ประกาศโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ………………………………………………………………………………………….. ตามที่โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยาได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๕๓ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยเริ่มใช้หลักสูตรดังกล่าวกับนักเรี ยนทุกระดับชั้นในปีการศึกษา ๒๕๕๓ เป็นต้น มา ต่อมาในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ได้ดาเนินการจัดการปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้การจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ตลอดจนความรู้ทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว จากการเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษารองรับ โครงการระเบี ย งเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวัน ออก (ชลบุ รี -ระยอง-ฉะเชิงเทรา) หรือ EEC และคาสั่ งส านัก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ สั่ง ณ วันที่ ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๑ ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการ เรีย นรู้และตัวชี้วัด กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อีกทั้งจากคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ สั่ง ณ วัน ที่ ๗ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒๔๖๑ ได้กาหนดเงื่อนไขและระยะเวลาการเริ่ม ใช้ม าตรฐานการเรียนรู้และตัว ชี้วัด ที่ เปลี่ยนแปลงดังกล่าวในปีการศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยาได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ จึงประกาศให้ใช้หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยาตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่
( นายสุชิน พูลหิรัญ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
( นางสุมาลี สุขสาร ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
( นายสมศักดิ์ ทองเนียม ) ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๑๘
คานา หลักสูตรโรงเรี ยนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เป็นแผน หรือแนวทาง หรือข้อกาหนดการจัดการศึกษาโรงเรียนบ้านฉาง กาญจนกุลวิทยา ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์ มีเวลาในการทา กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะ การปลูกฝ๎งคุณธรรมจริยธรรม การสร้างวินัย การมีจิตสานึกรับผิดชอบ ต่อสังคม ยึดมั่น ในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย์ และมีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ตลอดจนการเรียนการสอน ในวิชาประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมือง รวมถึงการสอนศีลธรรมแก่นักเรียน ดังนั้น ปีการศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนบ้านฉาง กาญจนกุล-วิทยา ได้ดาเนินการจัดการปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม ตลอดจนความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่าง รวดเร็ว จากการเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษารองรับโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (ชลบุรี ระยอง-ฉะเชิงเทรา) หรือ EEC ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการโรงเรียนบ้านฉาง กาญจนกุลวิทยา คณะครูและผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนร่วมในการจัดทาหลักสูตรฉบับนี้ให้สาเร็จลุล่วงด้วยดี สามารถ นาไปใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะกระบวนการคิด เป็นคนดี มีคุณธรรม และดารงชีวิตในสังคมได้ อย่างเป็นสุข
( นางสุมาลี สุขสาร ) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑
สารบัญ วิสัยทัศน์โรงเรียน ................................................................................................................................................................ ๒ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ................................................................................................................................................. ๒ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ .................................................................................................................................................. ๓ มาตรฐานการเรียนรู้ ............................................................................................................................................................ ๔ สาระการเรียนรู้................................................................................................................................................................... ๕ สาระการเรียนรู้พิเศษ.......................................................................................................................................................... ๖ วิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) IS ........................................................................................ ๖ วิชา สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ...................................................................................................................................... ๘ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ............................................................................................................................................. ๙ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ...................................................................................................................................................... ๑๙ ระดับการศึกษา................................................................................................................................................................ ๒๐ การจัดเวลาเรียน .............................................................................................................................................................. ๒๐ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ................................................................................................................. ๒๑ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ .......................................... ๒๒ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (STEM) ............................ ๒๓ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ –เทคโนโลยีสารสนเทศ............................. ๒๔ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาจีน ............................................................... ๒๔ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาอังกฤษ ........................................................ ๒๕ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์-การงานอาชีพ ........................................................ ๒๗ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ............................................................................................................. ๒๘ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ .......................................................................................................... ๖๓ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ......................................................................................................... ๘๙ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม .....................................................................๑๖๓ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา ..........................................................................................๒๒๑ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ .................................................................................................................๒๔๔ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ..............................................................................๒๘๙ โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ...............................................................................................๓๔๙ โครงสร้างรายวิชาสาระการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง .....................................................................................๓๘๘ โครงสร้างรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน...........................................................................................................................๓๙๔ เกณฑ์การจบการศึกษา……………………………………………………………………………………………………………………….……………๔๐๒
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒
วิสัยทัศน์โรงเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุล ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิตโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา จึงได้กาหนดวิสัยทัศน์โรงเรียนว่า “เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สร้างสรรค์ประชาธิปไตย รักษ์ความเป็นไทย ก้าวไกลเทคโนโลยี มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นโรงเรียนชั้นนาของชุมชน ปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อสร้างศรัทธา พัฒนาคุณภาพของผู้เรียนที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑ ปรับปรุงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง๒๕๖๐)มุ่งพัฒนาผู้เรียน ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนด เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการ ใช้ภาษา สามารถถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและประสบการณ์ โดยใช้วิธีการ สื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. ความสามารถในการคิด มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และคิดอย่างเป็นระบบ สามารถสร้างองค์ความรู้ และตัดสินใจเกี่ยวกับตนเอง และสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถแก้ป๎ญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน สามารถปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม รู้จัก หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มุ่งเน้นให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีด้านต่างๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลั ก สู ต รโรงเรี ย นบ้ า นฉางกาญจนกุ ล วิ ท ยา หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน มุ่ ง พั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้ อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝุเรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔
มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุป๎ญญา หลักสูตรโรงเรียนบ้าน ฉางกาญจนกุลวิทยา จึงกาหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้ ๑. ภาษาไทย ๒. คณิตศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์ ๔. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕. สุขศึกษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๘. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเปูาหมายสาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้น พื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการ เรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อ การประกัน คุณ ภาพการศึกษาโดยใช้ ร ะบบการประเมินคุ ณภาพภายในและการประเมิ นคุณภาพภายนอก ซึ่ง รวมถึ ง การทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าวเป็นสิ่ง สาคัญที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรียนรู้กาหนดเพียงใด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕
สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่ง กาหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจาเป็นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ ภาษา เพื่อการสื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่าภูมิปัญญา ไทย และ ภูมิใจในภาษาประจาชาติ
ภาษาต่างประเทศ ความรู้ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศในการสือ่ สาร การแสวงหาความรู้และ การประกอบอาชีพ
การนาความรู้ทักษะและกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา การดาเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมี เหตุมีผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบ
องค์ความรู้ ทักษะสาคัญ และคุณลักษณะในหลักสูตร โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา
การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ในการทางาน การจัดการ การดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการใช้เทคโนโลยี
วิทยาศาสตร์ การนาความรู้และกระบวนการทา วิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิต วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่างสันติสุข การเป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจใน ความเป็นไทย
สุขศึกษาและพลศึกษา ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้าง เสริมสุขภาพพลานามัยของตนเองและ ผู้อื่น การป้องกันและปฏิบัติต่อ
ศิลปะ ความรู้และทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่าทาง ศิลปะ
สิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธี และทักษะในการดาเนินชีวิต
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖
สาระการเรียนรู้พิเศษ วิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study) IS สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กาหนดนโยบายให้โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน การพัฒนายกระดับการจัด การศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผู้เรียนมีศักยภาพและ ความสามารถทัดเทียมกับผู้เรียนนานาประเทศ ทั้งนี้ เพื่อให้การดาเนินการ บรรลุวัตถุประสงค์ และมีประสิท ธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนในโรงเรียน มาตรฐานสากลบังเกิดผลเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ทบทวน และกาหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง) ขึ้น โดยมีหัวใจสาคัญของการ ด าเนิ น การจั ด การเรี ย นการสอนให้ กั บ ผู้ เ รี ย น เรี ย กว่ า “บั น ได ๕ ขั้ น ของการพั ฒ นาผู้ เ รี ย นสู่ ม าตรฐานสากล” (Five Steps for Student Development) ได้แก่ ๑. การตั้งคาถาม/สมมติฐาน ๒. การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ ๓. การสร้างองค์ความรู้ ๔. การสื่อสารและนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ และ ๕. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ ซึ่งใช้กระบวนการที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภายใต้สาระ“การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง(Independent Study: IS)” ซึ่งแบ่งเป็น ๓ สาระประกอบด้วย IS ๑ – การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ IS ๒ – การสื่อสารและการนาเสนอ และ IS ๓ – การนาองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม ในรูปแบบของการดาเนินการรายวิชาเพิ่มเติมและการจัดกิจกรรม รวมถึงการจัดรายวิชาและกิจกรรมอื่น ๆ เพื่อนา ผู้เรียนเกิดศักยภาพสาคัญ ตามจุดมุ่งหมายแนวทางทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล จุดมุ่งหมาย หลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดศักยภาพที่สาคัญ ดังนี้ ๑) ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล มีความรู้พื้นฐานที่จาเป็นทางวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษา ข้อมูล และทัศนภาพ รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักสานึกระดับโลก ๒) ความสามารถคิดประดิษฐ์อย่างมีความสามารถในการปรับตัว สามารถจัดการกับสภาวการณ์ที่มีความ ซับซ้อน เป็นบุคคลที่ใฝุรู้ สามารถกาหนด/ตั้งประเด็นคาถาม เพื่อนาไปสู่การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ ข้อมูล สารสนเทศ และสรุปองค์ความรู้ ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและ สังคม ได้อย่างเหมาะสม ๓) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล ความสามารถในการรับและส่งสาร การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล ข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและ สังคม รวมทั้งมีทักษะในการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดป๎ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ ตลอดจนสามารถเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพโดยคานึงถึง ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่ าง หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗
ๆ ในสังคม สามารถจัดการป๎ญหาและ ความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม นาไปสู่การปฏิบัติและนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม บริการสาธารณะ ซึ่งหมายถึงการเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้และวิ ธีการที่หลากหลาย เลือกและ ใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ สื่อสาร การทางาน การแก้ป๎ญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลที่กาหนด โรงเรียนจะต้องส่งเสริมให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการ เรีย นรู้ในโรงเรีย นมาตรฐานสากลออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หรือหน่วยการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม กระบวนการ ๕ ขั้นตอน หรือบันได ๕ ขั้น ของการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากลทั้งในรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา เพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ซึ่งกระบวนการ ๕ ขั้นตอน หรือบันได ๕ ขั้นของการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน มาตรฐานสากล เป็นกระบวนการที่มีความต่อเนื่อง ได้แก่ ๑) การตั้งประเด็นคาถาม / สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) เป็นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้ง คาถามอย่างมีเหตุผล และสร้างสรรค์ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการตั้งคาถาม (Learning to Question) ๒) การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Searching for Information) เป็นการฝึกแสวงหาความรู้ ข้อมูล และ สารสนเทศ จากแหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หรือจากการฝึกปฏิบัติ ทดลอง เป็นต้น ซึ่งจะ ส่งเสริมเกิดการเรียนรู้ในการแสวงหาความรู้ (Learning to Search) ๓) การสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Formation) เป็นการฝึกให้ผู้เรียนนาความรู้และสารสนเทศที่ได้จาก การแสวงหาความรู้ มาถกแถลง อภิปราย เพื่อนาไปสู่การสรุปและสร้างองค์ความรู้ (Learning to Construct) ๔) การสื่อสารและนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เป็นการฝึกให้ผู้เรียนนา ความรู้ที่ได้มาสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีทักษะในการสื่อสาร (Learning to Communicate) ๕) การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) เป็นการนาความรู้สู่การปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียนจะต้อง เชื่อมโยงความรู้ ไปสู่การทาประโยชน์ให้ กับสังคมและชุมชนรอบตัวตามวุฒิภาวะของผู้เรียน และจะส่งผลให้ผู้เรียนมีจิต สาธารณะและบริการสังคม (Learning to Serve) กระบวนการดังกล่าวจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ และได้รับการพัฒนาอย่างเต็ม ตามศักยภาพ บรรลุตามเปูาหมายของการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการดาเนินการสู่มาตรฐานสากล แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้กาหนดให้โรงเรียนต้อง นาสาระ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ไปสู่การเรียนการสอน ด้วยการจัดทารายวิชา ออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางที่กาหนด โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท วัยและพัฒนาการ ของผู้เรียน ซึ่งอาจแตกต่างกันตามบริบทของโรงเรียน ในการนี้ โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ดาเนินการจัดการเรียนรู้ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) โดยจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม ๒ รายวิชา ได้แก่ (๑) รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ ความรู้ (Research and Knowledge Formation: IS๑) เป็นการพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้และทักษะตาม IS๑ ผู้เรียน เลือกประเด็นที่สนใจในการเรียนรู้ เพื่อกาหนดประเด็นป๎ญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้า แสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ฝึ ก ทั ก ษะการคิ ด วิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ แ ละสร้ า งองค์ ค วามรู้ และ (๒) รายวิ ช าการสื่ อ สารและการน าเสนอ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘
(Communication and Presentation: IS ๒) เป็นการเรียนรู้ต่อเนื่องจากรายวิชา IS ๑ ผู้เรียนนาสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้าจาก รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้มาเขียนรายงาน หรือเอกสารทางวิชาการ และนาเสนอเพื่อสื่อสารถ่ายทอด ข้อมูลความรู้นั้นให้ผู้อื่นเข้าใจ โดยจัดทาเป็นผลงานการเขียนทางวิชาการ ๑ ชิ้น และการสื่อสารนาเสนอสิ่งที่ได้จาก การศึกษาค้นคว้า โดยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเป็นภาษาไทย ๒,๕๐๐ คา และในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเป็น ภาษาไทย ๔,๐๐๐ คา หรือภาษาอังกฤษ ๒,๐๐๐ คา และจัดเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ โดยจัดกิจกรรมการนาองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity: IS๓) ซึ่งเป็นการนาสิ่งที่ เรียนรู้จากรายวิชาเพิ่มเติมทั้ง ๒ รายวิชาข้างต้น ไปประยุกต์ใช้ในการทาประโยชน์ต่อสังคม โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยายังได้ดาเนินการอื่นๆ ควบคู่ด้วย ได้แก่ ๑. สอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์และภาษาอังกฤษ เป็นภาษาอังกฤษ ในโครงการ (EIS) ๒. เปิดสอนวิชาภาษาต่างประเทศที่ ๒ คือ ภาษาจีน และสอนวิชาฟ๎งพูดจีนให้แก่นักเรียนชั้น ม.๑ – ๖ เป็น รายวิชาเพิ่มเติม ๓. โครงการจัดการเรียนการสอน๕วิชาพื้นฐานตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (English Project) โดยจัดการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน วิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษาคอมพิวเตอร์และ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาอังกฤษ ๔. วัดผลประเมินผล โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่เน้นให้ มีการเขียนตอบและนาเสนอผลงาน และ ดาเนินการประเมินผลเทียบเคียงมาตรฐานสากล ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์เน้นความเป็นพลโลก และดาเนินการ เทียบโอนผลการประเมินการเรียนการสอนกับสถานศึกษาระดับต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ วิชา สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยาได้เข้าร่วมสนองพระราชดาริงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีการจัดการเรียนรู้ให้ตระหนักถึงการหวงแหน การอนุรักษ์ และการนาไปใช้ประโยชน์ ทางโรงเรียนได้จัด เวลาเรียน รายวิชาสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ลงในหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน การดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ดาเนินการโดยนักเรียน มีครูอาจารย์เป็นผู้ให้คาแนะนาสนับสนุน ผู้บริหารเป็นหลักและผลักดัน มีโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริเป็นพี่เลี้ยงสนับสนุนทางวิชาการ สวนพฤกษศาสตร์ โรงเรี ยนจึ งเป็น การดาเนิน งานของโรงเรียน โดยสมัครใจที่จะนาแนวพระราชดาริและแนวทางการ ดาเนินงานที่โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตามความพร้อม ไม่ฝืนธรรมชาติ และนาพืชพรรณ ไม้ในโรงเรียนพัฒนาเป็นสื่อการเรียนการสอนในวิชาต่างๆอันจะเกิดผลประโยชน์แก่นักเรียน ครู ที่ดาเนินงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง ๘ กลุ่มและ ๑ กลุ่มพัฒนาผู้เรียน ได้ร่วมสนองนโยบายดังกล่าวและนาหลักการมาพัฒนาสู่ ระบบการศึกษาที่ยั่งยืนโดยนา สาระมาตรฐานการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆมาลงสู่การเรียนการสอน และการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบบูรณาการผ่านงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนในทุกรายวิชาและทุกระดับชั้น โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ นักเรี ย นสามารถสื บ ค้น ข้ อมูล ทางพฤกษศาสตร์ได้ อย่างถูกต้ อง เกิดจิ ตส านึกในการรักถิ่ น นาเทคโนโลยีมาใช้ใ ห้ เกิ ด ประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ เห็นคุณค่าและความสาคัญของบ้านเกิดต่อไปในภายภาคหน้า จะเกิดความรักในประเทศชาติ ต่อไปตามศักยภาพแห่งตน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้
๑.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาระที่ ๑
การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑
สาระที่ ๒
การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑
สาระที่ ๓
สามารถเลือกฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์
หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑
สาระที่ ๕
ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ
การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑
สาระที่ ๔
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาใน การดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษาภูมิป๎ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑
เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐
๒.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระที่ ๑ จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของจานวน ผลที่ เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟ๎งก์ชัน ลาดับและอนุกรม และนาไปใช้ ดาเนินการต่างๆ และใช้การดาเนินการในการแก้ป๎ญหา มาตรฐาน ค ๑.๓ ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์ หรือช่วยแก้ป๎ญหาที่กาหนดให้ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๓ เข้าใจเรขาคณิตวิเคราะห์ และนาไปใช้ มาตรฐาน ค ๒.๔ เข้าใจเวกเตอร์ การดาเนินการของเวกเตอร์ และนาไปใช้ หมายเหตุ: มาตรฐาน ค ๒.๓ และ ค ๒.๔ สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ที่เน้นวิทยาศาสตร์ สาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรู้ทางสถิติในการแก้ป๎ญหา มาตรฐาน ค ๓.๒ เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และนาไปใช้ สาระที่ ๔ แคลคูลัส มาตรฐาน ค ๔.๑ เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟ๎งก์ชัน อนุพันธ์ของฟ๎งก์ชัน และปริพันธ์ของฟ๎งก์ชันและ นาไปใช้ หมายเหตุ: มาตรฐาน ค ๔.๑ สาหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ที่เน้นวิทยาศาสตร์
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑
๓.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๓.๑ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตและระหว่าง สิ่งมีชีวิตต่างๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงานการหมุนเวียนสาร การเปลี่ยนแปลงแทนที่ใน ระบบนิเวศประชากร ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับ ท้ อ งถิ่ น ระดั บ ประเทศและระดั บ โลก และแนวทางในการปู อ งกั น และแก้ ไ ขป๎ ญ หา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารผ่านเซลล์ความสัมพันธ์ของ โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่างๆของสัตว์ที่ทางานสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมสารพันธุกรรม การ เปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต สาระที่ ๒ มาตรฐาน ว ๒.๑ มาตรฐาน ว ๒.๒ มาตรฐาน ว ๒.๓ สาระที่ ๓ มาตรฐาน ว ๓.๑ มาตรฐาน ว ๓.๒
สาระที่ ๔ มาตรฐาน ว ๔.๑
วิทยาศาสตร์กายภาพ เข้าใจสมบัติของสาร องค์ประกอบ ของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับ โครงสร้าง และแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและ ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การ เกิดสารละลาย และ การเกิดปฏิกิริยาเคมี เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ การหมุนและสมดุลของวัตถุ ธรรมชาติของแรงพื้นฐาน เข้าใจความหมายของพลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ปรากฏการณ์คลื่น คลื่นแม่เหล็ฏไฟฟูา เสียงในชีวิตประจ าวัน แสงและทัศนูอุปกรณ์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เข้าใจลักษณะและความสาคัญของเอกภพและดวงดาว โลกและระบบสุริยะ เทคโนโลยี อวกาศมาใช้ประโยชน์ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ ของระบบโลก กระบวนการต่างๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและ ภายในโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟูาอากาศ ธรณีพิบัติภัย และการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ โลกที่มีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต เทคโนโลยี เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ป๎ญหา หรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒
มาตรฐาน ว ๔.๒
เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ป๎ญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ป๎ญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
๓.๒ วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ที่เน้นวิทยาศาสตร์) สาระชีววิทยา ๑. เข้ า ใจธรรมชาติ ข องสิ่ ง มี ชี วิ ต การศึ ก ษาชี ว วิ ท ยาและวิ ธี ก ารทางวิ ท ยาศาสตร์ สารที่ เ ป็ น องค์ประกอบของสิ่งมีชี วิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและ หน้าที่ของเซลล์ การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ ๒. เข้าใจการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและหน้าที่ของ สารพันธุกรรม การเกิดมิวเทชัน เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ หลักฐาน ข้อมูลและแนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดุลของฮาร์ดี -ไวน์เบิร์ก การเกิดสปีชีส์ใหม่ความหลากหลาย ทางชีวภาพ กาเนิดของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทั้งนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๓. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้าของพืช การลาเลียงของพืชการ สังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๔. เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ รวมทั้งการหายใจและการแลกเปลี่ยนแก๊ส การลา เลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษา ดุลยภาพ และพฤติกรรม ของสัตว์ รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ๕. เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนสาร ในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบ นิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ป๎ญหา และผลกระทบที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการแก้ไขป๎ญหา สาระเคมี ๑. ๒. ๓.
เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและสมบัติของ สาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมทั้ง การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด–เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟูา รวมทั้งการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจหลักการทาปฏิบัติการเคมี การวัดปริมาณสาร หน่วยวัดและการเปลี่ยนหน่วย การคานวณ ปริมาณของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการ อธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวันและการแก้ป๎ญหาทางเคมี หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓
สาระฟิสิกส์ ๑.
๒. ๓.
๔.
เข้าใจธรรมชาติฟิสิ กส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่ อนที่แ นวตรง แรงและกฎการ เคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งาน และกฎการ อนุรักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและการได้ยินปรากฏการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้ง นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ เข้าใจแรงไฟฟูาและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟูา ศักย์ไฟฟูา ความจุไฟฟูา กระแสไฟฟูา และกฎ ของโอห์ม วงจรไฟฟูากระแสตรง พลังงานไฟฟูาและกาลังไฟฟูา การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น พลั ง งานไฟฟู า สนามแม่ เ หล็ ก แรงแม่ เ หล็ ก ที่ ก ระท ากั บ ประจุ ไ ฟฟู า และกระแสไฟฟู า การ เหนี่ยวนา แม่เหล็กไฟฟูาและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟูากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟูา และการ สื่อสารรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่น ของวัสดุ และมอดุลัสของยั ง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดีส ความตึงผิว และแรงหนืดของของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของ แก๊ ส อุ ด มคติ แ ละพลั ง งานในระบบ ทฤษฎี อ ะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์ โ ฟโตอิ เ ล็ ก ทริ ก ทวิภ าวะของคลื่ น และอนุ ภ าค กัมมันตภาพรั งสี แรงนิว เคลี ย ร์ ปฏิกิ ริยานิ ว เคลี ยร์ พลั งงาน นิวเคลียร์ฟิสิกส์อนุภาค รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ๑. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพิบัติภัยและผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม การศึกษาลาดับชั้นหิน ทรัพยากรธรณี แผนที่ และการนาไปใช้ประโยชน์ ๒. เข้าใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร การเกิดเมฆ การเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศโลกและผลต่อสิ่ งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการ พยากรณ์อากาศ ๓. เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ของดาราศาสตร์กับมนุษย์จากการศึกษาตาแหน่งดาวบนทรงกลม ฟูาและปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ รวมทั้งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
๔.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ ๑ มาตรฐาน ส ๑.๑
ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔
มาตรฐาน ส ๑.๒
เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ มาตรฐาน ส ๒.๑
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคม โลกอย่างสันติสุข เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมป๎จจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษา ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ สาระที่ ๓ มาตรฐาน ส ๓.๑ มาตรฐาน ส ๓.๒ สาระที่ ๔ มาตรฐาน ส ๔.๑ มาตรฐาน ส ๔.๒ มาตรฐาน ส ๔.๓ สาระที่ ๕ มาตรฐาน ส ๕.๑ มาตรฐาน ส ๕.๒
เศรษฐศาสตร์ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความ จาเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ประวัติศาสตร์ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงป๎จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจ และธารงความเป็นไทย ภูมิศาสตร์ เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิด การสร้างสรรค์วิถีการ ดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ ยั่งยืน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕
๕.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาระที่ ๑ มาตรฐาน พ ๑.๑
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ มาตรฐาน พ ๒.๑
ชีวิตและครอบครัว เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
สาระที่ ๓ มาตรฐาน พ ๓.๑ มาตรฐาน พ ๓.๒
การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่าง สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ แข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา
สาระที่ ๔ มาตรฐาน พ ๔.๑
การเสริมสร้างสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม การดารงสุขภาพ การปูองกันโรคและ การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
สาระที่ ๕ มาตรฐาน พ ๕.๑
ความปลอดภัยในชีวิต ปูองกันและหลีกเลี่ยงป๎จจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖
๖.กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระที่ ๑ มาตรฐาน ศ ๑.๑ มาตรฐาน ศ ๑.๒
สาระที่ ๒ มาตรฐาน ศ ๒.๑ มาตรฐาน ศ ๒.๒ สาระที่ ๓ มาตรฐาน ศ ๓.๑ มาตรฐาน ศ ๓.๒
ทัศนศิลป์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและ สากล ดนตรี เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของ ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและสากล นาฏศิลป์ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าทางนาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและ สากล
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗
๗.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระที่ ๑ มาตรฐาน ง ๑.๑
การดารงชีวิตและครอบครัว เข้าใจการทางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทักษะ การ จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ป๎ญหา ทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทางาน มีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ ๒ มาตรฐาน ง ๒.๑
การออกแบบและเทคโนโลยี เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือกใช้ เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม และมีส่วนร่วมในการ จัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
สาระที่ ๓ มาตรฐาน ง ๓.๑
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้การสื่อสาร การแก้ป๎ญหา การทางาน และอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
สาระที่ ๔ มาตรฐาน ง ๔.๑
การอาชีพ เข้าใจ มีทักษะที่จาเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘
๘.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระที่ ๑ มาตรฐาน ต ๑.๑ มาตรฐาน ต ๑.๒ มาตรฐาน ต ๑.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐาน ต ๒.๑ มาตรฐาน ต ๒.๒
ภาษาเพื่อการสื่อสาร เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟ๎งและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆโดยการ พูดและการเขียน ภาษาและวัฒนธรรม เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ ๓ มาตรฐาน ต ๓.๑
ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเป็น พื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ ๔ มาตรฐาน ต ๔.๑ มาตรฐาน ต ๔.๒
ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒ นาผู้ เรียนมุ่งให้ผู้เรี ยนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติป๎ญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝ๎งและ สร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น ๓ ลักษณะดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็ น กิจ กรรมที่ส่ งเสริ ม และพัฒ นาให้ ผู้ เ รียนรู้จั กตนเอง รู้รัก ษ์สิ่ ง แวดล้ อ ม สามารถคิด ตัด สิ นใจคิ ด แก้ป๎ญหา กาหนดเปูาหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนเองได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยั้งช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียนทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมี ส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน ๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี ความรับผิ ดชอบ การทางานร่วมกัน การรู้จักแก้ป๎ญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งป๎นกัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุก ขั้นตอน ได้แก่การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการทางาน ร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย ๒.๑ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและนักศึกษาวิชาทหาร ๒.๒ กิจกรรมชุมนุม และกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจ ในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาสมัครพัฒนาต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐
ระดับการศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา จัดระดับการศึกษาออกเป็น ๒ ระดับ ดังนี้ ๑. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนได้สารวจความถนัด และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน มีทักษะในการคิดอย่างมี วิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ป๎ญหา มีทักษะในการดาเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็น ไทย ตลอดจนใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖) การศึกษาระดับนี้เป็นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะ เฉพาะด้าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียนแต่ละคนทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ มีทักษะ ในการใช้ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพัฒนาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผู้นา และผู้ ให้บริการชุมชนในด้านต่างๆ
การจัดเวลาเรียน หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา ได้กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนสาหรับกลุ่มสาระ การเรียนรู้ ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้การศึกษาด้วยตนเอง(IS) และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ ๑. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ) จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๗ ชั่วโมง คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนัก วิชาเท่ากับ ๑ หน่วยกิต (นก.) ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ) จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละ ๗ ชั่วโมง คิดน้าหนักของรายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนักวิชา เท่ากับ ๑ หน่วยกิต (นก.)
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ / กิจกรรม
เวลาเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ม. ๑
ม. ๒
ม. ๓
ภาษาไทย
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
คณิตศาสตร์
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
วิทยาศาสตร์
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.)
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา
๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๑๒๐ (๓ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.)
๘๐ (๒ นก.)
๘๐ (๒ นก.)
๘๐ (๒ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)
๘๘๐ (๒๒ นก.)
๘๘๐ (๒๒ นก.)
๘๘๐ (๒๒ นก.)
ศิลปะ เทคโนโลยีสารสนเทศ การงานอาชีพ ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม
ปีละไม่ต่ากว่า ๒๐๐ ชั่วโมง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด - ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐
๑๒๐ ไม่ต่ากว่า ๑,๒๐๐ ชั่วโมง/ปี
๑๒๐
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงสร้างชุดที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม -หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดาเนินชีวิตในสังคม -ภูมิศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม รวมเวลาเรียน (หน่วยกิต) / ปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ -สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
เวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม ๓ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ ชั่วโมง หน่วยกิต ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๖ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๖ ๑๘๐(๔.๕นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๒๔๐ ๖ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐(๓ นก.) ๘๐ (๒นก.) ๓๒๐ ๘ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ ๒ ๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๒๔๐
๖
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๖๖๐ (๑๖.๕ นก.) ๗๐๐ (๑๗.๕ นก.) ๑,๓๖๐ (๓๔ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๘๐ (๑๒ นก.) ๘๔๐ (๒๑ นก.) ๑,๓๒๐ (๓๓ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๕๐๐ (๑๒.๕ นก.) ๗๘๐ (๑๙.๕ นก.) ๑,๒๘๐ (๓๒ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
๓ ๓ ๓ ๖
๑,๖๔๐
๔๑
๒,๓๒๐
๕๘
๓,๙๖๐
๙๙
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
-
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
๓๖๐ ๔,๓๒๐ ชม.
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (STEM) โครงสร้างชุดที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม -หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดาเนินชีวิตในสังคม -ภูมิศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม รวมเวลาเรียน (หน่วยกิต) / ปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ -สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
เวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม ๓ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ ชัว่ โมง หน่วยกิต ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๖ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๖ ๑๘๐(๔.๕นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๒๔๐ ๖ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐(๓ นก.) ๘๐ (๒นก.) ๓๒๐ ๘ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ ๒ ๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๒๔๐
๖
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๖๖๐ (๑๖.๕ นก.) ๗๐๐ (๑๗.๕ นก.) ๑,๓๖๐ (๓๔ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๘๐ (๑๒ นก.) ๙๒๐ (๒๓ นก.) ๑,๔๐๐ (๓๕ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๕๐๐ (๑๒.๕ นก.) ๘๖๐ (๒๑.๕ นก.) ๑,๓๖๐ (๓๔ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
๓ ๓ ๓ ๖
๑,๖๔๐
๔๑
๒,๔๘๐
๖๐
๔,๑๒๐
๑๐๓
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
-
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
๓๖๐ ๔,๔๘๐ ชม.
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ –เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงสร้างชุดที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม -หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดาเนินชีวิตในสังคม -ภูมิศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม รวมเวลาเรียน (หน่วยกิต) / ปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ -สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
เวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม ๓ ปี ม.๔ ม.๕ ม.๖ ชั่วโมง หน่วยกิต ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๖ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๖ ๑๘๐(๔.๕นก.) ๖๐ (๑.๕ นก.) ๒๔๐ ๖ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐(๓ นก.) ๘๐ (๒นก.) ๓๒๐ ๘ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ ๒ ๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๒๔๐
๖
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๖๖๐ (๑๖.๕ นก.) ๗๐๐ (๑๗.๕ นก.) ๑,๓๖๐ (๓๔ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๘๐ (๑๒ นก.) ๘๔๐ (๒๑ นก.) ๑,๓๒๐ (๓๓ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๕๐๐ (๑๒.๕ นก.) ๘๖๐ (๒๑.๕ นก.) ๑,๓๖๐ (๓๔ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
๓ ๓ ๓ ๖
๑,๖๔๐
๔๑
๒,๔๐๐
๖๐
๔,๐๔๐
๑๐๑
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
-
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
๓๖๐ ๔,๔๐๐ ชม.
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาจีน โครงสร้างชุดที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม -หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดาเนินชีวิตในสังคม -ภูมิศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม รวมเวลาเรียน (หน่วยกิต) / ปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ -สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
เวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๘๐(๓ นก.) ๑๘๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐(๓ นก.) ๘๐ (๒นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) -
รวม ๓ ปี ชั่วโมง หน่วยกิต ๒๔๐ ๖ ๒๔๐ ๖ ๒๔๐ ๖ ๓๒๐ ๘ ๘๐ ๒
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๒๔๐
๖
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๖๐๐ (๑๕ นก.) ๖๘๐ (๑๗ นก.) ๑,๒๘๐ (๓๒ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๘๐ (๑๒ นก.) ๗๖๐ (๑๙ นก.) ๑,๒๔๐ (๓๑นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๕๖๐ (๑๔ นก.) ๗๐๐ (๑๗.๕ นก.) ๑,๒๖๐ (๓๔ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
๓ ๓ ๓ ๖
๑,๖๔๐
๔๑
๒,๑๔๐
๕๓.๕
๓,๗๘๐
๙๔.๕
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
-
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
๓๖๐ ๔,๑๔๐ ชม.
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียน ศิลป์-ภาษาอังกฤษ โครงสร้างชุดที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม -หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดาเนินชีวิตในสังคม -ภูมิศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม รวมเวลาเรียน (หน่วยกิต) / ปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ -สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
เวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๘๐(๓ นก.) ๑๘๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐(๓ นก.) ๘๐ (๒นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) -
รวม ๓ ปี ชั่วโมง หน่วยกิต ๒๔๐ ๖ ๒๔๐ ๖ ๒๔๐ ๖ ๓๒๐ ๘ ๘๐ ๒
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๖๐๐ (๑๕ นก.) ๖๘๐ (๑๗ นก.) ๑,๒๘๐ (๓๒ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๘๐ (๑๒ นก.) ๗๖๐ (๑๙ นก.) ๑,๒๔๐ (๓๑นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ ๔๐ (๑ นก.) ๑๒๐ ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ ๕๖๐ ๑,๖๔๐ (๑๔ นก.) ๖๘๐ ๒,๑๒๐ (๑๗ นก.) ๑,๒๔๐ ๓,๗๖๐ (๓๓.๕ นก.)
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
๒๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
๖
๓ ๓ ๓ ๖ ๔๑ ๕๓ ๙๔ -
๓๖๐ ๔,๑๒๐ ชม.
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗
โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนศิลป์-การงานอาชีพ โครงสร้างชุดที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ -ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม -หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและ การดาเนินชีวิตในสังคม -ภูมิศาสตร์ -เศรษฐศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) รายวิชาเพิ่มเติม รวมเวลาเรียน (หน่วยกิต) / ปี กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน -ชุมนุม/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ -สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมเวลาเรียน
เวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม.๔ ม.๕ ม.๖ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑๘๐(๓ นก.) ๑๘๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐(๓ นก.) ๘๐ (๒นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) -
รวม ๓ ปี ชั่วโมง หน่วยกิต ๒๔๐ ๖ ๒๔๐ ๖ ๒๔๐ ๖ ๓๒๐ ๘ ๘๐ ๒
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๘๐(๒ นก.)
๒๔๐
๖
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๖๐๐ (๑๕ นก.) ๖๘๐ (๑๗ นก.) ๑,๒๘๐ (๓๒ นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๔๘๐ (๑๒ นก.) ๗๖๐ (๑๙ นก.) ๑,๒๔๐ (๓๑นก.)
๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๕๖๐ (๑๔ นก.) ๗๐๐ (๑๗.๕ นก.) ๑,๒๖๐ (๓๔ นก.)
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
๓ ๓ ๓ ๖
๑,๖๔๐
๔๑
๒,๑๔๐
๕๓.๕
๓,๗๘๐
๙๔.๕
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๔๐ ๔๐ ๔๐
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
-
๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวม ๓ ปี ไม่น้อยกว่า ๓,๖๐๐ ชั่วโมง
๓๖๐ ๔,๑๔๐ ชม.
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙
รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ ท ๒๑๑๐๒ ท ๒๒๑๐๑ ท ๒๒๑๐๒ ท ๒๓๑๐๑ ท ๒๓๑๐๒ ท ๓๑๑๐๑ ท ๓๑๑๐๒ ท ๓๒๑๐๑ ท ๓๒๑๐๒ ท ๓๓๑๐๑ ท ๓๓๑๐๒ ท ๓๐๒๐๑ ท ๓๐๒๐๒ ท ๓๐๒๐๓ ท ๓๐๒๐๔ ท ๓๐๒๐๕ ท ๓๐๒๐๖ ท ๓๐๒๐๗ ท ๓๐๒๐๘ ท ๓๐๒๐๙ ท ๓๐๒๑๐ ท ๓๐๒๑๑ ท ๓๐๒๑๒ ท ๓๐๒๑๓ ท ๓๐๒๑๔
โครงสร้างวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต ภาษาไทย ๑ ๖๐ ๑.๕ ภาษาไทย ๒ ๖๐ ๑.๕ ภาษาไทย ๓ ๖๐ ๑.๕ ภาษาไทย ๔ ๖๐ ๑.๕ ภาษาไทย ๕ ๖๐ ๑.๕ ภาษาไทย ๖ ๖๐ ๑.๕ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) ภาษาไทย ๑ ๔๐ ๑.๐ ภาษาไทย ๒ ๔๐ ๑.๐ ภาษาไทย ๓ ๔๐ ๑.๐ ภาษาไทย ๔ ๔๐ ๑.๐ ภาษาไทย ๕ ๔๐ ๑.๐ ภาษาไทย ๖ ๔๐ ๑.๐ การพูด ๔๐ ๑.๐ วรรณกรรมป๎จจุบัน ๔๐ ๑.๐ การทาหนังสือเล่มเล็ก ๔๐ ๑.๐ การแต่งคาประพันธ์ ๔๐ ๑.๐ ประวัติวรรณคดี ๑ ๔๐ ๑.๐ ประวัติวรรณคดี ๒ ๔๐ ๑.๐ การเขียน ๑ ๔๐ ๑.๐ การเขียน ๒ ๔๐ ๑.๐ ภูมิป๎ญญาทางภาษาไทย ๔๐ ๑.๐ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๔๐ ๑.๐ การอ่านและพิจารณาวรรณกรรม ๔๐ ๑.๐ ภาษากับวัฒนธรรม ๔๐ ๑.๐ หลักการใช้ภาษา ๔๐ ๑.๐ พาทีสร้างสรรค์ ๔๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐
รหัสวิชา ท ๓๐๒๑๕ ท ๓๐๒๑๗ ท ๓๐๒๑๘ ท ๓๐๒๑๙ ท ๓๐๒๒๐ ท ๓๐๒๑๖
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) ภาษาสวยด้วยการออกเสียง ๔๐ พูดดีมีสาระ ๔๐ ภาษาพาสาร ๔๐ การอ่านและพิจารณาหนังสือ ๔๐ การอ่านงานประพันธ์เฉพาะเรื่อง ๔๐ ภาษาพาสนุก ๔๐
จานวนหน่วยกิต ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
ประเภทวิชา เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาวิธีอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง การอ่านทานองเสนาะ การอ่านจับใจความสาคัญจากเรื่องเล่า เรื่อง สั้น บทสนทนา นิทานชาดก สารคดี บันเทิงคดี งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ บทความเข้าใจความหมายคาเปรียบเทียบ คาที่มี หลายความหมาย ตีความคายาก ระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น ระบุข้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงาน เขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจ มีมารยาทในการอ่านการคัดลายมือแบบอาลักษณ์ หัวกลม ตัวเลขไทย การเขียนแนะนา ตนเองการเขียนแนะนาสถานที่สาคัญๆ การเขียนบรรยายประสบการณ์ การเขียนเรียงความ การเขียนย่อความ การเขียน จดหมายส่วนตัว การเขียนจดหมายกิจธุระ มีมารยาทในการเขียน การพูดสรุปใจความสาคัญ การพูดเล่าเรื่อง การพูด แสดงความคิดเห็น มีมารยาทในการฟ๎ง ดู พูด ศึกษาเรื่องเสียงในภาษาไทย พลังภาษา ชนิดและหน้าที่ของคา การแต่ง ร้อยกรองประเภทกาพย์ยานี ๑๑ สานวน สุภาษิตการสรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณคดีและ วรรณกรรม การอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมการนาความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การสาธิตการฝึกปฏิบัติ การสืบค้นข้อมูล กระบวนการสื่อสาร การรายงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความ เข้าใจ เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ การอ่าน การเขียน การฟ๎งและการดู สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้มีความสามารถในการ ตัดสินใจนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณมีความคิดสร้างสรรค์ รักษาภาษาไทยไว้เป็น สมบัติชาติ มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ และรักความเป็นไทย เพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลงกล่อมลูกฝึกเขียนคาขวัญ ประจาท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด
รวมทั้งหมด
ท ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ท ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ท ๓.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ท ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๓ ท ๕.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ๒๔ ตัวชี้วัด
ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๘ม.๑/๙ ม.๑/๓ ม.๑/๕ ม.๑/๖ม.๑/๙ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๖ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท ๒๑๑๐๒ ภาษาไทย ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาการอ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรอง การอ่านทานองเสนาะ การอ่านจับใจความสาคัญจากเรื่ องเล่า เรื่ อ งสั้ น บทสนทนา นิ ท านชาดก สารคดี บั นเทิ ง คดี งานเขี ยนเชิ ง สร้ า งสรรค์ บทความ เข้ า ใจความหมายค า เปรียบเทียบ คาที่มีหลายความหมาย ตีความคายาก ระบุเหตุและผล ข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็น อ่านเอกสารคู่มือ คาแนะนา วิธีการใช้งานของเครื่องมือเครื่องใช้ทางเทคโนโลยี งานเขียนประเภทสารคดี บันเทิงคดี และเอกสารทางวิชาการที่มีคา ประโยค หรือข้อความที่ต้องใช้บริบทช่วยพิจารณาความหมาย งานเขียนประเภทชักจูงโน้มน้าวใจเชิงสร้างสรรค์ หนังสือ ตามความสนใจ มีมารยาทในการอ่าน การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา การเขียนแสดงความคิ ดเห็น การเขียนบันทึก การเขียนรายงาน การเขียนโครงงาน มีมารยาทในการเขียน การพูดแสดงความคิดเห็น การพูดประเมินคุณค่าจากสิ่งที่ได้ ฟ๎งหรือดู การพูดรายงาน มารยาทในการฟ๎ง ดู พูด ศึกษาคาประสม คาซ้า คาซ้อน คาพ้อง คาที่มีความหมาย ใกล้เคียงกัน ประโยคสามัญ ระดับภาษา ภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ การสรุปเนื้อหา วรรณคดีและวรรณกรรม การวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม การอธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม การนา ความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง การท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและ บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด การสาธิตการฝึกปฏิบัติ การสืบค้นข้อมูล กระบวนการสื่อสาร การรายงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความ เข้าใจ เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ การอ่าน การเขียน การฟ๎งและการดู สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถใน การตัดสินใจนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างมีประสิทธิภาพ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ รักษาภาษาไทยไว้ เป็นสมบัติชาติ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รักชาติ ศาสน์กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่ อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ และรักความเป็นไทย เพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลงกล่อมลูกฝึกเขียนคาขวัญประ จา ท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด
รวมทั้งหมด
ท ๑.๑ ม.๑/๑ ท ๒.๑ ม.๑/๔ ท ๓.๑ ม.๑/๒ ท ๔.๑ ม.๑/๔ ท ๕.๑ ม.๑/๑ ๒๓ ตัวชี้วัด
ม.๑/๒ ม.๑/๗ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๒
ม.๑/๓ ม.๑/๘ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๓
ม.๑/๔ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๙ ม.๑/๖ ม.๑/๔ ม.๑/๕
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาและเรียนรู้การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย บทพรรณนา และบทร้อยกรองประเภทกลอน นิทาน กาพย์ห่อโคลง จับใจความสาคัญ สรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดงความ เข้าใจในบทเรียนต่างๆที่อ่าน อภิปรายแสดงความคิดเห็นและข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความ ที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความสมเหตุสมผลของ งานเขียน อ่านหนังสือ บทความ หรือคาประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้จากการอ่าน และ มีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความเกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล และ มีมารยาทในการเขียน พูดสรุปใจความสาคัญของเรื่องที่ฟ๎งและ ดู วิเคราะห์ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีเหตุผล พูดใน โอกาสต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟ๎ง การดูและการพูด มีมารยาทใน การฟ๎ง การดู และการพูด สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน แต่ง บทร้อยกรองกลอนสุภาพ ใช้คาราชาศัพท์ รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ ในภาษาไทย สรุป เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คาสอน เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดี และบันทึกการเดินทาง วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาบท อาขยานตามที่กาหนดและ บทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการฝึกปฏิบัติ การศึกษาค้นคว้า การ พัฒนาทักษะ การระดมสมองและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความรู้และความคิด นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ ตัดสินใจแก้ป๎ญหาในการดาเนินชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน ใช้เทคโนโลยี รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่ อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาและเรียนรู้การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทบรรยาย บทพรรณนา และบทร้อยกรองประเภทกลอน นิทาน กาพย์ห่อโคลง จับใจความสาคัญ สรุปความและอธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน เขียนผังความคิดเพื่อแสดง ความเข้าใจในบทเรียนต่างๆ ที่อ่าน อภิปรายแสดงความคิดเห็นและ ข้อโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์และจาแนก ข้อเท็จจริง ข้อมูลสนับสนุน และข้อคิดเห็นจากบทความที่อ่าน ระบุข้อสังเกตการชวนเชื่อ การโน้มน้าว หรือความ สมเหตุสมผลของงานเขียน อ่านหนังสือ บทความ หรือคาประพันธ์อย่างหลากหลายและประเมินคุณค่าหรือแนวคิดที่ได้ จากการอ่าน และมีมารยาทในการอ่าน คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความ เกี่ยวกับประสบการณ์ เขียนย่อความ เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้า เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนวิเคราะห์วิจารณ์และ แสดงความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล และ มีมารยาทในการเขียน พูดสรุปใจความสาคั ญของ เรื่องที่ฟ๎งและดู วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็นและความน่าเชื่อถือของข่าวสารจากสื่อต่างๆ วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ ฟ๎งและดูอย่างมีเหตุผล พูดในโอกาสต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟ๎ง การดูและการพูด มี มารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคสามัญ ประโยครวม และประโยคซ้อน แต่งบทร้อยกรองกลอนสุภาพ ใช้คาราชาศัพท์ รวบรวมและอธิบายความหมายของคา ภาษาต่างประเทศที่ใช้ ในภาษาไทย สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับศาสนา ประเพณี พิธีกรรม สุภาษิต คาสอน เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ บันเทิงคดีและบันทึกการเดินทาง วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และ วรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยกเหตุผลประกอบ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และ ข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความ สนใจ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการฝึกปฏิบัติ การศึกษาค้นคว้า การ พัฒนาทักษะ การระดมสมองและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ ภ าษาไท ยในการสื่ อ สารได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ สร้ า งคว ามรู้ แ ละความคิ ด นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ตัดสินใจแก้ป๎ญหาในการดาเนินชีวิต มีนิสัยรักการอ่าน ใช้เทคโนโลยี รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ รักษาภาษาไทยไว้ เป็นสมบัติของชาติ รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๘ ท ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ท ๓.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ท ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ท ๕.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ รวมทั้งหมด ๓๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต อ่านร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ระบุความแตกต่างของคา ที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ระบุใจความสาคัญของข้อมูล อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน วิเคราะห์ วิจ ารณ์ และประเมินเรื่ องที่อ่านโดยใช้กลวิธีเปรียบเทียบ ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้ สนับสนุนในเรื่องที่อ่าน วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง ตีความ และประเมิน คุณค่าแนวคิดที่ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนข้อความได้ถูกต้องตามระดับภาษา เขียนชีวประวัติหรืออัตชีวประวัติโดยเล่าเหตุการณ์ ข้อคิดเห็นและทัศนคติในเรื่องต่าง ๆ เขียนย่อความ เขี ยนจดหมายกิจ ธุระ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความ คิดเห็นหรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีมารยาทในการเขียน และนิสัยรักการเขียน แสดงความคิ ดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟ๎งและการดู วิเคราะห์และวิจารณ์เรื่องที่ฟ๎งและดูเพื่อ นาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต พูดรายงาน พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดโน้มน้าวโดยนาเสนอ หลักฐานตามลาดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผลและน่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟ๎ ง การดูและการพูด ศึกษาการจาแนกคาและ ใช้คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ ในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้างประโยคที่ซับซ้อน วิเคราะห์ระดับภาษา ใช้คาทับศัพท์และ ศัพท์บัญญัติ อธิบายความหมายคาศัพท์ทางวิชาการและวิชาชีพ แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์และกลอน สรุปเนื้อหา ของวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ยากยิ่งขึ้น วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่า จากวรรณคดีและ วรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และข้อคิดที่ได้จากการอ่าน เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาและบอกคุณค่าบท อาขยานตามที่ ก าหนดและบทร้ อ ยกรองที่ มี คุ ณ ค่ า โดยใช้ ก ระบวนการอ่ า น กระบวนการเขี ย น กระบวนการคิ ด กระบวนการกลุ่ม การฝึกทักษะ การฟ๎ง การดูและการพูด การศึกษาค้นคว้า การสืบค้น การอธิบาย การรายงาน การอภิปราย การสาธิต การแสดงบทบาทสมมติ การปฏิบัติจริง การใช้สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ การแสดงผลงาน เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีจิตสานึก รักความเป็นไทย อนุรักษ์ภาษาไทย สามารถ ใช้ภาษาไทยในการ สื่อสารในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่เหมาะสม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ บนพื้นฐานเศรษฐกิจ พอเพียง รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ รวมทั้งหมด ๓๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต อ่านร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน ระบุความแตกต่างของคาที่มีความหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนัย ระบุใจความสาคัญของข้อมูล อ่านเรื่องต่าง ๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิ ดผังความคิด บันทึก ย่อความ และ รายงาน วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องที่อ่านโดยใช้กลวิธีเปรียบเทียบ ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้สนับสนุน ในเรื่องที่อ่าน วิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง ตีความ และประเมินคุณค่าแนวคิดที่ ได้จากงานเขียนอย่างหลากหลาย คัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนข้อความได้ถูกต้องตามระดับภาษา เขียนย่อ ความ เขียนจดหมายกิจธุระ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งในเรื่องต่างๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าและโครงงาน มีมารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขียน แสดงความคิดเห็นและประเมินเรื่องจากการฟ๎งและการดู วิเคราะห์และ วิ จ ารณ์ เ รื่ อ งที่ ฟ๎ ง และดู เ พื่ อ น าข้ อ คิ ด มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ นการด าเนิ น ชี วิ ต พู ด รายงาน พู ด ในโอกาสต่ า งๆ ได้ ต รงตาม วั ต ถุ ป ระสงค์ พู ด โน้ ม น้ า วโดยน าเสนอหลั ก ฐานตามล าดั บ เนื้ อ หาอย่ า งมี เ หตุ ผ ลและน่ า เชื่ อ ถื อ มี ม ารยาท ในการฟ๎ง การดูและการพูด ศึกษาการจาแนกคาและใช้คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้าง ประโยคที่ซับซ้อน วิเคราะห์ระดับภาษา ใช้คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ อธิบายความหมายคาศัพท์ทางวิชาการและ วิชาชีพ แต่งบทร้อยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ สรุปเนื้อหาของวรรณคดี วรรณกรรมและวรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่ ยากยิ่งขึ้นวิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน สรุปความรู้และข้อคิดที่ได้จากการอ่าน เพื่ อนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ท่องจาและบอกคุณค่าบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม การฝึกทักษะการฟ๎ง การดูและ การพูด การศึกษาค้นคว้า การสืบค้น การอธิบาย การรายงาน การอภิปราย การสาธิต การแสดงบทบาทสมมุติ การ ปฏิบัติจริง การใช้สื่อเทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ การแสดงผลงาน เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีจิตสานึก รักความเป็นไทย อนุรักษ์ภาษาไทย สามารถใช้ภาษาไทยใน การสื่อสารในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางานรักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะบนพื้นฐานเศรษฐกิจ พอเพียง รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ท ๒.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท ๔.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ท ๕.๑ ม.๓/๑ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ รวมทั้งหมด
๓๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท ๓๑๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภท กลอน ฉันท์ กาพย์ บทร้อยกรองร่วมสมัย และ การอ่านจับใจความ การอ่านตีความ การอ่านวิเคราะห์ การวิจารณ์ การคาดคะเน การประเมินค่า และการแสดงความ คิดเห็นจากการอ่านบทร้อยแก้วประเภท บทความ ข่าว โฆษณา ปกิณกะ นิทาน เรื่องสั้น เพลง ตลอดจนวรรณคดีใน บทเรียน รวมทั้งมารยาทการอ่าน การเขียนสื่อสารในรูปแบบ การอธิบาย การบรรยาย การพรรณนา การแสดงทรรศนะ จดหมายกิจธุระ ย่อความ การบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าเพื่อใช้อ้างอิง และมารยาทการเขียน การพูดสรุปความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟ๎งและดู การเลือกฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ การประเมินเรื่องที่ ฟ๎งและดู การพูดแสดงทรรศนะ มารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา ระดับของ ภาษา การเขียนสะกดคา การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีกับวรรณกรรม เบื้องต้น ลักษณะเด่นเกี่ยวกับเหตุ การณ์ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคม การสรุปข้อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมพื้นบ้าน และบทอาขยานที่มีคุณค่า โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ การสืบค้นข้อมูลการบันทึก และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจจากการรับสาร การอ่านออกเสียงอย่างถูกต้องเหมาะสม มีความสามารถและมีมารยาทในการสื่อสารทั้งการพูด การฟ๎ง การดู การเขียน และการอ่าน ทั้งสามารถ วิเคราะห์ ประเมินค่า และใช้ประโยชน์จากการรับสาร นาความรู้และความคิดเห็นไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ ได้อย่างมี เหตุผล และมีความตระหนักในคุณค่าและร่วมรักษาของชาติเพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลงกล่อมลูก ภาษาถิ่นระยอง ที่มาของชื่อสถานที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ฝึกเขียนคาขวัญประจา ท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๘ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๔ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท ๓๑๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภท โคลง ร่าย บทร้อยกรองร่วมสมัย และการอ่านจับ ใจความ การอ่านตีความ การอ่านวิเคราะห์ การวิจารณ์ การคาดคะเน การประเมินค่าและการแสดงความคิดเห็น จากการอ่านบทร้อยแก้วประเภท วรรณกรรมพื้นบ้าน พระบรมราโชวาท คาขวัญ และวรรณคดีในบทเรียน การเขียน สื่อสารในรูปแบบ โครงการและการรายงานการดาเนินโครงการ เรียงความ การเขียนแสดงทรรศนะ การพูดสรุปแนวคิด การพูดในโอกาสต่าง ๆ การแต่งคาประพัน ธ์ประเภทโคลงสี่ สุ ภ าพ การประเมินคุณค่า กา รสั งเคราะห์ ข้อคิดจาก วรรณคดี วรรณกรรม รวมทั้งวรรณกรรมพื้นบ้าน และบทอาขยานที่มีคุณค่า โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ทางภาษา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ การสืบค้นข้อมูลการบันทึก และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจจากการรับสาร การอ่านออกเสียงอย่างถูกต้องเหมาะสม มีความสามารถและมีมารยาทในการสื่อสารทั้งการพูด การฟ๎ง การดู การเขียน และการอ่านทั้งสามารถในการ วิเคราะห์ ประเมินค่า และใช้ประโยชน์จากการรับสาร นาความรู้ และความคิดเห็นไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้อย่างมี เหตุผล และมีความตระหนักในคุณค่าและร่วมรักษาภาษาของชาติเพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลงกล่อมลูกภาษาถิ่นระยอง ที่มาของชื่อสถานที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ฝึกเขียนคาขวัญประจา ท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ท ๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๗ ท ๓.๑ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ท ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ท ๕.๑ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๖ รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและฝึ กทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ประเภทบทความและความเรียงบทร้อยกรองประเภทฉันท์ กาพย์ ร่าย การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ ข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆในชุมชน บทความวรรณคดีในบทเรียนสารคดีบันเทิงคดีบทร้อยกรองร่วมสมัยบทเพลง การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆรายงานการ ประชุม การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆกวีนิพนธ์และวรรณคดี เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการการเขียน ในรูปแบบสารคดี การประเมินคุณค่างานเขียนในด้านแนวคิดของผู้เขียนการใช้ถ้อยคา การเรียบเรียง สานวนโวหาร กลวิธี ในการเขียน การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การเขียนอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศ การวิเคราะห์แนวคิดการใช้ภาษาและความ น่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีเหตุผล การเลือกเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ การประเมินเรื่องที่ฟ๎งและดูเพื่อ กาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ การพูดอภิปราย การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค การเพิ่มคา การใช้คา การเขี ยน สะกดคา อิทธิพลของภาษาต่างประเทศและภาษาถิ่น หลักการสร้างคาในภาษาไทย หลักการวิเคราะห์และวิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและ วรรณกรรม การพิจารณาเนื้อหาในวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และการวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมการ วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต การ วิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมด้านวรรณศิลป์ ด้านสังคมและวัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดี และวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามที่กาหนดและตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ การใช้วิจารณญาณ กระบวนการเขียนสื่อสาร เพื่อสร้าง ความรู้และความคิด รู้จักเลือกอ่าน เลือกเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ ประเมินเรื่องเพื่อกาหนดแนวทางนา ไป ประยุกต์ใช้แก้ป๎ญหาในการดาเนินชีวิต สามารถใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสาคัญ เขียนสื่อสารในรูปแบบ ต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดในโอกาสต่างๆ พูดแสดงทรรศนะโต้แย้งโน้มน้าวใจ และเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษา ถูกต้องเหมาะสม นาความรู้ในการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของ สังคมในอดีต เห็นคุณค่าในฐานะเป็นมรดกทางวัฒนธรรม นาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน และมีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด เพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลงกล่อมลูก ภาษาถิ่นระยอง ที่มาของชื่อสถานที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ฝึกเขียนคาขวัญประจาท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ท๒.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๘ ท๓.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ท๔.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ท๕.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๖ รวมทั้งหมด ๒๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วประเภทบทความบทร้อยกรองประเภทฉันท์ ลิลิ ต การอ่านจับ ใจความจากสื่อต่างๆเรื่องสั้น นวนิยายวรรณคดีในบทเรียนบทโฆษณาบทร้อยกรองร่วมสมัยการเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ การเขียนเชิญชวน การเขียนประกาศ การกรอกแบบรายการต่างๆ การเขียนบันเทิงคดี การพูดสรุปแนวคิด และการ แสดงความคิ ดเห็ น จากเรื่ อ งที่ ฟ๎ ง และดู การพู ด โน้ม น้ า วใจ ลั ก ษณะของภาษาเสี ย งในภาษาส่ ว นประกอบของภาษา องค์ประกอบของพยางค์และคา การใช้คาและกลุ่มคาสร้างประโยค คาและสานวนการร้อยเรียงประโยค การเขียนสะกด คา การแต่งคาประพันธ์ประเภทโคลงและร่าย การประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ หลักการ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องต้น จุดมุ่งหมายการแต่งวรรณคดีและวรรณกรรม การพิจารณารูปแบบ ของวรรณคดีและวรรณกรรมการพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในการเขียนวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และการ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ และวิถีชีวิตของสังคมในอดีตการวิเคราะห์ และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมด้านวรรณศิล ป์ด้านสั งคมและ วัฒนธรรม การสังเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามที่กาหนดและตาม ความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน การคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ การใช้วิจารณญาณ กระบวนการเขียนสื่อสาร เพื่อสร้างความรู้ และความคิด รู้จักเลือกอ่าน เลือกเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ ประเมินเรื่องเพื่อกาหนดแนวทางนาไปประยุกต์ใช้ แก้ป๎ญหาในการดาเนินชีวิตสามารถใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อ งมีข้อมูลและสาระสาคัญ เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆได้ตรง ตามวัตถุประสงค์พูดในโอกาสต่างๆพูดแสดงทรรศนะโต้แย้งโน้มน้าวใจและเสนอแนวคิดใหม่ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม นา ความรู้ในการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมเชื่อมโยงกับการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต เห็นคุณค่าในฐานะเป็นมรดกทางวัฒนธรรมนาข้อคิดไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง มีนิสัยรักการอ่าน การเขียนและมี มารยาทการฟ๎งการดูและการพูด เพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลง กล่อมลูกภาษาถิ่นระยอง ที่มาของชื่อสถานที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ฝึกเขียนคาขวัญประจาท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด ท๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๙ ท๒.๑ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๘ ท๓.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ท๔.๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๖ ท๕.๑ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ รวมทั้งหมด ๒๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ศึกษาการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การตีความ แปลความ และการขยายความพิจารณาเนื้อหา รูปแบบและ คุณค่า การเลือกอ่านหนังสืออย่างหลากหลายจากแหล่งเรียนรู้ และสื่อสารสนเทศทั้งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองศึกษา การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ การเขียนบทความ การเขียนรายงานเชิงวิชาการการเขียนเรียงความทั้งสารคดีและ บัน เทิง คดี เลื อกฟ๎ง และดู สื่ อ รู ป แบบต่ างๆอย่ างมีคุ ณค่ าสร้า งสรรค์ และประเมิ นการใช้ ภ าษาจากสื่ อสิ่ งพิ มพ์ และสื่ อ อิเลคทรอนิกส์ศึกษาธรรมชาติและหลักการใช้ภาษา ระดับภาษา ราชาศัพท์ การสร้างคาในภาษาไทย บทร้อยกรอง ประเภทฉันท์ศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมประเภทกลอน กาพย์ ฉันท์บทนิพนธ์ พินิจคุณค่า วิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีวรรณกรรม ท่องบทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิงได้ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความคิด แสวงหาความรู้ และตัดสินใจแก้ป๎ญหาอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณ์เรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล ประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ สรุปแนวคิด วิเคราะห์การใช้ภาษา และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม รวมทั้งเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของภาษาไทย มีมารยาทและนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทและ นิสัยรักการเขียน มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด ประเมินคุณค่าวรรณศิลป์คุ ณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรม นาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง เพลงพื้นบ้านไทย เพลงประกอบการละเล่นพื้นบ้านไทย เพลงร้องเล่นของเด็ก เพลงกล่อมลูกภาษาถิ่นระยอง ที่มาของ ชื่อสถานที่ต่าง ๆ ในท้องถิ่น ฝึกเขียนคาขวัญประจาท้องถิ่น รหัสตัวชี้วัด
