นิตยสาร Energy Saving ฉบับที่ 65 เดือนเมษายน 2557

Page 1

Energy#65_Cover Back_iMac5.pdf

1

3/19/2557 BE

Cover ES65_iMac5.pdf

12:28 AM

C

C

M

M

Y

Y

CM

CM

MY

MY

CY

CY

CMY

CMY

K

K

Energy#65_Cover Out_Pro3.indd 1

1

3/25/2557 BE

5:12 PM

3/25/2557 BE 5:18 PM


Energy#62_p107_Pro3.ai

Energy#65_Cover In_Pro3.indd Energy#63_p87_Pro3.indd 87 1

1/23/14 4:18 AM

1

12/18/13

10:44 PM

3/25/2557 BE 5:19 PM


FLUKE 1730 Three-Phase Energy Logger

u

FLUKE 434-II, FLUKE 435-II Three-Phase Power Quality and Energy Analyzers

รนุ่ใหญ่ สมรรถนะ สงูเยย่ีม

ในตัวอยางเปนเงิน 683,000 บาทตอป โพ รบยดืหยนุ่รองรบักระแส สนใจติดตอ : คุณธีระวัฒน 08-1555-3877, คุณพลธร 08-1834-0034, คุณจิรายุ 08-3823-7933

บริษัท เมเชอรโทรนิกซ จํา กัด

ไดส้งูถงึ 6000 A

2425/2 ถนนลาดพราว ระหวางซอย 67/2-69 แขวงสะพานสอง เขตวังทองหลาง กรุงเทพ ฯ 10310 โทร. 0-2514-1000; 0-2514-1234 แฟกซ 0-2514-0001; 0-2514-0003 Internet: http://www.measuretronix.com E-Mail : info@measuretronix.com www.measuretronix.com/power-quality Energy#65_p03_iMac5.indd 3

3/19/2557 BE 12:40 AM


Issue 65 APRIL 2014 ผลผลิตชุมชน...เพื่อชุมชน

High Light

22 GreenNovation 19 Green 4 U : คืนชีพปั๊มร้าง ให้เป็น ปั๊มอาร์ต สุดเจ๋ง 25 Energy Award : โรงเรียนสัตยาไส ส่งเสริมคุณธรรม

72

74

36 44 66 76

What’s Up

72 Around The World 74 ASEAN Update 102 Energy Movement

Cover Story

10 Cover Story : นวัตกรรมแสงสว่างแห่งอนาคต 53 Special Report : พลังงานทดแทน พลังงานทางเลือก

78 80 82 83 90

ควบคู่ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สู่ที่มาของ รางวัลสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 7 Energy Knowledge : วว. วิจัย เอทานอล หวังลดค่าใช้จ่ายของประเทศ Eco Shop : ผลิตภัณฑ์จากไม้วีเนียร์ ดีไซน์สวย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Energy Loan : สนพ.เปิดให้ทุนวิจัยด้านพลังงาน วงเงินกว่า 12 ล้านบาท Energy Focus : บทเรียนที่น่าสนใจ สู่ทางออกรับมือ...ไฟฟ้าดับ Insight Energy : ก๊าซชีวภาพ ช่วยชาติประหยัดเงิน Special Scoop : BANPU ตั้งเป้าลดต้นทุนการผลิต ด้านพลังงาน เน้นนวัตกรรม ขยายการเติบโตในอนาคต Energy Rules : เยียวยาผู้มีรายได้น้อย... หลังขึ้นราคา LPG ภาคขนส่ง Energy Report : การสร้างนวัตกรรม – ความแปลกใหม่ Energy Exhibit : ความคืบหน้า สถาปนิก’ 57 ภายใต้แนวคิด สิบแปด แปดสิบ

เพื่อสุขภาพส�าหรับชุมชน

Interview

46 Exclusive : เวสต์ททู ริซติ ี้ บุกตลาดพลังงานทางเลือก พร้อมรุก ธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงขยะชุมชนแปรรูป 48 Exclusive : พัฒนาผลิตภัณฑ์ รักษ์โลกควบคู่ความปลอดภัย 50 Exclusive : EGCO GROUP โชว์ก�าไรปี 56 กว่า 7 พันล้านบาท พร้อมเดินหน้าขยายการลงทุน ทั้งไทยและต่างประเทศ 64 Energy Concept : เตาแก๊สแกลบ

19

4

Energy#65_p04,06_iMac5.indd 4

3/22/2557 BE 12:08 AM


52

Energy#65_p05_iMac5.indd 5

3/19/2557 BE 12:50 AM


56

88 Industrial & Residential

28 Green Industrial : เจาะลึกกระบวนการผลิตไฟฟ้า 32 34 38 94

96

ของ BLCP POWER Residence : Pedras Salgadas Eco รีสอร์ททีอ่ งิ กับธรรมชาติในโปรตุเกส Energy Design : Living for Tomororow Tool&Machine : หลอดแอลอีดไี ฮเบย์ ส�าหรับโรงงาน Saving Corner : Energy from Waste (EfW) Equipment เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยกระบวน การย้อนกลับระบบท�าความเย็น Organic Rankine Cycle (ORC Technology) Energy Management : บริหารจัดการพลังงาน ให้ได้ผลจาก 2 กรณีศกึ ษาอาคารประหยัดพลังงาน

32

Transportation & Alternative Energy

56 Auto Update : เทคโนโลยีการแข่งขัน...รถยนต์ในอนาคต 62 Vehicle Concept : Audi Allroad Shooting Brake สปอร์ตเอสยูวีไฮบริดจอมลุย 68 Renergy : FIT ชี้ชะตาพลังงานทดแทนไทย 70 Green logistic : ลดความสูญเสีย ในกระบวนการผลิต

Environment Protection

85 0 Waste Idea : ภัยแล้ง กับ ทางเลือกใหม่... การใช้ประโยชน์จาก “น�้าเสีย” 88 Environment Alert : การปฏิรูประบบการจัดการ สิ่งแวดล้อมในสถานการณ์ปัจจุบัน 92 Green Community : มิตรผล ร่วมกับ ชมรมผู้ส่งเสริม การปลูกถัว่ เหลืองในประเทศไทย จัด โครงการน�าร่องฟืน้ ฟูดนิ ช่วยเกษตรกรไทย 99 Energy Enjoyment : โรงแรมสีเขียว ใช้พลังงานมนุษย์ ชวนปั่นจักรยาน รับโปรโมชั่นอาหารฟรี 1 มื้อ

Regular Feature

8 Editor’ s talk 16 Get Idea : “เดี่ยว” ชวนเยาวชน ประหยัดพลังงาน 42 40 60 104

6

Energy#65_p04,06_iMac5.indd 6

โดยเริ่มจากสิ่งใกล้ตัว แล้วลงมือท�า How to : คืนชีพ ลิน้ ชักเก่า ให้กลายเป็นกล่องติดฝาผนังอันใหม่ Energy Tips : วิธีประหยัดไฟฟ้าอย่างชาญฉลาด Have to Know : แบ่งเวลา...ดูแลแอร์ แคร์กระเป๋าตังรับหน้าร้อน Energy Thinking : จัดสรรเวลาอย่างไรให้ชีวิต ประสบความส�าเร็จ

105 แบบสมัครสมาชิก 106 Event & Calendar 3/22/2557 BE 12:08 AM


Energy#65_p07_iMac5.indd 7

3/19/2557 BE 12:37 AM


Editor ’s Talk เข้าสู่ช่วงเวลาแห่งการเฉลิมฉลองกันอีกครั้ง ส�าหรับเทศกาลสงกรานต์ เทศกาลความสุขที่มาพร้อมกับความชุ่มฉ�่า เชื่อว่าหลาย ๆ คนคงก�าลัง ตั้งหน้าตั้งตารอคอยเทศกาลแห่งความสุขนี้กันอยู่ เพราะนอกจากจะได้ สาดน�้าคลายร้อนในวันหยุดยาวกันแล้ว เทศกาลสงกรานต์ยังเป็นวัน พบปะสังสรรค์ของคนในครอบครัวทีอ่ ยูต่ า่ งถิน่ ต่างแดนได้กลับมาอยูพ่ ร้อม หน้าพร้อมตากัน นอกจากนี้วันสงกรานต์ยังเปรียบเสมือนวันปีใหม่ไทย ทีช่ าวไทยทุกคนจะร่วมกันท�าบุญตักบาตรเพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลให้กบั ชีวติ ตลอดทัง้ ปี ขอให้ทกุ ท่านเทีย่ วสงกรานต์อย่างมีความสุข มีสติ และมีรอยยิม้ กันถ้วนหน้านะคะ มาเข้าเรื่องของเรากันบ้างดีกว่า นิตยสาร Energy Saving ฉบับนี้ เรื่องเด่น ประจ�าฉบับ เอาใจคนที่ก�าลังต้องการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ให้แสงสว่าง อย่างหลอดไฟ LED โดยเฉพาะ ณ ปัจจุบันคงไม่มีใครไม่รู้จักหลอดไฟ LED ที่ถึงแม้ราคาต่อหน่วยจะค่อนข้างสูง แต่ประสิทธิภาพในการประหยัดไฟ ก็สงู ตามไปด้วย หลาย ๆ หน่วยงาน หลาย ๆ องค์กร เริม่ หันมาให้ความส�าคัญ เปลีย่ นมาใช้หลอดไฟ LED ในหน่วยงานของตนกันมากขึน้ ถึงแม้ปจั จุบนั ราคา ของหลอดไฟ LED จะยั ง คงสู ง อยู ่ แต่ ก็ ไ ม่ สู ง มากเหมื อ นเช่ น แต่ ก ่ อ น ชาวบ้านอย่างเรา ๆ ท่าน ๆ สามารถจับต้องได้ หากยอมลงทุนสูงหน่อย แต่ชว่ ยประหยัดพลังงานได้ในระยะยาว สามารถคืนทุนได้ภายในระยะเวลา ไม่นาน ก็นา่ จะคุม้ กับการลงทุนมิใช่หรือ ถ้าใครทีก่ า� ลังมองหาข้อมูลในการ ตัดสินใจเลือกซือ้ หลอดไฟ LED เพือ่ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน คุณสามารถหา ค�าตอบได้จากหนังสือที่คุณก�าลังถืออยู่ในมือเล่มนี้ นอกจากนี้ ภายในเล่มยังมีเรือ่ งราวด้านพลังงานทีเ่ ป็นประโยชน์กบั คุณผูอ้ า่ น มาน�าเสนออีกเพียบ อาทิ ไนต์คลับที่ผลิตไฟฟ้าได้เองจากลีลาการวาด ลวดลายของขาแดนซ์ที่เข้าไปใช้บริการ หากคุณไม่ชอบการเต้นสักเท่าไร อาจหมดสิท ธิ์ ได้ร่วมสนุกที่ไนต์คลับแห่งนี้ เพราะที่นี่มีไว้ส�าหรับนักเต้น เท้าไฟโดยเฉพาะ ถ้าอยากรู้รายละเอียดเพิ่มเติมมากกว่านี้ พลิกไปอ่าน กันได้เลย แล้วพบกันใหม่ฉบับหน้า...สวัสดีค่ะ

ปิยะนุช มีเมือง หัวหน้ากองบรรณาธิการ piyanuch@ttfififintl.com

8

Energy#65_p8_iMac5.indd 8

คณะผู้จัดท�ำ กรรมกำรผู้จัดกำร

ชำตรี มรรคำ

หัวหน้ำกองบรรณำธิกำร

ปิยะนุช มีเมือง

กองบรรณำธิกำร

นัษรุต เถื่อนทองคำ รังสรรค์ อรัญมิตร อภัสรำ วัลลิภผล

เลขำกองบรรณำธิกำร พิชญำภำ อินทโลหิต

ผู้จัดกำรฝ่ำยขำย

ศุภแมน มรรคำ

เลขำฝ่ำยขำย

สุกัญญำ สัปศำร

กำรเงิน

แสงอรุณ มงคล

ศิลปกรรม

ศุภนิชำ พวงเนตร

พิมพ์

บริษัท ภัณธรินทร์ จำกัด

จัดจำหน่ำย

บริษัท เวิลด์ออฟดิสทริบิวชั่น จำกัด

ผู้จัดทำ บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

200/7-14 ชั้น 6 อำคำรเออีเฮ้ำส์ ซ.รำมคำแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหำนคร 10250 โทรศัพท์ (66) 2717-2477 โทรสำร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ภำพและเรื่องในนิตยสำร ENERGY SAVING สงวนลิขสิทธิ์โดย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด กำรนำไปพิมพ์ซ้ำ หรือนำไปใช้ประโยชน์ใด ๆ ต้องได้รับอนุญำตอย่ำงเป็นทำงกำรจำก บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ก่อนทุกครั้ง

3/21/2557 BE 12:23 AM


R1_Energy#65_p09_iMac5.indd 9

3/24/2557 BE 8:43 PM


Cover Story ่อนทองคํา นัษรุต เถือนทองคํ

นวัตกรรม

แหงอนาคต

Á¹ØÉ ... ¡ÑºâÅ¡¢Í§áʧÊNjҧ໚¹ÊÔ่§·Õ่äÁ‹ÊÒÁÒöá¡ÍÍ¡¨Ò¡¡Ñ¹ä´ŒÊํÒËÃѺâÅ¡»˜¨¨ØºÑ¹ áÅÐ໚¹ÊÔ่§·Õ่ ãËŒ»ÃÐ⪹ ¡º Ñ Á¹ØÉ 㹷ء æ ´ŒÒ¹ ÊÔ§่ »ÃдÔÉ°´ŒÒ¹áʧÊNjҧ䴌¶¡ Ù ¤Ô´¤Œ¹Áҵѧ้ ᵋÊÁÑÂâºÃÒ³ â´ÂàÃÔÁ ่ ¨Ò¡áʧÊÇ‹Ò§·Õ่ä´Œ¨Ò¡à·ÕÂ¹ä¢ ¡ŒÒÇÁÒ໚¹áʧÊÇ‹Ò§·Õ่ä´Œ¨Ò¡¡ÒûÃдÔÉ° ËÅÍ´ä¿¿‡ÒẺ㪌¢´ÅÇ´ ËÅÍ´¹ÕÍ͹ áÅÐËÅÍ´¿ÅÙÍÍàÃÊૹµ ¡‹Í¹Ê‹§¼‹Ò¹ÁÒÊÙ‹Âؤ»˜¨¨ØºÑ¹·Õ่âÅ¡ËÁعÁÒËÂØ´·Õ่à·¤â¹âÅÂÕ áʧÊÇ‹Ò§ãËÁ‹·Õ่àÃÕÂ¡Ç‹Ò ä´âÍ´àÃ×ͧáʧ ËÃ×Í Light Emitting Diode - LED

กอนอืน่ ตองทําความรูจ กั กับ เทคโนโลยีไดโอด เรื อ งแสง หรื อ LED เสี ย ก อ นว า คื อ อะไร ทํ า ไมโลกจึ ง มาหยุ ด อยู  ที่ เ ทคโนโลยี ดั ง กล า ว และมีการตอยอดอยางตอเนือ่ งในปจจุบนั ซึง่ LED เปนอุปกรณเซมิคอนดักเตอรแบบหนึ่งที่ยอมให กระแสไฟฟาไหลผาน และจะปลอยแสงสวาง ออกมาอันที่จริงอุปกรณดังกลาวไมใชเรื่องใหม นักวิทยาศาสตรไดสังเกตมาตั้งแตป 2450 วา เซมิคอนดักเตอรจะเปลงแสงออกมาเมื่อกระแส ไฟฟาไหลผาน อยางไรก็ตามแสงที่เปลงออกมา มีปริมาณนอยเกินไป จึงทําใหเทคโนโลยี LED ถูกมองขามไป อีกประมาณ 50 ป ตอมา นาย Nick Holonyak, Jr. นาย Nick Holonyak, Jr. นายธนากร วงศวิเศษ นักวิจัยแหงบริษัท GE ไดนําเทคโนโลยี LED มาตอยอดใหเกิดประโยชนในเชิงพาณิชยและ ประสบความสําเร็จในป 2505 ดวยผลงานการประดิษฐ LED ที่สามารถ นายธนากร วงศวิเศษ ผูจัดการทั่วไปกลุมธุรกิจไฟฟาและอุปกรณ เปล ง แสงสี แ ดงที่ มี ค วามสว า งออกมามากเพี ย งพอที่จะนํามาใช แสงสวาง บริษัท ฟลิปสอิเล็กทรอนิกส (ประเทศไทย) จํากัด เลาถึง ประโยชนได ซึ่งเปนจุดเปลี่ยนใหทั่วโลกหันมาใหความสําคัญกับ การเติบโตของ LED วา ประสิทธิภาพของนวัตกรรม LED ปจจุบัน การพัฒนาแสงสวางรูปแบบนี้มากยิ่งขึ้น โดยมีการวิจัยและพัฒนา มีการเติบโตอยางตอเนื่อง ครบทุกกิจกรรมการดําเนินชีวิตตั้งแต การใชงานในบานเรือนทีอ่ ยูอ าศัย, อาคารสํานักงาน, หางสรรพสินคา, ในดานนี้อยางตอเนื่อง โรงแรม, โรงงานอุตสาหกรรม และไฟภายนอกอาคาร ซึง่ รวมถึงไฟสวาง ใครจะรู... เทคโนโลยี LED ในปจจุบันมีการเติบโตจนดูเหมือนวา สําหรับถนน ถาเปนเรื่องแสงสวางยุคปนี้ ตองยกใหกับอุปกรณชิ้นเล็ก ๆ ชิ้นนี้ โดยมีการนํามาใชประโยชนในทุกดานกับกิจกรรมและสิ่งใกลตัว ของมนุษยโดยทีเ่ ราแทบจะไมรตู วั งัน้ เราลองมาสังเกตุสงิ่ ทีเ่ รามองขาม และมองผานไปอยาง ไฟฉาย, สัญญาณจราจร, ปายสัญญาณ, ไฟทาย รถยนต, จอทีวี, จอคอมพิวเตอร, หรือแมกระทั่ง หนาจอของ โทรศัพทมือถือในปจจุบัน ลวนไดแสงสวางจาก LED เกือบทั้งหมด 10

Energy#65_p10-15_iMac5.indd 10

3/22/2557 BE 12:15 AM


ทําใหทศิ ทางการเติบโตของตลาดแสงสวางของเทคโนโลยี LED จะมีสดั สวนการเติบโตทีส่ งู และ รวดเร็ว เมือ่ เทียบกับหลอดไฟแบบธรรมดาและหลอดฟลูออเรสเซนต ในประเทศไทยมีการใช หลอด LED และเปนทีร่ จู กั มาตัง้ แตป 2555 ซึง่ ตลาดของ LED ไมไดมเี พียงแคหลอดไฟ แตมี เรื่องของอุปกรณที่เกี่ยวของดวย ดวยความที่ตลาดมีการเติบโตอยางตอเนื่อง ทําใหคาดวา จะมีมลู คารวมของกลุม LED ทีป่ ระมาณ 26,000 ลานบาทในป 2557 หรือเติบโตประมาณ 7% เมื่อเทียบกับป 2556 โดยแบงตลาดแสงสวางเปนตลาดหลอดไฟและอุปกรณที่เกี่ยวของ มีมูลคา 12,000 ลานบาท และโคมไฟมีมูลคา 14,000 ลานบาท ทิศทางการเติบโตของตลาดแสงสวาง เปนตัวเลขทีไ่ มนอ ยเลยสําหรับธุรกิจหลอดไฟ ทําไมการเติบโตจึงรวดเร็วและมีมลู คามหาศาลเพียงนี้ นัน้ ก็เพราะปจจุบนั LED ไดถกู พัฒนาขึน้ ทั้งในดานสีของแสงที่เปลงออกมาไมวาจะเปน สีแดง, สีเขียว, สีสม และสีที่ถูกพัฒนาตาม คือ สีนํ้าเงิน ทําใหครบแมสี 3 สี คือ สีแดง สีเขียว และสีนํ้าเงิน และเกิดเปนจุดเริ่มตนของ จอ LED ทําใหตลาดเปนทีต่ อ งการมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ยังใชประโยชนไดอยางหลากหลายมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ที่สําคัญหลอด LED ไดถูกพัฒนาใหไดแสงสีขาวธรรมชาติ จนถูกนํามาใชในแทนหลอดไฟ สองสวางแบบเดิม

ตางจากหลอดไสที่ใชวิธีการเปลงแสงดวย การใหความรอน เผาไสหลอดจึงไดแสงสวาง อีกทัง้ ความรอนทีเ่ กิดก็แผออกไปทัว่ ทิศทาง ทําใหสูญเสียพลังงานโดยเปลาประโยชน ขณะที่แสงสวางจากหลอด LED เกิดขึ้นจาก การเคลือ่ นของอิเล็กตรอนภายในสารกึง่ ตัวนํา ซึ่ ง เป น วั ส ดุ แ บบเดี ย วกั บ ที่ ใช ใ นการทํ า ทรานซิสเตอร โดยธรรมชาติของมุมกระจายแสง ของหลอด LED นั้น พุงในแนวตรง โดย ความรอนทีเ่ กิดจะระบายสูด า นลางและจาก การที่ LED ปลอยความรอนออกมา ทําให อาคารลดการสูญเสียพลังงานไฟฟา ซึง่ ทําให ชวยใหประหยัดพลังงานมากขึ้น

หลักการใหแสงสวาง หลอด LED เปนอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสประเภทสารกึง่ ตัวนําทีส่ ามารถ เปลงแสงออกมาไดเมือ่ เราจายกระแสไฟฟาเขาไป โดยปกติหลอดชนิดนีส้ ามารถเปลงแสงได เมือ่ จายกระแสไฟเพียงเล็กนอยเทานัน้ และประสิทธิภาพในการใหแสงก็ยงั ดีกวาหลอดทัว่ ไป แบบเดิม ใหแสงสวางเต็มที่ทันทีโดยไมตองมีการ Warm up หลักการใหแสงสวางจึงแตก

11

Energy#65_p10-15_iMac5.indd 11

3/22/2557 BE 12:13 AM


1. ไมมีแสง UV หลอดไฟประเภท LED ที่เปนที่ นิ ยมใช ในยุ โรปและประเทศที่พัฒนาแลว ทั้ง หมด จะไมมีแสง UV ปลดปลอยออกจากแสงแมแตนอย เมื่อเทียบกับหลอดไฟนีออน หรือ หลอดประเภท ฟูออเรสเซนทแบบธรรมดาที่มีใชกันอยางแพรหลาย จะพบวา หลอดไฟนีออนจะใหแสงสวางไดก็ตอเมื่อ มีการกระตุน สารไอปรอททีอ่ ยูใ นหลอดนีออน แลวมี การถายเทพลังงานซึง่ ระหวางการกระทํานี้ จะเกิดแสง UV ที่ไมอาจจะหลีกเลี่ยงไดปลอยออกมาพรอมกับ แสงสวางที่เกิดขึ้น เนื่องดวย UV จะมีผลกระทบตอ สินคาที่โดนแสงอยางตอเนื่องยาวนาน ตัวอยางเชน ศูนยแสดงสินคาที่จะตองฉายแสงไฟตอเนื่องไปยัง สินคาเพือ่ ใหเกิดความเงางามสะทอนแสงไฟ แตนนั่ ก็ อาจจะทําใหเกิดปญหาตอสินคาได เปนตน

ประโยชนของการใชหลอดไฟ LED คือ เปนหลอดไฟที่ประหยัด พลั ง งานมากกว า หลอดไฟประเภทอื่ น ที่ มี อ ยู  ใ นตลาดทั้ ง หมด และการประหยัดเงินคาไฟฟาจากการใชหลอดไฟ LED ตัง้ แต 15-75% แลวแตชนิดของหลอดเดิม จึงเปนจุดประสงคหลักขององคกร รานคา บริษัท โรงงานผูผลิต ผูประกอบการที่ตองการลดตนทุนดานพลังงาน นอกจากนี้การใชหลอดไฟ LED ยังมีประโยชนในมุมอื่นๆ อีกมาก ที่คุณอาจจะไมเคยรูมากอน

2. หลอดไฟ LED ปลอยความรอนนอย หลอดนีออน หรือหลอดฟูออนเรสเซนทปกติที่ตามบานเรือนหรือ โรงงาน จะมีการปลอยความรอนออกมาอยูใ นระดับ 70-90 องศาเซลเซียส ขณะทํางานตอเนือ่ งตลอดอายุ การใชงาน สวนหลอดฮาโลเจน (halogen) จะปลอย ความรอนออกมาไดสงู กวาหลอดนีออนขึน้ ไปอีกคือ ระดั บ อุ ณ หภู มิ ช  ว ง 150 - 200 องศาเซลเซี ย ส พลังงานความรอนทีเ่ กิดขึน้ นัน้ เปนสิง่ ที่ไมตอ งการเพราะการเปดไฟ เราจะตองการเพียงแสงสวางเปนสําคัญ ไมไดตองการความรอน แตอยางใด ความรอนเหลานี้ เกิดขึน้ อยาหลีกเลีย่ งไมไดดว ยเทคโนโลยี แบบเกาของหลอดไฟ ทีอ่ าจจะปลอยความรอนออกมากับคลืน่ แสง (UV) หรือแมกระทัง่ Infrared (IR) ทัง้ หมดแลวลวนเปนพลังงานทีเ่ พิม่ จายเงิน เพื่อแปลงพลังงานไฟฟาไปเปนพลังงานรูปแบบอื่นที่ไมไดตองการ 3. หลอดไฟ LED ทนตอการสัน่ สะเทือน เปนคุณสมบัติที่ดีสําหรับ ก า ร ติ ด ตั้ ง ใ น พื้ น ที่ ที่ มี การเคลื่อนไหว ซึ่งการทนตอ การสั่นสะเทือนนี้เอง ทําให ผูผลิตสินคาหลายตัวไดเลือก ใช LED เพือ่ ใชงานมาเปนระยะ เวลานาน เนื่องจากกินไฟฟา ประหยัดกวา และยังทนตอ การสั่ น สะเทื อ นได อี ก ด ว ย เช น ลิฟ ทที่ติด ตั้ง ในอาคาร จะติดไฟประเภท LED เพราะ ลิ ฟ ท นั้ น จะมี อ าการสั่ น และ เคลื่อนที่อยูตลอดเวลา ทําให ลดโอกาสการเสียของหลอดไฟ ไดมากขึน้ ทําใหไมตอ งเปลีย่ น หลอดไฟบอยเกินความจําเปน

12

Energy#65_p10-15_iMac5.indd 12

3/22/2557 BE 12:13 AM


4. แสงจากหลอดไฟ LED ไม่กระพริบ หลอดไฟฟูออเรสเซ้นท์แบบเดิม จะมีความถี่ ของการกระพริบ 50 Hz. เนือ่ งจากกระแสไฟฟ้า ที่ ใ ช้ ส� า หรั บ หลอดไฟประเภทนี้ จ ะเป็ น กระแสสลับ (AC) การกระพริบดังกล่าวก่อให้ เกิดอาการปวดหัว ปวดตา เมื่อมองวัตถุ ใต้แสงนีออนต่อเนื่องหลายชั่วโมง อาจจะ ก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการท�างานได้ด้วยเช่นเดียวกัน แต่จาก การวั ด หลอดไฟ LED สามารถแสดงผล การกระพริบได้ถโี่ ดยประมาณ มากกว่า 400 Hz ซึ่งก็เป็นความถี่ที่เกินกว่าสายตาจะรับรู้ได้ ท� าให้ การท�างานภายใต้แสง LED แสงจะ ไม่กระทบต่อสายตาและเหมาะส�าหรับการใช้ ในสถานทีท่ �างานกว่าหลอดแบบอื่น 5. ออกแบบทิศทางของแสงจากหลอดไฟ LED ทีเ่ หมาะสมกับรูปแบบโคมได้ เนือ่ งจาก LED จะมีทิศทางการส่องสว่างแบบเป็นท่อ ไม่ได้กระจายออกทุกทิศทาง ท�าให้สามารถ ออกแบบตัวหลอดให้เหมาะสมกับโคม โดยไม่ ปล่อยแสงไปในทิ ศ ทางที่ ไ ม่ ต ้ อ งการได้ ท� า ให้ เ กิ ด การประหยัดไฟฟ้าได้

ดังนั้น หากราคา LED สูงกว่าราคาหลอดฟลูออเรสเซนต์ไม่มากนัก ต้นทุนรวมในการติดตั้ง หลอด LED ก็จะต�่ากว่าแน่นอน ด้วยข้อจ�ากัดดังกล่าว ท�าให้มีการสนับสนุนการวิจัยและ พัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง เช่น รัฐบาลสหรัฐอเมริกาได้ให้การสนับสนุนเงินในด้านวิจยั และพัฒนา ในโครงการ Next Generation Lighting Initiative โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประสิทธิภาพของ LED สีขาวเพิ่มเป็น 3 เท่า ภายในปี 2568 ซึ่งหากประสบผลส�าเร็จและมีการน�า LED มาให้ แสงสว่างอย่างแพร่หลายแล้ว จะท�าให้ทั่วโลกประหยัดพลังงานไฟฟ้าจ�านวนมาก

6. อายุการใช้งานทีย่ าวนาน อายุการใช้งาน ของหลอด LED ยาวนานถึง 100,000 ชัว่ โมง หรือประมาณ 11 ปี เปรียบเทียบกับหลอด ฟลู อ อเรสเซ็ น ต์ แ บบเก่ า มี อ ายุ ใ ช้ ง าน 30,000 ชัว่ โมง หรือหลอดไฟฟ้าแบบขดลวด ที่มีอายุใช้งานเพียง 1,000 — 2,000 ชั่วโมง เท่านั้น ส�าหรับ การใช้งานของหลอด LED ในปัจจุบัน มีการใช้งานที่แพร่หลายมากขึ้น ส่วนใหญ่ จะแบ่งตามประเภทของการใช้งาน ของหลอดไฟแต่ละประเภท ซึง่ จะมีคณ ุ สมบัตทิ แี่ ตกต่างกัน ข้อจ�ากัด ทีย่ งั ท�าให้หลอด LED เป็นตัวเลือก ออกไป ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการติดตั้งในรูปแบบองค์กรใหญ่ที่ต้องใช้แสงสว่างมาก และมี ทีส่ องส�าหรับการเลือก คือ ราคาหลอด LED การเปิดไฟเพื่อส่องสว่างต่อเนื่อง ก็จะเปลี่ยนมาติดตั้งหลอดไฟ LED เพื่อการประหยัด ยั ง แพงกว่ า หลอดฟลู อ อเรสเซนต์ อ ยู ่ ม าก พลังงานไฟฟ้า ได้แก่ โดยเฉพาะหลอดที่ใ ห้แ สงสีข าวธรรมชาติ แต่ปจั จุบนั ได้มกี ารวิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับ LED โรงแรม โรงพยาบาล และร้านอาหาร (Hotel , Hospital And Restaurant) ซึ่งต้องการ ได้ก้าวหน้าอย่างรวดเร็วดังนั้น ผู้เชี่ยวชาญ คุณภาพของแสงทีมีความสวยใสและเลือกค่าองศาของแสงได้ตามต้องการ การใช้งานแบบ ได้คาดการณ์ว่า ในเวลาอันใกล้ ข้อจ�ากัด Dimmable light LED จึงเป็นสิ่งจ�าเป็นส�าหรับกิจการร้านค้าประเภท โรมแรมและร้านอาหาร ด้านต้นทุนของ LED สีขาวจะใกล้เคียงกับ เป็นอย่างมาก แต่เดิมแล้ว โรงแรมและร้านอาหารจะเลือกใช้หลอด Halogen อยู่แล้ว หลอดฟลูออเรสเซนต์ ซึง่ จะท�าให้ตลาด LED เพื่อให้ได้ความสวยใสของแสง และ lighting effect บนผืนวัตถุที่ต้องการจะเน้นส�าหรับ ขยายตัวอย่างรวดเร็ว การตกแต่งภายใน แต่ปัญหาที่เกิดคือ ความร้อนสูง และความร้อนที่ถ่ายเทมากับแสงนั้น จะท�าให้วัตถุใดๆ ที่ได้ความร้อนเสื่อมสภาพได้ง่าย นอกจากนี้หลอดไฟฮาโลเจนยังก่อให้ หากมองในความเป็นจริง ถึงแม้วา่ หลอด LED เกิดความร้อนในระบบปรับอากาศ ซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องเสียไปเพื่อปรับอากาศเพิ่มเติม จะมีราคาสูงกว่าหลอดประหยัดพลังงานอืน่ ๆ แต่การติดตัง้ อุปกรณ์ LED จะง่ายกว่าการติดตัง้ ร้ า นค้ า ปลี ก (Commercial retailer) ส� า หรั บแสงสว่ า งของร้ า นค้ าปลีกจะมีการฉายไฟ หลอดฟลูออเรสเซนต์ ซึง่ ต้องมีอปุ กรณ์เสริม เพือ่ ส่องสว่างและเพือ่ แสดงสินค้า และมีการเปิดไฟอย่างต่อเนือ่ ง ตามเวลาเปิดปิดของร้าน จ�านวนมากและเป็นค่าใช้จา่ ยเพิม่ เติมเช่นกัน บางกิจการเปิดร้านค้าทั้งวันตลอดเวลา การให้แสงสว่างในส่วนนั้นสามารถที่จะใช้หลอดไฟ 13

Energy#65_p10-15_iMac5.indd 13

3/22/2557 BE 12:13 AM


LED เพือ่ ทดแทนหลอดไฟแบบเดิมได้ จะท�ำให้เกิดผลประหยัดค่ำไฟฟ้ำ อย่ำงเป็นรูปธรรม เพรำะไฟฟ้ำของร้ำนค้ำปลีก ถือได้ว่ำเป็นค่ำไฟฟ้ำ และเป็นรำยจ่ำยต่อเดือนอันดับสอง รองจำกเครื่องปรับอำกำศและ หลอดไฟ LED ก็สำมำรถใช้เป็นกำรสร้ำงภำพลักษณ์ในเชิงสิ่งแวดล้อม ได้อีกด้วย เพรำะกำรประหยัดพลังงำนไฟฟ้ำนั่นก็คือ กำรช่วยรักษำ สิ่งแวดล้อมให้กับโลกได้อีกทำงหนึ่ง โกดังสินค้า (High Bay lighting for inventory and storage) กิจกำร ประเภทนี้ปกติแล้วจะเป็นอำคำรสูงและมืดสนิท เดิมทีจะใช้หลอดไฟ ประเภท High Bay แบบเดิม ซึง่ เสียเวลำในกำรรอให้สว่ำงอีก แต่สำ� หรับ High Bay Light ที่เป็น LED แสงสว่ำงจะติดทันที สำมำรถเริ่มท�ำงำน ได้ทันที โดยไม่ต้องวอมท์หลอดไฟแบบรุ่นเก่ำ ประหยัดมำกกว่ำ หลอดไฟแบบเดิม ๆ โรงงานอุตสาหกรรม (Industrial And Office) ค่ำไฟฟ้ำเพือ่ กำรส่องสว่ำง เป็นอีกต้นทุนหนึง่ ทีต่ อ้ งจ่ำยเป็นประจ�ำทุกเดือน และค่ำไฟฟ้ำอันเนือ่ ง มำจำกแสงสว่ำงนี้เกือบจะเป็นค่ำคงที่ เพรำะกำรปิดและเปิดไฟฟ้ำ เพื่อส่องสว่ำงในกำรท�ำงำนนั้น ก็ได้มีกำรก�ำหนดเอำไว้อย่ำงแน่นอน ว่ำแต่ละเดือนจะเปิดเป็นชั่วโมงท�ำงำนเท่ำไหร่ อย่ำงไรก็ดีหลอดไฟ แบบเดิมนั้นมีอัตรำกำรกินไฟที่มำก ซึ่งตรงข้ำมกับหลอดไฟ LED ที่สำมำรถเลือกควำมสว่ำงได้หลำยค่ำขนำดได้หลำยขนำด มุมองศำ ส�ำหรับกำรฉำยแสงทีเ่ หมำะสม และอืน่ ๆ ทีอ่ กี มำกมำยทีส่ ำมำรถปรับ เลือกให้เหมำะกับควำมต้องกำรของโรงงำนได้ ตำมสภำพแวดล้อมใน กำรใช้งำน

14

Energy#65_p10-15_iMac5.indd 14

3/22/2557 BE 12:15 AM


พืน้ ทีภ่ ายนอกบ้าน (Outdoor Home User) ส�ำหรับพื้นที่ภำยนอกสำมำรถออกแบบ ให้เกิด Effect เพือ่ กำรตกแต่งได้งำ่ ยเพรำะ แสงมีกำรส่องเป็นทิศทำงที่แน่นอนและ ไม่เกิดควำมร้อนสูงฉำยไปกับแสงแม้แต่นอ้ ย กำรใช้หลอดไฟ LED ประเภท Flood light LED เป็นทำงเลือกที่ดีกว่ำส�ำหรับผู้ที่ท�ำหน้ำที่ ออกแบบพืน้ ทีฉ่ ำยไฟภำยนอกบ้ำน แม้วำ่ จะมีรำคำที่สูงกว่ำหลอดไฟแบบเก่ำ แต่ก็ ถือได้ว่ำ ก่อให้เกิดควำมประหยัดตลอด อำยุ ก ำรใช้ ง ำนซึ่ ง หำกเป็ น กำรใช้ ง ำน ตำมบ้ำนเรือนทั่วไป ป้ายโฆษณา สือ่ นอกอาคาร (Banner And Media lighting) ป้ำย Banner ที่ใส่ไฟเพื่อ ส่องสว่ำงด้ำนในจะต้องมีกำรเปิดต่อเนือ่ ง ในเวลำกลำงคืน เพือ่ ท�ำให้ปำ้ ยเห็นเด่นชัด หำกใช้ ห ลอดฟู ล ออเรสเซ็ น ต์ ตดิ ตัง้ อยู่ จะท�ำให้ปำ้ ยดูแล้วเป็นปล้องหรือเป็นบล็อก ของแสง เนือ่ งจำกแสงจำกฟูลออเรสเซ็นต์ จะฉำยออกเป็นแท่ง และไม่สำมำรถเกลีย่ แสง ให้ออกเท่ำกันได้ ป้ำย Banner หน้ำร้ำนก็จะดูไม่สวยงำมและไม่โดดเด่นเท่ำที่ควร นโยบายด้านการส่งเสริมการใช้หลอด LED ในประเทศ ส�ำหรับประเทศไทยปัจจุบัน กำรใช้พลังงำนของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่ำงต่อเนื่องเฉลี่ยร้อยละ 4.4 ต่อปี เป็นกำรเติบโต ที่ควบคู่กับอัตรำกำรขยำยตัวทำงเศรษฐกิจที่มีค่ำเฉลี่ยร้อยละ 4.5 ต่อปี โดยเฉพำะกำรใช้ พลังงำนในภำคอุตสำหกรรมกำรผลิตและอำคำรธุรกิจ กระทรวงพลังงำนจึงได้วำงนโยบำย ส่งเสริมกำรใช้นวัตกรรมเพื่อช่วยในกำรประหยัดพลังงำนโดยผลักดันให้เกิดกำรใช้อุปกรณ์ แสงสว่ำง LED ซึง่ นับเป็นนวัตกรรมส�ำคัญทีก่ อ่ ให้เกิดผลกำรประหยัดพลังงำนอย่ำงเป็นรูปธรรม ในอนำคต พร้อมมีแผนที่จะส่งเสริมให้หน่วยงำนภำครัฐต่ำง ๆ ภำคเอกชน และครัวเรือน เปลี่ยนใช้อุปกรณ์ LED อย่ำงต่อเนื่อง ด้วยควำมที่หลอด LED เป็นทำงเลือกด้ำนอุปกรณ์แสงสว่ำงที่สำมำรถลดหำรใช้พลังงำน อย่ำงเห็นได้ชดั กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) จึงได้จดั ท�ำโครงกำรส่งเสริมกำรใช้ หลอดไฟฟ้ำ LED เพื่อกระตุ้นให้เกิดกำรใช้หลอดไฟฟ้ำประสิทธิภำพสูงในระบบแสงสว่ำง โดยมีกำรติดฉลำกประหยัดไฟฟ้ำเบอร์ 5 ในหลอด LED รวมถึงกำรทยอยติดตั้งหลอด LED ในหน่วยงำนรำชกำรอย่ำงต่อเนื่อง พร้อมเปลี่ยนโคมไฟถนนชนิด LED รวม 3,142 โคม น�ำร่องสถำนที่ของ กฟผ. รวม 8 แห่ง ได้แก่ เขื่อนภูมิพล, เขื่อนสิริกิติ์, เขื่อนศรีนครินทร์, เขื่อนวชิรำลงกรณ, เขื่อนรัชชประภำ, โรงไฟฟ้ำพระนครเหนือ, ส�ำนักงำนกลำง กฟผ. และ เหมืองแม่เมำะ เป็นกรณีศึกษำด้ำนกำรประหยัดพลังงำน รวมถึงขยำยผลสู่ทุกภำคส่วนที่มี กำรใช้ไฟแสงสว่ำงจ�ำนวนมำก ซึ่งส่งผลให้ก�ำลังไฟฟ้ำลดลง 508 กิโลวัตต์ โดยคิดเป็น ร้อยละ 73.96% และประหยัดพลังงำนไฟฟ้ำได้ 2.2 ล้ำนหน่วยต่อปี รวมทั้งประหยัด ค่ำไฟฟ้ำได้เฉลีย่ ถึง 6.6 ล้ำนบำทต่อปี นอกจำกนัน้ ยังลดกำรปล่อยก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ได้ 1,138 ตันต่อปี เพื่อเป็นแบบอย่ำงให้กับหน่อยงำนหรือองค์กรเอกชน น�ำไปเป็นแบบอย่ำง ในกำรประหยัดพลังงำนของประเทศ

การขับเคลื่อนด้าน LED ในต่างประเทศ แน่นอนว่ำตัวเลขของกำรประหยัดพลังงำน จำกกำรเปลี่ ย นมำใช้ ห ลอด LED มี ค ่ ำ กำรประหยัดมำกกว่ำครึง่ ท�ำให้หลำยประเทศ หันมำให้ควำมสนใจกับเทคโนโลยีดังกล่ำว ถึงแม้ประเทศไทยจะมีกำรสนับสนุนอย่ำง ต่อเนือ่ งก็ตำม แต่ตอ้ งยอมรับว่ำในต่ำงประเทศ เข้ำมีกำรขับเคลื่อนโครงกำร LED ไปแล้ว พอสมควร ยกตัวอย่ำงเช่น

- ประเทศจีน : ได้มีกำรพิจำรณำแผน พั ฒ นำระบบบริ ก ำรสำธำณะพื้ น ฐำน แห่งชำติ 5 ปี ในกำรจัดสรรงบประมำณ สนับสนุนอุตสำหกรรมหลอด LED เป็น วงเงิน 2,200 ล้ำนหยวน - ประเทศไต้หวัน : ได้จดั ตัง้ งบประมำณ 92 ล้ำนเหรียญสหรัฐ ในกำรปรับเปลีย่ น ไฟถนนให้ เ ป็ น หลอด LED จ� ำ นวน 320,000 ดวง - ประเทศเกาหลีใต้ : ก�ำหนดให้ LED เป็น 1 ใน 5 ของ Green Technology เพือ่ เป็นกลไลในกำรขับเคลือ่ นกำรเติบโต ของเศรษฐกิจในประเทศ - ประเทศมาเลเซีย : ณ กรุงกัวลำลัมเปอร์ บนถนน Federal, Subang และ Middle Ring Road ll ได้ มี ก ำรเปลี่ ย นระบบ ส่องสว่ำงของถนนเดิมทั้งหมด มำเป็น หลอด LED รวม 3,200 โคม สำมำรถ ประหยัดพลังงำนจำกเดิมได้มำกกว่ำ 50% และเป็ น กำรเพิ่ ม มำตรฐำนของระบบ ส่องสว่ำงส�ำหรับถนน - ประเทศเนเธอร์แลนด์ : ถนนสำย A44 ถนนสำยหลั ก ที่ มี ก ำรสั ญ จรตลอดทั้ ง กลำงวันและกลำงคืน ก็ได้เปลี่ยนมำใช้ หลอดแบบ LED เพื่อเพิ่มศักยภำพของ แสงสว่ำงที่มีควำมจ�ำเป็นต่อกำรขับขี่ ทั้งกลำงคืนและขณะฝนตก

15

Energy#65_p10-15_iMac5.indd 15

3/22/2557 BE 12:15 AM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

“à´Õ่ÂÇ” ËÃ×Í ÊØÃÔ¹µ ÍÃسÇѲ¹¡ÙÅ ´ÒÃÒ˹؋ÁÁÒ¡¤ÇÒÁÊÒÁÒö ·Õ่äÁ‹à¾Õ§ᤋÁÕ˹ŒÒµÒËÅ‹ÍÍ‹ҧà´ÕÂÇ áµ‹à¢ÒÂѧÁÕ¤ÇÒÁ ¤Ô´àË็¹ã¹àÃ×่ͧ¢Í§¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹·Õ่ÍÂÒ¡¨ÐÁҪǹãËŒ¼ÙŒÍ‹Ò¹ä´ŒÅͧ·Ó¡Ñ¹ «Ö่§·Óä´ŒäÁ‹ÂÒ¡Í‹ҧ·Õ่¤Ô´ ÁҴ١ѹÊÔÇ‹Ò㹪ÕÇÔµ »ÃШÓÇѹ¢Í§ à´Õ่ÂÇ à¢ÒÁÕÇÔ¸Õ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧäÃ

“à´ÕèÂÇ”

ªÇ¹àÂÒǪ¹ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ â´Âàà ›Á¨Ò¡ÊÔè§ã¡ÅŒµÑÇ áÅŒÇŧÁ×Í·Ó “ผมวาเรื่องของพลังงานเปนเรื่องที่เราสามารถทําได โดย เริ่มจากที่บานของเราเอง เชน อยางที่บานของผมจะมี การแบงโซนบานเปนโซน ๆ ถาเราใชงานโซนไหนก็จะเปด แอรเฉพาะโซนนั้น หรือ ถาเราอยูตรงโซนนั้นคนเดียวแลว อากาศรอนไมมากจะเลือกใชพัดลมมากกวา สวนในเรื่อง ของการประหยัดนํา้ เวลาลางหนาแปรงฟนจะไมเปดนํา้ ทิง้ ไว ระหวางการทําภารกิจ เพราะการเปดนํา้ ทิง้ ไวเพียงไมกนี่ าที สามารถทําใหสิ้นเปลืองไดเหมือนกัน และในเรื่องของการใช รถผมจะใชวธิ กี ารไปทางเดียวกันไปดวยกัน อยางถาคุณพอ และนองสาวจะไปขางนอกในสถานทีแ่ ละเวลาทีใ่ กลเคียงกัน เราจะออกไปดวยกัน หรือ บางครั้งหนีปญหารถติดผมจะ เลือกใชบริการรถไฟฟา BTS นอกจากจะประหยัดนํ้ามัน แลวยังทําใหเราถึงที่หมายไดเร็วดวย” สุดทายคุณเดี่ยวฝากถึงเยาวชนคนรุนใหมวา การทํางาน ในปจจุบันมีการแขงขันกันเยอะ อยาคิดวาการประหยัด เปนเรื่องของคนอื่น อยาปดความรับผิดชอบ เพราะเรือ่ ง ของพลังงานเปนเรือ่ งใกลตวั กับเรามาก ถาละเลย หรือโยน ใหเปนหนาที่ของใครเพียงแคสวนเดียวอีกหนอย เราคง ตองซือ้ พลังงานจากตางประเทศมาใชกนั แนนอน จริง ๆ แลว กําลังในการขับเคลือ่ นของประเทศตองเปนนอง ๆ เยาวชน เพราะผูใหญอยางเรา ๆ เรียกไดวา เปนแคเพียงคนชี้แนะ แนวทางเทานั้น ยังไงขอใหนอง ๆ เยาวชนมาชวยกัน ประหยัดพลังงาน ไมตองอะไรมากเพียงแคเริ่มจากตัวเรา เทานั้นเอง

16

Energy#65_p16,18_iMac5.indd 16

3/21/2557 BE 12:31 AM


Energy#65_p17_iMac5.pdf

C

M

Y

CM

MY

CY

CMY

K

1

3/21/2557 BE

3:28 AM


Get Idea อภัสรา วัลลิภผล

àÁ×่;ٴ¶Ö§¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ã¹»˜¨¨ØºÑ¹¹Õ้ ¨ÐàË็¹ä´ŒÇ‹Ò¤¹ä·ÂʋǹãËÞ‹ËѹÁÒãʋ㨾Åѧ§Ò¹¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö้¹äÁ‹àÇŒ¹áÁŒáµ‹ ´Õਠ“à¨ä´” ËÃ×Í ä¾ÈÒÅ ÅÔ้Á¨Ô¹´Ò¹ØÇѲ¹ ·Õ่¹Í¡¨Ò¡à»š¹´Õà¨àÊÕ§ËÅ‹ÍáÅŒÇ Âѧ໚¹ÍÕ¡¤¹·Õ่ÁÕá¹Ç¤Ô´ã¹¡ÒûÃÐËÂÑ´ ¾Åѧ§Ò¹·Õ่ÍÂÒ¡¨ÐºÍ¡µ‹ÍãËŒ¼ÙŒÍ‹Ò¹Åͧ价ӡѹ´Ù

“สําหรับการประหยัดพลังงานของผม จะเปนในสวนของ การลดการใชลิฟทมากกวา ถาขึ้นเพียงแค 1-2 ชั้น ผมจะ ไมใชลิฟท เชน ถาผมจอดรถที่ชั้น 6 แลวตองลงมาทํางาน ที่ชั้น 2 ผมจะเลือกที่จะใชบันได เพราะนอกจากจะชวย ประหยัดพลังงานแลว ยังถือวาเปนการออกกําลังกายไป ในตัวดวย โดยสวนตัวผมไมคอยปลื้มกับคนที่ขึ้นลงแคชั้น เดียวแลวตองใชลฟิ ทอยูแ ลวดวย และถาเปนวันหยุดรถนอย ผมจะเลื อ กที่ จ ะขั บ รถจั ก รยานมากกว า การขั บ รถยนต ในสวนนี้ถือวาเปนการประหยัดนํ้ามันอีกทางหนึ่ง สุดทายผมอยากใหทุกคนหันมาชวยกันประหยัดพลังงาน กันเยอะ ๆ ซึง่ ผมคิดวาการประหยัดพลังงานจะตองอาศัย ความรวมมือจากทุกคน ชวยกันคนละมือคนละไมกส็ ามารถ ลดการใชพลังงานไดมากเลยทีเดียว แตถา ใหคนแคสว นหนึง่ มาทําผมวาคงไมเกิดประโยชนอะไรมากสักเทาไหร เพราะ ทุกอยางลวนตองอาศัยความรวมมือซึ่งกันและกัน ถาเรา รวมมือกันชวยกันเพียงเทานี้เราก็จะสามารถมีพลังงาน ใชไดตลอดแลว

DJ à¨ä´

ªÇ¹ ¢Öé¹ – ŧ ºÑ¹ä´ á·¹¡ÒÃ㪌ÅÔ¿· 18

Energy#65_p16,18_iMac5.indd 18

3/21/2557 BE 12:32 AM


Green 4U Rainbow

คืนชีพ

๊ าง ปัมร้

ให้เป็น

๊ ต ปัมอาร์

สุดเจ๋ง!

