รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2562

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้


รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์และคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2562 รหัส

ชื่อ-สกุล

5819102501

กนกกาญจน์ ก่อกุล ฐิติพร ธีชพร ใจระวัง

ชุมชนเมือง

3

ชุมชนริมคลองบางหลวง เขตภาษีเจริญ จังหวัดกรุงเทพมหานคร 5819102514 แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง พื้นที่เรียนรูส้ าธารณะ เพื่อส่งเสริมกิจกรรม วัฒนธรรม ความรู้ที่หลากหลายอย่างสร้างสรรค์ 5819102520 พฤกษ์ จงพิเชษฐวรกุล แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ชีวิตสัตว์ สวนสัตว์ดุสติ แห่งใหม่ อ. คลองหก จ.ปทุมธานี

4

5819102526

วีรภัทร ท้วมวงษ์

ย่านพาณิชยกรรม

5

5819102527

สริตา ชื่นประเสริฐสุข โรงพยาบาล

6

5819102502

กมลนัทธ์ ตาวงศ์

7

5819102511

ณัฐนรี บ่อสุข

8

5819102512

ณัฐริกา คงแก้ว

9

5819102517

นฤภร สิงห์ชัย

แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชุมชนบ้านทุ่ง ม่าน อ. เวียงป่าเป้า จ. เชียงราย ส่วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ชีวิตสัตว์ สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ อ. ห้างฉัตร จ. ลาปาง ชุมชนจัดสรร บ้านพักคนชรา เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร

10

5819102521

พัชรพงศ์ คมขา

ย่านพาณิชยกรรม

ชุมชนตลาดลูกแกและ พื้นที่รับน้าริมแม่น้าแม่ กลอง อ. ท่ามะกา จ. กาญจนบุรี

11

5819102503

กฤตพร วงษ์คะสุ่ม

ชุมชนเมือง

12

5819102510

ณัชชา ชัยภูมิ

ย่านพาณิชยกรรม

13

5819102528

องศา เหลืองสกุลพงษ์ สวนสนุก

พื้นที่สาธารณะเลียบริมแม่น้าโขงย่านหอ นาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์สถาน อ. เมือง จ. นครพนม ย่านสยามสแควร์และพื้นที่เกี่ยวเนือ่ ง เพื่อ ส่งเสริมอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิง แฟชั่น กรุงเทพมหานคร สวนสนุก วันพีช พาร์ค อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรี

14

5819102529

อรนิภา ไชยราช

ลำดับ ที่

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ

กลุ่ม 1 1 2

ย่านเศรษฐกิจตลาดลาพูนจตุจักร เพื่อเป็น พื้นที่เชื่อมต่อกิจกรรมและแหล่งท่องเที่ยว อ. เมือง จ. ลาพูน ศูนย์ฟื้นฟูทางจิตเวช โรงพยาบาลจิตเวช พิษณุโลก อ. วังทอง จ. พิษณุโลก

กลุ่ม 2 แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงวัฒนธรรม โรงพยาบาล

กลุ่ม 3

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงธรรมชาติ

พื้นที่หนองรงค์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และวัฒนธรรม อ. เชียงของ จ. เชียงราย


รหัส

ชื่อ-สกุล

15

5819102504

ก้องเกียรติ คิดการ

สวนสนุก

16

5819102509

ชานนท์ จรรยา

นิคมอุตสาหกรรม

17

5819102516

นฤพนธ์ บูรณสุบรรณ รีสอร์ท

18

5819102519

ปรีดาภรณ์ ทิพวรรณ ชุมชนเมือง

19

5819102524

มณฑกานต์ รู้รอบ

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ เชิงธรรมชาติ

20

5819102505

แคทลียา มหาแดง

ชุมชนชนบท

21

5819102513

ณัฐริกา รอดกลาง

พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์

22

5819102515

นภัสสร กิจพันธ์

ย่านพาณิชยกรรม

23

5819102518

ปริพฒ ั น แซ่เตี๋ยว

24

5819102525

วิศรุตา สิริรตั น์

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้ชีวิต สัตว์ รีสอร์ท

25

5819102506

จินทมณี ศาศวัตายุ

ย่านพาณิชยกรรม

26

5819102507

จุฑามาศ อินนั่งแท่น สถาบัน/สถานศึกษา

27

5819102508

ชไมพร สมมิตร

ชุมชนจัดสรร

28

5819102522

29

5819102523

พัชรพล เลิศมณีทวี ทรัพย์ พีรยา ศักดิ์มาก

แหล่งท่องเที่ยวเรียนรู้เชิง เกษตร รีสอร์ท

ลำดับ ที่

ประเภทของโครงการ

ชื่อโครงการ

กลุ่ม 4 สวนสนุก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ค อ.สันกาแพง จ. เชียงใหม่ โครงการนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเวิลด์ อ. เมืองลาพูน จ. ลาพูน สถานพักตากอากาศ"โปโตมาเล รีสอร์ท" เกาะภูเก็ต อ. ถลาง จ. ภูเก็ต พื้นที่สาธารณะริมแม่น้าบางปะกง ย่าน สะพานฉะเชิงเทราเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา อ. เมือง จ. ฉะเชิงเทรา อ่างเก็บน้าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่

กลุ่ม 5 ชุมชนไทยใหญ่บ้านปางหมูเพื่อการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ อ. เมือง จ. แม่ฮ่องสอน พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลและการ ประมงพื้นถิ่น ย่านการค้าตลาดโบ๊เบ๊ เพื่อเป็นศูนย์รวมแหล่ง สร้างสรรค์และศูนย์กลางสตรีทแฟชั่น กรุงเทพมหานคร อุทยานการเรียนรู้พันธุ์ปลาสวยงามน้าจืด อ. เมือง จ. เชียงใหม่ สถานพักตากอากาศ เตียนจี่เหนียน อ. แม่อาย จ. เชียงใหม่

กลุ่ม 6 ย่านตลาดพลูสู่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรุงเทพมหานคร สถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรป่าบุญเรือง อ. เชียงของ จ. เชียงราย ชุมชน "เวชนคร" อ. เมือง จ. เชียงราย แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ. เมือง จ. กาญจนบุรี สถานพักตากอากาศเพื่อสุขภาพทางเลือก ระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุวัยเกษียณ อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่


คาร้ องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวกนกกาญจน์ ก่อกุลฐิติพร รหัส 5819102501นักศึกษาชั้นปี ที่4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.49 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ชุมชนริ มคลองบางหลวง เขตภาษีเจริ ญ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement Project of Klong Bang Luang Community, Phasicharoen, Bangkok. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ คลองบางกอกใหญ่ เดิ มชื่ อ คลองบางหลวง เคยเป็ นส่ วนหนึ่ งของแม่น้ าเจ้าพระยามาก่อน โดย บริ เวณตั้งแต่ปากคลองบางกอกน้อย ตรงข้ามมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ไปจนถึงปากคลองบางกอกใหญ่ในปั จจุบนั ในรัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช (พ.ศ. 2077 - 2089) โปรดเกล้าให้ขุดคลองลัดระหว่างคุง้ แม่น้ าทั้งสอง เพื่อย่น ระยะทางและอานวยความสะดวกให้กบั บรรดาพ่อค้าทูตานุ ทูตชาวตะวันตกที่เริ่ มเข้ามาติดต่ อค้าขายและเจริ ญ สัมพันธไมตรี กบั อาณาจักรเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ในสมัยนั้น ต่อมาคลองลัดเริ่ มกว้างใหญ่ข้ ึนกลายเป็ นแม่น้ า ส่ วน แม่น้ าเจ้าพระยาเดิมก็เล็กลงกลายเป็ นคลองบางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่ ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิ น ราช สานักย้ายมาอยูท่ ี่กรุ งธนบุรี คลองบางกอกใหญ่กลายมาเป็ นชุมชนของข้าหลวง และโปรดเกล้าให้บรรดาชาวจีนซึ่ ง ได้เ คยช่ วยเหลื อ พระองค์มาตั้งบ้านเรื อนอยู่ริมคลองบางกอกใหญ่ ผูค้ นจึ งนิ ย มเรี ยกกันติ ดปากว่า "คลองบาง ข้าหลวง" หรื อ "คลองบางหลวง" จนถึงปั จจุบนั รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร กาหนดให้คลองบางกอกใหญ่เป็ น คลองสาคัญซึ่งจะต้องอนุรักษ์ไว้ตามมติคณะรัฐมนตรี ชุมชนริ มคลองบางหลวงที่รู้จกั กันในปัจจุบนั คือส่ วนของชุมชนริ มฝั่งคลองบางหลวงช่วงปลายสายตั้งแต่ วัดกาแพงบางจากถึงวัดคูหาสวรรค์ ในอดีตเป็ นตลาดเก่าที่รุ่งเรื อง มีผคู ้ นตั้งถิ่นฐานมานับตั้งแต่สมัยกรุ งศรี อยุธยา มี วัดเป็ นศูนย์รวมจิตใจทั้งคนไทยและคนจีนทาสวนปลูกผักค้าขาย โดยอาศัยแม่น้ า ลาคลอง ย่านนี้จึงมีวิถีชุมชนเดิม มีเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ ประเพณี และการละเล่นดั้งเดิมที่ยงั คงสื บต่อจากรุ่ นสู่ รุ่น คลองบางกอกใหญ่ถือเป็ น เส้นทางสัญจรระบายน้ า และเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สาคัญ ปั จจุบนั พบว่า ชุมชนพื้นที่ริมคลองบางหลวง วิถีชีวิตเดิมค่อยๆเลือนหายไป การสัญจรทางเรื อลดน้อยลง ชุมชนริ มน้ ามีการบุกรุ กลาน้ า ขาดความเชื่อมโยงของชุมชนใกล้เคียง และแหล่งท่องเที่ยวบริ เวณริ มน้ าและชุ มชน มีสภาพเสื่ อมโทรม ซึ่ งพื้นที่มีศกั ยภาพในการท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม แต่ยงั ไม่สามารถดึงศักยภาพที่มีเพื่อทา


ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้ และยังไม่มีการจัดการพื้นที่รองรับกิจกรรม การอนุรักษ์ ฟื้ นฟูสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นริ มน้ า ที่ชดั เจน สภาพแวดล้อมโดยรอบส่ งผลให้ชุมชนเสื่ อมโทรมทาให้เกิดปัญหานักท่องเที่ยวเที่ยวในระยะเวลาสั้นๆ สานักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยวให้ความสาคัญของพื้นที่จึงมีโครงการฟื้ นวิถีชีวิตชุมชนคลองบาง หลวง รวมถึงแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมฝั่งธนบุรี โดยจะมีการเชื่อมโยงการเดินทาง ราง ล้อ เรื อ เพื่ออานวยความสะดวกแก่นกั ท่องเที่ยว และนาการท่องเที่ยวมาเป็ น “เครื่ องมือ” ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนใน ท้องถิ่น ดารงรักษาศิลปวัฒนธรรม มีสิ่งแวดล้อมที่ดี จากความสาคัญดังกล่าวทาให้โครงการออกแบบและปรับปรุ งชุ มชนริ มน้ าเป็ นแนวทางการพัฒนาชุมชน ริ มน้ า ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและเป็นแหล่งเรี ยนรู ้เชิ งวัฒนธรรมที่สามารถเก็บรักษามรดกทางวัฒนธรรม วิถีชีวิต อันเป็ นเอกลักษณ์ของชุมชนไว้ พร้อมทั้งส่ งเสริ มศักยภาพของพื้นที่เพื่อดึงดูดกลุ่มนักท่องเที่ยวให้เข้ามาศึกษาและ มาสัมผัสวิถีชีวติ ชุมชนริ มน้ า 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาชุมชนให้เป็ นชุมชนสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม เพื่อตอบสนองทุกเพศ ทุกวัยและเป็ นจุดเชื่อมโยงสถานที่ทางประวัติศาสตร์ริมคลองบางหลวง 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มให้คนในชุมชนมีรายได้ และยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน 4.1.3 เพื่อพัฒนาและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมชุมชนริ มคลองบางหลวง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าที่ยงั คง เอกลักษณ์และวิถีชีวติ ของชุมชนริ มคลองบางหลวง 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการอนุรักษ์ ฟื้ นฟู ออกแบบวางผังภูมิทศั น์ชุมชนริ มน้ าดั้งเดิม เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ ชุมชนริ มคลองบางหลวง ตั้งแต่ถนนเพชรเกษม20ถึงวัดคูหาสวรรค์ อยู่ ใน เขตภาษีเจริ ญ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็นพื้นที่คลองที่มีประวัติศาสตร์ ควรค่าแก่การอนุ รักษ์ และมีเอกลักษณ์ภายใน พื้นที่


5.2.2 พื้ น ที่ มี ศ ัก ยภาพในการพัฒ นาแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วและแหล่ ง เรี ย นรู ้ เชิ ง ศิ ล ปะ วัฒนธรรม 5.2.3 พื้นที่ชุมชนควรได้รับการฟื้ นฟู เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวกมลนัทธ์ ตาวงศ์ รหัส 5819102502 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิช าภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ ได้เท่ากับ 3.44 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม ชุมชนบ้านทุ่งม่าน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Cultural Tourist Attraction at Thungman Community, Wiangpapao, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ต าบลเวี ย งกาหลง อ าเภอเวี ย งป่ าเป้ า จัง หวัด เชี ย งราย ถื อ เป็ นแหล่ ง โบราณคดี ที่ มี คุ ณ ค่ า ทาง ประวัติศาสตร์อย่างยิ่งอีกแห่งหนึ่งเพราะขุดค้นพบเตาเผา และชิ้นส่ วนภาชนะต่างๆ ในสมัยโบราณอยู่ทวั่ ไป อีกทั้ง ยังมีแนวคูน้ าคันดินที่หลงเหลืออยู่บางส่ วนที่แสดงให้เห็นถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องและยิ่งใหญ่ของเวียงกาหลงในอดีต ประวัติศาสตร์ความเป็ นมาของเวียงกาหลงนั้นไม่มีหลักฐานปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์ แต่นกั โบราณคดี ได้สันนิ ษฐานว่าน่ าจะสร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 1500 – 1600 จากการขุดค้นบริ เวณเมืองโบราณ พบเตาเผาเครื่ อง เคลือบ 200 กว่าเตา แสดงให้เห็นว่า ในอดีตเมืองนี้ตอ้ งเป็ นชุมชนใหญ่และตั้งอยูท่ ่ามกลางเมืองต่างๆ ของอาณาจักร ล้า นนา มี แ ม่ น้ า หลายสายไหลผ่ า น เชื่ อ ว่ า สภาพภู มิ ป ระเทศบริ เ วณนี้ คงเป็ นบริ เ วณ ที่ อุ ด มสมบู ร ณ์ ไ ปด้ว ย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ที่เอื้อต่อความเป็ นอยูข่ องคนในเมืองเวียงกาหลง อารยธรรมเจริ ญรุ่ งเรื อง ต่อมา อีกกี่ร้อยปี ไม่ปรากฏว่าเวียงกาหลงได้ถึงกาลล่มสลายลงจากภัยธรรมชาติหรื อโรคระบาดหรื อสาเหตุอื่นใดไม่แน่ชดั ชุ มชนบ้านทุ่ งม่ าน ตั้งอยู่ในตาบลเวีย งกาหลง ที่ ย งั คงมี เ อกลักษณ์ ทางศิ ลปวัฒนธรรม ภู มิปัญญา ทางด้านการผลิตเครื่ องเคลือบดินเผาที่ทามาตั้งแต่อดีต เครื่ องเคลือบดินเผามีลวดลายที่เป็ นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร ซึ่ งมีชื่อเสี ยงในระดับสากล ปัจจุบนั การผลิตเครื่ องเคลือบดินเผาจึงเป็ นอุตสาหกรรมสาคัญในชุมชน ในชุมชนมีการ ขุดค้นพบเตาเผาโบราณและเครื่ องเคลือบหลายชนิ ดซึ่ งมี ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ ประกอบกับปั จจัยทาง ธรรมชาติที่สมบูรณ์และมีสภาพอากาศที่ดีตลอดทั้งปี มีการทาเกษตรกรรมและการแปรรู ปผลผลิตทางการเกษตร เช่น ชากาขาว ที่มีคุณประโยชน์มาก เหล่านี้ลว้ นเป็ นปั จจัยที่ส่งเสริ มการท่องเที่ยวทางด้านวัฒนธรรม แต่เนื่ องจากภูมิทศั น์ของชุมชน การ เข้าถึงแหล่งท่องเที่ ยวและการดึ งดูดความสนใจให้เข้ามายังแหล่งท่ องเที่ ยวยังไม่เอื้ อต่อการท่องเที่ ยว ชุ มชนที่ มี ศักยภาพด้านวัฒนธรรมแห่ งนี้ จึงยังไม่เป็ นที่ รู้จกั มากนัก จึ งเกิ ดโครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม แหล่งท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม ชุ มชนบ้านทุ่ งม่าน อาเภอเวียงป่ าเป้ า จังหวัดเชี ยงราย เพื่ อส่ งเสริ มการท่องเที่ ยว


ทางด้านวัฒนธรรม ช่ วยสร้างรายได้ส่งเสริ มอาชี พ ผลักดันแหล่งท่องเที่ยวให้เป็ นที่รู้จกั มากขึ้ น และสร้างความ ตระหนักถึงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ของเตาเผาโบราณที่ยงั คงเหลืออยู่ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม เป็ นพื้นที่แสดงถึงภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิตและผลักดันแหล่งท่องเที่ยวให้เป็ นที่รู้จกั มากขึ้น 4.1.2 เพื่อให้ผคู ้ นตระหนักถึงความสาคัญของเตาเผาโบราณที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิจ สร้างรายได้ส่งเสริ มอาชีพแก่ผคู ้ นในชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4.2.2 เพื่ อศึ กษาข้อมูลทางด้านวิถีชีวิต เอกลักษณ์ ภู มิปัญญา ศิ ลปวัฒนธรรม และข้อมูล ทางด้านประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดี บ้านทุ่งม่าน 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิทศั น์ทางโบราณคดี (Archaeological Landscape) 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการอยูบ่ ริ เวณ บ้านทุ่งม่าน ตาบลเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัด เชียงราย มีขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 261 ไร่


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชุมชนบ้านทุ่งม่าน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงบริ เวณโดยรอบและการเข้าถึงพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ เส้นถนนหมายเลข 118 เส้นถนนหลวงชนบท ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่ต้ งั เทศบาลตาบลเวียงกาหลง บริ เวณทางแยกเข้าสู่ พ้ืนที่โครงการ มาตราส่ วน Not to scale ที่มา ดัดแปลงจาก ArcGIS Online


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชุมชนบ้านทุ่งม่าน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั พื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่ท้ งั หมด 261 ไร่ มาตราส่ วน ที่มา

Not to scale ดัดแปลงจาก ArcGIS Online


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชุมชนบ้านทุ่งม่าน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั เตาเผาโบราณ กลุ่มสล่าบ้านทุ่งม่านและบ้านศิลปิ น สัญลักษณ์ 1. กลุ่มสล่าบ้านทุ่งม่าน (ทัน ธิ จิตตัง) 2. ที่ต้ งั เตาเผาโบราณ 3. กลุ่มเครื่ องเคลือบโบราณ (เตาลุงศรี ) 4. บ้านศิลปิ น (นิตยา ตามวงค์) มาตราส่ วน Not to scale ที่มา ดัดแปลงจาก ArcGIS Online


5.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ โ ครงการมี ภู มิ ปั ญ ญาที่ เ ป็ นเอกลัก ษณ์ ทั้ง ในด้า นของการท างาน อุตสาหกรรมและทางด้านการแปรรู ปผลผลิตทางการเกษตร 5.2.2 พื้นที่โครงการมีชุมชนที่เป็ นชุ มชน OTOP เพื่อการท่องเที่ ยว สามารถส่ งเสริ ม รายได้และเศรษฐกิจแก่ผคู ้ นในชุมชนได้ 5.2.3 พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ในชุ มชนที่ มีประวัติศาสตร์ ที่สาคัญ มีเตาเผาโบราณ ซึ่ งใช้ ประดิษฐ์เครื่ องเคลือบดินเผาที่แสดงถึงภูมิปัญญาที่เก่าแก่และเป็ นเอกลักษณ์ 5.2.4 พื้นที่โครงการ มีทาเลตั้งอยูใ่ นพื้นที่เชื่อมการท่องเที่ยวจากเชี ยงใหม่ไปสู่ เชี ยงราย และยังแยกไปลาปางได้ ซึ่ งเป็ นพื้นที่มีศกั ยภาพที่เหมาะแก่การพัฒนา 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้ นที่ ท้ งั หมดของโครงการ 261 ไร่ ตั้งอยู่ที่ บ้านทุ่ งม่าน ตาบลเวียงกาหลง อาเภอเวียงป่ าเป้ า จังหวัดเชียงราย โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ ชุมชนบ้านทุ่งม่านเหนือ ทิศใต้ ติดต่อ ชุมชนบ้านทุ่งรวงทอง ทิศตะวันออก ติดต่อ พื้นที่เกษตรกรรม บ้านทุ่งม่าน ทิศตะวันตก ติดต่อ พื้นที่เกษตรกรรม บ้านทุ่งม่าน 7. บรรณานุกรม บรรจง ชัยสนิ ท. 2557. ประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของเวียงกาหลง เชี ยงราย [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่ มา http://banjong4000.blogspot.com/2014/06/blog-post_13.html (8 ธันวาคม 2561) MGR Online. 2557. “ เวียงกาหลง” ปลุกเสน่ ห์เมืองโบราณ เปิ ดบ้านรับท่องเที่ ยว [ระบบ ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://mgronline.com/smes/detail/9570000144820 (8 ธันวาคม 2561) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ข้าพเจ้านางสาวกฤตพร วงษ์คะสุ่ม รหัส 5819102503 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจำนวน 7 ภาคการศึกษา จำนวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.90 มีความประสงค์จะขอทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดัง ต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่สาธารณะเลียบริมแม่น้ำโขงย่านหอนาฬิกา เวียดนามอนุสรณ์สถาน อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 2. หัวข้อเรื่อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and improvement of the Mae Khong River waterfront area, Vietnam Memorial Clock Tower district, Muang, Nakhon Phanom. 3. ความเป็นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดนครพนมเป็นจังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน แม่ น้ำโขงกั้นกับเมืองท่าแขก แขวงคำม่วน สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว นครพนมเป็นเมืองชายแดนที่มีความอุดมสมบูรณ์ ความ สวยงามของทิวทัศน์ และมีความหลากหลายของวัฒนธรรมและชนเผ่า รวมทั้งประวัติศาสตร์พระธาตุพนมเป็นปู ชนียสถาน บริเวณริมแม่น้ำโขงมีหอนาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์สถาน เป็นสถาปัตยกรรมในเขตเมืองเก่า ตั้งอยู่กึ่งกลาง จุดตัดของถนนศรีเทพ และถนนสุนทรวิจิตร เขตเทศบาลเมือง ชาวเวียดนามได้สร้างไว้เมื่อปี พ.ศ. 2503 เพื่อเป็นอนุ สรณ์แก่ชาวนครพนมที่ได้ให้ที่พักพิงในสมัยสงครามอินโดจีน บนเส้นถนนสุนทรวิจิตรเป็นถนนสายเก่า และเป็น ย่านการค้าขายที่คึกคักของเมืองที่มีระยะทางยาวถึง 3 กิโลเมตร ปัจจุบันย่านหอนาฬิกาเป็นหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยว และนับเป็นสัญลักษณ์อีกอย่างหนึ่งของเมืองนครพนม ได้มีตลาดถนนคนเดินยาวไปจนถึงตลาดอินโดจีนในระยะ ทางประมาณ 600 เมตร ซึ่งเกิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวการค้าขายที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้ และทำให้เกิดรายได้ให้ กับกลุ่มพ่อค้าแม่ค้ามากขึ้น แต่ที่นั่งพัก ทางเดินเท้า ทางจักรยาน ร้านค้ารถเข็นและร้านค้าแผงลอยไม่มีการวาง แผนการจัดการให้เป็นระเบียบ พื้นที่สาธารณะริมฝั่งแม่น้ำโขงที่เรียกกันว่า “หน้าเขื่อน” เป็นแนวยาวเลียบริมแม่น้ำ เดิมเป็นพื้นที่ การเกษตร การประมงของคนในเขตชุมชน ปัจจุบันได้มีการสร้างเขื่อนเป็นแนวยาวตลอดทั้งเมืองระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตรเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง ทำให้เกิดพื้นที่ใหม่ที่ผู้คนในพื้นที่เข้ามาใช้งานเป็นจำนวนมากเพราะเป็น สถานที่สำหรับออกกำลังกาย ปั่นจักรยาน พักผ่อนหย่อนใจ รวมไปถึงพื้นที่การค้าขายริมแม่น้ำ ยังเป็นแหล่งท่อง เที่ยวเชิงวัฒนธรรม ศาสนา และประเพณี เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เช่น งานประเพณีไหล เรือไฟ งานประเพณีลอยกระทง งานประเพณีสงกรานต์ เนื่องจากไม่มีการวางผัง และการวางแผนจึงทำให้การใช้งาน ยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอ


ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้มีการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่สาธารณะเลียบริมแม่น้ำโขงจากข้อมูลที่ กล่าวมาในข้างต้นนั้นเพื่อเป็นประโยชน์แก่คนในชุมชนและนักท่องเที่ยวได้มีพื้นที่ในการทำกิจกรรม การค้าขายที่ อยู่ในบริเวณย่านหอนาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์สถาน ให้เป็นระเบียบและประโยชน์ใช้สอยที่มีประสิทธิภาพ ทั้งใน เรื่องของการเป็นพื้นที่สำหรับรองรับประเพณี วัฒนธรรมในช่วงเทศกาล ส่งเสริมการค้าขายบริเวณริมแม่น้ำโขง เพื่อการพัฒนาและอนุรักษ์เมืองเก่าในเขตอำเภอเมืองนครพนมและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมและนิเวศน์ในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขงตอนกลาง

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุงพื้นที่สาธารณะริมแม่น้ำโขงย่านหอนาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์สถาน เป็นย่านการค้าขายและการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรม ประเพณี เพื่อสอดคล้องกับแผนพัฒนาอนุรักษ์เมืองเก่า 4.1.2 เพื่อพัฒนาพ้ืนที่เลียบริมแม่น้ำโขง เป็นสถานที่ออกกำลังกาย พักผ่อนหย่อนใจ และเป็นสถานท่ีท่องเที่ยวหรือแหล่งการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ของจังหวัดนครพนม 4.1.3 เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมและประเพณี เพื่อ สอดคล้องกับแผนนโยบายการส่งเสริมท่องเท่ียวของจังหวัดนครพนมที่เป็นเมืองศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงประวัติ ศาสตร์ ศาสนาและวัฒนธรรม 4.2 วัตถุประสงค์หรือประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่สาธารณะริมแม่น้ำ เพื่อการใช้ประโยชน์ ของคนในชุมชนอย่างยั่งยืน 4.2.2 ศึกษากระบวนการออกแบบวางผังชุมชน เพื่อการท่องเที่ยวด้านวัฒนธรรมและ ประเพณี เพื่อสอดคล้องกับแผนพัฒนาอนุรักษ์เมืองเก่า 4.2.3 ศึกษาการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ประเพณีและการอนุรักษ์เมืองเก่า

5. สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ 5.1 ที่ตั้งโครงการ ตั้งอยู่ที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครพนม จังหวัดนครพนม ติดกับริมแม่น้ำโขง 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ 5.2.1 เป็นพื้นที่การค้าขายและการท่องเที่ยวของจังหวัดนครพนมที่ยังมีเอกลักษณ์ของ อาคารไม้เก่าโบราณและสถาปัตยกรรมหลงเหลืออยู่ เพื่อสอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐที่มีแผนการพัฒนาและอนุ รักษ์เมืองเก่า 5.2.2 พื้นที่สาธารณะริมแม่น้ำโขง และย่านหอนาฬิกาเวียดนามอนุสรณ์สถานบนถนน สุนทรวิจิตรมีความสำคัญและความหลากหลายทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม 5.2.3 ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ศาสนา และนิเวศน์ในอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง ตอนกลาง ซึ่งมีผู้คนเข้ามาใช้งานหรือทำกิจกรรมในพื้นที่เป็นจำนวนมาก 5.3 ขอบเขตพื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่สาธารณะเลียบริมแม่น้ำโขงย่านหอนาฬิกา เวียดนามอนุสรณ์สถาน อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม แผนที่ 1 แสดงที่ตั้งโครงการ มาตราส่วน ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ แม่น้ำโขง สาธารณะประชาธิปไตยประชาชนลาว

ไม่มีมาตราส่วน


โครงการออกแบบและปรับปรุงพื้นที่สาธารณะเลียบริมแม่น้ำโขงย่านหอนาฬิกา เวียดนามอนุสรณ์สถาน อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม แผนที่ 2 เส้นทางสัญจรหลักของโครงการ มาตราส่วน ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://map.longdo.com/ สัญลักษณ์ ถนนหมายเลข 22 ถนนหมายเลข 240 ถนนหมายเลข 212 แม่น้ำโขง สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ไม่มีมาตราส่วน




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายก้องเกียรติ คิดการ รหัส 5819102504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.19 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาอังกฤษ): Landscape Architectural Design and Planning of Game On Life Park, San Kamphuaeng, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ “เกม” กลายเป็ นกี ฬายอดนิ ยม ที่ สร้างรายได้ให้กบั นักกี ฬาเกม หรื อเกมเมอร์ และนักแคสเกม เหยียบหลักหมื่นหลักแสน ไม่นบั รวมอาชีพและธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจเกมหรื ออีสปอร์ต (E-Sport) ที่เกิดขึ้นเพื่อ รองรับอุตสาหกรรมเกมและอีสปอร์ ต ซึ่ งเป็ นอุตสาหกรรมใหม่ที่สร้างรายได้ให้กบั หลายประเทศจานวนมหาศาล รวมถึงประเทศไทย สะท้อนจากตัวเลขการเติบโตของตลาดเกมในปั จจุบนั ที่มีมูลค่าสู งถึงแสนล้านเหรี ยญสหรัฐฯ เนื่ องจากในเวลานี้ “เกม” ถือเป็ นสิ่ งที่ มาแรงในตลาดสื่ อดิ จิทลั โดยเฉพาะเกมบนมื อถื อ ซึ่ งเล่นได้ทุกที่ ทุกเวลา รองลงมาคือเกมออนไลน์บนพีซี (PC Online) ที่ได้รับความนิ ยมไม่แพ้กนั ทาให้ตลาดเกมออนไลน์ทวั่ โลกโตก้าว กระโดด ท่ามกลางความวิตกกังวลของพ่อแม่ที่ห่วงว่า “เกม” จะทาให้ลูกเสี ยการเรี ยน เสี ยสุ ขภาพ ขณะที่งานวิจยั ใน หลายประเทศระบุว่า เกมเป็ นกิจกรรมที่ช่วยผ่อนคลาย เสริ มสร้างทักษะด้านร่ างกายและสมอง กระตุน้ เชาน์ปัญญา ความคิดสร้างสรรค์ และปลูกฝังผูเ้ ล่นให้มีน้ าใจนักกีฬา เช่นเดียวกับกีฬาชนิดอื่น ปัจจุบนั เชียงใหม่เป็ นเมืองสาคัญ 1 ใน 5 ของประเทศรองลงมาจากกรุ งเทพมหานคร ที่คนทัว่ โลก รู ้จกั เป็ นเมืองอันดับที่ 2 ที่เติบโตคู่กบั จังหวัดนครราชสี มามีผูค้ นอาศัยนับล้านคนและด้วยสภาพความเจริ ญคล้าย เมืองหลวงที่มีภูมิประเทศเป็ นภูเขาป่ าไม้อากาศดี มีสนามบินซึ่ งสะดวกแก่การคมนาคมและเป็ นเมืองแห่ งศิลปะของ ประเทศ อาเภอสันกาแพงเป็ นอาเภอหนึ่ งในเขตปริ มณฑลของนครเชี ยงใหม่ อีกทั้งเป็ นเมืองที่ มีการคมนาคมที่ สะดวกสบาย สาธารณู ปโภคพร้อม มีแหล่งท่องเที่ยวที่ผคู ้ นสามารถไปท่องเที่ยวยังสถานที่ต่างๆได้ง่าย โดยปัจจุบนั ที่ มีความเจริ ญเติ บโตอย่างรวดเร็ วมี การพัฒนาทุ กๆด้านเป็ นอาเภอที่ มีสถานที่ ท่องเที่ ยวและที่ พกั มากมาย และ เนื่ องจากทางการให้ความสาคัญมากในการส่ งเสริ มการพัฒนาด้าน เศรษฐกิ จให้เจริ ญรุ่ งเรื อง โดยกระตุน้ ให้เกิ ด


การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวทั้งในระดับชาติและนานาชาติ โดยเฉพาะประเทศในกลุ่มอาเซี ยน ประกอบกับแผน โครงการขนาดใหญ่ ในอนาคตของสนามบินลาพูน ที่สะดวกแก่การคมนาคมและรองรับการเติบโตภาคเศรษฐกิ จ ในอนาคต อุตสาหกรรมบัน เทิ งเพื่ อ การท่ องเที่ ยวนั้น อาทิ เ ช่ น Games Animation และ Digital หรื อสื่ อ ภาพยนตร์ กาลังเป็ นที่นิยมอย่างมาก และยังช่วยกระตุน้ เศรษฐกิ จได้เป็ นอย่างดี โดยที่ เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ ค เป็ น แหล่ง รวมของ จิตนาการฉากในเกมส์โดยได้มีการผสมผสานระหว่างสวนสนุก สตูดิเกมส์ ช็อปปิ ง แสดงโชว์ และ การจัด การแข่ งขันเกมส์ ที่ ให้ค วามรู ้ สึ กประสบการณ์ ที่ แ ปลกใหม่ ทางผูจ้ ัด จึ งมี แนวคิ ด ที่ จะจัด ทา โครงการ ออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุ ก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ ค ขึ้ นจากการลงทุนของบริ ษทั เอกชนและ นัก ลงทุน ซึ่ งโครงการนี้จะเป็ นการช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของเมืองเชียงใหม่ อีกทั้งยังช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาว ไทย และต่างประเทศเข้ามายังพื้นที่มากขึ้ น ซึ่ งส่ งผลดีในด้านเศรษฐกิจด้านสังคมและด้านอื่นๆให้กบั อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ในระดับประเทศและระดับนานาชาติ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย ว ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ และความบั น เทิ ง เกี่ ย วกับ เกมส์ แก่ นักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ 4.1.2 เพื่อรองรับอุตสาหกรรมบันเทิ งที่ มีสถานต่างๆเช่ น สถานที่ จดั งานนิ ทรรศการ สถานที่ถ่ายภาพยนต์ เมืองจาลอง และการจัดแข่งขันเกมส์ เป็ นต้น 4.1.3 เพื่ อเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวรู ปแบบใหม่ของจังหวัดเชี ยงใหม่และสร้ างชื่ อเสี ยง ให้แก่จงั หวัดเชียงใหม่ในระดับประเทศและนานาชาติ 4.1.4 เพื่อเป็ นแหล่งสร้างงานและรายได้ให้แก่จงั หวัดและประเทศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษากระบวนการออกแบบวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมและรายละเอี ยดของ โครงการธี มพาร์ค 4.2.2 เพื่อศึ กษาการออกแบบพื้ นที่ ความเป็ นไปได้ของโครงการ ให้เหมาะแก่การใช้ งานด้านอุตสาหกรรมบันเทิง ด้านกิจกรรม เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในโครงการธี มพาร์ค 4.2.3 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบพื้นที่ส่งเสริ มจิตนาการในการเข้าถึงเกมส์จากทุก เพศและทุกวัย 4.2.4 เพื่ อศึ กษาระบบของเกมส์ พี ซี และการปรั บนามาใช้ในการออกแบบทางภู มิ สถาปัตยกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 1317 ถนนหมายเลข 1014 ถนนหมายเลข 3029 ถนนหมายเลข 1147 ถนนหมายเลข 11 ถนนหมายเลข 121 ถนนหมายเลข 1006 ถนนหมายเลข 1147 ถนนหมายเลข 6201

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 1317 ถนนหมายเลข 147 ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale

5.1 ที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั อยู่ทาง เหนื อของถนนหลวงหมายเลข 1317 ตาบลสันกาแพง อาเภอสัน กาแพง จังหวังเชียงใหม่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงกาง 5.2.1 การคมนาคมและสภาพการจราจร สามารถเดินทางเข้าถึงพื้นที่ได้สะดวก โดยติด กับถนนเส้นหลัก (4 ช่องการจราจร) ทางสัญจรเข้าถึงได้ง่าย ใกล้สถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อน 5.2.2 สภาพโครงการเป็ นพื้นที่โล่ง กว้างขนาดใหญ่ เป็ นพื้นที่ที่ปลอดภัย ไม่เสี่ ยงต่อภัย พิบตั ิหรื อรอยเลื่อนตามธรรมชาติ


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุ ก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ ค อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่มีพ้ืนที่ประมาณ 130 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ ถนนทางหลวงหมายเลข 1317 ทิศใต้ ติดกับ ที่ดินเอกชน ทิศตะวันออก ติดกับ ที่ดินเอกชน ทิศตะวันตก ติดกับ ที่ดินเอกชน 7. บรรณานุกรม สิ ริลกั ษณ์. 2561. “ตลาดเกมโลกโตแสนล้าน: “E-Sport” ฟั นกว่า 600 ล้าน ม.ไทย-เทศขานรับ ผลิ ตคนป้ อน” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่ มา https://workpointnews.com/ 2018/03/31/ ตลาดเกมโลกโตแสนล้าน ( 17 ธันวาคม 2561 ). เรี ยลเตอร์ เชียงใหม่. 2561. ประกาศขายที่ดินเชียงใหม่. ม.ป.ป. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.realtorchiangmai.com/ (17 ธันวาคม 2561) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


Site Selection

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก เกมส์ ออน ไลฟ์ พาร์ค อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth Not to scale


Site1 : อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โดยรอบเป็ นที่ดินเอกชนและบ้านพักอาศัยและโรงแรมที่พกั ติดถนนหลวงหมายเลข 1006 ลักษณะของพื้นที่ เป็ นที่ราบ ขนาดพื้นที่ประมาณ 112 ไร่

Site2 : อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โดยรอบเป็ นพื้นที่ทาการเกษตร ที่ดินเอกชนและบ้านพักอาศัย ติดถนนหลวงหมายเลข 1317 ลักษณะพื้นที่เป็ น ที่ราบทาการเกษตร ขนานพื้นที่ประมาณ 130 ไร่

Site3 : อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ พื้นที่โดยรอบเป็ นบ้านพักอาศยและ ที่ดินเอกชน ติดถนนหลวงหมายเลข 1147 และ 1317 ลักษณะพื้นที่เป็ นที่ราบ ทาการเกษตร ขนาดพื้นที่ประมาณ 250 ไร่


เกณฑ์/ภาค การเข้าถึงโครงการ รู ปทรงพื้นที่ ราคาที่ดิน ทัศนียภาพ พื้นที่รอบข้าง การเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า ง โครงการ สาธารณู ปโภค สาธารณู ปการ รวมคะแนน

คะแนน 6 3 8 3 3 4

Site 1 ระดับ คะแนน A 24 B 9 A 32 B 9 B 9 B 12

Site 2 ระดับ คะแนน A 24 B 9 A 32 A 12 A 12 B 12

Site 3 ระดับ คะแนน B 18 B 9 B 24 B 9 B 9 B 12

4

B

B

B

9 104

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญ ของหลักเกณฑ์โดยมีแบ่งดังนี้ A (Excellent) 4 point B (Very good) 3 point C (Good) 2 point D (Poor) 1 point

9 110

9 90




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวแคทลียา มหาแดง รหัส 5819102505 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.75 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรั บปรุ งภู มิทศั น์ชุมชนไทยใหญ่บา้ นปางหมู เพื่ อการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and Improvement Project of Thai Yai Ban Pangmu Community for Ecotouriam, Muang, Mae Hong Son. 3. ความเป็ นมา ของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ชุมชนไทยใหญ่บา้ นปางหมูเป็ นชุมชนเก่าแก่แห่งแรกก่อนการสร้างเมืองแม่ฮ่องสอน วิถีชีวิตของ คนในชุ มชนมี ความเครารพความศรั ทธาในพระพุทธศาสนาและความเชื่ อในสิ่ งศักดิ์ สิ ทธิ์ อย่างเหนี ยวแน่ น ได้ ถ่ า ยทอดสื บ ต่ อ กัน มาจนกลายเป็ นขนบธรรมเนี ย มประเพณี วัฒ นธรรม ลัก ษณะทางสถาปั ต ยกรรมและภู มิ สถาปั ตยกรรมดั้งเดิมที่ยงั คงอยู่ภายในชุ มชน เช่น วัด ที่พกั อาศัย สถานที่ตามความเชื่ อ ทาให้คนในชุมชนปั จจุบนั ยังคงดาเนิ นชี วิตอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมและระบบนิ เวศวิทยาของชุมชนที่มีอยูเ่ ดิม แต่ในปั จจุบนั เริ่ มมีเทคโนโลยี สิ่ งทันสมัยพัฒนามากขึ้นตามกาลเวลา จากการพัฒนาเด็กรุ่ นใหม่ยา้ ยเข้าไปเรี ยนและทางานในจังหวัดอื่น ที่มีความ เจริ ญมากขึ้ นจึ งมีความสนใจในวัฒนธรรมประเพณี ลดลง เกิ ดผลกระทบต่อสภาพวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่ อ และวิถีชีวิตของคนในชุมชน ชุมชนไทยใหญ่บา้ นปางหมูมีทรัพยากร และภูมิปัญญาท้องถิ่นเดิมอยูแ่ ล้ว สามารถพัฒนาเป็ นงาน ออกแบบเชิ งสร้ า งสรรค์เ พื่ อ ยังคงอนุ รั กษ์สิ่ งดั้งเดิ มของชุ มชนและต่ อยอดในเรื่ องของการดึ งดู ดนักท่ องเที่ ยว เสริ มสร้างรายได้ และยังรักษา วิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องชุมชนให้ยงั อยูค่ งเดิมเพื่อให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และเน้นการอนุรักษ์ ทาให้คนในชุมชนเห็นคุณค่าและเกิดจิตสานึ กในการหวงแหนวัฒนธรรมประเพณี ความเชื่ อ และทรัพยากรท้องถิ่นของตนที่ มีสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เพื่อให้เกิ ดการมีส่วนร่ วมในการพัฒนา และจัดการ ชุมชนอย่างยัง่ ยืน จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้เห็นโอกาสที่จะเข้าไปออกแบบ และปรับปรุ งพื้นที่ชุมชนบ้านปาง หมู เป็ นแนวทางในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้แล้ว ยังเป็ นแหล่งสร้างสรรค์งานออกแบบ พื้นถิ่น เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์วฒั นธรรม วิถีชีวิตชุมชนให้คงอยู่ ซึ่ งการออกแบบยังสามารถ


นาไปปรับใช้กบั ชุมชนอื่นๆ ที่ยงั คงมีเอกลักษณ์พ้ืนถิ่นของชุมชน เพื่อเป็ นการอนุรักษ์ชุมชนและเป็ นพื้นที่ที่ชุมชน สามารถสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่ งดึงดูดนักท่องเที่ยวเพื่อส่ งเสริ มรายได้ในทางอ้อม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ ให้เ กิ ด ชุ ม ชนสร้ า งสรรค์งานออกแบบ ที่ ค นในท้อ งถิ่ น สามารถต่ อยอด ทรัพยากรเดิมที่มีในพื้นที่ ให้มีความหลากหลายและเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้กบั ชุมชน 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงส้รางสรรค์ และเป็ นพื้นที่เรี ยนรู ้ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา รวมถึงวิธีชีวิตของคนในชุมชน 4.1.3 เพื่ อ เกิ ด เป็ นพื้ น ที่ แ ลกเปลี่ ย นทั ก ษะประสบการณ์ ที่ ค นในท้ อ งถิ่ น และ นักท่องเที่ยวได้มีกิจกรรมร่ วมกันภายในชุมชน 4.1.4 เพื่ อ ให้ค นในชุ ม ชนเห็ น คุ ณ ค่ า และเกิ ด จิ ต ส านึ ก ในการหวงแหนวัฒ นธรรม ประเพณี ความเชื่ อ และทรัพยากรท้องถิ่นของตนที่มีสืบทอดกันมาอย่างยาวนาน เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่ วมในการ พัฒนา และจัดการชุมชนอย่างยัง่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อการศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยที่ มีผลต่อการออกแบบวางผังชุ มชนสร้างสรรค์พ้ื น ถิ่นจากวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของคนในชุมชน 4.2.2 เพื่อศึ กษาวิถีชีวิต เอกลักษณ์ และมรดกทางวัฒนธรรมที่ เป็ นจุดเด่ นของคนใน ชุมชนบ้านปางหมู 4.2.3 เพื่อศึ กษาแนวทางในการออกแบบปรั บปรุ งภู มิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ชุมชนเพื่ อ พัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ชุมชนชาวไทยใหญ่บา้ นปางหมู ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ภายใต้การบริ หารปกครองขององค์การ บริ หารส่ วนตาบลปางหมู อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน มีเนื้ อที่ชุมชนทั้งหมด 2,500 ไร่ พื้นที่ชุมชนที่ทาการศึ กษาเป็ นที่ ราบระหว่างหุ บเขาริ มแม่นาปายทอดยาวจากทิ ้ํ ศเหนื อไปทิศใต้ พื้นที่โครงการออกแบบปรับปรุ งครอบคลุมพื้ นที่ บริ เวณ ชุ มชนพักอาศัยซึ่ งมีเนื้ อที่ ประมาณ 300 ไร่ การเข้าถึงพื้นที่ ชุมชนสามารถทาได้ 2 เส้นทางคื อ ทางหลวง แผ่นดิ น หมายเลข 1095 แม่ฮ่องสอน-เชี ยงใหม่ เป็ นระยะทาง 4 กิ โลเมตร และถนนสายเลี่ยงเมือง หมายเลข 108 เป็ นระยะทาง 6 กิโลเมตร ซึ่ งเป็ นถนนสายหลักที่ตดั ผ่านบริ เวณพื้นที่ชุมชน


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์ชุมชนไทยใหญ่บา้ นปางหมูเพือ่ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ แม่น้ าปาย แม่น้ าสะงา ทางหลวงแผ่นดินหมายเข 1095 ถนนเลี่ยงเมืองหมายเลข 108 พื้นที่ต้ งั ชุมชน ที่ต้ งั พื้นที่ใกล้เคียง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth และข้อมูลจากนางสาวจิรพันธ์ ทองเจริ ญ

Not to scale


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์ชุมชนไทยบ้านปางหมูใหญ่เพือ่ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1095 และถนนเลี่ยงเมืองหมายเลข 108 ถนนภายในชุมชน แม่น้ าปายและแม่น้ าจอง ห้วยจอง สะพานข้ามแม่น้ าปาย

ฝายน้ าแม่สะงา จองป๋ ายหล๋ อย (พระธาตุปางหมู) จองปายหมู (วัดปางหมู) จองตก (วัดร้างท้ายชุมชน) ที่มา : นางสาวจิรพันธ์ ทองเจริ ญ

หอเจ้าเมิง-เสาใจบ้าน หอเจ้าฝาย

Not to scale




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จินทมณี ศาศวัตายุ รหัส5819102506 นักศึกษาชั้นปี ที่4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน7ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.04 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมในพื้นที่ย่านตลาดพลูเพื่อ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรุ งเทพมหานคร 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design And Improvement Project of Talat Phlu District for Cultural Tourism, Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตลาดพลู เป็นย่านที่ผคู ้ นมักคิดถึงของอร่ อยที่มีชื่อเสี ยงแห่ งหนึ่ งของกรุ งเทพฯ แต่สิ่งที่ลึกลงไป ของสถานที่น้ ี ยงั มีประวัติศาสตร์ มากมายบนแผ่นดินติดแม่น้ านี้ “ตลำดพลู” มีชื่อเสี ยงด้านการเป็ นแหล่งผลิตและ แหล่งรวมสิ นค้าหมาก- พลู เพื่อรองรับการบริ โภคของผูค้ นทั้งประเทศและต่างประเทศ นอกจากนี้ ตลาดพลูยงั เป็น ศูนย์กลางการคมนาคมทางน้ าและทางบก ทั้งยังเป็นเสมือนหนึ่ งห้องครัวหลักของฝั่งธนบุรี โดยทาหน้าที่เป็ นศูนย์ รวม และกระจายสิ นค้าเกษตรและอาหารทะเล ตลอดจนเป็ นแหล่งบันเทิงยามค่าคืน (โรงบ่อน โรงน้ าชา โรงยาฝิ่ น) ตลาดพลูเป็นย่านการค้าทาให้เกิดการอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานมากมายตั้งแต่ในสมัยอยุธยา ที่มีขนุ นาง ราษฎรไทยทัว่ ไป รวมถึงทั้งคนเชื้อสายจีน มอญ และคนอิสลาม แต่ตลาดพลูเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากเมื่อ รัฐออกกฎหมายห้ามเคี้ยวหมาก ส่ งผลอย่างมากในการปลูกหมากของพื้นที่ รวมทั้งการตัดถนนรัชดา –ท่าพระ ในปี 2526 ส่ งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงที่ถดถอยทั้งทางด้านกายภาพ การใช้พ้นื ที่ทางเศรษฐกิจ โครงสร้างของตลาด และการค้าที่ เปลี่ ยนไป เนื่ องจากการตัดถนนคร่ อมพื้นที่ ตลาดเดิ มที่เป็ นชุ มชนซื้ อขายหลักมาแต่อดี ต ในขณะที่ ภาครัฐได้ทาการเวนคืนพื้นที่และมีดาริ จะก่อสร้างโครงการ คนตลาดพลูขาดพลังการต่อรองในเชิงอานาจกับภาครัฐ เนื่ องจากสมาชิกของชุมชนเป็ นผูค้ นที่มาจากหลากหลายถิ่นฐาน ทาให้คนส่ วนมากเลือกจะย้ายออกไปตั้งถิ่นฐานที่ อื่น เปลี่ยนสวนเป็ นบ้านเช่า และทาให้เกิดชุมชนแออัดในพื้นที่บางส่ วน และเปิ ดทางให้การสร้างถนนรัชดาดาเนิ น ไป ส่ งผลให้วิถีชีวิตของคนตลาดพลูตอ้ งปรับตัวเป็ นอย่างมาก ทั้งการเป็ นอยู่ สถานที่คา้ ขาย การค้าที่ไม่สะดวก เหมื อ นเดิ ม ในช่ ว งที่ มี ก ารก่ อ สร้ างและภายหลังที่ ส ร้ างเสร็ จ แล้ว เกิ ด การค้าภาคบริ ก ารในรู ป แบบใหม่ เช่ น ห้างสรรพสิ นค้าขนาดใหญ่ อาบอบนวด ผับบาร์ บริ ษทั ห้างร้านต่างๆ พร้อมๆ กับการเกิดแหล่งเสื่ อมโทรม และเกิด ไฟไหม้บ่อยครั้ง


เนื่ องจากในปั จจุบนั คนในชุ มชนเองเริ่ มตื่นตัวกับประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมในพื้นที่ ที่เริ่ ม เลือนหาย จึงควรออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมในพื้นที่ยา่ นตลาดพลูสู่การท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรมเพื่อ ฟื้ นฟูเส้นทางการค้าและการท่องเที่ยวในพื้นที่ที่มีความน่ าสนใจทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ของพื้นที่ยา่ น ตลาดพลูให้รองรับนักท่องเที่ยวและกิจกรรมในพื้นที่ท้ งั ในปัจจุบนั และอนาคต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมชุมชน เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมในพื้นที่ยา่ นตลาดพลู อันเป็ นการ อนุรักษ์ ฟื้ นฟูคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมที่ยงั คงเหลือไว้ ของตลาดพลู 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเขตธนบุรี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึ ก ษากระบวนการออกแบบและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมชุ ม ชนเก่ า เพื่ อ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับผูใ้ ช้ท้ งั นักท่องเที่ยวและผูอ้ ยูอ่ าศัยในชุมชน 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางอนุรักษ์ ฟื้ นฟูประวัติศาสตร์ยา่ นชุมชนตลาดพลู 4.2.3 ศึกษาเรื่ องการออกแบบเพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 พื้ น ที่ ต้ ัง โครงการตั้ง อยู่ถ นน เทอดไท แขวง ตลาดพลู เขต ธนบุ รี กรุ ง เทพมหานครมี พ้ื น ที่ โดยประมาณ298.88ไร่ (478,211.82 ตารางเมตร)




5.2 tll望

"alttnl,16001出

1∩ iヾ ∩1,

0 剛 υ

И ∩

a И 測

3 ∩ 9 ^∩

パOu

﹁ 窟

8 0

^斡

% 0

どγ

=ヾ

=彫

γ J 01■ na19■ 9 na19,3Jギ

il

剛OIJ:剛 口剛0ミ 乱ゝ 毬喬∩り 1

6.1丸 d茜 1∩ 19J」

6.

11■

И ∩

010101,η 1001frJ01"olf11=ツ

a И 測

lJ,llll剛

■ 9 パ脚 〓棗喘ロ

﹁ イⅥ

5.2.l亀 11挽 亀 │1働 n31測 ′1伽 品 Ч」調 襦 儲ηmttЮ 彫弓116彎 測%■ 計15視 ゞ

。1,薬 oJ。 ..田 。01Ⅵ lla3(ma19Ⅵ

涎1創 298.881」 (478,2H.82螢

1,η

Q劇 9` ¬季

崎 硼 躙 Иl・ 95働 亀 デ

゛ :脚 9,)

6.2 01飢 1:%働 働9籠 OInll

イlltffrtγllo

69辞J nooqlJlooO∩ llld 晨9rilJ ηll,ol憫 α]」 3JИ ]%J‐ 318o■ 17d

91現 Ogl″

91uS何 働 彫 伽oon

ヾ 6∩ 抒」 ■ 6uη lИ 電

91■ 0何 働 彫 ■ ■90

69ntJ

l=く らuⅥ 5■ 哺:η ttl・lalギ ∩ ゴ

7. lli=飢 lun,i測

、 づ 鬱1偽 こ255`.1轟 Onl,51:0■ ol■1■ 01i4νl■ J5彫 奇 b」 烏 側 10員 α 01Jn目 0■ 5別 al

1■ 6脚 r町 1り

0じ

窟niず 鶴輌n.縁 oll繁 」.測 71lη ol曲 tt」 耐

脚 uα ttη na

ll旬

60nao■ dl■ 町11■ 9'10、 2548.16110」 1■ 0010■ 9:910nooolJl■ ИO■ ■

[=彫 Uり 00■

36160

la慟 ‖冒dく れ

.

lht,ま /ん 批.サ /2S38VR9(17/12/2018)

αlll秘 n'飢 嬌 ・2561.知 019■ Q"卜 彫」■00ula蠅 .::И ぶ覇 測lhttpsi//b貴 .サ /2EsKHvR (17/12/2018)

]詢 打

lη 」簡 っく.2559.“ 何an9寧 Ql%僣 lη 19撤 15■ 41視 仇 lギ η Q."卜 測 ¶00■ la魏 , 1:И

ぷ 綱測lhttpプ /1ck‐ prapai.or8/home/vicw,php?烙 =663(17/12/2018)

翻 J16■ .2553.“

9019Ⅶ Q:稿

和 翻 αlolll:a錨 .喬 .3"[う 彫」■00■

http:〃 oknation.nationtv.tvん

loykeangdin/201()/03/06/c籠

19む イlⅥ :イ 13■ 6砧 9彫 」afanη 窟olin3∩

"節

lm洗

ぬ 影nl,000:則

uittnnあ

ttγ

ttn::a影

61611翁

渕 脚Иlら Ⅵυl前 1劇 1れ ∩」調

lattl,1lИ ボ11脚 1

1(17/12/2018) ッー

ll。 l ltら

ηυηCw■

f

剛oヾ

n創 彫

oll

電く ら0視 3JlllolJ191■ 1,創 lol測 働

私.… ハ ).ぶ 9,pl ぃ尋 ①即製 .λ

(.…

ミ 跳 神 脚 .ゝ .… ハ お 1ッ .… … … … .ハ

.)

:

lム .../..(1.… … …..み 1..… /.… Ⅲ ..


n■ 1別 :柄 t4■ 0ヾ n創 じ n■ ■ 3Jnl■

」■vう1贅 まhgni

■ 1耐 り レ 』瀦ll碑 鳥.輻、 . … ……プ 0■

.↓

…)

z. (nrrrurfiu)...".......I}h3.?1 01患 (…

、 │ヽ颯・ ■ …

"… ぃ

,・

)

´

3. (n?rilt#u)

IKイ ωf ハ d・ Jヽ

(..…

・ ・・

)

4.

副烈h.… .島 ψツ.… … ⇒ n■ 1":輌 ■ ■oヾ 」iv511tn■

■ 田nl■ 」■ 3dllltthgni

ol面 l蒲憫 鶴く 1■ 1■ 011■ 鶴 価割偽 偽 1締 鶴0脚 11《


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ ง แวดล้ อม มหำวิทยำลั ยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จุฑามาศ อินนัง่ แท่น รหัส 5819102507 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกร รม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อ ม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยก ติ สะสม 133 หน่วยกติ คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เ ท่าก ับ 3.65 มีความประสงค์ จะขอทาวิ ทยานิ พ นธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอี ย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังสถาบันเทคโนโลยี สมุนไพรป่ าบุ ญเรื อ ง อ.เชียงของ จ.เชียงราย 2. หัว ข้อ เรื่ อ ง(ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architecture Planning And Design Of Pa Boon Ruang Herbal Technology Institute, Chiang Khong, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุบนั แนวโน้มทัว่ โลกเริ่ มตื่นตัวและได้หนั มาใส่ใจก ับการดูแลสุขภาพมากขึ้น ซึ่งแนวโน้มการ ผลิตและบริ โภคผลิตภัณฑ์ที่ดีตอ่ สุขภาพกม็ ีมากขึ้น มีการนาสมุนไพรมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งรู ปแบบยา ผลิตภัณฑ์ เสริ มอาหาร และเครื่ องสาอาง หรื อแพทย์ทางเลือก สร้างมูลค่าทางเศรษฐกจิ และสร้างการเติ บโตของประเทศใน อนาคต โครงการจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรภายใต้การบูรณาการความร่ วมมือของภาคีเ ครื อ ข่า ย ระหว่างเครื อข่ายในพื้นที่ ได้แก ่ อาเภอ ตาบล และหมูบ่ า้ น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกจิ เอกชน และ องค์กรภาคเอกชน (NGOs) และมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยในพื้นที่ตาบลบุญเรื อง มีป่าชุมชนและป่ าพื้นที่ชมุ่ น้ า ที่เป็ นแหล่งสมุน ไพรที่ สาคัญมากของจัง หวัดเชีย งราย จึงมีแนวคิดที่จะจัดตั้งโครงการจัดตั้ง สถาบันเทคโ นโลยี สมุนไพร ในบริ เ วณพื้นที่ดงั กล่าว ซึ่งสอดคล้องก ับนโยบายการสนับสนุนส่งเสริ มการสมุนไพรไทยตามแผนแม่บ ท แห่งชาติวา่ ด้วยการสมุนไพรไทย ฉบับที่1 พ.ศ.2560-2564 โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์ หลัก 4 ประการ คือ 1) ส่งเสริ ม ผลผลิตของสมุนไพรไทยที่ มีศกั ยภาพตามความต้อ งการของตลาดทัง้ ในไทยและต่า งประเทศ 2) พัฒนาสมุน ไพร ไทยให้มีคณุ ภาพระดับ สากล 3) ส่งเสริ มการใช้สมุ นไพรเพื่อรัก ษาโรคและการเสริ มสร้า งสุข ภาพ 4. สร้างความ เข้มแข็งของการบริ หาร และนโยบายภาครัฐเพื่อขับเคลื่อนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน ทาให้เ กดิ การพัฒนาสมุน ไพร ไทยที่เ ป็ นระบบ มีความยัง่ ยืน มีการวิจยั พัฒนาให้เ ป็ นที่ยอมรับ เป็ นไปตามแนวทางการขับเคลื่อนเศรษฐกจิ ของ ประเทศไทยตามนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล


เชี ย งรายเป็ นเมื อ งศูน ย์ ก ลางสมุ น ไพรไทย เนื่ อ งจากมี ค วามพร้ อ มในทุ ก ด้าน ซึ่ ง ทาง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจะเป็ น หน่ว ยงานหลักด้า นการวิ จยั และพัฒนาการส่งเ สริ มการผลิ ต รวมทั้งการพั ฒนา กาลังคนด้านการแพทย์ไทยและการแพทย์พื้นบ้าน อีกทั้งยังเป็ นต้นแบบการจัดการอุตสาหกรรมสมุนไพร ตั้งแต่ตน้ ทาง กลางทาง ปลายทาง เพื่อเสริ มสร้างเศรษฐกจิ ชุมชนและประเทศชาติให้เ ข้มแข็ง มากขึ้น พื้นที่ต้งั โครงการอยูใ่ น อาเภอเชียงของ ยังอยูใ่ นเขตเศรษฐกจิ พิเ ศษ อยูร่ ะหว่างเส้นทางเศรษฐกจิ R3A อาเภอเชียงของ (ไทย-ลาว-จีน) และ ในอนาคตจะมีการสร้างรถไฟไปจีนอีกด้วย จากศักยภาพพื้นที่ดงั กล่าวมีแนวโน้วในการพัฒนาเป็ นประตูการค้า การ ลงทุนเชื่อมโยงก ับจีนตะวันตก และพัฒนาการคมนาคมขนส่ง เกดิ การพัฒนาระหว่างประเทศ จากแผนแม่บทแห่ง ชาติว ่าด้ว ยการพัฒนาสมุ น ไพรไทย และพื้น ที่ ป่า บุญเรื องยัง มี ความ หลากหลายทางระบบนิเ วศ จึงได้จดั ตั้งโครงการออกแบบวางผังสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพร ณ พื้นที่ชมุ่ น้ า ป่ าบุญ เรื อง อ.เชียงของ จ.เชียงราย เพื่อส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ วิจยั พัฒนาพืชสมุนไพรของทั้ง คนในชุมชน เยาวชน และคน ทัว่ ไป ยังเกดิ เป็ นแหล่งศึกษาให้ความรู ้ระบบนิเ วศพื้น ที่ช ุ่มน้ าที่ มีอยูอ่ ย่างหลากหลาย และการฟื้ นฟูระบบนิ เ วศ พื้นที่ชมุ่ น้ า จึงไม่ใช่แค่การอนุรั กษ์และฟื้ น ฟู พืช สมุ นไพรและป่ าชุมน้ า หากยังทาให้เ กดิ เส้นทางการเรี ย นรู ้ พื ช สมุนไพรและระบบนิเ วศป่ าบุญเรื อง ยังเป็ นการต่อยอดการอนุรักษ์พื้นที่รูปธรรมป่ าชุม่ น้ า และยกระดับเป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้ที่มีความพร้อม ทัง้ แหล่งให้ความรู ้ สถานที่ แหล่งธรรมชาติ รวมถึงการจัดกจิ กรรมการเรี ยนรู ้ที่เ หมาะสมอี ก ด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรเพื่อ การค้นคว้า วิจยั สร้างผลผลิต ส่งเสริ มการ ใช้สมุนไพรในการรักษาโรค และการสร้างเสริ มสุขภาพ ให้ความรู ้ในเรื่ องของสมุนไพร 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์กลางของการส่งเสริ มและพัฒนานักวิ จยั แพทย์ หรื อบุคคลทัว่ ไปที่ สนใจในรู ปแบบของสถาบันการศึกษาให้ความรู ้ ทั้งระดับจังหวัด ระดับเขตภูมิภาค ระดับชาติและนานาชาติ 4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์สุขภาพแบบครบวงจร และการแพทย์ทางเลือก 4.1.4 เพื่อเป็ นแหล่งส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ และการศึกษาความหลากหลายของระบบนิเ วศ พื้นที่ชมุ่ น้ าทั้งพืชและสัตว์ 4.1.5 เพื่ออนุรักษ์ และฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่ชมุ่ น้ าที่มีความสาคัญต่อ ร ะบบ นิเ วศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวณการออกแบบวางผัง ภู มิสถาปั ต ยกรรมสถาบัน เทคโนโลยี สมุนไพรบริ เ วณพื้นที่ชมุ่ น้ าโดยส่งผลกระทบต่อทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมให้นอ้ ยที่สุด 4.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่การค้นคว้า วิจยั พัฒนาหรื อผลิตสมุนไพร 4.2.3 ศึกษาระบบนิเ วศพื้นที่ชมุ่ น้ าเพื่ออนุรักษ์และฟื้ นฟูป่าบุญเรื อง 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


โครงการออกแบบวางผังสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรป่ าบุญเรื อง อ.เชียงของ จ.เชียงราย แผนที่ 1 แสดงพื้นที่ป่าบุญเรื อง ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.com/maps (วันที่สืบค้น 07/12 /61) สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา

Not to Scale


โครงการออกแบบวางผังสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรป่ าบุญเรื อง อ.เชียงของ จ.เชียงราย แผนที่ 2 แสดงการเข้าถึง ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.com/maps (วันที่สืบค้น 07/12 /61) สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนสายรอง ถนนหลวงหมายเลข 1020 แม่น้ าอิง

Not to Scale


โครงการออกแบบวางผังสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรป่ าบุญเรื อง อ.เชียงของ จ.เชียงราย แผนที่ 3 แสดงพื้นที่โครงการ ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.com/maps (วันที่สืบค้น 07/12 /61) สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

Not to Scale


โครงการออกแบบวางผังสถาบันเทคโนโลยีสมุนไพรป่ าบุญเรื อง อ.เชียงของ จ.เชียงราย แผนที่ 3 แสดงเส้นทางเศรษฐกจิ เส้นแม่น้ าโขง R3A และ R3B ที่มา http://www.eastasiawatch.in.th/th/articles/politics-and-economy/520/ (วันที่สืบค้น 07/12 /61) สัญลักษณ์ -

5.1 สถานที่ต้งั ของโครงการ ป่ าบุญเรื องตั้งอยูบ่ นพื้น ที่ดิ นของรัฐบาล พื้นที่ท้งั หมด 3,021 ไร่ พื้นที่ต้งั โครงการ 731.25 ไร่ ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ ตาบลบุญเรื อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.1.1 พื้นที่โครงการดังกล่าวมีแผนจัดสร้างสถาบันเทคโนโลยี สมุนไพร จ.เชียงราย เพื่อส่งเสริ มเชียงรายเป็ นศูนย์กลางของเมืองสมุนไพร 5.1.2 พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ นพื้ นที่เ ขตเศรษฐกจิ พิเ ศษ และอยูร่ ะหว่างเส้นเศษฐก จิ R3A เชียงของ ที่มีพร้อมทัง้ การลงทุนและคมนาคมขนส่ง


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่การศึกษา พื้ น ที่ โ ครงการอยู ่ที่ป่ าบุ ญเรื องตั้งอยูบ่ นพื้ น ที่ดิ น ของรั ฐบาล พื้ น ที่ ท้งั หมด 3,021 ไร่ ตั้งอยูบ่ นพื้นที่ ตาบลบุญเรื อง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ทิศเหนือ ติดต่อก ับ บ้านบุญเรื องใต้หมู ่ 9 ทิศใต้ ติดต่อก ับ บ้านบุญเรื องเหนือหมู 1่ ทิศตะวันออก ติดต่อก ับ บ้านบุญเรื องเหนือหมู 3่ และ หมู4่ ทิศตะวันตก ติดต่อก ับ แม่น้ าอิง 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556.คู่มือกำรดำเนินงำนวิทยำนิพนธ์ ระดับปริญญำภูมิสถำปัตยกรรม ศำสตร์ .เชียงใหม่.มหาวิทยาลัยแม่โจ้. แผนแม่บทการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรฐกจิ พิเ ศษเชียงราย พื้นที่อาเภอเชียงของ. 2661. “ แผน แม่บทการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรฐกจิ พิเ ศษเชีย งราย พื้นที่อาเภอเชียงของ”. [ระบบ อ อ นไ ล น์ ]” แ หล่ ง ที่ ม า https://multi.dopa.go.th/inspector/news/download/439 (12 ธันวาคม 2561). นฤมล รัตนสุวรรณ์ . 2558. บ้านบุญเรื องเมืองในฝั นของนายทุน . [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://bit.ly/2GtyUQy (12 ธันวาคม 2561). โดยข้า พเจ้า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ต า มหลัก และวิ ธีด าเนิ น งานวิ ท ยา นิ พ นธ์ ของคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวชไมพร สมมิตร รหัส 5819102508 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.87 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เวชนคร” จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ): The Landscape Architecture Design and Planting Project of “MEDICOPOLIS” at Chiangrai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เวชนครและสารสนเทศชีวการแพทย์ (Medicopolis & Health Informatics: MEDICOPOLIS) เกิด จากความต้องการให้ประเทศเกิดเมืองที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจระดับโลกด้วยชี ววิทยาศาสตร์ประกอบกับจุดแข็ง ของประเทศไทยที่มีศกั ยภาพในการพัฒนา ไม่วา่ จะเป็ นนวัตกรรมเทคโนโลยีสุขภาพ และการบริ การทางการแพทย์ จึงมีแนวคิดในการสร้างเมืองด้านสุ ขภาพครบวงจรหรื อ “เวชนคร” ที่รวบรวมเทคโนโลยีใหม่ดา้ นการดูแลสุ ขภาพ งานบริ การที่มีการดาเนินงานตามมาตรฐานสากล โรงงานต้นแบบ แหล่งบ่มเพาะธุรกิจ ศูนย์การศึกษา การวิจยั ที่พกั และแหล่งท่องเที่ ยว เพื่อให้ประเทศเกิ ดพัฒนาด้านสุ ขภาพอย่างยัง่ ยืน ด้วยเครื อข่ายการดาเนิ นงานในพื้ นที่ เ พื่ อ บูรณาการเทคโนโลยีชีววิทยาศาสตร์ และสารสนเทศชี วการแพทย์ อย่างครบวงจรเพื่อเพิ่มคุณภาพชี วิต และการ เข้า ถึ งเทคโนโลยี ข องคนไทยได้อย่า งเท่ า เที ย มพัฒ นาพื้ นที่ ส าหรั บการจัด บริ การสุ ข ภาพที่ เ หมาะสมส าหรั บ กลุ่มเป้ าหมายผลักดันให้เกิ ดการลงทุ น/ร่ วมทุ นกับเอกชน ซึ่ งจังหวัดเชี ยงรายได้เข้าร่ วมโครงการออกแบบและ พัฒนาพื้นที่สมุนไพร ให้เป็ นศูนย์บริ การทางการแพทย์สาหรับผูส้ ู งอายุแบบองค์รวม ที่ครบวงจร ด้วยเหตุผลที่กล่าวข้างต้น จึงเสนอโครงการออกแบบเวชนคร ตามนโยบายของศูนย์ความเป็ นเลิศ ด้า นชี ววิทยาศาสตร์ (TCELS) และเพื่ อ ตอบสนองต่ อความต้อ งการของคนยุค ใหม่ ให้สามารถปรั บ ตัวรั บ การ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วในอนาคต ขณะที่การวิจยั และพัฒนาด้านชีววิทยา-ศาสตร์ ที่เชื่อมโยงกับการบริ การทางการแพทย์ และสุขภาพจะช่วยลดการพึ่งพาการนาเข้าเวชภัณฑ์และผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศได้พร้อมทั้งประเทศไทยจะเป็ นศูนย์กลาง การท่องเที่ยวเชิงการแพทย์และการบริ การสุขภาพของอาเซียน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสนับสนุ นให้เกิ ดมี การพัฒนาเขตพื้ นที่ บริ การนวัตกรรมสุ ขภาพที่ มีการนา ผลงานวิจยั และพัฒนาบนฐานของชีววิทยาศาสตร์มาเชื่อมโยงกับการบริ การทางการแพทย์ ให้เห็นผลอย่างเป็ น รู ปธรรมและใช้งานได้จริ ง 4.1.2 เพื่อแสวงหาพันธมิตรและสร้างเครื อข่ายทางธุรกิจนวัตกรรมบริ การสุ ขภาพ โดย มุ่งเน้นส่ งเสริ มการดูแลสุ ขภาพด้วยตัวเองเป็ นหลัก 4.1.3 เพื่อให้ประชาชนของประเทศมีความกินดีอยูด่ ี ไม่เจ็บป่ วย มีองค์ความรู ้ที่ถูกต้อง ในการป้ องกันตัวเองมากกว่าการใช้ยา ส่ งเสริ มการแพทย์ทางเลือกเพื่อให้มีคุณภาพชี วิตที่ ดีข้ ึน และช่ วยลดภาระ ค่าใช้จ่ายทางสุ ขภาพของประเทศลง 4.1.4 เพื่อให้ประชากรในประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน ลดรายจ่าย และลดความเหลื่อม ล้ าในการเข้าถึงบริ การสุ ขภาพ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษากระบวนการออกแบบภู มิสถาปั ตยกรรมที่ เหมาะสมต่ องานวิจัยและ พัฒนาด้านชีววิทยาศาสตร์ สามารถถูกเชื่อมโยงกับการบริ การทางการแพทย์ได้อย่างเป็ นรู ปธรรมใช้งานได้จริ ง 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผังพื้นที่ “Medicopolis” ที่ใช้ภูมิปัญญาของ ไทยมาใช้กบั การดูแลสุ ขภาพ เกิดการสร้างงานและสร้างรายได้ให้กบั ท้องถิ่นและภูมิภาค 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ น ตาบลสันทราย อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัด เชียงราย 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่ อ งจากพื้ น ที่ มี ภู มิ ป ระเทศและภู มิ อ ากาศดี ติ ด กับ ศู น ย์ก ลางการบริ หาร ศูนย์กลางคมนาคม ศูนย์กลางธุ รกิ จ และศูนย์กลางทางศาสนาและวัฒนธรรมล้านนาของจังหวัดเชี ยงราย นับเป็ น หนึ่งในอาเภอเมืองที่มีความเจริ ญ ซึ่ งสามารถตอบสนองต่อความต้องการของคนในพื้นที่ได้สะดวกสบาย 5.2.2 ศักยภาพของพื้นที่ติดกับชุมชน ศูนย์ราชการต่าง ๆ ตรงตามเกณฑ์ของการวางผัง โครงการ เวชนคร ตามรู ปแบบที่โครงการได้ต้ งั มาตรฐานไว้


พระธำตุดอยเขำควำย

ห้ ำงสรรพสิ นค้ ำ โรบินสั น โรงเรียนเทศบำล 4 สั นป่ ำก่ อ

โรงพยำบำลเกษมรำษฎร์ ตลำดโชคเจริญ

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เวชนคร” จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 ที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนพหลโยธิ น ถนนทางเข้าเดิม ถนนทางเข้าชุมชน ไม่มีชื่อถนน ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เวชนคร” จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 ที่ต้ งั โครงการและสถานสาคัญที่เชื่อมโยง สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนพหลโยธิ น ถนนหมายเลข 5023 ถนนหมายเลข 1020 Not to scale ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


SITE 1

SITE 2

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เวชนคร” จังหวัดเชียงราย แผนที่ 3 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตโครงการแต่พ้ืนที่ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนพหลโยธิ น ถนนหมายเลข 5023 ถนนแม่กรณ์ ถนนหมายเลข 1020

Not to scale

ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

เกณฑ์

คะแนน

Lingkage Surrounding Accessibility Road network Appoach View

4 4 3 3 4 4

รวมคะแนน

22

SITE 1 ระดับ คะแนน B 12 B 12 A 12 A 12 B 12 C 8 68

SITE 2 ระดับ คะแนน A 16 A 16 B 9 A 16 A 16 A 16 89

หมายเหตุ A (Excellent ) = 4 B (Very good) = 3 C (Fairy good) = 2 D (poor) =1


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบวชนคร มีพ้ืนที่ประมาณ 305 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับดอยเขาควาย ทิศใต้ ติดกับที่ดินการเกษตร ทิศตะวันออก ติดกับหมู่บา้ นสันทรายหลวง ทิศตะวันตก ติดกับที่ดินว่าง บรรณานุกรม ศูนย์ความเป็ นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www. tcels.or.th ( 29 สิ งหาคม 2561 ) วิจยั ยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองสมุนไพร กรมแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

พัฒนาเมืองสมุนไพรนาร่ อง 4 จังหวัด “เชียงราย สกลนคร ปราจีนบุรี สุ ราษฎร์ ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://www.hfocus.org ( 26 ตุลาคม 2559 ). โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นางสาว ชไมพร สมมิตร ) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายชานนท์ จรรยา รหัส 5819102509 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิส ถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.95 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโครงการนิ คมอุตสาหกรรม เชิงนิเวศเวิลด์ อาเภอเมืองลาพูน จังหวัดลาพูน 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ): The Landscape Architecture Design and Panning Project of the World Eco Industrial Estate Mueng Lamphun, Lamphun 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนื อ จัดตั้งขึ้นเพื่อสนองนโยบายแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) ซึ่ งกาหนดให้มีการกระจายพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ ภูมิภาคต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ซึ่ งเน้นให้มีการพัฒนาเมืองหลักเมืองรองของ ภาคต่างๆ การนิ คมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย (กนอ.) จึงร่ วมดาเนิ นงานกับบริ ษทั เวิลด์ อินดัสเทรี ยล เอสเตท จากัด (บริ ษทั ย่อย) จัดตั้งโครงการนิ คมอุตสาหกรรมเวิลด์ข้ ึนที่ จงั หวัดลาพูน ซึ่ งจะช่วยส่ งผลให้เกิดการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ การเงินในระดับประเทศ ภูมิภาค จังหวัด และครัวเรื อน ให้เกิ ดการสร้างงานสร้างอาชี พและเสริ มสร้าง คุณภาพชีวิตให้แก่ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะเน้นอุตสาหกรรมสี เขียวที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม เนื่ องจากจังหวัด ลาพูนมีความหมาะสมหลายประการในการจัดตั้งโครงการ เช่น มีความพร้อมด้านสาธารณู ปโภค แรงงาน วัตถุดิบ ทางการเกษตร ระบบสื่ อสาร และการคมนาคม อีกทั้งแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ซึ่ งให้ความสาคัญด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม รวมถึงการพัฒนาที่ยงั่ ยืน โดยทางบริ ษทั เวิลด์ อินดัสเทรี ยล เอสเตท จากัด ได้ นาแนวคิดนิ คมอุตสาหกรรมเชิงนิ เวศ (Eco Industrial Estate) มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโครงการ ภายใต้การดูแล ควบคุม แนะนา และความเห็นชอบของ กนอ. ด้วยเหตุ ผลดังกล่าว จึ งมี โครงการนิ คมอุตสาหกรรมเวิลด์เพื่ อพัฒ นาเศรษฐกิ จและเสริ มสร้าง อาชีพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ ภายใต้แนวคิดนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิ เวศ เพื่อรักษาสิ่ งแวดล้อม ลดปัญหามลภาวะที่ เกิดจากโรงงานและพัฒนาสังคมให้เกิดความเจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อพัฒ นาพื้ นที่ นิคมอุตสาหกรรมให้เป็ นพื้ นที่ ที่ มีการบริ หารจัดการคุ ณ ภาพ สิ่ งแวดล้อมที่ดี เพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดและป้องกันมลพิษ ใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าและยัง่ ยืน 4.1.2 เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมและลดมลพิษที่จะเกิดจากโรงงานอุตสาหกรรมตามตัวชี วัดแผนพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวณการและขั้ น ตอนออกแบบและแนวคิ ด การวางผัง ภู มิ สถาปัตยกรรมนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโครงการ 4.2.2 เพื่อศึ กษาวิเคราะห์พ้ืนที่ โครงการและเสนอแนวทางการออกแบบวางผังให้เกิ ด ประโยชน์ต่อการใช้สอย และความเหมาะสมต่อความต้องการของการใช้งานในพื้นที่โครงการนิ คมอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งบริ เวณหมู่ที่ 13 บ้านสันปูเลย ตาบลมะเขือแจ้ และหมู่ที่ 4 บ้านสันป่ าฝ้าย ตาบล บ้านกลาง อาเภอเมื อง จังหวัดลาพูน หลักกิ โลเมตรที่ 533 ของทางหลวงหมายเลข 11 (ช่ วงถนนซุ ปเปอร์ ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลาปาง) ตั้งอยูห่ ่างจากตัวเมืองลาพูน ประมาณ 6 กิโลเมตร อยูต่ ิดถนนด้านขาเข้าจังหวัดเชียงใหม่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 บริ เวณที่ ต้ งั โครงการ มี การเข้าถึ งง่ าย เหมาะสมและสะดวกในการขนส่ งและ คมนาคม 5.2.2 สภาพแวดล้อมใกล้เคี ยงโดยรอบ พื้ นที่ โครงการเป็ นการใช้ประโยชน์ในด้าน พาณิ ชยกรรม และอุตสาหกรรม ประกอบด้วย ศูนย์การค้า ตลาด โชว์รูมรถยนต์ สถานี บริ การน้ ามัน ร้านอาหาร นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ และโรงงานอุตสาหกรรม (นอกนิคม)


โครงการออกแบบและวางผังนิคมอุตสาหกรรมลาพูนเวิลด์ อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน

แผนที่ 1 แสดงตาแหน่งที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนโยธาธิ การ ลาพูน ถนนทางหลวงหมายเลข 11 ถนนหมายเลข 1147 ถนนหมายเลข 114 ถนนเจริ ญราษฏร์

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 12 ธันวาคม 2561 )

Not to scale


โครงการออกแบบและวางผังนิคมอุตสาหกรรมลาพูนเวิลด์ อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน แผนที่ 2 แสดงตาแหน่งขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนโยธาธิ การ ลาพูน ถนนทางหลวงหมายเลข 11 ถนนหมายเลข 1147 ถนนเจริ ญราษฏร์ Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 12 ธันวาคม 2561 )


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการออกแบบและวางผังโครงการนิ คมอุตสาหกรรมเวิลด์ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ หมู่ที่ 13 บ้านสันปูเลย ตาบลมะเขือแจ้ อาเภอเมืองลาพูน จังหวัดลาพู น มีขนาดพื้นที่ 350 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ ปั๊มเชลล์ ทิศใต้ ติดกับ ศูนย์การค้าบิ๊กซี ลาพูน และแมคโครลาพูน ทิศตะวันออก ติดกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 และนิคมอุตสาหกรรม ทิศตะวันตก ติดกับ แม่น้ ากวง และหมู่บา้ นนครทองริ เวอร์ 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 2556 คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรม ศาสตร์บณ ั ฑิต.เชียงใหม่.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. “ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524)” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3779 ( 10 ธันวาคม 2561 ) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. “ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2525-2529)” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=3780 ( 10 ธันวาคม 2561 ) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม. “ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560-2564)” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 ( 10 ธันวาคม 2561 ) ข้อมูลโครงการ. “นิคมอุตสาหกรรมเวิลด์” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.worldcorp.co.th/index.php/th/project-in-th/lamphun-in-th ( 10 ธั น วาคม 2561 ) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บัติตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ข องคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. ( นาย ชานนท์ จรรยา ) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวณัชชา ชัยภูมิ รหัส 5819102510 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.76 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสยามสแควร์ และพื้นที่ เกี่ยวเนื่อง เพื่อส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงแฟชัน่ กรุ งเทพมหานคร 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) Landscape Architectural Design and Planning development Project of Siam Square and related areas to support Fashion Creative Economy Industries, Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ย่านสยามสแควร์ คือพื้นที่ที่มีลกั ษณะเป็ นสี่ เหลี่ยมผืนผ้า เนื้ อที่ประมาณ 62 ไร่ ซ่ ึ งเป็ นที่ดินส่ วน หนึ่ งในที่ดินของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยทั้งแปลงขนาด 1,196 ไร่ 32 ตารางวาตั้งอยู่ในแขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุ งเทพมหานคร แต่เดิ มเป็ นที่ดินของกรมพระคลังข้างที่ซ่ ึ งเคยมอบให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้เช่ าเพื่อปลูก สร้างอาคารเรี ยน ในเวลาต่อมาจึงได้มีการออกพระราชบัญญัติเพื่อจะโอนกรรมสิ ทธิ์ ที่ดินอันเป็ นทรัพย์สินส่ วน พระมหากษัตริ ยน์ ้ ี ให้แก่ มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ.2482 โครงการสยามสแควร์ เกิ ดขึ้ นตั้งแต่ ปี พ.ศ.2505 โดยให้ สัมปทานแก่บริ ษทั วังใหม่ จากัดในการจัดสร้างอาคารพานิ ชย์แทนแหล่งที่อยูอ่ าศัยของชาวบ้านที่เป็นเรื อนไม้เดิม การก่อสร้างจนโครงการแล้วเสร็ จในปี พ.ศ.2507 โดยทางมหาวิทยาลัยได้กาหนดเงื่อนไขให้บริ ษทั เอกชนผูพ้ ฒั นา โครงการมีระยะเวลาจัดเก็บผลประโยชน์จากโครงการนี้เป็นเวลา 10 ปี ซึ่ งมีลกั ษณะการบริ หารจัดการดังนี้ คือ ให้ สัม ปทานทางบริ ษ ทั เอกชนได้ล งทุ น ทาการก่ อสร้ า งและเซ้ง ขายอาคารแถวให้ผูซ้ ้ื อรายย่อย ส่ ว นจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัยจะเป็ นฝ่ ายจัดเก็บผลประโยชน์จากค่าเช่าห้องแถวเหล่านั้น ภายหลังระยะเวลา 10 ปี แล้ว จุฬาฯ ก็จะได้ สิ ทธิ ในการต่อสัญญาเซ้งอาคารแถวเหล่านั้นอย่างสมบูรณ์ ตลอดจนสิ ทธิ การจัดเก็บค่าเช่าอาคารเหมือนเดิม ต่อมา จนถึงปัจจุบนั นี้ สยามสแควร์ คื อ ศู น ย์ร วมย่า นการค้า (Commercial hub) สิ่ ง ที่ ท าให้ส ยามสแควร์ น่ า สนใจก็ คื อ มี ลักษณะผสมผสานของย่านการค้าในหลากหลายรู ปแบบ ความสลับซับซ้อนทางกายภาพนี้ เองที่ส่งเสริ มให้สยามส แควร์ มีศกั ยภาพของย่านการค้าอันมีเอกลักษณ์สะท้อนให้เห็นจากการเกิดขึ้นและตายจากไปอย่างง่ายดายของธุรกิจ มีการเปลี่ยนผ่านทางวัฒนธรรมด้านการค้าตลอดจนการดารงอยูข่ องบรรดาร้านค้าในย่านนี้ ซึ่งเป็ นปัจจัยที่ทาให้เกิด


การเปลี่ยนร่ างแปลงรู ปในส่ วนต่างๆของสยามสแควร์ อยูเ่ สมอ จะเห็นได้ว่าระยะเวลากว่า 40 ปี ที่วิวฒั นาการของ ย่านการค้าแห่ งนี้ ดาเนิ นไปทาให้พ้ืนที่ภายในบริ เวณสยามสแควร์ ได้กลายเป็ นทาเลแห่ งโอกาสและเป็ นต้นกาเนิ ด ของภาพตัวแทนของวัยรุ่ น แฟชัน่ และความทันสมัย(ต้นกาเนิดเทรนด์) ปัจจุบนั สยามสแควร์ได้กลายเป็ นย่านการค้า ใจกลางเมืองซึ่ งเป็ นที่รู้จกั มากที่สุดในกรุ งเทพฯและเป็ นย่านที่โดดเด่นในเรื่ องแฟชัน่ ซึ่ งเป็ นทางเลือกลาดับต้นๆ ของบรรดาผูท้ ี่มีความสนใจและความคิดสร้างสรรค์ที่อยากจะเริ่ มต้นธุรกิจการค้าเป็นของตัวเองหรื อแม้กระทัง่ ผูท้ ี่ อยากจะพัฒนาแบรนด์สินค้าหรื อการบริ การเป็ นของตนเอง โดยปั จจุบนั จุฬาฯ มีนโยบายและแผนพัฒนาพื้นที่ยา่ น สยามสแควร์ จากย่านการค้าสู่ เมืองนวัตกรรม ( Siam Innovative District ) เป็ นแนวคิดที่ตอ้ งการพื้นที่อุดมปั ญญา เปิ ดรับบุคคลทัว่ ไปที่มีไอเดียสนับสนุนสตาร์ทอัพที่ตอ้ งการต่อยอดธุรกิจ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสยามสแควร์ และพื้นที่เกี่ยวเนื่ อง เพื่อส่ งเสริ ม อุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิ งแฟชัน่ จึงเป็ นโครงการที่มีศกั ยภาพที่น่าสนใจในการนามาศึกษาและพัฒนา เพื่อนาไปสู่ การเป็ นย่านอุตสาหกรรมเศรษฐกิจเชิงแฟชัน่ ตอบสนองให้คนรุ่ นใหม่ได้มีโอกาสในการแสดงศักยภาพ และความสามารถ 4.วัตถุประสงค์โครงการ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มและคงความเป็ นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงแฟชัน่ ใจ กลางกรุ งเทพมหานครตามแผนพัฒนาพื้นที่ Siam Innovative District 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มเป็ นพื้นที่สาหรับยังดีไซน์เนอร์ (Young Designer) และผูท้ ี่สนใจในด้าน แฟชัน่ 4.1.3 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสยามสแควร์ ให้เกิ ดการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่าง สู งสุ ด 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมกับพื้นที่เศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิง แฟชัน่ ย่านสยามสแควร์และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาพื้ น ที่ ใ นย่า นสยามสแควร์ แ ละพื้ น ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งการน ามาประกอบการ วิเคราะห์และพัฒนาศักยภาพ 4.2.3 เพื่อศึกษาความต้องการ พฤติกรรมของกลุ่มผูใ้ ช้งานในพื้นที่และกลุ่มยังดีไซน์เนอร์ (Young Designer)


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบและปรั บ ปรุงภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมย่ า นสยามสแควร์ แ ละพื้ น ที่ เกี่ยวเนื่อง เพื่อส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงแฟชัน่ กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก www.google.com/maps สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน ไม่มีมาตราส่ วน


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสยามสแควร์ และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อส่ งเสริ มอุตสาหกรรมเศรษฐกิจสร้างสรรค์เชิงแฟชัน่ กรุ งเทพมหานคร มาตราส่ วน แผนที่ 2 แสดงรายชื่อทางสัญจรบริ เวณที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.arcgis.com/home/webmap/viewer.html?useExisting=1 ไม่มีมาตราส่ วน สัญลักษณ์ ถนนพระราม 1 ถนนพญาไท ถนนอังรี ดูนงั ต์

5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่บนพื้นที่ ดินกรุ งเทพมหานคร พื้นที่ ท้ งั หมดประมาณ 173 ไร่ ตั้งอยู่ที่ แขวงปทุมวันและแขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ ย่านสยามสแควร์ มีศกั ยภาพที่ โดดเด่ นเป็ นเอกลักษณ์และเป็ นแหล่ งรวม เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ 5.2.2 พื้นที่ยา่ นสยามสแควร์ มีระบบขนส่ งมวลชนแบบรางขนาดใหญ่ ( Bangkok Transit System) และยังเป็ นสถานีเชื่อมต่อหลัก ( Interchange Station ) ไปยังสายสี ลม 5.2.3 พื้นที่ยา่ นสยามสแควร์ เป็ นแหล่งที่ต้ งั ของห้องเสื้ อและร้านค้าในกลุ่มแฟชัน่ ซึ่ งทา ให้เกิดกิจกรรมและสามารถส่ งเสริ มเศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้




คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวณัฐนรี บ่อสุ ข รหัส 5819102511 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึ กษา จํานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.40 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผัง ส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เขตหลักสี่ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Planning Project of The Expansion of Chulabhorn Hospital, Laksi, Bangkok. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เป็ นโรงพยาบาลภายใต้หน่วยงานวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้ าจุฬา ภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ซึ่ งเป็ นหน่วยงานในกํากับของรัฐ สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี เปิ ดให้บริ การเมื่อตุลาคม พ.ศ. 2552 จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็ นโรงพยาบาลเฉพาะทางด้านการตรวจและรักษาโรคมะเร็ ง ซึ่ งมีขนาด 100 เตียงตั้งอยู่ใน พื้นที่ขนาด 47 ไร่ บนถนนกําแพงเพชร6 แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร ภายในพื้นที่ มีอาคารที่ สร้างเสร็ จแล้ว 2 อาคาร ได้แก่ศูนย์การแพทย์มะเร็ งวิทยาจุฬาภรณ์ และศูนย์ไซโคลตรอนและเพทสแกนแห่งชาติ ปั จจุบนั โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ มีความต้องการที่ จะเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริ การทางการแพทย์ที่ ครอบคลุมทุ กโรคให้แก่ ประชาชน และผูป้ ่ วยโรคอื่นๆ นอกเหนื อไปจากโรคมะเร็ ง พร้ อมทั้งเป็ นวิทยาลัยผลิ ต แพทย์ และบุคลากรทางการแพทย์ในสาขาที่ขาดแคลน ตลอดจนถึงศูนย์การแพทย์ทางเลือกสําหรับผูป้ ่ วยสู งอายุ ซึ่ ง จึงเสนอให้มีการจัดตั้งส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์บนที่ดินขนาด 60 ไร่ ภายในศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร เพื่อสร้างเป็ นโรงพยาบาล ระดับตติยภูมิขนาดใหญ่ 400 เตียง อาคารสําหรับการเรี ยนการสอน และการวิจยั ของวิทยาลัยวิทยาศาสตร์ การแพทย์ เจ้าฟ้ าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ตลอดจนศูนย์การแพทย์ทางเลือกสําหรับผูป้ ่ วยสูงอายุเพื่อตอบรับกับนโยบาย โครงการชุมชนผูส้ ูงอายุในอนาคต


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นโรงพยาบาลระดับตติยภูมิขนาดใหญ่ รองรับการรักษาพยาบาลผูป้ ่ วย ได้ครอบคลุมทุกโรค 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์การเรี ยนการสอนในการพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์ 4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์การแพทย์ทางเลือกให้แก่ผปู ้ ่ วยสูงอายุรองรับกับนโยบาย โครงการชุมชนผูส้ ูงอายุ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโรงพยาบาลและศูนย์การแพทย์ ทางเลือกสําหรับผูป้ ่ วยสูงอายุ และศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับภูมิทศั น์ในโรงพยาบาล 4.2.2 ศึ กษาข้อมูลด้า นสุ ข ภาพ พฤติ กรรมการใช้งานกับลักษณะทางกายภาพ และ วิธีการรักษาของผูส้ ูงอายุภายในชุมชนและบริ เวณใกล้เคียง เพื่อใช้ในการออกแบบศูนย์การแพทย์ทางเลือกสําหรับ ผูป้ ่ วยสูงอายุ 4.2.3 ศึกษาการออกแบบภูมิทศั น์ในโรงพยาบาลที่สอดคล้องกับแนวทางการออกแบบ ภูมิทศั น์สาํ หรับผูส้ ูงอายุ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูท่ ี่แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร มีพ้ืนที่ โครงการประมาณ 60 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์มีความตั้งใจ ที่จะพัฒนาให้พ้ืนที่น้ ีกลายเป็ นพื้นที่ของโครงการ ส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์อย่างเป็ นทางการ อีกทั้งยังตั้งอยู่ในบริ เวณใกล้เคี ยงกับพื้นที่ โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ (เดิม) และคนในพื้นที่ชุมชนโดยรอบและใกล้เคียงสามารถเข้าถึงได้ง่าย 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ทิศเหนือ ติดกับ พื้นที่บริ ษทั ไปรษณี ยไ์ ทย จํากัด ทิศตะวันตก ติดกับ พื้นที่ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นที่ศูนย์โทรคมนาคมแห่งประเทศไทย คลองเปรมประชากรและ พื้นที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์เดิม ทิศใต้ ติดกับ พื้นที่ชุมชนการเคหะหลักสี่


โครงการออกแบบและวางผัง ส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เขตหลักสี่ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 แสดงการเข้าถึงของโครงการ สั ญลักษณ์ : พื้นที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์(ปัจจุบนั ) พื้นที่โครงการส่ วนขยายโรงพยาบาล จุฬาภรณ์ ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย5 ถนนวิภาวดีรังสิ ต ถนนกําแพงเพชร6 ที่มา :

ดัดแปลงมาจาก ArcGIS

มาตราส่ วน : Not to scale


โครงการออกแบบและวางผัง ส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ เขตหลักสี่ จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั ของโครงการ สั ญลักษณ์ : พื้นที่โรงพยาบาลจุฬาภรณ์(ปัจจุบนั ) พื้นที่โครงการส่ วนขยายโรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนกําแพงเพชร6 ที่มา : ดัดแปลงมาจาก ArcGIS

