไหวพระจันทร) เมือ่ ถึงเวลาแสดงแสงไฟจาก LED จะสองแสงสวาง ออกมาจากขวดนํา้ ทีเ่ รียงรอยอยูบ นโครงสรางโดม ซึง่ ภาพทีไ่ ดในเงาสะทอนทีเ่ กิดขึน้ บนผืนนํา้ ยิง่ ทําให ตัวงานสอดคลองกับเทศกาล เสมือนเปนดวงจันทร อีกดวงบนผืนโลก ไมเพียงแคภายนอกโดมจะเปน ขวดพลาสติกรีไซเคิลเทานั้น แตภายในยังมีขวด อีก 2,300 ขวดหอยประดับเปนไฟฝาอีกดวย

เมือ่ เปรียบเทียบกับงานเทศกาลในทีอ่ นื่ ๆ ผลงาน ชั่วคราวอยางพาวิลเลียนมักถูกรื้อทิ้งหลังจบงาน แตไมใชกบั “Rising Moon” เพราะวัสดุทกุ สวนของ โดมนี้สามารถนํากลับมาใชใหมได โดยไมจําเปน ตองทิ้ง และมันยังเปนสวนหนึ่งที่ชวยโปรโมทให ฮองกงเปนเมืองทีย่ งั่ ยืนอีกดวย ขอบคุณขอมูลจาก www.creativemove.com

19

Energy#62_p19_Pro3.indd 19

12/11/13 8:25 PM


Green 4U Rainbow

Pandanus เกาอี้รักษโลก

เกาอี้จากเซลลูโลส ออกแบบโดย Jessica Konawicz เธอไดแรงบันดาลใจ จากใบของตน Pandanus โดยเลือกใชเซลลูโลสจากพลาสติกชนิดหนึ่งที่ สามารถนํากลับมาผลิตใหมและยอยสลายทางชีวภาพได ใชพลังงานใน การผลิตคอนขางตํา

01 02 แผนซีดีจากขาวโพด

เปนแผนซีดีที่ทําจากขาวโพดซึ่งจัดเปนพอลิเมอร ที่ยอยสลายได มีความแข็งแรงนอย สามารถใช งานไดเหมือนแผนซีดีทั่วไป แตที่แตกตางคือซีดีนี้ สามารถยอยสลายไดเอง

ซิงคลางมือจากถังไวน

เปนการนําเอาถังไวนมารีไซเคิลใหกลายเปน ซิงคลางมือสุดเก หลังจากที่ผานการหมักไวนมาเปน เวลานานถังไวนก็จะเสื่อมสภาพลง แทนที่จะทิ้งให เปนขยะก็นํามาผานกระบวนการอบแหงและดัดแปลง นิดหนอย เพียงเทานี้ก็สามารถไดซิงคลางมือที่ ไมเหมือนใครแลว

03

04

นาฬิกากรอบพลาสติก

เปนการนํานาฬิกาเรือนเกามาเปลี่ยนกรอบ โดยนําเอาสันหนังสือ พลาสติกหลากสีที่เหลือใช มาทําเปนกรอบนาฬิกา นอกจากจะจะได นาฬิกาเรือนใหมแลว ยังชวยลดการขยะไดอีกดวย (ขอมูลจากhttp://ideadeedee.blogspot.com)

20

Energy#62_p20-21_Pro3.indd 20

12/11/13 8:30 PM


05

คียบอรดไมไผ

ประเทศญี่ ปุ  น ได นํ า มาทํ า เป น คี ย  บ อร ด ที่ ผ ลิ ต จาก วัสดุธรรมชาติอยางไมไผ นอกจากจะมีความปราณีต สวยงาม และเขากันอยางลงตัวแลว ตัวคียบอรดยัง สลั ก เป น อั ก ษรภาษาอั ง กฤษ สามารถเชื่ อ มตั ว กั บ คอมพิวเตอรดวยหัวตอแบบ USB ไดอีกดวย (ขอมูลจาก http://www.igadgety.com)

06 กระถางตนไมจากไมไผบด

กระถางนารัก ๆ สีสันสดใสราวกับลูกกวาดนี้ ทํามาจากไมไผอัดบด ซึ่งสามารถยอยสลายได อีกทั้งยังไมมีสารพิษตกคางใด ๆ ที่เปน อั น ตรายต อ ดิ น และนํ้ า จึ ง เป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม นอกจากนี้ ยั ง มี คุณสมบัติทนตออุณหภูมิตั้งแต -40 ไปจนถึง 120 องศาเซลเซียส เลยทีเดียว (ขอมูลจาก ราน GARDEN MOMENTS )

REVEAL DJ Headphone

07

หู ฟ  ง ทํ า จากไม ไ ผ มี คุ ณ ลั ก ษณะพิ เ ศษตรงที่ สามารถทําใหเสียงเบสดังกอง เพราะการใชไมไผ เปนตัวสงใหเสียงออกจากลําโพง โดยหลีกเลี่ยง การใชวสั ดุ PVC หรือสารเคมีใด ๆ เปนการบรรจง ใสทุกรายละเอียดชวยสรางเสนหใหดูมีสไตล และ สัมผัสเขาถึงความเปนธรรมชาติจริง ๆ

08

VERS Bamboo Stereo Alarm Clock – for iPod

วิทยุ/นาฬกาปลุกไมไผ เปนการเพิ่มฟงกชั่นที่ เหมาะสมดวยการมี dock ของ iPod ซึ่งเหมาะ สําหรับการวางขางเตียง เพือ่ ทําหนาทีเ่ ปนนาฬกา ปลุก ควบคูไปกับลําโพงไวเปดเพลงใน iPod ของคุณ ในขณะทีค่ ณ ุ กําลังทําหลากหลายกิจกรรม อยูท บี่ า น 21

Energy#62_p20-21_Pro3.indd 21

12/11/13 8:30 PM


GreenNovation Rainbow

02

หลอดไฟประหยัดพลังงาน

01

ญีป่ นุ ไดคดิ คนหลอดแอลอีดปี ระหยัดพลังงานสามารถกระจาย แสงสวางไดรอบทิศทาง ใชงานไดยาวนานถึง 100,000 ชม.หรือ 10 ป และการออกแบบรูปทรงยังสะทอนการใชงานในภาค อุตสาหกรรมอีกดวย ราคาเริม่ ตนอยูท ี่ 3,840 บาท

03

Lapka เครื่องวัดคาอากาศ

เปนเครื่องวัดระดับสภาวะแวดลอมโดยรอบ วามีคารังสี ประจุไฟฟา ความชืน้ และอินทรียใ นอากาศทีเ่ ปนมิตรกับการ อยูอ าศัยหรือไม สิง่ ที่ Lapka มีเหนือกวาเครือ่ งวัดฯ ทัว่ ไป คือดีไซนสวยงามทันสมัย นํ้าหนักเบา และขนาดเล็กพก สะดวกสบาย แถมยังทํางานรวมกับแอพฯ ในสมารทโฟนได ดวย และยังสามารถแชรสโู ซเชียลเน็ตเวิรค บอกตอพืน้ ทีท่ มี่ ี สภาวะเปนมิตรไปจนถึงสรางแผนทีอ่ ากาศสีเขียวเลยทีเดียว (ขอมูลจาก http://www.creativemove.com)

04

ผลิตภัณฑใหแสงสวางจากแรงโนมถวง

โถปสสาวะประหยัดนํ้า

ผลิตภัณฑนี้เปนไอเดียของดีไซเนอรจาก Latvia ชื่อวา Kaspars Jursons การทํางานของโถปสสาวะนีค้ อื เมือ่ เหลาบรรดาสุภาพบุรษุ ทําธุระปลดทุกขเสร็จเรียบรอยแลว จะมีกอ กนํา้ ดานบนใชลา งมือเชือ่ ม กับที่เก็บนํ้าของโถปสสาวะ พอลางมือปุป นํ้าที่ใชลางมือก็จะเติมและ เก็บลงไปในโถปสสาวะปบ เพือ่ ใชกดชําระลางของเสียอีกทีโดยทีไ่ มทงิ้ ให สูญเปลา ถือเปนการประหยัดนํา้ ไดอกี ตอ (ขอมูลจาก http://www. creativemove.com)

คณะวิจัยจากกรุงลอนดอนคิดคนหาตนตอการใชพลังงานตํ่า จนในทีส่ ดุ ทีมงานไดผลิต GravityLight ผลิตภัณฑใหแสงสวาง สําหรับประเทศกําลังพัฒนา ผลิตภัณฑชิ้นนี้ไมไดใชพลังงาน แสงอาทิตย หรือพลังงานลม แตทมี งานไดนาํ แรงโนมถวงของ โลกมาเปนตนกําเนิดแหลงพลังงาน เปนการใชพลังงานกลจาก ถุงใสกอนหินมาถวงนํ้าหนักที่ถูกแขวนไวบนผลิตภัณฑและ หลังจากนัน้ จะถูกแปรเปลีย่ นไปเปนพลังงานใหแสงสวาง (ขอมูลจาก http://www.creativemove.com)

22

Energy#62_p22,24_Pro3.indd 22

12/13/13 9:06 PM


Energy#62_p23_Pro3.ai

1

12/18/13

10:25 PM


GreenNovation Rainbow

06 เครื่องลางจานไฮเทค

05

07

ดีไซเนอรชาวตะวันออกไดประดิษฐ Dual Wash เครือ่ งลางจานไฮเทคแบบไมตอ งใชนาํ้ ภายในเครื่ องติดตั้ งฟลเตอร ซึ่งทําหน าที่ กรองเศษอาหารทีห่ ลุดออกมา และสามารถ ถอดนํ า ไปทํ า ความสะอาด สารที่ เ ข า มา ทําความสะอาดแทนนํ้าและนํ้ายาลางจาน คือ คารบอนไดออกไซด ซึ่งถูกพนออกมา ในสภาพของเหลวใหเปนกาซทีม่ อี ณูละเอียด สามารถชะทําความสะอาดเศษอาหารและ คราบตาง ๆ ได โดยไมตกคางเปนอันตราย ตอรางกาย (ขอมูลจาก http://www. creativemove.com)

โตะทํางานรักษโลก

WeBike เปนโตะทํางานทีพ ่ ฒ ั นาขึน้ โดยบริษทั WeWatt ในเบลเยีย่ ม ที่มาพรอมกับคอนเซ็ปต sustainability ตั้งแตวัสดุและแนวคิด ที่ตองการลดการใชพลังงานไฟฟา โดยหนึ่งเซ็ตจะประกอบไปดวย โตะกลมทีล่ อ มรอบดวยทีน่ งั่ 3 ตัว แตละทีน่ งั่ จะจําลองรูปทรงคลายกับ การนัง่ บนจักรยานทีม่ เี บาะนัง่ ยาว ในการปน แตละครัง้ พลังงานทีเ่ กิดขึน้ จะถูกเปลี่ยนไปเปนแหลงพลังงานไฟฟาสําหรับการชารต อุปกรณ สํานักงานตาง ๆ

08 หมอดินเผาพลังงานแสงอาทิตย

Gabriele Diamanti ดีไซเนอรชาวอิตาเลียนตองการทีจ่ ะเปลีย่ นนํา้ เค็มใหเปนนํา้ จืด เลยไดคดิ คนหมอดินเผา eliodomestico ซึง่ หนาตา ไมผดิ แผกไปจากของในครัวเรือน แตภายในกลับซอนนวัตกรรมกลัน่ นํา้ ดวยความรอนจากแสงอาทิตย ทํางานคลายหมอตมกาแฟแบบกลับหัว สามารถไดนาํ้ ดืม่ ถึง 5 ลิตร/ครัง้ โดยไมตอ งใชไฟฟา เพียงแคนาํ เอาไป ตากแดดเทานัน้ (ขอมูลจาก http://www.creativemove.com)

รถยนตประหยัดพลังงาน

เปนรถยนตระดับ Hi – End ของ AUDI รุน A8L โดดเดนดวยระบบไฟแอลอีดีรอบ คัน ระบบจอ OLED ทีส่ ามารถแสดงผลได อยางชัดเจน แถมยังประหยัดพลังงานเสริม สมรรถนะการใชงานเครื่องยนต ไดอยางมี ประสิทธิภาพ ราคาเริม่ ตน 5.89 ลบ.

24

Energy#62_p22,24_Pro3.indd 24

12/13/13 9:06 PM


Energy Award รังสรรค อรัญมิตร

การจัดประกวดนั้นเปนชองทางหนึ่งที่ สงเสริมใหเกิดจิตสํานึกตอการอนุรักษ พลังงานและสงแวดลอม ซึ่งหลายหนวย งานของภาครัฐไดจัดประกวดดานการ ประหยัดพลังงานมากขึ้น เพื่อสงเสริม ใหผูประกอบการธุรกิจตางๆ รวมถึง ภาคประชาชนทั่ ว ไปเกิ ด จิ ต สํ า นึ ก ใน การประหยัดพลังงาน และเกิดเปนแรง กระตุ  น สู  แ นวความคิ ด ในการพั ฒ นา ตอยอดดานการอนุรักษพลังงาน

โครงการประกวด อบต. Energy Awards “ชุมชนตนแบบพลังงานยั่งยืน” สํ า หรั บ การประกวด โครงการประกวด อบต. Energy Awards “ชุมชนตนแบบ พลั ง งานยั่ ง ยื น ” สํ า นั ก นโยบายและ ยุ ท ธศาสตร สํ า นั ก งานปลั ด กระทรวง พลังงานนั้นเปนอีกโครงการหนึ่งที่สงเสริม ใหชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาพลังงาน ทดแทน และอนุรักษพลังงานของตนเองให เกิดประสิทธิภาพสามารถใชไดจริงในชีวิต ประจําวันอยางเปนรูปธรรม โดย คุ ณ พิ รั ฐ อิ น พานิ ช นั ก วิ เ คราะห นโยบายและแผน สํ า นั ก นโยบายและ ยุทธศาสตร สํานักปลัดกระทรวงพลังงาน เลาถึงที่มาของโครงการ อบต. Energy Awards วา จากที่กระทรวงพลังงานได มี ก ารดํ า เนิ น งานด า นการส ง เสริ ม การใช พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ผาน โครงการวางแผนพลังงานชุมชนเขาสูปที่ 8 โดยมีองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) เขารวมโครงการมากกวา 1,000 แหงทั่ว ประเทศ ตลอดระยะเวลาการดํ า เนิ น งาน

ตลอดจนการพัฒนาพลังงานทดแทนสูการ พึ่งพาตนเองไดอยางพอเพียงตามแนวทาง เศรษฐกิ จ พอเพี ย งของพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูห วั และจากปจจัยดังกลาวจึงเปนทีม่ า ของโครงการประกวด อบต. Energy Awards ทีไ่ ดพฒ ั นาตอยอดมาจากโครงการประกวด Thailand Energy Awards ซึ่ ง เป น โครงการระดับประเทศ

ที่ ผ  า นมาองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ทั่วประเทศไดใหความสําคัญในการสราง จิตสํานึกใหประชาชนตระหนักถึงปญหาการ ขาดแคลนพลังงาน พรอมทัง้ รณรงคใหเกิด การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชพลังงาน ควบคูไปกับการพัฒนาทางดานเทคโนโลยี

ทั้งนี้ในการจัดการประกวดภายใตโครงการ อบต. Energy Awards “ชุมชนตนแบบ พลั ง งานยั่ ง ยื น ” นี้ เ พื่ อ เป น เวที แ สดง ศั ก ยภาพการบริ ห ารจั ด การพลั ง งานใน ระดับตําบล เปนการชวยสงเสริมการอนุรกั ษ พลังงาน และสรางแรงจูงใจใหประชาชนไดมี สวนรวมในพัฒนาดานการประหยัดพลังงาน ผานกิจกรรมการแขงขันที่จะมีขึ้น ซึ่ง อบต. ที่ชนะนอกจากไดรับรางวัลและการประกาศ เกี ย รติ คุ ณ แล ว ยั ง เป น แบบอย า งที่ ดี ตอชุมชนอื่นใหสามารถเขามาศึกษาเรียน ตอยอดในการพัฒนาพลังงานไดอยางพอเพียง 25

Energy#62_p25-27_Pro3.indd 25

12/18/13 9:16 PM


นอกจากนี้ยังเปนการชวยลดคาใชจายของ ประชาชนและชวยชาติประหยัดพลังงานได อีกทางดวย

1. เทศบาลตําบล (ที่ยกฐานะมาจากอบต. ไมเกิน 1 ป) 2. องคการบริหารสวนตําบล

สวนรางวัลสําหรับการประกวดนั้นแบงออก เปน 4 รางวัลดวยกัน รางวัลชนะเลิศ ไดรบั ถวย รางวัลประกาศนียบัตร และเงินรางวัล จํานวน 300,000 บาท 1 รางวัล รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ไดรับโลรางวัลประกาศนียบัตรและ เงินรางวัล จํานวน 200,000 บาท 1 รางวัล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ไดรับโลรางวัล ประกาศนี ย บั ต ร และเงิ น รางวั ล จํ า นวน 100,000 บาท 1 รางวัล และรางวัลชมเชย ไดรบั โลรางวัลประกาศนียบัตรและเงินรางวัล จํานวน 50,000 บาท 3 รางวัล

เกณฑการพิจารณา

คุณสมบัติของผูสมัคร จะต อ งเป น องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น ทั่วประเทศที่มีการดําเนินงานดานพลังงาน ชุมชนอยางตอเนื่องเปนเวลาอยางนอย 2 ป ถึงปจจุบัน คือ

1. คณะทํางาน/องคกรชุมชน การรวมกลุ  ม กั น ของประชาชนในทอ งถิ่ น เพื่อดําเนินกิจการเพื่อการพัฒนาตนเอง โดยเนนประเด็นการพัฒนาพลังงานยั่งยืน เปนพิเศษดังนี้ 1.1 มีการรวมตัวของคนในชุมชนเพื่อเปน กลไกในการทํ า งาน มี ค วามต อ เนื่ อ งของ กลไกคณะทํางาน โครงสรางองคกร เนน จากบทบาทภารกิจ ใชเนือ้ งานเปนตัวกําหนด มีการจัดเก็บบันทึกการประชุมชัดเจน 1.2 มีแกนนําดานความคิด อุดมการณ และ การปฏิบัติที่มีความสามารถในการกระตุน ชาวบานจนเห็นความสําคัญและความจําเปน ของการรวมพลังกลุม เพื่อจัดการพลังงาน

1.3 มีกระบวนการเก็บและวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหชุมชน มีการสรุปบทเรียนเพื่อ เป น พื้ น ฐานในการทํ า โครงการหรื อ แผน พลังงานโดยมีทรัพยากรเปนทุน ภายใตการ พึง่ พาตนเอง สามารถกระตุน ใหชมุ ชนมีสว น รวมสูการทําแผนพลังงานชุมชนวาควรจะ พัฒนาอยางไร และดานใด 1.4 คณะทํ า งานมี ก ารอบรมพั ฒ นา ศั ก ยภาพด า นพลั ง งานทดแทน และการ สรางจิตสํานึกการอนุรกั ษพลังงานอยางตอ เนื่องและนําความรูที่ไดไปขยายผลสูชุมชน 2.ครัวเรือนตนแบบ 2.1 มี ครัวเรือนต น แบบตําบลละ 5 ครัว เรือนขึ้นไป 2.2 ครัวเรือนตนแบบมีความรูและกิจกรรม ดานการใชทรัพยากรพลังงานทดแทนใน ทองถิ่นผานเทคโนโลยีที่เหมาะสมสามารถ “สรางได ซอมได ดูแลประยุกตดัดแปลงได” 2.3 จํานวนครัวเรือนตนแบบที่สามารถ ถายทอดความรูไ ดจริงไมนอ ยกวา 30% ของ จํานวนครัวเรือนตนแบบที่นําเสนอ 2.4 มีการจัดทําบัญชีพลังงานเปนประจํา สามารถลดค า ใช จ  า ยและปริ ม าณการใช พลังงาน โดยคิดคาเฉลีย่ จากกลุม ครัวเรือน ตนแบบที่สงเสริมไดรอยละ 10 ตอปขึ้นไป 3.หลักสูตรทองถิ่น/การสอดแทรกเขาใน สถานศึกษา 3.1 มีการเชือ่ มโยงผูม สี ว นเกีย่ วของทุกภาค ส วน มาทําหนาที่ ผลิตและบริหารจัดการ ความรูในทองถิ่น 3.2 ความรูไดรับการรวบรวม จัดเก็บ จัดพิมพ และเผยแพร 3.3 มี ทั ก ษะในการประยุ ก ต ค วามรู  เ ป น เทคนิคการเรียนการสอนทัว่ ชุมชนทําใหเกิด ทัศนคติและพฤติกรรมความเขาใจของการ จัดการความรูดานการทดแทนและอนุรักษ พลังงาน

26

Energy#62_p25-27_Pro3.indd 26

12/17/13 10:29 PM


4.ศูนยเรียนรู 4.1 มีแหลงรวบรวมความรู ซึ่งไมจําเปนตองมี อาคาร อาจอยูในพื้นที่เพาะปลูก ที่นา พื้นที่ปา มีตัวอยางความสําเร็จ “สรางได ซอมได ดูแล ประยุกตดัดแปลงได” 4.2 วิทยากรทองถิ่นมีความรูที่จะถายทอด และ จั ด การเรี ย นรู  อ ย า งเป น ระบบประกอบไปด ว ย เครื่องมือ สื่อ เทคนิค วิธีการ บุคคลและชุมชน อืน่ ๆสนใจอยากเรียนรู เกิดการเรียนรูแ ลวสามารถ นําไปปฏิบัติจริงได 4.3 มีศูนยการเรียนรูดานพลังงานชุมชนที่หลาก หลายกระจายตัวอยูภายในตําบล

ขาวสาร ดําเนินกิจกรรมรวมกันโปรดระบุจํานวน เครือขาย 7.2 มีการขยายเครือขายที่มีความหลากหลาย ตอเนื่อง เชื่อมโยงตอเพื่อสรางความเขมแข็ง 8.บทบาท อบต. ในการสนับสนุน 8.1 บทบาท อบต. ในการสนับสนุนแผนพลังงาน เขาเปนสวนหนึ่งของกลยุทธ หรือบรรจุในแผนงบ ประมาณประจําป รวมทั้งการสนับสนุนในดานอื่นๆ ที่มีความตอเนื่องสมํ่าเสมอ

5) กองทุนพลังงาน 5.1 มีการออม(ระดมทุน)ควบคูไปกับการพัฒนา กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาพลังงานยั่งยืนในมิติ ตางๆของชุมชน 5.2 มีการบริหารจัดการกองทุนใหใชเงินที่มีอยู อย า งเกิ ด ประโยชน สู ง สุ ด (เกิ ด การหมุ น เวี ย น ภายในชุมชน) 5.3 กลไกการบริหารกองทุนพลังงาน อยางไรก็ตามสําหรับโครงการดีๆ อยางโครงการ อบต. Energy Awards ที่ไดจัดขึ้นนั้นเปนครั้งแรก ซึ่งหากไดรับการตอบรับจากประชาชนเปนอยางดี ก็จะขยายผลในการจัดประกวดในปตอ ๆ ไปอีก สําหรับ องค ก รบริ ห ารส ว นตํ า บลที่ ส นใจสามารถขอรั บ ใบสมัครและสงผลงานไดที่ 1. กรุงเทพฯ สํานักนโยบาย และยุทธศาสตร สํานักงานปลัดกระทรวงพลังงาน 2. ตางจังหวัดสํานักงานพลังงานจังหวัดประจําจังหวัด หรือดาวนโหลดใบสมัครไดทางเว็บไซด 7.เครือขายทางสังคมพลังงานยั่งยืน http://energyservicecenter.go.th/?p=1935 7.1 มีกลุม บุคคลหรือกลุม องคกร/สถาบันทีม่ คี วาม โดยจะเริ่ ม เป ด รั บ สมั ค รตั้ ง แต วั น ที่ 1 ธั น วาคม สัมพันธกับชุมชนตนแบบเพื่อแลกเปลี่ยนขอมูล 2556 – 31 มกราคม 2557 6.เกิดอาชีพดานพลังงาน 6.1 มีการศึกษาวิเคราะหแปรรูปพลังงานทดแทน ที่กอใหเกิดรายได 6.2 ผลิตภัณฑความตอเนื่องในการจําหนาย 6.3 มีบัญชีรับจายกําไร-ขาดทุน 6.4 มีการพัฒนาผลิตภัณฑอยางตอเนื่อง 6.5 รูปแบบการประกอบการอาชีพดานพลังงาน

27

Energy#62_p25-27_Pro3.indd 27

12/17/13 10:29 PM


Green Industrial รังสรรค อรัญมิตร

โรงแรมรอยัลแมโขง… อนุรักษพลังงาน ภายใต Green Hotels Supporting Sustainability บนความหรูหราของโรงแรมขนาดใหญใน แตละแหงตองใชพลังงานเปนจํานวนมาก ไมแพ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดกลาง และขนาดยอม เนื่องจากตองเสริมสราง บรรยากาศใหสมบูรณแบบในการพักผอน ด ว ยการประดั บ หลอดไฟแสงสว า ง โคมไฟอันสวยหรูพรอมทั้งติดตั้งเครื่อง ปรับอากาศและสิ่งอํานวยความสะดวก สบายตาง ๆ ใหกบั ผูม าพักผอน เรียกไดวา เบื้ อ งหลั ง ของความสุ ข สบายที่ ธุ ร กิ จ โรงแรมมีใหกบั แขกผูม าพักผอนนัน้ ตองใช ตนทุนดานพลังงานอยางมาก

จากปจจัยดังกลาวผูประกอบการโรงแรม หลายแห ง ได ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการใชพลังงาน จึงไดปรับเปลี่ยนมาใช เทคโนโลยี และอุปกรณประหยัดพลังงาน พรอมกับนําเอาธรรมชาติสิ่งแวดลอมมา เปนสวนหนึ่งของการเพิ่มประสิทธิภาพใน การลดตนทุนดานพลังงาน อย า งไรก็ ต าม สํ า หรั บ เรื่ อ งราวของการ จัดการพลังงานในอุตสาหกรรมตาง ๆ นั้น ในเลมนี้เราไปดูกันวาอุตสาหกรรมโรงแรม ขนาดใหญ เ ขามี วิ ธี จั ด การพลั ง งานกั น อยางไร หลังจากเลมที่แลวไดนําเสนอวิธี การจัดการพลังงานของธุรกิจโรงพยาบาล โดยเลมนีไ้ ปดูวธิ จี ดั การพลังงานของโรงแรม รอยั ล แม โ ขง ซึ่ ง เป นโรงแรมขนาดใหญ อันดับตน ๆ ของจังหวัดหนองคาย

จากวิสยั ทัศนของเจาของโรงแรมรอยัล แมโขง โดย ดร.สุดา ชูกลิ่น ประธานกรรมการ บริหาร ทีไ่ ดตระหนักถึงการอนุรกั ษพลังงาน และสิ่งแวดลอมจึงไดมีแนวคิดดําเนินการ ป ร ะ ห ยั ด พ ลั ง ง า น ภ า ย ใ ต  แ น ว คิ ด Green Hotels Supporting Sustainability เพื่ อ ส ง เสริ ม เผยแพร ค วามรู  เ ทคโนโลยี การอนุรกั ษพลังงาน และสรางความตระหนัก ในการใชพลังงานอยางรูค ณ ุ คาของพนักงาน ทุ ก ระดั บ ชั้ น ในโรงแรมสู  ก ารเป น มิ ต รต อ สิง่ แวดลอมและความยัง่ ยืน

ผสมผสานระหวางศิลปะแบบไทยทองถิ่น ผสมผสานความเป น ธรรมชาติ ไ ด อ ย า ง ลงตัวเป น ตั วอย างหนึ่ งของอุ ตสาหกรรม โรงแรมขนาดใหญทใี่ หความสําคัญเรือ่ งการ ประหยัดพลังงาน โดยเริ่มจากการจัดตั้ง คณะกรรมการดานพลังงาน มีการวิเคราะห ขอมูลดานพลังงานแลวสรุปใหแตละฝาย ที่ เ กี่ ย วข อ งรั บ ทราบและนํ า ไปปฏิ บั ติ ต าม ผานการรณรงค ประชาสัมพันธ รวมถึงการ จัดประชุมสัมมนาใหความรูดานการอนุรักษ พลังงานแกพนักงานทุกระดับชั้น

สําหรับโรงแรมรอยัลแมโขง ในสไตลการ ตกแตงอันเปนเอกลักษณเฉพาะตัว โดย ลักษณะทางสถาปตยกรรมถูกออกแบบมา จากบูมเมอแรงเพื่อใหสามารถมองเห็นวิว แมนาํ้ โขงได 180 องศา สวนภายในเปนการ

พร อ มกั บ การปรั บ เปลี่ ย นอุ ป กรณ ห รื อ เทคโนโลยีใหม ๆ เพือ่ ชวยเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการประหยัดพลังงาน เชน การปรับเปลีย่ น มาใชระบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller จากทีเ่ คยใชระบบ Chiller ธรรมดา

28

Energy#62_p28-30_Pro3.indd 28

12/20/13 9:31 PM


โดยระบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller นัน้ เปน Chiller ประสิทธิภาพสูงที่ มีระบบ VSD คอยควบคุมคอมเพรสเซอรที่ อยูในเครื่อง Chiller ใหเกิดความเหมาะสม กับโหลดและใหเกิดการประหยัดพลังงาน ณ จุดที่ผลิตนํ้าเย็น และเปนระบบผลิตนํ้าเย็น สําหรับเครื่องปรับอากาศ ระบบนี้ไดนําเอา นวัตกรรมของระบบปรับอากาศทีใ่ ชใน NASA แลเรือดํานํา้ มาบรรจุในเครือ่ งทํานํา้ เย็นแบบ Centrifugal ทีใ่ ชในอาคาร โดยมีจดุ ประสงค หลั ก คื อ ต อ งการที่ จ ะลดการใช พ ลั ง งาน ใหมากที่สุด เรียกไดวาประหยัดพลังงาน มากกวา Chiller รุน เกาประมาณ 20-30% เพื่ อ ให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพในการประหยั ด พลังงานของโรงแรมรอยัลแมโขงยังไดตดิ ตัง้ ระบบ Chiller Plant Management System (CPMS) ระบบควบคุมและจัดการ เครื่องทําความเย็นอัตโนมัติ โดยการรวม เครื่อง Chiller ไวที่เดียวกันทั้งหมด 4 ตัว แตเปดสลับการใชงานเพียง 2 ตัว และสํารอง การใชงาน 2 ตัว เพื่อสลับการทํางานกัน ในชวงเวลากลางวันและกลางคืน ซึ่งระบบ CPMS นีจ้ ะสามารถควบคุมการทํางานของ ระบบทําความเย็น หรือปรับอากาศทั้งหมด ของโรงแรมใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อสงความเย็นไปยั ง เครื่ อ งปรั บ อากาศ ที่มีอยูในหองตาง ๆ ของโรงแรมกวา 208 หอง รวมถึงหองประชุมขนาดใหญ และอีก หนึ่งประสิทธิภาพของ Chiller รุนใหมนั้น จะถูกผลิตขึ้นมารองรับกับสารทําความเย็น R410A สารทํ า ความเย็ น ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมอีกดวยครับ

การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพด า นการประหยั ด พลังงานโรงรอยัลแม โขงยังได มี ก ารปรับ เปลี่ ย นมาใช ห ลอดไฟแอลอี ดี บริ เ วณ โถงทางเดินระหวางหอง สระวายนํ้า และ บริเวณสวน สวนสํานักงานไดเปลี่ยนเปน หลอดประหยั ด พลั ง งาน T5 และหลอด ตะเกียบชวยการใชพลังงานไดเปนอยางดี

ที่มีประสิทธิภาพสูง ชวยประหยัดพลังงาน และลดตนทุนการผลิตนํ้ารอนไดมากกวา 70% ของเครื่องทํานํ้ารอนไฟฟาทั่วไป และ ยังไดลมเย็นเหลือทิง้ จากระบบฮีทปม กลับมา ใชประโยชน ได 100% โดยนําไปใชในหอง เครือ่ งชิลเลอร หองคัดแยกขยะ หองควบคุม ระบบไฟฟา หองอาหาร ทางเดิน และหนาลิฟท

นอกจากนี้ แล ว ยั ง ได มี ก ารติ ด ตั้ ง ระบบ Invertors ในการควบคุ ม ความเร็ ว รอบ มอเตอรของระบบปมนํ้า รวมถึงการติดตั้ง ระบบ Heat Pump ซึ่งเปนอุปกรณผลิต นํา้ รอนทีใ่ ช Compressor ดึงความรอนจาก อากาศภายนอกหรือความรอนจากอากาศ รอบตัวทีอ่ ณ ุ หภูมปิ กติแลวถายเทความรอน ใหแกนํ้าเพื่อผลิตเปนนํ้ารอน จากหลักการ ดังกลาวจะเห็นวาฮีทปม เปนเครือ่ งทํานํา้ รอน

การติดตั้งระบบเซ็นเซอรเครื่องปรับอากาศ หากมีการเปดประตูระหวางเปดเครื่องปรับ อากาศระบบการทําความเย็นของเครือ่ งปรับ อากาศจะจายลมเพียงอยางเดียว นอกจากนี้ ยังไดติดระบบ Fresh Air ในหองพักเปน ระบบทีด่ งึ อากาศบริสทุ ธิจ์ ากภายนอกเขามา ถายเทภายในหองพักผูมาพักผอนจะไดรับ อากาศบริสุทธิ์ตลอดเวลาเมื่ออยูในหอง

29

Energy#62_p28-30_Pro3.indd 29

12/20/13 9:31 PM


อยางไรก็ตาม สิ่งสําคัญของการประหยัด พลั ง งานนอกจากปรั บ เปลี่ ย นเทคโนโลยี ประหยั ด พลั ง งานแล ว การปรั บ เปลี่ ย น จิตสํานึกของคนก็เปนสวนสําคัญ ซึง่ โรงแรม รอยัลแมโขงยังไดสรางจิตสํานึกใหบคุ คลากร ทุกระดับชัน้ ไดตระหนักถึงการอนุรกั ษพลังงาน และสิง่ แวดลอมไมวา จะเปนการรณรงคเรือ่ ง การปดระบบแสงสวางในชวงเวลาเลิกงาน พักเที่ยง หรือเปดไฟชวงเวลากลางคืนใน บางจุดที่จําเปนและเหมาะสมตามเวลาของ การใชงาน รวมถึงการสรางจิตสํานึกในการ คัดแยกขยะเพื่อนําไปรีไซเคิล ไมวาจะเปน กระดาษ พลาสติก ขวด สวนขยะที่เปนเศษ อาหารเปลือกผลไมตา ง ๆ ทีน่ ไี่ ดนาํ ไปทําเปน ปุยชีวภาพเพื่อนําไปใชประโยชนในการลด กลิน่ ในการบําบัดนํา้ เสีย ควบคุมกลิน่ ขยะ และ ใชเปนปุย สําหรับตนไม สวนขยะมีพษิ เคมีจะ ใหเทศบาลนําไปกําจัด นํา้ มันพืชทีผ่ า นการใช งานแลวนําไปบรรจุเปนปบไวจําหนายใหกับ ผูที่มารับซื้อไปผลิตเปนไบโอดีเซลอีกที

ด วยการตระถึงการอนุรั ก ษพ ลังงานของ โรงแรมรอยัลแมโขงทําใหไดการรับรองจาก ISO 9001 แสดงใหเห็นถึงหองพักชั้นเยี่ยม และสิง่ อํานวยความสะดวกชัน้ ยอด ตลอดจน การสร า งอุ ต สาหกรรมให เ ป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมอีกดวย โดยในอนาคตอันใกล กํ า ลั ง จะได รั บ การการั น ตี ม าตรฐาน ISO 50001 ซึง่ เปนมาตรฐานการจัดการพลังงาน ระดับสากล ผลการดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิ่ ง แวดล อ มของโรงแรมรอยั ล แม โ ขง สามารถลดใชพลังงานไดกวา 20% เลย ทีเดียว ซึง่ ก็ไมไดหยุดนิง่ เพียงแคนี้ ผูบ ริหาร รอยัลแมโขงยังคงมุง มัน่ การพัฒนาดานการ ประหยัดพลังงานอยางตอเนื่องเพื่อนําไป สูความยั่งยืนตามแนวคิด Green Hotels Supporting Sustainability นั่นเอง

30

Energy#62_p28-30_Pro3.indd 30

12/20/13 9:31 PM


Energy#62_p31_Pro3.indd 31

12/18/13 10:28 PM


Residence รังสรรค อรัญมิตร

ÃÍÂÑÅÎÔÅÅ ¡ÍÅ ¿ ÃÕÊÍà · á͹´ Ê»Ò ·Ò§àÅ×͡˹Ö่§¢Í§¼ÙŒ·Õ่ª×่¹ªÍº¸ÃÃÁªÒμÔ áÅСÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ระยะเวลา 365 วันดูจากตัวเลขแลวเปนระยะเวลาที่ยาวนานพอ สมควรแตกลับมีความสึกทุกครั้งเมื่อสิ้นปวาเวลาผานพนไป อยางรวดเร็ว “นี้แหละที่เขาบอกวาเวลาไมคอยใคร” ดังนั้นถา ใครมีแผนงานหรือมีโครงการจะทําอะไรก็ใหรีบทํานะครับ และนี้ ก็ถึงเวลาบอกลาปงูเล็ก (2556) ตอนรับปมา (2557) กันแลวก็ หวังวาในหวงเวลาของการฉลองสงทายปเกาตอนรับปใหม่ของ ทานผูอานและคนไทยจะไดเฉลิมฉลองอยางมีความสุข ซึ่งชวง เทศกาลปใหมนหี้ ลายคนคงเดินทางกลับตางจังหวัดเพือ่ ไปฉลอง ปใหมกลับครอบครัว หรือไมก็เดินทางไปเที่ยวรับลมหนาวตาง จังหวัดทางภาคเหนือและอีสาน แตหลายคนก็เลือกทีจ่ ะเดินทาง ไปพักผอนตามจังหวัดที่ไมไกลจากกรุงเทพฯ เพื่อรับพลังงาน ธรรมชาติแลวสรางความผอนคลายใหกบั ตนเอง หลังจากทีต่ อ ง เหน็ดเหนื่อยจากการใชชีวิตมาตลอดทั้งป สําหรับหองพักของรีสอรทแหงนี้มีทั้งหมด 250 หอง 4 บรรยากาศ ทั้ง บานภูฟา หรือเปนหองพักที่ติดกับวิวสนามกอลฟ (Golf Course View House) บานภูธาร เปนหองพักทีอ่ ยูร มิ ทะเลสาบ (Lake View House) บานอิงผา เปนหองพักที่อยูติดภูเขา (Mountain View House) และ Hotel Building ซึ่งเปนโรงแรม 5 ชั้นทั้งหมดถูก ตกแตงดวยโทนสีที่หลากหลายเพิ่มความสดใสของการพักผอนให กับลูกคา และในการออกแบบไดคํานึงถึงทิศทางลม ทิศทางแดด และ ติดกระจกบานใหญซึ่งเปนหลักการออกแบบบานหรือหองพักทั่วไป สามารถเปดใหเชือ่ มตอไปยังระเบียงดานนอกได เพือ่ ใหลกู คาสามารถ เปดรับลม รับแสงแดด และชวยใหภายในหองโปรงโลงสบาย อากาศ ถายเทไดสะดวก เรียกไดวาเปนหลักการออกแบบเบื้องตนของการ ประหยัดพลังงาน ในสวนของล็อบบี้จะถูกออกแบบใหเปนโอเพนแอร เพือ่ ชวยลดการใชพลังงานจากแสงสวาง และเครือ่ งปรับอากาศเชนกัน

