นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 64 เดือนมีนาคม 2557

Page 1

1

Energy#64_Cover Out_Pro3.indd 1

4

0

3

0

1

2/26/14 9:58 PM


Energy#64_Cover In_Pro3.indd 1

2/25/14 8:33 PM


0A ! *č + /)D +? L 5 )? 5 25" :+ < 9 M E-8";+@ +9 1: +8""$-< H''ą : : D --č E 2 5: < *č E -8&-9 :!-) 3: @ ; :!D =L*/ Ċ5 9" :+$-< H''ą: : F -ĉ:D --čE-8 9 39!-) !=

L 5? $A Ċ /ĉ *)?55: =& = L 9 :+ :!G3Ċ @ H Ċ5*ĉ: +" Ċ/! E-8)=#+82< ( < :&

-@)ĉ D +?5L )?5/9 +:/ č ŮįŚŗŝŖŌ īŗŖŜőŖŝőŜš Ŭ ĭʼnŚŜŐ ĺŗŌ ĺōśőśŜʼnŖŋōů

-@)ĉ D +?5L )? )5/ E$ D --E2 5 5/9 E$ D --čE2 5: < *č Ůĸľ ĸʼnŖōŔ ŗŚ ĻŜŚőŖŏů Ů ŏů

ĻĭĩĿĩĺĬ +@!ĉ ĸľae` Installation/Maintenance

G Ċ +/ /9 E+ 9!H''ą: Ůľŗŋů +8E2H''ą: Ůıśŋů

/:) Ċ:! :! !/! Ůĺőśŗů :+D ?5L ) ĉ5+8"" +:/ č ŮįŚŗŝŖŌ īŗŖŜőŖŝőŜšů : E$ F -ĉ:D --č 3+?5G!+8 9" śŜŚőŖŏ = L +8E2H)ĉD <! aeĩ +:* :! :+ +/ /9 :)): + :! ıĭīfbddf H Ċ

ĩĵĸĺķĪĭ +@!ĉ ĻķĴĩĺųf`` Installation/Maintenance

G Ċ +/ /9 @ 2)"9 E< $ F -ĉ:D --č D ĉ! E+ 9!H''ą: Ůľŗŋů +8E2H''ą: Ůıśŋů #+82< (< :& ŮĭŎĠŋőōŖŋšůŲ E2 ĉ: @ 2)"9 < E"" ľı īŝŚŞō /ĉ:E$ F -ĉ:D --čD2=* )= /:) 2 #+ "!$</): D <!H# D2?5L )#+82< (< :&

-@)ĉ D +?5L )?5/9 5@ 3(A) < ŮļōŕŘōŚʼnŜŝŚōů ŕŘōŚʼnŜŝŚōů

ĮĴĽijĭ +@!ĉ ļőųb``ųc``ųd`` ļŐōŚŕʼnŔ ıŕʼnŏōŚ

+/ /9 (:& /:)+Ċ5! + @ Ĭī ĻşőŜŋŐ ĪŗŠ #ą5 9!H'G3)ĊŲ (:& /:)+Ċ5! =EL $ F -ĉ:D --čD&?5L +/ 3:E$ =$L < # <Ų (:&

/:) =DL +?5L 5<!D/5+čD 5+čE-83)Ċ5E#- H''ą:

ĮĴĽijĭ +@!ĉ cgf ĩīŵĬī ľŗŔŜʼnŏōŵīŝŚŚōŖŜ īŔʼnŕŘ ĵōŜōŚ /9 +8E2H''ą: + @ Ĭī ĻşőŜŋŐ F */9 ĉ: +8E2 =$L < # < + : D Ċ:D +?5L 5<!D/5+čD 5+č ŮĬī ıŖŘŝŜ a```ľŵa```ĩů

ĮĴĽijĭ +@!ĉ cgf ĩīŵĬī ľŗŔŜʼnŏōŵīŝŚŚōŖŜ īŔʼnŕŘ ĵōŜōŚ

ĩĵĸĺķĪĭ +@!ĉ ĻķĴĩĺųa`` Irradiance Meter

G Ċ +/ /9 E+ 9!H''ą: Ůľŗŋů +8E2 H''ą: Ůıśŋů : E$ F -ĉ:D --čF * + 3+?5/9 ĉ:G!+8 9" ĻŜŚőŖŏŵĩŚŚʼnš = L +8E2H)ĉD <! a```ľŵa```ĩ

G Ċ +/ /9 ĉ:&-9 :!E2 5: < *č = L +8 "F -ĉ:D --č D&?5L :+ 25" :+E#- &-9 :!

'-@ ŴŴ)9L!G @ ĉ: =L/9

ĮĴĽijĭ +@!ĉ afbe ĭʼnŚŜŐ įŚŗŝŖŌ ļōśŜōŚ /9 ĉ: /:) Ċ:! ĉ5D!?5L 5 5 2:* +:/ č ŮįŚŗŝŖŌ īŗŖŜőŖŝőŜšů E-8 /9 ĉ: /:) Ċ:! 5 3-9 <! ŮĭŚʼnŜŐ ĺŗŌ ĺōśőśŜʼnŖŋōů E"" ŎʼnŔŔ ŗŎ ŘŗŜōŖŜőʼnŔ ŜōśŜŲ ĻōŔōŋŜőŞō ʼnŖŌ ĻŜʼnœōŔōśś ĵōŜŐŗŌō

-@)ĉ D +?5L )?5/9 !/! ŮıŖśŝŔʼnŜőŗŖ Ŭ ĴŗŗŘ ıŕŘōŌʼnŖŋōů

ĮĴĽijĭ +@!ĉ afec a œľ ıŖśŝŔʼnŜőŗŖ ʼnŖŌ ĴŗŗŘ ıŕŘōŌʼnŖŋō

/9 ĉ: /:) Ċ:! :! !/! =2L :* Ĭī īʼnŊŔō +83/ĉ: E$ F -ĉ:D --čE-8 Ĭī ĻşőŜŋŐ 3!Ċ:D +?5L 5<!D/5+čD 5+č /9 ĉ: /:) Ċ:! :! ĴŗŗŘ ıŕŘōŌʼnŖŋō =2L :* ĩī īʼnŊŔō +83/ĉ: D +?5L 5<!D/5+čD 5+čE-83)Ċ5E#-

ĮĴĽijĭ +@!ĉ aee`ī eijľ ıŖśŝŔʼnŜőŗŖ ļōśŜōŚ

/9 ĉ: /:) Ċ:! :! !/! =2L :* ĩī īʼnŊŔō +83/ĉ: D +?5L 5<!D/5+čD 5+čE-83)Ċ5E#-

ĮĴĽijĭ +@!ĉ afc` ĭʼnŚŜŐ įŚŗŝŖŌ īŔʼnŕŘ ĵōŜōŚ /9 ĉ: /:) Ċ:! ĉ5D!?5L 5 5 2:* +:/ č ŮįŚŗŝŖŌ ĴŗŗŘ ĺōśőśŜʼnŖŋōů Ċ/*E -)#ĈE"")?5 ?5

-@)ĉ D +?5L )?5 @ (:&H''ą: ŮĸŗşōŚ ĹŝʼnŔőŜšů

ĮĴĽijĭ +@!ĉ cgf ĩīŵĬī īŔʼnŕŘ ĵōŜōŚ

G Ċ +/ /9 E+ 9!H''ą:E-8 +8E2H''ą:

5 D +?5L 5<!D/5+čD 5+č = L : D Ċ: Ĭī a```ľŵa```ĩ E-8 : 55 = L ĩī a```ľŵbe``ĩ

ĮĴĽijĭ +@!ĉ cde ĩīŵĬī ĸŗşōŚ īŔʼnŕŘ ĵōŜōŚ

G Ċ +/ /9 ĉ: ;-9 H''ą: 5 D +?5L 5<!D/5+čD 5+č = L : D Ċ: Ĭī hbeľŵb```ĩŌŋ E-8 = L : 55 ĩī hbeľŵad``ĩʼnŋ

ĮĴĽijĭ +@!ĉ agc` ĩīŵĬī ĸŗşōŚ ĹŝʼnŔőŜš ĩŖʼnŔšŢōŚ

G Ċ +/ /9 ĉ: ;-9 H''ą: = L : 55

5 D +?5L 5<!D/5+čD 5+č ĩī ķŝŜŘŝŜ a```ľŵf```ĩ

ĮĴĽijĭ +@!ĉ dceųıı ĩīŵĬī ĸŗşōŚ ĹŝʼnŔőŜš ĩŖʼnŔšŢōŚ

G Ċ +/ /9 ĉ: ;-9 H''ą: 5 D +?5L 5<!D/5+čD 5+č = L Ĭī ıŖŘŝŜ E-8 ĩī ķŝŜŘŝŜŲ #+82< (< :& 5 D +?5L 5<!D/5+čD 5+č

ĉ: ļİĬŲ İʼnŚŕŗŖőŋśŲ ĮŔőŋœōŚŲ Ĭī ķŎŎśōŜŲ ľŗŔŜʼnŏō ĭŞōŖŜ ĺōŋŗŚŌōŚ

ĮĴĽijĭ +@!ĉ afba Īʼnśőŋ ĭʼnŚŜŐ įŚŗŝŖŌ īŔʼnŕŘ ĵōŜōŚ /9 ĉ: /:) Ċ:! :! 5 3-9 <! ŮĭŚʼnŜŐ ĺŗŌ ĺōśőśŜʼnŖŋōů E"")?5 ?5

-@)ĉ D +?5L )?55?!L J ŮķŜŐōŚśů

ĩĵĸĺķĪĭ +@!ĉ Īĩļųe`` ĪʼnŜŜōŚš ĩŖʼnŔšŢōŚ

25" /:)2:):+ 5 E" D 5+=L G!+8""2Q:+5 H' ĉ:* Q:-9 E-85:*@G Ċ :!

ĮĴĽijĭ +@!ĉ īĶŀ ĩīŵĬī ľŗŔŜʼnŏōŵīŝŚŚōŖŜ īŔʼnŕŘ

@ D +?5L )?5/9 +8""H+Ċ2:* D ?5L ) ĉ5 G Ċ :!+ĉ/) 9! e F) A- +8*8H - b` D) +

ĮĴĽijĭ +@!ĉ ha` ľőŊŚʼnŜőŗŖ ĩŖʼnŔšŢōŚ

+/ /9 E+ 29!L 28D ?5! 5 9/D K!D!5D+D 5+č E-8G" 9 39!-) D&?5L 3: /:)$< # <

īļĺĴ +@!ĉ a`a ijőŜś ĽŔŜŚʼnśŗŖőŋ

/9 :+D < 5:+č : H''ą: = L Ĭī ĻşőŜŋŐŲ ĮŝśōŲ īŗŖŖōŋŜőŗŖŲ ļŚʼnŖśŎŗŚŕōŚ G!2 :!=H''ą:

ĮĴĽijĭ +@!ĉ baeī ĬőŏőŜʼnŔ ķśŋőŔŔŗśŋŗŘō /9 E-8/<D +:83č :+2?5L 2:+ =DL ?5L ) ĉ5 9! G!2 :!=H''ą: 9" 9 39!-) $ĉ:!+8"""92 Ċ5)A-

www.measuretronix.com/solar-wind-test

Energy#64_p03_Pro3.indd 3

2/26/14 9:11 PM


High Light 22 19 25 36

74

44 66 76 78 80

What’s Up 72 Around The World 74 ASEAN Update 102 Energy Movement

82 83 90

GreenNovation Green 4U : สูดลมหายใจใหเต็มปอดกับ... งานศิลปะกลางธรรมชาติสรางสํานึกรักษสิ่งแวดลอม Energy Award : โครงการ “พลังคิดสะกิดโลก” ใหไดมากกวาการแขงขันและรางวัล Energy Knowledge : พลังงานทดแทนสําหรับอากาศยาน เพื่อความมั่นคงทางทหารและพลังงานของชาติ Eco Shop : Mazmoizelle กับ กระเปาไมกอก ทน กันนํ้า เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม Energy Loan : กสิกร ออกสินเชื่อประหยัดไฟ หนุนธุรกิจ SME ใชหลอด LED พรอมรับเงินสนับสนุนจากภาครัฐ Energy Focus : ปญหาการเมืองเกิด ความเจริญประเทศหยุด Insight Energy : ราคาพลังงาน และ ภาวะถดถอย ประเด็นสําคัญที่ตองติดตาม Special Scoop : 108 ไอเดียประหยัดนํ้ามัน แชรความคิด ผานสื่อ...สูการปฏิบัติจริง Energy Rules : ปรับปรุงแผนพลังงานรองรับการเติบโต ของประเทศ Energy Report : “ไมปรับ-ไมรอด” Energy Exhibit : ปดฉากสมบูรณแบบ งานสถาปนิกทักษิณ’ 57

Cover Story 10 52

Cover Story : ฉลาดซื้อ ฉลาดเลือก เครื่องปรับอากาศ Special Report : เจาะประเด็น ปฏิรูประบบพลังงานไทย

Interview 46 48 50 64

Exclusive : ITC สรางอาคารตนแบบ Cooling Batt ลดภาวะโลกรอน เนนประหยัดพลังงาน Exclusive : Thailand Energy Awards เพาะจิตสํานึกอนุรักษพลังงาน Exclusive : เจาะแนวคิด “คุณปณิธาน บําราศอรินทรพา ย” กับ EcoLightTech Asia 2014 Energy Concept : เยาวชนไทย โชวกึ๋น ซิวแชมปเชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย

4

Energy#64_p04,06_Pro3.indd 4

19 2/24/14 8:43 PM


FLUKE 1730 Three-Phase Energy Logger

£

u

FLUKE 434-II, FLUKE 435-II Three-Phase Power Quality and Energy Analyzers

Ç

¤ ƹÁ¬èÆ «¢¤¤ ± « º¾££Æ¶¢

³

G! 9/5*ĉ: D#đ!D <! fhcŲ``` ": ĉ5#ā À ¤ £ ¸¬£ ƹ¤® ¤ ² ¤±¿« 2!G < ĉ5 Ģ @ =+8/9 !č `hųaeeeųchggŲ @ &- + `hųahcdų``cdŲ @ <+:*@ `hųchbcųgicc

"+<19 D)D 5+čF +!< č Q: 9

 «Ç º · 6000 A

bdbeŵb !!-: &+Ċ:/ +83/ĉ: 5* fgŵbųfi E / 28&:!25 D /9 5 3-: +@ D & 7 a`ca` F +Ŵ `ųbeadųa```ģ `ųbeadųabcd E' č `ųbeadų```aģ `ųbeadų```c ıŖŜōŚŖōŜĢ ŐŜŜŘĢŵŵşşşŴŕōʼnśŝŚōŜŚŗŖőŠŴŋŗŕ ĭųĵʼnőŔ Ģ őŖŎŗĨŕōʼnśŝŚōŜŚŗŖőŠŴŋŗŕ şşşŴŕōʼnśŝŚōŜŚŗŖőŠŴŋŗŕŵŘŗşōŚųřŝʼnŔőŜš Energy#64_p05_Pro3.indd 5

2/26/14 9:12 PM


56

88 Industrial & Residential

Transportation & Alternative Energy

28

56

32 34 38 94 96

Green Industrial : Henkel มุงพัฒนาลดใชพลังงาน ภายใตแนวคิด...ENERGY AND CLIMATE Residence : ปงปาลีย รีสอรท ใชพลังงานอยางคุมคา ใหเกิดประโยชนสูงสุด Energy Design : การออกแบบดานตรวจคนเขาเมือง ชายแดนสหรัฐอเมริกา Tool&Machine : Siemens Gas Turbine กังหันกาซ สําหรับอุตสาหกรรม รุน SGT-800 Saving Corner : เครื่องผลิตไฟฟากังหันไอนํ้า แรงดันตํ่าขนาดเล็ก (Low pressure Micro steam Turbine Generator : MSTG) Energy Management : ตัวอยางความสําเร็จดาน การอนุรักษพลังงาน รพ.ศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร ม.ขอนแกน

32

62 68 70

Auto Update : พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมยานยนต รับมือ AEC ของประเทศอาเซียน Vehicle Concept : TOYOTA FT-1 ซุปเปอรคาร พลังงาน HYBRID Renergy : สงครามแยงชิงชีวมวล สัญญาณความไมมั่นคงของโรงไฟฟาชีวมวลในอนาคต Green logistics : ปจจัยแหงความสําเร็จในการบริหารจัดการโลจิสติกส

Environment Protection 85 88 92 99

0 Waste Idea : สังคมแหงการรีไซเคิลขยะ วิถีทางของ “ZEROWASTE” Environment Alert : การเกษตรสี เ ขี ย ว คํ า ตอบสํ า หรั บ การเกษตรกรรมในอนาคต Green Community : วว. จับมือ จ.กําแพงเพชร เปดศูนยการเรียนรูฯ ผลิตเอทานอล หวังเพิ่มรายไดใหเกษตรกร Energy Enjoyment : เจง! บริษัทญี่ปุนใหพนักงานตัดผมสั้น ชวยประเทศประหยัดพลังงาน

Regular Feature 8 16 42

Editor’ s talk Get Idea : รูแลวลงมือทํา ดีกวารูแลวนิ่งเฉย How to : เปลี่ยนเศษไมใหเปนชิงชา ที่วางของจากยางรถยนต 40 Energy Tips : แนะเคล็ดลับใชแอร ใหประหยัดพลังงาน วิธีงาย ๆ ชวยลดโลกรอน 60 Have to Know : ประเทศไทย... กับการใชพลังงานป’ 56 104 Energy Thinking : “5 ชวงเวลาของชีวิต ขอคิดดี ๆ จากทาน ว.วชิรเมธี” 105 แบบสมัครสมาชิก 106 Event & Calendar 6

Energy#64_p04,06_Pro3.indd 6

2/24/14 8:43 PM


52

Energy#64_p07_Pro3.indd 7

2/26/14 9:10 PM


Editor’s Talk เผลอแปบเดียวเวลาเดินผานปใหมไปพอสมควร ยางเขาสูเดือนมีนาคม เดือนทีม่ าพรอมกับความรอนแรง กอนทีจ่ ะรอนจัดเต็มที่ในชวงเดือนเมษายน เรี ย กได ว  า เป น ช ว งโอกาสทองของธุ ร กิ จ ความเย็ น โดยเฉพาะธุ ร กิ จ เครื่องปรับอากาศที่ยอดขายในชวงเดือนมีนาคมเรื่อยไปจนถึงเมษายน ขายดิบขายดี ทํารายไดเปนกอบเปนกํา เราเชือ่ วามีคนจํานวนไมนอ ยทีต่ อ งการเลือกซือ้ เครือ่ งปรับอากาศ แตไมรวู า จะเริม่ ตนจากตรงไหนดี ตองพิจารณาอะไรบาง เพือ่ ใหเหมาะสมกับการใชงาน และประหยัดพลังงานมากทีส่ ดุ นัน่ คือทีม่ าของเรือ่ งเดนประจําฉบับทีเ่ รานํามา เสนอ ใครทีอ่ ยากรูร ายละเอียด “เครือ่ งปรับอากาศ” อยางลึกซึง้ ทุกแงมมุ ไมควรพลาดดวยประการทัง้ ปวง รับรองวาอานจบแลว คุณสามารถเลือกซือ้ เครือ่ งปรับอากาศไดทนั ที โดยไมตอ งงอพนักงานขายเลยดวย

คณะผูจัดทํา กรรมการผูจัดการ

ชาตรี มรรคา

หัวหนากองบรรณาธิการ ปยะนุช มีเมือง

กองบรรณาธิการ

นัษรุต เถื่อนทองคํา รังสรรค อรัญมิตร อภัสรา วัลลิภผล

เลขากองบรรณาธิการ พิชญาภา อินทโลหิต

จะเห็นไดวา ทุกวันนีช้ วี ติ ประจําวันของพวกเราทุกคน มักเกีย่ วของกับเรือ่ ง ของการประหยัดพลังงานไมมากก็นอย เปนที่ทราบกันดีวา อีกไมนาน พลังงานทีเ่ ราใชกนั อยูท กุ วันนี้ ไมวา จะเปน นํา้ มัน หรือ กาซธรรมชาติ ฯลฯ กําลังนับถอยหลังหมดไปจากโลก หากเราไมเตรียมการรับมือเรื่องนี้ไว เปนอยางดี คาดวาจะตองประสบกับปญหาวิกฤตพลังงานครั้งใหญอยาง แนนอน

ผูจัดการฝายขาย

ทีผ่ า นมาประเทศไทยตืน่ ตัวและใหความสําคัญกับเรือ่ งของพลังงานทดแทน มากพอสมควร ไมเวนแมกระทั่งแวดวงการศึกษาในบานเราที่หันมาศึกษา วิจยั เรือ่ งพลังงานทดแทนกันอยางกวางขวาง ผลิตงานวิจยั ทีม่ คี ณ ุ ภาพออก มามากมาย อาทิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ นอกจากนี้ อีกหลาย ๆ มหาวิทยาลัย เชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร ฯลฯ ตางเปด “ศูนยใหคาํ ปรึกษาดานพลังงาน” ขึน้ มา เพือ่ ให บริการดานวิชาการ ใหคาํ ปรึกษา จัดอบรมสัมมนา และเปนแหลงขอมูลดาน การประหยัดพลังงานใหกบั ภาครัฐและภาคเอกชนทีส่ นใจ ในขณะเดียวกันก็ เปดหลักสูตรการเรียนการสอนดานพลังงานควบคูไ ปดวย เนือ่ งจากปจจุบนั บุคลากรทีใ่ หคาํ ปรึกษาดานการประหยัดพลังงานมีนอ ยและยังขาดแคลน เปน อาชีพทีร่ ายไดดี และมีความมัน่ คงในอนาคต

แสงอรุณ มงคล

ศุภแมน มรรคา

เลขาฝายขาย

สุกัญญา สัปศาร

การเงิน

ศิลปกรรม

ศุภนิชา พวงเนตร

พิมพ

บริษัท ภัณธรินทร จํากัด

จัดจําหนาย

บริษัท เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น จํากัด

เรือ่ งของการประหยัดพลังงานไมใชเรือ่ งไกลตัวอีกตอไป แคคณ ุ คิดทีจ่ ะลด (การใชพลังงาน) คุณก็จะไดเพิม่ (เงินตรา) แลว

ปยะนุช มีเมือง หัวหนากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfintl.com

8

Energy#64_p08_Pro3.indd 8

2/24/14 8:45 PM


Energy#63_p09_Pro3.ai

1

1/21/14

11:33 PM


Cover Story อภัสรา วัลลิภผล

ฉลาดซือ้ ฉลาดเลือก เครือ่ งปรับอากาศ พอเขาเดือนมีนาคมก็รูสึกวาอากาศจะเริ่มรอนกันแลว เห็นอากาศรอน ๆ แบบนี้ ตามบาน หรือ บริษัทตาง ๆ หันมาใชบริการเครื่องปรับอากาศกันมากขึ้น ซึ่งการคิดที่จะติดเครื่องปรับอากาศจะ ตองคํานึงถึงปจจัยหลาย ๆ อยาง ไมวาจะเปนระบบการทํางานของเครื่องปรับอากาศ วิธีเลือก ใชใหเหมาะสมกับสถานที่ การติดตั้ง หรือแมกระทั่งการใชงานอยางไรเพื่อใหประหยัดพลังงาน ที่สุด เพราะอยางที่รูกันวาการใชเครื่องปรับอากาศทําใหเสียคาไฟฟามากกวาเดิม ดวยเหตุนี้ทาง Energy Saving ฉบับนี้ จึงขอนําเสนอความรูเ กีย่ วกับ “เครือ่ งปรับอากาศ” มาฝากคุณผูอ า น เพือ่ เปน แนวทางในการเลือกใชเครื่องปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน คุณพยุงศักดิ์ กอนแกว ทีป่ รึกษาดานการจัดการ พลังงาน บริษทั อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จํากัด ใหความรูเ กีย่ วกับเครือ่ งปรับอากาศวา กอนทีเ่ รา จะเลือกใชเครือ่ งปรับอากาศใหตรงกับความ ตองการ และสามารถประหยัดพลังงานได มากทีส่ ดุ เราจะตองรูถ งึ ระบบการทํางานของ เครื่องปรับอากาศกอนวา มีระบบอะไรบาง และแตละระบบเหมาะสมกับสถานทีแ่ บบไหน เพื่อเวลาใชงานจะไดไมสิ้นเปลืองพลังงาน

1. เครือ่ งปรับอากาศแบบเคลือ่ นที่ (PORTABIE) เปนเครือ่ งปรับอากาศขนาดเล็ก มีขนาด ทําความเย็นใหเลือกไมมาก ประมาณ 6,000 - 15,000 BTU โดยตัวเครือ่ งจะรวมเอาอุปกรณ ทุกชิ้นอยูในกลองเดียวกัน ขอดี คือ ใชงานไดทันทีเหมาะที่จะใชงานในพื้นที่ที่ไมอนุญาตให ทําการดัดแปลงตัวอาคารเพื่อติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เชน หอพัก หรือใชเปนแอรสํารอง ในกรณีแอรหลักเสีย และใชสําหรับงานภาคสนาม เชน เตนทพักคางแรม, งานพิธี หรือ สวนแสดงสินคา สวนขอเสีย คือ มีขนาดทําความเย็นนอย ตองหาที่ระบายความรอนโดย การตอทอนําความรอนออกไปทิง้ ตองคอยถอดกลองระบายนํา้ ทิง้ ดวยตนเอง มีการกระจาย ความเย็นที่ทําไดเฉพาะจุด และมีเสียงคอนขางดัง เพราะมีการรวมเอาคอมเพรสเซอรไวใน กลองเดียวกัน

ก อ นอื่ น เรามาทํ า ความรู  จั ก กั บ ชนิ ด ของ เครื่องปรับอากาศกันกอนวา แตละชนิดมี ขอดี และขอเสียอยางไรบาง แบงออกเปน 4 ประเภท คือ

2. เครือ่ งปรับอากาศแบบติดหนาตาง (WINDOW TYPE) เปนเครื่องปรับอากาศที่ไดรับ ความนิยมในอดีต รูปแบบและขอดีขอเสียจะคลายคลึงกับเครื่องปรับอากาศแบบเคลื่อนที่ เพราะมีการรวมเอาอุปกรณทุอยางไวในชุดเดียวกัน แตกตางกันที่เครื่องปรับอากาศแบบ ติดหนาตางจะติดตั้งยึดไวกับวงกบหนาตาง แลวหันดานทายซึ่งเปนดานลมรอนและดาน ระบายนํ้าทิ้งออกนอกอาคาร มีขนาดทําความเย็นที่ 6,000 - 24,000 BTU ปจจุบันไดลด ความนิยมใชลงไปมาก เพราะขอดอยในหลาย ๆ ดาน ความนยม 3. เครือ่ งงปรับอากาศแบบแยกสวน (SPLIT SYSTEM) เปนเครื่อง ปรับอากาศระบบที่นิยมใชกันมากที่สุดในปจจุบัน เพราะมี การแยกเปน 2 สวนหลัก ๆ คือ สวนคอยลรอ นทีส่ ว นใหญ มีปญ  หาดานเสียงดัง โดยจะนําไปวางไวภายนอกอาคาร ในคอยลรอ นจะประกอบดวย คอมเพรสเซอร และสวน ของเครื่องควบแนนพรอมดวยพัดลมเครื่องควบแนน ในส ว นที่ อยูภายในอาคารจะเปนสวนของคอยลเย็น ประกอบไปดวย อีวาปอเรเตอร (แผงเย็น) และพัดลม โบลเวอรของอีวาปอเรเตอร โดยมีทอ นําสายทําความ เย็นซึ่งนิยมใชเปนทอทองแดงเชื่อมตอระบบถึงกัน

10

Energy#64_p10-15_Pro3.indd 10

2/24/14 9:40 PM


และมีการเดินทอนํา้ ทิง้ จากคอยลเย็นออกไปทิง้ นอกอาคาร เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกสวน จะมีการผลิตออกมาหลายรูปแบบ เพื่อเอื้อประโยชนในพื้นที่ใชสอยภายในหอง โดยแบง ออกเปน

- เครือ่ งปรับอากาศแยกสวนแบบติดผนัง (WALL TYPE) ขอดี ทํางานเงียบ ใชพนื้ ที่ ในการติดตัง้ นอย นํา้ หนักเบา มีขนาดใหเลือกตัง้ แต 6,000 - 36,000 BTU รูปทรงสวยงาม และมีใหเลือกหลากหลาย มีฟง ชัน่ กการทํางานและลูกเลนเยอะ ขอเสีย การติดตัง้ ทําได เฉพาะบนผนังเทานั้น การสงลมไมไกลและกระจายแรงลมนอย เนื่องจากใบพัดมี ขนาดเล็ก - เครื่องปรับอากาศแยกสวนแบบตั้ง-แขวน (Floor/Ceiling Type) ขอดี เย็นเร็ว เพราะการกระจายลมเย็นทําไดไกลและทั่วถึง เลือกที่จะติดตั้งโดยแขวนแพดานหรือ ตั้งพื้นไดตามสะดวก เหมาะกับหองขนาดใหญเพราะมีขนาดใหเลือกตั้งแต 12,000 ถึง 60,000 BTU และมีถาดรองรับนํ้าทิ้งขนาดใหญ ระบายนํ้าไดดี ขอเสีย มีขนาดใหญ และนํ้าหนักมาก มีฟงกชั่นการทํางานนอย ลูกเลนไมมาก ใชอุปกรณจับยึดที่ตองรับ นํ้าหนักไดมาก ๆ และใชพื้นที่ติดตั้งมาก เพราะมีเสียงลมดังกวา - เครือ่ งปรับอากาศแยกสวนแบบติดเพดาน (CEILING TYPE) ขอดี รูปทรงสวยงาม ทันสมัย เนื่องจากมีสวนโผลออกมาใตฝาเพดานเพียงแคฝาครอบบาง ๆ เหมาะกับ การตกแตงภายในที่ไมตองการใหเห็นตัวเครื่องปรับอากาศ สามารถกระจายลมไดถึง 4 ทิศทาง ขอเสีย มีราคาสูง การติดตั้งทําไดยาก ตองติดตั้งโดยชางผูชํานาญ ระบบ ระบายนํา้ ทิง้ ใชปม ระบายออก จึงเสีย่ งตอกรณีปม ไมทาํ งาน นํา้ ลนออกมา ฝาเพดานงามๆ ไดรับความเสียหาย การบํารุงรักษา เชนการลางการซอมทําไดยาก หากทอแอรมี ปญหา กรณีที่เปดฝาหรือขึ้นไปบนฝาไมได ตองกรีดฝาเพดาน งานบานปลาย ทั้งยังมี คาบริการแพงกวาแอรแบบทั่วไป - เครื่องปรับอากาศแยกสวนแบบคอยลเปลือยซอนในฝาเพดาน (HORIZONTAL TYPE) ขอดี ซอนในฝาเพดานเพื่อความเรียบรอย สวยงาม ดูทันสมัย เหมาะสําหรับ การตกแตงภายใน ขอเสีย ราคาสูง การติดตั้งทําไดยาก ตองติดตั้งโดยชางผูชํานาญ ระบบระบายนํา้ ทิง้ ใชปม ระบายออก เสีย่ งตอกรณีปม ไมทาํ งาน นํา้ ลนออกมา ฝาเพดาน งาม ๆ ไดรบั ความเสียหาย การบํารุงรักษาเชนการลางการซอม ทําไดยาก หากทอแอร มีปญหา กรณีที่เปดฝาหรือขึ้นไปบนฝาไมได ตองกรีดฝาเพดาน คาบริการแพงกวา แอรทวั่ ไป และ 4. เครือ่ งปรับอากาศแบบชีลเลอร (CHILLED TYPE) เปนเครือ่ งปรับอากาศขนาดใหญ ใช ใ นระบบอุต สาหกรรมหรื อ ระบบปรั บอากาศเพื่ อการพาณิ ช ย เช น หา งสรรพสิน ค า โรงภาพยนตร ซึ่งเปนแอรขนาดใหญที่ใชการระบายความรอนดวยนํ้าและอากาศ ใชการสง ความเย็นโดยการปมนํ้าเย็น ที่อุณหภูมิประมาณ 5-10 องศาเซลเซียส สงไปทางทอนํ้าเย็น เขาสูจุดกระจายความเย็นในบริเวณตาง ๆ ของอาคาร ซึ่งเครื่องปรับอากาศแบบชีลเลอร เปนเครื่องปรับอากาศขนาดใหญที่ตองใชวิศวกรดานเครื่องกลเปนผูออกแบบระบบ

รูจักกับชนิดของเครื่องปรับอากาศกันแลว ตอไปมารูจักกับระบบการทํางานของเครื่อง ปรับอากาศที่สวนใหญนิยมใชกันในปจจุบัน ไดแก 1. ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน (Sprit type air condition) เปนระบบปรับอากาศ ขนาดเล็กโดยสวนใหญขนาดทําความเย็นจะ ไมเกิน 40,000 BTU ตอชัว่ โมง สวนประกอบ ของเครือ่ งปรับอากาศจะแยกเปน 2 สวนหลัก คือ สวนของคอยลทําความเย็นที่เรียกวา คอยลเย็น (Fan coil Unit) ซึ่งจะติดตั้งใน พืน้ ทีท่ ตี่ อ งการปรับอากาศ และ คอยลรอ น (Condensing Unit) ซึ่งจะมีเครื่องอัดสารทํา ความเย็น (Compressor) อยูภายใน โดยจะ ติดตัง้ อยูภ ายนอกอาคาร ระหวางชุดคอยลรอ น และคอยลเย็นจะมีทอสารทําความเย็นทํา หน า ที่ ถ  า นเทความร อ นจากห อ งปรั บ อากาศด ว ยระบบปรั บ อากาศแบบชุ ด (Package unit air condition) 2.ระบบปรับอากาศแบบชุดหรือแพคเกจ (Package) เปนระบบปรับอากาศที่ใชในอาคาร ธุรกิจขนาดเล็ก อาจมีจาํ นวนหองทีจ่ าํ เปนตอง ปรับอากาศหลายหอง หลายโซนหรือหลายชัน้ สวนประกอบของเครือ่ งปรับอากาศ ประกอบ ดวย แผงคอยลเย็น คอยลรอ น และเครือ่ งอัด สารความเย็น จะรวมอยูใ นชุดแพ็คเกจเดียวกัน โดยมีทอสงลมเย็นและทอลมกลับ ซึ่งจะ ติดตั้งอยู  ด  า นในแล ว ต อ ผ า นทะลุ อ อกมา ตามผนังดานนอกอาคาร ตอเชื่อมเขากับตัว เครื่องปรับอากาศแพคเกจ ซึ่งจะติดตั้งอยู ดานนอกอาคาร ทอสงลมเย็น (Supply Air Duct) ทําหนาทีจ่ า ยลมเย็นไปยังพืน้ ทีป่ รับอากาศและ ทอลมกลับ (Return Air Duct) ทําหนาที่นํา ลมเย็นที่ไดแลกเปลี่ยนความเย็นใหกับหอง ปรับอากาศกลับมายังแผงทําความเย็นอีก 11

Energy#64_p10-15_Pro3.indd 11

2/24/14 9:41 PM


ครัง้ นอกจากนีย้ งั มีการติดตัง้ อุปกรณควบคุมการจายปริมาณลมเย็น (Variable Air Volume, VAV) เพือ่ ควบคุมใหปริมาณลมเย็นเหมาะสมกับภาระการทําความเย็นทีต่ อ งการ โดยเฉพาะ กรณีที่มีภาระลดลงโดยที่อุณหภูมิยังคงที่ แตทําใหเกิดการประหยัดพลังงาน สําหรับ เครือ่ งปรับอากาศแบบแพคเกจทีใ่ ชงานมีใหเลือกหลายประเภท ซึง่ ขอดีและขอเสียของ แตละประเภทแตกตางกันไปตามลักษณะการใชงาน หากแบงตามลักษณะการระบาย ความรอนที่เครื่องควบแนน (condenser) สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ระบาย ความรอนดวยอากาศ โดยปกติขนาดการทําความเย็นไมเกิน 30 ตัน เหมาะสําหรับ พื้นที่ปรับอากาศที่มีขอจํากัดของพื้นที่ติดตั้ง หรือระบบนํ้าสําหรับระบายความรอน ประสิทธิภาพสําหรับเครื่องปรับอากาศแบบแพคเกจชนิดระบายความรอนดวยอากาศ จะอยูระหวาง 1.4-1.6 กิโลวัตตตอตัน และระบายความรอนดวยนํ้า ใชสําหรับระบบ ที่ตองการขนาดทําความเย็นมาก ประสิทธิภาพสําหรับเครื่องปรับอากาศแบบแพคเกจ ชนิดระบายความรอนดวยนํ้าดีกวาระบายความรอนดวยอากาศ โดยจะอยูประมาณ 1.2 กิโลวัตตตอตัน 3. ระบบปรับอากาศแบบระบบ VRV หรือ VRF เปนระบบที่พัฒนาโดยกลุมผูผลิต ญี่ปุน เพื่อสรางจุดแข็งแขงกับระบบนํ้าเย็น ซึ่ง Water Chiller ที่สหรัฐอเมริกาครอง เจาตลาดอยู ระบบนีเ้ ปนระบบทีพ่ ฒ ั นาตอเนือ่ งกับเครือ่ งปรับอากาศที่ใชระบบควบคุม ดวย Inverter ซึ่งเปนสิทธิบัตรของผูผลิตเครื่องปรับอากาศญี่ปุน โดย VRV ใชระบบ ควบคุมปริมาณสารความเย็น ประกอบกับ อุปกรณแยกสารความเย็นและนํ้ามัน ทําให เครือ่ งระบายความรอน 1 เครือ่ ง สามารถทํางานรวมกับเครือ่ ง Fan coil Unit หลายเครือ่ ง ทีม่ ขี นาดตางกัน และยังติดตัง้ หางกันไดมาก ระบบนีน้ บั วาเปนระบบอัจฉริยะและใชงาน ไดดีในหลายโครงการ แตมาตรฐานการติดตั้งตองดีและระบบไฟฟาควรจะสมํ่าเสมอ ราคาจะสูงกวาเครื่องปรับอากาศปกติถึง 2 เทา 4. ระบบปรับอากาศแบบใชเครือ่ งทําความเย็น (Chiller system) เปนระบบปรับอากาศ ขนาดใหญ ซึ่งบางครั้งเรียกวา ระบบปรับอากาศแบบรวมศูนย เหมาะสําหรับพื้นที่ที่ ตองการปรับอากาศที่มีขนาดใหญ มีจํานวนหองหลายหอง หลายโซน หรือหลายชั้น โดยสวนใหญจะใชนํ้าเปนสารตัวกลางในการถายเทความรอนหรือความเย็น โดยมี สวนประกอบของระบบ ดังนี้ เครื่องทํานํ้าเย็น ถือวาเปนหัวใจของระบบปรับอากาศ ประเภทนี้ ในการออกแบบระบบปรับอากาศแบบใชเครื่องทําความเย็นนี้ จะทําหนาที่ ควบคุมอุณหภูมิของนํ้าออกจากเครื่องระเหยใหได 12๐C และ 7๐C โดยมีอัตราการไหล ของนํ้าเย็นตามมาตรฐานการออกแบบของผูผลิตอยูที่ 2.4 แกลลอนตอนาทีตอตัน ความเย็น ภายในประกอบไปดวย ระบบทํานํ้าเย็นโดยมีวัฏจักรการทําความเย็นทีม่ ี

สวนประกอบ 4 สวน คือ เครือ่ งระเหย เครื่องอัดไอ เครื่องควบแนน และวาลว ลดความดัน สําหรับเครื่องทําความเย็นที่ ใชงานมีใหเลือกหลายประเภท ซึง่ มีขอ ดีและ ขอเสียของแตละประเภทแตกตางกันไป ตามลักษณะการใชงาน หากแบงตามลักษณะ การระบายความรอนที่เครื่องควบแนน สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ - ตัวระบายความรอนดวยอากาศ โดยปกติขนาดการทําความเย็นไมเกิน 500 ตัน เหมาะสําหรับพืน้ ทีป่ รับอากาศทีม่ ขี อ จํากัด ของพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ หรือระบบนํา้ สําหรับระบาย ความรอน ประสิทธิภาพสําหรับเครื่องทํา นํา้ เย็นชนิดนีจ้ ะอยูร ะหวาง 1.4 - 1.6 กิโลวัตต ตอตัน - ตัวระบายความรอนดวยนํา้ ใช สําหรับระบบทีต่ อ งการขนาดการทําความเย็น มาก ประสิทธิภาพของตัวนีด้ กี วาการระบาย ความรอนดวยอากาศ โดยจะอยูระหวาง 0.62 - 0.75 กิโลวัตตตอตัน อยางไรก็ตาม เครื่องทําความเย็นชนิดนี้ตอ งมีการลงทุน ทีส่ งู กวา เนือ่ งจากตองมีการติดตัง้ หอระบาย ความรอน เครือ่ งสูบนํา้ ระบายความรอน และยังตองปรับปรุงคุณภาพนํา้ ใหเหมาะสม เพือ่ ปองกันการสึกกรอนและตะกันในระบบ ทอและเครือ่ งแลกเปลีย่ นความรอน อันเปน สาเหตุทาํ ใหประสิทธิภาพเครือ่ งทํานํา้ เย็น ตํา่ ลง และในสวนของเครือ่ งอัดไอทีใ่ ชงาน แบบเครื่องทําความเย็น 2 ประเภท มีอยู หลายชนิด ขึน้ อยูก บั ขนาดการทําความเย็น และลักษณะการใชงาน ไดแก เครื่องอัด

12

Energy#64_p10-15_Pro3.indd 12

2/24/14 9:41 PM


ชนิดลูกสูบ เครือ่ งอัดแบบสกรู เครือ่ งอัดไอ แบบอาศัยแรงเหวีย่ ง และเครือ่ งอัดไอแบบ สโครล แตละชนิดมีสมรรถนะแตกตางกัน โดยที่เครื่องอัดแบบอาศัยแรงเหวี่ยงจะมี ประสิทธิภาพสูงสุด เมือ่ เปรียบเทียบภาระ การทําความเย็นที่เทากัน 5. ระบบเครือ่ งปรับอากาศแบบสูบนํา้ เย็น เปนอุปกรณทที่ าํ หนาทีส่ บู ตัวกลางหรือนํา้ จากเครือ่ งทํานํา้ เย็นไปยังเครือ่ งแลกเปลีย่ น ความร อ น เชน เครื่ อ งสง ลมเย็น หรือ คอยลเย็น 6. ระบบสงจายลมเย็น และทอสงลมเย็น ทําหนาทีล่ ดอุณหภูมอิ ากาศภายนอกหรือ อุณหภูมิอากาศไหลกลับใหอยูในระดับที่ ควบคุม โดยอากาศจะถูกเปาพัดลม ผาน แผงคอยลนํ้าเย็น ซึ่งจะมีวาลวควบคุม ปริมาณนํา้ เย็นทีส่ ง มาจากเครือ่ งทํานํา้ เย็น ดวยเครือ่ งสูบนํา้ เย็นความตองการของภาระ การทําความเย็น ณ ขณะนั้น อากาศเย็น ที่ไหลผานแผงคอยลเย็นจะไหลไปตาม ระบบทอสงลมเย็นไปยังพื้นที่ที่ตองการ ปรับอากาศ 7. ระบบการทํางานของคอยลรอ น สําหรับ ระบบระบายความรอนดวยอากาศ หรือ หอระบายความรอนสําหรับระบบระบาย ความร อ นด วยนํ้า ซึ่ง ทํ าหน าที่ระบาย ความรอนออกจากสารทําความเย็นเพื่อ

เปลีย่ นสถานะสารทําความเย็นจากกาซไปเปนของเหลว สําหรับระบบระบายความรอน ดวยนํ้าโดยหอระบายความรอนนั้นอุณหภูมิของนํ้าที่ออกแบบไวเมื่อเขาและออก เครื่องควบแนนจะอยูที่ 32๐C และ 37๐C โดยมีอัตราการไหลของนํ้าระบายความรอน ตามมาตรฐานการออกแบบของผูผ ลิตอยูท ี่ 3.0 แกลลอนตอนาทีตอ ตันความเย็น เนือ่ งจาก นํ้าที่ใชในระบบหลอเย็นตองใชปริมาณมาก จึงจําเปนตองใชระบบนํ้าหมุนเวียนและ ใชหอระบายความรอนเพือ่ ปรับอุณหภูมขิ องนํา้ ใหตาํ่ ลง เพือ่ นํากลับไปใชไดอกี ปริมาณ จะสูญเสียไปประมาณ 4-6% ของปริมาณนํ้าหมุนเวียน ซึ่งแบงเปนนํ้า 2 - 3% กระเด็น สูญเสียไปโดยเปลาประโยชน นํ้าอีก 2 - 3% จะหายไป การระเหยของนํา้ จะมากนอย เพียงใดขึ้ น กั บอุณหภูมิกระเปาะเปยกของอากาศที่ใชในการถายเทความรอน อุณหภูมิ กระเปาะเปยกของอากาศยิ่งตํ่าเทาไหรเราจะยิ่งไดนํ้าหลอเย็นที่มีอุณหภูมิตํ่ายิ่งขึ้น ทัง้ นี้ ภาระในระบบปรับอากาศ ยังมีองคประกอบของความรอนทีห่ อ งไดรบั นัน้ สามารถ แบงออกไดเปน 2 สวน คือ ความรอนจากภายนอก ประกอบดวย การนําความรอน ผานจากผนัง หลังคา และกระจกดานนอก การนําความรอนผานผนังเบา เพดาน และ พื้นดานใน การแผรังสีความรอนจากดวงอาทิตยผานกระจก และความรอนจากภายใน ประกอบดวย ความรอนจากแสงสวาง คนและสัตว รวมไปถึง อุปกรณตาง ๆ เชน อุปกรณไฟฟา มอเตอรของเครื่องเปาลม เปนตน นอกเหนือจาก การเลือกประเภทของเครื่องปรับอากาศแลว สิ่งสําคัญที่ควรคํานึงถึง คือ หากมีการ ออกแบบอาคารที่ดี ลดความรอนที่จะเกิดขึ้นกับตัวผนังอาคารและกระจก และจัดการ โหลดความรอนในอาคารไดอยางเหมาะสม ก็สามารถลดภาระของการปรับอากาศได สําหรับ หลักเกณฑการเลือกใชเครือ่ งปรับอากาศ ทีจ่ ะมาติดตัง้ ตามสถานทีต่ า ง ๆ นั้น โดยทัว่ ไปแลววิศวกรทีอ่ อกแบบระบบปรับอากาศจะคํานวณถึง ภาระโหลด (Cooling load calculation) เพื่อหาขนาดของระบบ และใชเปนขอมูลในการตัดสินใจในการเลือก เทคโนโลยี โดยมีปจจัยตาง ๆ ที่มีความสําคัญ ไดแก ฟงกชั่นการใชงานของแตละพื้นที่ กรณีอาคารสํานักงานที่แตละพื้นที่ใชงานไมพรอมกันอาจเลือกใช ระบบปรับอากาศ แบบระบบ VRV หรือ VRF เนือ่ งจากสะดวกในการใชงาน และยังประหยัดมากกวาระบบ ปรับอากาศแบบแยกสวน (Sprit type air condition) แตในสวนของอาคารประเภท โรงพยาบาลขนาดใหญ วิศวกรจะเลือกใชระบบปรับอากาศแบบใชเครื่องทํานํ้าเย็น