มาตราส่ วน : Not to scale

7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดําเนินงานวิทยานิพนธ์ หลักสู ตรภูมิสถาปั ตยกรรมศา สตรบัณฑิต”. ปรับปรุ งครั้งที่4. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (13 ธันวาคม 61). โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ . 2017. “ข้อมูลโรงพยาบาล”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่ มา http://bit.do/eDhQ4 (13 ธันวาคม 2561). โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาํ เนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการจึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ณัฐริ กา คงแก้ว รหัส 5819102512 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึกษา จํานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.52 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระ อุปถัมภ์ฯ องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ อําเภอห้างฉัตร จังหวัดลําปาง 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ ) Landscape Architecture Design and Improvement Project the National Elephant Industry Organization, Ministry Of Natural Resources And Environment, Hang Chat, Lampang. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ศูนย์อนุรักษ์ชา้ งไทย ตั้งอยู่ที่บา้ นทุ่งเกวียน ตําบลเวียงตาล อําเภอห้างฉัตร จังหวัดลําปาง อยู่ใน ความดูแลของฝ่ ายอุตสาหกรรมป่ าไม้ภาคเหนือ องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ (ออป.) แต่เดิม ออป. เป็ นศูนย์ฝึกลูกช้าง ซึ่ งเป็ นแห่ งแรกและแห่ งเดียวในโลก โดยเริ่ มดําเนิ นการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2512 เป็ นสถานที่เลี้ยงและฝึ กลูกช้างเพื่อให้ เชื่ อฟั งคําสั่งและมีความชํานาญในการทําไม้ขณะที่ แม่ชา้ งไปทํางานในป่ า และเนื่ องจากมีนโยบายปิ ดป่ าซึ่ งทําให้ ช้า งต้อ งว่า งงาน ศู นย์ฝึ กลู กช้า งจึ งถู กปรั บมาเป็ นสถานที่ ดู แ ลช้า งแก่ แ ละเจ็บ ป่ วย และยังเป็ นสถานที่ ต้ ังของ โรงพยาบาลช้าง ออป.จึงได้ก่อตั้งศูนย์อนุรักษ์ชา้ งไทยขึ้นเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2535 จัดกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยว และเผยแพร่ ส่งเสริ มกิจกรรมการท่องเที่ยวด้วยช้างไปสู่ ปางช้างเอกชน และช่วยเหลือช้างเลี้ยงในด้านการดูแลรักษา สุ ขภาพช้าง ทั้งเพื่อการศึกษา ค้นคว้า วิจยั ตลอดจนเพื่อการพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ พ.ศ. 2545 ได้จดั ตั้งสถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนา กรมหลวงนราธิ วาสราชนคริ นทร์ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายขอบเขตการอนุรักษ์และบริ บาลช้างไทย ให้ ครอบคลุมทุกมุมมองในการช่วยบรรเทาปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นกับช้าง พร้อมกับอนุรักษ์ประเพณี ชุมชนตลอดจนศาสตร์ และวิทยาการที่บรรพบุรุษให้ไว้เป็ นมรดกให้สามารถสื บทอดไปยังอนุชนรุ่ นหลังต่อไป เนื่องจากสถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ จัดเป็ นพื้นที่อนุรักษ์ชา้ งตามธรรมชาติมากขึ้ น เป็ นพื้นที่ ที่มีสภาพป่ าสมบูรณ์ เพื่อใช้ในการปล่อยช้างสุ ขภาพดี ให้หากิ นเองตามธรรมชาติ โดยโครงการมี การ ท่ อ งเที่ ย วและศึ กษาป่ าธรรมชาติ ท่ อ งเที่ ย วเชิ งอนุ รั กษ์ จึ งมี บางพื้ นที่ ภู มิทัศ น์มีค วามเสื่ อมโทรมไม่ ไ ด้รั บการ ปรับปรุ ง


ทางสถาบันคชบาลแห่ งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ มีโครงการการจัดการพื้นที่เลี้ยงช้างและปรับปรุ ง ภูมิทศั น์ การดําเนินการที่เกี่ยวข้องในด้านสิ่ งแวดล้อม ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพในบริ เวณแหล่ง ท่องเที่ยวและบริ เวณใกล้เคียง โดยดําเนิ นการให้สอดคล้องกับเกณฑ์ขอ้ กําหนดสําหรับแหล่งท่องเที่ยวที่ เป็ นมิตร กับสิ่ งแวดล้อม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์และการศึ กษาเรี ยนรู ้ ค้นคว้า วิจยั ช้างไทย ของจังหวัดลําปาง 4.1.2 เพื่อปรับปรุ งและออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อรองรับการท่องเที่ ยวใน อนาคต 4.1.3 เพื่อฟื้ นฟูระบบนิ เวศความหลากหลายทางชี วภาพและการจัดการพื้นที่ เลี้ยงช้าง ในบริ เวณแหล่งท่องเที่ยว ของสถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาขั้นตอนการออกแบบวางผังพื้นที่ เพื่อเป็ นที่ อยู่อาศัย ที่ มีความสําคัญ ด้านการรักษาและพื้นที่ฟ้ื นฟูของช้างเจ็บป่ วย หรื อชรา 4.2.2 เพื่อวิเคราะห์สภาพพื้นที่ โดยตอบสนองต่อความต้องการผูใ้ ช้โครงการและพื้นที่ พักผ่อนของช้าง ที่มีความสําคัญด้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4.2.3 เพื่ อศึ กษารู ปแบบการนันทนาการ การพักผ่อนและแหล่งเรี ยนรู ้ เชิ งธรรมชาติ โดยตอบสนองต่อความต้องการผูใ้ ช้โครงการ และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวระดับจังหวัด 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สถาบันคชบาลแห่ งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ ตําบลเวียงตาล อําเภอห้างฉัตร จังหวัดลําปาง มีพ้ืนที่ขนาด 1,435 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เป็ นพื้นที่ที่เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์โครงการเดิ ม ที่ตอ้ งการพัฒนาและปรั บปรุ ง ภูมิทศั น์ให้มีความสวยงามและเหมาะสมกับการใช้งาน ประกอบด้วยการดําเนิ นการที่เกี่ยวข้องในด้านสิ่ งแวดล้อม ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ในบริ เวณแหล่งท่องเที่ยวและบริ เวณที่ใกล้เคียง


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ ตําบลเวียงตาล อําเภอห้างฉัตร จังหวัดลําปาง แผนที่ 1 : แสดงผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map

ตําแหน่งที่ต้ งั ถนนสายหลัก หมายเลข11 ถนนสายรอง หมายเลข 2031 คลองแม่สนั มาตราส่ วน Not to Scale


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม สถาบันคชบาลแห่งชาติ ในพระอุปถัมภ์ฯ องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ ตําบลเวียงตาล อําเภอห้างฉัตร จังหวัดลําปาง แผนที่ 2 : แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map

พื้นที่โครงการ ถนนทางหลวง หมายเลข11

มาตราส่ วน Not to Scale


6

製 パパ

%01jll,働 %013・tuη αF3覇 1 1∩

=ヾ

n]100r■

::lllJljギ

リ」1(Q£ atl l僣 口Jn,,脚 αolfuFnglJla::ジ oγ 16 1鶴 ‖,彫 qlj∫ 測∫4

1,0鶴 α170市 誕Jllfぽ 1■ a60。 口laれ

0。 品

ne偽 ぐ島 ,熱 ν橘 バ1lho l鳥 曇 1,43511籍 01敏 Ⅷ mnll

働990

0飢 冒霧0

寄9品

ttulnOtiT16窟 σ 3耐 1燃 綸 れ

;乱 薇

69″J蓑ゝ 薇

6α l群

ll」 lη ヾ 何鶴Jttn讐 15,,知 τlo αつ in■ o現

η 倒 口 彫 れo00 anふぷu黒 g9彫 ■ η ll口 ∩ 口 nFn3jデ 税 義 7

1J,,創 luni膊

げ^ ′

υ′

,4

鮮η驚

=∩

tiγ 16富

. ^

」額6n.:箸 Jく lll」 測71lη oloo:t嵐 1こ

^■

へ ど げ γs、 彫nll‐ 爵 ■■10曇 窟01Jngn■ ,知 nlα 9■

"11湧 "g]%別

α錦 り積∩督讐1011'1%161秘 班認 e」 山 畠 倒穂お づ 剛3日

■■イ 11ボ q:∩ 弓 ぞ llJ

α ■ ■ ■ 」 1で 110ら Ju 10%%16官 ■

1=響 冽脚鴇 Ч腎 町 1蹴 un.2556彎 節Onl■ 01駆

dl10眼 1■

u

nfttitη o,強 y橘 ぎ1」 11.2561::"鶴 01,

ng J,=ゞ 112561[==り 讐00■ la亀

httpsノ /d五 vc.googic.oo■ 1/■ lcだ /1ZHFwjODx‐

1:7ボ く暑誕1

LT8■ UBHltOwSISF5dZalkS/vicw

lnょ 12561) (lo∫ 場■

1。

Jイ lⅥ :J13猟 6義 1彫 書 義1,曇 口13J И″n

σ001働 J∩ ,,測 glσ

il a彰

う1貢 lt衝 税ヾ1■ うη Jl犠 η税 J

剛0゛ ∩税 彫

を(11■ 9ξ b測 測71ち η01ボ bll轟 1う 場nll,膨 nl,

"Jl10gnl,oo nlllJl」

寄。 ll襲 1:償 01」 in償 11131loll繭 おむ

(。 (感 3)…

(.…

…lI】 fm.… .0'I}ル .… …… … Ⅲ………

"lm._蝉 `m.… .1.7.../..つ .…

o,Iヽ

r.Ql../.2,ユ

.)

1.…


n■ 1別 :И

踊剛oon麒 影 0■ ■ Nnll」 、 影 91‖ anttn■

Lm跳 輌鱒…

L乱 』 、 動 。 融 呻 ヨ J輌

2.

『社 督11ザ ず :IΥ

(1,(l(t.′

(1)、

ヽ く 、

lっ

1

感…ヽ ド… ぃ … … … … … 0.…

.…

) (… …………………………………………

4輸 枷構 ゆふ つ…ヽ

ふA“ 口感

.

(aヾ

lo).

(い n■ 1制 :嘱 lt嘔 oo」 、 彰ぉllln■ ■■nl■ 」■8ol■ 論 軍螢,

ol齢 l満 1虜 困

1■ lη む戒 ■■島 1測 偽 偽 補鰤 ■oNllぽ

_珀


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ณัฐริ กา รอดกลาง รหัส 5819102513 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.62 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ทางทะเล และการประมงพื้นถิ่น อ.หัวหิ น จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Huahin Museum of Marine Science and Vernacular Fishery. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอหัวหิ นมีส่วนกว้างเป็ นระยะทางประมาณ 60 กิโลเมตร มีแหล่งน้ าเค็มสาคัญคือหาดหัวหิ น โดยมี ก ารใช้ประโยชน์ด ้า นการประมงและเป็ นแหล่ งชุ ก ชุ ม ของปลาและพื ช น้ า หลากหลายชนิ ด โดยล่ า สุ ด ชาวประมงได้พบเจอฉลามวาฬขนาดใหญ่ในปี พ.ศ. 2561 ซึ่ งเป็ นพันธุ์ปลาที่ไม่สามารถพบเจอได้ง่ายจึงบ่งบอกถึง ทรัพยากรทางทะเลที่ยงั คงอุดมสมบูรณ์ ในอดี ตชาวหัวหิ นประกอบอาชี พประมงเป็ น ส่ วนใหญ่ จึ งได้มีการก่อตั้ง หมู่บา้ นชาวประมง ที่ต้ งั อยู่บนชายหาดสี ขาวและหมู่กอ้ นหิ นมากมายสุ ดลูกหู ลูกตา จึงก่อกาเนิ นคาว่า “หัวหิ น” ณ ปัจจุบนั อาเภอหัวหิ นจึงมาเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญของภาคตะวันตก อาเภอหัวหิ นเป็ นศูนย์กลางเชื่ อมต่ อระหว่าง ภาคกลางตอนล่างกับภาคใต้ตอนบน ซึ่ งห่ างจาก กรุ งเทพมหานครประมาณ 195 กิโลเมตรเท่านั้น มีความสะดวกในการเดินทางรู ปแบบอื่นอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็ นทาง เครื่ องบิน รถไฟ อาเภอหัวหิ นเป็ นแหล่งท่องเที่ยวหลายรู ปแบบ เช่น ศูนย์เรี ยนระบบนิ เวศป่ าชายเลนสิ รินาถราชิ นี ศูนย์ศิลปะหัตกรรมหัวหิ น ศูนย์เรี ยนรู ้สหกรณ์การเกษตร อุทยานราชภักดิ์ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ 4 มิติ ด้วยศักยภาพที่ โดดเด่นด้วยทรัพยากรทางทะเลที่ ให้ความรู ้ทางด้าน ระบบนิ เวศทางทะเล พิ พิธภัณฑ์ทางทะเล เพื่อเพิ่ มโอกาส ทางการเรี ยนรู ้นอกห้องเรี ยนแก่เด็ก เยาวชน ประชาชน และนักท่องเที่ยวที่สนใจ ดังนั้นจึ งเป็ นที่ มาของโครงการ ออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ทางทะเลและการประมงพื้นถิ่น อาเภอหัวหิ น จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วั ตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์รวบรวมและจัดแสดงความรู ้ทางวิชาการเกี่ยวกับทางทะเลและการ ประมงพื้นถิ่น 4.1.2 เพื่ อ เป็ นศู น ย์ก ลางการศึ กษาและเป็ นแหล่ ง ท่ องเที่ ย วเชิ งอนุ รั ก ษ์แ ห่ งใหม่ ที่ ปลูกฝังจิตสานึกที่ดีในการอนุรักษ์ระบบนิเวศทางทะเล 4.1.3 เพื่ อ ส่ ง เสริ มและสนับ สนุ น ให้ เ ด็ ก เยาวชน และประชาชนในจัง หวัด ประจวบคีรีขนั ธ์และจังหวัดใกล้เคียง สามารถเข้าถึงแหล่งความรู ้ทางวิชาการเกี่ยวกับพันธุ์สตั ว์น้ าและการประมง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ทางทะเล และการประมงพื้นถิ่น อ.หัวหิ น จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ 4.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับระบบนิ เวศทางทะเล ระบบนิ เวศชายฝั่ง และสัตว์ น้ าเค็ม ที่ช่วยส่ งเสริ มศักยภาพในการออกแบบพื้นที่ 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบแหล่งรวบรวมและจัดแสดงความรู ้ทางวิชาการ ที่ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สตั ว์น้ าและระบบนิเวศทางทะเล 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ ต้ งั โครงการ : ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) ตาบลหัวหิ น อาเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โดยมีเนื้อที่ประมาณ 180 ไร่ 5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ที่ต้ งั เป็ นพื้นที่ราชพัสดุแห่งเดียวที่ติดชายฝั่งทะเล 5.2.2 เจ้าของพื้นที่เล็งเห็นว่าพื้นที่ต้ งั มีศกั ยภาพมากพอที่จะลงทุนได้ 5.2.3 การเข้าถึงพื้นที่มีความสะดวก เข้าถึงง่าย พื้นที่ติดกับถนนเพชรเกษม 5.2.4 พื้ นที่ มีการเชื่ อมโยงกับสถานศึ กษา สถานที่ ท่องเที่ ยวอื่ นๆ และเป็ นพื้ นที่ ติ ด ชายฝั่งทะเล


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลและการประมงพื้นถิ่น มาตราส่ วน แผนที่1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก https://th.wikipedia.org/wiki (21 ธันวาคม พ.ศ. 2561) Not to scale สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ตาแหน่งโครงการ


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลและการประมงพื้นถิ่น แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั และบริ เวณโดยรอบพื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://th.wikipedia.org/wiki (21 ธันวาคม พ.ศ. 2561)

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ทางทะเลและการประมงพื้นถิ่น แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://th.wikipedia.org/wiki (21 ธันวาคม พ.ศ. 2561)

Not to scale


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ขอบเขตพื้นที่ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ทางทะเลและ การประมงพื้นถิ่น มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ โรงแรมไอสไตน์หวั หิ น ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ศูนย์จาหน่ายรถยนต์ ทิศใต้ ติดต่อกับ โรงแรมและบ้านจัดสรร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ริ มชายหาดทะเลหัวหิ น โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวธัชพร ใจระวัง รหัส 581910514 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.80 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์การเรี ยนรู ้อย่างสร้างสรรค์ ย่านนิ มมานเห มินทร์ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง The Landscape Architectural Design and Planning of the creative knowledge center, nimmanhaemin district, Muang, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ความเป็ นเมื องเป็ นหนึ่ งในแนวโน้มส าคัญ ที่ กาลังเกิ ด ขึ้ นในปั จจุ บัน เนื่ องจากในปี 2030 เศรษฐกิจโลกร้อยละ 61 จะมาจากกิจกรรมในเมืองใหญ่ โดย 96% ของการเกิด Urbanization จะเกิดขึ้นในประเทศที่ กาลังพัฒนา ประเทศไทยก็เป็ นหนึ่ งในนั้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่จะ ส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภาพของเมืองใน อนาคต ยิ่งเมื องพัฒนาขึ้ นด้วยเทคโนโลยีผูค้ นสามารถเชื่ อมต่ อกันได้แทบจะตลอดเวลา แต่ปฏิ สัมพันธ์จานวน มากมาย กลับไม่นาไปสู่ ความสัมพันธ์ เมืองถูกออกแบบให้แห้งแล้ง แยกส่ วนและคับคัง่ จนเกินไป ผูค้ นในเมืองจึง ใช้ชีวิตแบบต่างคนต่างอยู่ ความเหงาของผูค้ นจึงกลายเป็ นวาระแห่ งชาติในหลายประเทศ ความเหงาทาลายสุ ขภาพ ทั้งกายและใจของผูค้ น หลายประเทศและหลายเมื องใหญ่ จึงเริ่ มขยับตัวและแก้ไ ขปั ญหาเรื่ องความเหงาด้ว ย โครงการต่างๆ นักวิจยั ทางสังคมจาก Brigham Young University ทานายไว้ต้ งั แต่ปี 2015 ว่าความเหงาและความ โดดเดี่ยวจะกลายเป็ นปั ญหาที่จริ งจังและส่ งผลต่อคุณภาพชี วิตต่อไป นักวิจยั พบว่า คนที่โดดเดี่ยวขาดการเชื่ อมต่อ กับสังคมรอบข้าง และโดยเฉพาะคนที่ ใช้ชีวิตตามลาพังมีโอกาสเสี่ ยงในการเสี ยชี วิตเพิ่ มขึ้ นถึง 29% และ 32% ตามลาดับ ในทางกลับในกันหลายๆงานวิจยั พยายามจาแนกประเภทของความเหงา ในภาษาอังกฤษยังมีคาว่าโดด เดี่ยว (loneliness)และสันโดษ (solitude) มันก็คือการอยู่คนเดียว (alone) เหมือนกัน นักปรัชญาหลายคนพยายาม ให้ความหมายของความโดดเดี่ ยว (Loneliness) และความสันโดษ (Solitude) ดังคากล่าวของนักเทววิทยาชาว เยอรมัน พอล ทิลลิช (Paul Tillich) ที่วา่ “ความโดดเดี่ยวนั้นคือการแสดงออกถึงความเจ็บปวดของการดารงอยู่ และ ความสันโดษนั้นคือการแสดงออกถึงชัยชนะของการอยู่เพียงลาพัง” ความสันโดษต่างจากความเหงา คือเราอยู่คน เดียวแล้วไม่เหงา เรารู ้สึกสงบ รู ้สึกสันติ เหล่าศิลปิ นทั้งหลายต่างบอกว่าความสงบสันโดษในขณะที่เราอยู่คนเดียวนี้ แหละเป็ นบ่อเกิดของความคิดสร้างสรรค์


เมื องจึ งควรมี พ้ื นที่ สาธารณะส าหรั บให้ความรู ้ พื้ นที่ ที่กระตุ น้ ให้ผูค้ นรู ้ สึกดี เมื่ อผูค้ นมี สุข มี โอกาสที่จะเดินสวนกัน เห็นหน้าเห็นตากัน สุ ดท้ายก็อาจนาไปสู่การพูดคุยและสานสัมพันธ์ใหม่ๆ ใช้ความสันโดษ สร้ า งแรงบันดาลใจและสร้ างสรรค์ผ ลงานต่ า งๆออกมาได้ สิ่ งที่ ควรจะเกิ ดขึ้ นคื อสถานที่ พ ฒ ั นาคน มี ตวั เลื อก กิจกรรมใหม่ๆ ที่ เปิ ดโอกาสให้ชีวิตยุคนี้ มากขึ้น พื้นที่ ที่เด็กและเยาวชนได้คน้ หาความถนัด ผูใ้ หญ่ได้ฝึกทักษะ ใหม่ๆ เพื่อเพิ่มความสามารถ ติดปี กให้กา้ วหน้าทางการงานหรื อเปลี่ยนสายอาชี พ ครอบครัวและเพื่อนฝูงได้ใช้เวลา ร่ ว มกัน อย่ า งเพลิ ด เพลิ นและมี ประโยชน์ ประกอบกับเชี ย งใหม่ มี นโยบายพัฒ นาเมื องเชี ย งใหม่ ใ ห้เ ป็ นเมื อ ง สร้างสรรค์ ตามโครงการเชี ยงใหม่เมืองสร้างสรรค์ (CCM) ที่ เกิ ดขึ้ นจากความคิ ดริ เริ่ มที่ จะพัฒนาและสนับสนุ น เมืองเชียงใหม่ให้เป็ นเมืองแห่งศูนย์กลางของอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์ สร้างขึ้นโดยยึดจุดแข็งของเมืองเชี ยงใหม่ จัดตั้งโดยผูว้ ่าราชการจังหวัดเชี ยงใหม่ในปี พ.ศ. 2553 ซึ่ งประกอบด้วยตัวแทนจากสถาบันการศึกษา หน่ วยงาน ภาครัฐ และภาคเอกชน ตลอดจนองค์กรอื่นๆ มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ทาหน้าที่ เป็ นประธานคณะกรรมการพัฒนา เชี ยงใหม่สร้างสรรค์ (ร่ วมกับมหาวิทยาลัยพายัพและมหาวิทยาลัยนอร์ ทเชี ยงใหม่) และอุทยานวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ (CMU STeP) ทาหน้าที่เป็ นสานักงานเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเชี ยงใหม่ สร้างสรรค์และศูนย์กลางการติดต่อ โดยผลักดันให้ย่านถนนนิ มมานเหมินท์ เป็ นพื้นที่นาร่ องโครงการสมาร์ ทซิ ต้ ี (Smart Nimman).ในอนาคต ด้วยเหตุ ผ ลที่ กล่ า วข้า งต้น จึ งเสนอโครงการออกแบบวางผังภู มิส ถาปั ต ยกรรม พื้ นที่ เ รี ย นรู ้ สาธารณะ เพื่อส่ งเสริ มกิจกรรม ความรู ้อย่างสร้างสรรค์ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่เพื่อเป็ นพื้นที่สาธารณะสาหรับ ให้ความรู ้ ให้เด็กหรื อผูใ้ หญ่เข้าถึงความรู ้ได้ง่ายขึ้ น ค้นคว้าสิ่ งที่ สนใจ และออกแบบการเรี ยนรู ้ ในแบบที่ ตวั เอง ต้องการ สร้างแรงบันดาลใจและสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ สร้างปฏิ สัมพันธ์ระหว่างผูค้ นให้มากขึ้นรวมถึงส่ งเสริ ม นโยบายเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ (CCM) อีกทั้งยังเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของเมืองเชียงใหม่อีกด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นเป็ นพื้นที่สาธารณะสาหรับให้ความรู ้อย่างสร้างสรรค์ ให้เด็กหรื อผูใ้ หญ่ เข้าถึงความรู ้ได้ง่ายขึ้น ค้นคว้าสิ่ งที่สนใจ และออกแบบการเรี ยนรู ้ในแบบที่ตวั เองต้องการ 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มความคิ ดสร้างสรรค์และนวัตกรรมในเชี ยงใหม่ ตามนโยบายของ กลุ่มเชียงใหม่เมืองสร้างสรรค์ (CCM) 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่ที่กระตุน้ ให้ผคู ้ นมีปติสมั พันธ์ นาไปสู่ความสัมพันธ์ระหว่างผูค้ น 4.1.4 เป็ นพื้ น ที่ ที่ ค รอบครั ว และเพื่ อนฝูงได้ใ ช้เ วลาร่ ว มกันอย่ า งเพลิ ด เพลิ นและมี ประโยชน์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาพฤติกรรมผูค้ นในยุคปัจจุบนั ที่ใช้ชีวิตลาพัง และประเภทของคนที่ชีวิต ลาพัง 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะย่านวัดเกต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็ นย่านศิลปะ วัฒนธรรมและความคิดสร้างสรรค์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ น ที่ โ ครงการมี ข นาด 102 ไร่ ตั้ง อยู่ ที่ บ ริ เวณ หอนิ ท รรศการศิ ล ปวัฒ นธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ย่านนิมมานเหมินท์ ตาบลสุ เทพ อาภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นย่านที่โดดเด่นทางด้านสถาปัตยกรรมที่สาคัญของเมืองเชียงใหม่ 5.2.2 เป็ นย่านที่มีความสาคัญทางด้านเศษฐกิจและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของคน ยุคใหม่ของเมืองเชียงใหม่ 5.2.3 เป็ นแหล่งรวมงานศิลปะหัตกรรม และทรัพย์สินทางความคิดสร้างสรรค์และ วัฒนธรรมในเชียงใหม่

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่เรี ยนรู ้สาธารณะ เพื่อ ส่ งเสริ มกิ จกรรม ความรู ้อย่างสร้างสรรค์ ย่านนิ มมานเหมินทร์ อาเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 : แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มำ : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก longdo map (วันที่ 19 มกราคม 2562) สั ญลักษณ์ : + ที่ต้ งั โครงการ


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่เรี ยนรู ้สาธารณะ เพื่อ ส่ งเสริ มกิ จกรรม ความรู ้อย่างสร้างสรรค์ ย่านนิ มมานเหมินทร์ อาเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 : ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มำ : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก google earth pro (วันที่ 19 มกร คม 2562) สั ญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีขนาด 102 ไร่ ตั้งอยู่ที่บริ เวณ หอนิ ทรรศการศิ ลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ ย่านนิมมานเหมินท์ ตาบลสุ เทพ อาภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ร้านอาหารวอร์มอัพคาเฟ่ ทิศใต้ ติดต่อกับโรงแรมพิงค์พยอม ทิศตะวันออก ติ ดต่ อกับสวนสุ ข ภาพ สมเด็จพระ ศรี นคริ นทรา บรมราชชนนี หอประชุ ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทิศเหนือตะวันตก ติ ด ต่ อ กั บ ถนนคลองชลประทาน หมายเลข121 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 7. บรรณานุกรม จบความเหงาด้วยเมืองที่ดึงเราเข้าหากัน 6 งานออกแบบสถาปั ตยกรรมและผังเมือง [ระบบ ออนไลน์] แหล่งที่มา https://thematter.co/pulse/defy-urban-loneliness-with-urbanplanning-and-design/56324 เราต่างไม่เคยอยูค่ นเดียว! ความยากของการปลีกวิเวกในหมู่นกั ปรัชญาที่ยกย่องความสันโดษ[ระบบ

ออนไลน์] แหล่งที่มา https://themomentum.co/soliloquy-solitude-is-great/ เชี ย งใหม่ ส ร้ า งสรรค์ creative chang mai. [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า http://www.creativechiangmai.com/th/index.php

โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำ ภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว นภัสสร กิจพันธ์ รหัส 5819102515 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.01 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิส ถาปั ต ยกรรม ย่า นโบ๊เ บ๊ เพื่ อเป็ น ศูนย์กลางย่านค้าส่ งและพื้นที่สร้างสรรค์งานสตรี ทแฟชัน่ กรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design And Planning Project of the Bobae District as a Center of Wholesale District And Street Fasion Creation Area, Bangkok. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ย่านโบเบ๊ เป็ นย่านการค้าเก่าแก่ที่สาคัญทางประวัติศาสตร์ ยา่ นหนึ่ง โดยแต่เดิมย่านเป็ นเขตพื้นที่ ของเมืองกรุ งเทพชั้นในที่มีการขุดคลองสาคัญของกรุ งเทพผ่าน ทั้งคลองมหานาคในสมัยรัชกาลที่ 1 คลองแสนแสบ ในสมัยรัชกาลที่ 3 และคลองผดุงกรุ งเกษมในสมัยรัชกาลที่ 4 ซึ่ งทาให้เกิดการคมนาคมทางน้ าจนนามาสู่ ความเป็ น ย่านการค้าทางน้ าจนมาถึงในปั จจุบนั ชุมชนโบ๊เบ๊เกิดจากการรวมตัวของชุมชนชาวจีนที่ลน้ มาจากย่านเยาวราช-สา เพ็ง ชาวไทยที่หนี ภยั เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 รวมถึงพวกแขก โดยมาอาศัยอยู่บริ เวณริ มฝั่ งคลองผดุงกรุ งเกษม มี อาชี พที่หลากหลาย โดยเฉพาะการขายของแบบแบกะดิน คนในชุมชนได้ยา้ ยมาอยู่บริ เวณวัดบรมนิ เวศ และบริ เวณ ทางรถไฟ ซึ่ งในช่ วงนั้นสิ นค้าอุปโภคบริ โภคขาดแคลน และทาให้ท้ งั ชาวไทยและชาวจีนมารวมตัวค้าขายบริ เวณ วัดบรมนิ เวศ ทาให้เกิดการขยายตัวออกไป ซึ่ งในช่ วงนั้นตลาดโบ๊เบ๊ได้เปิ ดโอกาสให้คา้ ขายได้อย่างเสรี ซึ่ งส่ วน ใหญ่ จะเป็ นเสื้ อ ผ้า ซึ่ งมักจะเป็ นผลผลิ ตจากอุ ตสาหกรรมในครั วเรื อน ซึ่ งทาให้ไ ด้สินค้าที่ มีค วามหลากหลาย ประณี ต มีเอกลักษณ์โดยเฉพาะความเป็ นงานฝี มือ และความคิดสร้างสรรค์ของผูผ้ ลิต ในปั จจุบนั ย่านโบ๊เบ๊มีขอบเขตที่ กว้างขึ้ น เขตพื้นที่ ย่านอยู่ในเขตการปกครองสามเขต คื อ เขต ป้ อมปราบศัตรู พ่าย แขวงมหานาค เขตดุสิต ในแขวงสี่ แยกมหานาค และเขตปทุมวันในแขวงรองเมือง โดยตั้งอยู่ ในช่ วงถนนตั้งแต่ แยกกษัตริ ยศ์ ึ กจนถึงแยกสะพานขาว สองฝั่ งคลองผดุงกรุ งเกษม ซึ่ งชุ มชนโบ๊เบ๊ได้กลายเป็ น ชุมชนการค้าเต็มรู ปแบบที่มีตึกแถวมากกว่า 500 คูหา และมีแผงลอยมากกว่า 1000 แผง ได้กลายเป็ นศูนย์กระจาย สิ นค้า ส่ งโดยเฉพาะในอุต สาหกรรมเสื้ อผ้า โดยมี ค วามแตกต่ า งกับศู นย์กระจายสิ นค้า อื่ นๆ เพราะเป็ นสิ นค้า สาเร็ จรู ป ที่คนระดับกลางเข้าถึงได้ง่าย แต่โดยส่ วนใหญ่ในปัจจุบนั จะเป็ นสิ นค้าจากโรงงาน ทาให้มีผผู ้ ลิตสิ นค้าใน ครัวเรื อนเหลือน้อยลง ( บุญยง ชัยสุ วิมล,2543 ) ถึงแม้จะทาให้สามารถขายสิ นค้าในปริ มาณที่มากขึ้นและราคาที่ถูก ลงเข้าถึงกลุ่มลูกค้าที่หลากหลายมากขึ้น แต่เอกลักษณ์และคุณค่าของสิ นค้าโดยเฉพาะในด้านงานฝี มือหายไป เกิ ด