เพื่อตอนรับปใหมสงทายปเกาขอพาทานผูอานเราแวะเวียนไปสัมผัส ธรรมชาติอันรมรื่นและรับไอหนาวกันที่รอยัลฮิลล กอลฟ รีสอรท แอนด สปา รีสอรทที่ใสใจเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมที่ อยูทางกลางออมขุนเขา จังหวัดนครนายก บนเนื้อที่ 1,200 ไร ติดอุทยานแหงชาติเขาใหญของ รอยัลฮิลลฯ ถูก ออกแบบเปนสนามกอลฟและที่พักใหกลมกลืนกับความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติในสไตลโมเดิรน คอนเทมโพรารี่ อีกทั้ง การกอสรางไดระมัดระวังเพือ่ ใหมผี ลกระทบตอระบบนิเวศใหนอ ยทีส่ ดุ โดยที่สิ่งมีชีวิตตางๆ ยังสามารถมีการแพรพันธุ ไดตามธรรมชาติ ภายใตแนวทางทีถ่ กู ตองเพือ่ ความอุดมสมบูรณของธรรมชาติทยี่ งั่ ยืน

32

Energy#62_p32-33_Pro3.indd 32

12/18/13 9:23 PM


นอกจากการออกแบบโดยใชหลักการดึงเอาธรรมชาติ สิง่ แวดลอมมา ชวยในการประหยัดพลังงานแลว รอยัลฮิลล ยังไดปรับเปลี่ยนมาใช อุปกรณประหยัดพลังงาน อยางเชน หลอดฟลูออเรสเซนต T5 และ หลอดแอลอีดี เครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงเบอร 5 พรอมกับ ไดติดตั้ง ระบบโซลาเทอรมอลล หรือระบบผลิตนํ้ารอนจากพลังงาน แสงอาทิตย เพื่อใหสามารถลดใชพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอมกันนีย้ งั ไดรณรงคใหลกู คารวมกันอนุรกั ษพลังงานอีกดวย โดยการ ออกแบบปายไมไวในหองพักซึง่ จะระบุขอ ความถึงการประหยัดพลังงาน เชน ถาลูกคาไมตองการจะใหเปลี่ยนผาเช็ดตัวก็ใหแขวนไวในราวผา แตถาตองการใหเปลี่ยนผาเช็ดตัวก็วางไวบนอางอาบนํ้า หรือวางไว บนพื้ น หรื อ ผ า ปู เ ตี ย งถ า ไม ต  อ งการให ซั ก ก็ ใ ห ว างแผ น ไม ไ ว บ น หัวเตียงนอน แตถาตองการใหซักก็วางแผนไมไวบนเตียงนอน ซึ่งเปน อีกวิธีหนึ่งในการชวยใหเกิดการประหยัดพลังงาน

เพื่ อ ให เ ป น ไปตามวั ต ถุ ป ระสงค ข องการอนุ รั ก ษ พลังงานและสิ่งแวดลอมและความรับผิดชอบตอ สังคมรอยัลฮิลล ไดมีการคัดแยกขยะอยางเปน ระเบียบและชัดเจน เพื่องายตอการกําจัดและใช ประโยชน เชน เศษอาหาร เปลือกผลไม เศษผัก ที่นี่ก็นําไปผลิตเปนปุยชีวภาพหรือ EM ใชลดกลิ่น เหม็นของบ อบําบัด และเปนปุยตนไม ขวดแกว ขวดพลาสติ ก กระดาษ นํ า ไปจํ า หน า ยเพื่ อ การ รีไซเคิล แลวนํารายไดมาเปนกองทุนใหกบั พนักงาน สรางความจูงใจใหพนักงานใหเกิดความรวมมือ รวมใจการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม สวนนํ้า ทีผ่ า นการใชงานแลวก็จะนําไปบําบัดแลวนํากลับมาใช รดนํ้าตนไมและสนามหญา ในสวนของนํ้ามันเกาที่ เหลือจากหองอาหารที่นี่เขาไดมีการนําไปผลิตเปน ไบโอดีเซล 100% สําหรับใชในรถยนต ตลอดจนมีการปลูกผักออแกนิก เลีย้ งเปด เลีย้ งไกไข ไวสาํ หรับพนักงานของรีสอรทไดรบั ประทาน เรียกไดวา นอกจากการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ยั ง ได นํ า หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย งของ ในหลวงมาประยุ ก ต ใ ช อี ก ด ว ยครั บ ในแง ข อง กิจกรรมนอกจากสนามกอลฟแลวที่นี่ยังมีบริการ ปนหนาผา ปน จักรยานชมวิวรอบโรงแรม บริการรก ATV สวนลูกคาตองการทํากิจกรรมปลูกปาที่นี่ก็มี พื้นที่ใหลูกคาปลูกปาดวย

33

Energy#62_p32-33_Pro3.indd 33

12/18/13 9:23 PM


Energy Design รังสรรค อรัญมิตร

แนวคิดการออกแบบบานประหยัดพลังงานนั้นมีหลายหลักการดวยกันไมวาจะเปน การออกแบบโดยการคํานึงถึงสภาพแวดลอมของแตละพื้น การออกแบบโดยการคํานึงถึงทิศทางแดดและลมอยางละเอียดเพือ่ ใหเกิดความเหมาะสมกับการใชประโยชนคนผูอ ยูอ าศัย การเลือกใชวสั ดุทมี่ อี ยู ในทองถิน่ รวมถึงการออกแบบไมใหเสียเศษ การเลือกใชวสั ดุ อุปกรณประหยัดพลังงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ชวยผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและชวย ลดการสูญเสียพลังงานใหนอ ยลง การออกแบบบานสําเร็จรูปทีช่ ว ยใหเกิดความสะดวกสบายและลดเวลาในการกอสราง รวมถึงการพึง่ พาพลังงานทดแทน อยางไรก็ตามการออกแบบบานพักอาศัยในปจจุบันนอกจากออกแบบใหสามารถประหยัดพลังงานแลวผูออกแบบยังออกแบบใหมีความโดดเดน ในเชิงนวัตกรรมการใชงานและใหเกิดภาวะความสบายนาอยู

บานหมุนไดประหยัดพลังงาน สําหรับการออกแบบบานประหยัดพลังงาน เล ม นี้ จ ะพู ด ถึ ง บ า นหมุ น ได ห ลั ง แรกของ ประเทศไทยของ คุณยุทธนา ปยะตระกูล สถาปนิก บริษทั กรีนดีไซน 360 องศา จํากัด นั้นเปนตัวอยางหนึ่งของความโดดเดนทั้ง ดานเทคโนโลยีและการประหยัดพลังงาน ซึ่งจุดเริ่มตนของบานประหยัดพลังงานหลัง นี้เกิดจากแนวคิดของผูออกแบบที่มีความ เชีย่ วชาญเรือ่ งเครือ่ งกลจึงไดนาํ มาประยุกต ใชกับการออกแบบบานที่ตองการใหมีความ โดดเดนไมเหมือนใครจึงเกิดเปนแนวคิดบาน หมุนได 360 องศา และประหยัดพลังงาน โดย การพัฒนาบานประหยัดพลังงานหมุนได หลังนี้ใชระยะเวลาในการพัฒนา 2 ปโดยเริ่ม

การออกแบบมาตั้งแตป 2551 แลวเสร็จในป 2553 ปจจุบนั สามารถลดระยะเวลากอสราง เหลือเพียงประมาณ 1-2 เดือนเทานัน้ เนือ่ งจาก ถูกพัฒนาใหเปนระบบแบบชิน้ สวนสําเร็จรูป สําหรับแนวคิดหลักการออกแบบบานหมุน ไดนั้นผูออกแบบใชหลักการแบบ ACTIVE DESIGN ขนาดเทากับบานพักอาศัยปกติ ทั่วไปสราง PASSIVE DESIGN ที่โดดเดน สรางสรรคใหบา นพักธรรมดากลายเปนบาน ทีช่ ว ยประหยัดพลังงาน และสรางบรรยากาศ ในการอยูอาศัยที่ดีดวยการหมุน โดยการ ออกแบบให บ  า นหมุ น ได นั้ น เป น แนวทาง หนึ่งของการออกแบบที่คํานึงถึง ทิศทางลม

ทิ ศ ทางแดด และให ส อดคล อ งกั บ สภาพ แวดลอมเปนเปรียบเสมือนสถาปตยกรรม ที่ มี ชี วิ ต ที่ ป รั บ หมุ น หลบแดดรั บ ลมและ สภาพแวดล อ มได ทํ า ให บ  า นมี ภ าวะที่ อ ยู  สบายและประหยัดพลังงาน น อ ก จ า ก นี้ ผู  อ อ ก แ บ บ บ  า น ห มุ น ไ ด  ยังเลือกใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ลดการใช วั ส ดุ อุ ต สาหกรรมให น  อ ยลง และสามารถนํามาใชหมุนเวียนไดในระยะยาว บ า นหมุ น ได มี ก ารเคลื่ อ นไหวอยู  เ สมอ โครงสร า งมี ค วามยื ด หยุ  น นํ้ า หนั ก เบา แตแข็งแรง และสามารถนํามาใชหมุนเวียนไดอกี โครงสรางหลักของบานเปนเหล็กรูปพรรณ

34

Energy#62_p34-35_Pro3.indd 34

12/13/13 9:00 PM


และมีความโดดเดนตรงที่โครงสรางทั้งหมด นัน้ ประกอบดวย ระบบ PREFABRICATION เปนชิน้ สวนแบบสําเร็จรูปทีส่ ามารถเคลือ่ นยาย ถอดประกอบไดงา ย ลดการสรางใหม ซึง่ นัน้ ก็ ห มายถึ ง การลดใช พ ลั ง งานในขั้ น ตอน กระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมไดอยาง มหาศาล สวนประกอบที่สําคัญอีกอยางคือ ไม ซึ่งเปนวัสดุที่ไมตองใชพลังงานในการ ผลิตมากเทากับวัสดุสงั เคราะห และสามารถ ปลูกทดแทนได สํ า หรั บ หลั ก การออกแบบที่ ช  ว ยให บ  า น หมุ น ได 360 องศา นั้ น ผู  อ อกแบบได ออกแบบโดยใชเครื่องกลกําลังไฟฟาขนาด 1 แรงมา หรือ 746 วัตตมาเปนฐานบาน เพื่ อ เป น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นทํ า ให บ  า นหมุ น ได ส ว นระบบสายไฟฟ า ภายในบ า นมี ก าร ออกแบบใหอยูตรงแกนกลางของตัวบาน

แลวคอยแยกออกไปตามหองตางๆ เมื่อ บ า นหมุ น สายไฟจะไม พั น กั น เนื่ อ งจาก บานจะหมุนยอนกลับมา ณ จุดเดิม สวน ระบบท อ นํ้ า ทิ้ ง มี ก ารติ ด ตั้ ง ต อ ผ า นลง ไปบ อ พั ก โดยตรงออกแบบให ป ลายท อ ไมยึดติดก็จะชวยใหบานหมุนได สวนทอนํ้า ประปาก็ จ ะเดิ น ท อ ต อ ลงกลางบ า นไปยั ง แท็งคเก็บนํ้าโดยปลายทอก็จะไมยึดติดเชน กันซึ่งไมเกิดปญหาหรือขอจํากัดเรื่องของ การหมุ น และความพิ เ ศษของฐานหมุ น สามารถลดการทํ า ลายสิ่ ง แวดล อ ม บานหมุนไดมฐี านรากเสนผาศูนยกลางขนาด 2 เมตร รองรับบานขนาด 42 ตารางเมตร ไดโดยไมตองขุดดินสามารถแทรกตัวไดกับ สภาพแวดลอมไดอยางลงตัว อยางไรก็ตามในการออกแบบบานหมุนได หลังนี้ใชพลังงานไฟฟา ACTIVE DESIGN

จายไฟใหกับมอเตอรขนาด 1 แรงมาดัง ที่ ก ล า วมาข า งต น เพื่ อ ทํ า ให บ  า นหลั ง นี้ สามารถหมุ น ได ซึ่ ง การหมุ น จะควบคุ ม ดวยรีโมทใหสามารถใชแสงธรรมชาติให เกิดประโยชนสูงสุด หรือหมุนรับทิศทางลม ได ต ลอดเวลา ช ว ยลดการใช เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ ลดการใชแสงสวางในชวงกลางวัน ทําใหไมตองติดตั้งมูลี่บังแดด การออกแบบ ชายคายื่นยาว หรือแผงบังแดด และชวยลด การใชพลังงานประมาณ 50% เลยทีเดียว สวนราคาในการกอสรางบานตนแบบหลัง นี้อยูที่ 2.8 ลานบาท และอนาคตจะมีการ พั ฒ นาออกแบบให มี ร าคาตํ่ า กว า นี้ แ ละ สามารถกอสรางไดสะดวกรวดเร็วขึ้นเพื่อ ตอบสนองความต อ งการของผู  ที่ ชื่ น ชอบ บ า นนวั ต กรรมหมุ น ได ที่ ต อบโจทย ก าร ประหยัดพลังงาน

35

Energy#62_p34-35_Pro3.indd 35

12/13/13 9:00 PM


Energy Knowledge Rainbow

จุฬาผลิตยาสลบสําหรับสัตวนํ้า จากสารธรรมชาติ ลดการเผาผลาญพลังงาน คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดคิดคนยาสลบสําหรับสัตวนํ้ามีเชื่อวา “อะควาเนส” (Aquanes) ผลิตจากสารธรรมชาติคอื นํา้ มันกานพลู ที่ มี ค วามบริ สุ ท ธิ์ สู ง และสารอื่ น ๆ ทางเภสั ช กรรม อยูใ นรูปของยาละลายใสพรอมใช สามารถออกฤทธิใ์ ห สัตวนาํ้ มีอาการซึม ลดการเคลือ่ นไหว ชวยใหกลามเนือ้ คลายตัว ลดการเผาผลาญพลังงาน จนถึงทําใหสตั ว นํ้าซึมลึกและสงบ ชวยใหสัตวนํ้ายังคงความสมบูรณ ในดานตาง ๆ ไวไดดี ลดการขับถายของเสียและความ บอบชํา้ ในการเคลือ่ นยายสัตวนาํ้ จากบอเพาะเลีย้ งเพือ่ ชั่งนํ้าหนัก ผสมเทียม ฉีดยาทําวัคซีน ฯลฯ มีความ ปลอดภัยตอสัตวนาํ้ เกษตรกรผูเ ลีย้ ง และผูบ ริโภคสัตวนาํ้ อี ก ทั้ ง ยั ง เป น ยาสลบสํ า หรั บ สั ต ว นํ้ า ตั ว แรกของ ประเทศไทยที่ ไ ด รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นตํ า รั บ ยาจาก สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อ.ย.) กระทรวง สาธารณสุข รศ.สพ.ญ.ดร.เจนนุช วองธวัชชัย คณะ สัตวแพทยศาสตร จุฬาฯ เปดเผยถึงผลงานวิจยั “อะควาเนส” วา ไดเริม่ ทําการศึกษามาตัง้ แตป 2546 โดยมีจดุ เริม่ ตนมาจากขอสงสัยของนิสติ เกีย่ วกับยาสลบในสัตวนาํ้ ซึง่ ในประเทศไทย สวนใหญจะมีการใชยาทีไ่ มปลอดภัยมากนัก และมีสารกอมะเร็ง ปจจุบันยาสลบสําหรับ สัตวนาํ้ ทีม่ จี าํ หนายมีเพียงยีห่ อ เดียวเปนของ สหรัฐอเมริกาซึง่ มีราคาสูงมาก ดวยเหตุผลดัง กลาวจึงไดทาํ การพัฒนาในดานนีอ้ ยางจริงจัง มากขึน้ และมีการทดสอบทัง้ ในปลาสวยงาม และปลาบริโภค จากนัน้ ใชเวลาอีก 5 ปในการ ขึน้ ทะเบียนตํารับยา จนไดรบั อนุญาตใหผลิต อยางถูกตองตามกฎหมายเมือ่ ป 2551 โดย ไดรบั ความรวมมือจากภาคเอกชนคือบริษทั สยามฟารมาซูติคอล จํากัด ในการพัฒนา จากระดับงานวิจยั ไปสูร ะดับอุตสาหกรรมภาค ผลิต เพือ่ เปนยาสงออกหรือเปนยาขึน้ ทะเบียน ซึง่ ตองมีการควบคุมวัตถุดบิ ทุกขัน้ ตอนและตอง ใชวทิ ยาศาสตรระดับสูง ซึง่ เมือ่ งานวิจยั สําเร็จ แลวจึงไดมอบใหเปนสิทธิบตั รของจุฬาฯ โดย มีความประสงคทจี่ ะใหยาตัวนีเ้ ปนของคนไทย 36

Energy#62_p36-37_Pro3.indd 36

12/13/13 10:50 PM


โดยมีบริษทั เบ็ทเทอรฟามา จํากัด เปนบริษทั ยา สําหรับสัตวบริษทั เดียวทีเ่ ปนของคนไทยและ ได ต อบรั บ ข อ เสนอในการกํ า หนดราคา จําหนาย สําหรับงานวิจัยตอยอดจากนี้จะ พัฒนาให “อะควาเนส” มีคุณภาพดียิ่งขึ้น และจะพัฒนาใหราคาจําหนายมีความเหมาะสม ยิ่งขึ้นเพื่อชวยใหเกษตรกรใชยาราคาถูก ทั้งนี้ “อะควาเนส” ยังไดรับการประกาศ เกียรติคุณจากสํานักงานพัฒนาการวิจัย การเกษตร (องคการมหาชน) ใหไดรบั รางวัล ผลงานวิจัยการเกษตรเชิงพาณิชยดีเดน ประจําป 2551 ซึ่งไดรับพระราชทานรางวัล จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี ในการประชุมวิชาการประจําป 2551 ของสํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องคการมหาชน) และไดรบั รางวัลเกียรติคณ ุ พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั พระราชทานแกนิสิต ทีม Oceanic Inc. จากสถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจ ศศินทรฯ ในการนํา“อะควาเนส” เขารวมการแขงขัน แผนธุรกิจระดับเอเชียแปซิฟก “The Mai Bangkok Business Challenge@Sasin 2007”

ดาน ศ.น.สพ.ดร.มงคล เตชะกําพุ รอง อธิ ก ารบดี ฝ  า ยวิ จั ย จุ ฬ าฯ กล า วว า จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยมีนโยบายสงเสริม งานวิจยั ในเชิงรุกเพือ่ ทีจ่ ะเผยแพรผลงานวิจยั ของจุฬาฯ ไปสูผ ใู ชใหมากขึน้ ซึง่ มีอยู 2 สวน คือ ภาคอุตสาหกรรมหรือภาคเอกชน และสังคม ชุมชนหรือสังคมชนบท โดยจะสรางความเขาใจ กับคณาจารยจฬ ุ าฯ ใหเห็นวางานวิจยั สามารถ สรางประโยชนใหกบั ประเทศชาติได ดีกวาการ ทํางานวิจยั แลวเก็บไว พรอมทัง้ เชือ่ วาในอนาคต อันใกล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยจะมีความรวม มือทางดานผลงานวิจยั กับภาคเอกชนมากขึน้

และในขณะนี้ จุฬาฯ ไดลงนามสัญญากับ บริษทั เบ็ทเทอรฟามา จํากัด เพือ่ อนุญาตให ใชเทคโนโลยีการผลิตยาสลบสําหรับสัตวนาํ้ “อะควาเนส” และการจัดจําหนายในประเทศไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม นายชยานนท กฤตยาเชวง รองกรรมการผูจ ดั การใหญอาวุโส กลุม ธุรกิจสุขภาพสัตวและเทคโนโลยี เครือเบ ทาโกร กลาววา อุตสาหกรรมการเพาะเลีย้ ง สัตวนํ้าในประเทศไทยถือเปนอุตสาหกรรม หนึง่ ทีม่ คี วามสําคัญกับเศรษฐกิจของประเทศ ซึง่ การบริหารจัดการสัตวนาํ้ จําเปนตองมีการ เคลือ่ นยายสัตวนาํ้ จึงมีความจําเปนทีจ่ ะตอง ทําใหสตั วนาํ้ สลบหรือลดการเคลือ่ นไหว

ในขณะเดียวกันก็จะเนนการเพิ่มจํานวนผล งานวิจยั ทีต่ พ ี มิ พ เพือ่ สรางศักยภาพในการ เปนมหาวิทยาลัยระดับชาติและระดับโลก ผล งานวิจัยนี้นับเปนตัวอยางที่ดีในการรวมมือ กับเอกชนพัฒนางานวิจัยจาก “หิ้ง” ไปสู “หาง” โดยการพัฒนาตอยอดงานวิจยั สูภ าค อุตสาหกรรมครัง้ นี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะสัตวแพทยศาสตรและคณะเภสัชศาสตร จุฬาฯ สถาบันทรัพยสนิ ทางปญญาแหงจุฬาฯ และบริษทั เบ็ทเทอรฟามา จํากัด ซึง่ เปนเรือ่ ง ที่นายินดีที่นวัตกรรมนี้เปนผลงานของนัก วิจยั ไทยและทํามาจากสมุนไพรไทยทีเ่ ปนมิตร กับสิง่ แดลอม

รศ.สพ.ญ.ดร.เจนนุช กลาวทิง้ ทายวา ปจจุบนั มีการใชยาและสารเคมีหลายชนิดเพือ่ ใชในการ เคลื่อนยายสัตวนํ้าที่ไมผานการขึ้นทะเบียน ตํารับยาอยางถูกตองตามกฎหมาย จึงมักพบ วามีผลขางเคียงตอสัตวนาํ้ และทําใหเกิดการ ระคายเคืองตอผิวหนังของผูใ ช รวมทัง้ สารเคมี บางกลุม ยังไมปลอดภัยตอผูท บี่ ริโภคสัตวนาํ้ เปนอาหารอีกดวย ทางบริษทั ฯ มีความยินดี เปนอยางยิง่ ทีไ่ ดรบั ความไววางใจจากสถาบัน ทรัพยสนิ ทางปญญาแหงจุฬาฯ ในการเปน ผูรับสิทธิ์ในการนําผลงานวิจัยมาผลิตเปน ผลิตภัณฑยาสลบสําหรับสัตวนาํ้ “อะควาเนส” เพือ่ ใหเกษตรกรผูเ ลีย้ งสัตวนาํ้ ทัง้ ในและนอก ประเทศไดใชผลิตภัณฑที่มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพดี ผานการรับรองจากสถาบันที่ ไดมาตรฐานความปลอดภัยขัน้ สูง ถือเปนการ ยกระดับมาตรฐานการเลี้ยงสัตวนํ้าของไทย สูส ากลตอไป (ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม จากฝ า ยงานวิ จั ย จุ ฬ า มหาวิทยาลัย) 37

Energy#62_p36-37_Pro3.indd 37

12/13/13 10:50 PM


Tools & Machine Mr.T

นวัตกรรมอันลํ้าหนาของระบบทําความเย็น VSD Magnetic Centrifugal Chiller ทั้งนี้ระบบผลิตนํ้าเย็นแบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller เปนเครือ่ งปรับอากาศ ทีน่ าํ เอานวัตกรรมของระบบปรับอากาศทีใ่ ชใน NASA และ เรื อ ดํ า นํ้ า มาบรรจุ ใ นเครื่ อ ง ทํานํ้าเย็นแบบ Centrifugal ที่ใชในอาคาร เพื่อจุดประสงคหลักคือตองการที่จะลดการ ใชพลังงานใหมากที่สุด โดยมีชิ้นสวนที่เปน อุปกรณหลัก ดังนี้

ผูประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม ธุรกิจ โรงแรม รีสอรท โรงพยาบาล ศูนยการคา หรืออาคารทั่วไปมีการใชพลังงานหลายรูป แบบจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับลักษณะการ ใชงาน หรือชนิดของกิจการในอาคาร รวมถึง ชนิดของอุปกรณทกี่ อ ใหเกิดการใชพลังงาน โดยอุปกรณดานพลังงานที่ใชในอาคารนั้น สามารถแยกได เ ป น ระบบหลั ก ๆ คื อ ระบบทํ า ความเย็ น และปรั บ อากาศ ระบบ ผลิตนํา้ รอน ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟา แสงสว า ง และอุ ป กรณ อื่ น ๆ โดยระบบ ทํ า ความเย็ น และปรั บ อากาศ เป น ระบบที่ ใช พ ลั ง งานมากที่ สุ ด ในบรรดาทั้ ง หมด เฉลีย่ ประมาณกวา 50% ของการใชพลังงาน ทัง้ หมดในอาคาร ซึง่ ในแตระบบไดถกู พัฒนา ให เ กิ ด การประหยั ด พลั ง งานได อ ย า งมี ประสิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น เพื่ อ ตอบสนอง ผูประกอบที่ตองการลดใชพลังงาน โดยระบบทําความเย็นและปรับอากาศเปนอีก เทคโนโลยีหนึง่ ทีถ่ กู พัฒนาใหมปี ระสิทธิภาพ ในดานการใชงาน และการประหยัดพลังงาน มากยิ่งขึ้น ยกตัวอยาง VSD Magnetic Centrifugal Chiller ซึ่งเปนระบบใหมที่ เริม่ ไดรบั ความนิยมของภาคอุตสาหกรรมใน ประเทศไทย โดยเทคโนโลยีการผลิตนํ้าเย็น ระบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller ถู ก พั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ งเพื่ อ ให เ กิ ด การ ประหยัดพลังงานที่มีประสิทธิภาพ

Magnetic Bearing เปนอุปกรณที่มีหนา ที่ ส ร า งสนามแม เ หล็ ก ที่ ฐ านรองรั บ เพลา ขับ Compressor ใหมีขั้วทางไฟฟาเปนขั้ว เดียวกับแกนเพลาขับ Compressor ทําให ฐานรองรับเพลาขับ Compressor ผลักให แกนเพลาขับลอยขึน้ และเมือ่ มอเตอรทาํ งาน แกนของมอเตอรกจ็ ะหมุนลอยอยูใ นอากาศ ทําใหไมเกิดการสู2 ญเสียพลังงานไปกับการ เสียดสีระหวางฐานรองรับเพลาขับกับแกน เพลา หรือเรียกวา (Non friction losses) ซึง่ ใหผลลัพธในการลดการใชพลังงานดีกวา มากเมื่อเทียบกับเทคโนโลยีแบบเกาที่ตอง ใชนํ้ามันหลอลื่นระหวางฐานรองรับเพลา ขับกับแกนเพลา ที่ตองคอยดูแลปริมาณ และคุ ณ ภาพของนํ้ า มั น หล อ ลื่ น ให อ ยู  ใ น สภาพที่ดีอยูเสมอไมเชนนั้นก็จะกระทบตอ ใชพลังงาน และอายุการใชงานของเครื่องทํา นํ้าเย็นได โดยในเครื่องทํานํ้าเย็นแบบ VSD Magnetic Centrifugal Chiller นั้นไมมี การใชนํ้ามันหลอลื่นในชุด Compressor แมแตหยดเดียว

Variable Speed Drive Unit (VSD) เปน อุปกรณที่อาศัยหลักการทํางานของ VFD (Variable Frequency Drive) มีหนาทีใ่ นการ ปรับความเร็วรอบของคอมเพรสเซอรมอเตอร ในการดูดอัดสารทําความเย็นตามภาระโหลด ที่ตองการ ซึ่งจะทําการปรับความเร็วรอบ ของคอมเพรสเซอรโดยการปรับความถีข่ อง กระแสไฟฟาที่จายใหกับมอเตอรตามภาระ โหลดทีเ่ กิดขึน้ จริง ครอบคลุมลักษณะการใช งานของเครื่องทํานํ้าเย็นที่ภาระการทําความ เย็นเต็มตามพิกัดที่ออกแบบไวหรือเรียกวา “Full Load” และการใชงานที่ภาระการ ทําความเย็นไมเต็มพิกดั หรือนอยกวาตามที่ การออกแบบไว หรือเรียกวา “Part Load” โดยเครื่ อ งทํ า นํ้ า เย็ น ชนิ ด ปรั บ ความเร็ ว รอบคอมเพรสเซอร (VSD Chiller) นี้จะ มีสมรรถนะที่ Part Load ดีกวา เครื่อง ทํานํ้าเย็นแบบเดิม (Centrifugal Screw Chiller) โดยเฉพาะอยางยิง่ การใชงานเครือ่ ง ทํานํ้าเย็นหลายชุดพรอมกัน อาจสงผลให ภาระของเครื่องทํานํ้าเย็นที่ใชงานแตละตัว อยูที่ 30-50% เปนตน ซึ่งเปนการสูญเสีย การใชพลังงานในระบบทํานํ้าเย็นของระบบ ปรับอากาศ (Chilled water system) เป น อย า งมาก โดยเครื่ อ งทํ า นํ้ า เย็ น ที่ใช เทคโนโลยี VSD จะสามารถลดการใชพลังงาน เฉลีย่ ประมาณ 30% และใชงานรวมกับนวัตกรรม Magnetic Bearing จะใหประสิทธิภาพเฉลีย่ สูงถึง 0.45 kW/TR เลยทีเดียว

38

Energy#62_p38_Pro3.indd 38

12/17/13 10:32 PM


Energy#62_p39_Pro3.ai

1

12/18/13

9:36 PM


Energy Tips เด็กเนิรด

ประหยัดแอรด์ ว้ ยพัดลม เมื่อพูดถึงอากาศรอน แตละคนก็มีวิธีคลายรอน แตกต า งกั น ไป ทั้ ง ออกไปเดิ น ตากแอร ต ามห า ง เขาโรงหนัง หรือถาอยากสบายหนอยก็นอนเปด เครือ่ งปรับอากาศอยูท บี่ า น ถาเลือกอยางหลัง เรามีวธิ ี ชวยประหยัดพลังงานเครื่องปรับอากาศมาใหลอง ทํากัน โดยมี “พัดลม” เปนพระเอกของเรือ่ ง พัดลม เปนเครือ่ งใชไฟฟาชนิดหนึง่ ทีจ่ ะมาเปนตัวชวย เครื่องปรับอากาศของคุณใหลดการใชพลังงานลง การเปดพัดลมชวยแอร เปนทางเลือกหนึ่งสําหรับ หองปรับอากาศทีม่ ขี นาดใหญ เรามักจะใชวธิ เี รงลม ทีเ่ ปาออกมาหรือไมกป็ รับอุณหภูมใิ หตาํ่ ลงจะไดเย็น ทั่วหองการทําเชนนั้นจะทําใหเครื่องปรับอากาศใช พลังงานมากขึน้ และทีส่ าํ คัญเปลืองไฟมากขึน้

รูหรือไมวา การเปดเครื่องปรับอากาศเพื่อนําความเย็น สูก บั ความรอนนัน้ ทําใหสนิ้ เปลืองพลังงานจํานวนมหาศาล ดังนัน้ จึงตองใชพลังงานธรรมชาติเขามาชวย นัน่ ก็คอื ลม หลายคนคงคิดวาทําไมเปดเครือ่ งปรับกากาศแลวยังตอง เปดพัดลมอีก ไมเปลืองพลังงานมากกวาเปดเครื่องปรับ อากาศอยางเดียวหรือ คําตอบคือเปลืองแตนอ ยกวาการ เปดเครื่องปรับอากาศอยางเดียว การเป ด พั ด ลมจะช ว ยให ไ ม ต  อ งลดอุ ณ หภู มิ เ ครื่ อ ง ปรับอากาศ เพราะการลดอุณหภูมิ 1 องศา จะกินไฟมากขึน้ ถึง 10 เปอรเซ็นต อยาลืมวา เครื่องปรับอากาศ 1 ตัว กินไฟประมาณ 1,200 วัตต พัดลม 1 ตัว กินไฟเพียง 50 วัตต ถาเราเปดพัดลมและเครือ่ งปรับอากาศพรอมกัน ตามที่แนะนําจะสามารถชวยชาติประหยัดไดมหาศาล การดูแลรักษาเครือ่ งปรับอากาศก็เปนเรือ่ งสําคัญ เครือ่ ง ปรับอากาศเปนเครื่องใชไฟฟาทีก่ ินไฟมาก จึงตองมีการ ดูแลรักษา และดูดฝุน บอย ๆ อาทิตยละครัง้ หรืออาทิตยละ 2 ครั้ง เพราะหากฝุนอุดตันจะทําใหประสิทธิภาพของ การทํางานลดลง ในการจัดวางคอยลรอนก็เปนเรื่องที่ มองขามไมได ปจจุบันพบวาสวนใหญนําคอยลรอนไป วางไวในที่ที่ไมเหมาะสม คือ วางไวบนดาดฟา วางไวบน พืน้ ซีเมนตกลางแดด หรือวางไวในทีท่ ไี่ มมลี มถายเท ซึง่ จะ ทําใหคอยลรอ นทํางานหนักเกินไป จนทําใหประสิทธิภาพ การทํางานของเครือ่ งปรับอากาศลดลงครึง่ หนึง่ สงผลให สิ้นเปลืองพลังงานและสิ้นเปลืองคาใชจาย ดังนั้นควรตั้ง คอยลรอนไวในที่รมและมีอากาศถายเทสะดวก จะทําให อายุการใชงานของเครื่องปรับอากาศยาวนานขึ้นและ สามารถประหยัดพลังงานได ขอควรรูอ กี อยางสําหรับผูท ใี่ ชเครือ่ งปรับอากาศ คืออยาเอา ความชื้นเขาหอง เชื่อหรือไมวาในเมืองไทย พลังงานที่ใช ทําความเย็นในเครือ่ งปรับอากาศใชเพียงแค 30 เปอรเซ็นต อี ก 70 เปอร เ ซ็ น ต ที่ เ หลื อ ใช ไ ปในการรี ด ความชื้ น ออกจากหอง ดังนั้นหากตองการใหเครื่องปรับอากาศ ทํางานนอยลง ก็อยานําความรอนหรือนําของทีม่ คี วามชืน้ เขาไปไวในหองปรับอากาศ เชน กาตมนํา้ รอน กระถางตนไม เครื่องทําความรอนตาง ๆ เปนตน แหลงขอมูล : www.homepro.co.th

40

Energy#62_p40-41_Pro3.indd 40

12/17/13 10:36 PM


จากอากาศของบานเราในปจจุบันนั้น รอนเหลือเกิน ยิ่งรอนมากเราก็ยิ่งใช พลังงานมาก ทัง้ คาเครือ่ งปรับอากาศ คาพัดลม คาตูเย็น ลวนเปนคาใชจาย ดานพลังงานทัง้ สิน้ เพือ่ ไมใหคา ใชจา ย ในเรือ่ งพลังงานเพิม่ ขึน้ ไปกวานี้ วันนีจ้ ะมา แนะนําวิธที าํ ใหบา นของคุณเย็นขึน้ กัน เริม่ จากการจัดสภาพแวดลอมรอบ ๆ บาน ใหเย็นสบาย ดวยการปลูกตนไมใหญให รมเงา เพือ่ บังแดดทีส่ อ งลงมา แตการปลูก ตนไมใหญก็ตองหมั่นดูแลรักษา ตัดแตง กิง่ อยูเ สมอ เพราะตนไมใหญ กิง่ ไมกต็ อ ง ใหญตาม หากไมดแู ลรักษาใหดี กิง่ หักโคน ลงมา อาจทําความเสียหายตอบานได การ ปลูกตนไมบริเวณรอบ ๆ บาน นอกจาก จะใหความรมรื่นและใหรมเงาแกบานแลว ตนไมยังดึงความรอนจากอากาศรอบ ๆ ทํ า ให อุ ณ หภู มิ บ ริ เ วณใกล เ คี ย งลดลง เพราะตนไม 1 ตน เทียบเทากับ เครือ่ งปรับ อากาศ 1 ตัวทีเดียว ยิง่ ปลูกตนไมหลายตน ก็ยงิ่ ชวยใหบา นเย็นขึน้

เปิดบา้ นรับลม ชมธรรมชาติ ชว่ ยชาติประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ การเพิม่ บอนํา้ ในบานสักบอ เพือ่ เพิ่มความเย็นใหกับบาน ก็จะชวยรับมือกับ ความรอนและชวยประหยัดพลังงานลงได คือ การขุดบอนํา้ บริเวณบาน ก็เปนอีกวิธหี นึง่ ที่ใหนํ้าระเหยพาความรอนออกนอกบาน แต ทั้ ง นี้ บ  อ นํ้ า นั้ น ต อ งลึ ก เพี ย งพอคื อ มากกวา 1.5 เมตร ขึน้ ไป หากบอนํา้ ตืน้ กวานี้ นอกจากจะไม ช  ว ยระบายความร อ นแล ว ยังจะทําใหรอนมากขึ้นดวย แตหากบานใคร ทีม่ บี อ นํา้ อยูแ ลว แตความลึกไมถงึ 1.5 เมตร ก็สามารถแกไขไดโดยนําบัวมาปลูก ก็จะ สามารถบรรเทาความรอนได การเพิ่มความยาวของกันสาดบาน ก็เปน อี ก วิ ธี ห นึ่ ง หลายบ า นปลู ก สร า งมานาน

ไมสามารถหันบานหลบแดดได มีวิธีแก คือ กางรมใหบาน เพื่อใหตัวบานถูกแสงแดด นอยที่สุด อีกวิธีก็คือ ติดกันสาดใหยาวขึ้น เนือ่ งจากปจจุบนั การสรางบานนิยมลอกเลียน แบบบานทรงยุโรปทีม่ หี ลังคาสัน้ ซึง่ ไมเหมาะ กับสภาพภูมอิ ากาศเมืองไทย ดังนั้นจึงควร ติดกันสาดใหยาวขึ้นเชนเดียวกับบานไทย โบราณ เพื่อกันแสงแดดที่จะสองเขาบาน โดยตรง ลมธรรมชาติ ก็ เ ป น วิ ธี ค ลายร อ นอี ก วิ ธี ที่ สามารถทําไดงา ยดาย คือยอมใหลมพัดผาน แตกต็ อ งดูทศิ ทางของลมดวย เพราะถาบาน มีลมเย็นพัดผาน ก็ไมจําเปนตองเปดเครื่อง ปรับอากาศ ทิศทางลมหลัก คือ ลมฤดูรอน

พัดมาจากทางทิศใตและทิศตะวันตกเฉียงใต สวน ลมฤดูหนาว พัดมาจากทิศเหนือและ ตะวันออกเฉียงเหนือ หากเปดหนาตาง ประตู รับลมใหถกู ทิศ วางบานใหถกู ทิศ โอกาสรับลม ก็ จ ะมี ม ากขึ้ น นอกจากนี้ หากต อ งการ ประหยัดคาไฟ ก็ตองใชวิธีเปดบานรับแสง ธรรมชาติ นอกจากจะไมเปลืองคาไฟแลว ยังทําใหหองไมอับชื้นอีกดวย เมื่อทราบแลว วาบริเวณใดมีแสงและลมผานก็ควรปรับการ ใชสอยใหเหมาะสม เชน ตั้งโตะ เกาอี้นั่งเลน สําหรับพักผอน หามุมทีเ่ หมาะสม เพียงเทานี้ ก็ไมจาํ เปนตองเปดเครือ่ งปรับอากาศโดยไม จําเปนอีกตอไป แหลงขอมูล : www.homepro.co.th

41

Energy#62_p40-41_Pro3.indd 41

12/17/13 10:36 PM


How To Rainbow

จากไม้แขวนเสื้อเก่า ๆ กลายเป็นที่แขวนกุญแจสุดชิค บานแตละบานจะตองมีไมแขวนเสื้อเกา ๆ ที่คิดจะทิ้งไปก็ นาเสียดาย แบบนีน้ า จะนําเอามาแปลงโฉมเปลีย่ นหนาทีจ่ าก แขวนผามาเปนที่แขวนกุญแจกันดีกวา อุปกรณ

1. ไมแขวนเสื้อเกา ๆ (นํามาพันดวยผาลูกไม เพื่อความสวยหวาน) 2. ผาเช็ดจานสําเร็จรูปชนิดแข็ง หรือผาลายที่ชอบ ขนาด 33 × 38 เซนติเมตร 3. ผาสําหรับทํากระเปา ขนาด 9 × 10 เซนติเมตร จํานวน 3 ชิ้น 4. ผากุนสําเร็จรูปสําหรับทําขอบ ยาว 104 เซนติเมตร 5. ริบบิ้นผาสําหรับทําที่แขวน ยาว 13 เซนติเมตร จํานวน 5 เสน 6. กระดุมแปก 5 ชุด 7. กระดุม 5 เม็ด 8. เข็ม ดาย กรรไกร เข็มหมุด

