39
Energy#66_Cover Out_iMac5.indd Energy#66_p108_iMac5.indd 31 1
4/21/2557 BE 9:04 PM
4/28/2557 BE 11:46 AM
Energy#66_p107_iMac5.ai
Energy#66_p107_iMac5.pdf
1
1
4/21/2557 BE
9:31 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Energy#66_Cover In_Pro3.indd 1
4/24/2557 BE 10:56 PM
Energy#66_p3_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/24/2557 BE
1:21 AM
Issue 66 MAY 2014 High Light
72
74
What’s Up
72 Around The World 74 ASEAN Update 102 Energy Movement
Cover Story
10 Cover Story : Green Building บทพิสูจน์อาคาร ประหยัดพลังงาน
53 Special Report : กระทรวงพลังงานเตรียมแผน
22 GreenNovation 19 Green 4 U 24 Energy Award : RICHMOND STYLISH CONVENTION HOTEL คว้ารางวัล MEA Energy Saving Building Award 36 Energy Knowledge : มก. ลดความร้อนภายในอาคาร กับงานวิจยั Green Roof Mat และ แผงบังแดดไม้เลือ้ ย 44 Eco Shop : เดอะรีเมคเกอร์ แบรนด์ของคนไทย สินค้าฝีมือคนไทย ผลิตจากวัสดุเหลือใช้ 66 Energy Loan : ซีไอเอ็มบี ไทย ปล่อยสินเชื่อ พลังงานสะอาด วงเงินกว่า 50 ลบ.ต่อโครงการ 76 Energy Focus : ศูนย์เผยแพร่อนุรักษ์พลังงาน ภาคอุตสาหกรรมเพิ่มประสิทธิภาพผู้ประกอบการ ด้านพลังงาน 78 Insight Energy : แผนอนุรกั ษ์พลังงาน 190 โครงการ ลดใช้พลังงาน 36,093 ล้านบาท 80 Special Scoop : ระดมจิตอาสาปลูกป่าชายเลน คืนพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน 82 Energy Rules : จับตา..ขยับ ไบโอดีเซล เป็น “บี7” 83 Energy Report : ลดเศษเหลือใช้ด้วยการเพิ่มมูลค่า เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ในโครงการ UPCYCLING 90 Energy Exhibit : “Energy Network to Success” พัฒนาการอนุรักษ์พลังงานสู่โรงพยาบาลต้นแบบ
รับมือหยุดซ่อมแหล่งก๊าซธรรมชาติ เจดีเอ A18
Interview
46 Exclusive : อิตลั ไทย วิศวกรรมฉลองครบรอบ 47 ปี รุกธุรกิจบริหารจัดการน�า้ และระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูง 48 Exclusive : เกียรติธนาขนส่ง ขยายไลน์ เพิ่มฐาน โรงไฟฟ้าชีวมวล เพิ่มรายได้ ลดความเสี่ยง 50 Exclusive : เกาะติดขึ้นราคาแอลพีจี มาตรการช่วยเหลือประชาชน 64 Energy Concept : รถลากจูงไฟฟ้า SRR 24-400 จากวิศวะลาดกระบัง ผลงานประดิษฐ์มาตรฐานโลก
19
4
Energy#66_p4,6_iMac5.indd 4
4/24/2557 BE 9:55 PM
Energy#66_p5_iMac5.indd 5
4/24/2557 BE 1:28 AM
56
Issue 66 MAY 2014
Industrial & Residential
28 Green Industrial : Linde พัฒนานวัตกรรม เพื่อการจัดหาพลังงานที่ยั่งยืน 32 Residence : คราวน์ พลาซ่า กรุงเทพฯ ปรับเปลี่ยน สร้างจิตส�านึก สู่โรงแรมสีเขียว 34 Energy Design : BHIRAJ TOWER พึ่งพาเทคโนโลยีในการออกแบบเน้นความสะอาด สะดวก สบาย และประหยัดพลังงาน 38 Tool&Machine : Building Automation System 94 Saving Corner : Energy from Waste (EfW) Equipment เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วย กระบวนการย้อนกลับระบบท�าความเย็น Organic Rankine Cycle (ORC Technology) 96 Energy Management : บริหารจัดการพลังงาน ไม่ยาก อย่างที่คิด รู้เทคนิค ลงมือท�า ช่วยชาติ ช่วยเรา
32
88 Transportation & Alternative Energy
56 Auto Update : ค่ายรถยนต์คึก ประชันเทคโนโลยี The 35th Bangkok International Motor Show 62 Vehicle Concept : TOYOTA FV2 ยานยนต์แหวกแนวแห่งอนาคต 68 Renergy : เศรษฐกิจสเปนกับปัญหาการพัฒนา พลังงานทดแทน 70 Green logistic : แนวคิดโลจิสติกส์ย้อนกลับ อาวุธลับทางการแข่งขัน
Environment Protection
86 0 Waste Idea : ปัญหาไฟไหม้บ่อขยะแพรกษา “ประเด็นร้อน” ของการจัดการขยะมูลฝอยสู่วาระแห่งชาติ 88 Environment Alert : ปัญหาขยะชุมชน ปัญหาทีแ่ ก้ไม่ตก 92 Green Community : อัครา รีซอร์สเซส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ตอบแทนสังคม สร้างคน สร้างงาน 100 Energy Enjoyment : ฟาร์มใต้ดินรักษ์โลก ณ กรุงลอนดอน
Regular Feature 8 16 39 42 59
Editor ’s talk Get Idea : อนุรกั ษ์พลังงานไทย กับ ธนาคารกสิกรไทย Energy Tips : บ้านเราเย็นได้ ด้วยสวนประหยัดพลังงาน How to : เปลี่ยนความจ�าเจให้เป็นศิลปะ Have to know : ลดใช้ไฟฟ้าภาคอุตสาหกรรม ท�าก่อน...ประหยัดก่อน 104 Energy Thinking : 6Ps รหัสลับท�างานอย่างมีความสุข 105 แบบสมัครสมาชิก 106 Event & Calendar
6
Energy#66_p4,6_iMac5.indd 6
4/24/2557 BE 9:55 PM
หากคุณทำงานเกี่ยวของกับการผลิตไฟฟาจากโซลาเซลลและกังหันลม นีค ่ อื ผูช ว ยมืออาชีพทีจ่ ด ั การงานใหคณ ุ ไดอยางครบถวน และมีประสิทธิภาพ
FLUKE รุน 1587 Insulation Multimeter วัดคาความตานทานฉนวนทีส่ าย DC Cable ระหวางแผงโซลารเซลลและ DC Switch หนาเครือ่ งอินเวอรเตอร และเปนมัลติมเิ ตอร สำหรับวัดไฟฟาอเนกประสงค
FLUKE รุน 1550C 5KV Insulation Tester
วัดคาความตานทานฉนวนทีส่ าย AC Cable ระหวางเครือ่ ง อินเวอรเตอรและหมอแปลง
กลุม่ เครือ่ งมือคุณภาพไฟฟ้า (Power Quality)
FLUKE รุน 435-II AC/DC Power Quality Analyzer
ใชตรวจวัดคากำลังไฟฟาของเครือ่ ง อินเวอรเตอร ที่ DC Input และ AC Output, ประสิทธิภาพของเครือ่ งอินเวอรเตอร คา THD, Harmonics, Flicker, DC Offset, Voltage Event Recorder
www.measuretronix.com/solar-wind-test
Energy#66_p7_iMac5.indd 7
4/24/2557 BE 1:32 AM
Editor ’s Talk ผานพนชวงเดือนทีร่ อ นทีส่ ดุ กันไปแลว เขาสูช ว งตนฤดูฝนอากาศเปลีย่ นแปลงบอย ยั ง ไงก็ ดู แ ลรั ก ษาสุ ข ภาพกั น ด ว ยนะคะ สํ า หรั บ ใครที่ เ ป น แฟนประจํ า นิ ต ยสาร Energy Saving มานาน อาจเห็นความเปลี่ยนแปลงที่ทีมงานตั้งใจพัฒนาใหดีขึ้น อยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหตรงกับความตองการและเปนประโยชนกบั คุณผูอ า นทีเ่ ปรียบ เสมือนเพื่อนสนิทของเรา สําหรับฉบับมิถุนายนคุณจะไดเห็นความเปลี่ยนแปลง อีกครัง้ ทัง้ ในเรือ่ งของเนือ้ หาและรูปแบบทีน่ า สนใจมากขึน้ เขมขนมากขึน้ และเจาะลึก มากขึน้ อยาลืมติดตามและเปนกําลังใจใหกนั ดวยนะคะ ปจจุบันกระแสการประหยัดพลังงานนับเปนเทรนดโลกที่กําลังไดรับความนิยมไป ทุกประเทศ ทุกวงการ ทุกอุตสาหกรรม และทุกสาขาอาชีพ มักจะมีเรื่องของ การประหยัดพลังงานเขามาเกีย่ วของดวยเสมอ เห็นไดจากผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมตาง ๆ ตางคิดคนนวัตกรรมประหยัดพลังงานออกมาแยงชิงพืน้ ทีท่ างการตลาดกันอยางดุเดือด ขอยกตัวอยางจากสิง่ ทีอ่ ยูร อบ ๆ ตัวเรา เชน เสือ้ ผาเครือ่ งแตงกาย รถยนต ยางรถยนต ทีอ่ ยูอ าศัย วัสดุกอ สราง ฯลฯ ลวนแลวแตมนี วัตกรรมทีม่ คี ณ ุ สมบัตปิ ระหยัดพลังงาน และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมแทบทั้งสิ้น สิ่งที่เห็นไดชัดเจน คือ การเลือกใชรถยนต ECO Car ทีม่ จี าํ นวนเพิม่ มากขึน้ ยางรถยนตปจ จุบนั มีรนุ ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และยืดอายุการใชงานใหยาวนานมากขึน้ การเลือกซือ้ บานประหยัดพลังงาน ทีอ่ าศัย หลักการออกแบบและการเลือกใชวัสดุที่มีคุณสมบัติชวยประหยัดพลังงาน ทั้งหมด ทัง้ มวลทีก่ ลาวมานีส้ ามารถพบเห็นไดทวั่ ไปในปจจุบนั เมื่อกระแสรักษโลกหรือกระแสประหยัดพลังงานไดรับการตอบรับจากคนทั่วโลก ผูผ ลิตในอุตสาหกรรมตาง ๆ หันมาใหความสําคัญกับการวิจยั คิดคนผลิตภัณฑใหม ออกมารองรับกระแสประหยัดพลังงานดังกลาว เพื่อตอบโจทยความตองการ ของผูบริโภคในยุคปจจุบัน หากเพื่อน ๆ ตองการทราบขอมูลผลิตภัณฑหรือ นวัตกรรมประหยัดพลังงานใหม ๆ นิตยสาร Energy Saving พรอมอัพเดทขอมูลให ทานทราบอยางตอเนือ่ งและละเอียดยิบ อยาลืมติดตามกันตอไปเรือ่ ย ๆ นะคะ สําหรับนิตยสาร Energy Saving ฉบับนี้ เรือ่ งเดนประจําฉบับ ภูมใิ จนําเสนอเรือ่ งราว ของ Green Building เพือ่ ใหสอดคลองกับเทรนดโลกเรือ่ งการอนุรกั ษพลังงานและ ประหยัดพลังงานในปจจุบนั นอกจากนี้ ยังมีขา วดีสาํ หรับผูป ระกอบการ เมือ่ ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย ใหกสู นิ เชือ่ พลังงานสะอาด วงเงิน 50 ลานบาทตอโครงการ ถาอยาก รูวารายละเอียดปลีกยอยมีอะไรบาง พลิกอานได ใ นเลม...ไดทราบขาววาเมื่อ เดือนเมษายนทีผ่ า นมา กฟผ. รายงานวามีการทําลายสถิตกิ ารใชไฟฟาสูงของป 56 ไปเรียบรอยแลว ที่ 26,942.1 เมกะวัตต ณ อุณหภูมิ 37.5 องศาเซลเซียส ซึง่ ดูเหมือนวา ความตองการใชไฟฟาในบานเรามีแตจะเพิม่ สูงขึน้ หากเราทุกคนหันมาใหความสําคัญ และใสใจกับเรือ่ งการประหยัดพลังงานกันมากขึน้ เริม่ ตนทีต่ วั เรากอน เลือกใชสนิ คา ทีป่ ระหยัดพลังงานและเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ อาจชวยบรรเทาเรือ่ งการบริโภค พลังงานอยางลงไปไดบา งไมมากก็นอ ย
» Âйت ÁÕàÁ×ͧ ËÑÇ˹ŒÒ¡Í§ºÃóҸԡÒà piyanuch@ttfintl.com
8
Energy#66_p8_iMac5.indd 8
¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·ํÒ ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡ÒÃ
ªÒµÃÕ ÁÃäÒ
ËÑÇ˹ŒÒ¡Í§ºÃóҸԡÒÃ
» Âйت ÁÕàÁ×ͧ
¡Í§ºÃóҸԡÒÃ
¹ÑÉÃص à¶×่͹·Í§¤Ó ÃѧÊÃä ÍÃÑÞÁԵà ÍÀÑÊÃÒ ÇÑÅÅÔÀ¼Å
àŢҡͧºÃóҸԡÒÃ
¾ÔªÞÒÀÒ ÍÔ¹·âÅËÔµ
¼ÙŒ¨Ñ´¡Òý†Ò¢ÒÂ
ÈØÀáÁ¹ ÁÃäÒ
àÅ¢Ò½†Ò¢ÒÂ
ÊØ¡ÑÞÞÒ ÊÑ»ÈÒÃ
¡ÒÃà§Ô¹
áʧÍÃس Á§¤Å
ÈÔÅ»¡ÃÃÁ
ÈØÀ¹ÔªÒ ¾Ç§à¹µÃ ªÁ¾Ù¹Ø· ¾ÙÅʧ¤ ˹Ö่§Ä·Ñ ÊØÇÃóâ¤
¾ÔÁ¾
ºÃÔÉÑ· Àѳ¸ÃÔ¹·Ã ¨Ó¡Ñ´
¨Ñ´¨Ó˹‹ÒÂ
ºÃÔÉÑ· àÇÔÅ´ ÍÍ¿´ÔÊ·ÃÔºÔǪÑ่¹ ¨Ó¡Ñ´ ¼ÙŒ¨Ñ´·Ó ºÃÔÉÑ· ·Õ·ÕàÍ¿ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ¨Ó¡Ñ´
200/7-14 ªÑ้¹ 6 ÍÒ¤ÒÃàÍÍÕàÎŒÒÊ «.ÃÒÁ¤Óá˧ 4 á¢Ç§/ࢵ ÊǹËÅǧ ¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã 10250 â·ÃÈѾ· (66) 2717-2477 â·ÃÊÒà (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 ÀÒ¾áÅÐàÃ×่ͧ㹹ԵÂÊÒà ENERGY SAVING ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸Ô์â´Â ºÃÔÉÑ· ·Õ·ÕàÍ¿ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ¨Ó¡Ñ´ ¡ÒùÓ仾ÔÁ¾ «้Ó ËÃ×͹Óä»ãªŒ»ÃÐ⪹ ã´ æ µŒÍ§ä´ŒÃѺ͹ØÞҵ͋ҧ໚¹·Ò§¡Òèҡ ºÃÔÉÑ· ·Õ·ÕàÍ¿ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ¨Ó¡Ñ´ ¡‹Í¹·Ø¡¤ÃÑ้§
4/24/2557 BE 10:02 PM
.
Energy#66_p09_iMac5.indd 9
4/21/2557 BE 9:15 PM
Cover Story รังสรรค์ อรัญมิตร
GREEN BUILDING บทพิสจู น์อาคารประหยัดพลังงาน อาคารเขี ย วนั้ น ได้ มี ก ารกล่ า วถึ ง มานานในต่างประเทศโดยเฉพาะใน ยุ โ รปและอเมริ ก าที่ ไ ด้ ต ระหนั ก ถึ ง การออกแบบอาคารให้เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม โดยใช้นวัตกรรมใหม่ๆ มาใช้ และในปี 1999 ที่ อ เมริ ก า ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง กลุ ่ ม WORLD GREEN BUILDING COUNCIL ขึ้น มีสมาชิกกว่า 50 ประเทศทั่ว โลก และให้คานิยามของ GREEN BUILDING ว่าเป็นอาคารที่ส่งผล กระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มน้ อ ยที่ สุ ด และประหยัดพลังงาน โดยใช้วัสดุ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พร้อม กั บ น� า เทคโนโลยี ม าประยุ ก ต์ ใ ช้ เพื่ อ ให้ ตั ว อาคารใช้ ป ระโยชน์ จ าก สภาวะแวดล้อมให้มากที่สุด จาก การตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หาดั ง กล่ า ว บวกกั บ กระแสความคิ ด ในการ ออกแบบของสถาปนิกรุ่นใหม่ท�าให้ เกิด GREEN BUILDING อย่า ง มากมายทั่วโลก ดังนั้นจึงไม่ใช่เรื่อง ใหม่อีกต่อไป
ปัจจุบันการออกแบบอาคารเขียวหรือท�าอาคารให้เป็นอาคารเขียวในประเทศไทย เป็นเรื่องที่ได้ รับความสนใจจากวงการการออกแบบรวมทั้งเจ้าของอาคารค่อนข้างมากเนื่องจากกระแสการ เปลี่ยนสภาพภูมิอากาศของโลกและการค�านึงถึงการประหยัดพลังงานและรักษาสภาพแวดล้อม หากแต่การท�าให้เป็นรูปธรรม จับต้องและตรวจวัดได้นั้น หลายหน่วยงานหันมาพึ่งพาเกณฑ์ อาคารเขียว ซึ่งเป็นเกณฑ์การให้คะแนนความเขียวในการค�าถึงการลดใช้พลังงานและเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมของอาคารด้านต่าง ๆ เช่น สถานที่ตั้งและการออกแบบส่งเสริมการลดการใช้รถยนต์ การมีเปิดพืน้ ทีโ่ ล่งทีม่ คี ณ ุ ภาพ การไม่สร้างผลกระทบทีไ่ ม่ดตี อ่ พืน้ ทีร่ อบข้างทัง้ ระหว่างการก่อสร้าง และเมือ่ อาคารเสร็จแล้ว การประหยัดพลังงานและน�า้ ในอาคาร การใช้วสั ดุทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และการค�านึงถึงคุณภาพของสภาวะแวดล้อมด้านอากาศ แสงสว่างและอุณหภูมิภายในอาคาร เกณฑ์การประเมินอาคารเขียวนัน้ มีขนึ้ ครัง้ แรกทีป่ ระเทศอังกฤษในปี พ.ศ. 2533 คือ เกณฑ์ BREEAM ซึ่งปัจจุบันมีอาคารได้รับการรับรองจากเกณฑ์ BREEAM แล้วกว่า 250,000 โครงการ ส�าหรับเกณฑ์ของต่างประเทศทีเ่ ป็นทีน่ ยิ มในประเทศไทยคือ LEED นัน้ เปิดตัวครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2543 และปัจจุบัน ณ ไตรมาสแรกของ ปี พ.ศ. 2557 มีอาคารที่ได้รับการรับรองแล้วรวมกันมีพื้นที่ มากกว่า 10.5 พันล้านตารางฟุตหรือเกือบ 1 พันล้านตารางเมตรทั่วโลก เมื่อดูสถิติของปริมาณ พื้นที่โครงการที่ขอรับรองอาคารเขียวของ LEED จะพบว่ามีปริมาณน้อยในช่วงปีแรก ๆ และมา ได้รับความนิยมสูงขึ้นอย่างมากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์อาคารเขียวอื่น ๆ เช่น BREEAM ของอังกฤษ CASBEE ของญี่ปุ่นจะพบว่าเป็นไปในแนวทางเดียวกันทั้งหมดแสดง ให้เห็นถึงกระแสความสนใจในการออกแบบโครงการให้เป็นอาคารเขียวและได้รับการรับรองตาม เกณฑ์ประเมินเหล่านี้
10
Energy#66_p10-15_iMac5.indd 10
4/24/2557 BE 10:08 PM
น
ส่ ว นในประเทศไทยก็ มี ก ารพั ฒ นาเกณฑ์ อาคารเขี ย วขึ้ น มารองรั บ การออกแบบ อาคารประหยัดพลังงานด้วยเช่นกันนั้น คือ Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability for New Construction and Major Renovation หรือ TREES นั้น เพิ่งท�าการเปิดตัวในปี พ.ศ. 2555 และ ด�าเนินการโดยสถาบันอาคารเขียวไทย น่าจะ ใช้เวลาสักระยะจึงจะได้รบั ความนิยมเพิม่ ขึน้ ในปัจจุบนั หลายองค์กรในประเทศไทย เริม่ หัน มาให้ ค วามสนใจในการท� า โครงการที่ จ ะ ขอรับรองอาคารเขียว บริษัทขนาดใหญ่และ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจบางแห่งเริ่มมีประกาศ เป็นนโยบายขององค์กรว่าอาคารใหม่จะต้อง เป็นอาคารเขียวเท่านัน้ การประกวดแบบใน หลาย ๆ โครงการมีข้อก�าหนดเพิ่มเติมให้ ผู ้ อ อกแบบมี ที่ ป รึ ก ษาอาคารเขี ย วหรื อ ออกแบบตามแนวทางเกณฑ์อ าคารเขียว แนวทางใดแนวทางหนึ่งเพิ่มขึ้น หรือเริ่มมี การปรับปรุงอาคารเดิมให้มีประสิทธิภาพ ทางด้านพลังงานและการจัดการอาคารให้ สนใจสิ่งแวดล้อมมากขึ้นท�าให้ปัจจุบันเกิด การขาดแคลนบุคลากรทีส่ ามารถเป็นทีป่ รึกษา ในการก่อสร้างหรือปรับปรุงอาคารเหล่านี้ ซึ่ ง จะต้ อ งมี บุ ค ลากรที่ เข้ า ใจหลากหลาย มิตขิ องการออกแบบอาคารเขียวด้านต่าง ๆ ซึง่ จะมีขอ้ มูลทางเทคนิคค่อนข้างมาก
การก่อสร้างอาคารเขียวนัน้ ไม่ ใช่ เ ป็ น เพี ย งแค่ แ นว ความคิดตามกระแสนิยม หากแต่เป็นเกณฑ์ทอี่ าคาร ทั่วไปควรจะต้องท�าตาม ให้ ไ ด้ หากวงการออกแบบ และก่อสร้างอาคารเข้าใจ ตรงกันพร้อมทัง้ ได้รบั ความ ต้ อ งการมาจากเจ้ า ของ อาคารด้วยก็จะก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลงแนวปฏิบตั ใิ นการออกแบบ การจัดการการก่อสร้าง และการผลิตวัสดุอปุ กรณ์ประกอบอาคารต่าง ๆ ดังที่ได้เกิดขึน้ แล้วในหลายประเทศทีก่ ารออกแบบ อาคารตามเกณฑ์อาคารเขียวเป็นที่นิยม การขอรับรองอาคารเขียวนั้นควรจะเริ่มวางแนวคิดตั้งแต่ออกแบบโครงการ แต่อาคารจะได้ รับการรับรองต่อเมื่อการก่อสร้างเสร็จสิ้นและมีการตรวจสอบระบบต่าง ๆ ว่าเป็นไปตามที่ ออกแบบแล้ว อาคารแรกของประเทศไทยที่ขอรับรองอาคารเขียวคือ InterfaceFLOR Mfg. Facility. Ext. ซึ่งได้รับการประเมินอาคารเขียว LEED จาก USGBC ประเทศสหรัฐอเมริกา ในระดับ certified เมื่อปี พ.ศ. 2550 ปัจจุบันมีอาคารในประเทศไทยที่สมัครเพื่อขอรับรอง อาคารเขียวจาก USGBC จ�านวนเกือบ 80 โครงการ และได้รับการรับรองแล้วจ�านวน 31 โครงการ ส�าหรับเกณฑ์ TREES ของประเทศไทยที่เพิ่งเปิดตัวในปี พ.ศ. 2555 นั้น ปัจจุบัน มีอาคารลงทะเบียนเพื่อขอการรับรองจ�านวนกว่า 20 โครงการ และได้รับการรับรองไปแล้ว 1 โครงการ ได้แก่ โชว์รมู และศูนย์บริการโตโยต้า ไทยเย็น จ�ากัด สาขาปากช่อง จ.นครราชสีมา ในระดับ Gold ในปี พ.ศ. 2556
11
Energy#66_p10-15_iMac5.indd 11
4/24/2557 BE 10:08 PM
สําหรับโครงการโชวรูมและศูนยบริการ โตโยตา ไทยเย็น จํากัด สาขาปากชอง จ.นครราชสี ม า นั้น เลือ กใชการวาง อาคารในทิศทางทีเ่ หมาะสม มีบอ นํา้ ชวยทําความเย็นบริเวณหนาโครงการ มีการเก็บรักษาตนไมใหญเดิมและปลูก ต น ไม เ พิ่ ม ในโครงการใช วั ส ดุ ปู พื้ น ที่ สามารถปลอยใหนํ้าฝนซึมผานลงดินได ลดพื้นที่ติดตั้งระบบปรับอากาศ มีชอง ระบายและถ า ยเทอากาศ ใชกระจก ประหยัดพลังงาน ใชหลอด LED และ ใชระบบปรับอากาศประสิทธิภาพสูง
แนวทางการออกแบบ Eco-dealership ของโครงการโชวรูม และศูนยบริการในเครือโตโยตา มีดังนี้ • การจัดวางผังอาคารและภูมิทัศน ใหสอดคลองกับ สภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ การเลือกใชวัสดุกอสราง และการ เพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อลดความรอนภายในบริเวณอาคาร • การอนุรักษนํ้า โดยการติดตั้งอุปกรณชวยลดปริมาณ การใชนํ้า และ การเลือกใชนํ้าจากแหลงนํ้าทดแทนนํ้าประปา • การอนุรักษพลังงานไฟฟาและแสงสวาง ทั้งจากระบบ ปรับอากาศ ระบบแสงสวาง การออกแบบผังอาคารใหมีความสวาง ของแตละพื้นที่เหมาะสมกับการใชงาน หรือการใชอุปกรณอัตโนมัติ ควบคุมแผงไฟ • การเลือกใชวสั ดุ ทีช่ ว ยลดและสะทอนความรอนสูอ าคาร ทั้งทางผนัง กระจก และหลังคา • การควบคุมคุณภาพสภาวะแวดลอมภายในอาคาร ทั้งการปองกันมลภาวะจากภายนอก และการปองกันไมใหมลภาวะ ที่เกิดภายในอาคารไหลเขาสูระบบปรับอากาศ รวมถึงการหลีกเลี่ยง วัสดุที่มีสารพิษภายในอาคาร
อยางไรก็ตามการออกแบบอาคารเขียวนัน้ มีสว นชวยผลักดันใหเกิดการเปลีย่ นแปลง อุตสาหกรรมการกอสรางไปสูการผลิต ที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยการเปลี่ยนความตองการของ ตลาดดวยเชนกัน ซึ่งจะไปผลักดนใหผูผลิตทั้งในสวนของผูออกแบบ อาคาร และผูผลิตวัสดุประกอบอาคารตองปรับกระบวนการผลิตให คํานึงถึงสิ่งแวดลอมจึงจะสามารถขายงานได ในแงของเทคโนโลยี ในการประหยัดพลังงานนั้น สามารถแบงเปน 2 แนวทาง คือ 1. การประหยัดพลังงานระหวางกอสราง คือ การเลือกระบบการ กอสรางทีร่ วดเร็วและใชพลังงานนอย เชน การทําซํา้ การใชวสั ดุทแี่ ข็ง แรงทําใหใชปริมาณนอย การใชระบบการกอสรางแบบ prefabrication และ แนวทางที่ 2. คือ การออกแบบอาคารใหประหยัดพลังงาน ระหวางการใชงาน ซึ่งไดแก การออกแบบใหอาคารมีความสามารถ ในการปองกันความรอนที่ดีและลดภาระการทําความเย็นดวยการ ใชวัสดุผนังที่สามารถกันความรอนไดดี หรือ ใชวัสดุฉลาด เชน วัสดุ ที่เมื่อเปลี่ยนสถานะสามารถดูดความรอนจํานวนมากและทําให อากาศรอบขางเย็น (Phrase change material - PCM) สําหรับวัสดุ โปรงแสงก็มีหลากหลายประเภท ทั้งกระจกประหยัดพลังงานที่ ปองกันความรอนไดดีแตยอมใหแสงสวางเขาไปในอาคารไดมาก กระจกประเภททีเ่ ปลีย่ นความเขมเองตามความรอน (Thermotropics) ปริมาณ UV (Photocromics or photochromatics) หรือใชไฟฟาชวย (Electrochromics)
12
Energy#66_p10-15_iMac5.indd 12
4/24/2557 BE 10:08 PM
ด า นเทคโนโลยี ข องอุ ป กรณ ไ ฟฟ า ที่ ใ ช ในอาคารก็จะมีการปรับใหมีประสิทธิภาพ สู ง มากขึ้ น ทํ า ให ป ระหยั ด พลั ง งาน เช น การใชหลอดไฟแบบ LED ที่ปจจุบันราคา ยังสูงอยูแตก็มีแนวโนมในการลดลงอยาง รวดเร็ว การใช ไ ฟฟาแสงสวางรวมกับการใช แสงธรรมชาติ การใช เ ครื่ อ งปรั บ อากาศ ประสิทธิภาพสูงที่สามารถปรับไดตามภาระ การทํ า ความเย็ น เช น ระบบ VAV และ ระบบ displacement ventilation ระบบการนํา ความเย็นกลับมาใชใหม (heat exchanger) การใชระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ (building management system) การปรั บ เปลี่ ย น เครื่องคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะในสํานักงาน มาใชเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพาแทน ทั้ ง นี้ ร ะบบเกี่ ย วกั บ การปรั บ อากาศและ เครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ที่ ป ระหยั ด พลั ง งานมั ก จะ เปนระบบที่มีการใชงานมานานแลว และใน อนาคตนาจะมีการใชมากขึน้ ตามความตองการ ในการออกแบบอาคารเขียว นอกจากนี้คา ไฟฟายังเพิม่ ขึน้ ตลอดเวลาซึง่ เปนสวนผลักดัน ทีส่ าํ คัญอีกสวนหนึง่ เมือ่ ความตองการไฟฟา ในอาคารนอยลง การผลิตไฟฟาใชเองใหพอ เพียงดวยการติดตั้งระบบผลิตพลังงานจาก แหลงพลังงานหมุนเวียน เชน การติดตั้ง โซลารเซลลก็ทําไดงายขึ้น ซึ่งเปนแนวทาง หนึ่งที่ชวยใหเกิดการใชพลังงานไดอยางมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และคาดวาระบบนี้ จะไดรับความนิยมในอนาคต
นอกจากการผลิตวัสดุที่เมื่อมาอยูในอาคารจะชวยในการประหยัดพลังงานแลว ยังมีความ เปลี่ยนแปลงในกระบวนการผลิตวัสดุเองดวย ซึ่งเปาหมายคือการลดการใชพลังงานใน โรงงานเอง การที่ทําใหวัสดุปนเปอนสารพิษนอยที่สุดโดยการเลือกใชสารเคมีที่เหมาะสม และการใช ท รั พ ยากรในการผลิ ต น อ ยที่ สุ ด โดยการเลื อ กใช วั ต ถุ ดิ บ ในประเทศหรื อ ปรับเปลี่ยนสวนผสมใหมีการนําเอาวัสดุรีไซเคิลมาเปนสวนประกอบก็ทําใหในสวนของ โรงงานเองสามารถลดการใช พ ลั ง งานและผลิ ต วั ส ดุ อุ ป กรณ ที่ คํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ ม เพิ่มขึ้นดวย ชวยใหผูออกแบบกอสรางหรือเจาโครงการมีทางเลือกมากขึ้นในการเลือกวัสดุ กอสรางที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
อุปกรณกอสรางสําหรับประหยัดพลังงาน
ปจจัยสําคัญในการกอสรางอาคารประหยัดพลังงานคงจะหนีไมพนวัสดุอุปกรณที่ใชเปน สวนประกอบในการกอสราง ซึง่ ในปจจุบัน นี้ ไดถกู พัฒนาใหมปี ระสิทธิภาพในการลดใชพลังงาน และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม อาทิเชน กระจก “Low-E Glass” คือ กระจกที่มีการเคลือบผิวดวยโลหะเงินบริสุทธิ์ดานหนึ่งทําใหมี คุณสมบัติในการแผรังสีความรอนตํ่ากวากระจกธรรมดา ชวยลดความรอนจากการแผรังสี ความรอน (Emission) ของกระจกที่ดูดซับความรอนจากรังสีดวงอาทิตยในประเทศเขตรอน กระจก Low-E มีประโยชนในการลดการแผรังสีความรอนสูภายในอาคาร สวนในประเทศ เขตหนาวกระจก Low-E มีประโยชนในการรักษาอุณหภูมิที่อบอุนในอาคารไว กระจก แผรังสีตํ่า หรือ กระจกประหยัดพลังงาน Low-E Glass หากนําไปใชทํากระจกลามิเนตและ กระจกฉนวน 2 ชั้น จะทําใหกระจกนั้น ๆ มีความประหยัดพลังงานและเกิดความปลอดภัย มากขึ้น ดังนั้นกระจกประหยัดพลังงาน Low-E Glass จึงเหมาะกับการใชงาน สําหรับอาคาร สํานักงาน อาคารพาณิชย รานคา บานพักอาศัย โรงแรม อาคารภายในสนามบิน โรงพยาบาล คอนโดมิเนียม สถานที่ที่ตองการควบคุมอุณหภูมิหรือลดความรอนที่เขามาในอาคาร ฉนวนกันความรอน ในปจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ เปนมวนมีแผนฟอยล แบบแผน แบบตัด หรือเปนแบบหุมฉนวนหมดทุกดาน มีทั้งสีขาวก็มี สีเทา แลวแตผูผลิตจะพัฒนา ปรับปรุงรูปแบบแตกตางกันออกไป ชวยลดความรอนจากแสงอาทิตยไดกวา 94% ชวยให เครื่องปรับอากาศลดการใชพลังงาน และชวยประหยัดพลังงานไดกวา 40% หรืออาจจะ มากกวา นอกจากจะกันความรอนไดดีแลวยังมีคาการกันไฟสูงถึง 300 องศาเซลเซียส และ ยังกันเสียงไดดีอีกดวย ฉนวนกันความรอนแตละชนิดจะมีคาการตานทานความรอนที่แตก ตางกันออกไปครับ 13
Energy#66_p10-15_iMac5.indd 13
4/24/2557 BE 10:09 PM
อิฐมวลเบา Block Co อิฐมวลเบาเป็นวัสดุ ที่ผลิตมาจากการน�า ทราย ซีเมนต์ มีฟอง อากาศมากประมาณ 75% ท�าให้เบาลอยน�า้ ได้ ฟองอากาศเป็น closed cell ไม่ดูดซึมน�้า โดยความเบาจะท�าให้ประหยัดโครงสร้างเป็น ฉนวนความร้อน ค่าการต้านทานความร้อน ดีกว่าคอนกรีตบล็อก 4 เท่า ดีกว่าอิฐมอญ 6-8 เท่า ไม่สะสมความร้อน สามารถลด การถ่ายเทความร้อนจากภายนอก ช่วยให้ คุณประหยัดค่าไฟฟ้า ทนไฟ 1,100 องศาได้ นาน 4 ชม. กันเสียงได้ดี เมือ่ ฉาบจะแตกร้าว น้อยกว่าก่ออิฐฉาบปูน เนื่องจากตัวบล็อก กับปูนฉาบมีส่วนผสมที่ใกล้เคียงกันขนาด ของอิฐมวลเบาที่ใช้ในประเทศไทย
ปลั๊กไฟ ช่วยตรวจสอบการใช้ไฟฟ้าควบคุมได้จากคอมพิวเตอร์ หรือปลั๊กไฟอัจฉริยะจาก Belkin สามารถควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เสียบกับปลั๊กอัจฉริยะนี้ผ่านทางสมาร์ทโฟนอย่าง Android และ iOS ซึ่งมีการเชื่อมต่อผ่านทางแอพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน นอกจากนี้ยังมี เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลือ่ นไหวภายในห้องท�างานควบคูก่ นั กับปลัก๊ ไฟ เมือ่ ไม่มกี ารเคลือ่ นไหว เซ็นเซอร์นี้จะมีการสั่งปิดสวิตซ์ไฟทันที และยังสามารถตั้งเวลาเปิดปิดไฟได้ด้วย ผนังดูดซับเสียงจากเศษไม้ เป็นผนักไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ดที่ท�าจากเส้นใยธรรมชาติที่น�า เศษไม้ที่เหลือจากการแปรรูป หรือผลิตเฟอร์นิเจอร์ มาท�าเป็นวัสดุตกแต่งผนังสีสันสดใส ช่วยดูดซับเสียง ทนน�้า ทนไฟ และยังเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วย นีเ่ ป็นเพียงตัวอย่างหนึง่ ของอุปกรณ์กอ่ สร้างทีช่ ว่ ยในการประหยัดพลังงาน ซึง่ ในปัจจุบนั นัน้ มีอุปกรณ์อีกมากมายที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อรองรับการก่อสร้างอาคารประหยัดพลังงานที่ เป็นเทรด์กา� ลังมาแรง นอกจากนีแ้ ล้วยังมีอปุ กรณ์อนื่ ๆ ทีช่ ว่ ยเสริมให้อาคารประหยัดพลังงาน ไม่ว่าจะเป็นระบบไฟฟ้าแสงสว่าง ซึ่งอาคารสมัยใหม่หรืออาคารเก่าที่มีการปรับปรุงใหม่ได้ มีการใช้หลอด LED หรือหลอดประหยัดพลังงาน T5 รวมถึงการเลือกใช้อุปกรณ์ประหยัด พลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงในการประหยัดพลังงาน ปัจจัยส�าคัญอีกประการหนึ่งที่ช่วย ให้การใช้พลังงานเกิดประสิทธิภาพนั้น คือ การเลือกใช้พลังงานทดแทน อย่างออกแบบให้มี การติดตั้งโซลาร์ เซลล์ ผลิตไฟฟ้าใช้ภายในอาคาร
หลังคาช่องแสงกลางอาคาร ถูกออกแบบ ด้วยกระจก 2 ชั้น เพื่อลดความร้อนที่เข้า สู่ภายในอาคาร โดยเมื่อแสงอาทิตย์ผ่าน กระจกชั้นที่ 1 จะแตกตัวเป็นรังสีคลื่นสั้น ซึ่ ง ไม่ ส ามารถทะลุผ ่านกระจกชั้น ที่ 2 ได้ ทั้งนี้การออกแบบอาคารประหยัดพลังงานหรือการออกแบบอาคารเขียวให้เป็นไปตาม ส่งผลให้มีเฉพาะแสงสว่างที่สามารถเข้ามา มาตรฐานนั้นเป็นเพียงตัวชี้วัดว่าอาคารนั้นๆ ได้รับรองหรือผ่านการรับรองว่าเป็นอาคาร ในอาคาร ประหยัดพลังงาน แต่เชื่อว่าผู้ออกแบบอาคารได้ค�านึกถึงหลักการออกแบบเพื่อให้เกิดการ ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอยู่แล้ว ถึงแม้จะไม่มีมาตรฐานมาเป็นตัวชี้วัด ก็ตาม ดังนั้นการออกแบบอาคารเขียวจึงเป็นบทพิสูจน์ที่ส�าคัญของวงการสถาปนิกในการ พัฒนา Green Building ให้เทียบเท่าระดับสากล
14
Energy#66_p10-15_iMac5.indd 14
4/24/2557 BE 10:09 PM
โครงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ซึง่ มีผลบังคับใช้กบั อำคำรทีจ่ ะขออนุญำตก่อสร้ำงใหม่หรือดัดแปลงอำคำรเพิม่ เติม ทีม่ ขี นำด ของ พพ. พื้นที่ตั้งแต่ 2,000 ตำรำงเมตรขึ้นไป โดยใช้กับอำคำร 9 ประเภท ดังนี้ สถำนพยำบำล ส�ำหรับโครงกำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลังงำน ของหน่ ว ยงำนภำครั ฐ นั้ น ขอยกตั ว อย่ ำ ง โครงกำรของกรมพั ฒ นำพลั ง งำนทดแทน และอนุรักษ์พลังงำน ซึ่งมีโครงกำรดี ๆ ให้ ผู ้ ป ระกอบกำรที่ส นใจได้เข้ำร่วมกัน เช่น โครงการ Building Energy Code โดย กระทรวงพลั ง งำน ได้ อ อกกฎกระทรวง ก� ำ หนดเกณฑ์ ม ำตรฐำนกำรอนุ รั ก ษ์ พลังงำนในอำคำรขึ้นมำ ซึ่งมีผลบังคับใช้ กับอำคำรที่จะขออนุญำตก่อสร้ำงใหม่หรือ ดั ด แปลงอำคำร โดยจะตรวจสอบกำรใช้ พลังงำนตั้งแต่ขั้นตอนกำรออกแบบว่ำเป็น ไปตำมกฎหมำยหรือไม่ แล้วจึงอนุญำตให้ ก่อสร้ำงหรือดัดแปลงได้ ภำยใต้ พรบ. กำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลังงำน พ.ศ. 2535 ซึ่ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย พรบ. กำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์พลังงำน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 ให้อำ� นำจรัฐมนตรีวำ่ กำรกระทรวง พลังงำนออกกฎกระทรวง ก�ำหนดเกณฑ์ มำตรฐำนกำรอนุรกั ษ์พลังงำนในอำคำรขึน้ มำ
สถำนศึกษำ ส�ำนักงำน อำคำรชุด อำคำรชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม อำคำรสถำนบริกำร อำคำรศูนย์กำรค้ำ ห้ำงสรรพสินค้ำ โดยตรวจสอบกำรใช้พลังงำน ตัง้ แต่ขนั้ ตอนกำรออกแบบ ว่ำเป็นไปตำมกฎหมำยแล้วจึงอนุญำตให้กอ่ สร้ำงหรือดัดแปลงได้ โดยมีเกณฑ์และมำตรฐำน กำรออกแบบดังนี้ ระบบกรอบอำคำร ระบบไฟฟ้ำแสงสว่ำง ระบบปรับอำกำศ อุปกรณ์ผลิต น�้ำร้อน กำรใช้พลังงำนโดยรวมในอำคำร กำรใช้พลังงำนหมุนเวียนในระบบต่ำง ๆ ของ อำคำร
โครงการ Voluntary Agreement (VE) เป็นอีกโครงกำรหนึ่งของกรมพัฒนำพลังงำน ทดแทนและอนุรักษ์พลังงำนที่ได้ส่งเสริมกำรอนุรักษ์พลังงำนส�ำหรับอำคำรแบบสมัครใจ เพื่อกำรรณรงค์ โดยเริ่มด�ำเนินกำรมำตั้งแต่ปี 2555 จนถึงปัจจุบัน เพื่อเชิญเอกชนอำคำร ส�ำนักงำนและโรงงำนเข้ำร่วมโครงกำร เพือ่ สร้ำงเวทีควำมร่วมมือด้ำนกำรส่งเสริมกำรอนุรกั ษ์ พลังงำนภำยในอำคำรได้ อย่ ำงมี ประสิ ท ธิ ภำพ และเป็ น กำรกระตุ้นให้เกิดกระแสควำม สนใจกำรอนุรกั ษ์พลังงำนในระยะยำว จะเกิดเครือข่ำยกำรให้คำ� ปรึกษำ หรือควำมช่วยเหลือ เพื่อลดใช้พลังงำน และยังเป็นกำรสร้ำงภำพลักษณ์ที่ดขี องหน่วยงำนภำคเอกชนทีใ่ ห้ควำม ร่วมมือในกำรอนุรกั ษ์พลังงำนอย่ำงจริงจัง และช่วยให้ภำคเอกชน ผูป้ ระกอบกำร ได้ข้อมูล ทั้งด้ำนแหล่งเงินทุนและเทคโนโลยีต่ำง ๆ ในกำรลงทุนกิจกำรอนุรักษ์พลังงำนอย่ำงยั่งยืน ที่ส�ำคัญ ทุกหน่วยงำนทีเ่ ข้ำร่วมโครงกำรจะสำมำรถลดต้นทุนด้ำนพลังงำน ธุรกิจมีกำ� ไรเพิม่ ขึน้ แถมยังได้ชว่ ยชำติประหยัดงบประมำณอีกด้วย
15
Energy#66_p10-15_iMac5.indd 15
4/24/2557 BE 10:09 PM
Get Idea อภัสรา วัลลิภผล
͹ØØ¡É ¾Åѧ§Ò¹ ¡Ñº
¸¹Ò¤ÒáÊÔ¡Ãä·Â “ภายใตปณิธาน หัวใจสีเขียว ธนาคารไดกาํ หนดแนวนโยบายการดําเนินงาน ดานความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและสังคมอยางชัดเจน ซึ่งมีความ สอดคลองกับภารกิจ วิสัยทัศน และคานิยมหลักของธนาคาร สําหรับ ในดานการบริหารจัดการพลังงาน ธนาคารมีแนวคิดเรื่องการประหยัด พลังงานทัง้ ดานไฟฟาและนํา้ มาอยางตอเนือ่ ง ในการรณรงคเพือ่ ประหยัด พลังงานภายในองคกรนัน้ ธนาคารไดจดั ทําโครงการ “ภารกิจ พิชติ คาไฟ” ซึ่งเริ่มดําเนินมาตั้งแตป 2555 โดยใหพนักงานมีสวนรวมในการแขงขัน ลดปริ ม าณการใช พ ลั ง งานไฟฟ า ประจํ า ชั้ น ทํ า งานของทุ ก อาคาร สํานักงานหลักของธนาคาร การดําเนินการดังกลาวถือเปนการปลูกจิต สํานึกใหเกิดการใชพลังงานที่คุมคา มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน สูงสุด” นอกจากโครงการดังกลาวแลว ธนาคารยังไดออกนโยบายการประหยัด พลังงานเพื่อตอบสนองนโยบายสูวิกฤตไฟฟาของภาครัฐ โดยกําหนด ใหทุกอาคารที่ปฏิบัติงานปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศอยูที่ระดับ 26 องศาเซลเซียส และไดออกหลักเกณฑอนุโลมเรื่องการแตงกายของ พนักงาน โดยพนักงานชายจากเดิมที่ตองใสเสื้อเชิ้ตแขนยาวผูกไท เปลี่ยนใหมเปนใสเสื้อเชิ้ตแขนสั้นหรือยาวก็ไดและไมจําเปนตองผูก เนคไท พนักงานหญิงจากเดิมทีต่ อ งใสสทู เปลีย่ นใหมเปนใสเสือ้ แขนสัน้ หรือยาวก็ไดโดยไมจําเปนตองสวมสูททับ สําหรับมาตรการหลักของธนาคาร ก็คือ การบริหารจัดการอาคารเพื่อ การประหยัดพลังงานในระยะยาว ทั้งนี้ ในการออกแบบกอสราง อาคารใหม และการปรับปรุงอาคารที่มีอยู ธนาคารจะคํานึงถึงการใช เทคโนโลยีและการออกแบบทีเ่ ปนไปตามมาตรฐานอาคารสถาปตยกรรม สีเขียวซึง่ เนนการประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ตลอดจน การจัดทําระบบบริหารจัดการของธนาคารรวมกับผูใชอาหารใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งการดําเนินงานดังกลาวสามารถเปนตนแบบให แกอุตสาหกรรมอาคารเขียวในอนาคต สําหรับในชีวิตประจําวันของ คุณวศิน เองก็มีการประหยัดพลังงาน แบบงาย ๆ ดวยเชนกัน คือ สวมเสื้อแขนสั้นมาทํางนานในวันที่ไมตอง พบปะลูกคา ใชบันไดกรณีขึ้นลงเพียง 1-2 ชั้น แทนการใชลิฟท และ ปดไฟ-ปดหนาจอคอมพิวเตอรในเวลาพักเที่ยงหรือเมื่อไมใชงาน
˹‹Ç§ҹᵋÅÐ˹‹Ç§ҹ㹻˜¨¨ØºÑ¹ÁÕ¡ÒûÅÙ¡½˜§ãËŒ¾¹Ñ¡§Ò¹ÃÙŒ¨Ñ¡ ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö้¹ äÁ‹àÇŒ¹áÁŒáµ‹¸¹Ò¤ÒáÊÔ¡Ãä·Â ·Õ่ÁÕ¡ÒÃóç¤ ãËŒ¾¹Ñ¡§Ò¹µÃÐ˹ѡ¶Ö§¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ ´ŒÇÂઋ¹¡Ñ¹ ¤Ø³ÇÈÔ¹ ÇԳԪ Çùѹµ Ãͧ¡ÃÃÁ¡Òüٌ¨Ñ´¡Òà ¸¹Ò¤ÒáÊÔ¡Ãä·Â àÅ‹ÒãËŒ¿˜§Ç‹Ò ...