ภาวะสิ นค้าราคาถูก มีคู่แข่งเยอะขึ้น และขายสิ นค้ายากขึ้น และเนื่ องจากเป็ นย่านพาณิ ชยกรรมที่มีความหนาแน่ น ของทั้งผูซ้ ้ื อและผูข้ ายทาให้เกิดภาพลักษณ์ของความวุน่ วาย และไร้ระเบียบของย่าน รวมถึงขาดการจัดระเบียบการ คมนาคมทาให้เกิดปัญหารถติดในช่วงเวลาเร่ งรี บ และเกิดปัญหาการรุ กล้ าพื้นที่สาธารณะของเมือง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติปัจจุบนั ฉบับที่ 12 ปี พ.ศ. 2560 - 2564 ได้มุ่งเน้นการนา ความคิดสร้างสรรค์และการพัฒนานวัตกรรมเพื่อทาให้เกิ ดสิ่ งใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ รายงานผลวิจยั ของ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปี 2552 6 พื้ นที่ ส ร้ างสรรค์กรุ งเทพฯ(Six Bangkok CreativeSpaces) ได้วิเ คราะห์ ศกั ยภาพพื้ นที่ เ มื องกรุ งเทพฯ ที่ ส ามารถ พัฒนาเป็ นย่านสร้างสรรค์ โดยเน้นพื้นที่ที่มีจุดแข็งที่สามารถพัฒนาได้ในช่วงระยะเวลาปี 2552 ได้แก่ จตุจกั ร ทอง หล่อ สยามสแควร์ ทาวน์อินทาวน์ อาร์ ซีเอ และสุ ขุมวิท และได้มีขอ้ เสนอเกี่ยวกับย่านโบ๊เบ๊ในฐานะย่านที่สามารถ พัฒนาเป็ นย่านสร้างสรรค์ในอุตสาหกรรมแฟชัน่ และการค้าได้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 กรมส่ งเสริ มอุตสาหกรรม ก็ ได้มีการผลักดันย่านโบ๊เบ๊ให้เป็ นศูนย์คา้ ส่ งของอาเซี ยน ดังนั้นโครงการการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านโบ๊เบ๊ เพื่อเป็ นศูนย์กลางย่านค้า ส่ งและพื้นที่สร้างสรรค์งานสตรี ทแฟชัน่ ในธุรกิจการค้าวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย จึงมีศกั ยภาพที่ น่าสนใจในการศึ กษาการพัฒนาย่านโบ๊เบ๊สู่การเป็ นพื้นที่ ที่สนับสนุ นการเกิ ดความคิ ดสร้างสรรค์ สนับสนุ นการ เติ บโตของกลุ่มผูป้ ระกอบการรายย่อยของไทยมากขึ้ น และจัดระเบี ยบและพัฒนาพื้ นที่ สาธารณะร่ วมกับพื้ นที่ เอกชน เพื่อยกระดับย่านโบ๊เบ๊ต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อยกระดับย่า นโบ๊ เบ๊เป็ นศู นย์กลางการขายส่ งสิ นค้าในอุต สาหกรรมสตรี ท แฟชัน่ โดยผูป้ ระกอบการรายย่อยของไทยของเอเชีย 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มและเป็ นแหล่งกระตุน้ ความคิ ดสร้างสรรค์ โดยเฉพาะอุตสาหกรรม แฟชัน่ ในผูป้ ระกอบการรายย่อย (SME) 4.1.3 เพื่อปรับปรุ งพื้นที่ ย่านโบ๊เบ๊ ที่ ในย่านตามศักยภาพที่ เหมาะสม เพื่ อเพิ่ มการใช้ ประโยชน์ที่ดินอย่างสู งสุ ด 4.1.4 เพื่อส่ งเสริ มและกระตุน้ การท่องเที่ยวในย่านโบ๊เบ๊ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมกับพื้นที่ยา่ นโบ๊เบ๊ 4.2.2 เพื่ อ ศึ กษาพื้ นที่ ย่า นโบ๊เบ๊ ในการนามาประกอบการวิ เคราะห์ศกั ยภาพในการ พัฒนา 4.2.3 เพื่ อศึ กษากระบวนการผลิ ต สิ นค้า อุ ต สาหกรรมแฟชั่น และบทบาททางด้า น การค้าของย่านโบ๊เบ๊ 4.2.4 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและข้อมูลต่างๆของผูใ้ ช้พ้ืนที่ ต่อบทบาททางการค้าและการ ผลิตของย่านโบ๊เบ๊


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

สาขา วิชาภูมิสถาปัตยกรรม แผนที่ 1 แสดงขอบเขตพื้ น ที่ ศึกษา สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา

No To Scale ที่มำ : www.google.co.th/maps

โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ย่านการค้าตลาดโบ๊เบ๊ เพื่อเป็ นศู นย์รวมแหล่ง นางสาวนภัสสร กิจพันธ์ สร้างสรรค์และศูนย์กลางสตรี ทแฟชัน่ 5819102515


สาขา วิชาภูมิสถาปัตยกรรม แผนที่ 2 แสดงการเข้าถึงพื้นที่ สัญลักษณ์ ถนนหลานหลวง ถนนกรุ งเกษม ถนนวรจักร ถนนดารงรักษ์ ถนนบารุ งเมือง ถนนพลับพลาไชย

คลองมหานาค คลองแสนแสบ คลองกรุ งเกษม

No To Scale ที่มำ : https://www.arcgis.com/home/ webmap/viewer.html

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ย่านการค้าตลาดโบ๊เบ๊ เพื่อเป็ นศูนย์รวมแหล่ง นางสาวนภัสสร กิจพันธ์ 5819102515 สร้างสรรค์และศูนย์กลางสตรี ทแฟชัน่

5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการตั้งอยู่ในกรุ งเทพมหานคร มีอาณาเขตอยู่ใน 3 เขตปกครอง คือ แขวงดุสิต เขต สี่ แยกมหานาค เขตปทุมวัน แขวงรองเมือง และเขตป้ อมปราบศัตรู พ่าย แขวงคลองมหานาค มีเนื้ อที่ประมาณ 245 ไร่ โดยส่ วนใหญ่พ้ืนที่เป็ นกรรมสิ ทธิ์ ของกรุ งเทพมหานครและเอกชน โดยพื้นที่ว่างสาธารณะ พื้นที่ถนนและทาง เท้า และพื้นที่คลองสาธารณะ เป็ นพื้นที่ของกรุ งเทพมหานคร


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ย่านโบ๊เบ๊มีการเจริ ญเติบโตที่มากขึ้นเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเสื้ อผ้าและสิ่ งทอ แต่ ยังขาดการผลักดันในเรื่ องของการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตและความรู ้ความเข้าใจและความใส่ ใจในเรื่ อง ลิขสิ ทธิ์ 5.2.2 เนื่ อ งจากพื้ น ที่ ย่ า นโบ๊ เ บ๊ มี ป ระวัติ ศ าสตร์ เ กี่ ย วกับ การค้า ขายและผลิ ต สิ น ค้า ใน อุตสาหกรรมเสื้ อผ้าของผูผ้ ลิตในครัวเรื อนและผูผ้ ลิตรายย่อยมาเป็ นเวลายาวนาน มีชื่อเสี ยงและเอกลักษณ์มาตั้งแต่ อดีตถึงปัจจุบนั 5.2.3 จากนโยบายการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ของกรุ งเทพมหานคร ที่มีการผลักดัน กรุ งเทพ สู่ การเป็ นเมืองอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ มีการเสนอชื่อย่านโบ๊เบ๊ให้เป็ นย่านที่สามารถพัฒนาเป็ นย่านสร้างสรรค์ได้ ในเชิงอุตสาหกรรมแฟชัน่ แต่ยงั ไม่เกิดการพัฒนาย่านอย่างเป็ นรู ปธรรมในปัจจุบนั 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ทิศเหนือ ด้านฝั่งซ้ายของคลองผดุงกรุ งเกษม ติดถนนหลานหลวง ด้านฝั่งขวาของคลองผดุงกรุ งเกษม ติ ดตลาดผดุงกรุ งเกษม และชุมชนในซอย พญานาค ทิศตะวันออก ติดชุมชนในซอยพญานาคและทางรถไฟ ทิศตะวันตก ทางทิศเหนือของคลองมหานาค ติดชุมชนมหานาค ทางทิ ศ ใต้ของคลองมหานาค ติ ดชุ มชนมัสยิดมหานาค และโรงพยาบาลหัว เฉี ยว ทิศใต้ ติดสานักงานการพลังงานแห่งชาติ ที่ดินมูลนิธิปอเต็กตึ้ง 7. บรรณานุกรม จิราภา ธนาไชยสกุล. 2544. บทบำทด้ ำนกำรค้ ำและกำรผลิตของย่ ำนโบ๊ เบ๊ กรุ งเทพมหำนคร. กรุ งเทพมหานคร: ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์. บุญยง ชื่นสุ วิมล. 2543. สถำบันครอบครัวของกลุ่มชำติพนั ธุ์ในเขตกรุ งเทพมหำนคร : ระบบครอบครัว และควำมสั มพันธ์ ทำงสั งคมของคนไทยเชื้อสำยจีนในชุมชนโบ๊ เบ๊ . กรุ งเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พีรดร แก้วลาย , และ ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า. 2554. โครงกำรศึกษำแนวทำงกำรพัฒนำกรุ งเทพฯและ จังหวัดเชียงใหม่ ส่ ู มืองสร้ ำงสรรค์ . กรุ งเทพมหานคร: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง. พีรดร แก้วลาย, และ ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า. 2556. เมืองสร้ ำงสรรค์ : แนวทำงกำรพัฒนำเมืองจำก สิ นทรัพย์ สร้ ำงสรรค์ ท้องถิ่นไทย. กรุ งเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. "ทาไมไทยต้องพัฒนาเมือง สร้างสรรค์ (Creative City)" Competitiveness Newsletter, 1-7.


โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย นฤพนธ์ บูรณสุ บรรณ รหัส 5819102516 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.32 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1 หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศริ มทะเล ซี ไซด์ รี สอร์ท อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 2 หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Seaside Resort, Thalang, Phuket. 3 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดภูเก็ตเป็ นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีนกั ท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาท่องเที่ยวปี ละไม่ต่ ากว่า 1 ล้านคน จานวนนักท่องเที่ ยวเหล่านี้ ที่เข้ามาทาให้ธุรกิ จการท่องเที่ ยวในจังหวัดมีความเจริ ญเติ มโต มากยิ่งขึ้น ซึ่ งแหล่งท่องเที่ยวภายในจังหวัดมีความหลากหลายไม่ใช่เพียงแค่ลกั ษณะภูมิประเทศที่สวยงามเพียงอย่าง เดียวแต่ยงั มีความเป็ นวัฒนธรรมดัง่ เดิมที่สืบต่อกันมา ทั้งสถาปัตยกรรมและวิถีชีวิต ซึ่ งสิ่ งเหล่านี้ทาให้เกิดรายได้แก่ คนในท้องถิ่นเดิมอีกด้วย และอีกปั จจัยหนึ่ งที่สาคัญต่อเมืองนี้ คือ ระบบนิ เวศป่ าชายเลน ซึ่ งมีอยู่อย่างหนาแน่นทาง ทิ ศตะวันออกของเกาะ โดยในบริ เวณนั้นจะมี ถิ่นที่ อยู่และอาชี พของชาวประมงเป็ นจานวนมากเพราะมี แหล่ ง ทรัพยากรสมบูรณ์ทาให้เหล่าสัตว์น้ าและพืชพันธ์มีอยูอ่ ย่างมาก นอกจากนี้ ในปั จจุบนั ฝั่งทิศตะวันออกของเกาะยังมี จานวนที่พกั สาหรับนักท่องเที่ยวไม่เยอะมากจึงทาให้เกิดโครงการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและวางผังสถานพัก ตากอากาศริ มทะเล ซี ไซด์ รี สอร์ท อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต ซึ่ งมีพ้ืนที่โครงการตั้งอยู่บนพื้นที่ติดป่ าชายเลนฝั่งทิศ ตะวันออกของเกาะภูเก็ต มีวิวมุมมองที่สวยงามและยังได้สมั ผัสกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด 4 วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นที่รองรับและขยายตัวในด้านการให้บริ การที่พกั และแหล่งท่องเที่ยวของ จังหวัดภูเก็ตทางฝั่งตะวันออกของเกาะ


4.1.2 เพื่อให้นกั ท่องเที่ ยวได้สัมผัสกับธรรมชาติ อย่างใกล้ชิดและเรี ยนรู ้กบั ทรัพยากร ป่ าชายเลนและสวนผลไม้ 4.1.3 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมและสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสุ นทรี ยภาพ ให้เหมาะแก่การเป็ นโครงการสถานพักตากอากาศ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาถึงข้อมูล วิธีการออกแบบและวางผัง ภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตาก อากาศริ มทะเล 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการนาจุดเด่นของพื้นที่รวมถึงสภาพและลักษณะภูมิประเทศที่ สามารถรองรับต่อการออกแบบวางผังโครงการได้ 4.2.3 เพื่ อศึ กษาความสัมพันธ์ระหว่างกิ จกรรมอันเกี่ ยวข้องกับสภาพแวดล้อมที่ เป็ น ธรรมชาติกบั วัฒนธรรมชุมชน 5 สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยูท่ ี่ ริ มทะเล ซอยบางเตย ตาบลป่ าคลอก อาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการมีลกั ษณะภูมิประเทศติดทะเลสามารถมองเห็นทัศนี ยภาพได้อย่างชัดเจน ซึ่ ง เป็ นพื้นที่ใกล้กบั ท่าเทียบเรื อบางโรงจึงสะดวกแก่การเดินทาง 5.2.2 เป็ นพื้นที่ที่มีเกษตรกรรมสวนมะพร้าวอยูแ่ ล้วและยังเป็ นพื้นที่ติดระบบนิ เวศป่ าชายเลนจึง ทาให้พ้ืนที่มีคุณค่ามากยิ่งขึ้น


โครงกำรออกแบบภูมสิ ถำปัตยกรรมและวำงผัง สถำนพักตำกอำกำศริมทะเล ซีไซด์ รีสอร์ ท อำเภอถลำง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 1 แสดงบริ เวณโดยรอบและการเข้าถึงพื้นที่ของโครงการ สัญลักษณ์

เส้นถนนหมายเลข 4027 ขอบเขตพื้นที่โครงการ ซอยทางเข้าพื้นที่โครงการ พื้นที่ บ่อกุง้ ป่ าชายเลน

มาตราส่วน ที่มา

ดัดแปลงมาจาก Google Map


โครงกำรออกแบบภูมสิ ถำปัตยกรรมและวำงผัง สถำนพักตำกอำกำศริมทะเล ซีไซด์ รีสอร์ ท อำเภอถลำง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 2 แสดงบริ เวณโดยรอบและการเข้าถึงพื้นที่ของโครงการ สัญลักษณ์

มาตราส่วน ที่มา

พื้นที่ขอบเขตการศึกษา (71ไร่ )

ดัดแปลงมาจาก Google Map




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวนฤภร สิ งห์ชยั รหัส 5819102517 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.37 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมบ้านพักคนชรา เนเบอร์ฮูดแคร์ เขต มีนบุรี จังหวัดกรุ งเทพมหานคร 2. หั ว ข้ อ เ รื่ อ ง ( ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Neighborhood Care Nursing Home, Bangkok. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ในสภาวะที่ หลายประเทศทัว่ โลกกาลังก้าวเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุ (Aging Society) หรื อสังคมที่ มี ประชากรอายุ 65 ปี ขึ้ นไปมากกว่าร้อยละ 7 ของจานวนประชากรทั้งหมด และประชากรโลกจะกลายเป็ นสังคม ผูส้ ูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ในอีก 35 ปี ข้างหน้า โดยจะมีประชากรอายุ 65 ปี ขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 14 ของ ประชากรทั้งหมด โดยประเทศพัฒนาแล้วมีแนวโน้มเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุเร็ วกว่าประเทศกาลังพัฒนา ประเทศใน แถบยุโรปส่ วนใหญ่เข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุแล้ว ตามมาด้วยประเทศในเอเชีย ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ สิ งคโปร์ รวมถึงไทย การให้บริ การด้านที่ พกั สาหรั บการที่ พกั ระยะยาว (ลองสเตย์) ของผูส้ ู งอายุต่างชาติ ในไทยมี แนวโน้มเติ บโตเฉลี่ ย 21% ต่ อปี ซึ่ งได้รับผลจากจานวนผูข้ อวีซ่าที่ เพิ่ มขึ้ น การที่ ชาวต่ างชาติ เลื อกที่ จะมาพักที่ ประเทศไทยเนื่ องจากสภาพภูมิอากาศ ค่าครองชีพ และการดาเนินชี วิตที่เรี ยบง่ายของประเทศไทย และการขยายตัว ของจานวนผูข้ อวีซ่ามีแนวโน้มเดียวกันกับสัดส่ วนของนักท่องเที่ยวสู งอายุที่เพิ่มขึ้นทุกปี ส่ งผลให้ความต้องการที่ พักสาหรับการพานักระยะยาวมีโอกาสขยายตัวสูง ขณะเดี ยวกันในประเทศไทยมีอตั ราการเกิ ดใหม่ที่ลดลง ขณะที่ อตั ราผูส้ ู งอายุอายุมากขึ้ น ซึ่ งมี กลุ่มของนักลงทุนได้คาดว่าอัตราการเติ บโตของจานวนผูส้ ู งอายุในไทยจากเดิ มเพิ่มจาก10% ในปี 2015 ไปสู่ 20% ในปี 2030 จนเกิ ดช่ องว่าง ที่ ทาให้ผสู ้ ู งอายุจานวนมากไม่มีผดู ้ ูแล และสภาวะที่ ร่างกายที่ เปลี่ยนไป ลักษณะบ้าน แบบเดิมนั้นไม่ได้สนับสนุนให้ใช้ชีวิตได้อย่างเต็มที่ ชี วิตสู งวัยในประเทศไทยมี ภาพจาที่ เป็ นคุ ณตาคุณยายที่ มีหลานๆรายล้อม และตัวเลื อกที่ ต่าง ออกไปคือบ้านพักคนชราอย่างเช่น ‘บ้านบางแค’ สังกัดกรมกิจการผูส้ ู งอายุซ่ ึ งมีท้ งั แบบสงเคราะห์หรื อแบบเช่าอยู่


อย่ า งหอพัก หรื อ คอนโดทางเลื อ กเพื่ อ ผูส้ ู ง อายุ อ ย่ า ง ‘สวางคนิ เ วศ’ ของสภากาชาดไทยซึ่ งขยับ ออกไปอยู่ สมุทรปราการ และความเป็ นอยู่ของผูส้ ู งอายุที่ไม่ได้อยู่กบั ลูกหลานดูเหมือนจะถูกจัดให้เป็ นบริ การสาธารณะเสี ย ส่ วนใหญ่ซ่ ึ งโครงการเพื่อผูส้ ูงอายุบางส่ วน มักมีทาเลอยูไ่ กลเมืองแยกเป็ นสังคมเอกเทศออกจากคนรุ่ นอื่น โดยเน้น ที่อากาศบริ สุทธิ์ ซึ่ งนัน่ อาจจะไม่ใช่ สิ่งแรกที่ กลุ่ม 'ผูส้ ู งวัย 'รุ่ นใหม่' ต้องการแต่ภูมิทศั น์ธุรกิ จตรงนี้ เปลี่ยนไป คน ไทยทัว่ ๆ ไปเริ่ มตระหนักถึ งการใช้ชี วิต สู งวัย อย่า งไม่พ่ ึ งพิ งลูกหลานมากขึ้ น ไม่ว่าจะเป็ นเพราะคนปั จ จุ บัน มี ทัศนคติไม่ตอ้ งการเป็ นภาระ หรื อเป็ นเพราะประชากรจานวนมาก ‘เลือก’ ที่จะไม่แต่งงาน หรื อไม่มีลกู ตั้งแต่ตน้ จากข้อมูลดังกล่าวนักลงทุ นทั้งไทยและต่างประเทศเข้ามาลงทุ นในไทยเกี่ ยวกับที่ อยู่อาศัยสาหรั บ ผูส้ ู ง อายุ ในกรุ ง เทพที่ ม ากขึ้ น จึ ง เสนอโครงการนี้ ขึ้ น เพื่ อ เป็ นที่ อ ยู่อ าศัย ส าหรั บ ผูส้ ู ง วัย รุ่ น ใหม่ ในจัง หวัด กรุ งเทพมหานคร โดยต้องการที่พกั ที่มีความสะดวกสบาย สวยงาม และชี วิตที่ไม่ได้อยู่แค่ในอาคารแต่คือการที่ไป ทากิจกรรมอย่างอื่นได้สะดวก 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อออกแบบและวางผังบ้านพักสาหรับรองรับ ผูส้ ู งวัยรุ่ นใหม่หมายถึงคนทางาน เจเนอเรชัน X เป็ นต้นไปที่กาลังก้าวสู่วยั เกษียณในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า ที่มีอายุระหว่าง 55-75ปี เป็ นต้นไป 4.1.2 เพื่ อพัฒนาที่ พ กั อาศัย ของผูส้ ู งอายุ ให้สามารถพึ่ งพาตนเองได้ มี ส่วนร่ วมกับ ชุ มชนโดยรอบ และรวมถึงการขนส่ งที่ สามารถไปยังตัวเมืองกรุ งเทพ และต่างจังหวัดหรื อต่างประเทศได้อย่า ง สะดวก 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาพฤติ กรรมของผูส้ ู งวัย รุ่ นใหม่ ค นไทย และต่ า งประเทศ เพื่ อ นาไป ประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังบ้านพักคนชราให้เหมาะสมต่อกลุ่มเป้ าหมาย 4.2.2 เพื่อออกแบบวางผังบ้านพักสาหรับรองรับ ผูส้ ูงวัยรุ่ นใหม่ ตามมาตรฐานสากล 4.2.3 เพื่อศึกษาชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม ของชุมชนโดยรอบ เพื่อนามาเป็ นแนวทาง ในการออกแบบวางผัง 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ แขวง มีนบุรี เขต มีนบุรี กรุ งเทพมหานคร โดยพื้นที่ ดงั กล่าวมี พ้ื นที่ ทั้งหมด 54ไร่ 3 งาน 58.55 ตารางวา 5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ที่ติดกับสถานี รถไฟฟ้ า(จะสร้างเสร็ จปี 2563) และสนามบินสุ วรรณภูมิ ซึ่ งมีความสะดวกในการเดินทางเข้าเมืองกรุ งเทพ และออกต่างจังหวัดหรื อต่างประเทศ 5.2.2 การเข้าถึงสะดวก เป็ นพื้นที่ที่อยูต่ ิดกับถนนรามคาแหงซึ่ งเป็ นถนนสายหลัก 5.2.3 สถานที่ โ ครงการจริ งมี โ รงพยาบาลใกล้ที่ สุ ด ใช้ เ วลา 6นาที ในการไป โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด




Scanned with CamScanner


Scanned with CamScanner


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายปริ พฒั น แซ่ เตี๋ ยว รหัส 5819102518 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.85 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผัง ภู มิส ถาปั ตยกรรมอุทยานการเรี ย นรู ้ พ นั ธุ์ ปลา สวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Ornamental freshwater fish Learning Park, Mueang Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปลาสวยงามนั้น แบ่ งออกเป็ นกลุ่ มใหญ่ ๆ ได้ส ามกล่ ม กลุ่ มแรกคื อ ปลาที่ เ ก็บรวบรวมจาก ธรรมชาติ กลุ่มที่ สองคื อปลาที่ ได้จากการเพาะเลี้ยงในประเทศ ซึ่ งมีท้ งั ปลาพื้นเมืองของไทย และปลานาเข้าจาก ต่างประเทศ กลุ่มที่สาม คือปลาที่นาเข้าจากต่างประเทศ ซึ่ งประเทศไทยน่าจะมีศกั ยภาพเพียงพอที่จะเพาะเลี้ยงปลา สวยงามได้แทบทุกชนิด ถ้ามีการส่ งเสริ ม และศึกษาอย่างจริ งจัง เนื่องจากในปัจจุบนั ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีการส่ งออกปลาสวยงามเป็ นอันดับ 7 ของโลกซึ่ ง มีแนวโน้มผูส้ นใจที่อยากจะเริ่ มเลี้ยงอยากเพาะพันธุ์ปลาและอยากศึกษาเกี่ยวกับพันธุ์ปลาสวยงามมากขึ้นที่สามารถ ดูได้จากการนาเข้าและการส่ งออกปลาที่เพิ่มขึ้นในทุกๆปี จากสถิติยอ้ นหลัง 10 ปี ซึ่ งเชี ยงใหม่มีศกั ยภาพพอที่ จะ พัฒนาเป็ นพื้นที่ เลี้ยงและพื้นที่ เพาะพันธุ์ปลาสวยงาม แต่จงั หวัดเชี ยงใหม่มีเพียงแหล่งที่ ซ้ื อขายพันธุ์ปลาสวยงาม เพียงแหล่งเดี ยวเท่านั้นคือที่ ตลาดคาเที่ ยง ซึ่ งผูท้ ี่ สนใจเกี่ ยวกับพันธุ์ปลาสวยงามสามารถไปซื้ อปลาได้ดว้ ยตัวเอง และบวกกับไม่มีพ้ืนที่ ที่ให้มาสามารถจัดแสดงความรัก ความสามารถในการเลี้ยงปลาของผูเ้ ลี้ยง จึงเป็ นที่มาของ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อ.เมือง จ.เชี ยงใหม่ หรื อ fish community นี้ ข้ ึนเพื่อให้นกั เลี้ยงปลาและบุคคลทัว่ ไปที่เริ่ มสนใจอยากเลี้ยง อยากเพาะพันธุ์และ อยากศึกษาเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับปลาสวยงามได้เข้ามาศึกษาหาความรู ้บวกกับมีสถานที่ที่สามารถใกล้ชิดกับปลาเพื่อใช้เป็ นสถานที่พกั ผ่อน หย่อนใจและได้ผอ่ นคลาย พื้นที่จดั แสดงเพื่อการประกวดปลาของภาคเหนือ ฟาร์มเพาะพันธุ์ปลา สถานที่ที่สามารถ เข้ามาเพื่อพักผ่อนหย่อนใจและเป็ นสถานที่พบปะสังสรรค์ของกลุ่มlสมาคมคนที่รักปลาหรื อผูท้ ี่สนใจอยากเริ่ มเลี้ยง ปลาสวยงาม


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อเป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้ และศึ กษาเพาะพันธุ์ เกี่ ยวกับพันธุ์ปลาสวยงามให้กบั บุคคลทัว่ ไปที่สนใจอยากเริ่ มที่จะเลี้ยงปลา 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่ ที่สามารถเข้ามาพักผ่อนหย่อนใจและสามารถใกล้ชิดกับพันธุ์ ปลาสวยงาม ของกลุ่มคนรักปลาและบุคคลทัว่ ไป 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งซื้ อขายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับปลาสวยงาม 4.1.4 เพื่อเป็ นสถานที่จดั ประกวดปลาสวยงามภาคเหนื อและเป็ นสถานที่ที่พบปะของ กลุ่มคนรักปลาและบุคคลทัว่ ไป 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาข้อมูลที่มีผลต่อการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งการท่องเที่ยวและ สถานที่ที่บุคคลทัว่ ไปหรื อนักเลี้ยงปลาสามารถเข้ามาใช้งาน 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมแหล่ ง เรี ยนรู ้ แ ละแหล่ ง เพาะพันธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด 4.2.3 เพื่ อศึ กษาแนวทางการออกแบบภู มิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่ องเที่ ยวซื้ อขายและ ใกล้ชิดกับพันธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ต.ป่ าแดด อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50100 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เนื่ อ งจากพื้ น ที่ โ ครงการตั้ง อยุ่บ นพื้ น ที่ สี ส้ ม ที่ เ ป็ นพื้ น ที่ อ ยู่อ าศัย ปานกลางซึ่ งมี ศักยภาพที่ สามารถสร้างเป็ นแหล่งการเรี ยนรู ้และแหล่งการซื้ อขายพันธุ์ปลาสวยงามและพื้นที่ โครงการสามารถ เข้าถึงได้ง่ายและอยู่ใกล้ตวั เมืองจังหัวเชี ยงใหม่ระยะทางประมาณ 4-5 กิโลเมตร ซึ่ งอยู่ใกล้สนามบินเชี ยงใหม่และ สถาบันการศึกษาต่างๆ เรื่ องการเข้าถึงพื้นที่โครงการก็สามารถเข้าได้อย่างสะดวกเนื่ องจากพื้นที่โครงการตั้งอยูต่ ิด กับถนนซูปเปอร์ไฮเวย์เลี่ยงเมืองรอบที่ 1 และเป็ นเส้นทางก่อนเข้าตัวเมืองเชียงใหม่จากจังหวัดต่างๆใกล้เคียง ที่คน สัญจรผ่านซึ่ งสามารถมองเห็นและเข้าถึงพื้นที่ต้ งั ของโครงการได้ง่ายและสามารถเป็ นสถานที่ที่สามารถให้ความรู ้ที่ ดีให้กบั สถาบันการศึกษาและชุมชนต่างๆที่อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียง


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 Site selection สัญลักษณ์

Site selection A Site selection B Site selection C Not to scale

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 ผังสี การใช้ที่ดินจังหวัดเชียงใหม่ และ ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ที่ดินประเภทที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นน้อย ที่ดินประเภทที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นปานกลาง

Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 3 ขอบเขตพื้นที่โครงการ Site selection 1 สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 1141 ถนนเชียงใหม่-หางดง ถนนบุญเรื องฤทธิ์ ถนนซูปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลาปาง ถนนทิพย์เนตร ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 4 ขอบเขตพื้นที่โครงการ Site selection 2 สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนรอบเมืองเชียงใหม่ รอบ 3 ถนนเลี่ยงเมืองสันป่ าตอง-หางดง ถนนเชียงใหม่-หางดง Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 5 ขอบเขตพื้นที่โครงการ Site selection 3 สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนซูปเปอร์ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลาปาง ถนนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ถนนหมายเลข 1001 ถนนรอบเมืองเชียงใหม่ รอบ 3 ถนนเชียงใหม่ดอยสะเก็ด ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )

Not to scale


ตาบลป่ าแดด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ อยูต่ ิดกับศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซ่าเชียงใหม่แอร์พอร์ต สนามบิน เชียงใหม่ และถานศึกษาต่างๆ ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 3 กิโลเมตร

ตาบลหนองควาย อาเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ อยูใ่ กล้กบั เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี และอุทยานหลวงราชพฤกษ์ 4 กิโลเมตรและ อยูห่ ่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 8 กิโลเมตร

ตาบลฟ้าฮ่าม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ สี่ แยกมีโชคพลาซ่า ติดกับเทสโก้โลตัส รวมโชคและรวมโชคมอลล์ หลังมิสซูแสงชัย สี่ แยกรวมโชค ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ 4 กิโลเมตร


พื้นที่โครงการ A การเข้าถึงพื้นที่โครงการ มุมมองในการเห็นพื้นที่ โครงการ ขนาดของพื้นที่โครงการ ความน่าสนใจของพื้นที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โดยรอบพื้นที่ โครงการ

A

B

C

พื้นที่โครงการ B การเข้าถึงพื้นที่โครงการ มุมมองในการเห็นพื้นที่ โครงการ ขนาดของพื้นที่โครงการ ความน่าสนใจของพื้นที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โดยรอบพื้นที่ โครงการ

A

B

C

พื้นที่โครงการ B การเข้าถึงพื้นที่โครงการ มุมมองในการเห็นพื้นที่ โครงการ ขนาดของพื้นที่โครงการ ความน่าสนใจของพื้นที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โดยรอบพื้นที่ โครงการ

A

B

C


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 6 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 1141 ถนนทางหลวงหมายเลข 108 Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 7 แสดง Linkage สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ โรงเรี ยนกาวิละวิทยาลัย โรงเรี ยนมงฟอร์ตวิทยาลัย ท่าอากาศยานเชียงใหม่ โรงเรี ยนเรยีนาเชรี วิทยาลัย โรงเรี ยนมงฟอร์ตแผนกประถม โรงเรี ยนเชียงใหม่คริ สเตียน ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth ( 24 ธันวาคม 25561 )

โรงเรี ยนวัฒโนทัยพายัพ โรงเรี ยนพิมานเด็กเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โรงเรี ยนวารี เชียงใหม่ โรงเรี ยนพระหฤทัย