13

Energy#64_p10-15_Pro3.indd 13

2/24/14 9:41 PM


(Chiller system) เนื่องจากจะประหยัด พลังงานมากกวา ในกรณีที่ตองใชงาน 24 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นกับงบประมาณที่มีอยู ป จ จั ย ในการเลื อ กออกแบบระบบปรั บ อากาศแบบตาง ๆ ก็ยงั ขึน้ อยูก บั คาใชจา ย และความซับซอนในการบํารุงรักษาและ อายุการใชงาน เปนตน ในสวนของ เรื่องยี่หอ ตราสินคา ของ เครื่องปรับอากาศ ที่มีทั้งยี่หอของไทย ยีห่ อ ญีป่ นุ และยีห่ อ อเมริกา ซึง่ ในชวงแรก เริ่มที่มีการใชเครื่องปรับอากาศหรือแอร ในประเทศไทย จะเปนสินคาทีม่ กี ารนําเขา มาจากตางประเทศ ทีเ่ ห็นไดชดั คือ มาจาก ทางฝง อเมริกา ภายหลังจึงมีแอรจากญีป่ นุ เขามาตีตลาดในประเทศไทย จนสามารถ แยงสวนแบงทางการตลาดจากแอรฝงอเมริกาได แตในภายหลัง (20 - 25 ปที่ แลว ) ประเทศไทยเริ่มซื้อลิขสิทธิ์จากบริษัทแมที่อยูตางประเทศ ผูประกอบการในไทยซื้อ ลิขสิทธิ์ของแอรชื่อดังหลายแบรนดมาผลิตเครือ่ งปรับอากาศและชิน้ สวนอืน่ ๆ ขึน้ เอง ภายในประเทศ ปจจุบันนี้ประมาณกวา 90% ของยี่หอแอรทั้งหมดที่มีการจําหนายใน ประเทศไทยลวนผลิตในประเทศ ซึง่ จะเห็นไดวา ปจจุบนั อุตสาหกรรมเครือ่ งปรับอากาศในไทย ขยายกําลังการผลิตมากขึ้นเรื่อย ๆ เกิดการแขงขันสูง ทําใหราคาของแอรในบานเรา เมื่อเทียบในปจจุบนั กับเมือ่ ประมาณ 30 ปกอ น แอรในปจจุบันขนาดที่เทากัน ราคาถูก ลงมาก และแตละแบรนดมีเทคโนโลยีใหม ๆ แตงเติมเสริมเขาไปเพื่อทําการตลาด แอรแตละยีห่ อ ในเรงโหมโฆษณา ทําการตลาดแบบไมมใี ครยอมใคร ปจจุบนั เครือ่ งปรับอากาศทีใ่ นขณะนีถ้ อื วาเปนเครือ่ งปรับอากาศทีป่ ระหยัดพลังงาน มากทีส่ ดุ คือ เครือ่ งปรับอากาศยีห่ อ ซัยโจเด็นกิ ซึง่ ไดรบั รางวัลจากการประกวดใน รายการ National ENERGY GLOBE Award 2013 ทีผ่ า นมา ซึง่ ในการประกวดดานประหยัด พลังงานนั้น ซัยโจเด็นกิ เริ่มดวยการเปนตัวแทนประเทศไทยในการแขงขันการประหยัด พลังงานของอาเซียน หลังจากที่ชนะเลิศ ASEAN Energy Awards และในปที่ผานมา ซัยโจเด็นกิตดิ อันดับ 1 ใน 300 กวารุน ทัว่ โลกจากการประกวด National ENERGY GLOBE Award 2013 ทีป่ ระเทศสิงคโปร ซึง่ ถือเปนความภูมใิ จทีซ่ ยั โจเด็นกิ เปนแบรนดของคนไทยที่ สามารถแขงขันกับบริษทั ญีป่ นุ และเกาหลี ในตลาดโลกได ทัง้ นีซ้ ยั โจเด็นกิ ยังถือวาเปน บริษทั ทีม่ นี วัตกรรมดานประหยัดพลังงานอยางตอเนือ่ ง ปจจุบนั สามารถซือ้ เครือ่ งปรับอากาศ ประหยัดพลังงานสูงกวา 78% ในราคาที่ไมแพง การไดรับรางวัลดังกลาวเปนอีกหนึ่ง ความสําเร็จและความภูมิใจของซัยโจเดนกิในฐานะผูน าํ เทคโนโลยีดา นประหยัดพลังงาน ซึง่ ไดรบั การยอมรับอยางกวางขวางในเวทีโลก ซัยโจเด็นกิไมหยุดนิง่ ทีจ่ ะพัฒนาเทคโนโลยี โดยเฉพาะดานประหยัดพลังงานเพือ่ ประสิทธิภาพดานการแขงขันและตอบสนองความ

14

Energy#64_p10-15_Pro3.indd 14

2/24/14 9:41 PM


ตองการของผูใ ชทมี่ คี วามตองการชวยลดผลกระทบต ยลดผ อสิง่ แวดลอมผานการอุปกรณหรือ เทคโนโลยีประหยัดพลังงานที่ไมใชแคแบรนด บรน ซัยโจเด็นกิ สําหรับ ประเทศที่ใชเครือ่ งปรับอากาศและเน นเรือ่ งของการประหยัดพลังงานมาก อากาศ ทีส่ ดุ คือ “ประเทศกาตาร” ทีม่ คี วามตองการใช เครือ่ งปรับอากาศเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ง โดยเฉพาะในสวนของการกอสรางบานพัก โรงแรม อาคารสํานักงานรานคา และทีส่ าํ คัญ ในสวนของการกอสรางสําหรับรองรับการเปนเจาภาพฟุตบอลโลกในป 2022 หรือ World cup 2022 โดยการกอสรางสนามแขงขันฟุตบอลโลกที่ใชเทคโนโลยีระดับสูงถึง 12 แหง ดวยกัน สนามดังกลาวตองสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและปลอยมลพิษที่เปน ตนเหตุของโลกรอนใหนอ ยทีส่ ดุ ทางประเทศกาตารจงึ ใชพลังงานหมุนเวียนจากธรรมชาติ ซึง่ จะนําไฟฟาจากแสงอาทิตยทไี่ ดมาปอนใหกบั ระบบปรับอากาศของทุกสนาม รวมทัง้ การสรางระบบขนสงรถไฟฟาอีกดวย ดังนัน้ การสงสินคาเครือ่ งปรับอากาศหรืออุปกรณ เครื่องทําความเย็นไปยังประเทศกาตารจะตองเนนสินคาที่ประหยัดพลังงาน และสง ผลกระทบตอสิง่ แวดลอมนอยทีส่ ดุ (ขอมูลจาก : สํานักงานสงเสริมการคาในตางประเทศ ณ เมืองดูไบ) ปจจุบันการเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศจะเนนในเรื่องของความประหยัดพลังงาน ถาเปนลักษณะการใชงานบานในที่อยูอาศัยขนาดเล็กมักนิยมใชเครื่องปรับอากาศ แบบ Split type Inverter และ แบบ VRV/VRF จะสามารถประหยัดพลังงานไดมากกวา เพราะคอมเพรสเซอรของเครื่องปรับอากาศสามารถทํางานตามภาระของการทํา ความเย็นที่เกิดขึ้นจริง รักษาระดับความเย็นในหองใหคงที่ ปจจุบันสารทําความเย็น หรือนํ้ายาแอร จะเปลี่ยนไปใชประเภท R-410A ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทดแทน ชนิด R-22

นอกจากนี้ควรดูที่การรับประกันในวัสดุ ชิ้นสวน และอุปกรณ พรอมทั้งพิจารณา ในเงื่อนไขของการรับประกัน และควรดูในเรือ่ งมาตรฐานตาง ๆ เชน มอก., สมอ., ISO ในสวนฉลากประหยัดไฟเบอร 5 เป น การรั บ รองประสิ ท ธิ ภ าพในการใช ไฟฟาจากการไฟฟาฝายผลิต ในกรณีแอร ขนาดใหญอาจไมไดรบั ฉลากเบอร 5 เพราะ ไมเขาตามมาตรฐาน อยาสังเกตเฉพาะ ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 อยางเดียวเทานัน้ ควรดูที่คา EER (Energy Efficiency Ratio) ซึง่ เปนคาประสิทธิภาพพลังงาน ซึง่ คํานวณ โดยการเอา คาบีทียู มาหารดวย จํานวน วัตต หากคา EER นอยเกินไปแสดงวา กินไฟมาก จํานวนของคา EER ยิ่งสูง ยิง่ แสดงวาแอรเครือ่ งนัน้ ประหยัดพลังงาน มากนั่นเอง

แตหากเปนระบบปรับอากาศในอาคารขนาดใหญ ถาขนาด 300 ตัน ขึ้นไป จะนิยมใช เครือ่ งทํานํา้ เย็นชนิดปรับความเร็วรอบของคอมเพรสเซอร (VSD Chiller) คอมเพรสเซอร จะทํางานตามสภาวะการโหลดทีเ่ กิดขึน้ จริง ซึง่ จะมีสมรรถนะ Part-Load ดีกวาแบบเดิม และในปจจุบันชนิดของคอมเพรสเซอรแบบแรงเหวี่ยง (Centrifugal Compressor) ที่ใช แบริง่ แบบแมเหล็ก (Magnetic Bearing) แทนการใชแบริง่ แบบเชิงกล (Mechanical Bearing) โดยคอมเพรสเซอรแบบแรงเหวีย่ งจะทํางานทีค่ วามเร็วรอบคอนขางสูง ทําใหมแี รงเสียดทาน ที่มากจึงจําเปนตองมีระบบหลอลื่นที่ดี แตเมื่อนําแบริ่งแบบแมเหล็กมาใชรวมกับ คอมเพรสเซอรแบบแรงเหวี่ยง จะสามารถหลีกเลี่ยงการสูญเสียพลังงาน เนื่องจาก การเสียดสีจะสูญเสียพลังงานลดลง มีประสิทธิภาพสูงขึน้ และไมจาํ เปนตองใชนาํ้ มันหลอลืน่ 15

Energy#64_p10-15_Pro3.indd 15

2/24/14 9:41 PM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

ชวงนี้อากาศเมืองไทยคอนขางแปรปรวน บางวันก็รอนแทบจะทนไมไหว บางวันอากาศเย็นฝนตกหนักซะงั้น เห็นอากาศเปนแบบนี้ก็หนักใจเหมือนกัน ปรับอุณหภูมิกันแทบไมทัน แตทั้งหมดนี้ลวนเปนผลงานจากนํ้ามือมนุษย อยางเรา ๆ ที่ใชพลังงานอยางไมรูคุณคา จึงทําใหธรรมชาติผิดปกติ “DJ แนน-กัญดา ศรีธรรมูปถัมภ” เปนอีกคนหนึ่งที่ ถือไดวาเปนนักอนุรักษพลังงานตัวยงเลยก็วาได เรามาดูกันสิวา พี่แนนใหความสําคัญกับการอนุรักษพลังงานอยางไร

“โดยสวนตัวเปนคนใหความสําคัญในเรื่องของการอนุรักษ พลังงานอยูแ ลว สังเกตไดจากการใชชวี ติ ประจําวันของพีแ่ นน เอง คือ เวลาอยูบ า นจะไมเปดไฟทิง้ ไว ยิง่ เวลาออกจากบานจะ ตองตรวจตราทุกครัง้ วาเราเปดไฟทิง้ ไวหรือเปลา คอมพิวเตอร หลังใชงานเสร็จพีจ่ ะรีบปดทัง้ ทีจะไมเปดทิง้ ไวเข็ดขาด นํา้ มันรถ พี่ก็เลือกใชชนิดที่ประหยัดที่สุด และเวลาไปซื้อของตามราน สะดวกซื้อพี่ไมเอาถุงจากรานเลย ทั้งหมดนี้พี่ถือวาเปนสิ่งที่ ทุกคนนาจะทํากันอยูแลว ซึ่งไมใชเรื่องยากอะไรเลยสําหรับ การที่เราจะเริ่มทําจากตัวเรากอน” ในฐานะที่พี่แนนเปน DJ ทุกครั้งพี่แนนจะพูดแทรกเขาไปใน รายการที่ตัวเองจัดเสมอวา “ในชวงหลายปที่ผานมาเรามัก เห็นขาวเกี่ยวกับสภาพอากาศที่แปรปรวนไมวาจะเปนขาว ตางประเทศเกิดพายุหมิ ะถลม นํา้ ทวม และยิง่ ในประเทศไทย เห็นไดอยางชัดเจนเลยวาอากาศปนี้หนาวนานกวาปกติ ซึ่ง ทั้งหมดที่เกิดขึ้นลวนเกิดจากฝมือมนุษยอยางเราๆ นี่เอง ถามวาทุกคนรูไ หมวาเกิดจากอะไร ตอบไดเลยวาทุกคนรู แตพี่ อยากใหทกุ คนหันมาชวยกัน ถารูแ ลวไมทาํ นิง่ เฉย ก็ไมสามารถ ชวยใหอะไรดีขนึ้ จริง ๆ ถาพูดวาเริม่ ทํา คงไมได เพราะเราควร ที่จะเริ่มกันมานานแลวตางหาก ยังไงพี่ก็ขอใหทุกคนชวยกัน อนุรกั ษพลังงานเพือ่ ใหเรามีพลังงานใชไดไปตลอด อยามัวแต รอหรือโทษวาเปนเพราะธรรมชาติลงโทษอยางเดียวเลยนะคะ ลงมือทําเสียตั้งแตตอนนี้ ดีกวาจะรอใหสายเกินไป”

รูแลวลงมือทํา... ดีกวารูแลวนิ่งเฉย 16

Energy#64_p16,18_Pro3.indd 16

2/19/14 8:34 PM


Energy#64_p17_Pro3.ai

1

2/26/14

10:45 PM


Get Idea

มองใหลึกกวาคนอื่น แลวจะรูวา... การประหยัดพลังงานงายนิดเดียว ในการคิดทีจ่ ะทําอะไรสักอยาง ถาเรามัวแคตดิ แตไมยอมลงมือทํา ยอมไมสง ผลประโยชนอะไร อยางเชน การลุกขึน้ มาทีจ่ ะเริม่ ชวยกัน ประหยัดพลังงานถาเรามัวแตคดิ ไมลงมือทําไมชว ยกัน สุดทายแลว พลังงานก็จะคอย ๆ หมดไป “ ดีเจนุย-ธนวัฒน ประสิทธิสมพร” ดี เจแห ง คลื่ น 94 EFMที่ ไ ม เ พี ย งแค คุ ย เก ง อย า งเดี ย ว แต ยั ง มี แงคดิ ดี ๆ ในเรือ่ งของการประหยัดพลังงานมาฝากผูอ า นอีกดวย “จริง ๆ แลว ตัวนุย เองเคยไดรว มงานกับทางกระทรวงพลังงาน เกีย่ วกับในเรือ่ งของการรณรงคการใชพลังงาน และไดทราบ มาวา การเปดแอร 26 องศาสามารถชวยใหเราประหยัด พลังงานไดมากกวา เปด 25 องศา ในสวนนี้ก็เปนอีกหนึ่ง ความรูที่นุยไดรับรูมา และในสวนตัวของนุยเอง เวลาไป ชอปปง ตามสถานทีต่ า ง ๆ นุย จะพยายามเอาของใสในถุง ดวยกัน เพือ่ ไมใหเปลืองถุงหลาย ๆ ใบ ซึง่ นุย เปนคนทีค่ ดิ ลึก กว า คนอื่ น ที่ ว  า กว า จะผลิ ต ถุ งพลาสติ ก ขึ้ น มาแต ล ะใบ จะตองผานกระบวนการมากมาย ไมวาจะเปนการหลอม ที่ทําใหเกิดมลพิษทางอากาศ รวมไปถึงการขนสงที่จะตอง เปลืองนํ้ามัน ถาลดการใชถุงไดนอกจากเราจะลดการใช พลังงานไดแลว เรายังชวยใหโลกนาอยูขึ้นไดอีกดวย สุดทาย ดีเจนุยฝากถึงผูอานวา “ถาเราอยากที่จะชวยกัน ลดพลังงาน จุดเริม่ ตนทีน่ ยุ เชือ่ วาทุกคนทําไดนนั่ ก็คอื การ หันกลับมาดูบิลคาไฟ คานํ้าที่บานของเราเอง ลองมาดูสิ วาแตละเดือนเราใชไฟ ใชนํ้าไปมากเทาไหร พอดูแลวเราจะ สามารถรูไดทันทีเลยวาเราใชไฟ ใชนํ้าไปมากนอยขนาดไหน เพียงเทานี้นอกจากจะทําใหสบายกระเปาเมื่อเราจายคาไฟ คานํา้ นอยลงแลว ยังเปนการชวยลดการใชพลังงานไดอยางดีเลย ทีเดียว เพราะนุยเองก็ใชวิธีนี้”

188

Energy#64_p16,18_Pro3.indd 18

2/19/14 8:32 PM


Green 4U Rainbow

สูดลมหายใจให้เต็มปอดกับ..

งานศิลปะกลางธรรมชาติ

สร้างสํานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม

ชวงนีส้ ถานการณบา นเมืองไมคอ ยปกติสกั เทาไหร บางคน อาจเกิดอาการเบื่อจนบางครั้งอยากจะหลบหนีไปอยูที่อื่นสัก พัก แตในความเปนจริงเราอาจจะทําแบบนัน้ ไมได เลยมองหามุม ดี ๆ สําหรับการปลีกตัวสักหนอยก็ยงั ดี วันนีท้ าง Green 4U เลยมีสวนเขียว ๆ แสนรมรืน่ ทีม่ าพรอมกับคอนเซ็ปต “สราง สํานึกรักษสงิ่ แวดลอม” ทีน่ อกจากจะทําใหผอ นคลายแลว ยัง ทําใหผพ ู บเห็นตะลึงในความแปลกไดอกี ดวย

สวนนี้เปนผลงานที่สรางความ นาทึง่ และรอยยิม้ ทามกลางความสงบของ พื้นที่ดวย Land Art Installation โดย Cornelia Konrads ผลงานของศิลปน สาวชาวเยอรมันที่สรางสรรคผลงานบน พืน้ ทีส่ เี ขียว ทัง้ พืน้ ทีส่ าธารณะและสวนตัว ไดจัดแสดงกันแบบชมฟรีอยางตอเนื่อง ยาวนานไปทั่วโลก โดยผลงานของเธอ จะเนนแนวคิดที่สอดคลองกับพื้นที่นั้นๆ โดยการหยอกลอกับพื้นที่และโดยเฉพาะ กับแรงดึงดูดโลก ดวยการนําการเสนอ ภาพเสมือน snapshot ของเสีย้ ววินาที เชน ภาพนิง่ ในหวงพริบตาของวัตถุทกี่ าํ ลังตกลงพืน้ ดวยแรงดึงดูด แตกลับหักมุม ใหลอยนิง่ ดูเสมือนไรนาํ้ หนักอยูก ลางอากาศ ทําใหผชู มรูส กึ วาขณะทีเ่ ราเห็น งานชิ้นนั้นอยู เวลามันไดถูกหยุดไวชั่วขณะหนึ่ง หรือ surprise อื่น ๆ ที่มัก จะสวนทางกับความคาดหวังของเรา ณ พื้นที่นั้น ๆ ไดอยางแนบเนียน สนุก ฉลาด สรางรอยยิม้ กับคนทัว่ ไปทีพ่ บเห็น สําหรับวัสดุทเี่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม อีกดวย อยางเชน เศษไมตาง ๆ นั่นเอง Konrads เริ่มงานศิลปะจัดวางในพื้นที่ตาง ๆ หลังจากที่เธอหันมา เปนศิลปนอิสระตั้งแตป 1998 เธอยังสรางผลงานมาอยางตอเนื่องจวบจน ปจจุบนั ยาวนานกวา 10 ป โดยชิน้ งานของเธอสวนมากจะเปนการติดตัง้ อยาง ถาวร กลมกลืนไปกับพืน้ ทีน่ นั้ ๆ จุดมุง หมายหลักของงานประเภทนี้ ไมใชแค ความนาทึง่ ประทับใจ แตเปนการกระตุน จินตนาการ ความคิดสรางสรรค และ ความผูกพันระหวางพื้นที่สิ่งแวดลอมและผูอยูอาศัยนั่นเอง เห็นแบบนีเ้ ราอดคิดไมไดวา อยากจะใหประเทศไทยมีแบบนีบ้ า งจัง เพราะนอกจากจะทําใหผอนคลายแลว ยังทําใหเรารูสึกมีพลังกลับมาทํางาน ไดอีกครั้งหนึ่ง หลังจากไดชมศิลปะพรอมทั้งสูดโอโซนเขาเต็มไปปอด (ขอมูลจาก www.creativemove.com/) 19

Energy#64_p19_imac2.indd 19

2/17/2557 BE 9:55 PM


Green 4U Rainbow

01

จักรยานรีไซเคิล

Frii bike จักรยานนวัตกรรมที่ผลิตจากพลาสติกรีไซเคิลมีชื่อเรียกวา Frii โดยนํามาเปนอุปกรณที่ใชในการขับเคลื่อนแทนการใชนํ้ามัน ที่ออกแบบโดย DrorPeleg จักรยานคันนี้เมื่อเทียบกับการสรางจักรยานที่เปนโลหะแลว จักรยานพลาสติกรีไซเคิลอยาง Frii นอกจากเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมแลว ยังใชแรงในการปนนอยกวา เพราะมีนํ้าหนักเบา แถมยังมีสีสันแหวกแนวดู สวยไปอีกแบบ (ขอมูลจาก www.applicadthai.com)

02 ไดรเปาผมจากพลาสติกรีไซเคิล

ไดรเปาผม “Shaker” ผลงานของ Alberto Andreetto โดยตัว เครื่องทํามาจากพลาสติก ABS ที่สามารถนําไปรีไซเคิลไดเมื่อเลิก ใชงาน ตัวเครื่องถูกออกแบบมาใหสามารถทําความสะอาดไดงาย นอกจากนี้ตัวเครื่องยังสามารถเปดออกมาเพื่อเก็บสายไฟไดอีก ดวย (ขอมูลจาก www.Read more.com)

03

เกาอี้กระดาษ

นักออกแบบ Stefan Sagmeister ไดไอเดียในการออกแบบเกาอี้ “Dawin Chair” ซึ่งเปนเกาอี้ที่สามารถเปลี่ยนลายไดถึง 200 ลาย ดวยการเปลี่ยนลายของกระดาษที่มาพรอมกับตัวเกาอี้ โดยเพียง แคพลิกกระดาษซึ่งคลาย ๆ กับการพลิกปฏิทิน เราก็จะไดเกาอี้ ลายใหมทันที ซึ่งเหมาะกับคนที่ไมชอบความจําเจ (ขอมูลจาก Dawin Chair )

04 นาฬกาจากโซจักรยาน

นาฬกาเรื่อนนี้ คนออกแบบเปนผูหนึ่งที่หลงใหลการขี่มอเตอรไซคเปนชีวิตจิตใจ ที่หันมาเอาดีกับการรีไซเคิลที่เปลี่ยนชิ้นสวนของจักรยานหรือมอเตอรไซคที่ หมดอายุการใชงานแลวมาชุบชีวิตใหกลายเปนนาฬกาแขวนผนังที่แปลกไมซํ้า ใคร โดยนาฬกาแตละเรือนนั้นทํามาจากโซ เฟอง และเศษโลหะของซากพาหนะ สองลอจากทั่วสารทิศ ผานการขัดสีฉวีวรรณ ผสมผสานการออกแบบใส ไอเดีย นอกจากจะไดนาฬกาใหมแลวยังเปนการลดขยะลนโลกไดอีกดวย (ขอมูลจาก www.green.in.th)

20

Energy#64_p20-21_imac2.indd 20

2/17/2557 BE 9:53 PM


05 รองเทารักษโลก

อาดิดาส บาย สเตลลา แมคคารทนี่ย เปดตัวรองเทาคอลเลกชั่นใหม เนนการใชโทนสีที่หลากหลายสดใส รองเทาวิ่งรุนบูทส ผสมผสาน กับเทคโนโลยีชั้นเยี่ยม ใชวัสดุใหมที่ใหความยืดหยุนดี มาผลิตเปน แคปซูล ทรงรี เรียกวา เอนเนอรจีแคปซูล เมื่อนํามาใสภายในพื้น รองเทาจะทําหนาที่ดูดซับแรงกระแทกและคืนกลับใหผูสวมใสขณะวิ่ง ไดมากถึง 85% ใหเหลานักวิ่งรูสึกนุมเทามากขึ้น (ขอมูลจาก www.manager.co.th)

07

06

Metrobench มานั่งรีไซเคิลจากบัตรโดยสาร

ดีไซนเนอรชื่อวา Stephen Shaheen จาก New York ออกแบบมานั่ง รีไซเคิลจากบัตรโดยสาร โดยนําเอาคอนเซปการนําวัสดุเหลือใชกลับมาใช ใหมหรือการรีไซเคิลบัตรโดยสาร เอามาทําเปน Metrobench หรือมานั่ง เมโทร นักออกแบบนําบัตรเมโทรที่มีลวดลายเหมือนกันมาตอติด ๆ กัน โดยมีฐานของพลาสติกรองรับ และเนื่องดวยตัวบัตรก็มีความแข็งในตัวอยู แลวเลยไมตองกังวลวานั่งไปแลวจะหัก ไอเดียแปลก ๆ แบบนี้บานเรานาจะ เอามาใชบางเพื่อลดปริมาณบัตร BTS ที่ไมสามารถนํากลับมาใชงานไดอีก ครั้ง หรือเพื่อน ๆ อาจจะเอาบัตรโทรศัพทตาง ๆ ที่ไมใชงานแลวมาทําเปน เกาอี้เล็ก ๆ ไวประดับตกแตงบานหรือนํามาใชสวนตัวก็คงจะเกไปอีกแบบ (ขอมูลจาก www.phuketusedcar.com)

รองเทาแตะจากยางรถ

ดีไซนเนอร Ludvig Bruneau Rossow ไดออกแบบรองเทาแตะ Funflops ทํามาจากวัสดุรีไซเคิล เชน ยางรถเกา ๆ ที่นอกจากจะใสแลวรูสึกสบาย เหมาะสําหรับใสในวันพักผอน (ขอมูลจาก www.bunjupun.com)

โคมไฟรีไซเคิลจากกลองนม

08

ผลงานชิน้ นีเ้ ปนของนักออกแบบ Edward Chew ซึง่ เปนการนํากลองนมทีใ่ ช แลว มาทําของใชชนิ้ ใหมอยาง โคมไฟชิน้ นีโ้ ดย Edward นําเอากลอง Tetra Pak หรือกลองนม มาตัดเปนชิน้ ๆ เปนแถบยาว ๆ แลวพับใหมลี กั ษณะเปนสามเหลีย่ ม เขาสามารถดัดแปลงชิ้นกระดาษที่เขาพับไวนั้นเปนโคมไฟแบบตาง ๆ ได หลากหลายรูปแบบ ทําใหงานออกมาดูสวยงามมีมติ ิ และรวมสมัย (ขอมูลจาก www.decorreport.com)

21

Energy#64_p20-21_imac2.indd 21

2/17/2557 BE 9:53 PM


GreenNovation Rainbow

02 รองเท้าบูทพลังงานไฟฟ้า

01 แท่นชาร์จไฟ

Hybrid Home Generator หรือ แท่นชาร์จไฟให้กับอุปกรณ์ไฮเทค ที่ เ หมาะติ ด ตั้ ง ตามท้ อ งถนนในเมื อ งสี เขี ย วทั่ ว โลก ซึ่ ง เป็ น ผลงานของ Sun-J Vang ดีไซน์เนอร์สาวจากแดนกิมจิ ตัวเครื่อง จะสร้างพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานสะอาดสองส่วนด้วยกันคือ พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย์ ภายในจะมีแบตเตอรี่เพื่อ เก็บกับพลังงานไว้ และจ่ายออกในรูปของไฟฟ้า เพือ่ ชาร์จอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ (ข้อมูลจาก http://www.whatphone.net)

Power Wellies เป็นอุปกรณ์ผลิตพลังงาน ไฟฟ้าจากความร้อนที่สะสมบริเวณเท้า ของผู ้ ส วมใส่ โดยอุ ป กรณ์ ที่ ช ่ ว ยผลิ ต พลังงานให้กบั รองเท้าคือ Thermoelectric ที่ ส อดแทรกอยู ่ ร ะหว่ า งแผ่ น เซรามิ ค บาง ๆ สองแผ่นอยูภ่ ายในรองเท้าบูท ซึง่ Thermoelectric จะเป็นตัวทีท่ า� ให้ความร้อน ที่ ไ ด้ จ ากการเดิ น สามารถน� า มาเป็ น พลั ง งานไฟฟ้ าได้ และเมื่ อ เวลาที่ ต ้ อ ง สวมรองเท้าบูทเดินป่าเป็นเวลานาน ๆ หากใส่รองเท้าบูท Power Wellies เดินป่า เป็นเวลา 12 ชัว่ โมง ความร้อนทีเ่ กิดขึน้ จะ ถูกเปลีย่ นเป็นพลังงานไฟฟ้าส�าหรับชาร์จ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ได้ (ข้อมูลจาก http://www.whatphone.net)

04

03

GloBoy โคมไฟพลังงานเเสงอาทิตย์

iDeal in Thai น�าเสนอสุดยอดนวัตกรรมโคมไฟพลังงาน แสงอาทิตย์ ที่มีคุณสมบัติพิเศษสามารถเรืองแสงได้ในเวลา กลางคืน ไม่ต้องใส่ถ่าน ไม่ต้องเสียบปลั๊ก เพราะสามารถ ชาร์จเเบตจากพลังงานแสงอาทิตย์เเถมสามารถอยู่ได้นาน ต่อเนือ่ งสูงสุดถึง 6 ชัว่ โมง ทัง้ ยังสามารถน�าไปวางประดับเป็น เฟอร์นิเจอร์ภายในบ้านได้อีกด้วย (ข้อมูลจาก http://www.idealinthai.com/)

Hi Phone Solar Car Kit

บู ล ทู ธ พลั ง แสงอาทิ ต ย์ รู ป ทรงดี ไซน์ บ างประมาณ 1.6 เซนติ เ มตร กว้ า ง 5.5 x 10.4 เซนติ เ มตร มีน�้าหนัก 69 กรัม มาพร้อมกับปุ่มอเนกประสงค์ ท�าหน้าที่หลายอย่าง เช่น รับสาย โทรออก วางสาย ปฏิเสธการสนทนา และสามารถโทรออกได้ด้วยเสียง ด้านหลังเครื่องเป็นแผงโซลาร์เซลล์เพื่อใช้รับแสง อาทิตย์ชาร์จแบตเตอรี่ และด้านบนจะเป็นจอ LCD ไว้ แสดงรายชื่อและเบอร์โทรศัพท์ได้อีกด้วย (ข้อมูลจาก http://www.whatphone.net)

22

Energy#64_p22,24_imac2.indd 22

2/17/2557 BE 9:50 PM


Energy#62_p31_Pro3.indd 31

12/18/13 10:28 PM


GreenNovation Rainbow

02

06

BioLite เตาประหยัดพลังงาน

ปลั๊กไฟประหยัดพลังงาน

สองดีไซเนอร Alexander Drummond และ Jonathan Cedar ทดลองพัฒนา Biolite HomeStove เตาสํ า หรั บ หุ ง ต ม นํ า เทคโนโลยี เ ทอร โ มอิ เ ล็ ก ทริ ก ที่ผลิตไฟฟาจากความรอนมาใชในการสรางสรรคเตา โดยใชพลังงานจาก วัสดุธรรมชาติ เชน กิ่งไมและฟนที่เก็บไดหรือรวงหลนอยูตามปามาเปน เชือ้ เพลิงในการประกอบอาหาร จุดเดนของเตานอกจากจะสามารถใชปริมาณ ฟนในการจุดนอยกวาปกติถึง 50% ยังชวยลดการปลอยควันและเขมาดํา ไดถึง 95% ตลอดจนลดปริมาณการปลอยกาซอันเปนสาเหตุหลักของ ปรากฏการณเรือนกระจกสูอ ากาศไดถงึ 2.5 ตันตอการใชเตา 1 เตา ในเวลา 1 ป ทั้งนี้ BioLite HomeStove ยังนําพลังงานความรอนที่เหลือใชไปผลิตเปน กระแสไฟฟาไดอีกดวย ซึ่งจะไดกระแสไฟฟาในปริมาณมากพอในการชารจ โทรศัพทและใหแสงสวางชวงกลางคืนในพืน้ ทีท่ ไี่ ฟฟาเขาไมถงึ (ขอมูลจากwww.creativemove.com)

07 Solar-Powered Info-point

เปนจุดใหบริการขอมูลพลังงานแสงอาทิตย ออกแบบโดย นักออกแบบ Tsuyoshi Sogabe, Desislava Ivanova และ Ekaterina Shchetina ซึ่งอุปกรณชุดนี้มาพรอมกับที่นั่ง ที่ชารจแบตเตอรี่ และหนาจอ แบบสัมผัส เพือ่ ใหขอ มูลตาง ๆ การทํางานใชพลังงานทัง้ หมดจาก แสงอาทิตย ซึ่งเปนการนําแสงอาทิตยมาเปลี่ยนเปนพลังงาน ไฟฟา หลอเลี้ยงอุปกรณทั้งหมด สําหรับในเวลากลางคืนจุดให ขอมูลก็จะมีแสงสวางดวยโคมไฟจากหลอด LED ที่ไดพลังงาน จากแผงพลังงานแสงอาทิตยเชนกัน (ขอมูลจาก http://www.ecochunk.com)

BUGPLUG เปนอุปกรณที่จะทําใหผูใชสะดวกและประหยัดพลังงาน เปนอยางมาก โดยเฉพาะคนที่ตองเขา ๆ ออก ๆ หองอยูเปนประจํา แลวไมอยากเปดหรือปดอุปกรณเครื่องใชไฟฟาบอย ๆ โดยหลักการ ทํ า งานของ BUGPLUG คื อ ปลั๊ ก ไฟที่ มี ด วงตาประกอบไปด ว ย Infrared Sensor ซึง่ จะคอยตรวจจับการเคลือ่ นไหวและความรอนของ รางกาย ถาหากไมมีคนอยูแถวนั้นก็จะปดการทํางานโดยการหยุด การจายไฟฟาใหกับเครื่องใชไฟฟาทั้งหมด และจะทํางานอีกครั้ง เมื่อมีคนใชเครื่องใชไฟฟานั้นใหม โดย BUGPLUG นี้ไดรับรางวัล ที่ 2 ในงานประกวด Greener Gadgets Design Competition อีกดวย (ขอมูลจาก http://www.ไอเดีย.com)

08

โทรศัพทพลังงานแสงอาทิตย

The Leaf โทรศัพทมือถือพลังงานแสงอาทิตยเครื่องนี้ ซึ่งเปนแนว ความคิดของ Seungkyn Woo และ Junyi Heo ที่ไดแรงบัลดาลใจ จากกระบวนการสังเคราะหแสงของพืช ซึ่งวัตถุประสงคหลักใน การออกแบบเพื่อเตือนใหประชาชนตระหนักถึงการใชพลังงานให เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สามารถชารจโทรศัพทมือถือได เพียงสวม โทรศัพทมือถือไวบนขอมือ จะทําใหโซลารเซลลที่อยูภายในเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตยเปนพลังงานไฟฟาใหกับโทรศัพท แตหากวัน ไหนที่สภาพอากาศไมเปนใจ ทองฟามืดครึ้ม แสงแดดไมเพียงพอ ที่จะชารจพลังงาน สามารถใชโทรศัพทตอเขากับอุปกรณชารจ แบตเตอรี่แทนได

24

Energy#64_p22,24_imac2.indd 24

2/17/2557 BE 9:50 PM


Energy Award

โครงการ

พลังคิดสะกิดโลก

รังสรรค์ อรัญมิตร

ใหไดมากกวาการแขงขันและรางวัล

ปจจุบันหนวยงานภาครัฐและเอกชนไดใหความสําคัญกับการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมกัน จากการดําเนินโครงการเปดรับสมัครเมือ่ เดือน มากขึน้ หลายหนวยงานไดประกาศเปนนโยบายสําคัญเพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงานตัง้ แตระดับ พฤศจิกายน 2556 ที่ผานมา จนถึงปจจุบันมี โรงเรียนสมัครเขารวมโครงการแลวทัง้ สิน้ 7,986 องคกร ระดับชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศสูการพัฒนาใหเกิดความยั่งยืนดานพลังงาน แหง แบงเปนภาคกลางจํานวน 1,666 แหง การสนับสนุนดานการอนุรักษพลังงานของแตละหนวยงานนั้นมีหลากหลายรูปแบบทั้งการ ภาคเหนือ จํานวน 797 แหง ภาคตะวันออก สนับสนุนเรื่องของเงินลงทุน สนับสนุนในเรื่องของการลดหยอนภาษี การจัดอบรม ศึกษา เรียนรู เฉียงเหนือ จํานวน 2,951 แหง ภาคตะวันออก ดานพลังงาน รวมถึงการจัดประกวดเกีย่ วกับการประหยัดพลังงานทีส่ ง เสริมใหทกุ ภาคสวนรวมกัน จํานวน 595 แหง ภาคตะวันตก จํานวน 553 แหง และภาคใต จํานวน 1,424 แหง ถือวาเปน ลดใชพลังงาน โครงการที่ดํารับการตอบรับเปนอยางดี โครงการประกวดแขงขันพลังคิดสะกิดโลกของสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงานทีร่ ว มมือกับกระทรวงศึกษาธิการนัน้ เปนอีกโครงการหนึง่ ของกระทรวงพลังงาน ปจจุบนั อยูร ะหวางการดําเนินการแขงขันรอบแรก ที่จัดประกวดเพื่อสงเสริมการลดใชพลังงานในระดับโรงเรียน ตั้งแตระดับประถมศึกษา และ คือ ระดับจังหวัด โดยแตละโรงเรียนจะตอง ดําเนินการลดใชพลังงานเปนเวลา 3 เดือน ตัง้ แต มัธยมศึกษา เพื่อชิงทุนการศึกษา 2 ลานบาท ธันวาคม – กุมภาพันธ 2557 เมื่อเปรียบเทียบ เพือ่ เปนการกระตุน ปลูกจิตสํานึกใหเยาวชนไทย เห็นคุณคาและใหความสําคัญเรือ่ งพลังงานมากยิง่ ขึน้ กับการใชไฟฟาในชวงเดียวกันของปที่ผานมา พรอมกับปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใชพลังงาน จนเปนนิสัยเพื่อเปนแนวรวมในการกระตุนให ตองสามารถลดพลังงานใหไดอยางนอย 10% คนใกลชิด คนในสังคมรอบขางเกิดการตื่นตัวในการลดใชพลังงาน และชวยชาติประหยัดพลังงาน เพือ่ คัดเลือกโรงเรียนทีม่ คี ะแนนสูงสุด 10 อันดับ เพื่อใหเยาวชนไดมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมการลดการใชพลังงานอยางจริงจัง ใหเกิดการ เขารอบการแขงขันระดับภูมิภาคตอไป โดย ไดรับทุนการศึกษาสถาบันละ 250,000 บาท ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดการใชพลังงานในอนาคต 25

Energy#64_p25-27_Pro3.indd 25

2/20/14 9:37 PM


อยางไรก็ตามแมวา การดําเนินงานของโครงการฯ ในการรณรงคลดใชไฟฟาในสถานศึกษาในชวง การแขงขันรอบแรกจะประสบความสําเร็จเกิน เปาหมายทีว่ างไวกต็ าม แต สนพ.ก็ยงั ไดทาํ การ รณรงคและประชาสัมพันธใหกับสถานศึกษา ลดใชไฟฟาอยางตอเนื่อง ดวยการจัดสัมมนา กิจกรรมขยายผลของโครงการฯ ลงพื้นที่ใน แตละภาค ใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับการ ลดใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ให ส ถานศึ ก ษามี แ นวคิ ด ในการรณรงค แ ละ ปรับเปลี่ยนพฤติ ก รรมของเยาวชนให รู  จั ก ใช พลังงานอยางตอเนื่องและติดเปนนิสัยอยาง ยั่ ง ยื น และมี ค วามพร อ มในการจั ด ทํ า แผน รณรงค ล ดการใช พ ลั ง งานในสถานศึ ก ษาที่ สามารถใชไดจริงนําเสนอตอคณะกรรมการ พิจารณาตอไป

สวนระดับภูมภิ าค จะไดรบั ทุนการศึกษา สถาบัน ละ 1,000,000 บาท และผูช นะเลิศระดับประเทศ จะไดรบั ทุนการศึกษาสถาบันละ 2,000,000 บาท อีกดวย ทั้ ง นี้ ใ นเบื้ อ งต น สนพ. ได ตั้ ง เป า หมายให โรงเรียนที่เขารวมโครงการลดใชพลังงานชวง 3 เดือนเปนจํานวน 11.5 ลานหนวย คิดเปนเงิน 54.5 ลานบาทหรือรอยละ 10 ตามเปาหมาย รวมเปนเงิน 218 ลานบาทตอป แตปรากฏวา หลังจากที่แตละโรงเรียนเริ่มดําเนินการลดใช พลังงานในชวงเดือนแรกของการแขงขัน คือ เดือนธันวาคม 2556 ปริมาณการใชไฟฟาลดลง โดยรวมถึงรอยละ 24 คิดเปนมูลคา 31 ลานบาท ซึ่งคาดวาจะสงผลใหมีการประหยัดพลังงาน ในชวง 3 เดือนถึง 28.3 ลานหนวย และหาก โรงเรี ย นที่ เข า ร ว มการแข ง ขั น ดํ า เนิ น การลด ใช พ ลั ง งานไฟฟ า อย า งต อ เนื่ อ งจะสามารถ ประหยัดพลังงานไฟฟามากกวา 113.2 ลาน หนวยตอป คิดเปนมูลคาเงินมากกวา 480 ลาน บาทตอป

อยางไรก็ตามในการดําเนินดานการอนุรักษ พลั ง งานของแต ล ะโรงเรี ย นก็ แ ตกต า งกั น ออกไปตามแต ล ะนโยบายของโรงเรี ย นนั้ น โรงเรียนเซนตฟรังซีสซาเวียรคอนแวนต เปน หนึ่ ง ตั ว อย า งที่ เข า ร ว มประกวดในโครงการ พลังคิดสะกิดโลก โดย อาจารยฐานมญ มะณี ผูดําเนินโครงการพลังคิดสะกิดโลก โรงเรียน เซนต ฟ รั ง ฯเล า ถึ ง การเตรี ย มการและความ คาดหวังในการเข า ร ว มประกวดในโครงการ พลังงานคิดสะกิดโลก วา “ครูคิดวาโรงเรียน เซนตฟรังฯ พรอมตลอดเวลา เพราะเราได ดําเนินเกี่ยวกับเรื่องการอนุรักษพลังงานและ สิ่งแวดลอมมาตั้งแตป 2555 และพอดูกติกา ของโครงการแล ว ก็ เ ลยตั ด สิ น ใจเข า ร ว ม โครงการ อยางนอยก็เปนการเติมเต็มดานการ อนุรักษพลังงานของโรงเรียน โดยการเตรียม ความพรอมนัน้ เนือ่ งจากโรงเรียนไดดําเนินการ อนุรักษพลังงานภายใตนโยบายการลดคาไฟ คานํ้าใหได 10% ตอป ลดปริมาณขยะ 10% ตอป และสนับสนุนทุกๆ กิจกรรมใหเขาไปอยู ในองคความรูทุกวิชาที่มีการเรียนการสอน มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นอุ ป กณ ป ระหยั ด พลั ง งาน เชน หลอดไฟประหยัดพลังงาน จากหลอด T8 เปนหลอด T5 และปรับเปลีย่ นมาใชแอรประหยัด พลังงานเบอร 5 แตไมไดปรับเปลี่ยนทีเดียว ทัง้ หมดแตจะคอยๆ ปรับเปลีย่ นแลวใชพลังงาน ที่มีอยูใหคุมคาที่สุด

26

Energy#64_p25-27_Pro3.indd 26

2/20/14 9:37 PM


นอกจากนี้ยังสนับสนุนใหนักเรียนมีสวนรวม ในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยให นักเรียนนําเสนอสรางกฎกติกาในการอนุรักษ พลังงานทีร่ ว มกันดําเนินงาน ผานการกลัน่ กรอง จากสภานักเรียนตรงนีจ้ ะชวยใหเด็กเกิดจิตสํานึก ทีจ่ ะประหยัดพลังงาน เชน โครงการ SF Save for the future จะเนนเรือ่ งพลังงานแบงเปน 5 กิจกรรม เชน กิจกรรมการบอกเลาขาวรักษโลก เพื่อ กระจายความรูด า นพลังงาน กิจกรรมหองเรียน อนุรักษพลังงาน โดยถาหากเด็กนักเรียนไมเขา รวมกิจกรรมดานพลังงานก็จะโดนลงโทษดวยการ ไมใหเปดแอรในหองเรียน 1 อาทิตย กิจกรรม รักษไฟ รักษนํ้า ใหนักเรียนชวยกันปดไฟใน ชวงเวลาที่ไมจําเปนใช หรือชวงเวลาพักเที่ยง เวลาเลิกเรียน มีตาํ รวจนํา้ ตํารวจไฟคอยดูแล เรือ่ งไฟ เรือ่ งนํา้ ตลอดเวลา ดานโครงการอนุรกั ษธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เปนอีกโครงการทีโ่ รงเรียนเซนตฟรังฯ ไดดาํ เนิน การคัดแยกขยะกอนทิง้ ไมวา จะเปนเศษอาหาร โดยทางโรงเรียนจะดําเนินการสงใหกบั ชาวบาน ที่เลี้ยงหมู โครงการขยะรีไซเคิล กระดาษ ขวด นําไปขาย หรือนําไปทํางานฝมือ กลองนมนํา ไปบริจาคเพื่อนําไปทําโตะ เกาอี้ สําหรับเด็ก ดอยโอกาส ถุงนมนําไปบริจาคผลิตเสือ้ กันหนาว สวนการบําบัดนํ้าเสียจะทําเปน 2 รูปแบบ คือ การไลอากาศใหออกซิเจน การใชผงละลาย ไขมัน แลวคอยปลอยสูลําคลอง

เงือ่ นไข 3 อ คือ อุปกรณและเทคโนโลยี โดยการปรับเปลีย่ นอุปกรณเทคโนโลยีใหมปี ระสิทธิภาพ การ เปลีย่ นมาใชเครือ่ งใชไฟฟาประหยัดพลังงานเบอร 5 และมีการติดตัง้ สวิทไฟแบบกระตุกเฉพาะจุด อ ที่ 2 คือ อุปนิสัยนักเรียนเพื่อความยั่งยืน อ ที่ 3 คือ อนุรักษ ตองมีการบํารุงดูแลรักษาอุปกรณ ทั้ง 3 อ นั้นอยูบนพื้นฐานของ 3 หวง 2 เงื่อนไข ก็คือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน และอยูบนพื้นฐานของความรูคูคุณธรรม ตรงนี้เปนนโยบายแลวก็เอา นโยบายมาสรางเปนแผนปฏิบัติการดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม สวนแผนการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมปจจุบันเราดําเนินการอยู 5 โครงการ คือ 1. โครงการสายใยพลังงานสานความรูสูชุมชน เปนลักษณะของการใหความรูดานการประหยัด พลังงานทั้งภายในโรงเรียนและก็ชุมชน 2. โครงการเสริมสรางการมีสวนรวมและการทํางานรวมกันของนักเรียนและบุคลากรผูปกครอง และชุมชน เพื่อการรอนุรักษพลังงาน การอบรม กิจกรรมปลูกตนไม มีการแขงขัน รณรงคดาน พลังงาน 3. โครงการพัฒนาทักษะชีวิตดานอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอันนี้จะเนนความยั่งยืน 4. โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน เปนการตรวจสภาพปญหาการใชพลังงานเปนอยางไร อุปกรณตรงจุดไหนที่ชํารุดหรือกินไฟ ตรวจสอบเพื่อนําขอมูลมาปรับเปลี่ยน แลวเราก็ตองดูเรื่อง การรับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอมดวย เชน การบําบัดนํา้ เสียกอนปลอยลงคลอง เศษอาหาร นํามาทําเปนนํา้ หมักชีวภาพ มีการรณรงคใหเด็กนักเรียนเนนการทานขาวหมดจาน ดืม่ นํา้ หมดแกว เพราะเปนการกําจัดขยะตนทาง กําหนดใชลฟิ ทใหจอด ชัน้ 1 3 5 เทานัน้ เพือ่ การประหยัดพลังงาน การดําเนินกางรมใหคอมเพรสเซอรแอรโดยการนําไวนิลที่ไมใชแลวมาชวยกันความรอนใหกับ คอมเพรสเซอร การปลูกตนไมเพื่อเพิ่มความรมรื่นใหกับอาคาร 5. โครงการกําจัดขยะโดยใชหลัก 3 R คือ Reduce Reuse Recycle ผานโครงการธนาคารขยะ โดยใหนักเรียนนํากลองนมมาแลกไข มีการลุนโชคจากขยะ เปนตน นอกจากนี้ทางโรงเรียนยังได นําเรื่องพลังงานเสริมเขาไปในการเรียนการสอนดวย

สวนการเขารวมโครงการนีก้ ไ็ มไดคาดหวังอะไร มากขอแคเขารอบระดับจังหวัด และใหนกั เรียน เกิ ด จิ ต สํ า นึ ก ด า นการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานและ สิ่ ง แวดล อ ม โรงเรี ย นมี ผ ลการพั ฒ นาด า น พลั ง งานตามเปาหมายหรือดีกวาเปาหมาย แคนี้ก็ถือวาประสบความสําเร็จแลว สวนการ ไดรับรางวัลนั้นถือวาเปนผลกําไรเทานั้น” โครงการทัง้ หมดก็ตอบสนองดานการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอมเปนอยางดี โดยเราสามารถ ลดการใชพลังงานลง 30% ซึง่ เปนตัวชีวดั การเขารวมประกวดโครงการ “พลังคิด สะกิดโลก” ดวย ดาน อาจารย วรรฒกา ปานเกิด ผูอ าํ นวยการ โดยการประกวดครั้งนี้คงไมไดมุงหวังในเรื่องของรางวัล เพราะรางวัลเปนแคกําลังใจอยางหนึ่งใน โรงเรี ย นจั น ทร หุ  น บํ า เพ็ ญ เล า ว า “เราได การดําเนินการอนุรกั ษพลังงาน แตสงิ่ ที่ไดคอื การประหยัดพลังงานทีเ่ ราดําเนินการทํามันขึน้ ดวยใจ เตรียมความพรอมโดยการสรางความเขาใจ ถาทําสําเร็จก็จะเปนความภาคภูมิใจที่สามารถทําไดตามวัตถุประสงคและเปาหมาย” สรางความรวมมือกับครู นักเรียน และบุคลากร ทุกภาคสวนในโรงเรียนใหยนิ ยอมในการประหยัด เชือ่ วาทุกโรงเรียนทีเ่ ขารวมการประกวดการแขงขันดานประหยัดพลังงาน “พลังคิด สะกิดโลก” ของ พลังงานกอน แลวดําเนินการวิเคราะหการใช สํานักนโยบายและแผนพลังงาน (สพน.) หรือโครงการประกวดดานพลังงานโครงการอืน่ ๆ ไมไดมงุ พลังงานของโรงเรียน สูการสรางนโยบายขึ้น หวังการไดมาเพียงแครางวัลอยางเดียว แตการประกวดยังมุง หวังในเรือ่ งของการประหยัดพลังงาน มารองรับการประหยัดพลังงาน โดยเราเริ่ม การสรางความยั่งยืนของการใชพลังงานของแตละโรงเรียนนั่นเอง ดําเนินการมาตัง้ แตป 2551 คือ นโยบายอนุรกั ษ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มโรงเรี ย นจั น ทร หุ  น ตองติดตามกันตอไปวาเมื่อจบโครงการแลวภาพรวมตลอดระยะการดําเนินโครงการจะสามารถ บําเพ็ญ ภายใตการดําเนินตามหลักการตาม ลดใชพลังงานไดมากนอยแคไหนและโรงเรียนใดจะเปนผูที่ไดรับรางวัล 27