สุดทาย คุณวศินแนะนําวิธีการปลูกฝงเยาวชนเพื่อใหมีจิตสํานึกในการ ประหยั ด พลั ง งานว า “คุ ณ พ อ คุ ณ แม ต อ งเป น ตั ว อย า งที่ ดี ทํ า ให เยาวชนเห็นและใหเขามีสว นรวม โดยอาจจะเริม่ จากการกําหนดเปาหมาย และแนวทางการดําเนินงานที่ชัดเจนและเปนไปได เพื่อใหเห็นวา การประหยัดพลังงานเปนเรื่องงายๆ ที่ใครก็สามารถทําไดครับ”
16
Energy#66_p16,18_iMac5.indd 16
4/21/2557 BE 10:08 PM
Energy#66_p17_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/24/2557 BE
1:10 AM
Get Idea อภัสรา วัลลิภผล
ÂÔ่§¹ÑºÇѹ¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹¢Í§âÅ¡àÃÒ¡็ÂÔ่§ÁÒ¡¢Ö้¹ â´Â¤¹ºÒ§Ê‹Ç¹ÍÒ¨¨ÐÅÐàÅÂ㹡Ò÷Õ่¨Ðª‹Ç¡ѹ»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ à¾ÃÒÐÇѹ æ àÍÒᵋ㪌 äÁ‹ª‹Ç¡ѹ»ÃÐËÂÑ´ áÅжŒÒ»Å‹ÍÂãˌ໚¹áºº¹Õ้µ‹Íä» ÃѺÃͧàÅÂÇ‹Ò ¾Åѧ§Ò¹¨ÐµŒÍ§ËÁ´ä»¨Ò¡âÅ¡àÃÒÍ‹ҧṋ¹Í¹ “¾Õ่âÍŽ” ËÃ×Í ¨ÔÃÀÒ ÊյҺصà ¾Ô¸Õ¡Ã/ ¼ÙŒ»ÃСÒÈ¢‹ÒÇʶҹÕÇÔ·ÂØâ·Ã·Ñȹ áË‹§»ÃÐà·Èä·Â NBT ÁÒ¡¤ÇÒÁÊÒÁÒö໚¹ÍÕ¡¤¹¹Ö§ ·Õ่ÁÕ¤ÇÒÁãÊ‹ã¨ã¹àÃ×่ͧ¢Í§¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ·Ò§ Energy saving àÅÂáͺ仢Íà¤Å็´ÅѺ㹡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ÁÒ½Ò¡¼ÙŒÍ‹Ò¹¤‹Ð
à¤Åç´ (äÁ‹) ÅѺ
㹡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ “ในเรื่องของการประหยัดพลังงานนั้น พี่เริ่มจากโดยอาชีพ ของพี่ที่เปนพิธีกร ซึ่งแตละครั้งจะตองใชกระดาษในการทํา สคริปทมากพอสมควร และจะบอกทีมงานเสมอวา ใหใช กระดาษรียสู หรือถาสามารถใช iPad แทนกระดาษไดกจ็ ะดีมาก เพราะเปนการลดการใชกระดาษที่ดีเลยทีเดียว และสําหรับ สวนตัวพีเ่ องในเรือ่ งของการประหยัดพลังงานจะอยูท เี่ รือ่ งของ การประหยัดนํา้ มันมากกวา เพราะอยางทีบ่ อกไปดวยอาชีพ ของพีท่ ตี่ อ งเดินทางบอย เวลาพีเ่ ดินทางไปไหน พีจ่ ะวางแผน การเดินทางเสมอ ขับรถความเร็วไมเกิน 80 ชม./กม. ตรวจ เช็คสภาพรถเมือ่ ถึงเวลา สวนฟลม เลือกติดฟลม ความเขมอยูที่ 60% เวลาเปดแอรในรถเมื่อใกลถึงที่หมายพี่จะปดแอรกอน ซึ่งเปนการประหยัดพลังงานไปดวยในตัว และที่สําคัญเวลา ขนของพี่จะพยายามขนของใหนอยที่สุด เพราะยิ่งขนเยอะ มากเทาไหรจะทําใหเราเปลืองนํ้ามันมากเทานั้น” และนี่ก็ เปนเคล็บลับงาย ๆ ทีพ่ โี่ อนาํ มาฝากแถมยังบอกอีกวา ถาผูอ า น ทานใดสนใจสามารถนําไปปฏิบัติได ไมหวงกัน สุ ด ท า ยพี่ โ อ ฝากถึ งเยาวชนคนรุ น ใหม ใหหันมาชว ยกัน ประหยัดพลังงานวา “พี่อยากใหนอง ๆ เยาวชนรูจักคุณคา ของพลังงานกันมากขึ้น เพราะถาวันไหนเราไมมีพลังงานใช คงจะแยแนนอน และถามัวรอพลังงานทดแทนคงจะไมทัน อยางเชน การเลนอินเตอรเน็ตของนอง ๆ ในปจจุบนั พีอ่ ยาก ใหแบงเวลาเลน ไมใชเลนทั้งวันทั้งคืน นอกจากจะเสียสายตา แลวยังเปลืองพลังงานอีกดวย ตรงนีพ้ โี่ อขอฝากไวแลวกันนะคะ”
18
Energy#66_p16,18_iMac5.indd 18
4/21/2557 BE 10:08 PM
Green 4U Rainbow
º¹¶¹¹àÊŒ ¹ ˹Ö่ § ã¹á¶ºâÁ¹ÒÊ·Õ Ã Ò¤Õ (Monastiraki) 㹡ÃاàÍà¸¹Ê ·àÕ่ ¤Â໚¹Ê¶Ò¹·ÕÍ่ ⤨ÃẺ¨ํÒÂÍÁ à¾ÃÒТҴá¤Å¹ áʧä¿ÁÒáÃÁ»‚à¹×่ͧ¨Ò¡ÀÒÇÐàÈÃÉ°¡Ô¨µ¡µํ่Ò ¼ÙŒ¤¹àÃÔ่Á·ÂÍÂŒҠÍÍ¡ä»·ÕÅФÃͺ¤ÃÑÇÌҹ¤ŒÒàͧ¡็àÃÔ่Á» ´µÑÇŧ ¨¹·ํÒãËŒ¶¹¹áË‹§¹Õ้ àÃÔ่Áà§Õºà˧Òŧ
»ÅØ¡ ¶¹¹ ·Õà่ ¤ÂÁ×´ÁÔ´ãËŒÊÇ‹Ò§äÊÇ´ŒÇ â¤Á俺ÃÔ¨Ò¤ ดวยสาเหตุนี้ กลุม ศิลปนทีช่ นื่ ชอบอินสตอลเลชัน่ อารตเกีย่ ว กับแสงอยาง Beforelight มีแนวคิดตองการ “ปลุก” ใหพนื้ ที่ แหงนี้ตื่นขึ้นมาอีกครั้งจึงไดรวมกับ Imagine the City ในการทําโปรเจ็กต Syn-oikiaPittaki ใหเปนจริงขึ้นมา ซึ่ ง โปรเจ็ ก ต นี้ จึ ง ไม ใช เรื่ อ งยากถ า จะเปลี่ ย นถนนแห ง นี้ ใหกลับมามีแสงสวางอีกครั้งนึง โดยทางทีมงานเริม่ จากการเรีย่ ไรโคมไฟเกาหรือโคมไฟทีเ่ จง แลวจากคนในทองถิ่น แลวขอหองแถวรางหนึ่งหองไวเปนที่ ซอมโคมไฟเหลานี้ใหกลับมาใชการไดอกี และหากใครวางๆ ก็สามารถแวะมาชวยกันซอมโคมไฟได โคมไฟแตละอัน จากบานแตละหลังหลากแบบตางสไตล เมื่อมาอยูรวมกัน สามารถเปลี่ยนจากถนนที่เคยเงียบใหกลับมามีชีวิตชีวาได อีกครั้งดวยฝมือของคนในทองถิ่น และดวยความครีเอทีฟแบบไมตองพยายามมาก ปจจุบัน ถนนสายโคมไฟ (ที่คนเอเธนสเรียกกัน) กลายเปนสถานที่ ทองเที่ยวยอดนิยมแหงใหมในกรุงเอเธนสไปซะแลว (ขอบคุณขอมูลจาก: http://www.creativemove.com/art/) 19
Energy#66_p19_iMac5.indd 19
4/21/2557 BE 10:09 PM
Green 4U ภิรายุ เจียมศุภกิตต์
02
01 ⵠШҡἋ¹äÁŒÃÕä«à¤ÔÅ
â¤Áä¿Ë¹Ñ§Ê×Í à» ´»Øˆº µÔ´»˜ º
â¤Áä¿ÊØ´à¡Ž·ํÒ¨Ò¡¡ÃдÒÉ˹ѧÊ×Í·Õ่໚¹ÁԵõ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ â´Â¼ÙŒ·ํÒä´ŒÃѺáç ºÑ¹´ÒÅã¨ÁҨҡ˹ѧÊ×ÍàÃ×่ͧ Lumio àÁ×่ÍàÇÅÒÍÂÒ¡ä´ŒáʧÊNjҧᤋ¡Ò§Ë¹Ñ§Ê×ÍÍÍ¡ 俨ÐÊÇ‹Ò§¢Ö้¹·Ñ¹·Õ ᵋËÒ¡ÍÂÒ¡ãˌ俴Ѻŧà¾Õ§ᤋ» ´Ë¹Ñ§Ê×Íŧ෋ҹÑ้¹ ÊÒÁÒö 㪌§Ò¹ä´Œ¹Ò¹¶Ö§ 8 ªÑ่ÇâÁ§µ‹Í¡ÒêÒà · 1 ¤ÃÑ้§ á¶ÁÂѧ¾¡¾Òä´ŒÊдǡÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.decorreport.com)
äÍà´ÕÂÊØ´àÃÔ่´¨Ò¡´Õä«à¹Íà Matthew Robinson ¨Ò¡ Leeds College of Art ã¹»ÃÐà·ÈÍѧ¡ÄÉ ä´ŒÍ͡ẺⵠР“Fusion Tables” ÃÙ»·Ã§¤ÅŒÒÂË´¹ํ้Ò â´Â㪌àÈÉäÁŒÇÍŹѷ áÅÐàÈÉäÁŒ àÁà» œÅ «Ö่§ÊÒÁÒö¹ํÒÊբͧäÁŒÁÒÊÅѺ¡Ñ¹â´ÂäÁ‹µŒÍ§ãªŒÊÕ·Òà¾Ô่Á àËÁÒÐÊํÒËÃѺ¤¹·Õ่ªÍº§Ò¹´Õ䫹 à¡Ž æ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.decorreport.com/)
03
¡Å‹Í§à¡็ºÃͧ෌ÒÃÑ¡É âÅ¡
µÑÇâ¤Ã§¼ÅÔµ¨Ò¡¾ÅÒʵԡÃÕÕä«à¤ÔÅà¹×้Íá¢็§ ÁҾÌÍÁ¡ÑºÅŒÍàÅ×่͹ ÊํÒËÃѺâ¡ŒÒÂä»Âѧ¾×้¹·Õ่µ‹Ò§ æ ÀÒÂ㹺ŒÒ¹ à¾Õ§ËÁع¡็ÊÒÁÒö ËÂÔºÃͧ෌Òä´Œ»ÃÐËÂÑ´¾×้¹·Õ่¨Ñ´à¡็º àËÁÒÐÊํÒËÃѺ¡ÒÃà¡็ºÃÍ§à·ŒÒ ·ÕÁ่ ¡Õ ÒÃ㪌§Ò¹ÍÂÙà‹ »š¹»ÃШํÒ 1 ¡Å‹Í§ ÊÒÁÒöºÃèØÃͧ෌Òä´Œ 20 ¤Ù‹ ¹Í¡¨Ò¡¨Ð໚¹µÑǪ‹Ç¨Ѵà¡็ºÃͧ෌Ҥًâ»Ã´áÅŒÇ Âѧ໚¹à¤Ã×่ͧ »ÃдѺµ¡áµ‹§ºŒÒ¹áººÍÔ¹à·Ã¹´ ÊØ´æ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://thaicitydeals.com/)
04 â¤Áä¿ LED ÃÙ»¶Ø§¡ÃдÒÉ ÊØ´à·‹Ë
ËÃ×ÍàÃÕ¡ÍÕ¡Í‹ҧNjÒâ¤Áä¿¡ÃÐà»‰Ò LED ªÒà ¨ä¿ä´Œ ·ํÒ¨Ò¡ÇÑÊ´Ø¡ÃдÒÉ ÊµÔ¡๊ à¡Íà ·¹ä¿ ʋǹÅѡɳÐà´‹¹¢Í§à¨ŒÒâ¤Á俶ا¡ÃдÒɹÕ้ ãËŒáʧÊÇ‹Ò§ ã¹ÂÒÁ¤ํ่Ҥ׹ ÁÕËÙËÔ้Ç Ê‹Ç¹µÑǶا¡ÃдÒÉÂѧÊÒÁÒöà¢Õ¹¢ŒÍ¤ÇÒÁ·Õ่àÃÒ µŒÍ§¡ÒÃŧä»ä´Œ´ŒÇ http://www.108premium.com/
20
Energy#66_p20-21_iMac5.indd 20
4/21/2557 BE 10:10 PM
Green 4U ภิรายุ เจียมศุภกิตต์
àµÕ§¨Ò¡àÁ็´¾ÅÒʵԡÊѧà¤ÃÒÐË
໚¹àµÕ§·Õ่·ํÒ¨Ò¡àÁ็´¾ÅÒʵԡÊѧà¤ÃÒÐË ÁÕª×่ÍÇ‹Ò “Van Single Bed” ·Õ่ÁÒ ¾ÃŒÍÁ¡Ñºà¡ŒÒÍÕ้áÅÐâµ ÐÊํÒËÃѺãËŒà´็¡ æ ¹Ñ่§·ํÒ¡ÒúŒÒ¹áÅÐÁÕ¾×้¹·Õ่ÊํÒËÃѺàÍÒäÇŒà¡็º ¢Í§ºÃÔàdzªÑ้¹Å‹Ò§Ê‹Ç¹´ŒÒ¹º¹à»š¹·Õ่¹Í¹«Ö่§¹‹Ò¨Ð¶Ù¡ã¨à´็¡æäÍà´ÕÂàµÕ§à´็¡ ¹‹ÒÃÑ¡ æ ¹Õ้ àËÁÒÐÊํÒËÃѺ¤Ø³¾‹Í¤Ø³áÁ‹·Õ่µŒÍ§¡ÒÃãËŒÅÙ¡ÁÕ¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÌҧÊÃä áÅÐÁÕ¨¹Ô µ¹Ò¡ÒôŒÇÂÊÕÊ¹Ñ ·ÕÊ่ ´ãʢͧàµÕ§¹Í¹ ´Ñ§¹Ñ¹้ ¶ŒÒËÒ¡µŒÍ§¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¨Ô¹µ¹Ò¡ÒÃãËŒ¡Ñºà´็¡Åͧ¹ํÒäÍà´ÕÂàµÕ§¹Í¹áºº·Õ่ÁÕÊÕÊѹä»ãªŒ¡Ñ¹ä´Œ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.homedecorthai.com/)
05 ¾Ñ´ÅÁäÌ㺾Ѵ ÃØ‹¹ NTP-101 (Inno Fan)
àÁ×่ÍÅÁ “Ì͹” ÁÒ µŒÍ§¹ํÒÅÁ “àÂ็¹” ࢌһзÐ! ᵋÅÁàÂ็¹æ ¤ÃÑ้§¹Õ้äÁ‹µŒÍ§¾Ö่§ãº¾Ñ´ ໚¹¹Çѵ¡ÃÃÁãËÁ‹·Õ่·ํÒ§Ò¹´ŒÇÂÃкº AIR MULTIPLIER â´Â¡ÒôٴàÍÒÍÒ¡ÒÈ à¢ŒÒä» áŌǷํÒ¡ÒâÂÒ»ŋÍÂáçÍÍ¡ÁÒãËŒÁÒ¡ 15-18 à·‹Ò ¨Ö§·ํÒãˌ䴌áçÅÁ·Õ่àÂ็¹ ʺÒÂàËÁ×͹¾Ñ´ÅÁÁÕ㺠·Ñ้§»ÃÐËÂÑ´ä¿á¶ÁÂѧ·ํÒ¨Ò¡¾ÅÒʵԡÊѧà¤ÃÒÐË ·Õ่໚¹ÁԵà ¡ÑºÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.ensogo.com/)
07
06
à¡ŒÒÍÕ้ÍÍà ᡹ԡ
à¡ŒÒÍÕ้ÍÍà ᡹ԡ·ํÒ¨Ò¡ËÇÒÂÊѧà¤ÃÒÐË à»š¹¡ÒùํÒ¹Çѵ¡ÃÃÁãËÁ‹·Õ่ àÃÕÂ¡Ç‹Ò Durawera ÁÕ¤³ Ø ÊÁºÑµàÔ ´‹¹·¹µ‹ÍÃѧÊÕÂÇÙ Õ ·¹µ‹Í¡ÒÃÊÖ¡¡Ã‹Í¹ ã¹·Ø¡ÊÀÒ¾ÍÒ¡ÒÈã¹·Ø¡ÁØÁâÅ¡ ÁÕʋǹ¼ÊÁ¢Í§àÊŒ¹¾ÅÒʵԡ PU àºÒÐÃͧ¹Ñ§่ ËØÁŒ ´ŒÇÂ˹ѧà·ÕÂÁÊÕ´Òํ ¨Ò¡ Planet 2001 â´ÂÂѧ¤§¤ÇÒÁ໚¹ ÇÑ Ê ´Ø ·Õ่ à »š ¹ ÁÔ µ Ã¡Ñ º ÊÔ่ § áÇ´ÅŒ Í Á·ํ Ò ãËŒ ¡ Òô٠á ÅÃÑ ¡ ÉÒà¿Íà ¹Ô à ¨ÍÃ à »š ¹ àÃ×่ͧ§‹ÒÂÂÔ่§¢Ö้¹ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.megazy.com/)
Ballon BenchÁŒÒ¹Ñ่§¨Ò¡àÈÉ˹ѧ
Í͡Ẻâ´Â䴌ú Ñ áçºÑ¹´ÒÅã¨ÁÒ¨Ò¡ ¤ÇÒÁÃÙÊ Œ ¡ Ö ¢Í§¡ÒÃŋͧÅÍ ã¹Ë¹Ñ§ ¢Í§½Ãѧ่ àÈÅàÃ×Í่ § “La Ballon Rouge” ᵋ㹤ÇÒÁ໚¹¨ÃÔ§ÁŒÒ¹Ñ§่ µÑǹÕ้ ä´Œ¶¡ Ù á¢Ç¹¨Ò¡à¾´Ò¹áÅÐÂÖ´änj͋ҧá¢็§áç áÅл¡» ´Ã‹Í§ÅÍÂ㹨ش·Õà่ »š¹¨Ø´ÂÖ´ â´ÂÅ١⻆§ËÅÒ¡ÊÕ໚¹¼Å§Ò¹¡ÒÃÍ͡Ẻ¢Í§´Õä«à¹Íà ªÒÇÞÕ» ่ ¹ †Ø ·ÕÅ่ ǧµÒ ãËŒàË็¹Ç‹Ò໚¹â«¿ÒÅÍÂä´Œ ·Ñ้§ æ ·Õ่㪌෤¹Ô¤§‹ÒÂ æ ´ŒÇ¡Òâ֧àÊŒ¹ÅÇ´µÔ´ ¡Ñºà¾´Ò¹à·‹Ò¹Ñ้¹àͧ ¹Í¡¨Ò¡ÁÕ´Õ䫹 ·Õ่äÁ‹¸ÃÃÁ´ÒáÅŒÇ ÁŒÒ¹Ñ่§µÑǹÕ้Âѧ·ํÒ ¨Ò¡àÈÉ˹ѧàËÅ×Í㪌ÍÕ¡´ŒÇ (¢ŒÍÁÙŨҡ : http://www.poppaganda.net)
08 21
Energy#66_p20-21_iMac5.indd 21
4/21/2557 BE 10:10 PM
GreenNovation Rainbow
02
01
สร้อยคอโซล่ำเซลล์
สร้อยคอเส้นนี้ออกแบบโดยนักศึกษำชำวสวีเดน เห็นเงำระยิบระยับ สวยงำมอย่ำงนีผ้ อู้ อกแบบใช้แผงโซล่ำเซลล์และหลอดไฟขนำดเล็กมำเป็น ส่วนประกอบเพื่อท�ำหน้ำที่เก็บพลังงำนแสงอำทิตย์
ชักโครกประหยัดน�้ำ
Tlalockชักโครกประหยัดน�ำ้ 83% ผลงำนของ Ariel Roja มีทงั้ อ่ำงล้ำงมือ และชักโครกอยูใ่ นตัวเดียวกัน เรียกว่ำ Two in One น�ำ้ ทีไ่ ด้จำกกำรล้ำงมือ จะไหลลงสู่ที่เก็บน�้ำชักโครกไว้อีกขั้นหนึ่ง เรียกได้ว่ำประหยัดกันสุด ๆ เพรำะอีก 16 ปีข้ำงหน้ำ เชื่อว่ำ 41 ประเทศทั่วโลกเข้ำสู่วิกฤตกำรณ์ ขำดแคลนน�้ำแน่นอน
04 Poor little fish อ่ำงล้ำงมือ 2 in 1
03
ผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้ออกแบบมำเพื่อสร้ำงควำมคิดในกำรประหยัดน�้ำที่ แตกต่ำงจำกที่อื่น โดยผู้ใช้สำมำรถเห็นและสัมผัสได้ถึงกำรสูญเสีย สิง่ ทีม่ ตี วั ตนอยูจ่ ริง Poor little fish ประกอบด้วยโถเลีย้ งปลำแบบดัง้ เดิม และอ่ำงล้ำงมือ ซึ่งในขณะที่เรำเปิดใช้น�้ำ ระดับน�้ำในโถเลี้ยงปลำ ก็จะค่อย ๆ ลดลงมำเรื่อย ๆ ซึ่งน�้ำจะถูกเติมกลับขึ้นมำเต็มโถอีกครั้ง ก็ต่อเมื่อก็อกน�้ำในอ่ำงได้ถูกปิด กำรใช้งำนท่อจะถูกแยกระหว่ำงน�้ำ ประปำขณะที่น�้ำในโถก็จะไม่ถูกเปลี่ยนเพียงแค่ถูกดูดไปเก็บไว้เท่ำนั้น
ถังขยะอัจฉริยะ บีบอัดขยะด้วยพลังงำนแสงอำทิตย์
Big Belly เป็นถังขยะอัจฉริยะ หำกดูภำยนอกก็เหมือนถังขยะทัว่ ไป แต่จริง ๆ แล้ว Big Belly เป็นถังขยะที่สำมำรถรองรับขยะได้มำกถึง 8 เท่ำของถังขยะ ทั่วไป สำเหตุที่ท�ำได้แบบนี้เพรำะว่ำภำยในตัวถังขยะที่กลไลกำรบีบอัดขยะ จำกแบตเตอรีขนำด 12 โวลต์ ทีก่ กั เก็บพลังงำนจำกแสงอำทิตย์มำไว้กอ่ นจะท�ำ กำรบีบอัดขยะซึ่งต้องเป็นขยะที่รีไซเคิลได้เท่ำนั้น ได้แก่ กระดำษกระป๋อง และขวดน�้ำพลำสติกหรือขวดแก้ว (ข้อมูลจำก http://www.creativemove.com)
22
Energy#66_p22-23_iMac5.indd 22
4/21/2557 BE 10:12 PM
06 05 คอฟฟี่ จูลีส์ กาแฟเหล็กใช้ง่าย-ร้อนนาน
เป็นนวัตกรรมใหม่ที่ออกมาเพื่อเอาใจคนคอกาแฟโดยเฉพาะ “คอฟฟี่ จูลีส์” เป็นโลหะรูปเมล็ดกาแฟสามารถลดอุณหภูมิของเครื่องดื่มให้อยู่ในระดับที่ รับประทานได้ ด้วยความเร็ว 3 เท่าจากปกติ พร้อมรักษาระดับความอุน่ ทีล่ ดลง มาแล้วได้นานกว่า 5 ชั่วโมง ซึ่งผู้ใช้ไม่ต้องกังวลเรื่องสารปนเปื้อนจากโลหะ เนื่องจากตัวเมล็ดท�าจากสแตนเลสผ่านการออกแบบมาให้ละลายที่อุณหภูมิ 140 องศาฟาเรนไฮต์ พร้อมทัง้ เคลือบด้วยวัสดุปลอดสารพิษแบบพิเศษอีกด้วย (ข้อมูลจาก : http://www.khaosod.co.th)
อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ส�าหรับเครื่องปรับอากาศ
เป็นนวัตกรรมระดับประเทศด้านผลิตภัณฑ์อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน ส�าหรับเครือ่ งปรับอากาศ โดยเป็นการพัฒนาอุปกรณ์ควบคุมอัจฉริยะ ส�าหรับควบคุมการท�างานของพัดลมตัง้ พืน้ ให้สามารถท�างานสัมพันธ์ กับเครื่องปรับอากาศได้อย่างอัตโนมัติ ด้วยการออกแบบตามหลัก ภาวะสบายเชิงความร้อน (thermal comfort) ท�าให้สามารถลดชัว่ โมง การใช้เครื่องปรับอากาศ โดยอากาศในห้องยังคงรักษาระดับความ เย็นสบายไว้ได้ (ข้อมูลจาก : http://www.nia.or.th/)
08
07 Sun Jar กระปุกเก็บตะวัน
Sun Jar กระปุกเก็บตะวัน หรือหลอดไฟพลังแสงอาทิตย์ ภายด้านใน ไม่ใช้ไฟฟ้าใช้เพียงพลังงานจากแสงอาทิตย์ ซึ่งมีแผงโซล่าเซลล์ รับแสงอาทิตย์เปลี่ยนเป็นพลังงานเหมาะต่อการให้เป็นของขวัญ หรือใช้ตกแต่งบ้านแทนโคมไฟในสวนก็ได้ (ข้อมูลจาก : www.shop-ululu.com)
ชุดว่ายน�้าพลังแสงอาทิตย์
Andrew Schnieder นักศึกษาภาควิชา Interactive Telecommunications จาก Tisch School of Art ของ New York University ผลิตชุดว่ายน�้า พลังแสงอาทิตย์ (Solar Bikini) ผู้ผลิตได้เย็บแถบฟิล์มเซลล์แสงอาทิตย์ ทีส่ ามารถเปลีย่ นแสงอาทิตย์ให้เป็นพลังงานไฟฟ้าลงภายในชุดว่ายน�า้ โดยแต่ละแถบมีขนาด 1 นิว้ x 4 นิว้ ซึง่ ต่อชุดสามารถผลิตกระแสไฟฟ้า ได้ถงึ 5 โวลต์เหมาะส�าหรับชาร์จเครือ่ งเล่น mp3 หรือ โทรศัพท์มอื ถือได้ (ข้อมูลจาก : http://www.vcharkarn.com/vnews/149512) 23
Energy#66_p22-23_iMac5.indd 23
4/21/2557 BE 10:12 PM
Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร
คว้ารางวัล MEA Energy Saving Building Award 2014 »˜¨¨Øº¹ Ñ ¼Ù»Œ ÃСͺ¡Ò÷ءÀҤʋǹ䴌ŧ·Ø¹»ÃѺ»Ãا áÅоѲ¹Ò ͧ¤ ¡Ã¢Í§µ¹àͧãËŒà¡Ô´»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ à¾×่ Í ÃÑ º Á× Í ¡Ñ º ¤‹ Ò ¾ÅÑ § §Ò¹ÁÕ µ Œ ¹ ·Ø ¹ ·Õ่ ÊÙ § ¢Ö้ ¹ äÁ‹ Ç ‹ Ò ¨Ð໚ ¹ ¡ Ò Ã » ÃÑ º à » ÅÕ่  ¹ ÍØ » ¡ à ³ à · ¤ â ¹ â Å ÂÕ à ¾×่ Í ã Ë Œ à ¡Ô ´ ¡ÒûÃÐËÂÑ ´ ¾ÅÑ § §Ò¹ áÅÐÅ´µŒ ¹ ·Ø ¹ 㹡Ãкǹ¡ÒüÅÔ µ ÃÇÁ¶Ö§¡ÒûÃѺà»ÅÕ่¹¾ÄµÔ¡ÃÃÁºØ¤ÅÒ¡ÃãËŒà¡Ô´¨ÔµÊํÒ¹Ö¡ã¹ ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ÊÙ‹»ÃÐÊÔ·¸ÔÀҾ㹡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ 䴌͋ҧÂÑ่§Â×¹
จากป จ จั ย ดั ง กล า วหน ว ยงานภาครั ฐ ได มี นโยบายส ง เสริ ม ด า นการประหยั ด พลั ง งาน เพื่อกระตุนใหผูประกอบการตาง ๆ ใหหันมา ให ค วามสํ า คั ญ และพั ฒ นาด า นการอนุ รั ก ษ พลังงานมากขึ้น โดยสงเสริมทั้งในรูปแบบของ เงินงบประมาณเพื่อลงทุนพัฒนาดานพลังงาน การลดหยอนภาษีนาํ เขาอุปกรณประหยัดพลังงาน การออกสิ น เชื้ อ ด า นพลั ง งาน ตลอดจน การจัดประกวดการประหยัดพลังงานรูปแบบ ต า ง ๆ เพื่ อ ส ง เสริมใหแ ตล ะหนวยงานเกิด แรงกระตุ น ที่ จ ะพั ฒ นาด า นการประหยั ด พลังงานอยางตอเนื่อง MEA Energy Saving Building Award เปนอีกโครงการหนึ่งของการไฟฟานครหลวง ที่เปดโอกาสใหหนวยงานที่ดําเนินงานดาน ประหยั ด พลั ง งานอยูแ ลว หรือ หนวยงานที่ สนใจที่ จ ะพั ฒ นาด า นการประหยั ด พลั ง งาน ได เข า ร ว มโครงการเพื่อสงเสริมและกระตุนให แ ต ล ะ ห น ว ย ง า น ดํ า เ นิ น ก า ร ด า น การประหยัดพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ที่เห็นผลเปนรูปธรรมไดชัดเจน
ลาสุดไดมีการมอบรางวัล MEA Energy Saving Building Award 2014 ครั้งที่ 2 ประจําป 2557 ซึง่ มีหลายอาคารที่ไดรบั รางวัล และผมไดมโี อกาสไปเยีย่ มชมแนวทางการจัดการพลังงานของอาคาร ที่ ไ ด รั บรางวัลอยาง โรงแรมริชมอนด จังหวัดนนทบุรี เพื่อเปนตัวอยางกรณีศึกษาดาน การประหยัดพลังงานสูที่มาของการไดรับรางวัลดังกลาว เพื่อเปนโยชนกับผูอาน ผูประกอบการ ที่สนใจดานการอนุรักษพลังงานไดเปนแนวทางและเปนแรงกระตุนในการดําเนินการประหยัด พลังงานใหเกิดประสิทธิภาพ สําหรับการดําเนินการดานการประหยัดพลังงานของ โรงแรมริชมอนด นั้น เริ่มดําเนินการมา ตัง้ แตป 2554 เนือ่ งคาการใชพลังงานมีตน ทุนทีส่ งู ขึน้ จึงไดจา ง บริษทั อินโนเวชัน่ เทคโนโลยี จํากัด มาเป น ที่ ป รึ ก ษาด า นพลั ง งานเพื่ อ ดํ า เนิ น การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานให เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สุ ด การอนุรักษพลังงานของโรงแรม ริ ช มอนด นั้ น เริ่ ม จากการสร า ง แนวนโยบายการอนุรักษพลังงาน อยางจริงจัง โดยการสรางการมี สวนรวมของพนักงานหรือบุคลากร ใ น อ ง ค ก ร ใ ห มี ส ว น ร ว ม ใ น การประหยัดพลังงาน การสงเสริม ให ค วามรู ด า นพลั ง งานให แ ก พนักงานการสรางจิตสํานึก ซึง่ เปน แนวทางดําเนินการประหยัดพลังงาน เบื้ อ งต น ของโรงแรมริ ช มอนด กอนที่จะดําเนินการปรับเปลี่ยน อุปกรณประหยัดพลังงานเพื่อให เกิดประสิทธิภาพในการประหยัด พลังงานมากยิ่งขึ้น คุณลักษณวรรณ วงศวรการ ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การกลุม โรงแรมริชมอนด
24
Energy#66_p24-26_iMac5.indd 24
4/23/2557 BE 11:35 PM
Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร
ในการส่งเสริมใ ห้พนักงานเกิดจิตส�านึกและมี ส่วนร่วมในการป ระหยัดพลังงานนั้นโรงแรม แห่งนี้ ได้จัดตั้งทีม รัฐมนตรี สส. ดูแลเรื่องของ การประหยั ด พลั ง งานในแต่ ล ะแผนก เพื่ อ ร่วมกันวางแผนคิ ด ค้ น และหาแนวทางการ ประหยัดพลังงาน ของแต่ละแผนก เช่น การเปิด ปิดไฟในช่วงเวล าทีเ่ หมาะสม มีการปิดไฟในช่วง พักเที่ยงและหลังเลิกงาน การตรวจสอบดูแล ระบบน�้า ระบบไฟ ว่ามีจุดไหนที่ช�ารุด หรือ ไม่ได้ปดิ เรือ่ งการใช้ลฟิ ท์โดยก�าหนดให้พนักงาน ขึน้ ลิฟท์ 3 ชั้ น ลงลิฟท์ 4 ชัน้ พร้อมกับจัดให้มี การแข่งขันการปร ะหยัดพลังงานในแต่ละแผนก เพือ่ กระตุน้ ให้ พนักงานทุกคนเกิดจิตส�านึกในการ ประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ยังมีการประชุม ทุก ๆ เดือนเพื่ อสรุปผลการประหยัดพลังงานและ หาแนวทางแก้ไขสูแ่ นวการด�าเนินการประหยัด พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันพนักงาน ของโรงแรมริชมอนด์ได้ให้ ความร่วมมือเป็น อย่างดี และมีความรู้เรื่อง พลังงานมากขึ้นห ลักจากเริ่มด�าเนินการเรื่อง พลังงานอย่างจริ งจัง และมีทีมที่ปรึกษาด้าน พลังงานจาก อินโ นเวชั่น เข้ามาเป็นที่ปรึกษา ด้านพลังงาน ท�าใ ห้พนักงานมีความรู้มากขึ้น และเกิดประโยชน์แ ก่พนักงงานที่น�าความรู้ไป ต่อยอดด้านการประ หยัดพลังงานกับชุมชน ของตนเองต่อไป
ด้านการปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ เ พื่ อ ล ด ใช ้ พ ลั ง ง า น นั้ น โรงแรมริ ช มอนด์ ไ ด้ มี ก าร เปลี่ยนมาใช้ Chiller VSD ข น า ด 4 2 0 To n 1 ตั ว ทดแทน Chiller แบบเก่า ขนาด 270 Ton 2 ตัว โดย Chiller VSD นัน้ มีระบบ VSD คอยควบคุมคอมเพรสเซอร์ ที่อยู่ในเครื่อง Chiller ท�าให้ เกิดความเหมาะสมกับโหลด และให้เกิดการประหยัดพลังงาน ณ จุดที่ผลิตน�้าเย็น ซึ่งระบบการท�างานมีประสิทธิภาพและ ประหยัดพลังงานมากกว่า Chiller รุ่นเก่าที่ติดตั้งระบบ VSD ควบคุมมอเตอร์ชิลเลอร์อีกที พร้อมกันนี้ยังได้มีการติดตั้งชุด O-zone ส�าหรับ Cooling Tower ของระบบเครื่องท�าน�้าเย็น (Chiller) ช่วยระบบน�า้ ใน Cooling Tower มีนา�้ ทีจ่ ะไประบายความร้อนให้สะอาดมากขึน้ ท�า Cooling Tower ระบายความร้อนดีขึ้นและส่งผลให้ระบบ Chiller มีความสะอาดไม่เกิดตะกรันภายในท่อ Chiller ซึ่งจะช่วยให้การท�างานแลกเปลี่ยนความร้อนกับน�้าได้ดีขึ้นและสามารถลดการใช้พลังงาน พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การติดตัง้ ชุดควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ (VSD) เพือ่ ลดความเร็วรอบของระบบ Exhaust เติมลม ลานจอดรถ รวมถึงได้มีการปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงของเครื่อง Boiler จากเดิมใช้น�้ามันเตา มาเป็น แก๊ส LPG เพราะมีราคาทีถ่ กู กว่า การปรับเปลีย่ นมาใช้หลอด LED ในส่วนของล็อบบี้ ลานจอดรถ ชัน้ 4 ห้องประชุมจัดเลีย้ ง โดยเลือกแสงทีใ่ กล้เคียงกับหลอดเดิม จากเดิมใช้หลอดฮาโลเจน 50 วัตต์ เป็น 14 วัตต์ต่อหลอด และเมื่อเปรียบเทียบการประหยัดพลังงานของ LED จากภาพรวมของ ค่าไฟฟ้าทั้งหมดจะลดได้ประมาณ 12% ในการเปลี่ยน LED แต่เทียบหลอดต่อหลอดก็ประมาณ เกือบ 80% ต่อหลอด นอกจากนี้แล้วการเปลี่ยนมาใช้หลอด LED 14 วัตต์นั้น ท�าให้เกิด ผลพลอยได้เรื่องของอุณหภูมิของหลอดที่มีอุณหภูมิที่ท�าให้เครื่องปรับอากาศร์ท�างานลดลงและ ประหยัดพลังงานขึ้นกว่าปกติ 25
Energy#66_p24-26_iMac5.indd 25
4/23/2557 BE 11:35 PM
Energy Award รังสรรค์ อรัญมิตร
ส� า หรั บภาพรวมในการลดพลั งงานนั้ น จากการด�าเนินงานตามมาตรการ ประหยั ด พลั งงานตั้ งแต่ ปี 2554 ตลอดจนถึ งปัจ จุบันนั้นช่วยให้โรงแรม ริชมอนด์สามารถลดการใช้พลังงานได้ประมาณ 20% เทียบกับค่าไฟฟ้า ของปีทผี่ า่ นมา สามารถท�าให้ทางโรงแรมลดต้นทุนค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานได้ถงึ 10,725,285 บาท โดยใช้เงินลงทุนในการปรับเปลีย่ นอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน 12,370,170 บาท จากที่ผ่านมามีต้นทุนค่าพลังงานกว่า 40 ล้านบาท แต่ภายหลังด�าเนินการด้านการประหยัดพลังงาน โดยการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ ประหยัดพลังงาน การส่งเสริมสร้างจิตส�านึกให้กับพนักงานเรียกได้ว่าเห็นผล การประหยัดพลังงานได้อย่างชัดเจนเลยทีเดียวครับ ส่วนในอนาคตโรงแรมแห่งนี้มีแผนที่จะเปลี่ยน อุปกรณ์ที่ช่วยให้เกิดการประหยัดพลังงานเพิ่ม ไม่ว่าจะเป็นการติดตั้ง VSD ที่จะต้องติดเพิ่ม ให้กบั ปัม้ น�า้ หล่อเย็น ติดตัง้ VSD เครือ่ งดูดอากาศ แผนกซัก-รีด ติดตั้ง VSD เครื่องดูดอากาศ ห้องน�า้ รวมอาคาร การเปลีย่ นมาใช้หลอด LED ภายในห้องพัก รอบอาคาร รวมถึงไฟส่องถนนด้วย และการติดตั้ง Solar Collator เพื่อใช้ร่วมกับ Boiler ในการผลิตน�้าร้อน รวมถึงการติดตั้งชุด O-zone ในระบบซักรีด นอกจากนี้ เ พื่ อ เกิ ด การประหยั ด พลั ง งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทางโรงแรมยังได้ด�าเนิน การรณรงค์ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า ผู ้ ม าพั ก ให้ ต ระหนั ก เรื่องการประหยัดพลังงานด้วยเช่นกัน โดย การวางแผ่นโบรชัวร์ไว้บนเตียงนอน ที่ระบุ ข้อความให้มีการเปลี่ยนผ้าปูที่นอนทุก 3 วัน ในกรณีพักต่อเนื่อง 2 วันขึ้นไป หรือการใช้ ผ้ า เช็ ด ตั ว ให้ คุ ้ ม ค่ า เมื่ อ ใช้ แ ล้ ว ให้ แขวนไว้ ที่ ราวตากผ้าในกรณีที่ต้องการใช้ต่อ รวมถึงการ รณรงค์ให้ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า และดึงบัตรกุญแจ ห้องพักออกทุกครั้งที่ออกจากห้องเพื่อช่วยกัน ประหยัดพลังงาน
ทั้งนี้การด�าเนินด้านการประหยัดพลังงานของโรงแรมริชมอนด์ไม่ได้หยุดนิง่ เพียงแค่นแี้ ต่ยังมีแผน พัฒนาอย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้ได้ผลเป็นไปตามเป้าหมาย พร้อมกับได้เตรียมความพร้อมในการล่า รางวัล MEA Energy Saving Building Award ในรอบที่ 2 เรื่องการมีส่วนร่วม โดยตั้งเป้าหมาย ที่จ ะพั ฒนาในเรื่ องของขบวนการท� างานต่ า ง ๆ ภายในโรงแรม ให้เกิด การลดต้นทุนของ อุปกรณ์สิ้นเปลืองต่าง ๆ สามารถท�างานได้สะดวกมากขึ้นไม่ส่งผลกระทบต่อลูกค้า และจ�าเป็น ต้องประหยัดพลังงานภายในพื้นที่นั้น ๆ นอกจากนี้โรงแรมริชมอนด์ได้ให้ความส�าคัญของเรื่องการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร เพื่อให้ เกิดการตระหนักให้เรื่องของการอนุรักษ์พลังงาน และพัฒนาความคิดรวมทั้งการให้มองมุมที่ดี ประกอบกับการตัง้ เป้าหมายทีจ่ ะพัฒนาโรงแรมให้เป็นโรงแรมอนุรกั ษ์พลังงาน ล�าดับ 1 ของจังหวัด นนทบุรี และในอนาคตทางโรงแรมได้ตั้งเป้าหมายที่จะส่งอาคารเข้าประกวดรายการ Thailand Energy Awards ประเภทอาคารควบคุมดีเด่น ในปี 2558 อีกด้วย สู่เป้าหมายการลดใช้พลังงาน 30% ในอนาคตอันใกล้
“การด�าเนินงานให้สู่ความส�าเร็จจนได้รับรางวัลนั้นอาจจะยากแต่การด�าเนินการให้เกิด การประหยัดพลังงานที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้นยากกว่า”
ด้ า นการบ� า บั ด น�้ า เสี ย นั้ น โรงแรมแห่ ง นี้ มี การบ�าบัดน�้าเสียด้วยจุลินทรีย์ เลี้ยงบ่อบ�าบัด เพื่อลดค่า BOD และ COD ก่อนปล่อยลงสู่ ล�าคลอง ซึง่ ผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ของเทศบาล ก�าหนด พร้อมกันนี้แล้วยังได้ด�าเนินการเรื่อง การคัดแยกขยะโดยท�าในรูปแบบของธนาคารขยะ เ พื่ อ ใ ห ้ พ นั ก ง า น ไ ด ้ เ กิ ด จิ ต ส� า นึ ก ใ น การคัดแยกขยะให้ถกู ประเภทสูก่ ารน�าไปก�าจัด ได้ อ ย่ า งถู ก วิ ธี แ ละเห็ น คุ ณ ค่ า ในการน� า ขยะ มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 26
Energy#66_p24-26_iMac5.indd 26
4/23/2557 BE 11:35 PM
Energy#64_p45_Pro3.ai
1
2/22/14
1:12 PM
73
Green Industrial รังสรรค์ อรัญมิตร
พัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดหาพลังงานที่ยั่งยืน ºÃÔº·¢Í§¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹áÅÐÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ¹Ñ้¹à»š¹»˜¨¨ÑÂÊํÒ¤ÑÞ ã¹¡ÒÃ㪌ªÕÇÔµ¢Í§Á¹ØÉ â´Â¤ÇÒÁµŒÍ§¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹·Õ่à¾Ô่Á¢Ö้¹µÒÁ ¡ÒÃà¾Ô่Á¢Í§»ÃЪҡÃâÅ¡ áÅФÇÒÁà¨ÃÔÞ·Ò§´ŒÒ¹Çѵ¶Ø·ํÒãËŒà¡Ô´ ¡ÒþÖ่§¾Òàª×้Íà¾ÅÔ§¨Ò¡¿ÍÊ«ÔÅã¹ÊѴʋǹ·Õ่à¾Ô่ÁÁÒ¡¢Ö้¹Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧ «Ö่§¾Åѧ§Ò¹·Õ่à¡Ô´¨Ò¡¿ÍÊ«ÔŹÑ้¹ÁÕÍÂÙ‹¨ํÒ¡Ñ´áÅСํÒÅѧ¨ÐËÁ´Å§ã¹ ͹ҤµÍѹã¡ÅŒ¹Õ้
อยางไรก็ตามเพื่อเปนสวนหนึ่งในการสรางความยั่งยืนใหกับการใช พลังงาน หลายหนวยงานไดพัฒนาและสงเสริมในการใชพลังงาน ทางเลือก พลังงานสะอาดมาปรับใชใหเกิดประโยชนสงู สุดภายในหนวยงาน ของตนเอง ควบคูกับการผลิตภัณฑสีเขียวใหเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อรับผิดชอบตอสังคมสิ่งแวดลอมและตอบสนองความตองการของ ผูบริโภคที่สนใจเลือกซื้อสินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมเพิ่มขึ้น
ในฐานะผูผลิตกาซและบริษัทวิศวกรรมชั้นนําของโลก กลุมบริษัท ลินเด เปนอีกกลุมบริษัทหนึ่งที่ไดคํานึงถึงการสงมอบเทคโนโลยีเพื่อ พลังงานสะอาดและโซลูชนั่ ตาง ๆ เพือ่ ลดผลกระทบกับสภาวะอากาศ ดวยการคิดคนรูปแบบใหมในการใชพลังงาน ดวยความรวมมือ กับผูจัดหาพลังงานตางๆ ลินเดไดทุมเทความรูความชํานาญเพื่อ พัฒนาโซลูชนั่ ทีช่ ว ยรักษาสิง่ แวดลอมในขัน้ ตอนของการผลิตไฟฟาและ เชื้ อ เพลิ ง โดยมี ส ว นสํ า คั ญ ในการพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ ช ว ยดั ก จั บ ก า ซคาร บ อนไดออกไซด ที่ ป ล อ ยออกมาจากโรงไฟฟ า พลังถานหินในขั้นตอนของการสันดาป ทั้งนี้ในอนาคตกาซธรรมชาติจะมีบทบาทสําคัญควบคูกับ ถานหินในการใชพลังงานแบบผสมผสาน กาซธรรมชาติ ไมเพียงแตไดรบั การจัดอันดับวาเปนหนึง่ ในเชือ้ เพลิงฟอสซิล ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากที่สุดแตยังสามารถหาไดอยู ต อ ไปในปริ ม าณที่ ม ากกว า นํ้ า มั น ซึ่ ง มี โ อกาสจะหมดไป โดยตองใชเทคโนโลยีในการกักเก็บสํารองกาซธรรมชาติ ดวยรูปแบบที่เปนมิตรตอสภาวะอากาศและสิ่งแวดลอม
28
Energy#66_p28-30_iMac5.indd 28
4/23/2557 BE 11:37 PM
คุณคีรนิ ทร ชูธรรมสถิตย กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ลินเด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
พลังงานไฮโดรเจน พลังงานที่ยั่งยืน นอกจากนี้ลินเดยังเปนผูนําในการสงเสริม การนําพลังงานไฮโดรเจนมาทดแทนการใช เชือ้ เพลิงฟอสซิลซึง่ มีมลพิษตอสภาวะอากาศ และสิ่งแวดลอม ไดแก นํ้ามัน ถาน ซึ่งใชกัน อยูในเครื่องยนตสันดาป เครื่องยนตไอพน ในยานพาหนะตางๆ หรือเรียกวาพลังงาน ดานการคมนาคมซึง่ ใชพลังงานถึงหนึง่ ในสาม ของความตองการพลังงานทั้งหมด สําหรับความกาวหนาทางเทคโนโลยีดงั กลาว ผูบ ริหารระดับสูงของลินเดบอกวาเกิดขึน้ แลว ในยุโรปและอเมริกา โดยคายรถยนตชั้นนํา ต า งเห็ น พ อ งในการนํ า พลั ง งานไฮโดรเจน มาใชกบั รถยนต ทัง้ คายแดมเลอรฟอรด จีเอ็ม ฮอนดาฮุนได เกีย เรโนลทนสิ สัน และ โตโยตา ตางลงนามความรวมมือในการพัฒนารถยนต พลังงานไฮโดรเจน หรือรถเซลลเชื้อเพลิง เมือ่ กลางป 2553 เพือ่ นําไปสูก ารลดใชนาํ้ มัน หรือการเลิกใชนํ้ามันในอนาคตนั่นเอง จากประสบการณกวา 100 ปในการผลิตกาซ อุตสาหกรรม ขนสง และประยุกตใชกาซ ไฮโดรเจนลิ น เด จึ ง เป น บริ ษั ท วิ ศ วกรรม ผู อ อกแบบและสร า งโรงงานผลิ ต ก า ซ ไฮโดรเจนและผูจัดหาอุปกรณสําหรับใชใน สถานีบริการกาซไฮโดรเจนซึง่ ในปจจุบนั มีอยู ประมาณ 200 สถานีทั่วโลก
การประยุกตใชไฮโดรเจนหรือเซลลเชือ้ เพลิงเปนทีแ่ พรหลายโดยเฉพาะในการนํามาเปนพลังงานที่ ใชทดแทนในเครือ่ งผลิตพลังงานตาง ๆ อาทิ เครือ่ งยนตสนั ดาป หรือแมแตแบตเตอรีข่ นาดใหญ ในรถยนต รถบัส รถบรรทุกโฟลคลิฟท เรือดํานํา้ และโรงงานไฟฟา ลินเดไดเขาไปมีสว นสนับสนุน การใชพลังงานไฮโดรเจนในหลาย ๆ สวน ไดแก รถยนตพลังงานไฮโดรเจน รถบัสพลังงาน ไฮโดรเจนในหลาย ๆ เมืองของซานฟรานซิสโก และเบอรลนิ ลินเดเปนผูจ ดั หาโครงสรางพืน้ ฐาน เพื่อสนับสนุนการบริการรถสาธารณะที่ใชพลังงานไฮโดรเจน รถโฟลคลิฟทของวอลมารทและ บีเอ็มดับบลิวก็ใชเทคโนโลยีการเติมไฮโดรเจนจากลินเด สวนในประเทศไทยนั้นปจจุบัน บริษัท ลินเด (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เปนผูนําในตลาด กาซอุตสาหกรรมของประเทศไทย เผยเปาหมายการเติบโตของธุรกิจในป 2557 กวา 10 เปอรเซ็นต ดวยปจจัยสนับสนุนหลักคือโรงงานใหม 2 แหงที่จะเริ่มเดินเครื่องการผลิตอยาง สมบูรณในปนี้ ซึง่ ชวยเพิม่ กําลังการผลิตใหกบั บริษทั ลินเดจงึ ทําใหมนั่ ใจวาสามารถซัพพลายกาซ อุตสาหกรรมใหทุกกลุมธุรกิจในวงกวางยิ่งขึ้น พรอมกับดําเนินการควบคูไปกับการพัฒนาตาม นโยบายด า นความรั บ ผิ ด ชอบต อ สิ่ ง แวดล อ มและสั ง คมเพื่ อ ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ชุ ม ชน แวดลอมรอบๆโรงงานอยางตอเนื่อง สําหรับโรงแยกอากาศแหงใหมของลินเดนั้นตั้งอยูในนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก จังหวัดระยอง ซึง่ มีขนาดใหญทสี่ ดุ ในประเทศไทยไดกอ สรางเสร็จสมบูรณแลวเมือ่ ปลายป 2556 ที่ผานมา และดําเนินการผลิตไดในเดือน พ.ค. 2557 นี้ โดยมีกําลังการผลิตกาซเหลวไดถึง 800 ตันตอวัน ซึ่งเปนโรงแยกอากาศแหงที่ 3 ของลินเดประเทศไทย ซึ่งจะทําใหมีกําลังการผลิต รวมทั้งหมด 1,900 ตันตอวัน สวนโรงงานใหมอีกโรง คือ โรงผลิตคารบอนไดออกไซดเหลวที่มีกําลังการผลิต 300 ตันตอวัน ซึ่งจะพรอมเดินเครื่องการผลิตในป 2557 เชนกัน และนับเปนโรงผลิตคารบอนไดออกไซดเหลว แหงที่ 4 ของลินเดในประเทศไทยที่จะเพิ่มกําลังการผลิตคารบอนไดออกไซดอีก 25 เปอรเซ็นต หรือจาก 900 ตันตอวันเปน 1, 200 ตันตอวัน
29
Energy#66_p28-30_iMac5.indd 29
4/23/2557 BE 11:37 PM
Green Industrial รังสรรค์ อรัญมิตร
โดยโรงงานใหมทงั้ สองแหงนีจ้ ะเพิม่ กําลังการผลิต เพื่อรองรับการเติบโตของความตองการกาซ ของกลุม ธุรกิจกลุม ปโตรเคมีคอล กลุม พลังงาน กลุ ม โรงพยาบาล และกลุ ม อุ ต สาหกรรม อิเล็กทรอนิกส ซึง่ เปนสวนสนับสนุนทําใหลนิ เด มีการเติบโตอยางตอเนื่อง โดยในป 2557 นี้ คาดวาจะสามารถเติบโตไดกวา 10 เปอรเซ็นต จากปจจัยที่กลาวมาขางตน ทั้งนี้เทคโนโลยีการประยุกตใชกาซของบริษัท ลินเดนนั้ มีบทบาทสําคัญในการขับเคลือ่ นความ ตองการการใชผลิตภัณฑกา ซอุตสาหกรรมและ การบริ ก ารลิ น เด ซึ่ ง มี ที ม ผู เชี่ ย วชาญพิ เ ศษ ชวยสนับสนุนลูกคาในการออกแบบเทคนิค การประยุกตใชกาซซึ่งจะชวยใหลูกคาสามารถ ปรับปรุงกระบวนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพ การผลิ ต ลดต น ทุ น และเพิ่ ม คุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑของลูกคาไดเปนอยางดี
นโยบายดานความรับผิดชอบตอสังคม ดานนโยบายความรับผิดชอบตอสังคมนั้นลินเดยังคงมุงมั่นสงเสริมการดูแลสุขภาพ (Healthcare) การศึกษา (Education) การพัฒนาชุมชนทองถิ่น (Local community development) และการรักษา สิ่งแวดลอม (Environmental protection) หรือ HELP สวนในปทผี่ า นมาลินเดไดจดั ทําแคมเปญภายใตสโลแกน “We want to HELP in leading efforts to bring about better tomorrow” โดยไดดาํ เนินกิจกรรมมากมายภายใตสโลแกนดังกลาว ไมวา จะเปนการจัดการแขงขันกอลฟการกุศลเพือ่ นํารายไดโดยไมหกั คาใชจา ยสนับสนุน การดําเนินงาน ของมูลนิธิสนับสนุนการผาตัดหัวใจเด็ก การจัดกิจกรรมดานความรับผิดชอบตอสังคมรวมกับชุมชนทองถิ่นในการรักษาสิ่งแวดลอม โดยการใหพนักงานเขารวมในการทําความสะอาดชายหาดและสนับสนุนการปฏิบัติการการขจัด คราบนํ้ามันในเหตุการณนํ้ามันรั่วที่เกาะเสม็ด จ. ระยอง พรอมกันนี้ ลินเด ประเทศไทย ยังไดรวมมือกับสถาบันเทคโนโลยีไทย-เยอรมัน ในการกอตั้งศูนย ใหคําปรึกษาดานเทคโนโลยีการตัดเชื่อม ซึ่งจะตั้งอยูภายในอาคารของสถาบันฯ และกําหนดเปด ตัวอยางเปนทางการในเดือนมิถนุ ายน ป 2557 โดยลินเดจะใหการสนับสนุนเครือ่ งมือและอุปกรณ อันทันสมัยพรอมดวยบุคลากรผูเชี่ยวชาญในการใหคําปรึกษาแกผูประกอบการอุตสาหกรรม
30
Energy#66_p28-30_iMac5.indd 30
4/23/2557 BE 11:37 PM
Tools & Machine ณ อรัญ
BUILDING AUTOMATION SYSTEM อาคารสํานักงาน หางสรรพสินคา โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ไป เปนกลุม ธุรกิจ ทีม่ กี ารใชไฟฟาในปริมาณสูง การเลือกใชอปุ กรณ หรือเทคโนโลยีประหยัด พลังงาน จึงเปนแนวทางหนึ่งของผูประกอบการเลือกใช เพื่อดําเนิน การลดตนทุนดานพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพตามเปาหมายที่วางไว โดยอุปกรณประหยัดพลังงานสําหรับอาคารสํานักงาน หรือโรงงาน อุตสาหกรรมนัน้ มีใหเลือกใชหลายระบบดวยกัน สําหรับระบบ Building Automation System (BAS) ระบบ BAS คือ การนําระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศมา ประยุกตใชเพือ่ รวบรวมขอมูลตรวจสอบและควบคุมการทํางานของระบบ อาคารตางๆ เขาดวยกันและ เปนอีกตัวเลือกหนึ่งที่เจาของ อาคาร โรงงานสวนใหญเลือกใช เนือ่ งจากอาคารสํานักงานหรือ หางสรรพสินคา หรือโรงงาน มีการใชไฟฟาจํานวนมาก ดัง นั้ น BAS จึ ง เป น อุ ป กรณ ที่ ตอบสนองความตองการในการ ลดใชพลังงานเขาไปชวยควบคุม การใชพลังงานในอาคารนัน้ เอง ถ า เราสั ง เกตในอาคารหนึ่ ง อาคารการใช พ ลั ง งานใน อาคารทั้งหมดมากกวา 70% ม า จ า ก ร ะ บ บ ป รั บ อ า ก า ศ เพราะฉะนั้นถาเราไปควบคุม ของระบบปรั บ อากาศได นั่ น หมายความวาจะสามารถลดการใชพลังงานไดมากเลยทีเดียว หลักการทํางานของระบบ BAS นัน้ จะสัง่ การทํางานของอุปกรณระบบ สาธารณูปโภคทัง้ หมดของอาคารใหอยูใ นความควบคุมของคอมพิวเตอร เพื่ออํานวยความสะดวกและจัดการงานระบบโดยมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งเปนระบบเครือขาย Network แบบ LAN (Local Area Network) รูปแบบของการเชือ่ มตอระบบ Network ของระบบ BAS เปนแบบ Bus มีลกั ษณะเปนเสนตรงและมีเครือ่ งคอมพิวเตอรอยูเ ปนกิง่ กานออกจากเสนตรง หลักขอดี คือ สามารถใช Software, ขอมูล, อุปกรณทางดาน Hard Ware รวมกันได ดูจากภาพประกอบโดยมีการแบงระดับของการควบคุมทัง้ หมด 4 ระดับคือ Management Level, System control Level, Process Control Level และ Equipment Level