ทุกคนอาจจะสงสัยว่าปั๊มน�้ามันแห่งนี้เป็นปั๊มของค่ายน�้ามันเจ้าไหนที่เปิดช่องให้เจ้าของ ได้ตกแต่งปั๊มให้ออกมามีสีสันแสบตาขนาดนี้ แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว ไม่ มี ใ ครเป็ น เจ้ า ของทั้ ง นั้ น เพี ย งแต่ เ ป็ น ปั ๊ ม ร้ า งปั ๊ ม หนึ่ ง ที่ อ ยู ่ ใ นเมื อ ง Limmerick ประเทศไอร์ แ ลนด์ ซึ่ ง เป็ น ผลงาน การออกแบบของ Maser ศิลปินแนวสตรีทอาร์ตผู้โด่งดัง เขาท�าการเปลี่ยนโฉมหน้าปั๊มน�้ามันร้างให้กลายเป็นงาน installation สีสันฉูดฉาด บาดตาได้อย่างที่เห็น

นี่ไม่ใช่การเตรียมการส�าหรับโลกพลังงานในอนาคต แม้จะ พอรูก้ นั ว่าน�า้ มันก�าลังจะหมดไปจากโลก หากแต่เป็นการเผชิญหน้า ระหว่างชีวิตในชุมชน การค้ากับความเปลี่ยนแปลง ธุรกิจในพื้นที่ ห่างไกล อย่างเช่น ปัม๊ น�า้ มันแนวนี ้ ก็เหมือนกับเวลาดูหนังฮอลลีวดู ที่มักเห็นฉากปั๊มน�้ามันเล็ก ๆ เรียงรายอยู่ข้างทางในแถบชนบท ห่างไกล ซึง่ ก�าลังหมดไปและถูกแทนทีด่ ว้ ยปัม๊ น�า้ มันรายใหญ่ ด้วย แรงบันดาลใจจากผลงานภาพเขียนสีน�้ามันแนวป็อบอาร์ตของ Ed Ruscha ชื่อผลงานภาพ Standard Station, Amarillo, Texas ท�าให้ Maser คิดไปว่าปั๊มน�้ามันเหล่านี้เป็นสถานที่ที่น่าสนใจ โดย เฉพาะกับชีวิตในชุมชน และในทุกการเดินทางเพราะไม่มีใครตอบ ได้ว่าน�้ามันรถของตัวเองจะใกล้หมดลงเมื่อไหร่ ซึ่งน่าสนใจถ้าหาก ที่ตรงนั้นจะกลายเป็นพื้นที่ส�าหรับแสดงผลงานทางศิลปะ สไตล์การใช้สีร้อนแรงเข้าไปทาทับพื้นที่ซึ่งครั้งหนึ่งถูก ปล่อยทิ้งไว้ให้รกร้าง เป็นไอเดียที่กระตุกการรับรู้ของผู้คน ซึ่ง สอดแทรกค�าถามถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสถานที่ ซึ่งเคยมี ความหมายอย่างหนึง่ แต่กลับเปลีย่ นบทบาทไปเป็นอีกแบบหนึง่ ไป ในความหมายใหม่นั้นเต็มไปด้วยภาพสะท้อนความเปลี่ยนแปลง ทางสังคมที่หลายคนไม่เคยสนใจ แม้ศิลปะป็อบในปั๊มน�้าจะไม่ใช่ เรื่องใหม่ แต่นี่ก็เป็นอีกชิ้นหนึ่งที่ย�้าเตือนถึงการจากไปของระบบ พลังงานและธุรกิจท้องถิน่ โดยเฉพาะสไตล์อนั โดดเด่นทีก่ า� ลังสร้าง มุมมองใหม่อันน่าจดจ�าให้กับเมืองแห่งนี้ (ข้อมูลจาก : http://www.creativemove.com/) 19

Energy#65_p19_iMac5.indd 19

3/18/2557 BE 11:48 PM


Green 4U Rainbow

â·ÃÈѾ· Á×Ͷ×͵Œ¹ËÞŒÒ

01

á¹Ç¤Ô´â·ÃÈѾ· Á×Ͷ×͵Œ¹ËÞŒÒ ËÃ×Í Grass Cell Phone ¼ÅÔµ¨Ò¡ ÇÑÊ´Ø·ÊÕ่ ÒÁÒöÃÕä«à¤ÔÅä´Œ ໚¹á¹Ç¤Ô´¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµÔ·ÊÕ่ ÌҧÊÃä à·¤â¹âÅÂÕ ãËŒ¤Çº¤Ù¡‹ ¹ Ñ ä»ä´ŒÍ‹ҧŧµÑÇ äÁ‹à»š¹ÁžÔɵ‹ÍÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ à¾ÃÒÐÁ×Ͷ×Í µŒ¹ËÞŒÒà¤Ã×Í่ §¹Õ¨้ Ф‹Í æ ‹ÍÂÊÅÒµÑÇàͧ仵ÒÁ¡ÒÅàÇÅÒ ÀÒÂã¹ÃÐÂÐ àÇÅÒ 2 »‚

02 à¿Íà ¹Ôà¨Íà ¾ÅÒʵԡÃÕä«à¤ÔÅ

RPL ËÃ×Í Recycled Plastic Lumber ¤×Í ÇÑÊ´Ø·´á·¹ ¸ÃÃÁªÒµÔ â´Â¼ÅÔµ ¨Ò¡¢ÂоÅÒʵԡ 90% ઋ¹ ¢Ç´¹ํ้Ò ¢Ç´¹Á ¼‹ Ò ¹¡Ãкǹ¡ÒÃáçÍÑ ´ ÊÙ § (High-density polyethylene : HDPE) ¶Ù¡¼ÅÔµà¾×่Í㪌໚¹Ê‹Ç¹»ÃСͺ Êํ Ò ¤Ñ Þ ¢Í§ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁà¿Íà ¹Ô à ¨Íà ·Õ่ ã ªŒ § Ò¹ÀÒ¹͡ ·Õ่µŒÍ§¡ÒäÇÒÁ¤§·¹ ÍÂÙ‹ä´ŒÂÒǹҹ áÅзÕ่Áҡ仡NjҹÑ้¹ ¤×Í à»š¹ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ Å´¡ÒÃ㪌ÇÑʴبҡ¸ÃÃÁªÒµÔ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.creativemove.com/)

03

ÅํÒ⾧¡ÃдÒÉÃÕä«à¤ÔÅ

eco-amp 2.0 ÅํÒ⾧ÊํÒËÃѺ iPhone4/4s ·Õ่¼ÅÔµ¨Ò¡ ¡ÃдÒÉÃÕä«à¤ÔÅ 100% ÊÒÁÒö¹ํÒä»ÃÕä«à¤ÔÅä´Œ 100% ઋ¹¡Ñ¹ ÁҾÌÍÁÊÕÊѹʴãÊãËŒàÅ×Í¡ÁÒ¡ÁÒ¶֧ 24 ÅÒ ÁÕ¢¹Ò´ÂÒÇ 8.75 x 6.25 x 10 ૹµÔàÁµÃ »ÃСͺ䴌§Ò‹ Â æ ´ŒÇµÑǤسàͧ ໚¹ÍØ»¡Ã³ ·Õ่㪌¾Åѧ§Ò¹áºº Green Energy ·Õ่໚¹ÁԵáѺ ¸ÃÃÁªÒµÔ à¾ÃÒСํ ÒÅÑ §¢ÂÒÂàÊÕ Â §¨Ò¡â·Ã⢋ §¡ÃдÒÉà¾Õ§ Í‹ҧà´ÕÂÇ àËÁÒÐÊํÒËÃѺ¤¹ÃÑ¡ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.1variety.com)

04 à¡ŒÒÍÕ้¨Ò¡¾ÃÁÃÕä«à¤ÔÅ

à¡ŒÒÍÕ้¨Ò¡¾ÃÁÃÕä«à¤ÔŵÑǹÕ้ ໚¹¼Å§Ò¹¢Í§ Arttu Kuisma áÅÐ Jane Melajoki ·Ñ้§ÊͧÍ͡Ẻâ´Â¡ÒÃ㪌¾ÃÁÃÕä«à¤ÔÅ «Ö่§à»š¹ÇÑʴآͧ Antti Ahtiluoto ¹Í¡¨Ò¡ÊÕÊѹ¢Í§à¡ŒÒÍÕ้·Õ่´ÙËÇÁÊÁÑÂáÅŒÇ à¡ŒÒÍÕ้µÑǹÕ้ ÂѧàËÁÒСѺºŒÒ¹ã¹à¢µÃŒÍ¹ÍÕ¡´ŒÇ à¾ÃÒÐÊÒÁÒöÃкÒ¤ÇÒÁÌ͹䴌 ໚¹Í‹ҧ´Õ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.freesplans.com)

20

Energy#65_p20-21_iMac5.indd 20

3/18/2557 BE 11:48 PM


Green 4U

05

â¤Áä¿ËÃÙ¨Ò¡¢Ç´ÃÕä«à¤ÔÅ

Rainbow

â¤Á俹Õ้໚¹¡ÒÃÍ͡Ẻâ´Â¡ÒþѺ¡ÃдÒÉ«Ö่§¼ÅÔµ¨Ò¡¢Ç´ ¾ÅÒʵԡÃÕä«à¤ÔŨ¹à¡Ô´ÇÑÊ´ØãËÁ‹·Õ่à˹ÕÂÇ·¹·Ò¹ ᵋÁÕ¤ÇÒÁ Â×´ËÂØ‹¹à¾Õ§¾Í·Õ่¨Ð¶Ù¡¾ÑºáÅФÅÕ่ÍÍ¡ËÅÒÂ æ ¤ÃÑ้§ ¢ŒÍ´Õ¢Í§ â¤Á俹Õ้ ¤×Í ÊÒÁÒö¾Ñºãˌẹà¾×่Í»ÃÐËÂÑ´¾×้¹·Õ่¡ÒÃà¡็ºáÅÐ ¡Òâ¹Ê‹§ 㪌·ÃѾÂҡáÃдÒÉ㹡ÒüÅÔµ¡Å‹Í§ºÃèعŒÍÂŧ ¹Í¡¨Ò¡¹Ñ้¹ÂѧÊÒÁÒö·ํÒ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´ä´Œ§‹Ò´ŒÇ¡ÒÃ㪌 ¼ Œ Ò ªØ º ¹ํ้Òàª็´ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.creativemove.com)

07

06 Ãͧ෌Ò‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ

One Moment Ãͧ෌ҷÕ่໚¹ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ¼ÅÔµâ´Â Figtree Factory Studio »ÃÐà·ÈÊ໹ Í͡ẺãËŒàËÁÒСѺÃÙ»·Ã§¢Í§à·ŒÒ áÅСÒÃà¤Å×่͹äËÇ ÍÒ¡Òȶ‹ÒÂà·Êдǡ ¾×้¹Ãͧ෌ҡѹÅ×่¹ ãʋʺÒ ÃÒǡѺà´Ô¹à·ŒÒà»Å‹Ò ´ŒÇ¤ÇÒÁ˹Òà¾Õ§ 2 ÁÔÅÅÔàÁµÃ ¾Ñºà¡็ºáÅо¡¾Ò ä»´ŒÇÂ䴌㹷ء·Õ่ ᵋ·Õ่ÊํÒ¤ÑÞ¤×Í‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ 100% (¢ŒÍÁÙŨҡ : My World Magazine)

08

¹ÒÌ¡Ò໚¹ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ

Altanus ¼ÙŒ¼ÅÔµ¹Ò̡Ҵѧ¨Ò¡à¨¹ÕÇÒ ÊÇÔµà«Íà Ᏼ ä´ŒÊÌҧÊÃä “Patch” ¹ÒÌ¡Ò·Õ่·ํÒ¨Ò¡¡ÃдÒÉÊÒÁÒö‹ÍÂÊÅÒÂä´Œ ¼ÙŒÍ͡Ẻ ä´ŒáçºÑ¹´ÒÅ㨧ҹà»à»Íà ÁÒઋ·ÊÕ่ ÒÁÒöÅ͹ํÒ้ ä´Œ «Ö§่ ·ํÒ¨Ò¡¡ÃдÒÉ à¡×ͺ·Ñ้§ËÁ´ á¶Á¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµÂѧäÁ‹¡‹Í¼Å¡Ãзºµ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ÍÕ¡´ŒÇ µÑÇàÃ×͹ÁÕ¹ํ้Ò˹ѡᤋ 11 ¡ÃÑÁ ¨Í LED ¶Ù¡Í͡ẺãËŒºÒ§ àËÁ×͹¼ÔÇÁ¹ØÉ á¶ÁÂѧÁÕÃкº¡Ñ¹ÊÑ่¹ÊÐà·×͹ ʋǹµÑÇÊÒ¹ÒÌ ¡Ò à¤Å×ͺ´ŒÇÂÊÒê¹Ô´¾ÔàÈÉ ÊÒÁÒö¡Ñ¹¹ํ้ÒáÅСѹ©Õ¡¢Ò´ä´ŒÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : Go Green Magazine)

¡ÕµÒà ¡ÃдÒÉ

ËÁ´¡Ñ§ÇšѺ¹ํ้Ò˹ѡ¢Í§¡ÕµÒà ÂÒÁµŒÍ§ÍÍ¡ä»àÅ‹¹¹Í¡Ê¶Ò¹·Õ่¡Ñº ¡ÕµÒà ¡ÃдÒÉ WowWee Paper jamz ¢Í§ ºÃÔÉÑ· ¡ÕµÒà ÎÕâË ·Õ่·ํÒ ¨Ò¡¡ÃдÒÉÃÕä«à¤ÔŠᵋàÅ‹¹ä´ŒàËÁ×͹¡ÕµÒà ¨ÃÔ§ ¨ํÒ˹‹Ò·ҧàÇ็ºä«µ IWOOT.com ¹Í¡¨Ò¡¡ÕµÒà áÅŒÇÁÕ¡Åͧ¡ÃдÒÉáÅÐÅํÒ⾧¡ÃдÒÉ ÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.overclockzone.com/)

21

Energy#65_p20-21_iMac5.indd 21

3/18/2557 BE 11:48 PM


GreenNovation Rainbow

01 กระจกนิรภัย ประหยัดพลังงาน

HEAT STOP เป็นกระจก ประหยัดพลังงำนชนิดหนึง่ ที่ให้แสงส่องผ่ำนมำเป็นสี ธรรมชำติ กำรเคลือบห่อหุม้ ทนทำน และมีสมรรถนะสูง ในกำรกันควำมร้อน กระจก “HEAT STOP” สำมำรถดูดซับ ควำมร้ อ น และสะท้ อ น กลับไปยังแหล่งก�ำเนิดได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ ควำมร้อนที่กระจกสะท้อนออกไปนั้น ช่วยลด กำรท�ำงำนของเครือ่ งปรับอำกำศลง แต่สำ� หรับระหว่ำงวันในช่วงหน้ำหนำว ควำมร้อนทีส่ ง่ ผ่ำนเข้ำไปในห้อง จะถูกเก็บกักไว้ภำยใน เป็นกำรช่วยแบ่งเบำ กำรท�ำงำนของเครื่องปรับอำกำศ (ข้อมูลจำก : http://www.tgsg.co.th)

เครื่องอบผ้าประหยัดพลังงาน อีเลคโทรลักซ์ น�ำเสนอผลิตภัณฑ์ เครื่องอบผ้ำใหม่เทคโนโลยีระบบ Heat Pump ชูจดุ เด่นประสิทธิภำพสูง ท� ำ งำนเงี ย บในขณะที่ ป ระหยั ด พลังงำนกว่ำเครือ่ งอบผ้ำชนิดอืน่ ๆ ถึงร้อยละ 50 พร้อมกำรรับรอง ประสิทธิภำพกำรถนอมผ้ำขนสัตว์ ระดั บ โกลด์ ค ลำสจำกสถำบั น ระดับโลก (ข้อมูลจำก : http://newsroom. electrolux.com/)

02

03 04 โทรศัพท์มือถือประหยัดพลังงาน ที่ชาร์จไฟแบบมือหมุน

Sony เปิดตัวที่ชำร์จไฟแบบมือหมุน CP-A2LAKS USB Charger เป็นอุปกรณ์ชำร์จไฟแบบมือถือ โดยจะใช้หลักกำรแปลงพลังงำนกล ให้เป็นพลังงำนไฟฟ้ำแล้วส่งไปเก็บที่ตัวชำร์จไฟ ท�ำให้สะดวกต่อ กำรชำร์จแบตมือถือโดยไม่ต้องพึ่งไฟฟ้ำ ส�ำหรับอัตรำกำรสร้ำง พลังงำนนั้น ผู้ใช้จะต้องหมุนเป็นเวลำ 3 นำที จึงจะสำมำรถชำร์จไฟ ให้มือถือได้ สำมำรถใช้โทรได้นำน 1 นำที หรือถ้ำใช้งำนเปิดเว็บ บรำวเซอร์ ก็จะสำมำรถใช้งำนได้รำว ๆ 5 นำที นอกจำกนี้ยังมี แบตเตอรี่ส�ำรองที่สำมำรถชำร์จกับไฟฟ้ำได้เช่นกัน ซึ่งเพียงพอต่อ กำรชำร์จไฟให้กับสมำร์ทโฟน 2 เครื่อง โดยมีกำรทดสอบชำร์จไฟ ให้กับ Sony Ericsson Xperia Acro HD พบว่ำต้องใช้เวลำในกำรชำร์จ รำว 130 นำทีจึงจะชำร์จแบตได้เต็ม (ข้อมูลจำก : http://www.bkkparttime.com)

SpareOne โทรศัพท์มือถือประหยัดพลังงำน ใช้เพียง แบตเตอรี่ AA 1 ก้อน สำมำรถสแตนด์บำยได้นำนถึง 15 ปี เหมำะที่จะพกทิ้งไว้ในรถในกรณีฉุกเฉิน หรือ ส�ำหรับติดกระเป๋ำไว้เดินทำงไปยังสถำนที่ไกล ๆ โดย SpareOne จะมีฟังก์ชั่นในกำรเข้ำถึงหมำยเลขฉุกเฉิน, หมำยเลขส�ำคัญได้อย่ำงรวดเร็ว รวมไปถึงกำรค้นหำ บริกำรฉุกเฉินในบริเวณสถำนที่ที่อยู่ใกล้กับผู้ใช้งำน ผ่ำนหมำยเลขโทรศัพท์ สำมำรถใช้สนทนำได้นำน ถึง 10 ชม. (ข้อมูลจำก : news.siamphone.com)

22

Energy#65_p22,24_iMac5.indd 22

3/21/2557 BE 12:40 AM


Energy#62_p31_Pro3.indd 31

12/18/13 10:28 PM


GreenNovation Rainbow

05

06 ปากกาเม้าส์ไร้สาย

ปั่นจักรยานไปชาร์จไฟไปด้วย ได้ทั้งสุขภาพและประหยัดพลังงาน

เครือ่ งชาร์จแบตเตอรีส่ า� หรับโทรศัพท์มอื ถือและอุปกรณ์อเี ล็กทรอนิกส์ตา่ งๆ ที่ใช้ไฟ DC 5Vเช่น เครื่องเล่น MP3, GPS เป็นต้น ภายในมีแบตเตอรี่ชนิด ชาร์จไฟได้ขนาด 1000mAh ท�าหน้าที่ในการชาร์จอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เด็ดที่สุด คือมีส่วนที่ต่อเข้ากับโซ่จักรยานเพื่อท�าการปั่นไฟขณะที่จักรยานวิ่ง และไฟ ที่ได้จากการปั่นนี้จะน�าไปเก็บเข้าในแบตเตอรี่ภายใน ท�าให้เมื่อแบตเตอรี่ไฟ หมดแล้วสามารถชาร์จได้จากการปั่นจักรยาน (ข้อมูลจาก : http://shingpop.tarad.com)

Genius เปิดตัวนวัตกรรมใหม่ลา่ สุดของปากกาเม้าส์ไร้สายทีม่ าพร้อม เทคโนโลยีการติดตามด้วยความละเอียด 1200 dpi และสามารถสลับ ระหว่าง 400และ 800 dpi สามารถเอียงเม้าส์ได้ถึง 85 องศา มีโหมด sleep ส�าหรับช่วยประหยัดพลังงานแบบอัตโนมัติ โดยการตรวจจับการ ท�างานของปากกาเมาส์อัจฉริยะ เพียงแค่กดปุ่มใด ๆ บนปากกาเม้าส์ ก็จะสามารถกลับมาใช้งานได้ตามปกติ อีกทั้งยังสามารถใช้งาน Flying scroll เพื่อการเปิดดูไฟล์งานและหน้าเว็บเพ็จได้อย่างสะดวก และง่ายดายพร้อมด้วยฟีเจอร์ที่จะช่วยให้การใช้งานของคุณเป็นเรื่อง สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น (ข้อมูลจาก : http://www.exp.co.th)

08

07 สายรัดข้อมือรักษ์โลก

FuelBand รุ่นล่าสุดจาก Nike ที่มาพร้อมกับฟีเจอร์ใหม่ดีกว่าเดิม ตั ว สายรั ด ข้ อ มื อ เปลี่ ย นไปใช้ Bluetooth 4.0 ช่ ว ยในเรื่ อ ง การประหยัดพลังงาน สามารถใช้งานเป็นนาฬิกาได้ง่าย ๆ ด้วยการกดเพียง 2 ครั้ง นอกจากนี้ยังสามารถแจ้งเตือนการ เคลื่อนไหวได้ในทุก ๆ ชั่วโมง ตัวสายรัดข้อมือนี้กันน�้าได้ด้วย (ข้อมูลจาก : ech.th.msn.com)

เด็สก์ท็อป พีซีประหยัดพลังงาน

อีอีอี บ็อกซ์ เป็นเด็สก์ท็อป พีซี ขนาดเล็กเพียง 1 ลิตร เป็นพีซี แห่งความบันเทิงที่ประหยัดพลังงานแต่เปี่ยมไปด้วยประสิทธิภาพ กินไฟเพียง 20 วัตต์ ลดคาร์บอนที่ใช้ในการผลิตบอร์ดมากถึง 90% เมื่ อ เที ย บกั บ เครื่ อ งพี ซี ทั่ ว ๆ ไป โดยการออกแบบที่ เ ล็ ก ที่ สุ ด จึงท�าให้ผู้ใช้สามารถตั้งในที่ใดก็ได้ตามต้องการ และนอกจากนี้ ยังง่ายต่อการใช้งาน (ข้อมูลจาก : http://www.itfocusthai.com)

24

Energy#65_p22,24_iMac5.indd 24

3/21/2557 BE 12:40 AM


Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร

โรงเรียนสัตยาไส

ส่งเสริมคุณธรรม ควบคู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สู่ที่มาของ รางวัลสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมเฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 7 ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมากระทรวงพลังงานได้สนับสนุนและพัฒนาให้มีการใช้พลังงาน ทดแทนในระดับชุมชนหลากหลายรูปแบบด้วยกัน ทั้งการใช้พลังงานน�้า พลังงานชีวภาพ ชีวมวล ที่ได้จากวัตถุดิบของท้องถิ่นนั้นๆ รวมถึงการพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลม จากนโยบายของกระทรวงพลังงานที่ได้พัฒนาด้านพลังงานทดแทน จึงเป็นปัจจัยส�าคัญในการ กระตุ้นให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนได้ตระถึงการพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อ ตอบสนองนโยบายของกระทรวงพลังงาน และเพื่อให้เกิดความยั่งยืนทั้งในเรื่องของพลังงานและ ทรัพยากรธรรมชาติ ทั้ ง นี้ ผ มมี โ อกาสได้เ ดิน ทางไปกับ บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิ ล (ประเทศไทย) เพื่ อเยี่ ยมชม โรงเรี ย นสั ต ยาไส ต� า บลล� า นารายณ์ อ� า เภอชั ย บาดาล จั ง หวั ด ลพบุ รี ที่ ก ่ อ ตั้ ง โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา โรงเรียนภายใต้แนวคิด “สร้างคนดี เหนือสิ่งใด” ที่นอกจาก เน้นพัฒนาบุคลากร นักเรียนให้เป็นคนมีคุณธรรม แล้วยังพัฒนาด้านพลังงานทดแทน ส่งเสริม เกษตรพอเพียง เพื่อการพึ่งพาตนเองให้มากที่สุด โดยมีการปลูกข้าวและพืชผักปลอดสารพิษไว้สา� หรับบริโภคเองในโรงเรียนโดยแบ่งพืน้ ทีก่ ว่า 50 ไร่ ส�าหรับใช้เป็นพืน้ ทีท่ างการเกษตร มีการลดค่าใช้จา่ ยด้วยการประหยัดไฟ ประหยัดน�า้ การเลือกใช้ พลังงานทดแทน เช่น การผลิตน�า้ มันไบโอดีเซล 100 เปอร์เซ็นต์ จากน�า้ มันพืชทีผ่ า่ นการใช้งานแล้ว โดยสามารถผลิตได้ 70 ลิตรต่อปริมาณน�้ามันเก่า 200 ลิตร แล้วน�าน�้ามันที่ผลิตได้ไปกับรถเพื่อ

การเกษตร และรถที่ใช้ในการเรียนการสอน การผลิตก๊าซชีวภาพจากเศษอาหารที่ได้จาก โรงอาหารประมาณวันละ 100 กิโลกรัม น�ามา หมักและผลิตก๊าซชีวภาพขนาด 2,500 ลิตร และ ช่วยให้สามารถลดการใช้ก๊าซหุงต้มแอลพีจีได้ 800 กิโลกรัมต่อปี การผลิ ต ไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ห รื อ โซลาร์เซลล์ขนาดก�าลังผลิต 2 กิโลวัตต์ และ พลังงานลมขนาด 1 กิโลวัตต์ เพื่อน�าไฟฟ้าที่ได้ จ่ายให้กบั อาคารสถาบันวารินศึกษา บ้านอีโกเฮาส์ บ้านพักอาจารย์ และไฟถนนในโรงเรียน พร้อม กั บ การติ ด ตั้ ง เตาพลั ง งานทดแทน จั ก รยาน ปั่นไฟเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า การสร้างบ้านดิน สร้างศูนย์เรียนรู้ด้านพลังงานทดแทนส�าหรับ เป็นการเรียน การสอนแก่นักเรียน ตลอดจนการส่งเสริมการใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่า ด้วยการคัดแยกขยะ เพื่อน�าไปรีไซเคิล การท�า 25

Energy#65_p25-27_iMac5.indd 25

3/18/2557 BE 11:49 PM


Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร

ปุ๋ยหมัก และก�ำจัดอย่ำงถูกวิธี มีกำรบ�ำบัดน�้ำแล้วน�ำกลับมำรดน�้ำต้นไม้ พร้อมกับกำรท�ำแก้มลิง เพือ่ กักเก็บน�ำ้ ฝนไว้ผลิตน�ำ้ ดืม่ ส�ำหรับนักเรียนและบุคลำกรดืม่ และจ�ำหน่ำยในรำคำถูกแก่ชมุ ชนที่ อยู่ใกล้เคียงกับโรงเรียน กำรท�ำผลิตภัณฑ์แชมพู ครีมนวด ครีมอำบน�้ำ ไว้จ�ำหน่ำย โดยแนวทำง กำรด�ำเนินด้ำนพลังงำนทดแทน และกำรด�ำเนินงำนภำยใต้เศรษฐกิจพอเพียงท�ำให้โรงเรียนสัตยำไส สำมำรถลดกำรใช้พลังงำนกว่ำ 40%

โครงกำรจัดประกวดด�ำเนินกำรมำครบรอบ 10 ปี ซึง่ ตรงกับโครงกำรครัง้ ที่ 5 (2551-2552) ทำง โครงกำรได้ยกระดับรูปแบบกำรประกวดแข่งขัน ระหว่ำงโรงเรียนเป็นรูปแบบกำรแข่งขันกับตนเองใน รูปแบบโรงเรียนมำตรฐำนสิง่ แวดล้อม และแบ่ง ระดับกำรแข่งขันออกเป็นระดับประถมศึกษำและ มัธยมศึกษำ โดยได้รับพระบรมรำชำนุญำติ พระรำชทำนถ้วยรำงวัลชนะเลิศส�ำหรับโรงเรียนทีม่ ี ผลงำนดีเด่นทัง้ 2 ระดับ

นอกจำกนี้แล้ว โรงเรียนสัตยำไสยังได้ลงทุนติดตั้งโซลำร์ฟำร์มโดยร่วมกับ บริษัท เอสพีซีจี จ�ำกัด (มหำชน) ขนำดก�ำลังกำรผลิต 6 เมกะวัตต์ ภำยใต้กำรรับซือ้ ไฟฟ้ำแอดเดอร์ 8 บำท โดยแบ่งรำยได้ จำกกำรจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำคนละ 3 เมกะวัตต์ ระยะเวลำคืนทุน 6 ปี หลังจำกนั้นจะน�ำรำยได้จำกกำร จ�ำหน่ำยไฟฟ้ำมำเป็นค่ำใช้จ่ำยให้กับโรงเรียนเพื่อใช้ในกำรเรียนกำรสอน เนื่องจำกเป็นโรงเรียนที่ ไม่เก็บค่ำเล่ำเรียนใดๆ ยกเว้นค่ำอุปกรณ์กำรเรียน และชุดนักเรียน ปัจจุบนั โครงกำรโรงเรียนสร้ำงสรรค์สงิ่ แวดล้อม เฉลิมพระเกียรติครัง้ ที่ 7 (2555 – 2556) ด�ำเนินงำน ด้ำนแนวทำงกำรเรียนกำรสอนโรงเรียนสัตยำไสเน้นให้ผเู้ รียนมีคณ ุ ธรรมรูจ้ กั พึง่ พำตนเอง และเรียนรู้ สำนต่อ มุง่ เน้นกำรเพำะควำมคิด ปลูกจิตส�ำนึกที่ ที่จะอยู่ร่วมกับธรรมชำติ ผ่ำนกำรท�ำสมำธิและสวดมนต์ ควบคู่กับกำรด�ำเนินกิจกรรมเพื่อ ยัง่ ยืนให้แก่เยำวชน และสังคมไทย เพือ่ ให้โรงเรียน สิง่ แวดล้อมอย่ำงบูรณำกำร ช่วยให้นกั เรียนได้เรียนรูจ้ ำกกิจกรรม รูค้ ณ ุ ค่ำของทรัพยำกรธรรมชำติ ต่ำงๆ ทีเ่ ข้ำร่วมโครงกำรมีกำรพัฒนำคุณภำพใน และสิง่ แวดล้อมแบบเป็นรูปธรรมทีส่ ะท้อนออกมำทำงควำมคิด ค�ำพูด และกำรกระท�ำของนักเรียน กำรด�ำเนินงำนผ่ำนเกณฑ์มำตรฐำนโครงกำร พร้อมกับได้นอ้ มน�ำแนวพระรำชด�ำริไปประยุกต์ และบุคลำกรของโรงเรียน ใช้อย่ำงแพร่หลำย ควบคู่กับกำรใช้เทคโนโลยี และนีก่ เ็ ป็นตัวอย่ำงหนึง่ ของโรงเรียนทีน่ อกจำก สำรสนเทศอย่ำงสร้ำงสรรค์ เพือ่ ต่อยอดน�ำไปสู่ จะส่ ง เสริ ม กำรเรี ย นกำรสอนให้ นั ก เรี ย น กำรดูแลรักษำทรัพยำกรธรรมชำติและสิง่ แวดล้อม ตระหนักถึงควำมมีคณ ุ ธรรม เพือ่ ให้เป็นคนเก่ง ในโลกต่อไป ส�ำหรับพิธีมอบรำงวัลจะมีขึ้นใน มีสติปญ ั ญำ สูแ่ นวทำงของควำมพอเพียงและ วันที่ 26 มีนำคม 2557 นี้ ยัง่ ยืน และจำกกำรด�ำเนินงำนด้ำนพลังงำนทดแทน กำรอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยำกรธรรมชำติ กำรพึ่งพำ ส่วนครั้งที่ 8 ในปี 2557 ทำงผู้บริหำร บริษัท ตนเองตำมแนวพระรำชด�ำริ ตลอดจนกำรพัฒนำ ฮอนด้ำฯ บอกว่ำ จำกผลกำรตอบรับที่ดีในกำรเข้ำ ชุ ม ชนนั้ น เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ของควำมส� ำ เร็ จ ร่วมโครงกำรตลอดระยะเวลำ 14 ปีที่ผ่ำนมำ ในกำรเป็นโรงเรียนโรงเรียนสร้ำงสรรค์สงิ่ แวดล้อม ทำงบริษัท ฮอนด้ำ จะด�ำเนินโครงกำรปีต่อปี เพื่ อ เปิ ด โอกำสให้ โรงเรี ย นที่ ส นใจสำมำรถ เฉลิมพระเกียรติ ครัง้ ที่ 7 เข้ ำ ร่ ว มกำรแข่ ง ขั น ได้ ทุ ก ปี เพื่ อ ยกระดั บ อย่ำงไรก็ตำมส�ำหรับโครงกำรโรงเรียนสร้ำงสรรค์ กำรพั ฒ นำโครงกำร รวมทั้ ง กำรบู ร ณำกำร สิง่ แวดล้อมเฉลิมพระเกียรติ ชิงถ้วยพระรำชทำน กำรเรียนรูจ้ ำกหลักสูตรวิชำควำมรูใ้ นห้องเรียน ั ญำท้องถิน่ เพือ่ สร้ำงควำมยัง่ ยืนใน สมเด็จพระเจ้ำอยูห่ วั นัน้ เริม่ ด�ำเนินมำตัง้ แต่ปี เข้ำกับภูมปิ ญ 2542 เนือ่ งจำกเป็นปีมหำมงคลเฉลิมพระชนม กำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมและพลังงำนอย่ำงเป็น พรรษำครบ 6 รอบ เพือ่ เป็นกำรสนองพระรำช รู ป ธรรมของโรงเรี ย นและชุ ม ชน สู ่ ก ำรเป็ น ปณิธำนของพระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว โรงเรียนสีเขียว ที่ ไ ด้ ท รงห่ ว งใยสิ่ ง แวดล้ อ ม และหลั ง จำก 26

Energy#65_p25-27_iMac5.indd 26

3/18/2557 BE 11:49 PM


Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร

เกณฑ์มาตรฐานโครงการสิ่งแวดล้อม โดยเกณฑ์มาตรฐานฉบับปัจจุบันนั้นมีผู้แทน จากหน่วยงานต่างๆ ร่วมด�าเนินโครงการ ได้แก่ ส� า นั ก งานคณะกรรมพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงาน โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริ กระทรวง ศึกษาธิการ ส�านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย จึงถือว่าเป็นเกณฑ์มาตรฐาน สิ่ ง แวดล้ อ มฉบั บ แรกส� า หรั บ โรงเรี ย นใน ประเทศไทยที่ได้รับความร่วมมือในการจัดท�า และพัฒนาจากหน่วยงานกว่า 10 หน่วยงาน โดยมีประเด็นพิจารณาแบ่งเป็น 6 ประเด็น 1. การด�าเนินงานตามแนวพระราชด�าริด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - ด้านการจัดการทรัพยากรสิ่งแวดล้อมของเครื่องใช้ (ขยะ) - ด้านการจัดการทรัพยากรน�้า - ด้านการจัดการพลังงาน - ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น อาทิ ป่าไม้ ความ หลากหลายทางชีวภาพ อากาศ ดิน ฯลฯ 2. กระบวนการบริหารทีส่ ง่ เสริมและสนับสนุนการอนุรกั ษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างพอเพียง - การก�าหนดนโยบาย และแผนงานในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม - การจัดโครงสร้างองค์กร โดยก�าหนดผู้รับผิดชอบตามโครงสร้างที่ เหมาะสม - การจัดการทรัพยากรที่ยึดหลักความพอเพียงและพอประมาณ - การมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน - การติดตามและประเมินผล 3. หลักสูตรสถานศึกษาที่บูรณาการสาระการเรียนรู้ และกิจกรรม การเรียนที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของนักเรียน และชุมชน โดยเน้นผู้เรียน เป็นส�าคัญ

- หลักสูตรสถานศึกษาที่บูรณาการในสาระการเรียนรู้ต่างๆ - การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ - การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 4. กิ จกรรมที่ เชื่ อมโยง และเน้ น การมี ส่วนร่วมของชุม ชนและมี การขยายเครือข่ายการด�าเนินงานเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง 5. การรั ก ษาและส่ งเสริ ม วั ฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญา ท้องถิ่นที่เชื่อมโยงกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ อย่างชัดเจน 6. บุ คลากร นั ก เรี ยน และชุ ม ชน มี จิตส�านึกและพฤติกรรมใน การด�าเนินชีวิตที่อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส�าหรับโรงเรียนที่สนใจเข้าร่วมแข่งขันในโครงการโรงเรียนสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อมเฉลิมพระเกียรติครั้งต่อไปสามารถดาวน์โหลดหรือกรอก ใบสมัครและการประเมินตนเองผ่านเว็บไซต์โดยสมัครสมาชิกเพื่อรับ รหัสผ่านบน www.hondagreenschool.com พร้อมดาวน์โหลดเอกสาร ต่างๆ ส่งผ่านทางอีเมล contact@hondagreenschool.com

27

Energy#65_p25-27_iMac5.indd 27

3/18/2557 BE 11:50 PM


Green Industrial รังสรรค์ อรัญมิตร

เจาะลึกกระบวนการผลิตไฟฟาของ BLCP POWER ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹áÅÐÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁÀÒÂã¹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ¡ÒüÅԵ俿‡Ò¹Ñ้¹ÁÕÇÔ¸Õ¡Òà ·Õ่ᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í͡仵ÒÁºÃÔº·¢Í§âç俿‡ÒᵋÅÐáË‹§ ᵋÁըشÁاËÁÒÂà´ÕÂǡѹ¤×Í ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒÃÅ´¡ Ò«¤Òà ºÍ¹ä´ÍÍ¡ä«´ ·Õ่ÍÍ¡ÁÒ¨Ò¡ ¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ ÊÙ‹¡ÒÃÅ´ÀÒÇÐâšÌ͹ Å´¼Å¡Ãзºµ‹Í·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ áÅЪØÁª¹Ãͺâç俿‡Ò ÀÒÂ㵌¡®ËÁÒÂáÅТŒÍºÑ§¤Ñº¢Í§Ë¹‹Ç§ҹÀÒ¤ÃÑ° µÅÍ´¨¹¹âºÒ¢ͧᵋÅкÃÔÉÑ··Õ่¡ํÒ˹´¢Ö้¹ÁÒ

โรงไฟฟาบีแอลซีพี ตัง้ อยูใ นนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง เปนโรงไฟฟาของ กลุม บริษทั บานปู จํากัด (มหาชน) มีกาํ ลังการผลิตรวม 1,434 เมกะวั ต ต เป น โรงไฟฟ า อี ก แห ง หนึ่ ง ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ การผลิ ต ไฟฟ า และบริ ห ารจั ด การสิ่ ง แวดล อ มควบคู  กั บ การบริ ห าร การผลิตตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า ผาน เกณฑมาตรฐานการประเมิน ผลกระทบสิง่ แวดลอม (Environmental Impact Assessment ยอวา EIA)

หรือการประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีตอสุขภาพหรือ ความสมบูรณของสิ่งแวดลอมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยง ที่จะมีผลตอสภาพความสมบูรณของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่ จะเกิดขึ้นตอธรรมชาติ พรอมกฎเกณฑของภาครัฐอยางเครงครัด เพื่อ ชวยรักษาสิง่ แวดลอมทีด่ เี ปนทีย่ อมรับของชุมชนในการลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมและลดมลภาวะทางอากาศ โดยการติดตัง้ อุปกรณและเทคโนโลยีการผลิตไฟฟา ทีท่ นั สมัยควบคูก บั การบริหารจัดการสิง่ แวดลอม เพือ่ ชวยในการลดมลภาวะใหสอดคลองกับมาตรฐาน ของภาครัฐ โดยการติดตัง้ เตาเผาไหม เพือ่ ลดการเกิด กาซออกไซดของไนโตรเจน (Low NOx Burner) การติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ดั ก จั บ ฝุ  น ระบบไฟฟ า สถิ ต (Electrostatic Precipitator : ESP) การติดตั้ง อุปกรณดกั จับกาซซัลเฟอรไดออกไซด (Flue Gas Desulfurization : FGD) การสรางปลองระบาย (Chimney) สูง 200 เมตร ตามมาตรฐานของ โรงไฟฟาขนาดใหญ

28

Energy#65_p28-30_iMac5.indd 28

3/21/2557 BE 12:46 AM


นอกจากให้ความส�าคัญกับการเลือกใช้อปุ กรณ์ ที่ทันสมัยแล้ว โรงไฟฟ้าบีแอลซีพียังให้ความ ส�าคัญกับการตรวจสอบคุณภาพอากาศโดย ท�าการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพอากาศ อัตโนมัติแบบต่อเนื่อง (Continuous Emission Monitoring System : CEMS) ไว้กลางปล่อง และมีสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ (Air Quality Monitoring Station : AQMS) จ�านวน 4 แท่ง ตั้งอยู่โดยรอบชุมชน เขตเทศบาลเมือง จังหวัด ระยอง ด้านมาตรการลดผลกระทบทางน�้า โดยน�้าที่ น�ามาใช้ในโรงไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ น�้าจืด ที่น�าไปใช้ในกระบวนการผลิต ใช้ในท่าเรือ ภายในส�านักงาน และใช้ส�าหรับ สเปรย์ลานกองถ่านหิน เพื่อลดการฟุ้งกระจาย ของฝุ่น พร้อมกันนี้ยังมีการจัดให้มีโรงบ�าบัด น�้าเสีย (Wastewater Treatment Plant) โดยน�้า จากท่าเรือ ลานกองถ่านหิน ภายในส�านักงาน จะ ถูกบ�าบัดแล้วน�ากลับมาใช้ในการสเปรย์อกี ครัง้

นอกจากนี้บริเวณคลองระบายน�้าหล่อเย็นได้ท�าการติดตั้งบ่อเติมอากาศ เพื่อปรับอุณหภูมิและ ค่าความเป็นกรด-ด่างของน�้าก่อนที่จะระบายออกสู่ทะเล พร้อมทั้งมีการตรวจสอบระบบและ จัดท�าแผนการบ�ารุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ของระบบผลิตไฟฟ้าตลอดทุกปี รวมถึงการตรวจวัด ตรวจสอบคุณภาพน�้าทะเลและอุณหภูมิของน�้าทะเลบริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าอย่างสม�่าเสมอ ส่วนเถ้าถ่านหินที่เกิดจากการเผาไหม้นั้นได้น�าไปจ�าหน่ายให้กับอุตสาหกรรมซีเมนต์ เพื่อน�าไปใช้ ส่วนน�า้ ทะเลถูกสูบเข้ามา เพือ่ ใช้ในกระบวนการ เป็นส่วนผสมในการผลิตซีเมนต์ หล่อเย็น โดยมีการควบคุมความเร็วของน�า้ ทะเล ทีส่ บู เข้ามาทุกครัง้ 0.3 เมตรต่อวินาที พร้อมทัง้ ทัง้ นีโ้ รงไฟฟ้าบีแอลซีพี ยังได้มกี ารควบคุมปริมาณซัลเฟอร์ในถ่านหินอีกด้วยเพือ่ ให้อยูใ่ นระดับต�า่ ที่ ติดตัง้ ตะแกรง 2 ชัน้ เพือ่ ป้องกันสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าจ 0.27-0.7% ต่อเทีย่ วเรือ และโดยเฉลีย่ ไม่เกิน 0.45% ต่อปี พร้อมทัง้ มีการบ�าบัดและควบคุมมวลสาร เล็ดลอดเข้ามาในระบบหล่อเย็น โดยน�้าทะเล ทีป่ ล่อยสูช่ นั้ บรรยากาศได้ตา�่ กว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ 43 mg / m3 ต�า่ กว่ามาตรฐานของกรมควบคุม ทีส่ บู เข้ามานัน้ น�ามาใช้ประโยชน์ในกระบวนการ มลพิษที่ 120 mg / m3 ซึ่งดีกว่ามาตรฐานถึง 64% และลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ หล่ อ เย็ น และใช้ ใ นระบบ FGD เพื่ อ บ� า บั ด (SO2) ตามที่ก�าหนดไว้ใน EIA คือ 262 ppm จากมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ 320 ppm ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ให้อยู่ในค่ามาตรฐาน โรงไฟฟ้าบีแอลซีพสี ามารถควบคุมได้ต�่ากว่ามาตรฐานถึง 18% สามารถลดการปล่อยก๊าซไนโตรเจน ของกรมควบคุ ม มลพิ ษ ก่ อ นปล่ อ ยออกสู ่ ออกไซด์ (NOx) ตามที่ก�าหนดไว้ใน EIA คือ 241 ppm จากมาตรฐานของกรมควบคุมมลพิษ ชั้นบรรยากาศ 350 ppm สามารถควบคุมได้ดีกว่ามาตรฐานถึง 31% 29

Energy#65_p28-30_iMac5.indd 29

3/21/2557 BE 12:46 AM


Green Industrial รังสรรค์ อรัญมิตร

การติดตัง้ ก�าแพงเปลีย่ นทิศทางลม (Wind Fence) ทีม่ คี วามสูง 6 เมตร เพือ่ ช่วยลดความแรงของลม ทีอ่ าจมาปะทะกับลานกองหินโดยตรง และเพือ่ ลดการเกิดฝุ่นฟุ้งกระจายหรือการสันดาปจาก ความร้อน การติดตั้งเครื่องตรวจวัดปริมาณ ฝุน่ ละออง 3 บริเวณ คือ ด้านทิศเหนือ ทิศใต้ของ ลานกองหิน และติดตัง้ ทีช่ มุ ชนตากวน – อ่าวประดู่ และบริเวณใต้ลานกองหินได้ท�าการรองด้วย พลาสติกกันซึมชนิดความหนาแน่นสูง เพื่อ ป้องกันน�้าซึมลงสู่ใต้ดิน นอกจากนีแ้ ล้วโรงไฟฟ้าบีแอลซีพยี งั ได้ตระหนัก ถึงการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมได้ด�าเนิน นโยบายโดยยึดหลักบรรษัทภิบาล คือ การใช้ หลักคุณธรรม นิตธิ รรม ความคุม้ ค่า ความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ เน้นความรับผิดชอบต่อ ชุมชน สร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนในการลด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม มีการประเมินผล ปรับปรุงแผนการด�าเนินงานด้านชุมชนสัมพันธ์ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของชุมชนได้อย่าง มีประสิทธิผลและยั่งยืน

ด้ า นแผนการขยายงานโรงไฟฟ้ า บี แ อลซี พี มี แ ผนจะขยายโรงไฟฟ้ า ถ่ า นหิ น บี แ อลซี พี แห่งที่ 2 อีก 1,000 เมกะวัตต์ คาดว่าจะใช้เงิน ลงทุนประมาณ 2.5-3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่ ง จะอยู ่ ใ นพื้ น ที่ เ ดิ ม ของโรงไฟฟ้ า แห่ ง แรก ที่จังหวัดระยอง ปัจจุบันบริษัทอยู่ระหว่างท�า การศึกษารายงานผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมและ สุขภาพ หรือ EHIA และได้มรี บั ฟังความคิดเห็น จากชุมชนแล้ว 2 ครัง้ คาดว่าไม่นา่ จะมีอปุ สรรค เนื่องจากเป็นการสร้างในพื้นที่เดิม และชุมชน มีความเข้าใจอยู่แล้ว และกระบวนการผลิตนั้น เป็นเทคโนโลยีถา่ นหินสะอาดทีโ่ รงไฟฟ้าแห่งนี้ การผลิตไฟฟ้าของที่นี่เลือกใช้ถ่านหินบิทูมินัสที่มีคุณภาพดีเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแส ใช้จะไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งที่ ไฟฟ้าเพื่อให้การเผาไหม้มีประสิทธิภาพสูง ส่วนใหญ่น�าเข้าจากออสเตรเลียและอินโดนีเซีย ผ่านมาจะเห็นว่าบริษัทสามารถลดมลพิษได้ดี โดยการขนส่งทางเรือมายังท่าเรือขนถ่ายถ่านหินบีแอลซีพีนั้นโดยให้ความส�าคัญในการรักษา กว่ามาตรฐานควบคุมของกรมควบคุมมลพิษ สิ่งแวดล้อม ด้วยการตรวจสอบคุณภาพของถ่านหินบิทูมินัสที่น�าเข้ามาทุกเที่ยวเรือ อย่างไรก็ตาม แผนก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน การขนถ่ายถ่านหินเข้าสู่ลานกองหินและตัวโรงไฟฟ้า โดยใช้สายพานในการล�าเลียงถ่านหินที่มี แห่ ง ที่ 2 ของโรงไฟฟ้ า บี แ ลซี พี จ ะต้ อ งรอ แผ่นก�าบังลมปิดมิดชิดโดยรอบ เพือ่ ป้องกันการตกหล่นของถ่านหินและลดการฟุง้ กระจายของฝุน่ ความชั ด เจนจากแผนพี ดี พี 2014 ก่ อ น พร้อมทั้งมีการติดตั้งอุปกรณ์สเปรย์น�้าใช้ในขณะขนถ่ายที่ Unloader Hopper เพื่อลดการกระจาย เนื่องจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่จะต้องรอ ของฝุน่ อีกขัน้ ตอนหนึง่ น�า้ ทีเ่ กิดจากการสเปรย์นนั้ จะถูกรวบรวมลงสูบ่ อ่ พักน�า้ และสูบกลับมาเพือ่ นโยบายจากกระทรวงพลังงาน รวมทั้งจะต้อง น�าไปบ�าบัดโดยไม่มีการปล่อยออกสู่ทะเล รอเปิดประมูลไอพีพี ว่าจะมีการก�าหนดสัดส่วน โรงไฟฟ้าจากถ่านหินจ�านวนเท่าไร ทั้งนี้โดยรอบลานกองถ่านหิน ทั้ง 3 กอง โรงไฟฟ้าบีแอลซีพี ยังได้ติดตั้งระบบสเปรย์น�้าที่สามารถ ปรับความแรงของน�้าได้ตามความแรงของกระแสลม จ�านวน 32 จุด โดยน�้าจากการสเปรย์จะถูก รวบรวมไปยังบ่อตกตะกอน ก่อนจะถูกน�ากลับมาใช้ใหม่เพื่อการสเปรย์ครั้งต่อไป 30

Energy#65_p28-30_iMac5.indd 30

3/21/2557 BE 12:46 AM


Energy#64_p45_Pro3.ai

1

2/22/14

1:12 PM

73


Residence รังสรรค์ อรัญมิตร

Pedras Salgadas Eco รีสอร์ทที่อิงกับธรรมชาติในโปรตุเกส ปัจจุบนั เทรนด์การออกแบบรีสอร์ทนัน้ จะเน้นเรือ่ งของ การอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมเป็นปัจจัยส�าคัญ รีสอร์ทบางแห่งยังเน้นการออกแบบให้สามารถดึง เอาธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับที่พักที่อยู่ อาศัยเพื่อลดใช้พลังงาน ลดผลกระทบต่อระบบ นิ เวศน์ ร อบรีส อร์ท และเป็น มิต รต่อ สิ่ง แวดล้ อม มากกว่ า การพึ่ ง พาเทคโนโลยี ภายใต้ ห ลั ก การ ออกแบบที่เลือกใช้วัสดุที่ค�านึงถึงความยั่งยืนของ ระบบนิเวศน์และสภาพแวดล้อมโดยรอบ ซึ่งเป็น การออกแบบทีเ่ รียบง่ายแต่แฝงด้วยความหรูหราทีช่ ว่ ย ให้ผมู้ าเยือนได้รบั ความผ่อนคลาย และประสบการณ์ อันโดดเด่นจากธรรมชาติอย่างแท้จริง

Pedras Salgadas Eco Resort เป็นรีสอร์ทตั้งอยู่ชายป่าอุทยานแห่งชาติ Parque de Pedras Salgadas ทางตอนเหนือของประเทศโปรตุเกส ภายใต้ การออกแบบของสถาปนิกที่ชื่อ Luis Rebelo de Andrade และ Tiago Rebelo de Andrade ที่ช่วยกันออกแบบแปลนของรีสอร์ทแห่งนี้ด้วยกัน โดยการ ออกแบบได้เน้นใช้วัสดุธรรมชาติ โดยการใช้วัสดุและเทคนิคการก่อสร้างที่ใช้ พลังงานรวมต�่า เช่น การใช้ไม้ หิน และดิน จากบริเวณโครงการ การใช้กาวและ ไม้ไร้สารพิษมาเป็นส่วนประกอบในการก่อสร้าง รีสอร์ทแห่งนี้จะถูกรอบล้อมด้วยธรรมชาติอันสมบูรณ์ รูปทรงรีสอร์ทมีความ โดดเด่นแปลตาได้แรงบันดาลใจมาจากสิ่งแวดล้อมต้นสนในอุทยาน เป็นสไตล์ สตูดโิ อเน้นความเป็นส่วนตัวสูงสุดจึงมีเพียง 9 ห้องรวมถึง 2 ห้องทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ ได้รับแรงบันดาลใจมาจากงู การก่อสร้างเป็นแบบส�าเร็จรูปเพื่อความก่อสร้าง

32

Energy#65_p32-33_iMac5.indd 32

3/21/2557 BE 12:50 AM


นอกจากนี้แล้วภายในห้องยังเน้นการตกแต่งให้เป็นโทนสีขาวเพื่อความสบายตา ให้ความรู้สึกเงียบสงบ ทางเดินเข้าไปสู่ตัวห้องปูด้วยไม้เพื่อสัมผัสบรรยากาศใกล้ ชิดกับธรรมชาติ ภายในประกอบด้วยห้องนอน ห้องน�้า โต๊ะเขียนหนังสือและมุม จัดเตรียมอาหาร ช่วยให้คณ ุ สามารถกลับมานัง่ และเพลิดเพลินไปกับบรรยากาศที่ เงียบสงบของ Pedras Salgadas ที่ให้ความอบอุ่นแบบธรรมชาติ

รวดเร็วและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เรียกได้ว่า เป็นการออกแบบที่ผสมผสานกับสภาพแวดล้อม อั น เขี ย วชอุ ่ ม ภายใต้ แ นวคิ ด บ้ า นเชิ ง นิ เวศที่ เ น้ น การสร้างจากไม้เป็นหลัก การออกแบบแต่ ล ะห้ อ งจะออกแบบให้ เพดาน หน้าต่างติดกระจกขนาดใหญ่ เพือ่ ให้สามารถเปิดรับ แสงสว่างจากภายนอกมาสร้างความสดใสให้กับ ภายในห้องพัก และเป็นใช้การแสง และลมจาก ธรรมชาติ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด เพื่ อ ประหยั ด พลังงาน เรียกได้ว่าไม่ต้องพึ่งพาการใช้แสงสว่าง จากหลอดไฟ หรืออากาศจากเครื่องปรับอากาศเลย ในช่วงกลางวัน และเพื่อให้ใกล้ชิดธรรมชาติมากขึ้น ได้มีการออกแบบให้มีดาดฟ้าเพื่อเป็นมุมนั่งเล่น หรือนอนรับธรรมชาติพักผ่อนหย่อนใจ

ห้องนอนของแต่ละห้องยังมาพร้อมกับสกายไลท์และหน้าต่างด้านหน้าหันหน้าไป ในทิศทางทีส่ ามารถชมวิวธรรมชาติในอุทยานและเสียงธรรมชาติ สัตว์ปา่ ด้านนอก ให้ผู้มาพักผ่อนสามารถสัมผัสกับธรรมชาติได้อย่างลึกซึ้ง เรียกได้วา่ การออกแบบรีสรอ์ท หรือทีพ่ กั ทีอ่ ยูอ่ าศัยทัว่ ทุกมุมโลกนัน้ นอกจากค�านึงถึง ความโดดเด่นแล้วยังให้ความส�าคัญกับ การพึง่ พาธรรมชาติ การดึงเอาธรรมชาติ มาใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด เพื่ อ ตอบ สนองความต้องการของผู้มาพักผ่อนที่ มักจะแสวงหาธรรมชาติมากขึ้น