Energy#64_p25-27_Pro3.indd 27

2/20/14 9:37 PM


Green Industrial รังสรรค์ อรัญมิตร

มุงพัฒนาลดใชพลังงาน ภายใตแนวคิด .... energy and climate

โรงงานอุ ต สาหกรรมเป น องค ก รหนึ่ ง ที่ ไ ด ใ ห ค วามสํ า คั ญ กับการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยมีแนวทางหรือวิธี การดําเนิ นการด านการอนุรักษ พลังงานที่แตกตางกั นออกไป ตามนโยบายและความเหมาะสมในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของแต ล ะ โรงงาน กลุม บริษทั เฮงเค็ล ผูด าํ เนินธุรกิจผลิตภัณฑซกั ลางและผลิตภัณฑในครัวเรือน (Laundry & Home Care) ผลิตภัณฑดแู ลความงาม (Beauty Care) และเทคโนโลยีกาว (Adhesive Technologies) และ เปนอีกบริษัทหนึ่งที่ไดใหความสําคัญเกี่ยวกับการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม จากสภาพอากาศและพลังงานที่เปลี่ยนแปลงจึงเปนเปาหมายของเฮงเค็ลในการหาแนวทางและ ดําเนินการดานการอนุรักษพลังงานเพื่อใหเกิดความยั่งยืน ภายใตนโยบายการมุงเนนจัดหาและ ใชพลังงานอยางเต็มประสิทธิภาพ เพื่อลดการบริโภคพลังงานภายในศูนยการผลิตและการขนสง ทั่วโลก รวมถึงการปองกันการปลอยมลพิษแกสเรือนกระจก พรอมกับมุงมั่นสรางผลิตภัณฑและ เทคโนโลยีที่ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหผูบริโภคและลูกคาสามารถประหยัดพลังงาน และสงเสริมการปกปองสภาพอากาศ

ดานระบบขนสงกวา 90 เปอรเซ็นตของการ ขนสงผลิตภัณฑของเฮงเค็ลไดดําเนินการโดย บริษัทขนสงภายนอกองคกร จึงไดใหความ สํ า คั ญ ในการพิ จ ารณาถึ ง ประสิ ท ธิ ภ าพและ ความใสใจตอสิ่งแวดลอม โดยมีการประเมิน และคั ด เลื อ กบริ ษั ท พั น ธมิ ต รด า นการขนส ง อยางเปนระบบในการตรวจสอบดานการลดใช พลังงานใหสอดคลองกับหลักเกณฑการอนุรกั ษ พลั ง งานของเฮงเค็ ล รวมถึ ง การผนวกการ ขนสงระหวางโรงงานในแตละแหงและโกดัง ศูนยกลางเขาไวดว ยกันเพือ่ ลดระยะทางในการ ขนสง การคํานึงถึงการพัฒนาผลิตภัณฑใหมนี าํ้ หนักเบา การบรรทุกสินคาไมอดั แนนจนเกินไป เพือ่ ลดนํา้ หนักในการขนสงเพือ่ ลดการใชพลังงาน และลดมลพิษ

เฮงเค็ลมีแนวทางการอนุรักษพลังงานตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า เริ่มตั้งแตการเริ่มจัดหาวัตถุดิบ โดยเลือกใชสวนประกอบหลักจากวัตถุดิบหมุนเวียนเพื่อยกระดับคุณสมบัติในภาพรวมของ ผลิตภัณฑ วัตถุดบิ หมุนเวียนถือเปนสวนประกอบหลักของผงซักฟอก เจลอาบนํา้ แทงกาว แผนติด วอลลเปเปอรและกาวสําหรับบรรจุภัณฑของเฮงเค็ล โดยการสนับสนุนบริษัทผูจัดสงวัตถุดิบของ เฮงเค็ลอยางตอเนื่องเพื่อใหมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตไปใชนํ้ามันปาลมและนํ้ามันจาก นอกจากนี้แลวโรงงานอุตสาหกรรมเฮงเค็ลทั่ว เนื้อในเมล็ดปาลมที่มีความยั่งยืน โลกก็ไดมกี ารปรับเปลีย่ นอุปกรณและดําเนินการ การเลือกใชบรรจุภณ ั ฑเฮงเค็ลจะเลือกใชบรรจุภณ ั ฑทสี่ ามารถนําไปรีไซเคิลไดพรอมกับการพัฒนา ลดใชพลังงาน ไมวา จะเปนโรงงาน พอรต ซาอิด มาตรฐานกระบวนการผลิตและสรางเครือ่ งชีน้ าํ ใหมเพือ่ ใหสามารถวิเคราะหโซลูชนั่ สบรรจุภณ ั ฑที่ ประเทศอียปิ ต ซึง่ เปนโรงงานผลิตผงซักฟอกได ลดการใชไฟฟาในโกดังเก็บสินคาลงมากกวา 80 สงผลตอเศรษฐกิจ ระบบนิเวศและสังคม 28

Energy#64_p28-30_Pro3.indd 28

2/20/14 9:41 PM


เม็กซิโก โรงงานเทคโนโลยี กาวใชนํ้าเสียทั้งหมดสําหรับ หอทําความเย็น ซึ่งชวยลด การใชนาํ้ ลงได 35 เปอรเซ็นต การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพหม อ ไอนํ้ า ยั ง ช ว ยลดการใช แ ก ส โรงงานดุสเซลดอรฟ ประเทศเยอรมนี เปน ธรรมชาติลงได 70 เปอรเซ็นต โรงงานผลิ ต ผงซั ก ฟอกเช น กั น โดยได เ พิ่ ม กระบวนการเปาขึน้ รูปขวดรวมกับเครือ่ งอัดหรือ พร อ มกั น นี้ ใ นการอนุ รั ก ษ คอมเพรสเซอร สี่ เ ครื่ อ งด ว ยการเพิ่ ม ระบบ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ ม ควบคุ ม ขั้ น สู ง ทํ า ให ส ามารถหมุ น เวี ย นใช ของเฮงเค็ลยังไดปลูกฝงให เครื่ อ งอั ด เพี ย งหนึ่ ง หรื อ สองเครื่ อ งเท า นั้ น พนั ก งานทุ ก ระดั บ ทั่ ว โลก สําหรับการอัดอากาศที่จําเปนขณะที่เครื่องอัด ดํ า เนิ น การด า นอนุ รั ก ษ ที่ เ หลื อ จะถู ก ปด การทํางานและไมเชื่อ มตอ พลังงานและสิ่งแวดลอมให กับระบบไฟฟา วิธีการนี้ชวยลดปริมาณการใช เปนสวนหนึ่งของการทํางาน ั นาแผนปฏิบตั งิ านเพือ่ ความยัง่ ยืน ซึง่ เกีย่ วของกับหนาที่ ไฟฟาของเครื่องอัดในกระบวนการเปาขึ้นรูป โดยผูจ ดั การในทุกระดับและทีมงานไดพฒ ที่พนักงานรับผิดชอบแลวมีการกําหนดมาตรการทั้งระยะสั้น ระยะยาว พรอมกับเปดโอกาสให ลงได 38 เปอรเซ็นตตอป พนักงานไดหารือถึงหลักการของกลยุทธการพัฒนาดานพลังงานเพือ่ ความยัง่ ยืน พ.ศ.2573 รวมถึง โรงงานราติบอร ประเทศโปแลนด นําความ ความทาทายทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต ตลอดการจัดใหมกี ารประชุม Action Plan เพือ่ เปนชองทาง ร อ นเหลื อ ทิ้ ง ที่ เ กิ ด จากปฏิ กิ ริ ย าซั ล โฟเนชั่ น ที่ดีในการสื่อสารขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการประหยัดพลังงานโดยการแจงขอมูลใหแตละฝายและ (sulfonation) ในหอสเปรย ซึง่ ใชในการผลิตแปง พนักงานแตละคนไดรบั ทราบเกีย่ วกับแนวทางการอนุรกั ษพลังงานเพือ่ รวมกันขับเคลือ่ นสูเ ปาหมาย ผงซักฟอกกลับมาใชใหม ชวยลดการใชพลังงาน เพื่อความยั่งยืน ของหอสเปรยลงได 20 เปอรเซ็นต โรงงานที่ เซ็นตหลุยส มิสซูรี่ ประเทศสหรัฐอเมริกาลด ทั้งนี้ เฮงเค็ล ยังไดกําหนดเปาหมายในการลดใชพลังงานในกระบวนการผลิตลง 15 เปอรเซ็นต การใชพลังงานลง 5 เปอรเซ็นตดวยการเพิ่ม ภายในป พ.ศ. 2558 ซึง่ การลดปริมาณมลพิษ คารบอนไดออกไซดลงนัน้ ไดชว ยปกปองสภาพอากาศ ประสิทธิภาพในระบบอัดอากาศ โดยทําการ ทัว่ โลก โดยการแสวงหาทางเลือกทุกรูปแบบในการลดการบริโภคพลังงานและลดปริมาณคารบอน ติดตั้งเครื่องอัดอากาศหรือคอมเพรสเซอรที่ เพื่อหลีกเลี่ยงการปลอยกาซที่ทําลายสภาพอากาศตั้งแตแรกเริ่ม มีประสิทธิภาพสูงพรอมตัวควบคุม และตรวจ สอบความเร็ว ชวยลดความสูญเปลาในระบบ อัดอากาศลงได โรงงานที่ ซาลาแมนกา ประเทศ เปอรเซ็นต ดวยการติดตั้งหลังคาโปรงแสงเพื่อ รับแสงสวางตามธรรมชาติ โรงงานดังกลาวยัง ลดการใชนํ้าในการผลิตแปงลง 8 เปอรเซ็นต ด ว ยการหมุน เวี ย นนํ้าจากกระบวนการผลิต ของเหลวกลับมาใชใหม

29

Energy#64_p28-30_Pro3.indd 29

2/20/14 9:41 PM


และภายใตนโยบายดานการอนุรักษพลังงานของเฮงเค็ลยังไดรวมกับ เพื่อประสิทธิภาพดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมเฮงเค็ลยังได คณะทํางานกําหนดนโยบายระดับนานาชาติและสมาคมอุตสาหกรรม ดําเนินการลดการใชนาํ้ ระหวางกระบวนการผลิตและการใชงานผลิตภัณฑ ตางๆ เชน คณะกรรมการนักธุรกิจเพื่อสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนโลก รวมถึงการหลีกเลีย่ งไมใหเกิดนํา้ เสีย ดวยความมุง มัน่ ทีจ่ ะสรางผลิตภัณฑ (World Business Council forSustainable Development – WBCSD) และเทคโนโลยีที่ใชนํ้าอยางมีประสิทธิภาพเพื่อใหผูบริโภคและลูกคา กลุมฟอรัมสินคาอุปโภคบริโภค (Consumer Goods Forum) และ ทั่วโลกไดปกปองทรัพยากรนํ้า มาตรการนี้ครอบคลุมถึงผลิตภัณฑ สมาคมสบู ผงซักฟอกและผลิตภัณฑใชภายในบาน (International ในครั ว เรื อ นและเทคโนโลยี สํ า หรั บ ลู ก ค า กลุ  ม อุ ต สาหกรรม ขณะที่ Association for Soaps, Detergents and Maintenance Products – A.I.S.E.) สินคาอุปโภค บริโภค อยางผงซักฟอก ผลิตภัณฑทาํ ความสะอาดบานหรือ เพื่อดําเนินการลดใชพลังงาน ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมใหไดตาม แชมพูทไี่ หลลงสูร ะบบนํา้ เสียหลังการใชนนั้ จะสามารถยอยสลายโดยทาง ชี ว ภาพ จึ ง ไม ส  ง ผลกระทบต อ คุ ณ ภาพนํ้ า ผิ ว ดิ น นํ้ า เสี ย ที่ เ กิ ด จาก เปาหมายกลุมเฮงเค็ล อุตสาหกรรมจะถูกบําบัดดวยเทคโนโลยีขนั้ สูงเพือ่ ขจัดสารทีเ่ ปนอันตราย กอนปลอยทิ้งอยางมีความรับผิดชอบ ซึ่งเฮงเค็ลมีประสบการณอัน ยาวนานในการจัดการนํา้ ทีเ่ ชือ่ ถือไดและสมารถอนุรกั ษทรัพยากรนํา้ ทัว่ โลกไดอยางตอเนื่องทั้งปจจุบันและในอนาคต นอกจากนี้แลวภายใตความยั่งยืนดานพลังงานและสิ่งแวดลอมเฮงเค็ลก็ ไมไดละเลยตอหนาทีใ่ นการรับผิดชอบตอสังคม โดยดําเนินโครงการเพือ่ สังคมมากกวา 2,300 โครงการและชวยเหลือประชาชนกวา 1 ลานคน ในการสนับสนุนกิจกรรมในพื้นที่ที่ขาดแคลน ทั้งดานการศึกษาและ วิทยาศาสตร สุขภาพและพลานามัย ศิลปะและวัฒนธรรม รวมถึงสิง่ แวดลอม

30

Energy#64_p28-30_Pro3.indd 30

2/20/14 9:41 PM


Energy#64_p31_Pro3.ai

1

2/22/14

1:02 PM

31


Residence รังสรรค อรัญมิตร

» §»ÒÅÕ ÃÕÊÍà · 㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ¤ØŒÁ¤‹Ò ãËŒà¡Ô´»ÃÐ⪹ ÊÙ§ÊØ´ การออกแบบสรางที่พักที่อยูอาศัย หรือรีสอรทในปจจุบันบางครั้งก็ไมจําเปนตอง ออกแบบใหซบซอนเพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงานเสมอไป แต ใ นการสรางที่พัก ที่อยู  อาศั ยอาจจํ า เป น ตองออกแบบเพื่อให เ กิ ด ความคุ  ม คา กับการใชง านโดยให ผูมาพักผอนสามารถใชประโยชนจากการพักผอนไดเต็มที่ โดยไมตองกังวลในเรื่อง การประหยัดแอร หรือใชไฟฟาเฉดเชน ปงปาลีย รีสอรท กาญจนบุรี ทีเ่ นนการออกแบบ เพื่อใหผูมาพักได ใช ช  วงเวลาของการพักผอนใหเกิดความคุมคาที่สุด ป ง ปาลี ย  รี ส อร ท นั้ น ถู ก ออกแบบในสไตล ท รอป ค อล วิ ล เลจ แต ล ะห อ งจะ แตกตางกันออกไป เปรียบเสมือนเปนหมูบานเล็กๆ ที่อยูรวมกันดวยความอบอุน โดยมีเพียง 11 วิลลา และ 1 พูลวิลลา บนเนื้อที่ 1 ไร ตั้งอยูในเขตรอนชื้นซอนตัวอยู ริมแมนํ้าแควนอยอันเงียบสงบเปนสวนตัว 32

Energy#64_p32-33_Pro3.indd 32

2/20/14 9:32 PM


ดานการประหยัดพลังงานเนื่องจาก เป น รี ส อร ท ที่ ตั้ ง อยู  ริ ม แม นํ้ า การ ออกแบบแต ล ะห อ งจะเน น ให มี ระเบียง และติดตั้งกระจกบานใหญ ซึ่งนอกจะใหผูมาพักผอนไดนั่งอาน หนังสือ จิบกาแฟ ชมบรรยากาศริม แมนํ้าแควแบบ Panoramic View แล ว ยั ง ช ว ยให ส ามารถเป ด รั บ ลม แสงแดด ซึ่งในชวงเวลาพักผอนตอน กลางวันไมตองเปดแอร และเปดไฟ ชวยประหยัดพลังงานไดเปนอยางดี การออกแบบภายในหองเปนลักษณะ ของการ Built-in นั่นหมายถึงการ กอสรางดวยปูนเปนเฟอรนเิ จอร เชน โตะวางทีวี โตะวางโคมไฟ โตะทํางาน โตะวางของ เตียงนอน ลวนแลวแต เปนการ Built-in จากปูน ซึ่งชวยให สามารถประหยัดคาใชจายในการซื้อ เฟอรนิเจอรมาตกแตง ที่ สํ า คั ญ ของการประหยั ด พลั ง งาน ของรีสอรทแหงนี้ คือ การเลือกใช อุปกรณประหยัดพลังงานไมวา จะเปน แอรประหยัดพลังงานประสิทธิภาพ สูงเบอร 5 และการติดตั้งหลอด LED ภายในหอง บริเวณทางเดิน และทุก สัดสวนภายในรีสอรท ถึงแมจะเปน การลงทุนทีแ่ พง แตสามารถคุม คาทัง้ เรื่องของการประหยัดพลังงานและ การใชงานในระยะยาว นอกจากนี้ แ ล ว เพื่ อ การประหยั ด พลังงาน ปงปาลีย รีสอรท ยังไดแบง การติดตัง้ ระบบไฟฟาออกเปน 3 สวน ดวยกัน เพื่อใหระบบไฟฟาเกิดความ เสถี ย รในการใชง าน และสามารถ ควบคุ ม การจ า ยไฟฟ า ให เ กิ ด การ ประหยัดพลังงานได เมื่อหองพักใน โซนอืน่ ไมมผี เู ขาพักก็สามารถปดการ จายไฟในสวนนั้นได

Energy#64_p32-33_Pro3.indd 33

อีกแนวคิดหนึ่งของการประหยัดพลังงาน ประหยัดคาใชจาย คือ การปลูกตนไมหรือ จัดสวน เพื่อใหเกิดการประหยัดพลังงาน พื้นที่บริเวณรีสอรทแหงนี้จะไมปลูกตนไม ใหญ โดยจะเลือกปลูกเฉพาะตนไมประเภท ใบใหญ ที่ทดแลง อยางเชน ตนจันผา และ ตนไอริส ซึง่ ไมตอ งคอยดูแลทําความสะอาด เก็บใบไม ตัดตกแตงกิง่ ใหสนิ้ เปลืองคาใชจา ย ในการจางคนงานมาดูแล ดานการคัดแยกขยะซึ่งที่นี่เขาไดมีการคัดแยกขยะไวเปนสัดสวน เชน ขยะเปยก ขยะแหง ขยะเปนพิษ ขยะกระดาษ ขยะพลาสติก ขวดแกว บางสวนนําไปจําหนายตอ บางสวนนําไปกําจัด ทิ้งอยางถูกวิธี สวนขยะเปยกและขยะแหงนําไปทําเปนปุยชีวภาพ หรือปุยหมักสําหรับใชเปน อาหารของตนไมบริเวณพื้นที่สีเขียวภายในรีสอรท การบําบัดนํ้าเปนอีกแนวทางหนึ่งของปงปาลีย รีสอรท ในการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม โดยไดทําการบําบัดนํ้าที่ผานการใชงานแลวจากหองนํ้าภายในหองพัก แลวนํากลับมาใชสําหรับ รดนํ้าตนไม ซึ่งชวยประหยัดพลังงานนํ้าและคาใชจายไดอีกทางหนึ่ง สําหรับผูที่กําลังหาสถานที่พักผอนอันเงียบสงบเปนสวนตัว ปงปาลีย รีสอรท ยินดีตอนรับ ทุกทานให ไ ปสัมผัสกับความอบอุน โดยอยูห า งจากตัวเมืองจังหวัดกาญจนบุรเี พียง 40 กิโลเมตร บนเสนทางกาญจนบุรี - ไทรโยค - ทองผาภูมิ (ทางหลวง 323) เสนทางสายทองเที่ยวสําคัญของ กาญจนบุรี จากที่นี่คุณสามารถ เดินทางไปยังที่ทอ งเทีย่ ว และ รานอาหารอรอยสไตลกาญจนบุรี หลายแหง สวนราคาสามารถ เขาไปดูในเว็บไซตไดครับ

33

2/20/14 9:33 PM


Energy Design ณ อรัญ

การออกแบบดานตรวจคนเขาเมือง

ชายแดนสหรัฐอเมริกา

ปจจุบนั การออกแบบอาคาร บานเรือน หรือสถานทีต่ า งๆ ใหประหยัดพลังงานดูจะไดรบั ความนิยมไปทัว่ ทุกมุมโลก โดย พืน้ ฐานการออกแบบเพือ่ ใหเกิดการประหยัดพลังงาน นอกจากคํานึงถึงทิศทางลม ทิศทางแดด การเลือกใชอปุ กรณ เทคโนโลยีทชี่ ว ยในการประหยัดพลังงานแลวการออกแบบยังไดคาํ นึงถึงการดําเนินชีวติ ของคนในยุคปจจุบนั ดวยเชนกัน สหรัฐอเมริกาศุลกากรและปองกันชายแดน (CBP) GSA และ CBP ทํางานรวมกับ บริษทั ในระดั บ ชาติแ ละระดั บท อ งถิ่น ในการ ออกแบบสิง่ อํานวยความสะดวกใหมทใี่ ช เทคโนโลยีทที่ นั สมัยเพือ่ เพิม่ ความปลอดภัย ชายแดนเพิม่ ความเร็วในการไหลเวียนของ การคาการจราจร และการออกแบบใหเกิด การประหยัดพลังงานควบคูก บั การอนุรกั ษ สิง่ แวดลอม

โดยดานตรวจคนเขาเมือง เมืองแวนบิวเรนรัฐเมน ประเทศสหรัฐอเมริกาที่อยูติดกับ ชายแดนประแคนาดาถูกออกแบบใหเกิดการประหยัดพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ และยั่งยืนตามเกณฑ Green Building Council (USGBC) LEED ของสหรัฐอเมริกา มีการออกแบบกอสรางที่ประหยัดพลังงานดวยการเลือกใชแผงคอนกรีตหุมฉนวนกัน ความรอน ติดกระจกเชียวตัดแสง หลอดแอลอีดี ติดตัง้ ระบบนํา้ รอนพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ สามารถผลิตนํา้ รอนเพียงสําหรับการใชภายในอาคาร การติดตัง้ พลังงานแสงอาทิตย สําหรับผลิตไฟฟาใชภายในอาคาร สลับการทํางานกับเครือ่ งกําเนิดไฟฟาระบบไบโอดีเซล ขนาด 1,250 กิโลวัตตทใี่ หพลังงานสํารองในกรณีทไี่ ฟดับ พรอมดวยการติดตัง้ พลังงาน ความรอนใตพิภพและระบบระบายความรอนที่มีความลึกกวา 400 ฟุต นําความรอน ที่ไดมาผลิตเปนกระแสไฟฟา เพื่อใหเกิดความยั่งยืนดานตรวจคนเขาเมืองแหงนี้ยังเลือกใชสาธารณูปโภคที่ลดใช พลังงานและใหเกิดความยั่งยืนจูลี่หิมะสถาปนิกผูออกแบบยังใหความสําคัญกับระบบ ระบายความรอนและกลยุทธสาํ หรับปองกันนัน้ ตองการมีการควบคุมสิง่ แวดลอมในรม ที่แมนยํา โดยเริ่มจากการวิเคราะหรายละเอียดเปาหมาย การศึกษาแนวทางปองกัน มลพิษจากภายนอกโดยตรงประกอบดวยการวิเคราะหเสนทางของกระแสลมนั้นเกิด จากแหลงเกิดลมทีอ่ ยูด า นหนาในพืน้ ทีร่ ม ดวยการติดตัง้ พัดลมและเครือ่ งระบายอากาศ การออกแบบดานตรวจคนเขาเมืองสหรัฐอเมริกาแหงนี้ผูออกแบบไดคํานึงถึงการ อนุรักษระบบนิเวศ ระบบธรรมชาติสิ่งแวดลอมรอบดานยังคงครอบคลุมบริเวณพื้นที่ โครงการ และเพือ่ ใหกลมกลืนกับธรรมชาติ ออกแบบผนังอาคารภายนอกเปนลวดลาย ตนไม และลวดลายธรรมบนกระจกเพื่อปองกันความรอนจากแสงที่จาในชวงฤดูรอน

34

Energy#64_p34-35_Pro3.indd 34

2/20/14 9:47 PM


นอกจากนีแ้ ลวจุดเดนของโครงการอีกอยางคือการนําหลัก 3 – Re มาชวยในการออกแบบ เพือ่ เกิดการประหยัดพลังงาน เชน Recycle ดวยการนําวัสดุเหลือใชจากการกอสราง ไมวา จะเปนซากคอนกรีต หรือสิง่ ของตางๆ ทีไ่ มมปี ระโยชนแลว นํากลับมาใช ใ หมให เกิดประโยชน โดยใชเปนสวนประกอบของตัวอาคาร หรือ ถนน Reuse ดวยการนําวัสดุ จําพวกไม กระจก และวัสดุเหลือใชตา งๆ กลับมาใชใหมในโครงการ Reduce ดวยการลด ความฟุม เฟอยในการใชนาํ้ และพลังงานไฟฟา หันกลับมาใชพลังงานธรรมชาติ จากลม หรือแสงจากดวงอาทิตย โดยภายในโครงการจะเนนพื้นที่กลางแจงใหผูเดินทางได สัมผัสใกลชิดกับพื้นที่สีเขียวใหมากที่สุด ซึ่งเปนการชวย Repair เมืองที่มีปญหาดาน มลพิษเรียกไดวาเปนดานตรวจคนเขาเมืองที่ทันสมัยและประหยัดพลังงานแหงหนึ่ง 35

Energy#64_p34-35_Pro3.indd 35

2/20/14 9:47 PM


Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล

เมื่อพูดถึงงานวิจัยดานพลังงานทดแทนภายในประเทศไทย จะเห็นไดวามี งานวิจยั หลากหลายสถาบันทีเ่ ขามารวมกันทํางานวิจยั ตาง ๆ เพราะตองการหา วิธีการเพื่อใหประเทศไทยมีพลังงานใชไดตลอด กองวิทยาการ กรมทหารชาง อากาศ ก็ เ ป น อี ก หน ว ยงานหนึ่ ง ที่ ไ ด เ ล็ ง เห็ น ถึ ง ความสํ า คั ญ ในเรื่ อ งของ พลังงานทดแทน จึงไดทําการวิจัยในโครงการ “วิจัยและพัฒนานํ้ามันเชื้อเพลิง สังเคราะหสําหรับอากาศยาน” ขึ้น จุดประสงคเพื่อตองการลดการนําเขา นํ้ามันจากตางประเทศ ทั้งตองการที่จะยังวิจัยและพัฒนาการผลิตเชื้อเพลิง อากาศยานสังเคราะห เพื่อใชทดแทนเชื้อเพลิงอากาศยานชนิด JET A-1 และ JP-8 ขึ้นในประเทศเพื่อความมั่งคงทางทหาร และความมั่นคงทางพลังงาน ของชาติอยางยั่งยืนในอนาคต

พลังงานทดแทนสําหรับอากาศยาน นวัตกรรมของกําลังทางอากาศ เพือ่ ความมัน่ คงทางทหารและพลังงานของชาติ

นาวาอากาศโท อมรพงศ เอี่ยมสะอาด นายทหารโครงการวิจัยและพัฒนานํ้ามัน เชือ้ เพลิงสังเคราะหสาํ หรับอากาศยาน เผยวา จุดเริม่ ตนของการวิจยั คือ เดิมทางกองทัพ อากาศการบินของเราใชนาํ้ มันดิบมากลัน่ เปนนํา้ มันเชือ้ เพลิง ซึง่ ผลจากการกลัน่ นํา้ มันดิบ ไดปริมาณนอยมาก ทําใหไมเพียงพอกับการใชงาน ดวยเหตุนี้เราเลยนึกถึงความมั่นคง เพราะถาเกิดสงครามขึน้ มาทางกองทัพฯ จะทําอยางไรเพือ่ ใหมนี าํ้ มันเชือ้ เพลิงเพียงพอ ตอการทําสงคราม ในเมื่อทุกวันนี้นอกจากจะเอานํ้ามันดิบมากลั่นเองแลว เรายังมี การนํานํา้ มันเชือ้ เพลิงจากตางประเทศเขามาดวย ซึง่ ความตองการใชนาํ้ มันในอากาศยาน เราใช 4.5 ลานลิตรตอเดือนเลยทีเดียว เพราะฉะนั้นเลยมองหาทางวามีทางไหนที่จะ สามารถนํามาเปนทรัพยากรในการผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิงเองไดบาง สุดทายทางเราเลยใช ความรูดานวิศวกรรมเคมีนั่นคือ การตัดแตงโมเลกุลนํ้ามันปาลมใหมีโมเลกุลที่เล็กลง

36

Energy#64_p36-37_Pro3.indd 36

เพื่ อ ให ส ามารถนํ า มาผลิ ต นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ให เพียงพอสําหรับอากาศยานได ในชวงแรกมองวาทรัพยากรของเรามีอะไบาง ที่จะสามารถนํามาผลิตนํ้ามันได ซึ่งก็มี ปาลม ถั่วเหลือง นํ้ามันสบูนํ้า ฯลฯ ทุกสิ่งทุกอยางเรา มองที่ความเพียงพอ จึงทําการทดลองจากหอง ปฏิบตั กิ ารฯ จึงสรุปไดวา ปาลมเปนพืชที่ใหนาํ้ มัน ไดมากที่สุด ซึ่งทางเรามีหองปฏิบัติการฯ อยูที่ ขอนแกน

นาวาอากาศโท อมรพงศ เอีย่ มสะอาด 2/20/14 9:52 PM


นํา้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยาน เปนสารประกอบ ไฮโดรคารบอนจากการกลัน่ นํา้ มันดิบอุณหภูมิ 175-275 องศาฯ โดยมีโครงสรางโมเลกุลในชวง C9 - C15 การผลิตนํา้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยาน สังเคราะหจงึ ตองใชเทคโนโลยีทสี่ ามารถผลิต สารประกอบไฮโดรคารบอนที่มีโครงสราง โมเลกุลเดียวกัน ปจจุบนั เทคโนโลยีในการผลิต นํา้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยานสังเคราะห ทีไ่ ดรบั การวิจยั และพัฒนาใหมคี วามกาวหนา ไดแก การสังเคราะหดว ยกระบวนการฟชเชอร-ทรอปซ โดยเรียกนํา้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยานสังเคราะหนี้ วา FT-SPK และการสังเคราะหดว ยกระบวนการ ไฮโดรโพรเซสซิ่ง ซึ่งเรียกนํ้ามันเชื้อเพลิง อากาศยานสังเคราะหนี้วา HEFA-SPK

นํ้ามันเชื้อเพลิงสังเคราะหโดยกระบวนการ ฟชเชอรทรอปซนี้ มีความบริสทุ ธิส์ งู ไมมกี าํ มะถัน หรือไนโตรเจน เจือปนเหมือนนํ้ามันเชื้อเพลิงอากาศยานเดิม และยัง ไมมสี ารอโรมาติกเจือปนดวย ขอดีคอื ทําใหการเผาไหม ของเครือ่ งยนตสะอาด ไมมเี ขมา รวมทัง้ ไมมมี ลพิษปลอย ออกมาอีกดวย สวนขอเสียคือถึงแมนํ้ามันเชื้อเพลิง อากาศยานสังเคราะหดวยวิธีนี้จะมีคุณสมบัติตรงตาม คุณลักษณะเฉพาะขออืน่ ๆ ทุกขอ แตคณ ุ สมบัตดิ า นความหนาแนนจะนอยกวานํา้ มันเชือ้ เพลิง อากาศยานแบบเดิม ขอเสียอีกประการคือนํ้ามันเชื้อเพลิงอากาศยานที่ไมมีสารอโรมาติก อาจทําใหสว นประกอบของทอทางทีเ่ ปนกลุม Elastomer เกิดการหดตัว ทําใหมนี าํ้ มันเชือ้ เพลิง รัว่ ไหลได แตปญ  หานีส้ ามารถแกไขไดโดยการปรับปรุงคุณภาพของทอทางเหลานัน้ ใหเหมาะสม กับการใชงานตอไป สวนขอเสียดานอืน่ สามารถแกไขไดโดยการผสมนํา้ มันเชือ้ เพลิงสังเคราะหนี้ กั บ นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง อากาศยานแบบเดิ ม จะทํ า ให นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง สั ง เคราะห ที่ ไ ด ใ หม ใ น อัตราสวนตางๆ เพื่อแกปญหาดังกลาว

สําหรับนํ้ามันเชื้อเพลิงสังเคราะหที่ไดจาก กระบวนการ ฟชเชอร-ทรอปซ คือนํ้ามัน เชือ้ เพลิงทีเ่ กิดจากการสังเคราะหทมี่ สี ารตัง้ ตน เปน คารบอนมอนนอกไซด (carbon monoxide) และ ไฮโดรเจน (hydrogen) และมี ตัวเรงปฏิกริ ยิ า (Catalyst) รวมดวย ผลผลิตทีไ่ ดเรียกวา กาซ สังเคราะห (Synthesis Gas) ซึง่ เปนสารไฮโดรคารบอนทีม่ โี มเลกุลขนาดใหญและสายยาวขึน้ โดยองคประกอบของกาซสังเคราะหที่ไดจะ แตกตางกันไปขึ้นอยูกับอัตราสวนระหวาง ไฮโดรเจน กับ คารบอนมอนนอกไซด ตัวเรง ปฏิกิริยา และสภาวะอื่น ๆ กาซสังเคราะหที่ ไดจะถูกนําไปปรับโครงสรางตอไป

สวนการสังเคราะหดว ยกระบวนการไฮโดรโพรเซสซิง่ เปนกระบวนการสังเคราะหนาํ้ มันเชิงเพลิง อากาศยานไดยใชนาํ้ มันจากพืชชนิดตาง ๆ ไดแกนาํ้ มันปาลม สบูด าํ และสาหราย โดยการกําจัด ออกซิเจนออกจากโมเลกุลกอนเขาสูกระบวนการไฮโดรโพรเซสซิ่งโดยใชตัวเรงปฏิบัติกิริยา อุณหภูมิ ความดันที่เหมาะสม เพื่อใหไดนํ้ามันเชื้อเพลิงสังเคราะหสําหรับอากาศยาน

“งานวิจัยในครั้งนี้ถือวาประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง เพราะสามารถผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิง สังเคราะหสาํ หรับอากาศยานไดจริง ถือวาเปนการลดปริมาณการสัง่ ซือ้ นํา้ มันดิบจากตางประเทศ ทั้งนี้หวังวาในอนาคตจะสามารถผลิตนํ้ามันเชื้อเพลิงสังเคราะหสําหรับอากาศยานไดพอดี กับปริมาณที่ตองการใชอีกดวย” นาวาอากาศโท อมรพงศ กลาวทิ้งทาย

37

Energy#64_p36-37_Pro3.indd 37

2/20/14 9:52 PM


Tools & Machine ณ อรัญ

Siemens Gas

Turbine

กังหันก๊าซส�าหรับอุตสาหกรรมรุ่น SGT-800 เทคโนโลยีกงั หันก๊าซหรือเครือ่ งก�าเนิดไฟฟ้านัน้ เป็นส่วนประกอบที่ ส�าคัญในการผลิตไฟฟ้าประเภทพลังงานความร้อนร่วม (combined cycle cogeneration plants-CCCP) โดยเทคโนโลยี กั ง หั น ก๊าซนัน้ มีหลายรุน่ ขึน้ อยูก่ บั ขนาดก�าลังการผลิตและความเหมาะสม ของโรงไฟฟ้านัน้ ๆ ในส่วนกังหันก๊าซของซีเมนส์สา� หรับอุตสาหกรรม รุ่น SGT-800 นั้นเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งของกังหันก๊าซส�าหรับผลิต กระแสไฟฟ้าเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าและประหยัด พลังงาน

นอกจากนี้กังหันก๊าซรุ่น SGT-800 ยังสามารถสร้างพลังงานได้จาก เชื้อเพลิง 2 ประเภท ทั้งเชื้อเพลิงจาก ก๊าซธรรมชาติ และน�้ามัน ดีเซล หรือเรียกว่า bi-fuel หลักการท�างาน คือ การอัดอากาศด้วย Compressor แล้วส่งไปยังห้องเผาไหม้ระบบ DLE (Dry Low Emission Combustion System) เพื่ อ ควบคุ ม การเผาไหม้ ใ ห้ ส มบู ร ณ์ เทคโนโลยี DLE ของ Siemens ท�าให้การเผาไหม้สมบูรณ์ ส่งผลให้ สามารถควบคุมมลภาวะให้อยู่ในเกณฑ์ต�่าที่ 43 ppm ต�่ า กว่า ค่ามาตรฐานกฎหมายก�าหนดที่ 60 ppm

เครื่ อ งกั ง หั น ก๊ า ซซี เ มนส์ รุ ่ น SGT-800 ถู ก ออกแบบให้ มี ความทนทานมีประสิทธิภาพและมีการปล่อยของเสียน้อยมาก เมื่อเทียบกับกังหันชนิดอื่น เนื่องจากกังหันก๊าซรุ่น SGT-800 เป็น นวั ต กรรมล่ า สุ ด ที่ ใช้ เ ทคโนโลยี ก ารเผาไหม้ แ บบ Dry Low Emissions (DLE) ท�าให้ลดการเกิดก๊าซไนโตรเจนได้อย่างมาก นอกจากนี้ เครื่องได้ถูกออกแบบให้ใช้งานง่าย มีประสิทธิภาพและ ความทนทานสูงมีความยืดหยุ่นในการจ่ายน�้ามัน จึงเหมาะกับ โรงงานอุตสาหกรรมหลายรูปแบบ เหมาะกับการจ่ายไฟในรูปแบบ การผลิตไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม (co-generation) และการผลิต ไฟฟ้าแบบ simple cycle ขนาดก�าลังการผลิต 110-130 เมกะวัตต์

ส่วนความร้อนจากห้องเผาไหม้รวมกับแรงอัดอากาศจาก compressor จะท�าให้ Gas Turbine Blade หมุนเพลาเครื่องปั่นไฟ (Generator) ด้วยความเร็วสูง เกิดการสร้างพลังงานและกระแสไฟฟ้ามาเข้าระบบ จากนัน้ ก๊าซร้อนจาก Gas Turbine จะถูกปล่อยออกมายังระบบอย่าง ต่อเนื่อง ก๊าซร้อนจากการเผาไหม้สูงมากกว่า 500 องศาเซลเซียส สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ตอ่ ได้ โดยการออกแบบระบบต่อเนือ่ งใน การน�าอากาศร้อนทีเ่ หลือจาก Siemens Gas Turbine SGT-800 ไป ผ่านระบบ Heat Recovery Steam Generator (HRSG) เพื่อผลิต ไอน�้าเพื่อน�าไปใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมต่อไป

กังหันรุน่ SGT- 800 ยังถูกปรับปรุงและอัพเกรดให้มกี า� ลังไฟฟ้าเพิม่ อีก 3 เมกะวัตต์ เป็น 50.5 เมกะวัตต์ โดยการเพิม่ ก�าลังเครือ่ งอัดอากาศ (compressor) กังหันแบบอากาศพลศาสตร์ (aerodynamics) และ ปรับต�าแหน่งการวางเครือ่ งท�าความเย็น (cooling air layout) ช่วยให้ สามารถผลิตก�าลังไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และลดการสิน้ เปลือง พลังงานเป็นอย่างดี จึงท�าให้ลดต้นทุนต่อกิโลวัตต์–ชั่วโมงได้

38

Energy#64_p38_imac2.indd 38

2/17/2557 BE 10:17 PM


39

Energy#64_p39_Pro3.indd 31

2/26/14 6:31 PM


EEnergy nergy Tips Ti p s เด็ดก็ เนิ เเด เนนริ ์ด

แนะเคล็ดลับใช แอร ใหประหยัดพลังงาน

วิธีงาย ๆ ชวย ลดโลกรอน หลายทานบนวา ติดแอรแลวคาไฟขึ้น วันนี้มีวิธีงาย ๆ ในการใช เครื่องปรับอากาศใหประหยัดพลังงานมาฝากกัน เพียงแค ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใชแอร ดังตอไปนี้

1 ติดตัง้ ในทีเ่ หมาะสม คือ ตองสูงจากพืน ้ พอ

สมควร สามารถเปด-ปดปุม ตางๆ ไดสะดวก และเพื่อใหความเย็นเปาออกจากเครื่อง หมุนเวียนภายในหองอยางทัว่ ถึง

2 อยาใหความเย็นรัว่ ไหล ควรปดประตูหรือ

หนาตางหองใหมดิ ชิด

3 ปรับปุมตางๆ ใหเหมาะสม เมื่อเริ่มเปด

เครือ่ งควรตัง้ ความเร็วพัดลมไปทีต่ าํ แหนง สูงสุด เมื่อความเย็นพอเหมาะแลวใหตั้ง ไปที่อุณหภูมิ 26 องศาเซลเซียส

4 หมั่ น ทํ า ความสะอาดแผ น กรองอากาศ

อุปกรณในระบบปรับอากาศและตะแกรง รวมทัง้ ชุดคอมเดนเซอร เพือ่ ใหอากาศผาน เข า ออกได ส ะดวกจะช ว ยประหยั ด ไฟ โดยตรง

5 ใชพดั ลมระบายอากาศเทาทีจ่ าํ เปน 6 ควรปดเครื่องปรับอากาศเมื่อไมมีความ

จําเปนตองใช

7

ในฤดูหนาวขณะที่อากาศไมรอนมากเกินไป ไมควรเปดเครื่องปรับอากาศ

8

หมั่นตรวจสอบ ลางทําความสะอาดตามระยะเวลาที่ผูผลิตกําหนด

9

หนาตางหรือบานกระจกควรปองกันรังสีความรอนที่จะเขามา อาทิ • ใชอุปกรณบังแดดภายนอกไมใหกระจกถูกแสงแดด เชน ผาใบ หรือแผงบังแดด หรือ รมเงาจากตนไม • ใชกระจกติดฟลมที่สะทอนรังสีความรอน • ใชอุปกรณบังแดดภายใน เชน ผามาน มูลี่ (กระจกดานทิศใตใหใชใบอยูในแนวนอน กระจกทิศตะวันออก-ตกใหใชใบที่อยูในแนวดิ่ง)

10 ผนังหรือเพดานโดยเฉพาะอยางยิ่งดานที่มีแสงแดดสองจะเก็บความรอนไวมาก ทําให

มีการสูญเสียพลังงานมาก จึงควรปองกันดังนี้ • บุดวยฉนวนกันความรอนหรือแผนฟลมอะลูมิเนียมสะทอนรังสีความรอน • ทําที่บังแดดหรือหลังคาหรือปลูกตนไมดานนอก

11 อยาใชเครื่องใชไฟฟาที่ใหความรอนในหองที่มีเครื่องปรับอากาศ ไฟสองสวางก็เปน

ตัวใหความรอน จึงควรปดไฟเมื่อไมมีความจําเปน

12 ชุดคอนเดนเซอรที่ใชระบายความรอนสูภายนอก

• ควรถูกแสงแดดใหนอยที่สุด • ขจัดสิ่งกีดขวางทางลมใหระบายอากาศไดสะดวก • อยาติดตั้งใหปะทะกับลมธรรมชาติโดยตรง ขอมูลจาก http://www.chiangmaiaircare.com

40

Energy#64_p40-41_Pro3.indd 40

2/20/14 10:00 PM


โทรทัศน

เลือกใช อยางถูกวิธแี ละประหยัดพลังงาน ใครที่กําลังมองหาโทรทัศนใหม เรามีขอคิดดี ๆ ในการเลือก ใชโทรทัศนใหประหยัดพลังงานมาแนะนํา...