วิธีทํา

1.เย็บกุนสําเร็จรูปรอบผา 3 ดาน (เวนดานบนไว) 2.พับริมผาทํากระเปา ดานบนกวาง 3 เซนติเมตร ดานที่เหลือ กวาง 1 เซนติเมตร แลวรีดทับ 3.วางตําแหนงกระเปาตามใจชอบแลวเย็บ 3 ดาน โดยเวนดานที่เปน ปากกระเปาไว 4.พับริมผาดานบนกวาง 1 เซนติเมตร แลวรีด จากนั้นนําไปพันกาน ไมแขวนเสื้อตรึงไวดวยเข็มหมุด เย็บใหเรียบรอย 5.นําริบบิ้นผามาจัดวางตําแหนงโดยใหปลายริบบิ้นสูงกวาริมผา ประมาณ 1 เซนติเมตรแลวเย็บ ติดกระดุมแปกที่ริบบิ้น โดยติด ตัวเมียที่ดานบน(เหนือ รอยเย็บ) และตัวผูที่ดานลางของริบบิ้น ติดกระดุมหลอกที่ดานหลังของริบบิ้นเพื่อความสวยงาม เทานี้เราก็จะไดที่แขวนกุญแจอันใหม พรอมทั้งชองใสของเล็ก ๆ นอย ๆ กันแลว ถาเพื่อนคนไหนวาง ๆ กลองมานั่งทํากันดูนะคะ (จาก: หนังสือ Sew Sweet หวาน หวาน งานผา)

42

Energy#62_p42-43_Pro3.indd 42

12/11/13 8:54 PM


โคมไฟจากลังกระดาษ ดีไซนเก ดวยสองมือ ป จ จุ บัน นี้ โคมไฟสวย ๆ ที่ ว างขายตามท อ งตลาดค อ นข า งจะมี ร าคาแพง ในวั น นี้ ทาง How to เลยนําไอเดียดี ๆ มีในการประดิษฐโคมไฟสวย ๆ แนว ๆ ไวใชเอง โดยใช วั ส ดุ เ หลื อ ใช เช น ลั ง กระดาษลู ก ฟู ก มาฝากกั น เผื่ อ เพื่ อ น ๆ จะเอาไว เปนไอเดียในการทําโคมไฟ ในราคาประหยัดกัน

วิธที าํ

1.นําเอากระดาษลังมาทําการตัดใหเปนสีเ่ หลีย่ ม ขนาด กวาง 20 นิว้ ยาว(สูง) 7 นิว้ หากลังกระดาษมีลวดลาย ตัวอักษร ก็ใหกาํ หนดใหลวดลายนัน้ อยูด า นในโคม 2.นํากระดาษลังที่วัดขนาดและตัดไวมาทําการพับ ใหเปนรูป 5 เหลีย่ มดานเทาดังภาพ (4 นิว้ ตอ 1 ชวง การพับ) โดยใชมดี คัตเตอรกรีดบริเวณผิวนอกของ กระดาษตืน้ ๆ กอนพับ 3.นํากระดาษทีท่ าํ รอยพับไวแลวมากางออกกับพืน้ จากนัน้ วัดขนาดกระดาษแลวตัดตามความสูงของโคม ความกวางชิน้ ละ 1 นิว้ จํานวน 7 ชิน้ 4.นําแตละชิน้ ของกระดาษทีต่ ดั ไวมาทําการทากาวรอน และติดไวเปนชัน้ ๆ ตามภาพ ทิง้ ไวใหกาวแหง

กอนอื่นเรามาเตรียมอุปกรณกันคะ

1. กลองกระดาษลูกฟูก,ลังกระดาษลูกฟูก 2. หลอดไฟแบบประหยัด 14 วัตต แสงสีสม 1 หลอด 3. สายไฟ ขั้วหลอด 4. กาวรอน 5. คัตเตอร,ไมบรรทัด,ดินสอ

5.ตัดกระดาษเปนรูป 5 เหลีย่ ม โดยใหแตละดานยาว ดานละ 4 นิ้ว นําเอาขั้วหลอดไฟที่ประกอบกับสาย เรียบรอยใสบริเวณตรงกลางของกระดาษทีเ่ จาะรูไว 6.นํากระดาษทีต่ ดิ ขัว้ หลอดไฟไปทําการทากาวรอน ติดไวดา นบนสุดของชิน้ งานทีป่ ระกอบรอไว แลวรอ จนกาวแหงสนิทดี จากนัน้ จึงนําเอาสเปยเคลือบเงามา พนสีชนิ้ งานใหทวั่ เพี ย งเท า นี้ เ มื่ อ เราเอาหลอดไฟใส เ ข า ไปแล ว จึ ง นําไปแขวน เราก็จะไดโคมไฟสวย ๆ ดีไซดเก ๆ ที่ใชงบประมาณในการทําเพียงนอยนิดแลวละคะ (ขอบคุณขอมูลจาก http://ideadeedee.blogspot. com)

43

Energy#62_p42-43_Pro3.indd 43

12/11/13 8:54 PM


Eco shop อภัสรา วัลลิภผล

เป อเหวอ ป อหวอ ตุ กตาใยกล วย

ผลิตภัณฑ เป นมิตรกับสิ่งแวดล อม คุณเปล เลาถึงทีม่ าของการทําตุก ตาใยกลวยวา จริง ๆ แลวผมเริม่ จาก ที่บานมีตนกลวยเยอะมาก ซึ่งปกติแลวพอกลวยออกผลก็จะตาย ผมเห็นแบบนี้แลวนึกเสียดาย เลยคิดวาเรานาจะทําประโยชนจาก ตนกลวยพวกนีไ้ ด ผมจึงรวมตัวกับเพือ่ น ๆ พยายามหาขอมูลลองผิด ลองถูกไปเรือ่ ย ๆ จนคนพบวา ใยกลวยมีคณ ุ สมบัตทิ คี่ งทน เหนียว สามารถนํามาทําสิง่ ประดิษฐไดหลายอยาง ผมเลยลองมาทําเปนตุก ตาดู ตอนแรกที่ทําออกมาจะไมมีรูปรางหนาตาเหมือนอยางปจจุบันจะเปน แคตกุ ตาธรรมดา ๆ แตพอนานไปเราก็เริม่ พัฒนามาวาดหนาตาเขาไป เปนอารมณตาง ๆ จนวันนึงกลายเปนตุกตาใยกลวย ที่มีชื่อเรียกวา “ตุก ตาเปอเหวอ ปอหวอ” เปนภาษาเหนือทีม่ คี วามหมายแบบเฉพาะ ตัว เปอเหวอ หมายถึงเด็กผูช าย สวน ปอหวอ หมายถึง เด็กผูห ญิง มีจดุ ขายทีค่ วามนารัก นาเอ็นดูของตุก ตา และรูปแบบทีค่ อ นขางหลากหลาย สามารถใสขอ ความโดน ๆ ได และทีส่ าํ คัญคือความแปลกดานวัสดุที่ นํามาใช

“ตนกลวย”

ถือเปนพืชสารพัดประโยชนเรียกไดวา ใชไดตงั้ แตลาํ ตนจนไปถึงรากเลยทีเดียว ไมวา จะนํามาเปนอาหารของคน และสัตว ยารักษาโรค หรือแมกระทัง่ นําเอามาเปนของใชทสี่ ามารถเพิม่ มูลคาตนกลวยก็สามารถทําได อยางเชน “คุณเปล ” ยงยุทธ ยิง่ ยวด เปนอีกคนนึงทีห่ ยิบเอาใยกลวยมาทําตุก ตา ถือเปนงานแฮนดเมดทีด่ แู ลว ไมนา เชือ่ เลยวาจะทํามาจากตนกลวย…

กวาจะเปนตุกตาใยกลวยอยางในปจจุบันผมเองก็มีแอบกลัวบาง ในชวงแรก กลัววาทํามาจะมีคนซื้อหรือเปลา แตพอทําเขาจริง ๆ ผลตอบรับถือวาเปนที่นาพอใจ และนอกจากจะมีตุกตาใยกลวยแลว เรายังนําใยกลวยมาทําเปนกระดาษใยกลวยทีม่ คี ณ ุ สมบัตคิ ลาย ๆ กับ กระดาษสา และสามารถตอยอดไปทําเปน สมุดโนต พวงกุญแจ ทีเ่ สียบปากกา และกลองใสของก็สามารถทําไดเชนกัน ราคาขายของตุกตาใยกลวยเอาเขาจริง ๆ ไมแพงอยางที่คิด เพราะ ราคาเริม่ ตัง้ แต 39 บาท อยางเชน สมุดโนตจะมีใหเลือก 2 ราคา คือ เลมเล็ก ขนาดครึง่ หนึง่ ของกระดาษเอ 5 ราคา 75 บาท/เลม ถาเลมใหญ ขนาดเอ 5 ราคา 150 บาท/เลม สินคาขายดีจะเปนพวกตุก ตาใยกลวย พวงกุญแจ และสมุดโนต สําหรับผูอ า นทีส่ นใจ ตุก ตาเปอเหวอ ปอหวอ ตุก ตาใยกลวย ตุก ตาแฮนดเมด จากใยกลวย ฝมอื คนไทย ทําจากวัสดุจากธรรมชาติ สามารถติดตอไดที่ คุณเปล 08-2962-2297 หรือแวะชมสินคาไดที่ www.deecaa.com และ www.facebook.com/mydeecaa หรือหากใครมีไอเดียดี ๆ หรือโดน ๆ ก็สามารถสัง่ ทําไดครับ สุดทายคุณเปลมีวิธีทําตุกตาใยกลวยมาฝากกันดวย เผื่อบานใครมี ตนกลวยเยอะ ๆ สามารถนําไปทํากันได ไมหวงกัน… 1. นําตนกลวยไปปน เพื่อทําเปนกระดาษกอน (เหมือนกับการทํา กระดาษสา) 2. เสร็จแลวก็นาํ มาผสมกาว ผสมสีแลวปน เปนสวนตางๆ ของตุก ตา (เวลาปน จะมีวธิ กี ารคลายกับงานประเภทเปเปอรมาเช) 3. สรางสีสันดวยสีอะคริลิก สีโปสเตอร แตงแตมใหเปนหนาตาของ เปอเหวอ กับ ปอหวอ ดูรายละเอียดเพิม่ เติมที่ http://www.deecaa.com

44

Energy#62_p44_Pro3.indd 44

12/13/13 10:55 PM


Energy#62_p45_Pro3.ai

1

12/18/13

9:33 PM


Exclusive อภัสรา วัลลิภผล

46

Energy#62_p46-51_Pro3.indd 46

12/20/13 12:17 AM


กสิกรไทย สนับสนุนภาคอุตสาหกรรม ประหยัดพลังงาน ชวยลดตนทุนการผลิต

ในภาคอุตสาหกรรมถือวามีการใชพลังงานมากที่สุด จึงทําให ในปจจุบันมีการรณรงควิธีการประหยัดพลังงานใหแก สถานประกอบตาง ๆ ทางธนาคารกสิกรก็เปนอีกหนึ่งกําลังที่ตองการชวยเหลือภาคอุตสาหกรรมในเรื่องของลดการใช พลังงานโดยการชวยใหคําปรึกษาในการลดตนทุนการผลิตเพื่อใหไดผลิตกําไรที่เพิ่มขึ้น

คุ ณ วศิ น วณิ ช ย ว รนั น ท รองกรรมการ ผูจัดการ ธนาคารกสิกรไทย เปดเผยวา ปจจุบันทางธนาคารและภาครัฐไดใหความ สํ า คั ญ ในการใช พ ลั ง งานอย า งมี คุ ณ ค า ด ว ยการสนั บ สนุ น และเป ด โอกาสให ภ าค เอกชนไดเขาถึงขอมูลเกี่ยวกับวิธีประหยัด พลั ง งานให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น เช น การเปลี่ย นมาให ห ลอดประหยัด พลัง งาน แอลอีดี การติดตั้งโซลารเซลลบนหลังคา การปรั บ ปรุ ง อาคารเพื่ อ การใช พ ลั ง งาน อยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอุปกรณหรือระบบวิศวกรรม ตาง ๆ ซึ่งจะชวยใหผูประกอบการลดตนทุน ธุรกิจเพื่อเพิ่มผลกําไร ถาเรามองในเรื่องของเศรษฐกิจของประเทศ เรายังไมคอ ยโตขึน้ เทาไหร เห็นไดจากในตอนนี้ เรามีแรงกดดันมากขึน้ มีการแขงขันกันเยอะ ขึ้น ซึ่งในขณะเดียวกันตัวตลาดเองก็ไมได ขยายตัวเยอะ สําหรับตนทุนที่เพิ่มและเห็น ไดชัด คือ คาแรงที่ขึ้นสูง แรงงานหายาก การผลิตสวนใหญของเราอยูใ นหวงโซอาหาร ของเราเอง เรียกไดวาเราไมไดเปนผูผลิต ใหญที่สุด เราถือวาอยูตรงกลาง จึงทําให

ตนทุนเราสูงในขณะที่สภาพเศรษฐกิจอยู ในระดับกลางเทานั้น สิ่งที่เราสามารถทําได เราจะตองเพิ่มประสิทธิภาพใหมากยิ่งขึ้น หนึ่ ง ในการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพคื อ การลด การใช พ ลั ง งาน หรื อ การใช พ ลั ง งานในมี ประสิทธิภาพนั่นเอง จากขอมูลทางสถิติพบวาความตองการใช พลังงานของประเทศไทยมีอัตราแนวโนม สูงขึ้น โดยในชวงเดือนมกราคมถึงเมษายน 2556 ที่ผานมา มีการใชไฟฟารวมทั้งสิ้น 53,888 กิก ะวัตต ต อชั่วโมง เพิ่ ม ขึ้ น จาก ชวงเดือนกันของปกอน รอยละ 3.4 โดย ภาคอุตสาหกรรมการผลิตมีสัดสวนการใช กระแสไฟฟามากเปนอันดับ 1 คิดเปนรอย 37.7 ของการใชพลังงานไฟฟาทัง้ หมดของประเทศ ทั้งนี้ ที่ผานมาธนาคารกสิกรไดมีการจัด สัมมนาแนวคิดการประหยัดพลังงานเพื่อ สงเสริม ความรูใหภาคธุ รกิจในการนํ าวิธี การประหยัดพลังงานไปใช เพื่อลดต นทุน และเพิ่ ม ผลกํ า ไรใหกั บ องคก ร พร อ มทั้ ง เสนอบริการโปรแกรมสินเชื่อสนับสนุนใน โครงการจัดการพลังงาน ผานการใชบริการ

จากบริษัทจัดการพลังงาน ซึ่งเปนบริษัทที่ ปรึกษาและบริการจัดการดานพลังงานอยาง ครบวงจร ที่สามารถชวยลดการใชพลังงาน ไดถึงรอยละ 20-80 และสินเชื่อสนับสนุน การติ ด ตั้ ง ชุ ด อุ ป กรณ ผ ลิ ต ไฟฟ า จาก แสงอาทิตยบนหลังคา ซึ่งธนาคารจะใหการ สนับสนุนทางการเงินแกภาคอุตสาหกรรม และครัวเรือน คุณวศิน กลาวทิ้งทายวา จริง ๆ แลวผม อยากจะใหมองเรื่องการประหยัดพลังงาน เปนเรื่องที่เราสามารถทํากันไดจริง ๆ ไม อยากใหตองกังวล เพราะตอนนี้เรามีบริษัท ใหคําปรึกษาดานพลังงานที่จะเขามาชวยดู วาจะสามารถประหยัดพลังงานไดเทาไหร ผมอยากใหดา นผูป ระกอบการลองมาศึกษา ดู ก  อ นอย า พึ่ ง ตั ด สิ น ใจ และถ า สุ ด ท า ย คุ ณ เป น ลู ก ค า ของธนาคารแล ว รั บ รอง เลยวาธนาคารจะไมทิ้งคุณ ไมใชแคเพียง ธนาคารกสิกรเทานั้น ทุกธนาคารใหความ สํ า คั ญ ตรงนี้ ห มด เพราะฉะนั้ น เรื่ อ งเงิ น ไมเปนปญหา ถาเราประหยัดพลังงานได ผมคิดวาเรามีเงินเหลือที่จะพัฒนาในดาน อื่ น ๆ ได อี ก มาก ผมเชื่ อ อย า งนั้ น

47

Energy#62_p46-51_Pro3.indd 47

12/20/13 12:18 AM


Exclusive อภัสรา วัลลิภผล

48

Energy#62_p46-51_Pro3.indd 48

12/20/13 12:18 AM


ม.กรุงเทพปลูกฝงนักศึกษา สรางจิตสํานึกใชพลังงานใหคุมคา

ในป จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย ต า ง ๆ หั น มา ให ค วามสํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ การประหยั ด พลั ง งานมากขึ้ น ไม ว  า จะเป น การปลู ก จิตสํานึกใหกับนักศึกษาถึงการตระหนัก ในการการใช พ ลั ง งานอย า งมี คุ ณ ค า ตลอดจนการสรางอาคารประหยัดพลังงาน การนําเทคโนโลยีใหม ๆ เขามาเพื่อลดคา ใชจายตาง ๆ ใหกับทางมหาวิทยาลัยเอง เชนเดียวกับ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่เปน อีกมหาวิทยาลัยหนึ่งที่เล็งเห็นความสําคัญ ในการใชพลังงาน การสรางจิตสํานึกใหแก นักศึกษาใหรจู กั การใชพลังงานอยางถูกวิธี

อาจารยณรงคฤทธิ์ สินธุสังข ผูอํานวยการ สํ า นั ก บริ ห ารกายภาพและสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิ ท ยาลั ย กรุ ง เทพ (วิ ท ยาเขตรั ง สิ ต ) กลาววา เมื่อพูดถึงเรื่องของนโยบายที่เกี่ยว กับการประหยัดพลังงานจริง ๆ แลวทาง มหาวิทยาลัยยังเปนสถาบันการศึกษาที่เปน หนึ่งในประเภทอาคารควบคุมการประหยัด พลังงานตามพระราชบัญญัติฉบับป 2535 (ปจจุบันไดปรับปรุงเปนฉบับป 2540) หนาที่ หลั ก ของสํ า นั ก งานบริ ห ารกายภาพและ สิ่งแวดลอม เปนเรื่องของหนาที่รับผิดชอบ และความตระหนั ก ในเรื่ อ งของพลั ง งานที่ เปนภาพรวมของระดับประเทศและระดับโลก เปนการศึกษาขอมูลดานตาง ๆ เพื่อนํามา ประกอบขอมูลในดานวางแผนออกแบบการ กอสรางงาน ภูมิทัศนภายในมหาวิทยาลัย พื้นที่เปาหมายในการพัฒนา รวมไปถึงการ ปลูกจิตสํานึกใหแกนักศึกษาในรูจักวิธีการ ประหยัดพลังงาน สําหรับจุดเดนของทางมหาวิทยาลัย อยูใน สวนของอาคาร “BU Diamond” ที่เปน อาคารรูปทรงเพชรที่เปนแหงแรกและแหง เดียวในประเทศไทย เปนการออกแบบอาคาร ใหเปน Icon of Creativity ทีมีฟงกชั่น ครบครั น ใช ง านได จ ริ ง กลุ  ม อาคาร BU Diamond ประกอบด ว ย 3 ส ว น ใน 1 อาคาร เปน Icon of Creativityสัญลักษณ แห ง ความสร า งสรรค ที่ ไ ม ไ ด ส ะท อ นถึ ง

แตภาพลักษณของมหาวิทยาลัยกรุงเทพ เพียงอยางเดียว แตยงั เปน Icon of Creativity ในระดับชาติและนานาชาติ เนื่องจากเปน อาคารทีไ่ ดรบั รางวัลดานสถาปตยกรรมดีเดน ระดับนานาชาติ The ARCASIA Awards for Architecture 2011 ประเภท Public Amenity: Institutional Building จาก สมาคมสถาปนิกเอเชีย ออกแบบโดย บริษทั A49 นอกจากนัน้ BU Diamond ยังนับเปน Green Architect ทีม่ กี ารใชระบบ Building Automation Systems (BAS) ในการ ควบคุมการทํางานของระบบสาธารณูปโภค ทัง้ หมดของอาคาร และมีการนําวัสดุรไี ซเคิล มาใชเพื่อใหสอดคลองตอกระแสอนุรักษ สิง่ แวดลอมไดในระยะยาว อาคาร BU Diamond กอสรางดวยระบบ โครงสรางพิเศษทีใ่ ชเทคโนโลยีลาํ้ สมัย ใหเปน อาคารเพือ่ สิง่ แวดลอม Green Architecture และเปนอาคารประหยัดพลังงานทีเ่ นนการใช แสงสวางจากธรรมชาติ รองรับทิศทางลม ทั่วถึงทําใหประหยัดพลังงานไฟฟา อีกทั้ง ยังเปนอาคารที่มีระบบควบคุมอัตโนมัติ ใช วัสดุนอ ย ไมซอ นโครงสราง ประหยัดทรัพยากร ทันสมัย และดูแลงาย และไดมาตรฐานความ ปลอดภัยตามมาตรฐานระดับสากล สวนการ วางผังอาคาร การจัดวางสระนํา้ Reflecting Pool ไวสว นหนาของกลุม อาคารเพือ่ สะทอน รูปทรงของอาคาร รวมทั้งทําหนาที่เปนพื้นที่

รองรับการระบายนํ้าของมหาวิทยาลัย การ วางผังอาคารไดถกู ออกแบบดานทัศนียภาพ มุมมอง เพือ่ เชือ่ มการมองเห็นจากภายนอกสู ภายในวิทยาเขตของมหาวิทยาลัย อาจารยณรงคฤทธิ์ กลาวตอวา โครงการตาง ๆ ที่ เ กี่ ย วขอ งกั บ พลั ง งานเรามี ที่ ป รึ ก ษาคื อ กระทรวงพลังงานทีค่ อยเสนอแนะ ใหความรู ตาง ๆ พรอมทัง้ ยังนําเทคโนโลยีใหม ๆ มาให เสมอ และนอกจากทางมหาวิทยาลัยจะมีอาคาร ประหยัดพลังงานแลว เรายังมีการพัฒนา ผลงานของนักศึกษาในสวนของรถรับสง ภายในมหาวิทยาลัยที่ใชพลังขับเคลื่อนของ เครื่องยนตเปนเชื้อเพลิงไบโอดีเซล 100% ที่ ไ ด จ ากนํ้ า มั น ใช แ ล ว ซึ่ ง นอกความเป น มิตรตอสิ่งแวดลอมที่ชวยลดปญหานํ้ามัน เหลือทิ้งในระบบบําบัดนํ้าเสียแลว ยังชวย ตัดทอนการใชนาํ้ มันซํา้ ไป-ซํา้ มาไดอกี ดวย สํ า หรั บ การพั ฒ นาในส ว นต า ง ๆ ทาง มหาวิทยาลัยมีการนําเทคโนโลยีใหม ๆ เขามา ปรับปรุงใชตลอดเวลาอยูแ ลว แตทเี่ ราคํานึง ถึงมากทีส่ ดุ คือ การปลูกฝงวิธใี ชงานในสวน ตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการประหยัดพลังงานเพราะ ถาเราสรางอยางเดียว แตไมมใี ครใชอยางถูก วิธี การประหยัดก็จะไมเกิดผล ดวยเหตุนที้ าง เราจึงใหความสําคัญในเรือ่ งของการตระหนัก และปลูกฝงใหกับนักศึกษารูจักหลักการใช พลังงานอยางไรใหคมุ คาทีส่ ดุ ตรงนีถ้ อื เปน เรือ่ งทีเ่ ราใหความสําคัญมาก 49

Energy#62_p46-51_Pro3.indd 49

12/20/13 12:18 AM


Exclusive ณ อรัญ

50

Energy#62_p46-51_Pro3.indd 50

12/20/13 12:18 AM


คุยกับอธิบดีกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

กรณีเตรียมเปดสัมปทานปโตรเลียมรอบที่ 21 จากกรณีทมี่ ตี วั แทนคณะกรรมการประชาชนเพือ่ การเปลีย่ นแปลงประเทศไทยใหเปนประชาธิปไตยทีส่ มบูรณอนั มีพระมหากษัตริยเ ปน ประมุข (กปปส.) ไดยื่นหนังสือคัดคานการใหสัมปทานปโตรเลียมรอบที่ 21 ในชวงปใหม 2557 นั้น ทําใหผูบริหารระดับสูงในกระทรวง พลังงานตองรีบออกมาชี้แจงขอเท็จจริงตอประชาชนเปนการเรงดวน

สําหรับกรณีดงั กลาว คุณทรงภพ พลจันทร อธิบดีกรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติ กระทรวงพลังงาน ไดออกมาชี้แจงวา ไมมีนโยบายที่จะอาศัย ชวงชุลมุนของบานเมืองเปดใหมีการยื่นขอ สัมปทานปโตรเลียมในชวงตน ป 2557 ตาม คํากลาวหาดังกลาวแตประการใด เนื่องจาก การเปดใหยื่นขอสัมปทานปโตรเลียมรอบ ที่ 21 ขณะนี้อยูในขั้นเตรียมการ ซึ่งเปนการ ดําเนินงานตามปกติของกรมอยูแ ลวทีจ่ ะเปด ใหเอกชนที่สนใจยื่นขอสัมปทานเพื่อสิทธิ สํารวจและผลิตปโตรเลียมทุก 3-5 ป ซึ่ง ครั้ ง ล า สุ ด ได เ ป ด ให ยื่ น ขอสั ม ปทานเมื่ อ ป 2550 เปนเวลากวา 6 ปแลว การที่เปด ให มีก ารยื่ น ขอสัม ปทานเพื่อ ใหผูส นใจได เขามาลงทุนสํารวจและผลิตปโตรเลียมใน พื้นที่บริเวณตาง ๆ ของประเทศเพื่อเพิ่ม โอกาสในการพบแหลงปโตรเลียมแหลงใหม และเปนการเพิ่มปริมาณสํารองปโตรเลียม ของประเทศไทย โดยคาดวาในครั้งนี้จะออก ประกาศเชิ ญ ชวนให เ อกชนเข า มายื่ น ขอ สัมปทานฯประมาณเดือนมิถุนายน 2557 ซึง่ เปนไปตามแผนงานไมไดเรงรีบออกในชวง ชุลมุนตามคํากลาวหา โดยการเตรียมการเปดใหยื่นขอสัมปทาน ปโตรเลียมในขั้นตอนแรกจะตองพิจารณา วาจะเปดใหยื่นในบริเวณใดที่มีโอกาสจะพบ ปโตรเลียมเพื่อกําหนดแปลงสํารวจ หากมี พื้นที่ใดอยูในเขตปาสงวนหรืออุทยานแหง ชาติจะตองประสานกับหนวยงานเกี่ยวของ เพื่ อ หาแนวทางที่ เ หมาะสมหรื อ กํ า หนด เงื่อนไขที่จําเปนในการดําเนินงาน นอกจาก นั้ น ในการเปด สัม ปทานยั ง จะต อ งกํา หนด

ปริ ม าณงานและปริ ม าณเงิ น ขั้ น ตํ่ า ในการ ดําเนินงานของแตละแปลงสํารวจ ตลอดจน ผลประโยชน เ พิ่ ม เติ ม ที่ รั ฐ ควรได รั บ นอกเหนื อ จากที่ ก ฎหมายกํ า หนด คื อ คาภาคหลวงปโตรเลียม ภาษีเงินได และ ผลประโยชนตอบแทนพิเศษ เพื่อใหประเทศ ได รั บ ผลตอบแทนในจํ า นวนที่ เ หมาะสม ซึ่ ง เรื่ อ งการเป ด สั ม ปทานจะต อ งนํ า เสนอ คณะกรรมการป โ ตรเลี ย มตามกฎหมาย ว า ด ว ยป โ ตรเลี ย มและรั ฐ มนตรี ว  า การ กระทรวงพลังงานพิจารณาใหความเห็นชอบ กอนจึงจะดําเนินการได ส ว นในเรื่ อ งของระบบบริ ห ารจั ด การ ปโตรเลียมเกี่ยวกับกรรมสิทธิ์ปโตรเลียม วาเปนของรัฐหรือเอกชนในทางปฏิบัติไม ได มี ค วามแตกต า งกั น ไม ว  า จะเป น ระบบ สัมปทานหรือระบบแบงปนผลผลิต เพราะ การใชประโยชนจากปโตรเลียมไมวา จะอยูใ น ระบบใด รัฐสามารถกําหนดใหใชประโยชน ภายในประเทศไดอยูแลว ปโตรเลียมที่ผลิต ไดในประเทศไทยเกือบทั้งหมดถูกใชภายใน ประเทศมีเพียงนํ้ามันดิบสวนนอยที่ไมเปนที่ ตองการของโรงกลัน่ ภายในประเทศจึงตองสง ออก สวนกาซธรรมชาติทผี่ ลิตไดใชประโยชน ภายในประเทศทั้ ง หมดในส ว นของมู ล ค า ปโตรเลียมที่ไดจากการขายนั้นทั้งสองระบบ คลายคลึงกันคือมูลคาปโตรเลียมที่ขายได หลังจากหักคาใชจา ยแลว สวนทีเ่ หลือจะแบง กันระหวางรัฐกับผูประกอบการ แตจะแตก ตางกันที่เครื่องมือหรือกลไกในการจัดเก็บ ซึง่ จะจัดเก็บมากหรือนอยนัน้ สามารถระบุเปน จํานวนรอยละทีอ่ ยูใ นกลไกการจัดเก็บนัน้ ๆได

ระบบการจั ด เก็ บ รายได ข องรั ฐ จากการ ประกอบกิจการปโตรเลียมของประเทศไทย เป น ระบบสั ม ปทาน โดยมี ก ารจั ด เก็ บ ค า ภาคหลวงปโตรเลียมจากมูลคาการขายใน อัตรารอยละ 5-15 และเมื่อหักคาใชจาย ในการลงทุนและมีกําไรแลวก็จะแบงกําไร ระหวางรัฐกับเอกชนฝายละครึ่งในรูปภาษี เงิ น ได ป โ ตรเลี ย มในอั ต ราร อ ยละ 50 ซึ่ ง เปนอัตราที่สูงกวาภาษีเงินไดนิติบุคคลหรือ บริษัทที่จัดเก็บในอัตรารอยละ 23 นอกจาก นั้นยังมีการเรียกเก็บผลประโยชนตอบแทน พิเศษในอัตรารอยละ 0-75 ในกรณีที่ผูรับ สัมปทานพบแหลงปโตรเลียมขนาดใหญ หรื อ ป โ ตรเลี ย มมี ร าคาสู ง ก็ ต  อ งจ า ยผล ประโยชนตอบแทนใหรฐั เพิม่ ขึน้ นอกจากนัน้ รัฐยังไดรบั ผลประโยชนอนื่ ๆ ในรูปโบนัสการ ลงนาม โบนัสการผลิต หรือเงินอุดหนุนเพื่อ พัฒนาปโตรเลียมในประเทศไทยดวย ทัง้ นี้ กรมเชือ้ เพลิงธรรมชาติขอยืนยันวาไมมี การเรงรัดใหเปดสัมปทานโดยอาศัยชวงวิฤต ของบานเมืองแตปจจุบันอยูในชวงเตรียม การดําเนินงานตามขั้นตอนปกติของแผน งานควบคูก บั การพิจารณาผลประโยชนของ รัฐที่จะไดรับใหความเหมาะสมกับศักยภาพ ปโตรเลียมของประเทศ ซึ่งเปนการดําเนิน การตามความรับผิดชอบของหนวยงาน และ มีความยินดีจะรับคําแนะนําทีเ่ ปนประโยชนทงั้ จากภาครัฐและเอกชน เพือ่ ใหการดําเนินการ เปดสัมปทานปโตรเลียมในครั้งนี้กอใหเกิด ประโยชนสงู สุดแกประเทศอยางแทจริง

51

Energy#62_p46-51_Pro3.indd 51

12/20/13 12:18 AM


Energy#58_p23_Pro3.ai

1

8/28/13

9:58 PM


Special Report กรีนภัทร

กระทรวงพลั ง งาน ได พ ยากรณ ค วาม ตองการพลังงานในอนาคตของประเทศไทย ป 2564 โดยคาดว าจะมี ความต องการ พลังงาน 99,838 พันตันเทียบเทากับนํา้ มัน ดิบ โดยแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของ ไทยพ.ศ. 2553 – 2573 และแผนพัฒนา พลั ง งานทดแทนและพลั ง งานทางเลื อ ก พ.ศ. 2555 – 2564 ไดกาํ หนดใหมสี ดั สวน การใช พ ลั ง งานทดแทน ทั้ ง พลั ง งาน แสงอาทิ ต ย พลั ง งานลม พลั ง งานนํ้ า พลั ง งานจากขยะ พลั ง งานชี ว มวล และ จากก า ซชี ว ภาพ เป น ต น โดยเพิ่ ม ขึ้ น จาก 7,413 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบใน ป 2555 เปน 25,000 พันตันเทียบเทา นํ้ า มั น ดิ บ ในป 2564 หรื อ คิ ด เป น 25% ของการใชพลังงานรวมทัง้ หมด

กระทรวงพลังงาน เรงหาพลังงานทดแทน กอนกาซธรรมชาติอาวไทยจะหมด

นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัดกระทรวง พลังงาน เผยวา สําหรับแผนพัฒนากําลัง การผลิตไฟฟาของประเทศไทยประเมินวา ภายใน 14 ปขางหนาจําเปนตองมีโรงไฟฟา ขนาดกําลังการผลิต 1,000 เมกะวัตต อยาง นอย 4 โรง จึงจะเพียงพอกับความตองการใช แตการสรางโรงไฟฟาขึ้นใหมในประเทศไทย ยังมีปญ  หาเรือ่ งการสรางความรูค วามเขาใจ กับประชาชน ซึ่งในอนาคตอันใกล หรืออีก 10 ป ข  า งหน า หากก า ซหมดจากอ า วไทย ประเทศไทยจะต อ งพึ่ ง พาการนํ า เข า ก า ซ ธรรมชาติจากนอกประเทศ ขณะที่โครงการ ขุดเจาะและสํารวจใหม ๆ รวมถึงการพยายาม รักษาระดับการผลิต ยังไมสามารถชดเชย กับกําลังผลิตที่ลดลงได

สวนสถานการณพลังงานในประเทศไทยใน ปจจุบนั ยังตองพึง่ พาการนําเขาพลังงานจาก ตางประเทศเปนหลัก โดยมีสดั สวนการนําเขา นํา้ มันสูงถึง 80% ของปริมาณการใชนาํ้ มัน ทั้งหมดภายในประเทศ โดยมีการใชนํ้ามัน ดีเซลวันละ 55.8 ลานลิตร กาซโซฮอลลวนั ละ 12 ลานลิตร นํา้ มันเบนซิน 91 วันละ 8.6 ลานลิตร กาซ LPG วันละ 20,000 ตัน สงผลใหมกี ารนํา เขาพลังงานในป 2555 ทีผ่ า นมา คิดเปนมูลคา รวมถึง 1.45 ลานลานบาท และในป 2556 ทีผ่ า นมานี้ มียอดนําเขารวมคิดเปนมูลคาสูงถึง 1.6 ลานลานบาท

อย า งไรก็ ต าม ความต อ งการใช ก  า ซใน ประเทศไทย ยังมีการขยายตัวอยางตอเนือ่ ง ขณะทีแ่ หลงกาซขนาดใหญของประเทศพมา ในอนาคตไทยอาจจะไมไดรบั สัมปทาน เนือ่ งจาก พมาเองก็ตอ งสงวนกาซธรรมชาติไวใชพฒ ั นา อุตสาหกรรมภายในประเทศเชนกัน สวนกาซ จาก JDA ก็ตองแบงกับประเทศมาเลเซีย คนละครึง่ ทางเดียวทีเ่ หลืออยูก ค็ อื การนําเขา กาซธรรมชาติเหลว หรือแอลเอ็นจี จาก ตางประเทศ ซึง่ มีราคาแพงกวากาซธรรมชาติ ทีผ่ ลิตในอาวไทยมากกวาเทาตัว จึงกลายเปน ปญหาสําคัญของโรงไฟฟาภายในประเทศที่ ตองพึ่งพากาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง โดย ตามแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา หรือ พีดพ ี ี 2010 ฉบับแกไขครัง้ ที่ 3 จะตองนําเขา แอลเอ็นจี 2 ลานตันในป2556 และเพิม่ เปน 3 ลานตันใน ป 2557 นี้ สิน้ สุดที่ 5 ลานตันใน ป 2559 สําหรับเทอรมนิ อลเฟส 1 ทีล่ งทุนโดย กลุม ปตท. แลวจึงจะเปดโครงการเทอมินอล เฟส 2 ทีก่ าํ หนดแลวเสร็จภายในป 2560 ซึง่ จะทําใหมถี งั เก็บแอลเอ็นจีเพิม่ อีก 2 ถัง และ มีทา เรือสวนขยายเพิม่ อีก 1 เทา เพือ่ ความ สะดวกในการรองรับแอลเอ็นจีอกี 10 ลานตัน

นายสุ เ ทพ กล า วทิ้ ง ท า ยว า แม ป  จ จุ บั น พลังงานทางเลือกยังไมสามารถตอบสนอง ความตองการใชของประชาชนไดเทาที่ควร แตในอนาคตเมื่อพลังงานกระแสหลักอยาง กาซธรรมชาติและนํ้ามันมีราคาพุงสูงขึ้น ๆ ผูคนจะเริ่มยอมรับไมได เมื่อนั้นพลังงาน ทางเลือกจะเขามามีบทบาทมากขึ้น แมวา จะตองใชเวลาก็ตาม ซึ่งกวาที่พลังงานทาง เลือกจะเขามาทดแทนพลังงานกระแสหลัก ได อ ย า งเต็ ม ที่ โดยมี ตั ว แปรในเรื่ อ งของ “ราคา” เขามามีสวนในการตัดสินใจ เพราะ ทราบกันดีวา ในปจจุบันพลังงานทดแทน และพลั ง งานทางเลื อ กอื่ น ยั ง มี ต  น ทุ น การ ผลิตสูง แตในระยะยาวจะมีความประหยัด ขึ้นมาก อีกทั้งยังเปนพลังงานสะอาด แลว ประชาชนก็จะยอมรับในที่สุด อยางไรก็ดี พลั ง งานทดแทน หรื อ พลั ง งานทางเลื อ ก เมื่ อ มี ก ารพั ฒ นาและนํ า มาใช อ ย า งเต็ ม ที่ จะเป น การสรา งความมั่ น คงทางพลั ง งาน ในอนาคตใหกับประเทศ และไมตองกังวล เรื่องกาซวาในอีก 10 ป หรือ 20 ป จะหมด ไปจากอาวไทยดวย

53

Energy#62_p53_Pro3.indd 53

12/20/13 12:21 AM


Special Report รังสรรค อรัญมิตร

ประเทศไทยนัน้ มีศกั ยภาพเพียงพอในการพัฒนา พลั ง งานทดแทนประเภท Bio Energy หรื อ พลั ง งานทดแทนที่ ม าจากพื ช ทางการเกษตร และมูลสัตว อยางไบโอแมส ไบโอแกส เอทานอล ไบโอดีเซล รวมถึง ขยะ นอกจากศักยภาพดาน วัตถุดิบที่เพียงพอแลว ดานเทคโนโลยีในปจจุบัน โครงการศึกษาดานพลังงานทดแทนหลายหนวย งานไดคิดคนเทคโนโลยีใหสามารถรองรับการ ใชงานไดจริง และสามารถพัฒนาตอยอดในเชิง พาณิชยไดหากหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของมี การสงเสริมอยางจริงจังและตอเนือ่ งกวาทีผ่ า นมา