การควบคุมการใชพลังงาน (Energy Management) ระบบนีย้ งั ทําหนาที่ วางแผนและควบคุมการใชพลังงานของอาคารโดยจะบริหารการใชพลังงาน ใหไดประโยชนสูงสุดโดยใชคาใชจายตํ่าที่สุด ตัวอยางที่มีประโยชนมาก สํ า หรั บ ระบบนี้ ใ นประเทศไทยคื อ การบริ ห ารการใช ไ ฟฟ า ของอาคาร เพือ่ หลีกเลีย่ งการจายคาใชไฟฟาสูงสุดของแตละเดือน (Demand Charge) โดยการควบคุมผานระบบระบายอากาศ และระบบปรับอากาศ (Ventilation and Air-conditioning System) ระบบนีจ้ ะควบคุม เครือ่ งทํานํา้ เย็นกลาง (Chiller plants) เครื่องสงลมเย็น (Air handing units) สวนปรับลมเย็น (VAV box) ฯลฯ โดยจะเฝาดูและคอยควบคุม ระดับของอุณหภูมแิ ละความชืน้ ที่เหมาะสมรวมทั้งจายอากาศบริสุทธิ์ที่เหมาะสมกับผูที่ใชงานในอาคาร ยกตัวอยางหลักการทํางานที่ควบคุม การทํ า งานของระบบ Chiller ใน อาคารเชน ในอาคาร มีระบบChiller4 ตัวระบบBAS ก็สามารถควบคุมการ ทํางานของระบบ Chiller ใหทาํ งาน เพียง 2 ใน 4 ตัวหรือสลับการทํางาน เพื่ อ ลดภาระโหลดการทํ า งานของ ระบบ Chiller และยังสามารถสัง่ งาน ระบบไฟฟาทัง้ หมดก็ได นอกจากนี้ สามารถควบคุ ม ระบบ ไฟฟาหรือไปควบคุมการใชไฟฟาของ แตละแผนก แตละชัน้ ได อยางอาคาร มีอยู 40 ชัน้ ก็สามารถเขาไปควบคุมได ปรับใหโหลดเหมาะสมกับการใชงาน ในแตชว งเวลา ในแตละวัน สามารถ รูวาในแตละอาคารใชพลังงานไปเทาไหร เพื่อปรับใหตรงจุดหรือตรง ตามความตองการของระบบใชไฟฟาภายในอาคารได พรอมกับสามารถ นําขอมูลการใชพลังงานของระบบตาง ๆ ภายในอาคารไปวิเคราะห แลวนําไปปรับปรุงการใชพลังงานไดอีกรวมถึงการตรวจสอบวาอุปกรณ ควรจะซ อ มบํ า รุ ง เมื่ อ ไหร ควบการทํ า งานผ า นมื อ ถื อ ผ า นระบบของ ซอฟตแวรทเี่ ขาไปจัดการในคอมพิวเตอรทชี่ ว ยใหสามารถดูการใชพลังงาน ในอาคารดูวา อุปกรณตวั ไหนเปดหรือปดอยู แลวปรับการใชงานปรับอุณหภูมิ การใชงาน เปด ปดไฟ ผานมือถือได ซึง่ จะชวยใหเกิดการประหยัดพลังงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ
31
Energy#66_p31_iMac5.indd 31
4/21/2557 BE 10:13 PM
Residence รังสรรค์ อรัญมิตร
คราวน์ พลาซ่า กรุงเทพฯ
ปรับเปลี่ยน สร้างจิตส�านึก สู่โรงแรมสีเขียว การบริหารโรงแรมในปัจจุบันนอกจากค�านึงถึงหลักการบริการที่ดียังต้องมี การพัฒนาส่งเสริมด้านการประหยัดพลังงานควบคู่กันไปด้วยเพื่อเป็นการลด ต้นทุนด้านพลังงานให้เกิดประสิทธิภาพสอดคล้องกับยุคค่าพลังงานแพงสูค่ วาม เป็นเลิศทัง้ ในด้านบริการและการเป็นโรงแรมสีเขียวทีใ่ ส่ใจสิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ แล้วกาบริหารจัดการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อมนั้นยังเป็นปัจจัยหนึ่งที่ช่วย ดึงดูดให้คนเข้ามาใช้บริการอีกด้วยเพราะตอบสนองกับความต้องการของคน ส่วนใหญ่ที่เริ่มใส่ใจเรื่องการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมเช่นกัน จากความเป็นเลิศด้านบริการ การบริหารจัดการด้านพลังงานของโรงแรมต่าง ๆ จึงเป็นส่วนส�าคัญของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่ง โรงแรมคราวน์ พลาซ่า กรุงเทพฯ ลุมพินี พาร์ค นั้นเป็นอีกโรงแรมที่ได้ตระหนักถึงความส�าคัญของ การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมรุดหน้าสู่พันธกิจองค์กรที่รับผิดชอบต่อ สังคมเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยมีการบริหารจัดการพลังงานที่ดีไม่ว่าจะเป็น มาตรการด้านประหยัดน�้า มาตรการด้านรีไซเคิล มาตรการการใช้กระดาษอย่างคุ้มค่า พลังงานไฟฟ้า ระบบบ�าบัดของเสีย รวมไปถึงมาตรการด้านใช้สารเคมีเพือ่ ก�าจัดสัตว์ไม่พงึ ประสงค์ อันเป็นการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมในภาพรวม ภายใต้การตรวจสอบคุณภาพ ด้านการบริหารจัดการพลังงานทางวิทยาศาสตร์ โรงแรมคราวน์ พลาซ่า กรุงเทพฯ ลุมพินี พาร์ค สามารถผ่านการประเมินได้อย่างโดดเด่นด้วยหลัก ปฏิบัติด้านบริหารจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืน 32
Energy#66_p32-33_iMac5.indd 32
4/23/2557 BE 11:41 PM
ซึ่งเกิดจากความร่วมแรงร่วมใจของ พนั ก งานทุ ก คน ทุ ก ระดั บ ที่ อ ยู ่ ใ น โรงแรมเป็นส่วนส�าคัญที่ท�าให้ประสบ ความส� า เร็ จ จนท� า ให้ โรงแรมแห่ ง นี้ สามารถก้ า วไปสู ่ ก ารพั ฒ นาด้ า น การอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมที่ มีประสิทธิภาพและยั่งยืน เป็นเสมือน ตัวแปรที่บ่งชี้ศักยภาพในการลดปริมาณก๊าซเรือน กระจกและอนุรักษ์พลังงานได้เป็นอย่างดี เพือ่ ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานโรงแรมแห่งนี้ ยังได้ติดตั้ง Infrared Motion Control Lighting Aera ในส่วนของแบ็คออฟฟิศและทางเดินของออฟฟิศ ซึ่งเป็นระบบเซ็นเซอร์ตรวจความเคลือ่ นไหวของคน หากมีความเคลื่อนไหวระบบแสงสว่างก็จะท�างาน อัตโนมัติ และการติดตั้งระบบเซ็นเซอร์เครื่องปรับ อากาศ หากมีการเปิดประตูระหว่างเปิดเครื่องปรับ อากาศระบบการท�าความเย็นของเครือ่ งปรับอากาศ จะจ่ายลมเพียงอย่างเดียว พร้อมกันนี้ยังมีแผนปรับ เปลี่ยนมาใช้หลอด LED พื้นที่ล็อบบี้ เพื่อทดลองใช้ ก่อนจะเปลี่ยนจุดอื่น มีการปรับเปลีย่ นมาใช้ Chiller ประสิทธิภ์ าพสูง ซึง่ เป็น ระบบ VSD Chiller โดยจะมีระบบ VSD คอยควบคุม คอมเพรสเซอร์ทอี่ ยูใ่ นเครือ่ ง Chiller ภายในตัวท�าให้ เกิดความเหมาะสมกับโหลดและให้เกิดการประหยัด พลังงาน ณ จุดที่ผลิตน�้าเย็น ซึ่งระบบการท�างาน มีประสิทธิภาพและประหยัดพลังงานมากกว่า Chiller รุ่นเก่าที่ติดตั้งระบบ VSD ควบคุมมอเตอร์ชิลเลอร์ อีกที รวมถึงติดตัง้ VSD ส�าหรับปัม๊ น�า้ และปัม๊ น�า้ เย็น อีกด้วยเพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามสิ่งส�าคัญของการประหยัดพลังงาน นอกจากปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีประหยัดพลังงานแล้ว การปรับเปลี่ยนจิตส�านึกของคนก็เป็นส่วนส�าคัญ ซึ่งโรงแรมคราวน์ พลาซ่า กรุงเทพฯ ลุมพินี พาร์ค ได้สร้างจิตส�านึกให้พนักงานในการเปิด – ปิดระบบ ไฟฟ้าแสงสว่างให้ตรงเวลา เปิดไฟให้พอเหมาะกับ สภาพอากาศแต่ละวัน น�า้ แอร์ ทุกระบบจะเปิด - ปิด ตามเวลาที่เหมาะสม
รวมถึงการสร้างจิตส�านึกในการคัดแยกขยะเพือ่ น�าไปรีไซเคิลไม่วา่ จะเป็น กระดาษ พลาสติก ขวด ส่วนขยะทีเ่ ป็นเศษอาหารเปลือกผลไม้ตา่ งๆ ทีน่ เี่ ขาได้นา� ไปท�าเป็น ปุ๋ยชีวภาพ ซึ่งผลผลิตที่ได้จากการท�าปุ๋ยชีวภาพน�าไปใช้ประโยชน์ในการลดกลิ่น จากการบ�าบัดน�า้ เสีย ควบคุมกลิน่ ขยะ และใช้เป็นปุย๋ ส�าหรับต้นไม้ และผักออแกนิก ที่ทางโรงแรมปลูกไว้ ส่วนขยะมีพิษ เคมีจะส่งให้หน่วยงานของ กทม. ก�าจัด โดยการบริ ห ารจั ด การด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและสิ่ ง แวดล้ อ มของโรงแรม คราวน์ พลาซ่า ช่วยให้ได้รับการรับรองมาตรฐานระดับ Bronze จาก EarthCheck ซึง่ เป็นองค์กรด้านบริหารจัดการมาตรฐานการรักษาสิง่ แวดล้อมเพือ่ การท่องเทีย่ ว อย่ า งยั่ ง ยื น ระดั บ โลกว่ า ด้ ว ยการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ หรื อ IPCC Intergovernmental Panel for Climate Change (IPCC) ไปจนถึงคู่มือการค�านวณ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกแห่งชาติ (IPCC Guidelines for National Greenhouse Gas Inventories) และ สภาธุรกิจโลกเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (World Business Council for Sustainable Development, WBCSD) และมาตรฐาน ISO 14064 ที่ช่วยก�าหนดการหาปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปลดปล่อยออกมา นอกจากการบริหารจัดการด้านอนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดล้อมแล้ว โรงแรม คราวน์ พลาซ่ า ยั ง น� า เสนออี ก ระดั บ ของการบริ ก ารแบบมื อ อาชี พ พร้ อ มสิ่ ง อ� า นวย ความสะดวกครบครัน เพือ่ อ�านวยความสะดวกด้านการจัดประชุมอย่างเต็มรูปแบบ คราวน์ พลาซ่า พร้อมให้บริการเสมอไม่วา่ จุดหมายของคุณจะเป็นการพักผ่อนหรือ ติดต่อธุรกิจ ในปัจจุบันโรงแรม คราวน์ พลาซ่า ได้เปิดให้บริการ ณ เมืองหลวง และเมืองส�าคัญของแต่ละประเทศทั่วโลกแล้วกว่า 400 โรงแรมทั่วโลกอีกด้วย
33
Energy#66_p32-33_iMac5.indd 33
4/23/2557 BE 11:41 PM
Energy Design ณ อรัญ
การออกแบบสถาปัตยกรรมในปัจจุบันนั้นได้ค�านึงถึงการประหยัด พลังงานโดยอาศัยหลักการดูทิศทางลม ทิศทางแดด การออกแบบ ให้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาให้ เกิดความยั่งยืน โดยการดึงสิ่งแวดล้อม ความเป็นธรรมชาติมาเป็น ส่วนหนึ่งของการก่อสร้าง ผสมผสานกับการใช้เทคโนโลยีทีทันสมัย เพื่อให้เกิดการประหยัดพลังงาน
พึ่งพาเทคโนโลยีในการออกแบบ เน้นความสะดวก สบาย และประหยัดพลังงาน ส�ำหรับกำรออกแบบอำคำร ภิรัชทำวเวอร์แอทเอ็มควอเทียร์นั้น เริ่มจำกกำรออกแบบให้เป็นอำคำรส�ำนักงำนอยู่ในพื้นที่ร่วมกับ ห้ำงสรรพสินค้ำ เพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของคนท�ำงำนรุ่นใหม่ โดยมีควำมสูง 45 ชั้น มีส่วนของร้ำนค้ำปลีก 6 ชั้นด้ำนล่ำงมีพื้นที่ ใช้สอยส�ำหรับตัวอำคำรส�ำนักงำนทั้งสิ้นกว่ำ 47,500 ตำรำงเมตร ถูกออกแบบให้เดินทำงสะดวกด้วยรถไฟฟ้ำ BTS เพือ่ กำรประหยัด ค่ำน�้ำมันในกำรขับรถ และควำมสะดวกสบำยในกำรเดินทำง ภำยในมีพื้นที่กว้ำงขวำงไม่มีเสำเกะกะท�ำให้กำรตกแต่งออฟฟิศ ท�ำได้งำ่ ยและอิสระขึน้ มีลอ็ บบีท้ ดี่ หู รูหรำด้วยเพดำนสูงถึง 10 เมตร ตัวอำคำรก็ออกแบบให้ใช้กระจกภำยนอกที่ทันสมัย รวมกับควำม เรียบง่ำยร่วมสมัยสไตล์ตะวันตก ส่วนยอดตึกออกแบบโดยมีแนว ควำมคิดมำจำกรูปทรงของมงกุฎเพิม่ ควำมสง่ำงำมให้กบั ตัวอำคำร
34
Energy#66_p34-35_iMac5.indd 34
4/23/2557 BE 11:44 PM
การออกแบบให้มีการเลือกใช้ชุดสวิทช์ไฟแบบ แยกวงจรนอกอาคารและภายในอาคาร เป็ น คนละชุ ด ก็ จ ะช่ ว ยประหยั ด การใช้ พลั ง งานไฟฟ้ า ตามการใช้ ง านได้ เ ช่ น กั น เพราะไม่ต้องควบคุมระบบไฟ ณ จุดๆ เดียว น อ ก จ า ก นี้ ยั ง มี ก า ร น� า น�้ า ที่ ก ลั่ น ตั ว จ า ก การควบแน่นของเครือ่ งปรับอากาศมาหมุนเวียน ใช้ ใ นระบบหล่ อ เย็ น ของอาคารอี ก ด้ ว ยใน ส่ ว นของการระบายอากาศอาคารได้ใช้ระบบ Recovery wheel ซึ่ ง ช่ ว ยเติ ม อากาศเย็ น ให้ ย้ อ นกลั บ เข้ า มาในอาคาร โดยสองสิ่ ง นี้ จ ะ ช่ ว ยประหยั ด พลั ง งานจากการท� า งานของ เครื่องปรับอากาศให้ได้ดียิ่งขึ้น การออกแบบอาคารเพือ่ ให้เกิดการประหยัดพลังงาน ยั ง ได้ เ ลื อ กใช้ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศที่ เ ป็ น ระบบ Variable Air Volume หรื อ VAV ซึ่ ง ช่ ว ยใน การควบคุมอุณหภูมิได้อย่างอิสระ จึงสามารถ ปรับอากาศแยกกันในแต่ละจุด เพื่ออุณหภูมิที่ เหมาะสมแตกต่างกันตามพื้นที่ เช่น ริมอาคาร ที่ ไ ด้ รั บ แสงภายนอกมากกว่ า ก็ ต ้ อ งการปรั บ อุณหภูมิให้สูงขึ้นกว่าส่วนที่อยู่ใกล้แกนอาคาร ซึ่งได้รับแสงจากภายนอกน้อยกว่า จึงช่วยลด การใช้งานเครือ่ งปรับอากาศในบริเวณทีไ่ ม่จา� เป็น ส่วนลิฟท์เป็นระบบ Destination control โดย การก� า หนดให้ ชั้ น ที่ มี ผู ้ โ ดยสารที่ จ ะไปชั้ น เดียวกันเดินทางไปพร้อมๆ กัน และที่ส�าคัญคือ การเลือกใช้เทคโนโลยีหลอดไฟ LED ภายในอาคาร ทั้ ง หมดจะใช้ ห ลอด LED ซึ่ ง มี คุ ณ สมบั ติ ก าร ประหยัดพลังงานมากกว่าหลอดไฟทั่วไป
นอกจากนีแ้ ล้วการออกแบบยังเลือกใช้เทคโนโลยี อุปกรณ์ประหยัดพลังงานมาเป็นส่วนประกอบ ในการก่อสร้างอาคาร โดยตัวอาคารถูกออกแบบให้ใช้กระจกอยู่สองชนิดด้วยกัน ชนิดแรกคือ กระจกโปร่งใสแบบ Low E เป็นการใช้พลังงานแสงภายนอกให้เกิดประโยชน์สูงสุด ช่วยลด การรั่วไหลของเสียง โดยจัดวางไว้ในทางด้านเหนือ และด้านใต้ของอาคาร พร้อมแฝงไปด้วยปรัชญาของบริษัทในเรื่องการความโปร่งใส แสดงถึงแนวคิดในการท�าธุรกิจ ของบริษัทในกลุ่มภิรัชบุรีที่มีมายาวนานเสาบริเวณริมกระจกของอาคาร ที่ถูกออกแบบให้ เป็นรูป 6 เหลี่ยมปลายแหลม โดยใช้ด้านแหลมชี้ออกนอกอาคารจะช่วยในเรื่องการปล่อยให้ แสงธรรมชาติเข้ามาภายในอาคารได้มากยิ่งขึ้นในเวลากลางวัน จึงช่วยประหยัดการใช้ไฟได้ ในระดับหนึง่ และชนิดสองคือกระจก Reflective หรือกระจกสะท้อนแสง ทีใ่ ช้ทางฝัง่ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตกของอาคาร แสดงถึงความมัน่ คงของบริษทั และความมีเอกลักษณ์ทไี่ ม่เหมือนใคร และยังสามารถช่วยกันความร้อนทีเ่ กิดจากแสงเข้าภายในอาคาร แต่ได้แสงเข้ามาชดเชยแสงสว่าง ของหลอดไฟได้เป็นอย่างดี พร้อมกันนี้ยังได้มีการออกแบบให้มีการใช้กระจกภายนอกอาคารแบบ Insulated glass ซึ่งเป็น กระจก 3 ชั้น โดยมีหลักการท�างานคือกระจกแผ่น 1 และ 2 จะยึดติดกันด้วยฟิล์ม จากนั้น จึงเว้นช่องว่างขนาด 12 มิลลิเมตร โดยมีก๊าซซึ่งท�าหน้าที่เป็นฉนวนกันการถ่ายเทความร้อน หมุนเวียนอยูใ่ นระหว่างช่องว่างนัน้ แล้วจึงเป็นกระจกชัน้ ที่ 3 อีกแผ่นหนึง่ เพือ่ ช่วยในการลดความร้อน ที่จะเข้ามาภายในอาคาร จึงช่วยประหยัดพลังงานจากการลดท�างานของเครื่องปรับอากาศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
35
Energy#66_p34-35_iMac5.indd 35
4/23/2557 BE 11:44 PM
Energy Knowledge อภัสรา วัลลิภผล
เมือ่ พูดถึง ภาวะโลกร้อน จะเห็นได้วา่ ในปัจจุบนั โลกเราได้รบั ผลกระทบเต็ม ๆ สังเกตได้จากอากาศที่ร้อนผิดปกติ จึงท�าให้ทางหน่วยงานต่าง ๆ พยายาม หาวิธีการเพื่อท�าให้โลกเราเย็นขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการปลูกต้นไม้ การรณรงค์ ประหยัดไฟ ประหยัดน�า้ ฯลฯ ซึง่ ทัง้ หมดนีอ้ าจจะต้องใช้เวลานานพอสมควร เพราะกว่าต้นไม้จะโตเราคงจะทนกันไม่ไหวแน่ ด้วยเหตุนี้ ทางคณะวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ น�าโดย รศ.พาสินี สุนากร อาจารย์สาขาวิชา เทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทีไ่ ด้ทา� การวิจยั หาวิธลี ด ความร้อนภายในอาคาร ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 งานวิจัยได้แก่ การท�าแผ่นปลูก พืชบนหลังคา หรือ Green Roof Mat และสมรรถนะการลดการถ่ายเท ความร้ อ นของแผงบั ง แดดไม้ เ ลื้ อ ย ทั้ ง สองงานวิ จั ย นี้ ส ามารถช่ ว ยลด ความร้อนภายในอาคารได้จริง
ม.เกษตรฯ ลดความร้อนภายในอาคาร กับงานวิจยั Green Roof Mat และ แผงบังแดดไม้เลือ้ ย “แผ่นปลูกพืชบนหลังคา” หรือ Green Roof Mat สวนหลังคาเป็นแนวทางลด ภาวะความร้อนให้กับเมืองและช่วยลด ความร้ อ นที่ ถ ่ า ยเทสู ่ อ าคารเพื่ อ การ ประหยัดพลังงาน ปัจจุบันเป็นที่นิยม แพร่หลายและได้พฒ ั นาเป็นนโยบายและ กฎหมายในหลายประเทศ สวนหลังคา แบบใช้สอย (Intensive Roof Garden) ซึ่งใช้ดินปลูกหนากว่า 30 ซม. มักประสบ ปั ญ หาน�้ า หนั ก และการแตกรั่ ว ของ ระบบกั น น�้ า ในขณะที่ สวนหลั ง คา
รศ.พาสินี สุนากร
แบบไม่ใช้สอย ( Extensive Roof Garden) ใช้วัสดุทดแทนดินน�้าหนักเบาที่มีความหนาน้อยกว่า 15 ซม. สามารถลดปัญหาเรือ่ งน�า้ หนักและการติดตัง้ ท�าได้งา่ ยกว่า วัสดุนใี้ นต่างประเทศมีหลายชนิด ทั้งที่ท�าจากวัสดุธรรมชาติและสังเคราะห์ ส่วนในประเทศไทยมีเศษเหลือจากการเกษตรและ อุ ต สาหกรรมจ� า นวนมากที่ ส ามารถน� า มาใช้ ขึ้ น รู ป เป็ น แผ่ น วั ส ดุ ป ลู ก น�้ า หนั ก เบาได้ ดี โ ดยใช้ เครื่องอัดร้อน ได้แก่ ใยมะพร้าว ใยปาล์ม กากกาแฟ เปลือกถัว่ ชานอ้อย ซึง่ ต้องการการทดลอง หาส่วนผสมที่เหมาะสมกับการใช้งาน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาหาสัดส่วนวัสดุปลูกที่เหมาะสมเพื่อน�ามาอัดโดย เครื่องอัดร้อนให้เป็นแผ่นปลูกพืชน�้าหนักเบา เพื่อใช้ปลูกพืชบนหลังคา โดยคัดเลือกพันธุ์พืชที่ เหมาะสมทนต่อสภาพอากาศร้อนได้ดี ติดตามผลการเจริญเติบโตและอยู่รอด รวมทั้งทดสอบ การป้องกันความร้อนเพื่อระบุความสามารถในการประหยัดพลังงานของแผ่นปลูกพืช คัดเลือก วัสดุปลูกที่เหมาะสมจากวัสดุที่เป็นเศษเหลือ ได้แก่ เศษมะพร้าวและกากกาแฟ เศษใยและขุย มะพร้าวน�ามาจากโรงงานกะทิ เป็นวัสดุที่มีเส้นใยแข็งแรงมีความพรุนสูงเหมาะแก่การยึดเกาะ ของรากและยังอุ้มน�้าได้ดี มีสารอาหารที่พอเหมาะแก่การเติบโตโดยมีโปแตสเซียมสูง ความเป็น กรดด่างปานกลาง ส่วนกากกาแฟเป็นอินทรียวัตถุที่ผ่านกระบวนการคั่วด้วยความร้อนจึงคงรูป และไม่ยุบตัวได้ง่าย มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ๆ และมีธาตุอาหารหลักคือไนโตรเจนโดยท�าการทดลอง น�าทัง้ สองอย่างในส่วนผสม 70:30, 60:40, 50:50 ความหนาแน่น 150, 200, 300 กก. ต่อลบ.ม. ใช้กาวยูเรียฟอร์มาลดีไฮด์ซึ่งใช้กับอุตสาหกรรมแผ่นอัด เพื่อหาสัดส่วนที่ท�าให้คงรูปได้ดีและยังมี ความพรุนสูง จากนั้นน�าแผ่นที่ทดลองอัดมาศึกษาการคงรูปเมื่ออยู่ในสภาพแช่น�้า และทดลอง ปลูกพืชคลุมดิน 5 ชนิด ได้แก่ ฟ้าประดิษฐ์ ดาดตะกั่ว ผักเป็ดแดง เบบี้ซันโรส ลิ้นมังกรแคระ เป็น เวลา 6 เดือนแล้ว เลือกพืชที่มีการเติบโตดีที่สุดมาท�าการทดสอบเรื่องการป้องกันความร้อนของ แผ่นปลูกพืชดังกล่าว ผลการทดลองพบว่า แผ่นปลูกพืชคงรูปได้ดโี ดยใช้สดั ส่วนใยมะพร้าว:กากกาแฟเป็น 60:40 หนาแน่น 300 กก ต่อ ลบ.ม. มีนา�้ หนักขณะแห้ง 10.8 กก.ต่อตร.ม. มีความโปร่งพรุนพอเหมาะและดูดซับน�า้ ได้ 177.61 % จากการแช่นา�้ 1 ชม. น�า้ หนักสุทธิรวมต้นไม้ปกคลุมเต็มทีข่ ณะชุม่ น�า้ 78.2 กก. ต่อตร.ม.
36
Energy#66_p36-37_iMac5.indd 36
4/21/2557 BE 10:13 PM
มีค่า N:P:K = 4.61:O.24:1.28 ค่าความเป็นกรด-ด่าง = 5.6 สามารถ ปลูกพืชเจริญเติบโตได้ดีในระยะเวลาของการทดลอง 6 เดือน โดย ดาดตะกัว่ มีอตั ราการเติบโตสูงสุด ในด้านคุณสมบัตกิ ารป้องกันความร้อน แผ่นปลูกพืชทีม่ ตี น้ ไม้ปกคลุม 100 % สามารถป้องกันความร้อนได้ดกี ว่า ฉนวนใยแก้ว หนา 2 นิ้ว ความหนาแน่น 32 กก. ต่อ ลบ.ม. โดยมี อุณหภูมิในกล่องทดลองเฉลี่ยต�่ากว่ากล่องเปล่า 8.21 องศาเซลเซียส ในตอนกลางวัน ขณะที่ฉนวนใยแก้วมีอุณหภูมิในกล่องทดลองเฉลี่ย ต�่ากว่ากล่องเปล่า 2.76 องศาเซลเซียส และคายความร้อนได้ดีกว่า ฉนวนใยแก้วในตอนกลางคืน โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยต�่ากว่ากล่องเปล่า 1.48 องศาเซลเซียสในตอนกลางคืน ขณะที่ฉนวนใยแก้วมีอุณหภูมิใน กล่องทดลองเฉลี่ยต�่ากว่ากล่องเปล่า 0.90 องศาเซลเซียสจากอิทธิพล การบังเงาการสังเคราะห์แสงและการคายน�้าของพืช ท�าให้สมรรถนะใน การลดการถ่ายเทความร้อนในตอนกลางวันเป็นไปอย่างมีประสิทธิผล ด้านงานวิจยั สมรรถนะการลดการถ่ายเทความร้อนของแผงบังแดด ไม้เลื้อย ซึ่งการใช้พืชพรรณปกคลุมอาคาร ท�าให้เกิดภาวะน่าสบาย ทางอุณหภูมิ (thermal comfort) แก่สภาพแวดล้อมทัง้ ภายใน และภายนอก อาคารจากการลดการถ่ายเทความร้อนเข้าสูอ่ าคาร โดยการป้องกันรังสี จากดวงอาทิ ต ย์ ดู ด ซั บ รั ง สี ด วงอาทิ ต ย์ ส ่ ว นหนึ่ ง เพื่ อ น� า ไปใช้ ใ น การสังเคราะห์แสง (photosynthesis) และการคายน�า้ (evapo – transpiration) ทัง้ ยังลดการแผ่รงั สีและการสะท้อนกลับสูบ่ รรยากาศภายนอก ลดอุณหภูมิ โดยรอบอาคาร และอุณหภูมิภายในอาคาร ยิ่งมีความหนาแน่นของ ใบปกคลุ ม มากและจ� า นวนชั้ น ของใบมากก็ ยิ่ ง มี ส มรรถนะที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ท�าให้เกิดการประหยัดพลังงานแก่อาคารอย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้ได้ท�าการศึกษาการใช้พืชพรรณประกอบอาคารโดยมุ่งเน้นที่ การใช้ไม้เลื้อยที่ใช้เป็นแผงกันแดดแนวตั้งให้แก่อาคารจริง ซึ่งเป็น ห้องหันสูท่ ศิ ตะวันตก โดยท�าการทดสอบคุณสมบัตใิ นการลดการถ่ายเท ความร้อนสูภ่ ายในอาคารเปรียบเทียบกับห้องทีไ่ ม่ใช้แผงกันแดดไม้เลือ้ ย ผลการทดลองพบว่าแผงกัน แดดไม้เ ลื้อ ยมีส มรรถนะในการลดการ ถ่ายเทความร้อนจากอากาศภายนอกได้ดีที่สุด สามารถลดอุณหภูมิได้ มากที่สุดเฉลี่ย 3.63 องศาเซลเซียส ในช่วงเช้าถึงค�่า 9.00-20.30 น. เมื่อเปรียบเทียบกับห้องธรรมดาที่ไม่มีแผงบังแดด การใช้แผงกันแดด ไม้เลื้อยปกคลุมหน้าต่างมีสมรรถนะในการลดอุณหภูมิภายในห้องสูง โดยเฉพาะเมื่ออากาศภายนอกอุณหภูมิสูงมาก เนื่องจากใบไม้รักษา
อุณหภูมิผิวใบและหลังใบไว้ ไม่เกิน 37 องศาเซลเซียส อย่ า งไรก็ ดี แ ผงกั น แดด ไม้ เ ลื้ อ ยไม่ ส ามารถท� า ให้ อากาศภายในห้ อ งอยู ่ ใ น ภาวะน่าสบายทางอุณหภูมไิ ด้ แต่สามารถน�ามาใช้ประโยชน์ ในการลดอุณหภูมขิ องอากาศ น� า เข้ า สู ่ ร ะบบปรั บ อากาศ เพื่ อ การประหยั ด พลั ง งาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนพันธุไ์ ม้เลือ้ ยทีเ่ ลือกปลูก คื อ ต้ น สร้ อ ยอิ น ทนิ ล หรือ ช่ออินทนิล มีชื่อทาง วิทยาศาสตร์ว่า ThunbergiagrandifloraRoxb เหตุผลที่เลือกพรรณไม้ ชนิดนี้เพราะ เป็นไม้เถาเลื้อย เนื้อแข็ง อายุหลายปี ใช้ยอดเลื้อยพันได้ ไกลถึง 15-20 เมตร เป็นไม้ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปหัวใจ 5-7 แฉก กว้าง 8-10 เซนติเมตร ยาว 10-12 เซนติเมตร ปลายใบแหลม โคนใบเว้า ขอบหยักฟันเลื่อย ผิวใบสาก ดอกสีฟ้าอมม่วง ออกเป็นช่อแบบช่อ กระจะตามซอกใบ ช่อดอกห้อยลงยาว 0.8-1 เมตร ใบประดับสีเขียว และมีสีแดงเรื่อ ดอกรูปแตร โคนกลีบเป็นหลอดสั้นสีเหลืองปลายแยก 5 แฉก รูปกลม โคนกลีบล่างอันกลางมีแต้มสีม่วงเข้ม ดอกบานเต็มที่ กว้าง 6-8 เซนติเมตร ปลูกได้ในดินทั่วไป ความชื้นปานกลาง ทนแดด ทนฝน และด้วยคุณสมบัติทั้งจึงท�าให้ทางทีมงานวิจัยเลือกปลูกพันธุ์ไม้ ชนิดนี้ ส�าหรับหน่วยงานและผู้ที่สนใจในงานวิจัยทั้งสอง สามารถติดต่อได้ที่ รศ.พาสินี สุนากร อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โทร. 0-2942-8960-3 ต่อ 308
37
Energy#66_p36-37_iMac5.indd 37
4/21/2557 BE 10:13 PM
+T$_'EÄ&#x201A;gO*=ES<OT$TJ AEÄ&#x20AC; LZ6DO6 ;IS7$EEC_@YgO$TE=ERMDS6@GS**T; `M *O;T'7
`@' AEÄ&#x20AC;_;OE +Ä&#x20AC;h _'EÄ&#x201A;gO*9U;hUE O;
cC 7 O*b- cAA T c6 ;hUE O;OZ5MB[CVL[*LZ68X* - ID=ERMDS6' TcA_'EÄ gO*=ES<OT$TJc6 8X* b- c6 $S<_'EÄ gO*=ES<OT$TJ 9Z$EZ ; DWgM O ET*ISG`M *'ITCBT'B[CVb+ Ă&#x192;Ă&#x2019;§Ă&#x2021;Ă&#x2018;Ă&#x2026; Seoul International Invention Fair (SIFF) 2013
Ă&#x192;Ă&#x2019;§Ă&#x2021;Ă&#x2018;Ă&#x2026; i2P CONTEST 2013 Ă&#x192;Ă?´Ă&#x2018;ºĂ&#x192;Ă?à ¡Ă&#x2C6;
Ă&#x192;Ă&#x2019;§Ă&#x2021;Ă&#x2018;Ă&#x2026; International Invention and Innovation Exhibition Award 2013
Ă&#x192;Ă&#x2019;§Ă&#x2021;Ă&#x2018;Ă&#x2026;ÂśĹ&#x2019;Ă&#x2021;Ă&#x201A;žĂ&#x192;Ă?Ă&#x192;Ă&#x2019;ª¡Ă&#x2019;š Ă&#x160;à à ´ç¨žĂ&#x192;Ă?à ¡žĂ&#x192;Ă&#x2018;¾šĂ&#x192;Ă&#x2019;ÂŞĂ&#x160;Ă&#x2DC;´Ă&#x2019; Thailand Eco Design Award 2012
Ă&#x192;Ă&#x2019;§Ă&#x2021;Ă&#x2018;Ă&#x2026; Thailand Energy Award 2011
LV;' T'Z C'EO*7TCO;ZLV9:Ăž<S7E MCTD_G% ¯°Â¾Ž²
a=E6ERIS*%O*GO$_GWD;`<< Energy#66_p38_iMac5.indd 38
www.pac.co.th 4/21/2557 BE 9:19 PM
Energy Tip ภิรายุ เจียมศุภกิตต์
ºŒÒ¹àÃÒàÂ็¹ä´Œ ´ŒÇÂÊǹ»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ã¹Âؤ»˜¨¨ØºÑ¹ ËÅÒÂÀҤʋǹ䴌ãËŒ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑޡѺàÃ×่ͧ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö้¹ µÑÇàÃÒàͧ¡็ÊÒÁÒöª‹Ç»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ä´Œ «Ö่§àÃÔ่Á¨Ò¡ºŒÒ¹¢Í§àÃÒ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹¡Òû ´ä¿´Ç§·Õ่àÃÒäÁ‹ãªŒ áÅжŒÒàÃÒÁÒ·ÓãËŒºŒÒ¹àÂ็¹¢Ö้¹ä´Œâ´ÂäÁ‹µŒÍ§¾Ö่§à¤Ã×่ͧ»ÃѺÍÒ¡ÒÈ áÅŒÇËѹÁÒ·Ó ºŒÒ¹¢Í§àÃÒãËŒàÂ็¹ ´ŒÇÂÇÔ¸Õ¡ÒèѴÊǹ ¹Í¡¨Ò¡¨Ð»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹áÅŒÇÂѧ»ÃÐËÂÑ´à§Ô¹ã¹¡ÃÐ້ҢͧàÃÒÍÕ¡´ŒÇ รูหรือไหมวา ถาหนาบานหันไปทางทิศตะวันตก แสงแดดจะส อ งเข า มาภายในบ า นในช ว งบ า ย และถาหนาบานหันไปทางทิศตะวันออกหรือทิศเหนือ ปญหาเรือ่ งแสงแดดจะมีนอ ย แตถา ทําสวนหยอม บริเวณหนาบานนอกจากจะใหความรมรื่นแลว ยังชวยลดการใชพลังงานของเครื่องปรับอากาศ ไดอีกทางหนึ่ง เริม่ กันที่ สวนบานเดีย่ ว สําหรับบานทีม่ พี นื้ ทีม่ าก บริเวณหนาบานควรจัดเปนสวนหยอมเพื่อใหดู สวยงาม รมรื่นแตไมควรมีตนไมทึบมากเกินไป เพราะจะทําใหมองไมเห็นหนาบาน การเลือก พันธุไมก็สําคัญ ควรเลือกปลูกตนไมที่ใหรมเงา และสามารถบังผนังบาน ไมใหแสงแดดเขามา ภายในตัวบานได สวนบานทีม่ พี นื้ ทีน่ อ ย ใหเลือก ปลูกตนไมที่ไมใชพื้นที่มาก แตใหรมเงาไดดี เชน ตนปาลม, หมากเขียว, หมากเหลือง, หมากนวล หรือตระกูลหมากตาง ๆ
สวนทาวนเฮาส โดยทั่วไปแลวทาวนเฮาสมีพื้นที่ไมมากนักประมาณ 8 ตารางเมตร ดังนั้นควรปลูก พืชคลุมดิน เชน หนวดปลาดุก, ลิน้ มังกร, พลูกาํ มะหยีพ่ ชื ประเภทนีจ้ ะมีความเชียวชอุม ใหความชุมชืน่ บนดิน และทําใหรูสึกเย็นสบายไดโดยไมตองเปดแอร หรือพัดลมใหสิ้นเปลื้องพลังงาน สวนการปลูก ตนไมยืนตนนั้น ไดแก โมก, แกว, รําเพย, แกวเจาจอม, พุด ซึ่งเปนตนไมขนาดกลาง ที่เหมาะใน การปลูกบนพื้นที่ ที่ทําดวยวัสดุ อิฐดินเผา ศิลาแดง สวนหอพัก การจัดสวนตรงระเบียงควรใชวัสดุ ที่มีนํ้าหนักเบา เคลื่อนยายไดสะดวก เชน กะบะ กระถางพลาสติกตนไมที่ใชปลูกควรเปนตนไมที่ ดูแลไดงาย ไมตองการแสงมาก หรือปลูกไมดอก เชน ดอกแกว ดอกพุดจีบ เพื่อบังแสงแดด ถาเราตองการจัดเปนที่พักผอนหยอนใจ ใหจัดเกาอี้และตนไมชิดขางฝา ทําใหดูมีพื้นที่กวาง สําหรับ ทํากิจกรรมตาง ๆ ไดอยางสะดวก และ สวนคอนโดมิเนียม การจัดสวนคอนโดมิเนียม คลายๆ กับ ของหอพัก อาจจะเพิ่มกะบะตนไมใหใหญขึ้นทําโครงไมระแนง เพื่อใชแขวนตนไมและชวยบัง แสงแดด เพิ่มความรมเย็นใหบานของเราได จะเห็นไดวาการสรางสวนในพื้นที่ ขนาดเทาไหร แบบไหน เราสามารถสรางสวนตามความชอบ และ เหมาะสมสําหรับที่พักของเราเองได โดยไมมี อุปสรรคเรือ่ งพืน้ ทีจ่ าํ กัดเขามาเกีย่ วของ ถาผูอ า น สนใจสามารถลองไปทํากันดูไดนะครับ
39
Energy#66_p39-40_iMac5.indd 39
4/23/2557 BE 11:47 PM
Energy Tip กองบรรณาธิการ
à¤Å็´ (äÁ‹) ÅѺ ¡ÒÃ㪌 àµÒͺäÁâ¤ÃàÇ¿ ãËŒ»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ Âؤ¹Õ้¤Ãͺ¤ÃÑÇÊÁÑÂãËÁ‹µ×่¹àªŒÒ¢Ö้¹ÁÒµŒÍ§á¢‹§¢Ñ¹¡Ñº “àÇÅÒ” à¾×่Í·Õ่¨Ðä´Œ·ÓÀÒáԨᵋÅÐÇѹ¢Í§µÑÇàͧãËŒ·Ñ¹àÇÅÒ ´ŒÇÂà˵عÕ้¨Ö§µŒÍ§ ¾Ö่§¾ÒÍØ»¡Ã³ ·Õ่㪌ÊÒÁÒö·ÓÍÒËÒÃãËŒÃÇ´àÃ็Ç ·Ñ¹ã¨ áÅÐ㪌àÇÅÒãËŒ¹ŒÍ·Õ่ÊØ´ ¹Ñ่¹¤×Í “àµÒͺ” ᵋàÃÒ¨ÐÃٌ䴌Í‹ҧäÃÇ‹Ò àµÒͺÁÕ¡Õ่ ª¹Ô´ áŌǪ¹Ô´ä˹㪌áÅŒÇ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Òä´ŒÁÒ¡¡Ç‹Ò¡Ñ¹ เตาอบในปจจุบันมีอยู ดวยกัน 2 ชนิด คือ เตาอบไฟฟา และเตา อบไมโครเวฟ มีความแตกตางกันในเรื่อง การประหยัดพลังงาน โดย เตาอบไมโครเวฟ จะประหยัดพลังงานไดดีกวา เตาอบไฟฟาธรรมดา เพราะเตาอบไมโครเวฟ มีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟา เปนพลังงานความรอนไดเร็วกวาเตาอบไฟฟาธรรมดาถึง 50 % และ ยังใชเวลาในการทําอาหารใหสุก ไดอยางรวดเร็ว สําหรับวิธีการใชไมโครเวฟใหถูกวิธี เพื่อใหประหยัดพลังงานมีดังนี้ ไมควรปดฝาภาชนะบรรจุอาหารจนมิด ในระหวางที่เตากําลังทํางาน จะมีไอน้ําแผกระจายความรอนรอบ ๆ อาหารเพื่อใหอาหารสุก สวน การตมน้ําหรือของเหลว ใหใชภาชนะที่มีปากกวางเพื่อระบายความ รอนได หามใชเครื่องไมโครเวฟในขณะที่ไมมีอาหารอยูดานใน เพราะ จะทําใหเครื่องไมโครเวฟชํารุดเสียหายได หามทอดอาหารในเตาอบ
ตองหมั่นทําความสะอาดภายในเครื่องเตาอบ หลังจากการใชงานทุก ครั้ง เพราะเศษอาหารที่ติดอยูตามผนังจะลดประสิทธิภาพของเตาอบ และอาจเกิดประกายไฟได และเมื่อใชงานเสร็จควรดึงปลั๊กออกทันที เมื่อเลิกใช การดูแลรักษาและใชงานไมโครเวฟอยางถูกวิธี คือ ควรเลือกที่ตั้งเตา อบในที่ที่ระบายอากาศไดดี ควรเลือกใชภาชนะประกอบอาหารที่เปน พื้นราบ เพื่อใหอาหารสัมผัสและรับความรอนจากเตาไดดี ตั้งเวลาให เหมาะสมกับการประกอบอาหาร และปดสวิตซเตากอนเวลาที่เริ่มใช 2-3 นาที เพราะยังมีความรอนเหลือพอที่จะใชได พรอมทั้งดึงปลั๊ก ออกทันทีเมื่อเลิกใช เพียงแคเราทําตามวิธีเหลานี้ก็สามารถชวยประหยัดพลังงานไฟฟา และยังรักษาเครื่องไมโครเวฟของเราใหมีอายุการใชงานที่นานยิ่งขึ้น ลองนําไปใชกันดูนะครับ
40
Energy#66_p39-40_iMac5.indd 40
4/23/2557 BE 11:47 PM
How to rainbow
µ‹Í仹Õé “¡ÃдØÁ” ¨ÐäÁ‹ãª‹ÍØ»¡Ã³ ·Õè 㪌µÔ´Ê‹Ç¹µ‹Ò§ æ ¢Í§àÊ×éͼŒÒÍÕ¡áÅŒÇ à¾ÃÒСÃдØÁ¹Ñé¹ÊÒÁÒö¹íÒÁÒ·íÒÊÔ觻ÃдÔÉ° ä´Œ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ ÈÔŻСÃдØÁµ¡áµ‹§¼¹Ñ§ËŒÍ§ËÃ×Í¡ÃͺÃÙ»¡ÃдØÁÁÒ»ÃдѺˌͧ¹Ñ§è àÅ‹¹¡çÊÇÂä»ÍաẺ Energy saving ©ºÑº¹Õàé ŹíÒÇÔ¸·Õ Òí ÈÔŻСÃдØÁ µ¡áµ‹§¼¹Ñ§ËŒÍ§áºº§‹Ò æ ÁÒ½Ò¡ Ç‹Ò§ æ ¡çÅͧÁÒ·íҡѹ´Ù¹Ð¤Ð
à»ÅÕè¹ ¤ÇÒÁ¨Óਠãˌ໚¹ ÈÔŻРกอนอื่นมาเตรียมอุปกรณกันกอน - สีนํ้า - ไมหรือผา - กาว หรือดาย - กระดุมสีตางๆ
วิธีทํา 1. วาดรูปตนไมสวยๆ ซักตน โดยเพิ่มกิ่งกาน สาขาตางๆ ใหสวยงามและดูเปนธรรมชาติ 2. นํากระดุมหลากสีทเี่ ตรียมไว มาตกแตงตาม ที่ความตองการถาวาดภาพลงบนไมหรือผนังหองใหใช กาวติดกระดุมแลวแปะตามกิ่งกานของตนไมที่เราวาด ไดเลย 3. สําหรับใครทีว่ าดภาพตนไมลงบนผืนผา ให ใชเข็มกับดายเย็บกระดุมแทน (งานนีต้ อ งใชความปราณีต และความพยายามกันซักหนอยนะคะ)
วิธีการเย็บกระดุม (สําหรับมือใหมคะ) กระดุม
1. กาเครือ่ งหมายตรงตําแหนงทีต่ อ งการจะติด
2. ใชดาย 2 ทบ รอยเข็ม เพื่อใหกระดุมแนน หนาไมหลุดลุยงายขมวดปลายดายทํา-ปม ใชเข็มแทง ขึ้นตรงบริเวณที่ทําเครื่องหมายไวดึงดายใหแนน 3. วางกระดุมลงตรงกลางแลวสอดเข็มลอดรู กระดุม รั้งดายใหตึง แทงขึ้นลงตามรูกระดุมกลับไปมา หลายครั้งจนกระดุมติดแนน 4. สอดดายใตกระดุม ซอนปมอีกครั้งแลวตัด ดายออก
(ขอบคุณขอมูลจากhttp://www.myhappyoffice.com/) 41
Energy#66_p41-42_iMac5.indd 41
4/21/2557 BE 10:14 PM
How to ภิรายุ เจียมศุภกิตต์
¨Ò¡á¼‹¹ CD
à¡‹Ò æ ¡ÅÒÂ໚¹ ¹ÒÔ¡ÒµÔ´¼¹Ñ§ÊØ´ªÔ¤
ËÅÒ¤¹ÍÒ¨à¨Í»˜ÞËÒἋ¹«Õ´Õ àµçÁºŒÒ¹ à¹×èͧ¨Ò¡á¼‹¹«Õ´Õ ·ÕèÍÂÙ‹ºŒÒ¹àÃÒ¹Ñé¹ àÁ×èÍ㪌º ‹Í æ Ἃ¹«Õ´Õ ÁÑ¡¨Ðà¡Ô´ÃÍ¢մ¢‹Ç¹ ´Ùà¡‹Òä» áÅÐ㪌§Ò¹äÁ‹ä´Œ ¶ŒÒ·Ôé§äÇŒà©Â æ ¡ç äÁ‹ÁÕ»ÃÐ⪹ ÍÐäà àÁ×Íè àËç¹áºº¹Õáé ÅŒÇ ·Ò§ how to ¨Ö§ä´Œ¹Òí ÇÔ ¸·Õ Òí ¹ÒÌ ¡Ò µÔ´¼¹Ñ§ Ẻ§‹ÒÂ æ ¨Ò¡á¼‹¹«Õ´Õ ·Õè äÁ‹«íéÒã¤Ã
อุปกรณ 1. แผน CD 2. เม็ดพลาสติกกลมใส สองขนาด ขนาดใหญ 4 เม็ด ขนาดเล็ก 8 เม็ด 3. แทงไม 4. สีสเปรย 5. กระดาษลอกลายสวยๆ ติดลงไปแลว เมือ่ แกะกระดาษ จะมีลายออกมาจาก กระดาษ 6. กาว กรรไกร อุปกรณติดนาฬกาผนังบาน
วิธีทํา 1. นําสีสเปรย ดํา/เทา มาพนแผน CD และเม็ดพลาสติกกลม ใหทวั่ ทัง้ 2 ดาน 2. เลือกกระดาษลอกลายสวย ๆ ที่เราตองการ นํามาติดลงบนแผน CD 3. จากนัน้ นํากระดาษ ลายตัวเลข 3 6 9 12 ติดลงบนเม็ดพลาสติกเม็ดใหญ 4. นําเม็ดพลาสติกเม็ดใหญ ที่ติดตัวเลขแลว มาติดบนแทงไมทั้ง 4 ดาน 5. สําหรับลายตัวเลขที่เหลือใหนํามาติดลงบนเม็ดพลาสติกเม็ดเล็ก 6. นําเม็ดพลาสติกเม็ดเล็ก ที่ติดลายตัวเลขแลวมาติดแทรกระหวางเม็ด พลาสติกเม็ดใหญใหครบตามตัวเลขนาฬกา 7. ขัน้ ตอนสุดทายติดอุปกรณนาฬกา ลงรูตรงกลางแผน CD และนํามาแขวน ติดผนังใหดูสวยงามตามสไตลเราไดเลย
เพียงเทานี้เราก็จะไดนาฬกาติดผนังแบบสวย ๆ เทห ๆ มาประดับตกแตงบานของเราใหดูดีมากยิ่งขึ้น แถมยังเปนการนําแผนซีดีที่ไมไดใช แลวมาทําใหเกิดประโยชนตอตัวเราไดอีกดวย หวังวาเพื่อน ๆ ทุกคนจะลองนําวิธีนี้ไปใชกันดูนะครับ
42
Energy#66_p41-42_iMac5.indd 42
4/21/2557 BE 10:14 PM
Green Community กรีนภัทร์
อัครา รีซอร์สเซส ใส่ใจสิ่งแวดล้อม ตอบแทนสั ง คม สร้ า งคน สร้ า งงาน
ในการท�าเหมือนแร่แต่ละครั้ง จะเห็นได้ว่า มั ก มี ป ั ญ หาด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มเกิ ด ขึ้ น มากมาย เช่ น ปั ญ หาเรื่ อ งฝุ ่ น ละออง ปั ญ หาเรื่ อ งน�้ า และปั ญ หาเรื่ อ งเสี ย ง ทั้งหมดนี้ท�าให้ชุมชนที่อาศัยอยู่รอบ ๆ เหมื อ งได้ รั บ ความเดื อ ดร้ อ นอยู ่ ไ ม่ น ้ อ ย บ ริ ษั ท อั ค ร า รี ซ อ ร ์ ส เ ซ ส จ� า กั ด (มหาชน) เป็นอีกบริษัทหนึ่งที่ประกอบ ธุ ร กิ จ เหมื อ งแร่ ม านานกว่ า 10 ปี โดย การด� า เนิ น ในระยะแรกทางบริ ษั ท ฯ เอง ได้ถก ู ร้องเรียนในเรือ่ งของปัญหาดังกล่าว และจากที่ มี ก ารร้ อ งเรี ย นเกิ ด ขึ้ น ทาง บริ ษั ท ฯ จึ ง ได้ อ อกมาตรฐานความ ปลอดภั ย เพื่ อ ชี วิ ต และสิ่ ง แวดล้ อ มขึ้ น เพื่อเป็นการลดปัญหาต่าง ๆ แก่ชุมชนที่ อาศัยอยู่รอบเหมือง
คุณปกรณ์ สุขุม ประธานเจ้าหน้าที่บริหารบริษัทอัครา รีซอร์สเซส จ�ากัด (มหาชน) เผยว่า บริษัท อัครา รีซอร์สเซส จ�ากัด (มหาชน) ประกอบกิจการส�ารวจและท�าเหมืองแร่ทองและเงิน รวมทั้งผลิตและจ�าหน่ายโลหะทองและเงิน โดยบริษัทเป็นเจ้าของเหมืองแร่ทองค�า ที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย (โดยพิจารณาจากปริมาณสินแร่ หรือ ore reserve) คือ เหมืองแร่ชาตรี คอมเพล็กซ์ ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีจ่ งั หวัดพิจติ รและจังหวัดเพชรบูรณ์ ห่างจากกรุงเทพมหานคร ไปทางเหนือประมาณ 280 กิโลเมตร โครงการเหมืองแร่ชาตรีคอมเพล็กซ์ ประกอบด้วยโครงการ เหมืองแร่ชาตรีใต้ ซึ่งเป็นโครงการแรก และโครงการเหมืองแร่ชาตรีเหนือ อัตราการท�าเหมืองแร่ (mining rate) ของบริษทั ทีผ่ า่ นมาอยูใ่ น ระดับที่สูงกว่าก�าลังการผลิต ของโรงประกอบโลหกรรม ท�าให้มีสินแร่ส�ารองที่พร้อม ป้อนเข้าสู่กระบวนการแต่งแร่ ต่อไป ในอนาคตโรงประกอบ โลหกรรมโรงแรกของบริ ษั ท ตั้ ง ขึ้ น พร้ อ มกั บ การพั ฒ นา โครงการชาตรี ใ ต้ โดยได้ พัฒนาเพิ่มก�าลังการผลิตมา อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จนปั จ จุ บั น โรงประกอบโลหกรรมมีก�าลัง
คุณปกรณ์ สุขุม 43
Energy#66_p43-44_iMac5.indd 43
4/21/2557 BE 10:15 PM
Green Community กรีนภัทร์
คุณธงชัย ธีระชาติด�ารง