พร้อมกันนี้ยังได้ออกแบบให้ใช้กระจกและหลังคา เป็นฉนวนกันความร้อน รวมถึงการใช้หลอด LED และเพื่ อ ให้ เ กิดประสิทธิในการประหยัดพลัง งาน และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสูง รวมถึงการเลือกใช้ ระบบท�าความเย็นที่มีประสิทธิภาพสูง การติดตั้ง แผงเซลล์แสงอาทิตย์ การกักเก็บ และกรองน�้าฝน ไว้ ใช้ ร ดน�้ า ต้ น ไม้ เพื่ อ จุ ด มุ ่ ง หมายให้ ก ารปล่ อ ย คาร์บอนเท่ากับศูนย์ตามเจตนารมณ์ของผูอ้ อกแบบ 33

Energy#65_p32-33_iMac5.indd 33

3/21/2557 BE 12:51 AM


Energy Design ณ อรัญ

Living for Tomorrow ¡Òõ¡áµ‹§ËÃ×Í¡ÒÃÍ͡ẺºŒÒ¹¹Ñ้¹ µŒÍ§¤ํÒ¹Ö§¶Ö§ÊÀÒÇзÕ่·ํÒãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁʺÒÂ㹡ÒÃÍÂÙ‹ÍÒÈÑ à¾ÃÒкŒÒ¹à»ÃÕºàÊÁ×͹໚¹ ÇÔÁÒ¹º¹´Ô¹¢Í§·Ø¡¤¹ Í‹ҧäá็µÒÁ ¡ÒÃÍ͡Ẻ¹Í¡¨Ò¡¤ํÒ¹Ö§¶Ö§¤ÇÒÁÊǧÒÁáÅÐÍÂًʺÒÂà¾×่͵ͺ⨷ äÅ¿ŠÊäµÅ ¢Í§ ¼ÙŒ¾Ñ¡ÍÒÈÑÂáÅŒÇ »˜¨¨ØºÑ¹¼ÙŒÍ͡Ẻ䴌¤ํÒ¹Ö§¶Ö§¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ¡ÒÃÍ͡Ẻ·Õ่¤ํÒ¹Ö§¶Ö§¼ÙŒÊÙ§ÍÒÂØ à´็¡ áÅФ¹¾Ô¡ÒÃà¾×่ÍãËŒ à¡Ô´¤ÇÒÁÊдǡ㹡ÒÃ㪌ªÕÇÔµ

ดังนั้นเราไปดูตัวอยางกันวาการออกแบบเพื่อตอบโจทยการใชชีวิตเพื่อใหเกิด สภาวะสบาย นาอยู ตอบโจทยการใชชีวิตตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า และการใช ชีวติ ของทุกวัย ทุกบริบทของแตละคน โดยเฉพาะบานทีม่ ผี อู ยูอ าศัยเปนคนสูงวัย และคนพิการ กันครับ Living for tomorrow นั้นเปนแนวทางการออกแบบที่ตอบโจทยการใชชีวิต ทุกบริบท เริ่มตั้งแตการออกแบบที่คํานึงถึงการใชทรัพยากรธรรมชาติใหคุมคา

34

R1_Energy#65_p34-35_iMac5.indd 34

โดยเปนการคิดทัง้ ระบบทีเ่ ริม่ ตัง้ แตกระบวนการ ออกแบบ การวางผัง การคํานึงถึงทิศทางแดด ทิศทางลม การวางระบบตางๆ การนําของหรือ เศษเหลือใชจากการกอสรางไปใชประโยชน ตลอดจนการอยู  อ าศั ย โดยใช ห ลั ก 4R คื อ Reduce, Reuse, Recycle และ Repair เพื่อ ใหเปนบานที่ประหยัดพลังงานและประหยัด คาใชจายในสวนตางๆ อยางยั่งยืน เพียงแคนี้ ก็สามารถทําใหบา นประหยัดพลังงานเปนบาน สีเขียวหรือ ECO HOME แลว เพื่อตอบโจทยการเปนบาน ECO HOME ยัง ตองคํานึงถึงการเลือกใชอปุ กรณการออกแบบ ทีช่ ว ยใหเกิดการประหยัดพลังงานไมวา จะเปน อิฐมวลเบา ฉนวนกันความรอน กระจกเขียวตัดแสง ประกอบกั บ การเลื อ กใช วั ส ดุ รี ไซเคิ ล อย า ง กลองกระดาษมากัน้ เปนผนังระหวางหองก็ดเู ก อีกแบบ แถมยังชวยลดผลกระทบจากสิง่ แวดลอม ไดอกี ดวย นับเปนทางเลือกหนึง่ ของการออกแบบ ใหเกิดการประหยัดพลังงาน ในสวนของพื้นที่ สวนและทางเดินไดปู บล็อกคูลพลัส บล็อกปูพนื้ 3/22/2557 BE 8:10 PM


นวัตกรรมที่ช่วยลดไอร้อนด้วยคุณสมบัติ พิเศษในการกักเก็บน�า้ ไว้ในก้อนบล็อก และ เมือ่ โดนความร้อนน�า้ ทีถ่ กู เก็บไว้จะระเหย ขึ้นมาเป็นไอความเย็นส่งผลให้บริเวณ สวนรอบบ้านเย็นสบาย การติ ด ตั้ ง ระบบการจั ด การพลั ง งานใน บ้านที่เชื่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าเข้ากับระบบ เพื่ อ แสดงปริ ม าณการใช้ พ ลั ง งานใน แต่ละสัดส่วนของบ้านค�านวณการใช้งาน รายเดือน ทั้งนี้ยังสามารถจ� ากัดการใช้ พลั ง งานด้ ว ยการแยกโหลดไฟ โดยให้ ระบบควบคุมไฟฟ้าและอุปกรณ์ต่างๆ ดับลงอัตโนมัติทีละส่วนหากใช้งานเกิน ปริมาณที่ตั้งค่าไว้อีกด้วย นอกจากนี้ยังมี Energy Back Up System ระบบการลดการใช้พลังงานในบ้านด้วยอุปกรณ์ซงึ่ สามารถ ตั้งค่าให้น�าพลังงานจากธรรมชาติ เช่น ลม แสงแดด มาใช้งานจนหมดก่อน จึงค่อย เปลี่ยนมาใช้พลังงานไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ การติดตั้งระบบควบคุมแสงสว่างอัตโนมัติ ที่เรียกว่า “Smart Lighting” ซึ่งช่วย อ�านวยความสะดวก ทัง้ การควบคุมแสงสว่างให้เหมาะสม การเปลีย่ นแสงสีเพือ่ เปลีย่ น บรรยากาศ การเปิด – ปิดไฟอัตโนมัติช่วยลดการใช้พลังงานที่ไฟจะปิดเองอัตโนมัติ เมื่อไม่คนอยู่ในห้อง รวมถึงช่วยรักษาความปลอดภัย เมื่อมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น การออกแบบติดตั้งระบบควบคุมสภาพอากาศภายในบ้านเพื่อให้ถ่ายเทอากาศ ความชื้ น ให้ เ หมาะสม ทั้ ง การควบคุ ม แผงบั ง แดดหรื อ ม่ า นให้ สั ม พั น ธ์ กั บ เครื่องปรับอากาศ แล้วตั้งระบบการท�างานอัตโนมัติในแต่ละห้องตามช่วงเวลาต่างๆ ในรอบวัน เดือน ปี หรือแต่ละช่วงฤดูกาล เช่น ตั้งเวลาให้แผงบังแดดปิดขณะ แดดส่องถึงเพื่อป้องกันไม่ให้แสงแดดท�าลายเฟอร์นิเจอร์เสียหาย รวมถึงการควบคุม แผงบั ง แดดภายนอกโดยการติ ด ตั้ ง ระแนงที่ ส ามารถปรั บ มุ ม ได้ ต ามแต่ ล ะเวลา เพื่อควบคุมอุณหภูมิของแสงสว่าง

นอกจากนี้แล้วการออกแบบยังได้ค�านึงถึงการ อยู่อาศัยของผู้สูงอายุเพื่อช่วยอ�านวยความ สะดวกในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันได้อย่าง ปลอดภัย เช่น การติดตั้งระบบและอุปกรณ์ เตือนภัยอัตโนมัติ ระบบการช่วยเหลือฉุกเฉิน ระบบเช็คสุขภาพ มีการออกแบบห้องน�้าให้ กว้างประมาณ 150 – 200 ซม. ฝักบัวควร เป็นชนิดแรงดันต�่า พื้นห้องน�้า พื้นผิวเรียบ ไม่ลื่น ไม่มันวาว ไม่มีลวดลายเยอะเกินไป เพือ่ ป้องกันไม่ให้เกิดอาการตาลายเมือ่ มองพืน้ การเลือกใช้ก๊อกน�้าแบบปัดไปด้านข้างและ ต้องไม่ฝืด ไม่ต้องใช้แรงในการเปิด - ปิดมาก สามารถใช้งานได้ด้วยมือข้างเดียว เนื่องจาก ผูส้ งู อายุมกี า� ลังแขนน้อย รวมถึงการออกแบบ ให้มีที่นั่งอาบน�้าที่มั่นคง ยึดติดกับผนังเพื่อให้ สามารถนัง่ อาบน�า้ ได้ ควรท�าเป็นแบบทีพ่ บั เก็บได้ เพื่อสะดวกในการใช้งานห้องน�้าส�าหรับคนอื่น ในบ้าน โถส้วม ออกแบบให้นงั่ ได้สะดวกไม่ตอ้ ง ย่อหรือเขย่งจนเกินไป เพราะผู้สูงอายุมักมี อาการเรื่องข้อเข่า เพราะการนั่งลุกจะล�าบาก ห้องน�า้ ควรมีราวจับ เลือกอ่างล้างหน้าทีม่ สี ว่ นโค้ง ด้านหน้าเพือ่ สะดวกในการใช้งาน เหมาะส�าหรับ ผู้สูงวัยที่นั่งรถเข็น หากเป็นผู้สูงอายุที่เดินได้ หรือใช้ไม้เท้า อ่างล้างหน้าควรเป็นแบบฝัง เคาน์เตอร์ เพื่อให้สามารถรับน�้าหนักการท้าว แขนของผู้สูงอายุ

35

Energy#65_p34-35_iMac5.indd 35

3/21/2557 BE 12:55 AM


Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล

ã¹áµ‹Åл‚»ÃÐà·Èä·ÂÁÕ¡ÒùํÒࢌҹํÒ้ Áѹ¨Ò¡µ‹Ò§»ÃÐà·È໚¹¨ํҹǹÁÒ¡ «Ö§่ µŒÍ§ÍÒÈÑÂà§Ô¹ÁËÒÈÒÅ ´ŒÇÂà˵عÕ้·ํÒãËŒ¹Ñ¡ÇÔ¨ÑÂã¹»ÃÐà·Èä·Â¾ÂÒÂÒÁ ¤Ô ´ ¤Œ ¹ ¾ÅÑ § §Ò¹·´á·¹·Õ่ Ë ÇÑ § Å´¤‹ Ò ãªŒ ¨ ‹ Ò Â㹡ÒÃÊÑ่ § ¹ํ้ Ò ÁÑ ¹ ¨Ò¡»ÃÐà·È ʶҺѹÇÔ¨ÑÂÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕáË‹§»ÃÐà·Èä·Â (ÇÇ.) ໚¹ÍÕ¡ ˹‹Ç§ҹ˹่֧ ·Õ·่ Òํ §Ò¹ÇÔ¨ÂÑ ´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ à¾ÃÒеŒÍ§¡ÒÃ໚¹Ê‹Ç¹Ë¹Ö§่ 㹡ÒÃÅ´¤‹Ò㪌¨‹Ò¡ÒÃÊÑ่§¹ํ้ÒÁѹ¨Ò¡µ‹Ò§»ÃÐà·È

วว. วิจยั เอทานอล

หวังลดคาใชจา ยของประเทศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย วว. ไดดําเนินการผลิตเอทานอลเพื่อ นํามาใชเปนเชื้อเพลิงในรูปแกสโซฮอล เริ่มดําเนินโครงการวิจัยในระดับหองปฏิบัติการในป 2522 โดยทดลองผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง รวมทัง้ ยังไดดาํ เนินการวิจยั และพัฒนาการผลิตเอทานอล ไรนํ้ารวมกับหนวยงานวิจัยประเทศญี่ปุน เพื่อนําไปสูการสรางโรงงานผลิตเอทานอลแหงแรกของ ประเทศไทย โดยใชมันสําปะหลังเปนวัตถุดิบ ซึ่งเปนตนกําเนิดของนํ้ามันแกสโซฮอล 95 ในปจจุบัน รวมทัง้ ไดพฒ ั นาศักยภาพดานการวิจยั ไปสูว สั ดุอนื่ ๆ เชน วัตถุดบิ ประเภท นํา้ ตาล แปง รวมทัง้ วัตถุดบิ ประเภทเสนใย (ลิกโนเซลลูโลส) อยางตอเนื่อง นอกจากจะเพิ่มมูลคาใหแกวัสดุเหลือใชทางการ เกษตรแลว ยังชวยลดปญหาหมอกควันที่เกิดจากการเผาทําลายวัสดุเหลือทิ้ง และการเพิ่มปริมาณ ขยะอินทรียหลังฤดูเก็บเกี่ยวไดอีกทางหนึ่ง

ดร.ธีรภัทร ศรีนรคุตร

ดร.ธีรภัทร ศรีนรคุตร ผูเชี่ยวชาญวิจัย และผูอํานวยการโครงการเอทานอล วว. กลาววา ในการ ทํางานวิจัยเอทานอลจากที่ศึกษามีพืชทางการเกษตรหลายชนิดที่สามารถนํามาผลิตเอทานอลได ไมวา จะเปน ขาวโพด ออย หรือมันสําปะหลัง ลวนสามารถนํามาผลิตเปนเอทานอลไดทงั้ สิน้ และจาก การวิจัยพบวามันสําปะหลังเปนพืชที่ใหนํ้ามันไดมากกวาพืชชนิดอื่น ทั้งยังเปนพืชที่มีการปลูกมาก ในหลายจังหวัดของประเทศไทย เมื่ อ เรามี วั ต ถุ ดิ บ ที่ เ พี ย งพอต อ ความตองการในการผลิตเอทานอล แลว ทาง วว. จึงไดศึกษาและทํา การวิจัยเพื่อใหไดนํ้ามันเพียงพอ ตอความตองการและสามารถนํา มาใชไดจริง

เครื่องตนแบบผลิตเอทานอลไรน้ําโมเลกุลลารซีฟ (Molecular sieve) ชนิดเคลื่อนที่ 36

Energy#65_p36-37_iMac5.indd 36

3/21/2557 BE 1:08 AM


ปัจจุบันทาง วว. ได้ร่วมมือกับทั้งภาครัฐและ เอกชน ในการวิจยั พัฒนาให้คา� ปรึกษาออกแบบ เครื่ อ งมื อ เพื่ อ ถ่ า ยทอด และให้ ค วามรู ้ ใ น กระบวนการผลิ ต เอทานอล เพื่ อ ทดแทน การน�าเข้าน�า้ มันและผลักดันการผลิตเอทานอล เข้ า สู ่ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ ทั้ ง ยั ง ได้ มี ก ารประสาน ความร่วมมือในการจัดตัง้ ศูนย์เรียนรูก้ ารถ่ายทอด เทคโนโลยีและการบริหารจัดการธุรกิจเอทานอล จากมันส�าปะหลังระดับชุมชนแบบครบวงจร ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีก�าแพงเพชร ซึ่งโครงการฯ มีก�าหนดระยะเวลา 3 ปี โดย โครงการฯ นี้เป็นอีกหนึ่งภารกิจที่ วว. ได้รับมอบหมายจากกระทรวง วิทยาศาสตร์ฯ ให้น�าองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้าน เอทานอลที่มีมากกว่า 30 ปี มาช่วยเสริมศักยภาพจังหวัดก�าแพงเพชร เพื่อให้จังหวัดเป็นศูนย์กลาง (HUB) การพัฒนาพืชมันส�าปะหลังของ ประเทศอย่างครบวงจรดังทีก่ า� หนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ส�าหรับศูนย์การเรียนรูฯ้ ทาง วว. จะท�าการออกแบบก่อสร้างโรงงานผลิต เอทานอล ที่มีก�าลังการผลิตไม่เกิน 5,000 ลิตร/วัน โดยใช้มันส�าปะหลัง เป็นวัตถุดบิ หลักในการผลิตและจะมีโรงงานผลิตผลพลอยได้ (Byproducts) จากของเสียโรงงานเอทานอล อีก 3 โรงงาน ได้แก่ โรงงานอาหารสัตว์ (Animal feed) โรงงานปุ๋ยชีวภาพ (Biofertilizer) และโรงงานก๊าซชีวภาพ (Biogas) โรงงานเอทานอลที่ไม่มีของเสีย (Zero Waste) แห่งนี้ จะใช้ เป็นศูนย์การเรียนรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยี และบริหารจัดการธุรกิจส�าหรับ เชือ้ เพลิงเอทานอลแบบครบวงจร ให้กบั นักเรียน นิสติ นักศึกษา ประชาชน ทัว่ ไป และธุรกิจผลิตเอทานอลขนาดใหญ่ อีกทัง้ สามารถช่วยผลิตบุคลากร ด้านการผลิตให้กับโรงงานขนาดใหญ่ ซึ่งปัจจุบันยังขาดแคลนอยู่เป็น จ�านวนมาก รวมทัง้ ให้บริการวิเคราะห์ตวั อย่าง บริการด้านงานวิจยั และ บริการข้อมูลให้กับภาครัฐและเอกชนได้อีกด้วย เหตุผลทีเ่ ลือกจังหวัดก�าแพงเพชรเป็นโรงงานผลิตเอทานอล เพราะเป็น จังหวัดทีม่ ศี กั ยภาพในการผลิตมันส�าปะหลังอยูใ่ นอันดับสองของประเทศ คือ ผลิตได้ปลี ะปริมาณ 3.1 ล้านตัน ในพืน้ ทีก่ ารผลิตจ�านวน 780,000 ไร่ ทั้งนี้ทางจังหวัดได้ก�าหนดแนวทางในการที่จะพัฒนาพืชมันส�าปะหลัง ในระดับต้นน�้า กลางน�้า และปลายน�้า และได้เล็งเห็นความส�าคัญใน การน�าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาพืชมันส�าปะหลัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน�ามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์เอทานอล ซึ่งเป็น พลังงานทางเลือกที่ใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน อีกทั้งยังเป็นการช่วย เพิม่ มูลค่าผลผลิตมันส�าปะหลัง รวมถึงช่วยแก้ปญ ั หาราคามันส�าปะหลัง ตกต�่า ทัง้ นีท้ าง วว. ยังผลิตเครือ่ งต้นแบบผลิตเอทานอลไร้นา�้ เคลือ่ นที่ ทีส่ ามารถ ใช้เป็นเครือ่ งจักรในระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือระดับชุมชน รวมทัง้ สามารถใช้เป็นต้นแบบในการขยายขนาดสู่ระดับอุตสาหกรรมในเชิง พาณิชย์ได้ ทัง้ ยังเป็นเครือ่ งทีป่ ระหยัดพลังงานไม่ตา�่ กว่าร้อยละ 20 และมี ต้นทุนต�่ากว่าเครื่องจักรน�าเข้าจากต่างประเทศประมาณร้อยละ 50

ซึ่ ง จะช่ ว ยลดการน� า เข้ า คิดเป็นมูลค่านับพันล้านบาท สามารถเคลือ่ นย้ายไปด�าเนิน งานตามที่ต่าง ๆ ได้ เพื่อ รองรับโรงงานผลิตเอทานอล ร ะ ดั บ ชุ ม ช น ใ น อ น า ค ต นอกจากนี้ ป ระเทศไทยยั ง สามารถสร้ า งรายได้ จ าก การส่ ง ออกเครื่ อ งผลิ ต เอทานอลไร้นา�้ โมเลกุลา่ ร์ซฟี ดั งกล่ า ว โดยเฉพาะกลุ ่ ม ประเทศประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) หรืออาจได้ รับผลประโยชน์ดว้ ยการขาย สิทธิบัตรของเครื่องจักร นอกจากนีท้ าง วว. ยังได้นอ้ มเกล้าฯ ถวายเครือ่ งต้นแบบผลิตเอทานอล ไร้นา�้ โมเลกุลา่ ร์ซฟี ชนิดเคลือ่ นที่ ส�าหรับใช้ในกิจการ โครงการชัยพัฒนา แม่ฟ้าหลวง ต�าบลหนองพลับ อ�าเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ พร้อมจัดท�าโครงการสร้างเครื่องผลิตเอทานอลไร้น�้าให้แก่องค์การสุรา กรมสรรพสามิต เพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ ซึ่งได้มีการติดตั้งและ ใช้งานแล้ว ณ โรงแอลกอฮอล์ องค์การสุรา อ�าเภอบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา อีกด้วย สุดท้าย ดร.ธีรภัทร ฝากว่า ผูท้ สี่ นใจเครือ่ งผลิตเอทานอลไร้นา�้ โมเลกุลา่ ร์ซฟี ชนิดเคลือ่ นที่ ทาง วว. พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตให้แก่ภาคเอกชน เพื่อน�าไปผลิตในเชิงพาณิชย์ สามารถสอบถามละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ Call Center สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) โทร. 0 2577 9300 หรือที่โทร 0 2577 9000 E-mail : tistr@tistr.or.th Call Center กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โทร. 1313

37

Energy#65_p36-37_iMac5.indd 37

3/21/2557 BE 1:08 AM


Tools & Machine ณ อรัญ

หลอดแอลอีดีไฮเบย สําหรับโรงงาน

เครื่องใชไฟฟานั้นเปนปจจัยสําคัญของการดํารงชีวิตประจําวัน ของคน ไมวาจะใชชีวิตในที่ทํางานหรือบานพักอาศัย สํานักงาน หรือในโรงงานอุตสาหกรรมลวนแลวแตตองอาศัยเครื่องใชไฟฟา แต ก ารดํ า รงชี วิ ต ในป จ จุ บั น ต อ งดํ า เนิ น ควบคู  กั บ การประหยั ด พลั ง งาน และเพื่ อ ตอบสนองความต อ งการด า นการประหยั ด พลั ง งานของการใช ชี วิ ต อุ ป กรณ เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ได ถู ก พั ฒ นา ใหเกิดประสิทธิภาพในการใชงานและประหยัดพลังงานมากขึ้น ไมวาจะเปน ตูเย็น เครื่องซักผา ทีวี เครื่องปรับอากาศ รวมถึง หลอดไฟ หลอดไฟทีเ่ ห็นในชีวติ ประจําวันสวนใหญจะเปนหลอดฟลูออเรสเซนต T5 ทั้งที่เปนหลอดตะเกียบ และหลอดผอม แตปจจุบันหลอด LED ซึง่ นอกจากเปนหลอดทีใ่ ชในการตกแตงบาน ทางเดิน สวน หรือตูโ ชว สินคาแลวยังไดมีการพัฒนาใหสามารถใชไดกับอาคารบานเรือน รวมถึงโรงงานอุตสาหกรรมดวย โดยมีหลายบริษัทที่ไดพัฒนา และหันมาทําตลาดหลอด LED เพื่อตอบสนองอนาคตที่คาดวา หลอด LED จะทดแทนหลอดฟลูออเรสเซนตทั่วไป สําหรับหลอด LED ไฮเบยนั้นเปนนวัตกรรมหนึ่งที่ถูกพัฒนาขึ้นมา สําหรับใชในโรงงานอุตสาหกรรมแทนหลอดโคมไฟแสงจันทรทวั่ ไป โดยหลอด LED สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมนั้นถูกพัฒนาใหใช พลังงานตํ่ากวาหลอดทั่วไปเพียง 12 V. และใหแสงสวางมากกวา หลอดฟลูออเรสเซนตอกี ทัง้ ยังมีอายุการใชงานนานถึง 200,000 ชัว่ โมง และประหยัดพลังงานไดถึง 80% เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณ

แสงสวางของหลอดฟลูออเรสเซนต จึงเปนปจจัยสําคัญของ แตละ องคกร รานคา บริษัท โรงงาน ผูผลิต ผูประกอบการที่ ตองการลดตนทุน อยางไรก็ดี การใชหลอดไฟ LED ยังมีประโยชนในมุมอื่น ๆ อีกมากที่คุณอาจจะไมเคยรูมากอน เชน ไมมีแสง ยูวี เมื่อเทียบ กับหลอดประเภทฟูออเรสเซนทแบบธรรมดา หลอดไฟ LED ปลอยความรอนนอยลงกวาหลอดไฟแบบเดิม หลอดไฟ LED ทนตอการสั่นสะเทือน แสงจากหลอดไฟ LED ไมกระพริบ ออกแบบทิศทางของแสงจากหลอดไฟ LED ที่เหมาะสมกับ รูปแบบโคมได เนื่องจาก LED จะมีทิศทางการสองสวางแบบ เปนทอ ไมไดกระจายออกทุกทิศทาง ทําใหสามารถออกแบบ ตัวหลอดใหเหมาะสมกับโคม โดยไมปลอยแสงไปในทิศทางที่ ไมตองการทําใหเกิดการประหยัดไฟฟาได ปจจุบันหลอด LED ไดรับความสนใจจากผูประกอบการตาง ๆ มากขึ้นไมวาจะเปน ผูประกอบการโรงแรม รีสอรท บานจัดสรร อาคารสํานักงาน หางสรรพสินคา โรงงานอุตสาหกรรม เนือ่ งจาก ราคาเริ่มมีรคาถูกลง ประหยัดพลังงานมากขึ้น เพราะสามารถ คิดเปนตัวเลขและแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนถึงความแตกตาง และความคุมคาที่ผูประกอบการจะไดรับและสามรถคืนทุน ไดภายใน 2 – 3 ป ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะของการใชงานและ การแกไขปรับปรุงของแตละผูประกอบการ

38

Energy#65_p38_iMac5.indd 38

3/21/2557 BE 1:11 AM


เปาหมายการใชพลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟา ตามแผนพัฒนาพลังงานทดแทน 10 ป (2555 – 2564) ประเภทไฟฟา

เปาหมาย (เมกะวัตต)

พลังงานลม

1,800

พลังงานแสงอาทิตย

3,000

พลังงานน้ำ (ขนาดเล็ก)

324

พลังงานน้ำแบบสูบกลับ

1,284

กาซชีวมวล

4,800

กาซชีวภาพ

600

หญาเนเปยร

3,000

พลังงานจากขยะ

400

พลังงานรูปแบบใหม

3

ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน

67

Energy#64_p67_Pro3.indd 67

2/24/14 9:49 PM


Energy Tip กองบรรณาธิการ

¡ÒüÅԵ俿‡Ò¨ํÒ໚¹µŒÍ§ãªŒ¾Åѧ§Ò¹ÁÒ¡ ¾Åѧ§Ò¹¤ÇÒÁÌ͹ ʋǹãËÞ‹ä´ŒÁÒ¨Ò¡âç俿‡Ò¶‹Ò¹ËÔ¹ ¡ Ò« ËÃ×Íâç俿‡Ò¹ÔÇà¤ÅÕÂà ¡‹Í¹·Õ่ä¿¿‡Ò¨Ð¶Ù¡Ê‹§ä»¶Ö§ºŒÒ¹¢Í§¾Ç¡àÃÒ¹Ñ้¹ ¾Åѧ§Ò¹»ÃÐÁÒ³ 60% ã¹âç俿‡Ò¨ÐËÒÂä»ã¹ÃÙ»¢Í§¤ÇÒÁÌ͹ÊÙÞà»Å‹Ò áÅÐÍÕ¡ 10% ËÒÂ仡ѺÊÒÂÊ‹§ä¿¿‡ÒáÅÐËÁŒÍá»Å§

วิธี ประหยัดไฟฟา อยาง ชาญฉลาด การใชไฟฟาในครัวเรือนทัว่ โลกนัน้ แตกตางกัน อยางมหาศาล แมแตในประเทศอุตสาหกรรม โดยในครั ว เรื อ นขนาดทั่ ว ไปของประเทศ แถบยุโรปใชพลังงาน 4,667 กิโลวัตตชั่วโมง ในขณะทีค่ รัวเรือนในสหรัฐอเมริกาใช 11,209 กิ โ ลวั ต ต ชั่ ว โมง และในประเทศญี่ปุนใช 5,945 กิ โ ลวั ต ต ชั่ ว โมงต อ ป ครั ว เรื อ นใน สหรัฐอเมริกาใชหลอดไฟมากกวายุ โรปถึ ง 3 เทา และใชตูเย็นมากกวายุโรป 2 เทา แตนี่ไมไดสะทอนใหเห็นวาสหรัฐและยุโรป มีความสะดวกสบายตางกัน เพราะมีการใช เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ในบ า นที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ซึง่ กินไฟนอยกวาเครือ่ งใชไฟฟาอืน่ 2-10 เทา ทัง้ ๆ ทีม่ กี ารทํางานเหมือนกัน และสวนใหญ มีคุณภาพดีกวาดวย การใชเครื่องใชไฟฟา ที่มีประสิทธิภาพสูงและประหยัดพลังงานนั้น ทําใหครัวเรือนขนาดทั่วไปใชไฟฟาลดลงถึง 1,300 กิ โ ลวั ต ต ชั่ ว โมงต อ ป โดยได รั บ ความสะดวกสบายเหมือนเดิม ซึ่งนอยกวา ค า เฉลี่ ย การใช เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ในสหรั ฐ อเมริกาเกือบ 10 เทา เรามีวธิ กี ารใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย ดวยการตรวจดูอุปกรณและเครื่องใชไฟฟา ตาง ๆ โดยสามารถตรวจสอบอุปกรณตาง ๆ ดวยตัวเอง ดังนี้

สายไฟฟา • สายไฟฟาเกาหรือหมดอายุใชงาน สังเกตไดจากฉนวนจะแตกหรือแหงกรอบบวม • ฉนวนสายไฟชํารุด อาจเกิดจากหนูหรือแมลงกัดแทะหรือวางของหนักทับ เดินสายไฟใกลแหลง ความรอน ถูกของมีคมบาด • จุดตอสายไฟตองใหแนน หนาสัมผัสใหดี พันฉนวนใหเรียบรอยตามขนาดของสายไฟฟา ควรใช ขนาดของสายใหเหมาะสมกับปริมาณกระแสทีไ่ หลในสาย หรือใหเหมาะสมกับเครือ่ งใชไฟฟาในวงจรนัน้ • สายไฟฟาตองไมเดินอยูใ กลแหลงความรอน สารเคมี หรือถูกของหนักทับ เพราะทําใหฉนวนชํารุด ไดงา ย และเกิดกระแสไฟฟาลัดวงจรขึน้ ได • สายไฟฟาตองไมพาดบนโครงเหล็ก รั้วเหล็ก ราวเหล็ก หรือสวนที่เปนโลหะตองเดินสายไฟฟา หรือรอยทอใหเรียบรอย เพือ่ ปองกันกระแสไฟฟารัว่ ลงบนโครงโลหะ ซึง่ จะเกิดอันตรายได เตารับ-เตาเสียบ • เตารับ เตาเสียบ ตองไมแตกราว และไมมรี อยไหม • การตอสายทีเ่ ตารับและเตาเสียบ ตองใหแนน และใชขนาดสายใหถกู ตอง • เตาเสียบ เมือ่ เสียบใชงานกับเตารับตองแนน • เตารับ ตองติดตัง้ ในทีแ่ หง ไมเปยกชืน้ หรือมีนาํ้ ทวม และควรติดใหพน มือเด็กเล็กทีอ่ าจเลนถึงได แผงสวิตชไฟฟา • ตองติดตัง้ ในทีแ่ หงไมเปยกชืน้ และสูงพอควร หางไกลจากสารเคมีและสารไวไฟตาง ๆ • ตรวจสอบดูวา มี มด แมลง เขาไปทํารังอยูห รือไม หากพบวามี ใหดาํ เนินการกําจัดเสีย • อยาวางสิง่ กีดขวางบริเวณแผงสวิตช • ควรมีผงั วงจรไฟฟาโดยสังเขปติดอยูท แี่ ผงสวิตช เพือ่ ใหทราบวาแตละวงจรจายไฟไปทีใ่ ด • แผงสวิตชทเี่ ปนตูโ ลหะควรทําการตอสายลงดิน สวิตชตดั ตอนชนิดคัทเอาท • ตัวคัทเอาทและฝาครอบตองไมแตก • ใสฟว สใหถกู ขนาดและมีฝาครอบปดใหมดิ ชิด • หามใชวสั ดุอนื่ ใสแทนฟวส • ขัว้ ตอสายทีค่ ทั เอาทตอ งแนนและใชขนาดสายใหถกู ตอง • ใบมีดของคัทเอาทเมือ่ สับใชงานตองแนน เบรกเกอร • ตรวจสอบฝาครอบเบรกเกอรตอ งไมแตกราว • ตองมีฝาครอบปดเบรกเกอรใหมดิ ชิด • ตองติดตัง้ ในทีแ่ หงไมเปยกชืน้ และหางไกลจากสารเคมีสารไวไฟตาง ๆ • เลือกเบรกเกอรทมี่ ขี นาดเหมาะสมกับอุปกรณเครือ่ งใชไฟฟา

40

Energy#65_p40-41_iMac5.indd 40

3/21/2557 BE 1:18 AM


ตูเ ย็น-ตูแ ช • ใหตรวจสอบตูเ ย็น ตูแ ช วามีกระแสไฟฟารัว่ หรือไม โดยใชไขควงเช็คไฟ หากพบวามีกระแส ไฟฟารัว่ ใหแกไขกอนใชงานตอไป • ใหนาํ แผนฉนวน เชน แผนยาง แผนพลาสติก ปูบริเวณหนาตูเ ย็น ตูแ ช และแนะนําใหผทู จี่ ะไป เปดตูเ ย็น ตูแ ช ใหยนื อยูบ นแผนฉนวนดังกลาว เพื่อปองกันกระแสไฟฟาดูด หากเกิดกรณี กระแสไฟฟารัว่ • ควรถอดปลัก๊ ตูเ ย็น ตูแ ช ออก หากทานไมใช งานเปนเวลานาน หรือทานไมอยูบ า นเปนเวลานาน • โครงโลหะของตูเ ย็น ควรทําการตอสายลงดิน เครือ่ งซักผา • ปลัก๊ เสียบของเครือ่ งซักผา ตองไมแตกราว และสายทีข่ วั้ ปลัก๊ ไมหกั พับและเปอ ยชํารุด • ปลัก๊ เสียบของเครือ่ งซักผาเมือ่ เสียบเขากับ เตารับตองใหแนน • ใหตรวจสอบสวนทีเ่ ปนโครงโลหะของเครือ่ ง ซักผา โดยใชไขควงเช็ดไฟหากพบวามีกระแส ไฟฟารัว่ ใหดาํ เนินการซอมแซม • โครงโลหะของเครือ่ งซักผา ควรทําการตอสายดิน • ผูใชเครื่องซักผา รางกายตองไมเปยกชื้น และไมยนื อยูบ นพืน้ ทีเ่ ปยกแฉะ ขณะจับตอง เครื่องซักผา • เมือ่ เลิกใชงานตองถอดปลัก๊ เสียบออกทันที พัดลมตัง้ พืน้ • ขณะใชงานหากพัดลมมีเสียงดังผิดปกติ หรือ มีกลิน่ ไหม หรือหยุดหมุนมีเสียงครางใหหยุดใช พัดลมทันที และนําไปตรวจซอมแกไข • ในทีท่ มี่ สี ารไวไฟไมควรใชพดั ลม เพราะอาจ เกิดประกายไฟ ทําใหเกิดเพลิงไหมขนึ้ ได ในกรณี ทีเ่ ปนพัดลมตัง้ พืน้ ตัง้ โตะ • ใหตรวจสอบสวนทีเ่ ปนโครงโลหะของพัดลม โดยใชไขควงเช็คไฟ หากพบวามีกระแสไฟฟารัว่ ใหดาํ เนินการซอมแซม • ปลัก๊ เสียบของพัดลมตองไมแตกราว และสาย ทีข่ วั้ ปลัก๊ ไมหกั พับและเปอ ยชํารุด • เมือ่ เลิกใชงานทุกครัง้ ใหดงึ ปลัก๊ เสียบออก พัดลมติดเพดาน, ฝาผนัง • เมือ่ เลิกใชทกุ ครัง้ ใหปด สวิตช • สวิตชปด -เปดพัดลม ตองมีฝาครอบไมแตกราว • หากสวิ ต ช พั ด ลมที่ มี ฝ าครอบเป น โลหะ ใหตรวจสอบวามีกระแสไฟฟารัว่ หรือไม ตาม ทีก่ ลาวมาแลว กาตมนํา้ ไฟฟา • ปลัก๊ เสียบของกาตมนํา้ ไฟฟา เมือ่ เสียบเขา กับเตารับตองใหแนน เนือ่ งจากกาตมนํา้ ไฟฟา ใชกระแสไฟฟาจํานวนมาก • เพือ่ ปองกันไมใหเกิดความรอนทีป่ ลัก๊ เสียบสูง • สายไฟฟาของกาตมนํา้ ไฟฟา ตองไมเสือ่ มสภาพ ฉีกขาด แตกราว

• ใหตรวจสอบสวนทีเ่ ปนโครงโลหะของกาตมนํา้ ไฟฟา โดยใชไขควงเช็คไฟ หากพบวามีกระแสไฟฟารัว่ ใหดาํ เนินการซอมแซม • กาตมนํา้ ไฟฟา ควรวางอยูบ นสิง่ ทีไ่ มตดิ ไฟ เชน แผนกระเบือ้ ง แผนแกว และตองไมอยู ใกลสารทีต่ ดิ ไฟ • ขณะใชงานตองระวังอยาใหนาํ้ ในกาตมนํา้ ไฟฟาแหง • เมือ่ เลิกใชงาน ตองถอดปลัก๊ เสียบออกทันที เตารีด • เตาเสียบ (ปลัก๊ เสียบ) ของเตารีด ตองไมแตกราว และสายทีข่ วั้ ปลัก๊ ไมหกั พับและเปอ ยชํารุด • ตรวจสอบสายไฟทีต่ อ ทีเ่ ตารีดตองใหแนน เนือ่ งจากสวนทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวอาจโยกคลอนในขณะใชงาน และใหตรวจสอบปลอกฉนวนยางทีห่ มุ สายเขาเตารีดอยาใหเปอ ยและชํารุด • ปลั๊กเสียบของเตารีดเมื่อเสียบกับเตารับตองใหแนน เนื่องจากเตารีดใชกระแสไฟฟาจํานวนมาก เพือ่ ปองกันไมใหเกิดความรอนทีป่ ลัก๊ เสียบสูง • เมือ่ เลิกใชงาน ตองถอดปลัก๊ เสียบออกทันที • การใชงานอยาวางเตารีดใกลสงิ่ ทีจ่ ะติดไฟไดงา ย เพราะอาจเกิดอุบตั เิ หตุเพลิงไหมขนึ้ ได • สายไฟฟาของเตารีดหามใชสายออนธรรมดา เนือ่ งจากตัวเตารีดอาจไปถูกสายไฟฟาทําใหฉนวนพีวซี ี ละลายเกิดกระแสไฟฟาลัดวงจรหรือผูใ ชอาจถูกกระแสไฟฟาดูดได ใหเลือกใชสายไฟเฉพาะของเตารีด ซึง่ เปนสายทีม่ ฉี นวน 2 ชัน้ และชัน้ นอกทนความรอนได • ขณะใชเตารีด ผูใ ชควรยืนอยูบ นฉนวน เชน แผนยาง หรือแผนไมตามความสะดวก ทัง้ นีเ้ พือ่ ปองกันไมให กระแสไฟฟาดูดผูใ ช เนือ่ งจากกระแสไฟฟารัว่ ทีต่ วั เตารีด เตาไฟฟา กระทะไฟฟา • ใหตรวจสอบสวนทีเ่ ปนโลหะของเตาไฟฟาและกระทะไฟฟา โดยใชไขควงเช็คไฟ หากพบวามีไฟฟารัว่ ก็ใหแกไข • สายไฟฟาของเตาไฟฟา กระทะไฟฟา ตองไมเสือ่ มสภาพ หรือฉีกขาด แตก • เตาเสียบ (ปลัก๊ เสียบ) ของเตาไฟฟา กระทะไฟฟา ตองไมแตกราว และไมมรี อยไหม • เตาไฟฟา กระทะไฟฟา ตองไมวางอยูบ นพืน้ ทีต่ ดิ ไฟ และอยูใ กลสารไวไฟ • เมือ่ เลิกใชงาน ตองถอดปลัก๊ เสียบออกทุกครัง้ • ผูใ ชเตาไฟฟา กระทะไฟฟา ควรยืนอยูบ นพืน้ ฉนวน เชน แผนไมแหง แผนยางแหง เพือ่ ปองกันกระแส ไฟฟาดูดเนือ่ งจากไฟฟารัว่ • ควรระวังอยาตัง้ สิง่ หุงตมบนเตาไฟฟา กระทะไฟฟา ทิง้ ไวนาน เพราะอาจทําใหเกิดเพลิงไหมขนึ้ ได โทรทัศน • ไมควรตรวจซอมโทรทัศนดว ยตนเอง หากทานไมมคี วามรูเ พียงพอ เนือ่ งจากมีสว นของไฟฟาแรงสูง อยูใ นโทรทัศนดว ย • เตาเสียบ (ปลัก๊ เสียบ) ของโทรทัศนตอ งไมแตกราว และสายทีข่ วั้ ปลัก๊ ไมหกั พับและเปอ ยชํารุด • หามเปดฝาครอบโทรทัศนในขณะทีเ่ ปดดูโทรทัศนอยู

แหลงขอมูลจาก : การไฟฟาสวนภูมภิ าค 41

Energy#65_p40-41_iMac5.indd 41

3/21/2557 BE 1:19 AM


How to Rainbow

ÅÔ鹪ѡäÁŒà¡‹Ò æ ·Õè äÁ‹ä´Œ 㪌§Ò¹áÅŒÇ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ÅÔ鹪ѡ¨Ò¡µÙŒàÊ×éͼŒÒ ËÃ×ÍⵠзÕèÁÕÊÀÒ¾¼Ø¾Ñ § ËÒ¡ÂѧÁÕÊÀÒ¾¤‹Í¹¢ŒÒ§´Õ ÍÂÙ‹ àÃÒÊÒÁÒö¹íÒ¡ÅѺ ÁÒ»ÃÐÂØ¡µ 㪌§Ò¹ä´Œ àËç¹áºº¹Õáé ŌǷҧ How to ¡çÍ´äÁ‹ä´Œ·Õè¨ÐËÒÇÔ ¸Õ¡ÒùíÒàÍÒÅÔ鹪ѡäÁŒàËÅ‹Ò¹Ñé¹¹íÒ¡ÅѺÁҤ׹ªÕ ¾ÍÕ¡¤ÃÑé§ ã¹ÃٻẺ¡Å‹Í§ µÔ´½Ò¼¹Ñ§à¾×èÍäÇŒ 㪌á¢Ç¹à¤Ã×èͧ»ÃдѺÊíÒËÃѺÊÒÇ æ ËÃ×Í ãªŒá¢Ç¹¾Ç§¡ØÞá¨Ã¶ÊíÒËÃѺ˹؋Á æ ¡ç 䴌ઋ¹¡Ñ¹

กอนอื่นมาเตรียมอุปกรณกันกอน

ÅÔé¹ªÑ¡à¡‹Ò ãËŒ¡ÅÒÂ໚¹ ¡Å‹Í§µÔ´½Ò¼¹Ñ§ ÍѹãËÁ‹

¤×¹ªÕ¾

1. ลิ้นชักไม 1 ลิ้นชัก 2. หลอดดายเปลา ๆ 7-8 อัน 3. ตะปูขนาด 1.5 นิ้ว 4. กลองกระดาษหรือกลองพลาสติกขนาดไมโตนัก 4 ใบ 5. ดินสอหรือปากกาสําหรับจุดตําแหนง 6. คอน

เมื่อพรอมแลวก็ลงมือกันไดเลยคะ - กอนอืน่ ใหนาํ เอาลิน้ ชักมาหงายขึน้ (สามารถ ทําสีตามใจชอบ) จากนั้นจึงนําเอาดินสอหรือปากกา มาทําการมารคจุดที่จะทําการตอกตะปูเพื่อใชแขวน เครื่องประดับ แลวทําการตอกตะปูลงไปตามตําแหนง ที่ตองการ - นําเอาหลอดดายมาทําการสวมแกนกลาง เขาไปในตะปู จากนั้นจึงตั้งลิ้นชักขึ้น แลวนําไปติดบน ฝาผนัง - นํ า กล อ งกระดาษหรื อ กล อ งพลาสติ ก มา ทําการวางลงบนบริเวณดานลางของลิ้นชัก เพียงเทานี้เราก็จะไดที่แขวนเครื่องประดับ หรือ ที่แขวนพวงกุญแจชิ้นใหมกันแลว และนอกจาก จะไดเกไกไมซํ้าใครแลวยังถือเปนการชวยลดขยะดวย การนําเอาของเหลือใชกลับมาประยุกตใชงานไดใหมอกี ดวย (ขอบคุณขอมูลจาก : http://ideadeedee. blogspot.com/)

42

Energy#65_p42-43_iMac5.indd 42

3/18/2557 BE 11:50 PM


Green 4U Rainbow

เมือ่ พูดถึง “ปีกไม้” ที่เรารูจ้ ักกันดีวา่ เป็นวัสดุจากธรรมชาติอกี หนึง่ วัสดุที่สามารถน�ามาประดิษฐ์ทา� ข้าวของเครื่องใช้ หรือเครื่องประดับ ตกแต่งบ้านได้หลากหลาย ทางเราจึงจะมาแนะน�าการเอาปีกไม้มา ท�าการดัดแปลงท�า นาฬิกาแขวนผนังเท่ ๆ กัน เราลองมาดูตวั อย่าง ภาพและวิธีท�ากันค่ะ

เปลีย่ น ปีกไม้ธรรมดา ๆ ให้เป็น นาฬิกาแขวนสุดเท่ห์ วัสดุอุปกรณ์ 1. ปีกไม้แผ่นบางทรงกลม เส้นผ่าศูนย์กลางไม่ควรต�่ากว่า 6 นิ้ว 2. เครื่องนาฬิกา 3. น�้ามันทาไม้, สว่าน, กาวร้อน, ปากกาเมจิกสีด�า

วิธีท�ำ - ก่อนอืน่ ให้นา� เอาปีกไม้ทเี่ ตรียมไว้มาท�าการขัดผิวหน้าให้เรียบสวย ก่อนทาด้วยน�้ามันเพื่อรักษาเนื้อไม้และทิ้งไว้ให้แห้ง - เจาะรูบริเวณกึ่งกลางปีกไม้ด้วยสว่าน - ใส่เครือ่ งนาฬิกาตรงกลางปีกไม้ แล้วยึดไว้ให้แน่นหนาด้วยกาวร้อน - เขียนเลข 12 ตรงต�าแหน่งบนของปีกไม้เพือ่ ใช้บอกเวลาด้วยปากกา เมจิกสีดา� (หากต้องการเขียนเลขบอกเวลาให้ละเอียดกว่านีก้ ส็ ามารถท�าได้คะ่ ) เมือ่ เสร็จแล้วเราก็นา� ไปติดผนังกันได้เลย เท่านีเ้ ราก็จะได้นาฬิกาเท่ ๆ ที่จะมาท�าให้ฝาผนังบ้านของเราดูดีมีสไตล์ไม่ซ�้าใคร ถ้าผู้อ่านว่าง ๆ ก็ลอง ท�ากันดูนะคะ (ขอบคุณข้อมูลจาก : http://ideadeedee.blogspot.com/)

43

Energy#65_p42-43_iMac5.indd 43

3/18/2557 BE 11:50 PM


Eco shop อภัสรา วัลลิภผล

¼ÅÔµÀѳ± ¨Ò¡ äÁŒÇÕà¹ÕÂà ´Õ䫹 ÊÇ ໚¹ ÁԵáѺÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ

คุณจุน หรือ วิลาสินี พานเจริญชัยโรจน มารเก็ตติ้งสาวสวยแหงบริษัท Worp ldea ซึ่งเปนบริษัท ออกแบบผลิตภัณฑที่ทําจากวัสดุธรรมชาติ จุดเริ่มตนที่สามารถทําใหผลิตภัณฑของบริษัทติดตลาด ไดอยางในปจจุบันนี้ คุณจุนเลาถึงที่มาวา แรกเริ่มเกิดจากการรวมตัวของกลุมเพื่อนที่เปนดีไซเนอรดวยกัน (คุณจุนอยูในสวนของมารเก็ตติ้ง) เดิมที่เราทําบริษัทเกี่ยวกับของเลนที่ผลิตจากไมยางพารา พอทํากันไดสักพัก เราไดแยกแยะกัน ออกมาทํางานของแตละคน และดวยความที่เปนคนที่รักในธรรมชาติ รักงานดีไซน บวกกับพวกเรา มีการพูดคุยกันตลอดเกี่ยวกับเรื่องของการทําผลิตภัณฑที่เกี่ยวกับธรรมชาติ ซึ่งเปนจังหวะเดียวกัน ที่มีนองในกลุมมีบานเปนสวนมะพราวอยูที่อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ตรงจุดนี้เองพวกเราเลย เริ่มที่จะหยิบเอาเศษวัสดุจากมะพราว มาทําเปนผลิตภัณฑตาง ๆ แตพอลงมือทํา เรากลับรูวา เศษจากมะพราวนั้นยากที่จะนํามาทําเปนผลิตภัณฑเนื่องจากเศษมะพราวมีความหยาบ ยากที่จะ นํามาเย็บเพื่อใหเปนรูปทรง เราใชเวลากับตัวเศษมะพราวอยูประมาณ 6 เดือน พอเริ่มรับรูถึง อุปสรรคตาง ๆ เราเลยพักตัวเศษมะพราวไปกอน สาเหตุที่พักไวเนื่องจากเรามองในมุมของธุรกิจ เพราะถายิ่งใชเวลามากอาจจะทําใหเราไดรับผลตอบรับที่ชา จากนั้นเราก็เริ่มมองหาวัสดุใหม แตยังอยูในคอนเซ็ปตในการใชวัสดุจากธรรมชาติ และเราไดพบกับ เศษไมวีเนียร ซึ่งเปนไมชนิดบางที่เกิดจากการฝานไมจากลําตนใหญใหเปนแผนบางคลายกระดาษ ทีส่ ว นใหญนาํ มาใชในวงการเฟอรนเิ จอรสาํ หรับปดผิว เฟอรนิเจอรดานนอก ซึ่งไมวีเนียรเหลานี้จะเหลือ เศษชิ้นเล็กชิ้นนอยจํานวนมาก พวกเราจึงคิดนํา มาตอยอดเปนผลิตภัณฑ เนนไมวีเนียรที่ไดมาจาก ไมวอลนัท ไมบีช และมะฮอกกานี ถ า ถามว า ทํ า ไมถึ ง เลื อ กเศษไม วี เ นี ย ร ม าทํ า เป น ผลิตภัณฑ เพราะจุดเริ่มของเรามาจากเศษมะพราว เราก็เลยมองวา แทบจะทุกบานใชเฟอรนิเจอรไม กันหมด นอกจากนีเ้ รายังหาตลาดทีข่ ายเศษไมวเี นียร

ดวยวามีขายหรือเปลา พอเราไปหาดูก็พบวา มีแหลงที่ขายเศษไมตามที่ตองการ จากนั้นจึง เริ่มทํามาเปนผลิตภัณฑของเราเอง และอีก เหตุผลคือ จากความบางของไมวีเนียรทําให หลายคนมองขาม คิดไมถงึ วาจะนํามาตอยอด เปนอะไรได แตหากหาวัสดุอื่นมาเสริมความ แข็งแรงจะสามารถสรางสรรคเปนผลิตภัณฑที่ ใชในชีวิตประจําวันได อยาง กระดาษจั่วปง (กระดาษแข็งสีเทาแข็งแรง) และผาไหม มาเพิม่ ความแข็งแรงและสวยงามไดเชนกัน นอกจากนี้ทีมงานกําลังจะเขาสูตลาดสงออก ตางประเทศในแถบยุโรป สวนลูกคากลุม เอเชีย จะเปนลูกคาในประเทศญี่ปุนที่ชื่นชอบงาน แฮนดเมด ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องเราจะเป น พวกสมุ ด โน ต กระเปาสตางค และกระเปาใสนามบัตร กลอง ใสของ และเคสมือถือ ภายใตแบรนด “Prow” มีวางจําหนายที่รานลอฟท (Loft), พาราไดซ พารค ศรีนครินทร และที่ตลาดอัมพวา จังหวัด สมุทรสงคราม หรือ ผูอานที่สนใจสามารถ ติดตอไดที่ คุณจุน โทร. 08-7927-04441, 0-2115-2611 หรือเขาไปที่ www.prowproduct.com