ศักยภาพกาซชีวภาพ CBG สามารถทดแทนกาซหุงตม LPG และ NGV ทั้ ง นี้ ผู  เ ขี ย นได มี โ อกาสไปศึ ก ษาดู ง านที่ “โครงการเพิ่ ม ศั ก ยภาพการผลิ ต ก า ซ ชี ว ภาพจากพื ช พลั ง งานเพื่ อ ทดแทน ก า ซป โ ตรเลี ย มเหลวในเชิ ง พาณิ ช ย ” เพือ่ ศึกษาระบบผลิตกาซชีวภาพอัดสําหรับ ทดแทนกาซหุงตม (แอลพีจ)ี ทีส่ ถาบันวิจยั และพัฒนาพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัย เชียงใหมจึงไดนํามาเปนตัวอยางสําหรับ โครงการทีต่ อ งการพัฒนาพลังงานทดแทน สําหรับชุมชนและพัฒนาใชในเชิงพาณิชย

54

Energy#62_p54-55_Pro3.indd 54

12/11/13 9:07 PM


สําหรับการพัฒนาผลิตกาซไบโอมีเทนอัด CBG ของ สถานีจายกาซนั้นสามารถผลิตเปน CBG ไดถึง 420 กิโลกรัมตอวัน หรือ 153,300 กิโลกรัมตอป ซึง่ มีราคา ตนทุนในการผลิต 12 บาทตอกิโลกรัม สามารถนํามา ทดแทนกาซหุงตมไดถงึ 133,000 กิโลกรัมตอป อยางไรก็ตามเมือ่ ทดสอบการใชกา ซ CBG ในภาคครัว เรือนเปนเชือ้ เพลิงใชกบั เตาแกสหลายแบบ เพือ่ เทียบ เทากับกาซหุงตม LPG พบวาเตาแกสแรงดันสูงที่ ความดัน 1.2 bar มีความเหมาะสมในการนํามาใชงาน เนื่องจากมีลักษณะเปลวไฟและใหอัตราประสิทธิภาพ ความรอนทีใ่ กลเคียงกับกาซหุงตมมากทีส่ ดุ พรอมกันนี้สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค ไดพัฒนาถังบรรจุกาซชีวภาพ CBG ขนาด 45 ลิตร ให เ หมาะสมกั บ การใช ง านและมี ค วามปลอดภั ย โดยปจจุบนั ทางสถาบันไดดาํ เนินการทดสอบใชงานจริง ในครั ว เรื อ นหรื อ ชุ ม ชนต น แบบจํ า นวนไม น  อ ยกว า 100 ครัวเรือน เพือ่ ประเมินผลและสรางความเชือ่ มัน่ ใหกบั ผูป ระกอบการ ประชาชนทัว่ ไป รวมถึงผูบ ริโภคอืน่ ๆ ที่ สนใจนําไปปรับพัฒนาและประยุกตใชในเชิงพาณิชยตอ ไป

สํ า หรั บ โครงการดั ง กล า วนั้ น ได รั บ งบประมาณสนั บ สนุ น จาก สํานักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กวา 33 ลานบาทจากกองทุน เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน เพื่อพัฒนาระบบผลิตกาซชีวภาพ CBG สําหรับทดแทน NGV เชื้อเพลิงสําหรับรถยนต และ LPG เชื้อเพลิงแกสหุงตม เพื่อสรางตนแบบศูนยสาธิตระบบผลิตและ บรรจุกาซชีวภาพอัดสําหรับนําไปใชทดแทนกาซหุงตมในครัวเรือน และสามารถนําไปประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรม

สําหรับการพัฒนากาซชีวภาพในประเทศไมวาจะใช ในระบบขนสงหรือใชในภาคครัวเรือนในปจจุบันนั้น ประเทศไทยมีศักยภาพดานการผลิตกาซชีวภาพทั้ง ภาคปศุสตั ว โรงงานอุตสาหกรรม และชุมชน ทีม่ มี าก ถึง 1,170 ลาน ลบ.ม.ตอป ซึ่งกระจายตัวอยูทั่วทุก ภาคของประเทศไทย สามารถนํามาผลิตเปนกาซ CBG ไดถึง 600 ลานกิโลกรัมตอป ซึ่งมีราคาตนทุนอยูที่ 12 บาท ตอกิโลกรัม และสามารถนําไปทดแทนกาซหุงตม (LPG) ไดอยางมีประสิทธิภาพถึง 600 ลานกิโลกรัมตอป และหากคิดราคา LPG ในปจจุบนั จะมีมลู คาถึง 10,878 ลานบาทตอป

โดย รองศาสตราจารยประเสริฐ ฤกษเกรียงไกร ผูอํานวยการ สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม เลาวา การดําเนินการทีผ่ า นมาสถาบันฯ ไดคัดเลือกฟารมปศุสตั วทมี่ ี ศักยภาพในการนํากาซชีวภาพมาผลิตเปนกาซ CBG และเปนฟารม ที่อยูใกลชุมชน โดยสถาบันฯ ไดรับความรวมมือจาก บริษัท รวมพร มิตรฟารม จํากัด ซึ่งตั้งอยูที่ อําเภอสันปาตอง จังหวัดเชียงใหม เปน ฟารมเลี้ยงไกไข ที่มีปริมาณกาซชีวภาพขนาด 1,000 ลูกบาศกเมตร โดยดึงกาซชีวภาพทีผ่ ลิตไดในฟารมมาปรับปรุงคุณภาพเพือ่ ผลิตเปน กาซ CBG ณ สถานีจา ยกาซ และอัดกาซของสถาบันฯ สําหรับทดแทน NGV เชือ้ เพลิงสําหรับรถยนต และลาสุดไดพฒ ั นาปรับปรุงกาซ CBG ใหสามารถทดแทนกาซหุงตม LPG ในภาคครัวเรือน 55

Energy#62_p54-55_Pro3.indd 55

12/11/13 9:07 PM


Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคํา

ตองยอมรับวาหลายประเทศในโลก ไดใหความสําคัญกับเรือ่ งของพลังงาน ทีก่ าํ ลังจะหมดไปอยางนํา้ มัน อยางทีเ่ ราทราบกันดีสมัยเรียนตัง้ แตเล็กจนโต วา “นํา้ มัน” ทีเ่ ราใชกนั อยู เทาทีจ่ าํ ความได ไดมาจากการทับถมของซากพืช ซากสัตวมาตัง้ แตโบราณกาลมานับลานป หากเราจะรอผลิตใหมเพือ่ ใชเอง ก็คงตองรอไปอีกหลายลานปเชนกัน มนุษยทไี่ ดชอื่ วาฉลาดทีส่ ดุ นัน้ คงไมรอ นํ้ามันที่จะเกิดใหมอีกแนนอน จึงตองหาทางรอดใหกับแหลงพลังงาน ที่กําลังจะหมดไปใหได

รถยนตไฟฟา ไมไกลเกินรอ

56

Energy#62_p56-58_Pro3.indd 56

12/13/13 11:01 PM


ไมตอ งสงสัยวานัน้ คือ รถยนตพลังงานไฟฟา อยางแนนอน แตในทางตรงกันขาม รถยนต พลังงานไฟฟา มีการใชและจําหนายมานาน พอสมควรสําหรับในตางประเทศและราคาก็ไม ตางจากรถยนตเครือ่ งยนตสนั ดาปแบบปกติ มากนัก ซึ่งในบานเราก็มีใชบางแลวสําหรับ ผูใชรถยนตบางกลุม เพราะมีการนําเขามา จําหนายโดยผูน าํ เขารถยนตอสิ ระ ซึง่ แนนอน วาเรือ่ งของราคา ยังคงสูงอยูแ ละเปนการยาก ทีค่ นธรรมดาทีม่ ใี จรักษสงิ่ แวดลอมจะสามารถ เอื้อมถึงได ตกราคาคันละ 2-3 ลานบาท อีกทัง้ ประเทศไทยเองยังไมมกี ารผลิตรถยนต พลังงานไฟฟาในเชิงพาณิชยแตอยางใด

การเผาผลาญนํา้ มันของชาวโลกเกิดขึน้ หลัง จากทีม่ กี ารปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรมเกิดขึน้ ทัว่ โลก ภาคอุตสาหกรรมมีการแขงขันและเติบโต อยางรุนแรง เครื่องมือที่เปนเครื่องทุนแรง ของมนุษยยุคนั้น ตองยกใหกับเครื่องจักร ไอนํา้ ซึง่ ถือวาสามารถชวยเพิม่ ความสะดวก สบายไดไมนอย แตขึ้นชื่อวามนุษย เรื่อง ของความตองการยอมไมมีวันสิ้นสุดงาย ๆ กอนที่จะถูกเปลี่ยนมาสูยุคของเครื่องยนต สันดาปแบบในปจจุบัน ที่มีตัวแปรดานการ ขับเคลื่อนจากใตดินอยางนํ้ามัน และไดรับ ความนิยมจนแพรขยายอิทธิพลไปทัว่ โลก จน ณ วันนี้ ทุกคนในโลกมีสว นในการเผาผลาญ นํา้ มันใหหมดจากโลกใบนีใ้ หเร็วขึน้ โดยทีไ่ มรู ตัวโดยเฉพาะจากรถยนต เมื่อมนุษยตระหนักวานํ้ามันของเรากําลังจะ หมดไป จากสัญญาณเตือนดานราคา ทีไ่ ต ระดับขึน้ อยางตอเนือ่ งในชวงทศวรรษทีผ่ า นมา บริษทั รถยนตตา ง ๆ จึงตองหาทางออกอืน่ เพือ่ ลดการใชนาํ้ มัน แตครัน้ ทีจ่ ะไมใหมรี ถยนตบน โลกใบนีเ้ ลย คงเปนเรือ่ งทีไ่ กลตัวเกินไป เพราะ รถยนตเขามาเปนสวนหนึ่งของชีวิตมนุษย

เปนที่เรียบรอยแลว ถึงไดมีการหาทางออก โดยการออกแบบใหรถยนตยนตใชเชือ้ เพลิง จากนํ้ามันใหนอยลง ไมวาจะเปนรถยนตที่ ใชพลังงานทดแทน รถยนตที่ใชเครื่องยนต แบบลูกผสมระหวางเครื่องยนตกับมอเตอร ไฟฟา(HYBIRD) และรถยนตที่ใชมอเตอร ไฟฟา(EV : Electric Vehicle) หากจะพูดถึงรถยนตทใี่ ชเชือ้ เพลิงจากพลังงาน ทดแทน และเครือ่ งแบบ HYBIRD นัน้ บานเรา คงรูจ กั กันดี เพราะมีการจําหนายอยางแพร หลายมานาน แตสําหรับรถยนตที่ใชไฟฟา สมบูรณแบบโดยทีไ่ มมกี ารใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิง เลย ถามวาบานเรารูจ กั ไหม? คําตอบงาย ๆ คือ รูจ กั แลวทําไมถึงรูจ กั ? คําตอบคือ ก็ตา ง ประเทศเขาใชกนั มานานแลว

กอนหนานี้ คายรถยนตเชฟโรเลตไดมกี ารนํา รถยนตพลังงานไฟฟา Chevrolet Volt ที่ สามารถใชงานไดจริง ไมใชแคยานยนตแนวคิด หรือรถไฟฟาทีว่ งิ่ ตามสนามกอลฟ ทีต่ อ งกลาว เชนนีเ้ พราะยานยนตพลังงานไฟฟาถือเปนเรือ่ ง ใหมสําหรับประเทศไทย แตในประเทศใหญ ๆ อยาง สหรัฐอเมริกา หรือ จีน มีจาํ หนาย เปนทีเ่ รียบรอย เพือ่ ใหสอื่ มวลชนไดทดสอบ และใหผหู ลับผูใ หญไดเห็นวา รถยนตไฟฟา สามารถใชงานไดจริง แตประเทศไทยยังขาด ความชัดเจนดานกฎหมายและภาษี ซึง่ เปรียบ เสมือนเปนการแนะนําเทคโนโลยีทอี่ าจเปนไป ไดสําหรับประเทศไทยในการขับเคลื่อนดาน พลังงานทดแทน

สําหรับประเทศไทย รถยนตทใี่ ชพลังงานไฟฟา หรือ EV : Electric Vehicle ไมใชเรือ่ งทีไ่ กลตัว แตอยางไร หากทานเปนผูท ตี่ ดิ ตามขาวสารของ รถยนตประเภทดังกลาว หรือเคยสังเกตเห็น รถยนตรปู รางแปลก ๆ วิง่ บอกทองถนนอยาง ทีเ่ คยเห็นในสือ่ ตางประเทศ ทีม่ สี ญ ั ลักษณ EV 57

Energy#62_p56-58_Pro3.indd 57

12/13/13 11:01 PM


ผูเชี่ยวชาญและนักวิชาการในแวดวงอุตสาหกรรมใหความเห็นวา ประเทศไทยจําเปนตองกําหนดทิศทางของแผนการพัฒนาโครงสราง พื้นฐานที่ชัดเจน เพื่อเพิ่มแรงจูงใจและชวยสรางการเปลี่ยนแปลง เพิ่มความตองการใชรถพลังงานไฟฟา เมื่อตลาดมีความพรอม ในแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานขององคประกอบดานเทคนิค ทีค่ รบถวน รถพลังงานไฟฟาจะเปนทีต่ อ งการมากยิง่ ขึน้ และประเทศไทย จะสามารถยืนอยูแ ถวหนาของเทคโนโลยีสเี ขียวสูก ารเปนผูน าํ ในการ พัฒนาเทคโนโลยีในภูมภิ าค อั นที่จ ริ ง หน าวยงานที่เกี่ ยวข องหลายฝายก็ไม ได นิ่งดูดายกับ โครงการรถยนตพลังงานไฟฟาแตอยางไร เพราะหลังจากที่มีการ เผยแพรเทคโนโลยีดงั กลาวออกไป สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี ปตท. จึงไดเริ่มจัดทําโครงการวิจัยและพัฒนาการใชไฟฟาในรถยนต หรือ R&D on Vehicle Electrification เพือ่ เตรียมความพรอมรองรับ เทคโนโลยีใชไฟฟาของรถยนต โดยการติดตัง้ สถานีประจุไฟฟาตนแบบ ณ สถาบันวิจยั และเทคโนโลยี ปตท. อ.วังนอย จ.พระนครศรีอยุธยา และสถานียอ ยตามเสนทางทีท่ ดลองวิง่ เพือ่ รองรับการชารจกระแส ไฟฟาใหรถทีใ่ ชในโครงการ โดยศึกษา ติดตาม และประเมินผลเทคโนโลยี รวมทัง้ มาตรฐานตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับการใชงานรถยนตพลังงานไฟฟา ดวย อาทิ เทคโนโลยีทใี่ ชในการชารจ, ชนิดของแบตเตอรี,่ สถานีชารจ, ตัวรถยนตพลังงงานไฟฟา ทั้งในหองปฏิบัติการและภาคสนาม และตอเนื่องไปถึงรูปแบบธุรกิจการใชไฟฟาในรถยนต หรือ EV Business Model อีกหนึง่ กําลังขับเคลือ่ นทีเ่ กีย่ วของกับไฟฟาโดยตรงอยาง การไฟฟา นครหลวง(กฟน.) ทีไ่ ดทาํ โครงการวิจยั และศึกษาแนวโนมการใชรถยนต ไฟฟาในอนาคต ดวยการจัดหารถยนตไฟฟาจํานวน 20 คัน พรอม กับการติดตัง้ สถานีชารจไฟ 10 แหง ในสํานักงานเขตของการไฟฟา นครหลวง เพือ่ เตรียมความพรอมของระบบไฟฟาจําหนายและโครงการ วิจยั เพือ่ จัดทําระบบเก็บเงินระหวางเครือ่ งชารจไฟกับศูนยกลาง โดย เปดสถานีชารจไฟฟา(EVCharging Station) แหงแรก ณ การไฟฟา นครหลวง สํานักงานใหญชดิ ลม ซึง่ ถือเปนการลงทุนเพือ่ อนาคต เพือ่ สิง่ แวดลอมใหเปนทางเลือกสําหรับการจราจรในชุมชนเมือง

สําหรับความนาจะเปนของแนวทางสําหรับ รถยนตพลังงานไฟฟาในประเทศไทยนัน้ หาก ถามประชาชนตาดําๆ วาอยากใชหรือไม ทุก ทานคงทราบคําตอบดี เพราะประชาชนพรอม ที่จะเปดรับเทคโนโลยีใหมๆ ที่เกี่ยวของกับ สิง่ แวดลอมอยางแนนอน และยิง่ สามารถลด ภาระดานคาใชจา ยของเชือ้ เพลิงหรือตัวรถลง ได รับรองวาอนาคตสดใจแนนอน แตสงิ่ ทีย่ งั ขาดคือ เรือ่ งของความชัดเจนจาก หนอยงานหลักทีเ่ กีย่ วของอยางภาครัฐ เพราะ เคยประสบผลสําเร็จมาแลวจากโครงการ อีโคคาร ทีภ่ าครัฐใหความรวมมืออยางดีโดย เฉพาะเรือ่ งโครงสรางภาษีรถ ทําใหราคาเปนที่ จูงใจ และหากโครงการรถยนตไฟฟาเกิดขึน้ อยางเปนรูปธรรมในบานเรา ลองคิดดูเลน ๆ วาจะไดรับความสนใจเพียงไร ซึ่งแนนอนวา บริษัทผูผลิตรถมีความพรอมสําหรับการ ลงทุนอยูแ ลว ถึงแมวา บานเมืองกําลังรอนเปน ไฟแบบ ณ ปจจุบนั ก็อยากฝากไววา โครงการ รถยนตพลังงานไฟฟา เปนอีกหนึง่ โครงการ ที่นาสนใจไมนอย อยาใหหนวยงานที่ลงทุน ลงแรงไปแลว หรือประชาชนที่เฝารอความ หวัง ตองฝนลม ๆ แลง ๆ เลยนะครับ

58

Energy#62_p56-58_Pro3.indd 58

12/13/13 11:05 PM


Energy#62_p59_Pro3.indd 79

12/18/13 10:30 PM


Have To Know นองบูล… ตอบได

จับตาแหลงพลังงาน

Shale gas ยุ ค ทองของการขั บ เคลื่ อ นโลกนั้ น ขึ้นอยูกับปจจัยหลักเพียงไมกี่อยางที่ จะชี้ขาดและเปนเครื่องอางอิงในระดับ สากลใหทวั่ โลกยอมรับ และทีด่ เู หมือน จะมี อิ ท ธิ พ ลอย า งยิ่ ง คื อ ป จ จั ย ดา น พลังงานอยางปโตรเลียม เพราะทุก ประเทศทั่วโลกลวนมีความตองการสิ่ง นี้ในการขับเคลื่อนเศษรฐกิจของตน ฉะนั้ น ประเทศใดในโลกที่ ส ามารถ ถื อ ครองแหล ง พลั ง งานได ม ากที่ สุ ด ประเทศนัน้ ๆ จะสามารถชีข้ าดประเทศ อื่น ๆ ทั่วโลกไดเลยทีเดียว จึงไดมีการ แสวงหาแหลงงานใหม ๆ เพือ่ มารองรับ กลไลทางเศษรฐกิจใหมากขึน้ ไมใชเพือ่ กุมอํานาจของโลกเอาไว แตเพือ่ เปนการ เปลี่ยนถายยุคทองในการขับเคลื่อน โลกตอไป แทนที่แหลงพลังงานเดิมที่ กําลังจะหมดไปตางหาก

โลกไดมีการตื่นตัวอีกครั้ง เมื่อมีการคนพบ Shale gas ปริมาณมหาศาล ซึ่งเปนกาซ ธรรมชาติในรูปแบบใหม ที่เชื่อวาจะสามารถ ทดแทนพลั ง งานรู ป แบบอื่ น ไม ว  า จะเป น พลั ง งานป โ ตรเลี ย ม พลั ง งานนิ ว เคลี ย ร พลังงานถานหิน พลังงานหมุนเวียนอื่นๆ ที่นับวันจะยิ่งหมดไป ซึ่งการคนพบ Shale gas ครั้ ง นี้ ถื อ ว า มี ป ริ ม าณมากพอจน นักวิทยศาสตรคาดการณวา ยุคทองอาจ เปนจากนํ้ามันสีดําอยางปโตรเลียมใหกลาย เปนยุคทองของกาซธรรมชาติเลยก็เปนได แตอยางที่รูกันวา เมื่อมีสิ่งใหมเกิดขึ้น ยอม ตองมีเสียงคัดคานจากผูเสียผลประโยชน และเรื่องของปญหาสิ่งแวดลอม ซึ่งปริมาณ ที่พบรวมกับกาซธรรมชาติอื่น จะทําใหโลก มีกาซธรรมชาติใชเพิ่มจาก 60 ป เปน 200 ป เลยทีเดียว Shale gas คื อ อะไร คํ า ตอบคื อ ก า ซ ธรรมชาติที่เกิดจากการทับถมของซากพืช ซากสัตวนับลานป กักอยูในชั้นหินดินดาน ซึ่งยอมใหกาซไหลผานยาก จึงตองอาศัย กรรมวิธกี ารขุดเจาะทีซ่ บั ซอนกวาการขุดเจาะ กาซธรรมชาติแบบเดิม หรือ Conventional gas ซึง่ คุณสมบัตขิ อง Shale gas นัน้ พบวา ไมแตกตางจากกาซธรรมชาติทใี่ ชกนั ทุกวันนี้ โดยประเทศสหรัฐอเมริกาเปนผูคนพบและ

พัฒนาเทคโนโลยีการขุดเจาะ Shale gas โดยใชวธิ ี Hydraulic Fracturing หรือ การ ใชแรงดันนํา้ ผสมสารเคมีและทรายเพือ่ ทําให หินราว ควบคูกับ Horizontal Drilling หรื อ การเจาะแนวราบ เพื่ อ ช ว ยเพิ่ ม ผิ ว สัมผัสของหลุมเจาะกับชั้นหิน Shale ทําให สามารถผลิต Shale gas ไดปริมาณมาก ขึ้นในตนทุนตํ่า ประเทศทีม่ กี ารคนพบ Shale gas มากทีส่ ดุ คือ สหรัฐอเมริกา และจีน ปจจุบันคนพบ แหลง Shale gas 48 แหง ครอบคลุม 32 ประเทศ ขนาด 170 tcm (ลานลานลูกบาศก เมตร) คิดงายๆ คือ ประมาณ 6,000 เทาของ ปริมาณผลิตกาซธรรมชาติที่ประเทศไทย สามารถทําไดในป 2011 ซึ่งในอนาคตอาจ คนพบแหลง Shale gas ในประเทศอื่นๆ ทั่วโลกมากกวานี้ก็เปนได ขอมูลจาก องคการพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agency: IEA) คาดว า ภายในป 2035 การผลิ ต ก า ซ ธรรมชาติจะขยายตัวถึง 55% และ 2 ใน 3 เปนอัตราการเติบโตของการผลิต Shale gas ประเทศผู  บ ริ โ ภคพลั ง งานมากที่ สุ ด ในโลกอย า งสหรั ฐ อเมริ ก าได ทํ า การขุ ด เจาะ Shale gas ชวงตนป 2012 เพิ่มขึ้น

60

Energy#62_p60-61_Pro3.indd 60

12/11/13 9:14 PM


จากปกอนหนาถึง 29% สวนจีนสนับสนุน การสํารวจขุดเจาะ Shale gas อยางมาก ถึง แมวาจีนยังไมมีการผลิต Shale gas แตตั้ง เปาการผลิต Shale gas ไวปละ 6.5 bcm (พันลานลูกบาศกเมตร) ภายในป 2015 และ จะเพิม่ เปนปละ 60-100 bcm ภายในป 2020 ประเทศสหรัฐอเมริกาเปนประเทศทีถ่ กู จับตา มองอยางมาก ซึ่งนอกจากจะมีแหลง Shale gas อันดับตนๆ แลว ยังมีขอไดเปรียบ ดานศักยภาพในการพัฒนาเทคโนโลยีการ ขุ ด เจาะอย า งต อ เนื่ อ ง และ ลั ก ษณะทาง ธรณีวิทยา ทําใหสหรัฐอเมริกาสามารถนํา Shale gas ขึ้นมาใชประโยชน ไดปริมาณ มากขึ้นในตนทุนที่ตํ่าลง สงผลใหปริมาณ ก า ซธรรมชาติ ท้ั ง หมดของสหรั ฐ อเมริ ก า เพิ่มสูงขึ้น ลดการพึ่งพาการนําเขาจากตาง ประเทศ ผลักดันใหราคา กาซธรรมชาติใน ปจจุบันปรับลดลงเหลือที่อีกดวย

Shale gas ถื อ เป น ยุ ค ของพลั ง งานที่ น า จั บ ตาและอาจพลิ ก โฉมรู ป แบบการใช พลังงานในอนาคต เพราะคุมกวาการลงทุน ในพลั ง งานหมุ น เวี ย น อย า งพลั ง งานลม แสงอาทิตย ชีวภาพ ที่มีตนทุนสูง กําลัง การผลิตตํ่า จะคุมเทากับ Shale gas ที่จะมี ใหใชอยางมหาศาลในราคาถูก สามารถนํา มาใชเปนเชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟาได ถูกกวาถานหิน นํามาใชในโรงงานอุตสาห กรรมอื่นๆ ได และถือเปนเชื้อเพลิงสะอาด เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย แนนอนวา Shale gas ก็เปรียบเสมือน เหรียญที่มีสองดาน กับเสียงสนับสนุนและ เสียงคัดคาน โดยเฉพาะกับกระบวนการ ดานสิง่ แวดลอม วิธขี ดุ เจาะแบบ Hydraulic Fracturing ทีจ่ าํ เปนตองมีสว นผสมของสาร เคมีลงในนํา้ เพือ่ สรางรอยราวในชัน้ หิน ทําให เกิดการเจือปนของสารพิษในนํ้าใตดิน สง

ผลตอคุณภาพและความสะอาดของนํ้าดื่ม ในระยะยาว รวมถึงกรณีทอี่ าจเกิดการรัว่ ซึม ของกาซมีเทน ทีเ่ ปนตนเหตุของสภาวะโลกรอน อีกดวย นอกจากนี้ การขุดเจาะยังอาจทําใหเกิดแผน ดินไหวขนาดเล็กระดับ 1-3 ริคเตอร ได ซึ่ง ปจจุบันหลายประเทศไมมั่นใจตอผลกระทบ จากวิธีการขุดเจาะดังกลาว เชน บางรัฐใน สหรัฐอเมริกา สั่งหามการขุดเจาะชั่วคราว ประเทศฝรั่งเศส บัลกาเรีย ใหเลื่อนเวลาการ เริม่ ขุดเจาะออกไปกอน และประเทศเยอรมนี มีตอตานการขุดเจาะอยางหนัก Shale gas จึงเปนแหลงพลังงานที่นาจับตา อยางมาก รวมถึงทั้งผลที่ไดรับและผลเสีย ที่ตามมา ก็ตองคอยติดตามกันตอไป วา เหรียญทีเ่ ราโยนถามทางไปนัน้ วาจะออกหัว หรือกอยเทานั้น

61

Energy#62_p60-61_Pro3.indd 61

12/11/13 9:14 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

HYUNDAI HND-6 Fuel Cell Electric Vehicle

การแขงขันดานการพัฒนาพลังงานทดแทนเปนการแขงขันทีท่ วั่ โลกใหความสนใจ โดยเฉพาะเซลลเชือ้ เพลิง หรือ Fuel Cell เพือ่ ทีจ่ ะใหมา แทนเชือ้ เพลิงจากนํา้ มัน การแขงขันมีความเดนชัดมากยิง่ ขึน้ เมือ่ รถยนตทเี่ ปนตนเหตุหลักของการใชนาํ้ มันเพิม่ มากขึน้ สงผลใหความ ตองการนํา้ มันก็เพิม่ ตาม แตสวนทางกับปริมาณนํา้ มันสํารองของโลกทีต่ งั้ เวลานับถอยหลังรอวันหมดเปนทีเ่ รียบรอยแลว จึงไดมกี ารคิดคน และพัฒนารถยนตทใี่ ช Fuel Cell เพือ่ ทดแทนรถยนตแบบเดิมใหได แมเปนเพียงยานยนตแนวคิด แตกถ็ อื เปนการเริม่ ตนสูย คุ สมัยของ การใชเชือ้ เพลิงในอนาคต

62

Energy#62_p62-63_Pro3.indd 62

12/21/13 10:53 PM


เมือ่ เร็ว ๆ นี้ ประเทศไทยไดสมั ผัสกับเทคโนโลยี Fuel Cell ภายในงานมอเตอรเอ็กซโป 2013 กับยานยนตแนวคิด Hyundai HND-6 หรือ บลูสแควร รถสปอรตซีดานขนาดกลาง ครั้งแรกกับการปรากฎตัวในอาเซียนที่ทาง ตนสังกัด ฮุนได มอเตอร (ไทยแลนด) ไดนาํ มามาแสดง ทีม่ าพรอมเทคโนโลยี Fuel Cell Electric Vehicle เจนเนอเรชัน่ ลาสุด แนนอนวา เทคโนโลยีดังกลาวจะถูกนํามาพัฒนาและ ตอยอด จนในอนาคตจะกลายเปนพื้นฐาน ของรถรุน ใหมๆ ก็เปนได Hyundai HND-6 หรือ บลูสแควร ถือเปน อีกหนึง่ แนวคิดในการพัฒนาเพือ่ หาทางออก ดานพลังงาน ถูกออกแบบใหเปนรถยนต ไฟฟาทีไ่ ดรบั แหลงพลังงานจากไฮโดรเจน ขับ เคลือ่ นดวยพลังไฟฟาฟวเอล เซล(fuel cell) ใหแรงมาสูงสุดถึง 90kw รูปลักษณภายนอก ออกแบบใหมคี วามเปนสปอรต ผสมเรือนรางที่ เชือ่ มโยงแนวคิดของยานยนตแหงอนาคต ภาย ใต Fluidic Sculpture Design เอกลักษณ เฉพาะจาก Hyundai ทําให HND-6 ใหทงั้

อารมณแบบสปอรตและความงดงามทีแ่ ฝงไว ดวยประโยชนใชสอยในการใชงานจริง บนพืน้ ฐานการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิงเฉลี่ยเมื่อเปรียบ เทียบความสิน้ เปลืองกับเชือ้ เพลิงแบบเดิมที่ ระดับ 34.9 กิโลเมตรตอลิตร ดานการออกแบบภายใน เนนที่ทัศนวิสัยใน การขับขี่ เพิม่ เติมความสบายของหองโดยสาร พรอมติดตั้งอุปกรณที่ทันสมัยไวอยางครบ ครัน ไมวาจะเปนจอ LED หนา-หลังแสดง ขอความและกราฟฟก, แผงหนาปดอันทันสมัย TOLED แสดงผลแบบเรืองแสง และกระจกมอง ขางที่ถกู ออกแบบใหม โดยใชกลองจับภาพ รอบดานและกลองบนหลังคาเพือ่ ใหทศั นวิสยั การขับขี่ที่เหนือชั้นสมกับความเปนรถยนต แหงอนาคต ทีผ่ า นมา คาย Hyundai เปนแบรนดเอเชีย ทีผ่ ลิตรถยนตทใี่ ชไฮโดรเจนเปนเชือ้ เพลิงใน ระดับอุตสาหกรรม โดยเริม่ พัฒนาเทคโนโลยีนี้ มาตัง้ แตป 1998 ในปจจุบนั Hyundai ไดนาํ เทคโนโลยีพลังงานไฮโดรเจนมาใชจริงใน

รุน ix35 Fuel Cell จํานวน 15 คันแรกในเมือง โคเปเฮเกน ประเทศเดนมารก และมีเปาหมายผลิต รถลอตแรกเพือ่ ยืนยันศักยภาพของเทคโนโลยีระบบ พลังงานอนาคต จํานวน 1,000 คัน เพื่อสงใหกับ หนวยงานรัฐและเอกชนใชในประเทศเกาหลีภายใน ป 2015 ซึง่ ถือเปนการเริม่ ตนทีด่ สี าํ หรับการใชพลังงาน ทางเลือกชนิดใหมนี้ เซลลเชือ้ เพลิง เปนเชือ้ เพลิงพลังงานทีน่ า จับตาเพราะ เปนเซลลไฟฟาเคมีอยางหนึง่ คลายกับแบตเตอรี่ แต แตกตางกันทีเ่ ซลลเชือ้ เพลิง ถูกออกแบบมาใหมกี าร เติมสารตั้งตนเขาสูระบบกับการเติมไฮโดรเจนและ ออกซิเจนตลอดเวลาTRU ชวยขจั140S ดปญหาความจุทจี่ าํ กัด ของแบตเตอรี่ อ อกไป นอกจากนี้ ที่ ขั้ ว ไฟฟ า ของ แบตเตอรี่จะเขาทําปฏิกิริยาเมื่อมันถูกอัดประจุหรือ คายประจุ ในขณะที่ขั้วไฟฟาของเซลลเชื้อเพลิงเปน ตัวเรงปฏิกิริยาที่มีความเสถียร เทคโนโลยีเซลลเชื้อ เพลิงเปนทางตัวเลือกที่ดีสําหรับการใชพลังงานที่มี ประสิทธิภาพสูงและปราศจากมลพิษ เมือ่ เปรียบเทียบ กับเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ ๆ ทีก่ อ ใหเกิดคารบอนไดออกไซด แตของเสียทีไ่ ดออกมาอยางเดียวทีเ่ กิดจากการทํางาน ของเซลลเชือ้ เพลิงก็คอื นํา้ เทานัน้ 63

Energy#62_p62-63_Pro3.indd 63

12/21/13 10:53 PM


Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

คายนานาชาติประชาคมอาเซียน จุดประกายการเกษตรสมัยใหม

“Modern Farming System”

คงปฏิเสธไมได...ถึงความตืน่ ตัวในการกาวเขาสูป ระชาคมอาเซียน เพราะเปนสิง่ ใหมทที่ กุ ประเทศสมาชิกตางใหความสําคัญ เพือ่ ใหมนั่ ใจวาในป 2558 จะสามารถเดินหนาสรางความมัน่ คงแกเศรษฐกิจมหภาคของภูมภิ าคในระยะยาว แมวา จะเปนการรวม ตัวของหลายประเทศ ซึง่ ชวงเวลานีเ้ ปนชวงเวลาทีห่ ลายประเทศตองปรับตัวและเตรียมความพรอมของแตละภาคสวน ทีม่ บี ทบาท สําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในแตละประเทศ โดยเฉพาะภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตรของไทย ที่มีความ โดดเดนเปนที่จับตาจากนานาประเทศ นางสาวจุ ฑ ามาศ ทองเจริ ญ ผู  จั ด การ โครงการสถาบันความรวมมือเพื่อพัฒนา เศรษฐกิจลุมนํ้าโขง เปดเผยวา สถาบันได ริ เ ริ่ ม โครงการค า ยนั ก คึ ก ษาเกษตร โดยความรวมมือกับกลุมมิตรผล ในการนํา นักศึกษาและอาจารยจากมหาวิทยาลัยจาก ประเทศในกลุม CLMV ไดแก นักศึกษา จากกั ม พู ช า, ลาว, พม า และเวี ย ดนาม เขามาเรียนรูแ ละฝกงานในภาคสนามกับบริษทั ใน อุตสาหกรรมเกษตรชัน้ นําของไทย ซึง่ จะเปน ประโยชนตอ ทัง้ นักศึกษาและมหาวิทยาลัยที่ เขารวมโครงการ ในการเพิ่มวิสัยทัศนเพื่อ พัฒนาหลักสูตรและทักษะการเรียนรูของ นักศึกษา ขณะเดียวกัน ก็เปนการสรางเครือ ขายกับมหาวิทยาลัยชั้นนําในทองถิ่นของ

แตละประเทศในภูมภิ าค เพือ่ พัฒนาบุคลากร สู  ธุ ร กิ จ ภาคเกษตรไปพร อ มกั น ด ว ย โดยในป นี้ มี นั ก ศึ ก ษาจากกั ม พู ช าและ ลาวจํานวน 6 คนเขารวมโครงการฝกงาน กั บ กลุ  ม มิ ต รผล หนึ่ ง ในบริ ษั ท ที่ ต อบรั บ การจัดคายครั้งนี้เปนระยะเวลา 20 วัน ที่ ผ  า นมา กลุ  ม มิ ต รผล เป น กลุ  ม ธุ ร กิ จ ที่ มี ค วามโดดเด น ในการเป น ผู  นํ า ด า นการ ผลิตอ อย นํ้าตาล และชีวพลังงาน ด วย มาตรฐานการผลิตสินคาคุณภาพระดับโลก ใหความสําคัญกับการยกระดับมาตรฐาน คุณภาพชีวติ ของเกษตรกรภายใตโครงการ หมูบานเพิ่มผลผลิตและการพัฒนาชุมชน อยางยัง่ ยืน รวมถึงการดูแลรักษาสิง่ แวดลอม

64

Energy#62_p64-65_Pro3.indd 64

12/11/13 9:25 PM


ดวยเหตุนี้ กลุม มิตรผลจึงเปนองคกรทีเ่ หมาะ ตอการเรียนรูท จี่ ะอํานวยประโยชนอยางยิง่ ให แกนกั ศึกษาและมหาวิทยาลัย ในการเตรียม ความพรอม เพือ่ ผลิตบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ซึ่งจะสอดคลองตอความตองการของตลาด ในธุรกิจภาคเกษตร นายทักษ ศรีรัตโนภาส ผูอํานวยการดาน โครงการรวมทุนระหวางประเทศกลุม มิตรผล เผยถึงความรวมมือครัง้ นีว้ า อุทยานมิตรผล ภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ไดเปนสถานทีศ่ กึ ษาของ โครงการคายนักศึกษาเกษตรนานาชาติจาก ประเทศในแถบลุม นํา้ โขง เปรียบเสมือนเพือ่ น บานทีใ่ กลชดิ ของประเทศไทย เพือ่ ศึกษาและ เรียนรูการดําเนินงานในอุตสาหกรรมออย นํ้าตาล และชีวพลังงานของไทย ซึ่งถือเปน หนึง่ ในอุตสาหกรรมเกษตรทีส่ ามารถพัฒนา ตอยอด สรางมูลคาเพิม่ ทางเศรษฐกิจใหกบั ประเทศ รวมถึงสังคม และสิง่ แวดลอม นักศึกษาทั้ง 6 คน ใชเวลาอยูรวมกันใน คายเปนเวลา 20 วัน โดยไดเรียนรูขั้นตอน กระบวนการผลิตนํ้าตาล และตอยอดวัสดุ เหลือใชสธู รุ กิจวัสดุทดแทนไม ไฟฟาชีวมวล และเอทานอล รวมถึงการลงพื้นที่พูดคุย ถึงปญหาและอุปสรรคในการเพิ่มผลผลิต ออยกับผูนําชุมชนและเกษตรกรต นแบบ และได เ รี ย นรู  เ กี่ ย วกั บ การทํ า งานเป น ที ม การอยูรวมกันกับผูอื่นที่มาจากสังคมและ วั ฒ นธรรมที่ แ ตกต า งกั น รวมถึ ง เทคนิ ค การสื่อสารใหไดผลสัมฤทธิ์ตามที่ตองการ และสามารถนําความรูที่ไดกลับไปพัฒนา อุตสาหกรรมออยและนํา้ ตาลในประเทศของ ตนไดจริง

นายซุลาเฮอ ไสยสวยกี นักศึกษาชั้นปที่ 4 ภาควิชาพฤกษศาสตร จากสาธารณรัฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว เผยว า การนําวัสดุเหลือใชมาพัฒนาตอยอดไปสู ธุรกิจพลังงานหมุนเวียนเปนสิง่ ทีน่ า ประทับใจ โดยเฉพาะการตอยอดในธุรกิจไฟฟาชีวมวล เนื่องจากสปป.ลาว มีการใชกระแสไฟฟาใน ปริมาณมาก อีกทั้งมีสรางเขื่อนเพื่อผลิต ไฟฟา แตหากมีการสนับสนุนเพื่อสรางโรง นํ้าตาลและโรงไฟฟาควบคูกันได เศรษฐกิจ ของประเทศก็จะรุดหนาไปอยางกาวกระโดด อยางแนนอน