การผลิตอยู่ที่ 6.2 ล้านตันต่อปี พร้อมทั้งยัง ได้ก่อสร้างสถานีไฟฟ้าย่อยเพื่อรับพลังงาน ไฟฟ้าจากสายน�าส่งไฟฟ้าของประเทศไทยที่ อยู่ห่างจากพื้นที่โครงการเหมืองแร่ประมาณ 1.5 กิโลเมตร จากการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ที่ผ่านมา ทางบริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความส� าคัญใน การรับผิดชอบต่อสังคม ภายใต้กรอบมาตรฐาน สากล เพื่อสร้างผลประโยชน์และการพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น ให้ แ ก่ ผู ้ มี ส ่ ว นได้ ส ่ ว นเสี ย ของ บริษัทฯ ทุกกลุ่ม รวมถึงชุมชนรอบข้าง โดย มุ่งเน้นการดูแลคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน การสร้ า งอาชี พ การพัฒ นาสาธารณูปโภค การศึกษา การส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี ท้องถิ่น โดยการสนับสนุนงบประมาณจาก บริ ษั ท อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยได้ จั ด ให้ มี ฝ ่ า ย กิจกรรมองค์กรเพื่อสังคม (CSR) ประกอบ ไปด้วยคณะท�างานที่อุทิศตัวท�างาน เพื่อให้ ประสานงานกันอย่างใกล้ชิด และขับเคลื่อน โครงการทีส่ ร้างความสัมพันธ์ทมี่ นั่ คงกับชุมชน หลายโครงการได้อย่างสมบูรณ์ รวมถึงท�าให้ มัน่ ใจได้วา่ บริษทั มีการสือ่ สารกับชุมชนท้องถิน่ รับรู้และรับฟังในประเด็นปัญหาต่าง ๆ และ น�ามาจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อให้ทุกฝ่าย พึงพอใจ ทั้งนี้ทางบริษัทฯ มีความภาคภูมิใจ ในการช่วยเพิ่มคุณค่าให้แก่ชุมชน และด�าเนิน ธุรกิจของบริษัทอย่างมีความรับผิดชอบ เพื่อ สร้ า งความยั่ ง ยื น ให้ กั บ ชุ ม ชนและสั ง คมใน ระยะยาว
ด้านการดูแลความปลอดภัย ใส่ใจรักษาสิ่งแวดล้อม ทางบริษัทฯ มีนโยบายเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน การจัดการทางด้านความปลอดภัย โดยด้านความ ปลอดภัยนั้นบริษัทเน้นค่านิยมความปลอดภัยในการ ท�างาน เพื่อลดความเสี่ยงภายในและรอบ ๆ พื้นที่ โครงการ และด้านสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ มุ่งใช้วิธีปฏิบัติ ที่ดีที่สุดในการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการจัดการน�า้ เสียและการจัดการกากแร่ และการฟื้นฟูสถานที่ ซึ่งเป็นไปตามระบบการจัดการ สิง่ แวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 รวมถึงมาตรฐาน สากลทางด้านการจัดการด้านคุณภาพ ISO 9001 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มาตรฐาน OHSAS 18001 มาตรฐานการรับรองห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025 ซึ่งรับรองการทดสอบคุณสมบัติสินแร่ และโลหะผสม คุณธงชัย ธีระชาติดา� รง อดีตผูช้ ว่ ยผูใ้ หญ่บา้ นหมู่ 9 ต.เขาเจ็ดลูก อ.ทับค้อ จ.พิจติ ร ตัวแทน ชุมชนทีอ่ าศัยอยูร่ อบเหมือง เผยถึงผลกระทบทีไ่ ด้รบั จากการท�าเหมือง พร้อมเล่าถึงสิง่ ทีท่ าง บริษทั ฯ ได้ชว่ ยเหลือชุมชนจากผลกระทบต่าง ๆ ว่า ตัง้ แต่มกี ารท�าเหมืองชุมชนได้รบั ผลกระทบ จากฝุน่ ละออง น�า้ และเสียง เพราะเวลาทางเหมืองท�าการระเบิด จะมีเสียงดัง และเกิดฝุน่ ละออง ฟุง้ กระจายเต็มไปหมด น�า้ เองก็ได้รบั ผลกระทบเช่นกัน เพราะชุมชนส่วนใหญ่ใช้นา�้ บาดาล เมือ่ มี การขุด เจาะ หรือระเบิด ย่อมท�าให้นา�้ ทีไ่ ด้ไม่สามารถอุปโภค บริโภคได้ เมือ่ เกิดผลกระทบ ดังกล่าวทางชุมชนก็ได้รวมตัวกันไปแจ้งกับทางบริษทั ฯ ว่าทางชุมชนได้ประสบปัญหาอะไรบ้าง และพอเราไปแจ้งกับทางบริษัทฯ แล้ว ทางบริษัทฯ ก็รีบเข้ามาช่วยเหลือชุมชนเป็นอย่าง ดี เช่น ปัญหาเรือ่ งฝุน่ ละออง ทางบริษทั ฯ จะมีรถน�า้ คอยลดน�า้ ไว้ตลอดเพือ่ ลดปริมาณฝุน่ ละออง พร้อมทัง้ ปลูกต้นไม้ไว้คอ่ ยป้องกันฝุน่ ละอองอีกด้วย ในเรือ่ งของเสียง ทีเ่ กิดจากการ ระเบิด ทางบริษทั ฯ จะแจ้งเวลาระเบิดกับทางชุมชน พร้อมท�าแนวกันระหว่างเหมืองกับชุมชน ซึ่งบางทีเราแทบจะไม่ได้ยินเสียงระเบิดเลยด้วยซ�้า ส่วนเรื่องของน�้า ทางบริษัทมาสร้างถัง กักเก็บน�า้ ให้ เพือ่ ทางชุมชนสามารถรองน�า้ ไว้ใช้ได้ ทัง้ หมดนีถ้ อื ว่าชุมชนพอใจมาก และอีก ส่วนหนึง่ ในเรือ่ งของการสร้างงานในกับชุมชนตัง้ แต่มกี ารท�าเหมืองท�าให้คนในชุมชนมีงานท�า มีฐานะทีด่ ขี นึ้ ตรงนีท้ างชุมชนต้องขอขอบคุณบริษทั ฯ ไว้ ณ ทีน่ ดี้ ว้ ย
44
Energy#66_p43-44_iMac5.indd 44
4/21/2557 BE 10:15 PM
Energy#66_p45_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/24/2557 BE
1:15 AM
Exclusive Rainbow อภัสรา วัลลิภผล
อิตัลไทย วิศวกรรมฉลองครบรอบ 47 ปี
รุกธุรกิจบริหารจัดการน�้า และระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูง บริษทั อิตลั ไทยวิศวกรรม ภายใต้ อิตัลไทย กรุ๊ป ฉลองครบรอบ 47 ปี ประกาศเพิ่ ม ทุ น 530 ล้ า นบาท เพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถ ของบริษทั ฯ รองรับตลาด AEC พร้อม แตกไลน์ ธุร กิ จ ด้ า นบริ ห ารจั ด การน�้ า (น�้ า ดี และน�้ า เสีย ) และระบบสายส่ ง ไฟฟ้าแรงสูง พร้อมประเดิมรับงาน ระบบบ�าบัดน�้าเสียของโรงงาน IRPC ที่ จ.ระยอง มูลค่ากว่า 580 ล้านบาทและ ประมูลงานระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูงกับ EGAT คาดได้รบั ไม่ตา�่ กว่า 500 ล้านบาท เตรียมผนึกพันธมิตรเพื่อเปิดตลาด ในพม่ า โดยมุ ่ ง เน้ น ธุ ร กิ จ พลั ง งาน ทางเลื อ กและโรงไฟฟ้ า พลั ง งาน ความร้อน ที่บริษัทมีความช�านาญใน งานก่อสร้างอยู่แล้ว ตั้งเป้าปี 2557 กวาดรายได้อีกไม่ต�่ากว่า 4 พันล้าน
46
Energy#66_p46-47,50-51_iMac5.indd 46
4/21/2557 BE 10:17 PM
Exclusive Rainbow
คุ ณ สกล เหล่ า สุ ว รรณ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จ�ากัด หรือ (ITALTHAI Engineering : ITE) หนึ่งในบริษัทผู้น�าตลาดทางด้าน วิศวกรรม ภายใต้ “อิตัลไทย กรุ๊ป” เปิดเผยว่า ในปี 2557 ถือเป็นการ ครบรอบ 47 ปีของบริษัทฯ โดยที่ ผ่านมาถือได้ว่า ITE เป็นผู้น�าตลาด ในการให้บริการงานก่อสร้างแบบครบ วงจร ส�าหรับงานระบบสาธารณูปโภค ขนาดใหญ่ โรงไฟฟ้ า สถานี ไ ฟฟ้ า รวมไปถึ ง งานวิ ศ วกรรมระบบไฟฟ้ า และเครื่ อ งกล โดยในปั จ จุ บั น เรา แบ่งหน่วยงานออกเป็น 4 สายงาน ตามอุ ต สาหกรรมและความช� า นาญ เฉพาะด้านคือ ฝ่ายผู้เชี่ยวชาญระบบ ไฟฟ้า รับงานก่อสร้างสถานีไฟฟ้าและ สายส่งไฟฟ้าแรงสูง ฝ่ายธุรกิจพลังงาน รั บ งานก่ อ สร้ า งในส่ ว นโรงไฟฟ้ า พลั ง งานความร้ อ นและพลั ง งาน ทางเลื อ กเช่ น โรงไฟฟ้ า พลั ง งาน ความร้อน โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ฝ่ายงาน โครงการรับงานโครงการเฉพาะด้าน เช่น การสร้างโรงงานอุตสาหกรรมหนัก (อุตสาหกรรมปิโตรเคมี น�า้ มันและแก๊ส ธรรมชาติ เหมืองแร่) โรงงานและโรงเก็บ สินค้า การติดตั้งเครื่องกลและระบบ ไฟฟ้าเฉพาะด้าน และฝ่ายงานระบบ อาคาร รั บ งานก่ อ สร้ า งในส่ ว นของ ระบบสาธารณูปโภคทัง้ หมดของอาคาร ตั้ ง แต่ ไฟฟ้ า ประปา ลิ ฟ ท์ ระบบ ดับเพลิง ระบบอินเทอร์เน็ต
และเพื่อเป็นการเสริมศักยภาพ และขีดความสามารถของ ITE มากยิ่งขึ้น บริษัทฯ จึงได้ รับอนุมัติการเพิ่มทุนจากผู้ถือหุ้นเมื่อปลายปี 2556 โดยเพิ่มจาก 306 ล้านบาทเป็น 530 ล้านบาท โดยเงินจากการเพิ่มทุนส่วนหนึ่งจะถูกน�ามาเสริมสภาพคล่องในการรับ งานประมูลโครงการทีม่ มี ลู ค่าสูง และอีกส่วนหนึง่ ถูกน�ามาขยายธุรกิจทัง้ ในประเทศ และ ต่างประเทศ ทั้งเพื่อรองรับประชาคมธุรกิจอาเซียน การขยายตลาดการก่อสร้างระบบ บ�าบัดน�้าเสีย และระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูง รวมถึงการลงทุนในธุรกิจพลังงานทางเลือก ซึ่งก�าลังอยู่ในการพิจารณาของบริษัทฯ ในขณะนี้ ปัจจุบันกลุ่มลูกค้าของ ITE มีทั้งภาครัฐและเอกชน ไม่ว่าจะเป็นการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าฝ่ายผลิต EGCO IRPC SCG-CHEMICAL, ปตท.-โกลบอล์ล ปตท.สผ. AmariGroup อาคาร33 ITD โดยในส่วนของภาคเอกชนจะเป็นบริษทั ขนาดใหญ่ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และผู้ลงทุนในธุรกิจพลังงาน ทางเลือก ซึ่งในปีที่ผ่านมา รายได้หลักของบริษัทฯ มาจากธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง โดยเกือบทัง้ หมด โดยแบ่งเป็นรายได้จากงานภาครัฐ 20% รายได้จากงานภาคเอกชน 80% และแบ่งตามฝ่ายแบ่งเป็น ฝ่ายผู้เชี่ยวชาญระบบไฟฟ้า 30% ฝ่ายธุรกิจพลังงาน 30% ฝ่ายงานโครงการ 20% และฝ่ายงานระบบอาคาร 20% นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้มกี ารขยายธุรกิจทัง้ ส่วนของการเพิม่ สายงานเพือ่ รับงานในตลาดใหม่ และอุตสาหกรรมใหม่ๆ ที่มีมูลค่าตลาดสูง และต้องเป็นตลาดที่ต้องอาศัยความรู้ความ สามารถเฉพาะด้าน ซึง่ ปัจจุบนั ได้รบั งานระบบบ�าบัดน�า้ เสียของโรงงาน IRPC ที่ จ.ระยอง มูลค่ากว่า 580 ล้านบาท และอีกส่วนในธุรกิจก่อสร้างสายส่งไฟฟ้าแรงสูง ซึ่งประเมินว่า มีมูลค่าปีละไม่ต�่ากว่า 20,000 ล้านบาท ซึ่งบริษัท ฯ ได้เข้าร่วมประมูลงานระบบสายส่ง ไฟฟ้าแรงสูงของ EGAT แล้วคาดว่าจะได้รับงานไม่ต�่ากว่า 500 ล้านบาทและเพื่อรองรับ งานก่อสร้างธุรกิจใหม่ ๆ บริษัทยังอยู่ระหว่างการศึกษาและหาพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อ เปิดตลาดและรับงานในประเทศพม่า โดยมุ่งเน้นไปที่ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน และทางเลือกซึ่งเป็นงานที่บริษัทมีความช�านาญในงานก่อสร้างอยู่แล้ว ซึ่งในอดีตบริษัท เคยรับงานก่อสร้างในประเทศลาว ฉะนั้นการรับงานก่อสร้างในต่างประเทศจึงไม่ใช่ เรื่องใหม่ เพียงแต่ต้องศึกษากฎหมายและระบบภาษีให้ละเอียดถี่ถ้วน และต้องมี ความพร้อมด้านพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อให้มั่นใจว่าเราสามารถท�างานได้ตามมาตรฐาน และความพึงพอใจของลูกค้าต่อไป
47
Energy#66_p46-47,50-51_iMac5.indd 47
4/21/2557 BE 10:17 PM
Exclusive Rainbow
เกียรติธนาขนส่ง หนึ่งใน บริษัทขนส่งสินค้าด้านปิโตรเคมี เตรียมเดนิ หน้าแตกไลน์ดา้ นธุรกิจ โรงไฟฟ้าเต็มที่ ภายใต้บริษัทลูก เกียรติธนากรีนเพาเวอร์ เพื่อ สร้างรายได้เพมิ่ เตมิ และลดความ เสี่ยงการจากการท�าธุรกิจอย่าง ใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว ด้วยการเปิดโรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาด 9.9 เมกกะวัตต์ คาดแล้ว เสร็จปลายปี 58
48
Energy#66_p48-49_iMac5.indd 48
4/23/2557 BE 11:50 PM
Exclusive Rainbow
เกียรติธนาขนส่ง ขยายไลน์
เพิ่มฐานโรงไฟฟ้าชีวมวล เพิ่มรายได้ ลดความเสี่ยง นายเกียรติชัย มนต์เสรีนุสรณ์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท เกียรติธนาขนส่ง จ�ากัด (มหาชน) หรือ KIAT เล่าถึงความคืบหน้า ในการในการด�าเนินธุรกิจใหม่กบั การลงทุน ในธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลว่า โรงไฟฟ้า ชีวมวลทีม่ แี ผนก่อสร้างใหม่ภายใต้บริษทั ลูก บริษทั เกียรติธนากรีนเพาเวอร์ จ�ากัด จะน�า ผลผลิตเหลือใช้จากการเกษตรอย่างต้นปาล์ม ต้นยางพารา และผลิตภัณฑ์การเกษตรทีเ่ หลือใช้ ในพืน้ ทีภ่ าคใต้เป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟ้า ซึง่ เป็นแผนการลงทุนก่อสร้างระยะยาวด้วย งบประมาณหมุนเวียนเงินและเงินกูส้ ถาบัน การเงิน ประมาณ 750 ล้านบาท โดยโครงการ ดังกล่าวมีความคืบอย่างต่อเนือ่ ง บนเนือ้ ทีข่ นาด 40 ไร่ ณ อ�าเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี และหากรวมค่าจัดหาเครื่องจักรเพื่อใช้ใน การผลิตไฟฟ้าและ จะมีมลู ค่ารวมประมาณ 600 กว่าล้านบาท โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลแห่งนี้ คาดว่าจะ ก่อสร้างแล้วเสร็จประมาณเดือนธันวาคม 2558 และเริ่ ม จ� า หน่ า ยไฟให้ ก ารไฟฟ้ า ส่วนภูมิภาค (กฟภ.) ได้ในเดือนมกราคม 2559 ซึง่ ได้สว่ นเพิม่ ราคารับซือ้ ไฟฟ้าจ�านวน 0.30 บาทต่ อหน่วย คาดว่าจะมีรายได้ ประมาณ 250 ล้านบาทต่อปี และผลตอบแทน จากการลงทุน (IRR) อยู่ที่กว่าร้อยละ 20 ปั จ จุ บั น โครงการอยู ่ ร ะหว่ า งการจั ด ท� า ประชาคมพิจารณ์ คาดว่าจะได้รบั ความร่วม มือที่ดีจากชุมชนเนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวมี โรงไฟฟ้าชีวมวลหลายแห่งที่ตั้งอยู่
ก่อนเกิดเป็นโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลแห่งนี้ บริษัทได้มีการศึกษาอย่างรอบคอบ และเชื่อว่าจะเป็นการกระจายความเสี่ยงในเรื่องของรายได้บริษัทฯ ที่พึ่งพา เพียงธุรกิจขนส่งปิโตรเคมีที่เป็นหลักท�าให้มีความเสี่ยงสูงและธุรกิจโรงไฟฟ้า มีความเสี่ยงต�่าและมีรายได้ที่แน่นอนต่อเนื่อง โดยฝ่ายบริหารจ�าเป็นต้องมี การปรับกลยุทธ์การบริหารมีธรุ กิจทีเ่ ชีย่ วชาญด้านการขนส่งปิโตรเคมี แต่ทกุ ความ เชีย่ วชาญย่อมประกอบไปด้วยความเสีย่ งโดยรวมจากภาพรวมเศรษฐกิจ การเมือง จึงต้องกระจายความเสีย่ งและศึกษาเป็นอย่างดีในธุรกิจโรงไฟฟ้า ว่ามีความเสีย่ งต�า่ จึงก่อตั้งบริษัทฯลูกเพื่อเป็นธุรกิจที่จะสร้างรายได้ใหม่ ทัง้ นี้ เกียรติธนากรีนเพาเวอร์ เป็นบริษทั ลูกทีม่ แี ผนระดมทุนผ่านตลาดหลักทรัพย์ฯ หากโรงไฟฟ้าแห่งแรกเริ่มรับรู้รายได้ช่วงปี 2557 เชื่อว่าจะมีความชัดเจนใน การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ และไม่ปดิ กันพันธมิตรทีส่ นใจร่วมถือหุน้ ในธุรกิจโรงไฟฟ้า เพราะมีบริษทั ฯ ทีป่ ระกอบธุรกิจพลังงานทดแทนเข้ามาปรึกษา บ้างแล้ว แต่ต้องเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่เท่านั้นเพื่อคงอ�านาจการบริหาร เพราะบริษัท มีแผนระยะยาวที่จะขยายฐานโรงไฟฟ้าอีก 2-3 แห่ง ซึ่งการจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ฯ เป็นช่องทางในการระดมทุนเพื่อน�าเงินมาคืนหนี้สถาบันการเงิน จากการลงทุนโรงไฟฟ้าแห่งแรก รวมทั้งประเมินโอกาสในการลงทุนเพิ่มในธุรกิจ โรงไฟฟ้า ซึ่งจะเห็นความชัดเจนในช่วงที่บริษัทฯ เริ่มรับรู้รายได้จากโครงการ โรงไฟฟ้า โดยการลงทุนเพิ่มในธุรกิจโรงไฟฟ้าต่อเนื่องเพราะเป็นธุรกิจที่มีรายได้ แน่นอน และมีการปรับเพิม่ ขึน้ ได้ตามค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) ถือเป็นธุรกิจทีม่ โี อกาส เติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
49
Energy#66_p48-49_iMac5.indd 49
4/23/2557 BE 11:50 PM
Exclusive Rainbow ณ อรัญ
คงเปน ทีท่ ราบกันดีวา คณะรัฐมนตรี มีมติใหกระทรวงพลังงานออกมาตรการ ปรับขึ้นราคาแอลพีจีภาคครัวเรือน จาก 18.13 บาทตอกิโลกรัมเริ่มตั้งแตวันที่ 1 เดอื นกันยายน 2556 ซึง่ ไดทยอยปรับ ขึ้นเดือนละ 50 สตางคตอกิโลกรัมเพื่อ สะทอนตนทุนราคาที่แทจริง 24.82 บาท ต อ กิ โ ลกรั ม จากการทยอยปรั บ ขึ้ น ราคาก า ซแอลพี จี ภ าคครั ว เรื อ นนั้ น กระทรวงพลั ง งานจึ ง ได ดํ า เนิ น ภายใต โครงการบรรเทาผลกระทบจากการ ปรับราคาขายปลีกกาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ภาคครัวเรอื น หรือเปน การชวย เหลือประชาชนใหสามารถซื้อกาซในราคา เดมิ โดยผูไ ดรบั สิทธิถ์ กู แบงเปน ครัวเรอื น รายได น อ ย ประกอบด ว ยครั ว เรื อ น ที่ ใ ช ไ ฟฟ า ไม เ กิ น 90 หน ว ยต อ เดื อ น และครัวเรือนที่ไมมีไฟฟาใช รวมประมาณ 7.6 ลานครัวเรอื น สามารถซือ้ ในราคาเดมิ ตามการใชจริงแตไมเกิน 18 กิโลกรัมตอ 3 เดอื น และรานคา หาบเร แผงลอยอาหาร ที่ ใ ช ข นาดถั ง แก ส ไม เ กิ น 15 กิ โ ลกรั ม พื้ น ที่ ก ารค า ไม เ กิ น 50 ตารางเมตร จํานวนประมาณ 1.7 แสนลาน สามารถ ซื้อในราคาเดิม ตามการใชจริงแตไมเกิน 150 กิโลกรัมตอเดือน 50
Energy#66_p46-47,50-51_iMac5.indd 50
4/21/2557 BE 10:17 PM
Exclusive Rainbow
เกาะติดขึ้นราคา
แอลพีจี...
มาตรการชวยเหลือประชาชน ปจจุบันโครงการดําเนินการผานไปแลว 8 เดือน ผลการดําเนินโครงการเปนอยางไรนัน้ คุ ณ เสมอใจ ศุ ข สุ เ มฆ ผู อํ า นวยการ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนพลั ง งาน (สนพ.) เป ด เผยว า ราคาก า ซแอลพี จี ภาคครัวเรือนถูกปรับขึ้นไปที่ 22.13 บาท ตอกิโลกรัม และมีรา นคากาซฯทีท่ าํ สัญญา กับผูคามาตรา7 จํานวน 7,300 ราย แตมี ผูมีสิทธิขอรับความชวยเหลือ 7,946,180 สิทธิแบงเปนครัวเรือนยากจน 7,682,659 ลานครัวเรือน และรานคา หาบเร แผงลอย 263,521 ราน มีผใู ชสทิ ธิเพียง 906,262ครัง้ แบงเปนครัวเรือน 7.5 หมืน่ และรานคา 8.3 แสน ซึ่ ง การใช สิ ท ธิ ยั ง น อ ยมากโดยเฉพาะ ครัวเรือน อาจจะเปนเพราะวาครัวเรือน นิยมซื้อแกงถุงมากกวาซื้อกาซ ฯ มาปรุง อาหารจึ ง มี แ นวคิ ด จะขยายสิ ท ธิ ร า นค า เขาโครงการมากขึ้น เพื่อดูแลราคาอาหาร ที่จําหนายใหไมปรับราคาขึ้น และคิดเปน 15.68 ลานกิโลกรัมเปนเงินอุดหนุน 39.47 ลานบาท สวนราคาแอลพีจีภาคขนสงใน ปจจุบันราคาอยูที่ 21.38 บาทตอกิโลกรัม ไมสามารถปรับขึน้ ราคาไปพรอมกับแอลพีจี ภาคคั ว เรื อ นได เ พราะรั ฐ บาลรั ก ษาการ ไมมี อํ านาจพิ จารณา หากจะปรับราคา ตามนโยบายที่ ค ณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ (กพช.) เคยระบุไวเมือ่ ปที่ ผานมาจะตองรอใหมรี ฐั บาลชุดใหมเขามา พิจารณากอน
ทั้ ง นี้ ใ นป จ จุ บั น ผู ค า ก า ซรายย อ ยที่ ทํ า สัญญากับผูคามาตรา 7 นั้นไดแจงเรื่องขอ ไมเขารวมโครงการบรรเทาผลกระทบจาก การปรับราคากาซแอลพีจีภาคครัวเรือน เนื่องจากผูคากาซมาตร 7 เก็บภาษีมูลคา เพิ่ม 7% ตามที่กรมสรรพากรเรียกเก็บ ซึ่ ง ผู ค า ก า ซรายย อ ยหรื อ ร า นจํ า หน า ย กาซทีเ่ ขารวมโครงการบางจํานวนไดแจงชือ่ ไมเขารวมโครงการเนือ่ งตองเสียภาษีในราคา ทีเ่ พิม่ ขึน้ หากคํานวณเดือนละ 50 สตางค ตอกิโลกรัม ตั้งแตเดือนกันยายน 2556 เปนภาษีที่ผูคาถูกเก็บอยูที่ 26 สตางคตอ กิโลกรัมที่จําหนายออกไปในแตละเดือน ขณะที่ ร า นค า กลั บ ต อ งจํ า หน า ยก า ซใน ราคาเดิม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงไดหามาตรการ ชวยเหลือรานคากาซ ฯ โดยอาจจะใหผคู า มาตรา 7 รับภาระภาษีไปกอนและนําเงิน กองทุนนํา้ มันเชือ้ เพลิงจายชดเชยให แตเมือ่ ศึกษาขอกฎหมายการใชเงินกองทุนนํา้ มัน ฯ พบวาไมสามารถดําเนินการไดประกอบ กับไมมีรัฐบาลชุดใหมเขาบริหารทําใหยัง ไมมีขอสรุป
จากปญหาดังกลาว สนพ. กําลังติดตาม ป ญ หาที่ มี ร า นค า จํ า หน า ยก า ซหุ ง ต ม แอลพีจีบางสวนแจงความจํานงจะออก จากโครงการชวยเหลือประชาชนผูไดรับ ผลกระทบจากการปรับขึ้นราคาแอลพีจี ภาคครัวเรือนของกระทรวงพลังงาน ซึ่ง จะศึกษาขอมูลดังกลาวรวมกับกรมธุรกิจ พลังงานเพือ่ แกปญ หา โดยจะติดตามความ คืบหนาอยางตอเนื่อง อยางไรก็ตามการใชสิทธิ์มีแนวโนมเพิ่มขึ้น เพราะราคาก า ซเพิ่ ม ขึ้ น ทุ ก เดื อ นอี ก ทั้ ง ประชาชนเริ่มชินกับการใชสิทธิ์ผานระบบ เอสเอ็มเอสรวมถึงกระทรวงพลังงานไดให ลงทะเบียนเพิ่มเติมสําหรับรานคา หาบเร และแผงลอยอยางไมมีกําหนด สวนผูที่ยัง ไมใชสิทธิ์บางรายยังคงไมเขาใจกับระบบ เอสเอ็มเอสยังคิดวาเปนขั้นตอนที่ยุงยาก และซับซอน สนพ. ก็จะประชาสัมพันธ อยางตอเนื่องเพื่อสรางความเขาใจ
ทัง้ นีใ้ นปจจุบนั สนพ. ไดรบั แจงวามีรา นคา จํานวนหนึ่งตองการออกจากการโครงการ เพราะไมสามารถรับภาระดังกลาวได ดังนัน้ สนพ.จะเรงศึกษาแนวทางชวยเหลือดวน โดยอาจใหบริษัท ปตท.จําหนายแอลพีจี ครัวเรือนในราคาถูกแกผคู า กาซ ฯ รายยอย โดยจะพิจารณาความเหมาะสมอีกครั้ง
51
Energy#66_p46-47,50-51_iMac5.indd 51
4/21/2557 BE 10:17 PM
Energy#63_p45_Pro3.ai
1
1/23/14
4:49 AM
Special Report ณ อรัญ
¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹ÁÕ¹âºÒÂÊ‹§àÊÃÔÁáÅоѲ¹Ò ¡ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹·´á·¹ã¹ÃÐ´Ñ º ·Œ Í §¶Ô่ ¹ â´ÂÁÕ à»‡ÒËÁÒÂÊํÒ¤ÑÞ¤×Í¡ÒþѲ¹Ò¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧÁÕ ´ØÅÂÀÒ¾¤Çº¤Ù‹¡Ñº¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ áÅÐ ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ¢Í§ÀÒ¤»ÃЪҪ¹ ÊÙ‹¡ÒþѲ¹Ò ÈÑ¡ÂÀÒ¾´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹àÊÃÔÁÊÌҧ¾Åѧ§Ò¹ ãËŒ¡Ñº»ÃÐà·ÈÍ‹ҧÂÑ่§Â×¹
ตลอดระยะเวลาหลายป ที่ ผ า นมา กระทรวงพลังงานไดสนับสนุนและพัฒนา ใหมกี ารใชพลังงานทดแทนในระดับชุมชน หลากหลายรู ป แบบด ว ยกั น ทั้ ง การใช พลังงานนํา้ พลังงานชีวภาพ ชีวมวล ทีไ่ ด จากวัตถุดิบของทองถิ่นนั้น ๆ ควบคูกับ การพั ฒ นาพลั ง งานแสงอาทิ ต ย และ พลังงานลม ทัง้ นีผ้ มมีโอกาสไดเดินทางไป เ ยี่ ย ม ช ม โ ค ร ง ก า ร วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น หมู บ า นแม โจ ต.บ า นเป า อ.แม แ ตง จ.เชียงใหม ซึ่งเปนชุมชนผลิตไฟฟาพลังงานนํ้าและ เปนวิสาหกิจชุมชนแหงแรกที่จดทะเบียน เปนนิติบุคคล มีสมาชิก 108 ครัวเรือน โดยเป น โครงการที่ ต อ ยอดมาจาก โครงการพระราชดําริของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวฯ ในการสรางอางเก็บนํ้า หวยแมเลิม ซึ่งอยูในเขตอุทยานแหงชาติ ศรีลานนาและพื้นที่ปานชุมชน สําหรับใช ในการผั น นํ้ า เพื่ อ การเกษตรภายใน หมูบาน กอตั้งขึ้นในป 2531
โครงการโรงไฟฟาพลังนํา้ บานแมโจ... ตัวอยางชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
หลังจากนั้นกลุมหมูบานแมโจจึงไดพัฒนาโครงการ โรงไฟฟาพลังนํ้าขึ้น เพื่อเปนการเสริมสรางความ มัน่ คงของกระแสไฟฟาสําหรับชุมชน โดยเริม่ ดําเนิน การสร า งมาตั้งแตป 2555 ซึ่ง ไดรับงบประมาณ ในการสนั บ สนุ น จาก บริ ษั ท ไทยออยล จํ า กั ด (มหาชน) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน (พพ.) และมูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม ภายใตงบประมาณในการกอสราง 4,235,000 บาท และเริม่ เดินเครือ่ งตัง้ แตวนั ที่ 12 ก.พ. 2557 ทีผ่ า นมา สําหรับการผลิตไฟฟาพลังงานนํ้าบานแมโจนั้นขึ้นอยูกับปริมาณของนํ้า และการเปดนํ้าของอางเก็บนํ้า หวยแมเลิมโดยชาวบานจะเปดนํา้ เพือ่ ผลิตไฟฟาตัง้ แต 05.00 - 17.00 น. ในอัตราการไหล 203 ลิตรตอวินาที จะไดกําลังการผลิตไฟฟาที่ 27 กิโลวัตต แตขนาดของเครื่องสามารถผลิตไฟฟาไดถึง 37 กิโลวัตต และตอ สายสงขายไฟฟาใหกบั การไฟฟาสวนภูมภิ าคในราคาแอดเดอร 5 บาทตอหนวย โดยสามารถทดแทนพลังงาน ไฟฟาในชวงที่กําลังการผลิตของการไฟฟาสวนภูมิภาคไมเพียงพอ แกปญหาไฟตกไฟดับในชุมชนไดเปน อยางดี สวนรายไดจากการจําหนายกลุม วิสาหกิจชุมชนบานแมโจบอกวาจะนําเงินสวนหนึง่ แบงจาย คืนให กับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนฯ คาดวาประมาณ 5 ปจะสามารถคืนใหกบั กรมพัฒนาพลังงานทดแทนไดหมด แตหากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนไมรับคืนก็จะเปนประโยชนตอการนําไปพัฒนาชุมชนอยางมาก เพื่อให ชุ ม ชนสามารถนํ า รายได ที่ ไ ด จ ากการขายไฟฟ า เข า ระบบของการไฟฟ า ส ว นภู มิ ภ าคมาใช เ พื่ อ ดู แ ล รักษาธรรมชาติ ปลุกจิตสํานึกรักปาตนนํา้ ลดการตัดไมทาํ ลายปา และเพิม่ เนือ้ ทีป่ ลูกปา สรางแหลงศึกษาเรียนรู และทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และสงเสริมการทําเกษตรปลอดสารเคมี เพื่อพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต ของชุมชนอยางยั่งยืน ทัง้ นีใ้ นปจจุบนั ชุมชนบานแมโจยงั ไดมกี ารพัฒนาตอยอดเกษตรชุมชนดานอืน่ เชน การปลูกลําไย การแปรรูปลําไย การปลูกผักปลอดสารพิษ การทําชีวมวลจากกิง่ ลําไย ผลิตนํา้ หมักชีวภาพจากเศษพืชทางการเกษตร รวมถึง มีโฮมสเตยบานดินไวคอยบริการ และจัดสัมมนาการพึ่งพาตนเอง เศรษฐกิจพอเพียง สูการพัฒนาตอยอด เปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ 53
Energy#66_p53-55_iMac5.indd 53
4/21/2557 BE 10:28 PM
Special Report ณ อรัญ
กระทรวงพลังงานเตรียมแผนรับมือ หยุดซ่อมแหล่งก๊าซธรรมชาติแหล่ง เจดีเอ A18 การผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย นอกจากต้องเตรียมแผนเสริม ความมั่ น คงด้ า นการผลิ ต ไฟฟ้าแล้วก็ต้องเตรียมจัดหา แหล่งเชื้อเพลิงมาผลิตไฟฟ้า ด้วย และในแต่ละปีกต็ อ้ งเตรียม ความพร้อมในการรับมือกับ การหยุ ด ซ่ อ มของแหล่ ง ก๊าซธรรมชาติ เนือ่ งจากการผลิต ไฟฟ้าในประเทศไทยส่วนใหญ่ ต้องพึ่งพาก๊าซธรรมชาติเป็น เชือ้ เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าทัง้ เชือ้ เพลิงในอ่าวไทยอย่างแหล่งบงกช และเชือ้ เพลิงที่ ได้จากแหล่งของประเทศพม่า และแหล่งพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซียหรือแหล่งเจดีเอ A18 ซึ่งในบางปีจะมีการหยุดซ่อมบ�ารุงและหยุดจ่ายก๊าซจากแหล่งที่กล่าวมาทั้งหมด ล่าสุดใน เดือนเมษายนที่ผ่านมาก็ต้องหยุดซ่อมบ�ารุงแหล่งก๊าซบงกช แต่ก็แก้ไขปัญหาผ่านพ้นไป ด้วยดีไม่เกิดผลกระทบใดๆ ในส่วนของการหยุดซ่อมบ�ารุงในพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซีย หรือแหล่งเจดีเอ A18 ในช่วงระหว่างวันที่ 13 มิ.ย. - 10 ก.ค. 2557 นั้นเป็นกรณีหนึ่งที่ กระทรวงพลังงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องรีบวางแผนแก้ไขปัญหาเร่งด่วนเพื่อแก้ไข ปัญหาไม่ให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ โดย นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ปลัดกระทรวงพลังงาน เปิดเผยว่า กรณีการหยุดจ่าย ก๊าซธรรมชาติในพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาร่วมไทย-มาเลเซีย หรือแหล่งเจดีเอ A18 ในช่วงระหว่างวันที่ 13 มิ.ย. - 10 ก.ค. 2557 รวม 28 วัน ที่จะท�าให้ปริมาณก๊าซธรรมชาติหายไปจากระบบ 420 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ซึ่งจะกระทบต่อโรงไฟฟ้าจะนะ จังหวัดสงขลา ขนาด 700 เมกะวัตต์ ต้องหยุดเดินเครื่องและสถานีบริการก๊าซธรรมชาติส�าหรับยานยนต์ (NGV)
ทีภ่ าคใต้จะไม่มกี า๊ ซเอ็นจีวจี า� หน่ายนัน้ ทาง ปตท. ได้แจ้งว่าจะมีปญ ั หาก๊าซขาดแคลนประมาณ 10 วัน โดยได้สงั่ การให้ ปตท.เร่งหาแนวทางแก้ไขผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นกับประชาชน การหยุดจ่ายก๊าซจากแหล่งเจดีเอเป็นกรณีที่ทาง กระทรวงพลังงานมีความเป็นห่วงมากทีส่ ดุ เพราะ จะปล่อยให้เกิดไฟฟ้าดับในวงกว้างหรือแบล็กเอาต์ ไม่ได้ ในขณะเดียวกันก็จะต้องให้ประชาชนที่ใช้ ก๊าซเอ็นจีวีได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ซึ่งในวันที่ 7 พ.ค. 2557 นี้ กระทรวงพลังงานจะมีการประชุม หารือกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อซักซ้อมแผนที่จะ รับมือกับวิกฤติไม่ให้เกิดปัญหาในการปฏิบตั ใิ นช่วง ที่มีการหยุดจ่ายก๊าซจริง ส�าหรับแผนทีจ่ ะมีการซักซ้อมเพือ่ รับมือวิกฤติ จะแบ่ง เป็น 3 แผนด้วยกัน โดยแผนที่ 1 จะมีการรณรงค์ เพือ่ ให้มกี ารประหยัดไฟฟ้าในช่วงทีม่ กี ารหยุดจ่ายก๊าซ ในขณะทีท่ างส�านักงานคณะกรรมการก�ากับกิจการ พลังงาน (สกพ.) จะมีการหารือกับสภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (สอท.) เพื่อขอความร่วมมือกับ โรงงานอุตสาหกรรมทีย่ นิ ยอมจะให้มกี ารหยุดจ่ายไฟ ตามทีร่ ฐั ต้องการ ซึง่ มาตรการทีด่ �าเนินการในขัน้ นี้ ตั้งเป้าหมายที่จะลดการใช้ไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ ลงให้ได้ 300 เมกะวัตต์ ในช่วงทีม่ กี ารหยุดจ่ายก๊าซ
54
Energy#66_p53-55_iMac5.indd 54
4/21/2557 BE 10:28 PM
Special Report ณ อรัญ
อย่างไรก็ตามหากในกรณีที่มาตรการขั้นที่ 1 ไม่ได้ผลตามเป้าหมาย จะด�าเนินการตามแผนที่ 2 ซึ่งเป็นเรื่องของทางเทคนิคทางการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ทีจ่ ะพยายามส่งไฟฟ้าจากภาคกลาง ผ่านสายส่งให้ได้เพิ่มขึ้นอีก 200 เมกะวัตต์ โดยปัจจุบันขีดความ สามารถในการส่งไฟฟ้าของ กฟผ.ท�าได้เต็มทีถ่ งึ 1,050 เมกะวัตต์ แต่ที่ ยังส่งอยู่ 500-700 เมกะวัตต์ เพราะต้องกันส่วนหนึ่งไว้เผื่อเหตุการณ์ ฉุกเฉินในขณะที่มาตรการขั้นที่ 3 ที่เป็นมาตรการฉุกเฉิน จะเป็นเรื่อง ของการเลือกดับไฟในบางพื้นที่จะส่งผลกระทบน้อยที่สุด ส่วนความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ในปัจจุบัน ความต้องการใช้ไฟฟ้าประมาณ 2,500 เมกะวัตต์ แต่โรงไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ ในพื้นที่ภาคใต้มีก�าลังการผลิตรวม 2,300 เมกะวัตต์ ซึ่งเมื่อรวมกับ ไฟฟ้าทีส่ ง่ ผ่านสายส่ง 500 เควี อีกจ�านวน 500 เมกะวัตต์ ท�าให้ไฟฟ้า ในภาคใต้ยงั มีกา� ลังการผลิตทีเ่ พียงพอกับความต้องการใช้ แต่เมือ่ ก�าลัง การผลิตในส่วนโรงไฟฟ้าจะนะหายไปจ�านวน 700 เมกะวัตต์ ท�าให้ ไฟฟ้าในพื้นที่ภาคใต้ ขาดอยู่ประมาณ 300 เมกะวัตต์ ด้าน นายสุนชัย ค�านูณเศรษฐ์ ผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย (กฟผ.) บอกว่า การใช้ไฟฟ้าภายในประเทศขึน้ อยูก่ บั อัตรา การขยายตั ว ทางเศรษฐกิ จ เป็ น หลั ก โดยคาดการณ์ ว ่ า ปี 2557 จะมีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด หรือ พีค อยู่ที่ 27,200 เมกะวัตต์ ภายใต้สมมุติฐานที่จีดีพีขยายตัวร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน ของปี 2556 ที่ 26,958 เมกะวัตต์ เพิ่มขึ้นไม่ถึงร้อยละ 1 แต่ขณะนี้ สถานการณ์ทางการเมืองที่ยังไม่สงบส่งผลท�าให้เศรษฐกิจชะลอตัว จีดพี ี ขยายตัวเพียงร้อยละ 2 จึงปรับตัวเลขความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด ลงมาอยูท่ ี่ 26,752 เมกะวัตต์ โดย กฟผ.มีกา� ลังการผลิตรวมทัว่ ประเทศ 33,000 เมกะวัตต์ซึ่งเพียงพอต่อความต้องการใช้ไฟฟ้าในช่วงพีค
ส�าหรับการแก้ไขปัญหาการหยุดจ่ายก๊าซเจดีเอ A18 ในช่วงระหว่าง วันที่ 13 มิ.ย. ถึง 10 ก.ค. 2557 จะท�าให้ก๊าซธรรมชาติหายไป 420 ล้านลูกบาศก์ฟุต ซึ่งจะท�าให้โรงไฟฟ้าจะนะ 1 ไม่สามารถ เดินเครื่องได้ท�าให้ก�าลังการผลิตไฟฟ้าหายไป 700 เมกะวัตต์ โดยภาคใต้มีก�าลังการผลิตรวมทั้งสิ้น 2,300 เมกะวัตต์ ส่งผลให้ ก�าลังการผลิตรวมเหลือเพียง 1,600 เมกะวัตต์ในช่วงดังกล่าว แต่ภาคใต้มีความต้องการใช้ไฟฟ้า 2,500 เมกะวัตต์ ซึ่งต้องดึง ไฟฟ้าจากภาคกลางของโรงไฟฟ้าราชบุรีโดยผ่านสายส่งประมาณ 1,000 เมกะวัตต์ เพือ่ ให้เพียงพอกับความต้องการใช้ไฟฟ้า อย่างไร ก็ตาม การดึงไฟฟ้าผ่านสายส่งเกิน 700 เมกะวัตต์ จะท�าให้เกิด ความเสี่ยงต่อระบบความมั่นคงของสายส่งเชื่อมโยง โดย กฟผ. ได้จัดโครงการรณรงค์ Demand respond เพื่อพบปะกับกลุ่ม นักธุรกิจภาคใต้เพื่อลดการใช้ไฟฟ้าในช่วงดังกล่าว
55
Energy#66_p53-55_iMac5.indd 55
4/21/2557 BE 10:28 PM
Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคํา
ี
ลย โนโ เทค น ั ะช ปร ก ึ ค นต ถย ยร า ค . ง.. ขอ น ขั ง แข าร ก ยี โล โน เทค
ow Sh th or ot M l na io at rn te In k ko ng Ba 35 e Th
ÃÙ´Á‹Ò¹Í‹ҧÊǧÒÁ¡Ñº§Ò¹áÊ´§Ã¶Â¹µ ·Õ่·Ø¡¤¹ÃͤÍ¡Ѻ §Ò¹ºÒ§¡Í¡ ÍÔ¹àµÍà ๪Ñ่¹á¹Å ÁÍàµÍà âªÇ ¤ÃÑ้§·Õ่ 35 ËÃ×Í The 35th Bangkok International Motor Show §Ò¹·Õ่ ¤‹ÒÂö¹µ ¨Ðä´Œ»ÃЪѹ෤â¹âÅÂբͧµ¹ãËŒ¼ÙŒªÁä´Œà¡็ºà¡Õ่ÂÇ ÀÒÂ㵌¤Í¹à«็»µ “Beauty in the Drive : Âҹ¹µ ÊС´ã¨” ÃÐËÇ‹Ò§Çѹ·Õ่ 26 ÁÕ¹Ò¤Á – 6 àÁÉÒ¹ ·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ
Beauty in the Drive : ยานยนตสะกดใจ เปนคอนเซ็ปตของ งานที่บงบอกถึงเทรนดานการออกแบบและการดีไซนรถยนต ที่ เ น น ความสวยงามทั้ ง ภายนอกภายในจนสามารถสะกดใจ ดึงดูดทุกสายตาของผูไดพบเห็น และที่สําคัญตองยืนอยูบนพื้น ฐานของความปลอดภัยและเทรนปจจุบันกับการเรื่องของการ ประหยัดพลังงาน โดยยังคงไดรับการตอบรับที่ดีจากคายรถยนต ที่ดําเนินธุรกิจในประเทศไทย ทั้งคายรถยนตจากฝงยุโรป, ญี่ปุน, อเมริกา และทุกภูมิภาค รวมไปถึงคายรถจักรยานยนตและผูผลิต ชิ้นสวนยานยนต โดยในปนี้มีคายรถยนตและผูนําเขาอิสระเขา รวมงาน 28 คาย, คายจักรยานยนต 9 คาย และสิ่งที่พลาดไมได คือ รถตนแบบ ที่มาเติมเต็มสีสันภายในงานใหเขมขนยิ่งขึ้นถึง 6 คันเลยทีเดียว สําหรับตลาดรถยนตในปนี้ เชื่อวาตลาดของ กลุมรถยนตนั่งขนาดกลางถึงระดับสูงตลาดจะ โตขึ้นอยางตอเนื่อง เชนเดียวกับกลุมรถยนต ระดับหรูหราก็คาดวาจะโตเชนกัน แตทนี่ า จับตา ยังคงเปน กลุมรถยนตนั่งขนาดเล็ก รวมถึง รถประเภทอีโคคาร ซึง่ อาจมีตวั เลขทีล่ ดนอยลง สวนหนึ่งเปนเพราะยังมียอดจองคางอยูเปน จํานวนมาก และสิ้นสุดโครงการรถคันแรกไปได ไมนานนั้นเอง ก็คงเปนตัวเลขที่ลดลงเล็กนอย เทานั้น เพราะตลาดรถยนตกลุมนี้ยังคงเปนที่ ตองการสําหรับผูบริโภคอยู ทั้งในเรื่องของราคา และการประหยัดพลังงาน
56
Energy#66_p56-58_iMac5.indd 56
4/23/2557 BE 11:54 PM
Green 4U Rainbow
คาย LEXUS ภายในงานครั้งนี้ แนนอนวาเรื่องของเทคโนโลยี คายรถยนตตาง ๆ ไดนําเสนอใหชมอยางเต็มที่ ไมฉพาะรถยนตที่เปดตัวไปแลวไมนาน รวมถึง รถยนตทพี่ งึ่ เปดตัวในงาน เพือ่ เปนทางเลือกใหกบั ผูเขาชมงาน ไดสัมผัสรถจริง ทดสอบจริง ภายใน งานครบทุกประเภทและทุกยี่หอ เรียกไดวาคุมคา แคมาเพียงงานเดียวเทานัน้ ซึง่ นอกจากเทคโนโลยี ดานการขับขี่ใหม ๆ สิ่งที่ดูเหมือนจะเปนอีกหนึ่ง ตั ว เลื อ ก คงหนี ไ มพน เรื่อ งของเทคโนโลยีด า น พลังงาน ทีภ่ ายในงานบางกอก อินเตอรเนชัน่ แนล มอเตอรโชว ก็มีนํามาโชวกันอยูหลายคายดวยกัน เพื่อตามกระแสดานการประหยัดพลังงานที่โลก กําลังใหความสําคัญอยูขณะนี้ เริ่มที่ คาย LEXUS กับ ES300h เปนรถที่ไดรับ การรออกแบบที่ผสมผสานหลักทางสรีรศาสตร และวิศวกรรมศาสตรไดอยางลงตัว ที่สําคัญยังคง โดดเดนดวยขุมพลัง Full Hybrid ในแบบฉบับ ของเลกซัส พลังขับเคลื่อนในระบบ Full Hybrid ผสานการทํางานของมอเตอรไฟฟาและเครือ่ งยนต แถวเรียง 4 สูบขนาด 2.5 ลิตร ใหกําลังรวมทั้ง ระบบ 205 แรงมา และอัตราเรงที่ 0-100 กม./ชม. ใน 8.5 วินาที พรอมมาตรฐานยูโร 5 รูปแบบ การขับขี่ที่เลือกปรับได 4 โหมด โหมด EV สําหรับ การขับเคลือ่ นดวยพลังงานไฟฟา โหมด Eco สําหรับ ความประหยัด โหมด Normal สําหรับการขับขี่ แบบปกติ และโหมด Sport เพื่อการขับขี่ที่เราใจ
คาย MAZDA เปนอีกหนึ่งคายที่ถูกจับตา กับเทคโนโลยี SKYACTIV ที่นํามาแสดง แบบเต็ ม รู ป แบบครั้ ง แรกของเมื อ งไทย ที่ไดรั บ การกล า วขานว า เป น เทคโนโลยี ที่ลงตัว ไมวาจะเปนเครื่องยนต เกียร และ การออกแบบ ใหทงั้ สมรรถนะ การขับเคลือ่ น การปกปองทีด่ ี บนพืน้ ฐานของการประหยัด พลังงาน โดยรุนลาสุดที่เปดตัวภายในงาน คือ MAZDA 3 ใหม SKYACTIV
คาย MAZDA
คาย HONDA