ป จ จุ บั น โทรทั ศ น สี ส ามารถแบ ง ออกได ห ลายประเภท ตั ว อย า งเช น โทรทัศนสีทั่วไป โทรทัศนสีที่ใชรีโมทคอนโทรล โทรทัศนสีที่มีจอภาพ แบบโคง และแบบจอแบน นอกจากนี้ โทรทัศนสียังมีขนาดที่แตกตางกันไป ตั้งแตขนาดเล็กสําหรับ หิ้วไดสะดวก หรือขนาด 14 นิ้ว และ 20 นิ้ว เปนตน ตลอดจนขนาดใหญ มากๆ หรือที่บางคนนิยมเรียกวา Home Theater ซึ่งจะมีราคาสูงมาก สํ า หรั บ การเลื อ กใช โ ทรทั ศ น อ ย า ง ถู ก วิ ธี แ ละประหยั ด พลั ง งาน ควร พิจารณาจากปจจัย ดังตอไปนี้

1. การเลือกใชโทรทัศนควรคํานึงถึงความตองการใชงาน โดย พิจารณาจากขนาดและการใชกําลังไฟฟา ซึ่งโทรทัศนสีที่มีขนาด แตกตางกัน ระบบแตกตางกัน ก็จะใชกําลังไฟฟาแตกตางกัน ดวย เชน

- ระบบทั่วไป ขนาด 16 นิ้ว จะเสียคาไฟฟามากกวา ขนาด 14 นิ้ว รอยละ 14 หรือ ขนาด 20 นิ้ว จะเสียคาไฟฟา มากกวา ขนาด 14 นิ้ว รอยละ 30 - ระบบรีโมทคอนโทรล 16 นิ้ว จะเสียคาไฟฟามากกวา ขนาด 14 นิ้ว รอยละ 5 หรือ ขนาด 20 นิ้ว จะเสียคาไฟฟา มากกวา ขนาด 14 นิ้ว รอยละ 34 - ระบบรีโมทคอนโทรล 16 นิ้ว จะเสียคาไฟฟามากกวา ระบบธรรมดา รอยละ 5 - ระบบรีโมทคอนโทรล 20 นิ้ว จะเสียคาไฟฟามากกวา ระบบธรรมดา รอยละ 18 2. ไมควรเสียบปลั๊กทิ้งไว เพราะโทรทัศนจะมีไฟฟาหลอเลี้ยง ระบบภายในอยูตลอดเวลา ทําใหสิ้นเปลืองไฟฟาได นอกจากนั้น อาจกอใหเกิดอันตรายในขณะเกิดฟาแลบได 3. ปดเมื่อไมมีคนดู หรือผูที่ชอบหลับหนาโทรทัศนบอยๆ ควร ใชโทรทัศนรุนที่ตั้งเวลาปดโดยอัตโนมัติ เพื่อชวยประหยัดไฟฟา 4. ไมควรเสียบปลั๊กเครื่องเลนวิดีโอในขณะที่ยังไมตองการใช เพราะจะมีไฟฟาหลอเลี้ยงระบบอยูตลอดเวลา จึงเสียคาไฟฟา โดยไมจําเปน 5. ครอบครัวเดียวกัน ไมควรเปดโทรทัศนรายการเดียวกัน ใน เวลาเดียวกัน คนละเครื่องหรือคนละหอง ควรดูเครื่องเดียวกัน เพื่อชวยประหยัดไฟฟา 41

Energy#64_p40-41_Pro3.indd 41

2/20/14 10:00 PM


How To Rainbow

อากาศช่วงนี้ชักเริ่มจะร้อนแล้ว วันหยุดผู้อ่านคงไม่อยากจะออกไปไหน อยากจะนั่งเล่นสบาย ๆ ชิล ๆ ภายในบริเวณบ้านก็ยังไม่ เจอชิงช้าที่ถูกใจไม่เจอ วันนี้ทาง how to เลยจัดไอเดียเจ๋ง ๆ มาฝากผู้อ่าน ที่สามารถให้สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการ ท�าได้ด้วย โดยน�าเอาเศษไม้มาท�าเป็นชิงช้า และนอกจากจะได้ชิงช้าตัวใหม่แล้วยังเพิ่มความสามัคคีในบ้านได้อีกด้วย

เปลี่ยนเศษไม้ให้เป็นชิงช้า ก่อนอื่นเรามาเตรียมอุปกรณ์กันก่อนค่ะ 1. สว่าน เลื่อย ไฟแช็ก 2. ถุงมือ หน้ากาก ปากกา เชือก สายวัด 3. เศษไม้

วิธีท�า

- ผู้อ่านสามารถเลือกลายไม้ได้ตามใจชอบ ส�าหรับความกว้างของไม้ขึ้นอยู่กับผู้นั่งเป็นหลัก ควร เลือกให้มขี นาดทีพ่ อเหมาะกับการใช้งาน หากได้ขนาดที่ เหมาะสมแล้ว ท�าการตัดไม้ มาร์คจุดไว้เป็นการก�าหนด ขนาด เสร็จแล้วลงมือเลื่อยไม้ได้เลย - พอได้ขนาดไม้ที่ต้องการ ท�าเครื่องหมายวัด ขนาดต�าแหน่ง เพื่อเตรียมไว้ส�าหรับร้อยเชือก การวัด ขนาด ต้องให้เกิดความสมดุลต่อกัน โดยอาจก�าหนด ระยะห่างแต่ละจุด ขนาด 2 นิว้ และเจาะรู ขนาด 1/2 นิว้ เพื่อรองรับกับขนาดเชือก ทั้งนี้ ขนาดระยะห่าง อาจ เลือกตามเหมาะสมก็ได้เช่นกัน - ใช้สว่านเจาะตามรอยทีไ่ ด้ทา� สัญลักษณ์ไว้ ใน ส่วนของขนาดรูเจาะ ควรให้มีขนาดใหญ่กว่าเชือกเล็ก น้อย เพื่อให้ง่ายต่อการร้อยเชือก - ร้อยเชือกไขว้เป็นตัว X ในรูปแบบคล้ายๆ กับ การร้อยเชือกรองเท้าผ้าใบ เริ่มจากการน�าไฟแช็คมารน ทีป่ ลายเชือก เพือ่ ให้มลี กั ษณะทีแ่ หลมง่ายต่อการสอดใส่ จากนั้นท�าการร้อยไปทีละแผ่นให้เชื่อมเป็นสะพานต่อ กัน สังเกตุได้ว่า หากต้องการให้แผ่นกระดานโค้งก็ขึ้น อยู่กับความยืดหยุ่นของขั้นตอนการร้อยเชือกเช่นกัน ซึ่งขั้นตอนนี้ เป็นส่วนส�าคัญที่จะท�าให้ชิงช้าไม้ของเรา น่านั่งหรือไม่ - ขัน้ ตอนสุดท้าย หาทีแ่ ขวนและเตรียมเล่นให้ สนุก พยายามหาท�าเลสวยๆ อาจเป็นระหว่างต้นไม้สองต้น ใต้ต้นไม้ใหญ่ ใต้ถุนบ้าน ริมระเบียงชายคาบ้าน หรือ ท�าเลใดก็ตามที่เหมาะสม เราจะต้องท�าการแขวนส่วน บนก่อน และร้อยเชือกส่วนฐานนัง่ เพือ่ ให้มลี กั ษณะโค้ง เหมาะส�าหรับการนัง่ ได้ ขัน้ ตอนนีเ้ ราต้องมัน่ ใจในความ แข็งแรง เพราะการเล่นชิงช้าอาจก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ไม่ ควรแขวนไว้ในสถานที่ที่มีของกีดขวาง ควรไว้ในที่โล่ง และไม่แขวนให้สูงเกินไป เพียงเท่านี้ผู้อ่านก็จะนั่งชิลๆ สบายๆ รับลมเย็นๆ ในวันหยุดได้แล้วค่ะ 42

Energy#64_p42-43_imac2.indd 42

(ขอบคุณข้อมูลจาก บ้านไอเดียดอทคอม)

2/17/2557 BE 10:01 PM


การที่จะเลือกหาซื้อเฟอรนิเจอรสําหรับไววางของภายในบานสักชิ้น กวาจะหาที่ถูกใจก็ใชเวลานานพอสมควร แตถาเจอที่ ถูกใจราคาก็สูงเหลือเกิน เห็นแบบนี้ทาง How to เลยลองหยิบเอายางรถยนตเกา ๆ มาลองทําเปนที่วางของสไตลเก ๆ รับรองวาแปลก แถมไมซํ้าใครอีกดวย วาง ๆ ลองทํากันดูนะคะ

ที่วางของจาก เตรียมอุปกรณกันกอนคะ

ยางรถยนต

1. ยางรถยนต 2. สีสเปรย 3. ลอเกาอี้ 4. กระจกหรือพลาสติก 5. ทีเ่ จาะรู 6. สวาน

วิธีทํา

- เมื่อไดลางรถยนตมาแลว เราจะตองลงมือลาง และขัด ทําความสะอาดยางรถยนตเสียกอน - ลางเสร็จนําไปตากแดดใหแหง แลวนํามาพนสี เลือกสีสดๆ หรือจะเปนสีที่เขากับเฟอรนิเจอรในบานก็ได - รอสีแหง แลวจึงนําพลาสติกมาเจาะรู หรืออาจจะไมเจาะ ก็ได มาทําเปนฝาปดเพือ่ เปนฝาครอบดานลาง และดานบนยางรถยนต พรอมทั้งติดลอดานลาง เพี ย งเท า นี้ เราก็ จ ะได ที่ ว างของสวยๆ ตามสไตล เราแล ว สามารถนําไปวางของโชว หรือเปนโตะเล็กๆ ประดับบานก็ไดเชนกัน (ขอบคุณขอมูลจาก http://p-dit.com)

43

Energy#64_p42-43_imac2.indd 43

2/17/2557 BE 10:01 PM


Eco shop อภัสรา วัลลิภผล

Mazmoizelle ¡Ñº ¡ÃÐ້ÒäÁŒ¡ Í¡ ·¹ ¡Ñ¹¹้Ó à»š¹ÁÔμáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ เมื่อพูดถึง “ไมกอก” ทุกคนจะตองคิดถึงจุกไวนกันอยางแนนอน แตจริง ๆ แลว ไมกอ กสามารถนํามาใชประโยชนอยางอืน่ ไดดว ย อยางเชน “คุณสุภาวดี คําแกว” นักดีไซเนอรไทยเจาของแบรนด Mazmoizelle ไดเล็งเห็นประโยชนจากไมกอก ที่นอกจากจะมาทําจุกไวนแลว ยังสามารถนํามาทําของใชอยางอื่นไดอีกดวย อยางเชน กระเปาไมกอก

กอน จะมาเปนจับธุรกิจเปนเจาของแบรนด

เองอยางทุกวันนี้ คุณสุภาวดีเลาใหฟงวา กอนทีจ่ ะทํากระเปาไมกอ กขายเองนัน้ เคยเปน ดีไซเนอรใหบริษทั แหงหนึง่ มากอน แตทาํ ไป ไดสกั พักคิดวาอยากจะมีธรุ กิจเปนของตัวเอง เลยออกจากการเปนดีไซนเนอรประจําบริษทั และกวาจะมาจับธุรกิจกระเปาอยางจริงจัง เคย ลองขายเสื้อผามากอน แตดวยความที่ชอบ งานออกแบบ จึงมองหาสิง่ อืน่ ๆ ทีส่ ามารถใส ความคิดของเราเองได พอเราคิดวาจะมาทํากระเปาตอนแรก เริม่ จาก ทํากระเปาผากอน แตทําไปทํามาเริ่มมีคน ทํากันมากขึน้ เลยคิดวาเรานาจะหาอะไรทีม่ นั แตกตางจากคนอื่น พอดีไ ดไปเจอกับไมกอ ก จุดนี้แหละ ทําใหเราสนใจคิดที่จะหยิบเอา ไมกอกมาทํากระเปา เหตุผลที่สนใจไมกอก เพราะตัวไมกอ กเองมีลอดลายทีเ่ ปนเอกลักษณ เฉพาะตัว สวย มีความคงทน ตอนแรกลองซือ้ มาศึกษาขอมูลดูกอ น ทัง้ ลองแชนาํ้ ลองขยําขยี้ จนพบวา ผาไมกอกนี้มีความทนทาน กันนํ้า

จึงนําเขาโรงงาน เพือ่ ลองทํากระเปาทุกแบบที่ แบรนดตนเองเคยทําขาย เพือ่ นํามาเปนตนแบบ และจนในทีส่ ดุ เราก็สามารถทําขายสูต ลาดได กวาจะมาเปนที่นิยมอยางในปจจุบันนั้นใน ชวงแรกยากมาก เพราะไมกอ กเปนวัสดุใหมที่ ยังไมเคยมีมากอน การรับรูข องคนมองไมกอ ก วา ไมทน โดนนํ้าไมได เราจึงตองสรางการ รับรูใ หม นอกจากการจะใหขอ มูล ณ จุดขาย แลวเราไดเลือกใชสื่อชวยดวย สําหรับจุดเดนของกระเปาไมกอก นอกจาก จะมีความคงทนแลว ยังเปนของใชทเี่ ปนมิตร กับสิง่ แวดลอม เพราะเมือ่ หมดอายุการใชงาน กระเปาไมกอ กก็สามารถยอยสลายไดเองตาม ธรรมชาติ สวนการใชผาไมกอกของเรามีผา ไมกอ ก 2 แบบ คือ แบบดัง้ เดิม และแบบทีด่ ไี ซน สีเพิ่มใหไดแบบและสีที่สดใสดู ทั น สมั ย ขึ้ น การออกแบบก็เปนอีกหนึง่ ความโดดเดนทีเ่ รา นําไอเดียมาจากไลฟสไตลของคน ดังนัน้ กระเปา แตละแบบที่คิดออกมาจะมีขนาดที่เหมาะ

กับสิง่ ของที่ คนในบริบท ป จ จุ บั น ใช เชน กระเปาใสแทปเล็ต 7 นิ้ว 10 นิ้ว หรือ โนตบุค 13 นิ้ว รวมไปถึงกระเปาใสนามบัตร ตางๆ อีกดวย ปจจุบัน Mazmoizelle มีผลิตภัณฑจากผา ไมกอกมากกวา 60 แบบ ทั้งกระเปาสะพาย กระเปาสตางค กระเปาใสนามบัตร ปกพาสปอรต เคสมือถือ และอื่นๆ ซึ่งกลุมลูกคาหลัก คือ วั ย รุ  น และคนที่ มี ไ ลฟ ส ไตล ไ ม เ หมื อ นใคร ชืน่ ชอบความแตกตาง มีเอกลักษณ โดย 50% เปนชาวไทย อีก 50% ทีเ่ หลือเปนชาวตางชาติ ผูท สี่ นใจสามารถไปดูสนิ คาไดที่ ราน Loft สยามดิสคัฟเวอรี,่ เจเจมอลล โครงการ 3 ซอย 43/1 และเอเชียทีค โกดัง 1 ตรอก 2 หรือสามารถเขาไปดูสินคาไดที่ www. facebook/Mazmoizelleshop ไดคะ

44

Energy#64_p44_Pro3.indd 44

2/19/14 8:39 PM


Energy#64_p45_Pro3.ai

1

2/22/14

1:12 PM

73


Exclusive อภัสรา วัลลิภผล

ITC สรางอาคารตนแบบ Cooling Batt ลดภาวะโลกรอน เนนการประหยัดพลังงาน ก ลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. ผู  นํ า ด า นเทคโนโลยี ร ะบบทํ า

ความเย็นถนอมอาหาร สราง อาคาร Cooling Batt เพื่อ เปน อาคารตนแบบ สามารถกักเกบ็ คาร บ อนไดออกไซด ไม ใ ห ปล อ ยออกสู  ชั้ น บรรยากาศ ได โดยนํามาเปนสารทําความ เยน็ ซึง่ มีราคาถูกกวาและไดผล ไม ต  า งจากสารฟรี อ อนที่ ใ ช อยูในระบบปรับอากาศ สาร ฟรีออน เชน CFC ก็เปน ตั ว ทํ า ล า ย O 3 บ น ชั้ น บรรยากาศโอโซน ทําใหรังสี อัลตราไวโอเลตและอินฟาเรด สองผานลงมายังพื้นโลกมาก ขึ้น ในขณะเดียวกันกาซเหลานี้ ก็ กั น รั ง สี ไ ม ใ ห อ อกไปจาก บรรยากาศโลกจึ ง ทํ า ให เ ป น อีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิดภาวะ โลกรอนขึ้น

46

Energy#64_p46-49_Pro3.indd 46

2/19/14 8:48 PM


วิ ศ วกรไทยเจ า ของรางวั ล ระดั บ โลก นํ า โดย ดร.อภิชติ ลํา้ เลิศพงศพนา และ คุณอภิชยั ลํา้ เลิศ พงศพนา สองผูบริหารกลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. ผูนําด านเทคโนโลยีระบบทําความเย็นถนอม อาหาร ซึ่ ง ได รั บ การยอมรั บ ในผลงานการ คิดคนและออกแบบระบบทําความเย็นในเวทีระดับ นานาชาติ อีกทั้งยังเปนเจาของรางวัลชนะเลิศ “เทคโนโลยี อ ะวอร ด ” หมวดอุ ต สาหกรรม และกระบวนการผลิ ต จากสมาคมแอชเร ย  (ASHRAE) สหรัฐอเมริกา ในป 2552 จากสมาคม ทางวิชาการดานวิศวกรรมการปรับอากาศและ ทําความเย็นระดับโลก นอกจากนี้ยังไดรับการ คัดเลือกจากคณะกรรมการเอกลักษณของชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี เขารับพระราชทานรางวัล เกี ย รติ คุ ณ ในฐานะหน ว ยงานดี เ ด น ของชาติ สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในป 2551 จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม ราชกุมารี คุณอภิชัย ลํ้าเลิศพงศพนา กรรมการบริหาร กลุม บริษทั ไอ.ที.ซี. เผยวา “Cooling Batt by ITC เปนนิยามที่ ใชเรียกอาคารสํานักงานแหงใหม ของกลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. เปรียบเสมือน “อาคาร ที่ มี แ บตเตอรี่ กั ก เก็ บ ความเย็ น หรื อ ถั ง กั ก เก็ บ ความเย็ น” ซึ่ ง อาคาร Cooling Batt เป น อาคารหนึ่งเดียวในโลกที่มีความพิเศษเฉพาะตัว ระบบทําความเย็นของอาคาร Cooling Batt มี การทํ า งานพื้ น ฐานไม ต  า งจากระบบทํ า ความ เย็นปรับอากาศทั่วไปที่ ใชฟรีออนเปนสารทํา ความเย็ น บริ ษั ท เรานํ า คารบ อนไดออกไซด CO2 มาใชกระบวนการกักเก็บไวใน Cooling Batt เปนสารทําความเย็นใหแกนํ้า สะสมความเย็น เปลี่ยนนํ้าใหเปนนํ้าแข็งดวยพลังงานไฟฟาใน ชวงเวลากลางคืนที่อัตราคาไฟฟาราคาถูก ซึ่ง การสะสมความเย็นในรูปของนํ้าแข็งนั้นจะเพียง พอกับการปรับอากาศชวงเวลากลางวัน เมื่อ ตอ งการทํ า ความเย็ น ระบบปรับ อากาศจะปม

หมุนเวียนนํ้าเขา-ออก Cooling Batt ละลายนํ้า แข็ ง เป น นํ้ า เย็ น ไปแจกจ า ยความเย็ น ตาม จุดตาง ๆ ภายในอาคาร เพราะเราตองการสราง อาคาร Cooling Batt เปนอาคารตนแบบ เพือ่ ตอบ โจทยสังคมวา “แทจริงแลวเราสามารถกักเก็บ คารบอนไดออกไซดไมใหปลอยออกสูบ รรยากาศ ได โดยนํามาเปนสารทําความเย็นในระบบปด” CO2 มีราคาถูกกวาสารฟรีออน แตใหประสิทธิภาพ การทําความเย็นไมแตกตางจากสารอื่น ๆ ที่ใช อยูในระบบปรับอากาศทั่วไป ดาน ดร.อภิชติ ลํา้ เลิศพงศพนา กรรมการผูจ ดั การ กลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. กลาวเพิ่มเติมวา นอกจาก การตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม รวมทั้ ง ลดการใช พ ลั ง งานไฟฟ า จากระบบ ปรับอากาศดังกลาวแลว อาคารนี้ยังคํานึงถึง การใชแสงอาทิตยจากภายนอกมาใชสองสวาง ภายในอาคาร โดยพื้นที่ติดตั้ง Cooling Batt บริเวณสวนกลางอาคารถูกออกแบบเปนชองโลง ชวยใหความสวางสองเขาภายในอาคารไดอยาง ทั่ ว ถึ ง ลดการใชห ลอดไฟสอ งสว า งภายใน บริเวณอาคารสวนสํานักงานทั้งหมด อาคาร Cooling Batt จึงเปนตัวอยางการบริหารจัดการ พลังงานของกลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. ที่นอกจาก ช ว ยประหยั ด ค า ไฟแล ว ยั ง ไม ส  ง ผลเสี ย ต อ สิ่งแวดลอม แถมยังเปนการลดภาวะโลกรอน และเปนอาคารตนแบบที่มีสวนชวยใหการผลิต พลังงานไฟฟาของประเทศเปนไปอยางเหมาะสม มีพลังงานไฟฟาสํารองอยางเพียงพอ โดยไม ตองเพิ่มกําลังการผลิตไฟฟาโดยไมจําเปน ซึ่ง

ประโยชนที่ไดรับจากการบริหารจัดการพลังงาน ของอาคาร Cooling Batt ใหคุณประโยชนกับ ทุกภาคสวนในสังคม ใกลตวั ทีส่ ดุ สงผลดีทางตรง ตอผูใชอาคารสามารถคืนทุนไดภายในระยะสั้น 4 ถึง 5 ป นอกจากนี้ Cooling Batt ไมเพียงแตชว ยใหการใช พลังงานไฟฟาลดลง แตยงั สนับสนุนใหนาํ พลังนํา้ มาใชผลิตกระแสไฟฟาใหมากที่สุด เพราะ พลังนํ้าเปนพลังงานสะอาดไมสงผลกระทบตอ สิ่ ง แวดล อ ม ช ว ยให ป ระเทศได ผ ลดี ใ นเรื่ อ ง คารบอนเครดิตตามมา ดวยกําลังผลิตพลังงาน ไฟฟาจากพลังนํ้าซึ่งมีอยูถึง 3,400 เมกะวัตต สามารถใชปรับอากาศในอาคาร Cooling Batt ไดถึง 22,667 อาคาร โดยใชพลังงานไฟฟาทั้ง หมดวันละ 23.8 ลานหนวย (kW.h) เทียบเทา ปริมาณกาซธรรมชาติถึง 218 ลานลูกบาศกฟุต คิดเปนมูลคา 61.9 ลานบาทตอวันเลยทีเดียว ถาคิด 22 วันทํางานก็จะคิดเปนคากาซธรรมชาติ ถึง 1,346 ลานบาทตอเดือน นี่คือสวนตางที่เรา สามารถชวยประเทศลดใชพลังงานลงได นีเ่ ปนแรงจูงใจสําคัญอีกประการหนึง่ ทีท่ าํ ใหกลุม บริษทั ไอ.ที.ซี. ไดออกแบบอาคารสํานักงานใหม ใหใชระบบ Cooling Batt ในการปรับอากาศ ภายในสํานักงาน เพื่อใหเปนระบบสาธิตสําหรับ ผูที่สนใจ โดยไมละเลยที่จะใหความสําคัญกับ การอนุรักษสิ่งแวดลอม ซึ่งตอนนี้ออฟฟศของ กลุมบริษัท ไอ.ที.ซี. เปนอาคารเดียวในโลกที่ ใชระบบนี้ 47

Energy#64_p46-49_Pro3.indd 47

2/19/14 8:48 PM


Exclusive นัษรุต เถื่อนทองคํา

48

Energy#64_p46-49_Pro3.indd 48

2/19/14 8:48 PM


Thailand Energy Awards เพาะจิตสํานึกอนุรักษพลังงาน ปจจุบัน... ทุกภาคสวนไดหันมาใหความสําคัญดาน พลังงานมากยิ่งขึ้น จากการประชาสัมพันธของหนวยงาน ที่เกี่ยวของ ถึงประโยชนที่จะไดรับ ซึ่งเห็นผลจริงโดย เฉพาะคาของการประหยัดพลังงานและเม็ดเงินที่สามารถ ลดลงอยางเห็นไดชัด ซึ่งประโยชนที่ไดรับไมไดตกอยูที่ใคร แตตกอยูก บั ผูป ระกอบการเองทีส่ ามารถลดตนทุนตาง ๆ ได และยังนําประโยชนมาตอยอดใหผ  ปู ระกอบการรายอืน่ ในการ เปนตนแบบดานการลดการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ นํามาสูรางวัลอันทรงเกียรติดานพลังงานกับ Thailand Energy Awards Thailand Energy Awards เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อป 2543 โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน เปนรางวัลและ เวทีระดับชาติเพื่อสรางความตื่นตัวดานการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับหนวยงาน ทุกภาคสวนทีม่ คี วามเกีย่ วโยงกับการใชพลังงาน โดยยึดหลักเกณฑประกวดชิงรางวัลอยางเขมขน จนยากทีจ่ ะสามารถควารางวัลนีม้ าไดงา ย ๆ หาก ไมมศี กั ยภาพดานการลดใชพลังงาน หรือตอยอด ตอไปในอนาคต นายประมวล จั น ทร พ งษ อธิ บ ดี กรมพั ฒ นา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) เลาถึงการสานตอโครงการประกวด Thailand Energy Awards 2014 วา ปนี้เกณฑการตัดสิน จะเขมขนกวาทีผ่ า นมา เพือ่ สรางบรรทัดฐานดาน การอนุรกั ษพลังงานและสงเสริมพลังงานทดแทน ใหภาคเอกชนไทย กอนกาวสูประชาคมอาเซียน Asean Economics Community : AEC ในปหนา โดยยังคงไดรับความสนใจจากผูประกอบการ ตอบรับเขารวมประกวดเปนจํานวนมาก รวมถึง ผูประกอบการที่ไดรับรางวัลในป 2013 ที่ผานมา ดวย

Energy#64_p46-49_Pro3.indd 49

ความสําคัญของงาน Thailand Energy Awards หลังจากทีไ่ ดรเิ ริม่ และดําเนินการมาอยางตอเนือ่ ง แสดงใหเห็นวาทุกภาคสวนของสังคมมีความ เขาใจและเกิดความตื่นตัวในเรื่องการอนุรักษ พลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทนมาก ยิง่ ขึน้ และเกิดผลอยางเปนรูปธรรม ซึง่ ตลอด ระยะเวลา 14 ปทผี่ า นมา มีผสู นใจสงผลงานเขา ประกวดมากถึง 1,827 โครงการ และมีผูควา รางวัลไปแลวทั้งสิ้น 540 รางวัล โดยผูที่ไดรับ รางวัลเหลานี้ ยังไดสรางชื่อเสียงตอดวยการ ควารางวัล การประกวดในระดับอาเซียน (ASEAN ENERGY AWARDS) มาแลวมากถึง 99 รางวัล สําหรับหลักเกณฑและการตัดสินรางวัล Thailand Energy Awards ในปนี้ ไดเพิ่มมาตรฐานการ ตัดสินใหมีศักยภาพมากขึ้น โดยเชิญผูทรง คุณวุฒิจากหนวยงาน สมาคม องคกรตางๆ ทัง้ สิน้ 8 คณะ และมาจากหนวยงานชัน้ นํามากกวา 40 แหงรวมตัดสิน จึงมัน่ ใจไดวา ผูท ี่ไดรบั รางวัล ในปนี้ จะเปนหนวยงานทีม่ ผี ลสัมฤทธิท์ งั้ ในดาน การอนุรักษพลังงานและการสงเสริมพลังงาน ทดแทน โดยหลักเกณฑการประกวดปนแี้ บงเปน 5 ดาน ไดแก ดานพลังงานทดแทน, ดานอนุรกั ษ พลังงาน, ดานบุคลากรพลังงาน, ดานพลังงาน สร า งสรรค และดา นผู  ส  ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พลังงานและพลังงานทดแทน

ทัง้ นี้ Thailand Energy Awards 2014 ถือเปนเวที สําคัญระดับชาติทจี่ ะสรางความตืน่ ตัวดานการใช พลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะเปนเวทีที่สง สัญญาณถึงความรวมมือจากผูป ระกอบการทุกแหง ทีเ่ ขารวมประกวด ใหไดแสดงออกถึงความตัง้ ใจ ที่จะรวมมือกับภาครัฐในการลดใชพลังงาน ซึ่ง นอกจากรางวัลที่มอบใหเพื่อเปนแรงจูงใจแลว ยังถือเปนสงเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน อยางจริงจัง โดยเปนแบบอยางที่ดีขององคกร ภาคธุรกิจใหความรับผิดชอบตอสังคมในการลด การใช พ ลั ง งานช ว ยลดป ญ หาผลกระทบต อ สิง่ แวดลอม รวมไปถึงปญหาจากวิกฤติภาวะโลก รอนในอนาคตอีกดวย ตลอดระยะเวลาที่ผานมาของโครงการ คิดเปน มูลคาผลประหยัดพลังงานไดมากกวา 2,000 (2,022) ลานบาทตอป สามารถชวยลดกาซคารบอน ไดออกไซดใหกับโลกไดถึง 395,000 ตันตอป เลยทีเดียว

49

2/19/14 8:48 PM


Exclusive ณ อรัญ

ปจจุบนั คนสวนใหญจะคํานึงถึง การประหยัดพลังงาน ดวยหลักการ งาย ๆ คือ การปดไฟ ปรับแอร ปลดปลั๊ก หรือมีการเปลี่ยนมาใช เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง เบอร 5 อยางเชน เครือ่ งปรับอากาศ และหลอดไฟ และเพื่อตอบสนอง การประหยัดพลังงานของทุกภาค ส ว น หลายองค ก รไม ว  า จะเป น หน ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนได จั ด ง า น แ ส ด ง สิ น ค  า เ กี่ ย ว กั บ เทคโนโลยี ป ระหยั ด พลั ง งานเพื่ อ รองรั บ เทรนด ก ารประหยั ด พลั ง งานที่ กํ า ลั ง ไดรั บ ความนิ ย ม ในปจจุบัน

50

Energy#64_p16-51_Pro3.indd 50

2/22/14 9:32 PM


เจาะแนวคิด “ปณิธาน บําราศอรินทรพาย” กับ EcoLightTech Asia 2014 กับงาน EcoLightTech Asia 2014 เปนอีก งานหนึ่งที่จัดแสดงสุดยอดนวัตกรรมประหยัด พลังงานดานแสงสวางเพื่อผูประกอบการแหง แรกในอาเซียน ตอบรับแผนอนุรักษพลังงาน เสริ ม ทั พ เศรษฐกิ จ ไทยในอนาคต รุ ก สร า ง ผูประกอบการไทย ภายใตแนวคิด “ประหยัด พลังงานและรักษโลก” พรอมดันไทยเปนฮับแหง เอเชี ย ค า นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ป ระหยั ด พลังงาน ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้เปนอยางไรนั้น เราไปคุยกับ คุณปณิธาน บําราศอรินทรพาย ผูชวยกรรมการผูจัดการสายงานจัดการประชุม บริษทั เอ็น.ซี.ซี. แมนเนจเมนท แอนด ดิเวลลอปเมนท จํากัด และรักษาการผูจ ดั การทัว่ ไป บริษทั เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร จํากัด (นีโอ) กันครับ หากพูดถึงงานอีโคไลทเทค เอเชีย แลวเราเคย จัดขึ้นเปนครั้งแรกเมื่อป 2013 เปนงานแสดง นวัตกรรมดานแสงสวางประหยัดพลังงานเพื่อ ผู  ป ระกอบการถื อว า ประสบความสํ า เร็ จ เป น อยางมาก โดยไดรบั การสนับสนุนจากผูแ สดงงาน ชั้นนํากวา 80 รายเขารวมงานแสดง และไดรับ ความสนใจจากผูซื้อทั้งในและตางประเทศกวา 4,000 รายจาก 10 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน มีมูลคาการซื้อขายมากถึง 4,000 ลานบาท นับเปนงานเทรดโชวที่สรางมูลคาทางเศรษฐกิจ ใหกับประเทศไมนอยเลยทีเดียว งานอีโคไลทเทค เอเชีย ถือไดวาเปนอีกเวทีหนึ่ง ที่ป ระเทศไทยจะไดแ สดงศั ก ยภาพความเปน ผูประกอบการรุนใหมที่ ใส ใจตอสิ่งแวดลอมสู สายตาของเครือขายผูป ระกอบการธุรกิจในภูมภิ าค เอเชีย โดยเฉพาะตลาดอุตสาหกรรมแสงสวาง ของไทย ซึ่งภายในป 2563 นั้น อุตสาหกรรม พลังงานสะอาดจะกลายเปนหนึ่งในอุตสาหกรรม

ที่ใหญที่สุดของโลก สอดรับกับนโยบายรัฐบาล ที่ใหมีการผลักดันการอนุรักษพลังงานอยางเต็ม รูปแบบโดยการสงเสริมใหเกิดกลไกการพัฒนา พลังงานสะอาด ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและ ชุมชน และลดปริมาณกาซเรือนกระจก ซึ่งงาน อีโคไลทเทค เอเชีย นัน้ ตอบโจทยดา นการอนุรกั ษ พลังงานไดเปนอยางดี การจัดแสดงเทคโนโลยี อีโค ไลท นวัตกรรมประหยัดพลังงานดานแสงสวาง ทีถ่ กู พัฒนาขึน้ จะชวยเสริมศักยภาพผูป ระกอบการ ไทย โดยการนํามาประยุกตใชในภาคอุตสาหกรรม และครัวเรือนยุคใหม ซึง่ จะสงผลลัพธตอ การประหยัด พลังงานและสามารถลดตนทุนการผลิตไดอยาง แทจริง นอกจากนี้ สําหรับภาคเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ผูประกอบการสามารถสรางการรับรูของสินคา ผลิตภัณฑ และบริการ รวมทั้งไดพบปะ พูดคุย แลกเปลี่ยนขอมูล ในรูปแบบของ B2B หรือ Business Matching ได โดยในปที่ผานมางาน EcoLightTech Asia 2013 สามารถสรางพันธมิตร ทางการคาไดถึง 173 คู นับเปนผลที่นาพอใจที่ ผูป ระกอบการจะนําไปพัฒนาและตอยอดการเติบโต ของธุรกิจไดอยางยัง่ ยืน อีกทัง้ เปนการเตรียมความ พรอมสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคต อันใกลนี้ดวย ซึ่งคาดการณกันวาธุรกิจจะเติบโต อยางกาวกระโดด นับเปนทั้งโอกาสและความ ทาทายของผูประกอบการไทยที่จะตองปรับตัว เตรียมพรอมเพื่อรับมือกับการแขงขัน

จะสามารถสรางมูลคาทางเศรษฐกิจตอประเทศ ไดมากกวา 5 พันลานบาท ทั้งนี้ แผนการตลาด สําคัญที่จะผลักดันประเทศไทยไปสูเปาหมายนั่น คือ การทําตลาดในตางประเทศ โดยการเขาไปมี สวนรวมในกิจกรรมโรดโชวในตางประเทศ โดยผูจัดงานมีแผนที่จะไปทําตลาดใน 3 ประเทศ หลัก คือ อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม รวมทั้งไดเจรจาผานตัวแทนการขายและการ ตลาดตางประเทศใน จีน เกาหลี ญี่ปุน อินเดีย ไตหวัน และสิงคโปรอกี ดวย สําหรับการทําตลาด ในประเทศ ไดมีการประสานงานกับสถาบันการ เงินชัน้ นําในประเทศไวแลว อยางไรก็ตามการจัด งาน อีโคไลทเทค เอเชีย ในครั้งนี้จะเปดมุมมอง ใหมใหแกประเทศตาง ๆ ตอประเทศไทยในฐานะ ศูนยกลางการแลกเปลี่ยนองคความรู เทคโนโลยี เวทีการคา และการเจรจาธุรกิจอยางครบวงจร สําหรับงานแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมดาน แสงสว า งประหยั ด พลั ง งาน EcoLightTech Asia 2014 กําหนดจัดขึ้นระหวางวันที่ 12 -14 พฤศจิกายน 2557 นี้

ดังนั้น การจัดงาน อีโคไลทเทค เอเชีย ครั้งที่ 2 ในป 2014 นี้จะเปนการตอกยํ้าภาพลักษณของ ประทศไทยอยางชัดเจนในฐานะศูนยกลางการ คาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดานการประหยัด พลังงานแสงสวางในระดับเอเชีย ซึง่ คาดวาในปนี้

51

Energy#64_p16-51_Pro3.indd 51

2/22/14 9:32 PM


52

Energy#64_p52_Pro3.indd 52

2/24/14 10:28 PM


Special Report ณ อรัญ

เจาะประเด็น ปฏิรูประบบพลังงานไทย เปนที่ทราบกันดีวา ราคานํ้ามัน ราคากาซธรรมชาติ แพงขึ้นอยางตอเนื่อง และเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหนักวิชาการ องคกรอิสระ ไดออกมาตอตาน พรอมเสนอแนวคิดการปฏิรูปพลังงานไทยในรูปแบบใหม เพื่อใหเกิดความโปรงใส และมีราคาที่เปนธรรมกวา ที่เปนอยูในปจจุบัน มีโอกาสสัมภาษณ คุณอิฐบูรณ อนวงษา กรรมการ กลุมกองทัพ กัประชาชนและเครื บแนวคิดดังกลอาขวผมได ายปฏิรูปพลังงานไทย (กคป.) บอกวา ระบบการสัมปทานปโตรเลียม

ในปจจุบนั มีการผูกขาดการสัมปทานไมกบ่ี ริษทั และไมโปรงใส หนวยงานภาครัฐเสียผลประโยชน มากกวาไดประโยชน ทั้งที่แหลงกาซธรรมชาติเปนสมบัติของสาธารณะ สมบัติของแผนดิน หนวยงานภาครัฐควรไดรับประโยชนมากกวานี้ และประชาชนทั่วไปควรไดรับราคาที่เปนธรรม

และบิดเบือนขอมูลวา ระบบดังกลาวไมสามารถ ทําได เพราะเชื่อวาจะกอใหเกิดความเสียหาย และทําใหรัฐเสียผลประโยชน

ดังนั้นหากมีการปฏิรูปการเมืองสําเร็จก็อยากจะเสนอแนวคิดใหหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ กับพลังงาน ภายใตรัฐบาลชุดใหมพิจารณา โดยเสนอใหรัฐบาลถอนหุนจาก บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) ใหสิทธิ์ ปตท. เปนเอกชน 100% และตัวโครงสรางระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน เชน ระบบขนสงกาซ ทอสงกาซ โรงแยกกาซ โรงกลั่นนํ้ามัน ปตท. ตองถอนออกมาแลว เปดโอกาส ใหเอกชนรายอื่นๆ ไดมีการประมูลแขงขัน เพื่อไมใหเกิดการผูกขาดบริษัทเดียว แลวใหรัฐบาล ตั้งเปนบริษัทพลังงานแหงชาติขึ้นมาใหม หรือจะใชชื่ออะไรก็ไดเพื่อกํากับดูเรื่องพลังงาน ปโตรเลียมภายใตการกํากับดูแลของหนวยงานภาครัฐ

ดานการไปลงทุนสํารวจแหลงผลิตปโตรเลียม ในตางประเทศแถบตะวันออกกลาง กลุม (กคป.) ก็ ไ ม เ ห็ น ด ว ยกั บ การไปลงทุ น สํ า รวจและผลิ ต กาซธรรมชาติในแถบตะวันออกกลาง เมื่อได กาซธรรมชาติแลวนําเขามาก็ตองอิงกับราคา นําเขาจากตางประเทศอยูดี ซึ่งการลงทุนไมได สวนลดเลย แลวคนที่ไดผลประโยชนก็คือกลุม นายทุนหรือกลุมผูถือหุน ซึ่งก็คือนักการเมือง เพราะระบบตรวจสอบไมโปรงใส

พรอมกับเสนอใหยกเลิกระบบสัมปทานปโตรเลียมแลวใชระบบการประมูลแทน เพื่อใหเกิด การแขงขันอยางเปนธรรม โดยเปดโอกาสใหบริษัทเอกชนทุกรายมีสิทธิ์ในการประมูลแขงขันวา บริ ษั ท ใดจะได สิ ท ธิ ใ นการดํ า เนิ น การสํ า รวจแหล ง ก า ซธรรมชาติ แ ละผลิ ต ป โ ตรเลี ย มใน แตละแหลง พรอมเปดโอกาสใหสื่อมวลชน และประชาชนเปนคนกลางในการตรวจสอบความ โปรงใส หลังจากเกิดการจําหนายเชื้อเพลิงธรรมชาติหรือปโตรเลียมแลวก็ใหมีการแบงผล ประโยชนกัน โดยใชระบบ “Production Sharing” หรือการแบงผลประโยชนกันระหวาง เอกชนผูลงทุนกับหนวยงานภาครัฐที่กํากับดูแลเรื่องพลังงาน ซึ่งไมไดหมายถึงคาภาคหลวง และภาษีที่รัฐจะตองไดรับอยูแลว

ดังนั้นสิทธิ์ในการสํารวจและผลิตปโตรเลียมจะ ทําอยางไรใหหนวยงานภาครัฐที่กํากับดูแลเรื่อง พลังงานเขาไปกํากับดูแลอยางใกลชิดมากขึ้น และกํากับดูแลอยางโปรงใส เพราะนี้เปนเรื่อง ของทรัพยากรธรรมชาติ ซึง่ เปนสมบัตขิ องสาธารณะ สมบัติของแผนดิน ดังนั้นในหลักการรัฐควรเขา ไปกํากับดูแลไมใชรอเก็บภาษี เก็บคาภาคหลวง อยางเดียว

สําหรับระบบ Production Sharing นั้น มีการใชมานานแลวในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย ซึ่งก็ไดผลสําเร็จดี ซึ่งไมไดเปนระบบใหมที่นํามาเสนอใหหนวยงานภาครัฐปรับใชเพื่อที่จะสราง ความเสียหายใหกับประเทศชาติ แตปรับใชเพื่อใหเกิดประโยชนมากกวา

นี่ เ ป น แนวคิ ด เบื้ อ งต น ของการปฏิ รู ป ระบบ พลังงานไทย ซึ่งในเลมหนาจะนําเสนอขอมูล เบือ้ งลึกใหไดทราบกันตอไป พรอมกับสัมภาษณ มุ ม มองของผู  ป ระกอบการหน ว ยงานภาครั ฐ ที่กํากับดูแลเรื่องพลังงาน รวมถึงนักวิชาดาน พลังงานถึงความเปนไปไดในการปฏิรูประบบ พลังงานไทย

อยางไรก็ตาม กอนหนาจะมีการประทวงและยึดกระทรวงพลังงาน กลุมกองทัพประชาชนและ เครือขายปฏิรูปพลังงานไทย ก็ไดนําเสนอใหกับหนวยงานภาครัฐที่กํากับดูแลเรื่องพลังงาน พิจารณาแนวทางการปรับมาใชระบบประมูล และระบบ Production Sharing แตถูกปฏิเสธ

Energy#64_p53_Pro3.indd 53

53

2/24/14 9:51 PM


Special Report ณ อรัญ

สรุปผลการดําเนินงานป 56 แผนตอเนื่องป 57 จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประชากรที่เพิ่มขึ้น การขยายตัวทางดานอุตสาหกรรม ทําใหประเทศไทยมีความตองการ ใชไฟฟาเพิ่มขึ้นตอเนื่องทุกป และเปนที่ทราบกันดีวา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กผฟ.) เปนองคกรหนึ่งที่มี บทบาทสําคัญดานการพัฒนาและผลิตพลังงานไฟฟา โดยการลงทุนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาในประเทศและตางประเทศ เพื่อเสริมความมั่นคงระบบไฟฟาใหกับประเทศไทย เและรองรับความตองการใชไฟฟาที่เพิ่มขึ้น ตามแผนพัฒนาระบบกําลังเพื่อผลิตไฟฟา (พีดีพี) ป 2010 (พ.ศ. 2553-2573) จะตองมีโรงไฟฟา ถานหินสะอาด กฟผ. จํานวน 4 โรง โรงละ 800 เมกะวัตต รวม 3,200 เมกะวัตต เพื่อรองรับ ความตองการใชไฟฟาป 2573 คาดวาความตองการใชไฟฟาในประเทศจะเพิม่ ขึน้ อีกกวา 30,000 เมกะวัตต อยางไรก็ตาม ความตองการใชไฟฟามีความตองการใชเพิ่มขึ้นทุกป และอาจจะมีการ ปรับแผน พีดีพี รอบใหมเพื่อรองรับความตองการใชไฟฟาใหเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ลาสุด นายสุนชัย คํานูณเศรษฐ ผูว า การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ไดสรุปผลการ ดําเนินงาน และการลงทุนตามแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาในป 2556 และแผนป 2557 วา หากอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจป 2557 โต 4% กฟผ.ประมาณการการใชไฟจะเติบโต 3% จาก ปทแ่ี ลว หรือจะมีการใชประมาณ 1.8 แสนลานหนวย โดยยอมรับวาการใชไฟในป 2556 ทีผ่ า นมา โตเพียง 0.1% เทานัน้ หรือมีการใชทร่ี ะดับ 1.7 แสนลานหนวย จากเปาหมายทีว่ างไวจะโต 2% ซึง่ ผลมาจากอากาศทีห่ นาวเย็นกวาปกติ และภาวะเศรษฐกิจและการเมืองทีส่ ง ผลกระทบ

แตหากคิดเฉพาะชวงเดือนธันวาคม 2556 การใชไฟฟาติดลบ 10% ซึง่ สวนหนึง่ เพราะ อากาศเย็น โดยอุณหภูมิป 2556 เฉลี่ยต่ํา กวาป 2555 ถึง 4 องศาเซลเซียส แตการใช ก็ยงั ถือวาไมตาํ่ มากหากเทียบกับปนาํ้ ทวม ป 2554 ทีก่ ารใชไฟติดลบ 1.86% ซึง่ ยอมรับ วา กฟผ. เองก็เปนหวงหากเศรษฐกิจไมโต ตามทีค่ าดไวเฉลีย่ 4% ตอป มีผลใหใชไฟต่าํ ตอไปอีก ก็จะมีผลกระทบในป 2562 ตาม แผนพัฒนาระบบกําลังผลิตไฟฟา (พีดีพี) ป จ จุ บั น อาจมี ผ ลให ก ารผลิ ต ไฟสู ง กว า ความตองการไดเพราะปดังกลาวจะมีโรง ไฟฟาเขาระบบใหมจํานวนมาก ด า นโครงการพั ฒ นากํ า ลั ง ผลิ ต ไฟฟ า ที่ กําลังดําเนินตามแผนอยูในปจจุบันจะมี โครงการโรงไฟฟาถานหินที่ จ.กระบี่ ขนาด กําลังการผลิต 800 เมกะวัตต เพื่อเสริม สรางความมั่นคงใหระบบผลิตไฟฟาใน พืน้ ทีภ่ าคใตของไทย โดยมีกาํ หนดจายไฟฟา เขาระบบในป 2562 ปจจุบนั นัน้ อยูร ะหวาง การดําเนินการขั้นตอนทําความเขาใจกับ ประชาชนในพื้นที่ EIA และ EHIA ซึ่งได ทําการรับฟงความคิดเห็น ครั้งที่ 1 และ ครัง้ ที่ 2 ไปแล ว ขณะนี้ อ ยู  ใ นขั้ น ตอน การทําประชาพิจารณหรือทําความเขาใจ กับประชาชนครัง้ ที่ 3 ซึง่ การทําความเขาใจ กับประชาชนในพืน้ ที่ไดรบั การตอบรับเปน อยางดี โดยเฉพาะขอแนะนําเรือ่ งการขนสง

54

Energy#64_p54-55_Pro3.indd 54

2/22/14 9:46 PM


ถานหิน และไดขอสรุปเบื้องตนวาจะใช ทาเรือขนสงนํ้ามันเตาที่คลองรั้วปรับปรุง เปนทาเรือขนสงถานหินซึ่งอยูหางพื้นที่ จะกอสรางโรงไฟฟาประมาณ 7 – 8 กิโลเมตร โดยใชระบบสายพานในการขนสงถานหิน จากทาเรือไปยังโรงไฟฟา และคาดวาใน ชวงเดือนมีนาคม 2557 นีจ้ ะสามารถดําเนิน การศึกษาเรื่องนี้เพื่อหาขอสรุปตอไปได ดานแผนการสรางโรงไฟฟาที่ อ.จะนะ จ.สงขลา หนวยที่ 2 ขนาดกําลังการผลิต 800 เมกะวัตต คาดวาจะแลวเสร็จและสามารถเดินเครือ่ ง จายไฟในเชิงพาณิชยประมาณ เดือนเมษายน – พฤษภาคม 2557 ถึงแมจะมีปญ  หาเรือ่ ง ความไมสงบของ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ก็ตาม แตกส็ ามารถดําเนินตามแผนงานได นอกจากนีย้ งั มีแผนทีจ่ ะลงทุนระบบสายสง 500 เควี จากโรงไฟฟาในภาคกลางเสริม ความมัน่ คงระบบไฟฟาใหกบั พืน้ ทีภ่ าคใต โดยใชเงินลงทุน 6 หมื่นลานบาท ขณะนี้ รอเสนอ ครม. ชุ ดใหม ส วนโรงไฟฟา วังนอย หนวยที่ 4 ขนาดกําลังการผลิต 760 เมกะวัตตนนั้ ขณะนีอ้ ยูร ะหวางการทดลอง เดิ น เครื่ อ งและคาดว า จะสามารถเดิ น เครื่องจายไฟฟาในเชิงพาณิชยไดในเดือน เมษายน 2557 นี้

สํ า หรั บ แผนการปรั บ เปลี่ ย น ระบบเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ า ของ โรงไฟฟาแมเมาะทดแทนเครื่องที่ 4-7 ลงทุน 2.8 หมื่นลานบาทนั้น อยูระหวางการดําเนินงานเสนอ คณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ กกต. ใหพจิ ารณาวารัฐบาลชุดปจจุบนั จะสามารถอนุมตั งิ บประมาณไดหรือไม เพราะเปนโครงการ ที่จะตองเรงดําเนินการไมใหลาชาไปกวาแผนป 2562 เนื่องจากจะกระทบตอความมั่นคงระบบ ไฟฟาของภาคเหนือได สวนการลงทุนในตางประเทศปจจุบนั ไดลงนามเซ็นสัญญาลงทุนผลิตไฟฟาใน สปป.ลาว อยู 5,400 เมกะวัตต ภายใตแผนการลงทุน 7,000 เมกะวัตต ซึง่ ปจจุบนั ไดพฒ ั นาและสงไฟฟาใหกปั ระเทศไทย ไดแลว 2,000 เมกะวัตต ดานการลงทุนในพมาเดิม กฟผ. ลงนามเซ็นสัญญาไวที่ 3,000 เมกะวัตต จากการสํารวจศักยภาพดานการลงทุนผลิตไฟฟาในพมาแลวมีแผนจะเพิม่ เปน 10,000 เมกะวัตต ปจจุบนั ไดมกี ารเจรจากับรัฐบาลพมาไว 2 – 3 โครงการ โดยเฉพาะโครงการในลุม แมนาํ้ สาละวิน เนือ่ งจากตนทุนการผลิตไฟฟาพลังงานนํา้ มีตน ทุนทีถ่ กู ประมาณ 3 – 4 บาทตอหนวย นอกจากนี้ ยังมีแผนการลงทุนซื้อไฟฟาจากประเทศจีนอีก 3,000 เมกะวัตต ปจจุบันอยูระหวางการ ศึกษาถึงตนทุนในการเดินระบบสายสง ซึ่งมีระยะทางประมาณ 17,000 กิโลเมตร โดยจะใช ระบบสายสง ดีซี 500 กิโลวัตต วาจะมีความคุม ทุนหรือไม หากเปรียบเทียบกับตนทุนการผลิต ไฟฟาในประเทศไทย ถาหากมีตน ทุนทีถ่ กู กวาในประเทศไทยก็จะดําเนินการตอไป สวนอัตราคาไฟฟาผันแปรอัตโนมัติ (เอฟที) ป 2556 เฉลี่ยขยับเพิ่มขึ้น 5 สตางคตอหนวย โดย ในป 2557 งวดใหม (พ.ค.-ส.ค. 57) คงจะตองติดตามปจจัยสําคัญคือ ราคาเชื้อเพลิงโดยเฉพาะ กาซธรรมชาติ อัตราแลกเปลี่ยนคาเงิน หากออนคาทุก 1 บาทตอเหรียญสหรัฐจะมีผลตอคา เอฟที 5-6 สตางคตอหนวย รวมถึงปริมาณการใชไฟภาพรวมดวย ซึ่งยอมรับวามีแนวโนมที่จะ ปรับขึ้นแตจะมากนอยอยางไรก็อยูที่การบริหารจัดการดวย ซึ่ง กฟผ. ก็ตองบริหารใหกระทบ ตอคาไฟต่ําสุด

55

Energy#64_p54-55_Pro3.indd 55

2/24/14 9:35 PM


Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคำ�

พัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมยานยนต์

รับมือ AEC ของประเทศอาเซียน การเปิดประตูรับการเปลี่ยนแปลงครั้ง ใหญ่ ข องกลุ่ ม ประเทศในแถบภู มิ ภ าค รอบด้านของประเทศไทย คือ การก้าว เข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ Asean Economics Community : AEC กลุม่ ประเทศต่าง ๆ ต้องมีการศึกษา ความเป็นไปได้ของตัวบทกฏหมายรวมถึง เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องและสิ่งที่ถูกจับตา ไม่นอ้ ยคงหนีไม่พน้ ความมือเรือ่ งนโยบาย การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ เพื่อ รองรับการรวมตัวกันและผลกระทบที่ อาจส่งผลต่อประเทศไทย เพราะกลุ่ม อาเซียนเป็นฐานผลิตยานยนต์สำาคัญ ในหลายประเทศ ทั้งผลิตสำาหรับใช้ใน ประเทศและผลิตเพื่อส่งออก