44

Energy#65_p44_iMac5.indd 44

3/21/2557 BE 1:22 AM


Energy#65_p45_iMac5.indd 31

3/21/2557 BE 1:54 AM


Exclusive Rainbow อภัสรา วัลลิภผล

ซึ่ ง เดิ ม ที แ ล ว บริ ษั ท ฯ เป น บริ ษั ท จากประเทศอั ง กฤษที่ มี สํ า นั ก งาน สาขาในประเทศไทย รั บ ผิ ด ชอบ ดู แ ลครอบคลุ ม ทั้ ง ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวันออกเฉียงใต มีเปาหมายที่จะ พัฒนาโครงการเปลี่ยนขยะของเสีย เป น พลั งงานสะอาดในหลายพื้ น ที่ ของประเทศไทย โดยใชเทคโนโลยี “พลาสมากาซซิฟเ คชัน่ ” ในการเปลีย่ น ขยะของเสียเปนพลังงานสะอาดที่ สามารถดําเนินกิจการเชิงพาณิชย ได เ ป น แห ง แรกของภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต บริ ษั ท สั ญ ชาติ อังกฤษมีแผนที่จะนําเขาเทคโนโลยี ที่มีความทันสมัยและประสิทธิภาพ สูงสุด ซึ่งจะมีการใชอยางแพรหลาย ในอนาคต (Viral-technology) โดย เทคโนโลยี พ ลาสมาก า ซซิ ฟ  เ คชั่ น นั้น คือ การหลอมขยะดวยพลาสมา ความร อ นสู ง เพื่ อ เปลี่ ย นเป น ก า ซ ผ า นกระบวนการทํ า ความสะอาด และผานกังหันกาซหรือเครื่องยนต สันดาปภายใน (internal combustion engine/ gas turbine) เพื่ อ ผลิ ต กระแสไฟฟาปอนสูระบบสายสงใน ประเทศไทยภายในป พ.ศ. 2559

บริษทั เวสตททู ริซติ ี้ อินเตอรเนชัน่ แนล ประเทศไทย เปน ผูใ หบ ริการในดานการเปลีย่ นขยะของเสยี เปน พลังงานสะอาด โดยพัฒนาและลงทุนโครงการจัดการขยะชุมชนอยางเปน มิตรตอสิง่ แวดลอม ตัง้ แตตน นํา้ จนถึงปลายนํา้ เรมิ่ จากการคัดแยก แปรรูปขยะชุมชน และนํามาเปน เชอื้ เพลิงพลังงานเพอื่ ผลิต กระแสไฟฟาดวยวิธกี าร “หลอมขยะเปน กาซผลิตกระแสไฟฟา” โดยเทคโนโลยีสะอาด “พลาสมากาซซิฟเ คชัน่ ” ซึง่ เปน วิธที สี่ ามารถแกปญ  หาขยะลนเมอื งอยางมีประสิทธิภาพ และเพมิ่ ความ มั่นคงดานพลังงานใหกับประเทศไทยควบคูกัน 46

Energy#65_p46-51_iMac5.indd 46

3/18/2557 BE 11:51 PM


Exclusive Rainbow

เวสต์ทูทริซิตี้ บุกตลาดพลังงานทางเลือก

พร้อมรุก ธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะชุมชนแปรรูป คุณเพียงขวัญ ธรรมัครกุล กรรมการ ผูอ้ า� นวยการ บริษทั เวสต์ททู ริซติ ี้ อินเตอร์ เนชันแนล (ประเทศไทย) จ�ากัด เผยว่า ลักษณะการท�างานของเราเป็นการท�างาน ร่วมกับลูกค้า หุน้ ส่วนธุรกิจ และผูล้ งทุนใน ประเทศไทย ในการระดมทุน พัฒนา และ บริหารจัดการโครงการแบบครบวงจร เป็นธุรกิจทีม่ คี วามคุม้ ค่าลงทุนควบคูไ่ ป กับการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ปลดปล่อย คาร์ บ อนต�่ า เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม และเป็นธุรกิจสีเขียวเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืนอย่างแท้จริง ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ มี ส ่ ว นร่ ว มในโครงการ “ที ส ์ วั ล เล่ ย ์ (Tees Valley) ที่ประเทศอังกฤษอีกด้วย ตั้งแต่เริ่มต้นในการเปลี่ยนขยะชุมชน จ�านวน 350,000 ตันต่อปี เป็นกระแส ไฟฟ้าจ�านวนกว่า 50 เมกะวัตต์ชั่วโมง (MWh) ต่อปี โดยใช้ระบบพลาสมาก๊าซซิฟิเคชั่น ซึ่งสามารถรองรับความ ต้องการใช้ไฟฟ้าได้ถงึ 50,000 ครัวเรือน อย่างไรก็ตาม ในอนาคตอันใกล้นี้ บริษทั ฯ คาดว่าจะน�าเซลล์เชือ้ เพลิงอัลคาไลน์ของ เอฟซี เอเนอจี มาใช้แทนกังหันก๊าซ หรื อ เครื่ อ งยนต์ สั น ดาปภายในเพื่ อ การผลิตไฟฟ้า เซลล์เชือ้ เพลิงนีจ้ ะเพิม่ ประสิ ท ธิ ภ าพในการผลิ ต สู ง กว่ า ถึ ง ร้อยละ 40 จากวัตถุดบิ ในจ�านวนเท่ากัน ซึ่ ง โรงงานในประเทศไทยจะมี ข นาด เท่ากับโครงการทีส์ วัลเล่ย์

ส่วนแผนการลงทุน เราค่อนข้างจะมีความยืดหยุ่นในด้านอัตราส่วนระหว่างเงินลงทุน จากผูถ้ อื หุน้ และการจัดหาเงินทุนผ่านสถาบันการเงิน แต่ละโครงการใช้งบประมาณก่อสร้าง ระหว่าง 150 - 350 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (5 พันล้านบาท - 11,400 ล้านบาท) ขึ้นอยู่กับ ปริมาณเชือ้ เพลิงขยะทีม่ แี ละก�าลังผลิตไฟฟ้าทีต่ อ้ งการ ประเทศไทยเป็นประเทศทีน่ า่ ลงทุน ในธุรกิจพลังงานทางเลือก ทั้งจากการผลักดันแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงาน ทางเลือกของรัฐบาล มาตรการสนับสนุนส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (adder) และมาตรการ สนับสนุนด้านภาษีจากบีโอไอ รวมไปถึงการรับซื้อไฟฟ้าที่แน่นอนจาก กฟผ. ในขณะที่ ความต้องการใช้พลังงานของประเทศทีม่ เี พิม่ ขึน้ ในอัตราเฉลีย่ ร้อยละ 4.4 ต่อปีในอีก 15 ปี ข้างหน้า ดังนั้น เราจึงมั่นใจว่าโครงการนี้จะเป็นธุรกิจที่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตที่ สร้างความคุม้ ค่าการลงทุนให้กบั คูค่ า้ และผูล้ งทุนของเรา ควบคูไ่ ปกับการสร้างความยัง่ ยืน ด้านพลังงาน ด้าน มร. จอห์น ฮอลล์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เวสต์ทรูทริซิตี้ จ�ากัด กล่าวทิ้งท้ายว่า ตามที่รัฐบาลไทยมีนโยบายสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทน รวมทั้งปัญหาการขาดแคลน พลังงานในประเทศและปัญหาขยะล้นเมืองในปัจจุบนั ท�าให้ไทยมีปริมาณขยะเพียงพอใน การใช้เป็นแหล่งพลังงานเพื่อผลิตไฟฟ้าและมีตลาดรองรับที่แน่นอน โดยประเทศไทยถือ เป็นประเทศแรกในตลาดต่างประเทศที่เราจะน�าเทคโนโลยี ซึ่งได้รับการยืนยันแล้วว่ามี ศักยภาพในการผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ดว้ ยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม อย่างแท้จริง โดยเป็นระบบที่ปลดปล่อยคาร์บอนต�่าและที่ส�าคัญมีส่วนช่วยในการจัดการ ปัญหาขยะแบบยัง่ ยืน นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังมองเห็นโอกาส และเชือ่ มัน่ ในการขยายธุรกิจ สู่ตลาดพลังงานของประเทศไทย โดยล่าสุดบริษัทได้บรรลุข้อตกลงการด�าเนินการเชิง พาณิชย์ทไี่ ด้รบั ลิขสิทธิเ์ พียงรายเดียวเท่านัน้ ในการน�าเทคโนโลยี “พลาสมาก๊าซซิฟเิ คชัน่ ” จากเวสติ้งเฮ้าส์พลาสมาก๊าซซิฟิเคชั่น ของ บริษัท อัลเตอร์ เอ็นอาร์จี คอร์เปอเรชัน ซึ่งมี มูลค่ากว่า 1 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ (32.57 ล้านบาท) และเทคโนโลยีเซลล์เชือ้ เพลิงของบริษทั เอเอฟซี เอเนอจี จ�ากัด (มหาชน) มูลค่า 1.2 ล้านปอนด์ (64.96 ล้านบาท) ในการพัฒนา โครงการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงขยะในประเทศไทยต่อไป 47

Energy#65_p46-51_iMac5.indd 47

3/18/2557 BE 11:51 PM


Exclusive Rainbow นัษรุต เถื่อนทองคำ�

48

Energy#65_p46-51_iMac5.indd 48

3/18/2557 BE 11:51 PM


Exclusive Rainbow

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา เราจะเห็นผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ทางตลาดมีการพูดถึงและ ส่งผ่านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น เป็นเพราะความตื่นตัวและตระหนัก มากยิ่งขึ้นว่า มนุษย์เราใช้งานโลกใบนี้หนักเกินไปหรือไม่ในช่วงรอยต่อของการพัฒนา สิ่งอ�านวยความสะดวกแตะระดับสูงสุดจนลืมที่จะใส่ใจเรื่องดังกล่าว

พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ รั ก ษ์ โ ลกควบคู ่ ค วามปลอดภั ย ตลาดใหญ่ที่ถือว่ามีการแข่งขันที่รุนแรงอีกหนึ่งตลาด โดยเฉพาะด้าน สิง่ แวดล้อม คือ ตลาดยางรถยนต์ เพราะเป็นอุปกรณ์ทมี่ คี วามจ�าเป็น ในการเปลี่ยนแปลงบ่อย ก่อให้เกิดมลภาวะทางขยะเป็นจ�านวนมาก ฉะนั้นเมื่อยางยังถูกใช้งานอยู่ ท�าอย่างไรที่ตลอดอายุของยางจะ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสิ่งแวดล้อม ล่าสุดค่ายยางรถยนต์จากญี่ปุ่น YOKOHAMA รุ ก ตลาดยางรถยนต์ เ มื อ งไทยด้ ว ยตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ์ BluEarth-A (บลูเอิรธ์ เอส) น�าเข้าจากญีป่ นุ่ ชูจดุ เด่นรักษ์สงิ่ แวดล้อม มร.ซาโตชิ ฟูจิตสึ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โยโกฮามา ไทร์ เซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด เปิดเผยถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภายใต้ชื่อ “BluEarth-A” ว่าเป็นยางรถยนต์ที่ถูกคิดค้นและพัฒนาขึ้นภายใต้ เทคโนโลยี BluEarth อันเป็นแนวคิดเพื่อสิ่งแวดล้อมของโลก ด้วย เทคโนโลยีที่ช่วยในการประหยัดเชื้อเพลิง พร้อมกับถูกพัฒนาเพื่อให้ การขับขี่ที่นิ่มนวล ช่วยลดเสียงและป้องกันการสึกหรอ ช่วยให้ผู้ขับขี่ บังคับควบคุมรถได้อย่างแม่นย�า ถึงแม้ว่าสถานการณ์ปัจจุบัน อาจท�าให้สินค้าในกลุ่มเพื่อสิ่งแวดล้อม และกลุ่มอื่น ๆ ซบเซาลงไปบ้าง แต่เชื่อว่าผลกระทบจากปัญหา ทางการเมือง จะส่งผลกระทบต่อตลาดยางรถยนต์เมืองไทยปีนเี้ พียง ไตรมาสแรกและไตรมาสสองเท่านัน้ แต่กน็ า่ เป็นห่วงตรงทีค่ า่ เงินบาท และภาวะเศรษฐกิจที่ยังตกต�่า จะส่งผลโดยรวมถึงต่อราคาพืชผล ทางการเกษตรกรรม ไม่วา่ จะเป็นราคาข้าว และราคายางพารา ท�าให้ ก�าลังซื้อของผู้บริโภคลดลง จากภาวะดังกล่าวนี้ส่งผลให้ภาคธุรกิจ ต่างได้รับผลกระทบด้วยกันทั้งสิ้น

นอกจากนี้ ยังจะเพิ่มความการแข่งขันไปยังตลาด OEM ร่วมกับค่าย ผูผ้ ลิตรถยนต์ ซึง่ เป็นตามแผนธุรกิจของบริษทั แม่ประเทศญีป่ นุ่ ทีเ่ ล็งเห็น ความความส�าคัญของภูมิภาคเอเชีย โดยเฉพาะประเทศไทยเป็นตลาด ที่มีศักยภาพสูง โดยเฉพาะกลุ่มรถยนต์ประหยัดพลังงานจึงตั้งเป้า การรุกขยายตลาดนีก้ บั ค่ายผูผ้ ลิตรถยนต์สญ ั ชาติญปี่ นุ่ ทีม่ ฐี านการผลิต รถยนต์ในประเทศไทย ให้ครอบคลุมทุกแบรนด์ ขณะนีเ้ ริม่ ท�าตลาด OEM กับค่ายรถยนต์ญี่ปุ่นในประเทศไทยมากขึ้น ส่วนค่ายรถยนต์อื่นๆ ก�าลัง อยูใ่ นขัน้ ตอนการพิจารณา และหลายค่ายรถยนต์ได้มกี ารติดตัง้ ยางเพือ่ สิ่งแวดล้อมมาให้ตั้งแต่โรงงาน จึงถือเป็นตลาดที่น่าสนใจไม่น้อยทีเดียว

ปัญหาของประเทศช่วงที่ผ่านมาผู้บริโภคจะยืดระยะเวลาในการ เปลีย่ นยาง แต่ความต้องการของตลาดด้านสิง่ แวดล้อมจะกลับคืนมา ที่น่าสนใจคือ กลุ่มรถอีโคคาร์ที่วางตลาดช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และมี ปริมาณการจ�าหน่ายในประเทศค่อนข้างสูงมาก กลุม่ นีถ้ งึ จะเวลาทีต่ อ้ ง เปลี่ยนยาง จะมีส่วนท�าให้ตลาดยางทดแทนมีโอกาสทางการขายสูง ในปีนี้ คาดว่าตลาดยางรถยนต์เมืองไทยจะมีปริมาณจ�าหน่ายรวมกัน ที่ 10 ล้านเส้น 49

Energy#65_p46-51_iMac5.indd 49

3/18/2557 BE 11:52 PM


Exclusive Rainbow ณ อรัญ

จากความต้องการใชไ้ ฟฟ้าของประเทศ ทีเ่ พมิ่ ขึน้ ตามความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม และ ประชากรทีเ่ พมิ่ ขึน้ กระทรวงพลังงานในฐานะ ก�ากับดูแลด้านพลังงานได้มแี ผนเพมิ่ ก�าลังการ ผลิตไฟฟ้าเพื่อให้สอดคล้องกับการเติบโต ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมการผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน การสร้างโรงไฟฟ้า ถ่านหิน หรือขยายก�าลังการผลิตจากโรง ไฟฟ้าเดิมรวมถึงการลงทุนสร้างโรงไฟฟ้า ในต่างประเทศ ปัจจัยดังกล่าวจึงเปน็ อานิสงส์ ต่อการเติบโตของบริษัทผลิตไฟฟ้าเอกชน หลายบริษทั

คุณสหัส ประทักษ์นกุ ลู กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอก็ โก กรุป๊ เปดิ เผยว่า ผลการด�าเนนิ งานประจ�าปี 2556 สิน้ สุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 ดีกว่าเปา้ หมายทีก่ า� หนดไว้ โดยบริษทั ฯ มีกา� ไรก่อนผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ น (FX) ภาษีเงนิ ได้รอบการ ตัดบัญชี (Deferred Tax) และค่าตัดจ�าหน่ายส่วนที่ตีราคาสินทรัพย์เพิ่มของเคซอน (Amortisation of fair value uplift of Quezon) จ�านวน 7,605 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2555 จ�านวน 1,545 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 25.50 และมี สินทรัพย์รวมจ�านวน 130,937 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 20,548 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 18.61 50

Energy#65_p46-51_iMac5.indd 50

3/18/2557 BE 11:52 PM


Exclusive Rainbow

โชว์ก�ำไรปี 56 กว่ำ

7 พันล้ำนบำท

พร้อมเดินหน้ำขยำยกำรลงทุนทั้งไทยและต่ำงประเทศ ส่วนการด�าเนินงานในปี 2556 เอ็กโก กรุ๊ป ประสบความส� า เร็ จ ในการก่ อ สร้ า งและ พัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศหลายแห่ง ไม่ว่าจะเป็น โครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน หมุ น เวี ย นที่ ก ่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ และจ่ า ย ไฟฟ้าเข้าระบบแล้ว จ�านวน 9 แห่ง ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บึงสามพัน จั ง หวั ด เพชรบู ร ณ์ โรงไฟฟ้ า พลั ง งาน แสงอาทิตย์ ลพบุรี โซลาร์ จังหวัดลพบุรี โรงไฟฟ้าพลังงานลม เทพพนา จังหวัด ชัยภูมิ

930 เมกะวัตต์ เพือ่ สร้างขึน้ ทดแทนหน่วยที่ 1 ที่ เ ป็ น โรงไฟฟ้ า เชื้ อ เพลิ ง ก๊ า ซธรรมชาติ ตั้งอยู่บนเรือขนาด 75 เมกะวัตต์ และ หน่วยที่ 2 – 3 เป็นพลังงานความร้อนร่วม ก�าลังการผลิตขนาด 674 เมกะวัตต์ ที่จะ หมดอายุสัญญาช่วงเดือน มิถุนายน 2559 ปั จ จุ บั น ได้ เริ่ ม ด� า เนิ น การก่ อ สร้ า งแล้ ว และโครงการโรงไฟฟ้ า พลั ง งานลม “ชัยภูมิ วินด์ฟาร์ม” จังหวัดชัยภูมิ ปริมาณ พลังไฟฟ้าตามสัญญาซื้อขายตามสัดส่วน การถือหุ้น 81 เมกะวัตต์ ซึ่งอยู่ระหว่าง เตรียมการก่อสร้าง ชัยภูมิ วินด์ฟาร์ม

โรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ภ ายใต้ โครงการ “โซลาร์โก” ประกอบด้วยโรงไฟฟ้า จ�านวน 6 แห่ง ได้แก่ โรงไฟฟ้า ไทรใหญ่1 ไทรใหญ่ 2 ไทรเพชร1 ไทรเพชร2 ไทรเพชร3 ทีจ่ งั หวัดนครปฐม และ ไทรเขียว ทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุรี รวมปริมาณพลังไฟฟ้า ตามสัญญาซื้อขายตามสัดส่วนการถือหุ้น ของทุกโครงการประมาณ 41 เมกะวัตต์ และยั ง ขยายการลงทุ น สู ่ ภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิฟิก ด้วยการรุกเข้าลงทุนในประเทศ ออสเตรเลียในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม “โบโค ร็ อ ค วิ น ด์ ฟ าร์ ม ” มี ป ริ ม าณ พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ ้ า ต า ม สั ญ ญ า ซื้ อ ข า ย 113 เมกะวัตต์ ซึง่ ได้เริม่ ด�าเนินการก่อสร้าง แล้วคาดว่าจะสามารถเดินเครือ่ งผลิตไฟฟ้า ได้ในปี 2558

ส�าหรับโรงไฟฟ้าระยองระบบพลังงานความ ร้อนร่วม IPP ขนาด 1,232 เมกะวัตต์ จะ หมดอายุสัญญาซื้อขายไฟ 20 ปีในเดือน ธันวาคม 2557 นี้ ปัจจุบนั อยูร่ ะหว่างรอเสนอ ต่ออายุสัญญากับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) เพือ่ ต่ออายุสญ ั ญาออก ไปอีก 5 ปี ซึง่ ต้องเร่งให้มกี ารต่ออายุสญ ั ญา ให้ได้ภายในครึ่งปีนี้เพื่อให้มีความพร้อม ในการเดินเครือ่ งต่อในเดือนธันวาคม 2557 ได้ทนั โดยการต่ออายุสญ ั ญานัน้ ไม่ตอ้ งเสนอ ให้คณะรัฐมนตรี (ครม.) อนุมตั แิ ต่ให้คณะ กรรมการก�ากับกิจการพลังงาน (กกพ.) อนุมตั ิ

นอกจากนั้ น ยั ง มี ก ารลงนามในสั ญ ญา ซื้ อ ขายไฟฟ้ า ภายในประเทศ จ� า นวน 2 โครงการ ประกอบด้วย โครงการโรงไฟฟ้า ขนอมหน่วยที่ 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช ปริ ม าณพลั ง ไฟฟ้ า ตามสั ญ ญาซื้ อ ขาย

ส่วนภาพรวมในธุรกิจผลิตไฟฟ้าของเอ็กโก กรุ๊ป ในปัจจุบันนั้นมีโรงไฟฟ้าทั้งในและ ต่างประเทศที่เดินเครื่องเชิงพาณิชย์แล้ว จ�านวน 20 แห่ง คิดเป็นปริมาณพลังไฟฟ้า ตามสัญญาซื้อขายตามสัดส่วนการถือหุ้น ประมาณ 4,518 เมกะวัตต์ และมีโครงการ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้างและโครงการทีอ่ ยู่ ระหว่างการพัฒนา จ�านวน 8 โครงการ คิ ด เป็ น ปริ ม าณพลั ง ไฟฟ้ า ตามสั ญ ญา

ซื้อขายตามสัดส่ว นการถื อหุ ้ น ประมาณ 1,613 เมกะวัตต์ ด้านแผนธุรกิจในปี 2557 นั้น เอ็กโก กรุ๊ป ได้วางแผนการด�าเนินธุรกิจไว้ 2 ระยะ คือ แผนการลงทุนระยะสั้น มุ่งแสวงหาโอกาส ในการซื้ อ สิ น ทรั พ ย์ ที่ เ ดิ น เครื่ อ งแล้ ว เพื่ อ ช่ ว ยให้ บ ริ ษั ท รั บ รู ้ ร ายได้ ทั น ที ห รื อ ในระยะเวลาอั น สั้ น และแผนการลงทุ น ระยะยาว มุ่งแสวงหาโอกาสการลงทุ น ในโครงการ Greenfield เพื่อสร้างรายได้ ในระยะยาว หากเป็ น การลงทุ น ในต่ าง ประเทศ บริษทั จะใช้ประโยชน์จากโครงการ ที่ มี อ ยู ่ แ ล้ ว เป็ น ฐานเพื่ อ ขยายโอกาส การลงทุ น ในอนาคต โดยเน้ น ขยาย ก า ร ล ง ทุ น ใ น ธุ ร กิ จ ไ ฟ ฟ ้ า เ ป ็ น ห ลั ก ทั้ ง ในประเทศไทยและภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิฟิก เพราะเป็นธุรกิจที่เชี่ยวชาญและ มีประสบการณ์มายาวนาน นอกจากการสร้างความเติบโตทางธุรกิจ แล้ว เอ็กโก กรุ๊ป ยังให้ความส�าคัญในการ พัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืน โดย บ� า รุ ง รั ก ษาโรงไฟฟ้ า ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ น ้ อ ยที่ สุ ด ใน การผลิตไฟฟ้า ตลอดจนลงทุนในพลังงาน หมุ น เวี ย น เพื่ อ สนั บ สนุ น นโยบายของ ภาครัฐ ในการลดการพึ่งพาการผลิตไฟฟ้า จากเชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิ ล ควบคู ่ ไ ปกั บ การ ด�าเนินธุรกิจอย่างมีธรรมาภิบาล รวมทั้ง ใส่ใจต่อชุมชน สังคม และสิง่ แวดล้อม ทัง้ นี้ ในปี 2556 ได้กา� หนดวิสยั ทัศน์ใหม่ มุง่ เป็น บริษทั ไทยชัน้ น�า ทีด่ า� เนินธุรกิจไฟฟ้าอย่าง ยัง่ ยืน ทัง้ ในประเทศไทยและภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟิก 51

Energy#65_p46-51_iMac5.indd 51

3/18/2557 BE 11:52 PM


ทุกเรื่อง "สถาปตยกรรม" เพื่อโลกสีเขียว ครั้งแรกในงาน 2557 29 เมษา - 4 พฤงษทภอา ง ธ า นี

อิ ม แ พ็ ค เมื อ

พบกับนวัตกรรมเพื่อการประหยัดพลังงาน และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สำหรับงานสถาปตยกรรม และการอยูอาศัย

พลาดไมไดกับ ั ฑ นวตักรรมในการประหยดัพลงังานและเปนมติร การสมัผสัผลติภณ

 ่งแวดลอม ตอสิ เสรมิสรางความรผูาน นิทรรศการเพื่อโลกสีเขียว พรอมรบั คาํแนะนาํ ดานการบรหิารจัดการพลงังานจากผูเชี่ยวชาญ รวมกนัรกัษโลก รบั กลาไม จากกรมปาไม ไปปลกูฟรี !!

Energy#65_p52_iMac5.indd 31

3/21/2557 BE 1:41 AM


Special Report ณ อรัญ

พลังงานทดแทน พลังงานทางเลือก เพือ่ สุขภาพสําหรับชุมชน ¡ÒþѲ¹Ò¾Åѧ§Ò¹·´á·¹áÅСÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹¹Ñ้¹à»š¹»˜¨¨ÑÂ˹Ö่§·Õ่ÊํÒ¤ÑÞµ‹Í¡ÒÃàÊÃÔÁ¤ÇÒÁÁÑ่¹¤§´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ÁÇÅÃÇÁ¢Í§ »ÃÐà·Èä·Â â´Â»˜¨¨ØºÑ¹¹Ñ้¹ÁÕËÅÒÂ˹‹Ç§ҹ·Ñ้§ÀÒ¤ÃÑ°áÅÐàÍ¡ª¹ä´ŒÁÕ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁãËŒà¡Ô´¡ÒþѲ¹Ò´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹áÅÐ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ µÑ้§áµ‹ÃдѺªØÁª¹ä»¨¹¶Ö§ÃдѺ»ÃÐà·È·Õ่ãËŒÊÒÁÒöᢋ§¢Ñ¹ä´Œã¹àªÔ§¾Ò³ÔªÂ

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) เปนหนวยงานหนึง่ ที่ ไ ด ต ระหนั ก ถึ ง ป ญ หาภาวะโลกร อ นที่ จ ะส ง ผลกระทบทั้ ง ทางด า น สิ่งแวดลอม สังคม สุขภาวะ และพลังงานที่ใชอยูในปจจุบันมีมูลคาสูงขึ้น จึงไดสนับสนุนชุมชนตาง ๆ ในการพัฒนานวัตกรรมพลังงานทดแทนเพื่อ เปนแนวทางในการปรับเปลี่ยนวิธีการดํารงชีวิตหันมาใชพลังงานทางเลือก ทั้งที่เปนพลังงานสําหรับใชในครัวเรือน และพลังงานสําหรับการเกษตร และอุ ต สาหกรรม จึ ง ได ส นั บ สนุ น ทุ น โครงการ วิ จั ย และพั ฒ นาด า น “พลั ง งานทดแทน พลั ง งานทางเลื อ กเพื่ อ สุ ข ภาพในชุ ม ชน” เพือ่ คนควาทดสอบ พัฒนาสาธิต ตลอดจนสงเสริม เผยแพรและใชประโยชน พลังงานทดแทน พลังงานทางเลือกในชุมชนซึ่งเปนพลังงานที่สะอาด ไม มี ผ ลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ ม โดยเน น ให เ กิ ด ความร ว มมื อ ระหว า ง ชุ ม ชน องค ก รท อ งถิ่ น และสถาบั น การศึ ก ษาในพื้ น ที่ เพื่ อ ให ชุ ม ชน เกิดความตระหนักในปญหา รวมคนควา และสามารถนําไปใชในชุมชน ตาง ๆ ตอไป อาจารยเดชรัตน สุขกําเนิด ผูอํานวยการศูนยประสานการพัฒนาระบบ และกลไกการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ สํานักงานคณะกรรมการ สุขภาพแหงชาติ กลาววา “สําหรับงานมหกรรมพลังงานนั้นเปนสวนหนึ่ง ของโครงการพลังงานทดแทน พลังงานทางเลือกเพื่อสุขภาพในชุมชนที่ สสส.ไดใหงบสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมพลังงานทดแทน และจัดกิจกรรมโชวนวัตกรรมดานพลังงานทดแทนของชุมชนตางๆ ภายใต เครือขาย มานะ มานี Energy Power เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ แลก เปลี่ยนความรูซึ่งกัน พรอมดวยนักวิชาการจาก สสส. มูลนิธนิ โยบายสุขภาวะ กระทรวงพลังงาน เปนผูใ หคาํ ปรึกษากับ กลุม เครือขายมานะ มานี เพือ่ นําไปพัฒนาตอยอด พัฒนานวัตกรรมของตนเองใหสามารถทําออกมาจําหนายไดในเชิงพาณิชย

หรือเปนการนํานวัตกรรมดานพลังงานทดแทนของชุมชนอืน่ ไปพัฒนาตอยอด ใชในชุมชนของตนเอง ตลอดจนเปนการขยายผลสูชุมชนใกลเคียง อยางไรก็ตามการดําเนินกิจกรรมมหกรรมพลังงานนั้นแบงเปน 3 ชวง เริ่มจัดขึ้นเปนครั้งแรกของงบประมาณป 2551 และงบประมาณป 2553 สวนในงบประมาณป 2556 จัดขึ้น 2 ครั้งที่จังหวัดสุรินทร และลาสุดจัดขึ้น ที่จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งการจัดกิจกรรมในครั้งนี้เปนการสิ้นสุดงบประมาณ โครงการมหกรรมพลังงาน และตลอดระยะเวลาของโครงการมหกรรม พลังงานทั้ง 3 ชวง นั้นไดรับความสนใจจากชุมชนตาง ๆ เขารวมโครงการ เปนอยางดี ปจจุบันมีเครือขายพลังงานชุมชนกวา 116 ชุมชนที่อยูภายใต เครือขาย มานะ มานี นอกจากนี้ยังไดรับความสนใจจากสํานักงานกิจการ เพื่อสังคมแหงชาติ ใหงบประมาณเพื่อสนับสนุนพัฒนาใหเปนวิสาหกิจ ชุมชนดานพลังงานทดแทน และการจัดหาตลาด ชองทางการจําหนายสินคา ของแตละชุมชนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และชวยใหเกิด การขยายออกไปในวงกวางมากขึ้น ซึ่งก็เปนประโยชนตอชุมชนเอง ส ว นการต อ ยอดโครงการนั้ น ทาง สสส. และกลุ  ม เครื อ ข า ยจะพั ฒ นา เทคโนโลยีพลังงานทดแทนของแตละชุมชนใหสามารถเปนเทคโนโลยี ผลิตไฟฟาตนทุนตํา่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ การพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทน ใหสามารถตอบโจทยกลุม ผูป ระกอบการเอสเอ็มอี พรอมกับการพัฒนาเปน ชุดเครือ่ งมือสําหรับใชในการเรียนการสอนแก โรงเรียน มหาวิทยาลัยทีส่ นใจ และการพัฒนาใหรานคา หรือสถานที่สํานักงานตาง ๆ นําไปตอยอดเปน ตนแบบการใชพลังงานหมุนเวียน 100% ตลอดจนการสงเสริมใหเครือขาย สามารถ ตอยอดมาเปนผูประกอบการและสามารถที่จะขยายกิจการของ ตัวเองและสามารถแขงขันได 53

R1_Energy#65_p53-55_iMac5.indd 53

3/22/2557 BE 8:17 PM


Special Report ณ อรัญ

โครงการส่งเสริมและพัฒนา การบริหารจัดการนํ้าในโรงงานอุตสาหกรรม สืบเนือ่ งจากสมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ติ พิ์ ระบรมราชินนี าถ ทรงมีพระราชเสาวนีย์ ทรงห่วงใย ในการดูแลรักษาป่า ทรัพยากรน�้าและสิ่งแวดล้อม กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ประกอบด้วยจังหวัด พระนครศรีอยุธยา จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี และจังหวัด สระบุรี โดยทางอุตสาหกรรมจังหวัดได้น้อมน�ามาปฏิบัติ โดยมีนโยบายในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยหลักการบริหารจัดการน�้า แบบผสมผสาน เพื่ อ ให้ ท รั พ ยากร ธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มในพื้ น ที่ ลุม่ น�า้ ในกลุม่ จังหวัดภาคกลางตอนบน ได้รับการดูแลและใช้ประโยชน์อย่าง ยั่งยืนต่อไป ซึ่งจากสภาพภูมิศาสตร์ ทางกลุม่ ยุทธศาสตร์จงั หวัดภาคกลาง ตอนบน 1 เป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแม่น�้า ส�าคัญหลายสายไหลผ่าน มีโรงงาน ประกอบกิจการอยูเ่ ป็นจ�านวนมาก รวม ทัง้ มีประชาชนอยูอ่ าศัยอย่างหนาแน่น ส่งผลให้เกิดการใช้ทรัพยากรน�้าจาก แหล่งน�า้ สาธารณะ โดยขาดการบริหาร จัดการทีด่ ี อันส่งปัญหาให้คณ ุ ภาพน�า้ เกิดการเน่าเสีย อันส่งผลกระทบต่อ สิ่ งแวดล้ อมตามธรรมชาติ รวมทั้ ง ประชาชนทีอ่ าศัยน�า้ ในการด�ารงชีวติ ประจ�าวัน

ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจึงเป็นหน่วยงานของรัฐ ในการควบคุ ม ก� า กั บ ดู แ ลโรงงานอุ ต สาหกรรม ได้เห็นถึงความส�าคัญในการจัดการน�า้ จึงได้จดั ท�า โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการน�้า ในโรงงานอุตสาหกรรม ในบางส่วนจังหวัดภาคกลาง ตอนบน 1 ซึ่งได้ด�าเนินการแล้วในปีงบประมาณ 2554 แต่ ยั ง ไม่ ค รอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ จึ ง ได้ จั ด ท� า โครงการเพิ่มขยายในระยะที่ 2 ปี 2555 – 2556 และประสบความส�าเร็จทีเ่ ห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม โดย นายวิ ท ยา ผิ ว ผ่ อ ง ผู ้ ว ่ า ราชการจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เล่าว่า กลุ่มจังหวัดภาคกลาง ตอนบน 1 ได้น�าประเด็นปัญหาด้านทรัพยากรน�้า มาเป็นยุทธศาสตร์ของกลุ่มจังหวัดฯ และได้มีการ บูรณาการ การท�างานอย่างเป็นระบบ ซึ่งด�าเนิน การต่อเนื่องมาเป็นระยะที่ 2 แล้ว แสดงว่ากลุ่ม จังหวัดฯ มีวสิ ยั ทัศน์ทกี่ ว้างไกลในการปฏิบตั งิ านที่ เป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยส่วนรวม เป็นการ แก้ปัญหาที่ต้นเหตุไม่ใช่การแก้ที่ปลายเหตุ ซึ่งจะ ต้องใช้จ่ายเงินงบประมาณสูง และปัญหาก็จะ ซับซ้อนมากขึ้น

54

Energy#65_p53-55_iMac5.indd 54

3/18/2557 BE 11:53 PM


Special Report ณ อรัญ

โครงการส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการน�า้ ในโรงงาอุตสาหกรรม ระยะที่ 2 นับเป็นโครงการส�าคัญ ซึ่งสอดคล้องกับสภาพปัญหาใน ปัจจุบนั และนโยบายของรัฐบาลในการรักษาสิง่ แวดล้อมให้คงอยู่อย่าง ยั่งยืน และไม่ก่อให้เกิดปัญหาในอนาคต โรงงานอุตสาหกรรมใน ประเทศทีก่ อ่ ให้เกิดน�า้ เสียมีประมาณ 120,000 โรง คิดเป็นปริมาณน�า้ เสีย 6.8 ล้านลูกบาศก์เมตร/วัน ท�าให้เกิดปริมาณความสกปรก 2,700 ตัน BOD/วัน การควบคุมก�ากับ ดูแลโรงงานอุตสาหกรรมเป็นอ�านาจหน้าที่ ของกรมโรงงานทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมให้ความส�าคัญโดยส่งเสริมและ สนับสนุนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการผลิตทีส่ ะอาด (Cleaner Technology) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพกระบวนการผลิตทีล่ ดการใช้วตั ถุดบิ และพลังงาน ลดการเกิดของเสียและมลพิษ มีการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน และการน�า ของเสียไปใช้ ใ หม่ หรือใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลังงาน ท�าให้ ผู้ประกอบการลดต้นทุนการผลิตและจัดการของเสีย ซึ่งตรงกับแนว ความคิดและยุทธศาสตร์ของกลุ่มฯ ถ้าได้มีการประสานความร่วมมือ กับทุกฝ่ายก็จะเกิดประโยชน์ต่อประเทศต่อไป นั บ ได้ ว ่ า ตลอดระยะเวลาที่ ผ ่ า นมา ในการด� า เนิ น โครงการฯ ซึง่ ด�าเนินการต่อเนือ่ งมาเป็นระยะที่ 2 นี้ได้รบั การตอบรับและ สัมฤทธิ์ผลเป็นอย่างดี จากผู้ประกอบการทุก ๆ ท่าน จากทัง้ 4 จั ง หวั ด ในการร่ ว มเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ จ ะรั ก ษาทรั พ ยากร และสิง่ แวดล้อมโดยเฉพาะแม่นา�้ โครงการนีน้ บั เป็นจุดเริม่ ต้น ในการร่วมมือร่วมใจของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 สามารถส่งเสริม และพัฒนาให้ผู้ประกอบการและโรงงาน อุตสาหกรรม ได้รจู้ กั วิธกี ารด�าเนินงานในการบริหารจัดการน�า้ ได้อย่างถูกต้องถูกวิธีและได้รับประโยชน์จากการด�าเนินงาน อย่างสูงสุดทั้งกับสถานประกอบการเอง รวมถึงสิ่งแวดล้อม และประชาชนในท้องถิ่นที่ต้องอยู่ร่วมกัน

ด้าน นายสุรศักดิ์ เฉลิมเกียรติเทวี อุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระบุวา่ หลังจากวิกฤติเรือ่ งทรัพยากรน�า้ เสือ่ มโทรมและขาดแคลนทีเ่ กิด ขึ้นในประเทศ กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ได้น�ามาเป็นประเด็น ในการพัฒนากลุ่มจังหวัด ในการแก้ไขปัญหาเรื่องทรัพยากรน�้า ซึ่งน�้า ในโรงงานอุ ต สาหกรรมเป็ น ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ ท� า ให้ ส ภาพแวดล้ อ ม เสื่อมโทรมและปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างชุมชนและผู้ประกอบกิจการ ดังนั้นกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 จึงได้จัดท�าโครงการ “ส่งเสริม และพัฒนาการบริหารจัดการน�้าในโรงงานอุตสาหกรรม” ซึ่งได้ ด�าเนินการต่อเนื่องมาเป็นระยะที่ 2 โดยมีเป้าหมายที่จะส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารจัดการน�้าในโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วย โรงงานอุตสาหกรรมจ�านวน 200 โรงงานใน 4 จังหวัด ให้สามารถลด การใช้น�้าลงได้อย่างน้อยร้อยละ 5 หรือน�ากลับมาใช้ใหม่ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 5 ของน�้าใช้ เรียกได้ว่าเป็นอีกโครงการหนึ่งทีประสบความส�าเร็จเป็นอย่างดี ซึ่ง ปัจจุบนั สามารถขยายผลความส�าเร็จต่อระยะที่ 3 ในการบริหารจัดการ น�้าในชุมชนเพื่อความยั่งยืน

55

Energy#65_p53-55_iMac5.indd 55

3/18/2557 BE 11:53 PM


Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคํา

à·¤â¹âÅÂÕ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹¢Í§...

ö¹µ ã¹Í¹Ò¤µ ËÒ¡Áͧ¡ÒÃàµÔºâµ¢Í§µÅҴö¹µ ã¹»ÃÐà·Èä·Â ³ »˜¨¨Øº¹ Ñ ¶×ÍÇ‹Ò¡ํÒÅѧÍÂÙã‹ ¹ª‹Ç§¾Õ¤ ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹·Õ่ ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÊÙ§ ºÃÔÉѷö¹µ µ‹Ò§ æ ÁÕ¡ÒÃà» ´µÑÇ Ã¶Â¹µ ù ‹Ø ãËÁ‹ æ ¡Ñ¹à»š¹¨ํҹǹÁÒ¡ ËÅÒ¡ËÅÒ ÃٻẺÍ‹ҧ·Õ่äÁ‹à¤Â໚¹ÁÒ¡‹Í¹ÊํÒËÃѺºŒÒ¹àÃÒ ÁÕ¡Òê٨شഋ¹ËÅÒ´ŒÒ¹à¾×่Í໚¹·Ò§àÅ×Í¡ãËŒ¡Ñº ¼Ù㌠ªŒä´ŒàÅ×Í¡ äÁ‹ÇÒ‹ ¨Ð໚¹àÃ×Í่ §¢Í§´Õ䫹 ¡ÒÃÍ͡Ẻ ÊÁÃö¹Ð ¤‹Ò¡ÒÃÊÔ¹ ้ à»Å×ͧàª×Í้ à¾ÅÔ§ áÅФÇÒÁ໚¹ ÁԵõ‹ÍÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ «Ö§่ Ōǹ໚¹¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ã¹âÅ¡¢Í§ »˜¨¨Øº¹Ñ áÅŒÇËÒ¡¶ÒÁ¤×Í ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ã¹Í¹Ò¤µÍÕ¡¡ŒÒÇ µ‹Íä»à»š¹ä»ã¹á¹Çã´ ?

ตัวชี้วัดดานการแขงขันในปจจุบันในเรื่องของเทคโนโลยี มักจะมี เรื่ อ งของพลั ง งานที่ ค วบคู  กั บ วิ ถี ชี วิ ต เข า มาเกี่ ย วข อ ง ไม เว น แม กระทั่งการพัฒนาดานยานยนตสําหรับอนาคต นั้นก็เพราะรถยนต หรือยานพาหนะ ถูกจัดวางใหเปนปจจัยสําคัญสําหรับมนุษยไป เรียบรอยแลว ถึงแมวาอนาคตอันใกล เราอาจไดใชยานพาหนะรูป แบบอื่ น ที่ ไ ม ใช ร ถยนต ก็ ต าม ซึ่ ง การแข ง ขั น ด า นเทคโนโลยี ใ น ปจจุบันก็เปรียบเสมือนพิมพเขียวที่จะนําพาไปสูการออกแบบใน อนาคต เราอยามองวาสิ่งเหลานั้นเปนไปไมได แตเปนการทํานาย ผานปลายปากกาเพือ่ ทํานายวา ในอีก 10 ป 20 ป 30 ป ฯลฯ เราจะได เห็นอะไรจอดอยูหนาบานมากกวา ตัวอยางมีใหเห็นแลว เพราะยานยนตในปจจุบนั มักถูกพัฒนามาจาก แนวคิ ด ที่ ส  ง ผ า นมาจากอดี ต ตลอดหลายทศวรรษที่ ผ  า นมา โลกไดมีการพัฒนาเทคโนโลยียานยนตแหงอนาคตไปในทิศทางใด หากมองในแงของการพัฒนาที่กอใหเกิดประโยชนตอโลกมากกวา ในแงของเรื่องยอดจําหนายที่เปนปจจัยหลักของคายรถยนต แมวา การพัฒนาเทคโนโลยีดานรถยนตจะมีใหเห็นมากมาย แตหลักใหญ ของการสานตอเทคโนโลยีที่นาจะเปนไปไดมีอยูไมกี่ปจจัย เริ่ ม ที่ ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ “พลั ง งาน” เพราะ อย า งไรเสี ย ไม ว  า จะเป น ป จ จุ บั น และอนาคต รถยนต ก็ ต  อ งใช พลังงานในการขับเคลื่อน เรื่องของพลังงานจึงเปนปจจัยหลักที่จะ ถูกมองเปนเรื่องแรก และพลังงานที่ดูเหมือนจะเปนทางเลือกที่ดี

ที่สุด ณ ปจจุบันและอนาคต คงตองยกใหกับ “พลังงานสะอาด” ไม ว  า จะมาในรู ป แบบอะไร รวมถึ ง “พลั ง งานทางเลื อ ก” ซึ่ ง พลังงานสองสิ่งนี้มักจะมาควบคูกัน เพราะกวา 100 ปที่โลกมีการ พัฒนายานพาหนะ มนุษยกอใหเกิดมลภาวะมามาก จนไมอาจ ประเมินเปนตัวเลขได ฉะนั้นศักยภาพของพลังงานสําหรับรถยนต ในอนาคตตองสะอาด เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ประหยัด และมี ประสิทธิภาพสูงสุดตอพลังงานที่ตองสูญเสียไป วาดวยพลังงานที่ดูเหมือนจะเปนไปไดมากที่สุด สะอาดที่สุด กอใหเกิดมลภาวะนอยที่สุด เ ห็ น จ ะ เ ป  น “ พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ  า ” ปจจุบันรถยนตพลังงานไฟฟามีให เห็นแลวทัว่ โลกในชือ่ รถยนตประเภท Plug-in สามารถชาร ต ไฟจาก บานเรือนทีอ่ ยูอ าศัยไดทันทีและ หลายประเทศได มี ก ารพั ฒ นา การชารตไฟใหรถประเภทดังกลาว ในรูปแบบของสถานีบริการ ซึง่ เปน เหมือนรอยตอของการพัฒนา เทคโนโลยี ก ารเติ ม เชื้ อ เพลิ ง จากนํ้ามันเปนไฟฟาแทน

56

Energy#65_p56-58_iMac5.indd 56

3/21/2557 BE 1:25 AM


Green 4U Rainbow

ถึงแม้ว่าเป็นเรื่องที่น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด แต่อย่าลืมว่ายานยนต์ เข้ามาเกี่ยวข้องกับปัจจัยของมนุษย์ สิ่งที่จะตามมาจากการปรับ เปลี่ยนวิถีชีวิตหรือโครงสร้างทางสังคม วิถีชีวิตอาจจ�าเป็นต้อง พึ่งพาไฟฟ้ามากขึ้น บ้านเรือนที่อยู่อาศัยจ�าเป็นต้องพึ่งพาตนเอง ด้วยการผลิตพลังงานไฟฟ้าให้มากขึ้น โดยเฉพาะจากพลังงานแสง อาทิ ต ย์ แ ละพลั ง ลม ซึ่ ง เป็ น พลั ง งานได้ เ ปล่ า ในการผลิ ต ไฟฟ้ า เพือ่ รองรับความต้องการใช้พลังงานแทนการน�าเข้า ซึง่ หากเป็นเช่นนัน้ ถือว่าเป็นผลดีที่ตามมาส�าหรับการพัฒนายานยนต์พลังงานไฟฟ้า ในอนาคต

สรุปแบบง่าย ๆ หากรูปแบบเทคโนโลยีในอนาคตเบนเข็มไปทาง พลังงานไฟฟ้า โลกจ�าเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตและโครงสร้าง สาธารณูปโภคเสียใหม่ เพือ่ ส่งถ่ายการใช้พลังงานจากน�า้ มันเชือ้ เพลิง สู ่ พ ลั ง งานสะอาดอย่ า งไฟฟ้ า หากเกิ ด ขึ้ น สั ง คมพร้ อ มหรื อ ไม่ ต่อการเปลีย่ นแปลง แต่เชือ่ ว่าไม่มอี ะไรยากส�าหรับมนุษย์เมือ่ เข้าตาจน อย่างแน่นอน แต่ก็อย่าลืมว่ายังมีเทคโนโลยีที่เป็นไปได้อย่างอื่นอีก ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์พลังงานไฮโดรเจน, รถยนต์พลังแรงดันอากาศ, รถยนต์ไฮบริดที่ทางเลือกเพิ่มเติมที่ไม่อาจมองข้ามเช่นกัน

57

Energy#65_p56-58_iMac5.indd 57

3/21/2557 BE 1:25 AM


Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคํา

อีกเรื่องที่นาจับตาสําหรับเทคโนโลยีในอนาคตคือ การพัฒนา ดาน “การขับขี่และควบคุม” เห็นไดจากปจจุบันมีเรื่องของ ระบบนํ า ร อ งหรื อ ระบบนํ า ทางมี ส  ว นช ว ยในการประหยั ด พลังงานมากยิ่งขึ้น โดยในแตละประเทศไดมีการทดลองนํา ระบบคอมพิวเตอรเขามาผสานกับโครงสรางของถนนในรูป แบบใหม ในการจัดระบบการจราจรใหการขับขี่ในอนาคตมีการ จั ด วางที่ เ ป น ระเบี ย บมากขึ้ น ทํ า ให ก ารสั ญ จรรวดเร็ ว ขึ้ น สงผลตอการประหยัดพลังงาน ลดอุบัติเหตุ และลดปญหา การจราจรติดขัดลงได เทคโนโลยีดังกลาวรวมไปถึงยานยนต ไรคนขับที่หลายคายรถยนตมีการพัฒนาไปบางแลว

แนวคิดเรื่องระบบนํารองเปนเรื่องที่ดี สวนเรื่องของยานยนต ไรคนขับก็เปนอีกประเด็นที่นาจับตา ซึ่งหากเปนการจราจรที่ ติดขัดจะเปนแนวคิดที่ดี แตอยาลืมวายังมีกลุมผูใชรถยนตอีก กลุมที่สนุกกับการขับขี่และชีวิตหลังพวงมาลัย แทนที่จะให รถยนตวิ่งไปเองตามทางที่กําหนด จึงเปนเรื่องที่ตองชั่งนํ้าหนัก สําหรับเทคโนโลยีในอนาคต แตก็เชื่อวาเทคโนโลยีดังกลาว จะตองถูกบรรจุอยูการในออกแบบรถยนตตอไปอยางแนนอน แนวคิดในการพัฒนาเทคโนโลยียานยนตในอนาคตเปนสิ่งที่ ไมอาจคาดเดาไดมากนัก แตก็ใชวาจะไมอาจคาดเดาไดเลย เพราะอุตสาหกรรมรถยนตในอนาคต ผูผลิตรถยนตทุกคาย ต า งต อ งการส ง ผ า นเทคโนโลยี เพื่อนําเสนอสิ่งใหมใหผูบริโภคได ใชรถใหมากกวาที่เคยเปนมากอน ที่เราจะกาวผานยุคปจจุบันไปสู อนาคต แตเชื่อวาสิ่งที่คงอยูก็คือ มนตเสนหของการขับขี่ แตอาจ เพิม่ เติมในเรือ่ งอืน่ เขาไป อาจเปน พลังงานทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การขับขี่ ที่ ดี ขึ้ น จ า ก ร ะ บ บ ก า ร ข น ส  ง ทีเ่ ปลีย่ นไปเปนเรื่องที่ตองติดตาม ตอไป เพราะอนาคตเปลีย่ นแปลง ไดเสมอ

58

Energy#65_p56-58_iMac5.indd 58

3/21/2557 BE 1:25 AM


73

Energy#64_p101_Pro3.indd 101

2/22/14 1:23 PM


Have to know น้องภู...ตอบได้ ?