ปลู ก อ อ ย รวมถึ ง มี ก ารต อ ยอดการผลิ ต ไปสู  ธุ ร กิ จ วั ส ดุ ท ดแทนไม พลั ง งานไฟฟ า ชี ว มวล และเอทานอลดวย ในประเทศกัมพูชาไมมีโรงงาน ผลิตนํ้าตาล การไดมาเรียนรูกระบวนการผลิต นํ้าตาลอยางใกลชิดในทุกขั้นตอน จึงเปนโอกาส ที่ ห าได ย ากและเป น ช ว งเวลาที่ มี ค  า สํ า หรั บ ผม และจะนํ า ความรู  ป ระสบการณ ที่ ไ ด รั บ กลั บ ไป ถายทอดใหเพือ่ นนักศึกษาและอาจารย เพือ่ นําไป ปรับใชกบั การพัฒนาการเกษตรในประเทศ ซึง่ แม จะตองใชเวลาแตดว ยองคความรูท ไี่ ดรบั ก็อาจทําให เราใชเวลานอยกวาทีเ่ ราตองไปเริม่ ตนเองทัง้ หมด

ด า น นายอรุ ณ มี ส  นั ก ศึ ก ษาชั้ น ป ที่ 4 ภาควิชาแปรรูปอาหาร จากราชอาณาจักร กัมพูชา เผยวา ประสบการณของการอยูค า ย ในตางแดนเปนครั้งวา ที่ผานมา เขาใจวา กลุมมิตรผลเปนผูผลิตและจําหนายนํ้าตาล รายใหญ แตไมเคยรูวามีการสงเสริมการ

วั ต ถุ ป ระสงค ข องค า ยนานาชาติ ค รั้ ง นี้ เป น ความรวมมือระหวางประเทศของกลุมมิตรผล รวมกับสถาบันการศึกษานานาชาติในภูมิภาค ซึ่ ง จะนํ า ไปสู  ก ารขั บ เคลื่ อ นในภาคเศรษฐกิ จ สังคม และวัฒนธรรมที่ไรพรมแดนเมื่อกาวเขาสู ประชาคมอาเซี ย น ถึ ง แม ว  า ระยะเวลาในการ เขาคายครั้งนี้จะไมนานมากนัก แตกลุมนักศึกษา ไดเก็บเกี่ยวความรูและประสบการณอยางเต็มที่ พรอมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมตางแดน โดยจะ นํ า องค ค วามรู  ที่ ไ ด รั บ ไปถ า ยทอดสู  อ าจารย และเพื่ อ นนั ก ศึ ก ษาเพื่ อ จุ ด ประกาย และร ว ม เป น ส ว นหนึ่ ง ของการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ภาค อุตสาหกรรมการเกษตรของประเทศใหเติบโตขึน้ อยางแข็งแกรงตอไป 65

Energy#62_p64-65_Pro3.indd 65

12/11/13 9:25 PM


Energy Loan อภัสรา วัลลิภผล

หนวยภาครัฐที่เขามาชวยในเรื่องของเงินทุนการพัฒนาสงเสริมอนุรักษพลังงานก็มีอยูใน หลายหนอยงานดวยกัน อยางเชน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ใหการสนับสนุน เรือ่ งของเงินทุนการพัฒนาสงเสริมโครงการดานการอนุรกั ษพลังงานและพลังงานทดแทน รวมไปถึงงานวิจยั ตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วของกับพลังงานอีกดวย

ป 57 สนพ. สงเสริม โครงการอนุรักษพลังงาน รวมทั้งสิ้น 104 โครงการ วงเงินกวา 6 พัน ลบ. นายเสมอใจ ศุขสุเมฆ ผูอ าํ นวยการสํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) เผยวา กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ถูกจัดตัง้ ขึน้ ตามมาตรา 24 แหงพระราชบัญญัติ การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ.2535 โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใชเปนทุนหมุนเวียนและ ใชจา ยชวยเหลือ หรืออุดหนุนการดําเนินงาน เกี่ยวกับการอนุรักษพลังงาน ทั้งดานการ ลงทุ น และดํ า เนิ น งานในด า นการอนุ รั ก ษ พลังงานของสวนราชการ หรือรัฐวิสาหกิจ หรื อ เอกชน ตลอดจนเป น เงิ น ช ว ยเหลื อ หรือเงินอุดหนุนโครงการดานการอนุรักษ พลังงาน การคนควา วิจัยการศึกษาเกี่ยว กับการพัฒนา การสงเสริมและการอนุรักษ พลังงาน การปองกันและการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมจากการอนุรกั ษพลังงาน ตลอดจน การศึกษาการฝกอบรม และการประชุมเกีย่ ว กับพลังงาน การโฆษณา การเผยแพรขอ มูล และการประชาสัมพันธเกี่ยวกับการพัฒนา การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน และการ ปองกันและการแกไขปญหาสิง่ แวดลอมจาก การอนุรักษพลังงาน

พระเจาอยูหัว ที่ทรงตองการเห็นคนไทย สามารถพึ่งพาตนเองได ซึ่งตลอดเวลาที่ ผานมา กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน โดย สนพ. ไดใหการสนับสนุน ทุ น วิ จั ย พั ฒ นาเทคโนโลยี ด  า นพลั ง งาน ทดแทนแก ห น ว ยงานต า ง ๆ เพื่ อ เพิ่ ม ศักยภาพในการนําวัตถุดิบที่มีในประเทศ มาผลิตพลังงานทดแทน ชวยสรางและเพิ่ม รายไดสูชุมชนอยางยั่งยืน อีกทั้งเพื่อเสริม สรางความมัน่ คงดานพลังงานและลดการนํา เขาพลังงานจากตางประเทศ โดยแตละป กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน จะมี ก ารจั ด สรรงบประมาณเพื่ อ อุ ด หนุ น โครงการศึ ก ษา วิ จั ย พั ฒ นาเทคโนโลยี ดานพลังงานทดแทน ใหกับสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบันการศึกษา และองคกร เอกชนที่ไม มุงค ากําไร ในการคิดค น และ พั ฒ นาเทคโนโลยี ด  า นพลั ง งานทดแทน ใหม ๆ ที่มีศักยภาพในการนําไปขยายผล ทั้งในการนําไปใชเชิงพาณิชย หรือการนํา ไปใชเปนขอมูลสําหรับการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยีในระยะตอไป

กระทรวงพลังงานใหความสําคัญเรื่องการ วิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ด  า นพลั ง งาน ทดแทนรูปแบบใหมๆ ซึ่งใชเชื้อเพลิงหรือ วัสดุเหลือใชดานการเกษตรในประเทศเปน วัตถุดิบในการผลิต เพื่อทดแทนการนําเขา และเปนการสนองแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงขององคพระบาทสมเด็จ

และสําหรับในป 2557 นี้ ทาง นายพงศเทพ เทพกาญจนา รองนายกรั ฐ มนตรี ได เห็นชอบอนุมัติจัดสรรงบประมาณรายจาย ประจําป พ.ศ.2557 เพือ่ ดําเนินโครงการดาน การอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน รวมทั้งสิ้น 104 โครงการ วงเงิน 6,524 ลานบาท ซึ่งสอดคลองกับภารกิจตามแผน

อนุรักษพลังงาน 20 ป (พ.ศ.2554 - 2573) ภารกิจตามแผนการพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก 25% ใน 10 ป (พ.ศ. 2555 - 2564) และยุทธศาสตรดา นพลังงาน ของประเทศ สวนโครงการสําคัญที่ไดรับการสนับสนุน ในปนี้ อาทิ โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการ ใชพลังงานของเครื่องทํานํ้าเย็น (Chiller) ในภาคอุ ต สาหกรรมและอาคารธุ ร กิ จ โครงการสงเสริมมาตรการอนุรักษพลังงาน โดยเนนการใหความชวยเหลือผูประกอบ การอุ ต สาหกรรมขนาดกลางและขนาด ยอม (SMEs) โครงการสงเสริมการอนุรักษ พลังงานในอาคารภาครัฐ เนนการสงเสริม ในสํ า นั ก งานคณะกรรมการอาชี ว ศึ ก ษา และกระทรวงสาธารณสุ ข ทั่ ว ประเทศ โครงการส ง เสริ ม การใช วั ส ดุ อุ ป กรณ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในภาคประชาชน เพื่ อ ชวยเหลือใหประชาชนสามารถซื้ออุปกรณ เครื่องใชไฟฟาประสิทธิภาพสูงในราคาถูก โครงการอนุรกั ษพลังงานสําหรับการเปลีย่ น หลอดไฟฟาประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง (หลอด LED) เปนตน นายเสมอใจ กลาวทิ้งทายวา อยางไรก็ตาม คาดวาจากการดําเนินงานทัง้ สิน้ 104 โครงการ จะสามารถประหยัดพลังงานลงไดไมนอย กว า 145.98 พั น ตั น เที ย บเท า นํ้ า มั น ดิ บ (ktoe) ซึ่งคิดเปนมูลคาเงินที่จะประหยัดได ถึง 3,649.5 ลานบาทตอป

66

Energy#62_p66_Pro3.indd 66

12/11/13 9:30 PM


Energy#62_p67_Pro3.ai

1

12/18/13

9:39 PM


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุมอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

NIA เดินหนาขับเคลื่อนเทคโนโลยี Gasification คอขวดอยูที่ผูรูไมรวมกันพัฒนา

การนําชีวมวลซึง่ ดูดซับกาซคารบอนไดออกไซด และพลังงานจากแสงอาทิตยทั้งทางตรงและ ทางออมมาผลิตพลังงานสะอาด ทีน่ ยิ มใชกนั อยูคือ 1. การหมักแบบไรอากาศ (Biogas) 2. การใช ก ระบวนการทางความร อ น (Thermal Process) เทคโนโลยี Gasification เป น เทคโนโลยี เ ก า แก ที่ ใช ก ระบวนการทางความร อ น เพื่ อ ผลิ ต พลั ง งานจากชี ว มวล ในอดี ต อาจคิ ด ว า ต น ทุ น แสนแพง แต เ มื่ อ พลั ง งานมี น  อ ย หายาก และราคาแพงขึ้ น ถนนทุ ก สาย จากผูนําเทคโนโลยีทั่วโลกมุงสูการพัฒนา Gasification รวมทั้งคนไทย ซึ่งโดยปกติ เปนลูกคาทีแ่ สนดีของเกือบทุก ๆ เทคโนโลยี ก็หันมาพัฒนาเคียงบาเคียงไหลกับประเทศ พัฒนาแลวดวยเหมือนกัน National Innovation Agency (Public Organization) : NIA หรือ สํานักงาน นวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) : สนช. ซึ่งชื่อองคกรก็บอกแลววาจะทําอะไรที่ใหม และมีความเปนไปไดทางธุรกิจ เมื่อเร็ว ๆ นี้ สนช. ไดจับมือกับ สนพ. หรือ สํานักงาน นโยบายและแผนพลังงาน สนับสนุนใหภาค เอกชนผลิ ต พลั ง งานไฟฟ า และพลั ง งาน ความรอนจากชีวมวลหลากหลายชนิด เพื่อ ใชเปนโครงการนํารองในประเทศไทยอยาง เปนทางการ โดยเปนโครงการผลิตไฟฟา จํานวน 4 โครงการ และผลิตพลังงานความ รอน จํานวน 8 โครงการ

จึงพอสรุปไดวาปญหาสําคัญประการหนึ่ง ของการพัฒนาเทคโนโลยี Gasification ในประเทศไทย ก็คือ ผูรูทั้งหลายทั้งรูจริง และรู  ไ ม ค  อ ยจริ ง ต า งหวงความรู  แ ละไม มี การเปดเผย จึงตางคนตางพัฒนา ใครเขาถึง งบประมาณรั ฐ ได ก็ มี โ อกาสพั ฒ นาได มากกว า ซึ่ ง โดยเฉลี่ ย แล ว ยั ง ไม อ าจไปสู  เชิงพาณิชย ไดเต็มตัวนัก สังเกตจากการ ประเมินของภาคการเงินอยางเชนธนาคาร ตาง ๆ ยังไมยอมรับเทคโนโลยีของคนไทย การใหกูจึงตองใชหลักประกันสูง

จะขอยกตัวอยางโครงการผลิตไฟฟาดวยเทคโนโลยี Gasification ที่ไดรับการสนับสนุน จาก NIA (สนช.) โดยใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิง (Feedstock) และประสบความสําเร็จในระดับที่ นาพึงพอใจ และที่สําคัญที่สุดก็คือ เปน Gasification ฝมือคนไทยลวน ๆ

ปจจุบันโครงการตาง ๆ ใกลจะสําเร็จตาม วัตถุประสงคแลว หลังจากฝาฟนการขอ ใบอนุญาตมาแรมป อันทีจ่ ริงแลวยังมีอกี หลาย โครงการที่ ภ าครั ฐ สนั บ สนุ น เป น งานวิ จั ย โดยผูรับทุนไมมีสวนรวมลงทุน จึงยังไมเกิด ผลเปนรูปธรรม และยังมีกลุมภาคเอกชน อีกสวนหนึ่งที่ลงทุนในเทคโนโลยีนี้เอง และ ไมยอมเปดเผยขอมูล ประเทศไทยจึงเปน แดนสนธยาดานเทคโนโลยี Gasification มาจนกระทัง่ สนช. จับมือกับ สนพ. วันนีท้ า น ขอข อ มู ล เชิ ง ลึ ก ได ทุ ก รู ป แบบ จากการที่ ผูเขียนมีสวนรวมพัฒนาโครงการดังกลาว

68

Energy#62_p68-69_Pro3.indd 68

12/17/13 10:39 PM


เพื่อใหเห็นภาพเชิงธุรกิจของเทคโนโลยี Gasification ในระดับโลก จะขอยกตัวอยางบริษัท หนึ่งที่ทาง USTDA : The U.S. Trade and Development Agency ไดนําชาวอาเซียน ไปดูงาน และที่นาสนใจ ก็คือ สอดคลองกับเทคโนโลยีชุมชนของไทยเรา โดยทางบริษัทที่จะ กลาวถึงนี้ พรอมจะใหผลิตในประเทศไทยเพื่อเปนศูนยกลางสงออกในภาคพื้นนี้

หวังเปนอยางยิง่ วาขอมูลเบือ้ งตนทัง้ ของไทยและของตางประเทศนี้ จะสามารถเปน Benchmark ใหกบั นักประดิษฐไทย จะเห็นไดวา คนไทยก็ทาํ ไดแตขายไมคอ ยได เรายังขาด Branding ทีน่ า เชือ่ ถือ คงตองเริม่ สรางความนาเชือ่ ถือกับสถาบันการเงินกอน หากทาง สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติจะลองเดินหนาสราง Brand ใหกบั Gasification ชนิดคุณภาพไทยทําหรือรวมกับตางประเทศผลิต ในประเทศไทยก็ได ใหคนซือ้ ยอมรับและธนาคารยอมปลอยสินเชือ่ เทานี้ก็เปนนวัตกรรมแลว

69

Energy#62_p68-69_Pro3.indd 69

12/17/13 10:39 PM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ผูประกอบการโลจิสติกสไทยกับ การปรับตัวสู AEC (ตอนจบ)

ฉบั บ ที่ แ ล ว ได ก ล า วถึ ง จุ ด เปลี่ ย น ประเทศไทย โอกาสและความท า ทาย เรือ่ งของ AEC ทีผ่ ปู ระกอบการจะตองรูแ ละ เขาใจ ซึ่งเปรียบเสมือนเหรียญสองดาน คื อ เป น ทั้ ง โอกาสและความท า ทาย ขึน้ อยูก บั วาผูป ระกอบการมีการปรับตัวได ทันกับบริบททีเ่ ปลีย่ นไปหรือไม ทีผ่ า นมา ผูประกอบการหลายแหงเพิ่งเริ่มปรับตัว ทั้ง ๆ ที่ควรจะปรับตัวมากอนหนานี้แลว ซึ่ ง เนื้ อ หาต อ จากนี้ จ ะเป น แนวคิ ด ที่ ใ ห ผูประกอบการโลจิสติกส ไทยตองเตรียม ติ ด อาวุ ธ รุ ก -รั บ ก อ นเข า สู  ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ที่ไมไดมี การแขงขันเฉพาะกลุมอาเซียนเทานั้น แตจะมาพรอมกับธุรกิจขามชาติหลาก หลายประเทศเข า มาร ว มแข ง ขั น ทาง ธุรกิจดวย หากมองในอดีตอาเซียนกอกําเนิดมาตั้งแต ป 2510 จนถึงปจจุบัน (2556) อายุของ อาเซี ย น 46 ป แล ว แต ใ นมุ ม มองของ ผูเ ขียนเห็นวาอาเซียนยังอยูใ นวัยเบญจเพศ ประมาณ 25 ป ซึ่ ง เป น ช ว งที่ ชี วิ ต มี ก าร เปลีย่ นแปลงไปคอนขางมาก มีอะไรเขามาใน

ชีวิตมากมาย อาเซียนก็เหมือนกัน ในชวงนี้ คอนขางเนื้อหอมเปนที่หมายปองของชาติ ตาง ๆ ที่จะเขามาลงทุนและทําการคา ทําให อาเซี ย นเป น ศู น ย ก ลางการเจริ ญ เติ บ โต แห ง ใหม ที่ น า จั บ ตา ซึ่ ง จะเป น การเปลี่ ย น แกนความเจริญทางการคาและการลงทุน จากซีกตะวันตกมาสูตะวันออก สํ า หรั บ การเปลี่ ย นแปลงเข า สู  ป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC นัน้ ในชวงแรก ไม ไ ด เ ปลี่ ย นจากหน า มื อ เป น หลั ง มื อ แตจะตองเขาใจคําวา AEC กับ โลจิสติกส กอนวา โลจิสติกส ทุกคนมีความเขาใจขนาดไหน พบว า ทุ ก คนได ยิ น คํ า ว า โลจิ ส ติ ก ส ห มด เช น บริ ษั ข นส ง สมั ย ก อ นจะเป น บริ ษั ท กขค จํ า กั ด ป จ จุ บั น ปรั บ เปลี่ ย นชื่ อ เป น บริษัท ABC Logistics จํากัด แตถาจะเปน Green Logistics ก็เปลี่ยนชุดยูนิฟอรม ของพนักงาน และเปลี่ยนสีรถใหเปนสีเขียว หากเป น สี เ ขี ย วแบบใบไม และมี ห ยดนํ้ า นิดหนึ่งจะดูอนุรักษ ไมนอย ซึ่งประเด็นอยู ตรงนี้ ผูประกอบการมักจะมีมุมมองวาจะ ตองทําอะไรสักอยาง มักมีความเขาใจใน สิง่ เหลานัน้ ในแคเชิงรูปแบบมากกวาสิง่ ทีเ่ ปน

เนื้อหา (Content) ซึ่งที่ผานมาทุกคนรูจัก AEC ถาเราจะเขาใจ AEC ก็ตองเขาใจวาเรา อยูส ว นไหนของ AEC จากผลการวิจยั พบวา ผู  ป ระกอบการทราบอย า งเดี ย วว า จะเกิ ด AEC ในป 2558 แตยงั ไมทราบเลยวาตองทํา อยางไร ในอีกมุมที่พบเจอมาคือ ผูประกอบ การกําลังปรับตัว ตองการทราบกฎระเบียบ ขนส ง ภายในเหล า นั้ น เช น ประเทศพม า เวียดนาม และลาว ที่แตกตางกัน นอกจากนี้ หากมองในมุมกวางแลวจะพบวา ธุรกิจทีไ่ ดรบั ประโยชนจาก AEC ก็คอื ธุรกิจ ขนาดใหญ สวนธุรกิจ SMEs แทบไมได ทําอะไรเลย ไมมีขอมูลขาวสารที่เพียงพอ จากภาครั ฐ ไม ท ราบความต อ งการของ ประเทศนั้ น ๆ ไม รู  ก ฎหมาย สกุ ล เงิ น ไมทราบถึงสาธารณูปโภคที่เปนสิ่งสําคัญ ในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งเห็นจากภาพขาวบาง สวนแลวคิดหรือวา ลาว เขมร พมา มีระบบ สาธารณูปโภคทีด่ ี แตสงิ่ ทีร่ บั รูค อื คาแรงถูก อยางเดียว ถาไปเมียวดีทดี่ นิ แพงกวาแมสอด ถนนยั ง เป น ลู ก ลั ง เข า นิ ค มอุ ต สาหกรรม ไฟฟ า ยั ง ซื้ อ กั บ ไทย ต อ งรู  ว  า นิ ค มไหนมี ความพร อ มเหมาะสมกั บ ธุ ร กิ จ ของเรา

70

Energy#62_p70-71_Pro3.indd 70

12/18/13 9:06 PM


การประชาสัม พั น ธจ ากภาครัฐ ถา ไมมี ค วามพรอ มของเครื่ อ งมือ ทางธุรกิจ ไมวาจะเปนธุรกิจไทยไปตางประเทศ หรือจากตางประเทศ มาไทยเปนคูคากัน การที่จะไปเปดกิจการในตางประเทศ ตองใหรัฐ พูดคุยกับประเทศเหลานั้น ถารัฐไมนําทางไปมีโอกาสโดนโกงเกือบ 90% สวนการที่ธุรกิจไทยจะไปลุยตางประเทศ หรือ AEC ก็ตองหา มาตรการปกปองตนเองดวย คือ ปกปองธุรกิจที่อยูในประเทศไวกอน ที่จะไปลุยขางนอก ดังนัน้ ในมุมมองของการปรับตัวเขาสูป ระชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC จะมีดวยกัน 7 ประการ คือ 1. ต อ งสร า งความเข า ใจกั บ ทุก คนภายในองคก รเกี่ย วกับ AEC ซึง่ กอนการเขาสู AEC ตองมาดูตวั เองกอนวา เขาใจในสิง่ ทีร่ มู าก-นอย อย า งไร สิ่ ง เหล า นั้ น รวมไปถึ ง วิ ธี คิ ด เน น รู ป แบบมากกว า เนื้ อ หา จะตองทําอยางไรกับเรื่อง AEC สิ่งแรกที่จะตองเขาใจคือ บริบท AEC กฎระเบียบ ของแตละประเทศทีจ่ ะเขาไปติดตอ แตในสิ่งทีต่ องปรับ คือ ตองปรับวิธีคิดของตนเองกอน เพราะในปจจุบันสวนใหญมักทําตาม กระแส ซึ่งตองทําตามสิ่งที่เราเปนอยูกอน จะไปที่ไหนและไปอยางไร จะเห็นไดวาทุกบริษัททุกสํานักงานจะหวงเรื่องการปรับทางดานภาษา แตภาษาเปนเพียงสวนหนึ่งเทานั้น จะตองใชระยะเวลาในการบมเพาะ ทุกบริษทั ทุกสํานักงานเพิง่ เริม่ มีการสอนภาษาอังกฤษโดยชาวตางชาติ เมือ่ ตนป ซึง่ ภาษาไมสามารถไดปรับเพียงวันเดียว พืน้ ฐานของคนไทย ภาษาอาจไมแข็งแรง แตสามารถที่จะพัฒนาได อยางเชน ประเทศ เกาหลี หรือญี่ปุน ซึ่งประเทศเหลานี้ทําได ก็เพราะวาอดทนรอวันแหง ความสําเร็จ สวนใหญผูบริหาร/ผูประกอบการจะใจรอนคาดหวังหลัง ฝกอบรมภาษาวาจะสามารถพูดไดตามตัวชี้วัด 2. มีความเชือ่ เสมอในเรือ่ งตนเปนทีพ ่ งึ่ แหงตน อยาคาดหวังวา ตองมีใคร มาบอก คาดหวังวาใครจะมาชวยสนับสนุน ซึง่ เปนวิธคี ดิ ทีไ่ มถกู ตองนัก ในอดีตการทํางานของคนไทย ไมคอยประสบความสําเร็จ เพราะวา เราไมกลาถามในสิง่ ทีเ่ ราไมรู มักจะกลาในสิง่ ทีไ่ มดี ถาเรือ่ งทีไ่ มรเู ราตอง กลาทีจ่ ะถาม ซึง่ เปนการปองกันตนเองไดดที สี่ ดุ กอนถามตองคิดกอน วาจะถามอะไร และไปแตกวิธคี ดิ การเรียนการสอน ทีผ่ า นมามักจะเรียน กันเปนรูปแบบมากกวาเรียนเนือ้ หา โดยเฉพาะเรือ่ งหัวใจของโลจิสติกส ในยุคนีเ้ ดินดวยระบบ Digital โลจิสติกสจงึ กลายเปน E-Logistic แลว กระบวนการโลจิสติกสไมใชจะเปนกระบวนการเคลือ่ นยายสินคาเพียง อยางเดียว แตเปนกระบวนการรวบรวมขอมูลขาวสารอีกดวย ดังนัน้ การเขาสูอ าเซียนจะเปนการขนสงขามแดนระหวางประเทศ ซึง่ ผูใ หบริการ โลจิสติกสตอ งเขาใจภูมศิ าสตรของการเปลีย่ นแปลงของอุตสาหกรรมใน ภาคการผลิตและภาคการบริการ โดยเฉพาะภาคบริการโลจิสติกสไมวา จะเปนเรือ่ งการขนสง คลังสินคา ศูนยกระจายสินคา เปนตน ซึง่ จะเปน ภาคเดียวทีจ่ ะมีการแขงขันกันอยางเขมขน 3. การทํางานเปนทีม (Team work) ซึง่ จะตองดีจากขางในสูข า งนอก (Inside out) ความสําเร็จไมใชเพียงแคเรา แตเปนขององคกรซึง่ ไมได เกิดขึน้ กับคนใดคนหนึง่ แตตอ งประสานงานกันเปนทีม ในยุคของ AEC และโลกาภิวตั น หมดสมัยแลวทีจ่ ะทํางานแบบสบาย ๆ ผูบ ริหารหรือ ผูป ระกอบการฉายเดีย่ ว แตจะตองเปลีย่ นแนวความคิดการบริหารธุรกิจ การแขงขันที่ตองยืนดวยขาของตนเอง ตองกลาคิดและการทํางาน เปนทีมในองคกร 4. จิตสํานึกและวินยั ในการทํางาน ซึง่ เปนเรือ่ งทีย่ ากมาก ๆ สําหรับคนไทย เนือ่ งจากเคยชินกับความสบาย ลูบหนาปะจมูก หยวน ๆ หรือคนกันเอง หากมองยอนกลับไปประเทศในกลุม อาเซียนทีเ่ คยเปนเมืองขึน้ มากอน จะมีความกระตือรือรนในการทํางานคอนขางมาก แตหากมีการปลูก ฝงวินยั ใหเกิดขึน้ ไดกบั คนทัว่ ทัง้ องคกร โดยมีการเคารพ กฎ กติกา

หรือทําตามระเบียบเหมือนกับประเทศสิงคโปร ญีป่ นุ ก็จะชวยใหธรุ กิจ เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลในเชิ ง คุ ณ ภาพการทํ า งาน หลายประการ ไมวาจะเปนลดตนทุน ความมี เอกลักษณ และเกิด ความสามารถทางการแขงขัน เปนตน 5. ปองกันตนเองเพื่อใหเกิดขอไดเปรียบทางการแขงขัน ซึ่งจากการ ปรับคาแรง ทําใหปจจุบันคาแรงสูงกวาประเทศเพื่อนบาน ดังนั้น การแกปญหานี้จะตองมีการสรางมูลคาเพิ่มในเรื่องของนวัตกรรม (Innovation) ซึง่ เกิดจากคํา 2 คํา คือ ความรู (Knowledge) กับ ความคิดสรางสรรค (Creative) ความรู คือ สิง่ ทีท่ า นทําอยู สวนความคิด สรางสรรคมีฐานคือความรูเปนองคประกอบในเชิงศิลปะมากกวา วิทยาศาสตร สวนความเพอฝนตืน่ ขึน้ มาก็หายไป สิง่ ทีส่ าํ คัญอยาไป เนนเรือ่ งเทคโนโลยี เชน สรางกระเปาจากผักตบชวา และเปลี่ยนมา ผลิตสินคาใหเปนพรีเมียม เปนตน อีกทัง้ การสรางมูลคาเพิม่ ในเรือ่ ง ของนวัตกรรมยังจะสรางความโดดเดนใหกบั ผลิตภัณฑอกี ดวย ดังนัน้ การปองกันตนเองจะเลือกเปนฝายรับหรือฝายรุก หากเลือกที่จะเปน ฝายรุกตองเปนรายแรก ๆ ก็จะไดเปรียบ แตหากเปนรายสุดทาย ก็จะ ไมประสบความสําเร็จ ซึง่ ไมมสี ตู รไหนตายตัว วาตองทําแบบไหน แตใน เรือ่ งของลดคาใชจา ย ขอใหเปนทางเลือกที่ 2 หรือทางเลือกสุดทาย ก็ แลวกัน ซึง่ เรือ่ งการลดตนทุนเปนเรือ่ งงาย ใคร ๆ ก็สามารถทําได ไมวา จะเปนจีน ลาว กัมพูชา พมา เปนตน 6. มีการสรางตราสินคา (Branding) โดยปรับเปลีย่ นจาก Local ไปสู Global ASEAN Brand ใหเกิดขึน้ กับผลิตภัณฑ ทัง้ จับตองไดและจับ ตองไมได รวมถึงพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑดว ย หากคุณภาพไมดี และไมจริงจังในการทําการตลาดก็จะหมดความนาเชือ่ ถือตอผูบริโภค ซึ่งความสามารถในการบริหารจัดการธุรกิจในอาเซียนนั้นไมงายนัก เนื่องจากมีสินคาลอกเลียนแบบ ละเมิดลิขสิทธิ์ในกลุมอาเซียนแลว ยังมีตราสินคาของประเทศที่พัฒนาแลวเขามาทําตลาดดวย ดังนั้น การใชจดุ แข็งทีม่ คี วามเขาใจพฤติกรรมผูบ ริโภคในอาเซียนยังสามารถ นํามาใชในการสรางตราสินคาได ซึง่ ดูไดจากการทีป่ ระเทศกัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม หรือกลุม ประเทศ CLMV ยอมรับสินคาไทยในฐานะ สินคาทีม่ คี ณ ุ ภาพดี ราคาสมเหตุสมผล และมีอายุการใชงานนานกวา โดยใหการยอมรับมากกวาสินคาทีม่ าจากประเทศจีน หรือแมแตสนิ คา ทีผ่ ลิตในประเทศของตนเอง อีกทัง้ มีความคุน เคยกับสินคาอุปโภคและ บริโภคของไทยเปนอยางดี เพราะเคยเขามาทํางาน เยี่ยมญาติ หรือ ติดตอคาขายตามแนวชายแดนไทย ทําใหงา ยตอการตัดสินใจซือ้ สินคา ซํา้ รวมถึงการสรางความจงรักภักดีตอ ตราสินคา 7.มีการถายทอดความรูจากรุนสูรุนใหกับคนรุนหลัง เพราะจะชวย ลดเวลาในการทํางานได ซึง่ สภาพแวดลอมภายนอกธุรกิจควบคุมไมได แตสภาพแวดลอมภายในธุรกิจสามารถควบคุมได ดังนัน้ กระบวนการ โลจิสติกสก็เชนกัน การขนสงไมสามารถควบคุมได แตการไหลของ ขอมูลในองคการสามารถทําได สิ่งที่ตองทําตองเปลี่ยนแปลงกอน เลยคือ เปลี่ยนวิธีคิด ไมพึ่งพาภายนอกมากนัก พึ่งพาตัวเองดีกวา เมือ่ มีการเปด AEC และไมเปด AEC จะไมใชประเด็นแลว ซึง่ การปรับตัว ที่ดีตองปรับภายในสูภายนอก สุดทาย การทีผ่ ปู ระกอบการจะประสบความสําเร็จเมือ่ เขาสูป ระชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC จะตองมองการแขงขันทีร่ ะดับ Global ซึง่ AEC เปนสวนหนึง่ ของการแขงขันในโลกปจจุบนั สิง่ ทีจ่ ะปรับเปลีย่ นคือ ตองกลาเปลีย่ นตัวเราเองกอน เพราะเรายึดติดการทําธุรกิจและการทํางาน แบบเดิม ๆ และเลือกทําตามแบบคนอืน่ ก็เหมือนการเลียนแบบ (Copy) ดังนัน้ ผูป ระกอบการ/ผูบ ริหารจึงควรออกแบบแนวคิดการทําธุรกิจและ การทํางานบนรากฐานของความถนัดและความเกงของตนเอง 71

Energy#62_p70-71_Pro3.indd 71

12/17/13 10:43 PM


Around The World พิชญาภา อินทโลหิต

นวัตกรรมกระจกรถยนต ในอังกฤษ

เซลลูโลสนวัตกรรมสัญชาติออสซี่ ในขณะทีท่ กุ หนวยงานสงสัญญาณเตือนใหตระหนักถึงทรัพยากรทีม่ ี อยูอ ยางจํากัดและนับวันก็ยงิ่ นอยลงไปทุกที จึงทําใหมกี ารคิดคนวัสดุ ที่เปนทางเลือกใหม ๆ หรือจะเปนการนําวัสดุกลับมาใชใหม ๆ เปน กระแสนิยมมากขึ้นในโลกปจจุบัน ดวยเหตุนี้ บริษัท ZERO บริษัทสัญชาติออสซี่ หนึ่งในหลาย ๆ บริษัท ที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของปญหาโลกรอนนี้ จึงไดคิดคน และ พัฒนาตอยอดวัสดุทเี่ หลือใชใหกลายมาเปนผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม ที่มีชื่อวา “Zeoform” วัสดุนี้ดูผิวเผินเหมือนพลาสติก แตมีคุณลักษณะคลายคลึงกับไม สามารถขัดเงาได เคลือบผิวได ขัดหยาบได จึงเหมาะที่จะนํามาทําเฟอรนิเจอร Zeoform มีสว นประกอบ 2 อยาง คือ เซลลูโลส กับ นํา้ สวนเซลลูโลสนัน้ เปนทรัพยากรที่มีอยูมากมายบนโลกนี้โดยสกัดไดจากของเสีย หรือ ขยะที่ไมใชแลว โดยนํามาทําใหมีขนาดเล็กลง และ นํามาผสมกับนํ้า จนกลายเปนวัสดุที่เรียกวา “Zeoform” โดยสามารถนํามาใชเปน วัสดุสาํ หรับทําขาวของเครือ่ งใชตา ง ๆ ไดดี ไมแพพลาสติกทัว่ ไป

เป น ที่ ท ราบกั น ดี ว  า หากรถยนต ต  อ งแบกนํ้ า หนั ก เพิ่ ม ขึ้ น เท า ไร เครือ่ งยนตกจ็ าํ เปนตองทํางานหนักขึน้ มีการเผาผลาญนํา้ มันเชือ้ เพลิง มากยิง่ ขึน้ ดังนัน้ การปรับลดนํา้ หนักของโครงสรางรถยนตลงจึงเปน อีกหนึง่ ทางเลือกในการผลิตรถยนตทปี่ ระหยัดการใชพลังงานเชือ้ เพลิง ทําใหผูผลิตรถยนตตองศึกษาวิจัยหาวัสดุใหม ซึ่งมีนํ้าหนักเบามาใช ในการผลิตทดแทนวัสดุเดิม กระจกบังลมรถยนต ซึ่งทําจากแกวที่มี นํ้าหนักมาก จึงเปนทางเลือกหนึ่งของการพัฒนา นอกจากในเรื่องของนํ้าหนักจะเปนปญหาแลว กระจกยังมีขอจํากัด ในเรื่องของการทนตอแรงกระแทก ทําใหเกิดการแตกหักและเสีย หายไดงา ยปจจุบนั มีการผลิตพลาสติกทีม่ สี มบัตโิ ปรงใสมาใชงานเปน กระจกเที ย มมากมาย ดั ง นั้ น นั ก วิ จั ย จากมหาวิ ท ยาลั ย วาวิ ค (university of Warwick) ประเทศอังกฤษ นําโดย ดร.เคอรี่ เคอแวน (Kerry Kirwan) ทําการศึกษาปรับปรุงวัสดุพลาสติกชนิดใหมขึ้น มาทดแทนกระจก โดยนําพอลิเมอรสองชนิดมาขึ้นรูปดวยวิธีการฉีด พอลิเมอรทใี่ ชเปนผิวดานนอกของกระจกทีท่ นตอแสงอุลตราไวโอเลต สารเคมี และการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ แลวจึงฉีดพอลิ คารบอเนต ที่มีสมบัติทนตอแรงกระแทกที่ดีเปนแกนใน จากการ ทดลองผลิตพบวาวัสดุชนิดนี้นํ้าหนักเบากวากระจกถึงรอยละ 40 ซึ่ง จะใหผลดีในการประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ วัสดุดงั กลาวยังมีความ ใส สามารถทนตอการขูดขีดไดดีเหมือนกระจก ตนทุนการผลิตตํ่า เทียบเทาการผลิตกระจก และขึ้นรูปรางที่ซับซอนไดงาย และที่สําคัญ เปนวัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหมไดอีกดวย

พลังงานแสงอาทิตยคอนเน็คอินเทอรเน็ต นวัตกรรมสําหรับการใชอนิ เทอรเนตสามารถคลิกตออินเทอรเน็ตไดโดย ไมจาํ เปนตองเสียบปลัก๊ นีค่ อื รูปแบบใหมของพลังงานใหมในอนาคตซึง่ สรางสรรคโดย บริษทั ดาวนทาวน โบลเดอร อินส ประเทศสหรัฐอเมริกา นวัตกรรมนีเ้ ปนเครือขายไรสายความเร็วสูง ทํางานดวยพลังงานแสง อาทิตย โดยโปรเจกสแรกนีล้ งทุนไป 1 หมืน่ ดอลลารสหรัฐ โดยทดลอง ติดตัง้ ในเขตดาวนทาวนของเมือง ภายใตระบบดังกลาวนีส้ ามารถเชือ่ ม ตออินเทอรเน็ตไดทนั ที โดยผานเครือ่ งรับ-สงสัญญาณ Wi-Fi ทีท่ าํ งาน ดวยจานรับพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ ติดตัง้ อยูบ นชัน้ ของอาคารซึง่ จาน ดังกลาวจะทําการเก็บพลังงานแสงอาทิตยไวตลอดเวลา กอนทีจ่ ะแปลง เปนแบตเตอรี่ ใหพลังงานนานถึง 72 ชัว่ โมง 72

Energy#62_p72_Pro3.indd 72

12/20/13 12:31 AM


Energy#62_p73_Pro3.ai

1

12/18/13

10:38 PM

11.05-11.30 .