56

Energy#64_p56-58_imac2.indd 56

2/17/2557 BE 10:06 PM


ตัวเลขการประเมินประชากรเบือ้ งตนทุก ประเทศในอาเซียน จะมีประชากรทัง้ สิน้ ประมาณ 601 ลานคน ซึง่ ความตองการ พื้นฐานของประเทศที่กําลังพัฒนาอยาง กลุม ประเทศอาเซียน คือ รถยนต เกิดเปน ตัวเลขของความตองการรถยนตท่ีเพิ่ม มากขึน้ อยางตอเนือ่ ง สงผลถึงการแขงขัน ในตลาดอาเซียนทีร่ นุ แรง โดยเฉพาะการ แขงขันเชิงคุณภาพของรถยนตเพราะเมือ่ มี ก ารเป ด เสรีข องประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนแลว อํานาจการกีดกันมาตรการ ทางภาษีจะลดลงจนถึงไมมีเลย ฉะนั้น ประเทศที่มีพื้นฐานการผลิตรถยนตที่ดี และเปนที่ยอมรับ ความไดเปรียบดาน เทคโนโลยีของการผลิต จะเปนประเทศ ที่ถูกจับจองและสามารถยกระดับความ ไดเปรียบในการแขงขันไดทันที ประเทศไทยถื อ ว า เสื อ ตั ว สํ า คั ญ ด า น อุตสาหกรรมยานยนต ซึ่งมีขอไดเปรียบ หลายดานกวาประเทศในแถบนี้ ไมวา จะเปนประเทศอินโดนีเชีย, มาเลเซีย, ฟลิปปนส และเวียดนาม โดยเฉพาะ ประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย ที่มี การพัฒนาดานอุตสาหกรรมยานยนต อยางรวดเร็ว ประเทศไทยจึงตองมีการ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาใหเปนรูป ธรรมมากยิ่งขึ้น กอใหเกิดการแขงขัน กันเองมากขึน้ ซึง่ ประเทศไทยมียานยนต ทีจ่ ดั เปน Product Champion มายาวนาน คือ รถกระบะขนาดหนึ่งตัน และที่เกิด ใหม อ ย า งรถยนต ป ระหยั ด พลั ง งาน มาตรฐานสากล หรือ Eco car ปจจุบัน ประเทศไทยมี ก ารสนั บ สนุ น รถยนต ที่ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น

ตามแผนของประเทศไทยทีว่ างไวสาํ หรับ อนาคตกั บ เป า ในการผลิ ต ยานยนต ที่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม โดยเนนหลักการ สะอาด ประหยัด ปลอดภัย จากการศึกษา แผนแมบทการพัฒนาอุตสาหกรรมยาน ยนตไทย พบวาแผนแมบท 2012–2013 และแผนแมบทอุตสาหกรรมยานยนต ไทย 2012–2016 (สถาบันยานยนต) มี เนื้อหาเพื่อรองรับการแกปญหาครอบ คลุมไดในทุกภาคสวน หากจะนําแผน ดังกลาวมาใชใหเกิดเปนรูปธรรม ควรจัด ทําเปนมาตรการทางกฎหมาย หรือการ สร า งแรงจู ง ใจเพื่ อ ให เ กิ ด ผลที่ ชั ด เจน รวมถึงตองมีการทบทวนแผนอยางตอ เนื่องตามการเปลี่ยนแปลงของกระแส โลกที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็วกับการใสใจ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอม

การเติบโตของการผลิตตั้งแตป 2006 ที่ เพิม่ ขึน้ เกือบสองเทาตัว นักลงทุนทัง้ จาก ญีป่ นุ ยุโรป และสหรัฐ ตางพิจารณาในการ ยายฐานการผลิตไปยังประเทศอินโดนีเซีย รวมถึงการที่รัฐบาลอินโดนีเซียมีนโยบาย ชัดเจนในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต โดยกําหนด Product Champion คลาย โครงการ Eco car ของประเทศไทยกับ Low cost green car แตประเทศอินโดนีเซีย มีขอไดเปรียบในเรื่องแรงงานที่เพียงพอ อัตราจางต่ํากวา ทําใหไมอาจมองขาม สําหรับการแขงขันดานการผลิตรถยนต ประเทศมาเลเซีย ถึงแมวาอุตสาหกรรม ยานยนตจะมีฐานการผลิตมาเปนเวลา นาน แตประเทศไดมีการกีดกันบริษัท รถยนตตา งชาติมาโดยตลอดเพือ่ ปกปอง

สําหรับประเทศอินโดนีเซีย ถือเป็น ประเทศทีต่ ลาดรถยนตมกี ารเติบโตอยาง รวดเร็วทีส่ ดุ ในอาเซียน ทําใหผผู ลิต ในยานยนต ใ นอิ น โดนี เซี ย ตองเพิม่ กําลังการผลิต เพื่อรองรับ

57

Energy#64_p56-58_imac2.indd 57

2/17/2557 BE 10:06 PM


รถยนต์ของประเทศเอาไว้ ทำาให้ภาพ รวมของอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ใ น ประเทศอิ่มตัว อัตราการเติบโตของการ ผลิตคงที่ ทำาให้ภาคบริหารต้องทบทวน แผนใหม่ แ ละได้ กำ า หนดแผนพั ฒ นา อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ข องประเทศ หรือ NAP เนื่องจากประเทศมาเลเซียมี รถยนต์แห่งชาติ โดยส่งเสริมยานยนต์ ที่มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานสูงสุด หรือ Energy Efficiency Vehicles : EEV เพือ่ ให้เกิดความยัง่ ยืนและความอยูร่ อดของ อุตสาหกรรม ซึง่ รถยนต์ทผ่ี ลิตในประเทศ ถื อ ว่ า มี ส่ ว นแบ่ ง การตลาดมากที่ สุ ด เพราะภาครัฐบาลให้ความสนับสนุนทั้ง ทางตรง และทางอ้อม ทำาให้นักลงทุน ต่างชาติไปทำาการลงทุนในประเทศอื่น แทน ประเทศฟิลิปปินส์ ด้านการพัฒนา อุตสาหกรรมยานยนต์ยงั ไม่ประสบความ สำาเร็จเท่าที่ควร จากปัญหาการเมือง ภายใน รวมถึงการคมนาคมขนส่งทาง ถนนก็ ยั ง ไม่ มี ค วามสะดวกเท่ า ที่ ค วร เช่นกัน ส่งผลให้การเติบโตของอุตสาห กรรมยานยนต์รวมถึงความต้องการใน การใช้รถยนต์มีอยู่ไม่มากนัก แต่ก็มีการ เติบโตต่อเนือ่ งแบบไม่กา้ วกระโดด ส่งผล ให้เกิดการลงทุนทางด้านอุตสาหกรรม ยานยนต์ น ้ อ ยมากและขาดความได้ เปรียบในการแข่งขันกับประเทศเพือ่ นบ้าน ทันที ภาครัฐบาลจึงได้กำาหนดนโยบาย การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยานยนต์ ขึ้ น เพือ่ ส่งเสริมอุตสาหกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์ และอุตสาหกรรมสนับสนุนยานยนต์เพือ่ การส่งออก แต่ด้วยลักษณะภูมิประเทศ ของฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ที่ เ ป็ น เกาะขนาดเล็ ก กระจายโดยรอบ ทำาให้ยากต่อการตั้ง โรงงานผลิตที่ต้องการพื้นที่ขนาดใหญ่ อีกทัง้ ประเทศฟิลปิ ปินส์ยงั จัดเป็นประเทศ ทีม่ กี ารกีดกันทางการค้าสูง ทำาให้นกั ลงทุน ต่างชาติตอ้ งทบทวนอย่างมากในการตัง้ ฐานการผลิตในประเทศนี้ ส่วนประเทศเวียดนาม เป็นที่น่าจับตา มองสำ า หรั บ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ เพราะอยู่ในช่วงของการเริ่มต้นพัฒนา แต่ รั ฐ บาลได้ มี ก ารสนั บ สนุ น อย่ า ง จริงจัง ด้วยการออกนโยบายสนับสนุน อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ทั้ ง ทางด้ า น

การลดอัตรภาษีนำาเข้า การสนับสนุน การใช้ยานพาหนะต่าง สนับสนุนการ ลงทุนผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ให้มากขึ้น รวมถึ ง ปริ ม าณทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ยังคงมีอยู่มาก จึงเป็นการเปิดโอกาส ผู้ ป ระกอบสนใจในการย้ า ยฐานการ ผลิตจากประเทศไทย หรือขยายตัวของ อุ ต สาหกรรมยานยนต์ ไ ปประเทศ เวียดนามในอนาคตก็เป็นได้ ถึงแม้ว่าปี 2011–2012 ประเทศเวียดนามจะมีการ เปลีย่ นแปลงนโยบายทำาให้อตุ สาหกรรม ยานยนต์หยุดนิ่งไปพักใหญ่ แต่เชื่อว่า นโยบายดังกล่าวจะถูกนำามาปรับปรุง แก้ไขอีกครัง้ และจะส่งผลให้อตุ สาหกรรม ยานยนต์เวียดนามเริ่มเติบโตขึ้นอีกครั้ง อย่างแน่นอน

นอกจากนี้ การสนับสนุนการวิจัยและ พัฒนา รวมถึงการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ เพื่อให้เกิดนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ และการสร้างความสามารถใน การผลิตวัตถุดิบด้วตนเอง เพื่อลดการ นำาเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศ รวมถึง การสนับสนุนการพัฒนาที่เกี่ยวข้องกับ การใช้พลังงานทางเลือก และเป็นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ซึ่งทุกแนวทางถือเป็นการ ปรับตัวเข้าหากัน เพื่อยกระดับในการ แข่งขันกับประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคอื่น ต่อไปนั้นเอง

ทั้งนี้ ภายในปี 2015 กับการก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกลุม่ ประเทศ สมาชิกจะมีการปรับปรุงมาตรการต่าง ๆ ในการรองรับ โดยเฉพาะมาตรการทาง ด้านภาษี มีแนวโน้มในการลดอัตราภาษี นำาเข้าระหว่างกัน เพื่อให้เกิดการแข่งขัน ด้านคุณภาพอย่างแท้จริง และมีความ พยายามที่จะลดข้อกีดกันทางการค้าที่ ไม่ใช่ภาษี อาทิ การใช้มาตรฐานผลิต ภัณฑ์ร่วมกัน

58

Energy#64_p56-58_imac2.indd 58

2/17/2557 BE 10:06 PM


Energy#62_p59_Pro3.indd 79

12/18/13 10:30 PM


Have to Know นองบูล...ตอบได

ประเทศไทยมีการใชพลังงานป 2556 ปริมาณ 75,214 พันตัน เทียบเทา นํ้ามันดิบ หากวากันตามการเจริญ เติบโตของประเทศ การใชพลังงานที่ เพิ่ ม ขึ้ น ถื อ เป น เรื่ อ งปกติ ข อง ประเทศทีก่ าํ ลังพัฒนาอยางบานเรา ซึ่งเปนปริมาณการใชทมี่ ากกวาชวง เดียวกันของปกอ น 2.6% คิดเปน มูลคากวา1,793 พันลานบาท การ ใชพลังงานยังคงเพิ่มขึ้นตามการ เติบโตทางเศรษฐกิจ โดยที่นํ้ามัน สํ า เร็ จ รู ป ยั ง คงเป น พลั ง งานที่ ใชมากทีส่ ดุ คิดเปน 47.8 % ของ การใชพลังงานขั้นสุดทายทั้งหมด รองลงมาเปนการใชไฟฟา พลังงาน หมุนเวียนดัง้ เดิม พลังงานหมุนเวียน ถานหิน/ลิกไนต และกาซธรรมชาติ ตามลําดับ

ประเทศไทย...

กับการใชพลังงานป’56

จากรายงานภาวะเศรษฐกิจเดือน ธันวาคม 2556 ของธนาคารแหง ประเทศไทย เศรษฐกิจโดยภาพรวม ชะลอลงตอเนือ่ งจากเดือนกอนตาม ภาวะการผลิตภาคอุตสาหกรรมและ การใชจา ยภาคเอกชน เนือ่ งจากภาค ธุรกิจและครัวเรือนยังกังวลตอภาวะ เศรษฐกิจและเหตุการณทางการเมือง ในประเทศซึง่ อุปสงคจากตางประเทศ ภาคการทองเทีย่ วขยายตัวชะลอลง

ยุคปจจุบัน เปนยุคที่ถือวามีความสะดวกสบายครบครัน หากเปรียบเทียบกับคนในยุค กอน เพราะปจจุบนั การเขาถึงของสิง่ อํานวยความสะดวกมีมากตามยุคตามสมัย ความ สะดวกสบายดังกลาวตองยอมรับวาไดมาจากสิ่งที่เรียกวา พลังงาน ซึ่งมาในรูปแบบ ตาง ๆ และเราเชือ่ หรือไม ปทผ ี่ า นมาประเทศไทยมีการใชพลังงานในทุกรูปแบบมากนอย เพียงใด จึงไดมาซึ่งความสะดวกสบายของคนในประเทศเชนทุกวันนี้

60

Energy#64_p60-61_Pro3.indd 60

2/24/14 9:56 PM


จากผลกฎหมายดานการทองเทีย่ ว ของจีนเปนสําคัญ ขณะทีก่ ารสงออก สิ น ค า ปรั บ ดี ขึ้ น บ า งตามทิ ศ ทาง การฟนตัวของอุปสงคตางประเทศ ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยรวม อัตราเงินเฟอชะลอลงตามราคา อาหารสด สวนดุลบัญชีเดินสะพัด เกินดุลจากการเกินดุลการคาขณะ ทีด่ ลุ เงินทุนเคลือ่ นยายขาดดุลจาก การขายหลักทรัพยของนักลงทุน ตางชาติเปนสําคัญ ทําใหในภาพรวม ดุลการชําระเงินขาดดุล สรุปภาวะเศรษฐกิจไทยป 2556 ถือวาชะลอลงตามการบริโภคภาค เอกชนที่ชะลอตัว หลังจากที่เรงใช จายไปมากในปกอ น ผูป ระกอบการ บางส ว นชะลอเลื่ อ นการลงทุ น ออกไปเพือ่ ประเมินสถานการณทาง เศรษฐกิจและการเมือง ดานเสถียรภาพ เศรษฐกิจโดยรวม อัตราการวางงาน อยูในระดับตํ่า อัตราเงินเฟอลดลง ตามราคาพลังงานและการชะลอตัว ของเศรษฐกิจ ดุลบัญชีเ ดิ น สะพั ด ขาดดุล สวนเงินทุนเคลือ่ นยายเกินดุล ทําใหในภาพรวมดุลการชําระเงิ น ขาดดุล

ถึงแมวา เศรษฐกิจจะมีการชะลอตัว แตดา นการใชพลังงานยังคงเพิม่ ขึน้ เกือบทุกภาคสวน สาขาเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บานทีอ่ ยูอ าศัย และขนสง เพิม่ ขึน้ จากชวงเดียวกันของปกอ นตามลําดับ สวนสาขาธุรกิจการคา ลดลงจากชวงเดียวกันของปกอน 7.7% โดยสาขาอุตสาหกรรมยังคงเปนสาขาที่มีการใชพลังงานในสัดสวน ที่สูงกวาสาขาอื่น โดยมีสัดสวนการใช 36.4% ของการใชพลังงานขั้นสุดทายทั้งหมด รองลงมาเปนสาขา ขนสง บานอยูอาศัย ธุรกิจการคา และเกษตรกรรมตามลําดับ สําหรับการนําเขาพลังงานของประเทศไทยในป 2556 คิดเปนมูลคากวา1,300 พันลานบาท โดยมีการนําเขา นํ้ามันดิบมากที่สุด ทั้งนี้ราคานํ้ามันดิบดูไบเฉลี่ยในตลาดโลกอยูที่ 105.6 เหรียญสหรัฐ/บารเรล จากการที่ รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมใหมีการใชพลังงานทดแทนในประเทศเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช พลังงาน โดยลดสัดสวนการใชพลังงานตอผลิตภัณฑมวลรวม พบวา ป 2556 ประเทศไทยมีการใชพลังงาน ทดแทน 8,226 พันตัน เทียบเทานํ้ามันดิบ เพิ่มขึ้น 7.9% จากชวงเดียวกันของปกอน สวนสัดสวนการใช พลังงานตอผลิตภัณฑมวลรวมมีแนวโนมลดลงอยางตอเนื่อง อยาลืมวา บนยุคแหงความสะดวกสบาย ไมไดมีอะไรที่ไดมาเปลา เพราะประเทศไทยยังตองพึ่งพา แหลงพลังงานจากการนําเขาจากตางประเทศ ดวยเม็ดเงินที่เราตองเสีย หากเราลดความสะดวกสบายและ หันมาใหความสําคัญการเม็ดเงินมวลรวมของประเทศที่ตองเสียไปในแตละป เราจะเขาใจวาทําไมประเทศ ที่เปนเจาของแหลงพลังงานถึงไดรํ่ารวยเอา ๆ เก็บไปคิดเปนการบานกันตอไป ซึ่งไมรูวาอีกนานเทาไหร เราจะหาคําตอบกับเรื่องนี้ได หากยังใชชีวิตเชนปจจุบนั

61

Energy#64_p60-61_Pro3.indd 61

2/24/14 9:56 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

TOYOTA FT-1 ซุปเปอรคารพลังงาน HYBRID พูดถึง...ยานยนตประหยัดพลังงาน สิ่งแรกที่ เรา ๆ ทาน ๆ มักจะนึกถึงคงจะหนีไมพนรถยนตที่มีภาพลักษณดานการ อนุรักษพลังงานดวยรูปทรงที่นารัก นาทะนุถนอมกันเปน อันดับแรกนั้นก็ถูกเพราะที่ผานมาบริษัทรถยนตมักออกแบบ ใหเปนอยางนั้น เพื่อเพิ่มภาพลักษณดานบวกที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม แตใชวากฏเกณฑเหลานั้นจะถูกยึดถือมา ตลอด โดยคาย Toyota ไดคลอดรถตนแบบ FT-1 ขุมพลัง ลูกผสม HYBRID ในรูปแบบของสปอรตซุปเปอรคารที่มา พรอมความดุดันตามสไตลปลาดิบเอาไวอยางเต็มตัว

Toyota FT-1 ถู ก ออกแบบและจั ด วางอยู  ในตําแหนงรถยนตสปอรตซุปเปอรคารสมรรถนะ สูง เพื่อเปนตนแบบสําหรับรถยนตในอนาคต ทีต่ อ งตามเทรนเรือ่ งของการอนุรกั ษพลังงานได อยางลงตัว ซึง่ ฟงดูอาจเปนเรือ่ งยากสําหรับการ ออกแบบใหไดทั้งสมรรถนะและความประหยัด ใหอยูในรถยนตคันเดียวกัน แตรถคันนี้แสดงให เห็นวาสามารถฉีกกฏเกณฑเกา ๆ ลงไดอยาง สิ้นเชิง การดีไซนถกู ออกแบบใหเปนรถสปอรตเจเนอรชนั่ ตอไปในอนาคต ทีผ่ สมผสานระหวาง Lexus LFA และ Toyota Supra ภายใตแนวคิดเชื่อมโยงจิต วิญญาณของการหลอมรวมของผลึกกับรถซุปเปอร คาร ตามเจตนารมณของผูบริหารที่ตองการ เปลีย่ นแปลงแนวคิดในการออกแบบ เพือ่ ปฏิวตั ิ อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตในอนาคต ซึ่งการ ออกแบบของ FT-1 เปนพัฒนาการของ Toyota ที่จะสานตอดานการออกแบบรถยนตของคาย ในอนาคต โดยตัวถังโคงมนและเหลี่ยมในบาง ตํ า แหน ง ที่ เชื่ อ มโยงกั บ ไดนามิ ก ด า นอากาศ พลศาสตร ชองระบายอากาศรอบตัวถังคารบอน ไฟเบอรมีคุณสมบัติในดานการลดแรงตานของ

กระแสอากาศและชวยทําใหตวั รถยึดติดกับผิวถนนดวยการออกแบบใหเกิดแรงกดจากการ วิง่ แหวกอากาศ กระจกมองขางก็ยงั ไดรบั การออกแบบใหมรี ปู ทรงลูล มเขากับตัวรถเชนกัน เสริมดวยสปอยเลอรหลังที่ยกขึ้นเมื่อความเร็วเกิน120 กิโลเมตรตอชั่วโมง และปรับองศา ตานกับอากาศทันทีที่ผูขับใชเบรก เปรียบเสมือนเบรกอากาศของเครื่องบิน พรอมลอ อัลลอยลายกานสีดาํ ขนาด 21 นิว้ โดยยางลอหนาใชขนาด 245/35ZR21 และ 305/30ZR21 ในลอหลัง มาถึงการออกแบบการจัดตําแหนงเครือ่ งยนต ทีมวิศวกรไดออกแบบใหเครือ่ งยนตวางอยู กึ่งกลางของแชสซีสมากที่สุดเพื่อกระจายนํ้าหนักที่ดีและเพื่อใหเกิดสมดุลมากที่สุด สวน ของเครื่องยนตในตัวที่จะพัฒนาเพื่อจําหนายจริงคาดวาจะใชเครื่องยนตแบบ V6 ขนาด

62

Energy#64_p62-63_Pro3.indd 62

2/20/14 8:59 PM


2.5 ลิตร เทอรโบ พรอมไฮไลทที่เปนขุมพลัง ลูกผสมดวยมอเตอรไฟฟา หรือ ระบบ HYBRID เมือ่ แหลงพลังงานทัง้ สองทํางานนรวมกัน จะให กําลังรวมกันกวา 300 กิโลวัตต หรือประมาณ 402 แรงม า เลยที เ ดี ย ว ซึ่ ง ขุ ม พลั ง งานแบบ HYBRID กําลังเปนทีส่ นใจอยางมากสําหรับคาย รถยนตในปจจุบัน เพราะปจจุบันมีการพัฒนา เทคโนโลยีดังกลาวอยางแพรหลาย จนไดทั้ง สมรรถนะในการขับขีแ่ ละความประหยัดเชือ้ เพลิง

ถึงแมวา FT -1 จะยังคงเปนรถแนวคิด แตเชื่อวาตนสังกัดอยาง Toyota จะผลิตเพื่อ จําหนาย แตอาจมีการเปลีย่ นแปลงออฟชัน่ บางตัวใหเหมาะสมกับการใชงานจริง แตที่ คอนขางชัดเจน คือ เครื่องยนตแบบ HYBRID ที่จะถูกนํามาใชใหมากขึ้นกวาที่ผานมา อยางแนนอน นอกจากนี้ FT -1 ยังถูกมองวาจะเปนรถที่มาสืบสานตํานานรถสปอรต อยาง Toyota Supra ซึ่งที่ผานมาไดสรางความฮือฮาใหกับวงการมอเตอรสปอรตมา ชานาน แตก็ยังไมมีการผลิตเพิ่มเติมมาจนถึงปจจุบัน ก็ตองติดตามกันตอไปวา หากมี การใชเครื่องยนตแบบ HYBRID ในรถยนตแบบซุปเปอรคาร ผลจะออกมาอยางไร

ภายในถูกออกแบบใหคลายหองนักบิน เพิ่ม ทัศนวิสัยการมองเห็นใหมากยิ่งขึ้น สวนวัสดุที่ ตกแตงเนนวัสดุที่มีนํ้าหนักเบาถูก ไมวาจะเปน เบาะนั่ง แผงคอนโซลและหนาปดมาตรวัดที่ให ความรู  สึ ก คล า ยกั บ การควบคุ ม ยานอวกาศ แสดงเปนแบบตัวเลขพรอมวัดรอบแบบกราฟ พวงมาลัยสปอรตทรงฐานตัด ขอบวงดานบน ตรงกับแนวสายตาของผูข บั มีจอเล็ก ๆ คอยบอก ตําแหนงของเกียร ปุมสวิชตสตารตติดตั้งตรง พวงมาลั ย สวนหอ งโดยสารแบง โซนชั ดเจน ระหวางผูขับขี่และผูโดยสารออกจากกัน

63

Energy#64_p62-63_Pro3.indd 63

2/20/14 8:59 PM


Energy Concept กองบรรณาธิการ

บนพื้ น ฐานของความเป น จริ ง สํ า หรั บ ประเทศไทยนั้ น เรามั ก จะมองสิ่ ง ที่ ไ กลตั ว ว า เป น เรื่ อ งดี ไ ปเสี ย หมด แล ว มองข า มสิ่ ง ใกล ตั ว ว า ไม มี ศั ก ยภาพพอ หรื อ เรี ย กง า ย ๆ ว า เห อ ของนอก อั น ที่ จ ริ ง ศั ก ยภาพ ของประเทศไทยไม ไ ด ด  อ ยกว า ประเทศใดในโลกเลย และเด็ ก ไทยกลุ  ม หนึ่ ง ได แ สดงให เ ห็ น แล ว ว า เด็ ก ไทย สามารถที่ จ ะต อ กรกั บ เด็ ก ชาติ ใ ดในโลกได อ ย า ง สมเกียรติ และนํามาซึ่งความภาคภูมิใจมาสูประเทศบาน เกิดไดอยางสมศักดิ์ศรี กับการแขงขันประดิษฐรถยนต ประหยัดพลังงานเชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย การแขงขันเชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย เปนเวทีสาํ หรับ นักเรียนและนักศึกษาในการแสดงออกในการประดิษฐ รถยนตที่สามารถตอบโจทยดานการประหยัดพลังงาน ใหมากทีส่ ดุ โดยการแขงขันปนเี้ ปนปที่ 5 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส และไดรับความสนใจจากนักเรียน นักศึกษาจากทั่วทั้งเอเชียและตะวันออกกลางรวมถึง ประเทศไทยเดินทางมารวมการแขงขันเปนจํานวนมาก เพือ่ หาสุดยอดรถยนตประหยัดพลังงาน ทีเ่ ปนการวิง่ บน ท อ งถนนจริ ง เพื่ อ เป น การทดสอบศั ก ยภาพในการ ประหยัดพลังงานในสถานการณจริง ความเร็วมิไดเปน เครื่องการันตีความสําเร็จ หากแตผูที่ขับเคลื่อนไดเปน ระยะทางที่ไ กลสุ ดดวยเชื้อ เพลิง เพียงลิต รเดี ยวตา ง หากที่จะกลายเปนผูชนะ

สําหรับตัวแทนจากประเทศไทยประกอบดวย 11 ทีมจาก 9 สถาบันการศึกษาซึง่ รวมถึง ทีมทีเ่ คยไดรบั ชัยชนะมาแลวสามทีมไดแก ทีมจากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต (ไดรบั ชัยชนะสองครั้งในป 2554 และ 2555 และเปนผูครอบครองสถิติ) และ ทีมจาก โรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภ ชางกล ขส. ทบ. (ไดรบั ชัยชนะสามครัง้ ในป 2553-2555) รวมถึง ทีมจากวิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง (ไดรบั ชัยชนะเมือ่ ป 2555) ทัง้ หมดเขารวม ในการแขงขันโดยมีเปาหมายรวมกันคือการสรางสถิติใหมสําหรับป 2557 การแขงขันประเภทตนแบบและประเภทใชงานไดจริง จะแบงการใชพลังงานประเภทตาง ๆ ดังนี้ เบนซิน ดีเซล เบนซินทางเลือก (เอทานอล 100) ดีเซลทางเลือก (จีทีแอลของ เชลลหรือดีเซลชีวภาพ) แบตเตอรีไ่ ฟฟาและเซลลเชือ้ เพลิงไฮโดรเจน ผลการแขงขัน สําหรับยานยนตขับเคลื่อนโดยกําลังไฟฟาจะวัดเปนกิโลเมตรตอกิโลวัตต-ชั่วโมงและ วัดเปนกิโลเมตรตอลิตรสําหรับพลังงานประเภทอืน่ นักเรียนนักศึกษามีอสิ ระในการใช ความคิดสรางสรรคทางเทคนิคและการออกแบบโดยมีเงื่อนไขวายานยนตทุกคันที่เขา รวมในการแขงขันตองอยูภายใตกฎความปลอดภัยที่กําหนด

64

Energy#64_p64-65_Pro3.indd 64

2/25/14 8:42 PM


การแขงขันเชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย ประจําป 2557 ประกอบดวยรางวัลในสนาม 24 รางวัล โดยมีรางวัล เปนเงิน 2,000 ดอลลารและ 1,000 ดอลลาร สําหรับ ผูชนะเลิศและรองชนะเลิศทั้งในประเภทตนแบบและ ประเภทใชงานไดจริง นอกจากนี้ทีมตาง ๆ ยังมีโอกาส เขาแขงขันสําหรับรางวัลนอกสนามอีกหกรางวัล ซึ่ง รางวัลเหลานีไ้ ดแก รางวัลการสือ่ สาร รางวัลการออกแบบ ยานยนต รางวัลนวัตกรรมดานเทคนิค รางวัลความปลอดภัย รางวัลความพยายามและมุง มัน่ ในการแขงขันและรางวัล การหลอลืน่ เชลล เฮลิกสซงึ่ รางวัลการหลอลืน่ เชลล เฮลิกส นีเ้ ปนรางวัลนอกสนามแขงขันทีใ่ หแกทมี ทีแ่ สดงใหเห็นถึง การใชหลักการดานวิศวกรรมอันเกีย่ วเนือ่ งกับการหลอลืน่ เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพเชือ้ เพลิงสําหรับยานยนตของตน

ทีมนักศึกษาจากประเทศไทย สามารถควาแชมปจาก รายการเชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย 2014 ถึง 3 ประเภท เชือ้ เพลิง โดยทีมฮาวมัช เอทานอล (How Much Ethanol) จากวิทยาลัยเทคโนโลยีชางฝมือปญจวิทยา กรุงเทพฯ ประสบความสําเร็จในระยะทางที่ 2,730 กิโลเมตรดวย เชื้อเพลิงเอทานอลเพียงหนึ่งลิตร ถือเปนสถิติสูงสุด ในการแขงขันของปนี้และเทียบเทากับระยะทางจาก กรุงมะนิลาไปยังกรุงจากาตา สวนวิทยาลัยเทคนิคสกลนคร ก็สามารถควาแชมปในประเภทเชื้อเพลิงแกสโซลีนหรือ นํา้ มันเบนซินมาได และวิทยาลัยเทคโนโลยีรตั นโกสินทร ก็ไมนอยหนาดวยการควาแชมปในประเภทแบตเตอรี่ ไฟฟามาไดเชนกัน ซึ่งตั้งแตมีการแขงขันขึ้นในป 2553 ทีมนักเรียนนักศึกษาของไทยถือเปนผูนําในการแขงขัน สุดยอดรถประหยัดพลังงาน

นายอัษฎา หะรินสุต ประธานกรรมการ บริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัดกลาววา รูส กึ ยินดีและภาคภูมใิ จมากอีกครัง้ ทีท่ มี ไทยสามารถชนะการแขงขัน เชลล อีโค-มาราธอน ครัง้ นี้ นวัตกรรมความคิดสรางสรรค และทักษะของทีมทําใหทมี มาเปนที่ 1 ซึง่ ตอเนือ่ ง กันเปนปที่ 4 ความสามารถของนักเรียนนักศึกษาจะสรางแรงบันดาลใจใหแกวิศวกร รุนตอไปในการตอบสนองตอความตองการดานพลังงานในอนาคตอยางแนนอน

65

Energy#64_p64-65_Pro3.indd 65

2/25/14 8:42 PM


Energy Loan กรีนภัทร์

กสิกร ออกสินเชื่อประหยัดไฟ หนุนธุรกิจ SME ใชหลอด LED พรอมรับเงินสนับสนุนจากภาครัฐ ในป จ จุ บั น การพั ฒ นาธุ ร กิ จ เอสเอ็ ม อี ข อง ประเทศไทยมุ  ง เน น การใช พ ลั ง งานให นอยลง ซึง่ จะตองอาศัยหลักการเปลีย่ นแปลง ในหลาย ๆ ดาน ไมวาจะเปนการปรับเปลี่ยน เครือ่ งมือเครือ่ งจักรทีใ่ ชในการผลิต ตลอดจน กระบวนการผลิตตาง ๆ ที่จะสามารถลดใช พลังงานในการผลิตได ซึ่งทั้งหมดตองอาศัย เงินทุนในการพัฒนาและเปลี่ยนแปลง ดวย เหตุนี้ทางธนาคารกสิกรไทยจึงออกบริการ สินเชือ่ ประหยัดไฟกสิกรไทยทีว่ งเงินกู 100% ของคาใชจายในการเปลี่ยนหลอดไฟแอลอีดี

โดยไม ต  อ งมี ห ลั ก ประกั น ซึ่ ง จะสามารถ ช ว ยลดต น ทุ น ค า ไฟฟ า ได สู ง สุ ด ถึ ง 80% เฉลี่ยคืนทุนภายใน 2 ป พรอมจับมือ กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน และการไฟฟาสวน ภูมิภาค (กฟภ.) รวมมอบเงินสนับสนุนแผน ลงทุนที่ผานเกณฑ คุณบุนชาน กุลวทัญู ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ ธนาคารกสิกรไทย เผยวา ผูประกอบการ เอสเอ็มอีตอ งมีการปรับตัวเพือ่ รับการแขงขัน และตนทุนทางธุรกิจที่เพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะ ตนทุนดานพลังงานไฟฟา ทีม่ สี ดั สวนประมาณ 10% ของตนทุนทั้งหมดในธุรกิจ ดังนั้น การ บริหารจัดการเพื่อลดการใชไฟฟา และเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชพลังงานในธุรกิจจึงนับ เปนปจจัยสําคัญทีจ่ ะเพิม่ ความสามารถในการ แขงขันระยะยาวได ทัง้ นี้ ทางธนาคารกสิกรฯ จึงไดออกบริการสินเชือ่ ประหยัดไฟกสิกรไทย (K-Top Up Loan for Energy Saving (Lighting Solution) ใหวงเงินสนับสนุนแกผปู ระกอบการ ในการลงทุนปรับเปลีย่ นหลอดไฟที่ใชในธุรกิจ ใหเปนหลอดประหยัดไฟ LED ซึง่ จะชวยเรือ่ ง การลดตนทุนคาไฟฟาไดถึง 80% พรอม รวมมือกับภาครัฐ ไดแก กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน และการ ไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ในการนํา แผนการลงทุนเปลี่ยนหลอดไฟ LED ของผู  ป ระกอบการที่ ผานหลักเกณฑเขารับเงิน สนับสนุนจากภาครัฐอีก ดวย

วงเงิน สําหรับผูประกอบการที่ยื่นขอวงเงินสินเชื่อ ประหยัดไฟกสิกรไทย จะไดรับวงเงินสินเชื่อ สูงสุด 100% ของเงินลงทุนทั้งหมดที่ใชใน การเปลีย่ นหลอดไฟ ไดแก คาหลอดไฟ LED คาติดตั้ง และคาดําเนินการอื่น ๆ โดยไมตอง มีหลักทรัพยคํ้าประกัน เปนวงเงินกูระยะยาว สูงสุด 3 ป อนุมตั ภิ ายใน 2 วันทําการ หลังจาก ผูประกอบการสรุปและเสนอแผนการลงทุน ใหกับธนาคาร นอกจากนี้ จะไดรับบริการครบวงจรจาก บริษทั จัดการดานพลังงาน (ESCO) และบริษทั ซัพพลายเออรหลอดไฟที่มีความรูดานการ จัดการพลังงานแสงสวางทีร่ ว มโครงการ ไดแก บริการคําแนะนําในการวางแผนปรับเปลี่ยน หลอดไฟ คุณภาพแสงสวางทีเ่ หมาะสมกับธุรกิจ ของลูกคา และผลการประหยัดไฟฟาที่จะได รับจากการลงทุนเปลี่ยนหลอดไฟ โดยบริษัท ESCO และซัพพลายเออรจะเปนผูร บั ประกัน ผลคุณภาพสินคา (Warrantee Product) สําหรับตัวหลอดไฟ LED และรับประกันผล การประหยัดพลังงานไฟฟาจากการลงทุน (Warrantee Performance) สําหรับผูประกอบการที่ประสงคจะเขารับ บริการสินเชือ่ ประหยัดไฟกสิกรไทย ตองเปน ธุรกิจที่มีการใชไฟฟา 12 ชั่วโมงตอวัน เชน อุตสาหกรรมผลิตอาหาร เครื่องดื่ม เคมี กระดาษ สิ่งทอ โรงพยาบาล โรงแรม ธุรกิจ คาปลีก เปนตน ติดตอสอบถามไดที่ผูดูแล ความสัมพันธลกู คาผูป ระกอบการ (RM) หรือ ที่ K-Biz Contact Center:0-2888-8822

66

Energy#64_p66_imac2.indd 66

2/17/2557 BE 10:09 PM


เปาหมายการใชพลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟา ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ป (2555 – 2564) ประเภทไฟฟา

เปาหมาย (เมกะวัตต)

พลังงานลม

1,800

พลังงานแสงอาทิตย

3,000

พลังงานน้ำ (ขนาดเล็ก)

324

พลังงานน้ำแบบสูบกลับ

1,284

กาซชีวมวล

4,800

กาซชีวภาพ

600

หญาเนเปยร

3,000

พลังงานจากขยะ

400

พลังงานรูปแบบใหม

3

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน

67

Energy#64_p67_Pro3.indd 67

2/24/14 9:49 PM


Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

สงครามแยงชิงชีวมวล สัญญาณความไมมั่นคงของโรงไฟฟาชีวมวลในอนาคต สงครามใด ๆ หมายถึง มีมากกวา 1 ฝาย แตละฝายตองการเอาชนะเพื่อแยงชิงในสิ่งที่ตนเอง อยากไดหรือควรจะได หรือเพื่อปกปองในสิ่งที่เปนของตนเอง โดยทุก ๆ ฝายตางตองใช กลยุทธของตนเอง ไมมีมิตรแท มีแต Strategy Partner การชวงชิงอํานาจรัฐ อาจตองใชวิธี ใสรายฝายตรงขาม แตสําหรับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม นอกจากชวงชิงความไดเปรียบกัน ในทุก ๆ ดานแลว ราคาสินคาอาจถูกนํามาใชในการทําสงคราม ที่เราเรียกวา Price War เปน ไมตายของโลกธุรกิจ ซึ่งอาจสงผลเสียทั้งสองฝาย “ชีวมวล” ในประเทศไทยก็เชนกัน กําลังเกิกิด ศึกสงครามดานราคากันอยางเงียบ ๆ ตางฝายตางเดินแตมใหไดมาซึ่งชีวมวล เมื่อเปนเชนนนีนี้แลว แผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ป AEDP ของ กระทรวงพลังงาน ก็อาจกลายเปนเชลยศึกกในสงคราม ในสงคราม ครั้งนี้ก็เปนได ในที่นี้เราจะขอโฟกัสไปที่ ไมยูคาลิปตัส (Eucalyptus) ไมปลูกที่สงผลทางเศรษฐกิ ษฐกิจสูง ซึ่งเปน หนึ่งในชีวมวลที่สงผลกระทบไมแพ ออย ปาลม ยางพารา ฯลฯ สงครามเย็น ยูคาลิปตัส ไดสิ้นสุดลง เมื่อกลุมผูใชไมยูคาลิปตัสประกาศ สงครามเสนอภาครัฐใหปกปองการสงออกไมยคู าฯ เพือ่ รักษาระดับราคา ในประเทศ เนื่องจากไมยูคาฯ มีความสําคัญในอุตสาหกรรมกระดาษ ซึ่งตองใชไมยูคาฯ ในปริมาณมากในการผลิตเยื่อกระดาษ จึงอาจ ส ง ผลทํ า ให ก ารส ง ออกในลั ก ษณะวั ต ถุ ดิ บ อาจเสี ย โอกาสใน การสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั ประเทศไทย และอาจสงผลกระทบกับ ดานการสงออกกระดาษของคนไทยในทีส่ ดุ ...นีค่ อื เหตุผลของ ฝายที่ใชไมยูคาฯ เปนวัตถุดิบหลักในการผลิตกระดาษ ฝายผูปลูกผูคา ตอบโตทันทีวา การทําเชนนั้นจะทําให ราคาไมยคู าลิปตัส ในประเทศมีราคาไมเปนไปตามอุปสงคอุ ป ทานสงผลในด านลบให กับชาวไร ทั่วประเทศที่ปลูก หรืออยูใ นธุรกิจนี้ มีผูไดรับประโยชนเพียงไมกี่บริษัท... แลวจุดตัดของความพอดีอยูต รงไหน ? เรามาศึกษาทีม่ า ของศึกสงครามครั้งนี้ เพื่อชวยกันหาทางออกที่ WIN WIN กันดีกวา จากขอมูลของศูนยวิจัยเกษตรวิศวกรรมขอนแกน กรมวิชาการ เกษตร สรุ ป ไว ว  า ไม ยูคาลิ ปตั ส จั ดว าเป นไม โตเร็ วและเป นไม เศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ เนื่องจากสามารถนํามาใชประโยชนได มากมายและเป น วั ต ถุ ดิ บ ในการผลิ ต เยื่ อ กระดาษ จากรายงานของ กรมพัฒนาทีด่ นิ ในป พ.ศ.2544 พบวามีพนื้ ทีป่ ลูกยูคาฯ ทัง้ สิน้ 2,408,78 ไร แยกเปนสวนปาในเขตปาสงวน 754,332 ไร และสวนปาเอกชนจํานวน 1,654,448 ไร 68

Energy#64_p68-69_Pro3.indd 68

2/19/14 8:53 PM


ซึ่งสามารถผลิตไมยูคาฯ ไดประมาณ 6 ลานตัน โดยนํามาใชผลิตเปนเยื่อกระดาษ 60% และ เป น เชื้ อ เพลิ ง 30% ทํา ใหบ ริ ษั ท เอกชนกลุ  ม อุ ต สาหกรรมกระดาษที่ ใช ไ ม ยู ค าฯ เพื่ อ ผลิ ต เยือ่ กระดาษไดมโี ครงการสงเสริมการปลูกไมยคู าฯ ออกมาอย า งต อ เนื่ อ ง ส ง ผลให ป จ จุ บั น ป พ.ศ. 2553 เกิ ด การ ขยายพื้นที่การเพาะปลูกไมยูคาฯ อยางรวดเร็ว จากเดิม 5 ลานไร เปน 10 ลานไร โดยปจจุบันสามารถ ผลิตไมยูคาฯ ไดมากถึงปละ 25 ลานตัน เพียงพอและรองรับตอ การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม ไดอยางเต็มที่ โดยจะมีเปลือกไมอยู 20% ของ ไมสด หรือปริมาณเปลือกไมยคู าฯ 4.3 ลานตันตอป คิดเปนพลังงานเทียบเทานํา้ มันดิบ 1,120 ktoe

กระดาษไดทุมงบประมาณวิจัยตนกลายูคาฯ จน ไดพนั ธุท โี่ ตเร็วเลีย้ งงาย และสงเสริมใหปลูกตาม คันนาที่เราคุนหูคุนตา เรียกวา “ตนกระดาษ” ตนยูคาฯ ที่เหมาะกับการผลิตกระดาษไมควรมี อายุเกินกวา 5 ป สวนตนทีอ่ ายุเกิน 5 ป เหมาะกับ

การนําไปยอยเปน Woodchips หรือยอยละเอียด ผลิตเปน Wood pellet เพื่อสงออก หรือจะพูดวา ไมยูคาฯ ใช ไ ด ทุกสวนก็วาได แมแตเปลือกไม หลังจากสับแลว ราคายังอยูท ตี่ นั ละ 1,500-16,000 บาท ในเวที ก ารซื้ อ ขายไม สั บ (Woodchips) ไม แ ตกต า งกั บ พื ช ตั ว อื่ น ๆ ซึ่ ง ต อ งมี ตั ว ชี้ วั ด คุ ณ ภาพ สํ า หรั บ ยู ค าลิ ป ตั ส ไม ไ ด วั ด กั น ที่ ความหวาน ความชื้น หรือคาความรอน แตวัด กันที่ “ตันแหง” (Bone Dry) เขาใจงายๆ ก็คอื หาก ทานนํา Woodchips ยูคาฯ มาขาย ทีค่ วามชืน้ 50% จํานวน 2 ตัน จะไดราคาเทากับ 1 ตัน ที่ประกาศ รับซื้อ ดังตัวอยางที่สงไปขายที่ไตหวัน ดังนี้

จากการสํารวจทั้ง 19 จังหวัดทางภาคตะวันออก เฉียงเหนือ พบวา มีโรงงานสับไมยคู าลิปตัส 64 โรงงาน เปนโรงงานทีส่ บั เฉพาะไมยคู าฯ จํานวน 44 โรงงาน และเปนโรงงานทีส่ บั ไมทปี่ ลูกขึน้ เฉพาะ 13 ชนิด อีก 20 โรงงาน จํานวนรับซือ้ ไมปล ะ 5,092,393 ตัน จะมีเปลือกไมยคู าฯ ประมาณ 1,043,940 ตันตอป และจากการประเมินพบวาจําหนายใหโรงไฟฟา เพื่อเปนเชื้อเพลิง 49.82 หรือ520,130 ตันตอป และจําหนายใหแกเกษตรกรแตเปนจํานวนที่ นอยมาก โดยยังมีปริมาณเปลือกไมยคู าฯ เหลือ 50.18% หรือ 523,810.18 ตันตอป โดยตนทุน การแปรรูปแบบการสับและอบราคา 1.180 บาท ตอกิโลกรัม และแบบอัดเม็ด 1.525 บาทตอ กิโลกรัม

Eucalyptus Woodchips แบบตันแหง 3,100-3,350 บาท ซื้อแบบตันสด 1,700-1,800 บาท จํานวน ไมจํากัด สงทาเรือแหลมฉบัง ทําสัญญาโดยตรง กับบริษทั ไตหวัน หากมีสนิ คา สงของพรอมเซ็นต สัญญาทันที

จากการสอบถามผูอ ยูใ นธุรกิจคาขายไมยคู าลิปตัส มีขอ มูลทีน่ า สนใจวา เมือ่ หลายปกอ นกลุม ผูผ ลิต

ในสวนของราคา Wood Pellet ไมอดั แทง ทีส่ ง ออก ไปทางเกาหลี-ญี่ปุน ราคา FOB จะอยูที่ตันละ

155 US Dollar แลวทานทราบหรือไมวากลุม ประเทศไหนทีส่ ง ออก Wood Pellet มากทีส่ ดุ ในโลก อันดับ 1 คือ แคนาดา อันดับ 2 คือ สหรัฐอเมริกา ตางสงออกกันปละราว 2,000 Kilotonnes แมแต เกาหลี ญีป่ นุ ก็ยงั เปนลูกคา หากคนไทยหันเขา สู  ต ลาดนี้ อ ย า งจริ ง จั ง โดยเริ่ ม จากการวิจัยพัฒนาใหไดคุณภาพ ตามที่ ลู ก ค า ต อ งการแล ว ละก็ สงครามชี ว มวลอาจกลายเป น ประเด็นการเมืองไมแพพืชชนิด อืน่ ๆ ก็ได นอกจากนีก้ ารทีป่ ระเทศ มหาอํานาจทางเศรษฐกิจประกาศ หยุดนิวเคลียรในอนาคต Biomass ก็คือ หนึ่ ง ในเชื้ อ เพลิงทดแทนที่นา สนใจ แลว โรงไฟฟาชีวมวล 4,800 MW ตามแผน AEDP ของ กระทรวงพลังงาน ก็คงมีคําตอบอยูแลวในวันนี้ วา ยาก ! มาถึ ง บรรทั ด นี้ กํ า ลั ง จะเกิ ด สงครามระหว า ง กระทรวงพลังงานที่สนับสนุนใหใชไมยูคาลิปตัส มาผลิตไฟฟา กับภาคการเกษตรที่พรอมสงออก ไมยูคาฯ ดังนั้นอัตราสงเสริมผูผลิตไฟฟาไมวา จะเปน FIT : Feed in Tariff หรือ Adder จะเปนตัว ชี้ขาดวาโรงไฟฟาไบโอแมสในเมืองไทยจะเกิด หรือไมบทเรียนในอดีตมีใหเห็นมาแลว เมือ่ ครัง้ รัฐ สงเสริมใหนําขยะจากพลาสติกในบอฝงกลบมา ผลิ ต นํ้ า มั น แต ท  า ยที่ สุ ด ราคาพลาสติ ก ที่ คัดแยกแลว ขายไดราคาดีกวาผลิตเปนนํ้ามัน ธุ ร กิ จ ผลิ ต นํ้ า มั น จากขยะพลาสติ ก จึ ง เลิ ก กิจการไปเปนสวนใหญ และไมวาทายที่สุดจะ เปนอยางไร ก็ขอใหเกษตรกรขายไมยูคาฯ ได ราคาดี ๆ ก็แลวกัน

69

Energy#64_p68-69_Pro3.indd 69

2/19/14 8:53 PM


Green Logistics โดย : ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ปจจัยแหงความสําเร็จ ในการบริ ห ารจั ด การ