Not to scale


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พนั ธุ์ปลาสวยงามน้ าจืด อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่มีพ้ืนที่ศึกษาประมาณ 140 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับตัวเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ทิศใต้ ติดกับถนนทางหลวงหมายเลข108 ทิศตะวันออก ติดกับสถาบันการศึกษาต่างๆ ทิศตะวันตก ติดกับห้างสรรพสิ นค้าโรบินสันและสนามบินเชียงใหม่ 7. บรรณานุกรม คู่มือดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb ( 15 ธันวาคม 2561 ) ด่านตรวจสัตว์น้ าท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ เขตปลอดอากร ตาบล ราชาเทวะอาเภอบางพลี จังหวัด จังหวัดสมุทรปราการ 10540 สถิติการนาเข้า ส่ งออก และน้ าผ่านสัตว์น้ าทาง ท่าอากาศยาน สุ วรรณภูมิประจาปี 2560 https://www4.fisheries.go.th/local/file_document/( 15 ธันวาคม 2561) ม. 6 ต. ชัยฤทธิ์ อ.ไชโย จ.อ่างทอง ๑๔๑๔๐ โทร. ๐ ๓๕๖๑ ๓๐๒๕ ปลาสวยงามศักยภาพ การวิจยั และพัฒนาระบบการตลาดและการส่ งออกของประเทศไทย ( 15 ธันวาคม 2561 ) กลุ่มวิจยั และวิเคราะห์สถิติการประมง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กรมประมง สิ งหาคม 2558 สถิติการประมงแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2556 FISHERIES STATISTICS OFTHAILAND2013 https://www.fisheries.go.th ( 15 ธันวาคม 2561 ) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวปรี ดาภรณ์ ทิพวรรณ์ รหัส 5819102519 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึ กษา จํานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.42 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกง ย่านสะพานฉะเชิงเทราเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 2. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ): The Landscape Architectural Design and Improvement Project of The Bang Pakong Riverfront Public space, Chachoengsao 72nd Anniversary Commemoration Bridge District, Muang, Chachoengsao. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดฉะเชิงเทรา หรื ออีกชื่อหนึ่งที่คนท้องถิ่นนิยมเรี ยกคือ “แปดริ้ ว” เป็ นเมืองที่มีความเก่าแก่มี ระยะเวลายาวนานหลายร้อยปี ที่เกิดขึ้นจากบริ เวณลุ่มนํ้าที่มีความอุดมสมบูรณ์ คือแม่น้ าํ บางปะกงและเป็ นเมืองที่มี ความสําคัญของภาคตะวันออกที่ มีอาณาเขตติ ดต่อกับกรุ งเทพมหานคร ตั้งอยู่สองฝั่ งแม่น้ าํ บางปะกง บริ เวณลุ่ม แม่น้ าํ บางปะกงซึ่ งเป็ นพื้นที่ มีความอุดมสมบูรณ์และยังมีพ้ื นฐานด้านการประมง การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ รวมทั้งมี ทรัพยากรธรรมชาติจาํ นวนมาก ซึ่ งแม่น้ าํ บางปะกงแต่เดิมเป็ นเส้นทางการสัญจรทางนํ้าติดต่อกับกรุ งเทพฯและเมือง ต่ า งๆ มี ก ารตั้ง ถิ่ น ฐานของย่า นการค้า ที่ สํา คัญของชาวจี น มี ท รั พ ยากรด้า นการท่ องเที่ ย วทางประวัติ ศ าสตร์ วัฒนธรรม งานเทศกาลประเพณี ของจังหวัด มีสถานที่ท่องเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและ มนุษย์สร้างขึ้นเหมาะแก่การท่องเที่ยวได้หลายรู ปแบบ พื้นสาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกงมีบทบาททางด้านศูนย์กลางทางการค้า การปกครอง การศึกษา เป็ นพื้นที่สาธารณะที่รองรับกิจกรรมและนันทานาการของผูค้ นในเมือง การจัดกิจกรรมประเพณี เทศกาลและพื้นที่ เป็ นจุดเชื่ อมต่อและอยู่ในเส้นทางเชื่ อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยวที่สาํ คัญริ มแม่น้ าํ บางปะกง เช่น สวนกําแพงเมืองเก่า สวนสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ วัดหลวงพ่อโสธร ตลาดบ้านใหม่ 100 ปี วัดจีนประชา มีชุมชนย่านริ มฝั่งแม่น้ าํ บางปะ กงย่ า นตลาดการค้า ที่ สํา คัญ ของชาวจี น ในพื้ น ที่ ด้ ัง เดิ ม และมี ค วามหลากหลายทางชาติ พ ัน ธุ์ ทั้ง ยัง มี ส ะพาน ฉะเชิ งเทราเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เป็ นตัวเชื่ อมพื้นที่และวิถีชีวิตความป็ นอยู่สองฝั่งริ มแม่น้ าํ ซึ่ งปั จจุบนั พื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกง ย่านสะพานเฉลิมพระเกียรติฉะเชิ งเทรามีการเสื่ อมโทรม บทบาททางด้านศูนย์กลาง


ทําให้เมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ ว ส่ งผลให้ชุมชนริ มแม่น้ าํ บางปะกงถูกละเลยความสําคัญลงไป บ้านเรื อนริ มแม่น้ าํ เริ่ มเสื่ อมสภาพไปตามกาลเวลา บริ เวณตลาดและย่านการศึกษาเกิดปั ญหาการจราจรติดขัด คุณภาพของแม่น้ าํ บาง ปะกงมีคุณภาพตํ่า มีการเน่าเสี ยของนํ้าในแม่น้ าํ บางปะกงจากขยะและการปล่อยของเสี ยลงแม่น้ าํ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บริ เวณเขตชุมชนเมืองหน้าแน่น ปัญหาผลกระทบต่อระบบนิเวศหลายประการเช่น เกิดความแตกต่างของระดับนํ้าที่ ขึ้นลงจากระดับเดิมที่เคยเป็ น เกิดปรากฏการณ์น้ าํ เปลี่ยนสี ผักตบชวาแพร่ กระจายหนาแน่น การพังทลายของตลิ่ง ริ มนํ้า การลุกลํ้าที่ดินจากบ้านเรื อนริ มฝั่งแม่น้ าํ จากแผนยุทธศาสตร์โครงการพัฒนาพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เนื่องจาก ฉะเชิ งเทราเป็ นพื้นที่เศรษฐกิ จใหม่โดยรัฐบาลมีนโยบายและแผนงานในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และระบบ คมนาคมขนส่ งเชื่ อมโยงผ่านจังหวัดฉะเชิ งเทราส่ งผลให้มีแผนพัฒนาพื้ นที่ ยกระดับคุ ณภาพการท่ องเที่ ยวของ จังหวัด สร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและพัฒนาเป็ นเมืองที่ น่าอยู่อาศัยชั้นดีที่ทนั สมัยและรองรับการขยายตัวของ กรุ งเทพมหานครและ EEC ซึ่ งพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกงที่ มีลกั ษณะสภาพแวดล้อมที่ สวยงาม เป็ นเมือง ศูนย์กลางทางด้านการศึ กษา การปกครอง มีย่านชุ มชนตลาดเก่าริ มแม่น้ าํ บางปะกง มีภูมิประเทศที่ เหมาะแก่การ จัด เป็ นเมื อ งท่ องเที่ ย วที่ มีศ ักยภาพทางด้า นวัฒ นธรรม ประเพณี ศาสนสถานที่ สํา คัญ ที่ เ อื้ อต่ อการพัฒ นาการ ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีศกั ยภาพและสามารถพัฒนาให้เป็ นพื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ าํ ที่มีเอกลักษณ์ ด้วยเหตุน้ ี จึ งเสนอโครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่ สาธารณะริ ม แม่น้ าํ บางปะกง ย่านสะพานฉะเชิ งเทราเฉลิมพระเกี ยรติ 72 พรรษา เนื่ องจากมีจุดเด่นทางด้านวิถีชีวิต วัฒนธรรม วิถีชีวิต การเกษตรและระบบนิ เวศริ มสองฝั่งแม่น้ าํ บางปะกง ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งวัฒนธรรม และส่ งเสริ มให้ เป็ นแหล่งท่ องเที่ ยวธรรมชาติ และระบบนิ เวศริ มแม่น้ าํ มี การอนุ รักษ์พลังงานและสิ่ งแวดล้อม สร้ างพัฒนาการ ท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งเสริ มสร้างอัตลักษณ์ดา้ นการท่องเที่ ยวของชุมชน เพื่อตอบรับกับ แผนพัฒนาพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่จะพัฒนายกระดับคุณภาพการท่องเที่ยวของจังหวัด ฉะเชิงเทรา 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกง ย่านสะพานฉะเชิ งเทราเฉลิมพระ เกียรติ ให้เป็ นพื้นที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทั้งยังเป็ นแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติริมฝั่งแม่น้ าํ บางปะเพื่อให้สอดคล้อง กับแผนพัฒนาพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกง ย่านสะพานฉะเชิ งเทราเฉลิมพระ เกียรติให้เป็ นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งเสริ มสร้างอัตลักษณ์ให้กบั พื้นที่ 4.1.3 เพื่อพัฒนาพื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกง ศูนย์กลางของจังหวัดให้เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวสําหรับคนทุกกลุ่มในสังคมโดยเน้นความปลอดภัย การจัดการด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่ งแวดล้อม ให้เกิดการเรี ยนรู ้ นําไปสู่ การยกระดับคุณภาพเมืองให้มีมาตรฐานและบริ การสาธารณะที่มีคุณภาพ


4.1.4 เพื่ อสร้ างแหล่งท่ องเที่ ยวเปิ ดพื้ นที่ เศรษฐกิ จใหม่เชิ งวัฒนธรรมและวิถีชีวิตให้ เจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืน ซึ่ งจะนําไปสู่ การกระจายความเจริ ญและกระตุน้ เศรษฐกิจของจังหวัด และพัฒนาเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวให้มีความเชื่อมโยงกับสถานที่ท่องเที่ยวเดิม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่สาธารณะ ริ มแม่น้ าํ บางปะกงให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พื้นที่เศรษฐกิจใหม่ที่มีการเจริ ญเติบโตอย่างยัง่ ยืน 4.2.2 เพื่อศึ กษากระบวนการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิสถาปั ตยกรรม ให้เป็ นแหล่ ง ท่องเที่ยวที่ได้มาตรฐาน นําไปสู่ การยกระดับคุณภาพการท่องเที่ยวและคุณภาพชี วิตประชาชน เพื่อให้สอดคล้องกับ แผนพัฒนาพื้นที่ระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) 4.2.3 เพื่อศึ กษากระบวนการออกแบบพื้นที่ ริมแม่น้ าํ ที่ ช่วยฟื้ นฟูระบบนิ เวศริ มแม่น้ าํ แก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ป้ องกันการกัดเซาะริ มตลิ่งและพื้นที่ ทีน้ าํ ท่วมถึง และเพิ่มพื้นที่กิจกรรมและนันทนาการ เพื่อการเรี ยนรู ้วฒั นธรรมและระบบนิเวศริ มฝั่งแม่น้ าํ บางปะกง 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยู่ติดกับแม่น้ าํ บางประกง เป็ นพื้ นที่ สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกงทั้งสองฝั่ งแม่น้ าํ ตั้งอยูถ่ นนมรุ พงษ์ ตําบลหน้าเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ ส าธารณะริ มแม่ น้ ําฝั่ ง ถนนมรุ พงษ์ เป็ นพื้ น ที่ ศู น ย์ร วมกิ จ กรรมและ นันทนาการ ของจังหวัดฉะเชิงเทรา 5.2.2 พื้นที่ โครงการเป็ นย่านที่ ติดกับสถานที่ สาํ คัญของอําเภอเมือง เป็ นจุดที่ มีความ หลากหลายทางกิจกรรม มีท้ งั สวนสาธารณะริ มแม่น้ าํ สวนสาธารณะประวัติศาสตร์ โรงพยาบาล วัด โรงเรี ยน ตลาด ห้องสมุด พื้นที่สาํ คัญทางราชการ และยังมีสถานที่ท่องเที่ยว 5.2.3 พื้นที่มีจุดเด่นทางด้านวิถีชีวิต วัฒนธรรม การเกษตร และระบบนิ เวศ ริ มสองฝั่ง แม่น้ าํ บางปะกง 5.2.4 พื้นที่มีศกั ยภาพที่ดีที่จะพัฒนาเพื่อที่จะก่อให้เกิดการเรี ยนรู ้และศึกษาวัฒนธรรม ริ มแม่น้ าํ บางปะกง


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่สาธารณะริ มแม่น้ าํ บางปะกง ย่านสะพานฉะเชิ งเทราเฉลิม พระเกียรติ 72 พรรษา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 314 ถนนหมายเลข 365 ถนนหมายเลข 304 ถนนหมายเลข 315 ถนนมรุ พงษ์ ถนนศรี โสธรตัดใหม่ Not to scale ถนนเทพคุณากร ทางรถไฟ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม พื้ น ที่ ส าธารณะริ ม แม่ น้ ํา บางปะกง ย่ า นสะพาน ฉะเชิงเทราเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 304 ถนนศรี โสธรตัดใหม่ ถนนมรุ พงษ์ Not to scale ถนนหน้าเมือง ถนนชุมพล เส้นทางรถไฟ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth










คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พัชรพงศ์ คมขา รหัส 5819102521 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.32 มี ความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พ นธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ชุมชนตลาดลูกแกและ พื้นที่รับน้ าริ มแม่น้ าแม่กลอง อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Projects of Lukkae Market Community and Maekrong River Watershed Area, Thamaka, Kanchaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ชุมชนตลาดลูกแก อยู่ในเขตเทศบาลตาบลลูกแก อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นชุมชนที่ มี ประวัติ ศาสตร์ เป็ นเมื องท่ าเรื อการค้าในสมัยก่ อนมี การค้าขายมายาวนานกับชาวจี นบริ เวณริ มฝั่ งแม่ น้ าแม่ กลอง ปั จจุบนั ชุ มชนตลาดลูกแกเป็ นย่านพาณิ ชยกรรมที่สาคัญ ชาวบ้านส่ วนใหญ่ประกอบอาชี พค้าขาย มีร้านค้า ร้านขาย ของฝาก จานวนมาก เศรษฐกิจในชุมชนอยู่ในเกณฑ์ดีเป็ นเพราะ ชุมชนตลาดลูกแกเป็ น “เมืองหน้าด่าน” ของจังหวัด กาญจนบุรี ซึ่ งเป็ นจังหวัดแห่งการท่องเที่ยวที่สาคัญ โดยพื้นที่ต้ งั อยู่ติดกับแม่น้ าแม่กลองทาให้มี วัฒนธรรม ประเพณี และวีถีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับสายน้ า อยู่ เช่ น ประเพณี ล อยกระทง ประเพณี แ ข่ งขัน เรื อ ยาวที่ จัด ขึ้ น ทุ ก ปี รวมทั้งการประมงหาปลาของคนในพื้ น ที่ นอกจากนี้ ยงั มี ศาสนสถานที่สาคัญในชุมชนคือ วัดไทยและวัดจีนที่อยู่ติดริ มแม่น้ าแม่กลอง แม่น้ าแม่กลองเป็ นพื้นที่ ชุ่มน้ าที่สาคัญในระดับนานาชาติ แม่น้ ามีความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์น้ า และเป็ นแหล่ง อนุ บ าลของสั ต ว์น้ า แต่ ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ข องสั ต ว์น้ า ก าลังลดลงเพราะปั ญ หาการระบายน้ า เสี ย ของโรงงาน อุตสาหกรรมและชุมชน ทาให้เกิดน้ าเน่าเสี ยมากขึ้น ปัจจุบนั ในพื้นที่มีพ้ืนที่ชุ่มน้ าอยู่ แต่ดว้ ยโครงการของรัฐ ได้มีการปรับปรุ งพื้นที่เป็ นสวนสาธารณะ ริ มน้ าทาให้เสี ยศักยภาพของพื้นที่ชุ่มน้ าลงไป เวลาถึงฤดูน้ าท่วม พื้นที่เป็ นได้แค่พ้ืนที่รับน้ าและมีการซ่อมแซมทุกปี จากเหตุ ผลที่ กล่าวมาแล้วข้างต้น จึ งได้เสนอโครงการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิสถาปั ตยกรรม ชุมชนตลาดลูกแกและพื้นที่รับน้ าริ มแม่น้ าแม่กลอง เพื่อพัฒนาชุมชนให้มีศกั ยภาพในการรองรับรองนักท่องเที่ยวช่วย เพิ่มช่ องทางการค้าของคนในชุมชน และปรับปรุ งพื้นที่รับน้ าให้กลับเป็ นพื้นที่ ชุ่มน้ าเดิ ม เพื่อฟื้ นฟูระบบนิ เวศแม่น้ า


แม่ กลอง ท าให้ส ามารถเป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ แ ละแหล่ งท่ องเที่ ย วเชิ งระบบนิ เวศได้ สอดคล้อ งกับ แผนส่ งเสริ มการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และกระตุน้ เศรษฐกิจของเทศบาล และจังหวัดกาญจนบุรี วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาภูมิสถาปั ตยกรรม พื้นที่ ชุมชนตลาดลูกแกเพื่อส่ งเสริ มคุณภาพชี วิตของ คนในชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ภายในพื้นที่โครงการ 4.1.2 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ รับน้ าริ มแม่น้ าแม่กลอง ฟื้ นฟูระบบนิ เวศและเป็ น พื้นที่พกั ผ่อนของคนในชุมชน 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการประกอบอาชีพและธุรกิจประเภทต่างๆของคนในชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาการออกแบบวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม ชุ มชนตลาดลูกแกในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของคนในชุมชนและการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 4.2.2 ศึ กษาข้อมูลชุ มชนตลาดลูกแก ทางด้านวัฒนธรรมและธรรมชาติ เพื่ อเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และพื้นที่นนั ทนาการพักผ่อนของคนในชุมชน 4.2.3 ศึ กษาการออกแบบวางผังชุ มชนและพื้ นที่ รั บน้ า เพื่ อฟื้ นฟู ระบบนิ เวศริ มน้ า ให้ สามารถอยูร่ ่ วมกับน้ าในฤดูน้ าท่วมและแนวทางลดผลกระทบน้ าท่วม 4.

5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่ริมฝั่ งแม่น้ าแม่กลอง อยู่ในพื้ นที่ การปกครองเทศบาลตาบลลูกแก ตาบล ดอนขมิ้นอาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นชุมชนแห่ งแรกของจังหวัดกาญจนบุรี ห่ างจากกรุ งเทพ 80 กิโลเมตร รวมพื้นที่ศึกษาและพื้นที่โครงการ 340 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ นที่ ติดกับถนนสายหลักกรุ งเทพ-กาญจนบุ รี การคมนาคมสะดวกเข้าถึ งง่าย อยู่ ใกล้เคียงกับจังหวัดราชบุรีและนครปฐม ซึ่ งมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจสู ง 5.2.2 พื้นที่มีศกั ยภาพพอในการพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจในชุมชน 5.2.3 ในบริ เวณพื้นที่ริมน้ ามีศกั ยภาพควรแก่การพัฒนาปรับปรุ งพื้นที่


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ชุมชนตลาดลูกแกและพื้นที่รับน้ าริ มแม่น้ าแม่กลอง อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ขอบเขตตาบลดอนขมิน้ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (วันที่สืบค้น 11/12/2561)

Not to scale


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ชุมชนตลาดลูกแกและพื้นที่รับน้ าริ มแม่น้ าแม่กลอง อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 2 แสดงชื่อเส้นทางสัญจรบริ เวณครงการ สัญลักษณ์ ถนนแสงชูโต ถนนสายริ มน้ า ถนนเชื่อมต่อเขต ต.ท่าเสา ถนนอนามัย ถนนหมายเลข 4 ถนนหมายเลข 8 Not to scale ถนนหมาย 14 ถนนหมายเลข 18 ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (วันที่สืบค้น 11/12/2561)


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ต้ งั อยูใ่ นเขตตาบลดอนขมิ้น อาเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นที่ดินของรัฐบาลและพื้นที่ ชุมชน รวมพื้นที่โครงการและพื้นที่ศึกษา มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 340 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับถนนแสงชูโต กรุ งเทพฯ-กาญจนบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับ แม่น้ าแม่กลอง ทิศตะวันออก ติดต่อกับ สะพานร่ วมใจ ชุมชนท่าเสา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ย่านอุตสหกรรมโรงงานน้ าตาล 7. บรรณานุกรรม lukkae 2561. “แผนพัฒนาท้องถิ่นเทศบาลตาบลลูกแก 2561” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://lukkae.go.th/public/plan_upload/backend/plan_49_8.pdf (11 ธันวาคม 2561) lukkae 2560. “แผนส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเทศบาลตาบลลูกแก 2560” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://lukkae.go.th/public/plan_upload/backend/plan_58_1.pdf (11 ธันวาคม 2561) wetland 2561. “พื้นที่ชุ่มน้ า แม่น้ าแม่กลอง” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://wetland.onep.go.th/MaeKlongRiver.html# (11 ธันวาคม 2561) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..



คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พัชรพล เลิศมณี ทวีทรัพย์ รหัส 5819102522 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึ กษา จํานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.40 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตร ไร่ กาญจนิกา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ): Landscape Architectural Design Agro Tourism Rai Kanjanika in Lat Ya, Muang Kanchanaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดกาญจนบุ รีเป็ นจังหวัดที่ มีข นาดพื้ นที่ ใ หญ่เ ป็ นอันดับ 3 ของประเทศไทย รวมทั้งเป็ น จังหวัด ที่ มีบ ทบาทในการเป็ นศู นย์กลางการท่ องเที่ ย ว ประเภทธรรมชาติ และประวัติ ศาสตร์ ข องภาคกลางฝั่ ง ตะวันตก เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการที่สาํ คัญของชาวไทย โดยเฉพาะชาวกรุ งเทพมหานครและภาคกลาง ซึ่ งมีแนวโน้มในการปรับตัวเพื่อรองรั บนักท่ องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้มากขึ้ น ประกอบกับจังหวัด กาญจนบุรีมีพ้ืนที่บางส่ วนติดกับชายแดน จึงเป็ นจุดศูนย์กลางการค้าชายแดนได้ในอนาคต สิ่ งต่างๆเหล่านี้ ทาํ ให้ใน ปั จจุบนั จังหวัดกาญจนบุรีมีศกั ยภาพทั้งทางด้านพลังงาน ด้านชลประทาน ด้านที่ พกั และสิ่ งอํานวยความสะดวก ครบครัน โดยปั จจุบนั ลักษณะความนิ ยมในการท่องเที่ยว มีแนวโน้มการท่องเที่ยวในรู ปแบบที่สามารถเข้า ไปสัมผัสกับธรรมชาติได้ โดยการใช้ศกั ยภาพของธรรมชาติในพื้นที่น้ นั และปราศจากการทําลายความบริ สุทธิ์ ของ ธรรมชาติ ดังคําที่ใช้กนั บ่อยๆว่า การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย การท่องเที่ยวเชิงนันทนาการ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร เป็ นต้น ในขณะเดียวกันที่การส่ งเสริ มและพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดกาญจนบุรี ได้ให้ความสําคัญ กับการท่องเที่ ยวเหล่านี้ ซึ่ งเกิ ดขึ้ นโดยพื้นฐานของลักษณะของพื้นที่ ในจังหวัดกาญจนบุรี ที่ มีป่าไม้และภูเขาสู ง มากมายทําให้เกิดแหล่งท่องเที่ยวในลักษณะของพื้นที่ธรรมชาติ อุทยาน แม่น้ าํ ถํ้า เขื่อนเก็บนํ้า ทรัพยากรธรรมชาติ รวมทั้งการเป็ นพื้นที่ประวัติศาสตร์เมืองเก่า ทําให้มีแหล่งท่องเที่ยวในเชิงประวัติศาสตร์อีกด้วย จากที่กล่าวมทําให้ สังเกตุได้ถึงศักยภาพของจังหวัดกาญจนบุรีในการดึงดูดนักท่องเที่ยวที่หลากหลายเข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัด


ดังนั้นเจ้าของโครงการ นาย สรายุธ เลิศมณี ทวีทรัพย์ จึงมีแนวความคิดที่จะสร้างจุดขายที่แตกต่าง ของพื้นที่ กับแหล่งท่องเที่ยวอื่นในจังหวัดให้มีความโดดเด่น มีจุดขาย และยังคงสอดคล้องกับพื้นที่เดิมที่เป็ นพื้นที่ การเกษตร และบริ บทความเป็ นป่ าไม้ ของจังหวัดกาญจนบุรี จึงเกิดเป็ นแนวคิดในการก่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวเชิง เกษตร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจภาคชนบทและเพิ่มรายได้ให้กบั การเกษตรอีกด้วย โครงการวิทยานิ พนธ์น้ ี เป็ นการศึ กษาและรวบรวมความคิ ด เพื่อทําการพัฒนาพื้นที่ เกษตรที่อยู่ ระหว่างเชิ งเขาแก้วน้อยแหละเขาพุกระพี ให้สามารถเพิ่มมูลค่าของที่ดินและให้เกิดประโยชน์ทางด้านธุ รกิจ โดย ยังคงรักษาความเป็ นพื้นที่เกษตรเดิมไว้ และสร้างให้เกิดกิจกรรมและการนันทนาการในรู ปแบบของความเป็ นอยู่ แบบชาวไร่ ชาวสวน โดยใช้ความรู ้ทางภูมิสาถาปั ตยกรรมในการจัดการออกแบบพื้ นที่ ในโครงการ ให้มีความ สอดคล้องกับกิ จกรรม และศักยภาพต่างๆ ที่ มีอยู่โดนรอบของพื้นที่ รวมทั้งสอดคล้องกับแนวคิ ดในการอนุ รักษ์ ธรรมชาติดว้ ย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 พัฒนาพื้นที่ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้กบั การทําเกษตร 4.1.2 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งเกษตรที่ มีการพัฒนาบนความคิดเกษตรทฤษฏี ใหม่ องค์ ความรู ้ทางด้านการเกษตรต่างๆ ที่เกื้อหนุนต่อการพัฒนาการที่ยงั ยืน 4.1.3 รองรับกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมผจญภัยเชิ งอนุรักษ์เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยว แห่งใหม่ให้กบั จังหวัดกาญจนบุรี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาวิเคราะห์การใช้ที่ดินเดิ มในส่ วนต่างๆของพื้นที่ และนําข้อมูลที่ ได้มา ใช้ในการวางผัง 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการปรัชญา ในปัจจุบนั ที่มีผลต่อการออกแบบ รวมทั้งแนวทางความเป็ นไปได้และการพัฒนาในอนาคต 4.2.3 เพื่อศึกษารู ปแบบกิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมผจญภัยเชิ งอนุรักษ์ ที่สอดคล้อง ต่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.2.4 ศึกษาประโยชน์ความหลากหลายของผลผลิตทางการเกษตร ที่หมุนเวียนตลอด ทั้งปี เพิ่มรายได้ให้กบั พื้นที่ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ นตําบลลาดหญ้า อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์

ที่ต้ งั โครงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 3229 ถนนเข้าโครงการ

Not to scale

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (25 ธันวาคม 2561) 5.2.1 จัง หวัด กาญจนบุ รี เป็ นจัง หวัด ที่ มี แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วที่ มี ค วามเป็ นธรรมชาติ หลากหลาย ทั้งป่ าไม้ นํ้าตก ภูเขา ถํ้า ทุ่งนา ไร่ สวน เขื่อน อ่างเก็บนํ้า ฯลฯ ซึ่ งปั จจุบนั เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ เป็ นที่ นิยมของคนภาคกลาง


5.2.2

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

Not to scale

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (25 ธันวาคม 2561)


5.2.3

Site Linkang

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุรี แผนที่ 2 การเชื่อมโยงของพื้นที่ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ สนามกอล์ฟไมด้ากอล์ฟคลับ อุทยานประศาสตร์เมืองสิ งหื เมืองมัลลิกา Not to scale นิกิโก๊ะรัสอร์ท สะพานข้ามแม่น้ าํ แคว ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (25 ธันวาคม 2561)




คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว พีรยา ศักดิ์มาก รหัส 5819102523 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึกษา จํานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.86 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศเลอมาน เพื่อสุ ขภาพทางเลือกระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Lermarn Long Stay Alternative Healthcare Resort for Elderly, Maerim, Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากสถานการณ์ สังคมผูส้ ู งอายุ ที่ เกิ ดขึ้ นในหลายประเทศทัว่ โลก โดยเฉพาะในกลุ่มประเทศ พัฒ นาแล้ว ทั้งในภู มิภ าคเอเชี ย ยุโ รป และอเมริ กา รวมถึ งประเทศไทยที่ กาํ ลังเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุ ทํา ให้กลุ่ ม นักท่องเที่ยวสู งวัยโดยเฉพาะในวัยเกษียณ เป็ นกลุ่มเป้ าหมายทางการตลาดที่มีศกั ยภาพอย่างยิ่งต่อการส่ งเสริ ม และ ดึงดูดการเข้ามาท่องเที่ยวในลักษณะพํานักระยะยาว (Long Stay) ในประเทศไทย ด้วยวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการเข้ามา ใช้บ้ นั ปลายชี วิตในการท่องเที่ ยว ได้แก่ ผูเ้ กษียณอายุการทํางาน ผูส้ ู งอายุที่ขาดผูด้ ูแลและกลุ่มที่ เข้ามาเพื่ อรั กษา สุ ขภาพ ได้แก่ ผูท้ ี่เข้ามารักษาพยาบาลและพักฟื้ น ผูท้ ี่ตอ้ งการหลบสภาพอากาศที่รุนแรงในประเทศของตนบางช่วง ซึ่ งนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้มีจาํ นวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ กระแสความตื่ น ตัว ในการดู แ ลสุ ข ภาพด้ว ยวิ ธี ก ารรั ก ษาโรค การป้ อ งกัน โรคที่ นอกเหนื อจากกรอบของการแพทย์แผนปั จจุบนั ทําให้เกิดแง่มุมของสุ ขภาพทางเลือกหรื อการแพทย์ทางเลือก ใน บริ บ ทของสั ง คมไทย กระแสความนิ ย มการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพได้รั บ ความนิ ย มเพิ่ ม ขึ้ นจากนัก ท่ อ งเที่ ย ว ชาวต่างชาติที่เดินทางออกจากประเทศตนไปทําการรักษาในประเทศที่ค่าใช้จ่ายถูกกว่า เหตุผลดังกล่าวนับว่าเป็ น การสร้างโอกาสให้แก่ประเทศไทย และส่ งเสริ มนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางด้านการท่องเที่ ยว เชิงสุ ขภาพ ตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศไทยให้เป็ นศูนย์กลางสุ ขภาพนานาชาติ 10 ปี (พ.ศ. 2559-2568) และ มุ่งสู่ ศูนย์กลางการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ ของกรมสนับสนุนบริ การสุ ขภาพ กระทรวงสาธารณะสุ ข


จังหวัดเชี ยงใหม่ เป็ นพื้นที่ ที่กลายเป็ นที่ อยู่อาศัยในระยะยาวของผูส้ ู งอายุวยั เกษียณทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ มากเป็ นอันดับหนึ่ งของประเทศ ด้วยศักยภาพทางภูมิประเทศ สภาพอากาศ สาธารณู ปโภคและ สาธารณู ปการที่ครบวงจร สามารถรองรับการพํานักระยะยาวทั้งสําหรับชาวไทย และชาวต่างชาติ เป็ นศูนย์กลาง ความเจริ ญของภาคเหนื อตอนบน ซึ่ งอําเภอแม่ริมเป็ นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสําหรับโครงการออกแบบและวางผัง ภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ เป็ นอย่างมาก โดยมีศกั ยภาพที่เหมาะสม และมีความพร้อมในทุกด้าน อาทิเช่น มีสถานพยาบาลที่สามารถรองรับการรักษาการเจ็บป่ วยเบื้องต้น และไม่ไกล จากตัวเมื องเชี ยงใหม่ มี บรรยากาศและทัศนี ยภาพที่ เหมาะสม อี กทั้งโครงการนี้ ยงั ช่ วยกระตุ น้ การขยายตัวทาง เศรษฐกิจให้มีการกระจายรายได้สู่ ชุมชน และตอบโจทย์การเข้าสู่ สงั คมผูส้ ู งอายุของประเทศไทยได้อย่างดี 4.

วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุหลังวัยเกษียณ ที่มีลกั ษณะ เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว และสถานพักตากอากาศที่ส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพทางเลือก 4.1.2 เพื่อตอบสนองนโยบายของภาครั ฐในการส่ งเสริ ม และเพิ่มศักยภาพของการ ท่องเที่ยวประเภทสถานพักตากอากาศระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุในจังหวัดเชียงใหม่ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มให้จงั หวัดเชี ยงใหม่มีสถานพักตากอากาศระยะยาวที่ มีเอกลักษณ์ และตอบสนองสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณที่รักสุ ขภาพ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่โครงการสถานพักตาก อากาศเพื่อสุ ขภาพทางเลือกระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ 4.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้พ้ืนที่ของผูส้ ู งอายุ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ ในการออกแบบวางผังสถานพักตากอากาศเพื่อสุ ขภาพทางเลือกระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ 4.2.3 เพื่ อ ศึ กษากระบวนการออกแบบพื้ นที่ สํา หรั บ กิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม การรั ก ษา สุ ขภาพทางเลือกสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูช่ ุมชนบ้านอ้อย ตําบลห้วยทราย อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่ โดยประมาณ 79 ไร่


พื้นที่โครงการ

ตัวอําเภอแม่ริม

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศเลอมานเพื่อสุ ขภาพทางเลือกระยะยาว สําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ ขอบเขตพื้นที่โครงการ สั ญลักษณ์ ตัวอําเภอแม่ริม ถนนโชตนา ถนน ชม.3009 NOT NO SCALE มาตราส่ วน ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก ArcGIS Map ที่มา (สื บค้น ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2561) 5.2 เหตุผลที่เลือกโครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการตั้งอยู่ไม่ไกลจากตัวอําเภอแม่ริม ระยะทางทั้งสิ้ น 7 กิโลเมตรใกล้ สถานพยาบาล 3 แห่งใช้เวลาเดินทางไม่นานมากนัก 5.2.2 ภายในพื้ นที่ โ ครงการมี แ หล่ งนํ้า เดิ ม และมี ส ภาพแวดล้อมเป็ นธรรมชาติ ที่ เหมาะสมกับโครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาวสําหรั บผูส้ ู งอายุว ยั เกษียณ 5.2.3 พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ในพื้นที่ ท่ี รองรั บด้านการท่องเที่ ยว และมีความพร้ อมใน ด้านระบบสาธารณู ปโถค สาธารณู ปการ


พื้นที่โครงการ 79 ไร่

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศเลอมานเพื่อสุ ขภาพทางเลือก ระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ สั ญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ เส้นทางสัญจร

มาตราส่ วน ที่มา

NOT NO SCALE ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก ArcGIS Map (สื บค้น ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2561)

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบและวางผังภู มิส ถาปั ต ยกรรมสถานพัก ตากอากาศเลอมานเพื่ อสุ ข ภาพ ทางเลือกระยะยาวสําหรับผูส้ ู งอายุวยั เกษียณ อําเภอแม่ริม จังหวัดเชี ยงใหม่ ตั้งอยู่บริ เวณชุมชนบ้านอ้อย ตําบลห้วย ทราย อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่โดยประมาณ 79 ไร่ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตรและที่อยูอ่ าศัย ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตร ที่อยูอ่ าศัย และโรงเรี ยนบ้านอ้อย ติดกับ ร้านกาแฟ Akha Ama Living Factory และชุมชนบ้านอ้อย ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตร


7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. “คู่มือการดําเนินงานวิทยานิพนธ์ หลักสู ตรภูมสิ ถาปัตยกรรม ศาสตร์ บัณฑิต”. ปรับปรุ งครั้งที่ 4. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (5 ธันวาคม 2561). กรวรรณ สังขกร. 2559. “แผนแม่บทพัฒนาธุรกิจ Long Stay ปี พ.ศ.2560-2564 (กลุ่มจังหวัด ภาคเหนือตอนบน)” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.sri.cmu.ac.th/~ctrd/ uploads/files/file_20171206_1512543344.pdf (5 ธันวาคม 2561). จุฑารัตน์ แสงทอง. 2560. “สังคมผูส้ ู งอายุ(อย่างสมบูรณ์):ภาวะสู งวัยอย่างมีคุณภาพ” [ระบบ ออนไลน์] แหล่งที่มา file:///C:/Users/LENOVO/Downloads/91162-Article%20Text225177-1-10-20170629.pdf (5 ธันวาคม 2561). โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาํ เนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



SITE SELECTION

แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั ขอบเขตโครงการของแต่ละพื้นที่ NOT NO SCALE มาตราส่ วน ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมาจาก Google Map ที่มา (สื บค้น ณ วันที่ 5 ธันวาคม 2561)


SITE SELECTION พื้นที่โครงการ

ทัศนียภาพ

ลักษณะพื้นที่

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมา จาก ArcGIS Map

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายมาจาก Google Street

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมา จาก ArcGIS Map

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายมาจาก Google Street

SITE 1 พื้นที่นา อยูใ่ นชุมชน ติดกับวัดแม่แอน มี แหล่ ง นํ้าอยู่ ใ นพื้ น ที่ มี ทัศ นี ย ภาพที่ ดี ค่ อ นข้ า งไกลจากตั ว เมื อ ง ห่ างจาก โรงพยาบาลประมาณ 16.7 กม.ใช้เวลา เดินทาง 21 นาที ขนาดพื้นที่ 55 ไร่ SITE 2 มี แหล่งนํ้าในพื้นที่ มี ทัศนี ยภาพที่ ดี อยู่ ในชุมชน ห่ างจากโรงพยาบาลประมาณ 13.8 กม.ใช้เวลาเดินทาง 19 นาที ขนาดพื้นที่ 79 ไร่

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศมา จาก ArcGIS Map

เกณฑ์

คะแนน

Approach Accessibility Road network Surrounding View Linkage รวมคะแนน

3 4 4 5 6 8 30

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายมาจาก Google Street

SITE 3 พื้นที่ป่ารกร้าง ด้านหน้าติดถนน บริ เวณ โดยรอบเป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยว ห่ างจาก โรงพยาบาลประมาณ 9.5 กม.ใช้เ วลา เดินทาง 11 นาที ขนาดพื้นที่ 62 ไร่

ตารางสรุ ปการให้คะแนนแต่ละพื้นที่ SITE 1 SITE 2 ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน A 12 B 9 C 8 A 16 B 12 B 12 B 15 A 20 A 24 A 24 C 16 A 24 87 105

SITE 3 ระดับ คะแนน A 12 A 16 A 16 C 10 C 12 A 32 98

หมายเหตุ A (excellent) = 4 B (very good) =3 C (fairy good) =2 D (poor)=1


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวมณฑกานต์ รู ้รอบ รหัส5819102524 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.76 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอ แม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of

Huay Tueng Thao Reservoir, Mae Rim, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่าเป็ นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ ัวในรัชกาลที่ 9 ที่ได้ทรงเข้าเยี่ยมศูนย์เกษตรกรรมทหารบกจังหวัดเชี ยงใหม่ เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2523 และได้ทรงทราบถึงปั ญหาการขาดแคลนน้ าที่ใช้ในการเกษตร จึงมีพระราชดาริ ให้สร้างอ่างเก็บน้ าขนาด ความจุ 1.4 ล้านลูกบาศก์เมตรที่ตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ และต่อมาได้ทรงทราบว่าในบริ เวณที่สร้างอ่าง เก็บน้ านั้นมีราษฎรบุกรุ กพื้นที่เข้ามาอาศัยและทากิน ซึ่ งเป็ นพื้นที่ของราชการทหารจึงได้มีพระราชดาริ ให้รวบรวม ราษฎรที่ บุ กรุ ก พื้ น ที่ ดังกล่ าวมาจัด ตั้งเป็ นหมู่ บ้านตัวอย่าง ซึ่ งในปั จจุ บนั ได้มีก ารด าเนิ น การโครงการหมู่ บ้าน ตัว อย่างแล้วเสร็ จจนกลายเป็ นแหล่ งเรี ยนรู ้ ท างด้านเกษตรกรรมของพื้ น ที่ โครงการอ่ างเก็บน้ าห้วยตึ งเฒ่ า อัน เนื่องมาจากพระราชดาริ การท่ อ งเที่ ยวภายในโครงการอ่ างเก็บน้ าห้วยตึ งเฒ่ า อัน เนื่ องมาจากพระราชด าริ ได้เริ่ ม เมื่ อ วัน ที่ 8 มี น าคม 2530 โดยให้ม ณฑลทหารที่ 33 เป็ นหน่ วยดาเนิ น การ ต่ อมากองทัพ บกได้มี น โยบายให้จดั การ ท่ อ งเที่ ย วในหน่ ว ยทหารขึ้ น มณฑลทหารบกที่ 33 จึ ง ได้พ ัฒ นาโครงการนี้ ให้ เกิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ทั้ง ด้า น เกษตรกรรมและด้านท่องเที่ยวเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่ งในปี 2540 โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่าได้รับงบประมาณ จากการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย มาพัฒนาพื้นที่ให้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สมบูรณ์แบบ มีภูมิทศั น์ที่สวยงามรวม ไปถึงสิ่ งอานวยสะดวกครบครันท่ามกลางบรรยากาศที่เป็ นธรรมชาติ ทาให้ได้รับความนิ ยมจากนักท่องเที่ยวที่เข้า มาใช้บริ การมีจานวนมากต่อวัน


พื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่ องมาจากพระราชดาริ มีนโยบายและแผนการพัฒนา ด้านการท่องเที่ยว เน้นการเปิ ดเป็ นพื้นที่สาธารณะที่มีการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิ งอนุ รักษ์ธรรมชาติ ให้ความรู ้ ความเข้าใจแก่ นักท่องเที่ ยว ตระหนักถึ งคุ ณค่าและความสาคัญของแหล่งท่องเที่ ยวที่ ตนเดิ นทางเข้าไปเยือนไม่ ทาลายสภาพแวดล้อม อีกทั้งเพื่อเชื่ อมความสัมพันธ์ระหว่างมณฑลทหารที่ 33 กับประชาชน โดยการพัฒนาต้อง พัฒนาให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อมด้านต่างๆ และส่ งเสริ มการร่ วมมือการจัดการการ ท่องเที่ยวโดยให้ชุมชนและองค์กรท้องถิ่นได้มีส่วนร่ วม ซึ่ งสภาพในปั จจุบนั ที่ทาการสานักงานศูนย์ขอ้ มูลพื้นที่ โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาคารที่พกั ลานกางเต็นท์ พื้นที่จดั กิจกรรมนันทนาการ ต่างๆและพื้นที่สวนสาธารณะ สาหรับพนักงาน นักท่องเที่ยวและบุคคลในชุมชนทัว่ ไป มีระบบนิ เวศที่เสื่ อมโทรม สภาพอาคารเก่าชารุ ดเข้าถึงได้ยาก รวมไปถึงระบบเส้นทางสัญจรที่ยงั ไม่แน่ชดั ขาดความพร้อมและไม่เพียงพอต่อ แนวโน้มของนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นเพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติในอนาคต ดังนั้นการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จะฟื้ นฟูศกั ยภาพของพื้นที่เดิมที่มีความโดดเด่นทางด้านระบบนิเวศ ทัศนียภาพที่เหมาะ แก่การท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจทางธรรมชาติ ส่ งเสริ มกิจกรรมทางด้านสุ ขภาพ โดยรองรับการขยายตัวของการ ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ การจัดกิจกรรมส่ งเสริ มทางด้านสุ ขภาพภายในจังหวัด และในเส้นทางเศรษฐกิจให้มี ความพร้อม เพื่อสร้างประโยชน์สูงสุ ดแก่นกั ท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มให้โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่ า อันเนื่ องมาจากพระราชดาริ เป็ น พื้นที่สาธารณะเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติที่สาคัญ โดยฟื้ นฟูระบบนิ เวศ และปรับปรุ งสิ่ งอานวยความ สะดวกให้มีความพร้อมในการขยายตัวของโครงการและรองรับนักท่องเที่ยวในอนาคต 4.1.2 เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง สวนสาธารณะโครงการอ่ างเก็ บ น้ าห้ ว ยตึ งเฒ่ า อัน เนื่ อ งมาจาก พระราชดาริ เป็ นสถานที่ส่งเสริ มทางด้านสุ ขภาพให้มีความปลอดภัยรองรับกิจกรรมและบุคคลทัว่ ไป 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาการออกแบบปรั บปรุ งและวางผังภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมพื้ น ที่ ส าธารณะ แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.2.2 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การฟื้ นฟูระบบนิเวศป่ าเต็งรังและระบบนิ เวศแหล่งน้ าจืด ให้สอดคล้องกับพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบและวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมพื้ น ที่ นั น ทนาการให้ สอดคล้องกับพื้นที่โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการอ่ า งเก็ บ น้ าห้ ว ยตึ ง เฒ่ า อั น เนื่ องมาจากพระราชด าริ ตั้ งอยู่ ใ นพื้ นที่ ตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีขนาดพื้นที่ประมาณ 471 ไร่

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอ แม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และการเข้าถึงพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์

ทางหลวงหมายเลข 121 ทางหลวงหมายเลข 107 ถนนรอง ที่ต้ งั โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ทีม่ ำ : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Arcgis (27 ธันวาคม 2561)

Not to scale


โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ตาบลดอนแก้ว อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ มีขอบเขตการศึกษาประมาณ 580 ไร่ โดยแบ่งออกเป็ นพื้นที่ดิน 408 ไร่ และพื้นที่น้ า 172 ไร่

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอ แม่ริม จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์สี

เส้นแสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ

ทีม่ ำ : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Arcgis (27 ธันวาคม 2561)

Not to scale


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั ของโครงการ 5.2.1 โครงการเป็ นพื้ น ที่ ที่ มี ก ารเข้า มาใช้ พ ัก ผ่ อ นหย่อ นใจ ศึ ก ษาธรรมชาติ ข อง ประชาชนและนักท่องเที่ยว มีความหลากหลายทางระบบนิ เวศและกิจกรรมที่สามารถสร้างประโยชน์สร้างรายได้ แก่จงั หวัดและชุมชนท้องถิ่นได้ แต่ปัจจุบนั สภาพของโครงการยังขาดความพร้อมรวมไปถึงขาดการพัฒนาพื้นที่ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวและกิ จกรรมใหม่ ดังนั้นควรมีแนวทางในการส่ งเสริ มและปรับปรุ งเพื่อการรองรับการ ขยายตัวของโครงการ และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติในอนาคต 5.2.2 เป็ นพื้นที่ ที่มีลกั ษณะภู มิปะเทศสามารถใช้ศกั ยภาพนี้ ในด้านการท่องเที่ ยวเชิ ง อนุรักษ์ธรรมชาติ เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจและการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มสุ ขภาพที่สามารถให้บริ การแก่นกั ท่องเที่ยว ชุมชนใกล้เคียง และบุคคลทัว่ ไป รวมไปถึงการเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชนจากการท่องเที่ยว เนื่ องจากพื้นที่โครงการ เป็ นที่รู้จกั อย่างแพร่ หลายทั้งคนในจังหวัดและต่างจังหวัด 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ตาบลดอนแก้ว อาเภอ แม่ริมจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพ้นื ที่โครงการและพื้นที่ศึกษาทั้งหมด 580 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ่างเก็บน้ าห้วยแม่เย็น ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม ทิศใต้ ติดต่อกับ โครงการหมู่บา้ นตัวอย่างห้วยตึงเฒ่า ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ค่ายตากสิ น กองพันสัตว์ต่าง ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่อนุรักษ์ป่าไม้เชิงดอยสุ เทพ ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม 7. บรรณานุกรม จรัสพิมพ์ บุญญานันต์. 2556. คู่มือดำเนินงำนวิทยำนิพนธ์ 2556. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://issuu.com/tuboonyanant/docs/lathesismanual156_foeweb (7 ธันวาคม 2561) แผนที่โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ . [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. https://www.google.com/maps/searc/@18.8707201,98.9417072,1352m/data=!3m1!1e3 (7 ธันวาคม 2561) โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ . ม.ป.ป. “ข้ อมูลพืน้ ฐำน” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.huaytuengthao.com/aboutus.php (7 ธันวาคม 2561) โครงการหมู่บา้ นตัวอย่างห้วยตึงเฒ่า. ม.ป.ป. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา. http://www.fca16.com/newblog/blog.php?id=royalproject336 (7 ธันวาคม 2561) โครงการอ่างเก็บน้ าห้วยตึงเฒ่า อันเนื่องมาจากพระราชดาริ . ม.ป.ป. “แผนทีโ่ ครงกำรอ่ ำงเก็บนำ้ ห้ วยตึงเฒ่ ำ อันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ ”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา.https://www.arcgis.com/home/webmap (7 ธันวาคม 2561)




คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิD งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาววิศรุ ตา สิ ริรัตน์ รหัส 5819102525 นักศึกษาชั=นปี ทีA 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิA งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึกษา จํานวนหน่ วยกิจสะสม 130 หน่วยกิจ คะแนนสะสมเฉลีAยจนถึงขนาดนี=ได้เท่ากับ 3.39 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี= 1. หัวข้อเรืA อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานพักตากอากาศ เตียนจีAเหนียน ตําบลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรืA อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural and Design and Plannig Project of The Dian Jinian Resort, Thaton, Mae Ai, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตําบลท่าตอนเป็ น 1 ใน 24 แห่ ง ของประเทศไทย ทีAมีคนไทยเชื=อสายยูนนานหรื อจีนฮ่อ อาศัยอยู่ คนกลุ่มนี=เป็ นอดีตทหารจีนคณะชาติทีAตกค้างพลัดถิAนในประเทศไทยตั=งแต่ยคุ สงครามเย็น (พ.ศ. 2490 – 2534) และ ได้รับสัญชาติ ไทยในปี พ.ศ. 2526 – 2538 ซึA งคนกลุ่มนี= ยงั คงยึดมันA ในวิถีด= งั เดิ มของบรรพบุ รุษจี นยูนนาน ทั=ง ขนบธรรมเนี ย มประเพณี การแต่ ง ตัว อาหารการกิ น สิ น ค้า ผลผลิ ต ทางการเกษตร ภู มิ ปั ญ ญา และวัฒ นธรรม โดยทัวA ไปแล้วชาวฮ่อนิยมตั=งบ้านเรื อนทีAลอ้ มรอบด้วยภูเขา อยูก่ นั เป็ นกลุ่ม ไม่มีชนชาติอืAนเข้าไปตั=งบ้านเรื อนอยู่ แต่ชาวฮ่อในตําบลท่าตอน มีการอยูร่ ่ วมกับหลากหลายชนเผ่า เกิดการบูรณาการทางภูมิปัญญา ผสมผสานจนเกิด เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ประกอบกับตําบลท่าตอน เป็ นอีกสถานทีAหนึA งในจังหวัดเชี ยงใหม่ ทีAนกั ท่องเทีAยวนิ ยม ท่องเทีAยวทางธรรมชาติ ด้วยภูมิประเทศทีAมีภูเขาล้อมรอบ แม่น= าํ ตัดผ่านตลอดสาย มีทศั นี ยภาพทีAสวยงาม อุดมไป ด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ เช่น แม่น= าํ กก นํ=าพุร้อนมะลิกา และทรัพยากรป่ าไม้ทีAอุดมสมบูรณ์ มีมสั ยิดอัลเราะฮ์มะ ทีAเป็ นศูนย์รวมจิตใจและทํากิจกรรมต่างๆร่ วมกันของชาวฮ่อ มีสถานทีAท่องเทีAยวสําคัญหลายแห่ง เช่น ท่าเรื อบ้านท่า ตอนทีAสามารถล่องแพท่องเทีAยวแม่น= าํ กก ไปจนถึงจังหวัดเชี ยงราย สถานี พฒั นาการเกษตรทีAสูงตามพระราชดําริ ห้วยเมืองงาม ศูนย์พฒั นาโครงการหลวงหมอกจ๋ าม สวนส้มธนาธร และยังเป็ นจุดพักสําคัญสําหรับนักท่องเทีAยวทีA จะเดินทางขึ=นดอยต่าง ๆ เช่น ดอยปู่ หมืAน ดอยกาดผี เป็ นต้นส่ งผลให้มีนกั ท่องเทีAยวหลากหลายประเภทเข้ามาใน พื=นทีA มีถนนหลวงตัดผ่านเชืAอมต่อระหว่างจังหวัดเชียงราย และเชียงใหม่ ซึA งสามารถเดินทางไปยังหมู่บา้ นหัวเมือง งาม ชุมชนฮ่อขนาดใหญ่ทีAต= งั อยูใ่ นเขตพื=นทีAอนุรักษ์ เพืAอสัมผัสวิถีชีวติ ดั=งเดิม มีสถานีรถรับจ้างประจําทางทําให้การ เดินทางไปมาสะดวกรวดเร็ ว อีกทั=งยังมีนโยบายส่ งเสริ มการท่องเทีAยวเชิงเกษตรควบคู่กบั การอนุรักษ์ทรัพยากรทาง ธรรมชาติและส่ งเสริ ม พัฒนาองค์ความรู ้ดา้ นศิลปะวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิAน จึงมีความเป็ นไปได้ทีAจะสร้าง ทีAพกั ตากอากาศ เพืAอรองรับนักท่องเทีAยวตามเหตุผลดังกล่าว


ด้วยเหตุน= ี จึงเกิดเป็ นแนวคิดในการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ เตียนจีAเหนี ยน โดยมีแนวคิดเบื=องต้นในการออกแบบทีAเน้นความงามของธรรมชาติ และสถาปั ตยกรรมทีAโดดเด่น เต็มไปด้วยกลิAน อายแห่ งวัฒนธรรมยูนนาน สร้างกิจกรรมทีAส่งเสริ มการท่องเทีAยวเชิงอนุรักษ์ เกษตรอินทรี ย ์ และภูมิปัญญาของชาว ไทยเชื= อสายยูนนาน สําหรับดึ งดูดนักท่องเทีAยวทีAจะมาพักผ่อน ทํากิ จกรรมนันทนาการต่าง ๆ และนักท่องเทีAยว ทัศนาจรทีAแวะเยียA มชมบรรยากาศภายใน โดยโครงการจะกระตุน้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจการท่องเทีAยวเชิงเกษตร และวัฒนธรรม เพืAอสร้างอาชี พและคุณภาพชี วิตคนในชุมชนให้ดีข= ึน พร้อมทั=งพัฒนาศักยภาพของพื=นทีAเดิม จาก พื=นทีAทางการเกษตรทีAมีทศั นี ยภาพทีAสวยงาม ให้เป็ นสถานทีAพกั ตากอากาศเชิ งเกษตรสอดคล้องกับแผนเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์พฒั นาการท่องเทีAยวขององค์การบริ หารส่ วนตําบลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพืAอเป็ นสถานทีAพกั ตากอากาศ และสถานทีAท่องเทีAยวด้านภูมิปัญญา ศิลปะและ วัฒนธรรมของชาวไทยเชื=อสายยูนาน 4.1.2 เพืAอเป็ นแหล่งท่องเทีAยวทางเลือกเชิงวัฒนธรรม และเกษตรอินทรี ย ์ อีกแห่ งหนึA ง สําหรับนักท่องเทีAยว พร้อมกับส่ งเสริ มเศรษฐกิจการท่องเทีAยวแก่พ=ืนทีA 4.1.3 เพืAอกระตุน้ ให้คนในพื=นทีA เห็นคุณค่าในศิลปวัฒนธรรมของตนเอง และสงวนไว้ ซึA งวัฒนธรรมชาวไทยเชื=อสายยูนนาน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพืAอศึกษาประวัติ วิถีชีวติ และวัฒนธรรมชาวไทยเชื=อสายูนนาน เพืAอนํามาพัฒนา ให้เป็ นสถานทีAพกั ตากอากาศทีAมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว และส่ งเสริ มอัตลักษณ์ของชาวไทยเชื=อสายยูนนาน 4.2.2 เพืAอศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังสถานพักตากอากาศทีAเหมาะสมกับ สภาพแวดล้อมของพื=นทีAโครงการ 4.2.3 เพืAอศึกษาการทําเกษตรอินทรี ยแ์ บบพึAงพาธรรมชาติ เพืAอนํามาใช้ในการออกแบบ พื=นทีAโครงการ 5. สถานทีAต= งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีAต= งั โครงการ (แสดงแผนผังทีAต= งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี= พร้อมแนบแผนผังโครงการทีAชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) 5.1 สถานทีAต= งั โครงการ พื=นทีAต= งั โครงการมีขนาด 107 ไร่ เป็ นพื=นทีAเอกชน ตั=งอยูต่ าํ บลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ มีถนนหลวงหมายเลข 1089 สายแม่จนั – ฝาง ตัดผ่าน 5.2 เหตุผลในการเลือกทีAต= งั โครงการ 5.2.1 พื=นทีAโครงการอยูเ่ ป็ นทีAราบเชิงเขาทีAมีแม่น= าํ กกตัดผ่าน อยูใ่ นพื=นทีAประเภท อนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ล้อมรอบด้วยพื=นทีAประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ทําให้บริ เวณโดยรอบ ยังคงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ทําให้มีทศั นียภาพโดยรอบสวยงาม 5.2.2 พื=นทีAโครงการเชืAอมโยงกับแหล่งท่องเทีAยวเชิงธรรมชาติ เชิงเกษตร เชิงวัฒนธรรม และนันทนาการต่าง ๆ 5.2.3 พื=นทีAต= งั โครงการมีถนนหลวงหมายเลข 1089 สายแม่จนั – ฝาง


SITE LOCATION

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานพักตากอากาศเตียนจีAเหนี ยน ตําบลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ แผนทีD 1 แสดงทีAต= งั และขอบเขตโครงการ

มาตราส่ วน

ทีAมา : ดัดแปลงจาก Longdo map

Not To Scale

SITE LINKAGE

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานพักตากอากาศ เตียนจีAเหนียน ตําบลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ แผนทีD 2 แสดงทีAต= งั โครงการและความเชืAอมโยงของสถานทีAท่องเทีAยว มาตราส่ วน ทีAมา : ดัดแปลงจาก Longdo map และ Google map

Not To Scale


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม สถานพัก ตากอากาศเตี ย นจีA เหนี ย น ตําบลท่าตอน อําเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ แผนทีD 3 แสดงทีAต= งั โครงการและขอบเขตของโครงการแต่ละพื=นทีA

มาตราส่ วน

ทีAมา : ดัดแปลงจาก Longdo map

Scale Not To

ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื=นทีA SITE1 SITE2 SITE3 เกณฑ์ คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน ระดับ คะแนน Linkage 4 A 16 A 16 B 12 Surounding 4 B 12 B 12 B 12 Accessibility 3 A 12 B 9 C 6 Road network 3 C 6 C 6 C 6 Approach 4 A 16 B 12 C 8 View 5 A 20 B 15 A 4 รวมคะแนน 23 82 70 48

หมายเหตุ A (excellent) = 4 B (very good) = 3 C (fairy good) = 2 D (poor) = 1




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายวีรภัทร ท้วมวงษ์ รหัส 5819102526 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.98 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านเศรษฐกิจตลาดลาพูน จตุจกั ร และพื้นที่ต่อเนื่อง อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ): The Landscape Architectural Design and Improvement project of the Lamphun Chatuchak Market Economic District and Connection Areas, Muang, Lamphun. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้นที่ยา่ นตลาดจตุจกั รลาพูนเป็ นพื้นที่ ย่านที่ติดกับถนนเส้นซุ ปเปอร์ ไฮเวย์ เชียงใหม่-ลาปางและ เป็ นทางเข้าเมืองลาพูน ระยะห่างเพียง 3 – 4 กิโลเมตร ซึ่ งเป็ นประตูสู่เมืองเมืองลาพูน และย่านตลาดจตุจกั รลาพูน มี การพัฒนาขึ้ นอย่างต่อเนื่ อง เริ่ มจากพื้นฐานของชุ มชนที่ มี ตลาด โรงเรี ยนรพี เลิศวิทยา โรงพยาบาลศิ ริเวชลาพูน ต่อมาจึงเริ่ มพัฒนาพื้นที่ตลาดให้ใหญ่ข้ ึน ธนาคาร และห้างสรรสิ นค้า แจ่มฟ้ าช้อปปิ้ งมอลล์ ซึ่ งเป็ นย่านที่มีผคู ้ นเข้า มาใช้งานในย่านมาก เนื่ องจากมีผคู ้ นที่เดินทางมาจากเครื อสหพัฒน์ ลาพูน ที่เป็ นแหล่งโรงงาน ของจังหวัดลาพูน ผูค้ นที่ มาจากย่านเมืองเก่าและคนที่ อยู่ในพื้นที่ เดิ ม ทาให้ตวั ย่านนั้นกลายเป็ นย่านเศรษฐกิ จของคนในพื้ นที่ เป็ น แหล่งท่องเที่ยวและเป็ นย่านเมืองใหม่ของคนในเทศบาลจังหวัดลาพูนอีกด้วย ด้วยเหตุน้ ี จึงเสนอโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านเศรษฐกิ จตลาดลาพูน จตุจกั ร และพื้นที่ต่อเนื่ อง เพื่อยกระดับย่านตลาดจตุจกั รลาพูนให้เป็ นเมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์และ ประตูสู่ เมืองลาพูน ตามนโยบายไทยแลนด์4.0 และประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัดลาพูน และพัฒนาให้กลายเป็ นเมื อง ท่องเที่ยวตามนโยบายท่องเที่ยวเมืองรองของการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทย เพื่อกระจายรายได้ไปยังเมืองรองต่างๆ โดยที่ มีท้ งั หมด 55 จังหวัด โดยภาคเหนื อก็มีท้ งั หมด 16 จังหวัด เช่ น ลาพูน ลาปาง เชี ยงราย พิ ษณุ โลก ตาก เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ สุ โขทัย อุตรดิตถ์ แม่ฮ่องสอน พิจิตร แพร่ น่าน กาแพงเพชร อุทยั ธานี พะเยา เป็ นต้น


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่และยกระดับย่านตลาดจตุจกั รลาพูน ให้เป็ นเมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ของจังหวัดลาพูน ตามแผนกับประเด็นยุทธศาสตร์เมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ของจังหวัดลาพูน 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่และยกระดับย่านตลาดจตุจกั รลาพูน ให้เป็ นประตูสู่เมืองลาพูน ตามแผนนโยบายการส่ งเสริ มท่องเที่ยวเมืองรอง 4.1.3 เพื่อพัฒนาและส่ งเสริ มกิจกรรมนันทนาการสาหรับเยาวชนและประชาชนเมือง ลาพูน ให้เหมาะสมตามช่วงวัยตามแผนประเด็นยุทธศาสตร์เมืองแห่งคุณภาพชีวิต ของจังหวัดลาพูน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษากระบวนการออกแบบภู มิส ถาปั ตยกรรมและการพัฒนาย่า นตลาด จตุจกั รลาพูน ให้เป็ นเมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ 4.2.2 เพื่ อศึ กษากระบวนการออกแบบภู มิส ถาปั ตยกรรมและการพัฒนาย่า นตลาด จตุจกั รลาพูน ให้เป็ นประตูสู่เมืองลาพูน ตามแผนบนโยบายการส่ งเสริ มท่องเที่ยวเมืองรอง 4.2.3 เพื่อศึ กษาเมืองหัตถ นวัตกรรม สร้างสรรค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของจังหวัด ลาพูน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ นตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัด ลาพูน 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ย่านตลาดลาพูนจตุจกั ร เป็ นแหล่งที่มีความหลากหลายของกิ จกรรม มีท้ งั ตลาด ห้าง โรงเรี ยน โรงพยาบาล เป็ นแหล่งเศรษฐกิจของคนในพื้นที่ 5.2.2 พื้นที่โครงการติดกับ ถนนเส้นหลักที่มาจากถนนซุ ปเปอร์ ไฮเวย์เชียงใหม่-ลาปาง ถนนที่ มาจากทางเครื อสหพัฒน์ ลาพูน ซึ่ งเป็ นแหล่งโรงงาน ของลาพูน และถนนเส้นหลักเข้าตัวเมื องลาพูน มี ผูใ้ ช้งานย่านนี้เป็ นจานวนมาก ทั้งมาท่องเที่ยว จ่ายตลาด และเป็ นยังเส้นทางผ่านไปยังสถานที่ต่างๆ


โครงการพัฒนาและออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ย่านเศรษฐกิจตลาดลาพูนจตุจกั ร เพื่อเป็ นพื้นที่เชื่ อมต่อ กิจกรรมและแหล่งท่องเที่ยว อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 11 ถนนหมายเลข 116 ถนนหมายเลข 114 ถนนโยธาธิ การ ลาพูน Not to scale ถนนเชียงใหม่ ลาพูน ถนนลาพูน - ป่ าซาง ถนนเจริ ญราษฏร์ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (ดัดแปลงวันที่ 26 ธันวาคม 2561 ) 5.2.3 พื้นบริ เวณที่ใกล้เคียงของพื้นที่ยงั มีสนามฟุตบอลที่เป็ นสนามบอลเยาวชนจังหวัด ลาพูน พื้นที่ท่ารถที่ยงั ไม่ได้รับการจัดการ เหมาะสมในแก่การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม และเพื่อพัฒนา ให้พ้ืนที่เป็ นศูนย์กลางของพื้นที่กิจกรรมและนวัตกรรมของจังหวัดลาพูนอีกด้วย


โครงการพัฒ นาและออกแบบภู มิส ถาปั ต ยกรรมพื้ นที่ ย่านเศรษฐกิ จตลาดลาพู นจตุ จักร เพื่ อเป็ นพื้ นที่ เชื่อมต่อกิจกรรมและแหล่งท่องเที่ยว อาเภอเมือง จังหวัดลาพูน แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 11 ถนนหมายเลข 116 ถนนหมายเลข 114 ถนนโยธาธิ การ ลาพูน Not to scale ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth (ดัดแปลงวันที่ 26 ธันวาคม 2561 )