รวมทั้งหมด
ท.๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๗ ท.๒.๑ ม.๔-๖/๒ ท.๓.๑ ม.๔-๖/๑ ท.๔.๑ ม.๔-๖/๑ ท.๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๒๖ ตัวชี้วัด
ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๒
ม.๔-๖/๓
ม.๔-๖/๔
ม.๔-๖/๕
ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๓
ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๔
ม.๔-๖/๗ ม.๔-๖/๖
ม.๔-๖/๖
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ท๓๓๑๐๒ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
ศึกษาการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การตีความ แปลความ และการขยายความพิจารณาเนื้อหา รูปแบบและ คุณค่า การเลือกอ่านหนังสืออย่างหลากหลายจากแหล่งเรียนรู้และสื่อสารสนเทศ ทั้งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ศึกษา การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ การเขียนแสดงทรรศนะการโต้แย้ง การโน้มน้าวใจ การเขียนเรียงความทั้งสารคดีและ บันเทิงคดี เลือกฟ๎งและดูสื่อรูปแบบต่างๆอย่างสร้างสรรค์และมีวิจารณญาณ ประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อ อิเลคทรอนิกส์ศึกษาธรรมชาติและหลักการใช้ภ าษา หลักการสร้างคาในภาษาไทย บทร้อยกรองประเภทฉันท์ศึกษา วรรณคดีและวรรณกรรมประเภท ฉันท์ บทนิพนธ์ พินิจคุณค่า วิเคราะห์ วิจารณ์ว รรณคดีวรรณกรรม ท่องบท อาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจและนาไปใช้อ้างอิงได้ โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความคิด แสวงหาความรู้ และตัดสินใจแก้ป๎ญหาอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิจารณ์เรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล ประเมินคุณค่างานเขียนในด้านต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ สรุปแนวคิด วิเคราะห์การใช้ภาษา และประเมินค่าวรรณคดีและวรรณกรรม รวมทั้งเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของภาษาไทย มีมารยาทและนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทและ นิสัยรักการเขียน มีมารยาทในการฟ๎ง การดูและการพูด ประเมินคุณค่าวรรณศิลป์ คุณค่าด้านสังคมและวัฒนธรรมนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง รหัสตัวชี้วัด
รวมทั้งหมด
ท.๑.๑ ม.๔-๖/๑ ม.๔-๖/๗ ท.๒.๑ ม.๔-๖/๑ ท.๓.๑ ม.๔-๖/๖ ท.๔.๑ ม.๔-๖/๕ ท. ๕.๑ ม.๔-๖/๑ ๒๐ ตัวชี้วัด
ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๘ ม.๔-๖/๗
ม.๔-๖/๓
ม.๔-๖/๔
ม.๔-๖/๕
ม.๔-๖/๖
ม.๔-๖/๒ ม.๔-๖/๓ ม.๔-๖/๔ ม.๔-๖/๕ ม.๔-๖/๖ ม.๔-๖/๗
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๑๒๐๑ การพูด ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาหลักเกณฑ์และฝึกพูดในโอกาสต่าง ๆ บอกหลักเกณฑ์ ข้อพึ่งปฏิบัติและองค์ประกอบของการอภิปราย การ โต้วาที การสัมภาษณ์ พิธีกร และโฆษก โดยเน้นการลาดับความให้ผู้ฟ๎งคล้อยตามโดยรับสารอย่างชัดเจน เลือกใช้ภาษา ที่เหมาะสมในโอกาสต่าง ๆ แสดงออกในด้านการพูดต่อหน้าบุคคลอื่น ในรูปแบบพรรณนา ชักชวน ชี้แจง รวมทั้งบุคลิกในการพูด เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดเป็นทาเป็นและแก้ป๎ญหาเป็น รู้จักใช้ภาษาง่าย ๆ ในการพูด ที่ก่อให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม หรือมองเห็นภาพพจน์ และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หรือเป็นพื้นฐานสาหรับการศึกษาต่อในระดับสูง มี ประสบการณ์ มีความชานาญ สามารถนาความรู้ประสบการณ์ที่ได้ไปประกอบอาชีพ และก่อให้เกิดความงอกงามทาง สติป๎ญญา ผลการเรียนรู้ ๑. เพื่อให้นักเรียนสามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อพึงปฏิบัติ เกี่ยวกับการพูดในที่ชุมชน ๒. บอกองค์ประกอบที่จะช่วยให้การพูดต่อหน้าชุมชมสัมฤทธิ์ผล ๓. เล่าเรื่องหรือบรรยายประการณ์ของตนได้ตามลาดับขั้นตอนให้ถูกต้อง ๔. พูดชักชวนให้ผู้ฟ๎งมีความคิดเห็นคล้อยตาม และเกิดศรัทธาในตัวผู้พูด ๕. วิจารณ์การพูดและบุคลิกลักษณะท่าทางของผู้พูด ได้อย่างมีเหตุผลตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ๖. บอกความแตกต่างของการอภิปรายประเภทต่าง ๆ ได้ ๗. ทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินการอภิปราย ดาเนินการ โต้วาที พิธีกร หรือโฆษกได้ ๘. จัดอภิปรายประเภทต่าง ๆ ได้ตามโอกาสอันสมควร ๙. เลือกหัวข้อในการอภิปรายที่มีประโยชน์ต่อผู้ฟ๎ง ๑๐. บอกหลักเกณฑ์ในการโต้วาทีได้ ๑๑. บอกหลักเกณฑ์ในการสอบสัมภาษณ์ได้ ๑๒. เลือกคาถามที่เหมาะสมเพื่อใช้ในการสัมภาษณ์ต่อบุคคลต่าง ๆ ได้ ๑๓. สัมภาษณ์บุคคลต่าง ๆ โดยใช้ภาษาอากัปกิริยาและคาถามที่เหมาะสมกับบุคคลนั้น ๆ ได้ ๑๔. นักเรียนสามารถเป็นผู้ให้สัมภาษณ์ต่อหน้าที่ชุมชนได้ รวม ๑๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๑๒๐๒ วรรณกรรมปัจจุบัน ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึก ตีความ จับประเด็น แสดงความคิด วิเคราะห์วิจารณ์ บอกความหมายของคา ข้อความที่ไพเราะ พร้อมทั้งให้เหตุผล บอกสาระสาคัญของเรื่อง โดยการเก็บข้อมูลและใช้สติป๎ญญาเพื่อพิจารณาหนังสือ หรือวรรณกรรม ป๎จจุบัน ตลอดจนถึงการยกระดับตนเองและสังคมให้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรม ฝึกให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม มี ความรับผิดชอบเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่า ส่วนตน เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านและมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์คือ คิดเป็น และสิ่งที่สาคัญที่สุดที่ผู้เรียนจะ ได้รับคือ การเพิ่มพูนทักษะการอ่านเชิงวิจักษณ์ มีความคิดและความสมารถที่จะเปรียบเทียบสภาพชีวิตและสังคมไทยใน อดีตกับป๎จจุบันได้ ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถบอกความหมายของคา และข้อความที่มีในบทความนั้นได้ ๒. สามารถตีความสานวนโวหารของเรื่องที่อ่านได้ ๓. จับประเด็นของเรื่องที่อ่านได้ ๔. แสดงความคิดเห็นของตนเองต่อเรื่องที่อ่านได้ ๕. สามารถยกตอนที่แสดงอารมณ์ ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ ๖. สามารถบอกสาระสาคัญของเรื่องได้ ๗. สามารถนาความรู้และความคิดจากเรื่องไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ ๘. ยกข้อความที่เห็นว่าไพเราะหรือให้ข้อคิดคติเตือนใจรวมทั้งให้เหตุผลได้ ๙. สามารถพิพากษ์วิจารณ์ถึงข้อดีและข้อบกพร่องของชิ้นนั้นได้ รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๐๓ การทาหนังสือเล่มเล็ก กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต รายวิชาการทาหนังสือเล่มเล็ก มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถทางานเป็นกลุ่มร่วมกัน เพื่อสร้างหนังสือเล่มเล็กตาม องค์ประกอบที่กาหนด พร้อมที่จะก้าวหน้าไปสู่การพัฒนาทักษะในขั้นที่สูงขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ มีจินตนาการ ออกแบบ การประกอบเล่ม การเข้าปก มีความรู้ความเข้าใจในการทาหนังสือเล่มเล็ก ได้การแสดงความคิดเห็นและ ยอมรับฟ๎งความคิดเห็น การลงสี การใช้ภาษาในการเขียน มีมารยาทในการเขียน การถ่ายทอดเรื่องราว การวางโครง เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ เขียนเชิงสร้างสรรค์ เขียนโฆษณา เขียนอธิบายประกอบภาพ ฝึกทักษะการเคลื่อนไหวโดย การทางานที่สัมพันธ์กับกับร่างกายและกิจกรรมนั้น ๆ ผลการเรียนรู้ ๑. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนในการทาหนังสือเล่มเล็ก ๒. นักเรียนสามารถจัดทาหนังสือเล่มเล็กได้อย่างเหมาะสมตามช่วงวัย ๓. นักเรียนใช้ภาษาในการเขียน สื่อสาร ได้ถูกต้อง เหมาะสม ๔. มีความคิดสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม ๕. มีทักษะการใช้ชีวิตร่วมกับคนในสังคม ๖. ทักษะการทางานเป็นทีม ๗. สามารถสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาได้อย่างเหมาะสม ๘. ถ่ายทอดเรื่องราวผ่านบทกวี ๙. มีมารยาทในการเขียน รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๐๔ การแต่งคาประพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกเขียนคาประพันธ์ประเภท กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ โดยรวบรวมคาประพันธ์จากวรรณกรรม และวรรณคดีต่างๆ ศึกษารูปแบบคาประพันธ์ แนวคิดในรูปของโครงงาน อธิบาหลักเกณฑ์ของฉันทลักษณ์ในการแต่งคาประพันธ์แต่ละประเภท ศึกษาความหมายของคาศัพท์ เพื่อใช้ภาษากวีสื่อสารใน การแต่งคาประพันธ์ได้ตรงตามจุดประสงค์ และลักษณะของคาประพันธ์ โดยใช้กระบวนการเขียน พัฒนาการเขียนคาประพันธ์ประเภท กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ สามารถใช้สานวน โวหารให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและโอกาส แสดงความคิดความรู้สึกตลอดจนแสดงความต้องการ ได้ถูกต้องตามมารยาทและ ธรรมเนียม เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดเป็น ทาเป็น รู้จักใช้ภาษาอย่างมีศิลปะ ก่อให้เกิดอารมณ์คล้อยตาม หรือมองเห็นภาพจน์ สามารถนาความรู้ไปเป็นพื้นฐาน สาหรับศึกษาต่อในระดับสูง และก่อให้เกิดความงอกงาม ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายลักษณะบังคับของคาประพันธ์ประเภท กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ ได้ ๒. เขียนต่อเติมขอความลงในบทประพันธ์ประเภท กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ ได้ถูกต้อง ๓.จาแนกความแตกต่างระหว่างคาประพันธ์แต่ละประเภทได้ ๔. เขียนแผนผังของคาประพันธ์ประเภท กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ ได้ ๕. แต่งคาประพันธ์ประเภท กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ ได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๐๕ ประวัติวรรณคดี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความเป็นมาของวรรณคดีไทยในสมัย สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ สาคัญของธรรมชาติ มีความละเอียด อ่อนช้อย ลึกซึ้ง สวยงามในการเรียนรู้ถ้อยคาซึ่งเป็นเรื่องราวที่แต่งด้วย คติธรรม ศิลปกรรม อารมณ์ความรู้สึกความเป็นอยู่ และทัศนชีวิตของคนในสมัยที่วรรณคดีนั้นๆได้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นมา ฝึกให้อ่านหนังสือ และเอกสารต่างๆด้วยความเข้าใจถูกต้องรวดเร็ว มีรสนิยมที่ดีในการเลือกอ่านและมีนิสัยรัก การอ่าน อีกทั้งให้ประจักษ์ในคุณค่าของวรรณคดีตามควรแก่วัยและศักยภาพ สามารถอ่านและเข้าใจวรรณคดีที่เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมที่สร้างสรรค์ขึ้นในป๎จจุบันได้ และสามารถเปรียบเทียบวรรณคดีในสมัยต่างๆได้ เพื่อจะได้เน้นถึงความเป็นมาของวรรณคดีไทยที่สาคัญเชิงประวัติศาสตร์ ตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ ในเรื่องเกี่ยวกับผู้แต่ง ทานองการการแต่ง และความมุ่งหมายในการแต่งในขณะที่ผู้เรียนก็ทราบถึงเนื้อเรื่อง โดยย่อในวรรณคดีแต่ละเรื่อง และเป็นกระจกเงาสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมในสมัยนั้นๆเช่น ความเป็นอยู่ ความเชื่อ การ ปกครอง อันจะทาให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในวรรณคดี ของชาติตน ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมายของคาว่าวรรณคดี วรรณกรรมและสามารถจัดประเภทของวรรณคดีตามเกณฑ์ต่างๆได้ ๒. อธิบายวิวัฒนากาการของวรรณคดี คุณค่าและประโยชน์ของการเขียนวรรณคดีได้ ๓. อธิบายความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณคดี คุณค่าและประโยชน์ของการเขียนวรรณคดีได้ ๔. แบ่งยุคสมัยของวรรณคดีได้ ๕. อธิบายลักษณะของวรรณคดีสมัยสุโขทัยได้ ๖. วิเคราะห์ป๎จจัยแวดล้อมที่มีส่วนทาให้เกิดวรรณคดีสมัยสุโขทัย ๗. อธิบายถึงโลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนไทยที่ปรากฏในวรรณคดีสมัยสุโขทัยได้ ๘. บอกประวัติและผลงานของกวี ตลอดจนสรุปข้อสันนิษฐานบางประการเกี่ยวกับวรรณคดีสมัยสุโขทัยได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๐๖ ประวัติวรรณคดี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความเป็นมาของวรรณคดีไทยในสมัย สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ สาคัญของธรรมชาติ มีความละเอียด อ่อนช้อย ลึกซึ้ง สวยงามในการเรียนรู้ถ้อยคาซึ่งเป็นเรื่องราวที่แต่งด้วย คติธรรม ศิลปกรรม อารมณ์ความรู้สึกความเป็นอยู่ และทัศนชีวิตของคนในสมัยที่วรรณคดีนั้นๆได้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นมา ฝึกให้อ่านหนังสือ และเอกสารต่างๆด้วยความเข้าใจถูกต้องรวดเร็ว มีรสนิยมที่ดีในการเลือกอ่านและมีนิสัยรักการ อ่าน อีกทั้งให้ประจักษ์ในคุณค่าของวรรณคดีตามควรแก่วัยและศักยภาพ สามารถอ่านและเข้าใจวรรณคดีที่เป็นมรดกทาง วัฒนธรรมที่สร้างสรรค์ขึ้นในป๎จจุบันได้ และสามารถเปรียบเทียบวรรณคดีในสมัยต่างๆได้ เพื่อเน้นถึงความเป็นมาของวรรณคดีไทยที่สาคัญเชิงประวัติศาสตร์ ตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโกสินทร์ ในเรื่องเกี่ยวกับผู้แต่ง ทานองการการแต่ง และความมุ่งหมายในการแต่งในขณะที่ผู้เรียนก็ทราบถึงเนื้อเรื่องโดยย่อในวรรณคดี แต่ละเรื่อง และเป็นกระจกเงาสะท้อนให้เห็นสภาพสังคมในสมัยนั้นๆเช่น ความเป็นอยู่ ความเชื่อ การปกครอง อันจะทาให้ เกิดความรักและภาคภูมิใจในวรรณคดีของชาติตน ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายลักษณะของวรรณคดีสมัยธนบุรีได้ ๒. วิเคราะห์ป๎จจัยแวดล้อมที่มีส่วนทาให้เกิดวรรณคดีสมัยธนบุรีได้ ๓. อธิบายถึงโลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนไทยที่ปรากฏในวรรณคดีสมัยธนบุรีได้ ๔. อธิบายลักษณะของวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ได้ ๕. วิเคราะห์ป๎จจัยแวดล้อมที่มีส่วนทาให้เกิดวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ได้ ๖. อธิบายถึงโลกทัศน์และวิถีชีวิตของคนไทยที่ปรากฏในวรรณคดีสมัยสุโขทัยได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๐๗ การเขียน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษารูปแบบการเขียนโดยเน้นลาดับความให้ผู้อ่านได้รับสารอย่างชัดเจน เลือกใช้ให้เหมาะกับเนื้อเรื่องและโอกาส ศึกษาการเขียนประกาศ จดหมาย รายงาน เรียงความ และเพิ่มพูนทักษะในการเขียนรูปแบบต่างๆ ฝึกเขียนในรูปแบบต่างๆ เลือกใช้โวหารให้เหมาะสมกับเนื้อเรื่องและโอกาส ปฏิบัติการเขียนประกาศ จดหมาย รายงาน เรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็นและความรู้สึก ตลอดจนแสดงความต้องการ ความคิด และความรู้สึกได้ถูกต้อง ตามมารยาท และธรรมเนียมนิยมเพื่อให้ผู้เรียนนารูปแบบการเขียนต่างๆ ไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องชัดเจนเหมาะสมกับเนื้อ เรื่องและโอกาส ทาให้ผู้เรียนสามารถเขียนแสดงความคิดเห็นความต้องการ ความคิด และความรู้สึกได้ถูกต้องตามมารยาท และธรรมเนียมนิยมได้อย่างถูกต้อง ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การผูกประโยคได้อย่างถูกต้อง ๒.สามารถมีความรู้ความเข้าใจและสามารถเขียนย่อหน้าได้อย่างถูกต้อง ๓.สามารถมีความรู้ความเข้าใจในหลักการเขียนข้อความหลายย่อหน้าและสามารถนาไปใช้ ๔.สามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายความสาคัญ หลักการเขียนบันทึกและสามารถนาการเขียนไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ ๕.สามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายความสาคัญ หลักการเขียนประกาศ รูปแบบต่างๆ และ สามารถปฏิบัติการเขียนประกาศได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ ๖.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ทั่วไป ประเภทของการเขียนจดหมาย และสามารถเขียนจดหมายได้ ถูกต้องตามหลักการเขียน ๗.สามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การเขียนรายงาน และสามารถเขียนรายงานตามหลักเกณฑ์ได้ อย่างถูกต้อง ๘.สามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ทั่วไปในการเขียนเรียงความ และปฏิบัติการเขียนเรียงความได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ๙.สามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของการย่อความ และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๐๘ การเขียน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักเกณฑ์การเขียนรูปแบบต่าง ๆ ลาดับความในการเขียน โดยเลือกใช้โวหาร ในการเขียนให้เหมาะสมกับ เนื้อหา มีความเข้าใจเกี่ยวกับลีลาโวหารในการเขียนบรรยาย การเขียนอธิบายและการเขียนบันทึก มีความรู้ในการเขียน คากล่าวในโอกาสต่าง ๆ เขียนบทสนทนา เขียนบันเทิงคดี มีความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของบทร้อยกรอง ฝึกเขียนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้นการลาดับความให้ผู้อ่านได้รับสารอย่างชัดเจน เลือกใช้โวหารให้เหมาะสมกับเนื้อ เรื่องและโอกาส ปฏิบัติการเขียนประกาศ จดหมาย รายงาน เรียงความ เขียนบทร้อยกรอง แสดงความรู้สึก อธิบาย การเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ตลอดจนเขียนแสดงความต้องการ ความคิด และรู้สึกได้ถูกต้องตามมารยาท และธรรมเนียม นิยม เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาการเขียนในรูปแบบต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีทักษะและมีศิลปะในการ เขียน ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ลีลาโวหารในการเขียนบรรยาย ( เรื่องเล่า ชีวประวัติ การเดินทาง การชมสถานที่ เหตุการณ์) ๒. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการเขียนบันทึกและสามารถนาการเขียนไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๓. มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนคากล่าวในโอกาสต่าง ๆ และสามารถปฏิบัติได้ถูกต้องตามเกณฑ์ ๔. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์ในการเขียนบทความ และปฎิบัติการเขียนบทความได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของการเขียนบทสนทนาและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน ๖. มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนบันเทิงคดีต่าง ๆ และสามารถปฏิบัติการเขียนบันเทิงคดีได้ ๗. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของบทร้อยกรอง และปฏิบัติการแต่งวรรณกรรมร้อยกรองได้ถูกต้อง รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๐๙ ภูมิปัญญาทางภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาที่มาของเนื้อหาปริศนา บทเพลงกล่อมเด็ก นิทานหรือตานานพื้นบ้าน นิทานปรัมปรา เพลงพื้นบ้าน ความหมายลักษณะและคุณค่าของวรรณกรรมพื้นบ้าน ภาษาที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบ้านฝึกจาแนกความ แตกต่างและเห็นคุณค่าของการศึกษาภาษาถิ่น สานวน คาพังเพยและสุภาษิต ศึกษาประวัติและผลงานชองบุคคลที่สาคัญ ทางภูมิป๎ญญาที่ปรากฏในท้องถิ่นต่างๆ เพื่อให้ได้ความรู้ความเข้าใจในความหมายประเภทของปริศนา บทเพลงกล่อมเด็ก นิทานหรือตานาพื้นบ้าน นิทาน ปรัมปรา เพลงพื้นบ้าน ความหมายลักษณะและคุณค่าของวรรณกรรมพื้นบ้าน ภาษาที่ปรากฏในวรรณกรรม ความหมาย ของสานวน คาพังเพย และสุภาษิต ผลงานของบุคคลสาคัญทางภูมิป๎ญญาที่ปรากฏในท้องถิ่นต่างๆ นาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์และถูกต้องตามหลักและหน้าที่ของแต่ละเรื่องได้ ทาให้เด็กมีจิตสานึกในการรักภาษาและภาคภูมิใจในภูมิป๎ญญา ทางภาษาชองแต่ละท้องถิ่น ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑. มีความรู้ความเข้าใจความหมายที่มาและประเภทของปริศนา ๒. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อสังเกตและเนื้อหาของปริศนา ๓.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในปริศนา ๔.มีความรู้ความเข้าใจความหมายที่มาและเนื้อหาของบทเพลงกล่อมเด็ก ๕.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในบทเพลงกล่อมเด็ก ๖.มีความรู้ความเข้าใจความหมายที่มาและเนื้อหาของนิทานพื้นบ้าน ๗.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในนิทานพื้นบ้าน ๘.มีความรู้ความเข้าใจความหมายที่มาและเนื้อหาของนิทานปรัมปรา ๙. วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในนิทานปรัมปรา ๑๐.มีความรู้ความเข้าใจความหมายที่มาและเนื้อหาของตานานพื้นบ้าน ๑๑. วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในตานานพื้นบ้าน ๑๒.มีความรู้ความเข้าใจความหมายที่มาและเนื้อหาของเพลงพื้นบ้าน ๑๓.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในเพลงพื้นบ้าน ๑๔.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายลักษณะและคุณค่าของวรรณกรรมพื้นบ้าน ๑๕.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในวรรณกรรมพื้นบ้าน ๑๖.สามารถบอกความหมายการจาแนกความแตกต่างและคุณค่าของการศึกษาภาษาถิ่น ๑๗.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในภาษาถิ่น ๑๘.สามารถบอกความหมาย สานวน พังเพย และสุภาษิตได้ ๑๙.วิเคราะห์ภูมิป๎ญญาทางภาษาที่ปรากฏในสานวน พังเพย และสุภาษิตได้ ๒๐.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและผลงานของบุคคลที่สาคัญทางภูมิป๎ญญาที่ปรากฏ ในท้องถิ่นต่างๆ รวม ๒๐ ผลการเรียนรู
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๑๐ ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา ฝึกการใช้ภาษาของผู้ส่งสารและรับสาร สื่อ สาร ประเภทของการสื่อสาร ภาษาที่ใช้ในการสื่อสาร การใช้ คาในการสื่อสารให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และกาลเทศะ ใช้คาสื่อความหมายให้ชัดเจนไม่กากวม การใช้ถ้อยคา สานวน หรือสุภาษิต สื่อความสัมพันธ์ของคาต่าง ๆ ที่อยู่ในประโยครูปแบบต่าง ๆ ได้ เพื่อให้สามารถใช้ภาษาในการส่งสาร รับสาร ใช้คาได้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส กาลเทศะและสื่อความหมาย ได้ชัดเจน รู้ถึงความสัมพันธ์ของคาต่าง ๆ ที่อยู่ในประโยครูปแบบต่าง ๆ ได้ รวมทั้งสามารถนาไปใช้ได้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และกาลเทศะในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถบอกขอบเขตความหมายของการสื่อสารและบอกประเภทของการสื่อสารได้ ๒. สามารถบอกประเภทของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารได้ ๓. สามารถบอกระดับของภาษาและถ้อยคาสานวนที่ใช้ในการสื่อสารได้ ๔. สามารถบอกลักษณะโครงสร้างชนิดของประโยคและแต่งประโยคชนิดต่าง ๆ ได้ ๕. สามารถบอกอุปสรรคของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารได้ ๖. สามารถอธิบายรูปลักษณ์ของคาและความหมายของคาได้ ๗. สามารถบอกลักษณะแตกต่างระหว่างคามูล คาประสม และคาสมาสได้ ๘. สามารถอธิบายลักษณะของคาซ้า คาซ้อนได้ ๙. สามารถอ่านออกเสียงคาได้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ได้ ๑๐. สามารถใช้สานวนและสุภาษิตไทยให้ตรงกับความหมายทั้งการพูดและการเขียนได้ ๑๑. บอกเพลงพื้นเมืองและการละเล่นพื้นเมืองในท้องถิ่นของตนเองได้ ๑๒. เลือกฟ๎ง หรือขับร้องเพลงพื้นเมือง เพลงกล่อมเด็ก หรือเพลงไทย ได้ตามความพอใจ ๑๓. อธิบายความหมายของคาที่ปรากฏในคาทายของไทยได้ ๑๔. อธิบายความหมายของคติชาวบ้าน พร้อมทั้งยกตัวอย่างได้ ๑๕. นักเรียนสามารถบอกปริศนาคาทาย คาให้พร สานวนภาษาไทยได้ ๑๖. นักเรียนสามารถเล่านิทานพื้นบ้าน หรือตานานพื้นเมืองได้ ๑๗. สามารถอภิปรายความเชื่อต่าง ๆ ของคนไทยได้ ๑๘. นักเรียนมีความเข้าใจ และเห็นคุณค่าในชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยสามารถเลือก เกี่ยวกับการส่งเสริมวัฒนธรรมให้สืบต่อไปได้ รวม ๑๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๑๑ การอ่านและพิจารณาวรรณกรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและฝึก อ่าน เขียนบอกความหมาย ตีความ วิเคราะห์และพิจารณาวรรณกรรม รูปแบบต่างๆ ทั้งบันเทิงคดี สารคดี ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง โดยแยกส่วนประกอบของวรรณกรรมได้ เช่น โครงเรื่อง ฉาก ตัวละคร แนวคิด หรือ จุดมุ่งหมายใหญ่ของเรื่อง วิธีการนาเสนอเรื่อง รู้คุณค่าของวรรณกรรมตามรูปแบบ ได้แก่ คุณค่าด้านบันเทิง จริยธรรม ค่านิยมของสังคม วัฒนธรรมสามารถแนะนาหนังสือได้ ทั้งโดยวาจา และข้อเขียน เพื่อ ให้ ผู้ เ รี ย นตะหนั กและรู้ คุณ ค่า ถึง ความส าคั ญของการอ่า น รู้จั กพิจ ารณา วิ เคราะห์ ประเมิ นค่ าบอกข้อ ดี ข้อบกพร่อง ของ วรรณกรรมในแต่ละประเภทและรู้จักนาข้อคิดที่ได้จากการอ่าน วรรณกรรมประเภทต่างๆไปปรับปรุงและ นาไปเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถบอกความหมายของคา และข้อความที่สาคัญในเรื่องได้ ๒. สามารถตีความ สานวนโวหารของเรื่องที่อ่าน ๓.จับประเด็นสาคัญของเรื่องที่อ่านได้ ๔.แสดงความคิดเห็นของตนเองต่อเรื่องที่อ่านได้ ๕.สามารถยกตอนที่แสดงอารมณ์ ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านได้ ๖.สามารถบอกสาระสาคัญของเรื่องที่อ่านได้ ๗.สามารถนาความรู้และความคิด จากเรื่องไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ๘. ยกข้อความที่เห็นว่าไพเราะหรือให้ข้อคิดคติเตือนใจรวมทั้งให้เหตุผลได้ ๙.สามารถวิพากษ์วิจารณ์ ข้อดีและข้อบกพร่องของเรื่องได้ ๑๐. สามารถบอกถึงรสของงานเขียนได้ถูกต้อง และบอกคุณค่าของวรรณกรรม รวม ๑๐ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๑๒ ภาษากับวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา ฝึก จาแนกองค์ประกอบ ความหมาย และเอกลักษณ์ของวัฒนธรรม อธิบายความสัมพันธ์ของภาษากับ วัฒนธรรม วัฒนธรรมในการใช้ภาษา ใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมกาลเทศะและบุคคล การติดต่อประสานงาน การขอความ ช่วยเหลือ และคาพูดที่คานึงถึงความรู้สึกของผู้ฟ๎งความสัมพันธ์ระหว่างวรรณคดีกับศิลปะแขนงต่าง ๆ สถาป๎ตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม การฟูอนรา และบทเพลงกับดนตรี ใช้ภาษาที่สัมพันธ์กับประเพณีไทยโดยทั่วไป และเฉพาะท้องถิ่นเกี่ยวกับการเกิด การ ตาย ทาบุญในเทศกาลต่าง ๆ รวมทั้งคติชาวบ้าน อันเป็นพื้นฐานในการดาเนินชีวิตของประชาชน เช่น ความเชื่อต่าง ๆ บทกล่อมเด็ก การละเล่นและเพลงพื้นเมือง นิทานพื้นเมือง ตานานพื้นเมือง ภาษิต คาให้พร คาทาย สังเกตภาษาที่มี ความหมาย และมี่ความไพเราะ อันสะท้อนให้เห็นถึงชีวิต และความเป็นอยู่ของคนไทยในสังคม เพื่อสร้างเจตคติที่ดี และปลูกฝ๎งให้ผู้เรียนตระหนักถึงคุณค่า และความสาคัญของวัฒนธรรมในการดาเนินชีวิตของ คนไทยในสังคม นาเอาความรู้และกฎเกณฑ์ต่าง ๆ มาใช้แก้ป๎ญหาและดารงชีวิตอยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมายของวัฒนธรรมได้อย่างถูกต้อง ๒. จาแนกประเภทและองค์ประกอบของวัฒนธรรมได้ ๓. อธิบายความหมายของสุภาษิต คาพังเพย สานวนไทย และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๔. สามารถบอกถึงเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมไทยได้ ๕. บอกได้ว่าศาสนามีความเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมได้อย่างไร ๖. อธิบายความสัมพันธ์ของภาษากับวัฒนธรรมได้ ๗. นักเรียนสนใจและพอใจที่จะร่วมกิจกรรมในการสืบทอดวัฒนธรรม เพื่อเป็นปรึกแผ่นและความมั่นคงของชาติ ได้ ๘. เลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมแก่กาลเทศะบุคคลอันเป็นวัฒนธรรมทางภาษา ๙. ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือแสดงออกทางวัฒนธรรมได้ ๑๐. บอกประเภทและยกตัวอย่างศิลปะไทยแขนงต่าง ๆ ได้ ๑๑. นักเรียนเกิดความสนใจและซาบซึ้งในวรรณคดี ที่สัมพันธ์กับศิลปะของไทย ๑๒. บอกถึงประเพณีต่าง ๆ ในท้องถิ่นของตน รวม ๑๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๑๓ หลักการใช้ภาษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาลักษณะของภาษาไทย อักษรไทยและการเขียน ไตรยางศ์และการผันอักษร อักษรนา อักษรควบ คาราชา ศัพท์ สานวน สุภาษิต คาพังเพย การอ่านออกเสียงคา การใช้พจนานุกรม ร้อยแก้ว-ร้อยกรอง เพื่อเป็นพื้นฐานใน การศึกษาหลักภาษาไทยขั้นสูงและสามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง เกดความตระหนักคุณค่าภาษาไทย ผลการเรียนรู้ ๑. เกิดความตระหนักเห็นคุณค่าของภาษาไทย ๒. มีความรู้ความเข้าใจลักษณะของภาษาไทย อักษรไทย และการเขียนให้ถูกต้อง สวยงาม ๓. มีความรู้ความเข้าใจไตรยางศ์และการผันอักษร อ่าน เขียนคาที่มีวรรณยุกต์ได้อย่างถูกต้อง ๔. จาแนกอักษร อักษรควบ ได้อย่างถูกต้อง อ่าน เขียนอักษรนา อักษรควบได้อย่างถูกต้อง แม่นยา ๕. สามารถระบุความหมาย และวิธีใช้คาราชาศัพท์พื้นฐาน โดยรวมรวมเป็นคลังราชาศัพท์ ๖. สามารถใช้สานวน สุภาษิต คาพังเพยในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ถูกต้องตามความหมายและมีความภูมิใจในภูมิ ป๎ญญาไทย ๗. สามารถอ่านออกเสียงคาต่าง ๆ เช่น คาพ้อง คาย่อ คาที่มาจากภาษาอื่น และเขียนคาอ่านให้ถูกต้อง ๘. ใช้พจนานุกรมเพื่อค้นคว้าอ้างอิงได้อย่างคล่องแคล่วเพื่อใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และการศึกษาขั้นสูง ต่อไป ๑๐. มีความรู้ความเข้าใจและแต่งร้อยแก้ว - ร้อยกรองอย่างง่าย เช่น กาพย์ฉบัง กาพย์ยานี และกาพย์สุรางคนางค์ รวม ๑๐ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๑๔ พาทีสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสาคัญของการพูด องค์ประกอบในการพูด ป๎จจัยที่ช่วยให้การพูดสัมฤทธิ์ผลจาแนก ประเภทของการพูด การเตรียมตัวในการพูด รู้จักวิเคราะห์ผู้ฟ๎ง สถานการณ์ การพูด ฝึกทักษะการพูดสนทนา การพูด สุนทรพจน์ การพูดพาทีสร้างสรรค์ การสัมภาษณ์ การอภิปราย การพูดในโอกาสต่างๆ ใช้กระบวนการทางภาษา การคิด วิเคราะห์ ทักษะกระบวนการฝึกปฏิบัติและกระบวนการคิดอย่างมี วิจารณญาณเสริมสร้างให้นักเรียนมีความใฝุเรียนรู้ มี ความมุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะที่จะพูดสร้างสรรค์เพื่อสื่อสารให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติต่อไป ผลการเรียนรู้ ๑. บอกหลักการและเกณฑ์การพูดพาทีสร้างสรรค์และพูดสุนทรพจน์ได้ ๒. มีมารยาทในการพูดพาทีสร้างสรรค์และพูดสุนทรพจน์ ๓. พูดพาทีสร้างสรรค์และพูดสุนทรพจน์โดยใช้ภาษาได้อย่างสละสลวย คมคาย ชัดเจน ๔. แก้ป๎ญหาและมีปฏิภาณไหวพริบในการพูดพาทีสร้างสรรค์และพูดสุนทรพจน์ ๕. เตรียมข้อมูลและร่างบทสาหรับการพูดพาทีสร้างสรรค์และพูดสุนทรพจน์ได้ ๖. พูดแสดงทรรศนะ ได้อย่างถูกต้องและมีเหตุผล รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๑๕ ภาษาสวยด้วยการออกเสียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา นิทาน เรื่องเล่า เรื่องสั้น บทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนหก กลอนแปด วิเคราะห์ประเมินค่าสิ่งที่อ่านและพูดได้อย่างมีเหตุผล โดยใช้กระบวนการอ่าน พูด และเขียนในการสื่อสาร ใช้ ภาษาเขียนและภาษาพูด น้าเสียง กิริยาท่าทาง เหมาะสมกับข้อความ มีมารยาทในการพูด เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้การอ่านออกเสียงในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์หรือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนในรายวิชาภาษาไทย และรายวิชาอื่นๆ และรักความเป็นไทย ผลการเรียนรู้ ๑. อ่านออกเสียงข้อความที่เป็นข่าว ประกาศ โฆษณา นิทาน เรื่องเล่า เรื่องสั้น ได้ ๒. อ่านออกเสียงบทร้อยกรองประเภท กลอนสี่ กลอนหก กลอนแปด ได้ ๓. วิเคราะห์และประเมินค่าสิ่งที่อ่านและพูดได้อย่างมีเหตุผล ๔. มีมารยาทในการพูด ๕. มีความสามารถในการออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๑๖ ภาษาพาสนุก กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี พูดแสดงทัศนะ โต้แย้ง โน้มน้าว และเสนอแนวคิดใหม่อย่างมีเหตุผล เป็นสิ่งจาเป็นในชีวิตประจาวันจึงทาให้เกิดการเรียนรู้ การใช้ภาษาไทย ให้มี ประสิทธิภาพและประทับใจผู้รับสารตามความต้องการในด้านต่างๆเช่น การเขียนบทความ การเขียนสารคดี การเขียน โฆษณาสินค้า การพูดในโอกาสต่างๆ เช่น การพูดต่อหน้าชุมชน โดยใช้ภาษาในการสื่อสารเพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องตามกาลเทศะ ตามฐานะของบุคคล การใช้ภาษาสร้างสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ ให้เกิดความสนุกสาน เพลินเพลิน ได้ความรู้ เกิดความจรรโลงใจและสร้าง สัมพันธภาพที่ดีระหว่างบุคคล มีทักษะสามารถคิดวิเคราะห์แก้ป๎ญหาในการใช้ภาษาอย่างมีคุณธรรม จริยธรรมและนาไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ มีมารยาทในการเขียนและการพูด เพื่อติดต่อสื่อสารสามารถอยู่ร่วมกับบุคคลในสังคมได้อย่างมีความสุข ผลการเรียนรู้ ๑. สร้างสรรค์งานเขียนประเภทต่างๆเช่นการเขียนบทความ การเขียนสารคดี การเขียนโฆษณาสินค้า เขียนเรื่อง ตามจินตนาการ เป็นต้น โดยใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๒.สร้างสรรค์กิจกรรม การละเล่น หรือเกมที่ส่งส่งเสริม เกี่ยวข้องกับภาษาไทย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน จรรโลงใจ และสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ๓. สามารถพูดในโอกาสต่างๆเช่น การพูดต่อหน้าชุมชน การพูดนาเสนอ เป็นต้น เพื่อสร้างมนุษยสัมพันธ์ได้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะ ๓. สามารถคิดวิเคราะห์แก้ป๎ญหาในการใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์ ๔. แสดงมารยาทในการเขียนและการพูดโดยใช้ภาษาที่สุภาพ และสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีสามารถอยู่ร่วมกับบุคคล ในสังคมได้อย่างมีความสุข ๕.มีทักษะในการใช้ภาษาและดาเนินชีวิต อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๕๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๑๗ พูดดีมีสาระ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชัว่ โมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ฝึกทักษะการพูดโดยพูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ พูดสนทนาตามสถานการณ์ พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือ พูดเล่าเรื่อง พูดเล่าประสบการณ์วิเคราะห์ประเมินค่าสิ่งที่พูดได้อย่างมีเหตุผล โดยใช้กระบวนการอ่าน พูด ในการสื่อสาร เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเอง มีมารยาทในการพูด ผลการเรียนรู้ ๑. พูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ๒. พูดสนทนาตามสถานการณ์ต่างๆ ได้ ๓. พูดโน้มน้าวอย่างมีเหตุผล และน่าเชื่อถือ ๔. พูดเล่าเรื่องได้ ๕. มีมารยาทในการพูด รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๑๘ ภาษาพาสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ฝึกทักษะการเขียนและการพูดโดยการเขียนและพูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ เขียนและพูดบรรยาย ภาพ เขียนและพูดเล่าเรื่อง เขียนและพูดประสบการณ์ เขียนและพูดข้อความ แสดงความต้องการ เขียนและพูดแสดง ความรู้สึกตอบรับและปฏิเสธ เขียนและพูดแสดงความคิดเห็น เขียนและพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง เขียนและเล่าเหตุการณ์ ในท้องถิ่น เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมในสถานการณ์จริง หรือจาลองในห้องเรียน เขียนและพูดเล่านิทาน วิเคราะห์ประเมินค่าสิ่งที่เขียนและพูดได้อย่างมีเหตุผล โดยใช้กระบวนการอ่าน พูด และเขียนในการสื่อสาร ใ ช้ ภาษาเขียนและภาษาพูด น้าเสียง กิริยาท่าทางเหมาะสม มีมารยาทในการเขียน และการพูดเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารได้ อย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเอง ใช้ทักษะการเขียนและการพูดในการบันทึก แสดงความคิดเห็น สรุปข้อมูล การ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มุ่งมั่นในการทางาน และรักความเป็นไทย ผลการเรียนรู้ ๑. เขียนและพูดในโอกาสต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ๒. เขียนและพูดบรรยายได้ ๓. เขียนและพูดเล่าเรื่องได้ ๔. เขียนและพูดเล่าประสบการณ์ได้ ๕. เขียนและพูดแสดงความต้องการได้ ๖. เขียนและพูดแสดงความรู้สึกตอบรับและปฏิเสธอย่างมีเหตุผลได้ ๗. เขียนและพูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองได้ ๘. เขียนและพูดเล่าเหตุการณ์ในท้องถิ่นได้ ๙. เขียนและพูดเล่านิทานได้ ๑๐. เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมในวันสาคัญต่าง ๆ ๑๑. มีมารยาทในการเขียนและพูด รวม ๑๑ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท ๓๐๒๑๙ การอ่านและพิจารณาหนังสือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการพิจารณาหนังสือ การใช้เวลาว่าง หนังสือ ห้องสมุด บทร้อยแก้ว ร้อยกรอง วิเคราะห์เรื่องสั้น หรือนิทาน เหตุการณ์หรือประสบการณ์ บทความ โฆษณา สารคดีท่องเที่ยว ฝึกใช้เวลาว่างโดยการอ่านหนังสือ หรือเข้าห้องสมุด วิเคราะห์วิเคราะห์วิจารณ์บทร้อยแก้ว ร้อยกรอง วิเคราะห์ เรื่องสั้น หรือนิทาน วิเคราะห์ข่าวจากหนังสือพิมพ์ สรุปเหตุการณ์หรือประสบการณ์ที่อ่าน นาเสนอรูปแบบรายงาน วิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของบทความ วิจารณ์โฆษณา เขียนสารคดีท่องเที่ยว ในจังหวัดหรือท้องถิ่นที่นักเรียนอยู่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการอ่านพิจารณาหนังสือ สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์เกี่ยวกับหนังสือที่ เลือกอ่าน และเกิดความเพลิดเพลินในการอ่าน รู้จักใช้เวลาว่างโดยการอ่านหนังสือ หรือเข้าห้องสมุด ผลการเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถใช้เวลาว่างโดยการอ่านหนังสือหรือเข้าห้องสมุด ๒. นักรัยนบอกลักษณะนิสัยตัวละครที่สาคัญจากการอ่านเรื่องสั้นหรือนิทานได้ ๓. เมื่ออ่านข่าวแล้วสามารถบอกเหตุผลได้ว่าควรเชื่อหรือไม่ ๔. สามารถนาบทสรุปเหตุการณ์หรือประสบการณ์ที่ตนอ่านรายงานได้ ๕. สามารถวิจารณ์ข้อดีข้อเสียของบทความที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล ๖. เมื่ออ่านโฆษณาแล้วสามารถวิจารณ์เรื่องการใช้ภาษาได้อย่างมีเหตุผลพร้อมทั้งยกตัวอย่างภาษาโฆษณาได้อย่าง น้อย ๑๕ คา ๗. เมื่อกาหนดบทความ ประกาศ ข่าว เรื่องสั้น หรือนิทาน หรือนิทานให้อ่าน สามารถบอกความแตกต่างของ ลักษณะการเขียน หรือรูปแบบการเขียนแต่ละชนิดได้ ๘. สามารถเขียนสารคดีการท่องเที่ยวในจังหวัด หรือท้องถิ่นที่นักเรียนอาศัยอยู่ได้โดยอาศัยแนวทางหรือตัวอย่าง จากเรื่องที่อ่าน ๙. เมื่อกาหนดเรื่องให้อ่าน ๑ เรื่อง นักเรียนสามารถเขียนในรูปของความคิด โดยดัดแปลงจากเรื่องที่อ่านภายใน เวลาที่กาหนด รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท๓๐๒๒๐ การอ่านงานประพันธ์เฉพาะเรื่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา หลักการวิจารณ์เบื้องต้นด้านรูปแบบ โครงเรื่อง ลักษณะของตัวละคร การใช้ถ้อยคาสานวน และวิธีเสนอ เรื่อง การอ่านงานประพันธ์ บทกวี เรื่องสั้น และนวนิยาย ฝึกวิเคราะห์งานประพันธ์ที่กาหนดให้ในด้านรูปแบบ โครงเรื่อง ลักษณะของตัวละคร การใช้ถ้อยคาสานวน และวิธี เสนอเรื่อง ฝึกแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ บทกวี เรื่องสั้น และนวนิยาย เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจในหลักการวิจารณ์งานประพันธ์เฉพาะเรื่อง สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ์ เกี่ยวกับงานประพันธ์ได้อย่างมีหลักเกณฑ์ตามควรแก่วัย ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถอธิบายความหมาย องค์ประกอบ เนื้อหา และรูปแบบของงานประพันธ์ได้ ๒. สามารถวิจารณ์งานประพันธ์ประเภทนวนิยาย เรื่องสั้น ในด้านรูปแบบ โครงเรื่อง ลักษณะของตัวละคร การใช้ ถ้อยคาสานวน และวิธีเสนอเนื้อเรื่องได้ ๓. สามารถวิจารณ์งานประพันธ์ประเภทบทกวีนิพนธ์ได้ ๔. สามารถเลือกอ่าน และวิจารณ์งานประพันธ์ที่นักเรียนสนใจเรียนได้ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๓
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๔
รหัสวิชา ค ๒๑๑๐๑ ค ๒๑๑๐๒ ค ๒๒๑๐๑ ค ๒๒๑๐๒ ค ๒๓๑๐๑ ค ๒๓๑๐๒ ค ๒๑๒๐๑ ค ๒๑๒๐๒ ค ๒๒๒๐๑ ค ๒๒๒๐๒ ค ๒๓๒๐๑ ค ๒๓๒๐๒ ค ๓๑๑๐๑ ค ๓๑๑๐๒ ค ๓๒๑๐๑ ค ๓๒๑๐๒ ค ๓๓๑๐๑ ค ๓๓๑๐๒ ค ๓๐๒๐๑ ค ๓๐๒๐๒ ค ๓๐๒๐๓ ค ๓๐๒๐๔ ค ๓๐๒๐๕ ค ๓๐๒๐๖
โครงสร้างวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต คณิตศาสตร์ ๑ ๖๐ ๑.๕ คณิตศาสตร์ ๒ ๖๐ ๑.๕ คณิตศาสตร์ ๓ ๖๐ ๑.๕ คณิตศาสตร์ ๔ ๖๐ ๑.๕ คณิตศาสตร์ ๕ ๖๐ ๑.๕ คณิตศาสตร์ ๖ ๖๐ ๑.๕ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๒ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๓ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๔ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๕ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๖ ๔๐ ๑.๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) คณิตศาสตร์ ๑ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์ ๒ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์ ๓ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์ ๔ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์ ๕ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์ ๖ ๔๐ ๑.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑ ๘๐ ๒.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๒ ๘๐ ๒.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๓ ๘๐ ๒.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๔ ๘๐ ๒.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๕ ๘๐ ๒.๐ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๖ ๘๐ ๒.๐
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและแก้ป๎ญหาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบจานวนเต็ม จานวนตรงข้ามและค่าสัมบูรณ์ การบวก การลบ การคูณและการหารจานวนเต็ม สมบัติของจานวนเต็ม และการนาความรู้ที่เกี่ยวกับจานวนเต็มที่นาไปใช้ในชีวิตจริง การ สร้างเกี่ยวกับส่วนของเส้นตรง การสร้างเกี่ยวกับมุม การสร้างเกี่ยวกับเส้นตั้งฉาก การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติ การสร้าง มุมที่มีขนาดต่างๆ การสร้ างเส้นขนาน เศษส่วน การเปรียบเทียบเศษส่วน การบวก การลบ การคูณ และการหารเศษส่วน และการนาความรู้เกี่ยวกับเศษส่วนไปใช้ในชีวิตจริง ทศนิยม ค่าประจาหลักของทศนิยม การเปรียบเทียบทศนิยม การบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม (ไม่รวมผลลัพธ์ที่เป็นทศนิยมซ้า) ความสัมพันธ์ของเศษส่วนกับทศนิยม การนาความรู้ เกี่ย วกับ ทศนิ ย มไปใช้ในชีวิตจริ ง หน้ าตัดของรู ปเรขาคณิตสามมิติ การอธิบายภาพสองมิติที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ และรูปเรขาคณิตที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศก์ แบบรูปและความสัมพันธ์ โดยใช้กระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่ อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ ค ๒.๒ ม.๑/๑ , ม.๑/๒ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา และแก้ป๎ญหาเกี่นวกับคาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สมบัติของการเท่ากัน การแก้สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดียว และการนาความรู้เกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในชีวิตจริง อัตราส่วนของจานวนหลายๆ จานวน สัดส่วน การนาความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละไปใช้ในชีวิตจริง กราฟของความสัมพันธ์ เชิงเส้น สมการเชิงเส้น สองตัวแปร การนาความรู้เกี่ยวกับกราฟของความสัมพันธ์เชิงเส้นไปใช้ในชีวิตจริง การตั้งคาถามทางสถิติ การเก็บรวบรวม ข้อมูล การนาเสนอและการแปลความหมายข้อมูล การนาความรู้เกี่ยวกับสถิติไปใช้ในชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีใ นการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ม.๑/๓ ค ๑.๓ ม.๑/๑ , ม.๑/๒, ม.๑/๓ ค ๓.๑ ม.๑/๑ รวม ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึก ษา และแก้ ป๎ ญ หาเกี่ ย วกั บ จ านวนตรรกยะ เลขยกก าลั ง ที่ มี เ ลขชี้ ก าลั ง เป็ น จ านวนเต็ม จ านวนจริ ง และ ความสัมพันธ์ของจานวนจริง ใช้สมบัติของจานวนจริงในการแก้ป๎ญหาคณิตศาสตร์และป๎ญหาในชีวิตจริง การใช้ความรู้ ทางเรขาคณิตและเครื่องมือเช่นวงเวียนและเที่ยงตรงรวมไปถึงโปรแกรม The geometer's sketchpad โปรแกรม เรขาคณิตพลวัตอื่นๆเพื่อสร้างรูปเรขาคณิตตลอดจนนาความรู้เกี่ยวกับการสร้างนี้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ป๎ญหาในชีวิตจริง การใช้สมบัติของเส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ป๎ญหาคณิตศาสตร์ การแปลงทางเรขาคณิตในการแก้ป๎ญหา คณิตศาสตร์และป๎ญหาในชีวิตจริงใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการในการแก้ป๎ญหาคณิตศาสตร์และป๎ญหาใน ชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ , ม.๒/๓ , ม.๒/๔ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา และแก้ป๎ญหาเกี่ยวกับ พหุนามและใช้พหุนามในการแก้ป๎ญหา การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง และกาลังสองสมบูรณ์ หาผลต่างของกาลังสอง หาพื้นที่ผิว และปริมาตรของปริซึม และทรงกระบอกการหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกและนาความรู้เกี่ยวกับ พื้นที่ผิวของ ปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ป๎ญหา ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการแก้ป๎ญหาคณิตศาสตร์และป๎ญหาใน ชีวิตจริง ใช้ความรู้ทางสถิติในการนาเสนอข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนภาพจุดแผนภาพต้น-ใบ ฮิสโทแกรม และค่า กลางของข้อมูลและแปลความหมายผลลัพธ์รวมทั้งนาชีวิติไปใช้ในชีวิตจริงโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๒ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ค ๒.๑ ม.๒/๑ , ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๕ ค ๓.๑ ม.๒/๑ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๖๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้และและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวนและพีชคณิต เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร สมการกาลังสองตั วแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว ฟังก์ชันกาลังสอง กราฟของ ฟังก์ชันกาลังสอง การนาความรู้เกี่ยวกับระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร สมการกาลังสองตัวแปรเดียว และฟังก์ชันกาลัง สองไปใช้ในการแก้ปัญหา การวัดและเรขาคณิต เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด กรวย และทรงกลม ความคล้าย รูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน การนาความรู้เกี่ยวกับพื้นที่ผิวและปริมาตรของพีระมิด กรวย ทรงกลม และความคล้าย ไปใช้ใน การแก้ปัญหา โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๒ ม ๓/๒ ค ๑.๓ ม ๓/๒, ค ๑.๓ ม ๓/๓ ค ๒.๑ ม ๓/๑, ค ๒.๑ ม ๓/๒ ค ๒.๒ ม ๓/๑ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้และและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจานวนและพีชคณิต เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ไปใช้ในการแก้ปัญหา การวัดและเรขาคณิต เรื่อง อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนาค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม ๓๐ องศา ๔๕ องศา และ ๖๐ องศา ไปใช้ในการแก้ปัญหา วงกลม คอร์ด และเส้นสัมผัส ทฤษฎีบทเกี่ยวกับวงกลม สถิติและความ น่าจะเป็ น เรื่อง สถิติ ข้อมูล และการวิเคราะห์ ข้อมูล แผนภาพกล่อง การแปรความหมายผลลั พธ์ การทดลองสุ่ มและ เหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ การนาความรู้เกี่ยวกับ สถิติความน่าจะเป็นไปใช้ในชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๒ ม ๓/๑ ค ๑.๓ ม ๓/๑ ค ๒.๒ ม ๓/๒, ค ๒.๒ ม ๓/๓ ค ๓.๑ ม ๓/๑ ค ๓.๒ ม ๓/๑ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๒๑๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา และแก้ป๎ญหาเกี่ยวกับการยกกาลังของจานวนเต็ม เศษส่วน ทศนิยม การคูณและการหารเลขยกกาลังที่มี ฐานเดียวกันและชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม การสร้างรูปเรขาคณิตสองมิติโดยใช้การสร้างพื้นฐานทางเรขาคณิต บอกขั้นตอน การสร้างและสามารถพิสูจน์ได้ สืบเสาะสังเกตและคาดการณ์เกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่ างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. หาคาตอบจากการยกกาลังของจานวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมได้ 2. หาคาตอบของการคูณและการหารเลขยกกาลังที่มีฐานเดียวกันได้ 3. ใช้การสร้างพื้นฐานสร้งมุมขนาดต่างๆได้ 4. ใช้การสร้างพื้นฐานสร้างรูปที่ซับซ้อนขึ้นได้ 5. พิสูจน์รูปเรขาคณิตได้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา และแก้ป๎ญหาเกี่ยวกับการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์ หรือป๎ญหา แก้โจทย์ป๎ญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พร้อมตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคาตอบ วิธีการทาง สถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนาเสนอข้อมูลและการแปลความหมาของข้อมูล โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้ เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. บอกได้ว่าสมการใดเป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 2. เขียนสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากสถานการณ์หรือปัญหาได้ 3. หาคาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 4. หาคาตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวได้ 5. บอกวิธีการทางสถิติได้ 6. บอกวิธีการการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ 7. นาเสนอข้อมูลและแปลความหมายของข้อมูลได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๒๒๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิม่ เติม ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องสมบัติของเลขยกกาลัง บทนิยามและสมบัติอื่นๆของเลขยกกาลัง การคูณและการหาร เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มและการนาไปใช้แก้ป๎ญหาหรือสถานการณ์ต่างๆ การใช้เลขยกกาลังในการเขียน แสดงจานวนที่มีค่าน้อยๆหรือมากๆ ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม การบวก การลบ การ คูณ การหารพหุนามและเศษส่วนพหุนาม การแก้สมการเศษส่วนของพหุนาม การประยุกต์ของอัตราส่วนและร้อยละ การแก้ป๎ญหาหรือสถานการณ์โดยใช้อัตราส่วนและสัดส่วน การแก้ป๎ญหาหรือสถานการณ์ในชีวิตประจาวันโดยใช้ร้อยละ โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. คูณและหารจานวนที่เขียนอยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มโดยใช้บทนิยามและสมบัติของเลขยก กาลังและการนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหาได้ ๒. คานวณและใช้เลขยกกาลังในการเขียนแสดงจานวนที่มีค่าน้อยๆ หรือ มากๆ ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ ๓. บวก ลบ คูณ หารพหุนามและเศษส่วนของพหุนามได้ ๔. แก้สมการเศษส่วนของพหุนามได้ ๕. ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วนและร้อยละหรือสถานการณ์ต่างๆ ได้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๒๒๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองโดยใช้สมบัติการแจกแจง การแยกตัวประกอบ ของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax๒ + bx + c เมื่อ a , b , c เป็นค่าคงตัว และ a ≠ ๐ การแยกตัวประกอบของพหุนาม ดีกรีสองที่อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบชองพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูปผลต่างของกาลังสอง สมการ กาลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบ การแก้โจทย์ป๎ญหาเกี่ยวกับสมการ กาลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบ การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต การสร้างสรรค์งานศิลปะโดย ใช้การแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองได้ ๒. แก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบได้ ๓. แก้โจทย์ป๎ญหาเกี่ยวกับสมการกาลังสองตัวแปรเดียวโดยใช้การแยกตัวประกอบได้ ๔. ใช้ความรู้เกี่ยวกับการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนในการสร้างสรรค์งานศิลปะหรือออกแบบ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๒๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนาความรู้ เกี่ยวกับการแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ป๎ญหา สมการกาลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัว แปรเดียว การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวไปใช้ในการแก้ป๎ญหา ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การนาความรู้เกี่ยวกับการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรไปใช้ในการแก้ป๎ญหา โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ผลการเรียนรู้ ๑. เข้าใจและใช้สมบัติการไม่เท่ากันเพื่อวิเคราะห์และแก้ป๎ญหา โดยใช้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ๒. ประยุกต์ใช้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในการแก้ป๎ญหาคณิตศาสตร์ ๓. ประยุกต์ใช้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรในการแก้ป๎ญหาทางคณิตศาสตร์ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๒๓๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องของการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง ฟ๎งก์ชันกาลังสอง กราฟของฟ๎งก์ชัน กาลังสอง การนาความรู้เกี่ยวกับฟ๎งก์ชันกาลังสองไปใช้แก้ป๎ญหา อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนาอัตราส่ วนตรีโกณมิติของมุม ๓๐ องศา ๔๕ องศา และ ๖๐ องศา ไปใช้ในการแก้ป๎ญหา โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และกา ร นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ผลการเรียนรู้ ๑. เข้าใจและใช้การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีที่สูงกว่าสองในการแก้ป๎ญหาทางคณิตศาสตร์ ๒. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับฟ๎งก์ชันกาลังสองในการแก้ป๎ญหาทางคณิตศาสตร์ ๓. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนตรีโกณมิติในการแก้ป๎ญหาทางคณิตศาสตร์และในชีวิตจริง รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเซต การเขียนเซต เซตจากัดและเซตอนันต์ เซต ที่เท่ากัน เซตว่าง แผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์ เอกภพสัมพัทธ์ สับเซตและสับเซตแท้ เพาเวอร์เซต การดาเนินการของเซต อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต์ ผลต่าง การหาผลการดาเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป จานวนสมาชิกของเซต จากัด ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “และ” “หรือ” “ถ้า...แล้ว...” “ก็ต่อเมื่อ” นิเสธของประพจน์ การหาค่า ความจริงของรูปแบบของประพจน์ การสร้างตารางค่าความจริง รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน สัจจนิรันดร์ โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสมใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจนเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ม.๔/๑ รวม ๑ ตัวชี้วัด
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๘
ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึ กทักษะเกี่ย วกับความรู้ พื้นฐานทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับหลั กการบวกและหลั กการคูณ การเรียง สับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด การจัดหมู่ของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสมใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจนเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่าง ๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ตัวชี้วัด ค ๓.๒ ม.๔/๑ ค ๓.๒ ม.๔/๒ รวม ๒ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๗๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องจานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะและจานวนจริงที่อยู่ ในรูปกรณฑ์ การหาผลลัพธ์ที่เกิดจากการบวก การลบ การคูณ การหาร จานวนจริงที่อยู่ในรูปเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลัง เป็นจานวนตรรกยะและจานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ การหาค่าประมาณของจานวนจริงที่อยู่ในรูปกรณฑ์ ดอกเบี้ยและ มูลค่าของเงิน โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ม.๕/๑, ม.๕/๒ รวม ๒ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๑๒๐๒ คณิตศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชัน (ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกาลังสอง ฟังก์ชัน -ขั้นบันได ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล) ลาดับเลขคณิตและลาดับเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่ อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ตัวชี้วัด ค ๑.๒ ม ๕ / ๑ ค ๑.๓ ม ๕ / ๑ รวม ๒ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อมูล ตาแหน่งของข้อมูล ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม การกระจาย พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณ การแปลความหมายของค่าสถิติ โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ตัวชี้วัด ค ๓.๑ ม.๖/๑ รวม ๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องข้อมูล ตาแหน่งของข้อมูล ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม การกระจาย พิสัย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน การนาเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพและปริมาณ การแปลความหมายของค่าสถิติ โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ตัวชี้วัด ค ๓.๑ ม.๖/๑ รวม ๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๓๑๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษาเกี่ยวกับเซต เซตจากัดและเซตอนันต์ การเท่ากันของของเซต เอกภพสัมพัทธ์ สับเซตและเพาเวอร์เซต แผนภาพของ เวนน์-ออยเลอร์ การดาเนินการของเซต และจานวนสมาชิกของเซตจากัด ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ การหาค่าความจริงของรูปแบบประพจน์ การสร้างตารางค่าความจริง รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน สัจนิรันดร์ การอ้าง เหตุผล ประโยคเปิด ตัวบ่งปริมาณ ค่าความจริงของประโยคที่มีตัวบ่งปริมาณตัวเดียว สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัว บ่งปริมาณ จานวนจริง สมบัติของระบบจานวนจริง การนาสมบัติของจานวนจริงไปใช้ในการแก้ปัญหา ค่าสัมบูรณ์ ตัว ประกอบของพหุนาม สมการพหุนามตัวแปรเดียว สมบัติของการไม่เท่ากัน ช่วงและการแก้อสมการพหุนาม การ ดาเนินการของเศษส่วนพหุนาม สมการและอสมการ เศษส่วนของพหุนาม สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนาม โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้ เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ใน การเรียนรู้สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซต ในการสื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และอ้างเหตุผล 3. เข้าใจจานวนจริง และใช้สมบัติของจานวนจริงในการแก้ปัญหา 4. แก้สมการและอสมการพหุนามตัวแปรเดียวดีกรีไม่เกินสี่ และนาไปใช้แก้ปัญหา 5. แก้สมการและอสมการเศษส่วนพหุนามตัวแปรเดียว และนาไปใช้แก้ปัญหา 6. แก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ของพหุนามรตัวแปรเดียว และนาไปใช้แก้ปัญหา รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๓๑๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ ตัวผกผันของความสัมพันธ์ ฟังก์ชันและกราฟ การดาเนินการของฟังก์ชัน ฟังก์ชัน ประกอบ ฟังก์ชันผกผัน การนาความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันและกราฟไปใช้ในการแก้ปัญหา รากที่ n ในระบบจานวนจริงและ จานวนจริงในรูปกรณฑ์ เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนตรรกยะ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล สมการเอกซ์โพเนิน เชียล ฟังก์ชันลอการิทึม การหาค่าลอการิทึมฐานสิบสาหรับจานวนจริงบวก แอนติลอการิทึม การเปลี่ยนฐานลอการิทึม สมการลอการิทึม การนาความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมไปใช้ในการแก้ปัญหา ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิต วิเคราะห์ ระยะทางระหว่างจุดสองจุด จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ความชันของเส้นตรง เส้นขนาน เส้นตั้งฉาก ความสัมพันธ์ที่มีกราฟเป็นเส้นตรง ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด และระยะห่า งระหว่าง เส้นตรงสองเส้นที่ขนานกัน ภาคตัดกรวย วงกลม วงรี พาราโบลา และไฮเพอร์โบลา โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจาวันที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียน ได้ศึกษา ฝึกทักษะ โดยการ ปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่งต่างๆ และไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ มีความรับผิดชอบ มี วิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. หาผลลัพธ์ของการบวก การลบ การคูณ การหารฟังก์ชัน หาฟังก์ชันประกอบและฟังก์ชันผกผัน 2. ใช้สมบัติของฟังก์ชันในการแก้ปัญหา 3. เข้าใจจานวนจริง และใช้สมบัติของจานวนจริงในการแก้ปัญหา 4. เข้าใจลักษณะกราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนินเชียลและฟังก์ชันลอการิทืมและนาไปใช้ในการแก้ปัญหา 5. แก้สมการเอกซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทืม และนาไปใช้ในการแก้ปัญหา 6. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์ในการแก้ปัญหา รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๒๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติ ฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติผกผัน ฟ๎งก์ชันไซน์และโคไซน์ ฟ๎งก์ชัน-ตรีโกณมิติ อื่ น ๆ กราฟของฟ๎ ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ ฟ๎ ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ ข องผลบวกและผลต่ า งของจ านวนจริ ง หรื อ มุ ม อิ น เวอร์ ส ของฟ๎ ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ เอกลั ก ษณ์ แ ละสมการตรี โ กณมิ ติ กฎของไซน์ แ ละโคไซน์ จ านวนเชิ ง ซ้ อ น จานวนเชิง ซ้อนและสมบั ติ ของจ านวนเชิง ซ้อน จานวนเชิงซ้อ นในรูปเชิ งขั้ว รากที่ n ของจ านวนเชิง ซ้อน เมื่อ n เป็นจานวนนับที่มากกว่า ๑ สมการพหุนามตัวแปรเดียว โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติและลักษณะกราฟของฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติ และนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหา 2. แก้สมการตรีโกณมิติ และนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหา 3. ใช้กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ในการแก้ป๎ญหา 4. เข้าใจจานวนเชิงซ้อนและใช้สมบัติของจานวนเชิงซ้อนในการแก้ป๎ญหา 5. หารากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน เมื่อ n เป็นจานวนนับที่มากกว่า ๑ ๖. แก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว ดีกรีไม่เกินสี่ ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม และนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหา รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ค๓๒๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติ ฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติผกผัน ฟ๎งก์ชันไซน์และโคไซน์ ฟ๎งก์ชัน-ตรีโกณมิติ อื่ น ๆ กราฟของฟ๎ ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ ฟ๎ ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ ข องผลบวกและผลต่ า งของจ านวนจริ ง หรื อ มุ ม อิ น เวอร์ ส ของฟ๎ ง ก์ ชั น ตรี โ กณมิ ติ เอกลั ก ษณ์ แ ละสมการตรี โ กณมิ ติ กฎของไซน์ แ ละโคไซน์ จ านวนเชิ ง ซ้ อ น จานวนเชิง ซ้อนและสมบั ติ ของจ านวนเชิง ซ้อน จานวนเชิงซ้อ นในรูปเชิ งขั้ว รากที่ n ของจ านวนเชิง ซ้อน เมื่อ n เป็นจานวนนับที่มากกว่า ๑ สมการพหุนามตัวแปรเดียว โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่น ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติและลักษณะกราฟของฟ๎งก์ชันตรีโกณมิติ และนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหา 2. แก้สมการตรีโกณมิติ และนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหา 3. ใช้กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ในการแก้ป๎ญหา 4. เข้าใจจานวนเชิงซ้อนและใช้สมบัติของจานวนเชิงซ้อนในการแก้ป๎ญหา 5. หารากที่ n ของจานวนเชิงซ้อน เมื่อ n เป็นจานวนนับที่มากกว่า ๑ ๖. แก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว ดีกรีไม่เกินสี่ ที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม และนาไปใช้ในการแก้ป๎ญหา รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้ เกี่ย วกับ เรื่ อง ลาดับและอนุกรมอนันต์ ลิ มิตของลาดับ ผลบวกของอนุกรมอนันต์ แคลคูลั ส เบื้องต้น ลิมิตของฟังก์ชัน ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน อนุพันธ์ของฟังก์ชัน ความชันของเส้นโค้ง การหาอนุพันธ์ของ ฟังก์ชันพีชคณิตโดยใช้สูตรอนุพันธ์ของฟังก์ชันคอมโพสิท อนุพันธ์อันดับสูง การประยุกต์อนุพันธ์ปริพันธ์ไม่จากัดเขต ปริพันธ์จากัดเขต พื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้ง โดยใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ให้เหตุผลประกอบการ ตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการ นาเสนอได้อย่ างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิ ตศาสตร์และนาความรู้ หลั กการ กระบวนการทาง คณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่ง ต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่างเป็น ระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. หาลิมิตของลาดับอนันต์โดยอาศัยทฤษฎีเกี่ยวกับลิมิตได้ 2. หาผลบวกของอนุกรมอนันต์ได้ และนาความรู้เรื่องลาดับและอนุกรมไปใช้แก้ปัญหาได้ 3. หาลิมิตของฟังก์ชันที่กาหนดได้ 4. บอกได้ว่าฟังก์ชันที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องหรือไม่ ๕. หาอนุพันธ์ของฟังก์ชันที่กาหนดได้ ๖. นาความรู้เรื่องอนุพันธ์ของฟังก์ชันไปประยุกต์ได้ ๗. หาปริพันธ์ไม่จากัดเขตของฟังก์ชันที่กาหนดให้ได้ ๘. หาปริพันธ์จากัดเขตของฟังก์ชันบนช่วงที่กาหนดให้และหาพื้นที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้งบนช่วงที่ กาหนดให้ได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ค๓๓๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่องความน่าจะเป็น การแจกแจงทวินาม การแจกแจงปกติ การแจกแจงเอกรูป โดยใช้ ก ระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และเทคโนโลยี ใ นการแก้ ปั ญ หาในสถานการณ์ ต่ า งๆ ให้ เ หตุ ผ ล ประกอบการตั ด สิ น ใจและสรุ ป ผลได้ อ ย่ า งเหมาะสม ใช้ ภ าษาและสั ญ ลั ก ษณ์ ทางคณิ ต ศาสตร์ ใ นการสื่ อ สาร การสื่ อ ความหมาย และการนาเสนอได้อย่างถูกต้องและชัดเจน เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้ สิ่งต่างๆ และใช้ในชีวิตประจาวันอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานอย่าง เป็นระบบระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. แก้โจทย์ปัญหาโดยใช้กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการแจกแจงเอกรูปได้ ๒ นาความรู้เรื่องทฤษฎีบททวินามไปใช้ได้ ๓. นาความรู้เรื่องการแจกแจงปกติไปใช้ได้ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๘๙
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๐
รหัสวิชา ว ๒๑๑๐๑ ว ๒๑๑๐๒ ว ๒๒๑๐๑ ว ๒๒๑๐๒ ว ๒๓๑๐๑ ว ๒๓๑๐๒ ว ๒๑๒๐๑ ว ๒๑๒๐๒ ว ๒๑๒๓๑ ว ๒๑๒๓๒ ว ๒๓๒๒๑ ว ๒๓๒๒๒ ว ๒๓๒๐๑ ว ๒๓๒๐๒ ว ๓๐๑๐๑ ว ๓๐๑๒๑ ว ๓๐๑๔๑ ว ๓๐๑๖๑ ว ๓๐๒๐๑ ว ๓๐๒๐๒ ว ๓๐๒๐๓ ว ๓๐๒๐๔ ว ๓๐๒๐๕ ว ๓๐๒๒๑ ว ๓๐๒๒๒ ว ๓๐๒๒๓ ว ๓๐๒๒๔ ว ๓๐๒๒๕
โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต วิทยาศาสตร์ ๑ ๖๐ ๑.๕ วิทยาศาสตร์ ๒ ๖๐ ๑.๕ วิทยาศาสตร์ ๓ ๖๐ ๑.๕ วิทยาศาสตร์ ๔ ๖๐ ๑.๕ วิทยาศาสตร์ ๕ ๖๐ ๑.๕ วิทยาศาสตร์ ๖ ๖๐ ๑.๕ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ๑ ๔๐ ๑.๐ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ๒ ๔๐ ๑.๐ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๑ ๔๐ ๑.๐ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๒ ๔๐ ๑.๐ เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม ๔๐ ๑.๐ เคมี ชีววิทยา เพื่อชีวิต ๔๐ ๑.๐ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๑ ๔๐ ๑.๐ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๒ ๔๐ ๑.๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) ฟิสิกส์พื้นฐาน ๖๐ ๑.๕ เคมีพื้นฐาน ๖๐ ๑.๕ ชีววิทยาพื้นฐาน ๖๐ ๑.๕ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศพื้นฐาน ๖๐ ๑.๕ ฟิสิกส์ ๑ ๖๐ ๑.๕ ฟิสิกส์ ๒ ๖๐ ๑.๕ ฟิสิกส์ ๓ ๖๐ ๑.๕ ฟิสิกส์ ๔ ๖๐ ๑.๕ ฟิสิกส์ ๕ ๖๐ ๑.๕ เคมี ๑ ๖๐ ๑.๕ เคมี ๒ ๖๐ ๑.๕ เคมี ๓ ๖๐ ๑.๕ เคมี ๔ ๖๐ ๑.๕ เคมี ๕ ๖๐ ๑.๕
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๑
รหัสวิชา ว ๓๑๒๔๑ ว ๓๒๒๔๒ ว ๓๒๒๔๓ ว ๓๒๒๔๔ ว ๓๓๒๔๕ ว ๓๐๒๖๑ ว ๓๐๒๖๒ ว ๓๐๒๖๓ ว ๓๒๒๖๑ ว ๓๒๒๖๒ ว ๓๑๒๓๑ ว ๓๑๒๓๒ ว ๓๐๒๘๑ ว ๓๐๒๘๒
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) ชีววิทยา ๑ ๖๐ ชีววิทยา ๒ ๖๐ ชีววิทยา ๓ ๖๐ ชีววิทยา ๔ ๖๐ ชีววิทยา ๕ ๖๐ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๑ ๖๐ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๒ ๖๐ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๓ ๖๐ วิทยาศาสตร์โลก ๔๐ ดาราศาสตร์ ๔๐ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๑ ๔๐ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๒ ๔๐ สวนพฤกษศาสตร์ ๑ ๔๐ สวนพฤกษศาสตร์ ๒ ๔๐
จานวนหน่วยกิต ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ความสาคัญและความหมายของวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางานของนักวิทยาศาสตร์ ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมบัติของสารบริสุทธิ์ จุดเดือดและจุดหลอมเหลว ความหนาแน่น การจาแนกและ องค์ประกอบของสารบริสุทธิ์ การจาแนกสารบริสุทธิ์ โครงสร้างอะตอม การจาแนกธาตุและการใช้ประโยชน์ เซลล์ การศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ การลาเลียงสารเข้าออกเซลล์ การแพร่ ออสโมซิส การ สืบพันธุ์และการขยายพันธุ์พืชดอก การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยของเพศของพืชดอก การขยายพันธุ์พืชดอก การสังเคราะห์ด้วยแสง ปัจจัยและผลผลิตของการสังเคราะห์แสง การลาเลียงน้า ธาตุอาหาร และอาหารของพืช ธาตุ อาหารของพืช การลาเลียงในพืช โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ ความคิ ด ความเข้ า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง เรี ย นรู้ มี ค วามสามารถในการตั ด สิ น ใจ การแก้ปัญหา นาความรู้ เทคโนโลยี ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว ๑.๒ ม.๑/๑ เปรียบเทียบรูปร่าง ลักษณะ และโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ รวมทั้งบรรยายหน้าที่ ของ ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ว ๑.๒ ม.๑/๒ ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ และโครงสร้างต่าง ๆ ภายในเซลล์ ว ๑.๒ ม.๑/๓ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับการทาหน้าที่ของเซลล์ ว ๑.๒ ม.๑/๔ อธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเริ่มจากเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบอวัยวะ จนเป็นสิ่งมีชีวิต ว ๑.๒ ม.๑/๕ อธิบายกระบวนการแพร่และออสโมซิสจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอย่างการแพร่ และ ออสโมซิสในชีวิตประจาวัน ว ๑.๒ ม.๑/๖ ระบุปัจจัยที่จาเป็นในการสังเคราะห์ด้วยแสงและผลผลิตที่เกิดขึ้นจากการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้ หลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๑.๒ ม.๑/๗ อธิบายความสาคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ว ๑.๒ ม.๑/๘ ตระหนักในคุณค่าของพืชที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม โดยการร่วมกันปลูกและดูแลรักษา ต้นไม้ ในโรงเรียนและชุมชน ว ๑.๒ ม.๑/๙ บรรยายลักษณะและหน้าที่ของไซเล็มและโฟลเอ็ม ว ๑.๒ ม.๑/๑๐ เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศทางการลาเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอ็มของพืช ว ๑.๒ ม.๑/๑๑ อธิบายการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศของพืชดอก ว ๑.๒ ม.๑/๑๒ อธิบายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มีส่วนทาให้เกิดการถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยาย การปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมล็ด ว ๑.๒ ม.๑/๑๓ ตระหนักถึงความสาคัญของสัตว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณูของพืชดอก โดยการไม่ทาลายชีวิต ของสัตว์ ทีช่วยในการถ่ายเรณู ว ๑.๒ ม.๑/๑๔ อธิบายความสาคัญของธาตุอาหารบางชนิดที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการดารงชีวิตของพืช ว ๑.๒ ม.๑/๑๕ เลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณ์ที่กาหนด หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๓
ว ๑.๒ ม.๑/๑๖ เลือกวิธีการขยายพันธุ์พืชให้เหมาะสมกับความต้องการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับการ สืบพันธุ์ของพืช ว ๑.๒ ม.๑/๑๗ อธิบายความสาคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชในการใช้ประโยชน์ ด้านต่าง ๆ ว ๑.๒ ม.๑/๑๘ ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืชโดยการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน ว ๒.๑ ม.๑/๑ อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้หลักฐาน เชิง ประจักษ์ที่ได้จากการสังเกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ รวมทั้งจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ว ๒.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสี ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อ เศรษฐกิจและสังคม จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๑ ม.๑/๓ ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้ธาตุโลหะ อโลหะกึ่งโลหะ ธาตุกัมมันตรังสี โดยเสนอแนวทาง การใช้ ธาตุอย่างปลอดภัย คุ้มค่า ว ๒.๑ ม.๑/๔ เปรียบเทียบจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์ และสารผสม โดยการวัดอุณหภูมิ เขียน กราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ ว ๒.๑ ม.๑/๕ อธิบายและเปรียบเทียบความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม ว ๒.๑ ม.๑/๖ ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม ว ๒.๑ ม.๑/๗ อธิบายเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างอะตอมธาตุ และสารประกอบ โดยใช้แบบจาลอง และ สารสนเทศ ว ๒.๑ ม.๑/๘ อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้ แบบจาลอง ว ๒.๑ ม.๑/๙ อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ ของ อนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบจาลอง ว ๒.๑ ม.๑/๑๐ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะ ของสสาร โดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์และ แบบจาลอง ว ๔.๑ ม.๑/๑ อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ว ๔.๑ ม.๑/๒ ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวันเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ว ๔.๑ ม.๑/๓ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ว ๔.๑ ม.๑/๔ ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นาเสนอผลการแก้ป้ญหา ว ๔.๑ ม.๑/๕ ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อแก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวม ๓๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงของสสาร แบบจาลองอนุภาคของสารในแต่ละสถานะ ความร้อน กับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร ความร้อนกับการขยายตัวหรือหดตัวของสสาร ความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของ สาร การถ่ายโอนความร้อน การถ่ายโอนความร้อนในชีวิตประจาวัน สมดุลความร้อน ลมฟ้าอากาศรอบตัว บรรยากาศ ของเรา อุ ณ หภู มิ อ ากาศ ความกดอากาศและลม ความชื้ น เมฆและฝน การพยากรณ์ อ ากาศ มนุ ษ ย์ แ ละการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ พายุ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ ความคิ ด ความเข้ า ใจ สามารถสื่ อ สารสิ่ ง เรี ย นรู้ มี ค วามสามารถในก ารตั ด สิ น ใจ การแก้ปัญหา นาความรู้ เทคโนโลยี ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว ๒.๑ ม.๑/๙ อธิบายและเปรียบเทียบการจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ ของ อนุภาคของสสารชนิดเดียวกันในสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส โดยใช้แบบจาลอง ว ๒.๑ ม.๑/๑๐ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะ ของสสาร โดยใช้หลักฐาน เชิงประจักษ์และ แบบจาลอง ว ๒.๒ ม.๑/๑ สร้างแบบจาลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลก ว ๒.๓ ม.๑/๑ วิเคราะห์ แปลความหมายข้อมูล และคานวณปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ และ เปลี่ยนสถานะ โดยใช้สมการ Q = mc∆t และ Q = mL ว ๒.๓ ม.๑/๒ ใช้เทอร์มอมิเตอร์ในการวัดอุณหภูมิของสสาร ว ๒.๓ ม.๑/๓ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการขยายตัวหรือหดตัวของสสารเนื่องจากได้รับหรือสูญเสีย ความร้อน ว ๒.๓ ม.๑/๔ ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของการหดและขยายตัวของสสารเนื่องจากความร้อน โดย วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา และเสนอแนะ วิธีการนาความรู้มาแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ว ๒.๓ ม.๑/๕ เคราะห์สถานการณ์การถ่ายโอนความร้อนและคานวณปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอน ระหว่างสสาร จนเกิดสมดุลความร้อนโดยใช้ สมการ Qสูญเสีย = Qได้รับ ว ๒.๓ ม.๑/๖ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยการนาความร้อน การพาความร้อนการแผ่รังสี ความร้อน ว ๒.๓ ม.๑/๗ ออกแบบ เลือกใช้ และสร้างอุปกรณ์ เพื่อแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ การถ่าย โอนความร้อน ว ๓.๒ ม.๑/๑ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการแบ่งชั้นบรรยากาศและเปรียบเทียบประโยชน์ของบรรยากาศแต่ละ ชั้น ว ๓.๒ ม.๑/๒ อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จากข้อมูล ที่รวบรวมได้ ว ๓.๒ ม.๑/๓ เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน และผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนาเสนอแนวทางการ ปฏิบัติตนให้เหมาะสมและปลอดภัย หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๕
ว ๓.๒ ม.๑/๔ อธิบายการพยากรณ์อากาศ และพยากรณ์ อากาศอย่างง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๓.๒ ม.๑/๕ ตระหนักถึงคุณค่าของการพยากรณ์อากาศโดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตนและการใช้ ประโยชน์ จากคาพยากรณ์อากาศ ว ๓.๒ ม.๑/๖ อธิบายสถานการณ์และผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๓.๒ ม.๑/๗ ตระหนักถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก โดยนาเสนอแนวทางการปฏิบัติตน ภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ว ๔.๑ ม.๑/๑ อธิบายแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน และวิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ว ๔.๑ ม.๑/๒ ระบุปัญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวันเปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ว ๔.๑ ม.๑/๓ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอ แนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา ว ๔.๑ ม.๑/๔ ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และ นาเสนอผลการแก้ป้ญหา ว ๔.๑ ม.๑/๕ ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า หรืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวม ๒๒ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา สารวจ สืบค้นข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ และอธิบายการแยกสารผสม วิธีการกรอง การระเหยแห้ง การตก ผลึ ก การสกั ด การกลั่ น อย่ า งง่ า ย โครมาโทกราฟี แบบกระดาษ และการสกั ด ด้ ว ยตั ว ท าละลาย ปริ ม าณ ตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อมวล และมวลต่อปริมา ตรการใช้ สารละลายในชีวิตประจาวันที่อย่างถูกต้องและปลอดภัย กระบวนการเกิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์เชื้อเพลิงซากดึกดา บรรพ์ กระบวนการผุผังอยู่กับที่ การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอ กระบวนการเกิดดิน ชั้นหน้าตัดดิน ปัจจัยในการเกิด ดิน สมบัติบางประการของดิน การใช้และการปรับปรุงคุณภาพของดิน กระบวนการเกิดแหล่งน้าผิวดินและแหล่งน้าใต้ดิน การใช้ประโยชนและการอนุรักษ์ แหล่งน้าในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก และ บนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย โครงสร้างภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมี การหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในระนาบเดียวกัน ที่กระทาต่อวัตถุ แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุที่หยุดนิ่งหรือวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว และผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ โดยใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู การส ารวจตรวจสอบ การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล การอภิปราย ทดลอง จาแนก เปรียบเทียบข้อมูล และออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียน แผนภาพ การเขียนผังงาน เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรูไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม และเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว ๒.๑ ม.๒/๑ อธิบายการแยกสารผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัดด้วยตัวทาละลาย โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๑ ม.๒/๒ แยกสารโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การสกัด ด้วยตัวทาละลาย ว ๒.๑ ม.๒/๓ นาวิธกี ารแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันโดยบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์ ว ๒.๑ ม.๒/๔ ออกแบบการทดลองและทดลองในการอธิบายผลของชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทาละลายอุณหภูมิ ที่มี ต่อสภาพละลายได้ของสาร รวมทั้งอธิบายผลของความดันที่มีต่อสภาพละลายได้ของสารโดยใช้สารสนเทศ ว ๒.๑ ม.๒/๕ ระบุปริมาณตัวละลายในสารละลายในหน่วยความเข้มข้นเป็นร้อยละ ปริมาตรต่อปริมาตร มวลต่อ มวล และมวลต่อปริมาตร ว ๒.๑ ม.๒/๖ ตระหนักถึงความสาคัญของการนาความรู้เรื่องความเข้มข้นของสารไปใช้ โดยยกตัวอย่างการใช้ สารละลายในชีวิตประจาวันที่อย่างถูกต้องและปลอดภัย ว ๒.๒ ม.๒/๑ พยากรณ์การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นผลของแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทาต่อวัตถุในแนว เดียวกันจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๒ ม.๒/๒ เขียนแผนภาพแสดงแรงและแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่กระทาต่อวัตถุในแนวเดียวกัน ว ๒.๒ ม.๒/๓ ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความดันของ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๗