ã¡ÅŒà¢ŒÒÁÒ·Ø¡·ÕáÅŒÇÊํÒËÃѺĴ١Ò÷պ ่ ÒŒ ¹àÃÒ´ÙàËÁ×͹¨ÐäÁ‹ÍÂÒ¡µŒÍ¹ÃѺ¢ÑºÊÙÁŒ Ò¡¹Ñ¡¡ÑºÄ´ÙÃÍŒ ¹ ¶Ö§áÁŒÇÒ‹ ¨Ð໚¹Ä´Ù¡ÒÅ·Õ¤ ่ ¹ä·Â¢ÂÒ´ ᵋËÒ¡ à¡Õ ่ Ç¢ŒÍ§¡ÑºàÃ×Í่ §¢Í§¡Ò÷‹Í§à·Õ่ÂÇáÅŒÇÅС็ ¶×Í໚¹Ä´Ù¡ÒÅáË‹§¡Òáͺâ¡ÂàÅ·Õà´ÕÂÇ ã¤Ã¨ÐªÍºËÃ×Íã¤Ã¢ÂÒ´¡็áÅŒÇᵋº¤ Ø ¤Å ᵋʧÔ่ ·Õà่ ÃÒ µŒÍ§àµÃÕÂÁ¡ÒÃÃѺÁ×Í ¤×ÍàÃ×่ͧ¢Í§¡ÒôÙáÅà¤Ã×่ͧ㪌俿‡ÒãËŒ¾ÃŒÍÁÃѺÁ×Íãˌ䴌 â´Â੾ÒзÕ่µŒÍ§ÃѺÁ×ÍÍ‹ҧ˹ѡÍ‹ҧ...áÍÃ

แบงเวลา...ดูแลแอร แครกระเปาตังรับหนารอน อากาศรอนในชวงเดือนกุมภาพันธถงึ เดือนพฤษภาคม ถือเปนชวงทีโ่ หดรายอยางมากสําหรับ เครื่องปรับอากาศ หรือ แอร เพราะเปนสิ่งจําเปนสําหรับการคลายรอนในชวงดังกลาว และสําหรับพื้นที่เมืองที่มีพื้นที่สีเขียวนอย แอรจึงเขามามีบทบาทอยางหลีกเลี่ยงไมได เมือ่ มีการเปดแอรอยางตอเนือ่ งเปนเวลานานพรอม ๆ กันสงผลใหปริมาณความตองการใช ไฟฟาสูงสุดหรือทีเ่ รียกวาระดับพีคของประเทศทีจ่ ะเกิดขึน้ ในชวงเดือนมีนาคมและเดือนเมษายน

เพือ่ ใหเครือ่ งปรับอากาศทํางานไดอยางเต็ม ประสิทธิภาพ และยืดอายุการใชงาน ซึ่ง หนารอนนีห้ ากมีการลางแอรประมาณ 5 แสน เครื่ อง จะช ว ยให ประหยัด คา ไฟฟา ลงได 38.3 ลานบาท/ป

สํานักงานนโยบายและแผนพลังาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ไดมีขอแนะนําสําหรับการ ประหยัดพลังงานและคาไฟฟาทีเ่ กิดจากแอร ดวยวิธงี า ย ๆ ทีใ่ คร ๆ ก็สามารถทําได เริม่ ดวย เรื่องพื้นฐานกับการลางเครื่องปรับอากาศและหมั่นทําความสะอาดแผนกรองอากาศอยาง สมํา่ เสมอ ทีส่ าํ คัญเราไมควรปลอยใหมฝี นุ เกาะมากจนเกิดไป หากทําไดกจ็ ะสามารถประหยัด ไฟได 5-7 % และควรมีการถอดลางภายในหรือลางใหญโดยชางผูช าํ นาญอยางนอยปละ 1 ครัง้

และอยางที่ทราบกันดีวาควรปรับอุณหภูมิ ของเครื่องปรับอากาศใหอยูที่ 25-26 องศา พร อ มเป ด พั ด ลมตั ว เล็ ก ๆ เพื่ อ ประหยั ด พลังงาน การตัง้ อุณหภูมเิ ครือ่ งปรับอากาศที่ 25-26 องศาเซลเซียส เปนอุณหภูมทิ จี่ ะทําให รางกายรูสึกสบายและชวยประหยัดไฟมาก เพราะหากปรับอุณหภูมิใหเย็นขึ้น 1 องศา จะใชไฟฟาเพิ่มขึ้น 10% ผ า นพ น เรื่ อ งเครื่ อ งปรั บ อากาศ ก็ ม าสู  การปฏิบตั ติ วั เมือ่ หองในหองกันบาง เราควร หลี ก เลี่ ย งการนํ า ของร อ นเข า ห อ ง ไม นํ า เตาไฟฟา กระทะรอน หมอตมนํ้า หมอสุกี้ เขาไปในหองแอร ควรปรุงใหเสร็จจากในครัว แล ว จึ ง นํ า เข า มารั บ ประทานภายในห อ ง เพือ่ ไมเปนการเพิม่ ความรอนในหอง อันเปน เหตุใหเครื่องปรับอากาศทํางานหนักเกินไป รวมถึงไมควรนําความชื้นเขาหอง

60

Energy#65_p60-61_iMac5.indd 60

3/18/2557 BE 11:54 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

เชื่อหรือไม? พลังงานที่ใชในการทําความเย็น ของเครือ่ งปรับอากาศจะใชเพียง 30 % เทานัน้ อีก 70 % เครือ่ งปรับอากาศจะสูญเสียไปกับ การทําใหอากาศในหองแหง หรือรีดความชื้น ออกจากห อ งเพื่ อ ให เ กิ ด ความเย็ น การนํ า ความชื้ น เข า มาในห อ งจะทํ า ให เ ครื่ อ งปรั บ อากาศทํางานหนักขึน้ และกินไฟเพิม่ ขึน้ ดังนัน้ เราควรหลีกเลี่ยงการนําความชื้นเขาไปไวใน ห อ งปรั บ อากาศ เช น กระถางต น ไม ห รื อ การตากผาในหอง สุดทายเมื่อเราจะออกจากหองที่เปดแอร ควร ปดแอรกอ นออกจากหองอยางนอย 30 นาที – 1 ชั่วโมง เพราะในหองยังมีความเย็นคงอยู ซึง่ จะชวยลดการใชไฟไดประมาณ 30 หนวย ตอเดือน สามารถประหยัดได 105 บาทตอเดือน สําหรับแอรขนาด12,000 BTU ถาปดเร็วขึ้น วันละ 1 ชั่วโมง 1 ลานเครื่อง จะประหยัดไฟ ใหประเทศไดเดือนละ 105 ลานบาท หรือ 1,260 ลานบาทตอปเลยทีเดียว เรือ่ งของเครือ่ งปรับอากาศ ถามใคร ๆ ก็ทราบวา ควรที่จะดูแลอยางไร แตเรามักตอบตัวเองวา เดีย๋ วคอยลางแอร เดีย๋ วคอยดีแล เดีย๋ วคอยทํา อยูต ลอด และเราก็จะละเลยไป ทัง้ ทีแ่ คเราลอง เสียเวลาสักนิดในการดูแลเครื่องปรับอากาศ อยางถูกวิธี เชือ่ เถอะครับวา นอกจากจะทําให ตัวเองรูส กึ เย็นสบายคลายรอนแลวยังสามารถ ชวยชาติประหยัดพลังงานอีกดวย

เชื่อหรือไม? เครื่องปรับอากาศ 1 เครื่อง (20,000 บีทียู) กินไฟประมาณ 1,500 วัตต การลางแอรชวยประหยัด 5% เวลาใชงาน 8 ชั่วโมง/วัน 1 ป = 365 วัน คาไฟฟา 3.50 บาท/หนวย การคํานวณ 1500 x 5% x 8 x 365 x 3.5 = 766 บาท/เครื่อง/ป

61

Energy#65_p60-61_iMac5.indd 61

3/18/2557 BE 11:55 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

Audi Allroad Shooting Brake สปอรตเอสยูวไี ฮบริดจอมลุย ËÒ¡¾Ù´Ã¶Â¹µ ¨Ò¡¤‹Ò½˜›§ÂØâû ËÅÒ·‹Ò¹¤§·ÃÒº¡Ñ¹´ÕäÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ ÂÕ่ËŒÍÍÐäà àÃ×่ͧ¢Í§¤Ø³ÀÒ¾·Ñ้§¡ÒÃÍ͡ẺáÅÐ ÊÁÃö¹Ð¶×ÍÇ‹ÒÍÂÙ‹ÃдѺá¹Ç˹ŒÒ·Ñ้§ÊÔ้¹ «Ö่§Ëҡ໚¹ºŒÒ¹àÃÒ·Õ่ÃÙŒ¨Ñ¡à»š¹Í‹ҧ´ÕáÅÐ ·Õ่´ÙàËÁ×͹¨Ð໚¹¤Ù‹µ‹Í¡Ã·Õ่ÊÙÊÕÁÒ¡·Õ่ÊØ´ ¤§Ë¹ÕäÁ‹¾Œ¹ ¤‹Ò Mercedes-Benz, BMW áÅÐ Audi â´Â੾ÒСѺ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹»˜¨¨ØºÑ¹ ·Õ่ÁÕàÃ×่ͧ¢Í§¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹à¢ŒÒÁÒ à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§ ¡ÒÃÍÇ´â©Áã¹àÃ×่ͧ¢Í§à·¤â¹âÅÂÕ ´ŒÒ¹´Ñ§¡Å‹ÒǨ֧¶Ù¡¨ÑºµÒ໚¹¾ÔàÈÉ

ภายในงานใหญ Detroit Auto Show 2014 คาย รถยนต Audi ไดสรางเสียงฮือฮาอีกครัง้ ดวยการเปด ตัว “Allroad Shooting Brake” ยานยนตแนวคิด สไตลสปอรตเอสยูวี เพือ่ ปูทางการพัฒนารถยนต รูปแบบดังกลาวกับการหันมาพึ่งพาเครื่องยนต ลูกผสมอยาง Hybrid แบบ Plug-in เพือ่ แขงขันใน ตลาดนี้ และดูเหมือนวา Audi จะไมทาํ ใหแฟนพันธุ แทของรถมีหว งผิดหวังอยางแนนอน หากมีการนํา เขาสูไลนการผลิตจริงในอนาคต

การออกแบบโดยรวมของ Allroad Shooting Brake อาจจะคุน หนาคุน ตากับรถยนตในคาย พอสมควร เพราะเปนการพัฒนาตอยอดการออกแบบจากรถยนตยนตที่มีการผลิตเพื่อ จําหนายแลวอยาง Audi A3 แตเนนทีก่ ารออกแบบใหมกี ลิน่ ไอของรถสปอรตเอสยูวแี บบ 3 ประตูโดยใสเหลีย่ มสันเขาไปรอบคัน เพือ่ ใหอารมณทแี่ ข็งแกรงตามรูปแบบรถหรือทีเ่ รียกวา Design Languange ซึง่ จะเปนรูปแบบการดีไซนใหมทจี่ ะถูกนํามาใชในการออกแบบรถยนต รุน ใหม ๆ ของ Audi ตอไปในอนาคต โดยออกแบบใหระยะฐานลอมีขนาด 2,510 มิลลิเมตร ความยาวอยูท ี่ 4,200 มิลลิเมตร กวาง 1,850 มิลลิเมตร และสูง 1,410 มิลลิเมตร ในสวนของหองโดยสารถือวานาจะเปนจุดพิจารณาหลักที่ทําใหเกิดความมั่นใจวาตนแบบ รุนนี้ ไมไดสรางสรรคขึ้นเพื่อโชวความสามารถที่เกินจริง แตเปนงานออกแบบใหพรอมที่ จะผลิตเพื่อจําหนายและสามารถใชงานทันที ไมได ลํา้ สมัยเหมือนกับรถตนแบบทีจ่ ดั แสดงอยางทีผ่ า นมา แตเปนรูปแบบที่คลายกับการออกแบบรถที่จําหนาย แลวของ Audi เองแบบไมแตกตางมากนัก ฉะนั้น คาดวาไมนานเกินรอ เราอาจเห็นรถที่มีภายในแบบ Allroad Shooting Brake ก็เปนได ดานสมรรถนะของสปอรตเอสยูวีคันนี้ ทางตนสังกัด Audi ได ใช เ ทคโนโลยีทเี่ รียกวา e-Tron ซึง่ เปนทีร่ จู กั ครัง้ แรกในตนแบบรถยนตพลังไฟฟาทีโ่ ชวในงานแสดง รถยนตระดับโลกตัง้ แตป 2009 ซึง่ เทคโนโลยีดงั กลาว ถูกนํามาใชเพื่อระบุถึงรถยนตที่ขับเคลื่อนดวยไฟฟา หรือไฮบริดของคาย Audi นั้นเอง และใน Allroad

62

Energy#65_p62-63_iMac5.indd 62

3/18/2557 BE 11:58 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

Shooting Brake ไดนาํ เสนอเทคโนโลยี e-Tron ใน รู ป แบบพลั ง งานทางเลื อ กในการขั บ เคลื่ อ น ซึ่งรุนนี้ ใ ช ระบบ Hybrid แบบ Plug-in โดยใช เครือ่ งยนตแบบ 4 สูบ 2,000 ซีซี TFSI พรอม เทอรโบ มีกาํ ลัง 292 แรงมา และแรงบิดสูงสุด 38.7 กิโลกรัม-เมตร พรอมมอเตอรไฟฟาขนาด 40 กิโลวัตต 2 ตัว ชวยในการขับเคลือ่ น เมือ่ ทัง้ 2 ระบบทํางานรวมกัน จะสามารถสรางแรงมา ไดถงึ 408 แรงมา พรอมแรงบิดหนัก ๆ สูงสุด ที่ 66.2 กิ โ ลกรัม-เมตร เลยทีเดียว ดวยกําลังมหาศาลจากเครือ่ งยนตลกู ผสมนี้ ทําให สามารถสรางอัตราเรงจาก 0-100 กิโลเมตร/ ชัว่ โมง ใน 4.6 วินาที และทําความเร็วสูงสุดใน ระดับ 250 กิโลเมตร/ ชัว่ โมง พรอมอัตราความ สิ้นเปลืองนํ้ามันเชื้อเพลิงที่ 1.9 ลิตรตอ 100 กิโลเมตร หรือ 52.6 กิโลเมตร/ ลิตร ภายใตตวั ถัง ขนาด 1.6 ตัน ถือวาประหยัดเกินตัว และหากใช โหมด EV ขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาเพียง อยางเดียว จะสามารถวิง่ ไดประมาณ 50 กิโลเมตร โดยอาศั ย แหล ง พลั ง งานจาก แบตเตอรี่แบบลิเธียม-ไอออน และสามารถทําความเร็ว สูงสุดถึง 130 กิโลเมตร/ ชัว่ โมง

อันที่จริง เราก็เห็นรถยนตตนแบบไมนอย ซึ่งไมผิดที่คายรถยนตจะออกแบบมาเพื่อ เปนการเติมเต็มสีสนั และเทคโนโลยีใหกบั งานแสดงรถยนต ใ หญ ๆ แตสาํ หรับ Allroad Shooting Brake ของ Audi คันนีด้ เู หมือนจะเปนไปไดมากทีส่ ดุ ทีจ่ ะมีการบรรจุสไู ลนการ ผลิตจริง ทัง้ ในสวนของรูปทรง เครือ่ งยนต และการออกแบบ ก็ตอ งคอยติดตามกันตอ ไปวาเราจะไดเห็นสปอรตเอสยูวคี นั นีอ้ อกสูต ลาดหรือไม ?

63

Energy#65_p62-63_iMac5.indd 63

3/18/2557 BE 11:58 PM


Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�

หลายพื้นที่ในประเทศไทย เริ่มมีการตื่นตัวต่อการพัฒนาชุมชนอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้หันมาพึ่งตนเองให้มากที่สุด โดยเฉพาะการพึ่งตนเองด้วย การน�าวัสถุเหลือใช้ในชุมชนมาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด เพื่อลดการ สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายที่เราต้องเสียไปในการซื้อแหล่งพลังงาน เช่นเดียวกับ กลุ่มเกษตรกรไร่นาสวนผสม บ.หนองแวงศรีวิไล จ.อุดรธานี กับการ พัฒนาเตาแก๊สแกลบ ที่สามารถใช้งานได้จริงและเป็นผลงานคุณภาพ ชุมชน

การพัฒนา “เตาแก๊สแกลบ” เกิดขึ้นได้โดยได้รับงานพัฒนาจาก ส�านักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการ ท�าโครงการวิจัยการจัดการพลังงานชีวมวลเพื่อการพึ่งตนเองด้าน พลังงานของท้องถิ่น โดยกลุ่มชุมชนได้มีการระดมและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ และช่างชุมชนที่มีประสบการณ์ พัฒนานวัตกรรมด้านพลังงานอย่างต่อเนือ่ ง เกิดเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้จากการท�าเตาแก๊สแกลบ และการสร้างช่างเทคนิคใน การสร้างนวัตกรรมขึ้น เพื่อเป็นนวัตกรรมที่ใช้พลังงานที่สะอาด และเป็นพลังงานทางเลือกใหม่มาทดแทน

คนในพื้นที่ภาคอีสาน ทราบถึงประโยชน์ของแกลบและทราบกันดี ว่าแกลบไม่มีวันหมดไป ตราบใดที่คนไทยและชาวอีสานยังคงเป็น แหล่งผลิตข้าวและคนอีสานยังบริโภคข้าวเหนียวกันอยู่ ชาวอีสาน จะมีพลังงานทางเลือกจากแกลบแบบไม่มีวันหมด และสามารถ สร้ า งนวั ต กรรมพลั ง งานทางเลื อ กใหม่ ม าใช้ อ ย่ า งเหมาะสม พอเพียง และ ยัง่ ยืน หากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องส่งเสริมให้มกี ารใช้ นวัตกรรมพลังงานทางเลือกทีผ่ ลิตขึน้ ต่อไปในภายภาคหน้าเราคง พึ่งพาตัวเองด้านพลังงานหมุนเวียนได้อย่างแน่นอน ไม่ต้องไป พึ่งพาก๊าซ LPG ที่มีราคาสูงขึ้นทุกวัน ส่วนประกอบของเตา สามารถหาได้ไม่อยากในชุมชน ประกอบด้วย กล่องฐานที่ท�าจากแผ่นเหล็ก ท่อเหล็กด�าขนาดกว้าง 6 นิ้ว ยาว 50 เซนติเมตร ใช้ท�าเป็นท่อเชื้อเพลิง ฉนวนกันความร้อน หัวแก๊ส พัดลมแบบหอยโข่งที่ต่อเข้ากับ Adapter ระบบ DC ท� าหน้าที่ ส�าหรับปรับความแรงของได้ และแกลบที่ได้จากโรงสีข้าวในพื้นที่ เมื่อน�าส่วนประกอบทั้งหมดมาประกอบกัน จะได้เตาแก๊สแกลบ ตามรูป ส�าหรับการใช้งาน เริ่มที่การน�าแกลบที่ได้จากโรงสีใส่ให้เต็มท่อ เผาไหม้ จากนั้นจุดไฟด้วยกระดาษและน�าไปวางบนแกลบพร้อม กั บ เปิ ด สวิ ท ช์ พั ด ลม เมื่ อ ไฟเริ่ ม ติ ด ที่ แ กลบแล้ ว ให้ น� า หั ว แก๊ ส มาสวมบนท่อ สังเกตสีของไฟทีเ่ กิดเมือ่ เป็นสีฟา้ ก็สามารถใช้งานได้ โดยน�าพาชนะมาหุงต้มได้ทันที ซึ่งจะมีข้อดีตรงที่ก้นของภาชนะ จะไม่ด�า ไฟที่ได้จะให้ความร้อนเทียบเท่าไฟจากเตาแก๊สทั่วไป เมื่อแกลบหมดต้องน�าแกลบด�าออกเสียก่อนพร้อมกับเติมแกลบ ใหม่ ล งไปอี ก ที หากต้ อ งการใช้ ง านต่ อ และแกลบที่ เหลือใช้

64

R1_Energy#65_p64-65_iMac5.indd 64

3/21/2557 BE 11:27 PM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�

สามารถน�ามาผลิตเป็นปุย๋ ใส่ หน้าดิน รักษาความชื้นให้ กับดินได้อีกด้วย ถึ ง แม้ ว ่ า จะมี ก ารท� า งานที่ ไม่ยงุ่ ยากมากนัก แต่เตาแก๊ส แกลบก็ เ ป็ น ที่ รู ้ จั ก อย่ า ง กว้างขวาง โดยมหาวิทยาลัย แห่งชาติลาว คณะภาควิชา ฟิสิกส์ มีความสนใจเตาแก๊สของทางกลุ่มชุมชน บ.หนองแวงศรีวิไล จ.อุดรธานี อย่างมาก กลุ่มจึงเห็นความส�าคัญของการถ่ายทอดในการต่อยอดองค์ความรู้ชุมชน จึงได้มอบเตาแก๊สตัวต้นแบบให้ มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาว คณะภาควิชาฟิกสิกส์ จ�านวน 1 ชุด เพื่อให้ทางคณะได้น�าไปพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมเตาแก๊สแกลบ ผลประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน คือ การสร้างอาชีพให้กับชาวบ้าน ก่อให้เกิดรายได้เพือ่ เลีย้ งชีพ และมีเงินใช้หนีส้ นิ ทีพ่ อกพูนไว้ จากนัน้ ก็ จ ะได้ มี เ งิ น เก็ บ เพื่ อ เป็ น สวั ส ดิ ก ารให้ กั บ ตั ว เองและครอบครั ว สร้างความมั่นคงให้ครอบครัว และประชาชนในชุมชนได้ใช้พลังงาน ทางเลือก และเป็นคนเลือกทีจ่ ะใช้พลังงานทีม่ อี ยูใ่ นชุมชน จะท�าให้ ชุมชนนั้น ๆ พึ่งตนเองได้ ถ้าวันหนึ่ง พลังงานหลักขาดแคลน ราคา สูงขึ้นหรือไม่มีเลย ก็สามารถอยู่ได้ ด้วยความพอเพียงของชุมชน นอกจากนีย้ งั ถือเป็นการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในท้องถิน่ ให้คมุ้ ค่า และเป็นการใช้พลังงานสะอาดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

65

Energy#65_p64-65_iMac5.indd 65

3/19/2557 BE 12:03 AM


Energy Loan กรีนภัทร์

สนพ. เปดใหทุนวิจัยดานพลังงาน วงเงินกวา 12 ลานบาท àÁ×่;ٴ¶Ö§§Ò¹ÇԨѴŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ÀÒÂã¹»ÃÐà·Èä·Â¨ÐàË็¹ä´ŒÇ‹ÒÁÕ§Ò¹ÇÔ¨ÑÂÍÍ¡ÁÒãËŒàË็¹¡Ñ¹ÍÂÙ‹äÁ‹¹ŒÍ «Ö่§áµ‹ÅЧҹÇԨѨеŒÍ§ ÍÒÈÑ»˜¨¨ÑÂËÅÒ æ Í‹ҧÃÇÁ¡Ñ¹ äÁ‹àÇŒ¹áÁŒ¡ÃзÑ่§à§Ô¹·Õ่¹ํÒÁÒʹѺʹع§Ò¹ÇÔ¨ÑÂᵋÅЧҹ ·Õ่àÃÕ¡䴌NjÒ໚¹»˜¨¨ÑÂÊํÒ¤ÑÞ Í‹ҧ˹Ö่§ à¾ÃÒЧҹÇÔ¨ÑÂᵋÅЧҹµŒÍ§ÍÒÈÑÂà§Ô¹¨ํҹǹÁÒ¡¾ÍÊÁ¤Çà ´ŒÇÂà˵عÕ้¨Ö§·ํÒãËŒáËÅ‹§à§Ô¹·Ø¹µ‹Ò§ æ ËѹÁÒª‹Ç¡ѹ Ê¹Ñ º Ê¹Ø ¹ à§Ô ¹ ÇÔ ¨Ñ  à¾Õ  §à¾×่ Í µŒ Í §¡ÒÃãËŒ § Ò¹ÇÔ ¨Ñ  ·ํ Ò ä´Œ Êํ Ò àÃ็ ¨ ´Œ Ò ¹ Êํ Ò ¹Ñ ¡ §Ò¹¹âºÒÂáÅÐá¼¹¾ÅÑ § §Ò¹ (ʹ¾.) ໚ ¹ ÍÕ ¡ ˹‹ Ç Â§Ò¹Ë¹Ö่ § ·Õ่ ä ´Œ à Å็ § àË็ ¹ ¶Ö § ¤ÇÒÁÊํ Ò ¤Ñ Þ ¢Í§à§Ô ¹ Ê¹Ñ º Ê¹Ø ¹ §Ò¹ÇÔ ¨Ñ  ¨Ö § ä´Œ à » ´ ãËŒ ·Ø ¹ ¡ÒÃÈÖ ¡ ÉÒ´Œ Ò ¹¾ÅÑ § §Ò¹ã¹»ÃÐà·Èµ‹Ò§»ÃÐà·È áÅзعÇԨѠᡋ¹Ñ¡ÈÖ¡ÉÒ »‚ 2557 à¾×่ÍËÇѧ¾Ñ²¹ÒºØ¤ÅҡôŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹ÃØ‹¹ãËÁ‹ ãËŒÁÕ¤ÇÒÁàªÕ่ÂǪÒÞ áÅÐà¾Ô่Á ÈÑ¡ÂÀÒ¾¡Ò÷ํÒ§Ò¹·Õ่ÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ นายเสมอใจ ศุ ข สุ เ มฆ ผู  อํ า นวยการ สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เปดเผยวา กองทุนเพื่อ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน ตระหนักถึง ความสําคัญของการพัฒนาประสิทธิภาพ ดานพลังงานใหเพียงพอที่จะชวยขับเคลื่อน การดํ า เนิ น งานตามแผนอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน 20 ป และแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ พลังงานทางเลือกรอยละ 25 ใน 10 ป ใหบรรลุผล จึงไดใหการสนับสนุนทุนการ ศึกษาและทุนวิจัย เพื่อเปนแรงจูงใจในการ ศึกษาวิจัยดานพลังงานอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ทุนสนับสนุนดังกลาวจะทําใหผูสําเร็จการ ศึกษาสามารถนําความรูที่ไดมาพัฒนาการ ทํางานดานพลังงานใหมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ สวนงานวิจัยนั้นจะชวยพัฒนาเทคโนโลยี และแนวทางการบริหารจัดการพลังงานใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ในวงเงิน 12 ลานบาท และทุนวิจยั แกนกั ศึกษา ระดั บ อุ ด มศึ ก ษาทั้ ง ในสถาบั น ของรั ฐ และ เอกชน ในวงเงิน 12 ลานบาท สถาบั น การศึ ก ษา หรื อ หน ว ยงานที่ ส นใจ โปรดแจงความประสงคพรอมยื่นขอเสนอตอ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน โดยทุนการศึกษาภายในประเทศ ยื่นขอเสนอ ไดตั้งแตบัดนี้ จนถึงวันที่ 30 พฤษภาคม 2557 ทุ น การศึ ก ษาต า งประเทศยื่ น ได จ นถึ ง วั น ที่ 15 พฤษภาคม 2557 และทุนวิจัยยื่นไดถึง วั น ที่ 25 เมษายน 2557 ทั้ ง นี้ ส ามารถ ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.eppo.go.th หรือ โทรศัพท 0-2612-1555 ตอ 372-380

ดังนั้น เพื่อใหการสนับสนุนทุนการศึกษาและทุนวิจัยดานพลังงานเปนไปตามวัตถุประสงค ที่ตองการสรางและพัฒนาองคความรูใหม ๆ เพิ่มขึ้น รวมถึงการสรางแรงผลักดันใหเกิด ผูเชี่ยวชาญ และนักวิจัยพลังงาน รุนใหมๆ ที่มีคุณภาพตอไป กองทุนฯ จึงไดประกาศ การสมัครรับทุนการศึกษาในประเทศ-ตางประเทศ และทุนวิจัย ในสาขาที่เกี่ยวของกับ การเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน และพลังงานทดแทน ประจําปงบประมาณ 2557 โดยแบงเปน ทุนการศึกษาในประเทศ ในวงเงิน 4.6 ลานบาท ทุนการศึกษาตางประเทศ 66

Energy#66_p66_iMac5.indd 66

3/19/2557 BE 12:09 AM


Energy#65_p67_iMac5.indd 31

3/21/2557 BE 1:48 AM


Auto Update Renergy นัษรุต: คุเถืณ่อพินทองคำ โดย ชัย ถิ่น�สันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

FIT ชี้ชะตาพลังงานทดแทนไทย พลังงานทดแทน (Renewable Energy) ชนิดใด ๆ ในโลก หากจะเปรียบเทียบราคาซือ้ ขายกันแล้ว พลังงานทดแทนเกือบทัง้ หมด ที่มีในโลกใบนี้ราคาจะสูงกว่าพลังงานจากฟอสซิล และเมื่อมติโลกลงความเห็นให้ทุกประเทศต้องหันมาใช้พลังงานทดแทนเพื่อลด วิกฤตการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมขิ องโลก ซึง่ ปัจจุบน ั โลกเราเหมือนผูส้ งู อายุจะรักษาให้แข็งแรงเหมือนเดิมคงจะเป็นไปไม่ได้ ทางเดียว ที่ท�าได้ก็คือเยียวยาให้มีอายุยืนยาวเท่าที่ท�าได้เท่านั้น

เมื่อเป็นเช่นนี้ทุกประเทศทั่วโลกแม้กระทั่งประเทศพัฒนาน้อย ต่างก็มีการก�าหนดมาตรการส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนให้ สอดคล้องกับประเทศของตน เช่น ประเทศที่ลมแรงสม�่าเสมอ ก็เร่งส่งเสริมพลังงานลมจนเป็นอุตสาหกรรมส่งออกท�ารายได้ เข้าประเทศ ส่วนประเทศทีอ่ ยูใ่ กล้เส้นศูนย์สตู ร เพาะปลูกงอกงาม ตลอดทั้งปี ก็โหมไปทางด้าน Bio Energy อย่างเช่น ประเทศไทย ส่วนประเทศพัฒนาน้อยก็มมี าตรการเชิญชวนทีน่ า่ สนใจให้ตา่ งชาติ เข้าไปร่วมลงทุนเป็นต้น และทีข่ าดไม่ได้กค็ อื มาตรการส่งเสริมเพือ่ ชดเชยราคาของพลังงานทีแ่ ตกต่างกันระหว่างพลังงานทดแทน และ พลังงานจากฟอสซิลทีน่ ยิ มกันทัว่ โลก อาจมีหลายแบบ เช่น Adder เป็นการบวกเพิ่มราคาค่าไฟฟ้าในช่วงแรก ๆ เช่น 7 ปี หรือ 10 ปี เหมาะกับพลังงานทดแทนทีต่ อ้ งใช้ชวี มวลเป็นวัตถุดบิ (Feedstock) เนือ่ งจากราคาวัตถุดบิ ผันแปรตามภาวะเศรษฐกิจและราคาพลังงาน ของโลก พลังงานทดแทนที่เหมาะสมกับการใช้ Adder ได้แก่ Biomass Biogas และ Waste to Energy หรือพลังงานจากขยะ นั่นเอง ส่วนพลังงานที่ได้จากธรรมชาติอย่างสายลมแสงแดด เช่น Solar และ Wind เหมาะกับการใช้มาตรการส่งเสริมแบบ FIT (Feed-in Tariff) คือ การก�าหนดอัตราตายตัวตลอดระยะเวลาสัญญา ระยะยาว 20-25 ปี เนื่ อ งจากไม่ มี ตั ว แปรจาก Feedstock นอกจากนี้ค่า O&M (Operation & Maintenance) ของพลังงาน ธรรมชาติ ยั ง ค่ อ นข้ า งต�่ า เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ พลั ง งานชี ว มวล ส่วนเชื้อเพลิงชีวภาพ เช่น Biodiesel และ Ethanol ภาครัฐก็มี การบริหารจัดการอุดหนุนราคาในรูปแบบต่าง ๆ ซึง่ หากปลอดจาก การเมืองแล้ว ผู้รับประโยชน์ก็จะเป็นชาวไร่ของเรานั่นเอง

จากภาพรวมที่กล่าวมานี้พอสรุปได้ว่า การอุดหนุนพลังงาน ทดแทนแบบ FIT ไม่ตา่ งกับการเล่นหุน้ หรือประมูลซือ้ ขายสินค้า ซึง่ อยูท่ อี่ ปุ สงค์-อุปทาน เมือ่ ผูเ้ สนอซือ้ คือ ภาครัฐ ผูเ้ ข้าประมูล คือ ภาคเอกชน ดังนั้นปัจจัยสู่ความส�าเร็จ หรือ Key Success ก็คือ ราคากลาง จึงมีความจ�าเป็นต้องได้ผู้มีประสบการณ์ ในหลากหลายธุรกิจพลังงานมาร่วมก�าหนดราคากลาง ล�าพัง นักวิชาการผู้อ่านมากเขียนมากอาจไม่เพียงพอเพราะนี่คือ การชี้ชะตาพลังงานทดแทนประเทศไทย เรามาลองวิเคราะห์แผน RE ที่เลิศหรูของไทยเรา ไม่ว่าจะไป เผยแพร่ที่ไหนก็ออกจะได้หน้าไปทั่วโลก ผู้รู้ที่พูดไม่ออกคือ กลุ่ม 3 กลุ่ม หรือการไฟฟ้าทั้งสามแห่งนั่นเอง ว่าแท้ที่จริงแล้ว เป็นอย่างไร จากมุมมองภาคเอกชนต่อแผนส่งเสริมพลังงาน ทดแทน AEDP ปี 2564 ยังขาดการสนับสนุนทีเ่ ป็นรูปธรรม ดังนี้ 1. พลังงานธรรมชาติที่เป็นเชิงพาณิชย์ (Solar และ Wind) ตามแผน AEDP พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ 3,000 MW และ พลังงานไฟฟ้าจากลม 1,800 MW ถึงเป้าหมายแน่นอน เนือ่ งจาก เป็นพลังงานจากธรรมชาติ เมือ่ พัฒนาโครงการเสร็จสามารถน�า ไปขายท�าก�าไรในตลาดได้ทันทีตามที่พวกเราเคยเรียกพลังงาน ทดแทนทั้ง Wind และ Solar ว่า “พลังงานแห่งเกมส์การเงิน” และสิง่ ทีท่ า่ นควรทราบแต่ไม่ค่อยมีสื่อใด ๆ ออกมาพูดถึงก็คือ พลั ง งานทั้ ง สองชนิ ด นี้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต ไฟฟ้ า อยู ่ ที่ 13% - 20% นัน่ หมายถึง 1 MW จะผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 150 kW

68

Energy#65_p68-69_iMac5.indd 68

3/21/2557 BE 1:29 AM


Green 4U Rainbow

เนื่องจากลมในประเทศไทยเป็น แบบลมเพ ลมพัด ไม่สม�่าเสมอ ส่วนแสงแดดก็มี 5-6 ชัว่ โมงเท่านัน้ จึงไม่ควรคิดว่าผู้ประกอบการ เหล่านี้จะร�่ารวย ทั้ ง นี้ ร วมทั้ ง แผง Solar บนหลังคาบ้านท่านด้วย ก็ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพไม่ ต ่ า งจากนี้ ถึงแม้ท่านจะติดตั้งแผงให้เกิน กว่ า ที่ ก� า หนด แต่ ส� า นั ก งาน คณะกรรมการก� า กั บ กิ จ การ พลังงาน (กกพ.) ก็ก�าหนดไว้ว่า ต้องไม่เกิน 20% เท่านั้น

น�าเศษวัสดุของพืชพลังงานมาใช้ให้ได้ประโยชน์สงู สุด จะได้เป็น ธุรกิจ Zero Waste ที่เชิดหน้าชูตาชาวอุษาคเนย์ เราเชื่อมั่นว่าในที่สุดเรื่องของพลังงานและพลังงานทดแทน ประชาชนจะต้องเข้าถึงตามล�าดับชัน้ ของความส�าคัญ เนือ่ งจาก เป็นสมบัติชาติ เป็นมรดกของบรรพบุรุษสู่ลูกหลานไม่ใช่ของ กลุม่ ใดกลุม่ หนึง่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ พลังงานทดแทน ต้องอยูใ่ น มือของคนไทย บริหารจัดการโดยรัฐ-เอกชน-ชุมชน “ชะตาของ พลังงานทดแทนคือชะตาของบ้านเมือง” ต้องร่วมกันก�าหนด และร่วมรับทั้งผิดและชอบ

2. พลังงานชีวมวล (Biomass) ก�าหนดเป้าหมายการผลิตไฟฟ้า ไว้ที่ 4,800 MW บวกกับพลังงาน ความร้อน 8,500 Ktoe คิดง่าย ๆ ประมาณ 30,000 MW เป็ น วิสัยทัศน์ที่ดี แต่ถ้าไม่มีพันธกิจ รองรับทีด่ ี คาดว่าปี 2564 จะได้ เต็ ม ที่ ไ ม่ น ่ า เกิ น 30% (สุ ท ธิ ) ส่วน Biogas เนื่องจากส�านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ได้เดินหน้าโครงการน�าร่อง 5 ปีที่ผ่านมาไว้ดีมาก จึงไม่น่ามีปัญหา อยากจะให้ถึงเป้าหมายก็เพียงเสนอซื้อแพง หน่อยเท่านั้น แต่ถ้าเป็นหญ้าเนเปียร์ คงต้องรอผลลัพธ์ของ 300 ล้านบาท ที่ทางกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลังงาน (พพ.) โปรยออกไปให้สร้าง Pilot Plant แต่บอกก่อน ได้วา่ งานนีเ้ หนือ่ ยแน่นอน เนือ่ งจากเนเปียร์เป็นพืชพลังงานของ คนใจรัก ไม่ใช่นกั ลงทุน ดังนัน้ FIT ทีเ่ หมาะสมของหญ้าเนเปียร์ ต้อง 6.50 บาทขึ้นไป ยืนยัน! ส�าหรับพลังงานขยะ (Waste to Energy) หากอัตราส่งเสริม VSPP สูงกว่านี้ ก็คงจะเดินหน้าต่อไป ได้ในนาทีนี้ภาครัฐควรลงทุนด้านพลังงานขยะ หากเป็น FIT ควรจะอยู่ที่ 6.20 บาท ส�าหรับ VSPP เนื่องจากได้ทั้งพลังงาน และช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีพร้อม นักลงทุนพร้อม ถ้าส่งเสริมดี ๆ มีหรือจะไม่ถึงเป้าหมาย 400 MW 3. เชื้อเพลิงชีวภาพ ประกอบด้วยเอทานอลและไบโอดีเซล พลังงานทดแทนทีอ่ ยูน่ อกสายตาผูแ้ สวงประโยชน์ระยะสัน้ จาก พลังงานทดแทน เนื่องจากต้นทุน 80% มาจากวัตถุดิบ ชาวไร่ หุน้ ใหญ่ของเอทานอลและไบโอดีเซล 2-3 ปีมานี้ ท่านอาจไม่ได้ ยินข่าวเชิงลบจากพลังงาน 2 ชนิดนี้ ทัง้ ทีม่ สี ดั ส่วนเกือบครึง่ หนึง่ ของพลั ง งานทดแทนที่ รั ฐ ส่ ง เสริ ม และโอกาสถึงเป้าหมาย ไม่ยากเลย ไม่รวู้ า่ จะชมข้าราชการ นักการเมืองหรือผูป้ ระกอบการ ที่รวมตัวกันเข้มแข็งดี เอาเป็นว่าชาวไร่เป็นผู้ได้รับประโยชน์ ไม่ถกู กดราคาผลิตผลเท่านีก้ พ็ อ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องกับธุรกิจนีอ้ ย่าลืม 69

Energy#65_p68-69_iMac5.indd 69

3/21/2557 BE 1:29 AM


Auto Update Green Logistics นัษรุต: ดร.สิ โดย เถื่อนทองคํ ทธิชัย ฝรั า ่งทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ลด ความสูญเสีย ในกระบวนการผลิต ¡Òôํ Ò à¹Ô ¹ ¸Ø à ¡Ô ¨ ã¹ÂØ ¤ ¹Õ้ ໚ ¹ ¡Òäํ Ò ¹Ö § ¶Ö § áËÅ‹ § ÇÑ µ ¶Ø ´Ô º ·Õ่ ÁÕ ¤ÇÒÁËÅÒ¡ËÅÒÂáÅФ،Á¤‹Òµ‹Í¡ÒÃËÇÁÁ×ÍËÃ×Íŧ·Ø¹Ã‹ÇÁ¡Ñ¹ ¤ÇÒÁÂ×´ËÂØ‹¹¢Í§¡ÒüÅÔµ Áҵðҹ㹡Ãкǹ¡ÒüÅÔµáÅÐ ¼ÅÔ µ ÀÑ ³ ± â´ÂÍÂÙ ‹ º ¹¾×้ ¹ °Ò¹ÀÒÂ㵌 ¢ Œ Í µ¡Å§·Ò§¡ÒäŒ Ò áÅФÇÒÁ¾Ö§¾Í㨢ͧÅÙ¡¤ŒÒ·Õ่à»ÅÕ่Â¹ä» ´Ñ§¹Ñ้¹ ¸ØáԨ¨Ö§µŒÍ§ ´ํÒà¹Ô¹¸ØáԨÍ‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾áÅлÃÐÊÔ·¸Ô¼Åãˌ໚¹ä»µÒÁ ËÅÑ¡ÁҵðҹÊÒ¡Å ÁÕ¤ÇÒÁÃÇ´àÃ็Ç㹡ÒÃÊ‹§ÁͺÊÔ¹¤ŒÒáÅÐ ºÃÔ¡Òà ´ŒÇ¤سÀÒ¾·Õ่´Õ¡Ç‹Ò ÃÒ¤Ò¶Ù¡ ÁÕà·¤â¹âÅÂÕ·Õ่·Ñ¹ÊÁÑ ÃÇÁ¶Ö§¡ÒÃÁÕ¹Çѵ¡ÃÃÁ·Õ่à˹×ًͤᢋ§¢Ñ¹ã¹·ŒÍ§µÅÒ´

ดวยบริบททีเ่ ปลีย่ นแปลงไป จึงทําใหกจิ กรรมโลจิสติกสในการผลิต สินคาหรือบริการในการดําเนินธุรกิจที่จะตอบสนองความตองการ ของลูกคา เนนการลดตนทุนที่จะทําใหเกิดความประหยัดและ ลดความสูญเปลาที่อาจจะเกิดขึ้นในกระบวนการการผลิตใหนอย มากที่สุด รวมทั้งจะเปนการเพิ่มขีดความสามารถของพนักงาน ใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพ (Efficiency) ในกระบวนการ ทํางานอีกดวย จึงมีการนําแนวคิดการขจัดความสูญเปลา 7 ประการ ดังนี้ 1. ความสูญเสียทีเ่ กิดจากการผลิตมากเกินไป (Overproduction) จะเปนการคาดการณลว งหนาถึงความตองการทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต เพื่อไมใหเสียโอกาสในการขายสินคาหรือบริการและเตรียมพรอม ในการตอบสนองความตองการของผูบริโภคไดอยางทันทวงที อันทําใหเกิดตนทุนเพิม่ ขึน้ ไมวา จะเปนวัตถุดบิ แรงงาน คาจัดเก็บ สินคา บรรจุภณ ั ฑ การขนสง เปนตน 2. ความสูญเสียทีเ่ กิดจากการรอคอย (Waste of Waiting) อันเกิด จากการขาดความสมดุลอันเนื่องมาจากการวางแผนการไหลของ วัตถุดบิ ในกระบวนการผลิตทีไ่ มลงตัวหรือไมดพี อ ไมวา จะเปนจาก ความไมสมดุลความเร็วในการผลิต ความลาชาในการผลิต ระยะทาง ระหวางกระบวนการผลิตทีห่ า งไกลกัน การเติมวัตถุดบิ ในคลังสินคา ความไมสัมพันธของเครื่องจักรอัตโนมัติกับพนักงานที่ทํางานแบบ Manual หรือแมกระทั่งจากความสามารถของพนักงานเกากับ พนักงานใหมในการสงมอบงานตอกัน เปนตน 3. ความสูญเสียทีเ่ กิดจากของเสียมากเกินไป (Waste of Defect) มักเกิดจากการผลิตที่ผิดพลาด การผลิตเปนจํานวนมาก (Mass Production) การซอมหรือการปรับแตงเครือ่ งจักรทีย่ งั ไมลงตัว หรือ เกิดจากการตรวจนับของเสียทีผ่ ดิ พลาด รวมถึงจากการนํางานเกา มาแกไขใหมอีกดวย

4. ความสูญเสียทีเ่ กิดจากการขนสง ( Waste of Transportation) ซึง่ มีอยูห ลายสาเหตุ ไมวา จะมาจากการเดินทางหรือการเคลือ่ นยาย วัตถุดบิ ทัง้ กอน ระหวาง หรือหลังกระบวนการผลิต การจัดเก็บใน คลังสินคา/สินคาคงคลัง การขนยายไปไวชวั่ คราว ณ ทีแ่ หงใดแหงหนึง่ หรือการขนสงวัตถุดบิ /สินคากึง่ สําเร็จรูประหวางโรงงาน เปนตน 5. ความสูญเสียที่เกิดจากการคลังสินคาและสินคาคงคลัง (Waste of Warehouse and Inventory) คลังสินคาและสินคาคงคลัง มักเปนการทํางานคูก นั โดยจะตองประสานกันในเรือ่ งของวัตถุดบิ ในการผลิต วัตถุดบิ ระหวางการผลิต สินคากึง่ สําเร็จรูป หรือสินคา สํ า เร็ จ รู ป โดยจะต อ งไม ใ ห มี ก ารเก็ บ ไว ม ากเกิ น ความจํ า เป น หรือการใชในกระบวนการการผลิต รวมถึงการกําหนดพืน้ ทีใ่ นการ เก็ บ รั ก ษาและอุ ป กรณ ที่ ใช ว างเรี ย งจั ด เก็ บ ภายในคลั ง สิ น ค า หากละเลยการใชวตั ถุดบิ และสินคากึง่ สําเร็จรูป หรือสินคาสําเร็จรูป ที่ไวในสต็อกนานเกินไปจนเกิดความเสียหายจัดเปนของเสีย 6. ความสูญเสียทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นไหวมากเกินไป (Waste of Motion) มักจะพบไดภายในโรงงานทัว่ ไป โดยเกิดจากการออกแบบ สภาพการทํางานที่ไมเหมาะสมและขาดมาตรฐานในการทํางาน สงผลใหคุณภาพของงานที่ออกมาไมมีความสมํ่าเสมอหรือตอง ใชเวลาในการทํางานมากขึ้น 7. ความสูญเสียทีเ่ กิดจากกระบวนการการผลิตและกระบวนการ ทํางานมากเกินไป (Waste of Processing) มักจะมีการออกแบบ กระบวนการผลิต/การทํางานทีม่ ขี นั้ ตอนมากเกินความจําเปน จนนํา ไปสูค วามซํา้ ซอนในการทํางาน ความไมสะดวก สําหรับพนักงานใน การทํางาน รวมถึงมีการตรวจสอบทุก ๆ จุดกระบวนการทํางาน ดังนัน้ การตรวจสอบกระบวนการผลิต/การทํางานที่ไมกอใหเกิดผลผลิต ทีเ่ พิม่ ขึน้ จึงเปนสิง่ ทีค่ วรนํามาทบทวนตลอดเวลา

70

Energy#65_p70-71_iMac5.indd 70

3/21/2557 BE 1:32 AM


Green 4U Rainbow

จากความสูญเสียดังกล่าวที่มัก เกิดขึ้นในกระบวนผลิตของการ จัดการโลจิสติกส์ภายในองค์กรนัน้ จะเห็นได้ว่า ธุรกิจเกิดค่าใช้จ่าย ในการด� า เนิ น งานที่ สู ง มากขึ้ น ซึ่งหากต้องการลดการสูญเสีย ควรด�าเนินการดังนี้ 1. ท� ำ กำรพยำกรณ์ ค วำม ต้องกำรของลูกค้ำ (Forecasting Demand) ซึ่ ง นั บ ว่ า จะช่ ว ยให้ บริ ษั ท สามารถก� า หนดทิ ศ ทาง ในก� า ลั ง การผลิ ต และบุ ค ลากร ในการวางแผนการผลิต รวมถึง ทราบถึงปริมาณความต้องการ ของผลิตภัณฑ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อวางแผนเตรียมปัจจัย ในการผลิต ซึ่งวิธีการพยากรณ์สามารถท�าได้ 2 วิธี คือ 1. วิธี การพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative Forecasting) เป็นการ ใช้ ห ลั ก ทางสถิ ติ แ ละคณิ ต ศาสตร์ ค� า นวณค่ า พยากรณ์ โ ดย อาศัยข้อมูลในอดีต 2. วิธีพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative Forecasting) เป็นวิธีการหาค่าพยากรณ์ โดยอาศัยลางสังหรณ์ ประสบการณ์ ความคิด ความช�านาญ และการตัดสินใจของผู้ เชีย่ วชาญ ในการคาดการณ์ค่าพยากรณ์ที่เกิดขึ้น มีความน่าเชื่อ ถือส�าหรับการคาดการณ์ในช่วงเวลายาว 2. กำรน�ำระบบกำรสั่งซื้อแบบทันเวลำ (Just in Time : JIT) มาใช้ในการแก้ปัญหาดังกล่าวในการผลิต ซึ่งก็จะสามารถแก้ไข ทั้งปริมาณการผลิต ปริมาณของเสียได้อีกด้วย รวมทั้งปรับ การจัดวางผังโรงงานที่ดี (Plant layout) ก็เป็นอีกทางหนึ่งที่ สามารถช่วยได้ 3. ควรมีกำรตรวจสอบกำรท�ำงำนของพนักงำนหน้ำงำนให้ มำกขึน้ ซึง่ หากเกิดการผิดพลาดของกระบวนการในจุดใดจุดหนึง่ ต้องรีบหาสาเหตุ (Problem Solving process) และแก้ไขให้ เสร็จสิ้นโดยเร็วก่อนการผลิตใหม่จะเริ่มขึ้น รวมถึงการกระตุ้น สร้างจิตส�านึกให้พนักงานมีส่วนร่วมในการลดความสูญเสียที่ เกิดขึ้น และการให้รางวัลเพื่อสร้างแรงจูงใจในการท�างานที่มี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น 4. กำรจัดท�ำกิจกรรม 5 ส คือ สะสาง ( SEIRI ) สะดวก (SEITON) สะอาด (SEISO) สุขลักษณะ (SEIKETSU) สร้างนิสยั (SHTSUKE) ซึง่ เมือ่ มีการท�า 5 ส อย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง ทีผ่ า่ นมาจะพบว่า ที่ท�างานหรือสถานประกอบการของเรานั้นมีความปลอดภัย มีบรรยากาศน่าท�างาน ไม่มคี วามสูญเปล่าเกิดขึน้ ในการท�างาน ลดการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ์ของใช้ต่าง ๆ นอกจากนี้

ยั ง สามารถช่ ว ยลดอั ต ราของเสี ย (Defects) จากการผลิ ต ลดการเก็บสินค้า หรือ การมีของคงคลัง ( Excess Stock ) ที่ ไม่จ�าเป็นให้น้อยลง อันจะยังผลให้หน่วยงานมีความมั่นคง เข้มแข็งได้ อย่างไรก็ดี การก�าจัดลดความสูญเสียดังกล่าว นอกจากจะ เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการด�าเนินธุรกิจแล้ว ยังเป็นการลด มลภาวะ มลพิษต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นให้กับสังคม และยังจะท�าให้ คุณภาพชีวิตในการท�างานของพนักงานดีขึ้นอีกด้วย

71

Energy#65_p70-71_iMac5.indd 71

3/21/2557 BE 1:32 AM


Around The World Rainbow

¾ÅÒʵԡ¤ÍÁâ¾ÊÔµ...·Ò§àÅ×Í¡ãËÁ‹á·¹âÅËÐ สะพานทัว่ ไปในยุโรปสรางขึน้ จากโลหะ เหล็ก และโลหะหนักอืน่ ๆ แตพลาสติก และพลาสติกคอมโพสิตไดถูกนํามาใชเปนวัสดุในการกอสรางอาคาร สะพาน บานเรือนและโครงสรางอืน่ ๆ มากขึน้ เนือ่ งจากเปนวัสดุทใี่ ชพลังงานและตนทุน ในกระบวนการผลิตนอย พลาสติกถูกใชเปนวัสดุในงานกอสรางมากกวา 20% สําหรับอุตสาหกรรมการกอสรางในยุโรป ซึ่งคิดเปนอันดับที่สองรองจาก อุ ต สาหกรรมบรรจุ ภั ณ ฑ พลาสติ ก ถู ก นํ า มาใช ง านเป น เวลานานแล ว ได แก หน า ต า ง ประตู ท อ สายเคเบิ้ ลต า งๆ พื้นผิวตา ง ๆ และฉนวน แตบริษัทที่ผลิตนวัตกรรมและวัสดุสําหรับงานวิศวกรรมไดผลิตผลิตภัณฑ พลาสติกที่ใชในงานโครงสรางและการใชงานอื่น ๆ อีกมากมาย อันที่จริงแลว พลาสติ ก และคอมโพสิ ต ทํ า ให เ กิ ด โอกาสในการสร า งโครงสร า งที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ มและยั่ ง ยื น เช น มี ค วามต า นทานเป น ต อ ความชื้ น ไมเกิดสนิมหรือไมตองซอมแซมโครงสรางโดยการทาสีบอยๆ นอกจากนี้ วัสดุเหลานีย้ งั มีความแข็งแรงทนทานตอการใชงาน นํา้ หนักเบา งายตอการขนสง และติดตั้งไดอยางรวดเร็ว

เลเซอรแทนตราฉลาก...บนผลไม

ขับเคลื่อนโดยพลังงานลม

สหภาพยุโรป ไดอนุมตั ใิ หมกี ารใชเทคโนโลยีใหมหรือการ “เลเซอรประทับตรา” บนผลไม แทนการแปะสติก๊ เกอร ผูผ ลิตสินคาสามารถใชเทคโนโลยีดงั กลาว ที่ถือวาสะดวก ดีกวา และมีประสิทธิภาพกวา โดยใชเลเซอรเขียนโลโก เว็บไซต หรือโคดรหัสสินคาบนผลไม ตรวจสอบไดโดยผานทางสมารทโฟน ดวย

รถพลั ง งานลม เป น ยนตรกรรมที่ คิ ด ค น ขึ้ น ในประเทศ ลักแซมเบิรก โดยบริษัท MDI ผลิตรถยนตโดยใชพลังงานลม ในการขับเคลือ่ น รถยนตพลังลม หรือ AirCar นี้ ใชการปลอย อากาศจากระบบบีบอัดอากาศดวยความดันสูง โดยอากาศ ทีป่ ลอยออกมาจะทําหนาทีห่ มุนเพลาทําใหรถเคลือ่ นทีไ่ ปได ซึ่งการเติมอากาศ สามารถเติมไดตามสถานีอัดอากาศดวย ราคาไม แ พงโดยความเร็ ว สู ง สุ ด ที่ ทํ า ได อ ยู  ที่ ป ระมาณ 100 กิ โ ลเมตรต อ ชั่ ว โมง และสามารถวิ่ ง ได ป ระมาณ 200 กิ โ ลเมตรต อ การเติ ม อากาศหนึ่ ง ครั้ ง สามารถ เสียบปลัก๊ อัดพลังงานลมเขาถังใชเวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง ที่บาน