คาย HONDA เปนคายที่เดินทางสนับสนุนดานพลังงานทางเลือกในการทดแทนการใชนํ้ามันเบนซิน โดยเฉพาะการใชนาํ้ มันแกสโซฮอล E85 อยางตอเนือ่ งเกือบครบทุกรุน ทีม่ จี าํ หนายในประเทศ โดยรุน ลาสุด ที่เปดตัวภายในงานคือ HONDA CITY กับเครื่องยนตเปน SOHC i-VTEC 1.5 ลิตร เกียร CVT ใหม พัฒนาภายใตเทคโนโลยี Earth Dream Technology ขยายอัตราทดเกียรใหกวางขึ้น พรอมระบบ GDesign Shift ชวยใหอัตราการใชนํ้ามันเชื้อเพลิงมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ที่สําคัญรองรับพลังงานทาง เลือก E85 เชนเดียวกับ คาย TOYOTA ที่มองพลังงานทางเลือกเปนสิ่งสําคัญ หลังจากเปดตัวเทคโนโลยี HYBRID มาหลายป ดวย TOYOTA ALTIS เครื่องยนต DOHC Dual VVT-i หัวฉีดอิเล็กทรอนิกส EFI ผาน มาตรฐานไอเสีย ยูโร 4 พรอมรองรับพลังงานทางเลือก E85 ระบบเกียรอตั โนมัตแิ บบ Super CVT-I 7 สปด ที่ถูกพัฒนาใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ทําใหการเปลี่ยนเกียรต อเนื่อง ใหอัตราเรงที่ราบรื่น และ ประหยัดพลังงาน
คาย TOYOTA 57
Energy#66_p56-58_iMac5.indd 57
4/23/2557 BE 11:55 PM
Auto Update นัษรุต เถื่อนทองคํา
คาย MITSUBISHI
คาย SUZUKI
คาย FORD คาย SUZUKI ที่ดังเรื่องของรถยนตขนาดเล็กใน ประเทศไทย ก็สามารถสรางยอดจําหนายไดจาก รถประเภทอีโคคารไดอยางเต็มที่ มาครัง้ นี้ นําเสนอ รถขนาดเล็ก SUZUKI CELERIO อีโคคารรุนที่ 2 ของซูซูกิ ซึ่งนับเปนการเปดตัวอยางเปนทางการ ครั้ ง แรกในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต กอนหนานี้เปดตัวไปแลวใน เจนีวา มอเตอรโชว โดยรุนที่จะจําหนายในประเทศไทยคาดวาจะเปน เครื่องยนตแบบ 3 สูบ ความจุ 1.0 ลิตร จับคู เกียรอัตโนมัติ CVT คาย FORD เนนการใชเชื้อเพลิงใหคุมคาสูงสุด ดวย FORD FIESTA เจาของรางวัลเครื่องยนต ยอดเยีย่ มระดับนานาชาติ EcoBoost ขนาด 1.0 ลิตร 3 สูบ แตใหแรงมาสูงสุด 125 แรงมา เทียบเทา เครื่องยนตขนาด 1.6 ลิตร ฉีกกฏของเครื่องยนต ขนาดเล็ก ทีน่ อกจากจะประหยัดนํา้ มัน ยังพรอมสง ขุมพลังเต็มพิกดั ใหสมรรถนะแรงเกินคาด เล็ก แรง แตประหยัด
คาย BMW
นอกจากรถตลาดที่นํามาโชวภายในงานแลว ยังมีเรื่องของรถยนตแนวคิดและพลังงานทางเลือกที่นาสน อีกหลายคัน โดย คาย MITSUBISHI กับนวัตกรรมยานยนตเพื่อสิ่งแวดลอม OUTLANDER PHEV ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาแบบ Plug-in hybrid รุนแรกที่สามารถเขารวมการแขงขันระดับโลก ในรายการแขงขันสุดโหด Asia Cross Country Rally 2013 ที่ผานมา บนเสนทางรวมกวา 2,000 กิโลเมตร และสามารถจบการแขงขันดังกลาวได ถือเปนบททดสอบที่พิสูจนใหเห็นถึงความสมบูรณแบบของ ระบบการทํางานของรถยนตพลังงานไฟฟาแบบ plug-in hybrid ขับเคลื่อน 4 ลอแบบ Twin-motor พรอมระบบ S-AWC สวนคาย BMW ไดนําเทคโนโลยี eDrive ระบบ plug-in hybrid ที่บรรจุอยูใน BMW i8 สามารถเรง ความเร็วจาก 0 ถึง 100 กม. ไดภายในเวลาเพียง 4.4 วินาที โดยปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเพียง 49 กรัมตอกม. สําหรับอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานโดยรวมเฉลี่ยอยูที่ 47.6 กม.ตอลิตร ตามมาตรฐาน EU test cycle โดยใชเครือ่ งยนตเบนซิน 3 สูบ TwinPower Turbo สวนมอเตอรไฟฟาใหกาํ ลัง 131 แรงมา โดยมีแรงบิดที่ 250 นิวตันเมตร โดยมีความเร็วสูงสุดที่ 250 กม.ตอชม. ประหยัดเชือ้ เพลิงอยางยอดเยีย่ ม ขณะขั บ ขี่ ป ระจํ า วั น โดยมี อั ต ราการสิ้ น เปลื อ งพลั ง งานเมื่ อ ขั บ ขี่ ใ นเมื อ งเพี ย ง 20 กม.ต อ ลิ ต ร และประมาณ 14.28 กม.ตอลิตร เมื่อขับขี่บนมอเตอรเวย หากขับขี่ในระยะทางไกลดวยความเร็วสูง มีอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานอยูที่ประมาณ 12.5 กม.ตอลิตร
58
Energy#66_p56-58_iMac5.indd 58
4/23/2557 BE 11:55 PM
Have to know ราชาเทวะ
ลดใชไฟฟาภาคอุตสาหกรรม ทํากอน... ประหยัดกอน “¤‹Ò㪌¨‹Ò” µŒ¹·Ø¹·Õ่äÁ‹ÍÒ¨ËÅÕ¡àÅÕ่§䴌ÊํÒËÃѺ¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒÃÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ·Õ่µŒÍ§ºÍ¡Ç‹ÒËÅÕ¡àÅÕ่§äÁ‹ä´Œà¾ÃÒÐ Âѧ䧡็¶×Í໚¹ ÊÔ§่ ·Õà่ ÃÒµŒÍ§àÊÕ ᵋ¨ÐàÊÕÂÁÒ¡ËÃ×͹ŒÍ ໚¹àÃ×Í่ §¢Í§¡ÒúÃÔËÒèѴ¡Ò÷ն ่ ¡ Ù µŒÍ§áÅеç¨Ø´ËÃ×ÍäÁ‹ »˜¨¨Øº¹ Ñ ÁÕ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¨Ò¡ËÅÒ ÀҤʋǹ䴌ËѹÁÒãÊ‹ã¨àÃ×่ͧ´Ñ§¡Å‹ÒÇÁÒ¡ÂÔ่§¢Ö้¹ ¡็ÍÂÙ‹·Õ่Ç‹Ò¼ÙŒ»ÃСͺ¡ÒèÐàÅ×Í¡·Õ่¨Ð·ํÒËÃ×ÍäÁ‹ ᵋ䴌ÁÕ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÁÒáÅŒÇÇ‹Ò ÊÒÁÒö »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ä´ŒÍ‹ҧàË็¹ä´ŒªÑ´ ¨¹µŒÍ§ãªŒ¤ํÒÇ‹Ò “ã¤Ã·ํÒ¡‹Í¹... ¡็»ÃÐËÂÑ´¡‹Í¹”
แนวทางการลดการใชไฟฟาในภาคอุตสาหกรรม มีทางเลือกอยู หลากหลายวิธี ซึ่งการประหยัดพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม คือ การลดการใชและจัดการใชพลังงานใหเหมาะสม เพื่อใหไดประโยชน สูงสุด โดยไมทําใหกระบวนการผลิตลดลงและไมทําใหคุณภาพของ ผลิตภัณฑเปลีย่ นแปลงเริม่ จากเทคโนโลยีทงี่ า ยทีส่ ดุ และใชเงินลงทุน นอยที่สุดไปจนถึงงานที่ตองใชเทคโนโลยีสูง และเงินลงทุนมาก คือ
การปรับปรุงการทํางานใหไดประสิทธิภาพสูงขึ้น กระบวนการนี้ ต อ งอาศั ย การตรวจวิ เ คราะห อ ย า งละเอี ย ด โดยต อ งลงทุ น งบ ประมาณปานกลาง โดยมีระยะเวลาคืนทุน 1 – 2 ป เปนขั้นตอน การประหยัดพลังงาน โดยเพิม่ อุปกรณบางสวนเขาไปในขบวนการผลิต เชน การนําความรอนปลอยทิ้งกลับมาใชใหม การเพิ่มอุปกรณ แลกเปลี่ยนความรอน เปนตน
การบํารุงรักษาและการดูแลเบือ้ งตน วิธนี เี้ ปนการปรับแตงอุปกรณ และการทํางานของเครือ่ งมือตาง ๆ ดวยการกําหนดใหมกี รรมวิธดี แู ล รักษาทีถ่ กู ตอง ซึง่ จะไมเสียคาใชจา ยมากนัก แตจะมีระยะคืนทุนนอย กวา 4 เดือน เชน การปรับอัตราสวนการเผาไหมของหมอไอนํ้า การทําความสะอาดระบบแสงสวาง การหุมฉนวนทอความรอน เปนตน
การเปลีย่ นแปลงอุปกรณหรือระบบ จากการตรวจวิเคราะหขนั้ ตน ชีใ้ หเห็นวาสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานไดมาก โดยการเปลีย่ น หรือเพิ่มอุปกรณ ทั้งนี้จะตองมีการประเมินผลตอบแทนทางการเงิน ที่ไดจากการดําเนินการมาตรการดังกลาว ซึ่งมาตรการนี้จะตองมี การลงทุนสูงโดยมีระยะเวลาคืนทุน 2-5 ป การลงทุนในขั้นตอนนี้จะ เกี่ยวของกับการเปลี่ยนขบวนการผลิตโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหม ทําใหมีการใชพลังงานตํ่า
59
Energy#66_p59-60_iMac5.indd 59
4/21/2557 BE 10:34 PM
Have to know น้องภู...ตอบได้ ?
อีกหนึง่ ทางเลือก คือ การใช้พลังงานทดแทน ในอุ ต สาหกรรม ด้ ว ยการลดการน� า เข้ า พลังงานกระแสหลักมาใช้ในโรงงาน เนือ่ งจาก พลั ง งานทดแทนสามารถผลิ ต พลั ง งานได้ ในหลายรูปแบบซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นการผลิต กระแสไฟฟ้า และผลิตความร้อน มาใช้แทน พลังงานในอุตสาหกรรม ได้แก่ การผลิตน�า้ ร้อนจากแสงอาทิตย์ ด้วยการผลิต น�า้ ร้อนจากแผงผลิตน�า้ ร้อนจากพลังงานแสง อาทิตย์ หรือ Solar Collector ซึ่งเป็นแผงที่ ให้น�้าไหลผ่านท่อเพื่อรับพลังงานความร้อน จากดวงอาทิตย์ ต่างกับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ ท�าหน้าทีผ่ ลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ นอกจากนี้ ยังสามารถน�าการผลิตน�้าร้อน ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์มาผสมความร้อน ปล่ อ ยทิ้ ง ได้ อี ก ด้ ว ย เนื่ อ งจากในอาคาร หรื อ โรงงานอุ ต สาหกรรมจะมี ค วามร้ อ น ปล่อยทิ้งจ�านวนมากจาก ระบบปรับอากาศ เตาเผา หรือหม้อต้ม ดังนั้นการน�าพลังงาน ในส่วนนี้กลับมาใช้ประโยชน์ โดยใช้เครื่อง แลกเปลี่ยนความร้อนจะท�าให้การคืนทุน ในการผลิตน�้าร้อนเร็วขึ้น สามารถคืนทุนได้ เร็วกว่า 3 ปี อายุการใช้งานแผงผลิตน�้าร้อน ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ มีอายุการใช้งานได้ 10-15 ปี
การผลิตก๊าซชีวภาพ จากน�้าเสีย-ของเสีย เป็นพลังงานทดแทน ชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพ มากในโรงงานที่มีน�้า เสี ย หรื อ ขยะอิ น ทรี ย ์ จ�านวนมาก ๆ ก๊าซ ชี ว ภาพที่ ไ ด้ ส ามารถ น� า ไปใช้ ป ระโยชน์ ทดแทนการใช้น�้ามัน เตาหรือก๊าซธรรมชาติ ใ น ห ม ้ อ ไ อ น�้ า แ ล ะ การน� า ไปใช้ ผ ลิ ต กระแสไฟฟ้ า ได้ เช่ น กั น รวมถึ ง กระบวนการเปลี่ ย นเชื้ อ เพลิ ง ชี ว มวล เป็นก๊าซ ก็สามารถเพิ่มการประหยัดด้านค่าจ่ายที่เสียไปกับการซื้อพลังงานได้ไม่น้อย ทั้งนี้ เรื่องของการประหยัดพลังงานของภาคอุตสาหกรรมยังมีอีกหลายแนวทางที่กล่าวมา เป็นการเริ่มต้นส�าหรับองค์กรที่ก�าลังหันมาให้ความสนใจด้านการประหยัดพลังงานในขั้นต้น ซึ่งการประหยัดพลังงานนั้น ยังมีรูปแบบอื่นอีก และหากต้องการให้ค่าการประหยัดพลังงาน มากยิ่งขึ้น จ�าเป็นต้องมีการลงทุนเป็นจ�านวนมาก องค์กรที่ยังไม่มีความพร้อมอาจยังไม่มี การลงทุนในระดับนั้น แต่ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนเพื่อการประหยัดพลังงานระดับ สิ่งที่ได้ก็คือ ค่าใช้จ่ายที่ลดลงและเกิดประโยชน์ต่อองค์กรของเราเอง
60
Energy#66_p59-60_iMac5.indd 60
4/21/2557 BE 10:34 PM
Energy#62_p101_Pro3.indd 101
12/18/13 10:47 PM
Vehicle Concept นัษรุ ต เถื�อนทองคํา
TOYOTA FV2 ยานยนตแหวกแนวแหงอนาคต ͹Ҥµ... ËÒ¡¹Ñº¡Ñ¹¨ÃÔ§ æ ໚¹àÃ×่ͧ·Õ่äÁ‹ä¡ÅµÑÇàÅ ËÃ×ÍËÒ¡¤Ô´ä»Íա᧋ÁØÁ ºÒ§àÃ×่ͧ¡็໚¹àÃ×่ͧ·Õ่äÁ‹ÍÒ¨¤Ò´à´Ò ËÃ×ͤҴ¡Òó äÇŒ ¨¹´ÙàËÁ×͹¨Ðä¡ÅµÑÇàÊÕÂàËÅ×Íà¡Ô¹ ઋ¹à´ÕÂǡѺ¡ÒÃÍ͡ẺÂÒ¹¾Ò˹ÐáË‹§Í¹Ò¤µ ·Õ่¶Ù¡¶‹Ò·ʹ¼‹Ò¹»ÅÒ»ҡ¡Ò ÊÙ‹¡ÃдÒɾÔÁ¾ à¢ÕÂÇ ¡‹Í¹¨Ð¡ÅÒÂ໚¹¼Å§Ò¹Í͡ẺáË‹§Í¹Ò¤µÍ‹ҧ᷌¨ÃÔ§¡Ñº “FV2”
FV2 ถือเปนยานยนตแนวคิดที่นาสนใจ
ภายใตการออกแบบของตนสังกัดจากแดนปลาดิบ TOYOTA ซึ่งเปดตัวเปนครั้งแรกของโลกในงาน โตเกียว มอเตอรโชว 2013 และเปนรถแนวคิด ที่ไดรับความสนใจจากผูชมไมนอย โดยเฉพาะ เรื่องของการออกแบบ และประโยชนที่ไดจาก การใชงาน ซึง่ สอดคลองกับชวงเวลาแหงอนาคต ที่ไมอาจคาดเดา
ภายในงาน The 35th Bangkok International Motor Show ครั้งลาสุดที่พึ่งจัดขึ้นไปนั้น TOYOTA FV2 ไดมาอวดโฉมใหคนไทยไดสัมผัสเปนครั้งแรกและเขาถึงเทคโนโลยีที่อาจ เกิดขึน้ จริงสําหรับอนาคต ซึง่ อาจเปลีย่ นโฉมหนาของยานยนตไปเลยทีเดียว คําวา FV ยอ มาจากคําวา Fun Vehicle ที่ไดรับการออกแบบมาใหตอบสนองความตองการทางดาน อารมณและรางกาย ระบบตาง ๆ จะปรับเปลีย่ นไดตามอารมณของผูข บั นอกจากนีส้ ขี องรถ ยังสามารถปรับเปลี่ยนไดตามอารมณของผูขับดวย FV2 ถือเปนรถยนตแนวคิดอีกคันที่ตนสังกัดอยาง TOYOTA ตองการสะทอนหลักการ Fun to drive หรือ สนุกกับการขับขี่ ไดเปนอยางดี การเชื่อมโยง กับผูขับขี่ทั้งทางดานรางกายและจิตใจ ชวยเพิ่ม ประสบการณการขับขี่ ทําใหยิ่งขับมากเทาไหรก็ ยิ่งสนุกมากเทานั้น ในสวนของการเชื่อมโยงทาง รางกาย คือ ผูขับขี่เพียงแคขยับเขยื้อนรางกายแทน การใชพวงมาลัยในการขับเคลื่อน และการเชื่อมโยง ดานจิตใจ ซึ่งทีมออกแบบมองเห็นความสัมพันธที่ พัฒนาอยางตอเนื่องระหวางผูขับขี่ขับกับรถยนต ดังนั้นรถยนตตนแบบนี้สามารถจดจําภาพและเสียง เพือ่ ประเมินอารมณของผูข บั ขีไ่ ด และรวบรวมขอมูล ประวั ติ ก ารขั บขี่ เ พื่ อแนะนํ า จุด หมาย และขอ มูล ทักษะการขับขี่เพื่อชวยเหลือผูขับขี่
62
Energy#66_p62-63_iMac5.indd 62
4/21/2557 BE 10:41 PM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�
ส�ำหรับกำรออกแบบ FV2 ถูกรังสรรค์ให้เป็น รถยนต์ขนำด 1 ทีน่ งั่ สำมำรถควบคุมรถในขณะ นั่งหรือยืนได้ เปิดประตูจำกด้ำนบนที่มีลักษณ์ คล้ำยฝำหอย ไม่มีพวงมำลัย ไม่มีคันเร่งและ เบรก แต่สำมำรถขับเคลือ่ นไปตำมทิศทำงต่ำง ๆ โดยกำรโน้ ม ตั ว ไปในทิ ศ ทำงนั้ น ๆ สำมำรถ อ่ำนค่ำจรำจร สภำพอำกำศหรือข้อมูลต่ำง ๆ จำกกระบั ง ลมซึ่ ง ท� ำ หน้ ำ ที่ เ ป็ น จอแสดงผล นอกจำกนี้ FV2 ยังสำมำรถวิเครำะห์อำรมณ์ของ คนขับ พร้อมให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับกำรขับขี่ หรือ แม้แต่ค�ำแนะน�ำให้หยุดรถตำมที่ต่ำง ๆ เช่น เมื่อคนขับมีอำรมณ์เครียด รถจะแนะน�ำให้แวะ พักที่ตำมแหล่งท่องเที่ยวหรือจุดพักรถ เป็นต้น เพือ่ กำรเป็นยำนยนต์สว่ นบุคคล จึงเน้นขนำดที่ ไม่ใหญ่จนเกินไป โดยมีล้อเพียง 3 ล้อ เท่ำนั้น ด้ำนหน้ำเป็นล้อเดี่ยวส่วนด้ำนหลังเป็นล้อคู่ ขนำดของตัวรถอยูท่ คี่ วำมยำว 3,000 มม. กว้ำง 1,600 มม. ควำมยำวช่วงล้อ 3,360 มม. ส�ำหรับ ควำมสูงในโหมด sleep อยู่ที่ 990 มม. แต่เมื่อ ปรับแบบยืนจะสูงในโหมด driving จะสูงขึ้นเป็น 1,780 มม. ถึงแม้ว่ำ FV2 จะมองดูแปลกตำ ส� ำ หรั บ รถยนต์ ใ นปั จ จุ บั น แต่ อ ย่ ำ ลื ม ว่ ำ ใน อนำคตทรัพยำกรของโลกอำจน้อยลง พืน้ ทีอ่ ำจ มีจ�ำกัด ใครจะรู้ว่ำรถยนต์รูปแบบนี้ อำจได้รับ ควำมนิยมอย่ำงมำกก็เป็นได้ 63
Energy#66_p62-63_iMac5.indd 63
4/21/2557 BE 10:41 PM
Energy Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
Ê¶ÒºÑ ¹ à·¤â¹âÅÂÕ ¾ ÃШÍÁà¡ÅŒ Ò à¨Œ Ò ¤Ø ³ ·ËÒÃÅÒ´¡ÃÐºÑ § (ʨÅ.) â´Â¤³ÐÇÔ È Ç¡ÃÃÁÈÒʵà ໠´ µÑ Ç ¹ÇÑ µ ¡ÃÃÁ öÅÒ¡¨Ù§ä¿¿‡ÒÍصÊÒË¡ÃÃÁ SRR 24 -400 ¾Åѧ§Ò¹ÊÐÍÒ´ ËÃ×Í Electric Tow Tractor For Industry Íա˹Ö่§¼Å§Ò¹ÇÔ¨ÑÂà¾×่Í µ‹ÍÂÍ´ÊÙ‹ÍصÊÒË¡ÃÃÁä·ÂáÅйҹҪҵԷÕ่㪌¾Åѧ§Ò¹ÊÐÍҴ໚¹ÁԵõ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ áÅлÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ Å´µŒ¹·Ø¹ãËŒÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Õ่ ãʋ㨵‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ
รถลากจู ง ไฟฟ้ า SRR 24 -400 จาก วิ ศ วะลาดกระบั ง
ผลงานประดิ ษ ฐ์ ม าตรฐานโลก
ศาสตราจารย ดร.สุชชั วีร สุวรรณสวัสดิ์ คณบดี คณะวิศวลาดกระบัง เผยถึงความเปนมา ของงานวิจัยครั้งนี้วา ที่ผานมาผูประกอบการบางรายอาจจะยังไมเห็นถึงความสําคัญ ของการเลือกใชอปุ กรณการขนถายวัสดุทเี่ หมาะสม และเขาใจวาเปนการเพิม่ คาใชจา ย ในกระบวนการผลิต โดยมักจะคิดวาไมไดเพิ่มคุณคาใหกับแบรนดผลิตภัณฑ อีกทั้งยัง อาจกอใหเกิดความเสียหายแกผลิตภัณฑระหวางการขนยายดวยถาหากเลือกวิธีการ ที่ไมเหมาะสม
คณะวิ ศ วกรรมศาสตร สถาบั น เทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ได ศึ ก ษาและพบว า โลจิ ส ติ ก ส เ ป น หนึ่ ง ในหั ว ใจ สําคัญของทุกผลิตภัณฑและธุรกิจอุตสาหกรรม ดังนั้นการเลือกใชอุปกรณในการขนถายที่ถูกตอง และเปนเทคโนโลยีสะอาดจะชวยใหการปฏิบตั งิ าน ในภาคอุ ต สาหกรรมสะดวกรวดเร็ ว ปลอดภั ย ประหยัดตนทุนการผลิตได พรอมไปกับการรักษา คุณภาพสินคา และแนนอนวาชวยเสริมภาพลักษณ อันดีใหแบรนดและองคกรที่เอาใจใสตอสุขภาพ ของผูบริโภคและสิ่งแวดลอม ดวยเหตุผลดังกลาว สถาบันฯ จึงไดออกแบบและผลิต รถลากจู ง ไฟฟ า อุ ต สาหกรรมในราคาที่ ถู ก กว า ทองตลาดถึง 4 เทา หรือประมาณ 100,000 กวาบาท เพื่อตอบสนองการใชงานของอุตสาหกรรมและ เศรษฐกิจที่กําลังพัฒนาอยางรวดเร็ว การทํางาน ในภาคอุตสาหกรรมจึงตองมีการปรับตัวในทุกๆ ดาน เพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจใหสามารถ แขงขันกับประเทศอื่นๆ ได
64
Energy#66_p64-65_iMac5.indd 64
4/24/2557 BE 12:00 AM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
รศ.ดร.วีระเชษฐ ขันเงิน อาจารยประจําสาขาวิชา วิ ศ วกรรมไฟฟ า คณะวิ ศ วลาดกระบั ง สถาบั น เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เป ด เผยว า สถาบั น ได ศึ ก ษาวิ จั ย และ พั ฒ นาการผลิ ต รถลากจู ง ไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ภายใตชื่อ SRR 24 -400 พลังงานสะอาด หรือ Electric Tow Tractor For Industry เปนผลงาน วิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมไทยและนานาชาติ นั บ เป น รถลากจู ง ไฟฟ า พลั ง งานสะอาดชนิ ด แบตเตอรี่ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และประหยัด พลังงานตามมาตรฐานสากล สามารถบรรทุกไดถึง 1,000 กิโลกรัม ซึ่งเปนรถที่เหมาะกับการใชงาน ในศูนยกระจายสินคาชิ้นสวนของบริษัทยานยนต, รถลากขนของในสนามบิน, ลานจอดรถ, รถลากใน โรงงานทั่วไปและรถลากอุตสาหกรรมสะอาด เชน อุตสาหกรรมอาหารที่ตองการการขนสงไรมลพิษ เปนตน
รถลากจูงไฟฟาอุตสาหกรรม SRR 24-400 เปนการออกแบบที่ตอบสนองความ ตองการของภาคอุตสาหกรรมทีต่ อ งการลดตนทุนของอุปกรณในภาคอุตสาหกรรม และ ตองการสงเสริมใหอตุ สาหกรรมเปนอุตสาหกรรมสะอาด เปนการออกแบบของนักศึกษา วิศวลาดกระบังโดยรถลากเปนรถทีส่ ามารถบรรทุกไดตงั้ แต 300 – 1,000 กิโลกรัม วิง่ ได เร็ว 8 กิโลเมตรตอชั่วโมง ใชมอเตอรไฟฟากระแสตรง 400 วัตต โดยบรรจุแบตเตอรี่ ลิเทียมไอออนฟอสเฟต (LiFe2Po4) 24 โวลต ซึง่ เปนแบตเตอรีท่ นี่ าํ้ หนักเบา แตมคี วามจุ พลังงานสูง มีความปลอดภัย มีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับแบตเตอรี่ชนิดอื่นๆ ที่มีความจุ เทากัน ไมมผี ลจากการจดจํา (Memory Effect ) ไมเปนพิษ (Nontoxic) อีกทัง้ ยังไรมลพิษ ไมทาํ ลายสิง่ แวดลอม และมีอายุการใชงานทีม่ ากกวาแบตเตอรีล่ เิ ธียมไอออนแบบเดิม สําหรับการขับเคลื่อนสามารถเดินหนา ถอยหลัง วงเลี้ยวแคบ ขับขี่คลองตัว และไต ระดับขึน้ -ลง 18 องศา โครงสรางตัวถังทําดวยเหล็กและหุม ดวยไฟเบอรกลาส ลอรถจะ มีขนาดเล็กและเตี้ย เพื่อใหมีจุดโนมถวงตํ่าซึ่งทําใหการขับขี่ปลอดภัยขณะปฏิบัติงาน และระบบตาง ๆ ก็ผา นมาตรฐานระบบความปลอดภัยมาตรฐานสากล เชน ระบบไฟฟา สองสวาง สัญญาณไฟเบรก ไซเรน แตร สวิทซเทาตําแหนงยืนของคนขับ ระบบเปดปด ฝาแบตเตอรี่โดยไมตองใชเครื่องมือในการเปดปด ในขณะที่ใชงานจะไมมีเสียงรบกวน ไรมลพิษ เหมาะใชงานทัง้ ภายในและภายนอกอาคาร โดยคาไฟฟาในการใชงานเต็มเวลา 5 ชั่วโมงเพียงประมาณ 8 บาท เทานั้น ติดตอสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ : รศ.ดร.วีระเชษฐ ขันเงิน โทร. 081-835-6203 หรือ kkveerac@kmitl.ac.th kkveerac@yahoo.com
65
Energy#66_p64-65_iMac5.indd 65
4/24/2557 BE 12:00 AM
Energy Loan กรีนภัทร์
ซีไอเอ็มบี ไทย ปล่อยสินเชื่อพลังงานสะอาด วงเงินกว่า 50 ลบ./โครงการ ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จ�ากัด(มหาชน) เป็นอีกหนึ่งธนาคารที่ให้ความส�าคัญในเรื่องของพลังงาน ทั้งยังเป็นธนาคารที่มีความเชี่ยวชาญ ในโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน โดยได้ด�าเนินการด้านพลังงานมาตั้งแต่ปี 2544 จนถึงปัจจุบัน เพื่อมุ่งหวัง ส่งเสริมด้านพลังงานทดแทนและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพให้กับธุรกิจไทยเดินไปอย่างมั่นคง ทั้งนี้ทางธนาคารยังเป็นที่ยอมรับ จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ และเอกชนภายในและต่ า งประเทศ ในฐานะธนาคารพาณิ ช ย์ ที่ ใ ห้ ค วามส� า คั ญ และมี ค วามช� า นาญในสิ น เชื่ อ ด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน
คุณจิรัชยุติ์ อัมยงค์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายพาณิชย์ธนกิจ ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย เผยถึงวัตถุประสงค์ของ พลังงานสะอาด (Clean Energy Loan) ว่า เป็นการตอบสนองนโยบาย ของภาครัฐ ตามแผนการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี และแผนพลังงานทดแทน 15 ปี ทั้งยังเป็น การส่งเสริมให้เกิดการลงทุนส�าหรับภาคเอกชนในการประหยัดการใช้พลังงานในภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรม และเป็นการเพิ่มมูลค่าเศษเหลือใช้หรือของเสียจากกระบวนการผลิต เพื่อผลิต กระแสไฟฟ้าเพื่อขายให้การไฟฟ้า ส�าหรับทิศทางของพลังงานทดแทนในปีนจี้ ะขึน้ อยูก่ บั ความชัดเจนของของภาครัฐในการส่งเสริม และควบคุมก�ากับธุรกิจพลังงานทดแทน เช่น เกณฑ์การพิจารณาว่าโครงการไหนเป็นโครงการ ที่จะด�าเนินการจริง เกณฑ์การยื่นขอขายไฟฟ้าที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาก�าลังผลิตไฟฟ้าของ ประเทศ (PDP) และความมั่นคงของระบบ และการปรับเปลี่ยนการส่งเสริมจากระบบ Adder เป็นระบบ Feed in tariff เป็นต้น ในส่วนของการอนุรักษ์พลังงานนั้นมาตรการจูงใจทางการเงินเป็นแรงขับเคลื่อนที่ส�าคัญ โดย เฉพาะอย่างยิ่งโครงการเงินสนับสนุนจากภาครัฐในรูปแบบต่างๆ หากโครงการสามารถด�าเนิน การได้อย่างต่อเนื่องก็จะส่งเสริมให้การประหยัดพลังงานเติบโตไปได้อย่างยั่งยืน จุดเด่นของสินเชื่อพลังงานสะอาด คือ เป็นสินเชื่อส�าหรับโครงการอนุรักษ์พลังงานในภาค ธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นวงเงินกู้เพื่อรองรับลูกค้าที่มีการลงทุนในด้านการอนุรักษ์ พลังงานประเภทวงเงิน วงเงินกู้ระยะยาววงเงินสินเชื่อให้ตั้งแต่ 50 ล้านบาท/โครงการ ระยะเวลากูไ้ ม่เกิน 7 ปี (รวม Grace Period 1 ปี) อัตราดอกเบี้ย ปีที่ 1-7 MLR-1% ต่อปี ส่วนการพิจารณาความเป็นไปได้ทางเทคนิคนั้นต้องมีที่ปรึกษาที่ใช้ในการออกแบบควบคุม รองรับผลการประหยัด หรือบริษัทจัดการพลังงาน (ESCO) รับรองผลการประหยัด หรือ การพิจารณาจากหน่วยงานสนับสนุนธุรกิจพาณิชย์ธนกิจและวงเงินให้กู้นั้นขึ้นอยู่กับขนาด การลงทุน ซึง่ ธนาคารจะพิจารณาตามความเสีย่ งของแต่ละโครงการ ส�าหรับระยะเวลาการช�าระ หนี้ของโครงการจะพิจารณาจากระยะเวลาการคืนทุน (Payback Period) เป็นส�าคัญ
ทดแทน จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรกั ษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน รางวัล ESCO Excellent Supporting Bank Award 2011 โ ด ย ส ถ า บั น พ ลั ง ง า น เ พื่ อ อุ ต ส า ห ก ร ร ม สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยรางวัล ESCO Excellent Supporting Bank Award 2013 โดย สถาบันพลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย และรางวัล Thailand Energy Awards 2013 ประเภทผูบ้ ริหารอาคารควบคุมดี เด่น จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน อีกด้วย
นอกจากจะมีการปล่อยสินเชือ่ ฯ แล้ว ทางธนาคารฯ ยังเคยได้รบั รางวัลด้านพลังงานอีกด้วย คือ รางวัล Thailand Energy Awards 2011 ประเภทผูส้ ง่ เสริมด้านการอนุรกั ษ์พลังงานและพลังงาน
ส�าหรับผูท้ สี่ นใจสินเชือ่ พลังงานสะอาด สามารถ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 0-2626-7777
66
Energy#66_p66_iMac5.indd 66
4/21/2557 BE 10:45 PM
Energy#66_p67_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/21/2557 BE
9:25 PM
Renergy โดย : คุณพิชัย ถิ่นสันติสุข ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
เศรษฐกิจ สเปน กับปัญหาการพัฒนาพลังงานทดแทน ¤§äÁ‹ÁÕã¤Ã¤Ò´¤Ô´Ç‹Ò»ÃÐà·È·Õ่à¤ÂÂÔ่§ãËÞ‹ã¹Í´ÕµáÅÐ໚¹»ÃÐà·È·Õ่àÁ×่Í 5 »‚·Õ่áÅŒÇ ÊÒÁÒö¼ÅԵ俿‡Ò¨Ò¡¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ä´ŒÊÙ§ ໚¹Íѹ´ÑºµŒ¹ æ ¢Í§ÂØâû ¨Ð»ÃÐʺ¡Ñº»˜ÞËÒàÈÃÉ°¡Ô¨ ¶Ö§¢Ñ้¹µŒÍ§ªÐÅÍ¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ áŌǻÃÐà·È¡ÓÅѧ¾Ñ²¹ÒÍ‹ҧä·Â «Ö่§à»š¹¼ÙŒ¹Ó´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹·´á·¹ã¹ÍÒà«Õ¹ ËÒ¡äÁ‹ÁÕ Road Map ¾Åѧ§Ò¹·´á·¹·Õ่ÂÑ่§Â×¹ ÁÑÇᵋʹͧ¹âºÒ¡ѹáÅŒÇ Çѹã´Çѹ˹Ö่§ÍÒ¨ ¨ÐäÁ‹áµ¡µ‹Ò§¡ÑºÊ໹¡็໚¹ä»ä´Œ
คงไมมใี ครคาดคิดวาประเทศทีเ่ คยยิง่ ใหญในอดีตและเปนประเทศทีเ่ มือ่ 5 ปทแี่ ลว สามารถผลิต ไฟฟาจากพลังงานทดแทนไดสงู เปนอันดับตน ๆ ของยุโรปจะประสบกับปญหาเศรษฐกิจ ถึงขัน้ ตอง ชะลอการสงเสริมพลังงานทดแทน แลวประเทศกําลังพัฒนาอยางไทย ซึง่ เปนผูน าํ ดานพลังงานทดแทน ในอาเซียน หากไมมี Road Map พลังงานทดแทนทีย่ งั่ ยืน มัวแตสนองนโยบายกันแลว วันใดวันหนึง่ อาจจะไมแตกตางกับสเปนก็เปนไปได สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดย กลุม อุตสาหกรรมพลังงานทดแทน ไดนาํ คณะเขาเยีย่ มชม พลังงานทดแทน ณ ประเทศสเปน เมือ่ ปลายเดือนมีนาคมทีผ่ า นมา ผูร ว มคณะฯ นอกจากผูบ ริหาร และสมาชิกของสภาอุตสาหกรรมฯ แลว ยังมีหนวยงานภาครัฐทีเ่ กีย่ วของรวมเดินทาง ซึง่ ประกอบดวย กระทรวงพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การไฟฟาสวนภูมภิ าค และสํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (องคการมหาชน) สาเหตุทมี่ กี ารรวมคณะ จากหลายหนวยงาน เนือ่ งจากกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการไฟฟาฝายผลิตแหง
ประเทศไทย เล็งเห็นความสําคัญของเทคโนโลยี Gasification ซึ่งเหมาะสมกับโรงไฟฟาชุมชน ขนาด 1 MW โดยเฉพาะอยางยิง่ หากสามารถใช Feedstock ไดหลากหลายก็จะเปนประโยชน อยางมาก จึงไดรว มกันสนับสนุนงบประมาณเพือ่ วิ จั ย พั ฒ นา และสาธิ ต Gasification แบบ Multi-Feedstock โดยทางสภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทยร ว มสนั บ สนุ น ด ว ยเช น กั น ผู เ กี่ ย วข องกั บโครงการนี้ จึง ไดรับเชิญจาก เจาของเทคโนโลยีเพือ่ เยีย่ มชมเทคโนโลยีดงั กลาว และพลังงานทดแทนอืน่ ๆ ของประเทศสเปน ซึ่ ง มี ค วามกาวหนามากแหงหนึ่งของโลก และ ไดใหความรวมมือในการถายทอดเทคโนโลยี ดังกลาวในประเทศไทย สเปน มีชอื่ อยางเปนทางการวา ราชอาณาจักร สเปน (The Kingdom of Spain) มีพื้นที่ 5 แสนกวาตารางกิโลเมตร เทา ๆ กับ ประเทศไทย เมืองหลวง คือ กรุงมาดริด ประชากรประมาณ 47 ลานคน นอยกวา ประเทศไทย สวนใหญนบั ถือศาสนาคริสต ภาษาสเปนมีผใู ชเปนอันดับ 3 ของโลก รองจากภาษาอังกฤษและภาษาจีน อันเนือ่ ง มาจากในอดี ต อั น ยิ่ ง ใหญ ข องสเปนมี เมืองขึ้นมากมาย สเปนจัดอยูในประเทศ เศรษฐกิจชั้นนําของโลก อยูในกลุม G20 แตปจจุบันการเยือนประเทศสเปนกลับมัก
68
Energy#66_p68-69_iMac5.indd 68
4/24/2557 BE 12:02 AM
ในป พ.ศ. 2554 สเปนสามารถผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนไวใชในประเทศไดถงึ 60,012 GWh คิดเปนสัดสวน 21.8% ของปริมาณการใชไฟฟาทัง้ ประเทศ พลังงานทดแทนหลัก ๆ ของสเปน คือ พลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ เปนพลังงานจากธรรมชาติ สเปนมีกระแสลมพัดโดยเฉลีย่ สูงกวาประเทศไทย คือประมาณ 7 เมตรตอวินาที และมีกระแสลมสมํา่ เสมอเนือ่ งจากความแตก ตางของอุณหภูมริ ะหวางวัน พลังงานลมผลิตไฟฟา สเปนนอกจากจะผลิตเพื่อใชเองแลว ยังสงออกกังหันลมผลิตไฟฟาอีก ไมนอ ย กังหันลมสามารถผลิตไฟฟาไดถงึ 21,600 MW หรือ 16% ของไฟฟาทีท่ งั้ ประเทศใชอยูเ มือ่ ป พ.ศ.2554 นอกจากนี้ ยังมีการเพิม่ ทุง กังหันลมอยางสมํา่ เสมอราวปละ 5 - 7% สเปนจึงครอง อันดับ 2 ของสหภาพยุโรปในการผลิตไฟฟาจากกังหันลม และเปนอันดับที่ 4 ของโลก รองจากจีน สหรัฐอเมริกา และเยอรมนี จึงไมผดิ หวังถาใครจะไปดูงานกังหันลมผลิตไฟฟาทีป่ ระเทศสเปน
จะไดรับคําเตือนวา “ระวังกระเปาสตางคและ ของมีคา” สวนอาหารการกินที่นาสนใจและ วางขายทัว่ ไปจนเปนหนึง่ ในสัญลักษณ ของประเทศไปแลว ก็คอื ขาหมูแฮมแหง (Serrano Ham) และกลายเปนสินคา สงออก วิธรี บั ประทานตองมีเครือ่ งสไลด เปนแผนบาง ๆ ตางกับขาหมูเยอรมัน ซึง่ การปรุงรับประทานจะใชวธิ กี ารทอด ยิ่ ง เป น ขาหมู ไ ทยด ว ยแล ว ยิ่ ง รั บ ประทานงายกวา สวนชือ่ เสียงทางดาน กีฬานอกจากฟุตบอลแลว กีฬาทองถิน่ ทีค่ นทัว่ โลกรูจ กั ก็คอื การสูว วั กระทิง จนมีคําเรียกสเปนวา เมืองกระทิงดุ แตแทที่จริงแลวมนุษยตางหากดุกวา กระทิงหลายเทา พิษเศรษฐกิจยุโรปทําใหประเทศสเปน แทบหายใจไมทั่วทองกวา 5 ปมาแลว ซึง่ ปจจุบนั เริม่ ดีขนึ้ ตามลําดับ สําหรับอุตสาหกรรม พลังงานทดแทนของสเปน มีสดั สวนในการเติบโต 0.94% ของ GDP คิดเปนมูลคา 10,000 ลานยูโร หรือ 400,000 ลานบาท ในระหวางป พ.ศ. 2550-2554 หากเปรียบเทียบกับประเทศไทย ถาเดินไดตาม แผน AEDP 10 ป การเจริญเติบโตก็อาจถึง สี่แสนลานบาทเชนกัน แตดูแลวไทยเรานาจะ ทําไดไมถงึ 40% ของเปาหมาย ความแตกตาง ระหว า งไทยกั บ สเปน ด า นอุ ต สาหกรรม พลังงานทดแทน ก็คือ ไทยทําทุกอยางเพื่อ แกปญ หาเฉพาะหนาใหภาพลักษณดดู ี แตสเปน เดิ น เป น ระบบจากการวิ จั ย พั ฒ นาไปถึ ง กระบวนการผลิตและการสนับสนุนจากภาครัฐ เรียกวา จากตนนํา้ ถึงปลายนํา้ Made in Spain
พลังงานแสงอาทิตย (Solar PV) สเปนมีการผลิตพลังงานเซลลแสงอาทิตยดว ยเทคโนโลยีทพี่ ฒ ั นาขึน้ มาเอง นอกจากใชในประเทศแลวก็ยงั สงออกอีกเชนกัน คณะของเราไดมโี อกาสเขาชมโซลารฟารม ขนาด 9 MW ของบริษทั Guascor เปนโครงการทีน่ า สนใจตรงทีว่ า เปนพลังงานเซลลแสงอาทิตย แบบปรับแผนเซลลตามดวงอาทิตย (Tracking) ซึง่ ตองลงทุนสูงขึน้ แตผลิตไฟฟามากขึน้ เชนกัน เนือ่ งจากสเปนเปนผูผ ลิตอยูแ ลวจึงไมมกี ารนําเขา และคุม คาตอการลงทุน สําหรับประเทศไทยแนว หนาการนําเขาเทคโนโลยีคงตองประเมินการลงทุนดูวา IRR : Internal Rate of Return พอคุม คาเกม การเงินของนักลงทุนหรือไม กอนตัดสินใจลงทุน พลังงานขยะ (Waste to Energy) คณะของเรามี โ อกาสเยี่ ย มชม พลังงานขยะจากบอฝงกลบแบบถูกหลัก สุขาภิบาล (Sanitary Landfill) ซึง่ มี การวางทอเพื่อใหกาซมีเทนที่เกิด ขึ้ น เข า สูร ะบบ และนํา ไปใชเปน เชือ้ เพลิงผลิตไฟฟา โดยไดรบั ความ รวมมือจากบริษทั Guascor เจาของ เทคโนโลยีเชนเดียวกัน Gasification เปาหมายหลักของ การเดินทางของคณะเรา คือ การศึกษา เรี ย นรู แ ละถ า ยทอดเทคโนโลยี การผลิตไฟฟาดวยเทคโนโลยี Gasification โดยทางบริษัท Guascor ประเทศสเปนจะถายทอด เทคโนโลยีผา นเอกชนไทย ภายใตความรวมมือของสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยโครงการ นํารองจะเปนโรงไฟฟา Gasification แบบ Multi-Feedstock ขนาด 1 MW แตนา เสียดายในชวงเวลา ทีค่ ณะของเราเดินทางไปครัง้ นี้ รัฐบาลสเปนกําลังอยูร ะหวางการตอรองอัตราสงเสริมพลังงานทดแทน กับภาคเอกชน โครงการตาง ๆ ทีต่ อ งใชเชือ้ เพลิงจึงหยุดรอนโยบายรัฐ ซึง่ ตางกับประเทศไทยที่ โครงการหยุดชะลอเพราะยังไมได รง.4 ดวยพิษทางการเมือง วันนีป้ ระเทศทีพ่ งึ่ พาอุตสาหกรรม พลังงานทดแทนไดกลายเปนเนือ้ เดียวกับเศรษฐกิจของประเทศ นั้น ๆ ไปแลว ยกตัวอยางที่ชัดเจน คือ ประเทศสเปนมีการพัฒนาพลังงานทดแทนอยางรวดเร็ว แตเมือ่ มีปญ หาเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมนีจ้ งึ แทบจะหยุดตามเศรษฐกิจไปดวย แตสาํ หรับประเทศไทย นัน้ มีความแตกตางกับสเปนตรงทีพ่ ลังงานทดแทนหลักของเรา คือ พลังงานชีวภาพ (Bio Energy) ไดแก ชีวมวล กาซชีวภาพ และพลังงานขยะ รวมทัง้ เชือ้ เพลิงชีวภาพอยางเอทานอลและไบโอดีเซล ซึง่ ชุมชนจะไดรบั ประโยชนจากผลิตผลทางการเกษตรไปพรอม ๆ กับภาคอุตสาหกรรม ไทยเราจึง สามารถพัฒนาพลังงานทดแทนไปพรอมกับเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงทีเ่ พียงพอ ทัว่ หนากัน 69
Energy#66_p68-69_iMac5.indd 69
4/24/2557 BE 9:36 PM
Auto Update Green Logistics นัษรุต: ดร.สิ โดย เถื่อนทองคํ ทธิชยั ฝรั า ง� ทอง คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุ รี
แนวคิด โลจิสติกส ยอนกลับ อาวุธลับทางการแขงขัน
¤ Ç Ò Á à Ê×่ Í Á â · à Á ¢ Í § Ê À Ò ¾ áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒâҴá¤Å¹·ÃѾÂÒ¡Ã ÀÒÇ¡Òó á ¢‹ § ¢Ñ ¹ ·Õ่ ÃØ ¹ áç áÅÐ ¡ÒÃÍÍ¡¡®ËÁÒ ¡®ºÑµÃ ËÃ×Í ÁҵáÒ÷ҧ¡ÒäŒ Ò ÃÐËÇ‹ Ò § » Ã Ð à · È ·Õ่ ã Ë Œ ¤ Ç Ò Á Êํ Ò ¤Ñ Þ ¡Ñ º ÊÔ§่ áÇ´ÅŒÍÁ ÏÅÏ Ê‹§¼ÅãËŒ·¡ Ø ¸ØáԨ µŒ Í §»ÃÑ º ÂØ · ¸ÇÔ ¸Õ à ¾×่ Í ÊÃŒ Ò §¤ÇÒÁ â´´à´‹¹áÅÐà¾Ô่ÁÈÑ¡ÂÀÒ¾ãËŒà˹×Í ¡Ç‹Ò¤Ù‹á¢‹§¢Ñ¹ äÁ‹Ç‹Ò¨Ð໚¹ÈÑ¡ÂÀÒ¾ ¡ÒüÅÔ µ ¡Òùํ Ò àʹÍÊÔ่ § ·Õ่ ÁÕ ¤Ø³ÀÒ¾·Õ่à˹×Í¡Ç‹Ò ÃÒ¤Ò¶Ù¡¡Ç‹Ò ÁÕ¡ÒÃÊ‹§Áͺ·Õ่ÃÇ´àÃ็Ç¡Ç‹Ò áÅÐÁÕ ¤ÇÒÁ¤Å‹ Í §µÑ Ç ·Õ่ ä Á‹ «Ñ º «Œ Í ¹ «Ö่ § ¼ÙŒºÃÔâÀ¤à¢ŒÒã¨ä´Œ§‹Ò »˜¨¨ÑÂàËÅ‹Ò¹Õ้ ·ํ Ò ãËŒ ¼Ù Œ º ÃÔ â À¤ãªŒ ã ¹¡ÒÃµÑ ´ ÊÔ ¹ 㨠àÅ×Í¡«×้ͼÅÔµÀѳ± ÃÇÁ¶Ö§¡ÅÒ ໚ ¹ ÁҵáÒÃ¡Õ ´ ¡Ñ ¹ ·Ò§¡ÒäŒ Ò ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ¨Ò¡ÊÀÒ¾´Ñ§¡Å‹ÒÇ ¨Ö§·ํÒãËŒá¹Ç¤Ô´âŨÔÊµÔ¡Ê ÂÍŒ ¹¡ÅѺ (Reverse Logistics) áÅÐ ¡ÃÕ¹ âÅ¨Ô Ê µÔ ¡ Ê (Green Logistics) ä´ŒÃѺ¤ÇÒÁʹã¨à¾Ô่ÁÁÒ¡¢Ö้¹
สําหรับความหมายของ โลจิสติกสยอ นกลับ (Reverse Logistics) หมายถึง การเคลือ่ นยาย วัตถุดิบหรือสินคายอนกลับ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อสรางมูลคา ใชประโยชนในมูลคาสินคา ทีย่ งั มีอยู หรือทําลายทิง้ อยางเหมาะสม นอกจากนี้ องคกรจะตองดําเนินการดวยความเต็มใจ และจริงใจที่จะรับคืนสินคาดวยความรวดเร็วอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อแกไข ปญหาใหกบั ผูม สี ว นไดสว นเสียกับองคกร แนวคิดดังกลาว จะเห็นไดวา การจัดการโลจิสติกสยอ นกลับ (Reverse Logistics) จะตอง มีการออกแบบระบบโลจิสติกสทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม การออกแบบวัตถุดบิ และผลิตภัณฑที่ สามารถนํากลับมาใชใหมได การนํามาใชในกระบวนการผลิตเพือ่ แก ไขปญหาในกระบวนการ สงกลับของผลิตภัณฑทบี่ กพรองจากขัน้ ตอนการผลิต หรือจากความผิดพลาดของกระบวนการ แปรรูปตาง ๆ ในสายการผลิต เพือ่ ลดขัน้ ตอนในการผลิต เวลา คาใชจา ยตาง ๆ อันเกิดจาก การขนสง/ขนถายภายในกระบวนการผลิต ซึ่งเกี่ยวของกับระบบโลจิสติกสที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม (Green Logistics) รวมทั้งเปนสวนหนึ่งของการจัดการโซอุปทาน นอกจากนี้ เมือ่ ผลิตภัณฑถกู สงออกไปจากผูผ ลิตจนถึงมือผูบ ริโภคแลว เมือ่ ผลิตภัณฑนนั้ ถูกเลิกใชงานหรือ ถูกทิง้ ตองทําความเขาใจวา จะเกิดอะไรขึน้ ภายหลังทีผ่ ลิตภัณฑนนั้ สิน้ สุดอายุการใชงาน ชิน้ สวนใดสามารถทําลาย นํากลับมาใชใหมได หรือสลายเองไดตามธรรมชาติ อนึง่ ในอดีตผูป ระกอบการสวนใหญไมคอ ยใหความสนใจและใหความสําคัญมากนัก กับการ จัดการโลจิสติกสยอ นกลับ (Reverse Logistics) มุง เนนแตเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของกิจกรรมโลจิสติกสจากตนนํา้ ไปยังปลายนํา้ เพือ่ ตอบสนองความตองการของผูบ ริโภคเปน หลัก แตปจจุบันเมื่อกระแสการแสดงความรับผิดชอบตอสังคม และเอาใจใสตอสิ่งแวดลอม (Corporate Social Responsibility : CSR) ทําใหแนวคิดนีถ้ กู ปลุกใหผปู ระกอบคํานึงถึงดวย สําหรับปญหาหลัก ๆ ทีม่ กั พบในการจัดการโลจิสติกสยอ นกลับขององคกร คือ
70
Energy#66_p70-71_iMac5.indd 70
4/24/2557 BE 12:04 AM
Green 4U Rainbow