ของเหลว ว ๒.๒ ม.๒/๔ วิเคราะห์แรงพยุงและการจม การลอยของวัตถุในของเหลวจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๒ ม.๒/๕ เขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทาต่อวัตถุในของเหลว ว ๒.๒ ม.๒/๖ อธิบายแรงเสียดทานสถิตและแรงเสียดทานจลน์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๒ ม.๒/๗ ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อขนาดของแรง เสียดทาน ว ๒.๒ ม.๒/๘ เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงอื่นๆ ที่กระทาต่อวัตถุ ว ๒.๒ ม.๒/๙ ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่องแรงเสียดทาน โดยวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะ วิธีการลด หรือเพิ่มแรงเสียดทานที่เป็นประโยชน์ต่อการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน ว ๒.๒ ม.๒/๑๐ ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายโมเมนต์ของแรง เมื่อวัตถุอยู่ใน สภาพสมดุลต่อการหมุนและคานวณโดยใช้สมการ M = Fl ว ๒.๒ ม.๒/๑๑ เปรียบเทียบแหล่งของสนามแม่เหล็ก สนามไฟฟ้า และสนามโน้มถ่วง และทิศทางของแรงที่ กระทาต่อวัตถุที่อยู่ในแต่ละสนามจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๒ ม.๒/๑๒ เขียนแผนภาพแสดงแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้าและแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อวัตถุ ว ๒.๒ ม.๒/๑๓ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้าและแรงโมถ่วงที่กระทาต่อวัตถุที่ อยู่ในสนามนั้นๆ กับระยะห่างจากแหล่งของสนามถึงวัตถุขากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๒ ม.๒/๑๔ อธิบายและคานวณอัตราเร็วและความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุโดยใช้สมการ จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๒ ม.๒/๑๕ เขียนแผนภาพแสดงการกระจัดและความเร็ว ว ๓.๒ ม.๒/๑ เปรียบเทียบกระบวนการเกิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ รวมทั้งอธิบายผลกระทบจากการใช้ เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๓.๒ ม.๒/๒ แสดงความตระหนักถึงผลจาการใช้เชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์โยนาเสนอแนวทางการใช้เชื้อเพลิงซาก ดึกดาบรรพ์ ว ๓.๒ ม.๒/๓ เปรียบเทียบข้อดีและข้อจากัดของพลังงานทดแทนแต่ละประเภทจากการรวบรวมข้อมูลและ นาเสนอแนวทางการใช้พลังงานทดแทนที่เหมาะสมในท้องถิ่น ว ๓.๒ ม.๒/๔ สร้างแบบจาลองที่อธิบายโครงสร้างภายในโลกตามองค์ประกอบทางเคมี จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๓.๒ ม.๒/๕ อธิบายกระบวนการผุผังอยู่กับที่ การกร่อน และการสะสมตัวของตะกอนจากแบบจาลอง รวมทั้ง ยกตัวอย่างผลของกระยวนการดังกล่าวที่ทาให้ผิวโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง ว ๓.๒ ม.๒/๖ อธิบายลักษณะของชั้นหน้าตัดดินและและกระบวนการเกิดดิน จากแบบจาลอง รวมทั้งระบุปัจจัยที่ ทาให้ดินมีลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน ว ๓.๒ ม.๒/๗ ตรวจวัดสมบัติบางประการของดิน โดยใช้เครื่องมือที่เหมาะสมและนาเสนอแนวทางการใช้ ประโยชน์ดินจากข้อมูลสมบัติของดิน ว ๓.๒ ม.๒/๘ อธิบายปัจจัยและกระบวนการเกิดแหล่งน้าผิวดินและแหล่งน้าใต้ดิน จากแบบจาลอง ว ๓.๒ ม.๒/๙ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการใช้น้า และนาเสนอแนวทางการใช้น้าอย่างยั่งยืนในท้องถิ่นของตนเอง ว ๓.๒ ม.๒/๑๐ สร้างแบบจาลองที่อธิบายกระบวนการเกิดและผลกระทบของน้าท่วม การกัดเซาะชายฝั่ง ดินถล่ม หลุมยุบ แผ่นดินทรุด หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๘
ว ๔.๑ ม.๒/๓ ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น ภายใต้ เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนขั้นตอนการทางานและดาเนินการแก้ปัญหา อย่างเป็นขั้นตอน รวม ๓๒ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๙๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึ ก ษา ส ารวจ สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ทดลอง วิ เ คราะห์ แ ละอธิ บ าย การเปลี่ ย นและการถ่ า ยโอนพลั ง งาน ในชีวิตประจาวัน และความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทางานสัมพันธ์กัน โดยใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู การส ารวจตรวจสอบ การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล การอภิปราย ทดลอง จาแนก เปรียบเทียบข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ได้เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่า ของการน าความรู้ ไ ปใช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น มี จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ จริ ย ธรรม คุ ณ ธรรม ค่ า นิ ย มที่ เ หมาะสม และเข้ า ใจว่ า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว ๑.๒ ม.๒/๑ ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องในระบบหายใจ ว ๑.๒ ม.๒/๒ อธิบายกลไกการหายใจเข้าและออก โดยใช้แบบจาลอง รวมทั้งอธิบายกระบวนการแลกเปลี่ยน แก๊ส ว ๑.๒ ม.๒/๓ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหายใจ โดยการบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะในระบบ หายใจทางานเป็นปกติ ว ๑.๒ ม.๒/๔ ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบขับถ่ายในการกาจัดของเสียทางไต ว ๑.๒ ม.๒/๕ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบขับถ่าย ในการกาจัดของเสียทางไต โดยบอกแนวทางในการ ปฏิบัติตนที่ช่วยให้ระบบขับถ่ายทาหน้าที่ได้อย่างปกติ ว ๑.๒ ม.๒/๖ บรรยายโครงสร้างและหน้าที่ของหัวใจ หลอดเลือด และเลือด ว ๑.๒ ม.๒/๗ อธิบายการทางานของระบบหมุนเวียนเลือด โดยใช้แบบจาลอง ว ๑.๒ ม.๒/๘ ออกแบบการทดลองและทดลองในการเปรียบเทียบอัตราการเต้นของหัวใจขณะปกติและหลัง กิจกรรม ว ๑.๒ ม.๒/๙ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบหมุนเวียนเลือด โดยบอกแนวทางในการดูแลรักษาอวัยวะใน ระบบหมุนเวียนเลือดให้ทางานเป็นปกติ ว ๑.๒ ม.๒/๑๐ ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบประสาทส่วนกลาง ในการควบคุมการทางาน ต่างๆ ของร่างกาย ว ๑.๒ ม.๒/๑๑ ตระหนักถึงความสาคัญของระบบประสาท โดยบอกแนวทางในการดูแลรักษารวมถึงการป้องกัน การกระทบ กระเทือนและอันตรายต่อสมองและไขสันหลัง ว ๑.๒ ม.๒/๑๒ ระบุอวัยวะและบรรยายหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ของเพศชายและเพศหญิง โดยใช้ แบบจาลอง ว ๑.๒ ม.๒/๑๓ อธิบายผลของฮอร์โมนเพศชายและเพศหญิงที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของร่างกายเมื่อเข้าสู่วัย หนุ่มสาว ว ๑.๒ ม.๒/๑๔ ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มสาวโดยการดูแลรักษาร่างกายและ จิตใจของตนเองในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลง หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๐
ว ๑.๒ ม.๒/๑๕ อธิบายการตกไข่ การมีประจาเดือน การปฏิสนธิ และการพัฒนาของไซโกตจน คลอดเป็นทารก ว ๑.๒ ม.๒/๑๖ เลือกวิธีการคุมกาเนิดที่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่กาหนด ว ๑.๒ ม.๒/๑๗ ตระหนักถึงผลกระทบของการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยการประพฤติตนให้เหมาะสม ว ๒.๓ ม.๒/๑ วิเคราะห์สถานการณ์และคานวณเกี่ยวกับงานและกาลังที่เกิดจากแรงที่กระทาต่อวัตถุโดยใช้ สมการ ข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๓ ม.๒/๒ วิเคราะห์หลักการทางานของเครื่องกลอย่างง่ายจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๓ ม.๒/๓ ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้ของเครื่องกลอย่างง่ายโดยบอกประโยชน์และการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน ว ๒.๓ ม.๒/๔ ออกแบบการทดลองและทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อพลังงานจลน์และ พลังงานศักย์โน้มถ่วง ว ๒.๓ ม.๒/๕ แปลความหมายข้อมูลและอธิบายการเปลี่ยนพลังงานระหว่างพลังงานศักย์โน้มถ่วงและพลังงาน จลน์ของวัตถุโดยพลังงานกลของวัตถุมีค่าคงตัวจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๓ ม.๒/๖ วิเคราะห์สถานการณ์และอธิบายการเปลี่ยนและการถ่ายโอนพลังงานโดยใช้กฎการอนุรักษ์ พลังงาน ว ๔.๒ ม.๒/๔ ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงื่อนไขพร้อมทั้งหา แนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา รวม ๒๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห สมบัติองค์ประกอบของสสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสสารและโครงสร้างโมเลกุล แรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยาเคมี ความตางศักยไฟฟา กระแสไฟฟา และความตานทานไฟฟา วงจรไฟฟาใน บาน พลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา การคานวณพลังงานไฟฟาที่ใช การตอวงจรอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน โดยใชกระบวนการทาง วิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูล และการ อภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถใน การตัดสินใจ นาความรูไปใชในชีวิตประจาวันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว ๒.๑ ม.๓/๑ ระบุสมบัติทางกายภาพและการใช้ประโยชน์ วัสดุประเภทพอลิเมอร์เซรามิกส์และวัสดุผสม โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และสารสนเทศ ว ๒.๑ ม.๓/๒ ตระหนักถึงคุณค่าของการใช้วัสดุประเภทพอลิเมอร์เซรามิกส์และวัสดุผสม โดยเสนอ แนะแนวทางการใช้วัสดุอย่างประหยัดและคุ้มค่า ว ๒.๑ ม.๓/๓ อธิบายการเกิดปฏิกิริยาเคมีรวมถึงการจัดเรียงตัวใหม่ของอะตอมเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้แบบจาลองและสมการข้อความ ว ๒.๑ ม.๓/๔ อธิบายกฎทรงมวล โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๑ ม.๓/๕ วิเคราะห์ปฏิกิริยาดูดความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน จากการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ความร้อนของปฏิกิริยา ว ๒.๑ ม.๓/๖ อธิบายปฏิกิริยาการเกิดสนิมของเหล็ก ปฏิกิริยาของกรดกับโลหะ ปฏิกิริยาของกรดกับเบส และ ปฏิกิริยาของเบสกับโลหะ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และอธิบายปฏิกิริยาการเผาไหม้ การเกิดฝนกรด การสังเคราะห์ด้วย แสง โดยใช้สารสนเทศ รวมทั้งเขียนสมการข้อความแสดงปฏิกิริยาดังกล่าว ว ๒.๑ ม.๓/๗ ระบุประโยชน์และโทษของปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่าง วิธีการปูองกันและแก้ป๎ญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบในชีวิตประจาวัน จากการสืบค้นข้อมูลระบุประโยชน์และโทษของ ปฏิกิริยาเคมีที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม และยกตัวอย่างวิธีการปูองกันและแก้ป๎ญหาที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีที่พบใน ชีวิตประจาวัน จากการสืบค้นข้อมูล ว ๒.๑ ม.๓/๘ ออกแบบวิธีแก้ป๎ญหาในชีวิตประจาวัน โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับปฏิกิริยาเคมี โดยบูรณาการ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์เทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ ว ๒.๓ ม.๓/๑ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟูา และความต้านทาน และคานวณ ปริมาณที่เกี่ยวข้องโดยใช้สมการ V = IR จากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๓ ม.๓/๒ เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟูา และความต่างศักย์ไฟฟูา ว ๒.๓ ม.๓/๓ ใช้โวลต์มิเตอร์แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณทางไฟฟูา ว ๒.๓ ม.๓/๔ วิเคราะห์ความต่างศักย์ไฟฟูาและกระแสไฟฟูาในวงจรไฟฟูา เมื่อต่อตัวต้านทานหลายตัว หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๒
แบบอนุกรมและแบบขนานจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๓ ม.๓/๕ เขียนแผนภาพวงจรไฟฟูาแสดงการต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและขนาน ว ๒.๓ ม.๓/๖ บรรยายการทางานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๓ ม.๓/๗ เขียนแผนภาพและต่อชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจรไฟฟูา ว ๒.๓ ม.๓/๘ อธิบายและคานวณพลังงานไฟฟูาโดยใช้สมการ W = Pt รวมทั้งคานวณค่าไฟฟูาของเครื่องใช้ ไฟฟูาในบ้าน ว ๒.๓ ม.๓/๙ ตระหนักในคุณค่าของการเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟูาโดยนาเสนอวิธีการใช้เครื่องใช้ไฟฟูา อย่างประหยัดและปลอดภัย ว ๒.๓ ม.๓/๑๐ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดคลื่นและบรรยายส่วนประกอบของคลื่น ว ๒.๓ ม.๓/๑๑ อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟูาและสเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟูาจากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๒.๓ ม.๓/๑๒ ตระหนักถึงประโยชน์และอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา โดยนาเสนอการใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ และอันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟูาในชีวิตประจาวัน ว ๒.๓ ม.๓/๑๓ ออกแบบการทดลองและดาเนินการทดลองด้วยวิธีที่เหมาะสมในการอธิบาย กฎการสะท้อนของแสง ว ๒.๓ ม.๓/๑๔ เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพจากกระจกเงา ว ๒.๓ ม.๓/๑๕ อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลางโปร่งใสที่แตกต่างกัน และอธิบายการกระจาย แสงของแสงขาวเมื่อผ่านปริซึมจากหลักฐานเชิงประจักษ์อธิบายการหักเหของแสงเมื่อผ่านตัวกลาง โปร่งใสที่แตกต่างกัน และอธิบายการกระจายแสงของแสงขาวเมื่อผ่านปริซึมจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ว ๒.๓ ม.๓/๑๖ เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสงแสดงการเกิดภาพจากเลนส์บาง ว ๒.๓ ม.๓/๑๗ อธิบายปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง และการทางานของทัศนอุปกรณ์จากข้อมูลที่รวบรวม ได้ ว ๒.๓ ม.๓/๑๘ เขียนแผนภาพการเคลื่อนที่ของแสง แสดงการเกิดภาพของทัศนอุปกรณ์และเลนส์ตา ว ๒.๓ ม.๓/๑๙ อธิบายผลของความสว่างที่มีต่อดวงตาจากข้อมูลที่ได้จากการสืบค้น ว ๒.๓ ม.๓/๒๐ วัดความสว่างของแสงโดยใช้อุปกรณ์วัดความสว่างของแสง ว ๒.๓ ม.๓/๒๑ ตระหนักในคุณค่าของความรู้เรื่อง ความสว่างของแสงที่มีต่อดวงตา โดยวิเคราะห์สถานการ ป๎ญหาและเสนอแนะการจัดความสว่างให้เหมาะสมในการทากิจกรรมต่าง ๆ ว ๔.๑ ม.๓/๑ วิเคราะห์สาเหตุ หรือป๎จจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางการแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางาน ว ๔.๑ ม.๓/๒ ระบุป๎ญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของป๎ญ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับป๎ญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางป๎ญญา ว ๔.๑ ม.๓/๓ ออกแบบวิธีการแก้ป๎ญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้ เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผน ขั้นตอนการทางานและดาเนินการแก้ป๎ญหาอย่างเป็นขั้นตอน ว ๔.๑ ม.๓/๔ ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของป๎ญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้กรอบ เงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ป๎ญหา หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๓
ว ๔.๑ ม.๓/๕ ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ กลไก ไฟฟูาและอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับ ลักษณะของงาน และปลอดภัยเพื่อแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางาน ว ๔.๒ ม.๓/๑ พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ว ๔.๒ ม.๓/๒ รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ว ๔.๒ ม.๓/๓ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้ งานอย่างรู้เท่าทัน ว ๔.๒ ม.๓/๔ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม รวม ๓๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห ความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ กระบวนการถา ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความ หลากหลายทางชีวภาพและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต องค์ประกอบ ลักษณะกระบวนการเกิดและวิวัฒนาการของเอกภพ กา แล็กซี่ ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ความสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้ความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสารวจ ตรวจสอบ การสืบคนข อมูล การอภิปราย และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู ไปใชในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และ คานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว ๑.๑ ม.๓/๑ อธิบายปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศที่ได้จากการสารวจ ว ๑.๑ ม.๓/๒ อธิบายรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตรูปแบบต่าง ๆ ในแหล่งที่อยู่ เดียวกันที่ได้จากการสารวจ ว ๑.๑ ม.๓/๓ สร้างแบบจาลองในการอธิบายการถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร ว ๑.๑ ม.๓/๔ อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ ว ๑.๑ ม.๓/๕ อธิบายการสะสมสารพิษในสิ่งมีชีวิตในโซ่อาหาร ว ๑.๑ ม.๓/๖ ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมในระบบนิเวศ โดยไม่ทาลายสมดุล ของระบบนิเวศ ว ๑.๓ ม.๓/๑ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง ยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม โดยใช้แบบจาลอง ว ๑.๓ ม.๓/๒ อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากการผสมโดยพิจารณาลักษณะเดียวที่ แอลลีลเด่นข่มแอลลีลด้อยอย่างสมบูรณ์ ว ๑.๓ ม.๓/๓ อธิบายการเกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูกและคานวณอัตราส่วนการเกิดจีโนไทป์ และฟีโนไทป์ของรุ่นลูก ว ๑.๓ ม.๓/๔ อธิบายความแตกต่างของการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส ว ๑.๓ ม.๓/๕ บอกได้ว่าการเปลี่ยนแปลงของยีนหรือโครโมโซม อาจทาให้เกิดโรคทางพันธุกรรม พร้อมทั้ง ยกตัวอย่างโรคทางพันธุกรรม ว ๑.๓ ม.๓/๖ ตระหนักถึงประโยชน์ของความรู้เรื่องโรคทางพันธุกรรมโดยรู้ว่าก่อนแต่งงานควรปรึกษาแพทย์ เพื่อตรวจและวินิจฉัยภาวะเสี่ยงของลูกที่อาจเกิดโรคทางพันธุกรรม ว ๑.๓ ม.๓/๗ อธิบายการใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม และผลกระทบที่อาจมีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๑.๓ ม.๓/๘ ตระหนักถึงประโยชน์และผลกระทบของสิ่งมีชีวิต ดัดแปรพันธุกรรมที่อาจมีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม โดยการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ซึ่งมีข้อมูลสนับสนุน หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๕
ว ๑.๓ ม.๓/๙ เปรียบเทียบความหลากหลายทางชีวภาพในระดับชนิดสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศต่าง ๆ ว ๑.๓ ม.๓/๑๐ อธิบายความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และต่อมนุษย์ ว ๑.๓ ม.๓/๑๑ แสดงความตระหนักในคุณค่าและความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ โดยมีส่วนร่วมใน การดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ ว ๓.๑ ม.๓/๑ อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโน้มถ่วงจากสมการ F = (Gm๑m๒)/r๒ ว ๓.๑ ม.๓/๒ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดฤดูและการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์สร้างแบบจาลองที่ อธิบายการเกิดฤดูและการเคลื่อนที่ปรากฏของดวงอาทิตย์ ว ๓.๑ ม.๓/๓ สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกิดข้างขึ้น ข้างแรม การเปลี่ยนแปลงเวลาการขึ้นและตก ของดวงจันทร์และการเกิดน้าขึ้นน้าลง ว ๓.๑ ม.๓/๔ อธิบายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีอวกาศและยกตัวอย่างความก้าวหน้าของโครงการ สารวจอวกาศ จากข้อมูลที่รวบรวมได้ ว ๔.๑ ม.๓/๑ วิเคราะห์สาเหตุ หรือป๎จจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความสัมพันธ์ของ เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางการแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางาน ว ๔.๑ ม.๓/๒ ระบุป๎ญหาหรือความต้องการของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อพัฒนางานอาชีพ สรุปกรอบของป๎ญหา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับป๎ญหา โดยคานึงถึงความถูกต้องด้านทรัพย์สินทางป๎ญญา ว ๔.๑ ม.๓/๓ ออกแบบวิธีการแก้ป๎ญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้ เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิคหรือวิธีการที่หลากหลาย วางแผน ขั้นตอนการทางานและดาเนินการแก้ป๎ญหาอย่างเป็นขั้นตอน ว ๔.๑ ม.๓/๔ ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์และให้เหตุผลของป๎ญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้กรอบ เงื่อนไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ป๎ญหา ว ๔.๑ ม.๓/๕ ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์เครื่องมือ กลไก ไฟฟูาและอิเล็กทรอนิกส์ให้ถูกต้องกับ ลักษณะของงาน และปลอดภัยเพื่อแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางาน ว ๔.๒ ม.๓/๑ พัฒนาแอปพลิเคชันที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่างสร้างสรรค์ ว ๔.๒ ม.๓/๒ รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลาย ว ๔.๒ ม.๓/๓ ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล วิเคราะห์สื่อและผลกระทบจากการให้ข่าวสารที่ผิด เพื่อการใช้ งานอย่างรู้เท่าทัน ว ๔.๒ ม.๓/๔ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ปฏิบัติตามกฎหมาย เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม รวม ๓๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๒๑๒๐๑ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง เกี่ยวกับอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ การใช้อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การสังเกต การจาแนกประเภท การวัด การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การสื่อความหมายข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ วิเคราะห์ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานจากการเล่นเกมส์ หรือการทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน และพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในการ ออกแบบดัดแปลง และ/หรือ คิดประดิษฐ์ชิ้นงาน ทั้งนี้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การ สารวจตรวจสอบ การสืบ ค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสิน ใจ น าความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมที่ เหมาะสม โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งเรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ป๎ญหา นาความรู้ เทคโนโลยี ไปใช้การใช้ทักษะชีวิตประจาวัน เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะที่เหมาะมี เจตคติทางวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการ ตัดสินใจ การแก้ป๎ญหาการนาความรูไปใชในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑. ระบุชื่ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ และสามารถใช้ได้อย่างถูกต้อง ๒. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการสังเกต ได้อย่างถูกต้อง ๓. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการจัดจาแนกได้อย่างถูกต้อง ๔. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านความสามารถในการใช้เครื่องมือวัด ได้อย่างถูกต้อง ๕. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการระบุความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และ สเปสกับเวลาได้อย่างถูกต้อง ๖. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการนาข้อมูลมาจัดกระทาเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง ถูกต้อง ๗. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการอธิบายข้อมูลได้อย่างถูกต้อง ๘. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการทานายหรือคาดคะเนสิ่งที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้าได้ อย่างถูกต้อง ๙. นาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานมาใช้ออกแบบและประดิษฐ์ชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์ รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๒๑๒๐๒ ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ เกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นผสม ได้แก่ การชี้บ่งและบอกชนิดของตัวแปร การตั้งสมมติฐาน การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการทดลองและปฏิบัติการทดลอง การตีความหมาย ข้อมูลและลงข้อสรุป วิเคราะห์สภาพป๎ญหา และภูมิป๎ญญาท้องถิ่น นามาเขียนเค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน การสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่ งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมทั้งนี้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ น าความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรมคุณธรรม และค่านิยมที่ เหมาะสม โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑ การสืบคนขอมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิดความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งเรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ป๎ญหา นาความรู้ เทคโนโลยี ไปใช้การใช้ทักษะชีวิตประจาวัน เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต ซื่อสัตย์สุจริตและมีจิตสาธารณะที่เหมาะมี เจตคติทางวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความสามารถในการ ตัดสินใจ การแก้ป๎ญหาการนาความรูไปใชในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการระบุและควบคุมตัวแปรได้อย่างถูกต้อง ๒. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการตั้งสมมติฐานได้อย่างถูกต้อง ๓. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการกาหนดความหมายและขอบเขตของคา หรือตัว แปรต่างๆ ให้เข้าใจตรงกัน ๔. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคาตอบหรือทดสอบ สมมุติฐานที่ตั้งไว้ ๕. ทดลองเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด้านการจัดกระทาข้อมูล และการลงข้อสรุป ๖. เขียนโครงการเพื่อขอเสนอทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๒๑๒๓๑ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔o ชั่วโมง จานวน ๑.o หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรม STEM ปัญหาที่พบเจอในชีวิตประจาวัน แนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้แก้ปัญหา ออกแบบและหา วิธีการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการ STEM ประกอบด้วย Science Literacy, Mathematics Literacy, Technology Literacy, Engineering Literacy เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนการออกแบบและหาวิธีการแก้ไขปัญหา จาก ความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน ผลการเรียนรู้ ๑. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการทาง STEM ๒. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้แก้ปัญหา ในด้านวิทยาศาสตร์ รวม ๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๐๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๒๑๒๓๒ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔o ชั่วโมง จานวน ๑.o หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรม STEM ปัญหาที่พบเจอในชีวิตประจาวัน แนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้แก้ปัญหา ออกแบบและหา วิธีการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการ STEM ประกอบด้วย Science Literacy, Mathematics Literacy, Technology Literacy, Engineering Literacy เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนการออกแบบและหาวิธีการแก้ไขปัญหา จาก ความรู้ในด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวัน ผลการเรียนรู้ ๑. เลือกเทคนิควิธีออกแบบการแก้ไขปัญหา ๒. ออกแบบและหาวิธีการแก้ไขปัญหา ๓. นาเสนอวิธีการแก้ไขปัญหา รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๒๓๒๒๑ เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง องค์ประกอบและประเภทของปิโตรเลียม หินต้นกาเนิดและแหล่งกักเก็บปิโตรเลียม การ สารวจและแหล่งปิโตรเลียม ผลกระทบและแนวทางแก้ไขที่เกิดจากการส ารวจและการผลิ ตปิโตรเลียม การแยกก๊าซ ธรรมชาติ การกลั่นน้ามันดิบ ผลิตภัณฑ์จากก๊าซธรรมชาติและจากการกลั่นน้ามันดิบและการใช้ประโยชน์ ผลกระทบจาก กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์จากปิโตรเลียมและแนวทางแก้ไขสถานการณ์พลังงานของโลกและของประเทศไทย การใช้ พลังงานด้านการคมนาคมของประเทศไทย การกาหนดราคาน้ามันเชื้อเพลิง ผลกระทบและแนวทางการแก้ไขผลจากการใช้ เชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม เชื้อเพลิงที่เป็นพลังงานทดแทน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ อภิปราย ทดลอง จาแนก เปรียบเทียบข้อมูล เพื่ อ ใ ห้ เ กิ ดคว ามรู้ คว ามคิ ด ค ว าม เข้ า ใจ สามา รถสื่ อสา รสิ่ ง ที่ ไ ด้ เรี ย นรู้ มี ค ว าม ส ามา รถใ น การตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม และเข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายความสาคัญและการกาเนิดของปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินและหินน้ามัน 2. อธิบายแหล่ง การสารวจและปริมาณสารองของปิโตรเลียมและแก๊สธรรมชาติ 3. อธิบายผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมและการนาไปใช้ประโยชน์ 4. นาเสนอแนวทางการใช้ปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ อย่างประหยัดและถูกวิธี 5. อธิบายโครงสร้างราคาและวิเคราะห์สถานการณ์การใช้น้ามันเชื้อเพลิงเพื่อการคมนาคม 6. อธิบายประเภทและการใช้ประโยชน์ จากเชื้อเพลิงที่เป็นพลังงานทดแทน รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๒๓๒๒๒ เคมีชีววิทยาเพื่อชีวิต กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ เข้าใจสมบัติของสิ่ งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่ งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ความสั ม พัน ธ์ของโครงสร้ าง และหน้ าที่ข องระบบต่ าง ๆ ของสั ต ว์และมนุษย์ ที่ทางานสั ม พัน ธ์กัน ค วามสั ม พันธ์ ของ โครงสร้ า ง และหน้ า ที่ข องอวั ย วะต่ าง ๆ ของพืช ที่ท างานสั ม พัน ธ์กั น เข้ าใจสมบั ติข องสสาร องค์ ประกอบของสสาร ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสมบั ติ ข องสสารกั บ โครงสร้ า งและแรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งอนุ ภ าค หลั ก และธรรมชาติ ข องการ เปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย ทดลอง จาแนก เปรียบเทียบข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ได้เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่า ของการน าความรู้ ไ ปใช้ใ นชี วิต ประจ าวั น มีจิ ตวิ ทยาศาสตร์ จริย ธรรม คุ ณธรรม ค่า นิย มที่ เหมาะสม และเข้า ใจว่ า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ๒. อธิบายการลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ ๓. อธิบายความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ ๔. อธิบายหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางานสัมพันธ์กัน ๕. อธิบายและวิเคราะห์สมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสสารกับ โครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ๖. อธิบาย สืบเสาะ และอภิปรายธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการ เกิดปฏิกิริยาเคมี รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
ว๒๓๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๑ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ สิ่งต่าง ๆ รอบตัว เพื่อให้มีทักษะที่สาคัญในการค้นคว้าหา ความรู้ มีความสามารถในการแก้ป๎ญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ ตรวจสอบได้ พัฒนาวิธีคิดอย่างเป็นเหตุเป็น ผล พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาความคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ พัฒนาทักษะ ในการค้นคว้าหาความรู้ พัฒนาความสามารถในการแก้ป๎ญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลหลากหลายและประจักษ์พยานที่ตรวจสอบได้ ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะในการ ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ทักษะการทางานกลุ่ม ทักษะการแก้ป๎ญหาเสริมสร้างความเป็นนักวิทยาศาสตร์ เพื่อให้มีทักษะในการคิด ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีความสามารถในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ มี ทักษะการทางานกลุ่ม ทักษะการแก้ป๎ญหา เสริมสร้างความเป็นนักวิทยาศาสตร์ มีความเป็นนักวิท ยาศาสตร์ เพื่อให้เกิด ความรู้ ความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ และคิดค้นโครงงานวิทยาศาสตร์ ผลการเรียนรู้ ๑. ศึกษาวิธีการที่นาไปสู่การสารวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ ๒. อธิบายและบันทึกผลการสังเกต การสารวจตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูล เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูล และประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ๓. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลงานของโครงงานหรื อ ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๓
ว๒๓๒๐๒ โครงงานวิทยาศาสตร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ทดลอง และอภิปรายความหมายและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ โครงงาน วิทยาศาสตร์ การเขียนเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ การเขียนรายงานและการจัดแสดง โครงงานวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑.จัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ ๒.นาเสนอด้วยวาจา รวมทั้งจัดแสดงผลงานในรูปนิทรรศการ รวม ๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๓๐๑๐๑ ฟิสิกส์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ภาคเรียนที่ ๑-๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุ ความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา แนวคิดหลัก ของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้ผู้เรียนได้มีการสืบค้นข้อมูล การสืบเสาะความรู้ สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย อธิบาย สรุปและ แก้ป๎ญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไป ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว ๒.๒ ม.๕/๑ วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่ออธิบาย ความเร่งของวัตถุ ว ๒.๒ ม.๕/๒ สังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงหลายแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันที่กระทาต่อ วัตถุโดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ ว ๒.๒ ม.๕/๓ สังเกต วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ และมวลของวัตถุ ว ๒.๒ ม.๕/๔ สังเกตและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ว ๒.๒ ม.๕/๕ สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวัตถุได้แก่การเคลื่อนที่ แนวตรง การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและการเคลื่อนที่แบบสั่น ว ๒.๒ ม.๕/๖ สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงโน้มถ่วงที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ รอบโลก ว ๒.๒ ม.๕/๗ สังเกตและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟูา ว ๒.๒ ม.๕/๘ สังเกตและอธิบายแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟูาที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก และแรงแม่เหล็กที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟูาผ่านในสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายหลักการทางานของมอเตอร์ ว ๒.๒ ม.๕/๙ สังเกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟ รวมทั้งยกตัวอย่างการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ว ๒.๒ ม.๕/๑๐ สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงเข้มและแรงอ่อน ว ๒.๓ ม.๕/๑ สืบค้นข้อมูลและอธิบายพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชันและฟิวชัน และความสัมพันธ์ระหว่างมวล กับพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากฟิชชันและฟิวชัน ว ๒.๓ ม.๕/๒ สืบค้นข้อมูล และอธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟูา รวมทั้งสืบค้นและ อภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นามาแก้ป๎ญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงาน โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและ ความคุ้มค่าด้านค่าใช้จ่าย หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๕
ว ๒.๓ ม.๕/๓ สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่น ว ๒.๓ ม.๕/๔ สังเกต และอธิบายความถี่ธรรมชาติ การสั่นพ้อง และผลที่เกิดขึ้นจากการสั่นพ้อง ว ๒.๓ ม.๕/๕ สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่นของคลื่นเสียง ว ๒.๓ ม.๕/๖ สืบค้นข้อมูล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มเสียงกับระดับเสียง และผลของความถี่ กับระดับเสียงที่มีต่อการได้ยินเสียง ว ๒.๓ ม.๕/๗ สังเกต และอธิบายการเกิดเสียงสะท้อนกลับ บีต ดอปเพลอร์และการสั่นพ้องของเสียง ว ๒.๓ ม.๕/๘ สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนาความรู้เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ว ๒.๓ ม.๕/๙ สังเกต และอธิบายการมองเห็นสีของวัตถุและความผิดปกติในการมองเห็นสี ว ๒.๓ ม.๕/๑๐ สังเกต และอธิบายการทางานของแผ่นกรองแสง สี การผสมแสงสี การผสมสารสีและ การนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ว ๒.๓ ม.๕/๑๑ สืบค้นข้อมูลและอธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา ส่วนประกอบคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา และหลัก การทางานของอุปกรณ์บางชนิดที่อาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟูา ว ๒.๓ ม.๕/๑๒ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการสื่อสาร โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟูาในการส่งผ่านสารสนเทศ และเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล ว ๔.๑ ม.๔/๕ ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟูาและอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย รวม ๒๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๓๐๑๒๑ เคมีพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ภาคเรียนที่ ๑-๒ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาการจาแนกธาตุและสารประกอบ วิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอมของธาตุ อนุภาคมูลฐานของอะตอม เลขอะตอม เลขมวลและไอโซโทป สัญลักษณ์นิวเคลียร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด การจัดเรียงธาตุ ในตารางธาตุ แนวโน้มสมบัติบางประการของธาตุตามตารางธาตุ ศึกษาและทดลองเกี่ยวกับชนิดของพันธะเคมีจากการนา ไฟฟ้าของสารบางชนิด ศึกษาการเกิดพันธะและสมบัติบางประการของสารโคเวเลนต์สารประกอบไอออนิก และโลหะ สารประกอบอินทรีย์ สมบัติของสารประกอบอินทรีย์บางชนิด ศึกษาความหมายและตัวอย่าง พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิ เมอร์สังเคราะห์ โครงสร้าง สมบัติ ประเภทของพอลิเมอร์ รวมทั้งการใช้ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้ผลิตภัณฑ์ของ พอลิเมอร์ ทดลองการเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาความสัมพันธ์ของพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีศึกษาและคานวณหาอัตรา การเกิดปฏิกิริยาเคมี ศึกษาและทดลองปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาศึกษาปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน การใช้ ประโยชน์และผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ สมบัติของสารกัมมันตรังสี ประโยชน์ของสารกัมมันตรังสีและการป้องกันอันตรายที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสี โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบและการทดลอง เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติและความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของธาตุและสารประกอบ พันธะเคมี ปฏิกิริยาเคมี การใช้เชื้อเพลิง ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ ไฟฟ้าเคมี และสารกัมมันตรังสี สามารถนาความรู้และหลักการไปใช้ ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน สามารถจัดกระทาและวิเคราะห์ข้อมูล สื่อสารสิ่ง ที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหา มีจิตวิทยาศาสตร์เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและ ค่านิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว ๒.๑ ม.๕/๑ ระบุว่าสารเป็นธาตุหรือสารประกอบ และอยู่ในรูปอะตอม โมเลกุล หรือไอออนจากสูตรเคมี ว ๒.๑ ม.๕/๒ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของโบร์กับแบบจาลองอะตอมแบบ กลุ่มหมอก ว ๒.๑ ม.๕/๓ ระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม และไอออนที่เกิดจากอะตอมเดียว ว ๒.๑ ม.๕/๔ เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุและระบุการเป็นไอโซโทป ว ๒.๑ ม.๕/๕ ระบุหมู่และคาบของธาตุและระบุว่าธาตุเป็นโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟหรือกลุ่ม ธาตุแทรนซิชัน จากตารางธาตุ ว ๒.๑ ม.๕/๖ เปรียบเทียบสมบัติการนาไฟฟ้า การให้และรับอิเล็กตรอนระหว่างธาตุในกลุ่มโลหะกับอโลหะ ว ๒.๑ ม.๕/๗ สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากธาตุเรพรีเซนเททีฟและ ธาตุแทรนซิชัน ว ๒.๑ ม.๕/๘ ระบุว่าพันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะเดี่ยว พันธะคู่ หรือพันธะสาม และระบุจานวนคู่อิเล็กตรอนระหว่าง อะตอมคู่ร่วมพันธะ จากสูตรโครงสร้าง ว ๒.๑ ม.๕/๙ ระบุสภาพขั้วของสารที่โมเลกุลประกอบด้วย ๒ อะตอม ว ๒.๑ ม.๕/๑๐ ระบุสารที่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้จากสูตรโครงสร้าง ว ๒.๑ ม.๕/๑๑ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือดของสารโคเวเลนต์กับแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลตามสภาพขั้วหรือการ เกิดพันธะไฮโดรเจน หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๗
ว ๒.๑ ม.๕/๑๒ เขียนสูตรเคมีของไอออนและสารประกอบไอออนิก ว ๒.๑ ม.๕/๑๓ ระบุว่าสารเกิดการละลายแบบแตกตัวหรือไม่แตกตัว พร้อมให้เหตุผลและระบุว่าสารละลายที่ได้เป็น สารละลายอิเล็กโทรไลต์หรือนอนอิเล็กโทรไลต์ ว ๒.๑ ม.๕/๑๔ ระบุสารประกอบอินทรีย์ประเภทไฮโดรคาร์บอนว่าอิ่มตัวหรือไม่อิ่มตัวจากสูตรโครงสร้าง ว ๒.๑ ม.๕/๑๕ สืบค้นข้อมูลและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพระหว่างพอลิเมอร์และมอนอเมอร์ ของพอลิเมอร์ชนิดนั้น ว ๒.๑ ม.๕/๑๖ ระบุสมบัติความเป็นกรด-เบส จากโครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์ ว ๒.๑ ม.๕/๑๗ อธิบายสมบัติการละลายในตัวทาละลายชนิดต่าง ๆ ของสาร ว ๒.๑ ม.๕/๑๘ วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับสมบัติเทอร์มอพลาสติกและเทอร์มอเซตของพอลิ เมอร์และการนาพอลิเมอร์ไปใช้ประโยชน์ ว ๒.๑ ม.๕/๑๙ สืบค้นข้อมูลและนาเสนอผลกระทบของการใช้ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม พร้อม แนวทางป้องกันหรือแก้ไข ว ๒.๑ ม.๕/๒๐ ระบุสูตรเคมีของสารตั้งต้น ผลิตภัณฑ์และแปลความหมายของสัญลักษณ์ในสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี ว ๒.๑ ม.๕/๒๑ ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิว อุณหภูมิและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีผลต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ว ๒.๑ ม.๕/๒๒ สืบค้นข้อมูลและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันหรือใน อุตสาหกรรม ว ๒.๑ ม.๕/๒๓ อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ ว ๒.๑ ม.๕/๒๔ อธิบายสมบัติของสารกัมมันตรังสีและคานวณครึ่งชีวิตและปริมาณของสารกัมมันตรังสี ว ๒.๑ ม.๕/๒๕ สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างประโยชน์ของสารกัมมันตรังสีและการป้องกันอันตราย ที่เกิดจากกัมมันตภาพรังสี ว ๔.๑ ม.๔/๕ ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์และ เทคโนโลยีที่ซับซ้อนในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย รวม ๒๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๓๐๑๔๑ ชีววิทยาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ภาคเรียนที่ ๑-๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาความหลากหลายของระบบนิเวศ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของระบบนิเวศ องค์ประกอบของระบบนิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เซลล์และโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ การลาเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การแพร่ การออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต แอกทีฟทรานสปอร์ต การลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ การรักษาดุลยภาพของน้า และแร่ธาตุ กรด-เบส อุณหภูมิในร่างกานมนุษย์ ระบบภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน การสร้างอาหารของ พืชด้วยกระบวนสังเคราะห์ด้วยแสง สารสังเคราะห์จากพืช ป๎จจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การตอบสนองของพืช ต่อสิ่งเร้า ยีนและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทาง พันธุกรรมระดับยีนและโครโมโซม การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจากการคัดเลือก โดยธรรมชาติ การคัดเลือกโดยธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต โดยใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ป๎ญหาหรือพัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝูาระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ตัวชี้วัด ว ๑.๑ ม.๔/๑ สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ของสภาพทางภูมศาสตร์บนโลกกับความหลากหลายของไบ โอม และยกตัวอย่างไบโอมชนิดต่างๆ ว ๑.๑ ม.๔/๒ สืบค้นข้อมูล อภิปรายสาเหตุ และยกตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ ว ๑.๑ ม.๔/๓ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบในระบบนิเวศการ เปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพทั้งทางกายภาพและทางชีวภาพที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด ของประชากร สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ว ๑.๑ ม.๔/๔ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับป๎ญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งนาเสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขป๎ญหาสิ่งแวดล้อม ว ๑.๒ ม.๔/๑ อธิบายโครงสร้างและสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์ที่สัมพันธ์กับการลาเลียงสาร และเปรียบเทียบการ ลาเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์แบบต่างๆ ว ๑.๒ ม.๔/๒ อธิบายการควบคุมดุลยภาพของน้าและสารใน เลือดโดยการทางานของไต ว ๑.๒ ม.๔/๓ อธิบายการควบคุมดุลยภาพของกรด-เบสของเลือดโดยการทางานของไตและปอด ว ๑.๒ ม.๔/๔ อธิบายการควบคุมดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายโดยระบบหมุนเวียนเลือดผิวหนัง และ กล้ามเนื้อโครงร่าง ว ๑.๒ ม.๔/๕ อธิบายและเขียนแผนผังเกี่ยวกับการตอบสนองของร่างกายแบบไม่จาเพาะและแบบจาเพาะต่อสิ่ง แปลกปลอมของร่างกาย หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๑๙
ว ๑.๒ ม.๔/๖ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างโรคหรืออาการที่เกิดจากความผิดปกติของระบบ ภูมิคุ้มกัน ว ๑.๒ ม.๔/๗ อธิบายภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ HIV ว ๑.๒ ม.๔/๘ ทดสอบ และบอกชนิดของสารอาหารที่พืชสังเคราะห์ได้ ว ๑.๒ ม.๔/๙ สืบค้นข้อมูล อภิปราย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์จากสารต่างๆ ที่พืชบางชนิดและ สัตว์สร้างขึ้น ว ๑.๒ ม.๔/๑๐ ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับป๎จจัยภายนอกที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของ พืช ว ๑.๒ ม.๔/๑๑ สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่มนุษย์สงเคราะห์ขึ้น และยกตัวอย่าง การนามาประยุกต์ใช้ทางด้านการเกษตรของพืช ว ๑.๒ ม.๔/๑๒ สังเกตและอธิบายการตอบสนองของพืชต่อการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชในรูปแบบต่างๆ ที่มี ผลต่อการดารงชีวิต ว ๑.๓ ม.๔/๑ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างยีน การสังเคราะห์โปรตีน และลักษณะทางพันธุกรรม ว ๑.๓ ม.๔/๒ อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ถูกควบคุมด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซมเพศ และมัลติ เปิลแอลลีล ว ๑.๓ ม.๔/๓ อธิบายผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงลาดับนิวคลีโอไทด์ในดีเอ็นเอต่อการแสดงลักษณะของ สิ่งมีชีวิต ว ๑.๓ ม.๔/๔ สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างการนา มิวเทชันไปใช้ประโยชน์ ว ๑.๓ ม.๔/๕ สืบค้นข้อมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ว ๑.๓ ม.๔/๖ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นผลมาจากวิวัฒนาการ ว ๔.๑ ม.๔/๒ ระบุป๎ญหาหรือความต้องการในชีวิตประจาวัน รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับ ป๎ญหา ว ๔.๑ ม.๔/๓ ออกแบบวิธีการแก้ป๎ญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น นาเสนอ แนวทางการแก้ป๎ญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผนและดาเนินการแก้ป๎ญหา ว ๔.๑ ม.๔/๔ ทดสอบ ประเมินผล และระบุข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและ นาเสนอผลการแก้ป๎ญหา รวม ๒๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว๓o๑๖๑ โลก ดาราศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ ภาคเรียนที่ ๑-๒ เวลา ๖o ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต อธิบาย วิเคราะห์ สรุป เกี่ยวกับ การกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลัง เกิดบิกแบงในช่วงเวลาต่าง ๆ หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี โครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก ตาแหน่งของระบบสุริยะ กระบวนการเกิดดาวฤกษ์ การเปลี่ยนแปลง ความดัน อุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์ก่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์ ป๎จจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัมของดาวฤกษ์ ลา ดับ วิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ ลักษณะ ของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดารงชีวิต โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ ปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับผลของลมสุริยะและพายุสุริยะที่มีต่อโลกรวมทั้งประเทศไทย การสารวจอวกาศโดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วง ความยาวคลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม การแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ ของแผ่นธรณี รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี การเกิดภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว สึนามิ ป๎จจัยสาคัญที่มีผลต่อการได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในแต่ละบริเวณของโลก การหมุนเวียนของอากาศ การเคลื่อนที่ของอากาศ ป๎จจัยที่ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้าผิวหน้าในมหาสมุทร รูปแบบการหมุนเวียนของน้าผิวหน้าใน มหาสมุทร ผลของการหมุนเวียนของอากาศและน้าผิวหน้าในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะภูมิอากาศ ลมฟูาอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ป๎จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ สืบค้น นาเสนอ ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม สืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในวิทยาศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ โลกดาราศาสตร์ กระบวนการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝูาระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ( Inquiry ) ตัวชี้วัด ว๓.๑ ม.๖/๑ อธิบายการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงใน ช่วงเวลาต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพ ว๓.๑ ม.๖/๒ อธิบายหลั กฐานที่สนั บ สนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสั มพันธ์ระหว่างความเร็ว กับระยะทางของ กาแล็กซี รวมทั้งข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ ว๓.๑ ม.๖/๓ อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก และระบุตาแหน่งของระบบสุริยะ พร้อมอธิบายเชื่อมโยงกับการสังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบนโลก ว๓.๑ ม.๖/๔ อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาดจากดาวฤกษ์ ก่อนเกิดจนเป็นดาวฤกษ์ ว๓.๑ ม.๖/๕ ระบุป๎จจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของ ดาวฤกษ์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่าง กับโชติมาตรของดาวฤกษ์ ว๓.๑ ม.๖/๖ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๑
ว๓.๑ ม.๖/๗ อธิบายลาดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการ ของดาวฤกษ์ ว๓.๑ ม.๖/๘ อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ และการแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ และลักษณะของดาว เคราะห์ที่เอื้อต่อการดารงชีวิต ว๓.๑ ม.๖/๙ อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับผลของลมสุริยะ และพายุสุริยะที่มีต่อโลกรวมทั้งประเทศไทย ว๓.๑ ม.๖/๑o สื บ ค้น ข้อมู ล อธิบ ายการส ารวจอวกาศ โดยใช้ก ล้ องโทรทรรศน์ใ นช่ว งความยาวคลื่ นต่ าง ๆ ดาวเทีย ม ยานอวกาศ สถานี อวกาศ และน าเสนอแนวคิดการนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจาวันหรือในอนาคต ว๓.๒ ม.๖/๑ อธิบายการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลที่สนับสนุน ว๓.๒ ม.๖/๒ อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ว๓.๒ ม.๖/๓ ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของ แผ่นธรณี พร้อมยกตัวอย่างหลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบ ว๓.๒ ม.๖/๔ อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ภูเขาไฟระเบิด รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและ นาเสนอแนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ว๓.๒ ม.๖/๕ อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมทั้งสืบค้นข้อมูล พื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ว๓.๒ ม.๖/๖ อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและ นาเสนอแนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ว๓.๒ ม.๖/๗ อธิบายป๎จจัยสาคัญที่มีผลต่อการได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันในแต่ละบริเวณ ของโลก ว๓.๒ ม.๖/๘ อธิบายการหมุนเวียนของอากาศ ที่เป็นผลมาจากความแตกต่างของความกดอากาศ ว๓.๒ ม.๖/๙ อธิบายทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศ ที่เป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ว๓.๒ ม.๖/๑o อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ว๓.๒ ม.๖/๑๑ อธิบายป๎จจัยที่ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้าผิวหน้าในมหาสมุทร และรูปแบบการหมุนเวียนของ น้าผิวหน้าในมหาสมุทร ว๓.๒ ม.๖/๑๒ อธิบายผลของการหมุนเวียนของอากาศและน้าผิวหน้าในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะ ภูมิอากาศ ลมฟูาอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ว๓.๒ ม.๖/๑๓ อธิบายป๎จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก พร้อมทั้งนาเสนอแนวปฏิบัติเพื่อลด กิจกรรมของมนุษย์ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ว๓.๒ ม.๖/๑๔ แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟูาอากาศที่สาคัญจากแผนที่อากาศ และนาข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ มาวางแผนการดาเนินชีวิต ให้สอดคล้องกับสภาพลมฟูาอากาศ รวม ๒๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๐๑ ฟิสิกส์๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งาน กฎการอนุรักษ์พลังงานกล โม เมนตัม กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้งการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ให้ผู้เรียนได้มีการสืบค้นข้อมูล การสืบเสาะความรู้ สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย อธิบาย สรุปและ แก้ป๎ญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไป ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. สืบค้นและอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของหลักการและแนวคิดทาง ฟิสิกส์ที่มีผลต่อการแสวงหาความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี ๒. วัดและรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนาความคลาดเคลื่อนในการวัดมาพิจารณาใน การนาเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปลความหมายจากกราฟเส้นตรง ๓. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของ การเคลื่อนทีข่ องวัตถุในแนวตรงที่มีความเร่งคงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาค่าความเร่งโน้มถ่วงของ โลก และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๔. ทดลอง และอธิบายการหาแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทามุมต่อกัน ๕. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและ การใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๖. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทาให้วัตถุมีน้าหนัก รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ๗. วิเคราะห์ อธิบาย และคานวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุหยุดนิ่งและวัตถุ เคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ และนาความรู้เรื่องแรง เสียดทานไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๘. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ที่มีต่อการหมุน แรงคู่ควบและผลของแรง คู่ควบที่มีต่อสมดุลของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทาต่อวัตถุอิสระเมื่อวัตถุอยู่ในสมดุลกล และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งทดลองและอธิบายสมดุลของแรงสามแรง ๙. สังเกตและอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ เมื่อแรงที่กระทาต่อวัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของวัตถุและผลของศูนย์ ถ่วงที่มีต่อเสถียรภาพของวัตถุ ๑๐. วิเคราะห์และคานวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพื้นที่ใต้กราฟความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับตาแหน่ง รวมทั้ง อธิบาย และคานวณกาลังเฉลี่ย ๑๑. อธิบายและคานวณพลังงานจลน์ พลังงานศักย์ พลังงานกล ทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริง หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๓
ยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างงานของแรงลัพธ์ และพลังงานจลน์ และคานวณงานที่เกิดขึ้นจากแรงลัพธ์ ๑๒. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่ของวัตถุในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้กฎการอนุรักษ์พลังงานกล ๑๓. อธิบายการทางาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกลของเครื่องกลอย่างง่ายบางชนิด โดยใช้ความรู้เรื่องงาน และสมดุลกล รวมทั้งคานวณประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชิงกล ๑๔. อธิบาย และคานวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพื้นที่ใต้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงลัพธ์กับ เวลา รวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงดลกับโมเมนตัม ๑๕. ทดลอง อธิบาย และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติ ทั้งแบบยืดหยุ่น ไม่ยืดหยุ่น และการดีดตัวแยกจากกันในหนึ่งมิติซึ่งเป็นไปตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม ๑๖. อธิบาย วิเคราะห์ และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ และทดลองการเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์ ๑๗. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิงเส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ ประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลม ในการอธิบายการโคจรของดาวเทียม รวม ๑๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๐๒ ฟิสิกส์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต เพื่อศึกษา การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย คลื่นกล คลื่นผิวน้า สมบัติของคลื่น คลื่นนิ่ง ธรรมชาติและสมบัติ ของเสียง อัตราเร็วของเสียง สมบัติของคลื่นเสียง ความเข้มเสียง เสียงดนตรี การบีต และคลื่นนิ่งของเสียง ความถี่ธรรมชาติ และการสั่นพ้องของเสียงในอากาศ ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ และคลื่นกระแทก การเคลื่อนที่ และอัตราเร็วของแสง การ สะท้อนแสงของแสง การหักเหของแสง เลนส์บาง ตาและการมองเห็น ทัศนอุปกรณ์ ความสว่าง แสงสี และการผสมสี การ แทรกสอดของแสง การเลี้ยวเบนของแสง เกรตติง ให้ผู้เรียนได้มีการสืบค้นข้อมูล การสืบเสาะความรู้ สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย อธิบาย สรุปและ แก้ป๎ญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไป ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. ทดลอง และอธิบายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย รวมทั้ง คานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๒. อธิบายความถี่ธรรมชาติของวัตถุและการเกิดการสั่นพ้อง ๓. อธิบายปรากฏการณ์คลื่น ชนิดของคลื่นส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคลื่นด้วยหลักการของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ้อนทับ พร้อมทั้งคานวณอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น ๔. สังเกต และอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ารวมทั้งคานวณ ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๕. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียงความสัมพันธ์ระหว่างคลื่น การกระจัดของอนุภาคกับคลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน่วยองศาเซลเซียส สมบัติของคลื่นเสียง ได้แก่การสะท้อน การหักเห การแทรกสอดการเลี้ยวเบน รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง ๖. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง รวมทั้ง คานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๗. ทดลอง และอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้งสังเกตและอธิบายการเกิด บีต คลื่นนิ่ง ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ คลื่นกระแทกของเสียง คานวณปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้เรื่องเสียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน ๘. ทดลอง และอธิบายการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่และเกรตติง การเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของแสง ผ่านสลิตเดี่ยวรวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๙. ทดลอง และอธิบายการสะท้อนของแสงที่ผิววัตถุตามกฎการสะท้อน เขียนรังสีของแสงและคานวณตาแหน่ง และขนาดภาพของวัตถุ เมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลมรวมทั้งอธิบายการนาความรู้ เรื่องการสะท้อนของแสงจากกระจกเงาราบ และกระจกเงาทรงกลมไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๕
๑๐. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างดรรชนีหักเห มุมตกกระทบ และมุมหักเหรวมทั้งอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๑๑. ทดลอง และเขียนรังสีของแสงเพื่อแสดงภาพที่เกิดจากเลนส์บาง หาตาแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ และ ความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และ อธิบายการนาความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ๑๒. อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวกับแสงเช่น รุ้ง การทรงกลด มิราจ และการเห็นท้องฟูาเป็นสีต่าง ๆ ในช่วงเวลาต่างกัน ๑๓. สังเกต และอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสีรวมทั้งอธิบายสาเหตุของการ บอดสี รวม ๑๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๐๓ ฟิสิกส์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เพื่อศึกษา ประจุไฟฟูา การเหนี่ยวนาทางไฟฟูา อิเล็กโทรสโคบ และการต่อสายดิน แรงระหว่างประจุและกฏของคู ลอมบ์ สนามไฟฟูารอบจุดประจุ ศักย์ไฟฟูารอบจุดประจุ สนามไฟฟูาและศักย์ไฟฟูาเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์และสนามไฟฟูาสม่าเสมอ ตัวเก็บประจุและความจุ การต่อตัวเก็บประจุ กระแสไฟฟูา ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟูาและความต่างศักย์ พลังงานไฟฟูา และกาลังไฟฟูา การต่อตัวต้านทาน วงจรบริจ แรงเคลื่อนไฟฟูา และการต่อแบตเตอรี่ เคอร์ชอฟ เครื่องวัดไฟฟูา ให้ผู้เรียนได้มีการสืบค้นข้อมูล การสืบเสาะความรู้ สารวจตรวจสอบ ทดลอง อภิปราย อธิบาย สรุปและ แก้ป๎ญหาตามสถานการณ์ที่กาหนด โดยการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งทีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไป ใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. ทดลองและอธิบายการทาวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟูาให้มีประจุไฟฟูาโดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนาไฟฟูาสถิต ๒. อธิบาย และคานวณแรงไฟฟูาตามกฎของคูลอมบ์ ๓. อธิบาย และคานวณสนามไฟฟูาและแรงไฟฟูาที่กระทากับอนุภาคที่มีประจุไฟฟูาที่อยู่ในสนามไฟฟูา รวมทั้งหา สนามไฟฟูาลัพธ์เนื่องจากระบบจุดประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร์ ๔. อธิบาย และคานวณพลังงานศักย์ไฟฟูา ศักย์ไฟฟูาและความต่างศักย์ระหว่างสองตาแหน่งใด ๆ ๕. อธิบายส่วนประกอบของตัวเก็บประจุความสัมพันธ์ระหว่างประจุไฟฟูา ความต่างศักย์และความจุของตัวเก็บประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูลรวมทั้งคานวณปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ๖. นาความรู้เรื่องไฟฟูาสถิตไปอธิบายหลักการทางานของเครื่องใช้ไฟฟูาบางชนิด และปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวัน ๗. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟูาในลวดตัวนา ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟูาในลวด ตัวนากับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอนในลวดตัวนาและพื้นที่หน้าตัดของ ลวดตัวนา และคานวณปริมาณต่าง ๆที่เกี่ยวข้อง ๘. ทดลอง และอธิบายกฎของโอห์ม อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาวพื้นที่หน้าตัด และสภาพ ต้านทานของตัวนาโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอธิบายและคานวณความ ต้านทานสมมูล เมื่อนาตัวต้านทานมาต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน ๙. ทดลอง อธิบาย และคานวณอีเอ็มเอฟของแหล่งกาเนิดไฟฟูากระแสตรง รวมทั้งอธิบายและคานวณพลังงานไฟฟูา และกาลังไฟฟูา ๑๐. ทดลอง และคานวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนานรวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในวงจรไฟฟูากระแสตรงซึ่งประกอบด้วยแบตเตอรี่และตัวต้านทาน หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๗
๑๑. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟูา รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยี ที่นามา แก้ป๎ญหาหรือตอบสนองความต้องการทางด้านพลังงานไฟฟูา โดยเน้นด้านประสิทธิภาพและความคุ้มค่าด้าน ค่าใช้จ่าย รวม ๑๑ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๐๔ ฟิสิกส์ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ คานวณ และอธิบายเกี่ยวกับสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้าและ กระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการสื่อสาร รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของวัสดุและมอลดูลัสของยัง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ อภิปรายและการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นา ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. สังเกตและอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนด รวมทั้งสังเกตและ อธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในเส้นลวดตัวนาเส้นตรงและโซเลนอยด์ 2. อธิบายและคานวณแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่ กระทาต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล้ก รัศมีความโค้งของการเคลื่อนที่เมื่อประจุ เคลื่อนที่ตั้งฉากกับเส้นลวด ตัวนาคู่ขนานที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน 3. อธิบายหลักการทางานของแกนอมิเตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมทั้งคานวณปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 4. สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนา กฎการเหนี่ยวนาของฟาราเดย์ และคานวณปริมาณต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง รวมทั้งนาความรู้เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนาไปอธิบายการทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้า 5. อธิบาย และคานวณความต่างศักย์อาร์เอ็มเอสและกระแสไฟฟ้าอาร์เอ็มเอฟ 6. อธิบายหลักการทางานและประโยชน์ของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ๓ เฟส การแปลงอีเอ็มเอฟของหม้อ แปลง และคานวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้อง 7. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรสืเชิงเส้น และแผ่นโพ ลารอยด์ รวมทั้งอธิบายการนาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความถี่ต่างๆไปประยุกต์ใช้และหลักการทางานของ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 8. สืบค้น และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการ สื่อสารด้วยสัญญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทัล 9. อธิบาย และคานวณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ ความร้อนทีทาให้สสารเปลี่ยนสถานะ และความ ร้อนที่เกิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน 10. อธิบายสภาพยืดหยุ่นและลักษณะการยืดและการหดตัวของวัสดุที่เป็นแท่ง เมื่อถูกกระทาด้วยแรงค่าต่างๆ รวมทั้งทดลอง อธิบายและคานวณความเค้นตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดูลัสของยัง และนา ความรู้เรื่องสภาพยืดหยุ่นไปใช้ในชีวิตประจาวัน รวม ๑๐ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๒๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๐๕ ฟิสิกส์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ คานวณ ความดันในของไหล แรงพยุง และหลัก ของอาร์คิมีดิส ความตึงผิวและแรงหนืด ของของเหลว ของไหลอุดมคติ และ สมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎี อะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและ อนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกิริยา นิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ฟิสิกส์อนุภาค รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การ อภิปรายและการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นา ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม ผลการเรียนรู้ 1. อธิบาย และคานวณความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทั้ง อธิบายหลักการทางาน ของแมนอมิเตอร์ บารอมิเตอร์ และเครืองอัดไฮดรอลิก 2. ทดลอง อธิบาย และคานวณขนาดแรงพยุงจากของไหล 3. ทดลอง อธิบาย และคานวณความตึงผิวของ ของเหลว รวมทั้งสังเกตและอธิบายแรงหนืด ของของเหลว 4. อธิบายสมบัติของของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนือง และสมการแบร์นูลลี รวมทัง คานวณปริมาณต่าง ๆ ที เกี่ยวข้อง และนาความรู้ เกียวกับสมการความต่อเนืองและสมการแบร์นูลลี ไปอธิบายหลักการทางานของ อุปกรณ์ต่าง ๆ 5. อธิบายกฎของแก๊สอุดมคติและคานวณปริมาณต่างๆที่เกี่ยวข้อง 6. อธิบายแบบจาลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุล ของแก๊ส รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. อธิบาย และคานวณงานที่ทาโดยแก๊สในภาชนะปิด โดยความดันคงตัว และอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความ ร้อน พลังงานภายในระบบ และงาน รวมทั้งคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และนาความรู้เรื่องพลังงาน ภายในระบบ ไปอธิบายหลักการทางานของเครื่องใช้ในชีวิต ประจาวัน 8. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอม ของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัมของ อะตอมไฮโดรเจน รวมทั้ง คานวณปริมาณ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 9. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริกและคานวณพลังงานโฟตอน พลังงานจลน์ของ โฟโตอิเล็กตรอนและ ฟังก์ชันงานของโลหะ 10. อธิบายทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค รวมทั้ง อธิบาย และคานวณความยาวคลื่นเดอบรอยล์ 11. อธิบายกัมมันตภาพรังสีและความแตกต่างของรังสีแอลฟา บีตา และแกมมา 12. อธิบาย และคานวณกัมมันตภาพของนิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคานวณจานวน นิวเคลียสกัมมันตภาพรังสี ที่เหลือจากการสลาย และครึ่งชีวิต 13. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียสและพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทั้งคานวณปริมาณ ต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๐
14. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชันและฟิวชันรวมทั้งคานวณพลังงานนิวเคลียร์ 15. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ และรังสี รวมทั้งอันตรายและการป้องกันรังสี ในด้านต่าง ๆ 16. อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาคแบบจาลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์ จากการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค ในด้านต่าง ๆ รวม ๑๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๑๒๒๑ เคมี ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาข้อปฏิบัติของการทาปฏิบัติการเคมีเพื่อให้มีความปลอดภัยต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสนอแนว ทางแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ศึกษาและเลือกใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือชั่ง ตวง วัดในการทาปฏิบัติการ และวัดปริมาณต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม นาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงาน การทดลอง โดยการทาปฏิบัติการเคมีต้องคานึงถึงวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาศาสตร์ และจริยธรรมทางวิทยาศาสตร์ ศึกษาและระบุหน่วย วัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย โครงสร้างอะตอม เสนอแบบจาลองอะตอมแบบต่าง ๆ และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ ระบุ จานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป ศึกษา สเปกตรัมการเปล่งแสงของอะตอมแก๊ส เขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อย ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ วิเคราะห์และบอกแนวโน้ม สมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ บอกสมบัติของธาตุโลหะแทรนซิชัน และเปรียบเทียบสมบัติกับธาตุโลหะ ใน กลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ ศึกษาสมบัติและคานวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี ศึกษาและยกตัวอย่างการนาธาตุมาใช้ ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้ อม การเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพ หรือ สัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไออนิก ระบุเลขออกซิเดชันของโลหะ คานวณพลังงานที่ เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น -ฮาเบอร์ ศึกษาสมบัติของสารประกอบไอออนิก เขียน สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของปฏิกิริยาของสารประกอบไออนิก ศึกษาการเกิดพันธะโควาเลนต์แบบพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสามด้วยโครงสร้างลิวอิส เขียนสูตรและเรียกชื่อสารโควาเลนต์ วิเคราะห์และเปรียบเทียบ ความยาวพันธะ และพลังงานพันธะในสารโควาเลนต์ รวมทั้ งคานวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโควาเลนต์จากพลังงานพันธะ คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโควาเลนต์โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่าง-คู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนต์ และระบุสภาพขั้วของโมเลกุลโควา เลนต์ ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล- โควาเลนต์ และเปรียบเทียบจุดหลอมเหลว จุดเดือด และการละลายน้าของ สารโควาเลนต์ ศึกษาสมบัติของสารโควาเลนต์โครงร่างตาข่ายชนิดต่าง ๆ ศึกษาการเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ เปรียบเทียบ สมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโควาเลนต์ และโลหะ รวมทั้งสืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่าง การใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโควาเลนต์ และโลหะได้อย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ผลการเรียนรู้ 1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทาปฏิบัติการเคมี เพื่อให้มี ความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกิดอุบัติเหตุ 2. เลือกและใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทาปฏิบัติการ และวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. นาเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง 4. ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๒
5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจาลองอะตอม ของนักวิทยาศาสตร์ และอธิบายวิวัฒนาการของแบบจาลองอะตอม 6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจานวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอม จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ รวมทั้งบอกความหมายของไอโซโทป 7. อธิบายและเขียนการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลขอะตอมของ ธาตุ 8. ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซิชันในตารางธาตุ 9. วิเคราะห์และบอกแนวโน้มสมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ 10. บอกสมบัติของธาตุโลหะแทรนซิชัน และเปรียบเทียบสมบัติกับธาตุโลหะในกลุ่มธาตุเรพรีเซนเททีฟ 11. อธิบายสมบัติและคานวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี 12. สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างการนาธาตุมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 13. อธิบายการเกิดไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพ หรือสัญลักษณ์แบบจุดของลิวอิส 14. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารประกอบไออนิก 15. คานวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวัฏจักรบอร์น-ฮาเบอร์ 16. อธิบายสมบัติของสารประกอบไอออนิก 17. เขียนสมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิของปฏิกิริยาของสารประกอบไออนิก 18. อธิบายการเกิดพันธะโควาเลนต์แบบพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม ด้วยโครงสร้างลิวอิส 19. เขียนสูตรและเรียกชื่อสารโควาเลนต์ 20. วิเคราะห์และเปรียบเทียบความยาวพันธะ และพลังงานพันธะในสารโควาเลนต์ รวมทั้งคานวณพลังงานที่ เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโควาเลนต์จากพลังงานพันธะ 21. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโควาเลนต์โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนต์ และระบุสภาพขั้ว ของโมเลกุลโควาเลนต์ 22. ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโควาเลนต์ และเปรียบเทียบจุดหลอมเหลว จุดเดือด และการ ละลายน้าของสารโควาเลนต์ 23. สืบค้นข้อมูลและอธิบายสมบัติของสารโควาเลนต์โครงร่างตาข่ายชนิดต่าง ๆ 24. อธิบายการเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ 25. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโควาเลนต์ และโลหะ รวมทั้งสืบค้นข้อมูลและ นาเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ของสารประกอบไอออนิก สารโควาเลนต์ และโลหะได้อย่างเหมาะสม รวม ๒๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๒๒ เคมี ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย อธิบายและคานวณเกี่ยวกับความหมาย สัญลักษณ์ในสมการเคมี เขียนและดุลสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมี สารละลาย ความเข้มข้นของสารละลาย การเตรียม สารละลายคานวณเกี่ยวกับสูตรเคมี การคานวณหาปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี คานวณเป็นร้อยละจากสูตร เตรียม สารละลายให้มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาลิตีและปริมาตรสารละลายตามที่กาหนดทฤษฎีจลน์และสมบัติบางประการของ แก๊ส ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ความดันและปริมาตรของแก๊ส การแพร่ของแก๊ส เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับสมบัติแก๊ส ปริมาตร ความดัน อุณหภูมิจานวนโมล ความดันหรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่างๆ ตามกฎของบอยล์ กฎของชาร์ลกฎของ เกย์–ลูสแซก หรือมวลของแก๊สจากความสัมพันธ์ตามกฎของอาโวกาโดรและกฎแก๊สอุดมคติ ปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ จานวนโมล หรือมวลของแก๊สจากความสัมพันธ์ตามกฎของอาโวกาโดรและกฎแก๊สอุดมคติ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่าง พอเพียง ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1. แปลความหมายสัญลักษณ์ในสมการเคมี เขียนและดุลสมการเคมีของปฏิกิริยาเคมีบางชนิด 2. คานวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมี ที่เกี่ยวข้องกับมวลสาร 3. คานวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมี ที่เกี่ยวข้องกับความเข้มข้นของสารละลาย 4. คานวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมี ที่เกี่ยวข้องกับปริมาตรแก๊ส 5. คานวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมี หลายขั้นตอน 6. ระบุสารกาหนดปริมาณและคานวณปริมาณ สารต่าง ๆ ในปฏิกิริยาเคมี 7. คานวณผลได้ร้อยละของผลิตภัณฑ์ในปฏิกิริยาเคมี 8. ระบุหน่วยวัดปริมาณต่าง ๆของสารและ เปลี่ยนหน่วยวัดให้เป็นหน่วยในระบบเอสไอ ด้วยการใช้แฟกเตอร์ เปลี่ยนหน่วย 9. คานวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วย ต่าง ๆ 10. อธิบายวิธีการและเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาลิตีและปริมาตรสารละลายตามที่กาหนด 11. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของ สารละลายกับสารบริสุทธิ์ รวมทั้งคานวณ จุดเดือดและจุดเยือกแข็ง ของสารละลาย 12. อธิบายความสัมพันธ์และคานวณปริมาตร ความดันหรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่างๆ ตามกฎของบอยล์กฎ ของชาร์ลกฎของเกย์–ลูสแซก หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๔
13. คานวณปริมาตรความดันหรืออุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่าง ๆ ตามกฎรวมแก๊ส 14. คานวณปริมาตร ความดัน อุณหภูมิจานวนโมล หรือมวลของแก๊สจากความสัมพันธ์ตามกฎของอาโวกาโดรและ กฎแก๊สอุดมคติ 15. คานวณความดันย่อยหรือจานวนโมลของแก๊สในแก๊สผสมโดยใช้กฎความดันย่อยของดอลตัน 16. อธิบายการแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ ของแก๊สคานวณและเปรียบเทียบอัตรา การแพร่ของแก๊สโดยใช้กฎ การแพร่ผ่านของเกรแฮม 17. สืบค้นข้อมูลนาเสนอตัวอย่างและอธิบายการประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติและกฎต่าง ๆ ของแก๊สในการ อธิบายปรากฏการณ์หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันและในอุตสาหกรรม รวม ๑๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๒๓ เคมี ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย อธิบายและคานวณเกี่ยวกับความหมายของอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี การเกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎีจลน์และการชนกันของอนุภาค และการเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์ พลังงานกับการดาเนินไปของปฏิกิริยาเคมี ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และ สมดุลในปฏิกิริยาเคมี ค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี การคานวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล หลักของ เลอชาเตอลิเอ สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม สารละลายอิเล็กโทรไลต์ สารละลายกรดและสารละลายเบส ทฤษฎีกรด-เบส การแตกตัวของกรดและเบส การแตกตัวเป็นไอออนของน้า เปรียบเทียบและคานวณเกี่ยวกับความ เข้มข้นของ H๓O+ และ OH- โดยใช้ค่าคงที่การแตกตัวของกรดและเบส pH ของสารละลาย อินดิเคเตอร์สาหรับกรดเบส สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจาวันและในสิ่งมีชีวิต การไทเทรตกรด-เบส เขียนกราฟของการไทเทรตอธิบายและ เขียนสมการเกี่ยวกับปฏิกิริยาของกรดและเบส ปฏิกิริยาการสะเทิน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือในน้า สารละลาย บัฟเฟอร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เพื่อให้เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มี คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยู่อย่าง พอเพียง ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทยและมีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. ทดลองและเขียนกราฟการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของสารที่ทาการวัดในปฏิกิริยา ๒. คานวณอัตราการเกิดปฏิกรยาเคมีและเขียนกราฟการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของสารที่ไม่ได้วัดในปฏิกิริยา ๓. เขียนแผนภาพและอธิบายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลังงานที่ส่งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ๔. ทดลองและอธิบายผลของความเข้มข้นพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิและตัวเร่งปฏิกิริยาที่มี ต่ออัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ๕. เปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเมื่อมีการเปลียนแปลงความเข้มข้นพื้นที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิและตัวเร่ง ปฏิกิริยา ๖. ยกตัวอย่างและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวันหรืออุตสาหกรรม ๗. ทดสอบและอธิบายความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุล ๘. อธิบายการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ เมื่อเริ่มปฏิกิริยาจนกระทั่งระบบอยู่ในภาวะสมดุล ๙. คานวณค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา ๑๐. คานวณความเข้มข้นของสารที่ภาวะสมดุล หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๖