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว สริ ตา ชื่นประเสริ ฐสุข รหัส 5819102527 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.26 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผัง ศูน ย์ฟ้ื นฟูท างจิ ตเวช โรงพยาบาลจิ ตเวช พิษณุโลก อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of The Psychiatric Rehabilitation Center, Phitsanulok Psychiatric Hospital, Wamgtong, Phitsanulok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากการสารวจสถานการณ์ดา้ นสุ ขภาพจิตในประเทศไทยล่าสุดในปี 2556 พบว่า ประชาชนอายุ 18 ปี ขึ้นมีภาวะเจ็บป่ วยทางจิตเวชและมีพฤติกรรมเสพสารเสพติด ร้อยละ 13.4 หรื อเกือบ 7 ล้านคน สูงสุดในภาคเหนื อ ร้อยละ 17.1 ภาคกลางร้อยละ 13.5 ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือร้อยละ 12.9ภาคใต้ร้อยละ 12.4 ส่วนกรุ งเทพมหานคร ร้ อยละ 10.7 สาหรับพื้นที่เขต 2 คาดว่าจะมีผปู้ ่ วยจิ ตเวชและมีพฤติกรรมเสพสารเสพติดประมาณ 5 แสนคน จาก ประชากรประมาณ 3.5 ล้านคน ที่ผ่านมากรมฯ ได้กระจายบริ การรักษาลงไปทั้ง 13 เขต ทาให้ผปู้ ่ วยทางจิตเข้าถึง การรักษาใกล้บา้ น เช่น ผูป้ ่ วยโรคซึ มเศร้ าประมาณ 1.5 ล้านคน ข้อมูลถึงเดือนส.ค.ที่ผ่านมาสามารถเข้าถึงบริ การ ร้อยละ 60 เป็ นต้น กรมสุ ขภาพจิ ตจึ งมีโครงการเปิ ดโรงพยาบาลจิ ตเวชแห่ งใหม่ที่จงั หวัดพิษณุ โลกขนาด 150 เตียง ซึ่ ง เป็ นแห่งที่ 20 ของประเทศ ตั้งอยูท่ ี่ อ.วังทอง ใช้งบก่อสร้าง 381 ล้านบาท เป็ นศูนย์เชี่ยวชาญรักษาผูป้ ่ วยโรคจิ ตเวช ที่มีอาการรุ นแรง ยุ่งยากซับซ้อนทั้งเด็กและผูใ้ หญ่ ประจาเขตสุ ขภาพที่ 2 โซนภาคเหนื อตอนล่าง 5 จังหวัด ได้แก่ พิ ษณุ โ ลก สุ โขทัย ตาก เพชรบูรณ์ และอุตรดิ ตถ์ และมี พ้ื นที่ บางส่ ว นติ ดต่อ กับประเทศเมี ย นมาร์ และประเทศ สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาวด้วย มี ประชาชนประมาณ 5 ล้านคน ซึ่ งเป็ นเขตสุ ขภาพเดี ยวที่ยงั ไม่มี โรงพยาบาลเฉพาะทางด้านจิตเวชดูแล ที่ผา่ นมาประชาชนที่เจ็บป่ วยทางจิตเวชหรื อมีปัญหาสุขภาพจิตและมีอาการ รุ นแรงจาเป็ นต้องพบผูเ้ ชี่ ยวชาญซึ่ ง มี ประมาณ 2,000 คน ต้องเดินทางไปรักษาที่โรงพยาบาลจิ ตเวชที่เ ชีย งใหม่ ขอนแก่น นครสวรรค์หรื อจังหวัดเลย ซึ่ งอยู่ห่างประมาณ 150 - 300 กิ โลเมตร จึ งเมื่อมีการได้รับบริ จาคพื้นที่จาก นายบุญ ชาติพาณิ ชย์ จานวน 47 ไร่ เศษ และเห็นถึงปัญหาของคนในพื้นที่จึงจัดสร้างโครงการนี้ข้ ึน


ในปัจจุบนั ทางโรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลกได้วางแผนการให้บริ การระยะแรกไว้ว่าจะเปิ ดให้บริ ก าร ประชาชนที่เจ็บป่ วยทางจิตทัว่ ๆ ในลักษณะผูป้ ่ วยนอกและผูป้ ่ วยจิ ตเวชฉุกเฉิ นตลอด 24 ชัว่ โมงก่อนเพิ่มบริ การรับ ผูป้ ่ วยในต่อไป และวางแผนขยายขอบเขตบริ การในระยะที่ 2 โดยจะเปิ ดรับผูป้ ่ วยในในเดือนมิ.ย. 2562 เริ่ มจาก 30 เตี ย งก่ อ นและเพิ่ มศักยภาพในระยะต่อๆไป ซึ่ งตอนนี้ มีอ าคารสร้ างขึ้ นภายในโครงการแล้ว แต่ย งั คงขาดพื้ นที่ ภายนอกที่เหลือการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรม และเพื่อตอบรับกับโครงการข้างต้นจึงเสนอให้ขยายรวมถึง มีพ้ื นที่ ว่างด้านข้างที่สามารถนามาใช้เป็ นศูนย์ฟ้ื นฟูทางจิ ตเวชแบบครบวงจรสาหรับผูป้ ่ วยที่มีอาการดีข้ ึนและต้องฟื้ นฟู เพื่อกลับไปใช้ชีวิตร่ วมสังคมกับผูอ้ ื่น โดยจะเน้นการฟื้ นฟูและบาบัดด้วยสวน อย่างเช่นโรงพยาบาลศรี ธญั ญา ซึ่ งมี พื้นที่สวนที่ใช้ในการทากิจกรรมของผูป้ ่ วย การฝึ กอาชีพให้กบั ผูป้ ่ วย สร้างสังคมจาลอง และโรงพยาบาลสวนสราญ รมย์(โรงพยาบาลจิตเวชที่มีผปู้ ่ วยมาจากการเสพยาเสพติดจานวนมาก)ที่ทาระบบบริ การฟื้ นฟูดา้ นสมอง จิตใจ และ ด้านสังคมสร้ างสังคมจ าลองเพื่อ ให้ผปู้ ่ วยสารเสพติด กลับคื นมาสู่ สภาพที่เป็ นปกติที่ สุด และจากการติดตามผล พบว่าผูป้ ่ วยที่กลับไปอยูก่ บั ครอบครัวในชุมชนร้อยละ 60-70 ที่ไม่กลับไปเสพยาซ้ าและยังสามารถประกอบอาชีพ ได้ โดยใช้พ้ืนที่ดา้ นข้างของโรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลก เป็ นพื้นที่ประมาณ 64 ไร่ เพื่อให้เพียงพอต่อการฟื้ นฟูและ บาบัดผูป้ ่ วยทั้งในภาคเหนื อตอนล่าง และประเทศใกล้เคียง รวมถึงเป็ นพื้นที่ศูนย์กลางเพื่อบาบัด และแหล่งเรี ยนรู้ ให้กบั ชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้เป็ นศูนย์กลางของการฟื้ นฟูทางจิ ตเวชในทุกรู ปแบบของของภาคเหนื อ ตอนล่าง (พิษณุโลก สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์) 4.1.2 เพื่ อ ให้เ ป็ นศูนย์กลางและเป็ นต้นแบบของการบาบัดและฟื้ นฟูผูป้ ่ วยด้ว ยสวน บาบัด 4.1.3 เพื่อให้โครงการเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ของชุมชน ทางด้านการฟื้ นฟูทางจิตเวช 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมวางผังสถานพยาบาลเฉพาะทาง 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาวิ ธีการรัก ษาบาบัดและฟื้ นฟูผูป้ ่ วยด้วยการใช้สวนบาบัดในรู ปแบบ ต่างๆ เพื่อนามาออกแบบงานภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาข้อ มูล ของชุมชนของคนภายในชุมชนและพื้ นที่ ใกล้เ คี ย งเพื่ อ นามา ออกแบบพื้นที่ศูนย์กลางชุมชนที่ตอบรับกับพฤติกรรมการใช้งาน 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ เลขที่ 999 หมู่ 2 ตาบล แก่งโสภา อาเภอ วังทอง พิษณุ โลก 65220 ขนาดพื้นที่โครงการ หลักประมาณ 47 ไร่ และพื้นที่โครงการส่วนขยายประมาณ 64 ไร่ รวมพื้นที่ท้งั หมด 111 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ


5.2.1 พื้นที่โครงการเป็ นสถานพยาบาลเดิม 5.2.2 โรงพยาบาลจิ ตเวชพิษณุ โลกพัฒนามีความมุ่งเน้นที่จะพัฒนาเป็ นศูนย์ฟ้ื นฟูทาง จิตเวชแบบครบวงจร 5.2.3 พื้นที่ที่ติดกับตัวโครงการมีความสามารถที่จะขยายพื้นที่ตวั โครงการออกไปได้ อีก เนื่องจากเป็ นพื้นที่เกษตร และรกร้าง ไม่มีสิ่งก่อสร้าง

โครงการออกแบบและวางผังศูนย์ฟ้ื นฟูทางจิตเวช โรงพยาบาลจิตเวชพิษณุโลก อ.วังทอง จ.พิษณุโลก แผนที่ 1 สถานที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ ลาน้ า ถนนเส้นหลัก สถานที่สาคัญ พื้นที่โครงการหลัก พื้นที่โครงการส่วนขยาย ที่มา ดัดแปลงมาจาก https://www.google.co.th/maps (วันที่สืบค้น 13 ธันวาคม 2561)

มาตราส่วน Not to scale


โครงการออกแบบและวางผัง ศู นย์ฟ้ื นฟู ท างจิ ตเวช โรงพยาบาลจิ ต เวชพิษ ณุ โ ลก อ.วัง ทอง จ. พิษณุโลก แผนที่ 2 แสดงเส้นทางเข้าถึ ง โครงการ และขอบเขตพื้ นที่ มาตราส่วน โครงการ สัญลักษณ์ ลาน้ า Not to scale ถนนเส้นหลัก ถนนเส้นรอง พื้นที่โครงการหลัก พื้นที่โครงการส่วนขยาย ที่มา ดัดแปลงมาจาก https://www.google.co.th/maps (วันที่สืบค้น 13 ธันวาคม 2561)




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย องศา เหลืองสกุลพงษ์ รหัส 5819102528 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.15 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุก วันพีช พาร์ ค อาเภอ เมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) Landscape Architectural Design and Planning of the One Piece Theme Park, Mueang Chon Buri, Chon Buri 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ในปัจจุบนั การ์ ตูนอนิเมชัน่ ไม่ได้ถูกสร้างเพื่อความบันเทิงสาหรับเด็กเท่านั้นแต่ยงั สร้ างความบันเทิง ให้กลุ่มวัยรุ่ นจนถึงวัยทางาน วันพีชก็เป็ นหนึ่ งในการ์ ตูนอนิ เมชัน่ ที่มีความนิ ยมเป็ นอย่างมาก วันพีชถูกเขียนโดย อาจารย์ เออิจิโระ โอดะ ถูกตีพิมพ์ครั้งแรกวันที่ 19 กรกฎาคม 2540 โดยบริ ษทั Shonen Jump ของสานักพิมพ์ชูเอฉะ โดยทางบริ ษทั Shonen Jump การ์ ตูน วันพีช ทายอดขายหนังสื อการ์ ตูนถึง 380 ล้านเล่มด้านอนิเมะ และเป็ นอนิ เมะ ที่ดีที่สุดในปัจจุบนั จากผลโหวตในสังคมออนไลน์ทวั่ โลก Tokyo One Piece Tower เป็ นสถานที่ ท่อ งเที่ ย วสวนสนุ ก ที่ ได้รั บความนิ ย มมากที่ สุดแห่ ง หนึ่ งใน ญี่ ปุ่ นตั้ง อยู่ที่โ ตเกี ย วทาวเวอร์ ถูก ก่ อ ตัง่ โดย Eiichiro Oda/Shueisha, Toei Animation, Amusequest Tokyo Tower LLP ประสบความสาเหร็ จ ในด้านการท่อ งเที่ ย วจากทั้ง คนในประเทศแต่ ต่างประเทศ ทางบริ ษทั ต้อ งการขยาย โครงการสวนสนุกในต่างประเทศเพื่อรองรับกลุ่มนักท่องเที่ยวได้กว้างขึ้น ซึ่ งตลาดทางท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ย น ประเทศไทยเป็ นอันดับ 1 ของอาเซี ยน และ เนื่องจากประเทศไทย มีจงั หวัด กรุ งเทพฯ-ภูเก็ต-พัทยา ซึ่ งติด 1 ใน 20 สุดยอดจุดหมายปลายทางโลก โดยจากสถิติ ที่ ไ ด้จ ากระบบฐานข้อ มู ล แหล่ง ท่อ งเที่ ย วประเทศไทย จัง หวัดชลบุรี ติ ด 1 ใน 3 จัง หวัด ของประเทศไทยที่ มี นักท่องเที่ยวจากทั้งในประเทศและนอกประเทศ เข้ามาท่องเที่ยวมากที่สุด และจากเศรษฐกิ จการท่องเที่ยวเดือน กันยายน ปี พ.ศ. 2561 จังหวัดชลบุรีสร้างรายได้มากกว่า 3,451 ล้านบาท ด้วยสภาพความเจริ ญที่มีสถานที่ท่องเที่ยว อยู่มากมาย ภูมิประเทศ เป็ นภูเขาป่ าไม้กบั ทะเล มีการคมนาคมที่สะดวก มีสาธารณู ปโภคพร้ อม เป็ นจังหวัดที่อยู่


ใกล้ก ับ กรุ ง เทพมหานครเพี ย งประมาณ 80 กิ โ ลเมตร และมี ถ นนหลัก ทั้ง ถนนสุ ขุม วิ ท และถนนหมายเลข 7 (Motorway) ตัดผ่าน ทาให้การเดินทางทาได้สะดวก ด้ว ยเหตุผลนี้ จึงมี แนวคิ ดที่ จดั ท าโครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุ ก วันพีช พาร์ ค จ.ชลบุรี โดยสวนสนุก วันพีช พาร์ ค เป็ นแหล่งรวมความฝัน ความทรงจาของอนิ เมชัน่ one piece โดยได้มี การผสมผสานระหว่ า งสวนสนุ ก พิ พิ ธ ภัณ ฑ์ Live Action Show รวมถึ ง เป็ นที่ พ ัก ส าหรั บ นัก ท่ อ งเที่ ย วที่ ใ ห้ ประสบการณ์ที่เสมือนเข้าไปอยูใ่ นโลกแห่ งจิตนาการ ซึ่ งโครงการสวนสนุกวันพีช พาร์ ค จะเป็ นแหล่งท่องเที่ยว แห่งใหม่ ในการรองรับนักเที่ยวในประเทศและนอกประเทศ และกระจายการท่องเที่ยวภายในจังหวัดชลบุรี ซึ่ งช่วย ส่งผลดีในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ให้กบั อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี และภูมิภาคมากยิ่งขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นแหล่งท่องเที่ยว พักผ่อน ที่จะได้รับบรรยากาศหลากหลายจากเครื่ องเล่นของ สวนสนุ ก สวนน้ าและพิ พิธภัณฑ์จ าลอง โดยรองรั บผูใ้ ช้ทุก เพศทุก วัย ตั้ง แต่เ ด็ก ถึ ง ผูส้ ู ง อายุ โดยเน้นวัย รุ่ น ทั้ง นักท่องเที่ยว ในและต่างประเทศ 4.1.2 เป็ นการขยายธุรกิ จธี มพาร์ คให้มีความหลากหลายของชนิ ดมากขึ้น เพื่อรองรับ ความต้องการของนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ 4.1.3 เพื่อเป็ นโครงการที่สร้ างแหล่งท่องเที่ยวแห่ งใหม่ในระดับจังหวัด ภูมิภาค และ อาเซี ยน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาการวางผังบริ เวณและการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและรายละเอียดของ โครงการสวนสนุก วันพีช พาร์ ค 4.2.2 ศึกษาประวัติและเรื่ องราวการ์ ตูน วันพีช ที่มี ความโดดเด่นเพื่อนามาออกแบบ พื้นที่บริ เวณต่างๆให้เหมาะสมต่อกลุ่มผูใ้ ช้งาน ให้ได้ประโยชน์ในพื้นที่ ทั้งด้านกิจกรรม เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ที่จะเกิดขึ้นในสวนสนุก 4.2.3 ศึกษาลักษณะที่ต้ งั โครงการ บริ บทโดยรอบของโครงการ เพื่อวิเคราะห์ข้อ มูล และนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังโครงการ


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แผนที่ 1-2)

โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก วันพีช พาร์ ค อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี มาตราส่วน

แผ่นที่ 1 แสดงที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ถนนข้าวหลาม

ที่มา: ดัดแปลงจาก http://dolwms.dol.go.th/tvwebp/ (16/12/2018)

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก วันพีช พาร์ ค อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี แผ่นที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของ สถานที่ ท่องเที่ยว

มาตราส่วน

สัญลักษณ์

Not to scale

พื้นที่โครงการ

ที่มำ: ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps (16/12/2018)


5.1 สถานที่ต้งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการมีข นาด 122 ไร่ เป็ นพื้นที่เอกชน ตั้งอยู่ตาบล เหมือง อาเภอเมืองชลบุรี

จังหวัด ชลบุรี อยูใ่ กล้กบั ถนน หลวงหมายเลข7 (Motorway) 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการรองรับโครงการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต 5.2.2 เข้าถึงพื้นที่ได้ง่าย และไม่ไกลจากกรุ งเทพมหานคร 5.2.3 พื้นที่โครงการอยูไ่ ม่ไกลกับสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆในจังหวัดชลบุรี 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้งั หมด ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

122 ไร่ ติดกับ ติดกับ ติดกับ ติดกับ

ติดถนนข้าวหลาม และที่ทาเกษตร ที่ดินเอกชน ติดถนนข้าวหลามและที่เอกชน ติดถนนข้าวหลามและที่เอกชน

7. บรรณานุกรม นายพงษ์ภาณุ เศวตรุ นทร์ . 21 พ.ย. 2561. “สถำนกำรณ์ ท่องเที่ยว ตุลำคม ปี 2561” [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า: https://www.mots.go.th/ewt_dl_link.php?nid=11034 (16/12/2018) อดีตเหมียว, 17/09/2017, “13 กำร์ ตูนญี่ปุ่นทรงคุณค่ำ ที่ทำยอดขำยได้ สูงสุ ดตลอดกำล”, [ระบบออนไลน์]แหล่งที่มา: https://www.catdumb.com/ten-best-manga-japan-333/, (17/12/2018) อดีตเหมียว, 28/03/2017, 15 อันดับ “อนิเมะ” ที่ดีทสี่ ุ ดในปัจจุบัน ร่ วมโหวตโดยชำวเน็ตจำกทั่ว โลก”, [ระบบออนไลน์]แหล่งที่มา: https://www.catdumb.com/15-best-anime-064/, (17/12/2018) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


Site selection

โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก วันพีช พาร์ ค อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี แผ่นที่ 3 แสดงที่ตั ้งและขอบเขตโครงการ

มาตราส่วน

ที่มา: ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps (16/12/2018)

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก วันพีช พาร์ ค อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี แผ่นที่ 4 แสดงที่ตั ้งและขอบเขตโครงการ

มาตราส่วน

ที่มา: ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps (16/12/2018)

Not to scale


ตำรำงสรุปกำรให้ คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์/ภำค Accessibility Shape Approach View Surrounding Linkage Public Facilities/ Public Utilities รวมคะแนน

คะแนน

SITE 1

6 3 4 3 3 4 2

ระดับ A B A C B A A

25

SITE 2 คะแนน 24 9 12 12 12 16 8 93

หมายเหตุ น้ าหนักคะแนนคือระดับความสาคัญ ของหลักเกณฑ์โดยมีแบ่งดังนี้ A (excellent) 4 point B (very good) 3 point C (good) 2 point D (poor) 1 point

ระดับ A B B A A A A

SITE 3 คะแนน 24 9 16 6 9 16 8 88

ระดับ B A B B B B A

คะแนน 18 12 12 9 9 12 8 80


Site selection Site 1: ตาบล เหมือง อาเภอเมืองชลบุรี จังหวัด ชลบุรี พื้นที่ทิศเหนือติดถนน และที่ทาเกษตร ทิศตะวันตกติดถนน ที่เอกชน และพื้นที่ทาการเกษตร ทิศตะวันออกติดถนน และที่เอกชน ทิศใต้ติดที่เอกชน ลักษณะของพื้นที่เป็ นพื้นที่ราบทาการเกษตร ขนาดโดยประมาณ 122 ไร่

Site 2: ตาบล หนองปรื อ เมืองพัทยา อาเภอ บางละมุง จังหวัด ชลบุรี พื้นที่ทิศเหนือติดเปล่า ทิศตะวันตกติดถนน ทิศตะวันออกติดถนนและที่เอกชน ทิศใต้ติดหมู่บา้ นเซ็นทรัลปาร์ คฮิลล์ ไซด์ ลักษณะของพื้นที่เป็ นพื้นที่ราบรกร้าง ขนาดโดยประมาณ 112 ไร่

Site 3: ตาบล นาเกลือ เมืองพัทยา อาเภอ บางละมุง จังหวัด ชลบุรี พื้นที่ทิศเหนือติดพื้นที่รกร้างและที่เอกชน ทิศตะวันตกติดพื้นที่รกร้าง ทิศตะวันออกติดถนน ทิศใต้ติดที่เอกชน ลักษณะของพื้นที่เป็ นพื้นที่ราบรกร้าง ขนาดโดยประมาณ 108 ไร่



f

คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำ ภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวอรนิ ภา ไชยราช รหัส 5819102529 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.23 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุ มชนศรี ดอนชัย เพื่อการ ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติวฒั นธรรม อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of the Sidonchai for eco-cultural Tourist , Chiang Khong, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เขตพัฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษอ าเภอเชี ย งของ เป็ นที่ ต้ ัง ของสะพานข้า มแม่ น้ า โขงเชื่ อ มสู่ ป ระเทศ สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และจีนตอนใต้ (มณฑลยูนนาน) โดยมีถนน R3A เชื่อมไปยัง สปป.ลาวและมณฑลยูนนาน และยังมีถนนเส้น R3B พาดผ่านอาเภอเชี ยงของไปยังอาเภอแม่สาย และเมียนมา มี ศักยภาพในเชิ งพื้นที่ ในด้านการค้าการท่องเที่ ยว ศูนย์ขนส่ งต่อเนื่ องหลายรู ปแบบ โดยมีการเตรี ยมพื้นที่ศูนย์โลจิ สติกส์ เส้นทางรถไฟ พาณิ ชยกรรม สานักงานการค้า และกาหนดยุทธศาสตร์ ให้อาเภอเชี ยงของเป็ น Logistic City มุ่งเน้นบทบาทเป็ นประตูการค้าสู่ จีนตะวันตกและเส้นทางการท่องเที่ยวเชื่ อมหลวงพระบาง ได้มีนกั ท่องเที่ ยวทัง่ ชาวไทย และต่างประเทศจะใช้ถนนเส้น R3A เพื่อไปเที่ยว ประเทศสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว และ สิ บสองปันนา,มณฑลยูนนาน อาเภอเชี ยงของอยู่ในรู ปแบบของการท่องเที่ ยวที่ เป็ นเพียงแค่ ทางผ่าน จึ งทาให้เกิ ดแผนพัฒนาการ ท่องเที่ยวอาเภอเชี ยงของขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหา มีประเด็นยุทธศาสตร์ ที่น่าสนใจในเรื่ องของการพัฒนาการท่องเที่ ยว เช่ นประเด็นยุทธศาสตร์ (ประเด็นที่ 1 นิ เวศวัฒนธรรมกับการท่องเที่ ยวอย่างเป็ นธรรมและยัง่ ยืน โดยมีกลยุทธ์ที่ สาคัญ คื อการสร้ า งแลนมาร์ ค (Land Mark) หรื อใช้ทุนทางสังคมและวัฒนธรรม มาสร้ า งเป็ นจุ ด ขายทางการ ท่ องเที่ ยว รวมถึ งการบริ หารจัดการท่ องเที่ ยวให้ยงั่ ยืนเป็ นวงรอบเชื่ อมต่ อกันทัว่ ทั้งอาเภอ และเน้นการจัดการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อชุมชน เข้ามาประกอบเชื่ อมเป็ นเส้นทางการท่องเที่ยวใหม่ที่ตอบสนองการท่องเที่ยวแบบ ยัง่ ยืน และเป็ นเมืองที่น่าอยูส่ าหรับคนที่มาเยือน พื้นที่ชุมชนบ้านศรี ดอนชัยเป็ นหมู่บา้ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ไทลื้อ เดิมชาวไทลื้อในหมู่บา้ นศรี ดอนชัยนั้นมี ภูมิลาเนาเดิ มอยู่ที่แคว้นสิ บสองปั นนา มณฑลยูนาน ประเทศจี นตอนใต้ ต่อมาได้มีการอพยพไปยังดอยหลักคาที่


ตั้งอยูใ่ นเขต จีน-ลาว อาศัยอยูไ่ ด้ 1 ปี ได้อพยพข้ามแม่น้ าโขงมาอยูท่ ี่ริมแม่น้ าโขง(อาเภอเชียงของ) ในพ.ศ. 2496 ได้ ย้ายมาอยู่ที่บา้ นศรี ดอนชัยจนถึงปั จจุบนั ชุ มชนศรี ดอนชัยเป็ นชุ มชนที่ มีอตั ลักษณ์และวัฒนธรรมที่ โดดเด่น เช่ น รู ปแบบสถาปั ตยกรรม ผ้าสิ้ นไทลื้อ เครื่ องประดับ และภาษาไทลื้อที่ใช้สื่อสารกัน เกิดการรวมกลุ่มกันของคนใน ชุมชนเพื่ออนุรักษ์วฒั นธรรมไทลื้อ และพัฒนาผ้าซิ่ นไทลื้อจนเป็ นที่สนใจของนักท่องเที่ยว ต่อมาได้เกิดการร่ วมมือ ระหว่างภาครัฐกับชุมชนในการเผยแพร่ อตั ลักษณ์ วัฒนธรรม และการท่องเที่ ยว จึ งส่ งผลให้มีนกั ท่องเที่ ยวเข้ามา อย่างต่อเนื่ อง อาเภอเชี ยงของได้ส่งเสริ ม และผลักดันให้มีการพัฒนาพื้นชุมชนบ้านศรี ดอนชัยเป็ นแหล่งท่องเที่ ยว แห่ งใหม่ของจังหวัดเชี ยงราย โดยพัฒนาพื้ นที่ ชุมชนบ้านศรี ดอนชัย ให้เป็ นแหล่องท่ องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ และ วัฒนธรรม

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ ออกแบบและปรั บ ปรุ ง พื้ น ชุ ม ชนศรี ด อนชัย ให้เ ป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ -วัฒนธรรมไทลื้อของชุมชนบ้านศรี ดอนชัย 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ชุมชนศรี ดอนชัยให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้เชิ งธรรมชาติ-วัฒนธรรมไท ลื้อ 4.1.3 เพื่อการพัฒนาพื้นที่ อย่างยัง่ ยืน และสร้างรายได้รายได้ให้กบั ชุมชนและองค์กร ท้องถิ่น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ ยเชิ ง ธรรมชาติและวัฒนธรรม 4.2.2 ศึกษาการฟื้ นฟูระบบนิ เวศพื้นแม่น้ าอิง และหนองน้ าจืด เพื่อการอนุรักษ์ ป้ องกัน ปัญหาน้ าท่วม และพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ 4.2.3 ศึ กษาวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของชุ มชนบ้านศรี ดอนชัย เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไทลื้อ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้นที่โครงการมีความหลางหลายทางด้านกายภาพ เช่น หมู่บา้ นกลุ่มชาติพนั ธุ์ไท ลื้อ แม่น้ าอิง หนองน้ า พื้นที่ป่าชุมชน 5.1.2 พื้นที่โครงการตั้งอยู่ในชุมชน กลุ่มชาติพนั ธุ์ ไทลื้อ มีวฒั นธรรมและอัตลักษณ์ที่ โดดเด่น ซึ่ งเป็ นชุมชนมีความตั้งใจ พัฒนาการท่องเที่ยวอยูต่ ลอดเวลา 5.1.3 พื้นที่โครงการตั้งอยู่ไกล้กบั ศูนย์บริ การเบ็ดเสร็ จ(เมืองใหม่) และยังตั้งอยู่ในเขต เศรษฐกิจพิเศษ อาเภอเชียงของ มีเส้นถนน R3A เชื่อมไปยังประเทศสาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว


5.2 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้นที่ชุมชนบ้านศรี ดอนชัย หมู่ 14 และหมู่ 15 ตั้งอยูใ่ นพื้นที่ตาบลศรี ดอนชัย อาเภอชียงของ จังหวัดเชียงราย มีขนาดพื้นที่ประมาณ 2009 ไร่

V

\O 'I ,t4

ai5isajS5iJs:aiouai3

\

\ V

o

V.

v.

N V.

llUl

Wiang

num

ftw

\

\

/ /

I i

amu

s~

/

\

-<

T\\ \

\ IIUU1 00

\

\ \

•V

\ \

I-r

1

\

\ /

X

/

!

Si Don Chai \ /

โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุ มชนศรี ดอนชัย เพื่อการท่ องเที่ ย ว อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผนที่แสดง สถานที่สาคัญ แผนที่ 1 สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ที่วา่ การอาเภอเชียงของ ที่วา่ การอาเภอเชียงของ(เมืองใหม่) ด่านพรมแดนเชียงของ สถานีรถไฟในอนาคต ที่มา : ArcGIS

N

W

O

s


m

.

j JytfH If-S

t

f

/

-A /

il>;ii S

<£

f .<*'ÿ:

.

ir

-;

r

I

a

!iL

HHH jwa

—~

a.Mtiftv

17 5

V\? I

TV

9K

\

V

I

f

gg

Sl'.'j

&

h

fosf .\

ITB

f raft HI

a •

*’

'.'A

“;

*•-

L

T-'C

\

ZM!

I

if

1A

*

3FW **ÿ

* ;

fiWK*

./

-

v--

-

•J

—•

m

«r

A?

,7]

,,v.

\

if

Bg

g

.

i.

i

'

••

«

p

II j

Ifv

H-

1

rr

‘A

.

«SCi 4M "V

rm

A

50ÿ

MLI /

w

[X

7

»-

»

i .•

i

โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมชุ มชนศรี ดอนชัย เพื่อการท่ องเที่ ย ว อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 สัญลักษณ์

ที่มา : Google Earth Pro

แผนที่ระดับโครงการ ถนนหลวงหมายเลข 1020 (RH3) ขอบเขตพื้นที่โครงการ แม่น้ าอิง

;<]

N

o

W

s


6.

DQUiUflDO'i'mwSmn 6.1 MouiDMiiowuvifmÿnin

wunlflHmiSiiinflifufiihsuifu 360 li IfloSoioninwafleiofl™ ymmfio

0000011

Vlflljl

0000011

wiyitfimiinim?

mmsTUOon

million mivtyuim unsmiflyfimiiniwi 000000 million 4infifmimi0i

0002:0000

000000

wuwvrmiimy©!

7. imunjnifu

I0i40iimt0mfu0i5m00000iiiiflmiifliys0m0uiim45i0 2561.“ iiHt4iiiiiJYim7ÿiJi000'uiD0W3n4ii0iusn9Wtfrwt50ÿn0,Hi4fi0°iin0il0'3 1104 ll 2561-2564.” 000W]. 001 : https://multi.dopa.go.th/inspector/news/ download/439 (5 1101100 2561)

l0otfimtfi300092:iJgiT00i0Ma0Ufls:iii0’ii004i0iym0v»0B {Tmif00fmij0ifT05uasmi00mmiiÿ4in0ÿ0ij uvnwointimiKijmJisjfn?

11040012:

o-nlovunmoliJifl'woiionoijiJw (045©). ( u

inn ../.

,)


1. (fniJJiMi4).

,

[W.

<WL!K.tfhftl.W /Y\JVIol'jjta (a«o).

/..£??»?!t

2.

jc&i-QM-

)

(fmjjmi4).....\H,ÿ.<:?!(?..ÿ. (.

3. (fmumio.

.)

i\jUh<

(n*4o). (

4. (fmjjmvi).

I

•)

1'AÿVHQI'H rnÿcAo]0 (awo)

.)

miwmMUB-nJisBiwn-s-sjjmÿilisoivtangn's

(a-jvo).





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.