1. ทุกคนในองค์การมักเข้าใจผิดว่า ตนเองไม่ได้เป็นหนึ่งใน กระบวนการโลจิสติกส์ เมือ่ มีการด�าเนินการส่งสินค้าขาออกไป ก็จะสามารถส่งกลับคืนสินค้าได้อย่างง่าย มีการรอการตัดสินใจ ในการเลือกจัดการกับสินค้าคืน ไม่มรี ะบบข้อมูลสารสนเทศใน เรือ่ งการด�าเนินการคืนสินค้า รวมถึงในทางปฏิบตั มิ คี วามยุง่ ยาก ซับซ้อนในการประสานงานรับสินค้ากลับคืนมา การตรวจสอบ ข้อมูลสินค้าทีค่ นื 2. ความสะดวกในการส่งคืนสินค้าของผูบ้ ริโภค ไม่วา่ จะเป็นใน กรณีที่ไม่พึงพอใจสินค้า ต้องการเปลี่ยนขนาด/รูปแบบ/สไตล์ ของสินค้า แต่นโยบายเรือ่ งการรับคืนสินค้า หรือ แลกเปลีย่ น สินค้าของธุรกิจ กลับสร้างความยุง่ ยากให้กบั ผูบ้ ริโภค โดยมัก จะระบุระยะเวลาอย่างจ�ากัดในการรับเปลี่ยนหรือคืนสินค้า รวมทัง้ ผูบ้ ริโภคต้องประสบกับความยากล�าบากในการส่งสินค้า โดยจะต้องน�าสินค้ามาคืน ณ จุดที่บริษัทก�าหนดหรือจัดส่งกลับทางไปรษณีย์ ท�าให้ ผูบ้ ริโภครูส้ กึ ไม่พงึ พอใจและไม่อยากกลับมาใช้ผลิตภัณฑ์กบั ทางบริษทั อีก 3. การไม่ให้ความส�าคัญกับประสิทธิภาพกิจกรรมโลจิสติกส์ย้อนกลับ เพราะคิดว่า กิจกรรมดังกล่าวไม่สง่ ผลกระทบหรือเกีย่ วข้องกับความพึงพอใจของผูบ้ ริโภคทีม่ ตี อ่ ธุรกิจ ซึง่ จะมีผลต่อต้นทุนในการด�าเนินกิจกรรมโลจิสติกส์และความสามารถทางการแข่งขัน ส่วน กลยุทธ์ในการจัดการโลจิสติกส์ยอ้ นกลับ (Reverse Logistics) ประการแรก คือ การออกแบบตัง้ แต่ตน้ ทางจนถึงปลายทางของกระบวนการผลิต นับตัง้ แต่สงั่ ซือ้ วัตถุดบิ ทีไ่ ม่ทา� ลายสิง่ แวดล้อมหรือสามารถย่อยสลายได้ จนถึงย้อนกลับไปยังแหล่งผลิตต้นทาง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล ประการทีส่ อง การอบรมให้ความรูแ้ ละสร้างทัศนคติ ที่ดีแก่พนักงานและลูกจ้าง เกี่ยวกับการเรียกกลับสินค้าคืน สินค้าเสียหาย สินค้าไม่ได้ มาตรฐาน หรือสินค้าหมดอายุใช้งาน โดยต้องไม่คิดว่าสินค้ากลับคืนเป็นปัญหาของ คนอื่นไม่ใช่ปัญหาของตนเอง และ ประการที่สาม มีการน�าระบบเทคโนโลยีมาใช้ใน การตรวจสอบสถานภาพสินค้าในกระบวนการต่าง ๆ ทีเ่ ป็นแบบ Real Time ซึง่ จะช่วย ให้ทุกคนสามารถป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้น และแก้ไขปัญหาระหว่างกระบวนการ ได้ทันเวลา
อย่างไรก็ดี หากธุรกิจสามารถวางระบบ โลจิสติกส์ย้อนกลับ (Reverse Logistics) ได้ เ ป็ น อย่ า งดี แ ล้ ว นอกจากจะเป็ น ส่วนหนึ่งที่ช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้ดี ขึน้ ยังท�าให้การด�าเนินธุรกิจเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง ลดต้นทุนในการด�าเนินงาน และเพิ่มผลก�าไรอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยั ง ท� า ให้ ธุ ร กิ จ เกิ ด ภาพลั ก ษณ์ ที่ ดี ใ น สายตาของผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียกับองค์กร ในด้ า นการแสดงความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สังคมและเอาใจใส่ตอ่ สิง่ แวดล้อมอีกด้วย
71
Energy#66_p70-71_iMac5.indd 71
4/24/2557 BE 12:04 AM
Around The World Rainbow
Horizon ¨Ñ¡ÃÂÒ¹ÍÍ¿âô ¾Åѧ§Ò¹ä¿¿‡Ò
บริษัทจักรยานไฟฟา สัญชาติอเมริกัน Outrider USA เปดตัวรถจักรยาน 3 ลอ ที่มีชื่อวา “Horizon” Jesse Lee, Tom Ausherman และ Daniel Rhyne ผูร ว มกอตัง้ บริษทั Outsider USA ไดชว ยกันออกแบบ รวมกับศาสตราจารย Christopher J. Wenner นักผจญภัยผูท เี่ ปนอัมพาตครึง่ ลาง เนรมิตใหเปนรถจักรยาน หลายฟงกชั่นที่สามารถตอบสนองความตองการของทุกคน โดยเลือกฟงกชั่นตามแบบที่ตองการได สามารถเลือกฟงกชั่นแบบครบครันทั้งในสวนของขาและแขนหรืออาจเลือกเฉพาะฟงกชั่นเสริม ในส ว นของครึ่ ง ตั ว บนหรื อ ครึ่ ง ตั ว ล า งก็ ไ ด เช น สามารถเลื อ กให มี ที่ ว างขาแทนการใช บั น ไดถี บ หรือเลือกใหมีแฮนดเพียงอันเดียวเปนตน นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติพิเศษที่ออกแบบมาสําหรับ ผู ที่ มี ค วามบกพร อ งทางร า งกายโดยเฉพาะคื อ ในส ว นที่ นั่ ง ออกแบบให ผู ขั บ ขี่ ส ามารถเข า -ออก จากตัวรถไดสะดวก แฮนดสามารถพับลงไดและมีจุดศูนยถวงตํ่าเพื่อเพิ่มความสมดุลของตัวรถมา พรอมระบบกันสะเทือนที่ดีเยี่ยม สามารถขับขี่ไดทั้งบนถนนในเมืองและบนเสนทางแบบออฟโรด ใชพลังงานจากแบตเตอรีล่ เิ ธียม สามารถทําความเร็วสูงสุดไดถงึ 25 ไมลตอ ชัว่ โมงหรือขับขีใ่ นระยะทาง สูงสุด 30 ไมลโดยไมตอ งชารจแบตเตอรีใ่ หม อีกทัง้ ยังเลือกขับขีไ่ ด 3 รูปแบบคือ ใชบนั ไดถีบอยางเดียว, ใชพลังงานไฟฟาอยางเดียวและใชแบบผสมผสานกันทัง้ สองแบบ นับวาเปนการออกแบบทีย่ อดเยีย่ มที่ ชวยเพิม่ อิสระแหงการเคลือ่ นไหวใหกบั กลุม คนทีม่ คี วามบกพรองทางรางกายใหไดสมั ผัสประสบการณ ผจญภัยไรขีดจํากัดไดเหมือนกับคนปกติทั่วไป แมวาในขณะนี้ Horizon จะยังเปนเพียงรถตนแบบแต ดวยศักยภาพและคุณสมบัติที่ไรขอจํากัด อีกไมนานเกินรอเราคงจะเห็นมันถูกผลิตออกจําหนายอยาง เปนทางการแนนอน
ÃÕä«à¤ÔŽҾÅÒʵԡãˌ໚¹µÑǵ‹Í Rent-A-Green Box ¡Å‹Í§¡ÙŒâÅ¡ ทีมงาน Clever Pack จากบราซิล ออกแบบฝาเกลียวขวดนํ้าพลาสติก (Clever Caps) ที่มาพรอมกับ 2 ชีวิต 2 คุณคา เริ่มจากชีวิตแรกกับการทํา หนาที่อยางยอดเยี่ยมในการปดขวดนํ้า และชีวิตที่สองที่เปลี่ยนจากฝาปด ขวดนํ้ามาเปนของเลนแบบตัวตอที่นอกจากจะสามารถตอเติมเสริมแตง ตามจินตนาการไดแลว ทั้งยังสามารถนําไปเลนรวมกับตัวตอที่มีขายอยูใน ทองตลาดไดดวย อันเปนการเพิ่มสีสันสรางโอกาสในการออกแบบรูปทรง ใหมากประโยชนใชสอย ทั้งนี้ทีมงาน Clever Pack ไดนําตัวตอที่มีขายอยู ในทองตลาดมาเปนตนแบบในการพัฒนาขนาดของฝาเกลียวขวดนํา้ ทีเ่ หมาะสม ทั้งในสวนของความสูง ความกวาง ระยะหางและขนาดของปุมบนตัวตอบน ฝาเกลียว Clever Caps นอกจากจะสามารถตอเปนของเลนไดแลว ยังสามารถ นําไปตอเปนของใชภายในบานไดอีกดวย เชน เกาอี้ โคมไฟ กลองใสอุปกรณ เครื่องเขียน เปนตน Clever Pack เปลี่ยนแนวคิดจากกระบวนการรีไซเคิลสู การ Reuse ที่ไมใชพลังงานเพิ่มเติมใดๆ ในการชุบชีวิตขยะพลาสติก ซึ่งเปน อีกหนึ่งแนวคิดดี ๆ ที่พลิกหนึ่งชิ้นงานพลาสติกใหมีประโยชนใชสอยถึง 2 อยางที่แตกตางกัน สอดคลองกับแนวคิดของการออกแบบอยางยั่งยืน ที่ใหความใสใจกับสิ่งแวดลอม
สเปนเซอร บราวน ชายชาวอเมริ กั น ริ เริ่ ม ธุ ร กิ จ ให เช า กล อ ง พลาสติก ชื่อ Rent-A-Green Box เปนธุรกิจใหเชากลองขนยาย ที่ไมสรางขยะหรือ Zero-Waste Moving Box Rental สเปนเซอร ได อ อกแบบและผลิ ต Recopack ซึ่ ง เป น กล อ งพลาสติ ก สีเขียวสดใส ทําจากพลาสติกรีไซเคิลสามารถยอยสลายไดมีถึง 3 ขนาดใหเลือก แข็งแรง ทนทาน ใชซํ้าไดถึง 400 ครั้ง ทั้งยัง กั น นํ้ า กั น กระแทก จุ ข องได ม าก และจั ด วางได เ ป น ระเบี ย บ ประหยั ด พื้ น ที่ ใ นการบรรทุ ก ทั้ ง นี้ Rent-A-Green-Box ยั ง ได รั บ รางวั ล ธุ ร กิ จ ขนาดย อ มยอดเยี่ ย มจากรั ฐ แคลิ ฟ อร เ นี ย และรางวัลกิจการเพือ่ สิง่ แวดลอมและผูน าํ ทางเศรษฐกิจ หรือ GEELA Award อีกดวย
72
Energy#66_p72_iMac5.indd 72
4/24/2557 BE 12:06 AM
Energy#62_p31_Pro3.indd 31
12/18/13 10:28 PM
ASEAN Update กองบรรณาธิการ
ดันพลังงานทดแทนสูชายแดนไทย-พมา สํานักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจยั (สกว.) โดยเครือขายวิจยั เพือ่ การพั ฒ นาเชิ ง พื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ตอนบน จัดประชุมประจําปเพื่อ เผยแพร ผ ลงานวิจัย ถายทอด ประสบการณ ความรู และสะทอน มุ ม มองของผู ใช ป ระโยชน จ าก ผลงานวิ จั ย ในเรื่ อ งพลั ง งาน ทดแทนเพื่อความมั่นคงในพื้นที่ ภาคเหนือตอนบน ภายใตความ รวมมือกับหนวยงานทหารในพืน้ ที่ ในการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน ตามแนวชายแดน โดยเนนใหชมุ ชน เขามามีสวนรวม ความรวมมือระหวาง สกว. และหนวยงานทหารในพื้นที่ มีจุดเริ่มตนมา ประมาณ 5 ปที่ผานมาบนความรวมมือระหวางเครือขายวิจัยเพื่อพัฒนาเชิง พื้นที่ภาคเหนือตอนบน ซึ่งไดดําเนินโครงการพัฒนาพลังงานทดแทนเพื่อ
ความมั่นคงและการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยมีเปาหมายในการ สรางความรวมมือระหวางหนวยงานความมั่นคงและชุมชนในพื้นที่ แนวตะเข็บชายแดนไทย-พมา ใหมีการพัฒนาพลังงานทดแทนใชใน ฐานปฏิบัติการทหารเพื่อเปนพลังงานเสริมสําหรับการติดตอสื่อสาร และใหแสงสวาง ผลงานที่ผานมาไดชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เพิ่มปริมาณ สํ า รองพลั ง งานไฟฟ า ของฐานปฏิ บั ติ ก ารให เ กิ ด ความได เ ปรี ย บใน การนําไปใชงานทางยุทธการ ซึง่ ระบบทีพ่ ฒ ั นาขึน้ เปนอุปกรณผลิตไฟฟา ขนาดเล็ ก ต น ทุ น ตํ่ า ที่ เ หมาะสมกั บ พื้ น ที่ แ ละง า ยต อ การบํ า รุ ง รั ก ษา ปจจุบันมีระบบที่พัฒนาขึ้นทั้งสิ้น 3 ระบบ ไดแก พลังงานจากแสงแดด พบวา มีสัดสวนกําลังการผลิต 800 วัตตตอวัน / ประสิทธิภาพการใช งานอยูที่ 480 วัตตตอวัน สําหรับตนทุนตอหนวย 20,000 บาท พลังงานลม พบวา มีสัดสวนกําลังการผลิต 200 วัตตตอชั่วโมง / ประสิทธิภาพการใชงานอยูที่ 16 วัตตตอชั่วโมง สําหรับตนทุนตอหนวย 30,000 บาท และ พลังงานนํ้า พบวา มีสัดสวนกําลังการผลิต 2,000 วัตตตอวัน / ประสิทธิภาพการใชงานอยูที่ 480 วัตตตอวัน สําหรับ ตนทุนตอหนวย 70,000 บาท
เพิ่มกําลังผลิตไฟฟาภาคใตรับ AEC การเปดประตูสูประชาคมอาเซียนป 2558 นั้น ใกลเขามาทุกที หลายประเทศไดมีความตื่นตัว ดานพลังงาน เพือ่ พัฒนาศักยภาพประเทศของตนใหสามารถแขงขันกับประเทศกลุม สมาชิกใหได ซึ่งพลังงานที่สําคัญ คงหนีไมพนพลังงานไฟฟา ถือเปนพลังงานพื้นฐานที่ทั่วโลกมีใชเปน ระบบพื้นฐานอยูแลว ถึงแมวาในบางพื้นที่ของแตละประเทศอาจยังไมมีการเขาถึงของระบบ ไฟฟาก็ตาม สําหรับประเทศไทยโดยเฉพาะในพืน้ ทีภ่ าคใต มีความตองการใชไฟฟาเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งแตพนื้ ที่ ดังกลาวมีขอจํากัดที่ตองพึ่งพาการสงกระแสไฟฟามาจากภาคกลางเปนบางสวน หนวยงาน ที่เกี่ยวของอยาง กระทรวงพลังงาน ไดมีความพยายามในการหาทางออกใหกับพื้นที่ดังกลาว ใหมีไฟฟาใชอยางเพียงพอรองรับความตองการที่เพิ่มมากขึ้น
อีกหนึ่งปญหาของพื้นที่ภาคใต คือ การขาดแหลง เชือ้ เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟา โดยเฉพาะเปนพืน้ ที่ ที่ตองพึ่งพากาซธรรมชาติจากแหลงกาซธรรมชาติ ในพืน้ ทีพ่ ฒ ั นารวมระหวางไทย-มาเลเซีย หรือ เจดีเอ เมื่อเขาสูชวงกลางปที่แหลงเจดีเอ ตองหยุดซอม บํารุง จะเปนที่พื้นที่นาเปนหวงตอการขาดแคลน ไฟฟาทันที เพราะโรงไฟฟาจะนะทีเ่ ปนโรงไฟฟาหลัก ของภาคใตกาํ ลังผลิต 700 เมกะวัตต ตองหยุดเดินเครือ่ ง เพราะใชกาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงเพียงอยางเดียว เทานั้น การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) จึงได เตรียมแผนปรับปรุงโรงไฟฟาจะนะ หลังจากมองวา ยังไมสามารถเดินเครือ่ งดวยเชือ้ เพลิงชนิดอืน่ ทดแทน การใชกา ซธรรมชาติในปจจุบนั ได เพือ่ รองรับการเปด ประชาคมอาเซียน ทีก่ ารใชไฟฟาของภาคใตอาจเพิม่ ขึน้ ดวยแผนการสรางความมั่นคงระบบไฟฟาภาคใตกับ การพัฒนาระบบผลิตไฟฟา และระบบสงไฟฟา ใหมี กําลังผลิตไฟฟาและสํารองเพียงพอ ที่สําคัญตอง สามารถพึ่งพาตนเองได ปจจุบันอยูระหวางสราง ความเขาใจกับประชาชนในการกอสรางโรงไฟฟา ถานหินในประเทศ เพือ่ การพึง่ พาตนเองในระยะแรก ใหไดเสียกอน
74
Energy#66_p74-75_iMac5.indd 74
4/21/2557 BE 10:49 PM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
ผลักดัน การผลิตรถยนต
รองรับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประเทศไทยในเรื่องของฐานการผลิตรถยนตเมื่อเทียบกับประเทศในแถว อาเซียน ถือวาอยูใ นระดับแนวหนา แตผปู ระกอบการตองเตรียมพรอมปรับปรุง กระบวนการผลิตใหดียิ่งขึ้น โดยใชเทคโนโลยีขั้นสูงขึ้น เพื่อลดตนทุนและ เพิม่ คุณภาพสินคาใหดกี วาเดิม เพราะประเทศไทยยังลาหลังหากเทียบกับประเทศ ญีป่ นุ ถึง 10 ป และเพือ่ เตรียมพรอมรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : AEC ในป 2558 เพราะตลาดจะขยายเพิ่มขึ้นอีก 10 เทาตัว ทําใหอุตสาหกรรม รับชวงการผลิตของไทย จะกลับไปมียอดการผลิตชิ้นสวนยานยนตสูงสุด เป น ประวั ติ ก ารณ อี ก ครั้ ง หากรั ฐ บาลและเอกชนร ว มมื อ กั น อย า งดี ใ น หลายๆ ดาน ความนาจะเปนของการเติบโตอีกครั้งของอุตสาหกรรมรถยนต คือ การผลิต รถยนตเพือ่ ปอนตลาด AEC และการผลิตเพือ่ รองรับโครงการรถยนตประหยัด พลังงาน หรือ อีโคคาร ระยะที่ 2 มูลคาการลงทุนรวมกวา 138,889 ลานบาท ซึ่ ง จะทํ า ให ป ระเทศไทยมี กํ า ลั ง การผลิ ต รถยนต ร วมเพิ่ ม ขึ้ น อี ก ประมาณ 1,500,000 คัน จากปจจุบันที่ไทยมีกําลังการผลิตรถยนตอยูประมาณปละ 2,400,000 - 2,500,000 คัน ซึ่งจะทําใหประเทศไทยกาวเปนผูผลิตชิ้นสวน รายใหญที่สุดในอาเซียน ÊÁÒ¤ÁÊ‹ § àÊÃÔ Á ¡ÒÃÃÑ º ª‹ Ç §¡ÒüÅÔ µ ä·Â à¼Â¶Ö § ¡ÒüÅÔ µ ªÔ้ ¹ Ê‹ Ç ¹Âҹ¹µ ¢ ͧ »ÃÐà·Èä·Âä´Œ»ÃѺŴŧ»ÃÐÁÒ³ 20 - 30% µ‹Íà¹×่ͧµÑ้§áµ‹¡ÅÒ§»‚ 2556 ·Õ่¼‹Ò¹ÁÒ áÅÐ ¤Ò´Ç‹Ò¨Ðµ‹Íà¹×่ͧ仨¹¶Ö§»ÅÒ»‚ 2557 «Ö่§ ໚¹à˵ءÒó Ê׺à¹×่ͧàÁ×่͵ÅҴö¹µ »ÃÑ º ࢌ Ò ÀÒÇл¡µÔ ËÅÑ § ¨Ò¡ÁÕ ¡ÒüÅÔµ ªÔ้¹Ê‹Ç¹Âҹ¹µ Í‹ҧµ‹Íà¹×่ͧà¾×่ÍÃͧÃѺ â¤Ã§¡ÒÃö¹µ ¤Ñ¹áá â´Â੾ÒеÅÒ´ ö¹µ »ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ ÍÕ⤤ÒÃ
75
Energy#66_p74-75_iMac5.indd 75
4/21/2557 BE 10:49 PM
Energy Focus นัษรุต เถื่อนทองคํา
ÀÒ¤ÍØ µ ÊÒË¡ÃÃÁ¡Ñ º àÃ×่ Í §¢Í§¡ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹ Âѧ໚¹àÃ×่ͧ·Õ่ËÅÒ½†Ò·Õ่à¡Õ่ÂÇ¢ŒÍ§ ¾ÂÒÂÒÁ·Õ่¨Ð ËÒ·Ò§Í͡ËÇÁ¡Ñ¹ã¹¡Òõͺ⨷ ´ÒŒ ¹¡ÒÃŴ㪌 ¾Åѧ§Ò¹ã¹ÀҤʋǹ¹Õã้ ˌ䴌ÁÒ¡·ÕÊ่ ´ Ø à¾ÃÒÐÁÕ¡ÒÃ㪌 ¾ÅÑ § §Ò¹¤‹ Í ¹¢Œ Ò §ÁÒ¡áÅÐà¡Õ่  ǢŒ Í §¡Ñ º ¡ÒÃ¢Ñ º à¤Å×่͹àÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§»ÃÐà·ÈÍ‹ҧËÅÕ¡àÅÕ่§äÁ‹ä´Œ ©Ð¹Ñ้¹¡ÒÃʹѺʹع´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹¨Ö§¶Ù¡¾Ø‹§à»‡ÒÁÒ·Õ่ ÀÒ¤ÍصÊÒË¡ÃÃÁ¤‹Í¹¢ŒÒ§ÁÒ¡
ศูนยเผยแพรอนุรักษพลังงานภาคอุตสาหกรรม เพิ่มประสิทธิภาพผูประกอบการดานพลังงาน ทีผ่ า นมา ไดมกี ารจับมือของหนวยงานภาครัฐในการผลักดันการอนุรกั ษพลังงาน ภาคอุตสาหกรรม ไมวาจะเปน กระทรวงอุตสาหกรรม, สํานักงานนโยบาย พลังงานและแผนพลังงาน (สนพ.) และการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) จับมือรวมกันผลักดันการอนุรกั ษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม โดยการผลักดัน ในชวงแรกจะเปนการสงเสริมใหเปลี่ยนใชหลอดประหยัดพลังงานใน โรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศ ซึ่งจะสามารถลดการใชพลังไฟฟาลง อยางนอย 50% ซึ่งถือไดวาเปนโครงการเริ่มตนที่จะรณรงคใหโรงงาน เขามามีสวนรวมไดงายที่สุด เร็วที่สุดและเห็นผลประหยัดไดในทันที นอกจากนีย้ งั มีการขับเคลือ่ นดานการสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ การสงเสริม การอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานให แ ก โรงงานอุ ต สาหกรรมที่ เข า ร ว มโครงการ อนุรักษพลังงานภาคอุตสาหกรรม ซึ่งโรงงานจะไดรับเงินสนับสนุนตาม ผลประหยั ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง หากความร ว มมื อ นี้ ป ระสบความสํ า เร็ จ จะ สามารถลดการใชพลังงานในระบบแสงสวางไดถึง 2,400 เมกะวัตต เทียบเทากับเขื่อนขนาดใหญถึง 4-5 เขื่อนเลยทีเดียว แตที่ยังนาเปน หวงคือ การเขาถึงดานการอนุรักษพลังงานในประเทศ ยังไมครอบคลุม ถึงผูประกอบการเทาที่ควร
76
Energy#66_p76-77_iMac5.indd 76
4/24/2557 BE 12:09 AM
หนวยงานที่เกี่ยวของอยาง กองทุนเพื่อสงเสริม การอนุ รั ก ษ พ ลัง งาน จึง เตรียมตั้ง ศูน ยเ ผยแพร อนุ รั ก ษ พ ลั ง งานภาคอุ ต สาหกรรมครอบคลุ ม ทัว่ ประเทศ หวังกระตุน ผูป ระกอบการ และเจาหนาที่ ปฏิบัติงาน ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ภายใต การสนับสนุนงบประมาณ 41.9 ลานบาท เนื่องจาก ปจจุบันโรงงานอุตสาหกรรมทั่วประเทศ มีจํานวน มากกวา 130,000 แหง ซึ่งผูประกอบการสวนใหญ อาจไมไดใหความสําคัญกับเรื่องของการประหยัด พลังงานเทาที่ควร การเขาถึงการอนุรกั ษพลังงานอยางแทจริง ควรเขาถึง ในทุกภาคสวน เพราะภายในองคกรมีบุคลากรที่ เกีย่ วของจํานวนมากตัง้ แตผบู ริหารไปจนถึงพนักงาน สายการผลิต ซึง่ สวนใหญยงั ขาดความรู และจิตสํานึก ในการอนุรักษพลังงานการกระตุนใหผูประกอบการ มี ค วามรู แ ละตระหนั ก ถึ ง การใช พ ลั ง งานให มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จะชวยใหภาคอุตสาหกรรม พัฒนาไปสูการลดการใชพลังงาน และลดตนทุน ดานพลังงานไดมากขึ้น ภายใตกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานดังกลาวสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) ไดเตรียมดําเนินโครงการจัดตัง้ ศูนยเผยแพร แนวทางการอนุรักษพลังงานในภาคอุตสาหกรรม โดยมีศูนยฯ หลัก 1 แหง พรอมกับจัดตั้งศูนยฯ ยอย 18 แหง กระจายตามกลุมจังหวัด ทั่วประเทศ รวมถึงเพิ่มการเขาถึงขอมูลการประหยัดพลังงานดวย การจัดทําเอกสารเผยแพรความรูดานการอนุรักษพลังงาน รวมทั้ง ประชาสัมพันธขอมูลอนุรักษพลังงานผานสื่อตางๆ 5 ชองทาง ไดแก ศูนยกลางการเผยแพรความรูและเครือขายในพื้นที่, โทรทัศน และโทรทัศนเคเบิลทองถิ่น, วิทยุและวิทยุชุมชน, หนังสือพิมพและ สือ่ สิง่ พิมพทอ งถิน่ และเว็บไซต เพือ่ เปนแนวทางใหกบั ผูป ระกอบการ เจาหนาที่ ไดนําไปเปนขอมูลในการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ศู น ย เ ผยแพร แ นวทางการอนุ รั ก ษ พ ลั ง งานในภาคอุ ต สาหกรรม ถื อ เป น เวที สํ า หรั บ ประสานความร ว มมื อ ผู ป ระกอบการ และ เจาหนาที่ ในการพัฒนาศักยภาพดานการอนุรักษพลังงานและสราง จิตสํานึกใหกับเจาหนาที่ของภาคอุตสาหกรรมใหตระหนักถึงการ ใชพลังงานอยางประสิทธิภาพ เบื้องตนคาดวาจะมีผูประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมประมาณ 20% ที่ไดรับขอมูลขาวสารผานศูนยฯ ได นํ า ความรู ไ ปปฏิ บั ติ ใช ง านได จ ริ ง และเชื่ อ ว า ในอนาคตจะ ขยายเปนเครือขายใหญที่สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดาน การอนุรกั ษพลังงานไดอยางครอบคลุมทัว่ ประเทศมากยิง่ ขึน้ ก็เปนได
77
Energy#66_p76-77_iMac5.indd 77
4/24/2557 BE 12:09 AM
Insight Energy นัษรุต เถื่อนทองคํา
Ἱ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ 190 â¤Ã§¡Òà Ŵ㪌¾Åѧ§Ò¹ 36,093 ŌҹºÒ· »ÃÐà·Èä·ÂÀÒÂ㵌Ἱ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ 20 »‚¡Ñº¤ÇÒÁµÑ้§ã¨Í‹ҧṋÇṋ㹡ÒþÖ่§µ¹àͧ à¾×่ÍÅ´¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧÊÔ้¹àªÔ§ áÅС‹ÍãËŒà¡Ô´»ÃÐ⪹ ÊÙ§ÊØ´ àª×่ÍËÃ×ÍäÁ‹Ç‹Òà¾Õ§ᤋäÁ‹¡Õ่»‚·Õ่´ํÒà¹Ô¹á¹Ç·Ò§µÒÁá¼¹´Ñ§¡Å‹ÒÇ »ÃÐà·Èä·ÂÊÒÁÒö»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ ä»áÅŒÇà·‹ÒäËË áÅÐÁÕ¼ÅÊํÒàÃ็¨ä»áÅŒÇÁÒ¡¹ŒÍÂà¾Õ§äà ?
ภายใตความคาดหวังเมื่อสิ้นสุดแผนปฏิบัติ การอนุรักษพลังงาน 20 ป ในป 2573 ใน การลดการใชพลังงานใหไดอยางนอย 25% ซึง่ ประเทศไทยจะสามารถลดการใชพลังงาน ลงไดประมาณ 38,845 พันตันเทียบเทา นํ้ า มั น ดิ บ ต อ ป หรื อ คิ ด เป น จํ า นวนเงิ น หนึ่งในนั้น มีโครงการที่นาสนใจและประสบความสําเร็จอยางมากไมวาจะเปน โครงการ ประมาณ 1.1 ลานลานบาท และลดการ สงเสริมวัสดุและอุปกรณเพื่อการอนุรักษพลังงานในโรงงานขนาดกลางและขนาดเล็ก, ปลอยคารบอนไดออกไซดไดประมาณ 140 โครงการสงเสริมฉลากประสิทธิภาพสูงเพื่อการอนุรักษพลังงาน, โครงการสงเสริมการลงทุน ล า นตั น จากกลุ ม เป า หมายหลั ก ทั้ ง ภาค ดานอนุรักษพลังงานและพลังงานทดแทน (ESCO Revolving Fund) และโครงการสงเสริม อุตสาหกรรม, ภาคขนสง, ภาคอาคารธุรกิจ ระบบบริหารจัดการขนสงเพื่อการประหยัดพลังงาน (พ.ศ.2555) (Logistics and Transport และบานพักอาศัย ใหเกิดการใชพลังงาน Management : LTM) เปนตน จากการดําเนินงานดังกลาวสามารถประหยัดพลังงานได อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเพิ่ ม ขี ด ความ ประมาณ 1,443.74 พันตันเทียบเทานํ้ามันดิบ หรือคิดเปนมูลคาประมาณ 36,093 ลานบาท สามารถในการแข ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ของ ประเทศในระดับสากลตอไป เลยทีเดียว ความคืบหนาการดําเนินงานแผนอนุรกั ษพลังงาน 20 ป พ.ศ. 2554 – 2573 ทีเ่ ราไดยนิ จนติดหูนนั้ กอเกิดประโยชนไดอยางเห็นไดชัดเจนเพียงแคทุกฝายที่เกี่ยวของหันมาใหความสนใจตอ เรื่องพลังงาน จากตัวเลขที่อางอิงโดย สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวง พลังงาน ตั้งแตป 2554 – 2556 รวมระยะเวลา 3 ป มีการผลักดันโครงการดานการอนุรักษ พลังงาน ที่สอดคลองกับภารกิจแผนอนุรักษพลังงาน 20 ป รวม 190 โครงการ
กาวเขาสูป 2557 ยังมีแผนดานการสงเสริมที่นาสนใจอีกจํานวน 56 โครงการ โดยไดมี การอนุมัติงบประมาณในสวนแผนเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานในการดําเนินงานจากกองทุน เพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงานแลว โดยโครงการสําคัญทีไ่ ดรบั การสนับสนุน ยังคงมุง ทีก่ ลุม ที่ มีการใชพลังงานเปนจํานวนมากอยาง โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงานของเครือ่ งทํา นํา้ เย็นในภาคอุตสาหกรรมและอาคารธุรกิจ, โครงการสงเสริมมาตรการอนุรกั ษพลังงานโดย เนนการใหความชวยเหลือผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) รวมถึงโครงการ อนุรักษพลังงานสําหรับการเปลี่ยนหลอดไฟฟาประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง 78
Energy#66_p78_iMac5.indd 78
4/21/2557 BE 10:51 PM
Green 4U Rainbow
Energy#66_p79_iMac5.indd 79
4/25/2557 BE 4:05 PM
Special Scoop กองบรรณาธิการ
¡Œ Ò ÇÊÙ ‹ » ‚ ·Õ่ 10 ¢Í§¡ÒÃ¤× ¹ ¾×้ ¹ ·Õ่ ÊÕ à ¢Õ Â Çá¡‹ ÊÑ § ¤ÁÍ‹ Ò §ÂÑ่ § Â× ¹ ÀÒÂ㵌¡ÒÃËÂÑ´Â×¹¨Ò¡¤‹ÒÂö¹µ ÂÑ¡É ãËÞ‹Í‹ҧ “âµâµŒÒ” «Ö§่ äÁ‹à¾Õ§ᤋ¾ÅÔ¡¿„¹ œ ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁãËŒ´¢Õ ¹ Ö้ áµ‹Â§Ñ à»š¹¡ÒÃÃдÁ à¤Ã×Í¢‹Ò´ŒÒ¹ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁµ‹Ò§ æ ãËŒÁÒËÇÁ·ํÒ¡Ô¨¡ÃÃÁËÇÁ¡Ñ¹ Íѹ໚¹¡ÒûÅÙ¡¨Ôµ¹Ö¡·Õ´ ่ µ Õ Í‹ »ÃÐà·ÈáÅÐâÅ¡¢Í§àÃÒ áÁŒà»š¹à¾Õ§ ¤ÇÒÁËÇÁÁ×ÍàÅ็¡ æ ᵋ¡็¶×Í໚¹¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í·Õ่ÁÕãËŒ¡Ñ¹ÁÒáÅŒÇ Ë¹Ö่§·ÈÇÃÃÉ´ŒÇ¡ѹ
ÃдÁ¨ÔµÍÒÊÒ»ÅÙ¡»†ÒªÒÂàŹ ¤×¹¾×¹้ ·ÕÊ่ àÕ ¢ÕÂÇÍ‹ҧÂѧ่ Â×¹
กิจกรรมคืนพื้นที่สีเขียวสูสังคม เกิดขึ้นภายใตชื่อกิจกรรม “โตโยตา ปลู ก ป า ชายเลน” กั บ การก า วเข า สู ป ที่ 10 โดยทํ า การปลู ก พันธุไมชายเลนจํานวน 60,000 ตนภายในงานไดรับเกียรติจาก นายนินนาท ไชยธีรภิญโญ รองประธานกรรมการ, นายวิเชียร เอมประเสริฐสุข รองกรรมการผูจัดการใหญ, นายเอกชัย รัตน ชั ย วงศ ผู ช ว ยกรรมการผู จั ด การใหญ อ าวุ โ ส บริ ษั ท โตโยต า มอเตอร ประเทศไทย จํ า กั ด และ นายตรี รั ช ภู ค ชสารศิ ล ป ผูอํานวยการมูลนิธิสิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (ประเทศไทย) นําคณะอาสาสมัครอันประกอบดวยตัวแทนจาก กลุมพนักงานโตโยตา เครือขายเพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืนกับโตโยตา สมาชิ ก ชมรมโตโยต า จิ ต อาสา สมาชิ ก เครื อ ข า ย Toyota CSR Facebook สมาชิกโตโยตาคารคลับ และประชาชนทั่วไป จํานวน กวา 3,500 คน รวมทํากิจกรรมปลูกปาชายเลน ณ ศูนยศึกษา ธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ
ในการรักษาสิ่งแวดลอม ใหไดมีโอกาสรวมแสดงพลังและความคิด สรางสรรคในการดูแลสิ่งแวดลอมรวมกัน โดย กิจกรรมโตโยตา ปลูกปาชายเลน โดยรับความรวมมือจาก บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด กรมพลาธิการทหารบก กองทัพบก และ มูลนิธิ สิ่งแวดลอมศึกษาเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน (ประเทศไทย)
สํ า หรั บ วั ต ถุ ป ระสงค ข องกิ จ กรรมคื อ การอนุ รั ก ษ ป า ชายเลน ปากแมนํ้าผืนสุดทายของภาคกลางใหมีความอุดมสมบูรณ มีสภาพ เหมาะแก ก ารอยู อ าศั ย ให แ ก สั ต ว ใ นระบบนิ เวศชายเลน อี ก ทั้ ง ยั ง เป น การเป ด โอกาสให อ าสาสมั ค รจากภาคส ว นต า ง ๆ อาทิ พนั ก งานโตโยต า และครอบครั ว ตั ว แทนบริ ษั ท ในเครื อ ผู แ ทน จําหนาย ผูผ ลิตชิน้ สวน ลูกคา กลุม สมาชิก Toyota CSR Facebook และ e-toyota club ตลอดจน ประชาชนทั่วไป ไดมีโอกาสรวมแสดง พลังในการตอบแทนสังคมและสิ่งแวดลอม โดยกิจกรรมโตโยตา ปลูกปาชายเลนนี้ ไดจัดขึ้นอยางตอเนื่องนับตั้งแตป พ.ศ. 2548 กิจกรรมโตโยตาปลูกปาชายเลน เปนหนึ่งกิจกรรมดานการอนุรักษ ซึ่งภายหลังจากที่กิจกรรมในครั้งนี้เสร็จสิ้นลง จะสงผลใหตนกลา สิ่ ง แวดล อ มผ า นการขยายเครือขายดําเนินการดา นสิ่ งแวดล อม ชายเลนจากความรวมมือของ Toyota Eco Network มีจํานวน ภายใตโครงการ Toyota Eco Network เครือขายเพื่อสิ่งแวดลอมที่ รวมกวา 360,000 ตน ชวยดูดซับกาซคารบอนไดออกไซดไดกวา ยั่ ง ยื น ซึ่ ง เป น ศู น ย ก ลางเครื อ ข า ยทํ า ความดี สํ า หรั บ ผู ที่ ส นใจ 5,000 ตันตอป
80
Energy#66_p80-81_iMac5.indd 80
4/24/2557 BE 12:12 AM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�
กิจกรรมดังกล่าวได้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาและ ด�าเนินงานแก่มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ประเทศไทย) อย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปีพ.ศ.2548 รวมทั้งสิ้นกว่า 28 ล้านบาท และในปีนี้เป็นปีที่กิจกรรมโตโยต้าปลูกป่าชายเลน ครบ 1 ทศวรรษ จึ ง ได้ ร ่ ว มกั บ มู ล นิ ธิ สิ่ ง แวดล้ อ มศึ ก ษาเพื่ อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน(ประเทศไทย) ในการเปิดเส้นทางการศึกษา ธรรมชาติป่าชายเลนขึ้นภายในบริเวณสถานตากอากาศบางปู เพือ่ ให้ประชาชนทัว่ ไปทีส่ นใจได้เข้ามาศึกษาสภาพรอบป่าชายเลน ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ และได้เห็นถึงประโยชน์ของ ป่าชายเลนต่อการลดการกัดเซาะแผ่นดิน ความร่วมมือที่ดีตลอดมาคือ จิตอาสาทุกท่านที่ให้ความสนใจ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการท�ากิจกรรมเพื่อสังคมกับเครือข่ายเพื่อ สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ยั่ ง ยื น โดยกิ จ กรรมโตโยต้ า ปลู ก ป่ า ชายเลน ณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ท�าให้ผืนป่าชายเลน ที่ได้ร่วมกันปลูกตั้งแต่ปีที่ 1 เติบโตขึ้นจากความร่วมแรงร่วมใจ ของผู้เข้าร่วม เกิดเป็นแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิตในป่าชายเลน รวมทั้ ง ยังสามารถลดการกัดเซาะผืนดินจากน�้าทะเลได้อีกด้วย
81
Energy#66_p80-81_iMac5.indd 81
4/24/2557 BE 12:12 AM
Energy Rules ทิดเป้ง
จับตา...ขยับ ไบโอดีเซล เปน
บี7
¾×ª¾Åѧ§Ò¹·´á·¹Í‹ҧ “»ÒÅ Á¹้ÓÁѹ” àÃÔ่Á໚¹·Õ่¨ÑºµÒÍÕ¡¤ÃÑ้§ËÅѧ¨Ò¡·Õ่µÅÒ´»ÒÅ Á¹้ÓÁѹ»ÃÐʺ»˜ÞËÒÍÂÙ‹¾Ñ¡ãËÞ‹ ¨Ò¡ËÅÒ»˜¨¨Ñ ᵋ ³ »˜¨¨ØºÑ¹Ê¶Ò¹¡Òó ¤ÇÒÁà¤Å×่͹äËÇÃҤҼŻÒÅ Á´ÔºáÅÐÃÒ¤Ò¹้ÓÁѹ»ÒÅ Á´Ôº àÃÔ่Á¡ÅѺࢌÒÊÙ‹ÀÒÇл¡µÔ áÅФҴNjҼżÅÔµ»ÒÅ Áã¹·ŒÍ§µÅÒ´¨ÐÁÕ»ÃÔÁÒ³à¾Ô่ÁÁÒ¡¢Ö้¹ã¹ÍÕ¡ 1-2 à´×͹¢ŒÒ§Ë¹ŒÒÍ‹ҧṋ¹Í¹ Ê‹§¼ÅãËŒ»ÃÔÁÒ³¹้ÓÁѹ»ÒÅ Á ´Ôº¨Ò¡à´ÔÁÍÂÙ‹·Õ่ 160,000-170,000 µÑ¹µ‹ÍÇѹ à¾Ô่Á໚¹ 190,000-200,000 µÑ¹µ‹ÍÇѹ áÅШÐà¾Ô่ÁÁÒ¡¢Ö้¹à»š¹ 210,000220,000 µÑ¹µ‹ÍÇѹ
จากสถานการณดังกลาว กระทรวงพลังงาน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ จะไดมีการหารือถึงการรับมือกับปริมาณปาลมน้ํามันที่จะ ออกสูทองตลาด ทางออกที่ดีคือ การเสนอใหกระทรวงพลังงาน ปรับแนวทางนําน้ํามันปาลมดิบไปผลิตเปนไบโอดีเซลจากปจจุบัน ที่มีการจําหนายไบโอดีเซลบี 4 ใหเปนไบโอดีเซลบี 7 และเชื่อวา กระทรวงพลังงานอาจมีแผนที่จะประกาศใชนโยบายดังกลาวใน เวลาอันใกลนี้
หากมีการประกาศใชนโยบายดังกลาวจริง จะสามารถดึงน้าํ มันปาลม สวนทีเ่ กินนีไ้ ปผลิตไบโอดีเซลไดโดยทีไ่ มสง ผลกระทบตอตลาดมากนัก โดยราคาน้าํ มันปาลมดิบเฉลีย่ อยูท ่ี 28-29 บาทตอกิโลกรัม เปนราคา ใกล้เคียงกับราคาตลาดโลก และจะรักษาระดับราคาผลปาล์มดิบ จากเกษตรกรผูป ลูกไมใหตาํ่ กวา 4 บาทตอกิโลกรัม ซึง่ ปจจุบนั ราคา จําหนายปาลมน้ํามันเฉลี่ยอยูที่ 4.10 - 4.20 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งเปน ราคาทีเ่ กษตรกรสวนใหญยอมรับได และจากรายงานราคาน้าํ มันปาลม ในสวนที่ใชสําหรับบริโภคในระบบยังไมมีการขาดแคลนเหมือนที่เคย เปนมา โดยขนาดขวดละ 1 ลิตร จะจําหนายในราคาไมเกินขวดละ 42 บาท แตการแขงขันในตลาดมีสูง ราคาเฉลี่ยจะอยูที่ 38-40 บาท ทัง้ นี้ กรมการคาภายในจังหวัดตางๆ ทัว่ ประเทศจะไดมกี ารตรวจสอบ ราคาสินคาทุกประเภทอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ไมใหเกิดการเอารัดเอาเปรียบ หรื อ ฉวยโอกาสปรั บ ราคาสิ น ค า ที่จ ะสร า งความเดื อ ดร อ นให กับ ประชาชนโดยเด็ดขาด โดยเฉพาะราคาน้าํ มันปาลมหากมีการขาดแคลน ในทองตลาดจากเหตุการณทเ่ี หนือการควบคุม หากตรวจพบการกระทํา ทีผ่ ดิ กฎหมายใหเจาหนาทีด่ าํ เนินการไดทนั ที
82
Energy#66_p82_iMac5.indd 82
4/24/2557 BE 12:14 AM
Energy Report โดย : ชนากานต์ สันตยานนท์ ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
Å´àÈÉàËÅ×Í㪌´ÇŒ ¡ÒÃà¾ÔÁ่ ÁÙŤ‹Ò໚¹¼ÅÔµÀѳ± ãËÁ‹
ã¹â¤Ã§¡Òà ตราบใดทีเ่ ข็มนาฬกายังไมหยุดเดิน การเปลีย่ นแปลงยอมเกิดขึน้ บนโลกของเราอยู ต ลอดเวลา ในมิ ติ ข องการสนั บ สนุ น ผูป ระกอบขนาดกลางและขนาดยอม หรือ SMEs ของหนวยงาน iTAP ภายใต ศูนยบริหารจัดการเทคโนโลยีภายใต สํานักงาน พั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโลยี แ ห ง ชาติ (สวทช.) สั ง กั ด กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ก็เชนเดียวกัน ที่ยังคง เดินหนาอยางตอเนือ่ งกับการทํางานรวมกับ “ผศ.ดร.สิงห อินทรชูโต” ในฐานะนักวิชาการและผูน าํ กระแสการออกแบบเพือ่ สิง่ แวดลอม ซึ่ ง ป จ จุ บั น เป น อาจารย ป ระจํ า ที่ ค ณะสถาป ต ยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และเปนหัวหนาคณะผูเชี่ยวชาญ ของโครงการ “เปลี่ยนขยะเปนทอง : รับกระแสโลกรอนและ สรางคุณคาใหวัสดุเหลือใช” หรือที่เรียกกันสั้น ๆ วา โครงการ Waste to Wealth (W2W) ที่ สวทช. ใหทุนเพื่อสงเสริมการสราง ตนแบบผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมาตั้งแตป 2551 จนถึงปจจุบัน
ทีผ่ า นมาสามารถเปลีย่ นเศษเหลือใชในโรงงานไปแลว 26 บริษทั สรางสรรคเศษเหลือใชใหเปนสินคารักษโลกจํานวนกวา 500 ชิ้น จาก 200 โมเดล และเกิดแบรนดใหมขนึ้ 13 แบรนด เพือ่ บุกตลาด สินคาที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และในป 2557 นี้ สวทช. ไดผุด โครงการใหม ชื่อ “อัพไซคลิ่ง : สรางคุณคาใหวัสดุเหลือใชดวย การออกแบบ (Upcycling : Value Creation with Design)” ซึ่งตอยอดมาจากโครงการเปลี่ยนขยะเปนทองฯ เพื่อตอเนื่อง การสนับสนุนการนําวัสดุเหลือใชมาสรางมูลคาเพิ่มอยางยั่งยืน โดยสงเสริมใหผูประกอบการหรือผูผลิตเตรียมตั้งรับกับความ ตองการและขอกําหนดจากลูกคาหรือผูบริโภค ทั้งในการบริหาร จั ด การกั บ ขยะ การออกแบบเพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค าอยางยั่ง ยืน และ ร ว มกั น ขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ สร า งสรรค ข องประเทศ ซึ่ ง ป นี้ โครงการฯ เปดฉากดวยการคัดเลือกผูป ระกอบการจํานวน 4 บริษทั มาติวอยางเขมขน จนมีผลงานตนแบบผลิตภัณฑจากเศษเหลือใช จากโรงงานมาอวดโฉม ในงาน Thailand Internation Furniture Fair 2014 หรือ TIFF 2014 ณ อิมแพค เมืองทองธานี เมื่อวัน ที่ 12-16 มีนาคม 2557 ที่ผานมา 83
Energy#66_p83-84_iMac5.indd 83
4/24/2557 BE 12:19 AM
โดยมีผูบริหารของ สวทช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และสมาคมอุตสาหกรรมเครื่องเรือนไทย มารวมแสดง ความยินดี รวมถึงไดรับการอนุเคราะหพื้นที่ในสวนการ จัดงานจาก กรมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพานิชย เหมือนเชนทุกปที่ผานมา หากทานคือหนึ่งในผูที่ตองการทิ้งระยะหางกับคูแขงขัน ทางธุรกิจใหไดมากกวาเดิม นีค่ อื อีกหนึง่ โครงการดี ๆ ทีจ่ ะ ชวยสนับสนุนทาน ไมวาจะเปนดานการเพิ่มผลิตภัณฑ ใหม ใ ห มี จุ ด เด น ของสิ น ค า ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม หรือจะชวยตอบสนองการแกปญหาการมีเศษเหลือใช จากการผลิต แลวไมรูจะเพิ่มมูลคาไดมากกวาการเปน ขยะที่ตองเสียเงินเพื่อกําจัดทิ้งหรือเสียพื้นที่ในการจัด เก็บไดอยางไร หนวยงาน iTAP ภายใตศูนยบริหาร จัดการเทคโนโลยีภายใต สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโลยีแหงชาติ (สวทช.) พรอมทีจ่ ะใหการสนับสนุน
ทานที่ตองการจะเขารวมกระแสของธุรกิจที่ผลิตสินคารักษโลก และตองการมี สวนรวมในการลดปญหาภาวะโลกรอน ดวยการถอดบทเรียนความสําเร็จและ แนวทางในการดําเนินงานสูการพัฒนาผลิตภัณฑรักษโลก ผูสนใจติดตอมาไดที่ คุณชนากานต สันตยานนท โทร. 0-2564-7000 ตอ 1381 หรือ ทางอีเมล chanaghan@tmc.nstda.or.th เพือ่ เขารวมโครงการและกําลังอยูใ นระหวางรับสมัคร ผูประกอบการเพิ่มอีก 5 บริษัท เพื่อพัฒนาสูการสรางตนแบบผลิตภัณฑสําหรับ งบประมาณป 2557 นี้ ฉบับหนาผูเขียนจะลงรายละเอียดของการใหการสนับสนุนผูประกอบการที่เขา รวมโครงการฯ หากสนใจวาจะสรางมูลคาใหกับเศษวัสดุแบบ Upcycling ได อยางไร และมีกระบวนการแปลงสภาพเศษวัสดุเหลือใช หรือการทําใหวัสดุหรือ ผลิตภัณฑที่ไมสามารถใชงานตามหนาที่เดิมไดแลว ใหกลายเปนผลิตภัณฑใหม ที่มีคุณภาพ มีมูลคาสูงขึ้น ทั้งยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โปรดติดตามอานใน ฉบับหนา
คําวา “Upcycling” เปนที่รูจักอยางกวางขวาง จากหนังสือชื่อ Cradle to Cradle : Remaking the Way We Make Things ซึ่งเขียนโดย William McDonough และ Michael Braungart โดยใหคาํ จํากัดความ “Upcycling” วา “การทําใหวัสดุที่ ไมสามารถใชประโยชนไดแลว นํามาทําใหมี มูลคาหรือใชไดดีกวาเดิม หรือการนําวัสดุที่ ผานการใชงานแลว มาทําใหมคี ณ ุ ภาพและมูลคา เพิ่มขึ้น”
84
Energy#66_p83-84_iMac5.indd 84
4/24/2557 BE 12:19 AM
Energy#62_p73_Pro3.ai
1
12/18/13
10:38 PM
11.05-11.30 .