ขณะที่ตราเลเซอรดังกลาว จะมีรายละเอียดขอมูลตาง ๆ เชน โลโกบริษัท ผู  ผ ลิ ต สถานที่ ผลิต รวมทั้ง บารโคดที่ส ามารถสแกนเพื่ อเข า ถึ งข อมู ล เพิ่มเติมเกี่ยวกับการผลิตสินคา รวมทั้งรหัส QR Code ที่สามารถจะอานได ผานมือถือสมารทโฟน ดานผูเชี่ยวชาญระบุวา เทคโนโลยี ใ หมนี้ถือวา มีสว นชวยอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม เนือ่ งจากไมตอ งใชกระดาษผลิตเปนสติก๊ เกอร แปะบนผลไม และระบบนีจ้ ะชวยเปดโอกาสใหแกผคู า ปลีกสามารถโฆษณา สินคาของพวกเขาไดอยางกวางขวางขึ้นดวย

72

Energy#65_p72_iMac5.indd 72

3/21/2557 BE 1:34 AM


Energy#63_p45_Pro3.ai

1

1/23/14

4:49 AM


ASEAN Update กองบรรณาธิการ

IEA เตรียมรวมมือสรางความมั่นคงดานพลังงาน

ทบวงพลังงานระหวางประเทศ (International Energy Agengy : IEA) และกระทรวงพลังงานเตรียมลงนาม ความรวมมือ เรื่องการสรางความมั่นคงทางดานพลังงานจากการคาดการณความตองการใชพลังงานใน ภูมภิ าคเอเซียจะมีอตั ราการเติบโตทีเ่ พิม่ สูงขึน้ มากและมีความจําเปนตองนําเขาพลังงานมาจากภูมภิ าคอืน่ ความรวมมือดังกลาวอาจเกิดขึน้ หลังจากทีป่ ระเทศไทยมีรฐั บาลชุดใหมทส่ี ามารถกําหนดนโยบายทางดาน พลังงานในระยะยาว ปทผ่ี า นมา IEA ไดมกี ารนําเสนอผลการศึกษาแนวโนมพลังงานโลกในอนาคต ฉบับป 2556 (World Energy Outlook 2013) ซึง่ มีเนือ้ หาครอบคลุมการศึกษาทิศทางพลังงานในอนาคตของเอเซียตะวันออกเฉียงใต ใหกบั หนวยงานทีเ่ กีย่ วของในกระทรวงพลังงานเขารวมรับฟง จากการประเมินภาพรวมเศรษฐกิจในอาเซียนจะเติบโต เกือบ 3 เทาในป 2578 จํานวนประชากรจะเพิม่ ขึน้ กวา 25% ในขณะทีค่ วามตองการใชพลังงานจะเพิม่ ขึน้ สูงกวา 80% โดยความตองการใชเชือ้ เพลิงถานหินจะเพิม่ ขึน้ กวา 3 เทาตัว และสัดสวนถานหินสําหรับ การผลิตไฟฟา จะเพิม่ สัดสวนขึน้ จาก 30% ในปจจุบนั เปน 50% และอาเซียนจะกลายเปนผูน าํ เขาน้าํ มัน รายใหญ เปนอันดับ 4 ของโลกรองจาก จีน อินเดีย และ อียู โดยปริมาณการนําเขาจะเพิม่ จาก 1.9 ลานบารเรล ตอวัน เปน 5 ลานบารเรลตอวัน สําหรับประเทศไทยเปนอีกประเทศทีม่ กี ารนําเขาพลังงานจํานวนมาก จึงประเมินความตองการใชพลังงาน จะขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึง 80% เทียบเทาการขยายตัวของอาเซียน ภารกิจสําคัญคือ การหาพลังงานใหเพียงพอ ตอความตองการใชทจ่ี ะเพิม่ ขึน้ หากประเทศไทยยังไมมกี ารหาพลังงานเพิม่ เติมหรือวางแผนการใชพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพเพือ่ ลดการใชพลังงานลง จะกลายเปนประเทศทีม่ คี วามเสีย่ งดานพลังงานมากทีส่ ดุ ในอาเซียน

ถึงแมวา กฟผ. จะปรับลดการคาดการณ ใชไฟฟาเหลือเพียง 2% จากเดิมที่ตั้งคา การขยายไว ที่ 3 - 4% เนื่องจากหลาย หน ว ยงานมี ก า ร ป รั บ ล ด ค า ด ก า ร ณ  เศรษฐกิ จ ไทยขยายตั ว ประมาณ 3% และจากการใชไฟฟาเดือนกุมภาพันธปนี้ เที ย บกั บ ป ที่ แ ล ว ลดลง 3 - 4% ลดลง ตอเนื่อง 3 เดือนติดตอกัน เชื่อวาเกิดจาก ป ญ หาภาวะเศรษฐกิ จ ของประเทศที่ มี ผลตอเนื่องจากความขัดแยงทางการเมือง ทํ า ให ต  อ งควบคุ ม ค า ใช จ  า ยเพื่ อ รองรั บ การใชไฟฟาที่ขยายตัวตํ่ากวาคาด

เพิ่มศักยภาพพลังงานไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย หรือ กฟผ. เผยถึงการเตรียมความพรอมในการการลงทุน เพือ่ สรางความมัน่ คงทัง้ ระบบสายสง จากพืน้ ฐานดานพลังงานของไทยทีม่ ขี อ ไดเปรียบเรือ่ งทําเลทีต่ งั้ ที่จะเปนศูนยกลางของอาเซียน โดยมีแผนการกอสรางโรงไฟฟาใหมที่วางไว กับโครงการใหญอยาง โรงไฟฟาพระนครเหนือ แหงที่ 2 จะกอสรางแลวเสร็จ ในป 2559, โรงไฟฟาวังนอย 4 จะกอสราง แลวเสร็จประมาณเดือนเมษายน 2557 และโรงไฟฟาจะนะ 2 จะสรางเสร็จเดือนมิถุนายน 2557 74

Energy#65_p74-75_iMac5.indd 74

ทัง้ นี้ กระทรวงพลังงาน อยูร ะหวางการศึกษา ปรับปรุงการพยากรณความตองการไฟฟา เพื่ อ การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในระยะยาว และจะนํ า ไปประกอบใช ใ นแผนพั ฒ นา กํ า ลั งไฟฟ า ระยะยาว (PDP) เพื่อ ใหได ความถูกตองจนเชือ่ ถือได คือสวนหนึง่ ของ แผนการสรางความมั่นคงพลังงานไฟฟา ในประเทศและการเปนศูนยกลางอาเซียน ทําใหประเทศไทยตองเรงพัฒนาความพรอม ดานพลังงานไฟฟาของประเทศใหเพียงพอ และรองรั บ อั ต ราการใช ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ให ไ ด อยางตอเนื่อง

3/21/2557 BE 1:26 AM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

อาเซียน ภายใตความรวมมือ ดานพลังงานและสิ่งแวดลอม

ทําไม... ชวงนี้เราถึงไดรับรูขาวสารจากการเขาสู ประชาคมอาเซียนมากเหลือเกิน คําตอบหาได ไมยาก นั้นก็เพราะเปนเรื่องใหมที่แตละประเทศ ในกลุม จําเปนที่จะตองยอมรับในการเขามาของ ประเทศเพื่อสมาชิกภายใตความรวมมือเดียวกัน โดยเฉพาะดานพลังงานและสิ่งแวดลอม ที่แตละ ประเทศมีทงั้ ความพรอมและความตองการทีต่ า งกัน กลุม อาเซียน เกิดขึน้ เพือ่ สรางสันติภาพในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต อันนํามาซึ่งเสถียรภาพ ทางการเมือง และความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community : AC) ที่ประกอบดวย 3 ความรวมมือหลัก คือ ประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political-Security Community – ASC), ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community – AEC) และ ประชาคมสังคม - วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) เปาหมายดานเศรษฐกิจ ก็เปนอีกหนึ่งประเด็น ทีม่ คี วามสําคัญภายใตความรวมมือของประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนกับองคประกอบดานการตลาด และฐานการผลิตรวมกัน โดยมุง สรางความเทาเทียม ในการพัฒนาเศรษฐกิจระหวางประเทศอาเซียน โดยมีปจจัยหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิ จ ของ ภูมิภาคโดยเฉพาะความรวมมือดานพลังงาน

สิง่ ทีท่ า ทายไมแพความรวมมือดานพลังงาน คือ ผลกระทบสิง่ แวดลอม ซึง่ มีความสําคัญมาก ที่ภาคธุรกิจและภาคอุตสาหกรรมตองเตรียมการรับมือรวมกัน เพราะประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนถือเปนเวทีความรวมมือขนาดใหญกับประชากรรวม 600 ลานคน มีจํานวนแรงงาน มากกวา 300 ลานคน มีพื้นที่เพาะปลูกรวม 429 ลานไร สงผลใหปริมาณการใชพลังงาน ของแตละประเทศในกลุม AEC จะมีสถิติสูงขึ้นอยางตอเนื่อง และกอใหเกิดการปลอยกาซ คารบอนไดออกไซดในกิกรรมดานพลังงานรูปแบบตาง ๆ จึงจําเปนที่ตองรวมมือกัน สรางความสมดุลระหวางการเติบโตของเศรษฐกิจไปพรอม ๆ กับการดูแลเรื่องผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอม ความรวมมือดานสิ่งแวดลอมในอาเซียน เกิดขึ้นตั้งแตป 2520 ซึ่งไดความรวมมือโครงการ สิง่ แวดลอมของอนุภมู ภิ าคอาเซียน (ASEAN Sub-regional Environment Programme –ASEP) ระยะที่ 1 จากสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme – UNEP) และ เมื่อกาวเขาสูคริสตศตวรรษที่ 21 ประเด็นปญหาเริ่มมีความเกี่ยวของกับปญหาทางดาน สิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยกลุมประเทศสมาชิกไดเริ่มเจรจากันถึงขอตกลงดานสิ่งแวดลอม และมีการลงนามในความตกลงอาเซียนวาดวยมลพิษจากหมอกควันขามแดน (พ.ศ. 2545) ปฏิญญาเซบูวาดวยความมั่นคงทางพลังงานเอเชียตะวันออก เครือขายกํากับดูแลสัตวปา อาเซียน (พ.ศ. 2549) และหุน สวนเอเชีย-แปซิฟก วาดวยการพัฒนาความสะอาดและสภาพอากาศ เพื่อตอบสนองตอปรากฏการณโลกรอนและผลกระทบทางดานลบตอการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศ (พ.ศ. 2550) สวนความรวมมือดานพลังงานเปนประเด็นที่นาสนใจ เพราะถือเปนปจจัยที่ชวยสงเสริม คุณภาพชีวิตและผลักดันใหเกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการใชพลังงานจึงถือเปน เครื่องชี้วัดดานเศรษฐกิจ ที่จะสูงตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น ยิ่งมีการใชพลังงานมากขึ้น ประเทศในกลุมสมาชิกอาเซียนจะตองสงเสริมการลงทุนเกี่ยวกับโครงสรางพื้นฐานดาน พลังงาน เพื่อสรางความมั่นคงดานการจัดหาและการใชพลังงานในภูมิภาค การมีพลังงานที่ เพียงพอและมีราคาทีส่ ามารถซือ้ หาไดมสี ว นสําคัญในการชวยลดปญหาความยากจนพัฒนา สวัสดิการทางสังคมใหแกประชาชน และชวยยกระดับมาตรฐานการครองชีพของประชากร ในกลุมไดมากยิ่งขึ้น

75

Energy#65_p74-75_iMac5.indd 75

3/21/2557 BE 1:26 AM


Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา

º·àÃÕ¹·Õ่¹‹Ò¨´¨Ó ÊÙ‹·Ò§ÍÍ¡ÃѺÁ×Í...ä¿¿‡Ò´Ñº àª×่ÍËÃ×ÍäÁ‹? »ÃÐà·Èä·Â¢Í§àÃÒ ÁÕàÃ×่ͧÍÐäÃá»Å¡ æ à¡Ô´¢Ö้¹áºº äÁ‹¹‹Ò¨Ðà¡Ô´ ÊํÒËÃѺÂؤÊÁÑÂã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ËÅÒ¤ÃÑ้§ËÅÒ¤ÃÒ ·Õ่àÃÒ... ÃÇÁ¶Ö§Ë¹‹Ç§ҹ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§ µŒÍ§ÁÒµÒÁ¤Ô´à¾×่ÍËҷҧᡌ»˜ÞËÒ ·Õ่ à ¡Ô ´ ¢Ö้ ¹ ä»áÅŒ Ç á·¹¡Òû‡ Í §¡Ñ ¹ à¾×่ Í äÁ‹ ã ËŒ à ¡Ô ´ à赯 ¡ Òó ã ËÁ‹ ËÃ×Íà¡Ô´à˵ءÒó à´ÔÁ æ ¢Ö้¹ÁÒÍÕ¡ ËÅÒ¤¹ÁͧNjÒ໚¹àËÁ×͹ ¡ÒÃÅŒÍÁ¤Í¡» ´¡Ñ้¹»˜ÞËÒàÍÒäÇŒ ᵋËÅÒ¤¹¡็¤Ô´ã¹á§‹´ÕÇ‹Ò ´Õ¡Ç‹Ò äÁ‹·ํÒÍÐäÃàÊÕÂàÅÂ

76

R1_Energy#65_p76-77_iMac5.indd 76

3/22/2557 BE 12:02 AM


บทเรียนครัง้ สําคัญของประเทศไทยเกิดขึน้ เมือ่ เดือนพฤษภาคมป 2556 กับเหตุการณไฟฟาดับทั้งพื้นที่ รวม 14 จังหวัดภาคใต ซึ่งเหตุการณ ที่เกิดขึ้นนอกจากจะสงผลกระทบอยางรุนแรงตอประชาชนในพื้นที่ ยังสงผลกระทบตอแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศอยางหนัก เกิดเปนเสียงสะทอนกลับมาวา เกิดขึ้นไดอยางไร ทั้งที่บานเราไมมี เหตุการณไฟฟาดับแบบนี้มานับ 10 ป เพือ่ เปนการหาทางออกรวมกันตอเรือ่ งดังกลาว กระทรวงพลังงานได มีการเรียกประชุมคณะทํางานติดตามการบริหารเชือ้ เพลิง เพือ่ เตรียม ความพรอมตอเหตุการณ ที่ อ าจเป น ป จ จั ย เสี่ ย งที่ อาจกอใหเกิดประวัตศิ าสตร ซํา้ รออยางกรณีแหลงผลิต ก า ซในพื้ น ที่ พั ฒ นาร ว ม ไทย-มาเลเซีย หรือ เจดีเอ จะหยุดซอมบํารุงชวงกลาง ปนี้ โดยวางมาตรการรวมกับ ทุกหนวยงานที่ เ กี่ ย วข อ ง เพือ่ ปองกันไมใหเกิดไฟฟา ดับใน 14 จังหวัดภาคใต ทั้งนี้ ไดมีการติดตามการ บริหารเชื้อเพลิง เพื่อหา ทางออกถึงการหยุดซอมบํารุง ของแหลงกาซธรรมชาติ 2 แหลงหลัก คือ แหลง บงกช ที่จะหยุดซอมบํารุงในชวงระหวางวันที่ 10-27 เมษายน 2557 และแหลงกาซธรรมชาติในพืน้ ทีพ่ ฒ ั นารวมระหวางไทยและมาเลเซีย (เจดีเอ) ที่จะปดซอมบํารุงครั้งใหญ ระหวางวันที่ 13 มิถุนายน – 10 กรกฎาคม 2557 ซึ่งจะสงผลใหโรงไฟฟาจะนะ จ.สงขลา ที่รับ ก า ซจากทั้ ง สองแหล ง เพื่ อ เป น เชื้ อ เพลิ ง ในการผลิ ต ไฟฟ า ตองหยุดเดินเครื่อง ประเด็นสําคัญคือโรงไฟฟาแหงนี้ ไมสามารถ ใชเชื้อเพลิงอื่นทดแทนในการผลิตไฟฟาได ซึ่งจะทําใหไฟฟาหายไป จากระบบทันที 700 เมกะวัตต เปนตัวเลขที่ไมนอยเลยทีเดียว เพือ่ ไมใหเกิดเหตุการณซาํ้ รอยอีกครัง้ สําหรับพืน้ ที่ 14 จังหวัดภาคใต กระทรวงพลังงานจึงไดหาทางออกรวมกับการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อหาถึงมาตรการรองรับ โดยมีการปรับแผน ตรวจสอบและบํารุงรักษาโรงไฟฟาภาคใต รวมถึงไมใหมีการหยุด บํารุงรักษาชวงทีแ่ หลงเจดีเอปดซอม อีกทัง้ ยังมีการเตรียมความพรอม โรงไฟฟาภาคใตทกุ เครือ่ ง อาทิ โรงไฟฟากระบีไ่ ดทดสอบใหเดินเครือ่ ง เต็มกําลังผลิต 24 ชั่วโมง ตลอดระยะเวลา 14 วัน เพื่อมาชวยเสริม ไฟฟาในระบบทดแทนโรงไฟฟาจะนะ อีกทั้งเพื่อเตรียมการรับมือใหมากยิ่งขึ้น ไดมีการตรวจสอบอุปกรณ ระบบสง และระบบปองกันใหมีความพรอมใชงาน โดยจะดําเนินการ แลวเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม 2557 พรอมกับการประสานงาน จัดเตรียมแผนยายโหลดหรือแผนดับไฟรวมกับการไฟฟาสวนภูมภิ าค

Vehicle Concept

(กฟภ.) สําหรับใชในกรณีฉกุ เฉินอืน่ ๆ เพิม่ เตินัมษดรุตวยเถืรวมถึ งการดึ ่อนทองคํ า งไฟฟา กฟผ.ใหสงไฟฟาจากภาคกลางในปริมาณรองรับมาตรฐานความ มัน่ คงดานไฟฟา โดยไมกระทบกับภาคกลาง โดยคาดวาจะมีการสง ไฟฟาจากภาคกลางเขาระบบสงไฟฟาภาคใต ปริมาณ 700 เมกะวัตต ปกติภาคใตตอ งรับไฟฟาจากภาคกลางอยูแ ลวประมาณ 500 เมกะวัตต ทัง้ นี้ หากมีความจําเปนสามารถจัดสงเพิม่ ไดโดยสามารถนําเขาไดสงู สุด ที่ 1,050 เมกะวัตต ในกรณีฉุกเฉิน และเตรียมปริมาณเชื้อเพลิง สํารอง เชน นํ้ามันเตา นํ้ามันดีเซล เพื่อใหเพียงพอตอความตองการ ของโรงไฟฟาในภาคใตอีกดวย จ า ก ก า ร ป ร ะ เ มิ น สถานการณเบื้องตน ความตองการใชไฟฟา ในภาคใตสงู สุดในชวง ที่จะมีการหยุดซอม บํารุงอยูที่ประมาณ 2,500 เมกะวั ต ต การปดซ อ มแหล ง กาซเจดีเอครัง้ นี้ สงผล ใหไฟฟาหายไปจาก ระบบถึง 700 เมกะวัตต อาจทําใหประชาชนเกิด ความกังวลวาไฟฟา จะดับ จากขอมูลกําลัง การผลิตไฟฟาภาคใต ของ กฟผ. แม ว  า โรงไฟฟาจะนะจะไมสามารถเดินเครือ่ งได แตกม็ แี นวทางการบริหาร จัดการดานอื่น ๆ เพื่อใหภาคใตมีไฟฟาเพียงพอ จึงไมนาเปนหวง มากนัก ถึงแมวาเดือนเมษายนจะมีการใชไฟฟาในระดับพีคเปนประจําทุกป บวกกั บสถานการณ ก ารหยุ ด ผลิ ต ก า ซธรรมชาติจ ากแหลง บงกช แตกระทรวงพลังงานเชือ่ วาจะไมกระทบตอความมัน่ คงดานพลังงาน มากนัก เพราะไดเตรียมการรับมือลวงหนาไวเรียบรอยแลว และกรมเชือ้ เพลิง ธรรมชาติไดเจรจากับแหลงบงกชเพื่อลดจํานวนวันในการหยุดซอม ลงเหลือเพียง 18 วัน จากเดิมกําหนดหยุดซอมบํารุงตั้งแตวันที่ 10 เมษายน – 5 พฤษภาคม 2557 เปนหยุดซอมตั้งแตวันที่ 10 - 27 เมษายน 2557 ซึง่ ระยะเวลาดังกลาวไมไดอยูใ นชวงทีม่ คี วามตองการ ใชไฟฟาสูงสุด รวมทัง้ ทุกภาคสวนไดเตรียมการรองรับดานการจัดหา เชื้อเพลิงสํารอง เพื่อไมใหเกิดประวัติศาสตรซํ้ารอย

ฉะนั้น เรา ๆ ทาน ๆ ประชาชนตาดํา ๆ ก็อยาพึ่งตกใจกันมากนัก เพราะเรามีบทเรียน และหาทางแกไขที่รัดกุม แมวาใครจะมองวา เปนเหมือนการลอมคอก แตกย็ งั ดีกวาไมทาํ อะไรเสียเลย ใชหรือไม?

77

Energy#65_p76-77_iMac5.indd 77

3/21/2557 BE 1:29 AM


Insight Energy นาคนิวาส

»ÃÐà·Èä·Â¡ÑºàÃ×่ͧ¢Í§¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ ÁÕ¡ÒôํÒà¹Ô¹¡Òèҡ˹‹Ç§ҹ·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§ÁÒ໚¹àÇÅÒ¹Ò¹ â´Â੾ÒÐàÃ×่ͧ¢Í§¡ÒÃʹѺʹع áÅÐÊ‹§àÊÃÔÁ¡ÒüÅÔµ¡ Ò«ªÕÇÀÒ¾·Õ่ÁÕÁÒµÑ้§áµ‹»‚ 2538 ÃÇÁ æ áŌǡ็ 19 »‚ ¨Ò¡¢ŒÍÁÙÅ»ÃÐà·Èä·ÂÊÒÁÒö¼ÅÔµ¡ Ò«ªÕÇÀҾ䴌ÁÒ¡¡Ç‹Ò 835 Ōҹ ź.Á. ÊÒÁÒö¹ํÒÁÒ¼ÅԵ俿‡Òä´ŒÁÒ¡¶Ö§ 1,169 Ōҹ˹‹Ç ¤Ô´à»š¹ÁÙŤ‹ÒÁÒ¡¡Ç‹Ò 4,000 ŌҹºÒ·

¡ Ò«ªÕÇÀÒ¾ ª‹ÇªҵԻÃÐËÂÑ´à§Ô¹

สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน เผยถึงทีม่ าตามที่ กองทุนเพือ่ สงเสริมอนุรักษพลังงาน ไดใหการสนับสนุน สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค มหาวิทยาลัยเชียงใหม ผูเ ชีย่ วชาญดานเทคโนโลยีกา ซชีวภาพ ดําเนินโครงการสงเสริมการผลิต กาซชีวภาพเพือ่ ผลิตเปนพลังงานทดแทน โดยเริม่ โครงการนํารองตัง้ แตป 2538 จนถึงปจจุบนั รวมระยะเวลา 19 ป ตลอดระยะเวลาการดําเนินงานไดรับความสนใจจากเกษตรกรเจาของ ฟารมทัว่ ประเทศ สมัครเขารวมโครงการ เปนจํานวนมากถึง 1,140 แหง ซึง่ ประสบความสําเร็จ เปนอยางมาก สามารถผลิตกาซชีวภาพไดมากกวา 835 ลาน ลบ.ม. สามารถนําไปผลิต ไฟฟาไดมากถึง 1,169 ลานหนวย คิดเปนเงินมูลคากวา 4,094 ลานบาท

หมูบานโรงวัว อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม นําไปใชในครัวเรือน นับเปนหมูบ า นแหงแรก ของไทยที่ปลอด LPG

จากการพัฒนาอยางตอเนื่อง เห็นไดวากาซ ชีวภาพเปนพลังงานทดแทนทีส่ ามารถนํามา ใชประโยชน และใชทดแทนพลังงานตาง ๆ ในประเทศไดมากมาย ที่สําคัญเปนพลังงาน ทีส่ ะอาด ชวยรักษาสิง่ แวดลอม เพราะวัตถุดบิ การสนับสนุนการศึกษาวิจยั เทคโนโลยีกา ซชีวภาพมีมาอยางตอเนือ่ ง เพือ่ นํามาใชในการผลิต ที่ ใช เ ป น ของเสี ย หรื อ ของเหลื อ ใช ท าง กระแสไฟฟา นํามาใชผลิตเปนกาซไบโอมีเทนอัด CBG (Compressed Biomethane Gas) ซึง่ มี การเกษตร รวมถึงพืชพลังงาน อีกทั้งยังใช คุ ณ ภาพเที ย บเท า NGV สามารถนํ า ไปเติ ม ในรถยนต ไ ด ไม มี ป  ญ หากั บ เครื่ อ งยนต เทคโนโลยีในประเทศที่ไมตองนําเขาจาก แตอยางใด นอกจากนี้ยังใชทดแทนกาซหุงตม หรือ LPG ในหมูบานตาง ๆ ดวยการสงกาซ ตางประเทศ สามารถผลิตพลังงานไดอยาง ชีวภาพผานไปตามทอ PVC เพื่อใหกาซชีวภาพสามารถนําไปใชทดแทน LPG ไดอยาง ตอเนือ่ ง จึงถือเปนพลังงานทีเ่ หมาะจะนํามา พัฒนาในทุก ๆ ดาน ในอนาคตกาซชีวภาพ มีประสิทธิภาพมากขึ้น อาจมีความตองการใชมากกวาในปจจุบัน โครงการล า สุ ด ไดส นับ สนุน ใหศึกษานํากาซชี ว ภาพมาพั ฒนาคุ ณ ภาพให ใกล เ คี ยงกั บ ก็เปนได ก า ซ LPG และนํามาอัดใสถัง แทนการสง ผานทางท อ โดยนํ า ร องแจกฟรี ให ช าวบ า น 78

Energy#65_p78_iMac5.indd 78

3/21/2557 BE 1:32 AM


Special Scoop กองบรรณาธิการ

¡ÃÁ¸ØáԨ¾Åѧ§Ò¹ à´Ô¹Ë¹ŒÒóç¤ »ÃÐËÂÑ´¹ํÒ้ Áѹ ่ »ÃÐËÂÑ´¹ํÒ้ ÁѹÊØ´¿ ¹” ¼‹Ò¹¡Ô¨¡ÃÃÁ “äÍà´ÕÂÊØ´Áѹ ¡ÃÁ¸ØáԨ¾Åѧ§Ò¹ ¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹ ¨Ñ´¡Ô¨¡ÃÃÁóç¤ ¤Ãѧ้ ÂÔ§่ ãËÞ‹»ÅØ¡¡ÃÐáʼÙ㌠ªŒÃ¶Â¹µ ãËŒ ËÑ ¹ ÁÒ»ÃÐËÂÑ ´ ¹ํ้ Ò ÁÑ ¹ ´Œ Ç Â¡ÒÃáªÃ ä Íà´Õ  »ÃÐËÂÑ ´ ¹ํ้ Ò ÁÑ ¹ ์ ¹ ŧÁ× Í »¯Ô ºÑ µÔ ä ´Œ ¨ ÃÔ § ³ ÅÒ¹¡Ô¨¡ÃÃÁ´ŒÒ¹Ë¹ŒÒ¿ Çà¨Íà ¾Òà ¤ ÃѧÊÔµ

นายชุมพล ฐิตยารักษ รองปลัดกระทรวงพลังงาน เปดเผยวา กระทรวงพลังงานไดกาํ หนดยุทธศาสตร สงเสริมและผลักดันการอนุรกั ษพลังงาน โดยการลดระดับการใชพลังงานทุกภาคสวนลง รอยละ 25 ภายใน 20 ป ในการนีก้ รมธุรกิจพลังงานไดดาํ เนินโครงการประชาสัมพันธสง เสริมการอนุรกั ษพลังงานในกลุมผูใชรถยนต สวนบุคคล โดยการจัดกิจกรรมรณรงคประหยัดนํา้ มัน ภายใตแนวคิด “ไอเดียสุดมัน่ ประหยัดนํา้ มันสุดฟน” เพือ่ ผลักดันใหเกิดกระแสการแชรไอเดียประหยัดนํา้ มันทีห่ ลากหลายในวงกวาง อาทิ ทางเดียวกันไปดวยกัน ไมขบั ก็ดบั เครือ่ ง รวมถึงความรูเ กีย่ วกับการขับรถอยางถูกวิธี การวางแผนสําหรับการเดินทาง เปนตน หวังสรางความตระหนัก เพือ่ กอใหเกิดการปรับเปลีย่ นทัศนคติ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ลงมือปฏิบตั วิ ธิ ี ประหยัดนํา้ มันอยางจริงจัง ชวยสรางเครือขายสังคมคนประหยัดนํา้ มันไดอยางรวดเร็วและกวางขวาง ดาน นายสมนึก บํารุงสาลี อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กลาวเพิม่ เติมวา การจัดกิจกรรมครัง้ นีช้ ว ยกระตุน และ ผลักดันใหผใู ชรถยนตไดแชรไอเดียประหยัดนํา้ มันทีส่ ามารถทําไดจริงในชีวติ ประจําวัน จนเกิดการบอกตอ กับคนรอบขาง ปลุกกระแสใหเกิดการเชิดชูผูลงมือปฏิบัติในการประหยัดนํ้ามันอยางเต็มภาคภูมิ ซึง่ กิจกรรมทีน่ า สนใจภายในงาน ประกอบดวย ขบวนคาราวานไอเดียสุดมัน่ ประหยัดนํา้ มันสุดฟน นิทรรศการ ไอเดียสุดมัน่ ประหยัดนํา้ มันสุดฟน การแสดงโชวสดุ อลังการ และคอนเสิรต จาก รุท - แกรนด The Star โดยเปดโอกาสใหผรู ว มงานรวมสนุกแชรไอเดียประหยัดนํา้ มัน พรอมลุน รับของรางวัลมากมาย

นอกจากนี้ กรมธุรกิจพลังงานยังไดผลิตและเผยแพรสื่อ ประชาสัมพันธอนื่ ๆ ทีช่ ว ยกระตุน และรณรงคใหเกิดการลงมือ ปฏิบัติวิธีประหยัดนํ้ามัน อาทิ ภาพยนตรประชาสัมพันธ เรือ่ ง “แชรใหรู โชวใหเห็น เปนคนประหยัดนํา้ มัน” รวมถึง การประกวดภาพวิธีประหยัดนํ้ามัน 108 ไอเดียประหยัด นํา้ มันสุดฟน ที่ได 10 ไอเดียประหยัดนํา้ มันสุดฟน จากการ โหวตของประชาชนทัว่ ประเทศ ทีผ่ า นมากรมธุรกิจพลังงาน ไดลงพื้นที่จัดกิจกรรมรณรงคทั่วประเทศอยางตอเนื่อง และจะเดินหนาจัดตอไปเพื่อใหครอบคลุมทุกภูมิภาคทั่ว ประเทศ สอบถามขอมูลเพิม่ เติมติดตอ : คุณธัญยธรณ อุดมวงษ โทร. 086-9945924 E-mail : kaatuk.marketing@gmail.com

79

Energy#65_p79_iMac5.indd 79

3/22/2557 BE 12:25 AM


Special Scoop กองบรรณาธิการ

บริษท ั บ้านปู (จ�ากัด) มหาชน กับการท�างานด้านพลังงานในช่วง ปีทผ ี่ า่ นมา ผ่านการเปิดเผยของ “นายชนินท์ ว่องกุศลกิจ” ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร ช่วงสองปีที่ผ่านมา เป็นช่วงที่ราคาถ่านหิน ทั่ ว โลกอ่ อ นตั ว ลง ท� า ให้ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งปรั บ ต้ น ทุ น ปรั บ ปรุ ง ประสิทธิภาพการผลิต และส่งเสริมการผนึกก�า ลังของธุรกิจ ถ่านหินที่ด�าเนินงานอยู่ในระดับภูมิภาคเพื่อรองรับสถานการณ์ ดังกล่าว

ตัง้ เป้าลดต้นทุนการผลิตด้านพลังงาน

เน้นนวัตกรรม ขยายการเติบโตในอนาคต

ปี 2555 และ 2556 ดัชนี ราคาถ่ า นหิ น เฉลี่ ย ใน ภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดลงประมาณ 20% และ 13% ตามล�าดับจากปีกอ่ น ทางออกคือ การลดต้นทุน การผลิต ช่วยเพิม่ ขีดความ สามารถให้ แ ก่ บ ริ ษั ท ฯ ในการรับมือกับความท้าทาย ที่ธุรกิจก�าลังเผชิญอยู่และ ยังจะช่วยเพิม่ ผลตอบแทน ให้กับผู้ถือหุ้นในระยะยาว อี ก ด้ ว ย เนื่ อ งจากความ ต้องการพลังงานในภูมภิ าคเอเชียยังคงเติบโต โดยปี 2556 ฐานการผลิต ของบริษทั ฯ ทัว่ ทัง้ ภูมภิ าคประสบความส�าเร็จในการด�าเนินมาตรการ ลดค่ า ใช้ จ ่ า ยลง โดยแหล่ ง ผลิ ต ถ่ า นหิ น ทั้ ง หมดในอิ น โดนี เซี ย สามารถลดต้นทุนรวมได้ 11% ซึ่งความส�าเร็จดังกล่าวเกิดจาก การปรับแผนการท�าเหมือง การลดอัตราส่วนการเปิดหน้าดินต่อถ่านหิน ทีแ่ หล่งผลิตหลัก ๆ ลง การล�าเลียงถ่านหินทีม่ ปี ระสิทธิภาพมากขึน้ และการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลงของท่าเรือบอนตัง จากการใช้พลังงาน ไฟฟ้าในกระบวนการขนถ่ายถ่านหิน รวมทั้งการบริหารตารางเรือ

ขนถ่ า ยถ่ า นหิ น ที่ ดี ขึ้ น ขณะเดี ย วกั น กลุ ่ ม เหมื อ งถ่ า นหิ น ใน ออสเตรเลี ย สามารถบริ ห ารต้ น ทุ น เงิ น สดได้ เ ป็ น อย่ า งดี ตลอดทั้งปี จนสามารถลดต้นทุนลง 2% จากปีก่อนหน้า

ส�าหรับปี 2557 ตั้งเป้าหมายการผลิตและจ�าหน่ายถ่านหินจาก แหล่ ง ผลิ ต ในประเทศอิ น โดนี เซี ย ออสเตรเลี ย และจี น รวมประมาณ 47 ล้านตัน โดยยังคงเน้นการปรับปรุงประสิทธิภาพ การผลิต และระบบการขนส่ง เพื่อลดต้นทุนการผลิตอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้แหล่งผลิตถ่านหินในอินโดนีเซียและออสเตรเลีย ตั้งเป้าหมายลดต้นทุนลงอีก 5%และ 4% ตามล�าดับในปีนี้ การด�าเนินการในประเทศออสเตรเลีย ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์ ชุดใหม่ทเี่ หมืองแมนดาลอง เหมืองไมยูนา และเหมืองสปริงเวล น่ า จะช่ ว ยเพิ่ ม ปริ ม าณการผลิ ต ให้ สู ง ขึ้ น ในขณะที่ ก ารจั ด ประสิทธิภาพการขนส่งทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับระบบทางรถไฟและท่าเรือ ที่ดีขึ้น จะช่วยลดค่าใช้จ่ายโดยรวมส่วนในประเทศมองโกเลีย ยั ง คงศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการพั ฒ นาเหมื อ งที่ ซ านต์ อู ล เหมืองถ่านหินประเภทเชื้อเพลิงให้ความร้อน และอัลไต นูร์ส เหมืองถ่านหินที่ใช้ในการถลุงเหล็ก โดยได้ด�าเนินการทดสอบ การแปลงถ่านหินจากโครงการซานต์อลู เป็นเคมี ซึง่ มีผลลัพธ์ทดี่ ี และในปี 2557 นี้ จ ะมี ก ารสร้ า งโรงงานน� า ร่ อ งการผลิ ต ขึ้ น

80

Energy#65_p80-81_iMac5.indd 80

3/21/2557 BE 12:32 AM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�

รวมทั้งการทดสอบตลาดและวิเคราะห์ศักยภาพทางเศรษฐกิจ ของโครงการ โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ พั ฒ นาโรงงานเพื่ อ การผลิตเชิงพาณิชย์ต่อไปในปีหน้า แม้ว่าราคาถ่านหินจะอ่อนตัวลงในระยะสั้น แต่ในภาพรวม ราคาถ่านหินน่าจะค่อย ๆ ปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เนื่องจากเศรษฐกิจของเอเชียยังคง เติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การใช้ ถ ่ า นหิ น ในอิ น เดี ย เวี ย ดนาม และฟิลปิ ปินส์จะสูงขึน้ อย่างมากในอีก 20 ปีขา้ งหน้าในอนาคต การด�าเนินธุรกิจจะยังคงเน้นที่ธุรกิจพลังงานถ่านหินในภูมิภาค เอเชี ย -แปซิ ฟ ิ ก โดยจะแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ เพื่ อ สร้ า ง การเติบโตให้แก่ธุรกิจถ่านหินทั้งจากแหล่งถ่านหินที่มีอยู่ใน ปั จ จุ บั น และจากแหล่ ง ถ่ า นหิ น ใหม่ ๆ นอกจากนี้ จ ะยั ง คง มุ ่ ง สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม อย่ า งต่ อ เนื่ อ งให้ กั บ เหมื อ งถ่ า นหิ น ของ บริษัทฯ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพและขยายการจัดการด้าน โครงสร้างพื้นฐานและการขนส่ง และศึกษาการขยายธุรกิจจาก การผลิ ต ถ่ า นหิ น สู ่ ก ารพั ฒ นาพลั ง งานไฟฟ้ า จากถ่ า นหิ น การเปลี่ยนถ่านหินเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ตลอดจนการใช้ ถ่านหินในการถลุงเหล็ก

การวางกลยุทธ์จะเน้นการใช้นวัตกรรม ซึ่งเป็นหนึ่งในค่านิยม ร่วมองค์กร บ้านปู สปิริต ในการพัฒนาธุรกิจ รวมถึงแผน กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ การเติ บ โต จึ ง ไม่ ไ ด้ จ� า กั ด อยู ่ ที่ ธุ ร กิ จ พลั ง งาน ถ่านหินเพียงแต่อย่างเดียว ตลอดระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้ท�าการศึกษาเทคโนโลยีด้านพลังงานใหม่ๆ อีก มากมาย โดยมีวัตถุประสงค์ไม่ใช่เพียงเพื่อประเมินผลกระทบ ที่อาจจะเกิดขึ้นในระยะยาวต่ออุตสาหกรรมเชื้อเพลิงฟอสซิล แต่เพือ่ ส�ารวจตลาดพลังงานใหม่ ๆ ทีน่ า่ สนใจส�าหรับการลงทุน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและลดความเสี่ยงให้ได้มากที่สุด

81

Energy#65_p80-81_iMac5.indd 81

3/21/2557 BE 12:32 AM


Energy Rules ทิดเป้ง

»˜ÞËÒ»Ò¡·ŒÍ§

àÃ×่ͧÊÓ¤ÑÞ·Õ่äÁ‹ÍÒ¨Áͧ¢ŒÒÁ¡ÑºÊ¶Ò¹¡Òó ·Õ่ÁÕ¡ÒÃᢋ§¢Ñ¹ à¾×่ÍàÍÒµÑÇÃÍ´ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ÊÔ่§·Õ่໚¹µŒ¹·Ø¹ªÕÇÔµ¤×Í ¤‹Ò¤ÃͧªÕ¾ ¨ÃÔ§ÍÂÙ‹·Õ่âÅ¡ÁÕ¡ÒâѺà¤Å×่͹Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ ¤‹Ò¤ÃͧªÕ¾¨Ö§µŒÍ§ËÁعáÅлÃѺµÒÁ ᵋÊÔ่§Ë¹Ö่§·Õ่äÁ‹¤ÇÃÅ×ÁÇ‹Ò ã¹áµ‹ÅлÃÐà·ÈÂѧ¤§ÁÕ¼ÙŒ·Õ่ÁÕÃÒÂä´Œ¹ŒÍ ·Õ่¨Ó໚¹µŒÍ§¨‹ÒÂãËŒ¡ÑºµŒ¹·Ø¹ªÕÇÔµ·Õ่´Õ¢Ö้¹à·Õº෋ҼٌÁÕÃÒÂä´ŒÊÙ§ÍÂÙ‹

เยียวยาผูมีรายไดนอย... หลังขึ้นราคา LPG ภาคขนสง

การศึกษามาตรการชวยเหลือผูม รี ายไดนอ ยมีมาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะ สิ่งที่ประชาชนกลุมหนึ่งกําลังจับจองคือ คําสั่งขึ้นราคา LPG ภาคขนสง สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ไดรวมกับกรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.) และหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ประเมินจํานวนผูไ ดรบั ผลกระทบดังกลาว โดยเฉพาะกลุมผูขับขี่แท็กซี่ เพื่อหามาตรการชวยเหลือ ในกรณีทพี่ จิ ารณาปรับขึน้ ราคา LPG ภาคขนสงจาก 21.38 บาทตอกิโลกรัม ใหเทากับราคา LPG ภาคครัวเรือน กระทรวงพลังงานจําเปนตองสงเรื่อง ใหคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เพื่อทยอยปรับขึ้นราคาเดือนละ 50 สตางคตอ กิโลกรัม จากปจจุบนั จนถึง 24.82 บาทตอกิโลกรัม เพือ่ ปองกัน การลักลอบนํากาซ LPG ภาคขนสงที่มีราคาถูกไปขายในภาคครัวเรือน ในอนาคต ทีผ่ า นมากลุม ผูข บั ขีร่ ถแท็กซีไ่ ดขนึ้ ทะเบียนใช LPG กวา 20,000 คัน แตตอ ไป คาดวาจํานวนลดลงอยางตอเนือ่ ง เพราะรถแท็กซีท่ ใี่ ชกา ซ LPG จะทยอย หมดอายุ และรถแท็กซีร่ นุ ใหมทจี่ ดทะเบียนจะใชกา ซธรรมชาติเหลวสําหรับ ยานยนต หรือ NGV เปนเชื้อเพลิงแทน จากขอมูลรถแท็กซี่ที่ใช LPG มี จํานวนเหลือเพียงหลักพันคันเทานัน้ หากเปรียบเทียบสัดสวนถือวามีผไู ด รับผลกระทบนอย และมีมาตรการชวยเหลือรองรับโดยการอุดหนุนให แท็กซี่เปลี่ยนเปน NGV แทน ดังนั้นจึงสามารถปรับขึ้นราคาในภาคขนสง ไดเลย แตถา พบวาผูไ ดรบั ผลกระทบมีจาํ นวนมากกวานัน้ ตองหามาตรการ ชวยเหลือดานอื่นเพิ่มเติม

ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานยังไมมีแนวทางจะขอ กกต. ในการปรับขึ้นราคา LPG ภาคขนสง จนกวาราคาจําหนายภาคครัวเรือนจะสูงกวาภาคขนสง 1-2 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งเปนสวนตางที่จูงใจใหเกิดการลักลอบนํา LPG ภาคขนสงไปขายในภาคครัวเรือน และเกิดความไมเปนธรรมระหวางผูใช ทั้ง 2 ภาค เพราะผูใชภาคขนสงจะไดรับการอุดหนุนราคาจากกองทุน นํ้ามันเชื้อเพลิงมากกวาผูใชภาคครัวเรือน เพื่อปองกันเรื่องของการลักลอบในการนํา LPG ไปจําหนายผิดประเภท ไดมีการขอความรวมมือจากกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) และพลังงาน จังหวัด ใหรวมกันกวดขันเพื่อปองกันการลักลอบจําหนายผิดประเภท พร อมกั บการประชาสั ม พั น ธ ไปยั งผู  ค า LPG รายใหญ (มาตรา 7) โรงบรรจุกาซแอลพีจี และสถานีบริการ ใหนํากาซ LPG ไปลงยัง ปลายทางที่แจงกับภาครัฐไว และหากพบ ว า ผู  ใ ดมี ก ารกระทํ า ผิ ด ไปจํ า หน า ย ขามภาค จะมีความผิดถูกปรับ 1 แสนบาท จําคุกสูงสุด 10 ป หรือทั้งจําทั้งปรับ

82

Energy#65_p82_iMac5.indd 82

3/21/2557 BE 12:35 AM


Energy Report โดย : ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

การสราง นวัตกรรม

- ความแปลกใหม ของผลิตภัณฑ ÁÕ¤ÇÒÁ·ŒÒ·ÒÂÁÒ¡ÁÒÂ㹡Ò÷ํÒ¸ØáԨ·Õ่¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒõŒÍ§ àÍÒª¹Ð áÅСŒÒÇ¢ŒÒÁ¼‹Ò¹à¾×่ÍÁØ‹§Ë¹ŒÒÊÙ‹àÊŒ¹·Ò§¸ØáԨ㹵ÅÒ´ ·Õ่ Íํ Ò ¹Ò¨¡Òë×้ Í ÍÂÙ ‹ ã ¹Á× Í ¼Ù Œ º ÃÔ â À¤ «Ö่ § ©ºÑ º ¹Õ้ ¼Ù Œ à ¢Õ Â ¹¢Í ¹ํÒàʹͤÇÒÁ·ŒÒ·Ò 5 »ÃСÒà à¾×่Í໚¹á¹Ç·Ò§ã¹¡ÒáํÒ˹´ ¡ÅÂØ · ¸ á ÅÐÂØ · ¸ÇÔ ¸Õ à ¾×่ Í ¤ÇÒÁÍÂÙ ‹ à ʹáÅÐà¾Ô่ Á ÈÑ ¡ ÂÀÒ¾¡Òà ᢋ§¢Ñ¹¢Í§¼ÅÔµÀѳ± 䴌ᡋ ¡ÒÃÁØ‹§à¹Œ¹¡ÒÃàµÔºâµ¢Í§¸ØáԨ ÁÒ¡¡Ç‹Ò¡Òä§ÍÂÙ‹¢Í§¸ØáԨ ¡ÒÃÁÕÁØÁÁͧ´ŒÒ¹¹Çѵ¡ÃÃÁ·Õ่ ¡ÇŒ Ò §ä¡Å¾Í·Õ่ ¨ Ð¢Ñ º à¤Å×่ Í ¹¸Ø à ¡Ô ¨ ¡ÒáÃÐµØ Œ ¹ áÅÐÊ‹ § àÊÃÔ Á ºØ¤ÅÒ¡Ãã¹Í§¤ ¡ÃãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í㹡ÒþѲ¹Ò¹Çѵ¡ÃÃÁ ¡ÒáÃе،¹áÅÐʹѺʹعãËŒà¡Ô´¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Ò÷Õ่ÁØ‹§à¹Œ¹¡Òà ÊÌҧÁÙŤ‹Òà¾Ô่ÁãËŒ¡Ñº·ÃѾ ÊÔ¹·Ò§»˜ÞÞÒ áÅСÒÃÊ‹§àÊÃÔÁãËŒ à¡Ô´¡ÒÃÊÌҧÊÃä 㹡Ò÷ํÒÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Ò¼ÅÔµÀѳ±

ดังนั้น การพัฒนาสินคาใหตรงตามความตองการของผูบริโภค รวมถึงมองเทรนดสินคา ตามทิศทางของตลาดโลก เชน ปจจุบันแนวโนมธุรกิจและสินคาทั่วโลกจะมุงสูการเปน เศรษฐกิจสิ่งแวดลอม หรือ เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) มากขึ้น จึงมีความจําเปน มากที่ผูประกอบการไทยควรรูและปรับตัวตามพลวัตระบบเศรษฐกิจโลก ซึ่งจะสําเร็จได ตองกําหนดเปนเปาหมายที่ชัดเจนและมีการกําหนดเปนนโยบายของแตละองคกร ทั้งนี้ ด ว ยภารกิ จ หลั ก ของหน ว ยงาน ITAP (โครงการสนั บ สนุ น การพั ฒ นาเทคโนโลยี ข อง อุตสาหกรรมไทย) ภายใต ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) คือการสนับสนุนผูประกอบขนาดกลางและยอม (SMEs) ดานเทคนิคและทุนเพื่อเอาชนะความทาทาย 5 ประการขางตน และสงเสริมใหเกิดการ สรางศักยภาพทางการแขงขันของผูประกอบการตามความฝนและความตั้งใจ บริษทั เอชแอนด บี อินเตอรเท็กซ จํากัด (เปนบริษัทในเครือสหพัฒน ประเทศไทย) ซึ่งเปนผูนําดานการผลิตสินคาของเลนเด็ก ประเภทตุก ตาและสินคาสําหรับเด็ก ภายใต ยี่หอ RainFlower และ St.Andrews มา นานกวา 20 ป คือหนึ่งในผูประกอบการ ที่มีความตั้งใจที่จะทํากิจกรรมที่มีสวนใน การลดโลกรอน ดวยการมองหาวิธีการลด การปลอยกาชคารบอนจากโรงงานสูอ ากาศ และมีความตองการจะปรับปรุง 83

Energy#65_p83-84_iMac5.indd 83

3/21/2557 BE 12:40 AM


Green 4U Rainbow

กระบวนการผลิ ต ให ใช พ ลั ง งาน นอยลง จึงไดขอรับการสนับสนุน จากหน ว ยงาน iTAP ภายใต สํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ซึ่งริเริ่มใหเกิดโครงการ “พัฒนา ผูป ระกอบการไทยเพือ่ การดําเนิน ธุรกิจอยางยัง่ ยืนและลดโลกรอน” มาตั้งแตป 2556 โดยความรวมมือ กั บ ผศ.ดร.รั ต นาวรรณ มั่ ง คั่ ง ผูอํานวยการศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะ ทางด า นกลยุ ท ธ ธุ ร กิ จ ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม (VGREEN) คณะสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร จากผลการเขารวม โครงการดังกลาว ทําใหบริษทั ไดรบั องคความรูเพื่อเขาสูขั้นตอนการ ทวนสอบ และรับรองคาคารบอน ฟุตพริ้นท ดวยการขึ้นทะเบียนติด ฉลากคารบอนฟุตพรินต จาก องคการบริหารจัดการกาซเรือน กระจก (องคการมหาชน) หรือ อบก. ใหกับสินคาประเภท ตุกตาหมี BLISS BEAR จํานวน 50 ผลิตภัณฑ จาก 11 กลุม ผลิตภัณฑ ซึ่งถือเปนการสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑดวย การขอรับการสนับสนุนจากโครงการฯ เพื่อขอรับรองผลการ วิ เ คราะห ค  า คาร บ อนฟุ ต พริ น ต แ ละขึ้ น ทะเบี ย นติ ด ฉลาก คารบอนฟุตพรินตใหกบั ผลิตภัณฑตกุ ตา ซึง่ นัน่ ถือเปนกิจกรรมดีๆ ที่ชวยสงเสริมทางการตลาดของบริษัท จากการที่เปนผูผลิต

ตุ  ก ตาหมี ติ ด ฉลากคาร บ อนฟุ ต พริ้ น ท เ ป น รายแรกของ ประเทศไทย ภายใตแบรน St.Andrews ในคอลเลคชัน่ ตุก ตาหมี Bliss Bear ซึ่งมีแนวโนมในการทําตลาดใหเติบโตไดยาวนาน ดวยทําใหบริษทั ใชเปนจุดขาย โดยการโชวการดชวยลดโลกรอน จากการปรับปรุงกระบวนการผลิตลดการปลอยกาซคารบอน และพบวาไดรับการตอบรับจากผูซื้อ คือผูซื้อตัดสินใจงายขึ้น จากการที่ไดมีสวนรวมในการชวยลดโลกรอนทําใหยอดขายใน ป 2556 เพิ่มขึ้น 20 % เมื่อเทียบกับป 2555 ปจจุบันกําลัง ดําเนินการเปดตลาดเขาไปวางจําหนายในหางสรรพสินคาชัน้ นํา 4 แหง ในประเทศอินโดนีเซีย จากการ “การสรางนวัตกรรม - ความแปลกใหมของผลิตภัณฑ” คื อ หั ว ใจหลั ก ของการเริ่ ม ต น การขอสนั บ สนุ น และเข า ร ว ม โครงการกับหนวยงาน ITAP ของ สวทช. หากทานสนใจเขารวม โครงการ เชนเดียวกับ บริษทั เอชแอนด บี อินเตอรเท็กซ จํากัด สามารถติดตอมาไดที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@tmc. nstda.or.th เพื่ อ ขอรั บ รายละเอี ย ดการให การสนับสนุนและ หลักเกณฑการคัดเลือกเพื่อเขารวมโครงการฯ ยั ง รั บ สมั ค ร อีกเพียง 10 บริษัทเทานั้น สําหรับปงบประมาณ 2557 ฉบับหนา ผูเขียนจะเลาเกี่ยวกับกิจกรรมที่หนวยงาน iTAP เปดฉากใหมตอยอดโครงการ W2W ดวยโครงการ Upcycling โดยความรวมมือระหวางหนวยงาน iTAP และ ดร.สิงห อินทรชูโต จากคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุณาติดตามอานในฉบับหนาคะ

84

Energy#65_p83-84_iMac5.indd 84

3/21/2557 BE 12:40 AM


O Waste ldea รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

àÁ×่;ٴ¶Ö§»˜ÞËÒÀÑÂáÅŒ§áÅйํ้Ò¢Ò´á¤Å¹ »ÃÐà·Èä·Â໚¹»ÃÐà·È˹Ö่§ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕ µÐÇѹÍÍ¡à©Õ§㵌 «Ö่§µÑ้§ÍÂÙ‹ã¹à¢µÃŒÍ¹ ÁÑ¡»ÃÐʺ»˜ÞËÒÀÑÂáÅŒ§ã¹Ä´ÙÌ͹áÅлÃÐʺ»˜ÞËÒ ¹ํ้Ò·‹ÇÁã¹Ä´Ù½¹ ¹Í¡¨Ò¡¹Ñ้¹¡ÒÃàµÔºâµ·Ò§´ŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨ÊÙ§ ·ํÒãËŒà¡Ô´»˜ÞËÒÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ µ‹Ò§ æ à¾ÔÁ่ ¢Ö¹้ ໚¹¼Å·ํÒãËŒ¡ÒèѴËÒáËÅ‹§¹ํÒ้ ÊÐÍҴ໚¹ä»ä´ŒÂÒ¡ à¹×Í่ §¨Ò¡¨ํҹǹ»ÃЪҡÃâÅ¡ ·Õ่à¾Ô่Á¢Ö้¹·ํÒãËŒ¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒÃ㪌¹ํ้ÒÁÕÁÒ¡¢Ö้¹´ŒÇ »ÃСͺ¡Ñº ¡Ò÷ํÒÅÒ¤ÇÒÁÊÁ´ØŢͧ ¸ÃÃÁªÒµÔ¨Ò¡¡Ô¨¡ÃÃÁ¢Í§Á¹ØÉ Í‹ҧÃÇ´àÃ็Ç â´Â੾ÒСÒ÷ํÒÅÒ»†ÒµŒ¹¹ํ้Ò ÅํÒ¸Òà ʋ§¼ÅãËŒà¡Ô´»˜ÞËÒ¡ÒâҴá¤Å¹¹ํ้ÒËÃ×ÍÀÑÂáÅŒ§ áÅл˜ÞËÒÍØ·¡ÀѵԴµÒÁÁÒÍ‹ҧÃعáç ¤ÃÑ้§áŌǤÃÑ้§àÅ‹Ò «Ö่§ã¹áµ‹ÅФÃÑ้§ä´ŒÊÌҧ¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ·Ñ้§ªÕÇÔµ ·ÃѾ ÊÔ¹ áÅÐàÈÃÉ°¡Ô¨ ¢Í§»ÃÐà·È໚¹Í‹ҧÁÒ¡

ÀÑÂáÅŒ§ ¡Ñº ·Ò§àÅ×Í¡ãËÁ‹.... ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹ ¨Ò¡

“¹ํ้ÒàÊÕ”

ดานสถานการณภัยแลงในปจจุบัน ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธาน กรรมการมูลนิธสิ ภาเตือนภัยพิบตั แิ หงชาติ ไดใหขอ มูลวา ในป 2557 นี้ สถานการณภยั แลงจะรุนแรงและยาวนานกวาทุกปทผี่ า น ๆ มา สาเหตุ หลัก ๆ คือ ภาวะของโลกรอนทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยอางถึงขอมูลขององคการ อุตุนิยมวิทยาโลกซึ่งพบวา อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นโดยเฉลี่ยแลว ประมาณ 1 องศาเซลเซียส ทําใหพื้นที่นํ้าทะเลรับความรอนไวมาก การระเหยของนํา้ จะสูงรุนแรงขึน้ ทําใหเกิดเปนพายุและมีการเคลือ่ นตัว ของพายุจากทางทิศตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟก ไปทางทิศตะวันออก ของมหาสมุทรแปซิฟก โดยนําเอาความชื้นไปดวย หรือเรียกวา ปรากฏการณ “เอลนินโญ” สถานการณภัยแลงในป 2557 นี้ คาดกันวาจะรุนแรงที่สุดในรอบ 10-15 ป หลายจังหวัดเริ่มประสบปญหาและหลายจังหวัดเตรียมตัว รับมือกับพิบัติภัยธรรมชาติรอน - แลง ซึ่งอาจมีความเปนไปไดวา จะวิกฤติถงึ ขัน้ ขาดแคลนนํา้ ดืม่ นํา้ ใช สวนผลกระทบกับประชาชนทัว่ ไป ที่ไมใชเกษตรกรตองระวังวาถานํ้าเค็มขึ้นสูงไปในแหลงทํานํ้าดิบ คือ ปากคลองประปาในกรณีของกรุงเทพมหานคร การนํานํา้ กรอยมาทํา นํ้าประปาจะมีปญหามาก สวนการประปานครหลวง (กปน.) ไดให ขอมูลวา ป 2557 นี้ ปญหาภัยแลงมาเร็วผิดปกติ ซึง่ รับทราบสัญญาณ ไดตงั้ แตปลายปทผี่ า นมาแลว เนือ่ งจากเขือ่ นใหญ ทัง้ เขือ่ นภูมพิ ล และ เขือ่ นสิรกิ ติ ิ์ มีปริมาณนํา้ ในเขือ่ นทีส่ ามารถใชงานได เหลืออยูเ พียง 29% และ 36% ตามลําดับ ประกอบกับ การเพิม่ พืน้ ทีเ่ พาะปลูกของเกษตรกร ในลุม นํา้ เจาพระยาทีเ่ พิม่ ขึน้ กวา 2 เทาตัว รวมถึงกิจกรรมการใชนาํ้ ของ ประชาชนซึ่งเพิ่มมากขึ้นทุกป แตสถานที่กักเก็บนํ้ากลับมีอยูเทาเดิม ซึง่ ถาเกิดนํา้ ประปาไมพอใชจะเปนปญหาวิกฤติสาํ หรับเมืองใหญอยาง กรุงเทพมหานครเปนอยางมากสําหรับการอุปโภคและบริโภค

สําหรับภาพรวมผลกระทบของการขาดแคลนนํา้ เนือ่ งจากภัยแลง มีดงั นี้ 1. ปริมาณนํา้ ในแหลงธรรมชาติตา ง ๆ ลดนอยลงหรือแหงขอด ระบบประปา ชุมชนไมสามารถผลิตนํ้าสะอาดไดสงผลใหประชาชนไมสามารถใชนํ้า เพือ่ การบริโภค อุปโภค หรือการคมนาคมขนสงไดอยางเต็มที่ และสัตวนาํ้ และพืชนํ้าบางชนิดอาจตองตาย อันเนื่องมาจากขาดนํ้า หรือนํ้าเกิด การเนาเสียเนื่องจากภัยแลง 2. การขาดแคลนนํ้าที่มีคุณภาพมาใชในการบริโภค อุปโภค อาจสงผลตอ สุขภาพอนามัย กอใหเกิดความเสื่อมโทรมและการเกิดโรคภัยไขเจ็บได 3. ภาครัฐตองเสียเวลาและจัดหาคาใชจา ยทีเ่ พิม่ ขึน้ และหมดไปกับการจัดหา นํา้ เพือ่ การบริโภค โดยเฉพาะอยางยิง่ ในชวงฤดูแลง 4. สรางความเสียหายในดานเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม เนื่องจาก กระบวนการผลิตทั้งภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมจําเปนตองพึ่งพา ทรัพยากรนํา้ เปนปจจัยหลัก

85

Energy#65_p85-86_iMac5.indd 85

3/21/2557 BE 12:48 AM


Green 4U Rainbow

ทางเลือกของแหลงนํ้าอื่น ๆ ที่สามารถนํามาใช ประโยชนเปนทางเลือกใหม ไดแก 1. การสูบนํ้าใตดิน ขึ้นมาใชเปนการสํารวจและ ขุดเจาะนํ้าใตดิน หรือนํ้าบาดาลมาใชประโยชน นอกจากเพื่ อ บริ โ ภคอุ ป โภคแล ว ยั ง ใช เ พื่ อ การเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมดวย 2. การนํานํ้าเสียกลับมาใชใหม เปนวิธีการนํา นํ้าที่ใชแลวหมุนเวียนกลับมาใช ใ หม โดยผาน กระบวนการปรับปรุงคุณภาพนํ้า เชน นํ้าที่นํามา ใช ใ นโรงงานอุ ต สาหกรรม โรงแรม อาคารสู ง เปนตน 3. การกรองนํ้ า ทะเลเป น นํ้ า จื ด วิ ธี นี้ เ ป น วิ ธี การแก ป  ญ หาการขาดแคลนนํ้ า จื ด ในเขต ภู มิ อ ากาศร อ น และขาดแคลนนํ้ า มี พื้ น ที่ ติ ด ชายฝงทะเล แต ก็ เ ป น สิ่ ง จํ า เป น เพี ย งบรรเทา ความเดือดรอนในการขาดแคลนนํ้าในบริเวณนั้น 4. การทําฝนเทียมแกภัยแลง เปนวิธีการแกไข ป ญ หาการขาดแคลนนํ้ า จื ด โดยใช เ ทคโนโลยี ดานการทําฝนเทียม ซึ่งสวนใหญแลวมักใชใน พื้ น ที่ ฝ นทิ้ ง ช ว งในฤดู ฝ นและพื้ น ที่ สํ า คั ญ ใน การเพาะปลูก

จะเห็นไดวา ปจจุบนั นีป้ ญ  หาการขาดแคลนนํา้ และมลภาวะทางนํา้ ทีร่ นุ แรงมากยิง่ ขึน้ รวมทัง้ กฎหมายและขอบังคับตาง ๆ ทีก่ าํ ลัง เครงครัดมากขึน้ การนํากลับนํา้ เสียเพือ่ กลับมาใชใหมสาํ หรับ พื้ น ที่ ข าดแคลนนํ้ า หรื อ แหล ง นํ้ า ดิ บ เป น ทางเลื อ กหนึ่ ง ใน การแกปญ  หาการขาดแคลนนํา้ สําหรับนํา้ เสียอุตสาหกรรมมักมี สวนประกอบของสารมีพิษตอคนและพืช เชน โลหะหนัก ในการนํากลับมาใชใหมนนั้ ตองระมัดระวังและจําเปนตองมีการบําบัดนํา้ เสียใหมคี ณ ุ ภาพนํา้ ดีเพียงพอ จึงมีความจําเปนในการสงเสริมใหใชหลัก 3Rs (Reduce, Reuse, and Recycle) ในการจัดการมวลสาร ในนํ้าเสีย เพื่อใหสามารถใชทรัพยากรนํ้าในเขตเมือง ชุมชน และภาคอุตสาหกรรมอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่ออนุรักษแหลงนํ้าและรักษาคุณภาพนํ้า สําหรับประเทศไทยยังจําเปนตอง พิจารณาจัดทํา guideline สําหรับการนํานํา้ เสียกลับมาใชใหม ตัวอยางกรณีศกึ ษาของทางเลือกในการจัดการปญหานํา้ ขาดแคลนของญีป่ นุ ประเทศญีป่ นุ มีการนํานํา้ เสียกลับมาใชใหมสาํ หรับอาคารในหลายเมืองใหญของกรุงโตเกียวแลว เชน ทีเ่ มืองโอซากิ เมืองชินากาวา ชิโอโดเมะ ซึง่ ไดมกี ารนํานํา้ เสียทีผ่ า นการบําบัดและมีการกรอง ฆาเชื้อแลว มาใชประโยชนในการลางถนน รดนํ้าตนไม ลางยานพาหนะประเภทรถไฟ รวมทั้ง ใชเปนนํ้าฉีดลางสําหรับชักโครกในหองนํ้า สวนการนํานํา้ เสียทีบ่ าํ บัดแลวกลับมาใชใหมในกรุงโตเกียว สําหรับเมืองฟูกโุ อกะ แหงเกาะคิวชู ก็ไดมีการนํานํ้าเสียของเมืองที่ผานการบําบัดทางชีวภาพและระบบปรับสภาพนํ้าขั้นสูงดวย การกรองและกระบวนการโอโซนแลวนํากลับมาใชใหมในการเกษตรกรรม การลางทําความสะอาด ตาง ๆ นํา้ ใชในหองนํา้ หองสุขา ทัง้ นีส้ ามารถชวยแกปญ  หาการขาดแคลนนํา้ ไดเปนแนวทางหนึง่ แตตองมีการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพนํ้าเปนอยางดี นํา้ เสียทีบ่ าํ บัดแลว สามารถนํามาใชประโยชนเปนแหลงทรัพยากรนํา้ ทีม่ คี ณ ุ คาในยามนํา้ ขาดแคลนได เนือ่ งจากปริมาณนํา้ ในแหลงนํา้ ไมเพียงพอกับความตองการใชนาํ้ ของชุมชน ทัง้ นีค้ วรมีการพัฒนา หลักเกณฑหรือแนวทางการใชประโยชนนํ้าเสียที่บําบัดแลวอยางเหมาะสมตอไป

86

Energy#65_p85-86_iMac5.indd 86

3/21/2557 BE 12:48 AM


Energy#65_p87_iMac5.indd 31

3/21/2557 BE 1:46 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชํานาญการพิเศษศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

การปฏิรูป ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน ã¹Ê¶Ò¹¡Òó »˜¨¨ØºÑ¹ ¤§àÅÕ่§äÁ‹ä´Œ·Õ่¨Ð¡Å‹ÒǶ֧¡Òû¯ÔÃÙ» ·Õ่ËÅÒÂÀҤʋǹãËŒ¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑÞ ·Ñ้§ÀÒ¤¸ØáԨ Êѧ¤Á ¡ÒÃàÁ×ͧ áÅСÒÃÈÖ¡ÉÒ ·Õ่ÁÇÅÁËÒ»ÃЪҪ¹àÃÕ¡ÌͧãËŒÀҤʋǹµ‹Ò§ æ ä´Œ·º·Ç¹¶Ö§»˜¨¨Ñ·Õ่¡‹ÍãËŒà¡Ô´»˜ÞËÒ·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ Í‹ҧ·Õ่ ·ÃÒº¡Ñ¹´Õ ¤×Í »˜ÞËÒ¡ÒäÍà ÃÑ»ªÑ่¹ ¡ÒÃËҼŻÃÐ⪹ ¨Ò¡ â¤Ã§¡Òâ¹Ò´ãËÞ‹ ઋ¹ ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Òùํ้ÒÁÙŤ‹ÒÁËÒÈÒÅ ¨¹à¡Ô ´ ¡ÒÃÊÁÒ¹©Ñ ¹ · à ÃÕ Â ¡ÃŒ Í §¢Í§¤ÇÒÁ໚ ¹ ¸ÃÃÁ¨Ò¡ »ÃЪҪ¹µÒÁ¾×้¹·Õ่µ‹Ò§ æ ·Õ่ä´ŒÃѺ¼Å¡Ãзº ·Ñ้§ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ¤ÇÒÁ໚¹ÍÂÙ‹ ¨Ö§à¡Ô´¡ÒÃàÃÕ¡Ìͧ㹡ÒÃÁÕʋǹËÇÁÃѺÃÙŒ¢ŒÍÁÙÅ ¢‹ÒÇÊÒà â´Â੾ÒСÒÃàÂÕÂÇÂÒãËŒ»ÃЪҪ¹·Õ่ä´ŒÃѺ¼Å¡Ãзº

1. การปฏิรูปกฎหมายสิ่งแวดลอม เปน หัวใจสําคัญทีจ่ ะเปนเครือ่ งมือในการขับเคลือ่ น การจั ด การสิ่ ง แวดล อ มที่ มี ก ติ ก าข อ บั ง คั บ ที่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ การบังคับใช กฎหมายที่ ผ  า นมายั ง ไม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนบทพิ สู จ น ค วามผิ ด ทางกฎหมาย บทความนี้จึงเปนสวนหนึ่งที่อยากจะสะทอนความเห็นตอแนวคิดการปฏิรูประบบการจัดการ ไมสามารถนํามาซึ่งการชดเชยความเสียหาย สิ่งแวดลอมของประเทศนี้ใหตอบโจทยกับปญหาการพัฒนาโครงการขนาดใหญที่มีผลตอ ทีแ่ ทจริงได เชน บริษทั นํา้ มันทีท่ าํ นํา้ มันรัว่ ไหล ประชาชน ชุมชน ในวงกวาง ความหวังของการปฏิรปู ตองมีกลไกในหลายภาคสวนทีจ่ ะขับเคลือ่ น ทําลายระบบนิเวศทางทะเลของเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ที่เหตุการณเนิ่นนานมาแลว และทําใหเกิดความหวังจากการปฏิรูป ซึ่งนาจะมีประเด็นที่ตองคํานึงถึง ดังนี้ แตการฟนคืนสภาพยังมีปญหาตามมาอีก มากมาย โดยเฉพาะระบบนิ เวศวิ ท ยาที่ มี ผลกระทบต อ ความเป น อยู  ข องประชาชน การประกอบอาชีพประมงไมไดรบั การเยียวยา อยางเหมาะสม ดังนั้นการปฏิรูปกฎหมาย สิ่ ง แวดล อ มควรคํ า นึ ง ถึ ง การเยี ย วยา สิ่งแวดลอมและประชาชนอยางแทจริงและ มีความเหมาะสม ผูกอใหเกิดมลพิษตองมี ความรั บ ผิ ด ชอบมากกว า นี้ นั่ น หมายถึ ง ระบบกฎหมาย ระบบตุ ล าการ ระบบ การสืบสวนปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อหาตนเหตุ ของปญหาอยางแทจริง ในตัวกฎหมายจึง หมายถึ ง การบั ง คั บ ใช อ ย า งจริ ง จั ง มี บ ท กําหนดโทษอยางมีประสิทธิภาพ มาตรการ สงเสริมและสรางการมีสวนรวม จิตสํานึก โครงการขนาดใหญ การคมนาคมที่มีการจัดระบบการขนสงขนาดใหญ 2.2 ลานลานบาท ที่ไมรูวาจะใชหนี้สินจากการกูมากอสรางโครงการกันกี่ชาติ ความคาดหวังของประชาชน ในการมีสว นรวมจัดการสิง่ แวดลอมของโครงการขนาดใหญ โครงการทีไ่ ดมกี ารวางแผนงานและ งบประมาณมหาศาล มีผลกระทบมากมาย จึงเปนจุดเริ่มตนของการเรียกรองใหมีการปฏิรูป ระบบการจัดการสิ่งแวดลอมในหลาย ๆ ดาน

88

Energy#65_p88-89_iMac5.indd 88

3/21/2557 BE 12:51 AM


Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำานาญการพิเศษศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ในการรักษาสภาพแวดล้อม ในภาคส่วนต่าง ๆ ได้รบั การตอบสนองอย่างจริงจัง กฎหมายจึงจะ เป็ น เครื่ อ งมื อ ส� า คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยให้ ก ารจั ด การ สิ่ ง แวดล้ อ มและทรั พ ยากรธรรมชาติ เ ป็ น ไป อย่างมีประสิทธิภาพ 2. พลั ง ภาคประชาชนต้ อ งมี ส ่ ว นร่ ว มใน การจัดการสิง่ แวดล้อมมากกว่านี้ โดยเฉพาะ ระบบทีเ่ อือ้ ต่อการมีสว่ นร่วมในการพิจารณาถึง มาตรการป้องกัน ลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และติดตามปัญหาสิง่ แวดล้อมจากโครงการทีม่ ี ผลกระทบสิ่งแวดล้อมมากกว่าจะตามแก้ไข ปั ญ หา หรื อ รอจนเกิ ด ปั ญ หาจนยากเกิ น การเยียวยา เช่น หลายกรณีของเหมืองแร่ที่มี ผลกระทบต่อชุมชน เหมืองแร่ที่ อ�าเภอแม่สอด จังหวัดตาก เหมืองดีบกุ ทีม่ ผี ลต่อล�าห้วยคลิตี้ จังหวัดกาญจนบุรี 3.องค์ ก รภาครั ฐ ที่ รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ปั ญ หา สิ่งแวดล้อม คงต้องทบทวนโครงสร้างองค์กร ตลอดทั้งบทบาทในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่มี ประสิทธิภาพ หลังจากมีกฎหมายสิง่ แวดล้อมที่ ปรับปรุงมาแล้วมากกว่า 20 ปี (พรบ. ส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อม 2535) การท�างาน ที่ตอบสนองต่อการพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ ต้ อ งค� า นึ ง ถึ ง การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี ประสิทธิภาพมากกว่านี้ หน่วยงานภาครัฐจึงต้อง ทบทวน และก� า หนดทิ ศ ทางการท� า งานที่ สอดคล้องต่อการพัฒนาประเทศ ทีม่ ผี ลกระทบ จากโครงการขนาดใหญ่ องค์กรภาครัฐต้อง มีพลัง (Power full) ที่จะเดินร่วมทางกับชุมชน สังคม อย่างมีความรับผิดชอบ และเหมาะสม ไม่ ย อมต่ อ การพั ฒ นาโครงการขนาดใหญ่ ทีจ่ ะเกิดปัญหาสิง่ แวดล้อมในอนาคต ทีผ่ า่ นมา ปั ญ หาส� า คั ญ คื อ การประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดล้อม ไม่สามารถแก้ปัญหาผลกระทบที่ เกิดขึน้ จากโครงการขนาดใหญ่ทไี่ ด้รบั การอนุมตั ิ ให้ดา� เนินการแล้ว หรือมีโครงการทีไ่ ม่เหมาะสม เกิดขึน้ ในพืน้ ทีต่ า่ ง ๆ โดยไม่คา� นึงถึงผลกระทบ สิ่งแวดล้อม องค์กรภาครัฐต้องสามารถตัดสิน ให้ความเป็นธรรมในทุกภาคส่วนที่จะมีส่วนได้ รับผลกระทบ ดังนั้น องค์กรภาครัฐจึงต้องมี แผนงาน มาตรการที่รองรับนโยบาย ทิศทาง การพัฒนาที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ

4. หลายองค์กรภาคเอกชน ดูเหมือนจะเป็นแค่การจับ ปัญหา หรือหาประเด็นมาเล่นตามกระแส เมือ่ มีปญ ั หา ที่กระทบต่อสังคม หลายองค์กรหันมาสนับสนุนให้เกิด การเรียกร้องขอความเป็นธรรม หลังจากเกิดผลกระทบ ของโครงการ ดังนั้นรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมใน ภาคประชาชน และองค์กรภาคเอกชน ควรมองทั้งระบบ จับประเด็นการป้องกันมากกว่าเลือก ประเด็นปัญหามาเรียกร้องขอการชดเชย 5. การจัดการทรัพยากร ทุกด้านควรค�านึงถึงทรัพยากรที่มีอย่างจ�ากัด จึงต้องมองแบบองค์รวม ทัง้ ป่าไม้ ดิน น�า้ ต้องไปด้วยกัน การปฏิรปู ด้านการจัดการทรัพยากรจึงเป็นสิง่ จ�าเป็นและมีผลต่อ สาธารณะอย่างมาก เนื่องจากผลประโยชน์ต่อการจัดการทรัพยากรมีความส�าคัญต่อการพัฒนา ประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาในยุคต่อไปจึงต้องมีการทบทวนการปฏิรปู ในส่วนของการ จั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งเป็ น ระบบมากขึ้ น หนทางหนึ่ ง คื อ ระดม ความคิดเห็นจากภาคส่วนต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม องค์กรพัฒนาเอกชนที่จะ ก�าหนดทิศทาง รูปแบบการจัดการทีเ่ หมาะสมของประเทศ โดยไม่ละเลยความเป็นตัวตนของชาติ ที่ มี ห ลั ก การเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ น แนวคิ ด ส� า คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยให้ เ กิ ด การจั ด การทรั พ ยากรและ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีความพอเพียงส�าหรับประชาชนในรุ่นนี้และรุ่นหน้าอย่างแท้จริง

89

Energy#65_p88-89_iMac5.indd 89

3/21/2557 BE 12:51 AM


Energy Exhibit กองบรรณาธิการ

àÇÕ¹ÁÒÍÕ¡¤ÃÑ้§ ÊํÒËÃѺ§Ò¹ “ʶһ¹Ô¡57” §Ò¹áÊ´§ÊÔ¹¤ŒÒ ¹Çѵ¡ÃÃÁ à·¤â¹âÅÂÕ ã¹Ç§¡ÒÃÍ͡Ẻ-¡‹ÍÊÌҧ áÅЧҹ»ÃЪØÁÇÔªÒ¡Ò÷Õ่ÂÔ่§ãËÞ‹·Õ่ÊØ´ã¹ÍÒà«Õ¹ ÊํÒËÃѺ»‚¹Õ้¨Ñ´¢Ö้¹µ‹Íà¹×่ͧ໚¹»‚·Õ่ 28 ÃÐËÇ‹Ò§Çѹ·Õ่ 29 àÁÉÒ¹ - 4 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2557 â´Â ã¹Çѹ¾ÄËÑʺ´Õ·Õ่ 1 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2557 ÊÁà´็¨¾ÃÐà·¾Ãѵ¹ÃÒªÊØ´ÒÏ ÊÂÒÁºÃÁÃÒª¡ØÁÒÃÕ ¨ÐàÊ´็¨¾ÃÐÃÒª´ํÒà¹Ô¹à¾×่ͷç໚¹»Ãиҹ໠´§Ò¹ ã¹àÇÅÒ 09.30 ¹. ºÃÔàdz⶧´ŒÒ¹Ë¹ŒÒ ªÒàŹà¨Íà ÎÍÅÅ ÍÔÁá¾็¤ àÁ×ͧ·Í§¸Ò¹Õ

¤ÇÒÁ¤×ºË¹ŒÒ โดยงาน สถาปนิก 57 จัดขึ้นภายใตแนวคิด “สิบแปด | แปดสิบ” “Eighteenth | Eighty” ซึ่งมีนัยสําคัญแฝงอยู โดย “สิบแปด” คือ วันเริ่มประชุมครั้งแรกของสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ ตรงกับวันที่ 18 เมษายน สวน “แปดสิบ” มาจากอายุของสมาคมฯ ที่ กอตั้งครบ 80 ปบริบูรณ นับจากเมื่อป พ.ศ. 2477 สําหรับการจัดงานในครัง้ นีไ้ ดรบั การตอบรับจากผูป ระกอบการนวัตกรรม เทคโนโลยีในวงการออกแบบ-กอสรางเตรียมเขารวมจัดแสดงสินคา กันมากขึ้นไมวาจะเปน แผนไมจริง จาก Armstrong ผูนําระดับโลก มากประสบการณ 27 ป ที่มีคุณสมบัติดีเยี่ยม มีชนิดของไมใหเลือก หลากหลาย อาทิ ไมโอค ไมเบิรช ไมเมเปล ไมฮิคกอรี ไมเชอรรี่ และ ไมวอลนัต เปนตน พิเศษแตกตางจากแบรนดทั่วไป จากการแชอคริลิก เพือ่ เพิม่ ความแข็งแรงทนทานตอรอยบุบ อันเกิดจากการใชงานไดสงู สุด 2.5 เทา ทัง้ ยังมีเทคโนโลยีผวิ แตงสําเร็จเคลือบผิวนาโน เพือ่ ปองกันและ ทนตอรอยขีดขวน หรือเพิม่ ความเหนียวแตไมลดความชัดเจนของผิวไม โดยใชการประกอบแบบ Lock&Fold สามารถติดตัง้ งายทําไดดว ยตัวเอง ชวยลดคาใชจา ยจากการจางแรงงาน สามารถพบไดทบี่ ธู หมายเลข F206 นอกจากนีย้ งั จะไดพบกับวัสดุกอ สรางและตกแตงบานทีล่ าํ้ สมัยจาก บริษทั ธัญรินท เดคอรเรชัน่ จํากัด ทีบ่ ธู หมายเลข F109 ซึง่ นําเสนอประสบการณ ใหมนอกเหนือจากการทาสีธรรมดา หรือติดวอลเปเปอร ดวยผนัง 3 มิติ “3D PANEL” สําหรับผูรักการแตงบานโดยเฉพาะ ซึ่งผนัง 3 มิตินี้ มีลกู เลนเปนความเวานูนออกมาจากผนัง สามารถเลือกลวดลายและสีได ตามจินตนาการ ดูแลรักษาและทําความงาย เหมาะติดตัง้ ทัง้ บนผนัง เพดาน ฉากกัน้ หอง เฟอรนเิ จอร แถมยังติดตัง้ ภายนอกอาคารไดอกี ดวย

ÀÒÂ㵌á¹Ç¤Ô´ พรอมดวย โซน Green ซึง่ เปนปแรกทีม่ กี ารจัดแสดงเทคโนโลยีดา นผลิตภัณฑ วัสดุ อุปกรณ และโซลูชั่นดานการออกแบบ กอสราง ตกแตง เนนการ ประหยั ด พลั ง งานและเป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ซึ่ ง นอกเหนื อ จาก การแสดงสินคาทีเ่ กีย่ วของแลว ยังมีการสรางสรรคใหความรูผ า นกิจกรรม นาสนใจ อาทิ ลานความรู “Green Building” บริการใหคําปรึกษา “Ask the Expert” และ การจัดแสดงสินคา “Green Innovation” ตลอดจนใหความรูด า นการประหยัดพลังงานในอาคารตลอดจนสิง่ ของ เครื่องใชอีกดวยตลอดจนให ค วามรู  ด  า นการประหยั ด พลั ง งานใน อาคารตลอดจนสิ่งของเครื่องใชอีกดวย ดานการประชุมสัมมนาภายในงานสถาปนิก 57 ยังไดรับเกียรติจาก สถาปนิ ก และนั ก ออกแบบชื่ อ ดั ง ระดั บ ชาติ ม าเป น วิ ท ยากร เช น โตโย อิโตะ (Toyo Ito) สถาปนิกรุน ใหญชาวญีป่ นุ วัย 72 ป เปนทีร่ จู กั ดี ในฐานะนักสรางสรรคสถาปตยกรรมแนวความคิด ในสวนสถาปนิกไทย คือ คุณดวงฤทธิ์ บุนนาค สถาปนิกและนักออกแบบ ผูควํ่าหวอดใน วงการสถาปตยกรรมในประเทศ ซึง่ มีผลงานการออกแบบทีโ่ ดดเดนเปนที่ จดจํามากมาย อาทิ โครงการบูตกิ มอลล H1 ทองหลอ 2544, Costa Lanta โรงแรมบูติก (Boutique Hotel) ที่กระบี่ อาคารสํานักงานโรงกลั่นนํ้ามัน และอาคารรักษาความปลอดภัย เอสโซ ศรีราชา อาคารศูนยกีฬา หมูบานและสนามกอลฟ ปญญาปารค กรุงเทพฯ เปนตน เรียกวาพลาดไมไดดว ยประการทัง้ ปวง กับงาน “สถาปนิก’57” ระหวาง วันที่ 29 เมษายน - 4 พฤษภาคม 2557 ณ อาคารชาเลนเจอร ฮอลล 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ตั้งแตเวลา 11.00 - 21.00 น. ติดตอสอบถาม ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม และติ ด ตามความเคลื่ อ นไหวได ที่ เว็ บ ไซต : www.ArchitectExpo.com หรือ www.facebook.com/ArchitectExpo

90

Energy#65_p90_iMac5.indd 90

3/21/2557 BE 12:53 AM


Energy Exhibit กรีนภัทร์

สถาบันสุขภาพเด็กฯ จับมือ บ.อินโนเวชั่นฯ จัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

“รวมใจประหยัดพลังงานเพื่อในหลวง ครั้งที่ 7”

ʶҺѹÊØ¢ÀÒ¾à´็¡áË‹§ªÒµÔÁËÒÃÒªÔ¹Õ Ã‹ÇÁ¡Ñº ºÃÔÉ·Ñ ÍÔ¹â¹àǪѹ ่ à·¤â¹âÅÂÕ ¨ํÒ¡Ñ´ ·Õ»่ ÃÖ¡ÉÒâ¤Ã§¡ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É ¾Åѧ§Ò¹Ê¶ÒºÑ¹ÊØ¢ÀÒ¾à´็¡Ï ËÇÁã¨à©ÅÔÁ¾ÃÐà¡ÕÂõԾÃкҷÊÁà´็¨¾ÃÐ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ à¹×่ͧã¹âÍ¡ÒÊÁËÒÁ§¤Åà©ÅÔÁ¾ÃЪ¹Á¾ÃÃÉҤú 86 ¾ÃÃÉÒ ã¹»‚ 2556 ä´Œ¨Ñ´ â¤Ã§¡ÒûÃЪØÁÊÑÁÁ¹ÒàªÔ§»¯ÔºµÑ ¡Ô Òà “ËÇÁ㨻ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹à¾×Í่ ã¹ËÅǧ ¤Ãѧ้ ·Õ่ 7” ¢Ö¹้ ã¹à´×͹ÁÕ¹Ò¤Á 2557 ·Õ¼ ่ Ò‹ ¹ÁÒ ³ ˌͧ»ÃЪØÁÊÂÒÁ 1 - 3 ˌͧ»ÃЪØÁ¨Ñ¡Ã¾Ñ¹¸Ø â»É¡ĵ ªÑ้¹ 7 ÍÒ¤ÒÃÊÂÒÁºÃÁÃÒª¡ØÁÒÃÕ Ê¶ÒºÑ¹ÊØ¢ÀÒ¾à´็¡Ï

เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนเรียนรู ถายทอด ประสบการณ เผยแพร อ งค ค วามรู  ด  า น การอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมอยาง เปนระบบ ตลอดจนการสนับสนุนนโยบาย การลดใชพลังงานของประเทศ ใหผูเขารวม สัมมนาสามารถพัฒนาความรู แนวคิดวิธี การอนุรักษพลังงานไปใชปฏิบัติเพื่อใหเกิด ผลอยางเปนรูปธรรม และสรางความสําเร็จ ดานการอนุรักษพลังงานใหแกหนวยงาน อยางยั่งยืน ถือวาเปนโอกาสดีที่ทุกคนจะ ได ร  ว มกั น ทํ า ความดี ผ  า นทางการอนุ รั ก ษ พลังงานและสิ่งแวดลอม เพื่อถวายเปนพระ ราชกุศลแดพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว “พระบิ ด าแห ง การพั ฒ นาด า นพลั ง งาน ไทย” เนื่ อ งในโอกาสมหามงคลเฉลิ ม พระชนมพรรษา 86 พรรษา 5 ธันวาคม 2556 และโอกาสครบรอบ 60 ป สถาบันสุขภาพเด็ก แหงชาติมหาราชินี โดยการสัมมนาดังกลาว ได รั บ การตอบรั บ จากผู  บ ริ ห ารหรื อ ผู  แ ทน จากโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลจังหวัด คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน ผูอํานวยการโรงพยาบาลเอกชน/หนวยงาน ราชการ และรัฐวิสาหกิจ และโรงพยาบาลเครือ ขายพลังงานเขารวมสัมมนาเปนจํานวนมาก โดยผูร ว มงานไมตอ งเสียคาใชจา ยใด ๆ ทัง้ สิน้

Energy#65_p91_iMac5.indd 91

ภายในงานมีการจัดเสวนาในหัวขอ กลยุทธและกลวิธเี พือ่ การอนุรกั ษพลังงานและรักษา สิง่ แวดลอมทีย่ งั่ ยืน พรอมทัง้ มีการนําเสนอโครงการตาง ๆ ดานการประหยัดพลังงานของ หนวยงานทีร่ ว มงาน เชน โครงการการใชเทคโนโลยีโอโซน ในกระบวนการซักผา และการใช เครื่องผลิตนาโอโซนกับหอผึ่งเย็นของระบบทานาเย็น (Chiller) นําเสนอโดยฝายวิศวกรรม โรงพยาบาลพญาไทศรีราชา และคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน โครงการ การหุงขาวอยางมีประสิทธิภาพ – การผลิตนารอนจากHeat Waste ของเครื่องปรับอากาศ แบบแยกสวน เพื่อใชในกระบวนการลางจาน และ นวัตกรรมฯลดคาพัสดุดานบรรจุอาหาร นําเสนอโดยฝายโภชนบริการ สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี ฯลฯ นอกจากนีย้ งั มีการออกบูทของหนวยงานตาง ๆ ทีน่ าํ เสนอสินคาประหยัดพลังงานมานําเสนอ แก ผู  ส นใจภายในงาน ทั้ ง นี้ ท างสถาบั น สุ ข ภาพเด็ ก แห ง ชาติ ม หาราชิ นี ยั ง มี ก ารจั ด บอรดความรูดานการอนุรักษพลังงานไวตลอดงานอีกดวย 91

3/21/2557 BE 12:55 AM


Green Community กรีนภัทร์

มิตรผล รวมกับ ชมรมผูสงเสริมการปลูกถั่วเหลือง ในประเทศไทย จัด โครงการนํารองฟนฟูดิน ชวยเกษตรกรไทย

¡ÅØ ‹ Á ºÃÔ ÉÑ · ÁÔ µ üŠË Ç Á¡Ñ º ºÃÔ ÉÑ · ¡Ãչʻ͵ ¨ํÒ¡Ñ´ ºÃÔÉÑ· ÊÂÒÁ¤Ù⺵ŒÒ ¤Íà »ÍàêÑ่¹ ¨ํÒ¡Ñ´ áÅÐÊÁÒ¤Á¼ÙŒ¼ÅÔµ ¹ํ้ Ò ÁÑ ¹ ¶Ñ่ Ç àËÅ× Í §áÅÐÃํ Ò ¢Œ Ò Ç ¨Ñ ´ µÑ้ § ªÁÃÁ ¼Ù Œ Ê ‹ § à Ê ÃÔ Á ¡ Ò Ã » ÅÙ ¡ ¶Ñ่ Ç à Ë Å× Í § ã ¹ »ÃÐà·Èä·Â ¾ÃŒÍÁà» ´â¤Ã§¡ÒùํÒËͧ Ê‹ § àÊÃÔ Á ãËŒ à ¡ÉµÃ¡ÃªÒÇäË Í Œ Í Â»ÅÙ ¡ ¶Ñ่ Ç àËÅ× Í §ã¹ª‹ Ç §ºํ Ò ÃØ § ´Ô ¹ à¾×่ Í ¤× ¹ ¤ÇÒÁ ÍØ ´ ÁÊÁºÙ à ³ ã ¹´Ô ¹ áÅÐà¾Ô่ Á ¼Å¼ÅÔ µ ÍŒ Í ÂÍ‹ Ò §ÂÑ่ § Â× ¹ µÒÁá¹Ç·Ò§¡ÒûÅÙ ¡ ÍŒ Í ÂÂØ ¤ ãËÁ‹ ÃÇÁ·Ñ้ § ª‹ Ç ÂÊÃŒ Ò §ÃÒÂä´Œ àÊÃÔÁãËŒ¡Ñºà¡ÉµÃ¡Ã áÅÐÅ´¡ÒùํÒà¢ŒÒ ¶Ñ่ Ç àËÅ× Í §¨Ò¡µ‹ Ò §»ÃÐà·È µÑ้ § ໇ Ò ª‹ Ç Â à¾Ô่Á¼Å¼ÅԵ͌ÍÂä´Œ 15 µÑ¹µ‹ÍäË ¾ÃŒÍÁ ¢ Â Ò Â â ¤ à § ¡ Ò Ã ÊÙ ‹ ¡ Ç ‹ Ò 1 0 ¨Ñ § Ë ÇÑ ´ ã¹ÀÒ¤¡ÅÒ§áÅÐÀÒ¤µÐÇѹÍÍ¡à©Õ§à˹×Í

คุณกฤษฎา มนเทียรวิเชียรฉาย ประธานเจาหนาที่บริหาร และกรรมการผูจัดการใหญ กลุมมิตรผล เผยวา กลุมมิตรผล ไมเพียงใหความสําคัญกับการสรางความอยูดีกินดีใหกับ ชาวไรออ ยเทานัน้ แตยงั มุง ใหความรูด า นการจัดการอยางเปนระบบตามแนวทางการปลูกออย ยุคใหม หรือ Modern Farm ที่เนนการจัดการไรออยอยางยั่งยืน โดยหนึ่งในนั้นคือการปลูก ถัว่ เหลืองในชวงบํารุงดิน สําหรับแปลงออยทีร่ อื้ ตอ หลังการเก็บเกีย่ วออย นอกจากชาวไรออ ย จะไดรายไดเสริมจากการปลูกถั่วเหลืองแลว ชาวไรยังไมตองมีคาใชจายในการรื้อแปลงปลูก ถั่วเหลืองหลังเก็บเกี่ยว เพราะสามารถไถกลบเตรียมปลูกออยชุดใหมไดทันที โดยถั่วเหลือง จะชวยเพิ่มไนโตรเจนซึ่งเปนธาตุอาหารในดินใหกับออย ประโยชนที่ไดคือผลผลิตออยที่ เพิม่ มากขึน้ และตนทุนในการใชปยุ ลดลง รวมทัง้ ชวยตัดวงจรของโรคและแมลง ถือเปนการทํา ไรออยดวยวิธีที่จะกอใหเกิดความยั่งยืนในภาคเกษตร ดาน คุณโอภาศ ธันวารชร กรรมการรองผูจ ดั การใหญอาวุโส บริษทั สยามคูโบตาคอรปอเรชัน่ จํากัด กลาวเสริมวา แนวทางการจัดการเพาะปลูกในภาคการเกษตรปจจุบนั มีความจําเปนตอง อาศัยระบบการเพาะปลูกพืชทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึง่ ขัน้ ตอนสําคัญหนึง่ คือ มีระบบการพักดินและ บํารุงดิน เพื่อปรับปรุงสภาพดินใหดีขึ้น รวมทั้งยังชวยตัดวงจรโรคพืชและแมลงศัตรูพืช โดยใน ระบบการปลูกพืชสมัยใหมนมี้ หี ลักการสําคัญคือมีประสิทธิภาพและทันเวลา ดังนัน้ เครือ่ งจักรกล การเกษตรจึงมีบทบาทสําคัญที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน ลดตนทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากนี้ยังชวยทดแทนแรงงานคนที่หายากและขาดแคลนอีกดวย สยามคูโบตา จึงเล็งเห็น ความสําคัญในการพัฒนาเครื่องจักรกลการเกษตรใหเหมาะสม สามารถรองรับการใชงานใน ทุกขั้นตอน ในปจจุบันสยามคูโบตาไดพัฒนารถเกี่ยวนวดถั่วเหลืองมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในขั้นตอนการเก็บเกี่ยวถั่วเหลือง

92

Energy#65_p92-93_iMac5.indd 92

3/19/2557 BE 12:12 AM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�

คุณธรรมศักดิ์ จิตติมาพร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั กรีนสปอต จ�ากัด ผูผ้ ลิตและจัดจ�าหน่าย เครือ่ งดืม่ น�า้ นมถัว่ เหลืองตราไวตามิล้ ค์ กล่าวว่า ความร่วมมือระหว่างไวตามิล้ ค์กบั พันธมิตรทาง ธุรกิจเอกชน 3 องค์กร ประกอบด้วย กลุม่ มิตรผล บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ากัด และ สมาคมผู ้ ผ ลิ ต น�้ า มั น ถั่ ว เหลื อ งและร� า ข้ า ว รวมทั้งภาครัฐ ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร และ กรมส่งเสริมการเกษตร รวมทั้งส�านักวิชาการ นับเป็นการตอกย�้าพันธกิจขององค์กรในการ เติมพลังชีวิตและความสุขให้กับทุกคน โดย โครงการปลูกถั่วเหลืองในไร่อ้อยช่วงบ�ารุงดิน ในครั้งนี้ จะส่งเสริมให้เกษตรกรชาวไร่อ้อย ปลู ก ถั่ ว เหลื อ งในช่วงบ�า รุง ดิน เพื่อ เพิ่มธาตุ อาหารในดินอย่างครบวงจร และยังเป็นพืช เศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งนอกจากจะช่วยลด ต้นทุนการน�าเข้าแล้ว ยังถือเป็นการสร้างและ เพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรได้ เพราะไวตามิ้ลค์ ยิ น ดี ที่ จ ะเป็ น หลั ก ประกั น รั บ ซื้ อ ผลผลิ ต ทั้งหมดจากเกษตรกรในราคาที่เป็นธรรม เพื่อ สนับสนุนเกษตรกรไทยให้มคี วามเป็นอยูแ่ ละมี รายได้ที่มั่นคงอย่างยั่งยืน ปัจจุบนั การปลูกถัว่ เหลืองในประเทศมีปริมาณ ไม่ ถึ ง แสนตั น ในขณะที่ ค วามต้ อ งการใช้ ถั่วเหลืองมีปริมาณสูงกว่า 1.5 ล้านตัน ดังนั้น การปลูกถั่วเหลืองในไร่อ้อยช่วงบ�ารุงดินจึง มี ค วามส� า คั ญ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะมาทดแทน ปริมาณการน�าเข้า และเชื่อว่าโครงการนี้จะ ประสบความส�าเร็จอย่างยิง่ เพราะจากทีไ่ ด้ศกึ ษา ทุ ก ภาคส่ ว นจะได้ ป ระโยชน์ จ ากโครงการ อย่ า งมาก ไม่ ว ่ า จะเป็ น ส่ ว นราชการหรื อ ภาคเอกชน รวมถึงชาวไร่อ้อยทั้งหมด และ นอกจากความร่วมมือของภาคเอกชนแล้ว โครงการดังกล่าวยังได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงานภาครัฐ ได้แก่ กรมวิชาการเกษตร และกรมส่ ง เสริ ม การเกษตร ในการจั ด หา

เมล็ดพันธุ์คุณภาพที่เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ และให้ความรูเ้ กีย่ วกับวิธกี ารปลูก การบ�ารุงรักษา และการป้องกันโรคพืช รวมทั้งส่งนักวิชาการมา อบรมความรู้และให้ค�าแนะน�า เพื่อให้โครงการส�าเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ และเกษตรกร ได้รับผลผลิตที่มีคุณภาพในปริมาณมาก ทัง้ นี้ โครงการดังกล่าว ได้ดา� เนินการในพืน้ ทีไ่ ร่ของกลุม่ มิตรผล โดยน�าร่อง ทีภ่ าคกลาง ได้แก่ จังหวัดสุพรรณบุรี และที่ภาคอีสาน ได้แก่จังหวัดชัยภูมิ และกาฬสินธุ์ และจะขยายไปยัง พื้นที่อื่น ๆ ที่อยู่ในเขตส่งเสริมไร่อ้อยของมิตรผล ประมาณ 10 จังหวัด โดยการเก็บเกีย่ ว ถั่วเหลืองในครั้งแรกนี้ คาดว่าจะได้ผลผลิตถั่วเหลืองราว 200 ตัน ซึ่งทางกรีนสปอต และ สมาคมผู้ผลิตน�้ามันถั่วเหลืองและร�าข้าว จะเป็นผู้รับซื้อไว้ทั้งหมด เพื่อสร้างหลักประกัน ด้านตลาดให้กบั เกษตรกร และทดแทนการน�าเข้าวัตถุดบิ จากต่างประเทศ โดยถัว่ เหลืองเกรด แปรรูปอาหารจะได้ราคาสูง และเกรดสกัดน�้ามันจะได้ราคารองลงมาตามราคาตลาดโลก ทั้งนี้ พันธมิตรทุกฝ่ายรู้สึกภาคภูมิใจ ที่ได้มีโอกาสน�าเสนอโครงการดี ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อ ทัง้ เกษตรกร และสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ เศรษฐกิจและภาคอุตสาหกรรมของไทย เราอยากเชิญชวน เกษตรกรชาวไร่อ้อยให้หันมาศึกษาถึงประโยชน์ของการปลูกถั่วเหลืองในช่วงบ�ารุงดิน เพือ่ น�าไปประยุกต์ใช้ในพืน้ ทีข่ องตน และเพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ให้กบั ทรัพยากรดินได้อย่าง ยั่งยืน

93

R1_Energy#65_p92-93_iMac5.indd 93

3/22/2557 BE 8:03 PM


Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ์ วัฒนา

Energy from Waste (EfW) Equipment เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาดวยกระบวนการยอนกลับระบบทําความเย็น Organic Rankine Cycle (ORC Technology) นับตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั มนุษยรจู กั และใชพลังงานรูปแบบตาง ๆ เพือ่ การดํารงชีวติ และนับวันจะเพิม่ ปริมาณการใชขนึ้ เรือ่ ย ๆ ตามการเติมโต ทางเศรษฐกิจและสังคม สําหรับประเทศไทย สํานักคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) รายงานอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ของไทย ป 2556 คาดวาภาพรวมทัง้ ปจะมีการขยายตัวรอยละ 3 มีการใช พลังงานเชิงพาณิชยขั้นตน จํานวน 2 ลานบารเรลเทียบเทานํ้ามันดิบ ตอวัน เพิม่ ขึน้ รอยละ 1.2 เมือ่ เทียบกับ ป 2555 โดยกาซธรรมชาติมสี ดั สวน การใชพลังงานมากสุด 917,015 บารเรลเทียบเทานํา้ มันดิบตอวัน คิดเปน รอยละ 46 ของการใชพลังงานเชิงพาณิชยขนั้ ตนทัง้ หมด เพิม่ ขึน้ รอยละ 3.2 เมื่อเทียบกับ ป 2555 รองลงมาเปนนํ้ามัน และถานหิน มีสัดสวนการใช รอยละ 36 และรอยละ 16 ตามลําดับ เมื่อพิจารณามูลคาการใชพลังงาน ในป 2556 มีมูลคา 2.13 ลานลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 เมื่อเทียบกับ ป 2555 สัดสวนมูลคาการใชพลังงาน โดยนํา้ มันสําเร็จรูปมีมลู คามากทีส่ ดุ 1,327,636 ลานบาท รองลงมาเปนพลังงานไฟฟา และกาซธรรมชาติ มูลคาการใช 541,974 ลานบาท และ 121,147 ลานบาท ตามลําดับ จะเห็นไดวา ประเทศไทยมีการใชพลังงานทุกรูปแบบเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับ ป 2555 และเมือ่ พิจารณาการใชพลังงานไฟฟา ซึง่ เปนปจจัยสําคัญในการดําเนินชีวติ และการดําเนินธุรกิจ ในป 2556 มีจํานวนการใชพลังงานไฟฟา 165,560 ลานหนวย เพิม่ ขึน้ รอยละ 2.3 เมือ่ เทียบกับป 2555 โดยภาคอุตสาหกรรม มีสัดสวนการใชพลังงานมากที่สุดคิดเปนรอยละ 46 รองลงมาใชใน ภาคครัวเรือน และภาคธุรกิจ คิดเปนสัดสวนรอยละ 23 ทั้งสองภาคสวน จากการเพิ่มขึ้นของการใชพลังงานไฟฟาอยางตอเนื่อง ดังนั้น หนวยงานที่รับผิดชอบในการผลิตไฟฟาจึงมีความสําคัญมาก ทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต เพือ่ สามารถรักษาระบบการจายไฟฟาปจจุบนั และเพิ่มกําลังการผลิตในอนาคต ตอบสนองตอการเพิ่มการใชพลังงาน ไฟฟาอยางเพียงพอ ซึง่ คาดวาใน ป 2573 ประเทศไทยจะมีการใชไฟฟา อยูท ี่ 70,686 เมกะวัตต อยางไรก็ตาม การเพิม่ กําลังการผลิตไฟฟายอมมา พรอมกับการสรางโรงไฟฟา ซึง่ จากกระแสการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม เทคโนโลยี โรงไฟฟาและแหลงเชื้อเพลิงที่นํามาใชตองสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอยทีส่ ดุ เพือ่ ลดปญหาการตอตานจากชุมชน ดังนัน้ ในบทความนีข้ อนําเสนอ เทคโนโลยีโรงไฟฟาโดยใชเทคโนโลยียอนกลับของระบบทําความเย็น มาแนะนํา โดยเทคโนโลยีนเี้ ปนเทคโนโลยีสะอาดสามารถใชแหลงพลังงาน ไดหลายรูปแบบจากพลังงานธรรมชาติที่ประเทศไทยเรามีอยางมากมาย รวมถึงการนําพลังงานความรอนทิ้งกลับมาใชเปนแหลงพลังงานเพื่อ ขับเคลือ่ นระบบผลิตไฟฟาชนิดนี้ เรียกเทคโนโลยีนวี้ า Organic Rankine Cycle หรือ ระบบผลิตไฟฟา ORC ซึง่ เปนระบบยอนกลับของระบบทําความเย็น ทีเ่ ราคุน เคยเปนอยางดี

รูจักวัฏจักรยอนกลับระบบทําความเย็นเพื่อผลิตไฟฟา โอ-อาร-ซี (ORC) ระบบทํ า ความเย็ น เป น ระบบที่ ทํ า หน า ที่ ทํ า ให บ ริ เวณที่ ต  อ งการ มีอุณหภูมิลดลงหรือมีอุณหภูมิตามกําหนด โดยอาศัยกระบวนการ ถ า ยเทความร อ นจากบริ เ วณดั ง กล า วไปยั ง อุ ป กรณ ที่ เรี ย กว า เครื่องระเหย (Evaporator) ความรอนดังกลาวจะถูกถายเทไปยัง สารทําความเย็น และจะถูกนําไประบายทิง้ ออกสูบ รรยากาศ อุปกรณ ที่ทําหนาที่ระบายความรอนดังกลาว เรียกวา เครื่องควบแนน (Condenser) โดยทั่วไปบรรยากาศจะมีอุณหภูมิสูงกวาบริเวณที่ทํา ความเย็น ระบบทําความเย็นจะทํางานเปนวัฏจักร นั่นหมายถึง จะทํางานตอเนือ่ งตลอดเวลา ตราบเทาทีม่ พี ลังงานจายเขาระบบ ปจจุบนั ระบบทําความเย็นเปนระบบที่สําคัญในชีวิตประจําวัน รวมถึงใน ภาคอุตสาหกรรม ระบบทําความเย็นสวนใหญใชในงานปรับอากาศ และกระบวนการผลิตอุตสาหกรรม เชนในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง เปนตน วัฏจักรระบบทําความเย็นทีม่ ใี ชในปจจุบนั มีอยู 2 ชนิดใหญ ๆ คือ ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ (Vapor Compression Refrigeration) และ ระบบทําความเย็นแบบดูดซึม (Absorption Chiller) แตเนือ่ งจาก วั ฏ จั ก รย อ นกลั บ ของระบบทํ า ความเย็ น ที่ จ ะกล า วในบทความนี้ เกีย่ วของกับระบบทําความเย็นแบบอัดไอ ดังนัน้ จะขอกลาวเฉพาะ ระบบทําความเย็นระบบอัดไอเทานั้น ระบบทําความเย็นแบบอัดไอ (Vapor Compression Refrigeration) จะประกอบดวย 4 อุปกรณหลัก และ 4 กระบวนการทํางาน โดยอุปกรณหลักในระบบจะประกอบดวย เครือ่ งอัดไอของสารทําความเย็น (Compressor) เครือ่ งควบแนน (Condenser) วาลวขยาย (Expansion Valve) และ เครื่องระเหย (Evaporator) ซึง่ สามารถอธิบายการทํางานของระบบ ผานกระบวนการ ทางอุณหพลศาสตร (Thermodynamic) 4 กระบวนการดวยกัน