โลจิสติกส การเติ บ โตและการขยายตั ว ของความเป น เมื อ งที่ เพิ่ ม มากขึ้น (Urbanization) สงผลใหเกิดความตองการ วัตถุดิบ สินคา และบริการตาง ๆ เพิ่มมากขึ้นดวย ไมวา จะเปนธุรกิจคาปลีก ธุรกิจอสังหาริมทรัพย อุตสาหกรรม เปนตน ซึ่งจากสภาพดังกลาว ทําใหธุรกิจสนใจและให ความสํ า คั ญ ต อ การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส ม ากขึ้ นกว า เดิ ม อี ก ทั้ ง ค น หาอี ก ว า อะไรคื อ ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ในการดําเนินธุรกิจ ซึ่งผูเขียนเห็นวาปจจัยแหงความ สําเร็จในการบริหารจัดการโลจิสติกสหลัก ๆ มีดวยกัน 5 ประการ ดังนี้ 1. แผนกลยุทธตองมีความชัดเจน การจัดทําแผนกลยุทธที่ดี จะตองมี ความชัดเจนในการกําหนดแนวทางดําเนินงานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค ตามพันธกิจขององคกร โดยการสรางความสัมพันธระหวางองคกรกับสภาพ แวดลอมภายนอก โดยเฉพาะกับผูม สี ว นไดสว นเสียกับองคกรนับเปนปจจัย สําคัญอยางยิ่งในการดําเนินธุรกิจยุคนี้ ไมวาจะเปนกับผูบริโภค พนักงาน บุคลากร ชุมชน ผูถือหุน หนวยงานภาครัฐ เปนตน นอกจากนี้ การแสดง ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) จะตองเปนการวางนโยบายกลยุทธจากประธานกรรมการและ คณะกรรมการบริหารของบริษทั ความสนใจของพนักงาน ความตองการของ ชุมชน เปนทิศทางเดียวกับความตองการของธุรกิจ และเอือ้ ประโยชนตอ Brand ของบริษัทดวย 2. ความรวมมือระหวางคูคาในโซอุปทานอยางจริงจัง เปนการใหความ สํ า คั ญ กั บ การเชื่ อ มประสานการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตั้ ง แต วั ต ถุ ดิ บ ไปจนถึ ง ผูบ ริโภค ซึง่ ความรวมมือกันจะสงผลใหสมาชิกในโซอปุ ทานไดรบั ประโยชน ทุกคน ไมวาจะเปนการแลกเปลี่ยนขาวสารขอมูลระหวางกันในการกําจัด สวนเกินออกจากโซอุปทานตลอดสาย การตอบสนองความตองการของ ลูกคาไดดขี นึ้ เกิดความรวดเร็วดวยตนทุนทีต่ าํ่ ลง การสงมอบสินคาไดตรงเวลา ความแมนยําของพยากรณยอดขายเพิม่ ขึน้ ผลผลิตโดยรวมเพิม่ ขึน้ มีสนิ คา พรอมขายเพิ่มขึ้น ปริมาณสินคาคงคลังลดลง ระยะเวลาในการสงมอบ สินคาตามคําสั่งซื้อลดลง ในขณะเดียวกันการรวมมือกันยังรวมถึง กิจกรรมทางดานการตลาดกับคูคาควบคูไปกับเทคโนโลยีดวย ซึ่งโดยสรุป ความรวมมือดังกลาวจะทําใหตนทุนที่เกิดขึ้นในระบบซัพพลายเชนลดลง โดยนําความรู ประสบการณ และความสามารถของคูคามาเพื่อชวยให งานตาง ๆ ของโลจิสติกสและซัพพลายเชนใหประสบความสําเร็จ

3. การบริหารตนทุนดานโลจิสติกส ในประเทศทีม่ กี ารพัฒนาระบบโลจิสติกส ดีแลว จะทําใหตน ทุนทางดานโลจิสติกสลดตํา่ ลงเปนเพียงตัวเลขเดีย่ ว ซึง่ ใน หลาย ๆ ประเทศ เชน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป ตนทุนดาน โลจิสติกสลดตํา่ ลง เหลือเพียงรอยละ 7 ถึง 11 ของ GDP เทานัน้ ในประเด็นนี้ จะเห็นไดวา ธุรกิจจะตองศึกษาเรื่องตนทุนโลจิสติกส เพื่อใหสามารถลดคา ใชจายทางดานตนทุนสินคาและบริการขององคกร ซึ่งการบริหารตนทุน ดังกลาวไมเพียงแคลดคาใชจายในการขนสงอยางเดียวเทานั้น แตเริ่มจาก กิจกรรมจากตนนํา้ ไปยังปลายนํา้ คาใชจา ยเกีย่ วกับตนทุนทางดานโลจิสติกส ประกอบดวย 4 กิจกรรมหลัก ดังนี้ - คาใชจา ยทีเ่ กิดจากการขนสง (Transportation Cost) นับตัง้ แต ราคานํา้ มันมีการปรับตัวสูงขึน้ ทําใหภาคธุรกิจไดรบั ผลกระทบคอนขางมาก ซึ่งนํ้ามันนับวาเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหตนทุนในการประกอบการสูงขึ้น โดยหันมาใชพลังงานทดแทน ไมวา จะเปน NGV LPG ไบโอดีเซล หรือมอง หาพลังงานทางเลือกเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ดี ตนทุนดานนี้สามารถพิจารณา และวิเคราะหตน ทุนแบงไดตามประเภทของลูกคา ผลิตภัณฑ ชองทางการจัด จําหนาย เชน ตนทุนขนสงขาเขา ตนทุนขนสงขาออก ตนทุนเหลานีแ้ ปรผัน ตามปริมาณการขนสง นํา้ หนัก ระยะทาง จุดตนทาง และจุดปลายทาง นอกจากนี้ ตนทุนยังอาจผันแปรตามวิธกี ารและรูปแบบการขนสงอีกดวย - ตนทุนการเก็บรักษาสินคาคงคลัง (Inventory Carrying Cost) เปนกิจกรรมทีท่ าํ ใหเกิดตนทุนการเก็บรักษาสินคาคงคลัง ไดแก การควบคุม สินคาคงคลัง การบรรจุภัณฑ การซอมแซมและการทําลายสินคาที่ชํารุดซึ่ง ตนทุนทีเ่ กีย่ วของนีจ้ ะแปรผันตามปริมาณสินคาคงคลัง โดยวัดไดจากตนทุน เงินทุน ตนทุนคาเสียโอกาส ตนทุนในการดูแลสินคา และตนทุนความเสี่ยง จากการจัดเก็บสินคา

70

Energy#64_p70-71_imac2.indd 70

2/17/2557 BE 9:58 PM


- ต้นทุนคลังสินค้า (Warehousing Cost) คือ ต้นทุนที่เกี่ยวกับคลังสินค้า ประกอบด้วย การ เลือกสถานที่ตั้งโรงงานและคลังสินค้า การดูแล รักษาคลังสินค้า กิจกรรมภายในคลังสินค้า การ บริหารจัดการคลังสินค้า ต้นทุนนี้จะแปรผันตาม จ�านวนและสถานที่ตั้งของคลังสินค้า - ต้นทุนการบริหารจัดการ (Administration Cost) ประกอบด้วย ต้นทุนทีเ่ กีย่ วกับระดับ การให้บริการลูกค้า ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการสัง่ สินค้า การจัดหาอะไหล่และการให้บริการสนับสนุนอืน่ ๆ ค่าใช้จ่ายในการจัดการสินค้าส่งคืน ต้นทุนค่าเสีย โอกาสในการขาย ต้นทุนกระบวนการและข้อมูล ในการสัง่ ซือ้ และต้นทุนการจัดซือ้ ต้นทุนกระบวน การสัง่ ซือ้ กระจายหรือส่งค�าสัง่ ซือ้ การติดต่อสือ่ สาร การพยากรณ์ความต้องการพัฒนาระบบสารสนเทศ เช่น การบันทึกค�าสัง่ ซือ้ และการประมวลค�าสัง่ ซือ้ ตลอดจนการจัดซือ้ และการผลิต ซึง่ จะแปรผันตาม การเปลี่ยนแปลงในปริมาณสินค้าหรือความถี่ใน การสั่งซื้อ เป็นต้น ดังนั้น การบริหารต้นทุนด้านโลจิสติกส์ ใน 4 กิจกรรมหลัก จ�าเป็นจะต้องท�าให้เกิดความ สมดุลจึงจะท�าให้องค์กรเข้าสู่ปัจจัยแห่งความ ส�าเร็จ 4. การน�าระบบเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการท�างาน ของบริษทั โดยหลายคนมีความเข้าใจผิดว่า ระบบ เทคโนโลยี ไม่มคี วามเกีย่ วข้องกับโลจิสติกส์ ซึง่ ใน ความเป็นจริงแล้ว โลจิสติกส์เป็นเรือ่ งของกระบวน การทุก ๆ กิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ภายในของการด�าเนิน ธุรกิจ แล้วมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวข้องในการ เคลื่อนย้ายส่งมอบงานระหว่างกัน โดยจะต้องน�า ข้อมูลข่าวสารมาบูรณาการเข้าด้วยกันเพือ่ ลดต้นทุน และลดข้อผิดพลาดในการท�างานในทุกส่วนงาน ให้กับองค์กร อนึ่ง การน�าเครื่องมืออุปกรณ์และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับระบบโลจิสติกส์มาใช้ ไม่วา่ จะเป็นเทคโนโลยีดา้ นคลังสินค้า ด้านการขนส่ง สินค้า ด้านบรรจุภัณฑ์ ระบบ MRP ERP เป็นต้น จะสามารถช่วยให้การส่งต่องานระหว่างกันเกิด ความสะดวกรวดเร็วและเกิดความสามารถทาง การแข่งขันได้ นอกจากนี ้ กระบวนการจัดการและ กระบวนการสารสนเทศยังท�าหน้าที่เปรียบเสมือน แกนกลางในการแสวงหาแหล่งของวัตถุดิบและ บริการ การจัดหา การเก็บสินค้าเข้าคลัง และการ จัดส่งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องไปยังสถานที่ที่ถูกต้องใน เวลาที่พอเหมาะ โดยมีการเก็บสินค้าคงคลัง ซึ่ง ส่งผลท�าให้ประหยัดค่าใช้จ่าย ลดเวลา และใช้เงิน ทุนให้นอ้ ยทีส่ ดุ เพือ่ ทีจ่ ะท�าให้ลกู ค้าพึงพอใจอย่าง มีประสิทธิผล

5. การบริหารทรัพยากรบุคคลด้าน โลจิสติกส์ นับตั้งแต่กระบวนการ วางแผนก�าลังคน การสรรหา การคัดเลือก การพัฒนาบุคลากร ฯลฯ ถือเป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีผล ต่อความส�าเร็จของการพัฒนาระบบ โลจิสติกส์ในองค์กร เนื่องจาก ปัจจุบนั ธุรกิจยังคงประสบกับการ ขาดแคลนบุคลากรด้านโลจิสติกส์ ทั้งระดับผู้บริหาร และระดับ ปฏิบตั กิ ารทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและ สถาบันการศึกษาทีเ่ ป็นแหล่งผลิต ก�าลังคนเข้าสู่ระบบธุรกิจยังไม่ สามารถผลิตได้ตรงความต้องการ ของภาคธุรกิจทีต่ อ้ งการบุคลากรจบสาขาในแต่ละกิจกรรมโลจิสติกส์มากขึน้ เช่น สาขาการจัดการ คลังสินค้า สาขาการจัดการการขนส่ง สาขาพาณิชย์นาวี และการเดินเรือ เป็นต้น ดังนัน้ ธุรกิจจึงต้องมี การวางแผนพัฒนาก�าลังคนทีช่ ดั เจนและเป็นระบบมากขึน้ ซึง่ ควรจะมีการเร่งสร้างทักษะและองค์ความรู้ ใหม่ให้กบั บุคลากรในทุกระดับ รวมถึงวางเป้าหมายอุปสงค์และอุปทานในด้านก�าลังคนให้มคี วามสมดุล ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพด้านโลจิสติกส์ในแต่ละส่วนงานให้พอเพียงกับอัตราการเจริญเติบโต ของธุรกิจในอนาคตด้วย อนึ่ง ปัจจัยแห่งความส�าเร็จขององค์กรในด้านโลจิสติกส์ นอกจากการพัฒนาทางด้านกายภาพแล้ว ยังต้องพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพอย่างเพียงพอที่จะสอดคล้องรองรับกับแผนพัฒนาองค์กรด้วย หากพนักงานและบุคลากรภายในขาดองค์ความรู้และความสามารถก็จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าวได้

71

Energy#64_p70-71_imac2.indd 71

2/17/2557 BE 9:58 PM


Around The World พิชญาภา อินทโลหิต

บรรจุภัณฑรักษโลก ผู  ค  า ปลี ก และผู  ผ ลิ ต สิ น ค า ที่ หั น มาใส ใ จเรื่ อ ง สิ่ ง แวดล อ มมี จํ า นวนมากขึ้ น เรื่ อ ยๆ ผู  ผ ลิ ต ได ออกมารณรงคกันอยางมากมาและนวัตกรรมที่ นาจับตามองมากทีส่ ดุ คือ นวัตกรรมดานบรรจุภณ ั ฑ เชน ภาชนะบรรจุอาหารและเครื่องดื่มที่ทาํ จากพืช จึงสามารถยอยสลายไดงาย ตัวอยางเชน บริษัท เอเดนส เปเปอรฯ (Eden’s Paper) ที่ผลิตกระดาษ หอของขวัญจากเสนใยพืช ซึ่งในเสนใยกระดาษ มีเมล็ดพืชผักสวนครัวที่สามารถนําไปปลูกไดดวย เช น เดี ย วกั บ บริ ษั ท นิ โ กะ ที่ ผ ลิ ต บั ต รอวยพร บรรจุเมล็ดพันธุดอกไมที่สามารถนําไปปลูกไดอีก ตัวอยางทีน่ า ชืน่ ชมคือ สตารบคั ส ที่มีโครงการผลิต ถวยพลาสติกราคา 1 ดอลลาร ใหลูกคาซื้อไปใช เพื่ อ นํ า กลั บ มาใส ก าแฟในการซื้ อ ครั้ ง ต อ ๆ ไป (ถ ว ยนี้ ส ามารถล า งและนํ า กลั บ มาใช ใ หม และ สุ ด ทา ยสามารถนํา ไปรีไซเคิล ) เปา หมายก็ เพื่อ ลดการใชถวยกาแฟที่ทําจากกระดาษนั่นเอง

อรอยไดไมมีพิษ แถมเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ไอเดียการออกแบบเครือ่ งใชบนโตะอาหาร ใหดูแปลกตาและดึงดูดใจผูใชงานมีออกมา ใหเห็นอยางสมํา่ เสมอ ไมวา จะเปนการใชสสี นั ฉูดฉาด รูปทรงเฟยวฟาว หรือความเรียบ เนี๊ยบกริบที่ถูกใจบรรดา minimalist เลยไป จนถึงการใสฟงกชั่นแบบไมยั้งเพื่อใหผูใช รูสึกคุมคาแบบ all in one แตจะดีแคไหน ถาอุปกรณเหลานี้จะมีรูปลักษณสวยงาม นาหยิบจับฟงกชั่นที่ใชงานไดจริง แลวยัง ไมสรางผลกระทบราย ๆ ตอสิ่งแวดลอม และผูบริโภค Graft ผลงานออกแบบจาก ฝ มื อ ดี ไซเนอร สั ญ ชาติ จี น อย า ง Qiyun Deng ที่ ร วมเอาคุ ณ สมบั ติ ข  า งต น มาไว ไดอยางครบถวน Deng สรางความนาสนใจ ใหผลงานของเธอดวยการนําเอาลักษณะ เด น ของผิ ว สั ม ผั ส และสี สั น ตามธรรมชาติ ข องผั ก ผลไม ม าผ า นกระบวนการผลิ ต ด ว ย เทคนิ ค การทํ า บล็ อ คและหล อ เรซิ น เพื่ อ สร า งให อุ ป กรณ แ ต ล ะชิ้ น มี ค วามเหมื อ นจริ ง ตามธรรมชาติ ไมวาจะเปนกานของคื่นชายที่ถูกใชเปนดามสอม ดามชอนหัวแครอท ชอนซุปที่ถอดแบบทั้งพื้นผิวและสีสันของใบอารติโชคมาแบบเต็ม ๆ ไปจนถึงมีดที่มี ผิวสัมผัสเหมือนกับกานสับปะรดมาก ๆ นอกจากนี้ Deng ยั งหยิบเอาพลาสติกชีวภาพ ที่ยอยสลายไดในธรรมชาติ ซึ่งสังเคราะหขึ้นจากทรัพยากรที่สามารถหาทดแทนใหมไดมา ใชเปนวัสดุหลักในการผลิตทุกสวนของอุปกรณบนโตะอาหารชุดนี้ดวย 72

Energy#64_p72_Pro3.indd 72

ลดขยะ...จากอาหารเหลือ หนึ่งในความทาทายที่สุดของโลกยุคหนาคือการลด ขยะจากอาหารเหลือทิง้ เนือ่ งจากโลกมีจาํ นวนประชากร เพิม่ มากขึน้ ทําใหมคี วามตองการบริโภคอาหารมากขึน้ เป น เงาตามตั ว ดั ง นั้ น การบริ ห ารจั ด การอาหาร ไม ใ ห เ ป น เศษเหลื อ กิ น เหลื อ ใช จึ ง เป น โจทย ที่ ท า ทายนั ก ประดิ ษ ฐ คิ ด ค น นวั ต กรรมเป น อย า งยิ่ ง แตในระยะไมกี่ปที่ผานมา เราก็ไดเห็นความพยายาม จากหลาย ๆ ฝายในเรือ่ งนี้ เชน ในงาน เวียนนา ดีไซน วีค 2013 ที่ ผ  า นมาเราได เ ห็ น คอนเซ็ ป ต ใ หม ข องร า น อาหารที่เรียกวา ไบโอแมต (Biomat) เปนแนวคิด ตนแบบที่นํามาใชเฉพาะกิจภายในงานนี้ โดยทางราน มี ข  อ เสนอพิ เ ศษให ลู ก ค า นํ า อาหารเหลื อ จาก ที่ บ  า นมาแลกเป น ส ว นลดสํ า หรั บ การรั บ ประทาน อาหารภายในร า น นั บ ว า เป น วิ ธี ที่ น  า สนใจและ ลดคาใชจายในการจํากัดขยะเปนอยางมาก 2/24/14 9:59 PM


73

Energy#64_p73_Pro3.indd 73

2/20/14 10:20 PM


ASEAN Update กองบรรณาธิการ

ธนาคารโลกหนุนพมา

พัฒนาพลังงาน-สาธารณสุข

ความตื่นตัวดานพลังงานในแถบประเทศอาเซียนเปนไปอยางคึกคัก ภายใตการ เตรียมความพรอมสูป ระชาคมอาเซียน ซึง่ จะมีความรวมมือหลายดานเพือ่ รองรับ การเติบโตทางเศรษฐกิจรวมกันของภูมภิ าค ความเคลือ่ นไหวลาสุดธนาคารโลก ไดประกาศวาจะใหความชวยเหลือทางดานการเงินแกสาธารณรัฐแหงสหภาพ

เมียนมาร หรือประเทศพมา จํานวน 2,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ หรือประมาณ

65,760 ลานบาท เพือ่ นําไปใชจา ยในโครงการตางๆ ทั้งทางดาน พลังงานและดานสาธารณสุข เงินทุนดังกลาวจะถูกนําไปใชในการจัดหาไฟฟาใหกับประชาชน ชาวพมาใหสามารถเขาถึงไฟฟาอยางทัว่ ถึงภายในป 2030 เพราะ ทีผ่ า นมาปญหาสําคัญของพมาคือ ยังไมมไี ฟฟาถึงกวารอยละ 70 โดยการพัฒนาใหชาวพมามีไฟฟาใชจะชวยทําใหสงั คมพมาดีขน้ึ เยาวชนจะสามารถอานหนังสือตอนกลางคืนได รานคาจะสามารถ เปดใหบริการไดในเวลากลางคืน รวมถึงศูนยบริการสาธารณสุข จะมีไฟฟาและพลังงานใชอยางทัว่ ถึงซึง่ จะสามารถชวยชีวติ ผูคน ไดมากขึน้ เพือ่ ลดอัตราการเสียชีวติ ของเด็กทารกและเพือ่ สุขภาพ ของมารดาอีกดวย ทัง้ นี้ ตามรายงานของธนาคารโลก พบวาสาธารณรัฐแหงสหภาพ เมียนมารเปนหนึ่งในประเทศที่ยากจนที่สุดในเอเชียตะวันออก โดยมีผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศหรือ GDP ตอหัวอยูท ป่ี ระมาณ 800 - 1,000 เหรียญดอลลารสหรัฐฯ เทานัน้ หากมีการเขาถึงของ ระบบไฟฟาและสาธารณสุขมากขึ้น อาจทําใหศักยภาพดาน

การแขงขันของประเทศเพิ่มมากขึ้น

ผลสํารวจชี้ อาเซียนอาจประสบปญหาพลังงาน การเติบดานประชากรและเทคโนโลยีปจจุบัน สงผลอยางมากตอโลก โดยเฉพาะประเทศแถบ อาเซียนทีก่ าํ ลังเรงการเติบโตเพือ่ รองรับการแขงขันรอบดานทีก่ าํ ลังจะเกิดขึน้ ผลสํารวจโดยเชลล เผย 3 ประเทศอันดับแรกของ 9 ประเทศในอาเซียน ที่นาเปนหวงตอปญหาความตองการใช พลังงานในอนาคต คือ ประเทศไทย ฟลิปปนสและอินเดีย ทามกลางความตองการใชพลังงาน น้ําและอาหารที่เพิ่มมากขึ้น หนวยงานดานพลังงานแหงอนาคตของเชลล ไดสาํ รวจความคิดเห็นของประชากรจํานวน 8,446 คน จาก 31 เมือง ใน 9 ภูมิภาค โดย 80% ของผูตอบแบบสํารวจ ระบุวา ความตองการพลังงาน ระยะยาวในอนาคตมีความสําคัญไมนอยไปกวาเรื่องระบบการศึกษาของรัฐและคาครองชีพ ซึ่ง เปนความกังวลจากการใชพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นทั่วโลก

และบําบัดน้าํ เสีย น้าํ ใชในการผลิตพลังงาน ทัง้ พลั ง งานและน้ํ า ล ว นเป น ป จ จั ย ในการผลิ ต อาหารของโลก ซึง่ ถึงเวลาแลวภูมภิ าคเอเซียจะ ตองตระหนักถึงปญหาความตองการพลังงาน ในอนาคต เห็นไดจากจํานวนประชากรและ ความตองการใชพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นมากใน ภูมภิ าคนี้ ภาคอุตสาหกรรม รัฐ และเอกชน ควรรั บ ผิ ด ชอบร ว มกั น มากขึ้ น ในการจั ด หา พลั ง งานในอนาคตและจะต อ งร ว มมื อ และ ประสานกันหาทางออกดานพลังงานตอไป

คาดการณวา ความตองการพลังงาน น้ําและอาหารบนโลกจะเพิ่มขึ้นราว 40-50% ภายในป 2030 จากจํานวนประชากรทีเ่ พิม่ มากขึน้ สงผลตอแหลงพลังงานทีม่ ตี อ การดํารงชีวติ ทีใ่ ชในการจัดการ 74

Energy#64_p74-75_imac2.indd 74

2/17/2557 BE 10:13 PM


วางยุทธศาสตร์พลังงานสู่

ประชาคมอาเซียน

ปัจจุบนั ปริมาณความต้องการพลังงานไฟฟ้าเกิดขึน้ อย่าง ต่อเนือ่ งทุกภูมภิ าค ในประเทศทีม่ คี วามพร้อมก็สามารถ ผลิตไฟฟ้าได้เพียงพอต่อความต้องการในประเทศ แต่ หากเป็นประเทศทีย่ งั ไม่มคี วามพร้อม ทางออก คือ การ วางแผนด้านพลังงานให้มีผลต่อเนื่องในระยะยาว ซึ่ง ประเทศไทยเป็นหนึ่งนั้น เพราะไฟฟ้าที่ผลิตในประเทศ ส่วนใหญ่ ไ ด้ มาจากโรงไฟฟ้าที่ ใช้ ก ๊ า ซธรรมชาติเป็น เชือ้ เพลิงและปัจจุบันยังจ�าเป็นต้องน�าเข้าจากประเทศ เพือ่ นบ้านกว่า 60% การวางยุทธศาสตร์ดา้ นพลังงานจ�าเป็นต้องเกีย่ วข้องกับ การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 โดยเน้นการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ เพื่อให้มีความ เชือ่ มโยงและมีขดี ความสามารถในการรองรับการค้าและ การลงทุน จึงเกิดเป็นการวางโครงการสายส่งเชื่อมโยง ASEAN Power Grid ทัง้ ทีเ่ ป็น Flagship Project ประกอบ ด้วย โครงการระบบส่งเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลัง ความร้อนหงสาลิกไนต์, โครงการระบบส่งเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้า จากโครงการไซยะบุร,ี โครงการระบบส่งเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้าจาก โครงการเซเปียนเซน�า้ น้อย รวมถึงโครงการใหม่ประกอบ ด้วยโครงการระบบส่งเพือ่ รับซือ้ ไฟฟ้าจากโครงการเขือ่ น มายตง, โครงการระบบส่งเพื่อรับซื้อไฟฟ้าจากโครงการ เขือ่ นฮัจจี และโครงการระบบส่งเพือ่ ซือ้ ขายไฟฟ้าส�าหรับ เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย อีกหนึ่งทางออกกับการขยายกรอบข้อตกลงการรับซื้อ ไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน ภายใต้การท�าสัญญาข้อ ตกลงรับซือ้ ไฟฟ้าจาก สปป.ลาว โดยเชือ่ มโยงทางสายส่ง มายังโรงไฟฟ้าแม่เมาะและส่งต่อไปยังพืน้ ทีภ่ าคกลาง ซึง่ ปัจจุบนั ลาวถือเป็นประเทศทีน่ า่ จับตา เพราะมีศกั ยภาพ ด้านการผลิตไฟฟ้าทุกประเภทถึง 26,000 เมกะวัตต์ Energy#64_p74-75_imac2.indd 75

จนได้ชื่อว่าเป็นแหล่งพลังงานของภูมิภาคเอเชียอีกหนึ่งประเทศ รวมถึงการรับซื้อ ไฟฟ้าจากประเทศพม่า หรือเมียนมาร์เพิ่มเติมอีกด้วย นอกจากการน�าเข้าไฟฟ้าจากพม่าแล้ว ทีน่ า่ เป็นห่วงคือ ประเทศไทยยังต้องน�าเข้า ก๊าซธรรมชาติเพื่อผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอ ถึง 2 ใน 3 ของการผลิตไฟฟ้าทุกประเภท หรือคิดเป็นสัดส่วนกว่า 67% และในสัดส่วนดังกล่าวต้องน�าเข้าก๊าซธรรมชาติจาก พม่ากว่า 38% ที่เหลือจะเป็นก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทย หากพม่าไม่สามารถจ่าย ก๊าซธรรมชาติให้ไทยได้จากการซ่อมบ�ารุงประจ�าปี จะส่งผลกระทบต่อการผลิต ไฟฟ้าในประเทศทันที ประเทศไทยจ�าเป็นต้องวางแผนเจรจาซือ้ ไฟฟ้าเพิม่ เติม เพราะศักยภาพของประเทศ เพื่อนบ้านต่างมีความต้องการใช้ปริมาณไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ถึงแม้ว่าตัวเลขการใช้ไฟฟ้า ช่วงปลายปีจะพบว่ามีปริมาณการใช้ไฟฟ้าทีล่ ดลงอย่างต่อเนือ่ ง แต่กไ็ ม่อาจวางใจได้ เพราะเศรษฐกิจในประเทศมีความซบเซาจากปัญหาภายใน จึงส่งผลต่อปริมาณการ ใช้ไฟฟ้าได้ ถึงแม้ว่าที่ผ่านมา ประเทศไทยจะมีการวางยุทธศาสตร์ด้านพลังงานอย่างต่อเนื่อง ในทุกรูปแบบ การทีโ่ ครงการต่าง ๆ ยังไม่คบื หน้า หรือยังไม่สา� เร็จเท่าทีค่ วรอาจมา ปัจจัยรอบด้านในหลาย ๆ ส่วน ซึ่งแต่ละปัจจัยอาจเป็นสิ่งที่นอกเหนือการควบคุม ฉะนัน้ ประเทศไทยจะท�าอย่างไร เมือ่ วันทีก่ ารเป็นประชาคมอาเซียนก้าวมาถึง และ ประเทศเพือ่ นบ้านมีความพร้อมมากกว่า เป็นเรือ่ งทีต่ อ้ งทางออกกันต่อไป

75

2/17/2557 BE 10:13 PM


Energy Focus นัษรุต เถอนทองคา นษรุ เถื่อนทองคํา

»˜ÞËÒ¡ÒÃàÁ×ͧà¡Ô´ ¤ÇÒÁà¨ÃÔÞ»ÃÐà·ÈËÂØ´ ปญหาของประเทศไทย ณ ปจจุบัน ถามใคร ๆ ก็สามารถตอบไดวาคืออะไร ใครมีสวนเกี่ยวของ ใครได รับผลประโยชน และใครที่ประสบปญหา อยูที่วาเรา ๆ ทาน ๆ เลือกที่จะเดินไปถามถึงปญหาดังกลาวกับใคร หรือ ฝายใด เพราะปญหาเกิดจากความเขาใจที่คิดตาง นํามาซึ่งปญหาที่ไมสามารถหาทางออกไดอยาง ลงตัว ผลลัพธก็เปนอยางที่เห็นอยูที่วันนี้

76

Energy#64_p76-77_Pro3.indd 76

2/22/14 9:53 PM


เรื่องของการเมืองและความคิดที่แตกตาง มีการหยั่งรากฝงลึกอยูในผืนแผนดินนี้มา นานแลว รอเพียงเวลาที่เหมาะสมตอการ แตกหัก หรือเมือ่ ถึงจุดทีไ่ มสามารถทนหลับ หูหลับตาไมรับรูไดอีกแลว ถามวาปญหา ของการแตกหักขัดแยงทีเ่ กิดขึน้ มานัน้ ใครที่ เปนคนผิด ใครที่เปนคนถูก เรื่องนี้คําตอบ เปนเรือ่ งยากทีจ่ ะหาจุดสิน้ สุด เพราะตางคน ตางความคิด ตางคนตางทัศนะคติ แตหาก จะถามถึงเรื่องของความเหมาะสม ความ ถูกตอง และความรับผิดชอบ เรื่องนี้หา คําตอบไดไมยาก อยูที่วาจะมีใครยอมรับ เรื่องนี้หรือไม ? ปญหาของประเทศไทยในชวงไมถึง 10 ปที่ ผานมา หนีไมพนเรื่องของการเมือง เพราะ มีการแบงพรรคแบงพวกที่ชัด ตกผลึกเปน ความเกลี ย ดชั ง ที่ มี ต  อ ฝา ยตรงข าม เคย สังเกตุกับบางไหม หากเรามีการแสดงออก ถึงเรื่องการเมืองอยางชัดเจน สิ่งที่จะตาม มาคือ เราอาจไดเพือ่ นกลุม ใหมเขามา หรือ อาจเสียเพื่อนบางกลุมออกไปโดยไมรูตัว สิ่งนี้คือความจริงของปจจุบันที่เราตองจํา ใจที่จะยอมรับ อยางที่บอก เรื่องนี้ ไ ม มี ใครถูกใครผิด เปนเรื่องของทัศนคติสวน บุคคลเทานั้น ขามเรื่องทัศนคติมาสูเรื่องของผลเรื่องที่ ตามมา เมือ่ ประเทศอยูใ นสภาวะเชนนีย้ อ ม เกิดผลกระทบตอการไหลลื่นตอการเติบโต ของประเทศ เพราะประเทศไมสามารถโตได ดวยตัวเองเพียงอยางเดียว ตองมีเรื่องของ เศรษฐกิจเขามาเกี่ยวของ โดยเฉพาะการ ลงทุนของตางประเทศ หลายประเทศมีการ ประกาศหามเขาประเทศไทย เพราะเปน พืน้ ทีส่ แี ดง ทัง้ ทีอ่ าจไมรเู รือ่ งตืน้ ลึกหนาบาง วา เกิดจากอะไรกันแน แตเปนเรือ่ งของความ ปลอดภัยของประชากรภายในประเทศเขา รวมถึงนักลงทุนก็ไมกลาทีจ่ ะเขามาตัดสินใจ ลงทุนในโครงการใหญ ๆ และปรับแผนไป ลงทุนในประเทศเพื่อนบานแทน ภาครั ฐ บาลที่ ตั้ ง อยู  บ นความไม แ น น อน สงผลอยางยิ่งตอการดําเนินโครงการใหญ ในประเทศ ถึ ง แม จ ะไม พั บ โครงการ ดังกลาวเก็บไป แตก็สงผลตอความลาชา อยางหลีกเลีย่ งไมได โดยเฉพาะโครงการ ดานพลังงานทีป่ ระเทศไทยมีการวางเปาหมาย ไว ลวงหนา เพราะแตละโครงการตามแผน โครงสรางพื้นฐานดานพลังงานตาง ๆ เปน โครงการต อ เนื่ อ งหวั ง ผลในระยะยาว และใชเงินลงทุนที่คอนขางสูงระดับหลาย

Energy#64_p76-77_Pro3.indd 77

หมื่ น ล า นบาทใชเวลาในการกอสรางนาน หลายป หากเกิดการลาชาหรือหยุดชะงักของ โครงการ ไมวาสาเหตุใดก็ตาม อาจสงผล ตอการปรับเปลีย่ นแผนของโครงการดังกลาว ได ที่ สํ า คั ญ กระทบต อ การสร า งความมั่ น คง ดานพลังงานอยางแนนอน บางครัง้ อาจทําให เกิดการขาดแคลนพลังงานในบางพื้นที่ได เพราะแตละพืน้ ทีม่ คี วามตองการใชพลังงาน มากน อ ยไม เ ท า กั น เมื่ อ ถึ ง เวลาที่ ค วาม ตองการใชพลังงานเพิ่มสูงขึ้น แตไมมีระบบ โครงสร า งพื้ น ฐานที่ ไ ด รั บ การอนุ มั ติ จ าก ภาครัฐบาลสําหรับรองรับความตองการใช พลังงานในพื้นที่เหลานั้น ก็จะเกิดปญหา ตามมาในพืน้ ทีช่ มุ ชนดังกลาวเปรียบเสมือน เงาตามตัวมาได ซึ่งความเชื่อถือเปนเรื่อง สําคัญสําหรับประชาชน เมื่อไมมีความนา เชื่อถือ ประชาชนก็จะหมดศรัทธาไมวาจะ กรณีใด ๆ ก็ตาม คํ า ว า “ศรั ท ธา” สํ า หรั บ หน ว ยงานที่ เกี่ยวของตอการทํางานเปนเรื่องที่สําคัญ การขาดศรัทธาก็เปรียบเสมอการขาดความ “นาเชือ่ ถือ” อยางทีท่ ราบกันดี ทุก ๆ ประเทศ ในโลกมีเรื่องที่เปนสีเทาแอบแฝงและฝงลึก ไมใชเฉพาะองคกรใหญ ๆ แตองคกรเล็ก ๆ ก็มี ใหเห็นไมนอยเชนกัน อยูที่วาเราจะทนกับ เรือ่ งนีไ้ ดหรือไม การแสดงออกทางการเมือง ไมใชเรือ่ งผิด ทีจ่ ะรักใครหรือชอบใคร ประเด็น อยูท วี่ า ใครจะทํางานใหกบั สังคมสวนรวมได มากกวากัน ใครจะบรรเทาความเดือดรอน ไดทันทวงที ซึ่งหากทําได สังคมก็อาจจะ ยอมรับและมองขาดสีเทานั้นไปแบบไมนํา มาเก็บมาคิดใหรกสมอง

บทสรุปของประเทศไทย ณ ปจจุบัน ยังไมรู วาจะออก “หัว” หรือ “กอย” เพราะเปน เรื่องที่เกี่ยวของกับกลุมคนไมกี่คน ที่จะ “ยอม” หรือ “ยือ้ ” ตอเหตุการการณดงั กลาว “ยอม” เพื่อหาทางออกใหมรวมกันภายใต ศรัทธาทีย่ งั คงมีอยูแ ละสรางใหมไปเรือ่ ย ๆ หรือจะ “ยือ้ ” เพือ่ หาทางออกเกากับเดิมพัน ดวยศรัทธาก็อาจลดลง ก็สุดแทแตวาใคร จะมองอยางไร เพราะเปนเรื่องสวนบุคคล แตอยาลืมวาไมใชคนไทยเทานัน้ ทีก่ าํ ลังมอง เรื่องดังกลาว ปจจุบันทั่วโลกกําลังหันมา มองอยางจริงจังแลวสําหรับเรื่องนี้ หากมองอยางเปนกลาง อะไรที่เปนปญหา อะไรที่เปนทางแก อะไรที่สามารถนําพา ประเทศใหอยูรอด อะไรที่ทําใหประชาชน ในประเทศอยูได ไมวาจะเปนคําวา ศรัทธา ความนาเชื่อถือ ยอม หรือ ยื้อ ลวนเปนสิ่ง ที่หนวยงานที่เกี่ยวของควรที่จะสินใจ และ ประชาชนในประเทศก็จะชวยตัดสินใจดวย มองใหลึก มองถึงปญหา แลวหาทางแกให ตรงจุด อะไรไมดีปรับและเริ่มใหม ผิด ถูก วาไปตามพื้นฐานความเปนจริง เพราะโลก กําลังหมุน เวลากําลังเดิน ประเทศไทยไม สามารถหยุดอยูก บั ทีไ่ ด ปากทองในประเทศ ยังตองกินยังตองใช ฉะนัน้ เราลองมาคิดกันดูดกี วาวาประเทศไทย หลังจากนีจ้ ะเดินไปทางไหน จะเดินไปอยางไร หรือจะถูกใจใครมากนอยเพียงไร ลองดูครับ ก็ แคคดิ เทานัน้ เพราะเราก็ไมมสี ทิ ธิไปทําอะไร ไดอยางแนนอน เพราะประชาชนตาดํา ๆ ก็ไดแตรอตอไปเทานั้น ใชหรือไม? 77

2/22/14 9:53 PM


Insight Energy กองบรรณาธิการ

ราคาพลังงาน และ ภาวะถดถอย

ประเด็นสําคัญที่ตองติดตาม

ปญหาสิ่งแวดลอมและปญหาพลังงานดูเหมือนจะเปน เรือ่ งทีแ่ ยกกันไมออกในปจจุบนั จากรายงาน 2014 World Energy Issues Monitor ขององคการพลังงาน โลก World Energy Council : WEC ไดกลาวถึงความ ผันผวนในระดับสูงของราคาพลังงานเปนปจจัยที่ไม แนนอนและมีความสําคัญเปนอันดับแรกแทนประเด็นเรือ่ ง สภาพอากาศ เพื่อผลักดันวาระพลังงานโลกซึ่งถือ เปนการกลาวถึงปญหาดังกลาวเปนครัง้ แรก

ที่ผานมา กลุมผูนําดานพลังงานใหความเห็นวาในชวง 3 ปที่ผานมา เรื่อง สภาพอากาศโลกเปนประเด็นที่สําคัญ แตก็ถูกมองวามีผลกระทบนอยลงกวา สภาวะผันผวนของราคาพลังงาน ขณะเดียวกันเรื่องของการกักเก็บและใช คารบอน (Carbon Capture, Utilisation and Storage: CCUS) ยังถูกมองวา เปนเพียงเทคโนโลยีเดียวที่มีผลกระทบในวงจํากัดตอภาคพลังงาน จากขอมูลเรื่องสภาพอากาศและ CCUS ถูกมองวาเปนประเด็นที่มีผลกระทบ นอยกวาถือวาเปนขาวรายไมเฉพาะแตในเรื่องการลดมลภาวะเทานั้น แตยัง รวมไปถึงการพัฒนาโครงสรางพลังงานที่แข็งแกรงและยืดหยุน ซึ่งระบบ พลังงานอยูในภาวะขยายตัวและกําลังเปลี่ยนแปลงไป สัญญาณที่เห็นในวันนี้ ถือเปนหลักฐานที่ชัดเจนในเรื่องความตองการเรงดวนเกี่ยวกับกรอบการ ทํางานที่แข็งแกรง สอดคลอง และเปนแผนในระยะยาวมากขึ้นสําหรับการ วางแผนการลงทุนในอนาคต

พลั ง นํ้ า ขนาดใหญ ไ ด ก ลั บ มาเป น วาระสํ า คั ญ ที่ มี ศั ก ยภาพที่ สําคัญในอนาคต ทั้งในแอฟริกากลาง ละตินอเมริกา รัสเซีย และแคนาดา รายงาน 2014 World Energy Issues Monitor เปนผลการศึกษา ที่สําคัญเปนระยะเวลา 6 เดือนที่นําเสนอมุมมองของผูนําดาน พลังงานกวา 800 ราย ซึ่งประกอบไปดวย รัฐมนตรี ประธาน เจาหนาที่บริหาร และประธานสมาชิกคณะกรรมการของ WEC ในแตละประเทศจาก 84 ประเทศ รายงานไดเนนไปที่ประเด็น วาระพลังงานโลกและการวิเคราะหแนวโนมและภาวะพลังงาน ใน 6 ภูมิภาคของโลกบวก 24 ประเทศ

ผลการศึกษาขององคการพลังงานโลกระบุวา ผูนําดานพลังงานมีความวิตก กังวลมากขึ้นเกี่ยวกับความสามารถของภาคพลังงานในการเขาถึงตลาดทุน เพือ่ หาแหลงเงินทุนสําหรับโครงสรางสาธารณูปโภคดานพลังงาน เมือ่ พิจารณา ถึงภาวะถดถอยที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องในขณะเดียวกัน ผูนําดานพลังงานยัง คงวิ ต กกั ง วลในเรื่ อ งพลั ง งานหมุ น เวี ย นและประสิ ท ธิ ภ าพด า นพลั ง งาน เนื่องจากศูนยกลางการขยายตัวไดเปลี่ยนแปลงจากยุโรปและอเมริกาเหนือ ไปเปนตะวันออกกลาง ซึ่งมีอุปสงคเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว โครงการโรงไฟฟา 78

Energy#64_p78_Pro3.indd 78

2/24/14 10:33 PM


Energy#62_p101_Pro3.indd 101

12/18/13 10:47 PM


Special Scoop ราชาเทวะ

108 ไอเดียประหยัดนํ้ามัน

แชรความคิดผานสื่อ...สูการปฏิบัติจริง สือ่ ออนไลน สิง่ ทีส่ ามารถเขาถึงประชาชนมากทีส่ ดุ เพราะปจจุบนั แคเพียงหยิบโทรศัพทเคลือ่ นทีข่ นึ้ มา ก็สามารถเขาถึงสือ่ เหลานัน้ ได เพียงปลายนิว้ สัมผัส เพราะโลกทีเ่ ปดกวางอยางในปจจุบนั หนวยงานและองคกรตาง ๆ จึงตองเขาถึงสือ่ ดังกลาวใหมากขึน้ เพือ่ กาว ใหทนั โลก เพือ่ แชรความคิดและนํามาซึง่ การปฏิบตั จิ ริง นายสมนึก บํารุงสาลี อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา กรมไดทําสื่อประชาสัมพันธเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ในกลุมผูใช รถยนตสวนบุคคล มีเปาหมายเพื่อสรางความตระหนัก และกระตุนให ผูขับขี่ลงมือปฏิบัติอยางจริงจังดวยการนําเสนอวิธีประหยัดนํ้ามันผานการ ประชาสัมพันธอยางครบวงจร ไดแก สื่อสิ่งพิมพ สื่อออนไลน ภาพยนตร ประชาสัมพันธ หรือกิจกรรมรณรงคตางๆ ผานการจัดนิทรรศการทั่วประเทศ

หนึ่งในโครงการที่ไดจัดทําเพื่อเอาใจผูที่ติดตามขาวสื่อผาน สื่อออนไลน คือ โครงการประกวด 108 ไอเดียประหยัดนํ้ามัน ที่ ไ ด ส  ง เสริ ม และให ค วามสํ า คั ญ กั บ ผู  ที่ มี ไ อเดี ย ประหยั ด นํ้ามัน สื่อสารผานสื่อออนไลน ซึ่งเปดรับสมัครไอเดียมา ตั้งแต 1 ธันวาคม 2556 – 25 มกราคม 2557 นํามาคัดจาก 3,000 ไอเดีย ใหเหลือ 300 ไอเดีย จากนั้นจะเปดโหวต 300 ไอเดียนี้ โดยใหประชาชนมากดไลค เพื่อใหได 108 ไอเดีย ประหยัดนํา้ มัน โดยผูเ ขารอบจะไดรบั แทบเล็ต และ 10 ไอเดีย ประหยัดนํา้ มันสุดฟนจากไอเดียทีม่ ยี อดไลคสงู สุด 10 อันดับ ที่จะไดรับไอโฟน 5s เปนรางวัล นอกจากนัน้ สําหรับผูท เี่ ปน 10 ผูก ดไลคไอเดีย top fin ก็จะไดรับไอโฟน 5s ดวยเชนกัน

80

Energy#64_p80-81_Pro3.indd 80

2/24/14 10:35 PM


ซึ่ ง ในขณะนี้ ไ ด รั บ การตอบรั บ จาก ประชาชนเปนอยางดี จากยอดไลคกวา หนึง่ หมืน่ ไลคและไอเดียกวา 3,200 ไอเดีย ปจจุบันปริมาณรถยนตที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่ ง ส ง ผลต อ ปริ ม าณการใช นํ้ า มั น ที่ มากขึ้ น นั้ น จะสง ผลตอ ภาคการใช พลั ง งานของประเทศและหมายถึ ง ปริมาณการนําเขาพลังงานที่สูงขึ้น ซึ่ง สงผลตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ อยางชัดเจน ดังนั้น หากภาคประชาชน ผูใชรถยนตมีจิตสํานึกที่ดีและมีความ รูความเขาใจเรื่องประหยัดนํ้ามันที่ถูก ตอง และทําอยางเปนนิสัย ก็จะสงผล โดยตรงตอการลดระดับการใชพลังงาน ประเทศได กิจกรรมประกวดภาพวิธปี ระหยัดนํา้ มัน แสดงใหเห็นวา ประชาชน ตระหนักถึงความสําคัญในการประหยัดนํา้ มัน และเสนอวิธตี า งๆ ที่นาสนใจนํามาใชในชีวิตประจําวัน หากผูขับขี่ปรับพฤติกรรม ที่ เ คยใช นํ้ า มั น สิ้ น เปลื อ ง หมั่ น บํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ งยนต ใ ห มี ประสิทธิภาพอยูเสมอ ก็จะชวยลดภาระคาใชจายของตนเอง และชวยเศรษฐกิจของประเทศไดอยางมาก 10 ไอเดียประหยัดนํ้ามันที่ไดรับผลโหวตจากประชาชน ตั้งเปาจะสานตอใหเปน 10 ไอเดียตัวอยางที่ควร ปฏิบัติ และทางกรมธุรกิจพลังงานจะเปนตนแบบใน การสรางสรรค Animation Infographic เพื่อเผยแพร ต อ ภาคสั ง คมให ป ระชาชนได รั บ รู  ไ อเดี ย ประหยั ด นํ้ามันดี ๆ ในวงกวางยิ่งขึ้น นอกจากการประกวดนี้ แลวทาง facebook และเว็บไซตโครงการยังเปนแหลง ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานให ป ระชาชนที่ สนใจ เชน โดยมีเทคนิค เคล็ดลับดี ๆ เพือ่ ประหยัดนํา้ มัน ตั้ ง แต ก  อ นขั บ ไปจนดั บ เครื่ อ ง รวบรวมเป น คู  มื อ “มีรถตองรู”ใหดาวนโหลดกัน รวมไปถึงมีคลิปวีดิโอ ที่นาสนใจ เขาใจงาย เพื่อใหประชาชนนําไปปฏิบัติ ไดจริง โดยสามารถดูขอ มูลเพิม่ เติมไดที่ facebook fanpage : 108 Ideas Save Energy หรือ www.108ideasaveenergy.com

81

Energy#64_p80-81_Pro3.indd 81

2/24/14 10:35 PM


Energy Rules ทิดเป้ง

ปรับปรุงแผนพลังงาน รองรับการเติบโตของประเทศ

ตทุกภาคส องวยอมรั บวาประเทศไทยตื่นตัวตอการเติบโตดานพลังงานของประเทศอยางมาก การเตรียมการรองรับเปนเรื่องที่ นควรที่จะเตรียมการเพื่อรับมือกับความเติบโตของประเทศ ที่ผานมาไดมีการวางแผนดานพลังงานอยางตอเนื่อง ซึ่งเมื่อเวลาผานไป แผนดังกลาวอาจลาสมัยสําหรับปจจุบัน จึงตองมีการปรับปรุงใหมเพื่อใหทันยุคทันสมัยมากยิ่งขึ้น สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ภายใตรับผิดชอบดาน การวางแผนพลังงานในประเทศ เผยถึงการ เติบโตของเศรษฐกิจของประเทศ มีการขยายตัว อยางรวดเร็วและเกิดการใชพลังงานตามมา ในปริ มาณมาก ที่น าสนใจคือ การเติบโต ของภาคขนสง ถึงแมวาจะมีการเติบโตอยาง ตอเนื่องทุกปก็ตาม ตัวเลขของการใชพลังงานภายในประเทศ ทั้งหมด การใชพลังงานของภาคขนสงจะอยู ที่ประมาณ 36% และเปนการขนสงทางบก หรือรถยนต ประมาณ 80% ปจจุบันการใช พลังงานสําหรับการขนสงทางถนนมีการใช เชื้อเพลิงหลากหลายประเภท รวมถึงมีการ นําพลังงานทางเลือกมาใชเพิ่มขึ้น ทําให ฐานข อ มู ล ที่ มี อ ยู  ใ นป จ จุ บั น ไม ทั น สมั ย เทาที่ควรถึงแมจะมีการวางแผนไวลวงหนา เปนเวลานานก็ตาม ขอมูลทีไ่ มทนั สมัยอาจ ทําใหการพยากรณการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงใน อนาคตคลาดเคลือ่ นได การวางนโยบายดานพลังงานของประเทศ ใหทันสมัยและเหมาะสมตามสถานการณ ปจจุบัน จะสงผลดีตอขอมูลการพยากรณ ความตองการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงในภาคขนสง ของประเทศไทยได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงานจึงได

ทํ า การศึ ก ษาและสํารวจการใชพลังงานใน ภาคขนสง ครอบคลุมการใชพลังงานในรถยนต รถจักรยานยนต รถบรรทุก รถโดยสาร และ ยานพาหนะอื่นๆ รวมถึงการใชพลังงานใน รถไฟและเครื่องบิน ภายใตโครงการศึกษา จัดทําแบบจําลองการพยากรณและสํารวจ การใชพลังงานในภาคขนสง ซึ่งอยูระหวาง การเก็บรวบรวมและประมวลผลจากแบบ สอบถามจากผู  ใชร ถ และผู ผ ลิ ต รถยนต ทั่วประเทศ เพือ่ ใหครอบคลุมดานการใชพลังงานในภาค ขนสงกับการปรับปรุงแผนพลังงานดังกลาว จึงไดมีการเพิ่มเติมการศึกษาและวิเคราะห ผลกระทบโครงสรางภาษีรถยนต มาตรฐาน รถยนตที่ไดประกาศใช ประสิทธิภาพของ รถยนตและโครงสรางราคานํ้ามันเบนซิน ดีเซลและเชื้อเพลิงอื่นๆ รวมทั้งโครงสราง การใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงของยานพาหนะตางๆ ไมวา จะเปนการใชพลังงานในสวนของรถยนต สวนบุคคล, รถบรรทุกเล็ก, รถจักรยานยนต, รถโดยสาร และรถบรรทุก รวมถึงขอมูลของ การใชนํ้ามันเชื้อเพลิงของรถไฟ รถไฟฟา และเครื่องบิน เพื่อเปนฐานขอมูลใน การจัดทําการพยากรณการใชนาํ้ มัน ในยานพาหนะในระบบรางและ ทางอากาศที่ มี โ ครงการเพิ่ ม ขึ้ น ในอนาคตอีกดวย

โครงการศึ ก ษาจั ด ทํ า แบบจํ า ลองการ พยากรณและสํารวจการใชพลังงานในภาค ขนสง จะดําเนินการสํารวจทุก ๆ 5 ป เพือ่ ปรับปรุงขอมูลใหมีความทันสมัย สามารถ นําไปใชในการพยากรณ ความต องการใช นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ในภาคขนส ง ได อ ย า ง แมนยํา สงผลใหการกําหนดนโยบายดาน พลังงานของประเทศเปนไดอยางเหมาะสม ทันตอเหตุการณ และชวยใหเศรษฐกิจของ ประเทศ สามารถเติบโตไดอยางตอเนื่อง และยังสามารถใชเปนแนวทางในการกําหนด นโยบายการใช เชื้ อ เพลิ ง อย า งประหยั ด มีประสิทธิภาพ และรักษาสิ่งแวดลอม

82

Energy#64_p82_Pro3.indd 82

2/24/14 10:45 PM


Energy Report โดย : ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

“äÁ‹»ÃѺ-äÁ‹ÃÍ´”

หลายทานเชื่อวาเทคโนโลยีนํามาสูการเปลี่ยนแปลงของโลกและวิถีการใชชีวิต แตหากเราไมคลิกวิธีคิดเพื่อเดินกาวแรกไปบนเสนทางใหม ๆ หรือในสิ่งใหม ๆ บาง การเติบโตของเทคโนโลยีก็คงจะไรความหมาย ตราบเทาที่ระบบความคิดของ คนเราไมไดพัฒนาเพื่อเปดรับสิ่งใหมที่เขามา ทุกวันนีเ้ ทคโนโลยีไมใชขอ จํากัดในการทําธุรกิจอีกตอไป แตเปนการสรางวิธคี ดิ ใหม เพือ่ ตอบ โจทยความตองการของผูบ ริโภค ซึง่ ถือเปนผูก าํ หนดตลาดเพราะเปนผูถ อื เงินและมีอาํ นาจ สูงสุดในตลาดโลก ฉบับนี้ผูเขียนจะมาบอกเลาถึงความสําเร็จของอีกหนึ่งบริษัทที่เขารวม โครงการ “พัฒนาผูประกอบการไทยเพื่อการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืนและลดโลกรอน” ที่ริเริ่มโดยหนวยงาน ITAP (โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย) ภายใต ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)โดยมีผูเ ชีย่ วชาญแถวหนาของเมืองไทยทีร่ จู กั กันเปนอยางดีในแวดวงคารบอนฟุตพริน้ ท นั่นคือ “ผศ.ดร.รัตนาวรรณ มั่งคั่ง” ผูอํานวยการศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานกลยุทธ ธุรกิจทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม (VGREEN) คณะสิง่ แวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ที่ชวย สรางองคความรูเ กีย่ วกับขอกําหนดของมาตรฐานการวิเคราะหคารบอนฟุตพริน้ ท ใหคาํ แนะนํา เรื่องการเก็บขอมูล วิเคราะหขอมูล เพื่อจัดเตรียมรายงานการวิเคราะหคารบอนฟุตพริ้นท พรอมการใหความชวยเหลือในขั้นตอนการทวนสอบและรับรองคาคารบอนฟุตพริ้นท ใหกับ บริษัท โซไนต จํากัด จนสามารถนําเสนอผลิตภัณฑใหมที่มีฉลากคารบอนฟุตพริ้นท เจาะสูตลาดโลก

“พิชิตฉลากคารบอนฟุตพริ้นทผลิตภัณฑ Sonite Polymer Composit Surface Covering” จนบริษัทไดรับรองการประเมิน คาคารบอนฟุตพริ้นท ใน 3 กลุมผลิตภัณฑ คือ Karei, La Concha และ Metallic รวม ทั้งสิ้น 14 ผลิตภัณฑ ถือวาเปนผูผลิตกระเบือ้ ง โมเสครายแรกของประเทศไทยที่ขอรับการ รับรองฯ โดยหลังจากดําเนินโครงการบริษทั มีแนวทางการประชาสัมพันธในวงกวางเพื่อ ใหขอมูลแกผูซื้อและผูบริโภคเปาหมาย

กรณีที่ 2 ของความสําเร็จจากการเขารวมโครงการดังกลาว คือ บริษัท โซไนต จํากัด กอตั้ง เมือ่ ป 2551 เปนผูผ ลิตโมเสค กระเบือ้ ง หินสังเคราะห ซึง่ ถือวาเปนผูน าํ ดานนวัตกรรมการผลิต กระเบือ้ งตกแตงพืน้ ผิวตางๆ ดวยวัสดุที่งายตอการใชงาน และไมแตกหักงาย และสงเสริม แนวคิดดานการออกแบบและตกแตงภายในที่มีแนวโนมจะไดรับความนิยมเปนอยางมาก ในปจจุบนั ซึง่ ไดรบั การการันตีดว ยหลากหลายรางวัล อาทิ Good Design Award, DeMark ตอมาในป 2556 จากการเล็งเห็นถึงโอกาสทางการตลาดที่เพิ่มมากขึ้นของผลิตภัณฑที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะผลิตภัณฑที่แสดงขอมูลคารบอนฟุตพริ้นทที่กําลังไดรับ ความสนใจจากผูบ ริโภคทัว่ โลก บริษทั จึงขอรับการสนับสนุนจาก สวทช. เพือ่ ดําเนินโครงการ 83

Energy#64_p83-84_Pro3.indd 83

2/20/14 8:50 PM


ถือเปนอีกหนึ่งตัวอยางของบริษัทที่ปรับตัวและพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อสรางความอยูรอดและ สรางที่ยืนอันมั่นคงในตลาดโลกที่มีภาวะการแขงขันรุนแรงอยางมากในปจจุบัน ซึ่งสวนใหญ มุง เนนไปทีก่ ารผลิตสินคาราคาถูกเพือ่ แขงขันได แตดว ยปญหาตนทุนสูงขึน้ เรือ่ ย ๆ จากปจจัย คาแรงและวัตถุดบิ เพิม่ ขึน้ หากบริษทั ไมมองหาลูท างสรางความแตกตางใหกบั ผลิตภัณฑ ธุรกิจ ก็คงจะเติบโตอยางยากลําบาก ซึง่ การเขารวมโครงการฯ ทําให บริษทั โซไนต จํากัด กลายมา เปนผูผลิตนวัตกรรมกระเบื้องแนวใหมที่เปนโมเสกซึ่งพัฒนาจากวัสดุพอลิเมอรชนิดพิเศษ คุณสมบัติแข็งแรงทนทาน นํ้าหนักเบา ไมลามไฟ รับผิดชอบตอสังคม และลดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม ดวยการติดฉลากคารบอนฟุตพริ้นทเพื่อเปนการสื่อสารใหกับผูซื้อผูบริโภค ทราบวา บริษทั มีการบริหารจัดการกาซเรือนกระจก ซึ่งถือเปนการสรางทางเลือกใหเกิดการ ตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ และบริษัท โซไนต จํากัด ยังคาดหวังวาจะสรางกลไกเพือ่ ใหสนิ คา มีคา คารบอนฟุตพริน้ ทตาํ่ ลงจากนี้ไดอกี ในอนาคตอันใกล และนีถ่ อื เปนอีกหนึง่ ความพยายาม อยางไมหยุดยั้งของผูประกอบการที่ใสใจตอสิ่งแวดลอมและสังคม หากทานอยากมีสวนรวมในการลดปญหาภาวะโลกรอน ก็ควรหันมาสนับสนุนผูผลิตที่ใสใจ โลกรอน ดังเชน บริษัท โซไนต จํากัด และหากไมทราบวาจะเริ่มตนอยางไรดี “เราสามารถ ถอดบทเรียนความสําเร็จและแนวทางในการดําเนินงานสูค วามสําเร็จโดยงาย ใหทา นได” แบบงาย ๆ และทันที ดวยการติดตอที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล : chanaghan@tmc.nstda.or.th ฉบับหนาผูเ ขียนจะปดฉากเรือ่ งเลาเกีย่ วกับความสําเร็จของบริษทั ทีเ่ ขารวม โครงการ “พัฒนาผูประกอบการไทยเพื่อการดําเนินธุรกิจอยางยั่งยืน และลดโลกรอน” จนสามารถนําเสนอผลิตภัณฑใหมที่มีฉลากคารบอน ฟุตพริน้ ทเพือ่ เขาสูต ลาดโลกสีเขียว เรือ่ งราวจะตืน่ เตนนาติดตามมากเพียงใด กรุณาติดตามอานในฉบับหนาคะ

84

Energy#64_p83-84_Pro3.indd 84

2/20/14 8:50 PM


O Waste Idea รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

Êѧ¤ÁáË‹§¡ÒÃÃÕä«à¤ÔÅ¢ÂÐ…ÇÔ¶Õ·Ò§¢Í§

สืบ

เนื่องจากผูเขียนไดเขารวมการประชุม focus group ของกลุ  ม ชุ ม ชนสี เขี ย ว ณ ชุ ม ชน เกตไพเราะ ซึง่ จัดโดย สํานักสิง่ แวดลอม กรุงเทพมหานคร รวมกับ ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาฯ ภายใต โครงการ กรุงเทพเมืองสีเขียว หรือ “Bangkok Go Green” ในวันที่ 9 กุมภาพันธ พ.ศ. 2557 ที่ผานมา จึงอยาก นําแนวคิดและขอมูลที่ไดจากการประชุมมาเลาสูกัน ฟงในบทความนี้ เพื่อเปนตัวอยางของแนวทางการมี สวนรวมของชุมชนสูว ถิ ที างของสังคมแหงการรีไซเคิล ขยะในการพัฒนาสังคมนาอยูแบบยั่งยืน ปญหาขยะลนเมืองกับแนวคิดการลดปริมาณขยะ ปญหาขยะลนเมืองเปนอีกหนึง่ ปญหาทีก่ าํ ลังทวีความ รุนแรงมากยิ่งขึ้น ทําใหหลายเมืองจากทุกมุมโลก ไดเปลีย่ นแนวคิดการจัดการขยะมาเปนการนํากลับมา และใชประโยชนจากขยะอยางคุมคา แนวคิดของเสีย เหลือศูนยจึงถูกนํามาเผยแพรในหลาย ๆ เมือง เชน มลรัฐ แคลิ ฟ อรเ นีย ประเทศสหรัฐ อเมริกา ซึ่ งได ประกาศเปาหมาย “แคลิฟอรเนียขยะเปนศูนย” โดย ทุกคนรวมกัน ดวยการปฏิบตั กิ าร Reduce (ลดการใช) Reuse (การใชซาํ้ ) และ Recycle (การนําไปแปรรูปกลับ มาใชใหม) ไมทงิ้ ใหเปนขยะตองกลายเปนภาระในการ กําจัด เนนใหประชาชนรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติ

อยางคุมคา การออกแบบผลิตภัณฑตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอมและศักยภาพในการ นํามาใชใหมเสมอ เพือ่ เปนการลดปริมาณขยะมูลฝอยทีต่ อ งนําไปฝงกลบ มีเปาหมาย ในการสงเสริมการพัฒนาตลาดการประมูลสินคารีไซเคิล การเพิ่มชองทางการซื้อ ขายในคลังสินคารีไซเคิล ดําเนินการวิจัยเทคโนโลยีใหม ๆ อยางตอเนื่อง มีศูนยเก็บ รวบรวมขยะพิษหรือขยะอันตราย จัดตั้งศูนยขอ มูลเพื่อเปนศูนยประสานงานใชขยะ กอสรางไวบริการประชาชน ตัวอยางของชุมชนวิถี “Zero Waste” ตําบลคามิคัทสึ ประเทศญี่ปุน เปนชุมชนเล็ก ๆ ในประเทศญีป่ นุ เปนตัวอยางทีด่ ขี องการรักษาสิง่ แวดลอม ไดชอื่ วา เปนชุมชนแบบไรขยะ เพราะไมมีการเก็บขยะออกจากหมูบานเลย ทุกคนในชุมชนมี สวนรวมอยางเต็มที่ มีความรับผิดชอบ แตละคนทําหนาทีข่ องตนในการนําเศษอาหาร ไปทําปุยหมัก และมีการคัดแยกประเภทขยะรีไซเคิล 34 ชนิด ขายใหรานที่มาซื้อ สรางรายไดใหแกครัวเรือนไดอกี ทางหนึง่ รวมกันรักษาสิง่ แวดลอมในชุมชนใหนา อยู ตัวอยางของชุมชนเกตุไพเราะ 3,4,5 ชุมชนวิถี “Zero Waste” ของกรุงเทพมหานคร ชุมชนเกตุไพเราะ 3, 4, 5 เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร การขยายตัวของชุมชนไดสง ผล ใหเกิดปญหาขยะจากการทิง้ ลงใตถนุ บาน และการระบายนํา้ ไมดี นํา้ ในคลองเนาเสีย ทําใหนาํ้ ใตถนุ บานเนาเสียสงกลิน่ เหม็น สรางความรําคาญและเปนแหลงเพาะพันธยงุ ผูนําชุมชนและประชาชนจึงไดรวมกันแกไขปญหาของชุมชน โดยนอมนําแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนสูชุมชนพอพียง ซึ่งสงผลดีตอ สิ่งแวดลอม โดยไดดําเนินกิจกรรมตางๆ ดังนี้

85

Energy#64_p85-86_Pro3.indd 85

2/19/14 9:08 PM


การนําปุยอินทรียมาปลูกไมดอก ไมประดับ ไมผล พืชสวนครัว

การทําน้ําหมักชีวภาพ

1. จัดการขยะเหลือศูนย ในชุมชนเพื่อลดโลกรอน เปนการจัดการขยะโดยการนํากลับมาใชประโยชน ใหมากที่สุด เหลือขยะสงใหกรุงเทพมหานครไปกําจัด นอยที่สุด ประกอบดวย - คัดแยกขยะในครัวเรือน โดยคัดแยกขยะ รี ไซเคิ ล ให ร ถรั บ ซื้ อ เข า มารั บ ซื้ อ ถึ ง ในชุ ม ชนหรื อ คัดแยกบริจาคใหแกเพือ่ นบานทีอ่ าสาเขามาทําหนาที่ เก็บรวบรวมขยะและชักลากไปยังจุดที่กําหนดไวเปน จุ ด รวมขยะของชุ ม ชน โดยจั ด กิ จ กรรมทอดผา ป า สามัคคีขยะรีไซเคิล รับบริจาคขยะรีไซเคิลจากคนใน ชุมชน และจัดตั้งกองทุนผาปาสามัคคีขยะรีไซเคิล - คั ด แยกขยะอิ น ทรี ย  ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทุ ก วั น เนื่องจากพื้นที่หนาชุมชนเปนตลาดสด โดยนําไปใช ประโยชนที่หลากหลาย เชน การนําไสปลาไปเลี้ยง ปลาดุก นําไปหมักนํา้ จุลนิ ทรียช วี ภาพเพือ่ ใชประโยชน ในรูปของปุยอินทรีย นํ้ายาอเนกประสงคหรือนําไป หยดลงนํ้าที่เสียเพื่อบําบัดนํ้าเสีย สวนเปลือกผลไม นําไปเลี้ยงสัตว - ขยะทั่วไป ที่ตองใหสํานักงานเขตจัดเก็บ จะถูกคัดแยกอัดใสถุงพลาสติก เตรียมสงใหรถจาก โรงงานปูนซีเมนต ซึ่งบริษัทนํารถบรรทุกเขามารับ ขยะเชื้อเพลิงบริเวณหนาชุมชน เนื่องจากถนนใน ชุมชนแคบจึงใชรถกระบะบรรทุกออกมาจากชุมชน แลวจึงขนยายใสรถบรรทุกอีกครั้งหนึ่ง สามารถกําจัด ขยะไดเฉลี่ยสัปดาห 1-2 ตัน ผลจากความรวมมือกัน ของชาวชุมชนเกตุไพเราะ สงผลใหขยะในชุมชนลดลง จาก 1,200 กิโลกรัมตอวัน เหลือเพียงประมาณ 100 กิโลกรัมตอวันเทานัน้ และยังสามารถเก็บถังหนาบาน นําเขาไปไวในบานทําใหถนนปลอดถังขยะ ปลูกไมดอก ไมประดับ ไมผล พืชสวนครัว หรือพืชสมุนไพรใน กระถาง และตั้งวางแทนที่ที่เคยตั้งขยะ ทําใหถนน ปลอดถังขยะ หนาบานเขียวขจีไปดวยตนไม

2. การติ ด ตั้ ง ถั ง ดั ก ไขมั น ใน ครัวเรือน เพื่อดักไขมันและเศษ การรณรงคคัดแยกขยะในครัวเรือน อาหารจากอางลางจานที่จะไหล ลงไปในนํ้าใตถุนบานซึ่งจะทําใหนํ้าเสียมากยิ ากยิ่งขึ้น และรณรงคใหทุกกบบานไมทิ้ง ขยะทุกชนิดลงใตถุนบานอีก สงผลใหนํ้าที่เคยเนาเสียสงกลิ่นเหม็นรบกวนกลับมา ใสสะอาด ไมมีกลิ่นเหม็น ชาวบานที่มีพื้นที่วางขางบานสามารถประกอบอาชีพ เลี้ยงปลาดุก โดยอาศัยเศษอาหารจากตลาดสดทุกวัน สรางรายไดเปนกอบเปนกํา 3. ปรับวิถีชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และกิจกรรมปลูกพืชผักสวนครัว รั้วกินได สํารวจตนไมยืนตนในชุมชน และจัดทําทะเบียนขอมูลตนไมใหญ นอกจาก นี้ยังไดมีการปลูกตนไมเพิ่มเติม โดยเนนไมใหรมเงา และพืชผักสวนครัว โดยนําวัสดุ เหลือใชมาเปนภาชนะการปลูก เชน เขงขนมจีน ยางรถยนต และนําปุยอินทรียที่ ผลิตไดมาใชบํารุงตนไมที่ปลูก นอกจากนั้น ยังจัดกิจกรรมรณรงคใหประชาชนตระหนักและรวมกันปรับเปลี่ยน พฤติกรรมรวมลดภาวะโลกรอน เชน จัดกิจกรรมหิ้วถุงผา ถือตะกราไปตลาด รณรงค ใหผจู บั จายซือ้ ของในตลาดนัดชุมชนใชถงุ ผา ตะกรา แทนถุงพลาสติก และผูค า หันมา ใชวัสดุจากธรรมชาติ ลดการใชพลังงาน โดยจัดตลาดชุมชนรวมใจเปลี่ยนหลอดไฟ ลดใชพลังงาน มีผูคาที่เขารวมกิจกรรมทั้งสิ้น 95 แผง ชุมชนเกตุไพเราะ 3,4,5 สามารถเรียกไดวาเปนชุมชนวิถี “Zero Waste” เพราะนํา ไปใชทั้งรีไซเคิล เศษอาหาร กิ่งไมใบไม และขยะทั่วไป เหลือเพียงขยะที่เผาไหม ไมได และขยะอื่น ๆ เชน กระดาษทิชชู ผาอนามัย ฯลฯ และยังไดชื่อวาเปนชุมชน ที่รวมลดโลกรอนอีกดวย ดังนั้น แนวทางการมีสวนรวมของชุมชนสูวิถีทางของสังคมแหงการรีไซเคิลขยะใน การพัฒนาสังคมนาอยู มีสว นสําคัญสําหรับการพัฒนาชุมชนของตนเองใหเปนชุมชน ที่สะอาด สวยงาม ถูกสุขลักษณะ และนาอยูอยางยั่งยืน

เอกสารอางอิง เอกสาร “การจัดการขยะและนํ้าสียดวยชุมชน” สํานักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555

86

Energy#64_p85-86_Pro3.indd 86

2/19/14 9:08 PM


Energy#63_p45_Pro3.ai

1

1/23/14

4:49 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชํานาญการพิเศษศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

การเกษตรสีเขียว

คําตอบสําหรับการเกษตรกรรมในอนาคต

การเกษตรสีเขียวตองอธิบายความหมายกันกอน เพราะการเกษตรสวนใหญนึกถึงการเพาะปลูก การปศุสตั วทเี่ นนการเพิม่ ผลผลิต แตการเกษตร สีเขียว (Green Agriculture) เปนการเกษตรทีค่ าํ นึง ถึงสิ่งแวดลอม การลงทุนที่ลดการใชสารเคมี ทั้งสารเคมีปราบศัตรูพืช ปุยเพื่อเพิ่มผลผลิต มี ก ารจั ด การที่ คํ า นึ ง ถึ ง ระบบนิ เวศ การอยู  รวมกันกับสิ่งแวดลอมอยางมีความรับผิดชอบ การใชพลังงานที่เหมาะสม ดังนั้นความหมายของการเกษตรสีเขียวจึงเปน การจัดการระบบการผลิตทางการเกษตรที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอม คํานึงถึงความรับผิดชอบ ตอสิ่งแวดลอมและสังคม ชุมชน อยางยั่งยืน บางครั้ ง เราอาจใช คํ า ว า การเกษตรที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Agriculture) ในบทความนีข้ อยก เรื่องการทําไรหมุนเวียน กรณีพื้นที่ภาคเหนือ หรือพื้นที่สูงที่นิยมเพาะปลูกพืชตามฤดูกาล

การรักษาความชุมชื้นในดินการปองกันและ ลดการชะลางและพังทลายของดินและหนาดิน เปนตน ในขณะเดียวกันชุมชนก็จะไดรบั ประโยชน นานาชนิดจากพื้นที่ปาดวยเมื่อถึงฤดูกาลการ เพิ่มพื้นที่ปาไม แมเปนแนวนโยบายที่จําเปน แตก็พบวาทําไดไมงายนักเพราะยังมีประเด็น ความขัดแยงระหวางรัฐกับชุมชนและอาจสง ผลตอการทํากินและการอยูอาศัยของมนุษย กลาวคือ สิทธิในที่ดินปาไมพื้นที่ชายฝงไดรับ ผลกระทบกระเทือนมีการเปลี่ยนมือจากคน ยากจนสู  ก ลุ  ม ผู  กุ ม อํ า นาจเศรษฐกิ จ มากขึ้ น เรื่อยๆ ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลมาจากการกระจาย รายได แ ละโอกาสที่ ไ ม ทั ด เที ย มกั น ในสั ง คม ดังนัน้ นวัตกรรมทางนโยบายเชนโฉนดนํา้ โฉนด ชุมชนหรือปาชุมชนจึงอาจไมใช “คําตอบ” หรือ เงือ่ นไขทีพ่ อเพียง (Sufficient condition) สําหรับ การแกปญหาแบบเบ็ดเสร็จตามบริบทของการ พัฒนาอยางยั่งยืนและเปนธรรม

ทั้งนี้ การแกปญหาตองเริ่มที่เงื่อนไขที่จําเปน (Necessary condition) คือ การบังคับใชกฎหมาย ให เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ ใ นการคุ  ม ครองทรั พ ยากร สาธารณะ การจัดทํานโยบายแบบองครวม (Holistic policy) นาจะเปนจุดเริม่ ตนของการวาง ยุทธศาสตรของการพัฒนาอยางยัง่ ยืน รวมทั้ง การสงเสริมใหประเทศไทยสามารถมีสวนรวม ดําเนินการดานการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การทําไรหมุนเวียนเปนระบบเกษตรบนที่สูงที่ กับนานาชาติไดอยางเหมาะสม ในอนาคตภาพ มีความยั่งยืนตราบเทาที่แปลงเกษตรเกามีสาร มหภาคการปรับเปลี่ยนระบบเศรษฐกิจและ อาหารมากพอที่ จ ะดํ า รงผลิ ต ภาพของพื้ น ที่ แนวทางการพัฒนาสูแ นวทางเศรษฐกิจคารบอน แตเมื่อจํานวนประชากรบนที่สูงเพิ่มขึ้นความ ตํา่ จะเปนสวนหนึง่ หรือเปนเครือ่ งมือสําคัญใน ตองการอาหาร (และความตองการอืน่ ๆ) ตอหัว การกําหนดคาเปาหมายของการลดการเกิดกาซ เพิ่ ม สู ง ขึ้ น จนทํ า ให ข นาดของพื้ น ที่ ทํ า กิ น ที่ เรือนกระจกจากภาคเกษตรกรรม หมุนเวียนใชประโยชนไมพอเพียงตอการหลอเลีย้ ง ประชากรที่เพิ่มขึ้น การขยายพื้นที่เพาะปลูก กลไกหลั ก ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต อ การพั ฒ นาการ จึงมีความจําเปน (แมผลิตภาพตอพื้นที่เดิม เกษตรกรรมสีเขียว ไมลดลง) การขยายพื้นที่เพาะปลูกจึงเปนการ - การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศในพื้ น ที่ รุกพื้นที่ปาไมเดิมเพื่อรักษาระดับการยังชีพใน เกษตรกรรม ระดับที่ไมสูงไปกวาเดิม การเกษตรแผนใหม - การพัฒนาอยางยั่งยืน ที่ใชปจจัยใหมเพื่อรักษาระดับผลิตภาพก็อาจ - เศรษฐกิจและวิถีชีวิตพอเพียง ไมใชคําตอบที่พอเพียงหากเกษตรกรมิไดรับ - ความเสีย่ งอืน่ ๆ เชน การเมืองภาวะเศรษฐกิจ โลกภัยพิบัติ ฯลฯ การถายทอดวิธีการใชที่เหมาะสมและพอดี การรักษาพื้นที่ปามีประโยชนหลายประการ กลไกเหลานีต้ อ งนํามาพิจารณาประกอบในการ เชน การรักษาระดับ microclimate การเติมสาร พัฒนาการเกษตรกรรมสีเขียวอยางมีประสิทธิภาพ อาหารลงสูดินการรักษาระดับคารบอนในดิน ซึง่ มาจากการสังเกต การจดจําในการเปลีย่ นแปลง

88

Energy#64_p88-89_Pro3.indd 88

2/19/14 9:15 PM


ที่เกิดขึ้นในรอบการเพาะปลูกที่ผานมา โดย เฉพาะประเทศไทยอาศัยความชุม ชืน้ แหลงนํา้ ตามธรรมชาติเปนสวนใหญ การใชหลักการชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เปนการปรับเปลีย่ น ตามความเหมาะสม รองรับการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ซึ่งมีความสัมพันธกันและ เปลีย่ นแปลงอยางตอเนือ่ ง ในการวางแผนการ เพาะปลูกเพื่อการเกษตรกรรมสีเขียวจึงตอง พัฒนาเพื่อรองรับกับกลไกดังกลาว มาตรการ สําคัญ คือ ตองเสริมสรางภูมิคุมกันทางสังคม การหันกลับมาใชระบบเกษตรกรรมดั้งเดิมที่ไม จําเปนตองใชสารเคมีในการเพาะปลูก และได ยกพืน้ ทีน่ าขาวเปนสวนหนึง่ ทีต่ อ งปรับตัวอยาง กรณีศกึ ษาพืน้ ทีส่ งู การปลูกขาวจึงตองปรับตัว เปนการปลูกแบบใชนาํ้ นอย การใชปยุ และการ กําจัดศัตรูพชื จากธรรมชาติ สมุนไพร ภูมปิ ญ  ญา ทองถิ่น จึงเปนแนวทางหนึ่งของการปรับตัว ในหลายครั้งการเกษตรสีเขียว หรือการเกษตร กรรมที่ยั่งยืน บนฐานการผลิตเพื่อการรักษา สภาพแวดลอม ดูเหมือนจะสวนทางกับระบบ การลงทุนทางเศรษฐกิจในปจจุบันที่ตองการ ผลผลิตสูง การพัฒนาพื้นที่จนทําลายระบบ ธรรมชาติ จึงควรดําเนินการดังนี้

1.ทําการประเมินผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศตอภาคการเกษตรของ ไทยอยางมีระบบ ทัง้ ในภาพรวม และประเมินความเสีย่ งในระดับพืน้ ที่ เพือ่ การจัดลําดับความ สําคัญของการเพาะปลูก 2.ทําการประเมินเชิงระบบเกี่ยวกับบทบาทของภาคเกษตรและชนบทไทยดานอาหาร และพลังงาน เพื่อใหสอดประสานกับแผนการใชประโยชนที่ดินของประเทศอยางเหมาะสม และเพื่อใหทราบถึงระดับการพึ่งพาตนเองดานพลังงานทางเลือกและความมั่นคงทางอาหาร โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศระยะยาว 3.ศึกษาระบบการตอบแทนภาคเกษตรกรรมในการอนุรกั ษระบบนิเวศ เชน การรองรับ นํ้าทวม การเก็บรักษาคารบอนในดินของระบบเกษตรธรรมชาติ เปนตน 4.สงเสริมการเกษตรกรรมรูปแบบการใชสารชีวภาพและสนับสนุนการลดการใชสารเคมี เกษตร การทําการตลาดสีเขียวสําหรับผลผลิตการเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม 5.สงเสริมการศึกษาวิจัยการใชสารทางธรรมชาติในการเกษตร ทั้งการเพิ่มผลผลิตและ การปองกันศัตรูพืช 6.การเชือ่ มตอในระดับกลไกนโยบายชาติทจี่ ะสงเสริมการสรางความมัน่ คงทางอาหาร เชน การตัง้ ธนาคารอาหาร การตัง้ กองทุนชดเชยภัยพิบตั ใิ หกบั ภาคการเกษตรธรรมชาติ การสงเสริม การพัฒนาระบบประกันภัยเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศสําหรับภาคเกษตรกรรม กลาวโดยสรุปแลว ความมุงหวังใหพิจารณาการปรับตัวภาคเกษตรกรรมสูการเกษตรสีเขียวหรือ การเกษตรทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เปนการเตรียมความพรอมตอการปรับตัวตอการเปลีย่ นแปลง ของสภาพภูมอิ ากาศและการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมอยางเฉียบพลันทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต

เอกสารอางอิง สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม แผนแมบทรองรับการเปลีย่ นแปลง ภูมิอากาศ 2011-2050 กรุงเทพฯ

89

Energy#64_p88-89_Pro3.indd 89

2/19/14 9:15 PM


Energy Exhibit กองบรรณาธิการ

ปดฉากสมบูรณแบบ งานสถาปนิกทักษิณ’57 ปดฉากลงสมบูรณแบบสําหรับการจัดงานสถาปนิกทัง้ 3 ภาค ทัง้ สถาปนิกอีสาน สถาปนิกลานนา ลาสุดเพิง่ ผานพนไปไมนาน กับงานสถาปนิกทักษิณ ’ 57 ทีจ่ ดั ขึน้ เมือ่ วันที่ 7- 9 กุมภาพันธ 2557 ณ ศูนยการคาเซ็นทรัลเฟสติวลั หาดใหญ จ.สงขลา โดย สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ กรรมาธิการ สถาปนิกทักษิณ และ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด

โดยภายในงานไดรบั เกียรติจาก นายพิชยั วงศไวศยวรรณ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ป พ.ศ. 2557 - 2558 เปน ประธานในพิธเี ปดงาน พรอมดวย นายสมิทธิ์ โอบายะวาทย นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ปี พ.ศ. 2555 - 2556 นายสุรัตน ภัทรภูติ ประธานกรรมาธิการ สถาปนิกทักษิณ อาจารยกาญจน เพียรเจริญ ประธานจัดงานสถาปนิก ทักษิณ คณะผูจัดงาน และสถาปนิกในทองถิ่น ตลอดจน แขกผูมีเกียรติเขารวมงานอีกเปนจํานวนมาก

สําหรับกิจกรรมภายในงาน มี ท้ั ง การจั ด นิ ท รรศการ แสดงผลงานวิจัยทางดาน สถาป ต ยกรรมของทาง สมาคม นิทรรศการผลงานออกแบบจาก บริษัท สํานักงาน นักออกแบบ สถาปนิก และนิสิต นักศึกษา ที่ตางสะทอนใหถึงเห็นการดําเนินชีวิตของผูคนในภาคใต ที่อยูรวมกันอยางมีความสุข ภายใตแนวคิด “บาน-เมือง-ใจดี” อีกทัง้ ยังมีกจิ กรรม สัมมนาวิชาการ การฟงบรรยาย และฝกอบรมหลักสูตรการออกแบบอาคารและ สิ่ ง อํ า นวยความสะดวกสํ า หรั บ คนชราและผู พิ ก ารเพื่ อ ให ผู ป ระกอบการและ ผูเกี่ยวของไดทราบถึงแนวคิดในการปลูกสรางอาคารบานเรือนที่จะอํานวยความ สะดวกแกคนชราและผูพิการในอนาคต นอกจากนีย้ งั มีกจิ กรรมการประกวดผลงานและการแขงขันทักษะดานสถาปตยกรรม ของนิสติ นักศึกษา กิจกรรมสถาปนิกนอย ซึง่ ทัง้ หมดไดรบั ความสนใจจากประชาชน ทั่วไปเขารวมงานอยางคับคั่ง นับไดวาประสบความสําเร็จเปนอยางดี กอใหเกิดประโยชนตอวงการออกแบบ กอสราง ตกแตง บํารุงรักษาอาคาร และวงการอสังหาริมทรัพย ตลอดจนแวดวง การศึกษาเปนอยางมาก เรียกไดวา เปนนํา้ จิม้ กอนถึงงานสถาปนิกใหญ หรือ งานสถาปนิก, 57 ภายใตแนวคิด “สิบแปด แปดสิบ” ณ ชาเลนเจอรฮอลล 1-3 ศูนยแสดงสินคา อินแพ็ค เมืองทองธานี ในวันที่ 29 เมษายน – 4 พฤษภาคม 2557 พรอมจัดเต็มกวาทุกปที่ผานมา แลวเจอกันครับ

90

Energy#64_p90_Pro3.indd 90

2/24/14 9:08 PM


Energy Exhibit

มจพ. จัด 55 ป มจพ. กาวไกลสูส ากล

กรีนภัทร กรนภท

มหาวิทยาลัยแหงการสรางสรรคประดิษฐกรรมสูนวัตกรรม ในป 2557 นี้ เปนวาระมงคลพิเศษของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือทีม่ คี วามสัมพันธทางวิชาการกับประเทศเยอรมนี และกอตัง้ มหาวิทยาลัยครบ 55 ป เพือ่ เฉลิมฉลองในวาระสําคัญนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ จัดงานนิทรรศการ “55 ป มจพ. กาวไกลสูสากล” เพื่อเผยแพรผลงานทางวิชาการทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และอุตสาหกรรมของคณาจารย บุคลากร นักศึกษาและศิษยเกา ที่มีพัฒนาการกาวลํ้านําสมัยอยูในความสนใจของสังคมและภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ซึ่งแสดงใหเห็น ถึงศักยภาพของมหาวิทยาลัยที่เปนผูนําทางดานการศึกษา ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สิ่งประดิษฐและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัย ตลอดจนผลงานทีเ่ ปนความรวมมือทางวิชาการกับภาครัฐและเอกชนรวมทัง้ กับสถาบันอุดมศึกษาของตางประเทศ อาทิ ประเทศเยอรมัน ประเทศฝรั่งเศส เปนตน

ในโอกาสสํ า คั ญ นี้ ม หาวิ ท ยาลั ย ได รั บ พระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ จากสมเด็ จ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดําเนินทรงเปดและทอดพระเนตร นิ ท รรศการ ณ ลานอเนกประสงค อาคารอเนกประสงค มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ โดยเอกอัครราชทูตประเทศเยอรมันประจําประเทศไทย สภามหาวิทยาลัยและอธิการบดี ศาสตราจารย ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ เฝาทูลละออง พระบาทและกราบบังคมทูลถวายรายงาน มจพ.และเครือขายความรวมมือทางวิชาการ ได นอมเกลาฯ ถวายเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร สือ่ นวัตกรรม และอุปกรณการศึกษา เพือ่ สนับสนุน การจัดการศึกษาของโรงเรียนจิตรลดา (สายวิชาชีพ) ศาสตราจารย ดร. ธีรวุฒิ บุณยโสภณ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ เผยวา งานนิทรรศการทางวิชาการ “55 ป มจพ. กาวไกลสูสากล” นอกจากจะเปนการเฉลิมฉลองการสถาปนามหาวิทยาลัยอันยาวนานถึง 55 ป แลว ยั ง เป น นิ ท รรศการที่ ร วบรวมผลงานด า นวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี ผลงานวิ จั ย สิง่ ประดิษฐและนวัตกรรมนําสมัยของ มจพ. มหาวิทยาลัยแหงการสรางสรรคประดิษฐกรรม สูนวัตกรรม และเครือขายความรวมมือทางวิชาการทั้งภาครัฐและเอกชนภายในประเทศ และตางประเทศ ซึ่งภายในงานประกอบดวย นิทรรศการแสดงผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ เทคโนโลยีและนวัตกรรมนําสมัย ซึง่ เปนผลงานวิจยั พัฒนาของคณาจารยและนักศึกษาขอ งมจพ. ซึ่งเปนผลงานวิจัยพัฒนาของคณาจารยและนักศึกษาของมจพ. เชน กลุมพลังงาน ทดแทน กลุมระบบรางขนสงมวลชนที่ทั่วโลกใหการยอมรับ และกลุมนวัตกรรม เปนตน ซึ่งมีบูทจํานวนกวา 100 บูธ แบงนิทรรศการเปน 5 โซน โดยนิทรรศการแสดงผลงานวิจัย สิ่งประดิษฐ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหมจากภาคธุรกิจอุตสาหกรรมของในประเทศ และตางประเทศ รวม 2 กลุม ประกอบดวย กลุมเทคโนโลยี และนวัตกรรม 91

Energy#64_p91_Pro3.indd 91

2/24/14 9:21 PM


Green Community กรีนภัทร์

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แหงประเทศไทย (วว.) รวมมือกับจังหวัด กํ า แพงเพชรและสํ า นั ก งานคณะกรรม อาชีวศึกษา (สอศ.) จัดตัง้ “ศูนยเรียนรู การถายทอดเทคโนโลยีและการบริหาร จัดการธุรกิจเอทานอลจากมันสําปะหลัง ระดับชุมชนแบบครบวงจร” สนองตอบ นโยบายและยุทธศาสตรพัฒนาประเทศ ขับเคลื่อนจังหวัดกําแพงเพชร เปนศูนย กลางการผลิตและแปรรูปมันสําปะหลัง เปนพลังงานทางเลือก หวังลดใชพลังงาน กาซธรรมชาติและนํ้ามันของประเทศ ทั้ง ยั ง ต อ งการช ว ยเหลื อ เกษตรกรให สามารถมีรายไดเพิ่มขึ้น พรอมทั้งเปน แหลงเรียนรูของนักเรียนในจังหวัดอีก ดวย

วว. จับมือ จ.กําแพงเพชร เปดศูนยการเรียนรูฯ ผลิตเอทานอล หวังเพิ่มรายไดใหเกษตรกร คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผูว า การ วว. เผยวา การรวมมือในครัง้ นี้ ถือเปนจุดเริม่ ตนทีด่ ขี องหนวยงาน จากภาครัฐทั้ง 3 หนวยงาน ที่ประสานความรวมมือในการจัดตั้งศูนยเรียนรูการถายทอด เทคโนโลยีและการบริหารจัดการธุรกิจเอทานอลจากมันสําปะหลังระดับชุมชนแบบครบวงจร ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาํ แพงเพชร ซึง่ โครงการฯ มีกาํ หนดระยะเวลา 3 ป โดยโครงการฯ นี้เปนอีกหนึ่งภารกิจที่ วว.ไดรับมอบหมายจากกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ใหนําองคความรูทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานเอทานอลที่มีมากกวา 30 ป มาชวยเสริมศักยภาพจังหวัด กําแพงเพชร เพือ่ ใหจงั หวัดเปนศูนยกลาง (HUB) การพัฒนาพืชมันสําปะหลังของประเทศอยาง ครบวงจรดังที่กําหนดไวในแผนยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ

ดร.ธีรภัทร ศรีนรคุตร

ดาน ดร.ธีรภัทร ศรีนรคุตร ผูเ ชีย่ วชาญวิจยั ฝายเทคโนโลยีพลังงาน วว. ในฐานะผูอ าํ นวยการ โครงการฯ กลาวเพิ่มเติมวา สําหรับศูนยการเรียนรูฯ ดังกลาว วว. จะทําการออกแบบกอสราง โรงงานผลิตเอทานอล ทีม่ กี าํ ลังการผลิตไมเกิน 5,000 ลิตร/วัน โดยใชมนั สําปะหลังเปนวัตถุดบิ หลัก ในการผลิต และจะมีโรงงานผลิตผลพลอยได (By-products) จากของเสียโรงงานเอทานอล อีก 3 โรงงาน ไดแก โรงงานอาหารสัตว (Animal feed) โรงงานปุย ชีวภาพ (Biofertilizer) และโรงงาน กาซชีวภาพ (Biogas) โรงงานเอทานอลที่ไมมีของเสีย (Zero Waste) แหงนี้ จะใชเปนศูนยการ เรียนรู ถายทอดเทคโนโลยี และบริหารจัดการธุรกิจสําหรับเชือ้ เพลิงเอทานอลแบบครบวงจร ใหกบั นักเรียน นิสิต นักศึกษา ประชาชนทั่วไป และธุรกิจผลิตเอทานอลขนาดใหญ อีกทัง้ สามารถ ชวยผลิตบุคลากรดานการผลิตใหกบั โรงงานขนาดใหญ ซึง่ ปจจุบนั ยังขาดแคลนอยูเ ปนจํานวนมาก รวมทั้ง ใหบริการวิเคราะหตัวอยาง บริการดานงานวิจัย และบริการขอมูลใหกับภาครัฐและ เอกชนไดอีกดวย

92

Energy#64_p92-93_Pro3.indd 92

2/20/14 10:05 PM


คุณสุภาพ มณีรัตน

คุณสุรพล วาณิชเสนี ผูวาราชการจังหวัด กํ า แพงเพชร กล า วว า จากการที่ จั ง หวั ด กําแพงเพชรได กําหนดตําแหนงการพัฒนา จังหวัดใหเปนศูนยกลางในการผลิตและการคา “มันสําปะหลัง” ไวในยุทธศาสตรการพัฒนา จังหวัด เนื่องจากจังหวัดฯ มีศักยภาพในการ ผลิตมันสําปะหลังในพื้นที่เปนอันดับสองของ ประเทศ คือปริมาณ 3.1 ลานตัน ในพื้นที่ การผลิ ต จํ า นวน 780,000 ไร จั ง หวั ด ฯ จึ ง ไดกําหนดแนวทางในการที่จะพัฒนาพืช มันสําปะหลัง ในระดับตนนํ้า กลางนํ้า และ ปลายนํ้า และไดเล็งเห็นความสําคัญในการ นําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมาใชในการ พัฒนาพืชมันสําปะหลัง โดยเฉพาะอยางยิ่ง การนํ า มาแปรรู ป เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ เ อทานอล ซึง่ เปนพลังงานทางเลือกที่ใชอยางแพรหลายใน ปจจุบนั อีกทัง้ ยังเปนการชวยเพิม่ มูลคาผลผลิต มั น สํ า ปะหลั ง รวมถึ ง ช ว ยแก ป  ญ หาราคา มันสําปะหลังตกตํ่าได ดังนั้นจังหวัดฯ จึงได ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ในการดําเนินโครงการสราง มูลคามันสําปะหลังโดยนํามาผลิตเอทานอล ซึ่งกระทรวงวิทยาศาสตรฯ ไดมอบหมายให สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ประเทศไทย หรือ วว. ที่มีความเชี่ยวชาญใน การผลิ ต เอทานอลมาถ ายทอดความรู แ ละ ประสบการณ จัดตั้งเปน “ศูนยเรียนรูการ ถายทอดเทคโนโลยีและการบริหารจัดการ ธุ ร กิ จ เอทานอลจากมั น สํ า ปะหลั ง ระดั บ ชุมชนแบบครบวงจร” ขึน้ ณ วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีกําแพงเพชร ทางจังหวัดฯ ขอ ขอบคุณวว. ที่ใหการสนับสนุนนําความรูเพื่อ พัฒนาศักยภาพของพืชมันสําปะหลัง

คุณสุภาพ มณีรัตน ผอ.วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกําแพงเพชร เผยวา การที่ วว. เลือกวิทยาลัยฯ ของเราจัดตั้งเปนศูนยการเรียนรูฯ ถือวาเปนสิ่งที่นาภูมิใจของวิทยาลัยฯ และจังหวัดเรามาก เพราะจังหวัดกําแพงเพชรเปนจังหวัดทีม่ แี หลงวัตถุดบิ หลักในการนําพืช มาผลิตเปนเอทานอลพลังงานทดแทน เนื่องจากเกษตกรสวนใหญปลูกออย ขาวโพด และมันสําปะหลังเปนหลัก โดยเฉพาะมันสําปะหลังซึ่งถือวามีการเพาะปลูกมากที่สุดเปน อันดับ 2 รองจากจังหวัดนครราชศรีมา เรียกไดวาจังหวัดเรามีวัตถุที่เพียงพอกับความ ตองการในการผลิตเอทานอล สําหรับประโยชนที่ไดรับจากการจัดตั้งศูนยการเรียนรูนั้น มีอยู 2 ประการ คือ 1. เกษตรกรสามารถนําผลผลิตที่ไดมาสงใหกับศูนยการเรียนรูฯ ไดตลอดเวลา สงผลให เกษตรกรมีรายไดถึง 2 ทาง แทนที่จะสงใหกับโรงงานอุตสาหกรรมเพียงอยางเดียว ยัง สามารถเอามาสงใหกับศูนยการเรียนรูฯ ไดอีกดวย 2. นักเรียนของทางวิทยาลัยฯ เอง ในสวนนี้นักเรียนกวา 200 คน สามารถรูจักวิธีการผลิต เอทานอล รวมไปถึงนักเรียนทีเ่ รียนทางดานเครือ่ งยนตกย็ งั สามาถเขาไปเรียนรูก ารปรับจูน เครื่องยนตใหสามารถใชเอทานอลไดอีกดวย ถึงอยางไรก็ตามตองขอบคุณทาง วว.ที่เลือก จังหวัดกําแพงเพชรสรางศูนยการเรียนรูฯ นี้ขึ้นมา