๑๑. คานวณค่าคงที่สมดุลหรือความเข้มข้นของ ปฏิกิริยาหลายขั้นตอน ๑๒. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลและ ค่าคงที่สมดุลของระบบรวมทั้งคาดคะเน การเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้น ๑๓. เมื่อภาวะสมดุลของระบบถูกรบกวนโดยใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ ๑๔. ยกตัวอย่างและอธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ปรากฏการณ์ในธรรมชาติและ ๑๕. กระบวนการในอุตสาหกรรม ๑๖. ระบุและอธิบายว่าสารเป็นกรดหรือเบส โดยใช้ทฤษฎีกรด–เบสของอาร์เรเนียส เบรินสเตด–ลาวรี และลิวอิส ๑๗. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบส ของเบรินสเตด-ลาวรี ๑๘. คานวณและเปรียบเทียบความสามารถในการแตกตัวหรือความแรงของกรดและเบส ๑๙. คานวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซด์ไอออนของสารละลายกรดและ เบส ๒๐. เขียนสมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทินและระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายหลังการสะเทิน ๒๑. เขียนปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือและระบุความเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ ๒๒. ทดลองและอธิบายหลักการการไทเทรตและเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมสาหรับการไทเทรตกรดเบส ๒๓. คานวณปริมาณสารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต ๒๔. อธิบายสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของสารละลายบัฟเฟอร์ ๒๕. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์ และการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับกรด–เบส รวม ๒๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๒๔ เคมี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ๖ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ปฏิ กิ ริ ย าการถ่ า ยโอนอิ เ ล็ ก ตรอน ปฏิ กิ ริ ย าออกซิ เ ดชั น ปฏิ กิ ริ ย ารี ดั ก ชั น ปฏิ กิ ริ ย า รีดอกซ์ ฝึกเขียนและดุลสมการรีดอกซ์ หลักการของเซลล์กัลวานิก การหาค่าศักย์ไฟฟูามาตรฐานของ ครึ่งเซลล์ การ คานวณหาศักย์ไฟฟูาของเซลล์ ปฏิกิริยาในเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิบางชนิดที่เป็นเซลล์ไฟฟูาเคมีในชีวิตประจาวัน หลักการของเซลล์อิเล็กโทรไลต์และปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในเซลล์ การนาหลักการของเวลล์อิเล็กโทรไลต์ไปใช้แยกสาร การทาให้โลหะบริสุทธิ์ การชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟูา ปฏิกิริยาการเกิดการผุกร่อนของโลหะและการปู องกันการผุกร่อน ของโลหะ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์ไฟฟูาเคมี ศึกษาวิเคราะห์ อภิปรายและอธิบายชนิดและของ พันธะระหว่างคาร์บอน สูตรเคมี ไอโซเมอร์ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน การจัดตัวของคาร์บอนในสารประกอบ สมบัติของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แบบสายตรง แบบวงแหวน อะโรมาติก มลพิษที่อาจเกิดขึ้นและการแก้ไข ศึกษา หมู่ฟ๎งก์ชัน สูตรเคมีของสารประกอบคาร์บอน ปฏิกิริยาของแอลกอฮอล์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดอินทรีย์ เอสเทอร์ เอ ไมด์ เอมีน ศึกษากระบวนการผลิตและประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีบางชนิด ชนิดและปฏิกิริยาของพอลิเมอร์ ศึกษาชนิด สมบัติ และประโยชน์ของพลาสติก เส้นใย ยาง ซิลิโคน รวมทั้งมลพิษที่อาจเกิดขึ้น และแนวทางในการ ปูองกัน ศึกษาความก้าวหน้าของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์สังเคราะห์ ศึกษาแนวทางแก้ไขป๎ญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจาก สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันการประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรม นาความรู้ทางเคมีบูรณาการร่วมกับสาขาวิชาอื่น สร้างและนาเสนอผลงานหรือชิ้นงาน ที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ โดยใชการเรียนรูดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตรการ สืบเสาะหาความรู การสารวจตรวจสอบ สามารถนาความรู และหลักการไปใชประโยชนในการอธิบาย ปรากฏการณหรือแกปญหาในชีวิตประจาวัน มีความสามารถในการจัดกระทา และวิเคราะหขอมูลตัดสินใจ แกปญหา สื่อสารสิ่งที่เรียนรู รวมทั้งมีจิตวิทยาศาสตรเห็นคุณคาของวิทยาศาสตรมีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เซลลไฟฟาเคมีและปฏิกิริยาในเซลลไฟฟาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของ สารประกอบอินทรีย์ ผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ และตระหนักถึงผลกระทบต่อสิ่งมีชิตและสิ่งแวดล้อม ผลการเรียนรู้ ๑. คานวณเลขออกซิเดชันและระบุปฏิกิริยาที่เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ ๒. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระบุตัวริดิวซ์ ตัวออกซิไดซ์รวมทั้งเขียนครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชันและครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน ของปฏิกิริยารีดอกซ์ ๓. ทดลอง และเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และเขียนแสดงออกซิเดชัน ๔. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วยการใช้เลขออกซิเดชันและวิธีครึ่งปฏิกิริยา ๕. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟูาและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาที่แอโนดและแคโทด ปฏิกิริยารวม และแผนภาพเซลล์ ๖. คานวณค่าศักย์ไฟฟูามาตรฐานของเซลล์และระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟูา ขั้วไฟฟูาและปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น ๗. อธิบายหลักการทางาน และเขียนสมการแสดงปฏิกิริยาของเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ ๘. ทดลองชุบโลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟูา และอธิบายหลักการทางเคมีไฟฟูาที่ใช้ในการชุบโลหะ การ แยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟูา การทาโลหะให้บริสุทธิ์ การปูองกันการผุกร่อนของโลหะ ๙. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเซลล์เคมีไฟฟูา หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๘
ในชีวิตประจาวัน ๑๐. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ที่มีพันธะเดี่ยว พันธะคู่หรือพันธะสามที่พยในชีวิตประจาวัน ๑๑. เขียนสูตรโครงสร้างลิวอีส สูตรโครงสร้างอย่างย่อและสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบอินทรีย์ ๑๒. วิเคราะห์โครงสร้างและระบุประเภทของสารอินทรีย์จากหมู่ฟ๎งก์ชัน ๑๓. เขียนสูตรโครงสร้างและเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่างๆที่มีหมู่ฟ๎งก์ชันไม่เกิน ๑ หมู่ ตามระบบ IUPAC ๑๔. เขียนไอโซเมอร์ โครงสร้าง ของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ๑๕. วิเคราะห์และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้าของสารประกอบอินทรีย์ที่มีหมู่ฟ๎งก์ชัน ขนาดโมเลกุลหรือ โครงสร้างต่างกัน ๑๖. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เขียนผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาการเผาไหม้ ปฏิกิริยากับโบรมีนหรือ ปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต ๑๗. เขียนสมการเคมีและอธิบายการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาการสังเคราะห์เอไมด์ ปฏิกิริยา ไฮโดรลิ ซิสและปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน ๑๘. ทดสอบปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสและปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน ๑๙. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างการนาสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิติประจาวันและอุตสาหกรรม ๒๐. ระบุประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลิเมอร์ ๒๑. วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์ ๒๒. ทดสอบ ระบุประเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑ์ยางรวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์ ๒๓. อธิบายผลของการปรับเปลี่ยนโครงสร้างและการสังเคราะห์พอลิเมอร์ที่มีต่อสมบัติของพอลิเมอร์ ๒๔. สืบค้นข้อมูลและนาเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใช้และการกาจัดผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์และแนวทางแก้ไข รวม ๒๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๓๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๒๕ เคมี ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษาสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน การประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรมโดยใช้การบูรณาการความรู้ทาง เคมีเป็นแนวทางแก้ไขป๎ญหา สร้างผลงานหรือชิ้นงานจากประเด็นที่สนใจใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงานใน งานนิทรรศการ โดยใช้กระบวนการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะในการจัดการ การคิดวิเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ แก้ป๎ญหาการทางานอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนาความรู้ทางเคมีไปใช้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสร้างผลงานหรือชิ้นงาน ผลการเรียนรู้ ๑. กาหนดป๎ญหาและนาเสนอแนวทางแก้ไขป๎ญหาโดยใช้ความรู้ทางเคมีจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันการ ประกอบอาชีพหรืออุตสาหกรรม ๒. แสดงหลักฐานถึงการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับสาขาวิชาอื่นรวมทั้งทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมโดยเน้นการคิดวิเคราะห์การแก้ป๎ญหาและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อแก้ป๎ญหาใน สถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจ ๓. นาเสนอผลงานหรือชิ้นงานที่ได้จากการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์หรือประเด็นที่สนใจโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. แสดงหลักฐานการเข้าร่วมการสัมมนา การเข้าร่วมประชุมวิชาการหรือการแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ในงาน นิทรรศการ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๔๑ ชีววิทยา๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสาคัญของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววิทยาโดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์การนาความรู้ เกี่ยวกับชีววิทยามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โครงสร้างและหน้าที่ของสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของส่ว นประกอบของเซลล์ การแพร่ การออสโมซิส การแพร่ แบบฟาซิลิเทต แอกทีฟทรานสปอร์ต การลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์ โดยใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมี ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคานึงถึงผลกระทบต่อ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝ้าระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายและสรุปสมบัติที่สาคัญของสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ทาให้สิ่งมีชีวิต ดารงชีวิตอยู่ได้ ๒. อภิปรายและบอกความสาคัญของการระบุปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐาน และวิธีการตรวจสอบ สมมติฐาน รวมทั้งออกแบบการทดลองเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน ๓. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้าที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และยกตัวอย่างธาตุต่างๆ ที่มีความสาคัญต่อร่างกาย สิ่งมีชีวิต ๔. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มคาร์โบไฮเดรต รวมทั้งความสาคัญของคาร์โบไฮเดรต ที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ๕. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของโปรตีน และความสาคัญของโปรตีนที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ๖. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของลิพิด และความสาคัญของลิพิดที่มีต่อสิ่งมีชีวิต ๗. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลีอิค และระบุชนิดของกรดนิวคลีอิกและความสาคัญของกรดนิวคลีอิกที่มีต่อ สิ่งมีชีวิต ๘. สืบค้นข้อมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิต ๙. อธิบายการทางานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิยาเคมีในสิ่งมีชีวิต และระบุปัจจัยที่มีผลต่อการทางานของเอนไซม์ ๑๐. บอกวิธีการและเตรียมตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัดขนาดโดยประมาณและวาด ภาพที่ปรากฏภายใต้กล้อง บอกวิธีใช้ และการดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้แสงที่ถูกต้อง ๑๑. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ๑๒. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และระบุชนิดและหน้าที่ของออร์แกเนลล์ ๑๓. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของนิวเคลียส ๑๔. อธิบายและเปรียบเทียบการแพร่ การออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอร์ต ๑๕. สืบค้นข้อมูล อธิบายและเขียนแผนภาพการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิส และการลาเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโทซิส หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๑
๑๖. สังเกตการณ์แบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พร้อมทั้งอธิบายและ เปรียบเทียบการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและแบบไมโอซิส ๑๗. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขั้นตอน การหายใจระดับเซลล์ในภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ และภาวะที่มี ออกซิเจนไม่เพียงพอ รวม ๑๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๔๒ ชีววิทยา ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับการดารงชีวิตของพืช โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก เนื้อเยื่อพืช อวัยวะและหน้าที่ของอวัยวะของ พืชจากราก ลาต้น และใบ การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพืช การลาเลียงน้าของพืช การลาเลียงสารอาหารของพืช และการลาเลียงอาหารของพืช ศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โฟโตเรสไพเรชัน กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C๔ และพืช CAM ป๎จจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง รวมทั้งการปรับตัวของพืชทางด้านโครงสร้างของใบ ทิศทาง ของใบ และการจัดเรียงใบของพืชเพื่อรับแสง ศึ กษาการสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต วัฏจักรชีวิตและการ สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างของดอกและการสร้างสปอร์ เรณูถุงเอ็มบริโอ การสร้างเซลล์ สืบพันธุ์และการปฏิสนธิ ผลและเมล็ด และการงอกของเมล็ด การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชดอกและการขยายพันธุ์ พืช รวมทั้ งการวั ด การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช ศึก ษาสารควบคุ ม การเจริ ญ เติ บ โตของพื ช และการตอบสนองของพื ช ต่ อ สิ่งแวดล้อม การนาความรู้เกี่ยวกับพืชมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การ ทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายเกี่ยวกับชนิดและลักษณะของเนื้อเยื่อพืชและเขียนแผนผังเพื่อสรุปชนิดของเนื้อเยื่อพืช ๒. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและรากพืชใบเลี้ยงคู่จากการตัดตาม ขวาง ๓. สังเกต อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างภายในของลาต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและลาต้นพืช ใบเลี้ยงคู่จากการตัดตามขวาง ๔. สังเกต และอธิบายโครงสร้างภายในของใบพืชจากการตัดตามขวาง ๕. สืบค้นข้อมูล สังเกต และอธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้าของพืช ๖. สืบค้นข้อมูล และอธิบายกลไกการลาเลียงน้าและธาตุอาหารของพืช ๗. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสาคัญของธาตุอาหารและยกตัวอย่างธาตุอาหารที่สาคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโต ของพืช ๘. อธิบายกลไกการลาเลียงอาหารในพืช ๙. สืบค้นข้อมูล และสรุปการศึกษาที่ได้จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสง ๑๐. อธิบายขั้นตอนที่เกิดขึ้นในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช C๓ ๑๑. เปรียบเทียบกลไกการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในพืช C๓ พืช C๔ และ พืช CAM ๑๒. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และสรุปป๎จจัยความเข้มของแสง ความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ และอุณหภูมิที่มีผลต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ๑๓. อธิบายวัฏจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๓
๑๔. อธิบาย และเปรียบเทียบกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเพศเมียของพืชดอก และอธิบายการปฏิสนธิของพืชดอก ๑๕. อธิบายการเกิดเมล็ดและการเกิดผลของพืชดอกโครงสร้างของเมล็ดและผล และยกตัวอย่าง การใช้ประโยชน์จากโครงสร้างต่างๆของเมล็ดและผล ๑๖. ทดลอง และอธิบายเกี่ยวกับป๎จจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และบอกแนวทางในการแก้สภาพพักตัวของเมล็ด ๑๗. สืบค้นข้อมูล อธิบายบทบาทและหน้าที่ของออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลิน เอทิลีน และกรดแอบไซซิก และอภิปรายเกี่ยวกับการนาไปใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ๑๘. สืบค้นข้อมูล ทดลอง และอภิปรายเกี่ยวกับสิ่งเร้าภายนอกที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช รวม ๑๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๔๓ ชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ย วกับ ดุล ยภาพของชีวิตและการดารงชีวิต การรักษาดุล ยภาพในร่างกายของสั ต ว์และมนุษย์ ศึกษา โครงสร้างและการทางานของระบบย่อยอาหาร ระบบหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบน้าเหลือง และ ระบบภูมิคุ้มกัน การนาความรู้ที่เป็นประโยชน์มาใช้ในการดูแลรักษาสุขภาพของร่างกาย โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง อภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ผลการเรียนรู้ ๑. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ ที่มที างเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์และสัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ ๒. สังเกต อธิบาย การกินอาหารของไฮดราและพลานาเรีย ๓. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้าง หน้าที่และกระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายในระบบย่อย อาหารของมนุษย์ ๔. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างที่ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง ปลา กบ และนก ๕. สังเกต และอธิบายโครงสร้างของปอดในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ๖. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส และกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สของมนุษย์ ๗. อธิบายการทางานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์ ๘. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด ๙. สั ง เกต และอธิ บ ายทิ ศ ทางการไหลของเลื อ ดและการเคลื่ อ นที่ ข องเซลล์ เ ม็ ด เลื อ ดในหางปลาและสรุ ป ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของหลอดเลือดกับความเร็วในการไหลของเลือด ๑๐. อธิบายโครงสร้างและการทางานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์ ๑๑. สังเกต และอธิบายโครงสร้างหัวใจของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม ทิศทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุปการหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ ๑๒. สืบค้นข้อมูล ระบุความแตกต่างของเซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาวเพลตเลต และพลาสมา ๑๓. อธิบายหมู่เลือดและหลักการให้และรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh ๑๔. อธิบ าย และสรุป เกี่ย วกับส่ ว นประกอบและหน้าที่ของน้าเหลื อง รวมทั้งโครงสร้างและหน้าที่ของหลอด น้าเหลือง และต่อมน้าเหลือง ๑๕. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบกลไกการต่อต้านหรือทาลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จาเพาะและแบบ จาเพาะ ๑๖. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบการสร้างภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา ๑๗. สื บ ค้น ข้อมูล และอธิบ ายเกี่ย วกับความผิ ดปกติข องระบบภูมิคุ้มกันที่ทาให้ เกิดเอดส์ ภูมิแพ้การสร้างภูมิ ต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๕
๑๘. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ในการกาจัดของเสียออกจากร่างกายของฟองน้า ไฮดรา พลานาเรียไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ๑๙. อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และโครงสร้างที่ใช้ลาเลียงป๎สสาวะออกจากร่างกาย ๒๐. อธิบายกลไกการทางานของหน่วยไต ในการกาจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการ กาจัดของเสียออกจากร่างกายโดยหน่วยไต ๒๑. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับความผิดปกติของไตอันเนื่องมาจากโรคต่าง ๆ รวม ๒๑ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๔๔ ชีววิทยา๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์โครงสร้างและการทางานของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก การรับรู้และตอบสนองของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ และมนุษย์ เซลล์ประสาทและการทางานของเซลล์ประสาท สมองและไขสันหลังที่เป็นศูนย์ควบคุม ระบบประสาท การทางานของระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาทอัตโนวัติ โครงสร้างและการทางานของอวัยวะรับ ความรู้สึก โครงสร้างและอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์มีกระดูกสันหลัง และมนุษย์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดี ยว การสืบพันธุ์ของสัตว์ การเจริญเติบโตของ สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด การเจริญเติบโตของคน โครงสร้างและการทางานของต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมนจากต่อมไร้ ท่อและอวัยวะที่สาคัญฟีโรโมนในสัตว์ พฤติกรรมของสัตว์ กลไกการเกิดพฤติกรรมของสัตว์ พฤติกรรมเป็นมาแต่กาเนิดและ พฤติกรรมเรียนรู้ ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับพัฒนาการของระบบประสาท การสื่อสารระหว่างสัตว์ โดยใช้การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ ๒๑ การสืบค้นข้อมูล การอภิปราย สามารถสื่อสารสิ่งเรียนรู้ มี ความสามารถในการตัดสินใจ การแก้ปัญหา นา ความรู้เทคโนโลยี ไปใช้การใช้ทักษะชีวิตประจาวัน เพื่ อ ให้ เกิ ด คุ ณ ลั กษณะอั น พึง ประสงค์ มี วิ นัย ใฝ่ เ รีย นรู้ ซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต มี จิต สาธารณะที่ เ หมาะ มี เ จตคติ ท าง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ จ ริ ย ธ ร ร ม คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ที่ เ ห ม า ะ ส ม น า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ใ น ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น ไ ด้ ผลการเรียนรู้ ๑. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง ๒. อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ประสาท ๓. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท และกลไกการถ่ายทอดกระแส ประสาท ๔. อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก ๕. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนต่างๆ ในสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง และไข สันหลัง ๖. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างการทางานของระบบประสาทโซมาติก และระบบประสาทอัตโน วัติ ๗. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนังของมนุษย์ ยกตัวอย่างโรคต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง และบอกแนวทางในการดูแลป้องกัน และรักษา ๘. สังเกต และอธิบายการหาตาแหน่งของจุดบอด โฟเวีย และความไวในการรับสัมผัสของผิวหนัง ๙. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเล ไส้เดือนดิน แมลง ปลา และนก ๑๐. สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและการ เคลื่อนที่ของมนุษย์ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๗
๑๑. สังเกต และอธิบายการทางานของข้อต่อชนิดต่างๆ และการทางานของกล้ามเนื้อโครงร่างที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่ของมนุษย์ ๑๒. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในสัตว์ ๑๓. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศชายและระบบสืบพันธุ์เพศหญิง ๑๔. อธิบายกระบวนการสร้างสเปิร์ม กระบวนการสร้างเซลล์ไข่ และการปฏิสนธิในมนุษย์ ๑๕. อธิบายการเจริญเติบโตระยะเอ็มบริโอ และระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนุษย์ ๑๖. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่สร้างฮอร์โมน ๑๗. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิดและพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ของสัตว์ ๑๘. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของระบบ ประสาท ๑๙. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างการสื่อสารระหว่างสัตว์ที่ทาให้สัตว์แสดงพฤติกรรม รวม ๑๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๔๕ ชีววิทยา๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ความหลากหลายทางชีวภาพและความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต กาเนิดของชีวิต อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศ ไทย การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ศึกษาเกี่ยวกับประชากร ความหนาแน่นและการแพร่กระจายของประชากร ขนาดของประชากร รูปแบบการเพิ่มของประชากร การรอดชีวิตของประชากร ประชากรมนุษย์ ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์กับ ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ประโยชน์ ปัญหาและการจัดการ หลักการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุปผล เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ ซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะที่เหมาะ มีความสามารถในการตัดสินใจสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเองมีจิตวิทยาศาสตร์ริยธรรม คุณธรรม และค่านิยม ผลการเรียนรู้ ๑. อภิปรายความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเชื่อมโยงระหว่างความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปีชีส์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ ๒. อธิบายการเกิดเซลล์เริ่มแรกของสิ่งมีชีวิต และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดี่ยว ๓. อธิบายลักษณะสาคัญ และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรทิสต์ สิ่งมีชีวิตกลุ่มพืช สิ่งมีชีวิต กลุ่มฟังไจ และสิ่งมีชีวิตกลุ่มสัตว์ ๔. อธิบาย และยกตัวอย่างการจาแนกสิ่งมีชีวิตจากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ย่อย และวิธีการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์ ในลาดับชั้นสปีชีส์ ๕. สร้างไดโคโทมัสคีย์ในการระบุสิ่งมีชีวิตหรือตัวอย่างที่กาหนดออกเป็นหมวดหมู่ ๖. วิเคราะห์ อธิบาย และยกตัวอย่างกระบวนการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ ๗. อธิบาย ยกตัวอย่างการเกิดไบโอแมกนิฟิเคชัน และบอกแนวทางในการลดการเกิดไบโอแมกนิฟิเคชัน ๘. สืบค้นข้อมูล และเขียนแผนภาพ เพื่ออธิบายวัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรกามะถัน และวัฏจักรฟอสฟอรัส ๙. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง และอธิบายลักษณะของไบโอมที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ บนโลก ๑๐. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง อธิบาย และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิ และการเปลี่ยนแปลง แทนที่แบบทุติยภูมิ ๑๑. สืบค้นข้อมูล อธิบาย ยกตัวอย่าง และสรุปเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประชากรของสิ่งมีชีวิตบางชนิด ๑๒. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างการเพิ่มของประชากรแบบเอ็กโพเนนเชียล และการเพิ่มของ ประชากรแบบลอจิสติก ๑๓. อธิบาย และยกตัวอย่างปัจจัยที่ควบคุมการเติบโตของประชากร หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๔๙
๑๔. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหา การขาดแคลนน้า การเกิดมลพิษทางน้า และผลกระทบที่มีต่อมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสนอแนวทางการวางแผนการจัดการน้าและการแก้ไขปัญหา ๑๕. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหามลพิษทางอากาศ และผลกระทบที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสนอ แนวทางการแก้ไขปัญหา ๑๖. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรดิน และผลกระทบที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ๑๗. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหา ผลกระทบที่เกิดจากการทาลายป่าไม้ รวมทั้งเสนอแนวทางในการทาลายป่าไม้ และการอนุรักษ์ป่าไม้ ๑๘. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหา ผลกระทบที่ทาให้สัตว์ป่ามีจานวนลดลง และแนวทางในการอนุรักษ์สัตว์ป่า รวม ๑๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓o๒๖๑ โลกดาราศาสตร์และอวกาศ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖o ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต อธิบาย วิเคราะห์ สรุป เกี่ยวกับ การแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก หลักฐานทางธรณีวิ ทยาที่สนับสนุนการ เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี รูปแบบแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี หลักฐานทางธรณีวิทยาที่ พบในป๎จจุบัน ลาดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาในอดีต กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิดและป๎จจัยที่ทาให้ความรุนแรงของการ ปะทุและรูปร่างของภูเขาไฟแตกต่างกัน แนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย กระบวนการเกิด ขนาดและ ความรุนแรง ผลจากแผ่นดินไหวข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย กระบวนการเกิดและผลจากสึนามิ ระบุชนิดแร่ การใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรแร่ที่เหมาะสม ประเภทของหิน การใช้ประโยชน์ของทรัพยากรหินที่เหมาะสม กระบวนการเกิดและการสารวจ แหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน สมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน อ่านและแปลความหมายจากแผนที่ ภูมิ ประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ที่กาหนดและการนาไปใช้ประโยชน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ สืบค้น นาเสนอ ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม สืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในวิทยาศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ โลกและอวกาศ กระบวนการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝูาระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มี จิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ( Inquiry ) ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลที่สนับสนุน ๒. อธิบายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ๓. ระบุสาเหตุและอธิบายแนวรอยต่อของแผ่นธรณีที่สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีพร้อมยกตัวอย่าง หลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบ ๔. วิเคราะห์หลักฐานทางธรณีวิทยาที่พบในป๎จจุบัน และอธิบายลาดับเหตุการณ์ ทางธรณีวิทยาในอดีต ๕. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิดและป๎จจัยที่ทาให้ความรุนแรงของการปะทุและรูปร่างของภูเขา ไฟแตกต่างกัน รวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ๖. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมทั้งสืบ ค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยง ภัย ออกแบบและนาเสนอแนวทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ๗. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสึนามิรวมทั้งสืบค้นข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย ออกแบบและนาเสนอแนว ทางการเฝูาระวังและการปฏิบัติตนให้ปลอดภัย ๘. ตรวจสอบ และระบุชนิดแร่ รวมทั้งวิเคราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่ที่เหมาะสม ๙. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบุชื่อหินรวมทั้งวิเคราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชน์ของทรัพยากร หินที่เหมาะสม ๑o. อธิบายกระบวนการเกิด และการสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน โดยใช้ข้อมูล ทางธรณีวิทยา ๑๑. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน พร้อมนาเสนอการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๑
๑๒. อ่านและแปลความหมายจากแผนที่ ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ ที่กาหนดพร้อมทั้งอธิบายและ ยกตัวอย่าง การนาไปใช้ประโยชน์ รวม ๑๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓o๒๖๒ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖o ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต อธิบาย วิเคราะห์ สรุป เกี่ยวกับ ป๎จจัยที่มีผลต่อการรับและคายพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันและผลที่มีต่อ อุณหภูมิอากาศในแต่ละบริเวณของโลก กระบวนการที่ทาให้เกิดสมดุลพลังงานของโลก ผลของแรงเนื่องจากความแตกต่าง ของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงสู่ศูนย์กลางและแรงเสียดทานที่มีต่อการหมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของ อากาศตามเขตละติจู ด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ป๎จจัยที่ทาให้ เกิดการแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร ป๎จจัยที่ทาให้ เกิดการ หมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร ผลของการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรที่มี ต่อลักษณะลมฟูาอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ การเกิดแนว ปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟูาอากาศที่เกี่ยวข้อง ป๎จจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก ผลจากการเปลี่ ยนแปลงภูมิอากาศโลก แนวปฏิ บัติของมนุษย์ที่มีส่วนช่วยในการชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก สัญลักษณ์ลมฟูาอากาศบนแผนที่อากาศ คาดการณ์ลักษณะลมฟูาอากาศเบื้องต้นจากแผนที่อากาศและข้อมูลสารสนเทศ อื่นๆ เพื่อวางแผนในการประกอบอาชีพและการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลมฟูาอากาศ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ สืบค้น นาเสนอ ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม สืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในวิทยาศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ โลกและอวกาศ กระบวนการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไป ใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรั กษาสิ่ งมีชีวิตอื่น เฝู าระวังและพัฒ นาสิ่งแวดล้ อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ( Inquiry ) ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายป๎จจัยสาคัญที่มีผลต่อการรับและคายพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกต่างกันและผลที่มีต่ออุ ณหภูมิอากาศ ในแต่ละบริเวณของโลก ๒. อธิบายกระบวนการที่ทาให้เกิดสมดุลพลังงานของโลก ๓. อธิบายผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส แรงสู่ศูนย์กลาง และแรงเสียด ทานที่มีต่อการหมุนเวียนของอากาศ ๔. อธิบายการหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลที่มีต่อภูมิอากาศ ๕. อธิบายป๎จจัยที่ทาให้เกิดการแบ่งชั้นน้าในมหาสมุทร ๖. อธิบายป๎จจัยที่ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรและรูปแบบการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทร ๗. อธิบายผลของการหมุนเวียนของน้าในมหาสมุทรที่มีต่อลักษณะลมฟูาอากาศ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม ๘. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ ๙. อธิบายการเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟูาอากาศที่เกี่ยวข้อง ๑o. อธิบายป๎จจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูลสนับสนุน ๑ ๑ . วิเคราะห์ และอภิปรายเหตุการณ์ที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และนาเสนอแนวปฏิบัติของมนุษย์ที่มีส่วน ช่วยในการชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ๑๒. แปลความหมายสัญลักษณ์ลมฟูาอากาศบนแผนที่อากาศ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๓
๑๓. วิเคราะห์ และคาดการณ์ลักษณะลมฟูาอากาศ เบื้องต้นจากแผนที่อากาศและข้อมูลสารสนเทศอื่ นๆ เพื่อ วางแผนในการประกอบอาชีพและการดาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพลมฟูา อากาศ รวม ๑๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓o๒๖๓ โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖o ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต อธิบาย วิเคราะห์ สืบค้น นาเสนอ เกี่ยวกับ การกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของ เอกภพหลังเกิดบิกแบงในช่วงเวลาต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพ หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎี บิกแบง โครงสร้างและ องค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก ตาแหน่งของระบบสุริยะ การสังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบนโลก กระบวนการ เกิดดาวฤกษ์ การเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาด จากดาวฤกษ์ก่อนเกิดจนเป็น ดาวฤกษ์ กระบวนการสร้างพลังงาน ของดาวฤกษ์และผลที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคาร์บอน ไนโตรเจน ออกซิเจน ป๎จจัยที่ส่งผลต่อ ความส่องสว่างของดาวฤกษ์ ความส่องสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์ ความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิว และสเปกตรัม ของดาวฤกษ์ การหาระยะทางของดาวฤกษ์ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ คานวณหาระยะทางของดาวฤกษ์ ลาดับวิวัฒนาการที่ สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของ ดาวฤกษ์ในลาดับวิวัฒนาการ แผนภาพเฮิร์ซปรุง -รัส เซลล์ กระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์ ลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อการดารงชี วิต การ โคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฏเคพเลอร์ กฎความโน้มถ่วงของนิวตัน โครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลม สุริยะ พายุสุริยะ แบบจาลองทรงกลมฟูา การระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟูา และระบบศูนย์สูตร สังเกตท้องฟูา เส้นทาง การขึ้น การตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ เวลาสุ ริยคติปรากฏเปรียบเทียบเวลาขณะที่ดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนของผู้ สังเกตในแต่ละวัน เวลาสุริยคติปานกลาง การเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก มุมห่างที่สัมพันธ์กับตาแหน่งใน วงโคจร การสารวจอวกาศโดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่างๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอ วกาศ การ สังเกตดาวบนท้องฟูาด้วยตาเปล่าและ/หรือกล้องโทรทรรศน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ สืบค้น นาเสนอ ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม สืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในวิทยาศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ โลกดาราศาสตร์และอวกาศ กระบวนการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝูาระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิต วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ( Inquiry ) ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายการกาเนิดและการเปลี่ยนแปลงพลังงาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพหลังเกิดบิกแบงในช่วงเวลา ต่าง ๆ ตามวิวัฒนาการของเอกภพ ๒. อธิบายหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของกาแล็กซี รวมทั้ง ข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟพื้นหลังจากอวกาศ ๓. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก และระบุตาแหน่งของระบบสุริยะพร้อมอธิบาย เชื่อมโยงกับ การสังเกตเห็นทางช้างเผือกของคนบนโลก ๔. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดัน อุณหภูมิ ขนาดจากดาวฤกษ์ก่อนเกิดจน เป็นดาวฤกษ์
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๕
๕. อธิบายกระบวนการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์และผลที่เกิดขึ้น โดยวิเคราะห์ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคาร์บอนไนโตรเจน ออกซิเจน ๖. ระบุป๎จจัยที่ส่งผลต่อความส่องสว่างของดาวฤกษ์ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความส่องสว่างกับโชติมาตร ของดาวฤกษ์ ๗. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์ ๘. อธิบายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ พร้อมคานวณหาระยะทางของดาวฤกษ์ ๙. อธิบายลาดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ ในลาดับวิวัฒนาการ จากแผนภาพเฮิร์ซปรุง-รัสเซลล์ ๑o. อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตย์และลักษณะของดาวเคราะห์ที่เอื้อต่อ การดารงชีวิต ๑๑. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน พร้อม คานวณคาบการโคจรของดาวเคราะห์ ๑๒. อธิบายโครงสร้างของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสุริยะ พายุสุริยะ และวิเคราะห์ นาเสนอปรากฏการณ์หรือ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับผลของลมสุริยะ และพายุสุริยะที่มีต่อโลกรวมทั้งประเทศไทย ๑๓. สร้างแบบจาลองทรงกลมฟูา สังเกต และเชื่อมโยงจุดและเส้นสาคัญของแบบจาลองทรงกลมฟูากับท้องฟูาจริง และอธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟูา และระบบศูนย์สูตร ๑๔. สังเกตท้องฟูา และอธิบายเส้นทางการขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ ๑๕. อธิบายเวลาสุริยคติปรากฏ โดยรวบรวมข้อมูล และเปรียบเทียบเวลาขณะที่ดวงอาทิตย์ผ่าน เมริเดียน ของผู้สังเกตในแต่ละวัน ๑๖. อธิบายเวลาสุริยคติปานกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก ๑๗. อธิบายมุมห่างที่สัมพันธ์กับตาแหน่งในวงโคจร และอธิบายเชื่อมโยงกับตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ที่ สังเกตได้จากโลก ๑๘. สืบค้นข้อมูล อธิบายการสารวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยาน อวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศ มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันหรือใน อนาคต ๑๙. สืบค้นข้อมูล ออกแบบ และนาเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟูาด้วยตาเปล่าและ/หรือกล้องโทรทรรศน์ รวม ๑๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๒๒๖๑ วิทยาศาสตร์โลก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔o ชั่วโมง จานวน ๑.o หน่วยกิต อธิบาย วิเคราะห์ สรุป เกี่ยวกับ ชนิดแร่ สมบัติของแร่และนาเสนอการใช้ประโยชน์ หิน สมบัติของหิ นและ นาเสนอการใช้ประโยชน์ แหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน สมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน อ่านและแปล ความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ ความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ การเกิ ดแนวปะทะอากาศแบบต่า ง ๆ ลั ก ษณะลมฟู า อากาศ ผลจากการเปลี่ ย นแปลงภู มิ อ ากาศโลก การชะลอการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ สืบค้น นาเสนอ ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม สืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในวิทยาศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ โลกดาราศาสตร์ กระบวนการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝูาระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ( Inquiry ) ผลการเรียนรู้ ๑. ตรวจสอบ และระบุชนิดแร่ รวมทั้งวิเคราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรแร่ที่เหมาะสม ๒. ตรวจสอบ จาแนกประเภท และระบุชื่อหิน รวมทั้งวิเคราะห์สมบัติและนาเสนอการใช้ประโยชน์ของทรัพยากร หินที่เหมาะสม ๓. อธิบายกระบวนการเกิด และการสารวจแหล่งปิโตรเลียมและถ่านหิน โดยใช้ข้อมูล ทางธรณีวิทยา ๔. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากปิโตรเลียมและถ่านหิน พร้อมนาเสนอการใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม ๕. อ่านและแปลความหมายจากแผนที่ ภู มิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ ที่กาหนดพร้อมทั้งอธิบายและ ยกตัวอย่าง การนาไปใช้ประโยชน์ ๖. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างเสถียรภาพอากาศและการเกิดเมฆ ๗. อธิบายการเกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลักษณะลมฟูาอากาศที่เกี่ยวข้อง ๘. วิเคราะห์ และอภิปรายเหตุการณ์ ที่เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และนาเสนอแนวปฏิบัติของ มนุษย์ที่มีส่วนช่วยในการชะลอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๒๒๖๒ ดาราศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔o ชั่วโมง จานวน ๑.o หน่วยกิต อธิบาย วิเคราะห์ สรุป เกี่ยวกับ กระบวนการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์และผลที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน โปรตอน วัฏจักรคาร์บอนไนโตรเจน ออกซิเจน ระยะทางของดาวฤกษ์ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ ลาดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์ กับมวลตั้งต้น การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ในลาดับวิวัฒนาการจากแผนภาพเฮิร์ซปรุง -รัสเซลล์ การ โคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน สร้างแบบจาลองทรงกลมฟู า เส้น สาคัญของแบบจาลองทรงกลมฟูากับท้องฟูาจริง พิกัดของดาวในระบบขอบฟูาและระบบศูนย์สูตร สังเกตท้องฟูา เส้นทาง การขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ เวลา สุริยคติปรากฏเวลาขณะที่ดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนของผู้สังเกตในแต่ละ วัน เวลาสุริยคติปานกลาง เวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก มุมห่างที่สัมพันธ์กับตาแหน่งในวงโคจร การสารวจอวกาศ กล้อง โทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยานอวกาศ สถานีอวกาศ กิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟูาด้วยตาเปล่า และ/หรือกล้องโทรทรรศน์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ป๎ญหาในสถานการณ์ต่างๆ สืบค้น นาเสนอ ให้เหตุผล ประกอบการตัดสินใจและสรุปผลได้อย่างเหมาะสม สืบเสาะหาความรู้การสารวจตรวจสอบ การสังเกต การสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในวิทยาศาสตร์และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับ โลกดาราศาสตร์ กระบวนการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่น เฝูาระวังและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยา ศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม โดยใช้กระบวนการสืบเสาะด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ( Inquiry ) ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายกระบวนการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์และผลที่เกิดขึ้น โดยวิเคราะห์ปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน-โปรตอน และวัฏจักรคาร์บอนไนโตรเจน ออกซิเจน ๒. อธิบายวิธีการหาระยะทางของดาวฤกษ์ด้วยหลักการแพรัลแลกซ์ พร้อมคานวณหาระยะทางของดาวฤกษ์ ๓. อธิบายลาดับวิวัฒนาการที่สัมพันธ์กับมวลตั้งต้น และวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดาวฤกษ์ ในลาดับวิวัฒนาการ จากแผนภาพเฮิร์ซปรุง-รัสเซลล์ ๔. อธิบายการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ด้วยกฎเคพเลอร์ และกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน พร้อม คานวณคาบการโคจรของดาวเคราะห์ ๕. สร้างแบบจาลองทรงกลมฟูา สังเกต และเชื่อมโยงจุดและเส้นสาคัญของแบบจาลองทรงกลมฟูากับท้องฟูาจริง และอธิบายการระบุพิกัดของดาวในระบบขอบฟูา และระบบศูนย์สูตร ๖. สังเกตท้องฟูา และอธิบายเส้นทางการขึ้นการตกของดวงอาทิตย์และดาวฤกษ์ ๗. อธิบายเวลาสุริยคติปรากฏ โดยรวบรวมข้อมูล และเปรียบเทียบเวลาขณะที่ดวงอาทิตย์ผ่านเมริเดียนของผู้ สังเกตในแต่ละวัน ๘. อธิบายเวลาสุริยคติปานกลาง และการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก ๙. อธิบายมุมห่างที่สัมพันธ์กับตาแหน่งในวงโคจร และอธิบายเชื่อมโยงกับตาแหน่งปรากฏของดาวเคราะห์ที่สังเกต ได้จากโลก
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๘
๑o. สืบค้นข้อมูล อธิบายการสารวจอวกาศ โดยใช้กล้องโทรทรรศน์ในช่วงความยาวคลื่นต่าง ๆ ดาวเทียม ยาน อวกาศ สถานีอวกาศ และนาเสนอแนวคิดการนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีอวกาศ มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันหรือใน อนาคต ๑๑. สืบค้นข้อมูล ออกแบบ และนาเสนอกิจกรรมการสังเกตดาวบนท้องฟูาด้วยตาเปล่าและ/หรือกล้องโทรทรรศน์ รวม ๑๑ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๕๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๑๒๓๑ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต กิจกรรม STEM ปัญหาที่พบเจอในชีวิตประจาวัน แนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้แก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ไขปัญหา การ ออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยใช้กระบวนการโครงงาน stem Science Literacy, Mathematics Literacy, Technology Literacy, Engineering Literacy เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จากประสบการณ์ ตรงทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวันและก่อเกิด นวัตกรรมแบบใหม่ ผลการเรียนรู้ ๑.สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการทาง STEM ๒.สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้แก้ปัญหา ในด้านวิทยาศาสตร์ ๓.สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ๔.สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอนการทาโครงงานคณิตศาสตร์ ๕.เลือกเทคนิควิธีออกแบบการแก้ไขปัญหา ๖.วิเคราเลือกเทคนิควิธีการออกแบบเชิงวิศวกรรม ๗.สืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยใช้เทคโนโลยี รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๑๒๓๒ วิทยาศาสตร์สะเต็ม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต วางแผนและดาเนินการแก้ไขปัญหา ทดสอบประเมินผลและปรับปรุง นาเสนอวิธีการแก้ไข โดยใช้กระบวนการโครงงาน stem Science Literacy, Mathematics Literacy, Technology Literacy, Engineering Literacy เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถฝึกทักษะกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม จากประสบการณ์ ตรงทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจาวันและก่อเกิด นวัตกรรมแบบใหม่ ผลการเรียนรู้ ๑.วางแผนและดาเนินการแก้ไขปัญหา ๒.ทดสอบประเมินผลและปรับปรุง ๓.นาเสนอวิธีการแก้ไข รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๘๑ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับสัณฐานวิทยาของพืช ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด และลักษณะวิสัยของพืชใน สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและพืชศึกษา บันทึกข้อมูลของพืชศึกษาในเอกสาร ก.๗-๐๐๓ เรียนรู้ถึงพิษภัยของพืชในท้องถิ่น และความสาคัญของพืชต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ศึกษาเกี่ยวกับการเก็บรักษาพันธุ์พืชและการเก็บตัวอย่างพืชในสวน พฤกษศาสตร์โรงเรียนและพืชศึกษา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม และเกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช ผลการเรียนรู้ ๑. สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับสัณฐานวิทยาและลักษณะวิสัยของพืช ได้แก่ ราก ลาต้น ใบ ดอก ผล เมล็ด ๒. สารวจตรวจสอบและสืบค้นข้อมูลของพืชศึกษา เพื่อบันทึกลงในเอกสาร ก.๗-๐๐๓ ๓. สืบค้นข้อมูล อภิปราย เกี่ยวกับพิษภัยของพืชในท้องถิ่นและความสาคัญของพืชต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ๔. ทาการเก็บรักษาพันธุ์พืชและการเก็บตัวอย่างพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและพืชศึกษา ๕. สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาพืชศึกษา โดยสรุปแนวทางเพื่อนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต และ เขียนรายงานผลการศึกษาพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและพืชศึกษาได้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ว๓๐๒๘๒ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาวงจรชีวิตของชีวภาพ รวมทั้งข้อมูลการเปลี่ยนแปลง ความแตกต่างด้านรูปลักษณ์ คุณสมบัติและพฤติกรรม แล้วนามาเปรียบเทียบตนเองกับชีวภาพรอบกาย เพื่อประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล และการ อภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมที่เหมาะสม และเกิดจิตสานึกในการอนุรักษ์ พันธุกรรมพืช ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายลักษณะทางชีววิทยา รู้วงจรชีวิตของพืช ๒. สืบค้นข้อมูลที่ได้จากการเรียนรู้ และวิเคราะห์เปรียบเทียบกับชีวิต ๓. จัดเก็บเป็นฐานข้อมูลในการเรียนรู้ทางนิเวศวิทยา ๔. องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ธรรมชาติแห่งชีวิต โดยสรุปแนวทางเพื่อนาไปสู่การประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต และเขียนรายงานผลการศึกษาพืชในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและพืชศึกษาได้ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๓
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๔
รหัสวิชา ส ๒๑๑๐๑ ส ๒๑๑๐๒ ส ๒๒๑๐๑ ส ๒๒๑๐๒ ส ๒๓๑๐๑ ส ๒๓๑๐๒ ส ๒๑๑๑๑ ส ๒๑๑๑๒ ส ๒๒๑๑๑ ส ๒๒๑๑๒ ส ๒๓๑๑๑ ส ๒๓๑๑๒ ส ๒๑๒๔๑ ส ๒๑๒๔๒ ส ๒๒๒๔๓ ส ๒๒๒๔๔ ส ๒๓๒๔๕ ส ๒๓๒๔๖ ส ๓๑๑๐๑ ส ๓๑๑๐๒ ส ๓๒๑๐๑ ส ๓๒๑๐๒ ส ๓๓๑๐๑ ส ๓๓๑๐๒ ส ๓๑๑๑๑ ส ๓๑๑๑๒ ส ๓๒๑๑๑ ส ๓๒๑๑๒ ส ๓๓๑๑๑ ส ๓๓๑๑๒ ส ๓๑๒๔๑
โครงสร้างกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๖๐ ๑.๕ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ ๖๐ ๑.๕ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ ๖๐ ๑.๕ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔ ๖๐ ๑.๕ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ ๖๐ ๑.๕ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖ ๖๐ ๑.๕ ประวัติศาสตร์ ๑ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๒ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๓ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๔ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๕ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๖ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๓๑ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๓๒ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๓๓ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๓๔ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๓๕ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๓๖ ๒๐ ๐.๕ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ๔๐ ๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ ๔๐ ๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ ๔๐ ๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๔ ๔๐ ๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ ๔๐ ๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๖ ๔๐ ๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๒ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๓ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๔ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๕ ๒๐ ๐.๕ ประวัติศาสตร์ ๖ ๒๐ ๐.๕ หน้าที่พลเมือง ๔๑ ๒๐ ๐.๕
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
พื้นฐาน
พื้นฐาน เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๕
ส ๓๑๒๔๒ ส ๓๒๒๔๓ ส ๓๒๒๔๔ ส ๓๓๒๐๑ ส ๓๓๒๐๒ ส ๓๐๒๐๑ ส ๓๐๒๐๒ ส ๓๐๒๐๓ ส ๓๐๒๐๔ ส ๓๐๒๐๕ ส ๓๐๒๐๖ ส ๓๐๒๐๗ ส ๓๐๒๐๘ ส ๓๐๒๐๙ ส ๓๐๒๑๐ ส ๓๐๒๑๑ ส ๓๐๒๑๒ ส ๓๐๒๑๓ ส ๓๐๒๑๔ ส ๓๐๒๑๕ ส ๓๐๒๑๖
หน้าที่พลเมือง ๔๒ หน้าที่พลเมือง ๔๓ หน้าที่พลเมือง ๔๔ ประวัติศาสตร์โลก ๑ ประวัติศาสตร์โลก ๒ ศาสนาเปรียบเทียบ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจอาเซียน เศรษฐศาสตร์ตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภูมิศาสตร์ประเทศไทย รอบรู้วิชาสังคม สิทธิมนุษยชน เหตุการณ์ป๎จจุบัน พุทธสาวก พุทธสาวิกา กฎหมายน่ารู้ การบริหารจิต การปกครองท้องถิ่น อารยธรรมโบราณ ศาสนพิธี ศาสนาสากล อาเซียนศึกษา
๒๐ ๒๐ ๒๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑ ๑ ๑ ๑
๔๐
๑
๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๖
ส ๒๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ การสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมในสังคมไทยรวมทั้งการพัฒนาตนและครอบครัว พุทธประวัติตั้งแต่ประสูติจนถึง บาเพ็ญทุกรกิริยาหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด (ประวัติหลวงพ่อหอม) พุทธคุณ และข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔หรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด การพัฒนาจิต เพื่ อการเรียนรู้และการดาเนินชีวิต ด้ว ยวิธีคิดแบบโยนิโ ส มนสิการคือวิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณ – โทษ และทางออก หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญป๎ญญาด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กาหนด หลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เหตุผลความจาเป็นที่ทุกคนต้องศึกษาเรียนรู้ศาสนาอื่นๆ ปฏิบัติตน ต่อศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์ต่างๆ บาเพ็ญประโยชน์ต่อ ศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถื อ จริยวัตรของสาวกเพื่อเป็น แบบอย่างในการประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อสาวกของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อ บุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด จัดพิธีกรรม และปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ถูกต้อง ประวัติ ความสาคัญ และ ปฏิบัติตนในวันสาคัญทางศาสนาที่ ตนนับถือ ตามที่กาหนด ได้ถูกต้องกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของ บุคคล ความสามารถของตนเองในการทาประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ คุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นป๎จจัยในการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดีหรืออาจนาไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน การเคารพในสิทธิของตนเองและผู้อื่น หลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับป๎จจุบันโดยสังเขป บทบาทการถ่วงดุลของอานาจ อธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับป๎จจุบัน บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับป๎จจุบัน ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิต กระบวนการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ใช้ทักษะชีวิต ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เห็นคุณค่าและ นาไปพัฒนาแก้ป๎ญหาของตนเองและครอบครัว ใช้ในการดารงชีวิตแบบพอเพียงและดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม มีวินัย และมีจิต สาธารณะในสังคม ภาคภูมิใจในความเป็นไทย เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอัน มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๑/๑ ,ส ๑.๑ ม.๑/๒ ,ส ๑.๑ ม.๑/๓ ,ส ๑.๑ ม.๑/๔ ,ส ๑.๑ ม.๑/๕ ,ส ๑.๑ม.๑/๖ , ส ๑.๑ ม.๑/๗ , ส ๑.๑ ม.๑/๘ ,ส ๑.๑ ม.๑/๙ ,ส ๑.๑ ม.๑/๑๐ ,ส ๑.๑ ม.๑/๑๑ ส ๑.๒ ม.๑/๑ ,ส ๑.๑ ม.๑/๒ ,ส ๑.๑ ม.๑/๓ ,ส ๑.๑ ม.๑/๔ ,ส ๑.๑ ม.๑/๕ ส ๒.๑ ม.๑/๑ ,ส ๒.๑ ม.๑/๒ ,ส ๒.๑ ม.๑/๓, ส ๑.๑ ม.๑/๔ ส ๒.๒ ม.๑/๑ ,ส ๑.๑ ม.๑/๒ ,ส ๑.๑ ม.๑/๓ รวมทั้งหมด ๒๓ ตัวชีว้ ัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคน ในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ ความเป็นมาหลักการและความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงต่อสังคมไทย บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลาง ยกตัวอย่างที่ สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ ป๎จจัยที่มีอิทธิพลต่อการกาหนด อุปสงค์และอุปทาน ผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางป๎ญญาลักษณะทาง กายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใช้ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูล พิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูด และลองจิจูด) เส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวัน เวลาของ โลก สาเหตุการเกิดภัยพิบัติของทวีปเอเชีย ทวีป ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย สารวจและระบุทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคมในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ป๎จจัยทางกายภาพและป๎จจัยทางสังคมที่มี ผลต่อทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีป เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ประเด็นป๎ญหาจาก ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ที่ เกิ ด ขึ้ น ในทวี ป เอเชีย ทวี ป ออสเตรเลี ย และโอเชี ย เนี ย แนวทางการจั ด การภั ย พิ บั ติ และการจัด การทรั พยากรและ สิ่งแวดล้อมในทวีปเอเชีย ทวีป ออสเตรเลีย และโอเชียเนียอย่างยั่งยืน โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนคิดวิเคราะห์ กระบวนการทางสังคม สื บค้นข้อมูล จัดการความรู้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ป๎ญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัย รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะเห็นคุณค่าและมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน รหัสตัวชี้วัด ส ๓.๑ ม.๒/๑, ส ๓.๑ ม.๒/๒, ส ๓.๑ ม.๒/๓ , ส ๓.๑ ม.๒/๔ ส ๓.๒ ม.๒/๑ ,ส ๓.๒ ม.๒/๒, ส ๓.๒ ม.๒/๓, ส ๓.๒ ม.๒/๔ ส ๕.๑ ม.๒/๑, ส ๕.๑ ม.๒/๒ ส ๕.๒ ม.๒/๑, ส ๕.๒ ม.๒/๒, ส ๕.๒ ม.๒/๓, ส ๕.๒ ม.๒/๔ รวมทั้งหมด ๑๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย อธิบาย การเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ เพื่อนบ้าน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดก ของชาติ ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม พุทธประวัติ หรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง เล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด โครงสร้างและสาระสังเขปของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ ธรรมคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด การพัฒนาจิตเพื่อการ เรียนรู้และดาเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิ ตและเจริญป๎ญญาด้วยอานาปานสติ หรือ ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือเพื่อการดารงตนอย่างเหมาะสมใน กระแสความเปลี่ยนแปลงของโลก ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ มรรยาทของความ เป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กาหนด ศาสนพิธี คาสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทางศาสนา ศาสนพิธีพิธีกรรมตามแนวปฏิบัติ ของศาสนาอื่น ๆ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ใน ฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท ความสาคัญ และความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ความคล้ายคลึงและ ความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียเพื่อ นาไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน กระบวนการในการตรากฎหมาย ข้อมูล ข่าวสารทางการเมืองการปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยป๎จจุบัน โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน นาไปพัฒนาชุมชนและสังคม ศรัทธา ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ยอมรับแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆเพื่อนาไปสู่การยอมรับเข้าใจซึ่ง กันและกัน มีวินัย และมีจิตสาธารณะในสังคม ภาคภูมิใจในความเป็นไทย เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๒/๑, ส ๑.๑ ม.๒/๒ ,ส ๑.๑ ม.๒/๓ ,ส ๑.๑ ม.๒/๔, ส ๑.๑ ม.๒/๕, ส ๑.๑ ม.๒/๖ , ส ๑.๑ ม.๒/๗, ส ๑.๑ ม.๒/๘ ส ๑.๒ ม.๒/๑,ส ๑.๒ ม.๒/๒ ,ส ๑.๒ ม.๒/๓ ,ส ๑.๒ ม.๒/๔, ส ๑.๒ ม.๒/๕ ส ๒.๑ ๒/๑, ส ๒.๑ม.๒/๒ ,ส ๒.๑ ม.๒/๓, ส ๒.๑ ม.๒/๔ ส ๒.๒ ม.๒/๑, ส ๒.๒ ม.๒/๒ รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๖๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย อธิบาย เปรียบเทียบ ป๎จจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออม ป๎จจัยการผลิตสินค้าและ บริการ และป๎จจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ แนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ การพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย การกระจายของ ทรัพยากร ในโลกที่ส่งผลต่อ ความสั มพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การแข่งขันทางการค้าในประเทศและ ต่างประเทศส่งผลต่อคุณภาพสินค้า ปริมาณการผลิต และ ราคาสินค้า ลักษณะทางกายภาพของทวีปยุโรป และทวีป แอฟริกา โดยใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูล มาตราส่วน ทิศ และสัญลักษณ์ สาเหตุการเกิดภัยพิ บัติ ของทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ป๎จจัยทางกายภาพและ ป๎จจัยทางสังคมที่มีผลต่อทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ประเด็นป๎ญหาจาก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา แนวทางการจัดการภัย พิบัติและการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา อย่างยั่งยืน โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ป๎ญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัย มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าและมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รหัสตัวชี้วัด ส ๓.๑ ม.๒/๑,ส ๓.๑ ม.๒/๒, ส ๓.๑ ม.๒/๓, ส ๓.๑ ม.๒/๔ ส ๓.๒ ม.๒/๑, ส ๓.๒ ม.๒/๒, ส ๓.๒ ม.๒/๓, ส ๓.๒ ม.๒/๔ ส ๕.๑ ม.๒/๑, ส ๕.๑ ม.๒/๒, ส ๕.๑ ม.๒/๓ ส ๕.๒ ม.๒/๑, ส ๕.๒ ม.๒/๒, ส ๕.๒ ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๑๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๐
ส ๒๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย เปรียบเทียบ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ความส าคั ญของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ ตนนับ ถือในฐานะที่ช่ ว ยสร้ างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุ ขแก่ โลก ความสาคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน พุทธ ประวัติจากพระพุทธรูปปางต่างๆหรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด แบบอย่างการดาเนินชีวิตและข้อคิดจาก ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่ กาหนด สังฆคุณและข้อธรรมสาคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด หลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียมพร้อมสาหรับการทางานและการมี ครอบครัว การพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และดาเนินชีวิ ตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิดแบบอริยสัจและวิธีคิดแบบ สืบสาวเหตุป๎จจัยหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญป๎ญญาด้วย อานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ความแตกต่างและยอมรับวิถีการดาเนินชีวิตของศาสนิกชนในศาสนา อื่นๆ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาตามที่กาหนด หน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี ศาสนพิธี พิธีกรรม ประวัติวันสาคัญทางศาสนาตามที่กาหนด แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ แนวทางในการธารงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ ความแตกต่างของการกระทาความผิดระหว่างคดีอาญาและคดีแพ่ง การ ปกปูองคุ้มครองผู้อื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม วัฒนธรรมไทยและ เลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม แนวคิดในการดารงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ที่ใช้ในยุ คป๎จ จุ บั น ระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆที่มี การปกครองระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบับป๎จจุบันในมาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วม และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ป๎ญหาที่ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดการรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ศรัทธา ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย ประพฤติปฏิบัติเพื่อเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๓/๑, ส ๑.๑ ม.๓/๒, ส ๑.๑ ม.๓/๓ , ส ๑.๑ ม.๓/๔ , ส ๑.๑ ม.๓/๕ , ส ๑.๑ ม.๓/๖ , ส ๑.๑ ม.๓/๗ , ส ๑.๑ ม.๓/๘, ส ๑.๑ ม.๓/๙ , ส ๑.๑ ม.๓/๑๐ ส ๑.๒ ม.๓/๑, ส ๑.๒ ม.๓/๒, ส ๑.๒ ม.๓/๓ ,ส ๑.๒ ม.๓/๔ ,ส ๑.๒ ม.๓/๕ ,ส ๑.๒ ม.๓/๖ , ส ๑.๒ ม.๓/๗ ส ๒.๑ ม.๓/๑ ,ส ๒.๑ ม.๓/๒, ส ๒.๑ ม.๓/๓ ,ส ๒.๑ ม.๓/๔ ,ส ๒.๑ ม.๓/๕ ส ๒.๒ ม.๓/๑, ส ๒.๒ ม.๓/๒ ,ส ๒.๒ ม.๓/๓, ส ๒.๒ ม.๓/๔ รวมทั้งหมด ๒๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ การกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงที่มีต่อเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและ ประเทศ ป๎ญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ นโยบาย และ กิจกรรมทาง เศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อบุ คคล กลุ่มคน และประเทศชาติ ความสาคัญของ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะ เงินเฟูอ เงินฝืด ผลเสียจากการว่างงาน และแนวทางแก้ป๎ญหา สาเหตุและ วิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ โดย เลือกใช้แผนที่เฉพาะเรื่องและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์สืบคันข้อมูล สาเหตุการเกิดภัยพิบัติของทวีปอเมริกาเหนือ และทวีป อเมริกาใต้ ทาเลที่ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และสังคมในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้ ป๎จจัยทางกายภาพและ ป๎จจัยทางสังคมที่มีผลต่อทาเลที่ ตั้งของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้ สืบค้น ประเด็น ป๎ญหาจากปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีป อเมริกาใต้ แนวทางการจัดการภัยพิบัติ และการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้ อย่างยั่งยืน ความร่วมมือระหว่างประเทศที่มีผลต่อการ จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา และใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิต มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าและมีจิตสานึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รหัสตัวชี้วัด ส๓.๑ ม.๓/๑ , ส๓.๑ ม.๓/๒ , ส๓.๑ ม.๓/๓ ส๓.๒ ม.๓/๑ , ส๓.๒ ม.๓/๒ , ส๓.๒ ม.๓/๓ , ส๓.๒ ม.๓/๔ ,ส๓.๒ ม.๓/๕ , ส๓.๒ ม.๓/๖ ส๕.๑ ม.๓/๑ , ส๕.๑ ม.๓/๒ ส๕.๒ ม.๓/๑ , ส๕.๒ ม.๓/๒ , ส๕.๒ ม.๓/๓ , ส๕.๒ ม.๓/๔ , ส๕.๒ ม.๓/๕ รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๒
ส ๒๑๑๑๑ ประวัติศาสตร์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย ความสาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ เทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษา ประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ศึกษาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจและ การเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความสาคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ เกิดการรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๑ ม.๑/๑ ,ส ๔.๑ ม.๑/๒ ,ส ๔.๑ ม.๑/๓ ส ๔.๒ ม ๑/๑ , ส ๔.๑ ม.๑/๒ รวมทั้งหมด ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๑๑๑๒ ประวัติศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนประเทศไทย รัฐโบราณ การสถาปนาอาณาจักรสุ โขทัย พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทันด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย ภูมิป๎ญญาสมัยสุโขทัย ความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดการรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ภาคภูมิใจในความเป็นไทย เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๓ ม.๑/๑ ,ส ๔.๓ ม.๑/๒ , ส ๔.๓ ม.๑/๓ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๒๑๑๑ ประวัติศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความน่าเชื่อถือของหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่าง ๆ ความแตกต่างระหว่างความ จริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิ ดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลง และบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตน เกิดการรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๑ ม.๒/๑, ส ๔.๑ ม.๒/๒, ส ๔.๑ ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส ๒๒๑๑๒ ประวัติศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย ความสาคัญของแหล่ง อารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรีในด้านต่างๆ ป๎จจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคง และความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา ภูมิป๎ญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมิป๎ญญา ดังกล่าว ต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทยและเห็น ผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตน รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๒ ม.๒/๑ , ส ๔.๒ ม.๒/๒ ส ๔.๓ ม.๒/๑ , ส ๔.๓ ม.๒/๒ , ส ๔.๓ ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๖
ส ๒๓๑๑๑ ประวัติศาสตร์ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทียบ เรื่องราวเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์ได้อย่ างมีเหตุผลตามวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราว พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาค ต่างๆในโลก ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นาไปสู่ความร่วมมือ และความขัดแย้ง ในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ตลอดจนความ พยายามในการขจัดป๎ญหาความขัดแย้ง โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ การรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รัก ความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ เห็นผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทาง ประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตน รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๑ ม.๓/๑, ส ๔.๑ ม.๓/๒ ส ๔.๒ ม.๓/๑, ส ๔.๒ ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๗
ส๒๓๑๑๒ ประวัติศาสตร์ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ป๎จจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทย ในสมัยรัตนโกสินทร์ ภูมิป๎ญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ วัฒนธรรมพื้นบ้าน และอิทธิพลต่อการพัฒนาชาติไทย บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้ นคว้าเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทยและเห็น ผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตน รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๓ ม.๓/๑, ส ๔.๓ ม.๓/๒, ส ๔.๓ ม.๓/๓, ส ๔.๓ ม.๓/๔ รวมทั้งหมด ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๘
ส๒๑๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๓๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
มีส่วนร่วมอนุรักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออกถึง ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญา ไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และ เผยแพร่พระบรมราโชวาทในเรื่องมีเหตุผล รอบคอบ หลักการทรงงานในเรื่องการใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติการปลูกปุาใน ใจคน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสังคม การตัดสินใจโดยใช้ เหตุผล มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการ ตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตอดทน ขยันหมั่นเพียร ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม อยู่ร่วมกันอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในสังคมพหุวัฒนธรรมด้วยการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น มี ส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ในเรื่องการทะเลาะวิวาท ความคิดเห็นไม่ตรงกัน ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม และกระบวนการสร้าง เจตคติ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนาและเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มี ส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ๓.เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๔. เป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอยู่ร่วมกัน อย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๙. มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๗๙
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๐
ส๒๑๒๔๒ หน้าที่พลเมือง ๓๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
มีส่วนร่วมอนุรักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออกถึง ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญา ไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และ เผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องมีเหตุผล รอบคอบ หลักการทรงงาน ในเรื่องการใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติการปลูกปุาใน ใจคน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม การตัดสินใจโดยใช้ เหตุผล มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการ ตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริตอดทน ขยันหมั่นเพียร ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม อยู่ร่วมกันอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในสังคมพหุวัฒนธรรม ด้วยการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น มี ส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ในเรื่องการทะเลาะวิวาท ความคิดเห็นไม่ตรงกัน ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม และกระบวนการสร้าง เจตคติ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละต่อสังคม ๓.เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๔. เป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ ๘. ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอยู่ร่วมกัน อย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๙. มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๑
รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๒
รหัสวิชา ส๒๒๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๓๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออกและแนะนาผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่า อนุรักษ์และสืบสาน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและแนะนาผู้อื่นให้มีการปฏิบัติตนที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาทในเรื่องการมีสติ ความขยัน อดทน หลักการทรง งานในเรื่องภูมิสังคม ขาดทุนคือกาไรและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยในเรื่องการติดตามข่าวสารบ้านเมือง ความกล้าหาญ ทางจริยธรรม การเป็นผู้นาและการเป็นสมาชิกที่ดี มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจต่อกิจกรรมของห้องเรียนและ โรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ และรู้ทันข่าวสาร ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองใน เรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ใฝุหาความรู้ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยคานึงถึง ความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในเรื่องการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดู หมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธีเกี่ยวกับการ ละเมิดสิทธิ การใช้ของส่วนรวมด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยใน ตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม และกระบวนการสร้าง เจตคติ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกและแนะนาผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๔. เป็นแบบอย่างและแนะนาผู้อื่นให้มีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรม ต่าง ๆ และรู้ทันข่าวสาร ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและก ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๓
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๔