O Waste ldea รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
»˜ÞËÒä¿äËÁŒº‹Í¢ÂÐá¾Ã¡ÉÒ “»ÃÐà´็¹ÃŒÍ¹” ¢Í§¡ÒèѴ¡ÒâÂÐÁÙŽÍÂÊÙ‹ÇÒÃÐáË‹§ªÒµÔ
¨Ò¡»ÃÐà´็¹ÃŒÍ¹¢Í§»˜ÞËÒä¿äËÁŒº‹Í¢ÂзÕ่ µ.á¾Ã¡ÉÒ Í.àÁ×ͧ ¨.ÊÁطûÃÒ¡Òà «Ö่§¡‹ÍãËŒà¡Ô´ÍѹµÃÒµ‹ÍÊØ¢ÀÒ¾¢Í§»ÃЪҪ¹·Õ่ÍÂÙ‹ ºÃÔàdzâ´ÂÃͺáÅÐÊ‹§¼Å¡Ãзºµ‹ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ ÊํÒËÃѺº‹Í¢ÂÐáË‹§¹Õ้¶Ù¡ÊÑ่§» ´·ํÒ¡ÒÃÁÒ¹Ò¹ËÅÒ»‚ ᵋÂѧ¤§ÁÕ¡ÒÃÅÑ¡Åͺ¹ํÒ¢ÂÐࢌÒä» ·Ô้§ÍÂً໚¹»ÃШํÒ ¡‹ÍãËŒà¡Ô´»˜ÞËÒ¡ÒÃá¾Ã‹¡ÃШÒ¢ͧÁžÔÉÍÒ¡ÒȨҡä¿äËÁŒº‹Í¢ÂÐ «Ö่§ä´Œ·ÇÕ¤ÇÒÁÃعáçáÅСÃШÒÂÍÍ¡ä»à»š¹Ç§ ¡ÇŒÒ§ÅØ¡ÅÒÁ¢ŒÒÁ¨Ñ§ËÇÑ´ ¡Ãзº¾×้¹·Õ่¢Í§¡Ãا෾ÁËÒ¹¤Ã ¶Ö§ 6 ࢵ´ŒÇ¡ѹ 䴌ᡋ ÅÒ´¡Ãкѧ ÊоҹÊÙ§ »ÃÐàÇÈ ¤ÅͧÊÒÁÇÒ ºÒ§¹Ò ºÖ§¡Ø‹Á ·ํÒãËŒËÅÒÂ˹‹Ç§ҹ䴌àÅ็§àË็¹¶Ö§¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑÞ㹡ÒÃËÒá¹Ç·Ò§á¡Œä¢»˜ÞËÒáÅÐÅ´¼Å¡ÃзºÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁÍ‹ҧà˧´‹Ç¹
โดยทางจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดจัดงานเสวนาและ แถลงขาวเรื่อง “ปญหาบอขยะ ภัยใกลตัว” เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2557 และทางวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ รวมกับ สภาวิศวกร ไดจัดประชุม โตะกลมระดมความคิดเห็นจากวิศวกรไทยและแถลงขาว เรือ่ ง “ปญหาบอขยะ…สูแ นวทางการปองกันและฟน ฟู สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน” ในวันที่ 25 มีนาคม 2557 อนึง่ ผูเ ขียนไดมสี ว นรวมเปนวิทยากรหลักในงานเสวนา ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และการจัดประชุมโตะกลม ของวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ รวมกับ สภาวิศวกร จึงไดรวบรวมประเด็นปญหาและ ขอเสนอแนะโดยสรุปมานําเสนอ ดังนี้
ตนเหตุปญหาไฟไหมบอขยะ ขยะชุ ม ชนโดยปกติ จ ะสามารถผลิ ต ก า ซมี เ ทนที่ มี ค วามไวไฟสู ง ได จ าก กระบวนการยอยสลายของสารอินทรียในหลุมฝงกลบ รวมทั้งเกิดปญหา นํ้าขยะปนเปอนดวยสารอินทรียและโลหะหนัก ดังนั้น หากไมมีระบบเพื่อ การควบคุมและการนํากาซมีเทนออกไปใชประโยชนอยางถูกตองแลวบอขยะ ยอมมีโอกาสเกิดไฟไหมหรือระเบิดไดสูง ถาเกิดมีความรอน อุณหภูมิสูง หรือประกายไฟที่เพียงพอ นอกจากนี้ ปญหาขยะชุมชนสวนใหญมักขาด การแยกขยะที่ ดี ดั ง นั้ น มั ก จะมี ก ารปนเป อ นของขยะชุ ม ชน โดยขยะ อันตรายจากครัวเรือน เชน หลอดไฟ ถานไฟฉาย นํ้ามันหลอลื่น ตัวทํา ละลาย เปนตน รวมทัง้ กากของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรมทีม่ กั จะมี การลักลอบทิง้ ปะปนดวย ซึง่ กากของเสียอันตรายบางประเภทก็สามารถเกิด ปฏิกิริยาทางเคมีและติดไฟไดเชนกัน ถามีสภาวะสิ่งแวดลอมที่เหมาะสม ผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม ทางกรมควบคุมมลพิษไดใหขอมูลวา ฝุนละออง กลิ่น และควันไฟ ซึ่งเกิด จากไฟไหมขนาดใหญ จะกอใหเกิดกาซพิษเปนอันตรายตอสุขภาพของผูที่ สูดดมเขาไป โดยเฉพาะอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ มีอาการระคาย เคืองดวงตา อีกทั้งกาซบางชนิดยังกอใหเกิดโรคมะเร็ง โดยเฉพาะกลุมเด็ก คนชรา และผูปวยโรคหัวใจ โรคความดัน เสี่ยงจะเสียชีวิตได การลุกไหม ของบอขยะเปนเวลานาน จะทําใหกาซพิษฟุงกระจาย โดยสารพิษที่ตอง เฝาระวังเปนพิเศษจากไฟไหมกองขยะ คือ กลุมสารอินทรียระเหยงายใน บรรยากาศ และสารไดออกซินและฟวแรน ซึ่งทั้ง 2 ชนิด เปนกลุมสารกอ มะเร็ ง นอกจากนี้ ยั งมี ก า ซที่ อัน ตรายอื่ น ๆ เชน ซัล เฟอรไดออกไซด คารบอนไดออกไซด คารบอนมอนออกไซด และสารฟอรมาดีไฮด ซึ่งถาได รับในปริมาณมากอาจอันตรายถึงชีวิตได
86
Energy#66_p86-87_iMac5.indd 86
4/24/2557 BE 12:25 AM
O Waste ldea รองศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สําหรับขอมูลที่ไดรับการยืนยันจากการลงพื้นที่เก็บตัวอยาง วิเคราะหสารไดออกซินและฟวแรนในอากาศที่ระยะ 1 และ 10 กิโลเมตร จากบอขยะที่ ต.แพรกษา ของศูนยวิจัยและฝก อบรมดานสิ่งแวดลอม กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม พบวา ตัวอยางอากาศจากบอขยะมีคา ความเขมขนของสารไดออกซิน และฟวแรนเกินมาตรฐาน 10-15 เทา (ในวันที่ 20-21 มี.ค.) โดยการเปรียบเทียบกับเกณฑคามาตรฐานของสารไดออกซิน และฟวแรนในบรรยากาศของแคนาดา ที่กําหนดใหสารทั้งสอง ไมเกิน 0.1 พิโคกรัม-TEQ ตอลูกบาศกเมตร สําหรับสารไดออกซิน นัน้ เปนสารทีเ่ กิดจากการเผาไหมทไี่ มสมบูรณ ทีอ่ ณ ุ หภูมติ าํ่ กวา 800 องศาเซลเซียส และเปนสารตกคางยาวนาน มีฤทธิ์เปน สารกอมะเร็ง ซึ่งเมืองไทยไมมีการแยกขยะ ทําใหการเผาไหม ไมสมบูรณ รวมทั้งมีขยะถุงพลาสติกในปริมาณมาก ทําใหมี ความเสีย่ งในการเกิดสารอันตรายตาง ๆ ออกมาไดมาก นอกจากนี้ ผลการตรวจวัดสารอินทรียร ะเหยงายในอากาศ (VOCs) ซึง่ เปน สารระเหยที่พบไดปกติในแหลงอุตสาหกรรมและการคมนาคม อาทิ เบนซีน โทลูอีน และสไตรีน โดยจัดเปนสารอันตรายที่ถูก ปลดปลอยสูบ รรยากาศจากเผาไหมยางพลาสติกและโฟม ผลจาก การวิเคราะห VOCs พบวาเบนซีนมีคา สูงกวาเกณฑคา เฝาระวัง เฉลี่ย 24 ชั่วโมง ที่กําหนดไว 7.6 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ถึง 3-10 เทา และพบสไตรีนสูงกวาบรรยากาศทั่วไป 3-5 เทา และปริ ม าณสารเหล า นี้ ล ดลงเมื่ อ ห า งจากบ อ ขยะมากขึ้ น สวนการตรวจวัดสารมลพิษในนํ้าใตดิน พบวา มีคาโลหะหนัก เกินมาตรฐานในนํ้าใตดิน ก็คือ สารหนู และตะกั่ว สิ่งที่ตองทําในสถานการณฉุกเฉิน สิ่งที่ควรทําในทันที ก็คือ อพยพกลุมเสี่ยงออกไปโดยดวน คือ ผูสูงอายุ เด็ก สตรีมีครรภ และผูปวย โดยเฉพาะอยางยิ่งผูปวย ทางดานระบบทางเดินหายใจ วิธีการดูแลตนเองสําหรับคนที่ ทํางานในพื้นที่ เชน นักดับเพลิง สาธารณสุข ผูสื่อขาว ตองลด การสัมผัสสิ่งคุกคามสุขภาพ ใสอุปกรณปองกันอันตรายสวน บุคคล เชน หนากากกรองกาซ แวนปองกัน ชุดปองกันสารเคมี รองเทานิรภัย เปนตน ลดระยะเวลาในการสัมผัสสารพิษ ควรอยู ในทิศทางตนลม นอกจากนี้ ตองลางตัวและเปลีย่ นชุดเมือ่ ออก จากพืน้ ที่ และไมควรบริโภคนํา้ /พืช/สัตวจากบริเวณนัน้ เฝาระวัง ผลกระทบต อ สุข ภาพในระดับสูง พรอ มทั้ง หามาตรการใน การรักษาเยียวยาตอไป
แนวทางการลดปญหาบอขยะ 1. การเตรียมบอฝงกลบขยะชุมชนและขยะอุตสาหกรรม ตองมี การออกแบบใหถูกตองตามหลักวิศวกรรมสําหรับขยะแตละประเภท เพื่อไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม 2. ตองไมใหมีการแอบทิ้งขยะพิษอุตสาหกรรม มีระบบกํากับ ดูแลการลักลอบทิ้งสารเคมี สารพิษ 3. ส งเสริ ม การลดปริ ม าณขยะที่ นํ ามาทิ้ง โดยใชห ลัก 3Rs (Reduce, Reuse,Recycle) และผลักดันใหเปนนโยบายระดับชาติ เหมือนประเทศญี่ปุน 4. เตรียมมาตรการเฝาระวังบอแหงนี้และบออื่น ๆ ตลอดจน อบรมใหความรูและเตรียมความพรอมกับภาคสวนที่เกี่ยวของ เชน ประชาชน อบต. หน ว ยดั บเพลิ ง ตํ า รวจ เจา หนา ที่ค วบคุม มลพิษ สาธารณสุข การบําบัดของเสียจากกรณีไฟไหมบอขยะ 1. ตองลดการแพรกระจายของควันและกาซพิษออกไปยังพืน้ ที่ ชุมชนใกลเคียง โดยการควบคุมเพลิงใหหมดไปโดยเร็ว 2.หาแนวทางลดการแพรกระจายของนํา้ เสียทีเ่ กิดจากการใชนาํ้ ในการดับเพลิงออกไปสูสิ่งแวดลอม ปองกันการปนเปอนแหลงนํ้าที่อยู ใกลเคียง นํา้ ชะมูลฝอยทีข่ งั อยูใ นบอขยะควรสูบออกมาบําบัด เนือ่ งจาก มีความสกปรกสูงและมีโอกาสปนเปอ นสารพิษจากขยะพิษอุตสาหกรรม 3. ควรตรวจสอบการปนเปอ นของนํา้ ใตดนิ ซึง่ สามารถบําบัดได โดยกระบวนการบําบัดทางกายภาพ – เคมี รวมกับ การบําบัดทางชีวภาพ 4. นอกจากนี้ ควรตรวจสอบการปนเปอ นของดินในพืน้ ทีช่ มุ ชน ใกลเคียงจากการแพรกระจายของฝุนและเขมาควัน จากกรณีของปญหาไฟไหมบอ ขยะที่ ต.แพรกษา อ.เมือง จ.สมุทรปราการ ยังถือวาเปนกรณีศึกษาเบื้องตน เนื่องจากในประเทศไทยยังมีบอขยะที่ ไมถูกวิธีแบบเดียวกันนี้อีกมากกวา 2,000 แหง และอาจจะมากถึง 4,000 แหง ถามีการสํารวจเก็บขอมูลในพืน้ ทีต่ า ง ๆ โดยละเอียด ซึง่ เปน เรื่องที่นาเปนหวงอยางมากสําหรับสังคมไทย ถึงเวลาแลวที่ควรจะมี การยกปญหาดานการจัดการขยะมูลฝอยใหเปนวาระแหงชาติอยาง จริงจังนะครับ 87
Energy#66_p86-87_iMac5.indd 87
4/24/2557 BE 12:25 AM
Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชํานาญการพิเศษศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
¢ÂЪØÁª¹ ໚¹»˜ÞËÒÊํÒ¤ÑޢͧËÅÒÂ æ ·ŒÍ§¶Ô่¹à¡×ͺ·Ñ่ÇâÅ¡ ¢ÂÐʋǹãËÞ‹ÁÑ¡¶Ù¡·Ô้§Å§ã¹´Ô¹ ¢Âкҧª¹Ô´ÊÅÒµÑÇãËŒÊÒûÃСͺ ÍÔ¹·ÃÕ áÅÐÊÒûÃСͺ͹Թ·ÃÕ ᵋ¢Âкҧª¹Ô´ÊÅÒµÑÇÂÒ¡ ઋ¹ ˹ѧ ¾ÅÒʵԡ âÅËÐ ÏÅÏ ¢ÂлÃÐàÀ·¹Õ้¶ŒÒ·ํÒÅÒÂâ´Â¡ÒÃà¼Ò ¨Ðä´ŒÊÒûÃСͺ»ÃÐàÀ·à¡Å×Í àª‹¹ à¡Å×Íä¹àµÃµ ÊÐÊÁÍÂً㹴Թ໚¹¨ํҹǹÁÒ¡ ¢ÂзÕ่ä´Œ¨Ò¡¡Ãкǹ¡ÒüÅÔµ·Ò§ÍصÊÒË¡ÃÃÁ â´Â੾ÒТÂШҡ෤â¹âÅÂÕÍصÊÒË¡ÃÃÁ¡ํÒÅѧà¾Ô่Á¢Ö้¹Í‹ҧÃÇ´àÃ็Ç ÁÕ¤ÇÒÁ໚¹¾ÔÉÊÙ§ áÅЋÍÂÊÅÒÂÂÒ¡ ઋ¹ ¢ÂШҡâç§Ò¹ ÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Õ่ÁÕâÅËÐ˹ѡ ઋ¹ µÐ¡Ñ่Ç »ÃÍ· ᤴàÁÕÂÁ àÁ×่Í·Ô้§Å§´Ô¹·ํÒãËŒ´Ô¹ºÃÔàdz¹Ñ้¹ÁÕâÅËÐ˹ѡÊÐÊÁÍÂÙ‹ÁÒ¡ ÊํÒËÃѺ»ÃÐà·Èä·Â à·‹Ò·Õ่ÁÕÃÒ§ҹ ¾ºÇ‹Ò ÁÕ¡ÒÃàÊ×่ÍÁ¤Ø³ÀÒ¾¢Í§´Ô¹¨Ò¡µÐ¡Ñ่Ç à¹×่ͧ¨Ò¡âç§Ò¹¶ÅاµÐ¡Ñ่Ǩҡ«Ò¡áºµàµÍÃÕ่à¡‹Ò·Õ่¨Ñ§ËÇÑ´ÊÁطûÃÒ¡Òà ¹ํÒàÍÒ¡Ò¡µÐ¡Ñ่Ç·Õ่äÁ‹ä´ŒãªŒ»ÃÐ⪹ ÁÒ¶Á·ํÒ¶¹¹ ·ํÒãËŒ´Ô¹ºÃÔàdz¹Ñ้¹à¡Ô´ÊÀҾ໚¹¾ÔÉ໚¹ÍѹµÃÒµ‹Í¾×ªáÅмٌºÃÔâÀ¤ ¹Í¡¨Ò¡¹Õ้ »ÃÐà·Èä·ÂÂѧ»ÃÐʺ»˜ÞËÒ¢ÂÐÍصÊÒË¡ÃÃÁ·Õ่¹ํÒࢌÒÁÒ¨Ò¡µ‹Ò§»ÃÐà·È ã¹ÃÙ»¢Í§ÊÔ¹¤ŒÒà¤Ã×่ͧ㪌俿‡Ò ÍÐäËÅ‹ÍصÊÒË¡ÃÃÁ ઋ¹ Âҧö¹µ à¡‹Ò áºµàµÍÃÕ่à¡‹Ò ¶Ø§Á×ÍÂҧ㪌áÅŒÇ ¶Ù¡¹ํÒࢌÒÁÒ·Ô้§ã¹»ÃÐà·Èä·ÂÍա໚¹¨ํҹǹÁÒ¡
ที่ผานมาเห็นไดจากการลุกไหมของบอขยะที่ แพรกษา จังหวัดสมุทรปราการ และอีกหลายที่ ที่ มี ป ญ หาซึ่ ง เกิ ด จากการสะสมป ญ หามา ยาวนาน จึงเริม่ หันมาใหความสําคัญตอการแกไข ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยเฉพาะผลกระทบต อ ชุมชนในภาวการณปจจุบัน ความแหงแลงและ ความรอนในเขตเมือง อาจมีผลตอการเกิด มลพิ ษ จากการลุ ก ไหม จ ากกองขยะที่ มี การจัดการไมถูกตองในอีกหลายพื้นที่ และ เปนระเบิดเวลาที่ทุกฝายตองตระหนักถึงและ ร ว มกั น แก ไข ในที่ นี้ อ ยากให ต ระหนั ก ถึ ง ผลกระทบจากมลพิษทางขยะที่สําคัญ ดังนี้
1. อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจงกอใหเกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทําใหคุณภาพ อากาศเสื่อมโทรม ซึ่งมีมลพิษทางอากาศที่สําคัญ ไดแก กาซคารบอนมอนอกไซด ฝุนละออง สารพิษ สารอินทรียระเหย และไดออกซิน เปนตน สงผลกระทบตอชุมชน โดยเฉพาะชุมชน ที่อยูใตลม มีผลตอสุขภาพ ระบบทางเดินหายใจ การระคายเคืองผิวหนัง แสบตา และระยะยาว มีการสะสมเปนตนเหตุโรคภัยตาง ๆ มากมาย โดยเฉพาะโรคมะเร็ง 2. นํ้าเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาจะเกิดนํ้าเสียที่มีความสกปรกมากไหลลง สูแมนํ้า ซึ่งสวนใหญระบบกองขยะที่ทิ้งในบอราง บอดินลูกรัง ไมคํานึงถึงการปนเปอนนํ้าเสีย จากขยะ ซึ่งมีความสกปรกสูง มีผลตอแหลงนํ้าในชุมชน 3. แหลงพาหะนําโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทําใหเกิดแหลงเพาะพันธุของหนูและ แมลงวัน ซึง่ เปนพาหะนําโรคติดตอ ทําใหมผี ลกระทบตอสุขภาพอนามัยของประชาชน ในบางแหง พบวาแมลงพาหะนําโรคมีการเพาะพันธุเปนอันตรายรายแรงตอชุมชน 4. เหตุรําคาญและความไมนาดู เกิดจากการเก็บขนขยะไมหมด รวมทั้งการกองขยะบนพื้น สงกลิ่นเหม็นรบกวนประชาชนและเกิดภาพไมสวยงาม ไมเปนสุนทรียภาพ นอกจากปญหา สิ่งแวดลอมขางตนแลว ขยะยังเปนตัวการสําคัญสําหรับปญหาการจัดการขยะของหนวยงานที่ รับผิดชอบ ซึ่งจะตองเพิ่มปริมาณบุคลากร อุปกรณการจัดการขยะ รวมทั้งการใหความรูทาง วิชาการและเทคโนโลยีแกเจาหนาที่เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะ
88
Energy#66_p88-89_iMac5.indd 88
4/24/2557 BE 12:28 AM
Environment Alert โดย : รัฐ เรืองโชติวิทย์ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำานาญการพิเศษศูนย์เทคโนโลยีสะอาด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
จากผลกระทบดังกล่าวจะเห็นได้ว่า โดยหลักการคือการจัดการขยะชุมชนที่ ไม่ถกู วิธี การแก้ไขปัญหาเป็นการด�าเนินการเฉพาะหน้าในอนาคต ความรุนแรง ของปั ญ หาจะเพิ่ ม มากขึ้ น ตามการขยายตั ว ของเขตเมื อ ง การเพิ่ ม ขึ้ น ของ ประชากร การบริการทีไ่ ม่ทวั่ ถึงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ดังนัน้ ความพร้อม หรือการเตรียมการเพือ่ ป้องกันปัญหาจึงเป็นสิง่ จ�าเป็น โดยมีขอ้ เสนอดังต่อไปนี้ 1. การปรับตัว ปรับพฤติกรรม ของชุมชน โดยน�าหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ในการปฏิบัติ การสร้างความรู้ความข้าใจในการลดปริมาณขยะและลดความ ฟุ ่ ม เฟื อ ย การลดปริ ม าณขยะจากการแปรรู ป พลั ง งาน การลดปริ ม าณ ขยะโดยการคัดแยกขยะ 2. เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพท้ อ งถิ่ น ในการจั ด การขยะชุ ม ชน โดยเฉพาะพั ฒ นา บุคลากรในการจัดการที่มีประสิทธิภาพ และเทคโนโลยีการจัดการมูลฝอย การติดตามสถานการณ์ปัญหาขยะชุมชน การเฝ้าระวังในพื้นที่ฝังกลบเก่า ที่อาจเกิดการลุกไหม้ 3. การส่งเสริมการมีส่วนร่วมในทุกภาคส่วนในการจัดการขยะครบวงจรตั้งแต่ ต้นทางจนถึงการก�าจัด โดยให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนน้อยที่สุด 4. นอกจากนี้ ในระยะยาวต้องพิจารณาปรับปรุงกฏหมาย การวางแผนรองรับ การขยายตัว การเพิ่มขึ้นของประชากรที่มีปริมาณขยะชุมชนที่เพิ่มขึ้น รวมทั้งการเผาขยะชุมชน รวมกับขยะอุตสาหกรรมที่มีมลพิษสูง ต้องได้รับการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาให้ทันท่วงที โดยเฉพาะเมืองอุตสาหกรรมและชุมชนขนาดใหญ่ เป็นต้น บทสรุ ป การจั ด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน วั น นี้ ไ ม่ ใช่ แ ค่ ก ารจั ด การที่ ป ลายทาง แต่ ต ้ น ทางคื อ ประชาชนและทุกภาคส่วนต้องให้ความร่วมมือในการจัดการ การเฝ้าระวังปัญหา และค�านึงถึง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในปัจจุบันและอนาคต 89
Energy#66_p88-89_iMac5.indd 89
4/24/2557 BE 12:29 AM
Energy Exhibit ภิรายุ เจียมศุภกิตต์
“Energy Network to Success”
¾Ñ²¹Ò¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ÊÙ‹âç¾ÂÒºÒŵŒ¹áºº
¡ÃзÃǧ¾Åѧ§Ò¹ ËÇÁ¡Ñº ºÃÔÉ·Ñ ÍÔ¹â¹àǪѹ่ à·¤â¹âÅÂÕ¨Òํ ¡Ñ´ ä´Œ¨´ Ñ §Ò¹ “Energy Network to Success” ÀÒÂ㵌â¤Ã§¡ÒþѲ¹ÒºØ¤ÅÒ¡Ã ´ŒÒ¹¡ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É ¾Åѧ§Ò¹ÀÒÂã¹ÍÒ¤ÒûÃÐàÀ·âç¾ÂÒºÒÅ¢Ö¹้ ã¹à´×͹àÁÉÒ¹ 2557 ·Õ¼ ่ Ò‹ ¹ÁÒ ³ Training Room 1 ÍÒ¤ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É ¾Åѧ§§Ò¹ à©ÅÔÁ¾ÃÐà¡ÕÂõÔ
คุณประมวล จันทรพงษ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และ อนุรักษพลังงาน เปนประธานในการเปดงาน “Energy Network to Success” พรอมทั้งมอบโลประกาศเกียรติคุณ ใหกับโรงพยาบาล ต น แบบ และมอบธงสั ญ ลั ก ษณ ให กั บ ผู บ ริ ห ารอาคารประเภท โรงพยาบาล ทีไ่ ดรบั รางวัล ระดับประเทศ ไดแก รางวัล Thailand Energy Award และรางวัล ระดับภูมิภาค Asean Energy Award จุดประสงคของการเปดงานครั้งนี้เพื่อมุงเนนพัฒนาเครือขายใหเกิด การลดใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยใหโรงพยาบาลมีการรณรงค แขงขันอาคารอนุรักษพลังงานภายในเครือขาย และสัมมนาผูบริหาร โรงพยาบาล 10 โรงพยาบาล ใหมีการลดใชพลังงานภายในอาคาร รวมทัง้ เปนแหลงเรียนรูซ งึ่ กันและกันภายในเครือขายโรงพยาบาลถือวา เปนอาคารที่ตองใชพลังงานตลอด 24 ชั่วโมง ในการดูแลและรักษา คนไข จึงทําใหโรงพยาบาล เปนอาคารทีใ่ ชพลังงานสูงมาก และมากกวา อาคารประเภทอื่น ๆ ถาหากมีโรงพยาบาลหลายแหงเขารวมโครงการ ก็จะชวยประหยัดพลังงานใหแกโรงพยาบาลขนาดใหญ และขนาดเล็ก ไดเปนอยางดี ภายในงานมีการจัดสัมมนาในหัวขอ “Success Story and How to” โดย อาจารยพงษพัฒน มั่งคั่ง วิศวกรชํานาญการพิเศษ กรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดรับหนาที่เปนพิธีกร พรอมทั้ง มีการนําเสนอโครงการตาง ๆ ดานการประหยัดพลังงานของโรงพยาบาล ที่มีสวนรวมในโครงการนี้ เชน ผูบริหารมีสวนสําคัญมากที่สุดในการ ประสบผลสําเร็จในเรือ่ งการประหยัดพลังงาน มีนายธนาคารดานพลังงาน
ซึ่งถาหากมีปญหาเรื่องพลังงานก็สามารถมาปรึกษา และขอความ ชวยเหลือเรื่องการประหยัดพลังงานได ฝายโรงพยาบาลกรุงเทพ-ระยอง มีการปลูกตนไมรอบอาคาร เพื่อ ลดรังสีความรอนจากแสงแดด ดานโรงพยาบาลบางบอ เปนอีกหนึ่ง โรงพยาบาลตนแบบ เรือ่ งการประหยัดพลังงาน ทีม่ หี ลักการนโยบาย 3P คือ เนนผูนํา เนนการมีสวนรวม และ เนนเปาหมาย ในสวนของ โรงพยาบาลขนาดใหญอยางโรงบาลพยาบาลพญาไท2 ที่มีอาคาร ประหยัดพลังงาน ไดเนนการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงานให คุมคาอยูเสมอและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอีกดวย สําหรับการเปดงานและจัดสัมมนาครั้งนี้ เนนใหผูเขารวมฟงสัมมนา สามารถพั ฒ นาความรู แนวคิ ด และวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ อ ย า งไรถึ ง จะ ประสบผลสําเร็จ ในการเปนอาคารประหยัดพลังงานและอนุรักษ สิง่ แวดลอม ใหเกิดเปนรูปธรรมมากทีส่ ดุ ถือวาเปนโอกาสทีด่ แี กทกุ คน ทีจ่ ะนําไปเปนแบบอยาง พรอมทัง้ ทําใหเกิดประโยชนตอ หนวยงานของ ตนเอง ใหมีการลดใชพลังงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารออกบู ท ของหน ว ยงานต า ง ๆ เพื่ อ นํ า เสนอ สินคาประหยัดพลังงาน และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใหแกผูที่สนใจ อยางเชน เทคโนโลยีกระเบื้อง หลังคาสะทอนความรอน และรังสี UV, ระบบบําบัดนํ้าเสีย ที่มีฟองอากาศเล็กๆ, หลอดไฟ LED, แผงโซลาร เซลล, พัดลมเปาอากาศความดันสูง เปนตน
90
Energy#66_p90-91_iMac5.indd 90
4/21/2557 BE 10:54 PM
Energy Exhibit กรีนภัทร์
3 สมาคม จับมือ เปดิ งาน เมื่อเร็ว ๆ นี้ สมาคมอาคารชุดไทย สมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย และสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร ร่วมมือเปิด งานมหกรรมบ้านและคอนโด ครั้ ง ที่ 30 โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ ากรองอธิ บ ดี ก รมที่ ดิ น เป็ น ประธานในพิ ธี เ ปิ ด โดยงานฯ จั ด ขึ้ น ณ ศู น ย์ ก ารประชุ ม แห่ ง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ เป็ น การระดมผู ้ ป ระกอบการกว่ า 200 บริ ษั ท น� า สิ น ค้ า ทุ ก ประเภทพร้ อ มโปรโมชั่ น พิ เ ศษมากระตุ ้ น ความมั่ น ใจผู ้ บ ริ โ ภคช่ ว งต้ น ปี ตั้งเป้ายอดขาย 3 พันล้านบาท
คุณปราโมทย์ ยามาลี รองอธิบดีกรมที่ดิน กล่าวว่า งานมหกรรมบ้านและคอนโดทีจ่ ดั ขึน้ เป็นประจ�าทุกปี ถือว่าเป็นงานทีม่ คี วามส�าคัญ ต่ อ วงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องเมื อ งไทย เพราะไม่เพียงแต่เป็นการเปิดโอกาสให้กับ ประชาชน ที่ก�าลังมองหาที่อยู่อาศัยได้มา พบกับผู้ประกอบการ ที่ได้น�าสินค้าที่ดีที่สุด ของตัวเองมาเสนอ ทัง้ ยังได้เข้าถึงแหล่งเงินกู้ จากสถาบั น การเงิ น ชั้ น น� า ทุ ก ค่ า ย แต่ ยั ง เป็นการกระตุน้ ภาคอสังหาริมทรัพย์โดยรวม ของประเทศให้มคี วามคึกคักยิง่ ขึน้ จ�านวนยอด การจองซื้อที่อยู่อาศัยภายในงานแต่ละครั้ง เป็นดัชนีส�าคัญที่ใช้ชี้วัดสภาวะ การเติบโต ของตลาดอสังหาริมทรัพย์ ด้ า น คุ ณ อนงค์ ลั ก ษณ์ แพทยานั น ท์ ประธานจั ด งานมหกรรมบ้ า นและคอนโด ครั้งที่ 30 กล่าวว่า “สามสมาคมหลักของ วงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เดิ น หน้ า จั ด งาน มหกรรมบ้านและคอนโด ครั้งที่ 30 เพื่อ กระตุน้ ความต้องการซือ้ และสร้างความมัน่ ใจ ให้กับผู้บริโภคในช่วงต้นปี ทั้งยังช่วยรักษา ระดับการเติบโตของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ของประเทศ โดยหวังว่าการเมืองจะสงบ
เรียบร้อยในเร็ววัน และเห็นก�าลังซื้อกลับมาอย่างรวดเร็ว โดยผู้ประกอบการทั้งขนาดใหญ่ และขนาดกลาง ต่างก็ให้ความร่วมมือกันน�าโครงการประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นโครงการ จัดสรรที่ดินและบ้านพักอาศัย อาคารชุด อาคารพาณิชย์ รีสอร์ทตากอากาศ สนามกอล์ฟ ที่ดินเปล่า รวมกว่า 600 โครงการมาจัดโปรโมชั่นพิเศษในงานตามสโลแกน ครบที่สุด ทุกที่ ทุกท�าเล ทุกราคา หาได้ที่นี่ ภายในงานมีโครงการบ้านให้ผู้เข้างานได้เดินชมอยู่หลากหลายโครงการ เช่น บ้านสถาพร ซึ่งเป็นบ้านประหยัดพลังงานที่ได้รับรางวัลจากกระทรวงพลังงาน และอีกหลายโครงการที่ ดึงจุดเด่นออกมาโชว์กันอย่างเต็มที่ นอกจากนี้แต่ละโครงการยังมีโปรโมชั่นลด แลก แจก แถม มาให้ส�าหรับผู้ที่จองบ้านภายในงานอีกด้วย
91
Energy#66_p90-91_iMac5.indd 91
4/21/2557 BE 10:54 PM
Eco shop อภัสรา วัลลิภผล
à´ÍÐ ÃÕàÁ¤à¡Íà áºÃ¹´ ¢Í§¤¹ä·Â ÊÔ¹¤ŒÒ½‚ÁÍ× ¤¹ä·Â ¼ÅÔµ¨Ò¡ÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌 àÁ×Í่ ¾Ù´¶Ö§ÊÔ¹¤ŒÒ¨Ò¡ÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌㹻˜¨¨Øº¹ Ñ ¹Ñ¹ ้ ÁÕãËŒàÅ×Í¡«×Í้ ÍÂÙË‹ ÅÒÂÍ‹ҧäÁ‹ÇÒ‹ ¨Ð໚¹ ¡ÃÐà»‰Ò àÊ×Í้ ¼ŒÒËÃ×Í áÁŒ¡Ãзѧ่ à¿Íà ¹àÔ ¨Íà µÒ‹ § æ ¨ÐàË็¹ä´ŒÇÒ‹ àÃÒÊÒÁÒöËÒ«×Í้ ä´Œ§Ò‹ ¡NjÒÊÁÑ¡‹Í¹ ÊÔ¹¤ŒÒ¼ÅÔµÀѳ± ¨Ò¡ÇÑÊ´Ø àËÅ×Í㪌 áºÃ¹´ à´ÍÐ ÃÕàÁ¤à¡Íà ໚¹ÍÕ¡áºÃ¹´ ˹่֧ ·Õà่ ¨ŒÒ¢Í§áºÃ¹´ Á¤Õ ÇÒÁª×¹ ่ ªÍºã¹¡ÒÃÍ͡Ẻâ´Â ËÂÔºàÍÒÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌ÁÒ·ํÒ໚¹¢Í§ãªŒ «Ö§่ ¡Ç‹Ò 10 »‚áÅŒÇ ·Õá่ ºÃ¹´ ¹ÊÕ้ Ìҧª×Í่ àÊÕ§ãËŒ¡ºÑ »ÃÐà·Èä·Â
คุณยุทธนา อโนทัยสินทวี เลาถึงที่มาของการทําธุรกิจจากวัสดุเหลือใชวา กอนอื่นผมบอกเลยวา ผมไมไดจบทางดานออกแบบ จริง ๆ ผมจบปริญญาตรีดานรัฐศาสตร จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง แตที่มาจับงานออกแบบได เพราะมีใจรักในงานออกแบบ แรกเริ่มการทําของใชการวัสดุเหลือใชนั้น ผมทําแจกเพื่อนและทําใชเอง ซึ่งผมหยิบเอายางรถยนตและเสื้อผามือสองมาทําเปนของใช พอทํา มาไดสักพักมีเพื่อนที่ประเทศญี่ปุนเห็น เขาก็เลยชวนผมลองทําเปนพวกกระเปาถือ และกระเปา สะพายสงไปขายทีป่ ระเทศญีป่ นุ ตอนแรกกังวลวาจะถูกใจคนญีป่ นุ หรือเปลา แตพอทําสงไปขาย ผลตอบรับคือ คนญี่ปุนชื่นชอบสินคาของเรามากพอสมควร เพราะคนญี่ปุนชอบของใชที่ทํา จากวัสดุเหลือใชอยูแลว ตรงนี้ถือวาเปนจุดเริ่มตนของธุรกิจ สินคาแบรนด เดอะ รีเมคเกอร เปนผลิตภัณฑที่ผลิต จากยางรถยนต และจากเสือ้ ผามือสอง เหตุผลทีเ่ ลือก วัสดุพวกนี้ เพราะสามารถหาซื้องาย มีความคงทน โดยเฉพาะยางรถยนตบอกไดเลยวาใชเปนป ๆ ยังไงก็ ไมพังแนนอน สําหรับจุดเดนของสินคาอยูที่เปนสินคา ที่มีชิ้นเดียว ทน สามารถโดนนํ้าได ไมเปอย ไมยุย แนนอน และที่สําคัญผลิตภัณฑทุกชิ้นผมเปนคนออก แบบเองคนเดียว กลุ ม ลู ก คาสวนใหญจะเปนชาวญี่ปุนและโซนยุ โรป มากกวา ผมพึง่ จะมาเปดตลาดในไทยเมือ่ ไมกเี่ ดือนนีเ้ อง โดยเปดเปนช็อปปงออนไลน เนนเรื่องโซเซียลมีเดีย มากขึน้ เชน facebook เหตุผลทีเ่ มือ่ กอนไมขายในไทย เพราะกังวลในเรื่องของความเขาใจในตัวผลิตภัณฑ เชน ราคา คนไทยจะคิดวา ราคาสูงเกินไปไมกลาซื้อ แต ใน 3-4 ปที่ผานมา คนไทยเริม่ เปดรับและเขาใจ ในคอนเซ็ป นี้มากขึ้นมีคนพูดถึงกันมากขึ้น จึงคิดวาไมนาจะยากถาจะเปด ตลาดในประเทศไทย และนอกจากผลิตภัณฑประเภท กระเปาแลว ทางคุณยุทธนา ยั ง มี ก ารพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เป น รู ป แบบของเฟอร นิ เจอร อีกดวย
“การทําเฟอรนิเจอรจากวัสดุเหลือใชเปนการ ตอยอดจากการทําเสือ้ ผาทีม่ กั มีเหลือเศษจาก การทํากระเปา พอทํามากขึน้ เศษผาก็มมี ากขึน้ ผมนัง่ คิดดูวา จะทํายังไงถึงจะลดวัสดุพวกนัน้ ได ในใจอยากใหเปน cero wash สุดทายก็ปงไอเดีย ขึน้ มาเลยทดลองโดยการอัดผา ขัน้ ตอนการทํา จะคลาย ๆ กับการทําไมอดั แตจะแข็งแรงกวา ไมอดั ตรงทีว่ า สามารถโดนนํา้ ได ไมบวม ไมเปอ ย และไมยยุ ในสวนนีผ้ มขายเปนชิน้ ๆ สําหรับ นําไปทําเฟอรนเิ จอร แตถา ลูกคาทีส่ นใจอยาก จะใหเราทําเปนเฟอรนเิ จอรใหเลย เราก็ยนิ ดี ทําให” แบรนด เดอะ รีเมคเกอร ถือวาเปนความ ภาคภูมใิ จของ คุณยุทธนา อโนทัยสินทวี เปน อยางมาก เพราะกวาจะเปนทีย่ อมรับอยางทุก วันนี้ไดตอ งผานอุปสรรคมากมาย และนอกจาก สินคาของคุณยุทธนา จะเปนทีย่ อมรับของคนไทย และคนต า งชาติ แ ล ว ยั ง ได เ คยได รั บ รางวั ล รองชนะเลิศอันดับ 2 จากเวทีการประกวด นวัตกรรมใหมของสํานักนวัตกรรมแหงชาติ (NIA), รางวัล Best Editors Award ในป 2010 จาก International Contemporary Furniture Fair (ICFF) และไดรบั การบรรจุไวในหองสมุด วัสดุ Material ConneXion อีกดวย ผูที่ส นใจสินคาแบรนด เดอะ รีเมคเกอร สามารถเข า ไปชมและเลื อ กซื้ อ สิ น ค า ได ที่ เว็บไซต www.theremaker.com ถูกใจชิ้นไหน สามารถเลือกไดเมื่อคลิกซื้อไปแลวภาพนั้น จะหายไปเปนของคุณไปเลย รับรองวาสินคา ไมมซี าํ้ กัน หรือใครมีขอ สงสัยสามารถสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ โทร. 0-2688-4522, 08-1731-5869 และ Email : yuttanaa@triplepim.com
92
Energy#66_p92_iMac5.indd 92
4/21/2557 BE 10:56 PM
Energy#62_p59_Pro3.indd 79
12/18/13 10:30 PM
Saving Corner โดย : คุณทนงศักดิ� วัฒนา
Energy from Waste (EfW) Equipment
เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาดวยกระบวนการยอนกลับระบบทําความเย็น Organic Rankine Cycle (ORC Technology) ตอนที่ 2 รูจ กั ระบบ Organic Rankine Cycle(ORC)
ระบบผลิตไฟฟา Organic Rankine Cycle หรือ โอ-อาร-ซี (ORC) เปนระบบที่ใชสารทํางานทํางานเปนวัฏจักร โดยวัฏจักรมีหนาที่เปลี่ยน พลังงานความรอนจากภายนอก (External Combustion) หรือแหลงจาย ความรอนใหเปนงาน หรือพลังงานกล เพือ่ ขับเครือ่ งกําเนิดไฟฟา โดยทัว่ ไป เรียกวัฏจักรแบบนีว้ า วัฏจักรกําลัง (Power Cycle) โดยปกติวฏั จักรกําลัง มีหลายรูปแบบดวยกัน แต Organic Rankine Cycle (ORC) จะทํางานบน พืน้ ฐานของ วัฏจักรแรงคิน (Rankine Cycle) หรือ ระบบยอนกลับระบบ ทําความเย็น วัฏจักรแรงคินเปนวัฏจักรกําลังที่เปนวัฏจักรอุดมคติที่ใช เปนแบบจําลองสําหรับโรงจักรไอนํา้ (Steam Power Plant) โดยมี “นํา้ ” เปนสารทํางาน สําหรับ โอ-อาร-ซี จะมีวฏั จักรเหมือนกับวัฏจักรแรงคิน (Rankine Cycle) แตใชสารอินทรียเ ปนสารทํางานแทนนํา้ เชน Silicone Oil, Hydrocarbons,Fluorocarbons หรือ สารจําพวกที่มีจุดเดือนตํ่า เปนตน ระบบโอ-อาร-ซี มีขอ ดีกวา ระบบกําลังไอนํา้ คือ แหลงจายความรอน ภายนอกไมจําเปนตองมีอุณหภูมิสูงมากนัก เนื่องจากสารทํางานจะมี อุณหภูมใิ นการกลายเปนไอตํา่ นัน่ หมายถึง คาพลังงานความรอนทีใ่ ชให แกระบบจึงมีคาตํ่าตามไปดวย ในปจจุบันโรงไฟฟาพลังงานความรอน จากภายนอกที่มีการใชอยูมีหลายระบบ แตละระบบจะมีประสิทธิภาพ และชวงการใชงานทีแ่ ตกตางกันออกไป ดังแสดงในรูปที่ 1 ดังนัน้ ในการ เลือกใชระบบใดในการผลิตไฟฟา จึงจําเปนตองพิจารณาชวงการใชงาน และเทคโนโลยีดวย
รูปที่ 1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางประสิทธิภาพ ของโรงไฟฟาความรอน กับกําลังไฟฟาทีผ่ ลิตได 94
Energy#66_p94-95_iMac5.indd 94
จากรูปที่ 1 ระบบโอ-อาร-ซี เปนระบบผลิตไฟฟาที่มีประสิทธิภาพไมสูง มากนัก และมีชว งกําลังการผลิตทีไ่ มสงู มากดวย ดังนัน้ ระบบผลิตไฟฟา ดวยเทคโนโลยี โอ-อาร-ซี จึงเหมาะกับโรงไฟฟาขนาดเล็กมากเทานั้น แตอยางไรก็ตาม ถึงแมระบบโอ-อาร ซี จะมีประสิทธิภาพและกําลังไฟฟา ทีผ่ ลิตไดไมสงู มากนัก แตระบบ โอ-อาร-ซี เหมาะสมกับแหลงพลังงาน ความรอนที่มีอุณหภูมิไมสูงมาก หรือพลังงานความรอนเหลือทิ้งจาก อุปกรณการผลิตในกระบวนการทางอุตสาหกรรม หรือแมแตพลังงาน ความรอนจากแสงอาทิตย จากทีก่ ลาวมาระบบโอ-อาร-ซี เปนวัฏจักรกําลัง ทีท่ าํ งานอยูบ นพืน้ ฐานของวัฏจักรแรงคิน ดังนัน้ เพือ่ ใหเขาใจการทํางาน ของระบบโอ-อาร-ซี จึงจําเปนตองมีความรูพ นื้ ฐานของวัฏจักแรงคินเสียกอน ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึง วัฏจักรแรงคินอยางงาย (Simple Rankine Cycle) ซึง่ ประกอบดวย 4 กระบวนการ คือ กระบวนการอัดตัว กระบวนการให ความรอน กระบวนการขยายตัว และ กระบวนการถายเทความรอนออก ซึง่ ในการอธิบายวัฏจักรของแรงคินมักจะอธิบายดวยแผนภาพของโดมไอ ของสารทํางาน ดังรูปที่ 2 และ รูปที่ 3 แสดงแผนภาพอุณหภูมิ – เอนโทรป ในกระบวนการตางๆ ของวัฏจักรแรงคิน และ อุปกรณตา ง ๆ ที่ใชในวัฏจักร แรงคินอยางงาย ระบบโอ-อาร-ซีจะใชประสิทธิภาพอุณหภาพเปนตัวบงชี้ ถึงสมรรถนะของจักรกลความรอน สามารถเขียนไดในรูปของสมการ พลังงานที่ไดสทุ ธิจากระบบตอพลังงานทีจ่ า ยใหระบบ (พลังงานความรอน ที่จายใหระบบ) ดังแสดงในสมการที่ 1
รูปที่ 2 แผนภาพอธิบายเสนตาง ๆ ของโดมไอ ของสารทํางาน (น้าํ ) ในวัฏจักรแรงคิน 4/24/2557 BE 12:38 AM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคํา
รูปที่ 3 (a) แผนภาพอุณหภูมิ – เอนโทรป และ (b) แผนภาพอุปกรณในวัฏจักร แรงคินอยางงาย
รูปที่ 4 แผนภาพอุปกรณในวัฏจักรโอ-อาร-ซี และแผนภาพอุณหภูมิ – เอนโทรป
รูปที่ 5 แสดงสภาวะการทํางานในตําแหนงตางของระบบโอ-อาร-ซี ของบริษทั Infinity Turbine หลักการทํางานของระบบโอ-อาร-ซี (จากแผนภาพที่ 4) จากสภาวะที่ 0 สารทํางานซึง่ เปนสารอินทรียท มี่ จี ดุ เดือดตํา่ จะอยูใ นสภาวะของเหลวอิม่ ตัว ไหลเขาเครือ่ งสูบ และจะถูกอัดตัวดวยกระบวนการไอเซนโทรปก จนความดัน เพิม่ ขึน้ และเปนของเหลวอัดตัว ในสภาวะที่ 1 หลังจากนัน้ สารทํางานจะ เคลือ่ นทีไ่ ปรับพลังงานความรอนในเครือ่ งแลกเปลีย่ นความรอน (Evaporator) ในสภาวะความดันคงที่ ในกระบวนการนีส้ ารทํางานจะไดรบั พลังงานความรอน และเปลีย่ นสถานะจากของเหลวอัดตัว ของเหลวอิม่ ตัว และเริม่ กลายเปนไอ จนเปนไออิม่ ตัว และในทีส่ ดุ สารทํางานจะกลายเปนรอนยิง่ ยวดทีอ่ ณ ุ หภูมิ และความดันสูง สภาวะที่ 2 หลังจากนัน้ ไอรอนยิง่ ยวดจะเคลือ่ นที่ เพือ่ ขยายตัวในกังหันไอ หรือ ตัวขยาย (Expander) ในสภาวะไอเซนโทรปกไดเปนกําลังกล เพือ่ ไปขับ เครือ่ งกําเนิดไฟฟา ไอดังกลาวทีผ่ า นกังหันไอ จะมีความดันลดลงมาจนอยู ในสภาวะที่ 5 ซึง่ มีความดันเทากับ สภาวะที่ 6 ซึง่ อาจอยูใ นสภาวะของผสม สองสถานะหรือไออิ่มตัวก็ได หรือแมแตไอรอนยิ่งยวดก็ได หลังจากนั้น สารทํางานจะผานไปยังเครือ่ งควบแนน (Condenser) ทีส่ ภาวะความดันคงที่ เพื่อระบายความรอนออกสูสิ่งแวดลอม สารทํางานจะเริ่มควบแนนกลาย เปนของอิม่ ตัว เหมือนกับสภาวะที่ 0 ภายในเครือ่ งควบแนนทัง้ หมด ระบบ โอ-อาร-ซี จะทํางานเปนวัฏจักรเชนนีต้ ลอดเวลา เพือ่ ผลิตกําลังงานออกมา ตราบเทาทีย่ งั มีการจายความรอนไปยังเครือ่ งระเหย ปจจุบนั ระบบยอนกลับของระบบทําความเย็น หรือ โอ-อาร-ซี มีหลาย บริษัททั่วโลกใหความสนใจในการพัฒนา เพื่อผลิตพลังงานไฟฟาจาก ความรอนทิ้ง หรือใชกับแหลงความรอนคุณภาพตํ่า เชน บริษัท Infinity Turbine ประเทศสหรัฐอเมริกา บริษทั E-Rational ประเทศเบลเยียม และ บริษัทอื่น ๆ อีกหลายบริษัท ในประเทศตาง ๆ สําหรับในทวีปเอเซียมี ประเทศเกาหลี ซึง่ เปนบริษทั ทีผ่ ลิตเครือ่ งอัดไอแบบสกรู เปนบริษทั ทีพ่ ฒ ั นา ระบบโอ-อาร-ซี