93

Energy#64_p92-93_Pro3.indd 93

2/20/14 10:05 PM


Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

เครื่องผลิตไฟฟากังหันไอนํ้าแรงดันตํ่าขนาดเล็ก

(Low pressure Micro steam Turbine Generator : MSTG) การผลิ ต ไฟฟ า ด ว ยกั ง หั น ไอนํ้ า เป น เทคโนโลยีที่อาศัยกังหันไอนํ้าเปนอุปกรณ ในการเปลี่ยนแปลงพลังงานจากไอนํ้าที่มี ความดั น และอุ ณ หภู มิ สู ง มาเปลี่ ย นเป น พลังงานกล โดยอาศัยหลักการกลศาสตร เมื่อไอนํ้าที่มีความดันและอุณหภูมิสูงไหล เขากังหันไอนํา้ พลังงานทีส่ ะสมอยูใ นไอนํา้ จะถูกเปลี่ยนเปนพลังงานจลน โดยไอนํ้า จะถูกบังคับใหไหลผานหัวฉีดเขาปะทะกับ ใบกังหันไอนํ้า ซึ่งยึดติดอยูบนเพลาของ กังหันไอนํ้า สงผลใหเกิด แรงบิด (Torque) บนเพลา จนสามารถทําใหเพลาหมุนได และสามารถนําพลังงานดังกลาวไปใชงานได โดยทั่วไปมักจะตอ เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) กับเพลาของกังหันไอนํา้ สําหรับ ผลิตไฟฟา กังหันไอนํ้า ซึ่งจะประกอบดวย 2 สวน คือ สวนอยูกับที่ เรียกวา สเตเตอร (Stator) ซึ่ ง จะมี ส  ว นที่ เรี ย กว า หั ว ฉี ด (Nozzle) ติ ด ตั้ ง อยู  ภ ายใน และส ว นที่ เคลือ่ นที่ เรียกวา โรเตอร (Rotor) สวนนีจ้ ะ ประกอบดวยใบหลาย ๆ ใบยึดติดบนเพลา สวนประกอบตางๆ ของ กังหันไอนํ้าผลิต ไฟฟา ดังแสดงในรูปที่ 8 และรูปที่ 9

รูปที่ 8 แสดงสวนประกอบทั่วไปภายนอก ของกังหันไอน้ําผลิตไฟฟา (Mitsubishi Steam Turbine)

รูปที่ 9 แสดงสวนประกอบทั่วไปภายใน ของกังหันไอน้ําผลิตไฟฟา (Mitsubishi Steam Turbine)

กั ง หั น ไอนํ้า ที่ ก ล าวมามั กจะถู กออกแบบมาให ใช กั บ ไอนํ้ า แห งไอร อ นยิ่ งยวด (SuperheatSteam) เพือ่ ไมใหสง ผลตอการเสียรูปของ ใบกังหันไอนํา้ (Blades) ถาไอนํา้ ไมแหง จะมีปริมาณนํา้ ปนมากับไอนํา้ เมือ่ กระทบกับใบกังหันไอนํา้ จะสงผลใหใบเกิด การบิด และเกิดการเสียศูนย เกิดการสั่นสะเทือน และกังหันไอนํ้าเกิดการเสียหายใน ทีส่ ดุ และอีกอยางกังหันดังกลาวมา มักถูกออกแบบมาใชกบั กับไอนํา้ ทีม่ คี วามดันและ อุณหภูมิสูงมาก ๆ ดังนั้น จึงไมสามารถใชไดกับ ไอนํ้าทิ้ง (Waste Steam) หรือ ไอนํ้า เกิดใหมได เนือ่ งดวยการพัฒนาอยางตอเนือ่ งของเทคโนโลยีกงั หันไอนํา้ ประกอบกับ ความพยายามจะนําไอนํ้าทิ้ง (Waste Steam) มาใชงานเพื่อลดการสูญเสีย ผูผลิต หลายรายจึงพัฒนากังหันไอนํา้ ขนาดเล็ก และสามารถใชไดกบั ไอนํา้ ทิง้ ความดันตํา่ ได ยิ่งกวานั้น ยังสามารถใชไดกับ ไอนํ้าที่เปยก (Wet Steam) อีกดวย เชน บริษัท Technopa ประเทศออสเตรีย ไดพัฒนากังหันไอนํ้าขนาดเล็ก และสามารถใชไดกับ ไอนํ้าเปยกไดที่ความแหงของไอนํ้า 85% นอกจากนั้น รูปแบบของกังหันไอนํ้าขนาด เล็กในปจจุบนั ยังพยายามออกแบบใหใชงานงาย ติดตัง้ ไมยงุ ยาก รวมทัง้ ขนสงสะดวก ดังแสดงในรูปที่ 10

94

Energy#64_p94-95_Pro3.indd 94

รูปที่ 10 กังหันไอน้ําขนาดเล็กความดันไอน้ําต่ํา (Micro-Steam Turbine Generator : MSTG) 2/20/14 9:27 PM


ดังนั้น การนําเทคโนโลยีการทําความเย็นแบบดูดซึม เพื่อ ผลิตนํ้าเย็น กับระบบผลิตไฟฟาดวยกังหันไอนํ้าขนาดเล็ก มาใชกับแหลงพลังงานความรอนทิ้ง ถาพลังงานความรอน มีมากพอ ระบบสามารถผลิตไดทั้ง ความรอน ไฟฟาและ ความเย็นในคราวเดียวไดเลย โดยมีตน ทุนการผลิตทีต่ าํ่ มาก เพราะใชความรอนเหลือทิง้ มาทําใหระบบทํางาน หรืออาจ กลาวไดวา ไดพลังงานฟรี นั่นเอง การประยุกตระบบ CCHP หรือ Tri-Generation จากการนําคอนเดนเสทกลับมาใชงาน การประยุกตใชระบบ Tri-generation หรือ CCHP จาก การนําคอนเดนเสทกลับมาใช โดยนําไอนํ้าทิ้ง (Waste Steam) ดังกลาว มาใชกบั กังหันไอนํา้ (Micro Steam Turbine Generator) ชนิดไอเปยก เพื่อผลิตไฟฟากอน และนําไอนํ้า ทีอ่ อกจากกังหันไอนํา้ ความดันไอนํา้ ประมาณ 1.5 บาร เขา เครื่องทําความเย็นแบบดูดซึม (ขับดวยไอนํ้าความดันตํ่า) คอนเดนเสททีอ่ อกจากเครือ่ งทําความเย็นแบบดูดซึม ถูกสง กลับเขายังถังนํา้ รอน กอนสงไปยังหมอไอนํา้ ตอไป แนวคิด ดังกลาว สามารถแสดงเปนแผนภาพอยางงายในรูปที่ 11 จากทีก่ ลาวมาจะเห็นไดวา การพิจารณานําพลังงานความรอนทิง้ จากคอนเดนเสท กลับมาใชประโยชน โดยใชเทคโนโลยีตาง ๆ เพื่อลดการสูญเสีย และเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบ มีความสําคัญอยางยิ่งตอการประหยัดพลังงาน ซึ่งสง ผลโดยตรงตอตนทุนการผลิต ยิ่งลดตนทุนมากเทาไหร ก็หมายความวา จะมี กําไรเพิ่มมากขึ้นเทานั้น และยังเพิ่มศักยภาพในการแขงขันในตลาดไดอกี ดวย ลดตนทุนดวยระบบ Tri-generation การนําพลังงานความรอนทิ้ง หรือ ไอนํ้าเหลือทิ้งมาใชงานเพื่อผลิตไฟฟา และ ขับระบบทําความเย็นแบบดูดซึม สามารถลดตนทุนการผลิต หรือประหยัด คาใชจายได โดยสามารถพิจารณาได ดังนี้ ประหยัดจากกังหันไอนํ้าขนาดเล็ก และประหยัดจากการผลิตนํ้าเย็นจากเครื่องทําความเย็นแบบดูดซึม 1. การประหยัดดวยกังหันไอนํา้ ขนาดเล็ก เชน มีไอนํา้ เหลือทิง้ จากกระบวนการ ความดันไอนํ้า 150 psig ปริมาณ 6,100 กิโลกรัมตอชั่วโมง กําหนดความดัน ดานออกจากกังหันไอนํา้ ขนาดเล็ก ประมาณ 30 psig ระบบสามารถผลิตไฟฟา ไดประมาณ 275 กิโลวัตต สมมติคาไฟฟา 3.5 บาทตอหนวย และหมอไอนํ้า เดินตลอด 24 ชั่วโมง กังหันไอนํ้าสามารถผลิตไฟฟาได 275 x 24 = 6,600 หนวยตอวัน คูณดวยคาไฟฟา (3.5 บาทตอหนวย) ดังนั้น สามารถประหยัดได 23,100 บาทตอวัน หรือ 8,316,000 บาทตอป ราคาเครือ่ งกังหันไอนํา้ ขนาดเล็ก ประมาณ 10 ลานบาท ระยะเวลาคืนทุน ประมาณ 1.2 ป

2. ประหยัดจากเครือ่ งทําความเย็นแบบดูดซึม ไอนํา้ ทีอ่ อก จากกังหันไอนํ้าขนาดเล็ก มีปริมาณ 6,100 กิโลกรัมตอ ชั่วโมง ความดัน 30 psig สามาถนํามาขับเครื่องทํา ความเย็นแบบดูดซึมสูงสุดถึง 700 ตัน ความเย็น หรือ 8,400,00 BTU สมมตินาํ นํา้ เย็นมาใชในระบบปรับอากาศ ของสํานักงาน ซึ่งมีโหลดความเย็นประมาณ 200 ตัน ความเย็น โดยปกติระบบปรับอากาศที่ใชเครือ่ งปรับอากาศ แบบแยกสวน ขนาด 200 ตันความเย็น ตองจายคาไฟฟา ประมาณ 5,800,000 บาทตอป ระบบทําความเย็นแบบดูดซึม สามารถประหยัดได 4,773,000 บาทตอป จากขอมูลที่กลาวมา ทั้งสองระบบทํางานพรอมกันและ ตลอดเวลา สามารถประหยัดไดมากกวา 13.17 ลานบาท ตอป จะเห็นไดวา การนําพลังงานความรอนเหลือทิ้ง หรือไอนํ้าเหลือจากกระบวนการนํากลับมาใชงาน ชวย ผูประกอบการประหยัดไดมาก ดังนั้น การประยุกตใช ระบบ Tri-generation จากไอนํ้าเหลือทิ้ง จึงเปนแนวทาง การใชพลังงานใหเกิดประโยชนสูงสุด และชวยลดตนทุน การผลิตลงไดอยางมากมาย

95

Energy#64_p94-95_Pro3.indd 95

2/20/14 9:27 PM


Energy Management กองบรรณาธิการ

ความสํ า เร็ จ ของงานอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน คณะแพทยศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น เกิดจากรวมมือของบุคลากรทุกระดับตัง้ แตระดับ บนจนถึงระดับลาง โดยสิง่ สําคัญทีส่ ดุ ตองเริม่ จากผูบ ริหารระดับสูง ทีใ่ หคาํ มัน่ สัญญาในการ ดําเนินกิจกรรมอนุรักษพลังงานเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคที่กําหนดไว คํามั่นสัญญาของ ผูบริหารระดับสูงไดแสดงผานนโยบายอนุรักษ พลังงานทีช่ ดั เจน และถือเปน KPI ทีท่ กุ หนวย งานตองถือปฏิบตั ิ และประยุกตใชในงานคุณภาพ ทั้งหลายเชน หลัก HA อาชีวอนามัย ความ ปลอดภัย หลัก 7 ส หรือ Green & Clean ทุกอยางทีก่ ลาวมาทําควบคู สอดคลองและหลอม รวมเปนหนึง่ เดียวกับโครงการอนุรกั ษพลังงาน

ตัวอยางความสําเร็จดานการอนุรักษพลังงาน รพ.ศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร ม.ขอนแกน คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เปนสถานทีท่ มี่ กี าร “ประยุกตใช และ พัฒนา” อยางดีและรวดเร็ว โดย “กุญแจ” ทีน่ าํ ไปสู “ความสําเร็จ และความยัง่ ยืน” คือ หลัก 3P อันไดแก Place – People – Process ซึ่งสามารถอธิบายถึงนิยามของ 3P ไดดังนี้ - Place คือสถานทีร่ วมถึงเครือ่ งใชไฟฟาและเครือ่ งมือทีใ่ ชพลังงานทุกชนิดดวย ยกตัวอยางเชน เครื่องปรับอากาศที่มีอายุการใชงานเกิน 10 - 15 ป ประสิทธิภาพ จะลดลงตามอายุการใชงาน ทําความเย็นไดนอยกวาเดิมแตกินพลังงานมากขึ้น ดังนั้น จึงตองมีการเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศใหมที่มีคา EER สูง

- People คือ ผูใชงานในที่นี้ก็คือ เจาหนาที่ คนไขหรือญาติคนไข รวมไปถึงผูมาติดตองานดวย โดยอาจกลาวไดวา P – People นี้เปนองคประกอบที่ สําคัญที่สุดและยากที่สุด เพราะถึงแมเราจะใชอุปกรณ ที่มีประสิทธิภาพสูงเพียงใด แตถาผูใชไมมีความเขาใจ ใชงานไมถูกตอง อุปกรณหรือระบบดังกลาวอาจไมมี ประโยชนในแงประหยัดพลังงานเลยก็ได ดังนัน้ สิง่ สําคัญ คือ “ความตอเนื่องของการฝกอบรม และลงพื้นที่จริง (Small Group) และมีการวิเคราะหปญ  หาโดยใชหลัก LCA (Life Cycle Assessment) ตามดวยการทดลองและ ปฏิบัติจริง การนําเสนอรับฟงคําชี้แนะ และที่สําคัญ ตองมีการตรวจสอบอยางสมํ่าเสมอดวย” - Process คือ เทคนิค การทดลองกระบวนการ หรือระบบควบคุมใด ๆ ก็ตาม ทีเ่ มือ่ ทําไปแลว จะสามารถ ชวยลดการใชพลังงานของ 2P แรก (Place – People) ได ยกตัวอยางเชน เดิมการทํางานของเครือ่ งทํานํา้ เย็น และ ปมตาง ๆ มีการเดินเครื่องอยางเต็มที่ 100% โดยไม คํานึงถึงสภาพอากาศจริง หากมีการปรับเปลีย่ นวิธี การเดินเครื่องใหสัมพันธกับโหลดจริงก็จะสามารถ ประหยัดพลังงานได ถือเปนการปรับ Process อยางหนึง่

96

Energy#64_p96-98_Pro3.indd 96

2/25/14 3:30 PM


การจัดองคกรและนโยบายดานอนุรักษพลังงาน ในการดําเนินโครงการอนุรกั ษพลังงาน สิง่ แรกทีต่ อ งมีเปนพืน้ ฐานก็คอื การฟอรมทีมคณะกรรมการ อนุรกั ษพลังงาน โดยผูน าํ สูงสุดคือ ศ.นพ.ภิเศกลุมพิกานนท คณบดีคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน นอกจากนั้นผูที่รับหนาที่ประธาน (รักษาการณแทน) ในกรณีประธานติดภารกิจ คือ ผศ.นเรศ วโรภาสตระกูล (รองคณบดีฝา ยบริหาร) และเมือ่ สวนบนชัดเจน องคประกอบทีข่ บั เคลือ่ น ก็เกิดขึ้นเชนกันโดยมีอาจารยสุพัฒนหมูบานมวงเปนผูประสานงานกับทุกฝาย และแบงออกเปน คณะอนุกรรมการที่สําคัญ 4 ดาน

โครงการอนุรกั ษพลังงานของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนเริ่มขึ้นอยางเปนทางการ ในชวงป 2554 โดยการฟอรมทีมคณะกรรมการ บริหารจัดการพลังงานขึน้ มา และมีการแบงหนาที่ รับผิดชอบที่ชัดเจน และมีการรับสมัครสมาชิก สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน (สส. พลังงาน) สมาชิก สวนใหญลว นเปนหัวหนาหนวยซึง่ ถือวาเปนผูน าํ หนวย เปนแบบอยางมีความรับผิดชอบสูง อยางไรก็ดี หัวหนาหนวยดังกลาวใชหลักการ “ไมบงั คับ ไมข”ู แตไดมีการชักจูงสมาชิกหนวยอยางมีเหตุมีผล ผลตอบรับถือวาดีเกินคาด เพราะเจาหนาทีร่ สู กึ วา การอนุรกั ษพลังงานถือเปนการทําความดีอยางหนึง่ ซึง่ จะมีคณ ุ คามากทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต จํานวน ของ สส. พลังงานของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกนเริ่มตนอยูที่ 180 คน และกําลังไดรับ ความสนใจจากเด็กรุน ใหมมากขึน้ ซึง่ เด็กเหลานี้ จะกลายมาเปน สส. พลังงานรุนตอไป

คณะอนุกรรมการฝายวิศวกรรมและเทคโนโลยีดแู ลและตรวจสอบการปฏิบตั งิ าน รวมถึงจัดทําแผนการซอมบํารุงอุปกรณที่ใชพลังงานสูง เชน Chiller, Boiler, Generator, AHU และปมในระบบปรับอากาศตางๆ รวมไปถึงระบบแสงสวาง คณะอนุกรรมการฝายบริหารจัดการเชือ้ เพลิง ทําหนาทีป่ ระสานงานทีมชางกับฝาย จัดซื้อและพัสดุในการซื้อเชื้อเพลิง (นํ้ามันเตา แกส LPG) ตรวจสอบจุดรั่วไหล การใชเชื้อเพลิง ทั้งหมด และทําการประเมินและวางแผนการใชเชื้อเพลิงทุกเดือน นอกจากนั้นยังรวมถึงการ ตรวจสอบระบบประปารวมกับฝายวิศวกรรมดวย คณะอนุกรรมการฝายมวลชนและสังคมพลังงาน ทําหนาทีแ่ จงขาว กิจกรรม ประชาสัมพันธ โครงการอนุรักษพลังงาน ผานระบบIntranet วารสาร โปสเตอร บอรดขาวรวมทั้งรายงานผล ในรอบเดือน รวมถึงการ Updateผลงานการนําเสนอของ สส.พลังงาน คณะอนุกรรมการฝายติดตามและประเมินผล ทําหนาที่ประสานงานขอขอมูลกับ ทุกฝายและทําการวิเคราะหผลและสรุปเปนประเด็นสําคัญ เชน ผลประหยัด วิธีการแกปญหา ที่เกิดขึ้น ในโซนการใชพลังงานที่สําคัญ เพื่อเปนแบบอยางตอหนวยงานอื่น 97

Energy#64_p96-98_Pro3.indd 97

2/25/14 3:30 PM


และป 2555 ตามลําดับ (หรือเก็บ ขยะรีไซเคิลไดเพิ่มขึ้นจากป 2553 กวา 57%) ในป 2555 สามารถสราง รายไดถึง 1,786,390 บาท

กิจกรรมสําคัญทีไ่ ดดาํ เนินการไปแลว ไดแก (1) การรวมกันเดินรณรงคการอนุรักษพลังงานทั่วมหาวิทยาลัย (2) การยกคณะที มงานกวา 50 คน ไปรวมงานอนุ รัก ษ พ ลั งงานเพื่ อ ในหลวง ครัง้ ที่ 5 ทีส่ ถาบันโรคทรวงอก เมือ่ 24 - 25 ก.ค. 2555 ทีผ่ า นมา (3) การลงพื้นที่แบบ small group เพือ่ เรียนรูก ารวิเคราะหกระบวนการเพื่อ ศักยภาพในการประหยัดพลังงานอยางยั่งยืนรวมไปถึง (4) การทําโปสเตอรสงเสริมการอนุรักษพลังงานประจําหนวยงาน (5) การรวมเขาประกวด slogan คําขวัญการอนุรกั ษพลังงานเพือ่ ชิงรางวัล (6) การนําเสนอผลงานอนุรกั ษพลังงานประจําหนวยงาน (7) การฝกอบรมพื้นฐานการอนุรักษพลังงานใหแกเจาหนาที่ 100% ซึ่ง สามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชในงานประจําหรือที่บานพักอาศัยได

“ความสมบูรณของเนื้องานใด ๆ จะไมมีวันเกิดขึ้น หากไรซึ่งการตรวจสอบติดตาม” เครือ่ งมือหนึง่ ดานการติดตามความกาวหนาของการอนุรกั ษพลังงานทุกๆ 4 - 6 เดือน คือ แบบประเมิน EMM (Energy ManagementMatrix) ซึ่งพบ วาในปจจุบันมีการพัฒนาที่ดีเยี่ยมในทุก ๆ ดาน ทีมงานไดไปศึกษาดูงาน การบริหารจัดการขยะ อาทิ สถาบันโรคทรวงอก (หลัก 8R) โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา รวมไปถึงการฝกอบรมการบริหาร จัดการขยะที่จังหวัดเชียงใหม ทั้งนี้เพื่อที่จะทําการพัฒนาเปนคูม อื บริหาร จัดการขยะทีส่ มบูรณโดยในปจจุบนั ไดแบงประเภทขยะดังนี้ 1) ขยะติดเชือ้ 2) ขยะไมติดเชื้อ และ 3) ขยะรีไซเคิล ขยะติดเชื้อและขยะไมติดเชื้อจะมีการแยกจากแตละหนวยงานโดยมี ถุง/กลอง ใสแยกแตละประเภท (ติดฉลาก) เมื่อแยกเสร็จแลวแตละหนวย งานจะนํามารวมกันที่จุดรวบรวมขยะขยะรีไซเคิลบางสวนจะสงตรงมาที่ หนวยกําจัดขยะรีไซเคิล บางสวนจะนํามารวมกันทีจ่ ดุ รวบรวมขยะรีไซเคิล ของแตละอาคารแลวจะมีหนวยงานที่มาทําการเก็บรวบรวมขยะรีไซเคิล เพือ่ นําไปจําหนายอีกครัง้ หนึง่ แตละปสามารถเก็บรวบรวมขยะ Recycle ได 182,662.6, 206,211.2, และ 286,820.90 กิโลกรัม ในป 2553, 2554

ตั ว อย า งกิ จ กรรมการอนุ รั ก ษ พลั ง งานและสิ่ ง แวดล อ มที่ ไ ด ดําเนินการไปแลว เชน - การเดินขบวนชักชวนใหคนของ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ร ว มกั น อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม - การประกวดโปสเตอร คําขวัญ วลีเด็ด การออกแบบเสื้อ ทีมอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม - การประกวดการจัดบอรดการอนุรกั ษพลังงานในหนวยงาน และการนํา เสนอผลงานอนุรกั ษพลังงานอยางสมํ่าเสมอ - การเผยแพรผา นรายการวิทยุประจํามหาวิทยาลัย โดยเชิญผูบ ริหาร ผูเชี่ยวชาญ และทีมงานอนุรักษพลังงานของคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนมาเปนวิทยากร - การศึกษาดูงานนอกสถานทีท่ โี่ ดดเดนระดับประเทศในดานการอนุรกั ษ พลังงาน เชน อาคารอนุรกั ษพลังงาน เฉลิมพระเกียรติ สถาบัน โรคทรวงอก รพ.พญาไท ศรีราชา รพ.พระนครศรีอยุธยา รพ.หาดใหญ สงขลา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดมีการลงทุนโครงการ อนุรักษพลังงาน ไดแก การปรับเปลี่ยนระบบปรับอากาศ ระบบนํ้า รอนพลังงานแสงอาทิตยการใช Motion Sensorรวมกับ Dimmer, Light System Control และตัวควบคุมความเร็วรอบมอเตอร (VSD) รวมถึงการบริหารจัดการเพือ่ ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และผลจาก ความรู  ที่ได พ บว าเจ า หนา ที่ คณะแพทยศาสตร มหาวิ ทยาลัย ขอนแกน ทุกทานไดมีการวางแผนการใชพลังงานอยางเปนระบบ และมีการตรวจสอบ (Audit) ในหนวยงานอยางสมํา่ เสมอโดยพบวา ในชวงทําโครงการอนุรักษพลังงานตลอดระยะเวลาทําโครงการ กวา 2 ป หรือสามารถลดการปลอย CO2 เฉลีย่ ไดถงึ 2,636 ตัน/ป ผลประหยัดรวม ไฟฟาและเชือ้ เพลิง เทียบกับจํานวนคนไขใน ระหวาง “กอนทําโครงการ (ป 2553)” กับ “หลังทําโครงการ (ป 2555)” พบวา ผลประหยัดในรูปตัวเงินสุทธิอยูที่ 36.5 ลานบาท ลดลง 24.23% หนวยไฟฟาที่ใชตอเตียงวัน (kWh/bed-day) ลดลงถึง 31.89% ใน ขณะที่คนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ผลจากการดําเนินการดังกลาวสง ผลใหไดรับรางวัล Thailand Energy Awards 2013 ประเภทอาคาร ควบคุมดีเดน และ รางวัล ASEAN Energy Awards 2013 สราง ความภาคภูมิใจใหจังหวัดขอนแกน และคนไทยทั้งประเทศ

98

Energy#64_p96-98_Pro3.indd 98

2/25/14 3:30 PM


Energy Enjoyment rainbow

เจง! บริษชัทวญียประเทศประหยั ่ปุนใหพนักงานตัดผมสั้น ดพลังงาน เมื่อพูดถึงทรงผมของคนในสมัยนี้ จะเห็นไดวามีทรงผมใหม ๆ ออกมาใหลองทํากัน อยูห ลายทรง โดยเฉพาะประเทศญีป่ นุ ถือวาเปนเจาแมแหงทรงผมเลยก็วา ได แตถงึ มีทรงผม ใหเลือกอยูหลายทรงก็ไมทําให บริษัท มาเอดะ คอรปอเรชั่น (Maeda Corporation) แครเลยแมแตนอยเพราะถึงยังไงคนที่เขามาทํางานบริษัทนี้ก็ไมสามารถทําทรงอื่นไดเลย นอกจากผมสัน้ เพียงอยางเดียว บริษัท มาเอดะ คอรปอเรชั่น (Maeda Corporation) เปน บริษัทกอสรางในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ ปุ น เป น หนึ่ ง ใน ผูร บั เหมาชัน้ นําดานวิศวกรรม โยธาและการกอสรางของญีป่ นุ เคยไดรับรางวัล BE Award ประจําป 2548 เปนรางวัลแหง การยกยองผลงานที่ โ ดดเดน ที่สุด ของกลุม ผูใช เ บนท ลียท่ี ปรับปรุงโครงสรางพืน้ ฐานของ โลกใหดขี น้ึ โครงการเหลานี้ได สรางมาตรฐานอางอิงสําหรับ ภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ และ แสดงถึงจินตนาการและความ เปนผูน าํ ทางเทคนิคขององคกรตาง ๆ ที่ไดสรางสรรคโครงการเหลานีข้ น้ึ มา และนอกจากจะไดรบั รางวัลดังกลาวแลว ทางบริษัทยังประกาศนโยบายทีอ่ อกมาเพือ่ ใหสอดคลอง กับโครงการของทางรัฐบาลที่มุงใหประชาชนลดการอุปโภคพลังงาน เนื่องจากผลกระทบจาก เหตุการณโรงไฟฟาฟุกชุ มิ ะทีเ่ กิดขึน้ ในชวงหลายปทผ่ี า นมา โดยทางบริษทั มีนโยบายใหพนักงาน กวา 2,700 คน ตัดผมทรงเดียวกันเพือ่ ชวยประหยัดพลังงาน โดยพนักงานชายตองตัดผมรองทรงเพียงทรงเดียวเทานัน้ สวนพนักงานหญิงนัน้ ก็นา รักคิกขุดว ย ทรงผมบอบ ทั้งนี้ทางบริษัทเชื่อวาหากพนักงานไวผมสั้นทําใหไมตองใชไดรเปาผมและใชน้ํา ในการสระผมนอยลง ซึ่งทั้งสองอยางนี้เปนการชวยประหยัดพลังงานใหชาติได นอกจากนี้ ประโยชนอีกขอหนึ่งของการไวผมสั้นสําหรับพนักงานในบริษัทกอสรางคือ ผมสั้นนั้นสามารถ จัดทรงใหกลับมาดูดไี ดงา ยๆ อีกครัง้ หลังจากทีถ่ อดหมวกนิรภัยทีใ่ ชสาํ หรับสวมใสในขณะทํางาน นโยบายนีถ้ อื วาแปลก ไมเหมือนใครเลยจริง ๆ ถาบริษทั ในประเทศไทยของเราอยากจะนําไปเปน แบบอยางก็ไมวา กัน แตจะวาไปการตัดผมสัน้ นอกจากจะชวยประหยัดน้าํ ประหยัดไฟแลว ยังทําให เราดูเด็กลงอีกดวยนะคะ 99

Energy#64_p99-100_Pro3.indd 99

2/25/14 3:35 PM


ทึ่ง! จีนเปดตัวสุขาหญิงแบบยืน

หองสุขาถือเปนสถานทีส่ าํ คัญสําหรับการใชชวี ติ ประจําวันของมนุษย เพราะฉะนัน้ การสราง หองสุขาใหออกมาถูกตองตามสุขอนามัยถือวาเปนสิง่ สําคัญอยางยิง่ ประเทศจีนเปนอีก ประเทศหนึง่ ทีม่ กี ารพัฒนาปรับปรุงหองสุขาใหมคี วามสะอาดถูกสุขอนามัย ดีขนึ้ กวาในอดีต มหาวิทยาลัยสานซี (Shanxi Normal University) ในประเทศจีน เมืองซีอาน มณฑลสานซี เปดสุขาหญิง อนุรักษสิ่งแวดลอม โดยภายในหองสุขาติดตั้งโถปสสาวะไวที่ผนัง สําหรับใหผูหญิงยืนถายเบา เหนือโถปสสาวะมีปา ยเขียนขอความรณรงควา “มหาวิทยาลัยของเราสามารถประหยัดนํา้ ได วันละ 160 ตัน ถานักศึกษาหญิงแตละคนยืนปสสาวะ” พรอมแนะนําวิธียืนปสสาวะสําหรับผูหญิง ดานลางของปายรณรงคมีตะแกรงใสอุปกรณคลายกรวยกระดาษสําหรับรองปสสาวะของผูหญิง ขณะยืนทําธุระ นอกจากนี้ ระหวางโถปสสาวะยังมีผนังกั้น เพื่อปองกันการเกอเขินแถมมีการออกแบบลายเสน สีชมพู เพื่อชวยใหผูหญิงมีความรูสึกดีขณะยืนปสสาวะ ที่สําคัญคือขจัดความรูสึกแปลก ๆ แหยง ๆ ในการปสสาวะแบบใหมนี้อีกดวย สําหรับความรูสึกของนักศึกษาหญิงที่เขามาใชบริการ ตางบอก เปนเสียงเดียวกันวา รูสึกอายเมื่อตองเขาหองนํ้า บางคนบอกวาไมเห็นเขาทาเลยและกลัวไมสะอาด เห็นแบบนี้แลวก็แอบสงสารนักศึกษาเหมือนกันนะคะ แตถึงแมนัก ศึก ษาจะไม ค  อยอยากใช กั น สัก เท า ไหร ทางมหาวิ ท ยาลั ยเองดู เหมื อ นจะไมส นใจ เพราะจากการเปดใชหองสุขาหญิงแบบยืนสามารถชวยใหมหาวิทยาลัยประหยัดนํ้าไดกวาหองนํ้า แบบนั่งมาก และจากการคํานวณของผูเชี่ยวชาญระบุวา ผูหญิงปสสาวะแตละครั้งมีนํ้าปสสาวะ ออกมาราว 300 มิลลิลิตร และตองใชนํ้า 6 ลิตร ในการลางทําความสะอาดนํ้าปสสาวะ ขณะที่ ทั่วไปผูชายใชนํ้าลางปสสาวะอยางมากที่สุดเพียงแค 3 ลิตรเทานั้น 100

Energy#64_p99-100_Pro3.indd 100

2/25/14 3:35 PM


73

Energy#64_p101_Pro3.indd 101

2/22/14 1:23 PM


Energy Movement กองบรรณาธิการ

TTW ยังคงรักษามาตรฐานนํ้าประปา แมประสบปญหานํ้าเค็มรุกลํ้า

กฟผ. เปลี่ยนโคมไฟถนนชนิด LED ลด CO2 1,860 ตันตอป

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ นายธนัช ศิรเิ จริญ ผูอ าํ นวยการฝายปฏิบตั กิ าร บริษทั นํา้ ประปาไทย จํากัด (มหาชน) หรือ TTW กลาวถึงกรณีปญ  หานํา้ ทะเล ไหลเขาปะปนในแหลงนํา้ ดิบของบริษทั ฯ โดยนํา้ ดิบจากแมนาํ้ ทาจีน (ฝง West Bangkok) พบวาคาเฉลีย่ ของคลอไรด (Chloride) ทีต่ รวจวัด ไดยังอยูในเกณฑที่ปกติ และคาเฉลี่ย Salinty หรือความเค็ม ยังอยู ในเกณฑมาตรฐาน ทั้งนี้ทางบริษัทยังไดเพิ่มความถี่ในการติดตาม และตรวจวัดระดับความเค็มจากเดิมรายวันเปนรายชัว่ โมง พรอมเฝา ระวัง และเกาะติดสถานการณดังกลาวอยางใกลชิด

คุณสุนชัย คํานูณเศรษฐ ผูว า การ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) เปลี่ยนโคมไฟถนนชนิด LED ณ เหมืองแมเมาะ จังหวัด ลําปาง โดยคาดวาเมื่อเปลี่ยนหลอดครบทั้ง 8 แหง จะสามารถลด การใชพลังงานไฟฟากวา 3.6 ลานหนวยตอป หรือปละประมาณ 10.8 ลานบาท และลดกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ได 1,860 ตันตอป

ซิตี้ ออโตโมบิล แตงตั้งหัวหนาที่ปรึกษาฝายเทคนิคคนใหม

บริษัท ซิตี้ ออโตโมบิล จํากัด ผูแทนจําหนายและใหบริการหลังการ ขายรถยนตจากัวรและแลนดโรเวอรอยางเปนทางการเพียงราย เดียวในประเทศไทย ประกาศแตงตั้ง มร.แกรี่ เคมป เปนหัวหนา ที่ปรึกษาฝายเทคนิค เพื่อทําหนาที่ควบคุมการใหบริการตรวจสอบ สภาพเครือ่ งยนตการซอมบํารุง ตลอดจนบริการดานเทคนิคตาง ๆ ตามมาตรฐานของจากั วร แ ละแลนดโรเวอรแ ก ลู ก ค า ของ ซิ ตี้ ออโตโมบิล ในประเทศไทย

กูดเยียร เผยผลประกอบการป 56 เติบโต 27% เมือ่ เร็ว ๆ นี้ บริษทั กูด เยียร ไทรแอนด รับเบอร จํากัด ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า แ ถ ล ง ผ ล ประกอบการประจําไตรมาส 4/2556 และตลอดป 2556 ทีผ่ า นมา โดย มร.ริชารด เจ. เครเมอร ประธานกรรมการ และประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร เผยว า กู  ด เยียร มี ยอดขาย 19,500 ลานเหรียญสหรัฐ ลดลงรอยละ 7 จากป 2555 ซึ่งเกิดจากยอดขายในกลุม ธุรกิจประเภทยาง โดยเฉพาะ อยางยิ่งธุรกิจการจําหนาย เคมีภัณฑที่ผลิตโดยบริษัทคูคาในภูมิภาคอเมริกาเหนือที่มีมูลคา ลดลง 665 ลานเหรียญสหรัฐ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยนคิด เปนมูลคา 354 ลานเหรียญสหรัฐ ปริมาณการขายยางรถยนตที่ ลดลง 166 ลานเหรียญสหรัฐ และกลยุทธราคา/ความหลากหลาย ของผลิตภัณฑที่มีมูลคาลดลง 206 ลานเหรียญสหรัฐ ปริมาณยาง รถยนตทจี่ าํ หนายไดทงั้ หมดในป 2556 มีจาํ นวนทัง้ สิน้ 162.3 ลานเสน ลดลงจากป 2555 รอยละ 1

102

Energy#64_p102-103_Pro3.indd 102

2/24/14 10:06 PM


เวสตทูทริซิตี้ บุกธุรกิจผลิตไฟฟา จากเชื้อเพลิงขยะชุมชน

MACO ประกาศทุมงบลงทุนครั้งใหญในรอบ 5 ป

บริษัท เวสตทูทริซิตี้ อินเตอรเนชันแนล (ประเทศไทย) จํากัด เตรียมเปดตลาดไทยและอาเซียน มุงเปนผูนําตลาดการผลิตไฟฟา ทางเลือกจากขยะแปรรูป โดยใหบริการพัฒนาและลงทุนโครงการ จัดการขยะชุมชนตั้งแตตนนํ้าจนถึงปลายนํ้าจากการคัดแยกแปรรูป ขยะชุมชนเปนเชื้อเพลิงผลิตพลังงานไฟฟาดวยเทคโนโลยีไฮเทค “พลาสมากาซซิฟเคชั่น” ที่สะอาด ทันสมัย ปลอยคารบอนตํ่า และสามารถเพิ่มความมั่นคงดานพลังงานใหกับประเทศไทยควบคู กัน

คุณนพดล ตัณศลารักษ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั มาสเตอร แอด จํากัด (มหาชน) หรือ MACO ประกาศทุม งบลงทุน 500 ลานบาท ครัง้ ใหญในรอบ 5 ป รุกธุรกิจสือ่ ภายนอกทีอ่ ยูอ าศัยในตลาดอาเซียน เล็งจับมือพันธมิตรรุกธุรกิจวางเปาหมายขยายตลาดปละ 2 ประเทศ รับโอกาสทางธุรกิจมีสูง ขณะที่ตลาดในประเทศ ลุยขยายปาย โฆษณาทัง้ ในกรุงเทพฯและตางจังหวัด พรอมปรับเปลีย่ นปายโฆษณา เปนจอแอลอีดี สรางมูลคาเพิ่มใหแกปายโฆษณาเดิม หวังดันราย ไดโต 15% และรักษากําไรขั้นตนใหอยูในระดับไมตํ่ากวา 50%

กกพ. รวมมือกับ กปร. ดําเนินโครงการพัฒนาชุมชน

พพ. จัดประชุมวิชาการความรู ดานพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน

คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) และสํานักงานคณะ กรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานโครงการอั น เนื่ อ งมาจากพระ ราชดําริ (สํานักงาน กปร.) ลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ เพื่อการพัฒนาชุมชนตามแนวพระราชดําริ เสริมองคความรูจาก โครงการพระราชดําริใหกับชุมชนในทองถิ่นที่ไดรับกระทบจากการ ดําเนินงานของโรงไฟฟาเพื่อเสริมสรางศักยภาพของชุมชนใหมี ชีวิตความเปนอยูที่ดีขึ้นและมีความมั่นคงในอาชีพอยางยั่งยืนเมื่อ เร็ว ๆ นี้

คุณประมวล จันทรพงษ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน เปนประธานการประชุมวิชาการและ นําเสนอ ขอมูลองคความรูดานพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน พรอม ปาฐกถาเรื่อง วิสัยทัศนของ พพ. ในการ “เปนองคกรฐานความรู (Knowledge Base) และศูนยกลางในการผลักดันพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงานอยางยั่งยืน” พรอมเสวนาเรื่องการใช ฐานขอมูลองคความรูดานพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด เมือ่ เร็ว ๆ นี้ 103

Energy#64_p102-103_Pro3.indd 103

2/24/14 10:08 PM


Energy Thinking เด็กเนิร์ด

“5 ชวงเวลาของชีวิต” ขอคิดดีๆ จาก ทาน ว. วชิรเมธี ชีวิตนั้นสั้นมาก พระพุทธเจาทานไดตรัสวา เราทุกคนนั้นมีเวลากันแสนสั้น เวลาในชีวิต ที่เรามีเปนดั่งนํ้าคาง อายุของนํ้าคางนั้นสั้นมาก ตื่นมาตอนเชาเราเดินจงกรมไปทิศเหนือ สัก 20 กาว หยุดยืนภาวนา แลวมองไปขางหนาเราเห็นนํ้าคางพรมอยูบนยอดหญา ใสดั่ง เกล็ดแกวที่มีคนเอามาวางเกลื่อนไว กําหนดพิจารณาสักพัก แลวเดินหันหลังกลับไป พอเดิน กลับมานํ้าคางก็หายไปแลว พระพุทธองคจึงทรงเปรียบอายุของเราก็เปนดั่งนํ้าคาง บางครั้ง พระพุทธองคก็เปรียบชีวิตวาสั้นดั่งหนึ่งพยับแดด เรานั่งรถไปบนถนน มองเห็นพยับแดดระยิบ ระยับอยูดานหนา พอไปถึงจุดที่เปนพยับแดด มันวับหายไปเลย ชีวิตก็เปนอยางนั้น ดูเหมือนมี ตัวมีตนใหสัมผัสจับตองได แตเผลอแปบเดียวหายไป ทั้งสั้น ทั้งไมมีตัวตน

“บางทีชีวิตก็เปรียบเหมือนฟองนํ้าที่เกิดๆ ดับ ๆ ในหมอนํ้าที่กําลังเดือด และ บางทีชีวิตก็เปนดั่งสายฟาแลบ เห็นอยูยังไมทันกะพริบตาก็หายไป พระพุทธองค ทรงเปรียบความสั้นของชีวิตกับสิ่งตาง ๆ เพื่อใหเราเห็นวาเวลามีจํากัด การที่เรา จะอยูถึงรอยปเปนเรื่องที่ยากมาก เพราะแมแตพระองคเองก็อยูถึงแค 80 ปเทานั้น” ทาน ว. วชิรเมธี ไดแบงชวงแหงชีวิตออกเปน 5 ชวง ชวงละ 20 ป ไดแก ชวง 20 ปแรกของชีวติ เปนชวงเวลาของการเรียนหนังสือใหดีที่สุด เหมือนเรากําลังจะออกเดินทางอันยาวไกล เรา ตองเตรียมเสบียงไวเลีย้ งตัวใหดที สี่ ดุ เปนชวง ทีส่ าํ คัญมาก การทีเ่ ราใชชว งเวลา 20 ปแรกของ เราไมเต็มที่ เรียนบาง เลนบาง จะสงผลกระทบ ตอชีวิตชวงที่เหลือ ถาเปรียบชีวิตเปนดั่งตึก ชวงทีห่ นึง่ ของชีวติ เปนชวงของการตอกเสาเข็ม ถาเราอยากสรางตึกแหงชีวิตใหสูง เราก็ตอง วางเสาเข็มของความมัน่ คง ใครเตรียมชวงแรก เอาไวดีก็พรอมกวาคนอื่น

ถา 20 ปแรกของเราไมดี 20 ปที่ 2 ก็ไมดี พอ 20 ปที่ 3 จะตองเลี้ยงลูก จะมีปญหาเรื่องการเลี้ยงลูก เพราะถาพอแมการศึกษาไมดี ไดรับการอบรมไมดี พอไปเลี้ยงลูกก็จะเลี้ยงไมเปน นอกจากการสราง รากฐานครอบครัวที่มั่นคงแลว ก็เปนชวงชีวิตที่ตองแบงปนใหกับสังคมดวย ชวง 20 ปที่ 4 เปนชวงของการหันหนาเขาวัดปฏิบตั ธิ รรม เปนชวงทีจ่ ะตองหาแกนของชีวติ ใหพบ และ แบงปนภูมิปญญาใหคนรุนหลัง แตก็อีกเชนเคย ถาชวงแรกของชีวิต การศึกษาไมดี ก็จะไมมีอะไรไป แบงใหคนรุนหลัง ชวง 20 ปสดุ ทาย ชวงที่ 5 เปนชวงทีส่ าํ คัญมาก เปนชวงทีค่ วรเริม่ ปลอยเริม่ วาง “ปลอยใหลง ปลงใหเปน เย็นใหได”

“คนจํานวนมากปลอยไมลง ปลงไมได สุดทายวัยที่ควรจะไดพัก ก็ไมไดพัก เงินที่หามาทั้งชีวิตก็ ไม ไ ด ใช เพราะไมมเี วลาใช ชวงสุดทายของชีวติ จึงเปนชวงเวลาทีค่ วรดูละครสบาย ๆ ดูแลสุขภาพตัวเอง ดูหนังสือธรรมะทีอ่ า นงายๆ ดูรายการธรรมะ นอกจากนัน้ ก็ดจู ติ ดูใจ และดูทางทีจ่ ะไปขางหนา ไมวา จะเปนทางบริสุทธิ์ ทุกขะติภูมิ หรือ สุขะติภูมิ ทางขางหนานั้น เปนการเดินทางคนเดียว ที่ยังไงก็ตอง ไป เปนทางที่ยอนกลับไมได สมบัติอะไรก็เอาไปไมได สิ่งเดียวที่เอาไปไดคือความดีความชั่ว”

ชวง 20 ปที่ 2 ของชีวิต เปนชวงของการทํามา หากิน เปนชวงทีส่ าํ คัญมากเชนกัน เพราะตอง ตัง้ ตัวใหได ถาชวงทีห่ นึง่ เราทําไวไมดี ไมตงั้ ใจ เรียน ก็จะทํามาหากินไมเปน พอทํามาหากิน ไมเปน ก็อาจไปใชวิธีฉอฉล ที่ทําใหตองไปอยู ในคุก ชวงทีห่ นึง่ ของชีวติ จึงสําคัญมาก เพราะ จะสงผลกระทบตอทุกชวงของชีวิต

ดั่งพุทธพจนที่ตรัสไววา “เมื่อคนกําลังจะตาย ทรัพยสักนิดก็หาติดตัวไปไดไม” ดังนั้น ระหวางที่ยัง ไมถึงชวงสุดทายก็ตองฝกปลอยเปนระยะ ๆ ควรฝกตั้งแตชวง 20 ปแรกของชีวิต อยารอจนถึงชวง สุดทาย เพราะถารอจนถึงตอนนั้นจะมีปญหาปลอยไมลง ไปไมสงบ

ชวง 20 ปที่ 3 ของชีวิต เปนชวงที่จะไดชื่นชม ความสําเร็จ จึงเปนชวงเวลาของการทุมเทให กับสถาบันครอบครัวอยางเต็มที่ และเริม่ แบงปน ใหสังคม วางรากฐานของครอบครัวใหมั่นคง

“เราทุกคนจะอยูกันไมถึงรอยป หากจะเกินรอยปไปบางก็ไมมากมายนัก พระพุทธองคตรัสไวเชนนี้ ดังนั้นเราควรจะบริหารจัดการเวลาของเราใหดีที่สุด ดวยการใชทุกชวงเวลาอยางไมประมาท เพราะ ถาเราประมาทในการใชเวลาก็เทากับเราประมาทในการใชชวี ติ หวังวาทุกคนคงตระหนักวา เรามีเวลา จํากัด ก็ควรจะบริหารจัดการชีวิตใหดี ดวยความไมประมาทโดยทั่วหนากัน”

104

Energy#64_p104_Pro3.indd 104

ขอบคุณขอมูลจาก : http://www.cpall.co.th 2/20/14 10:02 PM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

105

Energy#58_p103_Pro3.indd 105

8/28/13 6:43 PM


Event Calendar กองบรรณาธิการ

นิทรรศการ งานประชุม และอบรม ดานพลังงานที่นาสนใจ ประจําเดือนมีนาคม 2557 31 มีนาคม – 3 เมษายน 2557

ชื่องาน : การประชุมวิชาการประจําป 2557 สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ “วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี : พลังขับเคลื่อนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” เนื้อหาการฝกอบรม : เพื่อนําเสนอผลงานวิจัยและพัฒนาที่เปนรูปธรรมทั้งการนําไปใชประโยชนเชิงพาณิชยและสาธารณะและผลงานวิจัยที่สราง องคความรูเพื่อตอยอดสูการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ สถานที่ : อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย จังหวัดปทุมธานี ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : www.nstda.or.th/nac214/about-nac2014.php

3 เมษายน 2557

ชื่องาน : การประชุมวิชาการประจําปสวทช. ครั้งที่ 10 (NAC 2014) เนื้อหาการฝกอบรม : - อุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics Industries: Applications, Business, R&D, Standard and Certification) - การพัฒนาเทคโนโลยีปาลมนํ้ามันอยางยั่งยืนดวยเทคโนโลยีไทยทํา(วันที่ 1 เมษายน 2557) หัวขอที่ 3 การพัฒนา CAE Software ในประเทศไทยเพื่อเปนทางเลือกในการออกแบบผลิตภัณฑ - นวัตกรรมเทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืนของยางธรรมชาติ ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : งานพัฒนากําลังคนดานวัสดุศาสตร (คุณบุญรักษ กาญจนวรวณิชย / คุณอัครพล สรอยสังวาลย) ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติโทรศัพท 02 564 6500 ตอ 4675, 4679

8-10 เมษายน 2557

ชื่องาน : Victam Asia 2014 เนื้อหาการฝกอบรม : นิตยสาร Bioenergy International จะไดจัด การสัมมนา นานาชาติ หัวขอ “Pellets & Biomass Update Asia” เพื่อจะ Update ขอมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมมวลชีวภาพ ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียภายในงาน Victam Asia 2014 ซึ่งเปนงานนิทรรศการ ดานอาหารสัตว พลังงานชีวมวล และการแปรรูปธัญพืช สถานที่ : ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : www.victam.com, www.grapas.eu และ www.fiaap.com.

23 เมษายน 2557

ชื่องาน : แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 และ 5 เนื้อหาการฝกอบรม : - อุตสาหกรรมสีเขียวกับการพัฒนาอยางยั่งยืนของธุรกิจ - การปรับตัวและความจําเปนในการพัฒนาอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน - แนวทางและขั้นตอนการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 4 และ ระดับ 5 - กรณีศึกษา ประสบการณความสําเร็จการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 4 และ ระดับ 5 สถานที่ : จังหวัดระยอง ติดตอขอมูลเพิ่มเติม : คุณรัตนภรณ เทพมาลัย สถาบันสิ่งแวดลอมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โทร. 02 345 1261, อีเมล iei@off.fti.or.th 106

Energy#64_p106_Pro3.indd 106

2/24/14 10:13 PM


Energy#64_Cover In_Pro3.indd 1

2/25/14 8:33 PM


1

Energy#64_Cover Out_Pro3.indd 1

4

0

3

0

1

2/26/14 9:58 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.