ส ๒๒๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๓๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์มารยาทไทย ในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออกและแนะนาผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่า อนุรักษ์และสืบสาน ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและแนะนาผู้อื่นให้มีการปฏิบัติตนที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์ และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีสติ ความขยัน อดทน หลักการทรง งาน ในเรื่องภูมิสังคม ขาดทุนคือกาไรและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการติดตามข่าวสารบ้านเมือง ความกล้าหาญ ทางจริยธรรม การเป็นผู้นาและการเป็นสมาชิกที่ดี มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจต่อกิจกรรมของห้องเรียนและ โรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่าง ๆ และรู้ทันข่าวสาร ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ใฝุหาความรู้ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยคานึงถึง ความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและการพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในเรื่องการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดู หมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธีเกี่ยวกับการ ละเมิดสิทธิ การใช้ของส่วนรวม ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยใน ตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม และกระบวนการสร้าง เจตคติ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกและแนะนาผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละต่อสังคม ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ และสืบสานขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๔. เป็นแบบอย่างและแนะนาผู้อื่นให้มีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรม ต่าง ๆ และรู้ทันข่าวสาร ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาความขัดแย้งโดยสันติวิธี ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๕
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๖
ส ๒๓๒๔๕ หน้าที่พลเมือง ๓๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
มีส่วนร่วมแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์และยกย่องผู้มีมารยาทไทยในเรื่องการแสดงความเคารพ การสนทนาการแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออก แนะนาผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็น คุณค่า อนุรักษ์ สืบสานและประยุกต์ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยใน ตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการ กระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง และมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาทในเรื่องการเสียสละ ความซื่อสัตย์ หลักการทรง งานในเรื่องศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ แก้ป๎ญหาที่จุดเล็ก ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ การมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจต่อกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบ ข้อมูล ตรวจสอบการทาหน้าที่ของบุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต ขยันหมั่นเพียร ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง เห็นคุณค่าของ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติท่ามกลางความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคต่างๆ ของโลกในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในเรื่องการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดง กิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการปูองกันป๎ญหาความขัดแย้งใน เรื่องทัศนคติ ความคิด ความเชื่อ ชู้สาว ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวนิ ัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจ ปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างค่านิยม และกระบวนการสร้างเจตคติเพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติ วิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วม แนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์และยกย่องผู้มีมารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนาผู้อื่น และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละ ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และประยุกต์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๔. เป็นแบบอย่างและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทาหน้าที่ของบุคคล เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการปูองกันป๎ญหาความขัดแย้ง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๗
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๘
ส๒๓๒๔๖ หน้าที่พลเมือง ๓๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
มีส่วนร่วม แนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์ และยกย่องผู้มีมารยาทไทย ในเรื่องการแสดงความเคารพ การสนทนาการแต่ง กาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออก แนะนาผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และประยุกต์ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มี วินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรั บผลที่เกิดจาก การกระทาของตนเอง ปฏิ บั ติ ต นเป็ น แบบอย่ า ง และมี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด กิ จ กรรมที่ แ สดงออกถึ ง ความรั ก ชาติ ยึ ด มั่ น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องการเสียสละ ความซื่อสัตย์ หลักการ ทรงงาน ในเรื่องศึกษาข้อมูลอย่า งเป็นระบบ แก้ป๎ญหาที่จุดเล็ก ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ การมี ส่วนร่วมในกิจกรรมการเลือกตั้งมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจต่อกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบ ข้อมูล ตรวจสอบการทาหน้าที่ของบุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต ขยันหมั่นเพียร ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง เห็ น คุ ณ ค่ า ของ การอยู่ ร่ ว มกัน อย่ า งสั น ติ ท่า มกลางความหลากหลายทางสั ง คมวั ฒ นธรรมในภู มิภ าคต่ า ง ๆ ของโลก ในเรื่ องวิ ถีชี วิ ต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ในเรื่องการเคารพซึ่งกันและ กัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการปูองกันป๎ญหา ความขัดแย้งในเรื่องทัศนคติ ความคิด ความเชื่อ ชู้สาว ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการ สร้ า งความตระหนั ก กระบวนการสร้ า งค่ า นิ ย ม และกระบวนการสร้ า งเจตคติ เพื่ อให้ ผู้ เรี ยนมี ลั กษณะที่ ดี ของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วม แนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์ และยกย่องผู้มีมารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนาผู้อื่น และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ ๓. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และประยุกต์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๔. เป็นแบบอย่างและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๕. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๖. ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๗. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทาหน้าที่ของบุคคล เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ๘. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๙. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการปูองกันป๎ญหาความขัดแย้ง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๘๙
รวมทั้งหมด ๑๐ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๐
ส๓๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ สังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า หรือสังคมสมัยของศาสดาที่ ตนนั บถือ พระพุทธเจ้าในฐานะเป็น มนุษย์ผู้ ฝึกตนได้อย่างสู งสุดในการตรัสรู้ การก่ อตั้ง วิธีการสอนและการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา หรือวิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด พุทธประวัติด้านการบริหาร และการธารงรักษา ศาสนา หรือ วิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด พุทธประวัติด้านการบริหาร และการธารงรักษาศาสนา หรือ วิเคราะห์ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กาหนด การพัฒนาศรัทธา และป๎ญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา หรือ แนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กาหนด หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์ หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับ ถือตามที่กาหนด การ ฝึกฝนและพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และการมุ่งอิสรภาพในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ กาหนด พระพุทธศาสนาว่าเป็นศาสตร์แห่งการศึกษาซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุป๎จจัยกับ วิธีการแก้ป๎ญหา หรือแนวคิด ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชน์และสันติภาพบุคคล สังคม และโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน แนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด ความสาคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศึกษาที่ สมบูรณ์ การเมืองและสันติภาพหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กาหนด หลักธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักคา สอนของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนเป็น ศาสนิกชนที่ดีต่อสาวก สมาชิกในครอบครัว และคนรอบข้าง ศาสนพิธี พิธีกรรม ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ หลวงพ่อหอม ศึกษา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก ความสาคัญของโครงสร้างทาง สังคม การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ปฏิบัติตนและมีส่วนสนับสนุนให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติ เพื่อเป็น พลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย และเสนอแนวทางพัฒนา ความจาเป็น ที่ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรมสากล โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ใช้ทักษะชีวิต ศรัทธา ยึดมั่น ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ มีวินัย และมีจิตสาธารณะในสังคม ภาคภูมิใจในความเป็นไทย เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนร่วม ทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๕, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๘, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๙, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๐, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๑, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๒, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๓ ส ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ส ๑.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๑.๒ ม. ๔-๖/๓ ส ๒.๑, ม.๔-๖/๑, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๒, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ส ๒.๑ ม.๔-๖/๕, รวมทั้งหมด ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๑
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ การกาหนดราคาและค่าจ้างในระบบเศรษฐกิจ ความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มี ต่อเศรษฐกิจสังคมของประเทศ ความสาคัญของระบบสหกรณ์ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและประเทศ ป๎ญหา ทางเศรษฐกิจ ในชุมชนและเสนอแนวทางแก้ไข ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา กระบวนการทาง ภูมิศาสตร์และนาภูมิสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรม ของมนุษย์ในการสร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิตของท้องถิ่นทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆของโลกและเป็ นความสาคัญ ของของสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี ต่ อ การด ารงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ สถานการณ์ ส าเหตุ แ ละผลกระทบของการเปลี่ ย นแปลงด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคของโลก โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ไขป๎ญหา กระบวนการสืบค้นหา ความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนักด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆของโลก เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิต มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าและมีจิตสานึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน รหัสตัวชี้วัด ส ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ส ๓.๑ ม.๔-๖/๓, ส ๓.๑ ม.๔-๖/๔ ส ๕.๑ ม.๔-๖/๓ ส ๕.๒ ม.๔-๖/๑, ส ๕.๒ ม.๔-๖/๒ รวมทั้งหมด ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๓
ส๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ข้อคิดและแบบอย่างการดาเนินชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่กาหนด คุณค่าและความสาคัญของการสังคายนา พระไตรปิฎก หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ และการเผยแผ่ หลักธรรม จริยธรรม และกาหนดเปูาหมาย บทบาทการดาเนินชีวิตเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และอยู่ร่วมกันเป็นชาติ อย่างสมานฉันท์ ประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ คุณค่าและความสาคัญของค่านิยม จริยธรรมที่เป็นตัวกาหนดความเชื่อและ พฤติกรรมที่แตกต่างกันของศาสนิกชนศาสนาต่างๆ เพื่อขจัดความขัดแย้งและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข การพัฒนา จิตและพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ หรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ป๎ญหา การเมืองที่สาคัญในประเทศ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขการเมืองการปกครองที่นาไปสู่ความเข้าใจ และการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ ความสาคัญและ ความจาเป็นที่ต้องธารงรักษาไว้ซึ่ง การปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย การปฏิบัติ การศึกษาด้วยตนเอง การปฏิบัติ การ ใช้เทคโนโลยี และการใช้ทักษะชีวิต เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้เป็นประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่เหมาะสมรักชาติศาสน์กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงมุ่งมั่นในการทางานรักความเป็น ไทยและมีจิตสาธารณะสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพลโลก รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม. ๔-๖/๑๔, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๕, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๖, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๗ , ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑๘ ,ส ๑.๑ ม.๔๖/๑๙ ส ๒.๒ ม.๔-๖/๑ ,ส ๒.๒ ม.๔-๖/๒ , ส ๒.๒ ม.๔-๖/๓ รวมทั้งหมด ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๔
ส๓๒๑๐๒ สังคมศึกษา ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ บทบาทของรั ฐ บาลด้านนโยบายการเงิน การคลั ง ในการพัฒ นาเศรษฐกิจของประเทศ การ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพื้นที่ในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากป๎จจัยทางภูมิศาส ตร์ ลักษณะทางกายภาพซึ่งทาให้เกิดป๎ญหาหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและ ภูมิภาคต่างๆของโลก โดยใช้ กระบวนการทางภูมิศ าสตร์ กระบวนการกลุ่ ม กระบวนการคิด วิเคราะห์ การอภิปราย การปฏิบั ติ การศึกษาด้วยตนเอง การปฏิบัติ การใช้เทคโนโลยี และการใช้ทักษะชีวิต เพือ่ ให้ความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ในด้านความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่า มีจิตสานึก ตระหนักและเข้าใจถึงป๎ญหาสิ่งแวดล้อมของโลกและให้ความร่วมมือในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รหัสตัวชี้วัด ส ๓.๒,ม.๕-๖/๑ ส ๕.๑,ม.๔-๖/๑, ส ๕.๑ม.๔-๖/๑ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๕
ส๓๓๑๐๑ สังคมศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สวดมนต์ แผ่เมตตา และบริหารจิตและเจริญป๎ญญาตามหลักสติป๎ฏฐาน หรือตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมสาคัญในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของศาสนาอื่นๆ เสนอแนวทางการจัด กิจกรรม ความร่วมมือของทุกศาสนาในการแก้ป๎ญหาและพัฒนาสังคม หลักธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทาง ศาสนา และเทศกาลที่สาคัญของศาสนาที่ตนนับถือ การธารงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ อันส่งผลถึงการพัฒนาตน พัฒนาชาติ และโลก การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิต กระบวนการนาเสนอ เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน ใช้ทักษะชีวิต ศรัทธา ยึด มั่น ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ มีวินัย และมีจิตสาธารณะในสังคม ภาคภูมิใจในความเป็นไทย เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ส่วนร่วมทางการเมือง การปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติสุข รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๐, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๑, ส ๑.๑ ม.๔-๖/๒๑ ส ๑.๒ ม. ๔-๖/๔, ส ๑.๒ ม.๔- ๖/๕ ส ๒.๒ ม.๔-๖/๔ รวมทั้งหมด ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๖
ส๓๓๑๐๒ สังคมศึกษา ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ผลกระทบของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีผลต่อสังคมไทย ผลดี ผลเสียของ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในรูปแบบต่าง ๆ มาตรการปูองกันและแก้ไขป๎ญหา กฎหมาย นโยบายด้าน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม บทบาทขององค์การที่เกี่ยวข้อง และการประสานความร่วมมือทั้งประเทศและระหว่างประเทศ แนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา ใช้เทคโนโลยีในการ ค้นหาข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ นามาใช้เพื่อการแก้ป๎ญหาได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสานึกในการปูองกันแก้ไขป๎ญหา ปฏิบัติตามกฎหมาย และนโยบายสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อการดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน รหัสตัวชี้วัด ส ๓.๒ ม.๔-๖/๒, ส ๓.๒ ม.๔-๖/๓ ส ๕.๒, ม.๔-๖/๓, ส ๕.๒ ม.๔-๖/๔ รวมทั้งสิ้น ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส๓๑๑๑๑ ประวัติศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ เวลาและ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ องค์ความรู้ใหม่ ทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทย โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เกิดความ ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทยและ เห็นผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติ ตน รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ส ๔.๓ ม.๔-๖/๑ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๘
ส๓๑๑๑๒ ประวัติศาสตร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย ป๎จจัยที่ส่งเสริมความสร้างสรรค์ภูมิป๎ญญา ไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลต่อสังคมไทยในยุคป๎จจุบัน ผลงานของบุคคลสาคัญทั้งชาวไทยและต่างประเทศ ที่มีส่วน สร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย และประวัติศาสตร์ไทย โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทยและตระหนัก ในบทบาทพระมหากษัตริย์ไทย ภาคภูมิใจในผลงานบุคคลสาคัญ มีจิตอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๓ ม. ๔-๖/๒, ส ๔.๓ ม.๔-๖/๓, ส ๔.๓ ม.๔-๖/๔ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑๙๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส๓๒๑๑๑ ประวัติศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความสาคัญของเวลาและ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ องค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ อิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และการ ติดต่อระหว่างโลกตะวันออกกับโลกตะวันตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโลกและท้องถิ่นของระยอง(อู่ ตะเภา) อาเภอบ้านฉาง โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรู้ ความเข้ า ใจ ความตระหนั ก และเห็ น ผลกระทบจากเหตุ ก ารณ์ ส าคั ญ ที่ ท าให้ โ ลกเกิ ด การ เปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตนและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๑ ม.๔-๖/๑, ส ๔.๑ ม.๔-๖/๒ ส ๔.๒ ม.๔-๖/๑ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส๓๒๑๑๒ ประวัติศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เข้าสู่โลก สมัยป๎จจุบัน ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย สถานการณ์ของ โลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักและเห็นผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้โลกเกิดการ เปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตนและรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ รักความเป็นไทย รหัสตัวชี้วัด ส ๔.๓ ม.๔-๖/๒ , ส ๔.๓ ม.๔-๖/๓, ส ๔.๓ ม.๔-๖/๔ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๔๑ หน้าที่พลเมือง ๔๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์และเผยแพร่มารยาทไทยสู่สาธารณะในเรื่องการแสดงความเคารพการสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะเห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์และเผยแพร่ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทยปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองในเรื่องความอดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์ และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดตารา บริการรวมที่จุดเดียว ใช้อธรรมปราบอธรรม และหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหา ความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิ บั ติ ต นเป็ น แบบอย่ า งและส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้ ผู้ อื่ น เป็ น พลเมื อ งดี ต ามวิ ถี ป ระชาธิ ป ไตย ในเรื่ อ ง การเป็ น ผู้ น าและการเป็ น สมาชิ ก ที่ ดี การใช้ สิ ท ธิ และหน้ า ที่ การใช้ เ สรี ภ าพอย่ า งรั บ ผิ ด ชอบ ความกล้ า หาญ ทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง และการ รู้เท่าทันสื่อ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบาย สาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหา ความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกันด้วยการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความอดทน ใฝุหาความรู้ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง สันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์ และเผยแพร่มารยาทไทยสู่สาธารณะ ๒. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ และเผยแพร่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญา ๓. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๔. เป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๖. ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ ๗. มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ ๘. รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ ๙. คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ๑๐. ยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม ๑๑. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๑๒. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมผลการเรียนรู้ ๑๒ ข้อ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๔๒ หน้าที่พลเมือง ๔๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์และเผยแพร่มารยาทไทยสู่สาธารณะ ในเรื่องการแสดงความเคารพการ สนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะเห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์และเผยแพร่ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทยปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความอดทน ใฝุหาความรู้ และตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์ และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบ วินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดตารา บริการรวมที่จุดเดียว ใช้อธรรมปราบอธรรม และ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหา ความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่อง การเป็นผู้นาและการเป็นสมาชิกที่ดี การใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ความกล้าหาญ ทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง และการ รู้เท่าทันสื่อ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบาย สาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหา ความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกันด้วยการเคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งป๎น ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความอดทน ใฝุหาความรู้ และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่าง สันติ จัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมและแนะนาผู้อื่นให้อนุรักษ์ และเผยแพร่มารยาทไทยสู่สาธารณะ ๒. เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน ประยุกต์ และเผยแพร่ ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิป๎ญญาไทย ๓. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๔. เป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕. เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๖. ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ ๗. มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ ๘. รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ ๙. คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ๑๐. ยอมรับในอัตลักษณ์และเคารพความหลากหลายในสังคมพหุวัฒนธรรม ๑๑. เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และพึ่งพาซึ่งกันและกัน ๑๒. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมผลการเรียนรู้ ๑๒ ข้อ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๓
ส๓๐๒๔๓ หน้าที่พลเมือง ๔๓ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
แสดงออก แนะนาผู้อื่น และยกย่องบุคคลที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยใน ตนเองในเรื่องใฝุหาความรู้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์ และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดตารา บริการ รวมที่จุดเดียว ใช้อธรรมปราบอธรรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่อง การเป็นผู้นาและการเป็นสมาชิกที่ดี การใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ความกล้าหาญ ทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง และการ รู้เท่าทันสื่อ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบาย สาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหา ความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง และสร้างเครือข่ายปูองกันป๎ญหาความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต อดทน และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. แสดงออก แนะนาผู้อื่น และยกย่องบุคคลที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ ๒. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๓. เป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๕. ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ ๖. มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ ๗. รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ ๘. คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ๙. มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธีและสร้างเครือข่ายการปูองกันป๎ญหาความขัดแย้ง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมผลการเรียนรู้ ๑๐ ข้อ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๔
ส๓๐๒๔๔ หน้าที่พลเมือง ๔๔ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
แสดงออก แนะนาผู้อื่น และยกย่องบุคคลที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยใน ตนเองในเรื่องใฝุหาความรู้ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง ประยุกต์ และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีระเบียบวินัย ความสามัคคี หลักการทรงงาน ในเรื่องระเบิดจากข้างใน ไม่ติดตารา บริการ รวมที่จุดเดียว ใช้อธรรมปราบอธรรม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความ ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่อง การเป็นผู้นาและการเป็นสมาชิกที่ดี การใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่างรับผิดชอบ ความกล้าหาญ ทางจริยธรรม การเสนอแนวทางการแก้ป๎ญหาสังคมต่อสาธารณะ การติดตามและประเมินข่าวสารทางการเมือง และการ รู้เท่าทันสื่อ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมือง ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบาย สาธารณะที่ตนสนใจ มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อคาดการณ์เหตุการณ์ ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝุหา ความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธี ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับความขัดแย้ง และสร้างเครือข่ายปูองกันป๎ญหาความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเองในเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริต อดทน และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทาของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการ แก้ป๎ญหากระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีลักษณะที่ดีของคนไทย ภาคภูมิใจในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง มีวิจารณญาณในการเลือกตั้ง และการวิพากษ์นโยบายสาธารณะ อยู่ ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ สามารถจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี และมีวินัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. แสดงออก แนะนาผู้อื่น และยกย่องบุคคลที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละ ๒. เป็นแบบอย่าง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และสนับสนุนให้ผู้อื่นแสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๓. เป็นแบบอย่าง ประยุกต์และเผยแพร่ พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔. เป็นแบบอย่างและส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้อื่นเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ๕. ประยุกต์ใช้กระบวนการประชาธิปไตยในการวิพากษ์ประเด็นนโยบายสาธารณะที่ตนสนใจ ๖. มีส่วนร่วมและตัดสินใจเลือกตั้งอย่างมีวิจารณญาณ ๗. รู้ทันข่าวสารและรู้ทันสื่อ ๘. คาดการณ์เหตุการณ์ล่วงหน้าบนพื้นฐานของข้อมูล ๙. มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาเมื่อเกิดความขัดแย้งโดยสันติวิธีและสร้างเครือข่ายการปูองกันป๎ญหาความขัดแย้ง ๑๐. ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง รวมผลการเรียนรู้ ๑๐ ข้อ หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๕
ส๓๓๒๐๑ ประวัติศาสตร์โลก ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ องค์ความรู้ใหม่ทาง ประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล อารยธรรมของโลกยุคโบราณ ลุ่มน้าไทกริส -ยูเฟติสอารยธรรมลุ่มน้าไนล์อารยธรรม ลุ่มน้าสินธุ อารยธรรมลุ่มน้าฮวงโห และอารธรรมกรีก-โรมัน การติดต่อระหว่างโลกตะวันตกและโลกตะวันออก อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างโลกตะวันตก และโลกตะวันออกที่มีต่อกัน โดยใช้กระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักถึงความสาคัญของอารยธรรมในโลกที่มีผลต่อมนุษยชาติ เกิดความ ใฝุเรียนรู้ เห็นผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนว ทางการปฏิบัติตน ผลการเรียนรู้ ๑. ศึกษา วิเคราะห์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ องค์ความรู้ใหม่ ทางประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ ประเด็นสาคัญของประวัติศาสตร์ไทยและ ประวัติศาสตร์สากล ๒. ศึกษาอารยธรรมของโลกยุคโบราณ ลุ่มน้าไทกริส-ยูเฟติสอารยธรรมลุ่มน้าไนล์อารยธรรม ลุ่มน้าสินธุ อารย ธรรมลุ่มน้าฮวงโห และอารธรรมกรีก-โรมัน ๓. วิเคราะห์การติดต่อระหว่างโลกตะวันตกและโลกตะวันออก ๔. วิเคราะห์อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างโลกตะวันตกและโลกตะวันออกที่มีต่อกัน ๕. มีความตระหนักถึงความสาคัญของอารยธรรมในโลกที่มีผลต่อมนุษยชาติ รวมผลการเรียนรู้ ๕ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๓๒๐๒ ประวัติศาสตร์โลก ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในป๎จจุบัน ระบอบฟิวดัล การฟื้นฟู ศิลปะวิทยาการ สงครามครู เสด การสารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การปฏิวัติทางการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวัติอุตสาหกรรม จักรวรรดิ นิยม ลัทธิชาตินิยม ความร่วมมือและความขัดแย้งของมนุษยชาติในโลก สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ การ เปรียบเทียบเหตุการณ์ระหว่างประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล โดยใช้ ก ระบวนการทางประวั ติ ศ าสตร์ ใ นการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล บั น ทึ ก การสรุ ป ผล กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ กระบวนการแก้ป๎ญหา การใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักถึงความสาคัญของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ เกิดความใฝุเรียนรู้ เห็น ผลกระทบ จากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนวทางการปฏิบัติตน ผลการเรียนรู้ ๑. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกาและเอเชีย ๒. วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญต่างๆที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกในป๎จจุบัน ระบอบฟิวดัล การฟื้นฟู ศิลปะ วิทยาการ สงครามครูเสด การสารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การปฏิวัติทางการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิวัติ อุตสาหกรรม จักรวรรดินิยม ลัทธิชาตินิยม ๓. วิเคราะห์ความร่วมมือ และความขัดแย้งของมนุษยชาติในโลก ๔. วิเคราะห์สถานการณ์ของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ที่ส่งผลกระทบกับสังคมโลก ๕. การเปรียบเทียบเหตุการณ์ระหว่างประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์สากล ๖. มีความตระหนักถึงความสาคัญของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ รวมผลการเรียนรู้ ๖ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๑ ศาสนาเปรียบเทียบ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความเป็นมา ความหมาย องค์ประกอบ ความสาคัญของศาสนา คัมภีร์ของศาสนา ประวัติความเป็นมาของศาสนาคริสต์ อิสลาม พราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ หลักคาสอนของศาสนาต่างๆที่ส่งเสริมให้อยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข เปูาหมายของหลักคาสอนที่มีความสอดคล้องกัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้าและปฏิบัติจริง ฝึกใช้คาถามประกอบคาอธิบาย กระบวนการคิด วิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ป๎ญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของหลักคาสอน ข้อคิดไปไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต เพื่อสร้าง ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้นับถือศาสนาที่แตกต่างจากตนได้อย่างสันติสุข มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน และ สามารถอยู่ร่วมกับผู้นับถือศาสนาที่แตกต่างจากตนได้อย่างสันติสุข ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมา ความหมาย องค์ประกอบ ความสาคัญของศาสนา คัมภีร์ของศาสนา ที่ตนนับถือได้ ๒. อธิบายประวัติความเป็นมาของศาสนาคริสต์ อิสลาม พราหมณ์-ฮินดู และศาสนาสิกข์ได้ ๓. อธิบายหลักคาสอนของศาสนาต่างๆที่ส่งเสริมให้อยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้ ๔. วิเคราะห์เปูาหมายของหลักคาสอนที่มีความสอดคล้องกัน ๕. ปฎิบัติตนตามคาสอน และนาคาสอนไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตกับศาสนาที่ตนนับถือ ๖. วิเคราะห์และเปรียบเทียบกับศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกันเพื่อประโยชน์ในการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข ๗. วิเคราะห์ถึงประโยชน์และความจาเป็นของการมีอยู่ของศาสนาต่างๆต่อสังคมไทย เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๒ ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ข้อมูลภูมิศาสตร์ ด้านภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจ กลุ่ม ประชากรเชื้อชาติ วัฒนธรรม และลักษณะทั่วไปของประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ลักษณะต่างๆของประเทศไทยกับ ประเทศสมาชิกอาเซียน เปูาหมายและวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียน สถานะและบทบาท ของแต่ละประเทศ บนเวที อาเซียนตั้งแต่การเข้าร่วมเป็นสมาชิก ความสัมพันธ์ระหว่างกันในประเทศกลุ่มอาเซียน โ ดยการใ ช้ วิ ธี ก ารทาง ภู มิ ศ าสตร์ ระบบสารส นเทศ และกระบว นกา ร สื บ ค้ น จากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่างๆ กระบวนการพัฒนาค่านิยม กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ สร้างความคิดรวบยอด โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่ เหมาะสม เพื่อให้เกิดค่านิยม ตระหนัก เจตคติ ในการเป็นสมาชิกที่ดี การเข้ามามีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่ง ของประชาคมอาเซียน รู้แนวโน้มทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางประชาสังคมวัฒนธรรม ปรับตนในการเป็น พลเมืองที่ดีภายใต้กฎบัตรของอาเซียน สามารถดารงชีวิตในยุคโลกาภิวัฒน์ ได้อย่างเหมาะสมและใช้ชีวิต อย่างมีความสุข ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจข้อมูลภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ ระบบเศรษฐกิจ กลุ่มประชากร และลักษณะทั่วไปของประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซียน ๒. เปรียบเทียบลักษณะต่างๆของประเทศไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียน ๓. บอกเปูาหมายและวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งอาเซียนได้ ๔. มีความรู้เข้าใจ สถานะและบทบาท ของแต่ละประเทศบนเวทีอาเซียนตั้งแต่การเข้าร่วมเป็น สมาชิก ความสัมพันธ์ระหว่างกันในประเทศกลุ่มอาเซียน ๕. ตระหนัก เจตคติ ในการเป็นสมาชิกที่ดี การเข้ามามีส่วนร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมอาเซียน รวมผลการเรียนรู้ ๕ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๐๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๓ เศรษฐศาสตร์ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความหมาย ความสาคัญของเศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐานพร้อมทั้งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ โดยสามารถประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงให้สอดคล้องกับหลักเศรษฐศาสตร์เพื่อ สร้างรายได้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับป๎จจุบัน การพัฒนาท้องถิ่น (EEC) ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยใช้ ก ระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ กระบวนการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล กระบวนการทางสั ง คม กระบวนการปฏิ บั ติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ป๎ญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดารงชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินัย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคัญ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๒. วิเคราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๓. อธิบายแนวคิดทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริได้ ๔. นาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ๕. อธิบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับป๎จจุบันได้ ๖. วิเคราะห์การพัฒนาท้องถิ่นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ๗. วิเคราะห์ความหมาย ความสาคัญของหลักเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน ๘. เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมผลการเรียนรู้ ๘ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๔ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สืบคัน เกี่ยวกับวิกฤตภาวะโลกร้อน มาตรการการปูองกัน ป๎ญหาทั้งระดับภายใน ประเทศและ ระดับนานาชาติ ความสาคัญของสภาพแวดล้อมและสาเหตุที่ก่อให้เกิดป๎ญหาต่อสภาพแวดล้อมที่ส่งผล ต่อความเป็นอยู่ของ มวลมนุษย์โลกแต่ละทวีป สภาพทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมพร้อมทั้งวิธีการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สภาพแวดล้อมของชุมชนท้องถิ่นให้อยู่แบบยั่งยืน โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ป๎ญหา เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเห็นคุณค่าของทรัพยากรตามธรรมชาติ สภาพแวดล้อม และสามารถ นา เสนอแนวทางการอนุรักษ์ธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับโลก ผลการเรียนรู้ ๑. ศึกษาและวิเคราะห์เกี่ยวกับวิกฤตภาวะโลกร้อน มาตรการการปูองกัน ป๎ญหาทั้งระดับ ภายในประเทศและ ระดับนานาชาติ ๒. ศึกษาความสาคัญของสภาพแวดล้อมและสาเหตุที่ก่อให้เกิดป๎ญหาต่อสภาพแวดล้อมที่ส่งผล ต่อความเป็นอยู่ ของมวลมนุษย์โลกแต่ละทวีป ๓. ศึกษาสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมพร้อมทั้งวิธีการอนุรักษ์ทรัพยากรและ สภาพแวดล้อมของ ชุมชนท้องถิ่นให้อยู่แบบยั่งยืน ๔. ศึกษา สืบค้นและนาเสนอโครงการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมให้ อยู่แบบยั่งยืน รวมผลการเรียนรู้ ๔ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๕ ภูมิศาสตร์ประเทศไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ที่ตั้ง อาณาเขต ลักษณะภูมิอากาศ ลักษณะทางเศรษฐกิจ ลักษณะทางสังคม ประชากรและวัฒนธรรมของประเทศไทย แผนที่ประเทศไทย โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ป๎ญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้ เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็น คุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน มีวินั ย มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าและมีจิตสานึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลการเรียนรู้ ๑. วิเคราะห์สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทย ๒. ศึกษาที่ตั้ง อาณาเขต ของประเทศไทย ๓. วิเคราะห์ลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทย ๔. วิเคราะห์ลักษณะทางเศรษฐกิจของประเทศไทยได้ ๕. วิเคราะห์ลักษณะทางสังคม ประชากรและวัฒนธรรมของประเทศไทยได้ ๖. ศึกษาแผนที่ประเทศไทย ๗. เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รวมผลการเรียนรู้ ๗ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๖ รอบรู้สังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและค้นคว้า สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม สาระเศรษฐศาสตร์ สาระประวัติศาสตร์ สาระ ๕ ภูมิศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการเชิงเหตุผล การตอบคาถาม กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียน วิชาสังคม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. ผู้เรียนมีความรู้ในสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๒. ผู้เรียนมีความรู้ในสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ๓. ผู้เรียนมีความรู้ในสาระเศรษฐศาสตร์ ๔. ผู้เรียนมีความรู้ในสาระประวัติศาสตร์ ๕. ผู้เรียนมีความรู้ในสาระภูมิศาสตร์ ๖. ผู้เรียนแสวงหาความรู้รอบรู้อันเป็นประโยชน์แก่ผู้เรียนเพิ่มมากขึ้น ๗. ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่จากหัวข้อที่ผู้เรียนให้ความสนใจ ๘. ผู้เรียนเข้าใจและสามารถตอบคาถามซึ่งสามารถนามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ รวมผลการเรียนรู้ ๘ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๗ สิทธิมนุษยชน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความหมาย ความสาคัญ หลักการของสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน บทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับป๎จจุบันเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน บทบาทองค์กรระหว่างประเทศด้านสิทธิ มนุษยชน ป๎ญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการเชิงเหตุผล การตอบคาถาม กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียน มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่ งมั่น ในการทางาน มีจิตสาธารณะ มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาสิทธิมนุษยชน ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมาย ความสาคัญ หลักการของสิทธิมนุษยชนได้ ๒. อธิบายปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนได้ ๓. วิเคราะห์บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับป๎จจุบันเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนได้ ๔. วิเคราะห์บทบาทองค์กรระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนได้ ๕. วิเคราะห์ป๎ญหาสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยได้ ๖. มีส่วนร่วมในการแก้ป๎ญหาสิทธิมนุษยชน รวมผลการเรียนรู้ ๖ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๘ เหตุการณ์ปัจจุบัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณ์สาคัญในโลก สาเหตุและผลกระทบของสถานการณ์สาคัญในโลก ความร่วมมือของ มนุษยชาติในการแก้ป๎ญหา โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการเชิงเหตุผล การตอบคาถาม กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้มาใช้ในชีวิตประจาวัน เกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียน มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น ในการทางาน มีจิตสาธารณะ ตระหนักในความร่วมมือของมนุษยชาติในการแก้ป๎ญหา ผลการเรียนรู้ ๑.วิเคราะห์สถานการณ์สาคัญของโลกได้ ๒.วิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบของสถานการณ์สาคัญในโลกได้ ๓.ตระหนักในความร่วมมือของมนุษยชาติในการแก้ป๎ญหา รวมผลการเรียนรู้ ๓ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๐๙ พุทธสาวก – พุทธสาวิกา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ แบบอย่างการดาเนินชีวิต การประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตของพุทธสาวก – พุทธ สาวิกา เรื่องราวในชาดก โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการเชิงเหตุผล การตอบคาถาม กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในการประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตของพุทธสาวก – พุทธ สาวิกา นาแบบอย่างคุณธรรมของศาสนิกชนตัวอย่างไปใช้การดาเนินชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑.รู้และเข้าใจแบบอย่างการดาเนินชีวิตของพุทธสาวก – พุทธสาวิกา ๒.วิเคราะห์แบบอย่างการดาเนินชีวิตของพุทธสาวก – พุทธสาวิกาได้ ๓.ตระหนักในการประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวิตของพุทธสาวก – พุทธสาวิกา ๔.วิเคราะห์เรื่องราวในชาดกได้ ๕.นาแบบอย่างคุณธรรมของศาสนิกชนตัวอย่างไปใช้การดาเนินชีวิต รวมผลการเรียนรู้ ๕ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๑๐ กฎหมายน่ารู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว นิติกรรมสัญญา กฎหมายอาญา กฎหมาย รัฐธรรมนูญและรัฐธรรมนูญฉบับป๎จจุบัน กฎหมายการรับราชการทหาร กฎหมายภาษี กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค โดยใช้กระบวนการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการแก้ป๎ญหา กระบวนการเชิงเหตุผล การตอบคาถาม กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในความสาคัญของกฎหมาย นาหลักของกฎหมายไปใช้การดาเนินชีวิต มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น ในการทางาน มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายหลักกฎหมายแพ่งที่เกี่ยวกับตนองและครอบครัวได้ ๒.รู้และเช้าใจเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา ๓.อธิบายหลักกฎหมายอาญาได้ ๔.วิเคราะห์โครงสร้างรัฐธรรมนูญฉบับป๎จจุบันได้ ๕.รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายการรับราชการทหาร ๖.อธิบายกฎหมายภาษีได้ ๗.อธิบายกฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภคได้ ๘.ตระหนักในความสาคัญของกฎหมาย รวมผลการเรียนรู้ ๘ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๑๑ การบริหารจิต กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ความหมาย ความสาคัญการบริหารจิตและเจริญป๎ญญาตามหลักสติป๎ฏฐาน ทักษะการบริหารจิต และเจริญป๎ญญาตามหลักสติป๎ฏฐาน วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ม ศรัทธา ยึดมั่น ปฏิบัติ ตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑.รู้และเข้าใจความหมายและความสาคัญการบริหารจิตและเจริญป๎ญญาตามหลักสติป๎ฏฐาน ๒.มีทักษะการบริหารจิตและเจริญป๎ญญาตามหลักสติป๎ฏฐาน ๓.นาวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการไปใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ รวมผลการเรียนรู้ ๓ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๑๒ อารยธรรมโบราณ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อารยธรรมโบราณของมนุษยชาติ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมกรี ก – โรมัน อารยธรรมลุ่มน้าสินธุ อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมจีน อารยธรรมในซีกโลกตะวันออก โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล บันทึก สรุปผลการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา การใช้ เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักถึงความสาคัญของอารยธรรมในโลกที่มีผลต่อมนุษยชาติ เกิดความ ใฝุเรียนรู้ เห็นผลกระทบจากเหตุการณ์สาคัญที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและบทเรียนทางประวัติศาสตร์มาเป็นแนว ทางการปฏิบัติตน ผลการเรียนรู้ ๑.วิเคราะห์อารยธรรมโบราณของมนุษยชาติได้ ๒.วิเคราะห์การสร้างอายธรรมเมเมโสโปเตเมียได้ ๓.วิเคราะห์อารยธรรมอียิปต์ได้ ๔.วิเคราะห์ความสาคัญของอารยธรรม กรีก – โรมันได้ ๕. วิเคราะห์ความสาคัญของอารยธรรมสินธุได้ ๖.วิเคราะห์ความเป็นมาของอารยธรรมอินเดียได้ ๗. วิเคราะห์ความสาคัญของอารยธรรมจีนได้ ๖.วิเคราะห์อารยธรรมในซีกโลกตะวันออกได้ ๗.ตระหนักในความสาคัญของแหล่งอารยธรรมในโลก รวมผลการเรียนรู้ ๗ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๑๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๑๓ ศาสนพิธี กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ศาสนพิธี พิธีกรรม ของศาสนาที่นับถือ ศาสนพิธีในพระพุทธศาสนา พิธีกรรมสาคัญของศาสนา พุทธ หลักปฏิบัติตนในศาสนพิธีและพิธีกรรมทางศาสนา โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา และการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การสาธิต เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนตามหลักศาสนพิธีและพิธีกรรมไปประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้นับถือศาสนาที่แตกต่างจากตนได้อย่างสันติสุข ผลการเรียนรู้ ๑.รู้และเข้าใจเกี่ยวกับ ศาสนพิธี พิธีกรรม ของศาสนาที่นับถือ ๒.วิเคราะห์ศาสนพิธีในพระพุทธศาสนาได้ ๓.วิเคราะห์พิธีกรรมสาคัญของศาสนาพุทธได้ ๔.ปฏิบัติตนตามหลักปฏิบัติตนในศาสนพิธีและพิธีกรรมทางศาสนาได้อย่างถูกต้อง รวมผลการเรียนรู้ ๔ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ส๓๐๒๑๔ ศาสนาสากล กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา ศาสดา คัมภีร์ นิกาย พิธีกรรมสาคัญของศาสนาเต๋า ศาสนาขงจื๊อ ศาสนาชินโต ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาเชน พระพุทธศาสนา ศาสนาสิข ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนายู ดาห์ คริสต์ศาสนา และศาสนาอิสลาม หลักธรรมที่ควรศึกษาของศาสนาเต๋า ศาสนาขงจื๊อ ศาสนาชินโต ศาสนาพราหมณ์ฮินดู ศาสนาเชน พรระพุทธศาสนา ศาสนาสิข ศาสนาโซโรอัสเตอร์ ศาสนายูดาห์ คริสต์ศาสนา และศาสนาอิสลาม ที่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ป๎ญหา เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาความรู้ ข้อคิดไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิต นาไปพัฒนาแก้ป๎ญหาของตนเอง และครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์ สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ และสามารถอยู่ร่วมกับผู้นับถือศาสนาที่แตกต่างจากตนได้อย่างสันติสุข ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายประวัติความเป็นมา ศาสดา คัมภีร์ นิกาย พิธีกรรมของศาสนาสาคัญได้ถูกต้อง ๒. ยกตัวอย่างหลักธรรมคาสอนของศาสนาสาคัญที่ควรศึกษาเรียนรู้ ๓. ตระหนักถึงความสาคัญ ประโยชน์ของศาสนา และอยู่ร่วมกันกับผู้นับถือศาสนาที่แตกต่างจากตนได้อย่างสันติ สุข รวมผลการเรียนรู้ ๓ ข้อ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๑
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๒
รหัสวิชา พ ๒๑๑๐๑ พ ๒๑๑๐๒ พ ๒๒๑๐๑ พ ๒๒๑๐๒ พ ๒๓๑๐๑ พ ๒๓๑๐๒ พ ๒๑๒๐๑ พ ๒๑๒๐๒ พ ๒๒๒๐๑ พ ๒๒๒๐๒ พ ๒๓๒๐๑ พ ๒๓๒๐๒ พ ๓๑๑๐๑ พ ๓๑๑๐๒ พ ๓๒๑๐๑ พ ๓๒๑๐๒ พ ๓๓๑๐๑ พ ๓๓๑๐๒
โครงสร้างวิชากลุ่มสาระการเรียนสุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ ๔๐ ๑.๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ๔๐ ๑.๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๓ ๔๐ ๑.๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๔ ๔๐ ๑.๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๕ ๔๐ ๑.๐ สุขศึกษาและพลศึกษา ๖ ๔๐ ๑.๐ ฟุตบอล ๑ ๔๐ ๑.๐ ฟุตบอล ๒ ๔๐ ๑.๐ ตระกร้อ ๑ ๔๐ ๑.๐ ตระกร้อ ๒ ๔๐ ๑.๐ วอลเลย์บอล ๑ ๔๐ ๑.๐ วอลเลย์บอล ๒ ๔๐ ๑.๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) สุขศึกษา ๑ ๒๐ ๐.๕ พลศึกษา ๑ ๒๐ ๐.๕ สุขศึกษา ๒ ๒๐ ๐.๕ พลศึกษา ๒ ๒๐ ๐.๕ สุขศึกษา ๓ ๒๐ ๐.๕ พลศึกษา ๓ ๒๐ ๐.๕
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
พื้นฐาน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต เข้ า ใจการเจริ ญเติ บ โตและพั ฒ นาการของวั ย ทางรกและวั ย ก่ อ นเรี ย น ตลอดจนป๎จ จั ย ที่ มีผ ลกระทบต่ อ การ เจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ช่วงวัยต่าง ๆ รู้การเจริญเติบ โตและพัฒนาการของตนเอง พัฒนาการทางเพศ และอิทธิพลของเพื่อน ต่อการดารงชีวิตและ ค่านิยมทางเพศ พฤติกรรมทางเพศ ความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์ความเคลียดและสุขภาพ เข้าใจพฤติกรรมสุขภาพและการปูองกันโรค ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต รู้หลักการออกกาลัง กายและการพักผ่อน ตลอดจนอาหารสาหรับวัยรุ่น รู้หลักความปลอดภัยในชีวิตพฤติกรรมเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิต และการแก้ป๎ญหาเมื่อเผชิญภัยอันตราย รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ พ ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ พ ๔.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ ๒๑๑๐๑ พลศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและวิเคราะห์ในเรื่องการเพิ่มพูนความสามารถในการเคลื่อนไหว และการออกกาลังกาย และการเล่น โดยใช้กระบวนการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ลงมือฝึกปฏิบัติทั้งแบบกลุ่มและแบบเดี่ยว มีการบันทึก จากการปฏิบัติ เพื่อนาข้อมูลไปวิเคราะห์และออกแบบหรือสร้างทางเลือกเพื่อนาไปพัฒนาการปฏิบัติให้ดีขึ้นกว่าเดิม เห็นคุณค่าและความสาคัญของการเคลื่อนไหวที่มีผลต่อการทากิจกรรมประจาวัน การออกกาลังกายและเล่นกีฬา ที่มีผลต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ จนเกิดค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ติดตัวผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการ สร้างเสริมสุขภาพของบุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๑/๑ พ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ รวม ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ ๒๑๑๐๒ พลศึกษา ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาวิเคราะห์การเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส และนันทนาการ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยและพัฒ นาการ ของผู้เรียน โดยใช้กระบวนการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และลงมือฝึกปฏิบัติทักษะทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม มี การบันทึกผลการปฏิบัติ เพื่อนาข้อมูลไปวิเคราะห์และออกแบบหรือสร้างทางเลือกเพื่อนาไปพัฒ นาการปฏิบัติให้ดีขึ้น กว่าเดิม เกิดเป็นความรู้ติดตามผู้เรียนไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เห็น คุณ ค่า และความสาคัญ ของการเล่น กีฬ า หรือ การทากิจ กรรมนัน ทนาการในยามว่า งที่มีผ ลต่อ สุข ภาพ ร่า งกายและจิตใจ เกิด เป็น ค่านิย มและคุณ ลัก ษณะอันพึงประสงค์ติด ตัว ผู้เ รีย น ในการนาไปเป็น แนวทางสร้างเสริม สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๑/๑ พ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖ รวม ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ ๒๒๑๐๑ สุขศึกษา ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาพัฒ นาการในวัย รุ่ น วัย รุ่ น กับ เรื่ องเพศ หลั กการเลื อกใช้ผ ลิ ตภัณฑ์ และบริการทางสุ ขภาพ อิทธิพ ลของ เทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต ป๎ญหาสุขภาพจิต การ จัดการกับอารมณ์และความเครียด การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณ์ เสี่ยง และการปูองกันและหลีกเลี่ยงสถานการณ์คับขัน โดยให้ผู้เรียนเข้ากลุ่ม เพื่อศึกษาความรู้เพิ่มเติม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนาข้อมูลมาใช้วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ออกแบบหรือสร้างทางเลือกที่จะนาไปสู่การทาให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยเน้นการลงมือทาจริงจนเกิดเป็นความรู้ที่เกิดอยู่ในตัว ผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้แสดงออก เพื่อผลในการเจริญงอกงามก้าวหน้าขึ้นและสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เห็นคุณค่าและความสาคัญของการดูแลสุขภาพ เพื่อนาไปเป็นแนวทางการปฏิบัติตนในชี วิตประจาวัน เพื่อใช้ใน การดูแล รักษา และสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมในชีวิตประจาวัน รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ พ ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ พ ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗ พ ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๗
พ๒๒๑๐๑ พลศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาการสร้างเสริมให้มีสุขภาพดีด้วยการออกกาลังกายและเล่นกีฬา และหลักในการเล่นกีฬา โดยใช้กระบวนการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ลงมือฝึกปฏิบัติทั้งแบบกลุ่มและแบบเดี่ยวมีการบันทึกจากการ ปฏิบัติ เพื่อนาข้อมูลไปวิเคราะห์และออกแบบหรือสร้างทางเลือกเพื่อนาไปพัฒนาการปฏิบัติให้ดีขึ้นกว่าเดิม เห็นคุณค่าและ ความสาคัญของการเคลื่อนไหวที่มีผลต่อการทากิจกรรมประจาวัน การออกกาลังกายและเล่นกีฬาที่มีผลต่อสุขภาพร่างกายและ จิตใจ จนเกิดค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ติดตัวผู้เรียนเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพของบุคคลใน ครอบครัว ชุมชน และสังคม รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๓ พ ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕ รวม ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๘
พ๒๒๑๐๒ สุขศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาพัฒ นาการในวัย รุ่ น วัย รุ่ น กับ เรื่ องเพศ หลั กการเลื อกใช้ผ ลิ ตภัณฑ์ และบริการทางสุ ขภาพ อิทธิพ ลของ เทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ ความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจิต ป๎ญหาสุขภาพจิต การ จัดการกับอารมณ์และความเครียด การช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติด การหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงและสถาน การณ์ เสี่ยง และการปูองกันและหลีกเลี่ยงสถานการณ์คับขัน โดยให้ผู้เรียนเข้ากลุ่ม เพื่อศึกษาความรู้เพิ่มเติม เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นนาข้อมูลมาใช้วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล ออกแบบหรือสร้างทางเลือกที่จะนาไปสู่การทาให้ดีขึ้นกว่าเดิม โดยเน้นการลงมือทาจริงจนเกิดเป็ นความรู้ที่เกิดอยู่ในตัว ผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้แสดงออก เพื่อผลในการเจริญงอกงามก้าวหน้าขึ้นและสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เห็นคุณค่าและความสาคัญของการดูแลสุขภาพ เพื่อนาไปเป็นแนวทางการปฏิบัติตนในชีวิตประจาวัน เพื่อใช้ใน การดูแล รักษา และสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคมในชีวิตประจาวัน รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ พ ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ พ ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗ พ ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวม ๑๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๒๙
พ๒๒๑๐๒ พลศึกษา ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาการเล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล นันทนาการกับชีวิตประจาวัน และการพัฒนาสมรรถภาพทางกายโดยใช้ กระบวนการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และลงมือฝึกปฏิบัติทั้งแบบเดี่ยวและแบบกลุ่ม มีการบันทึกผลการปฏิบัติ เพื่อนาข้อมูลไปวิเคราะห์และออกแบบหรือสร้างทางเลือกเพื่อ นาไปพัฒนาการปฏิบัติให้ดีขึ้นกว่าเดิม เกิดเป็นความรู้ติดตาม ผู้เรียนไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เห็นคุณค่าและความสาคัญของการเล่นกีฬา หรือการทากิจกรรมนันทนาการในยามว่างที่มีผลต่อสุขภาพร่างกาย และจิตใจ เกิดเป็นค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ติดตัวผู้เรียน ในการนาไปเป็นแนวทางสร้า งเสริมสุขภาพของ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๒/๒, ม.๒/๔ พ ๓.๒ ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ พ ๔.๑ ม.๒/๗ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๒๓๑๐๑ สุขศึกษา ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติ ป๎ญญาแต่ละช่วงของชีวิต อิทธิพลและความ คาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น อนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม วิเคราะห์ อิทธิ พลและความคาดหวังของสั ง คมต่อการเปลี่ ยนแปลงของวัย รุ่น สื่ อโฆษณา ที่มี อิทธิ พลต่อ การ เจริญเติบโตและพัฒ นาการของวัยรุ่น ป๎จจัยที่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ สาเหตุและเสนอแนวทางปูองกัน แก้ไขความ ขัดแย้งในครอบครัวกาหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่าง ๆ โดยคานึง ถึงความประหยัดและคุณค่าทาง โภชนาการ เสนอแนวทางปูองกันโรคที่เป็นสาเหตุสาคัญของการเจ็บปุวยและการตายของคนไทย เห็นคุณค่าและนาประโยชน์ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน มีคุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๒๓๑๐๑ พลศึกษา ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพและรู้จักการเล่นกีฬา กติกาการแข่งขัน ถูกต้อง มีมารยาทของการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดี นาหลักการทางวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวไปใช้ในการออกกาลังกายและเล่นกีฬาฟุตบอล ปูองกันตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมไปใช้ในสถานการณ์การเล่นได้อย่างเหมาะสม รู้จักการทดสอบสมรรถภาพทางกายและ พัฒ นาการของร่ างกาย เป็น แบบอย่างที่ดีส ามารถให้ คาแนะนาผู้ อื่นได้ เป็นผู้ มีระเบียบวินัยมุ่งมั่นในการทางานนาไป ประยุกต์ใช้ออกกาลังกายในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม เห็นคุณค่าการปฏิบัติตามสิทธิ กฎ กติกาการแข่งขันความปลอดภัยขณะเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาตามที่จัดอย่างมีน้า ใจ นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาและชื่นชมในสุนทรียภาพของการเป็นผู้ดูและผู้เล่น รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๓.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๔, ม.๓/๕ พ ๔.๑ ม.๓/๕ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๒๓๑๐๒ สุขศึกษา ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาการวางแผนการจัดเวลาในการออกกาลังกายการพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย การแก้ไข ความรุแรง วิเคราะห์ป๎จจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและแนวทางปูองกัน หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงและ ชัก ชวนเพื่ อนให้ ห ลี กเลี่ ย งการใช้ ความรุ น แรงในการแก้ ป๎ญ หาอิ ทธิ พลของสื่ อต่ อพฤติก รรมสุ ข ภาพและความรุ นแรง ความสัมพันธ์ของการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการเกิดอุบัติเหตุ แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี เห็ น คุณ ค่าของการนาความรู้ ไปใช้ ป ระโยชน์ ก่อให้ เกิดทัก ษะชีวิ ตในการดูแลสุ ขภาพตนเองและผู้ อื่นได้อย่า ง เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด พ ๔.๑ ม.๓/๓, ม.๓/๔ พ ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒ , ม.๓/๓, ม.๓/๔ , ม.๓/๕ รวม ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๒๓๑๐๒ พลศึกษา ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกกาลังกายเพื่อสุขภาพและรู้จักการเล่นกีฬา กติกาการแข่งขัน ถูกต้อง มีมารยาทของการเป็นผู้เล่นและผู้ดูที่ดี นาหลักการทางวิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหวไปใช้ในการออกกาลังกายและเล่นกีฬาวอลเล่ย์บอล รู้จักการทดสอบ สมรรถภาพทางกายและพัฒนาการของร่างกาย เป็นแบบอย่างที่ดีสามารถให้คาแนะนาผู้อื่นได้ เห็นคุณค่าการปฏิบัติตามสิทธิ กฎ กติกาการแข่งขันความปลอดภัยขณะเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาตามที่จัดอย่างมีน้า ใจ นักกีฬา มีจิตวิญญาณในการเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาและชื่นชมในสุนทรียภาพของการเป็นผู้ดูและผู้เล่น รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๓.๒ ม.๓.๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๔, ม.๓/๕ พ ๔.๑ ม.๓/๕ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม พ ๒๑๒๐๑ ฟุตบอล ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้พลศึกษาและสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาประวัติความเป็นมา และการพัฒนากีฬาฟุตบอลในและต่างประเทศ ความสาคัญของกีฬาฟุตบอล ความ ปลอดภัยและมารยาท การเป็นผู้เล่นและผู้ดูกีฬาฟุตบอล การเคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่ขั้นพื้นฐาน การเคลื่อนที่ในกีฬา ฟุตบอล การอบอุ่นร่างกาย การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ รูปแบบการเตรียมร่างกายก่อนเล่นฟุตบอล การปูองกันการบาดเจ็บใน นักฟุตบอล สมรรถภาพทางกายและเทคนิค และสมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬาฟุตบอล ทักษะการเล่นลูกด้วยเท้า หน้าอก ศีรษะ และมือ โดยใช้กระบวนการเล่นและดูกีฬาฟุตบอลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย กระบวนการเล่นและฝึกการ เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่พื้นฐานและเฉพาะในกีฬาฟุตบอล กระบวนการเล่นและฝึกการอบอุ่นร่างกาย การยืดเหยียด กล้ามเนื้อ รูปแบบการเตรียมร่างกายก่อนเล่นฟุตบอล การฝึกวิธีปูองกันการบาดเจ็บ การทดสอบและฝึกสมรรถภาพทาง กายพื้นฐาน สมรรถภาพทางกายเฉพาะกีฬาฟุตบอล การฝึกทักษะการเล่นลูกด้วยเท้า หน้าอก ศีรษะ และมือ เห็นคุณค่าของการเล่นกีฬาฟุตบอล การออกกาลังกาย การเป็นผู้เล่น และผู้ดูกีฬาที่ดี มีสมรรถภาพทางกายที่ดี การเป็นผู้เล่นที่มีความสามารถเชิงทักษะกีฬาฟุตบอลเป็นพื้นฐาน และมีเจตคติที่ต่อการนาไปประยุกต์ใช้เป็นประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันและการเป็นนักกีฬาฟุตบอล ผลการเรียนรู้ ๑. บรรยายถึงประวัติความเป็นมา และพัฒนาการของกีฬาฟุตบอลได้ ๒. ระบุความสาคัญของกีฬาฟุตบอล มีมารยาทในการเล่นกีฬาฟุตบอล และสามารถเล่นฟุตบอลได้อย่างปลอดภัย ๓. เคลื่อนไหวและเคลื่อนที่พื้นฐานของร่างกายในกีฬาฟุตบอลได้อย่างถูกต้อง ๔. ปฏิบัติการอบอุ่นร่างกาย การยืดเหยียดกล้ามเนื้อ การเตรียมร่างกายก่อนที่จะเล่นฟุตบอลด้วยวิธีการต่างๆ ได้ ๕. บอกและปฏิบัติตนในการปูองกันการบาดเจ็บในการเล่นฟุตบอลได้ ๖. บอกวิธีการและปฏิบัติวิธีการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ ๗. บอกความสาคัญของทักษะการเล่นลูกด้วยเท้า หน้าอก ศีรษะ และมือในกีฬาฟุตบอล ๘. แสดงทักษะการเล่นลูกด้วยเท้า หน้าอก ศีรษะ และมือได้ ๙. บอกวิธีการและฝึกทักษะการเล่นลูกด้วยเท้า หน้าอก ศีรษะ และมือ รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม พ ๒๑๒๐๒ ฟุตบอล ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้พลศึกษาและสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษากฎกติกาของกีฬาฟุตบอล ทักษะและเทคนิคในการเลี้ยงลูก การส่งลูกและการรับลูก การทาชิ่ง การโหม่ง การยิงประตูในรูปแบบต่างๆ การฝึกความอดทน การฝึกความแข็งแรง การฝึกความเร็ว หลักการที่ดีสาหรับนักกีฬา การฝึก เพื่อเล่นเป็นทีม การเปลี่ยนแกน การฉวยโอกาสรุกเร็ว การเล่นเกมรุกกับการเช็กล้าหน้า การเล่นเกมรุกกับมาร์กตัวต่อตัว การเล่นเกมรับ เมื่อคู่ต่อสู้ฉวยโอกาสรุกเร็วกับเกมการเล่น ๘ ต่อ ๘ การเช็กล้าหน้า การเล่นบีบไล่จุดมีบอล การเล่นเกมรับ แบบมาร์กคน การเล่นทีม และการแข่งขัน โดยใช้กระบวนการอธิบาย วิเคราะห์ สืบค้น สาธิต และปฏิบัติทักษะและเทคนิคในการเล่นกีฬาฟุตบอล รูปแบบ การฝึกความอดทน ความแข็งแรง ความเร็ว หลักการสาหรับนักกีฬา การเปลี่ยนแกน การเล่นเกมรุกและรับ การมาร์กตัว การเล่นทีม และการแข่งขัน เห็นคุณค่าของการเล่นกีฬาฟุตบอล การออกกาลังกาย การเป็นผู้เล่น และผู้ดูกีฬาที่ดี มีสมรรถภาพทางกายที่ดี การเป็นผู้เล่นที่มีความสามารถเชิงทักษะกีฬาฟุตบอลเป็นพื้นฐาน และมีเจตคติที่ต่อการนาไปประยุกต์ใช้เป็นประโยชน์ใน ชีวิตประจาวันและการเป็นนักกีฬาฟุตบอล ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายและปฏิบัติตามกฎกติกาของกีฬาฟุตบอลได้ ๒. ปฏิบัติตามเทคนิคการเลี้ยงลูก การส่งลูกและการรับลูก การทาชิ่ง การโหม่ง การยิงประตูในรูปแบบต่างๆ ได้ ๓. ปฏิบัติการฝึกตามแบบฝึกความอดทน ความแข็งแรง ความเร็วได้ ๔. อธิบายถึงหลักการที่ดีสาหรับนักกีฬาได้ ๕. ปฏิบัติวิธีการเปลี่ยนแกน การฉวยโอกาสรุก – รับ และการเช็กล้าหน้าได้ ๖. ปฏิบัติการเล่นเป็นทีม และการแข่งขันได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม พ ๒๒๒๐๑-๒ ตะกร้อ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาอธิบายหลักการบริหารร่างกาย ประวัติความเป็นมาของกีฬาตะกร้อ ประโยชน์การเล่นกีฬาตะกร้อ การ เล่นตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านใน การเล่นตะกร้อด้วยหลังเท้า การเล่นลูกด้วยศีรษะ การตั้งลูกตะกร้อ การส่งลูกตะกร้อ การเล่นทีมและกติกาการแข่งขัน จัดการเรียนรู้โดยการฝึกปฏิบัติจริง การนาความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการไปใช้ใน การเรียนรู้สิ่งต่างๆ และนาไปใช้อย่างสร้างสรรค์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งมีเจตคติที่ดีต่อกิจกรรมการเรียนสุขศึกษาและพล ศึกษา สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ มีความเพียรพยายามและมีวิจารณญาณ ใช้การวัดผลและการ ประเมินผลอย่างหลากหลาย ประเมินตามสภาพความเป็นจริง โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการเรียนรู้ด้วย ตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และมีทักษะใน ชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านความมีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการบริหารร่างกาย ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬาตะกร้อ และประโยชน์ของกีฬาตะกร้อ ๓. มีทักษะการเล่นตะกร้อด้วยข้างเท้าด้านใน หลังเท้า ศีรษะ ๔. มีทักษะการตั้งลูกตะกร้อ การส่งลูกตะกร้อ การเล่นเป็นทีมและกติกาการแข่งขัน ๕. สามารถนาความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และนาไปใช้อย่างสร้างสรรค์ใน ชีวิตประจาวัน ๖. สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และมีทักษะในชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านความ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม พ ๒๓๒๐๑-๒ วอลเล่ย์บอล ๑,๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึ ก ษา อธิ บ ายหลั ก การบริ ห ารร่ า งกาย ประวั ติ ค วามเป็ น มาของกี ฬ าวอลเลย์ บ อล ประโยชน์ ก ารเล่ น กี ฬ า วอลเลย์บอล มีทักษะขั้นพื้นฐานในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอลในเรื่องการส่งลูก การรับลูก การเสิร์ฟ การตบบอล การสกัดกั้น การเล่ น ทีม กฎกติกาการแข่งขัน ตลอดจนเข้าร่ ว มกิจกรรมนันทนาการ การให้ความร่ว มมือในการเล่ น การแข่งขัน มี สมรรถภาพทางกาย มีคุณธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีระเบียบวินัยจัดการเรียนรู้โดยการฝึกปฏิ บัติจริง การนา ความรู้ความคิด ทักษะกระบวนการไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ และนาไปใช้อย่างสร้างสรรค์ในชีวิตประจาวัน รวมทั้งมีเจต คติที่ ดีต่ อกิจ กรรมการเรี ย นพลศึ กษา สามารถทางานร่ว มกั บผู้ อื่ นได้ มีความรับผิ ดชอบ มีค วามเพี ยรพยายามและมี วิจารณญาณ ใช้การวัดผลและการประเมินผลอย่างหลากหลาย ประเมินตามสภาพความเป็นจริง โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการเรียนรู้ด้วย ตนเอง กระบวนการ พัฒนาลักษณะนิสัย เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และมีทักษะในชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านความมีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการบริหารร่างกาย การออกกาลังกายด้วยวอลเล่ย์บอล ๒.มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬาวอลเลย์บอล ประโยชน์การเล่นกีฬาวอลเลย์บอล ๓.มีทักษะพื้นฐานในการส่งลูก การรับลูก การเสิร์ฟ การตบบอล การสกัดกั้น การเล่นทีม ๔.ให้ความร่วมมือในการเล่น การแข่งขัน มีสมรรถภาพทางกาย มีคุณธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๕.สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความรับผิดชอบ มีความเพียรพยายามและมีวิจารณญาณ ๖.สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และมีทักษะในชีวิต มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านความมีวินัย ใฝุเรียนรู้ มุ่งมั่นใน การทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม พ๓๑๑๐๑ สุขศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิ เคราะห์ และอธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบห่อหุ้มร่างกายระบบ ผิวหนัง ระบบกระดูก ระบบกล้ามเนื้อ วางแผนการดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเองและ บุคคลในครอบครัว วิเคราะห์อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรม ทางเพศ และ การดาเนินชีวิต ค่านิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่น ๆ วิเคราะห์สาเหตุและผลของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน เพื่อหาแนวทางและ เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการปูองกันและลดความขัดแย้ง การแก้ป๎ญหาเรื่องเพศและครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาหลักการ แนวคิดไปปรับปรุงและนาไปปฏิบัติในการดูแลรักษาสุขภาพเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ พ ๒.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ พ ๕.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๖ ม.๔/๗ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๓๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๓๑๑๐๒ พลศึกษา ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่าง ๆในการเล่ นกีฬา เล่นกีฬาด้วยการใช้ ความสามารถของตนเอง ในการเพิ่มศักยภาพของตนเองและทีมในการเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล เลือกการแสดงการ เคลื่อนไหวได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการได้อย่างเหมาะสมและสามารถนาหลักการและ แนวคิดที่ได้จากกิจกรรมไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมให้เกิดประโยชน์ออกกาลังกายและเล่น กีฬาอย่างเหมาะสมหรือชอบอย่างสม่าเสมอและใช้ความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีมในการเล่นกีฬาโดยคานึงถึง ประโยชน์ต่อสังคม ปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่าง ๆในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อื่นและนาไปสรุปเป็นแนว ปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจาวันอย่างต่อเนื่อง แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันกีฬา ด้วย ความมีน้าใจนักกีฬา และนาไปปฏิบัติทุกโอกาสจนเป็นบุคลิกภาพที่ดีร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของกีฬา เพื่อให้ตระหนัก และเห็นคุณค่าการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬาโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม ทักษะการคิดสร้างสรรค์ในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และกีฬา และความมีน้าใจนักกีฬา รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๔ พ ๓.๒ ม.๔/๑ ม.๔/๒ ม.๔/๓ ม.๔/๔ ม.๔/๔ รวมทั้งหมด ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๓๒๑๐๑ สุขศึกษา ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบหายใจ ระบบ ขับถ่ายระบบไหลเวียนเลือด ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย วางแผนการดูแลสุขภาพ คุณค่าและระบุวิธีการดูแล สุขภาพ บุคลลในครอบครัว วิเคราะห์วัฒนธรรมที่มีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ ตระหนักถึงความสาคัญในการใช้วิธีการ และทักษะการแก้ไขป๎ญหาอย่างเหมาะสมเมื่อผิดหวังในความรัก ป๎จจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ การ หลีกเลี่ยงและการปูองกันตนเองจากสถานการณ์เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ และการดาเนินชีวิต ค่านิยมในเรื่องเพศ ตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่น ๆ การสร้างเสริมสุขภาพการปูองกันโรคด้วยภูมิป๎ญญาไทย โรคไม่ติดต่อที่เป็นป๎ญหา สาธารณสุข ประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของตนเองและครอบครัว การปกปูองสิทธิผู้บริโภค แนวทางการ แก้ไขป๎ญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน การจัดการกับอารมณ์ความเครีย ด หน่วยงาน แนวทางการปูองกันแก้ไขสุขภาพใน ชุมชน วิเคราะห์สาเหตุและผลอุบัติเหตุและภัยสาธารณะชุมชน การใช้ยา สารเสพติด การใช้ความรุนแรง การช่วยฟื้นคืน ชีพผู้ประสบอุบัติเหตุ เพื่อหาแนวทางการสร้างเสริมความปลอดภัยและปูองกันในการดาเนินชีวิตของนักเรียนหรือเยาวชน ในชุมชน และเลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมกับการแก้ป๎ญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาหลักการ แนวคิดไปปรับปรุงและนาไปปฏิบัติในการดูแลรักษาสุขภาพเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ พ ๒.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ พ ๕.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๖ ม.๕/๗ รวมทั้งหมด ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๓๒๑๐๒ พลศึกษา ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่าง ๆในการเล่ นกีฬา เล่นกีฬาด้วยการใช้ ความสามารถของตนเอง ในการเพิ่มศักยภาพของตนเองและทีมในการเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล เลือกการแสดงการ เคลื่อนไหวได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการได้อย่างเหมาะสมและสามารถนาหลักการและ แนวคิดที่ได้จากกิจกรรมไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมให้เกิดประโยชน์ออกกาลังกายและเล่น กีฬาอย่างเหมาะสมหรือชอบอย่างสม่าเสมอและใช้ความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีมในการเล่นกีฬาโดยคานึงถึง ประโยชน์ต่อสังคม ปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่าง ๆในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อื่นและนาไปสรุปเป็นแนว ปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจาวันอย่ างต่อเนื่อง แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันกีฬา ด้วย ความมีน้าใจนักกีฬา และนาไปปฏิบัติทุกโอกาสจนเป็นบุคลิกภาพที่ดีร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของกีฬา เพื่อให้ตระหนัก และเห็นคุณค่าการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬาโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม ทักษะการคิดสร้างสรรค์ในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และกีฬา และความมีน้าใจนักกีฬา รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕ พ ๓.๒ ม.๕/๑ ม.๕/๒ ม.๕/๓ ม.๕/๔ ม.๕/๕ รวม ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๓๓๑๐๑ สุขศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายกระบวนการสร้างเสริมและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบประสาท ระบบ สืบพันธ์ ระบบต่อมไร้ท่อ วางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ชุมชน สังคม วิเคราะห์ป๎จจัยทาง สังคมที่ส่งผลพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การคบเพื่อนต่างเพศ และการวางแผนชีวิต การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย การ สร้างเสริมสุขภาพกับชุมชนและการปูองกันโรค การประเมินสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน ป๎ญหาสิ่งแวดล้อมที่ ส่งผลต่อสุขภาพการสร้างศักยภาพของตนเองในการจัดการกับอารมณ์ความเครียด เพื่อหากิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพ กายและทางจิต และการพัฒนางานสาธารณสุข วิเคราะห์สาเหตุและผลของอุบัติเหตุในโรงเรียนและชุมชน การใช้ยา สารเสพติด การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ประสบ อุบัติเหตุ เพื่อหาแนวทางการสร้างเสริมความปลอดภัยและปูองกันในการดาเนินชีวิตของนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน และเลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมกับการแก้ป๎ญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ นาหลักการ แนวคิดไปปรับปรุงและนาไปปฏิบัติในการดูแลรักษาสุขภาพเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว รหัสตัวชี้วัด พ ๑.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ พ ๒.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ พ ๕.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๖ ม.๖/๗ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน พ๓๓๑๐๒ พลศึกษา ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวรูปแบบต่าง ๆในการเล่ นกีฬา เล่นกีฬาด้วยการใช้ ความสามารถของตนเอง ในการเพิ่มศักยภาพของตนเองและทีมในการเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล เลือกการแสดงการ เคลื่อนไหวได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการได้อย่างเหมาะสมและสามารถนาหลักการและ แนวคิดที่ได้จากกิจกรรมไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและสังคมให้เกิดประโยชน์ออกกาลังกายและเล่น กีฬาอย่างเหมาะสมหรือชอบอย่างสม่าเสมอและใช้ความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีมในการเล่นกีฬาโดยคานึงถึง ประโยชน์ต่อสังคม ปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา กลวิธีต่าง ๆในระหว่างการเล่น การแข่งขันกีฬากับผู้อื่นและนาไปสรุปเป็นแนว ปฏิบัติและใช้ในชีวิตประจาวันอย่างต่อเนื่อง แสดงออกถึงการมี มารยาทในการดู การเล่น และการแข่งขันกีฬา ด้วย ความมีน้าใจนักกีฬา และนาไปปฏิบัติทุกโอกาสจนเป็นบุคลิกภาพที่ดีร่วมกิจกรรมทางกายและเล่นกีฬาอย่างมีความสุข ชื่นชมในคุณค่าและความงามของกีฬา เพื่อให้ตระหนัก และเห็นคุณค่าการเข้าร่วมกิจกรรมทางกายและกีฬาโดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม ทักษะการคิดสร้างสรรค์ในการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และกีฬา และความมีน้าใจนักกีฬา รหัสตัวชี้วัด พ ๓.๑ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ ม.๖/๕ พ ๓.๒ ม.๖/๑ ม.๖/๒ ม.๖/๓ ม.๖/๔ ม.๖/๕ รวม ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๔