ASEAN Update ดอกเตอรวัต

อัพเดทความรวมมือดานพลังงานในอาเซียน

คงทราบกันดีวาอีกประมาณ 2 ปขางหนา เราก็จะเขาสูค วามรวมมือประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (Asean Economic Community) หรือเรียกกันสัน้ วา AEC ซึง่ หนวยงานภาครัฐ ต า งก็ ไ ด เ ตรี ย มแผนรองรั บ ความร ว มมื อ กั น ไว ล  ว งหน า แล ว ในส ว นของกระทรวง พลังงานเองก็ไดหาแนวทางความรวมมือ ด า นพลั ง งาน โดยเฉพาะด า นการผลิ ต ไฟฟา การพัฒนาพลังงานทดแทน การ ลดใชพลังงาน ปจจุบันอาเซียนมีกําลังการผลิตไฟฟาจาก พลังงานทดแทน ทัง้ พลังนํา้ ชีวมวล พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย พลังงานความรอนใต พิภพ รวมทั้งสิ้น 39,000 เมกะวัตต หรือคิด เปนสัดสวน 29% ของกําลังการผลิต ติดตั้ง ในการผลิตไฟฟาอาเซียนทั้งหมด ซึ่งไทยมี สัดสวนของพลังงานทดแทนในอาเซียนรวม ทั้งสิ้น 6,600 เมกะวัตต คิดเปน 17% ของ อาเซียน ตัวเลขพลังงานทดแทนไทย 6,600 เมกะวัตต เกิดขึน้ ภายหลังไดรบั การสงเสริม จากนโยบายรัฐ ไทยผลิตไดสงู สุดในอาเซียน ที่ สํ า คั ญ การบรรลุ ข  อ ตกลงการพั ฒ นา พลังงานทดแทนของอาเซียน จะเปนการผลัก ดันเปาหมายการใชพลังงานทดแทนตอไป

เพราะชาติอาเซียนมีศักยภาพดานพลังงาน ทดแทนสูงมาก

ดานการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ นั้นปจจุบันอาเซียนสามารถลดไดแลวถึง 7.56% จากระดั บ ในป 2548 ช ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใชพลังงานและขีดความ สามารถแขงขันของอาเซียน แตไทยจะลดให ได 25% ภายในป 2573 เพื่อสงสัญญาณ ประเทศอาเซียนตองเอาจริงเอาจังในการ อนุรักษพลังงานอยางเขมขน สวนวิกฤติสภาพภูมิอากาศเปนอีกประเด็น ที่อาเซียนพูดคุยกันเพื่อหาแนวทางสราง ความมั่ น คงทางพลั ง งาน และลดการ พึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิล เพิ่มสัดสวนการ ใชพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น เพื่อลดผล กระทบตอการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดยการพั ฒนาที่มุ งการลดความเข ม ข น ดานพลังงานนําไปสูก ารลดกาซเรือนกระจก ตลอดจนสร า งความตระหนั ก พลั ง งาน สะอาด ภูมิภาคอาเซียนทําใหเปนจริงได นอกจากนี้ กรอบความรวมมือดานพลังงาน อื่นๆ นั้นอาเซียนไดลงนามขยายความรวม

มือทอสงกาซอาเซียน ซึง่ จะหมดอายุในเดือน เมษายนปหนา โดยจะใหยืดอายุออกไปอีก 10 ป ซึ่งปจจุบันไทยมีจุดเชื่อมกับพมาและ มาเลเซีย ทั้งนี้ ความรวมมือทอสงกาซเปน หนึ่ ง ใน 8 ความร ว มมื อ ภายใต ข  อ ตกลง ดานพลังงาน คือ 1. ทอสงกาซ 2. สายสง ไฟฟ า อาเซี ย นหรื อ พาวเวอร ก ริ ต ซึ่ ง อี ก 2 ป ประชาคมอาเซียนจะมีผลบังคับใชในป 2558 ในสวนของไทยมีการเชื่อม 3 ประเทศ คือ ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย ในชวงตอ ไปจะเจรจากับพมา 3. ความรวมมือดาน ถานหินและปโตรเลียม ยังไมมีความคืบหนา มากนัก 4. พลังงานทดแทน ซึ่งถือวาไทย เปนผูนําในอาเซียน 5. ประสิทธิภาพการใช พลังงาน ซึ่งปจจุบันไทยเปนผูนําดานนี้ใน อาเซี ย น 6. การวางแผนด า นพลั ง งาน 7. การใชพลังงานนิวเคลียร และ 8. ความรวมมือ ดานเรกูเรเตอร เพื่อใหมีกฎระเบียบรวมกัน แตเพิ่งเริ่มตน

อยางไรก็ตาม สําหรับแนวทางความรวมมือ ไดพลังงานดานอื่น หรือความคืบหนาของ ความรวมมือดานพลังงานของอาเซียนจะ มีความคืบหนาอยางไรนั้น ผูเขียนจะนํามา อัพเดทขาวกันอีกครั้งในปหนาครับ

74

Energy#62_p74_Pro3.indd 74

12/20/13 9:34 PM


ASEAN Update กองบรรณาธิการ

อนาคตพลังงานไทยใน AEC เชือ้ เพลิงทดแทน จะยิง่ เกิดความยากลําบาก เพราะเมื่อประเทศผูขายนํ้ามันปรับขึ้นราคา นํา้ มันตามใจชอบ ขณะทีไ่ ทยไมมแี หลงพลังงาน ทดแทนของตัวเอง ดังนัน้ เมือ่ เศรษฐกิจดีขนึ้ ไมวา ประเทศผูข ายจะขายแพงเทาใด ไทยก็ตอ ง นําเขาพลังงานอยูด ี

ตองยอมรับวาสถานการณดานพลังงานใน ปจจุบนั มีแตจะแพงขึน้ เรือ่ ย ๆ แมทงั้ 10 ชาติ จะรวมตั ว กั น เป น หนึ่ ง ภายใต ป ระชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น หรื อ เออี ซี ก็ ไ ม ไ ด หมายความวาราคาพลังงานจะลดลงหรือมี ราคาเทาเทียมกัน เพราะแตละประเทศตางมี พื้นฐานทางกายภาพโดยเฉพาะแหลงผลิต “พลังงานทดแทน” ที่แตกตางกัน ปจจุบนั ประเทศสมาชิกเออีซที มี่ คี วามเขมแข็ง ดานพลังงานมากที่สุดคือ อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย รวมถึงพมา เพราะมีแหลงพลังงาน เปนของตัวเอง จึงกําหนดราคาเองได ขณะที่ ไทยไมไดใสใจเรือ่ งการหาแหลงผลิตพลังงาน ทางเลือกอยางจริงจัง ดังนั้นเมื่อเขาสูเออีซี แลว จึงมีความเปนไปไดทมี่ โี อกาสเสียเปรียบ ประเทศอื่น และตองเปดเวทีเจรจาเพื่อรักษา ผลประโยชน ข องสมาชิ ก รวมทั้ ง หาจุ ด ที่ เหมาะสมของราคาพลังงานแตละประเทศ อย า งไรก็ ต าม สิ่ ง ที่ ไ ทยได เ ปรี ย บในด า น พลังงาน คือ บุคลากรทีม่ อี งคความรู ความ สามารถ ทีส่ ามารถพัฒนาการใชทรัพยากรที่ มีอยูอ ยางจํากัดใหเกิดประโยชนสงู สุด รวมถึง หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนที่ เ กี่ ย วข อ ง

ทีต่ อ งเรงพัฒนาใหสอดคลองกับภาวะปจจุบนั ใหมากขึน้ การมีมมุ มองใหม ๆ ทัง้ ดานบวก และดานลบ เพื่อไวรุกและรับ เมื่อมีโอกาส หรือเกิดวิกฤติ ดังนั้น จากนี้ไปรัฐตองเรง หาผูที่เกี่ยวของมาประชาสัมพันธ กระตุน ใหประชาชนทราบถึงทิศทางพลังงาน การ ดําเนินงานตาง ๆ การใหความรู การบริหาร จัดการ ความรวมมือในชุมชนดวยกัน เพื่อ สงเสริมใหเกิดพลังงานทดแทนอยางเต็มที่ ไมใชเพียงแคใชงบประมาณใหหมดไปกับ การทําประชาสัมพันธเทานั้น ยอนหลังไปเมื่อ 5 ปกอน เคยคาดการณ กันไววา ณ วันนี้ ราคานํ้ามันจะอยูที่ลิตรละ 50 บาท แต สิ่ ง ที่ เ กิ ด ขึ้ น คื อ นํ้ า มั น ราคา ลิตรละ 40 บาทเศษ ซึ่งถือวาโชคดี เพราะ เศรษฐกิจทีช่ ะลอตัว ทัง้ ในสวนของเศรษฐกิจ โลก และเศรษฐกิจไทย จึงทําใหราคาและการ ใชพลังงานเชื้อเพลิงชะลอตัวลงตามไปดวย แตสุดทายถาเศรษฐกิจพลิกฟนกลับมาสู ภาวะปกติ อีก 5 ปขา งหนา อาจมีความเปนไป ไดทรี่ าคานํา้ มันจะอยูท ี่ 3 ลิตร 200 บาท หรือ เฉลี่ยลิตรละเกือบ 75 บาท จากชวง 30 ป ที่ ผานมา ราคาเพียงลิตรละ 10 บาท เทานั้น ทีส่ าํ คัญ ถาไทยยังไมมกี ารหาแหลงพลังงาน

ในเมื่อเวลานี้ เศรษฐกิจไทยยังอยูในฐานะที่ ไมคอ ยดีนกั การใชนาํ้ มันหรือเชือ้ เพลิงยังมี ไมมากนัก ถือวาเปนจังหวะที่ดี ที่ตองเรง หาแหล ง พลั ง งานสํ า รองของประเทศเอง โดยเฉพาะจากเชื้อเพลิงชีวภาพ หรือกาซที่ ไดจากมูลสัตว ทีถ่ อื วาเปนแหลงวัตถุดบิ ทีม่ ี อยูแทบทุกหมูบาน เดิมแตละบานเลี้ยงสัตว เพื่อใชงาน หรือทําเปนอาหารได แลวทําไม จึงไมคดิ เลีย้ งสัตว เพือ่ นํามูลสัตวเหลานัน้ มา ผลิตพลังงานทางเลือก ทีเ่ ชือ่ วาทําไดดแี นนอน เพราะเปนวัตถุดบิ พืน้ บานสามารถหาได โดย อิงอยูก บั อาชีพของคนไทยทีป่ ระกอบอาชีพกัน เปนปกติอยูแ ลว นอกจากนี้ ยังมีเรือ่ งของการใชพลังงานแสง อาทิตย หรือ โซลารเซลล ทีเ่ ปนพลังงานทาง เลือกอีกชนิดหนึ่ง ที่สามารถนํามาทดแทน นํา้ มันหรือกาซธรรมชาติไดเปนอยางดี แมวา เวลานีร้ ฐั จะสนับสนุนใหภาคธุรกิจเขามาดําเนิน การอยางจริงจัง แตกต็ อ งใหความสําคัญกับ ภาคครัวเรือนดวยเชนกัน เพือ่ จูงใจใหแตละบาน ติดตัง้ แผงโซลาร ลูฟท โดยมีหนวยงานกลาง คอยอํานวยความสะดวก เมือ่ ไดพลังงานมา ก็รบั ซือ้ ในราคาทีเ่ หมาะสม สิง่ เหลานี้ ขึน้ อยูก บั หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ทีต่ อ ง เขามาสงเสริมสนับสนุนการดําเนินการอยาง จริงจัง โดยเชือ่ วาในอนาคตไทยจะไมเดือด รอนแนนอน เพราะหากเกิดวิกฤติดา นพลังงาน ไม ว  า จะเป น ช ว งเดื อ นเมษายนที่ พ ม า ได ปดซอมทอสงกาซธรรมชาติทจี่ าํ หนายใหไทย อยูแลวเปนประจําทุกป หรือเกิดเหตุการณ ใหญ ๆ ในตลาดโลก จนสงผลกระทบเกิดวิกฤติ นํา้ มันในไทย ก็จะไมเดือดรอน เพราะมีแหลง พลังงานทดแทนสํารองไวอยูแ ลว (แหลงขอมูล : www.thaienergynews.com)

75

Energy#62_p75_Pro3.indd 75

12/20/13 9:43 PM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

“ªÕÇÀÒ¾” ¡ŒÒÇÊÓ¤ÑÞ àÊÃÔÁ·Ñ¾¾Åѧ§Ò¹ä·Â บทบาทของประเทศไทยดานการพึง่ พาพลังงานทดแทนตอสายตาประเทศ เพื่อนบาน ถือวามีความโดดเดนอยางมาก เพราะมีการสนับสนุนอยาง จริงจังมาโดยตลอด ทัง้ ในสวนของภาครัฐบาลเอง สงผานมายังภาคเอกชน เพือ่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นและเสริมศักยภาพดานพลังงานของประเทศใหเปนรูปธรรม มากยิง่ ขึน้ โดยเฉพาะพลังงานจากชีวภาพทีม่ กี ารสงเสริมมาเปนเวลานาน เพราะเปนพลังงานทีส่ ามารถผลิตไดเองในชุมชน ใหสามารถพึง่ พาตนเองได

ที่ผานมา พลังงานชีวภาพมักถูกมองขาม หากจะนํามาเปนตัวเลือกในการผลิตไฟฟา เพราะถูกมองวายังไมคุมคาตอการลงทุน มากนั ก ทั้ ง ที่ วั ต ถุ ดิ บ ที่ จ ะนํ า มาผลิ ต เป น พลังงานชีวภาพ เปนสิ่งที่สามารถหาไดจาก ชุมชนหรือเปนสิ่งที่สามารถผลิตไดขึ้นเอง ก็ตาม อีกหนึ่งปจจัยคือ เรื่องความชัดเจน ดานราคาซือ้ ขายคาไฟฟา หากมีการผลิตได ปริมาณมากสําหรับใชในการพาณิชย สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน(สนพ.) หนึ่งในกําลังขับเคลื่อนดานพลังงาน ภายใต สั ง กั ด ของกระทรวงพลั ง งาน จึ ง เตรี ย ม เสนอ คณะกรรมการนโยบายพลั ง งาน แห ง ชาติ ( กพช.) ถึ ง อั ต ราการรั บ ซื้ อ ไฟฟ า ในรู ป แบบ Feed in Tariff(FIT) กลุมพลังงานชีวภาพ ไดแก ชีวมวล ขยะ พรอมกั บทบทวนอัตราการรับซื้อไฟฟาที่ ผลิตจากหญาเนเปยร จาก 4.50 บาท/หนวย เปน 4.90 บาท/หนวย เพื่อที่จะเพิ่มแรง จู ง ใจให กั บ ผู  ป ระกอบการและเกษตรกร หันมาปลูกหญาเพื่อผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้น

76

Energy#62_p76-77_Pro3.indd 76

12/11/13 9:34 PM


การทบทวนคาไฟฟาสงเสริมพลังงานหมุนเวียนนั้น เปนการปรับคา สนับสนุนเงินตามการลงทุนที่แทจริง เพื่อทดแทนระบบสวนเพิ่มราคา รับซื้อไฟฟา หรือ คา Adder จะทําใหราคาที่กําหนดสะทอนตนทุนโรง ไฟฟาทีแ่ ทจริง และมีการปรับราคาทีเ่ ปลีย่ นแปลงตามเชือ้ เพลิงชีวมวล ที่เหมาะสม ทําใหใหเกิดความเปนธรรมกับโรงไฟฟาและผูใชไฟฟา โดยเฉพาะในสวนของอัตราการรับซื้อไฟฟาในรูปแบบ FIT สําหรับ โรงไฟฟากาซชีวภาพจากหญาเนเปยรที่อยูที่ 4.50 บาท/หนวย ยังเปนราคาที่ไมจูงใจผูประกอบการและเกษตรกรใหหันมาลงทุน และปลูกหญาเนเปยรมากเทาที่ควร การทบทวนอัตรารับซือ้ ไฟฟาใหมของหญาเนเปยร จึงถือเปนทางออก ที่ดีที่สุดโดยวิเคราะหความสัมพันธระหวางการผลิตกาซชีวภาพ และการผลิตปุย และปรับสมมุติฐานรายไดจากการจําหนายปุยที่ได จากโครงการ 100% เปน 25% ของสมมติฐานเดิม เพื่อสงเสริมให โรงไฟฟานําปุยที่ผลิตไดแจกจายใหเกษตรกรในพื้นที่รอบโรงไฟฟา สงผลใหจําเปนตองปรับเพิ่มอัตรารับซื้อไฟฟา FIT ใหเหมาะสมตาม สมมติฐานดังกลาวเปน 4.90 บาท/หนวย สําหรับการศึกษาราคาชีวมวลที่เหมาะสมนั้น ทําการสงเสริมโดย เนนการผลิตไฟฟาชีวมวลขนาดเล็กถึงระดับชุมชน โดยเปน 4 กลุม ไดแก กลุมโรงไฟฟาขนาดไมเกิน 300 กิโลวัตต กลุมโรงไฟฟาขนาด 300-1000 กิโลวัตต กลุมโรงไฟฟาขนาด 1 - 3 เมกะวัตต และกลุม โรงไฟฟาขนาด 3- 10 เมกะวัตต โดยมีการกําหนดโครงสรางราคา

FIT เปน 2 สวน ไดแก อัตรา FIT สวนคงที่ ซึ่งจะคิดจากตนทุนโรง ไฟฟาโดยตรง และอัตรา FIT สวนแปรผัน ซึ่งจะปรับเปลี่ยนไดตาม ตนทุนเชื้อเพลิงชีวมวล โดยไดศึกษาเชื้อเพลิงในรูปเศษวัสดุเหลือ ใชทางการเกษตรในรูปแบบตางๆ และทําการกําหนดราคาชีวมวลที่ เหมาะสม เปนราคาที่เหมาะสม โดยอัตรารับซื้อไฟฟา FIT สําหรับ ชีวมวล จะอยูในชวง 3.78 ถึง 5.41 บาท/หนวย สวนอัตรารับซื้อไฟฟา FIT จากขยะ จะมุงเนนที่ระบบจัดการขยะ แบบผสมผสาน จากการประเมินตนทุนใหเหมาะสมในการผลิตเชื้อ เพลิงจากขยะ สามารถนํามาผลิตไฟฟาโดยเทคโนโลยีทางความ รอนไดเหมือนเชื้อเพลิงชีวมวล จากการศึกษาคาใชจายที่เหมาะ สมในการผลิตเชื้อเพลิงขยะจากขอมูลระบบจัดการขยะแบบผสม ผสานของไทย อัตราการรับซื้อไฟฟาสําหรับขยะ จะอยูในชวง 4.69 - 6.32 บาท/หนวย ซึ่งถือเปนราคาที่เหมาะสม เปนที่นาจับตาถึงศึกษาการอัตรารับซื้อไฟฟาในรูปแบบ FIT ครั้งนี้ เพราะเป น การปรั บ โดยตั้ ง อยู  บ นสมมติ ฐ านที่ ค วรจะเป น จริ ง ซึ่ ง สํ า นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน จะนํ า เสนอต อ ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการนโยบายพลั ง งานแห ง ชาติ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นด า น พลังงานในประเทศใหมากขึ้นและตอเนื่อง โดยเฉพาะดานพลังงาน ทดแทน เพื่อใหประเทศไทยไมเปนสองรองใคร เมื่อเปดประเทศเขา สูการเปนประชาชมอาเซียน

77

Energy#62_p76-77_Pro3.indd 77

12/11/13 9:34 PM


Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา

กาวเขาสูปใหม เทรนดและกระแสของการ ประหยัดพลังงานยังคงเปนเรื่องที่ตองมีการสานตอ อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ไมใหเปนการสูญเปลากับสิง่ ทีท่ าํ มา ซึ่ ง ป 2557 อาคารเขี ย วเป น กระแสที่ ดู เ หมื อ นจะ นาจับตามากที่สุด และภาครัฐไดใหความสําคัญ อยางมากตอโครงการอนุรกั ษพลังงานในกลุม อาคาร สํานักงาน เพือ่ ใหผปู ระกอบการ รวมถึงพนักงานทีอ่ ยู ภายในอาคารเขาถึงการลดใชพลังงานจริงจัง

วาดวยเรื่อง “พลิกโฉมการอนุรักษพลังงาน ในอาคาร สํานักงานไทย สูอาคารสีเขียว” ภายใต ก ารเสวนาที่ มี หั ว เรื อ ใหญ อ ย า ง กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน (พพ.) ที่มีการถกปญหาปจจุบัน กับการใชพลังงานในภาคธุรกิจและบริการ โดยเฉพาะกลุมผูใชอาคาร สํานักงาน ซึ่งมี อยูที่รอยละ 8 ของการใชพลังงานทั้งหมด และแน น อนว า จะเป น ภาคส ว นที่ มี ก าร ขยายตัวของการใชพลังงานอยางตอเนื่อง ที่ ผ  า นมา หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งอย า ง กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พลังงาน ไดมีการดําเนินโครงการอนุรักษ พลังงานรวมกับภาคสวนของกลุม ผูป ระกอบการ อาคารอยางตอเนือ่ งจนเห็นภาพทีช่ ดั เจนในการ มีสว นรวม รวมทัง้ ไดกระตุน ใหผปู ระกอบการ หรือเจาของอาคาร และพนักงานที่ทํางาน

ในอาคารได ต ระหนั ก ถึ ง ป ญ หาการ ขาดแคลนพลังงาน และใสใจในเรื่องการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ฉะนั้ น เทรนด ด  า นการประหยั ด พลั ง งาน ในป 2557 จึงถูกจับจองไปที่การพัฒนา ให เ กิ ด อาคารสี เ ขี ย วให ม ากยิ่ ง ขึ้ น โดย พพ.ไดเตรียมโครงการอนุรักษพลังงานใน กลุมอาคารสํานักงาน เปนโครงการหลัก ในการรณรงคป ระชาสั ม พั น ธ เพื่ อ สร า ง ความรูความเขาใจแกผูประกอบการอาคาร สํานักงาน พรอมการรณรงคใหพนักงาน ในที่ทํางานหรือกลุมพนักงานออฟฟศ โดย จากการศึกษาพบวาเปนกลุมที่ใชพลังงาน สูงมากที่สุดกลุมหนึ่ง เชื่อวาหากสามารถ ทําใหกลุมดังกลาว มีความรูความเขาใจและ ลดการใชพลังงาน จะชวยใหภาพรวมการ ใชพลังงานของประเทศลดลงในอนาคต

อาคารเขี ย ว ในประเทศไทยเกิ ด ขึ้ น จาก ความร ว มมื อ ในการประหยั ด พลั ง งานให เปนรูปธรรม ไมใชเปนการตามกระแสโลก ซึ่งสถาบันอาคารเขียวไทย ไดดําเนินการ และประกาศเจตนารมณการดําเนินโครงการ ตั้งแตป 2552 ในการสงเสริมการวิจัย การ พัฒนามาตรฐานวิชาการ และมาตรฐานทาง วิชาชีพทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรม เพื่อใชในการออกแบบและการจัดการตัว อาคารให ป ระหยั ด พลั ง งานและเป น มิ ต ร กับสิ่งแวดลอม ซึ่งที่ผานมาสามารถชวย ประหยั ด พลั ง งานได จ ริ ง และในป 2557 เรื่องของอาคารสีเขียวจะเปนที่จับตา เพราะ มี ก ารเข า ถึ ง และประชาสั ม พั น ธ จ นเป น ที่รูจักมากขึ้น จึงไมใชเรื่องยากที่หนวยงาน ที่ เ กี่ ย วข อ งจะให ค วามสนใจในการเข า ร วมโครงการดังกลาวมากกวาเดิมอยาง แนนอน

78

Energy#62_p78_Pro3.indd 78

12/13/13 11:07 PM


Energy#62_p79_Pro3.ai

1

12/18/13

10:40 PM


Special Scoop นัษรุต เถื่อนทองคํา

การพืน้ ฟูสภาพสิง่ แวดลอม พันธะกิจ หลักทีท่ กุ คนไมควรทีจ่ ะมองขาม เพราะทีผ่ า นมากวาเราจะเติบโตมา จนถึงทุกวันนี้ เราไดมสี ว นในการทําลาย ผืนปาไปเปนจํานวนมาก ทัง้ ทีต่ งั้ ใจและ ไมไดตงั้ ใจ หากเรามีโอกาสทีจ่ ะเปน สวนหนึง่ ในการทําเพือ่ สิง่ แวดลอม เพราะฉะนัน้ อยารอชาทีจ่ ะทําเพือ่ คืนชีวติ ใหกบั สภาพแวดลอมของเรา

ภายใต ค วามรว มมื อ ของพั น ธมิ ต รทุ ก ภาค

รวมพลังปลูกปานิเวศเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ครบ 86 พรรษา

80

Energy#62_p80-81_Pro3.indd 80

12/18/13 9:47 PM


สวนรวมถืออาสาสมัครทีใ่ สใจดานสิง่ แวดลอมจํานวน กวา 2,500 คน เกิดเปนโครงการ “รวมใจปลูกปา นิเวศ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฯ ครบ 86 พรรษา” ในการรวมกิจกรรมปลูกปานิเวศ ดวยกลาไมทอ งถิน่ 55 สายพันธุ จํานวน 28,600 ตน ณ พื้นที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อําเภอแกงคอย จังหวัดสระบุรี โครงการ “รวมใจปลูกปานิเวศ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ครบ 86 พรรษา” เกิดจากความรวมมือระหวาง บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํ า กั ด , จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย , สมาคมนิสติ เกาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จังหวัดสระบุรี และโรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา ในการรวบรวม อาสาสมัครจากหลากหลายภาคสวน อาทิ พนักงาน โตโยตาและครอบครัว ชมรมโตโยตาจิตอาสา สมาชิก โตโยตาซีเอสอารเฟซบุคแฟนเพจ ผูแทนจําหนายฯ คณาจารย นิสิตปจจุบัน นิสิตเกาจากจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย หนวยงานราชการในจังหวัดสระบุรี นั ก เรี ย นจากโรงเรี ย นนายร อ ยพระจุ ล จอมเกล า และ ประชาชนทั่วไป รวมทํากิจกรรมปลูกปานิเวศ เพื่ อ ถวายเป น พระราชกุ ศ ลแด พ ระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัวฯ ใหพื้นที่แหงนี้เปนแหลงเรียนรูความ หลากหลายทางชีวภาพและเปนแหลงศึกษาพันธุ ไม ทองถิน่ ตอไปในอนาคต ศ. ดร. อาคิระ มิยาวากิ ศาสตราจารยเกียรติคุณ มหาวิทยาลัยแหงชาติโยโกฮามา และ ผูอํานวยการ สถาบันการเรียนรูดานนิเวศวิทยานานาชาติประจํา ประเทศญี่ปุน ไดใชแนวคิดในปลูกปานิเวศครั้งนี้ให เปนการปลูกปานิเวศอยางยัง่ ยืน และ เทคนิควิธกี าร ปลูกปาตามแนวคิดของ โดยทฤษฎีนปี้ ระสบผลสําเร็จ ในการสรางผืนปาที่อุดมสมบูรณมาแลวมากกวา 1,500 แหงทัว่ โลก ชวยเรงระยะเวลาการเจริญเติบโต ของปานิเวศใหเร็วขึน้ จากวิวฒ ั นาการตามธรรมชาติ อีกทัง้ ชวยสรางระบบนิเวศทีเ่ กิดใหมใหมคี วามสมบูรณ โดย ดร. สิรนิ ทร แกวละเอียด ทีป่ รึกษาของโครงการ ปลูกปานิเวศของโตโยตา ไดนาํ องคความรูด งั กลาวมา ประยุกตใชกบั การปลูกปาในครัง้ นี้ อีกทัง้ ยังใหเกียรติ ในการบรรยายและสาธิตวิธกี ารปลูกแกกลุม นักศึกษา ทีจ่ ะมาทําหนาทีเ่ ปนอาสาสมัครแกนนํา 8 81

Energy#62_p80-81_Pro3.indd 81

12/18/13 9:47 PM


Energy Rules ทิดเปง

การกอสรางโรงงานเปนเรื่องที่เกี่ยวของ กับเรื่องของกฏหมายคอนขางมาก โดย เฉพาะกั บ ใบอนุ ญ าตในการตั้ ง โรงงาน (รง.4) เพราะที่ผานมาทําการกอสรางเลย โดยที่ไมไดขอ รง.4 เมื่อสรางโรงงานเสร็จ หากพบวามีปญหาแบบการกอสรางไมได มาตรฐานตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม กํ า หนด โดยเฉพาะในเรื่ อ งของความ ปลอดภัยและความเหมาะสม จึงไมสามารถที่ ออกใบอนุญาต รง.4 ได และหากมีการติดตัง้ Solar Rooftops บนอาคารโรงงาน สามารถ ติดตั้งไดเลย โดยที่ไมตองขอใบอนุญาต รง.4 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม(กรอ.)

ใบอนุญาต ร.ง.4โปรงใส...ตรวจสอบได ป จ จุ บั น นอกจากการขอใบอนุ ญ าต ประกอบกิจการโรงงาน(ร.ง.4) ใหเปนไป ตามมาตรฐานของความปลอดภั ย แล ว ยังมีเรื่องที่เกี่ยวของกับการผลิตพลังงาน ทดแทน นายกวิน ทังสุพานิช เลขาธิการ สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การ พลั ง งาน(กกพ.) เล า ถึ ง ความคื บ หน า ใน การพิ จ ารณาออกใบอนุ ญ าตประกอบ กิจการโรงงาน(ร.ง.4) ภายหลังจากไดรับ เรื่องจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม(กรอ.) วา สํานักงาน กกพ. กําลังอยูระหวางการ ตรวจสอบและจั ด ทํ า ความเห็ น เพื่ อ เสนอ คณะกรรมการกํ า กั บ กิ จ การพลั ง งาน (กกพ.) พิจารณา โดยขัน้ ตอนการพิจารณา ออกใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การโรงงาน เปนอํานาจหนาที่ของ กกพ. ตาม พ.ร.บ. ประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 ซึง่ ตอง ใชเอกสารเพิ่มเติมจากทั้งผูประกอบการ, กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม(กรอ.) และ การไฟฟาสวนภูมิภาค สํานักงาน กกพ. ไดดําเนินการพิจารณา

ออกใบอนุญาต ร.ง.4 โดยใหเปนไปตาม กระบวนการที่โปรงใส สามารถตรวจสอบ ไดทุกขั้นตอน อีกทั้ง เนนความรอบคอบ ความถูกตองและครบถวนของเอกสารตาง ๆ โดยใชระยะเวลาในการพิจารณาภายหลัง จากไดรบั เรือ่ งจาก กรอ. ไมเกิน 30 วัน แต ตองอยูบ นเงือ่ นไขความถูกตอง ครบถวนของ เอกสารดวย โดยทีผ่ า นมา กกพ. ไดพจิ ารณา และมีมติเห็นชอบการออกใบอนุญาต ร.ง.4 ไปแลวจํานวนทัง้ สิน้ 452 ราย รวมกําลังการ ผลิตติดตัง้ ทัง้ สิน้ 8,529.26 เมกะวัตต ทัง้ นี้ กรอบระยะเวลาที่ กกพ. และกระทรวง อุตสาหกรรม(อก.) ไดตกลงกันไวในบันทึก ขอตกลงความรวมมือฉบับลงวันที่ 28 ตุลาคม 2552 เรื่ อ ง แนวทางการให อ นุ ญ าตตั้ ง โรงงานฯ กระทรวงอุ ต สาหกรรมมี ร ะยะ เวลาดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 60 วัน ในขณะทีส่ าํ นักงาน กกพ. และ กกพ. มีระยะ เวลาดําเนินการภายใน 30 วัน รวมระยะ เวลาทัง้ สิน้ ไมเกิน 90 วันตามทีก่ าํ หนดในกฎ กระทรวงของกระทรวงอุตสาหกรรม ทีผ่ า นมา

การพิจารณาอนุญาต ร.ง.4 ในสวนของ กรมโรงงานอุตสาหกรรมสวนใหญจะเกินกวา 60 วัน ตามที่กําหนดในบันทึกขอตกลงฯ ทั้งนี้ เนื่องจากตองผานการพิจารณาของ คณะกรรมการกลัน่ กรองการออกใบอนุญาต รง.4 ของ อก. รวมทัง้ ขึน้ อยูก บั ความถูกตอง ครบถวนของเอกสารที่สงมาประกอบการ พิจารณาอนุญาต ในสวนการทํางานของ กกพ. มีระยะเวลาใน การพิจารณาออกใบอนุญาตจนถึงแจงผล การพิจารณาโดยเฉลีย่ อยูท ปี่ ระมาณ 12 วัน ซึ่งเปนไปตามกรอบระยะเวลาตามในบันทึก ขอตกลงฯ อาจมีบางครัง้ ทีเ่ อกสารจาก กรอ. ไมครบถวน ไมสมบูรณ ก็จะสงเรื่องกลับไป กรอ. หรือบางกรณีก็ประสานใหผูประกอบ กิจการนํามาสง หรือแกไขเพิม่ เติม อาจทําให ตองใชเวลาเกินที่กําหนด เพราะความไม สมบูรณของเอกสารหลักฐานประกอบการ พิจารณา แตหากเอกสารมีความถูกตองก็ มั่นใจไดวา กกพ. สามารถออกใบอนุญาต ร.ง.4 ภายในกรอบระยะเวลาที่กําหนด

82

Energy#62_p82_Pro3.indd 82

12/13/13 11:11 PM


Prefabrication โดย : ชนากานต สันตยานนท ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ

นวัตกรรมที่พักอาศัยสําเร็จรูปและกึ่งสําเร็จรูป ตอบโจทย์ชีวิตคนเมือง ลดค่าใช้จ่าย ลดใช้ทรัพยากร

นวั ต กรรม (Innovation) นั บ เป น เรื่ อ ง สํ าคั ญในการสร างโอกาสทางธุรกิจ และ สรางความแตกตางในการแขงขัน ยิ่งในยุค ที่ตลาดทั้งในและตางประเทศมีการแขงขัน สูงเชนนี้ ทุกธุรกิจจําเปนตองมีการปรับตัว และพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ เ พื่ อ ตอบโจทย แ ละ ความตองการของผูบริโภคทั้งในดานราคา คุ ณ ภาพ ดี ไ ซน ที่ ส วยงาม และทั น สมั ย รวมถึงความแปลกใหมทแี่ ตกตาง นอกจากนี้ ป จ จุ บั น ในหลาย ๆ ธุ ร กิ จ ยั ง เพิ่ ม ความ สนใจและมีความตองการสินคาที่เปนมิตร ต อ สิ่ ง แวดล อ ม ประหยั ด พลั ง งาน และ มีนวัตกรรมที่แตกตางอีกดวย โครงการ ITAP โดย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) จึงริเริ่ม โครงการ “นวั ต กรรมการพั ฒ นาที่ พั ก อาศัยกึ่งสําเร็จรูป” โดยรวมงานกับ คณะ สถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการผั ง เมื อ ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร โดยมี อ.กัลยา โกวิทวิสิทธิ์ เปนหัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญ เพือ่ สงเสริมผูป ระกอบการทีต่ อ งการพัฒนา เทคนิ ค การผลิ ต และต อ ยอดธุ ร กิ จ รั บ สรางที่อยูอาศัย หรือเปน supplier ให กับอุตสาหกรรมกอสรางหรือรับสรางบาน ดวยการตอยอด พัฒนาเติมความคิดและ เทคโนโลยีใหกับผลิตภัณฑ เพื่อชวยเพิ่ม

ความแตกตาง สรางมูลคา และเพิม่ ยอดขาย ให กั บ ผู ป ระกอบการจํ า นวน 15 บริ ษั ท ที่เขารวมโครงการตลอด 2 ป ที่ผานมา ฉบับ นี้ที่ แ ลว ไดเ ล า ถึ ง กรณีตั ว อยา งของ บริษัท เอส บี พี ทิมเบอร กรุป จํากัด ซึ่ง เป น 1 ใน 15 ผู ป ระกอบการที่ เ ข า ร ว ม โครงการ “นวัตกรรมการพัฒนาทีพ ่ กั อาศัย กึง่ สําเร็จรูป” เพือ่ สงเสริมผูป ระกอบการใหมี ความรูและแนวทางการสรางนวัตกรรมดาน ที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป (Prefabrication) ผานเทคนิควิธีและแนวคิดทางวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ฉบับนี้จะขอยกตัวอยางอีก หนึ่งผูประกอบการผลิตภัณฑเหล็กพับขึ้น รูป คือ บริษัท ธนาคูณ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (www.thanakoon.com) ลักษณะงานแบบ OEM (Origianl Equipment Manufacturer) รับจางผลิตสินคาตาม แบบที่ ลู ก ค า กํ า หนด โดยใช เ ครื่ อ งจั ก ร และคนงานของโรงงาน ตอมาบริษัทไดให ความสําคัญกับการพัฒนาผลิตภัณฑอยาง ตอเนื่อง จึงไดเขารวมโครงการ “นวัตกรรม การพัฒนาที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป” เพื่อ พัฒนาระบบการประกอบชิ้นสวนสําเร็จรูป เพือ่ ใชในระบบอุตสาหกรรมการกอสราง ซึง่

ผลทีไ่ ดคอื บริษทั สามารถพัฒนาผลิตภัณฑ ใหมปี ระสิทธิภาพดานการประหยัดพลังงาน และการติ ด ตั้ ง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ลดการ พึ่งพาดานแรงงาน และสามารถประกอบ ใหแลวเสร็จในโรงงานกอนนําไปติดตั้ง ณ พื้ น ที่ จ ริ ง ได ม ากกว า 75% นอกจากนี้ บริษัทฯยังไดรับการถายทอดความรูและ เทคนิคดานการเลือกใชฉนวนกันความรอน ในการพัฒนาผนังโครงสรางเหล็ก, การ ออกแบบขอตอเสริมเพื่อติดตั้งฉนวนกัน ความรอนและวัสดุกรุผนัง จนไดตนแบบ ระบบโครงสรางและงานระบบของผลิตภัณฑ เพื่ อ ตอบสนองต อ กระแสความต อ งการ ของตลาดในปจจุบัน ซึ่งถือเปนการสงเสริม ศักยภาพในการผลิตและติดตั้งที่สามารถ ลดการพึ่งพาคนงาน และสามารถควบคุม คุณภาพ ลดระยะเวลาในการดําเนินการ กอสราง รวมถึงพัฒนาคุณลักษณะเสริม ของผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ไดอีกดวย นอกจากการจัดผูเ ชีย่ วชาญเขาใหคาํ ปรึกษา และใหคําแนะกับบริษัทที่เขารวมโครงการฯ แลว สวทช. ยังมีกจิ กรรมอืน่ ๆ เพือ่ สงเสริม ความรูใหกับผูเขารวมโครงการ เชน การจัด สัมมนาเพื่อถายทอดความรูและนวัตกรรม 83

Energy#62_p83-84_Pro3.indd 83

12/17/13 10:46 PM


สงมอบอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ การออกแบบ ทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรมก็เขามามีสวน ช ว ยสร า งความแตกต า งให กั บ ธุ ร กิ จ ทั้ ง ด า น การใชพื้นอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด และการ ออกแบบที่ พั ก อาศั ย ที่ คํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ ม ทัง้ ดานการกอสราง การใชทรัพยากร การจัดการ พลังงานภายในที่พักอาศัย และการจัดการขยะ และของเสี ย ก็ เ ป น สิ่ ง ที่ ผู บ ริ โ ภคคํ า นึ ง ถึ ง เช น เดียวกัน” (ขอขอบคุณขอมูลจาก ดร.โสภณ พร โชคชัย ประธานกรรมการบริหาร ศูนยขอ มูลวิจยั และประเมินคาอสังหาริมทรัพยไทย)

การพัฒนาทีพ ่ กั อาศัยกึง่ สําเร็จรูป รวมถึงการใหขอ มูลดานการตลาด ของที่พักอาศัย และแนวโนมในอนาคตของตลาดอสังหาริมทรัพย แกผูเขารวมโครงการ ผานขอมูลของศูนยขอมูลวิจัยและประเมินคา อสังหาริมทรัพยไทย ซึ่งใหขอมูลที่นาสนใจวา “หลังจากประเทศไทย ประสบปญหาอุทกภัยในป 2554 ทําใหตลาดอสังหาริมทรัพยอยูใน ภาวะชะลอตัว แตกย็ งั อยูใ นขาขึน้ และดวยนโยบายกระตุน จากภาครัฐ เชน การเพิ่มสัดสวนเงินดาวน การลดสัดสวนเงินปลอยกูตอมูลคา ทรัพยสิน และการประกันเงินดาวนของผูซื้อบาน จึงทําใหผูซื้อมีความ มั่นใจในตลาดยิ่งขึ้น โดยจากการสํารวจ พบวา ในป 2556 มีโครงการ ประเภทหองชุดหรือคอนโดมิเนียมเปดตัวมากที่สุด รองลงมา คือ ทาวนเฮาส และบานเดี่ยว ตามลําดับ โดยปรากฏการณนี้เกิดขึ้น ตอเนื่องมา 2-3 ปแลว ที่หองชุดเปนสินคาหลักในตลาด ทั้งนี้คงเปน เพราะที่ดินมีจํากัด ที่เนนการเดินทางโดยรถไฟฟา และปญหานําทวม ในชานเมือง ทําใหประชาชนสนใจซื้อหองชุดในเขตเมืองมากขึ้น”