94

Energy#65_p94-95_iMac5.indd 94

3/21/2557 BE 12:57 AM


Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา

กระบวนการที่ 1-2 : เป น กระบวนการอั ด ตั ว แบบ ไอเซนโทรปกภายในเครื่องอัด (Compressor) กระบวนการที่ 2-3 : เป น กระบวนการไอโซบาริ ก ผานเครือ่ งควบแนน (Condenser) ซึง่ เปนกระบวนการถายเท ความรอนออกจากระบบดวยความดันคงที่ กระบวนการที่ 3-4 : เปนกระบวนการไอเซนธัลปกผาน วาลวขยาย (Expansion Valve) กระบวนการที่ 4-1 : เป น กระบวนการไอโซบาติ ก ผานเครื่องระเหย (Evaporator) ซึ่งเปนกระบวนการดูด ความรอนความดันคงที่ ในวัฏจักรระบบทําความเย็นแบบอัดไอ ทัง้ 4 กระบวนการ จะทํางาน อยางตอเนือ่ งตลอดเวลา เมือ่ ยังคงมีการใสพลังงานใหกบั ระบบ หรือมีการใสพลังงานกลใหกบั เครือ่ งอัดไอ โดยสารทําความเย็น ในสภาวะที่ 1 ซึง่ อยูใ นสภาวะไออิม่ ตัวจะถูกอัดตัวในเครือ่ งอัดไอ (Compressor) ดวยกระบวนการไอเซนโทรปก จนกระทัง่ ไอของ สารทําความเย็นมีสภาวะไอรอนยวดยิง่ (Superheat) ในสภาวะที่ 2 ตอจากนัน้ สารทําความเย็นในสภาวะไอรอนยวดยิง่ จะถายเท ความรอนไปยังสิ่งแวดลอมสงผลใหสารทําความเย็นควบแนน กลายเปนของเหลวอิม่ ตัวในเครือ่ งควบแนน (Condenser) ซึง่ ใน กระบวนการนี้จะเปนการถายเทความรอนโดยกระบวนการ ไอโซบาริก (ความดันคงที่ , P2 = P3) หลังจากนัน้ สารทําความเย็น ในสภาวะของเหลวอิ่มตัวจะเคลื่อนที่ผานวาลวขยายเพื่ อ ลด ความดั น ลง (จนถึ ง P4) โดยกระบวนการไอเซนธั ล ป ก จนสารทําความเย็นมีสถานะของผสมสองสถานะคือ สถานะไอ ผสมกับของเหลว ที่สภาวะที่ 4 หลังจากนั้นสารทําความเย็น สองสถานะจะไปรับความรอนในเครื่องระเหย (Evaporator) ซึง่ เปนกระบวนการดูดความรอนความดันคงที่ โดยกระบวนการ ไอโซบาติก เมือ่ สารทําความเย็นรับความรอน สารทําความเย็น จะระเหยกลายเปนไอจนหมด และกลับไปสูส ภาวะที่ 1 อีกครัง้ ระบบทําความเย็นจะทํางานอยางตอเนือ่ งเปนวัฏจักรตลอดเวลา ตราบทีย่ งั มีพลังงานสงเขาระบบ

ในทางทฤษฏี ก ระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวั ฏ จั ก รทํ า ความเย็ น จะเป น กระบวนการยอนกลับไดภายในทัง้ หมด ดังนัน้ ถาหากเราทําใหกระบวนการ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในวั ฏ จั ก รทํ า ความเย็ น เดิ น ย อ นกลั บ ในทิ ศ ทางตรงข า ม วัฏจักรที่เกิดขึ้นก็จะกลายเปนวัฏจักรกําลัง ซึ่งวัฏจักรดังกลาวก็คือ วัฏจักรแรงคิน (Rankine Cycle) ซึง่ วัฏจักรแรงคิน เปนวัฏจักรทีเ่ ราคุน เคย เปนอยางดี ซึง่ เปนพืน้ ฐานของ โรงไฟฟากังหันไอนํา้ (Steam Turbine Power Plant) ซึง่ โรงไฟฟาดังกลาวเปนโรงไฟฟาทีน่ ยิ มใชในการผลิตไฟฟา มากที่สุดระบบหนึ่งของโลก ดังนั้น เพื่อใหโรงไฟฟาของกระบวนการ ยอนกลับของระบบทําความเย็นสามารถเปนไปไดในทางปฏิบตั ิ ซึง่ ตองมี การปรับปรุงสภาวะการทํางานภายในระบบใหเหมาะสม รวมถึงการปรับปรุง อุปกรณบางอยางในระบบใหสามารถทํางานไดในกระบวนการยอนกลับ ของระบบทําความเย็นเพื่อผลิตไฟฟา เชน ความดันและอุณหภูมิ ภายในระบบในแตละสภาวะตองเหมาะสมกับการทํางานของระบบ หรือแมแตการปรับแตงเครื่องอัดไอสารทําความเย็น ใหกลายเปน ตัวขยาย (Expander) เพือ่ เปลีย่ นพลังงานจลนจากไอสารทําความเย็น ในสภาวะรอนยวดยิ่งใหเปนพลังงานกล กอนจะนําไปใชในการขับ เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ตอไป ในระบบยอนกลับระบบ ทําความเย็นเพื่อใชผลิตไฟฟา จะมีอุปกรณหลักในระบบคลายกับ โรงไฟฟากังหันไอนํ้า แตเปลี่ยนสารทํางานมาเปนสารทําความเย็น หรือออรแกนนิคแทนนํ้า และใชเครื่องอัดไอ (Compressor) หรือ เครือ่ งขยาย (Expander) แทนกังหันไอนํา้ ดังนัน้ เพือ่ ความเขาใจระบบ ไฟฟาจากกระบวนการยอนกลับระบบทําความเย็น จะอธิบายระบบ โดยรวม และแยกสวนอุปกรณภายในระบบผลิตไฟฟาจากกระบวนการ ยอนกลับระบบทําความเย็น พอเขาใจและจะเรียกระบบผลิตไฟฟา ดังกลาววา Organic Rankine Cycle (ORC) หรือ โอ-อาร-ซี

(อานตอฉบับหนา)

95

Energy#65_p94-95_iMac5.indd 95

3/21/2557 BE 12:57 AM


Energy Management อ.บัญฑิต งามวัฒนะศิลป์

บริหารจัดการพลังงานใหไดผล

จาก 2 กรณีศึกษาอาคารประหยัดพลังงาน ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹áÅÐÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ¹Ñ้¹ ËÒ¡´ํÒà¹Ô¹¡ÒÃÍ‹ҧ¨ÃÔ§¨Ñ§áÅÐÁÕ¡Òà ¤Ô´¤Œ¹¾Ñ²¹ÒãËŒà¡Ô´¡ÒûÃоÅѧ§Ò¹Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹¡ÒþѲ¹Ò à·¤â¹âÅÂÕ·ªÕ่ Ç‹ Â㹡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ¡ÒûÃѺà»ÅÕÂ่ ¹ËÃ×ÍàÅ×͡㪌෤â¹âÅÂÕ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ¡ÒÃàÅ×͡㪌¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ ËÃ×Í㪌Çѵ¶Ø´Ôºµ‹Ò§ æ ãËŒà¡Ô´ »ÃÐ⪹ ʧ٠ÊØ´ à¾×Í่ Å´»ÃÔÁÒ³¡ÒûŋÍ¢ͧàÊÕÂËÃ×Í¡ Ò«àÃ×͹¡ÃШ¡Íѹʋ§ ¼Å¡Ãзºµ‹ÍÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁáÅÐÊѧ¤ÁÃͺ¢ŒÒ§Å§ä´ŒÁÒ¡ «Ö§่ ¡ÒôํÒà¹Ô¹¡ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É ¾Åѧ§Ò¹áÅÐÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁã¹áµ‹ÅÐͧ¤ ¡Ã¹Ñ¹ ้ µ‹Ò§¡็Á¹ Õ âºÒ·Õá่ µ¡µ‹Ò§¡Ñ¹ÍÍ¡ä»

สถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติมหาราชินี หรือ โรงพยาบาลเด็ก ในสังกัดกรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ใหบริการดูแลรักษาผูป ว ยเด็กระดับตติยภูมหิ รือสูงกวา เปนอาคาร ประเภทโรงพยาบาลของรัฐแหงเดียวในประเทศที่ใหบริการรักษาพยาบาเฉพาะ ผูปวยเด็ก ตั้งแตแรกเกิดจนถึงอายุ 18 ป จํานวนเตียงรักษา 449 เตียง ในป 2556 ใหบริการผูปวยนอก 381,669 ราย ผูปวยใน 17,795 ราย สถาบันไดรับการรับรอง คุณภาพโรงพยาบาล (HA) ตั้งแตป 2545 จนถึงปจจุบัน ในป 2557 สถาบันไดรับรางวัลดานบริหารจัดการสูความเปนเลิศ Thailand Quality Class : TQC สถาบันยังเปนสถานทีฝ่ ก อบรมแพทยประจําบานและแพทยเฉพาะทาง โรคเด็ก เปนทีส่ อนนักเรียนแพทยและฝกอบรมบุคลากรการแพทย มีศนู ยความเปนเลิศ และศูนยเชี่ยวชาญพิเศษเฉพาะดานรวม 8 ศูนย จากการทีส่ ถาบันมีภารกิจหลายดาน ตลอดจนทําเลทีต่ งั้ อยูท า มกลางอาคารสูง ขัดขวาง การไหลเวียนอากาศ ความรอนสะสมมีมาก จําเปนตองใชไฟฟาจํานวนมาก เพือ่ ปรับ ลดอุณหภูมิในสถานที่ปฏิบัติงาน ในป 2553 ซึ่งเปนปกอนมีการจัดการดานพลังงาน ไดใชไฟฟาไปจํานวนกวา 9 ลานหนวยเศษ คิดเปนเงิน 32 ลานบาท โดยมีอตั ราการใช

96

Energy#65_p96-98_iMac5.indd 96

3/22/2557 BE 12:36 AM


ปญหาความยุงยากที่พบในการจัดการพลังงานครั้งนี้คือ ระเบียบพัสดุ ทําใหตอ งใชเวลาจัดการนาน และราคากลางของกรมบัญชีกลางทีก่ าํ หนด ไวคอนขางนอย สิ่งที่สําคัญที่สถาบันทําควบคูไปคือการฝกอบรมความรู ทักษะ จัดใหบคุ ลากรรวมกลุม วิเคราะหปรับปรุงกระบวนการทํางานทีท่ าํ เพื่อลดใชพลังงานและอนุรักษสิ่งแวดลอมไดจัดเวทีใหนําเสนอผลงาน เพื่อใหบุคลากรอื่นไดทราบถึง 3 ครั้ง ในที่สุดไดผลงานอนุรักษมากกวา 10 เรื่องที่มีผลสําเร็จเปนลักษณะเฉพาะงาน/ดาน (Symbolic Process Analysis : SPA ) ซึ่งมีความนาสนใจ นําไปประยุกตใชไดในที่อื่น และ สถาบันคิดวาการทีบ่ คุ ลากรสวนใหญมคี วามรูส ามารถวิเคราะหปรับปรุง การจัดการพลังงานในงานตนเองไดนั้น เปนการสนับสนุนใหเกิดความ ยั่งยืนของการประหยัดพลังงานของสถาบันไดในภายหนา เพิ่มปละ 5% คณะผูบริหารนําโดยผูอํานวยการสถาบันใหความ สําคัญในปญหานี้ เนือ่ งจากสถาบันตองใชงบประมาณในสวนอืน่ ๆ อีกจํานวนมาก ไดใหขอ สรุปวาตองมีระบบจัดการอยางจริงจัง เพือ่ ลด การใชพ ลั ง งานโดยไม ส  ง ผลกระทบต อ การให บ ริ ก ารและให มี ความยัง่ ยืน ไดใหนโยบายการประหยัดพลังงาน และใหการสนับสนุน โครงการทีค่ ณะทํางานจัดการพลังงานนําเสนออยางเต็มที่ รวมทัง้ กําหนดใหการประหยัดพลังงานเปนตัวชี้วัดหลักสถาบันตัวหนึ่ง ทีท่ กุ คนตองถือปฏิบตั ริ ว มกัน ไดตงั้ เปาหมายการประหยัดไว โดยใน ระดับสูงสุดคือลดใชพลังงานลงปละ 10% เปรียบเทียบ ป 2554 การจัดการเพือ่ ประหยัดพลังงานของสถาบันจึงเริม่ ขึน้ ในปลายป 2553 โดยสงบุคลากรดูงานโรงพยาบาลทีป่ ระสบความสําเร็จในการจัดการ พลังงานเพือ่ ทําแผนปฏิบตั กิ ารตอไป โดยจัดใหมกี ารฝกอบรมความรู การจัดการพลังงานแกบุคลากรทั้งหมด เทคโนโลยีแรกที่จัดหาคือ อุปกรณตรวจวัดการใชพลังงานในอาคารหลักและในอุปกรณที่ใช พลังงานมาก รวมกับติดตัง้ อุปกรณควบคุมการใชไฟฟา เพือ่ ลด peak และลดความเร็วรอบปม นํา้ ระบบปรับอากาศ ซึง่ เปนการทํางานรวมกัน ระหวางทีมอนุรกั ษพลังงานของสถาบันกับทีมปรึกษาดานพลังงาน จากการวิเคราะหการใชพลังงานของสถาบันเราพบวาระบบปรับอากาศ ใชไฟฟาถึง 70% ของทั้งหมด จึงเนนการปรับเปลี่ยนสวนนี้กอน เปนชวงเวลาใกลกบั ทีก่ ารไฟฟานครหลวง กฟน. จัดทําโครงการ กฟน. อาคารประหยัดพลังงาน และอาคารเขารวมประกวดในประเภท อาคารโรงพยาบาล ซึง่ สถาบันไดจดั ทํามาตรการประหยัดพลังงาน เพื่ อ เพิ่ มประสิ ท ธิการใชพลัง งานในอาคารโรงพยาบาล ได แก การปรับเปลีย่ นเครือ่ งปรับอากาศแยกสวนเกา 75 เครือ่ ง และเปลีย่ น เครื่องปรับอากาศแยกสวนเกาอีก 13 เครื่อง เปนชนิด Variable Refrigerant Flow : VRF 1 ชุด ติดตั้งเครื่องผลิตโอโซนที่หอผึ่งนํ้า อาคารสถาบันฯ และเปลี่ยน Chiller อาคารมหิตลาธิเบศร เปน VSD chiller ใชงบลงทุนสูงถึง 14.8 ลานบาท มีผลประหยัดในปแรก ที่ไดรวมกับเปลี่ยนหลอดไฟฟาคือ กวา 1 ลานหนวยคิดเปนเงิน 4.3 ลานบาทที่ประหยัดไดจากการปรับปรุงครั้งนี้

ปจจัยความสําเร็จของสถาบันเนนทัง้ การอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม สนับสนุนใหมกี ารดําเนินการเพือ่ สรางประสิทธิภาพ ตามหลักการ 3P + 5R ; 3P คือพัฒนา/ปรับปรุงทั้ง Place (อุปกรณ) People (บุคคล) Process (กระบวนการ) และ 5R คือ Reuse (ใชซํ้า) Reduce (ลดใช) Replace (ปรับเปลี่ยนใหม) Recycle (แปรรูปมาใช) Refuse (ปฏิเสธใช) ซึ่งก็คือ หลักการที่ใชอนุรักษสิ่งแวดลอมของสถาบันที่เนนสงเสริมใหมีการจัด กิจกรรมและเทคโนโลยีประหยัดพลังงานในหลาย ๆ เรื่องที่มีผลสําเร็จ ในการประหยัดพลังงานที่โดดเดนของสถาบัน เพื่อใหเปนตนแบบและ แลกเปลีย่ นเรียนรูร ว มกับอาคารโรงพยาบาลในเครือขาย ซึง่ ทางสถาบัน ไดจัดประชุมประจําทุกประหวางบุคลากรจากโรงพยาบาลทั่วประเทศ ในเรื่องการประหยัดพลังงาน สวนมาตรการอนุรกั ษพลังงานทีไ่ ดปรับปรุงนัน้ ไดมกี ารติดตัง้ เครือ่ งปรับอากาศ ชนิด VRF ทดแทน เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกสวนเงินลงทุน 1,280,000 บาท ผลการประหยัดพลังงาน = 24,892.81 kWh/ป (99,571.24 บาท/ป) ระยะเวลาคืนทุน 12.86 ป การติดตัง้ OZONE บําบัดนํา้ หอผึง่ เย็น อาคารสถาบันสุขภาพเด็กแหงชาติ มหาราชินี เงินลงทุน 1,979,500.00 บาท ผลการประหยัดพลังงาน 127,265.86 kWh/ป (509,063.44 บาท/ป) ระยะเวลาคืนทุน 3.89 ป การเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศแบบแยกสวนประสิทธิภาพสูง เงินลงทุน 3,357,009.00 บาท ผลการประหยัดพลังงาน 274,663.21 kWh/ป (1,098,652.84 บาท/ป) ระยะเวลาคืนทุน 3.06 ป และการเปลี่ยน Chiller ประสิทธิภาพสูงอาคารมหิตลาธิเบศร เงินลงทุน 8,440,000.00 บาท ผลการประหยัดพลังงาน 967,286.92 kWh/ป (3,869,147.68 บาท/ป) ระยะเวลาคืนทุน 2.18 ป ในการดําเนินการอนุรักษพลังงานและการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีใน การประหยั ด พลั งงานทั้ ง 7 อาคารของสถาบันสุขภาพเด็กแหง ชาติ มหาราชินีหรือโรงพยาบาลเด็กในปจจุบันนั้น สามารถเกิดผลประหยัด ได 1,394,108 หนวยตอป

97

Energy#65_p96-98_iMac5.indd 97

3/22/2557 BE 12:36 AM


Energy Management อ.บัญฑิต งามวัฒนะศิลป์

อีกหนึ่งอาคาร คือ โรงแรมริชมอนด มีการบริหารจัดการพลังงานภายใน โรงแรมที่ มี ค วามสอดคล อ งกั บ งานบริ ก ารและมี ค วามสั ม พั น ธ โดยตรงกับความพึงพอใจของผูรับ การบริ ก าร ซึ่ ง จะต อ งปฏิ บั ติ ต  อ ผู  ม ารั บ การบริ ก ารในทุ ก ๆ ด า น อย า งครอบคลุ ม เพื่ อ ให ผู  รั บ การบริ ก ารเกิ ด ความพึ ง พอใจ อยางสูงสุด โดยสามารถวัดความ สํ า เร็ จ ได จ ากความรู  สึ ก ของผู  ใ ห บริการ ซึ่งทั้งหมดนี้จะสงผลอันดีตอภาพรวมขององคกร ในการปรับปรุงประสิทธิภาพในทุก ๆ ดาน ไมวา จะเปนในดาน ความสะอาดความรวดเร็ว ความทันสมัย ความมีสวนรวม และการทํางานเปนทีม ซึ่งทั้งหมดนี้เกิดไดจากการปรับปรุง มาตรฐานการบริการและจะตองการจัดการพลังงานอยางถูกวิธี โดยองคกรตองมีสว นชวยในการสนับสนุนใหเกิดแนวความคิด ใหม (New Concepts) ความรูใหม (New Knowledge) ประสบการณใหม (New Experience) ทักษะใหม (New Skill) และทัศนคติใหม (New Attitude) เพื่อพัฒนาคุณภาพของ งานบริการ ทางผูบริหารนําโดย คุณลักษณวรรณ วงศวรการ ไดเริ่ม ผลักดันนโยบายดานการอนุรักษพลังงานอยางเปนรูปธรรม ตั้งแต ป 2554 และถือวาการอนุรักษพลังงานเปนหนาที่ ความรับผิดชอบของเจาของผูบริหารและพนักงานทุกระดับ มีการกําหนดเปาการอนุรักษพลังงานอยางชัดเจน โดยมี การพัฒนาระบบการจัดการพลังงานอยางเหมาะสม รวมทัง้ การสนั บ สนุ น ด า นงบประมาณในการปรั บ ปรุ ง และเพิ่ ม ประสิทธิภาพการใชพลังงาน อาทิ การติดตั้งมิเตอรไฟฟา ทัง้ ในสวนของ Utility และเครือ่ งจักร การบริการทีม่ นี ยั สําคัญ เพราะวา “เราไมสามารถประหยัดในสิ่งที่เราวัดไมได” รวมทั้งนําระบบคอมพิวเตอร (BMS) เขามาชวยในการเก็บ บันทึกขอมูล ควบคุม ติดตาม และบริหารจัดการพลังงาน ใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและมาตรการเปลีย่ นเครือ่ งทํานํา้ เย็น ชนิดปรับความเร็วรอบของคอมเพรสเซอร มาตรการการติดตัง้ อุปกรณควบคุมความเร็วรอบมอเตอรของปม นํา้ เย็น มาตรการ การนํ า หลอด LED มาใชทดแทนหลอดเดิม และอื่ น ๆ อีกหลายมาตรการ ไดรบั งบประมาณสนับสนุนในการลงทุน จากกระทรวงพลังงานเปนมูลคา 3,074,400 บาท จาก โครงการเทคโนโลยีเชิงลึกเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน ระยะที่ 2

âçáÃÁÃÔªÁ͹´

¨Ñ§ËÇÑ´¹¹·ºØÃÕ

และโครงการส ง เสริ ม วั ส ดุ แ ละ อุปกรณเพื่อการอนุรักษพลังงาน ตลอดจนมี ก ารส งเสริ ม กิ จกรรม การมี ส  ว นร ว มที่ ทํ า ให พ นั ก งาน เกิดความตระหนักและจิตสํานึกตอ การอนุ รั ก ษ พ ลั งงาน การสร า งความรู  ความเข า ใจดา นพลัง งานของ ผูบ ริหารและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของการรายงานผลการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน อยางตอเนื่อง ใหกับผูใหบริการคณะทํางานดานการอนุรักษพลังงาน และตัวแทนจากหนวยงานภายในบริษัทฯ การจัดงานสัปดาหประหยัด พลังงาน การตอบปญหาทางดานการอนุรกั ษพลังงาน การศึกษาดูงานเพือ่ แลกเปลีย่ นประสบการณกบั อาคารทีม่ กี ารบริหารจัดการประสบความสําเร็จ เช น โรงพยาบาลพญาไท 2 ที่ ได รั บรางวั ลชนะเลิศ MEA AWARDS และมีการจัดจาง บริษัท อินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัด เปนที่ปรึกษา โครงการ การเชิญผูเชี่ยวชาญจากภายนอกเพื่อใหคําแนะนํา ทัง้ นี้ ผลจากการดําเนินงานโครงการประหยัดพลังงานทําใหโรงแรมริชมอนด สามารถประหยัดพลังงานได 20.61% และลดคาใชจายดานพลังงาน ไฟฟ า และด า นพลั งงานเชื้ อเพลิ งได ถึ ง 10,725,285 บาท โดยใช เงินลงทุน 12,370,179.60 บาท ไดรับการสนับสนุนจากกระทรวง พลังงาน 3,074,400 บาท โครงการดังกลาวสามารถคืนทุน 0.86 ป จึงสงผลทําใหโรงแรมริชมอนดไดรับรางวัลอาคารประหยัดพลังงานดีเดน ป 2014 ระดับที่ 1 จากโครงการสงเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการ ใชพลังงานในอาคาร (MEA ENERGY SAVING BUILDING) ที่จัดโดย การไฟฟานครหลวง

98

Energy#65_p96-98_iMac5.indd 98

3/22/2557 BE 12:37 AM


Energy Enjoyment กรีนภัทร์

àË็ ¹ ÍÒ¡ÒÈÃŒ Í ¹ æ Ẻ¹Õ้ Energy Enjoyment ©ºÑº¹ÕÍ้ ÂÒ¡¨ÐªÇ¹¤Ø³¼ÙÍŒ Ò‹ ¹ ä»à·Õ่ Â Ç¾Ñ ¡ ¼‹ Í ¹ËҢͧ·Ò¹ÍË Í Â æ ¹Ñ่ § ªÔ Å ¡Ô ¹ ÅÁ ªÁ·ÐàÅ àÊÃ็ ¨ áÅŒ Ç ¤‹ Í Â ¡ÅÑ º ÁÒÅØ Â §Ò¹¡Ñ ¹ µ‹ Í áµ‹ ¡ ‹ Í ¹·Õ่ ¨ Ðá¾็ ¤ ¡ÃÐ້ Ò ÍÍ¡·‹ Í §à·Õ่ Â Ç¡Ñ ¹ ÊÔ่ § ·Õ่ Å× Á äÁ‹ ä ´Œ 㹡ÒÃä»à·ÕÂ่ Ç ¤×Í¡ÒÃËÒâçáÃÁ ËÃ×Í·Õ¾ ่ ¡ Ñ ÊÇ æ ÍÒËÒÃÍËÍ æ à¾×่ÍàÇÅÒ件֧¨Ð ä´ŒäÁ‹àÊÕÂàÇÅÒä»à´Ô¹ËÒ ·Ñ้§¹Õ้·Ò§ Energy Saving àͧ¡็ ÁÕ â çáÃÁÁÒá¹Ð¹ํ Ò ´Œ Ç Â ÅͧÁҴ١ѹ ÊÔÇ‹Ò âçáÃÁáË‹§¹Õ้¨Ðᵡµ‹Ò § ¨Ò¡âçáÃÁÍ×่¹Í‹ҧäúŒÒ§

โรงแรมสีเขียว ใชพลังงานมนุษย

ชวนปนจักรยาน รับโปรโมชั่นอาหารฟรี 1 มื้อ โรงแรมทีแ่ นะนําคือ “โรงแรม Crowne Plaza” อยูใ นกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก จะวาไป ภายนอกก็ไมไดแตกตางจากโรงแรมอื่นสักเทาไร แตที่แตกตางคือ โรงแรมแหงนี้เปนโรงแรม ที่ใชพลังงานมนุษย แคชื่อก็ตกใจกันแลวใชไหมคะ เราลองมาดูกันวาโรงแรม Crown Plaza เขา มีอะไรที่ไมเหมือนใคร โรงแรม Crown Plaza ขึ้นชื่อวาเปนโรงแรมสีเขียวที่สามารถผลิตกระแสไฟฟาดวยจักรยาน ออกกําลังกาย โดยเชือ่ มตอกับระบบผลิตกระแสไฟฟาโดยตรง ซึง่ ทางโรงแรมไดมอบสิทธิพเิ ศษ สําหรับลูกคาทีป่ น จักรยานอยางนอย 6 นาที ดวยความเร็ว 20 ไมลตอ ชัว่ โมง ในการผลิตกระแส ไฟฟาอยางนอย 10 วัตตตอนาที จะรับประทานอาหารฟรี 1 มื้อ โปรโมชั่นนี้ถือเปนเรื่องงาย เนื่องจากผูบริหารโรงแรมตองการใหประชาชนทุกระดับมีสวนรวม รวมทั้งเปนการสงเสริมให ผูที่มาพักรูจักการอนุรักษสิ่งแวดลอมและมีสุขภาพดี นอกจากนี้ ทางโรงแรมยังมีการติดตั้ง แผงเซลลแสงอาทิตยทใี่ หญทสี่ ดุ ในพืน้ ทีย่ โุ รปตอนเหนือ รวมทัง้ ยังมีระบบทําความรอนและเย็น จากนํ้าบาดาล ยิ่งไปกวานั้นทางโรงแรมยังใชขวดแชมพูที่สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติ อีกดวย ทั้งหมดนี้จึงสงผลใหลดคาพลังงานของโรงแรมไดถึง 90% ตอมาทางโรงแรมไดมี การติ ด ตั้ งเครื่ อง IPhone ไว ที่ เ ครื่ องจั ก รยาน เพื่ อให ลูก ค า ได ติ ด ตามความคืบหนา ของ การออกกําลังกาย รวมถึงจัดใหมีการแขงขันการผลิตกระแสไฟฟารวมกับแผงเซลลแสงอาทิตย แมหลายคนรังเกียจการออกกําลังกาย แตกเ็ ปนเรือ่ งดีทมี่ กี ารรณรงคใหมกี ารอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม นาอิจฉาชาวเดนมารกจริง ๆ เลยที่มีโรงแรมแบบนี้ ถาเจาธุรกิจโรงแรมในประเทศไทยจะนํา เอาไปเปนแบบอยางก็ไมวากัน เพราะถือวาเปนเรื่องที่ดีนาเอาเปนแบบอยาง รับรองเลยวาถา มีโรงแรมแบบนี้เยอะ ๆ พลังงานคงจะมีใหเราใชไปอีกนานทีเดียว

99

Energy#65_p99-100_iMac5.indd 99

3/21/2557 BE 1:11 AM


ä¹µ ¤ÅѺÃÑ¡É âÅ¡

Bar Surya

ªÇ¹¹Ñ¡àµŒ¹ ÍÍ¡Êàµç» »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹

àÁ×่Í¡ŒÒÇࢌÒÊÙ‹ÇÑ·ํÒ§Ò¹·ํÒãËŒ·Ø¡¤¹á·º¨ÐäÁ‹ÁÕàÇÅҾѡ¼‹Í¹ à¾ÃÒеÅÍ´·Ñ้§ÊÑ»´ÒË àÃÒµŒÍ§ËÁ¡ÁØ‹¹¡Ñº¡Ò÷ํÒ§Ò¹·Ñ้§Çѹ áÅÐàÁ×่Ͷ֧ »ÅÒÂÊÑ»´ÒË ËÅÒÂ æ ¤¹ÁÑ¡¨ÐËÒ¤ÇÒÁÊآʋǹµÑÇ ºŒÒ§¡็¹Í¹¾Ñ¡¼‹Í¹ÍÂÙ‹ºŒÒ¹ ºŒÒ§¡็ËÒ·Õ่à·Õ่Âǵ‹Ò§¨Ñ§ËÇÑ´ ᵋ¨ÐÁÕ¤¹ºÒ§¡ÅØ‹Á·Õ่ª×่¹ªÍº ¡ÒÃÍÍ¡·‹Í§à·Õ่ÂǵÃÐàǹÃÒµÃÕ «Ö่§¤§Ë¹ÕäÁ‹¾Œ¹Ê¶Ò¹·Õ่à·Õ่ÂÇ»ÃÐàÀ· ¼Ñº ºÒà Í‹ҧṋ¹Í¹ Energy Enjoyment àÅÂÍÍ¡ä»àÊÒÐáÊǧËÒ ·Õ่à·Õ่ÂÇÊํÒËÃѺ¤¹¡ÅÒ§¤×¹ÁÒ½Ò¡¡Ñ¹

ไนตคลับสวนใหญที่คนนิยมกันมาก จะมีชื่อในเรื่องของสถานที่ การเปดเพลงซึ่ง Bar Surya เปนไนตคลับในลอนดอน ประเทศ อังกฤษ ทีโ่ ดยทัว่ ไปแลวไมไดแตกตางจากไนตคลับทัว่ ไปสักเทาไรนัก แต สิ่งที่ ไม เ หมื อนที่ อื่น คื อ ไนต คลั บแห งนี้ ไดอ อกแบบมาให การเคลือ่ นไหวของนักเตนรําบนฟลอรสามารถนําไปผลิตพลังงาน กลั บมาหมุ น เวี ย นใช ได หรื อ dance floor-power nightclub คือ พืน้ ทีบ่ นฟลอรจะมีสปริงและบล็อกทีส่ ามารถนําการสัน่ สะเทือน ของฟลอรไปผลิตเปนพลังงานได เมื่อมีคนเตนรําออกสเต็ปบนพื้น ก็จะเกิดการสรางกระแสไฟฟาทีเ่ รียกวา piezoelectricity

100

Energy#65_p99-100_iMac5.indd 100

ภายในตัวอาคารยังติดตัง้ สปริงและเครือ่ งผลิตกระแสไฟฟาไวใตพนื้ ที่จะผลิตกระแสไฟฟาเมื่อมีการเดินบนชุดอุปกรณเหลานี้ ซึ่งทาง ผูก อ สรางคลับแหงนีร้ ะบุวา 60% ของพลังงานทีค่ ลับใช ถูกผลิตจาก การเตนของลูกคา เขามีความตองการใหบรรดาคนรุน ใหมมสี ว นรวม ในการเคลือ่ นไหวเพือ่ อนุรกั ษสงิ่ แวดลอม และกอตัง้ องคกรทีเ่ รียกวา Club4Climate โดยมีจดุ ประสงคเพือ่ ลดผลกระทบของภาวะโลกรอน คาเขาคลับดังกลาวอยูท รี่ าว ๆ 10 ยูโร (400 บาทไทย) สําหรับคนที่ ขีจ่ กั รยานและคนทีเ่ ดินมาคลับแหงนีจ้ ะไดเขาฟรี ทีส่ าํ คัญลูกคาทุกคน จะตองลงชือ่ กอนเขาคลับ เพือ่ เปนการรับรองวาลูกคาทุกคนจะชวย คลับในการผลิตพลังงาน กลาวแบบสั้น ๆ คือ “หากคุณตองการ จะเขาไป คุณตองเตน” นอกจากนี้ ภายในหองนํา้ ยังมีโถปสสาวะ ไรนาํ้ เปนชักโครกประหยัดนํ้า และแกวนํ้ายังทําจาก โพลีคารบอน ทีส่ ามารถยอยสลายไดเองตามธรรมชาติ ทัง้ นีค้ ลับดังกลาวยังมีกงั หัน ผลิตไฟฟา และแผงเซลลรับพลังงานแสงอาทิตยเปนของตัวเอง โดยที่พลังงานที่เหลือจากการใชงานจะถูกแจกจายใหแกชุมชน ใกลเคียงอีกดวย 3/21/2557 BE 1:11 AM


52

Energy#65_p101_Pro3.indd 7

3/22/14 12:55 AM


Energy Movement กรีนภัทร์

ชวนประหยัดพลังงานผ่าน ไลน์สติกเกอร์

พพ. จัดกิจกรรม SOS Featuring Energy 2013

คุณสมนึก บ�ำรุงสำลี อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน เชิญชวนประชาชนดาวน์โหลด ไลน์สติกเกอร์ “Mr. Idea ชวนเพือ่ นๆ ประหยัดน�ำ้ มัน” ต่อยอดแนวคิด 108 ไอเดีย ประหยัดน�า้ มันสุดฟิน สามารถดาวน์โหลดได้แล้ววันนี้ ถึง วันที่ 26 มีนาคม 2557 ที่ LINE sticker shop

คุณประมวล จันทร์พงษ์ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน เปิดโครงการการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การอนุรกั ษ์ พลังงานในอาคาร ส�านักงาน SOS Start off Smart Office Energy “เปิดไฟควำมคิด ต่อชีวิตพลังงำน” และกิจกรรมการแข่งขัน “SOS Featuring Energy 2013” อย่างเป็นทางการเมื่อเร็ว ๆ นี้

ฟิลิปส์ เปิดตัวเทคโนโลยี และนวัตกรรมแสงสว่าง LED Lighting

กฟผ. แม่เมาะ ซ่อมแซมฝายชะลอน�้า ชุมชนบ้านหาด 217 ฝาย

คุณธนำกร วงศ์วิเศษ ผู้จัดการทั่วไปกลุ่มธุรกิจไฟฟ้าและอุปกรณ์ แสงสว่าง บริษทั ฟิลปิ ส์ อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด เปิดตัว สุดยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมแสงสว่าง LED Lighting ใหม่ลา่ สุด ครบทุกแอพพลิเคชัน่ มากกว่า 2,000 รายการ เจาะกลุม่ ลูกค้าทัว่ ไป และกลุ่มลูกค้าโครงการ พร้อมชูเซอร์วิสรับออกแบบและติดตั้ง ครบวงจร รุกตลาดแสงสว่างในประเทศไทยปี 2557

คุณนรินทร์ วรรณมหินทร์ นายอ�าเภอแม่เมาะ ร่วมกับ คุณสมชำย ติวะตันสกุล ผูช้ ว่ ยผูอ้ า� นวยการฝ่ายจัดการโรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ผูป้ ฏิบตั งิ านจิตอาสา กฟผ. แม่เมาะ พร้อมด้วยชุมชนบ้านหาด ลงพื้นที่ซ่อมแซมฝายชะลอน�้าในพื้นที่ ป่าต้นน�้าห้วยแม่หาด ซึ่งเป็นฝายที่ กฟผ. และชุมชน ร่วมกันสร้าง จนปัจจุบนั มีจา� นวนถึง 217 ฝาย ท�าให้มนี า�้ อุปโภคบริโภคในชุมชน ทั้งปี ณ อ�าเภอแม่เมาะ จังหวัดล�าปาง เมื่อเร็ว ๆ นี้

102

Energy#65_p102-103_iMac5.indd 102

3/21/2557 BE 1:16 AM


Vehicle Concept นัษรุ ต เถื่อนทองค�ำ

สมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน เปิดงานแสดงสินค้า Home Builder Focus 2014

งานมหกรรมแสดงสินค้า “HomePro EXPO” ครั้งที่ 19

เมือ่ เร็ว ๆ นี้ นายกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน พร้อมด้วยอดีตนายกสมาคมฯ และ คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน ร่วมเป็น ประธานในพิธีเปิดงานแสดงสินค้า Home Builder Focus 2014 ณ เพลนนารี ฮอลล์ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสริ กิ ติ ิ์ โดยมีผป้ ู ระกอบการ ที่มาร่วมออกบูทกว่า 30 บริษัทจากภาคส่วนต่าง ๆ เต็มพื้นที่ ทั้งที่ เป็นบริษทั รับสร้างบ้านชัน้ น�า บริษทั วัสดุกอ่ สร้างทีเ่ กีย่ วกับการประหยัด พลังงาน สถาบันการเงิน (สินเชือ่ ) โดยได้รบั ความสนใจจากแขกผูม้ เี กียรติ และสื่อมวลชนเข้าร่วมงานเป็นจ�านวนมาก

คุณมานิตย์ อุดมคุณธรรม ประธานกรรมการบริหาร พร้อมด้วย คุณคุณวุฒิ ธรรมพรหมกุล กรรมการผูจ้ ดั การ คุณทวีวฒ ั น์ ตติยมณีกลุ กรรมการ คุณจุมพล มีสขุ กรรมการ บริษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ากัด (มหาชน) พร้อมด้วย คุณวรรณวิมล กนกธนาพร กรรมการ ผู ้ อ� านวยการ บริ ษัท บั ต รกรุ งศรี อยุ ธ ยา จ�า กัด ร่วมเปิด งาน “HomePro EXPO” ครั้งที่ 19 มหกรรมแสดงสินค้าเกี่ยวกับบ้าน ครบวงจร ลดราคาสูงสุดถึง 80% ณ ฮอลล์ 5 - 8 อิมแพ็คเมืองทองธานี เมื่อเร็วๆ นี้

ถิรไทย อี แอนด์ เอส รับมอบสัญญาจาก กฟภ.

แลงเซส จับมือ ฮันกุ๊ก ร่วมเป็นหุ้นส่วนยุทธ์ศาสตร์เชิงเทคนิค

คุณสัมพันธ์ วงษ์ปาน กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ถิรไทย จ�ากัด (มหาชน) หรือ TRT ในนาม บริษทั ถิรไทย อี แอนด์ เอส จ�ากัด บริษทั ในเครือ พร้อมผูบ้ ริหาร ร่วมรับมอบสัญญาซือ้ ขายรถขุดเจาะจ�านวน 13 คัน รวมมูลค่าทัง้ สิน้ 110,210,000 บาท และรถพ่วงฉีดน�า้ จ�านวน 4 คัน มูลค่า 21,892,000 บาท น�าไปใช้ในงานระบบของ กฟภ. โดยมี คุ ณ น� า ชั ย หล่อวัฒนตระกูล ผู้ว่าการการไฟฟ้ า ส่ ว นภู มิ ภาค เป็นผู้มอบ ณ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ถนนบางเขน

แลงเซส และ ฮันกุ๊ก ไทร์ ลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกันพัฒนา ยางสังเคราะห์เทคโนโลยีใหม่สา� หรับการผลิตยางรถยนต์สมรรถนะสูง ที่ ศูนย์การวิจยั และพัฒนากลางของฮันกุก๊ ในแดด็อก ไซแอนซ์ทาวน์ ในเมืองแดจอน ประเทศเกาหลีใต้ โดยมี ดร.ลี ซัง จู รองประธาน อาวุโสและผูอ้ า� นวยการฝ่ายวิจยั และพัฒนาโกลเบิลที่ ฮันกุก๊ ไทร์ และ ดร.โจอาคิม กรับ รองประธานอาวุโสและผูอ้ า� นวยการหน่วยธุรกิจยาง บิวทาไดอีน ของ แลงเซส ร่วมในพิธี

103

Energy#65_p102-103_iMac5.indd 103

3/24/2557 BE 8:38 PM


Energy Thinking เด็กเนิร์ด

¨Ñ´ÊÃÃàÇÅÒÍ‹ҧäÃãËŒªÇÕ µÔ »ÃÐʺ¤ÇÒÁÊํÒàÃ็¨ ไมมเี วลา ไมมเี วลา...หลายคนมักพูดเชนนีเ้ สมอเพือ่ ใชเปนขออาง เวลาที่ทําอะไรไมสําเร็จ หรือเวลาที่ตองรับหนาที่บางอยางเพิ่มเติมจากที่ รับผิดชอบอยูห รือแมแตไมมเี วลาทีจ่ ะทําบางอยางเพือ่ ตัวเองหรือคนทีเ่ รารัก ไมมเี วลาพักผอน ไมมเี วลาออกกําลังกาย และอีกมากมายหลากหลายเรือ่ ง ที่ใชขออางนี้ หากเรารูจ กั บริหารจัดการเวลาเปนอยางดี นอกจากจะทํางานใหสาํ เร็จ ลุลวงไปไดดวยดีแลว ยังสามารถใชเวลาเพื่อผูอื่นไดอีกดวย เราลองมาดูกันสิวา วิธีการบริหารเวลาใหเกิดประโยชนสูงสุดนั้นที่จริงไมยากเลย

104

Energy#65_p104_iMac5.indd 104

1. การเริ่ ม ต น ที่ ดี มี ชั ย ไปกว า ครึ่ ง ดั ง นั้ น การเริ่ ม ต น วั น ใหม ด  ว ย ความสดชืน่ แจมใสจึงเปนสิง่ ทีไ่ มควรมองขาม ควรคนหาสิง่ ทีต่ นเองชืน่ ชอบสักอยาง เพื่อตอนรับวันใหม เชน อาหารที่ชื่นชอบ เสื้อผาชุดเกงที่เตรียมพรอมสําหรับ วันใหม ทีส่ าํ คัญคือ อารมณทแี่ จมใสจะชวยใหการเริม่ ตนวันของคุณมีพลังมากขึน้ 2. ตั้งเปาหมายใหชัดเจน การมีเปาหมายอาจมีไดหลายเปาหมาย ทั้งเรื่องสวนตัวและเรื่องงาน ไมวาคุณจะมีกี่เปาหมายก็ตาม การตั้งเปาหมาย ทีช่ ดั เจนจะชวยกําหนดทิศทางการใชเวลาในแตละวัน แตละสัปดาห แตละเดือน แตละปได จะไดไมเสียเวลาหลงทางไปกับสิ่งที่ไมเปนประโยชน 3. กําหนดเกณฑการใชเวลาในการทํากิจกรรมแตละอยาง เชน การโทรศัพท การรับประทานอาหาร การเดินทาง การทํางาน การพบปะสังสรรค กับเพื่อนฝูง ควรกําหนดเวลาไวลวงหนาวาจะใชเวลาเทาไร 4. วางแผนประจําวัน ควรเขียนกิจกรรมตางๆ ออกมาอยางชัดเจน แลววางแผนการทําเพือ่ ใหบรรลุผล โดยจัดลําดับความสําคัญของกิจกรรมใหดวี า จะทําอะไรกอนหลัง 5. ใชชีวิตอยางสมดุล ทั้งการพักผอนนอนหลับใหเพียงพอ มีเวลา พักผอนหยอนใจบาง ใหเวลากับตัวเอง และใหความสําคัญกับเรื่องการพัฒนา จิตใจ ไมใชดูแลรางกายเพียงอยางเดียว 6. จัดลําดับความสําคัญของงานใหชัดเจน โดยพิจารณาวางานใด เรงดวน รีบจัดการใหแลวเสร็จ สวนงานใดทีส่ ามารถทําภายหลังไดใหเก็บไวทหี ลัง เพื่อไมใหเสียประโยชนกับงานสําคัญ ๆ 7. ลงมือทํางานที่ยากที่สุด เมื่อทํางานที่ยากสําเร็จจะรูสึกภาคภูมิใจ ในตัวเอง เมือ่ ผานงานยากไปแลว คราวนีง้ านไหน ๆ ก็ไมเกินความสามารถของ เราไปได 8. มอบหมายงาน โดยพิจารณาวาใครที่พอจะชวยได อยาแบก ทุกอยางไวบนบาคนเดียว มองหาตัวชวย ( ตองปลอยวางบาง) เพื่อชวยใหเรา มีเวลาเพิ่มขึ้น 9. ตรวจสอบสิ่งที่ทํา วามีความสําคัญหรือจําเปนเพียงใด หรือเปน เพียงความเคยชิน สํารวจดูวาถาตัดออกจะชวยใหมีเวลามากขึ้นหรือไม ถาตัด อะไรออกได ก็ตัดออกบาง จะไดมีเวลาทําอะไรอีกหลาย ๆ อยาง 10. วางแผนฉลองความสําเร็จ เชน ถางานชิน้ นีเ้ สร็จ ควรจะใหรางวัล กับตัวเองบาง อาจเปนสิ่งเล็ก ๆ นอย ๆ ก็ได เพื่อเปนขวัญและกําลังใจใหกับ ตัวเอง ติดสินบนตัวเองบาง เพื่อสรางแรงจูงใจในการทํางาน แหลงขอมูล : www.dookorea.com

3/21/2557 BE 1:19 AM


แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพอจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)

ชอ................................................. สกุล................................................. เพศ

ชาย

หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........

ตําแหนง :

เจาของ ผูบริหาร เจาหนาที่ อนๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................

อาชีพ :

นักอุตสาหกรรม นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่ปรึกษาดานพลังงาน ชางเทคนิค

นักธุรกิจ ผูรับเหมากอสราง นักวิชาการ / อาจารย นักศึกษา

ลักษณะงานของหนวยงาน :

วิศวกรรม โรงงาน ประกอบการกอสราง ตรวจสอบอาคาร ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน โรงแรม / รีสอรท ศูนยการคา หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ

วิศวกร นักออกแบบ ผูตรวจสอบอาคาร นักพัฒนาดานพลังงาน นักวิจัย ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ อนๆ (โปรดระบุ)......................................................................... การออกแบบ พัฒนาอสังหาริมทรัพย พัฒนาดานพลังงาน ที่ปรึกษาดานพลังงาน ขนสง โรงพยาบาล สถาบันการเงิน – ธนาคาร สถาบันการศึกษา อนๆ (โปรดระบุ).........................................................................

สถานที่จัดสงนิตยสาร

ชอหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ สมัครสมาชิกใหม ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)

วิธีชําระเงิน

เงินสด ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 บัตรเครดิต VISA MASTER หมายเลขบัตร หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือชอผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคลอนไหวแบบออนไลนไดที่

www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ

เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต

HO

ro P T

m

!! n otio

105

Energy#58_p103_Pro3.indd 105

8/28/13 6:43 PM


Event Calendar กองบรรณาธิการ

นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ

3 - 7 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : โครงการ Move World Together เคลื่อนโลกไปด้วยกัน เนื้อหาการฝึกอบรม : เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีจิตอาสาส�านึกความเป็นพลเมืองดีต่อสังคม รู้จักการท�างานเป็นทีม ให้เกิดการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ นวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และสร้างความเข้าใจเรื่องพลังงานและสิ่งแวดล้อมได้อย่างลึกซึ้ง เพื่อเตรียมพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (ผู้มีสิทธิ์สมัครเยาวชนอายุระหว่าง 15 – 21 ปี ) สถานที่ : เขื่อนอุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : ส�านักงานโครงการ Move World Together เคลื่อนโลกไปด้วยกัน โทร. 084-774-0275 8 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : “ส�านักงานสีเขียว” (Green Office) เนื้อหาการฝึกอบรม : กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมร่วมกับคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมมือกันจัดโครงการ “ส�านักงานสีเขียว” (Green Office) ขึ้น เพื่อมุ่งเน้นส่งเสริมศักยภาพการจัดการทรัพยากร พลังงาน และสิ่งแวดล้อมในส�านักงาน เพือ่ ยกระดับมาตรฐาน ส�านักงานให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้น สถานที่ : ณ ห้องประชุมรองศาสตราจารย์ (พิเศษ) เล็ก มอญเจริญ ชั้น 2 (4218) อาคารสิ่งแวดล้อมพัฒนดล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เวลา : 8.00 – 9.00 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : น.ส. วิลินธร ชูโต (เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม) โทร. 02-441-5000 ต่อ 2110 16 พฤษภาคม - 15 สิงหาคม 2557 ชื่องาน : หลักสูตรไอซีทีรักษ์สิ่งแวดล้อม รุ่นที่ 3 (Green ICT Masterclass: GIM3) เนื้อหาการฝึกอบรม : Green ICT : กรีนไอซีที หรือ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นหนึ่งในเทคโนโลยีอุบัติใหม่ (Emerging Technology) ที่มีส่วนร่วมในการลดภาวะโลกร้อน โดยหลักสูตร Green ICT Masterclass : GIM นี้ จะเน้นเรื่องการแบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ จากผู้ก�าหนดนโยบายผู้เชี่ยวชาญ นักปฏิบัติ ที่มีประสบการณ์ตรงในทุกขั้นตอนของวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์และบริการด้านไอซีที สถานที่ : โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร เลขที่ 8/2 ถนนรางน�้า แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : โทร. 02-642-5001 ต่อ 213-215 22 - 24 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : งาน LED Expo Thailand 2014 เนื้อหาการฝึกอบรม : บริษัท อิมแพ็ค เอ็กซิบิชั่น แมเนจเมนท์ จ�ากัด และ MEX Exhibitions Pvt. Ltd. จากประเทศอินเดียเป็นผู้จัดงาน LED Expo Thailand 2014 งานแสดงสินค้าและเทคโนโลยีแอลอีดีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในอาเซียน ประเดิมจัด Singapore LED Industry Forum ครั้งแรกที่ สิงคโปร์ เมือ่ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ ทีผ่ า่ นมา เพือ่ ประชาสัมพันธ์การจัดงานและกระตุน้ ความร่วมมือให้เกิดการใช้นวัตกรรม LED ในภูมภิ าคนีอ้ ย่างต่อเนือ่ ง สถานที่ : ณ อาคาร 7 - 8 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็คเมืองทองธานี ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : คุณพรรณวิสุทธิ์ บูรณากานต์ โทร. 02-833-5328 โทรสาร. 02-833-5127-9 E-mail : panvisutb@impact.co.th 26 - 30 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : หลักสูตรการป้องกันอันตรายจากรังสี ระดับ 1 เนื้อหาการฝึกอบรม : สถาบันเทคโนโลยีนวิ เคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้ตระหนักถึงความจ�าเป็นในการปฏิบตั งิ านทางรังสีอย่างปลอดภัยภายใน หน่วยงานต่าง ๆ ของประเทศ จึงได้ก�าหนดจัดฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกันอันตรายจากรังสีขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายในการสร้างความรู้ ความเข้าใจเรื่อง หลักการป้องกันอันตรายขณะปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับวัสดุกัมมันตรังสี ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถน�าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ ไปพัฒนาและปรับปรุงการในการปฏิบัติงานต่อไป สถานที่ : ห้องประชุม – ฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพฯ ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : เจ้าหน้าที่จัดฝึกอบรม นางสาวสุพัตรา 02-401-9889 ต่อ 5914 , 02-579-8318 106

R1_Energy#65_p106_iMac5.indd 106

3/22/2557 BE 8:06 PM


Energy#62_p107_Pro3.ai

Energy#65_Cover In_Pro3.indd Energy#63_p87_Pro3.indd 87 1

1/23/14 4:18 AM

1

12/18/13

10:44 PM

3/25/2557 BE 5:19 PM


Energy#65_Cover Back_iMac5.pdf

1

3/19/2557 BE

Cover ES65_iMac5.pdf

12:28 AM

C

C

M

M

Y

Y

CM

CM

MY

MY

CY

CY

CMY

CMY

K

K

Energy#65_Cover Out_Pro3.indd 1

1

3/25/2557 BE

5:12 PM

3/25/2557 BE 5:18 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.