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๕
รหัสวิชา ศ ๒๑๑๐๑ ศ ๒๑๑๐๒ ศ ๒๒๑๐๑ ศ ๒๒๑๐๒ ศ ๒๓๑๐๑ ศ ๒๓๑๐๒ ศ ๒๑๑๐๓ ศ ๒๒๑๐๓ ศ ๒๓๑๐๓ ศ ๒๑๑๐๔ ศ ๒๒๑๐๔ ศ ๒๓๑๐๔ ศ ๒๑๒๒๑ ศ ๒๑๒๒๒ ศ ๒๒๒๒๑ ศ ๒๒๒๒๒ ศ ๒๓๒๒๑ ศ ๒๓๒๒๒ ศ ๒๑๒๔๑ ศ ๒๑๒๔๒ ศ ๒๒๒๔๑ ศ ๒๒๒๔๒ ศ ๒๓๒๔๑ ศ ๒๓๒๔๒ ศ ๓๑๑๐๑ ศ ๓๑๑๐๒ ศ ๓๒๑๐๑ ศ ๓๒๑๐๒ ศ ๓๓๑๐๑ ศ ๓๓๑๐๒
โครงสร้างวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) ทัศนศิลป์ ๑ ๒๐ ทัศนศิลป์ ๒ ๒๐ ทัศนศิลป์ ๓ ๒๐ ทัศนศิลป์ ๔ ๒๐ ทัศนศิลป์ ๕ ๒๐ ทัศนศิลป์ ๖ ๒๐ ดนตรี ๑ ๒๐ ดนตรี ๒ ๒๐ ดนตรี ๓ ๒๐ นาฏศิลป์ ๑ ๒๐ นาฏศิลป์ ๒ ๒๐ นาฏศิลป์ ๓ ๒๐ ปฏิบัติดนตรี ๑ ๔๐ ปฏิบัติดนตรี ๒ ๔๐ ปฏิบัติดนตรี ๓ ๔๐ ปฏิบัติดนตรี ๔ ๔๐ ปฏิบัติดนตรี ๕ ๔๐ ปฏิบัติดนตรี ๖ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๑ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๒ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๓ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๔ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๕ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๖ ๔๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) ทัศนศิลป์ ๑ ๒๐ ทัศนศิลป์ ๒ ๒๐ นาฏศิลป์ ๑ ๒๐ นาฏศิลป์ ๒ ๒๐ ดนตรี ๑ ๒๐ ดนตรี ๒ ๒๐
จานวนหน่วยกิต ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑ ๑ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
พื้นฐาน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๖
ศ ๓๑๒๐๑ ศ ๓๑๒๐๒ ศ ๓๒๒๐๑ ศ ๓๒๒๐๒ ศ ๓๓๒๐๑ ศ ๓๓๒๐๒ ศ ๓๑๒๒๑ ศ ๓๑๒๒๒ ศ ๓๒๒๒๑ ศ ๓๒๒๒๒ ศ ๓๑๒๒๑ ศ ๓๑๒๒๒ ศ ๓๑๒๔๑ ศ ๓๑๒๔๒ ศ ๓๒๒๔๑ ศ ๓๒๒๔๒ ศ ๓๓๒๔๑ ศ ๓๓๒๔๒
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) ศิลปะการออกแบบ ๑ ๔๐ ศิลปะการออกแบบ ๒ ๔๐ การวาดภาพไทย ๑ ๔๐ การวาดภาพไทย ๒ ๔๐ การวาดภาพสีน้า ๑ ๔๐ การวาดภาพสีน้า ๒ ๔๐ ปฏิบัติดนตรีตามถนัด ๑ ๔๐ ปฏิบัติดนตรีตามถนัด ๒ ๔๐ ปฏิบัติดนตรีตามถนัด ๓ ๔๐ ปฏิบัติดนตรีตามถนัด ๔ ๔๐ ปฏิบัติดนตรีตามถนัด ๕ ๔๐ ปฏิบัติดนตรีตามถนัด ๖ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ตามถนัด ๑ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ตามถนัด ๒ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ตามถนัด ๓ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ตามถนัด ๔ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ตามถนัด ๕ ๔๐ ปฏิบัตินาฏศิลป์ตามถนัด ๖ ๔๐
๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง
จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ การสร้างสรรค์งานศิลปะโดยเน้น หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ปฏิบัติงานวาดภาพทัศนียภาพให้เห็นระยะไกล –ใกล้ เปรียบเทียบความแตกต่างของ จุดประสงค์ในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและสากลโดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืนทัศนศิลป์ ของชาติและท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน สร้างความรู้สึกประทับใจต่องานทัศนศิลป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางานทัศนศิลป์ และผลงานทางทัศนศิลป์ รหัสตัวชี้วัด ศ๑.๑ ม.๑/๑, ศ๑.๑ ม.๑/๒, ศ๑.๑ ม.๑/๓, ศ๑.๒ ม.๑/๑, รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาเพื่อให้เข้าใจการจัดองค์ประกอบในงานประติมากรรม การสร้างสรรค์งานประติมากรรมแบบนูนต่า นูน สูง ลอยตัว และประติมากรรมสื่อผสม การเก็บรวบรวมผลงานประติมากรรม การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรืองาน กราฟิกแบบต่างๆ และสามารถประเมินรูปแบบงานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่นได้ มีความคิดสร้างสรรค์ในงานศิลปะ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิป๎ญญา ท้องถิ่นภูมิป๎ญญาไทยและสากล อย่างอิสระ และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน สร้างความรู้สึกประทับใจต่องานทัศนศิลป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางานทัศนศิลป์ และผลงานทางทัศนศิลป์ รหัสตัวชี้วัด ศ๑.๑ ม.๑/๔, ศ๑.๑ ม.๑/๕, ศ๑.๑ ม.๑/๖, ศ๑.๒ ม.๑/๒, ศ๑.๒ ม.๑/๓, รวม ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๔๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๒๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลา ๒๐ ชั่วโมง
จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
วิเคราะห์ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อม เน้นหลักการ ออกแบบงานทัศนศิลป์ ความเป็น เอกภาพ ความกลมกลืน ความสมดุล ปฏิบัติการวาดภาพแสดงทัศนียภาพ การสร้าง เอกภาพความกลมกลื นของเรื่องราวในงานป๎้ นหรืองานสื่ อผสม การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรืองานกราฟิก การ ประเมินงานทัศนศิลป์และวิธีการปรับปรุงงานของตนเองและผู้อื่นโดยใช้เกณฑ์ที่กาหนดผู้เรียนศึกษาลักษณะ รูปแบบงาน ทัศนศิลป์ของชาติและท้องถิ่น ลั กษณะงานทัศนศิลป์ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทยและความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ใน วัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน สร้างความรู้สึกประทับใจต่องานทัศนศิลป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางานทัศนศิลป์ และผลงานทางทัศนศิลป์ รหัสตัวชี้วัด ศ๑.๑ ม.๒/๑, ศ๑.๑ ม.๒/๒, ศ๑.๑ ม.๒/๓, ศ๑.๑ ม.๒/๔ ศ๑.๒ ม.๒/๑, ศ๑.๒ ม.๒/๓, รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๒๑๐๒ ทัศนศิลป์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษารูปแบบของทัศนธาตุและแนวคิดในงานทัศนศิลป์ ความเหมือนและความแตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ใช้เทคนิคในการวาดภาพสื่อความหมาย สร้างเกณฑ์ในการประเมินและวิจารณ์งาน ทั ศ นศิ ล ป์ เพื่ อ น าผลการวิ จ ารณ์ ไ ปปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข พั ฒ นาจั ด ท าแฟู ม สะสมผลงานทั ศ นศิ ล ป์ การวาดภาพถ่ า ยทอด บุคลิกลักษณะของตัวละคร การใช้งานทัศนศิลป์ในการโฆษณาเพื่อโน้มน้าวใจ วัฒนธรรมที่สะท้อนในงานทัศนศิลป์ป๎จจุบัน การเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิดและเนื้อหาของงาน และ เปรียบเทียบแนวคิด ในการออกแบบงานทัศนศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ รหัสตัวชี้วัด ศ๑.๑ม.๒/๕, ศ๑.๑ม.๒/๖, ศ๑.๑ม.๒/๗ ศ๑.๒ม.๒/๒ รวม ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๓๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ระบุและบรรยายสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่อง ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบ เทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร้างงานทัศนศิลป์ ทักษะใช้ทัศนธาตุ และหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเอง การผสมผสานวัสดุต่างๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ เพื่อ ถ่ายทอดประสบการณ์จินตนาการสร้างสรรค์และสื่อความหมาย รวมทั้งประเภทต่างๆของงานทัศนศิลป์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ รหัสตัวชี้วัด ศ๑.๑ม.๓/๑, ศ๑.๑ม.๓/๒, ศ๑.๑ม.๓/๓, ศ๑.๑ม.๓/๕, ศ๑.๑ม.๓/๗ รวม ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๓๑๐๒ ทัศนศิลป์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต น าทั ศ นธาตุ แ ละส่ ว นประกอบอื่ น ๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การจั ด องค์ ป ระกอบของภาพ มาจั ด รวมกั น ตามหลั ก องค์ประกอบศิลป์ ผ่านการสร้างงานทั้ง ๒ มิติและ๓ มิติ ด้วยเทคนิคการสร้างงานทัศนศิลป์ที่หลากหลาย วิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา และคุณค่าในงานทัศนศิล ป์ การประกอบอาชีพทางทัศนศิล ป์และการจัดนิทรรศการทางศิลปะ คุณค่าของงาน ทัศนศิลป์ที่สะท้อนผ่านวัฒนธรรม และ ความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของวัฒนธรรมไทยและสากลใน เบื้องต้น โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ รหัสตัวชี้วัด ศ ๑.๑ ม.๓/๔, ศ ๑.๑ ม.๓/๖, ศ ๑.๑ ม.๓/๘, ศ ๑.๑ ม.๓/๙, ศ ๑.๑ ม.๓/๑๐, ศ ๑.๑ ม.๓/๑๑ ศ ๑.๒ ม.๓/๑, ศ ๑.๒ ม.๓/๒ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๑๑๐๓ ดนตรี๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ ต่างกัน อารมณ์ ความรู้สึกในการ ฟ๎งดนตรีแต่ละประเภท ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วย บทเพลง ที่หลากหลายรูปแบบ จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นที่มี ต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะ และความดัง - เบา แตกต่างกัน นาเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และ อภิป รายลักษณะเด่น ที่ทาให้งานนั้ น น่าชื่น ชม ใช้เกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพ งานดนตรีห รือเพลงที่ฟ๎ง ใช้และ บารุ ง รั ก ษาเครื่ องดนตรี อย่ างระมั ดระวั งและรั บผิ ดชอบ อธิ บายบทบาทความสั ม พัน ธ์แ ละอิ ทธิ พลของดนตรี ที่มี ต่ อ สังคมไทย ระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมต่างกัน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย การสังเกตจากวงดนตรีประเภทต่างๆ เช่น วงโยธวาทิต วงดนตรี สากล การใช้องค์ประกอบดนตรีในวิเคราะห์คุณภาพเสียง คุณค่าทางดนตรี การฝึกการฟ๎ง การขับร้องบทเพลงที่นักเรียน เลือกปฏิบัติ และประสบการณ์จากการปฏิบัติเครื่องดนตรีจริง เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง การสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลง เสียงเบื้องต้นได้ แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้ สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้ อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี เข้าใจถึงอิทธิพลและบทบาทของดนตรีที่มี ต่อบุคคลและสังคม สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมชื่นชมและเห็นคุณค่า ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล รหัสตัวชี้วัด ศ๒.๑ม.๑/๑, ศ๒.๑ม.๑/๒, ศ๒.๑ม.๑/๓, ศ๓.๒ม.๑/๔, ศ๒.๑ม.๑/๕, ศ๒.๑ม.๑/๖, ศ๒.๑ม.๑/๗, ศ๒.๑ม.๑/๘, ศ๒.๑ม.๑/๙, ศ๒.๒ ม.๑/๑, ศ๒.๒ ม.๑/๒ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๒๑๐๓ ดนตรี ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกปฏิบัติดนตรีในเรื่ององค์ประกอบของดนตรีจากแหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี ป๎จจัยในการสร้างสรรค์ดนตรี เทคนิคการร้องและการบรรเลงดนตรี การบรรยายอารมณ์และความรู้สึกในบท เพลง การประเมินความสามารถทางดนตรี อาชีพทางด้านดนตรี บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง ดนตรีในวัฒนธรรม ต่างประเทศ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงทางดนตรีในประเทศไทย กิจกรรมการเรียนรู้ทางด้านดนตรี เป็นการให้ผู้เรียนเปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรี อ่าน เขียน ร้องโน้ตไทยและสากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง ระบุ ป๎จจัยที่มีอิทธิพลต่อดนตรี บรรยายอารมณ์และความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง ประเมินพัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง ปฏิบัติการขับร้องและเล่นดนตรีเดี่ ยวและรวมวง ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้องกั บดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง ตลอดทั้งบรรยายบทบาทและอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมประเทศต่าง ๆ รวมทั้งอิทธิพลของวัฒนธรรมและเหตุการณ์ ประวัติศาสตร์ที่มีต่อรูปแบบของดนตรีในประเทศไทย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย การสังเกตจากวงดนตรีประเภทต่างๆ เช่น วงโยธวาทิต วงดนตรี สากล การใช้องค์ประกอบดนตรีในวิเคราะห์คุณภาพเสียง คุณค่าทางดนตรี การฝึกการฟ๎ง การขับร้องบทเพลงที่นักเรียน เลือกปฏิบัติ และประสบการณ์จากการปฏิบัติเครื่องดนตรีจริง เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจถึงความแตกต่ างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง การสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลง เสียงเบื้องต้นได้ แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้ อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี เข้าใจถึงอิทธิพลและบทบาทของดนตรีที่มี ต่อบุคคลและสังคม สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมชื่นชมและเห็นคุณค่า ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล รหัสตัวชี้วัด ศ๒.๑ม.๒/๑, ศ๒.๑ม.๒/๒, ศ๒.๑ม.๒/๓, ศ๒.๑ม.๒/๔, ศ๒.๑ม.๒/๕, ศ๒.๑ ม.๒/๖, ศ๒.๑ม.๒/๗, ศ๒.๒ม.๒/๑, ศ๒.๒ม.๒/๒ รวม ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๓๑๐๓ ดนตรี ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑,๒
เวลา ๒๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานดนตรีในเรื่อง การเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น เทคนิคและการ แสดงออกในการขับร้องและการบรรเลงดนตรีเดี่ยวและรวมวง อัตราจังหวะ ๒ และ ๔ การประพันธ์เพลงในอัตราจังหวะ ๒ และ ๔ การเลือกใช้องค์ประกอบในการสร้างสรรค์บทเพลง การเปรียบเทียบความแตกต่างของบทเพลง อิทธิพลของดนตรี การจัดการแสดงดนตรีในวาระต่าง ๆ ประวัติดนตรีไทยยุคสมัยต่าง ๆ ประวัติดนตรีตะวันตกยุคสมัยต่าง ๆ ป๎จจัยที่ทาให้ งานดนตรีได้รับการยอมรับ บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย อภิปรายลักษณะเด่นที่ทาให้งานดนตรีได้รับการ ยอมรับ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย การสังเกตจากวงดนตรีประเภทต่างๆ เช่น วงโยธวาทิต วงดนตรี สากล การใช้องค์ประกอบดนตรีในวิเคราะห์คุณภาพเสียง คุณค่าทางดนตรี การฝึกการฟ๎ง การขับร้องบทเพลงที่ นักเรียน เลือกปฏิบัติ และประสบการณ์จากการปฏิบัติเครื่องดนตรีจริง เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง การสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลง เสียงเบื้องต้นได้ แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้ อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี เข้าใจถึงอิทธิพลและบทบาทของดนตรีที่มี ต่อบุคคลและสังคม สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมชื่นชมและเห็นคุณค่า ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล รหัสตัวชี้วัด ศ๒.๑ม.๓/๑, ศ๒.๑ม.๓/๒, ศ๒.๑ม.๓/๓, ศ๒.๑ม.๓/๔, ศ๒.๑ม.๓/๕, ศ๒.๑ม.๓/๖, ศ๒.๑ม.๓/๗, ศ๒.๒ม.๓/๑, ศ๒.๒ม.๓/๒ รวม ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๑๑๐๔ นาฏศิลป์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาอิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชมใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ ทางการละครในการแสดง ทักษะการทางานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิ ตการแสดง เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กาหนดให้ในการ พิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชมโดยเน้นเรื่องการใช้เสียงการแสดงท่า และการเคลื่อนไหว แสดงนาฏศิลป์และละครใน รูปแบบง่าย ๆ ระบุป๎จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน บรรยาย ประเภทของละครไทย ในแต่ละยุคสมัยโดยใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติทางดนตรี นาฏศิลป์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้น ข้อมูลและการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่มีความสามารถในการตัดสินใจ โดยใช้กระบวนแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อนาฏศิลป์ อย่างอิสระ เพื่ อ เห็ น คุ ณ ค่ า ความส าคั ญ และชื่ น ชม นาฏศิ ล ป์ จากภู มิ ป๎ ญ ญาท้ อ งถิ่ น ภู มิ ป๎ ญ ญาไทยและภู มิ ป๎ ญ ญา สากล ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีวินัย ใฝุรู้ใฝุเรียน มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ศ๓.๑ม.๑/๑, ศ๓.๑ม.๑/๒, ศ๓.๑ม.๑/๓,ศ๓.๑ม.๑/๔, ศ๓.๑ม.๑/๕, ศ๓.๒ม.๑/๑, ศ๓.๒ ม.๑/๒ รวม ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๒๑๐๔ นาฏศิลป์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ ในเรื่อง ศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง หลักและวิธีสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้ องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร หลักและวิธีก ารวิเคราะห์การแสดง วิธีการวิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และ การละคร ราวงมาตรฐาน ความสัมพันธ์ของนาฏศิลป์หรือการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ นาฏศิลป์พื้นเมือง รูปแบบการ แสดงประเภทต่าง ๆ การละครสมัยต่าง ๆอธิบายการบูรณาการศิลปะแขนง อื่น ๆ กับการแสดง สร้างสรรค์การแสดงโดย ใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละครวิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่น ระบุรูปแบบการแสดงประเภทต่าง ๆ เสนอ ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และการละคร ราวงมาตรฐาน เชื่อมโยงนาฏศิลป์และการละครกับสาระการ เรียนรู้อื่น ๆ เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์ ระบุหรือแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน อธิบายอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร โดยใช้กระบวนแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อนาฏศิลป์ อย่างอิสระ เพื่ อ เห็ น คุ ณ ค่ า ความส าคั ญ และชื่ น ชม นาฏศิ ล ป์ จากภู มิ ป๎ ญ ญาท้ อ งถิ่ น ภู มิ ป๎ ญ ญาไทยและภู มิ ป๎ ญ ญา สากล ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีวินัย ใฝุรู้ใฝุเรียน มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ศ๓.๑ม.๒/๑, ศ๓.๑ม.๒/๒, ศ๓.๑ม.๒/๓,ศ๓.๑ม.๒/๔, ศ๓.๑ม.๒/๕, ศ๓.๒ม.๒/๑, ศ๓.๒ม.๒/๒, ศ๓.๒ม.๒/๓ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๒๓๑๐๔ นาฏศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑,๒
เวลา ๒๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาและฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ในเรื่อง องค์ประกอบของบทละคร ภาษาท่าหรือภาษานาฏศิลป์ รูปแบบการแสดง การประดิษฐ์ท่าราและท่าทางประกอบการแสดง องค์ประกอบนาฏศิลป์ วิธีเลือกการแสดง ละครกับชีวิต การออกแบบและ สร้างสรรค์อุปกรณ์และเครื่องแต่งกายเพื่อการแสดงนาฏศิลป์ ความส าคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครใน ชีวิตประจาวัน การอนุรักษ์นาฏศิลป์วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกัน โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบ นาฏศิลป์ ร่วมจัดงานแสดงในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ นาเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนาไปปรับใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และเครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิล ป์และละครที่มาจากวัฒ นธรรม ต่างๆ อธิบายความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์ นาฏศิลป์เพื่อให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจ โดยใช้กระบวนแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่ า ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อนาฏศิลป์ อย่างอิสระ เพื่ อ เห็ น คุ ณ ค่ า ความส าคั ญ และชื่ น ชม นาฏศิ ล ป์ จากภู มิ ป๎ ญ ญาท้ อ งถิ่ น ภู มิ ป๎ ญ ญาไทยและภู มิ ป๎ ญ ญา สากล ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีวินัย ใฝุรู้ใฝุเรียน มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รหัสตัวชี้วัด ศ๓.๑ม.๓/๑, ศ๓.๑ม.๓/๒, ศ๓.๑ม.๓/๓, ศ๓.๑ม.๓/๔, ศ๓.๑ม.๓/๕,ศ๓.๑ม.๓/๖, ศ๓.๑ม.๓/๗, ศ๓.๒ม.๓/๑, ศ๓.๒ม.๓/๒, ศ๓.๒ม.๓/๓ รวมทั้งหมด ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๕๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๒๑๒๒๑,๒๑๒๒๒ ปฏิบัตดิ นตรี ๑-๒ กลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่น ร้องเพลง เล่นดนตรี และรวมวงโดยเน้น เทคนิค การร้อง การเล่น การแสดงออก และคุณภาพเสียง แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ บรรยาย วิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุค สมัย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย การสังเกตจากวงดนตรีประเภทต่างๆ เช่น วงโยธวาทิต วงดนตรี สากล การใช้องค์ประกอบดนตรีในวิเคราะห์คุณภาพเสียง คุณค่าทางดนตรี การฝึกการฟ๎ง การขับร้ องบทเพลงที่นักเรียน เลือกปฏิบัติ และประสบการณ์จากการปฏิบัติเครื่องดนตรีจริง เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง การสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มีเครื่องหมาย แปลง เสียงเบื้องต้นได้ แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้ อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี เข้าใจถึงอิทธิพลและบทบาทของดนตรีที่มี ต่อบุคคลและสังคม สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมชื่นชมและเห็นคุณค่า ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในการเปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบของดนตรี ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในเทคนิคการร้องเพลง เล่นดนตรี แบบรวมวง ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในวิวัฒนาการของดนตรีแต่ละยุคสมัย รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๒๒๒๒๑-๒ ปฏิบัติดนตรี ๓-๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาทฤษฎีดนตรี โน้ตจีนและโนตสากล ศัพทสังคีต ฝกโสตประสาทฝกปฏิบัตเครื่องดนตรีจีน อยางนอย ๑ ชิ้น โดยฝกบรรเลงทั้งเดี่ยวและกลุม สามารถจัดแสดงดนตรีเปนครั้งคราวดูแลเก็บรักษาเครื่อง ดนตรีไดอยางถูกตอง เพื่อให มีความรูความเขาใจพื้นฐาน มีวินัย ใฝรูใฝเรียน มุงมั่นในการทางาน มีวินัยและมี ทักษะในการบรรเลงดนตรีสากลที่ ถนัดไดอยางถูกตอง ไพเราะ เพลิดเพลิน หลากหลายรูปแบบ สามารถปฏิบัติงานสร้างสรรคงานแสดงดนตรีอยางชื่นชม และเห็นคุณคา โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการบรรยาย การสังเกตจากวงดนตรีประเภทต่างๆ เช่น วงโยธวาทิต วงดนตรี สากล การใช้องค์ประกอบดนตรีในวิเคราะห์คุณภาพเสียง คุณค่าทางดนตรี การฝึกการฟ๎ง การขับร้องบทเพลงที่นักเรียน เลือกปฏิบัติ และประสบการณ์จากการปฏิบัติเครื่องดนตรีจริง เพื่อให้มีความรู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง การสร้างสรรค์บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงทีม่ ีเครื่องหมาย แปลง เสียงเบื้องต้นได้ แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มีต่อบทเพลง สามารถนาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้ อย่างมีเหตุผล มีทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี เข้าใจถึงอิทธิพลและบทบาทของดนตรีที่มี ต่อบุคคลและสังคม สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมชื่นชมและเห็นคุณค่า ดนตรีที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล ผลการเรียนรู้ ๑.สามารถอธิบายถึงทฤษฎีโน้ตจีนและโน้ตสากลเบื้องต้นได้ ๒.อธิบายถึงศัพย์สังคีตทางดนตรีสากลได้ ๓.สามารถเลือกเครื่องดนตรีจีนในการปฏิบัติได้ ๔.สามารถฝึกบรรเลงเครื่องดนตรีจีนที่ถนัดเบื่องต้นได้ ๕.นักเรียนร่วมจัดการแสดงดนตรีเบื่องต้นได้ ๖.นักเรียนบารุงรักษาเครื่องดนตรีได้อย่างถูกต้อง รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๒๓๒๒๑-๒ ปฏิบัติดนตรี ๕-๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีให้มีความรู้ความเข้าใจ และสามารถเปรียบเทียบเสียงร้อง เสียงเครื่อง ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมที่ต่างกัน และเข้าใจเกี่ยวกับประเภทของวงดนตรีจีนและวงดนตรีสากล วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่าดนตรี และสามารถแสดงความคิดเห็น เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการฟ๎งเพลงแต่ละประเภท วิเคราะห์และ ประเมินคุณภาพงานเพลงหรืองานดนตรีที่ฟ๎งอย่างมีหลักเกณฑ์ อธิบายบทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อ สังคมไทย พร้อมทั้งระบุความหลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมที่ต่างกันอย่างมีหลักเกณฑ์ ถ่ายทอด ความรู้สึกทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เข้าใจความสั มพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรีที่เป็นมรดกธรรม ทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี โดยใช้ทักษะกระบวนการทางดนตรี ในการแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ การวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์เพื่อให้ เ ห็น คุณค่างานดนตรีที่เป็น มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและสากล เข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีจีนและดนตรีสากล มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทางาน อยู่อย่าง พอเพียง มีจิตสาธารณะ รักความเป็นไทย ผลการเรียนรู ๑.นักเรียนบอกถึงองค์ประกอบและอวัยวะและการกาเนิดเสียงเบื่องตนได ๒.อธิบายถึงเทคนิคการออกเสียง และการขับรองเพลงเบื่องต้น ๓.สามารถอธิบายถึงทฤษฎีโนตสากลเบื่องต้นได้ ๔.สามารถแสดงท่าทางประกอบลักษณะวิธีสร้างอารมณการพูดและการขับรองเพลงไทยสากล และหรือไทยลูกทุ่งได้ ๕.สามารถขับรองเพลงเดี่ยว และประกอบดนตรีได้ ๖.สามารถขับรองเพลงหมูและประกอบดนตรีได ๗.นักเรียนร่วมแสดงขับร้องเพลงได รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๒๑๒๔๑-๒ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๑-๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผ ลต่อการโน้มน้าวอารมณ์ หรือความคิดเห็นของผู้ช มใน นาฎยศัพท์ ทางการละครในการแสดง แสดงนาฎศิลป์และการละคร ในรูปแบบที่ง่าย ๆ โดยระบุป๎จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ นาฎศิลป์ นาฎศิลป์พื้นบ้าน ละคร โดยการแสดงละครพื้นบ้านบรรยายประเภทของละครในแต่ละยุคสมัย ใช้ทักษะการ ทางานเป็นกลุ่ม ในกระบวนการผลิตการแสดง ใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ที่กาหนดให้ ในการพิจารณาคุณภาพที่ชม โดยเน้นเรื่องการ ใช้เสียง การแสดงท่า แสดงละครพื้นบ้าน บรรยาย ประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย โดยใช้กระบวนแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อนาฏศิลป์ อย่างอิสระ เพื่ อ เห็ น คุ ณ ค่ า ความส าคั ญ และชื่ น ชม นาฏศิ ล ป์ จากภู มิ ป๎ ญ ญาท้ อ งถิ่ น ภู มิ ป๎ ญ ญาไทยและภู มิ ป๎ ญ ญา สากล ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีวินัย ใฝุรู้ใฝุเรียน มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์ ความคิดของผู้ชม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนาฎยศัพท์ ในการแสดงนาฎศิลป์ และการละคร ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องป๎จจับที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฎศิลป์ โดย นาฎศิลป์พื้นบ้าน การละคร ๔. มีความรู้ ความเข้าใจในประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย ๕. มีความรู้ความเข้าใจในการทางานเป็นกลุ่มทางด้านการแสดง ๖. มีความรู้ ความเข้าใจในการชมการแสดง การใช้เสียงของผู้แสดง ๗. มีความรู้ ความเข้าใจในละครพื้นบ้าน ๘. มีความรู้ ความเข้าใจในการบรรยายในประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๒๒๒๔๑-๒ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๓-๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ระบุโครงสร้างของนาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ศึกษาประวัติความเป็นมาในเรื่องการแสดง และบรรยายลีลา การ ราพื้นเมืองสร้างสรรค์ เห็นคุณค่า สามารถราพื้นเมืองสร้างสรรค์ในชุดการแสดง และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ออกแบบ สร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องนาฎศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในศึกษประวัติความเป็นมาของนาฎศิลป์พื้นเมือง ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบอุปกรณ์เครื่องแต่งกายของชุดการแดง ๔. มีความรู้ ความเข้าใจในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมนาฎศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๒๓๒๔๑-๒ ปฏิบัตินาฏศิลป์ ๕-๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์พื้นเมืองที่มีความแตกต่างกัน ใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ ร่วมจัดงาน แสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ น าเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน อธิบาย ความสาคัญและบทบาทของนาฏศิลป์พื้นเมืองในชีวิตประจาวัน แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจในวิจารณ์งานนาฏศิลป์พื้นเมืองจากการเปรียบเทียบ ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในองค์ประกอบนาฏศิลป์ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทและความสาคัญของงานนาฏศิลป์ ๔. มีความรู้ ความเข้าใจในการอนุรักษ์นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๓๑๑๐๑ ทัศนศิลป์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานทัศนศิลป์ในเรื่องทัศนธาตุและการออกแบบ ศัพท์ทางทัศนศิลป์ วัสดุ อุปกรณ์แลเทคนิค ของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ เทคนิค วัสดุ กระบวนการในการสร้างงานทัศนศิลป์ หลักการออกแบบและการจัด องค์ประกอบศิลป์ด้วยเทคโนโลยี การออกแบบงานทัศนศิลป์ จุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค และเนื้อหาในการสร้างงานทัศนศิลป์ ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการให้ผู้เรียนวิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายใน รูป แบบต่างๆ บรรยายจุดประสงค์และเนื้ อหาของงานทัศนศิล ป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ วิเคราะห์ การเลือกใช้วัส ดุ อุปกรณ์และเทคนิคของศิลปินในการแสดงทางทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้น ในการสร้างงานทัศนศิลป์ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบ ศิลป์ ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและสถานที่ วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ มี อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหาในการสร้างงานทัศนศิลป์ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ เพื่อให้ผู้ เรี ยนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ ทัศนธาตุและหลั กการออกแบบในการสื่ อความหมาย สามรถใช้ศัพท์ทาง ทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้ นในการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ วิเคราะห์ เนื้อหาและแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิลปินทั้งไทยและสากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่างๆ ในการ ออกแบบสร้างสรรค์ ประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน รหัสตัวชี้วัด ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๒, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๓, ศ๑.๑ ม.๔-๖/๔, ศ๑.๑ ม.๔-๖/๕, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๖, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๗, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๘ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๓๑๑๐๒ ทัศนศิลป์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานทัศนศิลป์ ในเรื่องการจัดทาแฟูมสะสมงานทัศนศิลป์ การสร้างงานทัศนศิลป์จากแนวคิด และวิธีการของศิลปิน การวาดภาพล้อเลียนหรือภาพการ์ตูน งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตกงานทัศนศิลป์ ของศิลปินที่มีชื่อเสียงอิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีอิทธิพลต่องานทัศนศิลป์กิจกรรมการเรียนรู้เป็นการให้ ผู้เรียนจัดกลุ่มงานทัศนศิลป์เพื่อสะท้อนพัฒนาการและความก้าวหน้าของตนเอง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากลโดย ศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ตนชื่นชอบวาดภาพระบายสีเป็นภาพล้อเลียนหรือภาพการ์ตูนเพื่อแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในป๎จจุบัน วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบ ตะวันตก ระบุงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียงและบรรยายผลตอบรับของสังคมอภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรม ระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ในสังคม เพื่อให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจ สามารถสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากลจากแนวคิดและวิธีการของศิลปินที่ตนชื่น ชอบ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคมในป๎จจุบันด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน การจัดทา แฟูมสะสมงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพล ของมรดกทางวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ในสังคม เห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อสังคม รหัสตัวชี้วัด ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๙, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑๐, ศ ๑.๑ ม.๔-๖/๑๑ ศ ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ศ ๑.๒ ม.๔-๖/๒, ศ ๑.๒ ม.๔-๖/๓ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๓๒๑๐๑ นาฏศิลป์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกปฏิบัตินาฏศิลป์ในเรื่อง รูปแบบของการแสดงระบา รา ฟูอน การแสดงพื้นเมืองภาคต่างๆการละคร ไทย การละครสากล ละครสร้างสรรค์ การประดิษฐ์ท่าราที่เป็นคู่และหมู่ หลักการสร้างสรรค์และการวิจารณ์ หลักการ ชม การแสดงนาฏศิลป์และการละคร ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์และการละครเทคนิคการจัดการแสดง กิจ กรรมการเรี ย นรู้ เป็น การให้ ผู้ เรี ยนศึกษารูปแบบการแสดง สร้างสรรค์ล ะครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ ใช้ ความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ วิจารณ์การแสดงตามหลักนาฏศิลป์และการละคร วิเคราะห์แก่นของการ แสดงนาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดง บรรยายและวิเคราะห์อิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์และสถานที่ที่มีผลต่อการแสดง เพื่อให้ ผู้ เรี ย นมีทักษะในการแสดงหลากหลายรูป แบบ มี ความคิ ดริเริ่ มในการแสดงนาฏศิล ป์เป็นคู่ และหมู่ สามารถสร้างสรรค์ละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และการละคร วิเคราะห์แก่นของการแสดง นาฏศิลป์และการละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดง เข้าใจอิทธิพลของเครื่องแต่งกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานที่ที่มีผลต่อการแสดง รหัสตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๒, ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๓, ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๔, ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๕, ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๖ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๓๒๑๐๑ นาฏศิลป์ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาการประเมินคุณภาพของการแสดง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง การแสดงนาฏศิลป์ในโอกาสต่าง ๆ บุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของไทยในยุคสมัยต่างๆ วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่ อดีตจนถึงป๎จจุบัน การอนุรักษ์นาฏศิลป์ ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น กิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการให้ผู้เรียนพัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง วิเคราะห์ท่าทาง และการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวัน และนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง เปรียบเทียบการนาการแสดงไปใช้ใน โอกาสต่างๆ อภิปรายบทบาทของบุคคลสาคัญในวงการนาฏศิลป์และการละครของประเทศไทยในยุคสมั ยต่างๆ บรรยาย วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการละครไทยตั้งแต่อดีตจนถึงป๎จจุบัน นาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย เพื่อให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจการพัฒนาและใช้เกณฑ์การประเมินในการประเมินการแสดง สามารถวิเคราะห์ท่าทาง และการเคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจาวันและนามาประยุกต์ใช้ในการแสดง เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการ ละครไทยและบทบาทของบุ ค คลส าคั ญ ในวงการนาฏศิ ล ป์ แ ละการละครของประเทศไทยในยุ ค สมั ย ต่ า งๆ สามารถ เปรียบเทียบการนาการแสดงไปใช้ในโอกาสต่างๆและนาเสนอแนวคิดในการอนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย รหัสตัวชี้วัด ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๗, ศ ๓.๑ ม.๔-๖/๘ ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๑, ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๒, ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๓, ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๔ รวม ๖ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๖๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๓๓๑๐๑ ดนตรี ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและฝึกปฏิบัติดนตรีในเรื่อง การจัดวงดนตรี ประเภทของวงดนตรี ป๎จจัยในการสร้างสรรค์ผลงานดนตรีในแต่ ละวัฒนธรรม เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะ ๒ ชั้น และ ๓ ชั้น เทคนิคและการ ถ่ายทอดอารมณ์เพลงด้วยการร้องบรรเลงเครื่ องดนตรีเดี่ยวและรวมวง เกณฑ์ในการประเมินผลงานดนตรี การถ่ายทอด อารมณ์ ความรู้สึกของงานดนตรีจากแต่ละวัฒนธรรม ดนตรีกับการผ่อนคลาย ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์ ดนตรีกับการ ประชาสัมพันธ์ ดนตรีกับการบาบัดรักษา ดนตรีกับธุรกิจ ดนตรีกับการศึกษา กิจกรรมการเรียนรู้ เป็ นการให้ผู้เรียนเปรียบเทียบรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแต่ล ะประเภท จาแนก ประเภทและรูปแบบของวงดนตรีทั้งไทยและสากล อธิบายเหตุผลที่คนแต่ละวัฒนธรรมสร้างสรรค์งานดนตรีแตกต่างกัน อ่านเขีย นโน้ ตดนตรี ไทยและสากลในอัต ราจั ง วะต่า งๆ ร้ องเพลงหรือเล่ นดนตรีเดี่ย วและรวมวง โดยเน้น เทคนิ คการ แสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการประพันธ์และการเล่นดนตรีของตนเองและ ผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน นาดนตรีไป ประยุกต์ใช้กับงานอื่นๆ เพื่อให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจรูปแบบของบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภทและจาแนกประเภทและรูปแบบของวง ดนตรีทั้งไทยและสากล เข้าใจอิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี อ่านเขียนโน้ตดนตรีไทยและสากลในอัตราจัง วะต่างๆ มีทักษะในการร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง เกณฑ์สาหรับประเมินคุณภาพการประพั นธ์และการเล่น ดนตรีของตนเองและผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม เปรียบเทียบอารมณ์และความรู้สึกที่ได้รับจากงานดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่างกัน สามารถนาดนตรีไปประยุกต์ใช้กับงานอื่นๆ รหัสตัวชี้วัด ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๑, ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๒, ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๓, ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๔, ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๕ ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๖, ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๗, ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๘ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ศ ๓๓๑๐๒ ดนตรี ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาดนตรีในเรื่อง รูปแบบบทเพลงและวงดนตรีไทยแต่ละยุคสมัย รูปแบบบทเพลงและวงดนตรีสากลแต่ละยุค สมัย ประวัติสังคีตกวี ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม บทบาทดนตรีในการสะท้อนสังคม แนวทางและวิธีการใน การส่งเสริมอนุรักษ์ดนตรีไทย กิจกรรมการเรียนรู้เป็นการให้ผู้เรียนวิเคราะห์รูปแบบของดนตรี ไทยและดนตรีสากลในยุคสมัยต่างๆ วิเคราะห์ สถานะทางสังคมของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ เปรียบเทียบลักษณะเด่นของดนตรีในวัฒนธรรมต่างๆ อธิบายบทบาท ของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม นาเสนอแนวทางในการส่งเสริมและอนุรักษ์ ดนตรีในฐานะมรดกของชาติ เพื่อให้ผู้ เรี ยนรู้ และเข้าใจ สามารถวิเคราะห์ เปรียบเทียบ รูปแบบ ลั กษณะเด่นของดนตรีไทยและสากลใน วั ฒ นธรรมต่ า งๆ เข้ า ใจสถานะทางสั ง คมของนั ก ดนตรี ใ นวั ฒ นธรรมต่ า งๆ เข้ า ใจบทบาทของดนตรี ใ นการสะท้ อ น แนวความคิดและค่านิยมที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม ตลอดทั้งสร้างแนวทางและมี ส่วนร่วมในการส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรี ในฐานะมรดกของชาติ รหัสตัวชี้วัด ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๑, ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๒, ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๓, ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๔, ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๕ รวม ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๑๒๐๑ ศิลปะออกแบบ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ เวลา ๔๐ ชั่วโมง
จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาและฝกปฏิบัติการออกแบบเบื้องตน โดยใชเสน รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว น้าหนัก สีสัดสวนขนาด ฯลฯ โดย ยึดหลักการของการออกแบบพื้นฐานที่คานึงถึง เอกภาพ ความสมดุลการขัดแยง และความประสานกลมกลืน ตลอดจนการ เน้นจุดเดนขององค์ประกอบในประเภทงาน ๒ มิติและ ๓ มิติโดยเน้นหนักไปทางหลักการออกแบบ และความสัมพันธของ ทัศนศิลปทุกแขนง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ ผลการเรียนรู้ ๑.เข้าใจหลักการออกแบบเบื้องต้นโดยใช้องค์ประกอบทางทัศนธาตุ ๒.สร้างผลงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติและ ๓ มิติ โดยคานึงถึงหลักการออกแบบ ๓.มีจุดเด่น จุดสนใจในงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์อย่างนาสนใจและสวยงาม ๔.รู้จักวางองค์ประกอบศิลป์ต่างๆในผลงานตามหลักการออกแบบ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ๓๑๒๐๒ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคนิคต่างๆที่หลากหลาย ทั้ง ๒ มิติและ๓ มิติ มีแนวความคิดของผลงานที่สร้างสรรค์ สามารถวาดภาพเหมือนและภาพเอกลั กษณ์บุ คคลได้ การใช้เทคนิคงานศิล ปหั ตถกรรมในท้องถิ่นมาสร้ างงานศิล ปะ ประกอบด้วยเทคนิคการมัดย้อม การทาบาติก รับฟ๎งการวิจารณ์งานและนาไปพัฒนาผลงาน โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ ผลการเรียนรู้ ๑.ใช้เทคนิคอย่างหลากหลายในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒.สร้างผลงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติและ ๓ มิติอย่างมีแนวความคิดของงาน ๓.รับฟ๎งคาวิจารณ์และนาไปปรับปรุง พัฒนาผลงาน ๔.สามารถวาดภาพเหมือนบุคคลและสร้างสรรค์ภาพเอกลักษณ์บุคคลได้ ๕.เห็นคุณค่าของศิลปหัตถกรรมในท้องถิ่น รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ๓๒๒๐๑ การวาดภาพไทย ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาประวัติความเป็นมาลักษณะของลายไทยพื้นบ้าน หลักการและวิธีการเขียน การใช้เส้นและสี การผูกลาย การคัดลอก คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้เขียนลวดลาย อุปกรณ์และเครื่องมือในการเขียนลายพื้นบ้านและลายไทย ปฏิบัติงาน เขียนลายพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่นและลายไทยด้วยเส้น รูปร่าง รูปทรง ผูกลาย โดยวิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานลายไทย เน้นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญา ไทย ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการพิจารณาคุณค่า เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม เพื่อคุณค่างานศิล ปะที่เป็ น มรดกทางวัฒ นธรรม ภูมิป๎ญญาไทย ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวั นโดยใช้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการพิจารณาคุณค่า สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเขียนลายไทย โครงสร้างของลายไทย ๒. ผู้เรียนสามารถเขียนลายไทยเบื้องต้น เช่นลายกนก ลายประจายาม และ ลายกระจังได้ ๓. ผู้เรียนสามารถนาลายไทยมาประยุกค์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะแขนงต่างๆได้ ๔. ผู้เรียนเห็นคุณค่าและความสวยงามของลายไทย รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ๓๒๒๐๒ การวาดภาพไทย๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๑ หน่วยกิต
ลายไทยพื้นบ้านและลายไทยที่มีอยู่ในตลาด การออกแบบ วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการเขียนลายพื้นบ้าน และลายไทย เทคนิคการเขียนลวดลายการใช้สีและการประยุกต์ลายพื้นบ้านและลายไทย โดยการปฏิบัติงานออกแบบและประยุกต์ลายพื้นบ้านหรือลายไทย เขียนลายพื้นบ้านหรือลายไทยตามแบบที่ กาหนดบนวัสดุหรือผลิตภัณฑ์ ตกแต่งเพื่อให้เกิดทักษะในการออกแบบประยุกต์และเขียนลายไทยได้ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานลายไทย เพื่อคุณค่างานศิล ปะที่เป็ น มรดกทางวัฒ นธรรม ภูมิป๎ญญาไทย ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันโดยใช้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการพิจารณาคุณค่า สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม ผลการเรียนรู้ ๑. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาและหลักการเขียนภาพไทยประเพณี ๒. ผู้เรียนสามารถแยกความแตกต่างระหว่างศิลปะภาพไทยกับศิลปะตะวันตกได้ เช่น การวาดดวงตาของคน ไทยกับดวงตาของแบบคนตะวันตกได้ ๓. ผู้เรียนยกย่องและเห็นคุณค่าของประเพณีไทย ๔. ผู้เรียนสามารถเขียนภาพไทยประเพณีอย่างถูกต้องตามหลักการได้ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ๓๓๒๐๑ การวาดภาพสีนา้ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาหลักการเขียนภาพสีน้า วิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ เทคนิคต่างๆในการเขียนภาพสีน้า และคุณสมบัติของสีน้า ปฏิบัติงานจิตรกรรม ด้วยเทคนิคสีน้า ฝึกการมองเห็น การสังเกต เปรียบเทียบจากความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง รูปทรง การกาหนดสัดส่วน สี น้าหนัก สี แสงเงา ระนาบ มิติ และบรรยากาศของสีในหุ่นนิ่ง โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิ ควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ ผลการเรียนรู้ ๑. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจหลักการเขียนสีน้า การเลือกใช้อุปกรณ์ ๒. ผู้เรียนสามารถเขียนภาพสีน้าด้วยเทคนิคต่างๆได้ ๓. ผู้เรียนสามารถกาหนดสัดส่วน น้าหนัก แสงเงาในการเขียนภาพสีน้าได้ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ๓๓๒๐๒ การวาดภาพสีนา้ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาหลักการจัดองค์ประกอบภาพ การจัดวางภาพเขียนภาพหุ่นนิ่ง ทิวทัศน์ต่างๆจากแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ในท้องถิ่น ชาดหาดต่างๆในชุมชน และแสดงแสงเงา มิติ ด้วยเทคนิคต่างๆในการเขียนภาพสีน้า สามารถนาเทคนิคการ เขียนภาพสีน้าไปประยุกต์ใช้ในสาขาวิชาต่าง ๆ อย่างมีทักษะ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเทคนิควิธีการที่หลายหลาย เพื่อสื่ อ ความคิด และจินตนาการ การอภิปรายแลกเปลี่ยนร่วมกัน เพื่อสร้ างความรู้ สึ กประทับใจต่องานทัศนศิล ป์ของท้องถิ่นตนเอง และเห็ นคุณค่าทั้งในกระบวนการทางาน ทัศนศิลป์และผลงานทางทัศนศิลป์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ๑. ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการจัดองค์ประกอบ และการจัดวางภาพ ๒. ผู้เรียนสามารถเขียนภาพหุ่นนิ่ง ทิวทัศน์ ด้วยเทคนิคต่างๆในการเขียนภาพสีน้าได้ ๓. ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น ใฝุรู้ใฝุเรียน รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๑๒๒๑ ปฏิบัตดิ นตรีตามถนัด ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาประวัติความเป็นมาของดนตรีสากล ฝึกการเปล่งเสียงและออกเสียงตามตัวโน้ต ปฏิบัติเครื่องดนตรีสากลที่ ถนัด ๑ ชนิด ฝึกบรรเลงเดี่ยวประกอบการขับร้องและบรรเลงรวมวง เพื่อให้มีความรู้มีทักษะในการบรรเลงดนตรีที่ชื่นชอบ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการเล่นดนตรี ผลการเรียนรู้ ๑. รู้ประวัติความเป็นมาของดนตรีสากล ๒. มีทักษะเปล่งเสียงและออกเสียงตามตัวโน้ต ๓. บรรเลงเครื่องดนตรีสากลพื้นฐานได้ถูกต้อง ๔. บรรเลงเดี่ยวประกอบการขับร้องได้ ๕. บรรเลงรวมวงได้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๑๒๒๒ ปฏิบัตดิ นตรีตามถนัด ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการฟ๎งและแยกเสียงเครื่องดนตรี หลักการขับร้องและบรรเลงเครื่องดนตรีที่ถนัด ฝึกการฟ๎งและแยก เสียงดนตรีในแต่ละกลุ่มเครื่องดนตรี ฝึกการขับร้อง การบรรเลงเครื่องดนตรีที่ถนัด การบรรเลงรวมวง เพื่อให้มีความรู้มี ทักษะในการบรรเลงดนตรีที่ชื่นชอบ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการเล่นดนตรี ผลการเรียนรู้ ๑. มีทักษะในการฟ๎งและแยกเสียงดนตรีในแต่ละกลุ่มเครื่องดนตรี ๒. มีทักษะในการขับร้องและเปล่งเสียงร้องเพลง ๓. บรรเลงเครื่องดนตรีสากลตามความถนัด ๔. บรรเลงดนตรีรวมวงได้ รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๗๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๒๒๒๑ ปฏิบัตดิ นตรีตามถนัด ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการขับร้องทั้งขับร้องหมู่ และเดี่ยว การบรรเลงเครื่องดนตรีที่ถนัด ฝึกการขับร้องหมู่และเดี่ยว บรรเลงเครื่องดนตรีที่ถนัด บรรเลงรวมวง เลือกคุณลักษณะ ความต้องการในการต่อยอดในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้มี ความรู้มีทักษะในการบรรเลงดนตรีที่ชื่นชอบ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการเล่นดนตรี ผลการเรียนรู้ ๑. มีทักษะในการขับร้องหมู่และเดี่ยว ๒. บรรเลงเครื่องดนตรีสากลตามความถนัด ๓. บรรเลงดนตรีรวมวงได้ ๔. เลือกคุณลักษณะ ความต้องการในการต่อยอดในระดับอุดมศึกษา รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๒๒๒๒ ปฏิบัตดิ นตรีตามถนัด ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาหลักการขับร้องทั้งขับร้องหมู่ และเดี่ยว การบรรเลงเครื่องดนตรีที่ถนัด ฝึกการขับร้องหมู่และเดี่ยว บรรเลงเครื่องดนตรีที่ถนัด บรรเลงรวมวง เลือกคุณลักษณะ ความต้องการในการต่อยอดในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้มี ความรู้มีทักษะในการบรรเลงดนตรีที่ชื่นชอบ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการเล่นดนตรี ผลการเรียนรู้ ๑. มีทักษะในการขับร้องหมู่และเดี่ยว ๒. บรรเลงเครื่องดนตรีสากลตามความถนัด ๓. บรรเลงดนตรีรวมวงได้ ๔. เลือกคุณลักษณะ ความต้องการในการต่อยอดในระดับอุดมศึกษา รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๓๒๒๑ ปฏิบัตดิ นตรีตามถนัด ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเรื่องตัวโน้ต คีตลักษณ์ต่างๆ การกระจายตัวโน้ต โครงสร้างบันไดเสียง ฝึกการฟ๎งเสียงขั้นคู่และเขียนได้ ฝึกฟ๎งเสียงคอร์ดขั้นพื้นฐาน เพื่อให้มีความรู้มีทักษะในการฟ๎งเสียงดนตรีที่ชื่นชอบ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการฟ๎ง ดนตรี ผลการเรียนรู้ ๑. รู้เข้าใจความหมายของตัวโน้ตและคีตลักษณ์ตา่ งๆ ๒. มีทักษะในการกระจายตัวโน้ตได้ ๓. รู้เข้าใจความหมายและโครงสร้างบันไดเสียงในแบบต่างๆ ๔. มีทักษะการฟ๎งเสียงขั้นคู่ และ เขียนได้ ๕. มีทักษะในการฟ๎งเสียงคอร์ดขั้นพื้นฐานได้ รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๓๒๒๒ ปฏิบัตดิ นตรีตามถนัด ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความหมายและประวัติดนตรีในยุคต่างๆ ประวัติผลงานเพลงของคีตกวีในยุคต่าง ๆ ฝึกฟ๎งเพลงแยก โครงสร้างของเพลงขั้นพื้นฐาน เพื่อให้มีความรู้มีทักษะในการฟ๎งเสียงดนตรีที่ชื่นชอบ เห็นคุณค่าและประโยชน์ของการฟ๎ง ดนตรี ผลการเรียนรู้ ๑. รู้เข้าใจความหมายของคีตศิลป์ ๒ รู้ประวัติดนตรีในยุคสมัยต่าง ๆ ๓. รู้ประวัติและผลงานเพลงของคีตกวีในยุคต่าง ๆ ๔. มีทักษะในการฟ๎งเพลงและแยกโครงสร้างของบทเพลงขั้นพื้นฐาน รวมทั้งหมด ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๑๒๔๑ ปฏิบัตินาฎศิลป์ตามถนัด ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ลักษณะและองค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน และ นาฏศิลป์สากล การตีบทเบื้องต้น ท่าราพื้นฐาน นาฎยศัพท์ ระบาแบบมาตราฐานและปรับปรุง ราวงมาตราฐาน และ การแสดงพื้นเมือง โดยสร้างสรรค์และประยุกต์ผลงานให้สอดคล้องกับภูมิป๎ญญาท้องถิ่น และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑.เข้าใจองค์ประกอบของการแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน และ นาฏศิลป์สากล ๒.สามารถตีบทเบื้องต้น ท่าราพื้นฐาน นาฏยศัพท์ ระบาแบบมาตราฐานและปรับปรุง ราวงมาตราฐาน และ การแสดงพื้นเมือง ๓.สามารถสร้างสรรค์และประยุกต์ผลงานให้สอดคล้องกับภูมิป๎ญญาท้องถิ่น และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๑๒๔๒ ปฏิบัตินาฎศิลป์ตามถนัด ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง ลักษณะบทละคร ไทยกับละบทละครสากล สามารถเขียนบทละครและ สามารถแสดงตามบทละครที่เขียน โดยประยุกต์ให้สอดคล้องกับสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย ทา กิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่งานนาฏศิลป์ไทย เพื่อให้ตระหนักในคุณค่าและบทบาทนาฏศิลป์ไทยกับสังคม ผลการเรียนรู้ ๑.เข้าใจและสามารถเปรียบเทียบลักษณะบทละคร ไทยกับละบทละครสากลได้ ๒.สามารถแสดงตามบทละครที่เขียนขึ้นได้ โดยประยุกต์ให้สอดคล้องกับสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมไทย ๓.สามารถทากิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่งานนาฏศิลป์ไทย เพื่อให้ตระหนักในคุณค่าและบทบาทนาฏศิลป์ ไทยกับสังคม รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๒๒๔๑ ปฏิบัตินาฎศิลป์ตามถนัด ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาการอธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์ หรือความคิดเห็นของ ผู้ชมใน นาฎย ศัพท์ ทางการละครในการแสดง แสดงนาฎศิลป์และการละคร ในรูปแบบที่ง่ายๆ โดยระบุ ป๎จจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฎศิลป์ นาฎศิลป์พื้นบ้าน ละคร โดยการแสดงละครพื้นบ้าน บรรยายประเภทของละครในแต่ละยุคสมัย ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องอิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์ ความคิดของผู้ชม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องนาฎยศัพท์ ในการแสดงนาฎศิลป์ และการละคร ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องป๎จจับที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฎศิลป์ โดย นาฎศิลป์พื้นบ้าน การละคร ๔. มีความรู้ ความเข้าใจในประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๒๒๔๒ ปฏิบัตินาฎศิลป์ตามถนัด ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาการใช้ทักษะการทางานเป็นกลุ่ม ในกระบวนการผลิตการแสดง ใช้เกณฑ์ง่ายๆ ที่กาหนดให้ในการพิจารณา คุณภาพที่ชม โดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่า แสดงละครพื้นบ้าน บรรยาย ประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในการทางานเป็นกลุ่มทางด้านการแสดง ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในการชมการแสดง การใช้เสียงของผู้แสดง ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในละครพื้นบ้าน ๔. มีความรู้ ความเข้าใจในการบรรยายในประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๓๒๔๑ ปฏิบัตินาฎศิลป์ตามถนัด ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต อธิบายการบูรณาการศิปละแขนงต่างๆ กับการแสดงสร้างสรรค์ โดยใช้องค์ประกอบ นาฎศิปล์และการละคร วิเคราะห์งานของตนเองและผู้อื่น โดยใช้นาฎยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละคร เหมาะสม เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการ แสดงนาฎศิลป์ จากวัฒนธรรมต่างๆ อธิบายอิทธิพลของ วัฒนธรรมที่มีผลต่อเนื้อหาของละคร ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจการแสดงนาฎศิลป์พื้นเมือง โดยใช้องค์ประกอบนาฎศิลป์แสดงการ ละคร ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้นาฎยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละคร ๓. มีความรู้ ความเข้าใจในการเปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฎศิลป์จาก วัฒนธรรมต่างๆ ๔. มี ความรู้ ความเข้าใจในอิทธิพลของวัฒนธรรมในเนื้อหาของละคร รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ศ ๓๓๒๔๒ ปฏิบัตินาฎศิลป์ตามถนัด ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต สร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฎศิลป์ และการละคร เสนอข้อคิดเห็นในการ ปรับปรุงการแสดงโดยการ เรียนรู้ ระหว่างนาฎศิลป์ และการละคร กับสาระการเรียนรู้อื่นๆ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์การแสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฎศิลป์ และการ ละคร ๒. มีความรู้ ความเข้าใจในแสดงนาฎศิลป์แบบบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นๆ รวม ๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๘๙
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๐
รหัสวิชา ง ๒๑๑๒๑ ง ๒๑๑๔๑ ง ๒๒๑๓๑ ง ๒๒๑๖๑ ง ๒๓๑๘๑ ง ๒๓๑๐๒ ง ๒๑๑๐๑ ง ๒๑๑๐๒ ง ๒๒๑๐๑ ง ๒๒๑๐๒ ง ๒๓๑๐๑ ง ๒๓๑๐๒ ง ๒๑๒๖๑ ง ๒๑๒๖๒ ง ๒๒๒๖๑ ง ๒๒๒๑๒ ง ๒๓๒๒๑ ง ๒๓๒๒๒ ง ๒๑๒๒๑ ง ๒๑๒๒๒ ง ๒๒๒๒๑ ง ๒๒๒๓๑ ง ๒๓๒๓๑ ง ๒๓๒๓๒ ง ๒๑๒๐๑ ง ๒๑๒๐๒ ง ๒๒๒๐๑ ง ๒๒๒๐๒ ง ๒๓๒๐๑ ง ๒๓๒๐๒
โครงสร้างวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต งานบ้าน ๒๐ ๐.๕ งานเกษตร ๒๐ ๐.๕ งานประดิษฐ์ ๒๐ ๐.๕ งานช่าง ๒๐ ๐.๕ งานธุรกิจ ๒๐ ๐.๕ โครงงานอาชีพ ๒๐ ๐.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ ๒๐ ๐.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ ๒๐ ๐.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓ ๒๐ ๐.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔ ๒๐ ๐.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕ ๒๐ ๐.๕ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖ ๒๐ ๐.๕ งานช่างปูน ๔๐ ๑.๐ งานช่างไม้ ๔๐ ๑.๐ งานเขียนแบบ ๑ ๔๐ ๑.๐ งานเขียนแบบ ๒ ๔๐ ๑.๐ งานเขียนแบบ ๓ ๔๐ ๑.๐ งานเขียนแบบ ๔ ๔๐ ๑.๐ งานขนมไทย ๔๐ ๑.๐ งานอาหารไทย ๔๐ ๑.๐ งานอาหารนานาชาติ ๔๐ ๑.๐ งานประดิษฐ์ใบตอง ๔๐ ๑.๐ งานร้อยมาลัย ๔๐ ๑.๐ งานผ้า ๔๐ ๑.๐ หนังสืออิเล็คทรอนิคส์ ๔๐ ๑.๐ การนาเสนอประยุกต์ ๔๐ ๑.๐ การตัดต่อวีดิโอ ๔๐ ๑.๐ การสร้างเว็บไซด์ด้วย HTML ๔๐ ๑.๐ โปรแกรม MSW Logo ๔๐ ๑.๐ การสร้างสื่อผสม ๔๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๑
รหัสวิชา ง ๓๑๑๒๑ ง ๓๑๑๓๑ ง ๓๒๑๖๑ ง ๓๒๑๔๑ ง ๓๓๑๐๑ ง ๓๓๑๘๑ ง ๓๑๒๗๑ ง ๓๑๒๗๒ ง ๓๒๒๒๑ ง ๓๒๒๒๒ ง ๓๓๒๔๑ ง ๓๓๒๔๒ ง ๓๑๒๖๑ ง ๓๑๒๖๒ ง ๓๒๒๖๑ ง ๓๒๒๖๒ ง ๓๓๒๓๑ ง ๓๓๒๒๑ ง ๓๑๒๑๑ ง ๓๑๒๑๒ ง ๓๒๒๑๑ ง ๓๒๒๑๒ ง ๓๓๒๑๑ รหัสวิชา ง ๓๓๒๑๒ ง ๓๑๒๕๑ ง ๓๑๒๕๒ ง ๓๒๒๕๓ ง ๓๒๒๕๔ ง ๓๓๒๕๕ ง ๓๓๒๕๖
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) การดารงชีวิตและครอบครัว ๒๐ งานประดิษฐเศษวัสดุ ๒๐ งานช่าง ๒๐ งานเกษตร ๒๐ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒๐ งานอาชีพ(ธุรกิจ) ๒๐ การถ่ายภาพนิ่ง ๔๐ การผลิตภาพยนตร์สั้น ๔๐ การแปรรูปอาหาร ๔๐ การบัญชีเบื้องต้น ๔๐ การปลูกไม้กระถาง ๑ ๔๐ การปลูกไม้กระถาง ๒ ๔๐ งานเชื่อมโลหะ ๑ ๔๐ งานเชื่อมโลหะ ๒ ๔๐ งานช่างไม้ ๑ ๔๐ งานช่างไม้ ๒ ๔๐ ผ้ามัดย้อม ๔๐ อาหารเพื่ออาชีพ ๔๐ ภาษา HTML ๔๐ การเขียนโปรแกรม Scratch ๔๐ การเขียนโปรแกรมวิชวลเบสิค๑ ๔๐ การเขียนโปรแกรมวิชวลเบสิค๒ ๔๐ โครงงานคอมพิวเตอร์ ๑ ๔๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) โครงงานคอมพิวเตอร์ ๒ ๔๐ การเขียนโปรแกรม ๑ ๔๐ การเขียนโปรแกรม ๒ ๔๐ การเขียนโปรแกรม ๓ ๔๐ การเขียนโปรแกรม ๔ ๔๐ สัมมนาคอมพิวเตอร์ ๑ ๔๐ สัมมนาคอมพิวเตอร์ ๒ ๔๐
จานวนหน่วยกิต ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
จานวนหน่วยกิต ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๒
ง ๒๑๑๒๑ งานบ้าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาลักษณะงานกระบวนการและวิธีการจัดการในบ้าน วิเคราะห์ วางแผนขั้นตอนการปฏิบัติงาน และลงมือ ป ฏิ บั ติ ง า น เ กี่ ย ว กั บ ง า น บ้ า น ใ น เ รื่ อ ง ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ก า ร จั ด ต ก แ ต่ ง บ้ า น แ ล ะ บ ริ เ ว ณ บ้ า น การใช้และการเก็บรักษาเครื่องอุปโภคบริโภคในบ้าน การซ่อม และดัดแปลงเครื่ องนุ่งห่ม การดูแลช่วยเหลือและบริการ บุคคลในครอบครั ว การเลื อกซื้อสิ น ค้า และบริ การตามความจาเป็น การประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้ เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของครอบครัวการออมทรัพย์ และการทาบันทึกรายรับรายจ่ายอย่างง่าย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ผ่านการบรรยายและลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานบ้าน และปฏิบัติงานบ้าน มีความรับผิดชอบ มีระเบียบ สะอาด ประหยัด มี กิจนิสัยที่ดี เกี่ยวกับการทางานถูกต้องตามกระบวนการทางาน และทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รหัสตัวชี้วัด ง. ๑.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๑๑๔๑ งานเกษตร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสาคัญของการขยายพันธุ์ เครื่องมืออุปกรณ์ในการขยายพันธุ์ การขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศ การอนุบาลพันธุ์ไม้ การปลุกพืชในภาชนะและการจัดจาหน่ายสารวจป๎จจัยการผลิตและภาวะการตลาดวางแผนการผลิต พันธุ์ไม้ เลือกเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะกับวิธีการขยายพันธุ์ ฝึกทักษะการขยายพันธุ์โดยไม่ใช้เพศ เช่น ติดตา ป๎ก ชา ตอน ทาบกิ่ง เสียบยอด เลือกพันธุ์ไม้โดยวิธีการขยายพันธุ์อย่างน้อย ๓ วิธี ดูแลบารุงรักษา โดยวิธีการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง ในกระบวนการขยายพันธุ์พืช เพือ่ ให้เห็นคุณค่าการผลิตพันธุ์ไม้ การเกษตรกรรม และมีทักษะในการป๎กชา ตอน ทาบกิ่ง เสียบยอด จาหน่าย ได้ รหัสตัวชี้วัด ง. ๑.๑ ม.๑/๑ ,ม.๑/๒ ,ม.๑/๓ รวม ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๒๑๓๑ งานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของงานประดิษฐ์ วิธีใช้เครื่องมือ และ อุปกรณ์ในงานประดิษฐ์การ ออกแบบงานประดิษฐ์ทั่วไป และการออกแบบงานประดิษฐ์ที่เป็น เอกลักษณ์ไทย ประเภทและหลักการประกอบธุรกิจจาก งานประดิษฐ์ ฝึกปฏิบัติทักษะกระบวนการทางาน การจัดการ การวางแผน การแก้ปัญหา และการ แสวงหาความรู้ในการใช้ เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานประดิษฐ์ การออกแบบงานประดิษฐ์ทั่วไป และ การออกแบบงานประดิษฐ์ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย ประดิษฐ์ชิ้นงานอยางน้อย ๒ ชิ้น โดยยึดหลักคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดีในการทางาน หลักการใช้พลังงาน ทรัพยากร ใน การทางานอย่างคุม้ ค่าและยั่งยืน เรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริงในการประดิษฐ์ การใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆในงานประดิษฐ์ เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล๎อม เพื่อให๎มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในงานประดิษฐ์ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ ดี ในการทางาน ใช๎พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุม้ คาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม รหัสตัวชี้วัด ง.๒.๑ ม.๒/๑ – ๔ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๒๑๖๑ งานช่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สร้างความคิดรวบยอด นาภูมิปัญญาท้องถิ่น สภาพปัญหาชีวิต สภาพแวดล้อม เข้ามา เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้มีความเข้าใจ ตระหนั ก และเห็นคุณค่าในเรื่องงานช่างงานช่างพื้นฐาน การ ออกแบบงานไฟฟ้า งานประปา งานไม้ งานปูน และงานสี ดังนั้นเราควรรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการ วิธีการ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานไม้ งานปูน และงานทาสี เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลและซ่อมแซมบ้านในขั้นต้นได้ ซึ่งจะ ช่วยให้เราพึ่งตนเอง และลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวได้อีกด้วย การซ่อมแซมและดัดแปลงสิ่งของเครื่องใช้ในบ้าน เกี่ยวกับ สิ่งของเครื่องใช้และวัสดุเหลือใช้ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในบ้าน ถ้าเรารู้จักดูแลบารุงรักษา รู้วิธีประดิษฐ์ ดัดแปลงจะช่วยให้มีอุปกรณ์ เครื่องใช้เพิ่มมากขึ้น อีกทั้งลดอุบัติ เหตุ และค่าใช้จ่ายภายในบ้านได้อีกทางหนึ่งและฝึกการเรียนรู้สู่กระบวนการคิดบน พื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ นั กเรี ย นรู้ จั กการแก้ปั ญหาในการทางาน ปฏิบัติงานด้ว ยความเสี ยสละ ตัดสิ นใจเลื อกอาชีพ ที่ เหมาะสม มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รหัสตัวชี้วัด ง.๒.๑ ม.๒/๑ – ๔ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง๒๓๑๘๑ งานธุรกิจ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ขั้นตอนและตามกระบวนการทางาน การตัดสินใจแก้ป๎ญหา การทางาน แนวทางการเลือกอาชีพ ปฏิบัติงานอาชีพ การสร้างอาชีพ ศึกษาประเภทขององค์การธุรกิจ ลักษณะสาคัญขององค์การธุรกิจแบบต่าง ๆ หน่วยงานที่ดูแลคุ้มครองผู้บริโภค ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิของผู้บริโภคและการเป็นผู้บริโภคที่ฉลาด โดยวิธีสอนสาธิตและปฏิบัติการกิจกรรม ใบงาน อ่านคิดวิเคราะห์ คุณธรรมและจริยธรรมในการ ใช้กระบวนการ กลุ่ม การนาเสนอผลงาน ปฏิบัติงานตามกระบวนการทางาน แก้ป๎ญหาการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ มีวิจารณญาณ ใช้ ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัด มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เรียนมุ่งมั่นในการทางาน ทางานเป็นกลุ่มด้วยความเสียสละ มีความรับผิดชอบ เห็นคุณค่า และภูมิใจใน การทางาน ตัดสินใจในการแก้ป๎ญหาอย่างมีวิจารณญาณ ใฝุเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ รักความเป็นไทย มีวินัย รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๓/๑ - ๑๐ ง ๔.๑ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๓๑๘๒ โครงงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ อภิปราย สรุปผล ปัญญา สาเหตุของปัญญา ที่เกิดขึ้นในยุคบริโภค นิยม แนวทางแก้ปัญหา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงงาน ธุรกิจตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โดยคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการทางาน การแก้ปัญหา ทักษะการดา รงชีวิต ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทักษะการดารงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ทักษะการประกอบธุรกิจตาม แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให๎มีความรู้ความเข๎าใจ มีทักษะในการท าโครงงาน ตลอดจนมี คุณธรรม จริยธรรมและ ลักษณะนิสัยที่ดีในการทางาน ใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการท างานอยางคุ้มคาและยั่งยืน เพื่อการ อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ศึกษา และวิเคราะห์ความสาคัญของการประกอบอาชีพ วิเคราะห์ถึงป๎ญหาก่อนการตัดสินใจ ความสาคัญของ การเลือกอาชีพและการแนะแนวอาชีพ การเลือกอาชีพให้เหมาะสมกับเรา ป๎ญหาก่อนตัดสินใจเลือกอาชีพของนักเรียน หรือผู้สมัครงานข้อแนะนาก่อนตัดสินใจเลือกอาชีพ บุคลิกภาพกับการเลือกอาชีพ การเตรียมตัวสมัครงาน การเขียนใบ สมัครงานการเตรียมตัวสอบสัมภาษณ์ โดยวิธีสอนสาธิต การใช้บทบาทสมมติ และการปฏิบัติกิจกรรม ใบงาน อ่านคิดวิเคราะห์ คุณธรรมและจริยธรรม ในการ ใช้กระบวนการกลุ่ม การนาเสนอผลงานปฏิบัติงานตามกระบวนการทางาน แก้ป๎ญหาการปฏิบัติงานอย่างมีระบบ มี วิจารณญาณ ใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างประหยัด มีเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีความสามารถในการคิด การแก้ป๎ญหา สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และงานอาชีพ มีความ มุ่งมั่นในการทางาน ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์ สุจริต ตรงต่อเวลา และมีระเบียบวินัยในการทางาน รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๓/๑ – ๑๐ ง ๔.๑ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๑๑๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการรวบรวม การตรวจสอบความถูกต้อง การจัดเก็บ การจัดการ การกระทา ข้อมูลข่าวสาร โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ สานักงานต่างๆ ในการปฏิบัติงานเพื่อให้ได้สารสนเทศหรือความรู้ที่นามาใช้การ ตัดสินใจหรือเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต โดยจัดประสบการณ์จัดกิจกรรมหรือโจทย์ป๎ญหาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี สารสนเทศ การติดต่อสื่ อสาร การค้น หาข้อมูล การใช้ข้อมูล และสารสนเทศ ขั้นตอนการแก้ป๎ญหา หรือการสร้างผั งงานโดยการ ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ป๎ญหาหรืออธิบายการทางานที่พบในชีวิตจริง คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้สารสนเทศ ตัวชี้วัด ง. ๓.๑ ม.๑/๑, ง.๓.๑ ม.๑/๒, ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว. ๔.๒ ม.๑/๑ ,ม.๑/๓, ม.๑/๔ รวมทั้งหมด ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๒๙๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๑๑๐๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาการเขีย น ออกแบบการเขี ย นโปรแกรมอย่างง่ าย เพื่อแก้ ป๎ญหาทางคณิตศาสตร์ ห รือวิทยาศาสตร์เพื่ อ ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การสร้างทางเลือกและประเมินผลเพื่อตัดสินใจซอฟต์แวร์และบริการทางอินเตอร์เน็ตที่ใช้ในการจัดการข้อมูล แนว ทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ข้อตกลงและการใช้สื่อและแหล่ม ข้อมูล การนาแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ป๎ญหา ไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรม หรือแก้ป๎ญหาในชีวิต จริง รวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือก ในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพและตระหนักถึงการเลื อกใช้งานเทคโนโลยี สารสนเทศอย่างปลอดภัย ตัวชี้วัด ง.๓.๑ ม.๑/๓ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว.๔.๒ ม.๑/๒ รวมทั้งหมด ๒ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๒๑๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึก ษาความหมายความส าคั ญของการออกแบบตามกระบวนการเทคโนโลยี การวิ เคราะห์ และการเลื อกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ใช้ทักษะกระบวนการที่หลากหลายกับการทางาน รวมทั้งใช้กระบวนการเทคโนโลยี ในการแก้ป๎ญหา สนองความต้องการในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ด้านการออกแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบ ปฏิบัติการ ออกแบบ ด้วยจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพ ๓ มิติ หรือภาพฉายเพื่อนาไปสู่การสร้างต้นแบบ ของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอด ความคิดของวิธีการเป็นแบบจาลองความคิดและรายงานผล มีความคิดสร้างสรรค์ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ ในการแก้ป๎ญหาหรือสนองความต้องการในงานที่ ผลิตเอง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของการทางาน สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม และมีจิตสานึกในการใช้ พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า ตัวชี้วัด ง ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ง ๓.๑ ม.๓/๔ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๓, ม.๒/๔ รวม ๙ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๒๑๐๒ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึก ษาความหมายความส าคั ญของการออกแบบตามกระบวนการเทคโนโลยี การวิ เคราะห์ และการเลื อกใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม ใช้ทักษะกระบวนการที่หลากหลายกับการทางาน รวมทั้งใช้กระบวนการเทคโนโลยี ใน การแก้ป๎ญหา สนองความต้องการในการสร้างสิ่งของเครื่องใช้ โดยใช้ซอฟต์แวร์ด้านการออกแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สร้างสรรค์ผลงานด้านการออกแบบ ปฏิบัติการ ออกแบบ ด้วยจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ โดยถ่ายทอดความคิดเป็นภาพ ๓ มิติ หรือภาพฉาย เพื่อนาไปสู่การสร้างต้นแบบ ของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอด ความคิดของวิธีการเป็นแบบจาลองความคิดและรายงานผล มีความคิดสร้างสรรค์ได้แก่ ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดลออ ในการแก้ป๎ญหาหรือสนองความต้องการในงานที่ ผลิตเอง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก และเห็นคุณค่าของการทางาน สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวั น มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม และมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ในการปฏิบัติงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า ตัวชี้วัด ง ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ง ๓.๑ ม.๓/๔ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว ๔.๒ ม.๒/๑,ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ รวม ๕ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๓๑๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการทาโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการพื้นฐาน ใน การเขี ย นโปรแกรมขั้ น พื้น ฐาน เช่น โครงสร้ างของโปรแกรม คาสั่ ง ที่ใช้ ชนิดของข้อมูล โครงสร้าง ของคาสั่ ง ควบคุ ม การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสร้ า งงานตามหลั ก การท าโครงงานอย่ า งมี จิ ต ส านึ ก และความรั บ ผิ ด ชอบ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน การพัฒนาแอพลิเคชัน โดยนาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการทาโครงงาน โดยสร้างโครงงานที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและมี ความคุ้มค่าต่อการนาไปใช้ รวมทั้งต้องศึกษาถึงผลกระทบจากการสร้างโครงงาน เพื่อไมก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้อื่น เพื่อเห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมู ล การเรียนรู้ การแก้ป๎ญหา การทางาน อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ง.๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๒๓๑๐๒ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการทาโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการพื้นฐานในการ เขี ย นโปรแกรมขั้ น พื้ น ฐาน เช่ น โครงสร้ า งของโปรแกรม ค าสั่ ง ที่ ใ ช้ ชนิ ด ของข้ อ มู ล โครงสร้ า งของค าสั่ ง ควบคุ ม การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสร้ า งงานตามหลั ก การท าโครงงานอย่ า งมี จิ ต ส านึ ก และความรั บ ผิ ด ชอบ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน โดยนาอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศไปใช้ในการทาโครงงาน โดยสร้างโครงงานที่เป็นประโยชน์ ต่อสังคมและมี ความคุ้มค่าต่อการนาไปใช้ รวมทั้งต้องศึกษาถึงผลกระทบจากการสร้างโครงงาน เพื่อไมก่อให้เกิด ความเสียหายต่อผู้อื่น เพื่อเห็นคุณค่าและใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การแก้ป๎ญหา การทางาน อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ตัวชี้วัด ง.๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวม ๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๔
ง ๒๓๒๖๑ งานช่างปูน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาเกี่ ยวกับเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในงานช่างปูน การเตรียมวัส ดุและพื้นที่ การอ่านแบบ การหาระดับ ปูน สาหรับงานตกต่าง ลาดับขั้นตอนและวิธีการก่ออิฐแบบต่างๆ การฉาบปูนเรียบ และตกแต่งผิว ผนัง ปฏิบัติอ่านแบบ เตรียมวัสดุและพื้นที่ หาระดับ ดิ่งและแนว ผสมปูนก่อ ปูนฉาบ และปูนสาหรับงานตกแต่งผิว ก่อ อิฐ ฉาบปูน และตกแต่งผิวปูน อย่างง่าย สารวจแหล่ งวัสดุและแหล่งบริการในท้องถิ่น คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคา ค่าบริการ ทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการก่ออิฐ ฉาบปูน และตกแต่งผิวลักษณะต่างๆ อย่างง่ายได้ถูก ต้อง ตามลาดับขั้นตอน และสามารถให้บริการได้ ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงหลักความปลอดภัยได้ ๒. ศึกษาเรื่องเครื่องมือและวัสดุงานปูนได้ ๓. อ่านแบบงานปูนได้ ๔. ปฏิบัติการหาระดับทั้งแนวดิ่งและแนวนอนได้ ๕. ผสมปูนก่อ ปูนฉาบและปูนสาหรับงานตกแต่งได้ ๖. ปฏิบัติการก่ออิฐ ฉาบปูนและตกแต่งผิวปูนอย่างง่ายได้ ๗. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาและค่าบริการได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๓๒๖๒ งานช่างไม้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาลักษณะ ชนิด ขนาดของเครื่องเรือนที่ทาด้วยไม้ที่นิยมในท้องถิ่น เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ความปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงาน การอ่านแบบ เทคนิคการทาเครื่องเรือน วิธีการ กะ วัด การตัด การไส การเพลาะ การเจาะ การบาก การเข้าปากไม้ การประกอบ และการตกแต่งชิ้นงาน ปฏิบัติงานฝึกทักษะเกี่ยวกับการอ่านแบบ กะ วัด ตัด ไส เพลาะ เจาะ บาก เข้าปากไม้ ประกอบตกแต่งชิ้นงาน ผลิตชิ้นงานตามแบบที่กาหนด บริการผลิตเครื่องเรือนอย่างง่าย สารวจแหล่งวัสดุและแหล่งบริการในท้องถิ่น คานวณ ค่าใช้จ่าย กาหนดราคา จัดจาหน่าย ทาบัญชีรายรับ – รายจ่าย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการอ่านแบบ กะ วัด ตัด ไส เพลาะ เจาะ บาก และเข้าปากไม้ ประกอบ ตกแต่งชิ้นงาน สามารถให้บริการผลิตเครื่องเรือนด้วยไม้และจาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงหลักความปลอดภัยได้ ๒. ศึกษาชนิดและขนาดของเครื่องเรือนที่ทาด้วยไม้ได้ ๓. อ่านแบบงานไม้ไม้ ๔. ปฏิบัติการวัด การตัด การไส การเพลาะ การเจาะ การบากไม้ได้ ๕. ปฏิบัติการเข้าไม้ด้วยวิธีการเข้าชน การเข้ามุม การเข้าเดือยได้ ๖. ผลิตชิ้นงานตามแบบที่กาหนดได้ ๗. ผลิตเครื่องเรือนอย่างง่ายได้ ๘. ตกแต่งชิ้นงานให้มีความสวยงามและเรียบร้อยได้ ๙. คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาและค่าบริการได้ รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง๒๒๒๖๑ งานเขียนแบบ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของการเขียนแบบ ความสาคัญของการเขียนแบบ ลักษณะของการเขียน แบบ การใช้และการบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ หลักการใช้เส้น การจัดหน้ากระดาษ การใช้มาตราส่วนในงานเขียน แบบ การสร้างรูปทรงเรขาคณิตอย่างง่าย ฝึกทักษะปฏิบัติการจัดหน้ากระดาษ การใช้มาตราส่วน เส้นที่ใช้ในการเขียนแบบ การสร้างรูปทรงเรขาคณิตโดย ใช้เครื่องมือเขียนแบบ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการใช้และบารุงรักษาเครื่องมือ สามารถเขียนเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ การสร้างรูปทรงเรขาคณิตโดยใช้เครื่องมือเขียน และนาไปประยุกต์ใช้ในงานช่างได้ ผลการเรียนรู้ ๑. บอกประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการของการเขียนแบบได้ ๒. บอกความสาคัญของการเขียนแบบได้ ๓. บอกลักษณะของการเขียนแบบได้ ๔. ใช้และบารุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง ๕. ใช้มาตราส่วนในการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง ๖. ใช้เครื่องมือเขียนแบบในการสร้างรูปทรงเรขาคณิตได้ ๗. นาความรู้จากงานเขียนแบบไปประยุกต์ใช้ในงานช่างได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๒๒๖๒ งานเขียนแบบ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาวิธีการเขียนภาพสามมิติ ชนิดการเขียนภาพออบลิค ภาพไอโซเมตริกของรูปทรงเรขาคณิต การเขียนภาพ ฉาย การเขียนภาพเปอร์สเปคทีฟ ฝึกทักษะการเขียนภาพสามมิติ ชนิดการเขียนภาพออบลิค ภาพไอโซเมตริกของรูปทรงเรขาคณิต ภาพฉายมุมมอง ที่ ๑ และภาพฉายมุมมองที่ ๓ ภาพเปอร์สเปคทีพ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการเขียนแบบและอ่านแบบรูปทรงเรขาคณิตลักษณะต่างๆ และนาไป ประยุกต์ใช้ในงานช่างได้ ผลการเรียนรู้ ๑. เขียนภาพออบบลิคได้อย่างถูกต้องและสวยงาม ๒. เขียนภาพไอโซเมตริกได้อย่างถูกต้องและสวยงาม ๓. เขียนภาพฉายจากแบบที่กาหนดให้ได้อย่างถูกต้องและสวยงาม ๔. เขียนภาพเปอร์สเปคทีฟได้อย่างถูกต้องและสวยงาม ๕. นาความรู้จากงานเขียนแบบไปประยุกต์ใช้ในงานช่างได้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๓๒๖๑ งานเขียนแบบ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาขั้นตอนการสร้างรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อน ออกแบบชิ้นงาน การร่างแบบภาพ ฝึกทักษะการเขียนรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อน การเขียนรูปวงรี การสร้างส่วนโค้งสัมผัสวงกลม การออกแบบ ชิ้นงาน การร่างแบบภาพ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการเขียนรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อน การเขียนรูปวงรี การสร้างส่วนโค้ง สัมผัสวงกลม และนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบได้ ผลการเรียนรู้ ๑. เขียนรูปทรงเรขาคณิตที่ซับซ้อนได้ ๒. เขียนรูปวงรีได้ ๓. เขียนส่วนโค้งสัมผัสวงกลมได้ ๔. เขียนภาพร่างแบบจากภาพที่กาหนดให้ได้ ๕. นาความรู้จากงานเขียนแบบไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบชิ้นงานได้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๐๙