นอกจากนีย้ งั พบวา “ตลาดมีการแขงขันทีร่ นุ แรง เนือ่ งจากผูป ระกอบการ รายใหญเขามาแขงขันในตลาดทุกประเภท และตองมีการพัฒนา นวั ต กรรมการก อ สร า งให ส ามารถตอบสนองความต อ งการของ ตลาดที่ ห ลากหลาย โดยการก อ สร า งกึ่ ง สํ า เร็ จ รู ป และสํ า เร็ จ รู ป เขามามีบทบาทในอุตสาหกรรมกอสรางเปนอยางมาก ทั้ง Precast Concrete และชิ้ น ส ว นสํ า เร็ จ ต า ง ๆ ที่ ส ามารถตอบสนองการ กอสรางที่ตองการความรวดเร็ว ตนทุนตํา เพื่อการสงมอบที่รวดเร็ว โดยเฉพาะตลาดหองชุดหรือคอนโดมิเนียมที่เนนการกอสรางและ

ผูเขียนขอใหขอมูลสําหรับโครงการ “นวัตกรรม การพัฒนาที่พักอาศัยกึ่งสําเร็จรูป” ไวเพียง เทานี้กอน ฉบับหนาจะกลาวถึงอีกหนึ่งโครงการ ดี ๆ ที่ สวทช. ริเริ่มเพื่อผูประกอบการ นั่นคือ โครงการ “พัฒนาผูประกอบการไทยเพื่อการ ดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน” หรือ Sustainable Business Development ใหผอู า นไดรบั ทราบ ในฉบับหนาคะ

หากทานสนใจเขารวมโครงการ ติดตอที่ คุณชนากานต สันตยานนท (chanaghan@tmc.nstda.or.th) โทรสาร. 0-25647082 โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381

84

Energy#62_p83-84_Pro3.indd 84

12/17/13 10:46 PM


O Waste Idea รองศาสตราจารย ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

การพัฒนาเมืองที่ยั่งยืนและแหล งพลังงานหมุนเวียน

…เกร็ดความคิดจากอินโดนีเซีย ผูเ ขียนไดรบั เกร็ดความรูแ ละแนวคิดจากงานประชุมวิชาการระดับ นานาชาติในครั้งนี้ โดยมีประเด็นที่นาสนใจทางดานการพัฒนา เมืองนาอยูแ บบยัง่ ยืนของอาเซียน และการพัฒนาแหลงพลังงาน ทดแทนของประเทศอินโดนีเซีย ในรูปแบบพลังงานความรอนใต พิภพเพื่อการผลิตไฟฟา ที่อยากนํามาเลาสูกันฟง ดังนี้ ทิศทางของการพัฒนาเมืองแบบยั่งยืนในศตวรรษที่ 21 แนวคิดของการพัฒนาเมืองนาอยูแบบยั่งยืนของอาเซียน ได มีการริเริ่มขึ้นครั้งแรกในการประชุมเรื่องกรอบแนวคิดเรื่อง สิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืนสําหรับอาเซียน ที่ประเทศสิงคโปร ป พ.ศ.2546 ทีป่ ระชุมไดกาํ หนดวิสยั ทัศนใหสมาคมอาเซียนมุง สู ความเปนเมืองทีม่ คี วามยัง่ ยืนทางดานสิง่ แวดลอม จากวิสยั ทัศน ไดนํามาสูปฎิบัติการทําเมืองที่มีความยั่งยืนทางดานสิ่งแวดลอม ในเมืองตาง ๆ ทั่วภูมิภาคอาเซียน ในป พ.ศ. 2554 มาเยือนอินโดนีเซีย…ดินแดนอิเหนา สืบเนือ่ งจากผูเ ขียนไดมาเยือนประเทศอินโดนีเซียหรือดินแดนอิเหนา ซึ่งเปนประเทศที่มีความเปนเอกภาพทามกลางความหลากหลายของ กลุมชาติพันธุและกลุมศาสนา ในระหวางวันที่ 10-14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ทีผ่ า นมา โดยไดเขารวมงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ทางวิศวกรรมของภูมิภาคอาเซียน หรือ CAFEO ครั้งที่ 31 หัวขอ การประชุมเรื่อง “Implementation of Green Infrastructure in ASEAN Countries” ณ กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย พร อ มกั น นี้ ผู  เ ขี ย นได เ ข า รั บ รางวั ล ASEAN Outstanding Engineering Achievement Award ประจําป 2556 ในงานประชุม วิชาการระดับนานาชาติทางวิศวกรรมของภูมิภาคอาเซียนครั้งนี้ดวย

จากการนําเสนอแนวคิดของการพัฒนาเมืองนาอยูแบบยั่งยืน ของนักวิชาการจากภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งผูเขี่ยวชาญจาก ประเทศญี่ปุน ประเทศเกาหลี ประเทศจีน นั้น สามารถสรุปไดวา ประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคอาเซียนมีความจําเปนในการพัฒนา นโยบาย National sustainable urban development policy สามารถขับเคลื่อนภูมิภาคอาเซียนเพื่อบรรลุเปาหมาย ในประเด็นดังตอไปนี้ - เพื่อสรางความสมดุลของการพัฒนาเมืองใหมีความยั่งยืน ทั้ง ทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม - เพือ่ ใหมกี ารพิจารณาความเสีย่ งดานการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศ หรือ climate change ที่มีผลกระทบตอการเกิดภัยพิบัติ ธรรมชาติมารวมพิจารณาวางแผนพัฒนาเมือง - เพือ่ ใหมกี ารนําหลักการธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารจัดการ เมือง โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ทั้งชุมชน ภาคเอกชน และภาครัฐ ทั้งนี้ ควรมีการพัฒนาศักยภาพขององคกรบริหาร ปกครองสวนทองถิ่นดวย - เพื่อใหมีการสรางเครือขายขององคกรบริหารปกครองสวน ทองถิน่ สําหรับการการพัฒนาเมืองและสังคมแบบบูรณาการ ใน การแกปญหาระดับทองถิ่นและภูมิภาคตอไป ทางเลือกใหมของพลังงานหมุนเวียน… แหลงพลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานความรอนใตพภิ พถือเปนหนึง่ ในพลังงานหมุนเวียน โดย เกิดจากความรอนภายในโลก ซึ่งสามารถนําพลังงานความรอน ใตพิภพในรูปแบบของไอนํ้าและนํ้ารอนที่ถูกสรางขึ้นภายในโลก

85

Energy#62_p85-86_Pro3.indd 85

12/23/13 1:32 PM


นํามาใชในการสรางความอบอุน แกตวั อาคารและ ผลิตกระแสไฟฟาได เพราะพลังงานความรอน ใตพภิ พนัน้ ถูกผลิตขึน้ จากแกนโลกตามธรรมชาติ จากขอมูลการใชพลังงานความรอนใตพภิ พเพือ่ การผลิตไฟฟา พบวา เริม่ ตนขึน้ ในป ค.ศ. 1913 ที่ประเทศอิตาลี โดยมีขนาดกําลังการผลิต 250 กิโลวัตต นับวาเปนโรงไฟฟาพลังงานความรอน ใตพิภพแหงแรกในโลกที่มีการผลิตไฟฟาออก มาในเชิงพาณิชย โดยในปจจุบันไดมีการขยาย กําลังผลิตมาเปนโรงไฟฟาขนาด 700 เมกะวัตต สําหรับประเทศอินโดนีเซียมีโครงการโรงไฟฟา พลังงานความรอนใตพิภพหลายโครงการ เพื่อ ตอบสนองความตองการกระแสไฟฟาที่เพิ่มขึ้น ในขณะที่อินโดนีเซียมีแหลงพลังงานความรอน ใต พิ ภ พจํ า นวนมากที่ ยั ง ไม ไ ด ถู ก นํ า มาผลิ ต กระแสไฟฟา อินโดนีเซียมีประชากร 234 ลานคน มีภูเขาไฟมากกวา 200 ลูก มีพลังงานความรอน ใตพภิ พราว รอยละ 40 ของโลก หรือราว 28,000 เมกะวัตต ประธานาธิบดีซูซิโล บัมบัง ยุดโดโยโน ของอินโดนีเซีย มีนโยบายที่จะทําใหอินโดนีเซีย เปนประเทศใชพลังงานความรอนใตพิภพราย ใหญที่สุดในโลก ปจจุบนั อินโดนีเซียใชพลังงานความรอนใตพภิ พ เพียง 1,100 เมกะวัตต เมื่อเปรียบเทียบกับ สหรัฐใชพลังงานความรอนใตพภิ พเกือบ 4,000 เมกะวัตต ฟลปิ ปนสใชประมาณ 2,000 เมกะวัตต โดยประเทศอินโดนีเซียมีแผนจะผลิตไฟฟาจาก พลังงานความรอนใตพิภพอีก 4,000 เมกะวัตต ภายใน 5 ป และผลิตรวม 9,000 เมกะวัตต ภายใน ป พ.ศ. 2568 คิดเปนรอยละ 5 ของไฟฟาที่ ใชทั้งประเทศ ภารกิจเรงดวนนี้รัฐบาลจําเปน ตองอาศัยความชวยเหลือและความรวมมือจาก ทุกภาคสวน

กรณีโครงการโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพ Salak Geothermal Power Plant ประเทศอินโดนีเซีย เปนโครงการโรงไฟฟาพลังงานความรอนใตพิภพที่ สําคัญแหงหนึ่งในประเทศอินโดนีเซีย ที่เปนรูปแบบ steam flash ซึ่งมีที่ตั้งโครงการอยูที่ West Java ผลิตไฟฟาจาก steam turbine ที่ใชไอนํ้ารอนจาก ใตพภิ พ ดําเนินการโดย บริษทั Chevron Geothermal Salak Limited เริม่ เดินระบบหนวยการผลิตที่ 1 และ 2 ในป ค.ศ. 1994 หนวยการผลิตที่ 3 ในป ค.ศ. 1997 ขนาดกําลังผลิตไฟฟารวมทั้ง 3 หนวยการผลิต ที่ 165 MW โครงการนี้มีการขุดเจาะลงไปใตเปลือกโลก เพื่อ ปลดปลอยนํ้ารอนใตดินและ ไอรอนออกมาจากชั้น หินที่อยูใกลกับบริเวณแผนเปลือกโลกใหขึ้นมาสูบน พื้นผิวโลก ซึ่งแตละแหงมีความลึกตางกันตามสภาพ ภูมิศาสตรและสถานที่ตั้ง เพื่อนําความรอนจากใต พิภพขึน้ มาใชในการผลิตกระแสไฟฟา โดยทัว่ ไปแหลง พลังงานความรอนพบวา มักจะอยูเปนกระจุกใกล ๆ บริเวณที่มีภูเขาไฟ

จากแนวคิดและประเด็นขอคิดเห็นที่ไดจากงานประชุม วิ ช าการระดั บ นานาชาติ ค รั้ ง นี้ น า จะเป น ข อ มู ล ที่ มี ประโยชน สําหรั บ การพัฒนาเมืองน าอยู แ บบยั่งยืน และการจัดหาแหลงพลังงานหมุนเวียนรูปแบบใหม ๆ ใหกับประเทศไทยตอไปนะครับ

86

Energy#62_p85-86_Pro3.indd 86

12/23/13 1:32 PM


Energy#62_p87_Pro3.ai

1

12/18/13

10:02 PM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย นักวิชาการสิ่งแวดลอมชํานาญการพิเศษศูนยเทคโนโลยีสะอาด ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม

จากปรากฏการณตา ง ๆ ในรอบปทผี่ า นมา พายุทพ ี่ ดั อยางรุนแรงในหลายประเทศ ครัง้ ลาสุดที่ฟลิปปนส หรือเหตุการณสําคัญ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การจั ด การสิ่ ง แวดล อ มใน ระดับโลก มีการประชุมหลายครัง้ ทีต่ อ งการ ความเปลี่ ย นแปลงในการบริ ห ารจั ด การ สิง่ แวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ ในทิ ศ ทางของบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล อ ม ที่มีประสิทธิภาพ มีมิติสําคัญหลายสวนที่ โยงใยกัน ทีส่ าํ คัญ ไดแก ภาวะการเปลีย่ นแปลง ทางเศรษฐกิ จ การกํ า หนดข อ กํ า หนด กติการะหวางประเทศ และภาวะทางสังคม โลกใบนี้หากมีความเปลี่ยนแปลงที่เกิดจาก เหตุใดก็ตามที่ทําใหเสียสมดุล นั่นหมายถึง ภั ย พิ บั ติ ที่ จ ะเกิ ด ตามมาอย า งรุ น แรง ดังเหตุการณที่กลาวถึงขางตน การเลือก เครือ่ งมือในการบริหารจัดการสิง่ แวดลอมเปน ความสําคัญทีต่ อ งตระหนักถึงประสิทธิภาพ สามารถรองรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได ในปจจุบันมีการกลาวถึง เครื่องมือสําคัญ 3 สวน คือ การใชมาตรการทางเศรษฐศาสตร (Economic tools) ทีก่ ลาวถึงกันมากคือ การ เก็บภาษีมลพิษ (Pollution tax) เปนเครือ่ ง มือหนึ่งที่รองรับปญหามลพิษ การจัดการ ฟนฟูสภาพ ซึ่งหลักคิดในการใชเครื่องมือ ทางเศรษฐศาสตร มักจะคิดถึงการเยืยวยา

ประชาชน สุขภาพทีไ่ ดรบั ผลกระทบ แตยงั ตอง คํานึงถึงการฟน ฟูระบบนิเวศดวย มาตรการ ทางเศรษฐศาสตรจงึ ตองคิดใหครบวงจร และ เปนไปทัง้ ระบบ ทัง้ นีอ้ าจรวมถึงมาตรการจูงใจ ทางเศรษฐศาสตร เชน การสงเสริมการลงทุน ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากขึ้น เปนตน เครือ่ งมือลําดับทีส่ อง คือ การใชมาตรการทาง กฎหมาย ขอกําหนด ขอบังคับ หรือมาตรฐาน ตาง ๆ ในปจจุบนั มีการออกกฏหมายรองรับ การจัดการสิง่ แวดลอมในลักษณะการบังคับ ใชจากการกระทําผิด หรือการขออนุญาตใน โครงการตาง ๆ เชน ระบบรายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม ที่ดูจะเหมือนเปนแค เอกสารประกอบการขออนุญาตโครงการ เทานัน้ ซึง่ มาตรการรองรับตาง ๆ ทัง้ การลด ผลกระทบและการติดตามตรวจสอบยังไมได มีการปฏิบตั อิ ยางจริงจัง หลังจากไดรบั การ อนุญาตใหเดินหนาโครงการ นอกจากนี้ มีขอกําหนดอนุสัญญาระหวาง ประเทศตาง ๆ ที่ใหผูสงออกตองปฏิบัติตาม เพื่อการคาขายจนบางครั้งดูจะเปนกําแพง กีดกันทางการคา เชน การจัดการซาก บรรจุภัณฑ การกําจัดขยะอิเล็กทรอนิกส การกําหนดมาตรฐานสินคาอุตสาหกรรม สิน คาอาหารที่กํ าหนดสารปนเป อนไมให เปนอันตรายตอสุขภาพ เปนตน

ทิศทางการบริหารจัดการสิ่งแวดลอม ความหมายของการใชมาตรฐานทางกฎหมาย หรื อ กติ ก าต า ง ๆ จึ ง เป น ข อ กํ า หนดที่ ผู  มี ส  ว นเกี่ ย วขอ งตั้ ง ธงไว เ พื่ อ การปฏิ บั ติ ซึง่ ในบางประเทศผูป ระกอบการหรือประชาชน มีความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอม ยอมทําไดดี กวามาตรฐานหรือขอกําหนดสิ่งแวดลอม ที่ กํ า หนดไว ด ว ยจิ ต สํ า นึ ก ต อ การรั ก ษา สิง่ แวดลอม หรือการจัดทําฉลากสิง่ แวดลอม ตาง ๆ สําหรับสินคาและบริการ จึงเปนการ รับรองการผลิตอยางหนึ่งที่จะไดรับความ เชือ่ มัน่ ในระดับนานาชาติทผี่ ปู ระกอบการเอง สามารถทําไดดว ยตนเอง อีกนัยยะหนึง่ การทํา สิง่ ทีด่ อี ยูแ ลว เชน ความรับผิดชอบตอสังคม หรือสิง่ แวดลอม ยอมดีกวาการมีมาตรการ ทางกฏหมายบังคับใช 88

Energy#62_p88-89_Pro3.indd 88

12/18/13 9:55 PM


จากทีก่ ลาวมาแลวถึงประเด็นบริหารการจัดการ สิ่งแวดลอม ดวยมาตรการหรือเครื่องมือ ทั้งสาม จําเปนตองวิเคราะหความรุนแรง ของปญหาทีเ่ กิดขึน้ จากทีเ่ คยละเลยคงตอง พิจารณาและเชื่อมโยงปญหาสิ่งแวดลอม กับ การจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุดในการ ตอบสนองตอความตองการจัดการใหไดผล มีการกลาวถึงการเชื่อมโยงมาตรการทาง เศรษฐศาสตรกับมาตรการทางสังคม และ ความรับผิดชอบทีเ่ กิดขึน้ นอกจากนี้ การใช มาตรการทางกฎหมายตองมีความเขมขน มากขึน้ และมีผลในทันที เปนขอตกลงระหวาง ประเทศทีไ่ ดรบั การปฏิบตั อิ ยางจริงจัง สุดทาย ความสามารถในการรับมือปญหา สิ่งแวดลอม มลพิษในอนาคตดูเปนเรื่องที่ นาวิตก และความรับผิดชอบของทุกภาคสวน ในทุกระดับตองทํากันอยางจริงจัง มองผล ประโยชนสว นรวมมากขึน้ และมองถึงอนาคต ของรุน ลูกรุน หลาน ก็นา จะเปนคําตอบสุดทาย ของอนาคตโลกใบนี้ มิฉะนั้น เราเองในรุนนี้ ก็อาจจะแตกสลายไปกับการเปลี่ยนแปลง ทีร่ นุ แรงอยางไรความรับผิดชอบ ซึง่ มาจาก ผลทีเ่ กิดขึน้ จากการกระทําในปจจุบนั

เครื่ อ งมือที่ สาม คือ ภาคส วนของสัง คม ที่ตองสรางความตระหนักและจิตสํานึกดาน สิ่งแวดลอม เพื่อใหเกิดความรวมมืออยาง แทจริง และเชื่อมโยงจากเครื่องมือในลําดับ ที่ 1 และ 2 ภาคสังคมเกิดขึน้ ไดดว ยการมี สวนรวมในการปองกันปญหาสิ่งแวดลอม การจัดการสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน การเรียกรอง ใหภาคสวนตาง ๆ ของสังคมมีจติ สํานึก เนือ่ งใน การตระหนักถึงปญหารวมกันและเรียนรูท จี่ ะ ปรับตัวในการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้น กับสภาพแวดลอมในปจจุบนั ยกตัวอยางเชน ปญหาการเปลีย่ นแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ (climate change ) ตองยอมรับวาเกิดปญหา สะสมมานานแลว เมือ่ ภาคสวนตาง ๆ ไดรบั ผลกระทบ ตัง้ แตการประกอบอาชีพ สุขภาพ การใชพลังงานตาง ๆ กอใหเกิดปญหาและรับ ผลกระทบจากปญหาทีเ่ กิดขึน้ แรงกระเพือ่ ม ของปญหาจึงมีผลในภาคสวนตาง ๆ ของ สังคม จึงตองสรางการมีสว นรวมของสังคม ในการรับผิดชอบตอปญหาดวยจิตสํานึกของ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืนเพือ่ ชนรุน หลัง

เอกสารอางอิง

กรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม เอกสาร ประกอบการสัมมนาวิชาการเนื่องจากวันสิ่ง แวดลอมไทย 2556 วันที่ 3 ธันวาคม 2556 ศูนยประชุมอิมแพคเมืองทองธานี จังหวัด นนทบุรี 89

Energy#62_p88-89_Pro3.indd 89

12/18/13 9:56 PM


Energy Exhibit Rainbow

“ไกงามเพราะขน คนงามเพราะแตง” สุภาษิตนี้ เปนการบงบอกถึงความสวย ความงาม ของผูหญิงที่เรียกวาเปนของคูกัน อยางเห็นไดชัด ยิ่งในปจจุบันมีเครื่องสําอางมากมายที่ขยันกันออกมาใหเลือกจนแทบจะตามไมทัน บางคนซื้อไวจนลืมแทบ จะไมไดใชเลยก็มี

จีบัน สวยรักษ โลก

สวย แลก ได เทรนใหมชวยโลกใหเขียวขึ้น เห็นแบบนี้แลว ทางเว็บไซตจีบันดอทคอม โดยมี “ปาจีน” หรือ คุณจีราภัสร อริยบุรุษ ผูกอตั้งเว็บไซต Jeban.com ไดจัดงาน SWOP สวย-แลก-ได ซึ่ ง คํ า ว า SWOP กําลังจะเปนอีกกระแสหนึ่งที่จะชวยโลกใบนี้ ให “เขียว” ยิ่งขึ้น ดวยแนวคิดงาย ๆ คือ เริ่มจากพฤติกรรมของตัวเราเองกอน โดย เฉพาะพฤติกรรม “ซื้อ” ของตัวเอง เพราะ เมื่อซื้อมากขยะยิ่งเพิ่ม และยิ่งซื้อมาแลวใช ไมทันก็ทําใหเปลืองทั้งเงินกระทบไปถึงสิ่ง แวดลอมอีกดวย ดวยเหตุนี้จึงทําใหกระแส “SWOP” ที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวของคน กลุม คนคอเดียวกัน โดยไดนาํ ของใชทตี่ วั เอง มีอยูม าแลกเปลีย่ นกัน แทนทีจ่ ะซือ้ มาแลวทิง้

กิจกรรมการ SWOP เปนวิธีการประหยัด อยางมีรูปแบบ เปนการปรับพฤติกรรมให สามารถลดขยะในบานไดดวยการนําของ มาแลกกัน ภายในงานจะเปดโอกาสใหผูที่ ตองการ SWOP นําของมาแลกกัน โดยตอง ใหทีมงานของจีบันไดตรวจสอบของกอนวา มีคุณภาพที่ดีหรือไม หากวาของยังดีอยูจึง สามารถนํามา SWOP ได โดย 3 อันดับแรก ที่นํามา SWOP กันมากที่สุด คือ 1 เครื่อง สําอางประเภท eye shadow, liner และ เขียนคิว้ อันดับที่ 2 ลิปสติก อันดับที่ 3 พวก Base Make Up ตาง ๆ

นองกวาง หรือ ธีรจุฑา หาญวัฒนะชัย หนึ่งในสมาชิกเว็บไซตจีบันที่ไดเขารวมงาน และเปดใจถึงความรูส กึ ของการเปนสวนหนึง่ ในกิจกรรมดี ๆ ครั้งนี้วา “พอทราบขาวจาก เว็บไซตวาจะมี การจัดงาน และมีกิจกรรม SWOP ก็ไดเตรียมหาของที่จะนํามาแลก เปลี่ยน โดยปกติผูหญิงทุกคนมักจะชอบ ซื้อของ ซึ่งบางครั้งของที่ซื้อมาแลวไมไดใช ไม เ หมาะกั บ ตนเอง กวางจึ ง ไปหาของที่ เคยซื้ อ มาว า มี อ ะไรบ า ง ก็ พ บว า มี เ ครื่ อ ง ประดับและเครื่องสําอาง 4-5 ชิ้น บางชิ้นที่ ซื้ อ มาราคาค อ นข า งแพง เลยนํ า มารวม แลกเปลี่ยนภายในงานของจีบันดอทคอม เพราะของที่ไมมีประโยชนสําหรับเราอาจจะ มี ป ระโยชน สํ า หรั บ คนอื่ น กิ จ กรรมดี ๆ แบบนี้อยากใหทางจีบันดอทคอมจัดอยาง ตอเนือ่ งไปทุกป เพราะเพือ่ น ๆ สมาชิกเว็บไซต จะไดมีโอกาสพบกัน และยังนําของที่ซื้อมา แลกเปลีย่ นกันใช แบงกันสวยไดอกี ดวย

90

Energy#62_p90-91_Pro3.indd 90

12/18/13 10:07 PM


กระทรวงพลังงานจัดกิจกรรม เฉลิ ม พระเกี ย รติ 86 พรรษา พระบิดาแหงการพัฒนาพลังงานไทย กระทรวงพลั ง งาน จั ด “มหกรรม พลังงาน 2556 มีพลังงานมีความสุข” เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูห วั “พระบิดาแหงการพัฒนา พลังงานไทย” ทัง้ ทรงมีพระชนมพรรษา 86 พรรษา ในวันที่ 5 ธันวาคมที่ผาน มา และในโอกาสครบรอบ 11 ปของ การสถาปนากระทรวงพลังงาน พรอม โชวเทคโนโลยีดานพลังงานที่ตอบสนอง ระหวางผูช มกับสือ่ อยางสุดลํา้ ในรูปแบบ อินเตอรแอคทีฟ พรอมแจกของรางวัล ประหยัดพลังงานมากมายกวา 2 หมื่น รายการ ณ รอยัล พารากอน ฮอลล สยามพารากอน เมือ่ เร็ว ๆ นี้

นอกจากนี้ทางกระทรวงฯ ยังไดจัดกิจกรรม ใหผเู ขารวมงานไดรว มสนุกและมีสว นรวมรับ ของรางวัลมากมายภายในงานอีกมากมาย ด ว ย ทั้ ง นี้ ผู  ที่ ล งทะเบี ย นเข า ชมด า นหน า งานในแตละวันจะไดรับพาสปอรต สําหรับ ประทับตราเขารวมกิจกรรม หากครบทุก โซนนิทรรศการสามารถนําชิ้นสวนชิงโชค ลุนรับมอเตอร ไซค ไฟฟาวันละ 5 คัน และ จักรยานพับได วันละ 30 คัน สวนกิจกรรม บนเวทีผูเขารวมงานสามารถรวมสนุก เพื่อ ชิงรางวัลเครื่องใชไฟฟาประหยัดพลังงาน อีกทั้งของที่ระลึก อื่น ๆ อีกมากมายกวา 20,000 ชิ้น พรอมกันนี้ยังมีมินิคอนเสริ์ต จากเหล า ศิ ล ป น ชื่ อ ดั ง มาร ว มสร า งสี สั น และความบันเทิงภายในงานทุกวัน

นายพงษศักดิ์ รักตพงศ ไพศาล รัฐมนตรี วาการกระทรวงพลังงาน เปนประธานในพิธี เปด “มหกรรมพลังงาน 2556 มีพลังงาน มี ความสุข” ซึ่งเกิดจากความรวมมือระหวาง หนวยงานในสังกัดของกระทรวงพลังงาน รวมทั้ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ กิจการพลังงาน และสถาบันบริหารกองทุน พลังงาน (องคการมหาชน) โดยกิจกรรมภายในงาน จะเปนการรวบรวม เรือ่ งราวเกีย่ วกับพลังงานในแงมมุ ตางๆ ทีค่ น ไทยไมเคยทราบ ใหไดสมั ผัสผานนิทรรศการ เสมือนจริง เสริมดวยระบบมัลติมเี ดียทันสมัย ตระการตาอยางเต็มรูปแบบ เพื่อใหมีการ ตอบสนองระหวางผูท เี่ ขารวมงานกับสือ่ อยาง ใกลชิดดวย “ระบบอินเตอรแอคทีฟ” เพื่อ ตองการใหคนไทยรูถึงคุณคาของพลังงาน รูจักใชพลังงานใหมีประสิทธิภาพ รวมถึง ตองการใหคนไทยหันมาใชพลังงานทดแทน ทีพ ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ไดทรงศึกษา คนควาเพิม่ มากขึน้ การจัดกิจกรรมดังกลาว มีแนวคิดหลัก คือ เปนการยอโลกพลังงานไวในใจกลางกรุง ดวย นิทรรศการยุคใหม โดยภายในงานจะแบงออก เปน 11 โซน 91

Energy#62_p90-91_Pro3.indd 91

12/18/13 10:07 PM


Green Community อภัสรา วัลลิภผล

ปูนซีเมนตเอเซียเปดโรงไฟฟาลมรอน มูลคา 1.3 พันลานบาท สามารถผลิตกระแสไฟฟาได 150 ลานกิโลวัตตตอ ชัว่ โมงตอป เปนโรงงานไฟฟาที่ใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุด มีวัตถุประสงคเพื่อลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลของโรงงานปูนซีเมนต อีกทั้งยังชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกมีสงผลกระทบตอชุมชน ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการใชพลังงาน ในการ เปดตัวครัง้ นีม้ ผี แู ทนจากหนวยงานราชการและชุมชนทองถิน่ เขารวมการเปดโรงไฟฟาลมรอนในครัง้ นีด้ ว ย

ปูนซีเมนต เอเชีย เป ดโรงไฟฟ าลมร อน พร อมฟ นฟูชุมชนให เป นพื้นที่สีเขียว คุณนภดล รมยะรูป กรรมการผูจัดการร วมของ บริษัท ปูนซีเมนตเอเซีย จํากัด (มหาชน) เปดเผยวา การเปดโรงไฟฟาลมรอนครั้งนี้เพื่อใหผูที่มารวมงาน ไดเขาใจถึงกรรมวิธีการผลิตไฟฟาจากลมรอนที่มา จากกระบวนการเผาปูนเม็ดแทนที่จะปลอยลมรอน ทิง้ ออกไปสูบ รรยากาศ กาซรอนเหลานีจ้ ะนํามาใชในการ ผลิตไอนํา้ ในหมอไอนํา้ และสงตอไปยังกังหันไอนํา้ เพือ่ ขับเคลือ่ นเครือ่ งกําเนิดไฟฟาในการผลิตกระแสไฟฟา ซึง่ กรรมวิธกี ารผลิตไฟฟาดังกลาวนีจ้ ะชวยลดตนทุนใน การผลิตพลังงานลงตามหลักการของพลังงานทดแทน ในขณะทีล่ ดการใชเชือ้ เพลิงฟอสซิลใหเหลือนอยทีส่ ดุ อันเปนวิถที างในการพัฒนาพลังงานสะอาดซึง่ ชวยลด การปลอยกาซเรือนกระจกไดเปนอยางดี 92

Energy#62_p92-93_Pro3.indd 92

12/23/13 1:36 PM


สําหรับโรงไฟฟาขนาด 21 เมกกะวัตตนี้ สามารถผลิต กระแสไฟฟาได 150 ลานกิโลวัตตตอ ชัว่ โมงตอปโดยไม ตองใชพลังงานฟอสซิล ซึง่ จะชวยลดการกอใหเกิดกาซ คารบอนไดออกไซดได 120,000 ตันตอป หรือเทากับ การปลูกตนไมทดแทนในพืน้ ที่ 150,000 ไร ตลอดเวลาที่ประกอบกิจการทางปูนซีเมนตเอเซียเอง ไดจัดทํากิจกรรมสาธารณประโยชนและกิจกรรมเพื่อ ชุมชนอยางตอเนือ่ งตลอดมา เชน การใหทนุ การศึกษา แกนักเรียน การสรางและสนับสนุนกิจการหองสมุด โรงเรียนและหองสมุดชุมชน การสรางถังเก็บนํา้ ประจํา หมูบ า น การสรางสนามเด็กเลน การจัดหนวยแพทย เคลือ่ นทีอ่ อกใหบริการแกชาวบานในชุมชนทีอ่ ยูร อบ ๆ โรงงานโดยไมคิดคาตรวจรักษา การปลูกปา การจัด โครงการผาปาหนังสือเพือ่ เด็กในชนบท และลาสุดทาง ปูนซีเมนซเอเชียยังมอบแผงพลังงานแสงอาทิตยแก ชุมชนบริเวณใกลเคียงเพื่อใหชุมชนมีคาใชจายนอย ลง ทัง้ ยังมีการปลูกฝงในลูกหลานในชุมชนรูจ กั วิธกี าร ประหยัดพลังงานอีกดวย นายนภดล กลาวตอวา ทางปูนซีเมนตเอเชียมีนโยบาย ดานสิ่งแวดลอม คือ ควบคุมสภาพแวดลอม และ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม จากกิจกรรมตาง ๆ ตัง้ แต กระบวนการทําเหมืองจนถึงกระบวนการผลิตปูนซีเมนต เพื่ อ ให ส อดคล อ งและเป น ไปตามกฎหมายและ ขอกําหนดอืน่ ๆ ดานสิง่ แวดลอม มีการวิเคราะห ประเมิน และดําเนินการกําจัด บําบัด รวมทัง้ ปองกันปริมาณของ เสียทีป่ ลอยออกสูส าธารณะอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ยังมุง มัน่ ในการใชทรัพยากรอยางคุม คา วางแผนและควบคุมการ สูญเปลา รวมถึงภาวะฉุกเฉินตาง ๆ โดยมีการติดตาม

มอบแผงพลังงานแสงอาทิตยเพือ่ ใหโรงเรียนประหยัดไฟฟา มีการใหความ รูค วามเขาใจกับเด็ก ๆ ในพืน้ ทีใ่ นเรือ่ งของการปลูกฝงใหมจี ติ สํานึกในการ รักษาสิง่ แวดลอม การประหยัดพลังงาน เพือ่ ใหเด็ก ๆ สามารถกลับมา ใหความรูกับทางครอบครัวได และในสวนของโรงเรียนที่ทางโรงปูนฯ มอบแผงพลังงานแสงอาทิตยใหนั้นทางโรงเรียนลดคาไฟฟาไดถึง เดือนละ1,000 บาท ทําใหทางโรงเรียนสามารถนําเงินสวนทีเ่ หลือไปใช อยางอืน่ ได ซึง่ ทางโรงปูนฯ ชวยเหลือเรามาตลอด 25 ปทผี่ า นมา

ประเมินผลและทบทวนบทบาทการดําเนินงานเปนระยะ ๆ อยางสมํ่าเสมอ เพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคและ เปาหมายดานสิ่งแวดลอมและมีการปรับปรุงอยาง ตอเนือ่ ง มีการใหความรูแ กพนักงาน และผูเ กีย่ วของ ในเรื่ อ งขั้ น ตอนการปฏิ บั ติ ง านและวิ ธี ก ารตามที่ มาตรฐานสิ่งแวดลอมกําหนด พรอมทั้งกระตุนและ สงเสริมใหพนักงานทุกคนถือปฏิบตั อิ ยางจริงจัง ดาน คุณเกรียงศักดิ์ เพ็งพงศา ผูอ าํ นวยการโรงเรียน บานพุกราง(พลอุปถัมภ) กลาววา เนือ่ งจากโรงเรียน อยูติดกับโรงปูนฯมานานมันจะมีปญหาเรื่องมลภาวะ ทางอากาศ ยิง่ ชวงเวลาหนาหนาวจะมีฝนุ เยอะมากกวา ปกติ ทางโรงปูนฯเขาเลยมีนโยบายช วยอยู หลาย เรื่องดวยกัน ไมวาจะเปนในสวนของการปลูกตนไม

คุณนภดล รมยะรูป 93

Energy#62_p92-93_Pro3.indd 93

12/17/13 10:56 PM


Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

ลดตนทุนการผลิตดวยไอนํ้าเหลือทิ้งความดันตํ่า

โดยใช Micro Steam Turbine รวมกับ Absorption Chiller ตนทุนการผลิตที่สําคัญสําหรับทุกอุตสาหกรรม คือ ตนทุนจาก พลังงานไฟฟา จากขอมูลของ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน การใชไฟฟาของไทย เมือ่ ป 2555 มีการใชพลังงาน ไฟฟารวมทัง้ สิน้ 161,778 กิโลวัตตชวั่ โมง เพิม่ ขึน้ รอยละ 8.7 จากป พ.ศ. 2554 โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรม มีการใชพลังงานไฟฟามาก ที่สุด รวมทั้งสิ้น 72,296 กิโลวัตตชั่วโมง คิดเปนรอยละ 45 เพิ่มขึ้น รอยละ 6.7 จากป พ.ศ. 2554 โดยอุตสาหกรรมอาหารมีสัดสวนการ ใชไฟฟาสูงสุด คือ 9,716 กิโลวัตตชวั่ โมง คิดเปนรอยละ 13 ของภาค อุตสาหกรรมดวยกัน เพิ่มขึ้น รอยละ 8.8 เมื่อเทียบกับ พ.ศ. 2554 และปริมาณการใชพลังงานไฟฟายังคงมีแนวโนมเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ตาม อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากปริมาณการใชพลังงานไฟฟา ที่แนวโนมเพิ่มขึ้นแลว ราคาคาไฟฟา ยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่องดวย เนื่องจากโรงไฟฟาบางชนิดไมสามารถสรางได เชน โรงไฟฟาพลังงานถานหิน โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร เนื่องจากเกิด ความกังวลเรื่องสิ่งแวดลอมและความปลอดภัย ซึ่งสงผลโดยตรง ตอคาไฟฟาที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคตอันใกลนี้ ดังนัน้ ทางภาคอุตสาหกรรมเองคงตองปรับตัวและหาแนวทางในการ ลดคาใชจายดานพลังงานไฟฟา โดยเฉพาะอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่ง เปนภาคอุตสาหกรรมที่ใชพลังงานไฟฟามากที่สุด แนวทางลดคาใช จายดานพลังงานไฟฟามีหลายแนวทาง เชน เปลี่ยนอุปกรณ ไฟฟา เปนอุปกรณประหยัดพลังงาน เปลี่ยนวิธีการผลิตที่ใชพลังงานตํ่า หรือผลิตไฟฟาขึ้นมาเพื่อลดการใชพลังงานไฟฟา ในอุตสาหกรรม ที่มีการใชกระบวนการทางความรอนในกระบวนการผลิต มักนิยม ใชไอนํ้าเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความรอนไปยังอุปกรณใน กระบวนการผลิต ไอนํ้ามีขอดีกวาตัวกลางทําความรอน หรือ สาร ทํางาน (Working Fluid) ชนิดอื่น ๆ คือ หางาย ราคาถูก ควบคุม อุณหภูมิและความดันไดงาย รวมถึงสามารถใชงานไดหลากหลาย ทัง้ อุปกรณทางความรอน หรือแมแตผลิตไฟฟาดวยกังหันไอนํา้ หรือ อาจกลาวไดวา ขอดีของไอนํ้าในการเปนตัวกลางสงผานความรอน คือ ไอนํ้าสามารถถายความรอนที่อุณหภูมิคงที่ ซึ่งเปนคุณสมบัติที่ สําคัญของไอนํา้ ไอนํา้ สามารถควบคุมอุณหภูมิ โดยการควบคุมความ ดันของไอนํา้ และไอนํา้ ตอหนวยปริมาตรสามารถสะสมพลังงานไดสงู โดยทั่วไประบบผลิตไอนํ้า ประกอบดวยอุปกรณตาง ๆ มากมายใน ระบบ แตอุปกรณใหญ ๆ ในระบบจะประกอบดวย หมอผลิตไอนํ้า (Boiler) ระบบทอสงไอนํา้ (Steam Piping) อุปกรณทางความรอนที่ ใชไอนํา้ (Heat Exchanger หรือ Steam Equipment) อุปกรณดกั ไอนํ้า (Steam Trap) ระบบทอคอนเดนเสท (Condensate Piping) ถังรับนํา้ คอนเด็นเสท (Condensate Return Tank) และนํา้ แรงดันสูง (High Pressure Pump) ตัวอยางแผนภาพอยางงายของระบบไอนํา้

ดังแสดงในรูปที่ 1 ถึงแมระบบไอนํ้าจะเปนระบบผลิตความรอนที่มี ตนทุนตํ่า แตถาระบบไอนํ้าขาดการดูแลที่ดี การออกแบบไมเหมาะสม หรือยังไมมรี ะบบการนําความรอนทิง้ กลับมาใชประโยชน ยอมสงผลตอ ตนทุนการผลิต การนําคอนเดนเสท (Condensate) นํากลับมาใชงาน เปนแนวทางหนึง่ ทีท่ าํ ใหระบบมีประสิทธิภาพสูงขึน้ และชวยประหยัดคา ใชจายในการผลิตไอนํ้า หรือลดตนทุนการผลิตได สําหรับบทความนี้ จะกลาวถึง การนําไอนํ้าเกิดใหม (Flash Steam) จากคอนเดนเสท กลับมาใชงาน โดยใชเทคโนโลยีผลิตไฟฟา ความรอนและความเย็นรวม (CCHP หรือ Tri-Generation)