รูปที่ 6 ระบบโอ-อาร-ซี ของบริษทั E-Rational ประเทศเบลเยีย่ ม ระบบโอ-อาร-ซี เปนระบบผลิตไฟฟาที่พัฒนามาจากการยอนกลับ ระบบทําความเย็น สามารถแบงไดหลายลักษณะ ดังนี้ แบงตามกําลังการผลิตไฟฟา 1. ขนาดเล็กมาก (Micro system) มีชวงกําลังการผลิตไฟฟา 0.5 – 10 กิโลวัตต 2. ขนาดเล็ก (Small System) มีชวงกําลังการผลิตไฟฟา 10 - 100 กิโลวัตต 3. ขนาดกลาง (medium system) มีชวงกําลังการผลิตไฟฟา 100 - 300 กิโลวัตต 4. ขนาดใหญ (large system) มีชวงกําลังการผลิตไฟฟา 300-3,000 กิโลวัตตหรือมากกวา
แบงตามชวงแหลงความรอนภายนอกในการจายใหเครือ่ งระเหย 1. ระบบโอ-อาร-ซี อุณหภูมิตํ่า (low temperature system) ตองการแหลงความรอนอุณหภูมิ 55-150 OC 2. ระบบโอ-อาร-ซี อุณหภูมิปานกลาง (medium temperature system) ตองการแหลงความรอนอุณหภูมิ150-350 OC 3. ระบบโอ-อาร-ซี อุณหภูมิสูง (High temperature system) แหลงความรอนอุณหภูมิมากกวา 300 OC แบงตามระบบระบายความรอนของเครือ่ งควบแนน (Condenser) 1. ระบบโอ-อาร-ซี ที่ใชระบบระบายความรอนดวยอุณหภูมิ บรรยากาศ (ambient temperature) 2. ระบบโอ-อาร-ซี ทีใ่ ชระบบระบายความรอนในชวงอุณหภูมิ 50 - 90 OC จากทีก่ ลาวมา ระบบโอ-อาร-ซี เปนระบบผลิตไฟฟาทีถ่ กู พัฒนา ขึ้นมา เพื่อผลิตไฟฟาจากแหลงความรอนที่มีความหลากหลาย หลายชวงอุณหภูมิ ทัง้ ทางดานรอน และทางดานเย็น สามารถผลิต ไฟฟาตัง้ แตปริมาณนอยมากจนถึงกําลังไฟฟาหลายกิโลวัตต ระบบ โอ-อาร-ซี จึงเปนระบบผลิตไฟฟาทีน่ า สนใจในปจจุบนั และอนาคต 95
Energy#66_p94-95_iMac5.indd 95
4/24/2557 BE 12:38 AM
Energy Management อ.บัญฑิต งามวัฒนะศิลป์
บริหารจัดการ พลังงาน ไมยาก อยางที่คิด
รูเทคนิค ลงมือทํา ชวยชาติ ชวยเรา
»˜ ¨ ¨Ø ºÑ ¹ ¤ÇÒÁµŒ Í §¡ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹¤‹ Í ¹¢Œ Ò §ÁÒ¡ ¡ÅÒÂ໚ ¹ »˜ Þ ËÒÊํ Ò ¤Ñ Þ ã¹ËÅÒÂ æ »ÃÐà·È ·Ñ่ Ç âÅ¡ ÍÕ ¡ ·Ñ้ § ÂÑ § Ê‹ § ¼ÅãËŒ ÍÑ µ ÃÒ¡ÒÃà¾Ô่ Á ¢Ö้ ¹ ¢Í§»ÃÔ Á Ò³ CO 2 ÁÕ Í Â‹ Ò §µ‹ Í à¹×่ Í § ¨¹·ํ Ò ãËŒ à¡Ô ´ ÀÒÇÐâÅ¡ÃŒ Í ¹·Õ่ ¹Ñ º ÇÑ ¹ ¨ÐÃØ ¹ áçÁÒ¡ÂÔ่ § ¢Ö้ ¹ áÅзÕ่ÊํÒ¤ÑÞÂѧ໚¹»˜ÞËÒãËÞ‹¢Í§»ÃÐà·Èä·Â «Ö่ § ÁÕ ¡ ÒÃ㪌 ¾ ÅÑ § §Ò¹à¾Ô่ Á ¢Ö้ ¹ Í‹ Ò §µ‹ Í à¹×่ Í § áÅÐ ÊÔ่ § ·Õ่ ¾ Ç¡àÃÒÂÑ § äÁ‹ ¤ ‹ Í Â¤ํ Ò ¹Ö § ¶Ö § ¤× Í àÃÒµŒ Í § ÍÒÈÑ Â áËÅ‹ § ¾ÅÑ § §Ò¹¨Ò¡»ÃÐà·Èà¾×่ Í ¹ºŒ Ò ¹ ª¹Ô ´ ·Õ่ ¢ Ò´äÁ‹ ä ´Œ ¢Ò´àÁ×่ Í äËË ÁÕ » ˜ Þ ËÒµ‹ Í ¤ÇÒÁÁÑ่¹¤§´ŒÒ¹¾Åѧ§Ò¹á¹‹¹Í¹
การบริหารจัดการพลังงานในความจริงแลวเปนการพัฒนาคน พัฒนาองคกรรวม ถึงการพัฒนาประเทศ การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ สามารถชวยชะลอ ความขาดแคลนและพึ่งพาตัวเองใหมากที่สุด สามารถลดความเสี่ยงอยางมีเหตุมีผล การบริหารจัดการพลังงานในองคกร หลักที่สําคัญอันดับแรกคือ ผูนําในองคกร ตองจริงใจและจริงจังในความมุงมั่นกับคําสัญญาที่จะทําใหการประหยัดพลังงาน ประสบความสําเร็จอยางเปนรูปธรรม ผูนําตองมีทัศนคติ (Attitude) ที่ดีหรือเปนบวก คิ ด อย า งเป น ระบบ และสิ่ งที่ จํ า เป น สํ า หรั บผู นํ า คื อ ความรู (Knowledge) และ ทักษะ (Skills) ที่เขาใจ รวมถึงสามารถมีการปฏิบัติอยางถูกวิธี และมีกระบวนการ พัฒนาอยางตอเนื่อง ยกตัวอยางเชน เมื่อเราตั้งคําถามวาถาพวกเรารวมกันปดไฟที่ไมจําเปนในที่ทํางาน คาไฟฟาทีบ่ า นของพวกเราจะลดไหม คําตอบทีไ่ ด คือ คาไฟฟาทีท่ าํ งานกับคาไฟฟา ที่บานไมเกี่ยวกันไมลดใชไหม นี่คือมุมมองของคนสวนใหญ แตถาเรามองใหชดั เจน และมีเหตุผล วันนีโ้ รงไฟฟาของเรามีไมพอ ถาพวกเราไมชว ยกันประหยัด เราก็ตอ งสราง โรงไฟฟาเพิม่ ขึน้ ถูกตองไหมครับ เมือ่ สรางโรงไฟฟา เพิ่มก็จะตองมีการลงทุนเพิ่ม แลวคาไฟฟาของเรา จะถูกหรือแพงขึน้ ? จากขอมูลทีผ่ า นมา มีแตแพงขึน้ นะครับ เวลาคาไฟฟาแพงขึน้ สงผลถึงทุกบานทุกที่ เพราะตนทุนพลังงานพวกเราแบกรับกันทัง้ ประเทศ ฉ ะ นั้ น ถ า เร า ไ ป ที่ ไ ห น แ ล ว เราไม ช ว ยกั น ประหยัดพลังงาน คาไฟฟาที่บานเราก็จะเพิ่มขึ้น โดยอั ต โนมั ติ และคนสว นใหญไมทราบครับวา เราทุ ก คนต อ งใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สิ่งที่ตองทําความเขาใจอีกอยางหนึ่ง ก็คือ การใช อยางไรใหสอดคลองกับการผลิตไฟฟาและสงผล ไปยังคาไฟฟาที่เราเสียอยู เรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญ เพราะถาพวกเราไมทราบหรือไมเอาใจใสสงิ่ ทีต่ ามมา คือ ความสูญเสียของเราทั้งประเทศ มันสูญเสีย อยางไรบาง ถาเราใชกนั แลวบริหารไมดหี รือใชกนั อยางไมมีประสิทธิภาพแลวใชพรอมกันเยอะ ๆ
96
Energy#66_p96-98_iMac5.indd 96
4/24/2557 BE 12:44 AM
เราก็ตองหาแหลงพลังงานสํารองใหเพียงพอก็ตองสราง โรงไฟฟารองรับ แตถา เราเขาใจถึงวิธกี ารใช ในการกระจาย ความตองการการใชพลังสูงสุดก็จะทําใหความตองการ การใชพลังงานถูกบริหารอยางมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล สิ่งสําคัญคือ เราสามารถชะลอการสรางโรงไฟฟาได และ สามารถลดตนทุนคาพลังงานตอหนวยไดอีกวิธีหนึ่งใหกับ ตัวเราเอง หนวยงาน องคกร รวมถึงประเทศชาติ ถ า เรามองถึ ง การพัฒ นาหรือ การแขง ขัน ก็เ ปน สิ่ง สํ า คั ญ เพราะฉะนั้นปญหาพลังงานของประเทศมีสิ่งที่ตองแกไข อยู 2 แนวทาง คือ ดาน Supply และ Demand ทางดาน Supply ต อ งใช เวลาในการสราง แตทางดาน Demand เราสามารถทําไดทันทีและประหยัดทันที ยกตัวอยางเชน การทําความสะอาดโดยใชเครือ่ งดูดฝุน คําถาม ดูดฝุน อยางไร ใหประหยัดพลังงาน เปดเครื่องแลวดูด เปรียบเทียบกับ เปดเครื่องแลวไมดูด ตอนไหนที่เครื่องดูดฝุนใชพลังงาน มากที่สุด ระหวางตอนดูดกับไมดูด คําตอบ ตอนไม ดู ด แลวเปดเครือ่ งจะใชพลังงานมากสุด เพราะปริมาณอากาศ ที่ไหลผานเขาเครื่องมากกวาตอนเปดแลวดูด และที่สําคัญ ถาเรานําเรื่องนี้มาเชื่อมกัน คือ ถาเรานําเครื่องดูดฝุนที่มี ทอยาง หรือดามจับ ขอตอตาง ๆ หลวม ปริมาณลม ก็จะผานเขาทางทีช่ าํ รุดทําใหเครือ่ งดูดฝุน ใชพลังงานเพิม่ ขึน้ ทันที เพราะฉะนั้นถาแมบานเขาใจและไดรับการฝกอบรม อยางถูกวิธี ก็จะสงผลใหมีการทํางานที่เกิดการประหยัด พลั ง งานและมี ก ระบวนการปฏิ บั ติ อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึงเขาใจวาการทําความสะอาดแมบานเปนสิ่งสําคัญก็ ยิ่งทําใหมีทัศนคติที่ดีกับตัวเอง องคกร รวมถึงประเทศ
ในการปฏิบัติหนาที่เปนแมบานมืออาชีพ และสิ่งสําคัญมูลคาในอาชีพก็จะ เพิ่มขึ้นอยางมีเหตุมีผล ดังนั้น การบริหารจัดการพลังงานแบบมีสวนรวม นั้นเรามีกฎอยู 4 ขอ ขอที่ 1 ไมบังคับ ขอที่ 2 มีสวนรวม ขอที่ 3 ไมทําใหคุณภาพและมาตรฐานวิชาชีพลดลง ขอที่ 4 เปลี่ยนจากผูรับเปนผูให
97
Energy#66_p96-98_iMac5.indd 97
4/24/2557 BE 12:44 AM
ผมขอยกตัวอยางกฎขอที่ 1 คือการไมบงั คับ เปนเรื่องยากใชไหมครับ ถาไมบังคับแลว จะสําเร็จไดอยางไร เราจะทําใหเกิดจิตสํานึก ไดอยางไร และเราจะประเมินจิตสํานึกที่ เกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้นไดอยางไร เหลานี้ เปนคําถามทีผ่ บู ริหารมักจะถามผม กอนอืน่ ผมขอขอบคุณมากสําหรับคําถามนี้ ผมเลย มีโอกาสไดเสนอวิธีการครับ ขอยกตัวอยาง บางตัวอยางเพือ่ อธิบายใหเห็นเปนรูปธรรม ทีช่ ดั เจนขึน้ เมือ่ หลายปกอ นผมไดมโี อกาส รวมงานกับผูบริหารทานหนึ่ง ผมไดคยุ กับ ทานและพบวาเราตองเริม่ จากการใหความรู และต อ งเป น ความรู ที่ มี ป ระโยชน ใ น การดําเนินชีวิตของพวกเขา เชน การใช เครื่องปรับอากาศ ดูทีวี การรีดผา หุงขาว ซักผา ใชลิฟต ดูดฝุน และอื่น ๆ ซึ่งทําให พวกเขาอยากทํา เกิดความเชื่อและเขาใจ อยางถูกตอง และมีทัศนคติที่ดีกับองคกร แล ว เราก็ ว กกลั บ มาที่ เรื่ อ งของจิ ต สํ า นึ ก และการประเมินจิตสํานึกครับ
ขณะทําการบรรยาย ผมยกตัวอยางคลิปวีดีโอเรื่องหนึ่ง โดยในคลิปวีดีโอจะมีการเปด ไฟดวงหนึ่งทิ้งเอาไวและจะมีคนเดินผานไปผานมาประมาณ 10 ทาน ทุกคนไมสนใจที่ จะปดมัน ผมเลยถามทุกทานที่ฟงอบรมวา ทุกทานสามารถประเมินจิตสํานึกไดไหมครับ ทุกคนก็ตอ งตอบวา 0% จริง ๆ เปนคําตอบทีผ่ มทราบอยูแ ลว แตเพือ่ ตองการยํา้ ถึงวิธกี าร ที่จะใชประเมินผล ที่สําคัญคือในคลิปวีดีโอเราจะเห็นหนาตาของทุกคนวาเปนใครบาง ที่ผานไปผานมาและไมมีจิตสํานึก เพราะฉะนั้นทุกคนตองตอบอยูในใจวาคงไมใชเรานะ เมื่ออบรมเสร็จทุกคนก็คิดวาผมจะประเมินผลดวยรูปแบบนี้ นี่เปนอีกวิธีหนึ่งที่ผมมักจะ ใชทําใหเกิดจิตสํานึกและประเมินผลได ไมบังคับแตใชพลังกลุมครับ และเนนสิ่งที่ สําคัญคือ เราตองทําใหผูบริหารมีความเชื่ออยากทํา มุมมองของผลลัพธ คือมองผลลัพธ ใหครบถวน เชน เกิดผลประหยัดพลังงาน ลด CO2 ไดสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น ลดการนําเขา พลังงาน ลดการบํารุงรักษา เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางาน คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ อีกมากมายครับ จนเกิดสวนรวมตอไป และผมขอยกตัวอยางเพิ่มอีกสักหนึ่งขอ เกี่ยวกับขอที่ไมทําใหคุณภาพและมาตรฐาน วิชาชีพลดลงจากการ implement ใหกับอาคารแหงหนึ่งซึ่งอาคารอยูติดถนนเปนอาคาร ประเภทโรงพยาบาล ปกติโรงพยาบาลมีความดันอากาศในโถง OPD ตามมาตรฐาน จะตองเปนบวก แตจากการสํารวจพบวา ความดันอากาศเปนลบ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ คือ เมือ่ เปดประตู ก็จะมีอากาศทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู และฝุน เขามาในตัวอาคารผาน OPD ไปยังตัวเครือ่ งปรับอากาศ ที่ทําหนาที่ปรับอากาศ ทําใหผูที่ใชบริการและทุกคนหายใจเขาไป สิ่งที่เกิดขึ้นทําให คุณภาพชีวิตแยลงและสิ้นเปลืองพลังงาน เมื่อนําขอมูลดังกลาวมานําเสนอตอผูบริหาร ผูบริหารมีขอมูลที่ถูกตองทั้งความรอน ทั้งปริมาณฝุน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ จึงมี การปรับปรุงทํ า ให เ กิ ด สิ่ ง ที่ เรี ย กว า ไม ทํ า ให คุ ณ ภาพชี วิ ต และมาตรฐานวิ ช าชี พ ลดลง และทําใหเกิดการประหยัดพลังงานที่มีประสิทธิภาพในองคกรอีกดวยครับ
98
Energy#66_p96-98_iMac5.indd 98
4/24/2557 BE 12:45 AM
Energy#66_p99_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
4/21/2557 BE
9:08 PM
Energy Enjoyment กรีนภัทร์
กรุงลอนดอนเป็นเมืองหลวงของ ประเทศอั ง กฤษ และสหราชอาณาจั ก ร เป็ น เมื อ งที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ของสหภาพยุ โ รป แถมยังเป็นเมืองที่มีศูนย์กลางทางธุรกิจที่ ใหญ่ ที่ สุ ด ในโลก และเป็ น หนึ่ ง ศู น ย์ ก ลาง ส�าคัญทางธุรกิจการเมือง วัฒนธรรม และ ประวัตศ ิ าสตร์ของโลก เป็นผูน ้ า� ด้านการเงิน การเมือง การสื่อสาร การบันเทิง แฟชั่น และศิลปะ ซึ่งในอดีตเป็นเมืองหลวงของโลก เป็ น เมื อ งที่ เ จริ ญ ที่ สุ ด ในโลก ตั้ ง แต่ อ ดี ต จนถึงปัจจุบนั เป็นเมืองทีม่ อี ทิ ธิพลไปทัว่ โลก ถื อ กั น ว่ า เป็ น เมื อ งสากลหลั ก ของโลก จีดีพีของลอนดอน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ของสหราชอาณาจักรเลยทีเดียว
ฟาร์มใต้ดินรักษ์โลก ณ กรุงลอนดอน แต่!
ใครจะรู ้ ว ่ า เบื้ อ งล่ า งใต้ ถ นนของ กรุงลอนดอน ได้มีโครงการเพาะปลูกพืช ขึ้นมาในสถานที่ที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นหลุม หลบภัยร้าง Richard Ballard และ Steven Dring เจ้าของโครงการอาหารปลอดสารคาร์บอน ได้ริเริ่มการท�าฟาร์มใต้ดินด้วยการปลูกพืช สมุนไพร และผักนานาชนิด ในสถานที่ที่เคย ถูกใช้เป็นหลุมหลบภัยส�าหรับชาวลอนดอน กว่า 8,000 ชีวิตในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
เท่านั้นยังไม่พอ เพราะฟาร์มใต้ดินแห่งนี้ ไม่ จ� า เป็ น ต้ อ งมี ก ารใช้ ย าฆ่ า แมลงใดๆ เนื่องจากมีระบบป้องกันศัตรูพืชแบบพิเศษ ที่ อ อกแบบมาติ ด ตั้ ง ส� า หรั บ อุ โ มงค์ ใ ต้ ดิ น แห่งนีโ้ ดยเฉพาะ นอกจากจะเป็นฟาร์มประหยัด พลังงานแล้ว ยังเป็นฟาร์มที่ปลอดสารพิษ อีกด้วย เห็นแบบนีแ้ ล้วประเทศไทยเราน่าจะ ยืมเอามาท�าเป็นแบบอย่างบ้างก็ดีนะคะ
ซึ่งปัจจุบัน หลุมใต้ดินดังกล่าวได้กลายเป็น ฟาร์มขนาดย่อ ที่สามารถส่งผลิตผลไปให้กับ บรรดาร้านอาหารหรู ๆ ทัง้ ในกรุงลอนดอนและ ตลาด New Covent Garden ทีต่ งั้ อยูใ่ กล้ ๆ กัน ฟาร์มแห่งนีเ้ ป็นฟาร์มเพือ่ สิง่ แวดล้อมใช้ดวงไฟ LED แบบประหยัดพลังงานเป็นแหล่งแสงเทียม และระบบการเพาะปลูกแบบไร้ดนิ ตัวอุโมงค์ ตั้งอยู่ลึกลงไปจากผิวดิน 33 เมตร ซึ่งก�าลัง มีระดับอุณหภูมทิ เี่ หมาะสมแก่การเจริญเติบโต ของพืชอย่างคงที่
100
Energy#66_p100-101_iMac5.indd 100
4/24/2557 BE 12:50 AM
Energy Enjoyment กรีนภัทร์
เนเธอรแลนด เปดใชถนนเรืองแสง ประหยัดพลังงาน แนวคิดมาจากแมงกะพรุน
¡ÃÐáÊ¡ÒûÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹ã¹»˜¨¨ØºÑ¹¶×ÍÇ‹Ò໚¹¡ÃÐáʢͧâÅ¡ä»áŌǡ็Ç‹Òä´Œ à¾ÃÒФ¹Ê‹Ç¹ãËÞ‹ËѹÁÒãËŒ¤ÇÒÁÊํÒ¤ÑޡѺ ¾Åѧ§Ò¹¡Ñ¹ÁÒ¡¢Ö้¹ äÁ‹àÇŒ¹ÁÒᵋ »ÃÐà·Èà¹à¸Íà Ᏼ ·Õ่à» ´ãªŒ¶¹¹àÃ×ͧáʧ-»ÃÐËÂÑ´¾Åѧ§Ò¹-Å´¤‹Òä¿ «Ö่§ÁÕá¹Ç¤Ô´ÁÒ¨Ò¡áÁ§¡Ð¾Ãع
ประเทศเนเธอรแลนดไดทําการทดลองเปดใชถนนที่ตีเสนจราจร เรืองแสงเปนระยะทาง 500 เมตร สีที่ใชทาดังกลาวทํามาจากผงสี ที่ ส ามารถดู ด ซั บ แสงสว า งได ใ นเวลากลางวั น และจะค อ ย ๆ ปลดปลอยสารเรืองแสงอยางชาๆในเวลากลางคืนที่จะสองสวาง ในยามกลางคืนทดแทนแสงไฟฟาขางถนน เพื่อลดการใชพลังงาน และประหยัดเงินคาไฟฟาไดอยางมาก สําหรับการทดลองใชระบบ เส น จราจรเรื อ งแสงแทนไฟฟ า ส ง สว า งข า งทางเริ่ ม ที่ ถ นนสาย N329 ในเมืองออส ทางตะวันออกเฉียงใตของกรุงอัมสเตอรดมั ราว 100 กิโลเมตร เสนจราจรนี้จะเก็บสํารองพลังงานในตอนกลาง วั น และเปล ง ประกายเรื อ งแสงได ใ นเวลากลางคื น ติ ด ต อ กั น ถึ ง 8 ชั่วโมง นายดาน รูสการด และ บริษทั วิศวกรรมเฮจมานส เปนผูร บั ผิดชอบ โครงการทดลองนี้ กลาววา ไดแนวความคิดมาจากการเปลงแสง ของแมงกะพรุนที่สามารถเรืองแสงไดทั้งที่ไมมีแผงรับพลังงาน แสงอาทิตยแตอยางใดโดยผลงานในอดีตของเขาคือการคนคิด ฟลอรเตนรําประหยัดพลังงานซึ่งใชแรงจากการเคลื่อนไหวเทา ของนักเตนรําไปสรางพลังงานใหแกไฟดิสโกของหองเตนรํา
ด า นศาสตราจารย พี ท โธมั ส แห ง ศู น ย วิ จั ย ความปลอดภั ย ใน การคมนาคมของมหาวิทยาลัยลาฟเบอระ กลาวเพิ่มวา นวัตกรรม สําหรับทองถนนเปนสิ่งจําเปนมาก แมจะมีเสนจราจรที่เห็นชัด ในยามคํ่าคืน หรือเทคโนโลยีตาแมว แตนวัตกรรมใหมนี้ก็เปน อี ก ทางเลื อ กที่ น า สนใจอย า งยิ่ ง แม จ ะเป น การลงทุ น จํ า นวน มหาศาล เนื่องจากเสนทางอันยาวไกลของทองถนน หากแลกมา กับความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้นนับเปนเรื่องดี ซึ่งสํานักงานทางดวน ของอั ง กฤษให ค วามสนใจในเทคโนโลยี ที่ เ นเธอร แ ลนด กํ า ลั ง ทดลองอยูใ นขณะนี้ แมในอดีตทีผ่ า นมาจะมีการสรุปวาเทคโนโลยีนี้ จะไมคอยเหมาะสมกับอังกฤษสักเทาใดนักก็ตาม
101
Energy#66_p100-101_iMac5.indd 101
4/24/2557 BE 12:50 AM
Energy Movement กรีนภัทร์
ราชบุรีโฮลดิ้ง จับมือ กรมป่าไม้ พัฒนาป่าชุมชน คุณบุญทิวา ด่านศมสถิต ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริหารองค์กร บมจ. ผลิตไฟฟ้า ราชบุรโี ฮลดิง้ ร่วมกับ กรมป่าไม้ เดิ น หน้ า พั ฒ นาป่ า ชุ ม ชน จัดสัมมนาเครือข่ายกล้ายิ้ม โครงการ “คนรักษ์ปา่ ป่ารัก ชุมชน” ณ ป่าชุมชนบ้านโค้ง ตาบาง ต� า บลท่ า ไม้ ร วก อ�าเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ป่าชุมชนรองชนะเลิศระดับ ประเทศ มุง่ ส่งเสริมเครือข่าย ป่าชุมชนทั่วประเทศให้เกิด ความเข้มแข็ง และสนับสนุน การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การอนุรักษ์ป่าในพื้นที่ต่าง ๆ เพื่อน�า ไปสู่การพัฒนาป่าอย่างยั่งยืน เมื่อเร็ว ๆ นี้
สถาปัตย์ฯ ม.เกษตร ฉลองครบรอบ 20 ปี
เมือ่ เร็ว ๆ นี้ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฉลองครบรอบ 20 ปี “สองทศวรรษ ...สถาปัตย์เกษตร” AKU 20th Anniversary โชว์ศักยภาพผู้น�าสถาบันที่มี “การมุ่งมั่นสร้างสรรค์ สถาปัตยกรรมเพือ่ สิง่ แวดล้อม” โดดเด่นด้านการวิจยั วิชาการและ บูรณาการ องค์ความรู้ ในวิชาชีพด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมยัง่ ยืน และสภาพแวดล้อม ทัง้ ในระดับชาติและนานาชาติ พร้อมประกาศรับ สมัครโจทย์ความต้องการด้านการออกแบบจากประชาชนทั่วไป หน่วยงานภาครัฐและเอกชน 20 โครงการ มอบหมายบุคลากรในคณะฯ สร้างสรรค์ผลงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยไม่คดิ ค่าใช้จา่ ย
ปตท. รับรางวัล The Asset 2014
ฮอนด้า จัดพิธีรับถ้วยพระราชทานและโล่ประทานฯ
คุณวิรตั น์ เอือ้ นฤมิต ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่การเงินองค์กร บริ ษั ท ปตท. จ�ากัด (มหาชน) รับ มอบรางวัลระดั บเอเชี ยจาก The Asset ซึ่งเป็นนิตยสารด้านการเงินชั้นน�าแห่งเอเชีย ในพิธี มอบรางวัล ประจ�าปี 2014 ณ เขตปกครองพิเศษฮ่องกง โดย ปตท. ได้รบั สุดยอดรางวัลทัง้ ประเภทบุคคลและประเภทองค์กร ซึง่ ปตท. เป็นบริษทั ไทยเพียงบริษทั เดียวทีไ่ ด้รบั รางวัลดังกล่าวในปีนี้ แสดงให้ เห็นถึงศักยภาพในการบริหารเงินแบบรวมศูนย์ของบริษัทในกลุ่ม ปตท. อันจะสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่กลุม่ ปตท. ต่อไป
บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดพิธีรับถ้วย พระราชทานพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว และโล่ ป ระทาน พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ แก่ 17 โรงเรียนมาตรฐานสิ่งแวดล้อม โครงการโรงเรียนสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อม เฉลิมพระเกียรติ ครั้งที่ 7 (พ.ศ. 2555-2556) ภายใต้ แนวคิด “ตามรอยเท้าพ่อ...กับฮอนด้า” พร้อมกันนี้ ฮอนด้ายังได้ น�าคณะครูและนักเรียนเดินทางไปทัศนศึกษาเปิดโลกการเรียนรู้ เสมือนจริงที่คิดส์ซาเนีย สยามพารากอน อีกด้วย
102
Energy#66_p102-103_iMac5.indd 102
4/24/2557 BE 12:52 AM
Vehicle Concept นัษรุต เถื่อนทองคำ�
ดาคอนฯ ส�าเร็จในการตรวจท่อ เหมืองทองแดง ประเทศอินโดนีเซีย
กฟผ. เตือนประชาชนช่วยกันประหยัดน�้า
อีกครัง้ กับควำมส�ำเร็จของ บริษทั ดาคอน อินสเป็คชัน่ เซอร์วสิ เซส ในกำรตรวจสอบท่อด้วยอุปกรณ์ตรวจสอบท่อสุดอัจฉริยะ หรือ INTELLIGENT PIG ทีเ่ หมืองทองแดงในประเทศอินโดนีเซีย ทีส่ ำมำรถ ให้บริกำรตรวจสอบระบบท่อขนส่งน�ำ้ มัน และปิโตรเคมิคลั โดยเฉพำะ อย่ำงยิ่งกำรประยุกต์ใช้งำนคลื่นเสียงควำมถี่สูงในกำรตรวจสอบ ท่อ HDPE และอุปกรณ์ตรวจสอบท่ออัจฉริยะนี้ มีประสิทธิภำพใน กำรตรวจวัดควำมหนำ ตรวจลักษณะกำรสึกหรอทั้งภำยในและ ภำยนอกท่อ พร้อมทั้งยังมีกำรเก็บรวบรวม และบันทึกข้อมูลอื่น ๆ ที่ส�ำคัญตลอดเวลำในกำรตรวจสอบ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เตือนทุกภำคส่วน ใช้น�้ำอย่ำงประหยัด หลังเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์มีปริมำณน�้ำ ในอ่ำงเก็บน�้ำลดลงอย่ำงต่อเนื่อง โดยมีปริมำณน�้ำในอ่ำงเก็บน�้ำ เพียงร้อยละ 41 และ ร้อยละ 45 ตำมล�ำดับ ขณะทีย่ งั ต้องระบำยน�ำ้ ตลอดช่วงฤดูแล้งอีกเกือบ 1 เดือน
การบริหารจัดการระบบส่งไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า
แนะกลยุทธ์เอสเอ็มอีไทยสู้ได้ในตลาดอาเซียน
คุ ณ ปั ท มาวดี จีรัง สวัสดิ์ ผู้อ�ำนวยกำรส�ำนั ก นโยบำยไฟฟ้ ำ ส�ำนักงำนนโยบำยและแผนพลังงำน (สนพ.) กระทรวงพลังงำน พร้อมคณะเจ้ำหน้ำที่ เข้ำศึกษำดูงำน “การบริหารจัดการระบบ ส่งโรงไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าขยะ” ในพืน้ ทีจ่ งั หวัดนครปฐม ตำมโครงกำร ศึกษำแนวทำงกำรวำงแผนและพัฒนำระบบส่งไฟฟ้ำขอประเทศไทย ณ บริษทั Sindicatum Sustalnable Resources จ�ำกัด เมือ่ เร็ว ๆ นี้
มูลนิธเิ อเชียร่วมกับสถาบันวิจยั เพือ่ การพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดอี าร์ไอ จัดสัมมนำเพือ่ ส่งเสริมควำมร่วมมือด้ำนเศรษฐกิจในระดับ ภูมภิ ำคในหัวข้อ “การปรับทัพ AEC ให้สอดคล้องกับ SMEs” หรือ “Making ASEAN Economic Community Work for SMEs” ขึน้ ซึง่ งำนเสวนำดังกล่ำวได้รบั ควำมสนใจจำกผูป้ ระกอบกำร SMEs จ�ำนวน มำก
103
Energy#66_p102-103_iMac5.indd 103
4/24/2557 BE 12:52 AM
Energy Thinking เด็กเนิร์ด
“6Ps” ÃËÑÊÅѺ·Ó§Ò¹Í‹ҧÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ Positive Thinking
คือ การมองโลกในแงดี มีทัศนคติที่เปนบวกอยูเสมอ ถึงมีอะไรราย ๆ ก็สามารถมองหาแงดี จากสิ่งที่เกิดขึ้นได ใครทําไดอยางนี้จะมีความสุขตลอดเวลา
Peaceful Mind
หมายถึง การมีจิตใจที่สงบจะสรางความสุขที่คนอื่นตองอิจฉา เมื่อใจเราสงบ ใจเราจะนิ่ง ไมตื่นเตนหวั่นไหวตามกระแสตาง ๆ
Patience
คือ การทีม่ คี วามอดทน คนเราจะใหทกุ อยางเปนตามใจเราคงยาก มันตองมีชว งทีเ่ ปนของคนอืน่ บาง แตถาเรารูจักอดกลั้น อดทน รอคอยใหถึงชวงเวลาของเรา เราก็จะไดรับสิ่งดี ๆ จากความอดทน นั้นในที่สุด
Punctual
คือ การตรงตอเวลา การมีวินัย นิ้วกอยกับนิ้วหัวแมมือ แมมีขนาดไมเทากันก็อยูในมือเดียวกัน ตองทําหนาที่พรอมกันในเวลาหยิบของ จะเกี่ยงวาตัวเล็กตัวใหญไมได อยาผิดคําพูด อยาผิดนัด ยิ่งเราเปนผูใหญ มีตําแหนงสําคัญ ตองไปใหตรงเวลา ไมควรไปชา หรือคิดวาตน สําคัญคนอื่นตองรอ แสดงถึงความยิ่งใหญ ใหเปลี่ยนความคิดนี้เสียใหม
Polite
คือ ความสุภาพ ออนนอมถอมตน ยิ่งใหญเทาใด ก็ยิ่งตองมีความสุภาพ ออนนอมถอมตนใหมาก มีมากเทาใดคนอื่นจะยิ่งเกรงมากขึ้นเทานั้น รวงขาวที่มีเมล็ดขาวมากเทาใด ก็ยิ่งโนมลงติดดิน มากเทานั้น และรวงขาวชอนั้นจะมีคามาก เพราะใหผลผลิตดีกวาชอที่ยืนลอลมไดสูง ๆ แตไมมีเมล็ด เกี่ยวไปแลวก็ทิ้งเปนฟาง เอาไปสีก็เปลาประโยชน
Professional
หมายถึง ความเปนมืออาชีพในงานของตน ตองมีความรูความสามารถอยางมืออาชีพ ตองทําอยางดีที่สุด ทําหนาที่ใหเหมาะสม หมั่นฝกปรือ แสวงหาความรูใหทันสมัยทันโลก
แหลงที่มาจาก : www.siamsafety.com 104
Energy#66_p104_iMac5.indd 104
4/24/2557 BE 12:54 AM
แบบสมัครสมาชิก (ขอมูลเพ�อจัดการสงเอกสาร กรุณาเขียนตัวบรรจง)
ช�อ................................................. สกุล................................................. เพศ � ชาย � หญิง วัน/เดือน/ปเกิด ........../........./..........
ตําแหนง :
� เจาของ � ผูบริหาร � เจาหนาที่ � อ�นๆ (โปรดระบุ).......................................................................................................................................................................................
อาชีพ :
� นักอุตสาหกรรม � นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย � ที่ปรึกษาดานพลังงาน � ชางเทคนิค
� นักธุรกิจ � ผูรับเหมากอสราง � นักวิชาการ / อาจารย � นักศึกษา
ลักษณะงานของหนวยงาน :
� วิศวกรรม � โรงงาน � ประกอบการกอสราง � ตรวจสอบอาคาร � ผลิต / จําหนายวัสดุ-อุปกรณดานพลังงาน � โรงแรม / รีสอรท � ศูนยการคา � หนวยงานราชการ /รัฐวิสาหกิจ
� วิศวกร � นักออกแบบ � ผูตรวจสอบอาคาร � นักพัฒนาดานพลังงาน � นักวิจัย � ขาราชการ / รัฐวิสาหกิจ � อ�นๆ (โปรดระบุ)......................................................................... � การออกแบบ � พัฒนาอสังหาริมทรัพย � พัฒนาดานพลังงาน � ที่ปรึกษาดานพลังงาน � ขนสง � โรงพยาบาล � สถาบันการเงิน – ธนาคาร � สถาบันการศึกษา � อ�นๆ (โปรดระบุ).........................................................................
สถานที่จัดสงนิตยสาร
ช�อหนวยงาน/ บริษัท ........................................................................... เลขที่..................... หมู............... ซอย............................................... ถนน............................................................. แขวง/ตําบล.................................................... เขต/อําเภอ..................................................... จังหวัด......................................................... รหัสไปรษณีย................................................. โทรศัพท.......................................................... โทรศัพทมือถือ.............................................. แฟกซ............................................................ อีเมล................................................................ � ตออายุสมาชิก สมัครวันที่............../................/............... � สมัครสมาชิกใหม � 1 ป 12 ฉบับ ราคา 1,080 บาท พิเศษเพียง 900 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 963 บาท � 2 ป 24 ฉบับ ราคา 2,160 บาท พิเศษเพียง 1,720 บาท ตองการใบกํากับภาษีเพิ่ม Vat 7 % เทากับ 1,840 บาท เริ่มรับฉบับที่...................เดือน/ป.................. (ในกรณีที่ตองการใบกํากับภาษีโปรดแนบนามบัตรหรือที่อยูใหชัดเจน)
วิธีชําระเงิน
� เงินสด � ธนาณัติสั่งจาย ปณ.สวนหลวง 10253 ธนาณัติเลขที่..................................... จํานวน..................................บาท � เช็คขีดครอม (ตางจัดหวัดบวกคาเรียกเก็บ 10 บาท) ธนาคาร.............................................................................................................. สาขา......................................................................... เช็คเลขที่.............................................................. ลงวันที่ ........../........./........... สั่งจายในนาม บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เลขประจําตัวผูเสียภาษี 010 5539 0669 94 � โอนเงินเขาบัญชีสะสมทรัพย บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวหมาก เลขที่บัญชี 180-7-22396-9 � บัตรเครดิต �VISA � MASTER หมายเลขบัตร ����-����-����-���� หมายเลข 3 ตัวทายบัตรเครดิต ��� บัตรหมดอายุ (เดือน/ป) .......... /.......... ลายมือช�อผูถือบัตร..................................................... กรุณาสงใบสมัครพรอมสําเนาการโอนเงินไปยัง นิตยสาร ENERGY SAVING เลขที่ 200/7-14 ชัน้ 6 อาคารเออีเฮาส ซอยรามคําแหง 4 สวนหลวง กรุงเทพฯ 10250 วงเล็บมุมซอง (สมัครสมาชิก) หรือ แฟกซ 02-318-4689 / 02-717-2469 โทรศัพท 02-717-2477 ตอ 229 (สมาชิกสัมพันธ) ติดตามความเคล�อนไหวแบบออนไลนไดที่
www.energysavingmedia.com ราคาพิเศษกวา + ของสมนาคุณ
เพียงทานคลิกสมัครสมาชิกผานทางเว็บไซต
HO
ro P T
m
!! n otio
105
Energy#66_p105_iMac5.indd 105 105 Energy#58_p103_Pro3.indd
105
4/24/2557 BE 12:58 AM 8/28/13 6:43 PM
Event Calendar กองบรรณาธิการ
นิทรรศการ งานประชุม และอบรมสัมมนา ด้านพลังงานที่น่าสนใจ ประจ�าเดือน พฤษภาคม 2557
4 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : การพิจารณารายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ รายละเอียด : ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) ได้พิจารณาโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่อยู่ใกล้โบราณ สถานหรือชุมชนเก่าแก่ ต้องปรับลดขนาดอาคารลง เพื่อลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม จึงได้มีการเสวนาระหว่างสถาปนิก และผู้พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ถึงเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้พิจารณา สถานที่ : ณ ห้องจูปิเตอร์ 9 - 10 อิมแพ็ค เมืองทองธานี เวลา : 13.00 - 15.30 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : พตท.ดร. บัณฑิต ประดับสุข โทร.089-005-3157 Email : aoodbrando@hotmail.com 7 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : เยี่ยมชมโรงงาน “การจัดการสิ่งแวดล้อมและปัจจัยสู่ความส�าเร็จของการเป็นโรงงานสีเขียว” รายละเอียด : สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯได้จัดกิจกรรมเยี่ยมชมโรงงาน ของบริษัท อ�าพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จ�ากัด และบริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรมจ�ากัด เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เห็นถึงความส�าคัญเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในโรงงานและการใช้ เทคโนโลยีการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด สถานที่ : บริษัท อ�าพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง จ�ากัด และบริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรมจ�ากัด จ.นครปฐม เวลา : 07.00 – 16.30 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : สถาบันสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรมคุณกัลยา นามโคตร โทร. 02-345-1261-2 โทรสาร. 0-2345-1266-7 Email : kanlayan@off.fti.or.th 14-15 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : การฝึกอบรมหลักสูตร การจัดท�าระบบการจัดการพลังงานตาม ISO 50001 รุ่นที่ 2 รายระเอียด : ส�านักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ร่วมกับองค์การพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ ร่วมมือจัดการฝึกอบรม ภายใต้โครงการ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรมโดยมุง่ เน้นเรือ่ งการจัดการพลังงาน และเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ผู้เข้าอบรม ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการจัดท�าระบบ ISO 50001 มากยิ่งขึ้น สถานที่ : ณ คลาสสิค คามิโอ จ. ระยอง ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : คุณภัทรพร ธนาสูรย์ โทร. 02-202-3428 15-16 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : Cogeneration Power Plant Feasibility Study in Factory รายละเอียด : รู้จักและสามารถใช้หลักการเลือกระบบ Cogeneration เบื้องต้นผ่าน Mind-Mapping tool ให้เหมาะสมกับรูปแบบการใช้ พลังงานไฟฟ้า, ความร้อน, ความเย็นของโรงงาน และสามารถประมาณการผลประโยชน์รายจ่ายและเงินลงทุนของโครงการได้ สถานที่ : โรงแรม Swissotel Le Concorde (MRT รัชดาภิเษก) เวลา : 09.00 - 16.00 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : โทร.0-2201-3466-7 19 พฤษภาคม 2557 ชื่องาน : งานสัมมนา Australian-Thailand Energy seminar รายละเอี ยด : เพื่อ เปิดโอกาสให้ภ าครัฐ และเอกชนของทั้ งสองประเทศในสาขาพลั งงานได้ แลกเปลี่ ย นข้ อคิ ด เห็น และประสบการณ์ ทางด้านพลังงาน เพื่อที่จะขยายการค้าและการลงทุนด้านพลังงานของทั้งสองประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขา ถ่านหิน ไฟฟ้า น�้ามัน และก๊าซธรรมชาติ สถานที่ : ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล กรุงเทพมหานคร เวลา : 09.00 – 14.40 น. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติม : ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ โทร.0-2696-4824 Email : Pannalak@austrade.gov.au 106
Energy#66_p106_iMac5.indd 106
4/24/2557 BE 1:00 AM
Energy#66_p107_iMac5.ai
Energy#66_p107_iMac5.pdf
1
1
4/21/2557 BE
9:31 PM
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
Energy#66_Cover In_Pro3.indd 1
4/24/2557 BE 10:56 PM
39
Energy#66_Cover Out_iMac5.indd Energy#66_p108_iMac5.indd 31 1
4/21/2557 BE 9:04 PM
4/28/2557 BE 11:46 AM