ง ๒๓๒๖๒ งานเขียนแบบ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาวิธีการเขียนภาพสามมิติจากชิ้นงานที่กาหนด การเขียนภาพสามมิติจากภาพฉาย ฝึกทักษะการเขียนภาพสามมิติจากชิ้นงานที่กาหนด การเขียนภาพสามมิติจากภาพฉาย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการเขียนภาพสามมิติจากชิ้นงานที่กาหนด การเขียนภาพสามมิติจาก ภาพฉาย และนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบได้ ผลการเรียนรู้ ๑. เขียนภาพสามมิติจากชิ้นงานที่กาหนดให้ได้ ๒. เขียนภาพสามมิติจากภาพฉายที่กาหนดให้ได้ ๓. นาความรู้จากงานเขียนแบบไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบชิ้นงานได้ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๑๒๒๑ งานขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความสาคัญและประโยชน์ ความรู้ทั่วไปในการทาขนมไทย การเลือกใช๎อุปกรณ์ เครื่องใช้ สาหรับทาขนมไทย การเลือกซื้อและเก็บรักษา เครื่องปรุงสดและแห๎ง เทคนิคการท าขนมไทย ชนิดตาง ๆ การบรรจุ วิธีการเก็บรักษาขนมไทย ไว๎ให๎ได๎นานและถูกสุขลักษณะ ปฏิบัติงานเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ในการทาขนมไทยแต่ ละชนิด ทาขนมไทย ประเภทตาง ๆ บรรจุและเก็บคานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาขาย หรือคาบริการ จัดจาหน่าย จดบันทึก การปฏิบัติงานทา บัญชีรายรับ-รายจ่าย และประเมินผล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการทาขนมไทยและจัดจาหน่ายได้ ตลอดจนมี คุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดีในการใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุม้ ค่าและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถบอกความเป็นมาและคุณค่าของขนมไทยได้ ๒. สามารถเลือกอุปกรณ์ให๎เหมาะกับชนิดของขนมไทยที่ปฏิบัติได้ ๓. ท าความสะอาด และเก็บอุปกรณ์ได้อย่างมีระเบียบ ๔. สามารถเลือกสวนผสมการทาขนมไทยได๎อยางถูกต๎องและมีคุณภาพ ๕. สามารถปฏิบัติในการท าขนมไทยได๎ถูกต๎องตามขั้นตอน ๖. มีความคิดสร๎างสรรค์ในการบรรจุขนมไทยให๎ดูดีและทันสมัย ๗. สามารถจัดจาหน่ายขนมไทยได้ ๘. มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดีในการทาขนมไทย รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๑๒๒๒ งานอาหารไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความสาคัญ และประโยชน์ของอาหารไทย หลักการจัดอาหารประจาวัน การหุงต้ม อาหาร การสงวนคุณค่า ทางโภชนาการ สุขอนามัย การเลือกซื้ออาหารสด อาหารแห้ ง การเลือกใช้ อุปกรณ์ให้เหมาะสมกับชนิดของอาหาร การ ประกอบอาหารไทยประเภทต่าง ๆ การจดบันทึกการ ปฏิบัติงาน การทาบัญชีราย-รับรายจ่าย การกาหนดราคาขาย การ จาหน่ ายผลผลิต การประเมิน ผลการปฏิบัติงาน หลักคุณธรรมและลักษณะนิสั ยที่ ดีในการทางาน หลักการใช้ พลั งงาน ทรัพยากร ในการ ทางานอย่างคุม้ ค่าและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยฝึกปฏิบัติการหุงต้มอาหาร การสงวนคุณค่าทางโภชนาการ สุขอนามัยการเลือกซื้ออาหาร สด อาหารแห้ง การ เลือกใช้อุปกรณ์ให๎เหมาะสมกับชนิดของอาหาร การประกอบอาหารไทยประเภท ต่าง ๆ การจดบันทึกการปฏิบัติงาน การท าบัญชีราย-รับรายจ่าย การกาหนดราคาขาย การจ าหนาย ผลผลิต การประเมินผลการปฏิบัติงาน ทางานตามหลักคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดี ฝึกการทางาน โดยใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุ้มค่า และยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้ อม เพื่อให๎มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ และคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดี การใช้ พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในการทาอาหารไทยและจัดจาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายหลักการจัดอาหารประจาวันได้ ๒. บอกและปฏิบัติงานการหุงต้มอาหาร ที่สงวนคุณค่าทางโภชนาการได้ ๓. บอกและปฏิบัติงานการเลือกซื้ออาหารแห้ง อาหารสดได้ ๔. เลือกใช้และเก็บรักษาวัสดุอุปกรณ์ ในการเก็บวัสดุอุปกรณ์ได้ถูกต้อง ๕. ประกอบอาหารไทยประเภทต่างๆ เช่น แกง ยา ผัด เครื่องจิ้มได้ถูกต้อง ๖. กาหนดราคาอาหาร และจัดจาหน่ายได้ ๗. ทาบัญชี รายรับ- รายจ่าย ได้ รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๑๒๒๑ งานขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความสาคัญและประโยชน์ ความรู้ทั่วไปในการทาขนมไทย การเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องใช้ สาหรับทาขนมไทย การเลือกซื้อและเก็บรักษา เครื่องปรุงสดและแห๎ง เทคนิคการท าขนมไทย ชนิดต่าง ๆ การบรรจุ วิธีการเก็บรักษาขนมไทย ไว๎ให๎ได้นานและถูกสุขลักษณะ ปฏิบัติงานเตรียมวัสดุอุปกรณ์ และเครื่ องใช้ในการทาขนมไทยแต่ละชนิด ทาขนมไทย ประเภทตาง ๆ บรรจุและ เก็บคานวณค่าใช้จา่ ย กาหนดราคาขาย หรือคาบริการ จัดจาหน่าย จดบันทึก การปฏิบัติงานทา บัญชีรายรับ-รายจ่าย และ ประเมินผล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการทาขนมไทยและจัดจาหน่ายได้ ตลอดจนมี คุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดี ในการใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถบอกความเป็นมาและคุณค่าของขนมไทยได้ ๒. สามารถเลือกอุปกรณ์ให๎เหมาะกับชนิดของขนมไทยที่ปฏิบัติได้ ๓. ท าความสะอาด และเก็บอุปกรณ์ได้อย่างมีระเบียบ ๔. สามารถเลือกสวนผสมการทาขนมไทยได๎อยางถูกต๎องและมีคุณภาพ ๕. สามารถปฏิบัติในการท าขนมไทยได๎ถูกต๎องตามขั้นตอน ๖. มีความคิดสร๎างสรรค์ในการบรรจุขนมไทยให๎ดูดีและทันสมัย ๗. สามารถจัดจาหน่ายขนมไทยได้ ๘. มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติที่ดีในการทาขนมไทย รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๒๒๒๑ งานอาหารนานาชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาอาหารอบประเภทต่างๆ ศัพท์ที่ใช้ในการทาอาหารอบ เครื่องใช้ วัสดุอุปกรณ์ การใช้และการเก็บรักษา มาตราชั่ง ตวง การใช้เตาอบ ปฏิบัติงานสารวจความต้องการของตลาด และแหล่งวัสดุ ฝึกชั่ง ตวง ผสม และประกอบอาหารอบ ปฏิบัติงาน ทาอาหารอบประเภทต่างๆ เช่น ขนมคุ กกี้ พาย ขนมเค้ก และแต่งหน้าเค้กอย่างง่าย เก็บรักษา และบรรจุภ าชนะที่ เหมาะสม คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคา จัดจาหน่าย จดบันทึ กปฏิบัติงาน ทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และประเมินผลการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะในการทาอาหารอบ และจาหน่ายได้ มีนิสัยรักการทางาน ประกอบอาชีพ สุจริต ขยัน ซื่อสัตย์ เป็นระเบียบ ผลการเรียนรู้ ๑. รู้และเข้าใจศัพท์ที่ใช้ในการทาอาหารอบ ๒. บอกและปฏิบัติการชั่งตวง อาหารชนิดต่างๆ ได้ถูกต้อง ๓. เลือกใช้และเก็บรักษาวัสดุ อุปกรณ์ ในการประกอบอาหารได้ ๔. ปฏิบัติงานประกอบอาหารประเภทต่างๆ ได้ ๕. กาหนดราคาอาหารอบ และจัดจาหน่ายได้ ๖. จดบันทึกบัญชี ทารายรับ- รายจ่ายได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๒๒๓๑ งานประดิษฐ์ใบตอง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานดอกไม้ ใบตอง การเลือกดอกไม้ใบตอง การบารุงรักษาอุปกรณ์ การบารุงรักษาดอกไม้ ใบตอง การบรรจุ จาหน่าย ปฏิบัติงานเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การจัดทาดอกไม้สด ใบตอง แบบต่างๆ เช่น อุบะ เย็บแบบร้อยตาข่าย ร้อยมาลัย การจัดพาน จัดดอกไม้แบบต่างๆ กาหนดราคาจัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และจัดจาหน่ายได้ เพื่อให้ เกิ ดความตระหนั กเห็ น คุณค่ าของศิล ปวัฒ นธรรมและเห็ น คุณค่ าของการทางานสามารถนาความรู้ไ ป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมอีกทั้งเป็น แนวทางในการเตรียมความพร้อมในการเลือกอาชีพตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนได้ในการดารงชีวิต ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ของงานใบตอง งานดอกไม้สด งานมาลัย ได้อย่างถูกต้อง ๒. การออกแบบ การเลือกใช้ เก็บรักษาเครื่องมือเครื่องใช้ วัสดุและอุปกรณ์ ได้อย่างถูกต้อง ๓. คานึงถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เทคนิค วิธีการและขั้นตอนการผลิต ปฏิบัติฝึกทักษะงานใบตอง งานดอกไม้สด งานมาลัยแบบต่างๆด้วยวัสดุท้องถิ่น ๔. มีคุณธรรมและค่านิยมต่อการทางานและการประกอบอาชีพสุจริต รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๒๒๓๒ งานร้อยมาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานดอกไม้ ใบตอง การเลือกดอกไม้ใบตอง การบารุงรักษาอุปก รณ์ การบารุงรักษาดอกไม้ ใบตอง การบรรจุ จาหน่าย ปฏิบัติงานเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การจัดทาดอกไม้สด ใบตอง แบบต่างๆ เช่น อุบะ เย็บแบบร้อยตาข่าย ร้อยมาลัย การจัดพาน จัดดอกไม้แบบต่างๆ กาหนดราคาราคาจัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย และจัดจาหน่ายได้ เพื่อให้ เกิ ดความตระหนั กเห็ น คุณค่ าของศิล ปวัฒ นธรรมและเห็ น คุณค่ าของการทางานสามารถนาความรู้ไ ป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมอีกทั้งเป็น แนวทางในการเตรียมความพร้อมในการเลือกอาชีพตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนได้ในการดารงชีวิต ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ของงานใบตอง งานดอกไม้สด งานมาลัย ได้อย่างถูกต้อง ๒. การออกแบบ การเลือกใช้ เก็บรักษาเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุและอุปกรณ์ ได้อย่างถูกต้อง ๓. คานึงถึงการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เทคนิค วิธีการและขั้นตอนการผลิต ปฏิบัติฝึกทักษะงานใบตอง งานดอกไม้สด งานมาลัยแบบต่างๆด้วยวัสดุท้องถิ่น ๔. มีคุณธรรมและค่านิยมต่อการทางานและการประกอบอาชีพสุจริต รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง๒๓๒๖๒ งานผ้า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความส าคัญ และประโยชน์ข องงานออกแบบตัดเย็บเครื่องใช้ ในบ้ าน การใช้ เครื่องมือและ อุปกรณ์ในการตัดเย็บ การแก้ไข และบารุงรักษาจักรเย็บผ้า การตัดเย็บตะเข็บด้วยมือ และจักรการตัดเย็บเครื่องเกาะเกี่ ยว ชนิดต่าง ๆ การเลือกและคานวณผ้า การออกแบบและตัดเย็บ เครื่องใช้ในบ้าน เช่น ปลอกหมอน ผ้าเช็ดมือ ผ้าคลุมที่ใส่ กระดาษทิชชูและผ้าจับของร้อน เป็นต้น ปฏิบัติทักษะการออกแบบตัดเย็บเครื่องใช๎ในบ้าน การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ในการตัด เย็บ การแก๎ไข และบ ารุง รักษาจักรเย็บผ๎า การตัดเย็บตะเข็บด้ วยมือและจักรการตัดเย็บเครื่องเกาะเกี่ยว ชนิดตาง ๆ การเลือกและคานวณผ้า การ ออกแบบและตัดเย็บเครื่องใช้ในบ้าน เช่น ปลอกหมอน ผ้าเช็ด มือ ผ้าคลุมที่ใส่กระดาษทิชชูและผ้าจับของร้อน เป็นต้น เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ ในการทางานออกแบบตัดเย็บเครื่องใช้ ในบ้านได้ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัย ที่ดีในการทางาน ใช้พลังงาน ทรัพยากร ในการทางานอย่างคุม้ คาและ ยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายความหมายความสาคัญ และประโยชน์ของงานออกแบบตัดเย็บเครื่องใช้ใน บ้านได้ ๒. บอกชื่อ หน้าที่ และวิธีใช้วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ในการทางานได้ ๓. ปฏิบัติการแก้ไข และบารุงรักษาจักรเย็บผ้า ได้ ๔. ปฏิบัติการตัดเย็บตะเข็บด้วยมือและจักรได้ ๕. ปฏิบัติการตัดเย็บเครื่องเกาะเกี่ยวชนิดต่าง ๆ ได้ ๖. ค านวณคาใช้จา่ ยในการทางานได้ ๗. ปฏิบัติการออกแบบและทาการตัดเย็บเครื่องใช๎ในบ้าน เช่น ปลอกหมอน ผ้าเช็ดมือ ผ้า คลุมที่ใส่กระดาษทิชชู และผ้าจับของร้อน เป็นต้น ได้ ๘. มีคุณธรรม จริยธรรม ลักษณะนิสัยที่ดีในการทางาน และใช๎พลังงาน ทรัพยากร ในการ ทางานอย่างคุม้ ค่าและ ยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๗
ง ๒๑๒๑๑ หนังสืออิเล็คทรอนิคส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาความหมายและความสาคัญของหนังสืออิเลคทรอนิกส์ ความรู้ เบื้องต้นเกี่ยวกับ โปรแกรมตางๆ ที่ใช้สร้าง หนังสืออิเลคทรอนิกส์ โปรแกรม Desktop Author วิธีการติดตั้งโปรแกรม วิธีการนาสู่โปรแกรม สวนประกอบของ โปรแกรม การกาหนดคุณสมบัติของหน้าหนังสือ ตลอดจน วิธีการต่าง ๆ ในการสร้างหนังสือ เช่น การแทรกภาพหน้าปก การเพิ่มและลดหน้ากระดาษ การใส่สีใน หน้ากระดาษ การพิมพ์ข้อความ การแทรกไฟล์เสียง การแทรกไฟล์ แอนิเมชั่น (Animation) และวีดีโอ การแทรกปุุ ม (Buttons)และการสร้างการเชื่อมโยง การทาสารบัญและการเชื่อมโยง การบันทึก ไฟล์เพื่อนาไปใช้งานในแบบต่าง ๆ เป็นต้น โดยฝึกทักษะการติดตั้งโปรแกรม การเข้าสู่โปรแกรม การใช้งานส่วนประกอบต่าง ๆ ของ โปรแกรม การกาหนด คุณสมบัติของหน้าหนังสือ การแทรกภาพหน้าปก การเพิ่มและลดหน้ากระดาษ การใสสีในหน้ากระดาษ การพิมพ์ข้อความ การแทรกไฟล์เสียง การแทรกไฟล์ แอนิเมชั่น (Animation)และวีดีโอ การแทรกปุุม (Buttons)และการสร๎างการเชื่อมโยง การท าสารบัญและการ เชื่อมโยง การบันทึกไฟล์เพื่อนาไปใช้งานในแบบตาง ๆ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะในการใช้โปรแกรมสร้างหนังสืออิเลคทรอนิกส์และมี คุณธรรม จริยธรรม เจต คติที่ดี เพื่อนาไปประยุกต์ใช๎ในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมายความสาคัญและประโยชน์ของหนังสืออิเลคทรอนิกส์ได๎ ๒. อธิบายวิธีการเริ่มต้นสร้างหนังสือได้ ๓. สามารถแทรกข้อความและมัลติมิเดียในหนังสือได้ ๔. สามารถสร้างปุ่ม(buttons)และการเชื่อมโยงได้ ๕. สามารถบันทึกงานเพื่อนาออกไปเผยแพร่ได้ ๖. บอกตามหลักจริยธรรม และพระราชบัญญัติ ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ได้ ๗. ทางานด้วยความรับผิดชอบตรงต่อเวลาขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัดอดออม มุ่งมั่น ๘. ปฏิบัติการทาโครงงานสร้างหนังสืออิเลคทรอนิกส์ในเนื้อหาที่ตนเองสนใจได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง๒๑๒๑๒ การนาเสนอประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาศึกษาเกี่ยวกับหลักการสร้างงานนาเสนอ การจัดการกับข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ เทคนิคพิเศษในการ สร้างงาน Presentation ด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป และนาเสนอผลงานโดยเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมกับ งานและอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลการเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การนาเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใช้งานคอ มพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงาน สามารถนาเสนอผลงาน และแก้ปัญหาได้ ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดี สามารถใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ที่ ๑.อธิบายความหมาย รูปแบบ และประโยชน์ของการนาเสนองานผ่านโปรแกรมนาเสนอได้ ๒.อธิบายลักษณะการทางาน เครื่องมือ และวิธีการใช้งานโปรแกรมนาเสนอได้ ๓.ออกแบบและ สร้างงานนาเสนอได้อย่างเหมาะสม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ๔.ประยุกต์ใช้โปรแกรมนาเสนอสร้างผลงาน และนาเสนอได้อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย รวม ๔ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๑๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๒๒๐๑ การตัดต่อวีดีโอ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการ ความหมาย บทบาทและประโยชน์ของการตัดต่อวิดีโอแบบต่าง ๆ คุณสมบัติและมาตรฐานของ วิดีโอ ไฟล์วิดีโอ ระบบโทรทัศน์ กระบวนการตัดต่อวิดีโอ เลือกใช้โปรแกรมและคุณสมบัติของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ เหมาะสมกับงานการสร้างงานวิดีโอ ศึกษาคาสั่ง เครื่องมือ การใช้งานเบื้องต้น การจับวิดีโอ การแก้ไขไฟล์วิดีโอ การเพิ่ม เทคนิคและสีสันให้กับวิดีโอ การซ้อนวิดีโอ การจัดทาข้อความประกอบในงานตัดต่อวิดีโอ การใส่เสียงประกอบ ตลอดจน การนาไฟล์วิดีโอไปใช้งานในรูปแบบต่าง ๆ หลักการทาโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศนาเสนองาน ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือโครงงานจากจินตนาการหรืองานที่ทาในชีวิตประจาวัน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจบทบาทคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน มีคุณธรรมจริยธรรมในการใช้ข้อมูลนาเสนอ ข้อมูลด้วยวิดีโออย่างมีจิตสานึกและมีความรับผิดชอบ และมีทักษะ ในการนาเสนองานวิดีโอและสร้างงานในรูปแบบที่เมาะ สมเพื่อการอาชีพ ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายเครื่องมือการสร้างวีดีโอได้ ๒. สามารถเข้าโปรแกรมและอธิบายองค์ประกอบของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอได้ ๓. อธิบายเครื่องมือตัดต่อวีดีโอได้ ๔. ปฏิบัติการตัดต่อวีดีโอและปรับแต่งวีดีโอได้ ๕. ปฏิบัติการเพิ่มเทคนิควีดีโอแบบต่าง ๆ ได้ ๖. ปฏิบัติการสร้างส่วนตอนต้นของวีดีโอ ๗. แปลงไฟล์และบันทึกสื่อเพื่อนาไปใช้งานได้ ๘. จัดทาโครงงานขนาดเล็กได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๒๒๐๒ การสร้างเว็บไซด์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์การใช้งานโปรแกรม Web Editor เช่น Dreamweaver ๘ เป็นต้น การสร้างและจัดการข้อความ การใช้และจัดการภาพกราฟิก การสร๎าง ตาราง การเชื่อมโยง การจัดการเฟรม การ สร้างเลเยอร์ การสร๎างฟอร์ม การสร๎างมัลติมิเดีย การตกแต่ง เว็บเพจ ด้วย Timelineและ Behaviors และการอัพโหลด เว็บไซต์เข๎าสู่อินเตอร์เน็ต อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์การใช้งานโปรแกรม Web Editor เช่น Dreamweaver ๘ เป็นต้น ปฏิบัติทักษะการสร้างและจัดการข้อความ การใช๎และจัดการ ภาพกราฟิก การสร้างตาราง การ เชื่อมโยง การจัดการเฟรม การสร้างเลเยอร์ การสร้างฟอร์ม การสร้างมัลติมิเดีย การตกแต่งเว็บเพจ ด้วย Timeline และ Behaviors และการอัพโหลดเว็บไซต์เข้าสู่อินเทอร์เน็ต โดยสร้างสรรค์พัฒนาชิ้นงานด้านเว็บไซต์ได้อย่างน้อย ๑ ชิ้นงาน เพื่อให้เห็นคุณคาของการทางานเกี่ยวกับเว็บไซต์ สามารถน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ ใน ชีวิตประจาวัน และ ประยุกต์ใช้กับวิชาอื่น ๆ มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่เหมาะสมในการทางาน เกี่ยวกับงานด้านเว็บไซต์ และ อินเทอร์เน็ต ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ได้ ๒. อธิบายการใช้งานโปรแกรม Web Editor เช่น Dreamweaver ๘ เป็นต้น ได้ ๓. ปฎิบัติการสร้างและจัดการข้อความได้ ๔. ปฎิบัติการใช้และจัดการภาพกราฟิก ได้ ๕. ปฎิบัติการสร้างตารางได้ ๖. ปฎิบัติการเชื่อมโยงได้ ๗. ปฎิบัติการจัดการเฟรมได้ ๘. ปฎิบัติการสร้างเลเยอร์ได้ ๙. ปฎิบัติการสร้างมัลติมิเดียได้ ๑๐. ปฎิบัติการสร้างเลเยอร์ได้ ๑๑. ปฎิบัติการการตกแต่งเว็บเพจ ด๎วย Timeline และ Behaviors ได้ ๑๒. ปฎิบัติการอัพโหลดเว็บไซต์เข้าสู่อินเทอร์เน็ตได้ ๑๓. สร้างสรรค์พัฒนาชิ้นงานด๎านเว็บไซต์ได้อย่างน้อย ๑ ชิน้ งาน รวม ๑๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๓๒๐๑ การโปรแกรมเบื้องต้น ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ หลักการทางานและส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมสั่งงาน คอมพิวเตอร์ หลักการโปรแกรมเบื้องต้น คาสั่งภาษาโลโก้ คาสั่งพื้นฐานของภาษาโลโก้ หน้าต่างการใช้งานโปรแกรม MSW Logo การสร้าง การลบกระบวนความ และการจัดการกับกระบวนความได้อย่างเป็นระบบ โดยการฝึกปฏิบัติ กระบวนความคิดวิเคราะห์ การแก้ป๎ญหา ด้วยการคิดอย่างสร้างสรรค์และเป็นระบบ การสร้าง ชิ้นงานจากใบงาน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการโปรแกรมเบื้องต้น และฝึกการทางานด้วยความขยัน อดทน มีวินัย ใฝุเรียนรู้ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยี อย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบพร้อมทั้งเลือกใช้ซอฟต์แวร์ การทางานและติดต่อสื่อสารผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางานและส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ๒. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางานโปรแกรมเบื้องต้น ๓. สามารถอธิบายและใช้งานคาสั่งภาษาโลโก้การสร้างชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง ๔. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนความในภาษาโลโก้ ๕. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมต่างๆ และนาไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างเหมาะสม ๖. มีทักษะกระบวนการแก้ป๎ญหาในการทางาน รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๒๓๒๐๒ การโปรแกรมเบื้องต้น ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความหมายของสื่อผสม องค์ประกอบของสื่อผสมโดยใช้โปรแกรม Adobe Premiere Pro ที่ประกอบไปด้วย Text , Audio , Graphics , Animation และศึกษาการใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูปในการตัดต่อ VDO การกาหนด Storyboard การเลือกใช้ตัวอักษร การเลือกใช้สี การกาหนดเนื้อหา การเลือกภาพ การเลือกใช้ VDO การเลือกใช้งาน effect และเสียงประกอบสื่อผสม ปฏิบัติการใช้โปรแกรม Adobe Premiere Pro ในการตัดต่อ VDO ฝึกทักษะการเลือกใช้งานสื่อต่างๆ การเขียน Storyboard การเลือกใช้ตัว อักษร การเลือกใช้สี การกาหนดเนื้อหา การเลือกภาพ การเลือกใช้ VDO การเลือกใช้งาน effect การเลือกเสียงประกอบสื่อ และนาทักษะการตัดต่อ มาสร้างงาน VDO จากจินตนาการ เข้าใจและเห็นคุณค่าของการใช้งานโปรแกรม Adobe Premiere Pro มาตัดต่อและสร้างงาน VDO อย่าง สร้างสรรค์ มีนิสัยรักการทางาน มีสมาธิในการทางาน ขยัน รับผิดชอบ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอย่างมีจิตสานึก ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของสื่อผสม และสามารถจาแนกองค์ประกอบของสื่อผสได้อย่างถูกต้อง ๒. มีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือของโปรแกรม Adobe Premiere Pro สร้างสรรค์ผลงานได้ ๓. สามารถออกแบบการเขียน Storyboard ได้ ๔. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อ VDO และทักษะการใช้โปรแกรม Adobe Premiere Pro ๕. สามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือในโปรแกรม Adobe Premiere Pro มาตัดต่อสร้างชิ้นงาน VDO จากจินตนาการ ได้อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๓
ง ๓๑๑๒๑ การดารงชีวิตและครอบครัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑,๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ หลักการ วิธีการ ขั้นตอน กระบวนการทางาน การจัดการเกี่ย วกับงาน บ้าน วิเคราะห์ วางแผน โดยลงมือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสร้างความสัมพันธ์ของสมาชิกในบ้าน การดูแลรักษาบ้ าน ผ้าและเครื่องแต่งกาย อาหาร และโภชนาการ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรมมีจิตสานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และ สิ่งแวดล้อมในการทางานบ้าน รวมทั้งการทางานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ป๎ญหาในการทางาน รักการ ทางานและมีเจตคติที่ดีต่องาน รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๔/๑ ,ม.๔/๒ ,ม.๔/๓ ,ม.๔/๔ ,ม.๔/๕ ,ม.๔/๖ ,ม.๔/๗ รวมทั้งหมด ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๔
ง ๓๑๑๓๑ งานประดิษฐ์เศษวัสดุ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑, ๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
การทางานประดิษฐ์จากเศษวัสดุต่างๆ เพื่อการดารงชีวิตเป็นการทางานที่จาเป็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ใน ชีวิตประจาวัน และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศษวัสดุต่างๆที่ไม่ได้ใช้งาน โดยใช้ทักษะการทางานร่วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะการแก้ป๎ญหา การแสวงหาความรู้ อย่างมีคุณธรรม เพื่อให้มคี ุณลักษณะนิสัยในการทางาน และใช้พลังงานทรัพยากรในการทางานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่ออนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมและเกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๔/๑ ,ม.๔/๒ ,ม.๔/๓ ,ม.๔/๔ ,ม.๔/๕ ,ม.๔/๖ ,ม.๔/๗ รวมทั้งหมด ๗ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง๓๒๑๖๑ งานช่าง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ ความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของงานช่างพื้นฐาน ใช้และบารุงรักษาเครื่องมืองาน ช่างพื้นฐานอย่างปลอดภัย ปฏิบัติวางแผน การซ่อมบารุง ดัดแปลงเครื่องใช้ในบ้าน เพื่อให้มีทักษะการจัดการทางานอย่างเป็นระบบ ใฝ่รู้และสร้างสรรค์ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้มีความเป็นไทย เลือกใช้เทคโนโลยีที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลือกใช้ข้อ มูลข่าวสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีคุณภาพ ทางานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม มุ่งมั่นอดทนใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง คุ้มค่าและถูกวิธี ตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจและเกิดแนวทางในการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๔/๑ ,ม.๔/๒ ,ม.๔/๓ รวม ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๖
ง๓๒๑๔๑ งานเกษตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑,๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาเกี่ยวกับการเกษตรเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หลักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ความ จาเป็นที่ต้องอนุรักษ์ธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของการเกษตรกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การปลูกผักสวนครัว การคัดเลือกพันธุ์ผักที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น การดูแลแปลงผักสวนครัว การตรวจสอบการงอกของต้นพันธุ์ โดยใช้ทักษะการทางานร่วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะการแก้ป๎ญหา การแสวงหาความรู้ อย่างมีคุณธรรม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกผักสวนครัว การดูแลรักษา การขยายพันธุ์และเล็งเห็นความสาคัญ ของการเกษตรกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สามารถปลูกผักสวนครัวเพื่อรับประทานในครอบครัว รักการ ทางาน มีความขยัน อดทนและรู้จักใช้ของอย่างประหยัด รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๔/๑ ,ม.๔/๒ ,ม.๔/๓ รวม ๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ง ๓๓๑๐๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์คุณลักษณะ หลักการทางานและอุปกรณ์ต่อพ่วง ประเภทของฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การ ถ่ายโอนข้อมูล รูปแบบการสื่อสาร สื่อกลางที่ใช้ในการส่ง สัญญาณ ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานการสื่อสาร ข้อมูล อุปกรณ์เครือข่าย และ ข้อควรปฏิบัติสาหรับผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ได้เหมาะสมกับ งานใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่ การเรียนรู้และการสื่อสาร ใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวลผลข้อมูลให้ เป็ น สารสนเทศเพื่ อ ประกอบการตัด สิ น ใจ และน าเสนอในรู ป แบบที่ เหมาะสมตรงตามวั ต ถุ ประสงค์ ข องงานอย่ า งมี ประสิทธิภาพสร้างจิตสานึกและความรับผิดชอบในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและกฏหมายที่ เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารพัฒนาสมรรถนะความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การสื่อสารและการแก้ป๎ญหา สามารถพัฒนาโปรแกรมโดยใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ ตัวชี้วัด ง. ๓.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๖,ม.๔-๖/๗,ม.๔-๖/๘,ม.๔-๖/๙, ม.๔-๖/๑๑, ม.๔-๖/๑๒, ม.๔-๖/๑๓ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ว ๔.๒ ม.๔/๑ , ม.๕/๑, ม.๖/๑ รวม ๑๓ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๘
ง๓๓๑๘๑ งานอาชีพ(ธุรกิจ) ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑,๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต
ศึกษาเรื่องธุรกิจทั่วไปในชุมชน ศึกษาประเภทขององค์การธุรกิจ ลักษณะสาคัญขององค์การธุรกิจแบบต่าง ๆ หน่วยงานที่ดูแลคุ้มครองผู้บริโภค ความสาคัญของการคุ้มครองผู้บริโภค สิทธิของผู้บริโภคและการเป็นผู้บริโภคที่ฉลาด โดยการจัดกลุ่มอภิปรายเปรียบเทียบธุรกิจแต่ละประเภท วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิทธิการคุ้มครองผู้บริโภค แสดง ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ข้อพึงปฏิบั ติสาหรับการเป็นผู้บริโ ภคที่ฉลาด เพื่อให้ มีความสามารถในการคิด การ แก้ป๎ญหา สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน และงานอาชีพ มีความมุ่งมั่นในการทางาน ใฝุเรียนรู้ ซื่อสัตย์ สุจริต ตรงต่อเวลา และมีระเบียบวินัยในการทางานงานติดต่อสื่อสารโดยใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสื่อสารทาง ธุรกิจ งานจัดเก็บเอกสารทางธุรกิจอย่างเป็นระบบ งานใช้เครื่องใช้สานักงานบางอย่างให้มีประสิทธิภาพ การออมทรัพย์ การทางบประมาณส่วนบุคคล โดยวิธีสอนสาธิตและปฏิบัติการกิจกรรม ใบงานอ่านคิดวิเคราะห์ คุณธรรมและจริยธรรมในการ ใช้กระบวนการ กลุ่ม การนาเสนอผลงาน เพื่อให้ มีความรู้ ความเข้าใจ การประกอบธุรกิจขนาดเล็ก การติดต่อสื่อสารทางธุรกิจอย่างมี ประสิทธิภาพ เห็นประโยชน์ของงาน ขยัน อดทน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่ทา รักการ ทางาน ชื่นชมผลงานของตนและผู้อื่น และนาความรู้มาประยุกต์ในการทางานอาชีพ สังคม และสิ่งแวดล้อมในทาง สร้างสรรค์ รหัสตัวชี้วัด ง ๑.๑ ม.๖/๒ - ๕ ง ๔.๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๒๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๑๒๗๑ การถ่ายภาพนิ่ง กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ความรู้ หลัก การถ่ายภาพเบื้องต้น เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องกล้องถ่ายภาพ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการถ่ายภาพและการบารุงรักษาเทคนิคและวิธีการในการถ่ายภาพ การสร้างสรรค์ภาพถ่าย โดยใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสร้างสรรค์ชิ้นงานจากจินตนาการหรือสิ่งที่พบเห็นได้ในชีวิตประจาวัน ปฏิบัติการถ่ายภาพนิ่งเบื้องต้น การถ่ายภาพบุคคล การถ่ายภาพเพื่องานสิ่งพิมพ์ การถ่ายภาพแฟชั่น และการถ่ายภาพ โฆษณา อย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบ มีความคิดสร้างสรรค์ ใจสู้ รักการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ ๑. ให้มีความเข้าใจและทราบถึงพัฒนาการของเทคโนโลยีการถ่ายภาพตั้งแต่อดีตถึงป๎จจุบัน ๒. ให้มีความรู้พื้นฐานทางการถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ๓. ให้มีความรู้ ความเข้าใจวิทยาศาสตร์ของการถ่ายภาพ และอุปกรณ์ในการถ่ายภาพ ตลอดจนการใช้และการ บารุงรักษาที่ถูกวิธี ๔. ให้มีทักษะในการใช้กล้องถ่ายภาพ ตกแต่งภาพ และอุปกรณ์ในการถ่ายภาพ ๕. ให้สามารถออกแบบและเลือกใช้เทคโนโลยีได้อย่างสร้างสรรค์ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๑๒๗๒ การผลิตภาพยนตร์สน้ั กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษา ความหมายและความสาคัญของภาพยนตร์สั้น หลักการผลิตภาพยนตร์สั้น เทคนิควิธีการผลิตภาพยนตร์สั้น การคิดเขียนบท การวางแผนเตรียมการผลิต การดาเนินการถ่ายทา และการตัดต่อผสมเสียง การออกแบบปกพร้อมบรรจุ ภัณฑ์ การเผยแพร่ผลงานผ่านโซเชียลมีเดีย ปฏิบัติการผลิตภาพยนตร์สั้นโดยการคิดเขียนบท การวางแผนเตรียมการผลิต การดาเนินการถ่ายทา และการตัด ต่อผสมเสียง การออกแบบปกพร้อมบรรจุภัณฑ์ การนาผลงานไปเผยแพร่ผ่านโซเชียลมีเดีย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการผลิตภาพยนตร์สั้นใช้เทคโนโลยีอย่างหลากหลายมีความคิด สร้างสรรค์ ใจสู้ รักการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ที่ ๑. อธิบายความหมายและความสาคัญของภาพยนตร์สั้นได้ ๒. สามารถคิดเขียนบทภาพยนตร์สั้นได้ ๓. สามารถวางแผนเตรียมการผลิตภาพยนตร์สั้น ได้ ๔. สามารถดาเนินการถ่ายทาภาพยนตร์สั้นได้ ๕. สามารถตัดต่อผสมเสียงภาพยนตร์สั้นและวีดิทัศน์ได้ ๖. สามารถถ่ายภาพนิ่งเบื้องต้นได้ ๗. สามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพในอนาคตได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๒๒๒๑ การแปรรูปอาหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษา ส ารวจ วิ เ คราะห์ อภิป รายและสรุ ปผล ความหมายความส าคัญ ของการแปรรู ปอาหารจากผลผลิ ต ทาง การเกษตรในท้องถิ่น หลักการแปรรูปอาหารตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานการแปรรูปอาหาร การ ออกแบบบรรจุภัณฑ์ การจาหน่ายผลผลิต โดยใช้กระบวนการสารวจ คิดวิเคราะห์ คิดแก้ป๎ญหา ทักษะการจั ดการ ทักษะกระบวนการทางาน การแก้ป๎ญหา การปฏิบัติการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตรที่มีในท้องถิ่นการทาบรรจุภัณฑ์ และการจาหน่าย โดยการใช้กระบวนการสารวจ คิดวิเคราะห์ คิดแก้ป๎ญหา ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการทางาน การแก้ป๎ญหา การปฏิบัติการแปรรูปอาหารจากผลผลิตทางการเกษตรที่มีในท้องถิ่น การทาบรรจุภัณฑ์ และการจาหน่ายผลผลิต เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะการแปรรูปอาหารได้ ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะที่ดีในการ ทางาน ใช้พลังงาน ทรัพยากรในการทางานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมายความสาคัญของการแปรรูปอาหารได้ ๒. ปฏิบัติการแปรรูปอาหารในท้องถิ่นด้วยวิธีการที่เหมาะสมได้ ๓. จัดทาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปอาหารได้อย่างเหมาะสมสวยงาม ๔. สามารถจาหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแปรรูปอาหารได้ ๕. มีคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะที่ดีในการทางาน ใช้พลังงาน ทรัพยากรในการทางานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๒๒๒๒ การบัญชีเบื้องต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความหมายและจุดประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ข้อสมมติฐานตามแม่บทการบัญชี ความหมายของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ สมการบัญชี การวิเคราะห์รายการค้า การบันทึกรายการค้าตาม หลักการบัญชีคู่ของธุรกิจบริการเจ้าของคนเดียวในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท งบทดลอง กระดาษทาการ การปิดบัญชี งบการเงิน และสรุปวงจรบัญชี โดยใช้หลักการวิธีการและขั้นตอนการจัดทาบัญชี บันทึกรายการค้าในสมุดรายวันทั่วไป การผ่านรายการไปยัง บัญชีแยกประเภท จัดทางบทดลอง กระดาษทาการและออกงบรายงานทางการเงินตามแม่บททางการบัญชีอย่างถูกต้อง ตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจหลักการวิธีการขั้นตอนในการจัดทาบัญชี มีคุณธรรมจริยธรรม ความ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ ระเบียบวินัย ประหยัดอดออมและมีเจตคดิที่ดีต่อวิชาชีพบัญชี สามารถนาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายความหมายและประโยชน์ของการบัญชี ๒.อธิบายความหมายของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของได้ ๓.วิเคราะห์รายการค้า และสมการบัญชีได้ ๔.บันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีคู่ตามข้อสมมติฐานตามแม่บทการบัญชีได้ ๕.จัดทารายงานงบการเงินตามแม่บททางการบัญชีได้อย่างถูกต้อง ๖.ปิดบัญชีและสรุปวงจรบัญชีได้ ๗.มีเจตคดิที่ดีต่อวิชาชีพบัญชีและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง๓๓๒๔๑-๒ การปลูกไม้กระถาง ๑,๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสาคัญ และประโยชน์ของไม้กระถาง ประเภทของไม้ประดับพันธุ์ การขยายพันธุ์ และการอนุบาลกล้าไม้ การเลือกปลูกไม้ดอกไม้ประดับให้เหมาะสมกับท้องถิ่น การเตรียมดินปลูก การปลูก การปฏิบั ติ ดูแลรักษาในเรือนเพาะชา ในแปลงปลูก และภาชนะปลูกการปูองกันโรคและกาจัดศัตรู ฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดทักษะในการทางาน มีความรู้ความเข้าใจในงานอาชีพสุจริต มีความรับผิดชอบซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม มีค่านิยมการเป็นผู้ผลิตมากกว่าผู้บริโภค มีทักษะในการจัดการและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญและประโยชน์ของพันธุ์ไม้กระถางได้ ๒. วิเคราะห์ข้อมูลตามต้องการตลาดของพันธุ์ไม้กระถางได้ ๓. อธิบายสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการปลูกไม้กระถางได้ ๔. เลือกปลูกไม้กระถางประดับได้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ๕. เตรียมดินปลูกไม้กระถางได้ ๖. ขยายพันธุ์ไม้ได้ถูกต้องเหมาะสมกับชนิดของไม้ ๗. ปลูกพันธุ์ไม้ที่เลือกปลุกได้ ๘. ปฏิบัติพันธุ์ไม้ดูแลได้ ๙. จดบันทึกการปฏิบัติงานการปลูกไม้ดอกไม้ประดับได้ ๑๐. เก็บเกี่ยวผลผลิตได้(ถ้ามี) ๑๑. จัดผลผลิตและกาหนดราคาจาหน่ายได้ ๑๒. ทาบัญชีรายรับ-รายจ่ายและประเมินผลกาไร-ขาดทุนได้ รวม ๑๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๑๒๖๑-๒ งานเชื่อมโลหะ๑,๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยในงานเชื่อม กระบวนการเชื่อมไฟฟา วัสดุ เครื่องเชื่อมและอุปกรณในงานเชื่อม เครื่องจักรและเครื่องมือที่ใชในงานโลหะแผน รอยตอที่ใชในงานเชื่อมและการแลนประสาน ทาเชื่อม การเขียนแบบแผนค ลี่อยางงาย ปฏิบัติเกี่ยวกับการประกอบติดตั้งเครื่องมืออุปกรณงานเชื่อมไฟฟา การเริ่มตนการเชื่อม การเดินแนวตอมุม ตอตัว ที ทาราบ การเขียนแบบลงแผนงาน โดยใชชุดอุปกรณความปลอดภัยสวนบุคคล ถูกตองตามหลักความปลอดภัยและชีวอ นามัย มีจิตสานึกในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีจริยธรรม ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น ใช้คาสุภาพ และไม่สร้างความเสียหาย ต่อผู้อื่น ผลการเรียนรู้ ๑. เพื่อใหเขาใจหลักการกระบวนการเชื่อมโลหะ ๒. เพื่อใหปฏิบัติงานเชื่อมโลหะดวยความปลอดภัยตามหลักชีวอนามัย ๓. เพื่อใหสามารถใชเครื่องมือและอุปกรณในงานเชื่อมโลหะ ๔. เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานเชื่อมโละ ๕. เพื่อใหมีกิจนิสัยในการใฝุทางานด้วยความเปนระเบียบเรียบรอย ประณีตรอบคอบและ ตระหนักถึงความ ปลอดภัย รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๒๒๖๑-๒ งานช่างไม้๑,๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาลักษณะชนิด ขนาดของครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้ ที่นิยมในท้องถิ่น และเครื่องมืองานช่างไม้ วัสดุอุปกรณ์ ความ ปลอดภัย ในขณะปฏิบัติงาน การออกแบบ และอ่านแบบ เทคนิคการทางานไม้ครุภัณฑ์ วิธีการ วัด การตัด การตกแต่ง การเจาะ การเข้าปากไม้ การประกอบและตกแต่งชิ้นงาน โดยนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการปฏิบัติ งานฝึกทักษะ เกี่ยวกับการออกแบบและอ่านแบบ การวัด การตัด การตกแต่ง การเจาะการเข้าปากไม้ การประกอบและตกแต่งชิ้นงาน ผลิตชิ้นงานตามจินตนาการ ผลิตงาน ไม้ครุภัณฑ์อย่างประณีต สารวจแหล่งวัสดุ และแหล่งบริการในท้องถิ่น คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคา จัดจาหน่าย ทา บัญชีรายรับรายจ่าย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และมีความชานาญในการอ่านแบบ การวัด การตัด การตกแต่ง การเจาะ การเข้าปาก ไม้ การประกอบ และตกแต่งชิ้นงาน สามารถผลิตเครื่องครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้อย่างประณีต และจาหน่ายได้ ผลการเรียนรู้ ๑. รู้และเข้าใจ งานช่างไม้ครุภัณฑ์ที่ทาด้วยไม้ในท้องถิ่น ๒. รู้และเข้าใจไม้ชนิดต่างๆ ในประเทศไทย เลือกไม้และการเก็บรักษาไม้ ได้ถูกต้องเหมาะสม ๓. รู้และเข้าใจเรื่องความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน สามารถปูองกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ได้ ๔. มีทักษะการใช้เครื่องมือและเลือกใช้วัสดุ – อุปกรณ์ ได้อย่างชานาญ ๕. มีทักษะการออกแบบ การอ่านแบบ การวัด การตัด การเจาะ การเข้าปากไม้ การประกอบ ตกแต่งชิ้นงานได้ อย่างชานาญ ๖. สามารถวางแผนการทางาน และปฏิบัติตามขั้นตอนตามจินตนาการ สวยงามประณีต ๗. สามารถผลิตเครื่องครุภัณฑ์งานไม้อย่างประณีต กาหนดราคา และจาหน่ายได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๓๒๓๑ ผ้ามัดย้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความเป็นมาของสีและการย้อมผ้า ชนิดของผ้าที่ใช้สาหรับมัดย้อม สีที่ใช้ย้อมผ้า วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ใน การย้อมผ้า ขั้นตอนการย้อมผ้า การออกแบบลวดลายด้วยเทคนิคการพับ การขยุ้ม การขยา การห่อ การเย็บ การ ออกแบบลวดลายด้วยการใช้วัสดุอื่น เช่น เหรียญ พลาสติก ตะเกียบ ลูกป๎ด ฯลฯ เป็นส่วนทาให้เกิดลวดลายในการมัด ย้อมผ้า การย้อมสีผ้าโดยใช้วิธีย้อมแบบสีเดียวและแบบสีผสม การออกแบบและสร้างผลิตภัณฑ์จากผ้ามัดย้อมให้เป็นของ ใช้ของประดับตกแต่ง การนาความรู้เกี่ยวกับการย้อมสีผ้าประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ การจัดการผลิตภัณฑ์ การทาบัญชี รายรับ-รายจ่าย ปฏิบัติงานการออกแบบและจัดทาลวดลายผ้ าลงบนผืนผ้าได้หลาย การมัดย้อม การสร้างสรรค์และจัดทาเป็น ผลิตภัณฑ์แบบต่างๆได้สวยงาม คานวณค่าใช้จ่าย กาหนดราคาจาหน่าย จัดจาหน่าย ประเมินและสรุปผลการทางานได้ เพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้และทักษะในการทาลวดลายลงบนผืนผ้าด้วยวิธีต่างๆได้หลายรูปแบบ สามารถออกแบบ สร้างสรรค์และจัดทาเป็นชิ้นงานต่างๆได้สวยงาม โดยใช้กระบวนการการทางาน กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิด สร้างสรรค์ การจัดจาหน่ายผลงาน ปฏิบัติงานการทาลวดลายบนผืนผ้า ด้วยความซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มุ่งมั่นกตัญํูใน การทางาน ซึ่งเป็นคุณธรรมที่บ่มเพาะสู่การเป็นนักธุรกิจน้อยที่ดีต่อไปในอนาคตได้ ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมาย ความสาคัญ ประโยชน์ ในของการทาลวดลายบนผืนผ้า ๒. มีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ขั้นตอนกระบวนการทางานของการทาลวดลายบนผืนผ้า ๓. เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ ในการทาลวดลายบนผืนผ้า ๔. สามารถออกแบบและทาลวดลายบนผืนผ้าได้หลายรูปแบบ ๕. ฝึกทักษะการทาลวดลายผ้าแบบต่างๆได้ ๖. สามารถออกแบบสร้างสรรค์และจัดทาชิ้นงานจากลวดลายผ้าได้ ๗. สามารถคานวณค่าใช้จ่าย จัดจาหน่ายผลงานได้ ๘. ประเมินและสรุปผลงานได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๓๒๒๑ อาหารเพื่ออาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษา สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ ฝึ กปฏิบัติ และอธิบายเกี่ยวกับการประกอบอาชีพทางอาหาร ประเภทธุรกิจ อาหาร นโยบายธุรกิจ สภาพการประกอบอาชีพ อาหารในชุมชน การเลือกอาชีพเพื่อการปฏิบัติงาน เทคนิคอาชีพ การ หาแหล่งทรัพยากรและเงินทุน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การบานการผลิตและจัดจาหน่ายหรือให้บริการด้านอาหาร บันทึก การปฏิบัติงาน ทาบัญชีรับ-จ่าย ประเมินผลการปฏิบัติงาน ปรับปรุงการปฏิบัติงาน และการนาเสนอโครงงาน เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจและมีทักษะเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ อาหาร ธุรกิจ เลือกและจัดการงานอาชีพที่สุจริต มี คุณธรรม ทาอาชีพด้านอาหารเพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพถูกต้ องตามกระบวนการ มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีการ ทางานเป็นกลุ่มร่วมคิด ทา แก้ป๎ญหาและจัดการ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อม ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อดารงชีวิตและครอบครัว ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมายของอาชีพทางอาหารได้ ๒. บอกจุดประสงค์ของการปฏิบัติงานอาชีพ วิธีการขั้นตอน กระบวนการอาชีพได้ ๓. สารวจวิเคราะห์ตัดสินใจเขียนโครงการและวางแผนได้ ๔. ปฏิบัติงานอาชีพอย่างครบกระบวนการได้ ๕. บอกถึงทักษะกระบวนการทางานได้ ๖. สามารถนาเสนอแนวทางในการประกอบอาชีพและแนวทางการออกแบบได้ ๗. สืบค้นข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ และอธิบายเกี่ยวกับการประกอบอาชีพและธุรกิจ ๘. สืบค้นข้อมูล ศึกษา สารวจ วิเคราะห์อาชีพในชุมชน ๙. สืบค้นข้อมูล ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ และอธิบายเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐. สืบค้นข้อมูล ศึกษา สารวจ วิเคราะห์ และอธิบายเกี่ยวกับลักษณะ ประเภท และการเขียนรายงานโครงงาน อาชีพ ๑๑. มีทักษะในการทาโครงงานอาชีพด้วยกระบวนการกลุ่ม มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการใช้พลังงานและ สิ่งแวดล้อม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๑๒. มีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ เสียสละ อดทน และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต รวม ๑๒ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๑๒๑๑ ภาษา HTML กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ หลักการสร้าง และออกแบบเว็บเพจ ศึกษาโครงสร้างของเอกสาร HTML การจัดการและการตกแต่งข้อความ การแทรกรูปภาพ การสร้างตาราง การสร้างการเชื่อมโยงในแต่ละเว็บเพจ และ แท็กคาสั่งต่างๆ ตลอด โดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลการเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ป๎ญหา การนาเสนองาน อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างสรรค์ มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีมารยาทในการใช้งานคอมพิวเตอร์และ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงาน สามารถนาเสนอผลงาน และแก้ป๎ญหาได้ ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดี สามารถใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ ๑.อธิบายความหมาย ความสาคัญของอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ และภาษา HTML ได้ ๒.อธิบายโครงสร้าง การทางาน และแท็กคาสั่งที่สาคัญในภาษา HTML ได้ ๓.ออกแบบ และสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML ได้อย่างเหมาะสม และสร้างสรรค์ รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๓๙
ง ๓๑๒๑๒ การเขียนโปรแกรม Scratch ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาหลักการเขียนโปรแกรมลาดับการทางาน กระบวนความ ผังงาน โครงสร้าง หลักการโปรแกรมแบบโครงสร้าง คาสั่งในการประมวลผลคาสั่งในการคานวณ ตัวแปร ชนิดของตัวแปร ข้อมูลแบบต่าง ๆ คาสั่งควบคุมโปรแกรม คาสั่งรับ ข้อมูลและแสดงผลปฏิบัติการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นโดยใช้ภ าษาคอมพิว เตอร์ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และสามารถเขียนลาดับการทางานโดยใช้คาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลงานที่เกิด จากการค้นคว้า โดยใช้กระบวนการ สร้างความรู้ ความเข้าใจ การคิด วิเคราะห์ การฝึกทักษะปฏิบัติงาน การแก้ป๎ญหา การทางาน กลุ่ม การนาเสนอข้อมูล การเสริมสร้างเจตคติ และกระบวนเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้เกิด เกิดความรู้ความเข้าใจหลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรม และสามารถนาทักษะที่ได้จากการฝึก ปฏิบัติไปประยุกต์ในการสร้างงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีคุณธรรมจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สร้างสรรค์ผลงานในการดารงชีวิต รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าถูกวิธี ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมายของโปรแกรม Scratch ได้ ๒. บอกส่วนประกอบพื้นฐานของโปรแกรม แต่ละส่วนได้อย่างถูกต้อง ๓. เลือกใช้เครื่องมือของโปรแกรม ได้ถูกต้องเหมาะสม ๔. บอกความหมายของชุดตัวละคร ตัวละคร และเวทีได้อย่างถูกต้อง ๕. เขียนสคริปต์ให้ตัวละครเคลื่อนไหวได้ ๖. เขียนสคริปต์ให้ตัวละครเคลื่อนที่ได้ ๗. เลือกใช้บล็อกในการเพิ่มเสียงให้ตัวละครได้อย่างถูกต้อง ๘. เขียนสคริปต์ด้วยบล็อก say ask และ join ได้ ๙. สร้างและใช้ตัวแปรในการเขียนสคริปต์ได้ ๑๐. อธิบายสคริปต์ด้วยบล็อก broadcast, broadcast and wait และ when I receive ได้ รวม ๑๐ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๒๒๑๑-๒ การเขียนโปรแกรมภาษาวิชวลเบสิค๑,๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑,๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาขั้นตอนกระบวนการทางาน การแก้ป๎ญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาวิชวลเบสิค (Visual Basic ) และการประยุกต์พัฒนาโปรแกรมวิธีการแก้ป๎ญหา ในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน โดยเรียนรู้ทั้งด้านเนื้อหาความรู้ และการทากิจกรรมฝึกปฏิบัติตามใบมอบหมายงานที่กาหนด ทาการทดสอบ ความรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนตลอดจน การสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ซึ่งนักเรียนจะต้องมีความรับผิดชอบในการทางาน มีความซื่อสัตย์ และมีนิสัยที่ดีในการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถนาความรู้ที่ได้ไปบูรณาการกับรายวิชาอื่น ๆและนาไปใช้ ในการพัฒนาความรู้ขั้นต่อไปได้ ผลการเรียนรู้ ๑.เข้าใจหลักการพัฒนาโปรแกรม ๒.นาหลักการพัฒนาโปรแกรมมาแก้ไขป๎ญหา ๓.สามารถจัดการกับโปรเจคและออกแบบโปรแกรม ๔.อธิบายชนิดข้อมูลพื้นฐานและการรับข้อมูล ๕.เขียนโปรแกรมโดยใช้ตัวดาเนินการคานวณแบบต่าง ๆ ๖.เขียนโปรแกรมโดยการใช้ชุดคาสั่งและฟ๎งก์ชัน รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๑
ง ๓๓๒๑๑ โครงงานคอมพิวเตอร์ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษาลักษณะของการทาโครงงาน จากป๎ญหาหรือเรื่องที่สนใจจะศึกษา วิเคราะห์รูปแบบกระบวนการดาเนินงาน โครงงาน แนวทางการประยุกต์คอมพิวเตอร์กับโครงงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงานด้วยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ โดยใช้ความรู้ ความคิด จินตนาการ ทักษะ เหตุผล และ กระบวนการต่างๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล ในการแก้ป๎ญหาต่างๆ ที่มีอยู่ มาเชื่อมโยงสัมพันธ์กันจน เกิดความรู้ใหม่ที่มีความหมายสอดคล้อง และเชื่อมโยงกันได้ โดยมี การบูรณาการความรู้ด้านอื่นๆ หรือจากรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมด้วย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถ นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้อย่างมีจิตสานึกและมีความรับผิดชอบ ใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถ ในการแก้ป๎ญหา ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ตะหนักและเห็น คุณค่าของการใฝุเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มุ่งมันในการทางาน สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบระเบียบ มีจิต สาธารณะและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ ๑. เขียนกระบวนการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ ๒. ศึกษาโปรแกรมที่จะนามาใช้ในการจัดทาโครงงานได้ ๓. บอกคุณค่าการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในชีวิตประจาวันและคุณค่าการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ทาโครงงานได้ ๔. ทาผลงานด้านคอมพิวเตอร์โดยใช้ซอฟต์แวร์ได้ ๕. ตรวจสอบโปรแกรมจัดที่จะจัดโครงงานได้ ๖. ทดลองโปรแกรมหรือผลงานที่เกิดจากการทาโครงงานได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๓๒๑๒ โครงงานคอมพิวเตอร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาลักษณะของการทาโครงงาน จากป๎ญหาหรือเรื่องที่สนใจจะศึกษา วิเคราะห์รูปแบบกระบวนการดาเนินงาน โครงงาน แนวทางการประยุกต์คอมพิวเตอร์กับโครงงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงานด้วยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ โดยใช้ความรู้ ความคิด จินตนาการ ทักษะ เหตุผล และ กระบวนการต่างๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนประสบการณ์ด้านคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ระบบการสื่อสารข้อมูล ในการแก้ป๎ญหาต่างๆ ที่มีอยู่ มาเชื่อมโยงสัมพันธ์กันจน เกิดความรู้ใหม่ที่มีความหมายสอดคล้อง และเชื่อมโยงกันได้ โดยมี การบูรณาการความรู้ด้านอื่นๆ หรือจากรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมด้วย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถ นาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้อย่างมีจิตสานึกและมีความรับผิดชอบ ใช้กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความสามารถในการคิด ความสามารถ ในการแก้ป๎ญหา ความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองและสังคม ตะหนักและเห็น คุณค่าของการใฝุเรียนรู้ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ มุ่งมันในการทางาน สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบระเบียบ มีจิต สาธารณะและทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ ๑. เขียนกระบวนการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ ๒. ศึกษาโปรแกรมที่จะนามาใช้ในการจัดทาโครงงานได้ ๓. บอกคุณค่าการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในชีวิตประจาวันและคุณค่าการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ทาโครงงานได้ ๔. ทาผลงานด้านคอมพิวเตอร์โดยใช้ซอฟต์แวร์ได้ ๕. ทดลองโปรแกรมหรือผลงานที่เกิดจากการทาโครงงานได้ ๖. จัดทาเอกสารวิชาโครงงานตามกระบวนการจัดทาโครงงานได้อย่างถูกต้อง ๗. ทาโครงงานอย่างมีจิตสานึก คานึงถึงประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม จริยธรรมในการทาโครงงาน ๘. นาเสนอโครงงานแบบนิทรรศการได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๑๒๕๑ การเขียนโปรแกรม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม ระบบการจัดการฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล การสร้างตาราง การสร้างแบบสอบถาม การสร้างฟอร์ม การสร้างรายงาน การจัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย กรณีศึกษาระบบการจัดการฐานข้อมูลกับการใช้งานด้านต่างๆ ปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูล สร้างตาราง เพิ่มข้อมูลในตาราง ประมวลผลข้อมูลในตาราง สร้างแบบสอบถาม สร้าง ฟอร์ม สร้างรายงาน จัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย ใช้โปรแกรมระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้าง โครงงานเพื่อการจัดการงานด้านต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น และสามารถใช้โปรแกรมระบบการจัดการ ฐานข้อมูลสร้างโครงงานเพื่อการจัดการงานด้านต่างๆ อย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล ๒. มีความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบฐานข้อมูล. ๓. สามารถออกแบบฐานข้อมูล และจาแนกลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ได้ ๔. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล ๕. สามารถสร้างฐานข้อมูล สร้างตาราง (Table) เพิ่มข้อมูลในตาราง และประมวลผลข้อมูลในตารางได้ ๖. สามารถสร้างแบบสอบถาม (Query) ค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลตามที่ต้องการได้ ๗. สามารถสร้างฟอร์ม (Form) บันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลผ่านฟอร์มได้ ๘. สามารถสร้างรายงาน (Report) นาเสนอข้อมูลตามที่ต้องการได้ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๑๒๕๒ การเขียนโปรแกรม ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขี ยนโปรแกรมด้วยภาษา PHP และการใช้คาสั่ง HTMLร่วมกับ PHP การรับ ข้อมู ล จากผู้ ใ ช้ การก าหนดตัว แปรและการใช้ฟ๎ งก์ชั นต่า ง ๆ ของ PHP และการใช้ งานฐานข้อมู ล MySQL การใช้ คาสั่ง SQL การเขียน PHP เพื่อติดต่อฐานข้อมูล MY SQL การนาโปรแกรมไปประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ ปฏิบั ติการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา PHP ซึ่งเป็นโปรแกรมการสร้างเว็บแอพพลิเคชั่นผ่ านระบบเครือข่าย ตลอดจนสามารถสร้างงานตามที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีคุณภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีที่ เหมาะสมในการทางานและการ ประกอบอาชีพอย่างถูกต้องตามกระบวนการอย่างมีคุณธรรม และจริยธรรม ผลการเรียนรู้ ๑. เข้าใจหลักการเขียนคาสั่งภาษา HTML ๒. เข้าใจหลักการทางาน โครงสร้าง ภาษา PHP ๓. สามารถเขียนสคริปต์สั่งการทางานได้ ๔. สามารถเขียนคาสั่งเกี่ยวกับฟ๎งก์ชันของภาษา PHP ได้ ๕. เข้าใจหลักการทางานและคาสั่งในฐานข้อมูล MySQL ๖. สามารถใช้โปรแกรมภาษา PHP เชื่อมต่อฐานข้อมูลกับ MySQL ได้ ๗. สามารถประยุกต์สร้างเว็บแอพพลิเคชั่นใช้ในงานต่างๆ ได้ รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๒๒๕๓ การเขียนโปรแกรม ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม ระบบการจัดการฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล การสร้างตาราง การสร้างแบบสอบถาม การสร้างฟอร์ม การสร้างรายงาน การจัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย กรณีศึกษาระบบการจัดการฐานข้อมูลกับการใช้งานด้านต่างๆ ปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูล สร้างตาราง เพิ่มข้อมูลในตาราง ประมวลผลข้อมูลในตาราง สร้างแบบสอบถาม สร้าง ฟอร์ม สร้างรายงาน จัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย ใช้โปรแกรมระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้าง โครงงานเพื่อการจัดการงานด้านต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น และสามารถใช้โปรแกรมระบบการจัดการ ฐานข้อมูลสร้างโครงงานเพื่อการจัดการงานด้านต่างๆ อย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล ๒. มีความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบฐานข้อมูล. ๓. สามารถออกแบบฐานข้อมูล และจาแนกลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ได้ ๔. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล ๕. สามารถสร้างฐานข้อมูล สร้างตาราง (Table) เพิ่มข้อมูลในตาราง และประมวลผลข้อมูลในตารางได้ ๖. สามารถสร้างแบบสอบถาม (Query) ค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลตามที่ต้องการได้ ๗. สามารถสร้างฟอร์ม (Form) บันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลผ่านฟอร์มได้ ๘. สามารถสร้างรายงาน (Report) นาเสนอข้อมูลตามที่ต้องการได้ รวมทั้งหมด ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๒๒๕๔ การเขียนโปรแกรม ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม ระบบการจัดการฐานข้อมูล การสร้างฐานข้อมูล การสร้างตาราง การสร้างแบบสอบถาม การสร้างฟอร์ม การสร้างรายงาน การจัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย กรณีศึกษาระบบการจัดการฐานข้อมูลกับการใช้งานด้านต่างๆ ปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูล สร้างตาราง เพิ่มข้อมูลในตาราง ประมวลผลข้อมูลในตาราง สร้างแบบสอบถาม สร้าง ฟอร์ม สร้างรายงาน จัดการฐานข้อมูลให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย ใช้โปรแกรมระบบการจัดการฐานข้อมูลสร้าง โครงงานเพื่อการจัดการงานด้านต่างๆ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้น และสามารถใช้โปรแกรมระบบการจัดการ ฐานข้อมูลสร้างโครงงานเพื่อการจัดการงานด้านต่างๆ อย่างมีจิตสานึกและความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล ๒. มีความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบฐานข้อมูล. ๓. สามารถออกแบบฐานข้อมูล และจาแนกลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ได้ ๔. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมการจัดการฐานข้อมูล ๕. สามารถสร้างฐานข้อมูล สร้างตาราง (Table) เพิ่มข้อมูลในตาราง และประมวลผลข้อมูลในตารางได้ ๖. สามารถสร้างแบบสอบถาม (Query) ค้นหาและวิเคราะห์ข้อมูลตามที่ต้องการได้ ๗. สามารถสร้างฟอร์ม (Form) บันทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลผ่านฟอร์มได้ ๘. สามารถสร้างรายงาน (Report) นาเสนอข้อมูลตามที่ต้องการได้ รวมทั้งหมด ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๓๒๕๕ สัมมนาคอมพิวเตอร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษารายงานทางวิชาการ หรือโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจ วิเคราะห์ปัญหา และเสนอแนวทางแก้ ไขปัญหาที่ สามารถแก้ไขโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ หรือ ฮาร์ดแวร์ โดยใช้กระบวนการทางการวิจัย กระบวนการพัฒนาโปรแกรม ๖ ขั้นตอนในการทางาน คือ ๑.การวางแผน ๒.การ วิเคราะห์ ร ะบบ ๓.การออกแบบระบบ ๔.การพัฒ นาโปรแกรม ๕.การนาไปใช้งาน ๖.การปรับปรุงและแก้ไข และใช้ กระบวนการเทคโนโลยีส ารสนเทศในการสื บ ค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การนาเสนองานอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ สร้ า งสรรค์ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และมี ม ารยาทในการใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ แ ละ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงาน สามารถนาเสนอผลงาน และแก้ปัญหาได้ ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดี สามารถใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ ใช้กระบวนการวิจั ยในการศึกษา แก้ไขปัญหา และเสนอแนวทางแก้ไขโดยใช้โปรแกรมคอมพิว เตอร์ ได้อย่าง เหมาะสม รวม ๑ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ง ๓๓๒๕๖ สัมมนาคอมพิวเตอร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษารายงานทางวิชาการ หรือโครงงานคอมพิวเตอร์ที่สนใจ วิเคราะห์ปัญหา และเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาที่ สามารถแก้ไขโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซอฟท์แวร์ หรือ ฮาร์ดแวร์ นาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเผยแพร่ ผลงานในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการทางการวิจัย กระบวนการพัฒนาโปรแกรม ๖ ขั้นตอนในการทางาน คือ ๑.การวางแผน ๒.การ วิเคราะห์ ร ะบบ ๓.การออกแบบระบบ ๔.การพัฒ นาโปรแกรม ๕.การนาไปใช้งาน ๖.การปรับปรุงและแก้ไข และใช้ กระบวนการเทคโนโลยีส ารสนเทศในการสื บ ค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่ อสาร การแก้ปัญหา การนาเสนองานอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ สร้ า งสรรค์ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบ มี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และมี ม ารยาทในการใช้ ง านคอมพิ ว เตอร์ แ ละ อินเทอร์เน็ต เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงาน สามารถนาเสนอผลงาน และแก้ปัญหาได้ ตลอดจนเกิดเจตคติที่ดี สามารถใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ ใช้กระบวนการวิจัยในการศึกษา แก้ไขปัญหา และเสนอแนวทางแก้ไขโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และนาเสนอ ผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนมีการเผยแพร่ผลงานได้อย่างเหมาะสม รวม ๑ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๔๙
โครงสร้างวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๐
รหัสวิชา อ ๒๑๑๐๑ อ ๒๑๑๐๒ อ ๒๒๑๐๑ อ ๒๒๑๐๒ อ ๒๓๑๐๑ อ ๒๓๑๐๒ อ ๒๑๒๐๑ อ ๒๑๒๐๒ อ ๒๒๒๐๑ อ ๒๒๒๐๒ อ ๒๓๒๐๑ อ ๒๓๒๐๒ จ ๒๒๑๒๑ จ ๒๒๑๒๒ จ ๒๒๒๒๑ จ ๒๒๒๒๒ จ ๒๒๓๒๑ จ ๒๒๓๒๒ จ ๒๑๒๐๑ จ ๒๑๒๐๒ จ ๒๒๒๐๑ จ ๒๒๒๐๒ จ ๒๓๒๐๑ จ ๒๓๒๐๒ อ ๓๑๑๐๑ อ ๓๑๑๐๒ อ ๓๒๑๐๑ อ ๓๒๑๐๒ อ ๓๓๑๐๑ อ ๓๓๑๐๒
โครงสร้างรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) จานวนหน่วยกิต ภาษาอังกฤษ ๑ ๖๐ ๑.๕ ภาษาอังกฤษ ๒ ๖๐ ๑.๕ ภาษาอังกฤษ ๓ ๖๐ ๑.๕ ภาษาอังกฤษ ๔ ๖๐ ๑.๕ ภาษาอังกฤษ ๕ ๖๐ ๑.๕ ภาษาอังกฤษ ๖ ๖๐ ๑.๕ ฟ๎ง-พูดภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ ๑.๐ อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ ๑.๐ ฟ๎ง-พูดภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ๑.๐ อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ๑.๐ ฟ๎ง-พูดภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐ ๑.๐ อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐ ๑.๐ จีนเบื้องต้น ๑ ๒๐ ๐.๕ จีนเบื้องต้น ๒ ๒๐ ๐.๕ จีนเบื้องต้น ๓ ๒๐ ๐.๕ จีนเบื้องต้น ๔ ๒๐ ๐.๕ จีนเบื้องต้น ๕ ๒๐ ๐.๕ จีนเบื้องต้น ๖ ๒๐ ๐.๕ จีนพื้นฐาน ๑ ๔๐ ๑.๐ จีนพื้นฐาน ๒ ๔๐ ๑.๐ ฟ๎ง-พูดภาษาจีน ๑ ๔๐ ๑.๐ ฟ๎ง-พูดภาษาจีน ๒ ๔๐ ๑.๐ อ่าน-เขียนภาษาจีน ๑ ๔๐ ๑.๐ อ่าน-เขียนภาษาจีน ๒ ๔๐ ๑.๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) ภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ ๑.๐ ภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ๑.๐ ภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐ ๑.๐ ภาษาอังกฤษ ๔ ๔๐ ๑.๐ ภาษาอังกฤษ ๕ ๔๐ ๑.๐ ภาษาอังกฤษ ๖ ๔๐ ๑.๐
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
พื้นฐาน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๑
รหัสวิชา จ ๓๑๑๐๑ จ ๓๑๑๐๒ จ ๓๒๑๐๑ จ ๓๒๑๐๒ จ ๓๓๑๐๑ จ ๓๓๑๐๒ จ ๓๑๑๑๑ จ ๓๑๑๑๒ จ ๓๒๑๑๑ จ ๓๒๑๑๒ จ ๓๓๑๑๑ จ ๓๓๑๑๒ อ ๓๑๒๐๑ อ ๓๑๒๐๒ อ ๓๒๒๐๑ อ ๓๒๒๐๒ อ ๓๓๒๐๑ อ ๓๓๒๐๑ จ ๓๑๒๐๑ จ ๓๑๒๐๒ จ ๓๒๒๐๑ จ ๓๒๒๐๒ จ ๓๓๒๐๑ จ ๓๓๒๐๒
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) หลักภาษาจีน ๑ ๖๐ หลักภาษาจีน ๒ ๖๐ หลักภาษาจีน ๓ ๖๐ หลักภาษาจีน ๔ ๖๐ หลักภาษาจีน ๕ ๖๐ หลักภาษาจีน ๖ ๖๐ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๑ ๖๐ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๒ ๖๐ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๓ ๖๐ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๔ ๖๐ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๕ ๖๐ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๖ ๖๐ ฟ๎ง-พูดภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ ๑ ๔๐ ฟ๎ง-พูดภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ ๒ ๔๐ ฟ๎ง-พูดภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐ อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษ ๓ ๔๐ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๑ ๒๐ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๒ ๒๐ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๓ ๒๐ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๔ ๒๐ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๕ ๒๐ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๖ ๒๐
จานวนหน่วยกิต ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๕ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕
ประเภทวิชา
พื้นฐาน
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เข้าใจและใช้ทักษะทางภาษาแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสมและกาลเทศะ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา โดยใช้ภาษาเสนอและสืบค้นข้อมู ลความรู้ ตลอดจนใช้ภาษาในโรงเรียนและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้และความเพลิดเพลิน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจงง่ายๆ อ่านออกเสียงและตอบคาถามจากข้อความ บทสนทนา นิทาน บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องสั้นและสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่ฟ๎งและอ่าน สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล และ บรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรมและสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว พูดและ เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของเจ้าของภาษา และเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม บอกความเหมือนและ ความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรมของไทยและของต่างประเทศ มีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหา ความรู้ จ ากแหล่ งการเรี ย นรู้ ต่า งๆ สรุ ป ข้ อมู ล ที่ เกี่ ย วข้ องกับ กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู้อื่ นๆ รวมถึ งการใช้ ภ าษาสื่ อสารใน สถานการณ์จริง การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมิน สภาพจริง และการประเมินด้วย แฟูมสะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓, ม ๑/๔ ต ๑.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓, ม ๑/๔, ม ๑/๕ ต ๑.๓ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓ ต ๒.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓ ต ๒.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒ ต ๓.๑ ม ๑/๑ ต ๔.๑ ม ๑/๑ ต ๔.๒ ม ๑/๑ รวม ๒๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เข้าใจและใช้ทักษะทางภาษาแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสมและกาลเทศะ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา โดยใช้ภาษาเสนอและสืบค้นข้อมูลความรู้ ตลอดจนใช้ภาษาในโรงเรียนและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้และความเพลิดเพลิน และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจงง่ายๆ อ่านออกเสียงและตอบคาถามจากข้อความ บทสนทนา นิทาน บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องสั้นและสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่ฟ๎งและอ่าน สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล และ บรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรมและสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว พูดและ เขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของเจ้าของภาษา และเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม บอกความเหมือนและ ความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรมของไทยและของต่างประเทศ มีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหา ความรู้ จ ากแหล่ งการเรี ย นรู้ ต่ างๆ สรุ ป ข้อมูล ที่เกี่ ยวข้องกั บกลุ่ มสาระการเรีย นรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภ าษาสื่ อสารใน สถานการณ์จริง การวัดผลและการประเมินผล ช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็ นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วยแฟูม สะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓, ม ๑/๔ ต ๑.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓, ม ๑/๔, ม ๑/๕ ต ๑.๓ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓ ต ๒.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓ ต ๒.๒ ม ๑/๑, ม ๑/๒ ต ๓.๑ ม ๑/๑ ต ๔.๑ ม ๑/๑ ต ๔.๒ ม ๑/๑ รวม ๒๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เข้าใจและใช้ทักษะทางภาษาแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสมและกาลเทศะ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาเสนอและ สืบค้นข้อมูลความรู้ ตลอดจนใช้ภาษาในและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้ ความเพลิดเพลิน เป็นพื้นฐานใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจงและคาอธิบายง่ายๆ อ่านออกเสียงและตอบคาถามและ แสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว ประกาศ บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องสั้นและสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่ฟ๎งและอ่าน สนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลและบรรยายเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆใกล้ตัว กิจวัตรประจาวัน สถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน ประสบการณ์และข่าวและ เหตุการณ์ที่ อยู่ในความสนใจของสังคมพูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบ รับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคมและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของเจ้าของภาษา และเข้า ร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม บอกความเหมือนและความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรมของไทยและของ ต่างประเทศมีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของ โรงเรียนเป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วยแฟูม สะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔ ต ๑.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔, ม ๒/๕ ต ๑.๓ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ ต ๒.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ ต ๒.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒ ต ๓.๑ ม ๒/๑ ต ๔.๑ ม ๒/๑ ต ๔.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เข้าใจและใช้ทักษะทางภาษาแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสมและกาลเทศะ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาเสนอและ สืบ ค้น ข้อมูลความรู้ ตลอดจนใช้ภ าษาในและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้ ความเพลิ ดเพลิ น เป็นพื้นฐานใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจงและคาอธิบายง่ายๆ อ่านออกเสียงและตอบคาถามและแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว ประกาศ บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องสั้นและสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียงที่ฟ๎งและอ่ าน สนทนา แลกเปลี่ ยนข้อมูลและบรรยายเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆใกล้ ตัว กิจวัตรประจาวัน สถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน ประสบการณ์และข่าวและ เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสังคมพูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ และประเพณีของเจ้าของภาษา และเข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม บอกความเหมือนและความแตกต่างของภาษาและวัฒนธรรมของไทยแล ะ ของต่างประเทศมีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่ เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ของโรงเรียนเป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติการประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วยแฟูม สะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔ ต ๑.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓, ม ๒/๔, ม ๒/๕ ต ๑.๓ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ ต ๒.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ ต ๒.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒ ต ๓.๑ ม ๒/๑ ต ๔.๑ ม ๒/๑ ต ๔.๒ ม ๒/๑, ม ๒/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๒๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เข้าใจและใช้ทักษะทางภาษาแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสมและกาลเทศะ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาเสนอและ สืบ ค้น ข้อมูลความรู้ ตลอดจนใช้ภ าษาในและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้ ความเพลิ ดเพลิ น เป็นพื้นฐานใน การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจงและคาอธิบายตามสถานการณ์ต่างๆ อ่านออกเสียงและตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว โฆษณา บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องสั้นและสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่ฟ๎งและอ่าน สนทนา เขียนโต้ตอบข้อมูลและบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรมและสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน ประสบการณ์ และ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของ เจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม บอกความเหมือนความต่างของภาษาและวัฒนธรรมของไทยและ ของต่างประเทศ มีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม สืบค้นความรู้ จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้ องกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน และชุมชนเป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วย แฟูมสะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓, ม ๓/๔ ต ๑.๒ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓, ม ๓/๔, ม ๓/๕ ต ๑.๓ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓ ต ๒.๑ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓ ต ๒.๒ ม ๓/๑, ม ๓/๒ ต ๓.๑ ม ๓/๑ ต ๔.๑ ม ๓/๑ ต ๔.๒ ม ๓/๑, ม ๓/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๒๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
เข้าใจและใช้ทักษะทางภาษาแลกเปลี่ยนและนาเสนอข้อมูลข่าวสารอย่างเหมาะสมและกาลเทศะ มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมทางภาษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษามีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาเสนอและ สืบค้นข้อมูลความรู้ ตลอดจนใช้ภาษาในและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้ ความเพลิดเพลิน เป็นพื้นฐานในการศึกษา ต่อและประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจงและคาอธิบายตามสถานการณ์ต่างๆ อ่านออกเสียงและตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว โฆษณา บทร้อยกรองสั้นๆ เรื่องสั้นและสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่ฟ๎งและอ่าน สนทนา เขียนโต้ตอบข้อมูลและบรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรมและสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน ประสบการณ์และ ข่าว เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา มีความรู้เกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของ เจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม บอกความเหมือนความต่างของภาษาและวัฒนธรรมของไทยและ ต่างประเทศ มีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม สืบค้นความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนชุมชนและ ท้องถิ่นเป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดยอาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติการประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วย แฟูมสะสมงาน รหัสตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓, ม ๓/๔ ต ๑.๒ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓, ม ๓/๔, ม ๓/๕ ต ๑.๓ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓ ต ๒.๑ ม ๓/๑, ม ๓/๒, ม ๓/๓ ต ๒.๒ ม ๓/๑, ม ๓/๒ ต ๓.๑ ม ๓/๑ ต ๔.๑ ม ๓/๑ ต ๔.๒ ม ๓/๑, ม ๓/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ ๒๑๒๐๑ ฟัง-พูดภาษาอังกฤษ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา เข้าใจตีความ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟ๎ง พูดเพื่อนาเสนอ แลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรมและสถานการณ์ต่างในชีวิตประจาวัน แสดงความรู้สึก ความคิดเห็นของตนเอง เกี่ยวกับเรื่องต่างๆใกล้ตัว เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสาคัญ ประเพณี และวัฒนธรรม ตามความสนใจ ใช้ภาษาต่างประเทศ เป็ นเครื่ องมือแสวงหาข้อมูล ข้อเท็จ จริ ง ที่เกี่ย วข้องกับกลุ่ มสาระการเรียนรู้อื่น ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างมี วิ จ ารณญาณ และทั ก ษะการสื่ อ สารเพื่ อ ให้ ส ามารถใช้ ภ าษาในการสื่ อ สารได้ อ ย่ า งเหมาะสมกั บ บุ ค คล โอกาส และ สถานการณ์ ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม.๑/๑ ต ๑.๒ ม.๑/๑,๑/๔,๑/๕ ต ๑.๓ ม.๑/๓ ต ๒.๑ ม.๑/๓ ต ๓.๑ ม.๑/๑ ต ๔.๑ ม.๑/๑ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๕๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ ๒๑๒๐๒ อ่าน – เขียนภาษาอังกฤษ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อ่านข้อความ บทอ่านสั้น ๆ ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา การขอและให้ข้อมูล ใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายถ่าย โอนข้อมูลทั้งที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียง เป็นถ้อยคาของตนเอง หรือ ในรูปแบบอื่น ๆ เขียนเกี่ยวกับ ประสบการณ์ของตนเอง ข่าวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เขียนบรรยาย และ เปรียบเทียบเรื่องราว ความรู้สึกในชีวิตประจาวัน เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสาคัญ ประเพณี และวัฒนธรรมท้องถิ่น เห็นคุณค่าของภาษาอังกฤษ สามารถนาไปใช้เป็น เครื่องมือแสวงหาความรู้ เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น ๆ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด วิเคราะห์ อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการสื่อสาร เพื่อให้สามารถใช้ภาษาในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานการณ์ ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม.๑/๑,๑/๒,๑/๓ ต ๑.๒ ม.๑/๒,๑/๓,๑/๔,๑/๕ ต ๓.๑ ม.๑/๑,๑/๒,๑/๓ ต ๒.๑ ม.๑/๒,๑/๓ ต ๒.๒ ม.๑/๒ ต ๓.๑ ม.๑/๑ ต ๔.๑ ม.๑/๑ ต ๔.๒ ม.๑/๑ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ ๒๒๒๐๑ ฟัง-พูดภาษาอังกฤษ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๔๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จานวน ๑.๐ หน่วยกิต
ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา เข้าใจตีความ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟ๎ง พูดเพื่อนาเสนอ แลกเปลี่ยนข้อมูล แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสาคัญ ประเพณี และวัฒนธรรม ของเจ้าของ ภาษา เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงคา ประโยค ของภาษาต่ างประเทศและ ภาษาไทย เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติม และเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น และพูด นาเสนอ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการสื่อสาร เพื่อให้ สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานการณ์ ตัวชี้วัด ต ๑.๑ม.๒/๑ ต ๑.๒ม.๒/๑,๒/๒,๒/๓,๒/๔,๒/๕ ต ๑.๓ ม.๒/๑,๒/๒,๒/๓ ต ๒.๑ ม.๒/๑,๒/๒,๒/๓ ต ๒.๒ ม.๒/๑,๒/๒ ต ๓.๑ ม.๒/๑ ต ๔.๑ม.๒/๑ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ ๒๒๒๐๒ ภาษาอังกฤษอ่าน – เขียน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อ่านข้อความ บทอ่านสั้น ๆ คาสั่ง คาแนะนา การขอและให้ข้อมูล อ่านออกเสียงข้อความ ข่าวถูกดต้องตาม หลักการอ่าน เขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านอย่างเหมาะสม เขียนบรรยายเกี่ยวกับ ตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ เขียนแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับกิจกรรมเรื่องต่างๆใกล้ตัว เข้าร่วมกิจกรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติมและเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ และใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น ค้นคว้าจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ โดย ใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการสื่อสารเพื่อให้สามารถใช้ภาษาใน การสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานการณ์ ตัวชี้วัด ต ๑.๑ม.๒/๒ ต ๑.๒ม.๒/๓,๒/๔,๒/๕ ต ๑.๓ม.๒/๑,๒/๓ ต ๒.๑ม.๒/๓ ต ๓.๑ม.๒/๑ ต ๔.๒ม.๒/๑ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ ๒๓๒๐๑ ฟัง-พูดภาษาอังกฤษ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา เข้าใจตีความ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟ๎ง พูดเพื่อนาเสนอ แลกเปลี่ยนข้อมูล แสดงความรู้สึก ความคิดเห็น เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับวันสาคัญ ประเพณี และวัฒนธรรม ของเจ้าของ ภาษา เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงคา ประโยค ของภาษาต่างประเทศและ ภาษาไทย เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างชีวิตความเป็นอยู่ระหว่างชีวิตและวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้เพิ่มเติม และเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระอื่น และพูด นาเสนอ โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการสื่อสารเพื่อให้สามารถ ใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานการณ์ ตัวชี้วัด ต ๑.๑ม.๓/๑ ต ๑.๒ม.๓/๑,๓/๒,๓/๓,๓/๔,๓/๕ ต ๑.๓ ม.๓/๑,๓/๒,๓/๓ ต ๒.๑ ม.๓/๑,๓/๒,๓/๓ ต ๒.๒ ม.๓/๑,๓/๒ ต ๓.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๑ ม.๓/๑ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม อ ๒๓๒๐๒ อ่าน – เขียนภาษาอังกฤษ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต อ่านข้อความ ข่าว โฆษณาบทอ่านสั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่างๆให้ สัมพันธ์กับประโยคที่อ่าน และระบุใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน และสื่อประเภทต่างๆ พร้อมทั้งให้เหตุผล ยกตัวอย่าง ประกอบ เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่างๆใกล้ตัว เขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือใน สถานการณ์ต่างๆอย่างเหมาะสม เขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ที่อยู่ในความสนใจ และสรุปใจความสาคัญ ที่ได้จากการอ่าน เข่ร่วมจัดกิจกรรมต่างๆตามความสนใจ ใช้ภาษาใน ค้นคว้า รวบรวม ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น และนาเสนอด้วยการเขียน ใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด วิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ และทักษะการสื่อ สารเพื่อให้ สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานการณ์ ตัวชี้วัด ต ๑.๑ม.๓/๒,๓/๓,๓/๔ ต ๑.๒ม.๓/๑,๓/๓ ต ๑.๓ม.๓/๑,๓/๒ ต ๒.๑ม.๓/๓ ต ๓.๑ม.๓/๑ ต ๔.๒ม.๓/๒ รวม ๑๘ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๑๒๒๑ จีนเบื้องต้น ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆที่ใช้ในห้องเรียน ระบุสัทอักษรตามระบบพินอินอ่านออกเสียง และประสมเสียง คาง่ายๆ ตามหลักการออกเสียง ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยค จากการฟ๎งหรือ การอ่านพูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน และเรื่องใกล้ตัว เขียน อักษรจีนตามหลักการเขียนคาศัพท์ง่ายๆบอกความเหมือนหรือความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และ ข้อความของภาษาจีนกับภาษาไทย โดยใช้กระบวนการฟ๎งพูดอ่านเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสารและส่งสารได้ อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวนการกลุ่ม การอภิปราย และ มีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆได้ ๒. ระบุสัทอักษรตามระบบพินอินอ่านออกเสียง และประสมเสียงคาง่ายๆ ตามหลักการออกเสียง ๓. ระบุภาพหรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยคจากการฟ๎งหรือการอ่าน ๔. พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ๕. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อนและเรื่องใกล้ตัวได้ ๖. เขียนอักษรจีนตามหลักการเขียน คาศัพท์ง่ายๆได้ถูกต้อง ๗. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และข้อความของภาษาจีนกับภาษาไทย รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ๒๒๑๒๒ จีนเบื้องต้น ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาทักษะการปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆ ระบุสัทอักษรตามระบบพินอินอ่านออกเสียง และประสมเสียงคาง่ายๆ ตาม หลักการออกเสียง ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยค จากการฟ๎งหรือการอ่าน ตอบคาถามง่ายๆ จากการฟ๎ง พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล พูดเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และสิ่งใกล้ตัว เขียนอักษรจีนตามหลักการเขียน คาศัพท์ง่ายๆบอกความเหมือน หรือความแตกต่างของ เสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และข้อความของภาษาจีนกับภาษาไทย โดยใช้กระบวนการฟ๎ง การพูด การอ่าน การเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ สารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวนการกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆ ๒. ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยค จากการฟ๎ง หรือการอ่าน ๓. ตอบคาถามง่ายๆ จากการฟ๎งได้ถูกต้อง ๔. พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ๕. พูดเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และสิ่งใกล้ตัว ๖. เขียนอักษรจีนตามหลักการเขียน คาศัพท์ง่ายๆได้ถูกต้อง ๗. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และข้อความของภาษาจีนกับ ภาษาไทย รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๒๒๒๑ จีนเบื้องต้น ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาทักษะการอ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยค จากการฟ๎งหรือการอ่านตอบคาถามจากการฟ๎ง และอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบพูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล พูดเพื่อ ขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และสิ่งใกล้ตัว เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองแบบง่ายๆ บอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคา ตามโครงสร้าง ประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย โดยใช้กระบวนการฟ๎ง พูด อ่านเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสารและส่งสาร ได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้ง กระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวนการกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. อ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง ๒. ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยค จากการฟ๎งหรือการอ่าน ๓. ตอบคาถามจากการฟ๎งและอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบ ๔. พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ๕. พูดหรือเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว ๖. เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองแบบง่ายๆ ๗. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และ การลาดับคา ตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๒๒๒๒ จีนเบื้องต้น ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาทักษะการระบุประโยคและข้อความ หรือตอบคาถามให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่อ่านตอบคาถาม จากการฟ๎งและอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบพูดหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล พูด หรือเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในชีวิตประจาวัน พูดเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกั บ ตนเอง เพื่อน ครอบครัว และสิ่งใกล้ตัว พูดหรือเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ หรือเรื่องใกล้ตัว บอกข้อมูล และความสาคัญของเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของจีนบอกความเหมือน หรือความแตกต่าง ระหว่างการออกเสี ยงประโยคชนิ ดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของ ภาษาจีนและภาษาไทย โดยใช้กระบวนการฟ๎งพูดอ่านเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสารและส่งสารได้ อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวนการกลุ่มการอภิปรายและมี ความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยคจากการฟ๎งหรือการอ่าน ๒. ตอบคาถามจากการฟ๎งและอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบ ๓. พูดหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ๔. พูดหรือเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในชีวิตประจาวัน ๕. พูดเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และสิ่งใกล้ตัว ๖. พูดหรือเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ หรือเรื่องใกล้ตัว ๗. บอกข้อมูล และความสาคัญของเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของจีน ๘. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๘
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๒๓๒๑ จีนเบื้องต้น ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาทักษะการพูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจาวันอย่างง่ายได้อ่าน ออกเสียงคาวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียงอ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดง ความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่กาหนดให้ได้เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นคากลุ่มคาและประโยคอย่างง่ายๆรวมทั้งเติม วรรณยุกต์ได้ถูกต้องใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษาเข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องคาวลีสานวนประโยค ข้อความต่างๆและนาไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสมสนใจ โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวนการกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมี ความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจาวันอย่างง่ายได้ ๒. อ่านออกเสียงคาวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง ๓. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่กาหนดให้ได้ ๔. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นคากลุ่มคาและประโยคอย่างง่ายๆรวมทั้งเติมวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง ๕. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ๖. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องคาวลีสานวนประโยค ข้อความต่างๆและนาไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๖๙
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๒๓๒๒ จีนเบื้องต้น ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายตามสถานการณ์ระบุประโยคและข้อความ หรือตอบ คาถามให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่อ่านจับใจความสาคัญ สรุป และตอบคาถามง่ายๆ จากเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่านจากสื่อ ประเภทต่างๆสนทนา แลกเปลี่ยนและเขียนโต้ตอบข้อมูลเพื่อสื่อสารอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัวบอกความ เหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตาม โครงสร้างประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวัน ให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ใช้คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายตามสถานการณ์ ๒. ระบุประโยคและข้อความ หรือตอบคาถามให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงที่อ่าน ๓. จับใจความสาคัญ สรุป และตอบคาถามง่ายๆ จากเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่านจากสื่อประเภทต่างๆ ๔. สนทนา แลกเปลี่ยนและเขียนโต้ตอบข้อมูลเพื่อสื่อสารอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับตนเอง กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆ ใน ชีวิตประจาวัน ๕. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว ๖. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๑๒๐๑ จีนพื้นฐาน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต มีความเข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง ภาษา ท่าทางและคาแนะนาในสถานศึกษา อ่านออกเสียง กลุ่มคา และประโยคง่ายๆ ตามหลักการออกเสียงเข้าใจประโยค ข้อความสั้นๆ บทสนทนา และเรื่องสั้นใช้ภาษาง่าย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล แสดงความต้องการของตน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงความรู้สึกและบอกเหตุผล ขอและให้ข้อมูลง่ายๆ อธิบาย เกี่ยวกับบุคคลและสิ่งต่างๆที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เพื่อนนักเรียน ฯลฯ นาเสนอความคิด รวบยอด ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่ใกล้ตัวได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจรูปแบบ พฤติกรรมและการใช้ถ้อยคา สานวน ในการติดต่อปฏิสัมพันธ์ ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาลงานฉลองในวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย ในเรื่องเสียง สระ พยัญชนะ คา วลี ประโยค ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก นักเรียนสามารถนาภาษาไปใช้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้และความ เพลิดเพลินและใช้ภาษาตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ ด้วยภาษาจีนทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน รวมถึงการตีความ การนาไปใช้นาเสนอข้อมูล และความคิดรวบ ยอดผ่านทางสื่อต่างๆ มีความเข้าใจในรูปแบบของการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม วัฒนธรรม เพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้ เพื่อเตรียมในการ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันร่วมกัน การเข้าสู่อาชีพ โดยฝึกกิจกรรมฝึกการอ่าน คาศัพท์ การเขียน การฝึกสนทนา เล่น เกม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆได้ ๒. ระบุสัทอักษรตามระบบพินอินอ่านออกเสียง และประสมเสียงคาง่ายๆ ตามหลักการออกเสียง ๓. ระบุภาพหรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยคจากการฟ๎งหรือการอ่าน ๔. พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ๕. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อนและเรื่องใกล้ตัวได้ ๖. เขียนอักษรจีนตามหลักการเขียน คาศัพท์ง่ายๆได้ถูกต้อง ๗. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และข้อความของภาษาจีนกับ ภาษาไทย รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๑๒๐๒ จีนพื้นฐาน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง ภาษา ท่าทางและคาแนะนาในสถานศึกษา อ่านออกเสียง กลุ่มคา และ ประโยคง่ า ยๆตามหลั ก การออกเสี ย งเข้ า ใจประโยค ข้ อ ความสั้ น ๆ บทสนทนา และเรื่ อ งสั้ น ใช้ ภ าษาง่ า ย เพื่ อ สร้ า ง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความต้องการของตน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงความรู้สึกและบอกเหตุผล ขอและ ให้ข้อมูลง่ายๆ อธิบายเกี่ยวกับบุคคลและสิ่งต่างๆที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เพื่อนนักเรียน ฯลฯ นาเสนอความคิดรวบยอด ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่ใกล้ตัวได้อย่างมีเ หตุผล เข้าใจรูปแบบ พฤติกรรมและ การใช้ถ้อยคา ส านวน ในการติดต่อปฏิ สั มพันธ์ ตามวัฒ นธรรมของเจ้าของภาษา รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาลงานฉลองในวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย ในเรื่องเสียง สระ พยัญชนะ คา วลี ประโยค ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก นักเรียนสามารถนาภาษาไปใช้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้และความ เพลิดเพลินและใช้ภาษาตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ ด้วยภาษาจีนทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน รวมถึงการตีความ การนาไปใช้นาเสนอข้อมูล และความคิ ดรวบ ยอดผ่านทางสื่อต่างๆ มีความเข้าใจในรูปแบบของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม วัฒนธรรม เพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้ เพื่อเตรียมในการ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันร่วมกัน การเข้าสู่อาชีพ โดยฝึกกิจกรรมฝึกการอ่าน คาศัพท์ การเขียน การฝึกสนทนา เล่น เกม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่งง่ายๆได้ ๒. ระบุสัทอักษรตามระบบพินอินอ่านออกเสียง และประสมเสียงคาง่ายๆ ตามหลักการออกเสียง ๓. ระบุภาพหรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยคจากการฟ๎งหรือการอ่าน ๔. พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ๕. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อนและเรื่องใกล้ตัวได้ ๖. เขียนอักษรจีนตามหลักการเขียน คาศัพท์ง่ายๆได้ถูกต้อง ๗. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคา ประโยค และข้อความของภาษาจีนกับ ภาษาไทย รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๒๒๐๑ ฟัง-พูดภาษาจีน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง ภาษา ท่าทางและคาแนะนาในสถานศึกษา อ่านออกเสียง กลุ่มคา และ ประโยคง่ า ยๆตามหลั ก การออกเสี ย งเข้ า ใจประโยค ข้ อ ความสั้ น ๆ บทสนทนา และเรื่ อ งสั้ น ใช้ ภ าษาง่ า ย เพื่ อ สร้ า ง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความต้องการของตน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงความรู้สึกและบอกเหตุผล ขอและ ให้ข้อมูลง่ายๆ อธิบายเกี่ยวกับบุคคลและสิ่งต่างๆที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เพื่อนนักเรียน ฯลฯ นาเสนอความคิดรวบยอด ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่ใกล้ตัวได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจรูปแบบ พฤติกรรมและ การใช้ถ้อยคา ส านวน ในการติดต่อปฎิสั มพันธ์ ตามวัฒ นธรรมของเจ้าของภาษา รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาลงานฉลองในวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย ในเรื่องเสียง สระ พยัญชนะ คา วลี ประโยค ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก นักเรียนสามารถนาภาษาไปใช้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้และความ เพลิดเพลินและใช้ภาษาตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ ด้วยภาษาจีนทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน รวมถึงการตีความ การนาไปใช้นาเสนอข้อมูล และความคิดรวบ ยอดผ่านทางสื่อต่างๆ มีความเข้าใจในรูปแบบของปฎิสัมพันธ์ทางสังคม วัฒนธรรม เพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้ เพื่อเตรียมในการ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันร่วมกัน การเข้าสู่อาชีพ โดยฝึกกิจกรรมฝึกการอ่าน คาศัพท์ การเขียน การฝึกสนทนา เล่น เกมส์ โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผลการเรียนรู้ ๑. อ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค ตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง ๒. ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยค จากการฟ๎งหรือการอ่าน ๓. ตอบคาถามจากการฟ๎งและอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบ ๔. พูดโต้ตอบด้วยประโยคสั้นๆ เพื่อสื่อสารระหว่างบุคคล ๕. พูดหรือเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และเรื่องใกล้ตัว ๖. เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองแบบง่ายๆ ๗. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และ การลาดับคา ตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย รวม ๗ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๒๒๒๐๒ ฟัง-พูดภาษาจีน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต นักเรียนจะต้องมีความเข้าใจคาสั่ง คาขอร้อง ภาษา ท่าทางและคาแนะนาในสถานศึกษา อ่านออกเสียง กลุ่ มคา และ ประโยคง่ า ยๆตามหลั ก การออกเสี ย งเข้ า ใจประโยค ข้ อ ความสั้ น ๆ บทสนทนา และเรื่ อ งสั้ น ใช้ ภ าษาง่ า ย เพื่ อ สร้ า ง ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความต้องการของตน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงความรู้สึกและบอกเหตุผล ขอและ ให้ข้อมูลง่ายๆ อธิบายเกี่ยวกับบุคคลและสิ่งต่างๆที่พ บเห็นในชีวิตประจาวัน ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เพื่อนนักเรียน ฯลฯ นาเสนอความคิดรวบยอด ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่ใกล้ตัวได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจรูปแบบ พฤติกรรมและ การใช้ถ้อยคา ส านวน ในการติดต่อปฏิ สั มพันธ์ ตามวัฒ นธรรมของเจ้าของภาษา รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาลงานฉลองในวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย ในเรื่องเสียง สระ พยัญชนะ คา วลี ประโยค ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก นักเรียนสามารถนาภาษาไปใช้เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้และความ เพลิดเพลินและใช้ภาษาตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ ด้วยภาษาจีนทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน รวมถึงการตีความ การนาไปใช้นาเสนอข้อมูล และความคิดรวบ ยอดผ่านทางสื่อต่างๆ มีความเข้าใจในรู ปแบบของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม วัฒนธรรม เพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้ เพื่อเตรียมในการ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันร่วมกัน การเข้าสู่อาชีพ โดยฝึกกิจกรรมฝึกการอ่าน คาศัพท์ การเขียน การฝึกสนทนา เล่น เกม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผลการเรียนรู้ ๑. ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ ตรงตามความหมายของคา กลุ่มคา และประโยคจากการฟ๎งหรือการอ่าน ๒. ตอบคาถามจากการฟ๎งและอ่านบทสนทนา หรือตอบคาถามจากการดูภาพประกอบ ๓. พูดหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคล ๔. พูดหรือเขียนแสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในชีวิตประจาวัน ๕. พูดเพื่อขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน ครอบครัว และสิ่งใกล้ตัว ๖. พูดหรือเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ หรือเรื่องใกล้ตัว ๗. บอกข้อมูล และความสาคัญของเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง ชีวิตความเป็นอยู่ของจีน ๘. บอกความเหมือน หรือความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และ การลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนและภาษาไทย รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ๒๒๓๐๑ อ่าน-เขียนภาษาจีน ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต นั กเรี ย นพูด ขอร้ อง ภาษา ท่ าทางและคาแนะนาในสถานศึกษา อ่านออกเสี ยง กลุ่ มคา และประโยคง่ายๆตาม หลักการออกเสียงเข้าใจประโยค ข้อความสั้นๆ บทสนทนา และเรื่องสั้นใช้ภาษาง่าย เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความต้องการของตน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น แสดงความรู้สึกและบอกเหตุผล ขอและให้ข้อมูลง่ายๆ อธิบายเกี่ยวกับ บุคคลและสิ่งต่างๆที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน เพื่อนนักเรียน ฯลฯ นาเสนอความคิดรวบ ยอด ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่ใกล้ตัวได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจรูปแบบ พฤติกรรมและการใช้ถ้อยคา สานวน ใน การติดต่อปฏิสัมพันธ์ ตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา รู้จักขนบธรรมเนียม ประเพณี เทศกาลงานฉลองในวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทย ในเรื่องเสียง สระ พยัญชนะ คา วลี ประโยค ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนโลก นักเรียนสามารถนาภาษาไปใช้เพื่อเพิ่มพู นความรู้ ขยายความรู้และความ เพลิดเพลินและใช้ภาษาตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ ด้วยภาษาจีนทั้งการพูด การอ่าน และการเขียน รวมถึงการตีความ การนาไปใช้นาเสนอข้อมูล และความคิดรวบ ยอดผ่านทางสื่อต่างๆ มีความเข้าใจในรูปแบบของปฏิสัมพันธ์ทางสังคม วัฒนธรรม เพิ่มพูนความรู้ ขยายความรู้ เพื่อเตรียมในการ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันร่วมกัน การเข้าสู่อาชีพ โดยฝึกกิจกรรมฝึกการอ่าน คาศัพท์ การเขียน การฝึกสนทนา เล่น เกม โดยใช้กระบวนการกลุ่ม ผลการเรียนรู้ ๑. พูดขอข้อมูลและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและบุคคลที่พบเห็นในชีวิตประจาวันอย่างง่ายได้ ๒. อ่านออกเสียงคาวลีข้อความและบทความได้ถูกต้องตามหลักการออกเสียง ๓. อ่านและแปลความหมายจากประโยคสั้นๆที่แสดงความรู้สึกในรูปแบบสัทอักษรภาษาจีนที่กาหนดให้ได้ ๔. เขียนตัวสัทอักษรจีนเป็นคากลุ่มคาและประโยคอย่างง่ายๆรวมทั้งเติมวรรณยุกต์ได้ถูกต้อง ๕. ใช้ภาษาและท่าทางในการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับระดับบุคคลสถานที่โอกาสและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ๖. เข้าใจความแตกต่างระหว่างภาษาจีนกับภาษาไทยในเรื่องคาวลีสานวนประโยค ข้อความต่างๆและนาไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆอย่างถูกต้องเหมาะสม รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๓๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับการฟ๎ง พูด อ่าน เขียน การฟ๎งคาสั่ง เรื่องราว การสนทนาโต้ตอบในสถานการณ์ต่างๆ หรือที่กาหนด เกี่ยวกับครอบครัว การศึกษา งานอดิเรก สุขภาพ การสนทนาเรื่องในอดีต ป๎จจุบัน และอนาคต เทศกาลทางวัฒนธรรม การอ่านเรื่องทั่วไป ข้อความสั้นๆที่พบในชีวิตประจาวันจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การเขียนข้อความสั้นๆ การใช้ พจนานุกรม และ online dictionary การใช้ภาษาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นแหล่งเรียนรู้หรือฝึกฝนกับเพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาด้วยตนเอง การสืบค้นข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ ที่หลากหลาย ปฏิบัติตามและใช้คาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจงและคาอธิบายและคาบรรยาย อ่านออกเสียง สนทนา และเขียนโต้ตอบข้อมูล จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง สื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ เรื่องต่างๆใกล้ตัว สถานการณ์ เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจ สาร คดีและบันเทิงคดีที่ฟ๎งและอ่าน พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ ตัว แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสีย ง และกิริ ยาท่าทางสุภ าพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อภิปรายความเหมือนและความ แตกต่างของภาษา วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของไทยและของต่างประเทศ เข้าร่วม มีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่ มสาระการเรี ยนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภ าษาสื่ อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของ โรงเรียนเป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วยแฟูม สะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔ ต ๑.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔, ม ๔/๕ ต ๑.๓ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ ต ๓.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต เข้าใจและใช้ภาษาอังกฤษในแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร สร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความรู้สึกนึกคิด แสดงความคิดรวบยอดในเรื่องที่เกี่ยวกับการศึกษางานอาชีพ ชุมชนและสังคมโลกในรูปแบบที่เหมาะสมกับบุคคลและ กาลเทศะ มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษสืบค้นข้อมูลความรู้ในสาระการเรียนรู้อื่นๆที่เรียน ตามความสนใจ จากสื่อที่หลากหลาย ฝึกฝนการใช้ภาษาอังกฤษทั้งในและนอกโรงเรียน เพื่อแสวงหาความรู้เพิ่มเติมอย่างต่อเนื่อง หาความ เพลิดเพลิน เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ปฏิบัติตามและใช้คาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจงและคาอธิบายและคาบรรยาย อ่านออกเสียง สนทนา และเขีย นโต้ตอบข้อมูล จั บใจความส าคัญ วิเคราะห์ ความ สรุปความ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง สื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ เรื่องต่างๆใกล้ตัว สถานการณ์ เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ ในความสนใจ สารคดีและบันเทิงคดีที่ฟ๎งและอ่าน พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อภิปรายความ เหมือนและความแตกต่างของภาษา วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของไทยและ ของต่างประเทศ เข้าร่วม แนะนาและจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถในการค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน เป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วย แฟูมสะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔ ต ๑.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔, ม ๔/๕ ต ๑.๓ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ ต ๓.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับการฟ๎ง พูด อ่าน เขียน การฟ๎ง เรื่องราวต่างๆ บันเทิงคดีจากสื่อโสตทัศน์ การสนทนาโต้ตอบ ใน สถานการณ์ต่างๆที่กาหนดเกี่ยวกับการเดินทาง ท่องเที่ยว การบอกทิศทาง การบอกตาแหน่งที่ตั้ง สิ่งบันเทิง การซื้อขาย การต้อนรับ การสนทนาทางโทรศัพท์ การปฏิบัติตามคาสั่ง ขั้นตอนการปฏิบัติการอ่านเรื่องทั่วไป ข้อความ กาหนดการ ปูาย ประกาศต่างๆที่พบในชีวิตประจาวันจากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จดหมายอิเ ล็กทรอนิกส์ การกรอกแบบฟอร์ม ต่างๆ ปฏิบั ติตามและใช้คาแนะน าในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจงและคาอธิบายและคาบรรยาย อ่านออกเสี ยง สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูล จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง บทละครสั้น สื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ เรื่องต่างๆใกล้ตัว สถานการณ์ เหตุการณ์ ประเด็นที่ อยู่ ใ นความสนใจ สารคดี แ ละบั น เทิ ง คดี ที่ ฟ๎ ง และอ่ า น พู ด และเขี ย นบรรยาย เกี่ ย วกั บ ตนเอง กิ จ วั ต รประจ าวั น ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตาม สถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อภิปรายความเหมือนและความแตกต่างของภาษา วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ของไทยและของต่างประเทศ เข้าร่วม แนะนาและจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถใน การค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ รวมถึงการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริ ง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชนท้องถิ่นเป็น ภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติการประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วยแฟูม สะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔ ต ๑.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔, ม ๔/๕ ต ๑.๓ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ ต ๓.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับการฟ๎ง พูด อ่าน เขียน การฟ๎ง เรื่องราวต่างๆ บันเทิงคดีจากสื่อโสตทัศน์ การสนทนาโต้ตอบ ใน สถานการณ์ต่างๆที่กาหนดเกี่ยวกับการเดินทาง ท่องเที่ยว การบอกทิศทาง การบอกตาแหน่งที่ตั้ง สิ่งบันเทิง การซื้อขาย การต้อนรับ การสนทนาทางโทรศัพท์ การปฏิบัติตามคาสั่ง ขั้นตอนการปฏิบัติการอ่านเรื่องทั่วไป ข้อความ กาหนดการ ปูาย ประกาศต่างๆที่พบในชีวิตประจาวัน การกรอกแบบฟอร์มต่างๆ ปฏิบัติตามและใช้คาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจงและคาอธิบายและคาบรรยาย อ่านออกเสียง สนทนา และเขีย นโต้ตอบข้อมูล จั บใจความส าคัญ วิเคราะห์ ความ สรุปความ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง บทละครสั้น สื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ เรื่องต่างๆใกล้ตัว สถานการณ์ เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจ สารคดีและบันเทิงคดีที่ฟ๎งและอ่าน พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ และสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว แสดงความต้องการ ขอความช่วยเหลือ ตอบรับหรือปฏิเสธได้อย่างเหมาะสมตาม สถานการณ์ สนทนา ใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อภิปรายความเหมือนและความแตกต่างของภาษา วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรม ของไทยและของต่างประเทศ เข้าร่วม แนะนาและจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม มีความสามารถใน การค้นคว้า รวบรวม การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ สรุปข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ รวมถึงการใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียน ชุมชนท้องถิ่นเป็นภาษาต่างประเทศ การวัดผลและการประเมินผล ใช้วิธีที่หลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเนื้อหาและทักษะที่ต้องการวัด โดย อาจใช้วิธีการประเมินด้วยการสื่อสารส่วนบุคคล ประเมินจากการปฏิบัติ การประเมินสภาพจริง และการประเมินด้วย แฟูมสะสมงาน ตัวชี้วัด ต ๑.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔ ต ๑.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓, ม ๔/๔, ม ๔/๕ ต ๑.๓ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๑ ม ๔/๑, ม ๔/๒, ม ๔/๓ ต ๒.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ ต ๓.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๑ ม ๔/๑ ต ๔.๒ ม ๔/๑, ม ๔/๒ รวม ๒๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการฟ๎งและอ่านเรื่องที่เป็นสารคดี และบันเทิง พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟ๎งและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความ คิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรมประสบการณ์และข่าว เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล เลือกใช้ภาษา น้าเสียงและ กริยาท่าทางเหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานที่ ตามมารยาททางสังคม โดยใช้กระบวนการ การอ่าน เขียน วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น นาเสนอข้อมูล ใช้ภาษาเพื่อการขอและให้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ การปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้มีวินัย ใฝุเรียนรู้ เกิดความรู้ความเข้าใจ นาไปใช้ประโยชน์ และเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม การศึกษาต่อหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๔-๖/๓ , ม.๔-๖/๔ ต.๑.๒ ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖ ต.๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ ต.๒.๒ ม.๔-๖/๒ ต.๓.๑ ม.๔-๖/๑ รวม ๑๐ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน อ ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๐ หน่วยกิต จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความและแสดงความคิดเห็นจากการฟ๎งและอ่านเรื่องที่เป็นสารคดี และบันเทิง พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ประเด็นข่าว เหตุการณ์ที่ฟ๎งและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความ คิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรมประสบการณ์และข่าว เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล เลือกใช้ภาษา น้าเสียงและ กริยาท่าทางเหมาะสมกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานที่ ตามมารยาททางสังคม โดยใช้กระบวนการ การอ่าน เขียน วิเคราะห์ แสดงความคิดเห็น นาเสนอข้อมูล ใช้ภาษาเพื่อการขอและให้ข้อมูล แลกเปลี่ยนความรู้ การปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้มีวินัย ใฝุเรียนรู้ เกิดความรู้ความเข้าใจ นาไปใช้ประโยชน์ และเห็นคุณค่าของการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชนและสังคม การศึกษาต่อหรือการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมมีทัศนคติเชิงบวกใน การเรียนภาษาอังกฤษ มีความเข้าใจในเรื่องความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๔-๖/๑ , ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔ ต.๑.๒ ม.๔-๖/๔ , ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖ ต.๒.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒ ต.๒.๒ ม.๔-๖/๒ ต.๓.๑ ม.๔-๖/๑ รวม ๑๑ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๑
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๑๑๐๑ หลักภาษาจีน ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑
เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาขอร้อง คาชี้แจง คาแนะนา และคาอธิบายที่ฟ๎งและอ่านอย่างง่ายระบุสัทอักษร พินอิน อ่านออกเสียงและประสมเสียงตามหลักการออกเสียงบอกความหมายของคา กลุ่มคา ประโยค หรือข้อความสั้นๆ ตามที่ฟ๎งหรืออ่านจากสื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียงในรูปแบบต่างๆ ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็นจากการฟ๎งหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ ทั้งที่มี ภาพและไม่มีภาพประกอบสนทนาหรือเขียนโต้ตอบในการสื่อสารระหว่างบุคคลใช้คาสั่ง คาขอร้อง คาขออนุญาต และ คาแนะนาที่ใช้ในชีวิตประจาวันพูดและเขียนแสดงความต้องการขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธใน สถานการณ์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมี ความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๔/๑ ต.๒.๑ ม.๔/๑ ต.๓.๑ ม.๔/๑ ต.๔.๑ ม.๔/๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๒
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๑๑๐๒ หลักภาษาจีน ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการพูดบอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัว และกิจกรรมต่างๆ พร้อมให้เหตุผลสั้นๆพูดหรือ เขียนให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เพื่อน สิ่งแวดล้อม และเรื่องใกล้ตัวตอบคาถาม จับใจความสาคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็น จากการฟ๎งหรืออ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่ายๆ ทั้งที่มีภาพและไม่มีภาพประกอบเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และ กิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีนบอกชื่อคาศัพท์พร้อมทั้ง ตอบคาถามเกี่ยวกับเทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของจีน บอกความแตกต่างระหว่างการออกเสี ยง ตัวอักษร คา วลี การใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทยบอกความ เหมือนและความแตกต่างระหว่างเทศกาล งานฉลอง และประเพณีของจีนกับของไทย โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมี ความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๔/๑ ต.๒.๑ ม.๔/๑ ต.๓.๑ ม.๔/๑ ต.๔.๑ ม.๔/๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๓
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๒๑๐๓ หลักภาษาจีน ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนาคาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟ๎งและอ่านอ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค บทร้อยกรอง และคาคล้องจองตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง ตอบคาถาม จับ ใจความสาคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่านสนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับตนเอง บุคคล กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายในสถานการณ์ต่างๆพูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่ว ยเหลื อ ตอบรับและปฏิเสธใน สถานการณ์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้ าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๕/๒ ต.๒.๑ ม.๕/๒ ต.๓.๑ ม.๕/๑ ต.๔.๒ ม.๕/๒ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๔
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๒๑๐๔ หลักภาษาจีน ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการพูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตัวเอง และกิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ข่าวหรือเหตุการณ์ที่อยู่ใน ความสนใจของสังคมเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของจีน พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลบรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ สานวน คา พังเพย สุภาษิต การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย ใช้ภาษา สื่อสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองทีเ่ กิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษาและชุมชน โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรี ยนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๕/๒ ต.๒.๑ ม.๕/๒ ต.๓.๑ ม.๕/๑ ต.๔.๒ ม.๕/๒ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๕
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๓๑๐๑ หลักภาษาจีน ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการพูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตัวเอง และกิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ข่าวหรือเหตุการณ์ที่อยู่ใน ความสนใจของสังคมเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของจีน พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลบรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ สานวน คา พังเพย สุภาษิต การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย ใช้ภาษา สื่อสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองทีเ่ กิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษาและชุมชน โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่า และมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๓ ม.๖/๑ ต.๒.๒ ม.๖/๑ ต.๓.๑ ม.๖/๑ ต.๔.๒ ม.๖/๒ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๖
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๓๑๐๒ หลักภาษาจีน ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ พูดและเขียน แสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ พู ดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นและให้ เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน อธิบายเกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน วิเคราะห์หรืออภิปรายความ เหมือนและความแตกต่ างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมของไทย และนาไปใช้ อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และ สังคมโลก โดยใช้กระบวนการฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ สารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้ าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๑ ม.๖/๒ ต.๒.๑ ม.๖/๒ ต.๓.๑ ม.๖/๑ ต.๔.๑ ม.๖/๒ รวม ๔ ตัวชีว้ ัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๑๑๑๑ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกการใช้ทักษะการอ่านเขียนตัวอักษรจี นกลุ่มคาและประโยคง่ายๆได้ถูกต้องเขียนอักษรจีนถูกต้องตามหลักการ เขียนใช้ทักษะภาษาจีนในการฟ๎งพูดอ่านคาถาม คาตอบ คาอธิบายบทสนทนาข้อความที่เป็นความเรียงและไม่เป็นความ เรียงตลอดจนเข้าใจภาษาท่าทางในการสื่อสารตามสถานการณ์ต่างๆแลกเปลี่ยนนาเสนอข้อมูลข่าวสารใช้ประโยคต าม โครงสร้างไวยากรณ์ที่สื่อความหมายตามบริบทต่างๆในการสนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการและใช้ประโยคง่ายๆ ได้ถูกต้อง โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะทางภาษา การฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดสื่อสาร เรื่องราวในสถานการณ์จริง/จาลองทักษะ/กระบวนการทางานกลุ่ม มีความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความสามารถตามทักษะทางภาษา เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ตัวชี้วัด ต.๑.๓ ม.๔/๒ ต.๒.๒ ม.๔/๒ ต.๓.๑ ม.๔/๑ ต.๔.๒ ม.๔/๒ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๑๑๑๒ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกการใช้ทักษะภาษาจีนในการฟ๎ง พูด อ่าน เขียน คาอธิบายบทสนทนา ข้อความที่เป็นความเรียงและไม่เป็นความ เรีย งตลอดจนเข้าใจภาษาท่ า ทางในการสื่ อสารตามสานการณ์ต่ างๆโต้ ตอบใช้ ประโยคตามโครงสร้า งไวยากรณ์ ที่สื่ อ ความหมายตามบริบทต่างๆในการสนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการและใช้ประโยคง่ายๆได้ถูกต้อง โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะทางภาษา การฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดสื่อสาร เรื่องราวในสถานการณ์จริง/จาลองทักษะ/กระบวนการทางานกลุ่ม มีความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความสามารถตามทักษะทางภาษา เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะทางภาษารู้และเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าใจตีความและแสดงความคิดเห็นต่อ ข้อความข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในความสนใจในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษารู้และเข้าใจถึงความสาคัญและเป็นมาของสถานที่สาคัญและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตัวชี้วัด ต.๑.๓ ม.๔/๒ ต.๒.๒ ม.๔/๒ ต.๓.๑ ม.๔/๑ ต.๔.๒ ม.๔/๒ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๗
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๒๑๑๑ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกการใช้ทักษะภาษาจีนในการฟ๎ง พูด อ่าน เขียน คาอธิบายบทสนทนา ข้อความที่เป็นความเรียงและไม่เป็นความ เรียงตลอดจนเข้าใจภาษาท่าทางในการสื่อสารตามสานการณ์ต่างๆโต้ตอบใช้ประโยคตามโครงสร้างไวยากรณ์ที่สื่อ ความหมายตามบริบทต่างๆในการสนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการและใช้ประโยคง่ายๆได้ถูกต้อง โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะทางภาษา การฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดสื่อสาร เรื่องราวในสถานการณ์จริง/จาลองทักษะ/ มีความรู้ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้ เกิดความสามารถตามทักษะทางภาษาเพื่อใช้ในการใช้ชีวิต การท่องเที่ยวและวัฒนธรรมจีน เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะทางภาษารู้และเข้าใจวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เข้าใจตีความและแสดงความคิดเห็นต่อ ข้อความข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ในความสนใจในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษารู้และเข้าใจถึงความสาคัญและเป็นมาของสถานที่สาคัญและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ตัวชี้วัด ต.๑.๓ ม.๕/๓ ต.๒.๒ ม.๕/๒ ต.๓.๑ ม.๕/๑ ต.๔.๑ ม.๕/๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๘
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๒๑๑๒ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการใช้การฟ๎งเสียง รูปแบบ ความหมาย คา กลุ่มคา ประโยค สานวน ข้อความ สารคดี บทสนทนา บท ละครสั้น คาสั่ง คาแนะนา คาขอร้อง การตอบรับและปฏิเสธ ข้อเท็จจริงข้อมูลเรื่องราวและประสบการณ์ในท้องถิ่น และ เรื่องราวที่สนใจ เรียนรู้วัฒนธรรมจีนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยและจีน โดยการฟ๎ง พูด กระบวนการคิด แก้ป๎ญหา สืบค้น และนาเสนอข้อมูล ด้วยความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและ เทคโนโลยี เพื่อให้มีความรู้ และทักษะภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันขั้นพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม กับมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมทางภาษาจีน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีน มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงและ เห็นคุณค่าในการนาความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ต.๑.๓ ม.๕/๓ ต.๒.๒ ม.๕/๒ ต.๓.๑ ม.๕/๑ ต.๔.๑ ม.๕/๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๗๙
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๓๑๑๑ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๕ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๖๐ ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
ฝึกทักษะการใช้เสียง รูปแบบ ความหมาย คา กลุ่มคา ประโยคที่ซับซ้อน สานวน ข้อความ สารคดี บทสนทนา บทละครสั้น บทประพันธ์ คาสั่ง คาแนะนา คาขอร้อง การตอบรั บและปฏิเสธ ข้อเท็จจริง ข้อมูลเรื่องราว ประสบการณ์ และประเด็นข่าวตามความสนใจของสังคม เรียนรู้วัฒนธรรมจีนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทย และจีน โดยการฟ๎ง พูด กระบวนการคิด แก้ป๎ญหา สืบค้น และนาเสนอข้อมูล ด้วยความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและ เทคโนโลยี เพื่อให้มีความรู้ และทักษะภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันขั้นพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม กับมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมทางภาษาจีน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีน มีวินัยใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงและ เห็นคุณค่าในการนาความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ รหัสตัวชี้วัด ต.๑.๒ ม.๖/๔ ต.๒.๑ ม.๖/๓ ต.๓.๑ ม.๖/๑ ต.๔.๒ ม.๖/๑ รวมทั้งหมด ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๐
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน จ ๓๓๑๑๒ ไวยกรณ์จีนและฝึกทดสอบ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการใช้เสียง รูปแบบ ความหมาย คา กลุ่มคา ประโยคที่ซับซ้อน สานวน ข้อความ สารคดี บทสนทนา บทละครสั้น บทประพันธ์ คาสั่ง คาแนะนา คาขอร้อง การตอบรับและปฏิเสธ ข้อเท็จจริง ข้อมูลเรื่องราว ประสบการณ์ และประเด็นข่าวตามความสนใจของสังคม เรียนรู้วัฒนธรรมจีนและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทย และจีน โดยการฟ๎ง พูด กระบวนการคิด แก้ป๎ญหา สืบค้น และนาเสนอข้อมูล ด้วยความสามารถในการใช้ทักษะชีวิตและ เทคโนโลยี เพื่อให้มีความรู้ และทักษะภาษาจีนเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวันขั้นพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะสม กับมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมทางภาษาจีน มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีน มีวินัยใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียงและ เห็นคุณค่าในการนาความรู้ไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ต.๑.๒ ม.๖/๔ ต.๒.๑ ม.๖/๓ ต.๓.๑ ม.๖/๑ ต.๔.๒ ม.๖/๑ รวม ๔ ตัวชี้วัด
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๑๒๐๑ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ อ่านออกเสียง ข้อความ นิทานบทร้อยกรอง ข่าว ประกาศ โฆษณา ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่าน ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายใน สถานการณ์ต่างๆ พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ ข่าวหรือเหตุการณ์ เรื่องราวหรือประเด็นต่างๆ ของ สังคม เลือกใช้ภาษา น้าเสียง กิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล และโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน โดยใช้กระบวนการฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ สารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ ๒. อ่านออกเสียงข้อความ นิทานบทร้อยกรอง ข่าว ประกาศ โฆษณา ๓. ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่าง ประกอบ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่าน ๔. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายในสถานการณ์ต่างๆ ๕. พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ ข่าวหรือเหตุการณ์ เรื่องราวหรือประเด็นต่างๆ ของ สังคม ๖. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง กิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล และโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๑๒๐๒ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ พูดและเขียน แสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นและให้ เหตุผลเกี่ยวกับเรื่ องที่ฟ๎งและอ่าน อธิบายเกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน วิเคราะห์หรืออภิปรายความ เหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมของไทย และนาไปใช้ อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และ สังคมโลก โดยใช้กระบวนการฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ สารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิ ดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ ๒. พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ ๓. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลบรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นและให้เหตุผล เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน ๔. อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน ๕. วิเคราะห์หรืออภิปรายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับวัฒนธรรมของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม ๖. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคมโลก รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๔
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๒๒๐๑ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนาคาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟ๎งและอ่านอ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค บทร้อยกรอง และคาคล้องจองตามหลักการอ่านในระบบเสียงภาษาจีนกลาง ตอบคาถาม จับ ใจความสาคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่านสนทนา แลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับตนเอง บุคคล กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายในสถานการณ์ต่างๆพูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่ว ยเหลื อ ตอบรับและปฏิเสธใน สถานการณ์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนาคาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟ๎งและอ่าน ๒. อ่านออกเสียงตัวอักษร คาศัพท์ กลุ่มคา ประโยค บทร้อยกรอง และคาคล้องจองตามหลักการอ่านในระบบเสียง ภาษาจีนกลาง ๓. ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับเรื่อง ที่ฟ๎งหรืออ่าน ๔. สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับตนเอง บุคคล กิจกรรม และสถานการณ์ต่างๆ ๕. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจงและคาอธิบายในสถานการณ์ต่างๆ ๖. พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๕
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๒๒๐๒ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการพูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตัวเอง และกิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ข่าวหรือเหตุการณ์ที่อยู่ใน ความสนใจของสังคมเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานที่ตามมารยาทสังคม และวัฒนธรรมของจีน พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลบรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ สานวน คา พังเพย สุภาษิต การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย ใช้ภาษา สื่อสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองทีเ่ กิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษาและชุมชน โดยใช้กระบวนการฟ๎งการพูดการอ่านการเขียนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับสาร และส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้องเข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่มการ อภิปรายและมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้า ของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตัวเอง และกิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์ข่าวหรือเหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจ ของสังคม ๒. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล โอกาส และสถานที่ ตามมารยาทสังคมและ วัฒนธรรมของจีน ๓. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลบรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎ง และอ่าน ๔. เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ สานวน คาพังเพย สุภาษิต การใช้เครื่องหมายวรรคตอน และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาจีนกับภาษาไทย ๕. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริงหรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนสถานศึกษาและชุมชน รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๖
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๓๒๐๑ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ อ่านออกเสียง ข้อความ นิทานบทร้อยกรอง ข่าว ประกาศ โฆษณา ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่าน ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายใน สถานการณ์ต่างๆ พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ ข่าวหรือเหตุการณ์ เรื่องราวหรือประเด็นต่างๆ ของ สังคม เลือกใช้ภาษา น้าเสียง กิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล และโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน โดยใช้กระบวนการฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ สารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ ๒. อ่านออกเสียงข้อความ นิทานบทร้อยกรอง ข่าว ประกาศ โฆษณา ๓. ตอบคาถาม จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ สรุปและแสดงความคิดเห็น พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่าง ประกอบ เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งหรืออ่าน ๔. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายในสถานการณ์ต่างๆ ๕. พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับประสบการณ์ ข่าวหรือเหตุการณ์ เรื่องราวหรือประเด็นต่างๆ ของ สังคม ๖. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง กิริยาท่าทางให้เหมาะสมกับบุคคล และโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของจีน รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๗
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม จ ๓๓๒๐๒ ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง จานวน ๐.๕ หน่วยกิต ฝึกทักษะการปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ พูดและเขียน แสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นและให้ เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน อธิบายเกี่ยวกับ ชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน วิเคราะห์หรืออภิปรายความ เหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมของไทย และนาไปใช้ อย่างเหมาะสม ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยน สถานศึกษา ชุมชน และ สังคมโลก โดยใช้กระบวนการฟ๎ง การพูด การอ่านการเขียน และกระบวนการคิดวิเคราะห์ ใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการรับ สารและส่งสารได้อย่างคล่องแคล่วถูกต้อง เข้าถึงสารได้อย่างชัดเจนรวมทั้งกระบวนการสืบเสาะหาความรู้กระบวน การกลุ่ม การอภิปราย และมีความสามารถในการสืบค้นข้อมูล เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝุเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจในภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา สามารถนาไปใช้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ หรือในชีวิตประจาวันให้เกิดประโยชน์ รวมทั้งเห็นคุณค่าและมี เจตคติที่ดีต่อ การเรียนภาษาจีน ผลการเรียนรู้ ๑. ปฏิบัติตามคาสั่ง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายจากข้อมูลทางสื่อต่างๆ ๒. พูดและเขียนแสดงความต้องการ ขอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธในสถานการณ์ต่างๆ ๓. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูลบรรยาย บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็นและให้เหตุผล เกี่ยวกับเรื่องที่ฟ๎งและอ่าน ๔. อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของจีน ๕. วิเคราะห์หรืออภิปรายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับวัฒนธรรมของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม ๖. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคมโลก รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๘
โครงสร้างรายวิชาสาระการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๘๙
โครงสร้างรายวิชาสาระการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รหัสวิชา (IS๑) I ๒๐๒๐๑ (IS๒) I ๒๐๒๐๒ IS ๓ (IS๑) I ๓๐๒๐๑ (IS๒) I ๓๐๒๐๑ IS ๓
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ๔๐ การสื่อสารและการนาเสนอ ๔๐ การนาความรู้ไปใช้บริการสังคม ๔๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ๔๐ การสื่อสารและการนาเสนอ ๔๐ การนาความรู้ไปใช้บริการสังคม ๔๐
จานวนหน่วยกิต ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ ๑.๐ -
ประเภทวิชา เพิ่มเติม
เพิ่มเติม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๐
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I ๒๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ สาระการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษา เรีย บเรียงและถ่ายทอดความคิ ดอย่างชัดเจน เป็นระบบจากข้อมูล องค์ความรู้จากการศึกษาค้นคว้าใน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้( Research and Knowledge Formation) โดยเขียนโครงร่าง บทนา เนื้อ เรื่อง สรุป ในรูปของรายงานเชิงวิชาการ โดยใช้คาจานวน ๒,๕๐๐ คา มีการอ้างอิงแหล่งความรู้ที่เชื่อถือได้อย่างหลากหลาย เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างชัดเจน เป็นระบบ มีการนาเสนอในรูปแบบเดี่ยว(Oral individual) หรือกลุ่ม ( Oral panel presention) โดยใช้สื่อประกอบที่หลากหลาย และเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เพื่อให้เกิดทักษะในการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ และทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ ให้เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. วางโครงร่างการเขียนตามหลักเกณฑ์ องค์ประกอบและวิธีการเขียนโครงร่าง ๒. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการภาษาไทย ความยาว ๒,๕๐๐ คา ๓. นาเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุปจากประเด็น ที่เลือกในรูปแบบเดี่ยว(Oral individual presentation) หรือกลุ่ม ( Oral panel presention) ๔. โดยใช้สื่อ อุปกรณ์ในการนาเสนอได้อย่างเหมาะสม ๕. เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ ๖. เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้แก่สาธารณะ รวม ๖ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๑
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I ๒๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๒
สาระการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคาถามในเรื่องที่สนใจโดยเริ่มจากตนเองเชื่อมโยงกับชุมชนท้องถิ่น และประเทศ ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลโดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติ ฐาน ที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ออกแบบวางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม ทางาน บรรลุผลตามป้าหมายภายในกรอบการดาเนินงานที่กาหนด โดยการกากับดูแล ช่วยเหลือของครูอย่างต่อเนื่อง สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้และร่วมกันเสนอแนวคิด วิธี การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยกระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ เปรียบเทียบเชื่อมโยงองค์ความรู้ สังเคราะห์สรุป อภิปราย เพื่อให้เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเองเชื่อมโยงกับชุมชนท้องถิ่นและประเทศ ๒. ตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่ตนเองสนใจ ๓. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. ศึกษาค้นคว้า แสวงหาข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ๕. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้ ๖. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม ๗. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม ๘. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ ๙. เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รวม ๙ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๒
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I ๓๐๒๐๑ การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ สาระการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคาถามเกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก ตั้งสมมติฐาน และให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และมีทฤษฎี รองรับ ออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ และ สารสนเทศ อย่ างมีป ระสิ ทธิภ าพและพิจ ารณาความน่าเชื่อถือของแหล่ งเรียนรู้อย่างมีวิจารณญาณ เพื่อให้ ได้ข้อมูล ที่ ครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้และร่วมกัน มีกระบวนการกลุ่มในการ วิพากษ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้าแสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรุ ป อภิปรายผลเปรี ย บเทีย บเชื่อมโยงความรู้ ความเป็นมาของศาสตร์ เข้าใจหลั กการและวิธีคิดในสิ่ งที่ศึกษา เห็ น ประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. ตั้งประเด็นปัญหาจากสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก ๒. ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลที่สนับสนุนหรือโต้แย้งประเด็นความรู้ โดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ และมี ทฤษฎีรองรับ ๓. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. ศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ๕. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้ ๖. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม ๗. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม ๘. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ รวม ๘ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๓
คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I ๓๐๒๐๒ การสื่อสารและการนาเสนอ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒
สาระการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เวลา ๔๐ ชั่วโมง จานวน ๑ หน่วยกิต
ศึกษา เรียบเรียงและถ่ายทอดความคิดอย่างสร้างสรรค์จากรายวิชา IS ๑ (Research and Knowledge Formation) เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและสังคมโลก โดยเขียนโครงร่าง บทนา เนื้อเรื่อง สรุป ในรูปของรายงาน การศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการเป็นภาษาไทยความยาว จานวน ๔,๐๐๐ คา หรือเป็นภาษาอังกฤษ ความยาว จานวน ๒,๐๐๐ คา มีการอ้างอิงแหล่งความรู้ที่เชื่อถือได้อย่างหลากหลาย เชื่อถือได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เรียบเรียงและถ่ายทอด สื่อสาร นาเสนอความคิดอย่างชัดเจน เป็นระบบ มีการนาเสนอในรูปแบบเดี่ยว(Oral individual) หรือกลุ่ม ( Oral panel presention) โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย และมีการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ เพื่อให้เกิดทักษะในการเขียนรายงาน เชิงวิชาการ และทักษะการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ ให้เป็นประโยชน์แก่สาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. วางโครงร่างการเขียนตามหลักเกณฑ์ องค์ประกอบและวิธีการเขียนโครงร่าง ๒. เขียนรายงานการศึกษาค้นคว้าเชิงวิชาการภาษาไทยความยาว ๔,๐๐๐ คา หรือภาษาอังกฤษ ความยาว จานวน ๒,๐๐๐ คา ๓. นาเสนอข้อค้นพบ ข้อสรุปจากประเด็น ที่เลือกในรูปแบบเดี่ยว(Oral individual presentation) หรือกลุ่ม (Oral panel presention) โดยใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย ๔. เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะ โดยใช้การสนทนา / วิพากษ์ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น e-conference , social media online ๕. เห็นประโยชน์และคุณค่าในการสร้างสรรค์งานและถ่ายทอดสิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นประโยชน์ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๔
โครงสร้างรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๕
โครงสร้างรายวิชากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
รหัสวิชา -
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รายวิชา เวลาเรียน(ชั่วโมง) กิจกรรมแนะแนว ๑ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๓ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๕ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๖ ๒๐ การใช้ห้องสมุด ๑ ๒๐ การใช้ห้องสมุด ๒ ๒๐ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) กิจกรรมแนะแนว ๑ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๒ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๓ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๔ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๕ ๒๐ กิจกรรมแนะแนว ๖ ๒๐
จานวนหน่วยกิต -
ประเภทวิชา
-
-
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๖
คาอธิบายรายวิชาแนะแนว กิจกรรมแนะแนว ๑-๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน หนังสือดีที่ฉันชื่นชอบ การเลือกกิจกรรมชุมนุม โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นมัธยมปีที่๑ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การจบการศึกษา เอกสารหลักฐานทางการศึกษา กิจกรรมแนะแนว กิจกรรม นักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ แบบอย่างที่ดีมีค่ากว่าคาสอน การตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน เพื่อนคือ ทรัพย์สิน โล่อาชีพ พระคุณพ่อแม่ กิจกรรมที่เสริมสร้า งสุขอย่างสร้างสรรค์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สรุป ทิศทางอนาคตของตนเองเมื่อจบม.๑ โดยใช้มิติด้านทักษะการคิดเพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่ม จากทักษะขั้นพื้นฐาน ชั้นกลาง ชั้นสูง และมิติด้านกระบวนการคิด กระบวนการคิดอย่างมีวิ จารณญาณ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ได้ใช้ จิน ตนาการ โดยใช้ส ถานการณ์ จ าลอง ทากิจ กรรมที่ ทาคนเดีย วและท ากลุ่ ม และร่ว มกั นอภิ ปรายเพื่อ ให้ เกิด ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ที่ได้จากการสืบค้นและการใช้เทคโนโลยีอันทันสมั ย ทาให้ สามารถตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างเป็นระบบและประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณาการ ให้สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๗
คาอธิบายรายวิชาแนะแนว กิจกรรมแนะแนว ๓-๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
วิเคราะห์ผลการเรียนม.๑ สารวจป๎ญหาและความต้องการ หนังสือดีที่ฉันชื่นชอบ การเลือกกิจกรรมชุมนุม การ สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดีกับผู้อื่น มีชีวิตแบบใช้เหตุผลหรือใช้อารมณ์ อาชีพกับบุค ลิกภาพ ภูมิคุ้มกันตนเอง ทักษะการ ตีความ ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการสรุปความ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การควบคุมอารมณ์และ ความต้องการของตน การใส่ใจและเห็นใจผู้อื่น การตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน การฝึกคิดแบบหมวก ๖ ใบ ( แสดงความเห็น ขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ ) การฝึกคิดโดยใช้รูปภาพ กิจกรรมจิตอาสา คุณพึงพอใจในตนเองหรือไม่ การใช้หลักสัปปุริส ธรรม ๗ ในการดาเนินชีวิต การเตรียมตัวเพื่อเป็นนักเรียนโควตา สรุปทิศทางอนาคตของตนเองเมื่อจบม.๒ โดยใช้มิติด้านทักษะการคิดเพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่ม จากทักษะขั้นพื้นฐาน ชั้นกลาง ชั้นสูง และมิติด้านกระบวนการคิด เช่น กระบวนการคิดแก้ป๎ญหา กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอนาคต เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดง ความคิดเห็น ได้ใช้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จาลอง ทากิจกรรมที่ทาคนเดียวและทากลุ่ม และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ที่ได้จากการสืบค้นและการใช้เทคโนโลยีอันทันสมัย ทาให้สามารถตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างเป็นระบบและประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณา การให้สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่าง พอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๘
คาอธิบายรายวิชาแนะแนว กิจกรรมแนะแนว ๕-๖ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
คุณค่าของความพอเพียงการดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล หนังสือดีที่ฉันชื่นชอบ การเลือกกิจกรรมชุมนุม การเข้าใจ ตนเองก่อนก้าวเข้าสู่อาชีพ ด้านความสนใจ ค่านิยม บุคลิกภาพ ความสามารถ เปูาหมายในอาชีพ เส้นทางสู่อาชีพ การ แก้ ป๎ ญ หาตามแนวพุท ธ การอยู่ อย่ างมีส มอง จิ ต คุม กาย จิ ตที่ เป็ นสาธารณะ ผู้ นาผู้ ต าม โลกกว้ างทางการศึก ษา การศึกษาสายสามัญ การศึกษาสายอาชีพ การศึกษาต่อสถาบันอื่น ๆ การตัดสินใจอย่างมีระบบ มีเหตุผล ดีที่สุด เสี่ยง น้อยที่สุด มีความหมายต่อชีวิต ( ไม่ใช้อารมณ์และความรู้สึก ) สรุปทิศทางอนาคตของตนเองเมื่อจบม.๓ โดยใช้มิติด้านทักษะการคิดเพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่ม จากทักษะขั้น พื้น ฐาน ชั้น กลาง ชั้น สู ง และมิติด้า นกระบวนการคิด เช่น กระบวนการคิ ดแก้ป๎ญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอนาคต เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ได้ใช้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จาลอง ทากิจกรรม ที่ทาคนเดี่ยวและทากลุ่ม และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ที่ได้จากการสืบค้นและการใช้เทคโนโลยีอันทันสมัย ทาให้สามารถตัดสินใจแก้ ป๎ญหาได้อย่างเป็นระบบแลมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณาการให้สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๓๙๙
คาอธิบายรายวิชาการใช้ห้องสมุด การใช้ห้องสมุด ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน และนอกโรงเรียนอย่างกว้างขวาง เพื่อการเรียนรู้ ตามความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของตนเอง มีจิตสานึกที่ดี มีมารยาท และคุณธรรมในการใช้ ห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้ ปฏิบัติงานห้องสมุดเกี่ยวกับหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค และโสตทัศนวัสดุ การเตรียมออก ให้ยืม การลงทะเบียนการจัดชั้น การจัดเก็บ การดูแลรักษาและการซ่อมแซม การสารวจและการจาหน่ายออกจาก ห้องสมุดและการตกแต่งห้องสมุด การจัดวัสดุห้องสมุดประเภทต่างๆขึ้นชั้น เตรียมสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุ ซ่อมแซม หนังสือแบบต่าง ๆ และเย็บเล่มเข้าปกวารสารและหนังสือ เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับห้องสมุด การดูแลรักษาและซ่อมแซมหนังสือ จัดเตรียมหนังสือ สิ่งพิมพ์ และครุภัณฑ์ห้องสมุดและสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพได้ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและนอกโรงเรียน อย่างกว้างขวาง ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องงานห้องสมุด คุณสมบัติ หน้าที่และความรับผิดชอบ การจัดห้องสมุด การ ดาเนินงานห้องสมุดเกี่ยวกับหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ จุลสาร กฤตภาค และโสตทัศนวัสดุ การเตรียมออกให้ยืม การ ลงทะเบียนการจัดชั้น การจัดเก็บ การดูแลรักษาและการซ่อมแซม การสารวจและการจาหน่ายออกจากห้องสมุด ๓. ปฏิบัติงานห้องสมุด และการตกแต่งห้องสมุด การจัดวัสดุห้องสมุดประเภทต่างๆขึ้นชั้น เตรียมสิ่งพิมพ์และ โสตทัศนวัสดุ ซ่อมแซมหนังสือแบบต่าง ๆ และเย็บเล่มเข้าปกวารสารและหนังสือได้ด้วยตนเองทุกขั้นตนอย่างมีทักษะ การทางาน ๔. ปฏิบัติการใช้แหล่งเรียนรู้ จากหนังสือ สื่อต่างๆจากห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน และนอกโรงเรียน อย่างกว้างขวาง เพื่อการเรียนรู้ตามความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของตนเอง ๕. มีจิตสานึกที่ดี มีมารยาท และคุณธรรมในการใช้ห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ รวม ๕ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐๐
คาอธิบายรายวิชาการใช้ห้องสมุด การใช้ห้องสมุด ๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน ศึกษาเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ จากหนังสือ สื่อต่างๆจากห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ ในโรงเรียน และนอกโรงเรียนอย่างกว้างขวาง เพื่อการเรียนรู้ตามความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของตนเอง ใช้เครื่องมือในการมือสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ รู้จักเลือกใช้สารสนเทศประเภทต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ตามความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของตนเอง เห็นความสาคัญของการอ่าน การศึกษาค้นคว้าและนาเสนอข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ เช่น เขียนรายงาน และใช้ เทคโนโลยี นาเสนอข้อมูล และอ้างอิงในการค้นหาข้อมูล รักการค้นคว้าด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต มีความ กระตือรือร้น ใฝุรู้ใฝุเรียน วิธีเรียนรู้ นาความรู้ไปพัฒนาตนเอง และใช้เป็นพื้นฐานการศึกษาต่อและประกอบอาชีพได้ ผลการเรียนรู้ ๑.มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องแหล่งเรียนรู้ จากหนังสือ สื่อต่างๆจากห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน และ นอกโรงเรียนอย่างกว้างขวาง รู้จักใช้เครื่องมือสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ รู้จักเลือกใช้สารสนเทศประเภทต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ ตามความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของตนเอง ๒.เห็นความสาคัญของการอ่าน การศึกษาค้นคว้าและนาเสนอข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ เช่น เขียนรายงาน และใช้ เทคโนโลยี นาเสนอข้อมูล และอ้างอิงในการค้นหาข้อมูล รั กการค้นคว้าด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องไปตลอดชีวิต มีความ กระตือรือร้น ใฝุรู้ใฝุเรียน วิธีเรียนรู้ นาความรู้ไปพัฒนาตนเอง และใช้เป็นพื้นฐานการศึกษาต่อและประกอบอาชีพได้ ๓.ปฏิบัติการใช้แหล่งเรียนรู้ จากหนังสือ สื่อต่างๆจากห้องสมุดและแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน และนอกโรงเรียน อย่างกว้างขวาง รู้จักใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสืบค้นข้อมูลสารนิเทศ รู้จักเลือกใช้สารนิเทศประเภทต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ ตามความสนใจ ความสามารถ และความถนัดของตนเอง รวม ๓ ผลการเรียนรู้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐๑
คาอธิบายรายวิชาแนะแนว กิจกรรมแนะแนว ๑-๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
โครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นมัธยมปีที่ ๔ การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การจบการศึกษา เอกสารหลักฐานทางการศึกษา กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ หนังสือดีที่ฉันชื่นชอบ การเลือกกิจกรรมชุมนุม ความรู้คู่ชีวิ ต การกู้ยืมเพื่อการศึกษา มายด์แมบ ภูมิคุ้มกันตนเอง ภาพการมอบมงกุฎดอกไม้ปี ๒๕๕๒ ความมุมานะมุ่งมั่นไปสู่เปูาหมายของชีวิต การตอบแทนบุญคุณ แผ่นดิน การฝึกคิดแบบหมวก ๖ ใบ ( แสดงความเห็นขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์) เงินสี่ด้าน กิจกรรมที่เสริมสร้างความสุข ค่านิยมในการทางาน อาชีพที่เหมาะสม ใครคือแบบอย่างของคุณ การฝึกสังเกตภาษากาย เปรียบเทียบการใช้ชีวิต แบบ เหตุผล/อารมณ์ วัยรุ่นยุคใหม่ สรุปทิศทางอนาคตของตนเองเมื่อ จบม.๔ โดยใช้มิติด้านทักษะการคิดเพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่ม จากทักษะขั้นพื้นฐาน ชั้น กลาง ชั้นสูง และมิติด้านกระบวนการคิด เช่น กระบวนการคิดแก้ป๎ญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิด อนาคต เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ได้ใช้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จาลอง ทากิจกรรมที่ทาคนเดี่ยว และทากลุ่ม และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ที่ได้จาก การสืบค้นและการใช้เทคโนโลยีอันทันสมัย ทาให้สามารถตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างเป็นระบบแลมีประสิทธิภาพ โดยเน้น การสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณาการให้สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐๒
คาอธิบายรายวิชาแนะแนว กิจกรรมแนะแนว ๓-๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
ภาพการมอบมงกุฎดอกไม้ปี๒๕๕๒ วิเคราะห์ผลการเรียนในม.๔ การเชื่อมโยงผลการเรียนกับเปูาหมาย ความมุ่งมั่นสู่เปูาหมายที่เป็นไปได้ ลีลาการเรียนรู้ การสร้างขวัญและกาลังใจให้ตนเอง กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมตาม วุฒิภาวะ การเก็บรวบรวมข้อมูลคณะ/สาขาที่ตนเองสนใจ การจัดลาดับคณะ/สาขาที่ตนเองสนใจ การแสวงหาข้อมูลจาก ผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อการตัดสินใจการประเมินอาชีพกับคุณลักษณะของตน การบริหารเวลาเพื่อความสาเร็จ ความคิด สร้ า งสรรค์ การตั ด สิ น ใจอย่ า งเป็ น ระบบ การฝึ ก คิด แบบหมวก ๖ ใบ ( แสดงความเห็ น ขั ด แย้ งอย่ า งสร้า งสรรค์ ) ปรับเปลี่ยนชีวิตคิดให้หลากหลาย อารมณ์ขันผ่อนคลายความเครียดได้ ทักษะการสรุปความ โดยใช้มิติด้านทักษะการคิดเพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่ม จากทักษะขั้นพื้นฐาน ชั้น กลาง ชั้นสูง และมิติด้านกระบวนการคิด เช่น กระบวนการคิดแก้ป๎ญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิด อนาคต เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ได้ใช้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จาลอง ทากิจกรรมที่ทาคนเดี่ยว และทากลุ่ม และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ที่ได้จาก การสืบค้นและการใช้เทคโนโลยีอั นทันสมัย ทาให้สามารถตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างเป็นระบบแลมีประสิทธิภาพ โดยเน้น การสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณาการให้สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐๓
คาอธิบายรายวิชาแนะแนว กิจกรรมแนะแนว ๕-๖ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๖
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เวลา ๒๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน
วิเคราะห์ผลการเรียนในม.๔ ๕ ภาพการมอบมงกุฎดอกไม้ปี๒๕๕๒ เงินสี่ด้านคนสี่ประเภท การ จัดการตนเองให้กระจ่าง วิเคราะห์ตนเองก่อนเลือกอาชีพ ข้อมูลการเลือกคณะ/สาขาวิชา การจัดลาดับคณะ/สาขาที่ ตนเองต้องการหาโค้ชเก่งตัวช่วยวางแผน ข้อมูลใหม่ทางการศึกษาและอาชีพ การบริหารเวลาเพื่อสอบโควตา ความ ผิดพลาดคือการเรียนรู้ พลังงานแห่งศักยภาพ ความภาคภูมิใจในตนเอง รักตนเอง การมองโลกในแง่ดี ข้อมูลก่อน ตัด สิน ใจ กิจกรรมผ่อนคลายความเครี ย ด อารมณ์ขัน การฝึ กคิดแบบหมวก ๖ ใบ ( แสดงความเห็นขัดแย้งอย่าง สร้างสรรค์) โดยใช้มิติด้านทักษะการคิดเพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดอย่างเป็นขั้นตอน เริ่ม จากทักษะขั้น พื้น ฐาน ชั้น กลาง ชั้น สู ง และมิติด้ า นกระบวนการคิด เช่น กระบวนการคิ ดแก้ป๎ญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอนาคต เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น ได้ใช้จินตนาการ โดยใช้สถานการณ์จาลอง ทากิจกรรม ที่ทาคนเดี่ยวและทากลุ่ม และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ ที่ได้จากการสืบค้นและการใช้เทคโนโลยีอันทันสมัย ทาให้สามารถตัดสินใจแก้ป๎ญหาได้อย่างเป็นระบบแลมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์และบูรณาการให้สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจาวัน มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝุเรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐๔
เกณฑ์การจบการศึกษา โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา กาหนดเกณฑ์การจบการศึกษาของโรงเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ แบ่งตามระดับการศึกษาที่โรงเรียนเปิดสอน ดังนี้ เกณท์การจับระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จานวน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๖๖ หน่วย กิต และรายวิชาเพิ่มเติม จานวน ๑๕ หน่วยกิต ๒. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๖๖ หน่วยกิต และ รายวิชาเพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๑๑ หน่วยกิต ๓. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ดีเยี่ยม ดี ผ่าน (๑-๓)” ๔. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ดีเยี่ยม ดี ผ่าน (๑-๓)” ๕. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม จานวน ๘๑ หน่วยกิต เป็นรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๔๑ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด ๒. ผู้เรียนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกิต เป็นรายราชาพื้นฐาน ๔๑ หน่วยกิตและรายวิชา เพิ่มเติม ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต ๓. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ดีเยี่ยม ดี ผ่าน (๑-๓)” ๔. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ดีเยี่ยม ดี ผ่าน (๑-๓)” ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินการเรียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑
๔๐๕
หลักสูตรโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๑