รูปที่ 1 สวนประกอบของระบบไอนํ้าและการใชงาน ที่มา : http://www.foodtechinfo.com/FoodPro/ GasTechnologies/boilers.htm

การนําคอนเดนเสทกลับมาใชงาน (Condensate Recovery)

ไอนํ้าที่ผลิตจากหมอไอนํ้าจะถูกสงไปตามทอ เพื่อนําไอนํ้าไปใชงานใน กระบวนการผลิต เมือ่ ไอนํา้ ผานอุปกรณแลกเปลีย่ นความรอนเพือ่ สง ความรอนในกระบวนการผลิต ไอนํา้ จะเกิดการควบแนนเปนของเหลว เรียกวา “คอนเดนเสท” คอนเดนเสทที่เกิดจากการควบแนนจะถูกนํา ออกจากระบบโดยผานอุปกรณดักไอ (Steam trap) และถูกสงไปยัง ถังนํา้ ปอน หรือ ถังรับนํา้ คอนเดนเสท (Condensate Return Tank) โดยปกติคอนเดนเสททีไ่ หลไปยังถังนํา้ ปอน จะยังมีความดันสูงอยู เมือ่ คอนเดนเสทที่มีความดันสูงถูกปลอยออกสูที่มีความดันตํ่ากวา หรือ ในถังนํ้าปอน จะเกิดไอนํ้าขึ้น ไอนํ้าสวนนี้ เราเรียกวา ไอนํ้าเกิดใหม (Flash Steam) ไอนํ้าสวนนี้ถึงจะมีความดัน แตยังมีพลังงานความ รอนแฝง (Latent heat) สูงอยู สามารถนําไปใชประโยชนไดทั้งหมด โดยอัตราสวนของพลังงานความรอนของคอนเดนเสทที่นํากลับมา ใชตอพลังงานความรอนทั้งหมดของไอนํ้าอาจสูงถึง 20-30% ดังนั้น การนําคอนเดนเสทนํากลับมาใชงาน จึงเปนเรื่องสําคัญมากสําหรับ การประหยัดพลังงานในระบบไอนํ้า

94

Energy#62_p94-95_Pro3.indd 94

12/20/13 12:34 AM


รูปที่ 2 แสดงกระบวนการใชงานไอนํ้าในกระบวนการผลิต การนําคอนเดนเสทกลับมาใชงาน (Condensate Recovery) สามารถทําได 2 สวน คือ นํานํ้ารอนที่มีอุณหภูมิสูงอยูเปนนํ้าปอนกลับไป ยังหมอไอนํ้า สวนที่ 2 คือ การนําความรอนแฝงของไอนํ้าเกิดใหม (Flash Steam) ไปใชงาน โดยพลังงานจากไอนํ้าเกิดใหมจะยิ่งสูง เมื่อ ความแตกตางระหวางความดันของคอนเดนเสทกับความดันที่ปลอยออก เชน ถาปลอยนํ้ารอน (Condensate) ที่ความดัน 7 barg ออก สูถังรับนํ้าคอนเด็นเสท (ความดันบรรยากาศ) ความดัน 0 barg จะทําใหเกิดไอนํ้าเกิดใหม (Flash Steam) ที่มีพลังงานความรอนแฝง เทากับ 2,257 kJ/kg-flash Steam หมายความวา ปริมาณไอนํ้าที่เกิดใหม 1 กิโลกรัม จะมีความรอนเทากับไอนํ้า ที่ความดัน 0 barg ที่คา เทากับ 2,257 กิโลจูล พลังงานความรอนสวนนี้ หรือปริมาณไอนํ้าที่เกิดขึ้นสามารถนําไปใชงานได เพียงแต ไอนํ้าเกิดใหม (Flash Steam) จะมีความดันตํ่า ไมสามารถสงไปใชงานไกล ๆ ได ในกรณีที่จะนําไอนํ้าเกิดใหมไปใชงาน จะตองใชอุปกรณแยกไอนํ้าออกจากนํ้ารอน ซึ่งเรียกวา ถังแยกไอนํ้าเกิดใหม (Flash Vessels หรือ Flash Tank) ปริมาณไอนํ้าเกิดใหมจากคอนเดนเสท สามารถคํานวณไดจากสมการที่ (1)

ตัวอยางที่ 1 : ระบบไอนํ้าของโรงงาน มีอัตราการเกิดคอนเดนเสท 3,600 kg/hr ที่ความดัน 8 barg จากกระบวนการผลิต กลับมายังถังรับนํ้า คอนเดนเสท ที่ความดัน 0 barg สามารถคํานวณอัตราการเกิดไอนํ้าเกิดใหมได จากสมการที่ (1)

จากคําตอบที่ได แสดงวา นํ้าคอนเดนเสท 1 กิโลกรัม ที่ความดัน 8 barg เมื่อปลอยออกสูความดันบรรยากาศ จะเกิดไอนํ้าเกิดใหม ประมาณ 0.1435 กิโลกรัม จากขอมูลอัตราการเกิดคอนเดนเสท 3,600 กิโลกรัมตอชั่วโมง นั่นหมายความวา อัตราการเกิดไอนํ้าเกิดใหม 516.8 กิโลกรัม ไอนํ้า เมื่อคูณดวย พลังงานความรอนแฝงของไอนํ้าที่ความดัน 0 barg พลังงานความรอนที่สามารถนํากลับมาใชไดจากไอนํ้าเกิดใหม มีคา 324 kW-th ซึ่งมีพลังงานความรอนสูงมาก หรือเทากับ ปริมาณนํ้ามันดีเซล ประมาณ 32 ลิตรตอชั่วโมง จากทีก่ ลาวมาจะเห็นไดวา พลังงานความรอนจากคอนเดนเสทกลับมายังถังรับคอนเดนเสท มีคา ขึน้ อยูก บั ความแตกตางของความดันคอนเดนเสท และความดันปลอยออก โดยทัว่ ความรอนสวนนีจ้ ะปลอยทิง้ สูบ รรยากาศ ซึง่ ความรอนทิง้ สวนนีย้ งั มีศกั ยภาพนํากลับมาใชประโยชนได ในบทความนี้ จะพิจารณาเอาความรอนทิง้ สวนนีก้ ลับมาใชงาน โดยการนํามาผลิตนํา้ รอนทีอ่ ณ ุ หภูมปิ ระมาณ 95 OC เพือ่ นํานํา้ สวนนี้ ไปเปนนํา้ ปอนของหมอไอนํา้ และนํ้ารอนสวนที่เหลือจะนําไปผลิตไฟฟา ความเย็น หรือนํ้ารอนมีปริมาณมากพอ จะนํานํ้ารอนกลับไปใชในกระบวนผลิตตอไป ซึ่งเปนเทคโนโลยี การผลิตไฟฟาความเย็นและความรอนรวม ( Combine Cooling Heat and Power) ที่เราเรียกวา CCHP หรือ Tri-Generation

95

Energy#62_p94-95_Pro3.indd 95

12/20/13 12:34 AM


Energy Management โดย : อาจารยวัลลภ เรืองดวยธรรม ผูเชี่ยวชาญดานระบบการจัดการพลังงาน ตามกฎกระทรวงฯ และ ISO 50001/wonlop.r@gmail.com

คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน (ตอนที่ 7) จาก กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ และวิธีการจัดการ พลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ และ ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการดําเนินการ จัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม พ.ศ. ๒๕๕๒ กําหนดใหพนักงานเจาหนาที่ บุคคลหรือนิติบุคคล (ผูตรวจสอบ พลังงาน) ที่อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน อนุญาต มีหนาที่ดําเนินการตรวจสอบและรับรอง (Certification Audit) ตามที่กําหนด สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน จึงจัดทําคูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการ พลังงานสําหรับผูต รวจสอบพลังงาน ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ใหผทู ี่ มีหนาทีท่ เี่ กีย่ วของใชเปนแนวปฏิบตั ติ อ ไป โดยคูม อื มีสว นประกอบดังนี้ - บทที่ ๑ เกณฑการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน - บทที่ ๒ ขัน้ ตอนการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน - ภาคผนวก ก ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบ และรับรองการจัดการพลังงาน - ภาคผนวก ข กฎหมายที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงาน โดย Energy Saving ฉบับที่ผานมา ไดกลาวถึง คํานํา บทที่ ๑ และ บทที่ ๒ ไปแลว ดังนั้นในฉบับนี้จะกลาวถึง ภาคผนวก ก ตัวอยาง แบบฟอร ม ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การตรวจสอบและรั บ รองการจั ด การ พลั ง งาน ต อ ไป หวั ง ว า ผู  อ  า นจะได รั บ ประโยชน จ ากคู  มื อ นี้ ค รั บ โดยเฉพาะผู  ที่ เ กี่ ย วข อ งจากอาคารควบคุ ม และโรงงานควบคุ ม ที่ตองปฏิบัติตามกฏหมายฉบับนี้ครับ

ภาคผนวก ก

ตัวอยางแบบฟอรมที่เกี่ยวของกับการตรวจสอบและ รับรองการจัดการพลังงาน ตัวอยางแบบฟอรมที่คูมือฉบับนี้ไดบรรจุไวนั้น มีวัตถุประสงคเพื่อ ใหการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานของผูตรวจสอบ พลังงานมีแนวทางในการดําเนินการที่ชัดเจน ฉบับนี้จะขอเริ่มจาก ภาคผนวก ก-๓ รายการตรวจสอบการจัดการพลังงานในการ ดําเนินงานตามขอกําหนดกอนครับ เพื่อใหผูอานทราบถึงรายการ คําถาม เอกสาร หรือ หลักฐาน ทีผ่ ตู รวจสอบพลังงานจะเขามาดําเนินการ ตรวจทีโ่ รงงานควบคุม/อาคารควบคุม แตเนือ่ งจากรายการตรวจสอบฯ ดังกลาวมีความยาวพอสมควร จึงขออธิบายแยกเปน 8 ขั้นตอน ตามแนวทางการพัฒนาระบบจัดการพลังงาน ขั้นตอนที่ 6 การดําเนินการตามแผน การตรวจสอบและวิเคราะห การปฏิบัติตามเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน ขอ 8 เจาของโรงงานควบคุมและเจาของอาคารควบคุมตองควบคุม ดูแลใหมีการดําเนินการตามแผนอนุรักษพลังงาน รวมทั้งการตรวจ สอบและวิเคราะหการปฏิบัติตามเปาหมายและแผนอนุรักษพลังงาน ซึ่งจัดทําขึ้นตามขอ 7

96

Energy#62_p96-98_Pro3.indd 96

12/17/13 11:05 PM


รายการการตรวจสอบการจัดการพลังงานในการดําเนินงานตามขอกําหนด

กระทรวง

97

Energy#62_p96-98_Pro3.indd 97

12/17/13 11:05 PM


(ถ้ า มี )

เอกสารอางอิง

คูมือการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานสําหรับผูตรวจสอบพลังงาน สํานักกํากับและอนุรักษพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พฤษภาคม ๒๕๕๖ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๓ 96 98

Energy#62_p96-98_Pro3.indd 98

12/17/13 11:05 PM


Energy Clinic กองบรรณาธิการ

ขอควรรู…

กอนการติดตั้งระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย ตองมีคาใชจายเทาไรในการใชงานระบบ ผลิ ต ไฟฟ า จากแสงอาทิ ต ย (Solar electrification system)? การใชงานระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย ใน 2 ลักษณะทีก่ ลาวไปขางตน มีจดุ มุง หมาย นานาประการ รวมถึงประโยชนและความ คุมคาก็แตกตางกันออกไป

ฉบับนีน้ าํ เสนอเรือ่ งราว “การติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย” มาฝากผูท กี่ าํ ลัง สนใจติดตั้งระบบดังกลาวในที่พักอาศัย วามีขอควรรูกอนการตัดสินใจติดตั้งอยางไร บาง ตามไปอานกันไดเลย ก อ นการซื้ อ ระบบผลิ ต ไฟฟ า จากแสง อาทิตย (Solar electrification system) ควรคํานึงถึงสิ่งใดบาง ? หากคุ ณ กํ า ลั ง ตั ด สิ น ใจที่ จ ะซื้ อ ระบบผลิ ต ไฟฟาจากแสงอาทิตยอยู สิ่งแรกที่ควรทํา คือ ถามตัวเองกอนวา “ทําไมคุณจึงสนใจที่ จะซื้อระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย” ซึ่ง อาจมีหลายเหตุผลแตกตางกันออกไป เชน • ต อ งการผลิ ต พลั ง งานสะอาดให แ ก สิ่งแวดลอม • เปนแหลงพลังงานราคาถูก • ตองการสํารองไฟฟาไวใชในเวลาที่ไฟฟา จากระบบสายสงการไฟฟาดับ • ไมตองการพึ่งพาอาศัยไฟฟาจากระบบ สายสงของการไฟฟาเพียงอยางเดียว นอกจากนี้ยังมีขอมูลอื่น ๆ ประกอบการ พิ จ ารณาอี ก เช น ปริ ม าณพลั ง งานที่ ตองการ, คาใชจายในการติดตั้งระบบผลิต ไฟฟาจากแสงอาทิตย, สถานที่ดีที่สุดใน

การติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย ตลอดจน การรั บ ประกั น , การบริ ก ารและการดู แ ล รักษา ซึ่งเหลานี้ คุณสามารถขอคําแนะนํา ไดจากบริษัทจําหนายระบบไฟฟาพลังงาน แสงอาทิตยใกลบานคุณ สถานที่ลักษณะใดบางที่สามารถนําระบบ ผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย ไปใชงานได? ระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยนาํ มาใชงาน ไดใน 2 ลักษณะดวยกัน 1. ในพืน้ ทีท่ มี่ บี ริการไฟฟาของการไฟฟาอยู แลว แตตองการใชระบบผลิตไฟฟาจากแสง อาทิตย (เชน เพื่อลดการใชไฟฟาจากระบบ สายสงฯ, ผลิตไฟฟาที่เปนพลังงานสะอาด หรือสํารองไฟฟาไวใช ฯลฯ) 2. ในพื้นที่หางไกลที่ยังไมมีไฟฟาจากระบบ สายสงหรือบริการของการไฟฟาและมีความ จําเปนตองใชไฟฟา (เชน เพื่อใชกับเครื่องใช ไฟฟาภายในบานพักอาศัย ฯลฯ)

1. ในพื้นที่ที่มีบริการไฟฟาของการไฟฟา อยูแ ลว ระบบทีใ่ หประโยชนสงู สุดและนิยมใช เรียกวา “ระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตย แบบตอเชื่อมสายสง” (Grid connected หรือ Grid tie solar energy system) ซึ่งใชแพรหลายในยุโรปและญี่ปุน ระบบนี้ จะใหผลคุมคาการลงทุนในระยะเวลาสั้น ๆ ดังนั้น คุณที่สนใจจะติดตั้งระบบดังกลาว จะตองเสียคาใชจายโดยไมมีเงินคืนใด ๆ ระบบผลิตไฟฟาขนาด 3 kW จะมีคาใชจาย ประมาณ 750,000 บาท - 900,000 บาท และ คุณสามารถผลิตไฟฟาไดประมาณ 10-15 kWh/วัน ซึ่งเมื่อคํานวณคาไฟฟาปจจุบันจะ มีระยะเวลาการคืนทุนที่นานมาก 2. พื้ น ที่ ที่ ยั ง ไม มี ไ ฟฟ า จากระบบสายส ง หรือบริการของการไฟฟา ระบบผลิตไฟฟา จากแสงอาทิตยที่ใชงานในรูปแบบนี้เรียกวา “ระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยแบบติด ตั้งอิสระ” (Stand-alone solar energy system) การพิจารณาใชระบบผลิตไฟฟา จากแสงอาทิตยนี้เปนทางเลือกที่ไดรับการ ยอมรับวาใหผลคุมคาการลงทุนในระยะยาว และเปนผลดีตอ สิง่ แวดลอมแนะนําวาไมควรใช “ระบบผลิตไฟฟาจากแสงอาทิตยแบบติดตัง้ อิสระ” กับบานพักอาศัยที่มีบริการของการ ไฟฟาอยูแลว เพราะจะทําใหผูใชมีการลงทุน ทีส่ งู เกินความจําเปน และไมไดเปนการใชงาน เซลลแสงอาทิตยอยางมีประสิทธิภาพ ในเวลาทีไ่ มมแี สงอาทิตย ระบบพลังงานแสง อาทิตยสามารถใชงานไดหรือไม? เนือ่ งจากระบบพลังงานแสงอาทิตยสามารถ ผลิ ต พลั ง งานไฟฟ า ได ใ นช ว งเวลากลาง วัน แตในเวลากลางคืน (หรือเวลาที่ไมมี แสงอาทิ ต ย ) จะไม มี ก ารผลิ ต พลั ง งาน ไฟฟ า ดั ง นั้ น ถ า เป น ระบบพลั ง งานแสง 99

Energy#62_p99-100_Pro3.indd 99

12/20/13 12:42 AM


อาทิตยแบบอิสระ (Stand-alone system) ที่มีการประจุพลังงาน ไฟฟ า เข า สู  แ บตเตอรี่ ก็ จ ะนํ า พลั ง งานไฟฟ า จากแบตเตอรี่ ม าใช แตถา เปนระบบพลังงานแสงอาทิตยแบบตอเชือ่ มกับสายสงการไฟฟา (Grid connected system) ก็จะใชพลังงานที่ผลิตไดจากแผงเซลล แสงอาทิตยในเวลากลางวัน สวนเวลากลางคืนก็ใชพลังงานไฟฟาจาก สายสงการไฟฟา ถาตองการนําพลังงานไฟฟาจากเซลลแสงอาทิตย มาใชในเวลากลางคืนดวย ก็ตองมีแบตเตอรี่เพิ่มเขามาดวย อธิบายถึงเหตุผลที่จําเปนตองมีระบบพลังงานแสงอาทิตย ไวใช? ระบบพลังงานแสงอาทิตยที่สามารถผลิตกระแสไฟฟาได จัดไดวา เปนการนําพลังงานฟรีมาใช เปนแหลงพลังงานที่ไมมีวันหมด และยัง เปนพลังงานสะอาดไมกอ ใหเกิดมลพิษ เหตุผลทีใ่ ชในการพิจารณานํา ระบบพลังงานแสงอาทิตยไปใช มีดังนี้ • ไมมีไฟฟาใช เนื่องจากสายสงการไฟฟาเขาไมถึง และมีความ ตองการใชไฟฟา สามารถเลือกใชระบบพลังงานแสงอาทิตยเพื่อ บานพักอาศัยได • มีการใชไฟฟาจากสายสงการไฟฟาแลว แตตอ งการผลิตไฟฟาจาก พลังงานสะอาดใชเอง สามารถเลือกใชระบบพลังงานแสงอาทิตยชนิด ตอเชื่อมระบบสายสงได • มีการใชไฟฟาจากสายสงการไฟฟาแลว แตตอ งการมีไฟฟาสํารอง ไวใชขณะที่สายสงการไฟฟาเกิดมีปญหา เชน ไฟฟาดับ และไฟตก เปนตน จะปลอดภัยไหม ถามีระบบพลังงานแสงอาทิตยติดตั้งอยูภายใน บริเวณบาน? ปลอดภัยอยางแนนอน เพราะระบบพลังงานแสงอาทิตยเปนการนํา พลังงานแสงอาทิตยมาทดแทนพลังงานในรูปแบบอื่น ๆ ซึ่งระบบ พลังงานแสงอาทิตย ไดชื่อวา “เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม” เนื่องจาก ไมกอ ใหเกิดมลพิษตอสิง่ แวดลอม และไมมกี ารแผรงั สีหรือขับกากพิษใด ๆ ออกมา โดยเฉพาะอยางยิง่ ถาระบบพลังงานแสงอาทิตยประกอบไปดวย อุปกรณที่ไดมาตรฐาน รวมถึงไดรับการติดตั้งอยางถูกตองจาก ผูเชี่ยวชาญ ไมวาจะติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย ไวในสถานที่ใด ก็ปลอดภัยทั้งสิ้น หากคุณตองการติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย สามารถติดตอสอบถามไปยังบริษทั ผูผ ลิตหรือจําหนายระบบพลังงาน แสงอาทิตยโดยตรง ระบบพลังงานแสงอาทิตยใชงานยากไหม? การใช ง านระบบพลั ง งานแสงอาทิ ต ย ไ ม ย ากอย า งที่ คิ ด ถึ ง แม กระบวนการผลิตเซลลแสงอาทิตยจะตองใชเทคโนโลยีขั้นสูง แตการ ใชงานนั้นงาย ๆ ไมซับซอน แผงเซลลแสงอาทิตยเปนอุปกรณที่ผลิต ไฟฟากระแสตรงแรงดันตํ่า มีอุปกรณนอยชิ้น ที่มีการเคลื่อนไหว หลังจากทําการติดตั้งแลว ตองการการดูแลรักษาเปนระยะ ๆ เทานั้น สําหรับระบบพลังงานแสงอาทิตยที่มีอุปกรณอื่น ๆ เพิ่มเติม ก็ดูแล รักษาไปตามความตองการเฉพาะของอุปกรณนั้น ๆ เชน แบตเตอรี่ที่ ใชเก็บพลังงานไฟฟา ก็ตองคอยหมั่นเติมนํ้ากลั่นและทําความสะอาด ขั้วแบตเตอรี่ เปนตน หากตองนําระบบเซลลแสงอาทิตย ไปใชกับอุปกรณ ไฟฟาภายใน บานหรือสํานักงานจะประกอบดวยอะไรบาง? ในการติดตั้งระบบเซลลแสงอาทิตยนั้น ผูที่ตองการใชไฟฟาที่ผลิต จากระบบเซลลแสงอาทิตยจะตองรูความตองการใชไฟฟาในสถานที่ ติดตัง้ ในแตละวัน จึงจะสามารถคํานวณสวนประกอบของระบบได การ

ใชไฟฟาเทาไรดูไดจากอุปกรณไฟฟาทีจ่ ะใชวา มีอะไรบาง แตละชนิดใช พลังงานเทาใด ตองการเปดใชงานนานกี่ชั่วโมงตอวัน รวมถึงในกรณี ทีแ่ ผงเซลลแสงอาทิตยไมสามารถผลิตพลังงานไฟฟาได ตองการใหมี ปริมาณพลังงานสํารองใชไดจากแบตเตอรี่นานเทาใด บานหลังหนึง่ ตองการนําไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากเซลลแสงอาทิตยไปใชกบั หลอดไฟฟลูออเรสเซนตชนิดมีบัลลาสตอิเลคทรอนิกสในตัว จํานวน 3 ดวง (36 W X 3) เปนเวลา 3 ชัว่ โมงตอวัน, โทรทัศนสี 21 นิว้ (120 W) ประมาณ 4 ชั่วโมงตอวัน สิ่งที่ตองใชในระบบเซลลแสงอาทิตย ประกอบดวย • เซลลแสงอาทิตย • เครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟา (Charge Controller) • แบตเตอรี่ (Battery) • เครื่องแปลงกระแสไฟฟา (Inverter) การคํานวณหาขนาดของเครื่อง 1. เครื่องแปลงกระแสไฟฟา (Inverter) ควรมีขนาดใหญพอที่จะจายไฟฟาใหแกอุปกรณตาง ๆ ไดเทา ๆ กัน (กรณีทเี่ ราไมสามารถทราบชวงเวลาทีจ่ ะใชอปุ กรณไฟฟาตาง ๆ) จะได = (36 W X 3 ดวง) + (120 W) = 228 W ขนาดของเครื่องแปลงกระแสไฟฟา ควรมีขนาด 228 Watt หรือ มากกวาขึ้นอยูกับขนาดของเครื่องที่ขายในทองตลาด 2. แบตเตอรี่ (Battery) จะตองใชแบตเตอรี่ชนิด Deep Cycle เพื่อใหเหมาะสมกับการใชงาน ในระบบเซลลแสงอาทิตย ขนาดของแบตเตอรีส่ ามารถคํานวณไดจาก Ah = คาการใชพลังงานรวม / [แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ X 0.6 (% การใชงานกระแสไฟฟาที่อยูในแบตเตอรี่) X 0.85 (ประสิทธิภาพของ Inverter)] = {(36 W X 3 ดวง) X 3 ชั่วโมง} + {(120 W) X 4 ชั่วโมง} / [12 โวลต X 0.6 X 0.85] = 131.4 Ah ขนาดของแบตเตอรี่ที่ควรใชเปนขนาด 12 โวลต 131.4 Ah หรือมากกวา 3. เครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟา (Charge Controller) จะตองมีขนาดเทากับหรือมากกวากระแสไฟฟา (Amp) ที่ไหลผานสู แบตเตอรี่ และไมเกิน 0.1 เทาของ Ah ของแบตเตอรี่ ดังนั้น ขนาดของเครื่องควบคุมการประจุกระแสไฟฟา ควรมีขนาดไมเกิน 12 โวลต 13.14 A 4. เซลลแสงอาทิตย = คาการใชพลังงานรวม / 5.5 ชั่วโมง (ปริมาณแสงอาทิตยที่ ไดใน 1 วัน) = {(36 W X 3 ดวง) X 3 ชั่วโมง} + {(120 W) X 4 ชั่วโมง} / 5.5 ชั่วโมง = 46.18 Ah ดังนั้น ขนาดของเซลลแสงอาทิตยที่ตองใช คือ ขนาด 12 โวลต 146.18 วัตตหรือมากกวา หมายเหตุ : หากตองการมีพลังงานสํารองไวใชในกรณีที่แผงเซลล แสงอาทิตยไมสามารถผลิตพลังงานไฟฟาไดทนั เชน เวลาทีฝ่ นตกหรือไมมี แสงอาทิตย ก็จะตองเพิม่ ขนาดของแบตเตอรีเ่ พือ่ ใชในการเก็บพลังงาน สํารอง (แหลงขอมูล http://www.leonics.co.th)

100

Energy#62_p99-100_Pro3.indd 100

12/20/13 12:41 AM


Energy#62_p101_Pro3.indd 101

12/18/13 10:47 PM


Energy Movement Rainbow

เมื่อเร็ว ๆ นี้ ศ.ดร.ธีระ สูตะบุตร กรรมการที่ปรึกษาโครงการอนุรักษ พันธุกรรมพืช อันเนือ่ งมาจากพระราชดําริฯ (อพ.สธ.) นายพรชัย จุฑามาศ รองผู  อํ า นวยการโครงการ อพ.สธ. นายกาศพล แก ว ประพาฬ รองผูวาราชการจังหวัดกาญจนบุรี และนายสุนชัย คํานูณเศรษฐ ผูวาการ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) รวมแถลงขาวการจัดงาน ประชุ ม วิ ช าการและนิ ท รรศการทรั พ ยากรไทย:นํ า สิ่ ง ดี ง ามสู  ต าโลก ที่จัดขึ้น ณ เขื่อนศรีนครินทร จังหวัดกาญจนบุรี

บริษัท เลคิเซ ไลทติ้ง จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายอุปกรณสองสวาง ประหยัดพลังงานไฟฟา ภายใตแบรนดเลคิเซ (LeKise) รวมแสดง ความยินดีกับองคการเฟรนด อินเตอรเนชั่นแนล องคกรพัฒนา เอกชนระหวางประเทศ ในโอกาสเปดราน Friends ‘n’ Stuff สาขา กรุงเทพ พรอมนําหลอด LED มอบใหกับองคการเพื่อใชในโครงการ ศูนยสรางศักยภาพและฝกอบรมอาชีพแกผูปกครอง โดยมี คุณ ผุ ส ดี ตามไท รองผู  ว  า ราชการกรุ ง เทพมหานคร ประธานในพิ ธี รวมเปนสักขีพยาน

คุณสุทศั นีย ไวยนิยา ผูอ าํ นวยการฝายกิจการสังคม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) รวมกับ สถาบัน ราชานุกูล สงมอบเกาอี้ตนแบบเพื่อนอง พิการทางสมองดวยเทคนิคเปเปอรมาเช ใหแกพอ แมผูปกครองที่ขาดแคลนทุนทรัพยและองคกรตาง ๆ ภายใต โ ครงการทํ า ความดี ถ วายพระบาทสมเด็ จ พระเจาอยูหัว ณ อาคารเรียน สถาบันราชานุกูล กรุงเทพฯ เมื่อเร็ว ๆ นี ้

รองศาสตราจารย ดร.ชวลิ ต รั ต นธรรมสกุ ล อาจารยจากคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดรับรางวัล ASEAN Outstanding Engineering Achievement Award ประจําป 56 จากองคกร ASEAN Federation of Engineering Organization (AFEO) ซึ่งเปนองคกรความรวมมือ ระหวางสมาคมทางดานวิศวกรรม 10 ประเทศของ อาเซียนที่มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรม ตาง ๆ อยางตอเนื่อง

102

Energy#62_p102-103_Pro3.indd 102

12/18/13 10:12 PM


มร. โรลันด เฮิน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั สตีเบล เอลทรอน เอเชี ย จํ า กั ด บริ ษั ท ผู  ผ ลิ ต เครื่ อ ง ทํานํ้ารอน นํ้าอุน เครื่องกรองนํ้า ปมความรอน และเครือ่ งเปามือชัน้ นําจากประเทศเยอรมนี พรอม ตัวแทนพนักงานรวมบริจาครถเข็นแกคนพิการ ภายใตโครงการลอเลื่อนเพื่อคนพิการ โดยมี นายกิตติพงษ หาดทวายกาญจน ตัวแทนมูลนิธิ คนพิการไทยเปนผูรับมอบ

เทสโก โลตัส เดินหนานโยบายเพื่อสิ่งแวดลอม ต อ เนื่ อ งล า สุ ด คุ ณ ชาคริ ต ดิ เ รกวั ฒ นชั ย รองกรรมการผูจัดการ แผนกกิจการสาธารณะ เทสโก โลตัส แจงความคืบหนาการเปดรานคา คอนเซ็ปตใหม “รานคาปลอดถุงพลาสติก” ที่ เทสโก โลตั ส เอ็ ก ซ เ พรส สาขาบ า นใสยวน อ.เมือง จ.ภูเก็ต และสาขาตลาดแหลมดิน เกาะสมุย แหล ง ท อ งเที่ ย วดั ง เพื่ อ ลดการใช ถุ ง พลาสติ ก ในชวงทีผ่ า นมา ขณะนีป้ ริมาณการลดใชถงุ พลาสติก ในเทสโก โ ลตั ส คาดว า สามารถลดได ม ากกว า เปาหมายที่ตั้งไว 12 ลานใบ

ชไนเดอร อิเล็คทริค ผูเชี่ยวชาญดานการจัดการ พลังงานระดับโลก เปดตัวอีซชี่ อ ยส กลุม ผลิตภัณฑ นั บ ว า เป น การลงทุ น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สํ า หรั บ ผู  ประกอบการโรงตูไฟฟา และผูรับเหมา ทั้งนี้กลุม ผลิตภัณฑอซี ชี่ อ ยสไดรบั การออกแบบมาเพือ่ ตอบ สนองต อ การตรวจสอบและปอ งกั น ระบบไฟฟา สําหรับอาคารพาณิชย อาคารที่พักอาศัย และ โรงงานอุตสาหกรรม ทั่ว ๆ ไป โดยมีฟงกชั่นที่ใช งานงาย มั่นใจไดในความปลอดภัย และแมนยําตอ การตรวจสอบและปองกันระบบไฟฟา ชวยใหคุณ สามารถจัดสรรงบประมาณที่มีอยูไดอยางลงตัว พรอมทัง้ รับประกันคุณภาพของสินคาและการผลิต ตามมาตรฐานยุโรป

นายสุพิชญ สุวกูล ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ทรัพยากรบุคคลองคกร บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) เป น ผู  แ ทน ปตท. รั บ มอบรางวั ล องค ก รดี เ ลิ ศ ระดับแพลทินัมตอเนื่องเปนปที่ 5 จากนิตยสาร The Asset หรือ The Asset’s Platinum Award for All-Round Excellence พิจารณาจากผล สํารวจความคิดเห็นของนักลงทุน นักวิเคราะห และผู เชีย่ วชาญในอุตสาหกรรมจากสถาบันชัน้ นําทัว่ โลก ที่ลงทุนในตลาดทุนเอเชียใน 6 ดาน ทั้งนี้ยังมีบริษัท ในกลุม ปตท. ทีไ่ ดรบั รางวัลในครัง้ นี้ ไดแก PTTEP ในระดับแพลทินมั TOP และ BCP ในระดับโกลด

103

Energy#62_p102-103_Pro3.indd 103

12/18/13 10:12 PM


Energy Thinking เด็กเนิรด

ขอ้ คิดจาก “สตีฟ จอบส”์

นาทีนคี้ งไมมใี ครไมรจู กั “สตีฟ จอบส” ผูน าํ ธุรกิจและนักประดิษฐชาวอเมริกนั ผูร ว มกอตัง้ ประธาน และอดีตประธานกรรมการบริหาร ของแอปเปลคอมพิวเตอร กวาทีเ่ ขาจะประสบความสําเร็จเหมือนเชนทีผ่ า นมา เขามีหลักคิดในการดําเนินชีวติ อยางไรบาง ฉบับนีเ้ ราหยิบยก หลักคิดดังกลาวมาฝากกัน 1. จงกระหาย และ ทําตัวโงตลอดเวลา เพราะ ถาเมือ่ ไหรเราอิม่ และเรารูส กึ วาตัวเองฉลาด เราจะไมมีทางพัฒนา 2. นวัตกรรมแยกผูน าํ กับผูต ามออกจากกัน 3.ในบางครั้งที่คุณสรางนวัตกรรม คุณก็ สรางสิ่งที่ผิดพลาด สิ่งที่ดีที่สุด คือ ยอมรับ ความผิดพลาดนั้น และพัฒนานวัตกรรม อื่น ๆ ของคุณแทน 4.หนาที่ของผมไมใชการทําตัวดีกับผูคน หนาที่ของผมคือชวยใหพวกเขาดีขึ้น 5.จงเปนมาตรฐานของคุณภาพ ถาคุณเปน ชางไมทสี่ รางตูส วยงาม คุณคงจะไมใชไมอดั ที่ดานหลัง ถึงแมจะไมมีใครเห็นมัน แตคุณ เองรูอยูแกใจวามันอยูตรงนั้น ดังนั้นจงใช ไมสวยที่ดานหลังตูเชนกัน คุณจะไดหลับ สบาย เพราะความสวยงามและคุ ณ ภาพ ยังคงดําเนินตอไป 6.คนสวนใหญคดิ วาความตัง้ ใจ หมายถึง “ใช” ในสิ่งที่คุณสนใจ แตมันไมใชเลย มันหมาย ถึงการปฏิเสธไอเดียดี ๆ อีกมากมายที่มี ดังนั้นคุณจะตองเลือกทําอยางระมัดระวัง 7.การออกแบบ คนบางคนคิ ด ว า การ ออกแบบ หมายถึ ง ภาพลั ก ษณ ที่ เ ห็ น ดวยตา แตจริง ๆ แลว ถามองใหลึกลงไป การออกแบบ คื อ การที่ สิ่ ง นั้ น ทํ า งาน อยางไรมากกวา การออกแบบบางอยางใหดี คุณตองเขาใจมันกอน เขาใจอยางทะลุปรุโปรง วามันคืออะไร

9.การเปนชายที่รวยที่สุดในสุสาน มันไมได สําคัญอะไรกับผมเลย การไดพูดกับตัวเอง กอนนอนวา เราไดทําบางสิ่งที่สุดยอด นั่น ตางหากที่สําคัญสําหรับผม 10.งานของคุณคือการเติมเต็มสิ่งสําคัญ ในชีวิตคุณ และทางเดียวที่จะพอใจไดคือ การทําในสิ่งที่คุณเชื่อวามันเปนสิ่งที่ดี และ ทางเดียวทีจ่ ะทํางานไดดคี อื รักในสิง่ ทีค่ ณ ุ ทํา ถาคุณหามันไมเจอ ก็จงหามันตอไป อยาหยุด ทุกสิง่ ทีส่ าํ คัญมันอยูใ นใจคุณ คุณจะรูด ว ยใจ ของคุณเอง 11.ตอนอายุ 17 ป ผมอานคําคมที่บอกวา จงใชชีวิตในทุกวันใหเหมือนเปนวันสุดทาย แล ว สั ก วั น หนึ่ ง คุ ณ จะอยู  ใ นตํ า แหน ง ที่ ถูกตอง นัน่ ทําใหผมประทับใจและจดจํามาตลอด ตั้งแตนั้นเปนตนมาผมดูตัวเองในกระจกทุก เชาแลวถามตัวเองวา ถาวันนี้เปนวันสุดทาย ของผม ผมอยากจะทําอะไร

12.เวลาของคุณมีจํากัด อยาเสียเวลาไปอยู ในชีวิตของคนอื่น อยาไปอยูในกฎเกณฑ เพราะนั่ น หมายถึ ง การใช ชี วิ ต ตามที่ ผู  อื่ น คิด อยาใหเสียงของคนอื่นมาเอาชนะเสียง ภายในตั ว คุ ณ และสิ่ ง ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด จงมี ความกลาพอที่จะทําตามสัญชาติญาณและ ใจของคุณ เพราะคุณจะรูดีที่สุดวาตัวคุณ ตองการอะไร สิ่งอื่น ๆ คือ สิ่งที่รองลงไป 13. ผมถูกถามเสมอวา ทําไมลูกคา Apple ถึง ไดจงรักภักดีขนาดนี้ ผมมองวาที่เปนเชนนี้ เพราะเมื่ อ เขาซื้ อ สิ น ค า ไปแล ว 3 เดื อ น หลั ง จากนั้ น เขาพบป ญ หาอะไรบางอย า ง แลวเขาสามารถแกไขมันไดอยางรวดเร็ว ดวยตัวเอง นั่นละคือ Apple 14.การไดระลึกเสมอวา ผมจะตายในเร็ววันนี้ คื อ เครื่ อ งมื อ ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด ที่ ผ มเคยพบ เจอ ซึ่งมันชวยผมในการตัดสินใจเลือกสิ่งที่ ยิ่งใหญในชีวิต เพราะเกือบทุกอยาง ไมวา จะเปนความคาดหวัง ความภูมิใจ ความกลัว ความนาอาย หรือความลมเหลว สิง่ เหลานัน้ จะหายไปทันที เมื่อคุณเผชิญหนากับความ ตาย และมันจะหลงเหลือแตสิ่งสําคัญที่สุด จริง ๆ การระลึกไดวาคุณกําลังจะตาย จึง เปนทางทีด่ ที สี่ ดุ ใหผมรูว า จะหลีกเลีย่ งกับดัก ทางความคิดทีม่ อี ยูอ ยางไร คุณไมมอี ะไรจะเสีย มันไมมีเหตุผลใด ที่จะทําใหคุณไมทําตามใจ ตัวเอง

8.ความงาย จริง ๆ แลวยากกวาความซับซอน เพราะคุณจะตองทํางานหนัก เพือ่ ทําอยางไร ให มั น ง า ย แต สุ ด ท า ยมั น ก็ คุ  ม ค า ที่ จ ะทํ า เพราะคุณจะสามารถเคลื่อนภูเขาไดอยาง งายดาย

104

Energy#62_p104_Pro3.indd 104

12/18/13 10:16 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

105

Energy#58_p103_Pro3.indd 105

8/28/13 6:43 PM


Energy#62_p106_Pro3.ai

1

12/23/13

6:41 PM


Energy#62_Cover In_Pro3.indd 1

12/20/13 1:42 AM


Energy#62_Cover Out_Pro3.indd 1

12/23/13 4:18 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.